Rotary Thailand Magazine

Page 1

rotary Thailand

นิตยสารรายสองเดือน ปีที่ 30 ฉบับที่ 142 กันยายน - ตุลาคม 2555 September - October 2012

โ ร ต า รี ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย w w w . r o t a r y t h a i l a n d . o r g

New Generation


โรตารี คืออะไร ?

วัตถุประสงค์ของโรตารี

โรตารี คือ องค์กรของนักธุรกิจและวิชาชีพจาก ทั่วโลก ซึ่งบ�ำเพ็ญประโยชน์เพื่อเพื่อนมนุษย์ ส่งเสริม มาตรฐานจรรยาบรรณในทุกวิชาชีพพร้อมทั้งช่วยสร้าง ไมตรีจิต และสันติสุขในโลก

The Object of Rotary The object of Rotary is to encourage and foster the ideal of service as a basis of worthy enterprise and, in particular, to encourage and foster :

“Rotary is an organization of business and professional persons united worldwide who provide humanitarian service, encourage high ethical standards in all vocations, and help build good will and peace in the world”

FIRST. The development of acquintance as an opportunity for service; SECOND. High ethical standards in business and professions, the recognition of the worthiness of all useful occupations, and the dignifying of each Rotarian’s occupation as an opportunity to serve society; THIRD. The application of the iedal of service in each Rotarian’s personal, business, and community life;

บททดสอบสี่แนวทาง The Four-Way Test Of the things we think, say or do

FOURTH. The advancement of international understanding, goodwill, and peace through a world fellowship of business, and professional persons united in the ideal of service. วัตถุประสงค์ของโรตารี โรตารีมวี ตั ถุประสงค์ เพือ่ สนับสนุนและส่งเสริมอุดมการณ์ แห่งการบ�ำเพ็ญประโยชน์ ในการด�ำเนินกิจกรรมที่มีคุณค่าเป็นหลัก โดยเฉพาะอย่างยิ่งเพื่อสนับสนุนและส่งเสริม

1) Is it the TRUTH?

หนึ่ง การเสริมสร้างความคุ้นเคยระหว่างสมาชิก เพื่อการบ�ำเพ็ญ ประโยชน์

2) Is it FAIR to all concerned?

สอง การยกระดับจรรยาบรรณในธุรกิจและวิชาชีพ การยอมรับ

3) Will it build GOODWILL and BETTER FRIENDSHIPS?

คุณค่าในการประกอบอาชีพทีย่ งั คุณประโยชน์ และการให้โรแทเรียน ทุกคนภูมิใจในอาชีพของตน เพื่อการบ�ำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคม

4) Will it be BENEFICIAL to all concerned?

สาม การให้โรแทเรียนทุกคน น�ำเอาอุดมการณ์แห่งการบ�ำเพ็ญ

“ไม่ว่าสิ่งใดที่เราคิด พูดหรือปฏิบัตินั้น 1. เป็นจริงหรือไม่ 2. เป็นธรรมไหมต่อทุกสิ่ง 3. จะสร้างเสริมไมตรีจิตและ มิตรภาพหรือไม่ 4. เป็นประโยชน์ไหมแก่ทุกฝ่าย”

ประโยชน์ไปใช้ในชีวิตส่วนตัว ธุรกิจและชุมชน

สี่ การเพิม่ พูนความเข้าใจ ไมตรีจติ และสันติสขุ ระหว่างชาติ ด้วยมิตร

สัมพันธ์ของบุคคลในธุรกิจและวิชาชีพทั่วโลก ที่มีอุดมการณ์ในการ บ�ำเพ็ญประโยชน์อย่างเดียวกัน

At a Glance

สถิติ ถึง 29 มิถุนายน 2012

Rotary Members: 1,230,551* Clubs: 34,404*

Rotaract Members: Interact Members: 215,924 338,836 Clubs: 9,388 Clubs: 14,732

( * ถึง 31 พฤษภาคม 2012 )

Rotary Community Corps Members: 171,120 Corps: 7,440


สารประธานโรตารีสากล ซากุจิ ทานากะ กันยายน 2555

มิตรโรแทเรียนที่รัก หลายๆ ท่านคงทราบแล้วว่าปัจจุบนั โรตารีของเรามีแนวทางบริการ 5 บริการในการบ�ำเพ็ญประโยชน์ บริการที่ 5 ซึ่งเป็นบริการที่ใหม่ล่าสุดก็คือ บริการชนรุ่นใหม่ ซึ่งมีวิธีการให้บริการแนวทางใหม่หลายแบบ ขอให้ท่านติดตามอ่านรายละเอียดต่อไปในนิตยสาร (โรตารี) ประจ�ำเดือนนี้ งานต่างๆ ทั้งหลายของเราในการให้การศึกษาแก่เด็กๆ การปรับปรุงสุขอนามัยแม่และเด็ก การช่วยเหลือสุขภาพชีวติ ครอบครัวให้ดยี งิ่ ขึน้ งานเหล่านีค้ อื การบริการแก่ชนรุน่ ใหม่ และเรายังให้บริการด้วย การกวาดล้างโปลิโอ ช่วยให้เด็กรุ่นต่อไปในอนาคตได้เกิดมาในโลกที่ปลอดโปลิโอแล้ว โปรแกรมส�ำหรับเด็กและเยาวชนคนหนุ่มสาว เช่น โรทาแรคท์, อินเทอร์แรคท์, ค่ายอบรมเยาวชน ผู้น�ำโรตารี และเยาวชนแลกเปลี่ยนของโรตารี คือส่วนประกอบที่ส�ำคัญมากในบริการชนรุ่นใหม่นี้ จึงขอให้ เราจดจ�ำเสมอว่าเด็กเยาวชนวันนี้ คือผูน้ ำ� ของวันพรุง่ นี้ โปรดช่วยกันพัฒนาผูน้ ำ� รุน่ หนุม่ สาวและน�ำคนหนุม่ สาว เข้ามาเป็นสมาชิกสโมสร เพื่อสร้างชุมชนของเรา และอนาคตของโรตารีให้เข้มแข็งต่อไป ผมเป็นนักขายมานานเกือบทัง้ ชีวติ ผมทราบมานานแล้วว่า การเป็นนักขายทีด่ ยี งั ไม่พอ ท่านต้องมี สินค้าที่ดีด้วย นักขายที่ดีจะประสบผลส�ำเร็จในการขายครั้งแรก แต่ถ้าหากสินค้าของท่านไม่ดีจริง ท่านอาจ ขายได้ในครั้งแรก แต่การขายครั้งต่อไปอาจไม่ส�ำเร็จ ดังนั้นการน�ำสมาชิกใหม่เข้ามาจึงยังไม่เพียงพอ เราต้องการให้พวกเขาอยู่ตลอดไป เราต้องการ สมาชิกใหม่วัยหนุม่ สาว มาเป็นสมาชิกทีย่ ืนยาวตลอดไป ต้องการให้เขาเป็นผูน้ �ำโรตารีได้ในอีก 10, 20 หรือ 30 ปี ข้างหน้าด้วย แล้วเราจะท�ำได้อย่างไรกัน ขอให้เรามองที่สินค้าของเรา ให้เรามองโรตารี มิใช่มองด้วยดวงตาของ เราเท่านัน้ แต่ให้ใช้ดวงตาของคนรุน่ ใหม่ดว้ ย เมือ่ เราไปเชิญสมาชิกใหม่คนหนึง่ แต่หากเขาตอบปฏิเสธ ขอให้ เราถามเหตุผลเขาว่าท�ำไม มิใช่เราไปกดดันให้เขาเข้ามาเป็นสมาชิก แต่เพือ่ หาข้อมูลเพิม่ เติมว่า เรามีอปุ สรรค อะไรในการหาสมาชิก? เวลาประชุมสะดวกหรือไม่? ใช้เวลาประชุมนานเกินไปหรือเปล่า? หรือมีปญ ั หาอืน่ ใด ที่เรายังไม่ทราบ? เราจ�ำเป็นต้องสอบถาม เราจ�ำเป็นต้องเปิดใจของเราในการรับค�ำตอบด้วย เราไม่อาจกล่าวว่า “ไม่ได้ เราไม่ได้ทำ� แบบนี”้ เพราะว่าเราไม่เคยกระท�ำกันมาก่อน ท�ำไมเราไม่มคี นดูแลเด็กๆ ในระหว่างการประชุม? ท�ำไมเราไม่เชิญครอบครัวมาร่วมกิจกรรมโครงการของเรา? ท�ำไมเราไม่ลดหย่อนระเบียบข้อบังคับในการเข้า ประชุมให้เข้มงวดน้อยลง หรือว่า พวกเรางดประชุมกันบ่อยๆ? บริการใหม่ของโรตารีบริการชนรุ่นใหม่นี้เป็นก้าวที่ส�ำคัญมากเพื่อให้มั่นใจในการสร้างคนรุ่นใหม่ ในอนาคต และในบริการเหนือตนเองของโรตารี

ซากุจิ ทานากะ ประธานโรตารีสากล 2012-13


สารประธานโรตารีสากล ซากุจิ ทานากะ ตุลาคม 2555

มิตรโรแทเรียนที่รัก โรแทเรียนแต่ละคนมีความแตกต่างกัน และแต่ละคนได้รบั เชิญเข้ามาในโรตารีดว้ ยเหตุผลแตกต่างกัน โรแทเรียนจ�ำนวนมากยังจ�ำได้ชัดเจนถึงความประทับใจครั้งแรกของเขาใน “ช่วงเวลาประทับใจในโรตารี” (Rotary Moments) ช่วงเวลาทีพ่ วกเขาเปลีย่ นตนเองจากสมาชิกสโมสรโรตารีมาเป็นโรแทเรียนผูม้ งุ่ อุทศิ ตน ผมชอบฟังเรื่องราวที่กล่าวมานี้และชอบเรียนรู้ทุกสิ่งที่ดึงดูดโรแทเรียนแต่ละคนเข้ามาในโรตารี ส�ำหรับบางคนอาจอยู่ที่ส�ำนักงานโรตารี อาจอยู่ที่โครงการใดโครงการหนึ่ง หรือในการประชุมใหญ่โรตารี สากล แต่ส�ำหรับผมนั้น คือการได้เป็นผู้บรรยายในการประชุมประจ�ำสัปดาห์ๆ หนึ่งของสโมสรโรตารี ยาชิโอะ หลังจากที่เข้าเป็นสมาชิกได้ประมาณ 2 ปี ผมเป็นสมาชิกก่อตัง้ ในสโมสรของผม และได้รบั เชิญเข้ามาโดยนายกก่อตัง้ สโมสร ผมยังไม่เคยทราบ เรื่องโรตารีมาก่อน และในขณะนั้น ผมไม่ทราบว่าการให้บริการนั้นหมายถึงอะไร เพราะว่าเพิ่งย้ายมาจาก โตเกียว ผมจึงเป็นคนใหม่ในเมืองยาชิโอะ ไม่รู้จักผู้คนมากเท่าใด ผมคิดว่าโรตารีน่าจะเป็นหนทางที่ดีส�ำหรับ การมีเพื่อนและมีประโยชน์ในการท�ำธุรกิจด้วย โดยส่วนตัวผมมีความนับถือผู้ที่เชิญชวนผมอยู่แล้ว จึงได้มา เป็นสมาชิกก่อตั้งด้วยคนหนึ่ง ขอกล่าวด้วยความสัตย์จริงว่า ตลอดสองปีแรกนั้น เราไม่ค่อยได้ท�ำอะไรมากนัก เรามาประชุมทุก สัปดาห์ มารับประทานอาหารกลางวัน มาฟังผู้บรรยาย ช�ำระค่าบ�ำรุงและบริจาคเงินให้มูลนิธิโรตารี แต่ว่า ผมก็ยังมิได้มีส่วนร่วมในการบ� ำเพ็ญประโยชน์ใดๆ ผมไม่เคยทราบว่าการบ� ำเพ็ญประโยชน์ของโรตารี เป็นอย่างไรด้วย แต่ทั้งหมดได้เปลี่ยนไปภายในสัปดาห์หนึ่ง เมื่อเรามีผู้บรรยายคนหนึ่งมาพูดเรื่องบริการด้านอาชีพ ซึ่งเป็นแนวคิดใหม่ส�ำหรับผม ขณะนั้น ผมยังไม่เคยคิดลึกซึ้งถึงจุดมุ่งหมายในชีวิต หรือเหตุผลที่ผมมาอยู่ใน ธุรกิจนี้ เพราะผมมุ่งแต่ท�ำงานมากเกินไป จึงคิดแต่เรื่องธุรกิจของผม มุ่งหาวิธีที่ท�ำให้ธุรกิจเติบโตขึ้น ดียิ่งขึ้น ผมยังไม่เคยหยุดคิดพิจารณาจุดประสงค์ในการท�ำงานให้ลึกซึ้งไปกว่านั้น เมื่อเข้าใจแนวคิดในบริการด้านอาชีพครบถ้วนแล้ว ผมก็ได้เปลี่ยนทัศนคติในการท�ำงานของผม ตลอดจนวัตถุประสงค์ในชีวิตตนเองด้วย ผมได้ทราบดีแล้วว่าเป้าหมายในการท�ำงานของบุคคลคนหนึ่ง มิ ใช่ เ พี ย งการหาเงิ น มาเพื่ อ การด� ำ รงชี วิ ต อยู ่ เ ท่ า นั้ น แต่ ยั ง มุ ่ ง หมายให้ เ ป็ น สมาชิ ก ชุ ม ชนที่ รู ้ จั ก เสี ย สละ แบ่ ง ปั น ให้ กั น และกั น เพื่ อ ชุ ม ชนที่ เข้ ม แข็ ง และช่ ว ยเหลื อ ผู ้ อื่ น ให้ มี ส ภาพชี วิ ต ที่ ดี ขึ้ น เมื่ อ มี ค วามรู ้ เข้ า ใจรู ป แบบแนวคิ ด ของการบริ ก ารเหนื อ ตนเอง ผมก็ ไ ด้ เ ปลี่ ย นแปลงชี วิ ต ผมเองด้ ว ย ผมจึ ง มั่ น ใจในการเลื อ กเส้ น ทางชี วิ ต ของผมสู ่ ก ารบริ ก ารโรตารี นี่ คื อ ช่ ว งเวลาประทั บ ใจในโรตารี “My Rotary Moment” ของผม

ซากุจิ ทานากะ ประธานโรตารีสากล 2012-13

02

Rotary Thailand


สารประธานทรัสตีฯ

วิลฟริด เจ.วิลคินสัน กันยายน 2555

จุดเด่นผลงานดีของมูลนิธิ เมื่อเดือนกรกฎาคม ผมได้กล่าวถึงเป้าหมายโดยรวมของมูลนิธิโรตารีที่ก�ำหนดส�ำหรับปี 2555-56 และในเดือนสิงหาคม ผมก็เน้นอีกว่า เราจ�ำเป็นต้องมีเป้าหมาย และเราไม่สามารถก้าวให้ถึงเป้าหมายนั้นได้ หากเราไม่มีแผนงาน ผมขอยกย่องชื่นชมสโมสรและภาคจ�ำนวนมากอย่างใจจริงที่เริ่มออกก้าวเดินไปได้อย่างสวยงาม มีทงั้ แผนงานและเป้าหมาย แต่อย่างไรก็ดี ประสบการณ์โรตารีเกือบ 50 ปีของผมบอกให้ทราบว่ายังมีสโมสร และภาคในจ�ำนวนที่มากกว่า ที่เพิ่งเริ่มต้นจัดท�ำแผนงานเท่านั้น ผมจึงขอเสนอแนวคิดบางประการ ดังนี้ ขอให้ทุกสโมสรจัดการประชุมขึ้น น�ำเสนอจุดเด่นที่ส�ำคัญ ผลงานดีๆ ที่มูลนิธิโรตารีของเราก�ำลัง ด�ำเนินงานอยู่ บางทีอาจเป็นรายงานจากโครงการสนับสนุนสมทบ (Matching Grant Project) หรือกลุ่ม ศึกษาแลกเปลี่ยน GSE /กลุ่มฝึกงานอาชีพ VTT หรือจัดบรรยายพิเศษ โดยอดีตนักศึกษาทุนสันติภาพ /ทุน ทูตสันถวไมตรี บางครั้งเราอาจเชิญโรแทเรียนจากสโมสรหรือภาคที่ได้เดินทางไปช่วยหยอดวัคซีนโปลิโอ ในวันรณรงค์หยอดวัคซีนประเทศอืน่ ๆ มาบรรยายถึงการท�ำงานด้วยมือ ได้เห็นด้วยตาในการรณรงค์ขจัดโปลิโอ ให้พ้นไปจากโลก หลั ง จากท่ า นได้ เ สนอผลงานส� ำ หรั บ มู ล นิ ธิ โรตารี ข องเราจากทั่ ว โลกแล้ ว เป็ น สิ่ ง ส� ำ คั ญ ทีท่ า่ นจะต้องขอรับการสนับสนุน ขอทัง้ แรงกายและก�ำลังทรัพย์ดว้ ย และขอให้ทา่ นพิจารณาจัดการอภิปราย โครงการของมูลนิธิโรตารีในชุมชนหรือไม่? ท่านควรเชิญชวนสมาชิกทุกคนให้ร่วมบริจาคด้วยหรือไม่? หรืออาจเชิญชวนผู้ที่ยังมิใช่สมาชิกมาร่วมบริจาคด้วยหรือไม่? ควรน�ำเสนอโอกาสทีจ่ ะเป็นสมาชิกพอลแฮริส เฟลโล เป็นผูบ้ ริจาคเมเจอร์โดเนอร์และสมาชิกชมรมผู้บริจาคจากมรดกหรือไม่? การจัดประชุมเรื่องมูลนิธิ ของท่านอาจประสบผลส�ำเร็จดีมาก จนอาจสร้างแรงจูงใจให้ท่านผู้หนึ่งได้มาเป็นสมาชิกชมรมอาร์ค ซี.คลัมพ์ ก็ย่อมได้ ผมจึงขอร้องให้โรแทเรียนทุกๆ ท่านได้กระท�ำแต่สงิ่ ทีด่ ี และทีส่ ำ� คัญยิง่ ไปกว่านัน้ ผมขอให้ทา่ นเชิญชวน ให้ผู้อื่นได้กระท�ำด้วย โลกของเรานีย้ งั ต้องการโรตารี และโรตารีกต็ อ้ งการบุคคลทีค่ ดิ เหมือนๆ กันกับเรามาร่วมงานกับเรา เพื่อสานต่อการท�ำสิ่งดีๆ ในโลกด้วยกัน

วิลฟริด เจ. วิลคินสัน ประธานทรัสตี มูลนิธิโรตารี 2012-2013


สารประธานทรัสตีฯ

วิลฟริด เจ.วิลคินสัน ตุลาคม 2555

แนวทางใหม่สู่บริการด้านอาชีพและกลุ่มฝึกอาชีพ ในปี 2556 ภาคทุกภาคจะมีโอกาสให้การสนับสนุนกลุ่มฝึกอาชีพ VTT ด้วยทุนจากมูลนิธิโรตารี ทีมผู้ฝึกอาชีพเหล่านี้ประกอบด้วยโรแทเรียนและผู้ประกอบอาชีพที่มิใช่โรแทเรียนจะเดินทางไปยังประเทศ ที่ต้องการความช่วยเหลือด้านมนุษยชาติ ไม่ว่าจะเป็นการไปสอนผู้ประกอบอาชีพท้องถิ่นฝึกงานอาชีพใด อาชีพหนึ่งโดยเฉพาะ หรือเป็นการไปศึกษาเรียนรู้ส�ำหรับตนเองก็ตาม กลุ่มฝึกอาชีพ VTT นี้คล้ายกับกลุ่มศึกษาแลกเปลี่ยน GSE ซึ่งอาจสนับสนุนด้วยทุนของภาคที่ ไม่ขาดแคลนในเรือ่ งส�ำคัญทีม่ งุ่ เน้น เช่น ภาค 6200 และภาค 9600 ซึง่ ใช้ทนุ ของภาคในการจัดการแลกเปลีย่ น กลุ่มฝึกอาชีพ VTT ที่เกี่ยวข้องกับผลกระทบสิ่งแวดล้อมจากน�้ำมันที่รั่วจากเรือ และกลุ่มฝึกอาชีพ VTT ยังอาจขอรับการสนับสนุนจากทุนระดับโลก บางภาคได้แสดงความผิดหวังทีม่ ลู นิธมิ ไิ ด้สนับสนุนโปรแกรมกลุม่ ศึกษาแลกเปลีย่ นต่อไป แต่อย่างไร ก็ดี มีอีกหลายภาคที่ประสบความยากล�ำบากในการหาตัวผู้ประกอบอาชีพที่มีคุณสมบัติตามข้อก�ำหนดของ โปรแกรม มีผลให้มูลนิธิต้องมีการยกเว้นเป็นกรณีพิเศษในแนวทางกลุ่มศึกษาแลกเปลี่ยนนับสิบๆ โครงการ ทุกปี เมื่อมาใช้แผนวิสัยทัศน์อนาคตแล้ว ภาคก็ยังสนับสนุนกิจกรรมดังกล่าวโดยใช้ทุนสนับสนุนของภาค และสามารถค้นหาภาค/หุ้นส่วนแลกเปลี่ยน กลุ่มฝึกอาชีพ VTT ที่ใช้ทุนสนับสนุนของภาค ในสื่อสังคมกลุ่ม หุ้นส่วนออนไลน์ LinkedIn/District Grant VTT Partner Forum สิ่งที่แตกต่างจาก GSE คือกลุ่ม VTT นี้ไม่มีการจ�ำกัดอายุของผู้ร่วมโครงการและไม่มีข้อจ�ำกัดเงื่อน เวลาในการฝึกอาชีพ นอกจากนั้นยังเสนอโอกาสให้กลุ่มไปท�ำกิจกรรมที่ต้องลงมือปฏิบัติเพื่อผลกระทบที่ ยั่งยืนตลอดไปดังเช่นที่กลุ่ม GSE จ�ำนวนมากได้ร้องขอไป โปรแกรม GSE ได้ช่วยสร้างความมุ่งมั่นในการฝึก อาชีพของมูลนิธิมาแล้ว ปัจจุบันนี้กลุ่ม VTT ก�ำลังยกระดับความมุ่งมั่นนั้น ขึ้นสู่ระดับใหม่ ที่ทรงพลังมาก ยิ่งขึ้น ผมขอเชิญชวนให้ทุกๆ ภาคได้ใช้ประโยชน์จากบริการเพื่อเพื่อนมนุษย์ ซึ่งสามารถขยายผลโดย กลุ่มฝึกอาชีพ VTT เมื่อเริ่มใช้แผนวิสัยทัศน์อนาคต อย่างสมบูรณ์เต็มที่ในวันที่ 1 กรกฎาคม 2556 แต่ก็ มิได้หมายความว่ามูลนิธิโรตารีของท่านจะไม่อนุญาตให้มีกลุ่ม GSE อีกต่อไป เราสามารถให้ทุนสนับสนุน กลุ่ม GSE ได้จากเงินที่จัดสรรให้ภาค และหลังจากที่คณะกรรมการภาคได้พิจารณาเห็นคุณค่าความส�ำคัญ ของการแลกเปลี่ยนนั้นๆ แล้ว

วิลฟริด เจ. วิลคินสัน ประธานทรัสตี มูลนิธิโรตารี 2012-2013

04

Rotary Thailand


Letters to Editor เรียน บก.ช�ำนาญที่นับถือ ผมมีขอ้ สงสัยมานานแล้วแต่ไม่กล้าถามอดีตผูว้ า่ การภาค ทั้งหลายเพราะเกรงจะถูกหาว่าจะไปจับผิดอะไรท่าน แต่อยาก จะถามท่านในฐานะนักวิชาการโรตารี ซึ่งข้อสงสัยนั้นก็คือข้อ สงสัยเกี่ยวกับบทบาท อ�ำนาจหน้าที่ของสภาอดีตผู้ว่าการภาค ว่ามีบทบาทและหน้าที่มากน้อยแค่ไหนเพียงใด เพื่อที่จะได้เป็น แนวปฏิบัติที่ถูกต้องต่อไปครับ ขอบคุณครับ อน.พรพัฒน์ วัฒนากูล/สร.พิษณุโลก

The authority and/or the responsibility of the governor shall in no way be impaired or impeded by the advice or actions of the past governors. (ค�ำแปล) สภาที่ปรึกษาอดีตผู้ว่าการภาค

แต่ละภาคจะจัดตั้งสภาที่ปรึกษาซึ่งประกอบไปด้วย อดีตผู้ว่าการภาคซึ่งเป็นสมาชิกสโมสรในภาค ผู้ว่าการภาค ควรเรียกประชุมสภาฯ อย่างน้อย 1 ครั้งต่อปีภายในเดือนที่ ต่อจากการประชุมอบรมผู้ว่าการภาครับเลือก (International Assembly) เพือ่ ให้ผวู้ า่ การภาครับเลือกแจ้งข่าวแก่ผวู้ า่ การภาค ไม่แน่ใจว่าค�ำตอบที่ผมจะตอบท่านพรพัฒน์ไปนี้จะ และอดีตผู้ว่าการภาคเกี่ยวกับเรื่องที่มีการถกเถียงหรือน�ำเสนอ เข้าข่ายการขัดกันแห่งผลประโยชน์ (conflict of intersest) หรือไม่ ต่อการประชุมอบรมผู้ว่าการภาครับเลือก (International เพราะผมก็เป็นอดีตผู้ว่าการภาคเช่นกัน แต่เมื่อท่านถามมา Assembly) และผมคิดว่าค�ำถามนี้มีประโยชน์ต่อผู้อ่านทั้งหลาย ผมจึงขอ อ�ำนาจหน้าทีแ่ ละ/หรือความรับผิดชอบของผูว้ า่ การภาค ตอบตามต�ำรานะครับ จากข้อบัญญัติในประมวลนโยบายโรตารี ปี 2012 จะต้องไม่ถกู ท�ำให้เสียไปหรือถูกหน่วงเหนีย่ วจากค�ำปรึกษาหรือ การกระท�ำของอดีตผู้ว่าการภาค” (Code of Policies 2012) ข้อ 19.090.2. ได้บัญญัติไว้ว่า “ Advisory Council of Past Governors ซึง่ ชือ่ ทีเ่ ป็นทางการทีถ่ กู ต้องของสภาอดีตผูว้ า่ การภาค An advisory council of past governors shall ก็คอื สภาทีป่ รึกษาอดีตผูว้ า่ การภาค (Advisory Council of Past be organized in each district. Such councils shall be Governors) ซึ่งแสดงให้เห็นว่าสภาอดีตผู้ว่าการภาคคือสภาที่ composed of all past governors who are members of ปรึกษานัน่ เอง ค�ำว่า ทีป่ รึกษาความหมายก็ชดั เจนอยูแ่ ล้วว่าเป็น Rotary clubs within the district. Governors are urged ทีป่ รึกษา ผูร้ บั ค�ำปรึกษาซึง่ ก็คอื ผูว้ า่ การภาคผูเ้ ป็นเจ้าหน้าทีอ่ ย่าง to call a meeting of the council at least once a year เป็นทางการหนึง่ เดียวของโรตารีสากลในภาคอาจจะท�ำตามหรือ within the month following the end of the International ไม่ทำ� ตามก็ได้ มิหน�ำซ�ำ้ ในวรรคท้ายยังบัญญัตไิ ว้ชดั เจนว่าอ�ำนาจ Assembly to allow the governor-elect to inform the หน้าที่และ/หรือความรับผิดชอบของผู้ว่าการภาคจะต้องไม่ถูก current and past governors about the issues debated ท�ำให้เสียไปหรือถูกหน่วงเหนี่ยวจากค�ำปรึกษาหรือการกระท�ำ ของอดีตผู้ว่าการภาคซะอีกแน่ะ and presented at the International Assembly.

หวังว่าค�ำตอบนี้คงชัดเจนขึ้นบ้างนะครับ/บก.


Letters to Editor เรียน บก.โรตารีประเทศไทยที่นับถือ ดิฉันมีข้อสงสัยว่าค�ำว่า Rotary ท�ำไมใช้ภาษาไทยว่า “โรตารี” แต่ Rotarian ท�ำไมใช้ “โรแทเรียน” และค�ำว่า Rotaract, Interact ตกลงว่าใช้ “โรทาแรคท์, อินเทอร์แรคท์” หรือว่า “โรตาแรกต์, อินเตอร์แรกต์” กันแน่คะ ขอบคุณค่ะ อน.สุวรรณี ศิรินภาพรรณ สร.เชียงใหม่เหนือ ตอนแรกผมก็งงๆ อยู่เหมือนกันครับ เพราะเท่าที่ผมได้ร�่ำเรียนมาและจาก ประกาศของราชบัณฑิตยสถานฯ ปี 42 ได้ก�ำหนดหลักเกณฑ์การทับศัพท์ไว้ว่า ตัวอักษร น�ำ t เท่ากับ “ต” ตัวสะกด c ตรงกับ “ก” และการทับศัพท์จากภาษาอังกฤษจะไม่ใช้ รูปวรรณยุกต์โดยไม่จ�ำเป็น ฉะนั้น ค�ำว่า Rotary ใช้ว่า “โรตารี” (ไม่มีไม้เอกที่สระอี) จึง ถูกต้องตามหลักเกณฑ์การถ่ายเสียง (transcription) ของราชบัณฑิตยสถานฯ แล้ว ส่วน ค�ำทีเ่ หลือนัน้ ผมทราบมาว่าโรตารีไทยเราได้เคยมีการประชุมเพือ่ บัญญัตศิ พั ท์ของโรตารี ไว้นานมาแล้วตั้งแต่ก่อนปี 42 ว่า Rotarian ใช้ “โรแทเรียน” และค�ำว่า Rotaract, Interact ใช้ “โรทาแรคท์, อินเทอร์แรคท์” ซึ่งผมเข้าใจว่าน่าจะใช้หลักตามความนิยม ของประชาชนทั่วไปเพื่อให้เข้าใจง่ายถึงตัวสะกดเดิมในภาษาอังกฤษ แต่ส�ำหรับตัวผม เองแล้วถนัดใช้ตามหลักเกณฑ์ของราชบัณฑิตยสถานฯ มากกว่าจึงใช้ “โรตาแรกต์และ อินเตอร์แรกต์” เสมอ ส่วนค�ำว่า Rotarian นั้นใช้ “โรแทเรียน” กันจนเป็นที่ติดปาก จนเป็นมาตรฐานแล้ว ก็ใช้ “โรแทเรียน”ต่อไป สรุปแบบกลางๆ ว่า ค�ำทีเ่ ป็นมาตรฐานแล้วคือ “โรตารี” กับ “โรแทเรียน” ก็ใช้ ให้เป็นแบบเดียวกัน ส่วนทีเ่ หลือจะใช้ “โรทาแรคท์, อินเทอร์แรคท์” หรือว่า “โรตาแรกต์, อินเตอร์แรกต์” ก็สุดแล้วแต่ครับ ความเห็นของผมนี้แน่นอนว่าย่อมมีทั้งผู้ที่เห็นด้วยและ ไม่เห็นด้วยตามมา เวทีนี้เปิดกว้างเสมอเพื่อจะน�ำไปสู่การบัญญัติศัพท์อย่างเป็นทางการ ของโรตารีไทยต่อไปครับ/บก. (หมายเหตุ – ค้นคว้าเพิม่ เติมได้ทเี่ ว็บไซต์ของราชบัณฑิตยสถาน http://www. royin.go.th/th/profile/index.php?SystemModuleKey=127 ครับ)

06

Rotary Thailand


บทบรรณาธิการ

ชำ�นาญ จันทร์เรือง

พบกันอีกเช่นเคยกับโรตารีประเทศไทยฉบับประจ�ำเดือน ก.ย.-ต.ค.55 ซึ่งเป็นฉบับที่ 142 ของปีที่ 30 แล้ว นิตยสารโรตารีประเทศไทยเป็น 1 ใน 32 นิตยสารภูมิภาคที่เป็นทางการของโรตารี สากล (Rotary World Press Magazine) โดยได้จดั พิมพ์ครัง้ แรกในสมัยที ่ อผภ.นพ.กิจชัย ยิง่ เสรี เป็นผู้ว่าการภาค (2526-2527) เมื่อประเทศไทยแยกภาคออกมาเป็นภาค 335 ได้เพียง 1 ปี โดยมี อผภ.นพ.สุมนิ พฤกษิกานนท์ เป็นบรรณาธิการ (2526-2535) โดยยุคแรกๆ มีการจัดพิมพ์ เป็นภาษาไทยล้วนๆ ต่อมาในยุคหลังๆ จึงได้มกี ารเพิม่ เนือ้ หาทีเ่ ป็นภาษาอังกฤษเข้าไปด้วย ทัง้ นี้ ก็เพือ่ อ�ำนวยความสะดวกแก่สมาชิกโรตารีทเี่ ป็นชาวต่างประเทศด้วยเนือ้ หาทีเ่ ป็นภาษาอังกฤษ ในอัตราส่วนประมาณ 30-40 เปอร์เซ็นต์ของเนื้อหาทั้งหมด การจัดท�ำนิตยสารของโรตารีเรานั้นแรกเริ่มเดิมทีได้มีการจัดพิมพ์นิตยสาร “The Rotarian” นับตั้งแต่ปี พ.ศ.2454 (1911) เพื่อสื่อสารกับโรแทเรียน พร้อมทั้งส่งเสริมโครงการ และวัตถุประสงค์ของโรตารี จุดมุง่ หมายทีส่ ำ� คัญของนิตยสารคือ การส่งเสริมคติพจน์และปรัชญา ประจ�ำปีของประธานโรตารีสากล เผยแพร่ขา่ วสารเกีย่ วกับโครงการใหม่ๆ การประชุมส�ำคัญๆ แต่เนื่องด้วยข้อจ�ำกัดทางภาษาที่ “The Rotarian” จัดท�ำเป็นภาษาอังกฤษจึงได้มีการอนุญาต ให้มีการจัดท�ำเป็นภาษาอื่นๆ อีกถึง 32 ฉบับ โดยมีเงื่อนไขว่าต้องจัดพิมพ์เนื้อหาในภาคบังคับ ไม่น้อยกว่าตามที่โรตารีสากลก�ำหนด ฉะนั้น จึงเป็นที่น่าภาคภูมิใจที่ประเทศไทยเราเป็นหนึ่งในไม่กี่ประเทศจากบรรดา สมาชิกของโรตารีสากลที่มีอยู่ประมาณ 210 ประเทศและเขตภูมิศาสตร์ที่มีนิตยสารโรตารี ภูมิภาคเป็นของตนเอง ผมจึงขอให้ท่านได้ใช้ประโยชน์จากนิตยสารโรตารีประเทศไทยนี้อย่าง คุ้มค่าและเมื่อท่านไม่ต้องการใช้แล้ว ก็ขอให้มอบให้ห้องสมุดต่างๆ ไว้ค้นคว้าต่อไป

พบกันใหม่ฉบับหน้าครับ ช�ำนาญ จันทร์เรือง บรรณาธิการ


rotary Thailand นิตยสารโรตารี ประเทศไทย

08

Rotary Thailand


นิตยสารรายสองเดือน ปีที่ 30 ฉบับที่ 142 กันยายน-ตุลาคม 2555 September - October 2012

สารบัญ Content

สารประธานโรตารีสากล สารประธานทรัสตีฯ Letters to Editor บทบรรณาธิการ สารบัญ ประสบการณ์คือครู นับถอยหลังการประชุมใหญ่ หนึ่งปีที่ปราศจากโปลิโอ “THE ONE” Gary C.K. Huang ทีมฝึกอบรมอาชีพ (VTT) สิ่งละอัน พันละน้อย เจาะลึก...ลิสบอน Rotary in Action ศูนย์โรตารีประเทศไทย

1-2 3-4 5-6 7 8-9 10-18 19 20-23 24-25 26 27 28-29 30-41 44 45

กองบรรณาธิการ

สถานที่ติดต่อ 29/10 หมู่ 2 ต.ช้างเผือก อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50300 29/10 Mu2, Chang Puak, Muang,Chiang Mai, THAILAND 50300 Tel +668 1595 7999 Fax +66 5335 7345 Email: chamnan@rotarythailand.org ช�ำนาญ จันทร์เรือง Chamnan Chanruang

พิเชษฐ์ รุจิรัตน์ Pichet Ruchirat

สุรกิจ เกิดสงกรานต์ Surakit Kerdsongkran

อภิศักดิ์ จอมพงษ์ Apisak Jompong

ดนุชา ภูมิถาวร Danucha Bhumithaworn

จิตราพร สันติธรรมเจริญ Jittraporn Santithamcharoen


ประสบการณ์คือครู โดย เคท โนแลน อน.สุรกิจ เกิดสงกรานต์ สร.บางเขน แปล

ผู้นำ�โรตารีในซีแอทเทิลฉีกม่านประเพณี พี่เลี้ยงกลับเห็นดีด้วย เมื่อปีที่แล้ว แดน นิโคลสันได้รับการเชื้อเชิญ จากเพือ่ นคนหนึง่ ให้ไปร่วมประชุมสัปดาห์กบั สโมสรโรตารี แห่งหนึ่งใกล้บ้าน เขาเป็นเจ้าของส�ำนักงานบัญชีที่ต้อง หมัน่ หาเครือข่ายอยูเ่ สมอ นิโคลสันก�ำลังมองหาช่องทางที่ เหมาะสมทีจ่ ะเข้าไปมีปฏิสมั พันธ์กบั ชุมชน แต่ความกังขา ก็ยังครอบครองจิตใจเขาอยู่ “ผมมีมุมมองเกี่ยวกับโรตารีว่าเป็นเหมือนที่ รวมตัวของคนสูงวัย และผมเกรงว่าตัวเองจะคุยกับพวก เขาไม่รู้เรื่อง” นิโคลสัน หนุ่มวัย ๓๑ ปีเล่าถึงความทรงจ�ำ แต่เพือ่ นทีช่ วนยืนยันกับเขาว่าสโมสรนีต้ อ้ งการเด็กรุน่ ใหม่ มาร่วมด้วย เขาจึงตัดสินใจไปร่วมประชุม และตอนนี้เขา เป็นสมาชิกสโมสรแล้ว ถ้าเริ่มนับหนึ่งที่สโมสรโรตารีซีแอทเทิล สร. ซีแอทเทิลหมายเลข ๔ ก็หมายถึงสโมสรที่มีอายุมากที่สุด ในอันดับสี่ ซึง่ เมือ่ สิบปีทแี่ ล้วสโมสรนีต้ งั้ เป้าหมายอนาคต ว่าจะลดอายุเฉลี่ยของสมาชิกในสโมสรลง ตอนนั้นสโมสรแห่งนี้ประสบปัญหาแบบเดียว กับทีส่ โมสรอืน่ ๆ นัน่ คือผูน้ ำ� ทีอ่ ยูใ่ นวัยประสบความส�ำเร็จ ในชีวิตการงานเริ่มกลายเป็นคนที่น่าเป็นห่วงหากจะให้ รับช่วงผู้น�ำสโมสรต่อไป แม้จะเป็นสโมสรที่มีสถานะดีที เดียวในการด�ำเนินกิจกรรมบ�ำเพ็ญประโยชน์ มีเงิน มี วิทยากรชัน้ ดีบรรยายให้สโมสรซึง่ ดีกว่าทีห่ น่วยงานธุรกิจ จัดประชุมกันเสียอีก แต่เมื่อเหลียวดูเพื่อน ๆ ในสโมสร แล้วก็อดเป็นห่วงไม่ได้วา่ จะยังเหลือใครบ้างทีจ่ ะเป็นผูน้ ำ� สโมสรในอนาคตได้ต่อไป คงไม่มีสูตรตายตัวส�ำหรับการรับสมาชิกชน รุ่นใหม่ในสโมสรโรตารีซีแอทเทิลที่นับเป็นสโมสรโรตารี ทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ในโลกด้วยจ�ำนวนสมาชิก ๖๐๐ คนในปัจจุบนั สโมสรซีแอทเทิลที่ ๔ ก็นบั ว่าเป็นสโมสรคนท�ำงานทีม่ พี ลัง ในสังคมละแวกพักเก็ตซาวนด์เช่นกัน เพราะสมาชิกใน

10

Rotary Thailand

สโมสรมีจิตอุทิศตนท�ำงานพัฒนาให้ท้องถิ่นมาก แต่เพื่อ รับประกันการอยู่รอดในอนาคต สโมสรสรุปว่าถึงเวลา ต้องเปิดประตูต้อนรับคนหนุ่มสาวที่ประสบความส�ำเร็จ ในชีวิต นับตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๕๔๖ เป็นต้นมา สโมสรซีแอทเทิล หมายเลข ๔ ได้ต้อนรับสมาชิกใหม่ที่อายุน้อยกว่า ๔๐ เป็นจ�ำนวนมากถึง ๕๖ คน เรื่องราวการหว่านเมล็ดพันธ์ุ สมาชิกผู้น�ำชนรุ่นใหม่ของสโมสรที่โดดเด่นแห่งนี้เป็นบท เรียนที่น่าสนใจศึกษายิ่ง เจ้าของความคิดทีอ่ ยูเ่ บือ้ งหลังแรงขับเคลือ่ นให้ รับสมาชิกรุ่นหนุ่มสาวนี้คือ ราล์ฟ มันโร ผู้ซึ่งเป็นสมาชิก สโมสรตัง้ แต่ปี พ.ศ.๒๕๒๐ และเป็นปลัดมลรัฐวอชิงตันมา ถึง ๒๑ ปี “ผมพูดว่า คุณลองมองไปรอบ ๆ เมือง เพียง เดินเล่นแถวป่าช้าแล้วดูว่ามีอะไรบนป้ายสลักชื่อ สโมสร ใหญ่ ๆ ในซีแอทเทิลเคยเป็นของสโมสรมูสและเอลคส์ ซึง่ ตอนนี้ส่วนใหญ่หายไปเกือบหมดแล้ว” เขาสาธยายให้ฟัง “สโมสรของเราเคยตืน่ ตัวมาก และในปี พ.ศ. ๒๕๔๔ เรามี สมาชิกมากถึง ๗๐๐ คน แต่ผมสังเกตเห็นเรื่องอายุเฉลี่ย สมาชิกสโมสร (ว่าจะมีปัญหา)” มันโร เป็นนายกสโมสรปี ๒๕๔๕ - ๔๖ สรุป ว่าแม้ทำ� เนียบสมาชิกจะดูนา่ ตืน่ ตาตืน่ ใจ ประเด็นทีส่ ำ� คัญ กว่าคือในท�ำเนียบนั้นเรายังขาดใครบ้างหรือเปล่า เรายัง ขาดคนรุ่นหนุ่มสาวที่ถือว่าเป็นก�ำลังขับเคลื่อนส�ำคัญ ในซีแอทเทิล “มองย้อนไปในยุคปี (ค.ศ.) ๕๐ และ ๖๐ ในรัฐ นี้มีเพียง ๑๕ ถึง ๒๐ ครอบครัวเท่านั้นที่ถือว่าเป็นเศรษฐี เงินล้าน” มันโรกล่าว “เดี๋ยวนี้ ซีแอทเทิลมีเศรษฐีเงิน ล้านนับร้อย ๆ ครอบครัว และยังมีเศรษฐีเงินล้านอีกหลาย ร้อยคนทีอ่ ายุนอ้ ยกว่า ๔๐ ปี พวกเขาตัง้ บริษทั ของตนเอง แล้วก็ประสบความส�ำเร็จอย่างสูง ดูอย่างไมโครซอฟท์ เรา ต้องมองไปรอบ ๆ ห้องประชุมแล้วถามตัวเองว่า คนอย่าง



นั้นอยู่ในห้องนี้แล้วหรือยัง” ค� ำ ตอบคื อ “ยั ง ” เพราะสโมสร มั ก จะรั บ สมาชิ ก ใหม่ ที่ เ ป็ น เจ้ า ของธุ ร กิ จ อายุ ม ากกว่ า ๔๐ ปี แ ล้ ว “นโยบายแบบ นี้ เ ดี๋ ย วนี้ ไ ม่ ค ่ อ ยได้ ผ ลแล้ ว ” มั น โรกล่ า ว “ คุณไม่ควรคอยจนพวกเขาเป็นประธานบริษัท เพราะพวกเขามี ภ ารกิ จ ยุ ่ ง และถ้ า ยิ่ ง พวกเขาไม่ เคยมีประสบการณ์เกี่ยวข้องกับโรตารีมาก่อนเลย คนอายุขนาดนั้นจะยิ่งหาเหตุผลมาร่วมกับโรตารี ได้น้อยมาก” อาศัยความช่วยเหลือจากเพือ่ นสองสามคน มันโร รณรงค์ในสโมสรให้ปรับเปลี่ยนแนวทางการ หาสมาชิกใหม่ โดยให้มุ่งเน้นไปที่กลุ่มคนอายุน้อย ที่มีความทะเยอทะยานเป็นผู้น�ำสูง “งานนี้เราสู้กัน เหนื่อยเหมือนกัน” มันโรจ�ำได้ และตั้งข้อสังเกตว่า สมาชิกหลายคนไม่ได้เห็นตัวเลขสถิตทิ เี่ กีย่ วข้องกับ สมาชิกภาพและไม่รู้ว่ามันมีความหมายอย่างไรใน อนาคต บางคนกลัวว่าการรับสมาชิกวัยหนุม่ สาว มาจะบัน่ ทอนมาตรฐานของสโมสร กลัวว่าพวกเด็ก ๆ อาจจะยังขาดทุนทรัพย์เพียงพอทีจ่ ะมาช่วยงานสโมสร ภาระทั้งในครอบครัวและที่ท�ำงานจะท�ำให้พวกเขา แบ่งเวลามาให้สโมสรได้มากน้อยเพียงใด? แล้วจะ สามารถท�ำงานให้สโมสรได้อย่างจริงจังหรือไม่? แต่ แ ล้ ว เสี ย งประชากรสู ง วั ย ก็ ดั ง กว่ า ความกลัว ขั้นแรกเราเริ่มด้วยโปรแกรมที่เรียกว่า “ผูน้ ำ� ของวันพรุง่ นี”้ ตัง้ ขึน้ ในสมัยทีม่ นั โรเป็นนายก สโมสร โปรแกรมนีช้ ว่ ยท�ำให้ได้ขอ้ เท็จจริงถึงสาเหตุ แห่งอุปสรรคในการรับสมาชิกรุ่นหนุ่มสาว สรุปคือ สโมสรสร้างโปรแกรมห้าปีในการรับสมาชิกที่อายุ ไม่เกิน ๓๕ โดยเสนอให้ช�ำระค่าบ�ำรุงที่ต�่ำกว่า สมาชิ ก ทั่ ว ไป นอกจากนั้ น ยั ง ผ่ อ นผั น การจ� ำ กั ด สมาชิกหนึ่งคนต่ออาชีพหนึ่งประเภท โดยสโมสร จะพิจารณาผูส้ มัครจากศักยภาพความเป็นผูน้ ำ� ของ เขาประกอบด้วย หลังจากห้าปีแล้ว สโมสรคาดว่า สมาชิกใหม่เหล่านี้จะปรับตัวเข้าสู่สถานภาพของ การเป็นสมาชิกปกติได้ สมาชิกวัยเยาว์คอ่ ย ๆ เข้ามาร่วมกับสโมสร ซีแอทเทิลหมายเลข ๔ และตามค�ำบอกเล่าของ มันโร พวกทีอ่ ยูเ่ ก่าก่อนก็คอ่ ย ๆ ลดแรงเสียดทานลง

12

Rotary Thailand


เมือ่ เห็นพวกคนรุน่ ใหม่ได้รบั หน้าทีใ่ นสโมสร ยีน ซีดเลอร์ ทอมป์สนั เป็นสมาชิกชนรุน่ ใหม่ทเี่ ข้ามารุน่ แรก ๆ เธอมีอาชีพนักกฎหมาย ยังไม่มีโอกาสช่วยงานชุมชน แต่มีประสบการณ์ทางกฎหมาย อย่างดีจากนอร์ทเทอร์ดาม ทอมป์สนั เป็นสมาชิกมาเก้าปี ตัง้ แต่ อายุเพิ่งจะ ๓๐ ลองเข้ากลุ่มทางธุรกิจสองสามแห่ง ก่อนตัดสินใจ เข้าร่วมกับโรตารีด้วยเหตุผลว่าเป็นองค์กรที่มุ่งมั่นท�ำความ ดีเพื่อสังคม “คนหนุ่มสาวสนใจในกิจกรรมระหว่างประเทศ เพื่อเราอยู่ในชุมชนโลก” ทอมป์สันให้ความเห็น และแนะว่า อันที่จริงโรตารีเป็นทางเลือกที่ดีของคนรุ่นใหม่ที่มีหลักการ

และอาชีพการงานแล้ว เธอจ� ำ ได้ ว ่ า ตอนแรกที่ เข้ า มาในสโมสรแล้ ว เห็ น แต่สมาชิกผมขาวทั้งนั้น เธอก็หวังว่าสโมสรจะมีสมาชิกอายุ น้อย ๆ มาเป็นก�ำลังให้กับสโมสรมากขึ้น ต่อมาในขณะที่เธอ เสาะหาผู้ประสานงานในโครงการผู้น�ำเยาวชนเพื่อการสร้าง ขวัญก�ำลังใจและจัดการระบบ เธอได้เวอร์จินา เคิร์น ซึ่งมา เข้าร่วมสโมสรตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๕๕๐ ตอนที่เริ่มเป็นสมาชิกเคิร์น อายุ ๓๒ ปี เพิ่งเรียนจบปริญญาโททางด้านพัฒนาองค์กรและ มีไฟแรงที่จะใช้ความรู้ให้เป็นประโยชน์


Tom betts 38 years in Rotary

nicole nazzaro 5 years in Rotary

ค�ำถามแรกที่เธอถามคือ “เพื่อนของฉันอยู่ที่ไหน บ้าง” แต่ก็ไม่ได้คาดคิดว่าผู้อาวุโสในสโมสรจะฟังเธอ แต่แล้ว เธอก็ได้รับการเชื่อมประสานให้รู้จักกับทอมป์สัน ผู้น�ำหลาย คนในสโมสรช่วยให้ทั้งสองได้ลงมือก่อตั้ง “คณะกรรมการผู้น�ำ โรตารีรนุ่ เยาว์” คณะกรรมการชุดนีช้ ว่ ยให้สมาชิกวัยหนุม่ สาว ได้เรียนรู้ร่วมกันซึ่งหนทางที่จะเป็นโรแทเรียน สองสาวนี้ได้เชื้อเชิญสมาชิกที่มีอายุน้อยกว่า ๔๐ ปี มาร่วมในคณะกรรมการ มีการจัดประชุมแบบชั่วโมงสุขสันต์ หลังเลิกงาน จนกระทั่งผู้น�ำในคณะกรรมการชุดนี้ได้ยินเสียง สะท้อนจากสมาชิกอาวุโสในสโมสรทีเ่ ข้าใจผิดคิดว่าพวกเขาเป็น “คณะกรรมการเพือ่ การดืม่ กิน” ปัญหาเรือ่ งภาพพจน์นที้ างกลุม่ ไม่เคยคิดว่าจะเกิดขึ้น เคิร์นเล่าว่า พวกเขาได้ปรับเปลี่ยนให้มี การจัดพบปะกันในห้องประชุมผู้บริหาร เลื่อนเวลาการกินดื่ม เป็นหลังเลิกประชุม ตามค�ำแนะน�ำของนิโคล แนซแซโร นักเขียน จากซีแอทเทิลที่มาเป็นสมาชิกตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๕๕๐ นอกจากนี้ คณะกรรมการยังก�ำหนดพันธกิจว่าจะมุ่งสร้าง “ผลเชิงบวก ต่อชื่อเสียงและความยั่งยืนของ (สโมสรโรตารี) ซีแอทเทิล หมายเลข ๔ โดยการส่งเสริมการเพิ่ม รักษา และเพิ่มคุณค่า แก่โรแทเรียนหนุ่มสาว” “เราเน้นหนักที่การบ�ำเพ็ญประโยชน์” แนซแซโร กล่าว “เรามุง่ ท�ำโครงการทีป่ ระจักษ์ตอ่ สายตาของสาธารณชน และต้องจัดสรรเวลาที่จะได้พูดถึงกิจกรรมที่ท�ำในเวลาประชุม ประจ�ำสัปดาห์ และมีคนในสโมสรสนใจติดตามงานของพวก เรามากทีเดียว” การท�ำงานของคณะกรรมการเข้าตาผูน้ ำ� โรตารีวยั รุน่ เพราะเป็ น หนทางสื่ อ สารกั บ เพื่ อ นสมาชิ ก ในสโมสรที่ ม าก ประสบการณ์ได้ดี คณะกรรมการยังริเริ่มให้มีการน�ำอาหาร มาแลกเปลี่ยนกันชิมในระหว่างการพบปะสังสรรค์ (Potluck) และเชิญให้โรแทเรียนอาวุโสพูดเกี่ยวกับกิจกรรมส�ำคัญ ๆ ของ

14

Rotary Thailand

virginIa kirn 5 years in Rotary

โรตารี โดยการน�ำเสนอรายละเอียดโปรแกรมโรตารีต่าง ๆ เช่น การด�ำเนินโครงการระหว่างประเทศ โอกาสในการเป็นผูน้ ำ � กิจกรรมส�ำคัญ ๆ ของภาค ซึ่งล้วนเป็นเรื่องที่จุดประกายความ สนใจในหมู่สมาชิกวัยรุ่นป้ายแดง บางครั้งพวกเขาสังสรรค์กัน บนเรือของสมาชิกซึ่งสามารถเชื่อมสัมพันธภาพอันดีระหว่าง สมาชิกต่างวัยกัน เมื่อเร็ว ๆ นี้มันโรเป็นเจ้าภาพจัดย่างปลา แซลมอนที่บ้านเพื่อต้อนรับสมาชิก ๓๐ คนและใช้เป็นโอกาส ในการติ ว ให้ พ วกเขาเข้ า ใจโครงการโปลิ โ อพลั ส ที่ เขาเป็ น ประธานอยู่ ผลก็คือเขาได้เพื่อนร่วมทางวัยรุ่นหลายคนไป อาฟริกาตะวันออกด้วยกัน รองประธานสมาชิกภาพของสโมสร ทอม เบทส์ ได้รบั เชิญให้บรรยายพิเศษแก่คณะกรรมการผูน้ ำ� โรตารีรนุ่ เยาว์ เขาเป็นแชมเปีย้ นในใจของสมาชิกในกลุม่ นีต้ งั้ แต่วนั ทีเ่ ขาแสดง ปาฐกถา เบทส์เองก็มคี วามสนใจสมาชิกในกลุม่ นีเ้ ป็นอย่างมาก ตั้งแต่เขาเป็นประธานบริหารประเภทอาชีพของสโมสรและได้ ผ่านตาค�ำเสนอรับสมาชิกใหม่เหล่านี้ “ผมเป็นโรแทเรียนมา ๓๘ ปี และไม่เคยเห็นกลุ่ม สมาชิกทีร่ วมตัวกันได้ดเี พือ่ ออกไปท�ำกิจกรรมกันอย่างเข้มแข็ง เช่นนี้” เบทส์กล่าว และชี้ให้เห็นถึงความตั้งใจในการคิดหา สมาชิกใหม่ของกลุม่ นีโ้ ดยการจัดงานคัดเลือกผูช้ นะการแข่งขัน จากหนังสือประจ�ำปี “คนอายุ ๔๐ และน้อยกว่า” สมาชิกในกลุม่ ยังเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับคนหนุม่ สาว เช่น การวิง่ มาราธอนเกาะเมอร์เซอร์ ซึง่ จัดขึน้ เพือ่ หาทุนต่อสูก้ บั โรคมะเร็ง ข้อดีประการหนึ่งของการประชุมแบบผสมผสาน สมาชิกต่างวัยกันคือการสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจกันอันน�ำไปสู่ การเปิ ด โอกาสมากขึ้ น แก่ ส มาชิ ก หนุ ่ ม สาวเพื่ อ ท� ำ งานใน คณะกรรมการชุดต่าง ๆ ของสโมสร หลายคนได้เป็นถึงประธาน คณะกรรมการจากความช่วยเหลือของเบทส์ พวกหนุม่ สาวบางคน ถึงกับได้เป็นกรรมการในคณะกรรมการบริหารของสโมสร


jean seidler thompson 9 years in Rotary

ralph munro 35 years in Rotary

ครูทดี่ ที สี่ ดุ คือประสบการณ์ทสี่ โมสรได้รบั ทีช่ ว่ ยให้ เราได้คน้ พบกลยุทธ์ตา่ ง ๆ ในการน�ำสมาชิกวัยรุน่ เข้าสโมสรและ หล่อหลอมให้เข้ากันได้กับโรแทเรียนทั้งหมด เคล็ดลับคือการ รับสมาชิกใหม่เป็นจ�ำนวนมากในครัง้ เดียว เพือ่ ว่าพวกเขาจะได้ เรียนรู้อยู่ด้วยกันและป้องกันปัจจัยดึงดูดให้แยกกลุ่มอายุน้อย ไปอยูโ่ ต๊ะต่างหาก สโมสรซีแอทเทิลแสดงให้เห็นถึงการยอมรับ คุณค่าของสมาชิกอายุนอ้ ยโดยการมอบหมายงานให้เขาท�ำ เช่น ในจ�ำนวนกรรมการสิบคนในคณะกรรมการวางแผนยุทธศาสตร์ ห้าปีของสโมสร มีถึงสองคนที่เป็นสมาชิกหนุ่มสาว นอกจากนี้ เคิร์นเสนอว่าผู้น�ำสโมสรโรตารีควรสื่อสารให้รับทราบกันใน สโมสรถึงผลการค้นคว้าประดิษฐ์สิ่งใหม่ และขอค�ำแนะน�ำจาก พวกเขา และโดยเฉพาะอย่างยิ่งท�ำทุกขั้นตอนให้ง่ายที่สุด สโมสรซีแอทเทิลหมายเลข ๔ ไม่ใช่สโมสรเดียวทีท่ มุ่ เท ในการเสาะหาสมาชิกใหม่ที่อายุยังน้อย หลายสโมสรที่อยู่ เกือบทั่วประเทศก็ก�ำลังพยายามบรรลุเป้าหมายอย่างเดียวกัน สโมสรโรตารีชุมชนฟุตฮิลล์ ในเมืองอัพแลนด์ รัฐแคลิฟอร์เนีย และสโมสรโรตารีเซาธ์เมโทรมีนีอาโปลิส (เวลาค�่ำ) ได้รับการ ก่อตั้งโดยโรแทเรียนอายุน้อยและเคยได้รับการขนานนามว่า “สะพานเชือ่ มโรตาแรคท์และโรตารี” เช่นเดียวกับสโมสรซีแอทเทิล

dan nicholson 1 year in Rotary

สองสโมสรทีเ่ อ่ยถึงนีป้ รับปรุงค่าบ�ำรุงสโมสรให้เหมาะกับสภาพ ทางการเงินของสมาชิกวัยรุ่นขณะเดียวกันพวกเขาก็ทุ่มเท ท�ำงานให้ชุมชนอย่างเต็มที่ มันโร เบทส์ และโรแทเรียนที่ผ่านประสบการณ์ใน ซีแอทเทิลก�ำลังร่วมกันยึดเหนีย่ วโอกาสแห่งการรับสมาชิกใหม่ที่ เป็นคนรุน่ ใหม่ เพราะพวกเขามองเห็นหนทางในอนาคตทีม่ นั่ คง “เราจะปล่อยให้สโมสรทีเ่ ป็นแบบเดียวกับคนรุน่ พ่อ เคยอยูไ่ ม่ได้ เพราะคนรุ่นนั้นคิดว่าโรตารีต้องเป็นอย่างที่เคย เป็นเมื่อห้าสิบปีที่แล้ว ซึ่งเป็นแบบที่อยู่ไม่ได้ในปัจจุบัน” เบทส์ กล่าว เขาตัง้ ข้อสังเกตว่าแม้สโมสรซีแอทเทิลจะมีความก้าวหน้า การเปลี่ยนแปลงระดับสถาบันยังคงต้องเกิดขึ้นต่อไปเพราะ สโมสรทัง้ หมดสักวันจะต้องเป็นเจ้าของธุรกิจ หรือหุน้ ส่วนหรือ ผู้บริหารระดับสูง “เมื่อพวกเขามีอายุถึงจุดหนึ่ง เขาควรรับ ภาระที่สมาชิกปกติต้องจ่ายในระดับมาตรฐาน แต่ถ้าพวกเขา ยังรับภาระนั้นไม่ได้ เราก็ต้องหาทางช่วยเขาต่อไป” ในซีแอทเทิลหมายเลข ๔ คนหลายรุ่นถูกหลอม รวมกันด้วยความเชื่อว่าคณะกรรมการโรตารีรุ่นเยาว์คือกุญแจ ส�ำคัญส�ำหรับการอยูร่ อดของสโมสร “ฉันสามารถมองไปรอบ ๆ และเห็นอนาคตของสโมสรของเรา” ทอมป์สันกล่าว เธอก�ำลัง จะอายุครบ ๔๐ ปีในเดือนมกราคมที่จะถึง


Learning from the masters by Kate Nolan

Young Rotary leaders in Seattle challenge tradition, with their mentors’ blessing A friend invited Dan Nicholson to a local Rotary club meeting early last year. The owner of a Seattle accounting firm and an avid professional networker, Nicholson was looking for more meaningful ties to his community. But he was skeptical. “My perspective on Rotary was that it was a group of older folks, and I thought maybe I’d have trouble connecting with them,” Nicholson, 31, recalls. But the friend assured him that the club wanted younger people to join, so he went to the meeting. Now he’s a member. Score one for the Rotary Club of Seattle. About 10 years ago, the club – known as Seattle #4 because it’s Rotary’s fourth-oldest – set out to lower the average age of its membership as a way of planning for the future. It faced the same conundrum that plagues many Rotary clubs: A generation of accomplished leaders had reached an age at which leadership succession was a looming concern. The club was thriving, with a variety of service activities, solid finances, and a speakers program that rivaled those of elite business summits. But some members looked at their aging peers and wondered who would be left to run the club in the future. There would be no simple formula for recruiting a new generation to the Seattle club – the largest Rotary club in the world, with more than 600 members today. As one of the most powerful professional clubs in the Puget Sound area, Seattle #4 was as well known for its membership exclusivity as it was for its civic contributions. But

16

Rotary Thailand

to ensure its survival, the club concluded that it needed to open its doors to younger achievers. Since late 2003, Seattle #4 has welcomed 56 new members under age 40. The story of how this landmark club is cultivating its next generation of leaders provides some useful lessons. The key thinker behind the effort to recruit younger members was Ralph Munro, who joined the club in 1977 and served as Washington’s secretary of state for 21 years. “I said, look around this city. All you have to do is wander around the cemetery and see what’s on the tombstones. The big clubs in Seattle used to be the Moose club and the Elks club, and they’ve mostly gone,” he explains. “Our club was vibrant. In 2001, we had about 700 members. But I looked at their average age.” Munro, who served as club president in 2002-03, concluded that although the membership roster was prestigious, a more significant issue was who it was missing. A younger generation had become a driving force in Seattle but was barely represented in the club. “Back in the 1950s and 60s, only 15 or 20 families in the state had a million dollars or more,” Munro says. “Now in Seattle there are hundreds and hundreds of millionaires who are under 40. They started new companies and succeeded. Microsoft has spun off companies. We had to look around the room and ask, are these people in this club?” The answer was no – the club usually admitted only CEOs and business owners over age 40. “That doesn’t work now,” Munro says. “You


can’t wait until they are presidents of their own corporations. They are too busy, and if they have no previous association with Rotary, they have little reason to get involved at that point.” With a few allies, he campaigned to change the club’s approach to member recruitment, seeking to reach younger, aspiring leaders. “We got into a pretty good fight about it,” Munro recalls, noting that most club members had not seen the discouraging membership statistics and didn’t realize where the future was headed. Some feared that the push for younger members would compromise standards. Would younger people have the financial resources to join? Between family and work obligations, would they have time? Would they be capable of making a serious commitment? But aging demographics spoke louder than fears. The first big step was starting a program called Tomorrow’s Leaders, which began while Munro was president. It went beyond recruiting by addressing obstacles to membership for younger people. The club created a new five-year membership status that offered lower dues to those ages 35 and younger. Instead of limiting membership to current business leaders and only one individual per firm, the club would evaluate candidates for this status based on their leadership potential. After five years, the club expected that the younger members would meet its usual criteria for membership. Slowly, younger people came to Seattle #4 and, according to Munro, resistance from within the club dissipated when they started taking on active roles. The earliest recruit was Jean Seidler Thompson, an attorney who missed the community involvement she had experienced in law school at Notre Dame. Thompson became a member nine years ago, at age 30, after sampling a few other Seattle business groups. Rotary’s commitment to the common good was the deciding factor for her. “Young people now are interested in international service because we are a global community,” Thompson says, suggesting

that Rotary is an ideal choice for principled young professionals. She recalls seeing a lot of white hair at meetings when she first joined, and wanting younger members to have a stronger presence. Later she would find a collaborator in engineering and energizing the nascent young leaders program: Virginia Kirn, a professional recruiter who joined Rotary in 2007. Kirn, then 32, had just completed a master’s in organizational development and was eager to apply her knowledge. Her first question was, “Where are all my peers?” She expected the older members to ignore her concerns, but instead they connected her with Thompson. Club leaders helped the duo by forming a Young Rotary Leaders committee. It became the force that would unite younger members and help them learn together how to become Rotarians. The women invited all the club members who were under 40 to join the committee, which began meeting for happy hours after work – until committee leaders heard from a sympathetic older member that some Rotarians were dismissing them as “the drinking committee.” The last thing the new group needed was an image problem, Kirn says, so it switched its meeting site to boardrooms, postponing drinks until afterward – an idea suggested by Nicole Nazzaro, a Seattle author who joined the club in 2007. The committee also came up with a mission statement: “to positively impact the vitality and longevity of Seattle #4 by promoting the recruitment, retention and relevancy of young Rotarians.” “We stressed service,” Nazzaro says. “We concentrated on making our service projects more visible, and we made sure to speak about them during the announcements at each meeting. We gained a bit of a following within the club.” That fit with another Young Rotary Leaders priority: integrating with the more established club members. The committee started a tradition of holding regular potluck events, which allow experienced Rotarians to talk with the younger


members and introduce them to important Rotary activities. Presentations on international projects, leadership opportunities, and district-level events, among other topics, help build connections and spark the younger members’ interest. Or the group may go for a cruise on a senior member’s sailboat, building intergenerational solidarity. Munro recently hosted a group of 30 at his home for grilled salmon and a tutorial on the PolioPlus project he leads. The result? Some of the younger members signed up for his next trip to East Africa. Tom Betts, the club’s membership vice president, was asked to speak at a Young Rotary Leaders committee meeting and has been a champion of the group ever since. Betts became interested in the young Rotarians when he chaired the classification committee, which considers every proposed new member. “I have been a Rotarian for 38 years, and I have never seen a group so motivated to go out and do something,” Betts says. He points to a new recruitment effort that involves hosting winners of a local business publication’s annual “40 Under 40” award. The group has also participated in a number of projects that have an active, youthful spirit, including the Mercer Island half-marathon, a cancer fundraiser. One advantage of the intergenerational comingling has been that club members of different ages have come to know and trust one another, leading to more young people on committees. Several have become committee chairs with help from Betts, and some young members have even served on the club’s board. Experience has been a good teacher for the club, which has discovered a variety of strategies for bringing in younger members and fostering connections among all Rotarians. Tips include recruiting multiple new members at the same time so they can learn the ropes together, and resisting any temptation to relegate younger members to the “kids’ table.” The Seattle club shows younger

18

Rotary Thailand

Rotarians that they are valued by engaging them in important activities; for instance, of the 10 people on the club’s five-year strategic planning committee, 2 are younger members. Also, Kirn recommends, keep Rotary leaders informed of young members’ innovations and seek advice from them. And, above all, keep it simple. Seattle #4 isn’t the only club devoted to attracting and retaining younger members. New youth-oriented Rotary clubs in other parts of the country are pursuing the same goal. The Foothill Communities Rotary club in Upland, Calif., and the Rotary Club of South Metro Minneapolis Evenings, Minn., were founded by young Rotarians and have been described as a bridge between Rotaract and Rotary. Like the Seattle club, they adjust the cost of membership to suit the financial needs of younger members while harnessing their commitment to the community. Munro, Betts, and the other experienced Seattle Rotarians who are embracing the movement to recruit younger members see it as the road to a secure future for Rotary. “This is not going to be my father’s Rotary club. My dad thinks Rotary should be the way it was 50 years ago, but it can’t do that and survive,” Betts says. He notes that, despite the Seattle club’s progress, institutional change is needed, as it still expects full members to be proprietors, partners, or top corporate officers. “At a certain age, our young members have to meet the full requirements. What if they don’t make it? We have to find a way to keep them.” In Seattle #4, the generations are united in their belief that the Young Rotary Leaders committee is and will be a crucial factor in the club’s survival. “I can look around and see the future of our club,” says Thompson, who turns 40 in January. – Research assistance provided by Nicole Nazzaro


นับถอยหลังการประชุมใหญ่

โดย ซูซี มา ผวล.ศุภรี ฉัตรกันยารัตน์ สร.เชียงใหม่เหนือ แปล

หากไปทางทิศตะวันตกของกรุงลิสบอน ประเทศโปรตุเกส ไม่ถึง 20 ไมล์ เป็นสถานที่ชาวโรแทเรียนผู้เข้าร่วมประชุมโรตารีสากลประจ�ำปี 2013 ระหว่างวันที่ 23-26 มิถนุ ายน จะได้สมั ผัสบรรยากาศวิวท้องทะเลแอตแลนติกชวนฝัน จากยอดผาสูง ริมชายฝั่ง รื่นรมย์บนหาดทรายนวล และตามรอยเจาะลึกความลับของเจมส์ บอนด์ ใน คาสิโนทาวน์ ที่ซึ่งเคยเป็นสถานหย่อนใจของบุคคลในราชวงศ์ยุโรป (และเป็นที่มาของ เรื่อง เจมส์บอนด์ ตอน Casino Royal) เมืองชายฝัง่ แถบเอสโตริลและกัชกัยย์นนั้ อยูไ่ ม่ไกลจากลิสบอนจึงเหมาะมาก ที่จะไปเที่ยวแบบไปกลับภายในวันเดียว ที่กัชกัยย์มีทั้งชายหาดทอดยาว แหล่งช้อปปิ้ง และร้านอาหาร รวมทัง้ หินทีม่ รี ปู ทรงอันเรียกว่า โบค่าโดอังเฟอร์โน หรือ ปากประตูนรก ซึ่งน่าสนใจและคุ้มกับการใช้เวลาเดินไปประมาณ 20 นาทีจากตัวเมือง ห่างจากกัชกัยย์ ไปอีกไม่เกิน 2 ไมล์ก็ถึงเอสโตริล สถานที่อันสงบเงียบแหล่งที่ตั้งของรีสอร์ทยอดนิยม ซึ่งมีทางเดินเชื่อมไปถึงสถานคาสิโนที่ใหญ่ที่สุดในยุโรปอีกด้วย คาโบ ดา โรคา ตัง้ อยูส่ ดุ ชายฝัง่ ด้านตะวันตกของทวีปยุโรป ระยะทางประมาณ 10 ไมล์จากกัชกัยย์ ประภาคาร คาโบ ดา โรคา ซึ่งตั้งตระหง่านเหนือทะเลแอตแลนติก ช่วยเติม ให้ได้ภาพถ่ายที่งดงามในช่วงตะวันลับฟ้า และอนุสาวรีย์หินซึ่งสร้างขึ้นในปี 1980 เพื่อ เป็นที่ระลึกในโอกาสครบรอบ 75 ปี ของสโมสรโรตารีซินทรา ก็ยิ่งท�ำให้ภาพหน้าผา ชายฝั่งโดดเด่นงดงามยิ่งขึ้นไปอีก ห่างไปทางตอนใต้ของกรุงลิสบอนประมาณ 175 ไมล์เป็นเขตอัลการ์ฟ อัน เป็นทีช่ นื่ ชอบและนิยมไปกันในวันหยุดพักผ่อนของชาวยุโรป แต่ละเมืองในเขตนีอ้ บอวล ไปด้วยสัมผัสลมหายใจแห่งท้องทะเลและชายหาดที่คงไว้ซึ่งความงดงามตามธรรมชาติ แถมยังมีสนามกอล์ฟและบริเวณที่เหมาะแก่การเล่นกระดานโต้คลื่น โปรตุเกสมีความ โดดเด่นในแง่พนื้ ทีต่ ามแนวชายฝัง่ ทีไ่ ด้รบั อิทธิพลจากภาคพืน้ ทะเลเป็นอย่างมาก จะเห็น ได้จากการที่ “เจ้าชายเฮนรีนักส�ำรวจ” ได้เลือกบริเวณเมืองลาโกส์ในเขตอัลการ์ฟเป็น ทีต่ งั้ คณะส�ำรวจ ในศตวรรษที่ 15 โรแทเรียนจากทุกมุมโลกคงจะก�ำลังวางแผนมุง่ หน้าสู่ เมืองอันมีความงดงามทั้งทางด้านธรรมชาติและประวัติศาสตร์แสนโรแมนติกแห่งนี้ แต่ หากใครทีย่ งั ไม่แน่ใจว่าโปรตุเกสนัน้ น่าสนใจไปเยือนเพียงใด ขอได้โปรดติดตามเรือ่ งราว ในฉบับหน้าต่อไป ลงทะเบียนการประชุมใหญ่ที่ลิสบอนได้ที่ www.rotary.org/convention.


หนึ ง ่ ปี ที่ปราศจากโปลิโอ เบื้องหลังความสำ�เร็จ ในอินเดีย รทร.อภิศักดิ์ จอมพงษ์ สร.แม่จัน แปล

การหยอดวัคซีน ป้องกันโรคโปลิโอในอินเดีย ได้เริ่มขึ้น

โรตารีได้เริ่มโครงการ โปลิโอพลัสเพื่อ ป้องกันเด็กทุกคนในโลก จากโรคโปลิโอ หลาย ๆ คนคิดว่าอินเดีย ซึ่งมีอัตราการติดเชื้อ ของเด็ก 150,000 รายต่อปี จะเป็นที่สุดท้ายบนโลก ที่จะหยุดการแพร่ กระจายของโรคโปลิโอ โรคที่สามารถป้องกันได้ ก่อนที่ผู้ตกเป็นเหยื่อของ โรคร้ายนี้จะกลายเป็น ส่วนเกินของสังคม

20

Rotary Thailand

โปลิโอท�ำให้เด็กเป็นอัมพาต ในทั่วโลกมากกว่า 1,000 คน ต่อวัน สมัชชาอนามัยโลกได้มี มติให้ก�ำจัดโรคโปลิโอ โรตารี, องค์การอนามัยโลก (WHO), ยูนิเซฟ และศูนย์ควบคุมและ ป้องกันโรคแห่งสหรัฐอเมริกา (CDC) จึงร่วมกันริเริม่ โปรแกรม ความร่วมมือในระดับโลกเพื่อ ขจั ด โรคโปลิ โ อ โรตารี ไ ด้ ตั้ ง คณะกรรมการโปลิโอพลัสใน อิ น เดี ย เพื่ อ คอยสนั บ สนุ น ความพยายามในการก�ำจัดโรค ร้ายที่นี่โดยเฉพาะ

โรตารีได้มอบเงิน 2,600,000 ดอลล่าร์ ให้กับแคว้นทมิฬนาดู ในการซื้อวัคซีนป้องกัน โรคโปลิโอ ถือเป็นการ เปิดตัวอย่างเป็นทางการ ของโปรแกรมโปลิโอพลัส ในอินเดีย หนึ่งปีต่อมา มูลนิธิโรตารีได้จัดสรร งบประมาณอีก 20,000,000 ดอลล่าร์ ส�ำหรับวัคซีน, การติดตาม โรค, การรณรงค์หยอด วัคซีน และการสนับสนุน ทางเทคนิคต่าง ๆ ทั่วทั้งประเทศ

โรแทเรียนทั้งหลาย: ขอให้พระเจ้าอวยพร พวกท่านในการช่วย เหลือเด็กของเราจาก โรคโปลิโอ

ตอนนี้ผมมองโลก ในแง่ดีว่า ความส�ำเร็จแบบที่ นิวเดลีจะต้องเกิดขึ้น อีก ... และ [สิ่งนี้] จะเป็นประกาย ที่จะจุดชนวนให้เกิด “วันแห่งการสร้าง ภูมิคุ้มกันโรค แห่งชาติ” ขึ้นทั่ว ทั้งประเทศอินเดีย

E.G.P. Haran แม่ชีเทเรซา ที่ปรึกษาระดับภูมิภาค กล่าวต่อบรรดาโรแทเรียน โปรแกรมโปลิโอพลัส ในการผลักดัน ของโรตารีในเอเชีย การหยอดวัคซีนในปี 1992 และแปซิฟิกตะวันตก

สโมสรโรตารีในอินเดียเริ่มผลักดัน การหยอดวัคซีนป้องกันโรคโปลิโอใน ระดับท้องถิน่ และภูมภิ าค ทีใ่ นภาษา อินเดียเรียกว่า Shishu Suraksha Diwas (วันคุ้มครองเด็ก) ในช่วงหลายปีต่อมาโรแทเรียนและ พันธมิตรช่วยกันล็อบบีให้รัฐบาล อินเดียก�ำหนดให้การหยอด วัคซีนเป็นโปรแกรมระดับชาติ เหมือนในประเทศอื่น ๆ

รัฐบาลนิวเดลี ได้เป็นผู้น�ำและก�ำหนด “วันแห่งการสร้างภูมิคุ้มกันโรค” โดยแรงสนับสนุนของ Sudarshan Agarwal กรรมการบริหาร โรตารีสากลปี 1987-89 แม้จะมีการระบาด ของโรคอย่างหนัก สมาชิก ของสโมสรโรตารีในนิวเดลีทั้ง 40 สโมสรได้ช่วยเหลือในการ ขนส่งวัคซีนจากสถานที่จัดเก็บ 40 แห่งไปยังบูธหยอดวัคซีนจ�ำนวน 4,000 บูธ และได้คอยให้ความช่วย เหลืออยู่ใน 150 บูธ ในวันนี้มีการ หยอดวัคซีนให้แก่เด็กทีม่ อี ายุไม่เกิน 3 ขวบ และต�ำ่ กว่า ถึง 1.4 ล้านคน


วันนี้เป็นวันแห่งความ ส�ำเร็จที่ยิ่งใหญ่ส�ำหรับ อินเดีย - และโรตารี มันคือสุดยอดของความ พยายามกว่า 10 ปี ของสโมสรโรตารี ทัง้ 1,600 สโมสรในอินเดีย ที่ได้ให้การสนับสนุนและ สร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค

Rajendra K.Saboo อดีตประธานโรตารีสากล 1991 – 1992 อินเดียรายงานจ�ำนวน ผู้ติดเชื้อโรคโปลิโอ 3,263 ราย ซึ่งมากกว่า ครึ่งหนึ่งของจ�ำนวน ผู้ติดเชื้อทั่วโลกคือ 6,179 ราย ใน“วันแห่งการสร้าง ภูมิคุ้มกันโรคแห่งชาติ” ครั้งแรก ที่จัดขึ้นในเดือน ธันวาคม มีเด็กได้รับ วัคซีนป้องกันโรคโปลิโอ จ�ำนวน 87.8 ล้านคน ด้วยความทุ่มเทของ เจ้าหน้าทีส่ าธารณสุขและ อาสาสมัคร – รวมทั้ง โรแทเรียนและคู่ครอง, อินเทอร์แรคท์เตอร์, โรทาแรคท์เตอร์ และสมาชิ ก ของ Inner Wheel รวม 100,000 คน – และในปี 1996 จ�ำนวน ผู้ติดเชื้อในอินเดียลดลง ร้ อ ยละ 69 เหลื อ เพี ย ง 1,005 ราย

WHOและรัฐบาลอินเดียรับสมัคร เจ้าหน้าที่ด้านการแพทย์ จ�ำนวน 57 คน เพื่อตั้งเป็น “โครงการเฝ้าระวังโรคโปลิโอ แห่งชาติ” โดยเจ้าหน้าที่จะคอย ตรวจสอบผู้ป่วยที่เป็นอัมพาต แบบเฉียบพลันที่พบว่าเกิดจาก ไวรัสโปลิโอหรือไม่ รวมทั้งตรวจ หาชนิดของเชือ้ โรคโปลิโอทีร่ ะบาด อยู่ในที่ต่าง ๆ และการก�ำหนด พื้นที่ที่มีความเสี่ยงสูง โดยในปี 2008 โครงการนี้ได้เพิ่มจ�ำนวน เจ้าหน้าที่ด้านการแพทย์เฝ้าระวัง เป็น 333 คน ปัจจุบันมีหน่วยงาน ด้านสาธารณสุขของทั้งรัฐบาล และเอกชนรวม 35,000 แห่ง ท�ำหน้าที่เป็นหน่วยรายงาน การตรวจพบผู้ป่วยอัมพาต เฉียบพลัน เพื่อตรวจสอบ การเพิ่มจ�ำนวนของผู้ป่วยโปลิโอ

ผู้ติดเชื้อรายสุดท้ายของโลก ที่เกิดจากเชื้อโปลิโอชนิดที่ 2 ถูกพบในแคว้นอุตรประเทศ ในปีนผี้ ตู้ ดิ เชือ้ โรคโปลิโอลดลงจาก ปีที่แล้วมากกว่า 800 ราย ได้มีการก�ำหนด“วันแห่งการสร้าง ภูมคิ มุ้ กันโรคแห่งชาติ” ระดับย่อย ขึ้นในแคว้นที่มีความเสี่ยงระดับ กลางและระดับสูง

มาท� ำ ให้ อิ น เดี ย ปลอด จากโรคโปลิ โ อเพื่ อ เป็ น ของขวัญให้กับเด็ก ๆ ใน ประเทศของเรา

P.V. Narasimha Rao นายกรัฐมนตรีอินเดีย

งานเกือบจะส�ำเร็จแล้ว [ในอินเดีย] แต่ค�ำที่อันตรายที่สุด ในพจนานุกรม คือค�ำว่า “เกือบ”

เจ้าหน้าที่ด้านสุขภาพเริ่มท�ำการ ส�ำรวจแบบบ้านต่อบ้าน เพื่อหา เด็กที่ยังไม่ได้รับวัคซีน พวกเขา ใช้หมึกที่ล้างไม่ออกท�ำ เครื่องหมายที่นิ้วก้อยซ้ายของเด็ก ที่ได้รับวัคซีนป้องกันโรคโปลิโอ แล้ว บ้านที่เด็กทุกคนได้รับการ หยอดวัคซีนแล้วจะมีเครื่องหมาย “P” และเครือ่ งหมาย “X” ส�ำหรับ บ้านที่ยังมีเด็กที่ไม่ได้รับวัคซีน เพื่อการติดตามเฝ้าระวังอย่าง ถูกต้อง บ้านที่ได้รับเครื่องหมาย “X” จะถูกจัดเป็นหมวด หมู่ตามสาเหตุ เช่นไม่มีคน อยู่บ้าน, เด็กป่วย หรือได้รับการปฏิเสธ

Deepak Kapur, ประธานคณะกรรมการโปลิโอพลัส ของอินเดีย

องค์การยูนิเซฟก่อตั้ง “เครือข่ายการขับเคลื่อน ทางสังคม” ในอุตรประเทศ เพื่อรวมพลังการสนับสนุน ของชุมชนในการป้องกัน โรคโปลิโอ ต่อมาเครือข่ายนี้ ได้เติบโตจนมีนักขับเคลื่อน ในระดับรากหญ้ามากกว่า 7,000 คน - ส่วนใหญ่เป็น ผู้หญิง – ที่เข้าไปถึงทุกๆ บ้าน ในแคว้นอุตรประเทศและแคว้น มคธ ซึ่งเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ ของไวรัส เพื่อให้ค�ำแนะน�ำ แก่ผู้ปกครองเกี่ยวกับความ ส� ำ คั ญ ของวั ค ซี น และเพื่ อ เสริมสร้างความร่วมมือกับ ผู้น�ำศาสนาและผู้น�ำชุมชน ที่เมืองมุมไบเริ่มมีการ ตรวจหาไวรัสโปลิโอ ในน�้ำเสีย ซึ่งมีการปน เปื้อนของอุจจาระ ต่อมา ได้ขยายการทดสอบน�้ำ เสียไปยัง นิวเดลี ,กัลกัตตา และปัฏนา ตัวอย่างน�้ำเสีย ที่มีผลเป็นบวกถูกพบครั้ง สุดท้ายที่เมืองมุมไบ ในเดือนพฤศจิกายน 2010


“ ดาราภาพยนตร์อินเดีย อมิ ต าป พั จ จั น ร่ ว มเป็ น ผู ้ สนับสนุนการขจัดโรคโปลิโอ และได้รับการประกาศให้เป็น ทู ต สั น ถวไมตรี ข องยู นิ เ ซฟ อย่างเป็นทางการในปี 2005 การปรากฏตัวของเขาในการ รณรงค์ปอ้ งกันโรคโปลิโอได้รบั การยอมรับอย่างกว้างขวางว่า เป็นสิ่งที่กระตุ้นความร่วมมือ ของชุมชนเป็นอย่างมาก จาก นัน้ มาอีกมากกว่าทศวรรษ การ รณรงค์ขจัดโรคโปลิโอทั่วโลก ได้ สื่ อ ผ่ า นบุ ค คลที่ มี ชื่ อ เสี ย ง หลายสิบคน ทั้งในอินเดียและ ที่อื่น ๆ เช่นการรณรงค์ผ่าน ภาพยนตร์โฆษณาชุด “This Close” ของโรตารี และการ รณรงค์ดว้ ยการแข่งขันคริกเก็ต รายการ “Bowl Out Polio”

ในขณะที่ผู้บริจาครวม ทั้งโรตารีได้มอบเงิน จ�ำนวนมากส�ำหรับการ ขจัดโรคโปลิโอ รัฐบาล อินเดียเป็นผู้ริเริ่มการ จัดหาทุนสนับสนุน กิจกรรมการป้องกันโรค ภายในประเทศ หลั ง จากที่ จ� ำ นวนผู ้ ติ ด เชือ้ ลดลง ในอินเดียเหลือ 268 รายในปี 2001 กลับ มีการเพิม่ จ�ำนวนขึน้ อย่าง มาก เป็น 1,600 ราย

โรแทเรียนเป็นเจ้าภาพ จัดการประชุมกัลกัตตา การประชุมครั้งแรกของ คณะผู้บริหารระดับสูงด้าน สาธารณสุขของอินเดีย จาก แคว้นที่ปลอดจากโรคโปลิโอ เพื่อร่างแผนกลยุทธ์ในการ รับมือกับปัญหาอุปสรรค ทางระบบราชการและทาง เทคนิค และในปีต่อมามีการ จัดการประชุมแบบเดียวกัน นี้ส�ำหรับเจ้าหน้าที่ในแคว้น ที่ถูกคุกคามจากการกลับ มาระบาดของโรคโปลิโอ

ในอินเดีย มีชุมชนมุสลิม ในแคว้นอุตรประเทศ ซึง่ มีประชากรร้อยละ 17 ของ ประเทศ แต่มีอัตราผู้ติดเชื้อ โปลิโอเกือบร้อยละ 59 โรตารีจึงได้สร้างความร่วม มือกับสถาบันหลักต่าง ๆ ของมุสลิม เพื่ออาศัยกลุ่ม ผู้นับถือศาสนาเป็นกลยุทธ์ เช่นการอธิษฐานส�ำหรับการ ขจัดโรคโปลิโอ การหยอด วัคซีนให้เด็กในวันที่มีงาน เทศกาลทางศาสนา รวมทั้ง การติดประกาศและข้อความ วิงวอนในมัสยิดและ ในปฏิทินทางศาสนา

เราไม่อาจจะนิ่งเฉยได้เลย ในขณะทีโ่ รตารีได้ใช้ความ พยายามอันน่ายกย่อง เป็นอย่างมากในการขจัด ความเจ็บปวดของผู้คน และความเจ็บปวด ของเด็ก

A.P.J. Abdul Kalam ประธานาธิบดีอินเดีย

การประชุมครัง้ ประวัตศิ าสตร์ ระหว่างคณะผู้แทนจาก โรแทเรียนอาวุโสกับนายก รัฐมนตรีและประธานาธิบดี ของอินเดีย โดยได้รับค�ำมั่น สัญญาจากทั้งสองท่านที่จะ สนับสนุนการขจัดโรคโปลิโอ ขณะการรณรงค์ด�ำเนินไป อย่างต่อเนื่องโรแทเรียนหลาย คนได้เข้าพบกับเจ้าหน้าที่ สาธารณสุขและรัฐมนตรี ในคณะรัฐบาลเพื่อให้ข้อมูล ใหม่ ๆ เกี่ยวกับสถานการณ์ โรคโปลิโอและขอให้พวกเขา ช่วยสนับสนุนต่อไป

Manmohan Singh Prime minister of India นายกรัฐมนตรีอินเดีย

22

Rotary Thailand

โรตารีได้จัดตั้งคณะกรรมการ Ulema เป็นคณะกรรมการเพื่อ การขจัดโรคโปลิโอในอุตรประเทศ ประกอบด้วยนักวิชาการมุสลิมอาวุโส และผู้น�ำศาสนาที่จะช่วยจ�ำกัดข่าว ลือและเรื่องเล่าที่ท�ำให้เกิดการต่อ ต้านการหยอดวัคซีนในชุมชนมุสลิม คณะกรรมการโปลิโอพลัสของอินเดีย ท�ำงานร่วมกับกลุ่มดังกล่าว ในการ เผยแพร่หนังสือเล่มเล็กที่เชื่อมโยง การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคโปลิโอ ให้เป็นหน้าที่ของพ่อแม่ ซึ่งได้ให้ค�ำ อธิบายไว้ในคัมภีร์อัลกุรอานด้วย สิ่งพิมพ์ดังกล่าวเรียกว่า fatwa หรือการพิจารณาคดีเกีย่ วกับกฎหมาย ศาสนา โดยได้ระบุชื่อและหมายเลข โทรศัพท์ของสมาชิกของคณะ กรรมการ Ulema ซึ่งสามารถติดต่อ เพือ่ ขอความกระจ่างในความเข้าใจผิดใดๆ ก็ตาม หนังสือเล่มเล็กนี้ได้เผยแพร่ ให้แก่พ่อแม่ที่มีความข้องใจเกี่ยวกับ วัคซีนป้องกันโรคโปลิโอ จนถึงขณะนี้ วัคซีนป้องกัน โรคโปลิโอสามารถป้องกัน เชือ้ โปลิโอชนิด 1, 2, และ 3 ได้ในครั้งเดียว ได้มีการ ประกาศใช้วัคซีนใหม่ที่มี ประสิทธิภาพมากขึน้ เรียกว่า วัคซีน MONOVALENT ซึ่งมี เป้าหมายในการก�ำจัดเชื้อ สายพันธุ์เดียว วัคซีน MONOVALENT ถูกใช้เพื่อ มุ่งเน้นในการป้องกันเชื้อ ชนิดที่ 1 ซึ่งเป็นอันตราย ที่สุดในทั้งสองสายพันธุ์ ที่ยังเหลืออยู่ เชื้อชนิดที่ 1 นี้ พบในผู้ติดเชื้อโรคโปลิโอ ในอินเดียถึงร้อยละ 95 จนถึงปี 2006 แต่ถูกพบใน อัตราลดต�ำ่ ลงมากในปี 2007

โรตารีและ มูลนิธิบิลล์เกตส์ และเมอลินดา ร่วมกันมอบเงิน 200 ล้านดอลล่าร์ส�ำหรับการ ขจัดโรคโปลิโอ


ความเข้ า ใจผิ ด และ ข่าวลือทีแ่ พร่กระจาย ในชุ ม ชนอั น ท� ำ ให้ เกิดการต่อต้าน [การ หยอดวัคซีน] โปลิโอ ได้ ถู ก ขจั ด ไปเกื อ บ หมดแล้ว ด้วยความ พยายามของคณะ กรรมการ Ulema และเราจะท� ำ ต่ อ ไป จนกว่ า โปลิ โ อจะถู ก ก�ำจัดให้หมดสิ้น

Maulana Khalid Rashid Firangi Mahali ประธาน Council Ulema ในอินเดีย

RAJASHREE BIRLA, ภรรยาของ Aditya Birla เจ้าของธุรกิจใหญ่ ที่สุดรายหนึ่งของอินเดีย บริจาคเงิน 1 ล้านดอลล่าร์ เพื่อขจัดโรคโปลิโอ ซึ่งเป็นความเคลื่อนไหวที่ กระตุ้นภาคธุรกิจอื่น ๆ ในอินเดียให้มีส่วนร่วมใน การบริจาค เพื่อเพิ่มอัตราการหยอด วัคซีนป้องกันในชนบท และพื้นที่ที่มีความเสี่ยงสูง ทางภาคเหนือของแคว้น มคธ คณะท�ำงานได้สร้าง ที่พักชั่วคราวที่เรียกว่า serais ที่ครอบครัว และทีมงานสามารถ พักผ่อนค้างคืนระหว่าง การเดินทางข้ามวันไปยัง บูธส�ำหรับหยอดวัคซีน

แม้จะมีความ ท้าทาย แต่ผม มั่นใจมากขึ้นกว่า ทุกครั้งว่าอินเดีย จะน�ำไปสู่วิธีการ ที่ประสบความ ส�ำเร็จในการก�ำจัด โรคโปลิโอ

บิลล์ เกตส์ ประธานร่วมของ มูลนิธบิ ลิ ล์และเมอลินดา เกตส์ ข ณะที่ ไ ปเยื อ น อินเดีย

“ ส่วนหนึ่งของแผนใหม่ ส�ำหรับแคว้นอุตรประเทศ และมคธ นักขับเคลื่อนทาง สังคมส่งเสริมให้ใช้กลยุทธ์ ในการก�ำจัดปัจจัยส�ำคัญที่ ช่วยในการเจริญเติบโตของเชือ้ โปลิโอ วิธีการดังกล่าว รวมถึงการก�ำหนดตาราง การหยอดวัคซีนที่แน่นอน สม�่ำเสมอ การปรับปรุง สุขลักษณะและสุขอนามัย การให้ยาส�ำหรับรักษาโรค อุจจาระร่วงและการส่งเสริม การเลี้ยงลูกด้วยนม

Rukhsar Khatoon, เด็กอายุ 18 เดือนจาก เมือง Howrah, แคว้นเบงกอล ตะวันตกซึ่งเป็นอัมพาตเพราะ ติดเชื้อโปลิโอ - เป็นผู้ติดเชื้อ โรคโปลิโอรายสุดท้ายที่พบใน อินเดีย ทันทีทตี่ รวจพบก็เกิดการ ตอบสนองขนานใหญ่ ได้แก่ การก�ำหนดการให้หยอดวัคซีน เพิ่ ม เติ ม สามรอบภายในเจ็ ด สัปดาห์เพือ่ ทีจ่ ะจ�ำกัดการแพร่ ระบาดอีก ทั่วทั้งอินเดียและในเขต สหภาพ ได้มีการพัฒนาการ เตรียมความพร้อมในกรณี ฉุกเฉินและก�ำหนดแผนตอบ สนองทีจ่ ะกระท�ำในกรณีตรวจ พบอุบัติการณ์ของโรคโปลิโอ โดยให้ถือเป็นเหตุฉุกเฉิน ด้านสาธารณสุข

โรตารีและมูลนิธิ ของครอบครัวเกตส์ มีความมุ่งมั่นร่วมกัน ในการระดมเงินให้ได้ จ�ำนวน 555 ล้านดอลล่าร์ ส�ำหรับการขจัดโรคโปลิโอ ในขณะที่วัคซีน MONOVALENT ได้ชว่ ยลดการแพร่กระจาย ของไวรัสโปลิโอชนิดที่ 1 ลงสู่ระดับต�่ำที่สุดเป็น ประวัติการณ์ อินเดียกลับ ประสบปัญหาการระบาด ของไวรัสชนิดที่ 3 ถึง 741 ราย เท่ากับเกือบครึ่งหนึ่ง ของทั่วโลก ที่จ�ำนวน 1,604 ราย

วัคซีนรุ่นใหม่ bivalent ซึ่งสามารถใช้ป้องกันโรค โปลิโอ ชนิด 1 และ 3 ได้พร้อมกัน

ด้วยการสนับสนุนของพี่น้อง ชาวโรตารีทั่วโลก โรแทเรียน ในอิ น เดี ย ได้ ท� ำ งานอย่ า ง ขยันขันแข็ง เดือนแล้วเดือน เล่า ปีแล้วปีเล่า ที่จะช่วย ให้การจัดการและด�ำเนินการ หยอดวัคซีนในระดับชาติ ที่ สามารถด� ำ เนิ น การหยอด วัคซีนป้องกันโรคโปลิโอให้ แก่เด็กหลายล้านคน ในฐานะ ที่เป็นคนอินเดีย ผมมีความ ภาคภูมิใจอย่างมหาศาลใน สิ่งที่โรตารีได้ท�ำส�ำเร็จ

กัลยัน บาเนอร์จี ประธานโรตารีสากล ปี 2011-12

โรตารีสามารถกระท�ำตามสัญญา ที่ให้ไว้ ด้วยการระดมเงิน 200 ล้านดอลล่าร์ส�ำหรับการขจัดโรคโปลิโอ ซึ่งเริ่มตั้งต้นในปี 2009 จนถึงขณะ นี้โรตารีได้มีส่วนในการสนับสนุน เงินจ�ำนวน 164.5 ล้านดอลล่าร์ เพื่อขจัดโปลิโอในอินเดีย และอีก มากกว่า 1 พันล้านดอลล่าร์ทั่วโลก ในอินเดีย Rajashree Birla สมาชิก กิตติมศักดิ์ของสโมสรโรตารีบอมเบย์ และ Mulund ร่วมบริจาค 6,200,000 ดอลล่าร์ Harshad Mehta จาก สโมสรโรตารีบอมเบย์มหานครได้รว่ ม บริจาคมากกว่า 3,500,000 ดอลล่าร์ และ Usha Mittal ได้บริจาค 1,500,000 ดอลล่าร์ หลังจากหนึ่งปีเต็มที่ไม่มีการตรวจ พบผู้ติดเชื้อโรคโปลิโอ, อินเดียจะถูก ลบออกจากรายชือ่ ของประเทศทีต่ อ้ ง ขจัดโรคโปลิโอ ถือเป็นก้าวส�ำคัญใน ประวัตศิ าสตร์ของการขจัดโรคโปลิโอ ซึ่งจะมีการประกาศเป็นทางการใน การประชุมสุดยอดเกีย่ วกับโรคโปลิโอ โดยโรตารีและรัฐบาลอินเดีย เป็นเจ้าภาพในเดือนกุมภาพันธ์ และก่อนที่จะได้รับรองให้เป็น ประเทศทีป่ ราศจากโรคโปลิโอ อินเดีย ต้องไม่มีการตรวจพบผู้ติดเชื้อโปลิโอ อีกเลยแม้แต่รายเดียวไปอีกสองปี


Self (บริการเหนือตนเอง) รางวัล THE ONE คือบุคคล เพียงหนึ่งเดียวที่อุทิศกิจวัตรของตนในการให้บริการและ ช่วยเหลือผูอ้ นื่ เพือ่ บรรเทาความเจ็บปวด ความทุกข์ทรมาน และอดอยาก จากวิสัยทัศน์ของเดวิดท�ำให้ THE ONE ได้ถือ ก�ำเนิดขึ้นและได้มีส่วนร่วมจาก ริชาร์ด ซามูเอล เอลแมน นักธุรกิจชาวฮ่องกงที่น่าเคารพและเป็นประธานผู้ก่อตั้ง โนเบิลกรุป๊ (Noble Group) หลังจากได้ทราบวิสยั ทัศน์ของ เดวิดแล้ว มิสเตอร์เอลแมนก็รสู้ กึ ศรัทธาในโครงการ เขาเสนอ ทีจ่ ะบริจาคเงินรางวัลจ�ำนวน 100,000 เหรียญสหรัฐส�ำหรับ ผู้ที่ได้รับรางวัลเพื่อน�ำไปด�ำเนินการต่อในโครงการบริการ ต่างๆ เพื่อมนุษยธรรม

“THE ONE”

รางวัลสำ�หรับผู้บริการเหนือตนเอง อน.ศรัณย์ จันทร์ทะเล สร.เชียงใหม่เหนือ แปล

ทุกวันนี้เราตื่นขึ้นมาและเผชิญกับโลกที่เต็มไปด้วยข่าวความ รุนแรง ความเจ็บปวดและความทุกข์ทรมาน แม้ว่าโลกของเราเลือก ทีจ่ ะกล่าวเน้นถึงสิง่ ร้ายๆ เหล่านัน้ แต่ในมุมมองของเดวิด ฮาริเลอลา ผูว้ า่ การภาค 3450 โรตารีสากล ปี 2554-55 (ฮ่องกง มาเก๊าและมองโกเลีย) ก็เข้าใจว่ายังมีสิ่งดีๆ มากมายเกิดขึ้นแต่ไม่มีผู้เห็นคุณค่า มีเพียงแค่ตัว เขาทีม่ องเห็นสิง่ นัน้ ด้วยโชคชะตาท�ำให้เดวิดได้ทราบถึงเรือ่ งราวทีไ่ ม่นา่ เชือ่ ของดอกเตอร์เฮนดริค วับเบน ในการประชุมปกติในสโมสรของเขา ด้วยแรงบันดาลใจและสิง่ ทีส่ มั ผัสได้จากงานของดอกเตอร์วบั เบน เดวิดรู้สึกเศร้าและแปลกใจกับการที่ชายคนหนึ่งต้องเสี่ยงชีวิตทุกวัน เพือ่ สร้างสิง่ ทีด่ ขี นึ้ แก่มนุษยชาติ ด้วยเหตุใดผูท้ เี่ ป็นเช่นแม่ชเี ทเรซาถึงไม่ ได้รับการเห็นคุณค่า ดังนั้นด้วยแรงบันดาลใจจึงได้เป็นที่มาของรางวัล THE ONE (หนึ่งเดียว) THE ONE เป็นรางวัลส�ำหรับผู้มีมนุษยธรรมระดับนานาชาติ ที่ด�ำเนินมาอย่างต่อเนื่อง เพื่อเป็นการระลึกถึงความดีที่เกิดขึ้นในโลก โดยเป็นการมอบให้กับผู้ที่เป็นวีรบุรุษ/วีรสตรีของวีรบุรุษ/วีรสตรีทั้ง หลาย จากแรงบันดาลใจจากค�ำขวัญของโรตารีที่ว่า Service Above

24

Rotary Thailand

ขัน้ ตอนต่อไปนัน่ คือการหาพันธมิตรร่วมทีเ่ ข้มแข็ง เพื่อยกระดับ THE ONE ไปสู่ความมีชื่อเสียงและการ ยอมรับทีค่ คู่ วร เดวิดได้รบั การแนะน�ำจากเพือ่ น ท�ำให้เขา ได้พบกับแบคคาเรท ชาวฝรั่งเศสผู้น�ำในการผลิตคริสตัล ระดับชั้นเยี่ยม พวกเขาได้แลกเปลี่ยนวิสัยทัศน์และตกลง ที่จะสร้างถ้วยรางวัลส�ำหรับ THE ONE


ด้วยความช่วยเหลือที่เดวิดได้รับจากผู้ว่าการภาคต่างๆ และเครือข่ายครอบคลุมทัว่ โลกทีเ่ ข้มแข็งซึง่ ประกอบด้วยมวลมิตร โรแทเรียนกว่า 1.2 ล้านคน การร้องขอให้คน้ หาวีรบุรษุ /วีรสตรีนนั้ ได้ดำ� เนินไปด้วยความรวดเร็วโดยได้รบั ความช่วยเหลือจากตัวแทน ภาคต่างๆ ทัว่ โลกทีไ่ ด้รบั มอบหมายหน้าทีใ่ นการค้นหา THE ONE ก็ได้รับรายชื่อผู้ที่ได้รับการเสนอจากสิบประเทศภายในก�ำหนด วันที่ 31 มกราคม 2555 ด้วยการแยกคณะผูต้ ดั สินออกเป็นสามคณะ มีผเู้ ข้ารอบ สุดท้ายจ�ำนวนห้าท่าน จากนั้นจึงมีการพิจารณาว่านอกจากจะ มีเงินรางวัลส�ำหรับผู้ชนะแล้ว ผู้ที่เข้ารอบก็ควรได้รับรางวัลละ 5,000 เหรียญสหรัฐเพือ่ เป็นการสนับสนุนทางการเงินให้กบั พวกเขา ในค�่ำคืนของการทานอาหารค�่ำกาล่าดินเนอร์ก็เป็นการ เดินทางมาถึงของผู้เข้ารอบสุดท้ายจากประเทศต่างๆ ได้แก่ ดอกเตอร์เดน เมอร์ฟี แพทย์ผู้ให้ความช่วยเหลือด้านการแพทย์ กับประชาชนในติมอร์ตะวันออก, วาเลอรี บลาวนิงค์ สตรีผู้อาศัย อยู่กับชาวอาฟาร์ โนแมดส์ในเอธิโอเปีย โดยการดูแลสุขภาพและ การให้วัคซีน, คุณพ่อโจ ไมเออร์ นักบวชคาทอลิกผู้ให้การศึกษา แก่เด็กในชุมชนแออัดในกรุงเทพมหานคร, เซอซอเลีย ฟลอเรส โอเบน ดา สตรีผู้ต่อสู้กับการค้ามนุษย์ในฟิลิปปินส์ และสรูติเชอร์ รอฟ

สตรีผู้ซึ่งให้การดูแลในทุกๆ ด้านเพื่อชีวิตที่ดีขึ้นของรัฐคุชราต ในอินเดีย ผู้คนเหล่านี้คือคนที่ไม่เห็นแก่ประโยชน์ส่วนตัวและ พร้อมที่จะมอบทุกสิ่งให้กับคนที่พวกเขาช่วยเหลือ ในทีส่ ดุ ก็ถงึ เวลาประกาศผูไ้ ด้รบั รางวัล THE ONE 2012 ซึง่ ก็คอื วาเลอรี บลาวนิงค์ เธอได้รบั การปรบมือแสดงความชืน่ ชม สูงสุด ด้วยความรู้สึกตกตะลึง เธอได้กล่าวบนเวทีว่ารางวัลที่เธอ ได้รับนั้นไม่ใช่ชัยชนะส�ำหรับเธอแต่เป็นส�ำหรับชาวอาฟาร์ การเฉลิ ม ฉลองไม่ ไ ด้ สิ้ น สุ ด ลงในค�่ ำ คื น นั้ น ในเวลา เดียวกันนั้นสุภาพบุรุษชื่อปีเตอร์ เบนเนต ได้ขอบริจาคเพิ่มเติม อีก 200,000 เหรียญสหรัฐให้กับ THE ONE ด้วยเหตุนี้ท�ำให้ ผู้ที่เข้ารอบสุดท้ายทุกคนได้รับรางวัล 50,000 เหรียญสหรัฐ ปีแรกของการมอบรางวัล THE ONE ประสบความส�ำเร็จ เป็นอย่างยิง่ พวกเรารอคอยไม่ไหวทีจ่ ะเชิดชูเกียรติให้กบั วีรบุรษุ / วีรสตรี ในอนาคตของเรา เราอยากให้มีการเสนอชื่อมาจากทั่ว ทุ ก มุ ม โลก หากสโมสรของท่ า นรู ้ จั ก ใครที่ แ สดงออกถึ ง การ “บริการเหนือตน” อย่างแท้จริง พวกเราก็อยากจะได้รับทราบ เรื่องราวของพวกเขาและได้มีโอกาสที่จะเชิดชูเกียรติให้กับเขาใน งานกาล่าดินเนอร์ครั้งต่อไป

หากต้องการข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ THE ONE สามารถเข้าชมได้จากเว็บไซต์ http://www.theonerotary3450.org สามารถติดตาม THE ONE ผ่านทางเฟสบุ๊ค ได้ที่ http://www.facebook.com/theonerotary3450 และผ่านทางทวิตเตอร์ได้ที่ http://www.twitter.com/theone_rotary


แกรี ซี เค ฮวง (Gary C.K. Huang) คือตัวเลือกสำ�หรับประธานโรตารีสากล ปี 2014-2015

แกรี ซี เค ฮวง สมาชิกสโมสรโรตารีไทเป ไต้หวัน คือ ผู้ที่ถูกเลือกโดยคณะกรรมการเสนอชื่อ ประธานโรตารีสากลปี 2014-2015 ฮวงบอกว่าวิสัยทัศน์ของเขาคือการเพิ่มสมาชิกให้มากกว่า 1.3 ล้านคน “เพื่อเพิ่มสมาชิกของเรา เราต้องข้ามพ้นเขตแดนของศักยภาพของการเพิ่มสมาชิก เช่น จีน มองโกเลีย และเวียดนาม” “ผมจะเน้นไปที่การเพิ่มจ�ำนวนของผู้หญิงและสมาชิกรุ่นหนุ่มสาว ผมจะ กระตุ้นให้อดีตโรแทเรียนกลับมาเป็นส่วนหนึ่งของครอบครัวโรตารีเราอีกครั้งหนึ่ง” ฮวงเป็นประธานบริษัท Taiwan Sogo Shinkong Security Co., Ltd., Shin Kong Life Real Estate Service Co., and P.S. Insurance Agency, Inc. และเป็นผู้อ�ำนวยการสมาคม Taipei Life-Line Association. เขาเคยเป็นประธานบริษทั Malayan Overseas Insurance Co. และเลขาธิการก่อตัง้ Council for Industrial and Commercial Development ในไต้หวัน เขาเป็นโรแทเรียนตัง้ แต่ปี 1976 (2519) เขาเคยเป็นรองประธานโรตารีสากล กรรมการบริหาร โรตารีสากล ทรัสตีมูลนิธิโรตารี ผู้ว่าการภาค ผู้ฝึกอบรมในการอบรมผู้ว่าการภาครับเลือก ฯลฯ นอกจากนัน้ ยังเป็นประธานจัดการประชุมโรตารีโซนอินสติตวิ ท์ทฮี่ อ่ งกง (2000), มนิลา (2002) และสิงคโปร์ (2003) เขายังเคยเป็นประธานสภาอดีตผู้ว่าการภาคของไต้หวันอีกด้วย ฮวงก่อตั้งสโมสรใหม่ถึง 19 สโมสรในสมัยที่เขาเป็นผู้ว่าการภาค 345 ซึ่งครอบคลุมฮ่องกง มาเก๊า และไต้หวัน ในปี 1986-87 ฮวงได้รับรางวัล National Civic Service Award ของ Federation of Non-Profit Associations และรางวัลบริการชุมชนดีเด่นจากกระทรวงมหาดไทยของสาธารณรัฐจีน (ROC = ไต้หวัน – บก.) และเขายังได้รับรางวัลบริการเหนือตนเองจากโรตารีสากลและประกาศเกียรติคุณการบริการ จากมูลนิธิโรตารี ฮวงและภริยา คอรินนา เหยา มีบุตรธิดาด้วยกัน 3 คน

26

Rotary Thailand


ทีมฝึกอบรมอาชีพ (VTT) โดย เฮด ที เค อผภ.ปรีชา จาดศรี สร.สวรรคโลกเหนือ แปล

ระหว่างฤดูหนาว ค.ศ.2011 อมันดา เวอร์ทซ์ เดินทางไปนกอนโด หมู่บ้านในยูกานดาภาคกลาง เพื่อใช้ประสบการณ์ของเธอในด้านสาธารณสุขกับ ชุมชนแห่งนั้น เมื่อชาวบ้านได้พรรณนาถึงความยาก ล�ำบากของเขาในการหาน�้ำใช้ เวอร์ทซ์และคณะของ เธอได้ช่วยแก้ไขให้ภาระหนักนั้นลดลง เวอร์ทซ์และคณะของเธอได้พบกับชาวบ้าน จ�ำนวนมากที่บริเวณเครื่องสูบน�้ำในท้องถิ่น และได้ สังเกตเห็นว่า ฝาถังน�้ำของชาวบ้านมีขนาดเล็กเกิน ส�ำหรับท่อเครื่องสูบน�้ำ เวอร์ทซ์สาธิตให้ชาวบ้าน เห็นฝาถังทีท่ ำ� ให้ชาวบ้านได้นำ�้ เต็มถังด้วยเวลา 2 ใน 3 และลดพลังงานโยกเครื่องสูบน�้ำลง 50 เปอร์เซ็นต์ เวอร์ทซ์ซึ่งมีต�ำแหน่งเกี่ยวกับสุขภาพหลายต�ำแหน่ง ในรอบทศวรรษที่แล้ว และเป็นสมาชิกสโมสร E – Club of the United Services เมืองซานดิเอโก กล่าวว่า “มันเป็นความส�ำเร็จอันยิ่งใหญ่ เตือนให้ เราคิดว่า แม้เป็นเพียงการเปลี่ยนแปลงเล็กน้อย ก็ สามารถท�ำให้เกิดความแตกต่างที่มากมายได้” เวอร์ทซ์ เดินทางไปยูกานดาในฐานะส่วนหนึง่ ของทีมฝึกอบรมอาชีพ (VTT) กลุ่มของนักวิชาชีพที่ เดินทางไปเรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับอาชีพของตนหรือ ไปฝึกอบรมนักวิชาชีพในบางสาขา เวอร์ทซ์เดินทาง จากแคลิฟอร์เนียพร้อมด้วยเพือ่ นร่วมคณะ 6 คน และ โรแทเรียน 3 คน เพือ่ ช่วยพัฒนาคุณภาพชีวติ ของชาว บ้านนกอนโดโดยท�ำโครงการส�ำหรับหมู่บ้านขึ้น อดีตผูว้ า่ การภาคฟิลปิ เป ลามอยซ์ เจ้าของ ธุรกิจสื่อดิจิตอล ผู้น�ำทีมจากภาค 5340 กล่าวว่า “บทบาทส�ำคัญของ VTT คือการช่วยเริ่มโครงการ การฝึกอบรมทีผ่ มได้ทำ� คือเรือ่ งเกีย่ วกับกลยุทธ์ธรุ กิจ, การออมทรัพย์, และการลงทุนที่ใช้กับธุรกิจการท�ำ ฟาร์มขนาดครอบครัว”

สนับสนุนการเงินโดยโครงการทุนสนับสนุน ระดับโลก (Global Grants) ของมูลนิธิโรตารี ลามอยซ์ กล่าวว่า คณะของเขาได้ช่วยวางพื้นฐานเรื่องระบบ น�้ำสะอาด ฝึกอบรมคณะส�ำนักสุขภาพ จัดตั้งห้อง คอมพิวเตอร์ในโรงเรียนแห่งหนึ่ง ความพยายาม เช่นนีเ้ ป็นเหตุกระตุน้ ให้องค์กรปกครองท้องถิน่ จัดงบ ประมาณเพิ่มขึ้นให้กับโรงเรียน, ส�ำนักสุขภาพ VTT มีผลต่อความร่วมมือในสองหน่วยงาน ที่ รั บ รู ้ โ ดยสโมสรโรตารี กั ม ปาลาเหนื อ หนึ่ ง กั บ เอนจีโอในท้องถิ่นที่ช่วยอบรมประชากรในท้องถิ่น ในเรื่องการบัญชีครัวเรือน และอีกหน่วยหนึ่งช่วย จัดการในเรือ่ งการกูเ้ งินเล็กๆ น้อยๆ ความร่วมมือกับ เอ็นจีโอเพื่อฝึกอบรมเกษตรกรให้ผลิตพืชผลที่มีค่า การตลาดสูง มีผลมาจากการเยี่ยมของ VTT ด้วย VTT เป็นส่วนหนึ่งของ Future Vision Plan ของมูลนิธิ เป็นรอยต่อของจุดประสงค์เดิมที่ เรียกว่าโครงการกลุ่มศึกษาแลกเปลี่ยน (GSE) ช่วย ให้สมาชิกในทีมสามารถแบ่งปันความเชี่ยวชาญของ ตนและเรียนรู้ว่าอาชีพของตนมีการปฏิบัติใช้อย่างไร ในประเทศอื่น ลามอยส์ผู้เป็นส่วนหนึ่งของทีมภาค 5340 ที่ เ ดิ น ทางไปอาฟริ ก าในปี ค.ศ.2001 กล่ า วว่ า “ประสบการณ์ GSE ยิง่ ใหญ่ทไี่ ด้พบอาฟริกาตะวันออก และเริ่มความสัมพันธ์กับโรแทเรียนที่นั่น” “สิ่งที่เป็นประโยชน์ยิ่งใหญ่อย่างหนึ่งของ โครงการ VTT คือ เราได้ท�ำประโยชน์บางอย่างที่ นั่นแทนทีจ่ ะเรียนรูเ้ พียงวัฒนธรรมและเริม่ การติดต่อ กัน ดังนั้นในความเห็นของท้องถิ่นที่เราไปเยี่ยม VTT มีคุณค่ามากกว่าอย่างยิ่ง” เมแกน เฟอริงเจอร์ และ แดน นิกสัน กล่าว


สิ่งละอัน พันละน้อย เกษมชัย นิธิวรรณากุล ผู้ว่าการภาคปี น�ำทาง สร้างผลงาน

สมาชิกบรรษัทนำ�ร่องในสยาม Corporate Member Pilot สโมสรโรตารีกรุงเทพสุริวงศ์ เป็นสโมสรโรตารีเพียง แห่ ง เดี ย วในประเทศไทยที่ ใช้ ภ าษาญี่ ปุ ่ น เป็ น สื่ อ กลางในการ ประชุมประจ�ำสัปดาห์ และเป็นสโมสรแห่งเดียวที่สมัคร และได้ รับการคัดเลือกเป็นเจ้าภาพของโปรแกรมสมาชิกบรรษัทต้นแบบ (Corporate Member Pilot Program) ในประเทศไทย โดยมี ก�ำหนดเวลาทดลอง 3 ปีในระหว่างวันที่ 1 กรกฎาคม 2554 ถึง วันที่ 30 มิถุนายน 2557 คณะกรรมการบริหารสโมสรมีเริ่มใช้โปรแกรมน�ำร่อง นี้ในสมัยปีบริหารประจ�ำปี 2554-55 ของนายกสโมสร IIDA Mitsutaka ภายใต้โปรแกรมต้นแบบนี้ บริษทั เป็นสมาชิกของสโมสร มอบหมาย และแต่งตัง้ ให้เจ้าหน้าทีพ่ นักงานบริษทั ได้ไม่เกิน 4 คน มาร่วมประชุมกับสโมสร ร่วมด�ำเนินโครงการบ�ำเพ็ญประโยชน์ ลง คะแนนในธุรกรรมของสโมสรโรตารี เป็นเจ้าหน้าที่บริหารสโมสร และรับหน้าที่เป็นกรรมการในคณะกรรมการสโมสร วัตถุประสงค์ของโปรแกรมน�ำร่องนีม้ งุ่ อ�ำนวยให้สโมสร

อดีตนายกสโมสร IIDA Mitsutaka

สามารถดึงดูด และรักษาฐานของนักบริหารมืออาชีพทีห่ ลากหลาย ให้มีความยืดหยุ่น และรับรู้ผลกระทบจากการเปลี่ยนย้ายถิ่นฐาน ที่ท�ำงานอย่างแพร่หลายของพนักงานในองค์กรบรรษัท หลักเกณฑ์ของสมาชิกบรรษัทน�ำร่อง • แต่งตัง้ เจ้าหน้าทีพ่ นักงานบริษทั ได้ไม่เกิน 4 คน โดย หนึ่งในนั้นต้องเป็นเจ้าหน้าที่ระดับสูง ส่วนที่เหลือเป็นระดับฝ่าย จัดการท�ำงานเต็มเวลา • ผูไ้ ด้รบั แต่งตัง้ นับเป็นสมาชิกทางการของสโมสร มีชอื่ บรรจุในทะเบียนของสโมสรในฐานะผู้ได้รับแต่งตั้งจากสมาชิก บรรษัท • มีสทิ ธิใ์ นการโหวตทัง้ เรือ่ งภายในสโมสร และ ณ การ เลือกตั้งของโรตารีสากล • สมาชิกผู้ได้รับแต่งตั้งแต่ละคนมีสิทธิ์ด�ำรงต�ำแหน่ง ภายในสโมสรแห่งนั้น • ต้องปฏิบัติตามข้อก�ำหนด นโยบาย ขั้นตอนว่าด้วย กิจกรรมสโมสรที่เกี่ยวข้องกับเยาวชน

“สโมสรมีมติเข้าร่วมโปรแกรมน�ำร่องนี้ และยื่นใบสมัครไปยังโรตารีสากลในเดือนมีนาคม 2554 ภายหลัง ได้รับอนุมัติจากโรตารีสากลแล้วสโมสรได้รับสมาชิกประเภทบรรษัทรวมทั้งหมด 6 คนจาก 4 บริษัทใน ปีบริหาร 2554-55 ดังต่อไปนี้ 1. บจก. Siam Fukoku ผลิตอะไหล่ ชิ้นส่วนรถยนต์ และผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมจากยางธรรมชาติ มีสมาชิกเข้าร่วมหนึ่งคน 2. บจก. Kokando (Thailand) ผลิตยาและยาจากสมุนไพร มีสมาชิกเข้าร่วมสองคน เป็นกรรมการ ผู้จัดการหนึ่งคน และรองกรรมการผู้จัดการอีกหนึ่งคน 3. บจก. Umemura Corp. (Thailand) รับเหมาก่อสร้าง มีสมาชิกชนรุ่นใหม่เข้าร่วมสองคน

4. บจก. Dai Nippon Printing (DNP) ผลิตภาชนะบรรจุหีบห่อ มีสมาชิกเข้าร่วมหนึ่งคนในต�ำแหน่งกรรมการผู้จัดการ วิธีการหาสมาชิกประเภทบรรษัท • ทาบทามสรรหาสมาชิกจากท�ำเนียบสมาชิกของหอการค้าญีป่ นุ่ กรุงเทพฯ (Japanese Chamber of Commerce, Bangkok) • ขอค�ำแนะน�ำ และความช่วยเหลือจากสมาคมไทย-ญี่ปุ่น (Thai-Japanese Association) • เข้าหาบริษัทอุตสาหกรรมญี่ปุ่นต่าง ๆ ในนิคมอุตสาหกรรมบางปู บางพลี และอยุธยา และเชิญชวนส่งผู้บริหารมาเป็นสมาชิก ประเภทบรรษัท”

28

Rotary Thailand


นายกสโมสร SHIOYA Masaru

“ในปีบริหารปัจจุบัน สโมสรฯ ก�ำหนดเป้าหมายเพิ่มสมาชิกประเภทบรรษัทอีกอย่างน้อยเท่าตัว นั่นคือเพิ่ม จ�ำนวนอีก 4-5 บริษัท พวกเราได้ประจักษ์เห็นชัดซึ่งผลกระทบในเชิงบวกจากการเข้าร่วมโปรแกรมน�ำร่องนี้ อาทิ • จ�ำนวนสมาชิกของสโมสรฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 45 จากโปรแกรมน�ำร่องนี้ • บรรยากาศการประชุมดีขึ้นมาก มีความคึกคักกว่าเดิม ผลท�ำให้การรักษาสมาชิกดีขึ้นอย่างเด่นชัด • คะแนนเข้าประชุม 100% ของสโมสรฯ เพิ่มมากขึ้น • การเข้าร่วมกิจกรรมบ�ำเพ็ญประโยชน์ และการบริจาคให้มูลนิธิโรตารีมีแนวโน้มสูงขึ้น • เพิ่มความหลากหลายของสมาชิก • มีชนรุ่นใหม่มาสมทบ ท�ำให้เกณฑ์เฉลี่ยอายุของสมาชิกสโมสรลดต�่ำลง • สมาชิกชนรุน่ ใหม่จากประเภทสมาชิกบรรษัทสามารถใช้สอื่ สังคมยอดนิยมในยุคปัจจุบนั เช่น facebook, twitter และ blog ในการปรับข้อมูลให้ทันสมัย สื่อสารกับบุคคลภายนอก สร้างความสนใจแก่สาธารณชน • เราสามารถสร้างและสื่อภาพลักษณ์โรตารีกว้างขวางขึ้นในหมู่บริษัทอุตสาหกรรมญี่ปุ่นในประเทศไทย” “ผมมีความสุขมากที่มีโอกาสมาร่วมงานสังคม และประชุมประจ�ำสัปดาห์กับสโมสรแห่งนี้ในฐานะสมาชิก ประเภทบรรษัท อีกทัง้ ได้คลุกคลีกบั สมาชิกคนไทยในระดับสมาชิกด้วยกัน ท�ำให้ชอ่ งว่างระหว่างผมกับคนไทยแคบ เล็กลง ซึ่งไม่เหมือนกับความสัมพันธ์ระหว่างนายจ้างญี่ปุ่นกับพนักงานคนไทยในองค์กรบริษัทเดียวกัน เพราะยังมี ก�ำแพงความอาวุโสขวางกั้นอยู่ โปรแกรมนีเ้ ป็นโปรแกรมน�ำร่องทีด่ มี ากของโรตารี ให้ประโยชน์แก่ผมมาก ท�ำให้ผมสามารถเรียนรูว้ ฒ ั นธรรม ของชาวไทยผ่านกิจกรรมของสโมสรโรตารีอย่างใกล้ชิด และลึกซึ้งมากขึ้นกว่าเดิม”

สมาชิกประเภทบริษัท TOHARA Tatsutoshi บจก. Kokando (Thailand) “เมื่อก่อนนี้ ดิฉันมีความเข้าใจว่าองค์กรโรตารีตั้งขึ้นส�ำหรับคนรวยเท่านั้น แต่เมื่อได้เข้ามาสัมผัสในฐานะ เป็นสมาชิกประเภทบรรษัทแล้ว ภาพลักษณ์นี้เปลี่ยนไปทันที แท้จริงแล้วโรตารีเป็นสโมสรส�ำหรับนักธุรกิจ มืออาชีพทุกผู้ทุกวัยที่มีจิตอาสาในการบ�ำเพ็ญประโยชน์เพื่อ ผู้ขาดแคลน หรือมีโอกาสน้อยกว่า ดิฉันได้เข้าร่วมงานประชุมใหญ่โรตารีสากลในกรุงเทพฯ (RI Convention in Bangkok) มีโอกาสพบปะกับ โรแทเรียนชาวญี่ปุ่นจ�ำนวนมากมาย ดิฉันได้สอบถามโรแทเรียนเหล่านั้น และมีความภาคภูมิใจที่จะเรียนว่า สโมสร โรตารีกรุงเทพสุริวงศ์ท�ำกิจกรรมบ�ำเพ็ญประโยชน์มากสุด มากกว่าสโมสรโรตารีในประเทศญี่ปุ่นเสียอีก มีมิตรโรแทเรียนญี่ปุ่นเข้าเยี่ยม blog ของสโมสรฯ จ�ำนวนมาก และยังร่วมบริจาคท�ำโครงการบ�ำเพ็ญ สมาชิกประเภทบริษัท SAKATA Yuko ประโยชน์กับสโมสรฯ ในประเทศไทยด้วย” บจก. Umemura Corp. (Thailand) “โปรแกรมนี้ให้โอกาสดีมากแก่ผมในการเรียนรู้องค์กรโรตารีอย่างแท้จริง ผมได้ร่วมกิจกรรมส่งมอบเครื่อง กรองน�ำ้ ดืม่ สะอาดปลอดภัยให้แก่โรงเรียน และชุมชนในชนบทห่างไกล ท�ำให้ผมเข้าใจในเรือ่ งการบ�ำเพ็ญประโยชน์ มากขึ้น การท�ำสาธารณกุศลควรท�ำอย่างไรจึงเกิดประสิทธิผล และสร้างความภาคภูมิใจแก่ผู้ท�ำ ผมใช้ความรู้ความเชี่ยวชาญส่วนตนในเรื่อง IT และคอมพิวเตอร์ ช่วยเหลือสโมสรฯ เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ กิจกรรมของโรตารี และสโมสรฯ ทางสื่อสังคม facebook, twitter และ blog ของสโมสรฯ ภายใน 7 เดือน Page view ของผู้เข้าชม blog สโมสรฯ เพิ่มขึ้น 87% จาก 2,142 เป็นกว่า 4,000 page views”

สมาชิกประเภทบริษัท YAMAZAKI Kohei บจก. Umemura Corp. (Thailand)


เจาะลึก...ลิสบอน โดย จอห์น เรเซ็ก ผวล.ศุภรี ฉัตรกันยารัตน์ สร.เชียงใหม่เหนือ แปล

“จากการผจญภัยอันน่าตืน่ ใจของนักสำ�รวจชาว โปรตุเกสที่ได้ค้นพบทวีปใหม่ๆ ในอดีต บัดนี้เป็นโอกาส ของเราแล้ว ที่จะพลิกย้อนเรื่องราวเหล่านั้นให้กลับมา โลดแล่นเร้าใจอีกครั้ง”

30

Rotary Thailand



ราใดที่เรานึกอยากจะไปเยือนเมืองที่สวยงามเต็มไปด้วย ความร�่ำรวยทางวัฒนธรรมและความแปลกใหม่ บางทีก็มีเพียงเมือง หลวงในยุโรปเช่น ปารีส ลอนดอน โรม ที่ผุดขึ้นมาในความคิดแต่ยังมี เมืองที่ถูกมองข้ามและอาจเข้าใจว่าไม่มีอะไรน่าสนใจ นั่นคือ ลิสบอน เมืองหลวงของโปรตุเกส ซึ่งอยู่ห่างจากสนามบิน Newark เพียง งีบเดียวในเวลา 6 ชั่วโมงเท่านั้น ยิ่งพิจารณาสถานการณ์เศรษฐกิจ ปั จ จุ บั น ของยุ โรปด้ ว ยแล้ ว นั ก ท่ อ งเที่ ย วขาประจ� ำ ถื อ ว่ า การไป โปรตุเกสช่วงนี้นับเป็นโอกาสงามทีเดียว รวมถึงการเดินทางไปร่วม ประชุมใหญ่โรตารีสากล ระหว่าง 23-26 มิถุนายน 2013 ก็จะมีขึ้นที่ ลิสบอนด้วยเช่นกัน โปรตุเกสตัง้ อยูบ่ นแหลมไอเบอเรียน ครอบคลุมพืน้ ทีถ่ ดั จาก ประเทศสเปนไปจนสุดฝัง่ ตะวันตกของยุโรปจรดมหาสมุทรแอตแลนติก มีแนวชายฝัง่ โค้งเว้าเป็นบริเวณกว้างและเต็มไปด้วยความหลากหลาย ทางภูมศิ าสตร์ และเหมือนจะมีพนื้ ทีร่ าบไม่มากนัก ชายหาดยาวและ เนินเขามากมายเหล่านั้นช่วยท�ำให้มีบรรยากาศแบบเมดิเตอเรเนียน สบายๆ น่าอยู่ตลอดทั้งปี บางคนเปรียบโปรตุเกสว่ามีภูมิอากาศ ประมาณ 70 ฟาเรนไฮต์ เหมือนทางใต้ของแคลิฟอร์เนียในช่วง มิถุนายน ซึ่งหากไม่นับเอเธนส์ที่มีอากาศอุ่นกว่าที่ใดในยุโรป ก็ไม่มี เมืองไหนมีแสงแดดในแต่ละวันยาวนานกว่าโปรตุเกสอีกแล้ว เช่นเดียวกับอีกหลายเมืองในโปรตุเกส ลิสบอนเต็มไปด้วย ความงดงามทีไ่ ม่ธรรมดา มีทงั้ ความทันสมัยท่ามกลางตึกรามบ้านเรือน หลังคาสีแดงแบบดั้งเดิม มีทางเดินซอกแซกแยกไปหลายทาง บ้างไป โผล่ตรงลานโล่งได้อย่างน่าประหลาด แวดล้อมไปด้วยอาคารเก่าแก่ กว่าห้าหกร้อยปี บางแห่งตกแต่งด้วยกระเบื้องเคลือบโทนสีน�้ำเงินที่ ไม่ว่าเราจะผ่านชมกี่ครั้งก็ดูสวยงามแปลกตาอยู่เสมอ ลิ ส บอนจึ ง แลดู ว าววั บ ไปด้ ว ยกระเบื้ อ งเคลื อ บเหล่ า นี้ พระราชวัง โบสถ์ วัดวาอาราม น�ำ้ พุ สถานีรถไฟ ร้านอาหาร บ้านเรือน ล้วน ได้รบั การตกแต่งประดับประดาผนังด้วยกระเบือ้ งลวดลายสวยสด การ เคลือบใสทับบนลายวาด แบบนี้ เรียกว่าอะซูเลโคส ในภาษาอาระบิค หมายถึงหินขัด ซึ่งเป็นศิลปะที่หลงเหลือถ่ายทอดมาจากแขกมัวร์ ที่อาศัยในแถบแหลมไอเบอเรียน และสืบต่อมาโดยชนชาติสเปนใน ศตวรรษที่ 15 ผมเองประทับใจศิลปะนี้มากเมื่อได้เห็นที่พระราชวัง ของกษัตริย์เอมมานูเอลในเมืองซินทราซึ่งพระองค์ได้สั่งให้ตกแต่ง ด้วยกระเบื้องเหล่านี้เช่นกัน

32

Rotary Thailand

บน : ภาพวาดบนแผ่นกระเบื้อง บรรยายให้เห็นบรรยากาศ ท่าเรือ เก่ า แก่ ข องลิ ส บอนและเรื อ ที่ ทอดสมอลอยล�ำอยู่ ล่ า ง : วิ ว เมื อ ง Alfama ใน โปรตุเกส มองเห็นโบสถ์เซนต์ สตีเฟ่นเบื้องล่างและเรือส�ำราญ แบบสมัยใหม่จอดทอดสมออยู่ แนวชายฝั่ง หน้าก่อน : Belem Tower บน แนวป้อมปราการ



34

Rotary Thailand


ในยุ ค แรกลวดลายบน กระเบือ้ งเป็นเพียงลายกราฟิกพืน้ ๆ มี สี น�้ ำ เงิ น สี เ หลื อ ง สี เขี ย วและ สีขาว ไม่ปรากฏลายรูปคนเนือ่ งด้วย ข้อห้ามของอิสลาม กระทั่งเข้าสู่ ศตวรรษที่ 17 ยุ ค ราชวงศ์ ห มิ ง ที่อิทธิพลเอเชียได้แผ่ขยายเข้าไป พร้ อ มกั บ การสร้ า งลวดลายเชิ ง บั น ทึ ก เหตุ ก ารณ์ ต ่ า งๆ ในช่ ว ง ศตวรรษที่ 18 โปรตุเกสได้ชอื่ ว่าท�ำ กระเบื้องมากกว่าชาติใดในยุโรป ปั จ จุ บั น คุ ณ จึ ง สามารถมองหา หากระเบื้องที่สวยสะดุดตาได้ใน ราคาไม่ แ พงนั ก ในลิ ส บอน โดย เฉพาะที่ร้าน อลิสเซลว่า และดิน่า นูเอส ในเขตอัลฟามา ลิสบอนเป็นเมืองที่สร้าง บนเนินเขา ไม่ว่าจะถ่ายจากมุม ไหนก็จะได้ภาพสวยงามอย่างกับ ที่เห็นในโปสการ์ดเช่นนั้นเลย โดย เฉพาะภาพมุมกว้างทัว่ ลิสบอนหาก มองลงมาจากแนวก�ำแพงปราสาท เซนต์ จ อร์ ช ปราสาทที่ เ คยตก เป็นของชาวโรมันหรือลูสิทาเนีย วิสกอดและมัวร์ ท้ายสุดหลังจาก ขับพวกมัวร์ออกไป ได้เคยเป็นที่ ประทั บ ของกษั ต ริ ย ์ โ ปรตุ เ กสใน ยุคแรก หากหันหน้าสูแ่ ม่นำ�้ ทากัส แล้ ว มองไปทางขวาก็ จ ะเห็ น ประภาคารเบลเลมตั้งตระหง่าน ดุจดั่งอนุสรณ์สถานแห่งท้องทะเล ณ จุดนี้นั่นเองที่ วาสโกดากามา และเฟอร์ดินานด์ แมกกิลแลนด์ ได้เริ่มต้นการเดินเรือส�ำรวจอีกซีก หนึง่ ของโลก อันน�ำไปสูย่ คุ สมัยของ ความมั่งคั่งและรุ่งเรืองอ�ำนาจของ โปรตุเกสอย่างที่ไม่เคยมีมาก่อน

ซ้าย : ลิสบอนยามค�่ำคืน มอง จากลิฟต์ Santa Justa (ตั้งอยู่ บนหอสูงโครงสร้างเหล็ก) เห็น ไปถึงปราสาทเซนต์จอร์ช บน : อนุสาวรีย์เพื่อร�ำลึกถึง ผู้ค้นพบ ในคณะของเจ้าชาย เฮนรี-นักส�ำรวจ ตัง้ หันหน้าน�ำพา เราไปสู่ทะเล ล่าง : มีรถรางหลายสาย ง่ายต่อ การเที่ยวชมเมือง

แต่หากมองไปทางต้นน�้ำทางด้าน ซ้าย ก็จะเห็นพื้นที่ที่เคยเป็นสถาน ทีจ่ ดั งานเอกซ์โปประจ�ำปี 1998 ซึง่ ยังคงมีบรรยากาศของการค้ารวม ทั้งแหล่งช้อปปิ้งขนาดใหญ่ โถง จ�ำลองท้องทะเลที่สวยติดอันดับ โลกและแอตแลนติโกพาวิลเลียน ที่ จ ะใช้ เ ป็ น สถานจั ด งานประชุ ม โรตารีสากลนั่นเอง บทเพลงพืน้ เมืองโปรตุเกส ถูกน�ำมาขับกล่อมได้ไพเราะตรึงใจ แล้ว จะมี อ ะไรอี กที่ ท� ำ ให้ ไม่ ช อบ เมื อ งที่ เ ลอเลิ ศ พอกั น ทั้ ง อาหาร การกินและบรรยากาศเย้ายวนใจ สุดๆ อย่างเมืองนี้ ถ้าไม่นับความมีเสน่ห์ยิ่ง ของลิสบอน ลิสบอนก็จัดว่าเป็น เมืองแถบเมดิเตอเรเนียนทีท่ นั สมัย ทั่วๆ ไป ขณะเดี ย วกั น ก็ มี แ บบ ฉบั บ ของความเป็ น ยุ โ รปแนว ชายฝั ่ ง เช่ น ลั ก ษณะของต� ำ รั บ อาหารที่ปรุงจากปลาและอาหาร ทะเลสดๆ ซึ่งหาชิมได้ทั่วไป ความ น่ า รั ก ในอั ธ ยาศั ย ของเชฟและ เจ้าของร้านอาหารที่นี่ไม่แพ้ร้าน ในเมืองใหญ่ทั้งหลายในยุโรปเลย เว้นเสียแต่ปารีส (เผือ่ บางคนคิดว่า อย่างนัน้ ) ทีน่ มี่ ที งั้ สถานบันเทิงแสง สีส�ำหรับคนรุ่นใหม่ บทเพลงพื้น เมืองโปรตุเกสถูกน�ำมาขับกล่อม ได้ไพเราะตรึงใจแล้วจะมีอะไรอีก ทีท่ ำ� ให้ไม่ชอบเมืองทีเ่ ลิศพอกันทัง้ อาหารการกินและบรรยากาศยวน ใจสุดๆ อย่างเมืองนี้


บน : กระเช้าลอยฟ้าในคอมเพล็กซ์ใหม่ ติดริมน�ำ้ พาหนะทีส่ ร้างสีสนั ให้ลสิ บอน ล่าง : รูปปัน้ กษัตริยเ์ ปรโดที่ 4 บนยอด คอลัมน์ สร้างความโดดเด่นให้กับรอส ซิโอสแควร์ บนขวา : ภาพบ้านเมืองย่านอังกูสตา บนแผ่นกระเบือ้ งยุคศตวรรษที1่ 9 เพือ่ ล�ำลึกถึงการบูรณะโปรตุเกสหลังแผ่น ดินไหวในปี 1755 ล่างขวา : ย่านอังกูสตาในปัจจุบัน

36

Rotary Thailand

มาว่ า เรื่ อ งอาหารกั น บ้างดีก ว่า เราเลือกร้านอาหาร ด้วยเหตุผลต่างกัน บางทีเพราะ บรรยากาศ บางทีเพราะเชฟ บางที ก็อยากไปอวดโฉม บางทีก็ไปที่ ทีไ่ ม่อยากให้ใครเห็น หากต้องการ ลิ้ ม ลองรสชาติดั้งเดิมก็ต้องไปที่ มาร์ตินโฮ ดา อาเคดา บริเวณ พลาซาโดคอมเมซิโอหรือจตุรสั ใหญ่ ซึ่งเป็นร้านที่กวีชาวโปรตุเกสผู้ได้ รับการยกย่อง นามว่า เฟอนานโด เปส โซอา มักจะแวะไปเล่น โต๊ะ ประจ�ำยังคงถูกเก็บไว้ให้เขา และ คุณต้องแวะเข้าไปดูว่าในวันนั้นมี อาหารทะเลอะไรบ้างจัดโชว์ไว้ใน กระบะน�้ำแข็งใกล้ประตูหน้าร้าน (ผมเลือกปลาหมึกเสียบไม้ย่างซึ่ง มันยอดเยีย่ มมาก) ทีน่ เี่ ป็นร้านเท่ห์ ในย่านสวย แต่อาจมีบางคนไม่เห็น ด้วยว่า ร้านนีต้ อบโจทย์ให้ลสิ บอน เทียบได้กบั ร้านดัง “ลาคูปอังปาครี” เลยทีเดียว ใจกลางเมืองจะพบว่ามี ร้านแนวแปลกทีก่ ลิ ตี ซึง่ เชฟคนดัง เชฟโอลิเว่อร์ ดา คอสตา ลงบันทึก ไว้ ร้านกิลตีได้สรรค์สร้างอาหาร ง่าย ๆ โดยเลือกท�ำอเมริกันพิซ ซาและแฮมเบอเกอร์ ใ ห้ มี ส ไตล์ เตาอบพิ ซ ซาแสตนเลสแบบใช้ ฟืน ท�ำให้ห้องครัวดูโดดเด่นเสริม รับกับการตกแต่งแบบเล้านจ์ด้วย พรมหนั ง วั ว และผนั ง ไม้ ท� ำ จาก ไม้ลังบรรจุไวน์ ช่วยดึงดูดลูกค้า แทบทุกประเภทและดูเหมือนบาง ครั้ ง จะช่ ว ยเบนความสนใจจาก ความบกพร่องของพนักงานและจาก


ความวุน่ วายของกลุม่ ผูป้ ระท้วงที่ มักจะมีในวันเสาร์ไปได้ ร้านบิกา โด ซาปาโต เป็นร้านอาหารริมน�้ำ ของจอห์น มัลโควิช และหุ้นส่วนทั้งสี่ หนึ่ง ในนั้นคือเฟอนันโด เฟอนันเดส ทีช่ ว่ ยเติมสีสนั ให้ในฐานะเจ้าของ ร้าน มีอีกสามร้านเด่นในย่านที่ ปรับเปลีย่ นตกแต่งจากโครงสร้าง เก่าของโรงประกอบเรือ เช่นร้าน ซูชิบาร์ “คาเฟเทอเรีย” แล้วยัง มีอีกหลายร้านที่น�ำเสนอความ หลากหลายของอาหารพื้นบ้าน โปรตุเกสได้อย่างเร้าใจ ย่านนี้ จึ ง ครึ ก ครื้ น ด้ ว ยผู ้ ค นแนวใหม่ ประมาณว่าพวกผูน้ ำ� เทรนด์อะไร ท�ำนองนั้น แต่ก็น่าสนใจและไม่ ควรพลาดไปเยือน ร้ า นโปรดของผมชื่ อ เปอโดร เอ โอ ลาโป (ปีเตอร์แอนด์ เดอะวูฟ) อยู่ที่ถนนซัลลิแตร์ค มีเชฟหนุม่ สองคน โดวโก โนโรนา

บน : ทอดมันปลาคอด อาหารเด่น ของโปรตุ เ กสที่ ห าทานได้ ทั่ ว ไป อร่อยทั้งแบบร้อนและเย็น ล่าง : ขนมคัสตาร์ดที่โปรดปราน ของคนโปรตุเกส รสชาติหวานนุ่ม ชวนฝันไปถึง Belem โน่นเลย


บน : สะพานท่อส่งน�ำ้ วิศวสถาปัตยกรรม อันเก่าแก่สวยงามน่าทึ่ง ล่าง : ลานด้านในของ “เคโรนิโมส” อารามที่วิจิตรงดงาม บนขวา : ทางเข้ า หน้ า ร้ า นคาเฟอั น โด่งดังของลิสบอน ล่างขวา : ภาพบนกระเบื้องสื่อความ ระทมในรูปแบบของบทเพลงฟาโด ขวาสุด : ภาพวาด “ระเบียงจูเลียส” บนแผ่นกระเบื้องในกรอบแบบที่เรียก ว่า ซูเลโคส

38

Rotary Thailand

กับ นูโน แบร์คโกนส์ น�ำเสนออาหาร รสชาติโปรตุเกสแท้แต่ประยุกต์ออก มาด้วยความรูค้ ฝู่ มี อื มีบริกรมืออาชีพ ช่ ว ยอธิ บ ายรายละเอี ย ดที่ ม าของ สู ต รอาหารพร้ อ มแนะน� ำ ไวน์ จ าก แหล่งผลิตที่มีชื่อของโปรตุเกส เพื่อ ดื่มควบคู่กับอาหารที่เราสั่งได้อย่าง กลมกล่ อ ม ที่ อ ร่ อ ยแน่ น อนเลยก็ เช่ น สลัดปลาหมึกอ๊อกโตปุส ปลา กระพงขาวกับหอยนางรม แม้วา่ คุณนึก อยากชิมบางอย่าง แต่ผมว่าคุณจะไม่ พลาดของอร่อยของแต่ละร้านที่เขา น�ำเสนอแน่ เพราะคุณจะคล้อยตาม ค�ำเชิญชวนจนอดสั่งตามค�ำแนะน�ำ ไม่ได้ คุ ณ อาจกั ง วลที่ ไ ม่ ใช่ ห นึ่ ง ใน 175 ล้านคนที่พูดภาษาโปรตุเกส เพราะขนาดว่าคนที่พอเข้าใจภาษา ลาตินและโรมันก็ยงั รูส้ กึ สับสนเลย ใน ยุค 212 ก่อนคริสตกาล ชาวโรมันซึ่ง ใช้ภาษาลาตินเข้าครอบครองแหลม ไอเบอเรียน แต่ภายหลังได้ถอยร่น การรุกครองของชนชาวเยอรมานิค ทีร่ บั ภาษาลาตินไปใช้ในแบบเพีย้ น ๆ ภาษาโปรตุ เ กสพั ฒ นาจากภาษา เหล่านี้และภาษากัชกัลย์ หากคุณ เข้ า ใจภาษาสเปนก็ จ ะเข้ า ใจภาษา พูดและอ่านภาษาโปรตุเกสได้บ้าง


แต่แม้ว่าคุณจะไม่เข้าใจ คุณก็จะสัมผัส ได้ว่าภาษาโปรตุเกสนั้นมีส�ำเนียงความ คล้องจองนุ่มนวลชวนหลงไหลไม่น้อย ชิ ค าโกมี เ พลงบู ล ส์ ข ณะที่ โปรตุเกสมีเพลงพืน้ เมือง เพลงบูลส์นนั้ มี ทั้ ง คร�่ ำ ครวญแต่ ก็ มี ช ่ ว งกรี ด ร้ อ ง เร่งเร้าให้เต้นร�ำได้ เปล่งเสียงร้องสะกด อารมณ์และปลดปล่อยความรูส้ กึ เพลง พื้ น เมื อ งแบบฟาโดไม่ มี ค วามหมาย เป็นค�ำๆ แต่เน้นถ่วงท�ำนองเอื้อนยาว อย่างอ้อยสร้อย สื่ออารมณ์เศร้าโศกา เปล่าเปลี่ยวเดียวดายและผิดหวัง แต่ ก็เว้นช่วงสั้นๆ ให้ดนตรีเร่งเป็นจังหวะ เต้นร�ำสลับกัน ฟาโดมาจากบทกวีเล่า เรื่องราวก่อนเก่าของโปรตุเกส และมี ต้นฉบับดนตรีบราซิลเลี่ยนกับแอฟริกา เหนือผสมอยู่ด้วย ช่วงเชื่อมต่อระหว่างศตววรษ ที่ 19 ในย่ า นอั ล ฟามาของลิ ส บอน การร้องฟาโดเพื่องานเฉลิมฉลองนั้น นั ก ร้ อ งหญิ ง จะแสดงคู ่ กั บ มื อ กี ต าร์ ชายที่ บ รรเลงกี ต าร์ 12 สายของ โปรตุเกส ซึ่งอาจจะปรับมาจากพิณ ของชาวคองโก เป็นทีร่ กู้ นั ว่า อะมัลยา โรดริ ง กู ส คื อ ควี น แห่ ง ฟาโด ดั่ ง ผลงานที่ยังคงมีปรากฏในรูปแบบของ แผ่ น เพลง คุ ณ จะไม่ เข้ า ใจในสั ม ผั ส


แห่งฟาโดได้อย่างลึกซึ้งกระทั่งได้ฟังของจริงสักแห่งใน ลิสบอน ผมแนะน�ำฟาโดบาร์ชื่อ คาซ่า เดอ ลินฮาเรส คุณจะได้นงั่ เอกเขนกสบายๆ เพลิดเพลินเสียงร้องมืออาชีพ ที่เธอจะเปล่งร้องแสดงอย่างสุดเสียงกังวาลไปทั่วทั้งห้อง ทีจ่ ริงก็เพลินไปอีกแบบทีน่ านๆ ทีเราจะได้เข้าถึงซึง่ สัมผัส ศิลปะดนตรีแห่งอารมณ์อันสลดหดหู่สุดขั้วได้ถึงเพียงนั้น ขณะที่คุณเพลิดเพลินเจริญใจในหลากหลาย สถานที่นั้น เพื่อไม่ให้พลาดลองก้มลงมองสักนิดว่าคุณ เดินอยู่ที่ไหน อาจจะก�ำลังย�่ำไปบนทางเดินที่เรียกว่า คัลซาด้า ซึ่งท�ำจากหินปูนโดยช่างฝีมืออยู่ก็ได้ หินปูนลาย ขาวด�ำที่ถูกตัดแต่งและจัดเรียงเป็นลวดลายอย่างมีศิลปะ อันเป็นงานปูพื้นถนนที่ท�ำด้วยมือแห่งเดียวที่ไม่มีปรากฏ ทีใ่ ดอืน่ อีกแล้ว ความลดหลัน่ ของระดับพืน้ ทางเดินลาดลง สู่แม่น�้ำทากัส เอื้อให้เกิดการประดิษฐ์สร้างลวดลายได้ อย่างสลับซับซ้อน พืน้ ผิวสูงๆ ต�ำ่ ๆ ในลิสบอนหลายแห่งที่ เราจะพบว่าถูกประดิดประดอยด้วยศิลปะแบบเดียวกันนี้ เราเรียกแรงงานช่างฝีมอื เหล่านีว้ า่ กัลเซเตียโรส และแม้วา่ จะมีการซ่อมแซมเมืองไปทั่วหลายแห่ง ก็ขอภาวนาให้ ศิลปะนี้ไม่ถูกลบเลือนไปด้วยเลย แต่กระนั้นก็ขอเตือนว่า การเดินย�ำ่ ไปบนเส้นทางทีส่ กึ กร่อนหลุดเลือนไป มิหน�ำซ�ำ้ ยังโดนฝนชะอีกนั้น อาจจะมีความรู้สึกกระโดกกระเดก คล้ายการเล่นสเก็ตครั้งแรกก็เป็นได้ หนังสือน�ำเที่ยวหลายเล่มจะช่วยแนะน�ำและ บอกเส้นทางให้คุณได้ แต่เท่าที่ผมเคยอ่านไม่มีเล่มใด ไม่เยินยอความเลอเลิศไม่เหมือนใครของลิสบอน มันมี ทั้งรสชาติความพิศวงพร้อมกับความเย้ายวนชวนเชิญให้ ติดตามหาความลับมากมาย เมืองที่ยังคงไว้ซึ่งบรรยากาศ ลุ่มลึกขณะที่ต้องตระหนักในความแปรเปลี่ยนของโลก ยุคปัจจุบัน และแม้ต้องรับมือกับปัญหาเศรษฐกิจเฉกเช่น เดียวกับประเทศเพื่อนบ้านในยุโรป โปรตุเกสก็ยังมุ่งมั่น รักษาศักดิ์ศรีเพื่อแสดงถึงความเป็นประเทศเก่าแก่ที่มี ประวัตแิ ละศิลปะอันรุง่ เรืองโดดเด่น และพร้อมแล้วอย่าง แน่นอนส�ำหรับการต้อนรับผู้ไปเยือน ลงทะเบียนเข้าร่วมประชุมโรตารีสากลภายใน 15 ธันวาคม 2555 นี้ ในอัตราพิเศษ ผ่านเว็บไซต์ www.riconvention.org

40

Rotary Thailand



42

Rotary Thailand



Rotary in Action กิจกรรมคลินกิ จักษุบริการ (Amigo Vision) ของมูลนิธิ จักษุบริการสโมสรโรตารีเชียงใหม่เหนือ ที่ อ.เชียงดาว, อ.สารภีและอ.อมก๋อย เมื่อมีนาคมและสิงหาคม 2555 ที่ผ่านมา

44

Rotary Thailand


ศูนย์โรตารีในประเทศไทย September‐October 2012

มิตรโรแทเรียนทีร่ กั ทุกท่าน วันเวลาของชาวโรแทเรียนทีร่ ว่ มกันสร้างผลงานเพื่อสันติสขุ ได้ผ่านไปอย่างรวดเร็ว 2 เดือนแล้วของ ปี น้ี ผมและเจ้าหน้ าที่ศูนย์โรตารีในประเทศไทยขอขอบคุณและเป็ นกําลังใจให้ท่านนายกสโมสรและคณะ กรรมการบริหารรสโมสรทุกสโมสรทัง้ 4 ภาคในประเทศไทย ทีไ่ ด้เริม่ สร้างผลงานด้วยความเข้มแข็งและสาน ต่ออุดมการณ์โรตารีอย่างต่อเนื่องสมํ่าเสมอ โดยเฉพาะในช่วงเวลานี้หลายๆ จังหวัดเริม่ ได้รบั ผลกระทบจากอุทกภัย น้องนํ้า ได้เริม่ มาแวะเวียนอีกครัง้ หนึ่ง เรายังพอมีเรือและกล่องนํ้าใจช่วยผูป้ ระสบภัยอยู่ ขอท่านได้กรุณาติดต่อจากทางศูนย์โรตารี ในประเทศไทยเราได้ เพื่อเตรียมความพร้อมไว้ดงั ที่ได้เคยแจ้ง เวียนให้ทา่ นได้ทราบแล้ว ศูนย์โรตารีในประเทศไทยพร้อมให้บริการที่ดยี งิ่ ๆ ขึน้ ไป เพื่อ ตอบสนองความต้อ งการของมิต รโรแทเรีย น ขอท่ า นได้ กรุณาให้คาํ แนะนํา, ข้อคิดเห็นในการทีจ่ ะทําให้การบริหารจัดการ ให้ ศู น ย์ ฯ ของเรา ได้ ทํ า ประโยชน์ แ ก่ ม ิ ต รโรแทเรี ย นตาม วัตถุประสงค์อย่างเต็มประสิทธิภาพ เพื่อความสําเร็จและ ความเข้มแข็งของโรตารีในประเทศไทย ขอขอบคุณทุก กํา ลังใจและความร่วมมือที่ท่านมีให้ชาวศูนย์ฯ ของเรา ครับ ด้วยไมตรีจติ แห่งโรตารี

(อผภ.ไพโรจน์ เอือ้ ประเสริฐ) ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์โรตารีฯ ปี 2555-57

เดือนกันยายน 2555  โรแทเรียนทุกคนควรมีบต ั รประจําตัวสมาชิกสโมสรโรตารี ใบละ

ต่อ US$1 ROTARY FIGURES

5 บาท ซือ้ ได้ทศ่ี นู ย์โรตารีฯ  ดาวน์โหลดเอกสารโรตารีภาษาไทยได้ท่ี www.rotarythailand.org  ส่งรายชื่อสมาชิกสโมสรพร้อมทีอ ่ ยูท่ เ่ี ป็ นปจั จุบนั มาทีศ่ นู ย์โรตารีฯ ทางไปรษณียห์ รือโทรสาร 0 2661 6719 หรืออีเมล rotaryth@ksc.th.com เพือ่ ให้สมาชิกทุกคนได้รบั นิตยสารโรตารี ประเทศไทย

D3330

Members: 2,542

Clubs: 92

D3340

1,291

55

D3350

2,344

86

D3360

1,307

62

Source: RI Fiscal Agent (17 ∙ 8 ∙ 12)

ศูนย์โรตารีในประเทศไทย 75/82‐83 อาคารโอเชีย่ นทาวเวอร์ 2 ชัน้ 32 ซ.วัฒนา ถ.อโศก วัฒนา กรุงเทพฯ 10110 โทร. 0 2661 6720 โทรสาร 0 2661 6719; rotaryth@ksc.th.com; www.rotarythailand.org; www.facebook.com/ThaiRotaryCentre


ถ่ายโดย สุนทร ทับอัตตานนท์

New and Old Generations


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.