rotary Thailand
นิตยสารรายสองเดือน ปีที่ 30 ฉบับที่ 146 พฤษภาคม - มิถุนายน 2556 May - June 2013
โ ร ต า รี ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย w w w . r o t a r y t h a i l a n d . o r g
A MOTHER'S LOVE
โรตารี คืออะไร ?
วัตถุประสงค์ของโรตารี
โรตารี คือ องค์กรของนักธุรกิจและวิชาชีพจาก ทั่วโลก ซึ่งบ�ำเพ็ญประโยชน์เพื่อเพื่อนมนุษย์ ส่งเสริม มาตรฐานจรรยาบรรณในทุกวิชาชีพพร้อมทั้งช่วยสร้าง ไมตรีจิต และสันติสุขในโลก
The Object of Rotary The Object of Rotary is to encourage and foster the ideal of service as a basis of worthy enterprise and, in particular, to encourage and foster :
“Rotary is an organization of business and professional persons united worldwide who provide humanitarian service, encourage high ethical standards in all vocations, and help build good will and peace in the world”
FIRST. The development of acquintance as an opportunity for service; SECOND. High ethical standards in business and professions, the recognition of the worthiness of all useful occupations, and the dignifying of each Rotarian’s occupation as an opportunity to serve society; THIRD. The application of the ideal of service in each Rotarian’s personal, business, and community life;
บททดสอบสี่แนวทาง The Four-Way Test Of the things we think, say or do
FOURTH. The advancement of international understanding, goodwill, and peace through a world fellowship of business, and professional persons united in the ideal of service. วัตถุประสงค์ของโรตารี โรตารีมวี ตั ถุประสงค์ เพือ่ สนับสนุนและส่งเสริมอุดมการณ์ แห่งการบ�ำเพ็ญประโยชน์ ในการด�ำเนินกิจกรรมที่มีคุณค่าเป็นหลัก โดยเฉพาะอย่างยิ่งเพื่อสนับสนุนและส่งเสริม
หนึ่ง การเสริมสร้างความคุ้นเคยระหว่างสมาชิก เพื่อการบ�ำเพ็ญ
1) Is it the TRUTH?
ประโยชน์
สอง การยกระดับจรรยาบรรณในธุรกิจและวิชาชีพ การยอมรับ
2) Is it FAIR to all concerned? 3) Will it build GOODWILL and BETTER FRIENDSHIPS?
คุณค่าในการประกอบอาชีพทีย่ งั คุณประโยชน์ และการให้โรแทเรียน ทุกคนภูมิใจในอาชีพของตน เพื่อการบ�ำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคม
4) Will it be BENEFICIAL to all concerned?
สาม การให้โรแทเรียนทุกคน น�ำเอาอุดมการณ์แห่งการบ�ำเพ็ญ
“ไม่ว่าสิ่งใดที่เราคิด พูดหรือปฏิบัตินั้น 1. เป็นจริงหรือไม่ 2. เป็นธรรมไหมต่อทุกสิ่ง 3. จะสร้างเสริมไมตรีจิตและ มิตรภาพหรือไม่ 4. เป็นประโยชน์ไหมแก่ทุกฝ่าย”
สี่ การเพิม่ พูนความเข้าใจ ไมตรีจติ และสันติสขุ ระหว่างชาติ ด้วยมิตร
At a Glance ROTARY Members: 1,215,392* Clubs: 34,430*
ประโยชน์ไปใช้ในชีวิตส่วนตัว ธุรกิจและชุมชน
สัมพันธ์ของบุคคลในธุรกิจและวิชาชีพทั่วโลก ที่มีอุดมการณ์ในการ บ�ำเพ็ญประโยชน์อย่างเดียวกัน
*สถิติ ถึง 31 ธันวาคม 2012
ROTARACT Members: 223,629* Clubs: 9,723*
INTERRACT Members: 351,325* Clubs: 15,275*
RCCs Members: 174,685* Clubs: 7,595*
สารประธานโรตารีสากล
ซากุจิ ทานากะ พฤษภาคม 2556
มิตรโรแทเรียนที่รัก เมื่อผมได้รับการเสนอชื่อเป็นประธานโรตารีสากลแล้ว ผมก็ตระหนักว่าผมควรเลือกใช้ค�ำขวัญ/ คติพจน์ประจ�ำปี ที่มุ่งเน้นเรื่องสันติภาพ เป็นเหตุผลที่ผมใช้วางแผนจัดเวทีเสวนาสันติภาพระหว่างปี ทั้ง 3 ครั้ง เพื่อเปิดโอกาสให้มิตรโรแทเรียนได้ค�ำนึงถึงเรื่องสันติสุข ได้มาพูดกันในเรื่องสันติสุขและแบ่งปัน แนวคิดในการสร้างสันติสุขร่วมกัน ซึ่งโรตารีจะจัดเวทีเสวนาสันติภาพโลกครั้งสุดท้ายของปี ในเดือนนี้ ณ เมืองฮิโรชิมา ประเทศญี่ปุ่น เราได้ฟังค�ำว่า สันติสุข ทุกวัน แต่พวกเราส่วนใหญ่จะใช้เวลาคิดเรื่องสันติสุขกันเพียงเล็กน้อย เรามักจะตีความเรื่องสันติสุขกันแบบง่ายๆ ซึ่งที่จริงมิได้เป็นเช่นนั้น สันติสุขจะต้องไม่มีการท�ำสงครามสู้ รบกัน ไม่มีการใช้ความรุนแรงและไม่ต้องคอยหวาดกลัวกัน สันติสุขยังหมายความว่า ท่านจะไม่ตกอยู่ใน ภัยกันดารต้องอดอยาก มีการประหัตประหารปองร้ายกัน หรือต้องทนทุกข์ทรมานจากความยากไร้ เรายังให้ค�ำจ�ำกัดความ สันติสขุ ด้วยสิง่ ทีเ่ ป็นอยูแ่ ละโดยสิ่งทีส่ ามารถเป็นได้ สันติสขุ ยังสามารถ หมายถึงอิสรภาพที่จะคิดและพูด อิสรภาพในการให้ความคิดเห็น มีทางเลือกและสามารถตัดสินใจด้วย ตนเอง สันติสุขยังหมายถึงความมั่นคงมั่นใจในอนาคต ในชีวิตและในบ้าน ในสังคมที่มั่นคง ในด้านที่เป็น นามธรรม สันติสุขยังหมายถึง ความสุขที่รู้สึกได้ หรือความสงบภายในด้วย ไม่ว่าเราจะใช้ค�ำนี้อย่างไร และไม่ว่าเราจะเข้าใจค�ำว่าสันติสุขอย่างไรก็ตาม โรตารีสามารถช่วย ให้เราบรรลุถงึ สันติสขุ ได้ โรตารีชว่ ยให้เราสนองความต้องการขัน้ พืน้ ฐานของผูอ้ นื่ ให้การดูแลสุขภาพ การ สุขาภิบาล อาหารและการศึกษา ในทุกหนทุกแห่งและทุกเวลาที่มีความต้องการมากที่สุด โรตารีช่วยให้ เราสนองความต้องการด้านจิตใจ ด้วยไมตรีจิตมิตรภาพ สัมพันธภาพและการใส่ใจดูแลกัน โรตารียังช่วย ให้เราสร้างสันติสุขในด้านขนบธรรมเนียมประเพณีได้มากที่สุด โดยการลดปัญหาขัดแย้ง เป็นสะพานแห่ง มิตรภาพและความอดกลั้น ในท่ามกลางผู้คน ในประเทศต่างๆ ช่วยให้เราเข้าใจซึ่งกันและกัน ไม่วา่ เราให้คำ� จ�ำกัดความของ สันติสขุ กันอย่างไร และไม่วา่ สันติสขุ จะมีความหมายเช่นไรกับเรา ก็ตาม เราสามารถน�ำสันติสุขให้มาถึงได้ ด้วยการบ�ำเพ็ญประโยชน์ของเรา สันติสุข ที่เราสามารถเข้าใจได้ ในรูปแบบต่างๆ เป็นเป้าหมายที่แท้จริง และเป้าหมายที่เป็นความจริงส�ำหรับโรตารี สันติสุข มิใช่สิ่งที่ได้ มาโดยการท�ำสนธิสญ ั ญาโดยรัฐบาล หรือด้วยการต่อสูด้ นิ้ รนเยีย่ งวีรบุรษุ สันติสขุ ทีเ่ ราสามารถค้นพบและ บรรลุถึงได้ ทุกวัน ในแบบที่เรียบง่ายมากมายหลายวิธี ผมขอขอบคุณ ส�ำหรับความมุ่งมั่น สร้างผลงาน เพื่อสันติสุข ของท่านทั้งหลาย เพื่อบรรลุเป้า หมายของโรตารี - เพื่อให้โลกมีสันติสุขยิ่งขึ้นต่อไป
ซากูจิ ทานากะ ประธานโรตารีสากล 2555-2556
สารประธานโรตารีสากล
ซากุจิ ทานากะ มิถุนายน 2556
มิตรโรแทเรียนที่รัก การประชุ ม ใหญ่ โรตารี ส ากลมี พ ลั ง ที่ ยิ่ ง ใหญ่ และการไปร่ ว มประชุ ม ครั้ ง แรกจะเป็ น ประสบการณ์ที่ท่านจะไม่มีวันลืม ครั้งแรกของผมคือที่ชิคาโก ในปี 2523 ปีนั้นผมเป็นนายกสโมสร โรตารีเมืองยาชิโอะ ผมคิดว่าเราน่าจะเรียนรู้โรตารีให้มากยิ่งขึ้น จึงขอร้องสมาชิกสโมสร 9 คนร่วม เดินทางไปชิคาโกด้วยกันกับผม พวกเราไม่ทราบมาก่อนว่า จะพบสิง่ ใดในการประชุมใหญ่โรตารีสากล และสิ่งที่เราได้พบเห็นนั้น ก็เป็นสิ่งที่ยิ่งใหญ่เกินกว่าที่เราคนใดคนหนึ่งจะคิดคาดฝัน การประชุมครัง้ นัน้ ท�ำให้ผมทราบถึงโรตารี และท�ำให้ชวี ติ ของผมเปลีย่ นแปลงไปตลอดกาล และให้บางสิง่ ทีส่ โมสรของผมมุง่ มัน่ พยายามตลอดมา เมือ่ ผมเดินทางไปประชุมครัง้ นัน้ ผมเป็นสมาชิก สโมสรโรตารี และเมื่อกลับมาผมเป็นโรแทเรียน ความรู้สึกจากการประชุมที่ชิคาโกนั้น ยังประทับใจ ผมอยู่จนทุกวันนี้ ในฐานะประธานโรตารีสากลจากญีป่ นุ่ ผมมีความดีใจทีม่ โี อกาสไปมีสว่ นร่วมในการประชุม ทีโ่ ปรตุเกส ญีป่ นุ่ และโปรตุเกสมีประวัตศิ าสตร์รว่ มกันตัง้ แต่ปี พ.ศ.2085 ซึง่ เป็นปีทเี่ รือใบล�ำหนึง่ ของ โปรตุเกสไปแวะจอดพักที่เกาะทางใต้ของญี่ปุ่น กลาสีเรือโปรตุเกสล�ำนั้นมิได้ตั้งใจหรือมีแผนจะไป ญี่ปุ่น แต่เกิดพายุใหญ่พัดพาเรือออกนอกเส้นทาง เป็นอุบัติเหตุที่น่ายินดีและเป็นจุดเริ่มต้นของการ มีสัมพันธภาพที่เจริญรุ่งเรือง มีสันติสุขร่วมกันตลอดมา ในปี พ.ศ.2536 ประเทศญี่ ปุ ่ น และประเทศโปรตุ เ กสได้ จั ด งานพิ ธี เ ฉลิ ม ฉลองการมี สัมพันธไมตรีที่ยาวนาน 450 ปี โปรตุเกสเป็นประเทศยุโรปชาติแรกที่ชาวญี่ปุ่นเดินทางไปเยือนใน กลางศตวรรษที่ 16 และการที่โปรตุเกสได้สร้างหลักฐานที่ยาวนานอยู่ในประเทศญี่ปุ่นนั้น เป็นผลดี ที่ยั่งยืนส�ำหรับประเทศของผม ชาวโปรตุเกสไปพบประเทศญี่ปุ่นโดยอุบัติเหตุ แต่การที่เมืองลิสบอนได้รับการคัดเลือกให้ จัดการประชุมใหญ่ครั้งนี้ มิใช่อุบัติเหตุ ลิสบอนนั้นเป็นเมืองท่าแห่งสันติสุข และใช้หัวข้อ สันติสุข เป็นแนวทางในการประชุมใหญ่ครั้งนี้ ดังเช่นที่เคยใช้เป็นแนวทางปฏิบัติระหว่างญี่ปุ่นและโปรตุเกส มาเกือบ 500 ปี ในฐานะโรแทเรียน พวกเราท�ำงานเพื่อสันติสุขกันในหลายรูปแบบ เราท�ำงานบ�ำเพ็ญ ประโยชน์เพื่อเพื่อนมนุษย์ เราท�ำงานด้วยความเชื่อมั่นในค�ำขวัญ บริการเหนือตนเอง และเราท�ำงาน เพือ่ สันติสขุ เพราะว่าเราเป็นโรแทเรียน และทุกปีมชี ว่ งเวลาสองสามวันในการประชุมใหญ่โรตารีสากล เราจะเห็นโลกของเราในรูปแบบที่สามารถเป็นไปได้ เราจะพบผู้คนจากทุกผิวสี มีวัฒนธรรมต่างๆ กัน มาอยู่ร่วมกัน พวกเราต้องท�ำงานร่วมกันเพื่อสร้างโลกที่ดียิ่งขึ้น หวังเป็นอย่างยิ่งว่า ท่านจะร่วมไปกับผมและมิตรโรแทเรียนทั้งหลาย เพื่อ เฉลิมฉลองการ สร้างผลงาน เพื่อสันติสุข ด้วยกันในการประชุมใหญ่ปีนี้
02
ซากูจิ ทานากะ ประธานโรตารีสากล 2555-2556 Rotary Thailand
สารประธานทรัสตีฯ
วิลฟริด เจ. วิลคินสัน พฤษภาคม 2556
ในประเทศแคนาดา เดือนพฤษภาคม ตามปกติจะเป็นเดือนที่สวยงาม เป็นฤดูใบไม้ผลิที่ต้นไม้และ ดอกไม้เริม่ ผลิดอกแย้มใบ ทุกๆ คนจะเริม่ มีพลังใหม่ในขณะทีฤ่ ดูหนาวจะสิน้ สุดลง การเปลีย่ นฤดูกาลจึงควร เป็นเวลาปฏิบัติการ ที่โรแทเรียนจะใช้มุมมองใหม่ เพื่อมุ่งไปสู่เป้าหมายที่กำ� หนดประจ�ำปี 2555-2556 โรแทเรียนทุกคน เงินบริจาคทุกบาท โครงการทุกโครงการ ได้สร้างความแตกต่างทุกๆ ปี เราทุกคน สามารถท�ำหน้าทีข่ องเราเพือ่ การมีสนั ติภาพโลกจากระดับล่างขึน้ ไป สโมสรของท่านได้ดำ� เนินโครงการเพือ่ เพื่อนมนุษย์หรือเพื่อการศึกษา โดยผ่านมูลนิธิแล้วหรือไม่ หากยังไม่ได้เริ่มท�ำ เพราะสาเหตุใด ขณะนีย้ งั มีเวลาส�ำหรับการบริจาคของท่าน ยังมีเวลาส�ำหรับท�ำให้ชมุ ชนมีนำ�้ สะอาดดืม่ ยังมีโอกาส ท�ำให้เด็กหญิงอีกคนหนึ่งได้ไปโรงเรียน ยังมีโอกาสให้แม่อีกคนหนึ่งได้รับการดูแลสุขภาพที่ปลอดภัยตามที่ จ�ำเป็น โปรดติดต่อกับประธานมูลนิธิโรตารีในภาคของท่านเพื่อให้ท่านและเพื่อนโรแทเรียนในสโมสรของ ท่านหรือภาคของท่านมีส่วนร่วมด้วย ผมทราบดีว่า เราทุกคนได้รับผลกระทบจากเศรษฐกิจตกต�ำ่ ในช่วงเวลานี้ แต่เรายังต้องการให้ท่าน ช่วยเหลือต่อไป โปรแกรมและโครงการของมูลนิธิทั้งหมดต้องเริ่มต้นด้วยเงิน ผมจึงหวังว่าโรแทเรียนแต่ละ ท่านที่ได้อ่านสารของผมฉบับนี้ คงจะได้ร่วมกันบริจาคตามสถานะภาพของแต่ละท่าน เมื่อเราได้รับการ สนับสนุนจากสมาชิกมากกว่า 1.2 ล้านคนแล้ว เราจะไม่ขอให้ท่านบริจาคมาก ขอแต่การสนับสนุน 100% ให้ครบทุกคน หากท่านบริจาคแล้ว ผมขอขอบคุณอย่างจริงใจ แต่หากท่านยังมิได้บริจาค ผมหวังว่าท่านจะ ร่วมกันท�ำให้เดือนพฤษภาคมนี้เป็นเดือนที่ดีสำ� หรับโรตารีและมูลนิธิโรตารีของเราด้วย
วิลฟริด เจ.วิลคินสัน ประธานทรัสตีมูลนิธิโรตารี 2555-2556
สารประธานทรัสตีฯ
วิลฟริด เจ. วิลคินสัน มิถุนายน 2556
เมื่อเขียนสารฉบับเดือนมิถุนายนนี้ ผมมีความรู้สึกยินดีและเสียใจบ้างเล็กน้อย ที่รู้สึกยินดี เพราะตลอดเวลา 50 ปีในโรตารีนั้น ผมโชคดีมากที่ได้เห็นสิ่งดีๆ ที่บรรดามิตรโรแทเรียนของผมได้ กระท�ำให้แก่โลกมนุษย์ ผมได้เห็นประจักษ์พยานบนใบหน้าที่ยิ้มแย้มของเด็กนักเรียน ที่มีโต๊ะเรียนกระดานด�ำ มีหนังสือเรียน มีน�้ำสะอาด มีสนามเด็กเล่นและมีสโมสรเยาวชน ทุกสิ่งที่กล่าวมานี้มีการจัดการ มีทุนสนับสนุนและบ�ำรุงรักษาโดยโรแทเรียน ผมได้ไปหยอดวัคซีนโปลิโอในปากของเด็กๆ ในหลายๆ ประเทศที่พวกเราไปช่วยกันขจัดโปลิโอให้สิ้นไปจากโลก ผมรูส้ กึ ดีใจทีไ่ ด้เข้าเฝ้าสนทนากับพระสันตะปาปา พระอัยกาฯและบรรดาผูน้ ำ� ศาสนาจากทุก ศาสนา ทุกท่านได้กล่าวชื่นชมถึงผลงานที่ดีๆ ของโรแทเรียน ดังนั้น ผมจึงได้ยินเสียงสะท้อนค�ำชื่นชม เหล่านี้ จากพระมหากษัตริย์ ประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรี และบรรดาเอกอัครราชทูต ขณะที่ผมเดิน ทางไปทั่วโลกในฐานะตัวแทนโรตารี เมื่อจะก้าวลงจากต�ำแหน่งประธานมูลนิธิโรตารี ผมจึงตื่นเต้นมากที่จะเห็นการใช้แผนวิสัย ทัศน์อนาคตทั่วโลกพร้อมกันในปีน ี้ แผนงานนี้เมื่อได้ดำ� เนินการเต็มรูปแบบแล้วจะท�ำให้มูลนิธิโรตา รีของเราเป็นแม่แบบที่โดดเด่น ส�ำหรับโครงการที่ยั่งยืน ที่จะเป็น ในช่วงทีผ่ มเป็นประธานโรตารีสากล ผมได้แจ้งขอให้ทา่ นช่วยกัน แบ่งปันโรตารี และในฐานะ ประธานมูลนิธิที่ก�ำลังจะหมดวาระ ผมขอกล่าวย�้ำค�ำขวัญนี้อีกครั้งพวกเราปรารถนาและเต็มใจที่จะ แบ่งปันโรตารี เพื่อเสริมให้ค�ำขวัญประจ�ำปี สร้างผลงาน เพื่อสันติสุข ของประธานโรตารีสากลซากู จิ ทานากะ ยิ่งใหญ่และประทับใจอีกด้วย ส�ำหรับปีต่อไปนั้น ผมขอสนับสนุนค�ำขวัญประจ�ำปีของ ประธานโรตารีสากลรับเลือก รอน เบอร์ตัน ซึ่งขอให้ทุกคน ร่วมใจโรตารี เปลี่ยนสิ่งดีๆ แก่ชีวิต รวม ทั้งตนเองด้วย ขอต้อนรับผูม้ าท�ำหน้าทีป่ ระธานมูลนิธฯิ ต่อจากผม ท่านอดีตประธานโรตารีสากล ดอง เคิน ลี ผมขอส่งความปรารถนาดีมายังท่านและคณะกรรมการทรัสตี เพื่อการด�ำเนินการตามวัตถุประสงค์ ของมูลนิธิโรตารีของเรา - ท�ำสิ่งดีๆ ในโลกต่อไป
วิลฟริด เจ.วิลคินสัน ประธานทรัสตีมูลนิธิโรตารี 2555-2556
04
Rotary Thailand
Letters to the Editor Letters to the Editor ฉบับนี้ไม่ได้เป็นจดหมายที่มีมาถึงกองบรรณาธิการโดยตรง แต่เป็นผลมาจากการ สนทนากันระหว่างการพบปะกันของผู้นำ� การฝึกอบรมในคราวการอบรมนายกสโมสรรับเลือกร่วมภาค (Multi PETS) ทีผ่ า่ นมา โดยมีประเด็นเกีย่ วกับการดืม่ ถวายพระพรในงานเลีย้ งต่า งๆ ทีเ่ อกชนจัดขึน้ และลักษณะของงานก็มไิ ด้เ กีย่ วข้อ งถึง องค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั เช่น งานเลีย้ งรุน่ ของนักเรียนหรือนิสติ นักศึกษาจากสถาบันต่างๆทีจ่ บการศึกษา งาน ฉลองการสมรส หรืองานของโรตารีเรา ฯลฯได้ม กี ารเชิญชวนให้ด มื่ ถวายพระพร พร้อ มกับมีดนตรีบรรเลงเพลงสรรเสริญ พระบารมีประกอบด้วย ซึง่ ผมก็ได้ให้ขอ้ คิดเห็นตามประสบการณ์ทมี่ มี าว่าการกระทําเช่นนัน้ นับว่าเป็นการแสดงออกถึง ความจงรักภักดีต่อองค์พระประมุขของชาติ แต่ควรระมัดระวังให้เป็นไปโดยควรแก่พระเกียรติยศ ซึ่งวงสนทนาเห็นว่า จะเป็นประโยชน์ต่อมวลมิตรโรแทเรียน จึงควรน่าจะมีการเผยแพร่ผ่านทางนิตยสารโรตารีแห่งประเทศไทยด้วย ในเรื่องนี้ทางสํานักพระราชวังได้เคยให้คําแนะนําในวาระการดื่มถวายพระพรในงานพิธีต่างๆไว้ ดังนี้ ๑. โอกาสที่ควรดื่มถวายพระพร ๑.๑ งานที่จัดขึ้นในวันนั้นตรงกับวันสําคัญของทางราชสํานัก เช่น วันเฉลิมพระชนมพรรษา ฯลฯ ๑.๒ สถานที่จัดงานไดรับพระบรมราชานุญาตหรือพระบรมราชานุเคราะห์ ๑.๓ คูส่ มรสหรือเจ้าภาพฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งเป็นผูร้ ับใช้เบื้องยุคลบาทโดยใกล้ชิด ๑.๔ แม้งานนั้นไม่เข้าหลักเกณฑ์ใน ๓ ข้อแรก แต่มีประธานองคมนตรีหรือองคมนตรีไปร่วมงาน ๑.๕ แขกทีไ่ ปร่ว มงานนัน้ เป็น ผูแ้ ทนต่า งประเทศระดับเอกอัครราชทูต อุปทูต หรือการจัดงานวันชาติของ สถานทูตต่าง ๆ โดยถือเป็นการอนุโลม ๒. ผู้กล่าวเชิญชวนดื่มถวายพระพร ควรเป็นแขกเกียรติยศที่ได้รับเชิญให้ขึ้นกล่าวเป็นคนแรกเพราะการดื่ม ถวายพระพรนั้นจะต้องจัดให้มีขึ้นเป็นอันดับแรกก่อนที่งานนั้นจะดําเนินต่อไป ๓. คํากล่าวในการดื่มถวายพระพร ทางสํานักพระราชวังได้แนะนําว่าควรให้เป็นไปโดยสุภาพโดยกล่าว ดังนี้ “ในโอกาสอันเป็นศุภนิมิตมงคล กระผม (ดิฉัน) ขอเชิญชวนท่านผู้มีเกียรติโปรดดื่มถวายพระพร............... (หยุดเว้นจังหวะให้ผู้ร่วมงานได้ลุกขึ้นยืน พร้อมถือแก้วเครื่องดื่มไว้ให้ข้อศอกสูงพอสมควรเมื่อผู้กล่าวเชิญชวนเห็นว่า เรียบร้อยแล้วจึงกล่าวต่อไปว่า)........... ข้าพระพุทธเจ้า ขออัญเชิญคุณพระศรีรตั นตรัยและพระสยามเทวาธิราชคุม้ ครองใต้ฝา่ ละอองธุลพี ระบาทและ พระราชวงศ์จงทรงพระเกษมสําราญมีพระชนมายุยิ่งยืนนาน เพื่อเป็นมิ่งขวัญแก่พสกนิกรไปชั่วกาลนาน ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อม ขอเดชะ” ๔. จบการดืม่ ถวายพระพร เมือ่ ผูเ้ ชิญชวนกล่า วจบให้ผ รู้ ว่ มงานจิบเครือ่ งดืม่ จากแก้ว โดยไม่ต อ้ งมีการบรรเลง เพลงสรรเสริญพระบารมีหรือเปล่งเสียงไชโยโห่ร้องแต่ประการใด (ที่มา : ข้อมูล กสบ.สบ.ทหาร) เมื่อพิจารณาในส่วน ของโรตารีเราแล้ว ผมคิดว่าหากจะจัดให้มีการดื่มถวายพระพรก็คงน่าจะอยู่ในข้อ ๑.๑ โดยงานที่จัดขึ้นในวันนั้นตรง (หรือใกล้ เคียง) กับวันสําคัญของทางราชสํานัก เช่น วันฉัตรมงคล วันเฉลิมพระชนมพรรษา ฯลฯ หรือในโอกาสที่พอเทียบเคียง ได้ในข้ออื่น ซึ่งเมื่อจัดแล้วก็ปฏิบัติตามแนวทางที่สำ� นักพระราชวังได้แนะน�ำไว้ตามที่กล่าวมาข้างต้นครับ/บก.
ผู้ว่าการภาค ปี 2556-57/Governors 2013-14 น.พ. สงวน คุณาพร ภาค 3330 โรตารีสากล สร.ทุ่งคา เป็นคนกรุงเทพโดยก�ำเนิด จบการศึกษาแพทย์ศาสตร์บัณฑิตจาก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปัจจุบันท�ำงานเป็น ศัลยแพทย์เจ้าของคลินิคศัลยกรรมตกแต่งภูเก็ต และ ศัลยแพทย์ตกแต่งที่ปรึกษา รพ.สิริโรจน์ จ.ภูเก็ต เป็นสมาชิกก่อตั้งสโมสรโรตารีทุ่งคา ประธานคณะกรรมการระหว่างประเทศไทยมาเลเซีย ภาค 3330 ประธานคณะกรรมการช่วยเหลือผู้ประสบภัยธรรมชาติภาค 3330 Dr.Sanguan Kunaporn D3330 RI RC Tongkah Born in Bangkok and graduated from Faculty of Medicine,Chulalongkorn University.his claasification is Medicine/Plastic Surgery.He was the founder of Phuket Plastic Surgery Clinic, Since1991 and Consultant Plastic Surgeon of Phuket International Hospital.He was a charter member of RC Tongkah, a District Chair of Thai Malaysia Inter Country Committee and a District Disaster Relief Committee Chair. ----------------สุวรรณ สรรภาภรณ์ ภาค 3340 โรตารีสากล สร.จันทนิมิต เป็นคนฉะเชิงเทราโดยก�ำเนิด เรียนจบการศึกษาทีโ่ รงเรียนวัดเทพนิมติ ฉะเชิงเทรา ต่อมาเดินทางมา อยู่ที่จนั ทบุรี โดย เปิดขายสินค้าทีเ่ กีย่ วกับเสียงเพลงและซีดีทุกชนิด เป็นสมาชิกก่อตั้งสโมสรโรตารีจันทนิ มิต เป็นประธานจัดงานมอบจักรยาน 1,000 คันทีจ่ นั ทบุร ี และการลงไปมอบโครงการห้องสมุดเด็กนักเรียน โดยร่วมกลับทหารเรือหน่วยนาวิกโยธินที่ อ.สายบุรี จังหวัดปัตตานีและ อ.บาเจาะ จ.นราธิวาส 2 ครั้ง Suwan. Sanphaporn D 3340 RI RC Chanthanimit Born in Chachoengsao,graduated from Wat Thepnimit School.He moved to Chanthaburi and started in CD and disk business.He was a chartered member of RC Chanthanimit.He used to be a director of donating 1,000 bicycles project which cooperated with Thai Marine and also the library project for the southern part of Thailand , Pattani and Narathivas. ---------------------ประวิทย์ โรจน์ขจรนภาลัย ภาค 3350 โรตารีสากล สร.สวนหลวง เป็นคนกรุงเทพโดยก�ำเนิด จบการศึกษาจากโรงเรียนเทพศิรินทร์และวิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ปัจจุบันเป็น กรรมการ บริษัทไทยธานีเคมี จ�ำกัด และ กรรมการ บริษัทไทยมัลติเพิล จ�ำกัด เป็นสมาชิกก่อตั้งสโมสรโรตารีสวนหลวง และเป็นประธานคณะ กรรมการมูลนิธิโรตารีภาคเป็นเวลา 3 ปี Prawit Rojkajonnapalai D 3350 RI RC Suan Luang Born in Bangkok and graduated from Thepsirin School and Bachelor of Engineering from King Mongkut’s University of Technology Thonburi.His classification is manufacturer of basic chemicals ,textile chemicals and lubrication oil , intermediate cosmetic chemicals , plastic rasin.He was a chartered member of Rotary Club of Suan Luang.He used to served as District Rotary Foundation Committee, Chair for 3 years . --------------ศุภรี ฉัตรกันยารัตน์ ภาค 3360 โรตารีสากล สร.เชียงใหม่เหนือ เป็นคนแพร่โดยก�ำเนิด จบการศึกษาปริญญาตรีและโทด้านการจัดการโรงแรมและการท่องเทีย่ ว และบริหารธุรกิจ ต่อด้วยประกาศนียบัตรขัน้ สูง( Higher Diploma) จากสถาบันเลอโรช ประเทศสวิตเซอร์ แลนด์ เคยเป็นอาจารย์ทมี่ หาวิทยาลัยพายัพอยู่ 12 ปีแล้วลาออกมาตัง้ บริษทั ท่องเทีย่ วและร้านอาหาร เคย เป็นสมาชิกกลุ่มศึกษาแลกเปลี่ยนไปสหรัฐอเมริกาแล้วกลับมาเป็นสมาชิกสตรีคนแรกของสโมสร โรตารี เชียงใหม่เหนือ Suparie Chatkunyarat D3360 RI RC Chiang Mai North Born in Phrae,Graduated in Hotel Management and MBA plus Higher Diploma from Les Roches, Switzerland. She used to be a lecturer at Payap University for 12 years and then became Travel Agency and restaurant owner. She was a member of Group Study Exchange to USA and became a first woman Rotarian of RC Chiang Mai North.
06
Rotary Thailand
บทบรรณาธิการ
ชำ�นาญ จันทร์เรือง
พบกันอีกเช่นเคยกับนิตยสารโรตารีประเทศไทยฉบับประจ�ำเดือนพฤษภาคม – มิถนุ ายน 2556 ซึง่ เป็นสองเดือนสุดท้ายของการปฏิบตั หิ น้าทีข่ องผูบ้ ริหารโรตารีในระดับโรตารี สากล ระดับภาค และในระดับสโมสร หลายคนยังคงมีความเพลิดเพลินและสนุกสนานในการ ท�ำงานอยู่ ทัง้ ๆทีใ่ นการท�ำงานโรตารีนนั้ เป็นการท�ำงานทีต่ อ้ งทุม่ เททัง้ ทรัพย์สนิ เงินทอง แรงกาย แรงใจ ที่ส�ำคัญที่สุดคือ เวลา ที่ต้องจัดสรรให้ดีที่สุด แต่ผมเชื่อว่าแม้จะเหน็ดเหนื่อยแสนสาหัส อย่างไรแต่ก็เป็นความเหน็ดเหนื่อยที่เต็มไปด้วยความสุขและประสบการณ์อันล�้ำค่า อย่างไร ก็ตามแม้วา่ จะพ้นจากต�ำแหน่งทางการบริหารไปแล้ว แต่ทา่ นทัง้ หลายยังคงเป็นทรัพยากรบุคคล ที่ทรงคุณค่าเป็นอย่างยิ่งที่ผู้บริหารที่จะก้าวเข้ามาต้องไม่พึงละเลยหรือมองข้ามไปได้ ในเดือนทีผ่ า่ นมาโรตารีเรามีกจิ กรรมทีส่ ำ� คัญมากมาย ในระดับสากลก็มกี ารประชุมสภา นิติบัญญัติโรตารีสากลหรือที่เราเรียกสั้นๆว่า COL(Council on Legislation) ที่ชิคาโก ซึ่งใน เรื่องนี้ อผภ.เกษมชัย นิธิวรรณากุล ได้นำ� สรุปมติที่ส�ำคัญๆมาเสนอในฉบับนี้แล้ว นอกจากนั้น ก็มกี ารสัมมนาบรรณาธิการนิตยสารโรตารีในภาคพืน้ เอเชียแปซิฟกิ ทีก่ รุงเชนไน ประเทศอินเดีย ซึ่งผมได้ไปร่วมประชุมและได้น�ำมาเล่าไว้ในฉบับนี้เช่นกัน ส่วนในระดับภาคก็มกี ารประชุมไม่วา่ จะเป็นการประชุมใหญ่ภาค(District Conference) หรือการอบรมสัมมนากรรมการบริหารและเจ้าหน้าที่สโมสร (District Assembly) ซึ่งในปีต่อ ไปจะถูกเรียกว่า (District Training Assembly) เพื่อให้ชัดเจนขึ้น และหลายภาคก็ตามด้วยพิธี สถาปนาคณะกรรมการบริหารสโมสรใหม่เลยในคราวเดียวกัน ซึ่งในส่วนตัวผมเองก็ได้มีโอกาส ไปร่วมในหลายๆภาค ได้พบปะมวลมิตรโรแทเรียนจ�ำนวนมาก ที่ส�ำคัญได้มีความรู้เพิ่มขึ้นอีก มากมายเช่นกัน พบกันใหม่ฉบับหน้าครับ ช�ำนาญ จันทร์เรือง บรรณาธิการ
rotary Thailand นิตยสารโรตารี ประเทศไทย
08
Rotary Thailand
นิตยสารรายสองเดือน ปีที่ 30 ฉบับที่ 146 พฤษภาคม-มิถุนายน 2556 MAY - JUNE 2013
สารบัญ Content
สารประธานโรตารีสากล สารประธานทรัสตีฯ Letters to the Editor ผู้ว่าการภาค ปี 2556-2557 บทบรรณาธิการ สารบัญ สกู๊ปพิเศษ "กองก�ำลังต่อต้านโปลิโอ" สัมภาษณ์ คามาล คาร์ หยดน�้ำผึ้งส�ำหรับหัวใจของเด็ก นับถอยหลังการประชุมใหญ่ สิ่งละอัน พันละน้อย สรุปข่าวโรตารีรอบโลก การสัมมนาบรรณาธิการนิตยสารโรตารี ประจ�ำภาคพื้นเอเชียแปซิฟิก ศูนย์โรตารีในประเทศไทย Rotary in Action END POLIO NOW
1-2 3-4 5 6 7 9 10-25 26-28 29-32 33 34-36 37-39 40-42 43 44-45 46
กองบรรณาธิการ
สถานที่ติดต่อ 29/10 หมู่ 2 ต.ช้างเผือก อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50300 29/10 Mu2, Chang Puak, Muang, Chiang Mai, THAILAND 50300 Tel +668 1595 7999 Fax +66 5335 7345 Email: chamnan@rotarythailand.org ช�ำนาญ จันทร์เรือง Chamnan Chanruang
พิเชษฐ์ รุจิรัตน์ Pichet Ruchirat
สุรกิจ เกิดสงกรานต์ Surakit Kerdsongkran
อภิศักดิ ์ จอมพงษ์ Apisak Jompong
ดนุชา ภูมิถาวร Danucha Bhumithaworn
จิตราพร สันติธรรมเจริญ Jittraporn Santithamcharoen
Special Scoop ภาพโดย ฌอง มาร์ค จิบู รทร.อภิศักดิ์ จอมพงษ์ สร.แม่จัน ผู้แปล
10
Rotary Thailand
กองก�ำลังต่อต้านโปลิโอ ในท่ามกลาง ภยันตราย ยังคงมี กลุ่มผู้กล้า ทั้งหญิง-ชาย แขวนชีวิต บนเส้นด้าย เพื่อต่อสู้ กับโปลิโอ
ไนจีเรีย (10-11) ผู ้ น� ำ ทางการเมื อ งและศาสนาในภาค เหนือของไนจีเรียต่อต้านการฉีดวัคซีน ป้องกันโรคโปลิโอในปี 2003 โดยพวกเขาอ้างว่าวัคซีนดังกล่าวมีการ ปนเปื้อนซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของแผนการ จากประเทศตะวันตกในการแพร่กระจาย ชือ้ เอชไอวีและอาจท�ำให้ผหู้ ญิงเป็นหมัน การหยอดวัคซีนเริม่ ต้นอีกครัง้ ในปี 2004 หลังจากการทดสอบครัง้ ใหม่แสดงให้เห็น ว่าวัคซีนมีความปลอดภัย แต่ผู้น�ำชาว มุสลิมจ�ำนวนมากในภูมิภาคยังคงแสดง การคัดค้าน และในมหานครคาโนฝูงชน ได้รมุ ท�ำร้ายเจ้าหน้าทีห่ ยอดวัคซีนโปลิโอ ในระหว่างปฏิบัติงานจนถึงแก่ชีวิต ใน ภาคเหนือของไนจีเรียเป็นพื้นที่เดียวใน โลกทีย่ งั คงมีการเพิม่ จ�ำนวนของผูต้ ดิ เชือ้ โปลิโอ โดยตรวจพบถึง 122 ราย ในปี 2012 ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปี 2011ถึงสองเท่า
12
Rotary Thailand
ในประเทศเซียร์ราลีโอน ปี 1988 ในขณะที่กลุ่มแนวร่วมปฏิวัติ ได้เริ่มต้นปฏิบัติการ ซึ่งสร้างความหวาดกลัวแก่พลเรือน ประชาชนนับ พันครอบครัวต้องอพยพไปจากบ้านของพวกเขา แม้จะอยู่ท่ามกลางความ โกลาหล แต่เจ้าหน้าที่สาธารณสุขและอาสาสมัครยังคงยืนหยัดท�ำภารกิจ ในวันสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคแห่งชาติตามที่ได้เตรียมการไว้ ทีมหยอด วัคซีนโรคโปลิโอต้องออกค้นหาผู้ลี้ภัยตามแนวถนนหลวงและในป่า พวก เขาต้องเอาชีวิตเข้าไปเสี่ยง แม้จะมีเสียงปืนใหญ่ดังกึกก้องอยู่ใกล้ ๆ ก็ไม่ อาจบั่นทอนความมุ่งมั่นที่จะน�ำวัคซีนโปลิโอไปหยอดให้กับเด็กทุกคนที่ได้ พบ วันนี้ เซียร์ราลีโอนเป็นประเทศที่ปลอดจากโรคโปลิโอได้ เพราะความ เสียสละของบรรดาผูท้ มี่ สี ว่ นร่วมในความพยายามสร้างภูมคิ มุ้ กันโรคเหล่านี้ รวมทัง้ โรแทเรียนอีกหลายแสนคนทัว่ โลก โปลิโอนัน้ ใกล้จะสูญสิน้ เต็มทีแล้ว ทีมงานของเราสามารถเข้าไปพิชติ โรคร้ายนีถ้ งึ ในประเทศทีเ่ กิดสงครามตลอด จนในพืน้ ทีซ่ งึ่ มีความไม่สงบทางการเมือง เหลือเพียง ประเทศอัฟกานิสถาน ไนจีเรียและปากีสถานเท่านั้น ที่ยังไม่ปลอดจากโรคโปลิโอ แต่ในการต่อสูค้ รัง้ สุดท้ายเพือ่ ก�ำจัดโรคโปลิโอให้หมดไปจากโลก นี้ ก็ยังคงมีอุปสรรคอยู่ ในขณะที่เชื้อโรคมีแนวโน้มที่จะพัฒนาตัวมันเองให้ ซับซ้อนยิง่ ขึน้ ปัญหาจากการทีป่ ระชาชนได้รบั ข้อมูลผิด ๆ และข่าวลือเรือ่ ง การรวมหัวกันวางแผน(conspiracy –บก.)ที่แพร่สะพัดในบางพื้นที่ ก็ร้าย แรงไม่แพ้กัน เพราะท�ำให้วัคซีนหยดเล็ก ๆ ที่สามารถช่วยชีวิตคนได้ กลับ กลายเป็นสิ่งที่น่าหวาดกลัว และเมื่อไหร่ที่ความสงสัยถูกเปลี่ยนเป็นความ เกลียดชัง บรรดาผู้ที่น�ำวัคซีนไปหยอดก็จะตกเป็นเป้าหมาย ดังนั้น เหล่า วีรบุรษุ ในแนวหน้าของสงครามกับโรคโปลิโอในครัง้ นี้ ก็คอื บรรดาเจ้าหน้าที่ สาธารณสุขและอาสาสมัคร, เจ้าหน้าทีพ่ ยาบาล, โรแทเรียน, และผูน้ ำ� ชุมชน ที่ได้พยายามเดินทางเพื่อน�ำวัคซีนคุ้มกันโรคไปยังบ้านทุกบ้านในสลัม และ ชุมชนที่อยู่โดดเดี่ยว และจากเหตุการณ์การสังหารเจ้าหน้าที่สาธารณสุข มากกว่า 20 คน ในอัฟกานิสถาน,ไนจีเรียและปากีสถาน เมือ่ วันที่ 2 มีนาคม ทีผ่ า่ นมา ท�ำให้การก�ำจัดโรคโปลิโอกลายเป็นภารกิจของผูท้ มี่ คี วามกล้าหาญ อย่างแท้จริง ช่างภาพ ฌอง มาร์ค จิบู ได้ทำ� บันทึกข้อมูลเกี่ยวกับโรคโปลิโอ มากว่า 16 ปี โดยได้เดินทางผ่าน 15 ประเทศในทวีปแอฟริกาและเอเชีย ทั้ง ใน เซียร์ราลีโอน, ไนจีเรีย, ชาด, อัฟกานิสถาน, ปากีสถาน และอินเดีย เพือ่ ท�ำ สารคดีเกีย่ วกับเบือ้ งหลังการท�ำงานในการรณรงค์กำ� จัดโปลิโอของคนเหล่านี้ "คณะท�ำงานขจัดโปลิโอได้เดินทางผ่านทุกสถานทีแ่ ห่งความทุกข์ และความ สิ้นหวัง ไม่ว่าจะเป็นสลัม, เขตสงคราม และค่ายผู้ลี้ภัย ด้วยเป้าหมายที่ตั้ง มั่นเพียงหนึ่งเดียว คือการเข้าถึงเด็ก ๆ ให้ได้มากที่สุด โดยไม่เลือกสถานที่" จิบกู ล่าว "พวกเขามีความมุง่ มัน่ สูงในระดับทีเ่ ราคาดไม่ถงึ หากไม่มพี วกเขา การก�ำจัดโรคโปลิโอไม่มีวันส�ำเร็จ ผมภูมิใจมากที่ได้มีโอกาสท�ำสารคดีเกี่ยว กับการท�ำงานอันทรงคุณประโยชน์ของพวกเขา” - เมเกน เฟอรินเจอร์
14
Rotary Thailand
16
Rotary Thailand
อัฟกานิสถาน (ซ้ายสุด) มีการแพร่กระจายของโรคโปลิโอ อย่างมากในเขต 13 ต�ำบลของจังหวัดเฮลมาน, กันดา ฮาร์ และ อูรูสกัน ทางตอนใต้ของประเทศ ในขณะที่ การเข้าถึงตัวเด็กมีความยากล�ำบากเพราะความขัดแย้ง ทางการเมือง ปากีสถาน (ด้านบน) หมอชาวอัฟกานิสถานก�ำลังสอน วิธกี ารหยอดวัคซีนโปลิโอให้กบั ผูล้ ภี้ ยั ชาวอัฟกานิสถาน ที่ ค ่ า ยอพยพในจาโลไซใกล้ กั บ เปชาวาร์ เจ้ า หน้ า ที่ สาธารณสุข 9 คนที่เข้าไปหยอดวัคซีนให้เด็ก ๆ ถูก สังหารในเดือนธันวาคม การโจมตีดังกล่าวเกิดขึ้นหลัง จากทีก่ ลุม่ ตาลิบนั ได้ปดิ กัน้ ความพยายามในการจัดรอบ การหยอดวัคซีนตามแผนการสร้างภูมิคุ้มกันโรคแก่เด็ก จ�ำนวน 280,000 คนในปากีสถาน เพื่อเป็นการประท้วง การปฏิบัติภารกิจของกองทัพสหรัฐ เยเมน (ซ้าย) เจ้าหน้าที่สาธารณสุขเดินทางไปพร้อมกับ ถังเก็บความเย็นทีบ่ รรจุวคั ซีนป้องกันโรคโปลิโอ ประเทศ เยเมนต้องเผชิญการระบาดของโรคจากผู้ป่วย 473 ราย ในปี 2005 และได้รบั การประกาศว่าปลอดจากโรคโปลิโอ ในปี 2009 ชาด (ซ้ายด้านบน) ในปี 2003 ประชาชนมากกว่า
18
Rotary Thailand
35,000 คน ทีอ่ ยูต่ ามแนวชายแดนของซูดาน อพยพจากเมืองดาร์ฟวั ร์ไปยังค่ายผูล้ ภี้ ยั ทีเ่ บ รดจิง เพื่อหลบภัยจากสงครามกลางเมืองในประเทศตัวเอง ด้วยสภาพความเป็นอยู่ที่ยาก เข็ญและขาดสุขลักษณะ ท�ำให้คา่ ยกลายสภาพเป็นแหล่งเพาะพันธุแ์ ละการแพร่กระจายของ เชื้อโปลิโอ บรรดาอาสาสมัครผู้ลี้ภัยจึงถูกส่งไปฝึกอบรมเกี่ยวกับการสร้างภูมิคุ้มให้กับเด็ก อินเดีย (หน้า 20-21) ในปี 2007 ร้อยละ 70 ของผูท้ ตี่ ดิ เชือ้ โรคโปลิโอในแคว้นอุตรประเทศ เป็นชาวมุสลิม โดยเมื่อกลางปี 2008 อัตราส่วนการติดเชื้อได้ลดลงถึงร้อยละ 29 เนื่องจาก โรตารีได้ริเริ่มให้ผู้นำ� ชาวมุสลิมเข้ามามีส่วนร่วมในการให้ความรู้ ความเข้าใจแก่ชุมชน ถึง ความปลอดภัยของวัคซีน
20
Rotary Thailand
ปันโชหลงใหลในงานจิตอาสา เมื่ออยู่ในกลุ่มคนแปลกหน้า โดย สตีเฟน ยาฟา อน.สุรกิจ เกิดสงกรานต์ สร.บางเขน ผู้แปล
เซซิล "ปันโช" แพดดิลลาดูเหมือนไม่พร้อมกับอารมณ์ที่ถาโถมเข้าหาเขาอย่างไม่เปิดโอกาสให้ตั้ง ตัว ในขณะที่เขาหวนคิดถึงการเข้าไปช่วยจัดตั้งคลินิกทันต กรรมที่ได้รับการสนับสนุนจากโรตารีในเมือ งมูเลเค ประเทศเม็กซิโก เขาพูดด้วยน�ำ้ เสียงสัน่ เครือ "ตอนทีเ่ ราไปทีน่ นั่ ครัง้ แรก ๆ ได้พบเด็กหญิงพิการจาก โรคโปลิโอ แล้วพวกเราช่วยกันหารถกอล์ฟให้เธอได้คันหนึ่ง เพื่อให้เธอไม่ต้องคลานคลุกฝุ่นเวลาไปไหนมา ไหน" เขาถึงกับน�้ำตาซึม พูดไม่ออก ก้มหน้าลง เพื่อปิดบังดวงตาทั้งสอง เขาหยุดไปนานก่อนจะพูดต่อด้วย ถ้อยค�ำที่ขาดตอน และเบาจนเกือบไม่ได้ยิน พอจับความได้ว่าเขาเห็นพ่อของเด็กหญิงยืนอยู่คนเดียว ห่าง ออกไปจากกลุ่มคนที่รวมตัวกันแสดงความยินดีกับหนูน้อยที่ได้รับรถกอล์ฟ "ผมเดินตรงไปทีต่ น้ ไม้ทคี่ ณ ุ พ่อของเด็กหญิงยืนอยูแ่ ละถามเขาว่าท�ำไมไม่ไปอยูร่ ว่ มกับกลุม่ ทีแ่ สดง ความยินดี เขาตอบว่า 'ผมละอายใจครับ ผมอายที่พวกคุณให้ลูกสาวผมในสิ่งที่ผมให้ไม่ได้' " แพดดิลลาใช้ หลังมือปาดน�้ำตาทิ้ง สูดลมหายใจลึก ขณะพูดจบประโยค ปัจจุบันแพดดิลลาอายุ ๗๒ ปี อาศัยอยู่ในเมืองเดวิสใกล้ซาคราเมนโต รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา เขาเกษียณอายุการท�ำงานจากบริษัทแปซิฟิกแก๊ส แอนด์อีเล็คทริค (พีจีแอนด์อี) ที่ซึ่งเป็น นายจ้างเขานานถึงสองทศวรรษ แต่ส�ำหรับปันโช การ"เกษียณ" หมายถึงโอกาสการซื้อและแต่งรถโบราณ ท�ำมืออย่างเบนท์เลย์ปี ๕๒ และรถพลายเมาธ์เพราเลอร์รุ่นลิมิเตด ซึ่งนับเป็นสองในเจ็ดรถคลาสสิค ที่เขา มีอยู ่ หลังเกษียณเขาใช้เวลาหมดไปกับการแข่งรถจักรยานยนต์ ฮาร์เลย์เดวิดสันกับเพื่อน ๆ เขาพอใจกับความเร็วที่เกินกว่า ๑๘๐ ไมล์ต่อชั่วโมง นอกเหนือจากความพอใจในการบ�ำเพ็ญ ประโยชน์กับกิจกรรมของโรตารี และการสร้างที่อยู่อาศัยใน โครงการเพื่อมนุษยชาติ เขายังชื่นชอบการตกแต่งห้องรับแขก และโถงภายในบ้านให้เป็นเหมือนศาลเจ้าโรตารี ผนังระเบียง ด้านหนึง่ เขาใช้พนื้ ทีย่ าว ๒๐ ฟุตเพือ่ ประดับแบนเนอร์ผา้ ซาติน เงางาม ทีเ่ ขาได้จากสโมสรต่าง ๆ ทีเ่ ขาไปเยีย่ มมาทัว่ โลก ทีห่ อ้ ง รับแขก เขาแขวนแผนทีโ่ ลกทีม่ เี ส้นด้ายโยงจากเมืองเดวิสไปยัง เมืองต่าง ๆ ทั่วโลก อันเป็นเส้นทางเดินโรตารีของเขา นอกจากนี้ยังมีเหรียญโรตารี ริบบิน โล่ ข้อความจาก ทีต่ า่ ง ๆ ตัง้ แต่ซอลท์เลคไปจนถึงศรีลงั กา วางไว้อย่างกระจัดกระจายในสีสนั ต่าง ๆ ในแบบอักษรต่าง ๆ กัน มีอยูช่ นิ้ หนึง่ ทีเ่ ขียนข้อความไว้วา่ "มากล้นด้วยความดี คือทีเด็ดยอดคน" และอีกชิน้ หนึง่ ทีต่ ดิ ไว้เหนือฝาครอบ รถเบนท์เลย์ของเขา บอกตัวตนของเขาได้ดีว่า "ข้าจะใช้ชีวิตที่รวยคุณค่า แต่จะไม่ตายอย่างคนร�่ำรวย" หากคุณได้ใช้เวลาอยู่กับปันโช แพดดิลลาสักระยะเวลาหนึ่ง คุณจะรู้ว่า ความรู้สึกที่เต็มเปี่ยมดัง ประโยคข้างต้นของปันโช และรู้สึกได้ทันทีนั้น ไม่เป็นสิ่งที่ผิดปกติเลย ในขณะที่เขาท�ำงานภาคสนามของ โรตารีที่น�ำเขาไปในประเทศต่าง ๆ กว่า ๗๐ ประเทศ เขาต้องตรวจสอบว่าตนเองสามารถควบคุมความ รู้สึกต่าง ๆ ไว้ได้ เขาสามารถใช้ทักษะด้านเครื่องยนต์กลไกที่เรียนรู้เอง เพื่อซ่อมแซมสิ่งต่าง ๆ ในพื้นที่เป้า หมายในการท�ำโครงการ แต่เมื่อเขากลับมาถึงบ้าน เขาจะหาเวลานั่งทบทวนโดยให้ความทรงจ�ำ ที่เกิดขึ้น มีอ�ำนาจควบคุมให้เขาอยู่ในภวังค์เช่นนั้น จนกว่ามันจะจางหายไปเอง
"ผมไม่นึกเลยว่าการท�ำตาม ค�ำขอของบริษัทจะน�ำมา ซึ่งความอิ่มเอมใจ และจิตอาสาชั่วชีวิต"
22
Rotary Thailand
เรื่องของเรื่องก็คือ แม้ว่าปันโชจะมาจากครอบครัวพอมีพอกิน ต้องระมัด ระวังการใช้จ่าย แต่เขา คิดหาโอกาสแสดงความขอบคุณกับมูลนิธิโรตารีอยู่เสมอ เพราะมูลนิธิฯ ให้ความสมบูรณ์แบบของชีวิตกับ เขา แพดดิลลาบริจาคอย่างต่อเนื่องหลายปีจนถึงปี พ.ศ. ๒๕๕๔ เขาบริจาคได้ครบ ๒๕๐,๐๐๐ เหรียญ สหรัฐ และได้รบั เกียรติให้เป็นสมาชิกในสมาคมอาร์คซีคลัมฟ์ในปี พ.ศ. ๒๕๕๕ เขาร�ำลึกถึงห้วงเวลาที่ นาย ของเขาในบริษทั อีจแี อน์อขี อให้เขาเข้าร่วมกับสโมสรโรตารีเพลซเซอร์วลิ ล์ "ผมไม่นกึ เลยว่าการท�ำตามค�ำขอ ของบริษทั จะน�ำมาซึง่ ความอิม่ เอมใจ และจิตอาสาชัว่ ชีวติ " วันนีเ้ ขาเป็นสมาชิกของสโมสรโรตารีวนิ เทอร์ส เขาเกิดในครอบครัวเม็กซิกันอเมริกันที่มีฟาร์มเล็ก ๆ แห่งหนึ่งเป็นของตนเอง ในชนบทห่างไกลของเมือง ซาคราเมนโตเวสท์ เมื่อตอนเด็ก ๆ แพดดิลลามีหน้าที่ท�ำความสะอาดเล้าหมู ซ่อมแซมเครื่องใช้ ในช่วงฤดู ร้อนซึ่งเป็นเวลาที่พ่อแม่ไปหางานท�ำตอนกลางวันในเมือง เพื่อหาเงินมาจุนเจือค่าใช้จ่ายในบ้าน "การท�ำ ฟาร์มไม่ได้ให้ผลตอบแทนที่ดีนัก" เขากล่าว "แต่เราก็พออยู่ได้จากการเก็บเกี่ยวและการเลี้ยงสัตว์ ผมก็เป็น ก�ำลังส�ำคัญในบ้านคนหนึง่ ผมไม่รสู้ กึ ว่าครอบครัวของเรายากจน จนกระทัง่ ได้ไปโรงเรียนและเด็กคนอืน่ ๆ หัวเราะกับเสื้อผ้าที่ผมใส่ กระนั้น พวกเราพี่น้องก็อยู่ด้วยกันอย่างมีความสุข และผมก็เห็นภาพอย่างนี้ ใน ทุกหนทุกแห่ง เด็ก ๆ ทีย่ ากจนสามารถเล่นได้แม้จะมีเพียงไม้ กับกระป๋องเปล่า แค่นกี้ เ็ รียกเสียงหัวเราะแห่ง ความสุขได้แล้ว ความทุกข์ยากวัยเด็กของแพดดิลลาอาจมองเห็นได้จากมือที่หยาบกร้านของเขา แต่จิตใจ ของเขา มิได้หยาบกร้านด้วยเลย ในมูเลเค่ สัญชาติญานบอกเขาว่า ความเจ็บปวดทีป่ นอยูใ่ นความตืน้ ตันใจ ของคนเป็นพ่อของลูกที่ป่วยด้วยโรคโปลิโอนั้นเป็นอย่างไร และตัวเด็กเองก็รู้สึกเจ็บปวดไม่แพ้กัน "เวลาเยี่ยมประเทศ ต่าง ๆ ผมมักจะพบเหตุการณ์ที่กระชากความรู้สึก อย่าง รุนแรง ไม่ว่าจะเป็นพ่อแม่หรือตัวเด็กเองที่เข้ามากอดและ รัดตัวผมไว้แน่น ไม่อยากให้พวกเราจากเขาไป เพียงเพราะ รู้ว่าเราช่วยเขาได้ เหตุการณ์แบบนี้ที่น�ำผมกลับไปหาพวก เขา" ตลอดเวลา ๓๐ ปีที่ผ่านมา เขาได้เชื้อเชิญเพื่อนโรแท เรียนมากกว่าสิบคนไปร่วมท�ำกิจกรรมแบบนี้ "พวกเขาไป ครั้งเดียว แล้วก็ไม่ไปกันอีก" ไม่ใช่เพราะพวกเขาไม่มีจิตใจ อยาก ช่วยเหลือ เขาอธิบายให้ฟังว่า สภาพของสถานที่ ๆ เป็นสลัมค่อนข้าง เป็นอุปสรรค "พวกเขาบอกว่า ไม่อยากจะ ไปอีกเพราะรับไม่ได้ ผมรู้ว่าพวกเขาหมายถึงอะไร" เช่นนัน้ แล้วอะไรดลใจให้เขากลับไปอีก เขาแตกต่างจากคนอืน่ อย่างไร "ผมมองสถานการณ์แบบ นี้ แล้วรู้ว่าตัวเองท�ำอะไรบางอย่างได้ เพื่อให้ชีวิต พวกเขาดีขึ้น" เขากล่าว "มันอาจเป็นอะไรเล็ก ๆ น้อย ๆ แต่เมื่อผมจากที่นั่นมา ผมฝากบ้านบางบ้านให้มีประตู มีหลายสิ่งหลายอย่างที่ผมท�ำได้ เพราะผมโชคดี ที่มีมือคู่ที่ท�ำงานฝีมือได้ ทุกแห่งที่ไป คนที่นั่นพอใจกับสิ่งที่ผมฝากไว้ เป็นเรื่องเล็ก ๆ น้อย ๆ ที่ผมไม่เคย ละเลย อย่างเช่นสวิทช์ไฟที่ให้แสงสว่างและที่นอนที่แสนสบาย" ปันโชผูกพันกับโรตารีมากขนาดที่เขาเก็บเสื้อที่มีตราสัญญลักษณ์โรตารีไว้มากถึง ๙๗ ตัว แต่การ เชือ่ มเข้ากับโรตารีในตอนแรกนัน้ ไม่คอ่ ยน่าประทับใจเท่าไหร่ โดยทีเ่ ขาเป็นผูจ้ ดั การเขตของบริษทั พีจแี อนด์ อี ในขณะที่เป็นสมาชิก สโมสรโรตารีเพลสเซอร์วิลล์ด้วย เขาไปประชุมแบบกินข้าวกลางวันอยู่ ๔ ปี ช่วย เพื่อนในสโมสรเจาะหาน�ำ้ บาดาลสองสามครั้งหลังเลิกงาน ก็แค่นั้นเอง แต่แล้ววันหนึ่งในการประชุมใหญ่ ภาคช่วงปลายทศวรรษ ๗๐ เขาได้พบทันตแพทย์ทา่ นหนึง่ ชือ่ ดอน แรทลีย์ ซึง่ ก�ำลังวางแผนท�ำโครงการให้ บริการคลินิคท�ำฟันที่มูเลเค่ (ประเทศเม็กซิโก) นายแพทย์ท่านนี้เลือกคุยกับแพดดิลลาเพราะเห็นว่าเขาใช้ ภาษาสเปนได้ จะได้ช่วยงานในฐานะล่าม "ตอนแรกผมก็แบ่งรับแบ่งสู้ แต่เพื่อนหญิงของผมเชียร์ให้ไป ผม ก็เลยลงชื่อไปด้วย"
เขาช่วยหยอดวัคซีนโปลิโอ ช่วยงานคลินิคในฟิลิปปินส์ ผู้ช่วยทันตแพทย์ในเม็กซิโก เนปาล และแอฟริกา อะไร ก็ได้ที่ผู้คนต้องการเขา
24
Rotary Thailand
ตลอดเวลาแรมเดือนในต่างประเทศในปี พ.ศ. ๒๕๒๒ ทันตแพทย์แรทลีย์สอน แพดดิลลาให้รู้วิธี เป็นผูช้ ว่ ยทันตแพทย์ ซึง่ ต่อมาเขาสามารถใช้ทกั ษะนี้ เพือ่ น�ำทีมไปท�ำกิจกรรมบ�ำเพ็ญประโยชน์ในแอฟริกา และที่อื่น ๆ ต่อไป เขาและแรทลีย์เปิดคลินิคที่ส่วนมากให้บริการถอนฟันที่เสียของคนไข้ แพดดิลลาเล่าให้ ฟังว่าทีท่ ำ� แค่นนั้ ก็เพราะยังขาดเครือ่ งมืออุดฟัน วันนีค้ ลินคิ แห่งนี้ ได้รบั การสนับสนุนจากสโมสรโรตารีหลาย แห่ง ท�ำให้สามารถให้บริการในตึกทีต่ งั้ เด่นสง่า ในนัน้ มีเก้าอีท้ นั ตกรรมสามตัว มีเครือ่ งเอ็กซเรย์ อุปกรณ์การ ท�ำฟันปลอม แพดดิลลาช่วยตกแต่งคลินคิ นี้ เช่นการติดตัง้ พัดลม การใช้บริการคลินคิ ทันตกรรมนีไ้ ม่ตอ้ งเสีย ค่าบริการรักษาแต่อย่างใด "เราช่วยพัฒนาไปมากทีเดียว" เขากล่าว ทุกวันนี้ เวลาเขาไม่ต้องเดินทางไปท�ำกิจกรรมนอกประเทศ คุณจะได้พบแพดดิลลาช่วยเหลือผู้ ว่าการภาค ๕๑๖๐ ลอรา เดย์ โดยเป็นพ่อสื่อในการหาอาสาสมัคร โรตารี และด้วยเหตุที่ภาคนี้มีความยาว ๓๐๐ ไมล์ มีจ�ำนวนสโมสร ๗๑ สโมสร แพดดิลลาจึงอาสาเป็นคนขับรถพาผู้ว่าการภาคเดย์ ไปเยี่ยมสโมสร ต่าง ๆ ในภาค "หลังจากที่มีเวลาอยู่ในรถด้วยกันยาวนานท�ำให้ฉันรู้จักเขาดี" ผวภ. เดย์ กล่าว "ดิฉันรู้ว่าเขา หลับนอนบนพื้นทรายในเอลซาลวาดอร์และที่อื่น ๆ และเขาอาจไม่ได้เปลี่ยนเสื้อผ้าเป็นอาทิตย์เพื่อท�ำงาน ขุดถนน สร้างสะพาน ช่วยรณรงค์หยอดวัคซีนโปลิโอ ช่วยงานคลินิคในฟิลิปปินส์ เป็นผู้ช่วยทันตแพทย์ใน เม็กซิโก เนปาล และแอฟริกา อะไรก็ได้ที่ผู้คนต้องการเขา เขาเป็นเหมือนผู้จัดการแผนการเยี่ยมสโมสรของ ฉันด้วย เขาเตรียม ให้สโมสรเหล่านั้นด�ำเนินพิธีการต้อนรับการเยี่ยมอย่างเป็นทางการอย่างสมบูรณ์แบบ” อีกไม่นานเขาก็จะออกเดินทางระยะเวลาเป็นเดือนเพือ่ ร่วมกิจกรรมทันตกรรม กับทีมอาสาสมัคร ๒ ทีมที่เขาจัดหาไว้เองในมูเลเค่ จากนั้นก็จะไปเฮติ เพื่อร่วมในโครงการฟื้นฟูประเทศ แล้วก็ไปชิลี "ไม่เคย มีมือเพียงพอที่จะท�ำงานในที่ ๆ เราไป" เขากล่าว และส�ำหรับแพดดิลลาแล้วความซาบซึ้งใจเวลาที่ได้ท�ำ กิจกรรมบ�ำเพ็ญประโยชน์นั้นเกิดขึ้นตลอดเวลาและมากล้นเกินเก็บเอาไว้ "บางที อาจเป็นเพราะผมไม่มี ค�ำพูดที่จะแทนความรู้สึกได้ ผมรู้ได้เลยว่า โครงการต่าง ๆ ที่ทำ� แต่ละโครงการต้องมีอะไรสะกิดความรู้สึก ผม" ที่ราบเรียบที่สุดก็อาจเป็นการยื่นทอทิลลา (อาหารเม็กซิโก) ให้ จากเด็ก ๆ ซึ่งแค่นี้ก็เป็นโซ่คล้องใจผม ได้แล้ว ผมเคยถามตัวเองหลายครั้งว่าชีวิตของผมจะเป็นยังไงถ้าไม่เคยมีประสบการณ์แบบนี้ และคุณอาจ ถามว่าแล้วชีวิตของพวกเขาอีกมากมายจะเป็นเช่นไร (หากไม่เคยได้รับประสบการณ์เช่นนี้) ชาวบ้านไม่ว่า จะอยูท่ ไี่ หนในโลกนี้ เมือ่ เขาได้หลังคาใหม่คมุ ศีรษะ สามารถเดินข้ามแม่นำ�้ ล�ำคลองโดยใช้สะพานทีซ่ อ่ มแซม แล้ว หรือได้รับความปลอดภัยจากลมพายุเพราะมีประตูใหม่ที่แข็งแรง ผมไม่รู้ว่าตัวเองมีเลือดอาสาสมัคร หรือเปล่า" แพดดิลลากล่าว "ตอนวัยรุ่นผมเป็นคนเห็นแก่ตัว ผมไม่คิดว่า ตัวเองจ�ำเป็นต้องไปพึ่งพาใคร ผมไม่เคยดิ้นรนเพื่อขออะไรจากใคร ผมออกจะเป็นคนยึดตัวเองเป็นศูนย์กลางและหยิ่งหน่อย ๆ" ตอนนี้ ทุกอย่าง เปลี่ยนไป เพราะจุดเริ่มต้นของการได้เดินทางไปมูเลเค่เพื่อท�ำกิจกรรมโรตารีเมื่อกว่าสามสิบปีมา แล้ว เขาค้นพบสายใยที่โยงเขากับคนแปลกหน้า สายใยที่ช่วยให้เขาเชื่อมต่อกับส่วนหนึ่งของตัวตนของเขา เอง ที่ไม่เคยมีใครรู้มาก่อนจนกระทั่งวันนั้น ผลที่เกิดขึ้นส�ำหรับตัวแพดดิลลาและโรตารีมันคือรางวัลชีวิตที่ ไม่เคยจบสิ้น.
สัมภาษณ์ คามาล คาร์ เรื่อง “อึ” อน.สุรกิจ เกิดสงกรานต์ สร.บางเขน ผู้แปล
ลองจินตนาการดูวา่ อะไรเกิดขึน้ หากคนอเมริกนั ๓๑๕ ล้านคนไม่มหี รือไม่ยอมใช้หอ้ งน�ำ้ ในบ้าน และพร้อมใจกันขับถ่าย กันนอกบ้าน ของเสียต่าง ๆ ที่ขับถ่ายทับถมกันอยู่นอกบ้านจะ มากขนาดไหน และลองจินตนาการต่อไปว่าคนในแคนาดา ใน เม็กซิโก ประเทศอื่น ๆ ในยุโรป คนฝรั่งเศส อังกฤษ อิตาลีและ สเปน ทุกคนต่างขับถ่ายกันนอกบ้านทุกวัน
การวัดผลความส�ำเร็จของโปรแกรมซีแอลทีเอสก็ทำ� ได้ไม่ยาก พฤติกรรม การขับถ่ายเปิดเผยหายไป ซึ่งเป็นความเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากความ กดดันของเพื่อนบ้านที่อยากให้ชุมชนมีมาตรฐานชีวิตที่ดีขึ้น โปรแกรมนีไ้ ด้รบั การพิสจู น์วา่ มีประสิทธิภาพสูง หมูบ่ า้ นและ ชุมชนนับพันแห่งกลายเป็นสถานที่ "ปลอดการขับถ่ายแบบเปิดเผย" ก็ เพราะโครงการนี้ ยิ่งไปกว่านั้นสุขภาพชุมชนยังดีขึ้นอีกด้วย พื้นที่ ๆ เคยมีอหิวาตกโรคระบาดมาก่อน เมื่อปฏิบัติตามโครงการนี้ก็เกือบไม่ คิดไม่ออกเลยใช่หรือไม่ พบว่ามีการระบาดของโรคอีก แต่ทุกวันนี้ ในประเทศก�ำลังพัฒนาทั้งหลายซึ่งรวมทั้ง คาร์พดู ให้เหล่าโรแทเรียนฟังเกีย่ วกับประเด็นเรือ่ งน�ำ้ และสุข ในเอเชีย แอฟริกา และลาตินอเมริกา ยังมีประชากรรวมกันไม่ อนามัยในการประชุมสุดยอดน�้ำโลก (เวิร์ลด์วอเตอร์ซัมมิท) ที่มอนทรี น้อยกว่า ๑,๐๐๐ ล้านคน ทั้งที่เป็นเด็กหญิง เกษตรกร ผู้สูงอายุ ออลและนิวออร์ลีนส์ และเขาจะขึ้นพูดที่การประชุมแบบเดียวในครั้ง ขับถ่ายกันนอกบ้าน เป็นสาเหตุแห่งการขาดอนามัยที่ส่งผลให้ ต่อไปที่นครลิสบอน ประเทศโปรตุเกส ในวันที่ ๒๑ มิถุนายน ๒๕๕๖ เกิดความเจ็บป่วยจากโรคติดต่อและถึงตายในที่สุด และยังเป็น ก่อนการประชุมใหญ่โรตารีสากล ประเด็นศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ที่ยกขึ้นโจมตีกันรายวันส�ำหรับ คาร์สนทนากับชาร์ลส์ ฟิชแมน ผู้ซึ่งเขียนเกี่ยวกับน�้ำโลกใน คนจ�ำนวน ๑,๐๐๐ ล้านคนที่ทำ� พฤติกรรมเช่นนั้น หนังสือชื่อ "ที่สุดของความกระหาย" (เดอะบิ๊กเธิร์สต์) โดยทั่วไป อนามัยไม่ค่อยเป็นเรื่องที่จะดึงดูดความ สนใจ และที่ส�ำคัญดึงดูดงบประมาณได้ดีเหมือนเรื่องของการ เดอะโรแทเรียน : ชาวตะวันตกใช้หอ้ งน�้ำ ถ้าแอบไปเห็นใครขับถ่ายอยู่ พัฒนาแบบอื่น ๆ เช่นโครงการน�ำ้ สะอาด บางครั้งถึงแม้จะเรียก กลางแจ้ง คงรับไม่ได้ อย่าว่าแต่จะเห็นภาพอย่างนั้นทุกวันเลย ความสนใจได้ แต่นิสัยคนก็ลืมกันง่าย รัฐบาลและองค์กรเอกชน คาร์ : ถ้าคุณคุยกับชาวตะวันตกสัก ๑๐๐ คน จะมีสัก ๙๙ คนบอกว่า มีโครงการสร้างส้วมหรือห้องน�ำ้ สาธารณะในชนบทอยูอ่ ย่างเสมอ "ฉันมีวิธีแก้" ปัญหาทั้งหมดนี้อยู่ที่ "ทัศนคติ" แต่แล้วอาจมีอยู่สักเพียง ๆ แต่ห้องน�้ำเหล่านั้นไม่ได้ถูกใช้ตามวัตถุประสงค์เต็มที่ บางทีก็ คนเดียวที่บอกว่า "โอเค ฉันไม่เคยขับถ่ายในที่เปิดเผย ฉันไม่เคยมีชีวิต ใช้เป็นที่เลี้ยงไก่หรือไม่ก็เอาไว้เก็บฟืน อะไรแบบนั้น ถ้าฉันจะคุยกับคนพวกนั้นฉันต้องท�ำยังไงบ้าง พวกเราไป สิบปีก่อน คามาล คาร์ นักวิทยาศาสตร์การเกษตร ถามชาวบ้านเหล่านัน้ กันเถิด เพราะเขาคือผูร้ คู้ ำ� ตอบ" นีแ่ หละคือระบบ จากอิ นเดีย สะดุดกับวิธีการจัดการ กับปัญหาสุขอนามัยที่มี คิดทีค่ วรเป็น พวกเราชาวตะวันตกได้รบั ความรูม้ าดี พวกเรามีทนุ ทรัพย์ ประสิทธิภาพอย่างยิ่ง ในขณะที่เขาพยายามที่จะท�ำความเข้าใจ เราเห็นสิ่งที่ไม่เคยเห็นมาก่อน เราก็รู้ได้เลยว่าพวกเขาด้อยปัญญา พวก ว่าท�ำไมชาวบ้านในชนบทประเทศบังคลาเทศจึงไม่ยอมใช้หอ้ งน�ำ้ เขา "ไมรู้ว่าจะแก้ปัญหายังไง" ที่จัดสร้างไว้ให้ เดอะโรแทเรียน : คุณก�ำลังบอกว่า คุณพบกุญแจไขไปสูห่ นทางแห่งการ จากการท�ำงานภาคสนาม คาร์ได้พัฒนาโปรแกรม แก้ปํญหาสุขอนามัยด้วยการปฏิเสธวิธีการให้ค�ำแนะน�ำแก่ชาวบ้านให้ สุขอนามัยองค์รวมจากการน�ำของชุมชน (ซีแอลทีเอส) ซึ่งเป็น ท�ำอย่างนั้นอย่างนี้ และคิดเองว่าตัวเองรู้ค�ำตอบ เพราะคนที่ตั้งใจช่วย โปรแกรมที่สมาชิกในชุมชน ต้องด�ำเนินการประเมินความเสีย แก้ปัญหา การยัดเยียดค�ำตอบให้เท่ากับเป็นการปิดทางเข้าสู่หัวใจของ หายที่เกิดขึ้นกับสมาชิกและเด็ก ๆ ในชุมชน จากการที่ปล่อย ปัญหา อะไรน�ำความคิดนี้มาสู่คุณ ให้มีการขับถ่ายในที่เปิดเผย แล้วจึงหาวิธีแก้ไขด้วยตัวเอง วิธีนี้ คาร์ : ขอพาคุณกลับไปสู่ปี พ.ศ.๒๕๔๒ เราท�ำโครงการสร้างส้วม คาร์นำ� ไปเผยแพร่ใน ๕๐ ประเทศ นับเป็นวิธกี ารทีห่ กั ล้างผลงาน สาธารณะ และจัดท�ำระบบน�้ำดื่มสะอาด และติดตั้งปั๊มมือในหมู่บ้าน ของรัฐบาล หรือองค์กรภาคเอกชน หรือองค์กรช่วยเหลือระหว่าง แห่งหนึ่งในบังคลาเทศ หลังจากนั้นสองเดือนทีมงานของผมและตัวผม ประเทศ หลักการท�ำงานของวิธขี องเขาคือ การให้บคุ คลภายนอก เองได้รบั มอบหมายให้กลับไปติดตามดูผลงานของโครงการทีท่ ำ � หมูบ่ า้ น ที่ได้รับฝึกอบรมมาอย่างดี ท�ำหน้าที่ในการแนะน�ำสมาชิกใน นี้ใกล้แหล่งน�้ำ พวกชาวบ้านก็ไม่ต้องไปหาห้องน�้ำที่ไหนไกล แต่พวก ชุมชนให้รู้จักการประเมินสถานภาพสุขอนามัยด้วยตัวเอง แค่นี้ ที่อยู่พ้นเขตชุมชน ผมเองเกือบเหยียบอุจาระของชาวบ้านที่ถ่ายทิ้งไว้ เอง ไม่มีการให้ค�ำแนะน�ำ (ในการแก้ปัญหา) ไม่มีการให้ความ เกลือนพื้นที่ ช่วยเหลือทางเทคนิค ไม่มีการสร้างห้องน�้ำ และที่ส�ำคัญ ไม่มี การให้เงินทุนอะไร
26
Rotary Thailand
แล้วอย่างนี้ ห้องน�ำ้ จะมีไว้ทำ� ไม ทุกหมูบ่ า้ นทีเ่ ราไปเยีย่ ม เป็นเหมือนกัน ห้องน�ำ้ บางแห่งก็มคี นใช้ บางแห่งไม่เคยมีคนใช้เลย แล้วเป้าหมายในการเพิม่ จ�ำนวนห้องน�ำ้ จะไปมีประโยชน์อะไรทีจ่ ะ ทุ่มเทเพิ่มจ�ำนวนห้องน�้ำ ในเมื่อชาวบ้านไม่ยอมใช้ เดอะโรแทเรียน : จากสุนทรพจน์ของคุณ เราสังเกตเห็นว่าคุณ พยายามหลีกเลี่ยงการใช้ศัพท์วิชาการกับค�ำว่าอุจาระของคนซึ่ง บางคนที่ฟังแล้วอาจสะดุ้ง ไม่ทราบว่าเวลาอยู่กับชาวบ้านคุณใช้ ศัพท์แสลงแทนค�ำว่าอุจาระหรือไม่ คาร์ : ใช้ครับ ในซีแอลทีเอสเราใช้คำ� ว่า "ขี้" หรืออะไรที่ใกล้เคียง ในภาษาท้องถิ่นด้วยความตั้งใจ แน่นอนว่าเราต้องถามชาวบ้าน ก่อนว่าเขาเรียกมันว่าอะไรในภาษาของเขา และเมื่อเขาเห็นด้วย เราก็ใช้คำ� นั้นเป็นชื่ออย่างเป็นทางการ หากเราใช้ค�ำที่ดัดแปลงให้ไพเราะแทนที่จะใช้ค�ำภาษา บ้าน ๆ ก็เท่ากับเราล้มเหลวในการสร้างระบบความคิดที่ถูกต้อง ส�ำหรับการสื่อสารกับชาวบ้าน หากคุณใช้ค�ำเพราะ ๆ แล้ว ชาว บ้านก็จะรู้สึกว่าเรื่องที่จะพูดคือเนื้อหาทางวิชาการสุขศึกษาที่ บุคคลภายนอกก�ำลังจะมาให้ความรู้แบบที่ยังไม่รู้ข้อเท็จจริงของ พวกเขาเลย เดอะโรแทเรียน : แล้วเหตุผลอะไรทีเมื่อก่อนนี้ชาวบ้านจึงถ่ายอุ จาระกันนอกห้องส้วม คาร์ : เราก็ถามค�ำถามนี้มาก่อน และถามอีกว่ามันเกิดขึ้นโดย บังเอิญ หรือว่าเป็นสภาวะที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ หรือพวกเขาสนุกที่ ท�ำอย่างนั้น เรื่องมันมีความเป็นมาอย่างไร ผมพูดกับทีมงานว่า "เราลืมเรื่องการศึกษาไปก่อน เราจะไม่พูดเรื่องสร้างห้องน�้ำ เรา มาท�ำความเข้าใจกันก่อน ขอให้พวกเราเข้าไปในหมู่บ้านแบบผู้ ต้องการเรียนรู้" เดอะโรแทเรียน : แล้วเทคนิคที่คุณใช้เดี๋ยวนี้ ที่ชื่อว่า "สุขอนามัย องค์รวมโดยการน�ำของชุมชน" เป็นแบบเดียวกับทีค่ ณ ุ น�ำมาใช้ใน วันแรกหรือไม่ เกิดอะไรขึ้นบ้าง คาร์ : เจ้าหน้าที่ที่ได้รับฝึกอบรมมาอย่างดีจะเข้าไปในหมู่บ้าน สร้างสายสัมพันธภาพกับคนในชุมชน พวกเขาเพียงแต่พดู ว่า "เรา มาเพือ่ ทีจ่ ะเรียนรูจ้ ากพวกคุณว่า คุณจัดการสุขอนามัยกันอย่างไร ในหมู่บ้าน กรุณาสอนเราด้วย" แล้วสมาชิกในชุมชนก็มักตอบว่า "พวกคุณดูฉลาด มีความรู้ดี เราจะไปสอนอะไรคุณได้ พวกคุณ รู้มากกว่าพวกเราเยอะ" เราก็ตอบว่า "ไม่จริงเลย เรามาที่นี่เพื่อ จะเรียนรูจ้ ากคุณเพราะมันเป็นเรือ่ งสุขอนามัยเฉพาะในชุมชนของ คุณ เราเพิง่ มาทีน่ วี่ นั นี้ เราคงไม่รเู้ รือ่ งในชุมชนนีด้ ไี ปกว่าคุณ" พวก เขาก็จะตอบกันว่า "โอเค เรารู้มากกว่า" จากนั้นเราจึงจะเริ่มขั้นตอนท�ำงาน "ขอท�ำแผนที่ก่อน เอาขนาด ๒๐ คูณ ๒๐ ฟุต เรามาท�ำแผนที่หมู่บ้านร่วมกัน" ชาว บ้านจะให้ความร่วมมือทันที เราพูดต่อว่า "เศษกระดาษนี้ ขอให้ทกุ คนเขียนชือ่ หัวหน้าครอบครัวในนัน้ " จากนัน้ เราก็เอาเศษกระดาษ
เหล่านั้นไปวางเป็นแนวบ้านของแต่ละคนในแผนที่หมู่บ้าน แล้ว เราก็พูดว่า "ตอนนี้เราเข้าใจพวกคุณดีขึ้นแล้ว และเราได้เรียนรู้ จริง ๆ ทีนชี้ ว่ ยบอกทีวา่ เมือ่ เช้านีใ้ ครบ้างทีอ่ อกไปถ่ายอุจาระนอก บ้าน" ทุกคนยกมือขึ้น หัวเราะต่อกระซิกกัน เรายกถุงใส่ขี้เลื่อยขึ้น แล้วพูดว่า "ขอให้คิดว่านี่คือขี้" แล้วเราชี้ไปที่ขี้เลื่อย แล้วขอความช่วยเหลือ "ขอให้แต่ละคน ช่วยเอาขี้เลื่อยนี้วางไว้ในจุดบนแผนที่ที่คุณไปถ่ายไว้เมื่อตอนเช้า นี้ด้วย" พวกเขาหัวเราะกันยกใหญ่ และภายในหนึ่งนาทีผู้คน พากันเอาขี้เลื่อยไปวางบนแผนที่ เด็ก ๆ ก็ท�ำเช่นเดียวกัน เพียง สองสามนาทีแผนที่ก็เต็มไปด้วยขี้เลื่อย "ดูเหมือนบ้านของทุกคน ล้อมรอบไปด้วยอุจาระ พวกคุณสนุกไหม" "ไม่เลย" พวกเขาตอบ "พวกเราไม่สนุกเลย" ทีนี้เราก็เอาอุจาระจริง ๆ เข้ามาวางไว้ต่อหน้าชาวบ้าน ๒๐๐ คน และขอให้ใครเอาอาหารมาให้ จะเป็นข้าวหรือกับข้าว อะไรก็ได้ มาวางใกล้กบั อุจาระ ไม่นานนักแมลงวันก็มาตอมทัง้ อุจา ระและอาหาร แน่นอนว่าอาหารจานนีค้ งไม่มใี ครกล้ารับประทาน อีก เราถามเขาว่า "ปกติเวลามีแมลงวันตอมอาหารแล้ว คุณ โยนอาหารนั้นทิ้งหรือเปล่า" "เปล่า" พวกเขาตอบ "เราก็ยังกินอาหารนั้นอยู่ดี" เดอะโรแทเรียน : นัน่ เป็นวิธที ชี่ าวบ้านในหมูบ่ า้ นเรียนรูว้ า่ การขับ ถ่ายนอกบ้านนั้นเป็นพฤติกรรมที่ส่งผลร้ายแรง คาร์ : เทคนิคนี้ก่อให้เกิดผลสามประการ ประการแรกคือองค์ ประกอบแห่งความน่ารังเกียจ พวกเขาคิดว่า "สิง่ ทีพ่ วกเราก�ำลังท�ำ นี้ มนุษย์ทวั่ ไปเขาท�ำกันหรือเปล่า" นอกจากนัน้ ยังมีองค์ประกอบ แห่งการยอมรับตนเอง และองค์ประกอบแห่งความกลัว เช่น "ลูกๆ ของเราก�ำลังจะตาย เราจะหยุดท�ำสิง่ นีไ้ ด้หรือเปล่า" องค์ประกอบ เหล่านี้น�ำไปสู่สิ่งที่เราเรียกว่า "จังหวะลั่นไก" เป็นการเปิดทางให้ กับแผนงาน ซึ่งชาวบ้านพูดว่า "พวกเราหยุดกันเดี๋ยวนี้เถิด" พวก เขาปรึกษาหารือกันและสรุปเป็นแผน ทั้งหมดเกิดจากการจูงใจ ด้วยกันเอง และเวลาคุณคุยกันเรื่องห้องน�้ำ มันกลายเป็นเรื่อง ส่วนตัวแล้ว แต่ห้องน�้ำก็ยังไม่ใช่ค�ำตอบของปัญหา การเปลี่ยน พฤติกรรมการรักษาความสะอาดนั่นแหละคือค�ำตอบที่แท้จริง คนทั้งหมู่บ้านต้องให้ความร่วมมือ ไม่มีทางที่พวกเขาจะเห็นทาง แก้ปัญหาหากไม่มาร่วมจับเข่าหารือกัน อันเป็นหนทางที่จะสร้าง ผลที่ต้องการ เดอะโรแทเรียน : ท�ำไมการสร้างห้องน�้ำจึงไม่ใช่ขั้นตอนต่อไปใน การท�ำงาน คาร์ : ต้องท�ำให้หมู่บ้านปลอดการขับถ่ายเรี่ยราดก่อน เรามักคุ้น เคยกับทางออกที่ว่า ในเมื่อคุณขับถ่ายเรี่ยราดไปทั่ว ผมให้เงิน คุณเพื่อหยุดท�ำ อันนี้เราไม่เชื่อว่าจะส�ำเร็จ พลังแห่งความส�ำเร็จ มาจากการที่คุณไม่พูดอะไร เข้าไปในหมู่บ้านเหมือนผู้ต้องการ
เรียนรู้ "ผมได้เรียนรูว้ า่ พวกคุณต้องการท�ำให้อาหารปนเปือ้ นสิง่ สกปรกที่ก่อให้เกิดโรคภัยไข้เจ็บ ผมจะกลับบ้านล่ะนะ แต่เดี๋ยว ก่อน ก่อนไปผมขอถ่ายรูปพวกคุณทีม่ พี ฤติกรรมแบบนีห้ น่อยนะ ครับ" แล้วพวกเขาจะตอบว่า "ไม่ได้ ห้ามถ่ายรูปพวกเรา คุณไป แล้วกลับมาที่นี่อีกหลังจากหนึ่งเดือน แล้วพวกเราจะท�ำให้เห็น ว่าเราท�ำอะไรได้บ้าง สร้างส้วมไม่ใช่สิ่งที่ยากเกินไปที่เราจะท�ำ" บทบาทของคุณซึ่งเป็นคนนอก ท�ำได้เพียงอ�ำนวย ความสะดวก คุณไปสอนเขาไม่ได้ แนะน�ำ ชี้น�ำ ให้สูตรการแก้ ปัญหาหรือจัดหาอะไรให้ในตอนแรกก็ไม่ได้ ต้องท่องในใจว่าเรา เป็นเพียงผูอ้ ำ� นวยความสะดวกเพือ่ ให้เกิดการเปลีย่ นแปลงและ ช่วยวิเคราะห์เท่านัน้ ขอให้พดู เพียง "ขอให้คณ ุ ท�ำในสิง่ ทีค่ ณ ุ เคย ท�ำต่อไป" เพียงคุณท�ำแค่นี้ คุณก็สามารถเปลี่ยนจากการต้อง สร้างส้วมสาธารณะไปเป็นการเปลี่ยนพฤติกรรมในการรักษา ความสะอาด ซึ่งส�ำคัญกว่าการเปลี่ยนพฤคิกรรมอื่น ๆ ของชาว บ้านแต่ละคน เดอะโรแทเรียน : ท�ำไมต้องท�ำอะไรอย่างนี้กับคนเป็นกลุ่มเพื่อ ให้เกิดผลทีเ่ ป็นความรูส้ กึ ขยะแขยง และปฏิบตั กิ ารกลุม่ มีความ ส�ำคัญขนาดนั้นหรือ คาร์ : คุณเดินเข้าไปในหมูบ่ า้ นในประเทศก�ำลังพัฒนา คุณจะพบ ว่าบ้านเรือนไม่มากนักทีม่ หี อ้ งน�ำ ้ ลองเข้าไปเยีย่ มบ้านเหล่านี้ พูด คุยกับเขาแล้วคุณจะได้ยินเขาพูดว่า "บ้านนี้มีห้องน�้ำ เราไม่ใช่ผู้ ก่อปัญหา คุณไปคุยกับคนที่ถ่ายอุจาระนอกบ้านเถิด" พวกเขา คิดว่าเมื่อมีห้องน�้ำในบ้านแล้วก็ปลอดภัย แต่ความคิดเช่นนี้ผิด อย่างแรง เพราะหากเราลองเรียกชาวบ้านมานั่งคุยหาจังหวะ ลั่นไกโดยเอาแผนที่กับขี้เลื่อยมาประกอบ คุณจะเห็นว่าคนที่มี ห้องน�้ำไม่กี่คนนี้จะมีสีหน้าเจื่อน คอตก พูดไม่ออก เพราะพวก เขารู้ดีว่าเขาเข้าใจผิดไปถนัด พวกเขาสร้างห้องน�้ำไว้ใช้โดยใช้ เงินตัวเอง ส�ำนึกแรกเป็นเช่นนั้น แล้วก็ตามมาด้วยความรู้แจ้ง ว่าตราบใดที่คนอื่น ๆ ในหมู่บ้านขับถ่ายเกลื่อนกลาดนอกบ้าน เขาก็ยงั ไม่ปลอดภัย แล้วพวกเขาก็รวมกลุม่ พลังกันขึน้ ในหมูบ่ า้ น ค่อย ๆ โน้มน้าวเพือ่ นบ้านและคนทีอ่ ยูใ่ กล้ ๆ ว่า "ถ้าคุณไม่มเี งิน ก็มาใช้ห้องน�ำ้ บ้านฉันได้ ถ้าคุณไม่มีพื้นที่ ฉันจะแบ่งปันพื้นที่ให้ คุณไปสร้างห้องน�ำ้ " คนรวยและคนยากจนรวมตัวกันเพื่อท�ำสิ่งหนึ่งให้ ส�ำเร็จ ชาวบ้านคนหนึ่งอาจไม่มีห้องน�้ำส่วนตัว แต่ถ้าหากเป็น มติของชุมชน เขาก็ยินดีไปขอใช้ห้องน�ำ้ เพื่อนบ้าน หรือห้องน�ำ้ สาธารณะของหมู่บ้าน เขามุ่งไปในทางที่จะเปลี่ยนนิสัย แต่ถ้า อยู่ ๆ มีคนมาสร้างห้องน�้ำให้เขาใช้ บางวันเขาอาจยอมใช้ หรือ บางวันไม่อยากใช้กไ็ ม่ใช้ แต่เรือ่ งของสุขอนามัยไม่ใช่เรือ่ งของการ
28
Rotary Thailand
ท�ำดีเพียงของคนใดคนหนึง่ มันเป็นความดีทตี่ อ้ งร่วมกันท�ำด้วย การตระหนักว่าเราจะต้องไม่ท�ำร้ายสิ่งแวดล้อม เดอะโรแทเรียน : คนกลุ่มอื่นช่วยได้อย่างไร คาร์ : ในหลายประเทศ เราฝึกกลุ่มคนเพื่อน�ำเอาระบบซีแอลที เอสไปใช้ คนกลุ่มนี้หางานท�ำได้ง่ายขึ้น เพราะสุดท้ายพวกเขาก็ สามารถเอาระบบซีแอลทีเอสไปใช้ในหมู่บ้านอื่น ๆ ต่อไปโดย การให้ความรู้คนอื่น ๆ โน้มน้าวผู้คนให้เปลี่ยนแปลง คนพวกนี้ มีความสุขเพราะได้เห็นผลงานที่ย้อนกลับมาเป็นก�ำลังใจ ก่อน หน้านีห้ ลายคนมักจะท�ำไปไม่ถงึ จุดหมายทีต่ อ้ งการ เพราะมัวแต่ คิดว่าเขาต้องสร้างห้องน�้ำกี่ห้อง ต้องใช้เงินเท่าใด ซีทแี อลเอสคือระบบการท�ำงานทีเ่ พ่งไปทีผ่ ลงาน คุณ ต้องมีผลงานที่เป็นสุขอนามัย มิเช่นนั้นคุณก็พบกับความสูญ เปล่าของการลงทุน ถ้าคุณนับเพียงจ�ำนวนห้องน�้ำ คุณไม่มีทาง ไปถึงผลทีต่ อ้ งการ ถ้าจะนับจ�ำนวนกันก็ตอ้ งนับจ�ำนวนหมูบ่ า้ น ปลอดจากการขับถ่ายเรี่ยราด เดอะโรแทเรียน : คุณเรียนรู้อะไรบ้างเกี่ยวกับคน และทัศนคติ และพฤติกรรมของคนตลอดเวลาสิบปีที่ผ่านมาบนวิถีแห่งการ เปลี่ยนแปลงวิชาชีพของคุณ คาร์ : ท�ำงานโดยตรงกับคนเป็นสิง่ ทีท่ ำ� ได้งา่ ยและได้ผลดี ท�ำงาน กับคนระดับสูงขึ้นไปจะยุ่งยากซับซ้อนมากกว่า คนที่คุณจะได้ พบนี้ผมเรียกพวกเขาว่า "ปัญญาแห่งโรคท้องผูก" เขาเจ็บป่วย ด้วยโรค "รู้มาก" พวกเขาไม่ไปเข้าสังคมกับคนอื่น ๆ ในหมู่บ้าน บ่อยนัก แต่ก็อวดตัวว่ารู้ทุกสิ่งทุกอย่าง เดอะโรแทเรียน : คุณเริ่มงานแรกเป็นเกษตรกรเมื่อ ๓๐ ปีก่อน เพราะอะไรจึงเลือกอาชีพนั้น คาร์ : ผมรักสัตว์ และเรียนมาทางด้านการเลี้ยงสัตว์ ผมจึงเป็น ผู้เชี่ยวชาญด้านการเลี้ยงปศุสัตว์ เคยท�ำงานในฟาร์มปศุสัตว์ ขนาดใหญ่ เช่นวัว แพะ ไก่ และที่นี่เองที่ผมเริ่มสัมผัสกับ เกษตรกร ท�ำให้ผมเรียนต่อปริญญาเอกเพื่อศึกษาให้รู้ว่าอะไร ท�ำให้เกษตรกรยอมรับหรือปฏิเสธนวัตกรรมต่าง ๆ เดอะโรแทเรียน : อะไรคือสิง่ ทีค่ ณ ุ เรียนรูจ้ ากเกษตรกร ทีค่ ณ ุ น�ำ ไปปรับใช้ใน ซีทีแอลเอส คาร์ : ผมเห็นว่าเกษตรกรนั้นมีความรู้อันทรงพลัง เรามีสูตร ส�ำเร็จในการท�ำงานตอนที่เข้าไปในหมู่บ้านแต่สูตรส�ำเร็จเหล่า นั้นใช้ไม่ได้ เพราะเกษตรกรไม่ยอมรับนวัตกรรมเหล่านั้นตั้งแต่ ต้น พวกเราแทบไม่มีค่าอะไรเลยเมื่อเทียบกับพวกเขาที่มีระบบ ความรู้ที่สั่งสมกันมาเป็นร้อยปี ซึ่งเป็นความรู้ที่เป็นของท้องถิ่น และใช้ได้ในท้องถิน่ และเรือ่ งสุขอนามัยนีก้ เ็ ข้าใจได้แบบเดียวกัน
หยดน�้ำผึ้ง ส�ำหรับหัวใจของเด็ก โดย ไอรีน ซิป
โครงการห้องสมุดของโรตารีช่วยให้เด็กพัฒนานิสัยการเรียนรู้ที่ดี ตั้งแต่ปฐมวัย คุ ณ จะรู ้ สึ ก อย่ า งไรหากจะต้ อ งเดิ น ทางมากกว่ า 1,000 กม เพียงเพื่อเข้ารับการอบรม “วิธีการสอนเด็ก” เป็น เวลา 2 วัน โดยต้องอยู่ท่ามกลางอากาศอันร้อนอบอ้าว ของ เมืองในเขตร้อน นี่คือสิ่งที่เกิดขึ้นกับ คุณครูและผู้ดูแลศูนย์ พัฒนาเด็กเล็ก กว่า 100 คน จาก 29 จังหวัดในภาค ตะวัน ออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันออก ของประเทศไทย ผู้ซึ่งเต็ม เปีย่ มไปด้วยความมุง่ มัน่ ทีจ่ ะเปลีย่ นแปลงชีวติ และอนาคตของ เด็กๆ ของเขา ให้ดีขึ้น ในพื้นที่ส่วนนี้ของประเทศไทย การท�ำเกษตรกรรม คืออาชีพหลัก ซีง่ ผลผลิตขึน้ อยูก่ บั ดินฟ้าอากาศ ซึง่ ยากจะคาด เดาได้ แต่ส่วนใหญ่จะค่อนข้างแห้งแล้ง สภาพภาวะเศรษฐกิจ และสังคมของคนอยูใ่ นระดับยากจน พ่อและแม่ ต้องท�ำงานใน ตอนกลางวัน จึงจ�ำเป็นต้องส่งลูกๆ ไปยังศูนย์ดูแลเด็ก ซึ่งส่วน ใหญ่ จะไม่มเี ครือ่ งอ�ำนายความสะดวกต่อการเรียนรู้ ทีเ่ พียงพอ เรื่องที่น่าเศร้าก็คือ หลายๆ แห่ง คุณครูหนึ่งคน ต้องดูแลเด็ก ถึง 40 คน ช่วงอายุ 5-7 ขวบ เป็นช่วงชีวติ ทีส่ ำ� คัญมากต่อความ ส�ำเร็จของชีวิตในอนาคตของเด็ก เรารู้ว่าการรู้คำ� ศัพท์ ค�ำพูด เป็นโครงสร้างหลักส�ำหรับการเรียนรู้ ในประวัติศาสตร์ ผู้น�ำที่ เป็นเผด็จการมักจะไม่ต้องการให้ประชาชนของพวกเขา อ่าน หรือครอบครองหนังสือ เพราะกลัวว่าประชาชนจะฉลาดและ ต่อต้านเขา มันเป็นสิ่งที่ได้รับการพิสูจน์มาแล้วว่า นักเรียนที่ อ่านหนังสือมากทีส่ ดุ จะอ่านได้ดที สี่ ดุ และมักจะประสบความ ส�ำเร็จมากที่สุดเช่นกัน ส�ำหรับเด็กเล็กๆ ที่ยังอ่านหนังสือไมได้ การที่มีคนอ่านให้ฟังโดยใช้หนังสือภาพที่ดีๆ จะมีประโยชน์ มาก มันจะช่วยให้พวกเขาเรียนรูค้ ำ� ศัพท์ทดี่ กี ว่าเพิม่ ขึน้ พัฒนา ลักษณะนิสยั ทีเ่ ราต้องการให้เป็น และพวกเขายังสามารถเรียน รู้ ทุกสิ่ง ทุกอย่าง ในโลกจากหนังสือ แม้จะไม่มีประสบการณ์ จริง หนังสือส�ำหรับเด็กนั้น มีอยู่ในประเทศไทยมา 20 ปี แล้ว แต่ผู้ใหญ่ส่วนใหญ่มักไม่เคยได้ฟังใคร อ่านหนังสือให้ฟัง หรือแม้แต่เคยอ่านหนังสือเด็กเองเมือ่ ตอนทีย่ งั เป็นเด็ก สมาคม ไทสร้างสรรค์ ซึ่งเป็นองค์กรที่ไม่แสวงหาผลก�ำไร ได้ท�ำงานใน
พื้นที่แถบนี้เพื่อเปลี่ยนแปลงสิ่งเหล่านี้ โดยการให้ ความรู้และ การฝึกอบรมเกี่ยวกับการอ่านหนังสือให้กับเด็กฟัง และเน้นถึง ความส�ำคัญของหนังสือเด็ก เมื่อหกปีที่แล้ว ด้วยความคิดริเริ่มของ อผภ.สมชาย เจียรนัยพานิชย์ และโรแทเรียนในภาค 3340 โรตารีสากล ได้ พยายามหาทางช่วยเหลือเด็กด้อยโอกาสเหล่านี้ ให้ได้มีโอกาส ที่จะพัฒนาสมอง และการเรียนรู้ของพวกเขา รวมทั้ง การอ่าน ออกเสียงทีถ่ กู ต้อง ในช่วงวัยทีส่ ำ� คัญทีส่ ดุ ของการพัฒนาสมอง เด็ก – นั่นคือ จนถึง อายุเจ็ดขวบ “โครงการห้องสมุดเพือ่ เด็กและครอบครัว" สนับสนุน และมอบหนังสือเด็กทีม่ คี ณ ุ ภาพ และ ชัน้ วางหนังสือ ให้แก่ศนู ย์ พัฒนาเด็กเล็ก รวมทัง้ การฝึกอบรมครูในการสอนเด็กๆ ด้วยวิธี การ เล่านิทานและอ่านหนังสือ ให้เด็กๆ ฟัง
คุณครูได้รบั ประโยชน์จากการฝึกอบรมอย่าง มาก มีความกระตือรือร้นและอยากใช้หนังสือภาพ เหล่านี้ ครูท่านหนึ่งให้ความเห็นว่า "ฉัน ไม่เคยเข้าใจ ว่าท�ำไมจึงมีตัวอักษร เพียงหนึ่งหรือสองประโยคบน หน้าหนังสือเท่านั้น หรือบางครั้งก็ไม่มีอักษร แม้แต่ตัว เดียว แต่ตอนนีห้ ลังการฝึกอบรม ฉันจึงเข้าใจ และรูว้ ธิ ี การใช้ประโยชน์จากมัน" หนังสือของโครงการนี้ล้วน มีคุณภาพสูง เป็นหนังสือยอดนิยม และไม่เพียงแค่ใน เนื้อหาที่ดี หากแต่ยังรวมถึงหน้าปกและกระดาษที่มี คุณภาพที่ดี และน่าจับต้องมาก ความส�ำเร็จของโครงการ ไม่ใช่เป็นเพียง แค่การบริจาคหนังสือเท่านั้น ในซีกโลกตะวันตกซึ่งมี หนังสือมากมาย แต่เราก็ยังเห็นการรู้หนังสือและการ อ่าน ที่ลดลง สิ่งที่เป็นความส�ำเร็จของโครงการนี้ เกิด จากการอุทศิ ตัวของคุณครู ผูด้ แู ลศูนย์เด็ก และการฝึก อบรมทีเ่ ข้มข้นเกีย่ วกับวิธกี ารใช้หนังสือ เคล็ดลับเกีย่ ว กับวิธีการอ่านออกเสียงให้เด็กฟัง การท�ำกิจกรรมที่ พวกเขาสามารถท�ำตามหรือต่อเนื่องจากหนังสือ การ ดูแลและซ่อมแซมหนังสือ ฯลฯ เมื่อผู้ที่ผ่านการฝึก อบรมกลับไปยังชุมชนของตน ก็จะถ่ายทอดสิ่งที่ได้รับ การอบรมมาให้กบั คนในท้องถิน่ ได้เรียนรู้ ตลอดหลาย ปีที่ผ่านมามีเรื่องราวดีๆ ที่เกิดขึ้นกับเด็กๆ มากมาย เด็กชายนครินทร์ อายุ 11 ปี เรียนอยู่ชั้น ป. 5 ในโรงเรียนที่ห่างไกลมากใน จังหวัดนครพนม เขา ไม่สามารถอ่านหรือเขียนหนังสือได้ และไม่เคยแสดง ความสนใจที่จะเรียนรู้ เขาปฏิเสธความช่วยเหลือจาก ครูของเขา และปฏิเสธที่จะมีส่วนร่วม ในการเรียน
30
Rotary Thailand
หลังจากที่โรงเรียนที่ได้รับหนังสือจากโครงการห้องสมุดฯ ทั้งครูและนักเรียน ก็เริ่มใช้วิธีการใหม่ใน การเรียน การ สอน นครินทร์ เริ่มสนใจและขอเข้าร่วมในกลุ่ม พฤติกรรม ของเขาเริ่มเปลี่ยนไป เขาพยายามที่จะอ่านออกเสียงอย่าง ช้าๆ ความสุขและความหวังเริ่มแผ่ซ่านไปทั่วใบหน้าของ เขา ตอนนี้เขาต้องการที่จะน�ำหนังสือเล่มโปรดของเขา ไป อ่านให้ครอบครัวของเขาที่ไปวัดทุกวันอาทิตย์ ฟัง นับถึงวันนี้ได้มีการมอบหนังสือไปแล้ว 81,000 เล่ม ให้กับโรงเรียน, ห้องสมุดประชาชน และศูนย์ดูแลเด็ก จ�ำนวน 325 แห่ง ยุคคลากรกว่า 700 ท่านได้รับการอบรม ต้องขอขอบคุณสโมสรโรตารี 34 สโมสรในภาค 3340 และการสนับสนุนของ มวลมิตรโรแทเรียนจากประเทศ ออสเตรเลีย, อเมริกา, ญี่ปุ่น, อินโดนีเซีย, ไต้หวันและ สิงคโปร์. ซึ่งได้ร่วมใจกันที่จะเปลี่ยนแปลงชีวิตของเด็กๆ หลายๆ ชีวิต หลังการฝึกอบรมแต่ละครั้ง ก็จะมีค�ำขอ โครงการเพิ่มเติมจากโรงเรียนและศูนย์เด็กอื่น ๆ ที่ยังไม่ได้ รับโครงการมากมาย พวกเขาก็ตอ้ งการให้มกี ารเปลีย่ นแปลง ในชุมชนท้องถิ่นของตนเอง เช่นกัน อีรชิ ฟรอมม์ เขียนไว้ในหนังสือ "ศิลปะแห่งความ รัก" ว่าเด็กต้องการทั้ง น�้ำนมและน�้ำผึ้ง จากพ่อแม่และผู้ ที่ดูแลพวกเขา นม เป็นสัญลักษณ์ของความต้องการทาง กายภาพ เหมือนกับการได้นอนหลับอย่างเพียงพอ การได้ กินอาหารที่ดีต่อสุขภาพ น�้ำผึ้ง เป็นสัญลักษณ์ของความ หวานในชีวิต ที่มีคุณภาพพิเศษที่ท�ำให้ชีวิตสนุกสนาน ลอง นึกดูว่ามันจะน่าตื่นเต้นแค่ไหน หากเราสามารถท�ำให้เด็กๆ ได้ทอ่ งไปในโลกอันกว้างใหญ่ไพศาล ผ่านการ เล่านิทานและ อ่านหนังสือให้เขาฟัง
Honey for a child’s heart
By: Irene Zjip
Rotary Library Project helps kids develop good learning habits at a tender age How passionate can you be about educating young children to travel almost 1000 kilometres to attend 2 days of training sitting outside in tropical temperatures? This is what happened to some of the 100 teachers and day care centre managers who are dedicated to change their children’s future and who travelled from all over the 29 provinces in northeastern (Isaan) and eastern Thailand. This part of Thailand depends on agricultural activities yet is subject to unpredictable seasonal drought. Economic and social conditions of the majority of people are at poverty level. Both parents often have to work long hours each day, while sending their young preschoolers to a day care centre. There are often no facilities, and one passionate and dedicated teacher has to look after up to 40 little children. The first 5 to 7 years of a child can be very important in regards to the success in later life. We know that words are the primary
structure for learning. We only have to look in history where dictators often prohibited their citizens from reading or possessing books, too afraid that they might become smart and revolt against him. It has been proven that students who read the most, read the best, and often achieve the most. As for little children who cannot read themselves, being read to, by using good picture books, offers many advantages. It helps them with a better vocabulary, they provide support for the kind of character we hope to see developed in our children, but they can also learn anything in and about the world without the real experience. Children books have only been around in this country for about 20 years, and most adults have never been read to or read themselves as a child. A local non-government organisation, the Tai Wisdom Association, has been working in this part of the country to change this by offering education and training about reading to children and the importance of it. Six years ago the initiative of Past District Governor Somchai Chiaranapanit and Rotarians in district 3340 of Rotary International was to help these needy kids by providing them with
opportunities to develop their brain based learning and sound reading habits at a critical age of development - up to the age of seven. This ‘Library for Kids and Family’ project provides day care centres and schools with books and bookshelves as well as training to the teachers in how to read aloud and use the stories to educate the children. Many teachers gain a lot of benefit from the training and are very enthusiastic about using the picture books. One teacher commented, “I never understood why there were only one or two sentences on a page or sometimes no words at all, but now after the training I know what to do and how to use these books.” The books are of high quality, not only in content, as many of them are favourite classics, but also in making; the good quality paper and covers are a pleasure to just hold. The success of the project is not to just donate books. Even in the western world there are many books around and yet we see a decline in literacy and reading. The success is due to the dedication of the schoolteachers, day care centre managers and solid training on how to use the books. Training involves tips on how to read aloud to the children, activities they can do based on the story read, how to
32
Rotary Thailand
look after the books, etc. Each trained person than return to their own community, often training others, and implementing what they have learned. Over the years we had some great stories how this project has impacted children. The 11 year old Nakarin attends a standard 5 class in a very remote school in Nakhon Phanom, and cannot read or write and never showed any signs that he wanted to learn. He refused any help from his teacher and refused to participate. After the school received the books from the library project a new approach of teaching was implemented by both teachers and students. Slowly Nakarin started to join the group, and this changed his behaviour. As he tried to read aloud very slowly, little signs of happiness and hope spread across his face. Now he wants to bring his favourite books and read them to his family, who attend the Buddhist temple every Sunday. So far over 81000 books have been distributed to 325 recipients like schools, public libraries and day care centres. More than 700 teachers have been trained. Thanks to 34 local Rotary clubs and support from Rotarians from Australia, USA, Japan, Indonesia, Taiwan and Singapore already many lives of children have been changed. And with each training and handover more requests are made from other schools and day care centres far and beyond to be part of this library project and to make a change in their own local community. Erich Fromm wrote in “The Art of Loving” that children need both milk and honey from their parents and carers. Milk symbolises the care given to physicalneeds like getting enough sleep, eating healthy food. Honey symbolises the sweetness in life, that special quality that makes life enjoyable. How wonderful to think that we can give the children the world by giving them access to books and great stories.
นับถอยหลังการประชุมใหญ่ ผวล.ศุภรี ฉัตรกันยารัตน์ สร.เชียงใหม่เหนือ แปล
นอกจากจะเป็นทีท่ ราบกันในมวลหมูเ่ ราชาวโรแทเรียนว่า การประชุม ใหญ่โรตารีสากล จะน�ำมาซึ่งประสบการณ์แห่งการพบปะสมาคมเพื่อท�ำความรู้จัก และสร้างความคุ้นเคยกันอย่างกว้างขวางแล้ว ไมตรีจิตมิตรภาพที่เราจะได้รับจาก เจ้าภาพการประชุมใหญ่ประจ�ำปี 2013 ระหว่าง 23-26 มิถุนายนที่ลิสบอน ยัง นับเป็นอีกเหตุผลหนึ่งของโรแทเรียนที่เดินทางเข้าร่วมประชุมฯ ในครั้งนี้ เว็บไซต์ เกี่ยวกับการท่องเที่ยว”ทริปแอดไวเซอร์” (TripAdvisor) จัดให้ลิสบอนเป็นเมืองที่ มีบรรยากาศแห่งมิตรภาพและมีความเป็นกันเองทีส่ ดุ ในยุโรป และจากผลล่าสุดของ โพลการส�ำรวจประจ�ำปี โดยผูท้ เี่ ข้ามาแสดงความคิดเห็นในเว็บไซต์ จ�ำนวน 75,000 คน ลิสบอนได้รบั การจัดล�ำดับให้เป็นเมืองทีม่ ไี มตรีจติ มากทีส่ ดุ เป็นอันสามของโลก รองจากเมืองแคนคูน-ประเทศเม็กซิโกและโตเกียว เมืองหลวงของโปรตุเกส ยังน�ำอยู่ในล�ำดับต้น ๆ ของการจัดล�ำดับ ในหมวดของสถานที่แห่ง “การใช้เงินได้อย่างคุ้มค่าที่สุด” และเมื่อปีที่ผ่านมา ลิสบอนเป็นหนึ่งใน 10 อันดับของเมืองในยุโรปที่มึสามารถใช้จ่ายได้ถูกที่สุดอย่าง น่าประหลาดใจ นอกจากนีย้ งั มีสถานทีท่ นี่ า่ สนใจอีกหลายแห่งทีม่ คี า่ เข้าชมต่อนข้าง ต�ำ่ หรือบางแห่งก็ฟรี ซึง่ นับเป็นการเปิดโอกาสอันหลากหลายให้ได้พบปะและสัมผัส ความเป็นกันเองของเจ้าบ้าน รถรางหมายเลข 28 จะน�ำท่านผ่านเนินเขาเข้าสู่อาณาบริเวณแห่ง ประวัติศาสตร์ อย่างเช่นปราสาทเซ็นต์จอร์ช แล้วลัดเลาะไปตามถนนอันคดเคี้ยว ตั้งแต่สมัยยุคกลางในเขตอัลฟาม่า เข้าสู่เส้นทางไปยังตลาดนัด Feira da Ladra อันขึ้นชื่อ เราสามารถไปยืนอ่านหนังสือได้ตามชอบโดยไม่ต้องซื้อหาก็ได้ที่ตลาด แห่งนี้ ซึงเปิดตัง้ แต่พระอาทิตย์ขนึ้ ถึงค�่ำในทุกวันอังคารและวันเสาร์ และไปถึง Sé de Lisboa มหาวิหารแบบโรมันในศตวรรษที่ 12 ที่สร้างทับซ้อนมัสยิดเก่าแก่ในเข ตอัลฟาม่า ซึ่งเป็นสถานที่ที่เหมือนกันกับโบสถ์ประจ�ำเมืองแทบทุกแห่ง ที่ไม่คิดค่า เข้าชม นอกจากนีย้ งั มีพพิ ธิ ภัณฑ์หลายแห่งทีไ่ ม่คดิ ค่าเข้าชมในวันอาทิตย์ แหล่งของ เหล้าพอร์ตดั้งเดิม (Prima Port) ความหลากหลายของเหล้าพอร์ตไวน์ที่มีคุณภาพมีความซับซ้อนจน น่าเวียนหัว สิ่งหนึ่งในความเพลิดเพลินของการเรียนรู้เกี่ยวกับไวน์ผสมนี้ คือการ สุ่มเลือกจากยี่ห้อที่มีอยู่อย่างหลากหลาย ส�ำหรับโรแทเรียนที่มาร่วมการประชุม ใหญ่โรดารี 2013 ระหว่าง 23-26 มิถุนายนในลิสบอน, โปรตุเกส มีแนวโน้มว่าจะ ได้พบกับประเภทของเหล้าพอร์ตในรายการต่อไปนี้ (เรียงล�ำดับจากราคาต�ำ่ สุดไป ถึงราคาแพงที่สุด): Ruby port- พอร์ตสีแดงทับทิมที่ได้จากการผสมของไวน์ที่มาจาก หลายแหล่งเพาะปลูกและจากปีเก็บเกีย่ วทีต่ า่ งกัน เหมาะส�ำหรับการดืม่ หลังอาหาร สามารถดื่มเพรียว หรือดื่มคู่กันกับชีสหรือของหวานก็ได้ Tawny port -พอร์ตสีนำ�้ ตาลอ่อนที่มีอายุบ่มในถังไม้โอ๊ค 10 ถึง 40 ปี เพือ่ ให้ได้สนี ำ�้ ตาลแดงอ่อน ๆ มีความนุม่ ในรสชาติ กลมกล่อมคล้ายกับ Madeira ดืม่ ได้เป็นเลิศเพือ่ ตบท้ายอาหาร; ควรแช่เย็นนิดหน่อย และสามารถเสิรฟ์ เป็นเหล้า เรียกน�้ำย่อยก่อนรับประทานอาหารได้ด้วย Late bottled vintage (LBV) คือ ประเภทของ Tawny port ทีม่ กี ารบรรจุขวดล่าช้ากว่า มีระยะเวลาในการบ่มในถัง ไม้โอ๊คนานกว่าปกติ เพือ่ ท�ำให้มนั มีความซับซ้อนของรสชาติทยี่ อดเยีย่ ม Colheita เป็น Tawny port อีกแบบทีท่ ำ� ผลผลิตองุน่ ในปีเดียวกันหมด มีแหล่งผลิตอย่างเช่น โครห์น ที่มีความเชี่ยวชาญในการผลิตพอร์ตไวน์ชนิดนี้ Quinta- หมายถึงไร่องุ่นที่ได้รับรางวัลเพาะปลูก แหล่งผลิตพอร์ต หลายแห่งผลิตพอร์ตจากไวน์ที่ท�ำจากองุ่นทั้งหมดจากไร่ที่ได้รับรางวัลเพียงแห่ง เดียว ท�ำให้พอร์ตนัน้ มีลกั ษณะรสชาติขององุน่ ในปีวนิ เทจนัน้ ๆ โดยเฉพาะ แต่ทวั่ ไป มักจะบ่มครบก�ำหนดในระยะเวลาอันสั้นประมาณ - 15 ถึง 20 ปี
Vintage port- คือสิ่งที่โดดเด่นตะโกนเป็นข้อมูลเกี่ยวกับ จะมี Vintage port ก็ต่อเมื่อมีการประกาศรับรองคุณภาพองุ่นในปีนั้น ๆ ก่อน (ไม่มี Vintage port ทุกปี-ผู้แปล) และสามารถบ่มได้นานเท่าที่ต้องการได้ไม่มีวันสิ้น สุด Quinta do Noval แห่งปีวินเทจ 1931 (หนึ่งในพอร์ตที่ดีที่สุดที่เคยท�ำ) เป็น เหมือนการได้จิบลิ้มรสแห่งสวรรค์ หากคุณได้พบมัน ขอให้ซื้อหลาย ๆ ขวดเท่าที่ คุณสามารถจะซื้อได้ และจิบเผื่อด้วยละกัน พอร์ตแห่งปีวินเทจ 1977 ก็ถือว่าพอ สูไ้ ด้ในปัจจุบนั นี้ รวมทัง้ ปีวนิ เทจอืน่ ทีอ่ ายุนอ้ ยกว่า และซึง่ จะว่าไปแล้ว นีก่ ค็ อื เรือ่ ง ของการปรับความเฝือ่ นของสารแทนนิน(ในเม็ดองุน่ -ผูแ้ ปล) โดยการน�ำไปผสมเข้า กับผลไม้อื่นเสียนั่นเอง ไม่ว่าคุณชอบจะชอบลีลาการดื่มแบบไหน ไวน์จะมีรสชาติเพิ่มยิ่งขึ้น เสมอเมื่อคุณได้ดื่มมันในสภาพแวดล้อมและบรรยากาศดั้งเดิม ณ แหล่งผลิต และ เมื่อคุณอยู่ในลิสบอน นั่นคือคุณก�ำลังอยู่ในแหล่งบรรยากาศที่เลิศที่สุด ที่จะได้พบ กับประะสบการณ์พิเศษสุดแห่งการจิบไวน์ – จอห์น เรเซค ความหลากหลายของเหล้าพอร์ตไวน์ที่มีคุณภาพมีความซับซ้อนจน น่าเวียนหัว สิ่งหนึ่งในความเพลิดเพลินของการเรียนรู้เกี่ยวกับไวน์ผสมนี้ คือการ สุ่มเลือกจากยี่ห้อที่มีอยู่อย่างหลากหลาย ส�ำหรับโรแทเรียนที่มาร่วมการประชุม ใหญ่โรดารี 2013 ระหว่าง 23-26 มิถุนายนในลิสบอน, โปรตุเกส มีแนวโน้มว่าจะ ได้พบกับประเภทของเหล้าพอร์ตในรายการต่อไปนี้ (เรียงล�ำดับจากราคาต�ำ่ สุดไป ถึงราคาแพงที่สุด): Ruby port- พอร์ตสีแดงทับทิมที่ได้จากการผสมของไวน์ที่มาจาก หลายแหล่งเพาะปลูกและจากปีเก็บเกีย่ วทีต่ า่ งกัน เหมาะส�ำหรับการดืม่ หลังอาหาร สามารถดื่มเพรียว หรือดื่มคู่กันกับชีสหรือของหวานก็ได้ Tawny port -พอร์ตสีน�้ำตาลอ่อนที่มีอายุบ่มในถังไม้โอ๊ค 10 ถึง 40 ปี เพือ่ ให้ได้สนี ำ�้ ตาลแดงอ่อน ๆ มีความนุม่ ในรสชาติ กลมกล่อมคล้ายกับ Madeira ดืม่ ได้เป็นเลิศเพือ่ ตบท้ายอาหาร; ควรแช่เย็นนิดหน่อย และสามารถเสิรฟ์ เป็นเหล้า เรียกน�้ำย่อยก่อนรับประทานอาหารได้ด้วย Late bottled vintage (LBV) คือ ประเภทของ Tawny port ทีม่ กี ารบรรจุขวดล่าช้ากว่า มีระยะเวลาในการบ่มในถัง ไม้โอ๊คนานกว่าปกติ เพือ่ ท�ำให้มนั มีความซับซ้อนของรสชาติทยี่ อดเยีย่ ม Colheita เป็น Tawny port อีกแบบทีท่ ำ� ผลผลิตองุน่ ในปีเดียวกันหมด มีแหล่งผลิตอย่างเช่น โครห์น ที่มีความเชี่ยวชาญในการผลิตพอร์ตไวน์ชนิดนี้ Quinta- หมายถึงไร่องุ่นที่ได้รับรางวัลเพาะปลูก แหล่งผลิตพอร์ต หลายแห่งผลิตพอร์ตจากไวน์ที่ท�ำจากองุ่นทั้งหมดจากไร่ที่ได้รับรางวัลเพียงแห่ง เดียว ท�ำให้พอร์ตนัน้ มีลกั ษณะรสชาติขององุน่ ในปีวนิ เทจนัน้ ๆ โดยเฉพาะ แต่ทวั่ ไป มักจะบ่มครบก�ำหนดในระยะเวลาอันสั้นประมาณ - 15 ถึง 20 ปี Vintage port- คือสิ่งที่โดดเด่นตะโกนเป็นข้อมูลเกี่ยวกับ จะมี Vintage port ก็ต่อเมื่อมีการประกาศรับรองคุณภาพองุ่นในปีนั้น ๆ ก่อน (ไม่มี Vintage port ทุกปี-ผู้แปล) และสามารถบ่มได้นานเท่าที่ต้องการได้ไม่มีวันสิ้น สุด Quinta do Noval แห่งปีวินเทจ 1931 (หนึ่งในพอร์ตที่ดีที่สุดที่เคยท�ำ) เป็น เหมือนการได้จิบลิ้มรสแห่งสวรรค์ หากคุณได้พบมัน ขอให้ซื้อหลาย ๆ ขวดเท่าที่ คุณสามารถจะซื้อได้ และจิบเผื่อด้วยละกัน พอร์ตแห่งปีวินเทจ 1977 ก็ถือว่าพอ สูไ้ ด้ในปัจจุบนั นี้ รวมทัง้ ปีวนิ เทจอืน่ ทีอ่ ายุนอ้ ยกว่า และซึง่ จะว่าไปแล้ว นีก่ ค็ อื เรือ่ ง ของการปรับความเฝือ่ นของสารแทนนิน (ในเม็ดองุน่ -ผูแ้ ปล) โดยการน�ำไปผสมเข้า กับผลไม้อื่นเสียนั่นเอง ไม่ว่าคุณชอบจะชอบลีลาการดื่มแบบไหน ไวน์จะมีรสชาติเพิ่มยิ่งขึ้น เสมอเมื่อคุณได้ดื่มมันในสภาพแวดล้อมและบรรยากาศดั้งเดิม ณ แหล่งผลิต และ เมื่อคุณอยู่ในลิสบอน นั่นคือคุณก�ำลังอยู่ในแหล่งบรรยากาศที่เลิศที่สุด ที่จะได้พบ กับประสบการณ์พิเศษสุดแห่งการจิบไวน์ – จอห์น เรเซค ลงทะเบียนเข้าร่วมงานได้ที่ www.riconvention.org.
สิ่งละอัน พันละน้อย
เกษมชัย นิธิวรรณากุล ผู้ว่าการภาคปี น�ำทาง สร้างผลงาน
ผลการลงคะแนนอย่างไม่เป็นทางการ ของสภานิติบัญญัติโรตารี ประจ�ำปี 2556 2013 COL Unofficial Voting Results A = Adopted รับ; AA = Adopted as amended รับตามข้อ แก้ไข; R = Rejected ไม่ผ่านการพิจารณา; W = Withdrawn ถอน; CW = Considered withdrawn ถือเสมือนเป็นการถอน; RB = Referred to the Board ส่งให้ RI Board พิจารณา การตรา/แก้ไขข้อบัญญัติ (Enacments) 1. ให้สโมสรเวียนรายงานสมาชิกที่ได้รับการรับรองการช�ำระค่าบ�ำรุง โรตารีสากลทุกรายครึ่งปีแก่สมาชิกรับทราบ To amend the provisions for club reports (A) 2. ก�ำหนดให้เลขานุการสโมสรเป็นสมาชิกของ Board To provide that the club secretary shall be a member of the board (A) 3. อุปนายกสโมสร และปฏิคมสโมสรอาจเป็นกรรมการของ Board To amend the provisions for club officers (A) 4. ผู้ที่จะได้รับการเสนอชื่อเป็น นยล. ต้องเป็นสมาขิกของสโมสรนี้มา เป็นเวลาอย่างน้อย 1 ปี เว้นเสียแต่ว่าได้รับการยกเว้นโดย ผวภ. To amend the qualifications for club president (A) 5. อดีตสมาชิกของสโมสรจะได้รับการยกเว้นค่าธรรมเนียมแรกเข้าเป็น สมาชิก เมื่อกลับมาเป็นสมาชิกอีกครั้ง To exempt former members of a club from a second admission fee (A) 6. การร่วมโครงการบ�ำเพ็ญประโยชน์ของสโมสรตนเองอย่างน้อย 12 ชั่วโมงในทุกรอบครึ่งปี สามารถนับเป็นคะแนนเข้าประชุมได้เสมือน หนึ่งร่วมประชุมปกติของสโมสร หรือนับเป็นการประชุมชดเชยร้อยละ 50 ในแต่ละรอบครึ่งปี To amend the attendance provisions to include service requirements (AA) 7. การขาดประชุมตามมาตรา 12 หมวด 4 อาจท�ำให้สมาชิกภาพสิ้น สุดลง To amend the provisions for non-attendance (A) 8. Board อาจขยายเวลาการขาดประชุมทีไ่ ด้รบั การยกเว้นเกินกว่า 12 เดือน เนื่องด้วยเหตุผลด้านสุขภาพ To amend the provisions for excused absences (A) 9. อนุญาตให้มีการขาดประชุมที่ได้รับการยกเว้น ในกรณีที่อายุของ สมาชิกรวมกับอายุการเป็นโรแทเรียนครบ 85 ปีหรือมากกว่า To amend the provisions for excused absences (A) 10. กรณีเป็นคู่ครองของเจ้าหน้าที่โรตารีสากล ได้รับการยกเว้นการ ขาดประชุม
34
Rotary Thailand
To amend the provisions for RI officers’ excused absences (AA) 11. การขาดประชุมที่ได้รับการยกเว้นจะไม่น�ำมาค�ำนวณในการบันทึก คะแนนประขุม To amend the provisions for calculating attendance records (A) 12. สมาชิกของสโมสรบริวารจะเป็นสมาชิกของสโมสรอุปถัมภ์ด้วย To provide for satellite clubs (AA) 13. อดีตนักเรียนทุนของมูลนิธิโรตารี ‘โยเนยามะ’ ผู้ไดรับทุนไปศึกษาต่อ ในระดับสูง มึคุณสมบัติเป็นสมาชิกของสโมสรโรตารี To allow certain former scholars to be active members (RB) 14. สตรีผู้หยุดงาน หรือไม่เคยท�ำงานเพื่อดูแลบุตร หรือช่วยงานคู่ครอง มี คุณสมบัติเป็นสมาชิกของสโมสรโรตารี To allow people who have not worked or interrupted their work to be active members (AA) 15. มติการสิน้ สุดสมาชิกภาพส�ำเร็จด้วยเสียง 2 ใน 3 ของกรรมการ Board ผู้มาประชุมและลงคะแนนเสียง To amend the provisions for termination of membership (A) 16. สามารถเสนอสมาชิกผู้ขอย้ายสโมสร หรืออดีตสมาชิกเป็นสมาชิก สามัญ โดยไม่ต้องรอให้สมาชิกภาพในอีกสโมสรหนึ่งสิ้นสุดลง เนื่องด้วย สมาชิกท่านนั้นมิได้อยู่ในประเภทอาชีพเดิมในท้องถิ่นของสโมสรเดิม To amend the provisions for transferring and former Rotarians (A) 17. สมาชิกผู้ขอย้ายสมาขิกภาพของตนไปยังสโมสรอีกแห่งหนึ่งควรน�ำ เสนอจดหมายรับรองจากสโมสรสังกัดเดิม และสโมสรนี้ไม่ควรรับเป็น สมาชิกจนกว่าจะได้รับจดหมายรับรอง To amend the provisions for transferring and former Rotarians (AA) 18. หากสโมสรสังกัดเดิมของสมาชิกผูข้ อย้ายสังกัดสโมสรมิได้ตอบภายใน 30 วัน ให้ถือว่าสมาชิกท่านนั้นมิได้เป็นหนี้ต่อสโมสรสังกัดเดิม To amend the provisions for transferring and former Rotarians (AA) 19. สมาชิกกิตติมศักดิ์ได้รับสิทธิ์ในการประดับเหรียญตรา ป้าย หรือ สัญลักษณ์ของโรตารี ตราบใดที่ยังคงด�ำรงสมาชิกภาพกิตติมศักดิ์ To allow honorary members to wear the RI emblem (A) 20. ไม่จำ� กัดจ�ำนวนสโมสร e-clubs ในแต่ละภาค (เดิมจ�ำกัดภาคละเพียง 2 สโมสรเท่านั้น) To remove the limitation on the number of e-clubs in each district (A) 21. เปลี่ยนชื่อ District Assembly เป็น District Training Assembly To change the term “district assembly” to “district training assembly” (AA) 22. ให้คะแนนเสียงของสโมสรที่มีสิทธิ์มากกว่า 1 เสียงลงคะแนนเสียงให้ ผู้สมัครแข่งขันเพียงคนเดียว หรือข้อเสนอเดียวกัน หรือในการลงคะแนน
เสียง ณ การประชุมใหญ่ภาค สโมสรที่มีเสียงมากกว่า 1 เสียงต้องเลือกผู้ สมัครคนเดียวกัน หรือข้อเสนอข้อเดียวกัน To revise district conference voting procedures (A) 23. เพิ่มค�ำแถลงการณ์ของแนวทางบริการที่ 5 ว่า “ร่วมพัฒนาเยาวชนใน ด้านความสัมพันธ์ ชุมชน และโครงการ/ โปรแกรมบริการระหว่างประเทศ ผ่านการแลกเปลี่ยน การเรียนรู้ และการพัฒนาตนเอง เพื่อและโดยเยาวชน To add a fifth part to the Object of Rotary to include the involvement and development of youth (RB) 24. เพิ่มค�ำแถลงการณ์ของแนวทางบริการที่ 5 ว่า “ร่วมพัฒนาเยาวชนใน ด้านความเข้าใจในอุดมการณ์ของการบริการและทักษะของภาวะผูน้ ำ � ผ่าน การมีส่วนร่วมในกิจกรรมบริการ ความสัมพันธ์ เพื่อให้เยาวชนสามารถ สร้างเสริมมิตรภาพและสันติสุขระหว่างประเทศ และมีความรับผิดชอบ ต่อชนรุ่นถัดไป To add a fifth part to the Object of Rotary to include the development of service and leadership in youth (RB) 25. ส�ำหรับแนวทางบริการที่ 5 เปลีย่ นชือ่ ของบริการชนรุน่ ใหม่ เป็นบริการ เยาวชน To amend the fifth Avenue of Service (A) 26. ในกรณีตำ� แหน่งของกรรมการมูลนิธโิ รตารีวา่ งลง ประธานโรตารีสากล เป็นผูเ้ สนอชือ่ กรรมการคนใหม่ และคณะกรรมการ RI เป็นผูเ้ ลือกตัง้ ให้ดำ� รง ต�ำแหน่งแทนส�ำหรับระยะวาระที่เหลืออยู่ To fill a vacancy in the position of Trustee of The Rotary Foundation (A) 27. กรรมการเสนอชื่อประธานโรตารีสากลสามารถด�ำรงต�ำแหน่งนี้ไม่เกิน 3 วาระ To revise the qualifications for membership on the nominating committee for president (AA) 28. คุณสมบัตขิ องสมาชิกของคณะกรรมการเสนอชือ่ กรรมการบริหาร RI ที่ ต้องร่วมประชุม Institute จ�ำนวน 2 ครั้ง และ RI Convention จ�ำนวน 1 ครัง้ ในช่วง 3 ปีกอ่ นรับต�ำแหน่งนัน้ อาจยกเว้นได้ทงั้ หมดหรือบางส่วน หาก ได้รับเสียงส่วนใหญ่ จาก electors ณ การประชุมใหญ่ภาค To revise the qualifications for membership on the nominating committee for director (AA) 29. ผวภ. มี ห น้ า ที่ ดู แ ลให้ธ รรมนูญ และข้อบังคับ สโมสรของสโมสร ภายในภาคตรงตามเอกสารธรรมนูญ โดยเฉพาะภายหลังการประชุมสภา นิติบัญญัติโรตารี To revise the duties of a governor (A) 30. ผวภ. designate เป็นต�ำแหน่งถัดจาก ผวล. To create the title of governor-designate (AA) 31. ผวภ. จะตระเตรียมใบลงคะแนนเพียงใบเดียวส�ำหรับแต่ละสโมสรใน การเลือกตั้ง ผวภ. ทางไปรษณีย์ To amend the ballot-by-mail specifications (A) 32. แต่ละสโมสรจะมอบหมาย elector เพียงคนเดียว เพื่อลงคะแนนเสียง ทั้งหมดของสโมสรในการเลือก ผวภ. ณ การประชุมใหญ่ภาค To amend the provisions for election of a governor at a district conference (A)
33. สโมสรอาจเห็นด้วยกับผูส้ มัครแข่งขันได้เพียงคนเดียว ในการเสนอชือ่ ผวภ. To amend the provisions regarding concurrences to challenges (AA) 34. คณะกรรมการเสนอขือ่ ผวภ. จะเลือก อผภ. ท่านหนึง่ เป็นรอง ผวภ. บทบาท ของรอง ผวภ. คือการปฏิบัติหน้าที่แทน ผวภ. ในกรณีที่ ผวภ. พิการไร้ความ สามารถชั่วคราวหรือถาวร ในกรณีที่ไม่มีรอง ผวภ. • RI Board มีอำ� นาจเลือกโรแทเรียนผูม้ คี ณ ุ สมบัตทิ า่ นหนึง่ มาปฏิบตั ิ หน้าที่แทน ผวภ. ส�ำหรับวาระที่เหลือเมื่อต�ำแหน่งนี้ว่างลง ประธาน RI อาจ แต่งตั้งโรแทเรียนผู้มีคุณสมบัติเป็นว่าที่ ผวภ. จนกว่า RI Board จะแต่งตั้งผู้มา ปฏิบัติหน้าที่แทน • ประธาน RI อาจแต่งตั้งโรแทเรียนผู้มีคุณสมบัติเป็นว่าที่ ผวภ. ใน ระหว่างที่ ผวภ. พิการไร้ความสามารถชั่วคราว To amend the provisions for vacancy in the office of governor (AA) 35. หาก RI Board มีมติยืนเห็นพ้องกับข้อร้องเรียนเรื่องการเลือกตั้ง ผวภ. ถึง 2 ครั้งภายในระยะเวลา 5 ปีที่แล้วมา RI Board อาจตัดสิทธิ์ผู้ถูกเสนอชื่อ เลือก อผภ. เป็นแทน หรือ ถอดถอน ผวภ. ผวล. ผู้ซึ่งมีส่วนสร้างอิทธิพลต่อ การเลือกตั้งอย่างไม่เหมาะสม หรือตัดสิทธิ์เจ้าหน้าที่ RI ในปัจจุบันหรืออดีต ออกจากการทรงสิทธิ์นี้ To amend the provisions for repeated election complaints from a district (A) 36. หากผู้สมัคร หรือสโมสรไม่ปฏิบัติตามขั้นตอนการทบทวนการเลือกตั้ง ผู้ สมัครนั้นจะถูกตัดสิทธิ์จากการลงสมัครเลือกตั้งของโรตารีเป็นเวลาตามที่ RI Board ตัดสิน To amend the provisions regarding election complaints (AA) 37. เพิ่มจ�ำนวนสโมสรในโครงการน�ำร่องจาก 200 เป็น 1,000 สโมสร To increase the number of clubs that may participate in a pilot project from 200 to 1,000 clubs (A) 38. ท้องที่ของสโมสร e-club จะเป็นทั่วโลก หรือแล้วแต่ Board สโมสรเป็น ผู้ก�ำหนด To revise the provision for locality of an e-club (A) 39.การลงโทษสโมสรทางวินัยนั้น ผวภ. หรือผู้แทน (อผภ.) อาจอยู่ร่วมฟังการ ไต่สวน To amend the provisions for discipline for cause of a club (AA) 40. RI Board อาจถอนหรือเปลี่ยนแปลงขอบเขตพรมแดนของภาคที่มีสโมสร น้อยกว่า 33 แห่ง หรือสมาชิกน้อยกว่า 1,100 คน (จากเดิม 1,200 คน) To revise the Board’s authority to change district boundaries (A) 41. RI Board จะก�ำหนดขั้นตอนเกี่ยวกับการบริหารภาคใหม่ หรือภาคที่มี การควบรวม To establish procedures to assist new districts (A) 42. คณะกรรมการตรวจสอบงานปฏิบตั กิ าร (Operations Review Committee) ของ RI มีความถี่ในการประชุมเพื่อตรวจสอบงานปฏิบัติการตามที่ RI Board หรือประธานโรตารีสากลเห็นสมควร To amend the terms of reference for the Operations Review Committee (A) 43. คณะกรรมการวางแผนยุทธศาสตร์จะประชุมตามที่ประธาน RI หรือ RI Board ก�ำหนด
To amend the terms of reference for the Strategic Planning Committee (AA) 44. RI Board จะควบคุมดูแลการด�ำเนินแผนยุทธศาสตร์ในแต่ละโซน To amend the powers of the Board to include oversight of the RI Strategic Plan (A) 45. โรแทเรียนแต่ละคนมีสิทธิ์บอกรับนิตยสารโรตารีเป็นฉบับตีพิมพ์ หรือ ฉบับสื่ออิเล็กทรอนิกส์ To allow clubs not in the United States or Canada to decide if the Rotary magazine will be distributed as a print copy or through the Internet (A) 46. ตัดข้อความว่าด้วยเรื่องการเบิกจ่ายเงินคืนค่าเดินทางส�ำหรับเจ้าหน้าที่ บริหารโรตารีสากลในปัจจุบันและอดีต To remove the travel reimbursement policy from the RI Bylaws (A) แก้ไขนโยบายการเบิกจ่ายเงินคืนค่าเดินทางอันเป็นค่าใช้จ่ายของ RI และ มูลนิธิโรตารีในข้อ 46 47 48 และ 49 47. To revise the travel reimbursement policy (RB) 48. To revise the travel reimbursement policy (RB) 49. To revise the travel reimbursement policy (RB) 50. To revise the travel reimbursement policy (RB) 51. เพิม่ ค่าบ�ำรุง RI เป็น 27 เหรียญต่อทุกครึง่ ปี 2557-58 เป็น 27.50 เหรียญ ต่อทุกครึ่งปี 2558-59 และ เป็น 28 เหรียญต่อทุกครึ่งปี 2559-60 (26.50 เหรียญต่อทุกครึ่งปี 2556-57) To increase per capita dues (A) 52. สโมสรไม่ต้องช�ำระค่าบ�ำรุง RI ขั้นต�่ำ (10 คน) To eliminate the minimum semiannual dues paid by each club (A) 53. RI Board อาจลดหรือเลื่อนก�ำหนดการช�ำระค่าบ�ำรุง RI ในกรณีที่ท้อง ที่ของสโมสรประสบความเสียหายอย่างรุนแรงจากภัยพิบัติธรรมชาติ หรือมี ความคล้ายคลึงกัน To reduce or waive per capita dues in the event of natural disasters (A) 54. แก้ไขการช�ำระค่าบ�ำรุงโดย RI ในประเทศอังกฤษและประเทศไอร์แลนด์ To revise the dues payable by RIBI and to eliminate the RIBI contribution to the unrestricted net assets of RI (A) 55. ตัดการประชุมภูมิภาคของ RI (RI Regional Conference) ออกจาก ข้อบังคับของ RI To remove the provisions regarding regional conferences of RI (A) 56. ข้อเสนอญัตตินิติบัญญัติต้องได้รับการรับรองโดยสโมสร ณ การประชุม ใหญ่ภาค หรือการประชุมลงมติของภาค (District Resolutions Meeting) (เพื่อความคล่องตัวในวันเวลาการลงมติ เนื่องจากวันประชุมใหญ่ภาคอาจไม่ สอดคล้องกับเงื่อนเวลาของการเสนอญัตติฯ ) To revise district endorsement of club legislation and conference voting to include district resolutions meetings (A) 57. แก้ไขค�ำนิยามของญัตติฯ ที่มีข้อบกพร่อง (ตัดข้อความว่า การพิจารณา
36
Rotary Thailand
ญัตติการออกมติให้อยูใ่ นดุลยพินจิ ของ RI Board และเลขานุการทัว่ ไปของ RI) To amend the definition of defective legislation (A) 58. สโมสรทีม่ มี ากกว่า 1 เสียงจะลงคะแนนเลือกตัง้ ผูแ้ ทนนิตบิ ญ ั ญัตขิ องภาค เพียงคนเดียว มิฉะนั้นจะนับเป็นบัตรคะแนนเสีย To revise the procedure for nominating Council representatives (A) 59. ในกรณีที่ภาคมีผู้ถูกเสนอชื่อเป็นผู้แทนนิติบัญญัติของภาคเพียงคนเดียว ให้ ผวภ. แต่งตั้งผู้มีคุณสมบัติเป็นผู้แทนส�ำรอง To amend the provisions for electing a Council representative (A) 60. แก้ไขการค�ำนวณกองทุนส่วนเกินทั่วไป (General Surplus Fund) โดย ไม่นับค่าใช้จ่ายจากกองทุนนี้ซึ่ง RI Board ได้อนุมัติแล้ว To revise the target General Surplus Fund calculation (A) การออกมติ (Resolutions) 61. ขอให้ RI Board พิจารณาน�ำเสนอนิตบิ ญ ั ญัตวิ า่ ด้วยสมาชิกภาพประเภท สมทบเข้าสู่การพิจารณาของสภาฯ ในครั้งต่อไป To request the RI Board to consider proposing legislation to the next Council on Legislation to introduce a new category of membership: associate membership (A) 62. ขอให้ RI Board พิจารณาส่งเสริมให้โรแทเรียนรับเอาวัตถุประสงค์ข้อที่ 2 ของโรตารีเป็นหลักการน�ำทางในการบริการด้านอาชีพ To request the RI Board to consider encouraging the adoption of the second Object of Rotary as the guiding principle for vocational service (A) 63. ขอให้ RI Board พิจารณาเพิ่มกิจกรรมสันติภาพและการแก้ไขข้อขัดแย้ง อยู่ในบริบทของการบริการระหว่างประเทศ To request the RI Board to consider adding peace and conflict resolution activities to the areas of International Service (A) 64. ขอให้ RI Board พิจารณาก�ำหนดวันบริการเยาวชนของโรตารี To request the RI Board to consider establishing RI New Generations Service Day (A) 65. ขอให้ RI Board พิจารณาก�ำหนดสถาบันผู้น�ำของโรตารี (Rotary Leadership Institute) เป็นองค์กรในสังกัดโรตารี หรือเป็นโปรแกรม โครงสร้างของ RI To request the RI Board to consider designating the Rotary Leadership Institute as an RI affiliate or as a structured program of RI (A) 66. ขอให้กรรมการมูลนิธิฯ พิจารณาให้รุ่นหลานของโรแทเรียนมีสิทธิ์สมัคร ชิงรางวัลของโปรแกรมมูลนิธิฯ To request the Trustees to consider making grandchildren of Rotarians eligible for Foundation awards programs (RB) 67. ขอให้กรรมการมูลนิธฯิ พิจารณายกเว้นสมาชิกของครอบครัวโรแทเรียนที่ ได้รบั ความสูญเสียชีวติ ในภัยพิบตั ธิ รรมชาติจากการขาดสิทธิใ์ นทุนการศึกษา หรือโปรแกรม ของมูลนิธิฯ To request the Trustees t consider granting an exception to the eligibility guidelines for grants for families affected by disasters (A)
อภิศักดิ์ จอมพงษ์ สร.แม่จัน แปล
สหรัฐอเมริกา หลังจากการท�ำงานตลอดสามปี สโมสรโรตารีลาเฮยนา,เกาะเมา ได้เสร็จสิ้นภารกิจการปรับปรุงห้องสมุดประชาชนด้วยงบ ประมาณ 300,000 ดอลลาร์ ห้องสมุดประชาชนลาเฮยนาซึ่งได้ก่อสร้างมานานกว่า 57 ปี ถูกปล่อยให้อยู่ในสภาพทรุดโทรม เนื่องจากรัฐขาดงบประมาณในการซ่อมแซม สโมสรโรตารีร่วมมือกับกลุ่มเพื่อนเกาะเมารักห้องสมุด และห้องสมุดแห่งรัฐ ฮาวาย ในการหาเงินบริจาคเพือ่ ใช้สำ� หรับการออกแบบใหม่ การสะสางหนังสือเก่าและสรรหาหนังสือใหม่ใส่ชนั้ โดยได้มกี าร ว่าจ้างบริษัทถึง 21 บริษัท มาท�ำงาน และมีอาสาสมัครที่เป็นมืออาชีพอีกกว่า 100 มาช่วยในการให้บริการ นับเป็นโครงการ ที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ของสโมสร ฮอนดูรัส โรแทเรียนจากเจ็ดสโมสรในเตกูซิกัลปา ท�ำงานร่วมกันเพื่อให้การสนับสนุนศูนย์ขยายงานส�ำหรับคนรุ่นใหม่จ�ำนวนสองแห่ง ในเมืองหลวง สโมสรร่วมกับโครงการ USAID Regional Youth Alliance, กลุ่มปฏิบัติการโรตารีเพื่อการพัฒนาประชากร และการพัฒนาที่ยั่งยืน และองค์กร Save the Children โดยได้สร้างสิ่งอ�ำนวยความสะดวกต่าง ๆ ในเมือง บัวนาส นูเอวาส และ วิลลา แฟรงกา ซึง่ มีปญ ั หาเกีย่ วกับแก็งก์อนั ธพาลจ�ำนวนมากอยูโ่ ดยรอบ กิจกรรมของศูนย์ ได้แก่ การสอนหนังสือ, การ ฝึกอบรมด้านอาชีพและโปรแกรมกีฬาให้กับเด็กและคนรุ่นใหม่ที่มีอายุระหว่าง 10-29 ปี เวเนซูเอลา มุ้งเป็นสิ่งที่สามารถช่วยชีวิตคนในพื้นที่เขตร้อนที่มียุงชุกชุมจากการติดเชื้อมาลาเรียได้ สโมสรโรตารีคีย์ บิสเคน รัฐฟลอริดา ประเทศสหรัฐอเมริกา ได้รบั ทุนจากการท�ำโครงการแมทชิงแกรนท์กบั มูลนิธโิ รตารีเพือ่ น�ำไปจัดซือ้ มุง้ กันแมลงจ�ำนวน 1,500 หลัง ซึง่ ถูกออกแบบให้พอดีกบั เปลญวนทีน่ ยิ มใช้ในท้องถิน่ สตีฟ เบเกอร์ จากสโมสรโรตารีคยี ์ บิสเคน ร่วมกับ สมาชิกสโมสร โรตารีแคชชาเมย์ นูเอวาส เจนเนอแรคซีโอน-ซีอุดแดด กวายอานา, สโมสรโรตารีพวนโต ออดาซ และ สโมสรโรตารีแครอน ไนด์ พวนโต ออดาซโต ช่วยกันแจกจ่ายมุ้งที่รัฐโบลิวาร์ในเดือนตุลาคม สหราชอาณาจักร ในเดือนสิงหาคมสโมสรโรตารีเอลลอน สกอตแลนด์ ร่วมกับ Ythan Cycle Club เป็นเจ้าภาพการแข่งขันเพดเดิล คาร์ ประจ�ำ ปี ครั้งที่สาม (เพดเดิลคาร์เป็นรถสี่ล้อที่มีผู้ปั่น 1 คน) บนเส้นทางการแข่งขันที่มีระยะทางเกือบครึ่งไมล์ งานนี้ดึงดูดนักปั่น เพดเดิลคาร์พร้อมทีมงานจากเอดินเบิร์ก, กลาสโกว์ และ เพิร์ธ โดยทีมที่ร่วมการแข่งขันทั้ง 18 ทีมต่างได้รับการสนับสนุน จากภาคธุรกิจในท้องถิ่น การแข่งขันเพื่อหาทีมที่สามารถปั่นได้จ�ำนวนรอบมากที่สุดในเวลาหนึ่งชั่วโมงนี้สามารระดมเงินได้ มากกว่า 9,000 ดอลลาร์ เพื่อมอบให้ศูนย์โรคมะเร็ง Maggie’s Cancer Centre ในเมืองอาเบอร์ดีน ตุรกี ในปี 1988 สโมสรโรตารีอิสตันบูล-ฟินดิไกล ได้สร้างโรงเรียนประถมฟินดิไกลขึ้น เป็นโรงเรียนขนาด 20 ห้องเรียนมีนักเรียน จ�ำนวน 650 คน และในปีที่ผ่านมาสโมสรได้น�ำแผงโซลาร์เซลล์ไปติดตั้งในโรงเรียน ซึ่งเป็นอีกหนึ่งความช่วยเหลือที่สโมสรได้ ให้แก่โรงเรียนมาอย่างต่อเนือ่ ง ระบบพลังงานใหม่นถี้ กู ออกแบบเพือ่ ผลิตพลังงานให้เพียงพอส�ำหรับการใช้เครือ่ งคอมพิวเตอร์, ห้องครัว, และระบบไฟฉุกเฉิน สโมสรยังให้ความรู้แก่ครูและนักเรียนเกี่ยวกับเรื่องพลังงานสีเขียว และได้ติดตั้งเครื่อง คอมพิวเตอร์ที่สามารถวัดปริมาณพลังงานไฟฟ้าที่ผลิตออกมาได้ด้วยระบบดิจิตอล ไลบีเรีย หลังจากผ่านเวลาอันยาวนานหลายปีของสงครามกลางเมืองที่เริ่มต้นตั้งแต่ปี 1980 และสิ้นสุดลงในปี 2003 สิ่งอ�ำนวยความ สะดวกด้านการนันทนาการส�ำหรับเยาวชนในไลบีเรียเหลืออยู่น้อยมาก ดังนั้น เด็ก ๆ มักจะเล่นกันอยู่ตามท้องถนนที่ว่าง เปล่าโดยไม่มีผู้ดูแล ในเดือนมกราคมสโมสรโรตารีซินคอร์ได้ริเริ่มการสร้างศูนย์กลางส�ำหรับเยาวชนในย่านชานเมืองมอนโร เวีย โดย The Liberia Girl Guides Association ได้บริจาคที่ดินเพื่อสร้างเป็นสามบาสเกตบอลกลางแจ้ง, กระท่อมแห่งการ สนทนาสองหลังซึ่งเป็นช่องทางส�ำหรับการสนทนากันด้วยภาษาถิ่น, โรงอาหาร และสนามเด็กเล่น
แทนซาเนีย สโมสรโรตารีหกสโมสรในดาร์มาร่วมกันก็จัดการแข่งขันวิ่งมาราธอนการกุศล ในเดือนตุลาคม การแข่งขันมีทั้งการวิ่งระยะ ทาง 13 ไมล์ และการเดินระยะทาง 5.5 ไมล์ ส�ำหรับผู้เข้าร่วมการแข่งขันจ�ำนวน 5,000 คนจากทั้งในแทนซาเนียและอูกัน ดา ซึ่งเป็นสองประเทศในภาคโรตารีที่ตั้งขึ้นใหม่คือ ภาค 9211 งานนี้สามารถระดมเงินได้มากกว่า 330,000 ดอลลาร์ เพื่อ มอบให้แก่ตึกผู้ป่วยเด็กโรคมะเร็งที่โรงพยาบาลแห่งชาติมูฮิมบีลี ซึ่งต้องรองรับผู้ป่วยใหม่มากกว่า 300 รายในแต่ละปี ตึกผู้ ป่วยจะได้รบั เตียงพยาบาลเพิม่ จ�ำนวน 17 เตียง และห้องพิเศษส�ำหรับผูป้ ว่ ยเด็กทีอ่ ยูใ่ นภาวะของการติดเชือ้ รุนแรงอีก 6 ห้อง ศรีลังกา กับระเบิดทีถ่ กู วางทิง้ ไว้ระหว่างสงครามกลางเมืองทีย่ าวนานกว่า 25 ปี ในศรีลงั กาเป็นเหตุให้ผคู้ นร่วมหมืน่ คนต้องได้รบั บาด เจ็บและพิการ สโมสรโรตารีในภาค 3220 (ศรีลังกา) และ 3140 (บางส่วนของอินเดีย) ร่วมกับ Colombo Friend-in-Need Society ในการจัดค่ายปฏิบตั กิ ารขาเทียมนานาชาติในเมืองหลวงเมือ่ เดือนกรกฎาคม ค่ายปฏิบตั กิ ารนีไ้ ด้มอบขาเทียม รวม ทั้งช่วยฝึกการเดินและให้ค�ำปรึกษาแก่ประชาชนกว่า 350 คน ที่ต้องสูญเสียขาไปเพราะกับระเบิด นิวซีแลนด์ เดือนมิถุนายนชาวนิวซีแลนด์หลายร้อยคนต้องลงไปเปื้อนโคลนในการแข่งขันรายการ Naki Run Amuck การแข่งขันวิ่งลุย โคลนทีห่ มูบ่ า้ นแห่งหนึง่ ในยูเรนูว โดยมีสโมสรโรตารีนวิ พลีมทั เป็นเจ้าภาพ การแข่งขันด้วยระยะทาง 2.5 ไมล์ ซึง่ เต็มไปด้วย อุปสรรคคือโคลนหลากหลายชนิดตลอดเส้นทางนี้ สามารถหาเงินได้มากกว่า 10,000 ดอลลาร์นิวซีแลนด์ ซึ่งเงินส่วนใหญ่ น�ำไปใช้สร้างเรือกู้ภัย ให้แก่เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยตามแนวชายฝั่งในทารานากิ ผู้เข้าร่วมแข่งขันมากกว่า 800 คน ต่างตั้งตารอคอยการแข่งขันในครั้งต่อไปที่จะจัดในเดือนมิถุนายนปีหน้า สหรัฐอเมริกา สโมสรโรตาแรคท์ฟิลาเดลเฟียจัดการประกวดความสามารถพิเศษในรายการ “Philly Factor” ในเดือนกุมภาพันธ์ โดยมี คณะตลกจาก The University of Pennsylvania’s Simply Chaos Comedy Troupe เป็นพิธีกร ในงานประกอบไปด้วย ผู้ผ่านเข้ารอบสุดท้ายจ�ำนวน 7 ทีม จากทั้งหมด 19 ทีม โดยการคัดเลือกจากวิดีโอออดิชันที่อัพโหลดลงบน YouTube ผู้ที่ ได้รางวัลชนะเลิศคือทีม “Inertia” กลุ่มนักเต้นซึ่งเป็นนักศึกษาจาก Philadelphia’s University of the Sciences โดย สโมสรโรตาแรกต์ปักกิ่ง และ องค์กรOperation Smile (องค์การไม่แสวงผลก�ำไรที่ช่วยเหลือการผ่าตัดรักษาโรคปากแหว่ง เพดานโหว่ในประเทศก�ำลังพัฒนา) สาขาเพนซิลเวเนีย ร่วมกับสโมสรโรตาแรกต์ฟิลาเดลเฟีย ช่วยกันระดมทุนจากกิจกรรม นี้ได้ 600 ดอลลาร์ เพื่อเป็นงบประมาณส�ำหรับการท�ำงานขององค์กรOperation Smile ในมณฑลยูนนาน ประเทศจีน เม็กซิโก ในการแข่งขัน La Carrera Panamericana ประจ�ำปี 2012 ซึ่งเป็นการแข่งรถที่เม็กซิโกในเดือนตุลาคมของทุกปี โดยมีรถ แข่งรุ่นโบราณกว่า 100 คันที่พร้อมใจกันติดสติกเกอร์ End Polio Now บนรถไปตลอดระยะเวลา 7 วันบนเส้นทางการ แข่งขันที่ยาวเกือบ 2,000 ไมล์ จากเมืองเวราครูซบริเวณอ่าวเม็กซิโก ไปสิ้นสุดที่เมืองซาคาเตกา ในภาคกลางตอนบน นัก แข่งทุกคนได้รว่ มกิจกรรมทีแ่ สดงให้เห็นถึงความส�ำคัญของการก�ำจัดโรคโปลิโอ และยังมีโรแทเรียนจากสโมสรสิบกว่าสโมสร ในหลาย ๆ รัฐของเม็กซิโกมาช่วยกันประชาสัมพันธ์กิจกรรมของโรตารีให้แก่ผู้ชมและผู้ที่รักรถจ�ำนวนหลายพันคน กายอานา ในทุก ๆ ปี สโมสรโรตารีจอร์จทาวน์จะเป็นเจ้าภาพอาหารค�ำ่ มือ้ พิเศษในเดือนแห่งความเข้าใจกันในโลก คือเดือนกุมภาพันธ์ ในปีนไี้ ด้รบั เกียรติจากอดีตนายกรัฐมนตรีของจาไมกา เพอซิวาล เจมส์ แพทเธอสัน มากล่าวสุนทรพจน์ในเรือ่ ง “อนาคตของ การขับเคลือ่ นทางเศรษฐกิจของแคริบเบียนแบบบูรณาการ และความส�ำคัญของประชาคมแคริบเบียน (CARICOM) ในการ ส่งเสริมความเข้าในกันในโลก” ประชาคมแคริบเบียนซึ่งมีส�ำนักงานใหญ่ในเมืองหลวงของกายอานา มีวัตถุประสงค์ในการ ส่งเสริมการประสานงานและความร่วมมือกันทางเศรษฐกิจในหมู่ประเทศสมาชิก
38
Rotary Thailand
สหราชอาณาจักร ในปีที่แล้ว ภาค 1120 (อังกฤษ) เปิดตัวกองทุน Purple Crocus ที่ได้หาทุนโดยการขายดอกไม้ที่ท�ำจาก ผ้าจ�ำนวน 25,000 ดอก และน�ำรายได้มอบให้โปรแกรม PolioPlus ถึง 40,000 ดอลลาร์สหรัฐ ส�ำหรับปี นี้สโมสรโรตารีในสหราชอาณาจักร, สหรัฐอเมริกา, แคนาดา และไนจีเรียมีความตั้งใจร่วมกันในการหาทุน จ�ำนวน 250,000 ดอลลาร์ ซึ่งในเดือนมีนาคมที่ผ่านมาพวกเขาก็ได้ขายดอกไม้ที่มีลักษณะคล้ายกับดอก ป๊อปปี้นี้ไปแล้วถึง 160,000 ดอก ดอกไม้ผ้าถูกออกแบบมาให้สามารถกลัดลงบนปกเสื้อเพื่อเป็นสัญลักษณ์ ของการสนับสนุนการต่อสู้กับโรคโปลิโอ สีม่วงถูกเลือกให้ใช้เป็นสีของดอกเพราะเป็นสีเดียวกับที่ใช้ส�ำหรับ ท�ำเครื่องหมายบนปลายนิ้วก้อยของเด็กที่ได้รับวัคซีนวัคซีนโปลิโอแล้ว บัลแกเรีย สโมสรโรตารีฮาวเดน (อังกฤษ) และ สโมสรโรตารีเวอร์นา-ยูอโิ นกราด (บัลแกเรีย) ร่วมมือกันในโครงการแบบ แมทชิงแกรนท์กับมูลนิธิโรตารี เพื่อการจัดซื้อรถตู้ให้กับ Saint Joan Zlatoust Day Care Center ซึ่งเป็น ศูนย์ช่วยเหลือเด็กที่มีความต้องการพิเศษในเมืองเวอร์นาในแถบชายฝั่งทะเลด�ำ ศูนย์นี้ให้การดูแลเด็กแบบ เต็มเวลาด้วยโปรแกรมทีห่ ลากหลาย เช่นโปรแกรมเกีย่ วกับสุขภาพ, การศึกษาและการฟืน้ ฟูสมรรถภาพ รถ ตู้สีแดงสดใสจะไปรับ-ส่งเด็ก ๆ จากบ้านของพวกเขาทุกวัน กานา ในเดือนกุมภาพันธ์ สมาชิกสโมสรโรตาแรกต์โฮได้ไปท�ำกิจกรรมที่ศูนย์พักพิงส�ำหรับผู้ป่วยโรคเรื้อน เขต เมืองวอลต้า แม้ว่าจะโรคเรื้อนจะเป็นโรคที่สามารถรักษาให้หายได้แล้วในปัจจุบัน แต่ผู้ที่ได้รับการรักษาก็ จะยังมีรอ่ งรอยอันน่ารังเกียจตามทีต่ า่ ง ๆ ของร่างกาย โรตาแรกต์เตอร์ได้นำ� เอาข้าว, น�ำ้ มัน, อาหารแช่แข็ง, อุปกรณ์ทใี่ ช้ในห้องน�ำ ้ และเสือ้ ผ้าทีใ่ ช้แล้ว รวมมูลค่ากว่า 1,500 ดอลลาร์ ไปมอบให้แก่ผปู้ ว่ ยในศูนย์จำ� นวน 80 คน รวมทัง้ ครอบครัวของพวกเขา สโมสรยังมีแผนทีจ่ ะระดมทุนส�ำหรับการปรับปรุงส่วนต่าง ๆ ของศูนย์ เช่น การทาสีใหม่, ซ่อมแซมลูกบิดประตูและบานพับ ,เปลี่ยนมุ้งกันยุงและการบ�ำรุงรักษาถังบ�ำบัดน�ำ้ เสีย เกาหลี โรแทเรียนในภาค 3630 ได้รว่ มกันเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันเดินมาราธอน ในเดือนกุมภาพันธ์ โดยสามารถ หารายได้ 18,000 ดอลลาร์ เข้าโปรแกรมPolio Plus นอกจากนี้ชาวเกาหลียังได้ร่วมต่อสู้กับโรคโปลิโอใน โลกดิจิตอลอีกด้วย โดย ณ เวลานี้พวกเขาได้อัพโหลดภาพการโพสท่า "this close" รวม 1338 ภาพ เพื่อ ร่วมกับแคมเปญการโฆษณาEnd Polio Now ที่ใหญ่ที่สุดในโลก ซึ่งเป็นการโพสภาพมากที่สุดเป็นอับดับ สองรองจากประเทศสหรัฐอเมริกา และทิ้งห่างที่สาม คือประเทศบราซิล ติมอร์-เลสเต เป็นเวลากว่าทศวรรษทีส่ โมสรโรตารีดลี ี (สโมสรเดียวในสาธารณรัฐประชาธิปไตยติมอร์-เลสเต) และ สโมสร โรตารีวิลลา เรอัล, โปรตุเกส ได้ท�ำงานร่วมกันเพื่อส่งเสริมการพัฒนาเยาวชนชาวติมอร์ด้วยโปรแกรมฝึก วิชาชีพและการศึกษา สโมสรยังได้สนับสนุนการปรับปรุงซ่อมแซมโรงเรียนประถมศึกษาในท้องถิน่ , สนับสนุน ด้านทุนการศึกษา และสนับสนุนองค์กรไม่แสวงผลก�ำไรที่ด�ำเนินกิจกรรมด้านศูนย์การศึกษาหลังเลิกเรียน (Movimento de Adolescentes e Crianças) ปัจจุบันสโมสรโรตารีดีลีได้ให้การสนับสนุนเงินทุนส�ำหรับ ศูนย์นี้ ผ่านภาค 9550 ซึ่งครอบคลุมพื้นที่บางส่วนของออสเตรเลียด้วย
การสัมมนาบรรณาธิการนิตยสารโรตารี ประจ�ำภาคพื้นเอเชียแปซิฟิก ช�ำนาญ จันทร์เรือง
ในระหว่างวันที่ 27-29 เมษายน 2556 ที่ผ่านมาได้มีการสัมมนา บรรณาธิการนิตยสารโรตารีประจ�ำภาคพื้นเอเชียแปซิฟิก ณ กรุงเชนไน ประเทศอินเดีย โดยมีบรรณาธิการนิตยสาร “Rotary News” ซึ่งเป็น นิ ต ยสารประจ� ำ ภาคพื้ น อิ น เดี ย และเอเชี ย ใต้ เ ป็ น เจ้ า ภาพ โดยมี บรรณาธิการเข้าร่วมจากประเทศต่างๆ คือ ออสเตรเลีย อินเดีย ญี่ปุ่น เกาหลี ฟิลิปปินส์ ไต้หวัน สหรัฐอเมริกา และประเทศไทยเรา ความเป็นมาของนิตยสารโรตารีในภูมิภาค นิตยสารโรตารีในภูมิภาคที่ในปัจจุบันมีการพิมพ์เผยแพร่ถึง 34 ภาษา นั้น มิได้เริ่มจากโรตารีสากลโดยตรง แต่เกิดจากการที่โรแทเรียน ในประเทศและภูมิภาคต่างๆต้องการจัดท�ำนิตยสารของตนเองขึ้นเพื่อ เป็นการสนองความจ�ำเป็นในด้านการกระจายข่าวสารข้อมูลโรตารีโดย ใช้ภาษาของตนเอง นิตยสารเหล่านี้ค่อยๆวิวัฒนาการตามล�ำดับจนใน ทีส่ ดุ ก็ได้รบั อนุญาตจากโรตารีสากลให้ดำ� เนินการได้เมือ่ ปี 1978 ซึง่ เป็นปี แรกทีน่ ติ ยสารประจ�ำภูมภิ าคของออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ คือ “Rotary Down Under”ได้รับการรับรอง การอนุมัติให้มีนิตยสารประจ�ำภูมิภาคนั้นจะอยู่ภายใต้เงื่อนไข ว่านิตยสารดังกล่าวจะต้องให้บริการสมาชิกมากกว่าหนึ่งภาคหรือหนึ่ง ประเทศ/ เนื้อหาของนิตยสารจะต้องสอดคล้องกับนโยบายโรตารีสากล หรืออย่างน้อยที่สุด 50% ของเนื้อหาจะต้องเป็นเรื่องของโรตารีหรือเรื่อง ที่เกี่ยวข้องกับโรตารี/ นิตยสารดังกล่าวจะต้องตีพิมพ์ไม่น้อยกว่าปีละ 4 ฉบับ ฯลฯ วัตถุประสงค์ของการสัมมนาฯ การสัมมนาฯมีเพื่อรายงานสถานการณ์ด้านต่างๆของนิตยสาร แต่ละฉบับ รวมทั้งตรวจสอบคุณภาพ แลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นและช่วยแก้ ปัญหาทีเ่ กิดขึน้ อันจะเป็นการพัฒนาให้นติ ยสารทางการของโรตารีประจ�ำ ภาคพื้นต่างๆมีคุณภาพและมีการประสานงานที่ดี รวมทั้งการบริหารให้ ด�ำเนินการไปอย่างมีประสิทธิภาพและสามารถพึ่งตนเองให้ได้มากที่สุด การสัมมนาฯครั้งแรกจัดขึ้นเมื่อปี 1993 ที่กรุงซิดนีย์ ประเทศ ออสเตรเลีย โดยบรรณาธิการนิตยสาร “Down Under” เป็นเจ้าภาพ ครั้งที่ 2จัดขึ้นที่กรุงไทเป ประเทศไต้หวัน และครั้งที่ 3 จัดขึ้นที่มนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ และจัดต่อมาเรื่อยๆทุก ปีเว้นปี จนล่าสุดที่กรุงเชนไน ประเทศอินเดียแห่งนี้ บรรยากาศทั่วไปของการสัมมนาฯ การสัมมนาฯครั้งนี้เจ้าภาพจัดได้ดีเยี่ยม โดยจัดคู่ขนานกับการ ประชุม Inter City ของภาค 3230 ไปด้วย โดยแยกการสัมมนาฯไปจัดที่ โรงแรม Taj Coromandel อันเป็นทีพ่ กั ของผูเ้ ข้าสัมมนาฯ ซึง่ การสัมมนาฯ ครัง้ นีม้ ผี บู้ ริหารของโรตารีสากลเข้าร่วมอย่างมากมาย อาทิ ประธานโรตา รีสากลรับเลือก รอน เบอร์ตัน/ อดีตประธานโรตารีสากลกัลยัน บาเนอร์ จี/ กรรมการบริหารโรตารีสากลเชกกา เมธาและยัช ปาล ดัช ฯลฯ สรุปสถานการณ์ของนิตยสารแต่ละฉบับ
40
Rotary Thailand
1) “Rotary Down Under” (ออสเตรเลีย-นิวซีแลนด์)เริม่ พิมพ์ ครั้งแรกเมื่อปี 1965 เป็นนิตยสารฉบับแรกที่ได้รับการรับรองจากโรตารี สากลให้เป็นนิตยสารประจ�ำภูมภิ าคอย่างเป็นทางการ ปัจจุบนั มีอาคาร 5 ชั้นเป็นที่ทำ� การของตัวเอง และยังแบ่งพื้นที่ที่เหลืออีก2 ใน 3 ให้ผู้อื่นเช่า นอกจากนั้นยังมีรายได้จากการการขายสินค้าต่างๆ อาทิ เข็มกลัดโรตารี เน็คไท อุปกรณ์เครือ่ งใช้สำ� นักงาน และยังรับพิมพ์นติ ยสารให้แก่องค์กรอืน่ อีกด้วย ปัจจุบันมียอดพิมพ์แต่ละครั้ง คือ 46,600 เล่ม/ครั้ง/เดือน ในกา รสัมมนาฯคราวนี้ส่งตัวแทนเข้าร่วม 3 คน คือ Robert J. Aitken ซึ่งเป็น บรรณาธิการตั้งแต่ยุคเริ่มแรก ปัจจุบันเป็น Executive Director/Mark Wallace บรรณาธิการ และ Des Lawson ซึ่งเป็นประธานกรรมการ บริหารนิตยสารฯ 2) “The Rotary-No-Tomo” (ญี่ปุ่น)เริ่มพิมพ์ตั้งแต่ปี 1953 ปัจจุบันมียอดพิมพ์ฉบับภาษาญี่ปุ่น 108,000 เล่ม/ครั้ง/เดือน และฉบับ ภาษาอังกฤษ(รายปักษ์)อีก 3,500 เล่มต่อครั้ง มีผู้เข้าร่วมการสัมมนา ครั้งนี้ 3คน คือ Takashi Uyeno ประธานกรรมการบริหาร / Noriko Futagami บรรณาธิการ และอีกคนเป็นล่ามภาษาญี่ปุ่น 3) “The Rotary Korea” (เกาหลี) เริ่มพิมพ์ตั้งแต่ปี 1963 ปั จ จุ บั น มี ย อดพิ ม พ์ ภ าษาเกาหลี 60,000 เล่ ม /ครั้ ง /เดื อ น ภาษา อังกฤษ(รายปักษ์) 5,000 เล่มต่อครั้ง เล่มล่าสุดฉบับภาษาอังกฤษเอา “ไซ”ศิลปินกังนัม สไตล์ขึ้นปกเล่นเอาฮือฮาแจกผู้ไปร่วมสัมมนาฯแทบ ไม่ทนั มีผไู้ ปเข้าร่วมสัมมนาฯครัง้ นี้ 3 คน คือ Oh Sin Kwon บรรณาธิการ บริหาร(Editor in Chief)/ Ji Seung Yu บรรณาธิการ(Editor)และล่าม ภาษาเกาหลี 4) “Philippine Rotary” (ฟิลิปปินส์)เริ่มพิมพ์ตั้งแต่ปี 1978 ปัจจุบนั มียอดพิมพ์ 15,000 เล่ม/ครัง้ /เดือน เพิง่ เปลีย่ นบรรณาธิการใหม่ แทนคนเก่าที่อยู่มา 14 ปี เป็น Melitio Salazar ซึ่งเป็นตัวแทนเพียงคน เดียวมาร่วมการสัมมนาฯ ครั้งนี้ด้วย นิตยสาร Philippine Rotary นี้ ผ่านอุปสรรคมาอย่างมาก จนครั้งหนึ่งถึงกับประสบกับภาวะการขาดทุน เป็นหนี้สินล้นพ้นตัว จนในที่สุดผู้ว่าการภาคกว่า 40 คนต้องลงขันและ
เริ่มทุนประเดิมให้ใหม่เมื่อ 10 กว่าปีก่อน ทั้งนี้ ก็เนื่องมาจากการเก็บ ค่าสมาชิกไม่ได้จนโรตารีสากลต้องใช้ข้อบังคับและธรรมนูญโรตารีบอก งดการติดต่อกับสโมสรเนื่องจากไม่ชำ� ระค่านิตยสาร ซึ่งปัจจุบันกลับมา อยู่ในสภาวะปกติแล้วและได้บรรณาธิการซึ่งได้พยามยามปรับปรุงรูป แบบการด�ำเนินการใหม่ 5) “The Rotarian Monthly” (ไต้หวัน)เริ่มพิมพ์ตั้งแต่ปี 1960 ปัจจุบนั มียอดพิมพ์ 11,800 เล่ม มีบรรณาธิการเจ้าประจ�ำมากว่า 27 ปี คือ Robert T. Yin ปัจจุบันอายุ 88 ปี แต่ยังคงเข้มแข็ง เข้าร่วม สัมมนาฯทุกครั้งแทบจะไม่เคยขาดเลย ภาษาอังกฤษดีมาก ที่ส�ำคัญคือ เป็นผู้ใหญ่ใจดี สร้างอารมณ์ขันให้แก่ผู้เข้าร่วมสัมมนาฯได้ตลอดเวลา และการบรรยายสรุปแกก็ทำ� แบบมืออาชีพเพราะทุกอย่างอยูใ่ นหัวหมด แล้ว(พอๆกับ Bob Aitken ของออสเตรเลีย) 6) “Rotary News/Rotary Samachar” (อินเดียและเอเชีย ใต้)เริ่มพิมพ์ตั้งแต่ปี 1952 ปัจจุบันมียอดพิมพ์ภาษาฮินดี 66,700 เล่ม/ ครัง้ /เดือน ภาษาอังกฤษ 13,000 เล่ม/ครัง้ /เดือน มี T.K. Balakrishnan เป็นบรรณาธิการบริหาร ที่ตั้งส�ำนักงานอยู่ที่กรุงเชนไน รัฐทมิฬนาดู ประเทศอินเดีย ซึ่งเจ้าภาพพาไปดูงานในสถานที่ตั้งของส�ำนักงานที่มี เจ้าหน้าที่ส่วนใหญ่ประมาณ 20 กว่าคน(ไม่รวมแผนกโรงพิมพ์)ยกเว้น กองบรรณาธิการล้วนแล้วแต่เป็นเจ้าหน้าที่ประจ�ำทั้งสิ้น 7) “Rotary Thailand” (โรตารีประเทศไทย) เริม่ พิมพ์ตงั้ แต่ ปี 1983 จ�ำนวนพิมพ์ 8,000 เล่ม/ครั้ง/ทุก2เดือน โดยมีผมซึ่งเป็น บรรณาธิการบริหาร(Editor in Chief)ไปร่วมเพียงคนเดียว น่าเสียดาย แทนบรรณาธิการท่านอืน่ ทีต่ ดิ ธุระไม่สามารถไปร่วมได้ ในการสัมมนาฯ ครั้งนี้เราได้รับการสอบถามค่อนข้างเยอะเกี่ยวกับวิธีการการจัดการใน ด้านต่างๆไม่ว่าจะเป็นด้านการเก็บค่าสมาชิกนิตยสารซึ่งของเราเก็บ ผ่านค่าบ�ำรุงภาค แต่ของทีอื่นโดยส่วนใหญ่จะเก็บผ่านสโมสรหรือบอก รับตรง/การจัดท�ำเป็นแบบ 2 ภาษา(ไทย/อังกฤษ - 70/30)ซึ่งของที่
อื่นเขาจะท�ำแยกกันไปเลย ฉบับภาษาท้องถิ่นก็ท้องถิ่นไปเลยหรือฉบับ ภาษาอังกฤษก็ภาษาอังกฤษไปเลย/การจัดองค์ประกอบหรือสัดส่วนของ เนื้อหา(composition) หรือการที่นิตยสารของเราได้รับหนังสือยกย่อง จากประธานโรตารีสากล ซากุจิ ทานากะ ฯลฯ แต่แน่ๆแม้ว่าจะไม่เกี่ยว กับนิตยสารโดยตรงก็คือการชมเชยในเรื่องของการจัดการประชุมใหญ่ โรตารีสากลทีเ่ มืองทองธานีในปีทผี่ า่ นมา จนถีงขนาดบอกว่า “The Best Forever”เลยทีเดียว 8) “The Rotarian” ซึ่งไม่ได้เป็นนิตยสารภูมิภาคแต่เข้าร่วม ในฐานะนิตยสารหลักของโรตารีทนี่ ติ ยสารภูมภิ าคจะต้องน�ำบทความบาง ส่วนที่เป็นภาคบังคับไปตีพิมพ์ในภาษาของตนเอง The Rotarian เริ่มตี พิมพ์ตงั้ แต่ปี 1911 โดย Paul P. Harris เป็นบรรณาธิการคนแรก ปัจจุบนั มียอดตีพิมพ์จ�ำนวนกว่า 500,000 เล่ม/ครั้ง/เดือน โดยในครั้งนี้มี John Rezek บรรณาธิการบริหาร(Editor in Chief) ผูม้ อี ารมณ์ดอี ยูเ่ สมอไปเข้า ร่วมด้วยตนเองพร้อมกับ Ahmed Khan เจ้าหน้าทีก่ ารเงินของโรตารีสากล ไปเข้าร่วมด้วย ทั้ง Rezek และ Khan เป็นผู้ที่มีวิสัยทัศน์ค่อนข้างกว้าง ไกล และเป็นผูใ้ ห้ขอ้ แนะน�ำทีป่ ระโยชน์มากแก่ผเู้ ข้าร่วมสัมมนาฯ อาจจะ เป็นเพราะการทีท่ งั้ สองท�ำงานอยูท่ สี่ ำ� นักงานใหญ่ซงึ่ ใกล้ชดิ กับข้อมูลและ ที่มาของนโยบายของโร.ตารีสากล และตัว John Rezek เองก็ยังเคยเป็น บรรณาธิการของนิตยสารเพลย์บอยอันเลื่องชื่อ กล่าวโดยสรุปก็คอื การสัมมนาฯครัง้ นีเ้ ป็นการสัมมนาฯทีป่ ระสบ ความส�ำเร็จอย่างดียิ่งอีกครั้งหนึ่ง ครั้งต่อไปจะจัดที่กรุงโซล ประเทศ เกาหลีในอีก 2 ปีข้างหน้า ครับ (หมายเหตุ -ของไทยเรานั้นคงอีกนาน เพราะต้องใช้ทนุ รอนค่อนข้างเยอะ โดยเจ้าภาพจ่ายให้หมดยกเว้นค่าเดิน ทางไปกลับจากประเทศตนเองแต่กไ็ ม่แน่นะครับหากมีสปอนเซอร์ใจถึงๆ หน่อยเราอาจจะขอเป็นเจ้าภาพต่อจากเกาหลีเลยก็ได้ เหมือนกับในอดีตที่ เราก็เคยจัดมาแล้วครัง้ หนึง่ ทีก่ รุงเทพเมือ่ ปี 1996 ก่อนการประชุม Rotary Asia Regional Conference น่ะครับ/บก.)
Asia Pacific Regional Magazine Editor’s Seminar Chamnan Chanruang
Asia Pacific Regional Magazine Editor’s Seminar hosted by the editor of “Rotary News” Magazine was held in Chennai, India during 27-29th of April 2013. Editors from various countries including Australia, India, Japan, Korea, Philippines, Taiwan, USA, and Thailand participated in the seminar. Rationale of Regional Rotary Magazines Regional Rotary magazines, which are currently published in 34 languages, do not come from Rotary International. They have been created by many regional Rotarians who wish to publish their magazines in order to disseminate Rotary News in their own languages. These magazines gradually evolved until they were approved by
Rotary International in 1978 when “Rotary Down Under” Magazine was certified as the first regional magazine for Australia and New Zealand. Regional magazines are approved under the condition that it will be circulated among members of more than one district or one country. The content of the magazine must be in line with the policies of Rotary International. This means that at least 50% of the articles cover Rotary or related activities. The magazine also must be published at least 4 times per year. Objectives/Goals of the Seminar The Seminar's objectives were to hear reports on the status of each magazine, to evaluate quality, to exchange
ideas and opinions, and to solve problems. The seminar's goals were to improve the quality of each regional magazine, to improve coordination between the publications, and to improve regional magazine efficiency and sustainability. Seminar Location The seminar was organized at the Inter City Meeting of District 3230 at Taj Coromandel Hotel ,Chennai,India,where delegates stayed overnight. Magazines’ situation 1) Rotary Down Under (AustraliaNew Zealand), first published in 1965, was the initial certified official regional magazine. The magazine has its own five-story office. The magazine earns additional income from selling merchandise such as Rotary pins, neck ties, office supplies. It also publishes magazines for other organizations. Rotary Down Under prints 46,600 issues per month. This magazine sent three representatives to the seminar: Robert J. Aitken, the magazine's first editor and current Executive Director; editor Mark Wallace; and Des Lawson, chair of the magazine executive board. 2) The Rotary-No-Tomo (Japan) was first published in 1953. It prints 108,000 issues in Japanese and 5000 English issues
42
Rotary Thailand
per month. The three delegates from Japan were Takashi Uyeno, chair of the magazine executive board, Noriko Futagami, editor, and a Japanese translator. 3) The Rotary Korea (Korea) was first published in 1963. It prints 60,000 Kprean and 5000 English issues per month. The latest issue cover was " Psy, Gangnam Style" that was very popular among seminar participants. The three delegates from Korea were Oh Sin Kwon, editor in chief, Ji seung Yu, editor, and a Korean translator. 4) Philippine Rotary (the Philippines) was first published in 1978. The magazine prints 15,000 issues per month in English. New editor Melitio Salazar participated in the seminar. The magazine has been through difficult times and lost money until 40 district governors raised funds to cover its debt 10 years ago. The main reason the magazine lost money was that the office could not collect membership fees. At present, the problem has been solved and the new editor will improve the situation by revising procedures. 5) The Rotarian Monthly (Taiwan) was first published since 1960. It prints 11,800 issues per month in Chinese. Robert T. Yin has been the editor for 27 years. 6) Rotary News/Rotary Samachar (India and South Asia) was first published in 1952. The total current number of issues per month in Hindi is 66,700 and in English is 13,000. T.K. Balakrishnan is the Editor in Chief. The office is located in Chennai, India. Seminar participants visited this office which consists of 20 employees, not including staff of the printing division. 7) Rotary Thailand (Thailand) was first published in 1983. The total printing number is 8,000 issues bimonthly. Chamnan Chanruang is the editor in chief who participated in the seminar. Seminar participants had many questions regarding management of magazine. One example was how to collect magazine subscriptions. The answer is that Rotary Thailand collects the subscription with the district levy. The magazine is printed in Thai/English, 70/30 which was different from others that typically separate into local language and English issues. 8) The Rotarian is the principal magazine of Rotary. Regional magazines must incorporate compulsory articles from The Rotarian into their regional magazines. The Rotarian was first published in 1911 by Paul P. Harris. The Rotarian prints 500,000 issues per month in English. John Rezek, editor in chief, participated in the seminar, together with Ahmed Khan, Rotary International financial officer. Both are visionary leaders who provided helpful advice for all delegates. They work at Rotary International Headquarters and are aware of useful policies and information. John was formerly an editor at Playboy Magazine before taking part in The Rotarian. In conclusion, this Asia Pacific Regional Magazine Editors' Seminar was very successful. The next seminar will be held in Seoul, Korea, in two years.
ศูนย์โรตารีในประเทศไทย May-June 2013
มิตรโรแทเรียนทีร่ กั ทุกท่าน นิตยสารฉบับนี้เป็ นฉบับสุดท้ายของปีโรตารี 2555-56 เนื่องจากเวลาได้ดาํ เนินมาจนเกือบจะสิน้ ปีบริหารของโรตารีอกี ปีหนึ่งแล้ว สโมสรกําลังเตรียมสรุปผลงานกิจกรรม ผูว้ า่ การภาค ก็ตอ้ งเตรียมส่งรายงานต่างๆ ไปยังโรตารีสากล ศูนย์โรตารีใน ประเทศไทยจึงขอสรุปผลงานประจําปีสนั ้ ๆ เพือ่ ให้ทกุ ท่านได้ ทราบทัวกั ่ น เริม่ จากการแปลเอกสารโรตารีต่างๆ เช่น ชุดคูม่ อื เจ้าหน้าที่ สโมสร คูม่ อื คณะกรรมการภาค คูม่ อื ผูช้ ว่ ยผูว้ า่ การภาค และ อืน่ ๆ อีกมากมาย บางส่วนได้จดั พิมพ์เพือ่ แจกฟรีโดยได้รบั การ สนับสนุ นจากโรตารีสากล บางส่วนก็จดั พิมพ์จาํ หน่ายเพือ่ ให้ โรแทเรียนได้อ่านเอกสารฉบับภาษาไทยทีจ่ ะให้ความรูโ้ รตารี แต่อย่างไรก็ตาม ท่านสามารถดาวน์โหลดเอกสารแปลทัง้ หมด ได้ฟรีท่ี www.rotarythailand.org นอกเหนือจากการไปร่วมประชุมของทุกภาคเพือ่ ช่วย ประสานงานในบางส่วนรวมทัง้ แจกจ่ายเอกสารแล้ว เจ้าหน้าที่ ของศูนย์โรตารีฯ ยังได้มโี อกาสพูดคุยให้คาํ แนะนําแก่โรแทเรียน ในเรือ่ งต่างๆ ด้วย ในช่วง 2 เดือนทีผ่ า่ นมา ศูนย์โรตารีฯ ได้ชว่ ยภาคในการ จัดเตรียมและส่งเอกสารใบสมัครสโมสรใหม่ไปโรตารีสากลให้แก่ สโมสรไม้เรียง-นครศรี, สโมสรลูกแก-กาญจนบุร,ี สโมสรอี-คลับ ภาค 3330, สโมสรกาญจนวนิช-หาดใหญ่ และทัง้ หมดก็ได้รบั ใบ ชาร์เตอร์แล้วภายใน 2 สัปดาห์ ได้ดาํ เนินการแจ้งชือ่ เจ้าหน้าที่ สโมสรปี 2556-57 ไปยังโรตารีสากล รวมทัง้ สิน้ 199 สโมสร ประสานงานกับมูลนิธโิ รตารีเพือ่ ขอคริสตัลสลักชือ่ สําหรับผู้ อัตราแลกเปลีย่ นโรตารีสากล
เดือนพฤษภาคม 2556 US$1 = 29.00 บาท
บริจาคเป็ น Major Donor 8 ราย รวมทัง้ การขอแก้ไขชือ่ ผูบ้ ริจาค ตามรายงานของมูลนิธโิ รตารีให้ถูกต้อง ประสานงานโครงการ Matching Grant 2 โครงการ ประสานกับโรตารีสากลในการ เสนอชือ่ เพือ่ ขอรับการประกาศเกียรติคณ ุ การบริการ 5 แนวทาง (Citation for 5 Avenues of Service) ให้ 10 สโมสร รวมทัง้ การแจ้งชือ่ เจ้าหน้าทีร่ บั เลือกของสโมสรอินเทอร์แรคท์และ โรทาแรคท์ดว้ ย สําหรับโครงการช่วยเหลือผูป้ ระสบภัยนํ้าท่วมทีศ่ นู ย์ฯ ช่วย ประสานงานต่อเนื่องมาตัง้ แต่ปี 2554 นัน้ ในส่วนของโครงการที่ ได้รบั เงินช่วยเหลือจากโรตารีประเทศญีป่ นุ่ ได้ทาํ รายงานปิด โครงการส่งให้โรตารีประเทศญีป่ ุน่ เรียบร้อยแล้ว แต่สาํ หรับ โครงการทีไ่ ด้รบั การสนับสนุ นจากมูลนิธโิ รตารีนนั ้ ศูนย์ฯ ยังคง ดําเนินการประสานงานโครงการต่างๆ อยู่ ในปจั จุบนั นี้ โรตารีสากลเน้นการทํางานผ่านระบบ Member Access เป็ นอย่างมากทัง้ ในเรือ่ งของการอัพเดทข้อมูลต่างๆ การแจ้งชือ่ เจ้าหน้าทีส่ โมสร รวมถึงการกําหนดเป้าหมายต่างๆ ของสโมสรผ่านเครือ่ งมือออนไลน์ทเ่ี รียกว่า Rotary Club Central การทํางานออนไลน์น้ีไม่ยากอย่างทีค่ ดิ เพือ่ ความสะดวก และรวดเร็วในการดําเนินงานของสโมสร โปรดติดต่อขอรับ คําแนะนําจากศูนย์โรตารีฯ ได้ครับ ด้วยไมตรีจติ แห่งโรตารี (อผภ.ไพโรจน์ เอือ้ ประเสริฐ) ผูว้ า่ การภาค 3360 โรตารีสากล ปี 2544-45 ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์โรตารีฯ ปี 2555-57
อผภ.ไพโรจน์ เอื้อประเสริฐ และเจ้าหน้าที ่ ศูนย์โรตารีฯ ในการประชุมใหญ่ประจําปี ของภาค 3350 โรตารีสากล ที ่ จ.นครนายก ซึง่ ในปีน้ีคณะของศูนย์โรตารีฯ ก็ได้ไปร่วม ในการประชุมใหญ่ฯ ของทัง้ 4 ภาค
ตัวเลขโรตารี ข้อมูล: ผูแ้ ทนดูแลการเงินฯ (17 เม.ย. 56) ภาค 3330 3340 3350 3360 สมาชิ ก 2,672 1,375 2,446 1,411 สโมสร 96 56 90 63
รวม
7,904 305
โรตารี ในประเทศไทย 75/82-83 อาคารโอเชี ย่ นทาวเวอร์22ชัชั้นน้ 32 32ซ.วั ซ.วัฒฒนา นา ถ.อโศก ถ.อโศก วัวัฒ ศูนศูย์นโย์รตารี ในประเทศไทย 75/82-83 อาคารโอเชี ่ยนทาวเวอร์ ฒนา นา กรุ กรุงงเทพฯ เทพฯ10110 10110 โทรสาร 0 2661 6719; info@rotarythailand.org; www.rotarythailand.org; www.rotarythailand.org; www.facebook.com/ThaiRotaryCentre โทร. 0โทร. 26610 2661 67206720 โทรสาร 0 2661 6719; info@rotarythailand.org; www.facebook.com/ThaiRotaryCentre
Rotary in Action
ชมรมโรตารี นั ก ปั ่ น จั ก รยานภาค 3480 (ไต้ ห วั น ) เดินทางมาเยือนภาค 3360 ในนามของ RFE ภาค 3480 โดย มาท�ำกิจกรรมปัน่ จักรยานร่วมกับสโมสรโรตารีแม่จนั และนักปัน่ จักรยานในอ.แม่จนั เพือ่ ประชาสัมพันธ์โครงการ POLIO PLUS (ระยะทาง 150 กม.) Rotary D3480 (Taiwan) Bike Team visited D3360 for Rotary Friendship Exchange program. Together with local Rotarians and bikers in Maechan for the completion of “End Polio Now Bike Trip” a 150 km bicycle trip which promoted Rotary Polio Plus program.
44
Rotary Thailand
Rotary in Action
15th Rotary Tongkah Family Rally โรตารีทุ่งคาแฟมิลีแรลลี ครั้งที่ 15
We're this close to ending Polio
2.
1.
4.
5.
3.
6.
7.
แถวบน 1. Melitio Salazar “Philippine Rotary” 2. Mark Wallace "Rotary Down Under" 3. John Rezek "The Rotarian" แถวล่าง 4. Noriko Futagami “The Rotary-No-Tomo” 5. T.K. Balakrishnan “Rotary News/Rotary Samachar” 6. Ji Seung Yu “The Rotary Korea” 7. Chamnan Chanruang “Rotary Thailand”