กระเบื้องดินเผาเกาะยอ มรดกทางหัตถกรรมที่เลือนหาย
บทน�ำ
เกาะยอ
เป็ น ชุ ม ชนหนึ่ ง ที่ น ่ า สนใจด้ ว ยทั ศ นี ย ภาพที่ ส วยงาม และมี ป ระวั ติ ศ าสตร์ ที่ ย าวนาน อี ก ทั้ ง ยั ง เป็ น แหล่ ง ที่ ร วมศาสนสถาน ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ข องคนในชุ ม ชนแห่ ง นี้ เ อาไว้ พื้ น ที่ ท างประวั ติ ศ าสตร์ ท่ี สื บ ทอด มรดกทางหั ต กรรม จนเป็ น ที่ รู ้ จั ก กั น อย่ า งแพร่ ห ลายถึ ง การท� ำ กระเบื้ อ งดิ น เผา มรดกทางภู มิ ป ั ญ ญาในอดี ต ที่ โ ด่ ง ดั ง จนถู ก เรี ย กขาน กั น ว่ า “กระเบื้ อ งเกาะยอ”
19
18 03 01
05
21
16
17
21
กระเบื้องดิมรดกทางหั นเผาเกาะยอ ตถกรรมที่เลือนหาย
1
5 9 11 13 15 17 19 21 23 25 29
ประวัติต�ำบลเกาะยอ เรือนไทยเกาะยอ ประวัติความเป็นมาของกระเบื้องดินเผา ความรุ่งเรืองกระเบื้องดินเผาในอดีต แหล่งผลิตกระเบื้องดินเผาเมืองสงขลาที่ส�ำคัญ โรงกระเบื้องท่านางหอม วัตถุดิบและอุปกรณ์ในการท�ำกระเบื้องดินเผา ขั้นตอนการเตรียมดิน ขั้นตอนการท�ำกระเบื้องดินเผา ประเภทของกระเบื้องดินเผา วัดท้ายยอ สถาบันทักษิณคดีศึกษา
ต�ำบลเกาะยอ
TAM BON KOH YOH
กระเบื้องดินเผาเกาะยอ 1
สมเด็จเจ้าเป็นศรี ผ้าทอดีล�้ำค่า นานาผลไม้หวาน ถิ่นอาหารทะเล เสน่ห์สะพานติณฯ สถาบันทักษิณลือนาม งดงามเรือนไทย
กระเบื้องดินเผาเกาะยอ 2
เกาะยอ KOH YOH
หนึ่ ง ในแหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วขึ้ น ชื่ อ ของสงขลามี ส ภาพเป็ น เกาะอยู ่ กลางทะเลสาบสงขลาตอนล่ า ง ตั้ ง อยู ่ ในเขตอ� ำ เภอเมื อ งสงขลา จั ง หวั ด สงขลา
กระเบื้องดินเผาเกาะยอ 3
เกาะยอ ตั้ ง อยู ่ ก ลางทะเลสาบตอนล่ า งซึ่ ง เป็ น ทะเลสาบเพียงแห่งเดียวในประเทศไทยมีสะพานติณสูลานนท์ 2 ช่ ว ง เชื่ อมเกาะยอกั บ อ� ำ เภอเมื องและอ� ำ เภอสิ ง หนคร สภาพพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นภูเขาส่วนใหญ่ไม่สูงนักและมีที่ราบกั้น ระหว่างภูเขากับทะเล ชุ มชนส่ ว นใหญ่ ตั้ ง อยู ่ บ นที่ ร าบเชิ ง เขาริ ม ฝั ่ ง ทะเล รอบ ๆ ภูเขา ทางทิศใต้ ทิศตะวันออกและทิศตะวันตกของ เกาะยอ ซึ่งปัจจุบันตรงกับบริเวณเขาหัวหลัง เขาสวนใหม่ และ เขากุฏิการตั้งถิ่นฐานของชุมชนเริ่มแรกบนเกาะยอน่าจะ ตรงกับบริเวณ หมู่ที่ 6 บ้านนาถิ่น หมู่ที่ 7 บ้านป่าโหนด หมู่ที่ 8 บ้านท้ายเสาะ หมู่ที่ 5 บ้านท่าไทร หมู่ที่ 4 บ้านสวนทุเรียน และหมู่ที่ 2 บ้านนอก กลุ่มชนพวกแรกที่อพยพเข้ า มาตั้ ง ถิ่ น ฐานบนเกาะยออย่ า งน้ อ ยในสมั ย อยุ ธ ยาจนถึ ง รัชกาล ที่ 3 และรัชกาลที่ 5 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ กลุ่มคนจีนอพยพ จากเมืองจีน และชาวจีนที่เข้ามาตั้ง ถิ่นฐานเป็นกลุ่มที่เข้ามา ท� ำ เครื่ อ งปั ้ น ดิ น เผาประเภท อิ ฐ กระเบื้ อ ง หม้ อ ไห โอ่ ง อ่ า ง เพราะบริ เ วณเกาะยอมี ดิ น ดี เ หมาะแก่ ก ารท� ำ เครื่ อ งปั ้ น ดิ น เผา
กระเบื้องดินเผาเกาะยอ 4
งดงาม..
เรือนไทย
เรือนเก่าเกาะยอ เรือนไทยโบราณ ปักษ์ ใต้
กระเบื้องดินเผาเกาะยอ 5
เรื อ นไทยโบราณเกาะยอ
เป็ น ถิ่ น ที่ มี วัฒ นธรรมท้ องถิ่ น ผสมผสาน ระหว่างวัฒนธรรมจีนและวัฒนธรรมไทย มาตั้งแต่สมัยโบราณทั้งประเพณี ความเชื่อ และศิลปหัตถกรรม โดยเฉพาะวัฒนธรรม อั น แสดงให้ เ ห็ น ถึ ง ภู มิ ป ั ญ ญาอั น ลึ ก ซึ้ ง ของชาวเกาะยอเกี่ ย วกั บ การสร้ า งที่ อยู ่ อาศัยเป็นเรือนแบบทรงไทย ทรงจั่วยกพื้น สูง การก่อสร้างเป็นเรือนไม้ ใช้เดือยหรือ ลูกสิ่วไม้แทนตะปู หลังคามุงด้วยกระเบื้อง ดินเผาเกาะยอ
กระเบื้องดินเผาเกาะยอ 6
เรือนเก่าเกาะยอ เรือนไทยโบราณปักษ์ใต้
กระเบื้องดินเผาเกาะยอ 7
เรือนไทย เกาะยอ
มี มากกว่ า 50 หลัง อันแสดง ถึงความเจริญทางสถาปัตยกรรม ความมี ฐ านะทางสั ง คมและการเงิ น ของเจ้าของบ้านสมัยโบราณ เรือนไทยจะ เป็นที่อยู่อาศัยของผู้มีฐานะดี และมีต�ำแหน่ง ทางราชการค่อ นข้างสูง อีกทั้ง เป็นการบ่ ง บอก อายุ ก ารตั้ ง ถิ่ น ฐานของบรรพบุ รุ ษ ของชาวเกาะยอ เป็ น อย่ า งดี เพราะเรื อ นไทยถื อ ก� ำ เนิ ด มาตั้ ง แต่ ส มั ย กรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี
ลักษณะที่บ่งบอก
ความเป็นเรือนไทยของชาวเกาะยอ
1.เสาเรือนไม้ตั้งบนเสาที่ก่ออิฐถือปูน 2.ยกพื้น 3.ตัวอาคารหรือพืน้ บ้านจะเป็นสีเ่ หลีย่ มผืนผ้า 4.ฝาเรือนเป็นฝาปะกนหรือฝาลูกฟัก 5.หน้าต่างนอกจากจะมีบานหนาต่างแล้วยังมีลกู กรง ท�ำด้วยไม้ขนาดหนา1นิว้ เรียงขนานหลายอัน 6.หลังคาเป็นรูปสามเหลี่ยมหน้าจั่ว 7.กระเบื้องจะใช้กระเบื้องดินเผา 8.กันสาดจะมีแขนนางหรือไม้ค�้ำยัน 9.ระเบียงมีสำ� หรับนัง่ เล่น รับแขก
กระเบื้องดินเผาเกาะยอ 8
ตามหลักฐานทางประวัติศาสตร์แสดงให้เห็นว่ากระเบื้องเกาะยอมีความโด่งดัง มีความเจริญแพร่หลายตั้งแต่ครั้งรัชสมัยสมเด็จพระนั่ง เกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 3 จนถึงรัชสมัยล้นเกล้าพระพุธเจ้าหลวงรัชกาลที่ 5 ได้ติดต่อกับเจ้าเมืองสงขลาเพื่อให้กระเบื้องประเภทนี้เป็นหนึ่งในรายการ เรียกเกณฑ์สิ่งของซึ่งปรากฏไว้ในใบบอกเมืองสงขลา และเอกสารอื่นๆ ว่าได้มีการน�ำกระเบื้องดินเผาเมืองสงขลาไปใช้ในกิจการที่ส�ำคัญ ดังนี้
ประวัติความเป็นมาของกระเบื้องดินเผารอบทะเลสาบสงขลา เล่ากันว่าชาวจีนฮกเกีย้ น ที่อพยพเข้ามาในประเทศไทย มาตั้งถิ่นฐานบริเวณต�ำบลเกาะยอ อ�ำเภอเมือง จังหวัดสงขลา เป็นผู้ริเริ่ม ผลิตกระเบื้องดินเผาและได้มีกิจการโรงกระเบื้องดินเผาเกิดขึ้นอย่างแพร่หลายรอบๆทะเลสาบสงขลาซึ่ง ต่อมาคนไทยได้เรียนรู้เกี่ยวกับการท�ำกระเบื้องดินเผาจึงได้ขยายการท�ำกระเบื้องดินเผาออกไปอย่าง กว้างขวางจนเป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลาย มีทั้งการท�ำเตาอ่าง เตาอิฐ และเตากระเบื้องซึ่งเป็นกระเบื้อง ดินเผามุงหลังคาและกระเบื้องดินเผาปูพื้น ซึ่งสมัยที่กิจการกระเบื้องดินเผาเจริญรุ่งเรือง (ประมาณปี พ.ศ. 2495-2518) บุคคลทั่วไปจะใช้กระเบื้องดินเพื่อมุงอาคารบ้านเรือนกันอย่างแพร่หลาย ซึ่งมีการส่งไป ขายถึงประเทศมาเลเซีย และมีโรงกระเบื้องอยู่บริวณดังกล่าวมากกว่า 200 โรงกระเบื้อง
กระเบื้องดินเผาเกาะยอ 9
ประวัติความเป็นมา กระเบื้องเกาะยอ หัตถศิลป์โบราณ ที่มีชื่อเสียงตั้งแต่สมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์
กระเบื้องดินเผารุ่งเรืองมากจนเริ่มมีกระเบื้องลอนที่ราคาถูกกว่าออกมาตีตลาดสามารถ
มุงหลังคาโดยใช้ต้นทุนต�่ำ กิจการเตาเผากระเบื้องจึงเลิกราไปจนหลงเหลือโรงกระเบื้องแบบดั้ ง เดิ ม อยู่เพียงแห่งเดียวที่บ้านท่านางหอม นี่คือมรดกจากภูมิปัญญาพื้นบ้านของบรรพชนคนเกาะยอที่ ปั จ จุ บั น หั ต ถศิ ล ป์ โ บราณเหล่ า นี้ ก� ำ ลั ง จะกลายเป็ น ต� ำ นานให้ ลู ก หลานได้จดจ�ำเท่านั้น
กระเบื้องดินเผาเกาะยอ 10
ความรุ ่ ง เรื อง
ของกระเบือ้ งดินเผาในอดีต
ตามหลักฐานทางประวัติศาสตร์แ สดงให้เห็นว่ากระเบื้ อ งเกาะยอมีความโด่งดัง
มี ค วามเจริญแพร่หลายตั้ง แต่ค รั้ง รัชสมั ย สมเด็ จ พระนั่ ง เกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว รั ช กาลที่ 3 จนถึงรัช สมัย ล้นเกล้าพระพุธเจ้าหลวงรัชกาลที่ 5 ได้ติดต่อกับเจ้าเมืองสงขลาเพื่อให้กระเบื้องประเภท นี้เป็นหนึ่งในรายการเรียกเกณฑ์สิ่งของซึ่งปรากฏไว้ ในใบบอกเมืองสงขลา และเอกสารอื่นๆ ว่า ได้มีก ารน�ำกระเบื้อ งดินเผาเมือ งสงขลาไปใช้ ในกิ จการที่ส�ำ คั ญ ดั ง นี้
กระเบื้องดินเผาเกาะยอ 11
พ.ศ. 2397 ( รัชการที่ 4 ) โปรดเกล้าฯ ให้เกณฑ์
เมืองสงขลาท�ำกระเบื้องหน้าวัวปูพื้น 50,000 แผ่นใช้ปูบริเวณ รอบอุโบสถวัดสุทัศเทพวราราม และวัดเขมาภิรตาราม พ.ศ. 2406 ( รัชการที่ 4 ) มีรายการส่งกระเบื้อง ดินเผาเมืองสงขลา 3 ครั้ง คือ ครั้งแรกเกณฑ์เมืองสงขลาท�ำ กระเบื้องปูพื้น 2,000 แผ่นและขนาดเล็กอีก 2,000 แผ่น ครั้งที่ 2 เกณฑ์เมืองสงขลาท�ำกระเบื้องหน้าวัวปูพื้น 4 ชนิด ๆ ละ 2,000 แผ่น และ 8,000 แผ่น น�ำไปพระราชวังจันทรเกษมที่อยุธยา ครั้ง ที่ 3 เจ้าพระยาสงขลา (บุญสังข์) ส่งกระเบื้องมุงหลังคาตัวผู้ตัว เมียอย่างละ 10,000 แผ่น รวม 20,000 แผ่น
พ.ศ. 2419 ( รัชการที่ 5 ) เมืองสงขลามีใบบอกส่ง กระเบื้องเกณฑ์ 5 ครั้ง จ�ำนวนกระเบื้องทั้งหมด 68,000 แผ่น
พ.ศ. 2453 ( รัชการที่ 5 ) มีการน�ำเอากระเบื้อง
ดินเผาเมืองสงขลาไปใช้มุงหลังคาพระวิหารหลวงในการซ่อมแซม พระบรมธาตุไชยา
ขอขอบคุณรูปภาพจาก : www.trueplookpanya.com
กระเบื้องดินเผาเกาะยอ 12
ทะเลสาบสงขลา
เกาะยอ
บ้ า นสวนทุเรียน
บริเวณวัดโคกเปี้ยว
บ้านป่าโหนด
"บ้านท่านางหอม"
โรงกระเบื้องเเหล่งสุดท้ายในปัจจุบัน
กระเบื้องดินเผาเกาะยอ 13
บ้านท่าไทร
แหล่งผลิตกระเบื้องดินเผา เมืองสงขลาที่ส�ำคัญ
แหล่งผลิตกระเบื้องดินเผาเมืองสงขลาที่ส�ำคัญ ได้แก่ บริเวณชายฝั่งทะเลสาบทิศตะวันตก ของเมือง ตั้งแต่บริเวณท่าอิฐ ท่าสะอ้าน ขึ้นไปจนถึงบ้านท่านางหอม ต�ำบลน�้ำน้อย บ้านบางโหนด หมู่ที่ 1-2 ต�ำบลคูเต่า อ�ำเภอหาดใหญ่ ต�ำบลเกาะยอนั้น ปรากฏซากเตาเผาบริเวณ หมู่ที่ 4 บ้านสวน ทุเรียน หมู่ที่ 5 บ้านท่าไทร หมู่6 บ้านในบ้าน(บริเวณวัดโคกเปี้ยว) และหมู่ที่ 7 บ้านป่าโหนด ซึ่งซาก เตาเผาจะพบตามแนวริมชายน�้ำ จากการส�ำรวจ พบว่ามีเตาเผากระเบื้องทั้งบริเวณดังกล่าวไม่น้อย กว่า 200 เตา มีเตาอยู่ในสภาพที่ซ่อมแซมใช้งานได้ประมาณ 50 เตา นอกจากนั้นช�ำรุดเหลือแต่ซาก เตาและร่องรอยเตา มีประกอบการอยู่ 3 ครอบครัว อยู่ในเขตบ้านท่านางหอม 2 ครอบครัว และบ้าน บางโหนด 1 ครอบครัว แต่ในปัจจุบันมีการผลิตกระเบื้องดินเผาอยู่แห่งเดียวในจังหวัดสงขลา คือที่ "บ้านท่านางหอม"
เทศบาลนครสงขลา
บ้านท่าอิฐ
บ้านท่าสะอ้าน
กระเบื้องดินเผาเกาะยอ 14
โรงกระเบื้ อ งดิ น เผา แบบดั้งเดิมที่เหลือ
อยู่ที่เดียวสุดท้ายในปัจจุบันก่อตั้งโดย นายอิ้น ทิพโอสถ เมื่ อ ประมาณปี พ.ศ. 2480 บริ เ วณริ ม คลองท่ า นาง หอม ต� ำ บลน�้ ำ น้ อ ย อ� ำ เภอหาดใหญ่ จั ง หวั ด สงขลา ห่างจากทะเลสาบสงขลาลงมาทางทิศใต้ ประมาณ 2 กิโลเมตร และปั จ จุบันโรงกระเบื้อ งท่านางหอมได้ รั บ ช่ ว งต่ อ โดยนายอ้ อ ม ทิ พ โอสถ และได้ ย ้ า ยที่ ต้ั ง จาก เดิ ม มาอยู ่ บ ริ เ วณริ ม คลองท่ า นางหอม ต�ำบลน�้ำน้อย อ� ำ เภอหาดใหญ่ จั ง หวั ด สงขลา ห่ า งจากทะเลสาบ สงขลาลงมาทางทิ ศ ใต้ ประมาณ 5 กิ โ ลเมตร เมื่ อ ประมาณปี พ.ศ. 2519 จนถึงปัจจุบัน
กระเบื้องดินเผาเกาะยอ 15
โรงกระเบื้องท่านางหอม มรดกจากภูมิปัญญาพื้นบ้านคนเกาะยอ
กระเบื้องดินเผาเกาะยอ 16
วัตถุดิบและอุปกรณ์ใน
การท�ำกระเบื้อง โรงกระเบื้อง
เตาเผา
ลักษณะเป็นอาคารชั้นเดียว หลังคาคลุม ส่วน ฝาผนั ง โรงกระเบื้ อ งจะปิ ด ด้ ว ยวั ส ดุ ง ่ า ย ๆ เช่ น ทางมะพร้าว เพื่อให้ลมโกรกซึ่งจะท�ำให้กระเบื้องที่จะ รอเข้ า เตาเผาแห้ง สนิทดียิ่ง ขึ้น พื้นอาคารใช้ พื้ น ดิ น (ไม่ ต ้ อ งมี ก ารปู พื้ น ด้ ว ยวั ส ดุ ใ ด ๆ) เพื่ อ สะดวกใน การน�ำดินเหนียวมากองรวมในโรงกระเบื้อง ประตูโรง กระเบื้องจะมีทุกด้าน และเปิดกว้างประมาณ ๒ เมตร ส�ำหรับน�ำรถที่ขนดินเหนียวและขนไม้ฟืนส�ำหรับใช้ ใน เตาเผา เข้า-ออกได้สะดวก
เตาเผาจะก่อสร้างอยู่ต่อเนื่องกับโรงกระเบื้อง ส�ำหรับผลิตแผ่น เพื่อความสะดวกในการขนกระเบื้อง เข้าเตาเผา เตาเผา 1 เตาจะใช้อิฐ (อิฐหยาบ) ในการ ก่อสร้างประมาณ 30,000 แผ่น ซึ่งเป็นอิฐที่ผลิตเอง จากโรงกระเบื้อง และจะใช้ โคลนตมจากท้องทะเลสาบ สงขลาเป็นตัวยึดติดกันระหว่างอิฐแต่ละก้อน ลักษณะ เตาเผาจะเป็นรูปคล้ายเจดีหรือระฆังคว�่ำ ส่วนยอดท�ำ ให้แหลมโดยการวางอ่าง หม้อ ขวด ไว้บนสุดเพื่อรองรับ น�้ำฝนไม่ให้ซึมเข้าเตาเผา เตาเผา 1 เตา จุกระเบื้องได้ ประมาณ 50,000 แผ่น การก่อสร้างเตาเผา 1 ครั้งจะ มีอายุการใช้งานประมาณ 15 ปี
ขี้เถ้าแกลบ ขี้เถ้าแกลบใช้ส�ำหรับโรยในแผ่นแม่พิมพ์ เพื่อ ไม่ให้ดินเหนียวติดแผ่นแม่พิมพ์ และสมารถแกะออก จากแผ่นแม่พิมพ์ ได้สะดวก ขี้เถ้าแกลบได้มาจากการน�ำ แกลบที่ ได้จากการสีข้าวสาร น�ำมาเผาไฟจนได้เป็นขี้เถ้า
กระเบื้องดินเผาเกาะยอ 17
ดิน ดินเหนียวที่น�ำมาท�ำแผนกระเบื้อง จะเป็นดิน เหนียวน�้ำเค็ม คุณสมบัติจะมีความเหนียวไม่มีกรวดและ ทรายเจือปน
1.
2.
แม่พิมพ์ 1.เบ้าพิมพ์ส�ำหรับกระเบื้องปลายแหลม 2.เบ้าพิมพ์ส�ำหรับกระเปลื้องปลายมน
3.
4.
3.เบ้าพิมพ์ส�ำหรับท�ำอิฐหน้าวัว 4.เบ้าพิมพ์ส�ำหรับท�ำอิฐหยาบ 5.เบ้าพิมพ์ส�ำหรับท�ำอิฐบ่อ
5.
6.
6.เบ้าพิมพ์ส�ำหรับท�ำครีบพญานาค (ภาษาถิ่นเรียก “แส็ตนาค”)
1.
2.
3.
4.
อุปกรณ์อื่นๆ 1.ไม้ส�ำหรับงอหัวกระเบื้อง 2.ม้ากระดานส�ำหรับรองแผ่นกระเบื้อง 3.ม้าส�ำหรับรองรับแผ่นกระเบื้องขณะตี 4.ไม้ส�ำหรับตีแผ่นกระเบื้องให้เรียบ 5.สายคันธนูส�ำหรับใช้ ในการตัดดิน
5.
กระเบื้องดินเผาเกาะยอ 18
ขั้นตอนการเตรียมดิน
ในการท�ำกระเบื้องดินเผาเกาะยอ
กระเบื้องดินเผาเกาะยอ 19
ดิ น ที่ น� ำ ม า ท� ำ แ ผ ่ น ก ร ะ เ บื้ อ ง จ ะ เ ป ็ น ดิ น เ ห นี ย ว
ขั้นเตรียมดิน
น�้ ำ เค็ ม คุ ณ สมบั ติ จะมี ความเหนี ย วไม่ มี ก รวดและทรายเจื อ ปน มีคุณสมบั ติ พิ เ ศษคื อ สามารถควบคุม ความแข็ ง ตัวหรื ออ่ อ นตั ว ของดิ น เหนี ย วได้ ด้ ว ยการใช้ น�้ำ และใช้ แผ่ น พลาสติ ก คลุ ม ไว้ ซึ่ ง สามารถก� ำ หนดความยื ด หยุ ่ น ตามความต้ องการได้ เพื่ อ ความ สะดวกในการท�ำ แผ่ นกระเบื้อง อิฐ หรื อ ปั ้ น เป็นรูปต่าง ๆ ตาม ที่ต้องการได้ จะใช้ ดิ น เหนี ย วที่ มี ใ นพื้ น ที่ โ ดยขุ ด หน้าดินทิ้งประมาณ 15 เซนติเมตร ก็จะถึงดินเหนียวที่สามารถ น�ำมาใช้ท�ำแผ่นกระเบื้ อ งได้ ซึ่ ง มี ความลึ ก ของดิ น ประมาณ 15 เมตร น� ำ ดิ น เหนี ย วขึ้ น มาจากหลุ ม ที่ ขุ ด และมากองรวมไว้ ใน โรงกระเบื้อง ก่อนท�ำแผ่นกระเบื้องก็จะตัดดินเหนียวเป็นแผ่ นๆ และน� ำ มากองรวมไว้ ที่ ต รงกลางของกองดิ น และท� ำ การนวด ด้วยเท้าเพื่อให้ดินเหนียวเข้ากันไม่จับกันเป็นก้อนตัดมากองรวม ที ล ะชั้ น ก็ น วดไปเรื่ อย ๆ จนได้ ดิ น เป็ น กองย่ อ ม ๆ เป็ นรู ป ทรง กลมส� ำ หรั บ ใช้ ท� ำ แผ่ น กระเบื้ อ ง ก่ อ นจะท� ำ แผ่ น กระเบื้ อ งก็ ตั ด ดินและม้วนเป็นก้อน ๆ ส�ำหรับเตรียมไปทาบบนแม่พิมพ์ กระเบื้องดินเผาเกาะยอ 20
ขั้นตอน..
การท�ำกระเบื้องดินเผาเกาะยอ
กระเบื้องดินเผาเกาะยอ 21
การท�ำแผ่นกระเบื้อง วิ ธี ก ารท� ำ น� ำ แม่ พิ ม พ์ ที่ เ ตรี ย มไว้ โ ดยโรยพื้ น ด้ ว ย ขี้เถ้าแกลบเพื่อไม่ให้ดินเหนียวติดแม่พิมพ์ และใช้ดินเหนียว ที่ ม ้ ว นเป็ น ก้ อ น ๆ อั ด ลงในแม่ พิ ม พ์ โดยใช้ เ ท้ า นวดให้ ดินเหนียวอัดในแม่พิมพ์ วิธีการนวด ก็นวด ๓ ด้าน คือ ด้าน หน้า ด้านซ้ายและด้านขวา เพื่อให้ดนิ เหนียวอัดในแม่พมิ พ์ ให้แน่น หลังจากนั้นก็จะใช้สายคันธนูตัดดินเหนียวส่วนบน ออก วิธีการตัดคือวางสายคันธนูให้ชิดกับขอบแม่พิมพ์และ ลากขึ้นจากหัวแม่พิมพ์ขึ้นมาทางด้านบนเข้าหาล�ำตัวผู้ท�ำ ตวั ด ดิ น เหนี ย วส่ ว นบนออกและใช้ ฝ ่ า มื อ ทาบลงบนแผ่ น กระเบื้องเพื่อน�ำออกจากแม่พิมพ์ เมื่อน�ำแผ่นกระเบื้องออก จากแม่พิมพ์แล้วก็จะจัดวางซ้อน ๆ กันบนไม้กระดานซึ่งจะ วางแผ่นกระเบื้องซ้อน ๆ กันประมาณ 40 แผ่น เพื่อรอน�ำ แผ่นกระเบื้องไปตากในเช้าวันรุ่งขึ้น
การตาก เก็บ และตีแผ่นกระเบื้อง น�ำแผ่นกระเบื้องที่ท�ำไว้มาตากในลานตาก ขณะตาก ให้งอหัวกระเบื้องโดยใช้ไม้ไผ่ส�ำหรับงอหัวกระเบื้องวางทาบ ลงที่หัวกระเบื้องและพับงอขึ้นเข้าหาตัวคนตาก การตาก แผ่นกระเบื้องใช้เวลาประมาณ 3 - 4 ชั่วโมง หลังจากแผ่น กระเบื้องแห้งแล้วก็จะเก็บเข้าไปไว้ ในโรงกระเบื้อง และหลัง จากนั้ น จะตี ก ระเบื้ องให้ เ รี ย บ วิ ธี ก ารตี ให้ ห ยิ บ กระเบื้ อ ง ครั้งละ 5 แผ่น และวางทาบบนม้าส�ำหรับตีกระเบื้องและ ใช้ ไม้ตีกระเบื้องตีด้านหลังและขอบของกระเบื้อง หลังจาก ตีเสร็จก็จะจัดเรียงไว้ ในราวกระเบือ้ งเพือ่ รอเข้าเตาเผาโดยรอ ให้กระเบื้องครบจ�ำนวน 50,000 แผ่นตามความจุของเตาเผา
การเผากระเบื้อง เมื่ อ ผลิ ต แผ่ น กระเบื้ อ งได้ จ� ำ นวนที่ ต ้ อ งการซึ่ ง กระเบื้องมุงหลังคามีความจุในเตาเผาประมาณ 50,000 แผ่น ก็จะน�ำกระเบื้องเข้าไปจัดเรียงในเตาเผา และใช้เวลาในการ เผาประมาณ 22 - 23 วัน ไม้ฟืนที่ใช้ส�ำหรับเตาเผาส่วนใหญ่ จะเป็นไม้ยางพารา หรือไม้อื่น ๆ ก็ ได้
กระเบื้องดินเผาเกาะยอ 22
ประเภทของ
กระเบื้องดินเผาโบราณเกาะยอ กระเบื้องดินเผา ส�ำหรับมุงหลังคา ซึ่งได้ผลิต 4 แบบ คือ กระเบื้ อ งมุ ง หลั ง คาแบบปลายแหลม ใช้ ส� ำ หรั บ มุ ง หลั ง คาอาคาร บ้ า นเรื อ นร้ า นอาหาร โรงแรมรี ส อร์ ท ศาลาศาสนสถานต่ า ง ๆ จะมี ลั ก ษณะ ปลายแหลม
กระเบื้องมุงหลังคาแบบปลายมน ใช้ส�ำหรับมุงหลังคาอาคารบ้าน เรือนร้านอาหาร โรงแรมรีสอร์ท ศาลาศาสนสถานต่าง ๆ จะมีลักษณะปลายมน
กระเบื้องชายคา กระเบื้องชายคาจะมีลักษณะ ปลายตัดเป็นเส้นตรงส�ำหรับ การมุงชายคาอาคารบ้านเรือน เพื่อให้ชายคาดูเรียบเสมอกัน หรือผู้น�ำไปใช้บางคนจะใช้ กระเบื้องมุงหลังคาปลายแหลม หรือปลายมนเป็นกระเบื้องชายคาแทนก็ ได้
กระเบือ้ งส�ำหรับครอบมุมหลังคา (หรือภาษาถิน่ เรียกว่ากระเบือ้ งหลบ) การมุง หลังคาอาคารบ้านเรือน หรือศาลาต่าง ๆ จะมีสว่ นทีเ่ ป็นมุมหลังคา หรือผู้ ใช้ผลิตภัณฑ์บางราย ก็จะใช้ปนู โบกทับตรงส่วนมุมแทนกระเบือ้ งหลบก็ ได้ แต่ถา้ ต้องการรายละเอียดในการก่อสร้าง บ้านเรือนไทย หรือการมุงกระเบือ้ งดินเผา ให้ครบชุดก็จะมีการสัง่ กระเบือ้ งปิดครอบบริเวณ มุมหลังคา ลักษณะคล้ายกระเบือ้ งชายคา แต่จะพับบริเวณหัวส�ำหรับครอบกว้างกว่ากระเบือ้ ง ชายคาที่ใช้ส�ำหรับเกี่ยวไม้ระแนง กระเบื้องดินเผาเกาะยอ 23
อิฐ หรือกระเบื้องปูพื้น มี 3 แบบ คือ
อิฐสี่เหลี่ยมด้านเท่า หรือ (เรียกกันทั่วไป
ว่าอิฐหน้าวัว) อิฐหน้าวัวใช้ส�ำหรับการปูพื้น จัดสวน ปู ทางเดิน ฯลฯ
อิฐสี่เหลี่ยมผืนผ้า
อิฐบ่อ
หรือ (เรียกกันทั่วไปว่าอิฐหยาบ) อิฐหยาบวัตถุประสงค์ที่ผลิตเพื่อใช้ ในโรงกระเบื้อง ส�ำหรับใช้ ใน การก่อสร้างเตาเผา และเพื่อเป็นพื้นรองรับการจัดกระเบื้องเรียง ในเตาเผา และใช้ ในการอัดแถวกระเบื้องในเตาผา แต่ปัจจุบันมีผู้ นิยมสั่งซื้อไปใช้ ในการปูพื้น จัดสวน และทางเดิน ฯลฯ
อิฐบ่อผู้คนสมัยก่อนนิยมน�ำไปก่อสร้างบ่อน�้ำ ครั้งที่บ่อปูนซีเมนต์ ยังไม่มีการใช้กันแพร่หลาย ก็จะนิยมอิฐบ่อ ที่ท�ำจากดินเผาใช้ ในการก่อสร้างบ่อ แต่ปัจจุบันผู้คนทั่วไปจะ เลิกใช้ ไปแล้ว แต่โรงกระเบื้องยังคงผลิตบ้างเพื่อใช้ ในการอัด แถวกระเบื้องในเตาผา
กระเบื้องดินเผาเกาะยอ 24
วัดท้ายยอ วัดเก่าแก่โบราณของต�ำบลเกาะยอ
วั ด ท้ า ยยอ เป็ น วั ด ที่ ก ่ อ สร้ า งด้ ว ย
สถาปัตยกรรมอันล�้ำค่า ควรค่าแก่การอนุรักษ์และหวงแหน โดยเฉพาะ "กุฏิแบบเรือนไทยปั้นหยา" อายุกว่า 200 ปี หลังคาใช้กระเบื้องดินเผาเกาะยอ และกระเบื้องลอนแบบ เก่ามีจุดเด่นที่เป็นเอกลักษณ์ คือ เสาเรือนกุฏิจะไม่ฝังลง ในดิน แต่ จ ะตั้ ง อยู ่ บนตีนเสา ซึ่ง เป็นที่รองรับเสาอั น เป็ น ลักษณะเฉพาะของเรือนเก่าชาวไทยในภาคใต้เท่านั้น
กระเบื้องดินเผาเกาะยอ 25
อ�ำเภอเมือง จังหวัดสงขลา นอกจากนั้นวัดท้ายยอ ยังมีโบราณสถานและโบราณวัตถุ ควรค่าแก่การศึกษาและเรียนรู้อาทิ เช่น บ่อน�้ำโบราณ สระน�้ำโบราณ โรงเรือพระ สถูป หอระฆังที่สวยงามและ มีร่องรอยของท่าเรือโบราณ ซึ่งเคยเป็น ศูนย์กลางการ คมนาคม ของชาวเกาะยอ ด้านหลังของวัดท้ายยอเป็นที่ ตั้งของ เขาเพหารหรือเขาวิหาร ซึ่งประดิษฐานเจดีย์ทรง ลังกาที่งดงามควรค่าแก่การช่วยกันอนุรักษ์ ไว้สืบไป
" กุฏิแบบเรือนไทยปั้นหยา "
อายุกว่า 200 ปี สร้างในช่วงรัชกาลที่ 3 แห่ง กรุงรัตนโกสินทร์ สังเกตได้จากการใช้วัสดุ "กระเบื้อง เกาะยอ" ที่นิยมแพร่หลายในสมัยนั้น
กระเบื้องดินเผาเกาะยอ 28
สถาบันทักษิณคดีศึกษา ตั้ ง อยู ่ ห มู ่ ที่ 1 บ้ า นอ่ า วทรายต� ำ บลเกาะยอบริ เ วณใกล้ เ ชิ ง สะพานติ ณ สู ล านนท์ ช ่ ว งที่ 2 สถาบั น ตั้ ง ขึ้ น เมื่ อ พ.ศ. 2521 เพื่ อ ศึ ก ษาเกี่ ย วกั บ ศิ ล ปวั ฒ นธรรมของภาคใต้ มี พื้ น ที่ ทั้ ง หมด 23 ไร่ ลั ก ษณะของ อาคารเป็ น สถาปั ต ยกรรมแบบภาคใต้ แ บ่ ง ออกเป็ น 4 อาคาร คื อ อาคารกลุ ่ ม บ้ า นหลั ง คาจั่ ว อาคาร กลุ ่ ม บ้ า นหลั ง คาปั ้ น หยา อาคารกลุ ่ ม บ้ า นหลั ง คาบลานอ และอาคารนวมภู มิ น ทร์ แต่ ล ะอาคารจะมี เอกลั ก ษณ์ เ ป็ น เรื อ นไทย ใช้ ก ระเบื้ อ งดิ น เผาเกาะยอในการมุ ง หลั ง คาและตั ว พื้ น อาคารใช้ ก ระเบื้ อ งปู พื้ น ดิ น เผาเกาะยอ ซึ่ ง ถื อ เป็ น เอกลั ก ษณ์ อั น โดดเด่ น ของสถาบั น ทั ก ษิ ณ คดี
กระเบื้องดินเผาเกาะยอ 29
โดยอาคารจะแบ่ง ออกเป็ น ห้ อ งๆแสดงเกี่ ย วกั บ ประวัติศาสตร์ และชาติพันธุ์โบราณวัตถุที่เกิดจากภูมิปัญญา ของคนในท้องถิน่ เครือ่ งประดับ ศาตราวุธที่ ใช้กันในภาคใต้ เช่น กริ ช มี ด ชายธง มีด หางไก่ แสดงผ้าทอพื้นเมื อง เช่น ผ้ า ทอพุ ม เรี ย ง ผ้ า ทอปั ต ตานี ห้ อ งแสดงกระต่ า ยขู ด มะพร้าวรูปทรงต่างๆ ที่มีรูปแบบหาชมได้ยาก ห้องแสดง การละเล่นพื้นเมืองเช่น หนังตะลุงโนราลิเกป่า ห้องแสดง วิถชี วี ติ ชาวใต้ เช่น การแสดงการละเล่นและของเล่นเด็กเช่น การ เล่นซัดราว การเล่นว่าวลูกข่าง ห้องแสดงประเพณีการบวช ห้อง แสดงการรักษาพยาบาลแบบโบราณ เป็นต้น
สถาบั น ทั ก ษิิ ณ คดี ศึ ก ษามี ห ้ อ งพั ก ไว้ บ ริ ก าร นั ก ท่ อ งเที่ ย วห้ อ งสั ม มนาและร้ า นขายสิ น ค้ า พื้ น เมื อ ง เช่ น หั ตถกรรมกระจู ด หั ตถกรรมปาหนั น หั ตถกรรมย่าน ลิเพา ผ้าทอเกาะยอ ผลิตภัณฑ์จากเปลือกหอย ผลิตภัณฑ์ จากกะลามะพร้ า ว ผลิ ตภั ณฑ์ เ ครื่ องเงิ น เป็ น ต้ น สถาบั น ทั ก ษิ ณ คดี ศึ ก ษาได้ รั บ รางวั ล อุ ต สาหกรรมท่ อ งเที่ ย วจาก การท่ อ งเที่ ย วแห่ ง ประเทศไทยประเภทแหล่ ง ท่ อ งเที่ ย ว ดี เ ด่ น ทางวั ฒ นธรรมและโบราณสถานปี พ.ศ. 2543 จากจุ ด ชมวิ ว ของสถาบั น สามารถมองเห็ น ทั ศ นี ย ภาพ ที่ ส วยงามของทะเลสาบสงขลา
กระเบื้องดินเผาเกาะยอ 30
กระเบื้องดินเผาเกาะยอ 31
กระเบื้องดินเผาเกาะยอ
มรดกทางภู มิ ป ั ญ ญาของคนโบราณที่ ก� ำ ลั ง จะ เลื อ นหายไปจากลุ ่ ม น�้ ำ ทะเลสาบสงขลาในไม่ ช ้ า นี้ เรา ในฐานะคนรุ ่ น หลั ง จึ ง จ� ำ เป็ น อย่ า งยิ่ ง ที่ ค วรจะอนุ รั ก ษ์ มรดกล�้ ำ ค่ า นี้ เ อาไว้ ให้ ค นรุ ่ น หลั ง ได้ เ รี ย นรู ้ ต ่ อ ไป
กระเบื้องดินเผาเกาะยอ 32
แหล่งอ้างอิง พยูร โมสิกรัตน์ . (2538) .เรือนเก่าบนเกาะยอ : มหาวิทยาลัยทักษิณ อ้อม ทิพโอสถ . การจั ด การเรี ย นรู ้ ข องครู ภู มิ ป ั ญ ญาไทย ด้ า นอุ ต สาหกรรมและ หัตถกรรม (การผลิตกระเบื้องดินเผาแบบโบราณ) : สมาคมครูภูมิปํญญาไทย องการบริหารส่วนต�ำบลเกาะยอ .สืบค้นเมื่อวันที่ 19 พ.ศ.2558 จาก http://www.kohyor.go.th/content/history วารุณี ทิพโอสถ (ผู้ ให้ข้อมูล) . โรงกระเบื้องท่านางหอม ต�ำบลน�้ำน้อย อ�ำภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา . เมื่อวันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2558
กระเบื้องดินเผาเกาะยอ 33
กระเบื้องดินเผาเกาะยอ 34
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์เรื่อง กระเบื้องดินเผาเกาะยอ มรดกทางหัตถกรรมที่เลือนหาย จัดท�ำโดย : นางสาวรอสณา เจ๊ะเล็ม อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ศุภชัย โชติกิจภิวาทย์ สาขาวิชา เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ
THAKSIN UNIVERSITY