นิตยสารโรตารีประเทศไทย ม.ค.-ก.พ.64

Page 1

English issue

นิตยสารรายสองเดือน ปี​ีที่​่� 37 ฉบั​ับที่​่� 192 มกราคม-กุ​ุมภาพั​ันธ์​์ ๒๕๖๔ January-February 2021

Together, we

Celebrate 110 ปี​ี นิ​ิตยสารโรตารี​ี & 90 ปี​ี โรตารี​ีในประเทศไทย


ประมวลจรรยาบรรณ ของโรแทเรียน

ชื่อใหม่ ใจเดิม

รู้​้�หรื​ือไม่​่ว่​่า ทุ​ุกๆ สองนาที​ี จะมี​ีเด็​็กๆ เสี​ียชี​ีวิ​ิตจากโรคมาเลเรี​ีย เราช่​่วยกั​ันป้​้องกั​ันได้​้ Malaria Partners International องค์​์กรพั​ันธมิ​ิตรได้​้ ร่​่วมมื​ือกั​ับโรตารี​ีและชุ​ุมชนต่​่อต้​้านมาเลเรี​ีย ได้​้ร่​่วมมื​ือกั​ัน ส่​่งเสริ​ิมโครงการทั้​้�งเล็​็กและใหญ่​่ในภู​ูมิ​ิภาคต่​่างๆ ที่​่�มี​ีการ แพร่​่ระบาดของโรคนี้​้�

ในฐานะที่เป็นโรแทเรียน ข้าพเจ้าจะ : 1) ประพฤติปฏิบัติด้วยคุณธรรมพร้อมด้วยมาตรฐาน จรรยาบรรณในชีวิตส่วนตัวและวิชาชีพ 2) ปฏิบัติต่อผู้อื่นด้วยความยุติธรรมและเคารพใน วิชาชีพของแต่ละบุคคล 3) ใช้ทักษะทางวิชาชีพของข้าพเจ้าผ่านกิจกรรมโรตารี เพื่อสนับสนุนส่งเสริมเยาวชน ช่วยเหลือผู้เดือดร้อน ที่จ�ำเป็นยิ่ง และปรับปรุงคุณภาพชีวิตของผู้คนใน ชุมชนของข้าพเจ้าและชุมชนโลก 4) หลีกเลี่ยงพฤติกรรมที่เป็นปฏิปักษ์ต่อโรตารีหรือ โรแทเรียนอื่นๆ 5) ช่วยธ�ำรงไว้ซึ่งสภาพแวดล้อม ที่ปลอดจากการ ล่วงละเมิดใดๆ ในการประชุมโรตารี การจัดงานและ การท�ำกิจกรรมต่างๆ รายงานเหตุน่าสงสัยในการ ล่วงละเมิด และช่วยเหลือให้ความมั่นใจต่อผู้รายงาน การล่วงละเมิดว่าจะไม่ถูกตอบโต้ ROTARIAN CODE OF CONDUCT As a Rotarian, I will : 1) Act with integrity and high ethical standards in my personal and professional life 2) Deal fairly with others and treat them and their occupations with respect 3) Use my professional skills through Rotary to mentor young people, help those with special needs, and improve people’s quality of life in my community and in the world 4) Avoid behavior that reflects adversely on Rotary or other Rotarians 5) Help maintain a harassment-free environment in Rotary meetings, events, and activities, report any suspected harassment, and help ensure non-retaliation to those individuals that report


สารประธานโรตารีสากล โฮลเกอร์ คนัค มกราคม ๒๕๖๔

ท่​่านโรแทเรี​ียน โรทาแรคเทอร์​์ และมิ​ิตรสหายที่​่�รั​ัก เดื​ือนมกราคม ปี​ี ๒๕๖๔ ที่​่�เรารอคอยมาถึ​ึงแล้​้ว ความนึ​ึกคิ​ิดของเรามิ​ิได้​้ หยุ​ุดแค่​่เพี​ียง ๓๖๕ วั​ันข้​้างหน้​้า แล้​้วท่​่านจะคิ​ิดถึ​ึงสิ่​่�งที่​่�ท่​่านควรจะทำำ�ในปี​ี ๒๕๖๕, ๒๕๖๖ และปี​ีต่​่อๆ ไปหรื​ือไม่​่? เราไม่​่อาจหยั่​่�งรู้​้�อนาคตข้​้างหน้​้า แต่​่เราสามารถนำำ�ตั​ัวเราเองไปในที่​่�ที่​่�เรา ต้​้องการจะไป ผมคิ​ิดว่​่าเป็​็นเรื่​่�องสำำ�คั​ัญยิ่​่�งสำำ�หรั​ับสโมสรโรตารี​ีทุ​ุกแห่​่งที่​่�จั​ัดประชุ​ุมแผน กลยุ​ุทธ์​์อย่​่างน้​้อยปี​ีละหนึ่​่�งครั้​้ง� อดี​ีตกรรมการโรตารี​ีสากล เกรก ยั​ัง ผู้​้�มี​ีประสบการณ์​์ทำำ�งาน กั​ับสโมสรมากมายเกี่​่�ยวกั​ับการวางแผนได้​้มาแบ่​่งปั​ันมุ​ุมมองของท่​่าน ดั​ังนี้​้�ครั​ับ คำำ�คมที่​่�มี​ีชื่​่�อเสี​ียงบทหนึ่​่�งได้​้บอกว่​่า “หากไม่​่มี​ีการเตรี​ียมงานไว้​้ก่​่อน ท่​่าน จะพบกั​ับความผิ​ิดหวั​ัง” การวางแผนงานเป็​็นสิ่​่ง� สำำ�คั​ัญเพื่​่อ� จะได้​้รับั ความสำำ�เร็​็จในชี​ีวิ​ิตทุ​ุกๆ ด้​้าน รวมถึ​ึงโรตารี​ีด้​้วย และด้​้วยสิ่​่�งนี้​้�พวกเรากำำ�ลั​ังจะดี​ียิ่​่�งขึ้​้�นไปทุ​ุกปี​ี การวางแผนกลยุ​ุทธ์​์งานของสโมสรโรตารี​ีนั้​้�นได้​้ผลดี​ี ผมได้​้ช่​่วยให้​้สโมสรจำำ�นวนมากค้​้นพบวิ​ิธี​ีด้​้วยการ ทำำ�งานร่​่วมกั​ับพวกเขาในการสร้​้างแบบพิ​ิมพ์​์เขี​ียว—แผนงานล่​่วงหน้​้าหลายปี​ีที่ใ่� ช้​้เป็​็นคำำ�ตอบคำำ�ถามหลั​ักที่​่ว่� า ่ “สโมสร ของเรามี​ีวิ​ิสั​ัยทั​ัศน์​์อะไรบ้​้าง?” แผนงานที่​่�ดี​ีที่​่�สุ​ุดที่​่�ผมเคยเห็​็นมาคื​ือ แผนงานที่​่�กำำ�หนดจุ​ุดมุ่​่�งหมาย เมื่​่�อสโมสรใช้​้ ทรั​ัพยากรของตนในช่​่วงเวลาที่​่ดี​ี� ที่​่สุ� ด ส ุ โมสรโรตารี​ีของท่​่านคงไม่​่อาจเป็​็นทุกุ สิ่​่ง� ทุ​ุกอย่​่างสำำ�หรั​ับสมาชิ​ิกและชุ​ุมชนของ ตนได้​้ เพราะมี​ีขี​ีดจำำ�กั​ัดด้​้านทรัพั ยากรมนุ​ุษย์​์ การเงิ​ินและช่​่วงเวลาทำำ�งาน แต่​่แผนงานที่​่มี​ีควา � มสำำ�เร็​็จมี​ีส่​่วนประกอบ ที่​่�เกี่​่�ยวข้​้องด้​้านสิ​ินทรั​ัพย์​์และข้​้อกำำ�หนดต่​่างๆ ในการวางแผนวิ​ิธี​ีปฏิ​ิบัติั ิงานที่​่�ต้​้องการใช้​้สำำ�หรั​ับสมาชิ​ิกสโมสร ควรเริ่​่�มต้​้นวางแผนกลยุ​ุทธ์​์แบบล่​่วงหน้​้าหลายปี​ี ด้​้วยการระดมสมองกั​ับสโมสรของท่​่าน ให้​้ถามว่​่า “พวกเราคิ​ิดจะทำำ�อะไร และจะทำำ�อะไรก่​่อน/หลั​ังในเวลาสองสามปี​ีข้​้างหน้​้าบ้​้าง?” จดบั​ันทึ​ึกคำำ�ตอบโดยใช้​้ภาษา ง่​่ายๆ ในการทำำ�งาน ที่​่�มี​ีเป้​้าหมายที่​่�ชัดั เจนแน่​่นอนและวั​ัดผลได้​้ แบบที่​่�ท่​่านต้​้องการทำำ�ให้​้สำำ�เร็​็จ” ขั้​้นต่ � อ่ ไป ให้​้สรุปย่ ุ อ่ ยหั​ัวข้อ้ ลงมาเป็​็นชุดุ ๆ ละสามถึ​ึงห้​้าข้อ้ ตามลำำ�ดั​ับก่​่อนหลั​ัง ต่​่อจากนั้​้�นสโมสรของท่​่าน จึ​ึงกำำ�หนดวั​ัตถุ​ุประสงค์​์ของแต่​่ละหั​ัวข้​้อ ระบุ​ุชื่​่�อผู้​้�ที่​่�เกี่​่�ยวข้​้อง กำำ�หนดช่​่วงเวลาทำำ�งานจนถึงึ เส้​้นชั​ัยหลั​ัก จะติ​ิดตาม ความก้​้าวหน้​้าอย่​่างไร? และกรอบเวลาทำำ�งานถึงึ เวลางานสำำ�เร็​็จ กำำ�หนดแผนงานให้​้กระชั​ับและทำำ�ได้​้ง่​่าย ต่​่อจากนั้​้�น จึ​ึงออกไปทำำ�งาน คอยตรวจวั​ัดผลความคื​ืบหน้​้าที่​่ไ� ด้​้ทำำ�ไปจนกว่​่าประสบผลสำำ�เร็​็จที​ีละข้​้อ และ ปรั​ับกลยุ​ุทธ์​์ที่​่�จำำ�เป็​็นอย่​่างน้​้อยปี​ีละครั้​้�ง โรตารี​ีมี​ีรู​ูปแบบที่​่�หนั​ักแน่​่นสำำ�หรั​ับช่​่วยเหลื​ือสโมสรในการวางแผน ท่​่าน สามารถค้​้นหาได้​้จาก my.rotary.org/document/strategic-planning-guide เราทุ​ุกคนอยากให้​้สโมสรของเราเข้​้มแข็​็งมี​ีชี​ีวิ​ิตชี​ีวา โดยการปรึ​ึกษาหารื​ือและมี​ีแนวคิ​ิดใหม่​่ๆ แต่​่เราจะทำำ� อย่​่างไรเพื่​่�อให้​้โดนใจนั​ักธุ​ุรกิ​ิจ ผู้​้�ประกอบการที่​่�หลากหลาย จากภู​ูมิ​ิหลั​ัง อายุ​ุ และประสบการณ์​์ที่​่�แตกต่​่างกั​ัน ผู้​้�ที่​่�มี​ี แรงผลั​ักดั​ันอย่​่างเข้​้มแข็​็ง มี​ีบู​ูรณาการเช่​่นเดี​ียวกั​ับเรา? ด้​้วยการวางแผนกลยุ​ุทธ์​์ เราจะสำำ�รวจคำำ�ถามข้​้างบนนี้​้�เพื่​่�อกำำ�หนดตั​ัวตนที่​่�แท้​้จริ​ิงของสโมสรและคุ​ุณค่​่าที่​่� นำำ�เสนอให้​้สมาชิ​ิกและชุ​ุมชน แต่​่ละสโมสรมี​ีความแตกต่​่างกั​ัน และคุ​ุณค่​่าของแต่​่ละสโมสรก็​็เป็​็นเอกลั​ักษณ์​์เฉพาะตั​ัว ในขั้​้�นตอนการวางแผน สโมสรอาจค้​้นพบว่​่าบางกิ​ิจกรรมที่​่�เคยทำำ�อาจไม่​่น่​่าสนใจ หรื​ือมิ​ิได้​้เกี่​่�ยวข้​้องกั​ันแล้​้ว เมื่​่�อสโมสรท่​่านได้​้กำำ�หนดแผนกลยุ​ุทธ์​์แล้​้ว ก็​็ถึงึ เวลาที่​่�จะลงมื​ือปฏิ​ิบัติั กิ ารและเปลี่​่�ยนแปลงเท่​่าที่​่�จำำ�เป็​็น เมื่​่�อ เราลงมื​ือทำำ�แล้​้ว เราจะทำำ�ให้​้สมาชิ​ิกของเรามี​ีส่ว่ นร่​่วมในสโมสรที่​่�เข้​้มแข็​็ง มี​ีชีวิี ติ ชี​ีวา ไม่​่เพี​ียงแต่​่จะมี​ีความสนุ​ุกสนาน แต่​่ยังั ได้​้บำำ�เพ็​็ญประโยชน์​์ต่อ่ ชุ​ุมชน ในโครงการที่​่�มี​ีผลกระทบอย่​่างจริ​ิงจั​ังและยั่​่�งยื​ืน สโมสรของเราก็​็จะเจริ​ิญเติ​ิบโต ด้​้วย เมื่​่�อเราค้​้นพบว่​่าสโมสรของเรามี​ีเอกลั​ักษณ์​์อย่​่างไร และยึ​ึดมั่​่�นในคุ​ุณค่​่าหลั​ักด้​้วยความพยายามของเราทุ​ุกอย่​่าง แล้​้ว โรตารี​ีจะเปิ​ิดแนวทาง สร้​้างโอกาส ให้​้เราทุ​ุกคนมี​ีชี​ีวิ​ิตที่​่�สมบู​ูรณ์​์ขึ้​้�นต่​่อไป โฮลเกอร์ คนัค ประธานโรตารีสากล


สารประธานโรตารีสากล โฮลเกอร์​์ คนั​ัค กุ​ุมภาพั​ันธ์​์ ๒๕๖๔

ท่​่านโรแทเรี​ียน โรทาแรคเทอร์​์ และมิ​ิตรสหายที่​่�รั​ักครั​ับ วั​ันที่​่� ๒๓ กุ​ุมภาพั​ันธ์​์ในโรตารี​ีคือื วั​ันครบรอบ (วั​ันเกิ​ิด) ของเรา และเดื​ือนนี้​้�ยังั เป็​็นเดื​ือนที่​่�เรามุ่​่�งเน้​้นในการส่​่งเสริ​ิมสั​ันติ​ิภาพ ซึ่​่�งก็​็มี​ีเหตุ​ุผลคื​ือ การส่​่งเสริ​ิมสั​ันติ​ิภาพและ ความเข้​้าใจกั​ันระหว่​่างประเทศนั้​้�นเป็​็นความสำำ�คั​ัญที่​่�สู​ูงส่​่งสำำ�หรั​ับเรามาตั้​้ง� แต่​่วันั แรกๆ ของ เราในการก่​่อตั้​้�งโรตารี​ี บ่​่อยครั้​้ง� ที่​่�เรามั​ักจะถู​ูกถามว่​่า “เราจะเข้​้าไปเกี่​่�ยวข้​้องกั​ับสั​ันติ​ิภาพในปั​ัจจุ​ุบันั นี้​้�ได้​้อย่​่างไร?” ในโรตารี​ีมี​ีหลากหลายวิ​ิธี​ีเสริ​ิมสร้​้างสั​ันติ​ิภาพ โปรแกรมเยาวชนของเราก็​็ ชี้​้ห� นทางไปสู่​่�สั​ันติ​ิภาพด้​้านบวกเช่​่นเดี​ียวกั​ับการทำำ�งานของคณะกรรมการระหว่​่างประเทศ และของกลุ่​่�มปฎิ​ิบั​ัติ​ิการโรตารี​ีเพื่​่�อสั​ันติ​ิภาพ อี​ีกหนทางหนึ่​่�งคื​ือ โครงการตู้​้�ฟั​ักตั​ัว (ทารก) เพื่​่�อสั​ันติ​ิภาพของโรแทเรี​ียน Rotarian Peace Projects Incubator (RPPI) ซึ่​่�งเป็​็นความร่​่วมมื​ือที่​่�น่​่าสนใจระหว่​่าง โรแทเรี​ียน โรทาแรคเทอร์​์และศิ​ิษย์​์เก่​่านั​ักศึ​ึกษาทุ​ุนสั​ันติ​ิภาพโรตารี​ี ผู้​้�นำำ�โครงการคื​ือ บรรดา โรแทเรี​ียนในสวิ​ิสเซอร์​์แลนด์​์และลิ​ิชเชนสไตน์​์ โครงการ RPPI นี้​้�ได้​้ออกแบบโครงการทุ​ุนโกลบอลแกรนท์​์จำำ�นวน ๔๘ โครงการ ซึ่​่�งทุ​ุกสโมสรสามารถขอร่​่วมสนั​ับสนุ​ุนโดยตรงหรื​ือผ่​่านทุ​ุนโกลบอลแกรนท์​์ของมู​ูลนิ​ิธิ​ิโรตารี​ี คุ​ุณนิ​ิโน โลติ​ิสวิ​ิลี​ี และคุ​ุณแมททิ​ิว จอห์​์นเซน ศิ​ิษย์​์เก่​่าของศู​ูนย์​์สันั ติ​ิภาพโรตารี​ีที่​่�มหาวิ​ิทยาลั​ัยจุ​ุฬาลงกรณ์​์ กรุ​ุงเทพฯ ประเทศไทย เป็​็นอาสาสมั​ัครสองท่​่านในกลุ่​่�ม อาสาสมั​ัครต่​่างๆ ของโครงการนี้​้� ได้​้มาแบ่​่งปั​ันให้​้กั​ับพวกเรา ดั​ังนี้​้� - ในช่​่วงการเดิ​ินทางเพื่​่�อสั​ันติ​ิภาพโรตารี​ีของผม ผมได้​้เรี​ียนรู้​้�ว่​่าการฟื้​้�นคื​ืนสู่​่�สภาพเดิ​ิมส่​่วนตั​ัวของผมเองได้​้ช่​่วยสร้​้าง สั​ันติ​ิสุ​ุขในตั​ัวเองและสร้​้างสั​ันติสุิ ุขภายนอกแบบยั่​่�งยื​ืนได้​้อย่​่างไร ต่​่อไปนี่​่�คื​ือการสร้​้างแรงจู​ูงใจให้​้กั​ับบรรดาทู​ูตสั​ันติ​ิภาพสตรี​ีใน โครงการคอเคซั​ัสเซ้​้าท์​์ ซึ่​่�งใช้​้แผนแบบจากงานวิ​ิจั​ัยสนามในจอร์​์เจี​ียของผม ที​ีมงาน RPPI ที่​่�มี​ีโรแทเรี​ียนและนั​ักศึ​ึกษาสั​ันติ​ิภาพ ต่​่างยอมรั​ับพลั​ังที่​่�เหลื​ือเชื่​่�อของกลุ่​่�มสตรี​ีจากครอบครั​ัวชาติ​ิพั​ันธุ์​์�ต่​่างๆ ที่​่�อาศั​ัยอยู่​่�ตามชายแดน ผู้​้�มี​ีบทบาทช่​่วยสร้​้างสั​ันติ​ิสุ​ุข ภายในและภายนอกชุ​ุมชนของตน ในการทำำ�เวิ​ิร์​์คชอปการสร้​้างสั​ันติ​ิสุ​ุขภายในและภายนอกชุ​ุมชน มี​ีการรวมพลั​ังจากกลุ่​่�ม นั​ักเล่​่าเรื่​่�อง ๔๐ คนมาแบ่​่งปั​ันเรื่​่�องราวของตนและยั​ังติ​ิดตามต่​่อไปได้​้อี​ีก ๔๐๐ ครอบครั​ัวที่​่�เป็​็นสมาชิ​ิกในชุ​ุมชนต่​่างๆ บรรดา สตรี​ีที่​่�น่​่าประทั​ับใจแต่​่มี​ีความหลากหลายเหล่​่านี้​้� จะได้​้รวมพลั​ังกั​ันต่​่อไปอี​ีกในฐานะผู้​้�สร้​้างสั​ันติ​ิในระดั​ับรากหญ้​้า โดยวิ​ิธี​ีนี้​้� พวกเราจะก้​้าวไปสู่​่�สั​ังคมที่​่มี​ีสั � นติ ั สุิ ขุ แบบยั่​่ง� ยื​ืนที่​่เ� ราต้​้องการอย่​่างมาก ไม่​่เพี​ียงแต่​่ในภู​ูมิ​ิภาคของเรา แต่​่ต่อ่ ไปในโลกด้​้วย ---- นี​ีโน โลติ​ิสวิ​ิลี​ี ผมมี​ีความตื่​่น� เต้​้นที่​่ไ� ด้​้ร่ว่ มโครงการเครื่​่อ� งฟั​ักตั​ัว (ทารก) สั​ันติภิ าพและก้​้าวต่อ่ ไปในการสร้​้างความเข้​้มแข็​็งให้​้กับั ความ ผู​ูกพั​ันของผมกั​ับชุ​ุมชนสั​ันติ​ิภาพของโรตารี​ีต่​่อไป ด้​้วยการทำำ�งานร่​่วมกั​ันกั​ับกลุ่​่�มนั​ักศึ​ึกษาทุ​ุนสั​ันติ​ิภาพ จากอดี​ีตถึ​ึงปั​ัจจุ​ุบั​ัน มาร่​่วมพั​ัฒนาข้​้อเสนอโครงการเหล่​่านี้​้� ซึ่​่�งทางที​ีมงานของผมได้​้เขี​ียนมาให้​้ ๕ โครงการ โดย ๓ โครงการอยู่​่�ในบั​ังคลาเทศ หนึ่​่�ง โครงการในอิ​ิรัคั และอี​ีกหนึ่​่ง� โครงการในโปแลนด์​์ซึ่ง่� ทั้​้�งหมดมุ่​่�งเน้​้นงานศิ​ิลป์​์และการศึ​ึกษา ด้​้วยการขยายการเจรจาผ่​่านทางกลุ่​่�ม ศาสนาต่​่างๆ หลี​ีกเลี่​่�ยงกลุ่​่�มเยาวชนหั​ัวรุ​ุนแรง ผมรู้​้�สึ​ึกมี​ีแรงบั​ันดาลใจที่​่�ว่า่ แม้​้จะมี​ีภั​ัยพิ​ิบัติั ิจากโรคระบาด แต่​่พวกเรายั​ังทำำ�งาน ด้​้วยกั​ันต่​่อไป อาศั​ัยเทคโนโลยี​ี โดยมี​ีวิ​ิสั​ัยทั​ัศน์​์ที่​่�จะพั​ัฒนา ทดสอบและเสริ​ิมสร้​้างความเข้​้มแข็​็งให้​้กั​ับแนวคิ​ิดใหม่​่ๆ แล้​้วสรุปุ หา ข้​้อยุ​ุติ​ิที่​่�สามารถใช้​้งานได้​้ให้​้แก่​่สโมสรต่​่างๆ ทั่​่�วโลกใช้​้สนั​ับสนุ​ุนงานสร้​้างสั​ันติ​ิภาพต่​่อไป ผมมี​ีความตื่​่�นเต้​้นที่​่�ได้​้ทำำ�งานร่​่วมกั​ับ กลุ่​่�มชุ​ุมชนสั​ันติ​ิภาพของโรตารี​ี เพื่​่�อเปลี่​่�ยนวิ​ิสั​ัยทั​ัศน์​์เหล่​่านั้​้�นให้​้เป็​็นความจริ​ิงต่​่อไป - แมททิ​ิว จอห์​์นเซน นี่คือข้อพิสูจน์ต่อไปว่า ในโรตารีนั้นเราชอบท�ำงานมากกว่าค�ำพูด นี่คือสิ่งที่ดีที่สุดในโรตารี ผมขอเชิญชวนท่านเข้ามาเยี่ยมเว็บ rppi.ch เพื่อส�ำรวจโครงการต่างๆ และสนับสนุนพวกเขาด้วย เราอยู่​่�รอดมาได้​้ถึ​ึง ๑๑๖ ปี​ีเพราะเรามี​ีจรรยาบรรณที่​่�เข้​้มแข็​็ง เรามุ่​่�งมั่​่�นในบริ​ิการเหนื​ือตน และวิ​ิธี​ีการออกไป แก้​้ไขปั​ัญหานั้​้�นก็​็มี​ีเอกลั​ักษณ์​์เฉพาะของเรา หนึ่​่�งในพลั​ังที่​่�ยิ่​่�งใหญ่​่ที่​่�สุ​ุดของเราคื​ือวิ​ิธี​ีการก้​้าวผ่​่านชุ​ุมชนของเรา ข้​้ามเขตแดน เชื้​้�อชาติ​ิ ศาสนาและพรรคการเมื​ือง เพื่​่�อรวบรวมบุ​ุคคลจากทุ​ุกภู​ูมิ​ิหลั​ังทั้​้�งหมดและช่​่วยเหลื​ือเขา ในเดื​ือนนี้​้� ขอให้​้เราเฉลิ​ิมฉลอง ประวั​ัติ​ิศาสตร์​์ของเราและในโอกาสต่​่างๆ ที่​่� โรตารี​ีเปิ​ิดแนวทาง สร้​้างโอกาส สู่​่�ความเข้​้าใจกั​ันในโลก ด้​้วยไมตรี​ีจิ​ิตมิ​ิตรภาพและ สั​ันติ​ิสุ​ุข เหล่​่านี่​่�คื​ือภารกิ​ิจสุ​ุดยอดของเรา โฮลเกอร์ คนัค ประธานโรตารีสากล 02

มกราคม-กุมภาพันธ์ 2564


สารประธานทรัสตี เค. อาร์ ราวินดรัน มกราคม ๒๕๖๔

ของขวัญของสภาพแวดล้อมที่ดี ผมเติ​ิบโตขึ้​้�นมาท่​่ามกลางภู​ูมิ​ิประเทศที่​่​่��เต็​็มไปด้​้วยภู​ูเขาอั​ันเขี​ียวชอุ่​ุ�มของศรี​ีลั​ังกา ผมชอบ คิ​ิดถึ​ึงคำำ�กล่​่าวของท่​่านกวี​ีเอก รพิ​ินทรนาถ ฐากู​ูร ที่​่�ว่​่า “ต้​้นไม้​้คื​ือแรงพลั​ังที่​่�โลกพยายามใช้​้สื่​่�อสาร อย่​่างไม่​่สิ้​้�นสุ​ุดกั​ับสวรรค์​์ที่​่�คอยรั​ับฟั​ัง” น่​่าเศร้​้าเพี​ียงไรที่​่�บ่​่อยครั้​้�งมนุ​ุษย์​์เรายั​ังพยายามขั​ัดขวางการติ​ิดต่​่อสื่​่�อสารนี้​้� พวกเราคื​ือส่​่วนหนึ่​่�งของธรรมชาติ​ิเช่​่นเดี​ียวกั​ับสิ่​่�งมี​ีชีวิี ิตอื่​่�นๆ แต่​่เราก็​็ยั​ังเป็​็นเผ่​่าพั​ันธุ์​์�เดี​ียวที่​่� มี​ีความรั​ับผิ​ิดชอบในการปกป้​้องคุ้​้�มครองสิ่​่�งแวดล้​้อมไว้​้สำำ�หรั​ับคนรุ่​่�นต่​่อๆไป ภั​ัยพิ​ิบั​ัติ​ิไวรั​ัสโคโรน่​่า ได้​้ แสดงให้​้เห็​็นเสมื​ือนว่​่า ไม่​่เคยมี​ีสิ่​่�งใดที่​่�เกี่​่�ยวข้​้องระหว่​่างความเสี่​่�ยงภั​ัยต่​่อสาธารณะสุ​ุขและการเสื่​่�อม สลายของสภาพแวดล้​้อมเช่​่นนี้​้�มาก่​่อน เมื่​่�อไม่​่กี่​่�ปี​ีมานี้​้� บริ​ิษั​ัทไฟฟ้​้าของรั​ัฐบาลประเทศของผมได้​้วางแผนก่​่อสร้​้างโรงไฟฟ้​้าพลั​ัง ถ่​่านหิ​ินแห่​่งที่​่�สองในภาคตะวั​ันออกของศรี​ีลั​ังกา โรงไฟฟ้​้านี้​้�จะใช้​้น้ำำ��ชั่​่�วโมงละ ๙๓ ล้​้านลิ​ิตรจากอ่​่าว ที่​่�มี​ีระบบนิ​ิเวศอ่​่อนไหวเชื่​่�อมต่​่อทะเลลึ​ึก ที่​่�มี​ีแหล่​่งเพาะพั​ันธุ์​์�สเปิ​ิร์​์มวาฬที่​่�ใหญ่​่ที่​่�สุ​ุดแห่​่งหนึ่​่�งของโลก หลั​ังจากกระบวนการผลิ​ิต น้ำำ��หล่​่อความร้​้อนจำำ�นวน ๙๓ ล้​้านลิ​ิตรต่​่อชั่​่�วโมงนี้​้�จะถู​ูกระบายลงไปใน ทะเล น้ำำ��ที่​่�ปนเปื้​้�อนสารเคมี​ีที่​่�เป็​็นอั​ันตรายอย่​่างยิ่​่�งต่​่อสั​ัตว์​์น้ำำ��ทุ​ุกชนิ​ิด เราได้​้บทเรี​ียนจากความเสี​ียหายที่​่�เกิ​ิดจากโรงงานแห่​่งแรก ความร่​่วมมื​ือจากภาคเอกชน จำำ�นวนมากรวมถึ​ึงบรรดาโรแทเรี​ียนจึ​ึงได้​้เกิ​ิดขึ้​้น� มี​ีการรณรงค์​์กระจายข่​่าวโดยสื่​่�อมวลชนให้​้ประชาชน ตลอดจนชุ​ุมชนท้​้องถิ่​่�นทราบถึ​ึงภั​ัยที่​่�อาจเกิ​ิดขึ้​้�นต่​่อไป นอกเหนื​ือจากใช้​้การดำำ�เนิ​ินการทางกฎหมาย ต่​่อมารั​ัฐบาลจึ​ึงได้​้ยุ​ุติ​ิโครงการโรงงานพลั​ังถ่​่านหิ​ิน หลั​ังจากได้​้รั​ับการต่​่อต้​้านจากประชาชน เราสามารถเคลื่อนย้ายภูเขาได้ หากพวกเราร่วมมือกัน เมื่​่�อเราได้​้เพิ่​่�มสภาพแวดล้​้อมไว้​้ในข้​้อมุ่​่�งเน้​้นใหม่​่สุ​ุดของโรตารี​ี เรากระทำำ�เช่​่นนั้​้�นเนื่​่�องจาก ความเร่​่งด่​่วนของปั​ัญหา ในปี​ี ค.ศ. ๑๙๙๐-๑๙๙๑ อดี​ีตประธานโรตารี​ีสากล เปาโล คอสต้​้าได้​้กำำ�หนด วิ​ิสัยั ทั​ัศน์​์นี้​้แ� ละทุ​ุกวั​ันนี้​้�เราจะทำำ�งานนี้​้�ในระดั​ับต่​่อไป พวกเราอยู่​่�ในยุ​ุคของแรงกดดั​ันต่​่อสภาพแวดล้​้อม ของเรา ระดั​ับน้ำำ��ทะเลที่​่�สู​ูงขึ้​้�นอย่​่างรวดเร็​็ว มวลพายุ​ุขนาดใหญ่​่ ป่​่าฝนและสั​ัตว์​์ป่​่าที่​่�หายไป ตลอดจน ไฟป่​่าที่​่�ทำำ�ลายทุ​ุกอย่​่าง การเปลี่​่�ยนแปลงภู​ูมิ​ิอากาศทำำ�ให้​้เราทุ​ุกคนรั​ับผลกระทบไม่​่ว่​่าจนหรื​ือรวย เราต้​้ อ งเผชิ​ิ ญ หน้​้ า กั​ั บ ปั​ั ญ หานี้​้� โดยมี​ี ก ลยุ​ุ ท ธ์​์ เช่​่ น เดี​ี ย วกั​ั บ ข้​้ อ มุ่​่�งเน้​้ น อื่​่�นๆ ของโรตารี​ี อั​ันที่​่�จริ​ิงแล้​้วข้​้อมุ่​่�งเน้​้นหกข้​้อของเราก็​็ขึ้​้�นอยู่​่�กั​ับข้​้อใหม่​่นี้​้�ด้​้วย เราจะต่​่อสู้​้�กั​ับโรคร้​้ายไปได้​้อย่​่างไรหาก สภาพแวดล้​้อมที่​่�เป็​็นพิ​ิษของเราทำำ�ให้​้เราป่​่วยแล้​้วป่​่วยอี​ีก? มู​ูลนิ​ิธิโิ รตารี​ี จะเป็​็นศู​ูนย์​์กลางการทำำ�งานนี้​้�ต่อ่ ไป และใช้​้เงิ​ินทุ​ุนโกลบอลแกร้​้นท์​์ไปมากกว่​่า ๑๘ ล้​้านเหรี​ียญสหรั​ัฐ ในโครงการที่​่�เกี่​่�ยวข้​้องกั​ับสิ่​่�งแวดล้​้อมตลอดห้​้าปี​ีที่​่�ผ่​่านมา ในการทำำ�งานเพื่​่�อ คุ้​้�มครองสิ่​่�งแวดล้​้อมนี้​้� เราจะมอบให้​้เป็​็นของขวั​ัญโรตารี​ี สำำ�หรั​ับคนรุ่​่�นใหม่​่ในอนาคตต่​่อไปด้​้วย และ ท่​่านสามารถมี​ีส่​่วนร่​่วมในวั​ันนี้​้�ได้​้ทุ​ุกคน เค. อาร์ ราวินดรัน ประธานทรัสตี


สารประธานทรัสตี เค. อาร์​์ ราวิ​ินดรั​ัน กุ​ุมภาพั​ันธ์​์ ๒๕๖๔

ความพอใจยินดีในการก้าวขึ้นไป

การให้น้ันเป็นมากกว่ากิจกรรม แต่เป็นวิถีชีวิตและไฟส่องทางให้แก่ความหวังในยามยาก ล�ำบาก ทุกวันนี้มีความสับสนวุ่นวายมากมาย แต่สิ่งเหล่านี้ก็มิใช่ว่าจะต้องเกิดขึ้นในเวลาที่ผิดปรกติ มิใช่ว่าจะต้องอยู่ในช่วงประวัติศาสตร์ของมนุษย์ชาติ แต่เพราะสติปัญญาของมนุษย์เป็นสิ่งส�ำคัญใน การช่วยเหลือในการวางเส้นทางและวัตถุประสงค์ของเรา ความคิ​ิดที่​่�เฉลี​ียวฉลาดนั้​้�นน่​่าจะมาจากนั​ักปรั​ัชญาในยุ​ุคกลางศตวรรษที่​่� ๑๒ ชื่​่�อ ไมโมนิ​ิเดส หรื​ือ โมเสส เบ็​็น ไมมอน ท่​่านเกิ​ิดที่​่�คอร์​์โดบา สเปน ท่​่านและครอบครั​ัวได้​้อพยพไปอยู่​่�ที่​่�โมรอกโค เพื่​่�อ ลี้​้�ภั​ัยสงครามศาสนาในสมั​ัยนั้​้�น เมื่​่�อท่​่านยั​ังหนุ่​่�มได้​้ศึ​ึกษาวิ​ิชาปรั​ัชญาของอริ​ิสโตเติ​ิล วิ​ิชาดาราศาสตร์​์ และแพทย์​์ศาสตร์​์ในเวลาต่​่อมา ต่​่อจากนั้​้�นท่​่านได้​้ย้​้ายไปอยู่​่�ที่​่�ไคโร อี​ียิ​ิปต์​์และมี​ีชื่​่�อเสี​ียงในฐานะเป็​็น อาจารย์​์สอนศาสนาที่​่�ยิ่​่�งใหญ่​่ในวิ​ิชาการโทราห์​์ เป็​็นนั​ักดาราศาสตร์​์และแพทย์​์ประจำำ�ตั​ัวของซาลาดิ​ิน จวบจนวาระสุ​ุดท้​้าย ของขวัญที่ยิ่งใหญ่ต่อมนุษยชาติของท่านได้มาจากความคิดในด้านการให้ แนวจิตกุศลการ ให้แปดขั้นของท่าน เป็นผลงานชิ้นเอก ที่สอนเราเรื่องความหมายของการให้และจูงใจให้ปฏิบัติตาม บั​ันไดขั้​้น� ต่ำำ��สุ​ุดของท่​่านไมโมนิ​ิเดส คื​ือการให้​้แบบไร้​้ความเมตตาสงสาร หรื​ือให้​้แบบไม่​่เต็​็มใจ จะให้​้ ขั้​้น� ต่​่อไปคื​ือการให้​้น้อ้ ยกว่​่าที่​่�ควรจะให้​้ แต่​่ยังั ยิ​ินดี​ีที่​่�จะให้​้ บั​ันไดขั้​้น� ที่​่�ห้​้าคื​ือการให้​้ก่อ่ นที่​่�ท่​่านจะ ได้​้รับั การร้​้องขอ ขึ้​้น� ไปอี​ีกขั้​้น� หนึ่​่�งคื​ือการให้​้แบบที่​่�ผู้​้�รับั ไม่​่ทราบว่​่าผู้​้�ให้​้คือื ใคร และบั​ันไดขั้​้น� สู​ูงสุ​ุดของ การให้​้ก็​็คื​ือการคาดการณ์​์ล่​่วงหน้​้าถึ​ึงภยั​ันตรายและมอบให้​้เพื่​่�อป้​้องกั​ันหรื​ือหลี​ีกเลี่​่�ยงภั​ัยนั้​้�นๆ เมื่​่�อเราให้​้วัคั ซี​ีนแก่​่เด็​็กเพื่​่�อป้​้องกั​ันโปลิ​ิโอ เราคาดการณ์​์ล่ว่ งหน้​้าถึ​ึงการเจ็​็บป่​่วยที่​่�อาจเป็​็นไป ได้​้ และเราก็​็ปฏิ​ิบัติั เิ ช่​่นเดี​ียวกั​ันในเรื่​่�องอื่​่�นๆ เช่​่น โครงการโรตารี​ีเพื่​่�อลดความเจ็​็บป่​่วยด้​้วยโรคมาลาเรี​ีย หรื​ือมะเร็​็งปากมดลู​ูก เมื่​่�อเราสอนอาชี​ีพให้​้คนไปทำำ�งานเพื่​่�อเลี้​้�ยงชี​ีพ เราก็​็ใช้​้บั​ันไดขั้​้�นที่​่�แปด จากการให้​้ทุ​ุนราย ย่​่อยๆ ไปถึ​ึงการให้​้การศึ​ึกษา มู​ูลนิ​ิธิ​ิโรตารี​ีช่​่วยเราในการให้​้เป็​็นของขวั​ัญเพื่​่�อการพึ่​่�งพาตนเอง การทำำ�งานที่​่�ดี​ีๆ ทั้​้�งหลายยั​ังรอคอยเราอยู่​่� เช่​่นการช่​่วยเหลื​ือทารกแรกเกิ​ิด แหล่​่งน้ำำ��สะอาด การฟื้​้�นฟู​ูจากโรคโควิ​ิด-๑๙ และงานอื่​่�นๆ ที่​่�เราเป็​็นผู้​้�นำำ�อยู่​่� ผมมี​ีความภู​ูมิใิ จที่​่�จะเรี​ียนว่​่า สมาชิ​ิกโรตารี​ีจำำ�นวนมากได้​้ไต่​่บันั ไดสุ​ุดยอดของไมโมนิ​ิเดสแล้​้ว หลายท่​่านได้​้กระทำำ�โดยมิ​ิได้​้เปิ​ิดเผยนาม แต่​่ไม่​่ว่​่าจะเป็​็นผู้​้�ใดก็​็ตามหรื​ือไม่​่ว่​่าเหตุ​ุใดก็​็ตามที่​่�ท่​่านได้​้ แบ่​่งปั​ันของขวั​ัญของท่​่านให้​้กั​ับมู​ูลนิ​ิธิ​ิโรตารี​ี ผมขอขอบคุ​ุณท่​่าน ในฐานะองค์​์กรโรตารี​ี เราได้​้ขึ้​้�นบั​ันไดนั้​้�นแล้​้วเช่​่นกั​ัน ท่​่านผู้​้�บริ​ิจาคแต่​่ละท่​่านได้​้ช่​่วยเรา ให้​้ก้​้าวขึ้​้�นสู่​่�ระดั​ับสู​ูงขึ้​้�นไป ในขณะที่​่�เราขึ้​้�นบั​ันไดด้​้วยกั​ัน เราก็​็ได้​้รั​ับความเชื่​่�อถื​ืออย่​่างกว้​้างขวางขึ้​้�น เราได้​้เห็​็นทุ​ุกท่​่านผู้​้�ที่​่�ควรต้​้องได้​้รั​ับการยกระดั​ับขึ้​้�น เช่​่นเดี​ียวกั​ับโอกาสอี​ีกนั​ับไม่​่ถ้​้วน ที่​่�เราต้​้องช่​่วย เขาในโรตารี​ี และในเมื่​่�อเรากระทำำ�เช่​่นนั้​้�นแล้​้ว เราจะพบคุ​ุณค่​่าและวั​ัตถุ​ุประสงค์​์ของเราเอง เค. อาร์ ราวินดรัน ประธานทรัสตี

04

มกราคม-กุมภาพันธ์ 2564

ผู้แปลสาร : อน.พิเชษฐ์ รุจิรัตน์ ราชบุรี pr.pichet3330@gmail.com


บทบรรณาธิการ อน. วาณิ​ิช โยธาวุ​ุธ สโมสรโรตารี​ีแม่​่สาย

มวลมิตรโรแทเรียนทุกท่านครับ ** โรตารี​ีเปิ​ิดตั​ัวนิ​ิตยสาร The National Rotarian ซึ่​่�ง เป็​็นนิ​ิตยสารสำำ�หรั​ับสมาชิ​ิกในปี​ี พ.ศ. 2454 ตั้​้ง� แต่​่นั้​้น� เป็​็นต้​้นมา เรา ได้​้มี​ีการเปลี่​่�ยนชื่​่�อ 2 ครั้​้�ง คื​ือ ชื่​่�อ The Rotarian ในเดื​ือนกั​ันยายน พ.ศ. 2455 ต่​่อมาเปลี่​่�ยนเป็​็น Rotary ในเดื​ือนกั​ันยายน พ.ศ. 2563 เนื่​่�องจากมี​ีสโมสรของโรตารี​ีกระจายไปทั่​่�วโลก สมาชิ​ิกจากส่​่วน อื่​่�นๆ ของโลกต่​่างริ​ิเริ่​่�มที่​่�จะมี​ีการตี​ีพิมิ พ์​์นิติ ยสารของตนเอง เพื่​่�อเน้​้น เรื่​่�องราวของโรตารี​ีในท้​้องถิ่​่�น ปั​ัจจุ​ุบั​ันมี​ีนิ​ิตยสารอยู่​่�ใน 34 ภู​ูมิ​ิภาคทั่​่�วโลก มี​ี 25 ภาษา ที่​่�ให้​้บริ​ิการแก่​่สมาชิ​ิกใน 129 ประเทศ และในพื้​้�นที่​่�ต่​่างๆ ตาม ภู​ูมิ​ิศาสตร์​์ ยอดตี​ีพิ​ิมพ์​์ต่​่อเดื​ือนรวมกั​ันหนึ่​่�งล้​้านแปดหมื่​่�นฉบั​ับ นิ​ิตยสารของโรตารี​ีเชื่​่�อมสั​ัมพั​ันธ์​์โดยตรงระหว่​่างโรตารี​ี สากลกั​ับสมาชิ​ิกแต่​่ละคน มี​ีการแบ่​่งปั​ันข่​่าวสารและข้​้อมู​ูล พร้​้อม กั​ับการสร้​้างแรงบั​ันดาลใจให้​้แก่​่ผู้​้�อ่​่านด้​้วยเรื่​่�องราวของบุ​ุคคลผู้​้�ที่​่� ลงมื​ือทำำ� ** (ดอนนา คอตเตอร์​์ - คอลั​ัมน์​์ Our World มกราคม 2021)

*** เมื่​่�อคราวฉลองครบรอบหนึ่​่�งร้​้อยปี​ีของนิ​ิตยสาร เดอะ โรแทเรี​ียน ทางกองบรรณาธิ​ิการได้​้ตี​ีพิ​ิมพ์​์ฉบั​ับพิ​ิเศษความหนา 128 หน้​้า บั​ันทึ​ึกเรื่​่�องราวและความสำำ�เร็​็จตลอดหนึ่​่�งร้​้อยปี​ีที่​่�ผ่​่าน มาของโรตารี​ี เรื่​่�องราวอั​ันแสนประทั​ับใจทั้​้�งหลาย ได้​้รั​ับการกล่​่าวถึ​ึง จากยั​ักษ์​์ใหญ่​่ในวงการสื่​่�อสิ่​่�งพิ​ิมพ์​์ เดอะ นิ​ิวยอร์​์คไทมส์​์ ว่​่าเป็​็น “tour de force” (สำำ�นวนที่​่ใ� ช้​้ยกย่​่องสื่​่อ� ด้​้วยกั​ันถึงึ สิ่​่ง� ที่​่ไ� ด้​้ทำำ�อย่​่างมี​ีทั​ักษะ อย่​่างมี​ีความชำำ�นาญขั้​้�นสู​ูงและเป็​็นที่​่�ประทั​ับใจมาก)

อี​ีกหนึ่​่�งทศวรรษต่​่อมา นิ​ิตยสารฯ ก็​็ยั​ังพั​ัฒนาทั้​้�งรู​ูปแบบ และเนื้​้�อหาอย่​่างต่​่อเนื่​่�อง จนสามารถกวาดรางวั​ัลมามากมาย และ ปกของนิ​ิตยสาร ได้​้รั​ับรางวั​ัลเกี​ียรติ​ิยศสู​ูงสุ​ุด จาก “The National Magazine Awards” นิ​ิตยสารโรตารี​ี เป็​็นหนึ่​่�งในนิ​ิตยสารที่​่�ดี​ีที่​่�สุ​ุด ที่​่�ส่​่งเสริ​ิม จิ​ิตอาสา ที่​่�ไม่​่มุ่​่�งหวั​ังผลกำำ�ไร *** (จอห์​์น รี​ีแซค - บทบรรณาธิ​ิการ นิ​ิตยสารโรตารี​ี มกราคม 2021)

นิ​ิ ต ยสารโรตารี​ี ป ระเทศไทย ในฐานะส่​่ ว นหนึ่​่�งของ เครื​ือข่​่ายแห่​่งการสร้​้างสรรค์​์และสร้​้างแรงบั​ันดาลใจ ขอถื​ือโอกาส ร่​่วมแสดงความยิ​ินดี​ีกั​ับผู้​้�ร่​่วมงานและกองบรรณาธิ​ิการทุ​ุกท่​่าน มา ณ โอกาสนี้​้�ด้​้วย ด้วยไมตรีจิตแห่งโรตารี อน.วาณิช โยธาวุธ สโมสรโรตารีแม่สาย บรรณาธิ​ิการบริ​ิหาร


นิตยสารโรตารีประเทศไทย

(หน้​้าปก) น้​้องๆ เยาวชน โรงเรี​ียนบ้​้าน สั​ันธาตุ​ุ อ. เชี​ียงแสน จ. เชี​ียงราย ร่​่วมต้​้อนรั​ับคณะ ของสโมสรโรตารี​ีแม่​่สายและเชี​ียงแสนที่ส่� มาชิ​ิกร่​่วม กั​ันบำำ�เพ็​็ญประโยชน์​์ ด้​้วยการเลี้​้�ยงอาหารกลางวั​ัน และมอบทุ​ุ น การศึ​ึ ก ษา เนื่​่� อ งในวั​ั นสำำ�คั​ั ญ ของ สมาชิก (หน้​้าสารบั​ัญ) ภาพชนะการประกวด ภาพลั​ักษณ์​์สาธารณะระดั​ับภู​ูมิ​ิภาค รางวั​ัลที่​่� 2 โครงการฟั​ันดีด้ี ว้ ยตั​ัวเรา โครงการนี้​้�เป็​็น ความคิ​ิดที่เ่� กิ​ิดหลั​ังจากการไปเลี้​้ย� งอาหาร และมอบ

06

มกราคม-กุมภาพันธ์ 2564

ทุ​ุนการศึ​ึกษาให้​้เด็​็กโรงเรี​ียนบ้​้านทรายมู​ูล จากการ ที่​่�เห็​็นเด็​็กทานอาหารเรี​ียบร้​้อยแล้​้วต้​้องแปรงฟั​ัน พวกเราชาวโรแทเรี​ียนพนั​ัสนิ​ิคม ได้​้เข้​้าไปสั​ังเกต เห็นว่าเด็กต่างแปรงฟันกันผิดวิธี วันตอ่ มาจึงเข้าไป ให้​้ความรู้​้� ทั้​้�งมอบแผ่​่นพั​ับและสอนวิ​ิธี​ีแปรงฟั​ัน อย่​่างถู​ูกต้​้อง เพราะการแปรงฟั​ันอย่​่างถู​ูกวิ​ิธี​ีจะ ช่​่วยลดการสึ​ึกของคอฟั​ัน ป้​้องกั​ันฟั​ันผุ​ุ และการ แปรงฟั​ันอย่​่างสม่ำำ��เสมอ ยั​ังช่​่วยให้​้ป้​้องกั​ันการเกิ​ิด โรคต่​่างๆ ได้​้อี​ีกด้​้วย ณ โรงเรี​ียนบ้​้านทรายมู​ูล อ. พนั​ัสนิ​ิคม จ. ชลบุ​ุรี​ี


นิตยสารรายสองเดือน ปี​ีที่​่� 37 ฉบั​ับที่​่� 192 มกราคม-กุ​ุมภาพั​ันธ์​์ ๒๕๖๔ January-February 2021

สารบัญ Contents สารประธานโรตารีสากล สารประธานทรัสตีฯ สารบัญ สนเทศโรตารี

1-2 3-4 6-7 8-9

สกู๊​๊�ปพิ​ิเศษ “เฉลิ​ิมฉลองนิ​ิตยสารโรตารี​ี อายุ​ุครบ 110 ปี​ี”

10-16

กองบรรณาธิการ

คณะกรรมการที่​่�ปรึ​ึกษา อผภ. วิ​ิวั​ัฒน์​์ ศิ​ิริ​ิจางคพั​ัฒนา (3360) ผวภ. เฉลิ​ิมฉั​ัตร จั​ันทร์​์อิ​ินทร์​์ (3330) ผวภ. วิ​ิมล คชิ​ินทั​ักษ (3340) ผวภ. สมศรี​ี เมฆธน (3350) ผวภ. สมชาย เกิ​ิดเดโช (3360) ผวล. ไพกิ​ิจ ฮุ​ุนพงษ์​์สิ​ิมานนท์​์ (3330) ผวล. ผศ.ดร.จารี​ีศรี​ี กุ​ุลศิ​ิริ​ิปั​ัญโญ (3340) ผวล. ศ.คลิ​ินิ​ิก นพ.วิ​ิรุ​ุณ บุ​ุญนุ​ุช (3350) ผวล. จิ​ิระยุ​ุทธ หิ​ิรั​ัณยวั​ัฒน์​์ (3360) อผภ. ทนงศั​ักดิ์​์� พงษ์​์ศรี​ี (3350) คุ​ุณดนุ​ุชา ภู​ูมิ​ิถาวร

บรรณาธิ​ิการบริ​ิหาร อน. วาณิ​ิช โยธาวุ​ุธ (3360) บรรณาธิ​ิการผู้​้�ช่​่วยบริ​ิหาร อน. จั​ันทนี​ี เที​ียนวิ​ิจิ​ิตร (3360) บรรณาธิ​ิการผู้​้�ช่​่วย ภาค 3330 อผภ. จุ​ุฑาทิ​ิพย์​์ ธรรมศิ​ิริ​ิพงษ์​์ ภาค 3340 รทร. เดี​ียร์​์ราห์​์ พิ​ิบู​ูลย์​์วั​ัฒนวงษ์​์ ภาค 3350 อน. ตรอง แสงสว่​่างวั​ัฒนะ ภาค 3360 อน. นพ.ณั​ัฏฐธนิ​ิน เศรษฐวนิ​ิชย์​์ คอลั​ัมนิ​ิสต์​์ อน. ดร.บุ​ุษบง จำำ�เริ​ิญดารารั​ัศมี​ี (3360) ที่​่�ปรึ​ึกษา อผภ. อนุ​ุรั​ักษ์​์ นภาวรรณ (3360)

สถานที่ติดต่อ ศูนย์โรตารีในประเทศไทย 75/82-83 อาคารโอเชี่ยนทาวเวอร์ 2 ชั้น 32 ซ.วัฒนา ถ.อโศก เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110 c/o Rotary Centre in Thailand 75/82-83, 32/Fl., Ocean Tower II, Soi Wattana, Asok Rd., Wattana, Bangkok 10110 Tel: 02-661-6720 Fax: 02-661-6719 Mobile: 085-822-4442 Email: magazine@rotarythailand.org , v.yotharvut@rotarythailand.org Website: www.rotarythailand.org


สนเทศโรตารี

อน. พงษ์ศักดิ์ คันธศักดิ์ศิริ สโมสรโรตารีพระปกเกล้าธนบุรี

ประธานกรรมการ พั​ัฒนาและสร้​้างความเข้​้มแข็​็งสโมสร ภาค 3350

“คะแนน การประชุม

เป็​็นหนึ่​่�งในปั​ัจจั​ัยสำำคั​ัญ ที่​่�จะทำำให้​้สโมสร

เข้มแข็ง

เพราะเปรียบเสมือน

เครื่​่�องวั​ัดสุ​ุขภาพ ของสโมสร”

คะแนนการประชุม

มี​ีโรแทเรี​ียนจำำ�นวนไม่​่น้​้อยยั​ังเข้​้าใจว่​่า การที่​่�ภาคให้​้ส่​่งคะแนนการประชุ​ุมประจำำ� สั​ัปดาห์​์ก็​็เพื่​่�อชิ​ิงถ้​้วยกรมพระกำำ�แพงเพ็​็ชรอั​ัครโยธิ​ิน ซึ่​่�งจะมอบให้​้สโมสรโรตารี​ีทั้​้�ง 4 ภาคใน ประเทศไทย ที่​่�มี​ีคะแนนการประชุ​ุมเฉลี่​่�ยสู​ูงสุ​ุด ทำำ�ให้​้หลายสโมสรที่​่�ยั​ังไม่​่มี​ีความพร้​้อมก็​็จะไม่​่ ให้​้ความสำำ�คั​ัญกั​ับการส่​่งคะแนนการประชุ​ุม คะแนนการประชุ​ุมเป็​็นหนึ่​่�งในปั​ัจจั​ัยสำำ�คั​ัญที่​่�จะทำำ�ให้​้สโมสรเข้​้มแข็​็ง เพราะเปรี​ียบ เสมื​ือนเครื่​่�องวั​ัดสุ​ุขภาพของสโมสร ถ้​้าเปรี​ียบกั​ับร่​่างกายของเราก็​็เหมื​ือนการตรวจสุ​ุขภาพ ประจำำ�ปี​ี ถ้​้าเปรี​ียบกั​ับบริ​ิษั​ัทก็​็เหมื​ือนการทำำ�ระบบบั​ัญชี​ี คะแนนการประชุ​ุมจึ​ึงเป็​็นหน้​้าที่​่หลั � กั อั​ันหนึ่​่ง� ที่​่�ผู้​้�นำำ�สโมสรควรตระหนั​ักและวางแผน ร่​่วมกั​ับสมาชิ​ิก โดยเลขานุ​ุการสโมสรเป็​็นผู้​้�รวบรวมและจั​ัดส่​่งคะแนนของทุ​ุกเดื​ือนให้​้เลขานุ​ุการ ภาค สำำ�เนาให้​้ผู้​้�ว่​่าการภาคและผู้​้�ช่​่วยผู้​้�ว่​่าการภาค เพราะแต่​่ละเดื​ือนทางภาคจะต้​้องสรุ​ุปผล เพื่​่�อใช้​้ประกอบการพิ​ิจารณาร่​่วมกั​ับผลงานอื่​่�นของสโมสรด้​้วย คะแนนประชุ​ุมจึ​ึงแสดงให้​้เห็​็น ถึ​ึงความเข้​้มแข็​็งหรื​ืออ่​่อนแอของแต่​่ละสโมสรได้​้ เพราะการที่​่�สมาชิ​ิกมาร่​่วมประชุ​ุมสม่ำำ��เสมอ ย่​่อมแสดงให้​้เห็​็นถึ​ึงมิ​ิตรภาพที่​่�แน่​่นแฟ้​้นของสโมสรนั้​้�นๆ การพบปะกั​ันบ่​่อยๆ ทำำ�ให้​้มี​ีโอกาส พู​ูดคุ​ุย ร่​่วมทำำ�กิ​ิจกรรมบำำ�เพ็​็ญประโยชน์​์กั​ัน เกิ​ิดมิ​ิตรภาพ และความสามั​ัคคี​ี คะแนนการประชุ​ุมจะบอกถึ​ึงสถานะที่​่�แท้​้จริงิ ของสโมสรนั้​้�นๆ ถ้​้าผู้​้�นำำ�สโมสรเน้​้นย้ำำ�� ให้​้สมาชิกิ ทุ​ุกท่​่านได้​้รับั รู้​้�ถึ​ึงสุ​ุขภาพที่​่�แท้​้จริงิ ของสโมสรตนเอง จะทำำ�ให้​้สมาชิกิ หั​ันกลั​ับมาสนใจ การประชุ​ุมสโมสรมากขึ้​้�น ซึ่​่�งปั​ัจจุ​ุบั​ันกฎเกณฑ์​์ของโรตารี​ีสากลเกี่​่�ยวกั​ับการประชุ​ุมก็​็ได้​้ผ่​่อน ปรนอย่​่างมาก ดั​ังเช่​่น - การประชุมสโมสร เพียงเดือนละไม่ต�่ำกว่า 2 ครั้ง (จากเดิม 4 ครั้ง) นั่นหมายความ ว่าใน 1 ปี (365 วัน) มีการประชุมไม่เกิน 24 ครั้ง สมาชิกสามารถจัดสรรเวลาล่วงหน้าได้เลย - ยกเลิกก�ำหนดระยะเวลาการใช้ใบประชุมทดแทน (Make Up) เพียงขอให้ใช้ภายใน ปีนั้นๆ สมาชิกสามารถประชุมทดแทน สะสมล่วงหน้าได้หากมีเวลา - ประชุมทางสื่อออนไลน์ได้ สมาชิกทีต่ ดิ ภารกิจเข้าร่วมประชุมไม่ได้ บางสโมสรอาจ อนุโลมให้ใช้ช่องทางนี้แทน กอปรกับเมื่อนายกสโมสร และคณะกรรมการฝ่ายต่างๆ ร่วมกันจัดการประชุมให้มี ประสิทธิภาพ น่าสนใจ น่าดึงดูดให้สมาชิกมาประชุม คะแนนการประชุมจะต้องดีขึ้นอย่าง แน่นอน และที่ยิ่งไปกว่านั้นคือ การที่สมาชิกให้ความส�ำคัญและมีส่วนร่วมต่อกิจกรรมของ สโมสร จะส่งผลให้สโมสรแข็งแรงตามไปด้วย จึงถือว่า

08

มกราคม-กุมภาพันธ์ 2564

“ คะแนนการประชุ​ุมมี​ีส่​่วนทำำ�ให้​้สโมสรเข้​้มแข็​็งขึ้​้�นได้​้จริ​ิงๆ “


Article : บทความ

อน. ดร.บุ​ุษบง จำำเริ​ิญดารารั​ัศมี​ี สโมสรโรตารี​ีพะเยา

หลายรอบปี​ีในโรตารี​ี

“พระบาทสมเด็​็ จ พระปรมิ​ิ น ทรมหาประชาธิ​ิ ป ก ความภาคภู​ูมิ​ิใจ เป็​็นต้​้นแบบ และเป็​็นอะไรต่​่อมิ​ิอะไรหลายอย่​่างแก่​่ พระปกเกล้​้าเจ้​้าอยู่​่�หั​ัว รั​ัชกาลที่​่� 7 เสด็​็จประทั​ับอยู่​่�ในการก่​่อตั้​้�ง สโมสรโรตารี​ีในประเทศไทย สโมสรโรตารี​ีกรุ​ุงเทพ ณ พระราชวั​ังพญาไท และร่​่วมการประชุ​ุม ในการบริ​ิหารสโมสรโรตารี​ีมี​ีนายกสโมสรผลั​ัดกั​ันเป็​็นผู้​้�นำำ� ใหญ่​่ครั้​้�งแรกของสโมสรโรตารี​ีในประเทศไทย ณ พระราชวั​ังพญาไท หลายๆ สโมสรมารวมกั​ันเป็​็นภาค มี​ี ผู้​้�ว่​่าการภาคเป็​็นผู้​้�นำำ� ผู้​้�ว่​่า เมื่​่�อเดื​ือนธั​ันวาคม 2478” การภาคนั​ับเป็​็นผู้​้�นำำ�สู​ูงสุ​ุดของภาค และเป็​็นเจ้​้าหน้​้าที่​่�เพี​ียงหนึ่​่�งเดี​ียว เหตุ​ุการณ์​์ประวั​ัติศิ าสตร์​์นี้​้� ทำำ�ให้​้ต้อ้ งย้​้อนคิ​ิดถึ​ึงความเป็​็นมา ของโรตารี​ีสากล ความคงอยู่​่�และการพั​ัฒนาสโมสรนั้​้�น นอกเหนื​ือจาก ของสโมสรโรตารี​ีในประเทศไทย เวลาอั​ันยาวนานหลายเรื่​่�องอาจ นายกสโมสรแล้​้ว ผู้​้�ว่​่าการภาคมี​ีส่ว่ นสำำ�คั​ัญยิ่​่�ง ต้​้องแสดงความยิ​ินดี​ีต่อ่ ลื​ืมเลื​ือน บางเรื่​่�องอาจฝั​ังแน่​่นในความทรงจำำ� โดยเฉพาะอย่​่างยิ่​่�ง สโมสรกรุ​ุงเทพที่​่�มี​ีอายุ​ุยื​ืนยาวถึ​ึง 90 ปี​ี และมี​ีผู้​้�ว่​่าการภาครวมทั้​้�งสิ้​้�น สโมสรโรตารี​ีกรุ​ุงเทพ ซึ่​่�งมี​ีสมาชิ​ิกก่​่อตั้​้�งจำำ�นวนสู​ูงถึ​ึง 69 คน ในวั​ันที่​่� 8 ท่​่าน คื​ือ 17 กั​ั น ยายน 2473 มี​ี พ ลเอกพระเจ้​้ า 2478-79/1935-36 District 80 บรมวงศ์​์เธอพระองค์​์เจ้​้าบุ​ุรฉั​ัตรไชยากร “สโมสรโรตารี​ีกรุ​ุงเทพ ผวภ. พระวรวงศ์​์เธอ กรมพระกำำ�แพงเพ็​็ชรอั​ัคร กรมพระกำำ�แพงเพ็​็ชรอั​ัครโยธิ​ินเป็​็นนายกก่​่อตั้​้ง� โยธิ​ิน (DG. H.R.H. Prince Purachatra) ซึ่​่ ง � มี​ี ส มาชิ​ิ ก ก่​่ อ ตั้​้� ง การก่​่อตั้​้ง� ย่​่อมต้​้องการเวลา หลั​ังจาก 2483-84 / 1940-41 District 80 การตั้​้� ง สโมสรโรตารี​ี ชิ​ิ ค าโก ซึ่​่�งเป็​็ น สโมสร จ�ำนวนสูงถึง 69 คน ผวภ. พระวรวงศ์​์เธอ กรมหมื่​่�นนราธิ​ิปพงศ์​์ โรตารี​ีแห่​่งแรกของโลก ที่​่�เมื​ืองชิ​ิคาโก ประเทศ ประพั​ันธ์​์ (DG. H.R.H. Prince Wan) สหรั​ัฐอเมริ​ิกา ในปี​ี 2458 นานถึ​ึง 13 ปี​ีจึ​ึงมี​ี ในวั​ันที่​่� 17 กั​ันยายน 2473 มี​ี District 46 ผู้​้�แทนพิ​ิเศษ รทร. เจมส์​์ ดั​ับบลิ​ิว เดวิ​ิดสั​ัน จาก พลเอกพระเจ้​้าบรมวงศ์​์เธอ 2493-94 / 1950-51 ผวภ. พระวรวงศ์​์เธอ กรมหมื่​่�นพิ​ิทยลาภพฤฒิ​ิ สโมสรโรตารี​ีคัลั การี​ี เมื​ืองอั​ัลเบอร์​์ตา ประเทศ พระองค์ เ จ้ า บุ ร ฉั ต รไชยากร ยากร (DG. H.R.H. Prince Dhani) แคนาดา มาก่​่ อ ตั้​้� ง สโมสรโรตารี​ี ใ นภาคพื้​้� น แหลมทอง โดยก่​่อตั้​้ง� สโมสรกั​ัวลาลั​ัมเปอร์​์เป็​็น กรมพระก�ำแพงเพ็ชร 2497-98 / 1954-55 District 330 แห่​่งแรกในปี​ี 2471 และก่​่อตั้​้�งสโมสรอื่​่�นๆ ได้​้ ผวภ. พระยาศรี​ี วิ​ิ ส ารวาจา (DG. Phaya อัครโยธิน อี​ีก 7 สโมสร ภายในเวลา 2 ปี​ีก่​่อนเข้​้ามาใน Srivisar) รองประธานโรตารี​ีสากล ปี​ี 2503-04 ประเทศไทยในปี​ี 2473 สโมสรทั้​้�ง 8 จั​ัดให้​้อยู่​่� (1960-61 Vice-President, Rotary เป็​็นนายกก่​่อตั้​้�ง” ใน “ภาคโรตารี​ี บี​ี” มี​ีสภาพเป็​็นภาคโรตารี​ี International) กรรมการบริ​ิหารโรตารี​ีสากล ชั่​่�วคราว ก่​่อนผนวกรวมกั​ับสโมสรโรตารี​ีที่​่�ตั้​้�ง ปี​ี 2502-03 (1959-60 Director, Rotary เพิ่​่�มเติ​ิมขึ้​้�นในอิ​ินโดจี​ีน รวมลาว เขมร เวี​ียตนาม และเปลี่​่�ยนเป็​็น International) “ภาคโรตารี​ี 80 โรตารี​ีสากล” มี​ีพลเอกพระองค์​์เจ้​้าบุ​ุรฉั​ัตรไชยากร District 330 กรมพระกำำ�แพงเพ็​็ชรอั​ัครโยธิ​ินเป็​็นผู้​้�ว่​่าการภาคต่​่อเนื่​่�อง 2 สมั​ัย 2517-18 / 1974-7 ในปี​ี 2478-80 เมื่​่�อมี​ีสมาชิ​ิกเพิ่​่�มขึ้​้�นอย่​่างรวดเร็​็ว เปลี่​่�ยนชื่​่�อเป็​็น ผวภ. ม.ร.ว.พั​ัฒนไชย ไชยั​ันต์​์ (DG. M.R.Patanachai Jayant) “ภาคโรตารี​ี 46” และในที่​่�สุ​ุดเปลี่​่�ยนเป็​็น “ภาคโรตารี​ี 330” 2523-24 / 1980-81 District 330 ประเทศไทยขยายจากภาค 330 โดยแบ่​่งเป็​็น ภาคโรตารี​ี ผวภ. เนลสั​ัน อเล็​็กซานเดอร์​์ (DG. Nelson Alexander) 335 และ 336 เมื่​่�อปี​ี 2535 ในปี​ีเดี​ียวกั​ันโรตารี​ีสากลได้​้จั​ัดระเบี​ียบ 2529-30 / 1986-87 District 335 หมายเลขภาคจาก 3 ตั​ัวเป็​็น 4 ตั​ัวและอนุ​ุมั​ัติ​ิขยายภาคเป็​็น 4 ภาคคื​ือ ผวภ. ศ.รอ.กฤษฎา อรุ​ุณวงษ์​์ ณ อยุ​ุธยา (DG. Krisda Arunvongse) 3330, 3340, 3350 และ 3360 และมี​ีการจั​ัดตั้​้�งศู​ูนย์​์โรตารี​ีฯ ตั้​้�งแต่​่ 2534-35 / 1991-92 District 3350 วั​ันที่​่� 1 กรกฎาคม 2535 ประวั​ัติที่​่�ิ ยาวนาน 90 ปี​ีเต็​็ม สโมสรโรตารี​ีกรุ​ุงเทพทรงไว้​้เป็​็น ผวภ. พลเอกสายหยุ​ุด เกิ​ิดผล (DG. Gen.Saiyud Kerdphol)


การท�ำบุญ สันติภาพ น�้ำ การอ่าน การเดินทาง เรื่องของภาษา สิ่งแวดล้อมนิยม การเป็นผู้น�ำ ผู้ประกอบการ การอพยพถิ่นฐาน เรื่องจากอดีต ภาพประกอบโดย เกรก มาบรี่ย์

โดย วิลเลี่ยม แมคอัสคิล โดย เดนนิส หว่อง โดย ชาร์ลส์ ฟิชแมน โดย สก็​็อตต์​์ ทู​ูโรว์​์ โดย มาร์ค เบเกอร์ โดย คอรี สแตมเปอร์ โดย โจนาธาน โฟเลย์ โดย โจ โอติน โดย จูเลียน่า คอร์รีดอร์ กอนซาเลส โดย เควนติน โวดอน โดย เจฟฟรีย์ จอห์นสัน ผู้แปล/เรียบเรียง อน. ศรี​ีฟ้​้า ศิ​ิริ​ิอุ​ุดมเศรษฐ สโมสรโรตารีกรุงเทพรัชดาภิเษก

***** เพื่​่�อเป็​็นการเฉลิ​ิมฉลองในโอกาสที่​่นิ� ิตยสาร โรตารี​ีมี​ีอายุ​ุ ค รบ 110 ปี​ี กองบรรณาธิ​ิ ก ารจึ​ึงจั​ั ดทำำ� บทความพิเศษ ที่ใช้ชื่อว่า “อนาคต” เป็​็นการรวบรวมบทความจากนั​ักคิ​ิด นักั เขี​ียน นั​ักปฏิ​ิบั​ัติ​ิ ที่​่�ถู​ูกคั​ัดสรรมา ให้​้คาดการณ์​์ถึ​ึงแนวโน้​้มของ อนาคตที่​่�จะมาถึงึ โดยแบ่​่งเป็​็นหั​ัวข้​้อต่​่างๆ ที่​่�น่​่าสนใจ โดยจะแบ่​่งเป็​็นสองฉบั​ับ ในฉบั​ับนี้​้�เป็​็นตอน แรก มีห้าหัวข้อ คือ การท�ำบุญ สันติภาพ น�้ำ การอ่าน และการเดินทาง ถึ​ึงแม้​้เรื่​่�องราวส่​่วนใหญ่​่อาจจะอยู่​่�บนพื้​้�นฐาน ของผู้​้�อ่​่านที่​่�น่​่าจะเป็​็นชาวอเมริ​ิกั​ัน แต่​่ก็​็เป็​็นดั​ัชนี​ีชี้​้�วั​ัดถึ​ึง แนวโน้​้มของโลกเราในอนาคตได้​้ - บก.

10

มกราคม-กุมภาพันธ์ 2564


อนาคต

ในปี​ี พ.ศ. 2458 พอล แฮริ​ิส ได้​้เขี​ียนกล่​่าวไว้​้ในนิ​ิตยสารนี้​้�ว่​่า

“โรตารีจะเป็นอย่างไรในอีก 100 ปีข้างหน้า ไม่มีใครสามารถจินตนาการได้” ร้​้อยกว่​่าปี​ีต่​่อมา ไม่​่ต้​้องจิ​ินตนาการเลย โรตารี​ีเจริ​ิญรุ่​่�งเรื​ือง เช่​่นเดี​ียวกั​ับนิ​ิตยสาร สิ​ิบปี​ีที่​่�แล้​้วในโอกาสครบรอบ 100 ปี​ีของ การพิ​ิมพ์​์ กองบรรณาธิ​ิการหั​ันมองดู​ูความสำำ�เร็​็จของนิ​ิตยสารฉบั​ับ ครบรอบซึ่​่�งได้​้รวบรวมรายชื่​่�อผู้​้�ที่​่�มี​ีส่​่วนร่​่วมอั​ันทรงเกี​ียรติ​ิ จากคลั​ัง เอกสารสำำ�คั​ัญของเราตั้​้�งแต่​่ เจน แอดดั​ัมส์​์ (Jane Addams) จนถึ​ึง เคิ​ิร์​์ท วอนเนกั​ัท (Kurt Vonnegut) และรวมถึ​ึง วิ​ินส์​์ตั​ัน เชอร์​์ชิ​ิลล์​์ (Winston Churchill), อั​ัลเบิ​ิร์​์ต ไอน์​์สไตน์​์ (Albert Einstein), โมฮั​ันดาส เค คานธี​ี (Mohandas K. Gandhi), เออร์​์เนสต์​์ เฮมิ​ิงเวย์​์ (Ernest Hemingway), ซิ​ินแคลร์​์ ลู​ูอิ​ิส (Sinclair Lewis), จอร์​์จ เบอร์​์นาร์​์ดชอว์​์ (George Bernard Shaw) และ เอมี่​่� แวนเดอร์​์บิ​ิลต์​์ (Amy Vanderbilt) ทั้​้�งนี้​้�ขอกล่​่าวถึ​ึงเพี​ียงไม่​่กี่​่�คน มาถึงวันนี้ในโอกาสครบรอบ 110 ปีของเรา เราก�ำลังมอง ไปในทิศทางของอนาคต เหมือนว่าเรายืนอยู่ ณ ประตูของทศวรรษที่ สามแห่งศตวรรษที่ 21 โดยจินตนาการไปถึงสถานที่ที่เรามุ่งหน้าไป และเราคาดหวังจะเห็นอะไรเมื่อไปถึงที่นั่น

มองไปข้​้ า งหน้​้ า : อนาคตแห่​่ ง สั​ั นติ ิ ภ าพ การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในปีที่ผ่านมา ในเวลานี้​้�มี​ีการพู​ูดถึ​ึงอนาคตของสั​ันติ​ิภาพมากขึ้​้�น — ทั้​้�งในโรตารี​ีใน สหรั​ั ฐ อเมริ​ิ ก าและในโลก สิ่​่�งหนึ่​่�งที่​่�แน่​่ น อนคื​ื อ มี​ี ค วามขั​ั ด แย้​้ ง และมี​ี ก าร เปลี่​่�ยนแปลง ทั้​้�งสองอย่​่างนี้​้�เกิ​ิดขึ้​้�นตลอดเวลา คำำ�ถามคื​ือ เราจะใช้​้ความขั​ัดแย้​้ง นั้​้�นกระตุ้​้�นให้​้เกิ​ิดการเปลี่​่�ยนแปลงอย่​่างสร้​้างสรรค์​์ไหม? เมื่​่�อพิ​ิจารณาคำำ�ตอบของ คำำ�ถามนี้​้� โรตารี​ีและโรแทเรี​ียนต้​้องเลื​ือกผลกระทบที่​่�ยั่​่�งยื​ืนและมี​ีผลต่​่อความ สงบสุ​ุขของ “ทั่​่�วโลก ชุ​ุมชนของเรา และตั​ัวเราเอง” ด้​้วยเหตุ​ุนี้​้� เราจึ​ึงต้​้องใช้​้ความคิ​ิดและแนวทางใหม่​่ในการสร้​้างสั​ันติ​ิภาพ ให้​้เป็​็นไปตามถ้​้อยแถลงวิ​ิสั​ัยทั​ัศน์​์ และแผนปฏิ​ิบั​ัติ​ิการของโรตารี​ี โดยคำำ�นึ​ึงถึ​ึง หลั​ักการและขอบเขตการบริ​ิการและจุ​ุดเน้​้นของเราอยู่​่�เสมอ เป้​้าหมายหนึ่​่�งคื​ือจะ ต้​้องสร้​้างความไว้​้วางใจ ความโปร่​่งใส และการทำำ�งานเป็​็นที​ีมด้​้วยความทุ่​่�มเทของ พวกเรา นอกจากนี้​้�เราควรสร้​้างกรอบความคิ​ิดที่​่�จะสร้​้างสั​ันติ​ิภาพให้​้เป็​็นนิ​ิสั​ัย ทุ​ุกวั​ันซึ่​่�งรวมถึ​ึงการทำำ�เป็​็นตั​ัวอย่​่าง และคอยจั​ับตาดู​ูสิ่​่�งที่​่�ผมเรี​ียกว่​่าสั​ันติ​ิภาพ

เดนนิส หว่อง (Dennis Wong) สมาชิกของโรตารีอีคลับเวิร์ลพีซ (Rotary E-Club of World Peace) ภาค 5330 และเป็นผู้ร่วมก่อตั้งกลุ่มปฏิบัติการโรตารี เพื่อสันติภาพ เชิ​ิงบวก ด้​้วยอั​ักษร P สี่​่�ตั​ัว ได้​้แก่​่ people (คน), purpose (จุ​ุดประสงค์​์), policy (การเมื​ือง), และ power (อำำ�นาจ) เนื่​่�องจากสถานภาพปั​ัจจุ​ุบั​ันไม่​่อำำ�นวย ผมก็​็หวั​ังว่​่าความต้​้องการและ แรงขั​ับเคลื่​่�อนเพื่​่�อให้​้เกิ​ิดความยุ​ุติธิ รรมทางสั​ังคมจะนำำ�ไปสู่​่�การเปลี่​่�ยนแปลงอย่​่าง แน่​่นอน ในแบบที่​่�ผมอยากจะให้​้เกิ​ิดประโยชน์​์ต่อ่ ทุ​ุกคน เมื่​่�อเกิ​ิดการเปลี่​่�ยนแปลง โรตารี​ีและโรแทเรี​ียนก็​็จะสามารถสร้​้างความแตกต่​่างในหลายๆ ด้​้านได้​้หาก พวกเขาเลื​ือก เราต้​้องถามตั​ัวเราว่​่า เรามี​ีความกล้​้าและความตั้​้�งใจที่​่�จะให้​้คำำ�มั่​่�น สั​ัญญาที่​่�จะสร้​้างสั​ันติ​ิภาพเชิ​ิงบวกหรื​ือไม่​่? ผมมองถึ​ึงวั​ันข้​้างหน้​้า เมื่​่�อชื่​่�อของโรตารี​ีจะอยู่​่�ในใจของผู้​้�คนเที​ียบ เท่​่ากั​ับการสร้​้างสั​ันติ​ิภาพและการแก้​้ไขความขั​ัดแย้​้ง สั​ันติ​ิภาพเป็​็นเรื่​่�องของสิ​ิทธิ​ิ มนุ​ุษยชน และผมก็​็คาดหวั​ังสิ่​่�งที่​่�ดี​ีเกี่​่�ยวกั​ับอนาคตที่​่�ประชากรของโลกจะอยู่​่�อย่​่าง ปลอดภั​ัย มี​ีโอกาสที่​่�จะเจริ​ิญรุ่​่�งเรื​ืองและมี​ีความสุ​ุขกั​ับคุ​ุณภาพชี​ีวิ​ิตที่​่�เราทุ​ุกคน สมควรจะได้​้รั​ับ


ก า ร ท� ำ บุ ญ โดย วิ​ิลเลี่​่�ยม แมคอั​ัสคิ​ิล (William MacAskill)

นายวิลเลี่ยม แมคอัสคิล (William MacAskill) รองศาสตราจารย์​์ด้านปรั ้ ัชญา และนั​ักวิ​ิจั​ัยจากสถาบั​ัน Global Priorities Institute ของมหาวิ​ิทยาลั​ัยออกซ์​์ฟอร์​์ด เป็​็นผู้​้�เขี​ียนหนั​ังสื​ือประเภท การทำำ�ดี​ีให้​้ดี​ีขึ้​้�น (Doing Good Better) ได้​้แก่​่ หนั​ังสื​ือการช่​่วยเหลื​ือ อย่​่างมี​ีประสิ​ิทธิ​ิภาพ ทำำ�ให้​้คุ​ุณช่​่วยผู้​้�อื่​่�นได้​้อย่​่างไร (How Effective Altruism Can Help You Help Others), จงทำำ�งานที่​่�สำำ�คั​ัญ (Do Work That Matters) และ เลื​ือกวิ​ิธี​ีตอบแทนอย่​่างชาญฉลาด (Make Smarter Choices About Giving Back), ท่านเป็นผู้ร่วมก่อตั้งและเป็น ประธานของศูนย์ปรัตถนิยม (Center for Effective Altruism)

12

เมื่​่�อประมาณ 10 ปี​ีที่​่�แล้​้ว ผมได้​้ช่​่วยเปิ​ิดตั​ัวให้​้มี​ี การเคลื่​่�อนไหวทางสั​ังคมที่​่�เรี​ียกว่​่า การช่​่วยเหลื​ือผู้​้�อื่​่�นอย่​่างมี​ี ประสิ​ิทธิ​ิภาพ ซึ่​่�งในเวลาต่​่อมามั​ันได้​้นำำ�ผมไปสู่​่�สิ่​่�งที่​่�ผมเชื่​่�อมั่​่�น ว่​่ามั​ันคื​ือ อนาคตของการทำำ�บุ​ุญ ผมขออธิ​ิ บ ายดั​ั ง นี้​้� การช่​่ ว ยเหลื​ื อ ผู้​้�อื่​่�นอย่​่ า งมี​ี ประสิ​ิทธิ​ิภาพ อาศั​ัยข้​้อมู​ูลหลั​ักฐานและแนวความคิ​ิดที่​่�ว่​่า เรา สามารถทำำ�ความดี​ีให้​้มากที่​่�สุ​ุด โดยใช้​้ทรั​ัพยากรเท่​่าที่​่�มี​ีได้​้ อย่​่างไร กระบวนการเริ่​่�มต้​้นจากการขยายวงศี​ีลธรรมของเราให้​้ กว้​้างขึ้​้น� ไปยั​ังคนที่​่�เราคิ​ิดว่​่ามี​ีค่า่ ควรแก่​่ความห่​่วงใย รวมถึ​ึงคน ที่​่�มี​ีชี​ีวิ​ิตอยู่​่�อย่​่างยากจนข้​้นแค้​้น วงศี​ีลธรรมที่​่�ขยายกว้​้างขึ้​้�นนี้​้� เป็​็นเรื่​่�องที่​่�เพิ่​่�งจะมี​ีในประวั​ัติ​ิศาสตร์​์ เมื่​่�อสหั​ัสวรรษที่​่�ผ่​่านมา เราเริ่​่�มต้​้นด้​้วยการดู​ูแลห่​่วงใยเฉพาะคนในครอบครั​ัว หรื​ือวงศ์​์ตระกู​ูล แต่​่เมื่​่�อเวลาผ่​่านไปวงนี้​้�ก็​็ขยายกว้​้างขึ้​้�นเพื่​่�อให้​้ ความสำำ�คั​ัญด้​้านศี​ีลธรรมที่​่�เสมอภาคกั​ัน กั​ับผู้​้�คนที่​่�ต่​่างเพศ ต่​่าง เชื้​้�อชาติ​ิ ศาสนา ต่​่างรสนิ​ิยม และต่​่างสั​ัญชาติ​ิ ปั​ัจจุ​ุบั​ันวงนี้​้�ได้​้ โตขึ้​้�นเพื่​่�อโอบอุ้​้�มผู้​้�ยากไร้​้ที่​่�น่​่าเวทนา ถึ​ึงแม้​้ว่​่าพวกเราซึ่​่�งอยู่​่�ในประเทศที่​่�พั​ัฒนาแล้​้วอาจ ไม่​่ได้​้เห็​็นความทุ​ุกข์​์ยากของคนเหล่​่านั้​้�นด้​้วยตาของเราเอง แต่​่ นั่​่�นก็​็ไม่​่อาจให้​้เราต้​้องเพิ​ิกเฉยต่​่อพวกเขาได้​้ มนุ​ุษย์​์ทุ​ุกคน สมควรได้​้รั​ับความอนาทรอย่​่างเท่​่าเที​ียมกั​ัน ไม่​่ว่​่าพวกเขาจะ อยู่​่�ที่​่�ใด ลองนึ​ึกถึ​ึงเรื่​่�องที่​่�องค์​์การอนามั​ัยโลกได้​้ประมาณว่​่าจะ มี​ีผู้​้�เสี​ียชี​ีวิ​ิตประมาณ 1.5 ล้​้านคนทุ​ุกๆ ปี​ีจากโรคที่​่�สามารถ ป้​้องกั​ันได้​้ แต่​่มี​ีเงิ​ินเพี​ียงประมาณ 2,300 เหรี​ียญเท่​่านั้​้�นที่​่� สามารถป้​้องกั​ันเด็​็กอายุ​ุต่ำำ��กว่​่า 5 ขวบไม่​่ให้​้เสี​ียชี​ีวิ​ิตจากโรค เหล่​่านั้​้�น อย่​่างเช่​่น โรคมาลาเรี​ีย ที่​่�มี​ีการจ่​่ายยาต้​้านมาลาเรี​ีย เป็​็นครั้​้�งคราว อย่างไรก็ตาม เมือ่ เร็วๆ นีผ้ มถึงเข้าใจว่าแม้พวกเรา ถือว่าทุกคนที่มีชีวิตอยู่ในทุกวันนี้มีความเท่าเทียมกัน แต่ วงกลมนี้​้�ก็ยั็ งั มี​ีความกว้​้างใหญ่​่ไม่​่ถึงึ ที่​่�สุ​ุด จริ​ิงอยู่​่�ที่​่�มันั มี​ีหลายวิ​ิธี​ี ที่​่�เราสามารถทำำ�ความดี​ีได้​้มากมาย เพื่​่�อช่​่วยเหลื​ือคนยากจน ทั่​่�วโลก แต่​่ไม่​่นานมานี้​้�ผมกลั​ับมี​ีความเชื่​่�อมั่​่�นในเรื่​่�องการทำำ�บุ​ุญ เพื่​่�ออนาคต ที่​่�เรี​ียกร้​้องให้​้เราเน้​้นไปที่​่�การพั​ัฒนาชี​ีวิ​ิตของคน กลุ่​่�มอื่​่�นที่​่�มี​ีความทุ​ุกข์​์ยาก ซึ่​่�งเรามองไม่​่เห็​็นและในพื้​้�นที่​่�ที่​่�เรา สามารถสร้​้างผลกระทบได้​้มากที่​่�สุ​ุด กลุ่​่�มคนที่​่�ถู​ูกแยกจากเรา ไม่​่ใช่​่ถู​ูกแยกด้​้วยพื้​้�นที่​่�แต่​่เป็​็นด้​้วยสมั​ัยเวลานั่​่�นคื​ือ กลุ่​่�มคน รุ่​่�นใหม่​่ การปราศจากตั​ัวแทน-จากกลุ่​่�มคนรุ่​่�นใหม่​่เป็​็นตั​ัวอย่​่าง ข้​้อผิ​ิดพลาดทางการตลาดและของระบอบประชาธิ​ิปไตย คนที่​่� ไม่​่มี​ีตั​ัวตนย่​่อมไม่​่สามารถซื้​้�อขายหรื​ือต่​่อรองกั​ับเราได้​้ และ ดั​ังนั้​้�นจึ​ึงไม่​่มี​ีอิ​ิทธิ​ิพลเหนื​ือการตั​ัดสิ​ินใจของผู้​้�บริ​ิโภคหรื​ือกลุ่​่�ม บริ​ิษั​ัท พวกเขาจึ​ึงถู​ูกตั​ัดสิ​ิทธิ์​์�ทางการเมื​ืองอย่​่างสิ้​้�นเชิ​ิง คื​ือไม่​่ สามารถล็​็อบบี้​้�รัฐั บาลและไม่​่มีสิี ทิ ธิ์​์อ� อกเสี​ียง มั​ันจึ​ึงตกเป็​็นเรื่​่�อง ของบุ​ุญที่​่�จะเติ​ิมเต็​็มช่​่องว่​่างนั้​้�น เรื่​่�องนี้​้�สำำ�คัญ ั มาก เพราะมี​ีคนรุ่​่�นหลั​ังอี​ีกจำำ�นวนมาก ที่​่�กำำ�ลั​ังจะตามมา สั​ัตว์​์เลี้​้�ยงลู​ูกด้​้วยนมสามารถดำำ�รงอยู่​่�รอดได้​้ เป็​็นล้​้านๆ ปี​ีก่​่อนที่​่�จะสู​ูญพั​ันธุ์​์� เช่​่น สายพั​ันธุ์​์�มนุ​ุษย์​์ โฮ

มกราคม-กุมภาพันธ์ 2564

โมเซเปี้​้�ยนส์​์ที่​่�อยู่​่�บนโลกนี้​้�มาแล้​้วประมาณ 200,000 ปี​ี ถ้​้าเรา เปรี​ียบเที​ียบเวลาของการดำำ�รงอยู่​่�ของเรา เฉกเช่​่นสิ่​่�งมี​ีชีวิี ติ ชนิ​ิด หนึ่​่�ง กั​ับช่​่วงอายุ​ุของสิ่​่�งมี​ีชี​ีวิ​ิตแต่​่ละชี​ีวิ​ิต มนุ​ุษย์​์ก็​็อยู่​่�ในช่​่วง ปฐมวั​ัย และมี​ีเวลาเกื​ือบตลอดชี​ีวิ​ิตรออยู่​่�ข้​้างหน้​้า และมนุ​ุษย์​์ ไม่​่ใช่​่สั​ัตว์​์เลี้​้�ยงลู​ูกด้​้วยนมทั่​่�วไป มั​ันเป็​็นไปได้​้ว่​่าเราอาจจะอยู่​่� รอดได้​้นานมากขึ้​้�น นั​ักวิ​ิทยาศาสตร์​์คาดการณ์​์ว่​่าโลกจะยั​ังคง เป็​็นบ้​้านได้​้อี​ีก 500 ล้​้านปี​ีข้​้างหน้​้า และหากเราสามารถเดิ​ิน ทางไปตั้​้�งรกรากบนดาวอื่​่�น โอกาสของสายพั​ันธุ์​์�มนุ​ุษย์​์จะอยู่​่� รอดจะมี​ีมากขึ้​้น� อย่​่างมหาศาล ดั​ังนั้​้�นมนุ​ุษย์​์เราจะมี​ีอนาคตอั​ัน ยิ่​่�งใหญ่​่รออยู่​่�ข้​้างหน้​้า – นั่​่�นคื​ือถ้​้าไม่​่มี​ีอะไรที่​่�ผิ​ิดพลาด แต่น่าเสียดาย ที่มีหลายสิ่งหลายอย่างผิดพลาด พลังงานนิวเคลียร์ การแทรกแซงระบบธรรมชาติของโลก ชีววิทยาสังเคราะห์ และจักรกลอัจฉริยะ ทั้งหมดล้วนสร้าง ปั​ัญหา เราจะสามารถควบคุ​ุมใช้​้ประโยชน์​์จากสิ่​่�งเหล่​่านี้​้�ได้​้ อย่​่างไร โดยไม่​่ต้​้องเสี่​่�ยงกั​ับภั​ัยร้​้ายแรงที่​่�อาจเกิ​ิดขึ้​้�น? ด้​้วยการ เกิ​ิดของเทคโนโลยี​ีที่​่�มี​ีประสิ​ิทธิ​ิภาพมากขึ้​้�น ภั​ัยอั​ันตรายที่​่� เผ่​่าพั​ันธุ์​์�มนุ​ุษย์​์จะสู​ูญพั​ันธุ์​์� หรื​ือการล่​่มสลายของอารยธรรมที่​่� ไม่​่สามารถกู้​้�คื​ืนได้​้ กลายเป็​็นจริ​ิงอย่​่างเห็​็นได้​้ชั​ัด และภั​ัย อั​ันตรายที่​่�รุ​ุนแรงนั้​้�นแม้​้ว่​่าอาจจะเป็​็นไปไม่​่ได้่​่�ก็​็ตาม แต่​่ก็​็ต้​้อง ใส่​่ใจอย่​่างมากและอย่​่างจริ​ิงจั​ัง ดั​ังนั้​้�น คนใจบุ​ุญสุ​ุนทานหลายคนจึ​ึงเชื่​่�อว่​่า เมื่​่�อเรา พยายามที่​่�จะทำำ�ความดี​ี เราควรคำำ�นึ​ึงถึ​ึงผลระยะยาวที่​่�จะตาม มาจากการกระท�ำของเราเป็นส�ำคัญ ไม่ว่ามันจะใช้เวลาหลาย ร้อยปี เป็นพันปี หรืออาจถึงล้านๆ ปี โครงการท�ำประโยชน์เพือ่ สังคมอย่างเสรี (Open Philanthropy Project) ที่ได้รับทุน จากนางคาริ ทูน่า (Cari Tuna) และสามีของเธอ นายดัสติน มอสโควิ​ิทซ์​์ (Dustin Moskovitz) (ผู้​้�ร่​่วมก่​่อตั้​้�ง Asana และ Facebook) มี​ีกิ​ิจกรรมที่​่�ชื่​่�อว่​่า “ความปลอดภั​ัยทางชี​ีวภาพ และการเตรี​ียมพร้​้อมสำำ�หรั​ับการแพร่​่ระบาดของโรค” และ “ภั​ัยร้​้ายที่​่�อาจเกิ​ิดขึ้​้�นจากปั​ัญญาประดิ​ิษฐ์​์ขั้​้�นสู​ูง” โดยตั้​้�งชื่​่�อ ตามกิ​ิจกรรมที่​่�เน้​้นทำำ� นายเอลอน มั​ัสค์​์ (Elon Musk) ของ เทสลา และ นายรี​ีด ฮอฟแมน (Reid Hoffman) ผู้​้�ร่​่วมก่​่อตั้​้�ง LinkedIn กำำ�ลั​ังให้​้การสนั​ับสนุ​ุนกั​ับแนวคิ​ิดสร้​้างสรรค์​์ เพื่​่�อ สร้​้ า งความมั่​่�นใจว่​่ า ปั​ั ญ ญาประดิ​ิ ษ ฐ์​์ มี​ี ป ระโยชน์​์ ต่​่ อ มวล มนุ​ุษยชาติ​ิ นายเจฟฟ์​์ สโคว (Jeff Skoll) ซึ่​่�งเป็​็นผู้​้�ประกอบ ธุ​ุรกิ​ิจอิ​ินเทอร์​์เน็​็ต ชาวแคนาดาได้​้จัดั ตั้​้ง� กองทุ​ุน Skoll Global Threats Fund เพื่​่�อรั​ับมื​ือกั​ับภั​ัยคุ​ุกคามที่​่�มี​ีต่​่อมนุ​ุษยชาติ​ิ นายเจฟฟ์​์ บี​ีโซส (Jeff Bezos) ได้​้ให้​้ทุ​ุนสนั​ับสนุ​ุนสร้​้างนาฬิ​ิกา ที่​่�จะเดิ​ินได้​้นานถึ​ึง 10,000 ปี​ี โดยจะตี​ีระฆั​ังทุ​ุกๆ สิ​ิบปี​ี เพื่​่�อเป็​็น สั​ั ญ ลั​ั ก ษณ์​์ แ สดงถึ​ึ ง ความห่​่ ว งใยที่​่�ยาวนาน ทั้​้� ง หมดนี้​้� เ ป็​็ น ตั​ัวอย่​่างรู​ูปแบบต่​่างๆ ของผู้​้�บริ​ิจาคที่​่�พยายามทำำ�ประโยชน์​์ให้​้ กั​ับคนรุ่​่�นต่​่อไป แม้​้ว่า่ คลื่​่�นลู​ูกใหม่​่แห่​่งการทำำ�บุ​ุญนี้​้�ยังั อยู่​่�ในช่​่วงเริ่​่�ม ต้​้น แต่​่ผมก็​็มองเห็​็นถึ​ึงความห่​่วงใยที่​่�มี​ีต่​่อชนรุ่​่�นใหม่​่ในอนาคต จะมี​ีเพิ่​่�มมากขึ้​้น� และหากประวั​ัติศิ าสตร์​์คือื ข้​้อบ่​่งชี้​้ใ� ดๆ วงกลม แห่​่งความห่​่วงอาทรของเราก็​็จะขยายออกไปเรื่​่�อยๆ


ผมอยู่​่�ที่​่�เมื​ืองชาร์​์ลสตั​ัน เซาท์​์แคโรไลนา เพื่​่�อสนทนาเรื่​่�องน้ำำ�� และ อาจารย์​์ของมหาวิ​ิทยาลั​ัยที่​่�นั่​่�นท่​่านหนึ่​่�ง ได้​้เล่​่าถึ​ึงชี​ีวิ​ิตคนในเมื​ืองริ​ิมน้ำำ��ที่​่�สวยงาม แห่​่งนั้​้�นว่​่า ได้​้เปลี่​่�ยนไปอย่​่างมากได้​้อย่​่างไรในช่​่วงเวลาไม่​่กี่​่�ปี​ี เธอเล่​่าว่​่า เมื่​่�อก่​่อนนี้​้�ในช่​่วงต้​้นทศวรรษของปี​ี 2543 เมื​ืองชาร์​์ลสตั​ัน ประสบเหตุ​ุการณ์​์น้ำำ��ท่​่วมในปี​ีหนึ่​่�งไม่​่กี่​่�ครั้​้�งประมาณแปดหรื​ือสิ​ิบครั้​้�ง บางเดื​ือนก็​็ ไม่​่มี​ี แต่​่ไม่​่กี่​่�ปี​ีมานี้​้� เมื​ืองชาร์​์ลสตั​ันเกิ​ิดเหตุ​ุการณ์​์น้ำำ��ท่​่วมรุ​ุนแรงมากถึ​ึง 40 - 50 ครั้​้�งต่​่อปี​ี น้ำำ��ท่​่วมเป็​็นเรื่​่�องปกติ​ิและสร้​้างความเสี​ียหายมาก หญิ​ิงสาว คนหนึ่​่�งเล่​่าว่​่าเธอและสามี​ีต้​้องวางแผนชี​ีวิ​ิตของตนเพื่​่�อรั​ับมื​ือกั​ับปั​ัญหาน้ำำ��ท่​่วม พวกเขาส่​่งลู​ูกๆ ไปสถานรั​ับเลี้​้�ยงเด็​็กที่​่�อยู่​่�ฟากหนึ่​่�งของเมื​ือง ส่​่วนตนเองก็​็ทำำ�งาน อยู่​่�อี​ีกฟากหนึ่​่�ง เมื่​่�อเกิ​ิดน้ำำ��ทะเลท่​่วมถนนและตามสี่​่�แยก ซึ่​่�งตอนนี้​้�เกิ​ิดขึ้​้�นเฉลี่​่�ย สามครั้​้�งต่​่อเดื​ือนทำำ�ให้​้ต้​้องถู​ูกตั​ัดขาดจากลู​ูกๆ “เราต้องเฝ้าระวังดูสภาพอากาศ กระแสน�้ำขึ้นลงและคอยติดต่อกับ คนที่สถานเลี้ยงเด็ก” เธอกล่าว “เพราะพอสิ้นวันพวกเราอาจไปรับลูกไม่ได้” มี หลายครัง้ ทีไ่ ม่ได้สง่ ลูกๆ ไปสถานเลีย้ งเด็กเนือ่ งจากมีการพยากรณ์วา่ จะมีน�้ำท่วม ระหว่างวัน คุ​ุณไม่​่ต้อ้ งไปนึ​ึกถึ​ึงน้ำำ��ในวั​ันข้​้างหน้​้า น้ำำ��อยู่​่�ที่​่�นี่​่�แล้​้ว และอยู่​่�รอบตั​ัวเรา เหตุ​ุการณ์​์น้ำำ��ท่ว่ มในชาร์​์ลสตั​ันเป็​็นบทเรี​ียนที่​่�ต้​้องจดจำำ�ที่​่�สุ​ุด เป็​็นปั​ัญหาเดี​ียวและ ในเมื​ืองเดี​ียวของสหรั​ัฐอเมริ​ิกา แม้​้ว่​่าน้ำำ��ท่​่วมไม่​่ได้​้สร้​้างความหายนะอย่​่างรุ​ุนแรง แต่​่มั​ันเกิ​ิดฉั​ับพลั​ัน ไม่​่เคยเกิ​ิดขึ้​้�นมาก่​่อน มั​ันยื​ืดเยื้​้�อ ทุ​ุกอย่​่างหยุ​ุดชะงั​ักและไม่​่ สิ้​้�นสุ​ุด เกี่​่�ยวกั​ับเรื่​่�องน้ำำ��แล้​้ว เรายั​ังไม่​่พร้​้อมที่​่�จะรั​ับมื​ือกั​ับสิ่​่�งที่​่�กำำ�ลั​ังเกิ​ิดขึ้​้�นกั​ับเรา ณ เวลานี้​้� และเช่​่นกั​ัน เราก็​็ไม่​่พร้​้อมสำำ�หรั​ับวั​ันข้​้างหน้​้าด้​้วยอย่​่างแน่​่นอน ช่​่วงเวลา 10 ปี​ีที่​่�ผ่า่ นมาเรามี​ีการพั​ัฒนาก้​้าวหน้​้าเรื่​่�องน้ำำ��อย่​่างมาก โดย ในระหว่​่างปี​ี 2548 ถึ​ึง 2558 (ปี​ีล่​่าสุ​ุดตามข้​้อมู​ูลของสหรั​ัฐฯ) ชาวอเมริ​ิกั​ันทั่​่�วไป ได้​้ลดการใช้​้น้ำำ��ตามบ้​้านจาก 100 แกลลอนต่​่อวั​ันเป็​็น 83 แกลลอน หากเรายั​ังคง ใช้​้น้ำำ��ในอั​ัตราที่​่�เราทำำ�ได้​้ในปี​ี 2548 เราจะมี​ีน้ำำ��ใช้​้มากกว่​่าที่​่�เป็​็นอยู่​่� ถึ​ึงวั​ันละ 5 พั​ันล้​้านแกลลอน เรามีการพัฒนาอย่างมากตลอดระยะเวลา 50 ปีที่ผ่านมา ปัจจุบัน สหรัฐอเมริกามีการใช้น�้ำส�ำหรับงานต่างๆ น้อยลงทุกวันกว่าที่เคยเป็นในปี 2508 ท�ำให้เศรษฐกิจของสหรัฐเพิ่มขึ้นเป็นสามเท่าในเวลา 50 ปีโดยไม่ต้องใช้น้ำ� เพิ่ม แม้แต่แกลลอนเดียว กล่าวคือน�้ำทุกแกลลอนทีเ่ ราใช้ในปัจจุบนั ท�ำงานได้สามเท่า ของปี 2508 เกษตรกรในปั​ัจจุ​ุบั​ัน ใช้​้น้ำำ��น้​้อยลงกว่​่าที่​่�เคยใช้​้ในปี​ี 2508 แต่​่กลั​ับ ทดน้ำำ��ที่​่�ดิ​ินได้​้เพิ่​่�มขึ้​้�น 45 เปอร์​์เซ็​็นต์​์ และเพิ่​่�มผลผลิ​ิตอาหารได้​้มากเป็​็นสองเท่​่า ฟั​ังดู​ูเป็​็นข่​่าวดี​ี ถ้​้าการเปลี่​่�ยนแปลงของสภาพอากาศไม่​่ได้​้มีผี ลกระทบ ต่​่อทุ​ุกสิ่​่�งทุ​ุกอย่​่างที่​่�เกี่​่�ยวกั​ับผู้​้�ใช้​้น้ำำ��และปริ​ิมาณน้ำำ�� มั​ันคงจะเป็​็นข่​่าวที่​่�น่​่ายิ​ินดี​ี อย่​่างยิ่​่�ง คื​ือจะเป็​็นพื้​้�นฐานของจริ​ิยศาสตร์​์น้ำำ��ใหม่​่ เมื่​่�อเป็​็นเช่​่นนี้​้�การพั​ัฒนาอย่​่าง ที่​่�เราทำำ�ในสหรั​ั ฐ อเมริ​ิ ก า และทั่​่�วโลกจะช่​่ ว ยบรรเทาผลกระทบ จากการ เปลี่​่�ยนแปลงของสภาพอากาศ แต่​่เราอาจจะไม่​่สังั เกตเห็​็นผลกระทบนั้​้�น ซึ่​่�งน่​่าจะ รุ​ุนแรงมาก เรามั​ั ก จะไม่​่ ค่​่ อ ยมี​ี ก ารเชื่​่�อมโยงประเด็​็ น ต่​่ า งๆ เมื่​่�อเราพู​ู ด ถึ​ึ ง ผลกระทบของสภาพภู​ูมิอิ ากาศที่​่�เปลี่​่�ยนแปลง แต่​่ส่ว่ นใหญ่​่จะพู​ูดเกี่​่�ยวกั​ับน้ำำ��ล้ว้ นๆ ฝนที่​่�ไม่​่ตกอี​ีกต่​่อไปในพื้​้�นที่​่�ที่​่�เราคาดหวั​ัง เหตุ​ุการณ์​์ที่​่�ฝนจะตกน้​้อยลง - วั​ันที่​่�มี​ีฝน น้​้อยลงและพายุ​ุน้​้อยลง - แต่​่กลั​ับมี​ีความรุ​ุนแรงและปริ​ิมาณมากขึ้​้�น หิ​ิมะที่​่�ตกลง มาตอนนี้​้�ราวกั​ับฝนที่​่�ทยอยไหลออกจากแหล่​่งคลั​ังเก็​็บน้ำำ�� ซึ่​่�งทั้​้�งภู​ูมิ​ิภาคใช้​้อาศั​ัย พึ่​่�งพา ที่​่�ซึ่​่�งในฤดู​ูหนาวหิ​ิมะจะกองเป็​็นทิ​ิวเขา แล้​้วค่​่อยๆ ละลายในช่​่วงฤดู​ู

น�้ ำ

โดย ชาร์​์ลส์​์ ฟิ​ิชแมน (Charles Fishman)

ใบไม้​้ผลิ​ิและฤดู​ูร้​้อน ทำำ�ให้​้เกิ​ิดการไหลเวี​ียนของน้ำำ��สม่ำำ��เสมอ ทุ​ุกๆ วั​ันเราจะเห็​็นการปรากฏการของความรุ​ุนแรงที่​่�โหดร้​้ายต่​่อ ภู​ูมิ​ิอากาศและสภาพอากาศซึ่​่�งทำำ�ให้​้รู้​้�สึ​ึกว่​่าทุ​ุกอย่​่างได้​้เปลี่​่�ยนไป ไฟป่​่าในแถบ อเมริ​ิกาตะวั​ันตกที่​่�เกิ​ิดจากหน้​้าร้​้อนอั​ันแห้​้งแล้​้งเป็​็นประวั​ัติ​ิการณ์​์อย่​่างต่​่อเนื่​่�อง อุ​ุณหภู​ูมิ​ิของมหาสมุ​ุทรที่​่�สู​ูงขึ้​้�นอย่​่างผิ​ิดปกติ​ิ ทำำ�ให้​้เกิ​ิดพายุ​ุเฮอริ​ิเคนเคลื่​่�อนตั​ัว อย่​่างช้​้าๆ ในมหาสมุ​ุทรแอตแลนติ​ิก และพายุ​ุไต้​้ฝุ่​่�นในมหาสมุ​ุทรแปซิ​ิฟิ​ิกระเบิ​ิด อย่างรุนแรงก่อนที่จะพัดขึ้นฝั่ง ท�ำให้เกิดฝนตกน�้ำท่วมเชี่ยวกราก เรามี​ีการแยกแยะประเภทของน้ำำ�� โดยเฉพาะในโลกที่​่�พั​ัฒนาแล้​้ว น้ำำ��ตามบ้​้านที่​่�เราใช้​้ทุ​ุกวั​ัน น้ำำ��ในสำำ�นั​ักงานและในโรงงาน ในฟาร์​์มและน้ำำ��ที่​่�เกิ​ิด ตามธรรมชาติ​ิ ซึ่​่�งมี​ีทั้​้ง� น้ำำ��ที่​่�บางครั้​้ง� มาในสภาพไหลเชี่​่�ยวกรากอย่​่างรุ​ุนแรงหรื​ือไม่​่มี​ี มาเป็​็นเวลาหลายเดื​ือนจนเกิ​ิดความแห้​้งแล้​้ง การเปลี่​่�ยนแปลงของสภาพอากาศกำำ�ลั​ังจะทำำ�ให้​้ความสะดวกสบาย ต่​่างๆ นั้​้�นหมดไป ระบบน้ำำ��ที่​่�มนุ​ุษย์​์สร้​้างขึ้​้�นและที่​่�เราทุ​ุกคนต้​้องพึ่​่�งพากำำ�ลั​ัง เปราะบางและไม่​่แข็​็งแรงพอเมื่​่�อต้​้องเผชิ​ิญกั​ับสิ่​่�งที่​่�กำำ�ลั​ังจะเกิ​ิดขึ้​้�น หลั​ักการที่​่�สำำ�คั​ัญที่​่�สุ​ุด-ในการปรั​ับตั​ัวให้​้เข้​้ากั​ับโลกใหม่​่ของน้ำำ��คื​ือ น้ำำ�� ไม่​่ได้​้เป็​็นอย่​่างที่​่�เราคิ​ิดอยากให้​้เป็​็น ปั​ัญหาเรื่​่�องน้ำำ��ไม่​่ได้​้ดีขึ้​้ี น� ได้​้เอง ตรงกั​ันข้​้ามยิ่​่�ง คุ​ุณรอนานกว่​่าที่​่�จะจั​ัดการกั​ับปั​ัญหาน้ำำ�� ไม่​่ว่​่าทุ​ุกเรื่​่�องตั้​้�งแต่​่น้ำำ��ที่​่�รั่​่�วจากเพดานใน ห้​้องรั​ับแขกไปจนถึ​ึงระดั​ับน้ำำ��ทะเลที่​่�สู​ูงขึ้​้�นในเมื​ือง ปั​ัญหานั้​้�นก็​็ยิ่​่�งยากขึ้​้�นและ แพงขึ้​้�นเท่​่านั้​้�น นั่​่�นไม่​่ใช่​่แค่​่ความจริ​ิงที่​่�ถู​ูกต้​้อง การจั​ัดการน้ำำ��ที่​่�ดี​ีเป็​็นปั​ัจจั​ัยสำำ�คั​ัญของ เศรษฐกิ​ิจทั้​้�งหมด แต่​่เรามั​ักจะไม่​่ค่​่อยเห็​็นคุ​ุณค่​่าของมั​ัน เมื​ืองที่​่�มี​ีน้ำำ��ท่​่วมสั​ัปดาห์​์ ละครั้​้�ง เมื​ืองที่​่�ต้​้องปั​ันส่​่วนน้ำำ��ดื่​่�ม เมื​ืองที่​่�ต้​้องประสบความเสี​ียหายในทุ​ุกฤดู​ูกาลที่​่� มี​ีพายุ​ุเฮอริ​ิเคนหรื​ือมี​ีไฟป่​่า เมื​ืองเหล่​่านี้​้�ไม่​่มี​ีอนาคตมั่​่�นคงทางเศรษฐกิ​ิจและไม่​่ น่​่ามอง เราจำำ�เป็​็นต้​้องปรั​ับตั​ัวให้​้เข้​้ากั​ับโลกเสี​ียใหม่​่ และต้​้องเข้​้าใจลึ​ึกซึ้​้�งถึ​ึง แนวคิ​ิดหลั​ักสองข้​้อที่​่�เกี่​่�ยวกั​ับน้ำำ�� ข้​้อแรกคื​ือ เราต้​้องรู้​้�วิ​ิธี​ีการแก้​้ปั​ัญหาทุ​ุกปั​ัญหา ของน้ำำ��ที่​่�มีใี นโลก - ในแง่​่ทางวิ​ิศวกรรม เราไม่​่จำำ�เป็​็นต้​้องมี​ีโครงการแมนฮั​ัตตั​ันหรื​ือ การยิ​ิงจรวดไปดวงจั​ันทร์​์เพื่​่�อรั​ับมื​ือกั​ับน้ำำ�� แต่​่ปั​ัญหาที่​่�ยากที่​่�สุ​ุดของปั​ัญหาน้ำำ��คื​ือ ประชาชน เราต้​้องทำำ�ให้​้ผู้​้�คนได้​้เห็​็นสถานการณ์​์ของน้ำำ��อย่​่างแท้​้จริ​ิง - ด้​้วย ข้​้อเท็​็จจริ​ิง ไม่​่ใช่​่การมองโลกในแง่​่ดี​ี และจากนั้​้�นก็​็ทำำ�ให้​้คนเปลี่​่�ยนพฤติ​ิกรรม ข้​้อที่​่�สองที่​่�ต้​้องรู้​้�คื​ือ ปั​ัญหาน้ำำ��ทั้​้�งหมดเป็​็นเรื่​่�องภายในท้​้องถิ่​่�น - และ นั่​่�นคื​ือจุ​ุดที่​่�ต้​้องแก้​้ไข สหรั​ัฐอเมริ​ิกาเป็​็นตั​ัวอย่​่างที่​่�ดี​ีของประเทศอั​ัจฉริ​ิยะที่​่�ร่ำำ��รวย ที่​่�มี​ีปั​ัญหาน้ำำ��มาก นอกจากจะไม่​่มี​ียุ​ุทธศาสตร์​์ของชาติ​ิในการแก้​้ไขปั​ัญหาแล้​้ว ส่​่วนใหญ่​่ก็​็ไม่​่มี​ีแม้​้แต่​่แนวทางแก้​้ไขในระดั​ับชาติ​ิ แต่​่นั่​่�นกลั​ับเป็​็นการให้​้อิ​ิสระบรรดาเมื​ือง ภู​ูมิ​ิภาค และรั​ัฐต่​่างๆ ในการ จั​ัดการกั​ับปั​ัญหา ชุ​ุมชนที่​่�ฉลาดในสหรั​ัฐอเมริ​ิกาและทั่​่�วโลก จะไม่​่รี​ีรอที่​่�จะรั​ับมื​ือ กั​ับการเปลี่​่�ยนแปลงของน้ำำ��และสภาพอากาศ ไม่​่รอการแจ้​้งเตื​ือนจากวอชิ​ิงตั​ัน หรื​ือคำำ�แนะนำำ�หรื​ือแม้​้แต่​่รอเงิ​ินทุ​ุนใดๆ โดยเฉพาะอย่​่างยิ่​่�งในโลกที่​่�พั​ัฒนาแล้​้ว เราได้​้ผ่​่านยุ​ุคทองของน้ำำ��ที่​่�มี​ี ระบบน้ำำ��อย่​่างดี​ีและอยู่​่�มานานกว่​่าศตวรรษ ซึ่​่�งเราปล่​่อยให้​้ผู้​้�เชี่​่�ยวชาญเป็​็นคน จั​ัดการทั้​้�งหมด โดยที่​่�พวกเราส่​่วนใหญ่​่ก็ไ็ ม่​่เคยต้​้องให้​้ความสนใจกั​ับเรื่​่�องน้ำำ��มาก่​่อน เราไม่​่เคยมองเห็​็นว่​่ามี​ีมันั อยู่​่�ในชี​ีวิติ ประจำำ�วั​ันของเรา เราจึ​ึงจำำ�เป็​็นต้​้องหั​ันมามอง ยุ​ุคใหม่​่ของน้ำำ��ที่​่�กำำ�ลังั ปั่​่�นป่​่วนด้​้วยความเป็​็นจริ​ิง ด้​้วยความเร่​่งด่​่วนและด้​้วยความ รู้​้�สึ​ึกว่​่าน้ำำ��เป็​็นสิ่​่�งที่​่�เราทุ​ุกคนจะต้​้องต่​่อสู้​้�ดิ้​้�นรนเพื่​่�อมั​ัน สิ้​้�นสุ​ุดยุ​ุคทองแล้​้ว น้ำำ��จะต้​้องไม่​่ถู​ูกมองข้​้ามอี​ีกต่​่อไป อนาคตของน้ำำ�� ก็​็คื​ือปั​ัจจุ​ุบั​ัน ชาร์​์ลส์​์ ฟิ​ิชแมน (Charles Fishman) เป็​็นผู้​้�บริ​ิจาคให้​้ โรตารี​ีประจำำ� หนั​ังสื​ือเล่​่มล่​่าสุ​ุดของเขาคื​ือ One Giant Leap : The Impossible Mission that Flew Us to the Moon (ก้​้าวที่​่�ยิ่​่�งใหญ่​่ของมนุ​ุษยชาติ​ิ กั​ับภารกิ​ิจที่​่�เป็​็นไปไม่​่ได้​้ ที่​่�พาเรา ไปดวงจั​ันทร์​์) และเขายั​ังเป็​็นผู้​้�เขี​ียนหนั​ังสื​ือขายดี​ีชื่​่�อ The Big Thirst: The Secret Life and Turbulent Future of Water (ความกระหายครั้​้�งใหญ่​่กั​ับความลั​ับของชี​ีวิ​ิต และความรุ​ุนแรง ของน้ำำ��ในอนาคต)


การอ่าน

สก็อตต์ ทูโรว์ (Scott Turow) เป็นทนายความเก่าแก่และอดีต นายกสมาคมนักเขียน Authors Guild เป็นผู้เขียนนวนิยายขายดี หลายเรื่องรวมถึงหนังสือ Presumed Innocent (คิดว่า บริสุทธิ์ไว้ก่อน), The Burden of Proof (ภาระรั​ักพิ​ิสู​ูจน์​์ใจ) และ Identical (ฝาแฝด) หนั​ังสื​ือเล่​่มล่​่าสุ​ุดของเขาคื​ือ The Last Trial (คดี​ีสุ​ุดท้​้าย) ซึ่​่�งเป็​็นหนึ่​่�งในชุ​ุดนวนิ​ิยาย Kindle County

“ ผมไม่เข้าใจว่าผมมีชีวิต อยู่มานานได้อย่างไร โดยไม่รู้ว่าอ่านยังไง นึกไม่ถึงว่าผมได้พลาดอะไรไปมากมาย คาร์​์ล แซนเดอร์​์ส (CARL SANDERS) สโมสรโรตารีเคโนชา (Rotary Club of Kenosha), วิสคอนซิน จากเรื่​่�อง “Hiding Out” (หลบซ่​่อน) ฉบับเดือนเมษายน 2559

14

มกราคม-กุมภาพันธ์ 2564

การอ่​่าน โดย สก็​็อตต์​์ ทู​ูโรว์​์ (Scott Turow) ในฐานะนั​ักเขี​ียนและผู้​้�สนั​ับสนุ​ุนการรู้​้�หนั​ังสื​ือและเพื่​่�อนั​ักเขี​ียนคนอื่​่�น ผมมั​ักถู​ูกถามอยู่​่�บ่​่อย ครั้​้�งว่​่า ผมคิ​ิดว่​่าการอ่​่านหนั​ังสื​ือในสหรั​ัฐอเมริ​ิกามี​ีอนาคตไหม โดยปกติ​ิ คำำ�ถามที่​่�ถามผมต้​้องการคำำ�ตอบอย่​่างจริ​ิงจั​ัง ซึ่​่�งหลายคนก็​็นำำ�ไปใช้​้ในการหารื​ือ เกี่​่�ยวกั​ับแนวทางอนาคต ของการแพร่​่ระบาดของไวรั​ัสโคโรนา หรื​ือการเปลี่​่�ยนแปลงของสภาพภู​ูมิ​ิ อากาศ แต่​่คำำ�ตอบของผมยื​ืนยั​ันได้​้เสมอ มี​ีหนั​ังสื​ือ มี​ีผู้​้�เขี​ียน และมี​ีผู้​้�อ่​่าน คำำ�ถามที่​่�ถามผมตามที่​่�ผมได้​้รั​ับมา ไม่​่ใช่​่ถามว่​่าโรงเรี​ียนประถมศึ​ึกษาของเราจะหยุ​ุดสอน คนให้​้อ่า่ นและเขี​ียนหนั​ังสื​ือใช่​่หรื​ือไม่​่ อย่​่างน้​้อยต้​้องมี​ีการตี​ีความภาษาเขี​ียน ลองคิ​ิดถึ​ึงการอ่​่านกฎห้​้าม จอดรถที่​่�เขี​ียนบนป้​้ายถนน ตรงกั​ันข้​้าม ผมเชื่​่�อว่​่าสิ่​่�งที่​่�ผู้​้�ตั้​้�งคำำ�ถาม-กำำ�ลั​ังสงสั​ัยก็​็คื​ือ คนอเมริ​ิกั​ันจะอ่​่านเพื่​่�ออะไรนอก เหนื​ือจากมี​ีจุดุ ประสงค์​์สำำ�คัญ ั แล้​้วมั​ันยั​ังสำำ�คั​ัญไหมที่​่�จะต้​้องอ่​่านให้​้เข้​้าใจให้​้ได้​้มากกว่​่าแค่​่อ่า่ นหนึ่​่�งหรื​ือ สองประโยค? ยกตั​ัวอย่​่างการอ่​่านหนั​ังสื​ือหรื​ืออ่​่านข่​่าว จะถื​ือว่​่าเป็​็นกิ​ิจกรรมยามว่​่างอี​ีกต่​่อไปหรื​ือไม่​่? มี​ีหลั​ักฐานยื​ืนยั​ันหลายอย่​่างที่​่�แสดงว่​่าผู้​้�บริ​ิโภคที่​่�ใช้​้เวลาในการอ่​่านหนั​ังสื​ือเพื่​่�อการพั​ักผ่​่อน ในสหรั​ัฐอเมริ​ิกายั​ังคงอยู่​่�ในระดั​ับที่​่�ค่​่อนข้​้างสู​ูงตั้​้ง� แต่​่ปี​ี 2542 ถึ​ึงปี​ี 2562 ด้​้วยเกิ​ิดผู้​้�ขายหนั​ังสื​ือออนไลน์​์ และผู้​้�อ่​่านอี​ีเล็​็กทรอนิ​ิกส์​์-ในช่​่วงเวลานั้​้�น ผมในฐานะนั​ักเขี​ียนก็​็หวั​ังความเติ​ิบโต ในขณะเดี​ียวกั​ัน-ธุ​ุรกิ​ิจ การพิ​ิมพ์​์ยั​ังไม่​่สู​ูญสิ้​้�น อย่​่างไรก็​็ตาม ผมไม่​่สามารถแสร้​้งทำำ�เป็​็นว่​่า ไม่​่มีกี ารเปลี่​่�ยนแปลงทางสั​ังคมที่​่�สำำ�คั​ัญเกิ​ิดขึ้​้น� ในชี​ีวิ​ิตของผม – และความเปลี่​่�ยนแปลงนั้​้�น มี​ีผลกระทบมาก อเมริ​ิกาสมั​ัยช่​่วงหลั​ังสงครามโลก ครั้​้�งที่​่� 2 ตามที่​่�ปรากฎในภาพยนตร์​์ เป็​็นประเทศหนึ่​่�งที่​่�คนอเมริ​ิกั​ันใช้​้เวลาช่​่วงเย็​็นอ่​่านหนั​ังสื​ือหรื​ือ หนั​ังสื​ือพิ​ิมพ์​์หรื​ือฟั​ังละครคอมเมดี้​้ห� รื​ือฟั​ังการแข่​่งขั​ันฟุ​ุตบอลทางวิ​ิทยุ​ุ วั​ัฒนธรรมของเราคื​ือวั​ัฒนธรรม ที่​่�สื่​่�อด้​้วยวาจา ซึ่​่�งถ้​้อยคำำ�หรื​ือคำำ�อ่​่านเป็​็นรู​ูปแบบหลั​ักของการสื่​่�อสาร ปั​ัจจุ​ุบั​ันคนอเมริ​ิกั​ันส่​่วนใหญ่​่ใช้​้เวลาหลายชั่​่�วโมงอยู่​่�หน้​้าจอ หรื​ือดู​ูสิ่​่�งที่​่�พวกเขาชอบบนที​ีวี​ี หรื​ือบนโทรศั​ัพท์​์มือื ถื​ือ ตามการศึ​ึกษาล่​่าสุ​ุดของสำำ�นั​ักวิ​ิจัยั พิ​ิว (Pew Research) ชาวอเมริ​ิกันั ส่​่วนใหญ่​่ ทุ​ุกวั​ันนี้​้� ได้​้รั​ับข่​่าวสารจากที​ีวี​ี หรื​ือ โซเชี​ียลมี​ีเดี​ีย ไม่​่ใช่​่จากหนั​ังสื​ือพิ​ิมพ์​์หรื​ือเว็​็บไซต์​์ข่​่าว เราได้​้มี​ีการ เปลี่​่�ยนแปลงไปสู่​่�วั​ัฒนธรรมที่​่�สื่​่�อด้​้วยภาพ มั​ันไม่​่ใช่​่เป็​็นเรื่​่�องที่​่�อธิ​ิบายไม่​่ได้​้ว่​่าทำำ�ไม แน่​่นอน มั​ันเป็​็นเรื่​่�องของเทคโนโลยี​ีใหม่​่ที่​่�น่​่าตื่​่�น ตาตื่​่�นใจ ที่​่�สามารถส่​่งชุ​ุดข้​้อมู​ูลใหญ่​่ๆ และความสามารถประมวลผลได้​้อย่​่างน่​่าทึ่​่�งของโทรศั​ัพท์​์มื​ือถื​ือ ของเรา แต่​่ปั​ัญหาเดิ​ิมๆ ที่​่�เกี่​่�ยวกั​ับการรู้​้�หนั​ังสื​ือของชาวอเมริ​ิกั​ันก็​็ยั​ังมี​ีอยู่​่� จากข้​้อมู​ูลของยู​ูเนสโก ชาว อเมริ​ิกั​ัน ประมาณ 99 เปอร์​์เซ็​็นต์​์ มี​ีความเข้​้าใจขั้​้�นพื้​้�นฐาน ซึ่​่�งหมายความว่​่า พวกเขาสามารถอ่​่านได้​้ ดี​ีพอควร ที่​่�จะเข้​้าใจป้​้ายห้​้ามจอดเหล่​่านั้​้�น แต่​่เมื่​่�อวั​ัดทั​ักษะการอ่​่านที่​่�ซั​ับซ้​้อนมากขึ้​้�น การศึ​ึกษาวิ​ิจั​ัย ครั้​้�งแล้​้วครั้​้�งเล่​่าเปิ​ิดเผยให้​้เห็​็นสถิ​ิติ​ิที่​่�ทำำ�ให้​้ท้​้อใจ ในปี​ี 2562 การประเมิ​ินผลความก้​้าวหน้​้าทางการศึ​ึกษาแห่​่งชาติ​ิ ซึ่​่�งได้​้รั​ับการสนั​ับสนุ​ุน จากกระทรวงศึ​ึ ก ษาธิ​ิ ก ารของสหรั​ั ฐ อเมริ​ิ ก า ได้​้ วิ​ิ เ คราะห์​์ ทั​ั ก ษะการอ่​่ า นของนั​ั ก เรี​ี ย นประมาณ 600,000 คนทั่​่�วประเทศ มี​ีนั​ักเรี​ียนประมาณหนึ่​่�งในสาม ของเกรดสี่​่�และเกรดแปดเท่​่านั้​้�น ที่​่�มี​ีทั​ักษะ การอ่​่านคล่​่องแคล่​่ว นั​ับตั้​้�งแต่​่การประเมิ​ินครั้​้�งล่​่าสุ​ุดในปี​ี 2560 คะแนนการอ่​่านเฉลี่​่�ยระดั​ับเกรดสี่​่� ลดลงประมาณหนึ่​่�งในสามของรั​ัฐ และสำำ�หรั​ับนั​ักเรี​ียนระดั​ับเกรดแปดลดลงกว่​่าครึ่​่�งหนึ่​่�งของรั​ัฐ เราไม่​่ก้​้าวหน้​้าเลย นั​ักเรี​ียนที่​่�มี​ีปั​ัญหากั​ับการอ่​่านก็​็จะมี​ีปั​ัญหาการรู้​้�หนั​ังสื​ือ-เมื่​่�อโตเป็​็นผู้​้�ใหญ่​่ จากรายงาน ปี​ี 2562 ของสำำ�นั​ักงานสถิ​ิติ​ิทางการศึ​ึกษาแห่​่งชาติ​ิ (National Center for Education Statistics) ซึ่​่�งเป็​็นส่​่วนหนึ่​่�งของกระทรวงศึ​ึกษาธิ​ิการ (Department of Education) ผู้​้�ใหญ่​่ในสหรั​ัฐฯ (ชาวอเมริ​ิกันั ประมาณ 43 ล้​้านคน) 21 เปอร์​์เซ็​็นต์​์เป็​็นกลุ่​่�มที่​่�มี​ีความรู้​้�หนั​ังสื​ือต่ำำ�� ซึ่​่�งหมายความว่​่าพวกเขาไม่​่สามารถ แปลความหมายจากสิ่​่�งที่​่�อ่​่านได้​้ ไม่​่สามารถเปรี​ียบเที​ียบและแยกแยะความแตกต่​่างของข้​้อมู​ูลที่​่�เป็​็น ลายลั​ักษณ์​์อั​ักษรหรื​ือทำำ�การอนุ​ุมานพื้​้�นฐานจากสิ่​่�งที่​่�พบในหน้​้านั้​้�นได้​้ ตามข้​้อเท็​็จจริ​ิงนั้​้�น ก็​็ไม่​่ยากที่​่�จะเข้​้าใจว่​่า ทำำ�ไมเราถึ​ึงกลายเป็​็นประเทศที่​่�นิ​ิยมการสื่​่�อสาร ด้​้วยภาพ หากคนอเมริ​ิกั​ันจำำ�นวนมากอ่​่านหนั​ังสื​ือไม่​่ออก วิ​ิธี​ีที่​่�ดีที่​่�สุ ี ุดในการเข้​้าถึ​ึงทุ​ุกคนคื​ือการแสดง ภาพให้​้พวกเขาดู​ู การเรี​ียนรู้​้�ที่​่�จะอ่​่าน เป็​็นงานที่​่�ซั​ับซ้​้อนซึ่​่�งต้​้องได้​้รับั การฝึ​ึกฝนเป็​็นเวลาหลายปี​ีโดยครู​ู ที่​่�มี​ีความเชี่​่�ยวชาญและความมุ่​่�งมั่​่�นอย่​่างต่​่อเนื่​่�องของนั​ักเรี​ียน การเข้​้าใจภาพเป็​็นทั​ักษะของเด็​็กแรกเกิ​ิด


อย่​่างเห็​็นได้​้ชั​ัด จากผลการวิ​ิจั​ัยในปี​ี 2552 ที่​่�ตี​ีพิ​ิมพ์​์ซ้ำำ��โดยสถาบั​ันสุ​ุขภาพแห่​่ง ชาติ​ิ เด็​็กอายุ​ุน้​้อยกว่​่าสองขวบสามารถดู​ูภาพและเรี​ียนรู้​้�ที่​่�จะเชื่​่�อมโยงคำำ�กั​ับ วั​ัตถุ​ุที่​่�พวกเขาเห็​็น การสื่​่�อสารด้​้วยภาพนั้​้�นมี​ีมาแต่​่กำำ�เนิ​ิด ดั​ังนั้​้�นจึ​ึงง่​่ายกว่​่ามาก แต่​่อะไรที่​่�ว่​่าง่​่ายอย่​่างที่​่�พวกเราทุ​ุกคนรู้​้� ไม่​่จำำ�เป็​็นต้​้องดี​ีกว่​่า หาก ภาพวาดในถ้ำำ��สามารถพู​ูดได้​้หมด มนุ​ุษย์​์ก็​็ไม่​่จำำ�เป็​็นต้​้องพั​ัฒนาการเขี​ียน จาก การที่​่�ให้​้ความสำำ�คั​ัญกั​ับภาพหรื​ือการเรี​ียนรู้​้�ด้​้วยประสบการณ์​์ นั​ักการศึ​ึกษาทั่​่�ว สากลจึ​ึงแทบจะมุ่​่�งชี้​้�ไปที่​่�ความเข้​้าใจและการทำำ�งานของสมองที่​่�เพิ่​่�มขึ้​้�นอย่​่าง ยอดเยี่​่�ยม รู​ูปแบบปิ​ิรามิ​ิดแห่​่งความรู้​้� และประสิ​ิทธิ​ิภาพในการเรี​ียนรู้​้�ที่​่�ดี​ีขึ้​้�น จึ​ึงทำำ�ให้​้การอ่​่านเกิ​ิดขึ้​้�น อย่​่างไรก็​็ตาม การสื่​่�อสารด้​้วยภาพเป็​็นเรื่​่�องเทอะทะและไม่​่เน้​้น อะไรที่​่�ชั​ัดเจน ภาพอาจสื่​่�อความหมายได้​้หลายพั​ันคำำ� แต่​่เป็​็นคำำ�ที่​่�คุ​ุณอยาก ได้​้ยิ​ินหรื​ือไม่​่? ผมมั​ักจะโกรธเวลาผมค้​้นในอิ​ินเทอร์​์เน็​็ตเพื่​่�อหาวิ​ิธี​ีซ่​่อมปั​ัญหา เล็​็กๆ น้​้อยๆ ภายในบ้​้าน เช่​่น วิ​ิธี​ีถอดหลอดไฟขาดออกจากซ็​็อกเก็​็ตทำำ�ได้​้ อย่​่างไร ผลการค้​้นหาต้​้นๆ ที่​่�ได้​้คื​ือจะเป็​็นวิ​ิดี​ีโอ แต่​่ผมไม่​่อยากใช้​้เวลา 10 นาที​ี ในการดู​ูวิดิ​ิ โิ อสอนให้​้ทำำ�เองที่​่�มี​ีคนตั้​้ง� ใจดี​ีทำำ�ออกมา เพื่​่�อให้​้เราเปลี่​่�ยนตั​ัวเองเป็​็น คนเก่​่งในการใช้​้เครื่​่�องมื​ือ ผมอยากตะโกนดั​ังๆ ว่​่า ให้​้เขี​ียนบอกวิ​ิธี​ีการซ่​่อมมา เพื่​่�อว่​่าผมจะได้​้เรี​ียนรู้​้�ได้​้ในเวลาไม่​่กี่​่�วิ​ินาที​ี เพื่​่�อที่​่�จะไม่​่ทำำ�ให้​้โคมไฟเสี​ียหาย ข้​้อความที่​่�มี​ีประสิ​ิทธิ​ิภาพในการสื่​่�อสารมี​ีผลต่​่อสั​ังคมอย่​่างเห็​็นได้​้ ชั​ัด แม้​้ว่​่าผมจะไม่​่เก่​่งในเรื่​่�องดนตรี​ีฮิ​ิปฮอป แต่​่ผมก็​็ชอบคำำ�คล้​้องจองของมั​ัน นั​ักอ่​่านคื​ือผู้​้�นำำ� ผู้​้�จั​ัดการในองค์​์กรของคุ​ุณมี​ีเวลารั​ัดตั​ัวจะไม่​่ไปทำำ�เรื่​่�องแสงสี​ี เสี​ียงและตั​ัดต่​่อวิ​ิดีโี อเพื่​่�อใช้​้สื่​่�อสารกั​ับผู้​้�ใต้​้บังั คั​ับบั​ัญชา และ เธอก็​็จะไม่​่สื่​่�อสาร วันละหลายครั้งอย่างแน่นอน เธอจะเขียนบันทึกสั้นๆ และส่งให้อ่าน การรู้หนังสือและการเขียนได้ดี เป็นทักษะที่ผมเรียกว่า “ทักษะ ของขุนนางจีน” ซึ่งหมายถึงกลุ่มชนชั้นสูง ที่ปกครองจักรวรรดิจีน ส�ำหรับ อนาคตภายหน้​้าในสหรั​ัฐอเมริ​ิกา ผู้​้�คนที่​่�อยู่​่�ในชนชั้​้�นสู​ูงของสั​ังคม จะอ่​่านและ เขี​ียนได้​้อย่​่างคล่​่องแคล่​่ว กฎหมายไม่​่ว่​่าจะเป็​็นการเขี​ียนสั​ัญญาหรื​ือออก พระราชบั​ัญญั​ัติ​ิล้​้วนเกี่​่�ยวกั​ับคำำ�พู​ูด การทำำ�งานเป็​็นที​ีม อาจมี​ีความสำำ�คั​ัญใน ธุ​ุรกิ​ิจ แต่​่กรณี​ีศึกึ ษาที่​่�โรงเรี​ียนสอนธุ​ุรกิ​ิจ (B-school) การพิ​ิจารณานั​ักเรี​ียนจะ ดู​ูจากการนำำ�เสนอด้​้วยลายลั​ักษณ์​์อั​ักษรเป็​็นลำำ�ดั​ับแรก วิ​ิศวกรต้​้องเก่​่งตั​ัวเลข แต่​่เวลามี​ีปั​ัญหาพวกเขาจะเขี​ียนวิ​ิธี​ีการแก้​้ไขเป็​็นคำำ�พู​ูดบนกระดาษและส่​่งไป ในองค์​์กร ดั​ังนั้​้�น เหมื​ือนผมมองเข้​้าไปในลู​ูกแก้​้ว มั​ันคื​ือกลุ่​่�มผู้​้�อ่​่านที่​่�รู้​้�หนั​ังสื​ือ ซึ่​่�งหลี​ีกเลี่​่�ยงไม่​่ได้​้ที่​่�จะรวมถึ​ึงคนจำำ�นวนมาก-ที่​่�ชอบอ่​่านหนั​ังสื​ือ-เพื่​่�อการ พั​ักผ่​่อนด้​้วย ถ้​้าประสิ​ิทธิ​ิภาพของการอ่​่านหมายถึ​ึงวิ​ิธี​ีการดู​ูดซั​ับข้​้อมู​ูล ก็​็จะมี​ี กลุ่​่�มผู้​้�ที่​่�เชื่​่�อว่​่าพวกเขาเรี​ียนรู้​้�จากการอ่​่านข่​่าวได้​้มากกว่​่าการดู​ูหนั​ัง 90 วิ​ินาที​ี บนโทรทั​ัศน์​์ และกลุ่​่�มที่​่�พบว่​่าการใช้​้เวลาสองชั่​่�วโมงกั​ับการอ่​่านชี​ีวประวั​ัติ​ิจะ ทำำ�ให้​้ชีวิี ติ ดี​ีขึ้​้น� และคุ้​้�มค่​่ากว่​่าการดู​ูภาพยนตร์​์ ความจริ​ิงที่​่�คุ​ุณกำำ�ลั​ังอ่​่านนิ​ิตยสาร นี้​้� เป็​็นข้​้อพิ​ิสู​ูจน์​์ประเด็​็นของผม อย่างไรก็ตาม มันก็มีด้านที่น่าเศร้ากว่าตามคาด สิ่งที่ผมก�ำลังจะ อธิ​ิบายคื​ือ สั​ังคมที่​่�รู้​้�หนั​ังสื​ือและเขี​ียนหนั​ังสื​ือได้​้ดี​ี ถู​ูกกำำ�หนดให้​้เป็​็นเครื่​่�องแสดง ความแตกต่​่างทางชนชั้​้�น-มากขึ้​้�นเรื่​่�อยๆ ความแตกต่​่างของอำำ�นาจที่​่�ปลู​ูกฝั​ัง และความไม่​่เท่​่าเที​ียมกั​ันของรายได้​้ และ ความไม่​่พึ​ึงพอใจที่​่�มี​ีอยู่​่� วั​ัฒนธรรม การสื่​่�อด้​้ ว ยภาพที่​่�เพิ่​่�มมากขึ้​้� น กำำ�ลั​ั ง หลอกล่​่ อ ให้​้ ช าวอเมริ​ิ กั​ั น บางคนตก หลุ​ุมพราง อยู่​่�ในกั​ับดั​ักเกมที่​่�พวกเขาถู​ูกกำำ�หนดให้​้เล่​่นจากเบื้​้�องหลั​ังตลอดเวลา ประเด็​็นวิ​ิกฤตเกี่​่�ยวกั​ับการอ่​่าน ไม่​่ใช่​่ว่​่ามั​ันจะไปรอดหรื​ือไม่​่ แต่​่เกี่​่�ยวกั​ับสิ่​่�งที่​่� พวกเราควรจะต้​้องทำำ�เพื่​่�อสร้​้างทั​ักษะการอ่​่านให้​้ดี​ีขึ้​้�นอย่​่างทั่​่�วถึ​ึงมากกว่​่า

“ผมเชื่อว่าเงินอะไรก็ตามที่ผมมี เป็นของสังคม ผมเป็นเพียงผู้ดูแลในช่วงสั้นๆ ผมไม่ได้มีติดตัวมา และไม่สามารถน�ำติดตัวไปได้ ราวิ​ิชานการ์​์ ดาโกยู​ู (RAVISHANKAR DAKOJU) สโมสรโรตารีบังกาลอร์ (Rotary Club of Bangalore) ประเทศอินเดีย จากเรื่​่�อง “การคิ​ิดและการให้​้ – ยิ่​่�งใหญ่​่เสมอ” ฉบั​ับเดื​ือนมี​ีนาคม 2562

“เตียงในโรงพยาบาลครึ่งหนึ่งของโลก ถูกจับจองโดยผู้ป่วยที่เป็นโรคติดต่อทางน�้ำ มี​ีผู้​้�คนมากกว่​่าพั​ันล้​้านคนไม่​่สามารถเข้​้าถึ​ึงน้ำำ��ดื่​่�มสะอาด นั่​่�นเป็​็นความวุ่​่�นวายรุ​ุนแรงของศตวรรษที่​่� 21 ฟาติ​ิมา ลามาไม แลงลอยส์​์ (FATIMA LAHMAMI LANGLOIS) ของสโมสรโรตารี​ีมอนทรี​ีออล จากเรื่​่�อง “Philanthropy Matchmakers” (จั​ับคู่​่�การกุ​ุศล) ฉบั​ับเดื​ือนกรกฎาคม 2562

“ ปีนั้นในโอซาก้า ได้หล่อหลอมชีวิตผม ท�ำให้ผมมีพื้นฐานมั่นคง และกล้าที่จะกางปีก เดินทางไปทั่วโลก” แอนโทนี่ สโลดเคาว์สกี้ (ANTONI SLODKOWSKI) เยาวชนแลกเปลี่​่�ยนของโรตารี​ี จากโปแลนด์​์สู่​่�ญี่​่�ปุ่​ุ�น จากเรื่​่�อง “Passport to Adventure“ (ผจญภั​ัยในต่​่างแดน) ฉบับเดือนกันยายน 2563


กกาารรเเดิดินนททาางง โดย มาร์ค เบเกอร์ (Mark Baker)

นายมาร์ค เบเกอร์ เป็​็นนั​ักเขี​ียนเกี่​่�ยวกั​ับการเดิ​ินทาง อยู่​่�ที่​่�กรุ​ุงปราก ได้​้เขี​ียนหนั​ังสื​ือ แนะนำำ�การเดิ​ินทาง 30 เล่​่ม จั​ัดพิ​ิมพ์​์โดย สำำ�นั​ักพิ​ิมพ์​์ โฟดอร์​์, ฟรอมเมอร์​์, โลนลี่​่�แพลเน็​็ท และ อื่​่�นๆ งานเขี​ียนเกี่​่�ยวกั​ับ การเดิ​ินทางของเขายั​ังมี​ีปรากฎใน นิ​ิตยสารเนชั่​่�นแนลจี​ีโอกราฟิ​ิก แทรเวอเลอร์​์ (National Geographic Traveler), วารสาร เดอะวอลล์​์สตรี​ีท (the Wall Street Journal), หนั​ังสื​ือ วั​ันเดอร์​์ลัส ั (Wanderlust) และสิ่​่�งพิ​ิมพ์​์อื่​่�น ๆ

16

เรามานั่​่�งรถเหาะกั​ันสั​ักประเดี๋​๋�ยว และขั​ับเข้​้าไปใน ปี​ี 2573 ไปดู​ูว่​่าอนาคตของการเดิ​ินทางจะเป็​็นอย่​่างไร ข่​่าวร้​้ายก็​็คื​ือบางที​ีเราอาจจะยั​ังไม่​่มี​ีรถเหาะได่​่ใน ตอนนั้​้� น แต่​่ ค วามก้​้ า วหน้​้ า ของเทคโนโลยี​ี จ ะผลั​ั ก ดั​ั น ให้​้ เกิ​ิดหลายสิ่​่�งหลายอย่​่างให้​้ได้​้เห็​็น และเป็​็นเรื่​่�องใหญ่​่ในทศวรรษ หน้​้า ความเจริ​ิญก้​้าวหน้​้าในด้​้านการระบุ​ุตั​ัวตน-ทาง ชี​ีวภาพ เช่​่น ใบหน้​้า จอตา และการจำำ�แนกลายนิ้​้�วมื​ือ จะชั​ักนำำ� ทำำ�ให้​้เกิ​ิดการเปลี่​่�ยนแปลงครั้​้ง� ใหญ่​่ที่​่�สุดุ การชำำ�ระเงิ​ินสด กำำ�ลั​ัง จะหมดไป และกำำ�ลั​ังจะกลายเป็​็นอนุ​ุสรณ์​์ในอดี​ีต สิ่​่�งที่​่�คุ​ุณอาจ ต้​้องใช้​้เพื่​่�อจั​ับจ่​่ายของบางอย่​่าง ก็​็แค่​่สั​ัมผั​ัสด้​้วยปลายนิ้​้�ว โรงแรมในเครื​ือและบริ​ิษั​ัทรถเช่​่าหลายแห่​่งได้​้นำำ� เทคโนโลยี​ีเหล่​่านี้​้�มาใช้​้แล้​้ว เพื่​่�อให้​้นักั ท่​่องเที่​่�ยวเข้​้าห้​้องและขั​ับ รถยนต์​์ได้​้โดยไม่​่ต้​้องใช้​้กุ​ุญแจ เครื่​่�องอ่​่านหนั​ังสื​ือเดิ​ินทาง อั​ัตโนมั​ัติ​ิ ที่​่�สนามบิ​ินนานาชาติ​ิหลายแห่​่งกลายเป็​็นเรื่​่�องธรรมดา ในอี​ีกไม่​่กี่​่�ปีข้ี า้ งหน้​้า ผู้​้�โดยสารจะสามารถเดิ​ินทางข้​้ามประเทศ ได้​้โดยเพี​ียงแค่​่สแกนใบหน้​้า ในภาคอุ​ุตสาหกรรม ก็​็เริ่​่�มมี​ีการใช้​้หุ่​่�นยนต์​์ครั้​้ง� ใหญ่​่ เช่​่นกั​ัน ภายในสิ​ิบปี​ีข้​้างหน้​้า คาดว่​่าจะได้​้เห็​็นหุ่​่�นยนต์​์ที่​่�โต๊​๊ะ ประชาสั​ั ม พั​ั น ธ์​์ ข องโรงแรม และเคาน์​์ เ ตอร์​์ เช็​็ ค อิ​ิ น ของ สายการบิ​ิน หุ่​่�นยนต์​์ซึ่​่�งได้​้รับั การพั​ัฒนาเทคโนโลยี​ีในการจดจำำ� เสี​ียงจะเป็​็น “คน” ประจำำ�เครื่​่�องโทรศั​ัพท์​์บนเครื่​่�องบิ​ิน ในการ บริ​ิการลู​ูกค้​้า การโทรอาจยั​ังเป็​็นเรื่​่�องหงุ​ุดหงิ​ิดเหมื​ือนในอดี​ีต แต่​่ตามสมมติ​ิฐานการรอสายจะลดลงเป็​็นศู​ูนย์​์ รถยนต์​์ไร้​้คนขั​ับ ซึ่​่�งนำำ�มาใช้​้ บ ริ​ิ ก ารเรี​ี ย กรถโดยสารอย่​่ า งแพร่​่ ห ลาย จะส่​่ ง ผู้​้�โดยสารข้​้ามฟากจากที่​่�หนึ่​่�งไปยั​ังอี​ีกที่​่�หนึ่​่�งขึ้​้�นอยู่​่�กั​ับสถานที่​่​่�� ทั​ันที​ีที่​่�ถึงึ จุ​ุดหมายปลายทาง นั​ักเดิ​ินทางในอนาคต จะสามารถติดต่อกับผู้ช่วยส่วนบุคคล เพื่อท�ำการจองแบบ ดิจิทัลได้ตลอด 24 ชั่วโมงทุกวัน ผู้ช่วยนี้ในความเป็นจริงก็คือ หุ่นยนต์ ที่ใส่ข้อมูลความชอบส่วนตัวจ�ำนวนมากของผู้ใช้ โดย จะจัดการเรื่องโลจิสติกส์ทั้งหมด เกี่ยวกับการค้นหาโรงแรม อาหาร การจัดส่ง และสถานที่ท่องเที่ยว นักท่องเที่ยว จะ โต้ตอบโดยผ่านอุปกรณ์เคลื่อนที่ ไม่ว่าอุปกรณ์น้ันจะเป็น โทรศัพท์ นาฬิกา แว่นตา หรือสิ่งที่เรายังไม่มีให้เห็น ภายในปี 2573 การใช้เทคโนโลยีโลกเสมือนจริง (Augmented Reality (AR)) และ ภาพเสมือนจริง (Virtual Reality (VR)) จะแพร่หลาย ด้วยเทคโนโลยี AR ข้อมูลที่สร้าง ด้​้วยคอมพิ​ิวเตอร์​์ สามารถซ้​้อนทั​ับบนวั​ัตถุ​ุในโลกแห่​่งความจริ​ิง ได้​้ นั​ักเดิ​ินทางจะทำำ�แค่​่ใช้​้อุ​ุปกรณ์​์ของตนชี้​้�ไปยั​ังสถานที่​่�ที่​่� โด่​่งดั​ัง หรื​ือสิ่​่�งมหั​ัศจรรย์​์ธรรมชาติ​ิก็​็จะได้​้รั​ับภาพหรื​ือเสี​ียง ซ้​้อนทั​ับเกี่​่�ยวกั​ับสถานที่​่�พิ​ิเศษนั้​้�น ความก้​้าวหน้​้าในเทคโนโลยี​ี VR ซึ่​่�งโดยพื้​้�นฐานแล้​้ว เป็​็นการจำำ�ลองประสบการณ์​์ในโลกแห่​่ง ความจริ​ิงที่​่�สร้​้างขึ้​้�นด้​้วยคอมพิ​ิวเตอร์​์ อาจมี​ีผลทำำ�ให้​้เราต้​้อง เปลี่​่�ยนคำำ�นิ​ิยามของการเดิ​ินทางใหม่​่ ในอี​ีกไม่​่กี่​่�ปี​ีใครๆ ก็​็ สามารถ “เดิ​ินทาง” ไปที่​่�ไหนก็​็ได้​้โดยง่​่ายๆ เพี​ียงแค่​่ตบหู​ูฟั​ัง

มกราคม-กุมภาพันธ์ 2564

นอกเหนือจากเทคโนโลยีแล้ว การระบาดของโรค โควิด-19 และผลพวงของมัน จะผลักดันให้เกิดแนวโน้มส�ำคัญ หลายประการในทศวรรษหน้​้า ในปี​ี 2563 การระบาดของโรค ได้​้ส่​่งผลให้​้ อุ​ุตสาหกรรมการท่​่องเที่​่�ยวโดยเครื่​่�องบิ​ินเข้​้าสู่​่� ช่​่วงถดถอย นั​ักท่​่องเที่​่�ยวมี​ีปฏิ​ิกิริ​ิ ยิ าตอบสนองด้​้วยการอยู่​่�บ้​้าน และให้​้ความสำำ�คั​ัญกั​ับรถยนต์​์มากกว่​่าการเดิ​ินทางทางอากาศ ภายในปี​ี 2573 ความกลั​ัวการแพร่​่ระบาดของโรค เมื่​่�อมองย้​้อนกลั​ับไปจะยั​ังอยู่​่�อี​ีกนาน แต่​่ความห่​่วงเรื่​่�องสุ​ุขภาพ และความปลอดภั​ัย จะกระตุ้​้�นให้​้เกิ​ิดความต้​้องการทำำ�กิ​ิจกรรม ต่​่ า งๆ อาทิ​ิ การออกค่​่ า ยและการท่​่ อ งเที่​่�ยว ในแบบภาพ เสมื​ือนจริ​ิง (RV) ซึ่​่�งมี​ีความเสี่​่�ยงน้​้อยกว่​่า เนื่องจากการเกิดโรคโคโรน่าไวรัส กระบวนการ ตรวจสอบ “สุ​ุขอนามั​ัย” จะยั​ังอยู่​่�กั​ับเราตลอดปี​ี 2563 ซึ่​่�ง เหมื​ือนกั​ับขั้​้�นตอนการรั​ักษาความปลอดภั​ัยที่​่�เกิ​ิดขึ้​้�นหลั​ังจาก การโจมตี​ีของผู้​้�ก่​่อการร้​้าย 9/11 ซึ่​่�งหมายถึ​ึงอาจมี​ีการวั​ัด อุ​ุ ณ หภู​ู มิ​ิ เ ฉพาะจุ​ุ ด ที่​่�สนามบิ​ิ น บ่​่ อ ยขึ้​้� น หรื​ื อ กำำ�หนดให้​้ มี​ี ใบประวั​ัติกิ ารฉี​ีดวั​ัคซี​ีนหรื​ือใบรั​ับรองที่​่�พิ​ิสูจู น์​์ว่า่ ผู้​้�โดยสารปลอด โรค ทั้​้�งนี้​้�ขึ้​้น� อยู่​่�กั​ับจุ​ุดหมายปลายทางและสถานการณ์​์ บางส่​่วน ของข้​้อมู​ูลนี้​้�จะถู​ูกจั​ัดเก็​็บไว้​้ในประวั​ัติ​ิชี​ีวภาพ (biometric profiles) ของผู้​้�โดยสาร ให้​้มองหาสายการบิ​ินและโรงแรมที่​่�ใช้​้ โอกาสจากความบ้​้านิ​ิยมในเรื่​่�องความสะอาด โดยเสนอการ อั​ัพเกรดห้​้องโดยสารที่​่�ทำำ�ความสะอาดมากขึ้​้�นหรื​ือห้​้องชุ​ุดที่​่� “มี​ีการทำำ�ความสะอาดอย่​่างล้ำำ��ลึ​ึก” ในราคาที่​่�แพงขึ้​้�น ผลกระทบจากโคโรน่าไวรัส ไม่ใช่จะมีแต่ด้านลบ ทั้งหมด ข้อดีก็มีคือ ช่วยกระตุ้นให้ภาคอุตสาหกรรมเน้นความ ยั่งยืน มากกว่าการเติบโตอย่างรวดเร็ว ในปี 2563 ได้ท�ำลาย สถิติในเรื่องของจ�ำนวนนักท่องเที่ยว แต่การที่มีผู้คนจ�ำนวน มากเดินทางมากเกินไป ท�ำให้สถานที่ท่องเที่ยวทั่วโลกประสบ ปัญหาความเสื่อมโทรมทางวัฒนธรรม และ สิ่งแวดล้อมอย่าง รุนแรง ลองมองหาชุ​ุมชนและเมื​ืองที่​่�จำำ�กั​ัดจำำ�นวนผู้​้�เข้​้า เยี่​่�ยมชม สถานที่​่�ยอดนิ​ิ ย มอย่​่ า งเช่​่ น เมื​ื อ งอั​ั ม สเตอร์​์ ดั​ั ม ได้​้มี​ีการใช้​้มาตรการดั​ังกล่​่าวแล้​้ว และสถานที่​่�อื่​่�นๆ ก็​็กำำ�ลั​ังจะ เดิ​ินตาม นอกจากนี้​้�เทศบาลเมื​ืองต่​่างๆ พยายามจำำ�กั​ัดกิ​ิจกรรม ของบริ​ิ ก ารแชร์​์ ห้​้ อ งพั​ั ก อย่​่ า ง เช่​่ น ธุ​ุ ร กิ​ิ จ Airbnb ซึ่​่�งมี​ี ส่​่วนอย่​่างมากต่​่อการเติ​ิบโตในภาคธุ​ุรกิ​ิจในช่​่วงทศวรรษที่​่�ผ่​่าน มา ส่​่วนด้​้านสิ่​่�งแวดล้​้อมธุ​ุรกิ​ิจที่​่�ทำำ�ลายสภาพภู​ูมิอิ ากาศรายใหญ่​่ ที่​่�สุ​ุด 2 ราย คื​ือ สายการบิ​ินและู​ูเรื​ือสำำ�ราญจะถู​ูกกดดั​ันมากขึ้​้น� เพื่​่�อให้​้นำำ�เทคโนโลยี​ีที่​่�ไม่​่ปล่​่อยมลพิ​ิษหรื​ือก๊​๊าซเรื​ือนกระจกมา ใช้​้ เครื่​่�องบิ​ินในอนาคตจะใช้​้เชื้​้อ� เพลิ​ิงไฮโดรเจนและเรื​ือสำำ�ราญ อาจใช้​้ไฟฟ้​้าทั้​้�งหมด ผลรวมของมาตรการเหล่​่ า นี้​้� อาจทำำ�ให้​้ ต้​้ น ทุ​ุ น การเดิ​ินทางโดยรวมสู​ูงขึ้​้�น และภายในปี​ี 2573 นั​ักเดิ​ินทางจะ ต้​้องวางแผนการเดิ​ินทางไกลให้​้น้​้อยลง อย่​่างไรก็​็ตามข่​่าวดี​ีคื​ือ การเดิ​ินทางของพวกเขามี​ีแนวโน้​้มที่​่�จะสนุ​ุกสนาน และดี​ีกว่​่า เดิ​ิมสำำ�หรั​ับในโลกใบนี้​้�


Our District

สโมสรโรตารีนครศรีธรรมราช ช่วยเหลือผู้ประสบภัยน�้ำท่วม ณ บ้านโก้งโค้ง อ.ปากพนัง และบ้านบางเตย อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช

กองบรรณาธิการ บรรณาธิ​ิการบริ​ิหาร อน. วาณิ​ิช โยธาวุ​ุธ

บรรณาธิ​ิการผู้​้�ช่​่วย อน. จั​ันทนี​ี เที​ียนวิ​ิจิ​ิตร

บรรณาธิ​ิการผู้​้�ช่​่วย

(สโมสรโรตารี​ีแม่​่สาย) (สโมสรโรตารี​ีล้​้านนา)

อผภ. จุ​ุฑาทิ​ิพย์​์ ธรรมศิ​ิริ​ิพงษ์​์ (สโมสรโรตารี​ีพระปฐมเจดี​ีย์​์) รทร. เดี​ียร์​์ราห์​์ พิ​ิบู​ูลย์​์วั​ัฒนวงษ์​์ (สโมสรโรตารี​ีหมากแข้​้ง ) อน. ตรอง แสงสว่​่างวั​ัฒนะ (สโมสรโรตารี​ีกรุ​ุงเทพสุ​ุวรรณภู​ูมิ​ิ) อน. นพ.ณั​ัฏฐธนิ​ิน เศรษฐวนิ​ิชย์​์ (สโมสรโรตารี​ีแพร่​่)

สารบัญ Contents สกู๊​๊�ปพิ​ิเศษ “Online Seminar หน้​้า 18-19 Rotary Magazine” แผนปฏิ​ิบั​ัติ​ิการของเรา หน้​้า 20-23 Our District 3330 หน้​้า 24-27 Our District 3340 หน้​้า 28-31 Our District 3350 หน้​้า 32-35 Our District 3360 หน้​้า 36-39 90 ปี​ี โรตารี​ีในประเทศไทย หน้​้า 40-42 Our Centre หน้​้า 43-44


Online Seminar

Rotary Magazine Rotary : นิตยสารโรตารี ในโอกาสที่นิตยสาร “โรตารี” หรือชื่อเดิม ที่​่�เรารู้​้�จักั กั​ันคื​ือ “เดอะโรแทเรี​ียน” ได้​้ถูกู ตี​ีพิมิ พ์​์มาอย่​่าง ยาวนานถึ​ึง 110 ปี​ีในปี​ีนี้​้� กองบรรณาธิ​ิการนิ​ิตยสาร โรตารี​ีประเทศไทย จึ​ึงได้​้นำำ�เสนอเรื่​่� องราวเกี่​่�ยวกั​ับ ทิ​ิศทางนิ​ิตยสารโรตารี​ี โดยเนื้​้�อหาทั้​้�งหมดนี้​้�ได้​้สรุ​ุปมา จากการสั​ัมมนาเครื​ือข่​่ายสื่​่�อโรตารี​ีระดั​ับสากล ซึ่​่�งก็​็คื​ือ การสั​ัมมนาบรรณาธิ​ิการนิ​ิตยสารเดอะโรตารี​ี ภาคพื้​้�น เอเชี​ียแปซิ​ิฟิ​ิค ในรู​ูปแบบเสมื​ือนจริ​ิงหรื​ือเรี​ียกสั้​้�นๆ ว่​่า สั​ัมมนาออนไลน์​์ เมื่​่�อวั​ันที่​่� 13 พฤศจิ​ิกายน 2563 กองบรรณาธิ​ิการนิ​ิตยสารโรตารี​ีประเทศไทยนำำ�โดย อน. วาณิ​ิช โยธาวุ​ุธ บรรณาธิ​ิการ ได้​้เข้​้าร่​่วมสั​ัมมนากั​ัน อย่​่างพร้​้อมเพรี​ียง ดอนน่​่ า คอตเตอร์​์ ผู้​้�ประสานงาน คณะกรรมการนิ​ิตยสารและการสื่​่�อสารโรตารี​ี เป็​็น ผู้​้�ดำำ�เนิ​ินการสั​ัมมนา แจ้​้งว่​่าสาเหตุ​ุที่​่�กำำ�หนดให้​้มี​ีการ สั​ัมมนาครั้​้ง� นี้​้�เนื่​่�องจากมี​ีความต้​้องการเป็​็นจุ​ุดร่​่วม ที่​่�เป็​็น พื้​้�นที่​่�แสดงความคิ​ิดเห็​็นได้​้ จากความหลากหลายของ ปั​ัญหาที่​่�ท้​้าทายในการทำำ�นิ​ิตยสารของโรตารี​ีในแต่​่ละ ประเทศ โดยเฉพาะในปั​ัจจุ​ุบันั ที่​่�ทุ​ุกคนกำำ�ลั​ังเผชิ​ิญหน้​้า กั​ับภั​ัยคุ​ุกคามของโรคระบาดและปั​ัญหาหนั​ักหน่​่วงต่​่างๆ การนำำ�เสนอรู​ูปแบบการประชุ​ุมแบบนี้​้� อาจเป็​็นหนทาง หนึ่​่�งที่​่�จะคงอยู่​่�ต่​่อไปอี​ีกยาวนานในอนาคต และเป็​็น รู​ูปแบบที่​่�ใช้​้ได้​้สำำ�หรั​ับการประชุ​ุม สั​ัมมนาระดั​ับย่​่อยลง ไปในระดั​ับภู​ูมิ​ิภาคด้​้วย โดยในวั​ันนี้​้�ได้​้เชิ​ิญวิ​ิทยากรที่​่�มี​ี ความเชี่​่�ยวชาญในแต่​่ละด้​้านมาบรรยายให้​้ความรู้​้�ใน ด้​้านต่​่างๆ ดั​ังนี้​้�

ยุทธศาสตร์การสื่อสาร โดย เดวิด อเล็กซานเดอร์ ประธานเจ้าหน้าที่ด้านการสื่อสารและผู้จัดการทั่วไปโรตารีสากล เดวิ​ิดเป็​็นผู้​้�เชี่​่�ยวชาญที่​่�รั​ับผิ​ิดชอบในการนำำ�ข้​้อมู​ูลข่​่าวสารของโรตารี​ี ที่​่�เหมาะสมในกรอบของ แบรนด์​์โรตารี​ี เพื่​่�อสื่​่�อสารเผยแพร่​่ต่อ่ สาธารณะ เดวิ​ิดกล่​่าวว่​่า เวลานี้​้�เป็​็นจั​ังหวะที่​่�เหมาะสมอย่​่างยิ่​่�งที่​่�จะ โหมสื่​่�อสารเรื่​่�องราวของโรตารี​ีต่​่อสาธารณะ ที่​่�เชื่​่�อเช่​่นนี้​้�เพราะเหตุ​ุว่​่าโรตารี​ีคื​ือองค์​์กรที่​่�มี​ีเรื่​่�องราวดี​ีๆ ที่​่� สาธารณชนต้​้องการรู้​้� เพราะพวกเขาต้​้องการการเปลี่​่�ยนแปลง ซึ่​่�งโรตารี​ีมี​ีสิ่​่�งที่​่�พวกเขาต้​้องการ ดั​ังนั้​้�น เราจึ​ึงมี​ีหน้​้าที่​่�ที่​่�จะต้​้องทำำ�ให้​้เขาเข้​้าใจว่​่าอะไรที่​่�องค์​์กรโรตารี​ีทำำ�อยู่​่�นี้​้� จะมี​ีผลต่​่อชี​ีวิติ ของเขาอย่​่างไร และ ต่​่อโลกอย่​่างไร ภารกิ​ิจของเราไม่​่เพี​ียงแต่​่จะต้​้องขยายการรั​ับรู้​้�นี้​้�ออกไปสู่​่�คนจำำ�นวนมากขึ้​้�น เร็​็วขึ้​้�น เรายั​ังต้​้องเสนอหนทางการเข้​้าร่​่วมกิ​ิจกรรมแก่​่ผู้​้�สนใจ โดยสโมสรโรตารี​ีต้อ้ งปรั​ับตั​ัวเองให้​้มีคี วามยื​ืดหยุ่​่�น เพื่​่�อที่​่�จะต้​้อนรั​ับผู้​้�ที่​่�มี​ีความตั้​้�งใจดี​ีเข้​้าร่​่วมองค์​์กรทางใดทางหนึ่​่�ง และเน้​้นกิ​ิจกรรมสโมสรที่​่�จะสร้​้างผลที่​่� ประจักษ์ และเป็นประโยชน์ต่อสาธารณชนอย่างจริงจัง ในการนี้​้�คณะกรรมการบริ​ิหารโรตารี​ีสากลได้​้อนุ​ุมัติั โิ ครงการเพื่​่�อการเสริ​ิมสร้​้างความแข็​็งแกร่​่ง ให้​้แก่​่แบรนด์​์โรตารี​ีดั​ังนี้​้�คื​ือ • หนึ่งเดียว (One Voice) • ทูตแบรนด์โรตารี (Brand Ambassador) • เรื่องดีๆ ของคนโรตารีและเพื่อนร่วมอุดมการณ์ (Member & Supporter Experience) • ท�ำกิจกรรมให้เหมือนออกงาน (Event Based Activations) การท�ำแบรนด์ให้เสมอต้นเสมอปลายและสร้างความภักดีในแบรนด์โรตารี โดย แพททริ​ิค นู​ูว์​์เนส ผู้​้�อำำ�นวยการฝ่​่ายสื่​่�อสารและออกแบบระดั​ับสากล รั​ับผิ​ิดชอบในกิ​ิจการเกี่​่�ยวกั​ับ ความคิ​ิดริ​ิเริ่​่�ม สร้​้างความตระหนั​ักรู้​้�ในแบรนด์​์อย่​่างเสมอต้​้นเสมอปลาย และการสร้​้างความเป็​็นอั​ันหนึ่​่�ง อั​ันเดี​ียวกั​ันของแบรนด์​์โรตารี​ี แพททริ​ิค เน้​้นให้​้เข้​้าใจถึ​ึงความสำำ�คั​ัญของโครงการ One Voice (หนึ่​่�งเดี​ียว) ที่​่�โรตารี​ีทั่​่�วโลก จะต้​้องแสดงออกถึ​ึงตราสั​ัญลั​ักษณ์​์ที่​่�ทรงพลั​ังเพี​ียงอั​ันเดี​ียว โดยเดิ​ิมกำำ�หนดให้​้ทุ​ุกภาคโรตารี​ีทั่​่�วโลก ใช้​้ แบบตราสั​ัญลั​ักษณ์​์มาตรฐานของโรตารี​ีภายในเดื​ือนมิ​ิถุนุ ายน 2563 แต่​่ด้ว้ ยสถานการณ์​์โรคโควิ​ิด-19 จึ​ึง ขยายเวลาออกเป็นเดือนธันวาคม 2563 และสโมสรโรตารีตลอดจนองค์กรย่อยอื่นๆ ภายในปี 2564 ปฏิทินร่วมส�ำหรับนิตยสารโรตารี การจัดท�ำแผนงานของบรรณาธิการนิตยสารโรตารี โดย เอวา ยูซ่า ผูอ้ �ำนวยการฝ่ายบทความและดิจทิ ลั รับผิดชอบในการจัดการบทความและประสบการณ์ ผู้ใช้ผ่านสื่อเว็บไซต์ สื่อสังคมออนไลน์ และสื่อนิตยสาร เอวา เน้นให้เห็นถึงความเปลี่ยนแปลงล่าสุดในการก�ำหนดปฏิทินเนื้อหาของนิตยสารโรตารี ซึง่ จะช่วยเพิม่ พลังการน�ำเสนอเรือ่ งราวของโรตารีทใี่ ห้ผลกระทบทีบ่ วกมากขึน้ โดยเอวาได้แนะน�ำจอห์น เรซิก ผู้ออกแบบรูปลักษณ์ใหม่ให้แก่นิตยสารโรตารี รูปลักษณ์จากการออกแบบใหม่ของนิตยสารโรตารี โดย จอห์น เรซิก ผู้ออกแบบรูปลักษณ์ใหม่ให้แก่นิตยสารโรตารี จอห์​์นกล่​่าวว่​่า ปั​ัจจุ​ุบันั นิ​ิตยสารโรตารี​ีได้​้เข้​้าถึ​ึงกลุ่​่�มผู้​้�อ่​่านใหม่​่เพิ่​่�มขึ้​้น� ได้​้แก่​่เยาวชนหนุ่​่�มสาว ที่​่�เป็​็นสมาชิ​ิกโรทาแรคท์​์ และกลุ่​่�มสุ​ุภาพสตรี​ีอายุ​ุน้​้อยกว่​่า 40 ปี​ี เราจึ​ึงมี​ีความคิ​ิดเปลี่​่�ยนแปลงรู​ูปลั​ักษณ์​์ ให้​้เหมาะสมกั​ับกลุ่​่�มผู้​้�อ่​่านดั​ังกล่​่าว ในขณะเดี​ียวกั​ันก็​็รักั ษารู​ูปแบบที่​่�กลุ่​่�มผู้​้�อ่​่านเดิ​ิมคุ้​้�นเคยไว้​้ด้ว้ ย อย่​่างไร ก็​็ตามการปรั​ับปรุ​ุงยั​ังมี​ีวั​ัตถุ​ุประสงค์​์หลั​ักในการสื่​่�อให้​้ผู้​้�อ่​่านเห็​็นถึ​ึงความทั​ันสมั​ัยของนิ​ิตยสารฉบั​ับนี้​้� มีค�ำถามว่า ท�ำไมจึงต้องเปลี่ยนชื่อนิตยสารจากเดอะโรแทเรียน เป็น “โรตารี” ค�ำตอบคือ 1. ค�ำว่า Rotary เปิดกว้างแก่ผู้อ่านทั่วไปให้สัมผัสประสบการณ์ในโรตารีมากขึ้น 2. ค�ำว่า Rotary สอดรับกับโครงการ “หนึ่งเดียว” หรือ One Voice 3. ค�ำว่า Rotary ยังเป็นการปรับเทียบเคียงกับกระแสที่รับรู้กันในวงการนิตยสารปัจจุบัน โดยหลั​ักการแล้​้วเราปรั​ับเปลี่​่�ยนนิ​ิตยสารให้​้มี​ีรู​ูปภาพที่​่�ใหญ่​่ขึ้​้�นเพื่​่�อดึ​ึงดู​ูดความสนใจผู้​้�อ่​่าน จั​ัดทำำ�โครงสร้​้างภายในเนื้​้�อหาที่​่�ช่​่วยให้​้ผู้​้�อ่า่ นทำำ�ความเข้​้าใจง่​่ายและเร็​็วขึ้​้น� มี​ีภาพกราฟฟิ​ิกเพื่​่�อเพิ่​่�มความ เข้​้าใจและจดจำำ�ได้​้มากขึ้​้�น โดยการเปลี่​่�ยนแปลงใหญ่​่ๆ คื​ือเปลี่​่�ยนชื่​่�อจาก “เดอะโรแทเรี​ียน” มาเป็​็น “โรตารี​ี” และเลื่​่�อนตำำ�แหน่​่งชื่​่�อนิ​ิตยสารจากขวามาซ้​้ายมื​ือ

อน. จัน วิจิตร

ทนี เทียน อน. จันทนี เทียนวิจิตร สโมสรโรตารีล้านนาเชียงใหม่

18

มกราคม-กุมภาพันธ์ 2564

ข้อคิดจากมิสเตอร์แม็กกาซีน ซาเมียร์ ฮัสนี “จงรักผู้อ่านของท่าน” โดย ดร. ซาเมียร์ ฮัสนี ศูนย์นวัตกรรมนิตยสาร มหาวิทยาลัยมิสซิปซิปี ดร. ซาเมี​ียร์​์ ฮั​ัสนี​ี เป็​็นชาวทริ​ิโปลี​ี ประเทศเลบานอนโดยกำำ�เนิ​ิด สำำ�เร็​็จการศึ​ึกษาปริ​ิญญาโท ด้​้านการหนั​ังสื​ือพิ​ิมพ์​์ และปริ​ิญญาเอกคณะเดี​ียวกั​ันจากมหาวิ​ิทยาลั​ัยมิ​ิสซู​ูรี​ี เขาได้​้ให้​้หลากหลายความ เห็​็นและความรู้​้�ความเข้​้าใจในเรื่​่�องการจั​ัดทำำ�นิ​ิตยสาร ในการสัมมนาครั้งนี้ เขาเริ่มการบรรยายด้วยสมการคณิตศาสตร์ 3+4+5+4+4 = X x Y (โดยที่ x คือผู้อ่านหรือในที่นี้คือสมาชิกโรตารี ส่วน Y คือสื่อและรูปแบบการเผยแพร่ข่าวสารที่มีอยู่) เริ่​่�มจากปริ​ิศนาตั​ัวเลขชุ​ุดแรก 3 หมายถึ​ึงสถานภาพของมนุ​ุษย์​์ที่​่�เราไขว่​่คว้​้าตลอดการดำำ�รง


ชี​ี วิ​ิต (เปรี​ี ย บเหมื​ื อ นเรื​ื อ 3 ลำำ� ที่​่�ชื่​่�อ Ownership, Membership และ Showmanship) • Ownership คื​ือความต้​้องการเป็​็นเจ้​้าของที่​่�มี​ีมาแต่​่กำำ�เนิ​ิด เราเกิ​ิด มาพร้​้อมกั​ับมื​ือที่​่�กำำ�ไว้​้ และตลอดชี​ีวิ​ิตเราก็​็พยายามยึ​ึดเอาสิ่​่�งต่​่างๆ มาเป็​็น ของเรา • Membership คือความต้องการเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มหรือองค์กร ต้องการการยอมรับของสังคมรอบข้าง • Showmanship คือความต้องการให้เป็นที่รักด้วยการอวดศักยภาพ ของตนเอง แสดงออกว่าเราท�ำได้ในสิ่งที่คนอื่นท�ำไม่ได้ และจะทึ่งเรา ปริศนาตัวเลขชุดที่สองคือ 4 หมายถึงกฎ 4 ข้อของนักหนังสือพิมพ์นนั่ คือ News, Views, Review และ Preview นักหนังสือพิมพ์น�ำเสนอผลงานผ่าน ข่าวสาร (News) ที่จะต้องมี ความเห็นของคนที่เกี่ยวข้อง (Views) ซึ่งจะท�ำให้เราได้บทเรียนหรือบทสรุป (Review) ซึ่งเป็นข้อเสนอแนะ (Preview) แก่สังคม ปริศนาชุดที่สามคือเลข 5 คือ ปริศนาธรรมสี่ประการของโรตารี บวกกับ 1 ข้อเสริมเป็น 5 นั่น คือ ไม่ว่าคุณจะคิด พูด หรือท�ำอะไร ถามตัวเองว่า 1. เป็นความจริงหรือไม่ (Is It The Truth?) 2. มีความเที่ยงธรรมกับทุกคนหรอื ไม่ (Is It Fair To All Concerned?) 3. น�ำไมตรีและมิตรภาพที่ดีขึ้นหรือไม่ (Will It Build Goodwill and Better Friendship?) 4. เป็นประโยชน์แก่คนทุกฝ่ายหรือไม่ (Will It be Beneficial To All Concerned?) 5. มีความสนุกไหม (Is It FUN for all?) ปริศนาตัวเลขชุดที่สี่คือ เลข 4 คือภารกิจของชาวโรตารี นั่นคือ 1. Club Service 2. Vocational Service 3. Community Service 4. International Service ปริศนาตัวเลขชุดสุดท้ายคือเลข 4 ภารกิจของของนักหนังสือพิมพ์ ที่ต้องน�ำ เสนอผ่านผลงานของเขาคือ 1. Fun ต้องสนุกกับงาน และท�ำให้ผู้อื่นสนุก 2. Fame ต้องรักษาชื่อเสียงทั้งของตนเอง องค์กร และส่งเสริมชื่อ เสียงของผู้อื่น 3. Fortune ต้องเชื่อว่าการท�ำงานหนังสือพิมพ์คือความโชคดี ที่ได้ ท�ำสิ่งที่รักจะท�ำ 4. Fact ต้องยึดมั่นในข้อเท็จจริง นั่นคือ สมการและปริศนาตัวเลขที่ผูกพันนักหนังสือพิมพ์และคนใน โรตารีทจ่ี ะท�ำหนังสือ ซึง่ สุดท้ายแล้วเรามีหลักการทีเ่ หมือนกันเพียงหลักการเดียว ไม่​่ว่​่าเราจะอยู่​่�ในสภานการณ์​์แบบปั​ัจจุ​ุบั​ัน ยุ​ุคแพร่​่ระบาดของโรคโควิ​ิด-19 หรื​ือ จะอยู่ในช่วงวิกฤตโรคระบาดปี 1918 หรือในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 หรือช่วง เศรษฐกิจตกต�่ำในยุคต้มย�ำกุ้ง หรือแม้แต่ตอนที่เศรษฐกิจดิจิตอลรุ่งเรืองในปี 2009 ต่างมีอะไรอย่างหนึ่งที่เหมือนกัน -- แบรนด์ที่ดียังมีเรื่องราวดี ๆ ที่จะบอก กล่าวแก่ผู้คน เรื่องราวที่เพียงพอที่ผู้นิยมชื่นชอบในแบรนด์นั้นเห็นว่า ส�ำคัญต่อ เขาและจ�ำเป็นที่จะต้องฟังและติดตาม หัวใจของแบรนด์ต้องมีเรื่องราวที่ครบทั้งสามข้อ คือมากเพียงพอ ส�ำคัญพอ และจ�ำเป็น ขาดข้อใดข้อหนึ่งไม่ได้ สุดท้ายคือ ลูกค้าต้องการฟังเรื่องดีๆ จากคุณอย่างที่เขาเฝ้าคอยฟัง และเคยฟั​ังมาตลอด ถามตั​ัวเองว่​่า DNA ของคุ​ุณคื​ืออะไร อย่​่าเปลี่​่�ยนเรื่​่�องเล่​่า อย่​่าหยุ​ุดเล่​่าเรื่​่�อง น้ำำ��ที่​่�ไหลผ่​่านไปแต่​่ตรงนี้​้�คือื แม่​่น้ำำ��สายเดิ​ิม โลกเปลี่​่�ยนแปลงมา ตลอดและจะยั​ังคงเปลี่​่�ยนแปลงไปเรื่​่�อยๆ แบรนด์​์และแม็​็กกาซี​ีนที่​่�จะอยู่​่�รอดต้​้อง ยึ​ึดในหลั​ักการ MVP M = Meeting the need and more - ต้​้องเติ​ิมเต็​็มความต้​้องการ ของลูกค้า และแถมของดีให้เกินอิ่มด้วย V = Validate ตรวจสอบเรื่องที่จะบอกกล่าวออกไปให้ครบถ้วน P = Preview ท�ำให้เห็นว่าในอนาคตผู้อ่านหรือลูกค้าจะได้อะไร

แล้​้วจะเริ่​่�มต้​้นอย่​่างไร จะรู้​้�ได้​้ยั​ังไงว่​่าผู้​้�อ่​่านต้​้องการอะไร ลองอ่​่านข้​้อคิ​ิดและ ข้​้อเท็​็จจริ​ิงต่​่อไปนี้​้� 1. ในยุคดิจิทัล ไม่มีใครต้องการนิตยสารแบบกระดาษอีกแล้ว 2. คนทั่วไปรู้สึกว่า การหยิบหนังสือพิมพ์มาอ่านตอนเช้า เป็นเรื่อง ของคนแก่ 3. โมเดลธุรกิจที่ใช้ได้ในศตวรรษที่แล้ว ตอนนี้ถูกฝังในหลุมไปแล้ว 4. เราไม่มีปัญหาเรื่องการพิมพ์ แต่เรามีปัญหารูปแบบโมเดลและ เนื้อหา 5. การกำำ�หนดให้​้สมั​ัครสมาชิ​ิกเป็​็นสิ่​่�งที่​่�ดี​ี แต่​่มั​ันก็​็จะตามมาด้​้วย ค่​่าใช้​้จ่​่าย 6. ข้อมูลของเรื่องๆ หนึ่งมีเป็นล้าน แต่มันไม่ได้สร้างความเข้าใจให้ เกิดขึ้นได้ 7. เราต้องเปิดประตูรับความเสี่ยง ลงมือท�ำจริง ไม่ใช่เพียงแค่พูด อย่างเดียว ทั้งเจ็ดข้อนี้ตั้งใจบอกให้เรารู้ว่า เราต้องเข้าใจข้อเท็จจริงที่พูด และ น�ำมันไปใช้งานให้เป็นประโยชน์ได้จริงในอนาคต เราอยูใ่ นยุคทีค่ นแต่ละคนมีชวี ติ อยู่กันอย่างสันโดษ แต่ทุกคนเชื่อมโยงกันได้หมดผ่านเครือข่ายต่างๆ นี่คือการ เว้นระยะห่างของสังคม ทีเ่ ราสามารถใช้ประโยชน์ให้เกิดขึน้ ได้กบั ธุรกิจทีเ่ ป็นการ พิมพ์หรือดิจิทัลก็ตาม เราจะเข้าถึงโอกาสในการใช้ประโยชน์ตรงนี้ได้อย่างไร คงต้องกลับ ไปดูวิธีการพื้นๆ ที่เราลืมกันไปแล้วนั่นคือ หนึ่​่�ง - ต้​้องหยุ​ุดคิ​ิดแก้​้ไขปมปั​ัญหาที่​่ยุ่​่�� งยากที่​่�เราเผชิ​ิญหน้​้าอยู่​่�ในขณะนี้​้� สอง - เพราะผู้​้�อ่านข ่ องเราก็​็อยู่​่�ในภาวะยุ่​่�งยากนั้​้�นเหมื​ือนเรา อาจจะมากกว่​่าด้​้วย สาม - คิ​ิดถึ​ึงเฉพาะแต่​่ภารกิ​ิจและคำำ�มั่​่�นสั​ัญญาที่​่�เป็​็นแบรนด์​์ของเรา สี่​่� - ถามตั​ั ว เองว่​่ า ฉั​ั นทำำ� อะไรได้​้ บ้​้ า ง แบบที่​่� ไ ม่​่ มี​ี ใครจะทำำ� ได้​้ โดยขอ ความช่​่วยเหลื​ือจากกู​ูเกิ้​้�ล ห้​้า - ผู้​้�อ่าน ่ จะยอมจ่​่ายเงิ​ิน ถ้าสิ่​่ ้ ง� นี้​้�ช่ว่ ยเขาประหยั​ัดเวลา สะดวกและลดค่​่าใช้​้จ่า่ ย หก - กลั​ับไปหาความเป็​็นสามั​ัญ “อะไรที่​่�อยู่​่�ยงคงกระพั​ั น อะไรที่​่�ไม่​่ เ ปลี่​่�ยนแปลง สิ่​่�งนั้​้�นคื​ือ ความจริ​ิง” (พาร์​์เมนิ​ิเดส) หรื​ือกล่​่าวอี​ีกนั​ัยหนึ่​่�ง สิ่​่�งใดที่​่�ไม่​่สามารถทำำ�ลายได้​้ สิ่​่�งนั้​้�นคื​ือความจริ​ิง และขอเสริ​ิมด้​้วยคำำ�กล่​่าวของเฮลาคลิ​ิตั​ัสที่​่�ว่​่า “ไม่​่มี​ีใคร สามารถย่ำำ��ลงบนสายน้ำำ��ที่​่�จุดุ เดิ​ิมสองครั้​้�งได้​้” เพราะสายน้ำำ��ย่อ่ มไหลเรื่​่�อยๆ ไป ข้​้างหน้​้า ไม่​่ย้​้อนกลั​ับ หมายความว่​่าการเปลี่​่�ยนแปลงของสรรพสิ่​่�งคื​ือสั​ัจธรรม เราต้​้องรู้​้�ความจริ​ิงที่​่�ว่​่า สมาชิ​ิกมี​ีข้​้อจำำ�กั​ัดสองประการคื​ือเวลาและ สมาธิ​ิที่​่�สั้​้�น เพราะเราจะเห็​็นว่​่าเมื่​่�อก่​่อนสายการบิ​ินแพนอเมริ​ิกาใช้​้เวลา 68 ปี​ีใน การบริ​ิการลู​ูกค้​้าให้​้ครบ 50 ล้​้านคน แต่​่เดี๋​๋�ยวนี้​้� โปเกมอนเกมบริ​ิการลู​ูกค้​้าใน จำำ�นวนเดี​ียวกั​ันนี้​้�ได้​้ครบภายในเวลาเพี​ียง 19 วั​ัน กลับมาทีน่ ติ ยสารโรตารี เราต้องยึดสมาชิกผูอ้ า่ นเป็นหลักและสมาชิก คื​ือ ผู้​้�ไม่​่ยึ​ึดติ​ิดรู​ูปแบบ แต่​่บางครั้​้�งก็​็ต้​้องนั​ับว่​่านี่​่�เป็​็นรู​ูปแบบหนึ่​่�ง กระนั้​้�นเราเอง ก็​็ยั​ังคงต้​้องมั่​่�นคงกั​ับดี​ีเอ็​็นเอของเราเอง ผู้​้�อ่​่านหรื​ือสมาชิ​ิกมี​ีความต้​้องการ หลากหลายและกำำ�หนดการทำำ�งานของเรา หากเราจะด� ำ รงชี วิ ต อยู ่ ใ นธุ ร กิ จ นี้ เราต้ อ งมี น วั ต กรรมใหม่ (Innovation) ไม่ใช่คอยแต่ซอ่ มแซมปรับปรุง (Renovation) อยูเ่ รือ่ ยไป รูปแบบ ใหม่ๆ ที่เกิดขึ้นก็ต้องตายไปสักวันและทดแทนด้วยนวัตกรรมใหม่ รูปแบบไม่ใช่ สิ่งที่เราจะยึดเป็นสรณะได้ ผู้อ่านเท่านั้นที่เราจะยึดเป็นสรณะได้ เราจะต้องท�ำตัวเองให้เป็น นักสร้างประสบการณ์ ไม่ใช่แค่นกั เล่าเรือ่ ง ท�ำแบรนด์ให้มีชีวิตเหมือนคนๆ หนึ่งที่โต้ตอบกับผู้อ่านได้ และคุณต้องรักผู้อ่าน อย่างจริงใจและตลอดไป เพราะการรูจ้ กั ความต้องการ ความปรารถนาของผูอ้ า่ น จะปูทางไปสู่การท�ำให้องค์กรโรตารีอยู่ยั้งยืนยง ถาม-ตอบเกี่ยวกับผู้อ่านนิตยสารโรตารี 1. ปัจจุบันจ�ำนวนผู้อ่านนิตยสารโรตารีทั่วโลกมีกี่คนนับจากจ�ำนวนตีพิมพ์ ค�ำตอบ: 1,472,000 ฉบับ 2. การตระหนักรู้ในยุทธศาสตร์แบรนด์โรตารี ช่วยให้โรแทเรียนเข้าใจวิธีการน�ำ เสนอเนื้อหาในนิตยสารโรตารีมากน้อยเพียงใด ค�ำตอบ: เข้าใจ (67%) ยัง โดยขอให้ปรับปรุงเนื้อหาบ้าง (33%)


นี่คือ แผนปฏิบัติการของเรา

หลักสำ�คัญ 4 ประการ แรกของเรา

เรา เพิ่มพูน ผลที่จะได้รับ 20

มกราคม-กุมภาพันธ์ 2564


การเติบโตในโลกที่ขับเคลื่อนด้วยข้อมูล เราทุกคนต่างต้องการให้โรตารีมีเรื่องราวที่เล่าขานเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงที่ยั่งยืน แต่ หากเราไม่สามารถแสดงหลักฐานในเรื่องที่เราประสบความสำ�เร็จด้วยกันอย่างเป็นรูปธรรม ได้ มันก็เป็นการยากที่จะดึงดูดให้ผู้ทำ�การเปลี่ยนแปลงที่มีแรงบันดาลใจและมีนวัตกรรม เข้าร่วมหรือเป็นหุ้นส่วนกับเรา และมันก็จะยิ่งยากขึ้นไปอีกที่จะปรับปรุงโปรแกรมและ โครงการต่างๆ ในแนวทางที่มีความหมายจริงๆ เราจะสามารถบรรลุศักยภาพเต็มความสามารถของเราได้โดยการพัฒนาความสามารถ ในการเก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล เราสามารถคาดเดาว่าโปรแกรมใดที่จะมีผลกระทบ และโปรแกรมใดที่จะต้องมีการปรับเปลี่ยน นอกจากนี้ การใช้สิ่งที่เราได้เรียนรู้จากความ พยายามในการขจัดโปลิโอให้หมดไป ทำ�ให้เราสามารถมองหาแนวทางที่จะเลียนแบบและ กำ�หนดขนาดของโปรแกรมที่มีศักยภาพเต็มเปียมในการสร้างการเปลี่ยนแปลงที่ยั่งยืน สิ่งที่เราจะทำ� • ประยุกต์สิ่งที่เราได้เรียนรู้จากการต่อสู้กับโปลิโอ มาใช้ในเรื่องที่เน้นความสำ�คัญ (Areas of Focus) ทั้งหมดของเรา • มุ่งความพยายามและทรัพยากรไปในโปรแกรมซึ่งมี​ีผลที่จะได้รับสูงสุด • สร้างความรู้ที่เกี่ยวกับวิธีการวัดผลและโครงสร้างพื้นฐานที่เหมาะกับโรตารี

สิ่งที่สโมสรของท่านสามารถทำ�ได้

เน้นความสำ�คัญ

ในประเด็นและโครงการต่างๆ ที่มีความหมาย สูงสุดต่อชุมชน

รวบรวม

ข้อมูลก่อนและหลังการทำ�โครงการของท่าน

แบ่งปัน

เรื่องราวการเปลี่ยนแปลงที่กำ�ลังทำ�อยู่ ซึ่งวัดผลได้

มุ่งมั่น

ที่จะพัฒนาโครงการเหล่านั้น เมื่อเวลาผ่านไป

ต้องการเรียนรู้มากขึ้นหรือไม่

อ่านแผนปฏิบัติการฉบับสมบูรณ์ที่ rotary.org/actionplan


นี่คือ แผนปฏิบัติการของเรา

หลักสำ�คัญ 4 ประการแรก ของเรา

เรา ขยาย การเข้าถึง 22

มกราคม-กุมภาพันธ์ 2564


ขอต้อนรับผู้นำ�ทุกรูปแบบ คนพูดจริงทำ�จริงมาจากภูมิหลังทุกๆ ด้านและในทุกๆ ชุมชน แต่ถึงแม้ว่าโรตารีจะประกอบด้วยผู้นำ�ที่ อยู่แนวหน้าในการเปลี่ยนแปลง ก็มีเพียงร้อยละ 35 ของผู้ที่เราทำ�การสำ�รวจ *เท่านั้นที่เห็นว่าโรตารี เป็นองค์กรสำ�หรับผู้คนดังเช่นพวกเขา และนั่นยังไม่ดีพอ เราต้องมีความมุ่งมั่นที่จะอยู่ในจุดที่ต้อนรับผู้คนที่จะเชื่อมโยง เติบโตและเป็นผู้นำ�ในการเปลี่ยนแปลง ให้มากขึ้น มาช่วยกันค้นหาหุ้นส่วนใหม่ๆ และความร่วมมือใหม่ๆ กับองค์กรต่างๆ ที่มีความมุ่งมั่นให้เกิด ขึ้นในชุมชนและทั่วโลก มาช่วยกันแสดงให้เห็นถึงคุณค่าที่เรามีและช่วยผู้คนใหม่ๆ ให้คนพบหนทางของ พวกเขาในโรตารี

สิ่งที่เราจะทำ� • พัฒนาแบบอย่างของผู้มีส่วนร่วมที่ดึงดูดความสนใจของผู้คนที่หลากหลาย • สร้างสรรค์แบบอย่างของการมีส่วนร่วมที่ยืดหยุ่น • สนับสนุนมิตรภาพโรตารีเพื่อให้เกิดความผูกพันที่เข้มแข็งไปทั่วโลก • ปรับปรุงการแสดงตัวตนบนสื่อทางสังคมของเราและทรัพยากรในเชิงรุกให้เป็นปัจจุบันอยู่เสมอ

สิ่งที่สโมสรของท่านสามารถทำ�ได้

แบ่งปัน

เรื่องราวคนพูดจริงทำ�จริงของท่านเยี่ยมชม (BRAND CENTER ที่ MY ROTARY)

ส่งเสริม

สโมสรที่มีนวัตกรรมและทางเลือกที่ยืดหยุ่น

เข้าถึง

กลุ่มคนใหม่ๆ เพื่อให้มีผู้ร่วมมือหรือหุ้นส่วนใหม่

ปรับปรุง

เว็บไซต์และสื่อทางสังคมของสโมสรให้เป็นปัจจุบัน

ต้องการเรียนรู้มากขึ้นหรือไม่

อ่านแผนปฏิบัติการฉบับสมบูรณ์ที่ rotary.org/actionplan

*การสำ�รวจสาธารณชนทั่วโลกในปี ค.ศ 2015


D.3330 บรรณาธิการ ภาค 3330 โรตารีสากล

อผภ. จุ​ุฑาทิ​ิพย์​์ ธรรมศิ​ิริ​ิพงษ์​์ สโมสรโรตารี​ีพระปฐมเจดี​ีย์​์

สวัสดีมวลมิตรโรแทเรียน สวั​ัสดี​ีปี​ีใหม่​่ 2021 ค่​่ะ แต่​่พอนิ​ิตยสารฉบั​ับนี้​้�จะ ถึ​ึงมื​ือทุ​ุกท่​่านคงใกล้​้กั​ับวาเลนไทน์​์ วั​ันแห่​่งความรั​ักของคน ทั่​่�วโลก แต่​่ยั​ังมี​ีวั​ันที่​่�พวกเราโรแทเรี​ียนยั​ังคงอดคิ​ิดถึ​ึงไม่​่ได้​้ว่​่า ได้​้มี​ีการก่​่อตั้​้�งสโมสรโรตารี​ีแห่​่งแรกขึ้​้�นที่​่�เมื​ืองชิ​ิคาโก เมื่​่�อวั​ันที่​่� 23 กุ​ุมภาพั​ันธ์​์ พ.ศ. 2448 (ค.ศ. 1905) ต่​่อจากนั้​้�นก็​็มี​ีการ ก่​่อตั้​้�งสโมสรโรตารี​ีขึ้​้�นอี​ีกมากมายตามมาจนเราได้​้มี​ีโอกาส สื​ืบทอดอุ​ุดมการณ์​์ในขณะนี้​้� พวกเรามีความรู้สึกภาคภูมิใจ ในการได้มีโอกาสใน การบ�ำเพ็ญประโยชน์ผา่ นกิจกรรมต่างๆ มากมาย น่าภูมใิ จเป็น ที่สดุ หากแต่ถาพ ้ วกเราได้มโี อกาสสัมผสั กับโรแทเรียนที่มอี ายุ การเป็นสมาชิกมาอย่างยาวนาน ได้ผ่านเรื่องราวกิจกรรม มิ​ิตรภาพ และการบำำ�เพ็​็ญประโยชน์​์ที่​่หลา � กหลาย เราจะยิ่​่ง� ภาค ภู​ูมิใิ จที่​่�เราเลื​ือกที่​่�จะเป็​็นโรแทเรี​ียน ขอให้​้ครอบครั​ัวโรตารี​ีทุกุ ๆ ครอบครั​ัวมี​ีความสุ​ุข มี​ีสุ​ุขภาพแข็​็งแรง มี​ีจิ​ิตใจที่​่�สดชื่​่�น ยื​ืนอยู่​่� บนโลกนี้​้�ด้ว้ ยความสนุ​ุกสนาน ภาคภู​ูมิใิ จในตั​ัวเองเสมอ เราจะ สู้​้�ไปด้​้วยกั​ันไม่​่ว่​่าจะเจอกั​ับเรื่​่�องราวใดๆ ก็​็ตามค่​่ะ

สโมสรอินเทอร์แรคท์ สโมสรโรทาแรคท์ ในแต่​่ละปี​ี การขยายสโมสรเป็​็นเป้​้าหมายของโรตารี​ีสากลและของภาคเสมอ มา หากแต่การก่อตัง้ สโมสรโรตารีกด็ ี สโมสรโรทาแรคท์ หรอื สโมสรอินเทอร์แรคท์นัน้ ต้อง มีผู้ให้ความรู้ สร้างความเข้าใจถึงบทบาทและหน้าที่ เมื่อก่อตั้งแล้วนั้นย่อมหวังถึงความ เติบโตอย่างยั่งยืน เพื่อเพิ่มพูนในการพัฒนาบุคคลและพัฒนาชุมชน โดยผ่านการบ�ำเพ็ญ ประโยชน์ด้วยกับทุกๆ สโมสร ในปี​ี 2563-2564 ภาค 3330 โดย ผวภ. เฉลิ​ิมฉั​ัตร - อน. นิ​ิตยา จั​ันทร์​์อิ​ินทร์​์ มี​ีนโยบายในการขยายสโมสร หากแต่​่ด้​้วยภาวะโควิ​ิด-19 นั้​้�นจึ​ึงมี​ีเป้​้าหมายที่​่�ยั​ังคงต้​้อง สานต่​่อไป จะมี​ีโอกาสที่​่�ดี​ีมากที่​่�ประธานคณะกรรมการอิ​ินเทอร์​์แรคท์​์ภาค อน.ณั​ัฐพั​ัชร์​์ สุ​ุชาติ​ิกุ​ุลวิ​ิทย์​์ (สโมสรโรตารี​ีเทพารั​ักษ์​์) และประธานคณะกรรมการโรทาแรคท์​์ภาค อน. ดร.รั​ัตนาพร เลารุ​ุจิ​ิราลั​ัย (สโมสรโรตารี​ีสนามจั​ันทร์​์) ได้​้มอบโอกาสที่​่�ดี​ีมากให้​้กั​ับ เยาวชน โดยการสนั​ับสนุ​ุนให้​้สโมสรโรตารี​ีได้​้ก่อ่ ตั้​้ง� สโมสรอิ​ินเทอร์​์แรคท์​์และโรทาแรคท์​์ใน อุ​ุปถั​ัมภ์ข์ องสโมสรโรตารี​ีได้​้ดั​ังนี้​้� สโมสรอินเทอร์แรคท์ 1. สโมสรอินเทอร์แรคท์โรงเรียนบ้านเขาก�ำแพง ในความอุปถัมภ์ของสโมสรโรตารีอู่ทอง 2. สโมสรอินเทอร์แรคท์โรงเรียนพรศิริกุล ในความอุปถัมภ์ของสโมสรโรตารีช่อศรีตรัง 3. สโมสรอิ​ินเทอร์​์แรคท์​์โรงเรี​ียนบ้​้านนาสาร ในความอุ​ุปถั​ัมภ์ข์ องสโมสรโรตารี​ีบ้า้ นนาสาร 4. สโมสรอิ​ินเทอร์​์แรคท์​์โรงเรี​ียนราชประชานุ​ุเคราะห์​์ 45 ในความอุ​ุปถั​ัมภ์​์ของสโมสร โรตารี​ีนเรศวร-กาญจนบุ​ุรี​ี

สโมสรโรทาแรคท์​์ในการอุ​ุปถั​ัมภ์​์ของสโมสรโรตารี​ีสุ​ุพรรณิ​ิการ์​์ 1. สโมสรโรทาแรคท์โรงเรียนกรรณสูตศึกษาลัย (ก่อตั้งในชุมชน) จังหวัดสุพรรณบุรี โดย มีนายกก่อตั้ง คือ นายศุภกฤต แสงภู่วงษ์ 2. สโมสรโรทาแรคท์​์วิ​ิทยาลั​ัยอาชี​ีวศึ​ึกษาสุ​ุพรรณบุ​ุรี​ี (ก่​่อตั้​้�งในชุ​ุมชน) โดยมี​ีนายกก่​่อตั้​้�ง คือ นางสาวภาริษา อ่วมด้วง 3. สโมสรโรทาแรคท์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์สพุ รรณบุรี (ก่อตัง้ ในสถานศึกษา) โดยมีนายกก่อตั้ง คือ นายบุรพล ภมรพล

24

มกราคม-กุมภาพันธ์ 2564


สโมสรโรตารี​ีท่​่าศาลา นำำ�โดย นย. สิ​ิริ​ิฎา ธรรมรั​ัตน์​์และสมาชิ​ิก ทำำ�การแจกถุ​ุงยั​ังชี​ีพซึ่​่�งได้​้ รั​ับความอนุ​ุเคราะห์​์จากพี่​่�น้​้องชาวโรตารี​ีทั่​่�วประเทศ มู​ูลนิ​ิธิ​ิภาค โรตารี​ีไทยในอำำ�เภอท่​่าศาลาที่​่�ได้​้รั​ับความเดื​ือดร้​้อนจากเหตุ​ุการณ์​์ น้ำำ��ท่​่วมใหญ่​่ เมื่​่�อวั​ันที่​่� 14 ธั​ันวาคม 2563 สโมสรโรตารีนราธิวาส นำำ�โดย นย. ภาวนา เสาร์​์ศรี​ีอ่​่อน พร้​้อมสมาชิ​ิก ทำำ�กิ​ิจกรรมฝึ​ึกวิ​ิชาชี​ีพ ให้​้กั​ับเยาวชนสถานพิ​ินิ​ิจจั​ังหวั​ัดนราธิ​ิวาส 2 โครงการ การถ่​่ายภาพ และการใช้​้องค์​์ประกอบของภาพอย่​่างถู​ูกต้​้องเพื่​่�อประกอบอาชี​ีพใน วั​ันข้​้างหน้​้า และโครงการมั​ัคคุ​ุเทศก์​์เบื้​้�องต้​้น เพื่​่�อนำำ�ไปประกอบอาชี​ีพ และเสริ​ิมสร้​้างบุ​ุคลิ​ิกและการพู​ูดในที่​่�สาธารณะ การแนะนำำ�การ ท่​่องเที่​่�ยวภายในพื้​้�นที่​่� เมื่​่�อวั​ันที่​่� 15 ธั​ันวาคม 2563

สโมสรโรตารีเบตง นำำ�โดย นย. ชญาภา สมานวรศั​ักดิ์​์� พร้​้อมสมาชิ​ิกและ RCC ชุ​ุมชน โรตารี​ี รั​ั ก ษ์​์ เ บตง สโมสรอิ​ิ น เทอร์​์ แรคโรงเรี​ี ย นเบตงวี​ี ร ะราษฏร์​์ ประสาน นำำ�ถุ​ุ ง ยั​ั ง ชี​ี พ ไปมอบให้​้ กั​ั บ ผู้​้�ประสบภั​ั ย น้ำำ��ท่​่ ว มพื้​้� น ที่​่� ต. อั​ัยเยอร์​์เวง อ. เบตง ซึ่​่�งได้​้รั​ับการสนั​ับสนุ​ุนจากกองทุ​ุนช่​่วยเหลื​ือ ผู้​้�ประสบภั​ัยพิ​ิบั​ัติ​ิธรรมชาติ​ิ ภาค 3330 จำำ�นวน 30,000 บาท ทาง RCC ชุมชนโรตารีรักษ์เบตงได้ผัดหมี่แจกให้กับผู้ประสบภัยในครั้งนี้ ด้วย เมื่อวันที่ 9 มกราคม 2564

สโมสรโรตารีอู่ทอง นำำ�โดย นย. อรวรรณ บั​ั น ลื​ื อ ศรี​ี ส กุ​ุ ล พร้​้ อ มสมาชิ​ิ ก ร่​่ ว มต้​้ อนรั​ั บ ผวภ. เฉลิ​ิมฉั​ัตร - อน. นิ​ิตยา จั​ันทร์​์อิ​ินทร์​์ เยี่​่�ยมสโมสรโรตารี​ีอู่​่�ทอง โอกาสนี้​้�ได้​้ร่ว่ มกิ​ิจกรรมมอบเครื่​่�องกรองน้ำำ��สะอาดเพื่​่�อเยาวชน ให้​้กับั โรงเรี​ียนบ้​้านเขากำำ�แพง อ. อู่​่�ทอง จ. สุ​ุพรรณบุ​ุรี​ี ซึ่​่�งพื้​้�นที่​่�บริ​ิเวณ โรงเรี​ียนนี้​้�ส่​่วนใหญ่​่เป็​็นเขาหิ​ินปู​ูน เมื่​่�อวั​ันที่​่� 15 ธั​ันวาคม 2563


D.3330

ส โ ม ส ร โ ร ต า รีน ค ร ป ฐ ม

First Rotary Club

26

มกราคม-กุมภาพันธ์ 2564

สโมสรแรกของภาค 3330 โรตารีสากล

“โอกาส” เป็​็นสิ่​่�งที่​่�ทุ​ุกคนต้​้องการทุ​ุกๆ เวลาที่​่�ลื​ืมตาอยู่​่� ดิ​ิฉั​ันขออนุ​ุญาตใช้​้คำำ�คติ​ิพจน์​์ของ ท่​่านประธานโรตารี​ีสากล ปี​ี 2020-2021 โฮลเกอร์​์ คนั​ัค ท่​่านกล่​่าวไว้​้ว่​่า “โรตารี​ี เปิ​ิดแนวทาง สร้​้างโอกาส” จากบทความที่​่�ท่​่านกล่​่าวไว้​้ให้​้โรแทเรี​ียนทั่​่�วโลกได้​้คิ​ิด ตรึ​ึกตรองดู​ู ซึ่​่�งเป็​็นคำำ�ที่​่�เข้​้าใจง่​่ายๆ ช่​่วงวรรคหนึ่​่�งที่​่�ท่​่านกล่​่าวว่​่า อะไรคื​ือสิ่​่�งที่​่�ทำำ�ให้​้โรตารี​ีพิเิ ศษไม่​่เหมื​ือนใคร และมี​ีคุณ ุ ค่​่ายิ่​่�งในการแบ่​่งปั​ัน กั​ันในโลกนี้​้�? โอกาสพิ​ิเศษสุ​ุดใดบ้​้างที่​่�เราจะเปิ​ิดกว้​้างสำำ�หรั​ับท่​่านทั้​้�งหลาย หรื​ือสำำ�หรั​ับผู้​้�คนที่​่�เราให้​้ การบำำ�เพ็​็ญประโยชน์​์ เราต่างก็รักผู้คน ในทุกหนแห่งที่เดินทางไปในโลกนี้ โรแทเรียนทั้งหลาย เป็นเพื่อนที่ดีที่สุด ของเรา และท่านเองก็ปรารถนาให้มีเวลากับเขาได้มากขึ้น เรามาจากภูมิหลัง วัย ภาษา และวัฒนธรรม ที่แตกต่างกัน แม้แต่วิถีชีวิตที่ด�ำรงอยู่ โรตารี​ีแตกต่​่างกั​ันไปในแต่​่ละประเทศและสโมสร ซึ่​่�งความหลากหลายนั้​้�นทำำ�ให้​้เรายิ่​่�งใหญ่​่ได้​้ เราผูกพันกันด้วยคุณค่าที่ให้กันและกัน ด้วยมิตรภาพและเชื่อมั่นในแบบทดสอบสี่แนวทาง โรตารี ให้ประสบการณ์ได้แตกต่างกันทุกหนแห่ง แต่แบบทดสอบสี่แนวทางนี้ ยังคงเหมือนเดิมส�ำหรับ ทุกคน โรตารี​ีให้​้โอกาสเพื่​่�อโครงการบำำ�เพ็​็ญประโยชน์​์ ซึ่​่�งอาจกระทำำ�และสำำ�เร็​็จได้​้ด้​้วยพวกเราเอง โครงการเหล่​่านี้​้�มีคี วามหมายและยั่​่�งยื​ืนในโรตารี​ี เรามิ​ิได้​้เพี​ียงบริ​ิจาคเงิ​ินเท่​่านั้​้�น แต่​่ยังั บำำ�เพ็​็ญประโยชน์​์ และมองเห็​็นผลที่​่�ได้​้รับั อั​ันยื​ืนยงของการบำำ�เพ็​็ญประโยชน์​์โดยตรงนั้​้�นด้​้วย นี่​่�เองคื​ือสิ่​่�งที่​่�พิ​ิเศษสุ​ุดไม่​่เหมื​ือน ใคร โรตารี​ีให้​้โอกาสมากมายแก่​่เรา ที่​่�จะเดิ​ินทางไปช่​่วยให้​้แนวทางการบำำ�เพ็​็ญประโยชน์​์เป็​็น รู​ูปธรรมได้​้ทั่​่�วโลก นอกจากนี้​้� โรตารี​ียั​ังให้​้โอกาสสำำ�หรั​ับความเป็​็นผู้​้�นำำ�อี​ีกด้​้วย เราต่​่างก็​็มี​ีความรั​ับผิ​ิดชอบใหม่​่ ที่​่�ยิ่​่�งใหญ่​่ ซึ่​่�งเป็​็นโอกาสที่​่�ทำำ�ให้​้เครื​ือข่​่ายเข้​้มแข็​็ง มิ​ิใช่​่เพื่​่�อความเจริ​ิญส่​่วนบุ​ุคคลของเราเท่​่านั้​้�นแต่​่เพื่​่�อ สิ่​่�งดี​ีๆ ของโรตารี​ี การสร้​้างสรรค์​์หนทางไปสู่​่�ความเป็​็นผู้​้�นำำ� สำำ�หรั​ับผู้​้�อื่​่�น นั​ับเป็​็นอุ​ุดมการณ์​์โรตารี​ีที่​่�แท้​้ จริ​ิง ซึ่​่�งจะทำำ�ให้​้ท่​่านเป็​็นผู้​้�นำำ�ที่​่�มี​ีประสิ​ิทธิ​ิภาพมากยิ่​่�งขึ้​้�นได้​้ เรามาอยู่​่� ณ ที่​่�นี้​้� ก็​็ เ พราะเชื่​่�อมั่​่�นในโอกาสของโรตารี​ี ซึ่​่�งเป็​็ น โอกาสของผู้​้�อื่​่�นและตั​ั ว ของเราเอง เราเชื่​่�อว่​่าการบำำ�เพ็​็ญประโยชน์​์ต่​่างๆ ไม่​่ว่​่าใหญ่​่หรื​ือเล็​็กย่​่อมสร้​้างสรรค์​์โอกาสแก่​่ผู้​้�คนที่​่� ต้​้องการความช่​่วยเหลื​ือ เราทราบด้​้วยว่​่าการบำำ�เพ็​็ญประโยชน์​์ทุกุ อย่​่างนั้​้�นเป็​็นแรงบั​ันดาลใจและเปลี่​่�ยน เราได้​้ ใครจะสามารถเดาเหตุ​ุการณ์​์เมื่​่�อ 116 ปี​ี ที่​่�ผ่​่านมาได้​้ว่​่าเพี​ียงมี​ีชาย 4 คน ซิ​ิลเวสเตอร์​์ ชี​ีล (Silverster Schiele) กั​ัส โลหร์​์ (Gus Lochr) ฮี​ีแรม ซอเร่​่ย์​์ (Hirm Shorey) พอล แฮริ​ิส (Paull Harris) จากเรื่​่�องราวในอดี​ีตแต่​่มี​ีคำำ�กล่​่าวของ ซอเร่​่ย์​์ ที่​่�กล่​่าวว่​่า “เราแต่​่ละคนก็​็ควรจะได้​้นึ​ึกถึ​ึงกั​ันบ้​้างถึ​ึงความ ผาสุ​ุกของคนอื่​่�นๆ ด้​้วย” จากนั้​้�นมา จนกระทั่​่�ง พอล พี​ี แฮริ​ิส ได้​้ก่​่อตั้​้�งโรตารี​ีขึ้​้�น และขยายวงกว้​้างของ ผู้​้�มี​ีจิ​ิตใจคล้​้ายๆ กั​ัน ไม่​่นานก็​็มาถึ​ึงเมื​ืองไทย เมื่​่�อมี​ีการก่​่อตั้​้�งสโมสรโรตารี​ีในกรุ​ุงเทพมหานคร และนั่​่�น คื​ือที่​่�มาของการขยายสโมสรออกต่​่างจั​ังหวั​ัด ภาค 3330 โรตารี​ีสากล เริ่​่�มจากสโมสรโรตารี​ีนครปฐมใน 50 ปี​ี ที่​่�ผ่​่านมาจนถึ​ึงปั​ัจจุ​ุบั​ัน


ประวั​ัติ​ิการก่​่อตั้​้�งสโมสรโรตารี​ีนครปฐม สโมสรโรตารี​ีนครปฐมเป็​็นสโมสรลำำ�ดั​ับที่​่� 14 ของประเทศไทย และ เป็​็นลำำ�ดั​ับที่​่� 54 ของภาค 330 (เปลี่​่�ยนเป็​็นภาค 335 แล้​้ว) อน. ปรี​ีชา อมาตยกุ​ุล เป็​็นผู้​้�แทนพิ​ิเศษผู้​้�ว่​่าการภาค โดยมี​ีการประชุ​ุม ก่​่ อ ตั้​้� ง ในวั​ั น ที่​่� 3 มิ​ิ ถุ​ุ น ายน 2512 พระที่​่�นั่​่�งสามั​ั ค คี​ี มุ​ุ ข มาตย์​์ สโมสรได้​้ รั​ั บ สารตราตั้​้ง� จากโรตารี​ีสากลในวั​ันที่​่� 11 กั​ันยายน 2512 ในสมั​ัยประธานโรตารี​ีสากล เจมส์​์ เอฟ. คอนเวย์​์ โดยผู้​้�ว่​่าการภาค ดร. แอล. เอส. โซตี้​้� เป็​็นผู้​้�มอบสารตราตั้​้�ง จั​ัดพิ​ิธี​ีรั​ับและฉลองตราตั้​้�ง เมื่​่�อวั​ันที่​่� 12 ตุ​ุลาคม 2512 ณ สวนสามพราน จั​ังหวั​ัดนครปฐม สโมสรโรตารี​ีธนบุ​ุรี​ี (สโมสรพี่​่�เลี้​้�ยง) ได้​้ส่​่งสมาชิ​ิกมาให้​้การปฐมนิ​ิเทศและให้​้การ แนะนำำ� 3 ครั้​้�ง คื​ือ 1) อผภ. พิ​ิชั​ัย รั​ัตตกุ​ุล 2) อน. ปรี​ีชา อมาตยกุ​ุล 3) อน. บุ​ุญ อิ​ิ น ทรั​ั ม พรรย์​์ 4) อน. ประสิ​ิ ท ธิ์​์� ลุ​ุ ลิ​ิ ต านนท์​์ 5) อน. ประโพธิ​ิ เปาโรหิ​ิ ต 6) รทร. ประมุ​ุข สุ​ุวรรณศิ​ิลป์​์ 7) อน. ม.ร.ว.เทพยพงศ์​์ เทวกุ​ุล 8) อผภ. ฤทธิ์​์� บุ​ุศยอั​ังกู​ูร 9) อผภ. ลิ่​่�วละล่​่อง บุ​ุนนาค 10) อน. สุ​ุพั​ักตร์​์ บุ​ุรุ​ุษหงส์​์ เดิมสโมสรโรตารีนครปฐม (หลังจากประกาศเป็นสโมสรโรตารีชวั่ คราว แล้​้ว) ประชุ​ุมครั้​้�งที่​่� 1 เมื่​่�อวั​ันพุ​ุธที่​่� 9 กรกฎาคม 2512 ณ ห้​้องอาหารโพธิ์​์�ทอง ถนนเทศา อำำ�เภอเมื​ือง จั​ังหวั​ัดนครปฐม การประชุ​ุมครั้​้�งนี้​้� สมาชิ​ิกก่​่อตั้​้�งทั้​้�ง 31 ท่​่าน ทำำ�คะแนนการประชุ​ุม 100% เต็​็ม ต่อมาที่ประชุมขอให้มีการเปลี่ยนแปลงวันประชุมจากวันพุธ (เพราะ ตรงกับวันประชุมปกติของสโมสรพี่เลี้ยง) มาเป็นวันอังคาร จึงเริ่มประชุมครั้งที่ 2 เมื่​่�อวั​ันอั​ังคารที่​่� 15 กรกฎาคม 2512 เป็​็นต้​้นมาจนกระทั่​่�งบั​ัดนี้​้� และใช้​้ห้อ้ งอาหาร โพธิ์​์�ทองเป็​็นสถานที่​่�ประชุ​ุมอยู่​่� 10 กว่​่าปี​ี แล้​้วย้​้ายมาประชุ​ุมที่​่� ฮั​ันนี​ี คอฟฟี่​่�ชอฟ เมื่​่�อ พ.ศ. 2527-2528 สมั​ัย อน. วิ​ิบู​ูลย์​์ สิ​ินประสงค์​์ และ อน. จำำ�ลอง สุ​ุคนธ์​์มณี​ี อยู่​่�ที่​่� ฮั​ันนี่​่� คอฟฟี่​่�ชอฟ เป็​็นเวลา 2 ปี​ีจึ​ึงย้​้ายมาประชุ​ุมที่​่�โรงแรมเวล อำำ�เภอเมื​ือง จั​ังหวั​ัดนครปฐม เมื่​่�อ พ.ศ. 2529 สมั​ัย อน. บุ​ุญส่​่ง ไหลธนานนท์​์ อยู่​่�จนกระทั่​่�ง ปัจจุบันนี้ การขยายสโมสรโดยการก่​่อตั้​้�งของสโมสรโรตารี​ีนครปฐม 1. สโมสรโรตารี​ีสุ​ุพรรณบุ​ุรี​ี (ปี​ี 2513-2514 นยก. นพ.สนั่​่�น บุ​ุญญานิ​ิตย์​์, ผู้​้�แทนพิ​ิเศษในการก่​่อตั้​้�ง นพ. กมล พลาชี​ีวะ) 2. สโมสรโรตารี​ีบางเลน (ปี​ี 2530-2531 นย. พู​ูนศั​ักดิ์​์� ตุ​ุงคเศรวงศ์​์, ผู้​้�แทนพิ​ิเศษ ในการก่​่อตั้​้�ง นยก. พ.ท.กมล ประจวบเหมาะ) 3. สโมสรโรตารี​ีพระปฐมเจดี​ีย์​์ (ปี​ี 2532-2533 นย. อนุ​ุศั​ักดิ์​์� วั​ัฒนสกลพั​ันธุ์​์�, ผู้​้�แทนพิ​ิเศษในการก่​่อตั้​้�ง อน.พู​ูนศั​ักดิ์​์� วั​ัฒนสกลพั​ันธ์ุ​ุ�) 4. สโมสรโรตารี​ี สนามจั​ั นทร์​์ (ปี​ี 2532-2533 นย. พู​ู นศั​ั กดิ์​์� ตุ​ุ งคเศรวงศ์​์ , ผู้​้�แทนพิ​ิเศษในการก่​่อตั้​้�ง อน.วิ​ิเชี​ียร หอมหวน) 5. สโมสรโรตารี​ีนครชั​ัยศรี​ี (ปี​ี 2536-2537 นย. เกษม เขมวราภรณ์​์, ผู้​้�แทนพิ​ิเศษ ในการก่​่อตั้​้�ง อน.ประเสริ​ิฐ สะสมทรั​ัพย์​์) 6. สโมสรโรตารี​ีกำำ�แพงแสน (ปี​ี 2536-3537 นย. เกษม เขมวราภรณ์​์, ผู้​้�แทนพิ​ิเศษ ในการก่​่อตั้​้�ง อน. เฉลิ​ิมชั​ัย อุ​ุรารั​ักษ์​์) 7. สโมสรโรตารี​ีสามพราน (ปี​ี 2542-2543 นย.สมชาย จิ​ิระวั​ัฒนชั​ัย, ผู้​้�แทนพิ​ิเศษ ในการก่​่อตั้​้�ง อน. สุ​ุนทร แก้​้วพิ​ิจิ​ิตร) 8. สโมสรโรตารี​ีดอนตู​ูม (ปี​ี 2545-2546 นย.วิ​ิชั​ัย โกสมนึ​ึก, ผู้​้�แทนพิ​ิเศษ ในการก่​่อตั้​้�ง อน. เกษม เขมวราภรณ์​์) 9. สโมสรโรตารี​ีไร่​่ขิ​ิงสามพราน (ปี​ี 2557-2558 นย.ประสาธน์​์ มกรกิ​ิจวิ​ิบู​ูลย์​์, ผู้​้�แทนพิ​ิเศษในการก่​่อตั้​้�ง อน. โชติ​ิอนั​ันต์​์ นิ่​่�มนวลภู​ูพานิ​ิช) 10. สโมสรโรตารี​ีทวารวดี​ี (ปี​ี 2559-2560 นย.ปถวี​ี สุ​ุสั​ัณฐิ​ิพงษ์​์ ร่​่วมกั​ับสโมสร โรตารี​ีพระปฐมเจดี​ีย์​์และสโมสรโรตารี​ีสนามจั​ันทร์​์, ผู้​้�แทนพิ​ิเศษในการก่​่อตั้​้�ง อน. อนั​ันต์​์ ทรงวิ​ิทยา) สโมสรโรทาแรคท์​์ในความอุ​ุปถั​ัมภ์​์ 1. สโมสรโรทาแรคท์​์ ม หาวิ​ิ ท ยาลั​ั ย ราชภั​ั ฏ นครปฐม ก่​่ อ ตั้​้� ง ปี​ี 2524-2525 สมั​ัย นย. นพ.วโรภาส อุ​ุทารวุ​ุฒิ​ิพงศ์​์ 2. สโมสรโรทาแรคท์​์วิทิ ยาลั​ัยเทคนิ​ิคนครปฐม ก่​่อตั้​้ง� ปี​ี 2541-2542 สมั​ัย นย. พิ​ิชิติ พาวิ​ิทยลาภ

3. สโมสรโรทาแรคท์​์มหาวิ​ิทยาลั​ัยคริ​ิสเตี​ียน ก่​่อตั้​้ง� ปี​ี 2542-2543 สมั​ัย นย. สมชาย จิระวัฒน์ชัย สโมสรอิ​ินเทอร์​์แรคท์​์ในความอุ​ุปถั​ัมภ์​์ 1. สโมสรอิ​ินเทอร์​์แรคท์​์โรงเรี​ียนราชิ​ินีบูี รู ณะ ก่​่อตั้​้ง� ปี​ี 2528-2529 สมั​ัย นย. บุ​ุญส่​่ง ไหลธนานนท์​์ 2. สโมสรอิ​ิ น เทอร์​์ แ รคท์​์ โ รงเรี​ี ย นศรี​ี วิ​ิ ชั​ั ย วิ​ิ ท ยา ก่​่ อ ตั้​้� ง ปี​ี 2532-2533 สมั​ัย นย. อนุ​ุศั​ักดิ์​์� วั​ัฒนาสกลพั​ันธุ์​์� 3. สโมสรอิ​ิ น เทอร์​์ แรคท์​์ โรงเรี​ี ย นพระปฐมวิ​ิ ท ยาลั​ั ย ก่​่ อ ตั้​้� ง ปี​ี 2535-2536 สมั​ัย นย. สั​ันต์​์ จิ​ินตนะโรจน์​์ 4. สโมสรอิ​ินเทอร์​์แรคท์​์โรงเรี​ียนพระปฐมวิ​ิทยาลั​ัย 2 ก่​่อตั้​้�งปี​ี 2539-2540 สมั​ัย นย. สุ​ุนทร แก้​้วพิ​ิจิ​ิตร 5. สโมสรอิ​ินเทอร์​์แรคท์​์โรงเรี​ียนสระกระเที​ียมวิ​ิทยาคม ก่​่อตั้​้�งปี​ี 2539-2540 สมั​ัย นย. สุ​ุนทร แก้​้วพิ​ิจิ​ิตร 6. สโมสรอิ​ินเทอร์​์แรคท์​์วิทิ ยาลั​ัยอาชี​ีวศึ​ึกษาเทศบาลนครปฐม ก่​่อตั้​้ง� ปี​ี 2541-2542 สมั​ัย นย. พิ​ิชิ​ิต พาวิ​ิทยลาภ กล่​่าวได้​้ว่​่า สโมสรโรตารี​ีนครปฐมดำำ�รงความยิ่​่�งใหญ่​่ที่​่�ทุ​ุกๆ สโมสรใน ภาคจะเรี​ียกว่​่าสโมสร “พี่​่�ใหญ่​่” เสมอ สมาชิ​ิกสวมสู​ูทสี​ีขาวนวลไม่​่เคยเปลี่​่�ยน และ ยั​ังเป็​็นสโมสรที่​่�มี​ีสมาชิ​ิกเป็​็นชายล้​้วนอี​ีกด้​้วย มี​ีโรตารี​ีแอนน์​์ที่​่�เข้​้มแข็​็ง เป็​็นกำำ�ลั​ัง ใจที่​่�ดี​ียิ่​่�ง สมกั​ับเป็​็นตั​ัวอย่​่างให้​้ทุ​ุกๆ สโมสร ความสง่​่างาม ความมี​ีอุ​ุดมการณ์​์ มี​ี กฎระเบี​ียบ มี​ีแนวทางแห่​่งการบริ​ิหารจั​ัดการสโมสร มี​ีการประชุ​ุมปกติ​ิที่​่�ไม่​่เคย หยุ​ุด นอกจากสถานการณ์​์โควิ​ิด-19 นี้​้�เท่​่านั้​้�น สมาชิ​ิกรุ่​่�นก่​่อตั้​้�งที่​่�ยั​ังคงมี​ีอุ​ุดมการณ์​์แน่​่วแน่​่อย่​่าง รทร. ดร.อนุ​ุพงษ์​์ โรตารี​ีแอนน์​์ นำำ�พร เชี่​่�ยวชาญวลิ​ิชกิ​ิจ ท่​่านยั​ังคงมาร่​่วมประชุ​ุมทุ​ุกๆ สั​ัปดาห์​์ และ ร่​่วมกิ​ิจกรรมสม่ำำ��เสมอ ดิ​ิฉันั ยั​ังคงเห็​็นอดี​ีตนายกที่​่�ได้​้ก่อ่ ตั้​้ง� สโมสรต่​่างๆ ยั​ังเดิ​ินทาง ไปร่​่วมกิ​ิจกรรมเฉลิ​ิมฉลองการก่​่อตั้​้�งสโมสรต่​่างๆ เพื่​่�อเป็​็นกำำ�ลั​ังใจให้​้สโมสร เหล่​่านั้​้�นตลอดที่​่�ผ่​่านมา จากรุ่​่�นสู่​่�รุ่​่�น วั​ัยที่​่�เพิ่​่�มมากขึ้​้�นตามกาลเวลานั้​้�น สโมสรโรตารี​ี น ครปฐมนั​ั บ จากมี​ี นยก. นพ.สนั่​่�น บุ​ุ ญ ญานิ​ิ ต ย์​์ ปี​ี 2512-2514 พอถึ​ึงนายกท่​่านที่​่� 2 คื​ือ ท่​่านบำำ�รุ​ุง อดิ​ิพัฒ ั น์​์ ต่​่อมาได้​้ดำำ�รงตำำ�แหน่​่ง ผู้​้�ว่​่ า การภาค 3330 โรตารี​ี ส ากล ท่​่ า นแรกในปี​ี 2535-2536 ต่​่ อ จากนั้​้� น ปี​ี 2539-2540 สโมสรโรตารี​ีนครปฐมก็​็ได้​้มี​ีผู้​้�อุ​ุทิ​ิศตน เสี​ียสละ เป็​็นผู้​้�บำำ�เพ็​็ญ ประโยชน์​์ต่​่อสั​ังคม ท่​่านผู้​้�ว่​่าการภาค ปรี​ีดา วั​ังถนอมศั​ักดิ์​์� ถื​ือได้​้ว่​่าสโมสรโรตารี​ี นครปฐมได้​้สร้​้างเกี​ียรติ​ิประวั​ัติ​ิจนทุ​ุกวั​ันนี้​้� เสาหลั​ักของสโมสรนั้​้�นมี​ีหลายท่​่าน อาทิ​ิ อน. บุ​ุญส่​่ง ไหลธนานนท์​์, อน. พู​ูนศั​ักดิ์​์� ตุ​ุงคเศรวงศ์​์, อน. อนุ​ุศั​ักดิ์​์� วั​ัฒนสกลพั​ันธุ์​์�, อน. เกษม เขมวราภรณ์​์, อน. อนั​ันต์​์ ทรงวิ​ิทยา, อน. สุ​ุนทร แก้​้วพิ​ิจิ​ิตร, อน. พิ​ิชิ​ิต พาวิ​ิทยลาภ, อน. ยงยุ​ุทธ ฐิ​ิติ​ิเบญจพล, นย. ตำำ�นาน ชุ​ุษณะทั​ัศน์​์ และอดี​ีตนายกอี​ีกหลายๆ ท่​่านที่​่�ยั​ังคง ให้​้การสนั​ับสนุ​ุนมาร่​่วมประชุ​ุมและร่​่วมกิ​ิจกรรมของสโมสรและต่​่างสโมสรจนถึ​ึง ปั​ัจจุ​ุบั​ัน ดิ​ิฉันั และอี​ีกหลายๆ สโมสรยั​ังคงได้​้รับั ความเอื้​้อ� เฟื้​้อ� การดู​ูแลให้​้กำำ�ลังั ใจจากอดี​ีตนายกและสมาชิ​ิกของสโมสรโรตารี​ีนครปฐมมาตลอด ด้​้วยอุ​ุดมการณ์​์ แห่​่ งการบริ​ิ การผู้​้�อื่​่�นเหนื​ื อตน ขอให้​้สิ่​่� งศั​ั กดิ์​์� สิ​ิทธิ์​์� แห่​่ งองค์​์ พระร่​่ วงโรจนฤทธิ์​์� หลวงพ่​่อศิ​ิลาขาวและองค์​์หลวงพ่​่อวั​ัดไร่​่ขิ​ิง ได้​้โปรดคุ้​้�มครองทุ​ุกๆ ชี​ีวิ​ิตและ ครอบครั​ัวของสมาชิ​ิกสโมสรโรตารี​ีนครปฐม ให้​้มี​ีความสุ​ุข สุ​ุขภาพแข็​็งแรง เป็​็นที่​่� ยึ​ึดเหนี่​่�ยวให้​้สโมสรต่​่างๆ ได้​้พึ่​่�งพิ​ิงตลอดไป ขอขอบพระคุ​ุณ อน. อนั​ันต์​์ ทรงวิ​ิทยา ที่​่�ได้​้จั​ัดทำำ�หนั​ังสื​ือครบรอบ 50 ปี​ี ในปี​ี 2563 จนทำำ�ให้​้ดิ​ิฉั​ันมี​ีข้​้อมู​ูลที่​่�ละเอี​ียดขนาดนี้​้� และขอขอบคุ​ุณ นย. ตำำ�นาน ชุ​ุษณะทั​ัศน์​์ ที่​่�ให้​้ข้​้อมู​ูลเพิ่​่�มเติ​ิม ตลอดจนเจ้​้าหน้​้าที่​่�ของสโมสรโรตารี​ี นครปฐม ไว้​้ในโอกาสนี้​้�ด้​้วยค่​่ะ


D.3340 บรรณาธิการ ภาค 3340 โรตารีสากล

รทร. เดี​ียร์​์ราห์​์ พิ​ิบู​ูลย์​์วั​ัฒนวงษ์​์ สโมสรโรตารี​ีหมากแข้​้ง

สวัสดีค่ะ มวลมิตรโรแทเรียนทุกท่าน ผ่ า นพ้ น ไปอี ก ปี ถ้ าจ ะบอกว่ า เริ่ม ต้ น ปี ใ หม่ กั บ สถานการณ์ใหม่กับสิ่งใหม่ที่จะก้าวเข้ามา ไม่รู้ว่าจะล่าช้าไป หรื​ือเปล่​่า วั​ันเวลาที่​่�ผ่า่ นไปแต่​่ละวั​ัน แต่​่ละเดื​ือน แต่​่ละปี​ี สร้​้าง ร่​่องรอยของกาลเวลาไว้​้ในรู​ูปแบบบาดแผล และประสบการณ์​์ ซึ่งเราสามารถน�ำมาใช้เป็นบทเรียนหรอื แนวทางในการก้าวไป ข้างหน้าให้มนั่ คง และพัฒนาขึ้นโดยไม่ไปซ�้ำความผิดพลาดเดิม แต่เพิ่มเติมด้วยประสบการณ์ที่จะก้าวผ่านปัญหาต่างๆ ไปได้ เกีย่ วกับกาลเวลาเช่นเดิม หลายสโมสรในภาค 3340 ก็ ส ร้ า งร่ อ งรอยกาลเวลาของตนเอง ด้ ว ยกิ จ กรรมต่ า งๆ มากมาย ตลอดหลายปีหลายสโมสรไม่น้อยกลายเป็นสโมสร อาวุโส คนอาวุโส ประสบการณ์ ความช�ำนาญและการแก้ ปัญหาต่างๆ ในการด�ำเนินการทั้งกิจกรรมและบริหารสโมสร โดยเฉพาะด้านสมาชิกภาพ สามารถเป็นตัวอย่างให้สโมสรอื่นๆ ในภาคน�ำไปใช้เป็นแบบอย่างเพื่อสร้างความยัง่ ยนื ให้กบั สโมสร รุ่นใหม่ๆ ได้ แต่อย่างไรก็ดี เมื่อมีสโมสรรุ่นเก๋า ก็ต้องมีสโมสร รุ่นโจ๋หรือสโมสรน้องใหม่ ซึ่งอาจผ่านความยากล�ำบากมาไม่ นานนัก แต่ก็พร้อมที่จะสร้างร่องรอยกาลเวลาของตนเอง ในครัง้ นี้ ภาค 3340 จึงใคร่ขอแนะน�ำสโมสรที่มคี วาม อาวุโสมากว่า 50 ปี อย่างสโมสรโรตารีจนั ทบุรี รวมไปถึงสโมสร ที่ถือได้ว่าเป็นน้องใหม่ของภาค สโมสรโรตารีประทาย มาร่วม แบ่งประสบการณ์ น�ำเสนอถึงประสบการณ์ดีๆ และข้อคิด ต่างๆ ในฉบับนี้

28

มกราคม-กุมภาพันธ์ 2564

สโมสรโรตารีประทาย

นยก. กิ​ิตติ​ิ ธรรมวิ​ิริ​ิยานนท์​์ สโมสรโรตารีประทาย

สโมสรโรตารีประทายเป็นสโมสรน้องใหม่ของภาค 3340 ที่มีอายุ เพี​ียง 4 ปี​ี นั​ับจากปี​ีก่​่อตั้​้�ง 2016 ในสมั​ัยของ อผภ. เอกณรงค์​์ กองพั​ันธ์​์ โดย ในปี​ีที่​่�ก่​่อตั้​้�งนั้​้�นมี​ีสมาชิ​ิกร่​่วมก่​่อตั้​้�ง 24 ท่​่าน ด้​้วยปณิ​ิธานที่​่�อยากจะสร้​้าง คุ​ุณประโยชน์​์และช่​่วยเหลื​ือผู้​้�ด้​้อยโอกาสในชุ​ุมชนเล็​็กๆ ของอำำ�เภอประทาย ซึ่​่�งเป็​็นอำำ�เภอขนาดเล็​็กของจั​ังหวั​ัดนครราชสี​ีมา ปัจจุบัน แม้จะเป็นสโมสรเล็กๆ แต่ก็มีความมุ่งมั่นอย่างมากที่จะ ท�ำให้สโมสรมีความยั่งยืนดังเช่นสโมสรรุ่นพี่ต่างๆ ในภาค มีการด�ำเนินการ บริหารสโมสรให้ได้ตามทีโ่ รตารีประเทศไทยก�ำหนด และท�ำโครงการบ�ำเพ็ญ ประโยชน์ต่างๆ ตามเหมาะสมอย่างสม�่ำเสมอ โดยเน้นเรื่องการให้ทุนการ ศึกษาแก่เด็กด้อยโอกาส และการมีส่วนร่วมกับหน่วยงานราชการต่างๆ ใน พื้นที่ เพื่อให้ได้มีส่วนร่วมช่วยเหลือสังคม นอกจากนี้ สโมสรยังได้มีโอกาสท�ำโครงการเด่น โดยการมอบ จั​ักรยานมื​ือสองจากประเทศญี่​่�ปุ่​่�นซึ่​่�งได้​้รับั มอบ ในสมั​ัย อผภ. สุ​ุรพล ทวี​ีแสงสกุ​ุลไทย นำำ�มามอบให้​้กับั เด็​็กนั​ักเรี​ียนยากไร้​้ ได้​้ใช้​้เป็​็นพาหนะมาเรี​ียนหนั​ังสื​ือ นับเป็นความภูมิใจอย่างมากในนามของนายกก่อตั้งที่มีโอกาสแสดงให้มวล สมาชิกได้เห็นถึงความส�ำคัญของการได้เป็นส่วนหนึ่งของ “โรตารี” การเป็น “โรตารี” ท�ำให้ผมได้มิตรภาพที่ดีและหาได้ยาก ท�ำให้ผม รูจ้ กั สังคมโลกทีใ่ หญ่ขึ้น ได้เห็นการท�ำงาน การบริหารจัดการระดับความเป็น สากลที่ผมไม่เคยได้รู้ ท�ำให้ผมรู้สึกภาคภูมิใจ ประทับใจ และอยากที่จะด�ำรง สโมสร ดำำ�รงความเป็​็น “โรตารี​ี” ต่​่อไปตราบเท่​่าที่​่�ผมจะสามารถทำำ�ได้​้ ผม พยายามบอกเล่​่าสิ่​่ง� ดี​ีๆ ของ “โรตารี​ี” แก่​่เพื่​่อ� นๆ เพื่​่อ� หวั​ังว่​่าสักั วั​ันหนึ่​่ง� บุ​ุคคล เหล่​่านั้​้�นในพื้​้�นที่​่�อำำ�เภอประทาย จะเข้​้าใจ ชื่​่�นชม และร่​่วมเป็​็นส่​่วนหนึ่​่�งของ สโมสรโรตารี​ีประทายในอนาคตด้​้วยความเข้​้าใจ อั​ันจะทำำ�ให้​้สโมสรมี​ีความ ยั่​่�งยื​ืน สามารถเป็​็นแบบอย่​่างให้​้สโมสรใหม่​่ๆ ได้​้ในอนาคต


สโมสรโรตารีสุรินทร์ นำำ�โดย นย. ปภาภร ผานิ​ิตกุ​ุลวั​ัตพร้​้อมสมาชิ​ิก ร่​่วมทำำ�กิ​ิจกรรมมอบความสุ​ุข ให้​้กั​ับเด็​็กโรงเรี​ียนที่​่�ห่​่างไกลใน อ. ศี​ีรขรภู​ูมิ​ิ จ. สุ​ุริ​ินทร์​์ โดยนำำ�พิ​ิซซ่​่า ขนมเค้​้ก น้ำำ��หวาน ไปเลี้​้ย� งอาหารกลางวั​ันแก่​่เด็​็ก พร้​้อมทั้​้�งมอบเสื้​้อ� กั​ันหนาวและแจกทุ​ุน การศึ​ึกษาให้​้กั​ับเด็​็กทุ​ุกคนในโรงเรี​ียน

สโมสรโรตารีจันทบุรี ร่​่วมแข่​่งขั​ันยิ​ิงปื​ืนการกุ​ุศล ซึ่​่�งทางสโมสรโรตารี​ีสัตั หี​ีบได้​้ถ้ว้ ยรางวั​ัลอั​ันดั​ับ 5 เมื่​่�อ วั​ันที่​่� 19 ธ.ค. 63

สโมสรโรตารี​ีมู​ูลริ​ิเวอร์​์ นำำ�โดย นย.ชาตรี​ี ตั้​้�งมิ​ิตรประชา พร้​้อมคณะ ได้​้บริ​ิจาคเครื่​่�องสนามเด็​็กเล่​่น กลางแจ้​้ ง มู​ู ลค่​่ า 57,500 บาท ให้​้ โรงเรี​ี ย นบ้​้ านคำำ�ข่​่ า อ. สว่​่ างวี​ี ร ะวงศ์​์ จ. อุ​ุบลราชธานี​ี พร้​้อมทั้​้�งแจกผ้​้าห่​่มกั​ันหนาวและมุ้​้�งกั​ันยุ​ุง ให้​้แก่​่นั​ักเรี​ียนและ ผู้​้�ปกครองอี​ีกด้​้วย

คณะครอบครั​ัวโรตารี​ี 4 สโมสร ได้​้แก่​่ สโมสรโรตารี​ีอุ​ุดรธานี​ี, หมากแข้​้ง, บ้​้านเชี​ียงและศิ​ิลปาคม ได้เดินทางไปเยีย่ มน้องๆ โรทาแรคท์ จากมหาวิทยาลัยกรุงเทพ ซึง่ มาสร้างอาคาร เรี​ียนอเนกประสงค์​์ ที่​่�โรงเรี​ียนบ้​้านโคกน้​้อย ต. จำำ�ปี​ี อ. ศรี​ีธาตุ​ุ จ. อุ​ุดรธานี​ี โดย คณะได้​้นำำ�สิ่​่�งของที่​่�น้​้องๆ ต้​้องการในการสร้​้างอาคารดั​ังกล่​่าวไปมอบ อาทิ​ิ สี​ีรองพื้​้�น 2 ถั​ังใหญ่​่ สี​ีทาอาคาร 2 ถั​ังใหญ่​่ ลู​ูกกลิ้​้�ง ทาสี​ี 4 อั​ัน แปรงทาสี​ี 4 อั​ัน สปอนเซอร์​์ 3 ลั​ัง น้ำำ��อั​ัดลม 3 แพคใหญ่​่ มาม่​่า 2 ลั​ังใหญ่​่

สโมสรโรตารี​ีอุ​ุบลร่​่วมกั​ับสโมสรโรตารี​ีลุ​ุมพิ​ินี​ีและโรงสี​ีศรี​ีแสงดาว จั​ัดกิ​ิจกรรม “โรตารี​ีต้​้านภั​ัยหนาว น้​้อมรำำ�ลึ​ึกองค์​์ราชั​ัน ร. 9” ณ บ้​้านคำำ�สะอาด และบ้านโนนสว่าง อ. น�้ำยืน จ. อุบลราชธานี

สโมสรโรตารี​ีร้​้อยเอ็​็ด ร่​่วมบริ​ิจาคเงิ​ินในงาน “วั​ันร่​่วมน้ำำ��ใจให้​้กาชาด ประจำำ�ปี​ี 2564” โดยมี​ีนายกพร้​้อม คณะกรรมการบริหารฯ เข้าร่วมบริจาคเป็นจ�ำนวนเงิน 3,000 บาท ให้กับเหล่า กาชาดจังหวัดร้อยเอ็ด


D.3340

ส โ ม ส ร โ ร ต า รี จั น ท บุ รั

First Rotary Club

30

มกราคม-กุมภาพันธ์ 2564

นย. วิวฒ ั น์ ศรีสมพงษ์ สโมสรโรตารีจนท ั บุรี ภาค 3340 มี​ี สโมสรโรตารี​ีที่​่�มี​ีอายุ​ุนั​ับจากการก่​่อตั้​้�งยาวนานหลายสโมสร และ สโมสรโรตารี​ีจั​ันทบุ​ุรี​ีเป็​็นสโมสรหนึ่​่�งที่​่�มี​ีอายุ​ุก่​่อตั้​้�งมากว่​่า 50 ปี​ี ซึ่​่�งอาจจะน้​้อยกว่​่าสโมสร พี่​่�เลี้​้�ยงอยู่​่�เล็​็กน้​้อย แต่​่สโมสรโรตารี​ีจั​ันทบุ​ุรี​ีมี​ีความน่​่าสนใจอย่​่างมาก สโมสรโรตารี​ีจั​ันทบุ​ุรี​ีก่​่อตั้​้�งเมื่​่�อวั​ันที่​่� 14 ตุ​ุลาคม 2514 อายุ​ุย่​่างเข้​้าปี​ีที่​่� 50 มี​ี สมาชิ​ิกก่​่อตั้​้�ง 32 ท่​่าน ดร. วอลเตอร์​์ ริ​ินทู​ูล จากประเทศสิ​ิงคโปร์​์เป็​็นผู้​้�ว่​่าการภาค 330 โรตารี​ีสากล ในภาค 330 มี​ี 4 ประเทศ คื​ือ ไทย มาเลเซี​ีย สิ​ิงคโปร์​์ และบรู​ูไน โรตารี​ีสากล รั​ับเข้​้าเป็​็นสมาชิ​ิกเมื่​่�อวั​ันที่​่� 8 ธั​ันวาคม พ.ศ. 2514 เลขที่​่� 16260 ปั​ัจจุ​ุบั​ัน มี​ีสมาชิ​ิก 50 คน และสมาชิ​ิกรุ่​่�นก่​่อตั้​้�งที่​่�ยั​ังคงอยู่​่�ปั​ัจจุ​ุบั​ัน 4 ท่​่าน คื​ือ อผภ. นิ​ิเวศน์​์ คุ​ุณาวิ​ิศรุ​ุต อน. แก้​้ว พรประสิ​ิทธิ์​์� อน. ปริ​ิญญา เอครพานิ​ิช และ อน. สมบู​ูรณ์​์ สถาพรอานนท์​์ สโมสรโรตารีจันทบุรีก็คล้ายกับสโมสรอื่นในช่วงแรกๆ ที่มีปัญหาสมาชิกมา ประชุมบ้าง ไม่มาบ้าง บางครัง้ มาประชุมประจ�ำสัปดาห์เพียง 2-3 คน แต่ตอ่ มาก็ได้พฒ ั นา ในเรื่องการจัดกิจกรรมต่างๆ ให้สมาชิกมีส่วนร่วมในกิจกรรมบ�ำเพ็ญประโยชน์ในชุมชน ท้องที่ทุรกันดารตามชายแดน และยังจัดกิจกรรมมิตรภาพสังสรรค์ในรูปแบบต่างๆ สิ่งที่ ดึงดูดให้มีสมาชิกใหม่ๆ เพิ่มขึ้นมา ก็คือการส่งลูกหลานไปเป็นนักเรียนแลกเปลี่ยนโรตารี เมื่อลูกหลานกลับมาแล้วก็ยังคงเป็นสมาชิกต่อไปและส่วนใหญ่ก็ได้รับเลือกให้เป็นนายก สโมสร ปัจจุบันสโมสรจะจัดกิจกรรมรื่นเริงก่อนรับประทานอาหารค�่ำก่อนการประชุม ทำำ�ให้​้มี​ีสมาชิ​ิกมาร่​่วมประชุ​ุมมากขึ้​้�น และมี​ีการใช้​้เทคโนโลยี​ีและวิ​ิทยาการสมั​ัยใหม่​่ มาใช้​้ ในการประชุ​ุม มี​ีการสื่​่�อสารกั​ันทาง online ทั้​้�งเฟซบุ๊​๊�คและแอปพลิ​ิเคชั่​่�นไลน์​์ มี​ีเว็​็บไซต์​์เป็​็น


ของสโมสรเอง www.rotarychanthaburi.org ช่​่วงปี​ีที่​่�แล้​้วมี​ีการระบาด ของโรคโควิ​ิด-19 สโมสรก็​็ได้​้จั​ัดประชุ​ุมประจำำ�สั​ัปดาห์​์ทุ​ุกครั้​้�งผ่​่าน โปรแกรม Zoom และโรคโควิ​ิด-19 ระบาดในปี​ีนี้​้�ก็​็ได้​้ประชุ​ุมทางวี​ีดี​ีโอ คอลผ่​่านแอปพลิ​ิเคชั่​่�นไลน์​์ คณะกรรมการบริ​ิหารทุ​ุกสมั​ัยจะพยายามรั​ักษาสมาชิ​ิกเดิ​ิมให้​้ คงอยู่​่�นานๆ พยายามให้​้ทุ​ุกคนมี​ีส่​่วนร่​่วมในการประชุ​ุม มี​ีส่​่วนร่​่วมใน กิจกรรมต่างๆ จัดกิจกรรมมิตรภาพสังสรรค์ อวยพรวันเกิดสมาชิกและ คู่ครอง จัดงานวันแอนน์ ฉลองส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่ พาสมาชิกไป ประชุ​ุมสั​ัญจรและท่​่องเที่​่�ยวต่​่างจั​ังหวั​ัดและต่​่างประเทศทุ​ุกปี​ี ประชุ​ุม ประจำำ�สั​ั ป ดาห์​์ ก็​็ มี​ี ร้​้ อ งเพลงคาราโอเกะ เชิ​ิ ญ วิ​ิ ท ยากรที่​่�มี​ี ชื่​่� อเสี​ี ย ง มาบรรยายให้​้ความรู้​้� และเชิ​ิญสมาชิ​ิกออกมาเล่​่าประสบการณ์​์ต่​่างๆ ส่​่วนสมาชิ​ิกใหม่​่ก็​็เชิ​ิญชวนผู้​้�ที่​่�จะเข้​้ามาส่​่งลู​ูกหลานไปเป็​็นนั​ักเรี​ียนแลก เปลีย่ น และให้สมาชิกพาเพือ่ นๆ มาร่วมประชุมให้ได้ 3 ครัง้ ก็จะรับเป็น สมาชิกและพยายามให้สมาชิกใหม่มีส่วนร่วมในทุกกิจกรรม สโมสรโรตารีจนั ทบุรมี โี ครงการเด่นมากมาย แต่ทสี่ ร้างชือ่ เสียง ให้สโมสร เช่น 1. โครงการก่​่อตั้​้�งโรงเรี​ียนระดั​ับมั​ัธยมศึ​ึกษาที่​่�อยู่​่�ห่​่างไกลตั​ัว เมือง โดยสโมสรได้ด�ำเนินการขอใช้พื้นที่วัดเขาสุกิมเป็นสถานที่ก่อตั้ง โรงเรียน “เขาสุกมิ โรตารีอปุ ถัมภ์” โดยสร้างอาคารเรียน อาคารประกอบ และจัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการเรียนต่างๆ มูลค่ากว่า 10 ล้านบาท ใน สังกัดกรมสามัญศึกษา ต่อมาโรงเรียนได้ย้ายมาตั้งตรงข้ามวัดเขาสุกิม และย้ายมาสังกัดส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 17 ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ เป็น ความภาคภูมิใจของสมาชิก ที่ร่วมบริจาคเงินและท�ำกิจกรรมหารายได้ ต่างๆ ท�ำการก่อตัง้ โรงเรียนให้เด็กในพืน้ ทีห่ า่ งไกลได้ศกึ ษาในระดับมัธยม 2. โครงการก่​่อสร้​้างศาลาริ​ิมทางเข้​้าสถานที่​่�ต่​่างๆ นายกแต่​่ละ สมัยมีความภูมิใจที่ได้ก่อสร้างถาวรวัตถุ ที่เป็นประโยชน์ต่อชุมชน

มากมาย เช่​่น ศาลาโรตารี​ีหน้​้าโรงเรี​ียนสฤษดิ​ิเดช โรงเรี​ียนอนุ​ุบาล โรงเรี​ียนลาซาล โรงเรี​ียนเบญจมานุ​ุสรณ์​์ ศาลาที่​่�พั​ักญาติ​ิคนไข้​้หน้​้า โรงพยาบาลพระปกเกล้​้า ศาลาที่​่�พั​ักทางเข้​้าน้ำำ��ตกพลิ้​้�ว เขื่​่�อนคี​ีรี​ีธาร เขาไร่​่ยา ศาลาจุ​ุดควบคุ​ุมจราจรตลาดน้ำำ��พุ​ุ และสถานี​ีตำำ�รวจภู​ูธรตกพรม ทำำ�ให้​้ประชาชนได้​้ชื่​่�นชมและรู้​้�จั​ักสโมสรโรตารี​ีจั​ันทบุ​ุรี​ีมากขึ้​้�น 3. โครงการมอบทุ​ุ น การศึ​ึ ก ษา ให้​้ นั​ั ก เรี​ี ย นยากจนและ ด้​้อยโอกาสในจั​ังหวั​ัดจั​ันทบุ​ุรีปี​ี ลี ะ 100-150 ทุ​ุน เป็​็นเงิ​ิน 200,000 บาท ทุ​ุกปี​ี โดยใช้​้เงิ​ินดอกเบี้​้�ยธนาคารและพั​ันธบั​ัตรของกองทุ​ุนสโมสรโรตารี​ี จั​ันทบุ​ุรี​ี ที่​่�มี​ียอดเงิ​ิน 2,850,000 บาท ร่​่วมกั​ับเงิ​ินบริ​ิจาคของสโมสร คู่​่�มิ​ิตรคื​ือสโมสรโรตารี​ีพระโขนงตั้​้ง� แต่​่ปี​ี 2535 จนถึ​ึงปั​ัจจุ​ุบันั โดยสมาชิ​ิก จะไปสรรหานักเรียนตามโรงเรียนต่างๆ มารับทุน ซึ่งเป็นความสุขใจทั้ง ผู้ให้และผู้รับ สมาชิ​ิกสโมสรโรตารี​ีจั​ันทบุ​ุรี​ีจะเข้​้าร่​่วมกิ​ิจกรรมต่​่างๆ ของ ชุ​ุมชนในท้​้องถิ่​่�นอยู่​่�เสมอ ไม่​่ว่​่าจะเป็​็นงานศิ​ิลปวั​ัฒนะธรรมประเพณี​ี งานถวายความจงรั​ักภั​ักดี​ี งานการกุ​ุศลต่​่างๆ งานวั​ันเด็​็กแห่​่งชาติ​ิ กิ​ิจกรรมช่​่วยเหลื​ือผู้​้�ประสบภั​ัยน้ำำ��ท่​่วม กิ​ิจกรรมของสถานศึ​ึกษาต่​่างๆ กิ​ิจกรรมของโรงพยาบาล ฯลฯ ทำำ�ให้​้ชุ​ุมชนได้​้เข้​้าใจในอุ​ุดมการณ์​์ของ โรตารี​ีมากขึ้​้�น ผมได้รับเลือกให้เป็นนายกสโมสรสมัยที่ 3 มีความภาคภูมิใจ ที่​่�ได้​้รับั เกี​ียรติ​ิให้​้เป็​็นผู้​้�ดำำ�เนิ​ินการจั​ัดกิ​ิจกรรมฉลอง การเข้​้าสู่​่�ปี​ีที่​่� 50 ของ สโมสรในปี​ีนี้​้� และได้​้รับั มอบหมายให้​้เป็​็นประธานจั​ัดงานการประชุ​ุมใหญ่​่ ภาค 3340 ปี​ี 2563-2564 ถึ​ึงแม้​้จะอยู่​่�ในช่​่วงโรคระบาดโควิ​ิด-19 ต้​้อง เลื่​่�อนงานไปอี​ีก 2-3 เดื​ือน ก็​็พร้​้อมที่​่�จะทำำ�งานให้​้สำำ�เร็​็จลุ​ุล่​่วงตาม วั​ัตถุ​ุประสงค์​์ ต้​้องขอขอบคุ​ุณสมาชิ​ิกสโมสรโรตารี​ีจั​ันทบุ​ุรีทั้​้ี �ง 50 ท่​่าน ที่​่�ให้​้ความร่​่วมมื​ือและสนั​ับสนุ​ุนในกิ​ิจกรรมต่​่างๆ ของสโมสรด้​้วยดี​ี ทุ​ุกครั้​้�ง ทำำ�ให้​้มี​ีกำำ�ลั​ังใจในการปฏิ​ิบั​ัติ​ิงานตามอุ​ุดมการณ์​์ของโรตารี​ี ตลอดปี​ีนี้​้�และตลอดไป


D.3350 บรรณาธิการ ภาค 3350 โรตารีสากล

อน. ตรอง แสงสว่​่างวั​ัฒนะ สโมสรโรตารี​ีกรุ​ุงเทพสุ​ุวรรณภู​ูมิ​ิ

สโมสรโรตารีรอยัลตี้เมียนมาร์ สโมสรโรตารีเมโทรย่างกุ้ง

PP. Hay Mar Maung Rotary Club of Yangon

ในฐานะที่ดิฉันเป็นที่ปรึกษาสโมสรใหม่ของทั้ง 2 สโมสร ซึ่งก่อตั้ง ห่​่างกั​ันเพี​ียง 2 วั​ัน ดิ​ิฉั​ันขอให้​้ข้​้อมู​ูลย่​่อๆ ของทั้​้�งสองแห่​่งซึ่​่�งเป็​็นเลื​ือดใหม่​่ใน สวั​ัสดี​ีปี​ีใหม่​่ มิ​ิตรโรแทเรี​ียนทุ​ุกท่​่านค่​่ะ โรตารี​ีของเรา กรุ​ุณาให้​้การต้​้อนรั​ับพวกเขาอย่​่างอบอุ่​่�น และเชื่​่�อมต่​่อกั​ับ เทศกาลส่​่งท้​้ายปี​ีเก่​่า – ต้​้อนรั​ับปี​ีใหม่​่เมื่​่�อปลายปี​ีที่​่� พวกเขาเพื่​่�อบริ​ิการชุ​ุมชนอย่​่างดี​ีที่​่�สุ​ุดเท่​่าที่​่�จะทำำ�ได้​้ ดิ​ิฉั​ันมี​ีความภู​ูมิ​ิใจอย่​่าง เห็​็นความมี​ีชี​ีวิ​ิตชี​ีวาและการเติ​ิบโตของสโมสรในอนาคต โปรดต้​้อนรั​ับ ผ่​่ า นมาเป็​็ น อย่​่ า งไรกั​ั น บ้​้ า งคะ เพราะในช่​่ ว งนั้​้� น ข่​่ า วของ มากที่​่� โควิ​ิด–19 ได้​้เริ่​่�มกลั​ับมาระบาดอี​ีกครั้​้�งทางภาคเหนื​ือ โดย เลื​ือดใหม่​่ของเราและขอให้​้เราได้​้เชื่​่�อมโยงกั​ันภู​ูมิ​ิใจในตั​ัวพวกเขา คนไทยที่​่�หนี​ีจากเมี​ียนมาร์​์กลั​ับเข้​้ามาตามเส้​้นทางธรรมชาติ​ิ รอยัลตี้เมียนมาร์ และจากคนงานชาวเมี​ียนมาร์​์จำำ�นวนมากที่​่�ทำำ�งานในจั​ังหวั​ัด สโมสรโรตารี เมื่​่ � อ วั​ันที่​่� 2 กรกฎาคม 2563 โรตารี​ีสากลได้​้ประกาศการก่​่อตั้​้�ง สมุ​ุทรสาคร ทำำ�ให้​้พวกเราที่​่�ชั​ักจะเริ่​่�มการ์​์ดตก ต้​้องกลั​ับมา สโมสรโรตารี​ีรอยั​ั ลตี้​้เ� มี​ียนมาร์​์ เป็​็นสโมสรโรตารี​ีแห่​่งที่​่� 6 ในประเทศเมี​ียนมาร์​์ ตื่​่�นตั​ัวในเรื่​่�องนี้​้�กั​ันอี​ีกครั้​้�ง โดยได้​้ รั บ ั การสนั​ั บ นจากสโมสรโรตารี​ีย่​่างกุ้​้�ง ซึ่​่�งเป็​็นโรตารี​ีแห่​่งแรกที่​่�กลั​ับ ปี​ีนี้​้�เป็​็นปี​ีที่​่�สโมสรโรตารี​ีในประเทศไทยมี​ีอายุ​ุครบรอบ มาอี​ีกครั้​้�งหลั​ังจากห่​่สนุ​ุางหายไปหลายปี​ี 90 ปี​ี เรื่​่อ� งของสโมสรโรตารี​ีกรุ​ุงเทพ นอกจากในส่​่วนกลางแล้​้ว นายกก่อตัง้ คือ นาย Khine Khine Oo มีสมาชกิ ร่วมก่อตั้งจ�ำนวน ทางภาค 3350 ซึ่​่�งเป็​็นภาคที่​่�สโมสรโรตารี​ีกรุ​ุงเทพสั​ังกั​ัดอยู่​่� 70 คน สโมสรมี ารประชุมเดือนละ 2 ครั้ง เวลา 16:00 น. วันอาทิตย์ที่หนึ่ง ยั​ังได้​้ให้​้ข้​้อมู​ูลเพิ่​่�มเติ​ิมในเรื่​่�องของกิ​ิจกรรมต่​่างๆ ที่​่�ทางสโมสร และสี่ของเดือน กในปั จจุบันเนื่องจากเกิดโรคโควิด-19 สโมสรจัดประชุมทาง จั​ัดขึ้​้�นเพื่​่�อเป็​็นการเฉลิ​ิมฉลองอี​ีกด้​้วย แต่สถานที่ประชุมจะจัดขึ้นที่โรงแรมล็อตเต้ย่างกุ้ง ซึ่งตั้งอยู่ที่ 82, เมื่​่�อกล่​่าวถึ​ึงสโมสรที่​่�เก่​่าแก่​่ที่​่�สุ​ุดในภาคแล้​้ว ก็​็ต้​้องขอ ออนไลน์ Sin Phyu พู​ูดถึ​ึงสโมสรน้​้องใหม่​่ล่​่าสุ​ุดของภาค 3350 ด้​้วย และเนื่​่�องจาก 11052 Shin Avenue Pyay Road, 6½ Mile, Ward 11 MM, Yangon ที่​่�ปรึ​ึกษาสโมสรใหม่​่ (ซึ่​่�งเดิ​ิมเรี​ียกว่​่า ผู้​้�แทนพิ​ิเศษ ที่​่�ผู้​้�ว่​่า ตถุ​ุประสงค์​์ที่​่�ระบุ​ุไว้​้คื​ือ การรวบรวมผู้​้�นำำ�ทางธุ​ุรกิ​ิจ การภาคมอบหมายให้​้ไปก่​่อตั้​้�งสโมสรใหม่​่) คื​ือ PP. Hay Mar และมื​ืออาชี​ีเนื่​่พ�อเพื่​่งจากตามวั​ั �อให้​้บริ​ิการมนุ​ุษยชาติ​ิและเพิ่​่�มพู​ูนไมตรี​ีจิ​ิตและสั​ันติ​ิภาพ Maung เป็​็นผู้​้�ดู​ูแล 2 สโมสรที่​่�ก่​่อตั้​้�งห่​่างกั​ันเพี​ียง 2 วั​ัน บก.จึ​ึง ทั่​่�วโลก สโมสรโรตารี​ี รอยั​ัลตี้​้เ� มี​ียนมาร์​์จึ​ึงมี​ีส่ว่ นร่​่วมอย่​่างมากในการให้​้บริ​ิการ ขอให้​้เธอได้​้เล่​่าถึ​ึงทั้​้�งสองแห่​่งไปพร้​้อมๆ กั​ันเลย ขอเชิ​ิญพบกั​ับบทความและภาพกิ​ิจกรรมในระดั​ับภาค ชุมชนอย่างดีที่สุดเท่าที่จะท�ำได้ ที่​่�น่​่าสนใจได้​้เลยค่​่ะ สโมสรโรตารีเมโทรย่างกุ้ง ในวันที่ 4 กรกฎาคม 2563 โรตารีสากลได้ประกาศการก่อตัง้ สโมสร โรตารีเมโทรย่างกุ้งเป็นสโมสรโรตารีแห่งที่ 7 ในประเทศเมียนมาร์ โดยได้รับ การสนับสนุนจากสโมสรโรตารีย่างกุ้ง เช่นเดียวกัน นายกก่อตั้ง คือ นาย Poe Phyu มีสมาชิกร่วมก่อตั้ง 46 คน และ ภายในระยะเวลา 6 เดื​ือนเท่​่านั้​้�นก็​็มี​ีสมาชิ​ิกเพิ่​่�มขึ้​้�นอย่​่างมาก โดยปั​ัจจุ​ุบั​ันมี​ี สมาชิ​ิก 64 คน สโมสรมี​ีการประชุ​ุมเดื​ือนละ 2 ครั้​้�ง เวลา 15.00 น. ทุ​ุกวั​ัน เสาร์ที่สองและสี่ของเดือน ในปัจจบุ นั เนื่องจากโควิด-19 สมาชิกจึงจัดประชุม ทางออนไลน์ แต่สถานที่ประชุมจะจัดขึ้นที่โรงแรมล็อตเต้ย่างกุ้ง จากการได้​้รั​ับแรงบั​ันดาลใจจากสโมสรแม่​่คื​ือ สโมสรโรตารี​ีย่​่างกุ้​้�ง และสโมสรโรตารี​ีอื่​่�นๆ ทั่​่�วโลก สโมสรโรตารี​ีเมโทรย่​่างกุ้​้�งจึ​ึงได้​้เข้​้าไปมี​ี ส่​่วนร่​่วมอย่​่างมากในการช่​่วยเหลื​ือชุ​ุมชนตามความต้​้องการขั้​้�นพื้​้�นฐาน และ ในระหว่​่างที่​่�มี​ีการระบาดของโรคโควิ​ิด-19 สโมสรก็​็ได้​้ช่​่วยเหลื​ือเจ้​้าหน้​้าที่​่� แนวหน้​้าที่​่�ดู​ูแลสุ​ุขภาพ แม้​้ว่​่าจะเป็​็นสโมสรใหม่​่แต่​่กิ​ิจกรรมที่​่�พวกเขามี​ี 32 มกราคม-กุมภาพันธ์ 2564 ส่​่วนร่​่วมก็​็ได้​้ช่​่วยสร้​้างกำำ�ลั​ังใจให้​้ทุ​ุกคนเป็​็นอย่​่างมาก


งานอบรมเยาวชนผู้​้�นำำ�โรตารี​ี (RYLA 2020) ที่​่�ค่​่ายบุ​ุรฉั​ัตรและภู​ูผาผึ้​้�งรี​ีสอร์​์ท จ.ราชบุ​ุ รี​ี เมื่​่�อวั​ันที่​่� 22 - 23 พฤศจิ​ิกายน 2563 มี​ีเยาวชนเข้​้ารั​ับการอบรม 146 คน เป็​็นหญิ​ิง 90 คน ชาย 56 คน ได้​้รั​ับการอุ​ุปถั​ัมภ์​์จากสโมสรโรตารี​ี ภาค 3350 จำำ�นวน 58 สโมสร และ มี​ีพี่​่�เลี้​้�ยง 30 คน ซึ่​่�งเป็​็นโรทาแรคเทอร์​์และ Rotex จาก 6 สถาบั​ัน รวมทั้​้�งคณะ กรรมการจั​ัดงานแล้​้วทั้​้�งคณะมี​ี 218 คน RYLA ปี​ีนี้​้�แตกต่​่างไปจากทุ​ุกปี​ี เนื่​่�องจากสถานการณ์​์โรคโควิ​ิด-19 ทำำ�ให้​้ต้​้องมี​ีการระมั​ัดระวั​ังมากขึ้​้�นในเรื่​่�องของสุ​ุขอนามั​ัย แต่​่กิ​ิจกรรมทุ​ุกอย่​่างก็​็

ผ่​่านไปได้​้ด้​้วยดี​ี เริ่​่�มจากการรวมพลที่​่�สยามแมคโคร สาขาบางบอน เดิ​ินทางด้​้วย รถบั​ัส 2 ชั้​้�น จำำ�นวน 4 คั​ันไปวางพวงมาลาถวายเสด็​็จพ่​่อ ร.5 ที่​่�อนุ​ุสาวรี​ีย์​์ ณ ค่​่ายบุ​ุรฉั​ัตร นำำ�โดย ผวภ. สมศรี​ี เมฆธน ช่​่วงค่ำำ��มี​ีพิ​ิธี​ีบายศรี​ีสู่​่�ขวั​ัญ และกิ​ิจกรรม 6 ฐานของน้​้องๆ ไรลาในช่​่วง 1 วั​ันครึ่​่�ง เพื่​่�อเรี​ียนรู้​้�ฝึ​ึกทั​ักษะ เน้​้นการทำำ�งาน เป็​็นที​ีม การแก้​้ปัญ ั หา การวางแผน รวมทั้​้�งกิ​ิจกรรมเสริ​ิมสร้​้างกำำ�ลั​ังใจ ปี​ีนหน้​้าผา กระโดดหอสู​ูง จนถึ​ึงการไปทั​ัศนศึ​ึกษาการเลี้​้�ยงแกะเชิ​ิงธุ​ุรกิ​ิจที่​่�สวนผึ้​้�ง ร่ำำ��ลากั​ัน ด้​้วยความสำำ�เร็​็จลุ​ุล่​่วง บรรลุ​ุเป้​้าหมาย สนุ​ุกสนานและประทั​ับใจ

งานเดิ​ิน-วิ่​่�ง เพื่​่�อขจั​ัดโรคโปลิ​ิโอ (Run to End Polio) ที่​่�ชายหาดพั​ัทยา เมื่​่�อวั​ันที่​่� 29 พฤศจิ​ิกายน 2563 อน. ประสาร เข้​้าร่​่วมงานถึ​ึง 50 คน นั​ับว่​่าประสบผลสำำ�เร็​็จ และเป็​็นการประชาสั​ัมพั​ันธ์​์ภาพ จิ​ิรชั​ัยสกุ​ุล ประธานจั​ัดงาน สรุ​ุปยอดเงิ​ินบริ​ิจาค เงิ​ินจากการขายเสื้​้อ� วิ่​่�ง และรายรั​ับ ลั​ักษณ์​์องค์​์กรโรตารี​ี ให้​้เป็​็นที่​่�รู้​้�จั​ักแก่​่ประชาชนทั่​่�วไปได้​้เป็​็นอย่​่างดี​ี สุ​ุทธิ​ิหลั​ังหั​ักค่​่าใช้​้จ่า่ ยแล้​้ว รวมเป็​็นเงิ​ินราว 1,250,000 บาท งานนี้​้�มีผู้​้�ี แต่​่งแฟนซี​ี

งานผู้​้�ว่​่าการภาคและคณะกรรมการภาคพบนายกสโมสร ครั้​้�งที่​่� 2 ในวั​ันที่​่� 18 - 20 ธั​ันวาคม 2563 ณ โรงแรม ดิ​ิ อิ​ิมพี​ีเรี​ียลภู​ูแก้​้ว ฮิ​ิลล์​์ รี​ีสอร์​์ท อ. เขาค้​้อ จ. เพชรบู​ูรณ์​์ โดยในวั​ันเสาร์​์ที่​่� 19 ธั​ันวาคม เป็​็นภาควิ​ิชาการ มี​ีการสั​ัมมนาใน หั​ัวข้​้อต่​่างๆ เช่​่น การเพิ่​่�มสมาชิ​ิก การจั​ัดกี​ีฬาสี​ีโรตารี​ี การประกาศรางวั​ัลภาพ People of Action ระดั​ับ Region12 ซึ่​่�งภาค 3350 ได้​้รั​ับรางวั​ัลถึ​ึง 2 ใน 3 ภาพ

หลั​ังจากนั้​้�นเป็​็นพิ​ิธีมี อบเครื่​่�องมื​ือแพทย์​์ให้​้กับั โรงพยาบาลหล่​่มสั​ักโดยทำำ�พิ​ิธีกัี นั ที่​่� รี​ีสอร์​์ท และช่​่วงค่ำำ��เป็​็นงานสั​ังสรรค์​์ Winter Wonderland วั​ันอาทิ​ิตย์​์ที่​่� 20 ธั​ันวาคม เป็​็นกิ​ิจกรรมปลู​ูกต้​้นโกโก้​้จำำ�นวน 200 ต้​้น และมอบถั​ังบรรจุ​ุน้ำำ��จำำ�นวน 10,000 ลิ​ิตร (ถั​ังละ 1,000 ลิ​ิตร รวม 10 ถั​ัง) ให้​้กั​ับ วั​ัดพระธาตุ​ุผาซ่​่อนแก้​้ว


D.3350

ส โ ม ส ร โ ร ต า รี ก รุ ง เ ท พ

First Rotary Club

งานฉลองครบรอบ 90 ปีของสโมสรโรตารีกรุงเทพ โดย อน. สั​ันติ​ิ จาเตอร์​์ยี​ี ปี​ีนี้​้�สโมสรโรตารี​ีกรุ​ุงเทพ ฉลองครบรอบ 90 ปี​ีด้​้วยกิ​ิจกรรมมากมายตลอด ทั้​้�งปี​ี นายกอั​ับดุ​ุลลาห์​์ อาลาวาดี​ี เป็​็นผู้​้�ผลั​ักดั​ันและขั​ับเคลื่​่�อนที่​่�สำำ�คั​ัญให้​้มี​ีการวางแผน โครงการและสื่อสารกับสโมสรลูก สโมสรคู่มิตร และสโมสรอื่นๆ ในประเทศไทยเพื่อให้ มีส่วนร่วมในการด�ำเนินการร่วมกันอย่างแท้จริง วั​ันที่​่� 17 กั​ันยายน วั​ันครบรอบการประชุ​ุมโรตารี​ีครั้​้�งแรกในประเทศไทย (ณ เวลานั้​้�นคื​ือสยาม) สโมสรโรตารี​ีกรุ​ุงเทพจึ​ึงได้​้จั​ัดพิ​ิธี​ีทำำ�บุ​ุญที่​่�วั​ัดปทุ​ุมวนาราม โดยเรา ได้​้มอบรายชื่​่�ออดี​ีตนายกสโมสรที่​่�ล่​่วงลั​ับไปแล้​้ว ให้​้พระสงฆ์​์อุทิุ ศิ บุ​ุญกุ​ุศลถึ​ึงท่​่านเหล่​่านั้​้�น จากนั้​้�นในที่​่�ประชุ​ุมสโมสรก็​็ได้​้มี​ีการรำำ�ลึ​ึกถึ​ึงการจั​ัดการประชุ​ุม “ครั้​้�งแรกของสโมสร โรตารี​ีในประเทศไทย และจากจุ​ุดนั้​้�นที่​่�เราได้​้เดิ​ินทางมาถึ​ึง 90 ปี​ี” วันที่ 10 ตุลาคม 2563 โรแทเรียน 150 คนในภาค 3350 น�ำโดยผู้ว่าการภาค สมศรี​ี เมฆธน ร่​่วมกั​ันปลู​ูกต้​้นไม้​้สมุ​ุนไพรในสวนสมุ​ุนไพรสมเด็​็จพระเทพรั​ัตนราชสุ​ุดาฯ สยามบรมราชกุ​ุมารี​ี ในอุ​ุทยาน ร.9 ทั้​้�งอิ​ินเทอร์​์แรคเทอร์​์และโรทาแรคเทอร์​์ได้​้มาร่​่วม กิ​ิจกรรมในเช้​้าวั​ันนั้​้�นด้​้วย การช่​่วยกั​ันปลู​ูกต้​้นไม้​้ด้ว้ ยมื​ือของหลายท่​่าน ทำำ�ให้​้ต้น้ ไม้​้จำำ�นวน ถึ​ึ ง 209 ต้​้ น ปลู​ู ก เสร็​็ จ ตามเวลากำำ�หนด และเรายั​ั ง มี​ี เวลาเหลื​ื อ เที่​่�ยวชมอุ​ุ ท ยาน ชมสั​ัญลั​ักษณ์​์โรตารี​ี และศาลาดนตรี​ี ซึ่​่�งสร้​้างขึ้​้�นเมื่​่�อครั้​้�งครบรอบ 60 ปี​ีของเรา นี่​่�เป็​็น โครงการที่​่�ไม่​่เหมื​ือนใคร เนื่​่�องจากมี​ีผู้​้�ร่ว่ มโครงการมาจากทุ​ุกส่​่วนของภาค รวมถึ​ึงสโมสร ในเมี​ียนมาร์​์และกั​ัมพู​ูชา โครงการหลักคือ โครงการที่ได้รับเงินสนับสนุนจาก Global Grants และจาก การระดมทุ​ุนภายนอกเพื่​่�อทำำ� 3 โครงการที่​่�ต้​้องใช้​้ความพยายามมาก และโครงการปกติ​ิ ของสโมสรที่​่�ทำำ�ซ้ำำ��ทุ​ุกๆ ปี​ี โดยได้​้รั​ับเงิ​ินสนั​ับสนุ​ุนจากการหาทุ​ุนในสโมสรเมื่​่�อวั​ันที่​่� 28 พฤศจิกายน ซึ่งเป็นงาน Charter Night

34

มกราคม-กุมภาพันธ์ 2564


ดั​ั ง นั้​้� น เราจึ​ึ ง มี​ี ก ารขยายทำำ�โครงการ Global Grant # 2119358 เพื่​่�อให้​้การอบรมแก่​่ผู้​้�ดูแู ลผู้​้�ติ​ิดเชื้​้อ� เอชไอวี​ี/โรคเอดส์​์ และ อาสาสมัครขององค์กรพัฒนาเอกชนในประเทศไทย โดยโครงการนี้ ใช้ ง บประมาณทั้ ง สิ้ น 34,375 ดอลลาร์ ส หรั ฐ หรื อ ประมาณ 1,100,000 บาท โครงการ GG 2119124 เป็​็นโครงการป้​้องกั​ันและรั​ักษา โรคไต ทำำ�ที่​่�โรงพยาบาลพระจอมเกล้​้า จ. เพชรบุ​ุรี​ี เพื่​่�อฝึ​ึกอบรมผู้​้�ป่​่วย ในการป้​้องกั​ันโรคไต และบริ​ิจาคเครื่​่�องไตเที​ียมจำำ�นวน 6 เครื่​่�องให้​้ กั​ับโรงพยาบาล ค่​่าใช้​้จ่​่ายทั้​้�งหมดของโครงการนี้​้� 94,500 ดอลลาร์​์ สหรัฐ หรือ 3,024,000 บาท ทั้​้�งสองโครงการเป็​็นโครงการทุ​ุนสนั​ับสนุ​ุนระดั​ับโลก ได้​้รับั เงิ​ินสนั​ับสนุ​ุนอย่​่างเต็​็มที่​่�และพร้​้อมที่​่�จะเริ่​่�มต้​้น ส่​่วนความพยายามใน การหาทุ​ุนสำำ�หรั​ับโครงการปกติ​ิของสโมสร ก็​็ดำำ�เนิ​ินไปด้​้วยดี​ี และเรา สามารถระดุ​ุมทุ​ุนได้​้เพี​ียงพอ

• โครงการสร้​้างความหวั​ังสำำ�หรั​ับเด็​็กที่​่�มี​ีใบหน้​้าผิ​ิดปกติ​ิ ปากแหว่​่งเพดานโหว่​่ วารสาร Journal of Associated Medical Sciences รายงานว่​่าเด็​็กประมาณ 2,000 คนในประเทศไทยเกิ​ิดมาพร้​้อมกั​ับ อาการปากแหว่​่งเพดานโหว่​่ ทุ​ุกปี​ีโรตารี​ีจะอำำ�นวยความสะดวกในการ ผ่​่าตั​ัดให้​้กับั เด็​็ก 180 คนใน 4 จั​ังหวั​ัด โดยเราจะร่​่วมมื​ือกั​ับแพทย์​์ของ คลิ​ินิ​ิกเคลื่​่�อนที่​่�ของสภากาชาดไทย แม้​้ว่​่าการผ่​่าตั​ัดโดยแพทย์​์จะไม่​่ เสี​ี ย ค่​่ า ใช้​้ จ่​่ า ย แต่​่ ส โมสรโรตารี​ี ก รุ​ุ ง เทพจะให้​้ ก ารสนั​ั บ สนุ​ุ น ด้​้านโลจิ​ิสติ​ิกส์​์ โดยครอบคลุ​ุมค่​่าใช้​้จ่​่ายในการผ่​่าตั​ัด ค่​่ายา ค่​่าดู​ูแล ก่​่อนและหลั​ังการผ่​่าตั​ัด และค่​่าใช้​้จ่า่ ยเบ็​็ดเตล็​็ดในราคา 5,000 บาท/ ราย

• โครงการช่​่วยชี​ีวิ​ิตผู้​้�ป่​่วยที่​่�ต้​้องใช้​้เครื่​่�องฟอกไต ผู้​้�ป่​่วยล้​้างไตจำำ�นวน 450 รายที่​่�โรงพยาบาลพระจอมเกล้​้า จั​ั ง หวั​ั ด เพชรบุ​ุ รี​ี ซึ่​่�งเป็​็ น โรคไตวายเรื้​้� อ รั​ั ง ระยะสุ​ุ ด ท้​้ า ย (ESRD) จากผู้​้�ป่​่วยโรคไตระยะต่​่างๆ 5,577 คนจะได้​้รั​ับการช่​่วยชี​ีวิ​ิตจาก เครื่​่�องไตเที​ียมจำำ�นวน 2 เครื่​่�อง โดยโรตารี​ี จะจั​ัดหาเครื่​่�องไตเที​ียม ในคืนวันเดียวกันนั้น มีการขอบริจาคจากบุคคลภายนอก 2 เครื่​่�องๆ ละ 450,000 บาท เพื่​่�อบรรเทาความต้​้องการฉุ​ุกเฉิ​ิน เพื่อหาทุนท�ำโครงการพิเศษ 3 โครงการ ได้แก่ อายุ​ุการใช้​้งานของเครื่​่�องคาดว่​่าจะอยู่​่�ที่​่� 10 ปี​ี ผู้​้�ป่​่วยแต่​่ละราย ต้​้องการการฟอกเลื​ือด 3 ครั้​้�ง/สั​ัปดาห์​์ 4 ชั่​่�วโมง/ครั้​้�ง • โครงการสร้​้างโอกาสให้​้ทุ​ุนพยาบาลของโรตารี​ี เนื่​่�องจากมี​ีการขาดแคลน พยาบาลวิ​ิชาชี​ีพอย่​่างมากใน ผู้​้�สนใจโปรดไปที่​่� www.rotarynewhope.org เพื่​่�อดู​ูข้อ้ มู​ูล ประเทศไทย ดังนั้น ทุนการศึกษาของโรตารี จะกระตุ้นให้คนหนุ่ม เพิ่​่�มเติ​ิมและบริ​ิจาคเงิ​ินสำำ�หรั​ับโครงการดี​ีๆ เหล่​่านี้​้�ได้​้ โครงการทั้​้�งสาม สาวหั​ันมาพิ​ิจารณาอาชี​ีพนี้​้�มากขึ้​้น� เราจะสนั​ับสนุ​ุนนั​ักศึ​ึกษาพยาบาล นี้​้�ยั​ังคงต้​้องการเงิ​ินทุ​ุน เพื่​่�อให้​้เกิ​ิดประโยชน์​์อย่​่างกว้​้างขวาง ที่​่�ประสบปั​ัญหาทางการเงิ​ิน หรื​ือครอบครั​ัวที่​่�ตกงานจากโรคโควิ​ิด -19 เรายั​ังมี​ีการทำำ�โครงการอื่​่�นๆ เพิ่​่�มเติ​ิมอี​ีก โครงการหนึ่​่�งที่​่� โดยประมาณค่​่าใช้​้จ่​่ายที่​่� 50,000 บาท/พยาบาล/ปี​ี และจะมอบให้​้ กั​ับนั​ักศึ​ึกษาพยาบาลที่​่�คณะพยาบาลศาสตร์​์ มหาวิ​ิทยาลั​ัยมหิ​ิดล และ ต้​้องใช้​้ความพยายามมากคื​ือ การปลู​ูกป่​่าชายเลนบนพื้​้�นที่​่�ชายฝั่​่�งทะเล 100 ไร่​่ ซึ่​่�งขณะนี้​้�อยู่​่�ระหว่​่างการพิ​ิจารณา โดยมี​ีบริ​ิษัทั ของสมาชิ​ิกคน คณะพยาบาลศาสตร์​์เกื้​้�อการุ​ุณย์​์ มหาวิ​ิทยาลั​ัยนวมิ​ินทราธิ​ิราช หนึ่​่�งได้​้ให้​้ทุ​ุนสนั​ับสนุ​ุน สโมสรโรตารี​ีกรุ​ุงเทพ จะต้​้องพิ​ิจารณาว่​่าเรา จะช่​่วยทำำ�ให้​้โครงการนี้​้�เป็​็นจริ​ิงได้​้อย่​่างไร


D.3360 บรรณาธิการ ภาค 3360 โรตารีสากล

สโมสรโรตารีนครพาน

นยก. ประชั​ัญ จั​ักร์​์แหลม สโมสรโรตารี​ีนครพาน

อน. นพ.ณั​ัฏฐธนิ​ิน เศรษฐวนิ​ิชย์​์ สโมสรโรตารี​ีแพร่​่

สวัสดีปีใหม่มิตรโรแทเรียนและผู้อ่านทุกท่าน บทความในฉบับนี้ เราเน้นให้ท่านผู้อ่านได้รู้จักกับ สโมสรแรกของภาค 3360 และสโมสรน้องใหม่ของภาค 3360 รวมไปถึ​ึงภาพกิ​ิจกรรมบางส่​่วนจากสโมสรต่​่างๆ ในภาค 3360 ซึ่​่�งท่​่านสามารถเข้​้าไปชื่​่�นชม และศึ​ึกษาแนวคิ​ิดของสโมสร ดั​ังกล่​่าวได้​้ในเล่​่มนี้​้�ครั​ับ ตั้​้�งแต่​่ส่​่งท้​้ายปี​ี 2563 ประเทศไทยเริ่​่�มมี​ีการระบาด ซ้ำำ��ของโรคโควิ​ิด-19 ยิ​ิงยาวข้​้ามมาจนถึ​ึงปี​ีใหม่​่เลย ทำำ�ให้​้ การทำำ� กิ​ิ จ กรรมต่​่ า งๆ ของแต่​่ ล ะสโมสรเริ่​่� ม จำำ� กั​ั ด มากขึ้​้� น การประชุ​ุ ม ใหญ่​่ ต่​่ า งๆ ของภาคถู​ู ก เลื่​่� อ นออกไปจนกว่​่ า สถานการณ์​์การระบาดจะดี​ีขึ้​้�นอี​ีกครั้​้�ง อย่​่างไรก็​็ดี​ี ในฐานะบุ​ุคลากรทางการแพทย์​์ ผมเป็​็น ห่​่วงสุ​ุขภาพของทุ​ุกๆ ท่​่านเป็​็นอย่​่างยิ่​่�ง ขอให้​้ทุ​ุกท่​่านปฏิ​ิบั​ัติ​ิ ตามคำำ�แนะนำำ�ของกรมควบคุ​ุมโรค นั่​่�นก็​็คื​ือ DMHT ซึ่​่�งอธิ​ิบาย ได้​้ดั​ังนี้​้� D=Distancing เว้​้นระยะห่​่างกั​ันอย่​่างน้​้อย 1 เมตร, M=Mask สวมหน้​้ากากหากต้​้องเข้​้าพบปะผู้​้�คนเพื่​่อ� ป้​้องกั​ันการ ติ​ิดเชื้​้�อ, H=Hand หมั่​่�นล้​้างมื​ือบ่​่อยๆ โดยเฉพาะหากท่​่านอยู่​่� ในสถานที่​่�สาธารณะ, T=Testing หากมี​ีอาการผิ​ิดปกติ​ิให้​้ไป ตรวจรั​ักษาอย่​่างรวดเร็​็ว ขอให้​้ทุ​ุกท่​่านอยู่​่�รอดปลอดภั​ัยห่​่างไกลโควิ​ิด-19 นะครั​ับ

36

มกราคม-กุมภาพันธ์ 2564

สำำ�หรั​ับสโมสรน้​้องใหม่​่ของภาค 3360 ที่​่�เพิ่​่�งจะก่​่อตั้​้�งขึ้​้�นในปี​ี 2563-64 ในครั้​้�งนี้​้�ผมได้​้มี​ีโอกาสพู​ูดคุ​ุยกั​ับนายกก่​่อตั้​้�งของหนึ่​่�งในสโมสร น้​้องใหม่​่ จึ​ึงขอนำำ�มาแนะนำำ�สมาชิ​ิกผู้​้�อ่า่ นทุ​ุกท่​่านนะครั​ับ นายกก่​่อตั้​้�งประชั​ัญ จั​ักร์​์แหลม ซึ่​่�งท่​่านมี​ีภู​ูมิ​ิลำำ�เนาอยู่​่� อ. พาน จ. เชี​ียงราย ตอนนั้​้�นมี​ีเพื่​่�อนร่​่วมอุ​ุดมการณ์​์ 2-3 ท่​่าน ด้​้วยอุ​ุดมการณ์​์ที่​่�อยาก ช่​่วยเหลื​ือ และบำำ�เพ็​็ญประโยชน์​์ให้​้กับั อำำ�เภอพาน ตามชุ​ุมชนต่​่างๆ ที่​่�ต้อ้ งการ ความช่วยเหลือ ด้วยใจที่มุ่งมั่นเป็นแรงบันดาลใจให้ก่อตั้งสโมสรใหม่ โดยมี การรวบรวมสมาชิกที่ให้ความร่วมมือและมีอุดมการณ์เดียวกัน ไม่ว่าจะเป็น ข้าราชการ พ่อค้า นักธุรกิจ จนในปี 2563 ได้ก่อตั้งสโมสรใหม่ คือ “สโมสรโรตารีนครพาน” รั​ับตำำ�แหน่​่งเป็​็นนายกก่​่อตั้​้�ง เมื่​่�อวั​ันที่​่� 24 มิ​ิถุ​ุนายน พ.ศ. 2563 รวมสมาชิ​ิก 28 ท่​่าน ในสมั​ัยของผู้​้�ว่​่าการภาค กมลศั​ักดิ์​์� วิ​ิสิ​ิฐสกุ​ุลชั​ัย โดยมี​ีสโมสรโรตารี​ี เชี​ียงราย สโมสรโรตารี​ีเชี​ียงคำำ� และสโมสรโรตารี​ีนครเทิ​ิง เป็​็นสโมสรพี่​่�เลี้​้�ยง ท่านนายกก่อตั้งประชัญ จักร์แหลม กับสมาชิก มีความตั้งใจที่จะ ท�ำโครงการต่อเนอื่ งของสโมสร ได้แก่ โครงการมอบเครอื่ งกรองน�้ำให้โรงเรียน โครงการมอบเครื่องมือแพทย์และโครงการปลูกป่า ทั้งนี้งบประมาณการท�ำ โครงการในเบื้​้�องต้​้นก็​็ได้​้จากการช่​่วยเหลื​ือของสมาชิ​ิกในสโมสรช่​่วยๆ กั​ัน สมทบทุ​ุน แต่​่ในอนาคตก็​็จะริ​ิเริ่​่�มโครงการที่​่�ระดมทุ​ุนขึ้​้�นมาด้​้วย เพื่​่�อการมี​ี ส่วนร่วมของชุมชนและการมีส่วนร่วมของสโมสรโรตารีอื่นๆ ที่​่�ผ่​่านมาตั้​้�งแต่​่ก่​่อตั้​้�งสโมสรก็​็ได้​้มี​ีโครงการมากมายที่​่�เด่​่นๆ เช่​่น การมอบเครื่​่อ� งมื​ือแพทย์​์ โดยมี​ีเครื่​่อ� งผลิ​ิตออกซิ​ิเจน 4 เครื่​่อ� ง เครื่​่อ� งดู​ูดเสมหะ 4 เครื่​่�องมอบแก่​่โรงพยาบาลพาน และ รพ.สต.อี​ีก 3 แห่​่ง ในอนาคต สโมสรน้​้องใหม่​่แห่​่งนี้​้� ก็​็จะริ​ิเริ่​่�มโครงการขึ้​้�นมาอย่​่าง ต่​่อเนื่​่�องเรื่​่�อยๆ หากสโมสรใดต้​้องการจะช่​่วยสนั​ับสนุ​ุนหรื​ือร่​่วมโครงการนี้​้� ด้​้วยทางนายกก่​่อตั้​้�งและสมาชิ​ิกก็​็ยิ​ินดี​ีเป็​็นที่​่�สุ​ุดครั​ับ


สโมสรโรตารีไชยปราการ ร่วมกับ สโมสรโรตารีกระทุ่มแบน ภาค 3330 เเละ สโมสรโรตารีศิลาอาสน์ ภาค 3360 จัดกิจกรรมบ�ำเพ็ญประโยชน์ในโครงการมอบรถเข็นผู้พิการให้เป็นปีที่ 5 โดยปีนี้ สโมสรโรตารีไชยปราการได้รับการสนับสนุนดังนี้ รถเข็นผู้พิการจ�ำนวน 8 คัน เครื่​่�องช่​่วยหู​ูฟั​ังจำำ�นวน 10 ชุ​ุด แว่​่นสายตายาวสำำ�หรั​ับผู้​้�สู​ูงอายุ​ุจำำ�นวน 200 อั​ัน โดยแยกมอบให้​้ รพ.สต.บ้​้ า นปงตำำ� รพ.สต.บ้​้ า นป่​่ า แดง รพ.สต.ดงป่​่ า สั​ั ก อ. ไชยปราการ และยั​ังได้​้รั​ับการสนั​ับสนุ​ุนจากบริ​ิษั​ัทเนสท์​์เล่​่ประเทศไทย และ สโมสรโรตารี​ีเจริ​ิญนคร ภาค 3350 มอบขนมคอนเฟล็​็กมาแจกให้​้ด้ว้ ยจำำ�นวนหนึ่​่�ง สโมสรโรตารี​ีเชี​ียงใหม่​่เหนื​ือ และ สโมสรโรทาแรคท์​์เชี​ียงใหม่​่เหนื​ือ โดยการนำำ�ของ นย. อายะโกะ โทมิ​ิตะ พร้​้อมด้​้วยสมาชิ​ิก จั​ัดโครงการส่​่งเสริ​ิม ความรู้​้� “เวที​ีคารม มั​ัธยมศึ​ึกษา โต้​้วาทะ พั​ัฒนาความคิ​ิด” ณ ห้​้องประชุ​ุม บั​ัวตอง สำำ�นั​ักบริ​ิการวิ​ิชาการ มหาวิ​ิทยาลั​ัยเชี​ียงใหม่​่ เมื่​่�อวั​ันที่​่� 5-6 ธั​ันวาคม 2563 มี​ีนั​ักเรี​ียนจากหลากหลายสถาบั​ันในจั​ังหวั​ัดเชี​ียงใหม่​่เข้​้าร่​่วมโครงการ วั​ันแรกเป็​็นการอบรมหั​ัวข้​้อ “การคิ​ิดวิ​ิเคาะห์​์อย่​่างมี​ีวิ​ิจารญาณ” โดยวิ​ิทยากร คุ​ุณวี​ีรฉั​ัตร แก้​้วประดิ​ิษฐ์​์ และหั​ัวข้​้อ “การพั​ัฒนาทั​ักษะการใช้​้วาทศิ​ิลป์​์” โดย อาจารย์​์รั​ัชเขต วี​ีสเพ็​็ญ วั​ันที่​่�สองเป็​็นการแข่​่งขั​ันโต้​้วาทะ โดยมี​ีผู้​้�ชนะดั​ังต่​่อไปนี้​้� รางวั​ัลชนะเลิ​ิศ นางสาวณิ​ิชากร ไชยวุ​ุฒิ​ิ (โรงเรี​ียนปริ​ินส์​์รอยแยลส์​์วิ​ิทยาลั​ัย) รองชนะเลิ​ิศอั​ันดั​ับ 1 นางสาวณั​ัฐกฤตา ฟองคำำ� (โรงเรี​ียนปริ​ินส์​์รอยแยลส์​์ วิ​ิทยาลั​ัย) และรองชนะเลิ​ิศอั​ันดั​ับ 2 นางสาวเจณณิ​ิชย์​์ เจนพิ​ิริยิ ะสุ​ุนทร (โรงเรี​ียน มงฟอร์​์ตวิ​ิทยาลั​ัย)

สโมสรโรตารีเชียงใหม่ถิ่นไทยงาม นำำ�โดย นย. กชกร วาริ​ินศิ​ิริ​ิรั​ักษ์​์ ร่​่วมกั​ับสโมสรโรตารี​ีช้​้างเผื​ือกเชี​ียงใหม่​่ โดย อน. รั​ัศมี​ี พิ​ิทั​ักษ์​์มโนกุ​ุล ประธานโครงการ จั​ัดพิ​ิธี​ีเปิ​ิดโครงการ GG#2011413 Value Added in Organic Food Supply Chain และส่​่งมอบ Organic Composting Machine ให้แก่ชุมชนโรตารีแม่แจ่มเป็นผู้ดูแลในพื้นที่ ซึ่งได้รับ ทุ​ุนสนั​ับสนุ​ุนจากสโมสรโรตารี​ี Changwon Choengam เกาหลี​ีใต้​้ ภาค 3722 ซึ่​่�งโครงการนี้​้�สอดคล้​้องกั​ับแนวทาง Rotary’s Area of Focus ในหั​ัวข้​้อ Community Economic Development และยั​ังสอดคล้​้องกั​ับ Supporting Environment เป็​็นการช่​่วยแก้​้ไขปั​ัญหาการเผาพื​ืชที่​่�ไม่​่ได้​้ใช้​้งาน ลดภาวะ ฝุ่​่�นควั​ันและป้​้องกั​ันไฟป่​่า เป็​็นการแก้​้ไขปั​ัญหาจากต้​้นทางได้​้อย่​่างตรงเป้​้าหมาย ที่สุด

สโมสรโรตารีเวียงโกศัย น�ำโดย นย.จรรจิรา สุวรรณกิจ และสมาชิก น�ำของขวัญวันเด็กที่รับการสนับสนุน สมทบจากสมาชิ​ิกสโมสรฯ ทั้​้�งนม ขนม ตุ๊​๊�กตา ของเล่​่น รองเท้​้าและทุ​ุนการศึ​ึกษา ที่​่�ได้​้รั​ับการสนั​ับสนุ​ุนจาก อน. สมพงษ์​์-อน.ธนิ​ิตา สั​ังข์​์บุ​ุณยนิ​ิธิ​ิ ไปมอบให้​้กั​ับ นั​ักเรี​ียนโรงเรี​ียนเทศบาลวั​ัดสวรรค์​์นิ​ิเวศน์​์ ซึ่​่�งเป็​็นโรงเรี​ียนที่​่�มี​ีสโมสรเออร์​์ลี่​่�แอคท์​์ เทศบาลวั​ัดสวรรค์​์นิ​ิเวศน์​์ ที่​่�สโมสรโรตารี​ีเวี​ียงโกศั​ัยดู​ูแลอยู่​่� โดยปี​ีนี้​้�ไม่​่มี​ีการจั​ัด กิ​ิ จ กรรมมอบมื​ื อ ต่​่ อ มื​ื อ ให้​้ กั​ั บ เด็​็ ก ๆ ตามมาตรการรั​ั ก ษาระยะห่​่ า ง Social Distancing ป้​้องกั​ันไวรั​ัสโควิ​ิด-19 มี​ีตั​ัวแทนของสโมสรร่​่วมมอบสิ่​่�งของ 9 ท่​่าน โดยให้​้ทางผู้​้�บริ​ิหารของโรงเรี​ียนจั​ัดสรรให้​้เด็​็กนั​ักเรี​ียนเอง ซึ่​่�งกิ​ิจกรรมวั​ันเด็​็กปี​ีนี้​้� ก็​็ได้​้สำำ�เร็​็จลุ​ุล่​่วงไปด้​้วยดี​ี

สโมสรโรตารีเชียงใหม่ใต้ มอบเครื่​่�องกรองน้ำำ�� อุ​ุปกรณ์​์การเรี​ียน อุ​ุปกรณ์​์กี​ีฬา ทุ​ุนการศึ​ึกษา และหน้​้ากาก ผ้​้ า ป้​้ อ งกั​ั นโควิ​ิ ด -19 ให้​้ กั​ั บโรงเรี​ี ย นตำำ�รวจตระเวนชายแดน แม่​่ หงานหลวง อ. เชี​ียงดาว จ. เชี​ียงใหม่​่


ส โ ม ส ร โ ร ต า รี เ ชี ย ง ใ ห ม ่

D.3360 First Rotary Club

38

มกราคม-กุมภาพันธ์ 2564

สโมสรโรตารี​ีเชี​ียงใหม่​่ นั​ับเป็​็นสโมสรแห่​่งแรกของภาค 3360 ปั​ัจจุ​ุบันั มี​ีอายุ​ุ 61 ปี​ี มี​ีสโมสรก่​่อตั้​้�งและสโมสรพี่​่�เลี้​้�ยง คื​ือสโมสรกรุ​ุงเทพ โดยท่​่านนายกหลวง ยุ​ุกตเสวี​ีวิ​ิวั​ัฒน์​์ เมื่​่�อเดื​ือนกุ​ุมภาพั​ันธ์​์ พ.ศ. 2502 สโมสรโรตารี​ีเชี​ียงใหม่​่นั​ับได้​้ว่​่าเป็​็น สโมสรโรตารี​ีแห่​่งที่​่� 3 ของประเทศไทย ในการก่​่อตั้​้�งสโมสรนั้​้�นมี​ีผู้​้�ร่​่วมอุ​ุดมการณ์​์ใน การก่​่อตั้​้ง� ประมาณ 40 ท่​่าน ที่​่�ประชุ​ุมมี​ีมติ​ิเป็​็นเอกฉั​ันท์​์เลื​ือกท่​่านผู้​้�ว่​่าราชการจั​ังหวั​ัด เชี​ียงใหม่​่ พ.ต.อ.เนื่​่�อง รายะนาท เป็​็นนายกสโมสรคนแรก ท่​่านดำำ�รงตำำ�แหน่​่งอยู่​่� 2 เดื​ือนได้​้ย้า้ ยราชการไปจั​ังหวั​ัดอยุ​ุธยา ไม่​่สามารถทำำ�หน้​้าที่​่�นายกสโมสรต่​่อได้​้ สโมสร จึ​ึงได้​้เลื​ือกอุ​ุปนายกคนที่​่� 1 คื​ือ นพ. อารี​ี แสงสว่​่างวั​ัฒนะ ทำำ�หน้​้าที่​่�นายกสโมสร โรตารี​ีแทน ในช่​่วง 30 ปี​ีแรกของสโมสร (พ.ศ. 2502-2531) เป็​็นทศวรรษแห่​่งการขยาย อุดมการณ์โรตารี โดยเป็นพีเ่ ลีย้ งก่อตัง้ สโมสรโรตารีใหม่โดยเฉพาะในเขตภูมภิ าค เริม่ ที่​่�จั​ังหวั​ัดในเขตภาคเหนื​ือประเทศไทย ภายหลั​ังจากที่​่�สโมสรได้​้เรี​ียนรู้​้�และเข้​้าใจ ปรั​ัชญาของโรตารี​ีสากล โดยเริ่​่�มที่​่�จั​ังหวั​ัดลำำ�ปางในปี​ี พ.ศ. 2506 ต่​่อเนื่​่�องตลอดเวลา 30 ปีทงั้ หมด ก่อตัง้ ได้ 14 สโมสร ซึง่ แต่ละสโมสรได้ดำ� เนินการขยายอุดมการณ์อย่าง เดียวกันแบบต่อเนื่อง จนปัจจุบันมีสโมสรโรตารีในภาค 3360 จ�ำนวน 69 สโมสร มี สมาชิกโรแทเรียนกว่า 1,400 ท่าน ในช่​่วง 20 ปี​ีต่​่อมาคื​ือ ทศวรรษที่​่� 4-5 (พ.ศ. 2532-2551) เป็​็น 20 ปี​ีแห่​่ง กิ​ิจกรรมบำำ�เพ็​็ญประโยชน์​์ เริ่​่�มโครงการบำำ�เพ็​็ญประโยชน์​์อย่​่างง่​่ายเพื่​่�อชุ​ุมชนโดยทุ​ุน บริจาคของสมาชิก ต่อมาสโมสรเริ่มศึกษาโปรแกรมทุนสมทบของมูลนิธิโรตารี (Matching Grants) โดยเริ่​่�มหาคู่​่�มิ​ิตรในต่​่างประเทศ เช่​่น ญี่​่�ปุ่​่�น ไต้​้หวั​ัน มาร่​่วม โครงการอย่​่างต่​่อเนื่​่�อง ตามโครงสร้​้างวิ​ิสัยั ทั​ัศน์​์ใหม่​่ของมู​ูลนิ​ิธิโิ รตารี​ี (Future Vision Plan of The Rotary Foundation) ในปลายทศวรรษที่​่� 5 เป็​็นกองทุ​ุนใหม่​่ทั้​้ง� กองทุ​ุน สมทบระดั​ับภาค (District Grants) และกองทุ​ุนสมทบระดั​ับโลก (Global Grants) การทำำ�โครงการต่​่างๆ ของสโมสรใช้​้ทุ​ุนจากการทำำ�กิ​ิจกรรมหารายได้​้สโมสร จากการ บริ​ิจาคของสมาชิ​ิกให้​้กองทุ​ุนประจำำ�ปี​ีของมู​ูลนิ​ิธิ​ิโรตารี​ี โดยเน้​้น 6 areas of focus (ซึ่​่�งปั​ัจจุ​ุบั​ันมี​ี 7 เรื่​่�องแล้​้ว) เช่​่น โครงการน้ำำ��สะอาดและสร้​้างห้​้องน้ำำ�� ณ บ้​้านแม่​่โต๋​๋ว อ. สะเมิ​ิง จ. เชี​ียงใหม่​่ โครงการห้​้องสมุ​ุดมี​ีชีวิี ิตที่​่�โรงเรี​ียนตำำ�รวจตระเวนชายแดน เจ้​้าพ่​่อหลวงอุ​ุปถั​ัมภ์​์ 2 อ. จอมทอง จ. เชี​ียงใหม่​่ เป็​็นต้​้น ในช่วง 10 ปีจวบจนปัจจุบัน สโมสรยังคงเน้นการบ�ำเพ็ญประโยชน์อย่าง ต่อเนื่อง โดยเชิญชวนสโมสรอื่นๆ มาร่วมกันท�ำโครงการ และเนื่องจากมีสมาชิกรุ่น หนุ่มสาวเข้ามาเป็นสมาชิกใหม่มากขึ้น สโมสรจึงมีการจัดการอบรมโปรแกรมของ มู​ูลนิ​ิธิ​ิโรตารี​ีและโรตารี​ีสากลในการประชุ​ุมประจำำ�สั​ัปดาห์​์ โดยอดี​ีตผู้​้�ว่​่าการภาค กรรมการภาค และการสนเทศโรตารี​ีประมาณ 50 นาที​ีในการประชุ​ุมประจำำ�สั​ัปดาห์​์ เช่​่นกั​ัน นอกจากนั้​้�นแล้​้ว กรรมการบริ​ิหารสมั​ัยนั้​้�นยั​ังได้​้ทดลองนำำ�ร่​่องในการสรรหา นายกสโมสรรั​ับเลื​ือกติ​ิดต่​่อกั​ัน 5 ปี​ี เพื่​่�อให้​้ผู้​้�ได้​้รั​ับการสรรหาได้​้มี​ีเวลาเตรี​ียมตั​ัวและ เข้​้ามามี​ีส่​่วนร่​่วมในกิ​ิจกรรมของสโมสรอย่​่างต่​่อเนื่​่�องก่​่อนรั​ับตำำ�แหน่​่ง ทั้​้�งนี้​้�สโมสรจะ ได้ท�ำการประเมินผลต่อไป



90th Anniversary 90 ปี โรตารีในประเทศไทย โรตารี​ีในประเทศไทยเริ่​่ม� ต้​้นด้​้วยการก่​่อตั้​้ง� สโมสรโรตารี​ีกรุ​ุ งเทพ โดยมิ​ิ ส เตอร์​์ เจมส์​์ เดวิ​ิ ดสั​ั น (สโมสรโรตารี​ีคั​ัลการี​ี แคนาดา) ผู้​้แ� ทนพิ​ิเศษจากโรตารี​ี สากล ที่​่� เ ดิ​ิ นทา งมาเผยแพร่​่ อุ​ุ ด มการณ์​์ ข องโรตารี​ี และได้​้มี​ีโอกาสเฝ้​้าพลเอกพระเจ้​้าบรมวงศ์​์เธอ กรมพระ กำำ�แพงเพ็​็ชรอั​ัครโยธิ​ิน ซึ่ง่� ทรงเห็​็นชอบด้​้วยกั​ับหลั​ักการ ของโรตารี​ี จึ​ึงได้​้ ท รงชั​ั ก ชวนบุ​ุ คค ลในวงราชการ และธุ​ุรกิ​ิจรวมได้​้ 69 คน จาก 15 ประเทศ จั​ัดตั้​้ง� สโมสร โรตารี​ีแห่​่งแรกขึ้น้� ในประเทศไทย เมื่​่อ� วั​ันที่​่� 19 กั​ันยายน 2473 หลั​ังจากนั้​้�นถึ​ึง 28 ปี​ี จึ​ึงได้​้มี​ีการก่​่อตั้​้�ง สโมสรโรตารี​ีธนบุ​ุรี​ีเป็​็นสโมสรที่​่� 2 ใช้​้ภาษาไทยในการ ประชุ​ุม และโรตารี​ีในประเทศไทยได้​้ขยายตั​ัวขึ้​้�นเรื่​่�อย มาจนถึ​ึงปั​ัจจุ​ุบั​ัน พระบาทสมเด็​็จพระเจ้​้าอยู่​่�หั​ัว รัชั กาลที่​่� 9 ได้​้ทรงพระกรุ​ุณาโปรดเกล้​้ารับั สโมสรโรตารี​ีในประเทศ ไทยไว้​้ในพระบรมราชู​ูปถั​ัมภ์​์ ตามหนั​ังสื​ือราชเลขาธิ​ิการ ลงวั​ันที่​่� 15 กั​ันยายน 2498 ในการเสด็​็จพระราชดำำ�เนิ​ินในงานฉลอง ครบรอบ 50 ปี​ีของโรตารี​ี ในประเทศไทยเมื่​่�อวั​ันที่​่� 15 ธั​ันวาคม 2523 ทรงมี​ีพระราชดำำ�รั​ัสในตอนหนึ่​่�งว่​่า “ถ้​้าจะแปลคำำ�ว่​่า Service สงเคราะห์​์ผู้​้�อื่​่�น เหนื​ือการ สงเคราะห์​์ ตั​ั ว เองด้​้ ว ยซ้ำำ�� ความจริ​ิ ง ถ้​้ า อยากที่​่� จ ะ สงเคราะห์​์ผู้​้�อื่​่�นก็ต้็ ้องสงเคราะห์​์ตั​ัวเองอยู่​่�ในตั​ัว ฉะนั้​้�น อุ​ุดมการณ์​์ของโรตารี​ีจึ​ึงทำำ�ให้​้คนที่​่�เป็​็นสมาชิ​ิกเป็​็นคน ที่​่� ดี​ี เป็​็ นคน ที่​่� มี​ีควา มสุ​ุ ข มี​ีควา มนั​ั บ ถื​ือตั​ั ว เองได้​้ มี​ีสุ​ุขภาพดี​ีทั้​้�งร่​่างกายทั้​้�งใจที่​่�สมบู​ูรณ์​์ เชื่​่�อว่​่าถ้​้าทุ​ุกคน ปฏิ​ิบัติั ติ ามอุ​ุดมการณ์​์ของ โรตารี​ี จะต้​้องมี​ีความอิ่​่ม� กาย อิ่​่�มใจอย่​่างยิ่​่�ง เพราะว่​่าได้​้ทำำ�สิ่​่�งที่​่�คนเราทุ​ุกคนต้​้องทำำ� ทั้​้�งนั้​้�น ทั้​้�งกาย ทั้​้�งใจ” (จากหนังสือ 60 ปีโรตารีในประเทศไทย) ช่วงเวลา 70 ปีแรก ได้มกี ารบันทึกเรอื่ งราว เอาไว้ใน “หนังสือ 60 ปีโรตารีในประเทศไทย” และ “นิ​ิตยสาร The Thai Rotarian ฉบั​ับพิ​ิเศษเนื่​่�องใน วาระครบรอบ 70 ปี​ี โรตารี​ีในประเทศไทย” ต่​่อไปนี้​้� เป็​็นเหตุ​ุการณ์​์และเรื่​่�องราวของเราในช่​่วงขวบปี​ีที่ ่� 70-90 ปี​ี คื​ือระหว่​่าง พ.ศ. 2543-2563 (ค.ศ. 20002020) ซึ่​่ง� ในช่​่วง 20 ปี​ีดังั กล่​่าวนี้​้� โรตารี​ีในประเทศไทย ได้​้เติ​ิบโตขึ้​้�นอย่​่างต่​่อเนื่​่�อง QR Code 60 ปี โรตารี

QR Code โรตารี กับการหยั่งราก บนแผ่นดินไทย

40

มกราคม-กุมภาพันธ์ 2564

90 ปี โรตารีในประ

1930-202 พ.ศ. 2543 (ค.ศ. 2000) • น้​้อมรั​ับพระบรมราชโองการของ ในหลวงรั​ัชกาล ที่​่� 9 แสดง ความชื่​่�นชมยิ​ินดี​ีที่​่�กิ​ิจกรรมโรตารี​ีในประเทศไทยเจริ​ิญรุ่​่�งเรื​ือง มาครบ 70 ปี​ี • โรตารี​ีในประเทศไทยมี​ี 4 ภาค 200 สโมสร สมาชิ​ิก 5,516 คน (ข้อมูลจากเว็บไซต์ของโรตารีสากล ณ 1 กรกฎาคม 2000)

พ.ศ. 2544 (ค.ศ. 2001) • ประธานโรตารี​ีสากล Richard D King และภริ​ิยาเยื​ือน

ประเทศไทยอย่​่างเป็​็นทางการ ร่​่วมงานสดุ​ุดี​ีผลงานของ โรตารี​ี ในประเทศไทย เมื่​่�อวั​ันที่​่� 16 ตุ​ุลาคม ณ ศู​ูนย์​์การ ประชุ​ุมแห่​่งชาติ​ิสิ​ิริ​ิกิ​ิติ์​์� มี​ีผู้​้�ร่​่วมงาน 2,137 คน ทั้​้�งนี้​้� ประธาน โรตารี​ีสากลและภริ​ิยาพร้​้อมคณะได้​้เข้​้าเฝ้​้าพระบาทสมเด็​็จ พระเจ้​้าอยู่​่�หั​ัวฯ รั​ัชกาลที่​่� 9 ด้​้วย • ประเทศไทยมี​ีผู้​้�ว่​่าการภาคสตรี​ีคนแรกจากภาค 3330 ผวภ. ศรี​ียา ศิ​ิริ​ิเวช (2544-45) ซึ่​่�งได้​้รั​ับรางวั​ัลผู้​้�ว่​่าการภาค แห่​่งปี​ีจากประธานโรตารี​ีสากลในการประชุ​ุมใหญ่​่โรตารี​ีสากล ที่​่�เมื​ืองบาร์​์เซโลน่​่า ประเทศสเปน

พ.ศ. 2545 (ค.ศ. 2002) • ฯพณฯ พิ​ิชั​ัย รั​ัตตกุ​ุล อดี​ีตรองนายกรั​ัฐมนตรี​ี ได้​้รั​ับเลื​ือกตั้​้�ง

เป็​็นประธานโรตารี​ีสากล (2002-03) ซึ่​่�งนั​ับเป็​็นคนไทยคนแรก หลั​ังจากเป็​็นกรรมการบริ​ิหารโรตารี​ีสากลในปี​ี 1990-92

พ.ศ. 2546 (ค.ศ. 2003) • มี​ีการสั​ัมมนาอบรมนายกรั​ับเลื​ือกร่​่วมภาค (Multi-district

PETS) ของโรตารี​ี 4 ภาค (273 สโมสร) เป็​็นครั้​้�งแรกในเดื​ือน มี​ีนาคม • โรตารี​ีไทยจั​ัด Joint District Conference ในโอกาสที่​่� ประธานโรตารี​ีสากลมาจากประเทศไทย • คณะกรรมการบริ​ิหารโรตารี​ีสากลประชุ​ุมที่​่�ประเทศไทย (19-26 พฤษภาคม) และเยื​ือนศู​ูนย์​์โรตารี​ีฯ ในวั​ันที่​่� 26 พฤษภาคม โดยมี​ีงานเลี้​้�ยงรั​ับรองที่​่�ศู​ูนย์​์โรตารี​ีฯ • อผภ. เชาวน์​์ นาราฤทธิ์​์� สร้​้างเว็​็บไซต์​์ในนามของนิ​ิตยสาร โรตารี​ี www.rotaryinthailand.org เพื่​่�อเป็​็นศู​ูนย์​์รวมข้​้อมู​ูล โรตารี​ีขึ้​้�นเป็​็นครั้​้�งแรก

พ.ศ. 2547 (ค.ศ. 2004) • เกิ​ิดแผ่​่นดิ​ินไหวและคลื่​่�นสึ​ึนามิ​ิในมหาสมุ​ุทรอิ​ินเดี​ีย

(24 ธ.ค.) มี​ี “โครงการน้ำำ��ใจโรตารี​ี” เพื่​่�อช่​่วยผู้​้�ประสบภั​ัย โดยได้​้รั​ับเงิ​ินบริ​ิจาคจากโรแทเรี​ียนทั้​้�งในและต่​่างประเทศ รวมทั้​้�ง TRF รวม 95.83 ล้​้านบาท ฯพณฯ พิ​ิชั​ัย รั​ัตตกุ​ุล เป็​็นประธานโครงการ ผวภ. วรวุ​ุธ พงษ์​์วิ​ิทยภานุ​ุ (ภาค 3330 - ตำำ�แหน่​่งในขณะนั้​้�น) จั​ัดคาราวานรถบรรทุ​ุก นำำ�สิ่​่�งของลงไปช่​่วยเหลื​ือผู้​้�ประสบภั​ัยอย่​่างเร่​่งด่​่วน สโมสรโรตารี​ี ในจั​ังหวั​ัดภู​ูเก็​็ต พั​ังงา ตรั​ัง กระบี่​่� และระนอง เป็​็นกำำ�ลั​ังสำำ�คั​ัญที่​่� ขั​ับเคลื่​่�อนโครงการ โดยมี​ีอน. จรั​ัล พั​ัฒน์​์จร (สโมสรโรตารี​ีพั​ังงา) เป็​็นผู้​้�ประสานงานหลั​ัก มี​ีการสร้​้างบ้​้านรวม 328 หลั​ัง และ โครงการอื่​่�นๆ เช่​่น สร้​้างศู​ูนย์​์พั​ัฒนาเด็​็กเล็​็ก ระบบสาธารณู​ูปโภค โครงการพั​ัฒนาอาชี​ีพ โครงการน้ำำ��สะอาด เป็​็นต้​้น


ะเทศไทย

20

“เมื่​่�อเดื​ือนธั​ันวาคม 2000 ผมได้​้รับพ ั ระราชทานพระมหากรุ​ุณาธิ​ิคุ​ุณ ให้​้เข้​้าเฝ้​้าพระบาทสมเด็​็จพระเจ้​้าอยู่​่�หั​ัว รั​ัชกาลที่​่� 9 ก่​่อนจะเดิ​ินทางไปรั​ับหน้​้าที่​่�ประธานโรตารี​ีสากล ที่​่�นครชิ​ิคาโก พระองค์​์ท่​่านได้​้พระราชทานคำำแนะนำำ ที่​่�ผมจดจำำมาจนกระทั่​่�งบั​ัดนี้​้� นั่​่�นคื​ือ ถึ​ึงแม้​้ว่​่าจะกลั​ับมาจากชิ​ิคาโกแล้​้ว จะไม่​่มีตำี ำแหน่​่งอะไรก็​็ตาม ถ้​้ามี​ีอะไรที่​่� สามารถทำำได้​้เพื่​่�อประโยชน์​์ของบ้​้านเมื​ืองหรื​ือเพื่​่�อช่​่วยคนที่​่�ยากจน ก็​็จะต้​้องทำำ” - ฯพณฯ พิ​ิชั​ัย รั​ัตตกุ​ุล

พ.ศ. 2548 (ค.ศ. 2005) • อผภ. นรเศรษฐ ปั​ัทมานั​ันท์​์ ได้​้รั​ับเลื​ือกตั้​้�งเป็​็นกรรมการ

บริ​ิหารโรตารี​ีสากลปี​ี 2005-07 (โซน 6) นั​ับเป็​็นคนไทยคนที่​่� 3

พ.ศ. 2549 (ค.ศ. 2006) • สโมสรโรตารี​ีเวี​ียงจั​ันทน์​์ ประเทศลาว ได้​้รั​ับสารตราตั้​้�งเมื่​่�อ วั​ันที่​่� 18 ตุ​ุลาคม มี​ีสมาชิ​ิกก่​่อตั้​้�ง 35 คน สั​ังกั​ัดภาค 3360

พ.ศ. 2550 (ค.ศ. 2007) • ฯพณฯ พิ​ิชั​ัย รั​ัตตกุ​ุล รั​ับตำำ�แหน่​่งประธานมู​ูลนิ​ิธิ​ิโรตารี​ีของ

พ.ศ. 2555 (ค.ศ. 2012) • โรตารี​ีไทยเป็​็นเจ้​้าภาพจั​ัดการประชุ​ุม 2012 RI Convention (6-9 พ.ค.) ที่​่�อิ​ิมแพค เมื​ืองทองธานี​ี มี​ีผู้​้�ลงทะเบี​ียนร่​่วมประชุ​ุม 33,104 คน อดี​ีตกรรมการบริ​ิหารโรตารี​ีสากล นรเศรษฐ ปั​ัทมานั​ันท์​์ เป็​็นประธานฝ่​่ายเจ้​้าภาพ ภายในงานผู้​้�เข้​้าร่​่วม 2,012 คน สวมเสื้​้�อแจ็​็คเก็​็ตและเสื้​้�อฮู้​้�ดสี​ีเหลื​ืองและสี​ีน้ำำ��เงิ​ิน เพื่​่�อสร้​้างรอยยิ้​้�มที่​่�ใหญ่​่ที่​่�สุ​ุดในประเทศไทย พร้​้อมบั​ันทึ​ึกลงใน “Ripley’s Believe It or Not” ด้​้วย

โรตารี​ีสากล

พ.ศ. 2551 (ค.ศ. 2008) • พายุ​ุไซโคลนนาร์​์กี​ีสถล่​่มประเทศพม่​่าในเดื​ือนพฤษภาคม

โรตารี​ีในประเทศไทยได้​้ร่​่วมกั​ันบริ​ิจาคเงิ​ินประมาณ 1 ล้​้านบาทเศษและได้​้ช่​่วยสร้​้างบ้​้านใหม่​่ รวม 62 หลั​ัง ซ่​่อมแซมบ้​้าน 162 หลั​ัง และขุ​ุดบ่​่อน้ำำ��ที่​่�เมื​ืองย่​่างกุ้​้�งและ อิ​ิระวดี​ี • มู​ูลนิ​ิธิ​ิโรตารี​ีริ​ิเริ่​่�มกองทุ​ุนถาวร Bhichai Rattakul Endowed Fund เพื่​่�อเป็​็นเกี​ียรติ​ิแด่​่อดี​ีตประธาน โรตารี​ีสากล พิ​ิชั​ัย รั​ัตตกุ​ุล โดยนำำ�รายได้​้ไปใช้​้เพื่​่�อสนั​ับสนุ​ุน ศู​ูนย์​์สั​ันติ​ิภาพโรตารี​ี (บรรลุ​ุเป้​้าหมายในการก่​่อตั้​้�งกองทุ​ุน โดยได้​้รั​ับเงิ​ินบริ​ิจาค 564,543.59 เหรี​ียญ ณ วั​ันที่​่� 30 มิ​ิถุ​ุนายน 2009)

พ.ศ. 2552 (ค.ศ. 2009) • โรแทเรี​ียนและครอบครั​ัวเข้​้าเฝ้​้าทู​ูลละอองธุ​ุลี​ีพระบาทสมเด็​็จ พระเทพรั​ัตน์​์ฯ ทู​ูลเกล้​้าถวายเงิ​ิน 9,999,999.99 บาท จาก การจำำ�หน่​่ายเหรี​ียญที่​่�ระลึ​ึก เพื่​่�อสมทบทุ​ุนมู​ูลนิ​ิธิ​ิอานั​ันทมหิ​ิดล

พ.ศ. 2553 (ค.ศ. 2010) • โรตารี​ีไทยเป็​็นเจ้​้าภาพจั​ัดการประชุ​ุม 2010 Bangkok

Rotary Institute โซน 6B, 7A และ 10B มี​ีผู้​้�ร่​่วมประชุ​ุมถึ​ึง 1,287 คน

พ.ศ. 2554 (ค.ศ. 2011) • เกิ​ิดน้ำำ��ท่​่วมใหญ่​่ในกรุ​ุงเทพฯ และจั​ังหวั​ัดต่​่างๆ ฯพณฯ

พิ​ิชั​ัย รั​ัตตกุ​ุล ได้​้รั​ับเงิ​ินบริ​ิจาค 16 ล้​้านบาท จากโรตารี​ี ประเทศญี่​่�ปุ่​่�นและอื่​่�นๆ จึ​ึงได้​้เกิ​ิดโครงการต่​่างๆ มากมาย เช่​่น ซ่​่อมแซมบ้​้าน 434 หลั​ัง บู​ูรณะโรงเรี​ียน 14 โรง ซึ่​่�ง เป็​็นการเอื้​้�อประโยชน์​์แก่​่เด็​็กนั​ักเรี​ียนถึ​ึง 7,370 คน ติ​ิดตั้​้�ง ระบบกรองน้ำำ��สะอาดในโรงเรี​ียนและในชุ​ุมชน ซึ่​่�งมี​ีผู้​้�ได้​้รั​ับ ประโยชน์​์ถึ​ึง 5,000 คน จั​ัดหาน้ำำ��ดื่​่�มสะอาดและปลอดภั​ัย ให้​้กั​ับประชาชน 120,000 คนในจั​ังหวั​ัดต่​่างๆ จั​ัดเตรี​ียมการ เผื่​่�อเหตุ​ุฉุ​ุกเฉิ​ินในอนาคต โดยจั​ัดทำำ�เรื​ือไฟเบอร์​์ 70 ลำำ�และ กล่​่องน้ำำ��ใจ 500 กล่​่อง ต่​่อมาได้​้จั​ัดทำำ�ถุ​ุงน้ำำ��ใจเพื่​่�อเตรี​ียมการ สำำ�หรั​ับช่​่วยผู้​้�ประสบภั​ัยแบบเร่​่งด่​่วนซึ่​่�งทำำ�ต่​่อเนื่​่�องจนถึ​ึงปั​ัจจุ​ุบั​ัน

พ.ศ. 2556 (ค.ศ. 2013) • โรตารี​ีสากลประกาศใช้​้โลโก้​้ใหม่​่เพื่​่�อการสร้​้างแบรนด์​์โรตารี​ี • สโมสรโรตารี​ีอี​ีคลั​ับภาค 3330 เป็​็นอี​ีคลั​ับสโมสรแรก ได้​้รั​ับ สารตราตั้​้�งวั​ันที่​่� 13 เมษายน 2013 มี​ีสมาชิ​ิก 26 คน • โรตารี​ีไทยมี​ีสโมสรมากกว่​่า 300 สโมสรเป็​็นครั้​้�งแรก

พ.ศ. 2557 (ค.ศ. 2014) • โรตารี​ีในประเทศไทยจั​ัดงาน “วั​ันโรตารี​ีไทย” (27 ธ.ค.)

โดยมี​ีกิ​ิจกรรมเฉลิ​ิมพระเกี​ียรติ​ิและกิ​ิจกรรมบำำ�เพ็​็ญประโยชน์​์ แก่​่ประชาชนทั่​่�วไป เช่​่น การบริ​ิการด้​้านสุ​ุขภาพอนามั​ัย กลุ่​่�มฝึ​ึกอาชี​ีพ กลุ่​่�มตลาดนั​ัดแรงงาน กิ​ิจกรรมเยาวชน รายการบั​ันเทิ​ิงบนเวที​ี และเพื่​่�อเป็​็นการต้​้อนรั​ับประธานโรตารี​ี สากล แกรี่​่� ฮวง เดิ​ินทางมาเยื​ือนประเทศไทย • สโมสรโรตารี​ี Yangon ประเทศเมี​ียนมาร์​์ ได้​้รั​ับสารตราตั้​้�ง เมื่​่�อวั​ันที่​่� 16 พฤษภาคม 2014 มี​ีสมาชิ​ิก 32 คน สั​ังกั​ัดภาค 3350

พ.ศ. 2558 (ค.ศ. 2015) • อผภ. รศ.ดร.เสาวลั​ักษณ์​์ รั​ัตนวิ​ิชช์​์ ขึ้​้�นเป็​็นกรรมการบริ​ิหาร

โรตารี​ีสากล นั​ับเป็​็นสตรี​ีคนแรกของประเทศไทยและเอเชี​ียที่​่� เป็​็นกรรมการบริ​ิหารฯ •เกิ​ิดแผ่​่นดิ​ินไหวครั้​้�งใหญ่​่ที่​่�ประเทศเนปาล โรตารี​ีใน ประเทศไทยได้​้ร่​่วมบริ​ิจาคเงิ​ิน 2.196 ล้​้านบาทส่​่งไปยั​ัง ผู้​้�ว่​่าการภาคที่​่�ประเทศเนปา ลโดยมี​ีการประสานงานกั​ันอย่​่าง ใกล้​้ชิ​ิดเพื่​่�อทำำ�โครงการฟื้​้�นฟู​ูในระยะยาว “ความอดทนและอดกลั้​้�น ในการปฏิ​ิบัติั ิงานเป็​็นเรื่​่�อง สำำ�คั​ัญมากในการปฏิ​ิบั​ัติ​ิ ภารกิ​ิจแต่​่ละครั้​้�ง” ดร.เสาวลั​ักษณ์​์


90 ปี โรตารีในประเทศไทย

1930-2020

พ.ศ. 2559 (ค.ศ. 2016) • ประเทศไทยเป็​็นเจ้​้าภาพจั​ัดการประชุ​ุม 2016 Bangkok Rotary Institute มี​ีผู้​้�เข้​้าร่​่วมประชุ​ุม 1,805 คน • เกิ​ิดเหตุ​ุแผ่​่นดิ​ินไหวที่​่�เมื​ืองคุ​ุมาโมโตะ ประเทศญี่​่�ปุ่​่�น โรตารี​ีในประเทศไทยได้​้แสดงน้ำำ��ใจรวบรวมเงิ​ิน 1.762 ล้​้านบาท ส่​่งให้​้ประเทศญี่​่�ปุ่​่�น

พ.ศ. 2560 (ค.ศ. 2017) • อดี​ีตประธานโรตารี​ีสากล พิ​ิชั​ัย รั​ัตตกุ​ุล ได้​้ริ​ิเริ่​่�มโครงการ

แก้​้มลิ​ิงในพระราชดำำ�ริ​ิฯ ณ หนองโนนต่​่าย ต. โพนงาม อ. อากาศอำำ�นวย จ. สกลนคร เพื่​่�อเป็​็นการแสดงความรั​ักอย่​่าง เป็​็นรู​ูปธรรมของโรแทเรี​ียนที่​่�มีต่ี ่อในหลวงรั​ัชกาลที่​่� 9 โครงการนี้​้� ท่​่านพิ​ิชั​ัย รั​ัตตกุ​ุล เป็​็นประธานโครงการ อผภ.วิ​ิชั​ัย มณี​ีวั​ัชรเกี​ียรติ​ิ เป็​็นหั​ัวหน้​้าคณะทำำ�งาน อน.จรั​ัล พั​ัฒน์​์จร (สโมสรโรตารี​ีพั​ังงา) เป็​็นผู้​้�จั​ัดการสวนและต้​้นไม้​้ และสมาชิ​ิกสโมสรโรตารี​ีสกลนครเป็​็นหั​ัวเรี่​่�ยวหั​ัวแรงในพื้​้�นที่​่� นอกจากแก้​้มลิ​ิงแล้​้ว ยั​ังมี​ีโครงการปรั​ับภู​ูมิ​ิทั​ัศน์​์ “บึ​ึงแห่​่ง ความรั​ัก” (The Lake of Love) จั​ัดสร้​้าง ‘ศาลาการุ​ุณย์​์’ ซึ่​่�ง เป็​็นศาลา 9 เหลี่​่�ยม อาคารบำำ�บั​ัดน้ำำ�� อาคารเอนกประสงค์​์ ลานกี​ีฬา สนามเด็​็กเล่​่น เป็​็นต้​้น ใช้​้งบประมาณ 31 ล้​้านบาท เศษ ซึ่​่�งเป็​็นเงิ​ินบริ​ิจาคจากโรแทเรี​ียน นั​ักธุ​ุรกิ​ิจชาวจี​ีน บริ​ิษั​ัท ห้​้างร้​้านและบุ​ุคคลทั่​่�วไป • นิ​ิตยสารโรตารี​ีประเทศไทยเป็​็นเจ้​้าภาพจั​ัดสั​ัมมนา บรรณาธิ​ิการนิ​ิตยสารโรตารี​ีระดั​ับภู​ูมิ​ิภาคเอเชี​ียแปซิ​ิฟิ​ิก ที่​่�ศู​ูนย์​์โรตารี​ีฯ (1-3 พ.ย.) มี​ีผู้​้�ร่​่วมประชุ​ุมจาก 7 ประเทศ • โรแทเรี​ียนทั้​้�ง 4 ภาคร่​่วมกั​ันปั่​่�นจั​ักรยานจากภาคเหนื​ือ ภาคใต้​้และภาคตะวั​ันออกเฉี​ียงเหนื​ือเดิ​ินทางเข้​้าสู่​่�กรุ​ุงเทพฯ เพื่​่�อเข้​้าร่​่วมกราบพระบรมศพพระบาทสมเด็​็จพระปรมิ​ินทรม หาภู​ูมิ​ิพลอดุ​ุลยเดชฯ รั​ัชกาลที่​่� 9 ในโครงการ “โรตารี​ีทั่​่�วไทย รวมใจเทิ​ิดไท้​้ ราชาแห่​่งราชั​ันเสด็​็จสู่​่�สวรรคาลั​ัย”

42

มกราคม-กุมภาพันธ์ 2564

พ.ศ. 2561 (ค.ศ. 2018) • อผภ. สุ​ุชาดา อิ​ิทธิ​ิจารุ​ุกุ​ุล จั​ัดงานคอนเสิ​ิร์​์ต

The Lake of Love เพื่​่�อหาทุ​ุนในโครงการแก้​้มลิ​ิงฯ

พ.ศ. 2562 (ค.ศ. 2019) • งานเฉลิ​ิมฉลอง 50 ปี​ีโรทาแรคท์​์ในประเทศไทย (8 เม.ย.)

สโมสรแรกในประเทศไทยคื​ือสโมสรโรทาแรคท์​์วิ​ิทยาลั​ัย ครู​ูนครสวรรค์​์ อุ​ุปถั​ัมภ์​์โดยสโมสรโรตารี​ีนครสวรรค์​์ ได้​้รั​ับ สารตราตั้​้�งเมื่​่�อวั​ันที่​่� 4 พฤศจิ​ิกายน 2511 แต่​่ปั​ัจจุ​ุบั​ันยุ​ุติ​ิ บทบาทแล้​้ว สโมสรที่​่� 2 คื​ือสโมสรโรทาแรคท์​์มหาวิ​ิทยาลั​ัย ธรรมศาสตร์​์ ได้​้รั​ับสารตราตั้​้�งเมื่​่�อวั​ันที่​่� 28 สิ​ิงหาคม 2512 อุ​ุปถั​ัมภ์​์โดยสโมสรธนบุ​ุรี​ี และยั​ังคงดำำ�เนิ​ินการอยู่​่�จนถึ​ึงปั​ัจจุ​ุบั​ัน

พ.ศ. 2563 (ค.ศ. 2020) • ไวรั​ัสโคโรน่​่า (COVID-19) ระบาดไปทั่​่�วโลก มี​ีผู้​้�ติ​ิด

เชื้​้�อมากมาย รั​ัฐบาลประกาศสถานการณ์​์ฉุ​ุกเฉิ​ิน ขอร้​้อง ให้​้ประชาชนอยู่​่�บ้​้าน ทำำ�งานที่​่�บ้​้าน ปิ​ิดสถานบั​ันเทิ​ิง ห้​้างสรรพสิ​ินค้​้าและอื่​่�นๆ แต่​่โรแทเรี​ียนไม่​่หยุ​ุด “บริ​ิการเหนื​ือตน” ทำำ�โครงการเพื่​่�อช่​่วยเหลื​ือประชาชน ในชุ​ุมชน ทั้​้�งแจก/สอนทำำ�หน้​้ากากอนามั​ัย จั​ัดซื้​้�อชุ​ุด PPE หน้​้ากาก N95 ให้​้กั​ับบุ​ุคลากรทางการแพทย์​์ รวมทั้​้�งอุ​ุปกรณ์​์ การแพทย์​์ จั​ัดทำำ�ตู้​้�น้ำำ��ใจปั​ันสุ​ุข/ตู้​้�โรตารี​ีปั​ันสุ​ุข บรรจุ​ุสิ่​่�งของ ที่​่�จำำ�เป็​็นตั้​้�งไว้​้ในย่​่านชุ​ุมชนเพื่​่�อให้​้ผู้​้�ที่​่�มี​ีความต้​้องการสามารถ หยิ​ิบไปใช้​้สอยได้​้


0

Rotary Centre in Thailand ศู​ูนย์​์โรตารี​ีในประเทศไทย

อผภ. อรอนงค์​์ ศิ​ิริ​ิพรมนั​ัส สโมสรโรตารีพลูตาหลวง ประธานอนุกรรมการห้องสมุด ของศูนย์โรตารีในประเทศไทย

- ประธานอนุ​ุกรรมการ Women in Rotary ภาค 3340 - ประธานคณะกรรมการสรรหาผู้​้�ว่า่ การภาค - ผู้​้�บริ​ิหารสถาบั​ันภาษาอั​ังกฤษ ON Academy - อาจารย์​์พิ​ิเศษ แผนกวิ​ิชาสามั​ัญ (ภาษาอั​ังกฤษ) โรงเรี​ียนชุ​ุมพลทหารเรื​ือ สั​ังกั​ัดกรมยุ​ุทธศึ​ึกษา ทหารเรื​ือ RTM : ในระยะ 5-6 ปีมานี้ ภาค 3340 ได้ผู้ว่าการ ภาคสตรีอย่างต่อเนื่อง อาจเป็นไปได้วา่ มีโรแทเรียนผูห้ ญิงเยอะ ขึ้น หากย้อนหลังไปปี 2560 ดิฉันเป็นผู้ว่าการภาค ปีนั้นท่านประธานโรตารีสากล Ian H.S. Riseley บอกว่​่า กว่​่า 28 ปี​ีแล้​้วนั​ับตั้​้ง� แต่​่ RI ยอมให้​้มีสี มาชิ​ิก ผู้​้�หญิ​ิงได้​้ จำำ�นวนสมาชิ​ิกผู้​้�หญิ​ิงเติ​ิบโตช้​้าควรเพิ่​่�ม โดยเร่​่งด่​่วน ท่​่านอยากให้​้มี​ีสมาชิ​ิกชายและหญิ​ิง ในสโมสรสมดุ​ุลกั​ัน ณ เวลานั้​้�นภาค 3340 มี​ี สมาชิ​ิกสตรี​ีเพี​ียง 39% ด้​้วยเหตุ​ุนี้​้� ดิ​ิฉั​ันจึ​ึงตั้​้�งต้​้น รณรงค์​์สนั​ับสนุ​ุนความเป็​็นผู้​้�นำำ�ของผู้​้�หญิ​ิงในโรตารี​ี

มาตลอด (Women in Rotary) และมั่​่�นใจว่​่าจำำ�นวนโรแทเรี​ียนสตรี​ีในภาคจะเพิ่​่�มขึ้​้น� อย่​่างแน่​่นอน อดีตผู้ว่าการภาคที่เป็นชายก็เร่งเติมเสริมแรงสนับสนุนแคมเปญนี้ ดูได้จากตัวเลขขยับขึ้นทุกปี อย่างน่าพอใจ ปัจจุบันสัดส่วนร้อยละของโรแทเรียนผู้หญิงกับผู้ชายเกือบจะสมดุล อย่างปีน้ี 45.54% และนี่เองท�ำให้เราได้ผู้หญิงเก่งมาเป็นผู้ว่าการภาคอย่างต่อเนื่อง รวมแล้ว 5 ท่าน RTM : ทำำ�ไมศู​ูนย์​์โรตารี​ีฯ ต้​้องมี​ีกรรมการห้​้องสมุ​ุด ทำำ�หน้​้าที่​่�อะไร ดู​ูแลอะไรบ้​้าง ห้​้องสมุ​ุดภายในศู​ูนย์​์โรตารี​ี เป็​็นแหล่​่งทรั​ัพยากรของสโมสรโรตารี​ี 4 ภาค มี​ีพื้​้น� ที่​่�ส่​่วน หนึง่ เก็บรักษาต�ำรับต�ำราข้อมูล นิตยสารโรตารีประเทศไทยและโรตารีสากล และเอกสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับโรตารี ระบบจัดหนังสือจึงแตกต่างจากห้องสมุดทั่วไป ในส่วนนี้จัดแยกประเภท หนังสือ จัดวางตามล�ำดับปี หรือตามลักษณะการใช้สอยให้เกิดความสะดวก รวดเร็ว เนื่องจาก ที่มีอยู่เดิมถูกจัดไว้เกือบสมบูรณ์แล้ว มีบางส่วนที่ต้องเก็บโยกย้ายเพื่อควบคุมพื้นที่ นอกจากนี้ ยั​ังมี​ีพื้​้�นที่​่�อี​ีกส่​่วนจั​ัดแสดงภาพบุ​ุคคลสำำ�คั​ัญในประวั​ัติ​ิศาตร์​์โรตารี​ีประเทศไทย รวมถึ​ึงภาพของ อดี​ีตผู้​้�ว่​่าการภาคทั้​้�ง 4 ภาค พื้​้�นที่​่�อื่​่�นๆ อี​ีกที่​่�ใช้​้เก็​็บรั​ักษาของที่​่�ระลึ​ึกกว่​่าพั​ันชิ้​้�น โดยที่​่� ฯพณฯ พิ​ิชั​ัย รั​ัตตกุ​ุล ได้​้มาจากโรตารี​ีทั้​้�งในและต่​่างประเทศ ขณะท่​่านดำำ�รงตำำ�แหน่​่ง ประธานโรตารี​ี สากล รวมทั้​้�งสิ่​่�งละอั​ันพั​ันละน้​้อยที่​่�ท่​่านมอบไว้​้ให้​้เป็​็นสมบั​ัติ​ิของโรตารี​ีในประเทศไทย ล้​้วนมี​ี คุ​ุณค่​่าทางประวั​ัติ​ิศาสตร์​์ งานที่​่�เกี่​่�ยวข้​้องคื​ือการเก็​็บรั​ักษาและเผยแพร่​่ให้​้ชาวโรแทเรี​ียนใน ประเทศไทยและทั่​่�วโลกได้​้รั​ับรู้​้� นี่​่�คื​ือหน้​้าที่​่�ความรั​ับผิ​ิดชอบของกรรมการห้​้องสมุ​ุด RTM : มี​ีหลายอย่​่างที่​่ท่� ่านจะทำำ�ในวาระ 2 ปี​ีนี้​้� เริ่​่�มงานอะไรไปบ้​้าง มี​ีความยากง่​่ายอย่​่างไร งานแรกที่​่�ดิ​ิฉั​ันได้​้ดำำ�เนิ​ินการไปแล้​้วคื​ือ ลงทะเบี​ียนทรั​ัพย์​์สิ​ินภั​ัณฑ์​์ หมายถึ​ึงของที่​่� ระลึ​ึกที่​่�ท่​่านพิ​ิชั​ัยมอบไว้​้ โดยทางเจ้​้าหน้​้าที่​่�ศู​ูนย์​์ฯ ช่​่วยกั​ันระดมกำำ�ลั​ังถ่​่ายภาพ ลงเลขที่​่�กำำ�กั​ับ ทำำ�บั​ันทึ​ึก งานต่​่อไปคื​ือปรั​ับปรุ​ุงพื้​้�นที่​่�แยกโซน งานนี้​้�เป็​็นงานยาก มี​ีข้​้อมู​ูลรายละเอี​ียดที่​่�ต้​้อง สื​ืบค้​้นอี​ีกเยอะแยะมากมาย ข้​้อมู​ูลต้​้องถู​ูกต้​้องแม่​่นยำำ� ต้​้องใช้​้ผู้​้�มีปี ระสบการณ์​์มาร่​่วมคิ​ิดร่​่วมทำำ� ภายใต้​้โครงการ “จารึ​ึกไว้​้ในโรตารี​ีประเทศไทย” โดยแบ่​่งเป็​็น 5 โซน โซน 1 ห้​้องสมุ​ุด โซน 2 ห้​้องเกี​ียรติ​ิยศ โซน 3 ภาพถ่​่ายอดี​ีตผู้​้�ว่​่าการภาค ทั้​้�ง 3 โซนนี้​้� มี​ีของเดิ​ิมอยู่​่�แล้​้วเพิ่​่�มเติ​ิม อี​ีกเล็​็กน้​้อยเพื่​่�อให้​้เป็​็นปั​ัจจุ​ุบั​ัน โซน 4 ภาพประวั​ัติ​ิศาสตร์​์โรตารี​ีในประเทศไทย โซนนี้​้�ใช้​้พื้​้�นที่​่� ห้​้องผู้​้�ว่​่าการภาค แสดงภาพปู​ูมหลั​ังโรตารี​ี มี​ีเนื้​้�อเรื่​่�องประกอบ เช่​่น หมู่​่�บ้​้านโรตารี​ีหลั​ังเหตุ​ุการณ์​์ สึ​ึนามิ​ิ จั​ักรยานโรตารี​ีทั่​่�วไทยร่​่วมใจเทิ​ิดไท้​้ฯ หลั​ังการสวรรคต ร.9 การก่​่อสร้​้างหนองโนนต่​่าย การรณรงค์​์หยุ​ุดโปลิ​ิโอ และเหตุ​ุการณ์​์สำำ�คั​ัญๆ อื่​่�นๆ อี​ีกเป็​็นต้​้น โซน 5 ส่​่วนการจั​ัดแสดง ทรั​ัพย์​์สินิ ภั​ัณฑ์​์ โซนนี้​้�ใช้​้วิธีิ กี ระจายพื้​้�นที่​่�เท่​่าที่​่�จะอำำ�นวย เพิ่​่�มเติ​ิมคื​ือแผ่​่นป้​้ายเขี​ียนข้​้อความสำำ�คั​ัญ ทั้​้�งภาษาไทย ภาษาอั​ังกฤษ และ QR Code งานในอนาคตคื​ือ เผยแพร่​่ทางเว็​็บไซต์​์ของโรตารี​ี ประเทศไทย เรื่​่�องหลั​ังนี่​่�ง่​่าย เรามี​ีเว็​็บไซต์​์ www.rotarythailand.org พร้​้อมอยู่​่�แล้​้ว งานทั้​้�งหมดนี้​้�ไม่​่สามารถเกิ​ิดขึ้​้�นได้​้หากไม่​่มี​ี 4M’s ดิ​ิฉั​ันเชิ​ิญผู้​้�สั​ันทั​ัดกรณี​ีอี​ีก 6 ท่​่าน เป็​็นคณะอนุ​ุกรรมการห้​้องสมุ​ุด ดั​ังมี​ี อผภ. วิ​ิชัยั มณี​ีวัชั รเกี​ียรติ​ิ (สมุ​ุทรปราการ) อผภ. รั​ัฐประที​ีป กี​ีรติ​ิอุ​ุไร (นครราชสี​ีมา) อผภ. สมภพ ธี​ีระสานต์​์ (กาญจนบุ​ุรี​ี) อผภ. นิ​ิธิ​ิ สู​ูงสว่​่าง (น่​่าน) อน. จงกลดี​ี พงษ์​์ศรี​ี (บึ​ึงกุ่​่�ม) ทั้​้�งนี้​้� อผภ. สมภพ สุ​ุขสิ​ิงห์​์ (คั​ันนายาว) เชิ​ิญเป็​็นที่​่�ปรึ​ึกษาร่​่วมกั​ัน ระดมสมองทำำ�งานโครงการนี้​้�ให้​้สำำ�เร็​็จคาดว่​่าภายใน 2 ปี​ี RTM : โครงการ “จารึ​ึกไว้​้ในโรตารี​ีประเทศไทย”นี้​้� ท่านคาด ่ หวั​ังว่​่าจะเกิ​ิดประโยชน์​์อย่​่างใดบ้​้าง โครงการ “จารึ​ึกไว้​้ในโรตารี​ีประเทศไทย” นี้​้�ทำำ�ขึ้​้�นเพื่​่�อเพิ่​่�มคุ​ุณค่​่าทางประวั​ัติ​ิศาสตร์​์ โรตารี​ีในประเทศไทย เมื่​่�อโครงการนี้​้� สำำ�เร็​็จ จะเป็​็นแหล่​่งค้​้นคว้​้าหลั​ักของโรตารี​ีในประเทศไทย แหล่​่งเรี​ียนรู้​้�ของโรแทเรี​ียนใหม่​่ๆ คล้​้ายกั​ับเป็​็น Mini Museum กลายๆ เป็​็นสถานที่​่�ต้​้อนรั​ับ โรแทเรี​ียน VIP ต่​่างประเทศ โรแทเรี​ียนและบุ​ุคคลที่​่�ไม่​่ใช่​่โรแทเรี​ียนเข้​้าเยี่​่�ยมชมได้​้ โดยเราจะมี​ี โครงการอบรมมั​ัคคุ​ุเทศก์​์อาสามารองรั​ับอี​ีกที​ี จุ​ุดประสงค์​์โครงการนี้​้�ก็​็เพื่​่�อส่​่งเสริ​ิมความภาค ภู​ูมิ​ิใจในการเป็​็นโรแทเรี​ียน สร้​้างแรงบั​ันดาลใจที่​่�จะทำำ�ดี​ีเพื่​่�อโลก สร้​้างเสริ​ิมจิ​ิตสำำ�นึ​ึกการเป็​็น โรแทเรี​ียน ด้​้วยการกระทำำ� (hands on) เผยแพร่​่สื่​่�อสารให้​้ชาวโรแทเรี​ียนในประเทศและทั่​่�วโลก ได้​้รั​ับรู้​้� และนั่​่�นหมายถึ​ึงห้​้องสมุ​ุดภายในศู​ูนย์​์โรตารี​ีแห่​่งนี้​้�สามารถดึ​ึงดู​ูดใจโรแทเรี​ียนและ ประชาชนที่​่�สนใจ จุ​ุ ด ประกายความคิ​ิ ด “ผู้​้�บริ​ิ ก ารเหนื​ื อ ตน Service above Self” เป็​็นส่​่วนหนึ่​่�งที่​่�เพิ่​่�มพู​ูนจำำ�นวนโรแทเรี​ียนได้​้


สารประธานศู​ูนย์​์โรตารี​ีในประเทศไทย อผภ. วิ​ิวั​ัฒน์​์ ศิ​ิริ​ิจางคพั​ัฒนา สวั​ัสดี​ีครั​ับ มิ​ิตรโรแทเรี​ียนทุ​ุกท่​่าน ถึ​ึงแม้​้ว่​่าวั​ัคซี​ีนป้​้องกั​ันโรคโควิ​ิด-19 ได้​้ถู​ูกพั​ัฒนาขึ้​้�นเป็​็นผลสำำ�เร็​็จ และมี​ีการนำำ�ไปฉี​ีดให้​้กั​ับ ประชาชนในหลายประเทศแล้​้ว แต่​่สถานการณ์​์การระบาดของโรคโควิ​ิค-19 ทั้​้�งในระดั​ับโลกและ ในประเทศไทยของเราเองก็​็ยั​ังไม่​่คลี่​่�คลาย โดยยั​ังมี​ีจำำ�นวนผู้​้�ติ​ิดเชื้​้�อเพิ่​่�มขึ้​้�นอย่​่างต่​่อเนื่​่�อง ด้​้วยเหตุ​ุนี้​้� คณะกรรมการบริ​ิหารโรตารี​ีสากลจึ​ึงได้​้มี​ีมติ​ิจั​ัดการประชุ​ุม International Assembly ประจำำ�ปี​ี โรตารี​ี 2564 ในแบบการประชุ​ุมเสมื​ือนจริ​ิง (Virtual Event) ในระหว่​่างวั​ันที่​่� 1-11 กุ​ุมภาพั​ันธ์​์ 2564 ทั้​้�งนี้​้�ด้​้วยเหตุ​ุผลด้​้านสุ​ุขภาพและความปลอดภั​ัยของผู้​้�เข้​้าร่​่วมทุ​ุกคน การประชุ​ุม International Assembly ในครั้​้�งนี้​้� จะมี​ีผู้​้�ว่​่าการภาครั​ับเลื​ือกและผู้​้�แทน โรทาแรคท์​์เทอร์​์จากทุ​ุกภาคทั่​่�วโลก มาร่​่วมหารื​ือกั​ันผ่​่านระบบออนไลน์​์ถึ​ึงผลกระทบของการบริ​ิการ ของเรา ผลของการร่​่วมกั​ันทำำ�สิ่​่�งดี​ีให้​้แก่​่โลกของโรแทเรี​ียนและโรทาแรคท์​์เทอร์​์ และความสำำ�คั​ัญของ การบอกเล่​่าเรื่​่�องราวของเราแก่​่ผู้​้�คน โดยไม่​่ลื​ืมที่​่�จะให้​้ความสำำ�คั​ัญเกี่​่�ยวกั​ับสมาชิ​ิกภาพ และการมี​ี ส่​่วนร่​่วมของโรแทเรี​ียนและโรทาแรคท์​์เทอร์​์ทุ​ุกคน ในการทำำ�ให้​้โรตารี​ีสากลเจริ​ิญก้​้าวหน้​้ายิ่​่�งๆ ขึ้​้�นไป มิ​ิตรโรแทเรี​ียนที่​่�รั​ักทุ​ุกท่​่าน การประชุ​ุมที่​่�สำำ�คั​ัญที่​่�สุ​ุดของโรตารี​ีสากล ก็​็คื​ือ Rotary International Convention หรื​ือการประชุ​ุมใหญ่​่โรตารี​ีสากล สื​ืบเนื่​่�องจากการระบาดของโรค โควิ​ิด-19 ที่​่�ยังั คงมี​ีผู้​้�ติดิ เชื้​้อ� มากกว่​่า 100 ล้​้านคน เสี​ียชี​ีวิติ มากกว่​่า 2 ล้​้านคนในขณะนี้​้� คณะกรรมการ บริ​ิหารโรตารี​ีสากลจึ​ึงได้​้ประกาศว่​่าการจั​ัดการประชุ​ุมใหญ่​่โรตารี​ีสากลประจำำ�ปี​ี 2564 ที่​่�เดิ​ิมกำำ�หนด จั​ัดขึ้​้�นในระหว่​่างวั​ันที่​่� 12-16 มิ​ิถุ​ุนายน ที่​่�เมื​ืองไทเป ประเทศไต้​้หวั​ันนั้​้�น จำำ�เป็​็นต้​้องจั​ัดในแบบ เสมื​ือนจริ​ิง (Virtual Event) เช่​่นเดี​ียวกั​ับการประชุ​ุมใหญ่​่โรตารี​ีสากลที่​่�ฮอนโนลู​ูลู​ู ฮาวาย ในปี​ี 2563 ที่​่�ผ่​่านมา ซึ่​่�งถึ​ึงแม้​้จะเป็​็นการการประชุ​ุมแบบวิ​ิถี​ีปกติ​ิใหม่​่ (New Normal) แต่​่ก็​็มี​ีผู้​้�ที่​่�เข้​้าร่​่วม ทางออนไลน์​์เป็​็นจำำ�นวนมาก หวั​ังเป็​็นอย่​่างยิ่​่�งว่​่า เมื่​่�อถึ​ึงวั​ันที่​่�สถานการณ์​์คลี่�ค่ ลาย เราจะสามารถไปร่​่วมการประชุ​ุมใหญ่​่ โรตารี​ีสากลแบบพบหน้​้าได้​้อี​ีกครั้​้�ง เพื่​่�อเฉลิ​ิมฉลองการก้​้าวผ่​่านวิ​ิกฤตการณ์​์ครั้​้�งใหญ่​่ที่​่�สุ​ุดครั้​้�งหนึ่​่�ง ในประวั​ัติ​ิศาสตร์​์ของมวลมนุ​ุษยชาติ​ินี้​้�ด้​้วยกั​ัน ซึ่​่�งผมเชื่​่�อมั่​่�นเป็​็นอย่​่างยิ่​่�งว่​่า พวกเราชาวโรแทเรี​ียนใน ทั่​่�วทุ​ุกมุ​ุมโลก ต่​่างมี​ีส่​่วนร่​่วมในการช่​่วยเหลื​ือและบรรเทาผลกระทบของการระบาดของโรคร้​้าย โควิ​ิด-19 นี้​้�ไม่​่มากก็​็น้​้อย ทั้​้�งในระดั​ับชุ​ุมชน ระดั​ับประเทศและระดั​ับโลก ด้​้วยไมตรี​ีจิ​ิตแห่​่งโรตารี​ี (วิ​ิวั​ัฒน์​์ ศิ​ิริ​ิจางคพั​ัฒนา) ผู้​้�ว่​่าการภาค 3360 โรตารี​ีสากล ปี​ี 2546-2547 ประธานคณะกรรมการบริ​ิหารศู​ูนย์​์ในโรตารี​ี ปี​ี 2563-2565

ตั​ัวเลขโรตารี​ี ข้​้อมู​ูล ณ วั​ันที่​่� 1 มกราคม 2564 (ในวงเล็​็บข้​้อมู​ูล ณ วั​ันที่​่� 1 กรกฎาคม 2563) ภาค 3330 3340 3350 3360 สมาชิก สโมสร

รวม

2,379 (2,289) 1,397 (1,336) 3,117 (2,860) 1,423 (1,411) 8,316 (7,896)

101 (101) 44

มกราคม-กุมภาพันธ์ 2564

63 (63)

118 (116)

69 (69)

351 (349)


มาร่วมมือกัน

Transform สโมสรโรตารีสนามจันทร์

นำำโดย นย.นิ​ิรมล ศรี​ีวิ​ิลั​ัย พร้​้อมสมาชิ​ิก ร่​่วมกิ​ิจกรรม “โครงการส่​่งเสริ​ิมการมี​ีส่​่วนร่​่วมผู้​้�สู​ูงอายุ​ุ สร้​้างอาชี​ีพ สร้​้างรายได้​้ มี​ีคุ​ุณค่​่า พึ่​่�งพาตนเอง“ โดยมี​ีผู้​้�สู​ูงอายุ​ุเข้​้าร่​่วมอบรมทั้​้�งหมด 60 ท่​่าน ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลบ้านเทียนดัด ต�ำบลบ้านใหม่ อ�ำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม


Save Lives มาร่วมมือกัน

สโมสรโรตารี​ีพนมเปญแคปิ​ิตอล

หลายๆ ชี​ีวิ​ิตปลอดภั​ัย เริ่​่�มจากการได้​้ดื่​่�มน้ำำ��ที่​่�สะอาด สโมสรโรตารี​ีจึ​ึงได้​้ช่​่วยกั​ันจั​ัดหาระบบกรองน้ำำ��ดื่​่�ม ที่​่�ง่​่ายในการบำำรุ​ุงรั​ักษาให้​้กั​ับชุ​ุมชน เราทำำงานร่​่วมกั​ันเพื่​่�อชี​ีวิ​ิตที่​่�ปลอดภั​ัย แบบคนพู​ูดจริ​ิงทำำจริ​ิง ชมเรื่​่�องราวดี​ีๆ ได้​้ที่​่� https://www.facebook.com/RotaryClubOfPhnomPenhCapital


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.