á¢Ç§»·ØÁÇѹ
Email : contact@sammakorn.co.th ISO 9001 : 2008
122
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
เราไม่เพียงสร้างบ้าน แต่...เราสร้างสังคม
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
123
นโยบายความรับผิดชอบต่อสังคม
บริษทั ฯกำ�หนดนโยบายความรับผิดชอบต่อสังคมควบคูไ่ ปกับการดำ�เนินธุรกิจของบริษทั ฯ ด้วยการใส่ใจดูแลรักษาสิง่ แวดล้อม และให้ความสนับสนุนช่วยเหลือชุมชน และสังคมโดยรวม สอดคล้องกับการปฏิบัติตามหลักคุณธรรมและการแบ่งปัน ไม่กระทำ� สิ่งที่เป็นผลเสียต่อสังคมทั้งทางตรงและทางอ้อม กระทำ�สิ่งที่ดีเป็นประโยชน์ต่อสังคมส่วนรวม ตามกำ�ลังความสามารถ โดย ผู้บริหารและพนักงานทุกคนจะเข้าไปมีบทบาทเกี่ยวข้องกับกิจกรรมช่วยเหลือสังคมดังกล่าว ด้วยความร่วมมือร่วมใจกันทำ� กิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อชุมชน และสังคมหลายภาคส่วนอย่างมุ่งมั่น และกำ�หนดให้มีการติดตามการดำ�เนินงานในกิจกรรม ต่างๆ อย่างต่อเนื่อง เพื่อการพัฒนาสังคมให้มีการเติบโตอย่างยั่งยืน ดังปรัชญาการดำ�เนินงานของบริษัทที่ว่า “เราไม่เพียง สร้างบ้าน...แต่เราสร้างสังคม”
โครงการเลี้ยงอาหารว่างให้กับน้องๆ โรงเรียนบ้านเด็กรามอินทรา
พนักงานบริษัทฯ ร่วมกันจัดกิจกรรม “แบ่งปันพลังใจ เติมเต็มพลังบุญ” เพื่อช่วยเหลือเด็กตาบอด ผู้พิการซ้ำ�ซ้อน โดยนำ�อาหารว่าง เครื่องอุปโภคบริโภคที่จำ�เป็น และจัดกิจกรรมสันทนาการให้น้องๆ ได้สนุกสนานกัน และรวบรวมเงินบริจาค จากพี่ๆ ใจดี แบ่งปันมาเป็นทุนช่วยเหลือในการพัฒนาน้องๆ ตามศักยภาพของแต่ละคนให้ช่วยเหลือตนเองได้ เมื่อวันที่ 15 มิ.ย. 55
โครงการช่วยเหลือโรงเรียนที่ประสบอุทกภัย
บริษทั ฯได้รว่ มกับตลาดหลักทรัพย์ฯ ภายใต้โครงการ “คืนโรงเรียน ให้ลูกหลาน สานสัมพันธ์ชุมชน” ให้แก่โรงเรียน 59 แห่ง ที่ประสบ ปั ญ หาอุ ท กภั ย เมื่ อ ปลายปี 2554 โดยบริ ษั ท ฯ ได้ เ ป็ น ตั ว แทน ในการจั ด หาดำ � เนิ น การปรั บ ปรุ ง ซ่ อ มแซมโรงเรี ย นชั ย สิ ท ธาวาส “พัฒน์สายบำ�รุง” อำ�เภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี ตั้งแต่เดือน ม.ค. - ก.ค. 55 และพาพนักงานที่มีจิตอาสาไปร่วมกันทาสีอาคาร ปรับปรุงทัศนียภาพของโรงเรียน และจัดหาวัสดุอุปกรณ์ที่จำ�เป็น ต่ อ การเรี ย นการสอน รวมทั้ ง ติ ด ตามและ พั ฒ นาโรงเรี ย นให้ มี สภาพแวดล้อมที่ดีอย่างต่อเนื่อง และได้ทำ�การส่งมอบอาคารไป เมื่อวันที่ 23 ก.ค. 55
2
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
โครงการ “บริจาคถังดับเพลิง และสาธิตการดับเพลิง”
ภายหลังการเข้าฟืน้ ฟูโรงเรียนชัยสิทธาวาส “พัฒน์สายบำ�รุง” โดยการปรับปรุงซ่อมแซมโรงเรียนหลังน้�ำ ท่วมแล้วเสร็จ บริษทั ฯ ได้ร่วมกับ หจก.พญาสมุทร จัดหาเครื่องดับเพลิงมอบให้กับโรงเรียน และจัดกิจกรรมเสริมสร้างความปลอดภัย เพื่อให้ความรู้กับครู นักเรียน โดยเชิญคุณวชิรพล อรุโณ หัวหน้าฝ่ายป้องกันและรักษาความสงบ (นักบริหารทัว่ ไป 7) จากสำ�นักงานเทศบาลเมืองคลองหลวง เป็นวิทยากรสาธิตการอบรมการดับเพลิง เมื่อวันที่ 7 ก.ย. 55
โครงการพัฒนาชุมชน บ้านหนองขวาง ต.โคกกลาง จ.บุรีรัมย์ โครงการช่วยเหลือโรงเรียน ที่ประสบอัคคีภัย
จากเหตุการณ์ไฟไหม้ โรงเรียนบ้านพระมะขามสามัคคี ต.ด่านขุนทด จ.นครราชสีมา เมือ่ วันที่ 5 ส.ค. 55 บริษทั ฯ พนักงาน และผู้มีจิตศรัทธาได้ร่วมกันบริจาคเงินเพื่อ สมทบทุนซ่อมแซมอาคารเรียน และนำ�ครือ่ งกีฬาเสือ้ กีฬา และอุปกรณ์ การเรียนการสอนจากผูม้ จี ติ ศรัทธา มอบให้ กับนักเรียน โดยมีคณะครู นักเรียน เป็นตัวแทนรับมอบ และขอบคุณที่พวกเราแบ่งปันน้ำ�ใจมาช่วยเหลือ เมื่อ วันที่ 27 ก.ย. 55 เพื่อให้โรงเรียนสามารถเปิดการเรียน การสอนได้ตามปกติ
บริษทั ฯได้รว่ มกับสมาคมพัฒนาประชากร (PDA) พัฒนาชุมชน เป็นการต่อเนือ่ ง 3 ปี ตัง้ แต่ปี 2553-2555 โดยเข้าไปมีสว่ นร่วมในการส่งเสริมและสนับสนุนโครงการพัฒนาชนบท สังคม สิ่งแวดล้อม สุขภาพอนามัย และเยาวชน เป็นการปรับปรุงคุณภาพชีวิต เสริมสร้าง ความสามารถและโอกาสในการประกอบอาชีพของชุมชน เพื่อเพิ่มรายได้ให้แก่ครอบครัว และช่วยกันพัฒนาความเป็นอยู่แต่ละครอบครัวให้ดีขึ้น เป็นการเสริมสร้างความเข้มแข็ง ให้กับชุมชนบ้านหนองขวาง ให้สามารถพึ่งตนเองได้ในอนาคตอย่างยั่งยืน และสนับสนุน โครงการพัฒนาระบบน้ำ�บาดาล บริหารจัดการน้ำ�ท่วม และปัญหาขาดแคลนน้ำ� ให้เกิด ความสมดุล มีการกักเก็บน้ำ�ไว้ใช้ยามหน้าแล้งด้วย ในปี 2555 บริษทั ฯ พนักงาน ผูบ้ ริหาร ชาวบ้านหนองขวาง และผูม้ จี ติ ศรัทธา ร่วมกัน สืบทอดประเพณีสำ�คัญทางพระพุทธศาสนาจัดตั้งกองกฐินสามัคคีเป็นปีที่ 2 เมื่อวันที่ 24 พ.ย. 55 เพื่อพัฒนาวัด ทำ�นุบำ�รุงศาสนา และพัฒนาชุมชน ให้มีความเป็นอยู่ และ สภาพแวดล้อมที่ดีขึ้น
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
3
สารบัญ
CONTENTS
05 06 07 13 20 21 22 23 26 28 29 30 31
4
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
จุดเด่นทางการเงิน Financial Highlights รายงานของคณะกรรมการ Report from The Board of Directors โครงสร้างการถือหุ้นและการจัดการ Shareholding and Management Structure การกำ�กับดูแลกิจการ Corporate Governance รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ Report from the Audit Committee รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ต่อรายงานทางการเงิน Report of the Board of Directors’ Responsibilities for the Financial Statements โครงสร้างองค์กร Organization Chart ลักษณะการประกอบธุรกิจ Type of Business ปัจจัยความเสี่ยง Factors of Risk ภาวะอุตสาหกรรมและการแข่งขัน Real Estate Business in 2012 and Prospect for 2013 ข้อมูลเกี่ยวกับบริษัท Company Profile คำ�อธิบายและการวิเคราะห์ของฝ่ายจัดการ Management Discussion and Analysis รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาตและงบการเงิน Audit Report of Certified Public Accountants and Financial Statements
จุดเด่นทางการเงิน
FINANCIAL HIGHLIGHTS
ณ 31 ธันวาคม 2555 / As at December 31, 2012 หน่วย : พันบาท / Unit : Thousand Baht
ผลการดำ�เนินงาน (งบการเงินเฉพาะกิจการ)
(หน่วย : พันบาท / Unit : Thousand Baht)
สินทรัพย์รวม Total Assets (หน่วย : พันบาท / Unit : Thousand Baht)
2554 2011
2555 2012
719,334 804,069 480,418 180,703
594,667 683,915 413,760 189,131
744,396 839,007 499,638 220,955
Operating Performance (Company Only)
รายได้จากการขาย Sales revenue รายได้รวม Total revenue ต้นทุนขาย Cost of sales ค่าใช้จ่ายในการดําเนินงาน Selling and administrative expenses กําไรก่อนค่าใช้จ่ายทางการเงิน Income before finance cost and และภาษีเงินได้นิติบุคคล corporate income tax กําไร (ขาดทุน) สุทธิ Net profit (loss) สินทรัพย์รวม Total assets หนี้สินรวม Total liabilities ทุนจดทะเบียนเรียกชําระแล้ว Issued and paid-up share capital ส่วนของผู้ถือหุ้น Shareholders’ equity มูลค่าตามบัญชีต่อหุ้น Book value/share กําไร (ขาดทุน) ต่อหุ้น (บาท) Net profit (loss)/share (Baht) เงินปันผลต่อหุ้น (บาท) Dividend/share (Baht) สินทรัพย์หมุนเวียนต่อหนี้สินหมุนเวียน (เท่า) Current ratio (times) หนี้สินรวมต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (เท่า) Debt to equity (times) อัตรากําไร (ขาดทุน)สุทธิต่อรายได้รวม (ร้อยละ) Profit (loss) margin (%) ผลตอบแทนต่อสินทรัพย์รวม (ร้อยละ) Return on assets (%) ผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (ร้อยละ) Return on equity (%)
รายได้รวมและกำ�ไร (ขาดทุน) สุทธิ Total Revenue Net Profit (Loss)
2553 2010
2555 / 2012 2554 / 2011 2553 / 2010
2555 / 2012
2555 / 2012
หนี้สินรวม Total Liabilities
2554 / 2011
(หน่วย : พันบาท / Unit : Thousand Baht)
2553 / 2010
81,025 118,413 20,012 49,212 2,845,471 2,724,713 1,044,537 883,566 450,000 450,000 1,800,934 1,841,147 4.00 4.09 0.04 0.10 0.02 0.04 4.19 4.64 0.58 0.47 2.93 5.86 0.70 1.80 1.11 2.67
839,007
49,212 683,915
20,012
804,069
89,204
2,724,713
2554 / 2011 2553 / 2010
138,681 89,204 2,758,629 947,620 450,000 1,811,010 4.02 0.20 0.10 5.04 0.52 11.09 3.23 4.93
2,845,471
รายได้รวม Total Revenue กำ�ไร (ขาดทุน) สุทธิ Net Profit (loss)
สินทรัพย์รวม Total Assets
2,758,629
883,566 1,044537
หนี้สินรวม Total Liabilities
947,620
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
5
รายงานของคณะกรรมการ
REPORT FROM THE BOARD OF DIRECTORS
พลเรือเอก หม่อมหลวงอัศนี ปราโมช ประธานกรรมการ ปี พ.ศ. 2555 เป็นปีของการฟืน้ ตัวธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ จากวิ ก ฤตอุ ท กภั ย ข้ อ มู ล จากศู น ย์ ข้ อ มู ล อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ แสดงอัตราการฟื้นตัวที่สูง ไม่ว่าจะเป็นที่อยู่อาศัยสร้างเสร็จ จดทะเบี ย นในกรุ ง เทพฯ และปริ ม ณฑลที่ มี ป ริ ม าณหน่ ว ย การเติบโตถึงร้อยละ 37 เมื่อเทียบกับปี 2554 (111,875 หน่วยในปี 2555 เทียบกับ 81,856 หน่วยในปี 2554) หรือ มูลค่าการโอนกรรมสิทธิ์ที่อยู่อาศัยในกรุงเทพฯ และปริมณฑล มีการเติบโตร้อยละ 12 (357,148 ล้านบาทในปี 2555 เทียบกับ 320,173 ล้านบาทในปี 2554) ทั้งนี้เมื่อวิเคราะห์ ลึ ก เข้ า ไปในข้ อ มู ล จะแสดงเห็ น ว่ า ที่ อ ยู่ อ าศั ย ประเภทอาคาร ชุดมีการเติบโตมากในแง่ปริมาณหน่วยที่อยู่อาศัยสร้างเสร็จ จดทะเบี ย นฯ ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ถึ ง ร้ อ ยละ 86 อั น เนื่ อ งมาจาก หน่วยอาคารชุดทีม่ ขี นาดพืน้ ทีเ่ ล็ก ส่วนปริมาณหน่วยทีอ่ ยูอ่ าศัย แนวราบกลับลดลงร้อยละ 18 โดยครึ่งหลังของปี 2555 จะมี ปริมาณมากกว่าครึ่งแรกเนื่องจากการฟื้นตัวหลังวิกฤตอุทกภัย ส่ ว นมู ล ค่ า การโอนกรรมสิ ท ธิ์ ที่ อ ยู่ อ าศั ย ประเภทอาคารชุ ด ขยายตัวร้อยละ 12 และแนวราบขยายตัวร้อยละ 9 ข้อมูล เหล่านี้บ่งบอกถึงพฤติกรรม และความต้องการของผู้บริโภค ทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลงไปสูส่ งั คมเมือง มีความต้องการซือ้ ทีอ่ ยูอ่ าศัย ประเภทอาคารชุดเพิม่ ขึน้ ไม่วา่ จะเพือ่ การอยูอ่ าศัยหรือการลงทุน ซึง่ คณะกรรมการ บริษทั สัมมากร จำ�กัด (มหาชน) ได้ประเมิน ข้อมูลเพื่อใช้ในการวางแผนในการขยายตัวต่อไป อุ ป สรรคที่ ธุ ร กิ จ อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ เ ผชิ ญ ในปี 2555 นอกเหนือจากความเชือ่ มัน่ เกีย่ วกับพืน้ ทีท่ ปี่ ระสบภัยน้�ำ ท่วม คือ วิกฤติขาดแคลนแรงงาน อัตราการว่างงานในประเทศไทยต่�ำ กว่า ร้อยละ 1 ประกอบกับการซ่อมแซมหลังน้ำ�ท่วม การขยายตัว สาธารณูปโภคของภาครัฐ และการขยายตัวทางเศรษฐกิจของ ประเทศไทยและประเทศเพือ่ นบ้าน จึงทำ�ให้เกิดสภาวะขาดแคลน แรงงานอย่างรุนแรง ส่งผลให้งานก่อสร้างล่าช้าและต้นทุน เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง อย่างไรก็ดีผลประกอบการของบริษัทฯ ในปี 2555 เพิม่ ขึน้ จากปี 2554 โดยยอดรับรูร้ ายได้และกำ�ไรสุทธิ
6
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
มีจ�ำ นวน 748.32 ล้านบาท และ 49.21 ล้านบาท ตามลำ�ดับ มีก�ำ ไรต่อหุน้ 0.11 บาท เพิม่ ขึน้ จากปี 2554 ซึง่ อยูท่ ี่ 594.70 ล้านบาท และ 20.01 ล้านบาท มีกำ�ไรต่อหุ้น 0.04 บาท คณะกรรมการบริษทั ฯได้มมี ติให้เสนอผูถ้ อื หุน้ อนุมตั จิ า่ ยเงินปันผล ประจำ�ปี 2555 ในอัตราหุ้นละ 0.04 บาท สำ�หรับปี 2556 นโยบายภาครัฐที่จะส่งผลกระทบ ต่อธุรกิจอสังหาริมทรัพย์คอื การประกาศใช้อตั รา Loan to Value (LTV) ร้อยละ 95 สำ�หรับที่อยู่อาศัยแนบราบราคาต่ำ�กว่า 10 ล้านบาทตั้งแต่ต้นปี 2556 ทั้งนี้คาดว่าไม่ส่งผลกระทบต่อการ ขยายตัวของที่อยู่อาศัยแนวราบ เนื่องจากผู้บริโภคที่ต้องการ ซื้อที่อยู่อาศัยแนบราบมีเงินออมอยู่บ้างแล้ว ต้องการซื้อบ้าน เพือ่ เข้าอยูจ่ ริงไม่ได้เป็นการซือ้ เพือ่ ลงทุนหรือเก็งกำ�ไร ส่วนการ ประกาศผังเมืองรวมกรุงเทพมหานครฉบับปี 2556 ซึง่ คาดว่า จะประกาศใช้ภายในเดือนพฤษภาคมนี้ มีการเปลี่ยนแปลง ประโยชน์การใช้พื้นที่ในบางส่วน แต่สำ�หรับอสังหาริมทรัพย์ ด้ า นที่ อ ยู่ อ าศั ย คาดว่ า จะไม่ แ ตกต่ า งมากไปจากฉบั บ เดิ ม นอกจากนี้แล้วการขยายตัวสาธารณูปโภคของภาครัฐยังเป็นไป อย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้เปิดพื้นที่ที่สามารถพัฒนาโครงการ ได้มากขึน้ และเป็นผลดีตอ่ การขยายตัวของธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ โดยรวม คณะกรรมการบริษัทฯขอขอบคุณท่านผู้ถือหุ้น ลูกค้า พนักงาน คูค่ า้ สถาบันการเงิน และท่านผูเ้ กีย่ วข้องทุกฝ่ายทีใ่ ห้ การสนั บ สนุ น ด้ ว ยดี ต ลอดมา บริ ษั ท ฯตั้ ง มั่ น ว่ า จะดำ � เนิ น ธุรกิจด้วยคุณธรรมซื่อสัตย์สุจริต ระมัดระวังรักษาประโยชน์ โดยเต็มความสามารถ เพือ่ การเติบโตอย่างมัน่ คงและยัง่ ยืนสืบไป
พลเรือเอก หม่อมหลวงอัศนี ปราโมช ประธานกรรมการ
โครงสร้างการถือหุ้นและการจัดการ
SHAREHOLDING AND MANAGEMENT STRUCTURE
โครงสร้างการถือหุ้น
SHAREHOLDING STRUCTURE
บริษัทมีทุนจดทะเบียน จำ�นวน 530 ล้านบาท แบ่งเป็นหุ้นสามัญ 530,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้ หุ้นละ 1 บาท เป็นทุนชำ�ระแล้วจำ�นวน 450 ล้านบาท แบ่งเป็นหุ้นสามัญ 450,000,000 หุ้น * ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2555
ลำ�ดับที ่ No.
ชื่อ Name
Major Shareholders as at December 30, 2012
No.
จำ�นวนหุ้น ร้อยละ of shares %
1 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช H.M. KING BHUMIBOL ADULYADEJ
128,414,850 28.537
2 บริษัท ระยองเพียวริฟายเออร์ จำ�กัด (มหาชน) Rayong Purifire Public Company Limited
111,639,600 24.809
3 ท่านผู้หญิงทัศนาวลัย ศรสงคราม THANPUYING TASANAVALAI SORNSONGKRAM
30,668,550
6.815
4 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี H.R.H. PRINCESS MAHA CHAKRI SIRINDHORN
25,000,000
5.556
5 BNP PARIBAS SECURITIES SERVICES SINGAPORE BRANCE
20,488,400
4.553
6 BNP PARIBAS SECURITIES SERVICES LONDON BRANCE
20,000,000
4.444
7 กองทุนเปิด อเบอร์ดีนโกรท ABERDEEN GROWTH FUND
15,424,900
3.428
8 กองทุนเปิด อเบอร์ดีนหุ้นระยะยาว ABERDEEN LONG-TERM EQUITY FUN
7,996,800
1.777
9 นายศิรัตน์ ธำ�รงรัตน์ MR. SIRAT TUMRONGRAT
7,496,600
1.666
10 พลตำ�รวจเอก เภา สารสิน POLICE GENERAL POW SARASIN หมายเหตุ :
6,330,000 1.407
* ผู้ลงทุนสามารถดูข้อมูลผู้ถือหุ้นที่เป็นปัจจุบันได้จาก Website ของบริษัทก่อนการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี ** ผูแ้ ทนผู้ถือหุ้นใหญ่ที่ด�ำ รงตำ�แหน่งประธานกรรมการในบริษัทฯ เปิดเผยไว้ใน “การกำ�กับดูแลกิจการ” หน้า 13
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
7
การจัดการ
MANAGEMENT โครงสร้างการจัดการ
MANAGEMENT STRUCTURE โครงสร้างการจัดการของบริษัทฯ ประกอบด้วย คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการชุดย่อย จำ�นวน 4 ชุด ได้แก่ คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง และคณะกรรมการทรัพยากรบุคคลและ กำ�หนดผลตอบแทน นอกจากนี้ยังมีฝ่ายจัดการที่เป็นผู้บริหาร
คณะกรรมการบริษัท
Board of Directors
1. พลเรือเอก หม่อมหลวงอัศนี ปราโมช 1. Admiral Mom Luang Usni Pramoj ประธานกรรมการ Chairman 2. นายพงส์ สารสิน 2. Mr. Pong Sarasin กรรมการ Director 3. นายพารณ อิศรเสนา ณ อยุธยา 3. Mr. Paron Israsena กรรมการอิสระ Independent Director 4. ดร.อภิชัย จันทรเสน 4. Mr. Abhijai Chandrasen กรรมการอิสระ Independent Director 5. พลตำ�รวจตรี ชินภัทร สารสิน 5. Police Major Genaral Chinnapat Sarasin กรรมการ Director 6. นายอนุทิพย์ ไกรฤกษ์ 6. Mr. Anuthip Krairiksh กรรมการอิสระ Independent Director 7. นายสิทธิชัย จันทราวดี 7. Mr. Sitthichai Chantravadee กรรมการอิสระ Independent Director 8. นายกวี อังศวานนท์ 8. Mr. Kavi Ansvananda กรรมการ Director 9. นายสัจจา เจนธรรมนุกูล 9. Mr. Satja Janetumnukul กรรมการ Director
10. นายพิพิธ พิชัยศรทัต 10. Mr. Bibit Bijaisoradat กรรมการ Director
11. นายกิตติพล ปราโมช ณ อยุธยา 11. Mr. Kittipol Pramoj Na Ayudhya กรรมการผู้จัดการ Managing Director
8
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
คณะอนุกรรมการ
COMMITTEE
คณะกรรมการบริหาร
Executive Committee
1. นายกวี อังศวานนท์ ประธานกรรมการบริหาร 2. นายสัจจา เจนธรรมนุกูล กรรมการบริหาร 3. นายพิพิธ พิชัยศรทัต กรรมการบริหาร 4. นายกิตติพล ปราโมช ณ อยุธยา กรรมการบริหาร และกรรมการผู้จัดการ
คณะกรรมการตรวจสอบ และ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง
1. นายพารณ อิศรเสนา ณ อยุธยา ประธานกรรมการตรวจสอบ และ ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง 2. ดร. อภิชัย จันทรเสน กรรมการตรวจสอบ และกรรมการบริหารความเสี่ยง 3. นายสิทธิชัย จันทราวดี* กรรมการตรวจสอบ และกรรมการบริหารความเสี่ยง
1. Mr. Kavi Ansvananda Executive Director Chairman 2. Mr. Satja Janetumnugul Executive Director 3. Mr.ฺ Bibit Bijaisoradat Executive Director 4. Mr. Kittipol Pramoj Na Ayudhya Executive Director and Managing Director
Audit Committee and Risk Management Committee 1. Mr. Paron Israsena Audit Committee Chairman and Risk Management Chairman 2. Dr. Abhijai Chandrasen Audit Committee Member and Risk Management 3. Mr. Sitthichai Chantravadee Audit Committee Member and Risk Management
* กรรมการตรวจสอบที่มีความรู้ และประสบการณ์เพียงพอที่จะสามารถทำ�หน้าที่ในการสอบทานความน่าเชื่อถือของงบการเงิน
คณะกรรมการทรัพยากรบุคคล และ กำ�หนดผลตอบแทน
1. ดร. อภิชัย จันทรเสน ประธานกรรมการทรัพยากรบุคคล และกำ�หนดผลตอบแทน 2. นายอนุทิพย์ ไกรฤกษ์ กรรมการทรัพยากรบุคคล และกำ�หนดผลตอบแทน 3. พลตำ�รวจตรี ชินภัทร สารสิน กรรมการทรัพยากรบุคคล และกำ�หนดผลตอบแทน
Nomination and Remuneration Committee 1. Dr. Abhijai Chandrasen Nomination and Remuneration Committee Chairman 2. Mr. Anuthip Krairiksh Nomination and Remuneration Committee Member 3. Police Major Genaral Chinnapat Sarasin Nomination and Remuneration Committee Member บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
9
ฝ่ายจัดการ
MANAGEMENT OFFICERS
1. นายกิตติพล ปราโมช ณ อยุธยา กรรมการผู้จัดการ
1. Mr. Kittipol Pramoj Na Ayudhya Managing Director
2. นางสาวสมศรี กมลาพันธุ์ ผู้จัดการฝ่ายบัญชีและการเงิน
2. Miss Somsri Kamalapun Financial & Accounting Manager
3. นางประภาศรี ลาภเวที ผู้จัดการฝ่ายงบประมาณและแผนงาน
3. Mrs. Prapasri Larbvetee Budgeting & Business Planning Manager
4. นางไข่มุก พราหมณีย์ ผู้จัดการฝ่ายขายและการตลาดและ เลขานุการคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง
4. Mrs. Khaimook Prahmanee Sales & Marketing Manager & Secretary to the Risk Management Committee
5. นางสาวศิริวรรณ สุขไพเราะ ผู้จัดการฝ่ายตรวจสอบภายใน และเลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ
5. Miss Siriwan Suhpairor Internal Audit Manager & Secretary to the Audit Committee
6. นายอมรชัย อมรเจียรศักดิ์ ผู้จัดการฝ่ายพัฒนาระบบงาน
6. Mr. Amornchai Amornchierasak System Development Manager
7. นางอรุณี บันเทิงสุข ผู้จัดการฝ่ายแผนงาน และพัฒนาธุรกิจ
7. Mrs. Arunee Bunturngsuk Business planning & Development Manager
8. นางยุวดี นุชถาวร ผู้จัดการฝ่ายบริหารทั่วไป และเลขานุการบริษัท
8. Mrs. Yuwadee Nuchtavorn Administrative Manager & Company Secretary
10
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
11
85
85
58
64
49
63
62
นายพงส์ สารสิน กรรมการ
นายพารณ อิศรเสนา ณ อยุธยา กรรมการอิสระ / ประธานกรรมการตรวจสอบ / ประธานกรรมการบริหารความเสีย่ ง
นายสัจจา เจนธรรมนุกลู กรรมการบริหาร
ดร.อภิชยั จันทรเสน กรรมการอิสระ / ประธานกรรมการ ทรัพยากรบุคคลและกำ�หนดผลตอบแทน กรรมการตรวจสอบ / กรรมการบริหารความเสีย่ ง
พลตำ�รวจตรี ชินภัทร สารสิน กรรมการ / กรรมการทรัพยากรบุคคล และกำ�หนดผลตอบแทน
นายอนุทพิ ย์ ไกรฤกษ์ กรรมการอิสระ / กรรมการทรัพยากรบุคคล และกำ�หนดผลตอบแทน
นายสิทธิชยั จันทราวดี กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ / กรรมการบริหารความเสีย่ ง
อายุ
78
พลเรือเอก หม่อมหลวงอัศนี ปราโมช ประธานกรรมการ
ชื่อ-สกุล ตำ�แหน่ง
-
166,000
20,000
150,000
-
-
2,110,000
5,077,500
-
166,000
20,000
150,000
-
-
2,110,000
5,077,500
-
0.037%
0.004%
0.033%
-
-
0.469%
1.128%
จำ�นวนหุ้นที่ถือ สัดส่วน 30 ธ.ค. 2555 30 ธ.ค. 2554 การถือหุ้น
มีความสัมพันธ์เป็นหลานของ นายพงส์ สารสิน
มีความสัมพันธ์เป็นลุงของ พลตำ�รวจตรี ชินภัทร สารสิน
มีความสัมพันธ์เป็นบิดาของ นายกิตติพล ปราโมช ณ อยุธยา
ความสัมพันธ์ทางครอบครัว ระหว่างกรรมการ
ปริญญาโทบัญชี (ต้นทุน) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Fostering A Board and Management Team Director Accreditation Program (DAP) Directors Certification Program (DCP) Audit Committee Program (ACP) Board Performance Evaluation Raising The Awaveness of Corporate Fraud in Thailand Monitoring the Internal Audit Function (MIA) Monitoring the Quality of Financial Reporting (MFR) Monitoring the System of Internal Control and Risk Management (MIR) Monitoring Fraud Risk Management (MFM) ISO 26000 (Social Responsibility)
B.A. (Fine and Applied Art) Northeastern University, U.S.A. Director Accreditation Program (DAP) Directors Certification Program (DCP)
ปริญญาโท คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปริญญาตรี บริหารธุรกิจ Central Missouri State University Director Accreditation Program (DAP)
นิตศิ าสตร์ดษุ ฎีบณ ั ฑิต (เกียรตินยิ มดีมาก) มหาวิทยาลัยปารีส (ซอร์บอน) ประเทศฝรัง่ เศส เนติบณ ั ฑิตไทย รุน่ ที่ 23, นิตศิ าสตร์บณ ั ฑิต จุฬาฯ Director Accreditation Program (DAP) Finance for Non - finance Director (FND) Developing Corporate Governance Policy (DCGP) Role of the Compensation Committee (RCC) Audit Committee Program (ACP)
วศ.บ. ไฟฟ้า สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเก้า (ธนบุร)ี Director Accreditation Program (DAP)
Master of Science (ME) Massachusetts Institute of Technology (MIT) USA. วิศวกรรมศาสตร์บณ ั ฑิต สาขาเครือ่ งกล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2494 วิศวกรรมศาสตร์บณ ั ฑิต สาขาไฟฟ้า(เกียรตินยิ ม) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2493 Director Accreditation Program (DAP) Improving The Quality of Financial Report The Characteristics of Effective Directors Role of The Compensation Committee
ปริญญาดุษฎีบณ ั ฑิตกิตติมศักดิ ์ สาขาบริหารธุรกิจ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Barrister-at-law, Gray’s Inn, London, U.K. Director Accreditation Program (DAP)
คุณวุฒิทางการศึกษาสูงสุด และประวัติการอบรม
2538 - 2543 2543 - 2553 2544 - 2546
2535 - 2544 2544 - 2548 2549 - 2552 2535 - ปัจจุบนั 2552 - ปัจจุบนั
30 มิ.ย.48 - 31 ต.ค.48 16 ธ.ค.45 - มิ.ย.48 1 พ.ย.48 - ก.ย.52 พ.ย.52 - ปัจจุบนั
2534 - ปัจจุบนั 2543 - ปัจจุบนั 2548 - ปัจจุบนั
2549 - 2553 2550-2552, ปัจจุบนั 2546 - ปัจจุบนั 2545 - ปัจจุบนั 2544 - ปัจจุบนั 2544 - ปัจจุบนั 2541 - ปัจจุบนั 2538 - ปัจจุบนั ปจั จุบนั ปจั จุบนั 2554 - ปัจจุบนั 2538 - ก.พ.2555
2528 - 2535 2529 - 2532 2535 - 2539 2535 - ปัจจุบนั 2535 - ปัจจุบนั 2543 - ปัจจุบนั
2533 - ปัจจุบนั 2534 - ปัจจุบนั 2543 - ปัจจุบนั 2543 - ปัจจุบนั
2512 - ปัจจุบนั 2516 - ปัจจุบนั 2521 - 2553 2527 - ปัจจุบนั
รายละเอียด คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการทรัพยากรบุคคลและกำ�หนดผลตอบแทน ประวัติการทำ�งาน
ผูอ้ �ำ นวยการฝ่ายบัญชีกลาง บริษทั ปูนซิเมนต์ไทย จำ�กัด (มหาชน) ผูอ้ �ำ นวยการสำ�นักงานตรวจสอบ บริษทั ปูนซิเมนต์ไทย จำ�กัด (มหาชน) นายกสมาคมผูต้ รวจสอบภายในแห่งประเทศไทย
ผูจ้ ดั การส่วนบริการตลาด ฝ่ายผูแ้ ทนจำ�หน่าย บริษทั ปูนซิเมนต์ไทย จำ�กัด (มหาชน) ผูจ้ ดั การลูกค้าสัมพันธ์ ฝ่ายประสานงานและการตลาด บริษทั ซิเมนต์ไทยการตลาด จำ�กัด กรรมการ บริษทั ดราก้อน วัน จำ�กัด (มหาชน) กรรมการ บริษทั ผลิตอุปกรณ์กอ่ สร้าง จำ�กัด กรรมการ, กรรมการตรวจสอบ บริษทั A.Host จำ�กัด
ผกก.2 บก. ปส.2 บช. ปส. ผกก.4 บก. ปส.1 บช. ปส. รอง ผบก. ปส.2 บช.ปส. ผบก.ปส.3 บช. ปส.
กรรมการผูท้ รงคุณวุฒ,ิ สำ�นักงานจัดการทรัพย์สนิ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรรมการ และทีป่ รึกษากฎหมาย ธนาคาร กสิกรไทย จำ�กัด (มหาชน) กรรมการ บริษทั สยามกลการ จำ�กัด
กรรมการ บจก. เพียวสัมมากร ดีเวลลอปเมนท์ กรรมการ บจก. เพียวไบโอดีเซล กรรมการ บจก. เพียวซิลกิ า มายนิง่ , บจก. จตุจกั ร ออยล์,บจก.ไทยควอท์ มายนิง่ กรรมการ บจก. เพียวอินเตอร์เทรด, บจก.ทศทิศโลจิสติกส์ กรรมการ บจก.เพียวพลังงานไทย.บจก.อาร์พซี ี แมเนจเมนท์ กรรมการ บจก.จตุรทิศขนส่ง ประธานกรรมการ บจก.เพทโทร-อินสตูรเมนท์ กรรมการ บจก.เอสซีที ปิโตรเลียม กรรมการ บจก.เอสซีที สหภัรฑ์ กรรมการ บจก. ซุปเปอร์เพียวแก๊ส ประธานกรรมการ บมจ.ระยองเพียวริฟายเออร์ กรรมการบริหาร บมจ.ระยองเพียวริฟายเออร์
กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ บมจ.ปูนซิเมนต์ไทย ประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ประธานคณะกรรมาธิการเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม วุฒสิ ภา ประธานกรรมการ บริษทั ไทยคม จำ�กัด (มหาชน) ประธานกรรมการ บริษทั วิชยั ยุทธ จำ�กัด กรรมการ บริษทั ผาแดงอินดัสตรี จำ�กัด (มหาชน)
กรรมการ บริษทั ฝาจีบ จำ�กัด (มหาชน) กรรมการ บริษทั ผลิตอุปกรณ์กอ่ สร้าง จำ�กัด ประธานกรรมการ บริษทั ไทยน้�ำ ทิพย์ จำ�กัด ประธานกรรมการ บริษทั ฮอนด้า ออโตโมบิล (ประเทศไทย) จำ�กัด
ผูจ้ ดั การ สำ�นักงานจัดการทรัพย์สนิ ส่วนพระองค์ ประธานกรรมการ บริษทั โรงแรมราชดำ�ริ จำ�กัด (มหาชน) ประธานกรรมการ บริษทั ไทยฟูจซิ รี อ็ กซ์ จำ�กัด ประธานกรรมการ บริษทั ซิงเกอร์ ประเทศไทย จำ�กัด (มหาชน)
12
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
41
48
59
59
44
43
43
59
นางสาวสมศรี กมลาพันธุ ์ ผูจ้ ดั การฝ่ายบัญชีและการเงิน
นางประภาศรี ลาภเวที ผฺ จู้ ดั การฝ่ายงบประมาณและแผนงาน
นางไข่มกุ พราหมณีย ์ ผูจ้ ดั การฝ่ายขายและการตลาด
นางสาวศิรวิ รรณ สุขไพเราะ ผูจ้ ดั การฝ่ายตรวจสอบภายใน / เลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ
นายอมรชัย อมรเจียรศักดิ ์ ผูจ้ ดั การฝ่ายพัฒนาระบบงาน
นางอรุณ ี บันเทิงสุข ผูจ้ ดั การฝ่ายแผนงานและพัฒนาธุรกิจ
นางยุวดี นุชถาวร ผูจ้ ดั การฝ่ายบริหารทัว่ ไป /เลขานุการบริษทั
อายุ
นายกิตติพล ปราโมช ณ อยุธยา กรรมการผูจ้ ดั การ
ชื่อ-สกุล ตำ�แหน่ง
41
นายกิตติพล ปราโมช ณ อยุธยา กรรมการ / กรรมการบริหาร / กรรมการผูจ้ ดั การ
รายละเอียดฝ่ายจัดการ
51
นายพิพธิ พิชยั ศรทัต กรรมการ / กรรมการบริหาร
อายุ
77
นายกวี อังศวานนท์ กรรมการ / ประธานกรรมการบริหาร
ชื่อ-สกุล ตำ�แหน่ง
610,000
100,000
440,000
0.136%
0.022%
0.098%
145,000
-
-
70,000
100,000
-
-
610,000
145,000
-
-
70,000
100,000
147,000
-
610,000
0.032%
-
-
0.02%
0.02%
0.033%
-
0.136%
จำ�นวนหุ้นที่ถือ สัดส่วน 30 ธ.ค. 2555 30 ธ.ค. 2554 การถือหุ้น
610,000
100,000
445,000
จำ�นวนหุ้นที่ถือ สัดส่วน 30 ธ.ค. 2555 30 ธ.ค. 2554 การถือหุ้น
ความสัมพันธ์ทางครอบครัว ระหว่างกรรมการ
มีความสัมพันธ์เป็นบุตรของ พลเรือเอก ม.ล.อัศนี ปราโมช
ความสัมพันธ์ทางครอบครัว ระหว่างกรรมการ
บริหารธุรกิจบัณฑิต สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล Company Secretary Program of IOD
ปริญญาโท สาขาการเงิน University of Exeter England
วิทยาศาสตร์บณ ั ฑิต สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยครูสวนสุนนั ทา
ปริญญาโท สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยรังสิต
ศิลปศาสตร์บณ ั ฑิต มหาวิทยาลัยรามคำ�แหง
บัญชีบณ ั ฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
บัญชีบณ ั ฑิต มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
คุณวุฒิทางการศึกษาสูงสุด และประวัติการอบรม
ปริญญาโท สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Directors Certification Program (DCP ) Directors Accreditation Program (DAP ) Audit Committee Program (ACP)
พัฒนาบริหารศาสตร์ มหาบัณทิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ รัฐศาสตร์บณ ั ฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Directors Certification Program (DCP) Audit Committee Program (ACP)
บัญชีบณ ั ฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Directors Certification Program (DCP) Audit Committee Program (ACP) Role of The Chairman Programp (RCP) Finance for Non - finance Director (FND) Improving Quality of Financial Reporting (QFR) Financial Statement for Directors (FSD)
คุณวุฒิทางการศึกษาสูงสุด และประวัติการอบรม
2537 - ปัจจุบนั
พ.ค.50 - ต.ค.53 พ.ย.53 - ต.ค.54 พ.ย.54 - ปัจจุบนั
17 เม.ย.50 - ปัจจุบนั ก.ค. 48 - ก.ค. 49 ก.ย.37 - มิ.ย. 48
ก.ค.47 - ปัจจุบนั
2537 - ปัจจุบนั
2537 - ปัจจุบนั
2533 - 2548 2549 - 2550 1 มิ.ย 50 - 31 ธ.ค.50 2 ม.ค.51 - ปัจจุบนั
2543 - 2553 2548 - 2552 2552 - 2554 2551 - 2555 2547 - 6 ธ.ค.55 2543 - 2555 2549 - ปัจจุบนั
2539 - ปัจจุบนั 2543 - ปัจจุบนั 2543 - ปัจจุบนั 2543 - ปัจจุบนั 2544 - ปัจจุบนั ปจั จุบนั ปจั จุบนั ปจั จุบนั ปจั จุบนั
2518 - 2541 2519 - ปัจจุบนั 2519 - ปัจจุบนั 2521 - ปัจจุบนั 2524 - ปัจจุบนั 2537 - 2555 2538 - ปัจจุบนั 2538 - ปัจจุบนั 2541 - ปัจจุบนั 2542 - ปัจจุบนั พ.ย.2542 - ม.ค.2547 2543 - ปัจจุบนั 2543 - ปัจจุบนั ก.พ.2547 - 2555 2549 - ปัจจุบนั พ.ค.2552 - 2555
ประวัติการทำ�งาน
ประวัติการทำ�งาน
ผูจ้ ดั การฝ่ายบริหารทัว่ ไป และเลขานุการบริษทั บริษทั สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
บริษทั สุวรรณภูมิ ทรานส์ เซอร์วสิ จำ�กัด บริษทั พร็อพเพอร์ต้ี 16 จำ�กัด บริษทั สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
ผูจ้ ดั การฝ่ายพัฒนาระบบงาน บริษทั สัมมากร จำ�กัด (มหาชน) ผูจ้ ดั การส่วนตรวจรับระบบงาน บริษทั เงินทุนธนชาต จำ�กัด (มหาชน) พนักงานตรวจสอบคอมพิวเตอร์อาวุโส ฝ่ายตรวจสอบ ธ.ทหารไทย จำ�กัด (มหาชน)
ผูจ้ ดั การฝ่ายตรวจสอบภายใน บริษทั สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
ผูจ้ ดั การฝ่ายขายและการตลาด บริษทั สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
ผฺ จู้ ดั การฝ่ายงบประมาณและแผนงาน บริษทั สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
ผูจ้ ดั การฝ่ายบัญชีและการเงิน บริษทั อิตลั ไทยวิศวกรรม จำ�กัด (มหาชน) ผูจ้ ดั การแผนกบัญชี บริษทั ริเวอร์เอนจิเนียริง่ จำ�กัด ผูช้ ว่ ยผูจ้ ดั การฝ่ายบัญชีและการเงิน บริษทั สัมมากร จำ�กัด (มหาชน) ผูจ้ ดั การฝ่ายบัญชีและการเงิน บริษทั สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
ดูรายละเอียดในหัวข้อรายละเอียดคณะกรรมการบริษทั ฯ
กรรมการ บริษทั ไมเนอร์ อินเตอร์เนชัน่ แนล จำ�กัด (มหาชน) อุปนายก และเลขาธิการ สมาคมอสังหาริมทรัพย์ไทย นายกสมาคมอสังหาริมทรัพย์ไทย กรรมการ บมจ.ไซเบอร์แพลนเน็ต อินเตอร์แอคทีฟ กรรมการ บมจ.SFG กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั ธนาคมและการพัฒนา จำ�กัด กรรมการ / กรรมการบริหาร บริษทั เพียวสัมมากร ดีเวลลอปเม้นท์ จำ�กัด
กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั มงคลชัยพัฒนา จำ�กัด ผูช้ ว่ ยผูจ้ ดั การ สำ�นักงานจัดการทรัพย์สนิ ส่วนพระองค์ รองผูอ้ �ำ นวยการ โครงการพัฒนาส่วนพระองค์ กรรมการ บริษทั สุวรรณชาด จำ�กัด กรรมการอิสระ /กรรมการตรวจสอบ /ประธานกรรมการนโยบายและกลยุทธ์/ /กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน บริษทั ไทยประกันภัย จำ�กัด (มหาชน) กรรมการ /กรรมการตรวจสอบ บริษทั ซิงเกอร์ ประเทศไทย จำ�กัด (มหาชน) กรรมการ /กรรมการตรวจสอบ บริษทั ระยองเพียวริฟายเออร์ จำ�กัด (มหาชน) กรรมการ บริษทั รวมทนุไทย จำ�กัด กรรมการ บริษทั เพียวสัมมากร ดีเวลลอปเม้นท์ จำ�กัด
ผูช้ ว่ ยผูจ้ ดั การ สำ�นักงานจัดการทรัพย์สนิ ส่วนพระองค์ กรรมการ บริษทั ศรีพฒ ั น์ จำ�กัด กรรมการ บริษทั ศรีปวิธ จำ�กัด กรรมการ บริษทั ธนาคมและการพัฒนา จำ�กัด ผอ.โครงการพัฒนาส่วนพระองค์ กรรมการอิสระ บริษทั เงินทุนสินอุตสาหกรรม จำ�กัด (มหาชน) กรรมการ บริษทั ศรีธรณี จำ�กัด กรรมการ บริษทั บ้านบึงเวชกิจ จำ�กัด ผูจ้ ดั การ สำ�นักงานจัดการทรัพย์สนิ ส่วนพระองค์ ประธานกรรมการ บริษทั มงคลชัยพัฒนา จำ�กัด ประธานกรรมการ บริษทั เงินทุนสินอุตสาหกรรม จำ�กัด (มหาชน) ประธานกรรมการ บริษทั ไทยประกันภัย จำ�กัด (มหาชน) ประธานกรรมการ บริษทั สุวรรณชาด จำ�กัด กรรมการตรวจสอบ บริษทั เงินทุนสินอุตสาหกรรม จำ�กัด (มหาชน) ประธานกรรมการ บริษทั เพียวสัมมากร ดีเวลลอปเม้นท์ จำ�กัด ประธานกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน บริษทั เงินทุนสินอุตสาหกรรม จำ�กัด (มหาชน)
การกำ�กับดูแลกิจการ
CORPORATE GOVERNANCE คณะกรรมการบริษทั สัมมากร จำ�กัด (มหาชน) มีความมุง่ มัน่ ที่จะกำ�กับดูแลกิจการของบริษัทฯ ให้เป็นบริษัทชั้นนำ �ในธุรกิจ บ้านจัดสรรทีไ่ ด้รบั ความนิยมเชือ่ ถือจากประชาชน มีการดำ�เนินธุรกิจ ด้วยการบริหารจัดการที่ ยึดหลักธรรมาภิบาลเป็นสำ�คัญ มีการ พัฒนาบุคลากรให้มีศักยภาพสูง และส่งเสริมให้มีการพัฒนาสินค้า ให้มคี ณ ุ ภาพดี พร้อมการบริการทีป่ ระทับใจ คณะกรรมการบริษทั ฯ จึงได้กำ�หนดนโยบายการกำ�กับดูแลกิจการตามหลักบรรษัทภิบาล เพื่อเป็นกลไกการควบคุมและการถ่วงดุลอำ�นาจเพื่อให้การบริหาร งานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและโปร่งใสตรวจสอบได้ โดยได้ จัดทำ�นโยบายจริยธรรมธุรกิจ คูม่ อื จรรยาบรรณสำ�หรับกรรมการ ผู้ บ ริ ห าร และพนั ก งาน เพื่ อ ปลู ก ฝั ง ให้ ทุ ก คนปฎิ บั ติ ห น้ า ที่ ด้วยความรับผิดชอบ มีความเคารพในสิทธิความเท่าเทียมกันของ ผู้ อื่ น และผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย ซึ่ ง เป็ น ส่ ว นสำ � คั ญ ในการเสริ ม สร้ า ง ความเชือ่ มัน่ แก่นกั ลงทุน สถาบันการเงิน พันธมิตรธุรกิจ ผูถ้ อื หุน้ ลูกค้า และผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง มีการดูแลสื่อสารให้เกิดความเข้าใจ และยึดถือเป็นแนวปฎิบตั ทิ วั่ ทัง้ องค์กร และประการสำ�คัญได้ก�ำ หนด วิสยั ทัศน์และ พันธกิจเพือ่ ให้ทกุ คนมีจดุ มุง่ หมายในทิศทางเดียวกัน และบริษัทฯ มีแนวนโยบายจะเข้าร่วมโครงการแนวร่วมปฏิบัติของ ภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต เพือ่ ให้ผบู้ ริหาร พนักงาน ตลอดจนผูม้ สี ว่ นได้เสีย และบริษทั จดทะเบียนเห็นความสำ�คัญ และ ร่วมมือกันให้เกิดการต่อต้านการทุจริตในวงกว้าง รวมทัง้ นำ�มาพัฒนา บริษัทฯ โดยให้เกิดการปฏิบัติงานในทุกส่วนงาน เพื่อส่งเสริมการ กำ�กับดูแลกิจการทีด่ ใี นองค์กรด้วย ซึง่ บริษทั ฯประกาศเจตนารมณ์ โดยจะเข้าเป็นแนวร่วมต้นปี 2556 และพร้อมจะพัฒนาปรับปรุง เพือ่ ให้เกิดประโยชน์สงู สุดต่อบริษทั ฯและผูถ้ อื หุน้ โดยมีขอ้ ปฏิบตั ดิ งั นี้ 1. สิทธิของผู้ถือหุ้น คณะกรรมการบริษัทฯ ได้ตระหนักและให้ความสำ�คัญ แก่ผถู้ อื หุน้ ทัง้ รายใหญ่และรายย่อย นักลงทุนสถาบันอย่างเท่าเทียมกัน ในการใช้สทิ ธิดแู ลรักษาผลประโยชน์ของตนเองในการเข้าร่วมประชุม ประกอบด้ ว ยสิ ท ธิ ใ นการเข้ า ร่ ว มประชุ ม แสดงความคิ ด เห็ น ให้ข้อเสนอแนะและออกเสียงลงมติในที่ประชุมผู้ถือหุ้น สิทธิร่วม ตัดสินใจในเรื่องสำ�คัญ สิทธิในการเลือกตั้งคณะกรรมการบริษัทฯ ตลอดจนสิทธิในการได้รับรู้ข้อมูลข่าวสารอย่างถูกต้อง ครบถ้วน โปร่งใส ทันเวลา คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ จั ด ให้ มี ก ารประชุ ม สามั ญ ผู้ ถื อ หุ้นภายใน 4 เดือน นับแต่วันสิ้นสุดรอบระยะบัญชีของบริษัท ในปี 2555 บริษัทฯได้จัดให้มีการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นในวันที่ 5 เมษายน 2555 และได้จดั ส่งหนังสือเชิญประชุม ข้อมูลประกอบ การประชุม พร้อมความเห็นของคณะกรรมการตามวาระต่างๆ ถึงผู้ถือหุ้นล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 14 วัน เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้น มี เ วลาศึก ษาข้อมูล ดัง กล่า วได้อย่า งละเอียด และมีการอำ�นวย ความสะดวกให้ผู้ถือหุ้นในการมาร่วมประชุมผู้ถือหุ้น จัดเตรียม สถานที่และห้องประชุมที่เข้าถึงได้สะดวก มีขนาดเหมาะสมในการ รับรองผูเ้ ข้าประชุม และในกรณีทผี่ ถู้ อื หุน้ ไม่สามารถมาร่วมประชุม ด้วยตนเองก็สามารถมอบฉันทะให้ผอู้ นื่ เข้าประชุมและลงมติแทนได้ โดยเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นแสดงความคิดเห็นและซักถามกรรมการ
ผู้เข้าร่วมประชุม ซึ่งกรรมการได้ชี้แจงและตอบข้อซักถามของ ผู้ถือหุ้นอย่างทั่วถึงและมีการบันทึกการประชุมไว้ถูกต้องครบถ้วน ในการประชุ ม สามั ญ ผู้ ถื อ หุ้ น ประจำ � ปี 2555 บริ ษั ท ฯ ได้จัดประชุมโดยมีขั้นตอนการประชุมเป็นไปตามหลักเกณฑ์ของ ตลาดหลักทรัพย์ มีกรรมการเข้าร่วมประชุม รวมทั้งสิ้น 10 คน โดยปกติในการประชุมผูถ้ อื หุน้ ทุกครัง้ ประธานกรรมการ ประธาน กรรมการตรวจสอบ กรรมการผูจ้ ดั การ ผูจ้ ดั การฝ่ายบัญชีและการเงิน รวมถึงผู้สอบบัญชีของบริษัทได้เข้าร่วมชี้แจงตอบข้อซักถามของ ผู้ถือหุ้นด้วยเสมอ แต่ในปี 2555 ประธานกรรมการตรวจสอบ นายพารณ อิศรเสนา ณ อยุธยา ลาประชุมเนือ่ งจากป่วย ประธาน ที่ประชุมได้จัดสรรเวลาให้อย่างเหมาะสม และส่งเสริมให้ผู้ถือหุ้น มีโอกาสเท่าเทียมกันในการแสดงความเห็น ข้อเสนอแนะ และ ตัง้ คำ�ถามต่อทีป่ ระชุมตามระเบียบวาระการประชุมและเรือ่ งทีเ่ สนอ โดยได้บันทึกประเด็นซักถามและข้อคิดเห็นที่สำ�คัญไว้ในรายงาน การประชุมที่มีการจัดทำ�อย่างถูกต้อง ครบถ้วน เสร็จสมบูรณ์ ในเวลาที่เหมาะสม และมีระบบการจัดเก็บรายงานการประชุม ผูถ้ อื หุน้ ทีด่ ี สามารถตรวจสอบและอ้างอิงได้ ซึง่ ได้บนั ทึกการชีแ้ จง ขั้นตอนการลงคะแนนและวิธีการแสดงผลคะแนนไว้ในรายงาน การประชุมผู้ถือหุ้นอย่างละเอียด และในปีที่ผ่านมาได้เปิดโอกาส ให้ ผู้ ถื อ หุ้ น ส่ ง คำ � ถามได้ ล่ ว งหน้ า โดยผ่ า นเลขานุ ก ารบริ ษั ท ฯ แต่ยังไม่ได้มีการกำ�หนดเป็นหลักเกณฑ์ แต่ในอนาคตจะกำ�หนด เป็นหลักเกณฑ์ให้ผถู้ อื หุน้ ทราบผ่านทางเว็บไซต์ ส่งเสริมให้มกี ารนำ� เทคโนโลยีมาใช้ในการลงทะเบียน การนับคะแนน การแสดงผล และจัดให้มีบุคคลอิสระมาตรวจสอบคะแนนเสียง และเปิดเผยไว้ ในรายงานการประชุมผู้ถือหุ้น หลังจากประชุมเสร็จ บริษัทฯ จัดให้มีการเปิดเผยผลการลงคะแนนผ่านตลาดหลักทรัพย์ฯ และ ข่าวบริษัทฯ บนเว็บไซต์บริษัทฯในวันทำ�การถัดไป และนำ�ภาพ บรรยากาศการประชุมหลังจากแล้วเปิดเผยไม่เกิน 1 สัปดาห์ คณะกรรมการของบริษทั ฯ ได้จดั ทำ�รายงานของคณะกรรมการ ไว้ในรายงานประจำ�ปีเสนอต่อผูถ้ อื หุน้ โดยอธิบายถึงความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการบริษทั ควบคูไ่ ปกับรายงานทางการเงินโดยมีเนือ้ หา ครอบคลุมในเรื่องสำ�คัญๆ ตามข้อแนะนำ�ของตลาดหลักทรัพย์ฯ 2. ความเท่าเทียมกันของผู้ถือหุ้น ในการประชุมผู้ถือหุ้นทุกครั้ง บริษัทฯ ได้จัดส่งหนังสือ นัดประชุมพร้อมเอกสารข้อมูลประกอบการประชุมทีม่ รี ายละเอียด ครบถ้วน เพียงพอ ให้แก่ผู้ถือหุ้นทุกราย ล่วงหน้าก่อนวันประชุม เกินกว่าระยะเวลาที่กฎหมายกำ�หนด ในปี 2555 กรณีไปรษณีย์ ลงทะเบียนเกิน 14 วัน และนำ�ขึน้ ไว้บนเว็บไซต์บริษทั ฯ ก่อนประชุม 35 วัน เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นมีโอกาสศึกษาข้อมูลดังกล่าว ได้ อ ย่ า งละเอี ย ด ในกรณี ที่ ผู้ ถื อ หุ้ น ไม่ ส ามารถเข้ า ร่ ว มประชุ ม ด้วยตนเองก็สามารถมอบฉันทะให้ผู้อื่นเข้าร่วมประชุมและลงมติ แทนได้ และบริษทั ฯ ได้เสนอชือ่ กรรมการอิสระเป็นผูร้ บั มอบฉันทะ รู ป แบบหนั ง สื อ มอบฉั น ทะของบริ ษั ท ฯ สามารถสนองตอบ ความต้องการของผู้ถือหุ้นในการกำ�หนดทิศทางการลงคะแนน ได้เป็นอย่างดี
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
13
เพือ่ ความเท่าเทียมกันของผูถ้ อื หุน้ บริษทั ฯ ได้เผยแพร่ขอ้ มูล บนเว็ บ ไซต์ บ ริ ษั ท ฯ ให้ ผู้ ถื อ หุ้ น ทราบถึ ง สิ ท ธิ แ ละวิ ธี ก ารเสนอ เพิ่มวาระ และเสนอชื่อบุคคลเพื่อเข้าดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการต่อ คณะกรรมการบริษทั หรือคณะกรรมการทรัพยากรบุคคลฯ รวมทัง้ การกำ�หนดระยะเวลาสิ้นสุดการเสนอเพิ่มวาระและเสนอชื่อบุคคล เพือ่ ให้คณะกรรมการบริษทั พิจารณาได้วา่ จะบรรจุหรือไม่บรรจุเป็นวาระ ในหนังสือนัดประชุม คณะกรรมการบริษทั ฯ ไม่เคยเสนอเพิม่ วาระ การประชุมโดยไม่แจ้งให้ผถู้ อื หุน้ ทราบล่วงหน้า และในวาระทีเ่ ลือกตัง้ กรรมการบริษทั ได้มกี ารลงมติเลือกกรรมการเป็นรายบุคคล และ ในการประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจำ�ปี 2555 ผูถ้ อื หุน้ หลายรายได้ มอบอำ�นาจให้กรรมการอิสระ ทีบ่ ริษทั ฯ เสนอเป็นผูร้ บั มอบอำ�นาจ ให้ออกเสียงแทนด้วย ในเรื่องป้องกันความขัดแย้งทางผลประโยชน์ บริษัทฯ ยึดมั่นและคำ�นึงถึงผลประโยชน์สูงสุดของลูกค้า และบริษทั ฯ ได้ให้ความสำ�คัญเกีย่ วกับรายการทีอ่ าจมีความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ รายการเกี่ ย วโยง และรายการระหว่ า งกั น ที่ ไ ม่ เ หมาะสม โดยกำ � หนดนโยบายให้ มี ก ารทำ � รายการ อย่างเป็นธรรมเช่นเดียวกับบุคคลทั่วไป และเป็นไปตามเงื่อนไข การค้าทั่วไปที่แข่งขันได้ โดยผ่านการอนุมัติจากคณะกรรมการ บริษัทฯ ที่ชัดเจน โปร่งใส และยุติธรรมตามหลักการกำ�กับดูแล กิจการทีด่ ี ตามกฎระเบียบทีเ่ กีย่ วข้อง และตามหลักเกณฑ์ทบี่ ริษทั ฯ กำ�หนด และแจ้งให้คณะกรรมการบริษัทฯ และผู้บริหารรับรองว่า ไม่ได้กระทำ�การใดๆ อันจะก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ต่อบริษัทฯ เป็นประจำ�ทุกปี บริษัทฯ ได้กำ�หนดนโยบายและวิธีดูแลไม่ให้ผู้บริหารและ ผูท้ เี่ กีย่ วข้องนำ�ข้อมูลภายในของบริษทั ฯ ไปใช้เพือ่ ประโยชน์สว่ นตน ดังนี้ - ห้ามไม่ให้ผู้บริหารหรือหน่วยงานที่ได้รับทราบข้อมูล ภายใน เปิดเผยข้อมูลภายในแก่บุคคลภายนอก หรือบุคคลที่ไม่มี หน้าที่เกี่ยวข้อง และต้องไม่ซื้อขายหลักทรัพย์ของบริษัทฯ ในช่วง 1 เดือน ก่อนที่งบการเงินเผยแพร่ต่อสาธารณชน ในระหว่างปี ทีผ่ า่ นมากรรมการและผูบ้ ริหารได้ปฏิบตั ติ ามนโยบายอย่างเคร่งครัด ไม่ปรากฏว่ามีการซื้อขายหุ้นในช่วงที่ห้ามเลยและคณะกรรมการ ได้พิจารณารายการที่อาจมีความความขัดแย้งทางผลประโยชน์ อย่ า งรอบคอบทุ ก ครั้ ง ตามหลั ก เกณฑ์ ข องตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ฯ และได้เปิดเผยรายละเอียดไว้ในรายงานประจำ�ปี และแบบ 56-1 - กำ � หนดให้ ผู้ บ ริ ห ารรายงานการเปลี่ ย นแปลงการถื อ หลักทรัพย์ต่อสำ�นักงานกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ตามมาตรา 59 แห่งพระราชบัญญัตหิ ลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งกรรมการได้ถือปฏิบัติอย่างสม่ำ�เสมอ อย่างน้อย รายงานคณะกรรมการบริษัทฯ ทราบทุกไตรมาส 3. บทบาทผู้มีส่วนได้เสีย บริษัทฯ ตระหนักดีว่า แรงสนับสนุนจากผู้มีส่วนได้เสีย ทุกกลุม่ ทัง้ ลูกค้า บริษทั คูค่ า้ เจ้าหนี้ เจ้าหน้าทีภ่ าครัฐและหน่วยงาน อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง คู่แข่ง ผู้ถือหุ้น ตลอดจนผู้บริหารและพนักงาน
14
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
มีส่วนช่วยสร้างความสามารถในการแข่งขัน สร้างกำ�ไร และ สร้างความสำ�เร็จในระยะยาวให้กบั บริษทั ฯ ดังนัน้ การให้ความสำ�คัญ ต่อสิทธิของผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกกลุม่ ไม่วา่ จะเป็นผูม้ สี ว่ นได้เสียภายใน และผูม้ สี ว่ นได้เสียภายนอก บริษทั ฯ กำ�หนดเป็นนโยบายไว้ในคูม่ อื จรรยาบรรณและแจกให้แก่พนักงานทุกคนเพือ่ ปฏิบตั ิ ตามข้อกำ�หนด ของกฎหมายและกฎระเบียบต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้สิทธิของ ผูม้ สี ว่ นได้เสียเหล่านีไ้ ด้รบั การดูแลอย่างดี ซึง่ ในปีทผี่ า่ นมา บริษทั ฯ ไม่มีข้อพิพาทใดๆ ในเรื่องที่เกี่ยวกับคู่แข่งทางการค้า นอกจากนี้ บริษทั ฯ ยังเน้นให้ผมู้ สี ว่ นได้เสียทุกคนร่วมมือร่วมใจ กันรักษาผลประโยชน์ของบริษทั ฯ ทำ�งานเป็นทีมมีเป้าหมายร่วมกัน ลดความสูญเปล่าและด้อยประสิทธิภาพ พบเห็นสิง่ ใดทีไ่ ม่ควรให้แจ้ง บริษทั ฯ ทางจดหมาย โทรศัพท์ อีเมล์ หรือเว็บไซต์ รับข้อร้องเรียน www.sammakorn.co.th/whistleblower.php หรือแจ้งต่อกรรมการ อิสระ ในลักษณะของ Whistle Blower เพื่อให้กรรมการอิสระ เป็นผู้พิจารณาดำ�เนินการ เป็นผลให้บริษัทฯ ดำ�เนินธุรกิจอย่างมี ประสิทธิภาพ มีคุณธรรม โปร่งใส และมีจรรยาบรรณ เป็นการ สร้างความสามารถในการแข่งขันและสร้างผลกำ�ไรอีกทางหนึ่ง 4. การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส คณะกรรมการบริษทั มีนโยบายให้มกี ารเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร ของบริษัท ต่อผู้ถือหุ้น ผู้ลงทุน และสาธารณชนทั่วไปด้วยความ โปร่งใส ถูกต้อง ครบถ้วน ทั่วถึง เพียงพอ ทันเวลา และสามารถ ตรวจสอบได้ โดยปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง เพื่อ ให้ผู้ใช้ข้อมูลได้รับประโยชน์ในการประกอบการตัดสินใจลงทุน มากทีส่ ดุ โดยจัดให้มผี บู้ ริหาร และเจ้าหน้าทีร่ บั ผิดชอบงานเกีย่ วกับ ผู้ลงทุนสัมพันธ์เป็นตัวแทนในการให้ข้อมูล และสื่อสารกับผู้ลงทุน และนักวิเคราะห์หลักทรัพย์ทวั่ ไป เพือ่ ให้มคี วามชัดเจนและโปร่งใส ตลอดจนมี ก ารเผยแพร่ ข้ อ มู ล ข่ า วสารโดยผ่ า นสื่ อ มวลชนเป็ น ครัง้ คราวด้วย ได้มกี ารเปิดเผยสารสนเทศและรายงานข้อมูลทางการ เงินอย่างครบถ้วน ถูกต้อง และภายในกำ�หนดเวลาที่กฎหมาย กำ�หนด ผู้ลงทุนสามารถติดต่อที่ นางกาญจนรัตน์ ลิ้มล้ำ�เลิศกุล หมายเลขโทรศัพท์ 0 2255 5740 ต่อ 11 หรือ e-mail address: karnjanarat.l@sammakorn.co.th งบการเงินของบริษทั ฯ และสารสนเทศทางการเงินทีป่ รากฏ ในรายงานประจำ�ปีและเว็บไซต์ของบริษทั ฯ www.sammakorn.co.th จัดทำ�ขึน้ ตามมาตรฐานการบัญชีทรี่ บั รองทัว่ ไป โดยเลือกใช้นโยบาย บัญชีทเี่ หมาะสมและถือปฏิบตั อิ ย่างสม่�ำ เสมอ และใช้ดลุ ยพินจิ อย่าง ระมัดระวังและประมาณการทีด่ ที สี่ ดุ ในการจัดทำ� รวมทัง้ มีการเปิดเผย ข้อมูลสำ�คัญอย่างเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน เพือ่ เป็น ประโยชน์ตอ่ ผูถ้ อื หุน้ และผูล้ งทุนทัว่ ไป ทีจ่ ะได้รบั ทราบข้อมูลทีแ่ สดง ฐานะการเงินและผลการดำ�เนินงานที่ครบถ้วนเป็นจริงและสมเหตุ สมผล ซึ่งคุณภาพของรายงานทางการเงินปรากฏอยู่ในรายงาน ความรั บ ผิ ด ชอบของคณะกรรมการต่ อ รายงานทางการเงิ น ในรายงานประจำ�ปี ในการนี้ คณะกรรมการบริษัทได้แต่งตั้งคณะกรรมการ ตรวจสอบ ซึ่ ง ประกอบด้ ว ยกรรมการที่ มี ค วามเป็ น อิ ส ระและ
ไม่เป็นผูบ้ ริหาร เป็นผูด้ แู ลเกีย่ วกับคุณภาพของรายงานทางการเงิน และระบบควบคุมภายใน ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ เกี่ยวกับเรื่องนี้ปรากฏในรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ ซึง่ แสดงไว้ในรายงานประจำ�ปีแล้ว คณะกรรมการบริษทั ฯ มีความเห็นว่า ระบบควบคุ ม ภายในของบริ ษั ท โดยรวมอยู่ ใ นระดั บ ที่ น่ า พอใจ และสามารถสร้างความเชื่อมั่นอย่างมีเหตุผลต่อความเชื่อถือได้ ของงบการเงินของบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 5. ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ คณะกรรมการบริ ษั ท คั ด เลื อ กมาจากผู้ ที่ มี ค วามรู้ ความสามารถ และมีประสบการณ์กว้างขวางในสาขาต่างๆ และ จัดให้มกี ารปฐมนิเทศกรรมการและผูบ้ ริหารใหม่ โดยมีการเตรียม ข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ การดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท และกฎหมายต่ า งๆ ที่เกี่ยวข้อง และสนับสนุนกรรมการเข้าอบรมหลักสูตรการเป็น กรรมการกับ IOD และกำ�หนดองค์ประกอบของคณะกรรมการ บริษทั ฯ ให้มจี �ำ นวนทีเ่ หมาะสมและมีความสมดุลในการกำ�กับดูแล ธุรกิจต่างๆ ของบริษทั ฯ คือ ไม่นอ้ ยกว่า 5 คน และไม่เกิน 12 คน ซึง่ ในปัจจุบนั บริษทั ฯ มีกรรมการทัง้ หมด จำ�นวน 11 คน ประกอบ ด้วยกรรมการอิสระ 4 คน เป็นไปตามข้อกำ�หนดของ ก.ล.ต. และ เพือ่ ให้มกี ารถ่วงดุลระหว่างกรรมการทีไ่ ม่เป็นผูบ้ ริหารกับกรรมการที่ เป็นผูบ้ ริหาร บริษทั ฯ มีกรรมการทีไ่ ม่เป็นผูบ้ ริหาร 7 คน กรรมการ บริหาร 4 คน องค์ประกอบของคณะกรรมการบริษัทจึงนับว่า มีความเหมาะสมที่จะทำ�ให้คณะกรรมการสามารถปฏิบัติหน้าที่ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้มิได้กำ�หนดจำ�นวนบริษัทที่กรรมการ แต่ละคนจะไปดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการในบริษทั อืน่ กรรมการแต่ละ ท่านได้ปฏิบตั หิ น้าทีแ่ ละให้เวลาบริหารงานของบริษทั อย่างเพียงพอ บริษัทฯได้สนับสนุนให้กรรมการเข้าร่วมอบรมหลักสูตรที่เป็นการ เพิ่มความรู้ในการปฏิบัติงานของแต่ละท่านอย่างเหมาะสม บริษทั ฯได้ก�ำ หนดนิยามกรรมการอิสระของบริษทั ฯ เท่ากับ ข้อกำ�หนดขั้นต่ำ�ของ ก.ล.ต. หรือตลาดหลักทรัพย์ฯในเรื่องการ ถือหุ้นในบริษัท คือ ต้องถือหุ้นในบริษัทฯไม่เกินร้อยละ 1 ของ จำ�นวนหุน้ ทีม่ สี ทิ ธิออกเสียงทัง้ หมด และไม่ได้บริหารจัดการบริษทั ฯ หรือบริษัทย่อยของบริษัทฯ เป็นอิสระต่อการบริหารจัดการจาก ผู้ถือหุ้นใหญ่ และไม่มีธุรกิจกับบริษัทฯ ซึ่งอาจทำ�ให้ผลประโยชน์ ของบริษัทฯ และ/หรือ ผลประโยชน์ของผู้ถือหุ้นต้องลดลง โดย บริษัทฯได้ก�ำ หนดคุณสมบัติไว้ ดังนี้ 1. ถือหุน้ ไม่เกินร้อยละ 1 ของจำ�นวนหุน้ ทีม่ สี ทิ ธิออกเสียง ทั้งหมดในบริษัท ซึ่งรวมถึงหุ้นที่ถือโดยบุคคลที่เกี่ยวข้อง ของหุ้น ทีอ่ อกโดยบริษทั ฯ หรือบริษทั ย่อย บริษทั ร่วม หรือบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้อง ในกรณีที่เป็นกรรมการในคณะกรรมการตรวจสอบการถือหุ้น ดังกล่าวจะจำ�กัดไม่ให้เกินร้อยละ 0.5 2. ต้องไม่มสี ว่ นเกีย่ วข้องกับการบริหารจัดการวันต่อวัน หรือ เป็นพนักงาน/ลูกจ้าง/ทีป่ รึกษาทีไ่ ด้รบั เงินเดือนประจำ�/ผูม้ อี �ำ นาจ ควบคุมของบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม บริษัทย่อย ลำ�ดับเดียวกัน หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง ในเวลา 2 ปี ก่อนได้รับการแต่งตั้ง
3. ไม่มคี วามสัมพันธ์ทางสายโลหิต หรือโดยการจดทะเบียน ในลักษณะที่เป็นบิดามารดา คู่สมรส พี่น้อง และบุตร รวมทั้ง คู่สมรสของบุตร กับผู้บริหาร หรือผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ผู้มีอำ�นาจ ควบคุ ม หรื อ บุ ค คลที่ จ ะได้ รั บ การเสนอชื่ อ เป็ น ผู้ บ ริ ห ารหรื อ ผู้มีอำ�นาจควบคุมของบริษัทหรือบริษัทย่อย 4. ไม่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษัท นิติบุคคล หรือ บุคคลที่ถือว่าเข้าข่ายไม่อิสระตามข้อกำ�หนดกรรมการอิสระและ กรรมการตรวจสอบของสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์ และตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ทั้ ง ความสั ม พั น ธ์ ใ นลั ก ษณะของการให้ บริการวิชาชีพ และความสัมพันธ์ทางการค้าทางธุรกิจทุกประเภท ตามข้ อ กำ � หนดของตลาดหลั ก ทรั พ ย์ เรื่ อ งการทำ � รายการที่ เกี่ ย วโยงกั น ยกเว้ น มี เ หตุ จำ � เป็ น และสมควรซึ่ ง มิ ไ ด้ เ กิ ด ขึ้ น อย่างสม่ำ�เสมอและต่อเนื่อง ต้องได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการ บริษัทก่อน และมติที่ได้ต้องเป็นมติเป็นเอกฉันท์ 5. ไม่เป็นกรรมการที่รับการแต่งตั้งขึ้นเพื่อเป็นตัวแทน ของกรรมการบริ ษั ท ผู้ ถื อ หุ้ น รายใหญ่ หรื อ ผู้ ถื อ หุ้ น ซึ่ ง เป็ น ผู้เกี่ยวข้องกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัท ยกเว้นได้รับมอบหมาย จากคณะกรรมการบริษทั ให้ตดั สินใจในการดำ�เนินกิจการของบริษทั บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม บริษทั ย่อยลำ�ดับเดียวกัน หรือ นิตบิ คุ คลทีอ่ าจมีความขัดแย้ง โดยมีการตัดสินในรูปแบบองค์คณะ 6. ไม่เป็นกรรมการที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการ บริ ษั ทให้ ตัด สิ น ใจในการดำ � เนิ น กิ จ การของบริ ษั ท บริษัท ใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม บริษัทย่อยลำ�ดับเดียวกัน หรือนิติบุคคล ที่อาจมีความขัดแย้ง 7. ไม่เป็นกรรมการของบริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม และบริษัทย่อยลำ�ดับเดียวกัน 8. สามารถปฏิบัติหน้าที่และแสดงความเห็นหรือรายงาน ผลการปฏิบัติงานตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการ บริษัทได้โดยอิสระ ไม่อยู่ภายใต้การควบคุมของผู้บริหาร หรือ ผู้ ถื อ หุ้ น รายใหญ่ ข องบริ ษั ท รวมทั้ ง ผู้ เ กี่ ย วข้ อ งหรื อ ญาติ ส นิ ท ของบุคคลดังกล่าว บริษทั ฯ ได้ก�ำ หนดให้ประธานกรรมการและกรรมการผูจ้ ดั การ ต้องไม่เป็นบุคคลคนเดียวกัน เพือ่ แบ่งแยกบทบาทหน้าทีใ่ ห้ชดั เจน และเพื่อให้มีความสมดุลในอำ�นาจการดำ�เนินงานระหว่างผู้นำ� ฝ่ายนโยบาย และผูน้ �ำ ฝ่ายบริหาร ปัจจุบนั ประธานกรรมการบริษทั เป็นตัวแทนของผู้ถือหุ้นใหญ่ล�ำ ดับที่ 1 และลำ�ดับที่ 3 ที่แสดงไว้ ในโครงสร้างการถือหุ้นเป็นผู้นำ�ของคณะกรรมการในฐานะผู้นำ� ฝ่ายนโยบาย ปฏิบตั หิ น้าทีใ่ นฐานะประธานการประชุมคณะกรรมการ บริษัทและในฐานะประธานการประชุมผู้ถือหุ้น ด้านบริหารมี คณะกรรมการบริหารเป็นผู้รับผิดชอบกำ�กับดูแลโดยตรง มีหน้า ที่ในการวางกรอบนโยบายและกำ�กับดูแลการบริหารงานประจำ� โดยกำ�หนดขอบเขตหน้าที่ของฝ่ายบริหารในแต่ละระดับชั้นไว้ ชัดเจนสามารถตรวจสอบได้งา่ ย นอกจากนีค้ ณะกรรมการบริหาร ยังได้รบั มอบหมายให้เป็นคณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการ ทำ�หน้าที่ กำ�หนดแนวปฏิบัติและปรับปรุงการกำ�กับดูแลกิจการของบริษัทฯ
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
15
ให้สอดคล้องตามแนวทางของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) และมาตรฐานสากล ซึ่งที่ผ่านมาคณะกรรมการบริษัทฯ ดูแลให้ปฎิบตั ติ ามกฏระเบียบของหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องอย่างเคร่งครัด และไม่มกี ารกระทำ�ใดๆ ทีเ่ ป็นการฝ่าฝืนกฎระเบียบและข้อบังคับเลย คณะกรรมการบริ ษั ท กำ � หนดให้ มี ก ารประชุ ม โดยปกติ อย่างน้อยปีละ 4 ครั้ง โดยจะกำ�หนดวันประชุมไว้ล่วงหน้าตลอด ปีอย่างชัดเจน แจ้งวาระการประชุมล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 14 วัน รวมทั้ ง มี ก ารส่ ง รายละเอี ย ดประกอบวาระการประชุ ม ให้ คณะกรรมการได้มเี วลาศึกษาและพิจารณาล่วงหน้าก่อนวันประชุม ไม่น้อยกว่า 7 วัน การพิจารณาวาระต่างๆ ประธานกรรมการ เป็นผู้ดูแลให้ใช้เวลาในการประชุมอย่างเหมาะสม และเปิดโอกาส ให้กรรมการมีการแสดงความเห็นอย่างอิสระ นอกจากนีก้ รรมการ ที่ ไ ม่ ไ ด้ เ ป็ น ผู้ บ ริ ห ารมี ก ารประชุ ม พิ เ ศษเพิ่ ม ตามความจำ � เป็ น โดยไม่มีฝ่ายจัดการร่วมด้วย ในปี 2555 มีการประชุมคณะกรรมการบริษทั รวม 7 ครัง้ และมีการประชุมคณะกรรมการชุดย่อยตามความจำ�เป็น โดย กรรมการบริษทั สามารถติดต่อสือ่ สารกับฝ่ายบริหารทุกคนโดยตรง เพื่อซักถาม ปรึกษาหารือ และให้ความเห็นในเรื่องที่เป็นนโยบาย และมติของคณะกรรมการบริษัท เพื่อให้ฝ่ายบริหารได้ดำ�เนินการ แต่ละเรือ่ งให้ถกู ต้องครบถ้วน ทันเวลา เป็นประโยชน์กบั ธุรกิจบริษทั คณะกรรมการบริษัทได้จัดให้มีการประเมินผลการปฏิบัติ งานของกรรมการผูจ้ ดั การ คณะกรรมการโดยรวม และประเมินผล การปฏิบัติงานตนเองทุกปี และได้มีการแต่งตั้งเลขานุการบริษัท ซึ่ ง ทำ � หน้ า ที่ ใ ห้ คำ � แนะนำ � กฎระเบี ย บต่ า งๆ ที่ ค ณะกรรมการ จะต้องทราบและปฏิบตั ิ ตลอดจนดูแลกิจกรรมของคณะกรรมการ บริษัท รวมทั้งประสานงานให้มีการปฏิบัติตามมติคณะกรรมการ บริ ษั ท ซึ่ ง บทบาทหน้ า ที่ ค ณะกรรมการและเลขานุ ก ารบริ ษั ท กำ�หนดไว้ในแบบแสดงข้อมูลรายการประจำ�ปี (แบบ 56-1) คณะกรรมการชุดย่อย บริษัทฯ กำ�หนดให้มีคณะกรรมการชุดย่อยเฉพาะเรื่องขึ้น เพื่ อ รั บ ผิ ด ชอบในการกำ � กั บ ดู แ ลและกลั่ น กรองงานที่ ต้ อ งการ ความเชี่ ย วชาญเฉพาะด้ า นแทนคณะกรรมการบริ ษั ท ได้ แ ก่ คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการ ทรัพยากรบุคคลและกำ�หนดผลตอบแทน คณะกรรมการบริหาร ความเสี่ ย ง และคณะกรรมการกำ � กั บ ดู แ ลกิ จ การ โดยมี ว าระ การดำ�รงตำ�แหน่งคราวละ 3 ปี ตามวาระของการครองตำ�แหน่ง กรรมการบริษัทและเมื่อครบกำ�หนดออกตามวาระแล้ว อาจได้รับ การพิจารณาจากคณะกรรมการบริษัทแต่งตั้งให้ดำ�รงตำ�แหน่ง ต่อไปได้ การประชุมคณะกรรมการชุดย่อยเป็นไปตามภาระหน้าที่ ความรับผิดชอบและตามความจำ�เป็น เพือ่ ให้งานลุลว่ งตามเป้าหมาย และให้รายงานผลการปฏิบัติงานต่อคณะกรรมการบริษัท 1. คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการบริหารกำ�หนดให้มีการประชุมอย่างน้อย เดือนละ 1 ครัง้ กำ�หนดวันประชุมไว้ลว่ งหน้าตลอดปีอย่างชัดเจน
16
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
โดยทำ�หน้าทีก่ ลัน่ กรองนโยบาย กลยุทธ์ และโครงสร้างการบริหารงาน รวมทั้งกำ�กับดูแลและบริหารจัดการต่างๆ เพื่อให้มั่นใจว่าธุรกิจ ของบริษัทฯมีการเติบโตอย่างมั่นคงสอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจ และการแข่งขัน พิจารณากำ�หนดแผนธุรกิจ งบประมาณ และ อำ�นาจบริหารต่างๆ รวมถึงตรวจสอบติดตามการดำ�เนินนโยบาย และแนวทางการบริหารงานให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ติดตาม ผลการดำ�เนินงานและพิจารณากลัน่ กรองโครงการลงทุนขนาดใหญ่ ของบริษทั รวมทัง้ ดำ�เนินการอืน่ ตามทีค่ ณะกรรมการบริษทั มอบหมาย และรายงานผลการดำ�เนินงานให้คณะกรรมการบริษัททราบเป็น ประจำ�ทุกเดือน นอกจากนี้ คณะกรรมการบริหารอาจมีการประชุมพิเศษ เพิ่มตามความจำ�เป็น ซึ่งในปี 2555 มีการประชุมคณะกรรมการ บริหารรวม 15 ครั้ง 2. คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบ ทำ�หน้าทีว่ างหลักเกณฑ์การกำ�กับ ดูแลกิจการที่ดี สอบทานกระบวนการจัดทำ�รายงานฐานะการเงิน และกำ�กับการดำ�เนินงานของบริษทั ให้ถกู ต้องตามนโยบาย ระเบียบ ข้อบังคับ ตลอดจนการปฏิบัติตามกฎหมายและข้อกำ�หนดของ หน่วยงานกำ�กับดูแล ส่งเสริมให้พัฒนาระบบรายงานทางการเงิน ให้เป็นไปตามมาตรฐานสากลและข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย เพือ่ ให้เกิดความน่าเชือ่ ถือ โปร่งใส และตรวจสอบได้ โดยแต่งตั้งให้กรรมการ 1 คน คือ นายสิทธิชัย จันทราวดี เป็นกรรมการที่มีความรู้และประสบการณ์เพียงพอที่จะทำ�หน้าที่ ในการสอบทานความน่าเชือ่ ถือของงบการเงิน คณะกรรมการตรวจ สอบยังทำ�หน้าที่ในการสอบทานให้บริษัทมีระบบควบคุมภายใน ทีเ่ พียงพอ มีระบบตรวจสอบภายในทีไ่ ด้มาตรฐาน และมีการประเมิน ระบบบริหารความเสีย่ งทีม่ ปี ระสิทธิภาพ รัดกุม เหมาะสม ทันสมัย และมีการจัดทำ�รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบโดยเปิดเผย ไว้ในรายงานประจำ�ปีของบริษัท คณะกรรมการตรวจสอบ มีความเป็นอิสระในการปฏิบัติ หน้าทีแ่ ละการแสดงความคิดเห็นต่างๆ โดยให้หน่วยงานตรวจสอบ ภายในของบริษัทฯ รายงานตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบ และ ให้มสี ทิ ธิในการพิจารณาแต่งตัง้ โยกย้าย ถอดถอนหัวหน้าหน่วยงาน ตรวจสอบภายใน พิ จ ารณาอนุ มั ติ ง บประมาณและกำ � ลั ง พล ของหน่วยงานตรวจสอบภายใน และมีสิทธิจ้างที่ปรึกษาแนะนำ� ทางวิ ช าชี พ ซึ่ ง เป็ น บุ ค คลภายนอกได้ นอกจากนี้ ยั ง มี ห น้ า ที่ ในการพิจารณาผลการปฏิบตั งิ านและประสิทธิภาพของผูส้ อบบัญชี โดยเสนอคณะกรรมการบริษัทให้ความเห็นชอบในการเสนอต่อ ทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ให้เปลีย่ นแปลงผูส้ อบบัญชี โดยแต่งตัง้ ผูส้ อบบัญชี แห่งบริษัท สำ�นักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จำ�กัด เป็นผู้สอบบัญชี ของบริษัทในปี 2555 ต่อไปอีก 1 ปี เป็นปีที่ 7 ในอัตรา ค่ า สอบบั ญ ชี เ ท่ า กั บ ปี 2554 โดยกำ � หนดค่ า ตอบแทนในการ สอบบัญชีและค่าสอบทานงบการเงิน เป็นจำ�นวน 714,000 บาท และใช้ผู้สอบบัญชีรายเดียวกับบริษัทย่อย ด้วย 3. คณะกรรมการทรัพยากรบุคคลและกำ�หนดผลตอบแทน คณะกรรมการทรัพยากรบุคคลและกำ�หนดผลตอบแทน
ทำ�หน้าที่ก�ำ หนดหลักเกณฑ์ นโยบาย และวิธีการพิจารณาสรรหา ผู้ ที่ มี ค วามรู้ ความสามารถ ชื่ อ เสี ย ง เกี ย ติ ป ระวั ติ ที่ ดี และ ประสบการณ์เหมาะสมที่จะได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการบริษัท ฝ่ายจัดการ และที่ปรึกษาของบริษัท ทดแทนผู้ที่พ้นจากตำ�แหน่ง รวมทั้งพิจารณาทบทวนระบบประเมินผลการปฏิบัติหน้าที่ของ คณะกรรมการบริษัท และมีหน้าที่ ศึกษา พิจารณา และติดตาม การเปลี่ ย นแปลงและแนวโน้ ม ของการเปลี่ ย นแปลงในเรื่ อ ง ผลตอบแทนของคณะกรรมการบริษัทและผู้บริหาร โดยพิจารณา ผลสรุปข้อมูลค่าตอบแทนกรรมการ และผูบ้ ริหารของบริษทั ในตลาด หลักทรัพย์ฯ ที่ศูนย์พัฒนาการกำ�กับดูแลกิจการบริษัทจดทะเบียน ตลาดหลักทรัพย์ได้จดั ทำ�ขึน้ เปรียบเทียบค่าตอบแทนของบริษทั อืน่ ตามขนาดของทุนจดทะเบียน กำ�ไรสุทธิ กับค่าตอบแทนกรรมการ ที่ได้รับอยู่ เพื่อเสนอเป็นนโยบายในการกำ�หนดค่าตอบแทนของ กรรมการและผูบ้ ริหารให้มคี วามเหมาะสมตามหน้าทีค่ วามรับผิดชอบ และเป็ น ธรรม คณะกรรมการทรั พ ยากรบุ ค คลฯ ได้ กำ � หนด ผลตอบแทนในปี 2555 เท่ากับปี 2554 และได้กำ�หนดให้มี การประชุมอย่างน้อยปีละครัง้ ในปีทผี่ า่ นมา มีการประชุมจำ�นวน 2 ครั้ง เพื่อพิจารณาและดำ�เนินงานต่างๆ ตามความรับผิดชอบ ซึ่งได้เปิดเผยข้อมูลดังกล่าวไว้ในรายงานประจำ�ปี นอกจากนีใ้ นปี 2555 คณะกรรมการทรัพยากรบุคคลและ กำ�หนดผลตอบแทน ได้เสนอคณะกรรมการบริษทั ให้ความเห็นชอบ ในการเสนอต่ อ ที่ ป ระชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น เป็ น นโยบายในการกำ � หนด ค่าตอบแทนพิเศษให้กรรมการบริษทั ทีไ่ ม่ใช่ผบู้ ริหาร โดยทีป่ ระชุม ผู้ถือหุ้นอนุมัติเป็นวงเงินไม่เกินร้อยละ 0.5 ของเงินปันผลที่จ่าย ให้กับผู้ถือหุ้นในปี 2555 ตามมติที่ประชุมผู้ถือหุ้น ปี 2552 การอนุมตั คิ า่ ตอบแทนของกรรมการและผูบ้ ริหาร กำ�หนด ไว้ดังนี้
1. ผูถ้ อื หุน้ เป็นผูอ้ นุมตั คิ า่ ตอบแทนของคณะกรรมการ และ ค่าตอบแทนพิเศษกรรมการบริษัทที่ไม่ใช่ผู้บริหาร โดยพิจารณา จากหน้าที่และความรับผิดชอบตามนโยบายของคณะกรรมการ ทรัพยากรบุคคลและกำ�หนดผลตอบแทน 2. คณะกรรมการบริ ษั ท เป็ น ผู้ อ นุ มั ติ ค่ า ตอบแทนของ ผูบ้ ริหาร โดยพิจารณาจากหน้าทีค่ วามรับผิดชอบ ผลการปฏิบตั งิ าน และผลการดำ�เนินงานของบริษัทตามนโยบายของคณะกรรมการ ทรัพยากรบุคคลและกำ�หนดผลตอบแทน 4. คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง มีหน้าทีก่ �ำ หนดนโยบายและ หลักเกณฑ์ในการบริหารความเสีย่ งตามหลักสากลและการประเมิน ความเสี่ยงของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย กำ�หนดมาตร การป้ อ งกั น และสั ญ ญาณเตื อ นภั ย เพื่ อ จั ด การความเสี่ ย ง อย่างเหมาะสม มีการกำ�กับดูแลให้ทกุ หน่วยงานปฏิบตั ติ ามกฎหมาย และข้อกำ�หนดที่เกี่ยวข้อง ในปี 2555 คณะกรรมการบริหารความเสีย่ งได้ก�ำ หนด ให้จัดทำ�รายงานการบริหารความเสี่ยงเป็นประจำ�ทุกไตรมาส และมี ก ารสอบทานการบริ ห ารความเสี่ ย งเป็ น ประจำ� ที่ สำ � คั ญ ได้แก่ ความเสี่ยงจากการขายและการโอนไม่ได้ตามเป้าหมาย และความเสี่ยงจากขาดแคลนผู้รับเหมางานก่อสร้างที่มีคุณภาพ ซึ่ ง จากการตรวจสอบการบริ ห ารความเสี่ ย งดั ง กล่ า วที่ ผ่ า นมา เห็นว่าอยู่ในระดับที่ยอมรับได้ แต่ทั้งนี้ได้พยายามแก้ไขรายการ ความเสี่ ย งที่ เ กิ ด ขึ้ น ให้ ล ดลง และได้ มี ก ารทบทวนระบบหรื อ ประเมินประสิทธิผลของการจัดการความเสี่ยงทุกปี
คณะกรรมการและคณะกรรมการชุดย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555
คณะกรรมการย่อยชุดต่าง ๆ
รายชื่อ คณะกรรมการ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการ บริษัท คณะกรรมการบริหาร และคณะกรรมการ ทรัพยากรบุคคลและ บริหารความเสีย่ ง กำ�หนดผลตอบแทน 1. พลเรือเอก หม่อมหลวงอัศนี ปราโมช ประธานกรรมการ 2. นายพารณ อิศรเสนา ณ อยุธยา กรรมการอิสระ ประธาน 3. นายพงส์ สารสิน กรรมการ 4. นายกวี อังศวานนท์ กรรมการ ประธาน 5. ดร.อภิชัย จันทรเสน กรรมการอิสระ กรรมการ ประธาน 6. นายสิทธิชัย จันทราวดี กรรมการอิสระ กรรมการ 7. พลตำ�รวจตรี ชินภัทร สารสิน กรรมการ กรรมการ 8. นายอนุทิพย์ ไกรฤกษ์ กรรมการอิสระ กรรมการ 9. นายพิพิธ พิชัยศรทัต กรรมการ กรรมการ 10. นายสัจจา เจนธรรมนุกูล* กรรมการ กรรมการ 11. นายกิตติพล ปราโมช ณ อยุธยา กรรมการผู้จัดการ กรรมการผู้จัดการ *ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการ เมื่อ 12 ธ.ค. 55
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
17
การประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการ บริษัทฯ กำ�หนดให้มีการประเมินผลการปฏิบัติงานตนเองของคณะกรรมการ (Self Assessment) เพื่อใช้เป็นกรอบในการตรวจสอบ การปฏิบัติงานในหน้าที่ของคณะกรรมการอย่างสม่ำ�เสมอ และเปรียบเทียบการดำ�เนินงานของคณะกรรมการบริษัทว่า ได้ดำ�เนินการ ตามนโยบายการกำ�กับดูแลกิจการที่ได้อนุมัติไว้และ/หรือตามแนวปฏิบัติที่ดี (Good Practices) หรือไม่ เพื่อปรับปรุงการปฏิบัติงานของ คณะกรรมการให้สอดคล้องกับแนวนโยบายที่กำ�หนดไว้ ซึ่งผลการประเมินการปฏิบัติงานตนเองของคณะกรรมการในปี 2555 คะแนน ที่ได้อยู่ในเกณฑ์ดี 2.90 จากคะแนนเต็ม 3 หรือ ร้อยละ 96.67
สรุปการเข้าประชุมของคณะกรรมการบริษัทและคณะกรรมการชุดย่อย ปี 2555 คณะกรรมการบริษัท รายชื่อ
1. พลเรือเอกหม่อมหลวงอัศนี ปราโมช 2. นายพารณ อิศรเสนา ณ อยุธยา 3. นายพงส์ สารสิน 4. ดร.อภิชัย จันทรเสน 5. พลตำ�รวจตรี ชินภัทร สารสิน 6. นายสิทธิชัย จันทราวดี ** 7. นายอนุทิพย์ ไกรฤกษ์ 8. นายกวี อังศวานนท์ * 9. นายพิพิธ พิชัยศรทัต * 10. นายสัจจา เจนธรรมนุกูล*,*** 11. นายกิตติพล ปราโมช ณ อยุธยา *
วาระการดำ�รง การเข้าประชุม/ คณะกรรมการ ตำ�แหน่ง บริหาร การประชุมทั้งหมด
เม.ย.55-เม.ย.58 เม.ย.53-เม.ย.56 เม.ย.53-เม.ย.56 เม.ย.54-เม.ย.57 เม.ย.54-เม.ย.57 เม.ย.54-เม.ย.57 เม.ย.54-เม.ย.57 เม.ย.55-เม.ย.58 เม.ย.55-เม.ย.58 เม.ย.53-เม.ย.56 เม.ย.53-เม.ย.56
คณะกรรมการชุดย่อย คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการ และคณะกรรมการ ทรัพยากรบุคคลและ บริหารความเสี่ยง กำ�หนดผลตอบแทน
7/7 6/7 4/4 4/7 7/7 4/4 4/7 6/7 4/4 6/7 7/7 15/15 6/7 15/15 - - 7/7 15/15
2/2 1/2 2/2
* กรรมการผู้มีอ�ำ นาจลงนามผูกพันบริษัท ** กรรมการตรวจสอบที่มีความรู้และประสบการณ์ในการสอบทานความน่าเชื่อถือของงบการเงิน *** นายสัจจา เจนธรรมนุกูล ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการ แทนนายสมศักดิ์ เขมะรังษี กรรมการที่ขอลาออก ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท 11 ธ.ค.55
ค่าตอบแทนของกรรมการ และผู้บริหารของบริษัท สำ�หรับปี 2555
ค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงิน ค่าตอบแทนสำ�หรับกรรมการของบริษัทฯ และฝ่ายจัดการ สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 ดังนี้
ค่าตอบแทนของ คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการทรัพยากรบุคคล และกำ�หนดผลตอบแทน กรรมการตรวจสอบที่มีความรู้สอบทานงบการเงิน ฝ่ายบริหาร ฝ่ายจัดการ ค่าตอบแทนอื่นๆ - ไม่มี -
18
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
หน่วย : บาท
ค่าตอบแทน จำ�นวน ค่าตอบแทนรวม ลักษณะค่าตอบแทน (คน) ประธานกรรมการ กรรมการ 11 288,000/คน/ปี 192,000/คน/ปี 2,208,000 ค่าตอบแทนรายเดือน 3 204,000/คน/ปี 180,000/คน/ปี 564,000 ค่าตอบแทนรายเดือน 3 17,000/คน/ครั้ง 15,000/คน/ครั้ง 188,000 เบี้ยประชุม 3 1 6 7
17,000/คน/ครั้ง 15,000/คน/ครั้ง - 15,000/คน/ครัง้ - - - -
47,000 60,000 5,956,770 7,066,539
เบี้ยประชุม เบี้ยประชุม เงินเดือนและโบนัส เงินเดือนและโบนัส
รายการระหว่างกันในรอบปี 2555 22 พ.ย.55 ผู้ถือหุ้นใหญ่ขายหุ้นให้แก่บริษัท ระยองเพียวริฟายเออร์ จำ�กัด(มหาชน) จำ�นวน 99,000,000 หุ้น หรือคิดเป็น ร้อยละ 22 จึงเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ ลำ�ดับที่ 2 ของบริษัทฯ ในปี 2549 บริษัท ระยองเพียวริฟายเออร์ จำ�กัด(มหาชน) และบริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน) ร่วมทุนจัดตั้งบริษัท เพียวสัมมากร ดีเวลลอปเม้นท์ จำ�กัด บริษัทฯ มีสัดส่วนการถือหุ้นคิดเป็นร้อยละ 55.87 ของหุ้น สามัญที่ออกและเรียกชำ�ระแล้ว จึงมีกรรมการบริษัท และผู้บริหาร เกี่ยวโยงกัน 24 ธ.ค. 55 บริ ษั ท ฯขายที่ ดิ น ให้ สำ � นั ก งานจั ด การทรั พ ย์ สิ น ส่ ว นพระองค์ ในราคายุ ติ ธ รรมตามราคาประเมิ น ของ บริษัทไทยประเมินราคาฯ ซึ่งเป็นบริษัทที่มีรายชื่ออยู่ในตลาดฯ เป็นจำ�นวนเงิน 197 ล้านบาท รับเงินมัดจำ�แล้ว 47 ล้านบาท กำ�หนด โอนกรรมสิทธิ์ ในเดือนมีนาคม 2556 26 ธ.ค. 55 ที่ประชุมกรรมการบริษัท เอ็นชัวร์ โฮม จำ�กัด มีมติเลิกกิจการ ทุนจดทะเบียน 2 ล้านบาท เงินลงทุนเฉพาะของ บริษัทฯ จำ�นวน 400,000 บาท อยู่ในระหว่างการชำ�ระบัญชี
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
19
รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ
REPORT FROM THE AUDIT COMMITTEE คณะกรรมการตรวจสอบได้ ป ฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ต ามขอบเขตความรั บ ผิ ด ชอบที่ ไ ด้ รั บ มอบหมาย จากคณะกรรมการบริษัท ในการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีตามประกาศของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.) คณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) กฎหมาย และระเบียบข้อบังคับต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องตามมาตรฐานสากล เพื่อให้เกิดความชัดเจนในการบริหารงานด้วยความเป็นธรรม โปร่งใส ตรวจสอบได้ และสอบทานความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัทที่มีต่อผู้ถือหุ้น ตลอดจนกำ�กับดูแล ให้ มั่ น ใจว่ า คณะกรรมการบริ ษั ท และฝ่ า ยบริ ห ารได้ บ ริ ห ารกิ จ การตามนโยบายของบริ ษั ท ให้ เ ป็ น ไป อย่างถูกต้อง ครบถ้วน โดยมีการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ 4 ครั้ง และคณะกรรมการฯ เข้าร่วมประชุม ครบทุกครั้ง ซึ่งสรุปสาระสำ�คัญได้ดังนี้ ในรอบปี 2555 คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานงบการเงินรายไตรมาส และประจำ�ปี รวมทั้ง การเปิดเผยข้อมูลในงบการเงินอย่างเพียงพอตามมาตรฐานการบัญชีที่กำ�หนดไว้ โดยมีการประชุมร่วมกันกับ ผู้สอบบัญชี ผู้บริหาร และผู้จัดการ ฝ่ายตรวจสอบภายใน ถึงเรื่องการจัดทำ�งบการเงินให้เป็นไปตามกฎหมาย และมาตรฐานการบัญชี และได้สอบถามรายการที่เป็นสาระสำ�คัญ ซึ่งได้รับคำ�ชี้แจงพร้อมหลักฐานจนเป็นที่ พอใจว่าถูกต้องตามสมควรเป็นทีเ่ ชือ่ ถือได้ อนึง่ ในรอบปีนี้ คณะกรรมการตรวจสอบได้รว่ มประชุมกับผูส้ อบบัญชี อย่างอิสระ โดยไม่มีฝ่ายบริหาร 1 ครั้ง ผลการประชุมโดยสรุป คือผู้สอบบัญชี ได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดี และไม่พบประเด็นที่เป็นสาระสำ�คัญ ที่จะต้องปรับปรุงแก้ไขแต่อย่างไร การสอบทานระบบการควบคุมภายในหน้าที่งานที่สำ�คัญได้ก�ำ หนดไว้อย่างเพียงพอ เหมาะสม ในการ ดำ�เนินธุรกิจ และสอบทานการประเมินการบริหารความเสี่ยงตามหลักการในคู่มือที่กำ �หนดไว้ในเรื่องปัจจัย ความเสีย่ งสำ�คัญ ๆ ทีม่ โี อกาสเกิดขึน้ ได้ และมีผลกระทบสูง ว่าได้มกี ารจัดการกับความเสีย่ งอย่างเพียงพอ รวมทัง้ มีการติดตามผลอย่างต่อเนื่อง ความเสี่ยงที่สำ�คัญได้แสดงไว้ในรายงานประจำ�ปีแล้ว และบริษัทยังได้น�ำ ระบบ Whistle Blower มาใช้อย่างต่อเนือ่ ง โดยกำ�หนดให้พนักงานทุกคนได้มสี ว่ นร่วมในการให้ขอ้ มูลทีเ่ ป็นประโยชน์ รวมทั้งเรื่องที่อาจจะทำ�ให้บริษัทเสียหายตามช่องทางที่ก�ำ หนดไว้ ซึ่งมีผลสรุปเป็นที่น่าพอใจ นอกจากนี้ คณะกรรมการตรวจสอบยังได้สอบทานให้มีการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ในเรื่องจรรยาบรรณ การดำ�เนินธุรกิจอย่างเป็นธรรม โปร่งใส รวมทั้งมีระบบข้อมูลสารสนเทศที่เหมาะสมกับการดำ�เนินงาน ในปัจจุบัน แต่อย่างไรก็ตามก็ได้มีการเสนอให้มีการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่จะใช้ในการวางแผน ควบคุมการปฏิบัติงาน และใช้ในการตัดสินใจให้สอดคล้องกับการขยายงานในอนาคต รวมถึงได้ประเมินผล การปฏิบัติงานตนเอง ในเรื่องความพร้อมของกรรมการ การบริหารความเสี่ยง รายงานทางการเงิน และ การประชุมคณะกรรมการ ซึ่งผลการประเมินอยู่ในระดับดีมาก คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานผลประเมินการปฏิบัติงานของผู้สอบบัญชีแล้ว มีความเห็นว่า ผลการปฏิบัติงานสอบบัญชีเป็นที่น่าพอใจ และผู้สอบบัญชีมีคุณสมบัติครบตามเกณฑ์ของ ก.ล.ต. และตลท. จึงเสนอคณะกรรมการบริษทั ให้ความเห็นชอบเสนอทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ เพือ่ ขออนุมตั แิ ต่งตัง้ นายกฤษดา เลิศวนา ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขที่ 4958 หรือนางสาวศิราภรณ์ เอื้ออนันต์กุล ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขที่ 3844 หรือนายเติมพงษ์ โอปนพันธุ์ แห่งบริษัทสำ�นักงานเอินส์ท แอนด์ ยัง จำ�กัด เป็นผู้สอบบัญชีของบริษัท ประจำ�ปี 2556 ต่ออีก 1 ปี โดยกำ�หนดค่าธรรมเนียมในการสอบบัญชีเป็นจำ�นวนเงิน 780,000 บาท (เจ็ดแสนแปดหมื่นบาทถ้วน) เพิ่มขึ้นจากปีก่อน 66,000 บาท (หกหมื่นหกพันบาท) คิดเป็นร้อยละ 8.46
ในนามของคณะกรรมการตรวจสอบ
(นายพารณ อิศรเสนา ณ อยุธยา) ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ
20
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน REPORT OF THE BOARD OF DIRECTORS’ RESPONSIBILITIES FOR THE FINANCIAL STATEMENTS
คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ ตระหนั ก ดี ถึ ง ภาระหน้ า ที่ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบในฐานะคณะกรรมการ บริ ษั ท จดทะเบี ย นในตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย ที่ มี ต่ อ งบการเงิ น และรายงานทางการเงิ น ของ บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน) ซึ่งได้จัดทำ�ขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีที่ดีและเป็นที่รับรองกันทั่วไป บริษัทฯ ได้เลือกใช้นโยบายการบัญชีที่มีความเหมาะสมกับธุรกิจของบริษัทฯ และถือปฏิบัติอย่างสม่ำ�เสมอมาโดยตลอด มีการใช้ดุลพินิจอย่างรอบคอบ ระมัดระวัง และใช้ประมาณการที่ดีที่สุด ในการจัดทำ�งบการเงินและรายงาน ทางการเงิน รวมทั้งได้มีการเปิดเผยข้อมูลที่เป็นส่วนสำ�คัญอย่างเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน เพื่อให้งบการเงินดังกล่าว สะท้อนผลการดำ�เนินงานของบริษัทฯ ตามความเป็นจริง คณะกรรมการของบริษัทฯ ได้มอบหมายให้คณะกรรมการตรวจสอบเป็นผู้รับผิดชอบเกี่ยวกับ การดูแล คุณภาพของงบการเงินและรายงานทางการเงิน ความมีประสิทธิภาพของระบบควบคุมและระบบการตรวจสอบ ภายในของบริษัทฯ เพื่อให้มั่นใจได้ว่างบการเงินของบริษัทฯ ดังกล่าว มีความถูกต้อง โปร่งใส มีการปฏิบัติ ตามกฎหมายและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องครบถ้วน ซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบได้แสดงความเห็นประกอบ ไว้ในรายงานประจำ�ปีนี้ด้วยแล้ว คณะกรรมการบริษัทฯ มีความเห็นว่างบการเงินและรายงานทางการเงินประจำ�ปี 2555 ของบริษัทฯ ได้แสดงฐานะทางการเงินและผลการดำ�เนินงานที่ถูกต้องครบถ้วนในสาระสำ�คัญ ซึ่งสามารถให้ความเชื่อมั่น อย่างมีเหตุผลต่อความน่าเชื่อถือของงบการเงินดังกล่าวของบริษัทฯ แล้ว
พลเรือเอก
(หม่อมหลวงอัศนี ปราโมช) ประธานกรรมการ
(นายกิตติพล ปราโมช ณ อยุธยา) กรรมการผู้จัดการ
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
21
22
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
ฝ่ายบริหารโครงการ Project Management Dept.
ฝ่ายบริหารทัว่ ไปและ เลขานุการบริษทั Administrative Dept. & Company Secretary
กรรมการผู้จัดการ Managing Director
ผู้ถือหุ้น Shareholder
ฝ่ายพัฒนาระบบงาน System Development Dept.
ผ่านมติทป่ี ระชุมคณะกรรมการบริษทั ครัง้ ที่ 1/2556 วันที่ 14 ก.พ. 56
ฝ่ายแผนงาน และพัฒนาธุรกิจ Business & Planning Development Dept.
คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง Risk Management Committee
ฝ่ายขายและการตลาด Sales & Marketing Dept. & Secretary to the Risk Management Committee
คณะกรรมการทรัพยากรบุคคล และกำ�หนดผลตอบแทน Nomination and Remuneration Committee
คณะกรรมการบริษัท Board of Directors
คณะกรรมการบริหาร Executive Committee
ฝ่ายบัญชีและการเงิน Financial & Accounting Dept.
ฝ่ายตรวจสอบภายในและเลขานุการ คณะกรรมการตรวจสอบ Internal Audit Dept. & Secretary to The Audit Committee
คณะกรรมการตรวจสอบ Audit Committee
ORGANIZATION CHART
ผังโครงสร้างองค์กร
ลักษณะการประกอบธุรกิจ TYPE OF BUSINESS
ประวัติความเป็นมา บริ ษั ท สั ม มากร จำ � กั ด (มหาชน) ก่ อ ตั้ ง มาตั้ ง แต่ ปี พ.ศ. 2513 จวบจนปัจจุบันเป็นเวลา 43 ปี ดำ�เนินธุรกิจ พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ประเภทจำ�หน่าย ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2517 ส่วนใหญ่เป็นบ้านเดีย่ วพร้อมทีด่ นิ โดยจนถึงปัจจุบนั ได้สง่ มอบบ้าน แก่ผู้ซื้อแล้วกว่า 8,000 หน่วย นอกจากนี้ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2549 บริษทั ได้รว่ มทุนในการดำ�เนินธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ประเภทให้เช่า ได้แก่ ศูนย์การค้าเพียวเพลส (Pure Place Community Mall) ซึ่งมีที่ตั้งอยู่หน้าโครงการบ้านสัมมากรบางกะปิ รังสิตคลองสอง และราชพฤกษ์ อันนำ�มาซึ่งการสร้างเครือข่ายชุมชนให้มีความ สะดวกสบายในการพั ก อาศั ย และสร้ า งมู ล ค่ า เพิ่ ม แก่ ท รั พ ย์ สิ น ที่ลูกค้าได้ซื้อและครอบครองไว้ สมกับปณิธานของบริษัทที่ว่า “เราไม่เพียงสร้างบ้าน แต่เราสร้างสังคม” อีกทั้งยังเป็นการ สร้างรายได้ในระยะยาวให้มีความผันผวนน้อยลงรวมทั้งส่งเสริม ทางการขายบ้านจัดสรรของบริษัทอีกทางหนึ่งด้วย
การประกอบธุรกิจ โครงสร้างรายได้หลักของบริษัทยังคงมาจากการจำ�หน่าย อสังหาริมทรัพย์ โดยในปี พ.ศ. 2555 บริษัทยังคงมุ่งเน้นพัฒนา โครงการที่พักอาศัยเพื่อจำ�หน่ายในแนวราบประเภทบ้านเดี่ยว ทั้งสิ้น ซึ่งเป็นการพัฒนาโครงการในเฟสต่อเนื่องจากโครงการ เดิมทีไ่ ด้ด�ำ เนินการไว้แล้วจำ�นวน 9 โครงการ ได้แก่ อควา ดิวนิ า – ถนนรามคำ�แหง 94, สัมมากร – รามคำ�แหง, สัมมากร – มีนบุรี 1, สัมมากร – มีนบุรี 2, สัมมากร – นิมิตใหม่, สัมมากร – รังสิต คลองสอง, สัมมากร – รังสิตคลองเจ็ด, สัมมากร – ราชพฤกษ์, สัมมากร – นครอินทร์ และเพิ่งเปิดโครงการใหม่อีก 1 โครงการ เมื่อปลายปี 2555 ได้แก่ ฟลอร่า ดิวินา ถนน 345 – ราชพฤกษ์
นโยบายการดำ�เนินธุรกิจ บริษทั มีนโยบายในการดำ�เนินธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ประเภทจำ�หน่ายอย่างต่อเนื่อง โดยในปี พ.ศ. 2555 ที่ผ่านมา ยังคงอยู่ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ได้แก่ จังหวัด ปทุมธานี และจังหวัดนนทบุรี โดยมีเป้าหมายและนโยบายหลัก ๆ ดังนี้ : 1. มุ่ ง เน้ น พั ฒ นาสิ น ค้ า ประเภทบ้ า นเดี่ ย วพร้ อ มที่ ดิ น ในเฟสต่อเนื่องของโครงการเดิม ซึ่งบริษัทมีความถนัด ทั้งใน ส่วนของตลาด และการพัฒนาสินค้าโดยการออกแบบบ้านใหม่ ให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้บริโภคกลุ่มเป้าหมาย 2. พัฒนาปรับปรุงสาธารณูปโภค และบริการสาธารณะ
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
23
5. จัดทีมงานบริหารลูกค้าสัมพันธ์ บริการหลังการขาย เพื่ อ ให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพในการรั บ เรื่ อ งราวจากลู ก ค้ า ถึ ง แม้ ใ น กรณีที่โครงการได้ปิดการขายและโอนกรรมสิทธิ์แก่ผู้ซื้อทั้งหมด แล้ว ทีมงานบริหารลูกค้าสัมพันธ์ดังกล่าวยังคงมีหน้าที่ให้บริการ ลูกค้าอย่างต่อเนื่องจนครบกำ�หนดตามสัญญา รวมทั้งการให้ ข้อมูลข่าวสารการประชาสัมพันธ์กิจกรรมการตลาดของบริษัท ทีม่ ปี ระสิทธิภาพอีกทางหนึง่ ด้วย อันจะส่งผลให้แบรนด์ของบริษทั เป็นที่ยอมรับของผู้บริโภคอย่างต่อเนื่องและยาวนาน 6. เสริมสร้างพันธมิตรทางการค้า เช่น การรวมกลุ่ม ผู้ ป ระกอบการพั ฒ นาอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ เพื่ อ การแลกเปลี่ ย น นวัตกรรมและแนวทางการพัฒนาโครงการให้ลดความเสี่ยง และ เพิ่มอัตราผลกำ�ไร โดยเป็นในรายการที่ไม่เป็นความลับในทาง ธุรกิจที่จะทำ�ให้มีส่วนได้เสีย ซึ่งบริษัทได้เป็นสมาชิกของสมาคม อสังหาริมทรัพย์ไทย ที่มีจำ�นวนสมาชิกผู้ประกอบการพัฒนา อสังหาริมทรัพย์กว่า 300 บริษัท แนวทางร่วมที่ผ่านมา อาทิ เช่น การจัดงานแสดงสินค้ามหกรรมบ้านและคอนโด, Thailand Exclusive Property Show เป็นต้น การพัฒนาองค์กร และบุคลากร เป็นที่ยอมรับกันอย่างกว้างขวางว่า องค์กรจะขับเคลื่อน ไปได้ ดี ใ นแนวทางที่ ว างไว้ อ ย่ า งถู ก ต้ อ ง ต้ อ งอาศั ย บุ ค ลากร ในองค์ ก รมี ค วามเป็ น น้ำ � หนึ่ ง ใจเดี ย วกั น รู้ แ ละเข้ า ใจบทบาท และหน้าที่ ปราศจากซึ่งอคติ และถึงพร้อมซึ่งความรู้และศักยภาพ
ให้อยู่ในสภาพที่เหมาะสมกับการใช้งาน โดยเมื่อบริษัทฯได้ดูแล รักษาครบกำ�หนดตามโครงการและวิธีการจัดสรรแล้ว บริษัทมี นโยบายในการจัดตั้งนิติบุคคลบ้านจัดสรรในทุกโครงการ เพื่อให้ เจ้าของร่วมได้มสี ว่ นร่วมกันในการบริหารจัดการชุมชนด้วยตนเอง โดยมีสทิ ธิแ์ ละหน้าทีต่ ามกฎหมาย อันจะนำ�มาซึง่ ความเข้มแข็งของ แต่ละชุมชนได้เป็นอย่างดี 3. คุ ณ ภาพบ้ า นที่ พ ร้ อ มส่ ง มอบแก่ ผู้ ซื้ อ บริ ษั ท จั ด ที ม ตรวจสอบคุ ณ ภาพงานก่ อ สร้ า งอย่ า งต่ อ เนื่ อ งและสม่ำ � เสมอ เพื่อให้มั่นใจว่า บริษัทจะส่งมอบบ้านที่มีคุณภาพพร้อมส่งมอบ แก่ผู้ซื้อได้ตามกำ�หนดเวลา 4. บริ ษั ท ได้ เ ริ่ ม กระบวนการการสร้ า งบ้ า นก่ อ นขาย เพื่อสร้างการรับรู้ในสินค้าคุณภาพเมื่อสำ�เร็จต่อผู้ซื้อ รวมทั้ง ความมัน่ ใจทางการตลาดของผูซ้ อื้ ด้วย กอปรกับเป็นการลดปัญหา การก่อสร้างล่าช้าอันเนื่องมาจากสภาวะขาดแคลนแรงงานและ การปรั บ เปลี่ ย นแบบหรื อ วั ส ดุ อุ ป กรณ์ ก่ อ สร้ า งบางรายการ ของลูกค้าแต่ละรายอีกด้วย
24
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
ในการปฏิบตั งิ าน บริษทั ฯจึงมีแนวทางในการเสริมสร้างการพัฒนา บุคลากร โดยการจัดฝึกอบรมและกำ�หนดเป้าหมายและนโยบาย ร่วมกัน (Management by Objective) ตลอดรวมถึงการส่งเสริม ให้ ไ ด้ รั บ การศึ ก ษาเพิ่ ม ขึ้ น เช่ น การส่ ง พนั ก งานเข้ า อบรม ในหลั ก สู ต ร ผู้ บ ริ ห ารธุ ร กิ จ อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ แ ห่ ง จุ ฬ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย (RE – CU) อันจะนำ�องค์ความรู้ที่ได้รับมาพัฒนา และปรับปรุงให้องค์กรแข็งแกร่งและเติบโตอย่างยั่งยืน นอกจากนีบ้ ริษทั ฯยังมีเกณฑ์การวัดผลกระบวนการทำ�งาน ด้วยระบบ ISO การวัดความสำ�เร็จขององค์กร ทั้ง 4 ด้าน ตามหลักการของ Balance Scorecard ได้แก่ 1. มุมมองด้านการเงิน (financial Perspective) 2. มุมมองด้านลูกค้า (Customer Perspective) 3. มุมมองด้านกระบวนการภายใน (Internal Process Perspective) 4. มุมมองด้านการเรียนรูแ้ ละการพัฒนา (Learning and Growth Perspective) บริษทั จึงเชือ่ มัน่ อย่างมีนยั สำ�คัญว่า บริษทั ฯจะเติบโตอย่าง ยั่งยืนดังเช่นที่ด�ำ เนินธุรกิจมาอย่างยาวนาน
โครงสร้างรายได้ บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน) มีโครงสร้างรายได้ในปี พ.ศ. 2553 2554 และ 2555 ตามตารางต่อไปนี้ ประเภทรายได้ การขายบ้านและที่ดิน รายได้จากการให้เช่า รายได้ค่าบริการ รายได้อื่น ๆ รวมรายได้
2553 จำ�นวนเงิน สัดส่วน % 719.33 89.46% 38.27 4.76% 36.08 4.49% 10.39 1.29% 804.07 100.00%
2554 2555 จำ�นวน สัดส่วน % จำ�นวนเงิน สัดส่วน % 594.67 86.95% 744.40 88.72% 42.20 6.17% 88.67 10.57% 38.24 5.59% 8.81 1.29% 5.94 0.71% 683.92 100.00% 839.00 100.00%
จะเห็ น ได้ ว่า โครงสร้ า งรายได้ ใ นปี 2555 ของบริ ษัท ส่วนใหญ่คิดเป็นร้อยละ 88.72% ยังเป็นรายได้จากการขายบ้าน และที่ดิน ซึ่งถือเป็นธุรกิจหลักของบริษัท โดยมีแนวโน้มในสัดส่วน ที่เพิ่มขึ้น พร้อมกับรายได้จากการให้เช่าอสังหาริมทรัพย์ที่เพิ่มขึ้น อย่างต่อเนื่อง เป็นไปตามแนวนโยบายในการเสริมสร้างรายได้ ให้มีความมั่นคงแก่บริษัทในระยะยาว อย่างไรก็ตามเนื่องจาก ในปี 2555 รายได้จากการขายบ้านและที่ดิน เพิ่มขึ้นจำ�นวน 149.73 ล้านบาท คิดเป็นเพิ่มขึ้นจากปี 2554 ร้อยละ 25.18 แต่ก็มีลูกค้าบางส่วนยังชะลอการตัดสินใจซื้อ เนื่องจากยังไม่แน่ใจ กับเหตุการณ์น้ำ�ท่วม ด้วยความไม่ประมาทบริษัทฯ จึงมีแนวทาง ในการป้องกันและแผนบรรเทาปัญหาอุทกภัยในปี 2555 และ ปีต่อ ๆ ไป ในทุกโครงการที่เสี่ยงน้ำ�ท่วม เพื่อเพิ่มความเชื่อมั่น ให้กับลูกค้าที่จะซื้อบ้านของโครงการยิ่งขึ้น
เมืองมากขึ้น และจากการขยายตัวของสาธารณูปโภคของภาครัฐ จึ ง เป็ น ที่ ม าที่ ทำ � ให้ บ ริ ษั ท ฯ เริ่ ม พั ฒ นาโครงการอาคารชุ ด ติดสถานีรถไฟฟ้าโดยจะเปิดขายช่วงปลายปี 2556 แต่การรับรู้ รายได้จากการขายอาคารชุดนี้จะยังไม่รับรู้จนการก่อสร้างแล้ว เสร็จ ซึง่ คาดว่าจะประมาณต้นปี 2558 พร้อมกับการเปิดใช้รถไฟฟ้า สายสีม่วง ส่วนยอดรับรู้ของบริษัทฯ ปี 2556 จะมาจากการ ขายบ้านและที่ดินในโครงการที่มีการพัฒนาแล้ว บวกกับโครงการ บ้ า นแฝดที่ ถ นนท่ า อิ ฐ นอกจากนี้ แ ล้ ว บริ ษั ท ลู ก คื อ บริ ษั ท เพียว สัมมากร ดีเวลลัปเม้นท์ จำ�กัด จะได้รับค่าเช่าเพิ่มขึ้นจาก สามโครงการ Pure Place Community Mall ซึ่งคาดว่าทั้งหมด จะมีอัตราการเช่ากว่าร้อยละ 90 ภายในปี 2556 นี้ บริษัทฯ จึงเชื่อมั่นว่าจะสามารถเพิ่มยอดรับรู้ของบริษัทฯได้อย่างต่อเนื่อง ในปี 2556
โครงการในอนาคต บริ ษั ท ฯ ยั ง คงมุ่ ง เน้ น การพั ฒ นาต่ อ ในโครงการเดิ ม ให้ แ ล้ ว เสร็ จ โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง โครงการที่ เ หลื อ หน่ ว ยขาย ไม่เกิน 100 หน่วย ถือเป็นเป้าหมายที่บริษัทฯจะเร่งปิดโครงการ ให้ ไ ด้ โ ดยเร็ ว อี ก ทั้ ง การกระจายความเสี่ ย งไปยั ง สิ น ค้ า อื่ น ๆ นอกจากบ้านเดี่ยว เช่น บ้านแฝด ทาวน์เฮ้าส์ อาคารชุดพักอาศัย รวมทัง้ กระจายทำ�เลไปยังหัวเมืองสำ�คัญ ๆ ทีม่ กี �ำ ลังซือ้ เช่น พัทยา เขาใหญ่ และพื้นที่อื่นที่มีศักยภาพ เป็นต้น
ปัจจัยที่ทำ�ให้บริษัทไม่สามารถดำ�เนินการตามแผนที่กำ�หนด ไว้ได้ ปั จ จุ บั น อั ต ราการว่ า งงานของประเทศไทยอยู่ ต่ำ � กว่ า ร้ อ ยละ 1 ซึ่ ง นั บ ว่ า ต่ำ�มากและบ่ ง บอกถึ ง สภาวะขาดแคลน แรงงานอย่างรุ่นแรง นอกจากนี้แล้วภาครัฐจะมีการลงทุนพัฒนา สาธารณูปโภคทั่วประเทศโดยใช้งบประมาณ 2.2 ล้านล้านบาท ภายใน 7 ปีครึ่ง ซึ่งจะยิ่งส่งผลต่อสภาวะขาดแคลนแรงงาน บริษทั ฯ ได้มมี าตรการในการบริหารผูร้ บั เหมาและวัสดุกอ่ สร้างแล้ว แต่ทั้งนี้ยังเป็นปัจจัยเสี่ยงอันสำ�คัญที่จะทำ�ให้บริษัทฯ ไม่สามารถ ดำ�เนินการได้ตามเป้าหมาย
ผลตอบแทนที่คาดว่าจะได้รับ จากที่เศรษฐกิจไทยปี 2555 มีการเติบโตของ GDP ร้อยละ 5.9 และธนาคารแห่งประเทศไทยคาดการว่าปี 2556 จะขยายตัวอีกร้อยละ 4.9 นั้น จะทำ�ให้ผู้บริโภคมีความมั่นใจ ในระบบเศรษฐกิ จ ส่ ง ผลดี ต่ อ ธุ ร กิ จ อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ โ ดยรวม โดยจะมี ก ารตั ด สิ น ใจซื้ อ อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ทั้ ง นี้ ที่พักอาศัยแนวสูงยังจะมีการขยายตัวสูงกว่าที่พักอาศัยแนวราบ เนื่ อ งมาจากพฤติ ก รรมของผู้ บ ริ โ ภคที่ เ ปลี่ ย นแปลงเข้ า สู่ สั ง คม
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
25
ปัจจัยความเสี่ยง
FACTORS OF RISK ความเสี่ยงของบริษัท จะอยู่ใน 2 ส่วน ได้แก่ ความเสี่ยง จากปัจจัยภายในองค์กร และความเสีย่ งจากปัจจัยภายนอกองค์กร ทัง้ นีป้ จั จัยความเสีย่ งภายในองค์กร เป็นความเสีย่ งทีค่ ณะกรรมการ และฝ่ า ยจั ด การของบริ ษั ท จะพยายามทำ � ให้ ล ดน้ อ ยลงหรื อ หมดไปให้ได้มากที่สุด ส่วนปัจจัยความเสี่ยงจากปัจจัยภายนอก องค์กรเป็นความเสี่ยงที่คณะกรรมการและฝ่ายจัดการของบริษัท ต้ อ งพยายามกำ � หนดนโยบายในการบริ ห ารจั ด การของบริ ษั ท ให้ลดผลกระทบในทางลบให้ได้มากที่สุด ดังจะได้กล่าวถึงในแต่ละ ปัจจัยความเสี่ยง ดังต่อไปนี้ ปัจจัยความเสี่ยงภายในองค์กร 1. ด้านการเงิน และสภาพคล่องทางการเงิน ธุ ร กิ จ พั ฒ นาอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ เ ป็ น ธุ ร กิ จ ที่ ใ ช้ เ งิ น ลงทุ น สู ง หากเกิ ด เหตุ ก ารณ์ ที่ เ หนื อ ความคาดหมายอย่ า งรุ น แรง (Very worst case scenario) อาจทำ�ให้เกิดปัญหาสภาพคล่อง ทางการเงินได้ บริษทั ฯ จึงถือเป็นนโยบายทีถ่ อื ปฏิบตั อิ ย่างต่อเนือ่ ง เรื่องการรักษาสภาพคล่อง โดยมุ่งเน้นการลงทุนพัฒนาโครงการ ที่ มี ค วามเสี่ ย งในระดั บ ยอมรั บ ได้ โดยมี ค วามเป็ น ไปได้ ข อง โครงการอยู่ ใ นระดั บ สู ง นอกจากนี้ ก ารเตรี ย มวงเงิ น สิ น เชื่ อ หมุนเวียนไว้ ก็เป็นแนวทางที่บริษัทฯได้ดำ�เนินการไว้ด้วยแล้ว เช่ น กั น อั น จะนำ � มาซึ่ ง ความเชื่ อ มั่ น ในการดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ ให้ มี สภาพคล่องอย่างเพียงพอ เมือ่ เกิดเหตุการณ์เหนือความคาดหมาย อย่างรุนแรง 2. ด้านการตลาดและการขาย ถื อ เป็ น หั ว ใจในการดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ ให้ ป ระสบความสำ � เร็ จ ดังนั้นบริษัทฯจึงมุ่งมั่นที่จะสร้างตราสินค้า (Brand) ให้เป็นที่ ยอมรับของผู้บริโภคอย่างต่อเนื่องและยาวนาน โดยการสร้าง ที ม การบริ ห ารจั ด การเพื่ อ บริ ก ารลู ก ค้ า ตั้ ง แต่ ก่ อ นการขาย ระหว่างการขาย และหลังการขายอย่างเป็นระบบ อันจะนำ�มาซึ่ง ความเชื่อมั่นของผู้บริโภค นอกจากนี้การเปิดช่องทางการตลาด และการขายใหม่ๆ ก็เป็นส่วนที่บริษัทฯสามารถนำ�มาใช้ให้เป็น ประโยชน์ได้ เช่น การตลาดอีเล็กทรอนิกส์ (E–Marketing), Social media ฯลฯ 3. ด้านการก่อสร้างและพัฒนาโครงการ ซึ่งถือว่าเป็นส่วนสำ�คัญที่จะช่วยเสริมให้บริษัทฯ ประสบ ความสำ � เร็ จ ตามเป้ า หมายที่ กำ � หนดไว้ ไ ด้ ดั ง นั้ น บริ ษั ท ฯ จึงเข้มงวดทั้งในเรื่องของคุณภาพ เวลา และต้นทุน ให้เป็นไป ตามแผนที่กำ�หนดไว้ อย่างไรก็ตามเนื่องจากด้านการก่อสร้าง และพั ฒ นาโครงการจะมี ปั จ จั ย ภายนอกเข้ า มามี ผ ลกระทบ ค่อนข้างมาก เช่น การขาดแคลนแรงงาน การขึน้ ค่าแรงงานขัน้ ต่�ำ การปรับราคาของวัสดุกอ่ สร้าง เป็นต้น ดังนัน้ บริษทั ฯ จึงใช้กลยุทธ์ ในหลากหลายมิติ เพื่อลดปัญหาผลกระทบ เช่น การปรับกลยุทธ์ เป็น “สร้างบ้านก่อนขาย” เพื่อสามารถวางแผนได้อย่างต่อเนื่อง 4. ด้านทรัพยากรบุคคล และการบริหารจัดการ มีคำ�กล่าวว่า “การสรรหาคนดี คนเก่ง นั้นยาก” แต่ “การรั ก ษาคนดี คนเก่ ง นั้ น ยากกว่ า ” ด้ ว ยวิ สั ย ทั ศ น์ ข อง
26
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
คณะกรรมการและฝ่ายจัดการของบริษัทฯ ในด้านการบริหาร ทรั พ ยากรบุ ค คลที่ ใ ห้ ทั้ ง โอกาสและช่ อ งทางให้ พ นั ก งานได้ แสดงความสามารถ ถื อ เป็ น แนวคิ ด หลั ก ที่ จ ะทำ � ให้ พ นั ก งาน รู้ถึงคุณค่าของตนเอง และมุ่งมั่นที่จะนำ�องค์ความรู้มาพัฒนา องค์กรให้เจริญเติบโตอย่างมัน่ คงและยัง่ ยืน เป็นการปลูกจิตสำ�นึก ความรับผิดชอบต่อทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง (Stakeholder) รวมทั้ง จิตวิญญาณแห่งความเป็นเจ้าของ (Entrepreneur spirit) ปัจจัยความเสี่ยงภายนอกองค์กร 1. ด้านภาวะเศรษฐกิจ (Economic) ปี 2555 เห็ น การฟื้ น ตั ว ของที่ อ ยู่ อ าศั ย แนวราบ ในช่วงครึ่งปีหลัง เนื่องจากความกังวลเรื่องภัยน้ำ�ท่วมได้ลดลง ไป และเศรษฐกิจของประเทศไทยมีการขยายตัวที่ดี โดยอัตรา การเติบโตของ GDP อยู่ที่ร้อยละ 5.9% สำ�หรับปี 2556 อัตราการขยายตัวของ GDP อาจไม่สูงเท่าปี 2555 แต่จะเห็น การขยายตัวอยู่ในส่วนภูมิภาค ซึ่งบริษัทฯก็จะจับตามอง เพื่อหา โอกาสในการลงทุนและขยายกิจการต่อไป 2. ด้านการเมืองการปกครอง (Politic) ประชาธิปไตยในประเทศไทยยังคงเป็นปัจจัยที่ต้องคอย เฝ้าระวัง ความมีเสถียรภาพของรัฐบาล ยังคงต้องจับตาอย่าง ใกล้ ชิ ด อย่ า งไรก็ ต ามสิ น ค้ า ประเภทที่ พั ก อาศั ย ถื อ เป็ น หนึ่ ง ในปั จ จั ย สี่ ที่ ยั ง คงมี ค วามจำ � เป็ น ในการดำ � รงชี วิ ต ถึ ง แม้ ว่ า จะ เกิดประเด็นปัญหาทางด้านการเมือง ความขัดแย้งของคนใน สังคม ก็เป็นเพียงการกระทบด้านอุปสงค์ในระยะสัน้ การวิเคราะห์ ความเป็ น ไปได้ ข องโครงการและพยายามลดหรื อ หลี ก เลี่ ย ง ปัจจัยเสี่ยงให้ได้มากที่สุด จะเป็นแนวทางหลักในการดำ�เนินธุรกิจ ของบริษัทฯ 3. ด้ า นสั ง คมและพฤติ ก รรมผู้ บ ริ โ ภค (Social & Consumer behavior) สังคมเมืองในปัจจุบัน และอนาคต ขนาดของครอบครัว จะเล็กลง การเป็นครอบครัวเดี่ยวหรืออยู่คนเดียวจะมีจำ�นวน เพิม่ มากขึน้ จำ�นวนผูส้ งู อายุจะมีอตั ราการเพิม่ ขึน้ อย่างมีนยั สำ�คัญ ในอีก 20 ปีข้างหน้า (ผู้ที่เกิดในยุค Baby boom จะเข้าสู่ช่วง ผู้สูงวัย) การปรับลักษณะของสินค้าให้เหมาะสมกับกลุ่มลูกค้า เป้าหมายและพฤติกรรมผู้บริโภค ถือเป็นสิ่งสำ�คัญและจำ�เป็น อย่ า งหลี ก เลี่ ย งมิ ไ ด้ ดั ง นั้ น บริ ษั ท ฯ จึ ง มุ่ ง เน้ น การเก็ บ ข้ อ มู ล ผู้ บ ริ โ ภคในเชิ ง ลึ ก เพื่ อ ให้ ส ามารถผลิ ต สิ น ค้ า ที่ ต อบสนอง ความต้องการของลูกค้ากลุ่มเป้าหมายให้ได้มากที่สุด 4. ด้านเทคโนโลยีและการสื่อสาร (Technology & Communication) เป็ น ที่ ย อมรั บ กั น อย่ า งกว้ า งขวางว่ า เทคโนโลยี แ ละ การสื่ อ สารทำ � ให้ โ ลกธุ ร กิ จ นี้ แ คบลงอย่ า งมาก โดยเฉพาะ อย่างยิ่งกิจกรรมด้านการตลาด ซึ่งส่งผลให้เ ข้าถึงลูกค้ากลุ่ม เป้ า หมายได้ ม ากขึ้ น ภายใต้ ค่ า ใช้ จ่ า ยที่ ล ดลง ส่ ว นทางด้ า น การก่ อ สร้ า งและพั ฒ นาโครงการนั้ น เทคโนโลยี ส มั ย ใหม่ ก็ มี ส่วนช่วยให้สามารถควบคุมคุณภาพ กำ�หนดกรอบเวลา และ บริหารต้นทุนได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
5. ด้านกระแสโลกาภิวัฒน์ (Globalization) ในโลกธุรกิจปัจจุบัน ธุรกิจระหว่างประเทศ การลงทุน ข้ามชาติ ถือเป็นเรื่องใกล้ตัวอย่างยิ่งซึ่งเทคโนโลยีและการสื่อสาร ทำ�ให้โลกธุรกิจนี้แคบลงอย่างมาก ดังนั้นการปรับตัวให้ทันกับ การเปลี่ ย นแปลงถื อ เป็ น สิ่ ง ที่ ห ลี ก เลี่ ย งได้ ย าก และในอนาคต อั น ใกล้ นี้ ก ารเปิ ด เสรี ด้ า นการลงทุ น อย่ า งเต็ ม รู ป แบบในกลุ่ ม AEC (ASEAN Economic Community จำ�นวน 10 ประเทศ) ในปี 2558 ของประชาคมเศรษฐกิ จ อาเซี ย น จะกลายเป็ น จุ ด เปลี่ ย นครั้ ง สำ � คั ญ อี ก ครั้ ง หนึ่ ง ของประเทศไทยในทุ ก ด้ า น ทั้ ง การค้ า สิ น ค้ า การค้ า บริ ก าร การเคลื่ อ นย้ า ยการลงทุ น แรงงานและเงิ น ทุ น ซึ่ ง ต้ อ งมี ม าตรการระวั ง ปั จ จั ย เสี่ ย งด้ า น อั ต ราแลกเปลี่ ย น กรณี ห ากบริ ษั ท ฯได้ ข ายสิ น ค้ า แก่ นั ก ลงทุ น ชาวต่างประเทศ เช่น การขายอาคารชุด การป้องกันความเสี่ยง ในกรณีน้ไี ด้ดีท่สี ุดคือ การขายสินค้าหรือบริการเป็นสกุลเงินบาท เนื่องเพราะแหล่งใช้ไปของเงิน (Use of fund) ของบริษัทฯ ในด้านต้นทุนส่วนใหญ่อยู่ในสกุลเงินบาท 6. ความเสี่ยงเกี่ยวกับการแข่งขัน ธุ ร กิ จ จั ด สรรบ้ า นและที่ ดิ น เป็ น ธุ ร กิ จ ที่ มี ก ารแข่ ง ขั น กั น สูงมาก เพราะมีผู้ประกอบการในตลาดมากราย แต่ละรายก็เน้น ที่ จ ะเพิ่ ม ยอดขายและทำ � กำ � ไรให้ สู ง ขึ้ น ทำ � ให้ ป ริ ม าณการ ก่อสร้างบ้านมีมากกว่ากำ�ลังซื้อบ้านจัดสรรจำ�เป็นต้องสร้างเป็น การล่วงหน้า และกว่าจะแล้วเสร็จต้องใช้เวลาหลายเดือน ถ้าเกิด ภาวะเศรษฐกิจชะลอตัว กำ�ลังซื้อตกลง จะเหลือบ้านในสต็อค จำ � นวนมาก ดั ง นั้ น เพื่ อ ให้ ข ายบ้ า นได้ ผู้ จั ด สรรจำ � เป็ น ต้ อ งลด ราคาลง ทำ�ให้การแข่งขันยิ่งรุนแรงขึ้น ยอดขายโดยรวมจะลดลง ขณะที่ต้นทุนยังสูงอยู่ ทางแก้ไข คือ ต้องติดตามสถานการณ์ตลาดบ้านจัดสรร และทิศทางภาวะเศรษฐกิจอย่างใกล้ชิด ลดการปลูกสร้างบ้าน ล่วงหน้ามิให้มจี �ำ นวนมากเกินไป สร้างบ้านคุณภาพ ควบคุมต้นทุน ลดค่าใช้จ่าย เน้นการบริการและเพิ่มความพึงพอใจให้แก่ลูกค้า และสร้างความแตกต่าง เพื่อรักษายอดขายวิธีการดังกล่าวอาจมี ผลกระทบต่อกำ�ไรโดยรวมบ้าง 7. ความเสี่ยงเรื่องกำ�ลังซื้อลดลง ความเสี่ ย งดั ง กล่ า วอาจเกิ ด จากการชะลอตั ว ของ เศรษฐกิ จ โลก ซึ่ ง ทำ � ให้ มี ผ ลกระทบต่ อ การส่ ง ออกอย่ า งมี
สาระสำ�คัญ เมื่อการส่งออกลดลงจะมีผลกระทบต่อเศรษฐกิจ ของประเทศไทยค่อนข้างมาก เพราะการเติบโตทางเศรษฐกิจ พึ่ ง พาการส่ ง ออกในอั ต ราที่ สู ง ทำ � ให้ เ กิ ด ปั ญ หาการว่ า งงาน ประกอบกับมีปัญหารุมเร้าด้านสังคม และการเมืองค่อนข้างหนัก จึงอาจทำ�ให้ผู้บริโภคขาดความเชื่อมั่นและระมัดระวังเรื่องการใช้ จ่ายมากขึ้น ทางแก้ ไ ข คื อ บริ ษั ท ฯ ต้ อ งเน้ น สร้ า งบ้ า นคุ ณ ภาพ ในราคาที่แข่งขันได้ โดยใช้นวัตกรรมต่างๆ เข้ามาช่วยให้มากขึ้น ทั้งแบบบ้าน วัสดุก่อสร้าง และกระบวนการก่อสร้าง บริษัทฯ ต้ อ งใช้ ก ารตลาดให้ ห ลากหลายมากขึ้ น เพื่ อ กระตุ้ น ยอดขาย ในขณะที่ยังมีข้อดี คือ อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ยังทรงตัว และยัง เป็นปัจจัยสำ�คัญที่จะให้ลูกค้าตัดสินใจซื้อบ้าน เพราะถ้ารอช้า ไปดอกเบี้ยอาจปรับตัวขึ้นได้ ดังนั้นผู้ซื้อบ้านในปีนี้ก็จะยังได้รับ ผลประโยชน์ อย่างไรก็ดีหากเศรษฐกิจประเทศไทยยังเติบโตได้ ดีจากการส่งออกที่เพิ่มขึ้น สถานการณ์การเมืองมีความมั่นคง ภายหลังการเลือกตั้งประชาชนจะมีความเชื่อมั่นสูงขึ้น คาดว่า กำ�ลังซื้อน่าจะเพิ่มขึ้นด้วย ความเสี่ยงจะลดลง อย่างไรก็ดีบริษัทฯ ต้องติดตามสถานการณ์อย่างใกล้ชิด 8. ความเสี่ยงเกี่ยวกับการขาดแคลนแรงงานก่อสร้าง เมื่ อ เศรษฐกิ จ ของประเทศเติ บ โต ความต้ อ งการที่ อ ยู่ อาศัยจะเพิ่มสูงขึ้น ประกอบกับการลงทุนสาธารณูปโภคของภาค รัฐ ทำ�ให้เกิดปัญหาขาดแคลนผู้รับเหมา และขาดแคลนแรงงาน โดยเฉพาะแรงงานฝีมือดียิ่งหายาก ผลที่ตามมาคือ งานก่อสร้าง บ้านเสร็จล่าช้าและไม่ได้คุณภาพ ทำ�ให้ลูกค้าไม่พอใจ ยอดขายตก สร้างผลเสียหายแก่บริษัทฯทั้งในระยะสั้นและระยะยาว ทางแก้ไข คือ ต้องมีการปรับราคาจ้างเหมาให้เหมาะ สมตามอัตราตลาดรวมทั้งจัดเกรดผู้รับเหมา เพื่อสามารถปรับ อัตราจ้างพิเศษให้แก่ผู้รับเหมาฝีมือดี และประการสำ�คัญต้องใช้ ระบบก่อสร้างกึ่งสำ�เร็จรูปมากขึ้น ทั้งงานโครงสร้าง งานพื้น งานโครงหลังคา และงานก่อฉาบ เพื่อลดอัตราการใช้แรงงาน ให้ น้ อ ยลง เป็ น วิ ธี ที่ จ ะช่ ว ยแก้ ปั ญ หาการขาดแคลนแรงงาน ให้บรรเทาลงได้
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
27
ภาวะอุตสาหกรรมและการแข่งขัน
REAL ESTATE BUSINESS IN 2012 AND PROSPACT FOR 2013 ปี พ.ศ. 2555 เป็นปีของการฟื้นตัวธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ จากวิ ก ฤตอุ ท กภั ย ข้ อ มู ล จากศู น ย์ ข้ อ มู ล อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ แสดงอั ต ราการฟื้ น ตั ว ที่ สู ง ไม่ ว่ า จะเป็ น ที่ อ ยู่ อ าศั ย สร้ า งเสร็ จ จดทะเบี ย นในกรุ ง เทพฯและปริ ม ณฑลที่ มี ป ริ ม าณหน่ ว ย การเติบโตถึงร้อยละ 37 เมื่อเทียบกับปี 2554 (111,875 หน่ ว ยในปี 2555 เที ย บกั บ 81,856 หน่ ว ยในปี 2554) หรือมูลค่าการโอนกรรมสิทธิ์ที่อยู่อาศัยในกรุงเทพฯและปริมณฑล มี ก ารเติ บ โตร้ อ ยละ 12 (357,148 ล้ า นบาทในปี 2555 เทียบกับ 320,173 ล้านบาทในปี 2554) ทั้งนี้เมื่อวิเคราะห์ ลึกเข้าไปในข้อมูลจะแสดงเห็นว่าที่อยู่อาศัยประเภทอาคารชุด มี ก ารเติ บ โตมากในแง่ ป ริ ม าณหน่ ว ยที่ อ ยู่ อ าศั ย สร้ า งเสร็ จ จดทะเบี ย นฯที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ถึ ง ร้ อ ยละ 86 อั น เนื่ อ งมาจากหน่ ว ย อาคารชุดทีม่ ขี นาดพืน้ ทีเ่ ล็ก ส่วนปริมาณหน่วยทีอ่ ยูอ่ าศัยแนวราบ กลับลดลงร้อยละ 18 โดยครึ่งหลังของปี 2555 จะมีปริมาณ มากกว่ า ครึ่ ง แรกเนื่ อ งจากการฟื้ น ตั ว หลั ง วิ ก ฤตอุ ท กภั ย ส่ ว น มูลค่าการโอนกรรมสิทธิ์ที่อยู่อาศัยประเภทอาคารชุดขยายตัว ร้อยละ 12 และแนวราบขยายตัวร้อยละ 9 ข้อมูลหล่าวนี้บ่งบอก ถึงพฤกติกรรมและความต้องการของผูบ้ ริโภคทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลง ไปสู่สังคมเมือง มีความต้องการซื้อที่อยู่อาศัยประเภทอาคาร ชุดเพิ่มขึ้น ไม่ว่าจะเพื่อการอยู่อาศัยหรือการลงทุน ทั้งนี้ต้อง เ ฝ้ า ร ะ วั ง อ ย่ า ง ใ ก ล้ ชิ ด ถึ ง สั ญ ญ า น ภ า ว ะ ฟ อ ง ส บู่ ใ น ภ า ค อสังหาริมทรัพย์ อีกสองปัจจัยสำ�คัญที่มีผลต่อการขยายตัวที่ดี ของภาคอสังหาริมทรัพย์คือ 1) การขยายตัวที่ดีของเศรษฐกิจ ประเทศไทย สร้าความมัน่ ใจให้ผบู้ ริโภคตัดสินใจซือ้ อสังหาริมทรัพย์ ข้อมูลจากธนาคารแห่งประเทศไทยประกาศว่า GDP ปี 2555 มีการขยายตัวถึงร้อยละ 5.9 และ 2) การลงทุนของภาครัฐ ในสาธารณู ป โภค โดยเฉพาะในกรุ ง เทพฯและปริ ม ณฑลที่ มี การก่อสร้างรถไฟฟ้าสายใหม่ ๆ หลายสาย
28
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
มองไปข้างหน้า ภาวะเศรษฐกิจยังคงมีการขยายตัวที่ดี ธนาคารแห่งประเทศไทยคาดการว่า GDP ปี 2556 จะขยายตัว ประมาณร้อยละ 4.9 ภาครัฐจะมีการลงทุนในสาธารณูปโภคมากขึน้ โดยจะใช้งบประมาณ 2.2 ล้านล้านบาทภายใน 7-8 ปี ซึ่งจะส่ง ผลดีต่อภาคอสังหาริมทรัพย์โดยการเพิ่มพื้นที่ที่สามารถพัฒนาได้ นอกจากนี้แล้วประเทศไทยมีความพร้อมที่สุดที่จะเป็นฐานสำ�หรับ การลงทุนในประเทศเพื่อนบ้าน เนื่องจากตำ�แหน่งภูมิประเทศ และสิ่งอำ�นวยความสะดวกต่าง ๆ ที่สมบูรณ์พร้อมเพรียง ทั้งนี้ การขยายตัวจะถูกจำ�กัดโดยสภาวะขาดแคลนแรงงาน ปัจจุบัน อัตราการว่างงานของประเทศไทยต่ำ�กว่าร้อยละ 1 ซึ่งนับว่า ต่ำ�มาก และแสดงถึ ง สภาวะขาดแคลนแรงงานอย่ า งรุ น แรง ปัจจัยแรงงานจะเป็นปัจจัยหลักทีม่ ผี ลต่อการขยายตัวของเศรษฐกิจ และต่อผู้ประกอบการอสังหาริมทรัพย์ โดยกระทบด้านต้นทุน ที่สูงขึ้นและความเสี่ยงจากความล่าช้างานก่อสร้าง สภาวะการแข่ ง ขั น ในภาคอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ยั ง คงสู ง ขึ้ น อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง มี ผู้ ป ระกอบการรายใหม่ ๆ เข้ า มาสู่ ภ าคธุ ร กิ จ หลายราย และมีการขยายการแข่งขันสู่ต่างจังหวัด เพราะฉะนั้น การเตรี ย มความพร้ อ มของบริ ษั ท ฯเพื่ อ ให้ ส ามารถแข่ ง ขั น ได้ จึ ง จำ � เป็ น อย่ า งยิ่ ง โดยบริ ษั ท ฯ จั ก ต้ อ งเตรี ย มความพร้ อ ม ทั้ง 4 ด้านให้มีศักยภาพในการแข่งขัน อันได้แก่ 1) ความพร้อม ทางด้านการเงิน และสภาพคล่อง 2) ความพร้อมด้านการตลาด และการขาย 3) ความพร้อมด้านการก่อสร้างและพัฒนาโครงการ และ 4) ความพร้อมด้านทรัพยากรมนุษย์ และการพัฒนาบุคลากร
ข้อมูลเกี่ยวกับบริษัท COMPANY PROFILE
ชือ่ บริษทั : บริษทั สัมมากร จำ�กัด (มหาชน) ทีต่ ง้ั : เลขที่ 195 ถนนพญาไท แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท์ (66) 0 2255 5740-50 โทรสาร (66) 0 2255 2806 E-mail : contact@sammakorn.co.th Website : www.sammakorn.co.th ประเภทธุรกิจ : พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ รอบระยะเวลาบัญชี : 1 มกราคม – 31 ธันวาคม ทุนจดทะเบียน : 530 ล้านบาท ทุนชำ�ระแล้ว : 450 ล้านบาท จ�ำ นวนหุน้ ทีอ่ อกจำ�หน่าย : หุน้ สามัญ 450,000,000 หุน้ มูลค่าทีต่ ราไว้ : หุน้ ละ 1 บาท ผูส้ อบบัญชี : บริษทั สำ�นักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จำ�กัด โดย นางสาวศิราภรณ์ เอือ้ อนันต์กลุ ผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาตเลขที่ 3844 และ/หรือ นายเติมพงษ์ โอปนพันธุ์ ผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาตเลขที่ 4501 ชัน้ 33 อาคารเลครัชดา 193/136-137 ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ (66) 0 2264 0777 0 2661 9190 โทรสาร (66) 0 2264 0789 - 90 0 2661 9192 นายทะเบียนบริษทั : บริษทั ศูนย์รบั ฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำ�กัด อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ชั้น 4, 6-7 เลขที่ 62 ถนนรัชดาภิเษก คลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ (66) 0 2359 1200-01 โทรสาร (66) 0 2359 1259 สถาบันการเงิน : 1. ธนาคารไทยพาณิชย์ จำ�กัด (มหาชน) 2. ธนาคารทหารไทย จำ�กัด (มหาชน) 3. ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำ�กัด (มหาชน) 4. ธนาคารกสิกรไทย จำ�กัด (มหาชน)
Company Name : Sammakorn PCL Location : 195 Phyathai Road, Patumwan Bangkok 10330, Thailand Tel. (66) 0 2255 5740-50 Fax. (66) 0 2255 2806 E-mail : contact@sammakorn.co.th Website : www.sammakorn.co.th Type of Business : Real Estate Development Accounting Period : January 1 – December 31 Registered Capital : Baht 530 Million Paid-up Capital : Baht 450 Million Issue Capital Shares : 450,000,000 Ordinary shares Par Value : Baht 1 per share Auditor : ERNST & YOUNG OFFICE LIMITED By Mr. Siraporn Ouaanunkun Certified public accountant Registration no.3844 and/or Mr. Termphong Opanaphan Certified public accountant Registration no.4501 33rd floor, Lake Rajada Office Complex, 193/136-137 Rajadapisek Road, Klongtoey Bangkok 10110 Tel. (66) 0 2264 0777 0 2661 9190 Fax. (66) 0 2264 0789-90 0 2661-9192 Securities Registrar : Thailand Securities Depository Co., Ltd. 62 The Stock Exchange of Thailand Building 4, 6-7 Floors, Rajadapisek Road, Klongtoey Bangkok 10110, Thailand Tel. (66) 0 2359- 1200-01 Fax. (66) 0 2359 1259 Banks : 1. Siam Commercial Bank PCL 2. TMB Bank PCL 3. Bank of Ayudhya PCL 4. Kasikorn Bank PCL
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
29
อธิบายและการวิเคราะห์ของฝ่ายจัดการ
MANAGEMENT DISCUSSION AND ANALYSIS 1. งบการเงินเฉพาะกิจการ ผลการดำ�เนินงานในปี 2555 เมื่อเทียบกับปี 2554 สำ�หรับงบการเงินเฉพาะกิจการ มีสินทรัพย์รวม 2,724.71 ล้านบาท ลดลง 120.76 ล้านบาท คิดเป็นลดลง 4.24% มีหนี้สินรวม 883.57 ล้านบาท ลดลง 160.97 ล้านบาท คิดเป็นลดลง 15.41% ส่วนของผู้ถือหุ้น 1,841.15 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 40.22 ล้านบาท คิดเป็นเพิ่มขึ้น 2.23% สำ�หรับรายได้จากการขายทีด่ นิ และบ้าน มีจ�ำ นวน 744.40 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 149.73 ล้านบาท คิดเป็นเพิ่มขึ้น 25.18% รายได้จากการให้เช่าและบริการ 88.67 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 8.23 ล้านบาท คิดเป็นเพิม่ ขึน้ 10.23% สำ�หรับงบการเงินเฉพาะกิจการ กำ�ไรก่อนดอกเบี้ยและภาษี (EBIT) 118.41 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 37.39 ล้านบาท คิดเป็นเพิ่มขึ้น 46.15% กำ�ไรสุทธิ 49.21 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 29.20 ล้านบาท กำ�ไรสุทธิต่อหุ้น 0.11 บาท เพิ่มขึ้น 0.07 บาท 2. งบการเงินรวม ผลการดำ�เนินงานในปี 2555 เมื่อเทียบกับปี 2554 สำ�หรับงบการเงินรวม มีสินทรัพย์รวม 3,147.84 ล้านบาท ลดลง 68.58 ล้านบาท คิดเป็นลดลง 2.13% มีหนี้สินรวม 1,252.06 ล้านบาท ลดลง 99.82 ล้านบาท คิดเป็นลดลง 7.38% ส่วนของผู้ถือหุ้น 1,895.79 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 31.25 ล้านบาท คิดเป็นเพิ่มขึ้น 1.68% สำ�หรับรายได้จากการขายทีด่ นิ และบ้าน มีจ�ำ นวน 744.40 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 149.73 ล้านบาท คิดเป็นเพิ่มขึ้น 25.18% รายได้จากการให้เช่าและบริการ 180.21 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 76.46 ล้านบาท คิดเป็นเพิ่มขึ้น 73.70% กำ�ไรก่อนดอกเบี้ย และภาษี (EBIT) 124.11 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 55.48 ล้านบาท คิดเป็นเพิม่ ขึน้ 80.84% กำ�ไรสุทธิ 40.24 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 37.60 ล้านบาท กำ�ไรสุทธิต่อหุ้น 0.10 บาท เพิ่มขึ้น 0.09 บาท จากผลการประกอบการขายที่ ดิ น และบ้ า นเพิ่ ม ขึ้ น จำ�นวน 25.18% เนื่องจากฟื้นตัวหลังจากวิกฤตอุทกภัยปี 2554 และจากการขยายตั วของเศรษฐกิจ ไทยโดยรวม ทั้ง นี้บ ริ ษัทฯ
30
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
ได้ปรับปรุงกระบวนการก่อสร้างบ้านและแก้ไขปัญหาขาดแคลน แรงงานได้ ดี ขึ้ น ปั จ จุ บั น สามารถเร่ ง งานก่ อ สร้ า งบ้ า นและ ส่ ง มอบบ้ า นให้ ลู ก ค้ า ได้ ต ามกำ � หนดแล้ ว ส่ ว นหนึ่ ง ระดั บ ความเชื่ อ มั่ น ของผู้ บ ริ โ ภคที่ จ ะซื้ อ บ้ า นในปี 2555 ดี ขึ้ น ใน ครึ่งหลังของปี แต่ก็ยังมีลูกค้าบางส่วนชะลอการตัดสินใจออกไป สั ก ระยะ เพราะยั ง มี ค วามกั ง วลเรื่ อ งน้ำ � ท่ ว ม ทั้ ง นี้ ค าดว่ า ต้นปี 2556 จะกลับสู่ภาวะปกติ จากการวิ เ คราะห์ ปั จ จั ย เสี่ ย งในปี 2556 สำ � หรั บ ปัจจัยภายในบริษัทพยายามอย่างเต็มกำ�ลังที่จะแก้ไขปรับปรุง ให้ ล ดความเสี่ ย งในหลายด้ า น เช่ น พั ฒ นาบุ ค ลากรให้ มี ประสิทธิภาพ การจัดสรรทรัพยากร พัฒนาระบบงานมุ่งเน้น ให้ใช้เทคโนโลยี เพื่อลดต้นทุน และใช้ระยะเวลาที่น้อยลง ส่วน ปั จ จั ย ภายนอก บริ ษั ท ปรั บ แผนกลยุ ท ธ์ ใ ห้ ส อดคล้ อ งกั บ สภาวะการณ์ เช่น การใช้นโยบายสร้างบ้านก่อนขายเพื่อสามารถ วางแผนการก่อสร้างได้ชดั เจน ลดผลกระทบจากสภาวะขาดแคลน แรงงาน พัฒนาแบบบ้านให้เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายในแต่ละ โซน และพัฒนาโครงการที่อยู่อาศัยที่นอกเหนือไปจากบ้านเดี่ยว เป็นต้น และปี 2556 บริษัทฯมีนโยบายกระจายความเสี่ยงของ บริษัท โดยไปลงทุนส่วนตลาดอื่น ๆ หรือภูมิภาคอื่น ๆ เป็นการ ลดความเสี่ ย งในธุ กิ จ หลั ก ด้ ว ย ในภาวะการณ์ ปั จ จุ บั น มี ก าร ปรับค่าแรงเพิม่ ขึน้ ต้นทุนสินค้าเพิม่ สูง รวมทัง้ ต้นทุนวัสดุกอ่ สร้าง ที่ มี แ นวโน้ ม สู ง ขึ้ น เรื่ อ ย ๆ บริ ษั ท ฯ จึ ง ต้ อ งหาช่ อ งทางในการ ลงทุน และเตรียมความพร้อมในการทำ�ธุรกิจใหม่ให้ไปได้ด้วยดี โดยมีการวางแผนที่จะพัฒนาโครงการอาคารชุดพักอาศัยใกล้ สถานีรถไฟฟ้าสายสีม่วงที่สถานีบางรักใหญ่ โครงการบ้านแฝด ทีถ่ นนท่าอิฐ และพัฒนา Community Mall ไปยังส่วนภูมภิ าคอืน่ ๆ ดั ง นั้ น ด้ ว ยประสบการณ์ ข องบริ ษั ท ที่ มี ม าอย่ า งยาวนาน และ พั ฒ นามาอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง การเตรี ย มความพร้ อ มทั้ ง 4 ด้ า น ขององค์กร บริษทั ฯเชือ่ มัน่ ว่า จะสามารถพัฒนาโครงการให้ส�ำ เร็จ ตามแผนที่กำ�หนดไว้ได้ เพื่อสร้างความมั่นใจ ผู้ถือหุ้น ลูกค้า ตลอดจนผู้มีส่วนได้เสียของบริษัทฯทุกกลุ่มอย่างยั่งยืนตลอดไป
รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
31
32
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
33
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
งบแสดงฐานะการเงิน (ต่อ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555
34
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
งบแสดงฐานะการเงิน (ต่อ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
35
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
งบกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ
สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2555
36
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2555
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
37
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
งบกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ (ต่อ) สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2555
38
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
งบกระแสเงินสด
สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2555
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
39
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
งบกระแสเงินสด (ต่อ)
สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2555
40
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2555
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
41
42
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
43
44
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
45
46
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
47
48
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
49
50
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
51
52
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
53
54
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
55
56
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
57
58
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
59
60
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
61
62
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
63
64
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
65
66
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
67
68
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
69
70
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
71
72
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
73
74
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
75
REPORT OF INDEPENDENT AUDITOR
76
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
77
Sammakorn Public Company Limited and its subsidiary
STATEMENTS OF FINANCIAL POSITION As at 31 December 2012
78
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
Sammakorn Public Company Limited and its subsidiary
STATEMENTS OF FINANCIAL POSITION (Continued) As at 31 December 2012
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
79
Sammakorn Public Company Limited and its subsidiary
STATEMENTS OF FINANCIAL POSITION (Continued) As at 31 December 2012
80
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
Sammakorn Public Company Limited and its subsidiary
STATEMENTS OF COMPREHENSIVE INCOME For the year ended as at 31 December 2012
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
81
Sammakorn Public Company Limited and its subsidiary
STATEMENTS OF CHANGES IN SHAREHOLDERS’ EQUITY For the year ended as at 31 December 2012
82
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
Sammakorn Public Company Limited and its subsidiary
STATEMENTS OF CHANGES IN SHAREHOLDERS’ EQUITY For the year ended as at 31 December 2012
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
83
Sammakorn Public Company Limited and its subsidiary
CASH FLOW STATEMENTS
For the year ended as at 31 December 2012
84
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
Sammakorn Public Company Limited and its subsidiary
CASH FLOW STATEMENTS (Continued) For the year ended as at 31 December 2012
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
85
Sammakorn Public Company Limited and its subsidiaries
NOTE TO CONSOLIDATED FINANCIAL STATEMENTS For the year ended as at 31 December 2012
86
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
87
88
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
89
90
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
91
92
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
93
94
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
95
96
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
97
98
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
99
100
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
101
102
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
103
104
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
105
106
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
107
108
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
109
110
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
111
112
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
113
114
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
115
116
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
117
118
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
119
120
บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)
สำ�นักงานขาย : SALES OFFICE สำ�นักงานใหญ่ : สำ�นักงานขายมีนบุร ี : สำ�นักงานขายนิมิตใหม่ : สำ�นักงานขายรังสิต คลอง 2 : สำ�นักงานขายรังสิต คลอง 7 : สำ�นักงานขายราชพฤกษ์ : สำ�นักงานขายรามคำ�แหง : สำ�นักงานขาย AQUA DIVINA : สำ�นักงานขาย FLORA DIVINA : บริษัท สัมมากร
0 2251 9817 0 2956 8382 0 2915 6700 0 2996 0922 0 2957 0930 0 8398 8075 0 2540 1777 0 2373 2999 0 8633 3677 จำ�กัด (มหาชน)
-9 -3 -1 -1 3 2
121
á¢Ç§»·ØÁÇѹ
Email : contact@sammakorn.co.th ISO 9001 : 2008