เขียนสารคดีจากชีวิต ปีที่ ๒ ๒๙-๓๐ กันยายน ๒๕๕๕ วังน้ําเขียว นครราชสีมา
โครงการเขียนสารคดีจากชีวิต ปีที่ 2 หลักการและเหตุผล
วิชา วส.318 การเขียนสารคดี เป็นวิชาที่มุ่งให้นักศึกษาได้รู้จักการเขียนสารคดีประเภทต่างๆ และมีโอกาส ลงมือปฏิบัติจริง โดยกระบวนการเขียนสารคดีประกอบด้วยการเก็บข้อมูล ทั้งข้อเท็จจริงที่ได้จากการค้นคว้า จากเอกสารและการเก็บข้อมูลภาคสนาม ซึ่งมาจากพูดคุยสัมภาษณ์บุคคลต้นเรื่อง การลงมือปฏิบัติเพื่อให้เกิด ประสบการณ์ตรง รวมทั้งการสังเกตบริบทแวดล้อมต่างๆ เพื่อนําข้อมูลทั้งหมดไปประกอบเป็นสารคดีที่มีเนื้อหา สาระและความเพลิดเพลิน หลังจากเรียนเนื้อหาวิชาที่เป็นภาคทฤษฎีในห้องเรียน รับฟังประสบการณ์จากวิทยากรมืออาชีพ และทํา แบบฝึกหัดระยะหนึ่งแล้ว นักศึกษาควรมีโอกาสลงพื้นที่เพื่อนําความรู้ที่ได้จากการเรียนและการฟังวิทยากรไป ทดลองปฏิบัติงานจริงทุกขั้นตอน ตั้งแต่การคิดประเด็น การเก็บข้อมูลและสัมภาษณ์ การลงมือเขียนสารคดี ไป จนถึงการตรวจแก้ไขต้นฉบับ สาขาหนังสือพิมพ์และสิ่งพิมพ์จึงได้จัดโครงการนํานักศึกษาออกภาคสนามช่วงสุด สัปดาห์ในเดือนสุดท้ายของการเรียนการสอน เพื่อให้นักศึกษาได้ฝึกปฏิบัติกระบวนการเขียนสารคดีอย่างบูรณาการ โดยในปีนี้ได้เลือกอําเภอวังน้ําเขียว จังหวัดนครราชสีมา ซึ่งมีประเด็นที่น่าสนใจเกี่ยวกับการใช้ที่ดิน การอพยพเข้า มาของนักวิสาหกิจท่องเที่ยวและการสร้างรีสอร์ต ความต้องการพื้นที่ทางการเกษตร และการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ที่เอื้อให้นักศึกษาได้เลือกรูปแบบการเขียนสารคดีได้หลากหลาย
วัตถุประสงค์
1. 2. 3.
เพื่อเสริมสร้างความรู้ ทักษะ และความคิดสร้างสรรค์ในการเขียนสารคดีให้นักศึกษาที่ร่วมโครงการ เปิดโอกาส ให้นักศึกษาประมวลความรู้เชิงทฤษฎีที่ได้เรียนและฝึกฝนมาประยุกต์ใช้ทั้งกระบวนการ ตั้งแต่การเลือก ประเด็นและประเภทของสารคดีที่จะเขียน การเก็บข้อมูล การเขียน และการแก้ปัญหาเฉพาะหน้า นักศึกษามีปฏิสัมพันธ์กับชุมชนและบุคคลซึ่งเป็นต้นกําเนิดของเรื่องราวอย่างใกล้ชิด เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ และการแบ่งปันประสบการณ์ระหว่างกัน ส่งเสริมความเข้าใจอันดีระหว่างนักศึกษากับชุมชน เปิดโลกทัศน์ให้นักศึกษาตระหนักถึงความสําคัญของปัญหาสังคมแง่มุมต่างๆ และบทบาทของตนในการ มีส่วนร่วมช่วยเหลือและแก้ไขปัญหานั้น
กลุ่มเป้าหมาย นักศึกษาวิชา วส. 318 การเขียนสารคดี นักศึกษาที่สนใจ ศิษย์เก่า และอาจารย์ รวม 30 คน รูปแบบ นักศึกษาเดินทางลงพืน้ ที่เพื่อศึกษาปัญหาการใช้ที่ดินในบริเวณพื้นที่ อ.วังน้ําเขียว โดยเฉพาะเขตเขาแผง
ม้า ซึ่งมีปัญหาการใช้ที่ดินอันเกิดจากความต้องการที่ทํากิน (เกษตรกรรม) พื้นที่สันทนาการ (รีสอร์ตท่อง เที่ยว) และการอนุรักษ์ (อุทยานแห่งชาติ) ทําความรู้จักและเรียนรู้ปัญหาจากชุมชน พูดคุยซักถามและ สังเกตวิถีชีวิตของคนในชุมชน พร้อมเก็บข้อมูลและคิดประเด็นเขียนสารคดี โดยมีนักเขียนสารคดีอาชีพ ร่วมให้คําแนะนําและชี้แนะ
ผลที่คาดว่าจะได้รบั
1. นักศึกษาได้ประสบการณ์จริงในการฝึกเขียนสารคดีทั้งกระบวนการ และได้งานเขียนชิน้ สุดท้าย 2. นักศึกษาได้ฝึกสัมภาษณ์ แลกเปลี่ยนทัศนคติและมุมมองต่างๆกับคนในชุมชน เกิดความเข้าใจอันดีต่อกัน 3. นักศึกษาเกิดจิตสํานึก ได้มองเห็นปัญหาและความสําคัญในการการนําเสนอปัญหาอย่างรอบด้าน พร้อมทั้ง ตระหนักถึงบทบาทในการมีส่วนร่วมแก้ปัญหาของตนเองในฐานะสื่อมวลชนเพื่อเข้าสู่การทํางานต่อไป
ผู้รับผิดชอบโครงการ
อ. ศรรวริศา เมฆไพบูลย์ sanwarisam@hotmail.com 089 899 5858 +++
โครงการ “เขียนสารคดีจากชีวติ ” ปีที่ 2 29-30 กันยายน 2555 อ.วังน้ําเขียว จ.นครราชสีมา 29 กันยายน 2555 06.30 น. 09.00 น. 10.00 น. 12.30 น. 13.30 น. 15.30 น. 16.00 น. 17.00 น. 18.00 น. 20.00 น. 30 กันยายน 2555 07.00 น. 08.00 น. 10.30 น. 12.00 น. 13.00 น. 15.00 น. 15.30 น. 19.30 น.
รถออกจากคณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มธ. ศูนย์รงั สิต ถึงวังน้ําเขียว กิจกรรมปลูกป่า (และทําดินโป่ง) ร่วมกับเยาวชนและชาวบ้าน พักกลางวัน รับประทานอาหารกล่อง การจัดการที่ดนิ ในเขตปฏิรปู ที่ดิน นิคมเศรษฐกิจพอเพียง คจก. วังน้ําเขียว วิทยากร: ชัยชนะ สืบสิงห์ หรือตัวแทนชาวบ้าน อาหารว่าง เข้าที่พัก (สวนลุงโชค) อาหารเย็น “การใช้ทดี่ ินในอําเภอวังน้ําเขียว: เกษตร อนุรักษ์ สันทนาการ” วิทยากร: โชคดี ปรโลกานนท์ สรุปบทเรียนประจําวันกับอาจารย์และวิทยากรการเขียนสารคดี พักค้างคืนที่สวนลุงโชค อาหารเช้า และกิจกรรมออกกําลัง “ปรัชญาเกษตรและวิถีชีวติ พอเพียง” และเดินป่า 12 สถานี (2 ชัว่ โมง) วิทยากร: โชคดี ปรโลกานนท์ อาหารว่าง เข้าร่วมกิจกรรม 3 ฐาน (สมุนไพรพืน้ บ้าน, ข้าว, แช่มอื แช่เท้า) อาหารกลางวัน “เทคนิคและข้อควรระวังในการเก็บข้อมูลในงานสารคดี” (2 ชัว่ โมง) สรุปประเด็นการเขียนสารคดีกับวิทยากร และทดลองเขียน วิทยากร: ราชศักดิ์ นิลศิริ, นิตยสาร เนชั่นแนล จีโอกราฟฟิก (ภาษาไทย) อาหารว่าง เก็บกระเป๋า เดินทางกลับ เดินทางถึงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต โดยสวัสดิภาพ
กฎ กติกา มารยาท 1. แต่งกายสุภาพ ถูกกาลเทศะ โดยพิจารณาตามกําหนดการ ถ้ามีปลูกป่า ทําดินโป่ง ควรแต่งกายให้ทะมัดทะแมง รัดกุม เลี่ยงกระโปรงสั้น เสื้อแขนกุด และรองเท้ามีส้น รวมทั้งขอให้มีสัมมาวาจาตลอดทริปด้วย 2. การปลูกป่า ควรใส่กางเกงขายาว เสื้อมีแขน หมวก เพื่อป้องกันยุง แมลง และไอแดด แต่เลือกผ้าเนื้อเบา 3. ขวดน้ําประจําตัว เพื่อไม่ให้สิ้นเปลืองทรัพยากร ขอให้ทุกคนเก็บขวดน้ําไว้ใช้ประจําตัวหรือนํากระติกมาเอง 4. เครื่องประดับและของมีค่าควรถอดไว้บ้าน เอาไปแต่ของจําเป็นเท่านั้น สิ่งที่ควรจัดเผื่อไปด้วยมีดังนี้ สมุดจด กระดาษเขียน ปากกา เสื้อกันฝน (เผื่อฝนตก) เสื้อกันหนาวบางๆ (ตอนกลางคืนอากาศเย็น) ไฟฉาย (และถ่านไฟฉาย) เครื่องนอน เช่น ถุงนอน ผ้าห่ม หมอน (พกพาสะดวก ประหยัดที่) ผ้าถุง-ผ้านุ่งอาบน้าํ (เผื่อลําบาก)
History
4
นครราชสีมา: ประวัติความเปนมา เกร็ดความรูเ กี่ยวกับประวัติศาสตร
< ธัญชนก
นครราชสีมาเปนเมืองโบราณในอาณาจักรไทย เดิมตั้งอยูในทองที่อําเภอสูงเนิน หางจากตัวเมือง ปจจุบันราว 31 กิโลเมตร ประกอบดวยสองเมือง คือ "โคราช" หรือ "โคราฆะ" กับ "เสมา" เมืองริมฝง ลําตะคองทั้งสองเจริญรุงเรืองในสมัยขอม แตปจจุบนั เปนเมืองราง สมัยกรุงศรีอยุธยา สมเด็จพระนารายณมหาราชโปรดใหยายมาสรางเมืองที่มีปอมปราการและคูน้ํา ลอมรอบขึ้นใหมในที่ปจจุบัน แลวนํานามเมืองทั้งสอง คือ เสมากับโคราฆะ มาผูกใหมเปนเมือง นครราชสีมา เมืองนี้กอกําแพงอิฐ มีใบเสมาเรียงตลอด มีปอมกําแพงเมือง 15 ปอม 4 ประตู ทาง เหนือชื่อประตูพลแสน (ประตูน้ํา) ทางใตชื่อประตูชัยณรงค (ประตูผี) ทางตะวัน-ออกชื่อประตูพลลาน (ประตูตะวันออก) ทางตะวันตกชื่อประตูชุมพล ปจจุบันคงเหลือไวเปนแบบอยางแคประตูชุมพล ซึ่ง กรมศิลปากรขึ้นบัญชีเปนโบราณสถานเมื่อ พ.ศ. ๒๔๘๐ สมัยกรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 1 ทรงยกฐานะนครราชสีมาเปนเมืองเอก ใหกํากับตรวจตราเมือง ประเทศราชริมแมน้ําโขงสามแหง (เวียงจันทร คมพนม และนครจําปาศักดิ์) ผูสําเร็จราชการมียศเปน เจาพระยา ในรัชกาลนี้ นครราชสีมาไดนําชางเผือก 2 เชือกที่คลองไดในเขตอําเภอภูเขียวมานอมเกลา ถวาย โดยโปรดเกลาฯ ใหขึ้นระวางเปนพระอินทรไอยรา และพระเทพกุญชรชางเผือก สมัยรัชกาลที่ 4 นครราชสีมากลายเปนศูนยกลางคาขายของหัวเมืองทางตะวันออก ขายสินคาที่ พอคาตองการนําไปจําหนายในกรุงเทพฯ เชน หนังสัตว เขาสัตว นอแรด งา ไหม และนําสินคาจาก กรุงเทพฯ มาจําหนายในหัวเมือง รัชกาลนี้เห็นควรใหมีราชธานีหางทะเลอีกแหง โดยมีพระราชดําริวา ควรเปนเมืองนครราชสีมา แตสมเด็จพระปนเกลาเจาอยูหัวฯ พรอมสมเด็จพระเจาพระยาบรมมหาศรีสุริ ยวงศ สมุหพระกลาโหม เสด็จขึ้นไปตรวจภูมิประเทศแลวเห็นวาไมเหมาะ เพราะนครราชสีมาอัตคัตน้ํา และการคมนาคมยังลําบาก รัชกาลที่ ๔ จึงโปรดใหสรางพระราชวังที่ลพบุรีแทน พระบาทสมเด็จพระปน เกลาเจาอยูหัวยังกราบทูลขอใหเปลีย่ นนามการเรียกดงพระยาไฟเสียใหมวาดงพระยาเย็น เพื่อไมใหคน ครั่นครามหรือไมกลาเดินทางผานเขาไป ในป พ.ศ. 2434 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว รัชกาลที่ 5 โปรดใหรวบรวมหัวเมืองในเขตที่ราบ สูงเปน 3 มณฑล คือ มณฑลลาวพวน (หนองคายเปนที่วาการมณฑล) มณฑลลาวกาว (นครจําปาศักดิ์ เปนที่วาการ) มณฑลลาวกลาง (นครราชสีมาเปนที่วาการ) เมื่อมีการจัดหัวเมืองตางๆ เปนมณฑล เทศาภิบาล ไดเปลี่ยนนามมณฑลทั้ง 3 ใหม มณฑลลาวพวนเปนมณฑลอุดร มณฑลลาวกาวเปน มณฑลรอยเอ็ด มณฑลลาวกลางเปนมณฑลนครราชสีมา หลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 รัฐบาลยกเลิกการจัดหัวเมืองมณฑลเทศาภิบาล โดย แบงเปนภาคแทน มณฑลนครราชสีมาเปนภาคที่ 8 ปกครองหัวเมืองตางๆ คือ นครราชสีมา ชัยภูมิ บุรีรัมย สุรินทร ศรีสะเกษ และอุบลราชธานี ที่วาการอยูที่จังหวัดนครราชสีมา ในป พ.ศ. 2476 เกิดกบฏบวรเดช โดยพลเอกพระวรวงศเธอพระองคเจาบวรเดช อดีตเสนาบดี กระทรวงกลาโหม ยึดเมืองนครราชสีมาเปนกองบัญชาการเพื่อรวบรวมกําลังพลบุกพระนคร บีบใหคณะ รัฐบาลของพลเอกพระยาพหลพลพยุหเสนาลาออก ขาราชการเมืองนครราชสีมาสวนหนึ่งถูกควบคุมตัว ไว สวนประชาชนถูกหลอกวาไดเกิดเหตุการณไมสงบขึน้ ในพระนคร พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว รัชกาลที่ 9 และพระนางเจาพระบรมราชินีนาถ เสด็จเยี่ยมพสนิกร ในภาคอีสานหลายครั้ง ครั้งแรกเมื่อวันที่ 25 ตุลาคม 2476 โดยประทับแรมที่นครราชสีมา
General info นครราชสีมา: ข้อมูลจําเพาะ
< นภสรณ์ พื้นที่ 20,496.96 ตารางกิโลเมตร ขามสะแกแสง แก้งสนามนาง บัวลาย ประชากร 2,585,325 คน (2554) เสิงสาง วังน้ําเขียว พระทองคํา คง ความหนาแน่น 125.5 คน/ตร.กม. (#35) ลําทะเมนชัย บัวใหญ่ นครราชสีมามีประชากรสูงที่สุดในภาคอีสาน ขามทะเลสอ และสูงอันดับสองของประเทศ รองจาก ประทาย กรุงเทพ ประชากรมีหลายเชื้อชาติ อาทิ พิมาย ครบุรี สีดา ไทยอีสาน (ลาวเวียงหรือไทยลาว) ไทย จักราช สีคิ้ว โคราช มอญ ส่วยหรือข่า ญัฮกุรหรือเนียะ โนนสูง ปากช่อง กุล ไทยยวน หรือไทยโยนก ปักธงชัย เขตปกครอง แบ่งออกเป็น 32 อําเภอ 289 โนนไทย ตําบล 3743 หมู่บ้าน โชคชัย ชุมพวง โนนแดง เมืองยาง ภูมิประเทศ เป็นที่ราบสูง มีความสูงจาก เฉลิมพระเกียรติ สูงเนิน เทพารักษ์ ระดับทะเลปานกลาง 200-300 เมตร ทิศ ห้วยแถลง บ้านเหลื่อม เมือง ด่านขุนทด ตะวันตกและใต้ มีภูเขาและป่าเป็นแนวกั้น คือ ทิวเขาดงพญาเย็นและพนมดงรักในท้องที่อําเภอด่านขุนทด สีคิ้ว ปากช่อง ปักธงชัย ครบุรี และเสิงสาง และค่อยๆลาดลงมาทางเหนือ ตามลําน้ํามูลและสาขา เช่น ลําตะคอง ลําพระเพลิง ลําเชียงไกร ลําปลายมาศและลําแชะ เป็นต้น ลักษณะภูมิประเทศแบ่งได้เป็น 4 ลักษณะ คือ 1) บริเวณเทือกเขาและที่ราบสูงทางตอนใต้ สูงกว่าระดับทะเลกว่า 250 เมตร อยู่ในอําเภอ ปากช่อง ปักธงชัย ครบุรี และเสิงสาง มีเทือกเขาสันกําแพงและพนมดงรักกั้นเป็นแนวยาว ตั้งแต่ ส่วนต่อกับจังหวัดปราจีนบุรี นครนายก และสระบุรี ซึ่งเป็นต้นกําเนิดแม่น้ํามูลและลําน้ําสาขา โดยพื้นที่ระหว่างเทือกเขาส่วนใหญ่เป็นลูกคลื่นลอนลึกและลอนตื้น คือ ดงพญาเย็นและดงรัก ตอนล่างของหุบเขามีความลาดชันค่อนข้างสูง มีการชะล้างและพังทลายของหน้าดินค่อนข้างมาก 2) บริเวณที่สูงตอนกลางจังหวัด สูงจากระดับทะเล 200-250 เมตร อยู่ในเขตอําเภอด่าน ขุนทด เทพารักษ์ พระทองคํา สีคิ้ว โนนไทยตอนใต้ ขามทะเลสอ เมือง สูงเนิน ปักธงชัยตอน เหนือ ครบุรี โชคชัย หนองบุญมาก จักราช และเสิงสางตอนเหนือ พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นลูกคลื่น ลอนตื้น ยกเว้นบริเวณเชิงเขาจะเป็นคลื่นลอนลึกและมีพื้นที่บางส่วนเป็นที่ราบลุ่มริมแม่น้ํา มี แม่น้ําหลายสาย ได้แก่ ลําตะคอง ลําพระเพลิง ลําเชิงไกร ลําปลายมาศ ลําน้ําไหลช้าเพราะความ ต่างระดับมีน้อย ลําน้ําคดเคี้ยว บางแห่งมีร่องรอยของลําน้ําเก่าเรียกว่า "กุด" (Oxbow Lake) 3) พื้นที่ลูกคลื่นทางตอนเหนือของจังหวัด สูงจากระดับทะเลประมาณ 200 เมตร อยู่ใน เขตอําเภอขามสะแกแสง ตอนบนของอําเภอโนนไทย คง ทิศตะวันตกของอําเภอบัวใหญ่ บัวลาย สีดา บ้านเหลื่อม ห้วยแถลง ชุมพวง ลําทะเมนชัย และเมืองยาง ลักษณะพื้นที่เป็นลูกคลื่นลอน ตื้นที่สูงสลับที่นา บางบริเวณเป็นพื้นที่ราบลุ่มริมฝั่งแม่น้ําลําเชียงไกรและลําปลายมาศ 4) พื้นที่ราบลุ่มทางตอนเหนือของจังหวัด สูงจากระดับทะเลไม่ถึง 200 เมตร อยู่ในเขต อําเภอบัวใหญ่ คง โนนสูง ประทาย และมาย ลักษณะพื้นที่เป็นลูกคลื่นลอนตื้นและมีที่ราบลุ่ม บริเวณริมฝั่งแม่น้ําลําสะแทด
5
Climate te & Resou urces า อน (Tropical SSavanna) มีลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ภูมิอากาศ อยู่ในประเภททุ่งหญ้าเขตร้ (จากทิศตะวัวันออกหรือตะวันออกเฉียงเหนือ) พัดผ่าน อากาศหนาวเย็นและแแห้งแล้ง กับลมมรสุม ตะวันตกเฉียงใต้ (จากทิศตะวันตกเฉียงใต้หรือใต้) ทําให้มีอากาศชุ่มชื้นและมีมีฝนตกชุก
6
ทรัพยากรธธรรมชาติและสิ่งแวดล้ล้อม < สิริกานต์ต์ ทรัพยากรธธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อ มีความสําคัญ ญต่อการพัฒนาคุณภาพพชีวิตและความเจริญ ของประชากกรในจังหวัดนครราชสีสีมา การมีทรัพยาากรธรรมชาติอุดมสมบูบูรณ์และสิ่งแวดล้อมดี ย่อมทําให้ประชากรในจั ป งหวัดมีคณภาพชี ุณ วิตและความเป็็นอยู่ที่ดี โดยจัดแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ ป่าไม้และแรร่ธาตุ ดังแสดงในรูป
เปอร์เซ็นต์เนื้อที่การใช้ช้ประโยชน์ในจังหวัด นครรราชสีมา ระหว่างปี 25444 - 2549
่ มาแบ่งออกเป็ อ น 3 ส่วน คือ บริเวณที่ไม่ได้จําแนนก พื้นที่ถือครองเพื่อ พื้นทีของนครราชสี การเกษตร และป่าไม้ โดยพื้นที่ถือครองเพื่อการเกษตรรมีเปอร์เซ็นต์สูงสุด คิดเป็ ด น 61% ของพื้นที่ ทั้งหมด รองลงมาเป็นบริเวณที่ไม่มได้จําแนก คิดเป็น 255% ของพื้นที่ทั้งหมด
Forest Reserve พื้นที่คุ้มครองที่สําคัญ < สิริกานต์-ศากุน-ศิกษก 1. วนอุทยาน 1 แห่ง คือ วนอุทยานน้ําตกเจ็ดสาวน้อย อยู่ในเขตรอยต่อระหว่างอําเภอ มวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี และอําเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา มีพื้นที่ 540 ไร่ ประกาศเป็น วนอุทยานเมื่อปี พ.ศ. 2523 พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นภูเขาสลับกับที่ราบ ลักษณะพื้นที่ค่อนข้างแห้ง แล้ง หน้าดินตื้น มีความสูงจากระดับทะเลอยู่ในช่วง 180-402 เมตร จุดสูงสุดอยูบ่ ริเวณโชคชัย พัฒนา มีความสูงจากระดับทะเล 402เมตร บริเวณเชิงเขาด้านตะวันออกและเหนือติดคลอง มวกเหล็ก ซึ่งมีน้ําไหลผ่านตลอดปีลงสู่แม่น้ําป่าสักที่อําเภอวังม่วง ส่วนบริเวณตอนกลางมีลํา ห้วยเล็กๆไหลผ่าน ได้แก่ ห้วยแล้ง ซึ่งมีน้ําเฉพาะฤดูฝนเท่านั้น สัตว์ป่าที่พบประกอบด้วย สัตว์ เลี้ยงลูกด้วยนม 19 ชนิด ได้แก่ เลียงผา หมาจิ้งจอก หมาไม้ ชะมดเช็ด พังพอนธรรมดา ลิ่น พันธุ์มลายู อีเห็นข้างลาย อ้น เม่นใหญ่แผงคอสั้น กระต่ายป่า กระจ้อน กระเล็นขนปลายหูสั้น พญากระรอกบินหูแดง กระรอกหลากสี หนูพุกใหญ่ และหนูท้องขาว เป็นต้น 2. อุทยานแห่งชาติ 2 แห่ง ได้แก่ อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ และอุทยานแห่งชาติทับลาน อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ มีเนื้อที่ 2,168 ตาราง กิโลเมตร ตั้งอยู่ในพื้นที่ 11 อําเภอ 4 จังหวัด (สระบุรี กบินทร์บุรี นครนายก และนครราชสีมา) โดยใน นครราชสีมา ได้แก่ อําเภอปากช่องและวังน้ําเขียว เขาใหญ่เป็นอุทยานแห่งชาติแห่งแรกของไทย ประกาศ เป็นอุทยานแห่งชาติเมื่อ 18 กันยายน 2505 และ ได้รับสมญาว่าเป็น "อุทยานมรดกของกลุ่มประเทศ อาเซียน" ประกอบด้วยป่าเบญจพรรณ ป่าดงดิบแล้ง ป่าดงดิบชื้น ป่าดิบเขา ทุ่งหญ้า และป่ารุ่น หรือป่าเหล่า ป่าดงดิบชื้น ลักษณะเป็นป่าที่อยู่ในระดับ ความสูง 400-1,000 เมตรจากระดับทะเล พืชพรรณ 3,000 ชนิด นก 250 ชนิด และสัตว์เลี้ยง ลูกด้วยนม 67 ชนิด ซึ่งได้แก่ ช้าง เสือ ชะนี กวาง และหมูป่า พบอยู่ตามทุ่งหญ้ากว้างทั่วๆ ไป แหล่งท่องเที่ยวสําคัญ ได้แก่ น้ําตกเหวนรก น้ําตกผากล้วยไม้ น้ําตกเหวสุวัต จุดชมวิวผา เดียวดาย จุดชมวิวผาตรอมใจ หนองผักชี หอดูสัตว์ จุดชมวิว กม.30 ศาลเจ้าพ่อเขาใหญ่ อุทยานแห่งชาติทับลาน มีพื้นที่คลุม 2 จังหวัด คือ นครราชสีมา (ปักธงชัย วังน้ําเขียว ครบุรี เสิงสาง) และ ปราจีนบุรี (อําเภอนาดี) สภาพป่าอุดมสมบูรณ์ เป็น แหล่งกําเนิดของแม่น้ําลําธารต่างๆ พื้นที่ส่วนหนึ่งอยู่ใน เขตเทือกเขาพนมดงรัก ภูมิประเทศโดยทั่วไปประกอบ ด้วยภูเขาสลับซับซ้อน มีภูเขาสําคัญๆ เช่น เขาสลัดได เขาภูสามง่าม เขาภูสูง เขาใหญ่ เขาวง เขาทิดสี เขาไม้ ปล้อง และเขาด่านงิ้ว เขาละมั่งเป็นยอดสูงสุด จัดเป็น ป่าลุ่มต่ําที่สมบูรณ์ จําแนกได้ 4 ประเภท คือ ป่าเต็งรัง ป่าเบญจพรรณ ป่าดิบชื้น และป่าดิบแล้ง มีความหลากหลายของชนิดพันธุ์ไม้และสัตว์ป่าชุกชุม และมีป่าลานขนาดใหญ่อันเป็นที่มาของชือ่
7
8
ป่าลาาน อุทยานแห่งชาติทับลานมีลานป่า (Coryypha lecomtei) ซึ่ง เป็นพันธุ์ไม้ดึกดําบรรพ์วงศ์ศ์ปาล์ม มีใบใหญ่รูปพัดคล้ ด ายใบตาล เป็นไม้ ที่คนโโบราณนิยมทํามาเขียนนหรือจารึกอักษร ช่อดอกจะออกที่ยอด เมื่ออายุ อ 20 ปีขนึ้ ไป และะใช้เวลาปีกว่า ช่อดอกกจึงจะบานและติดผล ผลแกก่ที่ร่วงลงพื้นจะงอกเป็ป็นต้นใหม่ ปล่อยให้ตนแม่ น้ ตายลง ลานเป็น ไม้โตช้าและะแพร่กระจายไม่มาก นอกจากลานป่ น า ประะเทศไทยยังมีลานพรุ (ebang palm) พบ มากทางใต้และขึ แ ้นได้แม้ในที่น้ําท่วมขั ว ง และลานวัด หรืรือลานหมื่นเถิดเทิง (ffan palm) ซึ่งเป็นไม้ จากศรีลังกาที่ไม่พบในธรรมชาติ แต่มีการนําเข้ามาปลูกกในภาคเหนือของประะเทศไทย า พิมาย (โบราณ สถานนที่ท่องเที่ยวในโคราชยัยังมีอีกหลายแห่ง อาาทิ อุทยานประวัติศาสตร์ สถานขอมทีที่ใหญ่โตและงดงาม, อําเภอพิมาย) วัดบ้าานไร่ หรือวัดหลวงพ่อคูณ พระเกจิช่อื ดัง (อําเภอด่านขุ น นทด) ฟาร์มโชคชัย (ฟาร์มโคนมที่ใหญ่ที่สสุดในเอเชีย, อําเภอปาากช่อง) และสวนสัตว์ นครราชสีมา (สวนสัตว์ซาฟารีทใหญ่ ่ใี ที่สุดในภาคอีสานน มีการนําสัตว์หายากก ได้แก่ สิงโต เสือ ดาว-เสือดํา ช้างแอฟริกา แรดขาาว ควายป่าจากแอฟริกา มาจัดแสดง, อําเภภอเมือง) < ศิกษก-วรัญญา ญ ท้าวสุรนารีร เมื่อปี พ.ศ. ๒๓๖๙ ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็ ย จพพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว เจ้า อนุรุทธราช (เจ้าอนุวงศ์) ผู้ครอองนครเวียงจันทน์ ทูลลขอครอบครัวลาวที่เมือง สระบุรี ซึงถู ่ง กกวาดต้อนจากเวียงจันทน์ในคราวสงคราามที่ไทยได้พระแก้วมรรกต มาประดิษฐาน ฐ ณ กรุงธนบุรี คืน เมื่อไม่ได้ดังประสงค์ เจ้าอนุวงศ์ก็ก่อการกบฏ โดยยกกองทัพลงมา และตีเมืองนนครราชสีมาได้โดยง่ายยเพราะพระยาปลัด (พพระ ยาสุริยเดชวิวิเศษฤทธิ์ทศทิศวิชัย) ไปปราบจราจลที ไ ่เมืองงขุขันธ์ จึงกวาดต้อนชชาวเมืองไปเป็นเชลย ระหวว่างเดินทาง คุณหญิงโม ภรรยาพระปลัด ได้คิดอุบายกับกรมมการเมืองให้ชาวบ้าน ประจบเอาใใจจนทหารผู้ควบคุมไว้ว้วางใจและถ่วงเวลา เพื่อส่งข่าวถึงเจ้าเมืองนครราชสีมา เจ้าพระยากํกําแหงสงครามรามภักดี ก (ทองอินทร์ ณ ราชสีมา) และพระยาปลัลัด จนมาตั้งค่ายพักที่ ทุ่งสัมฤทธิ์ แขวงเมืองพิมาย คุณหญิ ณ งโมออกอุบายให้ช้ าวเมืองนําสุราอาหารไปเลี้ยงผู้ควบคุมจน เมามาย พออตกดึกก็พร้อมกันจับอาวุ อ ธไล่ฆ่าทหารเวียงจัจันทน์ แล้วหาชัยภูมิตัต้ังมั่นอยู่ ณ ที่นั้น เจ้าอนุวงศ์ส่งเจ้าสุทธิสาร (โป้) บุตรคนใหญ่คุมมกําลังทหารมาปราบ แต่เมื่อได้ข่าวว่าทัพ จากกรุงเทพพฯ ยกขึ้นมาช่วย ทหหารเจ้าอนุวงศ์ก็รีบถออนกําลังออกจากเมืองไป งไ วีรกรรมครั้งนี้ทํา ให้พระบาทสสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู า ่หัวทรงพระกรุณาโโปรดเกล้าฯ สถาปนาคุณหญิงโมดํารง ฐานันดรศักดิ ก ์เป็นท้าวสุรนารี แลละได้รับพระราชทานเครื่องยศต่างๆ อนุสาวรี า ย์ท้าวสุรนารีท่หี น้าประตู า ชุมพล สร้างขึ้นนเมือ่ วันที่ ๕ มกราคมม ๒๔๗๗ เพื่อเป็น อนุสรณ์แด่วีวรี กรรมของท้าวสุรนาารีในการกอบกู้เมืองนครราชสีมาจากกองทัพของเจ้ พ าอนุวงศ์ ทํา ด้วยสัมฤทธิธิ์ กรมศิลปากรมอบใหห้ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี ออกแบบร่วมกั ม บพระเทวาภินิมมิต เมื่อสร้างเสสร็จได้อัญเชิญอัฐขิ องท้ท้าวสุรนารีบรรจุไว้ใต้ฐฐาน นับเป็นอนุสาววรีย์สามัญชนหญิงคน แรกของประเทศไทย อย่างไรก็ตาม า ปัจจุบันมีข้อกังขาวว่าท้าวสุรนารีมีตัวตนจจริงหรือไม่ เนื่องจาก เรื่องราวขอองท้าวสุรนารีพบในหลัักฐานเป็นบันทึกที่ออกกเผยแพร่ภายหลัง พ.ศ. ๒๔๗๕ เท่านั้น
Key Figures พระเทวาภินิมมิต (นายฉาย เทียมศิลป์ชัย) วรัญญา > ศิลปินเอกของไทยสมัยรัชกาลที่ ๕-๗ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ มีผลงาน ศิลปะมากมาย อาทิ เป็นแม่กองเขียนภาพจิตรกรรมฝาผนังที่พระ ระเบียงวัดพระศรีรัตนศาสดาราม (วัดพระแก้ว) ในคราวปฏิสังขรณ์ กรุงเทพฯ ๑๕๐ ปี (พ.ศ. ๒๔๗๕) ซึ่งต้องลบของเดิมออกแล้วเขียน ใหม่ งานเขียนรูปแม่พระธรณีรดี มวยผมเพื่อให้ปฏิมากรปั้น โดยนําไป ประดิษฐานใกล้สะพานผ่านพิภพลีลา งานเขียนแบบตราพระราชลัญจกร ประจํารัชกาลที่ ๖ เป็นแม่กองเตรียมงานพระบรมราชาภิเษก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๗ และงานออกแบบอักษรพระ ปรมาภิไธย ป.ป.ร. ไขว้ สําหรับทําตราและเหรียญ งานออกแบบและ กํากับการสร้างพระแสงดาบญี่ปุ่นลงยาฝังเพชรที่กองช่างหลวงกระทรวง วัง แต่ผลงานสําคัญที่ชาวนครราชสีมาไม่อาจลืมได้ คือ การร่วมออกแบบรูปท้าวสุรนารีกับ ศาสตราจารย์ศิลป พีระศรี โดยการออกแบบและเขียนรูปดั้งเดิมเป็นฝีมือของพระเทวาภินิมมิต และศาสตราจารย์ศิลป พีระศรี เป็นผู้ปั้น
9
ชมพูนุท > ภาษาโคราช ภาษาไทยสําเนียงโคราชเปนวัฒนธรรมทองถิน่ สาขาหนึง่ ของชาวโคราช มีลกั ษณะประสมประสานระหวาง ภาษาอีสานและภาษาไทยกลาง โดยมีลกั ษณะเฉพาะตัวเกีย่ วกับศัพท สําเนียง และสํานวน แมคาํ ศัพททั่วไป จะตรงกับภาษาไทยถิ่นกลาง มีสาํ เนียงคอนขางเหนอและหวนสั้นแบบภาคกลาง แตมกี ารผันคําต่าํ -สูงที่ เปนเอกลักษณ แตกตางจากภาษาไทยถิ่นกลางอยูบา ง โดยมักใชเสียงวรรณยุกตเอก (เสียงต่ํา) แทนเสียง วรรณยุกตโท (เสียงสูง) เชน "โม" แทน "โม" หรือ "เสื่อ" แทน "เสือ้ " เปนตน นอกจากนี้ยังยืมคําใน ภาษาไทยถิน่ อีสานมาใชปะปนดวยเล็กนอย และเมือ่ พูดจบประโยคจะลงทายดวยคําวา "เบิง้ , เหวย, ดอก" เชือ่ กันวาบรรพบุรษุ ของชาวไทโคราชอพยพมาจากอยุธยาและแถบจังหวัดชายทะเลตะวันออก ไดแก จันทบุรี ระยอง เปนตน เขามาในบริเวณจังหวัดนครราชสีมาและพื้นที่ใกลเคียง และไดผสมกลมกลืน กับกลุม คนพื้นเมืองเดิม ซึง่ สันนิษฐานวานาจะเปนไทเสียม หรือไทสยามลุม น้ํามูล เกิดเปนวัฒนธรรมไท โคราช เรียกตนเองวาไทโคราช ไทเบิ้ง หรือไทเดิ้ง ตอมาไดมกี ารติดตอคาขายกับชาวลาว ชาวไทยอีสาน และชาวเขมร และเมื่อชาวลาว ชาวไทยอีสาน และชาวเขมร อพยพยายถิน่ ฐานเขามาทีหลัง ก็ทําใหเกิด วิวัฒนาการของภาษา โดยมีการยืมคําไทยอีสานและคําเขมรปะปนเขามาใช เกิดเปนคําไทโคราช ซึ่ง แตกตางจากภาษาไทยถิน่ อีสานโดยทัว่ ไป เพราะยังคงรักษารากศัพทเดิม คือ ภาษาไทยถิ่นกลาง ไวนน่ั เอง ภาษาไทยสําเนียงโคราชเปนภาษาทีใ่ ชมากในจังหวัดนครราชสีมาเกือบทุกอําเภอ ยกเวนอําเภอที่มี ชาวไทยอีสานจํานวนมากกวา เชน อําเภอบัวใหญ สูงเนิน ปกธงชัย เปนตน นอกจากนี้ยังพบการใช ภาษาไทยสําเนียงโคราชในจังหวัดอื่นๆ เชน ลพบุรี เพชรบูรณ ชัยภูมิ บุรรี มั ย สระแกว ปทุมธานีดว ย เนื่องจากมีประชากรจากทองถิน่ นี้ไปอาศัยอยูม าก คําศัพทภาษาโคราชทีไ่ มซา้ํ กับภาษาไทยกลางมีจาํ นวนมากมาย ถาวร สุบงกช รวบรวมไวไดถึง ๑,๐๖๕ คํา มีทั้งคํานาม คํากริยา และคําวิเศษณ เชน กําดน (น.) แปลวาทายทอย กําเปอก (น.) แปลวา ฟองของน้าํ โสโครก กะดึบ๊ (น.) แปลวา ผลไมหรือผักทีย่ งั เปนลูกออน หน (น.) แปลวาทาง จน (ก.) แปลวายุง มาก ประดังเขามา ทะแหล (ก.) แปลวาลาดเอียง กะตะกะเติง้ (ว.) แปลวาเปนนิดหนอย, ระโหงก (ว.) แปลวา มากมาย เกลือ่ นกลาด
Wangnamkeaw
10
อําเภอวังน้ําเขียว < มนต์ประไพ อยู่ทางใต้ของจังหวัดนครราชสีมา ห่างจากตัวจังหวัดประมาณ 74 กิโลเมตรตามทางหลวงแผน ดินหมายเลข 304 (สืบศิริ) ได้ชื่อว่า "สวิตเซอร์แลนด์เมืองไทย" เนื่องจากมีธรรมชาติอดุ ม สมบูรณ์ ภูมิประเทศแบบที่ราบสูงเนินเขา และอากาศเย็นสบายตลอดปี ได้รับการจัดอันดับให้เป็น แหล่งโอโซนอันดับ 7 ของโลก วังน้ําเขียวเคยเป็นส่วนหนึ่งของอําเภอปักธงชัย โดยแยกมาจัดตั้งเป็นกิ่งอําเภอเมื่อวันที่ 1 เมษายน 2535 และยกฐานะเป็นอําเภอเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม 2539 มีขนาดพื้นที่ 1,129.9 ตาราง กิโลเมตร หรือประมาณ 706,243 ไร่ มีอาณาเขตติดจังหวัดปราจีนบุรีทางใต้ (อําเภอนาดี) ส่วน ทางเหนือติดอําเภอปักธงชัย ทางตะวันออกติดอําเภอครบุรี และทางตะวันตกติดอําเภอปากช่อง แหล่งท่องเที่ยวทีน่ ่าสนใจ ได้แก่ เขาแผงม้า ไร่องุ่น สวนหน้าวัว ฟาร์มเห็ด สวนผักปลอด สารพิษ เขื่อนลําพระเพลิง น้ําตกสวนห้อม และอุทยานแห่งชาติทับลาน เป็นต้น เขตการปกครอง แบ่งออกเป็น 5 ตําบล 83 หมู่บ้าน วังน้ําเขียว (19) วังหมี (22) อุดมทรัพย์ (17) ระเริง (14) ไทยสามัคคี (11) และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 6 แห่ง ประชากร ราว 39,000 คน ความหนาแน่นของประชากร 38.48 คน/ตร.กม. ภูมิประเทศ เป็นภูเขาและที่ลาดชันเป็นลอนคลื่นสลับกันทั้งพื้นที่ ในรูปกระทะคว่ํา โดยมีความสูง จากระดับทะเล 300–700 เมตร แต่มีพื้นที่บางส่วนของตําบลอุดมทรัพย์เป็นที่ราบลุ่ม ภูมิอากาศ เย็นสบายตลอดปี ฤดูหนาวอากาศหนาว อุณหภูมิเฉลี่ย 19 องศาเซลเซียล (ฤดูร้อน 32 องศาเซลเซียล) มีทะเลหมอกสวยงาม ฝนตกชุก มีปริมาณน้ําฝนเฉลี่ย 1,000–1,300 มม./ปี ทรัพยากรธรรมชาติ เนื่องจากสภาพพื้นที่เป็นป่าไม้และภูเขา วังน้ําเขียวจึงเป็นแหล่งต้นน้ําสําคัญ โดยมีลุ่มน้ําสําคัญ 3 ลุ่มน้ํา คือ ลําพระเพลิง ลําเชียงสา และลํามูล และสาขาย่อยอื่นๆ สําหรับ พื้นที่ป่าและอุทยานแห่งชาติมีอุทยานแห่งชาติทับลาน (173,218 ไร่) อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ (12,500 ไร่) ป่าสงวนแห่งชาติป่าเขาภูหลวง (78,350 ไร่) และป่ากันคืน สปก. (2,732 ไร่) เศรษฐกิจ ในห้าตําบลนี้มีการปลูกพืชดอก เช่น เบญจมาศ พืชเศรษฐกิจ อาทิ ข้าวโพด มัน สําปะหลัง อ้อย ข้าว และผักสวนครัวอย่างคะน้า กวางตุ้ง แตงกวา ผักสลัด มะเขือเทศ ฯลฯ งานเทศกาลสําคัญ "เบญจมาศบานในม่านหมอก" เดือนธันวาคม–มกราคมของทุกปี "วัวงาม" จัดขึ้นที่ตําบลระเริง ในช่วงเดือนมกราคมของทุกปี "วันของดีและประเพณีสงกรานต์วังน้ําเขียว" จัดขึ้นระหว่างวันที่ 12–13 เมษายน สถานที่ท่องเที่ยวในวังน้ําเขียว เขาแผงม้า ตําบลวังน้ําเขียว ห่างจากถนนสาย 304 ราว 7 กิโลเมตร เป็นภูเขาสูงจากระดับ ทะเล 850 เมตร อยู่ในเขตอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ เป็นจุดชมทิวทัศน์และศึกษาธรรมชาติ โดยเฉพาะกระทิง ปัจจุบันอยู่ในความดูแลของมูลนิธิคุ้มครองสัตว์ป่าและพรรณพืชแห่งประเทศ ไทยในพระบรมราชินูปถัมภ์ น้ําตกสวนห้อม น้ําตกห้วยใหญ่ใต้ น้ําตกห้วยขมิ้น ตําบลวังน้ําเขียว อยู่ในเขตอุทยานแห่งชาติ ทับลาน เหมาะสําหรับการพักผ่อนท่ามกลางขุนเขา แต่ในฤดูแล้งจะไม่มีน้ํา
Attractions อ่างเก็บน้ําลําพระเพลิง 1 ตําบลวังหมี ติดกับเขตอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ คลองปลากั้ง หรือหน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ (ขญ.4) ตําบลวังหมี เป็นจุดชมกระทิง ผาชมตะวัน ตําบลไทยสามัคคี เป็นจุดชมทิวทัศน์ของอุทยานแห่งชาติทับลาน ผาเก็บตะวัน ตําบลไทยสามัคคี เป็นจุดชมพระอาทิตย์ตกของอุทยานแห่งชาติทับลาน ถือเป็น รอยต่อระหว่างอําเภอวังน้ําเขียวกับอําเภอนาดี จังหวัดปราจีนบุรี มูลหลง มูลสามง่าม ตําบลไทยสามัคคี ในอุทยานแห่งชาติทับลาน เป็นภูเขาสลับซับซ้อน สภาพ ป่าอุดมสมบูรณ์ มีสัตว์ป่านานาชนิด เหมาะที่จะเดินป่าศึกษาธรรมชาติ และชมทะเลหมอก โครงการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ป่าเขาภูหลวง บ้านคลองสมบูรณ์ ตําบลระเริง น้ําตกคลองดินดํา บ้านคลองดินดํา ตําบลระเริง เป็นน้ําตกจากลานผาหิน แต่ฤดูแล้งไม่มีน้ํา สถานีวิจัยสิ่งแวดล้อมสะแกราช ตําบลอุดมทรัพย์ เป็นสถานที่ศึกษาธรรมชาติ นก และสัตว์ป่า สถานที่ท่องเที่ยวเชิงเกษตร o ไร่เบญจมาศ สวนวิภา สวนรวยทองคํา กลุ่มปลูกเบญจมาศตําบลไทยสามัคคี o ฟาร์มเห็ดหอมและเห็ดอื่นๆ เช่น กลุ่มเห็ดหอมบ้านสุขสมบูรณ์ กลุ่มเพาะเห็ดบ้านพยุงมิตร กลุ่มเห็ดหอมบ้านบุไทร ชมการปลูกเห็ด รวมทั้งเลือกซื้อเห็ดสดหรือผลิตภัณฑ์แปรรูปจากเห็ด o สวนผักเมืองหนาวปลอดสารพิษ สวนลุงไกร สวนลุงเปีย กลุ่มกสิกรรมไร้สารพิษอัน เนื่องมาจากพระราชดําริ อ.วังน้ําเขียว เช่น ผักสลัด บร็อกโคลี่ คะน้าฮ่องกง กระเทียมญี่ปุ่น o ไร่องุ่น “ธันยพร” ตั้งอยู่ที่ตําบลวังหมี o ตลาดกลางพุทรานมสดบ้านคลองปลากั้ง ซื้อพุทรานมสด ทั้งสดและแปรรูป (ก.ย.-ก.พ.)
11
โปง saltlick คือดินที่มีแรธาตุตา งๆ เชน แคลเซียม ฟอสฟอรัส โปแตสเซียม ไอโอดีน เหล็ก และสังกะสี ซึ่งสัตวจาํ เปนตองใชในการดํารงชีวิต โดยเฉพาะสัตวกนิ พืช (herbivore) เชน กวาง กระทิง และชาง เนื่องจากพืชไมมีแรธาตุ สัตวจึงตองทดแทนดวยการกินดินหรือดื่มน้ําจากโปง ดินโปงมักเปนดินเนื้อ ละเอียด แตบางแหงอาจมีกรวด หิน หรือทรายปน เนื้อดินมีสีดํา แดงลูกรัง หรือขาว โปงที่พบทั่วไปมี 2 แบบ คือ โปงธรรมชาติและโปงเทียม โปงธรรมชาติพบในปาเบญจพรรณ ปาเต็งรัง และปาดงดิบที่ คอนขางราบ โดยแตละโปงมีแรธาตุตางชนิดกัน สัตวจึงตองกินดินจากหลายๆโปงใหไดแรธาตุครบถวน โปงดิน (Dry licks) คือดินที่ประกอบดวยแรธาตุตา งๆ โดยสัตวจะกินดินบริเวณผิวแลวคอยๆเซาะ ลงไปเปนแอง (ไมเกิน 1 เมตร) ในฤดูฝนที่โปงมีน้ําขัง สัตวจะกินน้ํา สวนฤดูรอนโปงจะแข็งจนสัตวขุดไมได โปงน้าํ (Wet licks) พบในเขตตนน้ํา เขตที่มีน้ําซึมหรือน้ําซับออกจากภูเขา หรือแองทีเ่ คยเปนโปง ดินมากอน แตโปงน้ําจะมีน้ําขังตลอดป โปงเทียม เปนโปงทีม่ นุษยสรางขึ้น สวนใหญเปนโปงดิน โดยเลือกดินที่ดูคลายโปงธรรมชาติ โปงเกา ทีด่ ินเสื่อมความเค็ม หรือโปงรางทีด่ ินเสื่อมสภาพจนไมมีสัตวปากินแลว และควรเลือกทําเลใหอยูในดานที่ สัตวตองเดินผาน หรือใกลๆ การทําโปงเทียมคือการขุดดินทีเ่ ลือกไวใหเปนแอง แลวเทเกลือสมุทรลงไป เมื่อฝนตกหรือเกิดความชื้นจากน้ําคาง เกลือจะละลาย ทําใหดินเค็ม การใชประโยชนจากโปงมีท้งั ทางตรงและทางออม ประโยชนทางตรงคือสัตวกินพืชไดแรธาตุทจ่ี ําเปน ประโยชนทางออมคือสัตวกินสัตว (Carnivores) เชน สิงโต เสือ หมาใน จะใชโปงเปนพื้นที่ลาเหยือ่ การ กินกันเปนทอดๆคือเหตุผลที่สัตวนกั ลาไมจําเปนตองกินดินโปงโดยตรง ซึ่งทําใหเกิดการถายทอดพลังงาน ในสิ่งมีชีวิต (energy flow) สงผลใหระบบนิเวศเกิดความสมดุล ขณะที่มนุษยใชประโยชนโดยออมจาก โปง เชน เปนแหลงศึกษาธรรมชาติและสัตวปา เปนแหลงทองเที่ยว หรือลาสัตว
Agroforest วนเกษตร เกษตรกรรมที่นําหลักความยั่งยืนถาวรของระบบป่าธรรมชาติมาเป็นแนวทาง ให้ ความสําคัญกับการปลูกไม้ยืนต้น ไม้ผล และไม้ใช้สอย เป็นหลัก ผสมกับการปลูกพืชชั้นล่างที่ไม่ ต้องการแดดจัด หรืออาศัยร่มเงาและความชืน้ จากการมีพืชชั้นบนปกคลุม รวมทั้งการจัด องค์ประกอบการผลิตทางการเกษตรให้มีความหลากหลายของพืชและสัตว์
12
หลักการของ "วนเกษตร" วนเกษตร หมายถึง การทําการเกษตรในพื้นที่ป่า เช่น การปลูกพืชเกษตรแซมในพื้นที่ป่า ธรรมชาติ การนําสัตว์ไปเลี้ยงในป่า การเก็บผลผลิตจากป่ามาใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน และการใช้ พื้นที่ป่าทําการเพาะปลูกในบางช่วงเวลา สลับกับการปล่อยให้ฟื้นคืนสภาพกลับไปเป็นป่า รวมถึง การสร้างระบบเกษตรให้มีลักษณะเลียนแบบระบบนิเวศธรรมชาติ คือ มีไม้ยืนต้นหนาแน่นเป็น ส่วนใหญ่ ทําให้เกิดระบบที่มีร่มไม้ปกคลุมและมีความชุ่มชื้นสูง บางพื้นที่จะเรียกชื่อเฉพาะตาม ลักษณะอันโดดเด่นของระบบนั้นๆ การเกษตรรูปแบบนี้มักพบในชุมชนที่อยู่ใกล้ชิดป่าธรรมชาติ เกษตรกรจะทําการผลิตโดยไม่ให้ กระทบพื้นที่ป่าเดิม เช่น ไม่โค่นไม้ป่า หรือนําผลผลิตมาจากป่ามาใช้ประโยชน์โดยไม่ส่งผลกระทบ ต่อระบบนิเวศ รูปแบบที่พบ เช่น การทําสวนเมี่ยง (ชา) สวนมะแขว่น ต๋าว ปอสา ก๋ง ฯลฯ ใน ภาคเหนือ การทําสวนดูซง สวนทุเรียน มังคุด ลองกอง สะตอ เหรียง ฯลฯ ในภาคใต้ วนเกษตรเป็นแนวคิดและทางเลือกปฏิบัติทางการเกษตรแบบหนึ่ง ซึ่งรูปแบบแตกต่างกันไปในแต่ ละท้องถิ่นและสภาพพื้นที่ โดยแบ่งเป็นหลายประเภท ดังนี้ 1. วนเกษตรแบบบ้านสวน มีต้นไม้และพืชผลหลายชั้นความสูง โดยปลูกไม้ผล ไม้ยืนต้น สมุนไพร และพืชผักสวนครัวในบริเวณบ้าน 2. วนเกษตรที่มีต้นไม้แทรกในไร่นาหรือทุ่งหญ้า เหมาะกับพื้นที่สูงๆต่ําๆ โดยปลูกต้นไม้เสริมในที่ ไม่เหมาะสมกับพืชผล เช่น ทีเ่ นินหรือที่ลุ่มน้ําขัง และปลูกพืชในที่ราบหรือที่สม่ําเสมอ 3. วนเกษตรที่มีต้นไม้ล้อมไร่นา เหมาะกับไร่นาที่มีลมแรง พืชผลได้รับความเสียหายจากลมพายุ อยู่เสมอ จึงต้องปลูกต้นไม้เพิ่มความชุ่มชื้น บังแดดบังลมให้กับผลที่ต้องการร่มเงาและความชื้น 4. วนเกษตรที่มีแถบต้นไม้และพืชผลสลับกัน เหมาะกับพื้นที่มีความลาดชันเป็นแนวยาวน้ําไหล เซาะหน้าดินมาก แถบต้นไม้ซึ่งปลูกไว้สองถึงสามแถวสลับกับพืชผลเป็นช่วงๆ ขวางความลาดชัน จะช่วยรักษาหน้าดิน และในระยะยาวจะทําให้เกิดขั้นบันไดดินธรรมชาติให้พื้นที่นั้น แถบพืชอาจมี ความกว้าง 5-20 เมตร ตามความเหมาะสมของพืน้ ที่ 5. วนเกษตรใช้พื้นที่หมุนเวียนปลูกไม้ยืนต้น พืชผล และเลี้ยงสัตว์ เหมาะกับพื้นที่ขนาดกลางถึง ขนาดใหญ่ ซึ่งมีพื้นที่พอที่จะปลูกพืชผลเป็นแปลงหมุนเวียน โดยมีแปลงไม้ยืนต้นร่วมกับการเลี้ยง สัตว์แบบหมุนเวียนเพื่อฟื้นฟูดิน แนวคิดวนเกษตร < จิดาภา 1. วนเกษตรเป็นปรัชญาชีวิต เป็นศาสตร์และศิลป์ เป็นความรู้และวิธีการ โดยหมายถึง การทําให้ ที่ดินมีสภาพเป็นป่าหรือนิเวศ หรือการจัดระบบนิเวศให้เกิดความสมบูรณ์และสมดุลระหว่างพืชสัตว์-ดิน-น้ํา โดยมีหลักว่าธรรมชาติสร้างทุกอย่างเพื่อความสมดุล ชีวิตที่มีสมดุลจะมีสุข 2. วนเกษตรเป็นฐานการพึ่งตนเองที่สําคัญ การพึ่งตนเองคือการเตรียมปัจจัยสี่ให้พร้อม
Wiboon Khemchalearm 3. การทําวนเกษตรคือการไม่วางแผนจริงจัง ถือหลัก "ทําเล่น-เอาจริง" จะได้ผลมากกว่า ปลูก พันธุ์ไม้อะไรก็ได้ โดยไม่ต้องคํานึงถึงระเบียบ เลียนแบบป่าธรรมชาติ 4. ไม่ต้องไถดิน ปล่อยให้ดินปรับตัวเองให้มีสภาพเป็นดินชั้นเดียว ไม่เป็นดินหลายชั้น การไถจะ ทําให้หน้าดินแตก ส่งผลให้ดินชั้นล่างเป็นดาน แต่ที่ดินผืนใหญ่อาจไถได้เพื่อแก้ปัญหาเรื่องหญ้า 5. การทําวนเกษตรก็เหมือนการปฏิบัติธรรม การอยู่กับธรรมชาติทําให้พบชีวิตที่เกื้อกูลกัน เกิด ความสมดุลทางอารมณ์ ทําให้ไม่คิดเบียดเบียน มีความอ่อนโยน เมตตาเห็นใจ 6. วนเกษตรเป็นเกษตรสวัสดิการ ทําแล้วไม่ต้องทําอีก เรียกว่าเกษตรแบบนั่งกินนอนกิน สร้าง สวัสดิการยามแก่ได้ แต่ต้องเริ่มด้วยการปรับวิธีคิด คือคิดจะทําให้ครอบครัวมีกิน ที่เหลือค่อยขาย ไม่ทําเพื่อระบบตลาด แต่ทําเพื่อตอบสนองความต้องการของชีวิต พีรยา >
ปรัชญาวนเกษตรกับผูใ หญวบิ ลู ย เข็มเฉลิม
13
วิบลู ย เข็มเฉลิม ผูใ หญบา นหวยหิน ต.ลาดกระทิง อ.สนามไชย เขต จ.ฉะเชิงเทรา เปนตัวอยางในการ “กลับลํา” เปลีย่ นวิถี ชีวิตจากเกษตรกระแสหลักมาสูเ กษตร “พึง่ ตนเอง” เขาเคย ตอสูด ิ้นรนเชนเดียวกับเกษตรกรจํานวนมาก ทีม่ งุ เพิ่มผลผลิต เพื่อใหไดราคาสูงขึน้ ดวยการปลูกพืชชนิดเดียวจํานวนมาก ทั้ง ขาวและฝาย แตยงิ่ ปลูกหนี้สินยิง่ พอกพูน ในทีส่ ดุ จึงหยุด ทบทวนสิง่ ทีผ่ า นมา และคิดวาการผลิตเพื่อขายเปนหนทางสูก าร สิ้นเนื้อประดาตัวของเกษตรกร หลังจากขายที่ดินกวา 200 ไร เพื่อไถถอนหนี้สิน เขาก็หนั มาหาคําตอบจากวนเกษตรดวยทีด่ ิน 10 ไร ทําการเกษตรบนพื้นฐานของ ความรู ความเขาใจ และการเรียนรูท ถ่ี กู ตอง สามารถเขาใจทรัพยากรและจัดการ ทําใหไมมหี นี้และไมเดือน รอนไมวา จะมีเงินมากนอย เนือ่ งจากมีพออยูพ อกินและไมสรางภาระใหเปนหนี้สินขึ้นอีก การเปลี่ยนวิถีชีวิตจากเกษตรธุรกิจมาเปนเกษตรพึง่ ตนเองตองเริ่มจากจิตใจ ทําความเขาใจวาชีวิต ควรเปนอิสระจากอิทธิพลของเงินและระบบตลาดใหมากทีส่ ุด โดยทําเกษตรเพือ่ เปนหนทางในการเลี้ยง ชีวิต หาปจจัยสี่เปนหลัก ทีเ่ หลือจึงขายเปนเงินทองสําหรับการจับจายจําเปน ผูใหญวิบลู ยเรียนรูจากผืนดิน ทีเ่ หลือ โดยปลูกไมสารพัดจนเปนปายอมๆ และเมือ่ ไมเหลานี้ใหผล ศักยภาพของการพึง่ ตนเองก็ปรากฏชัด การเริม่ ตนวนเกษตรตองวางแผน โดยเริ่มจากพิจารณาลักษณะผืนดิน ความลาดชัน ตนไมด้งั เดิม จะทําเปนสวนทีม่ ที ้งั ปา ไมยืนตน ไมผล แปลงผัก รวมอยู หรือปลูกไมยืนตนรอบคันนา หรือกันพื้นทีพ่ ืชไร สวนหนึง่ เปนปาก็ได เพราะวนเกษตรยืดหยุน ได ไมตายตัว ทีส่ าํ คัญคือตองมีไมยืนตนขนาดใหญ ไมผล ขนาดกลาง ไมโตเร็ว และพืชผักสมุนไพรเพือ่ ลดรายจายดานยารักษาโรค พืชคลุมดิน พืชกินดอกกินใบ การปลูกพืชไมตองใชยาฆาแมลงหรือยากําจัดวัชพืช อาจเพิ่มอาหารเนื้อสัตวโดยเลีย้ งไกและขุดบอปลาเล็กๆ ผูใ หญวิบลู ยเห็นวา วนเกษตรคือรากฐานของชีวิตและรากฐานของครัวเรือนไทยในชนบทและยังเปน รากฐานของประเทศชาติ ซึง่ จะเปนหนทางทีน่ ําพาชีวิตใหหลุดพนจากบวงแหงสังคมบริโภคนิยม แต กระบวนการเรียนรูเ ปนเรื่องยาก กวาเขาจะคนพบวิธแี หงวนเกษตร ก็ตอ งผานการเรียนรูท ย่ี าวนานและ เจ็บปวด แตเมือ่ พบและเชือ่ มัน่ ในหนทางนี้ ชีวิตทีเ่ หลือของผูใ หญวบิ ลู ย เข็มเฉลิม ก็ทมุ เทใหกบั สราง กระบวนการเรียนรูเ รือ่ งวนเกษตรใหเกิดขึ้นในสังคมไทย โดยมิไดผลักดันกระบวนการเรียนรูใ นชนบท เทานั้น แตยงั มีโอกาสผลักดันเขาสูส ํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติและ รัฐสภา ในการกําหนดกรอบนโยบายหลักของประเทศ และในป 2549 สามารถผลักดันเขาสูน โยบายของ รัฐบาลได โดยเปลีย่ นชือ่ เปนโครงการปลูกตนไมใชหนี้ และกลายเปนวาระแหงชาติของรัฐบาลในทีส่ ุด
Suan Lung Choke
14
สวนลุงโชค: ศูนย์การเรียนรู้กลางแหล่งท่องเที่ยววังน้ําเขียว < หทัยรัตน์ ขณะที่วังน้ําเขียวกําลังเป็นจุดท่องเที่ยวยอดนิยม Thailand Outdoor Park & Camp สวนลุงโชคคือจุดท่องเที่ยวเรียนรูท้ ี่แตกต่าง พื้นทีว่ ังน้ําเขียวส่วนใหญ่เป็นทุ่งโล่ง ปราศจากต้นไม้ ใหญ่จากการทําไร่ในอดีต สวนลุงโชคจึงเปรียบเสมือนโอเอซิสที่ปกคลุมด้วยต้นไม้ใหญ่ร่มรื่น เป็น ที่แลกเปลี่ยนและศึกษาเรื่องเกษตรทางเลือกที่สอดคล้องกับแนวคิดการใช้ทรัพยากรอย่างยั่งยืน สวนลุงโชคเดิมเป็นพื้นที่ไร่ข้าวโพดเชิงเดี่ยวที่มีการใช้สารเคมีในปริมาณสูง ในปี 2533 ลุง โชคได้ทํางานกับชุมชนรอบพื้นที่อทุ ยานแห่งชาติเขาใหญ่ ให้ได้เรียนรู้ปัญหาต่างๆของเกษตรกร ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม ได้เห็นว่าการปลูกพืชเชิงเดี่ยวเป็นบริเวณกว้างคือการทําลายสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะพื้นที่ที่เป็นเขตป่าต้นน้ําลําพระเพลิง รวมถึงได้เรียนรู้แนวทางการทํางานของโครงการ พัฒนาชนบทเพื่อการอนุรักษ์ และแนวคิดด้านวนเกษตรที่นํามาแนะนําให้ชุมชนรอบเขาใหญ่ใช้ ส่งผลให้มีการทดลองนําไปพัฒนากับที่ดินของตนเอง ปัจจุบัน สวนลุงโชคเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านเกษตรทางเลือกที่ผสมผสานแนวคิดการอนุรักษ์ อย่างสอดคล้องและในปี 2551 ลุงโชคก็ได้รับเลือกจากสํานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด นครราชสีมาให้เป็นปราชญ์ชาวบ้าน ตามโครงการพัฒนาเกษตรตามแนวทางทฤษฎีใหม่ สวนลุงโชคแบ่งพื้นที่ออกเป็นส่วนๆ คือ พื้นที่อยู่อาศัย อาคารเรียนรู้ แหล่งน้ํา ผืนนา สวน ไม้ผลผสมผสาน สวนสมุนไพร แปลงปลูกไม้ประดับและเพาะขยายพันธุ์ แปลงไม้ใช้สอย ไม้ไผ่ แปลงสําหรับปลูกกล้าไม้ป่า กิจกรรมการเรียนรูภ้ ายในสวนลุงโชคจะเรียนรู้เรื่องไม้ไผ่ ไม้ใช้สอย
“ลุงโชค” ชายผูท มุ เทใหกบั งานเกษตร โชคดี ปรโลกานนท ชายวัยหาสิบปผูมีหนวดเคราขาว เปน เกษตรกรคนสําคัญในวังน้ําเขียว และเปนเจาของสวนลุงโชค สวน วนเกษตรทีเ่ ปดใหบุคคลทัว่ ไป ชาวบาน และเด็กๆ มาแลกเปลีย่ น เรียนรูว ิถเี กษตรธรรมชาติ เมื่อ 20 ปกอน หลังเรียนจบดานเกษตร (พืชไร) จาก มหาวิทยาลัยแมโจ เขาเริ่มการทําไรขา วโพดทีอ่ าํ เภอวังน้ําเขียว จังหวัดนครราชสีมา ดวยใจรักการเกษตรและรักอิสระ โดยนํา ความรู เทคโนโลยีเครือ่ งจักรกล และการจางแรงงานมาเปน เครือ่ งมือในการบุกเบิก แตการเปนเกษตรกรใชวา งาย ยิ่ง ตองการผลผลิตสูง ก็ยงิ่ เบียดเบียนตนทุนทางเม็ดเงินและทุนธรรมชาติมากเทานั้น แมในปแรกจะประสบ ความสําเร็จคอนขางสูง แตขาดทุนในปหลัง จึงเปลีย่ นมาปลูกถัว่ เหลือง ผัก พริกแทน ระหวางนั้นเขาไดรจู กั นิคม พุทธา เจาหนาทีโ่ ครงการพัฒนาชนบทเพื่อการอนุรักษชุมชนรอบพื้นที่ อุทยานแหงชาติเขาใหญ และไดรว มงานกับมูลนิธคิ มุ ครองสัตวปาและพรรณพืชแหงประเทศไทยในพระบรม ราชินปู ถัมภ ซึง่ เปนองคกรไมแสวงกําไร (NGOs - Non Governmental Organizations) การเปน เจาหนาทีโ่ ครงการฯ ทําใหลุงโชคมีโอกาสพาเกษตรกรไปดูงานดานการทําเกษตรแบบตางๆ ทั้งวนเกษตรง จากผูใหญวิบลู ย เข็มเฉลิม เกษตรธาตุสจ่ี ากปะหรน หมัดหลี และการทําเกษตรกรรมแบบมหาอยู สุนทรชัย เขาจึงไดทบทวนแนวคิดการทําเกษตรของตนเองและเห็นวา แนวทางแบบวนเกษตรนาจะแกปญ หาของ เกษตรกรได จึงเริม่ ลงมือทําและสงเสริมใหเกษตรกรนําแนวคิดนี้มาประยุกตใช ลุงโชคกลาววา “การที่เราไป ทํางานกับชาวบาน หรืออยากใหชาวบานทําอะไร เราก็ตอ งทําดวย”
Chokedee Paralocanond ระบบวนเกษตร สีธรรมชาติ การทําผ้ามัดย้อม การเพาะเห็ดและการผลิตก้อนเห็ด และ ฯลฯ ที่นี่เป็นแหล่งเรียนรู้ที่มุ่งเน้นกระบวนการเรียนรู้ท่ามกลางการปฏิบัติจริง กิจกรรมการ เรียนรู้จึงมีทั้งการบรรยาย การวิเคราะห์สถานการณ์และปัญหาต่างๆ ทั้งการเกษตรและ สิ่งแวดล้อม การสาธิตและการฝึกปฏิบัติ ทางเทคนิค เช่น การทําน้ําหมักชีวภาพ (จุลนทรีย์หน่อ กล้วย) การทําปุ๋ยหมักแห้งชีวภาพ การทําน้ํามันไบโอดีเซลจากน้ํามันพืชเหลือใช้ ฯลฯ นอกจากนี้ ยังมีกิจกรรมการเรียนรู้เกษตรกรรมและสิ่งแวดล้อมศึกษา มีการเดินเท้าศึกษาฐานความรู้ในสวน ได้แก่ ดิน รากฐานของชีวิต ป่า ธนาคารต้นไม้ สวัสดิการชีวิตที่พึ่งตนเอง น้ํา การเรียนรู้เพื่อกัก เก็บน้ําในการดูแลพรรณไม้ จุดเด่นของสวนลุงโชค คือ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมใน พื้นที่ต้นน้ํา กระบวนการฟื้นฟูป่า เกษตรทางเลือกวิถีเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการพึ่งพาตนเอง การ จัดการทรัพยากรอย่างมีส่วนร่วม การปลูกป่าด้วยองค์ความรู้ท้องถิ่น การจัดการพัฒนาที่ดิน ทํา กินรูปแบบวนเกษตร การเพาะ-ขยายพันธุ์พืช การอนุรักษ์พันธุ์พืชพื้นบ้าน เทคนิคเกษตร ทางเลือก พลังงานทางเลือก และการแปรรูปผลผลิต ฯลฯ วรางคณา > องค์ความรู้จากสวนลุงโชค 1. การจัดการดิน สวนมีทั้งบริเวณที่เป็นที่ลุ่มน้ําขัง ดินทราย ดินเหนียว ดินลูกรัง ในบริเวณที่ เป็นดินทรายและลูกรังปลูกไผ่ บริเวณน้ําขังปลูกข้าว โดยอาศัยธรรมชาติให้ทําหน้าที่ของมันเอง
15
< รัญชิดา
การทํางานกับมูลนิธิฯ ยังทําใหเขาเรียนรูเรื่องทรัพยากรและการใชทรัพยากรของสังคม และคอยๆ ปรับเปลี่ยนทัศนคติเรื่องการดูแลสิ่งแวดลอม ขณะเดียวกันก็ทดลองสรางรูปแบบการจัดการทรัพยากรที่ สอดคลองสมดุล คือ โครงการปลูกปาถาวรเฉลิมพระเกียรติฯ ฟนฟูเขาแผงมา ในป 2537-2545 จนทุกวันนี้ ผืนปาเขาแผงมาพืน้ ที่รวมกวา 22,000 ไร ไดรับการฟนฟูและคืนความสมบูรณอีกครั้ง เปนที่อยูของสัตวปา โดยเฉพาะกระทิงกวา 100 ตัว สรางคุณคาที่เปลี่ยนเปนมูลคามหาศาลตอการทองเที่ยวในอําเภอวังน้ําเขียว การเรียนรูที่สรางใหเกิดความรูแ ละจิตสํานึกของชาวบาน ไดนํามาเชื่อมโยงและขยายผลตอในชวงป พ.ศ. 2546-ปจจุบัน สงผลใหนอกจากจะเปนเกษตรกรที่ปลูกตนไม ดูแลปาเขาใหญและเขาแผงมาใหอุดม สมบูรณและเติบโต “ลุงโชค” ในปจจุบันยังเปนวิทยากรอบรมแนวคิดวิธกี ารทําเกษตรธรรมชาติดวย “ผมชอบเกษตร ผมเคยลองทํามาเยอะ เชน เลี้ยงเปดเลี้ยงไก เลี้ยงปลา เคยทําหมด แตสุดทายสูปลูก ตนไมไมได ซึ่งผิดไปจากเปาหมายแรกๆที่ผมมาอยูวังน้ําเขียวนี่ เปาหมายจริงๆคืออยากไดเงินมาทําเกษตรสง ตลาด แตพอลมเหลว ไมประสบความสําเร็จตรงนั้น เปาหมายชีวิตก็เปลีย่ น กลายเปนเรื่องของความสุข ทํา อยางไรใหมีความสุข ชีวิตที่มีความสุขก็ตองมีกินมีอยูมใี ช ไมเจ็บไมไข ครอบครัวอบอุน ฉะนัน้ ถาเราเอาคําพูด ของอาจารยระพี สาคริก ที่วาเกษตรไมใชอาชีพ แตเกษตรเปนวัฒนธรรม เกษตรเปนเรื่องของความ งดงาม เปนเรื่องของภูมิปญญา ความรู จิตวิญญาณ จารีตประเพณี และวัฒนธรรม” ปจจุบัน ลุงโชคเปดสวนใหเปนแหลงเรียนรูการเกษตรเพื่อการพึ่งตนเองและตนแบบการอนุรกั ษ สิ่งแวดลอมสําหรับผูสนใจ แบงปนความรูและประสบการณใหชุมชนรอบขาง ปลูกฝงเยาวชนในรูปแบบคายและ การฝกอบรมเพือ่ ใหคนตระหนักถึงคุณคาของธรรมชาติ “เมื่อมีที่ดิน ควรปลูกตนไมลงไป ปลูกอะไรก็ตามใจ การปลูกตนไมกค็ ลายการนําเงินไปฝากธนาคาร ถือเปนการออมชนิดหนึ่งที่มีหลักประกันแนนอน ไมมีใครโกง ได ธรรมชาติจะกลับมา เราก็มีอยูมกี นิ " สําหรับลุงโชค ชีวติ ทุกวันนี้มีความสุขดี ความสุขของลุงคือการให การไดพูดคุยกับคนคอเดียวกัน และ การใชชีวิตอยางเรียบงาย
16
2. การจัดการน้ํา สร้างแหล่งน้ําให้มากที่สุดเพื่อให้ความชุ่มชื่นในสวน ซึ่งมีหลัก 2 ข้อ คือ สร้าง บ่อเก็บน้ําในพื้นที่เหมาะสม สามารถเก็บน้ําได้ตลอดปี และกรองตะกอนและสิ่งปนเปื้อนก่อนลง บ่อด้วยวิธีธรรมชาติ คือ ใช้พืชน้ํากรองและดูดซับตะกอน เช่น ต้นสังฆรักษา ต้นคล้า ผักหนาม ผักกูด โดยปลูกตามร่องน้ํา หรือกรองตะกอนด้วยระบบนาข้าว คือให้น้ําไหลผ่านนาก่อนแล้วค่อย ปล่อยลงบ่อเก็บน้ํา ตะกอนยังเพิ่มหน้าดินให้แปลงนาด้วย 3. การจัดการต้นไม้ ใช้วิธีสังเกต พื้นที่ตรงไหนปลูกต้นไม้แล้วขึ้นได้ดี ก็เลือกปลูกต้นไม้ชนิดนั้น อีกวิธีการหนึ่ง คือ การปลูกไม้แซม ดูว่าแสงส่องลงตรงไหนก็ปลูกต้นไม้ตรงนั้น 4. การคัดเลือกพันธุ์ ใช้วิธีธรรมชาติ คือ ปลูกพืชให้เหมาะกับดิน ปลูกหลายชนิดในพื้นที่เดียวกัน พืชที่โตเร็วคือพืชที่เหมาะ พืชที่ปลูกแล้วไม่โตก็แสดงว่าไม่เหมาะกับพื้นที่นั้น นอกจากปลูกไม้ยืน ต้นและพืชผักสมุนไพรแล้ว ยังมีไม้ตัดใบและตัดดอก เช่น เฟิน หน้าวัว ชานาดู จั๋งจีน โดยชานาดู และหน้าวัวจะปลูกในโรงเรือนเพราะต้องการความชื้นสูง ส่วนจั๋งจีนจะปลูกแซมต้นไม้ในสวน เป็น การปลูกเพิ่มความหลากหลาย สร้างที่อยู่ให้สัตว์ต่างๆ เพื่อให้มีไม้ใช้สอย เป็นแหล่งอาหาร ยา พลังงาน โดยใช้กิ่งทําฟืน เผาถ่าน และทําน้ําส้มควันไม้ และเพิ่มมูลค่าด้วยการแปรรูปสมุนไพร 5. การปลูกไม้ตัดใบ 1. เลือกพืชใบแข็ง หนา ก้านใบยาว เช่น จั๋ง ยางอินเดีย เฟินหนัง ซานาดู 2. วัสดุปลูก เลือกที่มีความโปร่ง ระบายน้ําดี เช่น กาบมะพร้าว ใบไม้ผุ หากย่อยสลายต้องเติม หรือเปลี่ยนวัสดุปลูกใหม่เพื่อป้องกันต้นล้ม ทําให้ใบบิดเสียรูปทรง 3. การพรางแสง ป้องกันใบ ไหม้จากแสงแดดเผา ควรพรางแสงให้พืชรับแสงประมาณ 20-30% หรือปลูกแซมในสวนป่าใต้ร่ม ไม้ 4. การให้น้ํา หากเป็นฤดูร้อนควรให้น้ําเช้า–เย็น 5. การให้ปุ๋ยสูตร 15-15-15 ทุก 15 วัน ผืนป่าดงพญาเย็น < อรวรรณ คําเล่าขานครั้งเก่าก่อนของชาวบ้านทําให้เรารู้ว่า ป่าเขาใหญ่ที่เห็นอยู่วันนี้เคยมีชื่อว่า "ป่าดง พญาไฟ" อันรกทึบ เต็มไปด้วยสัตว์ร้าย ไข้ป่า และภยันตรายนานัปการ ที่คร่าชีวิตผู้เดินทางผ่าน ผืนป่าที่เชื่อมระหว่างภาคกลางกับภาคอีสานมาแล้วนับไม่ถ้วน ป่าดงพญาไฟถูกตัดออกจากกันครั้งแรกเมือ่ หลายสิบปีก่อน ที่ตัดทางรถไฟเชื่อมภาคกลาง กับภาคอีสาน ตามด้วยการสร้างทางหลวงหมายเลข 2 (ถนนมิตรภาพ) ในเวลาต่อมา แม้การ สร้างถนนกลางป่าดงดิบนี้จะทําให้คนงานจํานวนมากเสียชีวิตจากไข้ป่า แต่เมือ่ ถนนและทางรถไฟ แล้วเสร็จ ผู้คนเริม่ อพยพเข้ามาตั้งรกราก "ดงพญาไฟ" ก็ได้แปรเปลี่ยนเป็น "ดงพญาเย็น" พร้อม กับอันตรายของไข้ป่าและสัตว์ร้ายที่ลดน้อยลงเรื่อยๆ เขาใหญ่วันนี้ปราศจากไข้ป่าและสัตว์ร้ายที่เคยชุกชุม แต่ภายใต้เรือนยอดอันแน่นทึบของป่า ที่หลากหลาย ทั้งป่าดิบขึ้นไปจนถึงป่าดิบเขา ยังเต็มไปด้วยสรรพชีวิต ทั้งพรรณไม้ สัตว์ และ แมลง ให้ชื่นชมและศึกษาได้ไม่รู้จบ นกเงือก hornbill < อรวรรณ บนยอดไม้ในอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ เราอาจเห็นนกเงือกอันเป็นสัญลักษณ์แห่งความสมบูรณ์ และความหลากหลายทางชีวภาพของป่าดงพญาเย็น บินเป็นฝูง นกเงือกเป็นนกขนาดใหญ่ จัด อยู่ในวงศ์ Bucerotidae มีลักษณะพิเศษ คือ ปากบนจะมี "โหนก" ประดับ ขนมักมีสีดําและขาว ขอบตามีขนตายาว เสียงร้องดัง ทั้งโลกพบราว 52 ชนิด โดยพบในป่าเขตร้อนของแอฟริกาและ
Wildlife เอเชียเท่านั้น ในประเทศไทยพบ 13 ชนิด โดยอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่และกลุ่มป่าดงพญาเย็นมี 4 ชนิด คือ นกกก นกเงือกกรามช้าง หรือนกกู๋กี๋ นกเงือกสีน้ําตาลคอขาว และนกแก็ก
นกเงือก 4 ชนิดในเขาใหญ่ ได้แก่ นกกก นกแก๊ก นกเงือก กรามช้าง และนกเงือกสีน้ําตาลคอขาว ตามลําดับ
นกเงือกถือเป็นดัชนีชี้วัดความอุดมสมบูรณ์ของป่าที่สําคัญ เพราะมันมักจะอาศัยอยู่ในป่าที่ มีต้นไม้ใหญ่และมีความอุดมสมบูรณ์สูง ด้วยความที่มีขนาดตัวใหญ่ถึงใหญ่มากและชอบทํารัง ด้วยการหาโพรงไม้บนต้นไม้ขนาดใหญ่ที่อยู่ลับตา ทั้งยังมีนิสัยตกใจง่าย หากถูกรบกวนมากๆ นกอาจไม่เข้าโพรงรัง ทําให้ไม่ได้ผสมพันธุ์ในปีนั้น ตามปกตินกเงือกออกไข่ได้คราวละไม่กี่ฟอง และไข่เหล่านั้นก็ใช่ว่าจะรอดทั้งหมด หรือเมือ่ ฟักเป็นตัวก็ใช่จะอยู่รอดจนถึงวัยเจริญพันธุ์ทุกตัว นกเงือกกินได้ทั้งผลไม้และสัตว์ จึงจัดเป็นสัตว์ที่มีบทบาทสําคัญ (Keystone species) ใน ระบบนิเวศ การกินผลไม้สุกและนําเมล็ดไปทิ้งในที่ต่างๆ ทําให้นกเงือกมีส่วนช่วยในการปลูกป่า กระจายเมล็ดพันธุ์ไม้ในป่ากว่า 200 ชนิด ทั้งยังจัดเป็นชนิดพันธุ์ที่ให้ร่มเงาแก่สัตว์อื่น (Umbrella species) รักษาความหลากหลายของพืชและสัตว์ ทําให้สังคมพืชเกิดสมดุล ขณะที่พฤติกรรมการ ล่าของนกเงือกช่วยควบคุมประชากรสัตว์ขนาดเล็กในป่า ถือเป็นผู้ปกป้องระบบนิเวศที่สําคัญ วงจรชีวิตของนกเงือกมี 2 ช่วง คือ ฤดูผสมพันธุ์ ระหว่าง ม.ค.–พ.ค. นกเงือกจะอยู่เป็นคู่ จะทํารังโดยหาโพรง ว่างๆ เมื่อตัวเมียเข้าไปวางไข่แล้ว จะปิดปากโพรงด้วยวัสดุ ต่างๆ เช่นเปลือกไม้ เหลือเพียงช่องเล็กๆไว้รับอาหารจากพ่อ นก แม่นกจะขังตัวอยู่ข้างในเพื่อกกไข่และผลัดขน พ่อนกจะ หน้าที่หาอาหารมาให้แม่และลูก ดังนั้น หากพ่อนกตายด้วย การล่าหรือสาเหตุอื่นใดในฤดูทํารัง แม่นกกับลูกนกก็จะอด อาหารตายตามไปด้วย แต่ถ้าแม่นกและลูกนกออกจากรังได้ นกเงือกจะอยู่รวมกันเป็นฝูงตลอดฤดูฝน เกาะกลุ่มกันโดยไม่ ทํารัง ล่วงเข้าฤดูหนาว จึงแยกกันเป็นคู่อีกครั้งเพื่อหาโพรงรัง และออกไข่ หมุนเวียนเป็นวงจรเช่นนี้ นกเงือกเป็นสัญลักษณ์ ของ "รักแท้" เนื่องจากเป็นสัตว์รักเดียวใจเดียว จะอยู่กับคู่ เดิมตลอดชีวิต และพ่อนกยังมีลักษณะของหัวหน้าครอบครัวที่ ดี คอยหาอาหารและปกป้องแม่นกกับลูกนกให้ปลอดภัย
17
18
ตั้งแต่ปี 2547 ได้มีการกําหนดให้วันที่ 13 ก.พ. เป็น "วันรักนกเงือก" เพื่อให้คนไทยเกิด ความตระหนักและเห็นความสําคัญของการอนุรักษ์นกเงือกให้คงอยู่คู่ป่า โดยจะจัดกิจกรรมระดม ทุนสําหรับการศึกษาวิจัย และอนุรักษ์นกเงือกในไทย กระทิงแห่งเขาแผงม้า < ชญานิศ กระทิง หรือเมย (Gaur, Indian bison) เป็นวัวป่าชนิดหนึ่งในวงศ์ Bovidae ขนยาว คอสั้น และมีพืม (เหนียงคอ) ห้อยยาวลงมาจากใต้คอ เขามีสีเขียวเข้ม ปลายเขามีสีสดบริเวณโคนเขามี รอยย่น ซึ่งรอยนี้จะมีมากขึ้นเมื่อสูงวัยขึ้น ลําตัวสีดําหรือดําแกมน้ําตาล เว้นแต่หน้าผากเป็นสี ขาวเทาหรือเหลืองทอง เรียกว่า "หน้าโพ" รวมถึงครึ่งล่างของขาทั้งสี่ ตั้งแต่เข่าไปถึงกีบเท้า ซึ่ง ทําให้ดูเหมือนสวมถุงเท้า สีขาวอมเทาดังกล่าวเกิดจากคราบน้ํามันในเหงื่อซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะ กระทิงตัวผู้มีขนาดใหญ่กว่าตัวเมีย ลูกที่เกิดใหม่จะมีสีน้ําตาลแกมแดงเหมือนสีขนของเก้ง มี เส้นสีดําพาดกลางหลัง ลูกกระทิงขนาดเล็กยังไม่มีถุงเท้าเหมือนกระทิงตัวโต โดยมีการกระจาย พันธุ์ในภาคใต้ของจีน อินเดีย ภูฏาน เนปาล พม่า ไทย ลาว กัมพูชา เวียดนาม มาเลเซีย โดย แบ่งออกเป็นชนิดย่อย 5 ชนิด แต่กระทิงที่พบในไทยและมาเลเซียคือ B. g. hubbacki กระทิงมีลักษณะอยู่รวมกันเป็นฝูง โดยฝูงหนึ่งมีสมาชิก 2-60 ตัว ประกอบด้วยตัวเมียและ ลูก บางครั้งอาจหากินรวมฝูงกับวัวแดง (B. javanicus) หรือสัตว์กินพืชชนิดอื่น ตัวผู้มักอยู่ตาม ลําพังแต่จะรวมฝูงเมื่อถึงฤดูผสมพันธุ์ ฝูงกระทิงจะเดินหากินสลับกับการนอนตลอดวัน โดยบาง ตัวจะนอนหลับท่ายืนหรือนอนราบกับพื้น กระทิงอยู่ได้ทั้งป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง ป่าดิบแล้ง ป่าดิบเขา หรือบางครั้งก็เข้าไปหากินตามไร่ร้าง หรือป่าที่กําลังฟื้นฟูสภาพ แต่จะหากินไม่ไกลจาก แหล่งน้ํามากนักเนื่องจากอดน้ําไม่เก่ง ช่วงฤดูหลังเกิดไฟป่า กระทิงจะกินยอดไม้อ่อนและหญ้า ระบัดที่มีอยู่มากตามทุ่งหญ้าและป่าเต็งรัง ในประเทศไทย กระทิงมีสถานะเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองประเภทที่ 2 ส่วนสถานะที่สหภาพสากล เพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติและทรัพยากรธรรมชาติ (IUCN) จัดให้อยู่ในระดับ CR (Critically Endangered) หมายถึงมีความเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์ ปัจจุบันพบกระทิงเพียงที่เดียว คือ เขาแผงม้า ในอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ ในอดีตเขาแผง ม้าเคยเป็นป่าผืนเดียวกับเขาใหญ่ซึ่งเต็มไปด้วยความอุดมสมบูรณ์ มีสัตว์ป่านานาชนิดอาศัยอยู่ ชุกชุม แต่การปลูกพืชเศรษฐกิจด้วยปุ๋ยเคมีทําให้สภาพป่าเริ่มเสื่อมโทรม เกิดไฟไหม้ป่าบ่อยครั้ง อย่างไรก็ตาม การอนุรักษ์และฟื้นฟูสภาพป่าช่วยให้สภาพป่าบริเวณเขาแผงม้าฟื้นตัวดีขึ้น และ ปรากฏการณ์สําคัญที่ยืนยันถึงการฟื้นตัวของสภาพป่าเขาแผงม้าก็คือการกลับมาของฝูงกระทิง ป่า 4-10 ตัวในช่วงฤดูฝนของปี พ.ศ. 2538 ต่อมาในปี 2547 เริ่มมีคนเข้ามาล่าสัตว์ป่าใน พื้นที่บ่อยครั้ง โดยเฉพาะกระทิงซึ่งเป็นสัตว์ป่าขนาดใหญ่ที่เสี่ยงต่อการสูญพันธุ์ จึงได้มีการตั้ง กลุ่มรักษ์กระทิงเขาใหญ่ขึ้นเพื่ออนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะสัตว์ป่าที่ ยังพบปัญหาการล่าอยู่เสมอ ทํางานร่วมกับมูลนิธิคุ้มครองสัตว์ป่าและพรรณพืชฯ จนกระทั่ง มูลนิธิฯ ยุติการดําเนินการชั่วคราวในปี 2550 กลุม่ อนุรักษ์นี้จึงกลายเป็นตัวหลักในการดูแลพื้นที่ ปัจจุบันคาดว่า มีกระทิงที่เขาแผงม้าประมาณ 50 ตัว เปิดให้นักท่องเที่ยวเข้าชมกระทิงได้ ทุกวันตลอดทั้งปี โดยช่วงเวลาที่กระทิงออกหากินมักเป็นในช่วงบ่ายและเย็นที่มีโอกาสได้พบเห็น ตัวได้มากกว่าเวลาอื่น
สลด-พรานปายิง "กระทิงจาฝูง" เขาแผงมาสาหัส-ตกไหลเขาตาย 15 กันยายน 2554 - นายโชคดี ปรโลกานนท ประธานกลุมอนุรักษเขาแผงมา ต. วังน้ําเขียว อ.วังน้ําเขียว จ.นครราชสีมา เปดเผยเหตุการณพรานปายิงเจากางชัย วา กลุมอนุรักษเขาแผงมารับแจงจากพลเมืองดี บานไทรทองหมูที่ 7 ต.วังน้ํา เขียว จ.นครราชสีมา วา พบกระทิงขนาดใหญถูกยิงไดรับบาดเจ็บหลบเขามาอยู ในปาตีนเขาแผงมา เมื่อวันที่ 12 ก.ย.2554 ที่ผานมา จึงประสานไปยังเขตหามลาสัตวปาเขาแผงมาและอุทยานแหงชาติ เขาใหญ ใหนํากําลังเจาหนาที่ออกติดตามชวยเหลือ ซึ่งกลุมอนุรักษเขาแผงมาไดสนธิกําลังกับเจาหนาที่จากเขตหามลา สัตวปาเขาแผงมาและอุทยานแหงชาติเขาใหญ รวม 20 นาย ออกตระเวนตามหาจนพบกระทิงตัวนี้เมื่อเวลาประมาณ 08.00 น. วันที่ 13 ก.ย. 2554 อยูในพื้นที่บานไทรทอง หมูที่ 7 ต.วังน้ําเขียว หางจากแนวเขตหามลาสัตวปาเขาแผงมา ประมาณ 200 เมตร กางชัยเปนกระทิงเพศผู อายุประมาณ 25 ป น้ําหนักกวา 700 กิโลกรัม คาดวาถูกยิงพรานปาดวยอาวุธปนไมทราบ ขนาดเหนือขาหนาซายเปนแผลฉกรรจ หลบซอนอยูในพงหญาเชิงเขาสูงชัน ทาทางอิดโรย และหวาดระแวงอยางมาก เจาหนาที่พยายามกระชับพื้นที่เพื่อหาทางยิงยาสลบและนําตัวมารักษา แตภูมิประเทศที่เปนเขาสูงชันไมเอื้ออํานวย จึง พยายามนํากําลังโอบลอมและตอนกระทิงตัวดังกลาวใหเขาสูสภาพแวดลอมที่เหมาะสม แตไมเปนผล จนเจาหนาที่ตอง ประชุมกันเพื่อกําหนดมาตรการใหความชวยเหลือใหมโดยวางกําลังสวนหนึ่งคอยเฝาติดตามความเคลื่อนไหว และประเมิน วากระทิงจะออกจากที่ซอนเขามาอยูในสภาพแวดลอมที่เหมาะสมใหยิงยาสลบเพื่อนําตัวไปรักษาในชวงเชาวันที่ 14 ก.ย. 2554 แตพอมาถึงชวงเชา กระทิงกลับหลุดรอดสายตาของเจาหนาที่ไป ประมาณ 14.00 น. วันเดียวกัน ก็พบกระทิงกางชัยลม หรือตาย อยูบนไหลเขาลุงชะลอในเขตอนุรักษพันธุสัตวปา เขาแผงมา สภาพศพอยูในลักษณะตกจากที่สูง เขาพันเถาวัลยและกิ่งไม หัวกระแทกพื้น คอหัก สันนิษฐานวากระทิงตัวนี้ พยายามหนีขึ้นยอดเขาลุงชะลอ แตเกิดพลัดตกลงมา โดยประธานกลุมอนุรักษเขาแผงมา ต.วังน้ําเขียว เขาแจงความและ ลงบันทึกประจําวันไวเปนหลักฐานกับพนักงานสอบสวน สภ.วังน้ําเขียว เพื่อใหติดตามหาตัวคนรายมาดําเนินคดีตอไป นายโชคดีกลาววา จากการสืบประวัติ ทั้งในสวนของภาพถายและขอมูลที่เคยรวบรวมไวตั้งแตป 2537 สามารถระบุ ไดชัดเจนวาเจากางชัย หรือกระทิงที่ถูกยิงตัวนี้ เปนกระทิงเพศผู ซึ่งเปนจาฝูงของกระทิงชุดแรกที่อพยพจากอุทยาน แหงชาติเขาใหญเขามาตั้งถิ่นฐานที่เขาแผงมาตั้งแตป พ.ศ. 2537 โดยครั้งนั้นมีกระทิงเขามาตั้งถิ่นฐานที่เขาแผงมา 7 ตัว และไดจัดทําประวัติพรอมภาพถายบันทึกกิจกรรมและชีวประวัติอยางใกลชิด โดยเฉพาะจาฝูงที่เพิ่งเสียชีวิตลง จนท.ตั้งชื่อ ใหวา "กางชัย" ถือเปนกระทิงจาฝูงตัวแรกที่นําฝูงลงมาหาแหลงที่อยูอาศัยใหมกอนกระทิงกลุมอื่นจะอพยพตามลงมาจน ปจจุบันมีกวา 100 ตัว ความตายของ “กางชัย” ถือเปนการสูญเสียกระทิงเขาแผงมาตัวที่ 14 ตั้งแตป พ.ศ. 2552
เพลงโคราช เปนศิลปะพื้นบานทีม่ กี ารรองรําเปนภาษาโคราช มีความไพเราะ สนุกสนาน
19
ประวัติเลาวา พรานชือ่ เพชรนอยออกไปลาสัตวในเขตหนองบุนนาก อําเภอโชคชัย คืนหนึ่งแกแอบ ฟงลูกสาวพญานาคขึ้นมานัง่ รองเพลงคนเดียวริมหนองน้ํา และประทับใจความไพเราะกับเนื้อหาของเพลง จึงจําเนื้อและทํานองมารองใหคนอื่นฟง ลักษณะเพลงทีร่ อ งเปนเพลงกอม หรือเพลงคูส อง อีกตํานานเลา วา ชาวโคราชไดเพลงโคราชจากอินเดีย โดยพระยาเข็มเพชรเปนผูน ํามาพรอมลิเกและลําตัด โดยใหลิเกอยู กรุงเทพฯ ลําตัดอยูภาคกลาง และเพลงโคราชอยูน ครราชสีมา โดยเปนเพลงกอม ตํานานทั้งสองเลา ตรงกันวาเพลงโคราชระยะแรกเปนเพลงกอม (กอม เปนภาษาโคราชและภาษาอีสาน แปลวาสั้น เพลงกอม หมายถึงเพลงสั้นๆ วาโตตอบกลาวลอยๆ ทั้งมีความหมายลึกซึ้งหรือไมมคี วามหมาย) นอกจากนี้ หมอเพลงสวนหนึง่ ยังเลาวา ในสมัยรัตนโกสินทรมสี งครามไทยกับเขมรบอยครั้ง เมื่อ ไทยชนะครั้งใด ชาวบานจะเฉลิมฉลองดวยการขับรองและรายรํากันในหมูส กทีเ่ รียกวา "ซุมบานสก" ใกล ชุมทางรถไฟถนนจิระ เพลงโคราชจึงเริม่ ทีห่ มูบ า นนี้ ทาทางการรํารุกรําถอย และการปองหู สันนิษฐานวา ประยุกตจากการเลนเจรียง ทีเ่ ปนเพลงพื้นบานของชาวสุรินทรผสมกับเพลงทรงเครื่องของภาคกลาง แตหลักฐานในการเลนเพลงโคราชปรากฏในป 2456 ทีส่ มเด็จพระศรีพชั รินทราบรมราชินนี าถ พระ ราชชนนีพนั ปหลวง เสด็จฯ มาเปดถนนจอมสุรางคยาตรและเสด็จฯ เยือนพิมาย ในโอกาสรับเสด็จครั้งนั้น หมอเพลงชายรุนเกาชือ่ เสียงโดงดังมากชือ่ นายหรี่ บานสวนขา ไดเลนเพลงโคราชถวาย
องคกรอนุรกษ กั สําคัญในวังน้ําเขียว กลุม รักษ ก กระทิงเขาใหญ รวบรรวมสมาชิก 32 คนกอตั้งเมื่อปลายป 2547เพืออนุ อ่ รักษ บําเพ็ญ ประโยชชน และเปนสื่อกลางในนการแจงขาวหลังจากพบบวากระทิงที่เขาใหญถูกล ก าบอยครั้งในชวงนั้น กลุม อนนุรักษเขาแผงมา (กลุมกล ม วยปา) ระดมทุนเพื่ออจัดกิจกรรมเฝาระวังแลละปองกันไฟปาและ สรางเววทีเครือขายชุมชนรอบผืผืนปาในการสงเสริมการรมีสวนรวมรักษาฐานทรัรัพยากรธรรมชาติ
Life & Land Forest & Fire กฤชกนก > โครงการจัดสรรที่ดินทํากินแก่ราษฎรผู้ยากไร้ในพื้นที่ป่าสงวนเสื่อมโทรม (คจก.) เป็นโครงการของกองอํานวยการรักษาความมั่นคงภายในที่รัฐบาลชุดพลเอกชาติชาย ชุณหวัณ อนุมัติตั้งแต่วันที่ 17 เมษายน 2533 เพื่อเพิ่มพื้นที่ป่าไม้ของประเทศให้ได้ 40 % พร้อมกับจัดสรร ที่ดินทํากินให้ประชาชนผู้ยากไร้ที่บุกรุกป่าสงวนอยู่อย่างผิดกฎหมาย ให้มีหลักแหล่งทํากินที่ ชัดเจนและกฎหมายรองรับ สํานักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) ได้ปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมมาตั้งแต่ ปี 2518 โดยนําที่ดินของรัฐและที่ดินที่จัดซือ้ จากเอกชนมาจัดให้เกษตรกรที่ไม่มีที่ดินทํากินเป็น ของตนเอง หรือไม่เพียงพอแก่การครองชีพ เข้าทําประโยชน์ เช่า หรือเช่าซือ้ พร้อมจัดอบรมการ ทําเกษตร การสนับสนุนสินเชื่อ และโครงสร้างพืน้ ฐานให้ โดยแต่ละโครงการจะมีการจัดสรรพื้นที่ เป็นส่วนๆ อาทิ แปลงป่าชุมชน แปลงเกษตรกรรม แหล่งน้ํา ถนน และธรณีสงฆ์ เป็นต้น กฤชกนก > นิคม คจก. นครราชสีมา ในป 2546 กรมปาไมมอบให ส.ป.ก. นําที่ดิน 3,798 ไรของบริษัทเอกชน (วนาวาส จํากัด) ไปจัดสรรให เกษตรกร (ยากจน) ในจังหวัดนครราชสีมาเพื่อทําการเกษตร จนรวมตัวกันเปนนิคมเศรษฐกิจพอเพียง นิคมเศรษฐกิจพอเพียง เขตปฏิรปู ทีด่ ิน อ.วังน้ําเขียว ตัง้ อยูในทองที่บานคลองบง หมูที่ 9 ต.วังน้ํา เขียว และบานโคกสันติสุข หมูที่ 9 ต.วังหมี อ.วังน้ําเขียว จ. นครราชสีมา ในเขตพื้นทีป่ าสงวนแหงชาติเขา ภูหลวง (โซนอี) โดยเริ่มนําเกษตรกรรุนใหมที่ผานกระบวนการพัฒนาและฝกโดยวิทยาลัยเกษตร เขามา บุกเบิกเมื่อราวป 2551 แตละคนไดรับจัดสรรที่ดินราว 2 ไรเศษๆ และดําเนินการจัดสรรแลวกวา 100 ราย โดยเกษตรกรเลหานี้สามารถใชทด่ี ินและความรูที่อบรมมาในการสรางรายไดเฉลี่ยนไมตํา่ กวาเดือนละ 25000 บาท หักตนทุนการผลิตประมาณครึ่งหนึ่ง เทากับพวกเขามีรายไดสูงกวาเงินเดือนปริญญาตรี ปจจุบันนิคมแหงนีด้ ําเนินการในระบบสหกรณ ปลูกผักปลอดสารพิษและเลี้ยงสัตว โดยเกษตรกรทํา ปุยหมักชีวภาพใชเองและปลูกพืชสมุนไพรไลแมลงแทนสารเคมี มีการสาธิต ฝกอบรม และถายทอด ประสบการณตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงในนิคมฯ และจัดการทองเที่ยวเชิงเกษตร
21
ไฟป่า wildfire, forest fire เป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติของระบบนิเวศป่าไม้ ในอดีตไฟป่าจะจํากัดอยู่ในเขตป่าผลัดใบ
เช่น ป่าเต็งรัง หรือป่าเบญจพรรณ ที่มีใบไม้ร่วงสะสมในฤดูแล้ง เพราะเมื่อไปถึงป่าดงดิบหรือเขตชุ่มชื้น เช่น บริเวณ ลุ่มน้ํา ไฟจะลดความรุนแรงและดับไปในที่สุด สาเหตุที่ไฟป่าเกิดขึ้นบ่อยในฤดูแล้งเนื่องจากเป็นฤดูที่อากาศแห้ง หญ้า หรือต้นไม้เล็กๆ แห้งตายกลายเป็นเชื้อเพลิง แต่ตัวการสําคัญก็คือมนุษย์ ทั้งการเผาไร่จนไฟลุกลาม การเผาป่าเพื่อล่าสัตว์ และเก็บของป่า การทิ้งก้นบุหรี่ขณะใช้เส้นทางในป่า การเผาป่าให้เกิดหญ้าระบัดเพื่อเลี้ยงสัตว์ รวมถึงความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ ของนักท่องเที่ยว และการกลั่นแกล้งหรือคึกคะนองของคนในพื้นที่ การจัดการไฟป่าระดับชุมชน ต้องทํามากกว่าประกาศห้ามเผา การจัดการทีด่ ีคือการเฝ้าระวังและป้องกันไฟป่าในพื้นที่ โดยรอบชุมชน ประกอบด้วยการสร้างจิตสํานึก ให้ความรู้เรื่องอันตรายของไฟป่าและแนวทางป้องกันไฟที่ถูกต้อง เช่น การ ทําแนวกันไฟ วิธีการเฝ้าระวัง เช่น สังเกตปริมาณเชื้อเพลิง กําจัดวัชพืช การลาดตระเวน การแจ้งข่าว และการดับไฟ ซึ่งต้อง อบรมและจัดเครื่องมือให้ ทั้งอุปกรณ์ดับไฟ เครื่องมือสื่อสาร และยานพาหนะ การชิงเผา early burning คือ การเผาโดยกําหนด (prescribe burning) ซึ่งนิยมทําในช่วงต้นฤดูไฟป่าเพราะมีหญ้าและ ใบไม้แห้งเป็นเชื้อไฟ การชิงเผาช่วยลดปริมาณเชื้อเพลิงในป่าและเกิดหญ้าระบัดเป็นอาหารสัตว์ป่า แนวกันไฟ firebreak คือ แนวกีดขวางตามธรรมชาติหรือที่มนุษย์สร้างขึ้นเพื่อหยุดยั้งไฟป่า หรือเป็นแนวตรวจการณ์ไฟ โดยกําจัดเชื้อเพลิงทีท่ ําให้เกิดไฟป่าออกเพื่อตัดช่วงความต่อเนื่องของเชื้อเพลิง ป้องกันไฟลุกลามเข้าพื้นทีค่ ุ้มครอง หรือ ป้องกันไฟลุกลามออกจากพื้นที่ที่กําหนด เป็นการทําล่วงหน้าก่อนเกิดไฟป่า โดยใช้การเผา ใช้สิ่งที่มีอยู่ เช่นลําห้วย ผาหิน ถนน ทางรถไฟ ใช้สารเคมี เช่น ยากําจัดวัชพืชหรือสารหน่วงไฟ (มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม) หรือใช้วิธีให้น้ําแก่พืชหรือปลูก พืชสีเขียวตลอดปี เช่น กล้วย หรือป่าชุมชน ซึ่งเป็นแนวกันไฟถาวร แนวดับไฟ Fire line แนวกันไฟที่ทําขึ้นขณะเกิดไฟไหม้เพื่อช่วยในการดับไฟทางอ้อม หรือการดับไฟด้วยไฟ
22
การเขียนสารคดี สารคดี คือ การให้ข้อมูลความรูใ้ นลักษณะที่น่าสนใจ ชวนอ่าน โดยใช้กลวิธหี รือเทคนิคของงาน วรรณกรรม สอดแทรกองค์ประกอบที่น่าสนใจเพื่อให้ผอู้ ่านอยากติดตามและได้ความสนุกสนาน เพลิดเพลิน สารคดีที่ดีควรมีธีมหลักเพียงหนึ่งธีม (หรือสอง) เท่านั้น และควรนําเสนอประเด็นที่ต้องการ ให้มีเอกภาพ ลําดับความให้ต่อเนื่องสอดคล้องกันทั้งเรือ่ ง ผู้เขียนควรทําตัวเป็น หู ตา จมูก ปาก ให้ ผู้อ่าน ด้วยการสังเกต ฟัง ถาม และบอกเล่าหรือบรรยายสิ่งที่ได้เห็น ฟัง และปฏิบัติอย่างละเอียด โครงสร้าง ชื่อเรื่อง ความนํา ส่วนเชื่อม เนื้อเรื่อง >>> ความจบ
เนื้อหา
องค์ประกอบ
ธีมหลักที่ต้องการนําเสนอ (เนื้อหา/ประเด็นหลัก) ประเด็นที่ 1
< Thread (ตัวละครเล่าเรื่อง, สิ่งของที่เชื่อมโยงเรื่อง) < ข้อเท็จจริง (สถิติ ตัวเลข ประวัติความเป็นมา) < ประจักษ์พยาน (บุคคล เรื่องเล่า) < เสียง (คําสัมภาษณ์, บทสนทนา) < ภาพ (การบรรยายสถานที่ เวลา บรรยากาศ) < การสังเกต (ความรู้สกึ ของตัวละคร ความรู้สึกและ < ความคิดเห็นส่วนตัว สัมผัสทั้งห้าของผู้เขียน)
ประเด็นที่ 2 ประเด็นที่ 3
การเก็บข้อมูล ข้อมูลในการเขียนสารคดีประกอบด้วย ข้อมูลโดยตรง (จากการสัมภาษณ์หรือการซักถามผู้รู้ การ สังเกตพฤติกรรม ปฏิกิริยาของคนรอบข้าง และบรรยากาศแวดล้อม การมีส่วนร่วมหรือลงมือปฏิบตั ิ ด้วยตนเอง) และ ข้อมูลโดยอ้อม (การค้นคว้า การอ่านหนังสือ ตํารา เอกสารต่างๆ การฟังคําบอกเล่า ของผู้อื่นต่อเรื่องหนึ่งๆ) ซึ่งควรจะมีทั้งสามอย่างประกอบกัน ไม่วา่ จะเขียนสารคดีอะไรก็ตาม แนวทางการเก็บข้อมูลบุคคล ควรสอบถามคนหลายคนในแต่ละประเด็น อย่าคิดว่าได้แล้ว พอแล้ว ทั้งนี้เพื่อตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลที่ได้ และเพื่อให้เห็นแง่มุมความคิดต่าง นอกจากนี้ ควร สอบถามคนหลายๆกลุม่ เพื่อเป็นตัวแทนความคิดเห็นของผู้มสี ่วนได้สว่ นเสียทุกฝ่าย เนือ้ หาที่นําเสนอ จะได้ครบถ้วน รอบด้าน และเป็นกลางที่สุด การสัมภาษณ์คนจํานวนมากยังเอื้อให้ผ้เู ขียน "เลือก" บุคคลที่นําเสนอประเด็นได้ชัดเจนและแหลมคมที่สุด ทําให้งานเขียนมีพลังมากขึ้น ข้อมูลยังมาจากการ สังเกตบุคลิก สีหน้าแววตา คําพูด พฤติกรรม ลักษณะนิสัย รวมไปถึงบริบทรอบตัวของบุคคล เช่น บ้านเรือน ที่ทาํ งาน ผู้คนแวดล้อม สัตว์เลี้ยง อีกด้วย ทั้งนี้ นอกจากการบันทึกเสียง ผู้เก็บข้อมูลควรจดบันทึกส่วนตัวไว้ด้วย สิง่ หลักๆ ที่ควรจดมี 3 อย่างด้วยกัน คือ (1) ข้อความสําคัญ ที่ฟังแล้วมั่นใจว่าต้องใช้หรือมีโอกาสได้ใช้ (อาจจะจดข้อความนั้น และ/หรือ ช่วงเวลาในแถบบันทึกเสียงเพื่อให้รู้ตาํ แหน่งและสามารถกลับไปฟังซ้ําได้ง่าย) (2) อากัปกิริยาของผูพ้ ูด สีหน้า แววตา รวมทั้งบรรยากาศแวดล้อม ทั้งสถานที่ เวลา อากาศ ผู้ฟังคนอื่นๆ อารมณ์โดยรวมของกลุม่ (3) ทีส่ ําคัญที่สุดคือบันทึกความรู้สึกของตัวเองในขณะนั้น เช่น ชอบ ไม่ชอบ เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย แง่คิดที่ได้จากการฟัง ประเด็นคาใจเพื่อไว้ถามต่อหรือถามบุคคลอื่น เป็นต้น หลักสําคัญในการเก็บข้อมูล คือ การศึกษาประเด็นล่วงหน้า มีเรื่องราวทีต่ ้องการรู้ ช่องว่างที่ต้องการ เติมเต็ม คําถามทีต่ ้องการคําตอบ และแสวงหาผู้รหู้ รือช่องทางที่จะตอบ เติม หรือให้ข้อมูลที่ต้องการได้ ถูกต้องครบถ้วนทีส่ ุด ทั้งในแง่วิชาการ ผลกระทบ ความรูส้ ึก และอื่นๆ โดยเลือกบุคคลที่เชื่อถือได้ รู้ลกึ
Feature writing รู้จริง ในเรื่องนั้นๆ ควรให้ความเคารพผู้ให้ข้อมูลไม่ว่าจะเป็นใคร ควรนัดหมายเวลาล่วงหน้าหากทําได้ และรักษาเวลาที่ตกลงไว้อย่างเคร่งครัด ซักถามอย่างมีมารยาทและมีสมั มาวาจา ใช้ความอ่อนน้อม จริงใจเป็นทีต่ ั้ง ไม่ใช้อคติหรือตัดสินคนล่วงหน้า และใช้เวลาของเขาให้เกิดประโยชน์สูงสุด เช่น ไม่ถาม คําถามพื้นๆที่หาคําตอบเองได้ เป็นต้น
ข้อคิดในการเขียนสารคดี อย่าเสียดาย ทั้งเวลาและข้อมูล พยายามใช้เวลาในการเก็บข้อมูลให้ได้มากที่สุด แต่เวลาเขียน ให้ เลือกแล้วเลือกอีก คัดและตัดทอนเฉพาะข้อมูลทีใ่ ช่ น่าสนใจ และมีพลังในการนําเสนอประเด็นที่ ต้องการดีที่สดุ เท่านั้น อย่าโอ้อวดว่าทํางานหนักด้วยการใส่ข้อมูลที่ไม่จําเป็น ไม่หลงประเด็น สิง่ ที่ต้องการนําเสนอจะต้องชัดเจนตัง้ แต่ต้นจนจบ มีเอกภาพทั้งเรือ่ ง เช็คความถูกต้องของข้อมูลทุกครั้ง (วันเดือนปี ชื่อนามสกุล ยศ ตําแหน่งหน้าที่ ข้อมูลเฉพาะที่ไม่ ควรผิด) อย่าเชื่อแหล่งข่าวทุกอย่าง ต้องตรวจสอบเสมอแม้เรื่องเล็กน้อย ฟังคําแนะนําของ บ.ก. และ คําวิจารณ์ของผู้อ่าน ระวังประเด็นทางกฎหมาย (การละเมิด) และจรรยาบรรณ ทั้งการเขียนเรื่องและถ่ายภาพ การเขียนที่ดี
• • • • • • • • • • • • •
เป็นตัวของตัวเอง ใช้ภาษาไทยที่ดี ถูกอักขระ ไวยากรณ์ (หลีกเลี่ยง passive voice “ได้รบั ” ≄ “ถูก”) เขียนให้เข้าใจง่าย หลีกเลี่ยงภาษาต่างประเทศหรือศัพท์เฉพาะ หลีกเลี่ยงคําศัพท์หรือสํานวนที่ใช้ กันเกร่อจนเฝือ (ใบหน้าเปื้อนยิ้ม) เฉพาะเจาะจง เลือกกิริยาทีม่ ีพลังแสดงการกระทํา อธิบายด้วยรายละเอียด อย่าใช้คําพูดลอยๆ หรือคําคุณศัพท์ดาดๆ เช่น สวย แพง ถูก จํานวนมาก เยอะ เต็มไปหมด (ซึ่งแต่ละคนกําหนด นิยามไม่เท่ากัน) แต่ให้เลือกคําที่เจาะจง อธิบายชัดเจน เห็นภาพ เข้าใจได้ตรงกันโดยไม่ผดิ เพี้ยน การใช้คําหยาบคาย ต้องอยู่ใน “-” และมีเหตุผลทีด่ ีพอเท่านั้น เลือกใช้ภาษาเขียนหรือภาษาพูดให้เหมาะกับบริบทของเรื่อง แนวหนังสือ และกลุ่มผู้อา่ น ให้ความสําคัญกับ lead และ ending ความนําช่วยดึงความสนใจให้เข้าสู่เรื่อง ความจบทีห่ ักมุม หรือกระแทกใจช่วยให้ผู้อา่ นจดจําเรือ่ งนั้นไปอีกนาน เรียบเรียงข้อมูลให้เป็นลําดับ ลื่นไหล ไม่สะดุด ระวังการเขียนวกวน ซ้ําซาก หรือย้ําประเด็นเดิม เมื่อพูดเรื่องหนึ่งจบแล้ว ไม่จําเป็นต้องพูดซ้ําหรือตอกย้ําอีก อย่าสรุปความ ให้ตัวละครพูดเองหรือแสดงให้ผู้อา่ นเห็นจากการเล่าเรื่อง การพรรณนา โดยเฉพาะบุกลิก ลักษณะ การกระทํา คําพูด ปฏิกิริยาของบุคคล ใช้สัมผัสทั้งห้าบรรยายให้เกิดความรูส้ ึก เห็นภาพ ได้กลิ่น รับรูร้ ส และตระหนักถึงรายละเอียด เครื่องหมายคําพูดมีคุณค่าและความหมาย ใช้เมื่อมีสิ่งที่น่าสนใจและตรึงใจ หรือเป็นสิ่งที่ผพู้ ูดจะ ทําได้ดีกว่าเราเขียน อย่าใส่เครื่องหมายคําพูดกับการเอ่ยถึงข้อเท็จจริงทัว่ ไป แต่เก็บไว้สาํ หรับ ความคิดเห็นและประสบการณ์ที่พิเศษเฉพาะจริงๆ ใช้ความคิดสร้างสรรค์ ทดลองนําเสนอวิธีการใหม่ๆ เขียนแล้วเขียนอีกจนกว่าจะดีทสี่ ุด (ในเวลาที่อาํ นวย)
23
Notes
25
Trippers นฤภร แก้วยวน (กล้วย) หทัยรัตน์ รัตนจงกล (แอม) ธัญชนก จิตรการุณรัตน์ (มุก) นภสรณ์ ไชยวุฒิกรณ์วานิช (ตั๊ก) จิดาภา เอกอินทร์ (อ้อม) ศุภกิตติ์ แสวงการ (บลู) ศากุน บางกระ (โจ้) ฐชาภัทร ศรีหมื่นไวย (ขิง) อรวรรณ ธีรพัฒนไพโรจน์ (มุก) ศิกษก ศุขถุงทอง (ไอซ์) กฤชกนก ศรีเมือง (เมย์) รัญชิดา คนิยมเวคิน (รุ้ง) วรางคณา บุราณเดช (แตงโม) ชมพูนุท ทับทิมชัย (พลอย) มนต์ประไพ หิรัญบูรณะ (ยิ้ม) พีรยา เวชชศาสตร์ (แอม) วรัญญา ดอยลอม (อาย) ธมวรรณ สมัครอภิรักษ์ (เบลล์) สิริกานต์ กิตติลักษณวงศ์ (มุก) ชญานิศ ส่งเสริมสวัสดิ์ (มิว) คัทลียา แว่นแก้ว (พี่พู่) กัญญา ลาซ้อน (พี่บี) กัญญ์ชลา นาวานุเคราะห์ (พี่ก้อย) ราชศักดิ์ นิลศิริ (พี่ฮุก)
ราชศักดิ์ นิลศิริ (พี่ฮุก) นักเขียนประจํากองบรรณาธิการนิตยสาร เนชั่นแนล จีโอกราฟฟิก (ภาษาไทย) มีประสบการณ์ในการ เขียนสารคดีหลากหลายรูปแบบ มีลีลาในการสืบค้น ข้อมูล และเทคนิคเข้าถึงชาวบ้านที่ไม่เหมือนใคร (และยากที่ใครจะลอกเลียนแบบได้) แต่มีหลายสิ่ง ที่สามารถ และสมควร เรียนรู้จากผู้ชายคนนี้
กัญญ์ชลา นาวานุเคราะห์ (พี่ก้อย) นักเขียนสารคดีและนักแปลฟรีแลนซ์ที่เปี่ยมความ สามารถ ทั้งเขียนสารคดีให้ เนชั่นแนล จีโอกราฟฟิก (ภาษาไทย) ทั้งมาช่วยสอน visual culture ในวิชา วส 316 แต่งานหลักที่อยากเอาดีคือการวาดลายเส้น เก๋ๆและสีน้ําเท่ๆ ขอชมฝีไม้ลายมือและอุดหนุนผลงาน Findland by Hand ได้ที่ร้านหนังสือทั่วประเทศ
อยู่น้ํา จึงรู้คุณน้ํา อยู่นา จึงรู้คุณนา อยู่ป่า จึงรุ้คุณป่า รักไม้ รักป่าพนาลี
อยู่ถ้ํา รู้คุณคูหา รู้คุณข้าวปลานาดี รู้จักรักษาราศี รักชีวิตสัตว์สารพัน
ทิ้งน้ํา ไม่รู้คุณน้ํา ทิ้งไร่ ทิ้งนาเนืองนันต์ ทิ้งป่า ไม่รู้คุณป่า เป็นผิด เป็นพิษ เป็นภัย ยิ่งใหญ่ยิ่งดีตีตรา จับใส่โสร่งโยงยาม อยู่เมืองจึงมีตาเมือง ปราบทุ่งเป็นทางลายแทง คือความเจริญเดินหน้า ทางด่วน ทางเอก ทางโท ไม่รู้คุณฟ้าคุณดิน อํานาจบาตรใหญ่ยําเยง คนกันเองทั้งนั้น
ทิ้งถ้ํา ทิ้งคูหาสวรรค์ ข้าวปลาเคยปันเปลี่ยนไป สิงห์สาราสัตว์น้อยใหญ่ เห็นไม้ เป็นเงิน งอกงาม ราคากําไรหลายหลาม เป็นไม้มีนามสําแดง ไว้คอยชําเลืองหลักแหล่ง เปลี่ยนแปลงเป็นตึกใหญ่โต คือความพัฒนากว่าโก้ ทางใจไหวโหว่ วังเวง ลืมทุ่งลืมถิ่นข่มเหง ล้วนคนกันเองทั้งนั้น สืบเจตนาซี
ป่างามแผ่นดินงาม ผันเคลื่อนให้เดือนปี ใจทรามคือใจสัตว์ คลาดเคลื่อนทั้งจักรวาล ใจสืบจึงพิสูจน์ ใจสืบใจรักษา ใจสืบคือใจสู้ ฟ้องยุคประจานยาม เอาชีพเข้าแลกชีพ สืบภูและสืบไพร ปลดชีพเพื่อปลุกชีพ ปลุกจิตสํานึกคน สิ้นสืบไม่สิ้นสืบ ทอดชีพใช่ทอดทิง้ สืบเจตนา สืบ นาคะสืบเทียนเพื่อส่งเทียน
และโมงยามก็ยินดี เป็นปกติฤดูกาล อุบาทว์วิบัติประหัตประหาร แล้ววิกฤติทั้งโลกา เพื่อใจสืบเจตนา ให้ป่างามแผ่นดินงาม กับใจสัตว์อันแสนทราม อันทุรยุคไปทุกสมัย อันเป็นทิพย์อมันไตย ให้คงชีพ ณ ใจชน ชูประทีปแก่สากล ให้รักถิ่นแผ่นดินจริง สืบเจตนานี้ใหญ่ยิ่ง จงชีพจดเป็นบทเรียน -เสถียร สถิตย์เสถียร สว่างทั่วแผ่นดินเทอญ
"เดือนหงายกลางป่า" เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์
“The Road Not Taken”
ทางแยก
Two roads diverged in a yellow wood, And sorry I could not travel both And be one traveler, long I stood And looked down one as far as I could To where it bent in the undergrowth;
ถนนสายนี้ แยกเป็นสองเส้นทาง หนึ่งนั้นพราวพร่าง สอางด้วยความวิไล
Then took the other, as just as fair And having perhaps the better claim, Because it was grassy and wanted wear; Though as for that, the passing there Had worn them really about the same, And both that morning equally lay In leaves no step had trodden black Oh, I kept the first for another day! Yet knowing how way leads on to way, I doubted if I should ever come back. I shall be telling this with a sigh Somewhere ages and ages hence: two roads diverged in a wood, and I — I took the one less traveled by, And that has made all the difference. Robert Frost
สวยด้วยแสงเงินทอง ที่ก่ายกองทั่วไป โรยกลีบดอกไม้ อันสดใสตระการ อีกทางหนึ่งนั้น เปีย่ มด้วยความยากเย็น สิ่งที่มองเห็น คือทุกข์ทรมาน ทางมันแสนลําเค็ญ ใครแลเห็นไม่ผา่ น เพราะไม่สราญ ดัง่ ทางอันสดใส เจ้าพิราบเอย เจ้าได้เห็นผ่านมา สิ่งที่เจ้าหา อยูบ่ นหนทางเส้นใด ทางหนึง่ แสนเป็นสุข ทางหนึง่ ทุกข์ยงิ่ ใหญ่ หนทางเส้นไหน เจ้าโบยบินสู่มนั เพลงเพื่อชีวติ - นิรนาม
โครงการนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา วส 318 การเขียนสารคดี กลุ่มวิชาหนังสือพิมพ์และสิ่งพิมพ์ คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2555