Rotary Thailand Magazine_Sep-Oct 2013

Page 1

rotary Thailand

นิตยสารรายสองเดือน ปีที่ 30 ฉบับที่ 148 กันยายน - ตุลาคม 2556 September - October 2013

โ ร ต า รี ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย w w w . r o t a r y t h a i l a n d . o r g

NOSTALGIA


โรตารี คืออะไร ?

วัตถุประสงค์ของโรตารี

โรตารี คือ องค์กรของนักธุรกิจและวิชาชีพจาก ทั่วโลก ซึ่งบ�ำเพ็ญประโยชน์เพื่อเพื่อนมนุษย์ ส่งเสริม มาตรฐานจรรยาบรรณในทุกวิชาชีพพร้อมทั้งช่วยสร้าง ไมตรีจิต และสันติสุขในโลก

The Object of Rotary The Object of Rotary is to encourage and foster the ideal of service as a basis of worthy enterprise and, in particular, to encourage and foster :

“Rotary is an organization of business and professional persons united worldwide who provide humanitarian service, encourage high ethical standards in all vocations, and help build good will and peace in the world”

FIRST. The development of acquintance as an opportunity for service; SECOND. High ethical standards in business and professions, the recognition of the worthiness of all useful occupations, and the dignifying of each Rotarian’s occupation as an opportunity to serve society; THIRD. The application of the ideal of service in each Rotarian’s personal, business, and community life;

บททดสอบสี่แนวทาง The Four-Way Test Of the things we think, say or do

FOURTH. The advancement of international understanding, goodwill, and peace through a world fellowship of business, and professional persons united in the ideal of service. วัตถุประสงค์ของโรตารี โรตารีมวี ตั ถุประสงค์ เพือ่ สนับสนุนและส่งเสริมอุดมการณ์ แห่งการบ�ำเพ็ญประโยชน์ ในการด�ำเนินกิจกรรมที่มีคุณค่าเป็นหลัก โดยเฉพาะอย่างยิ่งเพื่อสนับสนุนและส่งเสริม

หนึ่ง การเสริมสร้างความคุ้นเคยระหว่างสมาชิก เพื่อการบ�ำเพ็ญ

1) Is it the TRUTH?

ประโยชน์

สอง การยกระดับจรรยาบรรณในธุรกิจและวิชาชีพ การยอมรับ

2) Is it FAIR to all concerned? 3) Will it build GOODWILL and BETTER FRIENDSHIPS?

คุณค่าในการประกอบอาชีพทีย่ งั คุณประโยชน์ และการให้โรแทเรียน ทุกคนภูมิใจในอาชีพของตน เพื่อการบ�ำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคม

4) Will it be BENEFICIAL to all concerned?

สาม การให้โรแทเรียนทุกคน น�ำเอาอุดมการณ์แห่งการบ�ำเพ็ญ

“ไม่ว่าสิ่งใดที่เราคิด พูดหรือปฏิบัตินั้น 1. เป็นจริงหรือไม่? 2. เป็นธรรมแก่ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องหรือไม่? 3. จะสร้างเสริม ไมตรีจติ และมิตรภาพหรือไม่? 4. เป็นประโยชน์ไหมแก่ทกุ ฝ่าย?”

สี่ การเพิม่ พูนความเข้าใจ ไมตรีจติ และสันติสขุ ระหว่างชาติ ด้วยมิตร

At a Glance ROTARY Members: 1,220,115* Clubs: 34,558*

ประโยชน์ไปใช้ในชีวิตส่วนตัว ธุรกิจและชุมชน

สัมพันธ์ของบุคคลในธุรกิจและวิชาชีพทั่วโลก ที่มีอุดมการณ์ในการ บ�ำเพ็ญประโยชน์อย่างเดียวกัน

*สถิติ ถึง 28 มิถุนายน 2013 (*ถึง 31 พฤษภาคม 2013)

ROTARACT Members: 133,860 Clubs: 5,820

INTERACT Members: 365,125 Clubs: 15,875

RCCs Members: 174,547 Clubs: 7,589


สารประธานโรตารีสากล

รอน ดี. เบอร์ตัน กันยายน 2556

พอล แฮริส เขียนข้อความทีม่ ชี อื่ เสียงว่า “โลกเรานีก้ ำ� ลังเปลีย่ นแปลง ดังนัน้ เราจะต้องพร้อมทีจ่ ะ เปลีย่ นไปกับมัน โรตารีเองก็มเี รือ่ งราวทีต่ อ้ งน�ำมาเขียนแล้วเขียนอีก” เราคงไม่ทราบว่าท่านโรแทเรียนพอล แฮริส จะมีความคิดมาถึงยุคอินเตอร์เน็ตด้วยหรือไม่ แต่โดยส่วนตัวผมคิดว่า ท่านคงจะกล่าวถึงแนวคิดของ เว็บไซต์โรตารีด้วย ซึ่งเราไม่ควรมีเว็บไซต์อย่างเดียวเท่านั้น แต่ต้องมีเว็บไซต์ดีที่สุดเท่าที่พึงมีได้ เพื่อให้ทัน ต่อความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยี และใช้สนองตอบความต้องการของบรรดาโรแทเรียนด้วย ผมมีความยินดีที่จะประกาศว่า เราได้มีการเปลี่ยนแปลงเว็บไซต์รูปแบบใหม่ที่ใช้เวลาถึงสองปี ตัง้ แต่รเิ ริม่ จนส�ำเร็จบริบรู ณ์ เว็บไซต์ใหม่ของโรตารีสากล www.rotary.org ได้เปิดใช้แล้วส�ำหรับโรแทเรียน และผู้ใช้อินเตอร์เน็ตทุกแห่งด้วย เว็บไซต์นี้จะมีเรื่องราวต่างๆ ที่ท่านขอมา ที่น่าสนใจที่สุดก็คือระบบการ ค้นหาและน�ำทางทีป่ รับปรุงขึน้ ใหม่ มีวธิ ใี หม่ทใี่ ช้ตดิ ต่อกับมิตรโรแทเรียนทัว่ โลก และใช้ประสบการณ์สว่ นตัว เพิ่มเติมอีกเล็กน้อย ท่านก็จะสามารถเข้าไปเชื่อมต่อข้อมูลที่น่าสนใจส�ำหรับท่านได้ เว็บไซต์ใหม่ของโรตารีนนั้ จะมีแหล่งข้อมูลหลักสองแห่ง (two sites) แห่งทีห่ นึง่ ใช้สำ� หรับแวดวง โรตารี และอีกแห่งหนึง่ ส�ำหรับบุคคลผูส้ นใจต้องการทราบเรือ่ งราวโรตารีมากขึน้ เมือ่ ท่านสร้างบัญชีสว่ นตัว และสมัครเข้าเป็นสมาชิก (log on) ท่านจะสามารถเข้าถึงแหล่งเครื่องมือใหม่โรตารี เครื่องมือใหม่ชิ้น แรกที่ผมคาดหวังส�ำหรับท่านทั้งหลายได้ใช้งาน ก็คือ Rotary Club Central ซึ่งเป็นช่องทางที่สะดวกมี ประสิทธิภาพส�ำหรับสโมสรในการก�ำหนดเป้าหมาย ติดตามความคืบหน้า และรักษาความต่อเนื่องของ การบริหารสโมสรแบบปีตอ่ ปี ท่านยังสามารถสร้างกลุม่ หรือรวมเข้ากลุม่ (มิตรภาพ) โรตารี ร่วมวงอภิปราย แบบโต้ตอบกันในทันที (Interactive) เปิดโอกาสให้ทา่ นค้นหาและพูดจากันกับโรแทเรียนผูท้ มี่ สี งิ่ สนใจเช่น เดียวกัน ท่านสามารถแลกเปลี่ยนประสบการณ์และแนวคิดของท่าน ได้รับประโยชน์จากประสบการณ์ ของผู้อื่นจากทั่วโลกไม่ว่าจะเป็นเวลากลางวันหรือกลางคืน นี่คือเครื่องมือที่มีพลังยิ่งใหญ่เพื่อใช้ปรับปรุง บริการบ�ำเพ็ญประโยชน์ของเรา โดยให้โอกาสเราได้เรียนรูว้ ธิ ที ำ� โครงการทีม่ รี ปู แบบเช่นทีเ่ ราวางแผนจะท�ำ จากผู้ที่มีส่วนร่วมงานโดยตรง ส�ำหรับผู้ที่มิใช่โรแทเรียน แหล่งข้อมูล (site) ใหม่นี้จะแสดงให้ทราบว่าโรตารีคืออะไรและเรา ท�ำอะไรกัน จะมุ่งเน้นจุดเด่นในเอกลักษณ์ของโรตารี และวิธีการที่สโมสรโรตารีใช้สร้างชุมชนของเขาให้ เข้มแข็ง ท่านจะสามารถชมภาพถ่ายโครงการต่างๆ ของโรตารีและหัวข้อหลัก 6 ข้อที่มุ่งเน้นการบ�ำเพ็ญ ประโยชน์ ท่านสามารถค้นหาวิธีการท�ำงานของโรตารี และส�ำรวจหาวิธีการมีส่วนร่วมด้วยกัน ผมรู้สึกตื่นเต้นกับหน้าต่างบานใหม่นี้ของโลกโรตารี ผมขอเชิญชวนท่านทั้งหลายโปรดเข้าไป เยี่ยมเรา ส�ำรวจและเรียนรู้กัน เพื่อเราจะได้เขียนเรื่องราวของโรตารี และเขียนด้วยกันอีกต่อๆ ไป

รอน ดี. เบอร์ตัน ประธานโรตารีสากล ปี 2556-2557


สารประธานโรตารีสากล

รอน ดี. เบอร์ตัน ตุลาคม 2556

ในโรตารี เดือนตุลาคมคือเดือนที่เราก�ำหนดขึ้นเพื่อเตือนใจเราให้นึกถึงบริการที่สองของการ บ�ำเพ็ญประโยชน์ของเรา คือบริการด้านอาชีพ ผมไม่คอ่ ยเห็นด้วยกับโรแทเรียนบางท่านทีเ่ รียกว่าเป็น บริการที่ “ถูกลืม” ซึ่งความจริงแล้วเรามักใช้บริการด้านอาชีพนี้ในการบ�ำเพ็ญประโยชน์บ่อยครั้งมาก เพียงแต่วา่ เรามิได้ยกย่องให้ความส�ำคัญว่าเป็นบริการด้านอาชีพเท่านัน้ เอง บริการด้านอาชีพนีห้ ยัง่ รากลึกในบริการทีส่ องของโรตารี บริการนีเ้ ชิญชวนโรแทเรียนทุกคนให้ ยึดถือมาตรฐานจริยธรรมทีส่ งู ส่งในวงการธุรกิจและอาชีพการงานของเรา ให้การยกย่องนับถืออาชีพทีเ่ ป็น ประโยชน์ทงั้ หลายและถือว่าเป็นเกียรติในการท�ำงานเพือ่ รับใช้สงั คมด้วย สรุปสัน้ ๆ แนวคิดในบริการด้านอาชีพ คือหน้าทีก่ ารงานของเราซึง่ ในตัวมันเองก็คอื วิธรี บั ใช้ สังคมรูปแบบหนึง่ ไม่วา่ จะให้เป็นการให้บริการลูกค้าของเรา สอนหนังสือเด็กนักเรียน หรือดูแลรักษาคน ป่วย หรือแม้วา่ จะเกีย่ วข้องกับธุรกิจการค้าขาย การท�ำวิจยั ค้นคว้า การท�ำสือ่ ต่างๆ หรืองานอืน่ ใดก็ตาม เราต้องภูมิใจในการท�ำงานของเราต้องท�ำให้สุดความสามารถและซื่อสัตย์สุจริต งานอาชีพทุกอย่างนั้น สามารถสนองความต้องการของมนุษย์ และในการท�ำงานของเราอย่างดีนนั้ เราก�ำลังแบ่งปันให้แก่ชมุ ชน และสังคมของเราด้วย บทบาทของบริการด้านอาชีพในสโมสรมีความส�ำคัญมาก แม้จะไม่โดดเด่นเสมอทุกครัง้ ไป แต่การ ทีส่ มาชิกแต่ละคนหากสามารถด�ำรงไว้ซงึ่ มาตรฐานจริยธรรมอันสูงส่ง พวกเราก็จะได้รบั ความเชือ่ ถือร่วม กันทัง้ หมด การให้คณ ุ ค่าแก่อาชีพต่างๆ เท่าเทียมกันและการรักษาระบบประเภทอาชีพในสโมสรของเรา ก็จะมัน่ ใจได้วา่ สโมสรของเรานัน้ สามารถสะท้อนกลุม่ อาชีพในชุมชนของเราและสามารถให้บริการชุมชน ได้อย่างดี สโมสรโรตารีทมี่ แี ต่ทนายความคงไม่สามารถให้บริการได้ดเี ท่ากับสโมสรโรตารีทมี่ คี รูอาจารย์ วิศวกร เจ้าของธุรกิจและทันตแพทย์ ซึ่งในโรตารีถือว่าความแตกต่างด้านอาชีพคือพลังของเรา ความ แตกต่างนัน้ มีประโยชน์มใิ ช่เพียงส�ำหรับการให้บริการเท่านัน้ แต่ยงั เป็นประโยชน์สำ� หรับสมาชิกเอง นีค่ อื สิง่ ทีม่ คี ณ ุ ค่ามากๆ ในการสร้างเครือข่ายความสัมพันธ์และสร้างโอกาสช่วยเหลือธุรกิจของเราด้วย มุมมองของอาชีพสมาชิกนั้นมีมาตั้งแต่โรตารีสมัยก่อน ท่านพอล แฮริสเองได้เคยเขียนเรื่อง ประโยชน์ในธุรกิจของสมาชิกโรตารีไว้บอ่ ยครัง้ และผมก็เชือ่ ตามทีท่ า่ น พอล แฮริส ทีเ่ ชือ่ ว่าโรแทเรียน ควรเป็นบุคคลทีม่ คี ณ ุ ค่าในระดับหนึง่ เป็นคนดี น่าคบหาท�ำธุรกิจร่วมกันได้ ทุกวันนีโ้ ลกเรามีเครือข่าย ติดต่อกันมากยิง่ ขึน้ กว่าแต่กอ่ น การเป็นสมาชิกโรตารีจงึ ถือเป็นเกียรติทเี่ ราควรภาคภูมใิ จทีจ่ ะแบ่งปันให้ กันต่อไป

รอน ดี. เบอร์ตัน ประธานโรตารีสากล ปี 2556-2557

02

Rotary Thailand


สารประธานทรัสตีฯ

ดอง เคิร์น ลี กันยายน 2556

ลงทุนเพื่ออนาคตโลก ทุกๆ ปีมเี ด็กในโลก 6.9 ล้านคนเสียชีวติ ก่อนถึงวันเกิดครบ 5 ปี และเกือบสองในสามของจ�ำนวนนัน้ (ประมาณ 4.4 ล้านคน) ต้องเสียชีวติ ไปด้วยโรคติดต่อซึง่ เราสามารถป้องกันได้เกือบทัง้ หมดในปัจจุบนั หากว่าโรแทเรียน 1.2 ล้านคน มุง่ สานต่อการบ�ำเพ็ญประโยชน์ ส�ำหรับเด็กๆ ในเรือ่ งน�ำ ้ - สุขาภิบาล – สุขภาพ – โภชนาการและการรูห้ นังสือ จะเกิดอะไรขึน้ หากโรแทเรียนมุง่ เน้นจัดการเรือ่ งมุง้ กันยุง เด็กทีจ่ ะป่วยด้วยโรคมาลาเรียจะลดลง หากว่าเราขุดบ่อน�ำ้ และ จัดการปัญหาสุขาภิบาล เด็กจะมีนำ�้ สะอาดดืม่ และลดการเจ็บป่วยด้วยโรคภัยทีม่ ากับน�ำ้ อีกมาก และหากว่าสโมสร โรตารีจดั ท�ำโครงการโภชนาการทีม่ ปี ระสิทธิภาพ เราจะสามารถช่วยเหลือเด็กในโลกเกือบ 2.6 ล้านคนทีเ่ สียชีวติ ไป แต่ละปีจากโรคขาดอาหาร เราสามารถด�ำเนินการให้ดยี งิ่ ขึน้ กว่านีห้ ากเราจัดการให้ชมุ ชนแต่ละแห่ง มีผทู้ ำ� คลอด ทีไ่ ด้รบั การฝึกอบรม มีพยาบาลช�ำนาญการตรวจเยีย่ มเด็กแรกคลอด มีสถานพยาบาลทีเ่ รียบง่าย หรือจัดโครงการ อาหารกลางวันในโรงเรียน กิจการต่างๆ เหล่านีค้ อื วิธกี ารช่วยชีวติ เด็กโดยตรง เด็กๆ ทีเ่ สียชีวติ ลงนัน้ มิใช่วา่ เราไม่สามารถช่วยเหลือ แต่บอ่ ยครัง้ มากๆ เพราะว่าขาดคนช่วยเหลือมากกว่า ดังนัน้ หากว่าเราทุกคนได้ทำ� หน้าทีใ่ นส่วนของเราอย่างจริงจัง เราก็จะสามารถลดสถิตเิ ด็กทีเ่ สียชีวติ ในอัตราทีส่ งู มาก นีแ้ ละช่วยชีวติ เด็กๆ ได้อกี นับหมืน่ นับแสนคน ในปีโรตารี พ.ศ. 2551-2552 ผมได้ขอร้องมิตรโรแทเรียนให้ชว่ ยสอดส่องดูความต้องการของเด็กๆ ใน ชุมชนท้องถิน่ และในทีห่ า่ งไกล และเดือนกันยายนนี้ โรตารีเฉลิมฉลองเดือนแห่งชนรุน่ ใหม่ จึงเป็นเวลาดีทจี่ ะมุง่ เน้น ให้โอกาสแก่เด็กๆ ทุกคนเพือ่ จะได้รบั อนาคตทีด่ ตี อ่ ไป

ดอง เคิร์น ลี ประธานทรัสตี มูลนิธิโรตารี ปี 2556-2557


สารประธานทรัสตีฯ

ดอง เคิร์น ลี ตุลาคม 2556

ความตัง้ ใจพิชติ โปลิโอของเราจะต้องไม่หยุดชะงัก วันที่ 24 ตุลาคมนีเ้ ป็นวันโปลิโอโลก เป็นเวลาทีเ่ ราต้องมาพิจารณาถึงความคืบหน้าในงานของ เราและเพิม่ ความมุง่ มัน่ ในการท�ำงานต่อๆ ไปอย่างเข้มแข็งยิง่ ขึน้ เป็นเรือ่ งส�ำคัญทีเ่ ราควรตระหนักว่าเราได้ทำ� งานมามากแล้วเพียงใด เราได้เห็นถึงจ�ำนวนผูป้ ว่ ย โปลิโอทีล่ ดลงถึงร้อยละ 99 ตัง้ แต่ปี 2523 ซึง่ ขณะนัน้ มีผปู้ ว่ ยมากถึงปีละกว่า 3.5 แสนราย คงเหลือเพียง 223 รายในปี 2555 แต่ในปัจจุบนั และปีตอ่ ๆ ไป ในประเทศทีย่ งั มีโปลิโอระบาดอยูค่ อื อัฟกานิสถาน ไนจีเรียและปากีสถาน ซึง่ เป็นดินแดนทุรกันดาร มีความไม่สงบ สภาพถิน่ ฐานห่างไกล ไร้ระบบสุขาภิบาล ทีด่ ี ยังคงเป็นอุปสรรคส�ำคัญส�ำหรับการหยอดวัคซีนป้องกันโรค นีค่ อื เหตุผลทีเ่ ราและหุน้ ส่วนของเราใน โครงการกวาดล้างโปลิโอระดับโลกมุง่ มัน่ ทีจ่ ะท�ำงานของเราให้สำ� เร็จไป ในทีป่ ระชุมใหญ่โรตารีสากลทีก่ รุงลิสบอน ประเทศโปรตุเกส ปี 2013 นี้ โรตารีสากลและมูลนิธิ บิลและเมลินดา เกตส์ ได้รว่ มกันประกาศรณรงค์หาทุนพิชติ โปลิโอต่อไปอีกโดยใช้โอกาสนีม้ าแนะน�ำหาทุน บริจาคใหม่อกี นับล้านๆ เหรียญสหรัฐเข้ามาในการรณรงค์ครัง้ ใหม่นี้ ซึง่ คิดมูลค่ามากกว่า 500 ล้านเหรียญ สหรัฐ และในการรณรงค์กวาดล้างโปลิโอนี้ การเสียสละของท่านควรจะท�ำงานหนักเป็นสองเท่าด้วย ดังนัน้ จึงเป็นเรือ่ งส�ำคัญมากยิง่ กว่าทุกๆ ครัง้ ทีเ่ ราเคยปฏิบตั มิ า โปรดไปเจรจากับบรรดาผูน้ ำ� ของรัฐ แบ่งปันเรือ่ งราวโปลิโอลงในเครือข่ายสังคมของท่าน เชิญชวนผูค้ นในชุมชนของท่านให้มาร่วมมือ กันสนับสนุนความพยายามครัง้ ประวัตศิ าสตร์นี้ หากว่าโรแทเรียนได้รวบรวมความมุง่ มัน่ ตัง้ ใจในการบ�ำเพ็ญ ประโยชน์กบั เครือข่ายทีเ่ ข้มแข็งระดับโลกของเราเข้าด้วยกันเช่นนีแ้ ล้ว ไม่มสี งิ่ ใดจะมาหยุดเราได้ ในเมือ่ เราได้รบั การสนับสนุนจากมูลนิธบิ ลิ และเมลินดา เกตส์ และจากบรรดาโรแทเรียนทัว่ โลก เราจะสามารถ เปลีย่ นโฉมหน้าการสาธารณสุขโลกตลอดไป

ดอง เคิร์น ลี ประธานทรัสตี มูลนิธิโรตารี ปี 2556-2557

04

Rotary Thailand


Letters to the Editor Letter to the Editor ฉบับนี้จะเป็นการรวบรวมเอาปัญหาจากข้อสอบถามทั้งที่พูดคุยด้วย ตนเอง หรือโทรศัพท์ไปหา รวมทั้งการส่งทางอีเมล ซึ่งผมจะประมวลมาน�ำเสนอโดยไม่ระบุว่าใครเป็น ผู้ถามเพราะผู้ถามไม่ประสงค์ให้ลงชื่อเพราะจะท�ำให้ทราบว่าหมายถึงใครหรือสโมสรใด และค�ำตอบ ของผมนัน้ ผมขอเรียนว่าเป็นความเห็นของผมแต่เพียงผูเ้ ดียวโดยน�ำมาจากประสบการณ์และจากต�ำรับ ต�ำราโดยพร้อมรับฟังความเห็นที่แตกต่างออกไปตลอดเวลา ครับ ผมจะเริ่มจากประเด็นง่ายๆ ดังนี้ 1) ในการประชุมสโมสรเวลานายกสโมสรพูดต้องลุกขึ้นยืนเสมอไปหรือไม่ ในเรือ่ งนีไ้ ม่มขี อ้ บังคับหรือกฎระเบียบตายตัวแต่อย่างใด แต่ทแี่ น่ๆ ก็คอื การประชุมโรตารี นั้นไม่ใช่การประชุมบริษัทหรือประชุมลูกน้อง ที่ส�ำคัญก็คือการเป็นโรแทเรียนโดยเฉพาะอย่างยิ่งการ เป็นนายกสโมสรนัน้ โรตารีเรามุง่ หวังทีจ่ ะฝึกหัดให้เราเป็นผูน้ ำ � ซึง่ การเป็นผูน้ ำ� ทีด่ ไี ด้บนั ใดขัน้ แรกก็คอื การพูดที่ดี เราจึงจะได้เห็นในแต่ละสโมสรจะมีโพเดียมครึ่งท่อนไว้ตรงกลางส�ำหรับนายกสโมสรใช้พูด กับสมาชิก ฉะนั้น ค�ำตอบในข้อนี้ในความเห็นของผมก็คือควรยืนพูดครับ 2) อุปนายกของสโมสรต้องเป็นอดีตนายกฯหรือไม่ ก่อนอื่นต้องเข้าใจก่อนว่าค�ำว่าอุปนายกฯหรือ Vice President ก็คือรองนายกฯ นั่นเอง อุปนายกฯ จะเป็นผูท้ ที่ ำ� หน้าทีแ่ ทนนายกฯ ในกรณีทนี่ ายกฯ ไม่สามารถปฏิบตั หิ น้าทีไ่ ด้หรือมีอนั เป็นไป ฉะนั้น การแต่งตั้งอุปนายกฯ จึงต้องเป็นผู้ที่นายกฯ สามารถมอบความไว้วางใจให้ปฏิบัติหน้าที่แทน ตนเองได้ จะเป็นอดีตนายกฯ หรือไม่จึงไม่ใช่ประเด็น แต่ที่นิยมปฏิบัติกันมักจะตั้งจากอดีตนายกฯ เพราะคงเห็นว่ามีประสบการณ์ในการเป็นนายกฯ มาก่อนนั่นเอง 3) สงสัยว่าสมาชิกกิตติมศักดิ์คืออะไร เราสามารถให้สมาชิกอาวุโสของเราเป็นสมาชิก กิตติมศักดิ์ได้หรือไม่ ค�ำตอบในเรื่องนี้ก็คือสโมสรอาจรับบุคคลผู้ให้บริการอันเป็นคุณประโยชน์ในการแพร่ขยาย อุดมการณ์โรตารีและบุคคลที่เห็นว่าเป็นมิตรของโรตารี ซึ่งสนับสนุนความมุ่งหมายของโรตารีเข้าเป็น สมาชิกกิตติมศักดิ์ของสโมสรได้ โดยให้คณะกรรมการบริหารก�ำหนดวาระการเป็นสมาชิกกิตติมศักดิ์ ของบุคคลนั้น (แต่เดิมเพียง 1ปี) บุคคลหนึ่งอาจเป็นสมาชิกกิตติมศักดิ์ในหลายสโมสรในเวลาเดียวกัน ได้ โดยสมาชิกกิตติมศักดิ์ได้รับการยกเว้นการจ่ายค่าธรรมเนียมแรกเข้าเป็นสมาชิกและค่าบ�ำรุง ไม่มี สิทธิ์ออกเสียงและไม่มีสิทธิ์ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าหน้าที่ในสโมสร สมาชิกกิตติมศักดิ์ไม่ถือประเภทอาชีพ แต่มีสิทธิ์เข้าประชุมทุกการประชุม และได้รับสิทธิพิเศษทุกอย่างของสโมสร สมาชิกกิตติมศักดิ์ไม่มี สิทธิห์ รือสิทธิพเิ ศษใดๆ ในสโมสรอืน่ แต่มสี ทิ ธิไปเยีย่ มสโมสรอืน่ โดยไม่ตอ้ งไปในฐานะแขกของโรแทเรียน


ฉะนัน้ เมือ่ ถามว่าเราสามารถให้สมาชิกอาวุโสเราเป็นสมาชิกกิตติมศักดิไ์ ด้หรือไม่ ก็ตอ้ งตอบ ว่าได้ แต่ในความเห็นของผมแล้วผมเห็นว่าสมาชิกกิตติมศักดิ์ควรจะมอบให้แก่ผู้ที่มีความเหมาะสม จริงๆ เท่านั้น ในอดีตเคยมีอดีตโรแทเรียนอาวุโสพระองค์หนึ่งที่ถูกทาบทามให้เป็นสมาชิกกิตติมศักดิ์ แต่ท่านทรงปฏิเสธว่าสมาชิกกิตติมศักดิ์นั้นควรมอบให้ผู้ที่เหมาะสมจริงๆ เท่านั้น ไม่ใช่มอบให้เพราะ เห็นว่าเพียงเป็นสมาชิกอาวุโสครับ 4) เวลาที่สโมสรจะรับสมาชิกใหม่หากมีสมาชิกคนใดคนหนึ่งคัดค้านแล้วสโมสรจะ สามารถรับบุคคลผู้นั้นเป็นสมาชิกอยู่หรือไม่ เพราะได้ยินมานานแล้วว่าหากมีการคัดค้านแม้แต่ เสียงเดียวก็รับไม่ได้ ช่วยตอบให้ด้วยว่าที่ถูกต้องเป็นอย่างไร ค�ำตอบก็คอื ว่าหากคณะกรรมการบริหารไม่ได้รบั การคัดค้านเป็นลายลักษณ์อกั ษรพร้อม เหตุผลจากสมาชิกใดในสโมสร (ไม่รวมสมาชิกกิตติมศักดิ์) ภายในเจ็ด (7) วันนับตั้งแต่ประกาศข้อมูล ของสมาชิกมุ่งหวังนั้น ให้สมาชิกมุ่งหวังนั้นช�ำระค่าธรรมเนียมแรกเข้าเป็นสมาชิก (ยกเว้นสมาชิก กิตติมศักดิ์) ตามที่ก�ำหนดไว้ในข้อบังคับ และถือว่าสมาชิกมุ่งหวังนั้นได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกใน กรณีที่มีสมาชิกสโมสรคัดค้าน ให้คณะกรรมการบริหารลงคะแนนเสียงในการประชุมครั้งต่อไป ถ้า คณะกรรมการบริหารมีมติเห็นชอบรับสมาชิกมุง่ หวังผูน้ ั้น ถึงแม้ว่ามีการคัดค้านจากสมาชิก และเมือ่ สมาชิกมุง่ หวังช�ำระค่าสมาชิกแรกเข้าแล้ว (ยกเว้นสมาชิกกิตติมศักดิ)์ ให้ถอื เสมือนหนึง่ ได้รบั เลือกเป็น สมาชิกสโมสร ฉะนั้น ค�ำตอบก็คืออยู่ที่มติของคณะกรรมการบริหารหรือบอร์ดครับ 5) พูดเรื่องการเมืองในสโมสรได้หรือไม่ เรือ่ งนีม้ เี ขียนไว้ในธรรมนูญโรตารีชดั เจนครับว่าสโมสรต้องไม่ให้การรับรองหรือแนะน�ำผู้ สมัครผูใ้ ดในต�ำแหน่งทางราชการหรือการเมือง และไม่อภิปรายในสโมสรอันเป็นการให้คณ ุ หรือโทษแก่ ผูส้ มัครคนใด และสโมสรต้องไม่ออกหนังสือเวียนในมติหรือความเห็นใดๆ และไม่ปฏิบตั กิ ารใดๆ ทีเ่ กีย่ ว กับปัญหาของโลกหรือนโยบายระหว่างประเทศทีเ่ กีย่ วกับการเมือง ฉะนัน้ ค�ำตอบของค�ำถามทีว่ า่ พูด เรื่องการเมืองในสโมสรได้หรือไม่ก็คือ “ได้ครับ” แต่ต้องไม่เข้าข่ายข้างต้น เช่น พูดในด้านวิชาการ หรือเหตุการณ์บ้านเมืองต่าง ฯลฯ ที่ส�ำคัญก็คือหนึ่งในประเภทอาชีพ (classification) ของโรตารี เราก็ยังมีประเภทอาชีพ Representative/legislator ซึ่งหมายถึงนักการเมืองนั่นเองด้วยเลยครับ โรแทเรียนที่มีชื่อเสียงหลายคนก็เป็นนักการเมือง อยู่ที่เรื่องที่เราจะพูดต่างหากครับว่าจะพูดไป ในท�ำนองใดครับ 6) ท�ำไมโรแทเรียนเราจึงมักมีเรื่องกระทบกระทั่งกันอยู่เสมอ ค�ำตอบในเรือ่ งนีค้ งแยกตอบได้เป็น 2 ประเด็น คือ ค�ำตอบในประเด็นแรกก็คอื ว่า โรแทเรียน ก็คือปุถุชนคนธรรมดาที่ย่อมมีทั้งที่ดีมาก ดีน้อย ที่ว่ามีทั้งดีมาก ดีน้อยนั้นเพราะการที่เรารับเขาหรือ เธอเข้ามาเป็นสมาชิกก็เป็นที่ยอมรับกันว่าเป็นคนดีในระดับหนึ่งแล้ว คนที่ไม่ดีเราก็ไม่รับเข้ามาถึง แม้ว่าจะหลงหูหลงตารับเข้ามาแล้ว คนเหล่านัน้ ก็จะถูกกระบวนการหรือprocessของโรตารีกำ� จัดออก ไป แต่อาจจะช้าหน่อย ไม่ทนั ใจฮาร์ดคอร์ทั้งหลายบ้างแต่ก็จะถูกก�ำจัดออกไปในที่สุด ไม่เช่นนั้นโรตารี เราคงอยู่มาไม่ได้นานถึง 100 กว่าปี แล้วส่วนประเด็นที่สองก็คือ การที่เรามัวแต่ไปใช้ 4 Ways Test เที่ยวไล่จับผิดคนอื่น แต่ไม่เอามาใช้กับตัวเราเองน่ะครับ

06

Rotary Thailand


บทบรรณาธิการ

ชำ�นาญ จันทร์เรือง

ล่วงเข้าสู่ไตรมาสที่สองของปีโรตารีที่เริ่มตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคมของทุกปี ผู้ว่าการ ภาคของทุกภาคทั่วโลกก�ำลังอยู่ในระหว่างการเยี่ยมสโมสรอย่างเป็นทางการ การเยี่ยมสโมสร ของผู้ว่าการภาคนั้นเป็นการเยี่ยมในฐานะเจ้าหน้าที่ของโรตารีสากลที่มีเพียงคนเดียวในระดับ ภาค ซึ่งเป็นการเยี่ยมเพื่อให้ก�ำลังใจและรับฟังปัญหาข้ออุปสรรคต่างๆ ในการด�ำเนินงานของ สโมสรพร้อมทัง้ แนะน�ำแนวทางการปฏิบตั ติ ามแนวทางของโรตารี ฉะนัน้ สโมสรต่างๆ จึงควรใช้ โอกาสนี้ให้เป็นประโยชน์อย่างสูงสุด เพราะไม่บ่อยครั้งนักที่ผู้ว่าการภาคจะได้มีโอกาสมาเยี่ยม เพราะด้วยข้อจ�ำกัดด้วยเวลาและจ�ำนวนสโมสรที่มีอยู่ในภาค ผมดีใจและภูมใิ จทีท่ ราบว่านิตยสารโรตารีประเทศไทยเป็นส่วนหนึง่ ทีท่ งั้ ผูว้ า่ การภาค ทั้งในปัจจุบันและในอดีตที่ผ่านมาหลายๆ ท่านใช้เป็นเครื่องมือประกอบการเยี่ยมสโมสรเพื่อ แสดงให้สมาชิกสโมสรเห็นว่าจะสามารถหาข้อมูลข่าวสารจากโรตารีสากลในภาคภาษาไทย ได้อกี แหล่งหนึง่ ทีส่ ำ� คัญก็คอื สามารถเขียนไปสอบถามเรือ่ งราวต่างๆ ทีเ่ กีย่ วกับโรตารีทสี่ งสัยได้ โรตารีประเทศไทยฉบับนี้นอกจากจะประกอบไปด้วยข่าวคราวจากโรตารีทั่วโลกแล้ว จะเป็นการเน้นไปยังเรือ่ งเกีย่ วกับเยาวชนโรตารีทงั้ หลายซึง่ จะเป็นก�ำลังส�ำคัญของเราในอนาคต และยังประกอบไปด้วยความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับโรตารี (Rotary Basics) ที่พิมพ์แยกไว้ต่างหาก อีกด้วย ที่น่าภูมิใจอีกเรื่องก็คือเรื่องราวของคุณหมอซินเธียที่ได้รับรางวัลเป็นผู้เข้ารอบสุดท้าย (finalist) จากโครงการ THE ONE ของโรตารีภาคฮ่องกง มาเก๊า และมองโกเลียซึง่ เป็นโครงการ ที่ได้การรับรองจากโรตารีสากลว่าเป็นหนึ่งในรางวัลของผู้ที่บริการเหนือตนเองส�ำหรับผู้ที่ไม่ใช่ โรแทเรียน ขอเชิญทุกท่านได้เข้าไปพบกับเรื่องราวต่างๆ ทั้งหมดได้เลยครับ ช�ำนาญ จันทร์เรือง บรรณาธิการ


rotary Thailand นิตยสารโรตารี ประเทศไทย

"ต่อต้านแบบไม่ใช้ปากกาเมจิก"

08

Rotary Thailand


นิตยสารรายสองเดือน ปีที่ 30 ฉบับที่ 148 กันยายน - ตุลาคม 2556 September - October 2013

สารบัญ Content

สารประธานโรตารีสากล สารประธานทรัสตีฯ Letters to the Editor บทบรรณาธิการ สารบัญ Special Scoop ถามเรื่องวัยรุ่น กับ รอน เบอร์ตัน ข้อแนะน�ำในการดูแลเอาใจใส่ผู้น�ำรุ่นเยาว์ การศึกษาชั้นเยี่ยม สรุปข่าวโรตารีรอบโลก การประชุมใหญ่ฯ คุณหมอซินเธีย หม่อง บททดสอบสี่แนวทาง ศูนย์โรตารีในประเทศไทย Rotary in Action

1-2 3-4 5-6 7 9 10-21 22-23 24-29 30-35 36-37 38 39-40 41-42 43 44

กองบรรณาธิการ

สถานที่ติดต่อ 29/10 หมู่ 2 ต.ช้างเผือก อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50300 29/10 Mu2, Chang Puak, Muang, Chiang Mai, THAILAND 50300 Tel +668 1595 7999 Fax +66 5335 7345 Email: chamnan@rotarythailand.org ช�ำนาญ จันทร์เรือง Chamnan Chanruang

พิเชษฐ์ รุจิรัตน์ Pichet Ruchirat

สุรกิจ เกิดสงกรานต์ Surakit Kerdsongkran

อภิศักดิ ์ จอมพงษ์ Apisak Jompong

ดนุชา ภูมิถาวร Danucha Bhumithaworn

จิตราพร สันติธรรมเจริญ Jittraporn Santithamcharoen


Special Scoop อน.สุรกิจ เกิดสงกรานต์ สร.บางเขน แปล

ท�ำใหม่.. ชนรุ่นใหม่ เริ่มใหม่ในโรตารี

ท่านจะยอมเปิดทางให้กับอาสาสมัครและคนท�ำงาน รุน่ ใหม่สโมสรและภาคของท่านหรือไม่ เราสอบถามโรทาแรคท์เตอร์ และโรแทเรียนรุ่นใหม่ถึงหนทางที่ค�ำถามข้างต้นจะตอบว่า “ใช่” และต้องท�ำอะไรกันบ้างเพือ่ เปลีย่ นผูน้ ำ� หนุม่ สาวในวันนี้ ให้เป็นโรแทเรียนในวันพรุ่งนี้

อะไรคือสิ่งที่ดึงดูดคุณมาร่วมโครงการ ของโรตารีในตอนแรก

คริสตี้ ไบรแซค (อายุ ๒๖ ปี) สโมสรโรทาแรคท์คาลามาซู รัฐมิชแิ กน สหรัฐอเมริกา : ดิฉนั เติบโตมากับครอบครัวโรตารี คุณพ่อเป็นโรแทเรียน คุณปู่ก็เป็นโรแทเรียนนานถึง ๕๐ ปี ตอนอายุ ๘ ขวบ คุณพ่อพาดิฉันไปร่วมโครงการของโรตารี เพื่อบ้านพักเด็กหญิงที่ คาซาแอมพาโร ในเมืองเรย์โนซา ประเทศเม็กซิโก หลายปีตอ่ มาหลังวันคริสต์มาสดิฉนั เข้าร่วม ประชุมครัง้ แรกกับสโมสรโรทาแรคท์ และสโมสรนีท้ ำ� โครงการ รับบริจาคของขวัญเพือ่ น�ำไปมอบให้เด็กหญิงทีค่ าซาแอมพาโร ดิฉนั ประหลาดใจมากว่าแม้เวลาจะผ่านมาถึง ๑๕ ปีแต่โรตารี ก็ยังท�ำสนับสนุนโครงการช่วยเหลือนี้อย่างต่อเนื่อง แคธี กอนซาเลส (อายุ ๒๘ ปี) สโมสรโรทาแรคท์มากาติ ประเทศฟิลิปปินส์ : อดีตอินเทอร์แรคท์เตอร์ และสมาชิก ทีมศึกษาแลกเปลี่ยน (จีเอสอี) : ดิฉันสนใจการที่โรแทเรียน ตั้งอกตั้งใจให้ความช่วยเหลือผู้อื่นซึ่งเป็นความทรงจ�ำแรก ที่ดิฉันมี ดิฉันเป็นอินเทอร์แรคท์มาสามปีตอนที่ได้รับเลือก เป็นตัวแทนของประเทศฟิลปิ ปินส์เพือ่ เดินทางไปร่วมประชุม ใหญ่โรตารีสากลในต่างประเทศ แต่ปญั หาคือครอบครัวของเรา

10

Rotary Thailand


"คุณอายุ 57 ปี ผมขอต่อลงหน่อยได้ไม๊"


"นั่งคอยให้ยุคเฟสบุ๊คผ่านไป" คงสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการเดินทางไม่ได้ มันอยู่ในความ ทรงจ�ำของดิฉันเสมอที่โรแทเรียนสองท่านจากสโมสรโรตา รีที่อุปถัมภ์สโมสรอินเทอแรคท์ของเราประกาศจะให้ทุน สนับสนุนการเดินทางของดิฉัน ประสบการณ์ครั้งนั้นท�ำให้ ดิฉันประทับใจมาก และตระหนักว่าโรตารีให้ความช่วยเหลือ ผู้อื่น และลงทุนในการพัฒนาคนรุ่นใหม่ แอนเดรีย เทอรอน (อายุ ๒๘ ปี) สโมสรโรทาแรคท์ โตรอนโต อดีตเยาวชนผู้น�ำโรตารี (ไรลา) เคยรับทุนทูต สันถวไมตรีโรตารี : ดิฉันเพิ่งจบการเดินทางไปประเทศกานา เป็นระยะเวลาหกเดือนกับโครงการขององค์กรอืน่ ในปี พ.ศ.๒๕๔๗ ซึ่งตอนนั้นครูใหญ่ของโรงเรียนมัธยมปลายที่ฉันเรียนเป็น เพื่ อ นกั บ โรแทเรี ย นได้ ติ ด ต่ อ ให้ ดิ ฉั น เข้ า โครงการไรลา กิจกรรมนีย้ อดเยีย่ มมากเพราะดิฉนั ได้เรียนรูร้ ะหว่างการเดิน ทางทีเ่ สริมสร้างความเป็นผูน้ ำ � ดิฉนั พบโรแทเรียนซึง่ ท�ำให้ฉนั รูส้ กึ เหมือนเป็นสมาชิกคนหนึง่ ของครอบครัวโรตารี ต่อมาดิฉัน ได้พบสโมสรโรทาแรคท์ชุมชนในมหาวิทยาลัยในโตรอนโต ซึ่งท�ำให้ดิฉันได้โอกาสรับทุนทูตสันถวไมตรีโรตารีในประเทศ อาฟริกาใต้ในปี พ.ศ.๒๕๕๒ ทุกครั้งที่ชีวิตดูจะเฉื่อยชาลง ดิฉันได้กิจกรรม ได้ท�ำงานและผลงานของโรตารีแวะมาเยี่ยม เยือนเสมอ

12

Rotary Thailand

โรแทเรียนอาวุโสควรจะต้องเข้าใจอะไร เกี่ยวกับคนรุ่นใหม่บ้าง อัลลีสา แกปสเก (อายุ ๒๒ ปี) สโมสรโรทาแรคท์ คารามาซู รัฐมิชิแกน สหรัฐอเมริกา : สิ่งที่แตกต่างกันเป็น อย่างมากคือวิธกี ารทีเ่ ราติดต่อสือ่ สารกัน ผลดีประการส�ำคัญ ของสื่อสังคมออนไลน์คือนอกจากมันจะช่วยให้เราประชุม รายละเอียดโครงการกันได้แล้ว เรายังสามารถสือ่ สารกับสโมสร อืน่ ๆ ในโลกได้ ดิฉนั เป็นพิธกี รให้หน้าเฟสบุค๊ ของสโมสรท�ำให้ ได้เห็นข้อความต่างๆ ทุกสัปดาห์จากสโมสรที่ต้องการท�ำ โครงการกับเรา หรือไม่ก็มีคนในชุมชนที่สนใจร่วมประชุมกับ เราหรือเข้าร่วมกับสโมสร สื่อสังคมออนไลน์คืออีกวิธีหนึ่งที่ เชื่อมโยงพวกเราให้มีปฏิสัมพันธ์กัน อีแวน เบอร์เรลล์ (อายุ ๓๒ ปี) โรตารีอ-ี คลับเกรทเตอร์ ซิดนีย์ ออสเตรเลีย ; อดีตโรทาแรคท์เตอร์ ผ่านการอบรมไรลา และสมาชิกทีม GSE จิตวิญญาณการบ�ำเพ็ญประโยชน์ในชุมชน นั้นไม่ได้แตกต่างจากที่เคยเป็นในอดีต เรามีวิธีที่แตกต่างกัน เท่านั้น เพราะพวกเรามุ่งท�ำงานเพื่อผลส�ำเร็จ เราท�ำงานเร็ว บางคนอาจคิดเร็วด้วย เวลาท�ำอะไรสักอย่างเราต้องการที่จะ


รู้สึกว่าเราท�ำงานเพื่อวัตถุประสงค์ และเราไม่ค่อยชอบนัก หากความคิดของเราจะไม่ได้รับการพิจารณาเพียงเพราะ มันไม่เป็นที่คุ้นเคย เทอรอน : บางครัง้ โรตารีกเ็ หมือนระบบราชการ เชือ่ งช้า และต่อต้านการเปลี่ยนแปลงแม้จะเป็นความคิดดี ๆ องค์ ประกอบของประเพณีและการเฉลิมฉลองแบบของโรตารี ไม่ส�ำคัญอีกต่อไปแล้ว ยกตัวอย่างเช่น ในแคนาดา สโมสร หลายแห่งยังคงกล่าวอวยพระพรสมเด็จพระราชินี และร้อง เพลงชาติ เกรก แกรอฟอโล (อายุ ๔๔ ปี) สโมสรโรตารีแช รอน รัฐแมสซาชูเซตต์ สหรัฐอเมริกา และโรตารี อี-คลับนิ วอิงแลนด์; อดีตโรทาแรคท์เตอร์ และนักเรียนแลกเปลี่ยน : สภาพที่ท�ำงานเปลี่ยนแปลงไปมาก คนท�ำงานต้องขับรถ ไกลกว่าจะถึงที่ท�ำงาน หรือไม่ก็ต้องยอมรับเงินเดือนน้อย แต่ได้ท�ำงานที่บ้านและมีเวลาอยู่กับครอบครัวมากขึ้น เรา ต้องปกป้องเวลาว่างของเราและจะไม่ยอมเสียเวลา อย่าง เช่นการเสียเวลาในการประชุมหรือการอภิปรายที่สามารถ สื่อสารกันได้ด้วยอีเมล หากไม่คำ� นึงความแตกต่างทางอายุ เพศ หรืออาชีพ สิ่งที่มีค่าส�ำหรับเรามากที่สุดคือเวลาที่เรามี ให้แก่โรตารีและที่โรตารีมีให้เรา

ช่วงเวลานี้การหางานท�ำได้ล�ำบาก คุณจะเป็นโรแทเรียนได้ในขณะเดียวกัน ก็ยังต้องอาศัยบ้านแม่อยู่ได้ไหม?

เทอรอน : จากประสบการณ์ส่วนตัว ดิฉันคิดว่าเรา สามารถร่วมกิจกรรมโรตารีได้แม้จะยังอาศัยอยู่กับพ่อแม่ ความจริงแล้วการยังอาศัยอยู่ในบ้านพ่อแม่นั่นแหละท�ำให้ เรายังคงมีเงินพอช�ำระค่าบ�ำรุงสโมสรโรตารี การหางานที่ เหมาะสมสมัยนีห้ ายากมากขึน้ ซึง่ หมายความว่าเราต้องใช้เวลา นานกว่าจะมีรายได้ที่มั่นคง แต่ยังดีที่มีบางสโมสรพยายาม ลดค่าใช้จ่ายสมาชิกลง เช่น การประชุมโดยไม่มีการทาน อาหาร หรือไม่ก็ประชุมออนไลน์ พิจารณาจากหัวใจของ หลักการโรตารี “บริการเหนือตนเอง” และยึดบททดสอบ สี่แนวทาง ถ้ายึดเพียงเท่านี้ใครก็ได้สามารถเป็นโรแทเรียน ได้ ไม่ว่าจะเป็นที่ไหน แกปสเก : สิง่ ทีย่ ากทีส่ ดุ ส�ำหรับสมาชิกรุน่ เยาว์คอื การ ขาดปัจจัยเมื่อเทียบกับสมาชิกที่อายุมากกว่า เรายินดีที่จะ เสียสละเวลาร่วมประชุมและท�ำโครงการ แต่เราไม่สามารถ ร่วมประชุมแบบทานกลางวันได้หากระเบียบการเข้างานไม่ ยืดหยุน่ ในเรือ่ งเวลาท�ำงาน ตอนอายุยสี่ บิ กว่า ๆ เราหาเงินได้

ไม่มากนัก แต่เราก็อยูไ่ ด้กบั งบประมาณขนาดนีห้ ากสามารถ ควบคุมความต้องการและความอยากได้ ไบรแซค : ความพยายามที่จะทะยานไปบนเส้นทาง ของการเป็นมืออาชีพในการท�ำงานนั้นมันหนักหนาพอ ๆ กับปีนเขา แต่การเข้าโรตารีหรือโรทาแรคท์เป็นทางลัดที่ผู้ จบการศึกษาใหม่สามารถประสบความส�ำเร็จในการท�ำงาน ได้ การเป็นโรแทเรียนเปิดประตูสู่การสร้างเครือข่ายกับมือ อาชีพในด้านต่าง ๆ ในชุมชนของคุณแบบใกล้ชิด นอกจาก นี้ยังมีโอกาสในงานจิตอาสาและบางคนยังพบโอกาสในการ ท�ำงานที่ดีขึ้นอย่างไม่คาดคิดด้วย แกรอฟอโล : สมาชิกของเรามีปัญหาทางการเงิน กันมาก นี่ไม่ใช่ปัญหาของคนหนุ่มสาว แต่ก็ไม่ใช่ว่าจะไม่มี ทางออก บางคนให้เงินได้กใ็ ห้เงิน ให้เวลาได้กใ็ ห้เวลา ให้แรง ได้ก็ให้แรง บางคนสร้างเครือข่ายออนไลน์ได้ก็เปิดโอกาสให้ คนอืน่ ได้เข้าร่วมในเครือข่าย อย่างนีก้ ถ็ อื ว่ารวมกันแล้วเราก็ เป็นอยู่อย่างเพียงพอหากทุกคนสละสิ่งที่พอจะให้ได้

คุณเห็นประโยชน์จากการได้พบปะกับโรแทเรียน อาวุโสบ้างหรือไม่ มีความไม่ลงรอยกันทาง ความคิดบ้างหรือไม่

เจนนิเฟอร์ เพททริเชนโก (อายุ ๓๐ ปี) โรทาแรคเตอร์ จากสโมสรโครเวอเดลบริตชิ โคลัมเบีย แคนาดา : ครัง้ หนึง่ เคย มีโรแทเรียนถามดิฉนั ว่าสโมสรโรทาแรคท์ของเราจะช่วยงาน ในโครงการทีก่ ำ� ลังจะท�ำได้อย่างไร และประธานจัดงานบอกว่า พวกเราสามารถช่วยรับฝากเสือ้ โคตของแขกทีม่ าในงาน นเี่ ป็น ความเข้าใจที่ยังคลาดเคลื่อนในบทบาทของโรทาแรคท์เตอร์ ว่าพวกเขาปราศจากประสบการณ์ โรแทเรียนบางคนที่ดิฉัน พบยังยึดติดว่าพวกเราเป็นนักเรียนทั้งที่บางคนท�ำงานแล้ว ฮอลลี แรนสัม (อายุ ๒๓ ปี) สโมสรโรตารีคลอว์เล ออสเตรเลีย : โรแทเรียนดี ๆ บางคนที่ดิฉันรู้จัก มีความเชื่อ อย่างสนิทใจว่าพวกเราเป็นคนหนุ่มสาวที่มีความสามารถ พวกเขายินดีทุ่มเทให้ความช่วยเหลืออย่างเต็มที่ในตอน ที่ดิฉันท�ำหน้าที่นายกสโมสร ยอมลงทุนให้เวลาอธิบายหลัก การของ โรตารีให้กบั พวกเรา ให้คำ� แนะน�ำในการท�ำโครงการ และช่วยสรรหาผู้จะมาเป็นผู้น�ำในสโมสรด้วย ไบรแซค : สโมสรโรทาแรคท์ของเราท�ำงานกันอย่าง หนั ก ในช่ ว งสองสามปี ม านี้ เ พื่ อ กระชั บ ความสั ม พั น ธ์ กั บ สโมสรโรตารีอปุ ถัมภ์ และเราพบว่าโรแทเรียนนัน่ เองคือเชียร์ ลีดเดอร์อันดับ ๑ เพราะเขาเป็นพี่เลี้ยงที่ดีมาก สอนพวกเรา


"ตอนที่ฉันขอให้คุณ "ช่วยส่งเนยให้หน่อย" ท�ำไมคุณพูดว่า "อ้อ ไม่มีปัญหา?" ให้เขียนโครงการเพื่อขอทุน และสอนให้ขอความช่วยเหลือ จากแหล่งทีเ่ หมาะสม และยังช่วยเราตรวจสอบจุดบอดตอน ที่เราเร่งท�ำงานให้เสร็จ การพบปะสังสรรค์กันถูกจัดขึ้นโดย ความคิดริเริม่ ของสโมสรอุปถัมภ์ให้เป็นเวทีแบบเพือ่ นอย่าง ที่เขาเรียกว่า “มุมเม้าท์เบียร์” (Beer side chats) พบปะ กันฉันเพือ่ นในร้านเหล้าแห่งหนึง่ ทีเ่ ป็นแหล่งสุมหัวของโรทา แรคท์เตอร์และโรแทเรียนทีป่ ลดพันธนาการอันน่าเกรงขาม ของสูทและเน็คไทออกแล้ว เบอร์เรลล์ : ดิฉันมีเพื่อนโรแทเรียนหลายคนที่อายุ มากกว่า และมีพี่เลี้ยงโรแทเรียนที่มีอิทธิพลในชีวิตของ ดิฉันมากพอดู เขาเป็นคนเกิดในช่วงเบบี้บูมเมอร์ ดิฉันคุย กับเขาในเรื่องของชีวิต เรื่องโรตารี เรื่องงานและดูเหมือน

14

Rotary Thailand

เราไม่มีก�ำแพงแห่งอายุที่แตกต่างกันปิดกั้น เขาบอกว่าเขา เองมีเรื่องที่ไม่ลงรอยกับพ่อของเขาที่เกิดในช่วง ค.ศ.๑๘๙๐ อยูต่ ลอด ฉะนัน้ ดิฉนั คิดว่าเราต้องเชือ่ มโยงช่องว่างระหว่างวัย เพือ่ ความเข้าใจอันดีระหว่างกัน

เวลาคุยกับโรแทเรียนอาวุโสเพือ่ ขายโครงการ อะไรคือสิ่งแลกเปลี่ยนที่คุณเสนอให้ และอะไรคือเหตุผลที่ต้องล้มเลิกโครงการ

กอนซาเลซ : ดิฉันนั่งในที่ประชุมโรตารีกับบรรดา โรแทเรียนที่คุยกันเกี่ยวกับเรื่องข�ำขันที่ฉันไม่เข้าใจ เพราะ บางเรื่องมันเก่าก่อนที่ฉันจะเกิด แต่ก็ทนฟังแบบไม่ใส่ใจนัก มั น ก็ เ หมื อ นกั บ สถานการณ์ ที่ ดิ ฉั น คุ ย กั บ เพื่ อ นในส


โมสรโรทาแรคท์ด้วยกันแล้วผู้อาวุโสก็ฟังไม่รู้เรื่อง บางที ดิ ฉั น ก็ ช ่ ว ยพวกเขาในเรื่ อ งค� ำ แนะน� ำ การใช้ เ ทคโนโลยี สมัยใหม่ ช่วยเขาปรับเครื่องโทรศัพท์มือถือ และอธิบาย วิธีใช้งานคอมพิวเตอร์ ซึ่งดิฉันดีใจที่ได้ช่วยพวกเขา แต่ ดิฉันคิดว่าโรแทเรียนควรคิดถึงพวกหนุ่มสาวว่าเป็นเพื่อน ผู ้ บ� ำ เพ็ ญ ประโยชน์ ม ากกว่ า เป็ น เพี ย งมื อ ไม้ ค อยท� ำ งาน ตามสั่ง แกปส์เก : เราอาจจะยังขาดประสบการณ์และมี ทรัพยากรต่าง ๆ น้อย แต่เราก็เป็นผู้ใหญ่แล้วเหมือนบรรดา โรแทเรียนที่เราได้พบ พวกเขาช่วยเราได้ มันคงไม่ช่วยอะไร เลยหากมองว่าพวกเราไร้ประโยชน์ คนรุ่นเราอาจถูกมองว่า เป็นพวกติดขี้เกียจและนิยมการเรียกร้องสิทธิต่าง ๆ แต่นั่น

ไม่ได้หมายความว่าทุกคนจะเป็นอย่างนัน้ ทีจ่ ริงเยาวชนโรตา รีมีคุณสมบัติที่ตรงข้ามกันเลย แรนสัม : เรามีก�ำลังแรงกาย มีความกระตือรือร้น และปรารถนาที่แรงกล้าในการเปลี่ยนแปลงโลกนี้ เราไม่ ต้องการการอุปถัมภ์หรือมาแทรกแซงการท�ำงานของพวก เรา เราอดทนได้กับประเพณีสโมสรที่ดี ๆ และที่อาจมีวิธี การบ�ำเพ็ญประโยชน์ที่แตกต่างกันถึงแม้บางโครงการไม่ได้ สร้างความตื่นเต้นให้กับเราเลย แต่โรแทเรียนไม่ควรกีดกัน คนรุ่นหนุ่มสาวที่ก�ำลังเสนอวิธีใหม่ ๆ ในการท�ำงาน พวก เราอาจมีลักษณะความเป็นผู้น�ำที่แตกต่างออกไปเพราะเรา มีประสบการณ์เพียง ๓๐ ปี แต่เราก็ต้องท�ำอย่างสร้างสรรค์ โรตารีเตรียมเครือ่ งมือต่าง ๆ ให้เราเรียนรูแ้ ละเติบโต พวกเรา

"ตัวเลขไตรมาสสุดท้ายออกมาแล้ว ปรากฎว่าเราได้สคนกลุ่มอายุ 15-26 เพิ่มขึ้นโดดเด่น แต่เราสูญเสียจิตวิญญานที่เป็นอมตะของเราไป"


ก็หวิ โหยทีอ่ ยากจะได้ความรูแ้ ละประสบการณ์จากโรแทเรียน ขอเพียงให้โอกาสแก่พวกเรา ได้เป็นผู้น�ำ ได้เรียนรู้ และเติบโตตามแนวทางที่ท่านแนะน�ำ ครีสซี่ เบรดีน (อายุ ๒๘ ปี) โรทาแรคเตอร์จากสโมสรครอสส์แลนด์ส ออสเตรเลีย อดีตผู้ร่วมโปรแกรมไรลา : ดิฉันไม่มีปัญหากับโรแทเรียนที่จะก�ำหนดประเภทธุรกิจหรือ อาชีพในการรับคนเป็นสมาชิก แต่เมื่อคุณจะรับใครเป็นสมาชิกสักคนหนึ่งขอให้ระลึกถึง สิ่งหนึ่งว่าโรตารีนั้นมีอิทธิพลสูงที่จะสร้างผู้น�ำที่ยิ่งใหญ่ได้ หลายปีมาแล้วที่ดิฉันใส่ใจกับ งานนายกสโมสรและประธานฝ่ายต่าง ๆ ตลอดจนโครงการที่เราท�ำ ในขณะที่อาชีพการ งานของดิฉนั เองไม่ไปไหนนัก จนดิฉนั คิดว่าอาจไม่เหมาะทีจ่ ะเป็นโรแทเรียนนัก มีคนเป็น จ�ำนวนมากมีเวลาและความตัง้ ใจทีจ่ ะเปลีย่ นแปลงโลกนี้ ขอให้เขาได้รบั ความช่วยเหลือจาก โรตารีและให้โอกาสพวกเขาเท่านั้น.

คุณจะเป็นโรแทเรียนใน ๒๐ ปีนี้หรือไม่

เบรดิน : ไม่ต้องสงสัยว่าสักวันหนึ่งผมต้องเป็นโรแทเรียนแน่นอน แต่ยังไม่รู้ว่าเมื่อ ไหร่ อาจจะภายใน ๒๐ ปี แต่ภายใน ๕ ปีนี้คงยังไม่ได้ ผมก�ำลังจะแต่งงานกับเพื่อนโรทา แรคท์เตอร์ดว้ ยกันปลายปีนกี้ อ่ นอายุ ๓๐ ปี และเป็นปีทกี่ ำ� ลังจะจบการเป็นโรทาแรคท์เตอร์ จากนัน้ สองสามปีผมจะต้องมีครอบครัว โรแทเรียนบางคนเชิญให้ผมร่วมกับอี-คลับ บางคน ก็เสนอให้เปิดสโมสรใหม่เพื่อเปิดรับคนรุ่นใหม่ด้วยกัน ประชุมกันตอนกลางวัน แล้วอะไร จะเกิดขึน้ หลังจากนัน้ หากผมต้องกลับไปท�ำงาน ผมคงต้องย้ายสโมสรไปอยูท่ อี่ นื่ หรือเปล่า ผมเองก็อยากอยู่กับโรตารีที่ถาวรไม่ต้องย้ายไปตามที่ต่าง ๆ เมื่อชีวิตมีการเปลี่ยนแปลงที่ จะเกิดขึ้นตอนอายุเกิน ๓๐ แล้ว ไบรแซค : เมื่อโรทาแรคท์เตอร์มีอายุพ้นเกณฑ์ที่จะเป็นโรทาแรคท์เตอร์ได้ ส�ำหรับ ดิฉนั เองรูส้ กึ รูห้ วัน่ ๆ อยูเ่ ช่นกัน เราพยายามมองตัวเองว่าเราก�ำลังจะเป็น “ผูใ้ หญ่ในโรตารี” แต่ก็อดสงสัยไม่ได้ว่าฐานะใหม่นี้จะดีกับเราจริงหรือไม่ จะเป็นอย่างไรถ้าเรานั่งในห้อง ประชุมที่รายล้อมไปด้วยผู้บริหารที่มีผมสีดอกเลาในชุดสูทอย่างเป็นทางการ เราจะปรับ ตัวอย่างไรกับการที่อยู่กบั สโมสรที่ท�ำกิจกรรมเองด้วยสองมือ ไปสูส่ โมสรทีท่ �ำงานโดยการ เขียนเช็ค ดิฉันไม่รู้ว่าตัวเองจะเป็นอะไรในอีก ๒๐ ปีข้างหน้า แต่รู้ว่าโรตารียังคงเป็นส่วน หนึ่งของชีวิตต่อไป ดิฉันได้คุยกับปู่ที่เป็นสมาชิกสโมสรโรตารีแห่งหนึ่งที่พยายามโน้มน้าว ให้ดฉิ นั เป็นสมาชิกของสโมสรนีห้ ลังจากทีไ่ ด้เป็นนายกสโมสรโรทาแรคท์แล้ว ฉันตอบปูว่ า่ “ยังไม่พร้อมค่ะ” เทอรอน : ตอนที่ดิฉันขอทุนทูตสันถวไมตรีโรตารี แบบฟอร์มถามว่า “คุณคาดว่า จะมีการร่วมงานโรตารีได้อย่างไรบ้างในอนาคต” ดิฉันตอบว่า “ร่วมตลอดชีวิต” ดิฉันได้ เป็นโรทาแรคท์เตอร์แล้ว และการเป็นโรแทเรียนก็อยูใ่ นความคิดตลอดเวลา แน่นอนว่าดิฉนั วางแผนชีวิตไว้ว่า ต้องมีวันที่ “อยากหยุดเป็นโรแทเรียน” แต่ในขณะเดียวกันฉันก็มีแผน ส�ำหรับการ “อยากหยุดท�ำงาน” และ “อยากไปจากโตรอนโต” แต่ที่อยากน้อยที่สุดก็คือ “อยากหยุดเป็นโรแทเรียน”. เพทริเชนโก : เมือ่ ถึงเวลาจะเกิดมันก็ตอ้ งเกิด แม้ดฉิ นั จะมีชอื่ ว่าเป็นโรทาแรคท์เตอร์ แต่หัวใจของดิฉันเป็นโรแทเรียน

16

Rotary Thailand


New Generations Roundtable Hed and dek TK

W

ill youmake room for the next generation of young professionals and volunteers in your clubs and districts?We asked Rotaractors and young Rotarians to weigh in on how that should work and what it will take to turn today’s young leaders into tomorrow’s Rotarians.


What attracted you to Rotary’s programs in the first place?

KRISTI BREISACH, 26, Rotaract Club of Kalamazoo, Mich., USA: I grew up with Rotary in my family: My father was a Rotarian, and my grandfather has been a Rotarian for 50 years.When I was about eight years old, I went with my father to visit a club project at Casa Amparo,a shelter for girls in Reynosa, Mexico. I went to my first Rotaract meeting just after Christmas years later,and the clubs had collected gifts for the girls at Casa Amparo. I was amazed that Rotary was still supporting the project15years later. CATHY GONZALES, 28, Rotaract Club of Makati, Philippines; past Interactor and Group Study Exchange(GSE) team member: I was drawn to the idea that Rotarians go out of their way to help others, which I’d experienced firsthand. I had been in Interact for three years when I was chosen to represent the Philippines at an international conference, but it was beyond my family’s means to pay for the trip. I’ll always remember my meeting with two Rotarians from our sponsor club, who agreed to fund the trip when they heard about my situation. This experience left a lasting impression on me: that Rotary helps others and invests in the development of young people. ANDREA TIRONE, 28, Rotaract Club of Toronto; past Rotary Youth Leadership Awards(RYLA) participant and Ambassadorial Scholar: I had just come back from a six-month trip to Ghana with another

18

Rotary Thailand

organization in 2004 when my high school principal, a friend of a Rotarian, approached me about RYLA.It was a great way to take what I’d learned in my travels and turn it into a talent for leadership.I met Rotarians who made me feel like part of the Rotaryfamily. Later, I found a community in Rotaract on my college campus in Toronto, which led to anAmbassadorial Scholarship in South Africa in 2009. Every time life seems to slow down, another Rotary activity, event, or cause comes calling.

What should older Rotarians understand about young people?

ALYSSA GAPSKE, 22, Rotaract Club of Kalamazoo, Mich., USA: A major difference is the way we connect. The greatest advantage of social media is that it allows us not only to share meeting and project details but also to communicate with clubs around the world. As a moderator of my club’s Facebook page, I see messages every week from clubs hoping to work with us, or community members interested in attending meetings or joining our club. Social media is just another way for us to interact. EVAN BURRELL, 32, Rotary E-Club of Greater Sydney, Australia; past Rotaractor, RYLA participant, and GSE team member: Our spirit of community service is no different from that of older generations; we just have different methods. We’re results-driven, we move quickly –some might think too quickly. We want to feel that our work has purpose when we participate in something, and we get frustrated when our ideas aren’t


considered just because they’re unfamiliar. TIRONE : Sometimes Rotary bureaucracy, red tape, and aversion to change get in the way of good ideas.Certain elements of ceremony and tradition attached to Rotary clubs aren’t relevant anymore.In Canada, for example, a lot of clubs still toast the queen and sing the national anthem. GREG GAROFOLO, 44, Rotary Club of Sharon, Mass., USA, and Rotary E-Club of New England; past Rotaractor andRotary Youth Exchange student: The workplace has changed a lot: People commute longer distances or take a pay cut to work from home and spend more time with family. We’re protective of our spare time and less willing to tolerate wasted time, like spending time in costly meetings discussing information that could be shared through email. Regardless of generation, gender, or vocation, our most valuable resource is the time we give to Rotary and one another.

These are difficult times for young people starting their careers. Can you be a Rotarian and still live in your mom’s basement?

TIRONE : I know from personal experience that you can be involved in Rotary and live in your mom’s basement. In fact, given the cost of joining some Rotary clubs, the only way I could manage the dues payments would be to continue living in my mom’s basement. It’s taking longer for many of us to find our career footing, which means

it’s taking longer to earn steady income, but some clubs are finding ways to cut costs, such as skipping the meal or meeting online. At its core, Rotary is Service Above Self and abiding by The Four-Way Test. Anyone, anywhere, can be a Rotarian in this sense. GAPSKE : The hardest thing for younger members is our lack of resources compared with our older counterparts. We’re happy to give our time to meetings and projects, but we can’t make the lunchtime meetings if our entry-level jobs won’t allow us that flexibility. We’re paid less in our 20s, but we make up for our tight budgets with passion and enthusiasm. BREISACH : Trying to catch a break as a young professional feels like an uphill battle these days, but joining Rotary or Rotaract is one of the smartest things a recent college graduate can do. Being a Rotarian opens the door to professional connections as you rub elbows with the “who’s who” of your community. You’ll find great volunteer opportunities,and maybe it will lead to an unexpected professional opportunity. GAROFOLO : Our members are facing hard times financially. This isn’t just a young person’s problem.But anyone can make a difference. Some can give more money, some can give more time and muscle, and others can give access to networks. We’re a richer organization when we recognize all of these commitments.


What have you found helpful in your encounters with older Rotarians? Where is there friction?

JENNIFER PETRICHENKO, 30,Rotaract Club of Cloverdale, B.C., Canada: I once asked a Rotarian how my Rotaract club could help with an upcoming project, and the event chair told me they could really use help with the coat check. A typical misconception is that Rotaractors are young and inexperienced. Some Rotarians I’ve met have had a hard time comprehending that I’m not a student and I’m in a professional career. HOLLY RANSOM, 23, Rotary Club of Crawley,Australia: Some of the best Rotarians I’ve encountered have been genuine believers in the capabilities of young people. They were willing to throw their support behind me as a young club president, invest their time in explaining Rotary’s nuances to me, and offer me advice on everything from projects to finding the right people for leadership roles. BREISACH : My Rotaract club has worked hard in the last few years to strengthen its relationship with our sponsor club, and we’ve found that Rotarians are our No. 1 cheerleaders. They’ve been terrific mentors, showing us how to write grant proposals and ask the right questions of the right people, and helping us check our blind spots as we move a thousand miles a minute. We’ve also developed great social relationships. Our sponsor club has reformed its fireside chats into “beer side chats,” where we meet at a local brewery. It’s an approachable setting for Rotaractors to network with Rotarians, who may seem intimidating in a suit and tie.

20

Rotary Thailand

BURRELL : I have many close Rotary friends who are older than me, and I have a Rotary mentor who has had a profound effect on my life. He’s a baby boomer. I can talk to him about life, Rotary, or my career, and he doesn’t buy into the generational differences. He tells me that he always used to disagree with his dad, who was born in the 1890s, so we should just bridge the gap and get over it.

What trade-offs are you willing to make when dealing with older Rotarians? What’s a dealbreaker?

GONZALES : I’ve sat with a lot of Rotarians in meetings and at meals as they’ve told jokes I didn’t get or talked about things that happened way before I was born, but I take these situations with a grain of salt. It’d be similar if one of them heard me talk with my Rotaract club mates. I’ve also had experience playing technical support to older Rotarians, helping one operate a feature he didn’t understand on his cell phone and explaining to another how to do something on the computer. I was happy to do it. But Rotarians should treat us as partners in service rather than wait staff. GAPSKE : We may not have the same experiences or resources yet, but we’re adults just like the Rotarians we meet, and they can help us. It never, ever helps to talk down to us. Our generation may have a reputation for laziness and entitlement, but that doesn’t mean we as individuals have those qualities. In fact, it’s often the opposite for young people in Rotary. RANSOM : We have a lot of energy and passion and a burning desire to make a difference. We don’t want to be patronized or micromanaged. We’ll tolerate positive


club traditions and different ways of serving, even if some projects don’t particularly excite us. But Rotarians shouldn’t be too critical of a young person trying a new approach. It’ll be a different leadership style because we don’t have 30 years of experience, but be constructive:Rotary provides an incredible vehicle for us to learn and grow, and we’re hungry for the wisdom and experience of older Rotarians. Give us real opportunities to lead, learn, and grow under your guidance. KRISSIE BREDIN, 28, Rotaract Club of Crosslands, Australia; past RYLA participant: I have no problem with Rotarians targeting business and professional leaders for membership, but if you want to recruit younger members, you need to remember that Rotary has the power to make great leaders. For years I focused on my club’s presidency and major Rotaract projects while my career took a back seat, which could make me a less appealing Rotary candidate. There are so many people who have the time and the passion to make a difference in the world – they just need Rotarians to believe in them and give them that opportunity.

Will you be a Rotarian in 20 years?

BREDIN : There is no doubt in my mind that one day I will be a proud Rotarian, but I do have some doubts about exactly when that will happen. In 20 years? Yes. In five years? Probably not. I’m getting married to a fellow Rotaractorat the end of next year, just as I turn 30 and age out of Rotaract, and in a few years we’ll start a family of our own.

Some Rotarians have encouraged me to join an e-club; others have suggested I start a new club that targets young families and meets during the day. And then what? Do I go back to my other club once I return to work? I want to find a home in Rotary, not hop around a bunch of clubs while I go through the big changes that my 30s hold in store. BREISACH : As Rotaractors approach the end of the Rotaract age range, I sense a bit of panic. We try to visualize ourselves in what we call the “grown-up Rotary” and keep coming to the same questions: Will it be a good fit for us? Do we see ourselves surrounded by white-haired executives in suits? Can we imagine going from a small hands-on club to an enormous checkwriting club? I’m not sure what my life will be like in 20 years, but I hope that Rotary will be part of it. I’ve spoken to my grandfather about this; he’s been trying to recruit me to his club ever since I became president of my Rotaract club. Not quite yet, Grandpa. TIRONE : When I applied for an Ambassadorial Scholarship, one of the questions asked of me was,“Where do you see yourself in relation to Rotary in the future?” My answer: “This is for life.” I was already a Rotaractor and the prospect of becoming a Rotarian had always appealed to me. I definitely have “I need to leave Rotary” days, but I also have “I need to leave my job” days and “I need to leave Toronto” days. Of all those things, I’m least likely to leave the Rotary family. PETRICHENKO : It’ll happen in good time. I’m a Rotaractor by name, Rotarian at heart.


ถามเรื่องวัยรุ่น กับรอน เบอร์ตัน ท่านได้บรรจุภารกิจด้านชนรุ่นใหม่เป็นเรื่องเร่งด่วน ท่านมีเป้าหมาย อย่างไรส�ำหรับปีนี้ ผมจัดให้ประธานเยาวชนแลกเปลีย่ นโรตารี ประธานไรลา ประธานโรทา แรคท์ อินเทอแรคท์ และคณะกรรมการศิษย์เก่าโรตารีมาอยูด่ ว้ ยกันเป็นกลุม่ ก้อนภายใต้คณะกรรมการชนรุน่ ใหม่ เพราะผมอยากให้คนในกลุม่ พูดคุย กัน ผมอยากเห็นกลุ่มเยาวชนแลกเปลี่ยนและไรลาได้ป้อนข้อมูลให้กับ กลุ่มอินเทอร์แรคท์ และโรทาแรคท์และอยากเห็นโรทาแรคท์ข้ามไปให้ ข้อมูลแก่โรตารี ผมคิดว่าถึงเวลาแล้วทีเ่ ราต้องเลิกคิดว่าใครอยูก่ ลุม่ ไหนก็ ท�ำหน้าทีอ่ ยูใ่ นกรอบโปรแกรมของฝ่ายตน ไม่อยากให้คดิ ว่าเราไม่จำ� เป็น ต้องเชิญเยาวชนในแต่ละกลุม่ มาทีส่ โมสรก็ได้ เราต้องท�ำหนทางแห่งการ เปลี่ยนผ่านจากเยาวชนกลุ่มหนึ่งของโรตารีไปสู่อีกกลุ่มหนึ่งนั้นราบรื่น ที่สุด แต่ผมเห็นอุปสรรคที่ใหญ่ที่สุดตอนนี้คือ พวกเราโรแทเรียนนั่นเอง เราจะเปลี่ยนทัศนคติของโรแทเรียนในการยอมรับผู้น� ำอายุน้อย ๆ อย่างไร คุณยังไม่เคยเห็นโรแทเรียนที่ทุ่มเทให้กับงานโรตารีมากเท่าครอบครัว อุปถัมภ์เยาวชนแลกเปลี่ยน และที่ท�ำงานให้สโมสรอินเทอร์แรคท์และ สโมสรโรทาแรคท์ เราต้องให้คนอื่นๆ ได้เห็นประกายโดดเด่นของเด็กๆ และต้องเริ่มคิดได้แล้วว่าพวกเขา หล่านี้จะเป็นโรแทเรียนได้ในอนาคต พวกเขาเป็นส่วนหนึ่งของครอบครัวโรตารี เป็นส่วนขยายของชุมชนที่มี อยู่ทั่วโลก เป้าหมายของพวกเขามีอยู่เหมือนกันและเหมือนกับเรา พวก เขาให้ความช่วยเหลือในโครงการโปลิโอและมูลนิธโิ รตารี นอกเหนือจาก ที่เขาท�ำงานใกล้ชิดกับสโมสรในกิจกรรมต่าง ๆ แล้ว ฉะนั้น เราจะต้อง กล้าที่จะช่วยให้เขาเดินสู่หนทางแห่งการเปลี่ยนผ่านต่อไป เศรษฐกิจในปัจจุบนั เป็นอุปสรรคกับคนหนุม่ สาวพอสมควร ท่านจะมี หนทางช่วยบัณฑิตจบใหม่เข้ามาเป็นโรแทเรียนอย่างไร หากคนหนุ่มสาวมีจิตอาสา มันเป็นความจ�ำเป็นส�ำหรับเราที่จะต้อง ต้อนรับเขาให้เขาได้มเี วทีทจี่ ะแสดงออก ปัญหาเศรษฐกิจมักเกิดขึน้ เสมอ เมือ่ ผมเดินทางมีคนมักจะตัง้ ค�ำถามว่าการเป็นโรแทเรียนต้องใช้เงินเท่าไร ในสโมสรและในภาค คุณจ่ายค่าอาหารไม่ว่าจะได้รับประทานหรือไม่ ก็ตาม ผู้ที่มีรายได้น้อยอาจล�ำบาก ผมก็อยากขอเชิญชวนสโมสรให้คิด นอกกรอบ คุณช่วยเด็กที่มีความทุกข์ยากล�ำบากได้ ท�ำไมคุณไม่ช่วยคน ที่อยากเป็นสมาชิกให้ได้เป็นเต็มตัวบ้าง ท่านจัดการกับปัญหาช่องว่างระหว่างวัยในสโมสรอย่างไร? เราทุกคนต้องประเมินตัวเองเสมอ ผมพูดบนโพเดียมเสมอว่าหากคุณเป็น สมาชิกใหม่คณ ุ ยังคิดว่าจะเข้าร่วมกับสโมสรแห่งนีไ้ หม ขอให้พดู อย่างไม่ ต้องเกรงใจ ถามตัวเองว่ามันยังมีเสน่ห์อยู่บ้างหรือเปล่า ถ้าคุณอายุ ๒๒ ปี ๔๒ ปี หรือ ๗๒ ปี คุณมองหาอะไรในสโมสรแห่งนี ้ ใช่แล้ว เราต้อง

22

Rotary Thailand

รูส้ กึ เป็นส่วนหนึง่ สโมสร เราอาจไม่ตอ้ งให้ความอนุเคราะห์ คนรุน่ ใหม่มาเป็นสมาชิก พวกเขามีคณ ุ สมบัตติ ามศักยภาพ ที่เขามีอยู่ ขึ้นอยู่กับเราว่าจะสามารถถ่ายทอดความเป็น โรตารีที่กุมหัวใจของเราให้กับเขาได้ดีเพียงใด ชื่อของบริการแนวทางที่ ๕ มีการเปลี่ยนแปลง เราจะ พูดกับบรรดาผู้นำ� เด็ก ๆ เหล่านี้อย่างไร งานของผมคือการเป็นเชียร์ลีดเดอร์ส�ำหรับสโมสรโรตารี ต่าง ๆ และโปรแกรมบ�ำเพ็ญประโยชน์ของเรา “ชนรุ่น ใหม่” เป็นชื่อที่ช่วยให้มองเห็นการท�ำงานเป็นองค์รวม จิตวิญญาณยังคงมีอยู่เช่นเดิมในคณะกรรมการชนรุ่น ใหม่ และการประชุมชนรุ่นใหม่ที่จัดขึ้นทั่วโลก ผมตั้งใจ จะไปทุกแห่งที่มีประชุมนี้ ผมจะบอกคนรุ่นใหม่ว่าจะมี คนมานั่งท�ำงานที่โต๊ะผมในปีหน้าและปีต่อ ๆ ไป สักวัน หนึ่งคุณจะเป็นคน ๆ นั้น นี่เป็นงานของผู้ที่มีทักษะลูก เสืออย่างผม คือต้องหาคนมาแทนผม และนั่นก็เป็นงาน ของโรแทเรียนทุกคน


New Gens Package/Burton Q&A Hed TK

You’ve made New Generations one of your major presidential priorities. What’s your goal for this year? I’ve taken the chairs of the Rotary Youth Exchange, RYLA, Rotaract and Interact, and alumni committees and put them together on the New Generations Committee. I want these groups to talk to one another more; I want Youth Exchange and RYLA to feed into Interact and Rotaract, and I want Rotaract to feed into Rotary. It’s time to get over this idea that young people should stay in their own programs, that we shouldn’t bring them into our clubs. We need to smooth the path for these transitions, and the biggest obstacles I see in that process are Rotarians. How do we shift Rotarians’ attitude toward younger leaders? You’ve never seen more dedicated Rotarians than the people who host Youth Exchange students and work with Interact and Rotaract clubs. We’ve got to get everyone else to catch that spark and start thinking of these young people as potential Rotarians. They’re a part of the Rotary family, which extends from your own community to virtually every country in the world. They share the same goals; they contribute to PolioPlus and The Rotary Foundation as Rotary clubs do. So we shouldn’t be afraid to help them make that transition. This is a tough economy for young people. How do you turn a recent college grad into a Rotarian? If a young person has a bent toward service, it’s important to be welcoming and give that person something to do to get him or her engaged. The money issue always comes up when I travel – people talk about how expensive it is to be a Rotarian with club and district dues. You pay for all your meals, whether you eat them or not; that’s not very accommodating for a tighter budget. I would challenge clubs to think outside the box. You want to help a young person having a hard time, but you don’t want to make that person feel like less than a member. How do you address generation gaps in clubs? We all need to do a self-assessment. I often ask this from the podium: Would you rejoin your own Rotary club today? Take a hard look at it: Is it attractive? If you were 22 years old, or

42 or 72 or whatever, is there something here for you? We need to be more inclusive. We don’t have to patronize younger members; they’re qualified in their own right and full of potential. It’s up to us to make sure we inculcate in them the ideal of Rotary that captured our own hearts. With the name of the fifth Avenue of Service changing, how should we talk about Rotary’s young leaders? My job is to be a cheerleader for all of Rotary’s clubs and programs. “New Generations” is an inclusive way to look at it because the term encompasses more groups of people. That spirit will live on this year in the New Generations Committee and in New Generations conferences all over the world – and I plan to go to all of them. I’ll tell these young people that someone else will be sitting at my desk next year and the years after that, and that one day it might be you. It’s my job to be a talent scout, to find my own replacement, and that’s the job of every Rotarian.


ข้อแนะน�ำ

ในการดูแลเอาใจใส่ผู้นำ� รุ่นเยาว์ แบ่งปัน ความสัมพันธ์ที่ดีเติบโตจากการปฏิสัมพันธ์ ส่วนตัวและการมีโอกาสร่วมบ�ำเพ็ญประโยชน์ดว้ ยกัน แต่งตัง้ คณะกรรมการในสโมสรของท่านและให้เขาน�ำ สมาชิกสโมสรไปร่วมประชุมในการประชุมปกติของ สโมสรอินเทอร์แรคท์และโรทาแรคท์ ฟัง เมื่อท่านพบคนหนุ่มสาว ลองพยายามเข้าใจ พื้นฐานพฤติกรรมของเขา นักเรียนแลกเปลี่ยนอายุ ๑๘ ปี กับเจ้าของธุรกิจอายุ ๒๙ เป็นหนุ่มสาวเหมือน กันแต่มีมุมมองที่แตกต่างกัน อุปถัมภ์ การชักชวนโรทาแรคท์เตอร์มาร่วมประชุม กับสโมสรโรตารี ขอให้พิจารณาถึงการให้ส่วนลดแก่ คนหนุ่มสาวเหล่านี้ หรือถ้าเป็นไปได้ก็หาสมาชิกมา เป็นผู้อุปถัมภ์ค่าลงทะเบียนให้ เชือ่ มต่อ ถ้าอยากคุยกับเยาวชน ท่านต้องไปที่ ๆ พวก เขาชอบไป เช่นในกลุม่ ผูใ้ ช้อนิ เตอร์เน็ตอายุตำ�่ กว่า ๓๐ ปี ร้อยละ ๘๓ ใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ เช่น เฟสบุค๊ พินเตอร์เรสท์ ลิงค์อิน และทัมเบลอร์ เพื่อการแลก เปลี่ยนข่าวสาร อวดรูปถ่าย และสื่อสารกัน สีเขียว ความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมคือผลิตผลของ ส�ำนึกทีต่ ดิ มากับชนรุน่ ใหม่ทโี่ ตมากับการรณรงค์เกีย่ ว กับแนวความคิด “รักษ์โลก” ซึ่งจะส่งผลต่อรูปแบบ ของโครงการบ�ำเพ็ญประโยชน์ที่พวกนี้สนใจ พวก เขาจะยอมรับท่าน หากท่านเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม จ่ายออนไลน์ เมือ่ ความนิยมท�ำธุรกิจบนอินเตอร์เน็ต แพร่หลายไปเป็นอย่างมาก ไม่มีใครสนใจช�ำระเงิน

24

Rotary Thailand

ด้วยเช็คแล้ว เมือ่ ท่านต้องการให้คนรุน่ ใหม่ชำ� ระค่าใช้ จ่ายต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นค่าบ�ำรุง หรือบริจาคเงิน ท่าน ต้องคิดถึงวิธีการช�ำระโดยผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ เครือ่ งมือทีเ่ ป็นแอพพลิเคชัน่ ของเครือ่ งมือสือ่ สารสมัย ใหม่อย่างเช่น เพย์พอลช่วยให้ทา่ นท�ำธุรกิจทัง้ รับและ จ่ายผ่านบัตรเครดิตได้อย่างสะดวกสบาย รับสมัคร จัดสังสรรค์กลุ่มศิษย์เก่าโรตารีในภาคของ ท่าน พวกเขามีโอกาสสูงที่จะมาเป็นสมาชิกสโมสร ผู้ ที่เคยผ่านประสบการณ์การอบรมเยาวชนผู้น�ำโรตารี (ไรลา) หรือเป็นนักเรียนแลกเปลี่ยนโรตารี (วายอี) พวกเขามีสายสัมพันธ์กับโรตารีอยู่แล้ว และหากอดีต โรทาแรคท์เตอร์มีอายุครบ ๓๐ ขอให้เชิญพวกเขามา ที่สโมสรอธิบายให้เขาทราบถึงสิทธิพิเศษที่เขามีหาก จะมาเป็นสมาชิกสโมสร สอน โรแทเรียนต้องพร้อมทีจ่ ะเป็นพีเ่ ลีย้ งให้กบั คนรุน่ ใหม่ในภาคของตนเอง ถามคนรุ่นใหม่สักหน่อยก่อน ว่าเขามีเป้าหมายในชีวิตอย่างไร แล้วให้ค�ำแนะน�ำ ที่เหมาะสมกับเขา รวมทั้งประสบการณ์ในชีวิตการ ท�ำงานและชีวิตในโรตารีของท่าน เรื่องที่เกี่ยวข้องกับ โรตารีเช่นการหาทุน การจัดกิจกรรมต่าง ๆ และการ อุทิศตนเป็นอาสาสมัคร สนุก ความเป็นทางการบางครั้งท�ำให้วัยรุ่นรู้สึกเกร็ง พวกเขาชอบชีวิตง่าย ๆ ใส่ยีนส์แทนที่จะผูกเนคไท และบางครั้งการสวมรอยยิ้มเอาไว้ ก็ช่วยให้ก�ำแพง ระหว่างคนสองคนหายไป


ประชากรมิเลนเนียล

ว่าคนรุ่นก่อนพวกเขามีอะไรดี ๆ ที่จะสอนเขาได้เกี่ยวกับศีล คนรุ่นมิเลนเนียลคือเด็กที่เกิดหลังปี ค.ศ. ๑๙๘๐ ซึ่ง ธรรม ค่านิยมและจริยธรรมในองค์กร และรายงานยังสรุปด้วย เกิดมาพร้อมกับนวัตกรรมอินเตอร์เน็ตและเหตุการณ์ ๙/๑๑ ว่าพวกคนรุ่นใหม่นี้มีสัมพันธภาพที่ดีกับพ่อแม่ และแม้ว่าคน พวกเขามาทีหลังคนรุ่น เจนเอกซ์ (Gen X) และเบบี้บูมเมอร์ อเมริกนั กว่าร้อยละ ๘๐ มีรายงานเชือ่ ว่ามีชอ่ งว่างระหว่างวัย หลังสงครามโลก คนพวกหลังนี้เป็นพ่อแม่ของเด็กเจนวาย ในสังคม แต่มเี พียงหนึง่ ในสีเ่ ท่านัน้ ทีเ่ ห็นว่านัน่ เป็นสาเหตุแห่ง (Gen Y) หรือมิเลนเนียล ประมาณว่ามีเด็กมิเลนเนียลอยู่ ความขัดแย้ง ประมาณ ๘๐ ล้านคนในสหรัฐอเมริกา และคาดว่าภายในปี แม้ว่าผู้ที่จบจากมหาวิทยาลัยจะได้รับความล�ำบาก ค.ศ. ๒๐๒๕ พวกเขาจะเป็นก�ำลังแรงงานประมาณ ๓ ใน ๔ จากสภาพเศรษฐกิจย�่ำแย่มายาวนาน พวกมิเลนเนียลกลับ ของประชากรท�ำงานของโลก มองในแง่บวกทั้งในด้านเป้าหมายทางการเงินของพวกเขา มีการวางแผนเอาไว้ให้คนรุน่ มิเลนเนียลอย่างดีและเชือ่ และสภาพเศรษฐกิจของประเทศ และแม้ว่าจะมีเพียงร้อย ว่าพวกเขาจะเป็นประชากรทีม่ คี วามรูด้ ที สี่ ดุ ในสหรัฐอเมริกา ละ ๓๑ ที่ตอบว่าตนเองมีรายได้เพียงพอกับรายจ่าย แต่มีถึง มากกว่าครึ่งหนึ่งเคยศึกษาในมหาวิทยาลัย นักวิเคราะห์ ร้อยละ ๘๘ ทีเ่ ชือ่ มัน่ ว่าตนเองจะมีรายได้มากขึน้ และเพียงพอ รายงานว่า ความตกต�ำ่ ทางเศรษฐกิจในปัจจุบนั มีสว่ นผลักดัน ในอนาคต (เกือบเป็นสองเท่าของคนรุ่นหลังสงครามโลกที่มี ให้คนรุน่ นีห้ ลบไปเรียนหนังสือต่อ พักการท�ำงานไว้จนกว่าจะ ความเชื่อเช่นนั้น) ได้ปริญญาสูงขึ้นเพื่อน�ำไปใช้ในการแข่งขันหางานที่ดีขึ้น โดยรวมแล้ว ชาวมิเลนเนียลให้ความส�ำคัญในล�ำดับต้นๆ คนในรุน่ นีม้ กั ให้ความเคารพต่อผูอ้ าวุโส ส่วนใหญ่เห็น กับการมีลูกและการแต่งงาน มากกว่าเรื่องงานและความ


ส�ำเร็จทางการเงิน แต่ในความเป็นจริงพวกเขามักแต่งงานช้า มีเพียงหนึ่ง ในห้าเท่านัน้ ทีแ่ ต่งงานแล้วซึง่ เป็นเพียงครึง่ หนึง่ ของสถิตใิ นรุน่ พ่อแม่ของ พวกเขาตอนอยู่ในช่วงอายุเดียวกัน หนึ่งในสามของผู้ที่แต่งงานแล้วนี้อยู่ ในฐานะคนเป็นพ่อและแม่แล้ว คนรุ่นมิเลนเนียลมองตัวเองว่าเป็นพวกหัวก้าวหน้าและมีเสรีภาพ มากกว่าคนรุ่นก่อน ๖๑ เปอร์เซ็นต์ของคนที่มีอายุต�่ำกว่า ๓๐ ปีเห็นด้วย ว่ามันเป็นหน้าทีข่ องประชาชนทีจ่ ะต้องไปลงคะแนนเสียงเลือกตัง้ (ตัวเลข นีม้ สี งู ถึง ๔๖ เปอร์เซ็นต์ในปี พ.ศ. ๒๕๕๐) จ�ำนวนคนอเมริกนั ทีเ่ ห็นว่าคน รุน่ ใหม่มคี วามอดทนต่อความแตกต่างในด้านเชือ้ ชาติและกลุม่ คนมากกว่า คนรุน่ เก่ามีมากถึงสองเท่าของคนทีเ่ ห็นว่าคนรุน่ เก่ามีความอดทนมากกว่า มีถึงร้อยละ ๘๓ ของคนรุ่นมิเลนเนียลที่มีรายงานว่าหลับนอนโดย มีเครือ่ งโทรศัพท์มอื ถืออยูใ่ กล้ และสามในสีไ่ ด้จดั ท�ำประวัตขิ องตัวเองเอา ไว้ในสือ่ สังคมออนไลน์ พวกเขาเห็นว่าเทคโนโลยีชว่ ยท�ำให้ชวี ติ ง่ายขึน้ และ น�ำผู้คนให้เข้ามาใกล้กันมากขึ้นซึ่งเป็นความเชื่อที่มากกว่าคนรุ่นเก่า สถิตทิ วั่ โลกแสดงให้เห็นว่าหนึง่ ในสามของโรแทเรียนอายุนอ้ ยกว่า ๕๐ ปี และมีเพียง ๒ เปอร์เซ็นต์อายุนอ้ ยกว่า ๓๐ ปี นอกจากนีเ้ รายังมีโรทาแรคท์เตอร์ ๑๓๔,๐๐๐ คน และอินเทอร์แรคท์เตอร์ ๓๖๕,๐๐๐ คน และมีเด็กนักเรียน แลกเปลีย่ นอีกมากกว่า ๘,๐๐๐ คนทีอ่ ยูใ่ นโครงการเยาวชนแลกเปลีย่ น โรตารีในแต่ละปี

ค�ำแนะน�ำฉบับติดกระเป๋าส�ำหรับโครงการ ผู้น�ำเยาวชนโรตารี อิ น เทอร์แรคท์ สโมสรบ�ำเพ็ญประโยชน์ส�ำหรับเยาวชนอายุ ๑๒ - ๑๘ ปี มีวตั ถุประสงค์ในการส่งเสริมเยาวชนให้มที กั ษะความเป็นผูน้ ำ� และ จริยธรรม รู้จักเสียสละและเคารพผู้อื่น รู้จักรับผิดชอบ และสู้งาน หนัก และได้เข้าใจหนทางในการบ�ำเพ็ญประโยชน์ระดับนานาชาติ สโมสร

26

Rotary Thailand

อินเทอร์แรคท์ อาจเป็นแบบสังกัดโรงเรียน หรื อ สั ง กั ด ชุ ม ชน และอาจแบ่ ง เป็ น กลุ ่ ม อินเทอร์แรคท์มธั ยมต้นและมัธยม ตอนปลาย โรทาแรคท์ คื อ สโมสรบ� ำ เพ็ ญ ประโยชน์ส�ำหรับเด็กโตอายุระหว่าง ๑๘ ๓๐ ปี สโมสรโรทาแรคท์บางแห่งเป็นแบบ สังกัดมหาวิทยาลัยมีสมาชิกเป็นนักศึกษา ของมหาวิ ท ยาลั ย นั้ น หรื อ อาจเป็ น แบบ สังกัดชุมชนที่อาจมีทั้งนักศึกษาจากหลาย แห่ง และมีผู้ที่ท�ำงานแล้วร่วมเป็นสมาชิก ได้ กิจกรรมบ�ำเพ็ญประโยชน์ทที่ ำ� นัน้ ก็คล้าย กับของสโมสรโรตารีทสี่ ามารถเลือกท�ำได้ทงั้ โครงการในชุมชนของตนเองหรือเป็นชุมชน ในต่างประเทศ ซึ่งมักเป็นโครงการที่เน้น พัฒนาทักษะความเป็นผูน้ ำ� และพัฒนาความ สามารถในวิชาชีพของสมาชิก นั ก เรี ย นแลกเปลี่ ย นโรตารี เป็ น โครงการที่ส่งเสริมให้เด็กเยาวชนและผู้ใหญ่ ตอนต้ น ได้ มี โ อกาสเดิ น ทางไปใช้ ชี วิ ต อยู ่ ในต่างประเทศเพื่อเรียนรู้วัฒนธรรมและ ปฏิบัติหน้าที่ทูตทางวัฒนธรรมของประเทศ ทีเ่ ขาเป็นตัวแทน นักเรียนต้องมีอายุระหว่าง ๑๕ - ๑๙ ปี จึงจะสามารถเข้าร่วมโครงการ เยาวชนแลกเปลี่ ย นนี้ และเดิ น ทางเพื่ อ แลกเปลีย่ นกับเยาวชนในต่างประเทศเป็นเวลา มากถึงหนึ่งปี หรืออาจเลือกเป็นนักเรียน แลกเปลี่ยนในโครงการระยะสั้นก็ได้ รางวัลผู้น�ำเยาวชนโรตารี (ไรลา) เป็นโครงการการฝึกผู้น�ำส�ำหรับเยาวชน ที่มีอายุระหว่าง ๑๔ - ๓๐ ปี สโมสรและ ภาคส่ ว นใหญ่ มี ห ลั ก สู ต รการอบรมของ ตนเองส�ำหรับเยาวชนที่มีช่วงอายุ ๑๔ - ๑๘ หรือ ๒๕ - ๓๐ ปี ไรลาเน้นการเติบโตเป็น ประชากรและเป็ น คนดี สร้ า งความเป็ น ผู้น�ำให้แก่เยาวชนโดยตัวเยาวชนเอง และ ส่งเสริมให้เยาวชนบ�ำเพ็ญประโยชน์เพือ่ ชุมชน ของพวกเขาเอง


Tips for the care and keeping of young leaders SHARE Good relationships grow out of personal connections and joint projects. Designate a liaison or committee in your club, and then regularly visit Interact and Rotaract club meetings. LISTEN When you meet young people, make an effort to understand their specific backgrounds. An 18-year-old Rotary Youth Exchange alumnus will have a different perspective from a 29-yearold business owner. SPONSOR To attract Rotaractors to your club meetings, consider offering a discounted meal rate or sponsoring a certain number of meals per meeting. SYNC UP Got something to say to young people? Meet them where they are. Among Internet users under age 30, 83 percent use social networking sites like Facebook, Twitter, Pinterest, LinkedIn, and Tumblr to share news, photos, and messages. GO GREEN Environmental sustainability is a given for the generation that grew up with Earth Day, and it affects how young people think about everything from service projects to administrative structures. They’ll respect your efforts to be friendly to the environment. CASH IN With the rise of online banking and direct deposit, who needs a checkbook? When

you want young people to pay dues or donate, consider new payment technology. Mobile applications and services such as PayPal can process debit and credit card payments on the spot with a smartphone or tablet. RECRUIT Pursue program alumni in your district as potential members. If someone has had a valuable RYLA or Youth Exchange experience, that person already has a connection to Rotary.


When members of the Rotaract club you sponsor hit 30, invite them to join your club and explain what you have to offer. TEACH Be a mentor to the young people in your district. Ask them about their lives and goals, offer advice when you can, and pass along the skills you’ve learned in your Rotary career, including fundraising, event planning, and hands-on volunteering. LAUGH Formality can be intimidating for the many young people who prefer jeans to ties. Sometimes a smile or friendly invitation is all it takes to break the ice.

Millennials by the numbers

The millennial generation includes those born after 1980 who came of age with the Internet and 9/11. It was preceded by generation X and the postwar baby boomers – the parents of most millennials. Millennials number about 80 million in the United States today,

28

Rotary Thailand

and by 2025, they will make up three-quarters of the global workforce. Millennials are on track to becoming the most educated generation the United States has seen. More than half have at least some college education; analysts suggest that the recent economic downturn has accelerated the trend, with young people postponing their entrance to the workforce and seeking a competitive edge in graduate schools. Members of this generation tend to respect their elders. A majority agree that the older generation has something to teach them about moral values and work ethic, and overall they report good relationships with their parents. And while nearly 80 percent of Americans observe generation gaps in society, only about a quarter see them as sources of conflict. Though people who graduate from college in a bad economy suffer long-term consequences, millennials are upbeat about their financial goals and the state of the nation. Though only 31 percent of employed millennials feel they earn enough


money now, 88 percent are confident they’ll earn enough in the future (nearly twice the number of boomers with that outlook). As a whole, the millennial generation prioritizes parenthood and marriage above career and financial success, but millennials tend to get married later in life. Only one in five is married now, about half of the proportion of their parents’ generation at the same age, and about a third are parents. Millennials are more likely than their predecessors to describe themselves as liberal and progressive on social issues, and 61 percent of those under 30 agree that it’s their duty as citizens to always vote (up from 46 percent in 2007). Twice as many Americans say millennials are more likely than older people to be tolerant of different races and groups, as compared with the number who say older people are more tolerant. Eighty-three percent of millennials report sleeping with a cell phone on or near their bed, and three-quarters have made profiles on social networking sites. They’re more likely than their elders to say that technology makes life easier and brings people closer together. Worldwide, a third of Rotarians are under age 50, and only 2 percent are under 30. There are an estimated 134,000 Rotaractors and 365,000 Interactors. More than 8,000 students participate in Rotary Youth Exchange every year. [SIDEBAR/221 words]

A pocket guide to Rotary’s programs for young leaders

Interact is a service club for young people ages 12 to 18 that promotes leadership skills and personal integrity, helpfulness and respect for others, individual responsibility and hard work, and international understanding and goodwill. Interact clubs can be community- or school-based, and are often broken down into middle and high school age ranges. Rotaract is a service club for young adults ages 18 to 30. Some Rotaract clubs are based on university campuses and cater to students, while others are based in communities, and include students and professionals. Like Rotarians, Rotaractors conduct community and international service projects and focus on leadership and professional development activities. Rotary Youth Exchange is a program for youth and young adults that allows students to live in another country, learn a new culture, and serve as an ambassador. Students ages 15 to 19 can participate in a long-term exchange of up to one year, or they can choose a short-term exchange of several days or weeks. Rotary Youth Leadership Awards (RYLA) is a leadership training program for young people ages 14 to 30. Most clubs and districts develop events for specific age groups within that range, such as 14 to 18 or 25 to 30. RYLA emphasizes citizenship and personal growth, encouraging leadership of youth by youth and publicly recognizing young people who serve their communities.


มาซิน เมียซโกวสกีชอบวงเดอะบีทเทิล และชอบเรียนเปียโน แม้ว่าเขาจะเป็นโรคดาวน์ซินโดรม แต่ดานูตา วอซอคฮาวสกา คุณครูของเขาเชื่อว่าการเรียนดนตรีช่วยท�ำให้เขามีความมั่นใจมากขึ้น

30

Rotary Thailand


การศึกษาชั้นเยี่ยม โรงเรียนในโปแลนด์สอนผู้พิการทางสมองให้สามารถ สร้างเสียงดนตรีของพวกเขาได้

เรื่อง : ซูซี มา ภาพ : อลิซ เฮนสัน รทร.อภิศักดิ์ จอมพงษ์ สร.แม่จัน แปล


เมียซโกวสกี (ด้านบน) นั่งรอที่จะเข้าเรียนเปียโนประจ�ำสัปดาห์ของเขา จูเลีย วอซอคฮาวสกา (ด้านล่างและด้านขวา) นักเรียนที่อายุน้อยที่สุดของโรงเรียนก�ำลังแสดงการเดี่ยวเปียโนในเพลงพื้นเมืองของโปแลนด์

32

Rotary Thailand


ในตอนที่ มาซิน เมียซโกวสกี เกิดมาพร้อมกับโรค ดาวน์ซนิ โดรม แม่ของเขาพบว่ามันเป็นเรือ่ งยากทีจ่ ะรับ ได้ "ฉันรู้สึกช็อกมาก" เฮเลนา ไม’สลาค กล่าว "แต่ใน ช่วงหลายปีทผี่ า่ นมา ความบกพร่องต่าง ๆ ได้ถกู เยียวยา และตอนนี้ฉันคิดว่าเรามีชีวิตเช่นเดียวกับครอบครัวที่มี ลูกเป็นปกติ" ดนตรีเป็นส่วนส�ำคัญทีช่ ว่ ยน�ำชีวติ กลับมาสูภ่ าวะ ปกติ เมียซโกวสกีเป็นนักเรียนที่โรงเรียนสอนดนตรี ส�ำหรับเด็กที่มีความพิการทางสมอง ที่ริเริ่มโดยบรรดา โรแทเรียนเพื่อมอบให้เป็นเกียรติแก่ พอล แฮร์ริส ตั้ง อยู่ในเมืองลูบิน ประเทศโปแลนด์ โรงเรียนแห่งนี้ได้รับ การสนับสนุนจากสโมสรโรตารีลบู นิ -เซ็นทรัม-มาเรียคูร-ี สโคลโดวสก้า โดยได้ให้การอุปถัมภ์นกั เรียนทีม่ คี วามพิการ ทางสมองลักษณะต่าง ๆ เช่น ดาวน์ซนิ โดรม ออทิสติก และภาวะความบกพร่องทางการมองเห็นจ�ำนวน 20 คน โดยสโมสรได้รับเงินทุนสนับสนุนโรงเรียนจากการ ท�ำโครงการทุนสมทบร่วมกับมูลนิธิโรตารี และได้รับ ความช่วยเหลือจาก “Henryk Wieniawski Musical Society” ซึ่งได้มอบสถานที่ก่อสร้างโรงเรียน เมียซโกวสกีได้ถูกส่งมาเรียนเปียโนที่นี่เป็นเวลา เจ็ดปีแล้วโดยไม่เสียค่าใช้จา่ ย นักเรียนทุกคนไม่ตอ้ งจ่าย เงินส�ำหรับค่าเล่าเรียน "เมือ่ มาซินไปโรงเรียนเขามีความ สุขมาก" ไม’สลาคกล่าว "เป็นเพราะเขามีครูที่ดี" ดานูตา้ วอซอคฮาวสกา ครูใหญ่ของโรงเรียน และ เป็นครูสอนเปียโนให้แก่เมียซโกวสกี ยังจ�ำวันที่เขามา เรียนวันแรกได้ดี "เขาไม่สุงสิงกับใครเลย" เธอกล่าว "แม่ ของเขาบอกว่าเขาจะพูดน้อยมาก และชอบสื่อสารผ่าน ท่าทาง หรือไม่ก็จะเป็นแบบถามค�ำตอบค�ำ" ทันทีที่เขา เริม่ เล่นดนตรี วอซอคฮาวสกาพบว่ามีความเปลีย่ นแปลง ด้านพฤติกรรมของเขา โดยเขาเริ่มสนทนากับเธอ เริ่ม จากเพียงไม่กคี่ ำ � ต่อมาก็เป็นประโยค "เขาเปิดรับสิง่ ต่างๆ มากขึ้น เขาเรียนรู้การเต้นร�ำ เขามีแฟน และเขาก็ความ เป็นกันเองและมีความกล้ามากขึ้นเมื่ออยู่ในกลุ่ม" คุณครูใหญ่ยงั ได้พบกับผลลัพธ์ทคี่ ล้ายกัน ในนักเรียน คนอืน่ ๆ อีกด้วย จูเลียซึง่ เป็นหลานสาวของเธอเองได้มา เรียนเปียโนหลังจากที่เธอเริ่มที่จะสูญเสียการมองเห็น นัยตาข้างขวา “การที่จูเลียประสบความส�ำเร็จในการ ประกวดพูดในทีส่ าธารณะทีผ่ า่ นมา เป็นผลลัพธ์จากการ ที่เธอได้เรียนเปียโน และนี่คือการพัฒนาไปในทางที่ดี ครัง้ ส�ำคัญส�ำหรับเด็กผูห้ ญิงคนนี"้ วอซอคฮาวสกากล่าว


มาเทอูซ คาเนีย เกิดมาพร้อมกับสภาวะการหยุดพัฒนาการทางสายตาส่งผลให้ตาบอด เขารักในเสียงดนตรี แต่พ่อกับแม่ของเขา, มาริอูซ และโจแอนนาก็หาครูที่จะมาสอนเขาไม่ได้ (ด้านบน) คุณครูอิลโลนา สปายชาลสก้า ครูสอนเปียโนของคาเนีย ซึ่งมีประสบการณ์ในการสอนดนตรีแก่นักเรียนที่ตาบอด (ด้านล่าง)

34

Rotary Thailand


หลังจากที่ลูกชายของพวกเขา, มาเทอูซ เกิดมา พร้อมกับสภาวะการหยุดพัฒนาการทางสายตา มาริอซู และโจแอนนา คาเนีย พยายามหาวิธีที่จะช่วยให้เขามี ความตื่นตัว พวกเขาผูกของเล่นที่มีเสียงเมื่อเขย่ารอบ ข้อมือและข้อเท้าของมาเทอูซ เพื่อให้เขาได้รับรู้ถึงการ เคลื่อนไหวของร่างกาย "เราอยากให้เขาช่วยเหลือตัว เองให้ได้มากที่สุด" โจแอนนากล่าว เมื่อมาเทอูซแสดงถึงความชอบในเสียงดนตรี พวกเขาพยายามมองหาครูมาสอน และรูส้ กึ ตืน่ เต้นทีไ่ ด้ พบกับ คุณครูอิลโลนา สปายชาลสก้า ที่โรงเรียนดนตรี พอล แฮร์ริส "โรงเรียนนี้จะช่วยให้เด็กที่เป็นอย่างมาเทอูซได้ ขยายมุมมองของพวกเขา ได้มองโลกในแบบที่แตกต่าง ออกไป ได้พบปะคนใหม่ ๆ" พ่อของเขากล่าว "ถ้าไม่ใช่ ที่โรงเรียนนี้ ก็คงไม่มีที่ไหนอีกแล้วในลูบิน ที่เด็ก ๆ ที่ พิการทางสมองจะได้มีโอกาสพัฒนาในด้านดนตรี" คาเนี ย มี ค วามช� ำ นาญขนาดที่ ส ามารถปรั บ จูนเสียงเปียโนที่บ้านของเขาให้เหมือนกับที่โรงเรียน ในขณะที่ เขาได้ ส นุ ก สนานในการเล่ น ดนตรี ก็ ไ ด้ มี พัฒนาการด้านอื่น ๆ ไปด้วยเช่น ความกระฉับกระเฉง "ยิง่ ทักษะการใช้มอื ของเขาพัฒนาไปมากเท่าใด ก็เท่ากับ โอกาสที่เขาจะได้เห็นและสัมผัสโลกใบนี้ได้มากยิ่งขึ้น" พ่อของเขากล่าว การแสดงดนตรีที่โรงเรียนจัดขึ้นทุก ๆ สองปี มักจะมีโรแทเรียนมาชมเสมอ "เมื่อผมได้ฟังการแสดง ดนตรีของเด็ก ๆ ก็มักจะขยับตัวตามทุกครั้ง และนี่คือ สิง่ ทีย่ นื ยันว่าพวกเราท�ำงานได้ผลเป็นอย่างดี" Grzegorz Wójcikowski จากสโมสรโรตารีลบู นิ -เซ็นทรัม-มาเรียคูร-ี สโคลโดวสกา กล่าว "นี่ คื อ ประสบการณ์ ที่ แ สนพิ เ ศษ" เขากล่ า ว "เพราะส�ำหรับเด็ก ๆ เหล่านี้ การได้แสดงดนตรีใน คอนเสิรต์ ก็เปรียบเหมือนกับการพิชติ ยอดเขา และตอน นี้พวกเขาก็ได้มาอยู่บนยอดเขาเอเวอร์เรสแล้ว"


รทร.อภิศักดิ์ จอมพงษ์ สร.แม่จัน แปล

[1] ตุรกี ตั้งแต่เดือนธันวาคม 2012 ถึงเดือนเมษายน 2013 โรแทเรียน และโรทาแรคท์เตอร์ ในภาค 2430 ได้จดั การประชุมเกีย่ วกับสันติภาพขึน้ ในห้า เมืองของประเทศตุรกี ซึง่ ประกอบไปด้วยการประชุมระยะเวลา 3 วันทีเ่ มือง อังการา, ซัมซุน และอันทัคยา และการประชุมในระดับนานาชาติที่มีระยะ เวลายาวนานกว่าที่เมืองอันตัลยาและอิสคิซีฮิร โดยมีนักเรียนจ�ำนวน 240 คนได้ร่วมฟังการบรรยายและร่วมการประชุมเชิงปฏิบัติการจากโรแทเรียน และผูเ้ ชีย่ วชาญด้านสหภาพยุโรป รวมทัง้ ผูเ้ ชีย่ วชาญด้านสันติภาพท่านอืน่ ๆ ตุรกีเป็นที่พ�ำนักให้แก่ผู้อพยพมากกว่า 11,000 คนจากอิรัก และอีก มากกว่า 316,000 คนจากซีเรีย [2] แอนติกาและบาร์บูดา สโมสรโรตารีแอนติกาและสโมสรโรตารีเบลล์วิว เบรกฟาสต์, วอชิงตัน, สหรัฐอเมริกา ได้ร่วมมือกันในโครงการด้านการศึกษาที่ประเทศ แอนติกาและบาร์บูดา ตั้งแต่ปี 2008 พวกเขาได้ติดตั้งอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ มากกว่า 1,500 ชุดในโรงเรียนต่าง ๆ และมอบดิกชันนารีจ�ำนวน 7,500 เล่ม ให้แก่นักเรียนระดับประถมศึกษาปีที่สาม นอกจากนี้ยังเชื่อมต่อการเรียน การสอนระหว่างโรงเรียนของทั้งสองเกาะด้วยระบบวิดีโอคอนเฟอเรนซ์, ติดตั้งโปรแกรมเล่นหมากรุก, ริเริ่มหลักสูตรการสอนตัดเย็บส�ำหรับสตรี โดยมูลนิธิ “The Mill Reef Fund”ซึง่ เป็นองค์กรทีใ่ ห้การสนับสนุนเกีย่ วกับ การส่ ง เสริ ม สุ ข ภาพและการศึ ก ษาในประเทศแอนติ ก าและบาร์ บู ด า ได้บริจาคเงินทุนสนับสนุนโครงการนี้ด้วย [3] สหรัฐอเมริกา นักเรียนเยาวชนแลกเปลีย่ นโรตารีมารวมตัวกันที่ “Florida’s Big Pine Key” ในเดือนมกราคม ซึ่งเป็นวันหยุดสุดสัปดาห์นานาชาติครั้งที่ 21 จัดขึ้นที่ซีแคมป์ ซึ่งเป็นศูนย์การศึกษาเรียนรู้ทางทะเลที่ไม่แสวงผลก� ำไร วันหยุดแห่งการศึกษาเรียนรูเ้ กีย่ วกับสิง่ แวดล้อมนี้ เริม่ ตัง้ แต่ปี 1992 ตามการ เชิญชวนของ ไอรีน ฮูเปอร์ และ เกรซ อัพชอว์ – ซึ่งทั้งสองท่านเป็นคณะ กรรมการบริหารซีแคมป์ และยังเป็นสมาชิกของสโมสรโรตารีบิ๊กไพน์แอนด์ โลวเวอคีย์ – ในปัจจุบันมีโรตารีภาคต่าง ๆ ในฟลอริดามาร่วมกิจกรรมถึง 8 ภาค โดยในปีนี้มีนักเรียนเยาวชนแลกเปลี่ยนขาเข้าจาก 30 ประเทศ และ นักเรียนในระดับมัธยมปลายจากโรงเรียนในท้องถิ่นเข้าร่วมกิจกรรม ซึ่งใน เดือนกุมภาพันธ์ กิจกรรมนี้ได้รับรางวัลยอดเยี่ยมจาก “American Camp Association” โปรแกรมนักเรียนเยาวชนแลกเปลีย่ นของโรตารีได้เริม่ ขึน้ ในช่วงปี 1920 [4] บราซิล โยเอา โกเรีย นักกีฬาพาราลิมปิก ได้ปน่ั ข้ามประเทศบราซิลตอน ใต้ดว้ ยรถวีลแชร์ในเดือนพฤษภาคม เพือ่ สร้างความตระหนักถึงผูพ้ กิ าร, การ ขจัดโรคโปลิโอ, และโรตารี โดยมีสโมสรโรตารีกานอส-อินดัสเตรียล ร่วมกับ โรตารีภาค 4670 สนับสนุนรถเข็นคนพิการและอุปกรณ์อนื่ ๆ ทีจ่ ำ� เป็นส�ำหรับ โกเรียในการท้าทายกับระยะทางระดับอัลตรามาราธอนในครั้งนี้ นอกจาก นี้ยังมีบริษัทเอกชนที่สนับสนุนทุนด้านการฝึกซ้อมและค่าใช้จ่ายด้านอื่นๆ โกเรียได้ร่วมกับนักปั่นอาสาสมัครอีกจ�ำนวนหนึ่งปั่นจากเมืองกานอสไปยัง

36

Rotary Thailand

เมืองโอสโซริโอและปอร์โต อัลเลเกร ในรัฐทางตอนใต้ของนคร ริโอ แกรน ดู โซ เป็นการปั่นวีลแชร์รวมระยะทาง 124 ไมล์ ภายในเวลา 11 ชม. 25 นาที ซึ่งเป็นการสร้างสถิติโลกส�ำหรับนักกีฬาพาราลิมปิกด้วย [5] เลบานอน สโมสรโรตารีเบรุต-ซีเดอส์ ได้เฉลิมฉลองคติพจน์โรตารีประจ�ำ ปี 2012-13 “สร้างผลงาน เพื่อสันติสุข” ด้วยการท�ำกิจกรรมในด้านการ ส่งเสริมสันติภาพและขจัดความขัดแย้ง โดยร่วมมือกับสถานทูตฝรั่งเศส ในการจัดการฝึกอบรมการโต้วาทีให้แก่นักเรียนในระดับประถมศึกษาและ มัธยมศึกษา โดยได้เชิญผูบ้ รรยายพิเศษชัน้ แนวหน้าจากรัฐบาล และสหภาพ ยุโรปมาบรรยายในหัวข้อเกี่ยวกับสันติภาพ นอกจากนี้ยังสนับสนุนการจัด กิจกรรมวิ่งเพื่อสันติภาพของนักเรียน ในรายการ “เบรุตมาราธอน” รวมทั้ง จัดการประชุมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับการแก้ปัญหาความขัดแย้งส�ำหรับคน ท�ำงานในวัยหนุ่มสาวด้วย [6] หมู่เกาะโซโลมอน ตั้งแต่ปี 2004 สโมสรโรตารีกลาสเฮาส์เมาท์เทน, ประเทศ ออสเตรเลีย และสโมสรโรตารี กิโซ, หมูเ่ กาะโซโลมอน ได้รว่ มมือกันในการน�ำ เครือ่ งก�ำเนิดพลังงานจากแสงอาทิตย์ และน�ำ้ สะอาด ไปสูโ่ รงเรียนและสถาน บริการทางการแพทย์ ในประเทศทีเ่ ป็นเกาะในแถบมหาสมุทรแปซิฟกิ ตอนใต้ ในระหว่างการเดินทางไปท�ำโครงการในเดือนเมษายน พวกเขาได้ทำ� การติด ตัง้ ถังเก็บน�ำ ้ สร้างห้องน�ำ ้ และหลังคาใหม่สำ� หรับโรงเรียนประถม และท�ำการ ประเมินความเป็นไปได้ในการใช้พลังงานจากแสงอาทิตย์ของโรงพยาบาล ท้องถิ่น ส�ำหรับการเดินทางที่ก�ำหนดไว้ในเดือนตุลาคม ทั้งสองสโมสรจะ ด�ำเนินการติดตั้งถังน�้ำจ�ำนวน 8 ถัง ให้แก่โรงเรียนที่ตั้งบนเกาะสามแห่ง ประชากรประมาณร้อยละ 32 ในหมู่เกาะโซโลมอน ได้รับการปรับปรุง ด้านสุขาภิบาลที่ดีขึ้น [7] นิวซีแลนด์ สโมสรโรตารีทาราเดล เป็นเจ้าภาพจัดงานเทศกาลเช็กสเปียร์ขนึ้ ที่โบสถ์โรดไวเนอรี ในเดือนมีนาคม โรแทเรียนและครอบครัวได้ ร่วมกันแสดงละครจากบทประพันธ์ของเช็กสเปียร์เรื่อง “Merry Wives of Windsor” และสมาชิกในสโมสรทีเ่ ป็นช่างฝีมอื ได้จดั ซุม้ แสดงงานช่างต่างๆ ในงานเช่นช่างท�ำเครื่องหนัง ช่างเย็บหนังสือ ช่างตีเหล็ก และคนขายเนื้อ เทศกาลนี้ได้ดึงดูดผู้คนนับพันให้มาเที่ยวกันอย่างสนุกสนาน ซึ่งส่วนใหญ่ จะแต่งกายในชุดสมัยอลิซาเบธ โดยสามารถหารายได้จากงานนี้ถึง 12,600 ดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งถือว่าประสบความส�ำเร็จมาก และสโมสรก็วางแผนที่จะ ท�ำให้เป็นงานประจ�ำปี [8] อูกันดา คลินิกสาธารณสุขเคลื่อนที่ ซึ่งริเริ่มโดยสโมสรโรตารีคิทกัม และ สโมสรโรตารีในภาค 7680 และภาค 7690 (นอร์ทแคโรไลนา, สหรัฐอเมริกา) จะไปให้บริการทีค่ ลินกิ 4 แห่งและหมูบ่ า้ นอีก 16 หมูบ่ า้ นรอบ ๆ เมืองคิทกัม โดยเจ้าหน้าที่ผดุงครรภ์ 1 คน และพยาบาล 2 พร้อมคนขับรถจะเดินทาง ไปทั่วพื้นที่ เพื่อไปให้ความรู้เกี่ยวกับสุขลักษณะ, สุขภาพอนามัยของแม่ และเด็ก, โภชนาการ, การวางแผนครอบครัว และการป้องกันและการรักษาโรค


ให้แก่เจ้าหน้าที่ทางการแพทย์ที่ประจ�ำตามคลินิก รวมทั้งหมอชาวบ้านที่ ท�ำคลอดแบบดั้งเดิม โดยทีมที่ไปจะท�ำการประเมินผู้หญิงที่เพิ่งคลอด และ หญิงมีครรภ์ พร้อมทั้งฉีดวัคซีนที่รับรองโดยองค์การอนามัยโลกให้แก่ที่เด็ก อายุต�่ำกว่า 5 ขวบ [9] สหรัฐอเมริกา สโมสรโรตารีไวต์วิลล์, นอร์ทแคโรไลนา ได้จัดการแข่งขัน เรือประจ�ำปีครั้งที่สองขึ้นที่สโมสรแล่นเรือแห่งทะเลสาบวัคคามาว ใน เดือนมิถุนายน แต่งานนี้ไม่อนุญาตให้น�ำเรือใบประเภทใดก็ตามเข้าร่วม การแข่งขัน เพราะ “The Club’s North Carolina Cardboard Boat Championships” คือการแข่งขันเรือทีป่ ระดิษฐ์จากกระดาษลูกฟูก และขับ เคลือ่ นด้วยพลังงานมนุษย์ มาแข่งขันความเร็วกันบนระยะทาง 200 หลา การ แข่งขันครั้งนี้จัดขึ้นเพื่อหาเงินสนับสนุนองค์กรการกุศลในท้องถิ่น โดยผู้เข้า ร่วมการแข่งขันจะได้รบั รางวัลในประเภทต่าง ๆ เช่น ความเร็ว, การออกแบบ (ในปีที่ผ่านมามีทั้งเรือบ้าน, เรือไวกิ้ง, เรือบรรทุกเครื่องบิน และเรือจระเข้) รางวัลขวัญใจมหาชน ไปจนถึงรางวัลเรือที่จมได้สวยงามที่สุด [10] เอลซัลวาดอร์ หลายสิบปีแล้ว ที่ชาวบ้านซึ่งอาศัยอยู่ใกล้เมืองซานตาอานา ต้องใช้น�้ำในแม่น�้ำที่มีการปนเปื้อนส�ำหรับดื่มและปรุงอาหาร สโมสรโรตารี ซานตาอานา ซียแู ดด ฮีโรอิกา, เอลซัลวาดอร์ และสโมสรโรตารีรโี นเซ็นทรัล, เนวาดา, สหรัฐอเมริกา ได้น�ำระบบน�้ำไปติดตั้งในชุมชนสองชุมชนซึ่งอยู่ใน พื้นที่ดังกล่าว ด้วยเงินที่ได้จากโครงการแมทชิงแกรนท์ร่วมกับมูลนิธิโรตารี โดยทีห่ มูบ่ า้ นเอสคิวปูลสั ได้มกี ารขุดเจาะน�ำ้ บาดาลและติดตัง้ ถังเก็บน�ำ ้ ส่วน ที่หมู่บ้านเอลโปรเกสโซซึ่งอยู่ใกล้กัน ได้มีการเจาะน�้ำบาดาลสองจุดพร้อม ติดตั้งปั๊มน�้ำ และโครงการที่สโมสรตั้งใจจะท�ำต่อไปคือการสร้างศูนย์กลาง ของชุมชนขึ้นที่หมู่บ้านเอลโปรเกรสโซ และการวางระบบท่อส่งน�้ำไปยังหมู่ บ้านอื่นๆ [11] ตรินิแดดแอนด์โตเบโก ในวันที่ 5 มิถุนายน ซึ่งเป็นวันสิ่งแวดล้อมโลก สมาชิกของ สโมสรโรตารีมาราคัส/เซนต์โจเซฟ และผู้ที่มาร่วมกิจกรรมอีกจ�ำนวนหนึ่ง ได้ร่วมกันปลูกต้นไม้จ�ำนวน 60 ต้นบริเวณสองฝั่งของน�้ำตกมาราคัสอัน มีชื่อเสียง การปลูกต้นไม้นี้เป็นส่วนหนึ่งในโครงการของสโมสรเพื่ออนุรักษ์ และฟื้นฟูสภาพป่า ซึ่งรวมไปถึงการสร้างศูนย์บริการนักท่องเที่ยวขึ้นใหม่, การปูพื้นทางเดินที่ขึ้นไปสู่น�้ำตก (จุดที่สูงที่สุดบนเกาะตรินิแดด) การฝึก อบรมมัคคุเทศก์ และการบูรณะเส้นทางเดินป่า โดยโครงการนี้ทำ� ให้สโมสร ได้รับรางวัล “Significant Achievement Award” ประจ�ำปี 2012 จาก โรตารีสากล [12] ฮังการี สโมสรโรตารีบูดาเปสต์ซิตี, ฮังการี และสโมสรโรตารีคลัจนา โปจา, โรมาเนีย ร่วมกับสโมสรอื่น ๆ อีกหลายสโมสร น�ำที่นอนส�ำหรับเด็ก อ่อนจ�ำนวน 420 ผืน ที่สามารถใช้ได้พอดีกับเครื่องตรวจเช็คระบบทางเดิน หายใจ ไปมอบให้แก่โรงพยาบาล 19 แห่ง และคลินกิ รักษาเด็กอีก 55 แห่ง ใน โรมาเนีย สโมสรโรตารีบูดาเปสต์ซิตี ก็ได้ท�ำโครงการลักษณะคล้าย ๆ กันใน ฮังการี และมีแผนทีจ่ ะน�ำทีน่ อนดังกล่าวไปแจกจ่ายในประเทศเซอร์เบียด้วย

[13] อียิปต์ ช่วงสองปีที่ผ่านมา สโมสรโรตารีอเล็กซานเดรียคอ สโมโพลิเทน, อียิปต์ และสโมสรโรตารีมิลาโนซัด-อีส, อิตาลี ได้เป็น เจ้าภาพในการจัดค่ายฤดูร้อนตลอดสัปดาห์ส�ำหรับเด็กไร้ที่อยู่อาศัย จากหมู่บ้านต่าง ๆ ทางตอนเหนือของอียิปต์ ค่ายดังกล่าวตั้งอยู่ที่ เมืองมาซา มาโตรท ซึ่งอยู่ห่างจากเมืองอเล็กซานเดรียไปทางทิศ ตะวันตกประมาณ 185 ไมล์ ตามแนวชายฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียน โดยนักเรียนจ�ำนวน 430 คนทีม่ าเข้าค่าย จะได้พฒ ั นาทักษะด้านการ ท�ำงานเป็นทีมและปลูกฝังสุขนิสยั ทีด่ ี ไปพร้อม ๆ กับการท�ำกิจกรรม ด้านศิลปะและงานฝีมือ รวมทั้งการเล่นกีฬาและการเล่นเกม [14] แซมเบีย? กล่องยังชีพสีเขียวที่ระบุชื่อสโมสรโรตารีผู้ให้บริจาค มักจะถูกพบเห็นอยูเ่ สมอหลังจากเกิดเหตุการณ์ภยั พิบตั ขิ นึ้ ในทีต่ า่ งๆ Literacy in a Box Trust ซึง่ เป็นองค์กรการกุศลอิสระอันเป็นส่วนหนึง่ ของสโมสรโรตารีโรโบโร ประเทศอังกฤษ ได้ใช้กล่องแบบเดียวกัน บรรจุสื่อการสอนส่งไปให้เด็กๆในประเทศแซมเบีย เป็นโครงการ น�ำร่องที่จนถึงขณะนี้ได้ส่งกล่องไปแล้ว 335 ชุด มีอุปกรณ์เพียง พอส�ำหรับเด็กๆ 7,000 คน ใน 17 โรงเรียน ในประเทศแซมเบีย จะได้ใช้ประโยชน์ โครงการนี้ได้รับการสนับสนุนจากโรตารีสากล ในสหราชอาณาจักรและไอร์แลนด์ และได้ขยายการบริการไปยัง กานา แทนซาเนีย เนปาล และฟิลิปปินส์ [15] จีน สโมสรโรทาแรคท์ เซี่ ย งไฮ้ ได้ ริ เริ่ ม การรณรงค์ เ พื่ อ สนับสนุนโปรแกรมโปลิโอ ด้วยโครงการ "One Button, One Child" โดยจะมีเหล่าอาสาสมัครออกไปช่วยกันขายเข็มกลัดทีม่ ี โลโก End Polio Now ในราคา 1 ดอลลาร์ ซึ่งเท่ากับค่าใช้จ่ายของ วัคซีนป้องกันโปลิโอทีใ่ ช้หยอดในเด็ก 1 คน โดยสโมสรหวังว่าสโมสร โรตารีจากทั่วโลกจะช่วยกันท�ำการรณรงค์ในลักษณะเดียวกันนี้ ประเทศจีนได้รบั การรับรองว่าปลอดโรคโปลิโอในปี 1994 แต่กต็ รวจ พบผู้ป่วยในผู้ที่เดินทางเข้ามาในประเทศ เมื่อปี 1999 และ 2011 [16] มาเลเซีย เมื่อปลายปี 2012 สโมสรโรตารีบูกิต บินตัง ได้ชักชวน สโมสรโรตารีอีกสิบกว่าสโมสร ร่วมกับผู้สนับสนุนรายอื่น ๆ จาก ชุมชน ในภาค 3300 มาร่วมกันท�ำโครงการรับบริจาครองเท้า ส�ำหรับผู้ที่ขาดแคลน โดยภายในเวลาเพียงสี่เดือนพวกเขาสามารถ รวบรวมรองเท้าได้ถึง 15,000 คู่ ซึ่งมากกว่าเป้าหมายที่ได้ตั้งเอา ไว้ถึง 5,000 คู่ และได้น�ำรองเท้าจ�ำนวนนี้ไปบริจาคให้แก่ศูนย์เด็ก ก�ำพร้าและองค์กรการกุศลในอินโดนิเซีย, ลาว, มาเลเซีย, พม่า, อัฟริกาใต้ และไทย โครงการนี้ได้รับการบันทึกโดยมาเลเซียบุ๊คออฟ เรคคอร์ท ว่า "เป็นโครงการการกุศลที่สามารถรวบรวมรองเท้าได้ จ�ำนวนมากที่สุด" อีกด้วย


Convention Column ณ หุบเขาฮันเตอร์

ผวภ.ศุภรี ฉัตรกันยารัตน์ แปล

เหตุผลหนึ่งที่ควรไปเยือนออสเตรเลียก็เพื่อความเพลิดเพลินกับการได้สุ่มชิมไวน์ของที่นั่น ความส�ำเร็จของธุรกิจ ไวน์ Yellow Tail– ที่นำ� ชื่อของจิงโจ้ภูเขาที่มีหางและเท้าสีเหลืองมาเป็นตราสัญลักษณ์ เห็นได้จากยอดขายที่มากถึง 7.5 ล้านลังในประเทศสหรัฐอเมริกาเมื่อปี 2005 – นี่เป็นเพียงเสี้ยวหนึ่งของเรื่องราวของไวน์ออสเตรเลีย อีกเรื่องของไวน์ที่ ประสบความส�ำเร็จอย่างงดงาม นั่นคือ Penfolds ' Grange ที่สามารถแข่งขันเทียบชั้นได้กับไวน์ที่ดีที่สุดของบอร์โดเลย ทีเดียว นอกนั้นก็ยังมีไร่องุ่นและผู้ผลิตอื่นอีกเป็นร้อยที่ได้รับความส�ำเร็จจากผืนดินที่สมบูรณ์ของออสเตรเลียที่ช่างเหมาะ แก่การปลูกองุ่นเพื่อท�ำไวน์ Grapevines เป็นหนึ่งในไวน์ส่งออกครั้งแรกในปี 1788 ท�ำให้การปลูกองุ่นและการผลิตไวน์ได้กลายมาเป็น วัฒนธรรมของออสเตรเลียนับแต่นนั้ มา James Busby ซึง่ เป็นผูศ้ กึ ษาเกีย่ วกับเรือ่ งไวน์ได้เยือนสเปนและฝรัง่ เศสในปี 1831 และได้รวบรวมน�ำเข้ากิ่งตอนต้นองุ่นถึง 543 สายพันธุ์ และมีเพียง 362 สายพันธุ์ที่ปลูกขึ้นได้ส�ำเร็จ หลายแห่งเป็นไร่องุ่น ที่เก่าแก่ที่สุดในออสเตรเลีย ซึ่งยังคงสามารถบ�ำรุงรักษาสายพันธ์ุดั้งเดิมจากศตวรรษที่ 19 ที่รอดพ้นมาได้จากการแพร่ ระบาดของแบคทีเรีย phylloxera ซึ่งเคยท�ำลายไร่องุ่นที่มีชื่อในยุโรป โรแทเรียนทีต่ อ้ งการเรียนรูเ้ กีย่ วกับการปลูกองุน่ ของออสเตรเลียระหว่างการร่วมประชุมใหญ่โรตารีสากล 2014 ที่ซิดนีย์ ช่วง 1-4 มิถุนายน สามารถวางแผนหาเวลาว่างไปเยือนหุบเขา Hunter Valley ซึ่งมีทั้งโรงแรมและที่พักแบบ Bed and Breakfast ที่มีความน่ารักให้เลือกมากมายเช่นเดียวกับทัวร์ชิมไวน์ รวมไปถึงที่พักหลายแห่งที่มีการผลิตไวน์ Brokenwood ที่เป็นที่ยอมรับในวงการ รวมถึง Rosemount Estate แหล่งผลิตไวน์ขนาดใหญ่ ซึ่งมีไวน์รสชาติดีจ�ำนวน มากทีส่ ามารถท�ำราคาได้สงู เหมือนดัง่ Robert Mondavi Winery แหล่งผลิตไวน์ชอื่ ดังในรัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา – ในการพูดคุยสนทนากันเกี่ยวกับไวน์ที่ดีที่สุดใน Hunter Valley คราใดก็ตาม มักต้องมีการกล่าวถึง Peter Howland และ Rothbury ทุกครั้งไป ลงทะเบียนเข้าร่วมประชุมโรตารีสากล ซิดนี่ย์ 2014 ได้ที่ www.riconvention.org

The Hunter Valley One reason to visit Australia is for the pleasure of sampling its wines. The success of Yellow

Tail – a brand of varietals named after the yellow-footed rock wallaby that sold7.5 million cases in the United States in 2005 – tells only one part of the story of Australian wine. Another part is Penfolds’ Grange, a wine that can compete successfully with the finest Bordeaux. In between are hundreds of vineyards and winemakers exploiting the wine-friendly Australian soil. Grapevines were among the cargo of the First Fleet in 1788, and grape growing and winemaking have been components of Australian culture ever since.Viticulturist James Busby toured Spain and France in 1831 and collected 543 vine cuttings, of which 362 survived. Some of the oldest living vines are in Australia, which was spared the 19th-century phylloxera epidemic that devastated the noble vineyards of Europe. Rotarians who want to learn about local viticulture while they’re in Sydney for the 2014 RI Convention, 1-4 June, can plan a side trip to the Hunter Valley, which features charming hotels and B&Bs as well as many wine tours. They’ll find houses that make exceptional wine, such as Brokenwood. Rosemount Estate is a huge operation that, like Robert Mondavi Winery in California, USA, makes wines for a range of tastes and prices – including some very fine ones. When you hear discussions about the best wines in the Hunter Valley, Peter Howland and Rothbury Estate are almost always included. Register for the 2014 RI Convention in Sydney at www.riconvention.org.

38

Rotary Thailand


คุณหมอซินเธีย หม่อง หนึง่ ในผูเ้ ข้ารอบสุดท้าย เดอะวัน (THE ONE) โดย โรแทเรียนคอนนี่ มูดอร์ สโมสรโรตารีเชียงใหม่เหนือ อน.ศรัณย์ จันทร์ทะเลย์ สร.เชียงใหม่เหนือ แปล มวลมิตรโรแทเรียนจากสโมสรโรตารีเชียงใหม่เหนือรู้สึกเป็นเกียรติ อย่างยิง่ ทีไ่ ด้พบกับคุณหมอซินเธีย หม่อง เมือ่ พวกเขาได้เดินทางไปคลินกิ แม่ตาว ในอ�ำเภอแม่สอด จังหวัดตากเมือ่ เดือนเมษายนปีนี้ เพือ่ ส่งมอบแว่นตาจ�ำนวน 2,000 คู่ ซึ่งคลินิกได้ขยายส่วนจักษุบริการเพื่อให้รองรับศูนย์อพยพอีก 4 แห่งในประเทศไทย จึงถือว่าการบริจาคในครั้งนี้อยู่ในช่วงเวลาที่เหมาะ สมในการน�ำไปใช้ คุณหมอซินเธีย เป็นผูล้ ภี้ ยั ชาวพม่าทีอ่ ทุ ศิ ตนเพือ่ สิทธิมนุษยชนของผู้ ที่อาศัยอยู่ระหว่างพรมแดนไทย-พม่ามาแล้วกว่า 20 ปี เธอได้ก่อตั้งแม่ตาว คลินิกในอ�ำเภอแม่สอด จังหวัดตากขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2532 ซึ่งได้รองรับผู้ลี้ภัย ผู้อพยพและผู้ป่วยข้ามแดน รวมจ�ำนวนกว่า 150,000 คนที่เดินทางมาเพื่อ รับการรักษาขั้นพื้นฐานในแต่ละปี นอกจากนี้คุณหมอซินเธีย ยังเป็นผู้น�ำใน การคุม้ ครองเด็กโดยมีเป้าหมายคือการให้ความรูแ้ ละเลีย้ งดูเด็กผูด้ อ้ ยโอกาส กว่า 3,000 คน เพื่อเป็นเกียรติส�ำหรับการท�ำงานเพื่อมนุษยธรรมของเธอ สโมสร โรตารีเชียงใหม่เหนือได้เสนอชื่อหมอซินเธีย ในการประกวดผู้ที่ท�ำงานเพื่อ มนุษยธรรมระดับโลก หรือรางวัลเดอะวันนั่นเอง เธอได้รับการเสนอชื่อและ เข้าถึงรอบสุดท้ายโดยได้รับเงินรางวัลจ�ำนวนทั้งสิ้น 50,000 ดอลลาร์สหรัฐ เพื่อน�ำไปสานต่อการด�ำเนินงานของเธอ ภายใต้การน�ำของคุณหมอซินเธีย แม่ตาวคลินิกได้ให้บริการพื้นฐาน แก่ผู้คนกว่า 206,000 คน ที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ห่างไกลและได้รับผลกระทบ จากสงครามพม่า โดยอาศัยทีมแพทย์เคลือ่ นที่ (Back Pack Health Worker Team) ในทีมประกอบด้วยเจ้าหน้าทีก่ ว่า 1,500 คน คุณหมอซินเธียท�ำหน้าที่ เป็นประธานในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิของเด็ก ซึ่งให้ความช่วยเหลือ ด้านกฎหมายและการคุ้มครองทางสังคมแก่เด็กไร้สัญชาติในแถบชายแดน และที่ประสงค์จะได้รับสัญชาติพม่า องค์การระหว่างประเทศเพือ่ การโยกย้ายถิน่ ฐาน (The International Organization for Migration) ได้ให้ข้อมูลว่ามีเด็กผู้ลี้ภัยกว่า 200,000 คน ซึง่ มีอายุนอ้ ยกว่า 17 ปีอาศัยอยูใ่ นประเทศไทย และมีจำ� นวนน้อยกว่าหนึง่ ใน สามที่มีโอกาสเข้าถึงการศึกษา ข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติ (The United Nations High Commissioner for Refugees) ประมาณการว่า ในปัจจุบนั มีผไู้ ร้ทอี่ าศัยในประเทศพม่ากว่า 430,400 คน และมีผลู้ ภี้ ยั หรือผู้ แสวงหาทีพ่ กั พิงจากพม่ากว่า 128,000 คนทีเ่ ข้ามาในไทย ตัวเลขดังกล่าวยัง ไม่รวมถึงผู้ใช้แรงงานอีกนับพันคนที่เข้ามายังประเทศไทยโดยไม่ได้มีสถานะ เป็นผู้ลี้ภัย จ�ำนวนผู้ป่วยที่คลินิกแม่ตาวให้บริการสะท้อนให้เห็นถึงสถิติเหล่านี้ คลินิกให้การรักษาผู้ป่วยจ�ำนวน 400-500 คนต่อวัน ปัจจุบันมีเตียงผู้ป่วย ใน 70 เตียง มีห้องผ่าตัดเล็ก ห้องคลอด แผนกผู้ป่วยนอก คลินิกเด็ก และ คลินกิ ฟืน้ ฟูสขุ ภาพ นอกจากนีย้ งั มีคลินกิ ด้านจักษุและคลินกิ ทันตกรรม การ ให้บริการเพื่อส่งเสริมสุขภาพประกอบด้วยการฟื้นฟูสมรรถภาพส�ำหรับผู้ที่ ได้รับการใส่อวัยวะเทียมเนื่องจากโดนกับระเบิด คลินิกสามารถรองรับการ ใส่แขนขาเทียมกว่า 250 ชุดในแต่ละปี นอกจากนี้คลินิกยังมีบริการให้ค�ำ ปรึกษา ให้ความรูด้ า้ นสุขภาพ บริการคลินกิ ฝังเข็มและช่วยเหลือจัดหาอาหาร นอกจากนี้คลินิกยังมีห้องแล็ป ธนาคารเลือดและแผนกเภสัชกรรม

เพื่อรักษาสมดุลระหว่างการรับความช่วยเหลือจากภายนอกและ ความสามารถในการด�ำรงอยู่ได้ด้วยตนเองอย่างยั่งยืน แม่ตาวคลินิกมีผู้ให้ ความช่วยเหลือหลายหน่วยงานด้วยกัน ประกอบด้วย โรงพยาบาลแม่สอด สมาคมการแพทย์แห่งพม่า (The Burma Medical Association) กองทุน รักษาพยาบาลเด็กแห่งพม่า (Burma Children Medical Fund) โครงการ เพื่อเข้าถึงการดูแลสุขภาพ (Planet Care Global Health Access Programme) และ กองทุนเพื่อการศึกษาส�ำหรับผู้ลี้ภัย (The Brackett Refugee Education Fund) คุณหมอซินเธียเกิดในครอบครัวชาวกะเหรี่ยงที่กรุงย่างกุ้งในปี พ.ศ. 2502 มีพี่น้องทั้งสิ้น 6 คน เธอส�ำเร็จการศึกษาด้านการแพทย์และฝึก ประสบการณ์การแพทย์ในประเทศบ้านเกิดของเธอ ในปี พ.ศ. 2531 หลังจาก การยึดอ�ำนาจของกองก�ำลังทหารในพม่า เธอได้ลี้ภัยเข้ามายังประเทศไทย ก่อนที่เธอจะเริ่มแม่ตาวคลินิก เธอท�ำงานช่วงหนึ่งที่โรงพยาบาลเล็กๆ ซึ่งอยู่ ตรงข้ามกับค่ายผูล้ ภี้ ยั แม่ลาในประเทศไทย ช่วงปลายปี พ.ศ. 2531 คุณหมอ ซินเธียได้ย้ายไปอาศัยในเขตแม่สอด และในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2532 มีผู้ เสนอให้เธอใช้อาคารเก่า สภาพพืน้ ทรุดโทรมเพือ่ ใช้ในการสร้างคลินกิ คลินกิ แม่ตาวได้เริ่มต้นจากอาคารทรุดโทรมหลังนั้นและขยายเรื่อยมาตามความ จ�ำเป็น เพื่อให้บริการด้านการดูแลสุขภาพส�ำหรับผู้ที่ไม่สามารถเข้าถึงการ บริการเหล่านั้น คุณหมอซินเธียท�ำงานอย่างไม่ยอ่ ท้อเพือ่ คุณภาพพัฒนาชีวติ ของชาว พม่าทัง้ ในฐานะของผูใ้ ห้การรักษาและนักกิจกรรมเรียกร้องการเปลีย่ นแปลง ทางสังคมของประเทศพม่า โรตารีรู้สึกชื่นชมในความพยายามของเธอและ สนับสนุนเขาเหล่านั้นโดยการมอบรางวัล 50,000 ดอลลาร์สหรัฐในปี พ.ศ. 2556 ในฐานะผู้เข้ารอบสุดท้ายในการมอบรางวัล เดอะวัน (THE ONE) เดอะวันถูกก่อตั้งและก�ำหนดรูปแบบโดยอดีตผู้ว่าการภาคเดวิด ฮาริเลอร์ลา (David Harilela) ในปีบริหาร พ.ศ. 2554-2555 และถือเป็น ครั้งแรกของการมอบรางวัลให้ผู้ที่มีมนุษยธรรมในระดับนานาชาติโดยภาค 3450 โรตารีสากล จุดประสงค์ของรางวัลนี้คือการค้นหาวีรบุรุษและวีรสตรีที่ทุกวันนี้ ผู้คนอาจยังไม่ทราบถึงความทุ่มเทของพวกเธอและเขาโดยอาศัยเครือข่าย ของโรตารีที่มีกว่า 1.2 ล้านคน สิ่งนี้นิยามได้เหมือนกับค�ำขวัญของโรตารีซึ่ง มีจุดประสงค์หลักคือการบริการ — ไม่ว่าจะเป็นในชุมชน ในสถานที่ท�ำงาน และครอบคลุมที่ต่างๆ ทั่วโลก เดอะวันคือบุคคลที่อุทิศตนเพื่อการพัฒนามนุษยชาติ ท�ำงานด้วย มาตรฐานความดีอันสูงสุด และปฏิบัติตนต่อผู้อื่นด้วยความเห็นใจและความ กรุณา ผู้ชนะอาจมาได้จากสถานที่ใดในโลกก็ได้ ไม่ว่าจะเพศใด เชื้อชาติใด หรือมีภูมิหลังชาติพันธุ์อย่างไร


Dr.Cynthia Maung, 2013 THE ONE Finalist By Connie Mudore, RC Chiang Mai North Rotarians from RC Chiang Mai North had the honor of meeting Dr. Cynthia Maung in April when they visited the Mae Tao Clinic in Mae Sot to deliver 2000 pairs of donated eyeglasses. The clinic had recently extended its eye care project to include another 4 refugee camps in Thailand so the donation was timely. Dr. Cynthia is a refugee from Myanmar who has been advocating for the human rights of displaced people on the Thai-Myanmar Border for over 20 years. She founded the Mae Tao Clinic in Mae Sot, Tak province, in 1989. The clinic provides 150,000 refugees, migrants, and cross border patients from Myanmar with primary health care each year. Dr. Cynthia also leads the Child Protection Program that aims to educate and feed 3,000 underprivileged children annually. In honor of her humanitarian work, RC Chiang Mai North nominated Dr. Cynthia for Rotary’s International Humanitarian Award: THE ONE. She was selected as a 2013 finalist and received $50,000 USD for the continuation of her efforts. Under Dr. Cynthia’s leadership, Mae Tao Clinic also delivers primary health care to 206,000 people who reside in rural and war affected areas of Myanmar through the Back Pack Health Worker Team. The Team consists of 1,500 health workers. Dr. Cynthia chairs the Committee for Protection and Promotion of Child Rights, which advocates for the legal and social protection of stateless children on the border seeking Myanmar citizenship. The International Organization for Migration states that there are 200,000 migrant children under the age of 17 in Thailand. Less than one third have access to education. The United Nations High Commissioner for Refugees estimates that there are currently 430,400 internally displaced people inside Myanmar and 128,000 refugees and asylum seekers from Myanmar in Thailand. The latter figure does not include the thousands of migrant workers and others who come to Thailand without refugee status. The number of patients served by the Mae Tao Clinic reflects these statistics. The clinic treats 400-500 patients per day. It has 70 inpatient beds, a small operating theater, delivery suite, busy outpatient department, child health clinic, and a reproductive health clinic. There is also an eye clinic and a dental clinic. Health support services include rehabilitation for those who need prosthesis due to landmines. It fits 250 new and replacement prosthetic limbs per year. In addition, the clinic

40

Rotary Thailand

provides counseling, health information, acupuncture, and food. It has a lab and a blood bank, as well as a pharmacy. In order to achieve balance between receiving assistance from the outside and maintaining itself as a sustainable organization, the Mae Tao Clinic has many partners. These include Mae Sot Hospital, the Burma Medical Association, the Burma Children Medical Fund, Planet Care Global Health Access Programme, and the Brackett Refugee Education Fund. Dr. Cynthia was born into a Karen family in Rangoon in 1959. She was one of six children. She completed her education, including her medical degree, in Myanmar, and practiced medicine in her home country. In 1988, she fled Myanmar after the military seized power there and came to Thailand. Before starting the Mae Tao Clinic, she worked briefly at a small hospital opposite Be Claw refugee camp in Mae La, Thailand. In late 1988, Dr. Cynthia moved to Mae Sot and in February 1989 was offered a dilapidated building with dirt floors to set up the Mae Tao Clinic. The clinic has long since replaced that building and expanded in response to the need for health care by those who cannot access care in other ways. Dr. Cynthia works relentlessly to improve the lives of the Myanmar people, both as a healer and as a vocal activist for social change in Myanmar. Rotary applauds her efforts and supports them by awarding her $50,000 USD as a 2013 finalist in THE ONE. THE ONE, was conceptualized and founded by Past District Governor David Harilela 2011-2012, and is the first international humanitarian award launched by Rotary International District 3450 (RI D3450). This award aims to find the unsung heroes of today by accessing the powerful Rotary network of over 1.2 million people. As signified by the Rotary motto, Rotary’s main objective is service — in the community, in the workplace, and throughout the world. THE ONE is someone who dedicates himself to the improvement of mankind, works for the highest standard of good, and acts with compassion and kindness. Award winners can come from any part of the world, regardless of gender, race or ethnic background.


บททดสอบสีแ่ นวทาง (The Four Way Test) อผภ.ไพโรจน์ จิระเสวีจินดา

เมื่อปี ค.ศ.1932 ที่เมืองชิคาโก สหรัฐอเมริกา มีบริษัท Club Aluminum Product Company ซึ่งเป็นผู้แทนจ�ำหน่ายอุปกรณ์ เครื่องครัว ประสบปัญหาก�ำลังจะล้มละลาย โดยเป็นหนี้จ�ำนวน 400,000 เหรียญ เจ้าหนีจ้ งึ เชิญ HERBERT J.TAYLOR ซึง่ เป็นสมาชิกโรตารี เป็นบุคคลทีม่ ชี อื่ เสียงและสังคมให้ความศรัทธา เข้ามาช่วยกูส้ ถานการณ์ ของบริษัท HERBERT J.TAYLOR ได้ศึกษาถึงสาเหตุของปัญหาที่เกิดขึ้นกับบริษัทฯ คือ บริษัทฯ ขาดความซื่อสัตย์กับลูกค้า โดยโฆษณาสินค้า ดีเกินความเป็นจริง ลูกค้าจึงขาดความศรัทธาและไม่ซื้อสินค้าของบริษัทฯ อีกต่อไป HERBERT J.TAYLOR จึงได้วางยุทธศาสตร์การบริหารเพื่อพัฒนาภายในองค์กรใหม่ โดยใช้หลักคุณธรรมซึ่งประกอบด้วยภาษา อังกฤษเพียง 24 ค�ำ สี่ประโยค คือ The Four-Way Test (บททดสอบสี่แนวทาง) สิ่งที่เราคิด พูด หรือกระท�ำ ให้ทดสอบเสียก่อนว่า (Of The Things We Think Say Or Do) 1. เป็นความจริงหรือไม่? (Is it the truth?) 2. เป็นการเที่ยงธรรมแก่ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องหรือไม่? (Is it Fair to all concerned?) 3. จะก่อให้เกิดไมตรีจิตมิตรภาพที่ดีหรือไม่? (Will it build goodwill and better friendships?) 4. จะเป็นผลดีแก่ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องหรือไม่? (Will it be beneficial to all concerned?) หลักการจ�ำง่ายๆ ก็คือ “เป็นความจริง, อิงเที่ยงธรรม, น�ำไมตรีและดีทุกฝ่าย” หลักคุณธรรมสี่ประการ “บททดสอบสี่แนวทาง” มีข้อดีหลายประการ คือ * มีข้อความสั้น (เพียงสี่ประโยค) * ความหมายชัดเจน * เข้าใจและจดจ�ำง่าย * ข้อความเป็นลักษณะค�ำถาม สามารถวัดและพิจารณาได้ว่าสิ่งที่คิด พูด หรือท�ำนั้นถูกหรือผิด * ไม่ขัดกับหลักค�ำสอนของทุกศาสนา * ใช้ได้กับทุกยุค ทุกสมัย ทุกเพศ ทุกวัย ทุกสถานที่ และทุกเวลา HERBERT J.TAYLOR เริ่มบริหารบริษัทฯ ใหม่ โดยกู้เงิน 6,100 เหรียญ พร้อมน�ำหลัก แห่งคุณธรรม เพื่อกระตุ้นให้พนักงานภายในบริษัทฯ ทุกระดับน�ำไปใช้บริหารทั้งภายในและใช้ กับลูกค้า หลังจากนั้นเป็นต้นมา ลูกค้าเกิดความพอใจและประทับใจ มีความศรัทธาบริษัทฯ กิจการของบริษัทก็มีความเจริญก้าวหน้าขึ้นเรื่อย ๆ จนกระทั่ง 20 ปีต่อมา บริษัทฯ สามารถช�ำระหนี้คืนได้ทั้งหมด พร้อมทั้งสามารถจ่าย เงินปันผลให้กับผู้ถือหุ้นอีก 1,000,000 เหรียญ และยังมีทรัพย์สินคิดเป็นมูลค่าอีก 2,000,000 เหรียญ นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังได้รับผลตอบแทนที่มากกว่าตัวเงิน คือ ลูกค้า บริษัทฯคู่แข่ง และสังคมเกิดความศรัทธา มีไมตรีจิต มิตรภาพที่ดี พร้อมทั้งได้สร้างและพัฒนาคุณธรรมและ จรรยาบรรณที่ดีแก่พนักงานทุกระดับภายในองค์กร


Herbert J. Taylor

Herbert J. Taylor (18 April 1893 – 1 May 1978) was a business executive, civic leader and sponsor of Christian organizations who belonged to the United States of America. Taylor cofounded the Christian Workers Foundation (CWF) in 1939. He served on the boards of several such institutions as: Inter-Varsity Christian Fellowship (U.S.A.), Youth for Christ, Young Life, Fuller Seminary, Child Evangelism Fellowship, Christian Service Brigade, Pioneer Girls, and the Greater Chicago Billy Graham Crusades . He was vice-chairman of the Price Adjustment Board of the War Department during World War II; the other positions he held were the presidency of Rotary International, 1954–55; directorship positions for the First National Bank of Barrington (Illinois) and the Chicago Federal Savings and Loan Association; and membership on the Board of Governors of the Illinois Crippled Children Society, 1941–42. Taylor also authored "The Four Way Test" "The Ten Marks of a Good Citizen" "The Twelve Marks of a True Christian" and "God Has A Plan For You". He has been inducted into the American National Business Hall of Fame. He featured on the cover of Newsweek's 28 February 1955 issue. A Methodist, he and his wife had two daughters, Gloria Beverly and Romona Estellene. He lived in Park Ridge, Illinois. Herbert Taylor died on 1 May 1978. At the time of his death he was Chairman of board emeritus of Club Aluminium Products Inc.

The Four-Way Test

In the early 1930s Taylor set out to save the Club Aluminum Products distribution company from bankruptcy. He believed himself to be the only person in the company with 250 employees who had hope. His recovery plan started with changing the ethical climate of the company. He explained “The first job was to set policies for the company that would reflect the high ethics and morals God would want in any business. If the people who worked for Club Aluminum were to think right, I knew they would do right. What we needed was a simple, easily remembered guide to right conduct - a sort of ethical yardstick- which all of us

42

Rotary Thailand

in the company could memorize and apply to what we thought, said and did. I searched through many books for the answer to our need, but the right phrases eluded me, so I did what I often do when I have a problem I can't answer myself: I turn to the One who has all the answers. I leaned over my desk, rested my head in my hands and prayed. After a few moments, I looked up and reached for a white paper card. Then I wrote down the twenty-four words that had come to me : 1. Is it the truth? 2. Is it fair to all concerned? 3. Will it build goodwill and better friendships? 4. Will it be beneficial to all concerned? I called it "The Four-Way Test" of the things we think, say or do."”

Adoption of the test by Rotary In 1940s, when Taylor was an international director

of Rotary, he offered the Four Way Test to the organization, and it was adopted by Rotary for its internal and promotional use. Never changed, the twenty four word Four Way Test remains today a central part of the permanent Rotary structure throughout the world, and is held as the standard by which all behaviour should be measured. The Four Way Test has been promoted around the world and is used in myriad forms to encourage personal and business ethical practices. Taylor gave Rotary International the right to use the test in the 1940s and the copyright in 1954. He retained the rights to use the test for himself, his Club Aluminum Company and the Christian Workers Foundation. (ที่มา : http://en.wikipedia.org/wiki/Herbert J. Taylor - บก.)


ศูนย์โรตารีในประเทศไทย

September‐October 2013

มิตรโรแทเรียนที่รักทุกทาน ป 2556-57 ผานไปสองเดือนแลว นายกนําพาสโมสรทํางาน บําเพ็ญประโยชนกันเต็มที่ ผูวาการภาคเริม่ เยี่ยมสโมสรเพื่อเนนย้ํา ความสําคัญในประเด็นตางๆ ของโรตารี ใหแรงบันดาลใจแก โรแทเรียนในการทําโครงการบําเพ็ญประโยชน ยกยองผูบริจาคให มูลนิธิโรตารี และใหความสนใจเปนพิเศษแกสโมสรที่ออนแอ นอกจากผูวาการภาคและคณะกรรมการภาคแลว อยาลืมวา ทานยัง มีศูนยโรตารีฯ ทีจ่ ะชวยในเรื่องของเอกสารแปล รวมทั้งการ ประสานงานกับตางประเทศ และตอบคําถามตางๆ เกี่ยวกับโรตารี 2-3 เดือนนี้ เปนชวงฤดูฝนของบานเรา มีบางจังหวัดที่ผจญ กับอุทกภัยไปแลว เชน จันทบุรี กาญจนบุรี และที่ อําเภอแมระมาด จ.ตาก ซึ่งโรแทเรียนไดออกไปชวยเหลือผูประสบภัยกันอยาง เขมแข็ง ในสวนของศูนยโรตารีฯ เราไดจัดเตรียมกลองน้ําใจและ ถุงน้ําใจเอาไวพรอมเพื่อชวยผูประสบภัยเมื่อมีสโมสรสงคําขอเขามา ซึ่งเปนการใชเงินจากโครงการชวยเหลือน้ําทวม จากโรตารีประเทศ

สส.แทมมี่ อดีตเจาหนาที่ประสานงานโรตารีสากลเยี่ยม คารวะอดีตประธานโรตารีสากล พท.หญิง ลัดดา แทมมี่ ดักเวิรธ สส.สหรัฐอเมริกา ในฐานะที่ เคยทํางานที่สํานักงานใหญโลกโรตารีที่เมืองเอฟเวนสตัน ดูแล ใหบริการสโมสรโรตารีในประเทศไทย เขาเยี่ยมคารวะทาน PRIP พิชัย รัตตกุล ในโอกาสที่เดินทางมาประเทศไทย และได พบปะกับผูวาการภาคป 2546-47 และเจาหนาทีศ่ นู ยโรตารีฯ ในฐานะที่เคยทํางานรวมกัน ตัวเลขโรตารี ขอมูล: ผูแทนดูแลการเงินฯ (4 ก.ย. 56) ภาค 3330 3340 3350 3360 รวม สมาชิก 2,660 1,403 2,464 1,432 7,959 สโมสร 97 55 92 64 308

September‐October 2013

ญี่ปุนที่ทานอดีตประธานโรตารีสากล พิชัย รัตตกุล เปนประธาน ถึงวันนี้ ทานคงทราบแลววาโรตารีสากลไดปรับปรุงเว็บไซต ใหม เมนู Member Access ถูกยกเลิกและเปลี่ยนเปน My Rotary ผูที่เคยใชงาน Member Access แลว ตองลงทะเบียนซ้ําใหมอีกครั้ง หนึ่งตามคําแนะนําบนเว็บไซต อาจจะตองใชเวลาเรียนรูใหมสัก หนอย แตศูนยโรตารีฯ จะหาคําตอบใหทุกๆ คําถามของทานนะครับ ดวยไมตรีจิตแหงโรตารี

(อผภ.ไพโรจน เอื้อประเสริฐ) ผูวาการภาค 3360 โรตารีสากล ป 2544-45 ประธานคณะกรรมการบริหารศูนยโรตารีฯ ป 2555-57

ประชุมสภารวมอดีตผูว าการภาคในประเทศไทย เมือ่ วัน อาทิตยที่ 4 สิงหาคม อผภ.ประพันธ หุตะสิงห ประธานสภารวมฯ เชิญอดีตผูวาการภาค, ผูวาการภาค และผูวาการภาครับเลือกจาก ทั้ง 4 ภาคมาประชุมเพื่อรวมพูดคุยหารือและพบปะสังสรรคกนั ที่ ศูนยโรตารีฯ จัดเตรียมใหพรอม เจาหนาที่ศูนย โรตารีฯ จัดเตรียม กลองน้ําใจและถุง น้ําใจใหพรอมสําหรับ ชวยเหลือผูป ระสบภัย

ศูนยโรตารีในประเทศไทย 75/82‐83 อาคารโอเชี่ยนทาวเวอร 2 ชัน้ 32 ซ.วัฒนา ถ.อโศก วัฒนา กรุงเทพฯ 10110 ศูนย์โ6720 รตารีโทรสาร ในประเทศไทย 75/82-83 อาคารโอเชี่ยนทาวเวอร์ 2 ชั้น 32 ซ.วัฒนา ถ.อโศก วัฒนา กรุงเทพฯ 10110 โทร. 0 2661 0 2661 6719; info@rotarythailand.org; www.rotarythailand.org; www.facebook.com/ThaiRotaryCentre

โทร. 0 2661 6720 โทรสาร 0 2661 6719; info@rotarythailand.org; www.rotarythailand.org; www.facebook.com/ThaiRotaryCentre


Rotary in Action End Polio campaign at Phrae การรณรงค์"หยุดโปลิโอ"ของสโมสรโรตารีในจังหวัดแพร่

44

Rotary Thailand


โครงการรถเข็นคนพิการสโมสรโรตารีบางรักเป็น โครงการทีท่ ำ� ร่วมกัน 3 ฝ่าย ได้แก่ สโมสรโรตารีบางรัก ศาสนจักร ของพระเยซู ค ริ ส ต์ แ ห่ ง วิ สุ ท ธิ ช นยุ ค สุ ด ท้ า ย และมู ล นิ ธิ เซนต์โยเซฟ โดยมี อน.ไกรรัตน์ วัตสัลเป็นประธานโครงการ ตั้งแต่ปี 2548 จนถึงปัจจุบัน ได้แจกรถเข็นให้กับผู้พิการทั่ว ประเทศไปแล้วกว่า 6,000 คันเป็นมูลค่ากว่า 30 ล้านบาท Rotary Club of Bangrak Wheelchair Project was established in 2005 by 3 partners RC Bangrak,The Church of Jesus Christ of the LatterDay Sants and St.Joseph Foundation with PP Krairat Watson as Project Chairman ever since. Over 6,000 wheelchairs with the value more than Baht 30 million Baht have been distributed to the disable all over Thailand.

Rotary in Action



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.