RotaryThailandMagazine_06may-jun2014-15

Page 1

R

Thailand

นิตยสารรายสองเดือน ปีที่ 31 ฉบับที่ 158 พฤษภาคม - มิถุนายน 2558 May - June 2015

โ ร ต า รี ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย w w w . r o t a r y t h a i l a n d . o r g

“รอคอยด้วยความหวัง”


วัตถุประสงค์ของโรตารี โรตารีมีวัตถุประสงค์ เพื่อสนับสนุนและส่งเสริม อุ ด มการณ์ แ ห่ ง การบ� ำ เพ็ ญ ประโยชน์ ในการ ด�ำเนินกิจกรรมที่มีคุณค่าเป็นหลัก โดยเฉพาะ อย่างยิ่งเพื่อสนับสนุนและส่งเสริม หนึ่ง การเสริมสร้างความคุ้นเคยระหว่างสมาชิก เพื่อการบ�ำเพ็ญประโยชน์ สอง การยกระดับจรรยาบรรณในธุรกิจและวิชาชีพ การยอมรับคุณค่าในการประกอบอาชีพที่ยังคุณ ประโยชน์ และการให้โรแทเรียนทุกคนภูมิใจใน อาชีพของตน เพื่อการบ�ำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคม

เรื่องที่เน้นความสำ�คัญของโรตารี (Areas of Focus)

สาม การให้โรแทเรียนทุกคน น�ำเอาอุดมการณ์ แห่งการบ�ำเพ็ญประโยชน์ไปใช้ในชีวิตส่วนตัว ธุรกิจและชุมชน

สันติภาพและการป้องกัน/การแก้ไขข้อขัดแย้ง Peace and conflict prevention/resolution

สี่ การเพิ่มพูนความเข้าใจ ไมตรีจิตและสันติสุข ระหว่างชาติ ด้วยมิตรสัมพันธ์ของบุคคลในธุรกิจ และวิชาชีพทั่วโลก ที่มีอุดมการณ์ในการบ�ำเพ็ญ ประโยชน์อย่างเดียวกัน

การป้องกันและการรักษาโรค Disease prevention and treatment

The Object of Rotary

The Object of Rotary is to encourage and foster the ideal of service as a basis of worthy enterprise and, in particular, to encourage and foster:

น�ำ้ และการสุขาภิบาล Water and sanitation สุขอนามัยของแม่และเด็ก Maternal and child health

FIRST The development of acquaintance as an opportunity for service; SECOND High ethical standards in business and professions, the recognition of the worthiness of all useful occupations, and the dignifying of each Rotarian’s occupation as an opportunity to serve society;

การศึกษาขั้นพื้นฐานและการรู้หนังสือ Basic education and literacy

THIRD The application of the ideal of service in each Rotarian’s personal, business, and community life;

การพัฒนาเศรษฐกิจและชุมชน Economic and community development

FOURTH The advancement of international understanding, goodwill, and peace through a world fellowship of business, and professional persons united in the ideal of service.

At a Glance ROTARY

Members:* 1,207,102 Clubs:* 34823

สถิติถึง 6 เมษายน (*28 กุมภาพันธ์ 2558) As of 6 April (*28 February 2015)

ROTARACT Members: 180,964 Clubs: 7,868

INTERACT Members: 414,115 Clubs: 18,005

ที่มา : the rotarian (June 2015)

RCCs

Members: 191,889 Corps : 8,343


พฤษภาคม 2558

แกรี ซี.เค. ฮวง ประธานโรตารีสากล ปี 2557-2558

มิตรโรแทเรียนที่รัก

ส่วนหนึ่งของการประชุมใหญ่โรตารี ที่ผมชอบมากก็คือบ้านมิตรภาพ ในภาษาจีน เราพู ด ว่ า 有朋自遠方來,不亦樂乎 “การมีมิตรสหายจากแดนไกลมาอยู่ร่วมกัน เป็นสิ่งที่วิเศษสุด” ในการประชุ ม ใหญ่ ป ระจ� ำ ปี ข อง โรตารีสากลครั้งที่ 106 ในระหว่างวันที่ 6 – 9 มิถุนายนนี้ บ้านมิตรภาพจะแสดงให้เห็นถึง ความตืน่ เต้นและการผสมผสานทางวัฒนธรรม ที่หลากหลายของเซาเปาโลซึ่งเป็นเมืองเจ้า ภาพ ในช่ ว งระหว่ า งการประชุ ม ทั่ ว ไป ท่านสามารถผ่อนคลายและสนุกสนานไปกับ สิ่งต่างๆ ที่บราซิลจะมอบให้ เช่น ชิมอาหาร ชมของที่ระลึกจากท้องถิ่น และชมการแสดง คุณภาพเยีย่ ม ท่านยังสามารถเสาะหาความคิด เห็นต่างๆ เพื่อการบ�ำเพ็ญประโยชน์และมอง หาผู้ร่วมโครงการได้ที่บูธแสดงโครงการต่างๆ ของโรตารีรวมทั้งกลุ่มปฏิบัติการโรแทเรียน

สารประธานโรตารีสากล

และทีด่ ที สี่ ดุ ก็คอื ท่านจะมีโอกาสได้ใช้เวลาร่วมกับเพือ่ นเก่าๆ และยัง ได้เพื่อนใหม่อีกมายมาย บ้านมิตรภาพเป็นสถานที่อันยอดเยี่ยมที่จะดึงดูดความ สนใจของแขกที่มาร่วมการประชุมใหญ่ ทั้งครอบครัวและมิตรสหาย จากบ้านเมืองของท่าน การเข้าร่วมประชุมใหญ่พร้อมกับผมท� ำให้ ครอบครัวของผมมีประสบการณ์ในความเป็นนานาชาติที่แท้จริงของ โรตารีในที่สุดแล้ว คอรินนา - ภรรยาของผมและลูกทั้ง 3 คนก็ได้เข้า ร่วมในสโมสรโรตารี ท่านและแขกของท่านอาจจะอยากมาให้เร็วขึ้นเพื่อร่วม ประชุมสุดยอด World Water Summit ครั้งที่ 7 ในวันที่ 4 มิถุนายน ซึ่งอุปถัมภ์โดยกลุ่มปฏิบัติการโรแทเรียนด้านน�้ำและการสุขาภิบาล หรือเข้าร่วมในการประชุมสันติภาพของโรตารีในวันที่ 4 – 5 มิถนุ ายน ในปี นี้ เราได้ รั บ เกี ย รติ จ าก Dr. Oscar Arias อดี ต ประธานาธิบดีของประเทศคอสตาริกา มาเป็นผู้บรรยายหลักใน การประชุ ม สั น ติ ภ าพของโรตารี ท่ า นเป็ น ผู ้ ไ ด้ รั บ รางวั ล โนเบล สาขาสันติภาพจากการเป็นผู้จัดการเจรจาตกลงสันติภาพซึ่งท�ำให้ สงครามกลางเมืองอันรุนแรงและโหดร้ายในอเมริกากลางสิ้นสุดลง มีงานประชุมอื่นๆ ในวันที่ 4 – 5 มิถุนายนด้วย คือการ ประชุมโรทาแรคท์กอ่ นการประชุมใหญ่ การประชุม International Institute และการประชุมเจ้าหน้าที่เยาวชนแลกเปลี่ยนก่อนการประชุมใหญ่ เมือ่ การประชุมใหญ่สนิ้ สุดลง ขอให้ใช้เวลาในการส�ำรวจสิง่ ทีบ่ ราซิลจะมอบให้ทา่ น หาดทรายบริสทุ ธิท์ อี่ ยูห่ า่ งออกไปไม่กชี่ วั่ โมง ความตืน่ เต้นและแสงสีของริโอเดอร์จาเนโร และมหัศจรรย์แห่งป่าฝน อเมซอน ทุกๆ ปี ผมจะกลับจากการประชุมใหญ่โรตารีพร้อมกับ แรงบันดาลใจที่จะบ�ำเพ็ญประโยชน์ในโรตารีมากขึ้นๆ ตลอดทั้งปี ลง ทะเบียนเข้าร่วมประชุมในวันนีไ้ ด้ที่ www.riconvertion.org ผมจะ รอพบทุกท่านที่เซาเปาโล !

แกรี่ ซี.เค. ฮวง ประธานโรตารีสากล ปี 2557-58


สารประธานโรตารีสากล

มิถุนายน 2558

มิตรโรแทเรียนที่รัก

เมือ่ ผมเริม่ ต้นปีโรตารีนี้ ในฐานะประธาน เหนือสิง่ อืน่ ใด ผมอยากให้พวกเราทุกคนรวมใจจุดประกายโรตารี อยากให้ทุก คนแบ่งปันมิตรภาพและประสบการณ์แสนวิเศษที่เราได้พบเห็น ในโรตารีกับคนทั่วโลก รวมทั้งการที่โรตารีได้เปลี่ยนแปลงและ ท�ำให้ชีวิตของพวกเรามีคุณค่ามากขึ้นได้อย่างไร ผมรู้ว่าการบอก กล่าวกับผู้อื่นเกี่ยวกับโรตารีนั้นจะท�ำให้เราสามารถเพิ่มสมาชิก ภาพได้มากขึน้ สร้างสโมสรทีม่ คี วามเข้มแข็งมากขึน้ และปรับปรุง ศักยภาพในการช่วยเหลือผู้ที่ด้อยโอกาสได้ดียิ่งขึ้น ในขณะทีเ่ ราได้มาถึงช่วงท้ายของปีโรตารี 2557 - 58 ผม รู้สึกเป็นเกียรติอย่างยิ่งในการตอบรับของท่านและรู้สึกขอบคุณ อยู่เสมอในการที่ท่านได้ยอมรับค�ำท้าทาย ตอบรับการเรียกร้อง ของผมในการรวมใจจุดประกายโรตารี โดยการจัดงานเฉลิมฉลอง วันโรตารีในชุมชนได้อย่างประสบความส�ำเร็จยิ่ง ท่านท�ำได้ดียิ่ง ในการบริจาคให้แก่มูลนิธิโรตารีและท�ำให้องค์กรโรตารีก้าวหน้า มากขึ้นด้วยการมีสมาชิกใหม่ๆ และสโมสรใหม่ๆ มากมาย ในตอนที่ผมเลือกคติพจน์ส�ำหรับปีที่จะเป็นประธาน โรตารีสากลนั้น ผมได้รับแรงบันดาลใจจากค�ำพูดของขงจื๊อที่ว่า “จุดเทียนเล่มหนึ่ง ดีกว่านั่งสาปแช่งความมืด” ในปีนี้ โรแทเรียนมากกว่า 1.2 ล้านคน รวมทั้งอินเทอร์ แรคเทอร์ โรทาแรคเทอร์ ผู้ร่วมโครงการเยาวชนแลกเปลี่ยนและ ผูร้ บั ทุนสันติภาพโรตารีตา่ งก็รว่ มจุดเทียนในชุมชนนับหมืน่ ๆ แห่ง แสงสว่างทีพ่ วกเราได้จดุ ประกายขึน้ มาท�ำให้เกิดความสว่างไสวที่ ฉายแสงออกไปให้ทั่วโลกมองเห็น ขอขอบคุณทุกท่านที่ให้โอกาสผมในการท�ำหน้าที่เป็น ประธานโรตารีสากลในปีนแี้ ละขอขอบคุณส�ำหรับการท�ำงานหนัก และความเสียสละอันยิ่งใหญ่ของเหล่าผู้น�ำอาสาสมัคร รวมทั้ง สต๊าฟของเรา ผมมาด้วยความคาดหวังอย่างยิ่งและพวกเขาก็ได้ ให้การตอบสนองความคาดหวังนั้น ผมขอขอบคุณมิตรสหายมากมายทีไ่ ด้พบปะในระหว่าง ปีโรตารีนี้รวมทั้งการต้อนรับอย่างดียิ่งในการเยี่ยมเยือนหลายๆ สถานที่ ผมจะจดจ�ำไว้เสมอด้วยความชืน่ ชอบอย่างยิง่ ทัง้ การร่วม ขบวนพาเหรดดอกกุหลาบของโรตารี การเฝ้าดูเด็กๆ ตีกลองญีป่ นุ่ ในวันโรตารีซึ่งเป็นวันเยี่ยมชมส�ำนักงานใหญ่ของโรตารีสากลที่ เอฟเวนสตัน และการขี่จักรยานในยามค�่ำคืนที่กรุงโคลอมโบใน 02

แกรี ซี.เค. ฮวง ประธานโรตารีสากล ปี 2557-2558

งาน Ride to Light Up Rotary รวมทัง้ งาน เฉลิมฉลองการที่ศรีลังกาปลอดจากโปลิโอ ในปีนี้ ผมได้พบเห็นพลังใหม่ๆ ใน โรตารีและรู้สึกถึงความตื่นเต้นใหม่ๆ เราได้ เห็นสุภาพสตรีและหนุ่มสาวเข้ามาร่วมกับ โรตารีมากขึ้นๆ รวมทั้งคอรินนา - ภรรยา ของผมและลูกๆ ทั้ง 3 คน ผมหวังว่าในปีหน้านี้ ท่านจะยัง คงท�ำงานอย่างดีเยี่ยมต่อไปในการรวมใจ จุดประกายโรตารี เพื่อให้เป็นของขวัญแก่ ชาวโลก

แกรี่ ซี.เค. ฮวง ประธานโรตารีสากล ปี 2557-58

Rotary Thailand 02


พฤษภาคม 2558

จอห์น เคนนี ประธานทรัสตี มูลนิธิโรตารี ปี 2557-58

เรายังมีเวลาอีกสองเดือน

เมื่ อ ย่ า งเข้ า สู ่ เ ดื อ นพฤษภาคม เรามี เ วลาเหลื อ อี ก 2 เดื อ นที่ ท ่ า น จะสามารถบริจาคเงินเพือ่ งานการกุศลของ โรตารี นั่นคือ มูลนิธิโรตารี ของเรานั่นเอง ยั ง คงมี เวลาที่ จ ะท� ำ ให้ มั่ น ใจได้ ว่าจะมีการบริจาคมากกว่าปีที่ผ่านมา เป้า หมายของเราส�ำหรับกองทุนประจ�ำปีก็คือ 123 ล้ า นเหรี ย ญสหรั ฐ ซึ่ ง เป็ น จ� ำ นวน ที่สูงสุดอย่างไม่เคยมีมาก่อน และยังคงมี เวลาทีจ่ ะท�ำให้มนั่ ใจว่าการบริจาคของท่าน จะท�ำให้มูลนิธิสามารถท�ำสิ่งดีๆ ในโลกนี้ ได้ต่อไป และท่านจะมีความพึงพอใจที่ได้ บริจาคเงินอย่างมีความหมาย เดือนพฤษภาคมอาจจะหมายถึง เหลือเวลาอีกเพียงหนึ่งเดือนก่อนที่จะมี การประชุมใหญ่ประจ�ำปีของโรตารีสากล ที่เมืองเซาเปาโลที่ประเทศบราซิล ในปีนี้ เราจะมีผบู้ รรยายทีม่ คี วามโดดเด่นในหัวข้อ

03

สารประธานทรัสตีฯ

ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ มู ล นิ ธิ ทั้ ง ในการประชุ ม ใหญ่ แ ละการประชุ ม สันติภาพของโรตารีซึ่งจะจัดขึ้นก่อนการประชุมใหญ่ นั่นคือ Dr. Oscar Arias ผู้ที่ได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ, Steve Killelea ผู้บริหารกิจการชาวออสเตรเลีย, Katia de Mello Dantas ผู้รับทุนสันติภาพโรตารี และ Geetha Jayaram ผู้ได้รับ รางวัล Global Alumni Service to Humanity Award Arias เป็นอดีตประธานาธิบดีของประเทศคอสตาริกา ในช่วงปี 2529 - 2533 และ 2549 - 2553 ได้รับรางวัลโนเบล สาขาสันติภาพในปี 2530 จากบทบาทของการเป็นสถาปนิก และผู้เจรจาสันติภาพ ซึ่งท�ำให้สิ้นสุดความขัดแย้งมากมายใน อเมริกาตะวันออก Arias ยังคงเป็นพลังแห่งการสร้างสันติภาพ จากกิจกรรมของเขาและของมูลนิธิ Arias เพือ่ สันติภาพและความ ก้าวหน้าของมวลมนุษย์ Killelea เป็นผู้บริหารกิจการชาวออสเตรเลียและเป็น ผู้ที่มีใจกุศล ซึ่งรู้จักกันดีในนานาประเทศในฐานะที่เป็นผู้พัฒนา Global Peace Index ในปี 2550 เขาได้ก่อตั้งสถาบันเพื่อ เศรษฐกิจและสันติภาพ ซึ่งเป็นเสมือนพาหนะในการสร้างความ เข้าใจในการเชื่อมโยงธุรกิจ สันติภาพ และเศรษฐกิจเข้าด้วยกัน ให้มากขึ้น Dantas ได้รับปริญญาโทในสาขานโยบายการพัฒนา ระหว่างประเทศจากมหาวิทยาลัยดุ๊ก ในปี 2552 และท�ำงาน อย่างไม่เห็นแก่เหน็ดเหนื่อยในการเป็นตัวแทนกลุ่มเด็กที่มีความ เสี่ยงในฐานะที่เป็นผู้อ�ำนวยการฝ่ายนโยบายลาตินอเมริกาและ แคริเบียนให้แก่ศูนย์ระหว่างประเทศส�ำหรับเด็กที่สูญหายและ ถูกเอาเปรียบ พบกันที่เซาเปาโล

จอห์น เคนนี ประธานทรัสตี มูลนิธิโรตารี ปี 2557-58


สารประธานโรตารีสากล

คิดถึงเป้าหมายของปีนี้ และนอกเหนือจากนี้ ในแต่ละเดือน ผมได้พยายามเน้นเรือ่ งทีม่ ลี ำ� ดับความ ส�ำคัญขององค์กรของมูลนิธโิ รตารี ซึง่ เป็นองค์กรการกุศลใหญ่ ทีส่ ดุ ของเรา มันอาจจะเป็นความคิดเห็นของผมเอง แต่หวังว่า ท่านจะเห็นว่ามีประโยชน์ เป้าหมายหลักของเราคือการขจัดโปลิโอ บางคนอาจ จะถามว่าท�ำไมเรายังคงท�ำเรือ่ งนีอ้ ยูใ่ นเมือ่ หลายๆ ประเทศไม่ ได้มผี ปู้ ว่ ยโปลิโอรายใหม่มาเป็นเวลาหลายปีแล้ว มันเป็นเรือ่ ง ส�ำคัญทีจ่ ะต้องจดจ�ำว่า เราได้ให้คำ� มัน่ สัญญาทีจ่ ะขจัดโปลิโอ ให้หมดสิ้นไป แต่เรายังท�ำไม่ส�ำเร็จ เราจะต้องด�ำเนินการต่อ ไปจนกระทั่งเราท�ำงานเสร็จสิ้นลง จนกระทั่งเด็กๆ ในโลกนี้ ปลอดจากเชื้อโรคอันน่าสะพรึงกลัวนี้ มั น เป็ น ความปรารถนาอย่ า งมั่ น คงในหั ว ใจของ พวกเราทุกคนว่าจะต้องมีสันติภาพในโลก มูลนิธิของเราได้ พยายามที่จะส่งเสริมความปรารถนานี้โดยการก่อตั้งศูนย์ สันติภาพของโรตารีในหลายๆ ส่วนของโลก มันเป็นโปรแกรม ที่มีความตรงประเด็นในช่วงเวลาที่มีปัญหามากมาย เป้าหมายกองทุนประจ�ำปีจำ� นวน 123 ล้านเหรียญ ยังคงจะบรรลุผลส�ำเร็จได้ หากยังมีการบริจาคอย่างต่อเนื่อง ในระดับนี้ โรแทเรียนทุกคนควรจะบริจาคให้แก่มูลนิธิตาม ก�ำลังของตน ในสารฉบั บ สุ ด ท้ า ย ผมขอขอบคุ ณ โรแทเรี ย น ทั้งหลายที่ได้เสียสละและสนับสนุนมูลนิธิของเราในช่วงปี ทีผ่ า่ นมาโดยการท�ำความดีในโลกนี้ ผมระลึกอยูเ่ สมอว่าโรตารี เป็นองค์กรอาสาสมัคร งานส�ำคัญที่สุดขององค์กรจะถูก กระท�ำโดยโรแทเรียนซึ่งได้ช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาสในชุมชน

04

มิถุนายน 2558

จอห์น เคนนี ประธานทรัสตี มูลนิธิโรตารี ปี 2557-58

ของตนและชุมชนต่างๆ ทั่วโลกที่อาจจะ ไม่เคยได้ไปเห็นเลยด้วย ผมรูส้ กึ เป็นเกียรติอย่างยิง่ ทีไ่ ด้รบั หน้าที่ประธานโรตารีสากลและประธาน ทรัสตีฯ ขอบคุณที่ได้ให้โอกาสนั้นแก่ผม ขอให้โปรดจ�ำไว้วา่ อนาคตโรตารี อยู่ในมือท่าน

จอห์น เคนนี ประธานทรัสตี มูลนิธิโรตารี ปี 2557-58

Rotary Thailand 04


บทบรรณาธิการ R o t a r y Tha i la n d

การอ่ า นมี ค วามส� ำ คั ญ ต่ อ มนุษย์ตงั้ แต่เกิดจนชรา การอ่านท�ำให้ ผู้อ่านได้ความรู้ ได้แง่คิด สามารถน�ำ มาไตร่ตรองและพัฒนาความคิด ช่วย ให้ผู้อ่านสามารถพัฒนาตนเอง เป็น คนรอบรู้ ทันสมัย น�ำไปพัฒนาอาชีพ พัฒนาชีวติ ให้ดขี นึ้ หรืออ่านเพือ่ ความ บันเทิง ผ่อนคลายความเครียดก็เป็น ประโยชน์ยิ่ง ดังค�ำกล่าวของ เซอร์ ฟรานซิ ส เบคอน นั ก ปรั ช ญาชาว อังกฤษ ที่ว่า “การอ่านท�ำคนให้เป็น คนโดยสมบูรณ์”

05

นพ.พรชัย บุญแสง

โลกมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว สิ่งพิมพ์ที่เป็น กระดาษมีผู้อ่านลดลงอย่างมีนัยส�ำคัญ ผู้อ่านจ�ำนวนมาก ขึ้นๆจะอ่านสิ่งพิมพ์ ข่าวสาร ความคิดเห็นผ่านทางสมาร์ต โฟน โน้ตบุ๊ค คอมพิวเตอร์ นิตยสารโรตารีประเทศไทยมีฉบับ อิเล็กทรอนิกส์ทที่ า่ นสามารถดาวโหลดได้ทเี่ ว็บของศูนย์โรตารี ประเทศไทย www.rotarythailand.org เราได้จัดส่งนิตยสารโรตารีประเทศไทยให้กับสมาชิก ทุกท่าน จากการสอบถามอย่างไม่เป็นทางการหลายๆครั้ง เรา พบว่ามีผู้สนใจอ่านจริงไม่น่าจะเกิน 20 % ในที่ประชุม DTA ของแต่ละภาค ทางกองบรรณาธิการจึงได้ออกแบบสอบถาม เพื่อทราบถึงอัตราการอ่านอย่างแท้จริง ความพึงพอใจ ความ ต้องการของสมาชิก เพือ่ จะได้นำ� มาเป็นข้อมูลส�ำหรับปรับปรุง นิตยสารของเราให้ดีขึ้นๆ ขอขอบคุณทุกท่านที่กรุณาตอบ แบบสอบถามให้ด้วยไมตรีจิตยิ่ง วันเวลาผ่านไปอย่างรวดเร็ว นิตยสารฉบับนีเ้ ป็นฉบับ สุดท้ายของปีโรตารี 2557-2558 ผู้ว่าการภาคทั้ง 4 ภาคก�ำลัง ลงจากต�ำแหน่ง ได้สร้างผลงานที่ประทับใจมากมาย อยากให้ เพือ่ นสมาชิกเปิดไปอ่าน ความรูส้ กึ และประสบการณ์ทอี่ ธิบาย ด้วยบทความสั้นๆ แต่ยิ่งใหญ่ของผู้ว่าการภาคทั้ง 4 ท่าน ผม เองอ่านแล้วได้ทั้งความรู้ ได้แรงบันดาลใจ และประทับใจยิ่ง ขอชื่นชมและแสดงความคารวะอย่างสูงแด่ผู้ว่าการ ภาคที่ยอดเยี่ยมทั้งสี่อย่างจริงใจ และขอต้อนรับ ผู้ว่าการภาค ปี 2558-2559 ทุกๆท่านด้วยความยินดียิ่ง นพ.พรชัย บุญแสง magazine@rotarythailand.org


Rotary Thailand

โรตารีประเทศไทย นิตยสารรายสองเดือน ส�ำหรับโรแทเรียน

ภาค 3330, 3340, 3350, 3360 คณะกรรมการที่ปรึกษา อผภ.วิชัย มณีวัชรเกียรติ อผภ.ธีรยุทธ์ วัฒนธีรวุฒิ อผภ.สมศักดิ์ ดุรงค์พันธุ์ อผภ.วิวัฒน์ ศิริจางคพัฒนา อผภ.อนุรักษ์ นภาวรรณ ผวภ.ขวัญชัย เลาหวิรภาพ ผวภ.รัชนี อยู่ประเสริฐ ผวภ.สุรชาติ ชื่นโชคสันต์ ผวภ.ดร.อนุสรณ์ คุณานุสรณ์ ผวล.ธีระนันท์ วงศ์หล่อ ผวล.วิวัฒน์ พิพัฒน์ไชยศิร ิ ผวล.ไชยไว พูนลาภมงคล ผวล.สุรศักดิ์ พฤกษิกานนท์

(3330) (3340) (3350) (3360) (3360) (3330) (3340) (3350) (3360) (3330) (3340) (3350) (3360)

บรรณาธิการบริหาร อผภ.นพ.พรชัย บุญแสง

(3330)

เจฟฟ์ บริดเจส ซึ่งเป็นโฆษกขององค์กรโนคิดฮังกรี พร้อมด้วยอดีตผู้ ว่าการรัฐเวอร์จิเนีย บ๊อบ แมคโดเนียล ทักทายกับนักเรียนที่โรงเรียน ประถมบาคอบ ในเมืองอลิงตั้น อ่านรายละเอียดเกี่ยวกับงานของบริด เจสในการหยุดยั้งความหิวโหยของบรรดาเด็กนักเรียนในสหรัฐฯ ได้ที่ หน้า 10

กองบรรณาธิการ อผภ.วิชัย มณีวัชรเกียรติ (3330) อผภ.ประเสริฐ ฟักทองผล (3330) ผวล.จุฑาทิพย์ ธรรมศิริพงษ์ (3330) อผภ.ชาญ จรรโลงเศวตกุล (3340) อผภ.สุชาดา อิทธิจารุกุล (3350) อผภ.ช�ำนาญ จันทร์เรือง (3360) ดนุชา ภูมิถาวร จิตราพร สันติธรรมเจริญ สถานที่ติดต่อ ศูนย์โรตารีในประเทศไทย 75/82-83 อาคารโอเชี่ยนทาวเวอร์ 2 ชั้น 32 ซ.วัฒนา ถ.อโศก วัฒนา กรุงเทพฯ 10110 c/o Rotary Centre in Thailand 75/82-83, 32/Fl., Ocean Tower II, Soi Wattana, Asok Rd., Wattana, Bangkok 10110 Tel: 02-661-6720 Fax: 02-661-6719 Mobile: 085-822-4442 Email : magazine@rotarythailand.org

06

Rotary Thailand 06


พฤษภาคม - มิถุนายน May - June 2015 ปีที่ 31 ฉบับที่ 158

สารบัญ

สารประธานโรตารี สารประธานทรัสตีฯ บทบรรณาธิการ ปฏิทินโรตารี ข่าว การศึกษา และการวิจัยในปัจจุบัน เจฟฟ์ บริดเจส กับ บิลลี่ ชอร์ Rotary in Action บทส่งท้ายผู้ว่าการภาค มุมมองโรตารี เรื่องราวดีๆ โรตารีรอบโลก การสัมมนาบรรณาธิการนิตยสารโรตารี การประชุมใหญ่โรตารีสากล การประชุมใหญ่ประจ�ำปีของภาค 3340 โรตารีรีวาไรตี้ ผลการแข่งขันชิงถ้วยรางวัลของสโมสรโรตารี ปี 2557-58 จดหมายข่าวจากศูนย์โรตารี

1-2 3-4 5 8 9 10-19 20-23 24-29 30-33 34-35 36-38 39 40-41 42 43 44

CONTENTS

ภาพจากปก ช่างภาพ : Klaus Kocher สโมสรโรตารี Koaring Fork (Glenwood Springs), Colorado, USA สถานที่ : ซาน โฮเซ่, คอสตาริกา

07


ปฏิ ทิ น โรตารี Rotary Calendar มิถุนายน : เดือนแห่งมิตรภาพโรตารี June : Rotary Fellowship Month

1 วันวิสาขบูชา

6-9 การประชุมใหญ่

20

โรตารีสากล เซาเปาโล, สถาปนาร่วมคณะกรรมการ บราซิล

บริหารสโมสร ภาค 3350

21 สั ม มนาสมาชิ ก ภาพ ภาค 3360 / ล�ำปาง

27 สัมมนาสมาชิกภาพ ภาค 3350

กรกฎาคม July

1

วันที่ เริ่มปี ใหม่ โรตารี 2558-59

30 สิ้นสุดปีโรตารี 2557-58

4DTA อินเทอร์แรคท์ & โรทาแรคท์ ภาค 3330 ตอนล่าง/สุราษฎร์ธานี

20 สัมมนาโครงการบริการ/ ประชาสัมพันธ์ ภาค 3350 25 DTA อินเทอร์แรคท์ & โรทาแรคท์

30 วันอาสาฬหบูชา

ภาค 3330 ตอนบน/ราชบุรี

31 วันเข้าพรรษา 08

การประชุม RI ครั้งต่อไป Next RI Convention 2016 กรุงโซล, เกาหลี (Seoul, Korea) 2017 เมืองแอตแลนตา, สหรัฐอเมริกา (Atlanta, USA) 2018 เมืองโทรอนโต, แคนาดา (Toronto, Canada)

Rotary Thailand 08


ข่าว การศึกษา และการวิจัยในปัจจุบัน อผภ.นพ.วีระชัย จ�ำเริญดารารัศมี ภาค 3360 / แปล

Forgiveness : การให้อภัย เป็นที่ทราบกันดีว่า หลังจากเกิดข้อขัดแย้งและมี

การให้อภัยกันและกัน จะท�ำให้เกิดความสัมพันธ์ที่ดี และ ชีวิตที่เป็นสุข ผลงานวิจัยด้านจิตวิทยาทางสังคมและ วิทยาศาสตร์บุคลิกภาพ (Social Psychological and Personality Science) แนะน�ำว่า การบดบังความรู้สึก เจ็บปวด จะมีผลกระทบทางกายภาพของบุคคล จากการ ทดลองตรวจสมรรถภาพของร่างกาย (fitness test) พบ ว่า ผู้ที่สามารถให้อภัยต่อการกระท�ำผิดที่เพิ่งเกิดขึ้น จะ กระโดดได้สูงกว่าผู้ที่ไม่สามารถให้อภัย เชื่อว่าการให้อภัย จะท�ำให้บุคคลรู้สึกโล่งอก

Summer jobs : การท�ำงานในภาคฤดูร้อน การท�ำงานในภาคฤดูร้อนสามารถป้องกันความ รุนแรงในกลุ่มนักศึกษาได้ มหาวิทยาลัยเพนซิวาเนียและ มหาวิทยาลัยชิคาโกได้ท�ำการทดลองในห้องปฏิบัติการ ด้านอาชญวิทยา กับกลุ่มนักศึกษาวัยรุ่น จ�ำนวน 1,634 คน จากโรงเรียนที่มีปัญหาเรื่องความรุนแรงสูง 13 แห่งใน เมืองชิคาโก โดยให้นกั ศึกษาท�ำงานในภาคฤดูรอ้ น มีรายได้ และมีอาจารย์ที่ปรึกษา พบว่าสามารถลดความรุนแรงได้ ร้อยละ 43 เป็นเวลานานกว่า 16 เดือน เมื่อเปรียบเทียบ กับกลุ่มควบคุมพบว่าเหตุการณ์รุนแรงลดลงเกือบสี่ส่วน จากนักศึกษาจ�ำนวนร้อยคน

Sierra Leone : ที่ เซียร่า ลีโอน

มีอัตราการเสียชีวิตของแม่และเด็กเล็กสูงที่สุดใน โลก นักวิจัยจากมหาวิทยาลัย ไชน่า จิริน (China’s Jilin University) ได้ส�ำรวจความรู้ความเข้าใจและแนวทางการ ปฏิบัติตนที่สัมพันธ์กับวิธีดูแลสุขภาพของแม่และเด็ก ใน หญิงชนบท จ�ำนวน 244 คน พบว่า มารดาร้อยละ 56 ไม่

09

ทราบว่าจ�ำเป็นต้องให้สารละลายทดแทนแก่เด็กเล็กที่มี อาการท้องเดิน ร้อยละ 70 ไม่ตระหนักว่าการป้องกันโรค หัดทีด่ ที สี่ ดุ คือการฉีดวัคซีนป้องกันหัด และร้อยละ 12 ไม่รู้ จักสามวิธีส�ำคัญ ที่ใช้ป้องกันการติดต่อของโรค HIV

1 percent : 1 เปอร์เซ็น จากรายงานล่าสุดของ อ๊อกแฟม (Oxfam) กล่าวว่า ทรัพย์สิน ความมั่งคั่งที่มีอยู่ในโลกทั้งหมด เกือบครึ่งหนึ่ง ถูกครอบครองโดยประชากรโลก จ�ำนวนร้อยละ 1 เท่านั้น และจะแบ่งปันกันเป็นผูค้ รอบครองไปๆ มาๆ มากกว่าร้อย ละ 50 ภายในระยะเวลา 2 ปี ส่วนร้อยละ 20 ของผู้ร�่ำรวย ทีส่ ดุ ในโลก เป็นผูค้ รอบครองทรัพยากรส่วนใหญ่ในอีกครึง่ หนึ่งที่เหลือ โดยประชากรโลกจ�ำนวนร้อยละ 80 แบ่งปัน กันครอบครองทรัพยากรส่วนนีเ้ พียงร้อยละ 5.5 ทีน่ า่ สนใจ 80 คนทีม่ ฐี านะมัง่ คัง่ ร�ำ่ รวยทีส่ ดุ ในโลก มีทรัพย์สนิ เพิม่ ขึน้ เป็นสองเท่า ในปี ค.ศ.2009 ในขณะทีป่ ระชากรจ�ำนวน 3.5 พันล้านคน มีทรัพย์สินรวมกันไม่ถึงครึ่งหนึ่งของทรัพย์สิน ทั้งโลก


เจฟฟ์ บริดเจส กับ บิลลี่ ชอร์ ส�ำหรับประเทศที่มั่งคั่งที่สุดในโลก การแก้ไขปัญหาความหิวโหย มิใช่เป็นเรื่องเกี่ยวกับ อาหารเท่านั้น โดย เควิน คุก อน.สุรกิจ เกิดสงกรานต์ สร.บางเขน/แปล

10

Rotary Thailand 10


สามสิบก่อน บิลลี่ ชอร์นั่งบีบแตรอยู่ในรถท่ามกลางสภาพการจราจรที่คับคั่งของกรุงวอชิงตัน ดีซี เขา เป็นนักการเมืองหนุ่มไฟแรง และเร่งท�ำงานเพื่อช่วยผู้คนและหวังจะท�ำให้โลกนี้ดีขึ้น เขามุ่งมั่นที่จะช่วย เจ้านายของเขาซึ่งขณะนั้นเป็นวุฒิสมาชิกที่มีอุดมการณ์สูงส่งจากรัฐโคโลราโดชื่อ แกรี่ ฮาร์ท เพื่อชิง ต�ำแหน่งประธานาธิบดีในสมัยที่กำ� ลังจะมาถึง แต่ความหวังนี้พังทลาย หายวับไปทันทีที่มีข่าวแพร่ออก มาถึงพฤติกรรมทางเพศของแกรี่ ถึงกระนั้นก็ตามสภาพการจราจรในวันนั้นก็ส่งผลให้เกิดอะไรดี ๆ บาง อย่างให้เกิดขึ้นกับโลกใบนี้ ตอนที่ติดอยู่บนถนน ชอร์เหลือบเห็นข่าวหน้า หนึ่งในหนังสือพิมพ์วอชิงตันโพสต์ เป็นเรื่องเกี่ยวกับความ อดอยากในแอฟริกาที่กลายเป็นแรงบันดาลใจให้วงดนตรี ป๊อปชื่อดัง "แบนด์เอด" บันทึกเพลง "Do thay Know It's Christmas? (พวกเขารู้ไหมว่าวันคริสต์มาถึงแล้ว)" แล้ว สามารถหาทุนจากเพลงนี้ได้ถึง ๒๔ ล้านเหรียญสหรัฐ เพื่อ น�ำเงินไปใช้บรรเทาความหิวโหยของคนในแอฟริกา และนัก ดนตรียังไม่หยุดแค่นั้น เขายังตรึงความสนใจของชาวโลกไว้ กับพวกเขา ชอร์ได้อ่านบทความนั้นจนจบ เขารู้แล้วว่าแตร ทีบ่ บี ต่อไปนัน้ ไม่ใช่บนนถนนทีม่ กี ารจราจรคับคัง่ นี้ แต่เขาจะ บีบแตรเพื่อขับไล่ความยากจน ชอร์กบั น้องสาว เดบบีร้ ว่ มกันก่อตัง้ องค์กรการกุศล ที่ชื่อว่า "ร่วมพลังกับเรา (Share Our Strength)" ในปี พ.ศ. ๒๕๒๗ ด้วยเงินที่กดจากบัตรเครดิตของชอร์ แล้วก็เริ่มสุ่ม โทรศัพท์ขอเงินบริจาคจากบรรดาวุฒิสมาชิก ซีอีโอบริษัท ใหญ่ ๆ และพวกดาราที่อยู่ในแคปปิตอลฮิล มีนักเขียนคน หนึ่งร่วมลงขัน เขาคือสตีเว่น คิง พี่ ๆ น้อง ๆ ของเขาก็ช่วย กันหาทุนเพื่อเป็นทุนในการตั้งธนาคารอาหารหรือมอบให้ องค์กรการกุศลอื่น ๆ ทั่วโลก แต่ไม่นานนักพวกเขาก็รู้สึก ว่าการท�ำงานไม่ได้คืบหน้านัก "วิธีการของเราชัดเจน ง่าย แต่มันเป็นวิธีที่ผิด" ชอร์เล่าความทรงจ�ำของเขา ปัญหาคือ ความหิวโหยนัน้ เป็นอาการหนึง่ ทีแ่ สดงออก มาจากปัญหาทีใ่ หญ่กว่า นัน่ คือความยากจน การยืน่ อาหาร ให้คนหิวนั้นก็เหมือนกับการเอาพลาสเตอร์ปิดแผลที่ไม่ได้ รักษาบาดแผล (ด้วยพลาสเตอร์) ด้วยเหตุนี้เขากับน้องสาว จึงเปลีย่ นวิธกี ารใหม่ ด้วยความเชือ่ ว่านักสูท้ ฉี่ ลาดต้องเลือก สังเวียนที่เขาเป็นต่อ ชอร์ในฐานะซีอีโอขององค์กรการกุศล แห่งนี้เลือกเพ่งไปที่ปัญหาความหิวโหยของเด็กในอเมริกา จากนั้นมาโครงการ "ร่วมพลังกับเรา" ได้หาทุน มากถึง ๔๐๐ ล้านเหรียญสหรัฐ และน�ำไปใช้ในโครงการ 11

จัดหาอาหารและต่อสู้กับความยากจนในสหรัฐอเมริกา ยูเอสนิวส์แอนด์เวิร์ลด์รีพอร์ทเสนอชื่อชอร์เป็นหนึ่งในผู้น�ำ ทีด่ ที สี่ ดุ ในอเมริกา ตามด้วยรายได้ของกลุม่ เพิม่ ขึน้ จาก ๑๓ ล้านเหรียญในปี ๒๕๕๐ เป็น ๔๐ ล้านเหรียญ ในปี ๒๕๕๖ ชอร์เปรียบพันธกิจของเขาเหมือนเกมฟุตบอล ค่อย ๆ ชนะ ไปทีละสนาม จนในที่สุดบรรลุเป้าหมายแชมป์ ของเล่นชิน้ ใหญ่ทสี่ ดุ ทีเ่ ขาได้มาคือการได้นกั แสดง ระดับรางวัลออสก้า เจฟฟ์ บริดเจสมาเป็นกองหลังของ ทีม โนคิดฮังกรี (No Kid Hungry - ต้องไม่มีเด็กอดอยาก) โครงการที่ช่วยป้อนอาหารให้กับเด็กนักเรียนนับล้านคนใน โรงเรียนต่าง ๆ ทั่วสหรัฐ บุคลิกที่เต็มไปด้วยความอบอุ่น ของบริดเจสเป็นโอสถอย่างดีที่ช่วยบ�ำบัดความหิวและเติม ความรักให้กับเด็กนักเรียนประถมทั้งหลายในโครงการ แต่ ก็ไม่วายจะมีเสียงส่อเสียด มีคนบางกลุ่มวิจารณ์ว่าเขาเป็น คนไม่รกั ชาติ ทีอ่ อกมาเรียกร้องความสนใจจากสังคมถึงเรือ่ ง ความไม่เท่าเทียมกันในสังคม แต่บริดเจสโต้ตอบว่า "นัน่ เป็น ความคิดทีผ่ ดิ " เขายืนยันว่า สิง่ ทีเ่ ขาท�ำนัน้ คือ "ความรักชาติ อย่างยิ่ง เพราะการปล่อยให้เด็กอเมริกันหนึ่งในห้าคนต้อง ต่อสู้กับความหิวโหยนั้น คือความไม่รักชาติ" บริดเจสกับ ชอร์ร่วมกันเล่าแบ่งปันประสบการณ์ท�ำงานในโครงการ "โนคิดฮังกรี" ให้กับเควิน คุ๊ก นักเขียนประจ�ำของนิตยสาร เดอะโรแทเรียน เดอะโรแทเรียน : คุณสองคนเข้ามาอยูท่ มี เดียวกันได้อย่างไร บริดเจส : บิลลี่กับผมพบกันเมื่อห้าปีที่แล้ว ตอนนั้นผม ท�ำงานให้กับแนวร่วมต่อต้านความหิวโหย เราอยู่ที่เมือง โกเลตต้า รัฐแคลิฟอร์เนีย ใกล้ ๆ กับบ้านเกิดผมที่ซานตา บาบาร่า ที่ค่ายฤดูร้อน (ที่นี่เด็ก ๆ สามารถรับแจกอาหาร กลางวันได้ตอนที่โรงเรียนปิดเทอม) เราเริ่มจากการพูดคุย กันถึงโครงการที่เกี่ยวข้องกับเด็กหิวโหย จนถึงเรื่องอาหาร เพื่อสุขภาพ และสรุปร่วมกันว่าปัญหาความหิวโหยในเด็ก


นัน้ เป็นปัญหาทีแ่ ก้ไขได้ องค์กร "โนคิดฮังกรี" ทีบ่ ลิ ลีก่ ำ� ลังก่อ ตั้งขึ้นเพื่อหยุดปัญหาความหิวโหยในเด็กในประเทศอเมริกา จุดนี้เราเห็นว่าเป็นโอกาสที่เราจะท�ำงานด้วยกันได้ เดอะโรแทเรียน : ปัญหาต่าง ๆ ในโลกมีมากมายที่น่าแก้ไข ท�ำไมคุณเลือกปัญหานี้ ชอร์ : ตอนที่ผมกับเดบบี้เริ่มท�ำโครงการ "ร่วมพลังกับเรา" และเริ่มหาทุนเข้ามาในราวกลางทศวรรษ ๑๙๘๐ เราน�ำเงิน ไปลงทุนในองค์การไม่แสวงหาก�ำไรเพื่อต่อสู้กับความหิวโหย ไม่นานนักเราได้รับผลตอบแทนที่น่าพอใจอย่างยิ่ง กล่าวคือ แม้เราตัง้ ใจทีจ่ ะท�ำให้เกิดความแตกต่าง แต่เราก็สามารถท�ำให้ ได้มากกว่านั้น และเกิดการเปลี่ยนแปลงที่มั่นคง ด้วยการจัด ท�ำแผนกลยุทธ์ที่ถูกต้อง เราเชื่อว่าปัญหาเด็กหิวโหยจะหมด ไปจากอเมริกา เรามีอาหารเพียงพอในประเทศนี้ ที่ต้องท�ำ คือเชื่อมโยงเด็กที่ขาดอาหารไปสู่แหล่งอาหาร นี่คือเหตุผลที่ โครงการ "โนคิดฮังกรี" เกิดขึ้น บริดเจส : ผมสนับสนุนงานเพื่อเด็กมามากกว่า ๓๐ ปีแล้ว ในปี พ.ศ.๒๕๒๗ ผมเจอหน่วยงานที่ชื่อว่า เครือข่ายหยุด ความหิวโหย เป็นองค์กรไม่แสวงหาก�ำไรที่จัดหาอาหารให้ เด็กทัว่ โลก เราช่วยท�ำรายการทีวชี อื่ "เอนด์ฮงั เกอร์เทเลเวนท์" (ทีวีข่าวเพื่อหยุดความหิวโหย) ถ่ายทอดสด ๆ โดยเน้นที่ ปัญหาความอดอยากทั่วโลก มีดาราดังมาร่วมรายการด้วย อาทิ เกรกอรี เปก แจ็ค เลมมอน เบิร์ต แลนคาสเตอร์ 12

บ๊อบ นิวฮาร์ท เคนนี่ ลอกกินส์ และดาราอีกหลายคน นอกจาก นีผ้ มยังท�ำภาพยนต์เกีย่ วกับความอดอยากทีช่ อื่ "ฮิดเด้นอินอเม ริกา" (มันซ่อนอยู่ในอเมริกา) มีดาราน�ำคือ โบ เป็นพี่ชายผม เอง จากนัน้ ประมาณปี ๒๕๕๑ ซึง่ เป็นปีทเี่ ศรษฐกิจเริม่ ไม่คอ่ ย ดี ผมก็เลยต้องถอยกลับมาสนใจเรือ่ งปากท้องของคนแถวบ้าน ก่อนแทน ตอนนั้นผมหยั่งไปไม่ถึงเด็กนับล้านในประเทศมั่งคั่ง นี้ ประเทศที่กินเท่าไหร่ก็ไม่พอ เดอะโรแทเรียน : เวลาคนอเมริกันคิดถึงความอดอยาก พวก เราคิดถึงคนหิวโหยในประเทศก�ำลังพัฒนา แล้วหน้าตาของ เด็กหิวโหยในอเมริกาเป็นอย่างไร ชอร์ : ก็หน้าตาอย่างคนปกตินี่แหละ เขาอาจเป็นเด็กชายนั่ง ในห้องเรียนใกล้ ๆ ลูกชายของคุณ หรือเด็กหญิงที่อยู่ในทีม ฟุตบอลเดียวกับลูกสาวคุณ พวกเขาอาจนั่งอยู่บนม้านั่งสอง สามแถวห่างจากคุณในโบสถ์ เมือ่ ก่อนนีก้ ลุม่ คนยากจนรวมตัว กันอยูใ่ นชุมชนใกล้บา้ นเรา แต่เดีย๋ วนีค้ นยากจนและคนหิวโหย อาศัยอยู่ในทุกชุมชนอเมริกัน มีทั้งในชนบท ในเมืองใหญ่และ

Rotary Thailand 12


แม้แต่ในเมืองหลวง บริดเจส : พวกเด็ก ๆ ที่เราพยายามให้ความช่วยเหลือ อาจ ดูเหมือนขาดแคลน แต่พวกเขามีความฝันเหมือนเด็กทั่วไป บางคนบอกผมว่าเขาต้องการเป็นหมอ เป็นสถาปนิก เป็นนัก ข่าวกีฬา หรือบางคนอยากเป็นประธานาธิบดี นี่คือสาเหตุที่ พวกเขาควรจะต้องได้รับอาหารที่ถูกสุขลักษณะทุกวัน เพื่อ จะเตรียมพร้อมแข่งขันกับเด็กอื่น ๆ และท�ำความฝันของตัว เองให้เป็นจริง เดอะโรแทเรียน : อุปสรรคข้างหน้ามีอะไรบ้าง ชอร์ : คนมักมองปัญหาความอดอยากว่าเป็นประเด็นทีไ่ ม่มี อยู่จริง หรือไม่ก็เป็นปัญหาที่กว้างใหญ่เกินไปที่จะแก้ไขให้ หมดสิ้น ช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมานี้คนเริ่มตื่นตัวกับปัญหานี้ และ ถึงเวลาที่เราต้องเร่งแก้ เพื่อว่าลูกหลานของเราไม่ว่าจะเป็น หญิงหรือชายจะได้รบั อาหารทีด่ ตี อ่ สุขภาพทุก ๆ วัน เราต้อง สร้างเครือข่ายผูน้ �ำทางธุรกิจ นักการเมือง ผูบ้ ริหารโรงเรียน ผู้ ปกครอง และผูใ้ ห้บริการสาธารณสุข องค์กรไม่แสวงหาก�ำไร และประชาชนผูใ้ ส่ใจในประเด็นนี้ ร่วมกันเสียสละเพือ่ ให้เกิด การเปลี่ยนแปลงที่แท้จริง เดอะโรแทเรียน : อะไรคือแรงกระตุ้นของคุณส�ำหรับงานใน อนาคตอันใกล้นี้ ชอร์ : มันเกิดจากแรงผลักดันจากทุกส่วนของประเทศ นับ ตัง้ แต่ปี พ.ศ.๒๕๕๓ เด็กมากกว่าสองล้านคนอยูใ่ นรายชือ่ ของ เด็กที่ได้รับอาหารเช้าที่โรงเรียน ตอนนี้กว่าครึ่งของเด็กที่มา จากครอบครัวยากจนก�ำลังได้รบั อาหารมือ้ ส�ำคัญของวันก่อน ที่พวกเขาจะเข้าเรียน เด็ก ๆ หาโอกาสทานอาหารเช้าแบบ เต็มที่ไม่ค่อยได้เวลาโรงเรียนปิดภาคเรียน ดังนั้นเราจึงต้อง ต่อสูผ้ า่ นสภาเพือ่ ผ่านนโยบายทีจ่ ะแจกจ่ายอาหารในช่วงปิด ภาคเรียนฤดูร้อนด้วย บริดเจส : ดูตัวอย่างที่ลอสเองเจลลิส เมื่อสามปีที่แล้ว โรงเรียนในเมืองต่างผลักดันแผนตัดอาหารเช้าออกจากโรง อาหารในโรงเรียน แล้วให้มาเสริฟในห้องเรียนก่อนเข้าเรียน สักสองสามนาที ซึ่งเป็นความพยายามที่จะให้เด็กทุกคนได้ รับความสะดวกในการรับสารอาหารทีเ่ หมาะสมทุกเช้า ตอน เริ่มแรกมีเพียงร้อยละ ๒๙ ของเด็กจากครอบครัวรายได้ต�่ำ เท่านั้นที่ได้ทานอาหารเช้าในโรงเรียนในเมืองลอสเองเจลลิส เมื่อปลายปีที่ผ่านมา ๙ ใน ๑๐ ของเด็กได้รับอาหารเช้าแล้ว จากร้อยละ ๒๙ มาเป็นร้อยละ ๙๐ นัน่ นับเป็นความก้าวหน้า ก้าวใหญ่จากการตัดสินใจง่าย ๆ ครั้งเดียว

13

เดอะโรแทเรียน : อาหารเช้าในโรงเรียนสร้างความแตกต่าง ให้เกิดขึ้นได้มากขนาดไหน บริดเจส : เป็นความจริงที่ว่าอาหารเช้านั้นเป็นมื้ออาหาร ที่ส�ำคัญที่สุดส�ำหรับเด็ก เพราะเราก�ำลังพูดถึงอาหารเพื่อ สมอง คุณครับ เชื่อไหมว่าผมเคยได้ยินว่าอาหารมื้อสุดท้าย ของเด็กนักเรียนคนหนึง่ ทีม่ าโรงเรียนในวันนี้ คืออาหารกลาง วันจากโรงเรียนเมื่อวานนี้ ถ้าเด็กนักเรียนต้องมัวพะวงว่าจะ หาอะไรใส่ท้อง เขาจะมีใจใส่ในบทเรียนคณิตศาสตร์อย่างไร ครูเล่าให้พวกเราฟังว่าเด็ก ๆ ที่ท้องหิว มักมีปัญหาในการ ตั้งใจเรียนและมีพฤติกรรมที่เป็นปัญหา หรืออาจปวดท้อง ปวดหัว ต้องไปห้องพยาบาล ปัญหาเหล่านี้เกิดขึ้นหากเด็ก มาโรงเรียนอย่างท้องว่าง พวกเขาเรียนรู้อะไรไม่ได้มากนัก ตอนนี้ผมเห็นแล้วว่า เราต้องลงทุนเพื่อให้เด็กได้ ทานอาหารเช้า เมื่อเด็ก ๆ มีอาหารทานเพียงพอ พวกเขา พร้อมที่จะเรียน และจะโตขึ้นเป็นคนที่แข็งแรงและมีสติ ปัญญา เรือ่ งแรกทีเ่ ราท�ำได้ตอนนีค้ อื ท�ำให้อาหารเช้าเป็นส่วน หนึ่งของชีวิตนักเรียนในโรงเรียนโดยเฉพาะโรงเรียนของคน ยากจน อาหารเช้าไม่ควรรับก่อนมาโรงเรียน แต่ให้หลังจาก ที่ระฆังแรกของโรงเรียนดังแล้ว ถ้าท�ำได้อย่างนี้เด็กนักเรียน ไม่ต้องกลัวว่าจะมาโรงเรียนสายเพราะต้องทานอาหารเช้าที่ บ้านก่อน จะไม่มใี ครดูหมิน่ นักเรียนยากจนทีท่ านอาหารเช้า ฟรีในโรงอาหาร แต่นกั เรียนทุกคนทานเหมือนกันในห้องรวม เช้าหรือคาบแรกของการเรียน ชอร์ : ข้อดีอีกอย่างคือ สิ่งที่เราท�ำนั้นเป็นผลดีกับระบบ การเมืองของประเทศโดยรวม ความส�ำเร็จของเราช่วยเปลีย่ น ความคิดของประชาชนทีห่ มดหวังในรัฐบาล เมือ่ บรรดาผูน้ ำ� ช่วยเราให้เข้าถึงบรรดาเด็ก ๆ ที่เป็นประเด็นเปราะบางที่สุด มันแสดงให้เห็นว่าเราได้เข้าถึงส่วนผสมส�ำคัญของความฝัน ของชาวอเมริกนั ความฝันทีจ่ ะท�ำให้คนรุน่ ต่อไปมีความเป็น อยู่ดีกว่ารุ่นของเรา เดอะโรแทเรียน : การต่อสูก้ บั ความหิวโหย ตลอดเวลาทีผ่ า่ นมา มีช่วงเวลาใดที่โดดเด่นที่สุด บริดเจส : ปีทแี่ ล้วผมได้พบกับผูบ้ ริหารสถานศึกษาต่าง ๆ ทีม่ า จากอาร์คันซัส ผมกระตุ้นให้พวกเขาลองหาวิธีที่สร้างสรรค์ เพือ่ ช่วยเด็กทีข่ าดแคลนอาหารได้รบั อาหารทีม่ คี ณ ุ ค่า ผลจาก การพูดคุยกัน โครงการ "โนคิดฮังกรี รัฐอาร์คนั ซอ" ทีม่ โี รงเรียน กว่า ๔๐๐ แห่งเข้าร่วมโครงการเสริฟอาหารเช้าในโรงเรียน เมือ่ โรงเรียนเปิดเทอมใหม่ เด็กนับพันในรัฐนัน้ ได้ทานอาหาร


เช้าทีเ่ หมาะสมกับวัยของเขา ผมรูส้ กึ ตืน่ เต้นทีท่ ราบว่าเราได้ รับการตอบรับดีที่ซานตา บาบาร่าบ้านผมด้วย เด็กที่นี่เกือบ หนึง่ ในสีต่ อ้ งต่อสูก้ บั ความหิวโหยในช่วงโรงเรียนปิดเทอม เรา ก็เลยเอาเด็ก ๆ มาเล่นคอนเสิรต์ ในช่วงพักฤดูรอ้ น เพือ่ ให้คน ตระหนักถึงความส�ำคัญของโครงการนี้ เดอะโรแทเรียน : เจฟฟ์ ผมเห็นดาราส่วนใหญ่แสดงและสร้าง ชือ่ เสียงเพือ่ ผลตอบแทนทีเ่ หมาะสม แต่คณ ุ กระโดดข้ามออก ไปตามทีต่ า่ ง ๆ ในประเทศ คุยกับผูบ้ ริหารโรงเรียน เทศมนตรี และผู้ว่าการรัฐ เกี่ยวกับเรื่องอาหารเช้าโรงเรียน บริดเจส : คือว่า ผมไม่ชอบท�ำอะไรแบบเหยาะแหยะ ผม ต้องการท�ำอะไรที่เป็นการเริ่มต้นโลกทัศน์ใหม่ ดังนั้นผม ต้องกะเกณฑ์ให้ใช้เวลาอย่างมีประสิทธิภาพ ผมมีฐานการ ท�ำงานที่ดีเพราะรู้จักกับสื่อมวลชนมาก จึงไม่แปลกที่ผมจะ ใช้ประโยชน์จากฐานนี้เพื่อให้ความรู้และโน้มน้าวผู้คน ผม พบว่าบรรดาผู้บริหารโรงเรียน นายกเทศมนตรีและผู้ว่าการ รัฐทัง้ หมดอยากได้ยนิ สิง่ ทีผ่ มจะพูด เมือ่ ตอนทีผ่ มพบกับคุณ บิลลี่ ชอร์ ผูค้ นต่างแปลกใจกับความก้าวหน้าทีเ่ กิดขึน้ ในเมือง และรัฐต่าง ๆ และไม่มีใครอยากหลุดจากกระแสการพัฒนา นี้ ผมได้พบกับผู้ว่าการรัฐมอนทานา โคโลราโด แมรีแลนด์ เวอร์จิเนีย วอชิงตัน โอเรกอน เนวาดา และอาร์คันซอ ผม หวังว่าจะได้พบกับผูว้ า่ การรัฐแคลิฟอร์เนีย เจอร์รี่ บราวน์และ นายกเทศมนตรีบิลล์ เดอ บลาซิโอ จากเมืองนิวยอร์ค เพื่อ ปลุกเร้าให้เขาน�ำโครงการอาหารเช้าของเราเข้าไปสูห่ อ้ งเรียน ในชุมชนต่าง ๆ ที่เขาดูแล เดอะโรแทเรียน : คุณบิลลี่ ผลที่ได้จากโครงการหยุดความ หิวโหยนั้นมีอะไรนอกจากจัดหาอาหารให้ประชาชนบ้าง ชอร์ : มีครับ เกี่ยวข้องกับความยั่งยืน การจัดหาอาหารให้ ประชาชนนัน้ หยุดความหิวโหยได้มอื้ หนึง่ หรือวันหนึง่ แต่การ หยุดความหิวโหยนั้นหมายถึงการจัดระบบที่มีหลักประกัน ว่าเด็ก ๆ จะมีอาหารที่คนต้องการรับประทานสามมื้อทุกวัน มันเป็นความแตกต่างระหว่างการใช้พลาสเตอร์ปิดแผลกับ การรักษาบาดแผล เดอะโรแทเรียน : จะให้คนอาสามาช่วยคุณได้อย่างไร ชอร์ : พวกเขาสามารถเข้าไปดูรายละเอียดจากเว็บไซท์ nokidhungry.org และร่วมเป็นหนึ่งในเครือข่าย "ต้องไม่มี เด็กอดอยาก" สนับสนุนงานของโครงการ สร้างจิตส�ำนึกใน ประเด็นความหิวโหยให้แก่สมาชิกในชุมชนของเขา ผมเชื่อ ว่าทุกคนท�ำได้ 14

Rotary Thailand 14


ความอดอยากในอเมริกา : มองผ่านตัวเลข าวอเมริกนั นับล้านครัวเรือนประสบกับความไม่มนั่ คงทางอาหารในปีทผี่ า่ นมา นัน่ หมายความว่าพวกเขาไม่สามารถเข้าถึงอาหารที่ ต้องการอย่างสม�่ำเสมอ กระนั้นประเทศนี้ยังมีคนเป็นจ�ำนวนมากมีปัญหาเป็นโรคอ้วน และอาหารเป็นจ�ำนวนมากที่มีปลายทางที่ ถังขยะ เป็นไปได้อย่างไรว่าประเทศที่อุดมสมบูรณ์อย่างยิ่ง ยังมีเด็กที่ขาดแคลนอาหาร เราได้เก็บตัวเลขเพื่อประกอบพิจารณาประเด็น ปัญหา ดังนี้ หนึง่ ในเจ็ดครัวเรือนอเมริกนั ยังมีปญ ั หาความไม่มนั่ คง ทางอาหาร ในปี พ.ศ.๒๕๕๖ ร้อยละ ๑๔.๓ ของประชากรอเมริกนั หรือประมาณ ๔๙ ล้านคน นับรวมเด็ก ๑๕.๗ ล้านคน มีความ ล�ำบากในการเข้าถึงแหล่งอาหารอย่างเพียงพอ คนอเมริกันประมาณ ๒๓.๕ ล้านคน ใช้ชีวิตอยู่ใน แหล่งทะเลทรายอาหาร ครึง่ หนึง่ ของคนจ�ำนวนนีเ้ ป็นคนยากจน ทะเลทรายอาหารคือสภาพทางภูมศิ าสตร์ทที่ ำ� ให้การเข้าถึงอาหาร ที่มีคุณค่าถูกจ�ำกัด หรือไม่มีทางเข้าถึง เพราะร้านค้าหรือร้าน ของช�ำต่าง ๆ เหล่านั้นเข้าถึงล�ำบากหรืออยู่ไกลเกินไป ครัวเรือนที่ถูกรายงานว่ามีสภาพความไม่มั่นคงทาง อาหารจ�ำนวนร้อยละ ๖๙ จะต้องเลือกว่าจะเอาอาหารหรือ สาธารณูปโภค ๖๖ เปอร์เซนต์ของคนจ�ำนวนนี้ต้องเลือกเอา ระหว่างอาหารหรือยารักษาโรค ในปีงบประมาณ ๒๕๕๖ เด็กจากครอบครัวรายได้ตำ�่ ๒๑.๕ ล้านคนได้รบั แจกอาหารฟรีหรือในราคาต�ำ่ ผ่านโครงการ อาหารกลางวันของรัฐบาล เด็กจ�ำนวน ๖ ใน ๗ คนจากตัวเลขนี้ ไม่ได้รับแจกอาหารในช่วงปิดภาคเรียนฤดูร้อน รัฐที่มีตัวเลขความไม่มั่นคงทางอาหารสูงสุด ๕ รัฐ แต่มีอัตราเด็กโรคอ้วนสูงกว่าเฉลี่ย ได้แก่รัฐมิสซิสซิปปี้ จอร์เจีย อาร์คันซอ เท็กซัส และนอร์ธแคโรไลนา ทั้งหมดนี้ยังมีปัญหา ความมั่นคงทางอาหารในขณะที่เด็กโรคอ้วนมีอัตราสูงกว่าเฉลี่ย คือ ๒๗.๑ เปอร์เซนต์ ถ้าอัตราการเป็นโรคเบาหวานยังเป็นเหมือนปัจจุบัน ภายในปี พ.ศ.๒๕๙๓ คนอเมริกัน ๑ ใน ๓ คนจะเป็นโรคเบา หวาน ผู้ป่วยโรคเบาหวานในอเมริกา ๒๖ ล้านคน มีคนที่เป็น ไทป์ ๒ ถึง ๙๐-๙๕ เปอร์เซนต์ ซึ่งหมายความว่าพวกเขาสามารถ ป้องกันไม่ให้เกิดโรคนี้ได้โดยการทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพ ออก ก�ำลังกายและลดน�ำ้ หนักลง

15

นับตั้งแต่ พ.ศ.๒๕๒๓ ราคาพืชผักผลไม้เพิ่มขึ้น ๔๐ เปอร์เซนต์ แต่ราคาอาหารส�ำเร็จรูปลดลงถึง ๔๐ เปอร์เซนต์ ถ้าคน ๆ หนึ่งใช้เงิน ๓ เหรียญซื้ออาหารทาน เขาจะได้พลังงาน ๓,๗๖๗ แคลอรี่จากอาหารส�ำเร็จรูป หรือเขาจะได้ ๓๑๒ แคลอรี่ จากอาหารครบหมู่ ยีส่ บิ ปีทผี่ า่ นมา สหรัฐอเมริกาใช้เงินงบประมาณ ๑๙.๒ พันล้านเหรียญสนับสนุนอาหารขยะที่ผลิตจากข้าวโพดและถั่ว เหลือง เช่นสารให้ความหวาน น�ำ้ มันพืช แป้งข้าวโพด แต่แอปเปิล้ ซึง่ เป็นผลไม้ชนิดเดียวทีไ่ ด้รบั เงินสนับสนุนจากงบประมาณรัฐบาล เพียง ๖๘๙ ล้านเหรียญตลอดระยะเวลา ๑๘ ปีที่ผ่านมา คนอเมริกัน ๑ ใน ๗ คนได้รับแสตมป์อาหาร โดย เฉลี่ยแล้วประชากร ๔๗ ล้านคนอยู่ในโครงการรับความช่วยเหลือ โภชนาการอาหารเสริม (SNAP) ทุกเดือนในปี พ.ศ.๒๕๕๖ ซึง่ สูงสุด นับตั้งแต่เริ่มโครงการในปี ๒๕๑๒ เฉพาะในช่วงระหว่างปี ๒๕๕๐ ถึง ๒๕๕๔ จ�ำนวนผู้รับประโยชน์นี้เพิ่มสูงขึ้นถึง ๗๐ เปอร์เซนต์ และคิดเป็นเงินงบประมาณในปี ๒๕๕๖ ถึง ๗๖.๔ พันล้านเหรียญ สหรัฐ ร้อยละ ๕๘ ของครอบครัวทีร่ บั ความช่วยเหลือ SNAP มีรายได้จากการท�ำงานคนเดียว ครอบครัวยากจนที่ท�ำงานเลี้ยง ตัวเองคือกลุม่ เป้าหมายทีไ่ ด้รบั ความช่วยเหลือตามโครงการ SNAP ที่มีเพิ่มขึ้นมาโดยตลอด ผลประโยชน์โดยเฉลี่ยจากโครงการ SNAP คือ ๑.๔๘ เหรียญต่ออาหารหนึ่งมื้อ โดยเฉลี่ยแล้วโครงการนี้ให้ความช่วย เหลือเทียบเท่าเงิน ๑๓๓ เหรียญต่อเดือนในปี ๒๕๕๖ และโดย เฉลี่ยครอบครัวที่รับประโยชน์จาก SNAP จะใช้สิทธิ ๓ ใน ๔ ส่วน ภายในกลางเดือน และใช้ ๙๐ เปอร์เซนต์ภายในสามสัปดาห์ คนอเมริกันทิ้งอาหารมากถึง ๓๕ ล้านตันในปี พ.ศ. ๒๕๕๕ อาหารมากถึงร้อยละ ๔๐ ถูกทิ้งไปจนเป็นปัญหาของเสีย ล้นเมือง มากกว่าพวกขยะทีเ่ ป็นถุงพลาสติก กระดาษ โลหะ และแก้ว


[ THE ROTARIAN CONVERSATION ]

JEFF BRIDGES & BILLY SHORE In the wealthiest nation on the planet, it takes more than food to end hunger by KEVIN COOK

THIRTY YEARS AGO, Billy Shore sat in bumper-to-bumper traffic in Washington, D.C.,honking his horn. Shore, a young political operative, was in a hurry to save, or at least improve, the world. He hoped to help his boss, the idealistic Colorado senator Gary Hart, become the next president. His mission would fizzle when the press caught Hart monkeying around extramaritally, but that traffic jam helped improve the world anyway While stuck on the road, Shore glanced at that day’s Washington Post. A front-page story told of a famine in Africa and how it had inspired Band Aid, a supergroup of pop stars, to record “Do They Know It’s Christmas?” Eventually, that song would raise $24 million for famine relief and the stars would move on, taking the world’s spotlight with them. By the time Shore finished the article, however, he would be dedicated to blowing the horn on hunger. He and his sister Debbie launched a charity, Share Our Strength, in 1984 with a $2,000 cash advance on Shore’s credit card. They cold-called senators, CEOs, and celebrities from a basement office on Capitol Hill. Writer Stephen King donated seed money. The siblings raised funds for food banks and other charities worldwide, but soon realized they were getting nowhere. “Our approach was clear, simple, and wrong,” Shore recalls. The trouble was that hunger is a symptom of a larger problem: poverty. Handing out food is like putting a Band-Aid on a wound that won’t heal, Shore says. So he and his sister changed their approach. Convinced that a smart fighter “picks battles that are winnable,” Shore, the charity’s CEO, narrowed its focus to child 16 Rotary Thailand

hunger in America. Since then, Share Our Strength has raised and invested more than $400 million in food-related antipoverty efforts across the United States. U.S. News & World Report named Shore one of America’s best leaders – and that was before his group’s revenues jumped from $13 million in 2007 to over $40 million in 2013. Shore compares his mission to a football game: Keep gaining ground, and you'll win in the end. His biggest play so far was signing Oscarwinning actor Jeff Bridges to quarterback No Kid Hungry, a campaign that has helped feed millions of schoolchildren. The genial Bridges has dispensed breakfasts and hugs in elementary schools – and has taken some flak for it too. Critics have called him unpatriotic for drawing attention to inequality in the United States.“That’s wrong,” says Bridges, who insists that his work is “very patriotic. Having one in five American children struggle with hunger, that’s unpatriotic.” Bridges and Shore shared their hopes for No Kid Hungry with Kevin Cook, a frequent contributor to The Rotarian. THE ROTARIAN : How did you two join forces? 16


BRIDGES : Billy and I met five years ago, when I was part of a national hunger coalition. We were in Goleta, Calif., near my hometown of Santa Barbara, at a summer meals site [where kids can receive free meals when school’s not in session]. We started talking about how that program connected hungry kids to healthy meals, and we connected over the idea that childhood hunger is a solvable problem. Billy’s organization was just about to launch the No Kid Hungry campaign to end childhood hunger in America. We realized this was the time to team up. TR : Of all the world’s problems and good causes, what drew you to this one? SHORE : When my sister Debbie and I started Share Our Strength and began raising money in the mid-1980s, we invested it in nonprofits working to fight hunger. Pretty soon we had a powerful realization: Though our efforts were making a difference, we could be making a bigger, more transformational change. With the right strategy, we believed we could end childhood hunger in America. We have enough food in this country. All we needed was a plan to connect kids in need to the meals they need. That’s how No Kid Hungry was born. BRIDGES : I’ve been advocating for children for more than 30 years. In 1984, I founded the End Hunger Network, a nonprofit dedicated to feeding children around the world. We produced the End Hunger Televent, a live TV broadcast focused on world hunger, with Gregory Peck, Jack Lemmon, Burt Lancaster, Bob Newhart, Kenny Loggins, and other stars. And I produced a film about hunger, Hidden in America, starring my brother, Beau. Then, around 2008, when things were getting tough here with the recession, I really focused on hunger in our own backyard. I couldn’t fathom that millions of kids in this rich country of ours can’t get enough to eat. TR : When Americans think of hunger, they tend to think of starving people in the developing world. What is the face of child hunger in the United States? SHORE : It’s a familiar face. It’s the little boy who sits near your son in homeroom. It’s the little girl on your 17

daughter’s soccer team. It’s the family a few pews over from you in church. In the past, poverty was concentrated in specific neighborhoods. Today, poverty and hunger are spread across most American communities – suburbs and country towns as well as cities. BRIDGES : The kids we’re trying to help may be in need, but they’ve got the same dreams as any child. They tell me they want to be doctors, architects, sportscasters, even president. That’s why it’s crucial that they get healthy meals every day – to compete with other kids and fulfill those dreams. TR: What are the biggest hurdles ahead? SHORE : People see childhood hunger either as a nonexistent issue or as one that’s so large and intractable that it could never be solved. Over the past few years, there has been more awareness of the problem. It’s time to accelerate our work so that every boy or girl, no matter where they live in this nation, gets enough healthy food every single day. We need to build a network of business leaders, elected officials, school administrators, parents and caregivers, nonprofits and concerned citizens, dedicated to making real change. TR : What encourages you about the near future? SHORE : There’s momentum all across the country. Since 2010, more than two million kids have been added to the School Breakfast Program. Now, more than half the kids from low-income families are getting this critical meal before every school day. Kids often have a harder time getting the meals they need when school’s out for the summer, so we’re working with Congress on new policies to feed kids all summer. BRIDGES : Look at Los Angeles: Three years ago, the city’s school district rolled out a plan to move school breakfast out of the cafeteria and serve it in the classroom in the first few minutes of the school day – one small change to make it easier for kids to get nutrition in the morning. When it started, only about 29 percent of kids from lowincome families were eating breakfast in L.A. schools. By the end of this year, 9 out of 10 kids will be getting school breakfast. From 29 percent to 90 percent – that’s


huge progress from one simple decision. TR : How much difference can a school breakfast make? BRIDGES : It’s true that breakfast is the most important meal of the day. We’re talking about brain food, man! I’ve heard so many stories about kids coming to school and the last food they ate was a school lunch the day before. When kids are focused on how much their stomachs are growling, how can they focus on algebra? Teachers tell us that when kids haven’t eaten, they have trouble settling down and behaving, or they get stomachaches or headaches and go to the nurse’s office. Add it all up: If you come to school hungry, you won’t learn as much. The way I see it, making sure kids eat breakfast is an investment in our country’s future. When kids get enough to eat, they feel better. They learn more. They grow up stronger and smarter. The No. 1 thing we can do right now is make breakfast a part of the school day in low-income schools. Not before school, but after the first-period bell. That way, kids don’t have to worry about getting to school early. They don’t get picked on for being “the poor kid ” eating a free breakfast in the cafeteria. Everyone gets something to eat at the start of homeroom or first period. SHORE : There’s another benefit: What we’re doing is good for the nation’s whole political system. Our successes can help reverse people’s plunging confidence in government. When our leaders help us reach America’s most vulnerable children, it shows we have a shot at restoring a key ingredient of the American dream: the idea that the next generation will be better off than our own. TR : Which moments in your anti-hunger work stand out to you? BRIDGES : Last year, I met with a group of school superintendents in Arkansas. I challenged them to look for innovative ways to help hungry students get the nutrition they need. As a result of our meeting, the Arkansas No Kid Hungry campaign has led more than 400 schools to serve breakfast after the official start of the school day. Thousands more kids in that state are getting the breakfasts they need. 18 Rotary Thailand

I’ve also been moved by the work we’re doing in Santa Barbara, where I live. Nearly a quarter of the kids in my hometown struggle with getting enough to eat when school is out. We’ve been putting on a series of concerts by local youth bands at summer meals sites there to build awareness of the program. TR : Jeff, plenty of celebrities lend their voices and names to worthy causes. But you’ve crisscrossed the country, meeting with school superintendents, mayors, and governors to talk to them about school breakfasts. BRIDGES : Well, I didn’t want to dabble. I wanted to help start a movement.To do that,I had to figure out what would be the best use of my time. I have a platform – I’m always talking to the media – so why not use that platform to motivate and educate people? And I’ve found that school administrators, mayors, and governors want to hear what I have to say. When Billy Shore and I meet with them, they’re amazed by the progress we are making in other cities and states, and they don’t want to be left behind. I’ve met with the governors of Montana, Colorado, Maryland, Virginia, Washington, Oregon, Nevada, and Arkansas. I hope to meet with California Governor Jerry Brown and Mayor Bill de Blasio of New York City to encourage them to bring our Breakfast in the Classroom program to their communities. TR : Billy, is there more to ending hunger than feeding people? SHORE : Yes, it’s a question of sustainability. Feeding people ends their hunger for the course of a meal or a day. Ending hunger means putting a system in place to ensure that all children get the three meals they need every day. It’s the difference between a Band-Aid and a cure. TR : How can people help you? SHORE : They can go to nokidhungry.org to join the No Kid Hungry network. They can take our No Kid Hungry pledge, support our work, and bring new awareness of the issue to their hometowns. We hope they will.

18


HUNGER IN AMERICA : BY THE NUMBERS

illions of American households experienced food insecurity last year, meaning they did not have consistent access to food. Yet our country is experiencing an obesity epidemic, and an enormous percentage of our food ends up in the trash. In a land of abundance, how can a child go hungry? We've examined some of the numbers to deconstruct the issue.

ONE IN SEVEN AMERICAN HOUSEHOLDS IS FOOD INSECURE. In 2013, 14.3 percent of Americans – that’s 49 million people, including 15.7 million children – had difficulty providing enough food for their families.

PROCESSED FOOD HAS DECREASED BY 40 PERCENT. An individual with only $3 to spend for lunch has the potential to purchase 3,767 calories of processed foods, or 312 calories of whole foods.

ABOUT 23.5 MILLION AMERICANS LIVE IN FOOD DESERTS. MORE THAN HALF ARE LOW-INCOME. Food deserts are geographic areas where access to affordable, healthy food is limited or nonexistent because grocery stores aren’t within a convenient traveling distance.

IN THE PAST TWO DECADES, THE UNITED STATES HAS SPENT $19.2 BILLION SUBSIDIZING CORN- AND SOYBASED JUNK FOOD INGREDIENTS, SUCH AS SWEETENERS, OILS, AND CORN STARCH. Apples, the only fresh fruit with a substantial government subsidy, received $689 million in funding over the last 18 years.

SIXTY-NINE PERCENT OF FOOD-INSECURE HOUSEHOLDS REPORT HAVING TO CHOOSE BETWEEN FOOD AND UTILITIES. Sixty-six percent of them have had to choose between food and medical care. DURING THE 2013 FEDERAL FISCAL YEAR, MORE THAN 21.5 MILLION LOW-INCOME CHILDREN RECEIVED FREE OR REDUCED-PRICE MEALS DAILY THROUGH THE NATIONAL SCHOOL LUNCH PROGRAM. Six out of seven of those children did not receive a free meal during the summer. THE FIVE STATES WITH THE HIGHEST FOOD-INSECURITY RATES AMONG CHILDREN HAVE ABOVE-AVERAGE OBESITY RATES. Mississippi, Georgia, Arkansas, Texas, and North Carolina have the highest food-insecurity rates in the country, and obesity rates exceeding the national average of 27.1 percent. IF CURRENT RATES OF DIABETES CONTINUE, ONE IN THREE U.S. ADULTS WILL HAVE THE DISEASE BY 2050. Of the 26 million diabetes cases in America, 90-95 percent are type 2, which is preventable through healthy eating, physical activity, and weight loss. SINCE 1980, THE PRICE OF FRUITS AND VEGETABLES HAS INCREASED BY 40 PERCENT. MEANWHILE, THE PRICE OF

19

ONE IN SEVEN AMERICANS RECEIVES FOOD STAMPS. An average of 47 million Americans received SNAP (Supplemental Nutrition Assistance Program) benefits each month in 2013, the highest number since 1969. The number of SNAP recipients increased by 70 percent between fiscal years 2007 and 2011. These benefits cost the government $76.4 billion in 2013. FIFTY-EIGHT PERCENT OF SNAP RECIPIENTS LIVE IN A HOUSEHOLD WITH EARNINGS FROM A JOB. Increasingly, the typical faces of food stamp recipients are working poor families. THE AVERAGE SNAP BENEFIT IS $1.48 PER MEAL. The average participant in the SNAP program received $133 a month in 2013. The average SNAP household uses three-fourths of its benefit by the middle of the month, and 90 percent of it after three weeks. AMERICANS THREW OUT 35 MILLION TONS OF FOOD IN 2012. As much as 40 percent of the U.S. food supply ends up in the trash, producing more waste than plastic, paper, metal, or glass.


Rotary in Action

ภาค 3330‫‏‬

นย.วีระพงษ์ เขมวราภรณ์ พร้อม สมาชิกสโมสรโรตารีสนามจันทร์จัด โครงการฝึกอาชีพ "ก๋วยเตี๋ยวสูตร ครัวอภิรตั น์และทับทิมกรอบน�ำ้ กะทิ" โดยเจ้าของสูตรลับมาสอนเอง รทร. ปรีชา อภิรตั ตพันธ์ หรือพีเ่ ปีย้ ก จัด ขึน้ ทีอ่ ทุ ยานการอาชีพชัยพัฒนา มีผู้ เข้าร่วมโครงการ 30คน เข้าอบรมฟรี โครงการนีไ้ ด้รบั ความสนใจมาก สิง่ ที่ น่าดีใจคือ หลังจากทีผ่ เู้ ข้ารับการอบรมไปแล้วสามารถไปประกอบอาชีพโดยเปิดร้าน ได้ 2 ร้าน สามารถสร้างรายได้กำ� ไรต่อเดือนหลายหมืน่ บาท

สโมสรโรตารี พ ลอยราชบุ รีจั ด ท�ำ โครงการอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดล้อม ณ อุทยานธรรมชาติ วิทยา อ.สวนผึง้ จ.ราชบุรี โดยสมาชิก ร่วมกันปล่อยพันธุ์ปลาและปลูกต้น กล้าในครัง้ นีด้ ว้ ย

สโมสรพระสมุทรเจดียร์ ว่ มกับสโมสรยานนาวาจัดโครงการฝึกอาชีพสอนท�ำกระเป๋าผ้าและหมวก ณ วัดช่องลม กรุงเทพฯ และมอบรถ เข็นคนพิการจ�ำนวน 200 คัน ให้แก่ผพู้ กิ ารในพืน้ ทีเ่ พือ่ ใช้ประโยชน์ตอ่ ไป 20

Rotary Thailand 20


Rotary in Action

ภาค 3340‫‏‬

สโมสรโรตารีจนั ทบุรรี ว่ มกับ บริษทั M.S.บิวตีไ้ ลน์ จ�ำกัด ได้จดั ท�ำโครงการติดตัง้ โซล่าเซลเพือ่ ผลิต ไฟฟ้าจากแสงอาทิตย์เป็นพลังงาน ทดแทนที่คุ้มค่าลดการพึ่งพาจาก น�้ ำ มั น โดยติ ด ตั้ ง ให้ กั บ โรงเรี ย น สังวาลวิทย์ 6 หมู่ 1 ต.ทรายขาว อ.สอยดาว จ.จันทบุรี พร้อมมอบตู้ เย็นทีใ่ ช้กบั ไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์จำ� นวน 1 ตู้ และมอบเงินบริจาคในการบูรณะอาคาร เรียนทีเ่ ก่าแก่ทรุดโทรมรวมทัง้ ได้จดั กิจกรรมเลีย้ งอาหารกลางวันเด็กด้วย

สโมสรโรตารีอุดรธานีและสโมสรโรตารีศิลปาคม-อุดรธานี จัดท�ำ โครงการ GG#1525113 มูลค่ารวม 4,193,079.04 บาท ร่วมมอบเครือ่ ง ไตเทียม จ�ำนวน 2 เครือ่ ง มูลค่าเครือ่ งละ 450,000 บาท ให้ รพ.โนนสัง เพือ่ รักษาผูป้ ว่ ยไตวายเรือ้ รังและเฉียบพลัน ในพืน้ ที่ จ.หนองบัวล�ำภู และใกล้เคียง 21


Rotary in Action

ภาค 3350‫‏‬

สโมสรโรตารีกรุงเทพพัฒนาการ, กรุงเทพ, สวนหลวง, กรุงเทพ วิภาวดี, กรุงเทพสุวรรณภูม,ิ วัฒนาในพระอุปถัมภ์, พระปกเกล้า ธนบุรี และกรุงเทพรัตนโกสินทร์ ร่วมกับสโมสรโรตารีในภาค 3350 ส่วนราชการและองค์กรภาคเอกชน จัดกิจกรรม Rotary One Day ครัง้ ที่ 5 ณ โรงเรียนพระราม 9 กาญจนภิเษก กรุงเทพฯ งบประมาณ 95,400 บาท

22

Rotary Thailand 22


Rotary in Action

ภาค 3360‫‏‬

โรตารีภาค 3360 ร่วมกับโรงพยาบาลสวนดอก มหาวิทยาลัย เชียงใหม่ ท�ำโครงการทันตกรรมเคลือ่ นทีใ่ ห้กบั พระสงฆ์ ที่ วัดสวนดอก อ.เมือง จ.เชียงใหม่

กิจกรรมมอบอุปกรณ์การแพทย์ให้โรงพยาบาลเชียงดาว จ. เชียงใหม่ ของภาค 3350 น�ำโดย อน.สุวฒ ั น์ชยั ผ่องบรรเจิด นย.สุเทพ สุธญ ั ญวินจิ สร.กรุงเทพคลองเตย อน.พงษ์ศกั ดิ์ ทัศนวิรยิ าภรณ์ สร.ลาดพร้าว ร่วมกับ สร. ฝาง สร.ไชยปราการ ภาค 3360 พร้อมสมาชิกมุง่ หวังของ สร.เชียงดาว ให้การต้อนรับ

สโมสรโรตารีอตุ รดิตถ์และ สถาบั น พั ฒ นาการเด็ ก ราชนครินทร์ กรมสุขภาพ จิต กระทรวงสาธารณสุข จ.เชียงใหม่ (RICD Wheelchair Project) ร่วมกับสโมสรโรตารีลำ� ปาง จัดพิธมี อบอุปกรณ์การแพทย์พระราชทานในพระนามาภิไธยสมเด็จ พระเทพรัตนสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มอบ wheelchair 41 คัน โรเลสเตอร์ เก้าอีส้ ขุ ภัณฑ์ 23 ตัว มูลค่ารวม 3,505,756 บาทให้กบั ผูพ้ กิ าร ณ วิทยาลัยเทคนิคล�ำปาง จ.ล�ำปาง บรรยากาศเปีย่ มไปด้วย ความสุข ความยินดี ปลืม้ ปิติ ทัง้ ผูใ้ ห้และผูร้ บั 23

เมื่อวันที่ 20 ก.พ.2558 สโมสร โรตารี 7 สโมสร (สร.เชียงใหม่ ล้านนา, สร.ล�ำปาง, สร.เชียงใหม่ ช้ า งเผื อ ก, สร.สั น ป่ า ตอง, สร.สารภี, สร.ฝาง และ สร.เกาะคา) ร่วมกับองค์กรคริสต์ศาสนา ท�ำพิธีมอบมุ้งกันยุงให้กับสโมสรโรตารี ในภาค 3360 โดยสโมสรที่ ไ ด้ รั บ มอบมุ ้ ง จะน� ำ ไปบริ จ าคให้ แ ก่ ผูย้ ากไร้ตามโครงการป้องกันโรคไข้เลือดออกต่อไป


บทส่งท้ายผู้ว่าการภาค

นิตยสารโรตารีได้พูดคุยกับผู้ว่าการภาคทั้ง 4 ท่าน ได้ให้แง่คิดดีๆก่อนที่จะหมดวาระ ในวันที่ 30 มิถุนายน 2558 นี้

ผู้ว่าการภาค ขวัญชัย เลาหวิรภาพ ภาค 3330 มากกว่า 100 สโมสร มีจ�ำนวนสมาชิกกว่า 2,700 คน ซึ่งเป็นตัวเลขที่สูงสุดตั้งแต่เริ่ม ต้นภาค 3330 ผมขอขอบคุณนายกและสมาชิกทุกสโมสรที่ช่วยกันเพิ่มสมาชิก ท่าน ประธานคณะกรรมการพัฒนาสมาชิกภาพภาค อผภ.นพ.พรชัย บุญแสง ผู้จุดประกาย การเพิ่มสมาชิกและขยายสโมสรของภาค 3330 ที่ช่วยในความส�ำเร็จนี้

นิตยสาร : ผ่านมาแล้ว 11 เดือนกับ ต�ำแหน่งผูว้ า่ การภาค ท่านรูส้ กึ พอใจ กับผลงานอย่างไรบ้าง ผวภ.ขวัญชัย : เวลา 10 เดือนเศษ นับตั้งแต่ผมเข้ารับต�ำแหน่งผู้ว่าการ ภาค 3330 ช่างผ่านไปอย่างรวดเร็ว ในช่วงเวลา 10 เดือนนี้ ผมได้เรียน รู้ประสบการณ์ต่างๆ มากมาย ซึ่งมี คุณค่ายิ่ง เชื่อมั่นว่า ถ้าไม่เป็นผู้ว่าการ ภาค คงไม่มีโอกาสได้พบสิ่งเหล่านี้ ถึง แม้จะเหนือ่ ยมากเพียงไร แต่เป็นความ เหนื่อยที่มีความสุข ความภาคภูมิใจ ต่างๆ จะเกิดขึ้น เมื่อผมท�ำอะไรได้ ส�ำเร็จตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ ได้ช่วย ให้สโมสรต่างๆ เกือบ 100 สโมสรใน ภาค เป็นสโมสรที่เข้มแข็ง สามารถท�ำ กิจกรรมบ�ำเพ็ญประโยชน์ช่วยชุมชน ท�ำให้ประชาชนผู้ด้อยโอกาสมีความ เป็นอยู่ที่ดีขึ้น ปีบริหารนี้ ผมดีใจที่สามารถ สร้างผลงานให้กับภาค 3330 ทั้งใน ด้านสมาชิกภาพ ที่สามารถขยายการ ให้บริการของโรตารีไปสู่ชุมชนมากขึ้น และท�ำให้ภาค 3330 มีจ�ำนวนสโมสร 24

นิตยสาร : ภาค 3330 มีผบู้ ริจาคให้มลู นิธโิ รตารีจำ� นวนสูงมาก มีทงั้ Major Donor และ Bequest Society ขอทราบเกี่ยวกับความพยายามในการรณรงค์เพื่อการ บริจาคเงินให้มูลนิธิโรตารี ผวภ.ขวัญชัย : ในด้านมูลนิธิโรตารี ปีนี้ ภาค 3330 มีตัวเลขยอดการบริจาคสูงที่สุด เป็นประวัตกิ ารณ์ นับตัวเลขการบริจาคล่วงหน้า ขณะนีส้ งู ถึงกว่า US$ 600,000 สโมสร โรตารีกว่า 38 สโมสร ในภาคได้ท�ำ District Grant ในปีนี้ ซึ่งนับว่าสูงกว่าที่ผ่านมา ทั้งหมด การที่ภาค 3330 สามารถรณรงค์การบริจาคเงินให้มูลนิธิโรตารีได้สูงมากใน ปีนี้ ผมต้องขอยกความดีและความส�ำเร็จนี้ให้กับสมาชิกโรตารีในภาค 3330 ทุกท่านที่ ช่วยกันบริจาค และทีต่ อ้ งขอขอบคุณเป็นอย่างมาก ก็คอื ประธานคณะกรรมการมูลนิธิ โรตารีของภาค อผภ.อรชร สายสีทอง ซึ่งท�ำงานอย่างหนัก หามรุ่งหามค�ำ่ หาข้อมูล การบริจาคของสมาชิกแต่ละท่าน เพื่อให้ผู้ว่าการภาคและนายกแต่ละสโมสรช่วยกัน เชิญชวนสมาชิกให้บริจาค โดยเน้นให้เห็นถึงความส�ำคัญของการบริจาค ซึ่งนอกจาก จะช่วยมนุษยชาติทั่วโลกแล้ว เงินที่สโมสรบริจาคยังจะกลับมาที่สโมสรในอีก 3 ปีข้าง หน้า ท�ำให้สโมสรสามารถท�ำโครงการทุนสนับสนุนระดับโลกมูลค่าเกือบ 1 ล้านบาท ขึ้นไปโดยได้รับการสนับสนุนจากมูลนิธิโรตารีและผู้ให้การสนับสนุนจากโรตารีในต่าง ประเทศ ภาระหน้าที่ของผม ยังไม่จบเพียงเท่านี้ ผมยังเหลือเวลาท�ำงานในต�ำแหน่งผู้ ว่าการภาคอีกเดือนเศษ ผมได้รบั ปากกับท่านประธานโรตารีสากล แกรี่ ซี เค ฮวง ตอน ที่ท่านมาเยือนประเทศไทยเมื่อเดือนธันวาคมที่ผ่านมา ผมจะพยายามเพิ่มสมาชิกและขยายการให้บริการของ โรตารีไปยังชุมชนใหม่ทตี่ อ้ งการให้โรตารีไปช่วย สมาชิก โรตารีในภาค 3330 ทุกท่านยังมีพันธะกิจร่วมกันที่จะ ช่วยกันท�ำงานประสานกันเพื่อให้บรรลุเป้าหมายของ ภาค ถึงเวลานัน้ ผมเชือ่ มัน่ ว่า สมาชิกโรตารีทกุ ท่านจะมี ความภาคภูมใิ จเป็นอย่างมากกว่าเราได้ชว่ ยกัน “รวมใจ จุดประกายโรตารี” ร่วมกับสมาชิกโรตารีทั่วโลก ท�ำให้ สังคมในโลกมีความสุขและความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น เรามา ช่วยกันท�ำความฝันของเราให้เป็นความจริง

Rotary Thailand 24


ผู้ว่าการภาค รัชนี อยู่ประเสริฐ ภาค 3340 นิตยสาร : ขอทราบความรู้สึกที่ได้ท�ำหน้าที่ผู้ว่าการภาคในช่วง 11 เดือนนี้ ผวภ.รัชนี : การที่ได้ก้าวเข้ามาท�ำงานกับองค์กรระดับโลกเช่นโรตารี ในต�ำแหน่ง หน้าที่อันทรงเกียรติ คือ การเป็นผู้ว่าการภาคหญิงคนแรกของภาค 3340 นับเป็น เกียรติอนั สูงส่งยิง่ ส�ำหรับครอบครัวและวงศ์ตระกูล จากการสรรหาของคณะกรรมการ สรรหาที่มี อผภ.นพ.อานนท์ จิระชวาลา เป็นประธาน เสร็จจากงานสถาปนาผู้ว่าการ ภาค เราสามคนพ่อแม่ลูก เตรียมแผนการเดินสายสถาปนาทั่วทั้งภาค เวลานั้น 56 สโมสร ใช้เวลากับงานสถาปนาประมาณเกือบสองเดือน แล้วจึงจัดโปแกรมการเยี่ยม สโมสร สลับทางเราไปงานสถาปนาทางอีสานและงานเยี่ยมสโมสรทางภาคตะวันออก การท�ำงานปีนตี้ อ้ งรีบเร่งเพือ่ เตรียมพร้อมทีจ่ ะจัดกิจกรรม THAI ROTARY DAY ต้อนรับ ประธานโรตารีสากล GARY C.K.HUNG ซึง่ จะมาเยีย่ ม ประเทศไทยในวันที่ 25-26 ธันวาคม 2557 โดยสโมสร ศรีสะเกษเป็นผูอ้ อกแบบบูธ๊ กิจกรรมเด่น เช่น โครงการ ห้องสมุด อุปกรณ์การแพทย์ โครงการน�้ำดื่มสะอาด และโครงที่ติดอันดับที่ 2 ของโลก คือ ทะเลบัวแดง อ.หนองหาน จ.อุดรธานี ผลงานของสโมสรหมากแข้ง การท�ำงานระหว่างปีได้เพิ่มสโมสร 3 สโมสร คือ สโมสรโรตารีท ่าเรือ-ตราด สโมสรโรตารีนคร ขอนแก่นอินเตอร์เนชัน่ แนล สโมสรโรตารีรอ้ ยเอ็ด และ ปีนี้สามารถเพิ่มสโมสรเป็น 59 สโมสร เพิ่มสมาชิก ได้ 1,517 จากที่ตั้งเป้าหมาย 1,500 คน ระหว่างการ ด�ำรงต�ำแหน่งได้เดินทางได้เยี่ยมสโมรทั้งภาคฯ ได้รับ การต้อนรับอันอบอุน่ ด้วยไมตรีจติ มิตรภาพทีป่ ระเมิน คุณค่าไม่ได้ ขอจดจ�ำสิง่ ดีๆไว้ในใจว่าครัง้ หนึง่ ในชีวติ ได้ทำ� คุณประโยชน์เพือ่ ชุมชนและ ประเทศชาติอันเป็นที่รักของเรา นิตยสาร : ขอให้เล่าเรื่อง “ที่สุดของการเป็นผู้ว่าการภาค” สักหนึ่งเรื่อง ผวภ.รัชนี : ในหนึง่ สัปดาห์ทำ� งาน 6 วันหยุดพักวันอาทิตย์ ทุกๆ วันหลังจากเยีย่ ม สโมสรเสร็จ เช้าตื่นลุกขึ้นมาแต่งตัว จัดเสื้อผ้าลงกระเป๋าเพื่อเดินทาง ระยะทางแต่ละ สโมสรห่างออกไปประมาณ 80-100 กม. เมื่อถึงเป้าหมาย ยกกระเป๋า 4-6 ใบลงจาก รถเข้าโรงแรมที่พัก โรงแรมบางแห่งแอร์ไม่เย็น บางแห่งเจอที่นอนอันแสนจะเก่าแถม มีกลิน่ บางวันเหนือ่ ยนอนหลับไป มารูส้ กึ ตัวอีกเวลาเทีย่ งคืน ลืมตาขึน้ หันมองไปรอบๆ ห้องอดถามตัวเองไม่ได้วา่ เรามานอนทีไ่ หนกันนี่ ท�ำแบบนีเ้ ป็นเดือนๆ ระหว่างการนัง่ รถไป จนเราสามคนจะไม่พูดคุยกัน เกิดอาการเบื่อซึ่งกันและกันแล้ว บางทียังจ�ำวัน เวลาไม่ค่อยจะได้ เพราะจิตของเรา...คิด คิดแต่งานโรตารีๆๆๆ ตลอดระยะ 10 เดือนนี้ ขืนท�ำไปอีก 5 – 6 เดือน สงสัยฉันต้องขอบ๊ายบายไปหาจิตแพทย์ก่อนแน่

25

นิตยสาร : ผลงานที่ประสบความส�ำเร็จ มากที่สุด ผวภ.รัชนี : คือ โครงการบ�ำเพ็ญประโยชน์ สู่ชุมชนท้องถิ่น โดยได้ท�ำการแข่งขันกัน ทั้ ง 4 ภาค สโมสรที่ ไ ด้ รั บ รางวั ล คื อ สโมสรโรตารีมติ รภาพ-ขอนแก่น (นย.ธนิดา ค�ำจันทร์) ภาค 3340 ทีท่ ำ� โครงการบ�ำเพ็ญ ประโยชน์ดเี ด่นมากกว่า 4 แนวทาง ได้ครอง ถ้วยรางวัลร่วมกับภาค 3350 คือ ถ้วย พระราชทาน “ถ้วยสมเด็จพระเทพรัตนราช สุดาฯ” ซึ่งเป็นถ้วยรางวัลหมุนเวียนส่วน กลางของโรตารีในประเทศไทย สโมสรจะ ครอบครองถ้วยหนึง่ ปี หากปีใดมีสองสโมสร ทีไ่ ด้รบั รางวัล ก็จะครอบครองสโมสรละครึง่ ปี โดยจะเก็บไว้ที่ศูนย์โรตารีฯ หากสโมสร ต้องการ จะต้องท�ำหนังสือขอยืมจากศูนย์ฯ นอกจากนี้ยังมี ถ้วย “มีน�้ำใจแห่ง ความรัก” ของ ฯพณฯ พิชัย รัตตกุล อดีต ประธานโรตารีสากล เป็นถ้วยรางวัลส�ำหรับ สโมสรทีท่ ำ� โครงการบ�ำเพ็ญประโยชน์สงู สุด ให้แก่ชุมชน เป็นถ้วยรางวัลของภาค 3340 ผูไ้ ด้รบั รางวัลคือ สโมสรโรตารีจนั ทบุรี (นย.เสน่ห์ ชวลิต) ซึง่ ท�ำโครงการ “พลังแสงอาทิตย์” ให้ แก่โรงเรียนศรีสงั วาล อ.สอยดาว จ.จันทบุรี


ผู้ว่าการภาค สุรชาติ ชื่นโชคสันต์ ภาค 3350 นิตยสาร : ผ่านมาแล้ว 11 เดือน กับ ต�ำแหน่งผู้ว่าการภาค ท่านรู้สึกพอใจกับ ผลงานอย่างไรบ้าง ผวภ.สุรชาติ : ก่อนรับหน้าที่ ผมมีความ รู้สึกว่าไม่ค่อยรู้อะไรเกี่ยวกับโรตารี จึง ต้องอ่านคู่มือปฏิบัติการโรตารี (Manual of Procedure) ในส่ ว นที่ เ กี่ ย วกั บ ผู ้ ว่าการภาค ท�ำให้รู้ว่ามีหลายเรื่องที่เรา ยังปฏิบัติไม่สอดคล้องกับที่ก�ำหนดไว้ใน คู่มือ หนักใจว่าจะท�ำอย่างไรดี สุดท้าย ตัดสินใจว่าควรปรับเลี่ยนวิธีการอบรม และวิธีด�ำเนินงาน ด้านการอบรมต้องให้ Knowledge Knowhow และ How to โดยเฉพาะความรู้พื้นฐานโรตารีให้มาก ที่สุด เราต้องกลับไปสู่พื้นฐาน (Basic) ก่อน เพราะสิ่งเหล่านี้เป็นรากฐานของ สโมสรที่เข้มแข็งคือการให้ความส�ำคัญ กับบริการสโมสร ไม่ใช่บริหารสโมสร ผู้ อบรมต้องย่อยเนื้อหาก่อนแล้วสรุปให้ ผู้เข้าอบรมฟังให้เข้าใจด้วยภาษาง่ายๆ เพราะนายกสโมสรบางท่านเป็นโรแทเรียน มาไม่ ค รบปี ก็ มี ประการต่ อ มาคื อ การบ�ำเพ็ญประโยชน์ ผมเน้นอยู่เสมอว่า ไม่จ�ำเป็นต้องท�ำโครงการใหญ่ เล็กใหญ่ ไม่ใช่ประเด็น แต่ขอให้ลงมือท�ำ (Hands on) จริงๆ และเปิดโอกาสให้ชุมชนได้ เข้ามามีส่วนร่วม เราอาจจะแต่งตั้งให้ ผู้น�ำชุมชนร่วมเป็นอนุกรรมการเฉพาะ กิจในโครงการนั้นๆ ด้วยเหตุนี้ ปีนี้จึงมี โครงการประเภทนี้มากเป็นพิเศษ โดย เฉพาะสโมสรโรตารีต่างจังหวัด มี เ รื่ อ งน่ า เป็ น ห่ ว งว่ า มิ ต ร โรแทเรียนมักจะไม่อ่านคู่มือปฏิบัติการ

26

ธรรมนูญและข้อบังคับสโมสร มีสโมสร จ�ำนวนมากใช้สามัญส�ำนึกว่าสมาชิกเป็น ใหญ่ ฉะนั้นมติของสมาชิกทั้งสโมสรจึง เป็นที่ยุติของทุกเรื่องทุกปัญหา แต่จริงๆ แล้ว การลงมติในเรื่องต่างๆ จ�ำนวนมาก ใช้มติของคณะกรรมการบริหารสโมสร (Board of Directors) จึงเกิดประเด็น ขึ้นมามากพอสมควร หลายท่านโต้แย้ง ว่ า อย่ า งไรเสี ย สมาชิ ก ต้ อ งเป็ น ใหญ่ ในทุกเรื่อง ถ้าอย่างนั้นคงต้องไปแก้ไข ธรรมนูญสโมสรที่ COL (Council on Legislation) แล้วครับ กล่ า วโดยรวม ผมพอใจที่ ไ ด้ ลงมือท�ำงานในสิง่ ทีอ่ ยากท�ำและเริม่ ปรับ เปลี่ยนวิธีคิด วิธีท�ำงาน ให้สอดคล้อง กับคู่มือปฏิบัติการในหลายเรื่อง ส่วน โครงการต่างๆ ผมถือว่าเป็นหน้าที่ของ ทุ ก สโมสรที่ จ ะต้ อ งท� ำ และท� ำ ให้ เ กิ ด ประโยชน์สูงสุดแก่ชุมชน ทุกสโมสรต่าง ก็ท�ำได้ดีเกินคาด ขอชื่นชมด้วยใจจริง นิตยสาร : ขอให้เล่าเรือ่ ง “ทีส่ ดุ ของการ เป็นผู้ว่าการภาคสักหนึ่งเรื่อง” ผวภ.สุรชาติ : ค�ำว่าที่สุดนั้น ต้องถาม ก่อนว่าเกี่ยวกับเรื่องอะไร เพราะการ ท� ำ งานเราต้ อ งท� ำ เต็ ม ที่ ใ นทุ ก เรื่ อ งอยู ่ แล้ว อย่างเช่น การไปเยี่ยมสโมสรอย่าง เป็นทางการ ทั้ง 100 สโมสร ที่ผู้ว่าการ ภาคจะต้องเป็นผู้บรรยายพิเศษในวัน นั้ น ให้ แ ก่ ส มาชิ ก สโมสรฟั ง ผมตั้ ง ใจ ว่าการบรรยายนั้นจะพูดถึงจุดอ่อน จุด แข็ง และข้ อ เสนอแนะในการพั ฒ นา สโมสรทีไ่ ปเยีย่ ม ตอนแรกผมคิดว่าจะท�ำ

Rotary Thailand 26


ไม่ได้ เพราะฟังแค่ 2 ชั่วโมง แล้วจะไป รู้เรื่องราวภายในสโมสรได้อย่างไร แต่ พอลงมือปฏิบัติแล้ว ผมท�ำได้ดีพอควร อย่างน้อยก็มีหลายสโมสรมาพูดกับผม ตรงๆ ว่า เป็นปรากฏการณ์ใหม่ทผี่ วู้ า่ การ ภาคกล้าพูดในเรื่องภายในสโมสรในเชิง สร้างสรรค์ วิเคราะห์ประเด็นปัญหาและ ให้ค�ำแนะน�ำที่เป็นประโยชน์ แทนที่จะ พูดเรื่องแนวนโยบายที่มีการพูดกันมาก แล้วในระหว่างการอบรมต่างๆ มีอดีต นายกสโมสรอาวุโสท่านหนึ่งถึงกับพูด ในที่ประชุมว่า “เพราะการพูดของท่าน ผู ้ ว ่ า การภาคที่ เ ปรี ย บเสมื อ นเป็ น กระจกเงาสะท้อนให้พวกเรา ผมประทับใจ มากตอนแรกตั้งใจว่าจะบริจาคให้มูลนิธิ โรตารีอีก 3 ปีๆ ละ 1,000 เหรียญ ให้ ครบ 10,000 เหรียญ ตอนผมอายุครบ 60 ปี พอดี แต่พอมาฟังท่านพูดแล้ว ผม เปลี่ยนใจขอบริจาคปีนี้ 3,000 เหรียญ และขอรับเหรียญ Major Donor จาก ท่านโดยตรง ไม่ใช่รับจากประธานโรตารี สากลตามที่ท่านเชิญชวน เพราะผมรู้จัก ท่านผู้ว่าการภาคมากกว่า” บางสโมสร ถึงกับขอให้ผมไปเป็นผู้บรรยายพิเศษอีก เมื่อพ้นจากต�ำแหน่งแล้ว มันเป็นอะไรที่ ผมไม่คาดคิดมาก่อน ยอมรับว่าประทับ ใจในน�ำ้ ใจไมตรีทเี่ พือ่ นโรแทเรียนได้มอบ ให้แก่ผมในแทบทุกเรื่องครับ

27

นิตยสาร : ภาค 3350 ก่อตั้งสโมสร โรตารี ใ หม่ ไ ด้ ม ากที่ สุ ด ถึ ง 8 สโมสร โปรดเล่าถึงเป้าหมายทีต่ งั้ ไว้และวิธกี าร ด�ำเนินงาน ผวภ.สุรชาติ : การรักษาสมาชิกเดิม การ เพิ่มสมาชิกใหม่ การก่อตั้งสโมสรใหม่ ล้วนแต่เป็นภาระหน้าทีข่ องชาวโรแทเรียน ต้องช่วยกันเพื่อพัฒนาสโมสรให้เข็มแข็ง

ในฐานะผู ้ ว ่ า การภาคต้ อ งประกาศ นโยบายและจุดยืนในเรื่องนี้ให้ชัดเจน พร้อมแนะน�ำวิธีการท�ำงานแก่ทีมงาน ให้ชดั เจน เมือ่ ท�ำงานประสบความส�ำเร็จ ต้องยกย่องและให้ก�ำลังใจ ผมยึดหลัก ง่ายๆ ท�ำงานเป็นทีม ใช้โครงการบ�ำเพ็ญ ประโยชน์เป็นตัวน�ำ เชิญสมาชิกมุ่งหวัง และผูน้ ำ� ชุมชนมาร่วมท�ำกิจกรรม แทนที่ จะเชิญมาเป็นสมาชิก และมาประชุม ประจ�ำสัปดาห์เฉยๆ เมื่อเขาได้ล งมื อ สัมผัส เขาจะซึมซับจิตวิญญาณแห่งการ เป็นผู้ให้ ให้แล้วมีความสุข เวลาเชิญมา ท�ำกิจกรรมเราสามารถเชิญเข้ามาครั้ง ละหลายๆ คน ถ้าเชิญมาคนเดียวเขา อาจจะรู้สึกเหงาและเดียวดาย เหมือน กับที่นายกก่อตั้งสโมสรโรตารีบางกรวย ประดิษฐ์ อ่อนรักษ์ บอกว่า “เชิญคนดี มาท�ำความดีร่วมกัน” เช่นกันกับการ ก่อตั้งสโมสรใหม่ พยายามหากลุ่มแกน กลาง (Core charter member) ให้ได้สกั 6 – 7 คน แล้วให้แต่ละคนไปชวนเพื่อน มาอีกคนละ 1 – 2 คน ก็จะได้สมาชิก ก่อตัง้ ครบ 20 คน แต่เหนืออืน่ ใด เราต้อง มีความมุ่งมั่น มีเป้าหมาย และต้องคิดวิธี เดินไปให้ถงึ เป้าหมายนัน้ ๆ คือเพิม่ สโมสร ใหม่ 10 สโมสร และเพิ่มสมาชิกใหม่สุทธิ ให้ได้ 300 คน ในปีนี้ ผมคิดว่าระยะเวลา ที่เหลือคงท�ำได้ตามเป้าหมายครับ


ผู้ว่าการภาค ดร.อนุสรณ์ คุณานุสรณ์ ภาค 3360

นิตยสาร : ท่านได้ผ่านช่วงเวลาที่ต้อง ท�ำงานใหญ่ 2 งานพร้อมกัน ทัง้ การเป็น ผู้ว่าการภาคโรตารี และการเป็นคณบดี คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศ ศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา ขอให้ท่าน เล่าประสบการณ์ ผวภ.ดร.อนุสรณ์ : งานทีต่ อ้ งรับผิดชอบใหญ่ สองงานคือการเป็นผู้ว่าการภาค 3360 โรตารีสากลและการเป็นคณบดี หลายท่านมีค�ำถามว่าผมท�ำได้อย่างไร ทั้งสองต�ำแหน่ง พูดถึงเรื่องเวลาที่มีอยู่ อย่างจ�ำกัด เราหาเวลาเพิ่มไม่ได้แต่ต้อง ตัดเวลาอย่างอื่นๆ ลง น�ำเวลามาให้กับ งานทั้งสองอย่างให้มาก ผมไม่ได้เล่น กอล์ ฟ กั บ เพื่ อ นๆ และจั บ ไม้ ก อล์ ฟ มาเป็ น เวลาเกื อบปีแล้ว ลดเวลาที่จ ะ ต้องให้กับครอบครัวลง เช่น การเดินทาง กินเทีย่ วร่วมกันกับครอบครัวและเพือ่ นๆ งานอื่นๆ ปลีกย่อยได้ถูกตัดออกไปหมด ผมได้ใช้ชว่ งเวลาในการไปเยีย่ มสโมสรต่างๆ ยาวนานออกไปอีกถึง 50% แทนที่จะ เยี่ยมแล้วเสร็จในเวลาอันควร หลายครั้ง ต้องขอเลื่อนเวลาการไปเยี่ยมจนท�ำให้ 28

สมาชิกสโมสรเสียความรูส้ กึ และต�ำหนิ ผูว้ า่ การภาค แต่กไ็ ด้แก้ตวั ไปเยีย่ มภาย หลังและได้ไปเยี่ยมครบทุกสโมสร แม้ บางสโมสรก็ ไ ด้ ไ ปมากกว่ า หนึ่ ง ครั้ ง หลายครั้งในหน้าที่คณบดีก็ได้ให้รอง คณบดีช่วยท�ำหน้าที่แทน งานไม่ได้ เสียหายแต่อย่างใด ส่วนงานส�ำคัญๆ ใหญ่ๆ ก็ได้ทำ� ตามหน้าที่และความรับ ผิดชอบ แต่ต�ำแหน่งผู้ว่าการภาคไม่มี ใครแทนได้ต้องไปเองทุกครั้ง หลาย ครั้ ง ที่ ต ้ อ งขั บ รถไปและกลั บ ตี ส องตี สามเพื่อจะเข้าประชุมในเช้าวันรุ่งขึ้น เคยได้ใช้ทพี่ กั ริมทางหรือปัม้ น�ำ้ มันข้าง ทางเป็นที่นอนพักผ่อนตอนดึกๆ แล้ว ขับต่อไป แต่อย่างไรก็ตามงานคณบดี ก็ได้ด�ำเนินไปได้ด้วยดีและงานของผู้ ว่ า การภาคก็ ส� ำ เร็ จ ครบตามภารกิ จ ผมเคยได้ยินท่านพิชัย รัตตกุล กล่าว ทีเล่นทีจริงบนโต๊ะอาหารว่า "ระวังจะ ถูกไล่ออกจากต�ำแหน่ง" ก็เป็นอย่าง นั้นจริงๆ เพราะผมถูกปลดและไม่ได้ รับการต่ออายุต�ำแหน่งคณบดีเพียง คนเดียวของคณบดีทั้งชุด เพราะมีข้อ กล่าวหาว่า "ไม่ค่อยได้อยู่ทำ� งาน" ผม ภูมิใจที่ครั้งหนึ่งในชีวิต ได้ท�ำงานเพื่อ ผู้อื่นได้เป็นผู้ว่าการภาค 3360 โรตารี สากล อันเป็นเกียรติประวัติในชีวิต ตนเองและครอบครัว ส่วนต�ำแหน่ง คณบดีและแม้แต่รองอธิการบดีนั้นผม เป็นมาหลายครั้ง หลายสถาบันแล้ว ปี นี้ เ ป็ น ปี ที่ มี อ ะไรหลายๆ อย่ า งที่ ผู ้ ว ่ า การภาคต้ อ งรั บ ผิ ด ชอบ ประดังเข้ามา เริม่ ต้นด้วยการปฏิวตั จิ น

ได้รบั ฉายาว่าผูว้ า่ การภาคโดนปฏิวตั ติ อ้ ง เลื่อนงาน DTA การสรรหาผู้ว่าการภาค รับเลือกสองคนพร้อมๆ กัน การที่ต้อง รับผิดชอบโครงการขนาดใหญ่ของโรตารี ใน สปป.ลาว มูลค่า 460,000 เหรียญ สหรั ฐ จนท� ำ ให้ ต ้ อ งเดิ น ทางไป สปป. ลาวถึงสามครั้ง การมาเยี่ยมของ Gary C.K. Huang ประธานโรตารีสากล การ รณรงค์ช่วยเหลือประเทศเนปาล แต่ผม ภูมิใจที่ได้มีโอกาสท� ำงานหนักและรับ ผิดชอบมาก นิตยสาร : ขอให้เล่าเรือ่ ง “ทีส่ ดุ ของการ เป็นผู้ว่าการภาค” สักหนึ่งเรื่อง ผวภ.ดร.อนุสรณ์ : ที่สุดของการเป็นผู้ ว่าการภาค วันหนึ่ง ผมได้นัดหมายจะ ไปเยีย่ มสโมสรโรตารีดอยพระบาท ล�ำปาง เวลา 5 โมงเย็น แต่มกี ารประชุมทีม่ หาวิทยาลัย ตอนบ่ายในวันนัน้ ผมจึงต้องออกเดินทาง เมื่อเวลาประมาณบ่ายสี่โมง มีฝนตกไม่ มากเมื่อเริ่มออกเดินทาง แต่เมื่อขับไป ถึงอ�ำเภองาว ผ่านช่องเขาเจ้าพ่อประตู ผาเขตต่อพะเยาและล�ำปาง ฝนตกหนัก มากจนต้องชลอรถลง และช่วงลงเขาฝน ตกไม่มากแต่ถนนยังมีน�้ำขังอยู่มาก ผม ขับรถด้วยความระมัดระวัง แต่อยู่ดีๆ รถ ก็หมุนกลับ ท้ายรถน�ำไปก่อนแล่นเหมือน เรือและหมุนสามรอบจนถึงรอบที่สี่ก็มี แรงเหวีย่ งรถผมลงข้างทางไปไกลสิบกว่า เมตร ชนเข้าอย่างแรงกับต้นมะขามใหญ่ พระเจ้าคุ้มครอง เข็มขัดนิรภัยและแอร์ แบคสองตัวท�ำงานอย่างดีตรึงผมอยู่กับ ที่ ผมตลึงและงงว่าผมลงมาอยูข่ า้ งทางได้

Rotary Thailand 28


อย่างไร พอได้สติคิดได้ว่ารถของเราเป็นรถใช้แก๊ส NGV ท�ำให้ต้อง รีบออกจากรถคลานขึน้ ไปบนถนน มีแต่ชาวบ้านมามุงดู ชายคนหนึง่ ถามผมเป็นค�ำถามแรกว่า "อ้ายห้อยพระอะไร" ผมไม่รู้จะตอบ อย่ า งไร แต่ ผ มเชื่ อ ครั บ ว่ า ในชี วิ ต นี้ ผ มได้ ท� ำ สิ่ ง ที่ ดี ใ ห้ แ ก่ ผู ้ อื่ น ขอขอบคุณ อผภ.อนุรักษ์ อน.นิรันดร์ และ อน.พนมเธียร แห่ง สโมสรดอยพระบาทที่ได้มาช่วยเหลือ เพราะผมได้แจ้งขอยกเลิก การเยี่ยมในวันนั้น ทั้งสามท่านได้มาช่วยเหลือและเมื่อท�ำธุระกับ บริษัทประกันแล้ว สุดท้ายทั้งสามท่านได้พาผมไปเยี่ยมสโมสรดอย พระบาทตามทีไ่ ด้กำ� หนดไว้เพราะมีการเตรียมต้อนรับอย่างดีไว้แล้ว แต่กล็ า่ ช้าไปสามชัว่ โมงเศษ ผมได้กล่าวปราศรัยต่อทีป่ ระชุมด้วยมือ และขาที่สั่น เป็นความรู้สึกที่ได้เรียนรู้อีกอย่างหนึ่งในชีวิต นิตยสาร : ในปีนี้ ภาค 3360 จัดงาน DTA ทีม่ หาวิทยาลัยพะเยา และ งาน DC ที่มหาวิทยาลัยราชภัฏก�ำแพงเพชร ท่านมีแนวคิดอย่างไร เกี่ยวกับการจัดการประชุมโรตารีในสถาบันการศึกษา ผวภ.ดร.อนุสรณ์ : แนวคิดการจัด DTA และ DC ในสถาบันการศึกษา ผมไม่ใช่พ่อค้าวานิช ไม่ใช่นักธุรกิจ ผมเป็นครูบาอาจารย์ อยากให้ โรตารีได้มีส่วนร่วมงานกับสังคม ชุมชน องค์กรและสถาบันการ ศึกษา นอกจากการประชาสัมพันธ์แล้ว สมาชิกสโมสรโรตารีใหม่ๆ อาจมาจากสถาบันการศึกษาด้วยก็เป็นเหตุผลหนึ่ง และประกอบ กับงบประมาณค่าใช้จา่ ยก็เป็นอีกเหตุผลหนึง่ เพราะจะเป็นการช่วย สมาชิกให้ไม่ตอ้ งจ่ายเงินให้โรงแรมแพงๆ และเป็นภาระให้ผเู้ ข้าร่วม ประชุมและผู้จัดงาน อีกทั้ง Rotaractor และ Interactor ได้รับรู้ และมีส่วนร่วมในงานด้วย

29


มุมมองโรตารี

Rotary in Perspective

ธรรมนูญและข้อบังคับ ของสโมสรโรตารี ช�ำนาญ จันทร์เรือง อดีตผู้ว่าการภาค 3360 โรตารีสากล ปี 2011-2012

อิเล็กทรอนิกส์…และพื้นที่สโมสรอิเล็กทรอนิกส์ แห่งนี้คือ...(หรือมีชื่อสโมสรในเครือ (satellite of Rotary Club of…)(ถ้ามี)”

ในการเป็นสมาชิกสโมสรโรตารีนนั้ เราจ�ำเป็น ต้องปฏิบัติตามธรรมนูญและข้อบังคับของโรตารี ทุกสโมสรโรตารีเราจะต้องมีการจัดท�ำธรรมนูญและ ข้อบังคับให้ทันสมัยและสอดคล้องกับมติของการ ประชุมสภานิตบิ ญ ั ญัตขิ องโรตารีสากล ผมจึงขอน�ำ ค�ำบรรยายที่ผมได้บรรยายไว้ในหลายๆ คราว และ ที่ได้ตอบข้อซักถามทั้งหมดมาเสนอ ซึ่งอาจยาวไป บ้างแต่คดิ ว่าน่าจะเป็นประโยชน์ตอ่ การวงการโรตารี ของเรา ดังนี้

ธรรมนูญสโมสร (Club Constitution)

เนื้ อ หาของธรรมนู ญ สโมสรเป็ น สิ่ ง ที่ ไ ม่ สามารถเปลี่ยนแปลงได้ ต้องเป็นไปตามที่โรตารี สากลก�ำหนดไว้เ ท่านั้น ส่วนของธรรมนูญที่จะ สามารถเพิม่ ได้ คือ “องค์กรนีม้ ชี อื่ ว่า สโมสรโรตารี… และพื้นที่สโมสรแห่งนี้คือ..” หรือ สโมสรโรตารี 30

สาระที่ส�ำคัญอื่นๆ มีดังนี้ การงดการประชุม คณะกรรมการบริหารอาจ งดการประชุมปกติในวันหยุดราชการ รวมทัง้ วันหยุด ซึ่งเป็นที่ยอมรับโดยทั่วไป หรือเมื่อสมาชิกถึงแก่ กรรม หรือเกิดโรคระบาด หรือเกิดภัยพิบัติอันมีผล กระทบต่อทั้งชุมชน หรือเกิดการต่อสู้กันด้วยอาวุธ ในชุมชนซึ่งอาจเป็นอันตรายต่อชีวิตของสมาชิก สโมสรได้ โดยคณะกรรมการบริหารอาจงดประชุม ปกติได้ไม่เกินสี่ครั้งในหนึ่งปี โดยสโมสรจะต้องไม่ งดการประชุมเกินสามครั้งติดต่อกัน การประชุ ม ประจ� ำ ปี สโมสรต้ อ งจั ด การ ประชุมประจ�ำปีเพื่อเลือกตั้งคณะกรรมการบริหาร ภายในวันที่ ๓๑ ธันวาคม ตามที่ก�ำหนดไว้ในข้อ บังคับ สมาชิกภาพ คุณสมบัตทิ วั่ ไป สโมสรประกอบ ไปด้วยสมาชิกที่เป็นผู้ใหญ่ (adult persons) มี อุปนิสัยดี และมีสถานะในการประกอบธุรกิจและ วิชาชีพที่ดี และ/หรือมีชื่อเสียงในชุมชน สมาชิกซ้อน บุคคลใดไม่อาจเป็นสมาชิก สามัญของสโมสรหนึ่ง และเป็นสมาชิกสามัญของ สโมสรอื่นอีกในเวลาเดียวกัน บุคคลใดไม่อาจเป็น สมาชิกสามัญและสมาชิกกิตติมศักดิ์ของสโมสรใด สโมสรหนึ่งในเวลาเดียวกัน

Rotary Thailand 30


ประเภทอาชีพ ข้อจ�ำกัด สโมสรไม่ อาจรับสมาชิกสามัญเพิ่มในประเภทอาชีพ ที่มีสมาชิกสามัญอยู่แล้วมากกว่าห้าคน ยกเว้นในกรณีที่สโมสรมีสมาชิกมากกว่า ๕๐ คนขึ้ น ไป ในกรณี นี้ ส โมสรอาจรั บ สมาชิกสามัญในประเภทอาชีพเดียวกันได้ จนมีจ�ำนวนไม่เกินร้อยละสิบของสมาชิก สามัญทั้งหมดของสโมสร การเข้าประชุม สมาชิกทุกคนควร เข้าประชุมตามปกติของสโมสร การนับ คะแนนการเข้ า ประชุ ม ปกติ ข องสมาชิ ก ให้นับต่อเมื่อสมาชิกผู้นั้นอยู่ในที่ประชุม อย่างน้อยร้อยละ ๖๐ ของเวลาการประชุม หรือสมาชิกได้อยูใ่ นการประชุมแล้วและถูก ตามตัวให้ออกจากทีป่ ระชุมโดยไม่คาดคิดไว้ ก่อน และภายหลังสมาชิกนัน้ ได้แสดงพยาน หลักฐานและคณะกรรมการบริหารพอใจ ในเหตุผลหรือสมาชิกนั้นทดแทนการขาด ประชุมครั้งนั้นโดยวิธีใดวิธีหนึ่งดังต่อไปนี้ (ก) ภายใน ๑๔ วัน ก่อนหรือหลังการ ประชุมปกตินั้น (๑) สมาชิ ก ผู ้ นั้ น ได้ เข้ า ประชุ ม ปกติอย่างน้อยร้อยละ ๖๐ ของเวลาการ ประชุมที่สโมสรอื่น หรือสโมสรชั่วคราว (๒) สมาชิ ก ผู ้ นั้ น ได้ เข้ า ประชุ ม ปกติของสโมสรโรทาแรคท์ สโมสรอินเทอร์ แรคท์ กลุ่มชุมชนโรตารี หรือกลุ่มมิตรภาพ โรตารี หรือสโมสรชั่วคราวของโรทาแรคท์ อินเทอร์แรคท์ กลุ่มชุมชนโรตารีหรือกลุ่ม มิตรภาพโรตารี (๓) สมาชิ ก ผู ้ นั้ น ได้ เข้ า ประชุ ม ใหญ่โรตารีสากล สภานิตบิ ญ ั ญัตโิ รตารี การ ประชุมผูว้ า่ การภาครับเลือก การสัมมนาเจ้า หน้าที่โรตารีสากลอดีตและปัจจุบัน หรือ การประชุมอืน่ ใดทีป่ ระธานโรตารีสากลหรือ คณะกรรมการบริหารโรตารีสากลอนุมัติให้ จัดขึ้น การประชุมใหญ่ภาค การประชุม อบรมภาค หรือการเข้าประชุมระหว่างเมือง

31

ของสโมสรโรตารีที่จัดขึ้นเป็นประจ�ำ (๔) สมาชิ ก ผู ้ นั้ น ได้ ไ ปเพื่ อ เข้ า ประชุมตามปกติตามวันเวลาและสถานที่ ของอีกสโมสรหนึ่ง แต่สโมสรนั้นไม่มีการ ประชุมตามวันเวลาและสถานที่ดังกล่าว (๕) ส ม า ชิ ก ผู ้ นั้ น ไ ด ้ ไ ป ร ่ ว ม โครงการบริการสโมสรหรือกิจกรรมชุมชน ที่สโมสรสนับสนุน หรือเข้าประชุมตามที่ คณะกรรมการบริหารมอบหมาย (๖) สมาชิ ก ผู ้ นั้ น ได้ เข้ า ประชุ ม คณะกรรมการบริหารหรือได้รบั อนุญาตจาก คณะกรรมการบริหารให้เข้าประชุมคณะ กรรมการบ�ำเพ็ญประโยชน์ที่สมาชิกผู้นั้น ได้รับมอบหมาย (๗) มีส่วนร่วมในกิจกรรมตอบโต้ ในการประชุมสโมสรทางเว็บไซต์เป็นเวลา ๓๐ นาที

การขาดประชุมที่ได้รับการยกเว้น

ถ้าสมาชิกผู้นั้นมีอายุเมื่อรวมอายุของ ตนเองกับอายุการเป็นสมาชิกในหนึง่ สโมสร หรือมากกว่าหนึง่ สโมสรได้ ๘๕ ปีขนึ้ ไป และ สมาชิกผู้นั้นได้แจ้งเป็นลายลักษณ์อักษร ต่อเลขานุการสโมสรว่าต้องการได้รับการ ยกเว้นการเข้าประชุม และคณะกรรมการ บริหารได้อนุมัติ

การด�ำรงต�ำแหน่งนายกสโมสร

๑. ให้ เ ลื อ กตั้ ง นายกสโมสรตามที่ บัญญัติไว้ในข้อบังคับก่อนเข้ารับหน้าที่ไม่ เกินสองปีแต่ไม่ต�่ำกว่าสิบแปดเดือน ก่อน ที่จะรับหน้าที่นายกสโมสรและท�ำหน้าที่ นายกรับเลือกปีถัดไป เมื่อได้รับเลือกตั้ง นายกรับเลือกปีถัดไปจะกลายเป็นนายก รับเลือกในวันที่ ๑ กรกฎาคมและอยู่ใน ต�ำแหน่ง ๑ ปี หรือจนกว่าจะเลือกตั้งนายก ที่มีคุณสมบัติและอย่างเป็นทางการถูกต้อง ได้ โดยคุณสมบัติเบื้องต้นที่ส�ำคัญคือต้อง เป็นสมาชิกมาก่อนไม่นอ้ ยกว่า ๑ ปีในขณะที่ ได้รับการเสนอชื่อ แต่หากเป็นสมาชิกมาไม่ ถึง ๑ ปี ต้องได้รับการอนุญาตจากผู้ว่าการ ภาค(ผมค่อนข้างตกใจเมื่อทราบว่าหลายๆ สโมสรเลือกนายกฯจากผู้ที่เป็นสมาชิกฯที่ เป็นโรแทเรียนไม่ถึง ๑ ปี) ๒.นายกสโมสรรั บ เลื อ กต้ อ งเข้ า สัมมนาอบรมนายกรับเลือกของภาคและ การประชุมอบรมภาค ( เว้นแต่ได้รับการ ยกเว้นจากผู้ว่าการภาครับเลือก หากได้รับ การยกเว้นดังกล่าว นายกสโมสรรับเลือก ต้องตั้งผู้แทนสโมสรหนึ่งคนเข้าไปประชุม แทนและกลับมารายงานต่อนายกสโมสรรับ เลือก )


มุมมองโรตารี

Rotary in Perspective

การสิ้นสุดสมาชิกภาพโดยสาเหตุอื่น

• เพื่ อ ความเหมาะสม คณะ กรรมการบริหารอาจมีมติให้สมาชิกภาพ ของสมาชิกทีห่ มดคุณสมบัตหิ รือโดยเหตุผล ทีด่ ี ด้วยเสียงโหวตไม่ตำ�่ กว่าสองในสามของ จ�ำนวนกรรมการบริหารในการประชุมทีจ่ ดั ขึ้นเพื่อการนี้ หลักชี้แนะของการประชุม นี้อยู่ในมาตรา ๗ หมวด ๑ บททดสอบสี่ แนวทางและมาตรฐานจรรยาบรรณที่ควร มีในฐานะที่เป็นสมาชิกสโมสรโรตารี

การเมือง

๓.หากนายกรั บ เลื อ กไม่ เข้ า ร่ ว ม สั ม มนาอบรมนายกรั บ เลื อ กและการ ประชุมภาคเพื่ออบรมเจ้าหน้าที่สโมสร หากได้ รั บ การยกเว้ น ดังกล่า วแต่ไม่ส่ง ผู ้ แทนสโมสรที่ ไ ด้ รั บ การแต่งตั้งให้เข้า ร่วมประชุมดังกล่าว นายกรับเลือกจะไม่ สามารถเป็นนายกสโมสรได้ (ในกรณีนี้ นายกสโมสรคนปัจจุบันจะต้องท�ำหน้าที่ ต่อไปจนกว่าจะมี ผู้ที่มารับหน้าที่แทน จะเข้ า ร่ ว มการสั ม มนาอบรมนายกรั บ เลือกและการประชุมภาคประจ�ำปีเพื่อ อบรมเจ้าหน้าที่สโมสร หรือการอบรมที่ผู้ ว่าการภาครับเลือกได้จัดอบรมแล้วถือว่า เป็นการพอเพียง)

การสิ้นสุดสมาชิกภาพโดยไม่ช�ำระ ค่าบ�ำรุง

สมาชิกผู้ใดไม่ช�ำระค่าบ�ำรุงภายใน สามสิบวันหลังวันครบก�ำหนดช�ำระ จะ ได้รับการแจ้งเตือนเป็นลายลักษณ์อักษร จากเลขานุ ก ารไปยั ง ที่ อ ยู ่ ล ่ า สุ ด ที่ ท ราบ หากสมาชิ ก ผู ้ นั้ น ยั ง ไม่ ช� ำ ระค่ า บ� ำ รุ ง อี ก ภายในสิบวันหลังจากได้รบั แจ้งเตือน คณะ กรรมการบริหารอาจวินจิ ฉัยให้สมาชิกภาพ ของสมาชิกผู้นั้นสิ้นสุดได้ 32

• สโมสรต้องไม่ให้การรับรองหรือ แนะน�ำผู้สมัครผู้ใดในต�ำแหน่งทางราชการ หรือการเมือง และไม่อภิปรายในสโมสรอัน การสิ้ น สุ ด สมาชิ ก ภาพโดยไม่ เข้ า เป็นการให้คุณหรือโทษแก่ผู้สมัครคนใด ประชุม • สโมสรต้องไม่ออกหนังสือเวียน (ก) คะแนนการประชุม ในมติหรือความเห็นใดๆและไม่ปฏิบัติการ (๑) สมาชิ ก ต้ อ งเข้ า ประชุ ม ใดๆทีเ่ กีย่ วกับปัญหาของโลก หรือ นโยบาย ประจ�ำสัปดาห์ของสโมสร หรือเข้าประชุม ระหว่างประเทศที่เกี่ยวกับการเมือง ทดแทนรวมกันอย่างน้อยร้อยละ ๕๐ ของ จ�ำนวนการประชุมในแต่ละครึ่งปี หรือเข้า การตีความ ร่วมกิจกรรมบ�ำเพ็ญประโยชน์หรือกิจกรรม ในธรรมนูญนีค้ ำ� ว่า “ไปรษณีย”์ “การ อื่นของสโมสรอย่างน้อย ๑๒ ชั่วโมงหรือ ส่งไปรษณีย์” และ “การออกเสียงทาง รวมกันทั้งสองอย่าง(การประชุมกับการท�ำ ไปรษณีย์” หมายรวมถึง การใช้ไปรษณีย์ กิจกรรม)เข้าด้วยกัน อิเล็กทรอนิกส์(อีเมล์)และอินเตอร์เน็ตเพื่อ (๒) สมาชิ ก ต้ อ งเข้ า ประชุ ม ลดค่าใช้จ่ายและเพิ่มความรวดเร็ว ประจ�ำสัปดาห์ของสโมสรตนเองอย่างน้อย ร้อยละ ๓๐ ของจ�ำนวนการประชุมในแต่ละ ข้อบังคับของสโมสรโรตารี (By Laws) ครึง่ ปี (ผูช้ ว่ ยผูว้ า่ การภาคตามทีก่ ำ� หนดโดย • สโมสรต้ อ งใช้ ข ้ อ บั ง คั บ ที่ ไ ม่ ขั ด คณะกรรมการบริหารโรตารีสากลจะได้รับ กับธรรมนูญและข้อบังคับของโรตารีสากล การยกเว้นจากข้อก�ำหนดนี้) หรือกฎระเบียบในการด�ำเนินการตามเขต (ข) สมาชิ ก ผู ้ ใ ดขาดการประชุ ม บริหารที่โรตารีสากลตั้งขึ้นและธรรมนูญ สโมสรหรือขาดการประชุมทดแทนเป็น สโมสรโรตารี เวลา ๔ ครั้งติดต่อกัน คณะกรรมการ • ข้อบังคับฯอาจแก้ไขเปลีย่ นแปลง บริหารอาจส่งหนังสือแจ้งโดยถือว่าสมาชิก ตามกาลสมัย ผู้นั้นมีความต้องการให้สมาชิกภาพสิ้นสุด • ตั ว อย่ า งของข้ อ บั ง คั บ สโมสรที่ ลง คณะกรรมการบริหารโดยเสียงข้างมาก ปรากฏในคู่มือปฏิบัติการโรตารี (Manual อาจให้ยุติสมาชิกภาพของสมาชิกผู้นั้น of Procedure - MOP) ปี 2013 นั้นให้ ตัวอย่างไว้เพียงเรือ่ งค�ำนิยาม องค์ประกอบ

Rotary Thailand 32


ของคณะกรรมการบริหาร จ�ำนวนต้องเกิน ระเบียบวาระการประชุม ประกอบด้วย กึ่ ง หนึ่ ง ของคณะกรรมการบริ ห ารจึ ง จะ • กล่ า วเปิ ด ประชุ ม (โดยนายก ถือว่าครบองค์ประชุม สโมสรก่อน) • แนะน�ำแขกที่มาเยี่ยมสโมสร ค่าธรรมเนียมและค่าบ�ำรุง • จดหมายและประกาศต่างๆ รวม - ค่าธรรมเนียมแรกเข้าเป็นสมาชิก คือ ทั้งสนเทศโรตารี จ�ำนวนเงิน____(ถ้ามี)__________บาท • รายงานของคณะกรรมการชุ ด ซึ่งผู้สมัครต้องช�ำระก่อนจึงจะมีคุณสมบัติ ต่างๆ (ถ้ามี) เนื้อหาของข้อบังคับโดยทั่วไป เป็นสมาชิกได้ • เรื่องสืบเนื่อง จ�ำนวนกรรมการบริหาร และหน้าที่ - ค่ า บ� ำ รุ ง สมาชิ ก คื อ จ� ำ นวนเงิ น • เรื่องใหม่ ของเจ้าหน้าที่สโมสร เช่น อุปนายกมีหน้า __________บาทต่ อ ปี โดยแบ่ ง ช� ำ ระ • การบรรยายหรือโปรแกรมอื่น ที่เป็นประธานการประชุมของสโมสรและ เป็น_________________ • ปิดการประชุม การประชุมของคณะกรรมการบริหาร เมื่อ นายกสโมสรไม่อยู่ ฯลฯ การประชุมต่างๆ การลาประชุม บทส่งท้าย เช่ น ก� ำ หนดการประชุ ม ประจ� ำ ปี การ • สมาชิกอาจยื่ นขอต่อคณะ • พึงระลึกไว้เสมอว่ากฎระเบียบมี ประชุมประจ�ำสัปดาห์ การประชุมคณะ กรรมการบริหารเป็นลายลักษณ์อักษรเพื่อ ไว้เพื่อเป็นเครื่องมือในการท�ำงาน มิใช่มีไว้ อนุมัติให้ลาการประชุมสโมสรได้เป็นระยะ เพื่อคอยจับผิดผู้ใดจนสโมสรแตก กรรมการบริหารฯลฯ เวลาไม่เกินสิบสอง (๑๒) เดือน โดยต้อง • สโมสรใดไม่ ยึ ด ถื อ กฎระเบี ย บ ระบุเหตุผลที่เหมาะสมและพอเพียง องค์ประชุม สโมสรนั้นก็เละ อาจมีปัญหาถึงขั้นถูกยุบ ในการประชุ ม ประจ� ำ ปี ห รื อ การ • การได้รับอนุญาตให้ลาประชุม สโมสรได้ และอาจมีปัญหาด้านกฎหมาย ประชุมประจ�ำสัปดาห์ของสโมสร ต้องมี มี ผ ลให้ ผู ้ ล าไม่ ต ้ อ งขาดจากสมาชิ ก ภาพ บ้ า นเมื อ งเพราะสโมสรโรตารี ต ้ อ งเกี่ ย ว สมาชิกจ�ำนวนหนึ่งในสามเข้าประชุมจึง แต่ไม่ใช่เพื่อให้คะแนนการเข้าประชุมแก่ พันกับเงินบริจาคและบุคคลภายนอกซึ่งมี จะถือว่าครบองค์ประชุม ในการประชุม สมาชิกผู้นั้น กฎหมายแพ่งและกฎหมายอาญาก�ำกับอยู่ ของคณะกรรมการบริหาร การเลือกตั้ง กรรมการบริหาร หน้าทีข่ องคณะกรรมการ บริหาร ก�ำหนดการประชุมของสโมสร ค่า ธรรมเนียม วิธกี ารแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง และวิธีการแก้ไขข้อบังคับฯ เท่านั้น ผมจึง น�ำมาขยายเพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติ ดังนี้

33


เรื่องราวดีๆ

โรตารีรอบโลก

1

อน.อาสา ศาลิคุปต สร.ศรีธรรมโศกราช / แปล

2

(1) สหรัฐอเมริกา

ถ้าคุณจอดรถไว้บนทะเลสาบที่กลายเป็นน�้ำแข็งกลาง ฤดูหนาว เมือ่ ไหร่มนั ถึงจะหล่นทะเลน�ำ้ แข็งลงไป โทแรเรียน ในมิ ชิ แ กนตอนเหนื อ ลงขั น พนั น คนละ 5 ดอลลาร์ กับปัญหานั้นเมื่อต้นปีนี้เพื่อรื้อฟื้นธรรมเนียมเก่าแก่ช่วงหน้าหนาวของ คาบสมุทรตอนเหนือ สโมสรโรตารีไอออน เมาน์เทน-คิงสฟอร์ด (RC of Iron Mountain-Kingsford) ได้รับบริจาครถแซทเทิร์นปี 1998 และบริษัทท้อง ถิ่นช่วยเรื่องอุปกรณ์ในการบันทึกเวลาที่แม่นย�ำ นักเรียนอาชีวะท�ำการ ถ่ายของเหลวทิง้ รือ้ เครือ่ งยนต์และเกียร์ออก และโยงรถไปยังต้นไม้ทอี่ ยูใ่ กล้ เพื่อให้ย้ายออกได้ง่ายขึ้น ทางสโมสรยังท�ำการประกันทรัพย์สินและขอใบ อนุญาตจากแผนกคุณภาพสภาวะแวดล้อมมลรัฐมิชิแกนส�ำหรับงานนี้ เงิน ที่หาได้จะน�ำมาใช้จ่ายในโครงการของสโมสรและทุนการศึกษา

(2) เวเนซุเอลา

มุ้งกันแมลง หรือ mosquiteros เป็นหนึ่งในวิธีที่ได้ ผลที่สุดในการป้องกันมาลาเรียนในพื้นที่เขตร้อนซึ่ง ยุงเป็นสื่อน�ำพาปรสิตอันก่อให้เกิดโรคนี้ โครงการทุน Global Grant ของมูลนิธิโรตารีโดยสโมสรโรตารีปัวร์โต ออร์ดาซ (Puerto Ordaz) ประเทศเวเนซุเอลา และ คีย์ บริสเบน (Key Brisbane) มลรัฐ ฟลอริดา ได้จัดหามุ้งให้ประชากรกว่า 6,000 คนในชุมชนพื้นเมืองในรัฐ โบลิวาร์ในปี 2014 มุง้ ได้รบั การออกแบบให้ใช้ได้ทงั้ คลุมเตียงและเปลญวน ซึ่งนิยมกันในละแวกนั้น โครงการนี้ยังรวมถึงการไปเยี่ยมเยียนเป็นชุดในปี 2015 และ 2016 เพื่อให้การศึกษาผู้ได้รับเกี่ยวกับต้นก�ำเนิดโรคมาลาเรีย และเกี่ยวกับการใช้และดูแลรักษามุ้ง สโมสรยังมีโครงการลักษณะเดียวกัน ในปี 2011–12 และก่อตั้งความสัมพันธ์ในการท�ำงานกับผู้อาวุโสในชุมชน และ Malariologia อันเป็นส่วนหนึ่งขององค์กรบริหารอนามัยท้องถิ่นที่ มีหน้าที่ต่อสู้โรคนี้

(3) มาดากาสการ์

โรทาแรคเทอร์ในมาดากาสการ์กำ� ลังท�ำงานเพือ่ พัฒนา คุณภาพชีวิตของเด็กๆ ในประเทศ ทุกปีตั้งแต่ ค.ศ. 2008 สโมสรโรตาแรคท์อันคอย (Ankoay) ในเมือง หลวงอันตานานาริโว ได้ให้รางวัลนักเรียนทีเ่ ก่งสุดห้าคนจากโรงเรียนประถม ศึกษาท้องถิ่นให้ไปเที่ยวสามวันยังฟาวล์ปอยเต (Foulpointe) เมืองตาก อากาศบริเวณชายฝั่งมหาสมุทรอินเดีย อีกฝั่งของเมือง สโมสรโรทาแรคท์ อันตานานาริโว-อะมอนตานา ได้ท�ำงานกับหุ้นส่วนชุมชนเพื่อมอบชุด สุขอนามัย 160 ชุดอันมีแปรงสีฟัน ยาสีฟัน สบู่ และหวี และการอบรม สุขศึกษาแก่เด็กๆ ที่หนึ่งในหมู่บ้านเด็กเอสโอเอสในประเทศ

34

(4) อิตาลี

การศึ ก ษาได้ แ สดงว่ า การเรี ย น ดนตรี แ ต่ วั ย เด็ ก มี ผ ลประโยชน์ หลากหลาย การเรียนเล่นดนตรีช่วยพัฒนาการรับรู้ และการนับถือตัวเอง การเล่นเป็นวงช่วยเรือ่ งการเอาใจ ใส่ และการได้ฟังดนตรีสามารถช่วยเด็กๆ ให้รับมือ ต่อความชอกช�้ำได้ สโมสรโรตารีในอิตาลีได้ร่วมมือกับ Caritas Intionationalis อันเป็นองค์กรพัฒนาอย่าง เป็นทางการของโบสถ์คาธอลิคสาขาเมืองเยรูซาเล็ม เพือ่ พัฒนาโครงการเรียนดนตรีที่โรงเรียนประจ�ำต�ำบลใน กาซ่าเพือ่ ช่วยนักเรียนให้บริหารความเครียดจากความขัดแย้ง ที่มีมาอย่างต่อเนื่องที่นั่น บริเวณรอบโรงเรียนซึ่งให้ บริการทัง้ เด็กมุสลิมและคริสเตียนถูกระเบิดถล่มเมือ่ ฤดู ร้อนที่แล้วระหว่างการต่อสู้อันดุเดือด 50 วัน ในหลาย เดือนแรกของการเป็นผูว้ า่ การภาค 2032 (ส่วนหนึง่ ของ อิตาลี) จิออร์จิโอ กร็อปโป (Giorgio Groppo) เยี่ยม สโมสรในภาคและเก็บเงินได้เกือบ 28,000 ดอลลาร์ ส�ำหรับโครงการนี้ ซึ่งจะมอบเครื่องดนตรี เฟอร์นิเจอร์ และวัสดุห้องเรียน และจัดหาครูสอนดนตรีให้ คาริตาส จัดหาเครื่องดนตรีในเยรูซาเล็มและประสานงานการ ขนส่งกีตาร์ พิณลูท กลอง และปี่ถุงข้ามชายแดนใน เดือนธันวาคม โครงการดนตรีได้ช่วยนักเรียน 450 คน อายุ 4 ถึง 15 ของโรงเรียน กร็อปโปยังวางแผนส�ำหรับ โครงการในอนาคตในบริเวณด้วยความช่วยเหลือของ คณะกรรมการประหว่างประเทศอิตาลี-อิสราเอล เครือ

Rotary Thailand 34


5

WORLD ROUNDUP

4 8 7

6

(6) ทานซาเนีย

ช่วงปลายปี 2014 สโมสรโรตารี MiddletownOdessa จากมลรัฐเดลาแวร์ บริจาคเงิน 12,000 ดอลลาร์สหรัฐแก่ Lifetime Wells for Ghana องค์กรนี้ได้ขุดบ่อน�้ำ 850 บ่อในกาน่าตั้งแต่ปี 2006 บวกอีก 200 บ่อในทานซาเนีย ซึ่งการ บริจาคของสโมสรได้ช่วยอีก 4 แห่ง โครงการได้รับทุนจากภาค 7630 (มลรัฐเดลาแวร์และบางส่วนของแมรีแลนด์) และการบริจาคจากโบสถ์ ในท้องถิ่น 2 แห่งและสโมสร 6 สโมสรในภาค บ่อเหล่านี้จะให้บริการ แก่คนกว่า 2,000 คน

3

ข่ายภาคโรตารีที่ก่อตั้งขึ้นเพื่ออุปถัมภ์ความเชื่อมโยงที่ แน่นแฟ้นขึน้ ระหว่างโรแทเรียนในสองประเทศนี้ ในปี 2014 ความขัดแย้งได้ท�ำให้คนกว่า 108,000 คนต้องไร้ที่อาศัยใน กาซ่า ครึ่งหนึ่งนั้นเป็นเด็ก

(5) สหราชอาณาจักร

ไม่ ใช่ เรื่ อ งแปลกที่ ส โมสรโรตารี จ ะ ประชุมกันตามร้านอาหาร แต่ส�ำหรับ สโมสรโรตารี Melksham ประเทศอังกฤษ ร้านกาแฟดิอาร์ท เฮาส์ (The Art House Cafe) เป็นมากกว่าสถานที่ประชุม แต่เป็นหนึง่ ในโครงการทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ของสโมสร ทางสโมสรได้ เช่าสถานทีซ่ งึ่ เคยเป็นสถานีดบั เพลิงกลางเมือง Melksham และเอามาท�ำเป็นร้านกาแฟและแกลเลอรีแ่ สดงภาพตัง้ แต่ปี 2011 สมาชิกสโมสรและอาสาสมัคร 40 ท่านรวมทั้งบุคคล ทุพพลภาพผลัดกันเตรียมและเสิร์ฟอาหารให้ชาวท้องถิ่น และผู้ที่มาพบกันที่นั่นตลอดทั้งสัปดาห์เช่นกลุ่มสนับสนุนผู้ เป็นอัลไซเมอร์ ในส่วนของการเป็นแกลเลอรีห่ มุนเวียน ทาง ร้านได้จัดกการแข่งและโชว์ภาพถ่ายของเยาวชน ส�ำหรับก�ำไรและค่าธรรมเนียมจากการขายงานศิลปะ อาร์ตเฮาส์คาเฟ่หาเงินได้มากกว่า 58,000 ดอลลาร์สหรัฐ ส�ำหรับโครงการของสโมสร Melksham ทางสโมสรได้ ช่วยแผนกเนื้องอกที่โรงพยาบาลโรแยล ยูไนเต็ดในเมือง Bath ใกล้ๆ เพือ่ ซือ้ เครือ่ งสแกนภาพทางแพทย์ และได้ชว่ ย เหลือธนาคารอาหาร บ้านพักรับรอง Dorothy House ค่าย สายตาในอินเดีย Hope and Homes for Children และ กล่อง ShelterBox.

35

Rotary news in brief from around the globe

(7) มาเลเซีย

สโมสรสี่สโมสรในภาค 3300 ได้หาเงินมากกว่า 3,000 ดอลลาร์ ส หรั ฐส�ำหรั บโครงการหยุ ด โปลิโอเดี๋ยวนี้ผ่านความพยายามหลายทางใน ช่วงเทศกาลวันหยุด สโมสรโรตารี Alor Setar, Bandar Sungai Petani, Kulim และ Langkawi ได้ขายดอกไม้ที่ท�ำจากดินสีม่วง ซึ่งมักจะถือ เป็นสัญลักษณ์ของการสนับสนุนการก�ำจัดโรคโปลิโอ ตามงานของโรตารี งานเหล่านีร้ วมถึงการประชุมประจ�ำปีภาค 3300 และโครงการไรล่าในเดือน ธันวาคม และวันโรตารีในเดือนพฤศจิกายน ซึ่งมีประธานโรตารีสากลแกรี่ ซี.เค. ฮวง และ โครินน่า เหยา ภรรยา ไปร่วมด้วย

(8) เนปาล

จะเกิดอะไรขึน้ เมือ่ สินค้าบริโภคไม่เป็นทีต่ อ้ งการอีกต่อไป สมาชิกสโมสรโรทาแรคท์ Pashupati-Kathmandu บอก ว่าบ่อยครัง้ เกินไปทีข่ องทีไ่ ม่เป็นทีต่ อ้ งการ เช่นรองเท้าถูก ทิง้ ทีบ่ อ่ ขยะหรือถูกเผาก่อให้เกิดมลภาวะทางอากาศ เพือ่ สนับสนุนความรับผิดชอบทางสภาวะแวดล้อม สโมสรได้ เก็บรองเท้าที่ยังไม่ใช้กว่า 1,100 คู่ในปี 2014 เพื่อน�ำมาบูรณะและแจกให้ กับครอบครัวที่ยากจน สมาชิกโรทาแรคท์ร่วมมือกับ Working Hands อัน เป็นองค์กรเอกชนท้องถิน่ ทีฝ่ กึ อาสาสมัครให้แต่งรองเท้าทีย่ งั ไม่ถกู ใช้สำ� หรับ เจ้าของใหม่ และส่งไปยังครอบครัวในเขต Khotang


การสัมมนา บรรณาธิการนิตยสารโรตารี

ในภูมภิ าคเอเชียแปซิฟกิ ปี 2558 ทีก่ รุงโซล (28 เมษายน – 1 พฤษภาคม 2558)

“คุณดนุชาไปเกาหลีนะ” นีค่ อื ค�ำสัง่ ของบก.ใหญ่ หลังจากได้รบั จดหมายเชิญร่วมการสัมมนาบรรณาธิการนิตยสาร โรตารีในภูมภิ าคเอเชียแปซิฟกิ ดิฉนั อยากจะขอคิดดูกอ่ นแต่ไม่ทนั แล้วเพราะบก.บอกว่า “ไปเที่ยว ไม่ต้องคิดมาก” ... จริงหรือที่ไม่ ต้องคิดมาก ต้องมีงานพรีเซนต์ดว้ ยนะ งานนีเ้ จ้าภาพคือนิตยสาร โรตารีเกาหลีออกค่าใช้จ่ายให้ทั้งหมด ยกเว้นค่าเดินทาง เมษายนเป็นช่วงฤดูใบไม้ผลิ อาจจะเป็นเพราะปิดเทอม หรือว่าซากุระบานก็ไม่ทราบ แต่สายการบินพากันเต็มแน่น จน ในที่สุดดิฉันกับคุณจิตราพรซึ่งเป็นเจ้าหน้าที่ประจ�ำของนิตยสาร โรตารีประเทศไทยก็ได้สมั ผัสเกาหลีตงั้ แต่ออกจากกรุงเทพฯ ด้วย สายการบินโคเรียนแอร์

36

2015 Asia/Pacific

ดนุชา ภูมิถาวร danucha@rotarythailand.org

Regional Editors’ Seminar เย็นวันอังคารที่ 28 เมษายน เจ้าหน้าที่ของนิตยสาร โรตารีเกาหลีมาพบกับพวกเราที่โรงแรมเดอะพลาซ่า และพาไป รับประทานอาหารเย็นที่ภัตตาคารบนชั้น 34 ของอาคารแห่ง หนึ่ง ในวันนั้นถือเป็นการพบปะกันครั้งแรกซึ่งนอกจากจะมีผู้ ร่วมสัมมนาจากนิตยสารภูมิภาคต่างๆ แล้ว ยังมีคุณ Michele Moiron ผูอ้ ำ� นวยการฝ่าย Global Communications & Design จากโรตารีสากล ซึ่งดูแลโครงการแปลเอกสารของ RI ที่เราร่วม โครงการอยูด่ ว้ ย มีเรือ่ งให้ตนื่ เต้นคือประธานโรตารีสากลรับเลือก Ravindran และทรัสตี Ian Riseley รวมทั้ง RID.Sangkoo Yun และคณะกรรมการจัดงานประชุมใหญ่ปี 2559 ทีเ่ กาหลีได้มาร่วม รับประทานอาหารด้วย โดยการท่องเที่ยวเกาหลีเป็นเจ้าภาพ เช้าวันที่ 29 เมษายน เวลา 8.30 น. พวกเราทั้งหมด ไปพร้อมกันที่ห้องประชุมบนชั้น 4 ของโรงแรมเดอะพลาซ่า พอเข้าไปในห้องประชุม ก็ตกใจในความเป็นทางการของการ สัมมนานี้ เนื่องจากได้รับการบอกเล่าจาก editor ซึ่งเคยร่วม การสัมมนาเช่นนี้มาก่อนว่าเป็นการประชุมสบายๆ ไม่มีอะไรมาก มีนิตยสารภูมิภาคที่มาร่วมงานทั้งหมด 6 ฉบับ ส่วนใหญ่จะเป็น ประธานหรือไม่กบ็ ก.ใหญ่ ในช่วงเช้า ประธานโรตารีสากลรับเลือก ทรัสตี และกรรมการบริหารฯ ได้มาร่วมประชุมด้วย มีล่ามแปล ภาษาเกาหลี-อังกฤษ และ ญี่ปุ่น – เกาหลี – อังกฤษ ตลอดการ สัมมนา ช่วงแรกเป็นการน�ำเสนอของสต๊าฟโรตารีสากลเกี่ยวกับ การเปลี่ยนแปลงต่างๆ ทั้งที่มีและไม่มีผลกระทบต่อนิตยสาร เช่น นิตยสารจะต้องมีเอกลักษณ์เดียวกันแต่ยังคงไว้ซึ่งความ เป็นเอกลักษณ์ในท้องถิ่น, ความโปร่งใสของการจัดท�ำนิตยสาร,

Rotary Thailand 36


ต้ อ งผลิ ต นิ ต ยสารฉบั บ ดิ จิ ต อลภายในเดื อ นมกราคม 2559, ค�ำขอให้จัดพิมพ์เกี่ยวกับกระบวนการใหม่ๆ ของโรตารีสากล, โลโก้ใหม่ส�ำหรับโปรแกรมผู้น�ำอายุน้อย รวมทั้งการที่ภาษาจีน จะเป็นภาษาสากลของโรตารี และการประชุมบรรณาธิการ นิตยสารเดือนพฤษภาคม 2016 ที่เอฟเวนสตัน

• โลโก้ใหม่สำ� หรับโปรแกรมผู้นำ� อายุน้อย •

พอพักเที่ยง ผู้นำ� อาวุโสทั้งหลายก็เดินทางกลับ ส่วนพวก เรายังคงนั่งอยู่ที่โต๊ะ เคลียร์เอกสารและรับประทานอาหารที่โต๊ะ ประชุมตรงนั้นเลย เรียกว่าไม่มีการหนีไปไหนได้ รับประทาน อาหารเสร็จเก็บถ้วยชามแล้วเริ่มประชุมต่อทันที ในช่วงบ่ายเป็นการน�ำเสนอเรื่องต่างๆ ของนิตยสารทุก ฉบับตามที่ได้รับการก�ำหนดหัวข้อมาล่วงหน้า • Rotary Down Under (RDU) นิตยสารรายเดือนที่ ส่งถึงสมาชิกในประเทศออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และประเทศใน หมู่เกาะแปซิฟิก (ยอดพิมพ์ประมาณ 38,000 เล่มต่อฉบับ) ได้ พยายามที่จะปรับเปลี่ยนระบบการเรียกเก็บเงินค่านิตยสารโดย ขอความร่วมมือจากทางโรตารีสากลให้เป็นผูเ้ รียกเก็บค่านิตยสาร RDU จากสมาชิก ในการทดลองโครงการน�ำร่องเป็นเวลา 1 ปี ทาง RDU ต้องเสียค่าบริการให้กบั โรตารีสากล 50 เซนต์ตอ่ สมาชิกหนึง่ คน แต่ได้รบั เงินจากโรตารีสากลช้ามากท�ำให้ไม่สามารถหมุนเงิน ได้ทนั กับความต้องการ ในทีส่ ดุ จึงขอยกเลิกระบบนีไ้ ปตัง้ แต่เดือน กุมภาพันธ์ 2558 • Philippine Rotary (ยอดพิมพ์ประมาณ 15,000 เล่ม) น�ำเสนอเกี่ยวกับยอดการพิมพ์และการแจกจ่ายนิตยสาร โดย สรุปว่านิตยสารจะถูกส่งไปยังสโมสรเป็นห่อใหญ่ แต่หากสมาชิก ต้องการให้ส่งถึงที่อยู่ของตนโดยตรงจะต้องเสียค่าจัดส่งเพิ่ม • Rotary-no-Tomo ของประเทศญีป่ นุ่ น�ำเสนอเกีย่ วกับ การวิเคราะห์เนื้อหาและการโฆษณา มียอดจัดพิมพ์ลดลงจาก 140,000 เล่มเป็น 95,000 เล่ม ในช่วง 6-7 ปีที่ผ่านมา รวมทั้ง ไม่สามารถตรวจสอบได้ว่าสมาชิกบอกรับนิตยสารหรือไม่

37

• Rotary News/Rotary Samachar ของอิ น เดี ย ปากีสถานและบังคลาเทศ (115,000 เล่มต่อฉบับ) น�ำเสนอเกี่ยว กับทางเลือกในการบอกรับนิตยสารและการช�ำระเงิน และตั้งข้อ สังเกตว่า หากค่าบอกรับนิตยสารฉบับดิจิตอลของ RI มีราคาถูก กว่า จะท�ำให้สมาชิกหันไปรับ The Rotarian แทน • นิตยสาร Rotary Thailand (ยอดพิมพ์ 8,200 เล่ม) น�ำเสนอเกี่ยวกับการวิเคราะห์เนื้อหาซึ่งแสดงให้เห็นว่ามีเนื้อหา เกี่ยวกับโรตารีประมาณ 95% และเนื้อหาโดยรวมมาจาก The Rotarian มากถึง 50% ซึ่งต่อไปอาจจะปรับให้มีเนื้อหาที่ไม่ เกี่ยวกับโรตารีมากขึ้นเพื่อให้เป็นที่สนใจแก่ครอบครัวและบุคคล ภายนอก รวมทั้งจะพยายามท�ำสรุปภาษาอังกฤษสั้นๆ ในบาง คอลัมน์ • นิตยสาร Rotary Korea (60,000 เล่มต่อฉบับ) น�ำเสนอ เกี่ยวกับการผลิตและการจัดการ หลังจากนั้นเป็นการอภิปรายในเรื่องต่างๆ เกี่ยวกับค่า บ�ำรุงนิตยสาร การส่งนิตยสาร การเรียกเก็บเงิน เนื้อหาและอื่นๆ จนถึงเวลา 17.00 น. จึงปิดประชุม

ช่วงเย็นมีงานเลี้ยงอาหารค�่ำซึ่งอดีตประธานโรตารีสากล ดอง เคิรน์ ลีและผูน้ ำ� อาวุโสของโรตารีเกาหลีมาร่วมงานหลายคน กว่างานเลี้ยงจะเลิกราก็หมดแรงไปเที่ยวไหนต่อไม่ไหวแล้ว ทั้งๆ ทีโ่ รงแรมทีเ่ ราพักมีสถานีรถไฟใต้ดนิ และมีทางเดินใต้ดนิ เชือ่ มโยง ไปสู่ห้างสรรพสินค้าใหญ่ มีช้อปปิ้งมอลใต้ดินด้วย วันรุ่งขึ้นยังคงอยู่ในช่วงของการสัมมนาแต่เป็นช่วงทัวร์ สถานที่ต่างๆ วันนี้น่าจะเป็นวัน “เที่ยว” จริงๆ เราได้ไปเยี่ยม ชมพระราชวังเคียงบ็อกกุง ซึ่งถ้าเปรียบเทียบกับประเทศไทย แล้วก็น่าจะเป็นเหมือนกับพระบรมมหาราชวังซึ่งนักท่องเที่ยว


08.40 น. เจ้าหน้าทีน่ ติ ยสารโรตารีเกาหลีมารับพวกเราที่ โรงแรมและพาเดินไปที่ส�ำนักงานของนิตยสาร (ตั้งอยู่ที่เดียวกัน กับส�ำนักงานของโรตารีสากล) ที่นั่น เราได้มีการพูดคุยแลก เปลีย่ นความคิดเห็นกันต่อ และท้ายทีส่ ดุ เจ้าภาพได้ขอความร่วม มือให้นติ ยสารภูมภิ าคทุกฉบับช่วยส่งเสริมการประชุมใหญ่ (ซึง่ เรา จะยังไม่แตะต้องเรื่องนี้ ขอให้ผ่านพ้นคอนเวนชั่นที่เซาเปาโลไป ก่อน) จนถึงเทีย่ ง จึงแยกย้ายกันไป เขาต้องรีบไปสนามบินให้ทนั เวลาเช็คอินและวิง่ ช้อปปิง้ รอบสุดท้ายก่อนเดินทางกลับกรุงเทพฯ ขอสรุปว่า การไปร่วมสัมมนาบรรณาธิการของนิตยสารโรตารี ในแถบเอเชียแปซิฟิกเป็นการเปิดโลกทัศน์ของดิฉันเกี่ยวกับ นิตยสารโรตารีอย่างมาก เพราะว่าเพิง่ เริม่ เข้ามาช่วยงานนิตยสาร ได้ไม่ถงึ หนึง่ ปี แต่โชคดีทที่ ำ� งานโรตารีมานาน ท�ำให้รว่ มพูดคุยได้ตาม สมควร มีข้อมูลที่สามารถอภิปรายถกเถียงกับเขาได้ และขอ

ทุกคนจะต้องไป และโลโก้ของการประชุมคอนเวนชัน่ ก็มที มี่ าจาก ทีน่ ดี่ ว้ ย หลังจากนัน้ ก็พาไปรับประทานอาหารกลางวันทีย่ า่ นอิน ซาดง เป็นหมูยา่ งเกาหลี (บุลโกกิ) รับประทานกับผักและมีเครือ่ ง เคียงต่างๆ มากมาย อินซาดงเป็นแหล่งช้อบปิง้ ข้าวของสวยงาม น่าซือ้ หา เราได้แต่เดินแกมวิง่ ผ่านไป ไม่สามารถทีจ่ ะแวะซือ้ อะไร ได้เลย เพราะว่าจะต้องรีบไปให้ทนั ตามโปรแกรมทีก่ �ำหนดไว้ นัน่ คือ RID.Sangkoo Yun เชิญพวกเราไปดื่มน�้ำชาที่บ้านของท่าน ซึง่ เป็นบ้านเกาหลีแบบโบราณอายุเป็นร้อยปี หากใครเป็นแฟนซีรยี ์ แบบจักรๆ วงศ์ๆ ของเกาหลีคงนึกภาพออกทันที ภรรยาของท่าน ได้ท�ำขนมอร่อยเลี้ยงพวกเราด้วย หลังจากนัน้ เราก็ตอ้ งรีบกลับออกมาเพือ่ ขึน้ รถไปเยีย่ มชม KINTEX ซึง่ เป็นสถานทีจ่ ดั การประชุมใหญ่ในปีหน้า ตัง้ อยูท่ เี่ มือง โกยัง (Goyang) ห่างจากโซลไปประมาณ 30 นาที เราได้รับการ บอกเล่าและเดินชมสถานที่ซึ่งใหญ่โตมาก ท�ำให้คิดถึงเมื่อครั้ง ที่โรตารีในประเทศไทยเป็นเจ้าภาพจัดประชุมใหญ่ปี 2555 ต่อ จากนั้น เราได้ไปเที่ยวงานเทศกาลดอกไม้ของเมืองโกยังซึ่งเป็น งานที่มีชื่อเสียงมาก เมืองโกยังเป็นเจ้าภาพเลี้ยงอาหารเย็นซึ่ง เป็นอาหารเกาหลี เสริฟพร้อมเหล้าพื้นเมืองที่เรียกว่ามัคคอลลี่ (makkolli) น�ำ้ ขาวๆ หวานนิดๆ น่าจะคล้ายกับสาโทของบ้านเรา คืนสุดท้ายในเกาหลีหมดไปกับการวิง่ หาซือ้ ขนมของฝาก ทีร่ า้ นสะดวกซือ้ เพราะเป็นทีเ่ ดียวทีเ่ ปิดทัง้ คืน ไม่มเี วลาเลยจริงๆ กลับมาโรงแรม จัดกระเป๋าแล้วก็รีบเข้านอนเพราะเช้าวันรุ่งขึ้น (30 เมษายน) ยังคงมีการประชุมอีกครึ่งวัน! 38 Rotary Thailand

ขอบคุณ บก.อผภ.นพ.พรชัย บุญแสง ที่ให้โอกาสดิฉันและคุณ จิตราพรได้ไปร่วมการสัมมนาที่เสริมสร้างความรู้ให้แก่เจ้าหน้าที่ ของศูนย์โรตารีฯ หากมีโอกาส จะได้มาเล่าให้ฟังต่อเกี่ยวกับ Korean hospitality #

38


การประชุมใหญ่โรตารีสากล อน.ศรีฟ้า ศิริอุดมเศรษฐ - สร.กรุงเทพรัชดาภิเษก/แปล

โปรแกรมแอพ (App) ๕ สิ่งที่น่าท�ำ

ใช้งานส�ำหรับการประชุมใหญ่

โปรแกรมแอพรายการโรตารีสามารถช่วยให้คณ ุ ได้ รับประโยชน์จากการประชุมใหญ่ของโรตารีปนี รี้ ะหว่าง วันที่ ๖-๙ มิถนุ ายน ทีเ่ ซาเปาโล ประเทศบราซิล ได้เป็น อย่างมาก ไม่ว่าคุณจะเป็นผู้เคยมีประสบการณ์ในการ เข้าประชุมหรือเป็นการประชุมครั้งแรก โปรแกรมฟรีนี้ช่วยวางแผนกิจกรรมแต่ละวันได้ อย่างง่ายๆ ท�ำให้ทราบรายการผู้บรรยายและรายการ บันเทิง สามารถดาวน์โหลดแหล่งข้อมูลและเชื่อมต่อ กับเพื่อนๆ ได้ นอกจากนี้มันยังสามารถช่วยท่าน • บอกเส้นทางไปสถานที่ประชุมและบ้านแห่ง มิตรภาพพร้อมแผนที่ในแบบปฏิสัมพันธ์กัน • ใส่รูปภาพต่างๆ ของท่านทางอินเตอร์เน็ตใน อัลบั้มรูปการประชุม • ประเมินการประชุมต่างๆ และส่งข้อมูลให้ผจู้ ดั งานประชุม คุณสามารถใช้โปรแกรมแอพนีโ้ ดยไม่ตอ้ งเชือ่ มต่อ อินเตอร์เน็ต เพราะทันทีทคี่ ณ ุ ดาวน์โหลดโปรแกรม คุณ สามารถใช้ข้อมูลส่วนใหญ่ได้ในระบบออฟไลน์ ดาวน์ โ หลดโปรแกรมรายการงานโรตารี ผ ่ า น Apple App Store ส�ำหรับ iPhone และ iPads ผ่าน Google Play ส�ำหรับ Android และผ่าน BlackBerry App Store ส�ำหรับ BlackBerry

ถ้าคุณก�ำลังจะมุง่ หน้าไปสูเ่ มืองเซาเปาโล ประเทศบราซิล เพือ่ เข้า ประชุมใหญ่โรตารีประจ�ำปี ๒๕๕๘ ระหว่างวันที่ ๖-๙ มิถุนายน นั้นมี ๕ วิธีที่จะท�ำให้คุณได้รับประโยชน์สูงสุดจากการไปครั้งนี้ ดังนี้ ๑. ให้สนุกกับการเต้นระบ�ำแซมบ้า ดนตรีลูกผสมตามแบบฉบับ แนวแอฟโฟร่-บราซิลเลีย่ นทีแ่ สดงออกถึงความมีชวี ติ ชีวาของวัฒนธรรม ของบราซิล ในวันที่ ๖ มิถุนายน ขบวนคาร์นิวัลของโรตารี ซึ่งมีบรรดา โรงเรียนสอนเต้นแซมบ้าอาชีพมาร่วมงานจะพาคุณเต้นระบ�ำเท้าไปกับ จังหวะเพลงตั้งแต่จังหวะแรกแม้ว่าคุณเต้นไม่เป็น ๒. ให้เริ่มต้นวันของคุณกับมวลมิตรโรตารีด้วยการดื่มกาแฟแสน อร่อยและจากนั้นไปลิ้มรสอาหารมากมายลานตาของพ่อครัวชื่อดังของ เซาเปาโลเลือกตามรสนิยมของคุณ ๓. ไปเดินเล่นรอบเมืองชมหมู่บ้านชนชาติต่างๆ ที่คุณจะได้เห็น ต�ำบลที่อยู่ของชาวจีน ญี่ปุ่น และ เกาหลี ซึ่งมาอยู่ละแวกเดียวกัน ในลิเบอร์ดาร์ด แล้ว ไปรับประทานอาหารเยอรมันโบราณในย่ า น บรู๊คลินโนโว ๔. ฟังบรรยายเรือ่ งต่างๆ หลากหลายจากผูเ้ ชีย่ วชาญตัง้ แต่เรือ่ งน�ำ้ ไปจนถึงโปลิโอระหว่างการประชุมใหญ่ทศี่ นู ย์การประชุมอันเฮมบิพาร์ค และเยีย่ มชมห้องมิตรภาพ (House of Friendship) เพือ่ ดูแนวคิดใหม่ๆ ในการบ�ำเพ็ญประโยชน์ , หาหุ้นส่วนโครงการ, และ ลองชิมอาหารและ ซื้อสินค้าพื้นเมือง ๕. มาให้เร็วขึ้นเพื่อจะได้ร่วมงานต่างๆ ที่จัดก่อนการประชุมใหญ่ มีการประชุมใหญ่สนั ติภาพในระหว่างวันที่ ๔-๕ มิถนุ ายน ซึง่ คุณสามารถ มาเข้าร่วมประชุมกับนักศึกษาสันติภาพ ศิษย์เก่าโรตารี และสมาชิกโรตารี อื่นๆ เพื่อเฉลิมฉลองผลงานของเราในเรื่องสันติภาพและการแก้ไข ข้อขัดแย้ง แต่ถ้าคุณสนใจเรื่องน�ำ้ และสุขอนามัย คุณก็สามารถเข้าร่วม การประชุมสุดยอดเรื่องน�ำ้ โลกซึ่งจัดในวันที่ ๔ มิถุนายน

ลงทะเบียนร่วมประชุมใหญ่โรตารีสากลปี ๒๕๕๘ ที่จะจัดขึ้นในเมืองเซาเปาโล ที่ www.riconvention.org

District Member Club

3330 2,622 99

3340 1,515 59

At a Glance

3350 2,673 101

3360 1,413 64

รวม 8,223 323

จับตาสมาชิก ข้อมูล : ผู้แทนดูแลการเงินฯ (15 พ.ค. 58) 39


Rotary District 3340 Conference

การประชุมใหญ่ประจ�ำปี ของภาค 3340 โรตารีสากล

14-15 มีนาคม 2558 โรงแรมแอมบาสซาเดอร์ ซิตี้ จอมเทียน พัทยา จ.ชลบุรี

มิตรภาพประทับใจไม่รู้ลืม

การประชุมใหญ่ประจ�ำปีของภาค 3340 โรตารีสากล (District Conference) ถือเป็นการประชุมที่มีความส�ำคัญ สุดยอดของภาค เป็นการเฉลิมฉลองความสําเร็จของสโมสร และโรแทเรียนในภาคในปีบริหาร เพื่อให้โรแทเรียนทุก ท่านได้มีโอกาสพบปะเพื่อนๆ ต่างสโมสรในภาค 3340 ได้ แลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็นในการท�ำกิจกรรมบ�ำเพ็ญ ประโยชน์และการหาทุน ในปีบริหาร 2557-58 นี้ ผู้ว่าการภาคมอบหมาย ให้สโมสรโรตารีในเขต 4 (สโมสรโรตารีบ้านฉาง พลูตาหลวง และสัตหีบ) จับมือร่วมเป็นเจ้าภาพ จัดการประชุมใหญ่ ต่าง ส่งสัญญาณกระตือรือร้นกับงานของภาคครั้งนี้ยิ่งนัก การจัดการประชุมใหญ่ภาคเป็นเรื่องท้าทายการ บริหารจัดการของเจ้าภาพ การวางแผนอย่างรอบคอบ คิดหาโปรโมชั่นเพื่อเป็นแรงจูงใจให้มาร่วมประชุม การ 40

โดย DGND.อรอนงค์ ศิริพรมนัส / สร.พลูตาหลวง เลขานุการ การประชุมใหญ่ภาค 3340

ประชาสัมพันธ์ทุกรูปแบบ เครือข่ายสังคมออนไลน์ ไปรษณีย์ ถูกน�ำมาใช้หมด ขอบคุณเทคโนโลยีการสื่อสารทางไลน์ ช่วยให้ กรรมการทุกฝ่ายทราบความก้าวหน้า นาทีตอ่ นาที สามารถรับมือ กับทุกสถานการณ์ แก้ไขปัญหาได้ฉบั ไว แรกทีเดียวตัง้ เป้าหมายขัน้ ต�่ำ 250 คน ครั้ น ถึ ง วั น ที่ ร อคอยมานานหลายเดื อ น วั น ที่ 14 มีนาคม 2558 คณะกรรมการทุกคนพร้อมใจสวมสูทสีม่วงเพื่อ “เฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยาม บรมราชกุมารี” มิตรโรแทเรียนต่างมุ่งหน้าสู่จุดหมายปลายทาง เดียวกัน ห้องประชุมจุได้ 450 คน ในพิธีเปิดห้องมองดูแน่นขนัด ไปด้วยผูร้ ว่ มประชุมตัง้ แต่รนุ่ เยาวชนโรทาแรคเทอร์ เยาวชนแลกเปลีย่ น ไปจนรุ ่ น ใหญ่ โรแทเรี ย นแต่ ง กายด้ ว ยชุ ด สู ท ประจ� ำ สโมสร สี สั น สวยงาม วงโยทวาทิ ต ของโรงเรี ย นบางละมุ ง พร้ อ มด้ ว ย นักร้องประสานเสียงเตรียมพร้อม เมื่อ SAA ให้สัญญาณ เสียงรัว สแนร์เป็นชุดท�ำให้ทกุ คนหันไปจับจ้องประตูทางเข้าทีม่ าของเสียง ผวภ.รัชนี อยู่ประเสริฐ เดินน�ำหน้าด้วยท่วงท่าสง่างามพร้อมด้วย PDG.C.S.Teng และคู่ครอง Rotary Ann Cindy ผู้แทนประธาน โรตารีสากลชาวไต้หวัน และขบวนธงชาติตา่ งๆ ธงโรตารี ธงสโมสร 17 เขตตามติดด้วย ขบวนอดีตผู้ว่าการภาค ผู้ว่าการภาครับเลือก เข้าสู่ห้องประชุม โดยเยาวชนแลกเปลี่ยนขันอาสาถือธงเข้าสู่ห้อง ประชุม วงโยทวาทิตบรรเลงเพลงกระหึ่มกังวานจับใจผู้อยู่ในที่ ประชุมยิ่งนัก

Rotary Thailand 40


งานราตรีผวู้ า่ การภาคค�ำ่ คืนนัน้ บนเวทีตงั้ ถ้วยเกียรติยศ ใบใหญ่ตระหง่าน จารึกไว้วา่ “รางวัลชนะเลิศ” วันโรตารีมนี ำ�้ ใจ ให้ความรัก ในนาม ฯพณฯ พิชัย รัตตกุล ภาคบันเทิงมีนักร้อง สมัครเล่นมาขับกล่อม การแสดง 3 ชุด จบด้วยเยาวชน แลกเปลี่ยนอินบาวด์เชิญแขกออกมาร�ำวง หลายท่านรอช่วง เวลาทองที่จะได้ฟัง ฯพณฯ พิชัย รัตตกุล อดีตประธานโรตารี สากล แสดงปาฐกถาพิเศษ ผูร้ ว่ มงานค�ำ่ คืนนีม้ ากกว่า 500 คน ทุกคนได้รบั อาหารสมอง เรือ่ งถึงเวลายุตคิ วามฟุม่ เฟือย เปลีย่ น เป็นความธรรมดา ง่ายๆ ด้วยวิธีของโรตารี “Hands on” รายการส่งท้าย ผู้ว่าการภาคมอบของที่ระลึก โล่ ประกาศ เกียรติคุณ แก่สโมสรและโรแทเรียนที่จัดแสดงโครงการดีที่สุด ที่ส่งเสริมให้มีส่วนร่วมมากขึ้น เปิดการประชุมครั้งที่ 2 อผภ.ศิริ เอี่ยมจ�ำรูญลาภ รายงานโครงการบ�ำเพ็ญประโยชน์ และบริจาคให้มูลนิธิโรตารี เป็นเงินรวม US$105,025 ขณะทีภ่ าคใช้เงิน DDF ในด้านต่างๆ รวมทัง้ โครงการทีข่ อใช้ทนุ สนับสนุนระดับโลก (Global Grant) ที่อนุมัติแล้ว และอยู่ระหว่างรอการอนุมัติ รวมทั้งที่ก�ำลังร่าง โครงการเป็นเงิน US$85,947.28 เช่น โครงการเครื่องฟอกไต เครื่องกรองน�้ำแบบหยด ห้องสมุดก่อนวัยเรียน ยังมีโครงการ ที่รออนุมัติอีก 4 โครงการ เช่น โครงการเตียงผู้ป่วยของสโมสร โรตารีพลูตาหลวง โครงการฝึกอบรมวิชาชีพพ่อครัว/การใช้จกั ร ของสโมสรโรตารีหนองคาย จากนัน้ เชิญ อผภ.วิชยั มณีวชั รเกียรติ บรรยายการขอใช้ทุนสนับสนุนระดับโลก สโมสรต้องพิจารณา เรื่องที่เน้นความส�ำคัญของ โรตารีสากล 6 สาขา พร้อมยก ตัวอย่าง เรื่อง การพัฒนาเศรษฐกิจ และชุมชน (Economic and Community Development) ในจังหวัดอุดรธานี สโมสร

ผวภ.รัชนี เดินน�ำผู้แทนประธานโรตารีสากล และโรตารีแอนน์ ฉง หย่ง

41

โรตารีหมากแข้งร่วมกับสโมสรโรตารีในเกาหลี ขอทุนสนับสนุน ส่งเสริมเศรษฐกิจและอาชีพแบบยั่งยืน ติดต่อวิทยาลัยเทคโนโลยี อุตสาหกรรมการต่อเรือหนองคาย ให้กลุ่มชาวบ้านเรียนการต่อ เรือ โดยมีจุดมุ่งหมาย เพื่อกิจการแหล่งท่องเที่ยว “ทะเลบัวแดง” แล้วน�ำรายได้มาบริหาร ขยายผลจนกิจการใหญ่โต ภายใต้การ บริหารจัดการในรูปชมรมกลุม่ ชาวบ้านทีส่ ามารถยึดเป็นงานอาชีพ เลี้ยงครอบครัวได้ เป็นผลให้สื่อนอกน�ำไปเสนอข่าวในปีที่ผ่านมา

ผวภ.รัชนี มอบของที่ระลึกให้แก่บุคคลที่เป็นที่สุดของปีบริหาร

อผภ.ดร.รายินดา ซิงห์ ผู้ประสานงานภาพลักษณ์ โรตารี (RPIC) โซน 6 B เดินทางจากกัวลาลัมเปอร์ ให้ความรู้เรื่องงาน สร้างภาพลักษณ์ และมอบรางวัลให้สโมสรโรตารีศิลปาคมที่มีผล งานชนะการประกวดสร้างภาพลักษณ์ ผวภ.รัชนี อยู่ประเสริฐ มอบประกาศเกียรติคุณและโล่ที่ระลึกแก่สโมสรและผู้ที่มีผลงาน ดีเด่น ผู้แทนประธานโรตารีสากลมอบ Rotary Service above Self Award ให้แก่ อผภ.ชาญ จรรโลงเศวตกุล สุดท้ายสรุปมติการประชุมใหญ่ภาค ครัง้ ที่ 23 ทีป่ ระชุมรับ ทราบสถานะของภาค ณ วันที่ 1 มีนาคม 2558 มีสมาชิกรวมทั้ง สิ้น 1,481 คน สโมสรโรตารี 59 สโมสร สโมสรก่อตั้งใหม่ 3 สโมสร และมีการบริจาคเงินสนับสนุนมูลนิธโิ รตารีสากล รวม 101,400.30 เหรียญสหรัฐ จบการประชุมครั้งนี้ด้วยความอิ่มเอมใจ การประชุมใหญ่ ภาคมีเสน่ห์แฝงเร้นอยู่ในบริบทของแต่ละวาระการประชุม เราจะ ตัง้ ตาคอยทีจ่ ะได้พบกับมวลมิตรโรแทเรียนในการประชุมใหญ่ภาค ในปี 2558-59 ซึง่ ผวล.วิวฒ ั น์ พิพฒ ั น์ไชยศิริ มอบให้สโมสรโรตารี ในจังหวัดนครราชสีมาเป็นเจ้าภาพ.


โรตารี วาไรตี้ ☺งานสถาปนาผู้ว่าการภาค 3330 เมื่อ 9 พฤษภาคม 2558 ผวภ.ขวัญชัย เลาหวิรภาพ กล่าวสรุปผลงาน ได้เยีย่ ม พร้อมให้กำ� ลังใจเจ้าพ่อเซีย่ งไฮ้ ผวล.ธีระนันท์ วงศ์หล่อ ที่นั่งสามล้อออกมาพร้อมทีมงาน สร้างความฮือฮาให้แก่ ผู้ร่วมแสดงความยินดีมากถึง 800 ท่านล้นห้องประชุม ☺ก่อนหน้านี้ 1 คืน ผวภ.ขวัญชัยแจกแหลกรางวัลภาค บางสโมสรต้องเอารถบรรทุกขนกลับสโมสร น่าเห็นใจจริงๆ ☺เพียงแค่สัปดาห์เดียว ภาค 3350 ก็สร้างสถิติใหม่ มีผเู้ ข้าร่วมประชุมมากถึง 1,100 ท่าน บัตรจ�ำหน่ายเกลีย้ ง ก่อนวันงาน 3 วัน ไม่สามารถขายบัตรให้กับผู้ที่จะมา ร่วมงานในคืนวันที่ 16 พฤษภาคมได้อีก สุดยอดๆๆ ☺ผวภ.สุรชาติ ชื่นโชคสันต์ ประกาศส่งมอบสโมสร 101 สโมสร สมาชิก 2,800 กว่าคน และยังจะมีตามหลังอีก 3 สโมสร ส่งมอบให้ ผวล.ไชยไว พูนลาภมงคล รับช่วงต่อ บรรยากาศคึกคักยิ่ง ปีหน้า น่าจะเป็นปีทองของภาค 3350 อย่างแน่นอน ☺สโมสรโรตารีอุดรจัดงานสถาปนาผู้ว่าการภาค 3340 ก่อนใคร อดีตประธานโรตารีสากล พิชัย รัตตกุล ชื่นชม สาวสวยจากสโมสรโรตารี ศิ ล ปาคม ท่ า นว่ า สวยจริ ง ๆ สวยทั้งรูปและสวยด้วยน�้ำใจ ที่อุดร ใครๆ ก็เห็นท่านยิ้มแย้มตลอดเวลา ดู ก ระชุ ่ ม กระชวยนั ก ☺ผวล.วิ วั ฒ น์ พิ พั ฒ น์ ไชยศิ ริ จากสโมสรโรตารีหมากแข้ง นักธุรกิจหนุ่ม รูปหล่อกล่าว ประวัติและวิสัยทัศน์ได้ดี ผมฟังจนลืมเมื่อยขา☺ระยะนี้ อผภ.นพ.สงวน คุณาพร ต้องนอนป่วยที่โรงพยาบาลหลาย ครัง้ ท�ำงานหนักทัง้ งานโรตารีและงาน ผ่าตัดแปลงเพศ สนใจสุขภาพ พักผ่อน บ้างนะครับ เดีย๋ วจะแป๊กเสียก่อน ไปไม่ถงึ เอฟแวนสตัน อิลลินอยส์ ขอเป็นก�ำลังใจให้ครับ ☺ท่องเทีย่ วทัว่ ไทย ไปทุกการประชุมต้องยกให้ อผภ.รัฐประทีป กีรติอุไร เจ้าพ่อศรีพัฒน์ ณ โคราช ☺สิงห์เหนือ (ผวล.สุรศักดิ์ พฤกษิกานนท์) ปะทะเสือใต้ (ผวล.ธีระนันท์ วงศ์หล่อ) รณรงค์ End Polio Now ที่ศูนย์โรตารีฯ 42

Rotary Thailand 42


ผลการแข่ งถ้วยรางวั ลของสโมสรโรตารีใในประเทศไทย นประเทศไทย ปี ปี2557-58 ผลการแข่ งขันชิงงขัถ้นวชิยรางวั ลของสโมสรโรตารี 2557-2558 ถ้วยรางวัล ถ้วยสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร สโมสรที่บาํ เพ็ญประโยชน์ให้ แก่เยาวชนในด้ าน ต่างๆ เป็ นเลิศ 3 กิจกรรมหรือมากกว่า ถ้วยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สําหรับสโมสรที่บาํ เพ็ญประโยชน์ครบวงจร ดีเด่น 4 กิจกรรมขึ้นไป ถ้วยกรมพระกําแพงเพชรอัครโยธิน สําหรับสโมสรที่ทาํ คะแนนการประชุมปกติ ประจําสัปดาห์เฉลี่ยรายเดือนได้ สงู สุด ตลอดทั้งปี ถ้วยกรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ สําหรับสโมสรที่มีสมาชิกเพิ่มขึ้น ตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม ถึงวันที่ 30 เมษายนของแต่ละปี หัก ลบด้ วยจํานวนที่พ้นสภาพไปในช่วงนี้ แล้ วนํา จํานวนสมาชิกที่เหลือสุทธิมาคิดเป็ นเปอร์เซ็นต์ เพื่อหาเปอร์เซ็นต์ของสมาชิกส่วนที่เพิ่มขึ้น

43

ภาค

สโมสร

3330

สโมสรโรตารีป่าตองบีช และ สโมสรโรตารีนครปฐม

3340 3350

3360

3330

3350

สโมสรโรตารีมิตรภาพ ขอนแก่น และ สโมสรโรตารีสาทร

สโมสรโรตารีแพร่

สโมสรโรตารีสนามจันทร์ และ สโมสรโรตารีเกษมราษฏร์ คลองเตย

ถ้วยกรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร สําหรับสโมสรที่มีสมาชิกเข้ าร่วมการประชุม ใหญ่ของภาคมากที่สดุ โดยคิดเป็ นเปอร์เซ็นต์ ของจํานวนสมาชิกของสโมสรนั้น

3350

สโมสรโรตารีบางเขน

ถ้วยพระยาศรีวิสารวาจา สําหรับสโมสรที่มีกจิ กรรมในบริการใดบริการ หนึ่งดีเด่นที่สดุ ในรอบปี

3360

สโมสรโรตารีพิษณุ โลก


มิตรโรแทเรียนครับ ในเดือนพฤษภาคม โรตารีทงั ้ 4 ภาคได้มกี ารจัดการอบรมภาคประจําปี (District Training Assembly) ซึง่ ศูนย์โรตารีฯ ได้มโี อกาสไปร่วมงาน และช่วยเหลือภาคต่างๆ ทางด้านการอบรม ตามทีผ่ วู้ ่าการภาค ขอมา อาทิ เจ้าหน้าทีฯ่ ได้บรรยายการใช้ My Rotary and Rotary Club Central ในห้องอบรมย่อยของ ภาค 3330 และในห้องประชุมใหญ่ของภาค 3340 รวมถึงการออกร้านเพือ่ จําหน่ ายหนังสือและแจกจ่าย เอกสารโรตารี มิถุนายนเป็ นเดือนสุดท้ายของปีโรตารี ผมขอขอบคุณผูว้ า่ การภาค นายกสโมสร และมิตรโรแทเรียนทุกท่าน ทีใ่ ห้การสนับสนุ นการทํางานของศูนย์โรตารีฯ เป็ นอย่างดีตลอดปี 2557-58 ด้วยไมตรีจติ แห่งโรตารี (วิชยั มณีวชั รเกียรติ) ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์โรตารีฯ

การประชุมคณะกรรมการบริหารศูนย์โรตารีฯ เมือ่ วันที ่ 19 พ.ค. ทีป่ ระชุมได้หารือเกีย่ วกับเรือ่ ง  การเงินของศูนย์ฯ และนิตยสารโรตารี ซึง่ คาดว่าจะมีรายรับ มากกว่ารายจ่าย  การปรับปรุงทีท ่ าํ การศูนย์ฯ เช่น การเปลีย่ นพรม และปรับปรุง ห้องนํ้า  สรุปงานวันไทยโรตารี (มีผร ู้ ว่ มงาน 12,000 คน งบประมาณใน การจัดการและการประชาสัมพันธ์ 3.6 ล้านบาท)  การประชุม 2016 Bangkok Rotary Institute (2-4 ธ.ค. 2016)  การบริจาคเงินช่วยผูป ้ ระสบภัยแผ่นดินไหวทีเ่ นปาลซึง่ จะส่งเงินไปช่วยเรือ่ งการฟื้นฟูในระยะยาว

ความคืบหน้า...ช่วยผูป้ ระสบภัยเนปาล หลังจากเหตุการณ์แผ่นดินไหวทีเ่ นปาล ท่าน PRIP พิชยั รัตตกุล ซึง่ เป็ นประธานมูลนิธภิ าคโรตารีไทยได้เริม่ รณรงค์รบั บริจาคเงินผ่านมูลนิธฯิ เพือ่ ช่วยผูป้ ระสบภัยเนปาล ดังเช่นเมือ่ เราประสบภัยสึนามิและนํ้าท่วม โรตารีต่างประเทศก็สง่ เงินมา ช่วยเรา ในขณะนี้ (25 พฤษภาคม 2558) มียอดเงินบริจาค 1.8 ล้านบาทและยังคงรับบริจาคเพือ่ นําเงินไปช่วยในโครงการ ฟื้นฟูระยะยาว เช่น การสร้างบ้าน ผูบ้ ริจาคจะได้รบั ใบเสร็จรับเงินจากมูลนิธภิ าคโรตารีไทยซึง่ สามารถนําไปหักลดหย่อน ภาษีได้ ทัง้ นี้ มูลนิธฯิ จะส่งเงินบริจาคไปยังโรตารีเนปาลเพือ่ ทําโครงการฟื้นฟูในระยะยาวและจะทําบัญชีแจงรายละเอียดให้ ทราบโดยทัวกั ่ นดังเช่นทีเ่ คยปฏิบตั มิ าทุกครัง้ เมือ่ เกิดภัยพิบตั ใิ นประเทศไทย ท่านสามารถสอบถามรายละเอียดเพิม่ เติมได้ จากเจ้าหน้าทีข่ องศูนย์โรตารีฯ

44

ศูนย์โรตารีในประเทศไทย: info@rotarythailand.org โทร. 0 2661 6720-1 โทรสาร 0 2661 6719 Rotary Thailand

Facebook://RotaryCentreThailand; www.rotarythailand.org

44


45


2015 Dictrict Conference ภาค 3330

ภาค 3340

ภาค 3350

ภาค 3360

อ่านนิตยสารโรตารีประเทศไทยออนไลน์ ได้ที่ www.rotarythailand.org


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.