นิตยสารโรตารี มี.ค-เม.ย 2561

Page 1

March-April 2018 มีนาคม-เมษายน ๒๕๖๑


โรตารี คืออะไร ?

วัตถุประสงค์ของโรตารี โรตารีมีวัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมอุดมการณ์แห่ง การบ�ำเพ็ญประโยชน์ ในการด�ำเนินกิจกรรมทีม่ คี ณ ุ ค่าเป็นหลัก โดยเฉพาะ อย่างยิ่งเพื่อสนับสนุนและส่งเสริม หนึ่ง การเสริมสร้างความคุ้นเคยระหว่างสมาชิกเพื่อการบ�ำเพ็ญประโยชน์ สอง การยกระดับจรรยาบรรณในธุรกิจและวิชาชีพ การยอมรับคุณค่าใน การประกอบอาชีพที่ยังคุณประโยชน์ และการให้โรแทเรียนทุกคนภูมิใจใน อาชีพของตน เพื่อการบ�ำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคม สาม การให้โรแทเรียนทุกคน น�ำเอาอุดมการณ์แห่งการบ�ำเพ็ญประโยชน์ ไปใช้ในชีวิตส่วนตัว ธุรกิจและชุมชน สี่ การเพิ่มพูนความเข้าใจ ไมตรีจิตและสันติสุขระหว่างชาติ ด้วยมิตร สัมพันธ์ของบุคคลในธุรกิจและวิชาชีพทัว่ โลก ทีม่ อี ดุ มการณ์ในการบ�ำเพ็ญ ประโยชน์อย่างเดียวกัน

บันทึกช่วงเวลา พบกับประธานโรตารีสากล ปี 2018-19 แบรี่ แรซซิน ในงานประชุมใหญ่โรตารีครั้งที่ 110 สัปดาห์แห่ง แรงบันดาลใจ มิตรภาพ และความ สนุกสนานที่ยากจะลืม และยังจะได้พบปะพูดคุย กับคน ลงมือทำ� (People of Action) จากทั่วโลก บันทึกช่วงเวลานี้ตลอดไป ลงทะเบียนราคาพิเศษ ระหว่างวันที่ 23-27 มิถุนายน เพียง $350 * ลงทะเบ ยี นออนไลน ์ RICONVENTION.ORG

ROTARY INTERNATIONAL CONVENTION

HAMBURG, GERMANY 1-5 JUNE 2019

The Object of Rotary The Object of Rotary is to encourage and foster the ideal of service as a basis of worthy enterprise and, in particular, to encourage and foster: FIRST The development of acquaintance as an opportunity for service; SECOND High ethical standards in business and professions, the recognition of the worthiness of all useful occupations, and the dignifying of each Rotarian’s occupation as an opportunity to serve society; THIRD The application of the ideal of service in each Rotarian’s personal, business, and community life; FOURTH The advancement of international understanding, goodwill, and peace through a world fellowship of business, and professional persons united in the ideal of service.

At a Glance

สถิติถึง 31 มกราคม 2561 ที่มา : the rotarian (May 2018) As of 31 Janurary 2018

ROTARY Members : 1,221,978 Clubs : 35,633

INTERACT Members: 516,764 Clubs: 22,468

ROTARACT Members: 249,895 Clubs: 10,865

RCCS Members: 213,900 Corps: 9,723


สารประธานโรตารีสากล เอียน เอช. เอส. ไรซ์ลีย์ มีนาคม ๒๕๖๑

มิตรโรแทเรียนที่รัก เดือนนี้ครบ ๕๐ ปี ตั้งแต่สโมสรโรทาแรคท์แห่งแรก ได้กอ่ ตัง้ ขึน้ ในปี พ.ศ. ๒๕๑๑ ในเล่มนิตยสารโรตารีฉบับพิเศษ เพื่อโรทาแรคท์นี้ ท่านจะได้พบกับโรทาแรคเทอร์บางคนที่ น่าสนใจจากทั่วโลกและบางเรื่องราวอันเหลือเชื่อที่พวกเขา ก�ำลังมุ่งมั่นสร้างสรรค์ความแตกต่างในโลก ตลอดครึ่งศตวรรษที่ได้ก่อตั้งโรทาแรคท์ขึ้นมา โลก ได้พบเห็นการเปลี่ยนแปลงอย่างลึกซึ้งซึ่งคนวัยหนุ่มสาวได้ รูส้ กึ ถึงผลกระทบอันยิง่ ใหญ่ของการเปลีย่ นแปลงเหล่านัน้ เช่น การเติบโตของเทคโนโลยีและข้อมูลด้านเศรษฐกิจ การขยาย ตัวของการศึกษา และอิทธิพลของอินเทอร์เน็ท ในช่วงเวลาที่ โรทาแรคท์ก่อตั้งขึ้นมานั้น ไม่มีใครคาดคิดว่าจะมีวัยรุ่นสักคน ทีม่ อี ายุราวๆ ๒๐ ปีจะสามารถก้าวขึน้ เป็นผูบ้ ริหารองค์กรหรือ ซีอีโอ แต่ทุกวันนี้เราจะเห็นคนหนุ่มสาวมีความสามารถเป็น ผู้บริหารอย่างไม่เคยมีมาก่อนและโรตารีต้องการแนวคิดและ ความมุ่งมั่นของเขาอย่างที่ไม่เคยต้องการมาก่อนด้วย ตลอดเวลาหลายปี ที่ โรตารี มิ ไ ด้ เ ห็ น คุ ณ ค่ า ของ โรทาแรคท์ ใ นการบ� ำ เพ็ ญ ประโยชน์ ม ากนั ก โดยมองว่ า วัยรุ่นและโปรแกรมคนหนุ่มสาวนั้น เป็นเพียงหน่วยสมทบ ของสมาชิกโรตารี ดูว่าเป็นโปรแกรมที่ด้อยคุณค่า แทบไม่มี ผลผลิตในตัวเอง ถึงแม้ว่าโรทาแรคท์จะเป็นหุ้นส่วนที่แท้จริง ในการบ�ำเพ็ญประโยชน์ของโรตารีก็ตาม ทุกวันนี้ โรทาแรคเทอร์มากกว่า ๒๕๐,๐๐๐ คน บ� ำ เพ็ ญ ประโยชน์ อ ยู ่ ใ นสโมสรโรทาแรคท์ ก ว่ า ๑๐,๐๐๐ สโมสร ในเกือบทุกประเทศที่มีสโมสรโรตารี ผลกระทบของ การบ�ำเพ็ญประโยชน์ของพวกเขานั้นน่าประทับใจอย่างยิ่ง เมื่อเปรียบเทียบกับแหล่งทรัพยากรของเขา โรทาแรคเทอร์

สามารถประสบความส�ำเร็จอย่างน่าทึง่ ด้วยการใช้เงินจ�ำนวน น้อยกว่าที่สโมสรโรตารีทั่วๆ ไปใช้จ่าย พลังงานและวิสัยทัศน์ ของพวกเขานั้นสร้างสิ่งมหัศจรรย์ให้แก่ครอบครัวโรตารีและ ชุมชนของเรา และเรามองว่ามีคุณค่ามากอย่างยิ่ง อย่างไรก็ดี มีสโมสรโรตารีเพียงร้อยละ ๒๗ เท่านั้น ที่เป็นพี่เลี้ยงสนับสนุนสโมสรโรทาแรคท์ ตัวเลขนี้ยืนยงคงที่ มานานพอสมควร และมีโรทาแรคเทอร์จ�ำนวนน้อยมากที่ ย้ายเข้ามาเป็นสมาชิกสโมสรโรตารี ในการฉลองการครบ รอบ ๕๐ ปีของโรทาแรคท์นี้ ผมจึงขอเชิญชวนให้สโมสร โรตารีทั้งหลาย พิจารณาสนับสนุนก่อตั้งสโมสรโรทาแรคท์สัก หนึ่งสโมสร หรือช่วยกันเสริมสร้างความสัมพันธ์กับสโมสร โรทาแรคท์ที่ท่านเป็นพี่เลี้ยงอยู่แล้ว โปรดก�ำหนดวันประชุม ร่วมกันอย่างสม�่ำเสมอ ท�ำโครงการบ�ำเพ็ญประโยชน์ร่วม กัน หมั่นติดต่อกับโรทาแรคเทอร์ ท�ำความคุ้นเคยกับสโมสร โรทาแรคท์และสมาชิก ให้แน่ใจว่าโรทาแรคเทอร์ทุกคนทราบ ว่ามีสโมสร โรตารีรอต้อนรับพวกเขาอยู่ ตลอดครึ่งศตวรรษมานี้ โรทาแรคท์ได้จัดหาหนทาง ให้ ค นหนุ ่ ม สาวได้ ร ่ ว มสายสั ม พั น ธ์ เ ดี ย วกั บ ชุ ม ชนของเขา ด้วยคุณค่าของการบ�ำเพ็ญประโยชน์ เช่นเดียวกับที่บรรดา โรแทเรียนค้นพบในโรตารี โรทาแรคเทอร์เชื่อมความสัมพันธ์ กับเราเพือ่ โรตารีในอนาคต ในขณะทีช่ ว่ ยเราสร้างโรตารีในทุก วันนี้ เอียน เอช. เอส. ไรซ์ลีย์ ประธานโรตารีสากล ปี ๒๕๖๐-๖๑ On the Web Speeches and news from RI President Ian H.S. Riseley at www.rotary.org/office-president


สารประธานโรตารีสากล

เอียน เอช. เอส. ไรซ์ลีย์ เมษายน ๒๕๖๑

มิตรโรแทเรียนที่รัก ในการประชุมใหญ่โรตารีสากลที่เมืองพอร์ตแลนด์ รัฐโอเรกอน ปี ๑๙๙๐ ประธานโรตารีสากลรับเลือก(ขณะนั้น) ท่านเปาโล คอสต้า ได้แจ้งกับบรรดาโรแทเรียนผู้เข้าประชุม ว่า “ถึงเวลาแล้วที่โรตารีจะต้องส่งเสียงย�้ำเตือนการเป็นผู้น�ำ และปลุกจิตส�ำนึกของมิตรโรแทเรียนทั้งหลายให้เป็นผู้น�ำการ ต่อสู้เพื่อความดีงาม เพื่อปกป้องแหล่งทรัพยากรธรรมชาติของ พวกเรา” ท่านได้ประกาศให้โรตารีริเริ่มโครงการ “พิทักษ์โลก มนุษย์” โดยขอร้องให้โรแทเรียนน�ำเรือ่ งสิง่ แวดล้อมมาเป็นส่วน หนึ่งของปฏิทินกิจกรรมของโรตารี คือ เรื่องปลูกต้นไม้ รักษา สภาพอากาศ/น�้ำสะอาด และปกป้องโลกมนุษย์เพื่อลูกหลาน ในอนาคต ท่านประธานฯ เปาโล คอสต้า ขอร้องให้โรแทเรียน ทุกคน ๑.๑ ล้านคน (ขณะนั้น) ปลูกต้นไม้คนละหนึ่งต้น และ พวกเราโรแทเรียนท�ำได้มากกว่า คือสามารถปลูกต้นไม้เกือบ ๓๕ ล้านต้นภายในสิ้นปีโรตารีนั้น ต้นไม้จ�ำนวนมากที่ปลูกใน ขณะนั้นยังเจริญเติบโตทุกวันนี้ สามารถดูดซับคาร์บอนจาก บรรยากาศ ปลดปล่อยอ๊อกซิเจนท�ำความชุ่มชื้นให้บรรยากาศ พัฒนาคุณภาพดิน จัดหาที่อยู่และอาหารให้นก สัตว์และแมลง เป็นผลดีต่อสิ่งแวดล้อม น่าเสียดายว่าต้นไม้ที่เราปลูกรักษา ส�ำหรับท�ำสิ่งดีแก่สิ่งแวดล้อมนั้น โรแทเรียนส่วนใหญ่มิได้น�ำ เรื่องสิ่งแวดล้อมมาท�ำกิจกรรมสานต่อไปเท่าใดนัก นี่คือเหตุผลที่เมื่อเริ่มปีโรตารีนี้ ผมได้ท�ำตามแบบอย่าง ท่านเปาโลคอสต้า ขอร้องให้มิตรโรแทเรียนทุกคนปลูกต้นไม้ คนละหนึง่ ต้นเป็นอย่างน้อย เป้าหมายของผมต้องการผลดีทนี่ า่ พอใจว่าเราจะมีต้นไม้อีก ๑.๒ ล้านต้น(หรือมากกว่านั้น) ปลูก

02 มีนาคม-เมษายน 2561

ขึ้นใหม่ในปีนี้ ผมมีความหวังว่าการปลูกต้นไม้นี้จะท�ำให้มิตร โรแทเรียนกลับมาสนใจและเอาใจใส่ในเรือ่ งทีเ่ ราต้องน�ำกลับมา ใส่ไว้ในปฏิทินโรตารีอีก คือ การรักษาโลกของเรา เรือ่ งของสิง่ แวดล้อมนัน้ เกีย่ วข้องลึกซึง้ อยูใ่ นทุกหัวข้อ เรื่องส�ำคัญ (หกเรื่อง) ที่โรตารีมุ่งเน้น และไม่สามารถปฏิเสธได้ ว่ามิได้เกี่ยวข้องกับโรตารี มลพิษต่างๆ มีผลกระทบต่อสุขภาพ คนทั้งโลก ชุมชนมากกว่าร้อยละ ๘๐ หายใจอากาศที่มีมลพิษ และจ�ำนวนเพิม่ ขึน้ เป็นร้อยละ ๙๘ ในประเทศทีม่ รี ายได้ตำ�่ หรือ ปานกลาง หากแนวโน้มนีย้ งั ต่อเนือ่ งอยูต่ อ่ ไป ในปี พ.ศ. ๒๕๙๓ มหาสมุทรจะมีมวลขยะพลาสติกน�ำ้ หนักมากกว่าปลาและหาก อุณหภูมยิ งั สูงขึน้ ตามบันทึกเอกสาร (อุณหภูมเิ ฉลีย่ ของโลกเพิม่ สูงขึ้นอีก ๒ องศาฟาเรนไฮต์ /๑.๑ องศาเซ็นติเกรด ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๔๒๓ ถึงปี พ.ศ. ๒๕๕๘) อุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลงนี้เกิด จากมนุษย์เองมิใช่ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ หรือเกิดจากภาวะ เศรษฐกิจหรือการแตกแยกของมนุษย์ หากแนวโน้มนีย้ งั เกิดต่อ ไปโดยไม่มกี ารควบคุม ความรีบด่วนต้องเร่งด�ำเนินการยิง่ จ�ำเป็น มากกว่าทีเ่ คย และเช่นเดียวกันทีเ่ ราจะต้องใช้ความสามารถของ เราสร้างผลกระทบให้เป็นความจริงโดยรีบด่วนด้วย อดีตเลขาธิการองค์การสหประชาชาติ นาย บัน คี-มูน กล่าวว่า “เราไม่อาจมีแผน บี เพราะเราไม่มีโลก บี” โลกเรานี้ เป็นของเราทุกคน ลูกหลานของเรา ตลอดจนเหลนโหลนของ เรา ดังนั้น เราทุกคนจึงจ�ำเป็นต้องรักษาโลกของเรา และเราทุก คนในโรตารีที่จะต้องมุ่งมั่นสร้างสรรค์ สร้างความแตกต่าง เอียน เอช. เอส. ไรซ์ลีย์ ประธานโรตารีสากล ปี ๒๕๖๐-๖๑


สารประธานทรัสตีฯ

พอล เอ. เนตเซิล มีนาคม ๒๕๖๑

ผมถูกถามบ่อยๆ สองเรื่องนี้ ระหว่างการเดินทาง ไปเยี่ยมมิตรโรแทเรียนทั่วโลก ก็คือ เรื่องเว็บไซต์โรตารีและ ทุนสนับสนุนของมูลนิธิฯ และเช่นเดียวกันที่ท่านก็คงพบกับ ค�ำถามเหล่านี้หรือมากกว่านั้นในเรื่องอื่น ตัวอย่างเช่น เงิน บริจาคของผู้บริจาครายใหญ่ การโอนคะแนนสะสม รายงาน ของสโมสร/ภาค อินวอยซ์ของสโมสร หรือการเปลี่ยนแปลง เจ้าหน้าที่ หากท่านไม่ทราบจะหาค�ำตอบทีใ่ ด โปรดไปเริม่ ต้น ที่ศูนย์สนับสนุนข้อมูลโรตารี ( Rotary’s Support Center) ศู น ย์ ส นั บ สนุ น ข้ อ มู ล โรตารี นี้ คื อ จุ ด แรกของการติ ด ต่ อ ที่ เข้าหาได้ง่ายส�ำหรับ โรแทเรียน ผู้บริจาค คณะท�ำงาน และ ผู้อื่นด้วยการช่วยตอบค�ำถามในภาษาอังกฤษ ฝรั่งเศสและ สเปน ชั่วโมงท�ำงานคือ ๘.๐๐ น. ถึง ๑๗.๐๐ น. เวลา มาตรฐาน จันทร์ถึงศุกร์ ท่านสามารถติดต่อโทรฟรีได้ ที่เบอร์ ๑-๘๖๖-๙๗๖-๘๒๗๙ (๑-๘๖๖-๙ROTARY) หรือ อีเมลที่ rotarysupportcenter@rotary.org โดยท่านจะได้รับค�ำ ตอบภายในหนึ่งวันท�ำงาน ศูนย์สนับสนุนข้อมูลโรตารี ได้รับโทรศัพท์ติดต่อ เฉลี่ยเดือนละ ๓,๕๐๐ ครั้ง รวมถึงจ�ำนวนผู้โทร ๑,๕๐๐ ราย ทีต่ อ้ งการติดต่อโดยตรงกับผูใ้ ดผูห้ นึง่ หรือแผนกใดแผนกหนึง่ ของโรตารีสากล จึงเป็นทางผ่านเข้าองค์กรของเราที่ง่ายขึ้น เฉลี่ยแล้วมีอีเมลที่เราต้องตอบทุกเดือนๆ ละ ๗,๐๐๐ ฉบับ ศูนย์สนับสนุนข้อมูลโรตารีนมี้ ปี ระวัตกิ อ่ ตัง้ มาเพียง ๘ ปี และ

ได้รับการรับรองว่าเป็นศูนย์ข้อมูลที่ให้บริการยอดเยี่ยมโดย องค์กร Benchmark Portal ผู้น�ำอุตสาหกรรมศูนย์ติดต่อ สนับสนุนข้อมูลของสหรัฐ การได้รับรางวัลยกย่องเป็นศูนย์ สนับสนุนข้อมูลยอดเยี่ยมนี้ เป็นรางวัลที่ทรงคุณค่าที่สุดใน อุตสาหกรรมด้านผู้ให้บริการและสนับสนุนลูกค้า เกียรติยศ นี้คือต้องเป็นศูนย์ที่มีทั้งประสิทธิภาพและประสิทธิผล เป็นผู้ ให้บริการคุณภาพสูง มีค่าใช้จ่ายโดยรวมที่ต�่ำกว่า เมื่อเทียบ กับศูนย์บริการอื่นๆ ในอุตสาหกรรมด้านบริการ ทีมงานของศูนย์ฯ สนับสนุนข้อมูลโรตารียงั ประกอบ ด้วย ผู้ประสานงานบริการแขกเยี่ยมและโปรแกรมท่องเที่ยว ในการจัดรายการทัวร์/การประชุมของแขกเยี่ยมคณะใหญ่ๆ ทีต่ อ้ งการมาเยีย่ มส�ำนักงานใหญ่โรตารีสากล ซึง่ ในแต่ละปีจะ มีแขกมาเยีย่ มจ�ำนวนมาก หากท่านวางแผนว่าจะไปเยือนแถว ชิคาโกเมือ่ ใด ท่านสามารถขอจัดทัวร์นี้ โดยอีเมล์ถงึ visitors@ rotary.org เราอาจพบกันที่ส�ำนักงานใหญ่โรตารีสากลในวัน หนึ่งข้างหน้านี้ ผมเชือ่ มัน่ ว่า ท่านคงจะเห็นด้วยกับคะแนนคุณภาพ ร้อยละ ๙๖ ทีศ่ นู ย์ฯ ของเราได้รบั จากลูกค้าทีม่ คี วามพึงพอใจ นะครับ พอล เอ. เนตเซิล ประธานทรัสตีมูลนิธิโรตารี ปี ๒๕๖๐-๖๑


สารประธานทรัสตีฯ

พอล เอ. เนตเซิล เมษายน ๒๕๖๑

เมื่อผมเดินทางไปเยี่ยมมิตรโรแทเรียนในโลก ผมได้ พบเห็นการใช้รูปแบบทุนสนับสนุนของมูลนิธิฯ บ่อยๆ หลาย ครั้ง ดังนั้น จึงเป็นเรื่องที่น่าผิดหวังเสมอที่เห็นว่า สโมสรหนึ่ง หรือภาคใดภาคหนึ่งขาดความสนใจในการมีส่วนร่วมทุน สนับสนุนระดับโลก มีเหตุผลต่างๆ ทีผ่ มได้รบั ฟังบ่อยๆ เช่นทุนระดับโลก นีย้ งุ่ ยากเกินไป ต้องท�ำงานมากขึน้ ใช้เงินมากขึน้ หรือกองทุน ปันส่วนภาค (DDF) ไม่สะดวก หรือไม่เพียงพอกับความ ต้องการใช้ทุน แต่กระนั้นก็ดี ตัวเลขกองทุนยังบอกเรื่องราวที่เป็น ด้านบวกในระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๕๙-๒๕๖๐ มูลนิธิโรตารีครบ รอบ ๑๐๐ ปีนั้น ทุนระดับโลกที่มูลนิธิฯ สนับสนุนออกไป จ�ำนวน ๑,๒๖๐ ทุน เพิ่มขึ้นจากปีก่อน ร้อยละ ๘ และตัวเลข ในครึ่งปีแรกของปีโรตารีนี้ ก็ยังเพิ่มสูงขึ้นกว่าปีที่ผ่านมา ข้อมูลและค�ำแนะน�ำทีไ่ ด้มาจากท่านทัง้ หลายตลอด เวลานัน้ ช่วยให้เรามุง่ มัน่ สร้างสรรค์สร้างความแตกต่าง มีการ ปรับปรุงข้อมูลทุนระดับโลกในขัน้ ตอนการสมัครขอรับทุนทาง ออนไลน์ให้ดขี น้ึ มาก ก�ำหนดเวลาทีใ่ ช้ในขัน้ ตอนการขอรับทุน ระดับโลกได้ลดลงอย่างเห็นได้ชัด ในปี พ.ศ. ๒๕๕๙-๒๕๖๐ จ�ำนวนวันท�ำการที่ใช้ในขั้นตอนการยื่นใบสมัครขอรับทุน จนถึงวันจ่ายเงินทุนงวดแรกเฉลี่ย ๑๒๙ วัน ในปีโรตารี ๒๕๖๐-๒๕๖๑ ณ วันที่ ๑ กุมภาพันธ์ เฉลีย่ แล้ว คงเหลือเพียง ๑๐๗ วันท�ำการ หากสโมสรของท่านยังมิได้รว่ มงานในกองทุนระดับ โลก ผมขอชวนท่ า นได้ ห วนไปพิ จ ารณาแหล่ ง ทรั พ ยากร

ผู้แปลสาร : อน.พิเชษฐ์ รุจิรัตน์ สร.ราชบุรี pr.pichet3330@gmail.com

04 มีนาคม-เมษายน 2561

ปัจจุบนั ทีม่ อี ยู่ เริม่ ต้นด้วยการดูทศี่ นู ย์กองทุนโรตารีทปี่ รับปรุง ขึ้นใหม่ ที่เว็บ grants.rotary.org โปรดตรวจสอบแหล่ง ทรัพยากรต่างๆ ที่เกี่ยวข้องในคอลัมน์ขวามือด้วย คณะท�ำงานทุนสนับสนุนฯ ทีย่ อดเยีย่ ม ของมูลนิธฯิ ต้องการใช้ทกั ษะและประสบการณ์สะสมในมูลนิธฯิ ช่วยเหลือ ท่าน โปรดติดต่อสร้างสัมพันธภาพกับผู้ติดต่อในคณะท�ำงาน ของเราส�ำหรับโครงการของภาคของท่าน ศูนย์สนับสนุนข้อมูล โรตารีเองก็สามารถจัดหาแหล่งข้อมูลส�ำหรับติดต่อภายใน หนึ่งวันท�ำการ (อีเมล์ rotarysupportcenter@rotary.org) คณะที่ปรึกษาฝ่ายเทคนิคของมูลนิธิฯ เพื่อทุนมนุษยชาติ คือ กลุ่มอาสาสมัครโรแทเรียนที่มีทักษะและให้ค�ำแนะน�ำด้าน เทคนิคแก่โรแทเรียนในการวางแผนและด�ำเนินโครงการของ โรตารี หากท่านต้องการรับค�ำแนะน�ำในการวางแผนโครงการ ในขั้นตอนเบื้องต้น โปรดติดต่อที่อีเมล์ cadre@rotary.org บทบาทส�ำคัญของคณะทรัสตีฯ คือการรับฟังสิ่งที่ สมาชิกโรตารีพูด พวกเราคืออาสาสมัครที่ทรงพลังในการ แยกแยะความต้องการและตอบสนองด้วยความคิดสร้างสรรค์ อย่างใจกว้างและมีเมตตา ทุนของโรตารีให้โอกาสพิเศษแก่เรา ในการสร้างฝันให้เป็นจริงและมีผลกระทบอย่างยั่งยืน ทั้งใน ระดับท้องถิ่นและระดับโลก พอล เอ.เนตเซิล ประธานทรัสตีมูลนิธิโรตารี ปี ๒๕๖๐-๖๑


บทบรรณาธิการ อน.วาณิช โยธาวุธ สร.แม่สาย D.3360 RI มวลมิตรโรแทเรียนทุกท่านครับ “ขอให้คนที่ยกมือ รวยๆๆ สวยๆๆ โชคดี ตลอดปี” ผู้น�ำในการเล่นคลื่นมนุษย์ ตะโกนก้องในห้องประชุมใหญ่ เรียกเสียงเฮ ดังลั่น บรรยากาศ “สงกรานต์ถนนข้าวเหนียว” แตกต่างจากช่วงเช้าของการประชุมอบรมนายกรับเลือกโดยสิ้นเชิง และในงาน MultiPETS 2018 ที่ ขอนแก่น นี้เอง ที่เราได้มีโอกาสฟังเรื่องราวย้อนหลังเกี่ยวกับสโมสรโรตารีในอินโดจีน จากท่าน พิชัย รัตตกุล ผวภ.330 ปี 1963-64 ชื่อผู้คน สโมสรฯ รายละเอียด เบื้องหน้า เบื้องหลัง จากน�้ำเสียง ความทรงจ�ำ เรื่องราวทั้งหลาย เหมือนเกิดขึ้นเมื่อไม่นานมานี้เอง มีมิตรสหายจากประเทศเพื่อนบ้านของเรา มาเป็นตัวแทน เข้าร่วมอบรมในงาน MultiPETS 2018 ครั้งนี้ด้วยเช่นกัน จึงเป็นโอกาสอันดีที่นิตยสารฯ จะได้พูดคุยและถ่ายทอดเรื่องราว ที่ได้จากการพบปะมิตรสหายเหล่านี้มาแบ่งปันกัน เป็นเสน่ห์อีกอย่างหนึ่งของการเข้าร่วมประชุมขององค์กรโรตารีของเรา ความสุขจากการได้พบปะพูดคุยกับผู้คน ที่คงหาไม่ได้ในโลกเสมือนจริง ด้วยไมตรีจิตแห่งโรตารี อน.วาณิช โยธาวุธ


นิตยสารโรตารีประเทศไทย

งาน Multi PETS @ ขอนแก่น

ค�่ำคืนแห่งการเฉลิมฉลองของ “นายกรับเลือก” จากสี่ภาคใน ประเทศไทย โดยได้จ�ำลอง“งานสงกรานต์ ถนนข้าวเหนียว” ซึ่งเป็น งานใหญ่ประจ�ำปีของชาวขอนแก่น ในงานมีการเล่น “เวฟมนุษย์” และ “ร�ำวงย้อนยุค” บรรยากาศเต็มไปด้วยความสนุกสนาน

06 มีนาคม-เมษายน 2561


English issue

นิตยสารรายสองเดือน ปีที่ 34 ฉบับที่ 175 มีนาคม-เมษายน ๒๕๖๑ March-April 2018

สารบัญ Contents สารประธานโรตารีสากล สารประธานทรัสตีฯ สารบัญ สนเทศโรตารี

1-2 3-4 6-7 8-9

สกู๊ปพิเศษ “Our Neighbours” 10-19 “Activities” 20-21 “Our Voice” 22-24

กองบรรณาธิการ คณะกรรมการที่ปรึกษา ผวภ.นพ.พีระ ฟาร์มไพบูลย์ (3330) ผวภ.อรอนงค์ ศิริพรมนัส (3340) ผวภ.มารศี สกุลหลิว (3350) ผวภ.นิธิ สูงสว่าง (3360) อผภ.ชาญ จรรโลงเศวตกุล (3340) ผวล.พล.ท.คณิต แจ่มจันทรา (3330) ผวล.สุรพล ทวีแสงสกุลไทย (3340) ผวล.นครินทร์ รัตนกิจสุนทร (3350) ผวล.รุ่งรานี แสงศิริ (3360) อผภ.อนุรักษ์ นภาวรรณ (3360) คุณดนุชา ภูมิถาวร

บรรณาธิการบริหาร อน.วาณิช โยธาวุธ (3360) บรรณาธิการผู้ช่วย อผภ.สมภพ ธีระสานต์ (3330) นย.ชัยวัฒน์ เจริญวัทธน์ (3340) อน.ทนงศักดิ์ วิบูลย์มา (3350) นย.นพ.ณัฏฐธนิน เศรษฐวนิชย์ (3360)

สถานที่ติดต่อ ศูนย์โรตารีในประเทศไทย 75/82-83 อาคารโอเชี่ยนทาวเวอร์ 2 ชั้น 32 ซ.วัฒนา ถ.อโศก เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110 c/o Rotary Centre in Thailand 75/82-83, 32/Fl., Ocean Tower II, Soi Wattana, Asok Rd., Wattana, Bangkok 10110 Tel: 02-661-6720 Fax: 02-661-6719 Mobile: 085-822-4442 Email: magazine@rotarythailand.org , v.yotharvut@rotarythailand.org Website: www.rotarythailand.org


มองหาสโมสรคู่มิตรเพิ่มเติม ผ่านวิธีการต่างๆ เช่น เข้าร่วมกิจกรรม การระดมความคิดเห็น (Rotary Ideas) การเสวนากลุ่ม (Rotary discussion group) การท�ำโครงการที่มีวัตถุประสงค์ เดียวกันร่วมกัน (Rotary action Groups) เข้าร่วมงาน Rotary Fairs เข้าร่วมในกิจกรรม Rotary Fellowship

โดย อน.ดร.บุษบง จ�ำเริญดารารัศมี สร.พะเยา

08 มีนาคม-เมษายน 2561

มิตรภาพ มีความส�ำคัญมากต่อ องค์กรที่เน้นการส่งเสริมมิตรภาพ เพือ่ กิจกรรมบ�ำเพ็ญประโยชน์ เช่น สโมสรโรตารี การสร้างมิตรภาพระหว่างสมาชิก ในสโมสร เป็นหัวใจของการรักษาสมาชิก และเชิญชวนสมาชิกให้เพิ่มมากขึ้น ท�ำให้เกิดความเข้าใจ ความร่วมมือ ในการด�ำเนินกิจกรรมบ�ำเพ็ญประโยชน์ และกิจกรรมอื่นๆ ตามมาอีก


สนเทศโรตารี Sister Clubs สโมสรคู่มิตร เมื่อสมาชิกของสองหรือมากกว่าสองสโมสร มีมิตรภาพ ต่อกันและมาร่วมกันท�ำกิจกรรม จะมีพลังเพิ่มพูนทวี นอกจากจะ สามารถท�ำโครงการที่ใหญ่ขึ้น มีประโยชน์มากขึ้น ยังเกิดมิตรภาพที่ แน่นแฟ้น และเป็นจุดเริ่มของการเป็นสโมสรคู่มิตรโดยพฤตินัย และ หากลงนามร่วมกันก็จะเป็นสโมสรคู่มิตรของกันและกันต่อไป

เข้าร่วมในกิจกรรม Rotary Fellowship เป็นต้น

สโมสรโรตารีอาจมีคู่มิตรทั้งในระดับภาค ระดับประเทศ ระดับโซน และระดับโลก เป็นได้ทั้งนั้น ไม่มีข้อจ�ำกัดใดๆ สโมสร โรตารีในประเทศไทยร่วมท�ำโครงการบ�ำเพ็ญประโยชน์มากมายกับ สโมสรคู่มิตรในประเทศอื่นๆ เช่น สโมสรในสหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น สโมสรที่มีสมาชิกจ�ำนวนไม่มาก อาจมีความไม่พร้อมเมื่อ ไต้หวัน เกาหลี มาเลเซีย ออสเตรเลีย ฯลฯ โครงการเหล่านี้น�ำมาซึ่ง ประสงค์จะท�ำโครงการบ�ำเพ็ญประโยชน์เพราะจ�ำกัดด้วยคน เงิน ประโยชน์ต่อมวลมนุษยชาติและมิตรภาพที่แน่นแฟ้น ยืนยาว ทรัพยากรอื่นๆ ด้วยความที่มีจ�ำกัดจึงท�ำได้แต่โครงการขนาดเล็ก หากประสงค์จะท�ำโครงการที่ใหญ่ขึ้น ใช้ทรัพยากรมากขึ้น สโมสร ไม่มีข้อจ�ำกัดใดๆ ของสโมสรโรตารีที่จะเป็นสโมสรคู่มิตร อาจร่วมมือกับสโมสรอื่น เมื่อท�ำงานร่วมกันมากขึ้น บ่อยขึ้น จะ ขอเพียงสมาชิกของสโมสรมีความอยากที่จะมีเพื่อน มีความยินดีที่ พัฒนาไปเป็นสโมสรคู่มิตรซึ่งกันและกันซึ่งพบได้มาก จะต้อนรับและเป็นมิตรกับผู้อื่น พบปะกับโรแทเรียนอื่นๆ ผ่านการ ประชุมทั้งในและนอกสโมสร ทั้งในและนอกประเทศ ต้อนรับแขก โรตารีสากลส่งเสริมให้สโมสรโรตารี ท�ำโครงการบ�ำเพ็ญ ทีม่ าเยีย่ มสโมสร ตอบรับการท�ำกิจกรรมของโรตารีเมือ่ ได้รบั การเชิญ ประโยชน์ที่ใหญ่ขึ้น ดีขึ้น มีจุดเน้นที่ชัดเจนยิ่งขึ้นเรื่อยๆ เพราะ ชวน หรืออาสาสมัครเข้าร่วมท�ำโครงการบ�ำเพ็ญประโยชน์ ฯลฯ โครงการเหล่านี้จะยังประโยชน์มากขึ้น การตอบรับเป็นเจ้าบ้านให้นักเรียนแลกเปลี่ยนอาจน�ำมา มูลนิธโิ รตารีของโรตารีสากลสนับสนุนให้มกี ารสร้างคูม่ ติ ร ซึ่งคู่มิตรและโครงการบ�ำเพ็ญประโยชน์จากสโมสรต่างประเทศ การ เพื่อร่วมกันท�ำงานผ่านโครงการกองทุนของมูลนิธิทั้งระดับภาคและ เข้าร่วมโครงการมิตรภาพแลกเปลีย่ น (RFE) น�ำมาซึง่ โครงการบ�ำเพ็ญ ระดับโลก การท�ำโครงการขนาดใหญ่ต้องอาศัยความร่วมมือของ ประโยชน์ขนาดใหญ่หลายโครงการ หลายๆ สโมสร การต้อนรับ พูดคุยกับแขกที่มาเยี่ยมสโมสรก็น�ำมาซึ่ง อาจเริม่ จากการเป็นสโมสรคูม่ ติ รของกันและกันมาท�ำงาน สโมสรคู่มิตร การเข้าร่วมประชุมทั้งระดับภาค ระดับโซน และระดับ ร่วมกัน หรือมองหาสโมสรคู่มิตรเพิ่มเติมผ่านวิธีการต่างๆ เช่น เข้า โลกเปิดโอกาสให้โรแทเรียนรู้จักเพื่อนมากมาย และน�ำมาซึ่งคู่มิตร ร่วมกิจกรรมการระดมความคิดเห็น (Rotary Ideas) การเสวนา บ่อยครั้งพัฒนาเป็นมิตรแท้ของใครหลายๆ คน เยี่ยมเยือนกันและ กลุ่ม (Rotary discussion group) การท�ำโครงการที่มีวัตถุประสงค์ กัน ท�ำโครงการร่วมกันได้มากมาย เดียวกันร่วมกัน (Rotary action Groups) เข้าร่วมงาน Rotary Fairs


ท่านพิชัย รัตตกุล ประธานโรตารีสากล ปี 2002-03 ผู้ว่าการภาค 330 ปี 1963-64 ในช่วงที่สโมสรโรตารีในอินโดจีนยังด�ำรงอยู่ในยุคแรก ให้สัมภาษณ์นิตยสารโรตารีประเทศไทย

“เราควรยกย่องสโมสรฯ เหล่านี้ เพราะแม้นเขาจะเพิ่งเริ่มใหม่ แต่ เขาก็มาก่อนเรา และก็เข้มงวดกฎ ระเบียบข้อบังคับมากด้วย” 10 มีนาคม-เมษายน 2561

ประเทศในอินโดจีนที่โรตารีเข้าไปประเทศแรกที่เวียดนาม ก็คอื ไซ่งอ่ น (Saigon) ต่อมาก็สโมสรโรตารีไซง่อนไชน่าทาวน์ (ตอน หลังเปลี่ยนชื่อเป็น “Cholon”) เป็นสโมสรที่ 2 และสโมสรที่ 3 คือสโมสรโรตารีด๊ักเกา (Dakao) และสโมสรสุดท้ายคือสโมสร โรตารีเจดิน (Giadinh) มี 4 สโมสรเริ่มต้น ตอนหลังสมัยหมอฤทธิ์ (นายแพทย์ฤทธิ์ บุศยอังกูล) เป็นผู้ว่าการภาคได้พยายามขยาย สโมสรต่อไปอีก จึงได้ไปตัง้ สโมสรทีด่ านัง (Danang) ต่อไป ตอนนัน้ มีผู้ว่าการภาคที่เป็นคนเวียดนาม 2 คน คนแรกมาจากไซง่อน คือ นายทรีฮอง (Ny Ti Hon) อาชีพการผลิตเฟอร์นเิ จอร์ เป็นคนดีมาก เป็นลูกคนจีนที่มาตั้งตัวที่เวียดนาม และเป็นคนที่มอบสารตราตั้ง ให้แก่สโมสรโรตารีธนบุรี ซึง่ ตอนนัน้ สโมสรโรตารีธนบุรเี ป็นสโมสร ที่ 2 ในประเทศไทย ส่วนผู้ว่าฯ คนที่สองก็มาจากไซง่อนจบจาก ฝรั่งเศสชื่อ ดร. ตวง ดิน ซู (Troung Dinh Dzu) เป็นทนายความ ใหญ่ แต่ในปีนั้นไม่สามารถเดินทางไปเยี่ยมสโมสรในภาคได้ ทั้งนี้ เนื่องจากก่อนจะเป็นผู้ว่าการภาคได้ลงเลือกตั้งแข่งขันกับนาย เหงียนวันเทียว แพ้คะแนนไปนิดเดียว ซึ่งปีนั้นคือปี 1962-63 ผม เป็นผู้ช่วย (DG Group Representative) ดูแลสโมสรโรตารีใน


Our Neighbours Indochina-อินโดไชน่า

ท่านพิชัย รัตตกุล

ประธานโรตารีสากล ปี 2002-03 ผู้ว่าการภาค 330 ปี 1963-64

นิตยสารโรตารีประเทศไทย สัมภาษณ์พิเศษ ไทย ในสมัยนั้นภาค 330 ประกอบ ด้วย ประเทศไทย มาเลเซีย สิงคโปร์ บรูไน ลาว เวียดนามและกัมพูชา รวม 7 ประเทศ ในตอนนั้นสโมสรโรตารีมีอยู่ เฉพาะเวี ย ดนามใต้ เ ท่ า นั้ น สู ง สุ ด คือดานัง สโมสรโรตารีเริ่มก่อตั้งที่ ประเทศเวี ย ดนามในปี 1952-53 และสิ้นสุดไป เมื่อวันที่เวียดกงยึดไซง่อนได้ สโมสรโรตารีใน ไซง่อนใช้ ภาษาอังกฤษ จีน ฝรั่งเศส เพราะมีหลายสัญชาติ หนึ่งในนั้นมีสโมสรดั๊ก เกามีสมาชิกอยู่คนหนึ่ง ซึ่งมีเบื้องหลังคบค้าคอมมิวนิสต์ จึงถูกต่อต้าน มาก ผมเป็นผู้ว่าฯ ปี 1963 ได้ไปเยี่ยมก็รู้ปัญหานี้ ได้พยายามหาทาง สงบ ภายหลังไม่รู้เป็นไง ในประเทศเวียดนาม มีสโมสรโรตารี อยู่ 6-7 สโมสร มีสมาชิก ไม่เกิน 150 คน ประเภทอาชีพเข้มแข็งมากที่สุด มากกว่าสมัยนี้หลาย เท่า ที่สโมสรโรตารีเจดิน และสโมสรโรตารีดั๊กเกา ใช้เวลาก่อตั้ง 3 ปี ใช้ ผู้ว่าฯ 3 คนกว่าจะก่อตั้งได้ใบชาร์เตอร์ สมัยก่อนสโมสรไหนจะก่อตั้งต้องมีเขตพื้นที่ที่ชัดเจน สโมสร โรตารีกรุงเทพใต้ ก็ได้ส่วนหนึ่งของกรุงเทพฯ สโมสรโรตารีธนบุรีก็ได้ อีกส่วนหนึ่งของกรุงเทพฯ เมื่อก่อนมีเขตที่เข้มงวดมาก กว่าจะยอมรับ กันได้ เมือ่ เราจะตัง้ สโมสรใหม่ตอ้ งเจรจา หากสโมสรมีสมาชิกน้อย ต้อง ขอแบ่งเนื้อที่เขตไหนอย่างไร เดี๋ยวนี้คอนเซปผิดไปหมด ปัจจุบนั นีไ้ ม่มสี โมสรโรตารีในเวียดนาม การทีจ่ ะก่อตัง้ สโมสร ขึ้นมาใหม่ในเวียดนาม เป็นเรื่องที่เกี่ยวกับผู้ปกครองมากที่สุด คล้ายๆ กับจีน แต่ว่ารุนแรงกว่าด้วยซ�้ำ จีนให้โรตารีก่อตั้งได้โดยมีเงื่อนไขว่า คนจีนเข้าเป็นสมาชิกไม่ได้ คนต่างด้าวเป็นสมาชิกได้ แต่เวียดนามจะ ตั้งสโมสรให้คนต่างด้าวที่ท�ำงานอยู่ในเวียดนามมาเป็นสมาชิกยังไม่ได้ เลย ซึ่งตอนนี้ก็ยังก่อตั้งไม่ได้กฎหมายยังไม่ออก หลังจากเวียดนามก็มีสโมสรโรตารีในลาว 1 สโมสร ก่อตั้งปี 1957-58 ที่เวียงจันทน์เพียงแห่งเดียว เป็นสโมสรที่มีผู้ใหญ่ในรัฐบาล

อยู่ โดยเฉพาะมีเชื้อพระวงศ์เป็นสมาชิกอยู่หลายพระองค์ มีเชื้อพระ วงศ์ที่สนิทสนมที่สุดคือเจ้าสมสนิท ซึ่งตอนหลังรักกับผมมาก แล้วเมื่อ ตอนหลังผมได้ไปเยี่ยมลาวในฐานะรัฐมนตรีต่างประเทศ ได้ให้ฑูตไทย เชิญผู้น�ำของลาว แล้วเชิญเจ้าสมสนิทด้วย แต่เจ้าสมสนิทไม่กล้าคุย เพราะเห็นว่าในคณะส่วนใหญ่เป็นเวียดกง ท�ำให้ต้องไปกันเป็นส่วนตัว และนัน่ เป็นโอกาสสุดท้ายทีไ่ ด้คยุ กับเจ้าสมสนิท ตอนนัน้ ไม่มโี รตารีแล้ว นอกจากเจ้าสมสนิทแล้ว เจ้าเหนือหัวก็สนับสนุนโรตารีเช่นกัน นอกจากลาวก็เป็นกัมพูชา คือที่พนมเปญ ตั้งก่อนสโมสร โรตารีธนบุรี 1 ปี คือปี 1957 แต่เป็นสโมสรที่อ่อนที่สุดในภาค 330 จ�ำนวนสมาชิกน้อยสุด คะแนนการประชุมน้อยทีส่ ดุ คะแนนการประชุม รองน้อยที่สุดคือธนบุรี สโมสรโรตารีพนมเปญได้ประมาณ 30-35 % สโมสรโรตารีธนบุรีได้ 35-40 % สมัยผมเป็นนายกได้ปรับปรุงจาก 30% เป็น 96% เป็นที่ 1 ในภาคเลย Leadership ไม่ใช่หัวหน้าใหญ่โต แต่ 1. ต้องมีหัวใจรับใช้สมาชิก เราเป็นลูกจ้างสมาชิก 2.ต้องเอาชนะใจ สมาชิก วันเกิดภรรยาสมาชิก นายพิชัย สมัยเป็นนายกเอาดอกกุหลาบ ไปแฮปปี้เบริด์เดย์ที่บ้าน สมัยนั้นมีสมาชิก 40 กว่าคน แต่ผมไปทุกคน Leadership ต้องแสดงออกว่าเรานั้นมีความรัก ความนับถือ เราเป็น เพียงหัวโขน ในอดีตที่กัมพูชามีสโมสรเดียว และได้ยกเลิกเมื่ออเมริกันแพ้ สงคราม เขมรแดงเข้ามา ส่วนสโมสรโรตารีในพม่า ผมไม่ค่อยมีความรู้เพราะไม่อยู่ใน ภาคของเรา สมัยก่อนภาคของพม่าอยู่กับอินเดีย เริ่มก่อตั้งปี 1929-30 ก่อนไทย 1 ปี ก่อนสงครามโลกครัง้ ทีส่ องภายใต้การปกครองของอังกฤษ มีประมาณ 5 สโมสร ที่ ย่างกุง้ มัณฑะเลย์ ทวายและพุกาม ซึง่ ต้องปิดไป ช่วงสงครามญี่ปุ่นสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 ญี่ปุ่นไม่ต้องการให้มีองค์กร ที่มาจากอเมริกา เช่นเดียวกับในไทยขณะนั้น ที่สโมสรโรตารีกรุงเทพ ก็ ต้องเปลีย่ นไปเป็น Bangkok Service Club อยูช่ ว่ งหนึง่ ภายหลังสโมสร โรตารีในพม่าปิดไปเพราะเผด็จการทหาร เราควรยกย่องสโมสรเหล่านี้ เพราะแม้นเขาจะเพิง่ เริม่ ใหม่แต่ เขาก็มาก่อนเรา และก็เข้มงวดกฎ ระเบียบข้อบังคับมากด้วย


สโมสรโรตารีในอินโดจีน Rotary Clubs in Indochina

Myanmar Thailand Vietnam Cambodia Laos

โดย อผภ.อนุรักษ์ นภาวรรณ สร.ดอยพระบาท

สโมสรโรตารีในอินโดจีน เมื่ อ สโมสรโรตารี ก รุ ง เทพได้ ก ่ อ ตั้ ง เป็ น สโมสรแรกใน ประเทศไทย เมื่อปี ค.ศ. 1930 (พ.ศ.2473) นั้น ในภูมิภาคอินโดจีนซึ่ง ในที่นี้ประกอบด้วย ไทย พม่า กัมพูชา ลาว และเวียดนาม มีสโมสร โรตารีอยู่เพียง 3 สโมสรเท่านั้น คือสโมสรโรตารีในพม่า 2 สโมสร และในประเทศไทย 1 สโมสร ในปัจจุบัน (มีนาคม พ.ศ.2561) ภาค 3330 3340 3350 และ 3360 ซึ่งครอบคลุมพื้นที่ 5 ประเทศในภูมิภาคอินโดจีนนี้ มี จ�ำนวนสโมสรถึง 346 สโมสร ส่วนใหญ่อยู่ในประเทศไทย โดยที่ ประเทศพม่า กัมพูชา และเวียดนามอยู่ในภาค 3350 และลาวอยู่ใน ภาค 3360 แสดงให้เห็นถึงการเติบโตของโรตารีในภูมิภาคนี้ใน 88 ปี ที่ผ่านมา แต่การที่จะมาถึงวันนี้ได้ สโมสรโรตารีในทั้ง 5 ประเทศนี้ ก็ ผ่านเหตุการณ์ต่างๆ ทั้งด้านการเมือง และสงครามในภูมิภาค ซึ่งเป็น อุปสรรคในการเติบโตของโรตารีมาไม่น้อย สโมสรโรตารีในประเทศพม่า สโมสรโรตารีถือก�ำเนิดในประเทศพม่าในปี ค.ศ. 1929 ก่อน ที่จะมีสโมสรโรตารีในประเทศไทย 1 ปี ขณะนั้นอยู่ในภาคชั่วคราว PROVISIONAL DISTRICT A ครอบคลุมพื้นที่ประเทศพม่า อินเดีย และศรีลังกา (ซึ่งต่อมาได้เปลี่ยนมาเป็นภาค 320 ในขณะที่ ประเทศไทยอยู่ในภาค 330) โดยสโมสรโรตารี THAYETMYO ได้รับ สารตราตั้งเมื่อวันที่ 20 กันยายน 1929 ก่อนสโมสรโรตารีร่างกุ้ง (RANGOON) ซึ่งได้สารตราตั้งเมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน 1929 สมาชิกส่วนใหญ่ของสโมสรเป็นคนพม่า สโมสรโรตารี THAYETMYO ได้ล้มเลิกไปในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 แต่ก็ได้มีสโมสรแห่งอื่นๆ เกิด ขึ้นมาอีก โดยมีสูงสุดถึง 6 สโมสร ได้ท�ำกิจกรรมบ�ำเพ็ญประโยชน์ มากมาย ได้รับการย่อมรับอย่างดี ประธานาธิบดีและผู้น�ำภาครัฐให้ เกียรติมาเป็นในพิธีการของโรตารีหลายครั้ง มีอดีตผู้ว่าการภาคถึง 3 คน แต่ด้วยปัจจัยทางการเมือง สโมสร 3 สโมสรสุดท้ายได้ถูก TERMINATE อย่างเป็นทางการเมื่อปี 1978 สโมสรโรตารีย่างกุ้ง (YANGON) ได้หวนกลับคืนมาอีกครั้งในปี 2014 โดยอยู่ในภาค 3350 มีสโมสรโรตารีกรุงเทพและสโมสรโรตารี กรุงเทพใต้เป็นสโมสรอุปถัมภ์ ปัจจุบันมีสโมสรโรตารีในพม่า 2 สโมสร มีสมาชิกรวม 107 คน

12 มีนาคม-เมษายน 2561

สโมสรโรตารีในไทย เมื่อสโมสรโรตารีกรุงเทพได้รับสารตราตั้งเมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน ค.ศ. 1930 (พ.ศ. 2473) สโมสรโรตารีในประเทศไทย ก็ได้เติบโตตลอดมา มีที่ต้องหยุดด�ำเนินการในนามของโรตารี ในช่วง สงครามโลกครั้งที่ 2 ไปช่วงหนึ่งเท่านั้น โรตารีในประเทศไทยเริ่มต้น ในภาคชั่วคราว PROVISIONAL DISTRICT B เปลี่ยนชื่อและเขตพื้นที่ มาจนเป็นภาค 330 ครอบคลุม 7 ประเทศคือ มาเลเซีย ไทย สิงคโปร์ เวียดนาม กัมพูชา ลาว และบรูไน ในปี 1957ต่อมามีการเปลี่ยนแปลง เขตพื้นที่และแยกภาคอีกหลายครั้ง จนมาเป็น 4 ภาคในปัจจุบัน ซึ่ง ครอบคลุมพื้นที่ 5 ประเทศ เฉพาะในประเทศไทยมีจ�ำนวนสโมสร โรตารี 336 สโมสร และสมาชิกรวม 8,162 คน สโมสรโรตารีในเวียดนาม กัมพูชา และลาว หลังจากที่ประเทศเวียดนาม กัมพูชาและลาว ได้รับเอกราช จากฝรั่งเศสแล้ว สโมสรโรตารีก็ได้ถือก�ำเนิดขึ้นในประเทศทั้งสาม สโมสรโรตารีไซ่ง่อน (SAIGON) ได้รับสารตราตั้งเมื่อ 23 มกราคม 1953 สโมสรโรตารีพนมเปญ (PHNOM PENH) ได้รับสารตราตั้งเมื่อ 15 เมษายน 1957 และสโมสรโรตารีเวียงจันทน์ (VIENTIANE) ได้รับ สารตราตั้งเมื่อ 14 มกราคม 1958 สโมสรโรตารีในเวียดนามมีการขยายตัวจนมีถึง 7 สโมสร มี อดีตผู้ว่าการภาค 2 คน แต่ต่อมามีความไม่สงบทางการเมือง มีการ สู ้ ร บกั น ในทั้ ง สามประเทศและตกอยู ่ ภ ายใต้ ก ารปกครองระบอบ คอมมิวนิสต์ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1975 สโมสรทั้งหมดจึงต้องปิดตัวลงและถูก ตัดออกจากสมาชิกของโรตารีสากลอย่างเป็นทางการ ในปีต่อๆ มา โดยสโมสรโรตารีพนมเปญถูกตัดออกในปี 1977ตามมาด้วย 7 สโมสร ในเวียดนามและสโมสรโรตารีเวียงจันทน์ถูกตัดออกในปี 1978 สโมสรโรตารีพนมเปญกลับเข้ามาเป็นสมาชิกอีกครั้งในปี 1955 (ในภาค 3350) ปัจจุบันมีการเพิ่มสโมสรขึ้นมาเป็น 7 สโมสร มี สมาชิกรวม 140 คน สโมสรโรตารีเวียงจันทน์กลับเข้ามาเป็นสมาชิก ในปี 2006 (ในภาค 3360) ปัจจุบันมีสมาชิก 10 คน ท�ำให้มีโครงการ บ�ำเพ็ญประโยชน์มากมายในทั้งสองประเทศ ส่วนในประเทศเวียดนาม ก�ำลังอยู่ในความพยายามที่จะฟื้นคืนสโมสรโรตารีกลับมา โดยที่มี สโมสรโรตารี จ ากหลายประเทศเข้ า ไปด� ำ เนิ น โครงการบ� ำ เพ็ ญ ประโยชน์ให้กับชุมชนที่ขาดแคลน ในทั้งสามประเทศนี้อย่างต่อเนื่อง


Timeline of Rotary Clubs in Indochina ล�ำดับเหตุการณ์ของสโมสรโรตารีบนคาบสมุทรอินโดจีน


สโมสรโรตารีในเมียนมาร์ โดย อผภ. อเล็กซ์ พี มาฟโร สร.กรุงเทพใต้ สโมสรโรตารีร่างกุ้ง ในอดีต พ.ศ. 2471

ความพยายามประสบความส�ำเร็จ ในการก่อตั้งสโมสร โรตารีในพม่าขึ้นมาอีกครั้งในปี พ.ศ. 2557

14 มีนาคม-เมษายน 2561

ผู้บุกเบิก

ในปี ค.ศ. 1928 (พ.ศ.2471) ผู้โดยสารคนหนึ่งชื่อ เจมส์ เดวิดสัน (JAMES DAVIDSON) และ ลิเลียน (LILIAN) ภรรยาของเขา พร้อมทั้งบุตรสาว ได้ขึ้นฝั่งเมื่อเรือเทียบท่าในประเทศอินเดีย เขาเป็นสมาชิกขององค์กรที่เพิ่งก่อตั้ง รู้จักกันในนามโรตารี เขาได้รับ มอบหมายให้ก่อตั้งสโมสรโรตารีใหม่ ในระหว่างการเดินทางไกล เพื่อธุรกิจของเขา เดวิดสันได้ก่อตั้งสโมสรมากมายในทวีปยุโรปและ ตะวั น ออกกลางและการเดิ น ทางครั้ ง ใหม่ นี้ ไ ด้ มุ ่ ง เป้ า หมายไปที่ ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกและตะวันออกไกล เดวิดสัน ซึ่งเป็นชาวมินิโซตาโดยก�ำเนิด และเป็นสมาชิก ของสโมสรโรตารีคัลการี (CALGARY) ดูเหมือนจะมีพลังงานมากมาย ในคริสต์ทศวรรษที่ 1920 เขาได้ด�ำเนินการก่อตั้งสโมสรในประเทศ กรีก อียิปต์ ตุรกี หลังจากนั้น ใช้เวลาอีก 3 ปี ตั้งแต่ปี ค.ศ.1928 เขา ได้เดินทางในฐานะที่เป็นคณะผู้แทนกิตติมศักดิ์ของโรตารีสากล ซึ่งได้ เปิดสโมสรใหม่ 20 กว่าสโมสร ตั้งแต่ประเทศอินเดียมาจนถึงฮ่องกง ในระหว่างการเดินทางที่ไม่ได้เตรียมการล่วงหน้า เดวิดสันได้ท�ำงาน อย่างต่อเนื่องแต่วนเวียนไปทางตะวันออก และก่อตั้งสโมสรใน ประเทศอินเดีย พม่า สิงคโปร์ มาเลเซีย ไทย และ สุดท้ายที่ฮ่องกง ลิเลียนภรรยาของเขาได้เขียนถึงการลองผิดลองถูกและความยาก ล�ำบากได้อย่างน่าสนใจลงในนิตยสารส�ำหรับโรแทเรียน ซึ่งในปัจจุบัน สามารถอ่านบทความส่วนใหญ่ของเธอได้ในระบบออนไลน์ เดวิดสันได้รับความช่วยเหลือเล็กน้อยๆ แต่มีคุณค่า นอก เหนือจากภรรยาของเขาซึ่งมักจะเป็นเพื่อนร่วมเดินทางแล้วเขาจะ เดินทางคนเดียว โรตารีสากลได้จัดค่าใช้จ่ายจ�ำนวนเล็กน้อยมอบให้ แต่เมื่อเดินทางแล้วเสร็จเขาได้ใช้เงินเพิ่มไปถึง 250,000 เหรียญ ซึ่ง เขาสามารถหามาได้ด้วยตนเอง นี่ คื อ บุ รุ ษ ผู ้ มี พ ลั ง ขั บ เคลื่ อ นนิ ต ยสารเดอะโรแทเรี ย นได้ ขนานนามเดวิดสันได้อย่างเหมาะเจาะไว้ว่าเขาคือ “มาร์โคโปโลของ โรตารี” ถ้าหากกล่าวถึงความท้าทายของการเดินทางและการสื่อสาร ในขณะนั้น มีคนจ�ำนวนน้อยนิดที่จะเสียสละได้ดังเช่นที่เดวิดสันได้ กระท�ำ ในฐานะผู้แทนขององค์กรหรือผู้แทนในอุดมคติ เขาเป็นผู้ที่มี ความศรัทธาและเป็นผู้ปฏิบัติ แต่เป็นที่น่าเศร้า เพราะดูเหมือนเขาจะกดดันตัวเองมาก เกินไป จนเสียชีวิตลงในปี ค.ศ. 1933 ภายในระยะเวลาเพียงปีเดียว หลังกลับจากการเดินทางมาถึงบ้านที่ประเทศแคนาดา ภรรยาของเขา ยังคงเป็นผู้สนับสนุนโรตารี ที่มีความกระตือรือร้นอยู่ต่อมาถึง 25 ปี ก่อนที่จะเสียชีวิต ไม่มีข้อสงสัยประการใดเลยที่สักวันหนึ่งจะมีประวัติของ สโมสรโรตารีแต่ละสโมสรจาก 20 กว่าสโมสรที่เดวิดสันก่อตั้งขึ้น ที่น่า สนุกคือการรวบรวมประวัติทั้งหมดนั่น เอาแค่สโมสรโรตารีร่างกุ้ง (RANGOON-ชื่อเดิมของเมืองย่างกุ้ง)ซึ่งเป็นสโมสรใหญ่ที่สุดในบรรดา ที่เขาก่อตั้งขึ้นที่ประเทศพม่า ก็มีข้อมูลรายละเอียดมากเกินกว่าที่เรา จะสามารถแบ่งปันได้ในที่นี้


Myanmar

Rotary Clubs in Indochina เป็นที่น่าประหลาดใจว่า ย่างกุ้ง มิได้เป็นเมืองแรกของพม่าที่มี สโมสรโรตารี เมืองเล็กๆ ทางฝั่งตะวันตกชื่อ THAYETMYO ดูจะเป็นส่วน การบริหารที่ปรากฏอยู่ในบันทึกในยุค 1920 ครั้นต่อมา มีชาวอังกฤษ จ�ำนวน 6 คน ได้ไปพ�ำนักอยู่อย่างโดดเดี่ยว ณ ที่นั้น เพื่อดูแลงานกิจกรรม มากมายของอาณานิคม สุภาพบุรุษเหล่านี้ได้ก่อตั้งสโมสรเล็กๆ เพื่อการพบปะสังสรรค์ ขึ้นสโมสรหนึ่ง และขยายตัวออกมาถึงมิตรสหายที่ใกล้ชิด และเดวิดสันก็ได้ เสนอให้เปลี่ยนแปลงการชุมนุมรวมตัวในทุกๆ เรื่องที่มีอยู่แล้วนี้เป็นสโมสร โรตารี โดยการใช้เทคนิคที่เขาเคยใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพเพื่อเร่งรัด ขบวนการสารตราตั้ง (CHARTER) กระนั้นก็ตาม ต้องใช้เวลานานเกือบ 2 ปีกว่าที่สโมสรจะเป็นที่ยอมรับว่าเป็นสโมสรแห่งแรกในพม่าในปี ค.ศ.1929 เมื่อเขาสามารถขยับลงมาทางใต้ที่ร่างกุ้ง เดวิดสันก็ได้จัดการ กระบวนการก่อตั้ง และลงทะเบียนสโมสรจนเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาไม่ ถึงหนึ่งปี (ในขณะที่เขาไปถึงฮ่องกง เขาได้ก่อตั้งสโมสรหลายสโมสรภายใน เวลา 6 เดือนเศษ) ในปัจจุบัน สโมสรทั้งหลายที่เดวิดสันก่อตั้งนั้นได้ สถานภาพเป็นปู่ย่าตาทวดเลยทีเดียว โดยมีสายสัมพันธ์ครอบครัวที่โยงใย เกือบทุกสโมสรในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ ตัวอย่างเช่น สโมสรโรตารี กรุงเทพ ได้เป็นต้นก�ำเนิดสโมสรที่ยังคงอยู่มาจนถึงทุกวันนี้มากกว่า 300 สโมสรเฉพาะในประเทศไทย ซึ่งก็มีสโมสรอีกมากมายที่เกิดขึ้นแต่มิได้ด�ำรง อยู่ด้วยเหตุใดเหตุหนึ่งในช่วงหลายๆ ทศวรรษที่ผ่านมาหลังจากนั้น แน่นอน ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 สโมสรโรตารีในประเทศ พม่า ประเทศไทย และอินโดจีนต้องหยุดด�ำเนินการ แต่ภายหลังจาก สงครามสโมสรโรตารีในพม่าก็กลับมาด�ำเนินการทีละสโมสร แต่น่าเสียดาย ที่สถานการณ์ไม่เป็นใจให้ด�ำเนินกิจกรรมต่อ และจ�ำเป็นต้องปิดตัวเองลง อย่างเงียบๆ เป็นครั้งที่สอง เมื่อต้นทศวรรษที่ 70 เริ่มต้นใน ค.ศ. 2010 ส่วนหนึ่งเป็นเพราะความพยายามของ โรแทเรียนนานาชาติ ที่เป็นผลส�ำเร็จในการให้ความช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์ ในประเทศพม่า (ยกตัวอย่างเช่น หลังจากที่มีเหตุพายุไซโคลนนาร์กีสในปี ค.ศ.2008) ความสนใจถึงอนาคตในการก่อตั้งองค์กรในประเทศพม่าก็เริ่ม แผ่ขยายมากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งโรแทเรียนคนหนึ่งที่ชื่อ เจที วอร์ริ่ง (JT WARRING) แห่งสโมสรโรตารีลอสแองเจอลีส (“RC LA5”) ซึ่งมีความมั่นใจ อย่างยิ่ง ได้จัดการสร้างจินตนาการให้คณะกรรมการบริหารโรตารีสากล และประธานโรตารีสากลเป็นเวลานานพอที่จะได้รับค�ำมั่นสัญญาให้ก่อตั้ง สโมสรอีกครั้งหนึ่ง กระบวนการคืนพลัง (ตามที่นายกก่อตั้ง AYE LWIN เลือกที่จะ อ้างอิงเช่นนั้น) เป็นกระบวนการที่ยาวนานและมีความซับซ้อน แต่มีความ โปร่งใส และเป็นความเสียสละของทุกฝ่าย สโมสรโรตารีย่างกุ้ง (YANGON) ได้เกิดขึ้นใหม่อีกครั้งหนึ่ง ได้รับสารตราตั้งเมื่อ 16 พฤษภาคม ค.ศ. 2014 โดยเป็นสมาชิกของภาค 3350 ซึ่งเป็นภาคที่รวมประเทศไทยและสโมสรใน ประเทศกัมพูชา จากฐานสมาชิก 30 คน สโมสรจะมีสมาชิกเพิ่มขึ้นเป็นสอง เท่าในวันที่ 1 กรกฏาคม ค.ศ.2018 เมื่อมีนายกสโมสรคนที่ 5 คือ เฮม่า มวง (HAYMAR MAUNG) ในฐานะที่เป็นผู้หนึ่ง ที่ได้รับเกียรติให้ท�ำงานร่วมกับกลุ่มก่อตั้ง

สโมสร รวมทั้งนายกเฮม่าตั้งแต่เริ่มต้น ผมบอกได้เลยว่าคุณจะไม่สามารถ หาทีมงานที่ให้ความส�ำคัญ และ มีพันธสัญญามากไปกว่านี้ได้ที่ไหนอีกแล้ว จากรูปภาพประกอบ เมื่อกล่าวถึงพลังและความเป็นปึกแผ่น สโมสรน้อย แห่งที่สามารถจะเทียบเท่ากับสโมสรโรตารีย่างกุ้งได้ ซึ่งในขณะนี้ได้ก่อ ก�ำเนิดสโมสรโรตารีแห่งที่สอง (RC CENTRAL YANGON – 16 JUNE 2017) และสโมสรโรทาแรคท์ และจะมีการก่อตั้งสโมสรอินเทอร์แรคท์ใน เร็วๆ นี้ ขอให้พวกเราได้ขอบคุณโรแทเรียนมากมายในความพยายาม ร่วมกันที่จะแพร่ขยายจิตวิญญาณของ โรตารีไปทั่วเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในช่วงศตวรรษที่ผ่านมาได้อย่างประสบความส�ำเร็จเป็นเลิศ

ไม่มีดินแดนใดเสมอเหมือน THIS IS BURMA AND IT IS UNLIKE ANY LAND YOU KNOW ABOUT - RUDYARD KIPLING

นี่คือพม่า และไม่มีดินแดนใดที่คุณรู้จักจะเสมอเหมือน ทุกประเทศเชื่อว่าประเทศของตนมีความพิเศษ อย่างไรก็ตาม การ ผสมผสานทางเผ่าพันธุ์และสังคมของแต่ละประเทศจะแตกต่างกันไป ซึ่ง ท�ำให้แต่ละประเทศชาติมีลักษณะเฉพาะอย่างแท้จริง แต่ส�ำหรับการมี ลักษณะพิเศษจนถึงจุดที่เรียกว่ามีเอกลักษณ์นั้น ประเทศพม่าซึ่งในปัจจุบัน คือ เมียนมาร์ จะเป็นคู่แข่งระดับท้อปในหนังสือทุกเล่มที่ใครๆ เขียน ในวันที่ 16 พฤษภาคม ค.ศ. 2014 (พ.ศ. 2557) โรตารีสากลได้ ให้สารตราตั้งสโมสรโรตารีย่างกุ้ง ประเทศเมียนมาร์ อย่างเป็นทางการ ธงชาติของเมียนมาร์โบกสะบัดอยู่ ณ ส�ำนักงานใหญ่โรตารีสากลและได้รับ เกียรติให้ร่วมพาเหรดเชิญธงประจ�ำปี ณ การประชุมใหญ่ประจ�ำปีของ โรตารีสากล ในระหว่างปีของประธานโรตารีสากล คัลยัน บาร์เนอร์จี สโมสร โรตารีกรุงเทพ และสโมสรโรตารีกรุงเทพใต้ ได้ร่วมกันอุปถัมภ์สโมสรโรตารี ย่างกุ้งขึ้นมาใหม่ หลังจากที่ได้มีการเตรียมงานมากมายกับสโมสรโรตารี ย่างกุ้ง ในวันที่ 10 พฤษภาคม ค.ศ. 2014 คณะผู้แทนสมาชิก 6 คน จาก สโมสรโรตารีชั่วคราวย่างกุ้ง ได้มาร่วมการอบรมในประเทศไทย และได้ส่ง มอบใบสมัครสโมสรด้วยตนเองเพื่อเป็นสมาชิกของโรตารีสากล ณ ศูนย์การประชุมอิมแพ็ค เมืองทองธานี กรุงเทพฯ โรแทเรียน มากมายร่วมสังเกตการณ์เมื่อนายกก่อตั้ง AYE LWIN และเลขานุการสโมสร MOE KYAW ลงนามในเอกสารร่วมกับผู้ว่าการภาค ประวิทย์ โรจน์ขจร นภาลัย โดยมีอดีตกรรมการบริหารโรตารีสากล นรเศรษฐ ปัทมานันท์ ร่วม เป็นสักขีพยานอย่างเป็นทางการ รวมทั้ง ผวล.สุรชาติ ชื่นโชคสันต์, ผวน. ไชยไว พูนลาภมงคล, ผวด.เจสัน ลิม, อผภ.อเล็กซ์ พี มาฟโร และ โรแทเรียนอื่นๆ ในปัจจุบัน สโมสรโรตารีย่างกุ้ง ประชุมทุกวันพฤหัสบดี เวลา 19.00 – 20.30 น. ที่ NOVOTEL YANGON MAX, 459 PYAY ROAD, KAMAYUT TOWNSHIP, YANGON MYANMAR.


สโมสรโรตารีในประเทศกัมพูชา โดย อผภ.เจสัน ลิม สร.กรุงเทพบางนา

กัมพูชาในวันนี้ กิจกรรมบริการชุมชน มอบข้าวและสิ่งของ

ลงส�ำรวจชุมชน ในห้องเรียนที่ไร้แสงไฟฟ้า

ส� ำ รวจชุ ม ชนที่ โ รงพยาบาลมิ ต รภาพเขมร-โซเวี ย ด (KHMER-SOVIET) ในกรุงพนมเปญ

16 มีนาคม-เมษายน 2561

ผลจากการเติบโตทางเศรษฐกิจตลอดช่วงสองทศวรรษ ที่ผ่านมา ประเทศกัมพูชาได้เข้าสู่ประเทศที่มีรายได้ปานกลาง ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2015 โดยมีรายได้ประชาชาติต่อหัวที่ 1,070 เหรียญสหรัฐ ภาคอุตสาหกรรมที่ขยายตัวโดดเด่นคือการส่งออก เครื่องนุ่งห่มและอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว อันมีส่วนส�ำคัญใน การผลักดันอัตราการขยายตัวเศรษฐกิจสูงถึง 7.5 % โดยเฉลี่ย ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1994-2015 จัดเป็นประเทศที่มีอัตราการขยายตัว สูงสุดเป็นอันดับ 6 ของโลก และคาดว่าการเติบโตยังคงมีความ แข็งแกร่งต่อไป อัตราความยากจนยังคงลดลงอย่างต่อเนื่องจากร้อยละ 47.8 ในปี 2007 เหลือเพียงร้อยละ 13.5 ในปี 2014 กระนั้น ก็ตาม ครอบครัวที่ถีบตัวเองให้พ้นภาวะความยากจนก็สามารถ ข้ามพ้นค�ำจ�ำกัดความของความยากจนมาเพียงเล็กน้อยเท่านั้น มีประชากรประมาณ 4.5 ล้านคนที่ยังอยู่ในสภาพเกือบยากจน ปั ญ หาสุ ข อนามั ย และการศึ ก ษายั ง คงเป็ น ความท้ า ทายของ รัฐบาลกัมพูชา ทั้งนี้เด็กที่มีอายุต�่ำกว่าห้าขวบร้อยละ 32 (หรือ ประมาณห้าแสนคน) ยังคงไม่ได้รับโอกาสให้พัฒนา ในขณะที่ อัตราการเข้าเรียนในระดับประถมศึกษาเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 82 ในปี1997 มาเป็นร้อยละ 97 ในปี 2016 อัตราการเรียนจบชั้น มัธยมยังคงอยู่ในระดับร้อยละ 43 ในปี 2013 ประชาชนร้อยละ 70 (ประมาณ 12.3 ล้านคน) ยังไม่มีน�้ำประปาใช้ และร้อยละ 58 (ประมาณ 9.3 ล้านคน) ยังไม่สามารถเข้าถึงระบบสุขาภิบาล ที่สะอาดเพียงพอ กัมพูชาประสบความส�ำเร็จอย่างดีในปรับปรุงสุขภาพ แม่และเด็ก และการศึกษาชั้นประถมในชนบท อัตราการตาย ของแม่หลังคลอดลดลงจาก 472 ต่อ 100,000 ในปี 2005 เหลือ 170 ต่อ 100,000 ในปี 2014 ทารกหลังคลอดเสียชีวิตน้อยลง จาก 83 ต่อ 1,000 ในปี 2005 เหลือ 35 คนต่อ 1,000 ในปี 2014 แม้จะมีพัฒนาการที่น่าพอใจดังกล่าว ประเทศกัมพูชา ยังคงต้องเผชิญหน้ากับประเด็นท้าทายอีกหลายด้าน ซึ่งรวมถึง คุณภาพของบริการสาธารณะ การยอมรับความแตกต่างของ


Cambodia

Rotary Clubs in Indochina โรแทเรียน ฮุยเหย่จื้อ และโรแทเรียน ลอร่า ฮวง สโมสรโรตารีพนมเปญ แคปปิตอล อาร์คซีคลัมพ์ (ARCH KLUMPH SOCIETY) คนแรกของภาค 3350 ชนชั้นและเชื้อชาติ การบริหารจัดการการใช้ที่ดินและทรัพยากร โครงการบ� ำ เพ็ ญ ประโยชน์ แ ละการบริ จ าคให้ แ ก่ ธรรมชาติ การจัดการสิ่งแวดล้อมเพื่อความยั่งยืน ตลอดจนระบบ มูลนิธิโรตารี ธรรมาภิบาลเพื่อความก้าวหน้าของประเทศนี้ โรแทเรียนในกัมพูชา ได้บ�ำเพ็ญประโยชน์ตามแนวทางของ (ข้อมูลจาก HTTP://WWW.WORLDBANK.ORG/EN/COUNTRY/ โรตารีจนเกิดโครงการมากมาย และยังได้รับการสนับสนุนอย่างดีจาก CAMBODIA/OVERVIEW ) มิตรในต่างประเทศและจากมูลนิธิโรตารี โครงการบริการหลักใน ประเทศกัมพูชาได้แก่ โครงการศัลยกรรมสมอง MEC (ภาวะสมองยื่น การกลับมาของสโมสรโรตารีในกัมพูชา ออกนอกกระโหลก) โครงการรถเข็นส�ำหรับเด็กพิการ โครงการมุ้ง หลังจากที่สโมสรโรตารีในประเทศกัมพูชาได้เริ่มก่อตั้งเป็น ส�ำหรับชุมชนที่ขาดแคลน โครงการห้องสมุดในโรงเรียนองค์กรนอก ครั้งแรกเมื่อปี ค.ศ. 1957 แต่ต้องปิดตัวลงในปี 1977 เนื่องจาก ภาครัฐ โครงการน�้ำสะอาด การประกวดเรียงความเชิงจริยธรรม และ เหตุผลทางการเมือง โรตารีได้หวนคืนกลับมายังพนมเปญอีกครั้งในปี โครงการจัดหาอุปกรณ์การแพทย์ให้แก่โรงพยาบาล เป็นต้น 1995และเติบโตเรื่อยมา จนถึงปัจจุบันมีสโมสรโรตารีทั้งสิ้น 7 สโมสร ในอดีต สโมสรโรตารีในกัมพูชายังมีการบริจาคให้กับมูลนิธิ ดังนี้ โรตารีไม่มากนัก แต่ประวัติศาสตร์หน้านี้ได้เปลี่ยนแปลงไปแล้ว 1. สโมสรโรตารีพนมเปญ – ก่อตั้งใหม่อีกครั้ง 18 พฤษภาคม 1995 โรแทเรียน ฮุยเหย่จื้อ และ โรแทเรียน ลอร่า ฮวง จากสโมสรโรตารี 2. สโมสรโรตารีพนมเปญเมโทร - ก่อตั้ง 2 กุมภาพันธ์ 2004 พนมเปญแคปปิตอลได้ร่วมกันบริจาคให้แก่มูลนิธิโรตารีในระดับอาร์ค 3. สโมสรโรตารีโพธิสัตว์ - ก่อตั้ง 24 กุมภาพันธ์ 2006 ซีคลัมพ์ (ARCH KLUMPH SOCIETY) คือ 250,000 เหรียญสหรัฐใน (ประชุมภาษาเขมร) ปี “โรตารีเกื้อกูลเพื่อนมนุษย์” เพื่อร่วมเฉลิมฉลองมูลนิธิโรตารีครบ 4. สโมสรโรตารีนครวัด - ก่อตั้ง 29 มิถุนายน 2007 รอบ 100 ปี นับเป็นการบริจาคระดับอาร์คซีคลัมพ์ครั้งแรกส�ำหรับ 5. สโมสรโรตารีเสียมเรียบ - ก่อตั้ง 5 ธันวาคม 2012 ภาค 3350 และของประเทศกัมพูชา ขอขอบคุณโรแทเรียนฮุยเหย่จื้อ (ประชุมภาษาเกาหลี) และ โรแทเรียนลอร่า ฮวง ส�ำหรับการบริจาคเพื่อ “การท�ำดีเพื่อโลก” 6. สโมสรโรตารีซังเก พระตะบอง - ก่อตั้ง 21 มิถุนายน 2015 7. สโมสรโรตารีพนมเปญแคปปิตอล - ก่อตั้ง 28 ตุลาคม 2016 อุ ป สรรคและโอกาสในการเติ บ โตของโรตารี ใ น (ประชุมภาษาจีน) ประเทศกัมพูชา การตระหนักรู้เกี่ยวกับผลงานและศักยภาพของโรตารีในหมู่ ณ วันที่ 1 เมษายน 2018 ประเทศกัมพูชามีโรแทเรียนรวม 141 คนแบ่งเป็นหญิงร้อยละ 30.5 และชายร้อยละ 69.5 นอกจากนี้ ประชาชนเขมรยังมีน้อยมาก มีเหตุผลหลายประการที่เป็นเช่นนั้น ไม่ ยังมีสมาชิกกิตติมศักดิ์อีก 3 ท่านล้วนอยู่สังกัดสโมสรโรตารีพนมเปญ ว่าจะเป็นด้านการศึกษาของประชาชนทั่วไปยังคงอยู่ระดับต�่ำ หรือ อันได้แก่ โรแทเรียนเจ้าฟ้าพันธรวง สีสุวัตถิ์ (ในราชวงศ์กัมพูชา) การรับรู้ในเรื่องบริการชุมชนก็ยังไม่ทั่วถึง นอกจากนี้ก็ยังมีองค์กร โรแทเรียนสก๊อต นีสัน (ผู้ก่อตั้งกองทุนเด็กกัมพูชา และอดีตประธาน เอกชนนอกภาครั ฐ เป็ น จ� ำ นวนมากที่ ม าร่ ว มงานกั บ โรตารี เ พื่ อ ท� ำ บริษัทเทวนตี้เซ็นจูรีฟอกซ์อินเตอร์เนชั่นแนล) และ โรแทเรียนเบอร์ โครงการต่าง ๆ แล้วน�ำผลงานไปเผยแพร่ในนามขององค์กรตัวเอง ดังนั้นเพื่อเป็นการสร้างการตระหนักรู้ในโรตารี ภาค 3350 นาร์ด คริชเชอร์ (ผู้ก่อตั้งหนังสือพิมพ์กัมพูชาเดลี่) โรตารี ส ากลจึ ง ได้ เ ริ่ ม สร้ า งความสั ม พั น ธ์ กั บ หน่ ว ยงานภาครั ฐ ของ กัมพูชาตลอดจนผู้มีชื่อเสียงในภาคเอกชน โดยเริ่มมาแล้วตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2016 เป็นต้นมา เราได้เน้นกิจกรรมเพื่อการตระหนักรู้ ภาพลักษณ์โรตารีอย่างต่อเนื่อง และได้เชิญนักธุรกิจที่มีศักยภาพเข้า ร่วมในกิจกรรมของโรตารี


โรตารีในประเทศลาว

โดย อผภ.อนุรักษ์ นภาวรรณ สร.ดอยพระบาท

สะบายดี เวียงจันทน์

พิธีก่อตั้งสโมสรโรตารีเวียงจันทน์ เมื่อวันที่ 30 กันยายน พ.ศ.2549

สโมสรโรตารีเชียงใหม่ ร่วมส่งมอบและฝึกอบรมการใช้งานเครื่อง อุลตร้าซาวค์ 2 เครื่อง พร้อมอุปกรณ์การแพทย์และรถเข็นผู้พิการ ให้กับโรงพยาบาล 107 ในหลวงพระบาง สปป.ลาว เมื่อปี พ.ศ. 2555

พิ ธี รั บ มอบเครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ์ ก ารแพทย์ ฟ ื ้ น ฟู ท ารกให้ แ ก่ โ รง พยาบาลมโหสด นครหลวงเวียงจันทน์ มูลค่า 300,000 USD โดยมี รัฐมนตรีสปป.ลาวร่วมพิธีด้วย เมื่อปี พ.ศ. 2557

18 มีนาคม-เมษายน 2561

หลังจากสโมสรโรตารีในประเทศลาว ได้สิ้นสภาพไปเมื่อ ปี พ.ศ. 2521 เนื่องจากความผันผวนทางการเมือง การก่อตั้ง สโมสรโรตารีเวียงจันทน์ ในสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชน ลาว ได้เริ่มต้นอีกครั้งในปี พ.ศ. 2549 โดยคณะกรรมการขยาย สโมสรโรตารีสู่เอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งมี อผภ. วิวัฒน์ ศิริจางคพัฒนา เป็นประธาน และสามารถตั้งสโมสรโรตารี เวียงจันทน์ได้ส�ำเร็จ ได้รับสารตราตั้งเมื่อวันที่ 18 ตุลาคม 2549 ในปีบริหารของ ผวภ.นพนธ์ อิ่นค�ำ โดยมี นายพลเชียงสม กุนละ วง เป็นนายกก่อตั้ง มี ผชภ.แววดาว ลิ้มเล็งเลิศ, อน.ดร.บุษบง จ�ำเริญดารารัศมี, อน.เอกวุฒิ กาวิละ และอน.วาณิช โยธาวุธ เป็น ผู้แทนพิเศษผู้ว่าการภาคในการก่อตั้ง และมีสโมสรโรตารีเชียงใหม่ ถิ่นไทยงาม, แม่สาย, หางดง, อุดร และหนองคาย เป็นสโมสร อุปถัมภ์ แต่เนื่องจากอุปสรรคเรื่องการเดินทาง ซึ่งมีระยะทางที่ ห่างไกลจากสโมสรอื่นๆ ในภาค 3360 สโมสรโรตารีเวียงจันทน์ จึง เข้าร่วมกิจกรรมของภาคไม่มากนัก และสมาชิกลดลง อย่างไรก็ดี ภาค 3360 ก็มีกิจกรรมและโครงการไปสนับสนุน เช่น อผภ. นพ.วีระชัย จ�ำเริญดารารัศมี ท�ำโครงการน�้ำดื่มช่วยเหลือชุมชนใน ลาว เป็นต้น ในปีพ.ศ. 2554 อผภ.ช�ำนาญ จันทร์เรือง ภาค 3360 ได้ ปรึกษากับ อผภ. ธีรยุทธ์ วัฒนธีรวุฒิ ภาค 3340 ในการที่จะช่วย กันฟื้นฟูความเข้มแข็งให้กับสโมสรโรตารีเวียงจันทน์ โดยจะให้ ภาค 3340 เข้ามาช่วยดูแลสโมสรโรตารีใน สปป.ลาว ต่อมาในปีพ.ศ. 2555 อผภ.อนุรักษ์ นภาวรรณ พร้อม คณะจากภาค 3360 และอผภ.ธาตรี ลีธีระประเสริฐ พร้อมคณะ จากภาค 3340 รวมทั้งหมด 13 คน ได้เดินทางเข้าเยี่ยมและได้ ร่วมปรึกษาหารือกับ ประธานสโมสรหุมแพง มะนีปุน และเลขา สโมสร วีระสาน ค�ำดารานิกร ในเรื่องการต่อใบอนุญาตจากทาง รัฐบาล ซึ่งหมดอายุไปตั้งแต่ปี พ.ศ. 2553 ในปีเดียวกันยังได้มีการประชุมมิตรภาพ สโมสรโรตารี ไทย–ลาวที่จังหวัดเลย ในการประชุม INTERCITY ของภาค 3340


Laos

Rotary Clubs in Indochina

โดยมีคณะจากภาค 3360 5 คน ภาค 3340 12 คน และจาก เวียงจันทน์ 5 คน รทร.วีระสาน ค�ำดารานิกร เลขาสโมสรโรตารี เวี ย งจั น ทน์ ไ ด้ แ จ้ ง ความคื บ หน้ า เกี่ ย วกั บ กิ จ กรรมของสโมสรที่ ไ ด้ ต้อนรับและท�ำโครงการกับสโมสรในประเทศเกาหลี เดินทางไปร่วม พิธีมอบเครื่องมือแพทย์และรถเข็นคนพิการ ที่สโมสรโรตารีเชียงใหม่ น�ำไปมอบให้โรงพยาบาล 107 ที่หลวงพระบาง ได้ร่วมพิธีเปิดโรงเรียน ที่โรแทเรียน จากออสเตรเลียได้สร้างเสร็จ ตลอดจนเซ็นต์ MOU สร้าง โรงเรียนอีกแห่งที่หลวงพระบางกับสโมสร MELBOURNE SUNRISE ภาค 9800 ประเทศออสเตรเลียในปีต่อไป สโมสรเวียงจันทน์ขณะนั้น มีสมาชิก 16 คน และจะพยายามเพิ่มสมาชิกให้ได้มากกว่า 20 คน เพื่อเป็นสโมสรอุปถัมภ์ในการก่อตั้งสโมสรใหม่ในประเทศลาวต่อไป ซึ่งได้วางแผนในอนาคตไว้ถึง 5 สโมสร ที่แขวงหลวงพระบาง, บ่อแก้ว (ห้วยทราย), ค�ำม่วน, สะหวันนะเขต และจ�ำปาสัก (ปากเซ) โดยภาค 3360 จะก่อตั้งสโมสรใหม่ที่หลวงพระบาง ส่วนภาค 3340 จะช่วย ก่อตั้งสโมสรใหม่ที่ในทางตอนใต้ของ สปป.ลาว ซึ่งนับเป็นการเสริม สร้างความเข้มแข็งให้กับสโมสรโรตารีใน สปป.ลาว

ความหวังที่หลวงพระบาง

ความตั้งใจที่จะก่อตั้งสโมสรโรตารีในแขวงหลวงพระบาง มีมานานแล้วหลังจากก่อตั้งสโมสรโรตารีเวียงจันทน์ส�ำเร็จ สโมสรใหม่ ที่หลวงพระบางซึ่งจะเป็นสโมสรที่ 2 ในสาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว มีความส�ำคัญเป็นอย่างยิ่ง เนื่องจากเป็นเมืองท่องเที่ยว และเป็นเมืองหลวงเก่า หากการตั้งสโมสรแห่งนี้ส�ำเร็จ สโมสรต่อ ๆ ไปในลาวจะเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วและจะท�ำให้โรตารีในลาวมีความ เข้มแข็งขึ้น สโมสรโรตารีเชียงใหม่ ได้ปูทางในการเผยแพร่แนวคิดของ โรตารีสากล โดยน�ำเครื่องมือแพทย์ไปมอบให้โรงพยาบาล 107 ที่ หลวงพระบาง นอกจากนี้โรแทเรียนจากออสเตรเลียก็เข้าไปสร้าง อาคารโรงเรียนไว้แล้วด้วยเช่นกัน ในเดือนพฤษภาคม 2556 คณะของผู้ว่าภาค 3360 และ คณะจากสโมสรโรตารีเวียงจันทน์ได้ออกเดินทางไปหลวงพระบาง เพื่อหาทางก่อตั้งสโมสรโดยได้เข้าพบรองเจ้าเมืองและนักธุรกิจวิชาชีพ อีกรวม 14 ท่าน เพื่อพบปะและอธิบายให้เข้าใจถึงวัตถุประสงค์ของ

โรตารี จากนั้นวันต่อมาได้เข้าพบเจ้าแขวง (ผู้ว่าราชการจังหวัด) และ เจ้าเมือง (นายกเทศมนตรี) ซึ่งได้ให้การต้อนรับให้ค�ำแนะน�ำ และได้มี ความยินดีที่จะมีการก่อตั้งสโมสรโรตารีในหลวงพระบาง นับว่าเป็น ความส�ำเร็จในก้าวแรก จากนั้นคณะยังได้ไปพบปะชักชวนผู้ประกอบ การร้านค้าต่างๆ อีกด้วย แต่อย่างไรก็ดี หลายปีต่อมาก็ยังไม่มีความ คืบหน้าในการก่อตั้งสโมสรในหลวงพระบาง เนื่องจากยังไม่สามารถ ต่อใบอนุญาตด�ำเนินงานโรตารีในประเทศลาวได้

ใบอนุญาต

ประเทศที่ปกครองด้วยระบบสังคมนิยม มีพรรคการเมือง เดียว อันได้แก่ ประเทศจีน เกาหลีเหนือ คิวบา เวียดนาม และลาวนั้น การด�ำเนินงานของโรตารีจะต้องได้รับการอนุญาตจากรัฐบาล ซึ่งยังไม่ สามารถด�ำเนินงานได้อิสระ ในประเทศเกาหลีเหนือ คิวบา และ เวียดนาม ขณะนี้ยังไม่มีสโมสรโรตารี ส่วนในประเทศจีนจะยอมให้ ชาวต่างชาติเท่านั้นที่จะเป็นสมาชิกได้ ส�ำหรับในประเทศลาว สโมสร โรตารีเวียงจันทน์ได้รับใบอนุญาตเพียง 5 ปี หลังจากนั้นมายังไม่ สามารถต่อใบอนุญาตได้ แม้ว่าจะสามารถด�ำเนินการต่อไปได้แต่ก็ ท�ำให้สโมสรหาสมาชิกได้ยากและไม่สามารถก่อตั้งสโมสรใหม่ได้ และ ปัจจุบันการให้ใบอนุญาตก็เปลี่ยนวิธีการไปจากเดิม ขณะนี้ก�ำลังรอ ระเบียบกฎหมายใหม่ เดือนธันวาคม พ.ศ. 2560 ผวภ.นิธิ สูงสว่างและคณะได้ไป เยี่ยมสโมสรโรตารีเวียงจันทน์อย่างเป็นทางการ ซึ่งมีสมาชิก 11 คน นอกจากสมาชิกที่เป็นคนลาวแล้ว ยังมีสมาชิกที่เป็นคนญี่ปุ่น มาเลเซีย และออสเตรเลียด้วย ได้รับการต้อนรับอย่างดี และได้แสดงความ มุ่งมั่นที่จะพัฒนาสโมสร มีการท�ำโครงการทุนสนับสนุนจากมูลนิธิ โรตารี เ ป็ น โครงการพั ฒ นาหลั ก สู ต รฝึ ก อาชี พ ในมหาวิ ท ยาลั ย ลาว โครงการส่งเสริมการเรียนรู้ที่สุวรรณเขต และโครงการอุปกรณ์การ แพทย์ให้โรงพยาบาลมโหสดนครเวียงจันทน์ ผวภ.นิ ธิ แ ละคณะยั ง ได้ เ ข้ า พบรองเจ้ า ครองนครหลวง เวียงจันทน์ แก้วพิลาวัน อ�ำไพลาด เพื่อปรึกษาเรื่องการต่อใบอนุญาต ด�ำเนินงานสโมสรโรตารีในนครหลวงเวียงจันทน์ ซึ่งใบอนุญาตด�ำเนิน งานสโมสรสโรตารีในเวียงจันทน์ จะเป็นต้นแบบของการขออนุญาตตั้ง สโมสรโรตารีในแขวงอื่นๆ อีก 17 แขวงต่อไป


สร.ย่างกุ้งมอบรถดับเพลิงและเป็นอาสาสมัคร ในการดับไฟร่วมกับองค์กรกาชาด

สร.พนมเปญ

สร.ย่างกุ้งและพันธมิตร กับโครงการผ่าตัดช่วยเด็กปากแห่วงเพ

สร.พนมเปญ แคปิตอล

เลขารับเลือกสร.เวียงจันทน์ ร่วมอบรม MultiPETS ที่ จ.ขอนแก่น

20 มีนาคม-เมษายน 2561

สร.พนมเปญเมโทร

ผู้ว่าการภาคเยี่ยมสโมสรในปี 2016-17 และปี 2017-18


Activities Rotary Club in Indochina

พดานโหว่ใน Sagaine

ผู้น�ำสโมสรย่างกุ้งก�ำลังปรึกษากับที่ปรึกษาโครงการเพื่อ โครงการรถดับเพลิงที่จะด�ำเนินการในปีต่อไป

สร.พระตะบอง

8

สร.โพธิสัตว์

สร.ย่างกุ้งและคู่มิตร สร.Saucon จาก Pennsylvania ภาค 7430 ในกิจกรรม การท�ำสบู่กับเด็กนักเรียน

สร.เสียมเรียบ

สร.อังกอร์

ผวภ.นิธิและคณะเข้าพบรองเจ้าครองนครหลวงเวียงจันทน์ เพื่อปรึกษาเรื่อง การต่อใบอนุญาตด�ำเนินงานสโมสร


นยล. HAYMAR MAUNG สโมสรโรตารีย่างกุ้ง ก่ อ นที่ จ ะมาเป็ น นายกรั บ เลื อ กปี นี้ รั บ ต� ำ แหน่ ง ประธานสมาชิกภาพ และเป็นสมาชิกที่เข้มแข็งคน หนึ่งจึงท�ำแทบทุกอย่าง สโมสรของเรามีสมาชิก 73 คนแต่คนหนึ่งยังไม่ได้จ่ายค่าบ�ำรุง อีก 2 คนจะย้าย ที่อยู่ ถือว่ามี 71 คน แต่จะมีเพิ่มในปีหน้า ประเภทอาชีพของฉันคือ ครูสอนภาษาอังกฤษ โครงการหลักที่ส�ำคัญของสโมสรคือโครงการน�้ำ สะอาด ซึ่งเป็น 2 โครงการที่เราเข้าไปเกี่ยวข้องอย่างมาก และในปีหน้า ได้วางแผนจะท�ำการอบรมผู้ที่เกี่ยวข้องกับรถพยาบาลฉุกเฉิน โดยตั้งใจ ท�ำเพื่อช่วยองค์กรรถพยาบาลฉุกเฉิน ซึ่งในเมียนมามีอยู่ 3 องค์กร ที่มี รถพยาบาลแต่คนขับรถและเจ้าหน้าที่ไม่มีความรู้เกี่ยวกับบริการการ แพทย์ฉุกเฉินเลย นั่นเป็นโครงการที่อยากจะท�ำจริงๆ ส�ำหรับแรงบันดาลใจในการเข้ามาร่วมกับโรตารี เป็นสมาชิกโดย บังเอิญ โดยไม่รู้อะไรเลยเกี่ยวกับโรตารี ประวัติศาสตร์ของโรตารีใน พม่าย้อนหลังไปถึงปี 1900 แล้วก็มีเหตุการณ์ทางการเมือง ท�ำให้เมีย นมาไม่มีสโมสรโรตารี และเมื่อโรตารีกลับเข้ามาอีกครั้ง จึงได้สมัครเข้า มาเป็นสมาชิก และรับต�ำแหน่งเลขานุการฯ ท�ำให้อยากรู้เรื่องโรตารี ที่ ต้องรับผิดชอบ และภาคก็ให้การสนับสนุนอย่างมาก ตอนไปกรุงเทพฯ PP.ATEEB, RC.BANGKOK ได้ให้ความช่วยเหลือ ท�ำให้ได้เรียนรู้มากขึ้น โดยนิสัยส่วนตัวแล้ว ชอบช่วยเหลือผู้คน ท�ำงานการกุศลมามาก จึง ท�ำให้ฉันได้มาอยู่ในสโมสรนี้ สโมสรโรตารีย่างกุ้งใช้ภาษาอังกฤษในการ ประชุม และมีสโมสรที่สอง อายุ 8 เดือน ชื่อสโมสรโรตารี CENTRAL YANGON อยากให้สมาชิกทุกคนรู้จักและเรียนรู้เกี่ยวกับโรตารีให้มาก ขึ้นๆ คงจะมีโอกาสไปร่วมประชุมใหญ่ และคิดว่าเมื่อมีการก่อตั้งสโมสร โรตารีใหม่ สมาชิกควรจะได้รู้เรื่องโรตารีมากกว่านี้ อย่างฉันนี้ไม่รู้เรื่อง เลย เลยต้องการเรียนรู้เกี่ยวกับโรตารี ท�ำให้สนใจมากขึ้น จนกลายเป็น คน ‘ติด’ (ADDICT TO) โรตารีไปแล้ว

22 มีนาคม-เมษายน 2561

ผชภ.ERIC MOUSSET สโมสรโรตารีพนมเปญ เป็นคนฝรั่งเศส ท�ำงานที่ INTERNATIONAL LIFE 23 ปีแล้ว อาศัยอยู่ที่กัมพูชา 11 ปี เป็นสมาชิก สโมสรโรตารีพนมเปญ ซึ่งเป็นสโมสรเก่าแก่ที่เคยมี อยู่เมื่อปี 1960 และก่อตั้งใหม่ในปี 1995 มีสมาชิก 23 คน เป็นสโมสรที่เข้มแข็ง มีโครงการ GLOBAL GRANTS มากมาย เกือบเต็มลิมิต 9-10 โครงการอยู่ตลอดเวลา โครงการส�ำคัญ ของสโมสร คือ โครงการที่ช่วยผู้ที่มีปัญหาหน้าตาบิดเบี้ยว ผิดรูปทรงให้ได้รับการ ผ่าตัด ท�ำศัลยกรรม ได้ช่วยเหลือไปแล้ว 120-130 คน หลังจากการ ท�ำศัลยกรรม ทุกคนสามารถด�ำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้โดยปกติสุขและ เปลี่ยนแปลงชีวิตของพวกเขาโดยสิ้นเชิง สโมสรโรตารีพนมเปญเป็น สโมสรโรตารีที่พูดภาษาอังกฤษ มีสมาชิกเป็นคนกัมพูชา 2-3 คน เรา เคยพูดภาษาฝรั่งเศสในการประชุมด้วย แต่มีสมาชิกนานาชาติ 12-15 ชาติ ปัจจุบันใช้ภาษาอังกฤษเป็นหลัก สโมสรเราประชุมทุกวันศุกร์ตอนเย็น (ยกเว้นศุกร์แรกของเดือน) ที่ร้านอาหารญี่ปุ่น ใกล้สถานทูตรัสเซียในกรุงพนมเปญ ขอเชิญเยี่ยม ชมเฟสบุ๊คหรือเว็บไซต์ของสโมสรด้วย ผมได้รับการเสนอชื่อเป็นผู้ช่วย ผู้ว่าการภาค และจะต้องดูแลสโมสรโรตารีพนมเปญ และสโมสรโรตารี พนมเปญเมโทร นยล.CHANG HUAN MIN สโมสรโรตารีพนมเปญ แคปปิตอล สโมสรฯ ก่อตั้งในปีของ ผวภ.เจสัน ลิม ปี 2016 พฤศจิกายน มีสมาชิกก่อตั้ง 39 คน ปัจจุบันมี สมาชิก 47 คน ก�ำลังเพิ่มสมาชิก เพราะในกัมพูชา โดยเฉพาะในพนมเปญมีชาวจีน (ไต้หวันและ ประเทศจีน) ที่มาท�ำงาน (EXPAT) จ�ำนวนมาก


Our Voice

Rotary Clubs in Indochina

และมีเลือดผสมคนจีนมาก เราจึงมุ่งเป้าหมายสมาชิกที่เป็นชาวไต้หวันหรือ ชาวจีน หรือคนท้องถิ่นที่สามารถพูดภาษาจีนได้ เพราะพวกเขาจะสามารถ เข้าใจถึงความต้องการของชุมชนได้ดี เราเป็นสโมสรใหม่ ต้องเรียนรู้อีกมาก เกี่ยวกับการท�ำโครงการ ปีนี้เราจะท�ำโครงการร่วมกับสโมสรโรตารีใน ไต้หวันซึ่งมีกว่า 700 สโมสร การที่กัมพูชามีสโมสรโรตารีที่พูดภาษาจีนได้ จะเป็นการง่ายที่จะท�ำโครงการด้วยกัน เพราะฉะนั้นจะมีเงินทุนสนับสนุน มากมาย หลั่งไหลมาที่สโมสรของเราเพื่อท�ำโครงการ แต่เราต้องหยุดสัก หน่อยเพื่อเตรียมตัวให้พร้อมก่อนท�ำโครงการ สโมสรมีโครงการใหญ่ 3 โครงการ ในปีที่ผ่านมา 1.โครงการรู้หนังสือ & การศึกษา 2.โครงการแหล่งน�้ำ 3.โครงการผู้หญิงและเด็ก เราท�ำโครงการตู้อบเด็ก เครื่องอัลตร้าซาวด์ และอุปกรณ์ฆ่าเชื้อ บริจาคให้โรงพยาบาลส�ำหรับผู้มีรายได้น้อย

นยล.SOY SIN สโมสรโรตารีโพธิสัตว์ ผมรู้จักโรตารีมาหลายปีแล้ว แต่เพิ่งจะเข้าร่วมเมื่อ ประมาณ 2 ปีทีผ่านมา และมาเป็นนายกรับเลือกในปีนี้ สโมสร มีสมาชิก 19 คน มีสุภาพสตรี 1 คน มีโครงการ GLOBAL GRANT 5 โครงการ เกี่ยวกับน�้ำสะอาด/ สุขาภิบาล การศึกษา จัดหาคอมพิวเตอร์ เป็นต้น เรามีสโมสรอุปถัมภ์จาก ทั่วโลก เช่น ออสเตรเลีย แคนาดา สหรัฐอเมริกา แต่เราได้ปฏิเสธโครงการ ไปมากมายเพราะความไม่พร้อมในการที่จะต้องดูแลหลายๆ โครงการ เนื่องจากสโมสรต่างประเทศที่ต้องการท�ำโครงการในกัมพูชาบางครั้งเป็น แต่เพียงในนามเท่านั้น แต่เราต้องการมีส่วนร่วม ต้องโปร่งใส และเป็น ความจริง เนื่องจากสโมสรต่างประเทศไม่สามารถเซ็น MOU กับรัฐบาลได้ การท�ำงานในกัมพูชาจึงมีความท้าทายมากมาย จากความแตกต่างทางด้าน วัฒนธรรม ในฐานะที่เป็นฝ่ายกัมพูชา เราสามารถเข้าใจได้ว่าฝ่ายกัมพูชา ต้องการสื่อสารอะไร จึงเป็นความท้าทายและเป็นบทบาทหน้าที่ของเราที่ ต้องท�ำให้เกิดความถูกต้อง ชัดเจน

นยล.UCAS BERNARD สโมสรโรตารีซังเก พระตะบอง ผมเกิดที่สวิตเซอร์แลนด์ แต่เป็นคนกัมพูชา ได้สัญชาติ กัมพูชา ปี 2015 สโมสรฯ ก่อตั้งเมื่อปี 2014 โดยเริ่ม อน.ปีเตอร์ เกรย์ (PHF) ต้นจากการเป็นสโมสรแซทเทิลไลท์ของสโมสรโรตารี สร.พนมเปญ เซมบริค ออสเตรเลีย แต่ตอนนี้เราก่อตั้งเป็นสโมสร ในขณะที่สโมสรโรตารีในประเทศกัมพูชายังอยู่ในช่วง โรตารีแล้ว แม้ว่าเราจะเป็นสโมสรที่พูดภาษาอังกฤษ เวลาเริ่มต้น แต่ผมรู้สึกว่าบางสโมสรโดยเฉพาะอย่างยิ่ง แต่เรามีสมาชิกชาวกัมพูชากับต่างชาติครึ่งต่อครึ่ง สมาชิกชาวกัมพูชามี สโมสรโรตารี พ นมเปญออกหมั ด ได้ ดี ก ว่ า มวยรุ ่ น ความกระตือรือร้น มากกว่าสมาชิกที่เป็นคนต่างชาติ บางครั้งเราใช้ภาษา เดียวกัน นอกเหนือจากโครงการต่าง ๆ ที่สโมสรท�ำ กัมพูชาในการประชุม โครงการหลักที่ส�ำคัญของเราที่ก�ำลังท�ำคือ โครงการ มากมายแล้ว สโมสรโรตารีพนมเปญยังเป็นเจ้าภาพในโครงการที่รับทุน GLOBAL GRANT น�้ำสะอาดส�ำหรับโรงเรียน ส่วนโครงการของสโมสรคือ สมทบระดับโลก (GLOBAL GRANTS) ถึง 10 โครงการ และจะยังมี การจัดหาวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ให้โรงเรียนในชนบท โครงการอื่นเข้ามาอีกอย่างสม�่ำเสมอ อันนี้เป็นการเปลี่ยนแปลงขนานใหญ่ ที่ผมเห็นเปรียบเทียบกับตอนที่ผมเป็นนายกสโมสรเมื่อปี 2012-14 ซึ่ง สโมสรโรตารีในกัมพูชายังไม่เป็นยอมรับมากนัก ด้วยความเป็นเลิศในการ


สโมสรโรตารีเพื่อนบ้าน

Our neighborhood Rotary Clubs เป็นผู้น�ำสโมสรในปีหลังๆนี้ที่ท�ำให้สโมสรโรตารีในกัมพูชาได้รับการยอมรับ มากขึ้นในประเทศและระหว่างประเทศ ทั้งแนวลึกและแนวกว้าง ซึ่งผมขอ ยกตัวอย่างที่เกิดขึ้นกับสโมสรโรตารีพนมเปญที่ได้รับก�ำลังสนับสนุนจาก สมาชิกสโมสร และการท�ำงานอย่างจริงจังของเจ้าหน้าที่สโมสร หลังจากที่ใช้ชีวิตอยู่ในประเทศกัมพูชามา 12 ปีผมคิดว่าถึงเวลา กลับบ้านที่ออสเตรเลียแล้ว อย่างไรก็ตามผมจะยังคงรักษาสมาชิกภาพไว้ กับสโมสรโรตารีพนมเปญ และช่วยงานต่าง ๆ เท่าที่พอจะช่วยได้อย่างเต็ม ที่ ผมอาจมาอยู่ที่นี่สัก 3-4 เดือนต่อปี และเข้าร่วมประชุมกับสโมสรท�ำ กิจกรรมในโครงการต่าง ๆ ที่สโมสรมี และเมื่อกลับไปออสเตรเลียผมก็จะ หาโอกาสไปประชุมกับสโมสรที่นั่นและแนะน�ำให้เขารู้จักสโมสรของผมที่ กัมพูชา โครงการเด่นที่พวกเราท�ำ เช่นโครงการ MEC การสร้างความ ตระหนักรู้ต่าง ๆ และหวังว่าอาจช่วยหาทุนให้โครงการบริการเพื่อความต่อ เนื่องด้วย ช่วงเวลาที่ประทับใจที่สุดคือตอนได้เป็นนายกสโมสรโดยไม่ได้ผ่าน การอบรมนายกรับเลือก (PETS) ทั้งนี้เป็นเพราะนายกคนก่อนผมต้องออก โดยกะทันหัน ในสโมสรก็ไม่มีใครยอมรับต�ำแหน่งนายก โรแทเรียนลิตี้ แยป ขอร้องให้ผมรับต�ำแหน่ง (ยาวสองปี 2012-14) ตอนได้รับเหรียญ พอล แฮรรี่ สเฟลโลว์ 2018 และตอนได้เห็นสโมสรเติบโตอย่างมากในปีบริหาร ของนายกสโมสรชื่อ ไมเคิล ไรท์ อน.ไมเคิล ไรท์ (PHF) สร.พนมเปญ จากประเทศอังกฤษ และมาอยู่กัมพูชาเกือบหกปีแล้ว ผมอายุหกสิบกว่าแล้ว เพิ่งเป็นม่ายและเกษียณ ผม สนใจที่จะหาอะไรที่มันท้าทายท�ำเพื่อให้ชีวิตเกษียณ อย่างสร้างสรรค์ ผมเดินทางท่องเที่ยวทั่วเอเซียตะวัน ออกเฉียงใต้ และพบว่ากัมพูชาเข้ากับความต้องการ ของผม ผู้คนที่นี่เป็นมิตรและใจดี แต่ก็มีคนจ�ำนวนมากที่ยังอัตคัตยากจน ยังขาดความเพียงพอด้านการศึกษาและสุขอนามัย ตอนอยู่ที่อังกฤษ ผมไม่ ได้เป็นโรแทเรียน แต่ผมมีเพื่อนหลายคนที่เป็นสมาชิกสโมสรโรตารีอยู่และ ผมอ่านเรื่องราวของโรตารีมากทีเดียว แต่ด้วยอาชีพที่ท�ำในตอนนั้นผมต้อง เดินทางไปต่างประเทศอยู่ตลอด เวลาจึงมีค่อนข้างจ�ำกัด และผมยังไม่ อยากผูกมัดกับสโมสรในตอนนั้น จนกระทั่งผมตัดสินใจว่าจะใช้ชีวิตที่ กัมพูชา และพอจะมีเวลามากพอ ผมจึงเริ่มหาในกูเกิล ทราบว่าที่กัมพูชามี สโมสรโรตารีอยู่หลายแห่ง ผลงานที่โดดเด่นมีมากเลยครับ ที่จริงอาจจะว่าเรามีกิจกรรมท�ำกัน แทบทุกสัปดาห์ก็ว่าได้ ทุกครั้งที่เราส่งมอบห้องสมุดให้กับโรงเรียนที่ ขาดแคลนเราได้รับรอยยิ้มบนใบหน้าของเด็ก ๆ นั่นถือว่าโดดเด่น ยิ่งกว่า นั้น การได้เห็นรอยยิ้มบนใบหน้าของคนที่ผ่านการผ่าตัดศัลยกรรมใบหน้า จากโรคร้าย นี่แหละที่โดดเด่น โครงการ GLOBAL GRANT เกือบ 10 โครงการ ล้วนช่วยปรับปรุงคุณภาพชีวิตของคนที่นี่ให้ดีขึ้น ความสุขที่พวก เขาได้รับคือความสุขของพวกเรา แต่มีอยู่วันหนึ่งที่มีความพิเศษที่ถือว่าเป็น ความโดดเด่นอย่างยิ่งก็คือ วันที่ผมได้รับเหรียญ PHF จากสโมสรเบนดิโก ซึ่งเป็นคู่มิตรของเรา ผมตื่นเต้นเป็นที่สุดและรู้สึกเป็นเกียรติอย่างสูงที่ได้รับ สโมสรโรตารีในกัมพูชาตอนนี้มีอยู่แค่ 7 สโมสร ในประเทศที่มีประชากร

24 มีนาคม-เมษายน 2561

16 ล้านคน ต้องไม่ลืมว่าการพัฒนาประเทศของกัมพูชานั้นพบกับภาวะ ถดถอยอย่างมากในช่วงทศวรรษที่ 70 กลุ่มปัญญาชนถูกก�ำจัดเกือบหมด ประเทศนี้ต้องใช้เวลาอีกช่วงอายุคน เพื่อพลิกฟื้นดังเดิม การให้บริการ ชุมชนนั้นยังเป็นเรื่องใหม่ส�ำหรับประชาชนนับล้าน ๆ คนที่นี่ พวกเขาคุ้น เคยกับการรับความช่วยเหลือจากองค์กรนอกภาครัฐ (เอ็นจีโอ) หรือองค์กร คล้าย ๆ กันนี้ หัวใจของผมพองโตเมื่อรับรู้ว่าเด็กรุ่นใหม่ก็เข้าใจภารกิจของ เราดี ผมปลื้มใจมากที่มีสโมสรโรทาแรคท์และอินเทอร์แรคท์ถึง 3 แห่งก่อ ตั้งขึ้นมาเพื่อร่วมพัฒนาชุมชน รทร.พุดทะวัน ดวงพิลา เลขานุการ สร.เวียงจันทน์ สปป.ลาว ได้มาอบรมแทนนายกรับเลือกที่ขอนแก่นครั้งนี้ ท�ำให้รู้ และเข้าใจโรตารีมากขึ้น ว่าท�ำงานโรตารีต้องมีระบบ มี กฎระเบียบที่เคร่งครัดขึ้น หลังจากได้อบรมแล้ว กลับ ไปจะอธิบายให้ประธาน (นายกสโมสร) ว่าที่ได้อบรม มามีอะไรบ้าง มันมี 5 SESSION เราจะท�ำกันไหม ต้องมีการปฏิบัติแม้ว่าไม่ถึง 100 เปอร์เซ็นต์ มีการตั้งต�ำแหน่ง กฎระเบียบ ต่างๆ มี FUND RAISING มีการเขียนโครงการซึ่งทางพม่า กัมพูชา เขาไป ไกล เขาท�ำได้ แต่มองที่เรา เรายังแค่รองรับโครงการจากต่างประเทศ ทั้งๆ ที่สโมสรโรตารีเวียงจันทน์ตั้งมาตั้งแต่ปี 2006 จะสามารถท�ำเองได้มั้ย สมาชิกใหม่หลายคนเพิ่งเข้าไม่ถึงปี ผมก็ปีที่ 2 ยังไม่มีความมั่นใจ การต้อนรับและมิตรภาพในการอบรมครั้งนี้ (ที่ขอนแก่น) ถือว่า มีการต้อนรับอย่างดี มีการแนะน�ำตัวและรู้จักเรามากขึ้น ที่ผ่านมาทางลาว ก็ไม่ค่อยมาร่วม เขามีแผนจะไปลาว เขาก็จะมาพัวพัน แลกนามบัตร โอ้โลมว่าลาวเป็นอย่างไร มาที่นี่มีความรู้สึกเหมือนตอนเป็นนักเรียน อยากให้รู้สภาพของลาวว่าเป็นอย่างไร คือไทยนี่ไปไกลมากแล้ว กัมพูชาก็มีสมาชิกที่มีเชื้อสายกัมพูชาและเชื้อสายจีน ท�ำให้รู้ว่าเขาด�ำเนิน งานโรตารีกันอย่างไร อยากให้มีการแชร์กันในอนาคต สามารถติดต่อถาม กันได้ สามารถแก้ไขปัญหาได้ไม่เฉพาะแต่ในประเทศ นอกประเทศเขาไป ถึงไหนกันแล้ว ถ้าเรารู้ เราก็จะมี INSPIRATION มีความกระตือรือร้น มี PASSION อยากก้าวไป อย่างย่างกุ้งที่เมียนมาร์เนี่ย เขามี 2 สโมสรแล้ว เขามาถึงจุดนี้ได้ แต่ลาวเราไม่ขยายตัวก็สามารถเปรียบเทียบกันได้ ส�ำหรับอนาคตของสโมสรโรตารีในลาว เราจะเป็นตัวประสานให้แก่ สโมสรที่อยากมาพัฒนาลาว สมาชิกเรายังไม่ค่อยซึมซับโรตารี แค่อยาก ช่วยสังคม เวลามีกิจกรรมก็จะมาร่วมช่วยกันก็ถือว่าเขาเป็นโรแทเรียน แต่ ค�ำว่าโรแทเรียนเขาต้องท�ำอะไร ก็ยังไม่แน่ชัด ส่วนใหญ่เป็นสมาชิกใหม่ คง อีกหลายปีกว่าที่จะยืนด้วยขาตัวเองได้ และรัฐบาลก็ยังไม่รับรู้การเป็น สโมสรของเรา ประธาน (นายก) สโมสรคนปัจจุบันก็มีการคุยกันกับทาง สายพรรคของประเทศลาว ก็ยังไม่ออกผล ยังมีข้อยุ่งยากอยู่ ผมก็พยายาม ดึงท่านทูตญี่ปุ่นประจ�ำประเทศลาว เขาก็ให้ความสนใจมาร่วมประชุม และ มีทาง JETRO สภาเศรษฐกิจของญี่ปุ่น เมื่อเขารู้ว่าโรตารีเป็นอย่างไรเขาก็ ให้ความสนใจอยากมาเป็น MEMBER อนาคตจะมีสมาชิกหลายขึ้น สโมสร ก็จะเริ่มเข้มแข็งขึ้น


Our Districts

สารบัญ Contents Our Multi PETS Our Voice Our District 3330 Our District 3340 Our District 3350 Our District 3360 Our Centre

หน้า 26-27 หน้า 28-29 หน้า 30-32 หน้า 33-35 หน้า 36-38 หน้า 39-41 หน้า 42-44

กองบรรณาธิการ บรรณาธิการบริหาร อน.วาณิช โยธาวุธ

บรรณาธิการผู้ช่วย

(สร.แม่สาย 3360)

อผภ.สมภพ ธีระสานต์ (สร.กาญจนบุรี 3330) นย.ชัยวัฒน์ เจริญวัทธน์ (สร.อี-คลับภาค 3340) อน.ทนงศักดิ์ วิบูลย์มา (สร.สาทร 3350) นย.นพ.ณัฏฐธนิน เศรษฐวนิชย์ (สร.แพร่ 3360)


2018-19 Multi PETS @ Khon Kaen เมือ่ ผมทราบว่าจะต้องเป็นประธานจัดงานอบรมสัมมนานายก รับเลือกร่วมสี่ภาค ความกังวลก็เกิดขึ้น เพราะงานนี้เป็นงานระดับ ประเทศที่โรแทเรียนทั่วประเทศไทยจะมาร่วมงาน ตลอดเวลาที่ผ่าน มากว่า 10 ปี ผมได้เป็นวิทยากร เข้าร่วมงานนีโ้ ดยดลอด ผมรูส้ กึ ประทับ ใจในการจัดงานในปี 2559-60 ที่เชียงใหม่ ซึ่งท่าน อผภ.อนุรักษ์ นภา วรรณ เป็นประธานจัดงาน ซึ่งมีความงดงามและน่าประทับใจในแบบ ของชาวล้านนาเป็นอย่างมาก และก็เหมือนดัง “บุพเพสันนิวาส” ผมได้มีโอกาสพบท่าน อผภ.อนุรักษ์ ในงานของภาค 3340 ที่จันทบุรี โดยไม่ได้นัดหมาย และ ด้วยความกรุณาของท่าน ผู้ได้ให้ข้อมูลการจัดงานของเชียงใหม่อย่าง ละเอียดทุกขั้นตอน และได้น�ำมาเป็นแม่แบบในการเตรียมงานของเรา ความรู้สึกส่วนตัวที่เคยร่วมงานนี้มาเป็นระยะเวลานาน ผม รู้สึกว่า จริงๆ แล้ว งานนี้น่าจะเป็นงานฉลองของ “นายกรับเลือก” โดย เฉพาะงานภาคกลางคืนหนึง่ คืน ซึง่ เราเรียกว่าเป็นงานราตรี ควรทีจ่ ะให้ ท่านนายกรับเลือกมีส่วนร่วมในงานมากที่สุด แต่ที่ผ่านมามักไม่ใช่ จากการปรึกษาหารือกับผูใ้ หญ่หลายท่าน รวมทัง้ ท่านผูว้ า่ การ ภาครับเลือกทั้งสี่ภาค ก็ได้มีความเห็นร่วมกันว่า เราจะจัดงานเพื่อให้ “นายกรับเลือก” ทุกคนมีสว่ นร่วมให้มากทีส่ ดุ ให้มคี วามสนุกสนาน ให้ มากที่สุด แต่ก็ยังเน้นการอบรมอันเข้มข้น รวมทั้งที่พักซึ่งจะให้พักร่วม กันที่โรงแรมพูลแมนทั้งหมด โดยวิทยากรได้เสียสละที่จะพักที่โรงแรม

26 มีนาคม-เมษายน 2561

โฆษะ ซึ่งก็ห่างจากที่จัดงานไม่ไกลนัก เมื่อได้โจทย์มาดังนี้ ผมนึกถึง “งานสงกรานต์ ถนนข้าว เหนียว” ซึ่งเป็นงานใหญ่ประจ�ำปีของเราชาวขอนแก่นขึ้นมาทันที ซึ่ง ในงานนี้ เราจะมีการเล่น “เวฟมนุษย์” และ “ร�ำวงย้อนยุค” ซึ่งมีความ สนุกสนานมาก และผู้ที่เป็นต�ำนานในการสร้างเทศกาลนี้จนโด่งดังคือ ท่านนายกเทศมนตรีนครขอนแก่น ท่าน ธีรศักดิ์ ฑีฆายุพนั ธ์ ซึง่ เป็นอดีต นายกสโมสรโรตารีแก่นคูน เมือ่ ผมน�ำเรือ่ งไปปรึกษาท่าน พร้อมทัง้ เรียน เชิญให้ทา่ นมาเป็นผูน้ ำ� ในการเล่น “เวฟมนุษย์” ท่านก็รบั ปากด้วยความ ยินดียิ่ง และก็ไม่ท�ำให้พวกเราผิดหวัง การจัดงานใหญ่เช่นนี้ มีความละเอียดอ่อนและรายละเอียด มาก ซึ่งเราพยายามดูแลในทุกขั้นตอน มีการปรับปรุง เปลี่ยนแปลง หลายครัง้ เพือ่ ให้ได้สงิ่ ทีด่ ที สี่ ดุ ส�ำหรับชาวโรแทเรียนทีจ่ ะมาเยีย่ มเยียน เราตั้ง “ธีม” ของงานว่า “ศรัทธา” เพื่อเน้นการสร้างศรัทธาให้เกิดกับ โรตารี และเราโชคดีมากที่ได้รับ “น�้ำใจ” และการสนับสนุนอย่างดียิ่ง จากทุกภาคส่วนในจังหวัดขอนแก่น - กระเป๋าเอกสาร นอกจากแบบที่แก้ไขกันหลายครั้งแล้ว ใน กระเป๋ายังได้รบั การสนับสนุนจาก อผช.นิวฒ ั น์ชยั วินยั แพทย์ จัดเครือ่ ง เขียน รวมทัง้ ป้ายชือ่ ผูเ้ ข้าอบรมฯ และยังมีของกิน ของฝากจากขอนแก่น โดยท่าน อผช.อาภรณ์ ลิ้มธีระกุล - แบบเวที ป้ายต้อนรับ ป้ายชื่อ และเอกสารทุกอย่าง ได้รับ การออกแบบอย่างไม่เห็นแก่เหน็ดเหนื่อย และปราณีต โดย ว่าที่ รทร. จีรศักดิ์ ศิลาหอม


Our Multi PETS

โดย อผภ.สมชาย เจียรนัยพานิชย์ ประธานจัดงาน 2018-19 Multidistrict PETS - SAA เป็นหน้าที่อีกอย่างหนึ่ง ซึ่งต้องการความเสียสละเป็น อย่างสูง ซึ่งได้รับความร่วมมือจากสโมสรโรตารีมิตรภาพ-ขอนแก่น ทั้ง สโมสร โดยการน�ำของ อผช.จารุณี คูเจริญ และได้รับความกรุณาจาก ท่าน ผวล.ทนงศักดิ์ พงษ์ศรี จากภาค 3350 มาท�ำการอบรมให้ - ในด้านวิชาการ เราได้ท่าน DRFC วิชัย มณีวัชรเกียรติ และ อผภ.รัฐประทีป กีรติอุไร ได้จัดโปรแกรมให้อย่างดี -การร้องเพลง “โรตารีสมั พันธ์” ในพิธเี ปิดได้รบั การสนับสนุน จากโรงเรียนฮั้วเคี้ยววิทยาลัย ส่งนักร้องประสานเสียงอนุบาลและวง ดุริยางค์ รวมทั้งสิ้น 120 ชีวิตมาช่วยงาน เด็กๆ เหล่านี้ใช้เวลาฝึกฝน เป็นแรมเดือนเพื่องานนี้โดยเฉพาะ - ที่น่าปลื้มใจมากคือ การจัดการท่องเที่ยวส�ำหรับผู้ติดตาม ท่าน อน.สิริพร สงบธรรม ซึ่งเป็นภริยาของท่านผู้ว่าราชการจังหวัด ขอนแก่น ได้ให้เกียรติมาเป็นผูจ้ ดั โปรแกรมและน�ำคณะทัวร์ดว้ ยตนเอง - การตบแต่งสถานที่ ได้รับการสนับสนุนประติมากรรม “สินไซ” และ “สีโห”ของภาคอีสาน ซึง่ มีความสวยงามมาก น�ำมาแสดง ในงาน โดยท่าน รทร.อดิเรก และ อน.เจนจิรา หงส์พูนพิพัฒน์ - เพื่อให้เข้ากับบรรยากาศ “งานวัด” ตลาดงานวัด หน้างาน ได้รับการออกแบบโดยคณะครูและนักเรียน โรงเรียนอาชีวะขอนแก่น และชาวตลาดต้นตาลน�ำอาหารและเครื่องดื่มย้อนยุคมาให้บริการถึงที่ - วงดนตรีที่เล่นในงาน “ราตรีนายกรับเลือก” ไม่ใช่วงดนตรี อาชีพ แต่มาจากวงดนตรีของชุมชนในจังหวัดขอนแก่น - การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ส�ำนักงานจังหวัดขอนแก่น

ให้การสนับสนุนค่าอาหารบางส่วนในงาน “ราตรีนายกรับเลือก” - อีกผู้หนี่งซี่งมีความส�ำคัญยิ่งต่อการจัดงาน คือผู้ควบคุมสคริปต์ ของงานผ่านจอภาพ จัดขัน้ ตอนการน�ำเสนอ ของผูน้ ำ� ภาค และวิทยากร ต่างๆ ให้ไหลลืน่ ก็ได้ ท่าน อน.ศุภณัฏฐ์ จรัสจิรภัทร์ มาช่วย ซึง่ ท่านต้อง ท�ำงานจนดึกดื่น และตื่นมาเตรียมงานแต่เช้าทุกวัน เพื่อให้การอบรมมี ความราบรื่น - ในสโมสรโรตารีแก่นคูนของผมเอง ก็มีความตื่นตัวมาก ทุก คนออกมาช่วยกันในทุกสิ่งที่ช่วยได้ ท่านอดีตนายกที่อายุกว่า 80 ปี ยัง กรุณาน�ำรถมาบริการรับส่งชาวโรแทเรียนที่มาร่วมงาน อย่างไม่เห็นแก่ เหน็ดเหนื่อย ผมรอวันงานอย่างใจจดจ่อ ระคนกังวล กลัวงานจะออกมาไม่ ดี แต่ตลอดสามวันของการจัดงาน เราได้พบกับมิตรภาพ ความมีน�้ำใจ ความร่วมมือร่วมใจ ในมวลมิตรโรแทเรียน ภาควิชาการที่เข้มข้น ครั้ง แรกของการเล่น “เวฟมนุษย์ โรตารี” รอยยิ้มของทุกคนในสวนสนุก งานวัด ความสนุกสนานในการร�ำวงย้อนยุคในงาน “ราตรีนายกรับ เลือก” และสุดท้ายความอาลัย ในวันสุดท้ายเมื่อพวกเราต้องแยกย้าย กันไป เหล่านี้จะถูกจดจ�ำไว้ตลอดไป มีคนกล่าวว่า “ความสุขเป็นสิ่งประหลาด ถึงแม้ท่านจะแบ่ง ปันให้แก่ผอู้ นื่ ก็หาได้หมดลงไม่ แต่กลับยิง่ ให้กย็ งิ่ มีความสุขมากยิง่ ขึน้ ” วันนี้ผมมีความสุขมากขึ้นจริงๆ


สัมภาษณ์ อผภ.วิชัย มณีวัชรเกียรติ ประธานผู้ฝึกอบรม งาน 2018-19 Multidistrict PETS

1. เป้าหมายของการอบรม การสัมมนาอบรมนายกรับเลือกร่วม 4 ภาคในครั้งนี้ เรามีความ ตั้งใจให้นายกรับเลือกที่เข้าสัมมนาได้รับความรู้ ที่สามารถน�ำไปปฏิบัติ ได้ มิใช่การบริหารสโมสรที่เน้นแต่มิตรภาพอย่างเดียว ผมเชื่อว่า ในอดีต โรตารีมีแนวทางให้สมาชิกรู้จักกัน มีมิตรภาพต่อกัน และสร้างเครือข่าย ภายในชุมชน แต่วันนี้โรตารีสนับสนุนให้สโมสรมุ่งเน้นการสร้างการมี ส่วนร่วมและเพิ่มพูนการบ�ำเพ็ญประโยชน์ เพื่อสร้างผลกระทบในชุมชน โดยได้รับการสนับสนุนจากมูลนิธิโรตารีเพราะการบ�ำเพ็ญประโยชน์ของ โรตารีที่สนับสนุนโดยมูลนิธิโรตารีได้เปลี่ยนแปลงชีวิตครอบครัวและชุมชน ระหว่างประเทศในโลก 2. การเปลี่ยนแปลงจากปีที่ผ่านมา 2.1 นอกจากเนื้อหาที่มีการผสมผสานในการท�ำงานตามแผน กลยุทธ์ของโรตารีว่า แผนกลยุทธ์ทั้ง 3 เรื่องที่ประกอบไปด้วย การท�ำให้ สโมสรเข้มแข็ง การเน้นการท�ำโครงการบ�ำเพ็ญประโยชน์ที่ตรงตามความ ต้องการ และภาพลักษณ์สาธารณะต้องไปด้วยกันเพราะเป็นเรื่องที่ส่งเสริม ซึ่งกันและกัน การบรรยายในห้องประชุมใหญ่ ในด้านสมาชิกภาพ ให้เน้น การกระตุ้นและจูงใจ ในด้านโครงการฯ ให้เน้นวิธีการท�ำที่ถูกต้องและ ความเข้าใจในการท�ำโครงการ ในด้านภาพลักษณ์สาธารณะ ให้เน้นการใช้ สัญลักษณ์ที่ถูกต้องรวมถึงแหล่งที่มาและตัวอย่างในห้องย่อย เน้นการแลก เปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อสามารถน�ำไปในการปฏิบัติ 2.2 ในด้านงานบันเทิง เน้นสนุกสนาน และขอให้เป็นค�่ำคืนของ นายกรับเลือกจริงๆ 2.3 การเตรียมตัวของผู้น�ำการอบรมทุกท่าน เรามีการสัมมนา การเตรียมตัวของผู้น�ำการอบรมทุกท่านที่จะท�ำหน้าที่ โดยเน้นการสาธิต และแนะน�ำโดยผู้ที่ผ่านการท�ำหน้าที่ผู้น�ำการอบรมของโรตารีสากลมาแล้ว นอกจากนั้นก่อนปฏิบัติจริง เรายังมีการพบปะและพูดคุยกัน รวมถึงการ สาธิตของผู้น�ำการอบรมที่เตรียมตัวมาแล้วอย่างดี 2.4 เป็นปีแรกที่ฝ่ายจัดงานได้ตั้งค�ำขวัญของงานว่า “ศรัทธา” ดังนั้น การเตรียมงานในภาพรวม จึงมุ่งเน้นออกมาเพื่อให้ตรงกับค�ำขวัญ ของงาน 3. ความคาดหวัง แน่นอน จากที่กล่าวในทั้งหมดเราหวังให้นายกรับเลือกทุกท่าน ที่เข้าสัมมนา สามารถกลับไปท�ำหน้าที่ของตนเองให้ดีที่สุดเท่าที่สามารถจะ ท�ำได้ เพื่อพัฒนาองค์กรโรตารีในประเทศไทยเดินไปข้างหน้า 4. ผลที่ได้รับ สิ่งที่ท�ำมาตลอดทั้งตั้งแต่การเตรียมตัว เตรียมงาน และจัดงาน จนเสร็จสิ้น วันนี้ทุกท่านที่อยู่ในงานได้รับทุกสิ่งตามที่ทีมงานตั้งใจและ มุ่งมั่น ซึ่งผมเชื่อว่า การจัดงานครั้งนี้ในภาพรวมแล้วถือว่าเป็นงานที่ประสบ ความส�ำเร็จอย่างมากงานหนึ่ง ส่วนผลที่จะได้รับคงต้องเป็นหน้าที่ของ นายกรับเลือกทุกท่าน ว่าท่านได้เข้ามาอยู่ในการประชุมครั้งนี้เพื่อการเรียน รู้ ท�ำความเข้าใจแล้ว ถ้าจะน�ำไปปฏิบัติหรือไม่ ดังนั้นผลที่จะได้รับ 4.1 ไม่น�ำไปปฏิบัติเลย 4.2 น�ำไปปฏิบัติบ้าง 4.3 น�ำไปปฏิบัติและพัฒนาต่อเมื่อประสบปัญหา นายกรับเลือกทุกท่าน ต้องเลือกเอาเองครับ

28 มีนาคม-เมษายน 2561

สัมภาษณ์ผู้น�ำวิทยากรแต่ละภาค อผภ.สมภพ ธีระสานต์ ภาค 3330

ในเรื่องของบรรยากาศในการอบรม ปีนี้ต่างจากปีที่แล้วเพราะผมเป็นผู้น�ำการ ฝึกอบรมใน Session แรก ปรากฏว่านายก รับเลือกมีความพลิกโผมาก สามารถที่จะ ตอบ แอคทีฟตอบโต้ได้ดีและเร็วขึ้น ซึ่ง ผิดกับปีก่อนๆ คือปีก่อน Session แรก ยังต้องปรับตัว ยังไม่เข้าใจ ก็เป็นเรื่องที่ดี เพราะฉะนั้นหมายความสะท้อนให้เห็นถึงเรื่อง 2 เรื่องคือเรื่องที่ 1.ตัว นายกรับเลือกปีนคี้ อ่ นข้างแอคทีฟ หรือไม่ก็ 2.ภาคต่างๆ ได้ทำ� การบ้าน มาดี ได้มีการจัด Pre-PETS เป็นอย่างดีท�ำให้นายกรับเลือกเริ่มเข้าใจ แล้วว่าการมาฟังการบรรยายอบรมครั้งนี้จะต้องท�ำอย่างไง เตรียมตัว อย่างไร ซึ่งตรงนี้ถือเป็นเรื่องที่เปลี่ยนแปลง ส่วนเป้าหมายการอบรมครั้งนี้ก็เหมือนกับปีที่แล้ว แต่เรา เน้นว่ากลับไปเราก็อยากให้กลับไปปฏิบัติได้ ส่วนตัวแปรที่ส�ำคัญที่สุด คือต้องฟังแล้วเอากลับไปใช้ได้จริงๆ ส่วนเนือ้ หาปีนเี้ ราแทบไม่มอี ะไรที่ เป็นที่เลคเชอร์ให้ความรู้เลย มีแต่เพียงค�ำถามแล้วก็ให้เขาตอบ ให้เขา เรียนรู้กันเองจากประสบการณ์ โดยเน้นให้เขาว่าจากการเรียนรู้ครั้งนี้ น�ำไปประยุกต์และปรับใช้ให้เหมาะสมกับสโมสร อผภ.วิวัฒน์ พิพัฒน์ไชยศิริ ภาค 3340 ปีนี้ได้รับมอบหมายให้เป็นประธาน ผู้ฝึกอบรมของภาค ก็มีความตั้งใจที่จะ ด�ำเนินการให้ออกมาดี และเป็นประโยชน์ ทีส่ ดุ ส�ำหรับภาคเรา ได้ให้นายกรับเลือกปี 2018-19 รับทราบแนวนโยบายหลักของ โรตารีสากลและน�ำไปใช้บริหารสโมสร ให้สโมสรมีความเข้มแข็ง มีคุณภาพและ สมาชิกมีความคึกคักมากขึ้น จากบรรยากาศที่ได้เข้าไปสังเกตุดูก็รู้สึก ดี วิทยากรแต่ละท่านมีการ เตรียมตัวมาอย่างดี ทุกคนมีความมุ่งมั่น มากในการมาอบรมครัง้ นี้ อาจจะเกีย่ วเนือ่ งตัง้ แต่สถานทีป่ ระชุม เจ้า ภาพอยากจะให้ทุกคนได้ในสิ่งที่ดีที่สุด โดยเฉพาะครั้งนี้อยากจะให้ นายกรับเลือกมาพักที่โรงแรมพูลแมน ซึ่งเป็นโรงแรมระดับห้าดาวชั้น หนึ่งของจังหวัดขอนแก่น ก็มีส่วนช่วยให้ผู้คนมีความตั้งใจ อีกทั้งกับ งานที่ผ่านมาตั้งแต่เริ่มต้นก็สร้างความประทับใจให้กับผู้เข้าร่วมการ อบรมที่มีมากกว่า 600 กว่าคน ซึ่งปีนี้เป็นการประชุมนายกรับเลือก ทั้ง 4 ภาคและวิทยากรทุกภาคที่ส่งเข้ามาก็เป็นมือเอกหรือกระบี่มือ หนึง่ ของแต่ละภาค ก็แสดงความสามารถอย่างเต็มที่ ขณะเดียวกันท่าน พิชัย รัตตกุล อดีตประธานโรตารีสากลก็ได้เข้ามาสังเกตุการณ์หลาย ห้องท�ำให้วทิ ยากรแต่ละท่านยิง่ ต้องแสดงศักยภาพกันอย่างเต็มที่ และ ก็เชือ่ มัน่ ว่านายกรับเลือกแต่ละท่านทีเ่ ข้ามารับการอบรมครัง้ นีจ้ ะได้รบั อะไรดีๆ ไปอีกมาก และก็จะท�ำให้ภาคแต่ละภาคสามารถที่จะน�ำไปใช้ ในเกิดผลงานตามเป้าหมายที่ตั้งไว้


บทความโดย กองบรรณาธิการ

Our Voice

Multidistrict PETS

นยล.ไชญา ด�ำครุฑ สร.ทองผาภูมิ การอบรม MultiPETS ปีนี้ เราบอกว่าเรา การจัดงานประชุมครั้งนี้รู้สึกดีใจที่ได้มามีส่วนร่วม ทั้ง เตรียมความพร้อมนายกรับเลือกมาก่อนหน้านี้ เรื่องสถานที่ ห้องพัก จัดได้ดี ส่วนบรรยากาศในห้อง เพราะฉะนัน้ วัตถุประสงค์หลักๆ โอกาสเดียวของ อบรมก็ได้ความรูเ้ พิม่ ขึน้ และยังได้รจู้ กั เพือ่ นใหม่อกี ด้วย การที่นายกรับเลือกทั้ง 4 ภาคจะมารู้จักกัน หรือ ว่าอดีตผูว้ า่ การภาคแต่ละภาคจะมาเจอกัน วาระ นี้เป็นวาระเดียวที่จะได้เจอ แล้วความส�ำคัญอัน นยล.พลพิพัฒน์ เอสุจินต์ นี้ก็จะต่อยอด เวลาที่จะไปจัดการเรื่องของการ สร.เถินดาวน์ทาวน์ บริหารโครงการก็ตาม หรือเรื่องมิตรภาพระหว่างภาคมันก็ง่ายขึ้นเพราะ ประทับใจในการท�ำงานของภาคที่ช่วยเตรียมงานเพื่อ มันเป็นจุดเริ่มต้นที่จะสร้างความสัมพันธ์ ถามว่าวิชาความรู้ผมว่าทุกๆ ภาค การอบรมนายกอย่างเต็มทีด่ ี หัวข้อการอบรมก็นา่ สนใจ เตรียมตัวมาอย่างดี แต่ละภาคท�ำ Pre- PETS มาอย่างดี การถามตอบท�ำได้ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของการเพิ่มสมาชิก เรื่องการบ�ำเพ็ญ อย่างคล่องแคล่ว ก็ตกใจว่าปีนที้ ำ� ได้ดี มันเป็นนิมติ รทีด่ ี เป็นการกระตุน้ แต่ละ ประโยชน์ต่างๆ ตรงนี้ก็ได้รับความรู้มากขึ้น ซึ่งก็จะได้ ภาคเป็น Ides Exchange เป็นการ Take Action และก็ Fellow Ship ผม น�ำความรู้ที่ได้ไปใช้ในสโมสรของเราและแบ่งปันกับ เห็นว่าประโยชน์ของการอบรม MultiPETS เป็นเรื่องของการส่งเสริมมิตร ภาพหรือร่วมมือกันในอนาคต โรตารีในประเทศไทยควรจะเป็นหนึ่งเดียวใน เพื่อนมนุษย์ทุกคนต่อไป เรือ่ งการท�ำอะไรทัง้ หลายขอให้มแี นวความคิดทีค่ ล้ายกันอันนีก้ จ็ ะเป็นความ นยล.สุพัตรา กะการดี ยั่งยืน และมีความยินดีที่ได้มีโอกาสมีส่วนร่วมในการท�ำงานครั้งนี้ สร.ครบุรี โคราช เนื่องจากเราได้รับเลือกให้เป็นนายกปี 2518-19 การ อผภ.อนุรักษ์ นภาวรรณ ภาค 3360 มาร่วมประชุมครัง้ นีก้ ค็ าดหวังว่าจะได้รบั ความรูใ้ นเรือ่ ง อยากให้นายกรับเลือกมาอบรมทุกคน ถือ การบริหารจัดการองค์กรเพือ่ จะได้นำ� ไปใช้ วิทยากรทีม่ า เป็นความรับผิดชอบและความมุง่ มัน่ ทีจ่ ะท�ำงาน อบรมแต่ละท่านก็มีความรู้มาก ซึ่งท่านก็ได้มอบให้เรา ให้ดที สี่ ดุ ครัง้ หนึง่ ทีไ่ ด้รบั เกียรติให้เป็นผูน้ ำ� สโมสร อย่างเต็มที่ จากสิ่งที่ไม่เคยรู้ก็ได้มารู้ในวันนี้ เมื่อได้มาอบรมแล้วก็จะได้ความรู้ใหม่ๆ แม่นย�ำ ขึน้ ได้แลกเปลีย่ นประสบการณ์วธิ กี ารทีไ่ ม่มเี ขียน นยล.พิมพ์วลัย ฉัตรกุล ณ อยุธยา ไว้ในคูม่ อื ได้เห็นตัวอย่างทีด่ ี ท�ำให้เกิดแรงบันดาล สร.ปากเกร็ด นนทบุรี ใจ และได้เพือ่ นใหม่ๆ ซึง่ ไม่วา่ ปีไหนๆ ก็ไม่เหมือน รู้สึกประทับเจ้าภาพจัดงานที่ได้อย่างน่าประทับใจ เดิม เราเป็นโรแทเรียนที่จะน�ำสโมสร ต้องรู้จริง ท�ำจริง มีความมั่นใจ และมี สามารถจ�ำลองบรรยากาศงานสงกรานต์ งานวัด มาอยูใ่ น ใจรัก ส่วนเป้าหมายของการอบรมครั้งนี้เหมือนเดิม คือสร้างนายกสโมสรที่ งานเลี้ยงได้สุดยอดมากๆ เลยค่ะ ส่วนการมาอบรมครั้งนี้ มีคุณภาพ ที่เข้าใจวิสัยทัศน์ กลยุทธ์ และคุณค่าหลักของโรตารี ก็จะได้นำ� ความรูท้ ไี่ ด้รบั ไปพัฒนาสโมสรให้เข้มแข็งยิง่ ขึน้ นายกรับเลือกส่วนใหญ่มีความตั้งใจดีมาก มีโอกาสแลกเปลี่ยน ความคิดเห็นกัน ส่วนใหญ่บอกว่าได้รับแรงบันดาลใจ หรือได้ชาร์ตแบตเต็ม นยล.บุญชัย เกษมธรรมกิจ ที่นั่นเอง หลายคนเคยมาอบรมแล้วก็บอกว่าได้รับความรู้ใหม่ๆ อีกมากที่จะ สร.กรุงเทพบางขุนเทียน น�ำไปปรับปรุงสโมสร ต้องยกความดีให้เจ้าภาพด้วยทีจ่ ดั งานได้ดี ราบรืน่ และ การมาร่วมอบรมครั้งนี้ได้ความรู้หลายสิ่ง หลายอย่าง สร้างความสนุกสนานและมิตรภาพให้เกิดขึ้น ซึ่งเป็นเรื่องที่ส�ำคัญที่สุดอย่าง มากขึ้น วิทยากรบรรยายให้เราเข้าใจอย่างง่าย และได้ หนึง่ ของการอบรม ดีใจทีก่ ารอบรมครัง้ นีป้ ระสบความส�ำเร็จตามวัตถุประสงค์ เรียนรู้การท�ำงานจากประสบการณ์ของวิทยากรหลาย และเป็นแบบอย่างที่ดีต่อไปครับ ท่าน ท�ำให้เราได้ความรู้มากขึ้นซึ่งก็จะน�ำไปใช้ในการ อน.จารุณี คูเจริญ ด�ำเนินกิจกรรมบ�ำเพ็ญประโยชน์ต่อไป สร.มิตรภาพ-ขอนแก่น ประธาน SAA จากการได้รับมอบหมายให้เป็นประธาน SAA ครั้งนี้ มี ความรูส้ กึ ภาคภูมใิ จทีไ่ ด้ทำ� ตรงนี้ เพราะเรามีความผูกพัน ที่ได้ท�ำงานให้กับโรตารี และงานตรงนี้มีความพร้อม เพรียงกันมากส�ำหรับสโมสรโรตารีมิตรภาพ-ขอนแก่น และได้สร้างแรงศรัทธาให้แก่ชาวโรตารีทุกคน การท�ำงานในครั้งนี้ถึงจะมี อุปสรรคบ้างเล็กน้อย แต่ผู้ร่วมงานส่วนใหญ่น่ารักและพร้อมเพรียงกันดี

อผภ.ประวิทย์ โรจน์ขจรนภาลัย ภาค 3350


งานประชุมใหญ่ประจ�ำปีของภาค 3330 6-8 เมษายน 2561 ณ โรงแรมบรรจงบุรี จ.สุราษฎร์ธานี จัดโดย 4 สโมสร ในจังหวัดสุราษฎร์ธานี คือ สโมสรโรตารีสรุ าษฎร์ธานี สโมสรโรตารีศรีตาปี สโมสรโรตารีเพชรตาปีและสโมสรโรตารีบา้ นนาสาร น�ำโดยประธานจัดงาน อน.วัลยา ยอดดนตรี งานสวยงามตั้งแต่ Award Night บนพรมแดง งานประชุมใหญ่ และงานราตรีผู้ว่าการภาคไท้ยไทย สนุกสนานได้เนื้อหาสาระ และมีมิตรภาพมาก

30 มีนาคม-เมษายน 2561


โดย อผภ.สมภพ ธีระสานต์ สร.กาญจนบุรี

Activities D.3330


D.3330

บุพเพสันนิวาส : ความสัมพันธ์ระหว่าง สโมสรโรตารีกาญจนบุรี และสโมสรโรตารี อือ จอง บู อน.สัณฑพงค์ เทพวงค์ สร.กาญจนบุรี หากเมื่อหมื่นสุนทรเทวามาพบแม่การะเกด ด้วยเหตุเพราะ เป็นบุพเพสันนิวาส ดังบทละครทีก่ ำ� ลังกระหึม่ ในทุกช่องทางการสือ่ สาร ในขณะนีน้ นั้ บทความต่อไปนีก้ ค็ งพอเล่าเรือ่ งราวเสมือนในความสัมพันธ์ ระหว่างคู่มิตรต่างสโมสรของสโมสรโรตารีกาญจนบุรี ภาค 3330 ประเทศไทยและสโมสรโรตารี อือ จอง บู ภาค 3690 ประเทศเกาหลีใต้ ที่ด�ำเนินความสัมพันธ์มายาวนานกว่า 22 ปี ได้ ในเพลาเดียวกัน ย้อนเรื่องเล่าท้าวความในปี 2539 สโมสรโรตารีกาญจนบุรี ด้วยการน�ำของ นย.สรรเพชญ ศลิษฏ์อรรถกร ในวัยอายุ 30 ขวบปี เศษ นับว่าเป็นนายกคนหนุ่มรุ่น YOUNG ที่สุดของสโมสร (ในสมัย นั้น) ได้ สร้างมิติใหม่เรื่องมิตรภาพ ด้วยการจดคู่มิตรระหว่างสโมสร โรตารี อือจองบู และสโมสรโรตารีกาญจนบุรี การด�ำเนินกิจกรรมคู่ มิตรของทั้งสองสโมสร นอกเหนือจากการมีมิตรภาพที่ดีระหว่างกัน นั้น ยังมีโอกาส ในการร่วมกันบ�ำเพ็ญประโยชน์ในหลายๆ ด้าน อาทิ โครงการรองเท้าเพื่อน้องฯ โครงการน�้ำดื่มสะอาด ซึ่งใช้เงินจากการท�ำ Matching Grant ในสมัยนั้น และ Global Grant ในปัจจุบัน นอกจาก นี้ยังมีโอกาสด�ำเนิน โครงการปรับปรุงด้านสุขอนามัยทางโภชนาการ

32 มีนาคม-เมษายน 2561

ด้วยเงินทุน District Grant ของสโมสรโรตารีอือจองบู โดยมี สโมสรโรตารีกาญจนบุรีเป็น Host Club และเมื่อสองปีที่ผ่านมา สโมสรโรตารี กาญจนบุรีมีโอกาสร่วมโครงการ GPP กับทางสโมสร โรตารีอือจองบู อีกครั้งในโครงการ Dream Bus Café ซึ่งเป็น โครงการสร้าง อาชีพให้กับผู้พิการที่ประเทศเกาหลีใต้ โดยทาง สโมสรโรตารีกาญจนบุรีเป็น International Club และสโมสร โรตารีอือจองบู เป็น Host Club การเป็นสโมสรคู่มิตร โดยเฉพาะ การมีคู่มิตรเป็นสโมสรโรตารี ต่างประเทศระหว่างกัน มิได้หมายเพียง แค่การมีโอกาสบ�ำเพ็ญประโยชน์จากเงินทุนระหว่างกันด้านเดียวเท่านัน้ เพราะค�ำว่า “Service Above Self “ คงยังใช้ได้ในทุกแห่งทุกประเทศ ทั่วโลกที่มีสโมสรโรตารี แต่ที่ส�ำคัญไม่ว่าเราหรือเขาจะเป็น Host Club จะเป็นเงินเขา หรือ เงินเรา ก็เป็นเพียง “บริบทความ” สิง่ ทีเ่ ชือ่ มระหว่าง กันคือมิตรภาพทีผ่ กู พัน ส่งต่อพันธกิจมิตรภาพจากนายกสโมสรรุน่ สูร่ นุ่ ในสองสโมสร นับเนื่องเป็นเรื่องราวที่น่าจดจ�ำยิ่ง การเหย้า-เยือน ไป มาระหว่างกัน “เขารับเรา – เรารับเขา” คงมิใช่ภาระระหว่างกัน แต่ มันคือความผูกพันเสมือนเพื่อนจนกลายเป็นเพื่อนแท้ และเป็นคนใน ครอบครัว บนถนนสายมิตรภาพและการบ�ำเพ็ญประโยชน์ ด้านหนึ่ง อาจจะมองดูเป็นความยาก เรื่องภาษาและการสื่อสาร แต่สุดท้ายการ ลงมือท�ำส�ำคัญที่สุด ทุกปัญหามีหนทางแก้เสมอ ยากที่สุดจึงไม่ได้อยู่ที่ การด�ำเนินการ แต่อยู่ที่การเริ่มต้นต่างหาก แม้นว่าสโมสรประสงค์แค่ด�ำรงสภาพกิจกรรมภายในสโมสร คงไม่แตกต่างจากการอ่านหนังสือ บทเก่าๆ ซ�้ำไปมา ประสบการณ์ใหม่ คือการเพิ่มสิ่งที่น่าสนใจ ลงไปในกิจกรรมของโรตารี สานสัมพันธ์ ต่าง สโมสรและคูม่ ติ รจากต่างแดนอาจจะเป็นเหตุและผลส�ำหรับการจะเริม่ เพื่อโรตารีในวันพรุ่งนี้


โดย นย.ชัยวัฒน์ เจริญวัทธน์ สร.อี-คลับ ภาค 3340

Activities D.3340

การประชุมอบรมเจ้าหน้าทีส 2 โมสร ภาค 3340 (ครงที ั$ ( 27) District Training Assembly (DTA) ปี 2561-2562 (2018-2019) ว ันที& 4-5 พฤษภาคม 2561 ณ โรงแรมโฆษะ (Kosa Hotel) จ ังหว ัดขอนแก่น

สโมสรโรตารี เกียวโตนอร์ทอีสท์ เป็นสโมสรโรตารีในภาค 2650 ใน ประเทศญี่ปุ่น ที่มีความสนิทสนมกับ อผภ.สมชาย เจียรนัยพานิชย์ กับ ทางสโมสรโรตารี แก่นคูน ภาค 3340 ครั้งหนึ่งสมาชิกของสโมสรโรตารี เกียวโต นอร์ทอีสท์ ได้ เดินทางมาท�ำธุรกิจทีป่ ระเทศไทย และได้มโี อกาสรูจ้ กั กับ อผภ.สมชาย เจียรนัยพานิชย์ จึงได้เข้าร่วมประชุมกับสโมสรโรตารีแก่นคูน และ รู้สึกประทับใจ จึงมีร่วมมือการในการท�ำโครงการด้านต่างๆ อาทิ เช่น โครงการด้านการศึกษา โครงการรถดับเพลิงฯ เป็นต้น


D.3340 การประชุมใหญ่ประจ�ำปีของภาค 3340 (District Conference) ครั้งที่ 26 วันที่ 2-4 มีนาคม 2561 ณ โรงแรมเอเชียพัทยา เมืองพัทยา จ.ชลบุรี โดยมีจ�ำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จ�ำนวน 380 ท่าน นายกเมืองพัทยา พล.ต.ต.อนันท์ เจริญชาศรี มอบหมายให้นาย สุรัตน์ เทพฉายโต ผู้อ�ำนวยการกองป้องกันภัยพิบัติ เมืองพัทยา เข้าร่วม การประชุมและกล่าวต้อนรับผูเ้ ข้าร่วมการประชุมในนามของจังหวัดชลบุรี และเมืองพัทยา มีอดีตผู้ว่าการภาค Kim Bo Gon และ โรตารีแอนน์ Cha ภาค 3710 ประเทศเกาหลี เป็นผู้แทนพิเศษประธานโรตารีสากลมาเข้าร่วม การประชุมใหญ่ภาค 3340 ในครั้งนี้ โดยมี อผช.มาเรีย สุวัฑฒนา และ อน.จ�ำรูญฤทธิ์ ข�ำปัญญา สโมสรโรตารีชลบุรี ท�ำหน้าที่เป็นผู้ต้อนรับและ ดูแลผู้แทนพิเศษประธานโรตารีสากล และคู่ครองได้อย่างดียิ่ง ผูว้ า่ การภาค อรอนงค์ ศิรพิ รมนัส ทีไ่ ด้ปฏิหน้าทีต่ า่ งๆ ด้วยความ เข้มแข็ง เสียสละ และอดทน ท�ำให้งานของภาคและสโมสรโรตารีต่างๆ บรรลุเป้าหมายได้อย่างมีคุณภาพ โดยมี ฯพณฯ พิชัย รัตกุล อดีตประธาน โรตารีสากล อดีตกรรมการบริหารโรตารีสากล นรเศรษฐ์ ปัทมานันท์ และ อดีตกรรมการบริหารโรตารีสากล รศ.ดร.เสาวลักษณ์ รัตนวิชช์ ที่ให้ก�ำลัง ใจและให้ค�ำแนะน�ำแก่ภาคและสโมสรด้วยดีเสมอมา พร้อมมอบธงส่งต่อ เจ้าภาพในการจัดงานประชุมใหญ่ภาค 3340 ปีบริหาร 2561-2562 คือ สโมสร โรตารีในจังหวัดอุบลราชธานี ซึ่งจะมีการจัดประชุมในวันที่ 24-25 มีนาคม 2562 ภายในงานเลี้ยงช่วงกลางคืนมีการแสดงของเด็กนักเรียนแลก เปลี่ยน ทั้งเด็กนักเรียนต่างชาติ YE Inbound และน้องๆ Outbound ที่ ก�ำลังจะเดินทางไปแลกเปลีย่ น โดยบรรยากาศภายในงานเต็มไปด้วยความ สนุกสนานและอบอุ่น

34 มีนาคม-เมษายน 2561



Activities D.3350

การประชุมใหญ่ประจ�ำปีของภาค 3350 ประจ�ำปี 2560-2561 วันที่ 10-11 มีนาคม 2561 ณ โรงแรมแอมบาสเดอร์ ซิตี้ จอมเทียน พัทยา จ.ชลบุรี ผชภ.นยก.ทรงวุฒิ ภาคพิธเจริญ ประธานจัดงานประชุมใหญ่ภาคประจ�ำปี ผมได้รับเกียรติจาก ผวภ.มาศรี สกุลหลิว ให้เป็นประธานจัดงาน งานประชุมใหญ่ของภาค ตอนแรกๆ ที่รับงานนี้ก็ยังกังวลอยู่ว่าจะท�ำได้ดี หรือเปล่า แต่พอตัง้ คณะกรรมการท�ำงานขึน้ มาแล้ว จึงรูว้ า่ ทุกคนให้ความ ส�ำคัญกับงานนี้เป็นอย่างมาก กรรมการทุกฝ่ายร่วมแรงร่วมใจกันเสนอ แนวทางการจัดงานให้ดีและสง่างาม การประชุมครั้งนี้ได้รับเกียรติจากผู้แทนโรตารีสากล ทรัสตี Sushil Gupta จากประเทศอินเดีย อดีตกรรมการบริหารโรตารีสากล รศ.ดร. เสาวลักษณ์ รัตนวิชช์ และผู้ว่าการภาค 3 ภาค อดีตผู้ว่าการภาค 3350 อดีตผู้ว่าการภาคต่างภาคต่างประเทศ มาเป็นจ�ำนวนมากปีนี้เป็นปีแห่ง การเปลี่ยนแปลง มุ่งมั่นสร้างสรรค์ของภาค จึงจัดงานให้มีบรรยากาศที่ สนุกและสมาชิกทุกท่านมีส่วนร่วมเป็นจ�ำนวนมาก สมาชิก 780 คนที่มา ร่วมลงทะเบียนใส่เสือ้ เชิต้ สีฟา้ เข้าร่วมงานสวยงามมาก ผมเห็นแล้วยังรูส้ กึ ประทับใจสวยสง่างาม มีการจับรางวัล เข้าห้องประชุมตรงเวลาทุกท่าน เพราะงานนีม้ กี ารแจกทองประทับใจครับ วิทยากรทุกท่านเตรียมข้อมูลมา ดีทำ� ให้การแถลงผลงานของคณะต่างๆในสโมสรได้เนือ้ หาตรงเวลา และยัง มีปาฐกถาพิเศษจาก อาจารย์ทินวัฒน์ มฤคพิทักษ์ ในหัวข้อ “ยิ่งให้ยิ่งได้” ในการจัดงานประชุมใหญ่ภาค 3350 ในครั้งนี้ เรายังมีงานฉลอง ภาคค�่ำสไตล์ “ลุกทุ่งขาเลาะ” โดยมีการแสดงของนักเรียน YE ปีนี้ จัดได้ อลังการมาก การแสดงของโรตารีแอนน์ การแสดงของนักเรียนจ่าทหาร เรือสัตหีบ การแสดงของลุกทุ่งขาเลาะสนุกสนานมากๆ ครับ สมาชิกเข้าร่วมงานภาคค�่ำประมาณ 800 คน ชมว่าสนุก ตื่นตา ตื่นใจมาก ท�ำให้การจัดงานในครั้งนี้ นอกจากเราจะได้รับฟังข้อมูลทาง วิชาการแล้ว เรายังได้มิตรภาพ ได้ความสุขในสโมสรและในภาค 3350 ท้ายนี้ผมหวังว่า มวลมิตรโรแทเรียนและครอบครัวที่ได้เข้าร่วม การประชุมใหญ่ครัง้ นี้ จะได้รบั ความประทับใจและมีความสุขเช่นเดียวกับ ผม ผมต้องขอขอบคุณ ผวภ.มารศรี สกุลหลิว และคณะกรรมการทุกท่าน ศูนย์โรตารี และโรงแรมแอมบาสเดอร์ ซิตี้ จอมเทียน พัทยา ที่ได้ให้ความ สะดวกในการจัดงานครั้งนี้

36 มีนาคม-เมษายน 2561

โดย อน.ทนงศักดิ์ วิบูลย์มา สร.สาทร



D.3350 การอบรมคณะกรรมการสโมสรโรตารี ปี 2561-62 ภาค 3350 (2018-19 District Training Assembly) เป็นงานอบรมภาคบังคับและเป็นทางการที่ใหญ่ที่สุดของ โรตารี ทุกภาค ซึ่งจัดในช่วงก่อนจะเริ่มปีบริหารโรตารี ซึ่งเริ่มตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม ของแต่ละปี เนือ่ งจากเป็นการอบรมคณะกรรมการสโมสรทุกต�ำแหน่งตัง้ แต่ นายกสโมสรเป็นต้นไป เป็นการเตรียมความพร้อมให้คณะกรรมการที่จะ ไปร่วมกันบริหารสโมสรให้มปี ระสิทธิภาพอย่างมีเป้าหมายและสอดคล้อง ถูกต้องตามอุดมการณ์และวัตถุประสงค์ของโรตารี และทีส่ ำ� คัญให้เป็นไป ในทิศทางเดียวกัน ตาม Theme หรืออรรถพจน์ของประธานโรตารีสากล ในแต่ละปี ในโลกปัจจุบันยุค 4.0 สโมสรโรตารีต้องปรับตัวพัฒนาการ บริหารองค์กรบ�ำเพ็ญประโยชน์ของเรา ให้ทันสมัย เพื่อสร้างศรัทธา หาแนวร่วม สร้างแรงบันดาลใจให้กับทั้งโรแทเรียนเอง สมาชิกมุ่งหวัง และผู้ร่วมบ�ำเพ็ญประโยชน์บุคคลภายนอก ซึ่งโยงไปถึงภาพลักษณ์ต่อ สาธารณะด้วย ทั้งหมดนี้เป็นหลักการส�ำคัญที่ท�ำให้โรตารีเป็นองค์กร บ�ำเพ็ญประโยชน์ที่มีอายุยั่งยืนยาวนานที่สุด ในงานภาคกลางคืนจัดให้ เป็นงานสถาปนาผูว้ า่ การภาค ซึง่ เป็นผูน้ ำ� สูงสุดของภาค เป็นการต้อนรับ ให้เกียรติ และแสดงความยินดี ตลอดจนเป็นการร่วมสร้างแรงบันดาลใจ จากผู้น�ำภาคสู่มวลมิตรโรแทเรียน เพื่อให้ร่วมกันบ�ำเพ็ญประโยชน์ต่อไป อย่างยั่งยืน มั่นคง สืบไป

สโมสรคู่มิตรและงานหาทุนของสโมสรโรตารีสาทร ค�่ำวันพฤหัสบดีที่ 22 มีนาคม 2561 สร.สาทร ได้ต้อนรับคู่มิตรจาก ฮ่องกง ไต้หวันและญี่ปุ่น จัดงานหาทุนเพื่อโครงการ Global Grant # 1860958 เป็นโครงการฝึกอาชีพคนตาบอดและหูหนวก โดยจัดงานล่อง เรือ Wonderful Pearl, River city โดยได้รับการสนับสนุนจากสโมสร ต่างๆในภาค 3350 มาร่วมงานและร่วมท�ำบุญกันอย่างคับคั่ง สโมสรคู่มิตรประกอบด้วย 1.Rotary Club of Kingpark Hongkong D.3450 จ�ำนวน 17 ท่าน 2.Rotary Club of Taipei Chung Yuan D.3520 จ�ำนวน 23 ท่าน 3.Rotary Club of Japan Kisiwada South D.2640 จ�ำนวน 3 ท่าน การท�ำบุญในครั้งนี้ทุกท่านได้สร้างกุศลในทันที อย่างน้อยจากความ สุขของนักเรียนจากโรงเรียนเศรษฐเสถียร ซึง่ เป็นผูพ้ กิ ารทางหู ทีไ่ ด้แสดง ร�ำไทยบนเรือ ซึ่งได้รับโอกาสที่ไม่เคยได้รับมาก่อน งานต้อนรับคู่มิตรและงานระดมทุนครั้งนี้อบอุ่น เต็มไปด้วยมิตรภาพ เพือ่ นๆ จากสโมสรคูม่ ติ รทัง้ 3 ประเทศมีความสุขและได้รบั ความประทับ ใจ ทุกคนให้ค�ำมั่นสัญญาว่าจะกลับมาเยือนประเทศไทยอีก

38 มีนาคม-เมษายน 2561


Activities D.3360

โดย นย.นพ.ณัฏฐธนิน เศรษฐวนิชย์ สร.แพร่

สโมสรโรตารีเชียงราย ภาค 3360 และ ภัยแผ่นดินไหว ที่จังหวัดเชียงราย และล่าสุดของปีบริหาร 2560-2561 ได้ สโมสรโรตารี Keelung Southeast ประเทศไต้หวัน ภาค 3490 ร่วมกันบ�ำเพ็ญประโยชน์ Global Grant โครงการ “มอบเครื่องกรองน�้ำดื่ม สะอาด” ให้กับโรงเรียนที่ขาดแคลนน�้ำดื่มสะอาดบริโภค 7 โรงเรียน ในพื้นที่ นย.สุชาติ กิตติรัตน์ สร.เชียงราย ทั้งสองสโมสรเป็นสโมสรคู่มิตรกันฉันท์พี่-น้อง เป็นระยะเวลา จังหวัดเชียงราย นับว่าเป็นโครงการทีม่ ปี ระโยชน์อย่างมากมาย ท�ำให้นกั เรียน ุ ภาพ ยาวนานกว่า 20 ปี และได้ร่วมกันท�ำกิจกรรมบ�ำเพ็ญประโยชน์ และกิจกรรม บุคคลกรของโรงเรียน และประชาชนบริเวณใกล้เคียงได้บริโภคน�ำ้ ทีม่ คี ณ ดี และถู ก หลั ก อนามั ย ท� ำ ให้ ม ค ี ณ ุ ภาพชี ว ต ิ ที ด ่ ข ี น ้ ึ ต่างๆ ร่วมกันตลอดมา อาทิเช่น การบ�ำเพ็ญประโยชน์ช่วยเหลือผู้ประสบ


D.3360 นย.นพ.ณัฏฐธนิน เศรษฐวนิชย์ สร.แพร่ จบไปอย่างน่าประทับใจส�ำหรับงานประชุมใหญ่ประจ�ำปี 25602561 ภาค 3360 โรตารีสากล ที่ครั้งนี้จัดขึ้น ในวันที่ 17-18 มีนาคม 2561 ณ ศูนย์ประชุมนานาชาติ โรงแรมดิเอ็มเพรส จ.เชียงใหม่ นอกจากจะเข้ม ข้นไปด้วยเนือ้ หาของการสรุปความส�ำเร็จด้านต่างๆ อาทิ ด้านสมาชิกภาพ ด้านโครงการบ�ำเพ็ญประโยชน์ ด้านมูลนิธิโรตารีสากล ไฮไลท์ของงานครัง้ นีค้ อื มิตรภาพสังสรรค์ภาคกลางคืน ซึง่ ปีนจี้ ดั ในธีม “ตึงงาม ตึงหล่อ” ซึ่งแปลว่า ทั้งสวยทั้งหล่อในภาษาไทย เรียกได้ว่า แต่ละคนแต่งกายด้วยผ้าไทยหรือผ้าไทยล้านนากัน อย่างสวยงามละลานตา เริ่มงานด้วยการฟ้อนน�ำขบวนในรูปแบบล้านนา น�ำขบวนผู้ว่าการภาคทั้ง 4 ภาค เข้าสู่งาน จากนั้นเป็นการเปิดงาน การดื่มเพื่อโรตารีสากล ตามมา ด้วยการน�ำเสนอความส�ำเร็จโครงการ “โรตารีทั่วไทย เทิดไท้องค์ราชันย์ เสด็จสูส่ วรรคาลัย” โดยทีมนักปัน่ ภาค 3360 ทุกท่าน หลังจากนัน้ ได้มกี าร ประกาศเกียรติคุณแก่ อผว.แววดาว ลิ้มเล็งเลิศ ในโอกาสที่ท่านเป็น Arch Klump Society member คนแรกของภาค 3360 และได้รับเกียรติจาก ฯพณฯ พิชัย รัตตกุล ปาฐกถาพิเศษในเรื่อง “จุดม่งหมายและความส�ำเร็จ ของโครงการแก้มลิง หนองโนนต่าย” ปิดท้ายด้วยการกล่าวสุนทรพจน์และ แสดงความยินดีจาก PDG.Jessie Harman ผู้แทนโรตารีสากล งานประชุมใหญ่ประจ�ำปีในครั้งนี้ ถือเป็นความส�ำเร็จอีกปีหนึ่ง ของภาค 3360 ในทุกๆ ด้าน และสุดท้ายได้แสดงความยินดีแก่ผู้ว่าการ ภาครับเลือก ผู้ว่าการภาครับเลือกนอมินี และผู้ว่าการภาครับเลือกนอมินี เดสซิกเนส ของภาค 3360 โรตารีสากลทุกๆ ท่าน เพื่อขับเคลื่อนนโยบาย โรตารีสากลต่อไป

40 มีนาคม-เมษายน 2561



ติดตามความคืบหน้า โครงการแก้มลิง หนองโนนต่ายของโรตารี The Lake of Love

1. เริ่มการขุดลอกแก้มลิง 2. ผวจ.สกลนคร ประชุมหน่วยราชการที่เกี่ยวข้องหน้าโครงการเมื่อ วันที่ 27 เม.ย.2561 3. ลงพื้นที่เลือกต้นไม้ที่จะล้อมและน�ำมาปลูกบริเวณโครงการ

การขุดลอกแก้มลิง

โครงการชลประทานสกลนครส�ำนักงานชลประทานที่ 5 ได้จัดให้มีการประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (e-bidding) ในส่วน ของการขุดลอกที่ใช้เงินบริจาคของโรตารีและได้มีการประกาศ ผู้ชนะการเสนอราคาไปแล้วเมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2561 โดย หจก.ประยงค์แทรกเตอร์ (ให้บริการ) เสนอราคาต�่ำสุดเป็นเงิน ทั้งสิ้น 10.620 ล้านบาท หลังจากกระบวนการต่างๆ เสร็จสิ้นลงเมื่อวันที่ 26 มีนาคม ผู้รับเหมาที่ด�ำเนินการในส่วนการขุดลอกหนองของ โรตารีได้น�ำรถขุดตักและเครื่องจักรขนาดใหญ่เข้าพื้นที่เพื่อเริ่ม ด�ำเนินการขุดลอกแล้ว และจะต้องด�ำเนินการให้เสร็จเรียบร้อย เดือนมิถุนายน ส�ำหรับการขุดลอกหนองในส่วนที่ใช้งบประมาณของ กรมชลประทานนั้น จะเริ่มงานประมาณต้นเดือนพฤษภาคม โดย จะเป็นการจ้างเหมาเช่นเดียวกัน ถึงจะมีความล่าช้าในกระบวนการ จัดจ้างไปบ้าง แต่ได้รับการยืนยันว่าจะต้องรีบด�ำเนินการให้เสร็จ ก่อนถึงฤดูฝน

42 มีนาคม-เมษายน 2561


หนองโนนต่าย The Lake of Love

การปรับภูมิทัศน์

ถึงพืน้ ทีโ่ ครงการ ซึง่ ทัง้ สองส่วนนีจ้ ะได้รบั ความร่วมมือจากภาครัฐด้วย นอกจากนี้ เรายังมีโครงการปลูกต้นไม้และตกแต่งบริเวณโดยรอบให้ สวยงาม การสร้างระบบน�้ำอุปโภคบริโภคเพื่อใช้ในโครงการและเพื่อ ให้ชาวบ้านมีน�้ำดื่มสะอาด การจัดหาเครื่องเล่นสนามส�ำหรับเด็ก การ จัดซื้อเก้าอี้และครุภัณฑ์บางอย่างเพื่อให้ศาลาเอนกประสงค์ดังกล่าว นี้เป็นสถานที่ซึ่งจะใช้เป็นประโยชน์แก่ชุมชนโดยรอบได้อย่างแท้จริง โรตารีในประเทศไทยจึงร่วมกับศิลปินแห่งชาติ “เศรษฐา ศิระฉายา” จัดคอนเสิร์ตการกุศล The Lake of Love Charity Concert ในวันที่ 16 มิถุนายน 2561 เวลา 18:30 น. ณ ศูนย์ วั ฒ นธรรมแห่ ง ประเทศไทย กรุ ง เทพฯ เพื่ อ หาทุ น เพิ่ ม เติ ม โดย คุณเศรษฐา ศิระฉายา และ บุตรสาว คุณอี๊ฟ - พุทธธิดา ศิระฉายา มาช่วยงานคอนเสิร์ตโดยไม่คิดค่าตัว และยังได้ติดต่อศิลปินจ�ำนวน การหาทุน แม้จะได้รับเงินบริจาคเพื่อโครงการนี้ได้จ�ำนวนมากแล้วก็ตาม มากให้มาร่วมงานคอนเสิรต์ ในครัง้ นีด้ ว้ ย จึงขอเชิญชวนให้โรแทเรียน เรายังคงต้องการเงินอีกจ�ำนวนหนึ่งเพื่อด�ำเนินโครงการในส่วนปลีก ช่วยกันซื้อบัตรชมคอนเสิร์ตเพื่อให้การหาทุนของเราส�ำเร็จลุล่วงตาม ย่อยต่างๆ เช่น การปรับปรุงถนนเดิมที่ผ่านหน้าโครงการซึ่งน�้ำท่วม เป้าหมาย ในฤดูฝนเพื่อให้ชาวบ้านสัญจรไปมาได้และการขยายเขตไฟฟ้าเข้ามา ส�ำหรับพื้นที่ของโครงการปรับภูมิทัศน์บริเวณแก้มลิงนั้น ขณะนีเ้ ราได้ถมและบดอัดดินในพืน้ ที่ 5 ไร่ เพือ่ จะท�ำการก่อสร้างศาลา 9 เหลีย่ ม โดยได้ทำ� การตอกเสาเข็มในส่วนอาคารศาลา อาคารห้องน�ำ้ อาคารผลิตน�้ำและท่าเทียบเรือเสร็จเรียบร้อยแล้ว โดยผู้รับเหมาจะ ต้องด�ำเนินการก่อสร้างให้แล้วเสร็จภายในเวลา 6 เดือน ในขณะทีก่ ารขุดลอกแก้มลิงและการก่อสร้างศาลาอเนกประสงค์ ด�ำเนินไปคณะกรรมการโครงการแก้มลิงฯ ก็ได้จดั เตรียมเรือ่ งการปลูก ป่าต้นไม้ในบริเวณพืน้ ทีร่ อบศาลา และยังจะสร้างสวนป่าสาธารณะบน พื้นที่ 12 ไร่ ซึ่งเป็นพื้นที่ต่อเนื่อง โดยขอให้ อน.จรัล พัฒน์จร (สโมสร โรตารีพังงา) ผู้เชี่ยวชาญงานด้านการปรับภูมิทัศน์มาช่วยงานด้วย


สารจากประธาน ศูนย์โรตารีในประเทศไทย

Activities ศูนย์โรตารีในประเทศไทย

มวลมิตรโรแทเรียนที่เคารพรัก

ในการสัมมนาอบรมนายกรับเลือกร่วม ภาค ณ จังหวัดขอนแก่นเมื่อปลายเดือน มีนาคมที่ผ่านมา ผมและเจ้าหน้าที่ศูนย์ฯ ได้ ไปร่วมการสัมมนาเพื่อเป็นหน่วยสนับสนุน การจัดงานให้กับเจ้าภาพ ตลอดระยะเวลา 3 วันได้รับก�ำลัง ใจและมิตรภาพอันดีจากผู้มาร่วมงาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งจาก นายกรับเลือกทั้ง 4 ภาค ในปี 2561-62 ที่ท่านจะท�ำหน้าที่ เป็นผู้น�ำสโมสร ขอให้ศูนย์ฯ ได้มีโอกาสรับใช้ท่าน หากต้องการ ความช่วยเหลือไม่ว่าเรื่องใด โปรดติดต่อมายังศูนย์ฯ ได้ทันทีที่ หมายเลข 0 2661 6720-1 หรืออีเมล info@rotarythailand. org สิ่ ง ที่ อยากจะฝากท่านผู้น�ำสโมสรปี 2561-62 ในขณะนี้ คื อ ตรวจสอบกับผู้น�ำสโมสรปัจจุบันว่า ได้เพิ่มชื่อของท่านเป็น 1 ใน 6 ต�ำแหน่งผู้น�ำสโมสรที่สามารถท�ำงานใน My Rotary แล้ว หรือยัง เพื่อประโยชน์แก่การท�ำงานของท่านในปีที่จะมาถึงครับ

ด้วยไมตรีจิต

(ชาญ จรรโลงเศวตกุล)

ตัวเลขโรตารี (30 เม.ย. 61 - www.rotary.org) ภาค สมาชิก สโมสร 3330

2,493 101

3340

1,588

3350

2,954 110

3360

1,425

รวม

67 68

8,460 346

44 มีนาคม-เมษายน 2561

Multi PETS @ จ.ขอนแก่น

ศู น ย์ โ รตารี ฯ และบรรณาธิ ก ารนิ ต ยสารโรตารี ประเทศไทย จัดกิจกรรมและบริการให้กบั ผูเ้ ข้าร่วมอบรมนายก รับเลือกร่วม 4 ภาค (Multidistrict PETS) ณ โรงแรม พูลแมน จ.ขอนแก่น เมื่อวันที่ 23-25 มีนาคมที่ผ่านมา มิตรโรแทเรียนร่วมสนุกที่บูธของศูนย์โรตารีฯ ร่วมกรอก แบบสอบถามและข้อเสนอแนะ เพื่อเป็นแนวทางปรับปรุง นิตยสารฯ และการจัดส่ง ได้รับรูปถ่ายและของที่ระลึกเป็น เสือ้ ยืดร่นุ Limited Edition และของทีร่ ะลึกจากประธานศูนย์ โรตารีฯ เจอกันอีกคราวหน้า ห้ามพลาดด้วยประการทัง้ ปวงครับ


โครงการ “ปลูกฝังลูกรักเป็นนักอ่าน” โดยสโมสรโรตารีศรีอุบล ร่วมกับ กศน.จังหวัดอุบลราชธานี จัดอบรมให้ความรู้ ความส�ำคัญของการอ่าน และสาธิตเทคนิควิธีการใช้หนังสือภาพส�ำหรับเด็ก (วิทยากร จากส�ำนักงาน กศน.จ.อบ.) โดยโรแทเรียนลงมือสาธิต แนะน�ำให้ความรู้แก่เด็กๆ และผู้ปกครองในพื้นที่ที่มีลูก เล็กหรือเด็กแรกเกิดถึง 6 ขวบ เพื่อให้ผู้ปกครองได้เข้าใจ เห็นความส�ำคัญและน�ำกลับไปใช้ที่บ้านได้อย่าง ถูกต้อง เป็นการสร้างนิสัยรักการอ่านให้แก่เด็กๆ อีกด้วย พร้อมกันนี้ได้มอบกระเป๋าหนังสือด้วย ณ ศูนย์ พัฒนาเด็กเล็กบ้านตุงลุง อ�ำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.