นิตยสารโรตารีประเทศไทย มี.ค.-เม.ย.2562

Page 1

English issue

นิตยสารรายสองเดือน ปีที่ 35 ฉบับที่ 181 มีนาคม-เมษายน ๒๕๖๒ March-April 2019

ทรงพระเจริญ


โรตารี คืออะไร ? วัตถุประสงค์ของโรตารี โรตารีมีวัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมอุดมการณ์แห่งการบ�ำเพ็ญ ประโยชน์ ในการด�ำเนินกิจกรรมที่มีคุณค่าเป็นหลัก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เพื่อสนับสนุนและส่งเสริม หนึ่ง การเสริมสร้างความคุ้นเคยระหว่างสมาชิกเพื่อการบ�ำเพ็ญประโยชน์ สอง การยกระดับจรรยาบรรณในธุรกิจและวิชาชีพ การยอมรับคุณค่าใน การประกอบอาชีพที่ยังคุณประโยชน์ และการให้โรแทเรียนทุกคนภูมิใจใน อาชีพของตน เพื่อการบ�ำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคม สาม การให้โรแทเรียนทุกคน น�ำเอาอุดมการณ์แห่งการบ�ำเพ็ญประโยชน์ ไปใช้ในชีวิตส่วนตัว ธุรกิจและชุมชน สี่ การเพิ่มพูนความเข้าใจ ไมตรีจิตและสันติสุขระหว่างชาติ ด้วยมิตร สัมพันธ์ของบุคคลในธุรกิจและวิชาชีพทัว่ โลก ทีม่ อี ดุ มการณ์ในการบ�ำเพ็ญ ประโยชน์อย่างเดียวกัน

The Object of Rotary

The Object of Rotary is to encourage and foster the ideal of service as a basis of worthy enterprise and, in particular, to encourage and foster: FIRST The development of acquaintance as an opportunity for service; SECOND High ethical standards in business and professions, the recognition of the worthiness of all useful occupations, and the dignifying of each Rotarian’s occupation as an opportunity to serve society; THIRD The application of the ideal of service in each Rotarian’s personal, business, and community life; FOURTH The advancement of international understanding, goodwill, and peace through a world fellowship of business, and professional persons united in the ideal of service. แฮมเบิร ก์ , เยอรมัน 1-5 มิถุนายน 2019


สารประธานโรตารีสากล แบรี แรซซิน มีนาคม ๒๕๖๒

มิตรโรแทเรียนที่รัก ในการท�ำหน้าที่ประธานโรตารีสากลของผม มีสิ่งหนึ่งที่ผม รูส้ กึ ชืน่ ชอบมากทีส่ ดุ คือ การได้พบกับผูค้ นหลากหลาย ผมใช้เวลาส่วน ใหญ่ในการเดินทาง และเยี่ยมเยียนสโมสรโรตารีทั่วโลก การต้อนรับ ของโรแทเรียนจึงเป็นเรื่องที่วิเศษมากจริงๆ แต่ผมขอเรียนให้ท่าน ทราบว่า การต้อนรับที่จัดขึ้นมาเหล่านั้นไม่มีความอบอุ่นใดมากไป กว่าการต้อนรับของเหล่าโรทาแรคเทอร์ คนหนุม่ สาวทีเ่ ข้ามาร่วมอุทศิ ตนตามอุดมการณ์โรตารี ทุม่ เทใจให้กบั งานบ�ำเพ็ญประโยชน์ และใน ขณะท�ำงานด้วยกันพวกเขาก็ไม่ลืมที่จะสนุกสนานกันไปด้วย จุดไฮไลท์หนึ่งในการเดินทางของผมเมื่อเร็วๆ นี้ คือการ เดินทางไปประเทศกานา ผมไปเยีย่ มภาคทีอ่ า้ งว่ามีสโมสรโรทาแรคท์ ถึง ๖๐ สโมสรและยังไม่พอใจกับจ�ำนวนดังกล่าว พวกเขาก�ำลังคิด วางแผนด้วยความตั้งใจว่าจะเพิ่มจ�ำนวนเป็นสองเท่า ผมเชื่อว่าพวก เขาคงท�ำได้แน่นอน โรทาแรคเทอร์ก�ำลังหยอดวัคซีนโปลิโอแก่เด็กๆ พวกเขา ก�ำลังบริจาคโลหิตในแหล่งส�ำรองที่ขาดแคลน พวกเขาก�ำลังจัดที่ ล้างมือในโรงเรียนทีก่ อ่ นหน้านีน้ กั เรียนไม่เคยมีทางได้ลา้ งมือ พูดสัน้ ๆ พวกเขาก�ำลังท�ำงานบริการเพือ่ การเปลีย่ นแปลงชีวติ ด�ำเนินโครงการ ที่สร้างความแตกต่างในชุมชนของเขาอย่างจริงจัง ที่เมืองนากีวาเล ประเทศยูกันดา มีสโมสรโรทาแรคท์แห่ง หนึ่งก�ำลังสร้างความแตกต่างพิเศษในชุมชน ที่มีศูนย์ผู้อพยพตั้งอยู่ บรรดาผูน้ ำ� โรทาแรคท์กำ� ลังเปลีย่ นสิง่ ทีค่ นอืน่ อาจมองว่าไร้ประโยชน์ และเสียโอกาสในงานบ�ำเพ็ญประโยชน์ ในการไปสร้างชุมชน และเปิด หนทางใหม่ช่วยเหลือผู้ที่ขาดแคลนมากที่สุด ในประเทศตุรกี โรทาแรคเทอร์ไปเยีย่ มเด็กๆ ทีโ่ รงพยาบาล ทุกวันอังคาร ไปเล่นเกมส์กับเด็กๆ เพื่อสร้างก�ำลังใจ และยังไปเป็นพี่ เลี้ยงนิสิตใหม่ในมหาวิทยาลัย ไปสอนทักษะผู้น�ำให้แก่น้องๆ โรทาแรคเทอร์ ก�ำลังกรุยทางส�ำหรับโรตารีให้มสี มั พันธภาพ

ร่วมกันยิง่ ขึน้ ในศตวรรษใหม่แห่งการบ�ำเพ็ญประโยชน์ ระหว่างวันที่ ๑๑-๑๗ มีนาคมนีเ้ ราจะเฉลิมฉลองสัปดาห์โรทาแรคท์โลกด้วยกัน เป็น โอกาสดีทจี่ ะไปท�ำความคุน้ เคยกับน้องๆ โรทาแรคเทอร์ในชุมชนของ ท่าน ไปปรึกษากันถึงวิธีการท�ำงานร่วมกันกับสโมสรของท่าน หาก สโมสรโรตารีของท่านยังไม่ได้สนับสนุนสโมสรโรทาแรคท์ใดเลย โปรด ทราบด้วยว่า ท่านไม่จ�ำเป็นต้องอยู่ใกล้โรงเรียนหรือมหาวิทยาลัย ก็ท�ำได้ นั่นคือ ตั้งสโมสรโรทาแรคท์ที่อยู่ในชุมชนเป็นอีกทางเลือก หนึ่งที่ดีมาก และอย่าลืมว่าโรทาแรคเทอร์ก็คือส่วนหนึ่งในครอบครัว โรตารี ดังนัน้ เมือ่ ใดโรทาแรคเทอร์ พร้อมทีอ่ อกจากสโมสรโรทาแร คท์ของเขา เราก็ยิ่งไม่ต้องการให้เขาออกไปจากครอบครัวโรตารีด้วย เช่นกัน ผมจึงขอร้องมิตรโรแทเรียนทุกท่านให้สนับสนุนการเปลี่ยน สถานะเขามาอยู่ในสโมสรโรตารี หรือเริ่มตั้งสโมสรใหม่ ผมรู้สึกยินดี ทีไ่ ด้อนุมตั กิ ารตัง้ สโมสรใหม่จำ� นวนมาก ทีพ่ วกเราต้องการให้พวกเขา มีสถานที่ ทีเ่ ขารูส้ กึ ว่าเป็นบ้านของเขาในขณะทีร่ ว่ มกันสร้างสิง่ ทีด่ ใี น โลกได้บ้าง การบ�ำเพ็ญประโยชน์ควรมีความสนุกสนาน ควรเป็นสิ่ง สร้างแรงบันดาลใจและควรที่เปิดประตูส�ำหรับทุกคนด้วย โรตารีมีสิ่งหนึ่งที่ดีมากเสมอมา นั่นคือความแตกต่าง ใน อดีตก็มักจะหมายความถึงอาชีพ เชื้อชาติและภาพลักษณ์ภายนอกที่ แตกต่าง พวกเราได้ก้าวหน้าต่อไปในการรับความแตกต่างด้านอายุ และเพศ และเมื่อเราต้อนรับโรทาแรคเทอร์เข้ามาในองค์กรของเรา พวกเราก็ยิ่งทวีความเข้มแข็งขึ้นด้วย โรตารีมพี ลังมาก เมือ่ บวกกับโรทาแรคท์ ก็ไม่มอี ะไรมาหยุด เราได้ ในการท�ำงานเคียงบ่าเคียงไหล่ด้วยกัน เราจะมีพลัง ร่วมสร้าง แรงบันดาลใจ ให้ทุกๆ ส่วนในชุมชน และในทุกคนที่เราพบ แบรี แรซซิน ประธานโรตารีสากล ปี ๒๕๖๑-๖๒

On the Web Speeches and news from RI President Barry Rassin at www.rotary.org/office-president


สารประธานโรตารีสากล แบรี แรซซิน เมษายน ๒๕๖๒

มิตรโรแทเรียนที่รัก ทุ กๆ สองนาทีบ างแห่ง บนโลกเรานี้ จะมีสตรีค น หนึ่งเสียชีวิตจากสาเหตุที่ควรป้องกันได้ เช่นการตั้งครรภ์ หรือการคลอดบุตร และทารกที่มารดาเสียชีวิตไปภายในหก สัปดาห์หลังคลอดนั้น ก็จะมีโอกาสเสียชีวิตจ�ำนวนมากกว่า ทารกที่มารดารอดชีวิตด้วย ช่วงที่ผมเดินทางไปรอบโลกใน ฐานะประธานโรตารีสากลนั้น ผมได้พบหลายครอบครัวที่ อยู่ในกลุ่มผู้ประสบเหตุร้ายดังกล่าวข้างต้น ซึ่งเป็นสถิติที่ น่าเศร้า และผมยังได้พบกับผู้อุทิศตนในการช่วยเหลือมารดา และบุตรหลายท่าน ซึ่งท�ำให้ผมพอมีความหวังอยู่บ้าง และ หลายคนในกลุม่ บุคลากรนีเ้ ป็นโรแทเรียน ซึง่ ท�ำให้ผมภูมใิ จมาก เดือนเมษายนในโรตารีคอื เดือนแห่งสุขภาพมารดาและบุตร ดัง นั้นจึงเป็นเวลาเหมาะสมที่จะเรียนให้ทราบในเรื่องที่โรแทเรียน ก�ำลังท�ำอยู่เพื่อให้ท่านมีความภูมิใจด้วย เมื่อฤดูใบไม้ร่วงที่ผ่านไปนี้ ผมได้ไปเยี่ยมโรงพยาบาล แห่งหนึ่งในเมืองเจคับพิลส์ ประเทศลัตเวีย ซึ่งเป็นโรงพยาบาล ที่ทันสมัย แพทย์และพยาบาลที่นั่นล้วนอุทิศตน เอาใจใส่และ มีทักษะประสบการณ์ แต่แม้พวกเขาจะท�ำงานหนัก ปรากฎว่า อัตราการเสียชีวติ ของมารดาในโรงพยาบาลก็ยงั มีระดับทีส่ งู มาก เนือ่ งจากปัญหาทีอ่ ยูน่ อกเหนือการบังคับบัญชาของเขา นัน่ คือ การขาดเครื่องมือวิเคราะห์โรคส�ำคัญๆ แม้แต่วัสดุขั้นพื้นฐาน ด้วย เช่น ตู้อบทารกที่คลอดก่อนก�ำหนด และนัน่ คือสาเหตุทโี่ รตารีตอ้ งเข้าไปช่วยสโมสรโรตารี ๒๑ แห่งจากทั่วโลก รวมพลังจัดทุนสนับสนุนระดับโลกจัดหา สิ่งที่โรงพยาบาลที่ต้องการ และในเดือนกันยายนที่ผ่านมาผม เดินเข้าไปเยี่ยมแผนกสูติกรรม มองเห็นอุปกรณ์เครื่องมือทัน สมัยเพิม่ มากขึน้ พบคนป่วยทีก่ ำ� ลังรับการดูแลเอาใจใส่ทจี่ ำ� เป็น และเป็นที่ซึ่งมารดาและบุตรทุกคนในโลกสมควรได้รับด้วย

02 มีนาคม-เมษายน 2562

ที่ประเทศบราซิล สมาชิกสโมสรจัดท�ำโครงการทุน ระดับโลกร่วมกับมิตรโรแทเรียนญี่ปุ่น เสริมสร้างขีดความ สามารถในการยืดเวลาดูแลทารก ที่คลอดก่อนก�ำหนดในห้อง ฉุกเฉินเด็ก ตู้อบทารกหลังคลอด เครื่องติดตามอาการและ เครื่องมืออื่นๆ ที่ช่วยให้โรงพยาบาลท้องถิ่นสามารถช่วยชีวิต เด็กทารกแต่ละปีเพิ่มขึ้นตลอดไป ในปี ๒๐๑๓ ทีป่ ระเทศมองโกเลีย ทีมงานฝึกอาชีพจาก นิวซีแลนด์ เดินทางไปจัดท�ำค�ำแนะน�ำเทคนิควิธตี อบสนองแบบ ฉุกเฉิน ส�ำหรับแพทย์และพยาบาลผดุงครรภ์ จัดท�ำโปรแกรม สอนพยาบาลผดุงครรภ์ วิธที ำ� งานแบบทันสมัย ท�ำงานวิจยั และ เขียนคูม่ อื ให้ความรูเ้ กีย่ วกับการคลอดบุตรในวัฒนธรรมของเขา หลังจากเดินทางครัง้ แรก และต่อมาในปี ๒๐๑๗ พบว่าอัตราการ เสียชีวติ ก่อน/หลังคลอดยุคใหม่ในประเทศได้ลดลงจากร้อยละ ๑๑.๒ เหลือร้อยละ ๙.๑ ในจ�ำนวนผูม้ าคลอด ๑,๐๐๐ ราย และ อัตราการเสียชีวิตของมารดาก็ลดลงเช่นเดียวกัน นี่คือความหมายของสิ่งที่ผมกล่าวถึง การบ�ำเพ็ญ ประโยชน์ที่สร้างความเปลี่ยนแปลง ซึ่งโรแทเรียนจะท�ำได้ดี ทีส่ ดุ เพราะเรามีเครือข่ายอยูท่ วั่ โลก และเราท�ำงานอยูใ่ นชุมชน ทีช่ ว่ ยให้เรามองเห็นสิง่ ทีข่ าดแคลนมากทีส่ ดุ และยังมีทมี งาน ผู้ ช�ำนาญการ ที่มีอาชีพและทักษะหลากหลายนับไม่ถ้วน ที่ช่วย ให้เราสามารถท�ำงานบ�ำเพ็ญประโยชน์แบบไร้เทียมทาน และเรา ยังสามารถ ร่วมสร้างแรงบันดาลใจ ในขณะที่เราไปช่วยเหลือผู้ ที่ต้องการเรามากที่สุด

แบรี แรซซิน ประธานโรตารีสากล ปี ๒๕๖๑-๖๒


สารประธานทรัสตี รอน ดี. เบอร์ตัน มีนาคม ๒๕๖๒

ไตรมาสสุดท้ายของปีโรตารีกำ� ลังใกล้จะมาถึงแล้ว เป็น เวลาที่เราควรต้องท�ำการตรวจสอบวัดผล ความก้าวหน้าของ เรา เมือ่ เดือนมกราคมปีทแี่ ล้ว เราได้กำ� หนดเป้าหมายการระดม ทุนประจ�ำปีไว้ และในเดือนมิถุนายนปีนี้ เราจะรายงานผลการ ด�ำเนินงานของเราให้ทราบว่าเป็นอย่างไรบ้าง? ในฐานะประธานทรัสตีมูลนิธิฯ ผมหวังว่าจะมีโอกาส แจ้งในทีป่ ระชุมใหญ่โรตารีสากล ในสิง่ ทีเ่ ราทุกคนต้องการทราบ ว่า เราไม่เพียงแต่บรรลุเป้าหมายของเราเท่านั้น แต่ยังท�ำได้สูง เกินเป้าหมายด้วย นั่นก็เพราะว่า แต่ละเป้าหมายเหล่านั้นสอดคล้องกับ ความก้าวหน้าของแต่ละข้อหลักในหกข้อมุ่งเน้นหลักของเรา ในปี ๒๕๖๐-๒๕๖๑ เราได้อนุมัติทุนระดับโลกจ�ำนวน ๑,๓๐๐ ทุน ทุนเหล่านี้สนับสนุนโครงการขนาดใหญ่ระหว่าง ประเทศที่จะมีผลตรวจวัดได้อย่างยั่งยืน บางโครงการช่วยให้ ทารกเกิดใหม่ได้มีชีวิตต่อไป บางโครงการจัดหาน�้ำดื่มสะอาด และสุ ข ภั ณ ฑ์ ห ้ อ งน�้ ำ แก่ ชุ ม ชน บางโครงการไปจั ด พั ฒ นา เศรษฐกิจในพื้นที่ยากไร้ แต่เงินทุกบาท (เหรียญ) มีค่าเสมอ - มี ผลกระทบที่ยั่งยืนตลอดไป แต่ทว่ายังมีอีกเรื่องหนึ่งที่ส�ำคัญด้วย คือ เราจะต้อง แน่ใจว่า เราจะสามารถท�ำสิ่งดีๆ ต่อไปในอนาคตที่ยาวนานด้วย นี่คือสิ่งที่เป็นเป้าหมายของกองทุนถาวรของเรา กองทุนถาวร โรตารีของเรานี้ก็คือค�ำมั่นสัญญาของเราส�ำหรับอนาคตวันพรุ่ง นี้ – ว่าการบ�ำเพ็ญประโยชน์ของเราแก่มวลมนุษย์จะต้องด�ำเนิน การต่อไป – เป็นสัญญาว่าเราจะไม่ยอมแพ้

เป้าหมายส�ำหรับกองทุนถาวรในปีนี้คือ ๒๖.๕ ล้าน เหรียญสหรัฐ (บริจาคเงินสด) และเป้าหมายเพิม่ เติมอีก ๓๕ ล้าน เหรียญสหรัฐ (ส�ำหรับค�ำสัญญาว่าจะบริจาค) แต่นยี่ งั มิใช่ทงั้ หมด ที่เราวางเป้าหมาย ส�ำหรับเป้าหมายระยะยาวในปี ค.ศ. ๒๐๒๕ (พ.ศ.๒๕๖๘) นั่นคือ ๒.๐๒๕ พันล้านเหรียญสหรัฐ การระดมกองทุนถาวร ให้ได้ถึงระดับที่กล่าวมานั้น จะมั่นใจได้ว่า กองทุนโลกจะมีรายได้ประจ�ำปีส�ำหรับสนับสนุน โปรแกรมของมูลนิธฯิ ต่อไปทุกปีกองทุนนีจ้ ะสนับสนุนโปรแกรม ที่ท่านตั้งใจจะสนับสนุน โดยใช้เงินบริจาคของท่านผ่านกองทุน ถาวรนี้ตลอดไป หากพวกเราแต่ละคนสนับสนุนกองทุนถาวร ของเรา เราจะสามารถสร้างมรดกของเรา ค�ำสัญญาของโรตารี ได้อย่างแท้จริง พวกเราสามารถสร้างความเข้มแข็ง ให้มูลนิธิของเรา ยิ่งๆ ขึ้นไปด้วยกัน เพื่อที่เราจะสามารถท�ำสิ่งที่ดียิ่งๆ ขึ้นในโลก ต่อไป

รอน ดี. เบอร์ตัน ประธานทรัสตีมูลนิธิโรตารี ปี ๒๕๖๑-๖๒


สารประธานทรัสตี รอน ดี. เบอร์ตัน เมษายน ๒๕๖๒

เราเริม่ เข้าถึงไตรมาสสุดท้ายของปีโรตารีแล้ว จึงควร ค�ำนึงถึงความมั่นใจว่า เราจะผ่านเส้นชัยไปได้อย่างดีด้วย ผม หวังว่าเป้าหมายของท่านจะสร้างความเข้มแข็งให้สโมสรท่าน ดียิ่งขึ้นกว่าตอนต้นปี ทุกๆ สโมสรต้องพึ่งพาสมาชิกให้ท�ำ หน้าที่ของตน เพื่อให้สโมสรไม่เพียงแต่รอดตายแต่ยังเติบโต ด้วย เพือ่ ทีก่ ล่าวมาจะเกิดขึน้ ได้ สมาชิกแต่ละคนต้องเสีย สละเพือ่ ผลส�ำเร็จทุกๆ วันตลอดปี เป็นเรือ่ งส�ำคัญทีจ่ ะคัดกรอง สมาชิกใหม่ทเี่ หมาะสมและเป็นพีเ่ ลีย้ งให้เขา/เธอ หรือออกไป พบอดีตสมาชิก แล้วเชิญเขากลับมา แต่เหนือไปกว่านั้น ไม่ว่า เป็นสมาชิกใหม่หรือสมาชิกเก่าที่ได้กลับ คืนมา เราควรต้อง ให้ค�ำปรึกษาแก่เขาและท�ำให้เขาเป็นสมาชิกที่เข้มแข็งของ สโมสร เราจะต้องม้วนแขนเสื้อขึ้นท�ำงานกิจกรรม/โครงการ ของสโมสร/ภาค หรือโครงการระดับโลก เพราะไม่มสี งิ่ ใดสร้าง สมมิตรภาพได้มากไปกว่าการท�ำงานร่วมกันกับสมาชิกอื่นๆ ในสโมสร พวกเรายังต้องสนับสนุนมูลนิธิโรตารี การท�ำสิ่งดีๆ ในโลกให้เกิดขึน้ มิใช่เรือ่ งบังเอิญ นอกจากการมีบคุ ลากรด�ำเนิน โครงการของเรา เราก็ต้องมีเงินทุนสนับสนุนให้งานเดินต่อไป

ผู้แปลสาร : อน.พิเชษฐ์ รุจิรัตน์ สร.ราชบุรี pr.pichet3330@gmail.com

04 มีนาคม-เมษายน 2562

นีค่ อื สิง่ ทีพ่ วกเราแต่ละคนเข้ามาในโรตารี เราพร้อมกับหุน้ ส่วน ของเรา และผู้ได้รับผลประโยชน์ของเราคือ แหล่งเงินทุน สนับสนุนมูลนิธิ ผมหวังว่าสมาชิกแต่ละคนจะมองว่ามูลนิธขิ อง เราเป็นทางเลือก ในการท�ำบุญสร้างกุศล เพื่อให้สามารถ ท�ำงานเปลี่ยนแปลงชีวิต และโลกต่อไปได้ เพียงค่ากาแฟปรุง พิเศษสองถ้วยในแต่ละเดือน สมาชิกคนหนึ่งก็สามารถเป็นผู้ บริจาค ๑๐๐ เหรียญสหรัฐต่อปีได้ นีเ่ ป็นเพียงเงินจ�ำนวนน้อย ส�ำหรับใช้จ่ายในการท�ำสิ่งดีๆ ที่มูลนิธิของเรากระท�ำในโลก การบริจาคแก่มลู นิธขิ องเรา เป็นเรือ่ งทีง่ า่ ยมาก ท่าน สามารถบริจาคได้อย่างสะดวกและปลอดภัย ทุกเวลาที่เว็บ rotary.org/donate และในเดือนนีผ้ มจะลงทะเบียนออนไลน์ และบริจาคเงินอีกส่วนหนึง่ ผมขอเชิญทุกๆ ท่านได้รว่ มบริจาค ด้วยกันครับ

รอน ดี. เบอร์ตัน ประธานทรัสตีมูลนิธิโรตารี ปี ๒๕๖๑-๖๒


บทบรรณาธิการ อน.วาณิช โยธาวุธ สร.แม่สาย D.3360

มวลมิตรโรแทเรียนทุกท่านครับ

ในรอบปี ที่ ผ ่ า นมา เราคงได้ รั บ ทราบข่ า วสารเกี่ ย วกั บ เหตุการณ์สภาพภูมิอากาศสุดขั้ว หรือที่เรารู้จักกันในชื่อ Extreme Weather Event เกิดขึน้ อย่างต่อเนือ่ งทัว่ โลก รวมถึงบ้านเราด้วย สาเหตุ หลักที่ส�ำคัญก็คือ โลกเราร้อนขึ้น ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หมายถึง การที่อุณหภูมิ เฉลีย่ ของอากาศบนโลกสูงขึน้ ไม่วา่ จะเป็นอากาศบริเวณใกล้ผวิ โลกและ น�้ำในมหาสมุทร สาเหตุมาจาก ก๊าซเรือนกระจกทีเ่ พิม่ ขึน้ จากการท�ำกิจกรรม ต่างๆ ของมนุษย์ ไม่ว่าจะเป็นการเผาผลาญถ่านหินและเชื้อเพลิง รวม ไปถึงสารเคมีที่มีส่วนผสมของก๊าซเรือนกระจกที่มนุษย์ใช้ และอื่นๆ อีก มากมาย ลอยขึ้นไปรวมตัวกันอยู่บนชั้นบรรยากาศของโลก ท�ำให้รังสี ของดวงอาทิตย์ทคี่ วรจะสะท้อนกลับออกไป ในปริมาณทีเ่ หมาะสม กลับ ถูกก๊าซเรือนกระจกเหล่านีก้ กั เก็บไว้ จนท�ำให้อณ ุ หภูมขิ องโลกค่อยๆ สูง ขึ้นจากเดิม ปรากฏการณ์ทเี่ ห็นได้ชดั เจนก็คอื การละลายของพืดน�ำ้ แข็ง *QR Code ส�ำหรับรายละเอียดเพิ่มเติม เกี่ยวกับ ภาวะโลกร้อน*

บริเวณขัว้ โลก และจะเป็นสาเหตุหนึง่ ของการสูญพันธ์ขุ องหมีขาวขัว้ โลก (Polar Bear) ระดับน�้ำของมหาสมุทรจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากการละลายของ น�้ำแข็งขั้วโลก จนเมืองใหญ่ๆ ที่อยู่ในที่ราบลุ่มทั่วโลกจมอยู่ใต้น�้ำ รวม ไปถึงกรุงเทพฯ ของเราด้วย ปัจจุบนั โลกของเราก�ำลังเผชิญกับเหตุการณ์สภาพภูมอิ ากาศ สุดขัว้ ทีเ่ พิม่ ขึน้ เรือ่ ยๆ และทุกอย่างอาจวิกฤตไปกว่านีห้ ากเราไม่สามารถ รักษาอุณหภูมิโลกไว้ไม่ให้เพิ่มเกิน 1.5 องศาเซลเซียส ทั่วโลกก�ำลังตื่นตัว โดยเฉพาะเยาวชนคนรุ่นใหม่ ได้ลุกขึ้น มาเรียกร้องให้รัฐบาลแก้ไขปัญหานี้อย่างจริงจัง พวกเขาย�้ำเตือนผู้น�ำ ประเทศเกี่ยวกับระยะเวลา ในการกู้วิกฤตการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิ อากาศของโลก ซึ่งเหลือเวลาเพียงแค่ 12 ปีเท่านั้น จึงไม่ใช่เรื่องของใครคนใดคนหนึ่ง เราทุกคนมีส่วนท�ำให้โลก เกิดภาวะวิกฤตินี้ คงต้องช่วยกันคนละไม้คนละมือ เพื่ออนาคตของลูก หลานของพวกเราทุกคน ด้วยไมตรีจิตแห่งโรตารี อน.วาณิช โยธาวุธ


นิตยสารโรตารีประเทศไทย

Mr.Kotaro Fujiwara กั บ ศิ ล ปิ น ผู้ พิ ก ารด้ ว ย กล้ามเนื้ออ่อนแรง นายไพศาล มาลา วัย 37 ปี ซึ่งได้เสียชีวิต ไปแล้วที่บ้านในจังหวัดบุรีรัมย์

Mr.Kotaro Fujiwara ครูใหญ่ของโรงเรียนเด็กพิเศษ ที่ เมือง Anjo จังหวัด Aichi ประเทศญี่ปุ่น ผู้อำ�นวยการ WAFCA (มูลนิธิ ศู น ย์ มิ ต รภาพมนุ ษ ย์ ล้ อ ) ของญี่ ปุ่ น และร่ ว มมื อ กั บ WAFCAT ใน ประเทศไทยเพื่ อ ช่ ว ยเหลื อ ผู้ ที่ ต้ อ งใช้ ร ถเข็ น คนพิ ก าร ฯลฯ ผู้ ก่ อ ตั้ ง Asian Children’s Association ขึ้นเมื่อปี 2017

06 มีนาคม-เมษายน 2562


นิตยสารรายสองเดือน ปีที่ 35 ฉบับที่ 181 มีนาคม-เมษายน ๒๕๖๒ March-April 2019

สารบัญ Contents สารประธานโรตารีสากล สารประธานทรัสตีฯ สารบัญ สนเทศโรตารี บทความแรงบันดาลใจ

1-2 3-4 6-7 8 9

สกู๊ปพิเศษ “Climate Change”

10-16

กองบรรณาธิการ

คณะกรรมการที่ปรึกษา ผวภ.พลโท คณิต แจ่มจันทรา (3330) ผวภ.สุรพล ทวีแสงสกุลไทย (3340) ผวภ.นครินทร์ รัตนกิจสุนทร (3350) ผวภ.รุ่งรานี แสงศิริ (3360) อผภ.นพ.พีระ ฟาร์มไพบูลย์ (3330) อผภ.อรอนงค์ ศิริพรมนัส (3340) อผภ.มารศี สกุลหลิว (3350) อผภ.นิธิ สูงสว่าง (3360) PRID.รศ.ดร.เสาวลักษณ์ รัตนวิชช์ (3350) อผภ.วิวัฒน์ ศิริจางคพัฒนา (3360) อผภ.นพ.พรชัย บุญแสง (3330) อผภ.นิเวศน์ คุณาวิศรุต (3340) คุณดนุชา ภูมิถาวร

บรรณาธิการบริหาร อน.วาณิช โยธาวุธ (3360) บรรณาธิการผู้ช่วย ภาค 3330 อผภ.จุฑาทิพย์ ธรรมศิริพงษ์ ภาค 3340 รทร.เดียร์ราห์ พิบูลย์วัฒนวงษ์ ภาค 3350 อน.ตรอง แสงสว่างวัฒนะ ภาค 3360 อน.นพ.ณัฏฐธนิน เศรษฐวนิชย์ บรรณาธิการผู้ช่วยบริหาร อน.จันทนี เทียนวิจิตร (3360) คอลัมนิสต์ อน.ดร.บุษบง จ�ำเริญดารารัศมี (3360) กรรมการที่ปรึกษาฝ่ายประชาสัมพันธ์ อผภ.อนุรักษ์ นภาวรรณ (3360)

สถานที่ติดต่อ ศูนย์โรตารีในประเทศไทย 75/82-83 อาคารโอเชี่ยนทาวเวอร์ 2 ชั้น 32 ซ.วัฒนา ถ.อโศก เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110 c/o Rotary Centre in Thailand 75/82-83, 32/Fl., Ocean Tower II, Soi Wattana, Asok Rd., Wattana, Bangkok 10110 Tel: 02-661-6720 Fax: 02-661-6719 Mobile: 085-822-4442 Email: magazine@rotarythailand.org , v.yotharvut@rotarythailand.org Website: www.rotarythailand.org


สนเทศโรตารี

นยล.ณริษา ไลยโฆษิต สโมสรโรตารีศรีตาปี

มิตรภาพจะท�ำให้สมาชิกท่านอื่น เกิดแรงบันดาลใจได้อย่างไร ? มวลมิตรโรแทเรียนที่รักคะ ในรอบคัดเลือกหัวข้อสนเทศโรตารีท่ีผ่านมา ดิฉันได้น�ำ เสนอไปว่ามิตรภาพคือสิ่งที่ส�ำคัญที่สุดที่ท�ำให้องค์กรโรตารีมีความเข้มแข็งอย่างยั่งยืน ในวันนี้ เรามาฟังกันค่ะ ว่ามิตรภาพจะท�ำให้สมาชิกท่านอื่นเกิดแรงบันดาลใจได้อย่างไร ท่านแบรี แรซซิน ประธานโรตารีสากล ได้กล่าวไว้ในนิตยสารโรตารีประเทศไทย ฉบับ ที่ 177 ว่า ท่านเลือกคติพจน์ “ร่วมสร้างแรงบันดาลใจ” เพราะเชือ่ ว่า “หากท่านต้องการจะสร้าง เรือสักล�ำหนึ่ง อย่าเริ่มต้นด้วยการรวบรวมแผ่นไม้ แต่จงเริ่มต้นด้วยการปลุกจิตวิญญาณคนงาน ของท่าน ให้พวกเขาปรารถนาที่จะเห็นทะเลที่กว้างใหญ่ไร้ขอบเขต” มิตรภาพเป็นกุญแจส�ำคัญ ทีส่ ดุ ในการปลุกจิตวิญญาณแห่งแรงบันดาลใจของพวกเราชาวโรตารีให้เกิดขึน้ ดิฉนั ประจักษ์เรือ่ ง นีต้ งั้ แต่วนั แรกทีเ่ ข้ามาในสโมสร สมาชิกทุกคนเชือ้ เชิญจัดหาทีใ่ ห้นงั่ และร่วมวงสนทนาจนท�ำให้ สมาชิกใหม่อย่างดิฉันรู้สึกอบอุ่นใจ ภาพของสมาชิกที่เข้าร่วมกิจกรรมบ�ำเพ็ญประโยชน์ท�ำให้ ดิฉันมีความสุข เกิดแรงบันดาลใจ กล้าที่จะเป็นผู้น�ำการท�ำโครงการ GG โครงการห้องสมุดใน ห้องเรียน และเมื่อได้เข้าร่วมประชุมต่างๆ ของภาค ท�ำให้มีความรู้เรื่องโรตารีมากขึ้น จนเกิด ความศรัทธา เปลี่ยนความกลัวเป็นความท้าทาย ในปีบริหารนี้ดิฉันจึงกล้าที่จะรับโอกาสจาก สโมสรโรตารีศรีตาปี ด�ำรงต�ำแหน่งนายกรับเลือก นี่จะเป็นปีประวัติศาสตร์ของชีวิตดิฉันและ เพื่อนนายกรุ่น 115 ที่พวกเราจะได้ร่วมกันสร้างต�ำนานกับโรตารี มวลมิตรคะ จากการรับฟังความคิดเห็นของสมาชิกทั้งในและต่างสโมสร เราได้ข้อ สรุปร่วมกันว่า แรงบันดาลใจไม่ต้องไปซื้อที่ไหน หรือหยิบยืมใคร มันอยู่ในตัวเรา สุดแท้แต่เรา จะหยิบขึ้นมาใช้อย่างไร หรือใช้เพื่ออะไร มิตรภาพเป็นตัวกลางในการรวมแรงบันดาลใจของ พวกเราลงสู่โครงการของโรตารี โดยทุกโครงการโรเเทเรียนจะเป็นผู้ลงมือท�ำทุกขั้นตอนตั้งแต่ เริ่มวางแผน ส่งมอบ ติดตาม ประเมินผล โดยยึดหลักความยั่งยืนหลังส่งมอบโครงการ องค์กร Charity Navigator ระบุว่าโรตารีสากลมีความโปร่งใสและเป็นองค์กรที่บริหารจัดการเงินรับ บริจาคให้เกิดประโยชน์สงู สุด เพราะมากกว่า 91 เปอร์เซ็นต์ของเงินทีไ่ ด้รบั บริจาคถึงมือของผูร้ บั พวกเราโชคดีที่ได้มีโอกาสท�ำสิ่งดีๆ ร่วมกับโรตารี ในทุกๆ วินาที และทุกๆ วัน ดิฉันขอเชิญชวน ให้เราบันทึกภาพแห่งความส�ำเร็จของโรตารีที่มีมิตรภาพเป็นสายใย ลงใน Rotary Showcase เพื่อสร้างแรงบันดาลใจอย่างไม่รู้จบ แก่เราชาวโรตารี และชาวโลก ทุกท่านคะ ในปีที่ 115 ของโรตารี ดิฉันมีความฝันและเชื่อว่าทุกคนที่นั่งอยู่ในที่นี้ ก็มี ความฝัน และมีแรงบันดาลใจที่จะท�ำโครงการของโรตารีนับจากนี้ให้ส�ำเร็จ ดิฉันหรือใครคนใด คนหนึ่งท�ำคนเดียวไม่ได้ ต้องใช้มิตรภาพของเรา รวมความฝัน รวมแรงบันดาลใจของพวกเรา ให้เป็นหนึ่งเดียว ดังคติพจน์ของปีนี้ที่ว่า “ร่วมสร้างแรงบันดาลใจ” แล้วใช้พลังนี้ ผลักดันทุก โครงการที่เป็นความฝันของเราให้ส�ำเร็จร่วมกัน เพื่อให้โรตารีมีความเข้มแข็งอย่างยั่งยืน จากจุดก�ำเนิดที่แสนไกล เราก่อตัวเข้าร่วมหลอมรวมกัน เกิดเติบโตได้ด้วยใช้สายสัมพันธ์ โรตารีเราจะถึงซึ่งหลักชัย 08 มีนาคม-เมษายน 2562

เหล่าแผ่นไม้ผู้ประเสริฐเกิดความฝัน เป็นล�ำเรือมุ่งมั่นเปี่ยมฝันไกล โครงการส�ำคัญปัญหาจึงฝ่าได้ ด้วยสายใยผูกพันจิตมิตรไมตรี


Article : บทความ อน.ดร.บุษบง จ�ำเริญดารารัศมี สร.พะเยา

แรงบันดาลใจ

เพื่อคลายเหนื่อย เดือนเมษายนของทุก ๆ ปีเป็นช่วงทีม่ วี นั หยุดหลายวันและผูค้ นมีภารกิจส่วนตัวกันมาก ต้นเดือน ต้องไปเช็งเม้ง กลางเดือนต้องไปรดน�้ำด�ำหัวผู้ใหญ่ของครอบครัว ของบ้านเมือง และของสโมสรโรตารี ไป วัด ไปงานสงกรานต์ ฯลฯ ในปีนี้หลายคนก็หนีฝุ่นละอองไปเที่ยวประเทศอื่น พอย่างเข้าเดือนพฤษภาคม กรรมการบริหารสโมสรต้องเริ่มท�ำงานกันอีก ช่วงนี้ทีมงานของผู้ ว่าการภาครับเลือกต้องเตรียมจัดงาน DTA มีเรื่องต้องคิดหลายเรื่อง ท�ำอย่างไรให้มีสมาชิกมาร่วมงานให้ มากที่สุด จะจัดท�ำท�ำเนียบภาคให้ทันแจกไหม สถานที่ ห้องพัก ห้องประชุมจะเรียบร้อยพอรับรองแขก หรือไม่ จะมีผู้ลงทะเบียนเพื่อให้งานมีทุนทรัพย์ที่จะจัดงานหรือไม่ ระยะหลังดีขึ้นเพราะมีการเชิญชวนลง ทะเบียนล่วงหน้ากันทาง line ท�ำให้พอคาดเดาจ�ำนวนคนที่จะมาร่วมงานได้บ้าง ยังมีอีกหลายงานที่ต้อง คิด ต้องจัดการในท�ำนองเดียวกัน เป็นวัฏจักที่เกิดขึ้นเป็นประจ�ำในแต่ละรอบปี เดือนมิถุนายน โรแทเรียนต้องเตรียมตัวเดินทางไปร่วมงานสถาปนานายกและคณะกรรมการ บริหารสโมสรของจังหวัดต่างๆ ส่วนใหญ่รวมกันเป็นกลุ่มๆ การนัดหมายการเดินทางเป็นอีกเรื่องที่ต้อง บริหารจัดการ บ้างชอบเดินทางเดี่ยว บ้างเป็นคู่ เป็นกลุ่มเล็ก เป็น กลุ่มรถตู้ นับเป็นเรื่องปกติที่เกิดขึ้น ทุกปี ผู้มีภาระมากมีสองกลุ่ม กลุ่มแรกคือกลุ่มผู้ได้รับมอบหมายให้เป็นผู้จัดงาน และกลุ่มที่ต้องท�ำหน้าที่ เชิญชวนโรแทเรียนไปร่วมงานที่จะจัดขึ้น เรียกว่าเหนื่อยและต้องเรียนรู้การแก้ปัญหาในเวลาเดียวกัน เดือนมิถุนายน ยังเป็นเดือนที่ทีมงานบริหารสโมสรต้องพยายามรวบรวมผลงานที่ผ่านมา ที่ ส�ำคัญมาก ๆ คือ จะมีจำ� นวนสมาชิกเหลือสุทธิเท่าไร มีการบริจาคให้มลู นิธโิ รตารีกมี่ ากน้อย หลายสโมสร ยังต้องติดตามว่าสมาชิกจ่ายค่าบ�ำรุงสโมสรครบไหม? หากยังขาดอยู่จะแก้ปัญหากันอย่างไร? จะเป็นผล ให้จ�ำนวนสมาชิกต้องลดลงโดยปริยายเนื่องจากการไม่ช�ำระเงินไหม? นับเป็นเดือนที่มีเหตุให้หนักใจและ ต้องการก�ำลังใจกันจริง ๆ เดือนกรกฎาคม แต่ละสโมสรเริม่ มีการประชุมในสมัยของนายกสโมสรคนใหม่ มีสมาชิกไปเยีย่ ม ไปร่วมประชุมเพื่อให้ก�ำลังใจคึกคักในต้นปี เดือนต่อๆ ไปจ�ำนวนผู้เข้าประชุมของแต่ละสโมสรก็ลดลงไป ตามล�ำดับ บางสัปดาห์เหลือไม่กี่คน ก�ำลังใจนายกแผ่วลงเป็นอย่างมาก เป็นเรื่องที่ต้องเข้าใจและต้อง ท�ำใจไปในเวลาเดียวกัน เดือนอื่น ๆ ก็ไม่ต่างไปนัก มีคึกคัก มีแผ่วเบา นับเป็นความท้าทายที่เกิดขึ้นเป็นประจ�ำ สโมสร โรตารี ไม่เหมือนหน่วยราชการทีแ่ ม้จะเช้าชามเย็นชามแต่หวั หน้าหน่วยก็มอี ำ� นาจสัง่ การ ไม่เหมือนธุรกิจที่ ตนเองเป็นเจ้าของสัง่ การได้ดงั เนรมิต มีความพิเศษเฉพาะตัวของสโมสรโรตารี ทีน่ ายกสโมสรต้องท�ำความ เข้าใจกับภาระหน้าที่ที่จะต้องดูแลสนับสนุนมากมายหลายเรื่องและตลอดปี จะได้รับความสุขและความ ภูมิใจ (Passion & Pride) เป็นรางวัลเมื่องานเสร็จ ความสุขและความภูมิใจนี่แหละคือ ผลิตผลที่สัมผัส ได้ของแรงบันดาลใจ มีโอกาสได้นงั่ คุยกับนายกทีก่ ำ� ลังจะผ่านพ้นพร้อมๆ กับนายกรับเลือกทีจ่ ะต้องท�ำหน้าทีแ่ ทน ตัง้ ประเด็นว่า นายกได้เรียนรู้อะไรบ้างจากหลายเดือนที่ผ่านมา ค�ำตอบที่น่าสนใจคือ ได้เรียนรู้ว่าเวลามีคน ถามต้องตอบค�ำถามก่อนเพราะสมาชิกไม่มีเวลาฟังค�ำอธิบาย แม้ว่านายกจะสามารถควบคุมเวลาในการ ประชุมได้ดี แต่บ่อยครั้งไม่สามารถควบคุมเวลาหลังประชุม เพราะกว่าสมาชิกจะลาจากกันก็ยังคุยกันได้ อีกหลายเรื่องและเป็นช่วงการคุยที่มีชีวิตชีวา นายกจึงต้องพูดในเวลาที่สมาชิกหยุดพูดเพื่อท�ำลายความ เงียบในห้องประชุม และต้องหยุดพูดในเวลาที่สมาชิกพูดเพื่อสร้างความสงบเงียบอีกเช่นกัน นายกรับเลือกนิง่ ฟังและตอบว่า คงต้องเร่ง “ร่วมสร้างแรงบันดาลใจ” ก่อนทีจ่ ะ “เชือ่ มสัมพันธ์ โลก”


Special Scoop Climate Change

ผู้แปล อน.สุรกิจ เกิดสงกรานต์ สร.บางเขน

การเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศโลก เป็นธุระของโรตารีได้อย่างไร? (เราท�ำอะไรไปแล้วบ้าง)

โรแทเรียนเข้าใจดีว่า ปัญหาของโลกอยู่ใกล้เหมือนสวนหลังบ้านของพวกเขาเอง ผลที่ เกิดขึ้นจากสภาพภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลง ย่อมส่งผลกระทบต่อชุมชนที่เขารักด้วย และจะไม่รอช้าที่จะลงมือท�ำ เพื่อรับมือกับปัญหาที่เกิดขึ้นนี้ ไม่ว่าจะเป็นการจัดท�ำโครงการบางอย่าง ใช้ความสัมพันธ์ที่มีอยู่ผลักดันให้เกิดการแก้ไข กฎหมาย หรือช่วยกันวางแผนเพื่ออนาคต

10 มีนาคม-เมษายน 2562


ประธานโรตารีสากล แบรี แรซซิน กล่าว

“มาเริ่มพูดคุยเกี่ยวกับเรื่ิองนี้กันเถอะ” กว่าแปดสิบเปอร์เซ็นต์ของพื้นที่ในประเทศบาฮามาสสูงกว่า น�้ำทะเลไม่เกินห้าเมตร นั่นหมายความว่าหากน�้ำในมหาสมุทรมีปริมาณ เพิ่มขึ้นในอัตราอย่างที่นักวิทยาศาสตร์ค�ำนวณไว้ บ้านบนเนินบนเกาะ นิวโพรวิเดนซ์ ของประธานโรตารีสากลแบรี แรซซิน เมื่อวันนั้นมาถึง ก็จะ กลายเป็นพื้นที่ชายหาด “ผมมองที่ประเทศของตัวเอง ในประเด็นเรื่องการ เปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศว่ามันใกล้ตวั มากจนเหมือนเป็นปัญหาส่วนตัว แล้ว” เขากล่าว “หากเรายังเฉยเมยกับมัน ประเทศนี้ก็จะหายไปจากแผนที่ โลก” ปัญหาสิ่งแวดล้อมไม่ได้เป็นหนึ่งในหกภารกิจหลักของโรตารี แต่มันผูกพันธ์ลึกซึ้งกับทุกๆ ภารกิจ นักเขียนอาวุโสของนิตยสารโรตารี ไดอานา สโคเบิร์ก จับเข่าคุยกับแรซซินในประเด็นว่าเพราะเหตุใดโรตารี จึงควรน�ำเอาความเจ็บไข้ได้ป่วยของโลกนี้มาอยู่ในแผนปฏิบัติงานของเรา เดอะโรแทเรียน: ท�ำไมโรแทเรียนจึงต้องใส่ใจกับปัญหาการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศของโลก? แบรี แรซซิน: เราคือมนุษย์ประเภททีใ่ ส่ใจต่อโลก ต้องการให้โลกน่าอยู่ และ ไม่ใช่แค่ท�ำตามภารกิจหลักหกประการ เราต้องท�ำมากกว่านั้น โดยการมอง โลกนี้เป็นองค์รวม และพยายามท�ำให้โลกนี้น่าอยู่ ลองคิดดูหากเราต้องสูญ เสียประเทศหลายประเทศไปกับน�้ำทะเลที่สูงขึ้น หากผู้คนต้องขาดแคลน น�้ำดื่มน�้ำใช้เนื่องจากเกิดภัยธรรมชาติที่รุนแรง ซึ่งอาจท�ำให้ชีวิตประชาชน ต้องล�ำบาก ฉะนั้นปัญหาสิ่งแวดล้อมเป็นบ่อเกิดของปัญหาที่เกี่ยวข้องกับ ภารกิจของโรตารีทั้งสิ้น เราจึงต้องให้ความส�ำคัญกับปัญหาสิ่งแวดล้อมให้ เพียงพอ เพราะเราเป็นองค์กรเพื่อมนุษยธรรม เราจึงต้องหยิบยกประเด็น นี้มาพูดคุยกันอย่างจริงจัง เดอะโรแทเรียน: ผลตอบรับจากโรแทเรียนเป็นอย่างไรบ้าง เมื่อตอนที่ท่าน ได้กล่าวสุนทรพจน์เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ? แรซซิน: ตอบรับทางบวกมากครับ ประมาณร้อยละเก้าสิบห้าของคนที่ผม พูดคุยด้วยตอบว่าถึงเวลาแล้วที่โรตารีจะต้องเอาเรื่องสิ่งแวดล้อมมาพูดคุย หารือกัน พวกเขากล่าววว่ามันเป็นเวลาที่เหมาะสมมากที่กรรมการมูลนิธิ โรตารีจะช่วยสร้างความกระจ่างให้แก่พวกเราว่าปัญหาสิ่งแวดล้อมควรที่ จะจัดให้อยู่ในกลุ่มภารกิจใดของหกภารกิจหลักโรตารี พวกเรารอคอยค�ำ ตอบนี้มานานมากแล้ว เรามีโครงการมากมายที่เป็นการปลูกต้นไม้ แต่เรา ขาดหลักการรองรับให้ท�ำโครงการที่ใหญ่ไปกว่านั้นได้ เดอะโรแทเรียน: แล้วท่านพูดกับคนอีก 5 เปอร์เซนต์ว่าอย่างไร? แรซซิน: มีจดหมายฉบับหนึง่ ทีส่ ง่ ถึงผม บอกว่าผมปฏิบตั หิ น้าทีท่ มี่ อี ยูด่ มี าก จนกระทั่งผมยกเรื่องการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากศของโลก เขาบอกว่าที่ จริงมันต้องเป็นเรื่อง “ปัญหาโลกร้อน” ซึ่งผมไม่เคยใช้ค�ำ ๆ นี้เลย เขาจึง พยายามให้ผมพูดให้ถูก แต่ส�ำหรับผมแล้วเราควรพูดท�ำนองว่าปัญหาการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เดอะโรแทเรียน: ท่านใช้ภาษาแบบไหนเวลาพูดเรือ่ งปัญหาการเปลีย่ นแปลง สภาพภูมิอากาศ มีการก�ำหนดให้โรแทเรียนพูดปัญหานี้อย่างไรหรือไม่? แรซซิน: ผมพูดในเชิงปัญหาสภาพแวดล้อม ซึ่งคงไม่ไปกระทบกับใคร เวลาผมใช้ค�ำพูดแบบนี้ เพราะผมเน้นพูดถึงเรื่องของการเพิ่มขึ้นของระดับ น�้ำทะเล ลักษณะการพูดแบบนี้ไม่น่าจะมีปัญหากับใคร ผมไม่ได้ใช้ค�ำว่า

“ปัญหาโลกร้อน” เพราะคนไม่ชอบค�ำนี้เนื่องจากโลกไม่ได้ร้อน ผมไม่ตอ้ งการตัดสินว่ามันร้อนหรือไม่รอ้ น ผมเพียงอยากน�ำเสนอ ข้อเท็จจริงว่ามันมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น ดูอย่างปี พ.ศ. 2560 เราเกิดภัย ธรรมชาติทเี่ ป็นเฮอริเคนหลายครัง้ นีเ่ ป็นสิง่ ทีเ่ กิดขึน้ จริง ๆ ไม่วา่ คุณจะเรียก มันว่าอะไร แต่เราต้องมองไปที่ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่จะต้องช่วยกันคิดแก้ไข เวลาเราพูดถึงโปลิโอ ทุกคนคิดถึงปัญหาด้านสุขภาพ แต่เวลาเราพูดถึง ปัญหาสิ่งแวดล้อม คนมักคิดไปถึงประเด็นการเมือง ซึ่งผมไม่ได้พูดเรื่อง การเมืองเลย ผมพูดถึงโลกของเราและวิธีที่จะท�ำให้โลกน่าอยู่ ซึ่งในฐานะ ที่เราเป็นองค์กรที่มีสมาชิกอยู่ทั่วโลก เมื่อรวมกันเราสามารถท�ำให้เกิดสิ่ง ที่แตกต่างได้ เดอะโรแทเรียน: เพราะเหตุใดโรตารีจึงมีคุณสมบัติขององค์กรที่จะสร้าง ผลกระทบกับโลกได้? แรซซิน: ความโดดเด่นของเราคือเรามีสโมสรอยู่ในกว่าสองร้อยประเทศ และอาณาเขตการปกครองในโลกนี้ สมาชิกโรตารีเชือ่ มโยงถึงบุคคลทีอ่ าจให้ ความช่วยเหลือได้ ดูอย่างโครงการโปลิโอของเรา ความส�ำเร็จของโครงการ นีไ้ ม่ใช่เพราะเราจัดหาวัคซีนป้องกันโรคได้ แต่เป็นเพราะโรแทเรียนสามารถ ติดต่อไปยังผู้เกี่ยวข้องที่ท�ำงานหรือมีอิทธพลที่จะท�ำงานนี้ให้ส�ำเร็จได้ ดัง นั้น หากเราด�ำเนินการด้วยวิธีการแบบเดียวกัน เราจะสามารถท�ำให้รัฐบาล ของประเทศต่าง ๆ ฟังเราได้ เดอะโรแทเรียน: นอกจากนี้ เรายังท�ำอะไรได้อีก? แรซซิน: ผมก็ถามโรแทเรียนทั้งหลายว่า คุณท�ำอะไรได้บ้างในพื้นที่ของคุณ ยกตัวอย่างเช่นที่บ้านผมในบาฮามาส เราปลูกต้นโกงกางรอบชายฝั่งทะเล เพื่อเป็นเสมือนแนวป้องกันการกัดเซาะของพายุชายฝั่ง หลังจากที่ผมแสดง สุนทรพจน์ที่ประเทศเนเธอร์แลนด์เกี่ยวกับปัญหาสิ่งแวดล้อมแล้ว ก็มีคน บอกมาว่าหากเราต้องการความช่วยเหลือส�ำหรับประเทศบาฮามาส เขา ยินดีจัดหาผู้เชี่ยวชาญในเรื่องนี้มาให้ความช่วยเหลือได้ มีโรแทเรียนอีกมากที่ต้องการท�ำอะไรบางอย่าง แต่ไม่รู้จะช่วย อย่างไร นีก่ เ็ ป็นสถานการณ์กลืนไม่เข้าคายไม่ออก เพราะปกติเราเก่งในเรือ่ ง การแก้ไขปัญหา เช่น หากเรารูว้ า่ ทีไ่ หนขาดแคลนน�ำ้ เรารูว้ า่ จะจัดการหาน�ำ้ ไปที่นั่นได้อย่างไร และเราท�ำได้ดี แต่เรื่องเกี่ยวกับปัญหาการเปลี่ยนแปลง สภาพอากาศของโลกเป็นเรื่องท้าทายที่สลับซับซ้อน แล้วเราจะหาวิธีทสี่ ลับ ซับซ้อนในการแก้ปัญหาได้อย่างไร เดอะโรแทเรียน: เวลานี้เป็นโอกาสที่ดีที่สุดที่จะยกเรื่องการเปลี่ยนแปลง สภาพอากาศของโลกมาช่วยกันคิดแก้ไขหรือไม่? แรซซิน: ผมคิดว่าเวลานี้เป็นโอกาสที่ดีที่สุดที่เราจะเริ่มแสดงความคิดเห็น กันในโรตารี ยังไม่จ�ำเป็นต้องท�ำอะไรมากไปกว่านั้นในตอนนี้ สิ่งหนึ่งที่ ท้าทายเราในฐานะที่เป็นองค์กรระดับโลกคือความสลับซับซ้อนของเรา มีมากเพียงใดและเราท�ำสิ่งต่าง ๆ ได้มากแค่ไหน ดังนั้น หากจะรวบรวม สมาชิกให้ท�ำอะไรสักอย่าง เราต้องร่วมสรรพก�ำลังแล้วมุ่งไปที่เรื่องใดเรื่อง หนึ่ง ซึ่งก็ต้องอาศัยประธานโรตารีสักคนหนึ่งที่จะน�ำเอาเรื่องนี้มาเป็นจุด มุ่งหมายอันดับหนึ่ง จึงจะเห็นทางแห่งความส�ำเร็จ แล้วโลกก็จะรวมก�ำลัง ต่อสู้ร่วมกับเรา แต่ถ้าหากเราต้องการให้โรตารีมีบทบาทโดดเด่นในโลก เรา ก็ควรสนับสนุนให้ช่วยกันสนใจต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมของโลก


Special Scoop Climate Change

“การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศของโลก อาจท�ำลายที่อยู่อาศัยของมนุษย์นับล้านคน และสร้างแรงกดดันให้เกิดการอพยพของมวลหมู่ มนุษยชาติครั้งใหญ่กว่าที่เราเคยเห็นในปัจจุบัน”

ฟรานเซสโก เมนอนนา - นักเรียนทุนโรตารี

เมนอนนา จบการศึ ก ษาด้ า นความก้ า วหน้ า ทางการ ศึกษาระหว่างประเทศ ที่มหาวิทยาลัยจอห์นฮอปกินส์ วอชิงตัน ดีซี ในปี พ.ศ. 2557 เขาได้ท�ำงานเป็นนักวิเคราะห์อาวุโสด้านพลังงาน และการน�ำกลับมาใช้ใหม่ ที่ฟิทช์โซลูชั่น นครนิวยอร์ค ที่นี่เขาเน้น ท�ำงานเกี่ยวกับตลาดพลังงานไฟฟ้าและการน�ำกลับมาใช้ใหม่ในกลุ่ม ประเทศก�ำลังพัฒนาและประเทศเกิดใหม่ ในฐานะที่คุณเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านการปกป้องโลกจากการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ อะไรคือสิ่งที่คุณต้องต่อสู้ด้วยมาก ที่สุด? ผมท�ำงานเกี่ยวกับการแนะน�ำนักธุรกิจและนักลงทุนให้ เห็นถึงโอกาสของการท�ำธุรกิจพลังงานสะอาด ประเด็นที่ท้าทายผม มากที่สุดคือการที่ผู้คนขาดความตื่นตัวต่อปัญหาการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ เนื่องจากว่าพวกเขาไม่ได้เป็นผู้รับผลกระทบที่เกิด ขึ้นในตอนนี้ แล้วหนทางแก้ปัญหา ที่คุณพอจะหวังได้คืออะไร? ก็พอจะมีแนวโน้มการน�ำนวัตกรรมล่าสุดในเทคโนโลยี การใช้พลังงานสะอาด โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเก็บพลังงานไฟฟ้าและ การใช้ระบบไฟฟ้าอย่างชาญฉลาดและมีประสิทธิภาพ อันนี้ได้ท�ำให้ เกิดความก้าวหน้าอย่างยิง่ ในอุตสาหกรรมการขนส่งทีใ่ ช้พลังงานจาก ไฟฟ้า ซึ่งจะท�ำให้ลดผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ได้เป็นอย่างมาก และความนิยมในการใช้พลังงานไฟฟ้าที่แพร่หลาย อย่างรวดเร็วในทศวรรษนี้เป็นสิ่งหนึ่งที่ผมหวังว่าจะแก้ปัญหาได้ใน อนาคต “ดิฉันเป็นผู้หวังดีต่อภูมิอากาศ จะเป็นได้ดีก็ต้องลงมือท�ำให้ไวด้วย เราต้องรีบหยุดการเผาผลาญเชื้อเพลิงจาก ซากดึกด�ำบรรพ์และเปลี่ยนไปใช้พลังงานสะอาดแทน”

ซาฮาร์ แมนซูร์ - นักเรียนทุนโรตารี

แมนซู ร ์ เป็ น นั ก วิ จั ย ที่ อ งค์ ก ารอนามั ย โลก และเป็ น นักวิเคราะห์นโยบายของมูลนิธิเซลโก ซึ่งท�ำงานเฉพาะเกี่ยวกับ พลังงานทางเลือกที่ยั่งยืน เธอจบการศึกษาปริญญาโทด้านนโยบาย สิ่งแวดล้อมที่มหาวิทยาลัยแคมบริดจ์ ประเทศอังกฤษเมื่อปี พ.ศ. 2557 ปัจจุบันเธอยังเป็นประธานเจ้าหน้าที่บริหารวิสาหกิจ “แบร์ เนสเซสซิตี้ส์” ที่ผลิตและจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ภายในบ้านและของใช้ ส่วนตัวที่ “ไร้ขยะ” ในฐานะที่มีอาชีพต่อสู้กับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ คุณ ต้องต่อสู้กับอะไรมากที่สุด? เราอยู่ในโลกที่แบ่งแยกฝักฝ่ายกันทางการเมือง ตอนที่ ท�ำงานอยู่องค์การอนามัยโลกในช่วงที่เชื้อไวรัสอีโบลาแพร่ขยายใน หลายประเทศ ดิฉันเห็นพลังของความสามัคคีที่ประเทศต่าง ๆ ร่วม มือเพื่อเป้าหมายอันหนึ่งอันเดียวกัน แต่น่าเสียดายที่เราไม่สามารถมี

12 มีนาคม-เมษายน 2562

แผ่นดินที่หายไป (ยังมีความหวังหลงเหลือให้กับคนพื้นเมืองอลาสก้าที่ก�ำลังผจญ ความล่มสลายของแผ่นดินเกิดหรือไม่) แมรี่ รอบิ น สั น เป็ น อดี ต ประธานาธิ บดี ประเทศไอร์ แลนด์ ในระหว่า งปี พ.ศ. 2533-2540 และเคยเป็นผู้แทนพิเศษสหประชาชาติในประเด็นการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลก)

กว่าสองพันปีมาแล้วทีช่ นเผ่า “ยูพคี ” เลีย้ งชีพด้วยการล่าสัตว์ตกปลา บนแผ่นดินทีป่ กคลุมด้วยน�ำ้ แข็งแถบชายฝัง่ ตะวันตกของอลาสก้า แค่ขดุ หลุมบน พื้นน�้ำแข็ง พวกเขาก็สามารถตกเอาปลาแซลมอน ปลาเหล็กใน (Stickleback) ได้ และยังสามารถใช้เป็นวิธีการสื่อสารระหว่างกันแบบที่ใช้กันตั้งแต่โบราณ ซึ่งอาจมีนับสิบวิธีในการอ่านลักษณะและสีของน�้ำแข็ง หลายชั่วอายุคนมา แล้วที่สัญลักษณ์ที่ใช้แทนภาษาเช่นนี้ช่วยให้ชาวยูพีคมั่นใจในเส้นทางที่จะเดิน ทางไปล่าสัตว์ โดยเพียงแค่สังเกตความหนาและความแน่นของน�้ำแข็ง แต่ด้วย การคืบคลานเข้ามาของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ค�ำศัพท์บางค�ำเช่น “tagneghneg” ที่เคยใช้ในการเรียกลักษณะน�้ำแข็งที่มีสีคล�้ำและมีความหนา แน่นสูงก�ำลังจะถูกเลิกใช้ไปแล้ว เพราะแผ่นน�้ำแข็งเพอร์มาฟรอสต์ก�ำลังเปลี่ยน ตัวเองไปเป็นแผ่นดินและโคลนแฉะ ๆ ข้อมูลทางวิทยาศาสตร์เมื่อเร็ว ๆ นี้ระบุว่าอาร์คติกมีอุณหภูมิสูงขึ้น เร็วกว่าส่วนอื่น ๆ ของโลกเป็นสองเท่า โดยห้าสิบปีที่ผ่านมาอุณหภูมิในฤดูหนาว สูงขึ้นโดยเฉลี่ยถึง 6.3 ดีกรีเซลเซียส ที่ความร้อนสูงขึ้นมากขนาดนี้เกิดขึ้นจาก หลายสาเหตุกระหน�่ำมาพร้อม ๆ กัน สาเหตุหนึ่งเกิดจากรังสีจากแสงอาทิตย์ที่ เคยสะท้อนออกนอกบรรยากาศโลกเพราะกระทบกับสีขาวโพลนของหิมะ แต่ เดีย๋ วนีห้ มิ ะละลายไปมากจึงเกิดการดูดซับไว้ในพืน้ ดินแทน ความร้อนทีด่ ดู ซับใน พื้นดินก็ไปละลายน�้ำแข็งมากขึ้นอีก วันนี้ประชาชนในอลาสก้าซึ่งมีมากถึงแปด สิบห้าเปอร์เซนต์ที่อาศัยอยู่ริมชายฝั่งทะเล จะเป็นคนอเมริกันกลุ่มแรกที่รู้สึกถึง ผลกระทบของปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก เพราะพื้นดินที่ เขาอยู่อาศัยเริ่มละลายและเปลี่ยนไปเป็นสีพื้นทั่วไป ชีวิตในอลาสก้าเคยคุ้นเคยอยู่กับแผ่นดินแห่งความหนาวเย็น และ ความสัมพันธ์ของคนทีอ่ ยูก่ บั ทะเล การตกปลาและล่าสัตว์คอื ชีวติ และลมหายใจ ของชาวอลาสก้า ดังนั้นเมื่อน�้ำแข็งเริ่มละลายอย่างรวดเร็ว พวกเขาย่อมวิตกกับ อัตลักษณะทางวัฒนธรรมของตนเอง ไม่มีใครจะรู้ลึกถึงวิกฤติการที่เกิดขึ้นนี้ดี ไปกว่าแพทริเซีย โคชแรน ผู้มีหน้าที่ประสานงานกับชุมชนต่าง ๆ ทั่วอลาสก้า และอาร์คติกตลอดเวลา 30 ปีที่ผ่านมาเพื่อช่วยเหลือให้ประชาชนที่ได้รับผลก ระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศสามารถรับมือกับปัญหาต่าง ๆ ได้


โคชแรนเป็นผู้อ�ำนวยการบริหารคณะผู้แทนชนชาติอลาสก้าด้าน วิทยาศาสตร์ เธอเป็นเอสกีโมเชื้อสายอินูเพียท เกิดและเติบโตในเมืองท่า ชายฝั่ง “โนม” โคชแรนโตขึ้นมาในครอบครัวอินูเพียทดั้งเดิม ที่จะต้องไป ตั้งแคมป์บริเวณโขดหินชายฝั่งทะเลเพื่อตกปลาและเก็บผลไม้และสมุนไพร ในช่วงฤดูร้อนของทุกปีร่วมกับพี่น้องของเธอ “นักวิทยาศาสตร์ต้องใช้เวลาในการศึกษาวิจัยให้ได้ข้อสรุป ในเรื่องที่ชุมชนของเราได้เคยพูดเอาไว้เมื่อหลายสิบปีมาแล้ว” โคชแรน กล่าว “ชุมชนของพวกเราได้สงั เกตเห็นความเปลีย่ นแปลงทีเ่ ด่นชัดทีเ่ กิดขึน้ รอบ ๆ ตั ว เรามามากกว่ า สี่ ถึ ง ห้ า สิ บ ปี แ ล้ ว เราเห็ น สั ญ ญานของการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลกก่อนที่ค�ำนี้จะถูกใช้โดยพวกนัก วิทยาศาสตร์และนักวิจัยเสียอีก และการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเป็น มากกว่าประเด็นที่พวกเราน�ำมาถกเถียงกัน เพราะมันคือสิ่งที่เกิดขึ้นจริง ๆ ที่เราพบเห็นอยู่ทุกเมื่อเชื่อวัน และเราเห็นมาแล้วหลายสิบปี” โคชแรนอาศัยอยู่ในเมืองโนมตั้งแต่เด็ก ได้เห็นแต่พื้นน�้ำแข็งที่ หนามากเกือบตลอดทั้งปี และทะเลที่เป็นก้อนน�้ำแข็งขนาดมหึมา กว้าง ยาวสุดสายตาและเป็นภาพคุ้นชินที่จะเห็นจนถึงเดือนในฤดูร้อน ฤดูหนาว ที่นี่ยาวนานและโหดร้ายทารุณ ฤดูร้อนก็สั้นเสียเหลือเกิน แต่ต่อมา ฤดูหนาวก็กลับมาช้าลง มาเดี๋ยวเดียวก็เปลี่ยนไปเป็น ฤดูใบไม้รว่ ง เดีย๋ วนีเ้ วลาโคชแรนไปเยีย่ มบ้านเกิด ก�ำแพงขนาดใหญ่รมิ ทะเล ไม่มีให้เห็นอีกแล้ว เห็นแต่ภาพน�้ำทะเลสะท้อนแสงระยิบระยับ “เราต้อง สร้างเขื่อนริมทะเลในเมืองโนมเพราะก้อนน�้ำแข็งที่เคยกั้นระหว่างทะเลกับ หมู่บ้านไม่อยู่ (ช่วยป้องกันคลื่นทะเลกัดเซาะ) อีกแล้ว” เธอกล่าว “ก้อน น�้ำแข็งเคยช่วยปกป้องพวกเรา เดี๋ยวนี้เราตากปลาให้แห้งได้ยากเพราะฝน ตกมาก และฤดูร้อนที่ร้อนขึ้นท�ำให้ผลเบอร์รี่เก็บได้ปีละสองครั้ง ที่น่าเป็น ห่วงที่สุดคือสภาพน�้ำแข็งที่เปลี่ยนแปลงไปท�ำให้การหลอมละลายรุนแรง ขึ้น เกิดน�้ำท่วม และเพอร์มาฟร้อสท์เสื่อมสลายไปทั่วทั้งชุมชน เพอร์มาฟร้อสท์ คือ ชั้นแผ่นดินที่เป็นน�้ำแข็งถาวรและเป็น ที่ๆ อลาสก้าตั้งอยู่มานับพันปี เราสร้างบ้านเรือน โรงเรียน และถนนบน ฐานรากนี้ และเราก็ไม่มีปัญหาเมื่อน�้ำทะเลสูงขึ้น แต่อุณหภูมิที่ครอบคลุม ทั่วอาณาเขตอาร์คติกที่ก�ำลังสูงขึ้นส่งผลให้พื้นน�้ำแข็งข้างใต้นี้ก�ำลังละลาย ลง เปลี่ยนแปลงสภาพดินให้อ่อนปวกเปียกและเพิ่มคาร์บอนไดออกไซด์ สู่ชั้นบรรยากาศ แล้ววงจรของผลกระทบต่อเนื่องนี้เกิดขึ้นซ�้ำแล้วซ�้ำอีก แผ่นดินเริ่มแตกแยกและบิดเบี้ยว บ้านของคนพื้นเมืองอลาสก้าก็ทรุดเอียง ตกไปในทะเล เมื่อเพอร์มาฟร้อสท์เสื่อมสลาย แผ่นดินยุบตัว และก้อนน�้ำ แข็งริมฝั่งทะเลหายไป กระบวนการป้องกันพายุทางธรรมชาติก็ไม่มีอีกแล้ว น�้ำทะเลจึงค่อย ๆ กลืนกินแผ่นดินเข้ามา ในฤดูร้อนที่ผ่านมาพายุฝนที่หนัก หน่วง อันเป็นผลมาจากการผันแปรของภูมิอากาศ โหมกระหน�่ำชายฝั่ง ทะเล กวาดล้างผิวดินชั้นบนจมหายไปในทะเล ด้วยความรู้ทางวิทยาศาสตร์ประกอบกับความเข้าใจในประเพณี ท้องถิ่น โคชแรนใช้ความรู้ที่ผสมผสานกันนี้ในการให้ความช่วยเหลือแก่ คนในชุมชนอลาสก้าเพื่ออพยพบ้านเรือนไปสู่พื้นที่ใหม่ เป็นเวลาหลายปีท่ี หมู่บ้านเล็ก ๆ ชื่อ “ชีสมาเร็ฟ” ที่ตั้งอยู่บนเกาะกันชนห่างจากแผ่นดินใหญ่ อลาสก้าประมาณห้าไมล์ไปทางเหนือช่องแคบ “เบอร์ริ่ง” ชายฝั่งพื้นดิน และบ้านเรือนบนเกาะนี้ค่อย ๆ จมหายไปในท้องทะเลที่หนาวเย็น ชาวบ้าน ต่างเห็นพ้องต้องกันโดยการลงคะแนนเสียงเมื่อเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2559 ในการอพยพออกจากพื้นที่ดังกล่าว ซึ่งประเมินว่าจะต้องใช้งบประมาณ 200 ล้านเหรียญสหรัฐในการโยกย้ายประชาชนไปพื้นที่ใหม่ สร้างบ้านกัน ใหม่ ท�ำถนน สาธารณูปโภค โรงเรียนและท่าเทียบเรือใหม่ ซึ่งดูเหมือนงบ ประมาณขนาดนี้จะไม่สมเหตุสมผลกับการการสร้างชุมชนเพื่อประชาชน เพียง 600 คน มิหน�ำซ�้ำรัฐยังยินดีที่จะจัดสรรเงินให้เพียง 8 ล้านเหรียญ เท่านั้น ห่างออกไปอีก 400 ไมล์ มีหมู่บ้านอีกแห่งที่เล็กกว่านี้ ชื่อว่า “นิวท๊อก” ก็ก�ำลังประสบปัญหาพื้นดินทรุดลงไปในแม่น�้ำ “นิงกริค” ซึ่ง

เป็นอย่างนีม้ าหลายปีแล้ว แต่ละปีทรุดไปกว่า 70 ฟุต ชาวบ้านตัดสินใจแลก พืน้ ทีช่ ายฝัง่ นีก้ บั พืน้ ทีส่ ว่ นหนึง่ ของเกาะทีอ่ ยูใ่ กล้ ๆ กันในมูลค่าแลกเปลีย่ น 130 ล้านเหรียญฯ ในขณะที่พวกเขารอการสร้างบ้านและสาธารณูปโภค ต่าง ๆ พวกเขายังคงต้องอยู่อาศัยในบ้านเดิม มีวิถีการด�ำเนินการชีวิตตาม ปกติ ส่งลูกไปโรงเรียน และมีกิจกรรมการหากินแบบดั้งเดิม นั่นคือการออก ล่าสัตว์เช่น กวาง สิงโตทะเล และจับปลา ชาวบ้านบางคนกลัวว่าวิถีชีวิตที่ อยู่กันมานับร้อยปีและอัตลักษณ์ท้องถิ่นต้องเหือดหายไปหากเขาต้องย้าย ถิ่นที่อยู่ไป “ส�ำหรับชุมชนที่เคยด�ำรงชีวิตอยู่กันมานับพันปี มันเป็นการ ยากที่จะตัดสินใจทิ้งบ้านเกิดไป” โคชแรนกล่าว “มันไม่ใช่แค่ล�ำบากกาย และผลกระทบทางจิตใจและความรูส้ กึ ต้องสูญเสียนัน้ มันจะเกิดขึน้ ตามมา” โคชแรนเพิ่มความพยายามท�ำงานเป็นสองเท่า เพื่อให้หน่วย งานของเธอสามารถให้ความช่วยเหลือ แก่คนพื้นเมืองอลาสก้าโดยใช้ฐาน ชุมชนเป็นแหล่งรวบรวมความคิดริเริม่ จัดท�ำการส�ำรวจ และท�ำแผนปฏิบตั ิ เธอก�ำหนดให้ประเด็นการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เป็นประเด็นสิทธิ มนุษยชนเร่งด่วน จัดเวทีหารือข้อบังคับและลดการกระท�ำอันเป็นการ ท�ำลายชั้นบรรยากาศ แล้วน�ำเสนอข้อเสนอต่าง ๆ เหล่านี้เพื่อเรียกร้องต่อ องค์กรสิทธิมนุษยชนและการก�ำหนดเป็นกฎหมายต่อไป จากการที่เธอ เรียนรู้สิ่งต่าง ๆ จากการท�ำงาน และรวบรวมความรู้เหล่านี้เพื่อ “สอนต่อ ผู้ใหญ่” เธอพยายามโน้มน้าวคนรุ่นใหม่ให้เข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการ การเคลื่อนไหวเพื่อความเป็นธรรมแก่สภาพบรรยากาศ เพื่อว่าคนหนุ่มสาว เหล่านีจ้ ะได้เรียนรู้ เครือ่ งไม้เครือ่ งมือทีจ่ ะช่วยให้พวกเขาด�ำรงชีวติ อยูอ่ ย่าง ยั่งยืนในบ้านเกิดเมืองนอนของตนเอง “นั บ เป็ น เรื่ อ งส� ำ คั ญ และเป็ น เกี ย รติ ส� ำ หรั บ ฉั น ” โคชแรน กล่าว “ที่จะถ่ายทอดข้อมูลและความรู้ที่มีให้แก่คนรุ่นใหม่ที่จะต้องอยู่กับ สถานการณ์ที่เลวร้ายที่พวกเราร่วมกันก่อขึ้นมา” โรงเรียนที่มีขนาด 1-2 ห้องเรียนทั่วทั้งอลาสก้าได้เริ่มมีชั่วโมงเรียนพิเศษเพื่อพูดคุยกันถึงเรื่อง สารพัดประเภทที่เกี่ยวกับดินฟ้าอากาศ และสอนให้รู้จักการเรียกน�้ำแข็ง ประเภทต่าง ๆ ในภาษาท้องถิ่นของพวกเขา เพราะนี่เป็นหนทางที่จะท�ำให้ ค�ำศัพท์อย่างเช่น “ทักเนกหนึก” ไม่ถูกลืม และช่วยให้เด็กรุ่นใหม่รู้ทิศทาง การใช้ชีวิตของพวกเขาให้อยู่รอดปลอดภัยในอนาคต ในขณะที่เธอก�ำลังช่วยเหลือบรรดาชาวบ้านที่ได้รับผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลงสภาพบรรยากาศ โคชแรนเอาเรี่ยวแรงและก�ำลังใจมา จากต้นแบบของผู้อาวุโสในครอบครัวเธอ นั่นคือ คุณแม่อันเป็นที่รักของ เธอนั่นเอง แม้ว่าคุณแม่จะถึงแก่กรรมไปนานแล้วในวัย 96 ปี แต่เธอจ�ำได้ เสมอถึงเรือ่ งราวของคุณแม่ทเี่ ป็นแรงบันดาลใจดีทสี่ ดุ คุณแม่ได้ผา่ นพบการ สูญเสียสมาชิกในครอบครัวไปทีละคนจากการระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่ คงเหลือแต่คุณตาที่ตัดสินใจส่งเธอออกจากหมู่บ้าน ไปอยู่โรงเรียนประจ�ำ ตั้งแต่เธออายุได้แปดขวบ ถูกตัดจากครอบครัวจนเธออายุได้ 18 ปี “เธอ ไม่สามารถพูดภาษาท้องถิ่นของเราได้ จ�ำไม่ได้ว่าขนบธรรมเนียมประเพณี ของบ้านเราเป็นอย่างไร” โคชแรนกล่าว เธอจ�ำภาพของผู้หญิงที่มองโลกใน แง่ดีที่สุดและเปี่ยมล้นด้วยจิตวิญญานของนักสู้ในตัวคุณแม่ของเธอ “เธอ ต้องต่อสู้ตลอดชีวิตของเธอเพื่อให้ลูกทั้งแปดคนอยู่รอดปลอดภัย” การเก็บความทรงจ�ำของคุณแม่ไว้ในใจ ช่วยให้โคชแรนแน่วแน่ ในจุดหมายของสิ่งที่ต้องท�ำ และช่วยให้เธอสื่อให้ผู้อื่นเห็นความหวังที่เป็น จริงได้ เพราะเธอรู้ดีว่า ประสบการณ์ที่แม่ได้รับ “ท�ำให้ฉันเข้าใจว่าหาก ตั้งใจแล้ว เราจะท�ำอะไรก็ได้” เธอกล่าว “เราเป็นคนประเภทที่ปรับตัว เองได้ เปลี่ยนแปลงได้ สร้างสรรค์ขึ้นใหม่ได้ และเราเป็นคนวิเศษที่สุด ซึ่ง คุณสมบัติเหล่านี้ช่วยให้เราผ่านพ้นวิกฤติการณ์ในด้านมืดมาได้ และความ สามารถในการปรับตัวดีนี้ จะช่วยเราได้เป็นอย่างดีในเวลาข้างหน้า”

บทความดัดแปลงจาก Climate Justice (ความเป็นธรรมในบรรยากาศ): การปรับตัว และการต่อสู้เพื่ออนาคตที่ยั่งยืน เขียนโดย แมรี่ โรบินสัน ร่วมกับไครทิโอน่า พาล์มเมอร์ (พ.ศ.๒๕๖๑) ได้รับอนุญาตจากส�ำนักพิมพ์ บลูมสเบอร์รี่


Special Scoop Climate Change

ความเห็นร่วมกันได้ในประเด็นสิง่ แวดล้อม ซึง่ มันรังแต่จะผลัดผ่อนการ ลงมือท�ำกันอย่างจริงจังเพื่อต่อสู้กับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ คุณเชื่อหรือไม่ว่า มนุษย์จะสามารถหยุดการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศ? จากข้อมูลและหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ เราคงเหลือเวลา เพียงสิบสองปีในการโหมลงมือจัดการแปรเปลี่ยนการใช้พลังจากซาก สัตว์ดึกด�ำบรรพ์ไปเป็นพลังงานสะอาด หรือไม่เราก็จะถึงจุดที่เป็น อันตรายที่สภาพภูมิอากาศของโลกจะเลวร้ายที่สุด “ที่ฉันกลัวที่สุดคือ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศจะ ท�ำให้มีคนยากจนเพิ่มขึ้นในโลก”

อาลีจันทรา ริทธาแซร์เรท - นักศึกษาทุนสันติภาพโรตารี

ริทธาแซร์เรท จบการศึกษาด้านพลังงานและทรัพยากร ใน ขณะทีเ่ ป็นนักศึกษาทุนสันติภาพทีม่ หาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิรก์ เล่ย์ ที่โคลัมเบีย เธอก่อตั้งหน่วยงานด้านการริเริ่มความคิดเชิงยุทธศาสตร์ ที่ชื่อว่า เอนอีเอส แนเชอรัลเลซา (NES เป็นอักษรย่อแทน Nature ธรรมชาติ Energy พลังงาน และ Society สังคม) มีเป้าหมายในการ สร้างสมดุลให้เกิดขึ้นกับสิ่งแวดล้อม สังคมและพลังขับเคลื่อนทาง เศรษฐกิจ โดยการท�ำงานร่วมกับเกษตรกรเพื่อให้การท�ำธุรกิจเกษตร มีความยั่งยืน ในฐานะทีม่ อี าชีพต่อสูก้ บั การเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ คุณต้อง ต่อสู้กับอะไรมากที่สุด? ดิฉันท�ำงานให้เกษตรกรที่มีทั้งขนาดเล็ก กลาง และใหญ่ใน ลาตินอเมริกา เพื่อที่จะจูงใจเขาให้ยอมรับการเกษตรเพื่อความยั่งยืน ข้อทีเ่ ป็นประเด็นคือ การจูงใจเขาให้เปลีย่ นวิธปี ฏิบตั แิ บบดัง้ เดิมมาเป็น แบบใหม่ที่มีความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมมากขึ้น อย่างไรก็ตาม เมื่อ ได้ปูพื้นให้พวกเขาเข้าใจและตระหนักถึงปัญหาที่จะเกิดขึ้นในอนาคต หลายคนก็ยอมปรับเปลี่ยน คุณเชื่อหรือไม่ว่ามนุษย์จะสามารถหยุดการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิ อากาศ? คิดว่าคงหยุดไม่ได้ แต่เชื่อว่าคงลดผลที่เกิดขึ้นได้โดยการ ปรับตัวให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลงนั้นโดยยอมรับวิธีปฏิบัติที่ดีกว่า วิธีแก้ปัญหาที่พอเป็นไปได้แบบไหนที่คุณหวังให้เกิดขึ้น? ต้องผสมผสานการแก้ปัญหาหลาย ๆ แบบ เช่น ยอมใช้ พลังงานที่น�ำกลับมาใช้ใหม่ได้ เช่น เชื้อเพลิงจากพืช แทนที่จะใช้เชื้อ เพลิงจากปิโตรเลียม และการท�ำเกษตรอย่างชาญฉลาด

เกเบรียลา เฟลอรี - นักเรียนทุนโรตารี

เฟลอรีส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีด้านชีววิทยาเชิง อนุรักษ์ ที่มหาวิทยาลัยเคปทาวน์ ประเทศอัฟริกาใต้เมื่อปี พ.ศ. 2559 เธอมีความเชี่ยวชาญเฉพาะในประเด็นการลดความขัดแย้งระหว่าง มนุษย์กับสัตว์ป่า โดยได้รับทุนวิจัยการอนรักษ์เสือชีต้าในประเทศ นามิเบีย และปัจจุบันท�ำงานให้กองทุนป่าฝนในเวอร์จิเนีย ในฐานะทีม่ อี าชีพต่อสูก้ บั การเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ คุณต้อง ต่อสู้กับอะไรมากที่สุด? การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเป็นปัญหาระดับทฤษฎี

14 มีนาคม-เมษายน 2562

เกมบนดิน โลกน่าอยู่ขึ้นด้วยมือโรแทเรียน (แค่นี้ก็ช่วยปกป้องโลกจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศแล้ว) โดย ไดอาน่า สโคเบอร์ก


โรแทเรียนคือนักปฏิบัติ ถ้าโยนปัญหาให้พวกเขา เดี๋ยวก็จะมี ทางแก้ไขได้ แต่ปัญหาโลกอย่างการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ แม้ โรแทเรียนจะมีความสามารถเข้าถึงสรรพก�ำลังก็ตาม ก็จนปัญญาเหมือนกัน แต่ถ้าหากเราลองแยกกองปัญหานั้นออกเป็นส่วนย่อยๆ เราก็ จะพบกว่ามันมีหลายปมที่คลายออกได้โดยโรแทเรียน ยิ่งกว่านั้นหลายๆ เรื่องเรายังเคยท�ำไปแล้ว ด้วยความช่วยเหลือจากมูลนิธิโรตารี กลุม่ แนวร่วมทีป่ ระกอบด้วยนักวิจยั และนักวิทยาศาสตร์นำ� โดย พอล ฮอลเกน จัดท�ำแบบจ�ำลองทางคณิตศาสตร์เพื่อศึกษาผลกระทบต่อ ภูมิอากาศและเศรษฐกิจจากวิธีแก้ปัญหาแบบต่างๆ เพื่อดูว่าวิธีใดที่ได้ผล เป็นคุณมากที่สุดต่อมนุษย์และโลก รายการวิธีแก้ปัญหาได้รวบรวมไว้แล้ว ในหนังสือที่พิมพ์ในปี พ.ศ. 2560 ชื่อ “Drawdown” ซึ่งจัดว่าเป็นหนังสือ ที่มีความครบถ้วนในด้าน “แผนงานส�ำหรับการหยุดสภาวะโลกอุ่น” ใน หนังสือเล่มนี้บรรจุวิธีการแก้ปัญหาต่างๆ ซึ่งรวมถึงวิธีที่คาดกันไม่ถึง เช่น การให้ความรู้แก่เด็กหญิง การวางแผนครอบครัว และการให้ความช่วย เหลือแก่เกษตรกร เรื่องที่ท�ำไปแล้วทั้งหมดเกี่ยวข้องกับภารกิจหลักหก ประการของโรตารี นักวิจัยที่ Drawdown จัดอันดับวิธีแก้ปัญหาจาก 1 ถึง 80 ตาม ล�ำดับของศักยภาพ ในการลดผลกระทบของอากาศเสียที่ท�ำให้เกิดภาวะ ก๊าซเรือนกระจก เราเทียบเคียงล�ำดับเหล่านี้กับโครงการทุนโกลบอล แกร้นท์เพื่อจะพิสูจน์ว่าโรแทเรียนช่วยปกป้องการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิ อากาศได้มากเพียงใด

ประชากรหญิง 214 ล้านคนที่ต้องการคุมก�ำเนิดแต่ขาดความสามารถใน การเข้าถึงยาคุมก�ำเนิด ผลที่ตามมาคือ มีเด็กที่เกิดโดยความไม่ตั้งใจถึง 74 ล้านคนในแต่ละปี ดังนั้นการให้บริการสาธารณสุขที่จ�ำเป็นแก่สตรีเหล่านี้ จะส่งผลดีต่อโลก เพราะจ�ำนวนประชากรที่ไม่เกิดขึ้นจากความไม่ตั้งใจจะ ลดปัญหาภาวะเรือนกระจกจากอากาศเสีย สตรีตั้งครรภ์ที่เมืองแอดดิสอาบาบ้า ประเทศเอธิโอเปียให้ สัมภาษณ์แก่โรแทเรียนว่าการวางแผนครอบครัวคือปัญหาอันดับหนึ่ง ที่ ทั้งครอบครัวและแพทย์แสดงความเป็นห่วงอย่างยิ่ง ด้วยเหตุนี้สโมสร โรตารีฟีน๊อต ประเทศเอธิโอเปีย ร่วมกับสโมสรโรตารีดัมสแตท ประเทศ เยอรมันนี พัฒนาโครงการที่ใช้กองทุนโกลบอลแกร้นท์ของมูลนิธิโรตารี เพื่อการฝึกอบรมทักษะเจ้าหน้าที่ผดุงครรภ์และแพทย์ท�ำคลอด ในศูนย์ สาธารณสุขเพื่อจะได้สามารถให้ค�ำปรึกษา ด้านการวางแผนครอบครัวแก่ สตรีตั้งครรภ์ได้ นอกจากนี้เจ้าหน้าที่ทางการแพทย์ยังบริการให้ค�ำปรึกษา ตามบ้านแก่สตรีจ�ำนวน 1,500 คน และยังจัดอบรมเชิงปฏิบัติการแก่สตรี จ�ำนวน 90 คนให้รู้วิธีดูแลตัวเองระหว่างตั้งครรภ์

การศึกษาส�ำหรับสตรี

ผู้หญิงที่ขาดการศึกษาจะมีลูกสี่ถึงห้าคนมากกว่าหญิงที่มีการ ศึกษาครบ 12 ปี ซึ่งหมายความว่าการศึกษามีผลอย่างยิ่งต่ออัตราการ เพิ่มประชากร ถึงแม้ว่าในความเป็นจริง ภูมิภาคของโลกที่มีการเติบโต ของจ�ำนวนประชากรสูงคือส่วนของโลกที่มีอากาศเสียเฉลี่ยต่อคนน้อย แต่การลดอัตราการเกิดของประชากรยังคงให้ผลดีมากกว่าเสีย ไม่ใช่เพียง การวางแผนครอบครัว ต่อโลกเท่านั้นแต่ยังเป็นผลดีต่อการลดปัญหาความยากจนด้วย รายงาน ในประเทศที่ประชากรมีรายได้น้อย ตามรายงานของ Drawdown มี Drawdown ข้อหนึง่ ระบุวา่ เด็กหญิงทีม่ กี ารศึกษาเป็นสาเหตุหลักทีช่ ว่ ยลด


Special Scoop Climate Change ส�ำหรับคนจ�ำนวนมาก ดังนั้นผลกระทบที่เกิดขึ้นคงต้องใช้เวลานาน ในการพิสูจน์ การแสดงให้เห็นถึงผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศต่อโลกจึงเป็นเรื่องยาก แต่ข้อส�ำคัญคือมนุษย์จะต้อง เข้าใจว่ามันมีผลกระทบจริงและเราต้องลงมือท�ำอะไรบางอย่างเพื่อ เปลี่ยนแปลงมัน วิธีแก้ปัญหาที่พอเป็นไปได้แบบไหนที่คุณหวังให้เกิดขึ้น? องค์กรที่ฉันท�ำงานด้วยที่ชื่อกองทุนป่าฝน ได้ปกป้องผืนป่า ฝนมีจ�ำนวนพื้นที่ถึง 19,654,506 เอเคอร์ (ประมาณ 49,725,900 ไร่) ตลอดระยะเวลา 30 ปีที่ผ่านมาโดยการร่วมมือกับองค์กรอื่น ๆ อีก 75 แห่งทัว่ โลก นัน่ ก็พอจะพิสจู น์ได้วา่ ยังมีคนทีร่ บั รูถ้ งึ ความส�ำคัญของการ รักษาพืน้ ทีโ่ ลกอย่างในส่วนของป่าฝน เพือ่ ลดผลกระทบของปัญหาการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ “เราต้องการเปลี่ยนแปลงการผลิต และการบริโภคแบบถอนรากถอนโคน ฝ่ายการเมืองและนักลงทุนต้องยอมรับความคิดนี้ สิ่งนี้ควรเกิดขึ้นเร็วกว่านี้”

แซลลี่ แลซซี่ - นักศึกษาทุนสันติภาพโรตารี

หลังจากจบการศึกษาทุนสันติภาพโรตารีปี พ.ศ. 2549 - 50 ที่มหาวิทยาลัยควีนส์แลนด์ ที่นครบริสเบน ประเทศออสเตรเลีย แลซซี่ ท�ำงานหน้าทีป่ กป้องภูมอิ ากาศส�ำหรับประเทศก�ำลังพัฒนาให้กบั หน่วย งานชือ่ GIZ ซึง่ เป็นองค์กรพัฒนาสากลของรัฐบาลเยอรมัน ปัจจุบนั เธอ ท�ำงานประจ�ำที่ประเทศสวิทเซอร์แลนด์ให้กับบริษัทที่ปรึกษาชื่อ EBP เพื่อให้ค�ำปรึกษาแก่ลูกค้าที่เป็นทั้งภาครัฐและเอกชนในประเด็นเกี่ยว กับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ คุณเชื่อหรือไม่ว่ามนุษย์จะสามารถหยุดการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิ อากาศ? ดิฉนั เชือ่ ว่าบางประเทศท�ำได้ดกี ว่าบางประเทศ แต่กเ็ ชือ่ อีก เช่นกันว่าคนบนโลกก็เหมือนอยู่ในเรือล�ำเดียวกัน คุณคงไม่สามารถอุด รูรั่วข้างหนึ่งของเรือแล้วปล่อยให้อีกข้างหนึ่งยังรั่วอยู่ วิธีแก้ปัญหาต้อง เป็นของทุกคน วิธีแก้ปัญหาที่พอเป็นไปได้แบบไหนที่คุณหวังให้เกิดขึ้น? ดิฉันหวังที่จะเห็นความแพร่หลายในการใช้พลังงาน หมุนเวียนมากยิ่งกว่านี้ อยากเห็นการหยุดใช้ถ่านหิน ตลอดจนอยาก เห็นเมืองใหญ่ ๆ ทั้งหลายในโลกนี้พยายามลดไอเสียลงเพื่อต้านทาน การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เทคโนโลยีจะต้องมีบทบาทส�ำคัญ ในการหาวิธีแก้ไข แต่เราคงไม่สามารถหวังพึ่งเทคโนโลยีได้ในทุกเรื่อง ทางแก้ปัญหาที่ถือเป็นหัวใจส�ำคัญคือการเปลี่ยนแปลงวิถีทางการท�ำ ธุรกิจแบบที่เคยท�ำกันมา เช่นการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานที่สร้าง มลพิษหรือคาร์บอนน้อยและมีความยืดหยุ่นสูง หรือการเปลี่ยนนิสัย ของผู้บริโภค

16 มีนาคม-เมษายน 2562

วิบัติภัยทางธรรมชาติ ที่มักจะสัมพันธ์กับการเปลี่ยนแปลงอากาศแบบสุดเหวี่ยง อันเป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงทางสภาพภูมิอากาศ ในประเทศบอสเนีย-เฮอซิโกวีนา ประมาณร้อยละเก้าสิบของหญิงเผ่า โรม่าขาดการศึกษา และเด็กในเผ่าโรม่าไม่เกินร้อยละสิบห้ามีโอกาสไปโรงเรียน ท�ำให้เกิดปัญหาการค้ามนุษย์และปัญหาอืน่ ๆ สโมสรโรตารีมอสตาร์ บอสเนียและ เฮอร์ซโิ กวีนาร่วมกับสโมสรโรตารีเดนเวอร์ รัฐโคโลราโดน�ำหน่วยงานนอกภาครัฐ ไม่แสวงหาก�ำไร ท�ำโครงการทุนโกลบอลแกร้นท์เพื่อเป็นพี่เลี้ยงแก่ครอบครัวที่มี เด็กหญิงที่มีความเสี่ยงเป็นเป้าหมายการค้ามนุษย์ จ�ำนวน 80 ครอบครัว โดยมี นักศึกษาจากมหาวิทยาลัยบอสเนียจ�ำนวน 20 คนสมัครเป็นพี่เลี้ยงในโครงการ และมีสตรีชาวโรม่าอีกจ�ำนวน 15 คนที่ได้รับคัดเลือกให้เข้าร่วมโครงการ ผู้จัด โครงการนี้ประเมินว่ามีผู้ปกครอง ครูและนักเรียนจ�ำนวนกว่า 1,000 คนจาก 20 ชุมชนที่ได้เรียนรู้เกี่ยวกับความส�ำคัญของความเท่าเทียมทางเพศ โดยการศึกษา จากเอกสารและการอบรมเชิงปฏิบัติการ

การปฏิรูปเกษตรกรรม

หลักปฏิบัติในการปฏิรูปเกษตรกรรมมีหลากหลายวิธี และวิธีหนึ่งคือ การหลีกเลี่ยงการไถนาเพื่อไม่สร้างความสั่นสะเทือนแก่ผืนดิน วิธีที่ใช้แทนการ ไถนาคือการปลูกพืชสลับ และหยุดการใช้ยาก�ำจัดศัตรูพืชและปุ๋ยสังเคราะห์ หากท�ำเช่นนี้ได้ก็จะเป็นการกระตุ้นสารอินทรีย์ คาร์บอนในดิน คุณภาพดินจะดี ขึ้นและเหมาะสมส�ำหรับการปลูกพืชต่าง ๆ ตามรายงานของ Drawdown การ ปฏิรูปเกษตรกรรมจะช่วยเพิ่มสารอินทรีย์ในดินประมาณ 4 ถึง 7 เปอร์เซนต์ ตลอดช่วงเวลาสิบปี ซึ่งเท่ากับเป็นการสะสมคาร์บอนในดินได้มากถึง 25 ถึง 60 ตันต่อเอเคอร์ (สองไร่ครึ่ง) ท�ำให้เราไม่ต้องใช้ปุ๋ย ดังนั้นก็เท่ากับว่าการปฏิรูป เกษตรกรรม สามารถลดคาร์บอนที่จะเกิดขึ้นในบรรยากาศ ในขณะเดียวกันเรา สามารถเพิ่มผลผลิตให้เกษตรกรด้วย ที่หมู่บ้านเหมยฮัวในประเทศไต้หวัน มีการฝึกอบรมชาวบ้าน 40 คน เพื่อให้รู้เทคนิคการท�ำเกษตรอินทรีย์ โดยสโมสรโรตารีไทเป หลงเหมิน ประเทศ ไต้หวันกับสโมสรโรตารีปทุมวัน ภาค 3350 ประเทศไทยร่วมกันท�ำโครงการนี้ ภายใต้ทุนโกลบอลแกร้นท์ของมูลนิธิโรตารี โดยมีหน่วยงานสนับสนุนคือสมาคม การเกษตรอินทรียแ์ ห่งไต้หวัน ซึง่ เป็นผูด้ ำ� เนินการจัดอบรมและการฝึกปฏิบตั จิ ริง ในพืน้ ทีเ่ กษตรอินทรีย์ ผูจ้ ดั คาดว่าการปลูกพืชโดยไม่ใช้สารเคมีใดๆ จะช่วยลดค่า ใช้จ่ายในไร่นาและเกษตรกรสามารถขายพืชผลได้ราคาดีกว่าในตลาด

การลดจ�ำนวนอาหารเหลือทิ้ง

หนึ่งในสามของผักผลไม้ เนื้อสัตว์และอาหารอื่นๆ ต้องถูกทิ้งไปโดย มนุษย์ไม่ได้กิน ที่ไม่ได้กินเพราะมันเน่าเสีย หรือทิ้งไประหว่างเก็บเกี่ยว หรือเสีย ระหว่างการเก็บรักษา หรือไม่ก็ถูกเก็บไว้ในตู้เย็นจนลืม สุดท้ายก็ถูกทิ้งลงถังขยะ ไป การผลิตอาหารที่ไม่ได้ถูกรับประทานนี้ ท�ำให้เกิดความสิ้นเปลืองทรัพยากร ต่างๆ เช่น พลังงานเชื้อเพลิง ที่ดิน ปุ๋ย และเมื่อน�ำอาหารไปทิ้งในพื้นที่รวบรวม ขยะ อาหารที่เน่าเสียจะสร้างก๊าซมีเทนที่ท�ำให้เกิดภาวะก๊าซเรือนกระจก จาก จุดเริ่มต้นจนสิ้นสุด อาหารที่ไม่ได้ถูกรับประทาน คือตัวการส�ำคัญที่ท�ำให้เกิด ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จ�ำนวน 4.4 ล้านกิกะตัน (4.4 พันล้านล้านตัน) ซึ่ง Drawdown รายงานว่า เซ็ น โทรอบาสทอส ผู ้ ข ายส่ ง ส่ ง อาหารในบู ค ารามั ง กา ประเทศ โคลัมเบีย มีอาหารเหลือทิ้งวันละ 20 ตัน ซึ่งสโมสรโรตารีบูคารามังกานูโวมิเลน โน โคลัมเบียและสโมสรโรตารีวู้ดแลนด์ฮิลล์ส แคลิฟอร์เนีย ร่วมมือกันกับหน่วย งานเอกชนไม่แสวงหาก�ำไรที่เป็นของบริษัทอาหารแห่งนี้ จัดตั้งศูนย์รวบรวม อาหารเหลือเพื่อน�ำไปใช้ในการฝึกอบรม ให้ผู้เข้าอบรมได้รับทักษะจัดการการ ผลิตอาหารและความปลอดภัยในอาหาร โครงการนี้คาดว่าจะสามารถลดความ สูญเสียในการผลิตอาหารได้ 15 เปอร์เซนต์ และยังช่วยให้เกิดมีการจ้างงานเพิ่ม ขึ้นด้วย


Our District

สารบัญ Contents สกู๊ปพิเศษ “Climate Changing” Art Exhibition ฟุตบาลจตุรมิตร Our District 3330 Our District 3340 Our District 3350 Our District 3360 ผลการตัดสินถ้วยรางวัล โครงการแก้มลิงหนองโนนต่าย Our Centre

หน้า 18-19 หน้า 20-21 หน้า 22-23 หน้า 24-27 หน้า 28-31 หน้า 32-35 หน้า 36-39 หน้า 40-41 หน้า 42-43 หน้า 44

กองบรรณาธิการ บรรณาธิการบริหาร อน.วาณิช โยธาวุธ

บรรณาธิการผู้ช่วย

(สร.แม่สาย 3360)

อผภ.จุฑาทิพย์ ธรรมศิริพงษ์ รทร.เดียร์ราห์ พิบูลย์วัฒนวงษ์ อน.ตรอง แสงสว่างวัฒนะ อน.นพ. ณัฏฐธนิน เศรษฐวนิชย์

(สร.พระปฐมเจดีย์ 3330) (สร.หมากแข้ง 3340) (สร.กรุงเทพสุวรรณภูมิ 3350) (สร.แพร่ 3360)


สกู๊ปพิเศษ Climate Changing

วิกฤติหมอกควัน : ปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก โดย อน.จันทนี เทียนวิจิตร สร.ล้านนาเชียงใหม่ “ปั ญ หาสิ่ ง แวดล้ อ มไม่ ไ ด้ เ ป็ น หนึ่ ง ในหกภารกิ จ หลั ก ของ โรตารี แต่เป็นสิ่งที่ผูกพันธลึกซึ้งกับทุกๆ ภารกิจของโรตารี” เป็น ค�ำกล่าวของแบรี แรซซิน ประธานโรตารีสากล ที่ตระหนักถึงปัญหา สิ่ ง แวดล้ อ มว่ า เป็ น บ่ อ เกิ ด ของปั ญ หาที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ภารกิ จ ของ โรตารีทั้งสิ้น ดังนั้น ปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของ โลกย่อมมีผลกระทบต่อทุกๆ คน กรุงเทพมหานครกับปัญหาสถานการณ์ฝุ่นละอองขนาดเล็กพุ่ง สูง ปลายเดือนธันวาคม 2561 เราจะเห็นข่าวครึกโครมว่า กรุงเทพมหานครประสบปัญหาสภาพอากาศขมุกขมัวและหายใจ กับอากาศที่มีฝุ่นละอองขนาดเล็กกว่า 2.5 ไมครอน (PM 2.5) ซึ่ ง กรมควบคุ ม มลพิ ษ ออกมาเตื อ นประชาชนว่ า พื้ น ที่ ใ นหลาย เขตสามารถตรวจวัดฝุ่นละอองเกินมาตรฐาน ในช่วงเวลานั้นคน กรุงเทพฯ มองไปทางไหนก็มีแต่สภาพอากาศขมุกขมัว ท้องฟ้าไม่ แจ่มใสปกติดังที่ควรจะเป็น ประชาชนเริ่มกังวลกันมากขึ้นเรื่อยๆ มี ก ารหาซื้ อ หน้ า กากอนามั ย ที่ ป ้ อ งกั น ค่ า ฝุ ่ น ละอองในระดั บ เล็ ก กว่า 2.5 ไมครอนหรือ PM 2.5 ท�ำให้หน้ากากอนามัยในช่วงนั้น ขาดตลาด หลายคนต้องสั่งซื้อจากต่างประเทศ มีการตื่นตัวและ ความกังวลใจกับสภาพอากาศเพิ่มมากขึ้น ผู้อ�ำนวยการส�ำนัก จัดการคุณภาพอากาศและเสียง กรมควบคุมมลพิษแถลงว่า กรุงเทพมหานครมีแหล่งก�ำเนิดมลพิษตามปกติอยู่แล้ว ซึ่งเกิดจาก 18 มีนาคม-เมษายน 2562

มลพิษจากยานพาหนะและกิจกรรมต่างๆ ที่เกิดขึ้นในเมืองใหญ่ เช่น การก่อสร้างจ�ำนวนมาก แต่ในสัปดาห์นี้ เกิดการเปลี่ยนแปลง สภาพอากาศซึ่งอุณหภูมิอุ่นขึ้น ต่างจากสัปดาห์ก่อน เมื่ออากาศ เย็นเจอเข้ากับอากาศอุ่น ท�ำให้เกิดภาวะที่สภาพอากาศนิ่ง ลมไม่ พัด ประกอบกับมีหมอกท�ำให้ไม่มีการหมุนเวียนของอากาศ รัฐบาล และนักวิชาการต่างระดมความคิดในการหาทางออกระยะสั้นและ ป้องกันแก้ไขปัญหาระยะยาวของค่าฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM 2.5 ฝุ่น PM 2.5 คืออะไร ฝุ่น PM 2.5 คือ ฝุ่นละอองที่มีขนาดเล็กกว่า 2.5 ไมครอน หรือ มีขนาดประมาณ 1 ใน 25 ของเส้นผ่านศูนย์กลางของเส้นผมมนุษย์ ฝุ่นขนาดเล็กจิ๋วนี้ เกิดขึ้นจากกิจกรรมหลายชนิด อาทิเช่น การเผา ไหม้ของเครื่องยนต์ และการก่อสร้าง ซึ่งเป็น 2 สาเหตุหลักของ มลพิษทางอากาศในเมืองใหญ่ ฝุ่น PM 2.5 เป็นอันตรายต่อสุขภาพ เพราะสามารถเดินทาง ผ่านทางเดินหายใจสู่ปอดและกระแสเลือดได้ง่าย เพิ่มโอกาสของ โรคหัวใจและโรคเกี่ยวกับทางเดินหายใจ และต้องป้องกันด้วย การสวมใส่ ห น้ า กากอนามั ย ที่ ไ ด้ ม าตรฐานป้ อ งกั น ฝุ ่ น ขนาดเล็ ก โดยเฉพาะ ในระดับที่เริ่มมีผลกระทบต่อสุขภาพ หรือเกณฑ์สีส้ม (101-200 มคก./ลบ.ม.) และเกณฑ์สีแดง (201 มคก./ลบ.ม.ขึ้นไป) ประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่ควรหลีกเลี่ยงโรคทางเดินหายใจ โรคปอด ที่ อยู่ในพื้นที่ฝุ่นละออง PM 2.5 เกินที่ค่ามาตรฐาน ควรลดระยะเวลา ในการท�ำกิจกรรมกลางแจ้ง สวมใส่หน้ากากป้องกันฝุ่นละออง PM 2.5 ขณะอยู่กลางแจ้ง หากมีอาการผิดปกติควรรีบไปพบแพทย์


สโมสรโรตารีเชียงดาวและสโมสรในพื้นที่สนับสนุนภารกิจดับไฟป่าด้วยการรณรงค์ ระดมทุนทรัพย์เพื่อซื้อของใช้ที่จ�ำเป็นและเป็นจิตอาสาช่วยเหลือเจ้าหน้าที่ และอาสา สมัครดับไฟป่าที่ดอยหลวงเชียงดาว สโมสรโรตารีกรุงเทพสุวรรณภูมิ มอบหน้ากากอนามัย N95 จ�ำนวน 200 ชิ้น ให้กับศูนย์ สาธารณสุข 22 (วัดปากบ่อ) เพื่อแจกจ่ายให้กับผู้ป่วยที่มารับการรักษาที่ศูนย์ฯ ในช่วงที่ กรุงเทพฯ ก�ำลังประสบเหตุการณ์ควันพิษจากฝุ่นละออง

สภาวะวิกฤตหมอกควันภาคเหนือ ต้นเดือนกุมภาพันธ์ 2562 พื้นที่ภาคเหนือแม้จะเป็นช่วง ปลายฤดูหนาวแต่ในสภาพอากาศที่แห้งแล้ง พื้นที่บนภูเขาจึงเริ่มมี หมอกควันจากป่าไม้ที่ถูกเผาไหม้ ในขณะที่ปัญหาฝุ่นละอองขนาด เล็กที่กรุงเทพฯ เริ่มจะเบาบางเนื่องจากมีฝนตกลงมาประกอบกับ การรณรงค์แก้ไขปัญหาระยะสั้น ปัญหาหมอกควันภาคเหนือเริ่ม ทวีความรุนแรงขึ้นเมื่อชาวเชียงใหม่ มองไม่เห็นดอยสุเทพที่เป็น สัญลักษณ์คู่กับเมืองเชียงใหม่ เนื่องจากถูกปกคลุมไปด้วยหมอก ควัน ประชาชนเริ่มตื่นตระหนกและหาหน้ากากอนามัย PM 2.5 มา ใส่กันมากขึ้น รัฐบาลได้ออกมาตรการห้ามเผาวัชพืชใดๆ ระหว่าง วันที่ 1 กุมภาพันธ์ถึง 30 เมษายน 2562 แต่ก็ไม่สามารถควบคุม ได้โดยเฉพาะบนภูเขาสูง ซึ่งปัญหาได้ทวีมากขึ้นไปถึงจังหวัดล�ำปาง เชียงราย พะเยา น่าน และแม่ฮ่องสอน จนหลายจังหวัดในภาคเหนือ มีค่า PM 2.5 สูงสุดเป็นอันดับหนึ่งของโลกอยู่หลายวันและยังคงมี ค่า PM 2.5 อยู่ในระดับเกินมาตรฐานเป็นระยะเวลานานจนถึงต้น เดือนเมษายนที่เริ่มจะเบาบางลง เนื่องจากมีฝนตกลงมารวมถึงพายุ ฤดูร้อน และหน่วยงานต่างๆ ได้ร่วมกันควบคุมอย่างใกล้ชิดท�ำให้ ค่า PM 2.5 ได้ลดลงจนอยู่ในระดับปกติเพียงไม่ก่ีวัน แต่ก็เพิ่มขึ้น อยู่ในระดับสีส้มเมื่อย่างเข้าสู่ต้นเดือนพฤษภาคม เนื่องจากสิ้นสุด ระยะเวลาประกาศห้ามเผาวัชพืชที่รัฐบาลก�ำหนดไว้เดิมคือวันที่ 30 เมษายน ปัญหาหมอกควันในพื้นที่ภาคเหนือ ได้มีการสรุปสาเหตุว่ามา จากฝีมือมนุษย์ในการเผาวัชพืช ที่ต่อมาได้ลุกลามใหญ่โตขึ้นจนยาก ต่อการควบคุมท�ำให้ลุกลามจนป่าไม้ถูกเผาท�ำลาย ระบบนิเวศน์ ได้รับความเสียหายอย่างรุนแรง รัฐบาลและหน่วยงานต่างๆ ได้

ประสานก�ำลังในการควบคุมไฟป่า แต่ก็ท�ำได้ยากล�ำบากด้วยสภาพ ภูมิอากาศที่เป็นอุปสรรค อย่างไรก็ตามในขณะนี้แม้ว่าภาวะวิกฤติ หมอกควันจะบรรเทาลง แต่การรณรงค์แก้ไขปัญหาก็ยังด�ำเนินต่อ ไป โดยเฉพาะการสร้างจิตส�ำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรและรักษา สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน โรตารีกับการมีส่วนร่วมในสนับสนุนการแก้ไขปัญหาค่าฝุ่นละออง และวิกฤตหมอกควัน สโมสรโรตารีในพื้นที่ ได้ร่วมกับชุมชนในการสนับสนุนภารกิจ ดับไฟป่าด้วยการรณรงค์ระดมทุนทรัพย์ เพื่อซื้อของใช้ที่จ�ำเป็น และเป็นจิตอาสาช่วยเหลือเจ้าหน้าที่ และอาสาสมัครดับไฟป่าที่ ดอยหลวงเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ คือสโมสรโรตารีเชียงดาว ภาค 3360 ซึ่งได้รณรงค์จัดหาหน้ากากอนามัย PM 2.5 ให้แก่เจ้าหน้าที่ และประชาชนได้ถึง 300,000 ชิ้น เช่นเดียวกับสโมสรโรตารีแม่สาย จังหวัดเชียงราย ภาค 3360 ส�ำหรับกรุงเทพมหานครมีสโมสร โรตารีกรุงเทพสุวรรณภูมิ ภาค 3350 ได้น�ำหน้ากากอนามัย PM 2.5 ไปมอบให้แก่ประชาชนในชุมชนผู้ได้รับผลกระทบในช่วงที่ประสบ ภาวะค่าฝุ่นละอองมีค่าเกินมาตรฐานเช่นกัน แบรี แรซซิน ประธานโรตารีสากลกล่าวว่า “ถ้าหากเราต้องการ ให้โรตารีมีบทบาทโดดเด่นในระดับสากล เราควรสนับสนุนให้ช่วย กันสนใจต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมให้มากขึ้น” ปัญหาสิ่งแวดล้อมมีหลาย ด้านที่มนุษย์ทุกคนต้องร่วมกันรักษา แก้ไข และฟื้นฟู ซึ่งที่ผ่านมา สโมสรโรตารีหลายสโมสรได้ด�ำเนินการอยู่บางส่วนแล้ว เช่น ปลูก ต้นไม้ ปลูกป่าชายเลน สร้างฝายเก็บกักน�้ำ ฯลฯ แต่ถ้าหากยกระดับ รณรงค์การปฏิบัติภารกิจที่สนับสนุนการรักษาสิ่งแวดล้อมให้เข้มข้น ขึ้น ก็จะเป็นการช่วยกันรักษาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนต่อไป


Art Exhibition

by Autistic Artist

Embrace Love in Art – The Exhibition of Children in

Embrace Love in Art The Exhibition of Children in Asia 2019

จัดขึ้นที่หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร (BACC) สี่แยกปทุมวัน เมื่อวันที่ 12 – 17 กุมภาพันธ์ 2562 โดยมีค�ำขวัญว่า ศิลปะเพื่อทุกคน ทุกชนชั้น ศิลปะเพื่ออิสรภาพแห่งความ คิด ศิลปะเพื่อความเป็นหนึ่งเดียวกันในสังคม (Art for Social Inclusion , Art for Barrier-Free Minds . Art for Oneness) ภาพวาดสวยงามสีฉูดฉาดบาดตาเหล่านี้ ไม่ได้เกิดจาก ฝีมือของเด็กออทิสติคเท่านั้น แต่เป็นการร่วมมือช่วยกันคิดของเด็ก พิการด้านอื่นด้วย เช่น หูหนวก รวมทั้งเด็กยากจน เด็กด้อยโอกาส จากสถานพินิจ จากโรงเรียนต่างๆ ตามที่ผู้จัดติดต่อไป ผู้ริเริ่มโครงการนี้คือ Mr.Kotaro Fujiwara ซึ่งเป็นครูใหญ่ ของโรงเรียนเด็กพิเศษ ที่เมือง Anjo จังหวัด Aichi ประเทศญี่ปุ่น เขาร่วมงานกับองค์กรหลายแห่งทั้งในญี่ปุ่นและไทย เช่น เป็นผู้ อ�ำนวยการ WAFCA (มูลนิธิศูนย์มิตรภาพมนุษย์ล้อ) ของญี่ปุ่น และ ร่วมมือกับ WAFCAT ในประเทศไทยเพื่อช่วยเหลือผู้ที่ต้องใช้รถเข็น คนพิการ ฯลฯ นอกจากนั้นเขายังได้เริ่มก่อตั้ง Asian Children’s Association ขึ้นเมื่อปี 2017 สโมสรโรตารีกรุงเทพสุวรรณภูมิ มีโอกาสได้ร่วมงานกับ Mr.Kotaro โดยการแนะน�ำจากนายกสโมสรคู่มิตร ในประเทศ ญี่ปุ่น คือ P.Bunzaburo Suzuki , Rotary Club of Kariya และ Ms.Mio ซึ่งขณะนั้นเป็นนักศึกษาในโครงการ Global Grant ของ สโมสรโรตารี ค าริ ย ะมาศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาโทที่ ส ถาบั น บั ณ ฑิ ต 20 มีนาคม-เมษายน 2562

พัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA) ในประเทศไทย ก่อนหน้า กิ จ กรรมนี้ เราเคยได้ ร ่ ว มงาน กันในโครงการ “The Art Exhibition of Children in Asia 2017” และโครงการที่ โรงเรียนหนองจิกยาว จังหวัด สุพรรณบุรี ซึ่งทางสโมสร โรตารี ก รุ ง เทพสุ ว รรณภู มิ ไ ด้ สนั บ สนุ น การสร้ า งทางลาด เพื่อเข้าห้องน�้ำให้กับโรงเรียน ด้วย พ ร ะ เ อ ก ข อ ง โครงการนี้คือ Mr.Hiroshi Kawabe เป็นเด็กพิเศษ (Autistic artist) ชาวญี่ปุ่น ที่เคยศึกษาอยู่ ในโรงเรียนของ Mr.Kotaro ปัจจุบันอายุ 24 ปี แต่ความสามารถใน ด้านการวาดภาพของเขาถูกค้นพบตั้งแต่ยังเด็ก ชอบวาดภาพสัตว์ ต่างๆ และดอกไม้ เคยได้รับเชิญมาร่วมแสดงภาพวาดของเขาใน ประเทศไทยเมื่อปี 2017 และด้วยความที่รักในมิตรภาพของคนไทย ชอบอาหารไทย ชอบขี่ช้าง ฯลฯ การมาเมืองไทยอีกครั้งเมื่อต้นปีนี้ เขาและมารดาจึงยินดีที่จะมาด้วยทุนส่วนตัว และเห็นได้ว่าการพบ กันในครั้งนี้เขามีการพัฒนาขึ้นมากทีเดียว รูปภาพต่างๆ ที่น�ำมาแสดงในงานที่หอศิลปฯ ปีนี้ ได้ไปจัด


Asia 2019

โดย อน.ตรอง แสงสว่างวัฒนะ สโมสรโรตารีกรุงเทพสุวรรณภูมิ

Art Camp ขึ้นที่ไร่ใจฟ้าฟาร์ม ต.นิคมสร้างตนเอง อ.เมือง จ.ลพบุรี น.ส.วราภรณ์ ร่มรื่น ในโครงการของมูลนิธิธรรมรักษ์ พระอาจารย์อลงกต ระหว่างวัน จากการที่หนูได้ไปเข้าค่าย Art Camp ที่ 25 – 26 มกราคม 2562 ดร.สุจินต์ สว่างศรี อดีตผู้อ�ำนวยการ ท�ำให้ได้รับประสบการณ์ดีๆ หลายอย่าง โรงเรียนลพบุรีปัญญานุกูล โรงเรียนเด็กพิเศษที่ จ.ลพบุรี น�ำเด็กๆ หนูมีความสุขมากที่ได้เจอเพื่อนใหม่ๆ จาก 45 คนไปเข้าค่าย โดยเป็นเด็กยากจน เด็กด้อยโอกาส เด็กหูหนวก โรงเรียนต่างๆ การไปเข้าค่ายครั้งนี้ท�ำให้ อ่านบทสัมภาษณ์ประกอบจากเด็กๆ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ หนูกล้าแสดงออก ดึงศักยภาพตัวเองออก 33 จังหวัดลพบุรี ดูนะคะ มาใช้ได้เยอะเลยค่ะ และที่ประทับใจคือ ความร่ ว มมื อ ของโรตารี กั บ บุ ค คลภายนอกถื อ เป็ น การพึ่ ง พา การที่หนูได้วาดรูประบายสีกับเพื่อนๆ ต่าง อาศัยดูแลช่วยเหลือซึ่งกันและกัน โครงการนี้จะจัดขึ้นอีกครั้งราว โรงเรียน หนูสัญญาว่าจะน�ำความรู้ที่ได้ในค่าย Art Camp ไปใช้ใน เดื อ นมกราคมปี ห น้ า ซึ่ ง สโมสรโรตารี ทั้ ง กรุ ง เทพสุ ว รรณภู มิ แ ละ ชีวิตประจ�ำวันอย่างมีความสุขมากที่สุดค่ะ ขอขอบคุณส�ำหรับโอกาส Kariya จากญี่ปุ่นยังคงจะร่วมมือกันต่อไป ดีๆ ที่ได้รับค่ะ น.ส.ศรัญญา พันธ์มาลี น.ส.สุริยาพร สุวรรณภูเต มีความรู้สึกประทับใจมากค่ะที่ได้ร่วม Art Camp เป็นกิจกรรมที่ดี ท�ำให้ได้ กิจกรรม Art Camp ที่ไร่ใจฟ้า สนุกสนาน ฝึกทักษะตัวเองในด้านที่ไม่ถนัด คือ การ กับการที่ได้วาดภาพกับพี่ๆ และน้อง พี่ วาดรูป การท�ำกิจกรรมร่วมกับเพื่อนต่าง ทีมงานน่ารักมาก ให้ความสนุกและเสียง โรงเรียน ในวันนั้นทั้งวันเราสนุกและตื่นเต้น หัวเราะ ได้เห็นถึงความสามัคคีในการ ตั้งแต่เริ่มวาดจนวาดเสร็จเรียบร้อย เราวาด ท�ำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม รูปภาพที่ออกมา ดอกทานตะวัน ซึ่งเป็นที่รู้จักของทุกคน ผล สวยได้ก็เพราะเกิดจากการมีความคิด และ งานที่ท�ำออกมาดีทุกชิ้น มีความสุขมากที่ได้ ช่วยเหลือกันในการออกแบบรูปภาพ ได้มีการแลกเปลี่ยนความรู้ ลงมือลงแรงท�ำออกมาอย่างเต็มที่ ขอขอบคุณกิจกรรม Art Camp ของรูปภาพแต่ละกลุ่มซึ่งมีความสวยงามที่แตกต่างกันออกไปมาน�ำ ที่ท�ำให้ได้มิตรภาพที่ดี ได้ฝึกการท�ำงานเป็นกลุ่ม ท�ำให้ได้เปิดโลกใบ เสนอเพื่อนๆ และพี่น้องทุกคน อยากจะให้มีกิจกรรม Art Camp นี้ ใหม่ในอีกด้านหนึ่งเลยทีเดียว ไปเรื่อยๆ เพื่อพัฒนาทางด้านศิลปะและความสามัคคีของรุ่นต่อๆ ไป ค่ะ


Fellowship Game Football Match

ฟุตบอลจตุรมิตร 4 ภาค

22 มีนาคม-เมษายน 2562

โดย อผภ.นิธิ สูงสว่าง


ถึงแม้เราจะมาจากต่างทิศต่างที่ เหนือใต้ออกตก มาสู่กรุงเทพฯ เพื่อเตะฟุตบอล กีฬา ที่ชอบดูไม่ว่าจะดึกดื่นค่อนคืนแค่ไหน กีฬาที่ไม่เล่นไม่ถนัด หรืออาจเรียกว่าเล่นไม่เป็นก็ ว่าได้ แต่เราก็ขับรถมาแสนไกลหลายชั่วโมง บ้างซื้อตั๋วบินมา บ้างอ้อนให้แอนน์มาเป็น กองเชียร์บ้าง รวมตัวรวมใจกันมา เราทุกคนมาด้วยเป้าหมายเดียวกันคือเพื่อมิตรภาพ ใน โครงการฟุตบอลจตุรมิตร ๔ ภาค ผมว่าทุกท่านมาร่วมกิจกรรมครั้งนี้ด้วยเหตุนี้ ผมก็เช่น กันครับ เราต่างล้วนใส่ใจให้ความส�ำคัญกับมิตรภาพต่อกัน กีฬาเป็นยาวิเศษ ส่งเสริมทักษะการเคลื่อนไหว ความคล่องแคล่วของร่างกาย ความ มีน�้ำใจเป็นนักกีฬา กีฬาไม่ได้พัฒนาร่างกายอย่างเดียว ยังพัฒนาจิตใจให้สมบูรณ์ สอน ให้รู้แพ้รู้ชนะรู้อภัย ทั้งการเล่นเดี่ยว-เล่นเป็นทีม และกีฬาสร้างเครือข่ายการมีส่วนร่วม และมิตรภาพในองค์กร ซึ่งท่านผู้ว่าการภาค ทั้ง ๔ ท่าน ปีบริหาร ร่วมสร้างแรงบันดาลใจ หยิบยกข้อสุดท้ายนี้เป็นประเด็นหลัก ผมชื่นชม สนุกและมีความสุขกับฟุตบอลจตุรมิตร ๔ ภาค ผมอมยิ้มทุกครั้งที่นึกถึง นั ก ฟุ ต บอลของเราหลายท่ า นไม่ ค ่ อ ยได้ เ ตะลู ก เพราะส่ ว นใหญ่ ลู ก อยู ่ ใ นเท้ า คู ่ แข่ ง เสี ย มากกว่า นักกีฬาทีม นยก.อดิสร เสกสรรค์วิริยะ สโมสรเชียงใหม่ใต้ (ประธานโครงการ ภาคผมครับ) ท่านและพวกเราทุกคนแอบมองแอนน์บนอัฒจรรย์บ่อยๆ ด้วยทุกคนใจตรง กันมีความคิดไม่ต่างกันว่า กองเชียร์กองน้อยๆ ของเราที่อยู่ติดกับกองเชียร์ของต่างภาค ซึ่งอยู่บนอัฒจรรย์ กองเชียร์ต่างภาคมีคนเยอะจนล้นแผงออกมา และเสียงโป๊ะๆ ฉึ่งๆ ดัง สนั่น ใจดีข้ามฟากมาร่วมแจมกับ ภาค ๓๓๖๐ ด้วยความเอ็นดู เป็นครั้งคราว ใจเด็ดมากๆ บ้านผมเรียกว่า กีฮา-เป็นยาวิเศษ-แต้ละ อะไรท�ำให้แอนน์และโรแทเรียนบนอัฒจรรย์ถึงใจ ฮึกเหิม เชียร์กระโดดโลดเต้นไม่ถอย เห็นทีต้องเรียกว่า สามัคคีสนุกสนาน ขอบคุณต่อน�้ำใจไมตรีจิตในการต้อนรับที่ดีเยี่ยมจากเพื่อนภาค ๓๓๕๐ ขอเรียนท่านผู้ ว่าการภาคและผู้ร่วมกิจกรรมทั้ง ๔ ภาคว่า ผมและน้องๆ ๑๕ คน ในทีมภาค ๓๓๖๐ และ กองเชียร์ โรตารีแอนน์ที่น่ารัก พวกเราดีใจมากที่ได้มาร่วมกิจกรรมในครั้งนี้ ขอบคุณท่านผู้ ว่าการภาคทั้ง ๔ ท่าน ที่จัดกิจกรรมนี้ และดีใจที่ได้พบ ได้คุย ได้รับประทานอาหาร ได้ร่วม เล่นกีฬา กีฬาเป็นยาวิเศษ!


D.3330

บรรณาธิการ ภาค 3330 โรตารีสากล

อผภ.จุฑาทิพย์ ธรรมศิริพงษ์ สร.พระปฐมเจดีย์

สวัสดีคะ่ มวลมิตรโรแทเรียน ช่วงนีเ้ ป็นเวลาทีอ่ ากาศ ร้อนจัดเพื่อก�ำลังเปลี่ยนเป็นหน้าฝน มวลมิตรโรแทเรียนคะ พวกเราก็ก�ำลังเปลี่ยนแปลงเหมือนกัน อย่างที่ทราบดีอีก เพียงไม่กี่สัปดาห์ พวกเราก็ต้องเปลี่ยนแปลงภายในสโมสร ทุกๆ สโมสร โดยเฉพาะเราก�ำลังมีผู้น�ำระดับโลก ระดับโซน ระดับภาค และระดับสโมสร การเปลี่ยนแปลงเพื่อการก้าว สู่การพบปะกับเรื่องใหม่ๆ ผสมกับเรื่องเดิมๆ ที่เราเรียกว่า วัฒนธรรม หากว่าการยอมรับเรื่องราวใหม่ๆ บางครั้งเราก็จะ ตกใจ เช่น เรือ่ งของการทีแ่ ต่ละภาคส่งผูแ้ ทนไปร่วมปรับ แก้ไข ข้อบังคับของโรตารีในสภานิติบัญญัติ เมืองชิคคาโก ประเทศ สหรัฐอเมริกา เมื่อเดือนเมษายนที่ผ่านมา ซึ่งจะมีผลประกาศ ใช้ในปีบริหารที่ก�ำลังจะมาถึงเดือนกรกฎาคมนี้ ดิฉันเชื่อว่า องค์กรโรตารีใช้การระดมความคิด การมีส่วนร่วม หาวิธีต่างๆ ก็เพื่อให้โรแทเรียนมีความสะดวกสบาย ที่เราเรียกว่า ยืดหยุ่น มิใช่เป็นกฎระเบียบ ทีป่ รับใช้กบั วัฒนธรรมของแต่ละสโมสรทัว่ โลกไม่ได้ หากแต่สมาชิกให้ความสนใจ น�ำมาปรับใช้ ดิฉันเชื่อ ว่าเกิดผลดีอย่างแน่นอน เพียงแต่เราต้องสร้างความเข้าใจ การมีสว่ นร่วมคิด ร่วมปฏิบตั ิ ร่วมประเมินผล ภายใน สโมสร ลองกันดูนะคะ เรื่องราวทุกเรื่องถือเป็นต�ำราที่ทรง คุณค่า ขอให้โรแทเรียนสนุก มีความสุข พร้อมรับเรือ่ งราวต่างๆ อย่างมีสติ ปัญญา แล้วพวกเราจะมีความสุข สามารถมีและ สร้างแรงบันดาลใจให้กับคนทั่วไปได้เป็นอย่างดีถึงดีที่สุดค่ะ

24 มีนาคม-เมษายน 2562


District Conference D.3340 RI

การประชุมใหญ่ภาค 3330 โรตารีสากล District Conference (2018-2019) ณ โรงแรมไมด้า ทวารวดี แกรนด์ นครปฐม วันที่ 29-31 มีนาคม 2562 วัตถุประสงค์เพื่อเป็นการสรุปกิจกรรมการบริหารใน สโมสร ปีบริหาร 2561-2562 ทุก ๆ สโมสรมีความยินดีในผลงาน มี ความสุขต่อการรับรางวัลในคืนแห่งเกียรติยศ “Awards Night” จะเห็นได้ว่ามิตรภาพจากภาคกลางถึงภาคใต้ ด้วยมิตรภาพ มีการเดินทางกันข้ามคืนหลายกิโลเมตรด้วยมิตรภาพทีม่ ใี จอย่างแท้จริง หากแต่คู่มิตรต่างประเทศ เช่น ประเทศญี่ปุ่น เกาหลีใต้ จีน ไต้หวัน อินเดีย ต่างก็มีโอกาสสานสัมพันธ์ไมตรีต่อกัน ถือว่าการประชุมใหญ่ ของภาค 3330 โรตารีสากล มีครบทุกแบบ เรียกว่า มิตรภาพโดยแท้จริง


D.3330

Activities กิจกรรม สโมสรโรตารีพระปฐมเจดีย์ ร่วมกับ สโมสร Bucheon Mogryun D.3690 South Korea จัดท�ำโครงการ Global Grant Project #1981458 หลักสูตร “ความปลอดภัยหัวใจที่รัก” และมอบเครื่องช่วยหายใจ ณ โรงพยาบาลนครปฐม

สโมสรโรตารีโคกเสม็ดชุน จัดโครงการ “พกถุงผ้าใส่ยากลับบ้าน” โดยมอบถุงผ้าให้กับ สาธารณสุขคอหงส์ โรงพยาบาลหาดใหญ่เพื่อมอบให้แก่ผู้ป่วย และคนไข้ใส่ยากลับบ้านโดยงดใช้ถุงพลาสติก

สโมสรโรตารีพลอยราชบุรี และสโมสรบูชอนฮัลวูล ได้ส่งมอบโครงการ Global Grant (GG 1867271) ให้กับ โรงพยาบาลราชบุรี อ.เมือง จ.ราชบุรี

สโมสรโรตารีหัวหิน ร่วมสืบสานประเพณีสงกรานต์ในการประชุมสโมสร

สโมสรโรตารีท่าม่วง มอบเครื่องติดตามการท�ำงานของหัวใจให้โรงพยาบาลสมเด็จ พระสังฆราชองค์ที่ 19 มูลค่า 120,000 บาท 26 มีนาคม-เมษายน 2562


ผวล.สกนธ์ อึ่งสร้อยทอง ผู้ว่าการภาครับเลือก 3330 โรตารีสากล ปีบริหาร 2562-2563 ฉบับนี้ ภาค 3330 ขอแนะน�ำผู้ที่จะท�ำหน้าที่ผู้ว่าการภาค ปี 2562-2563 อีกเพียง 2 เดือนข้างหน้านีท้ า่ นชือ่ สกนธ์ อึง่ สร้อยทอง ก�ำเนิด ทีจ่ งั หวัดยะลา เมือ่ วันที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2513 ปัจจุบนั มีอายุ 49 ปี สมรส กับคุณสิรภัทร อึง่ สร้อยทอง มีลกู 3 คน ครอบครัวประกอบธุรกิจผูผ้ ลิตและ จ�ำหน่าย ซีอวิ๊ เต้าเจีย้ ว น�ำ้ ส้มสายชู เครือ่ งปรุงรสต่างๆ ร้านจัว่ เฮงพานิชตัง้ อยู่ใจกลางเมืองจังหวัดยะลา (58-60 ถ.นวลสกุล ต.สะเตง อ.เมือง จ.ยะลา 95000 โทร. 073-212258 ผู้ว่าการภาครับเลือก สกนธ์ อึ่งสร้อยทอง เป็นบุตรชายของ โรแทเรียน ประพันธ์ และโรตารีแอนน์ นภา อึ่งสร้อยทอง รทร.ประพันธ์ เป็นสมาชิกสโมสรโรตารียะลา เมือ่ ปี 2548-2549 ซึง่ ได้ตดิ ตามผูว้ า่ การภาค ภากร นิลจรัลกุล คติพจน์ปี 2548-2549 คือ บริการเหนือตน (Service Above Self) ปัจจุบนั ทัง้ 3 ท่านได้ถงึ แก่กรรมแล้ว แต่ดว้ ยความรูส้ กึ ผูกพัน กับโรตารีประกอบกับจังหวัดยะลาเป็นเมืองที่มีความส�ำคัญเมืองหนึ่งของ ชายแดนภาคใต้ ผวล.สกนธ์ โรตารีแอนน์ และลูกๆ จึงยังอาศัยและประกอบ อาชีพค้าขายต่อจากคุณพ่อคุณแม่ ส่วนประวัติของ ผวล.สกนธ์ อึ่งสร้อยทอง เป็นสมาชิกสโมสร โรตารียะลา ปี 2551-2552 เป็นนายกสโมสรปี 2554-2555 จากนั้นมา ท่านก็ด�ำรงต�ำแหน่งส�ำคัญๆ ทั้งในสโมสรและภาคเรื่อยมา จนได้รับเลือก เป็นผู้ว่าการภาครับเลือกในปัจจุบัน ท่านผ่านงานด้านสังคมมาก เช่น • ผู้พิพากษาสมทบศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดยะลา • ผูป้ ระนีประนอมคดีครอบครัวศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัด ยะลา • คณะกรรมการธรรมาภิบาลจังหวัดยะลา • คณะอนุกรรมการกลัน่ กรองและติดตามการด�ำเนินงานกองทุน พัฒนาบทบาทสตรีอ�ำเภอเมืองยะลา

• ประธานศูนย์สุขภาพชุมชนเมืองเวชกรรม รพ.ยะลา • ประธานชมรมพัฒนาสัมพันธ์ระดับผู้บริหารจังหวัดชายแดน ภาคใต้ จ.ยะลา • อดีตผู้ประนีประนอมศาลจังหวัดยะลา • อดีตรองประธานหอการค้าจังหวัดยะลา • อดีตกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนอนุบาลยะลา • อดีตอนุกรรมการความร่วมมือเศรษฐกิจกับประเทศเพือ่ นบ้าน ด้านมาเลเซีย ท่านผู้ว่ารับเลือก สกนธ์ ได้เล่าให้พวกเราฟังว่า “เมื่อสมัยที่คุณ พ่อเป็นโรแทเรียนได้ติดตามคุณพ่อไปประชุมและร่วมกิจกรรมของสโมสร โรตารีอยู่เสมอ จนรู้จักและเข้าใจในการเป็นโรตารี จึงมีความคิดอยาก จะด�ำเนินชีวิตเป็นโรแทเรียนเหมือนคุณพ่อ จึงสมัครเป็นสมาชิกสโมสร โรตารียะลาและได้บ�ำเพ็ญประโยชน์เพื่อสังคมเรื่อยมา อีกทั้งมีความภาค ภูมิใจกับคติพจน์ของโรตารีในเรื่องการบริการเหนือตน คงเป็นเพราะว่า จังหวัดยะลาเป็นจังหวัด 1 ใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ทีส่ มาชิกโรแทเรียน ทุกท่านในภาคและต่างภาคให้ความร่วมมือท�ำกิจกรรมด้วยดีตลอดมา วันนี้ ผมและโรตารีแอนน์ขอขอบคุณโรแทเรียนทุกท่านในภาค 3330 และทุกภาค ในประเทศไทย ผมจะได้มาร่วมกิจกรรมบ�ำเพ็ญประโยชน์กับทุกท่านที่ให้ ความห่วงใยภาคใต้ตลอดมา ผมจะร่วมงาน ร่วมกิจกรรมบ�ำเพ็ญประโยชน์ ให้มากที่สุดและตลอดไป” จากค�ำกล่าวอย่างมั่นใจของท่านผู้ว่าการภาครับเลือก สกนธ์ ท�ำให้พวกเราทุกคนภูมิใจมากที่จะได้ผู้น�ำที่ดี และขอแสดงความยินดีกับ ท่านผู้ว่าการภาครับเลือก สกนธ์ และครอบครัว ที่เสียสละเป็นตัวแทนของ พวกเราที่จะสานสัมพันธ์โรตารีทั่วโลก ดังคติพจน์ที่ว่า โรตารีเชื่อมสัมพันธ์ โลก (Rotary Connects the World) ด้วยค่ะ


D.3340 บรรณาธิการ ภาค 3340 โรตารีสากล

รทร.เดียร์ราห์ พิบูลย์วัฒนวงษ์ สร.หมากแข้ง

สวัสดีคะ่ มวลมิตรโรแทเรียนทุกท่าน ในส่วนของภาค 3340 นั้น เดือนมีนาคมและเมษายน เป็นเวลาแห่งการเร่งท�ำ กิจกรรมบ�ำเพ็ญประโยชน์ที่ยังค้างอยู่ในปีบริหาร เพื่อเตรียม ส่งมอบ ให้กบั คณะกรรมการบริหารชุดใหม่ได้พจิ ารณาท�ำแผน โครงการส�ำหรับปีบริหารใหม่ต่อไป พร้อมกับการประชุม 2 นัดส�ำคัญของบริหาร คือ การประชุม DC ที่จังหวัดอุบลราชธานี และการประชุม DTA ที่จังหวัดนครราชสีมา ต้องบอกว่า เป็นการประชุมที่ผู้ว่าการ ภาคสุรพล ทวีแสงสกุลไทย และผู้ว่าการภาครับเลือก มารวย จินตบัณฑิตวงษ์ ได้ร่วมมือทุ่มเทในการจัดการประชุมได้อย่าง ประทับใจมวลมิตร 3340 อย่างมาก ด้วยบรรยากาศที่อบอุ่น เป็นกันเอง ท�ำให้สโมสรที่เข้าร่วมประชุม มีแรงบันดาลใจที่จะ สร้างสรรค์สงิ่ ใหม่ และทุม่ เทไปสูก่ ารท�ำงานในปีบริหาร “โรตารี เชื่อมสัมพันธ์โลก” ในการเตรียมพร้อม สู่ปีบริหารใหม่ในอีกไม่กี่เดือน ข้างหน้านี้ มวลสมาชิกภาค 3340 โดยเฉพาะอย่างยิ่งนายกรับ เลือก และคณะกรรมการภาค ต่างได้เห็นถึงความพร้อมและ สปิริตที่แรงกล้าของผู้ว่าการภาครับเลือก มารวย จินตบัณฑิต วงษ์ ที่ได้ทุ่มเทหว่านเมล็ดพันธุ์แห่งความมุ่งมั่น เราจึ ง หวั ง อยู ่ ไ ม่ น ้ อ ยว่ า เราจะได้ เ ห็ น หลายสิ่ ง เปลี่ยนแปลง พัฒนา ไปสู่แนวทางใหม่ๆ และได้ความร่วมมือ ของมวลสมาชิกที่ท่วมท้นมากขึ้น สมกับความทุ่มเทอย่างมาก ของท่านผู้ว่าการภาครับเลือก มารวย จินตบัณฑิตวงษ์ ในการ เปิดตัวสู่การท�ำงานระดับแนวหน้าของงานจิตอาสา “โรตารี เชื่อมสัมพันธ์โลก”

28 มีนาคม-เมษายน 2562


District Conference D.3340 RI ภาค 3340 ได้ จั ด การประชุ ม ใหญ่ ข องภาค (District Conference) เมื่อวันที่ 7-9 มีนาคม 2562 ที่จังหวัดอุบลราชธานี โดย มี ผู้ว่าการภาค สุรพล ทวีแสงสกุลไทย เป็นประธาน และได้รับเกียรติ อย่างสูงจาก ฯพณฯ พิชัย รัตตกุล ร่วมเป็นประธานในการมอบรางวัล อันทรงเกียรติแก่สโมสรที่มีผลงานดีเด่นระดับภาค และระดับประเทศ อันได้แก่ ถ้วยรางวัล ฯพณฯ พิชัย รัตตกุล “มีน�้ำใจ ให้ความรัก” แก่ สโมสรที่จัดกิจกรรมบ�ำเพ็ญประโยชน์ดีเด่น ในวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2562 ซึ่งได้แก่ สโมสรโรตารีจันทบุรี และถ้วยพระยาศรีวิสารวาจา ส�ำหรับสโมสรที่มีกิจกรรมในบริการใดบริการหนึ่งที่ดีเด่นที่สุดในรอบ ปี อันเป็นถ้วยระดับประเทศ สโมสรที่ได้รับคือ สโมสรโรตารีสกลนคร ภาค 3340 นับว่าเป็นถ้วยรางวัลแห่งความภาคภูมใิ จของถ้วยเดียวของ ภาค 3340 ในปีบริหารนี้ บรรยากาศในการประชุมเป็นไปอย่างอบอุน่ และเป็นกันเอง แบบพื้นบ้านถิ่นอีสาน พร้อมกันนี้ยังมีเยาวชนแลกเปลี่ยนของภาค ที่ก�ำลังจะเดินทางไปแลกเปลี่ยนในประเทศต่างๆ และเยาวชนแลก เปลี่ยนทีไ่ ด้เดินทางเข้ามาแลกเปลี่ยนในปีบริหารนี้ของภาค 3340 เข้า ร่วมการประชุม ในโอกาสนี้ ท่านผูว้ า่ การภาค สุรพล ทวีแสงสกุลไทย ได้ มอบใบประกาศเกียรติบตั รแต่เยาวชนแลกเปลีย่ นทุกคนทีเ่ ข้าร่วมการ ประชุมครัง้ นี้ นอกจากนีย้ งั ได้มอบของทีร่ ะลึกแก่แขก และวิทยากรอีก หลายท่านทีไ่ ด้มาร่วมสร้างบรรยากาศการประชุมให้เต็มไปด้วยความรู้ และได้ผลมติการประชุมส�ำคัญๆ ที่ผ่านไปด้วยดีทุกเรื่อง ต้องขอขอบพระคุณสโมสรต่างๆ ของภาค 3340 ที่ได้น�ำ สมาชิกเข้าร่วมประชุมใหญ่ของภาค อย่างพร้อมเพรียง ท�ำให้การ ประชุมสามารถรับรองรายงานการเงินของภาคประจ�ำปี การมีมติเพื่อ อนุมตั กิ ารก�ำหนดอัตราค่าบ�ำรุงภาคในการเปลีย่ นแปลงอัตราค่าบ�ำรุง ภาคในกรณีที่ไม่ได้ขอมติในการอบรมประจ�ำปีหรือการอบรมสัมมนา นายกรับเลือก ในที่ประชุมครั้งนี้ได้คัดเลือกท่าน อผภ.ชาญ จรรโลง เศวตกุล เป็นผูแ้ ทนไปประชุมสภานิตบิ ญ ั ญัตโิ รตารีซงึ่ จะกระท�ำในทุกๆ 3 ปี ต่อครั้ง นับว่าเป็นหน้าที่ส�ำคัญมากอันเป็นการพิจารณาข้อเสนอ ของภาคเพือ่ แก้ไขเปลีย่ นแปลงข้อบัญญัตติ อ่ การประชุมสภานิตบิ ญ ั ญัติ โรตารี นอกจากนี้ ภาค 3340 ยังได้แสดงความยินดีกบั ผูว้ า่ การภาคนอ มินี ผศ.ดร.จารีศรี กุลศิรปิ ญ ั โญ จากสโมสรโรตารีพลูตาหลวง ซึง่ จะเป็น ผู้ว่าล�ำดับถัดไปในปีบริหาร 2564-2565 การประชุมใหญ่ประจ�ำปีของภาค 3340 นับเป็นการประชุม ที่จัดขึ้นเพื่อสมาชิกสโมสรทุกคนในภาครวมทั้งครอบครัวด้วย มิใช่ เพียงเพื่อส�ำหรับเจ้าหน้าที่สโมสรและกรรมการในคณะกรรมการ ต่างๆ เท่านั้น แต่เพื่อให้ทุกคนมีความเพลิดเพลินไปกับมิตรภาพและ วิทยากรที่ให้แรงบันดาลใจ รวมทั้งการอภิปรายเกี่ยวกับเรื่องต่างๆ ซึ่ง จะท�ำให้การเป็นสมาชิกในโรตารีมีความหมายมากยิ่งขึ้น ทุกคนที่เข้า ประชุมใหญ่ประจ�ำปีของภาคจะพบว่าการเป็นโรแทเรียนนั้นจะได้รับ ผลตอบแทนมากยิ่งขึ้นอันเนื่องมาจากประสบการณ์ใหม่ๆ ความคิด และความรู้จักมักคุ้นอันเกิดขึ้นจากการประชุมนั่นเอง


D.3340 Activities กิจกรรม สโมสรโรตารีกาฬสินธุ์ ร่วมกับเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลกาฬสินธุ์ จัดอบรม อสม. เรื่อง การดูแลสุขภาพในโครงการอนามัยแม่และเด็ก GG.1753551 มีผู้เข้ารับการอบรม 250 คน โดยมีท่านจิระวัฒน์ บุญเพิ่ม นายกเทศบาลจังหวัดกาฬสินธุ์ เป็นประธานเปิดงาน สโมสรโรตารีอุดรธานี โดย อน.วิโรจน์ พิพัฒน์ไชยศิริ พร้อมด้วยนายกสโมสรโรตารี 4 สโมสรในจังหวัดอุดรธานี อันได้แก่ สร.อุดรธานี สร.หมาก แข้ง สร.บ้านเชียง และ สร.ศิลปาคม มอบป้ายสนับสนุนการ รณรงค์สวมหมวกกันน็อคให้แก่จังหวัดอุดรธานี จ�ำนวน 100 ป้าย มูลค่า 25,000 บาท เพือ่ น�ำไปติดในสถานทีร่ าชการต่างๆ ทัว่ จังหวัด เพือ่ รณรงค์ให้ผขู้ บั ขีร่ ถจักรยานยนต์ตอ้ งสวมหมวก กันน็อคทุกครั้งที่ขับขี่ สโมสรคุณหญิงโม-โคราช ส่งมอบห้องแยกโรคผู้ป่วยเด็ก ให้กับโรงพยาบาลมหาราช จ.นครราชสีมา ตามโครงการร่วมกับสโมสรโรตารีชาดอล รัฐ โอไฮโอ ประเทศสหรัฐอเมริกา มูลค่ารวมทัง้ สิน้ 400,000 บาท

สโมสรโรตารีร้อยเอ็ดร่วมกับสโมสรโรตารี 1990 AIGLE SWITZERLAND และส�ำนักงานสาธารณสุขจังหวัดร้อยเอ็ด จัดกิจกรรมใน โครงการตรวจคัดกรองค้นหาโรคที่ผิดปกติทางตาในเด็ก นักเรียนประถมและกลุ่มเสี่ยงในเขต อ.อาจสามารถ และ อ.โพธิช์ ยั จ.ร้อยเอ็ด โดยมี Dr.Christian Farve นายจักษุแพทย์ จากประเทศสวิสเซอร์แลนด์เป็นผู้มาตรวจวินิจฉัย สโมสรโรตารีศรีสะเกษ จัดโครงการ “โรตารี ให้รัก ให้รู้” โดยนักเรียนแลกเปลี่ยนจาก อเมริกา SILVER BYRD เป็นผู้ด�ำเนินการสอน และเยาวชน แลกเปลี่ยนจิตอาสามาช่วยสอนภาษาอังกฤษฟรีให้กับเด็กๆ ที่ต้องการเรียนรู้ในช่วงปิดภาคเรียน สโมสรโรตารีทา่ นท้าวสุรนารี ร่วมกับ สโมสรโรตารีอตุ รดิตถ์ ภาค 3360 มูลนิธิพัฒนาการเด็กราชนครินทร์ในพระราชูปถัมภ์ฯ และ บริษัท ไอ ซี ซี อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด (มหาชน) มอบ อุปกรณ์การแพทย์พระราชทานในพระนามาภิไธย สมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี โดยกรมสุขภาพ จิต กระทรวงสาธารณสุข สถาบันพัฒนาการเด็กราชนครินทร์ จังหวัดเชียงใหม่ มูลค่า 3,795,190 บาท 30 มีนาคม-เมษายน 2562


ผวล.มารวย จินตบัณฑิตวงศ์ ผู้ว่าการภาครับเลือก 3340 โรตารีสากล ปีบริหาร 2562-2563 ในฉบับนี้ภาค 3340 ขอแนะน�ำผู้ว่าการภาครับเลือก 3340 ใน ปีบริหาร 2562-2563 ท่าน ผวล.มารวย จินตบัณฑิตวงศ์ เป็นชาวอ�ำเภอ บัวใหญ่ จ.นครราชสีมา ท่านเกิดในปี พ.ศ. 2497 ปัจจุบันอายุ 65 ปี ท่านเป็นพี่คนโตในบรรดาพี่น้องทั้งหมด 6 คน ภรรยาของท่านคือ แอนน์ สุภัชรินทร์ จินตบัณฑิตวงศ์ ท่านมีบุตรธิดาด้วยกันทั้งสิ้น 5 คน ปัจจุบัน ประกอบธุรกิจรับจัดโต๊ะจีน ชื่อร้านมาลีโต๊ะจีน ที่อ�ำเภอบัวใหญ่ จังหวัด นครราชสีมา ได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกสโมสรโรตารีบวั ใหญ่ในปีโรตารี 100 ปี คือ ปี 2547 คือ 15 ปี ได้รบั ความไว้วางใจจากมวลสมาชิกในสโมสรให้เป็นนายก สโมสร 2 ปีติดต่อกัน คือ ปี 2549-2550 และ 2550-2551 ติดต่อกันสอง สมัย และได้รับความไว้วางใจให้เป็นผู้ช่วยผู้ว่าการภาค ปี 2556 ได้เข้าร่วม งานภาคตลอด 15 ปี และได้ร่วมงานกับทางภาคตลอดมา โครงการที่ภาคภูมิใจอย่างที่สุดคือได้ร่วมท�ำโครงการเครื่องมือ แพทย์ เครือ่ งผ่าตัดตาต้อเพือ่ ช่วยเหลือคนทีย่ ากไร้และมีปญ ั หาเรือ่ งสายตา ปกติคนอีสานจะท�ำงานอยูก่ ลางแจ้งจะเกิดปัญหาเรือ่ งสายตามากกว่าปกติ เมื่อเป็นต้อกระจกหรือต้อเนื้อที่ตาไม่ได้รับการดูแลอาจถึงขั้นตาบอดเป็น ปัญหากับครอบครัวและสังคมเป็นอย่างยิ่ง จึงถือว่าเป็นโครงการที่เกิด ประโยชน์อย่างสูงสุด ได้ท�ำโครงการโดยได้รับความร่วมมือจากชุมชนและบุคคลที่มี ความพร้อมในด้านการเงิน โดยได้รบั การสนับสนุนจากอดีตรัฐมนตรี นิพนธ์ พร้อมพันธ์ ให้การสนับสนุนเงินมาท�ำโครงการเป็นเงิน 1,500,000 (หนึง่ ล้าน ห้าแสนบาทถ้วน) ประโยชน์ของโครงการพื้นที่บริการมี 6 อ�ำเภอ อ�ำเภอ บัวใหญ่ อ�ำเภอคง อ�ำเภอโนนแดง อ�ำเภอบัวลาย อ�ำเภอแก้งสนามนาง และ อ�ำเภอประทาย ตอนนี้โครงการยังท�ำต่อเนื่องอยู่ในช่วงที่ท�ำมา 10 ปี มีคนเข้า มาใช้บริการไม่น้อยกว่า 100,000 คน และอีก 1 โครงการ คือให้ทุนแก่

นักศึกษาไปเรียนด้านสาธารณสุข มีวันหนึ่งสมาชิกโรตารีบัวใหญ่โดยนายก วีณา พิทักษ์ตรัยรัตน์ ได้มาขอรับทุนจากสโมสรว่ามีเด็กนักเรียนจากอ�ำเภอ บัวใหญ่ไปสอบติดคณะสาธารณสุขศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่นต้องการ ให้สโมสรสนับสนุนเพราะเด็กมีแม่ที่พิการทางการได้ยิน (คือเป็นใบ้) อยู่กับ ยายต้องการโอกาสทางสโมสรมีมติให้เงินแก่เด็กคนนัน้ เดือนละ 2,000 บาท เป็นเวลา 4 ปีจนจบการศึกษา เงินที่ได้รับจากสโมสรโรตารีบัวใหญ่เดือนละ 2,000 ไม่พอค่าใช้จ่ายแน่นอนแต่เด็กของเราได้ช่วยอาจารย์ท�ำงานที่คณะ เพื่อเพิ่มรายได้ให้แก่ตนเอง และขอใช้สิทธิ์ที่จะอยู่หอในตลอดการเรียน ปัจจุบันเรียนจบ มี งานท�ำและได้แต่งงานมีบุตร 1 คนและรับแม่ที่เป็นใบ้มาดูแลเป็นอย่างดี ทางสโมสรคาดหวังว่าเมือ่ เขาได้รบั โอกาสจากเราเขาคงจะน�ำโอกาสนีส้ ง่ ต่อ ให้กับผู้อื่นเป็นการต่อยอดความดี โครงการที่ภาคภูมิใจของโรตารีบัวใหญ่ ได้สร้างห้องสมุดและ ศูนย์การเรียนรู้ให้แก่เยาวชนในเขตอ�ำเภอบัวใหญ่ ได้จัดงานและหาทุนใน การก่อสร้างจากชุมชนและสโมสรในภาคและคหบดีที่มีก�ำลังทรัพย์มาท�ำ โครงการได้ใช้งบประมาณ 2 หลัง เป็นเงินมากกว่า 1,000,000 (หนึ่งล้าน บาทถ้วน) เป็นห้องสมุด 1 หลัง ศูนย์การเรียนรู้ 1 หลัง ได้เปิดสอนในวัน เสาร์-อาทิตย์ โดยมีครูสอนภาษาอังกฤษมาสอนให้ สโมสรจ่ายเงินตอบแทน วันละ 500 บาท ส่งผลให้ภาพลักษณ์ทางโรตารีประจักษ์แก่ชุมชนการเปิด สอนได้เริ่มปี 2560-2562 ระยะเวลา 2 ปี การให้โดยไม่หวังสิ่งตอบแทนเป็นการให้ที่บริสุทธิ์เหมือนเรา ปลูกต้นไม้ออกดอกออกผลนัน้ หมายความว่าให้เกิดสิง่ เป็นรูปธรรมแห่งการ บ�ำเพ็ญประโยชน์ของโรตารีและอื่นๆ อีกมากมาย ตลอดระยะเวลา 15 ปีที่ ได้ร่วมอุดมการณ์แห่งโรตารี สิ่งที่ได้รับมากกว่าสิ่งอื่นใดคือความรักให้กัน และมิตรภาพให้กันเป็นสิ่งส�ำคัญยิ่ง


D.3350

บรรณาธิการ ภาค 3350 โรตารีสากล

อน.ตรอง แสงสว่างวัฒนะ สร.กรุงเทพสุวรรณภูมิ

สวัสดีในวันอันแสนร้อนของปีนี้ค่ะ ช่วงเดือนเมษายนปีนี้อากาศร้อนจัด ทะลุเกิน 40 องศาในหลายวันของหลายๆ พืน้ ที่ อากาศร้อนแต่ขออย่าให้ ใจร้อนตามอากาศนะคะ ในเดือนมีนาคม – เมษายน นี้ เป็นช่วงเวลาที่ โรตารีทั้ง 4 ภาคต่างก็จัดงานประชุมใหญ่ สรุปผลงานการ ท�ำงานที่ผ่านมาในปี 2561 – 2562 ของบริการแต่ละฝ่าย ดิฉันได้รวบรวมเป็นข้อสรุปสั้นๆ ประกอบภาพบรรยากาศ ในงานของภาค 3350 มาให้ทุกท่านได้ชมกันค่ะ และในงาน DC 2019 นัน้ ได้มกี ารแนะน�ำผูว้ า่ การ ภาคท่านต่อๆ ไปในอนาคตด้วย ฉบับนีด้ ฉิ นั จึงมีบทสัมภาษณ์ ผู้ว่าการภาค ปี 2562 – 2563 ผวล.ทนงศักดิ์ พงษ์ศรี เป็นการเปิดตัวให้ท่านได้รู้จักผู้น�ำท่านต่อไปของภาค 3350 ค่ะ ในนิตยสารฉบับนี้ ดิฉันมีโอกาสได้น�ำเสนอสกู๊ป พิเศษเกี่ยวกับเรื่องของภาพวาดโดยเด็กพิเศษ ซึ่งสโมสร โรตารีกรุงเทพสุวรรณภูมิได้เข้าไปมีส่วนร่วม เป็นการส่ง เสริมซึ่งกันและกันกับองค์กรอื่นๆ เพื่อสังคมด้วย ถ้าสนใจ ลองย้อนกลับไปอ่านกันดูที่หน้า 20 – 21 นะคะ พบกันใหม่ในฉบับหน้าค่ะ

32 มีนาคม-เมษายน 2562


การประชุมใหญ่ภาค 3350 โรตารีสากล ประจ�ำปี 2561 – 2562 (DC 2019)

จัดขึ้นเมื่อวันเสาร์ที่ 16 – วันอาทิตย์ที่ 17 มีนาคม 2562 ณ รอยัลฮิลล์ กอล์ฟ รีสอร์ท แอนด์ สปา จังหวัดนครนายก โดยมี PDG. Dr. Ken Nakaya จาก Rotary Club of Ashikaga East D. 2550 ประเทศ ญี่ปุ่น เป็นผู้แทนประธานโรตารีสากล ปี 2018-19 Barry Rassin มาเป็น เกียรติเข้าร่วมประชุม พร้อมด้วยโรตารีแอนน์ Masako Nakaya การประชุมครัง้ นี้ มีผลู้ งทะเบียน และผูเ้ ข้าร่วมงานจากสโมสร ต่างๆ ทั้งในภาคและต่างภาค ทั้งหมด 684 คน จาก 92 สโมสร โดย แบ่งเป็นโรแทเรียนภาค 3350 จ�ำนวน 523 คน, ผู้ติดตาม 57 คน, มิตร โรแทเรียนต่างภาค 6 คน, ผูต้ ดิ ตาม 4 คน, มิตรโรแทเรียนจากต่างประเทศ ได้แก่ ประเทศญี่ปุ่น 6 คน , ประเทศเกาหลี 10 คน, ประเทศฟิลิปปินส์ 2 คน, ประเทศสหรัฐอเมริกา 3 คน, โรทาแรคเทอร์ 2 คน, นักเรียนแลก เปลี่ยน 61 คน และอื่นๆ 10 คน ปาฐกถาพิ เ ศษคื อ เรื่ อ ง “แรงบั น ดาลใจไม่ มี สิ้ น สุ ด ” โดย อดีตประธานโรตารีสากล พิชัย รัตตกุล เป็นที่ประทับใจอย่างมากแก่ ผู้เข้าร่วมงาน ประธานคณะกรรมการ และอนุกรรมการ ฝ่ายต่างๆ แถลงสรุป ผลงานที่ผ่านมา น�ำโดย คณะกรรมการบริการเยาวชน คือ ผชภ.ภัทรศรี สุวิมล คณะกรรมการโครงการบริการ คือ ผชภ.ศรีฟ้า ศิริอุดมเศรษฐ คณะกรรมการพัฒนาสมาชิกภาพ คือ ผชภ.วิชัย ชีวกนิษฐ์ คณะกรรมการภาพลักษณ์สาธารณะภาค คือ อน.สุรพล กิตติเวช คณะกรรมการบริหารจัดการสโมสร คือ ผชภ.ยอด แสงสว่างวัฒนะ คณะกรรมการมูลนิธิโรตารีและการบริจาค คือ อผภ.เจสัน ลิม คณะกรรมการปฏิคมภาค คือ อน.นงลักษณ์ กรีเจริญ คณะกรรมการทีมฟุตบอลโรตารี คือ อน.ณัฐธีร์ อังค์สุวรรณเมธ ผวภ.นครินทร์ รัตนกิจสุนทร กล่าวแนะน�ำผู้ว่าการภาคในอีก 3 ปีข้างหน้า จากผลการสรรหาผู้ว่าการภาค ภาค 3350 โรตารีสากล โดยคณะกรรมการสรรหาชุดก่อน คือ ปี 2562–2563 ผวล.ทนงศักดิ์ พงษ์ ศรี จากสโมสรโรตารีบงึ กุม่ ปี 2563-2564 ผวน.สมศรี เมฆธน จากสโมสร โรตารีสลี ม และปี 2564-2565 ผวนด.ศ.นพ.วิรณ ุ บุญนุช จากสโมสรโรตา รีหนองแขม ผลการลงมติ ข องห้ อ ง Elector โดยผู ้ แ ทนที่ ไ ด้ รั บ มอบ อ�ำนาจจากสโมสรที่มีสิทธิออกเสียงลงคะแนน มีมติอนุมัติให้แต่งตั้ง โรแทเรียน 3 ท่าน เป็นคณะกรรมการตรวจสอบงบประจ�ำปี และงบ การเงินกิจกรรมของภาคปี 2561-62 คือ 1.อผภ.สุชาดา อิทธิจารุกุล จากสโมสรโรตารีกรุงเทพวิภาวดี 2.อผภ.ประวิทย์ โรจน์ขจรนภาลัย จากสโมสรโรตารีสวนหลวง 3.อน.สมพร เวชพาณิชย์ จากสโมสรโรตารี พระโขนง และที่ประชุมมีมติอนุมัติให้ผู้ว่าการภาค 5 คนล่าสุดย้อน หลัง เป็นคณะกรรมการฯ สรรหาผู้ว่าการภาค ปี 2565-66 ดังนี้ 1.ผวภ.นครินทร์ รัตนกิจสุนทร ผู้ว่าการภาค ปี 2561-62 2.อผภ.มารศี สกุลหลิว ผู้ว่าการภาค ปี 2560-61 3.อผภ.เจสัน ลิม ผู้ว่าการภาค ปี 2559-60 4.อผภ.ไชยไว พูนลาภมงคล ผู้ว่าการภาคปี 2558-59 5.อผภ. สุรชาติ ชื่นโชคสันต์ ผู้ว่าการภาคปี 2557-58 นอกจากนั้นยังมีมติรับรองรายงานการเงินในเรื่องต่างๆ งานภาคค�่ ำ เป็ น การแสดงของนั ก เรี ย นแลกเปลี่ ย น (YE Inbound & Outbound) การแสดงจากกลุ่มนายก ปี 114 ปิดท้าย ด้วยการร้องเพลงและเต้นร�ำของมวลมิตรโรแทเรียนที่เข้าร่วมงานอย่าง สนุกสนาน ปิดงานในวันอาทิตย์ที่ 17 มีนาคม 2562 ด้วยความส�ำเร็จ งดงามและมิตรภาพอันดียิ่ง


D.3350 Activities กิจกรรม สโมสรโรตารีปทุมวัน ร่วมกับสโมสรโรตารีสิงห์บุรี น�ำคู่มิตรจาก Rotary Club of Koga, D.2820 ประเทศญี่ปุ่น ส่งมอบรถดับเพลิงให้แก่เทศบาล ต.ทับยา อ.อินทร์บุรี จ.สิงห์บุรี

สโมสรโรตารีเยาวราช ร่วมกับสโมสรโรตารีราชเทวี และสโมสรโรตารีสุพรรณิการ์ ภาค 3330 มอบเตียงให้ผู้ป่วย ติดเตียง ที่สาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ตามโครงการหาทุนของราชเทวีลีลาศ

สโมสรโรตารีหนองแขม โดย ผวนด.ศ.คลินิก นพ.วิรุณ บุญนุช ได้ส่งมอบเครื่องกระตุกหัวใจอัตโนมัติ (AED) ให้แก่ วิทยาลัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬา มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา เป็นเครื่องที่ 2 ตามโครงการทุนสมทบ GG # 1877082 เนื่องจากทางวิทยาลัยฯ มีพื้นที่ความรับผิดชอบกว้างขวาง มีประชาชน นักศึกษา และบุคลากรมา ท�ำกิจกรรมเป็นจ�ำนวนมาก มีความจ�ำเป็นต้องติดตัง้ เครือ่ ง AED ให้กระจายตามจุดต่างๆ เพือ่ รองรับเหตุการณ์ฉกุ เฉิน

34 มีนาคม-เมษายน 2562


ผวล.ทนงศักดิ์ พงษ์ศรี ผู้ว่าการภาครับเลือก 3350 โรตารีสากล ปีบริหาร 2562-2563 ผวล.ทนงศักดิ์ พงษ์ศรี เป็นคนจังหวัดอุดรธานี สมรสกับ อน. จงกลดี มีบุตรด้วยกัน 2 คนคือ นายพงศ์พัทธ์ และ น.ส.พัชรพร เป็นสมาชิก ก่อตั้งของสโมสรโรตารีบึงกุ่ม ตั้งแต่ปี พ.ศ.2547 โดยการเชิญชวนจากคุณ รัชนี ศิรปิ รีชาพงษ์ และคุณชาญณรงค์ สุนทรครุฑ สองสามีภรรยา เพือ่ นบ้าน ทีเ่ ปิดร้านขายวัสดุกอ่ สร้างเล็กๆ ในชุมชนบึงกุม่ ทัง้ สองท่านเป็นตัวอย่างของ นักสูช้ วี ติ คุณรัชนีเป็นโปลิโอไม่สามารถเดินด้วยตนเอง คุณชาญเป็นสามีทดี่ ี รักคุณรัชนีมาก เป็นครอบครัวตัวอย่าง แต่หลังจากนั้นไม่นานคุณชาญ ก็ได้ จากพวกเราไป ภาพสองสามีภรรยาทีเ่ ป็นตัวอย่างของการสร้างครอบครัวที่ อบอุน่ การประกอบอาชีพจนประสบความส�ำเร็จในชีวติ ทีส่ ละเวลาส่วนหนึง่ ของชีวติ มาท�ำกิจกรรมบ�ำเพ็ญประโยชน์โดยทีไ่ ม่ได้คดิ อะไร เป็นแรงดลใจที่ ส�ำคัญ ประกอบกับโดยส่วนตัวสมัยเรียนหนังสือก็เป็นคนทีช่ อบท�ำกิจกรรม บ�ำเพ็ญประโยชน์ให้ส่วนรวมอยู่แล้วด้วยทุกครั้งเมื่อมีโอกาส แรงบันดาลใจในการเป็นผู้ว่าการภาค มี อ ยู ่ 2 ส่ ว นด้ ว ยกั น ครั บ โดยส่ ว นตั ว เป็ น คนไม่ มี ค วาม ทะเยอทะยานอะไร บุคลิกเป็นคนสมถะและเรียบง่าย ในส่วนแรกคือสมาชิก ของสโมสรโรตารีบงึ กุม่ หลายท่านพูดว่า “ในช่วงชีวติ ของการเป็นโรแทเรียน อยากเห็นสโมสรเรามีผวู้ า่ การภาคสักคน” เสียงจะดังก้องอยูใ่ นความนึกคิด ของผมตลอดเวลา จนมาถึงปี พ.ศ.2559-2560 ผวภ.เจสัน ลิม ได้ไว้วางใจให้ ท�ำหน้าทีเ่ ลขานุการภาค 3350 โรตารีสากล ผมได้มโี อกาสเดินทางไปท�ำงาน ร่วมกับท่านเกือบทุกหนทุกแห่งในภาค 3350 รวมทัง้ เมียนมาร์ และกัมพูชา เห็นท่านทุ่มเทท�ำงานหนักตลอดเวลา กลับมานั่งคิดถึงตัวเองว่ารู้สึกนึกคิด อย่างไร เห็นปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ เห็นโอกาสของเด็กๆ และผู้คนใน ชุมชน ที่จะได้รับความช่วยเหลือจากโรตารี ทุกมิติของความนึกคิดมารวม ในวันและเวลาเดียวกัน ณ วันนั้นครับ

การสนับสนุนที่ได้รับจากครอบครัว ผมกล้าที่จะพูดได้ว่า ครอบครัวผมคือครอบครัวของโรตารี อน.จงกลดี พงษ์ศรี เป็นโรแทเรียนหลังผม 1 สัปดาห์ เป็นนายกสโมสร หลังผม 1 ปี เป็นผู้ช่วยผู้ว่าการภาค มากกว่าผม 4 ครั้ง เป็นเลขานุการ ภาคต่อจากผม ส่วนลูกชายลูกสาวนั้น ตอนเล็กๆ ทุกวันพฤหัสบดี จะพามา ประชุมฯ ด้วยที่สโมสร แทบพูดได้ว่าเลี้ยงจนโตในสโมสรโรตารีบึงกุ่ม ปัจจุบนั ทัง้ สองสามารถเอ่ยชือ่ และรูจ้ กั อดีตผูว้ า่ การภาคได้แทบทุกคน และ ทั้งสองคนยังเป็นนักเรียนแลกเปลี่ยนของโรตารี ดังนั้นเรื่องการสนับสนุน เต็มร้อยครับ ในวันทีผ่ มตัดสินใจเสนอตัวเข้ารับการสรรหาเป็นผูว้ า่ การภาค จ�ำได้ว่าเหลือเวลาอีกแค่ 7 วัน สโมสรโรตารีบึงกุ่ม ประชุมลงมติรอไว้แล้ว ผู้ว่าเจสันนั่งเครื่องกลับจากเมียนมาร์ยังไม่ทราบ คนแรกที่ผมต้องบอกคือ คุณมด และลูกๆ ทั้งสองคนครับ ค�ำตอบของทุกคนคือ เห็นด้วยกับการ ตัดสินใจของผม วาดภาพโรตารีในปีที่เป็นผู้ว่าการภาค ว่าเป็นอย่างไร ภาพของจิตอาสาทีท่ ำ� ประโยชน์ให้ชมุ ชนโดยไม่หวังผลตอบแทน ภาพของโรแทเรียนทีม่ แี ต่รอยยิม้ เปีย่ มไปด้วยความสุขของการให้ ภาพของ สโมสรโรตารีทมี่ กี ารประชุมสโมสรอย่างสม�ำ่ เสมอ เต็มเปีย่ มไปด้วยมิตรภาพ ภาพของเด็กๆ และผู้คนในชุมชนได้รับการบริการจากโรแทเรียน ซึ่งทุกๆ อย่างทีเ่ ล่ามาไม่ใช่แค่ภาพวาด แต่เป็นแบบแผนงานทีผ่ มคิดไว้แล้ว สามารถ ผลักดันให้มีผลเป็นรูปธรรมอย่างแน่นอน “ผมรู้ว่ายาก แต่ผมก็จะพยายามท�ำ และจะท�ำให้ส�ำเร็จ”


D.3360 บรรณาธิการ ภาค 3360 โรตารีสากล

อน.นพ.ณัฏฐธนิน เศรษฐวนิชย์ สร.แพร่

เรียนมวลมิตรโรแทเรียนที่รักทุกท่าน เข้าสู่ช่วงฤดู ร้อนอย่างจริงจัง ซึง่ ประเทศไทยโดยเฉพาะภาคเหนือตอนบน อุณหภูมิสูงขึ้นมากๆ ต้องรักษาสุขภาพกันให้ดีนะครับ ในช่วงหน้าร้อน โรคทีเ่ ป็นอันตรายและเกิดได้บอ่ ยๆ นัน่ ก็คอื “โรคฮีทสโตรค” หรือ “โรคลมแดด” หลายคนเข้าใจ ว่าเป็นโรคที่เกิดขึ้นเฉพาะผู้สูงอายุเท่านั้น แต่จริงๆ แล้วโรค นีเ้ กิดได้ทกุ เพศทุกวัย โรคนีเ้ กิดจากร่างกายพยายามขับความ ร้อน เพือ่ ระบายออกจากตัว ท�ำให้เกิดภาวะหลอดเลือดขยาย ตัวมากขึ้น ส่งผลให้หมดสติ หรือเส้นเลือดในสมองแตกได้ เป็นอันตรายถึงชีวิต เพราะฉะนั้น ต้องระวังอย่าอยู่ในพื้นที่ที่ มีความร้อนสูงนานๆ ดื่มน�้ำบ่อยๆ เพื่อให้ร่างกายได้ระบาย ความร้อน หาผ้าชุบน�้ำเช็ดตามร่างกายบ่อยๆ กรณีต้องอยู่ ในที่ร้อนๆ นานๆ รักษาสุขภาพกันนะครับ ในฉบับนี้เป็นฤกษ์ดีที่ทางภาคต่างๆ จะได้โอกาส แนะน�ำผู้ว่าการภาครับเลือกภาคของตน ให้กับท่านสมาชิก ทุ ก ท่ า นได้ รู ้ จั ก มากขึ้ น รวมไปถึ ง การสรุ ป งาน District Conference ที่ผ่านมา เพื่อเป็นการตอกย�้ำถึงความส�ำเร็จ ในด้านต่างๆ ในภาค 3360 เพื่อไม่เป็นการเสียเวลา เราไปดู กันเลยนะครับ

36 มีนาคม-เมษายน 2562


“The Inspiration in Chiangrai The City of Art”

ผ่ า นไปแล้ ว กั บ การประชุ ม ใหญ่ ภ าค 3360 District Conference 2018-2019 ซึ่งครั้งนี้จัดที่โรงแรมเวียงอินทร์ จ.เชียงราย โดยใช้ชื่องานว่า “The Inspiration in Chiangrai : The City of Art” ในวันที่ 6-7 เมษายน 2562 โดยสโมสรโรตารีแม่จันเป็นเจ้าภาพ ซึ่งงาน นี้ได้รับเกียรติจาก PDG.Rolando “OYAN” V. Villanueva เป็นผู้แทน ประธานโรตารีสากล กล่าวสุนทรพจน์ ตามด้วยสุนทรพจน์พิเศษ จาก ฯพณฯ พิชัย รัตตกุล อดีตประธานโรตารีสากล หลังจากนั้นช่วง Rotary Moment ได้รับสนเทศจาก รทร.อนุพงศ์ ปลิวทอง ผู้ชนะการประกวด สนเทศโรตารีภาค 3360 ปี 2561-62 ในหัวข้อ “คนรุน่ ใหม่คอื ลมหายใจ ของโรตารี” ต่อด้วยช่วงของการน�ำเสนอความส�ำเร็จด้านต่างๆ ของ โรตารีภาค 3360 ได้แก่ ความส�ำเร็จด้านสมาชิกภาพ ความส�ำเร็จ ด้านโครงการบ�ำเพ็ญประโยชน์ ความส�ำเร็จด้านกิจกรรมเยาวชนและ โครงการเยาวชนแลกเปลี่ยน ความส�ำเร็จด้านมูลนิธิ VTT ความร่วมมือ ในการท�ำโครงการกับประเทศญี่ปุ่น ความส�ำเร็จด้านต่างประเทศและ โครงการแลกเปลี่ยนมิตรภาพโรตารี (RFE) ความส�ำเร็จด้านภาพลักษณ์ โรตารี เป็นต้น งานเลี้ยงภาคค�่ำที่แสนประทับใจในธีม “The Inspiration in Chiangrai : The City of Art” จัดขึ้นที่อุทยานศิลปะวัฒนธรรมแม่ฟ้า หลวง บรรยากาศสบายๆ สัมผัสกับกลิน่ ไอธรรมชาติอย่างแท้จริง โดยทาง เจ้าภาพได้ก�ำหนดการแต่งกายเป็นธีม เมษา ฮาวาย คลายร้อน พร้อม ทั้งชมการแสดงต้อนรับแสนประทับใจ จากนักเรียนแลกเปลี่ยนโรตารี และนักแสดงชุดพิธเี ปิดกีฬาแห่งชาติครัง้ ที่ 46 “เจียงฮายเกมส์” ซึง่ ทาง เจ้าภาพมีความตั้งใจในการจัดงานเพื่อให้มวลมิตรโรแทเรียนทุกท่าน ประทับใจ และไฮไลท์อกี อย่างของงานคือ สุนทรพจน์พเิ ศษ “แรงบันดาล ใจจากไร่แม่ฟา้ หลวง” โดยตัวแทนจากไร่แม่ฟา้ หลวง สร้างจิตส�ำนึกและ การระลึกถึงสมเด็จย่าและในหลวงรัชกาลที่ 9 เป็นอย่างยิ่ง เรียกได้ว่า ปีบริหาร 2561-62 โรตารีภาค 3360 ได้ด�ำเนิน กิจกรรมต่างๆ บรรลุตามเป้าหมายโรตารีสากลเป็นอย่างดี พร้อมทั้ง แสดงให้เห็นถึงความตื่นตัวของทุกๆ สโมสร และความเข้มแข็งของทุก สโมสรในภาค 3360 ซึ่งถือเป็นผลงานที่สร้างแรงบันดาลใจแก่ทุกๆ คน ไม่ว่าจะเป็นมวลมิตรโรแทเรียนด้วยกันหรือพี่น้องประชาชนในท้องถิ่น ต่างๆ ที่ทางสโมสรโรตารีเข้าไปท�ำโครงการดีๆ


D.3360

Activities กิจกรรม

สโมสรโรตารีวังจันทน์ ท�ำกิจกรรมบ�ำเพ็ญประโยชน์ร่วมกับมูลนิธิหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ ให้บริการทันตกรรม และท�ำฟันปลอม

สโมสรโรตารีเชียงแสน สโมสรอินเทอร์แรคท์เด็กดีแพร่ สโมสรโรทาแรคท์แพร่รว่ มกับสโมสรโรตารีแพร่ ได้ท�ำกิจกรรมมอบโลงศพ ครั้งที่ 2 จ�ำนวน 29 โลง ครั้งแรกมอบ 60 โลง รวม แจกมะขามแก้ง่วงให้แก่ผู้ใช้รถใช้ถนน เพื่อรณรงค์ขับขี่ปลอดภัย ง่วงไม่ขับ เป็นจ�ำนวน 89 โลง ให้แก่หน่วยกู้ชีพเทศบาลต�ำบลเวียง ศูนย์กู้ชีพเวียงผาเงา ดื่มไม่ขับ

สโมสรโรตารีแม่วัง จ.ล�ำปาง ท�ำกิจกรรมบ�ำเพ็ญประโยชน์ มอบผ้าเย็น หน้ากากอนามัย และน�้ำดื่ม ให้กับต�ำรวจจราจรเมืองล�ำปาง เพื่อแจกจ่ายให้กับผู้ขับขี่รถยนต์ช่วง สงกรานต์

38 มีนาคม-เมษายน 2562

สโมสรโรตารีสารภีเชียงใหม่ ท�ำโครงการมอบน�้ำดื่มสะอาดให้โรงเรียน วัด ชุมชน และกิจกรรมต่างๆ


ผวล.กมลศักดิ์ วิสิฐสกุลชัย ผู้ว่าการภาครับเลือก 3360 โรตารีสากล ปีบริหาร 2562-2563 ในโอกาสนี้ผมขอแนะน�ำมวลมิตรโรแทเรียนทุกท่าน ได้รู้จักกับ ผู้ว่าการภาค 3360 โรตารีสากลประจ�ำปีบริหาร 2562-63 นะครับ นั่นก็ คือ “ผวล.กมลศักดิ์ วิสิฐสกุลชัย” ท่านเกิดเมื่อวันที่ 15 ตุลาคม 2499 อายุ 63 ปี เป็นชาวอ�ำเภอเชียงค�ำ จังหวัดพะเยา ประวั ติ ก ารศึ ก ษา ท่ า นจบชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาตอนปลาย (มศ. 4-5) โรงเรี ย นปริ้ น ส์ ร อยแยลส์ วิ ท ยาลั ย จ.เชี ย งใหม่ จบปริ ญ ญาตรี วิ ศ วกรรมศาสตร์ บั ณ ฑิ ต (วศบ.) สาขาวิ ศ วกรรมโยธา มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ท่าน ผวล.กมลศักดิ์ ได้สมรสกับโรตารีแอนน์วนั ทนีญ์ วิสฐิ สกุลชัย เมือ่ ปี พ.ศ.2527 มีบตุ รชายร่วมกัน 3 คน ได้แก่ 1.นายกริชวิชญ์ วิสฐิ สกุลชัย จบปริญญาตรีวิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต (วศบ.) สาขาวิศวกรรมโยธา 2.นาย แพทย์เกริกวิชย์ วิสิฐสกุลชัย จบแพทย์ศาสตร์บัณฑิต คณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล จบเฉพาะทางด้านศัลยกรรมตกแต่ง คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 3.นายกรณ์วิษญ์ วิสิฐสกุลชัย จบปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต (วศบ.) สาขาวิศวกรรมโยธา ผวล.กมลศั ก ดิ์ เคยท� ำ งานในต� ำ แหน่ ง นายช่ า งโยธา กอง สถาปัตยกรรมกรมศิลปากร ปี พ.ศ. 2521-2523 หุ้นส่วนผู้จัดการ ห้างหุ้น ส่วนจ�ำกัดวิสิฐเจริญ ปี 2526 – ปัจจุบัน หุ้นส่วนผู้จัดการ ห้างหุ้นส่วนจ�ำกัด วิสิฐก่อสร้าง (1994) ปี 2537 – ปัจจุบัน ต�ำแหน่งทางสังคม • ประธานคณะอนุกรรมการเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 2 จังหวัด พะเยา จัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดพะเยา เขตเลือก

ตั้งที่ 2 จ�ำนวน 3 อ�ำเภอ คือ อ.เชียงค�ำ อ.จุน และ อ.ภูซาง ปี 2543 • คณะกรรมการตรวจสอบติ ด ตามการบริ ห ารงานต� ำ รวจ (กต.ตร.) สถานีต�ำรวจภูธรเชียงค�ำปี 2555 – ปัจจุบัน • รองประธานมูลนิธิโรงพยาบาลเชียงค�ำ ปี 2558 – ปัจจุบัน ประวัติในโรตารี • สมาชิกสโมสรโรตารีเชียงค�ำ ปี 2539 – ปัจจุบัน • นายกสโมสรโรตารีเชียงค�ำ ปี 2541-2542 • ผูช้ ว่ ยผูว้ า่ การภาค 3360 โรตารีสากล ปี 2549-2550 สมัยท่าน อผภ.นพนธ์ นิธิธวัชพงศ์ เป็นผู้ว่าการภาค • ผู้ช่วยผู้ว่าการภาค 3360 โรตารีสากล ครั้งที่ 2 ปี 2559-2560 สมัยท่านอผภ.อนุศิษฏ์ ภูวเศรษฐ เป็นผู้ว่าการภาค • ผู้ว่าการภาคนอมินีเดสซิเนทภาค 3360 โรตารีสากล ปี 25592560 • ผู้ว่าการภาคนอมินีภาค 3360 โรตารีสากล ปี 2560-2561 • ผู้ว่าการภาครับเลือกภาค 3360 โรตารีสากล ปี 2561-2562 • ผู้ว่าการภาค 3360 โรตารีสากล ปี 2562-2563 สุดท้ายนี้ ท่านผวล.กมลศักดิ์ ได้กล่าวทิง้ ท้ายไว้วา่ “ถือเป็นเกียรติ และความภาคภูมิใจอย่างยิ่งของผมและครอบครัวที่ได้เข้ามาเป็นส่วนหนึ่ง ขององค์กรโรตารี ซึง่ เป็นองค์กรทีม่ อี ดุ มการณ์ในการบ�ำเพ็ญประโยชน์ สร้าง มิตรภาพสร้างสันติภาพและสร้างความสุขให้เกิดขึน้ ในโลกนี้ ผมขอสัญญาว่า จะท�ำหน้าที่ผู้ว่าการภาค 3360 โรตารีสากลให้ดีที่สุดครับ”


ผลการตัดสิน ถ้วยรางวัล

การตัดสินถ้วยรางวัลของสโมสรโรตารีในประเทศไทย ปี 2561-62 เมื่อวันที่ 9 เมษายน 2562 คณะกรรมการตัดสินถ้วย รางวัลฯ ซึ่งประกอบด้วยกรรมการและที่ปรึกษาดังต่อไปนี้ ได้ประชุมเพื่อพิจารณาตัดสินรางวัลปี 2561-62 คณะกรรมการ 1. อดีตประธานโรตารีสากลพิชัย รัตตกุล ประธาน 2. อผภ.นพ.พรชัย บุญแสง ภาค 3330 3. อผภ.รัฐประทีป กีรติอุไร ภาค 3340 4. อผภ.ดร.สุพงศ์ ชยุตสาหกิจ (เป็นผู้แทน อผภ.สุชาดา อิทธิจารุกุล) ภาค 3350 5. ผวภ.รุ่งรานี แสงศิริ (เป็นผู้แทน อผภ.ไพโรจน์ เอื้อประเสริฐ) ภาค 3360 คณะที่ปรึกษา 1. ผวภ.พลโท คณิต แจ่มจันทรา ภาค 3330 2. ผวภ.สุรพล ทวีแสงสกุลไทย ภาค 3340 3. ผวภ.นครินทร์ รัตนกิจสุนทร ภาค 3350 4. ผวภ.รุ่งรานี แสงศิริ ภาค 3360 5. อผภ.วิชัย มณีวัชรเกียรติ ภาค 3330 ที่ประชุมได้พิจารณาโครงการต่างๆ 12 โครงการที่ได้ รับการคัดเลือกมาแล้วจากทั้ง 4 ภาค และสอบถามราย ละเอียดเพิ่มเติมจากผู้ว่าการภาค จนในที่สุดได้ลงคะแนน เพื่อเป็นการตัดสินผลการแข่งขันถ้วยส�ำหรับโครงการดีเด่น ส�ำหรับอีก 3 ถ้วยรางวัลใช้ตัวเลขที่ได้รับจากภาคในการค�ำนวณ เปอร์เซ็นต์สูงสุด

ผลการตัดสิน ปี 2561-62 ถ้วยกรมพระก�ำแพงเพชรอัครโยธิน ส�ำหรับสโมสรโรตารีท่ีท�ำคะแนนการเข้าประชุมสโมสรเฉลี่ย รายเดือนได้สูงสุดตลอดทั้งปี สโมสรโรตารีสันป่าตอง ภาค 3360 (95.91%) ถ้วยกรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ ส�ำหรับสโมสรโรตารีที่มีสมาชิกเพิ่มสุทธิสูงสุด สโมสรโรตารีสิงห์บุรี ภาค 3350 (100%) ถ้วยกรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร ส�ำหรับสโมสรโรตารีที่มีสมาชิกเข้าร่วมการประชุมใหญ่ของ ภาคมากที่สุด สโมสรโรตารีรังสิต ภาค 3350 (100%) ถ้วยพระยาศรีวิสารวาจา ส�ำหรับสโมสรโรตารีที่มีกิจกรรมในบริการใดบริการหนึ่งที่ดี เด่นที่สุดในรอบปี สโมสรโรตารีสกลนคร ภาค 3340 (โครงการธนาคารน�้ำ ใต้ดิน - แก้ปัญหาภัยแล้งและปัญหาน�้ำท่วมขัง) 40 มีนาคม-เมษายน 2562



Lake of Love

โครงการแก้มลิงหนองโนนต่าย

โครงการแก้มลิงหนอ การเตรียมพร้อมเพื่อส่งมอบ เมื่อวันที่ 2 เมษายน 2562 คณะกรรมการโครงการแก้มลิงฯ ได้ ตรวจรับงานขุดแก้มลิงในส่วนที่โรตารีให้การสนับสนุน โดยขอให้เจ้าหน้าที่ ของกรมชลประทานท�ำการสุ่มวัดความลึกของบ่อตามแนวดิ่งให้ได้ 3.5 เมตร ตามที่ระบุในสัญญา และเมื่อทุกจุดที่ได้สุ่มส�ำรวจเป็นไปตามสัญญา คณะ กรรมการฯ จึงได้ลงนามรับมอบงานจากผู้รับเหมา นอกจากนี้ ยังท�ำการตรวจรับงานก่อสร้างศาลา 9 เหลีย่ ม โรงกรอง น�้ำ ห้องน�้ำ ถนน รวมทั้งระบบน�้ำไฟของโครงการอย่างละเอียด ซึ่งมีบางส่วน ที่ต้องแก้ไขปรับเปลี่ยนให้เรียบร้อยก่อนตรวจรับงานรอบสองในปลายเดือน เมษายน ประชุมเตรียมส่งมอบโครงการร่วมกับจังหวัดสกลนคร คณะท�ำงานและสมาชิกสโมสรโรตารีสกลนครได้ประชุมร่วมกับ หน่วยงานต่างๆ ของจังหวัดสกลนคร เช่น ส�ำนักงานชลประทาน ผู้แทนจาก อ�ำเภออากาศอ�ำนวย องค์การบริหารส่วนต�ำบลโพนงาม และอื่นๆ โดยมีนาย นพดล ไพฑูรย์ รองผู้ว่าราชการจังหวัดสกลนครเป็นประธาน โรตารีได้แจ้ง ว่าจะขอส่งมอบโครงการในเดือนมิถุนายน ดังนั้น เพื่อให้การส่งมอบเป็นไป ด้วยความเรียบร้อยจึงได้ร้องขอให้มีการประชุมร่วม โดยที่ประชุมได้สรุปว่า เนื่องจากกรมชลประทาน (ชปท.) เป็นต้นเรื่องในการขุดแก้มลิง และโรตารี 42 มีนาคม-เมษายน 2562


องโนนต่าย

ได้ทำ� โครงการขยายในส่วนของการปรับภูมทิ ศั น์และสวนสาธารณะใน เขตพืน้ ทีซ่ งึ่ เดิมเป็นเขตหนองน�ำ ้ ชปท. จึงเป็นเสมือนเจ้าภาพ และโดย หลักการแล้ว ในทีส่ ดุ อบต.โพนงามจะต้องเข้ามารับผิดชอบโครงการนี้ และเพื่อให้โครงการซึ่งโรตารีได้ใช้เงินจ�ำนวนมากเป็นโครงการ ที่ยั่งยืน เป็นประโยชน์แก่ประชาชนในพื้นที่ รองผู้ว่าราชการจังหวัด สกลนครจึงขอให้ ชปท.เป็นเจ้าภาพในการจัดท�ำและลงนามในบันทึก ความเข้าใจ (MOU) ระหว่างหน่วยงานในจังหวัดคือ ชปท. อบจ. อบต. และส่วนราชการในระดับจังหวัด ศูนย์การศึกษาพัฒนาภูพานและ สโมสรโรตารีสกลนครเพื่อให้มีการขับเคลื่อนงานต่อไปได้ และหน่วย งานต่างๆ สามารถตั้งงบประมาณไปดูแลโครงการนี้ได้ โดยต้องบันทึก ใน MOU ว่าจะมอบโครงการนี้ให้แก่ อบต. รองฯ นพดล ยังได้สรุปให้มกี ารประชุมคณะกรรมการฯ และ สโมสรโรตารีเพือ่ จัดท�ำ Master Plan ซึง่ ต้องจัดท�ำให้แล้วเสร็จภายใน 2 เดือน เพือ่ ทีจ่ ะท�ำประโยชน์ในพืน้ ทีแ่ ละตัง้ งบประมาณด�ำเนินการได้ โดยผูว้ า่ ราชการจังหวัดสกลนครยินดีทจี่ ะสนับสนุนงบประมาณ หากมี แผนงานที่ดี รองฯ นพดล ได้ขอให้ส่วนราชการที่เกี่ยวข้องช่วยกันผลัก ดันให้เกิดประโยชน์มากที่สุด ทุกฝ่ายต้องเห็นพ้องว่าโครงการนี้เป็น ประโยชน์แก่พื้นที่ ควรมีการจัดตั้งกลุ่มผู้ใช้น�้ำ เกษตรอ�ำเภอต้อง

เข้าไปดูแลว่าจะมีชอ่ งทางใดทีจ่ ะตัง้ งบประมาณในการขับเคลือ่ น เป็น เจ้าภาพที่จะให้ความรู้แก่ประชาชน ส่วนราชการจะท�ำกิจกรรมตาม หน้าที่ของตนอย่างไร เพือ่ ให้โครงการเป็นศูนย์เรียนรู้ หลังจากนั้นการ ท่องเที่ยวจะเป็นเรื่องที่ตามมา ทั้งอ�ำเภออากาศอ�ำนวย และ อบต. โพนงาม ต้องจัดท�ำปฏิทินการใช้พื้นที่ให้เกิดประโยชน์ ต้องมีแปลง สาธิตและทุกอย่างต้องเห็นผลในรอบไตรมาสต่อไป ในส่วนของคณะกรรมการโครงการฯ รวมทั้งสโมสรโรตารี สกลนครจะวางแผนงานช่วยทางท้องถิ่น โดยจะช่วยดูแลโครงการต่อ ไปอีก 1 ปี และจะช่วยจัดกิจกรรมไปลงในพื้นที่ ซึ่งเป็นเรื่องที่จะต้อง หารือกันต่อไป การเตรียมพร้อมของโครงการ คณะกรรมการโครงการฯ ได้จัดให้มีกิจกรรมปลูกหญ้าแฝก และด�ำหญ้าแพรกเพิ่มเติมในวันที่ 27 และ 28 เมษายน 2562 โดยได้ รับความร่วมมือเป็นอย่างดีจากชาวบ้านเสาวัด ดงเสียว และนาหวาย รวมทั้ง อบต.โพนงามและเทศบาลต�ำบลท่าก้อน เมื่อฤดูฝนมาถึง ทั้ง หญ้าแฝก หญ้าแพรก และสวนสาธารณะของเราก็คงจะเติบโตงดงาม พร้อมที่จะส่งมอบให้กับหน่วยราชการต่อไป


Rotary Centre in Thailand ศูนย์โรตารีในประเทศไทย

สารจากประธาน ศูนย์โรตารีในประเทศไทย มวลมิตรโรแทเรียนที่รัก เนื่ อ งในวโรกาสเถลิ งถวัลยราชสมบัติบ รมราชาภิเษกของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทร มหาวชิราลงกรณ์ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ขอมวลมิตรโรแทเรียน ทั้งหลายร่วมใจกันน้อมร�ำลึกในพระมหากรุณาธิคุณ ถวายพระพร ชัยมงคลให้พระองค์ทรงพระเจริญยิ่งยืนนาน ศูนย์โรตารีในประเทศไทยมีแผนด�ำเนินงานโครงการส�ำคัญ หลายเรื่องส�ำหรับปีโรตารีหน้า ซึ่งได้ผ่านมติเห็นชอบจากคณะ กรรมการบริหารของศูนย์โรตารีฯ เรียบร้อยแล้ว ได้แก่ กองทุน ช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติฉับพลันในนามโรตารีในประเทศไทย ซึ่งจะให้ความช่วยเหลือผู้เดือดร้อนจากภัยพิบัติต่างๆ อันอาจเกิด ขึ้นในระยะเริ่มแรก โดยให้การสนับสนุนทุนและประสานความ ร่วมมือระหว่างสโมสรโรตารีในพื้นที่ที่เกิดภัยพิบัติเพื่อการลงมือ ปฏิบัติการช่วยเหลือผู้เดือดร้อนได้อย่างเร่งด่วน โครงการนี้จะ เริ่มด�ำเนินการตั้งแต่ปีโรตารีหน้านี้เป็นต้นไป โรแทเรียนท่านใด ต้องการร่วมบริจาคหรืออาสาสมัครในการปฏิบัติงานในโครงการ นี้สามารถติดต่อได้ที่ศูนย์โรตารีฯ โดยตรง โครงการส�ำคัญอีกโครงการหนึ่ง คือ โครงการประชาสัมพันธ์ โรตารีเพื่อการจูงใจเข้าร่วมเป็นสมาชิกแก่บุคคลภายนอก โดย จัดท�ำเว็บไซต์ในลักษณะ “Membership Lead” (แนวทางสู่ การเป็นสมาชิก) ให้บุคคลภายนอกรู้เรื่องการบ�ำเพ็ญประโยชน์ ของโรตารี รู้จักโรตารีมากขึ้นและสามารถแจ้งความจ�ำนงขอร่วม เป็นสมาชิก หรือร่วมกิจกรรมบ�ำเพ็ญประโยชน์ของโรตารีทั่ว ประเทศ โครงการนี้จะช่วยให้บุคคลทั่วไปสามารถเข้าถึง เข้าใจ โรตารีได้มากขึ้น รวมทั้งเป็นแนวทางในการเพิ่มสมาชิกได้อย่างมี ประสิทธิภาพอีกด้วย นอกเหนือจากการเผยแพร่กิจกรรมบ�ำเพ็ญ ประโยชน์ของโรตารี และการสร้างภาพลักษณ์ของโรตารี

โครงการที่ได้รับความสนใจจากมวลมิตรโรแทเรียนมากอีกโครงการหนึ่ง คือ โครงการบ�ำเพ็ญประโยชน์ร่วมกันกับองค์กรนางงามโลก (Miss World Organization) ซึ่งมีอุดมการณ์ในการบ�ำเพ็ญประโยชน์แก่เพื่อนมนุษย์เช่นเดียวกับ โรแทเรียน การเตรียมการในรายละเอียดทั้งกิจกรรม สถานที่ และการร่วมมือ ระหว่างกันจะแจ้งให้ทราบต่อไป กิจกรรมนี้จะช่วยเสริมสร้างไมตริจิตมิตรภาพ ระหว่างกันในโลกของมวลมิตรโรแทเรียนและเพื่อนนางงามจากประเทศต่างๆ ทั่วโลก รวมทั้งการประชาสัมพันธ์โรตารีนอกเหนือไปจากการบ�ำเพ็ญประโยชน์ แก่เพื่อนมนุษย์ตามอุดมการณ์ขององค์กร โปรดติดตามข่าวสารที่จะแจ้งให้ทุก ท่านได้ทราบต่อไป โครงการที่มวลมิตรโรแทเรียนทั้ง 4 ภาคมีส่วนร่วมท�ำให้เกิดขึ้นคือโครงการ แก้มลิงหนองโนนต่าย จังหวัดสกลนคร ปัจจุบันการด�ำเนินการเสร็จสิ้นสมบูรณ์ แล้ว ซึ่งอดีตประธานโรตารีสากล พิชัย รัตตกุล ประธานโครงการก�ำลังรอการ เซ็น MOU ร่วมกันกับผู้ว่าราชการจังหวัดและ อบต.โพนงาม จังหวัดสกลนคร ในการรับมอบงานและการดูแลรักษาโครงการให้ยั่งยืนต่อไป โดยทางโรตารี จะยังคงช่วยดูแลการด�ำเนินการอยู่อีกเป็นเวลา 1 ปี การเปิดโครงการอย่าง เป็นทางการจะแจ้งให้มวลมิตรโรแทเรียนได้ทราบวันและเวลาเพื่อความร่วมมือ ร่วมใจกันในโอกาสต่อไป การแปลเอกสารต่างๆ ของโรตารีได้เพิ่มจ�ำนวนมากขึ้น และได้เผยแพร่ทาง เว็บไซต์ของศูนย์โรตารีฯ ที่ท่านอาจเข้าไปศึกษาได้ ศูนย์โรตารีฯ ได้พยายาม ปรับปรุงงานประชาสัมพันธ์ให้เป็นประโยชน์แก่มวลมิตรโรแทเรียนมากที่สุด โดยปรับปรุงเว็บไซต์เพื่อให้ข้อมูลต่างๆ แก่โรแทเรียนได้มากขึ้นทั้งภาษาไทยและ ภาษาอังกฤษ รวมทั้งบุคคลภายนอก อผภ.อนุรักษ์ นภาวรรณ แห่งภาค 3360 ได้ ดูแลรับผิดชอบประสานงานการปรับปรุงงานประชาสัมพันธ์อย่างเต็มที่ร่วมกับ เจ้าหน้าที่ของศูนย์ฯ คุณณรงค์ จันทร์ผาติ ท�ำให้พวกเรามีเว็บไซต์ที่สามารถหา ข้อมูลข่าวสารทันสมัยเป็นปัจจุบันได้ตลอดเวลา ต้องขอขอบคุณมาด้วย ณ ที่นี้ ท้ายนี้ ขอขอบคุณมวลมิตรโรแทเรียน คณะกรรมการบริหารและเจ้าหน้าที่ ของศูนย์โรตารีฯ ที่ให้ความร่วมมือสนับสนุนกิจกรรมของศูนย์โรตารีฯ เป็นศูนย์ รวมแห่งการสื่อสารและเป็นแหล่งข้อมูลที่ส�ำคัญของพวกเรามวลมิตรโรแทเรียน ในประเทศไทยได้อย่างภาคภูมิใจ

ด้วยไมตรีจิตแห่งโรตารี

(PRID รศ.ดร.เสาวลักษณ์ รัตนวิชช์) ประธานศูนย์โรตารีในประเทศไทย

ตัวเลขโรตารี ข้อมูล www.rotary.org ณ วันที่ 20 พฤษภาคม 2562 (ในวงเล็บข้อมูล ณ วันที่ 1 กรกฎาคม 2561) 3330 3340 3350 3360 ภาค รวม สมาชิก สโมสร

2,495 (2,323) 1,468 (1,472) 3,020 (2,796) 1,444 (1,348) 8,427 (7,939) 102 (99) 66 (67) 112 (110) 69 (68) 349 (344)

44 มีนาคม-เมษายน 2562


มาร่วมมือกัน

เปลี่ยนแปลง สโมสรโรตารีทวารวดี

โครงการมอบรถเข็นวีลแชร์และแว่นสายตายาวต่อเนื่องเป็นปีที่ 3 ณ โรงพยาบาลก�ำแพงแสน จ.นครปฐม


โรตารีได้ริเริ่มการรณรงค์ทั่วโลกเพื่อให้โลกได้รู้จักว่าเราคือ ‘คนพูดจริง ท�ำจริง’ ยิ่งมีสโมสรร่วมการรณรงค์มากเท่าใด ก็จะยิ่งสื่อสารออกไปได้มากขึ้นเท่านั้น ไปที่ rotary.org/brandcenter เพื่อดูค�ำแนะน�ำทีละขั้นตอน โดยมีต้นแบบที่ง่ายต่อการท�ำตาม ดูความคิดเห็นต่างๆ และแรงบันดาลใจที่จะช่วยในการเล่าเรื่องราวของสโมสร ช่วยกันกระจายสารที่สร้างแรงบันดาลใจออกไปทั่วโลกกันเถอะ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.