ร่วมกันตามหาความหมายและคำจำกัดความของคำว่า Good will grow ใน NO.475 Social Change ด้วยการเริ่มต้น ปลูกความดีลงในหัวใจ โดยเริ่มต้นจากจุดที่เล็กที่สุด คือ ตัวเอง และแตกยอดเมล็ดพันธุ์แห่งความดีให้แผ่ขยายไปสู่ครอบครัว ชุมชน และประเทศชาติต่อไป
ในวันนี้สิ่งที่เราให้ความสำคัญไม่ยิ่งหย่อนไปกว่างานหลักของพวกเรา ก็คือการทุ่มเทเวลา ในการลงพื้นที่ เพื่อร่วมหารือและผลักดันภารกิจสำคัญระดับชาติที่แสนสิริเรียกว่า SOCIAL CHANGE: Building the Future for Children เพราะเราเชื่อว่า การร่วมมือ ร่วมใจกัน ส่งเสริมและแก้ปัญหาเพื่อเด็กอย่างยั่งยืน เป็นการทำงานตอบแทน คืนสู่สังคมที่ดีที่สุดอย่างแท้จริง ผมเชื่อมั่นว่า...พลังการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญสำหรับเด็กซึ่งเป็นอนาคตของชาตินั้น ไม่ใช่ แค่เพียงการบริจาคชั่วครั้งชั่วคราวแต่ควรเป็นการบริจาคเวลา เพื่อทุ่มเทแก้ปัญหาเพื่อ เด็กอย่างจริงจัง ซึ่งแสนสิรินับเป็นเกียรติอย่างสูงที่ได้ร่วมมือกับองค์การสหประชาชาติ ที่มุ่งหวังการพัฒนาแบบยั่งยืนอย่างยูนิเซฟ ผมหวังว่าจากบ้านเลขที่ 475 อาคารสิริภิญโญ ที่วันนี้เราได้สร้างองค์กรให้เป็นมิตรกับเด็ก จะเป็นจุดเริ่มต้นในการร่วมกันส่งต่อและจุดประกายการช่วยเหลือเด็ก ส่งต่อไปยัง บ้านเลขทีท่ กุ ๆ หลังในครอบครัวแสนสิริ เพือ่ ร่วมสร้างพลังการเปลีย่ นแปลงทีย่ ง่ิ ใหญ่ให้กบั อนาคตของชาติครับ ‘Good will grow’ เศรษฐา ทวีสิน
twitter.com/Thavisin
ชวนคุณร่วมกันปลูกความดีให้เจริญงอกงาม
www.sansiri.com/goodwillgrow สนุกกับการทำความดีร่วมกัน ผ่านกิจกรรมบนออนไลน์ ด้วยการเลือกดูตำแหน่งทีต่ งั้ ของมูลนิธติ า่ งๆ ในการหาพิกดั เพื่อเริ่มต้นการทำความดีบนแผนที่ที่ใกล้ที่สุด และร่วมกัน ปลูกต้นไม้ออนไลน์ให้เติบโต ด้วยการลงมือแบ่งปันเรื่องราว ความดีในแบบตัวของคุณด้วยวิธีง่ายๆ 4 ขั้นตอน เริ่มต้นด้วยการ Log In ผ่าน Facebook Account ของคุณเอง
1.
เสิร์ชหา Sansiri Family แล้วกด Like
2.
ปลูกต้นไม้ให้งอกงามขึ้นด้วยการแบ่งปันเรื่องราว การทำความดีของคุณ
3.
ดูแลต้นไม้ให้งดงามยิ่งขึ้น ด้วยการหมั่นทำความดี แล้วนำมาบอกต่ออย่างสม่ำเสมอ
4.
สนุกกับการปลูกต้นไม้แห่งความดีแล้ว อย่าเก็บไว้ดคู นเดียว... เขียนเรือ่ งราวการทำความดีของคุณลงบนโปสการ์ด ‘My Wish Journal’ แล้วนำมาถ่ายภาพร่วมกับต้นไม้บนปกนิตยสารของคุณ ส่งผลงานมาที่ social@sansiri.com ตัง้ แต่ วันนี้ - 15 ธ.ค 54 วันนี้คุณสามารถร่วมเปิดรับและแบ่'Ĕง+ปั%A")8 นประสบการณ์ ดีๆ รวมถึงความประทับใจใน A")8 5 A'ëI1 '6+ 9G 9I 5J D 5 .''%6 7A. 1 เรื่องราวต่างๆ กับพวกเราได้ แ ล้ ว ที ่ 475@sansiri.com Center A'6 9D /6 £¤ A)Ĕ% 9J 7D/ĕ < หรื&8ù%อE ĕSansiri 4 9 ĕ6Call < Ĕ +& 5 '5 -6.$6"/ 5
.; 1 D/ĕ Ĕ 6 1Ĕ 6 B)4E%Ĕ 7 )5 ĕ6 0-2201-3999 A"÷I1 9I +6%.< A/)Ĕ6 9J 4E ĕ = B Ĕ ę D/ĕ 1;I GE ĕ ;I % Ĕ1E
CONTENTS I S S U E 3 / 2 0 11 GOOD will grow: BUILDING the FUTURE for CHILDREN through SOCIAL CHANGE
นอกจากเด็กๆ จะสนุกกับการเฝ้าดูต้นไม้ค่อยๆ งอกขึ้น แถมยังได้ใช้กรรไกรตัดแต่งความสูงของต้นไม้ ได้ตามชอบใจแล้ว ยังได้สนุกกับการระบายสีบนตัว C ให้สวยงามอีกด้วย เมื่อเด็กๆ แต่งตัวให้ตัว C แล้ว อย่าลืมวาดรูปและระบายสีเป็นทรงผมให้ตัว C ได้ สวย หล่อ เหมือนต้นไม้บนหน้าปกด้วยนะ
ร่วมค้นหาความหมายของคำว่า GOOD will grow ไปพร้อมกับ NO.475 ด้วยการเริ่มต้นปลูกความดีลงบนหัวใจ ไปพร้อมๆ กับสร้างจิตสำนึกเพือ่ คนในสังคม
30
WAY 18-21 : KEEP UPDATED What’s happening around the world
52-53 WAY 70 : SCIENCE SPOT Electrostatic fan
31
WAY 22 : CREATIVE PLAYGROUNDS Once upon a time
54
WAY 71 : LIVE AND LEARN
55
WAY 72-75 : KEEP UPDATED What’s happening around the world
32-33 JOURNAL JOURNEY Good reason never ending 4
PRESIDENT’S NOTE
8-9
ZOOM-IN
34
WAY 23 : LOVE @ FIRST READ Book for Africa
35
WAY 24-28 : BUILDING IMAGINATION Child needs play
16-17 ON FOCUS 18
SOCIAL CHANGE
19
TO DO GOOD MAP
20
WAY 1-4 : KEEP UPDATED What’s happening around the world
21
WAY 5 : CLOTHES DONATION Old clothes for new life
22
WAY 6 : STAR SOCCER 1 goal education for all
23
WAY 7-11 : BEDTIME STORIES Top 5 fairy tales for children
56-57 DIGITAL Let’s play together 58-59 WAY 76 : FOOD NUTRITION Easy breakfast recipe 60
WAY 77-81 : GROWING HAPPY KIDS
61
WAY 82 : AGAINST HUNGER One click @ a time
36
WAY 29 : AWAKEN IMAGINATION
62
WAY 83 -92 : LOVING TOGETHER
37
WAY 30 : FOOD BANK
63
WAY 93 : GET STARTING
38-39 WAY 31 : PLAYFUL FACTORY Never ending stories
64
WAY 94 : SWEET SHARING
65
WAY 95 : LOVE SEWING Mom made toys
66
WAY 96 : UP COUNTRY HERO
67
WAY 97 : DIGITAL RESCUE
68
WAY 98 : GIVEN AN OPPORTUNITY
69
WAY 99 : SPECIAL EDUCATION MEETING
70
WAY 100 : FROM GOOD TO GREAT
40
WAY 32 : PRINTABLE REWARD
41
WAY 33 : PASSAGE TO IDEA A girl story
42
WAY 34-53 : KEEP SHARING
43
WAY 54 : SWIMMING SUNSHINE Healing therapy
44
WAY 55 : GROWING FOOD, GROWING TOGETHER
45
WAY 56- 65 : DOING GOOD (together)
24
WAY 12 : BIKE JOURNAL I want to ride my bicycle
25
WAY 13 : FOOD NUTRITION I hate veggie
46
WAY 66 : KEEP IT WARM
26
WAY 14 : THE GIVING TREE
47
WAY 67 : PRETTY GOOD THINGS
27
WAY 15 : SCIENCE SPOT The secret of color
48-49 BEAUTY SPEAK OUT Help your child build inner strength
28
WAY 16 : GOING GREEN Gardening for kids
50
WAY 68 : FRUIT NUTRITION Something sweet
29
WAY 17 : FIGHTING HUNGER We feed back
51
WAY 69 : MAKE A LIST
72-73 VOLUNTEER SPIRIT CALENDAR
“แสนสิริและยูนิเซฟ ร่วมจุดประกาย การช่วยเหลือเด็กอย่างยั่งยืน ทุกภาคส่วนต้องมีส่วนร่วม”
8
ISSUE 03/2011
ท่านสามารถดูสุนทรพจน์ของ ฯพณฯ อานันท์ ปันยารชุน อดีตนายกรัฐมนตรีและทูต ยูนิเซฟประจำประเทศไทยได้ที่ www.youtube.com/sansiritv
อี ก หนึ่ ง ความภู มิ ใ จของพนั ก งานแสนสิ ริ ทุ ก คน ที่ แ สนสิ ริ แ ละ ยูนเิ ซฟ ร่วมจุดประกายการช่วยเหลือเด็กอย่างยัง่ ยืน Social Change: Building the Future for Children ภายใต้แนวคิด ‘Children are Everyone’s Business’ โดยได้รบั เกียรติจาก ฯพณฯ อานันท์ ปันยารชุน อดี ต นายกรั ฐ มนตรี แ ละทู ต ยู นิ เ ซฟประจำประเทศไทย และ คุณกิตติรัตน์ ณ ระนอง รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงพาณิชย์ ซึง่ เป็นผูเ้ ชีย่ วชาญด้าน CSR ร่วมด้วย คุณโทโมโอะ โฮซูมิ ผู้แทนองค์การยูนิเซฟ ประเทศไทย คุณโกวิทย์ โปษยานนท์ ประธานกรรมการ และคุณเศรษฐา ทวีสิน กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ บริษัท แสนสิริ จำกัด (มหาชน) ร่วมแสดงเจตนารมณ์ เมื่อวันที่ 8 กันยายน 2554 ณ โรงแรม The St.Regis Bangkok แสนสิริ ถือเป็นองค์กรธุรกิจแห่งแรกในประเทศไทยที่ประกาศ ความร่วมมือกับองค์การยูนิเซฟ ประเทศไทย ซึ่งเป็นหน่วยงาน ของสหประชาชาติ ในการร่วมสนับสนุนโครงการการพัฒนาความ เป็นอยูข่ องเด็กและเยาวชนในประเทศไทยและทั่วโลกอย่างยั่งยืน
โดยตระหนักในด้านสิทธิเด็ก เพื่อสร้างหลักประกันให้เด็กทุกคน ได้รบั สิทธิในด้านต่างๆ อย่างเท่าเทียมกัน นับเป็นเกียรติและความ ภูมิใจสูงสุดในการก้าวสู่การเป็นองค์กรที่เป็นมิตรกับเด็ก รวมถึง เป็นองค์กรตัวอย่างในการดำเนินกิจกรรมเพื่อเด็กอย่างยั่งยืน ทั้งนี้ เพื่อให้ผู้เข้าร่วมงานได้เรียนรู้เกี่ยวกับ Social Change และ นำไปประยุกต์ใช้กับองค์กรของตนเอง ภายในงานจึงได้จัดแสดง นิทรรศการกิจกรรมต่างๆ ของแสนสิริ ซึ่งได้รับความสนใจเป็น อย่ า งมากจากพั น ธมิ ต รทางธุ ร กิ จ อาทิ ธนาคารไทยพาณิ ช ย์ ธนาคารกสิกรไทยที่มาร่วมยินดีและพร้อมที่จะให้ความสนับสนุน นับเป็นนิมิตหมายอันดีในการต่อยอดความร่วมมือของทุกฝ่าย ในการพั ฒ นาและส่ ง เสริ ม คุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ ดี ข องเด็ ก ให้ เ กิ ด ขึ้ น ในอนาคต คุณสามารถร่วมเป็นส่วนหนึ่งใน Social Change ติดตามความ คืบหน้าของโครงการได้เร็วๆ นี้
ISSUE 03/2011
9
เรื่องเด็กไม่ใช่เรื่องเด็กๆ … สิทธิเด็กที่คุณอาจไม่เคยรู้
16
ISSUE 03/2011
“ทุกคนไม่ว่าจะเป็นพนักงาน ลูกบ้าน หรือบริษัทคู่ค้าของแสนสิริ ก็สามารถเป็นส่วนหนึ่งในการมีส่วนร่วมเพื่อสิทธิเด็กนี้ได้ เพราะเรื่องเด็กและการศึกษาเป็นเรื่องของเราทุกคน” องค์การยูนิเซฟเป็นองค์การที่ทำงานเพื่อเด็กโดยเฉพาะ ภารกิจหลักของยูนเิ ซฟ คือการดำเนินงานด้านกรอบอนุสญ ั ญา ว่าด้วยสิทธิเด็ก ซึง่ เป็นข้อตกลงทีป่ ระเทศภาคีทกุ ประเทศรวมทัง้ ประเทศไทยลงนามว่ารัฐบาลต้องดำเนินการเพื่อให้คุณภาพ ชีวติ ของเด็กในประเทศตัวเองดีขน้ึ อนุสญ ั ญาว่าด้วยสิทธิเด็ก พูดถึงสิทธิเด็ก (ในช่วง 0-18 ปี) ทีพ ่ งึ มี 4 ด้านคือ 1. เด็กต้องมีสิทธิจะได้เกิดรอดและมีตัวตน 2. เด็กต้องมีสิทธิที่ได้รับการพัฒนา 3. เด็กมีสิทธิที่จะได้รับการปกป้องคุ้มครองโดยรัฐหรือผู้ใหญ่ 4. เด็กต้องได้รับสิทธิในการมีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็นต่อสิ่งที่ จะเข้ามามีอิทธิพลต่อชีวิตของตัวเอง หน้าที่หลักของยูนิเซฟทั่วโลกคือ เป็นผู้ประสานงานให้รัฐบาล ดำเนินการเพื่อตอบสนองเพื่อสิทธิเด็กในประเทศของตนเอง ให้ ความช่วยเหลือหากประเทศมีทรัพยากรที่จำกัดหรือมีข้อจำกัด ทางด้านโครงสร้างหรือแม้กระทัง่ งบประมาณ ยูนเิ ซฟมีหน้าทีเ่ ข้าไป เติมเต็มเพื่อสร้างหลักประกันว่าเด็กจะได้รับสิทธิทั้ง 4 ด้านโดย ทั่วถึงและเท่าเทียมกัน ในประเทศไทย ยูนเิ ซฟทำแผนปฏิบตั งิ านร่วมกับรัฐบาลโดยเริม่ ต้น จากการสำรวจข้อมูลสถานการณ์ของเด็กแล้ววิเคราะห์ประเด็น ที่ต้องให้ความสำคัญ ปัจจุบันยูนเิ ซฟทำงานหลักอยู่ 4 ด้านคือ 1. การศึกษา มีเด็กจำนวนมากในประเทศไทยไม่มีโอกาสเข้าถึง การศึกษาและได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพอย่างเท่าเทียมกัน 2. การคุ้มครองเด็ก ยูนิเซฟสนับสนุนการสร้างระบบฐานข้อมูล เด็กในทุกระดับ เพื่อให้รัฐบาลสามารถนำข้อมูลเหล่านี้ไปใช้ เพื่อ คุ้มครองและพัฒนาคุณภาพชีวิตด้านต่างๆ ของเด็ก ตลอดจน การเข้าถึงบริการของรัฐอย่างเท่าเทียม 3. HIV AIDS ปัจจุบนั มีเด็กหลายแสนคนทีเ่ ป็นกำพร้าจากพ่อแม่ ทีเ่ สียชีวติ เพราะติดเชือ้ HIV/AIDS เด็กเหล่านีถ้ กู กีดกันและไม่ได้รบั การยอมรับจากคนในชุมชน ทำให้ขาดโอกาสทีเ่ ท่าเทียมกับคนอืน่ ในหลายๆ ด้าน ยูนเิ ซฟยังมีโครงการเพือ่ ป้องกันการติดเชือ้ รายใหม่ จากแม่สู่ลูกที่อยู่ในครรภ์ นอกจากนั้นยังให้ความรู้เรื่องเพศศึกษา และการป้องกันดูแลตัวเองในกลุ่มวัยรุ่น 4. ด้านนโยบายทางสังคมเพือ่ เด็ก ยูนเิ ซฟวิเคราะห์นโยบายของ รัฐบาลรวมถึงการลงทุนที่เกี่ยวกับเด็กในด้านต่างๆ เพื่อใช้รณรงค์
ให้เกิดการเปลีย่ นแปลงทีด่ ขี นึ้ กับเด็กในทุกระดับ โดยใช้ขอ้ มูลสถิติ และการวิเคราะห์เพื่อเสนอแนะให้กับรัฐบาล ถึงแม้ UNICEF จะร่วมมือกับรัฐบาล องค์กรเอกชนต่างๆ รวมทัง้ สือ่ และภาคประชาสังคมเพื่อสร้างหลักประกันว่าเด็กในประเทศไทย ทุกคนจะได้รับสิทธิอย่างเท่าเทียมและทั่วถึงก็ยังไม่เพียงพอต่อ การสร้างความเปลีย่ นแปลงทีด่ ใี ห้กบั ชีวติ ของเด็กๆ ภาคเอกชนอย่าง บริษทั แสนสิรจิ งึ มีบทบาททีส่ ำคัญในการช่วยขับเคลือ่ นสังคมและ รัฐบาล เพือ่ เสริมสร้างวิสยั ทัศน์และปรับปรุงนโยบายการช่วยเหลือ เด็กแบบบูรณาการโดยมุ่งเน้นความยั่งยืนของผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้น ทีส่ ำคัญคือการเน้นให้ความช่วยเหลือเด็กซึง่ เป็นจุดมุง่ หมายเดียวกัน กับยูนิเซฟ การร่วมเป็นภาคีกับบริษัทแสนสิริ จึงเป็นตัวอย่างที่ดี ในการแสดงศักยภาพของภาคธุรกิจเพือ่ สร้างความเปลีย่ นแปลงใน สังคม การเริ่มต้นรณรงค์เชิงนโยบายและการมีส่วนร่วมของภาค เอกชนเป็นสิ่งสำคัญและจำเป็นอย่างยิ่ง แสนสิริเริ่มต้นด้วยการ สร้างความตระหนักและความภาคภูมใิ จให้กบั พนักงานและส่วนที่ เกี่ยวข้องโดยเริ่มต้นจากตัวเองและครอบครัว เช่น การให้โอกาส พนักงานหญิงทีต่ ง้ั ครรภ์มโี อกาสดูแลตัวเองอย่างเต็มทีท่ ง้ั ก่อนคลอด และหลังคลอด มีการจัดเตรียมห้องนมแม่เพือ่ ให้พนักงานทีค่ ลอดลูก สามารถให้นำ้ นมบุตรได้อย่างต่อเนือ่ งหลังคลอด ทัง้ นีเ้ พือ่ ให้พนักงาน ให้ความสำคัญกับเด็กและครอบครัวมากขึน้ นอกจากนีย้ งั มีโครงการ รณรงค์สทิ ธิเด็กด้านอืน่ ๆ เช่น การสานต่อเจตนารมณ์สทิ ธิเด็กระหว่าง แสนสิริและคู่ค้า เช่น การรณรงค์ยุติการใช้แรงงานเด็กในไซต์งาน ก่อสร้าง ตลอดจนการรณรงค์นโยบายระดับประเทศทีท่ ำให้เกิดเป็น กฎหมายบังคับใช้แล้ว เช่น โครงการขจัดโรคขาดสารไอโอดีน ทัง้ นี้ เด็กทีไ่ ด้รบั โภชนาการทีด่ ี เช่น น้ำนมแม่หรือไอโอดีนนับเป็นโอกาส ในการเริม่ ต้นชีวติ ทีด่ ี ทุกคนในครอบครัวแสนสิรเิ ริม่ ตระหนักในสิทธิ ของเด็กมากขึน้ ก้าวต่อไปของแสนสิรกิ บั ยูนเิ ซฟคือการรณรงค์เพือ่ เพิม่ โอกาสด้านการศึกษาของเด็กอย่างทัว่ ถึงและเท่าเทียมทุกคน ไม่วา่ จะเป็นพนักงาน ลูกบ้าน หรือบริษทั คูค่ า้ ของแสนสิริ ก็สามารถ เป็นส่วนหนึง่ ในการมีสว่ นร่วมเพือ่ สิทธิเด็กนีไ้ ด้ เพราะเรือ่ งเด็กและ การศึกษาเป็นเรื่องของเราทุกคน สิ่งที่พวกเรากำลังทำอยู่นี้ไม่ใช่ การสร้างโครงการการศึกษาแต่เรากำลังช่วยกันเปลีย่ นแปลงสังคม เพื่ออนาคตของประเทศไทย...Social Change – Building the Future for Children
ISSUE 03/2011
17
a day Foundation
Kasemkij Hotels
a day Foundation ถือกำเนิดขึน้ เพือ่ ดึงศักยภาพของกลุม่ คนรุน่ ใหม่ มาร่วมกันเป็นอาสาสมัครจัดกิจกรรมสร้างสรรค์สังคมซึ่งเป็น การใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ มีการทำงานร่วมกันกับเครือกลุ่ม อาสาสมัครทัว่ ประเทศ การทำกิจกรรมมีทง้ั แบบทีร่ ว่ มทำกิจกรรม ทีเ่ กิดขึน้ แล้วและเริม่ โครงการใหม่ สำหรับผูท้ ส่ี นใจอยากออกแบบ กิจกรรมเพื่อสร้างสรรค์สังคมสามารถที่จะนำมาเสนอแก่ a day Foundation ได้เช่นเดียวกัน หนึง่ ในพันธมิตรของ a day Foundation คือ กลุ่มนักปั่นจักรยาน ไบค์เซนเจอร์ ธุรกิจส่งเอกสารด้วยการ ขี่จักรยาน ที่ช่วยเหลือสังคมด้วยการเป็นไกด์พาเด็กๆ หรือผู้พิการ ขี่จักรยานในช่วงวันหยุดเสาร์–อาทิตย์ ใครที่สนใจอยากร่วมหรือเสนอกิจกรรมกับ a day Foundation ส่งผ่านแนวคิดและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ได้ทางเฟซบุ๊คของ a day ติดตามข่าวสารและความเคลื่อนไหวต่างๆ ได้ที่
นอกจากการทำธุรกิจโรงแรมและเซอร์วิสอพาร์ตเมนต์แล้ว เกษมกิจโฮเทลส์ยงั ให้ความสำคัญกับการคืนกำไรให้สงั คมด้วยการ ร่วมกับมูลนิธิเด็กโสสะแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชินูปถัมภ์ จัดกิจกรรม ‘SOS สานฝันให้กับเด็กน้อย’ เพื่อเปิดโลกทัศน์สมั ผัส ประสบการณ์ชวี ติ นอกห้องเรียนในช่วงทุกปิดเทอมฤดูรอ้ น ด้วยการ พาเด็กจากหมูบ่ า้ นเด็กโสสะจังหวัดต่างๆ ไปทัศนศึกษายังสถานที่ ที่ไม่เคยเห็น รวมถึงเข้าพักที่โรงแรมในเครือ โอกาสทีส่ องของชีวติ คุณค่าของสิง่ ทีไ่ ม่เคยเห็นและประสบการณ์ที่แตกต่าง จะช่วย สร้างภูมิคุ้มกันให้เด็กๆ เติบโตขึ้นเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพ
www.facebook.com/adayfoundation
LET’S JOIN TOGETHER!!!
18
ISSUE 03/2011
SCG คนเปลี่ยนสังคมเปลี่ยน
SCB ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด
นอกจากมีจุดยืนในการผลิตสินค้าในกลุ่ม ECO Value เป็น รายแรกของประเทศไทย และมีโครงการเพื่อสังคมทั้งในด้าน การศึกษา สิ่งแวดล้อม อย่างต่อเนื่องแล้ว การขับเคลื่อนองค์กร ให้เติบโตอย่างยั่งยืนต่อจากนี้ มีหัวใจหลักอยู่ที่ ‘คน’ SCG ตั้งใจ ที่จะสร้างแรงบันดาลใจให้คนเป็นคนเก่งและคนดีได้โดยเริ่มต้น จากคนในองค์กรของตนเอง ที่จะต้องเก่งทั้งในแง่ของการทำงาน และมีจิตสำนึกในการช่วยเหลือดูแลสังคม โครงการ One Cell One Project เป็นโครงการที่จัดตั้งขึ้นเพื่อให้ พนักงานในเครือบริษัทที่มีมากกว่า 3 หมื่นชีวิต เริ่มต้นที่จะทำ เปลี่ยนสิ่งรอบตัวให้เป็นไปในทิศทางที่ดี โดยกำหนดให้มีแต่ละ แผนก ต้องมีโครงการเพื่อช่วยเหลือสังคม 1 โครงการ เพราะสิ่งที่ แท้จริง ก็คือ พนักงานนอกจากจะเป็นบุคลากรขององค์กรแล้ว ทุกคนยังเป็นคนในชุมชน ในสังคม หากพวกเขามีจิตสำนึกใน การทำประโยชน์แล้ว ก็จะสามารถเปลี่ยนสังคมเล็กๆ รอบตัวได้ จำนวนมาก โดย SCG จะให้การสนับสนุนเครื่องมือและเงินทุน
ใน 1 ปี มีตั้ง 365 วัน เริ่มแบ่งเพียง 1 วัน ออกไปทำเพื่อคนอื่น แล้วคุณจะรู้ว่า 1 วันของคุณสามารถทำสิ่งดีๆ ให้คนรอบข้างตั้ง มากมาย ร่วมแบ่งปัน สร้างสรรค์สิ่งดีๆ เพื่อสังคม เริ่มต้นง่ายๆ ด้วยการเสนอไอเดียว่า ถ้าเรามี 1 วัน ใน 1 ปี เราจะทำอะไร เพื่อคนอื่น นอกจากไอเดียของคุณจะได้แสดงบนเว็บไซต์แล้ว ยังสามารถทีจ่ ะ Share ไปยัง Social Network ต่างๆ ของโครงการ อีกด้วย การร่วมกิจกรรมแบ่งออกเป็น 2 แบบ คือการเข้าร่วม กิจกรรมทีธ่ นาคารจัดขึน้ หรือเป็นกิจกรรมทีเ่ ยาวชนตัง้ ใจรวมกลุม่ กันไปทำ แล้วอยากแบ่งปันประสบการณ์ให้คนอื่นได้ร่วมชื่นชม ความดีไม่ใช่เรื่องยาก สละเวลาเพียง 1 วัน ใน 1 ปี มาทำอะไร เพือ่ คนอืน่ แม้จะเป็นเพียงน้อยนิดแต่ความรูส้ กึ ทีไ่ ด้รบั กลับมานัน้ ยิ่งใหญ่เกินคาด เยาวชน คนรุ่นใหม่ที่สนใจเข้าร่วมกิจกรรมหรือ ติดตามความเคลื่อนไหวของโครงการ สามารถคลิกไปได้ที่ www.1day 1year.com, www.scb.co.th หรือที่ Social Network www.facebook.com/scb.thailand twitter.com/scb_thailand
ถ. แจ งวัฒน
หลักสี่
ถ. รามอ
ถ. งามวงศ วาน
ถ. ประเส
11
จตุจักร
ถ . วงศ สว าง
ินทรา
ลาดพร าว
พร าว
สะพานควาย
17
ราช
ฤก
ถ. พ
บางบอน ร บ
ิเษก
Ban Kru Noi
ดาภ
ถ. รัช
ม .มูรลานิธิเด็ก
9 ถ Foundation for Chrildren
10
กลุ่ม ซ.โซ่อาสา Sor So Arsar
โทร. 0-2911-7023, 089-125-1790 http://sorsoarsar.multiply.com
11
มูลนิธกระจกเงา
The Mirror Foundation
0-2941-4194-5 ถโทร. . พัฒนากา www.mirror.or.th ร
ถ. ส
ลุมพ�นี
ุข�มว
�ท
มูลนิธิสื่อชาวบ้าน 12 (มะขามป้อม) โทร. 0-2805-0202 www.thaibby.in.th
13
ห้องสมุดคนตาบอดแห่งชาติ
มูลนิธิกระต่ายในดวงจันทร์
16
National Library of the Blind
โทร. 0-2248-0555, 0-2246-3835 อนนุช ต่อ 200-201 ถ. อ www.nlbp.org
14
The Rabbit in the Moon
า
โทร. 0-2513-976, 0-2513-9686 www.rabbitinthemoon.org www.kidsa.org
15
มูลนิธิครูสร้างสรรค์
Teacher Plus Foundation
โทร. 0-2684-1500 www.teacherplusfoundation.com
3
ูรณะ
ถ. ส
ุขสว ัสดิ์
า
บ้านครูน้อย
ถ. ศร�นคร�นทร
าษฎ
ถ. ร
ถ. ร 8
8
Foundation
ม3
ราษฎร บูรณะ
คลองเตย ระร
่มนิทานกระดานหก 6 กลุ Kradanhok
โทร. 0-2814-1481-7 www.ffc.or.th
ถ. พระราม 4 ถ. สาธรใต
7
ง2
ถ. ว�ทยุ
ถ. ราชดำ
ษ
ถ . ก ร ุ ง ธ น บุ ร�
ปพ ถ. กั ล
แห มคำ
ถ.พระราม1 ถ. เพลินจ�ต 15
Small Kids Founfation
ง โทร. 02-871-3083 แห www.moobankru.com/bankrunoi คำ
ถ. เพชรบุร�
ร� 6
ดี - รังส
ดำ
ถ. เอ
ถ. พระราม 9
1
กชัย
ถ. ดินแดง
เน ิน
9
มูลนิธิเด็กตัวเล็ก
มูลนิธิเพื่อเยาวชนชนบท 7 (มยช.) Foundation for Rural Youth (FRY) / โทร. 0-2416-8073-4 www.fry1985.org
ิต
13
ล า-
ถ. จรัญสนิทวงศ
ดินแดง
�ถี
5
โทร. 089-678-5421,081-898-9818 http://kradanhok.com/web/
ถ. สุทธิสาร
ถ. ว�ภาว
โยธิน
าชว
�นเก
ถ
ถ. ป
ถ. พ�ทธมณฑล สาย 4 3 ถ. พ�ทธมณฑล สาย 2 าย ถ. พ�ทธมณฑล ส ก ษ เ ิ าภ ถ. กาญจณ สาย 1 ถ. พ�ทธมณฑล ษ . ราชพฤก
ถ. พหล
4
เกษม
ลนิธิเพื่อการพัฒนาเด็ก 4 มูFoundation for Child
โทร. 0-2884-4010 www.smallkidsfoundation.or.th
14
12
5
ร ถ. เพช
Foundation for the Better Life
Development / โทร. 0-2433-6292, 0-2435-5281, 0-2884-6603 กด 0 www.iamchild.org
ฉิมพลี
ภาษีเจร�ญ
มูลนิธิสร้างสรรค์เด็ก
มูลนิธิสงเคราะห์เด็กยากจน 3 ซี.ซี.เอฟ.ฯ CCF Foundation โทร. 0-2747-2600 www.ccfthai.or.th
ร�ฐมนูกิจ
ถ. ลาด
พ�ทธมณฑล
2
/ โทร. 0-2574-1381, 0-2574-3753, 0-2574-6162 www.fblcthai.org/index.php
10
ถ. ร
Books for Children Foundation
of Children
บางซื่อ
อรุณอมร�นทร
มูลนิธิหนังสือเพื่อเด็ก
โทร. 0-2805-0202 www.thaibby.in.th
2
ะ
1
16
มูลนิธิสันติสุข
หนองบอน
Santisuk Foundation
โทร. 0-2240-1729-30 www.santisuk.or.th
กลุ่มนวัตกรรมเยาวชนเพื่อ 17 สังคม YIY (Why I, Why) โทร. 0-2513-5501 www.deksiam.com ติดตามแผนที่ฉบับเต็มได้ที่ www.sansiri.com/goodwillgrow
CLUB
1-4 CREATIVE K EEP UPDATED
...................................
What’s happening around the world
รัตติกร วุฒิกร สนใจการออกแบบของเล่นเพื่อส่งเสริมพัฒนาการ เด็ก และใช้ความสนใจในด้านนี้ก่อตั้ง Club Creative ขึ้นมา เพื่ อ ผลิ ต ของเล่ น ที่ มี ฟั ง ก์ ชั น ในการเล่ น และเรี ย นรู้ พร้ อ มทั้ ง ใช้ วั ส ดุ ที่ ค ำนึ ง ถึ ง สิ่ ง แวดล้ อ ม ย่ อ ยสลายได้ มี ว งจรชี วิ ต ที่ ย าวนาน ของเล่ น ของเขาได้ รั บ การยอมรั บ ในระดับสากล และจัดทำโครงการ Play Space for All เป็ น การจั ด สถานที่ เ พื่ อ ให้ เ ด็ กหลายกลุ่ ม มาเรี ย นรู้ จากการเล่ น ด้ ว ยกั น www.club-creative.com
DEUTSCHLAND FINDET EUCH– GERMANY WILL FIND YOU เมือ่ จำนวนเด็กหายในประเทศ เยอรมันมีมากขึ้น ชาวเยอรมนี จึงรวมกลุม่ ขึน้ เป็นอาสาสมัครเสาะหา โดยใช้เทคโนโลยีใกล้ตัวมาเป็นเครื่องมือ โดยเริ่มต้นจากหน้าเพจเฟซบุ๊คที่รวบรวมข้อมูล ของเด็กที่หาย ทั้งรูปถ่าย รายละเอียดเกี่ยวกับเด็กมีแผนที่ แบบ Interactive ระบุพิกัด โพสต์รูปหรือเบาะแสที่เป็นประโยชน์ ได้ทันที การจัดทำโปสเตอร์รณรงค์ที่มี QR Code เพื่อให้เชื่อมต่อ เข้าสู่หน้าเพจและการทำเว็บไซต์ที่รวบรวมข้อมูลของเด็กที่ได้รับ การแจ้งหาย กระทั่ง App ในไอโฟนในชื่อ Vermisst ที่ติดอันดับ คนโหลดมากที่สุดในเยอรมัน พวกเขายังทำแคมเปญที่โดนใจ หลายชิน้ เช่น การให้นกั ฟุตบอลถือรูปภาพเด็กทีห่ ายแทนการจูงมือ เด็กเดินเข้าสนาม ถึงวันนีผ้ คู้ นตระหนักถึงปัญหาเด็กสูญหาย และ กลายเป็นเครือข่ายตามหาขนาดใหญ่ถือเป็นโมเดลในการแก้ไข ปัญหาเด็กสูญหายที่น่าจะได้ประสิทธิภาพมากกว่าการฟอร์เวิร์ด เมลตามหาอย่างแน่นอน www.vermisste-kinder.de
20
ISSUE 03/2011
Say Something Nice
Improv Everywhere เป็นทีมที่ก่อตั้งขึ้นโดย Charlie Todd ซึ่ ง จะรวมกลุ่ ม กั น เพื่ อ สร้ า งสถานการณ์ ทั้ ง ความวุ่ น วายและ สร้ า งความสุ ข ในที่ ส าธารณะให้ ผู้ ค นในเมื อ งนิ ว ยอร์ ก ซิ ตี้ ทั้ ง นี้ ที ม งาน Improv Everywhere ก่ อ ตั้ ง มาแล้ ว กว่ า 10 ปี มีสมาชิกกว่า 10,000 คน และปฏิบัติภารกิจมาแล้วกว่า 100 ภารกิจ ล่าสุดพวกเขาทำกิจกรรมที่ชื่อว่า ‘Say Something Nice’ โดยการติดตั้งโทรโข่งไว้กลางเมือง เพื่อให้คนที่สัญจรไปมาได้ กล่าวถึงสิ่งดีๆ หนึ่งอย่าง แล้วแอบจับภาพพฤติกรรมของเขาและ เธอเหล่านั้น มองเผินๆ แล้วเหมือนเป็นกิจกรรมของ ก๊วนป่วนเมือง แต่ถ้าหากใครได้ติดตามแล้ว จะพบว่ า นอกจากจะสร้ า งรอยยิ้ ม ให้ เมื อ งอั น เคร่ ง เครี ย ดแล้ ว ถื อ เป็ น การแสดงออกทางความคิดของ คนในสังคม ซึง่ เป็นการทำงาน ศิ ล ปะสร้ า งสรรค์ แ ล้ ว ยั ง ส า ม า ร ถ ต่ อ ย อ ด แ น ว ความคิ ด ให้ กั บ ผู้ อื่ น ได้ เช่น ประเทศไต้หวันที่นำ กิจกรรม ‘ไม่ใส่กางเกง ขึน้ รถไฟ ใต้ดนิ ’ ได้แสดง ถึงความต้องการในการ กลับไปใช้ชีวิตเรียบง่าย และประหยั ด พลั ง งาน โดยแฝงความอารมณ์ ขั น มากกว่าอนาจาร เพราะบางครัง้ ความดีไม่ต้องทำอะไรมากมาย เพียงแค่แบ่งปันรอยยิ้ม ก็ทำให้หนึ่ง วันของเรามีความหมายแล้ว www.improveverywhere.com
Bixenger
บริการส่งเอกสารด้วยจักรยานทั่วเมืองหลวง การปั่นจักรยานเป็น การรณรงค์ขี่จักรยานในเมืองเลนเดียว และรับบริจาคอะไหล่เก่าๆ รวมกับกำไรที่ได้จากการทำธุรกิจ ไปซ่อมและประกอบจักรยาน ให้ กั บ น้ อ งๆ ในชนบทที่ ต้ อ งเดิ น ไปโรงเรี ย นหลายสิ บ กิ โ ล การส่งเอกสารด้วยจักรยาน สำหรับองค์การที่เห็นความสำคัญ ในการช่วยแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม Bixenger หวังเล็กๆ ที่จะให้ ผู้คนเริ่มต้นปั่นจักรยานแทนการใช้รถ
5 CLOTHES DONATION ...................................
Old clothes for new life
ชุดนักเรียนเพื่อน้อง นึกย้อนไปสมัยที่เราเป็นเด็กนักเรียนในยามที่ได้ใส่ชุดนักเรียน ใหม่รู้สึกดีกันไม่น้อยเลยใช่ไหมคะ แต่คุณรู้ไหมว่า เด็กต่าง จังหวัดตามชนบทนัน้ มีชดุ นักเรียนกันเพียงคนละไม่ถึง 3 ชุด ใส่สลับสับเปลี่ยนกันไป ช่วงไหนฤดูฝนเสื้อผ้าก็จะเปียกชื้น แห้งไม่ทัน ไม่มีใส่ไปเรียนกัน ถ้าอย่างนัน้ เรามาร่วมกันบริจาค ชุดนักเรียนใหม่ให้นอ้ งๆ ได้มเี สือ้ ผ้าชุดใหม่ใส่ไปเรียนให้เพียงพอ กันดีไหม? พี่ใหญ่ใจดีอย่ารอช้าร่วมซื้อชุดนักเรียนใหม่บริจาค ให้มูลนิธิกระจกเงา โครงการชุดนักเรียนเพื่อน้องกันได้เลยที่ www.mirror.or.th
ISSUE 03/2011
21
6 S TAR SO CCER ...................................
1 Goal education for all
22
ISSUE 03/2011
1 goal education for all เป็นการรวมตัวครั้งยิ่งใหญ่ของผู้ที่มีจิตอาสา จากทุกมุมโลก ทั้งนักเตะชื่อดัง แฟนบอล องค์กรเอกชน และหลากหลายหน่วยงานทีผ่ สาน มือกันเพื่อให้เด็กทุกคนบนโลกได้รับการศึกษา ขั้นพื้นฐานอย่างเท่าเทียม โดยมีสมาคม FIFA เป็นผู้สนับสนุนหลัก และทำมาต่อเนื่องตั้งแต่ ปี 2543 จนส่งผลให้หลากหลายประเทศได้ยกเลิก ค่าเล่าเรียน เพิ่มงบประมาณอุดหนุนการศึกษา ส่งให้เด็กได้รับการศึกษามาแล้วมากกว่า 40 ล้านคนทั่วโลก รวมทั้งประเทศไทยด้วย ร่วม สนับสนุนให้เด็กไทยได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้ที่ www.join1goal.org
ความทรงจำจากเรื่องราวแห่งแรงบันดาลใจ ถ่ายทอดสู่ เด็กน้อยในรั้วบ้าน จุดเริ่มต้นของการเพาะความดีงามลงใน หัวใจพวกเขา เรื่อง Winnie the Pooh
จากนิทานก่อนนอนของนักเขียนชาวอังกฤษ นาม เอ.เอ.ไมลน์ กลายเป็นวรรณกรรมอมตะก้องโลกที่ถูกนำมาถ่ายทอดต่อ ในหลายรูปแบบทั้งนิทาน ภาพ หนังสือ แอนนิเมชั่นเรื่อยมา เรื่องของเจ้าหมีตัวอ้วนกลมสีเหลืองสวมเสื้อสีแดงและผองเพื่อน ในป่าขนาดร้อยเอเคอร์ ที่มีทั้งความสนุกสนาน แฝงข้อคิดจาก การแก้ปัญหาของพูห์และเพื่อนๆ ของเขา
Little House in the Big Woods
วรรณกรรมเยาวชนที่มีชื่อเสียงมาอย่างยาวนานมากที่สุด เรื่องหนึ่งของสหรัฐอเมริกาโดย ลอร่า อิงกัลล์ส ไวล์เดอร์ เป็นเรื่องของครอบครัวเล็กๆ ที่ใช้ชีวิตในกระท่อมไม้ซุงในป่า กว้าง การเติบโตของเด็กๆ ที่ต้องผ่านอุปสรรคทั้งความ ยากจนและภัยพิบตั ทิ างธรรมชาติ แต่สง่ิ หนึง่ ทีโ่ อบอุม้ ให้พวกเขาเติบโตคือ ความรักความอบอุ่น ในครอบครัว วรรณกรรมที่จะถักทอความทรงจำ อันงดงามให้เกิดขึ้นในมโนภาพของเด็กน้อย เมื่อถึงวันที่พวกเขาเติบโตขึ้น
The Ugly Ducking
ฮันส์ คริสเตียน แอนเดอร์เซน
แต่งนิทานคลาสสิกเรื่องนี้เพื่อให้แรงบันดาลใจ จินตนาการ การเคารพในตัวตน The Ugly Ducking เรื่องราวของลูกเป็ดน้อย ตัวหนึง่ ทีเ่ กิดขึน้ มาหน้าตาขีร้ ว้ิ ขีเ้ หร่กว่าตัวอืน่ ในฝูง มันจึงถูกกีดกัน ออกจากกลุ่ม แต่แล้ววันหนึ่งเป็ดตัวน้อยตัวนี้ก็เติบโตขึ้นมาและ พบความจริงว่าตัวเองเป็นหงส์ที่มีรูปร่างงดงาม
Hansel and Gretel
เทพนิยายที่เรารู้จักกันดีในชื่อบ้านขนมปัง เป็นเรื่องของสอง พี่น้องที่ถูกแม่เลี้ยงทิ้งไว้ในป่าลึก ก่อนจะหลงป่าไปเจอบ้าน ประหลาดที่ทำด้วยขนมปังและลูกกวาดของแม่มดที่ตั้งใจจะจับ พวกเขาทำอาหาร Hansel and Gretel เป็นเรื่องเล่าที่ปลูกฝังถึง การคิดแก้ปัญหา และความกล้าหาญให้แก่เด็กแต่งโดย พี่น้อง กริมม์ นักเขียนชาวเยอรมัน
7
-11
B EDTIME S TOR IES ...................................
Top 5 fairy tales for children
โต๊ะโตะจัง เด็กหญิงข้างหน้าต่าง
เรื่องจริงของเด็กหญิงโต๊ะโตะจัง ที่นำมาเรียบเรียงผ่าน
ความทรงจำของ คุโรยานางิ เท็ตสึโกะ นักแสดงชื่อดัง ชาวญีป่ นุ่ เมื่อสมัยที่เธอเรียนอยู่ชั้นประถม เป็นหนังสือที่ทำลายสถิติหนังสือที่มีคนอ่าน มากที่สุดของประเทศญี่ปุ่นและมีการพิมพ์ซ้ำ ในหลายภาษาตลอด 10 ปี เป็นวรรณกรรม ทีไ่ ด้รบั การยอมรับในด้านคุณค่าด้วยเรือ่ งราวที่ สนุกสนาน เพลิดเพลิน ที่ปลูกฝังการรู้จักคิด และความเชื่อมั่นในความดีงาม
ISSUE 03/2011
23
12 B IK E J OUR NAL ...................................
I want to ride my bicycle
โครงการจักรยานเพื่อน้อง
ความรูส้ กึ ของเด็กต่างจังหวัด ทีไ่ ด้ปน่ั จักรยานเลาะไปตาม ถนนเพือ่ ไปโรงเรียนนัน้ ช่าง เป็นเรื่องสนุกและน่าตืน่ เต้น เหลือเกิน แต่ยงั มีเด็กอีกมาก ทีบ่ า้ นห่างไกลจากโรงเรียนไป หลายหมู่บ้าน และยังต้อง เดินเท้าไปเรียนหนังสือเพราะ ที่บ้านขาดแคลนทุนทรัพย์ ร่วมต่อเติมความฝันให้เด็ก นั ก เรี ย นต่ า งจั ง หวั ด ด้ ว ย จักรยานคันใหม่ กับมูลนิธิ กลุ่มแสงเทียนที่ดำเนินการ จั ด หาจั ก รยานคั น ใหม่ ไ ป บริจาคให้กับเด็กๆ ตามถิ่น ทุรกันดารเป็นประจำเสมอ มา ช่วยให้พวกเขาได้ถีบปั่น นำพาความฝันไปหาความรู้ ด้วยน้ำใจของเรากัน www.carefor.org
24
ISSUE 03/2011
13 FOOD NUTR ITION ...................................
I hate veggie
หนูไม่ชอบกินผัก เด็กทีท่ านอาหารยาก มักต้องการเรือ่ งสนุกระหว่างมือ้ เป็นตัวช่วยให้เจริญอาหาร โดยเฉพาะ อาหารที่มีผักเป็นส่วนประกอบไม่ว่าจะเป็นผักสีเขียวหรือสีอื่นๆ แค่เห็นเจ้าหนูน้อยก็ร้องอี๋ แม้วา่ พ่อแม่จะพยายามหลอกล่อ ซ่อนผักไว้อย่างไร เจ้าหนูกย็ งั บ้วนหรือคายผักออกมาจนได้ ส่วนใหญ่ เด็กๆ มักชอบรับประทานอาหารที่พวกเขาได้ลงมือทำเอง ดังนั้นคุณแม่อาจลอง ให้ลูกเป็นผู้ช่วยในการเตรียมอาหารหรือสร้างสรรค์หน้าตาอาหารให้เป็นรูปการ์ตูนที่เด็กๆ สนใจโดยให้เด็กมีสว่ นร่วมในการเลือกส่วนประกอบในเมนูนน้ั ๆ บางครัง้ การหาโอกาสเปลีย่ น เมนูโปรดของลูกรักให้มีโภชนาการมากขึ้นด้วยการปรับเปลี่ยนส่วนประกอบบางอย่าง ในจานอาหารก็เป็นทางเลือกที่ดีเช่นกัน จากขนมปังขาวธรรมดาเป็นขนมปังโฮลวีต สีนำ้ ตาลอ่อนและตกแต่งด้วยผักสีตา่ งๆ หรือเปลีย่ นธัญพืชแบบขัดสีมาเป็นธัญพืชโฮลเกรน ที่ยังคงคุณค่าสารอาหารอย่างครบถ้วน เพราะไม่มีการขัดเอาสารอาหารออก ทำให้เด็กๆ ได้รับสารอาหารที่มีประโยชน์ ในขณะที่ยังอร่อยกับอาหารจานโปรดได้เหมือนเดิม การสร้างสรรค์เมนูเดิมๆ แต่มีหน้าตาถูกใจเจ้าตัวน้อย โดยที่เขามีส่วนร่วมน่าจะเป็นหนึ่ง วิธีง่ายๆ ที่คุณสามารถใช้ทำให้เด็กๆ ได้สนุกกับมื้ออาหารและคุณเองก็ได้ใช้เวลาร่วมกับ เขามากขึ้นด้วย
ISSUE 03/2011
25
ยูจิ คิมาตะ
14 THE GIVING TREE
‘ไม่กเ่ี รือ่ งราวของผูค้ นทีจ่ ะทำให้เราย้อนกลับ ไปคำนึงถึงการก้าวเดินในแต่ละครัง้ ของตัวเอง’ ยูจิ คิมาตะ ชายหนุ่มชาวญี่ปุ่นวัย 29 ปี ใช้วิธี การเดินเท้าเพื่อรณรงค์ให้คนปลูกต้นไม้เป็น ระยะเวลากว่า 4 ปีเต็ม จากเกาหลีใต้ เกาะโอกินาว่า ไต้หวัน เวียดนาม กัมพูชา ไทย และจุดมุ่งหมายต่อไปของเขาคือ ซีเรีย และลอนดอน ยูจิ คิมาตะ แสดงจุดยืนที่ชัดเจน ของเขาในการตระหนักถึงปัญหาด้านสิง่ แวดล้อม ที่โลกของเรากำลังเผชิญ เขาต้องการให้การเดิน และการลงมือปลูกต้นไม้รว่ มกับคนในพืน้ ถิน่ เป็นเสมือนการปลูกเมล็ดพันธุ์ความรับผิดชอบ ต่อธรรมชาติขึ้นในใจแก่ผู้คนทุกตำแหน่ง
ของแผนที่โลกที่เท่าที่เขาจะเดินไปถึง แต่สิ่งที่ยูจิ ได้รับมากกว่าจำนวนของต้นกล้าที่ลงมือปลูก ก็คือการได้สัมผัสกับผู้คนซึ่งต่างเรื่องราวใน ต่างดินแดน ยูจิพบรอยยิ้มของเด็กกำพร้าและ เผชิญกับทัศนคติทเ่ี ป็นเหมือนรากทีข่ ดั ขวางความ เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของคนในโลกใบนี้ ทุกย่างก้าวของยูจิจึงไม่ได้หมายถึงเพียงแต่การ รณรงค์เพื่อสิ่งแวดล้อมเท่านั้น แต่มีความมุ่งหวัง ที่จะทำให้สันติภาพเกิดขึ้นผ่านกิจกรรมที่เขา ได้ทำร่วมกับเด็กๆ ในพื้นที่ที่ห่างไกลโอกาสและ ทะลายกำแพงบางอย่างในใจผู้คน เพราะเชื่อว่า โลกจะเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้นได้อย่าง แน่นอน ติดตามเรื่องราวของเขาได้ที่ yujiearthman.worldpress.com twitter.com/yujiearthman
26
ISSUE 03/2011
15 SCIENCE SPOT ...................................
The secret of color
Colors Secret ปลูกฝังให้เด็กรักวิทยาศาสตร์ด้วย ความสนุกจากการทดลองง่ายๆ ที่ สร้างเสริมจินตนาการและความรู้ด้วย การตั้งคำถามจากสิ่งที่เห็น อุปกรณ์ 1.
สีเมจิก ดำ น้ำเงิน น้ำตาล ตามชอบ (สีเข้มๆ จะให้ผลการทดลองที่ น่าตื่นเต้น)
..........................................................
2.
กระดาษกรองกาแฟ หรือ กรองตะกอนน้ำมัน
..........................................................
3.
แก้วใส่น้ำ
วิธีทดลอง 1.
ตัดกระดาษเป็นแถบยาวหรือรูปทรง ง่ายๆ ตามชอบ 2. เลือกสีเมจิกที่ชอบ (สีเข้มจะให้ผล ชัดกว่า) เว้นที่ตรงปลายกระดาษ เข้ามาอย่างน้อย 1 เซนติเมตร ก่อนลงมือระบายสีบนกระดาษ จนเป็นแถบหนา 3. จุ่มปลายกระดาษในช่วงที่เว้นไว้ 1 เซนติเมตร ลงในน้ำ (ระวังอย่าให้ เส้นสีทข่ี ดี ไว้จมน้ำ เพราะสีจะละลาย ลงน้ำ) 4. สังเกตแถบสีที่ค่อยๆ ไต่ซึมขึ้นไป บนกระดาษกรอง (ความลับกำลังจะ ถูกเปิดเผยขึ้น) 5. ทำการทดลองซ้ำกับสีตา่ งๆ แล้วเด็กๆ จะรู้ว่า สีทุกสี มีความลับ
เหตุผล สีทั้งหมดบนโลกใบนี้เกิดจาก สีตั้งต้น เพียงแค่ 3 สี คือ เหลือง แดง น้ำเงิน และสีต่างๆ ที่เกิดขึ้นได้นั้นก็ เพราะทั้ง 3 สีนี้ผสมกันไปมาในอัตรา ส่วนที่ต่างๆ กันไป ความลับของสีถูก เปิดเผยขึ้นมาเพราะกระดาษกรอง ช่วยให้สารที่ผสมในปริมาณน้อยกว่า แยกออกมาเป็นแถบสีโดยอาศัยน้ำ เป็นตัวทำละลาย สารที่ละลายในตัว ทำละลายได้ดสี ว่ นมากจะถูกดูดซับไม่ดี จึงเคลื่อนที่ไปได้ไกล ส่วนสารที่ละลาย ในตัวทำละลายได้ไม่ดีส่วนมากจะถูก ดูดซับได้ดีจึงอยู่ใกล้จุดเริ่มต้น เด็กๆ จึงเห็นสีแยกออกมาจากสีหลักที่ตา มองเห็นเป็นชั้นอย่างชัดเจน
..........................................................
ISSUE 03/2011
27
16 GO ING GREEN ...................................
Gardening for kids
Eggshell Plant Pot
ต้นไม้ ในเปลือกไข่ ปลูกจิตสำนึกรักษ์ธรรมชาติด้วยของ จากธรรมชาติให้เด็กๆ หลังจากอิม่ ท้อง กับเมนูไข่แสนอร่อยแล้ว เริม่ ความสนุก ต่อไปด้วยกิจกรรมกับเพาะต้นกล้าใน เปลือกไข่ที่เหลืออยู่ เก็บลังใส่ไข่ไว้ก่อน เพราะนั่นจะเป็นฐานรองแสนพอดิบ พอดีได้เป็นอย่างดี งานนี้นอกจากจะ ตืน่ เต้นกับกล้าเล็กๆ ทีค่ อ่ ยๆ งอกขึน้ มา แล้ว ระหว่างการเพาะชำแล้วยังได้เปิด โอกาสการเรียนรูว้ ธิ อี นุรกั ษ์ธรรมชาติ ระหว่างทำกิจกรรมด้วย
อุปกรณ์ 1.
เมล็ดพันธ์ุ (ถ้าเป็นเมล็ดผักจะขึ้น ได้ง่ายและใช้เวลาน้อย)
..........................................................
2.
เปลือกไข่เจาะตามแบบ
..........................................................
3.
ดินร่วน
4.
ช้อน
..........................................................
..........................................................
วิธีการทำ 1.
ขั้นตอนเตรียมกระถาง 2. เลือกเมล็ดพันธ์ุที่เด็กชื่นชอบ เตรียม เมล็ดพันธ์ุตามวิธีที่ระบุ เช่น แช่น้ำ ทิ้งไว้ 1 คืน
28
ISSUE 03/2011
3. เจาะเปลือกไข่ดว้ ยวิธแ ี กะจากด้านบน
ให้ต่ำจากจุดสูงสุดประมาณ 2 เซนติเมตร 4. เทไข่ออกแล้วทำความสะอาดเปลือกไข่ ให้เรียบร้อย (เด็กๆ อาจจะระบายสี ลงบนเปลือกไข่ในขัน้ ตอนนีไ้ ด้ตามชอบ) 5. นำดินที่เตรียมไว้ใส่ลงในเปลือกไข่ ให้ต่ำกว่าขอบบนประมาณ 1 เซนติเมตร 6. กดเมล็ดพันธุ์ที่เตรีมไว้ให้ลึกลงไป ในดินประมาณ 1 เซนติเมตร พรมน้ำ เล็กน้อยเพื่อให้ดินชุ่มชื้น 7. เลือกวางกระถางเปลือกไข่ในบริเวณ แสงแดดส่องถึงและง่ายต่อการรดน้ำ 8. เมื่อเมล็ดเติบโตเป็นต้นกล้า เริ่มผลิ ใบอ่อน หรือมีต้นสูงประมาณ 3 นิ้ว นำไปเพาะลงบนกระถางหรือพื้นดิน ที่เหมาะสม
17 FIGHTING HUNGER ...................................
We feed back
เมื่ อ ได้ ท านอาหารจานโปรดที่ ถู ก ใจ เคยนึ ก อยากให้ ใ คร สักคนได้ทานอาหารที่แสนอร่อยนี้เหมือนเราไหม We Feed Back ร่วมกับโครงการอาหารโลก หรือ WFP (World Food Programme) จึงมี โครงการที่ แ สนสนุ ก ให้ พ วกเราได้ ร่ ว มกั น บริ จ าคอาหารให้ เ ด็ ก ที่ หิ ว โหยทั่ ว แอฟริกาและละตินอเมริกา ที่เผชิญปัญหาภาวะขาดแคลนอาหาร อันเกิดจากสงคราม ทีไ่ ม่สงบและภัยธรรมชาติ คุณสามารถเข้าไปที่ www.wefeedback.org ใส่รายการเมนูอาหาร จานโปรดของเราลงไป โปรแกรมจะช่วยคำนวณตัวเลขของจำนวนเด็กๆที่หิวโหย ออกมา แล้วตัวเลขจะบอกเราว่าเมนูนนั้ สามารถช่วยเหลือเด็กๆ เหล่านัน้ ได้กี่คนต่อหนึ่งเมนู ลูกเล่นน่ารักชักชวนให้อยากร่วม บริจาคกันเป็นที่สุด
ISSUE 03/2011
29
18
-21
K EEP UPDATED ...................................
What’s happening around the world
Dialogue in the dark
กว่า 90 เปอร์เซ็นต์ของกิจกรรมในชีวติ ของผูค้ นใช้การมองเห็นเป็น ตัวกำหนด แต่จะทำอย่างไรหากวันหนึ่งเราไม่สามารถใช้ประสาท สัมผัสนัน้ ได้ Dialogue in the Dark คือนิทรรศการทีจ่ ะตอบคำถามนี้ เป็นนิทรรศการทีจ่ ดั แสดงไปแล้วกว่า 22 ประเทศทัว่ โลก เกิดขึน้ เพือ่ ให้บคุ คลทัว่ ไปร่วมรับรูถ้ งึ การใช้ชวี ติ ในโลกมืดของผูพ้ กิ ารทางสายตา เป็นไอเดียของ ดร. อันเดรอัส ไฮเนอเกอ นักวิทยาศาสตร์ ชาวเยอรมนีที่เคยได้ใช้ชีวิตร่วมกับเพื่อนที่ตา มองไม่เห็น ในนิทรรศการจะจำลองสถานการณ์ในชีวติ ประจำวัน เพือ่ ให้คนตาดี ได้ทดลองใช้ประสาทสัมผัสอื่นๆ นอกเหนื อ จากการมองเห็ น เพราะเมื่ อ เราตกอยู่ ใ น ความมืดเราจะเรียนรู้ที่จะ นำประสาทสัมผัสส่วนอืน่ ม า ใ ช้ แ ล ะ พ บ ว่ า มั น มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพมาก เช่นเดียวกับคนตาบอด นอกจากนั้ น ยั ง ได้ รู้ ถึ ง เวลาสั้นๆ ที่ทำให้เราได้ เรียนรู้ในสิ่งที่มองไม่เห็น ซึ่งอาจเป็นการเพิ่มโอกาส และสร้ า งอาชี พ ให้ แ ก่ ค น ตาบอดด้ ว ย เพราะแก่ น หลั ก ของการเรี ย นรู้ จ ากนิ ท รรศการนี้ คื อ การใช้ ผู้ พิ ก ารทางสายตามาเป็ น ผู้นำทางให้กับเรา นิทรรศการ ‘Dialogue in the Dark’ จัดแสดง ณ จัตุรัสวิทยาศาสตร์ บริเวณ ชัน้ 5 อาคารจามจุรสี แควร์ www.facebook.com/didthailand
ศิลปะเพื่อเด็กพิเศษ
คุณครูศภุ ลักษณ์ มีปาน ไม่ได้เป็นครูการศึกษาแก่เด็กพิเศษโดยตรง แต่ดว้ ยหัวใจแห่งความเป็นครูและนักคิด เมือ่ สังเกตเห็นเด็กพิเศษ ในโรงเรียนมีปัญหาในการเรียนวิชาศิลปะ จึงคิดกิจกรรมขึ้นมา 16 กิจกรรม เพือ่ ฝึกเด็กๆ ให้มพี ฒ ั นาการทีด่ ขี นึ้ และรักในวิชาศิลปะ ซึง่ คุณครูทา่ นใดทีส่ นใจ สามารถศึกษากิจกรรมทัง้ หมดของคุณครู ศุภลักษณ์ ได้ที่โทรทัศน์ครู www.thaiteachers.tv
30
ISSUE 03/2011
Guerrilla Gardening
กลุ่มนักปลูกต้นไม้ในกรุงลอนดอน พวกเขาได้รับชื่อเรียกขานว่า ‘นักปลูกกองโจร’ เนือ่ งจากวิธกี ารช่วยโลกด้วยการเพิม่ พืน้ ทีส่ เี ขียว ทีแ่ สนไม่ธรรมดา นัน่ ก็คอื การนัดแนะบุกไปปลูกต้นไม้ตามสถานที่ ต่างๆ ในยามวิกาลหรือยามที่ประชาชีเผลอลักษณะ คล้ายกองโจร ไม่วา่ จะเป็น ตามท้องถนนหรือ สวนหลังบ้านใครที่ปล่อยร้างโรย ก่อน นำผลงานมาโชว์ในเว็บไซต์กันเป็น เรือ่ งเป็นราว เป็นแนวคิดทีท่ ำให้ การปลูกต้นไม้เป็นเรื่องสนุก ไอเดียจากคนกลุ่มเล็กๆ ที่ ส่งผลดีให้โลกได้อย่างไม่เล็ก เลย www.guerrilla gardening.org
DESIGN FOR DISASTERS (D4D)
การออกแบบเพื่ อ เตรี ย มพร้ อ ม รับมือและจัดการกับภัยพิบัติ ดีไซน์ ฟอร์ ดี แ ซสเตอร์ (ดี ฟ อร์ ดี ) เกิ ด จาก การรวมตัวของกลุ่มคนสหวิชาชีพในประเทศไทย ทั้งนักออกแบบ ศิลปิน นักวิชาการ และบุคคลทั่วไป ร่วมกัน แชร์ไอเดียเพือ่ ร่วมหาทางป้องกันและเตรียมพร้อมรับมือแบบระยะ ยาวกับภัยพิบัติรุนแรงต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต โดยเฉพาะ อย่างยิ่งภัยพิบัติอันสืบเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงทางสภาพ ภูมอิ ากาศ ดำเนินกิจกรรมในหลายลักษณะ ทีน่ า่ สนใจคือ โครงการ เดินหน้าเข้าใกล้ชุมชนแออัด ซึ่งเป็นกลุ่มที่ห่างไกลการรับรู้ข้อมูล เพือ่ ให้ความรูใ้ นการตัง้ รับ เช่น การทำแผนทีช่ มุ ชน การเอาตัวรอด และประยุกต์เครือ่ งมือทีจ่ ะใช้ประโยชน์ได้ในกรณีตา่ งๆ เช่น การทำ อุปกรณ์ลอยน้ำจากวัสดุเหลือทิ้ง ทั้งเป็นช่องทางหนึ่งให้คนทั่วไป ได้ตระหนักถึงปัญหาสิ่งแวดล้อมที่ดีอีกด้วย www.designfordisasters.org
22 CRE ATIVE PL AYGROUNDS ...................................
Once upon a time
กาลครั้งหนึ่งนานมาแล้ว โลกจินตนาการของเด็กนั้นช่างกว้างใหญ่ แต่จินตนาการ จะไปได้ไกลแค่ไหน ขึ้นอยู่กับปัจจัยรอบด้านที่จะช่วย หล่อหลอมพัฒนาการ มูลนิธิเด็กจึงเล็งเห็นความสำคัญ ของนิทานที่สามารถเป็นส่วนหนึ่งในการช่วยพัฒนา เด็กในแต่ละวัย เพื่อเติมโลกของความเป็นเด็กให้เต็ม ร่วมกันส่งผลงานเสริมจินตนาการใหญ่ๆ จากคนเล็กๆ ด้วยปลายปากกาของนักเขียน ไอเดียสวยๆ จากนักออกแบบ หนังสือและนักวาดภาพประกอบ ส่งผลงานเข้าร่วมประกวด นิทานเด็กยอดเยี่ยมในสาขาต่างๆ สอบถามรายละเอียด เพิ่มเติมได้ที่ www.ffc.or.th ป.ล. ผลงานชนะเลิศจะได้ตีพิมพ์เพื่อระดมทุนช่วยเหลือ เด็กๆ ต่อไป
ISSUE 03/2011
31
ALWAYS GOOD RE ASON
ตอนเป็นเด็กช่วงเวลาทีเ่ ราตัง้ ตารอคอยอย่างใจจดใจจ่อคือ ช่วงเวลาปิดเทอม เวลาทีจ่ ะได้เล่นสนุกกับเพือ่ นและได้ตดิ สอยห้อยตาม พ่อ แม่ ไปไหนต่อไหน แต่มีเด็กๆ อีกกลุ่มใหญ่ที่ไม่มีโอกาสได้รับความรู้สึกแบบนี้ นั่นเพราะทุกๆ วันในชีวิตไม่ได้มีความแตกต่าง ระหว่างวันทีต่ น่ื ไปโรงเรียนแต่เช้าหรือวันหยุดในช่วงปิดเทอม วันหยุดในช่วงเวลาปิดเทอมใหญ่ในปีนข้ี อง นุบ้ -ชนัญดา ทวีสนิ ถูกใช้ จนหมดไปอย่างมีค่าด้วยการฝึกงานกับองค์การยูนิเซฟ ในหน้าที่อาสาสมัครผู้ประสานงานระหว่างองค์การยูนิเซฟและทีมงาน ใน ‘โครงการรณรงค์การศึกษาเพื่อเด็กทุกคน’ ซึ่งเป็นโครงการที่แสนสิริสร้างขึ้นเพื่อการศึกษาของเยาวชนโดยเฉพาะ
32
ISSUE 03/2011
การทำให้เด็กเสียโอกาสในการศึกษาไปถึง 1 ปีเต็ม และนอกจาก การเข้าเรียนชั้นประถมตามภาคบังคับแล้ว เด็กควรมีโอกาสได้ เตรียมความพร้อมก่อนเข้ารับการศึกษา ตัง้ แต่อายุ 3 ขวบ อีกด้วย”
เวลาทีถ่ กู ใช้ในแต่ละวันของการเป็นอาสาสมัคร ทำให้ทศั นคติและ มุมมองเกีย่ วกับเรือ่ งการศึกษาของเด็กไทยค่อยๆ เปลีย่ นไปเมือ่ ได้ สัมผัสถึงข้อมูลจริงและสถิตทิ อี่ งค์การยูนเิ ซฟจัดทำเอาไว้อย่างเป็น ระบบ ปัญหาการศึกษาของเด็กไม่ใช่เรื่องเฉพาะครอบครัวหรือ เป็นปัญหาของพ่อ แม่ อย่างที่หลายคนเคยคิดแต่เป็นปัญหาที่ น่ากังวลใจและต้องให้ความสำคัญโดยเร่งด่วน เมือ่ เรามองไปไกล ถึงอนาคตของประเทศ “ช่วงแรกของการเข้ามาเป็นอาสาสมัครที่องค์การยูนิเซฟ เป็นการ เรียนรู้สถิติและทำความเข้าใจเรื่องปัญหาการศึกษาของเด็กไทย ทำให้ได้รวู้ า่ ขณะนีป้ ระเทศไทยติดอันดับ 1 ใน 15 ประเทศในโลก ทีม่ ี เด็กไม่ได้เข้าเรียนหรือเข้าเรียนช้ามากที่สุด ก่อนหน้านี้เราเคยรู้ว่า ประเทศเรามีปัญหาเรื่องการศึกษา แต่ไม่เคยคิดว่าประเทศไทย จะติดอันดับการมีจำนวนเด็กที่ไม่ได้มาตรฐานทางการศึกษาเป็น อันดับต้นๆ ของโลก...” นุ้บกล่าวต่อไปว่า “ปัญหาเรื่องการศึกษาของเด็กไทย ยังสามารถ แยกย่อยออกเป็นเรื่องใหญ่ๆ อีกหลายเรื่อง เช่น เด็กที่ไม่มีโอกาส ได้เข้าเรียนตามเกณฑ์ทกี่ ฎหมายกำหนดเพราะพ่อ แม่ ยากจนหรือ ไม่ทราบข้อกฎหมายเกีย่ วกับสิทธิการศึกษาทีล่ กู ต้องได้รบั เด็กทีต่ อ้ ง ออกจากโรงเรียนระหว่างการศึกษาเพราะฐานะครอบครัวไม่พร้อม หรือบางครั้งก็ต้องการแรงงานมาช่วยทำงานเพิ่ม หรือแม้กระทั่ง เด็กบางคนไม่มโี อกาสได้รบั การศึกษาเลยเพราะระยะทางระหว่าง บ้านและโรงเรียนอยู่ไกลกันมาก... เรื่องการศึกษาพื้นฐานของเด็กก็เป็นเรื่องสำคัญ ยังมีคนอีกมากที่ เข้าใจว่าการศึกษาภาคบังคับคือการให้เริ่มชั้นประถมศึกษาเมื่อ เด็กอายุ 7 ขวบ ในความเป็นจริงแล้วกฎหมายให้เด็กเริม่ เข้าเรียนชัน้ ประถมศึกษาเมื่ออายุ 6 ขวบ การที่เด็กเริ่มเรียนตอน 7 ขวบ เป็น
“และเมื่อถึงเวลาที่ลงพื้นที่ภาคสนาม การศึกษาการบริหารและ จัดการการศึกษาในรูปแบบใหม่เริ่มต้นขึ้นที่ เสอ เพลอ โมเดล (Sor Phole Model) อำเภอกุมภวาปี จังหวัดอุดรธานี โครงการนี้ เป็นโครงการต้นแบบการพัฒนาการศึกษาโดยใช้พนื้ ฐานการเรียนรู้ ที่ครอบครัว ชุมชน ศาสนา การศึกษา และการปกครองมาเป็น ส่วนร่วมในการวางแผนการศึกษาโดยมีจุดมุ่งหมายให้เด็กเป็น คนดีและมีความสุขโดยใช้หลักสำคัญ 3 อย่างคือ ให้โอกาสทาง การศึกษา คุณภาพการศึกษา และการบริหารจัดการอย่า งมี ส่วนร่วม หลักการและแนวคิดในการทำงานของ เสอ เพลอ โมเดล นั้น น่าสนใจตรงที่เน้นการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนของตำบล ให้เข้ามาบริหารจัดการ สร้างคุณค่าและความภาคภูมิใจให้กับ ทุกคน อย่างเช่น ครอบครัว คอยสอดส่องดูแลเด็กและเยาวชน ที่มีปัญหาคอยให้คำปรึกษา สนับสนุนส่งเสริมให้เด็กได้กลับไป เรียนหนังสืออีกครั้ง ผู้นำในชุมชน องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น ให้การสนับสนุน คอยให้คำปรึกษา ชูเป็นนโยบายประจำตำบล ‘การศึ ก ษาพั ฒ นาตำบล’ อาสาสมั ค รในชุ ม ชน ร่ ว มกั น เป็ น สารวัตรนักเรียนคอยสอดส่องดูแล ตักเตือนว่ากล่าวเด็กและ นักเรียนทีม่ พี ฤติกรรมเสีย่ ง โรงเรียนและครูให้โอกาสเด็กและผูด้ อ้ ย โอกาสที่ต้องการเรียนหนังสือ กลับมาเรียนหนังสือ คอยดูแล เอาใจใส่สอนหนังสือและให้คำปรึกษา ระดมทรัพยากรที่มีคุณค่า ในชุมชน เช่น ปราชญ์ชาวบ้านคอยมาให้ความรู้ ให้การอบรมถึง ภูมิปัญญาชาวบ้าน ผสมผสานกับการเรียนตามหลักสูตร สังคม และชุมชน มีการประชุมทำประชาคมกันทุกอาทิตย์เพื่อประเมิน ผลการทำงาน ปรับปรุงแก้ไขการทำงาน” วันนี้เวลาระหว่างปิดเทอมกำลังจะหมดลงพร้อมๆ กับภาระกิจ การลงพื้นที่ภาคสนามที่จังหวัดอุดรธานี ที่นั่น นุ้บได้เห็นถึงความ พยายามในการเปิดโอกาสให้เด็กทุกคนได้รับการศึกษาอย่างมี คุณภาพ และยังได้เห็นความร่วมมือ ร่วมแรง ร่วมใจจากหลากหลาย ส่วนที่ช่วยกันเริ่มต้นการให้โอกาสกับเด็กที่กำลังจะเติบโตขึ้นเป็น อนาคตของชาติ รู้สึกว่าเราโชคดีมากที่มีโอกาสได้รับการศึกษา อย่างดีและมีคุณภาพ จะใช้โอกาสนั้นอย่างเต็มที่และจะส่งต่อ ความช่วยเหลือในทุกๆ ด้านเพื่อช่วยเหลือเด็กและเยาวชนของ ประเทศไทยต่อไป
ชนัญดา ทวีสิน
ISSUE 03/2011
33
23 LOVE @ FIR S T RE AD ...................................
Books for Africa
34
ISSUE 03/2011
ในโลกของหนังสือ มีหนังสืออยู่มากมายหลายประเภทที่ชวนให้เราหลงใหลและสนุกไป กับมัน มีหนังสือหลายเล่มทีเ่ ราอ่านแล้วอยูใ่ นความทรงจำมากล้นจนอยากแบ่งปันให้คนอืน่ ได้ร่วมสนุกไปกับเราบ้างไหม ถ้ามีอย่ารอช้า เพราะ Book for Africa เป็นหน่วยงานใหญ่ ที่ช่วยทำหนังสือดีๆ จากทั่วทุกมุมโลกไปสู่ผู้คนที่แอฟริกา เพื่อให้พวกเขาได้เปิดโลกทัศน์ และได้เห็นโลกที่กว้างใหญ่ผ่านหนังสือเช่นเดียวกับเรา ร่วมเป็นส่วนหนึ่งที่หยิบยื่นความรู้ ให้เพื่อนอีกมุมโลกหนึ่งของเราได้ที่ www.bookforafrica.org
24
-28
BUILDING IMAGINATION ...................................
Child needs play
Child
Needs Play ไม่มีวันไหนที่หนู อยากหยุดเล่น สิ่งที่ทำให้จินตนาการที่พระเจ้า มอบให้แก่เด็กๆ ยังอยู่กับพวกเขา ก็คอื การ ที่พวกได้นั่งลงอยู่ท่ามกลางอาณาจักรของเล่นแสนรัก
LEGO LEGO ในภาษาเดนมาร์กมีความหมายว่า ‘Play Well’ คือการ เล่นสนุก เล่นได้เล่นดี และยังแปลเป็นภาษาละตินด้วยว่า ‘I Put Together’ คือการประกอบหรือวางเข้าด้วยกัน เป็นชื่อที่สื่อถึง ความเป็นมันได้อย่างชัดเจน เพราะเป็นของเล่นทีน่ ำบล็อคเหลีย่ ม เล็กๆ มาต่อเติมเป็นรูปร่างต่างๆ ได้ตามจินตการที่ไม่รู้จบ
JIGZAW PUZZLE ความสนุกของการเล่น JIGZAW PUZZLE แพร่กระจายออกไป ในอังกฤษและอเมริกา ตั้งแต่ยุค 20 และมันกลายเป็นของเล่น คลาสสิกที่ปรับเปลี่ยนรูปร่าง หน้าตาของวัสดุและรูปภาพไป เรื่อยๆ จนเป็นที่นิยมไปทั่วโลก สิ่งที่เด็กๆ จะได้หลังจากชิ้นส่วน เล็กๆ ค่อยๆ รวมกันจนปรากฏเป็นภาพ ก็คือ ความคิดสร้างสรรค์ การใช้เหตุผล สมาธิ และความตื่นตาตื่นใจ
Teddy Bear เทดดี้เป็นตุ๊กตาหมีที่มี เรื่องราวมายาวนาน ทั้งมี จุดกำเนิดมาจาก 2 ฝัง่ คือเยอรมัน และสหรัฐอเมริกาที่สร้างสรรค์ตุ๊กตาหมี เทดดี้ขึ้นมาในช่วงเวลาพร้อมๆ กัน เทดดี้ แบร์ ของ อเมริกามีดวงตากลมโต ส่วนเทดดี้ แบร์ ของเยอรมันมีลักษณะ เหมือนของจริงคือหลังค่อมและมีจมูกยาวขึ้นมาเป็นเอกลักษณ์ เทดดี้ แบร์ ปรากฏตัวในบทเพลงและนิทานทีม่ ชี อ่ื เสียงสำหรับเด็ก ผ่านทั้งยุคเฟื่องฟูและซบเซา แต่จินตนาการและความอบอุ่นที่ได้ จากการสวมกอดตุ๊กตาหมีตัวน้อย ทำให้เทดดี้ แบร์เป็นของเล่นที่ มีทั้งคุณค่าทางใจเสมอ
เครื่องบินพับ
รูปจำลองเครื่องบินที่พับขึ้นจากกระดาษ 1 แผ่น สามารถทำให้ จินตนาการของเด็กๆ บินฉิวไปไกลเท่าที่จินตนาการของพวกเขา จะไปถึง เครือ่ งบินกระดาษถูกพัฒนาและกลายเป็นศาสตร์ในการ เรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์ จักรกล พลศาสตร์ และฟิสิกส์ จึงเป็น ของเล่นง่าย ราคาถูก ทีส่ ามารถต่อยอดการเรียนรูใ้ ห้เด็กๆ ได้อย่างดี
ดินน้ำมัน
การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ สายตา และกล้ามเนื้อมือได้อย่าง มีประสิทธิภาพไปพร้อมๆ กัน ผ่านการขยำขยุ้มก้อนดินสีสวย ออกมาเป็นรูปร่างตามแต่จินตนาการได้ ทำให้การปั้นดินน้ำมัน เป็นของเล่นสุดฮิต ที่ต้องมีติดไว้ทุกบ้าน
ISSUE 03/2011
35
29 AWAK EN IMAG INATION
รถเข็นนิทาน สานความห่วงใย จะดีแค่ไหนหากโลกใบเล็กของเด็กน้อย เต็มไปด้วยจินตนาการ จากนิทานที่แสนสนุก แต่ยังมีเด็กจำนวนหนึ่งที่ต้องพักรักษาตัว อยู่ที่โรงพยาบาลด้วยโรคประจำตัวตั้งแต่เล็ก ทำให้โลกของเขา ถูกจำกัดเอาไว้ภายในโรงพยาบาล ร่วมเติมเต็มความสนุก มอบ ความสุขจากนิทาน ด้วยการมอบรถเข็นนิทานสานความห่วงใย สู่เด็กๆ ด้วยนิทานดีๆ หลากหลายเล่มดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ ที่ www.ffc.or.th
36
ISSUE 03/2011
30 FOOD BANK
Rice Bowls ลูกเล่นน่ารักอันแพรวพราวของเว็บไซต์ www.ricebowls.org จะชวนให้คุณอยาก คลิกเข้าไปบริจาคเงินเพื่อซื้ออาหารให้เด็กทั่วโลกได้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นได้ไม่ยาก มีช่องทางการบริจาคหลากหลายช่องทางที่ชวนให้คลิกเข้าไปเล่นสนุก อาทิ การซื้อ เสื้อยืดลายเก๋ การหยอดเงินบริจาค รายได้ทั้งหมดนั้นนำไปช่วยชุบชีวิตให้เด็กน้อย หลากหลายคน หลากหลายปัญหา ทีแ่ ตกต่างกันออกไป คลิกเข้าไปอ่านความรูส้ กึ ดีๆ และอิ่มใจด้วยการได้ช่วยบริจาคกันได้ที่ www.ricebowls.org
ISSUE 03/2011
37
31 PL AY FUL FAC TORY ...................................
Never ending stories
38
ISSUE 03/2011
Never Ending Stories…
ของเล่นกับจินตนาการไม่รู้จบ เรือ่ งเล่นเป็นงานหลักของเด็กๆ การสร้าง เสริมจินตนาการให้ลูกก็เป็นงานหลัก ของคนเป็นพ่อ แม่ เช่นเดียวกัน เมือ่ เด็ก ได้วิ่งเล่นหรือทำกิจกรรมนอกบ้าน นั่นคือการเสริมสร้างกล้ามเนื้อส่วน ต่างๆ ของร่างกายของเด็กๆ ให้พัฒนา ไปตามวัย หลังจากการเล่นสนุกนอน บ้านแล้ว ของเล่น เป็นส่วนสำคัญทีช่ ว่ ย ในการเสริมสร้างและต่อยอดจินตนาการ ให้เด็กๆ ได้เป็นอย่างดี เรื่องเล่าสนุกๆ จากนิทาน หรือเพลง เพราะๆ ที่มีอุปกรณ์ประกอบน่ารัก อย่างตุก๊ ตาถุงเท้าทีช่ ว่ ยกันทำจากวัสดุ ง่ายๆ ที่หาได้ ในบ้าน นอกจากจะช่วย เติมเต็มความอบอุ่นในครอบครัวแล้ว ยังเป็นการเสริมสร้างจินตนาการ ไม่รู้จบให้เด็กๆ อีกด้วย อุปกรณ์
วิธีการทำ
1.
1.
ถุงเท้าเด็ก ขนาดและลายต่างๆ ตาม ชอบใจ
..........................................................
2.
กระดุมขนาดตามชอบ
..........................................................
3.
สำลีหรือใยสังเคราะห์
4.
ผ้าสักหลาด กำมะหยี่ หรือโบว์สตี า่ งๆ
5.
ไหมพรมสีต่างๆ
6.
ตะเกียบไม้
7.
เข็มเย็บผ้า ด้าย
8.
กรรไกร
..........................................................
..........................................................
..........................................................
..........................................................
..........................................................
..........................................................
เลือกถุงเท้าตามขนาดที่ต้องการ (ถุงเท้าเด็กจะได้ม้าตัวเล็ก) 2. นำใยสังเคราะห์หรือสำลีที่เตรียมไว้ ใส่ลงไปในถุงเท้าให้แน่นพอสมควร ใช้ปลายตะเกียบค่อยๆ ดันใยสังเคราะห์ ให้เข้าไปจนเต็มพื้นที่ถุงเท้า จัดแต่ง ทรงให้สวยงาม เว้นพื้นที่ถุงเท้าส่วน ปลายไว้ประมาณ 1 นิ้ว 3. ตัดผ้าสักหลาดเป็นทรงรี เล็มปลาย ด้านหนึง่ ให้โค้งเป็นทรงแหลม (เพือ่ เป็นปลายหูของม้า) อีกด้านหนึง่ ตัดตรง สำหรับพับเก็บเพือ่ เย็บติดกับถุงเท้า 4. ใช้ผ้าต่างสีขนาดเล็กกว่าชิ้นเดิมซ้อน ลงไปบนผ้าสักหลาดชิน้ แรก เพือ่ สร้าง มิติให้หูของม้ามีสีสันมากยิ่งขึ้น ก่อน จะเย็บติดลงไปบนถุงเท้าที่เตรียมไว้
5.
เลือกกระดุมทีเ่ ตรียมไว้ เย็บติดลงบน ถุงเท้าในตำแหน่งที่ต้องการให้เป็น ตาของม้า 6. นำตะเกียบทีเ่ ตรียมเอาไว้ ใส่ลงไปใน ถุงเท้า ก่อนใช้ไหมพรมพันปลายถุงเท้า กับตะเกียบให้แน่น 7. ใช้ไหมพรมและริบบิน ้ ตกแต่งเพิม่ เติม ให้สวยงาม
ISSUE 03/2011
39
32 PR INTAB LE REWAR D
Yes Kids Can! Changing the World is our Business You Did Good! Certificate of Achievement
Congratulations!
has successfully completed an act of kindness!
You gave your time and energy! You showed you cared! You helped out a cause! You made a difference! Random acts of kindness are great. Regular acts of kindnessare even better! Keep up the good work!
40
ISSUE 03/2011
33 PA SSAGE TO IDE A ...................................
A girl story
ภาพยนตร์แอนิเมชัน่ ทีจ่ ะสามารถเปลีย่ นความคิดและดึงความสนใจ จากผูค้ นทีเ่ ข้าไปชมให้บริจาคเงินให้เด็กอินเดียทีด่ อ้ ยโอกาสทาง การศึกษาได้จำนวนมาก เรื่องราวที่สร้างมาจากเรื่องจริงของ เด็กหญิงทีช่ อ่ื Tarla เธอขาดโอกาสการศึกษา แล้วเฝ้ามองชีวติ ของ เด็กคนอื่นที่ได้ไปโรงเรียนวันแล้ววันเล่า ในขณะที่เธอขาดโอกาสทางการศึกษา เพื่อเติมเต็มโอกาสนั้น ให้เธอและเด็กในอินเดียอีกจำนวนมาก คลิกเข้าไปที่ www.agirlstory.org เพือ ่ ชมภาพยนตร์และบริจาคเงินกันได้เลย
ISSUE 03/2011
41
34
-53
K EEP SHAR ING
42
ISSUE 03/2011
ณัฐศักดิ์ ท้าวอุดม ครูสอนว่ายน้ำ ‘ฮีโร่ของเด็กในโลกเงียบ’
ณัฐศักดิ์ ท้าวอุดม หรือคุณครูพายุ ใช้ชีวิตอย่างปกติเป็นคุณครูสอนว่ายน้ำมาตั้งแต่สมัย ศึกษาในระดับมหาวิทยาลัย วันหนึ่งเขาเกิดคำถามในใจขึ้นมาว่า “เด็กๆ ทั่วไปหากตกน้ำ แล้วก็สามารถ ร้องตะโกนให้คนช่วยเหลือได้ แต่ถ้าหากเป็นเด็กที่ไม่สามารถจะพูดหรือ ตะโกน เช่นเด็กที่มีความพิการทางหู พวกเขาจะทำอย่างไร” จากวันนั้นเขาก็เริ่มต้นที่จะ อาสาสอนว่ายน้ำให้กับเด็กๆ กลุ่มนี้ ทุกวันนีส้ ถิตขิ องเด็กทีเ่ สียชีวติ เพราะจมน้ำมีจำนวนสูงขึน้ การฝึกให้วา่ ยน้ำเป็นเรือ่ งจำเป็น เพื่อให้เด็กสามารถช่วยเหลือตัวเองได้ การฝึกว่ายน้ำให้กับเด็กที่สามารถสื่อสารกันด้วย เสียงนั้นไม่ใช่เรื่องยากลำบาก แต่การฝึกว่ายน้ำให้กับเด็กที่ไม่สามารถฟังหรือพูดได้ มีอุปสรรคสำคัญคือ การสื่อสาร ซึ่งถือเป็นด่านแรกในการพิสูจน์ความตั้งใจของคุณครู ท่านนี้ ครูพายุเริ่มเรียนรู้ภาษาเฉพาะเพื่อการสื่อสาร เข้าไปสัมผัสเด็กๆ กลุ่มผู้พิการทางหู อย่างใกล้ชดิ เมือ่ เขาสามารถทะลายความกลัวของเด็กๆ และอุปสรรคในด้านการสือ่ สารลง เขาพบว่า นอกจากเด็กที่เข้ามาเรียนว่ายน้ำจะสามารถว่ายน้ำได้แล้ว การว่ายน้ำยังทำให้ พวกเขาคลายความเครียดและความอึดอัดจากการอยูใ่ นโลกเงียบได้ดว้ ยการออกกำลังกาย ทุกวันนี้คุณครูพายุยังไม่หยุดที่จะเรียนรู้ เพราะนอกจากเด็กผู้พิการทางหูแล้ว เขายังสอน ว่ายน้ำให้กับเด็กพิเศษออทิสติกเพื่อหวังผลในการบำบัดด้านอารมณ์และเสริมสร้าง ศักยภาพในการเรียนรู้ให้กับเด็กๆ กลุ่มดังกล่าว เขายังคงใช้ชีวิตปกติ แต่ได้รับความสุข ความภูมใิ จทวีขน้ึ จากการตอบคำถามทีว่ า่ ผูพ้ กิ ารทางหูจะสามารถตะโกนขอความช่วยเหลือ และมีชวี ติ รอดได้อย่างไรหากต้องตกน้ำ ซึง่ คำตอบนัน้ ก็คอื เขาจะทุม่ เทแรงกายและแรงใจ เป็นครูสอนว่ายน้ำให้กับเด็กเหล่านั้น เพื่อให้พวกเขาสามารถช่วยเหลือตัวเองได้ต่อไป ติดตามเรื่องราวของครูพายุได้ www.Krupayu.com และสามารถสมทบทุน เพื่อซื้อ อุปกรณ์ เช่น แว่นตา กางเกงว่ายน้ำ และค่าสถานที่ในการฝึกสอนได้ที่ธนาคารกรุงไทย สาขาข่วงสิงห์ (เชียงใหม่) ชือ่ บัญชี ‘โครงการสอนว่ายน้ำเพือ่ เด็กหูหนวก ครั้งที่ 2’ เลขที่บัญชีออมทรัพย์ 547-0-35355-9
54 S W IMMING SUNSHINE ...................................
Healing therapy
ISSUE 03/2011
43
55
ช่วยน้องๆ ไปโรงเรียน กับ
GROW ING FOOD, GROW ING TOGETHER
by
* สำหรับผู้บริจาคขั้นต่ำ 100 บาท ที่สนใจรับ Karaoke DVD Love Inspires Love โปรดส่งสำเนาการโอนเงินมาที่ Fax : 0-2201-3504 หรือ E-mail : patcharaporn@ sansiri.com * เงินบริจาคโดยไม่หกั ค่าใช้จา่ ย
มอบแด่ห้องเรียนโรงเรียน เขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 1 (ศูนย์การเรียนวัดป่าเป้า) * ชม Love Inspires Love Music Video และ Scoop ได้ที่ www.sansiri.com/love
44
ISSUE 03/2011
อย่าปล่อยให้ท้องเล็กๆ ของเด็กตัวจิ๋วต้องว่างเปล่า อาหารมีส่วน สัมพันธ์กับพัฒนาการทางสมองของเด็กน้อย มูลนิธิเสริมกล้าขอ เสนอการส่งต่อความรักให้ท้องอิ่มด้วยแนวคิดดีๆ อย่างโครงการ เพาะเห็ดในโรงเรียน ครึ่งหนึ่งใช้ประกอบอาหารเลี้ยงน้อง อีกครึ่ง หนึ่งเก็บไว้ขายโดยสหกรณ์โรงเรียน เงินส่วนที่ได้จะถูกนำกลับไป สมทบทุนอาหารกลางวันของเด็กน้อยแบบยั่งยืน ร่วมบริจาคความรักและส่งต่อความสุขผ่านมูลนิธิเสริมกล้า ด้วยการบริจาคเงินสมทบทุนโครงการเพาะเห็ดสมทบทุนอาหาร กลางวันเพื่อเด็กแบบยั่งยืน รวมถึงเป็นค่ารถให้เด็กเร่ร่อน เด็ก ไร้สัญชาติที่บ้านอยู่ห่างไกลแต่อยากมาเรียนหนังสือ มอบแด่ ห้องเรียนโรงเรียนเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 1 (ศูนย์การเรียนวัดป่าเป้า) DVD คาราโอเกะ Love Inspires Love บริจาคขัน้ ต่ำ 100 บาท* รายได้ทง้ั หมดสนับสนุนโครงการอาหารกลางวันอย่างยัง่ ยืน ให้แก่มูลนิธิเสริมกล้า บริจาคเงินได้ที่ ‘มูลนิธิเสริมกล้า’ ธนาคารไทยพาณิชย์ สาขาอาคารสิริภิญโญ บัญชีออมทรัพย์ เลขที่ 402-3-47686-0
Get Start by Your Step
ทำดีได้ ในแบบคุณ
10 วิธีการน่าสนใจเพื่อเริ่มต้น หาวิธีการทำความดีในแบบของคุณ
เครือข่ายการทำดี อยู่รอบตัวคุณ มือใหม่หัดทำดี ลองเริ่มต้นจาก กิจกรรมเพื่อสังคมขององค์กรใกล้ๆ ตัว
เที่ยวทำดี ก่อนเก็บกระเป๋าแต่ละทริป สละเวลาหาข้อมูลสถานที่ที่คุณไป คุณอาจจะเห็นช่องทางการช่วยเหลือ คนอื่นในแบบใหม่ๆ
ทำดี ไม่ต้องเยอะ! ทำดีได้ ไม่ต้องรอความพร้อม คุณสามารถใช้ต้นทุนที่คุณมีทำความดีได้ เช่น ถ้าคุณ ซ่อมจักรยานเป็น คุณอาจซ่อมจักรยานเก่าให้เป็น จักรยานคันใหม่ให้กับเด็กที่ขาดแคลนได้
หาผู้ช่วยทำดีอย่างสร้างสรรค์ ลองหาไอเดียที่จะจัดสรร เวลาและความสามารถที่คุณมีอยู่ไปทำในสิ่งที่เหมาะสม กับคุณ ผ่านเครือข่ายจิตอาสา www.volunteerspirit.org
คุณเป็นคนแบบไหน โอกาสของคุณก็เป็นเช่นนั้น ลองทบทวนดูว่าคุณเป็นคนแบบไหน คุณมีเวลามากแค่ไหนและชอบทำอะไร คุณจะเห็นคำตอบเองว่า อะไรที่เป็นการทำดีในแบบคุณ ให้เวลากับสิ่งที่คุณตั้งใจกระทำ ให้เต็มที่ การทำงานอาสาสมัครนัน้ ไม่ได้บังคับคุณ ความสม่ำเสมอ และการตั้งใจเป็นสิ่งสำคัญ เลือก กิจกรรมที่ยืดหยุ่นกับเวลาในชีวิต ของคุณ
56
-65
DOING GOOD ( t o ge t h e r)
ท่องไซเบอร์เพียงแค่กรอกคำว่า ‘อาสาสมัคร’ ลงในเสิร์ชเอนจิ้นชื่อดัง เช่น google คุณจะพบ ช่องทางหรือไอเดียมากมายที่เป็นประโยชน์ ในการตั้งใจทำความดีของคุณถึง 5,280,000 รายการ
ทำดี 8 ชั่วโมงต่อวัน สร้างแรงบันดาลใจ ให้กับเพื่อนร่วมออฟฟิศ เช่น แข่งกันลดปริมาณ การพริ้นต์เอกสาร ทำให้ 8 ชั่วโมงของการ ทำงานในแต่ละวันเป็นการทำดี
ใครๆ ก็เป็นครูได้ หาโอกาสในการเป็นครู ไม่ว่า จะเป็นกับเครือข่ายครูในชนบท ครูให้กับน้องๆ ตาบอด หรือเด็กที่ต้องอยู่ในโรงพยาบาลนานๆ ดูรายละเอียดที่ www.blind.or.th ใช้เอทีเอ็มให้เป็นประโยชน์ วิธีที่คุณ สามารถทำได้ง่ายที่สุดและรวดเร็วที่ สุดคือการโอนเงินบริจาคช่วยเหลือ คนด้อยโอกาสผ่านทางธนาคารที่คุณ เปิดบัญชีอยู่
ISSUE 03/2011
45
66 K EEP WAR M
โครงการ 365 วัน ถักอุ่นให้คลายหนาว ความหนาวเย็นของฤดูหนาว หลายคนอาจเฝ้ารอให้มาถึง หากแต่ยังมีอีกหลากหลายคนบนดอยสูงและพื้นที่ห่างไกล หวาดกลัวกับความหนาวเหน็บเหล่านั้น จึงมีกลุ่มคนจิตอาสา กลุ่มหนึ่งที่ใช้เวลาว่างบวกกับความสามารถเฉพาะตัวร่วมกัน ถักหมวกไหมพรม ผ้าพันคอ เครื่องห่มกันหนาว หมวกไหมพรม สำหรับพระภิกษุ หมวกสำหรับผู้ป่วยมะเร็งที่รอการฉายแสง ร่วมกัน โดยใช้วิธีถักไปเรื่อยๆ ตลอดปี แล้วนำมาต่อกัน หรือนำ ดีไซน์มาดัดแปลงร่วมกัน โดยงานนี้ หากใครสนใจพวกเขามี รวมกลุ่มเปิดสอนกันทุกเดือน และรวบรวมแจกจ่ายไปยังพี่น้องที่ ประสบภัยหนาวปีละครั้ง ร่วมโอบกอดคนที่ห่างไกลด้วยอ้อมกอด ไหมพรมในรูปแบบต่างๆ ได้ที่ www.volunteerspirit.org
46
ISSUE 03/2011
67 PRET T Y GOOD THINGS
Sseko เราอาจมีรองเท้ามากมายหลายคู่ในชั้น วางรองเท้า ถูกบ้างแพงบ้างตามแต่รสนิยม และเงินในกระเป๋า แต่คงจะดีไม่น้อย หากรองเท้าคู่หนึ่งที่สวมใส่มีที่มาที่ไป น่าสนใจ อีกทั้งยังช่วยเหลือหญิงสาวใน ประเทศอูกันดาให้ได้เรียนมหาวิทยาลัย Sseko เป็นยี่ห้อรองเท้า Sandal ที่ผลิต จากประเทศอูกันดา ที่มีดีไซน์ที่เก๋ไก๋ ลวดลายและสีสันอันเป็นเอกลักษณ์ ของอูกันดา ถูกนำมาเป็น Signature ในงานดีไซน์รองเท้าทำมือยี่ห้อนี้ ซึ่ง รายได้จากการอุดหนุนรองเท้าเหล่านี้ จะถูกนำไปเป็นค่าใช้จ่ายสำหรับการ ศึกษาระดับมหาวิทยาลัยของหญิงสาว ที่ผลิตรองเท้าสวยๆ ที่เราได้อุดหนุน ซึ่งการได้ช่วยอุดหนุนรองเท้าเหล่านี้ จะเปลี่ยนให้หญิงสาวที่ทำรองเท้าได้มี อาชีพที่ใฝ่ฝัน อาทิ แพทย์ พยาบาล ครู นักกฎหมายในอนาคตก็เป็นได้ สั่งซื้อรองเท้าที่แสนเก๋ได้ที่ www.ssekodesigns.com www.facebook.com/ssekodesigns twitter: @SsekoDesigns
ISSUE 03/2011
47
HELPING YOUR CHIL :D BUIL :D INNER S TRENGTH 48
ISSUE 03/2011
ขอบคุณข้อมูลจาก แพทย์หญิงพักตร์พิไล ทวีสิน จาก S Medical Spa สปาเชิงการแพทย์ที่ดีที่สุด ของเมืองไทย เจ้าของรางวัล Medi-Spa of the Year 2007, 2009 & 2010
พญ. พักตร์พิไล ทวีสิน คงเคยได้ยินคำขวัญวันเด็กที่ว่า ‘เด็กวันนี้คือผู้ ใหญ่ใน วันหน้า’ การสร้างผู้ ใหญ่ที่มีคุณภาพในอนาคต ต้องเริ่มต้น จากการดูแลเด็กให้มีสุขภาพร่างกายและจิตใจที่แข็งแรง พร้อมเป็นคนดีของสังคม หลายครอบครัวโดยเฉพาะครอบครัวที่มีญาติผู้ใหญ่อยู่ด้วย มัก แสดงความรักที่มีต่อลูกหลานด้วยการใช้ขนมหวานเรียกรอยยิ้ม จากเด็กๆ ยิ่งขนมหายากที่มีราคาสูงยิ่งเป็นสิ่งที่แสดงออกแทน ความรัก นัน่ เป็นสิง่ ทีส่ ร้างความชืน่ ใจกับผูใ้ ห้ แต่สำหรับเด็กๆ แล้ว การทานของหวานจากที่มีส่วนผสมของน้ำตาลอาจจะสร้างความ เอร็ ด อร่ อ ยและสดชื่ น กระปรี้ ก ระเปร่ า ขึ้ น ทั น ที ในระยะยาว ความหวานจากขนมจะให้โทษกับร่างกาย เนือ่ งจากน้ำตาลเป็นสาร กระตุน้ การอักเสบในอวัยวะภายในร่างกาย ทำให้รา่ งกายเสือ่ มและ เสี่ยงต่อการเกิดโรค น้ำตาลยังกระตุ้นให้เกิดภาวะ ‘ไกลเคชั่น’ นัน่ คือ น้ำตาลและโปรตีนจับตัวกัน ทำให้โปรตีนเสือ่ มสภาพ ส่งผล ให้กล้ามเนื้ออ่อนล้า เอ็นและข้อเสื่อมไปจนถึงผิวหนังถูกทำลาย อีกทั้งน้ำตาลแล็กโทสที่อยู่ในผลิตภัณฑ์นมที่มาจากสัตว์ เช่น นม เนย ชีส เป็นน้ำตาลที่ร่างกายของคนไทยส่วนใหญ่ไม่สามารถ ย่อยได้ สิง่ ทีเ่ หลือตกค้างอยูใ่ นลำไส้จงึ เป็นอาหารของเชือ้ รา ทำให้ เกิดภาวะยีสต์เจริญเติบโตมากผิดปกติและกดภูมิต้านทานต่างๆ ในร่างกาย เด็กที่ทานอาหารประเภทนี้บ่อยๆ จึงเป็นโรคภูมิแพ้ ผื่นผิวหนังอักเสบ ติดเชื้อ เป็นหวัด และเป็นไซนัสกันบ่อยๆ ดังนั้น การฝึกให้เด็กชินกับรสหวานตามธรรมชาติจากผัก ผลไม้ จึงเป็น สิ่งที่มีประโยชน์กับร่างกายและสุขภาพของเด็กมากที่สุด มีงาน วิจัยบ่งบอกชัดเจนว่า เด็กในช่วงอายุ 0-2 ปี ไม่สามารถรับรู้รส แตกต่างระหว่างความหวานของน้ำตาลกับความหวานจากผัก ดังนั้นจึงควรเริ่มต้นให้เด็กรับประทานผัก ผลไม้จนติดเป็นนิสัย เลี่ยงการซื้อขนมหวาน น้ำอัดลมเข้าบ้าน การฝึกให้เด็กทานผัก ผลไม้ตงั้ แต่เล็ก เด็กจะไม่ตดิ น้ำตาลและชอบผัก ผลไม้ ซึง่ มีวติ ามิน และเกลือแร่ที่จำเป็นต่อร่างกายอีกด้วย และอีกหลายคนยังเข้าใจว่าหากอยากให้ลูกสูงต้องให้เด็กดื่มนม มากๆ เพื่อให้ร่างกายได้รับโปรตีนและแคลเซียมอย่างเพียงพอ ในความเป็ น จริ ง เด็ ก จะได้ รั บ โปรตี น คุ ณ ภาพดี จ ากเนื้ อ สั ต ว์ ไม่ติดมัน รวมไปถึงเนื้อปลา ได้รับแคลเซียมจากผักเขียว เช่น ผักคะน้า กุ้งแห้ง ปลาป่น และปลาตัวเล็กตัวน้อยที่ทานได้ทั้งก้าง นั่นเป็นแหล่งแคลเซียมที่มีคุณภาพดีต่อร่างกายมากกว่านม
ที่สำคัญคือการที่เด็กหนึ่งคนจะเติบโตสูงใหญ่ร่างกายแข็งแรงนั้น ไม่ ใ ช่ เ พี ย งแค่ ไ ด้ รั บ แคลเซี ย มและโปรตี น จากอาหาร แต่ ต้ อ ง ควบคู่ไปกับการออกกำลังกายให้กล้ามเนื้อได้ทำงาน ให้กระดูก ได้รับน้ำหนัก ได้วิ่งเล่นตามธรรมชาติ ควบคู่ไปกับการนอนหลับ พักผ่อนยามพระอาทิตย์ตกดิน นั่นคือ นอนตั้งแต่หัวค่ำสามสี่ทุ่ม แล้วตื่นเช้าพร้อมพระอาทิตย์ตอนหก-เจ็ดโมงเช้า หากเด็กดื่ม นมเสริมแคลเซียมแต่ไม่ได้ออกกำลังกายเลยหรือนอนดึกหลัง เที่ยงคืน แม้จะนอนได้ยาวนานแปดเก้าชั่วโมงตื่นเอาตอนเที่ยง ก็ไม่สามารถช่วยให้เด็กคนนั้นสูงใหญ่ได้มากเท่าที่ควร รวมทั้งยัง มีผลให้ภูมิต้านทานบกพร่องอีกด้วยซ้ำ เพราะร่างกายคนเรานั้น จะหลั่งโกรทฮอร์โมนออกมา ช่วยเสริมสร้างและซ่อมแซมเนื้อเยื่อ อวัยวะต่างๆ ก็ตอนที่เรานอนหลับสนิทพร้อมๆ กับพระอาทิตย์ หากหลับตอนกลางวันยังมีรังสียูวีจากแสงแดดลงมาตกกระทบ ก็จะไม่มโี กรทฮอร์โมน แม้จะนอนหลับได้แต่กไ็ ม่เกิดการซ่อมแซม หรือเสริมสร้างให้สุขภาพร่างกายแข็งแรง กายเติบใหญ่แล้วต้องดูแลให้จิตใจเติบโตตามมาด้วย บอกรักลูก ได้ทุกวัน โอบกอดสัมผัสรักที่ถ่ายทอดจากพ่อแม่ นับเป็นภูมิต้าน ทานที่ดีที่สุดที่จะช่วยให้ลูกหลานมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง คนที่ เติบโตมาด้วยความรักความอบอุ่นในครอบครัวจะห่างไกลจาก ยาเสพติด เพราะมีเกราะกำบังชั้นดี ทั้งยังช่วยให้เด็กมีวุฒิภาวะ ทางอารมณ์เข้มแข็ง ย่อมเป็นกำลังสำคัญที่จะทำให้สังคมนี้น่าอยู่ การจะดูแลให้บุตรหลานเติบใหญ่เป็นคนดีในสังคมปัจจุบันนั้น ไม่ใช่เรื่องง่าย สังคมปัจจุบันมีสิ่งหลอกล่อให้หลงใหลอยู่มากมาย คนในครอบครัวจำเป็นต้องให้ความรัก ความเข้าใจ ความอบอุ่น กับเด็ก เพือ่ ให้เขาเติบโตขึน้ เป็นคนดีในอนาคต เด็กทีไ่ ด้รบั ความรัก เต็มเปี่ยมจะรู้จักการเผื่อแผ่ความรัก มีความเห็นอกเห็นใจผู้อื่น และอยากเห็นคนอื่นมีความสุขเช่นเดียวกัน หากอยากจะเป็นส่วนหนึ่งในการช่วยพัฒนาให้สังคมไทยเป็น สังคมที่ยิ้มแย้มแจ่มใส เป็นสังคมที่มีความสุขสงบ ต้องเริ่มต้น จากภายในบ้าน ดูแลบุตรหลานให้เป็นคนดี ก็เท่ากับเรามีส่วน ช่วยเสริมสร้างพัฒนาสังคมไทยไปพร้อมๆ กัน
S Medical Spa Winner Of The Asia Spa Awards Medi-Spa Of The Year 2007, 2009&2010
เบอร์ติดต่อ 0-2253-1010
E-mail: Info@smedspa.com Facebook:www.facebook.com/smedicalspa Website:www.smedspa.com
ISSUE 03/2011
49
68 FRUIT NUTR ITION ...................................
Something sweet
ความหวานที่ดีกับสุขภาพ ผลไม้ เป็นสิ่งที่เด็กๆ ส่วนใหญ่ชอบทาน เพราะมีรสหวานและมีกลิ่นไม่ฉุนเท่าผักบางชนิด คุณพ่อ คุณแม่ อาจจะพยายามเพิ่มความหลากหลายของประเภทผลไม้ให้มากขึ้นเพื่อให้ ลูกได้รบั สารอาหารทีห่ ลากหลายด้วยวิธกี ารง่ายๆ เช่น เพิม่ ผลไม้สดลงบนไอศกรีมสุดโปรด ทำขนมเค้กแล้วใส่ผลไม้แห้ง เช่น ลูกเกด แอปริคอต และลูกพรุน ลงไปหรือใช้เป็นส่วนหนึง่ ของหน้าขนมหรือทำไอศกรีมน้ำผลไม้ (ใส่เนื้อผลไม้ลงไปด้วย) ไว้ในตู้เย็นให้เด็กทานเล่น แทนขนมหวาน มีวิธีอีกหลากหลายที่จะสร้างแรงจูงใจให้เด็กๆ ทานผลไม้ได้อร่อยและ สนุกได้ในเวลาเดียวกัน นอกจากจะได้ประโยชน์กบั สุขภาพของคนในครอบครัวแล้วยังได้ ใช้เวลาในวันว่างสร้างความรักและความผูกพันเพิ่มความอบอุ่นภายในครอบครัวอีกด้วย
นอกจากวิตามินและแร่ธาตุแล้ว ในผลไม้ ยังมีสารแอนตี้ออกซิแดนท์ที่ช่วยบำรุง สมองและทำให้ระบบประสาททำงานได้ดี สามารถสั่งงานให้ร่างกายส่วนต่างๆ ทำงานได้อย่างปกติ ป้องกันมะเร็ง นอก จากนี้ ความหวานของผลไม้ยังช่วยให้ ร่างกายรู้สึกสดชื่น แบบไม่มีพลังงาน เหลือเกินความจำเป็น เพราะเป็นความ หวานที่ได้จากน้ำตาลฟรุกโตสซึ่งให้ พลังงานน้อยและทำให้เกิดฟันผุได้นอ้ ย กว่าความหวานจากขนมต่างๆ วิตามินและ แร่ธาตุตวั สำคัญทีม่ มี ากในผลไม้ ได้แก่ • วิตามินซี ช่วยให้เซลล์ของร่างกายมี ความยืดหยุ่นดี กระตุ้นการทำงาน ของระบบภูมิต้านทานของร่างกาย • โพแทสเซียม ช่วยการเปลี่ยนแปลง แป้งและน้ำตาล • ทองแดง ช่วยการทำงานของเนื้อเยื่อ ประสาท • แมกนีเซียม เสริมความแข็งแรงให้ กระดูกและฟัน
50
ISSUE 03/2011
69 MAK E A LIS T
DON’T FORGET AND STICK ON IT!!! YOU CAN GIVE THE GIFT FOR KIDS บางครั้งความวุ่นวายจากกิจกรรมจากหน้าที่ การงานในแต่ละวัน อาจจะเบียดบังความตัง้ ใจดี ของคุณโดยไม่ได้ตั้งใจ อย่าให้สิ่งเหล่านั้น มาเป็นอุปสรรคของการได้รับความชื่นใจจาก การทำดี ช่วยเตือนตัวเองให้พร้อม เขียนบันทึก ช่วยเตือนความจำลงบนแผ่นกระดาษแผ่นเล็ก (แต่ความหมายของสิ่งที่กำลังจะเกิดขึ้น...มัน ใหญ่ มาก)
ป.ล. ส่งต่อความสุขได้ง่ายนิดเดียวแค่ไม่ลืมอ่านบันทึกช่วยจำบนกระดาษโน๊ตแผ่นนี้
ISSUE 03/2011
51
70 SCIENCE SPOT ...................................
Electrostatic fan
52
ISSUE 03/2011
Electrostatic Fan
วันสนุกๆ ที่ไฟฟ้าสถิตเกิดขึ้นกับดาวกระดาษ การเริม่ ต้นเรียนรูศ้ ลิ ปะและงานประดิษฐ์ สำหรับเด็กๆ เป็นการปูพื้นฐาน ความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการ ไปจนถึงการเข้าใจธรรมชาติรอบตัว ได้ด้วยความสนุกสนานและตื่นตา ตื่นใจ (และหลายต่อหลายครั้ง ผู้ ใหญ่ อย่างเราๆ ก็พลอยสนุกและตื่นเต้น ตามไปด้วย เพราะความรู้สึกในวัยเด็ก ได้มีโอกาสมาทักทายอีกครั้ง) เล่นสนุกกับนักวิทยาศาสตร์ตัวน้อย ออกตามหาและทำความรู้จักกับ พลังงานไฟฟ้าไร้ตัวตนที่เรียกว่า ไฟฟ้าสถิต กันดีกว่า เด็กๆ รู้หรือเปล่า แค่เรามีลูกโป่ง เป่าลมให้ตึงแล้วถูกับเส้นผมบนศีรษะ เราก็สามารถสร้างพลังงานไฟฟ้า ขนาดจิ๋วหลิวได้ด้วยตัวเอง
อุปกรณ์
วิธีการทำ
1.
1.
กระดาษขนาด A4 (อาจจะใช้กระดาษสี ลายสวยๆ จากหนังสือเก่าของคุณแม่ ก็ได้)
..........................................................
2.
กรรไกร (สำหรับเด็กกรรไกรที่มีปลาย มนจะปลอดภัยเมื่อใช้งาน)
..........................................................
3.
ลูกโป่ง (สีตามชอบ)
4.
ดินสอปลายแหลม
5.
ดินน้ำมัน
6.
ดินสอสีตามชอบ
..........................................................
..........................................................
..........................................................
..........................................................
ตัดกระดาษ A4 ให้เป็นสี่เหลี่ยม จัตุรัส พับครึ่งให้เกิดรอยทั้ง 2 ด้าน ทั้งแนวตั้งและแนวนอน 2. คลี่กระดาษออกแล้วพับด้านข้างของ กระดาษทัง้ สองด้านเข้ามายังรอยพับ ตรงกลาง กระดาษจะกลายเป็นรูป ทรงสามเหลี่ยม คล้ายหมวก 3. พลิกรอยพับออกและทำอย่างเดียวกัน เช่นนีก้ บั ด้านถัดไป ใช้นว้ิ มือรีดรอยพับ ให้คมเสมอกันทุกด้าน 4. เมือ ่ กางออกได้กระดาษรูปทรงอย่างที่ ต้องการ (เด็กๆ สามารถวาดรูปและ ระบายสีลงบนกระดาษได้ตามชอบใจ) 5. ปักดินสอที่เหลาเตรียมไว้แล้วกับ ก้อนดินน้ำมัน ให้ปลายแหลมของ ดินสอตั้งขึ้น
6.
วางกังหันลมลงบนปลายดินสอ เป่าลมใส่ในลูกโป่งใบที่ชอบ 8. ใช้มือจับลูกโป่ง ถูกับผมประมาณ 5 -10 ครั้ง แล้วนำลูกโป่งมาหมุนรอบ กังหันลมช้าๆ กระดาษจะหมุนตามการ เคลื่อนที่ของลูกโป่ง (อย่าให้ลูกโป่ง แตะโดนกังหันกระดาษ) 7.
ISSUE 03/2011
53
71 LIVE AND LE AR N
ตักบาตรหนังสือ ให้สามเณร เด็กชายจำนวนไม่น้อยในต่างจังหวัด เลือกที่จะเดินเข้าหาพระธรรมเพื่อศึกษา ธรรมะและเรียนหนังสือในทางโลก หนึ่งในเหตุผลคือเพราะฐานะทางบ้าน ที่ยากจนไม่สามารถส่งให้เรียนหนังสือ ในโรงเรียนดีๆ ได้ แต่หลากหลายโรงเรียน สำหรับสามเณรตามต่างจังหวัดนัน้ ต่างก็ ขาดแคลนอุปกรณ์การเรียนการสอนที่ดี ร่วมทำบุญด้วยการตักบาตรหนังสือให้ สามเณรในชนบทกั บ มู ล นิ ธิ เ ด็ ก เพื่ อ ต่อเติมพระพุทธศาสนาให้งอกงามได้ท่ี www.ffc.or.th เพราะการให้ ธ รรม ย่อมชนะการให้ทง้ั ปวง (พุทธศาสนสุภาษิต)
54
ISSUE 03/2011
AวันดีๆGOOD IDEA ของคนไร้บ้าน
ไม่ว่าผู้คนบนโลกนี้จะแตกต่างกันทั้งฐานะและโอกาสอย่างไร สิ่งหนึ่งที่เราปฏิเสธไม่ได้ก็คือ เราอยู่บนโลกและเป็นเจ้าของโลกนี้ ร่วมกัน A Good Idea ไม่ใช่องค์กรการกุศลทีต่ อ้ งการเพียงแค่แบ่ง เงิน หรือความช่วยเหลือบางส่วนให้กับผู้ไร้บ้านในเมืองใหญ่อย่าง ซานฟรานซิสโกเป็นครัง้ คราวเช่นองค์กรทัว่ ไป แต่นาย Jared Paul ผูก้ อ่ ตัง้ ซึง่ ผันตัวเองจากคนทำงานรายได้สงู สูอ่ งค์กรไม่แสวงกำไร คนนี้มีความคิดที่ต้องการที่จะให้การแบ่งปันกำลังใจ และสิ่งที่เป็นความจำเป็นพื้นฐานแก่พวกเขา ไม่ว่าจะเป็นอาหาร เสื้อกันหนาว ถุงมือ ในแต่ละครั้งนั้นเป็นเรื่องง่าย สนุก แก่ ผู้ ที่ ต้ อ งการจะให้ และเกิ ด ความสุขร่วมกันทั้งคนให้และ คนรับ เป็นเหมือนพืน้ ทีห่ นึง่ ที่สร้างไว้ให้การให้เกิดขึ้น ได้อย่างไม่จำกัดวีถีทาง และเชื่ อ มั่ น ในคุ ณ ค่ า ของความเป็ น มนุ ษ ย์ www.agoodideasf.org
1 Kilomore
ซวี จื้ อ ไห่ ชายหนุ่ ม ธรรมดา จากเมื อ งกวางโจ ตั้ ง องค์ ก ารไม่ แ สวงหาผลกำไรโดยใช้ ชื่ อ ว่ า 1 Kilomore ขึ้ น เพื่ อ รณรงค์ นั ก เดิ น ทางให้ ค วามใส่ ใ จกั บ เด็ ก ๆ ยากจน ในพื้นที่ชนบทที่ผ่านไป โดยทุกครั้งไม่ว่าจะออกเดินทางไปไหน ให้แบกสิ่งของจำเป็นในการเรียน ทั้งเครื่องเขียน หนังสือเรียน จำนวน 1 กิโล เพือ่ มอบให้กบั เด็กๆ เหล่านัน้ ผูท้ ส่ี นใจสามารถคลิก เข้าในเว็บไซต์ ซึง่ มีฐานข้อมูลรายชือ่ โรงเรียน อำนวยความสะดวก ให้แก่อาสาสมัครเพียงแค่เลือกจุดหมายปลายทางที่จะไป จะเห็น ข้อมูลของโรงเรียนในพื้นที่นั้นๆ และสิ่งที่ต้องการให้เสร็จสรรพ www.1kilo.org
God Star 72 อิ ฐ ป ฎิ ภ า ณ บุ ณ ฑ ริ ก นั ก ศึ ก ษ า ส า ข า ภ า พ ย น ต ร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ คิดทำโฆษณาขึน้ มาหนึง่ ชิน้ เพือ่ สะท้อน ถึงการสร้างวินัยให้กับความเป็นชาติ ในโฆษณาเป็นภาพการ รณรงค์ให้คนมาต่อแถวเป็นรูปธงชาติไทย และเมื่อเวลาผ่านไป ผูค้ นต่างเริม่ แตกแถว บ้างไปซือ้ ของกิน บ้างออกไปคุยโทรศัพท์ เมือ่ มองจากมุมสูงทำให้พบว่าธงชาติได้กลายเป็นรูโหว่เป็นคำสัน้ ๆ ว่า ‘วินัย’ สปอตโฆษณาของเขาได้รับการกล่าวถึง ตอนนี้ อิ ฐ ได้ รั บ เลื อ กให้ เ ป็ น ตั ว แทนของโครงการ D Ambassador ร่วมกันกับทีมของเขา และทำโครงการรณรงค์การคอรัปชัน่ โดยมุ่งเน้นไปที่กลุ่มเยาวชน มี ผลงานทำการ์ตูนแอนิเมชั่น ขึน้ มา 1 ชิน้ ชือ่ ว่า God Star นำออกฉายร่วมกับการขยาย เป็นโครงการ ‘โตไป ไม่โกง’ ในโรงเรียนกว่า 420 แห่ง ทั่วประเทศไทย
-75
K EEP UPDATED ...................................
What’s happening around the world
A Sustainable Fashion ถึงเวลาทีว่ งการแฟชัน่ ซึง่ ถูกมอง ว่าเป็นวงการแห่งการฟุ้งเฟ้อจะ เปลี่ยนแปลงโลก แนวคิดหนึ่งในการ หมุนกลับวงการแฟชัน่ ชัน้ สูงสูแ่ นวคิดการผลิต ทีค่ ำนึงถึงสิง่ แวดล้อมและกลับคืนสูค่ วามเรียบง่าย เป็นของ Nerida Lennon หญิงสาววัย 27 ปี จากออสเตรเลีย เธอทำงานคลุ ก คลี อ ยู่ ใ นแวดวงแฟชั่ น และได้ ก่ อ ตั้ ง องค์ ก ร The Whispering Threads เพือ่ ให้เกิดการทำงานเพือ่ สิง่ แวดล้อมอย่าง เป็นรูปธรรม ทั้งการเชื่อมโยงเครือข่าย การให้ความรู้แก่บุคคล เพือ่ ต้องการให้เกิดการขับเคลือ่ นของอุตสาหกรรมแฟชัน่ ในประเทศ ออสเตรเลีย เป็นไปในทิศทางเดียวกัน รวมถึงการรณรงค์ให้ผบู้ ริโภค ยอมรับและเห็นคุณค่าต่อผลงานดังกล่าว หลังจากได้รบั การจับตา ในฐานะคนรุ่นใหม่ที่ทำงานเพื่อสิ่งแวดล้อม Nerida Lennon แนวคิดของได้รับคัดเลือกจากโครงการ The Big Green Idea ซึ่งจะได้รับเงินสนับสนุนในการดำเนินการจาก บริติช คอนซิล www.neridalennon.com
ISSUE 03/2011
55
‘เล่นด้วยกัน ปันให้น้อง Let’s Play Together’
Crowdsourcing Campaign ล่าสุดจากยูนิเซฟ และ แสนสิริ ที่เชิญคุณมาคลิกเมาส์ ให้น้องๆ ได้ออกกำลังกาย ‘เล่นด้วยกัน..ปันให้น้อง’ เป็นกิจกรรมที่ องค์การยูนิเซฟ ร่วมกับ บมจ. แสนสิริ ร่วมพัฒนากิจกรรมบน Social Network โดยมี จุดประสงค์หลักๆ ที่จะมอบชุดอุปกรณ์กีฬา Sport in a Box ให้แก่ โรงเรียนต่างๆ ในถิน่ ทุรกันดาร โดยทุกๆ 500 คน ทีเ่ ข้าร่วมกิจกรรม 1 โรงเรียนที่ขาดแคลน จะได้รับบริจาคอุปกรณ์กีฬา 1 ชุดทันที การเข้าร่วมกิจกรรมนัน้ ง่ายดายและสนุกสนาน เพียงคุณมี Facebook Account ก่อนทีจ่ ะเล่น จากนัน้ คลิกไปที่ www.letsplaytogether.com หรือ www.facebook.com/unicefthailand แล้วเลือกประเภท กีฬาที่คุณชื่นชอบ ซึ่งมีให้เลือกหลากหลายประเภทกีฬา อยาก แปลงกายใส่ชุดกีฬาแบบไหน เลือกตามใจชอบได้เลยค่ะ ทุกวันนี้ที่ใครๆ ก็พูดถึงกันแต่ Social Media เพราะเชื่อว่าหลาย ๆ ท่าน ติดสื่อประเภทนี้กันงอมแงม แต่ในอีกมุมหนึ่ง ก็มีเทรนด์ฮิต ไม่ แ พ้ กั น ที่ ใ นเมื อ งไทยอาจจะยั ง ไม่ ค่ อ ยมี ใ ห้ เ ห็ น กั น มากนั ก แต่ในต่างประเทศ ‘Crowdsourcing’ ถือเป็นกิจกรรมออนไลน์ที่ ผูค้ นกำลังให้ความสนใจ เนือ่ งจากไม่ได้เป็นกิจกรรมทีส่ นุกเพียงอย่าง เดียว แต่ยงั เป็นการร่วมสร้างสรรค์ของกลุม่ คนกลุม่ ใหญ่ ๆ (Crowd) เพื่ อ ร่ ว มกั น ทำหรื อ สร้ า งสิ่ ง ต่ า งๆ รวมถึ ง แก้ ไ ขปั ญ หาร่ ว มกั น จนกลายเป็นประโยชน์ต่อสังคม (Social or Community) ร่วมกัน พลังของกิจกรรมแบบ Crowdsourcing นี้ ทรงพลัง และเป็นทีจ่ บั ตา มองของนักการตลาดดิจติ อล หากจะยกตัวอย่างง่ายๆ ในเมืองไทย ก็พอจะมีบา้ ง เช่น การรวมตัวกันของแฟนเพจในเฟซบุค๊ เพือ่ ช่วยกัน ระดมเงิ น ไปช่ ว ยคนไทยที่ ติ ด อยู่ ใ นประเทศญี่ ปุ่ น เมื่ อ ภั ย พิ บั ติ ครัง้ ใหญ่ทผี่ า่ นมา หรือแคมเปญของคุณตัน โออิชิ ทีม่ ชี อื่ เก๋ๆ ว่า ให้ (Hi! ในภาษาญี่ปุ่น) ที่มีคนไทยร่วมกันบริจาคผ่านการคลิก Like นับล้านครั้ง ถือเป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นได้ยากในโลกออนไลน์ โดยเฉพาะเคสเร่งด่วน ในเวลาที่จำกัดแบบนี้ วันนี้ แสนสิริ ก็มีกิจกรรมลักษณะนี้ มาให้ลูกบ้านและผู้อ่านได้ รูจ้ กั และมาร่วมสร้างความเปลีย่ นแปลง หยิบยืน่ โอกาสดีๆ ให้นอ้ งๆ ผู้ ห่ า งไกล ได้ เ ล่ น กี ฬ า ผ่ า นกิ จ กรรมออนไลน์ ที่ คุ ณ มี ส่ ว นร่ ว ม ได้ง่าย ๆ
56
ISSUE 03/2011
SELECT YOUR NUMBER ON SHIRT
ADJUST YOUR PIC TO FIT IN THE TEMPLATE
FINISH
CHOOSE HAIRSTYLE
YOU CAN SHARE YOUR PIC ON FB จากนั้น มาสนุกกับการเลือกรูปแบบเสื้อ สี เบอร์เสื้อ เมื่อได้แบบที่ คุณชอบมากทีส่ ดุ ก็ไปเลือกรูปหน้าตรงของคุณทีเ่ ซฟเก็บไว้อยูแ่ ล้ว ในฮาร์ดดิสก์ หรือจะถ่ายภาพสดๆ ผ่านเว็บแคมก็ได้ค่ะ มาถึง ขัน้ ตอนนี้ แอ๊คท่ากันให้สดุ ๆ ไปเลย แถมเรายังมีทรงผมมากมาย ให้ คุณเลือกสร้างสีสันและความแปลกใหม่ให้กับ Avatar ของคุณ เมื่อได้ Avatar รูปแบบของคุณเองสมใจแล้ว คุณสามารถช่วยเรา กระจายแคมเปญและภาพของคุณไปยังเพื่อนๆ บนเฟซบุ๊คได้ ด้วยการคลิกคำสั่ง ‘Share หน้า Wall’ และความเก๋ ยังไม่หมด แต่เพียงเท่านี้ คุณสามารถคลิกคำสั่ง ‘Print เก็บไว้’ ซึ่งผลงาน ที่คุณครีเอทเองนี้ จะกลายเป็น กระดาษพับตั้งโต๊ะ ที่คุณสามารถ นำไปวางเพิ่มสีสันบนโต๊ะทำงานของคุณได้ ทุกครั้งที่มอง คุณก็ สามารถร่วมรู้สึกถึงความภูมิใจที่เคยได้ให้โอกาสกับเด็กๆ ในแดน ไกลได้เล่นกีฬา เพียงแค่คุณนั่งอยู่หน้าคอมพิวเตอร์ได้อีกด้วย
OR PRINT IT AND SHOW IT ON YOUR TABLE
เราต้ อ งการพลั ง จากคุ ณ ผู้ อ่ า น ร่ ว มเล่ น และช่ ว ยกั น บอก ต่อไปยังเพื่อนๆ ของคุณ หากเรานำอุปกรณ์กีฬาไปมอบให้ น้องๆ ที่ใด เราจะนำภาพความประทับใจที่คุณก็มีส่วนร่วม มาแชร์ให้ชมกันผ่าน facebook.com/unicefthailand และ facebook.com/sansirifamily นะคะ
ISSUE 03/2011
57
76 FOOD NUTR ITION ...................................
Easy breakfast recipe
58
ISSUE 03/2011
E A S Y B R E A K FA S T R EC I PE F
R KIDS
อาหารเช้า มื้อสำคัญของเจ้าตัวน้อย เมือ่ เช้า เจ้าตัวเล็กของคุณได้รบั ประทานอาหารหรือเปล่า? มือ้ เช้ากับเด็กๆ ดูจะเป็นปัญหาสุดคลาสสิกของทุกครอบครัว เราทุกคน รูว้ า่ อาหารเช้าเป็นมือ้ ‘สำคัญทีส่ ดุ ’ ในบรรดาอาหารทุกมือ้ โดยเฉพาะกับเด็กๆ วัยกำลังเจริญเติบโต แต่จากผลสำรวจพฤติกรรมการ รับประทานอาหารเช้าของเด็กนักเรียนในกรุงเทพฯ พบว่า ‘เด็กไทยไม่คอ่ ยรับประทานอาหารเช้า’ หลายคนอาจคิดว่าเป็นปัญหาเล็กๆ แต่จริงๆ แล้ว นัน่ คือส่วนหนึง่ ของการปูพน้ื ฐานทีด่ สี ำหรับอนาคตของลูกน้อย บะหมี่ เป็นอีกหนึง่ รายการอาหารทีม่ ปี ระโยชน์กบั สุขภาพเด็ก ใช้เวลาในการทำไม่ถงึ 10 นาที แถมไม่ตอ้ งวุน่ วายกับการเตรียมเครือ่ งปรุง วิธีทำ 1.
ส่วนประกอบ เส้นบะหมี่ผักโมโรเฮยะ เนื้อไก่ (ส่วนอก)
1 ถ้วย
ปูอัด
6 ชิ้น
กระเทียมสับ
1 ช้อนโต๊ะ
น้ำมันกระเทียมเจียว
2 ช้อนโต๊ะ
แครอท (กดพิมพ์เป็นรูปต่างๆ)
1 ถ้วย
มันฝรั่ง (กดพิมพ์เป็นรูปต่างๆ)
1 ถ้วย
ข้าวโพดฝักอ่อนหั่น
5 ฝัก
ซีอิ๊วขาว
1 ช้อนโต๊ะ
น้ำมันหอย
3 ช้อนโต๊ะ
น้ำตาลทราย
1 ช้อนโต๊ะ
น้ำมันงา
1 ช้อนโต๊ะ
ต้มน้ำในหม้อด้วยไฟปานกลางจน เดือด ลวกเส้นหมี่ผักกึ่งสำเร็จรูปให้ เส้นสุก ตักขึ้นให้สะเด็ดน้ำ ใส่ลงใน ชามผสม คลุกเคล้ากับน้ำมัน กระเทียมเจียว (ถ้าเด็กๆ ไม่ชอบกลิ่น ก็สามารถใช้น้ำมันมะกอกแทนได้) ให้ทั่วเพื่อไม่ให้เส้นติดกัน 2. ต้มเนื้อไก่ให้สุกแล้วฉีกเป็นเส้น ใส่ถ้วยพักไว้ 3. ฉีกปูอัดเป็นเส้นแล้วเตรียมใส่ถ้วย พักไว้ 4. ตั้งกระทะน้ำมันด้วยไฟปานกลาง ใส่กระเทียมลงเจียวจนเหลือง จึงใส่ เนื้อไก่ผัดจนสุกเข้ากัน ปรุงรสด้วย ซีอว๊ิ ขาว น้ำมันหอย น้ำตาล น้ำมันงา ใส่แครอทหั่น ข้าวโพดฝักอ่อน และมันฝรั่ง ผัดเคล้าให้เข้ากัน 5. พร้อมเสิร์ฟ
• จากการศึกษาของ The State of Minnesota พบว่าเด็กนักเรียนที่ รับประทานอาหารเช้าก่อนเริ่มเรียนจะทำ คะแนนวิชาคณิตศาสตร์และการอ่าน ได้มากขึ้น ตั้งใจเรียนมากขึ้น เจ็บป่วย น้อยลงและมีความประพฤติที่ดีขึ้นด้วย • เด็กที่รับประทานอาหารเช้าที่มีคุณค่า ทางโภชนาการตามที่ร่างกายต้องการ จะมีน้ำหนักตัวตามมาตรฐาน มีระดับ คอเลสเตอรอลในเลือดต่ำ ไม่ค่อย หยุดเรียน และไปห้องพยาบาลด้วย อาการปวดท้องน้อยกว่าเด็กที่ไม่ได้ รับประทานอาหารเช้า • จะมีระดับแร่ธาตุต่างๆ เช่น แคลเซียม โพแทสเซียม ฟอสฟอรัส แมกนีเซียม และวิตามิน เช่น วิตามินบี 12 วิตามินเอ ซี และโฟเลท ในประมาณที่เหมาะสม กับความต้องการของร่างกาย
ISSUE 03/2011
59
77
-81
GROW ING HAPPY K IDS
แม้มือของเด็กๆ จะเล็กกว่ามือของผู้ ใหญ่ แต่หัวใจของเขาทำ สิ่งยิ่งใหญ่ได้เสมอ เคล็ดลับง่ายๆ ที่จะทำให้พวกเขาเติบโตขึ้น อย่างมีความสุขและคงหัวใจที่ยิ่งใหญ่เอาไว้ ได้
01 ECOTOURISM
การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ เป็นเสมือนการพาพวกเขาไปเรียนรู้นอก ห้องเรียน นอกจากจะได้ใกล้ชิดธรรมชาติแล้ว ยังเป็นการปลูกฝัง ให้เขาได้รับรู้ถึงหน้าที่ของตัวเองที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงของโลก ใบนี้ในอนาคตข้างหน้าอีกด้วย
02 Lesson to save
ใครว่าเรื่องเงินไม่ใช่เรื่องของเด็กๆ จากการวิจัยพบว่านิสัยการ ใช้เงินนั้น เริ่มต้นตั้งแต่เด็กเรียนรู้ที่จะศึกษาพฤติกรรมคนจาก รอบข้างได้ และสิง่ ทีง่ า่ ยทีส่ ดุ ในการปลูกฝังการใช้เงินอย่างรูค้ ณ ุ ค่า แก่พวกเขาก็คือ การออมอย่างสม่ำเสมอ ซึ่งเป็นวิธีที่ดีที่สุดที่สอน ให้เด็กรู้จักการใช้เงิน ยังเป็นการสอนให้พวกเขารู้จักรอคอย อดทนต่อสิ่งเย้ายวน ทุกครั้งที่มีการใช้จ่ายหรือการไปธนาคาร จะเป็นชั่วโมงสอนการออมที่มีคุณเป็นครูคนแรก
03 Volunteering
แม้ว่าการเรียนรู้ผ่านการให้และการแบ่งปันมีจุดประสงค์หลักคือ การปลูกฝังจิตสาธารณะให้รู้จักเอื้อเฟื้อต่อคนที่มีโอกาสน้อยกว่า
60
ISSUE 03/2011
ในสังคม แต่สิ่งสำคัญบางประการที่เราไม่ค่อยได้นึกถึงก็คือ การเข้าร่วมโครงการเพื่อสังคม เป็นการฝึกให้พวกเด็กๆ มีความ รับผิดชอบจากการได้ทำงานเป็นทีม ได้เห็นคุณค่าของตัวเองที่ได้ ทำประโยชน์เพือ่ คนอืน่ อีกด้วย ทัง้ ยังเป็นการจุดประกายให้แก่เขา ในการเลือกอาชีพในอนาคตอีกทางหนึ่ง
04 Good Story
แน่นอนว่าการอ่านนั้นให้ประโยชน์มหาศาลต่อการเรียนรู้ของเด็ก แต่สิ่งที่ช่วยส่งเสริมจินตนาการและสร้างความรู้สึกเป็นสุขให้แก่ พวกเขาได้มากไม่แพ้กัน คือการได้ถ่ายทอดสิ่งต่างๆ ที่พวกเขา คิดออกมาเป็นคำพูด ไม่ว่าจะเป็นเรื่องเล่าเรื่อยเปื่อย แม้แต่การ ฮัมเพลงที่ไม่มีเนื้อหาของเด็กๆ ก็เป็นสิ่งที่ทำให้เราเรียนรู้เกี่ยวกับ พวกเขา การรับฟังจะส่งเสริมความคิด ความเชือ่ มัน่ ได้เป็นอย่างดี
05 Creative Home
ความปรารถนาที่จะเล่นสนุกอะไรก็ได้ในบ้านโดยไม่ถูกดุ เป็น ความใฝ่ฝันของเด็กๆ ทุกคน บ้านควรจะเป็นพื้นที่ที่ทำให้เขารู้สึก อบอุ่น เป็นตัวของตัวเองที่จะแสดงออกทางความคิด ไม่ว่าจะเป็น การจัดมุมๆ หนึ่งของบ้านให้เป็นพื้นที่สำหรับการเล่นและสร้าง สภาพแวดล้อมในบ้านทีเ่ อือ้ ต่อการเล่นสร้างสรรค์ เช่น เปิดโอกาส ให้เขาได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมของคุณ เช่น การทำอาหาร ปลูก ต้นไม้ และเปิดโอกาสให้เด็กได้ถามคำถามที่พวกเขาอยากถาม
82 AGAINS T HUNGER ...................................
One click @ a time
www.Bhookh.com
ในนาทีที่ท้องเราอิ่มและอาหารตรงหน้ายังเหลืออยู่อีกมากมาย นาทีนั้นเด็กน้อยในอินเดียตายเพิ่มขึ้น 5 คนต่อนาที เพียงเพราะ ความอดอยากหิวโหย เราสามารถต่อเติมลมหายใจ และช่วยชีวิตของ เด็กน้อยเหล่านี้ให้อิ่มท้องได้ด้วยวิธีง่ายๆ ด้วยการคลิกเข้าไปที่ www.bhookh.com แล้วคลิกตรงปุม ่ ‘GIVE FREE FOOD Click Here’ เพียงเท่านี้ เราก็ร่วมเป็นส่วนหนึ่งของผู้ที่ร่วมบริจาคแล้ว โดย โครงการนี้ได้รับการสนับสนุนจาก UN-WFP หรือ โครงการอาหารโลกแห่งองค์การ สหประชาชาตินั่นเอง
ISSUE 03/2011
61
83
-92
conn
LOVING TOGETHER
ideas for
ecting with your kids
10 ไอเดียง่ายๆ ที่ ไม่วา่ จะมีเรือ่ งสำคัญในชีวติ ให้จัดการมากมายขนาดไหน คุณและลูกๆ ยังรู้สึกใกล้ชิดกันได้เสมอ
1. จั ด ตารางชี วิ ต ระหว่ า งคุ ณ กั บ ลู ก กำหนดเวลาที่แ น่นอน ในแต่ ล ะสั ป ดาห์ เ พื่ อ ใช้ เ วลาร่ ว มกั บ เด็ ก ๆ 2. อ่ า นหนั ง สื อ กั บ ลู ก
ใช้เวลาให้คุ้มค่าด้วยความรัก ความอบอุ่น พร้อมกับการแทรกแง่คิดดีๆ ด้วยนิทานก่อนนอนสักเรื่อง 3. คุยกับลูกเมื่อถึงบ้าน สิ่งที่จะทำให้ความ เหนื่อยของคุณหายเป็นปลิดทิ้งคือเรื่องราวเรียกรอยยิ้มระหว่างวันของเด็กๆ 4. เล่นเกมส์ด้วยกัน สร้างเกมส์ง่ายๆ ของครอบครัว เพื่อสื่อสารและลด ช่องว่างระหว่างคุณกับพวกเขา 5. เปิดใจกับลูกระหว่างเดินทาง ระยะเวลา ไม่น้อยเลยกับการเดินทางในแต่ละวัน รถเป็นเหมือนพื้นที่ที่ดีในการที่จะ เปิดใจคุยกับลูกๆ คุณสามารถใช้เวลานีค้ ยุ ในเรือ่ งทีล่ ะเอียดอ่อนกับพวกเขาได้ 6. ระดมสมองสำหรับโอกาสพิเศษ ความพิเศษของโอกาสไม่ได้อยู่แค่ กิจกรรมที่เกิด เปิดโอกาสให้ลูกๆ ได้แชร์ไอเดียร่วมกัน ทำให้เขารู้ว่าเขาเป็น ส่วนสำคัญในครอบครัวนี้ 7. เล่นเป็นเด็ก เปิดโอกาสให้ตัวเองได้อยู่ใกล้ พวกเขามากขึน้ ด้วยการทำกิจกรรมสนุกๆ ทีล่ กู ๆ ชอบ 8. เขียนจดหมายถึงเขา โน๊ตเล็กๆ จะทำให้เขาจดจำในความรักของคุณได้ตลอดไป 9. มีกิจกรรมที่ ได้วางแผนและกำหนดเป้าหมายร่วมกัน ไม่ว่าจะเป็นเรื่องเล็กหรือเรื่อง ใหญ่ ซึ่งสามารถทำให้คุณและลูกๆ มีความสุข เช่น การอ่านหนังสือที่ ชอบร่วมกันให้จบภายใน 1 อาทิตย์ การเล่นกีฬาทีเ่ ขาสนใจให้ได้ภายใน 1 เดือน โดยคุณมีส่วนร่วมในการฝึกเท่าที่ทำได้ นอกจากสนุกกับ กิจกรรมที่ได้ทำแล้ว ยังทำให้เขารู้สึกเคารพในตัวตน เมื่อได้ ทำบางอย่ า งได้ ส ำเร็ จ โดยมี คุ ณ เป็ น โค้ ช ที่ ดี ใ ห้ อี ก ด้ ว ย 10. กอดพวกเขา แทนทุ ก บทสนทนาที่ ไ ด้ ท้ั ง ความรู้สึกและสิ่งที่คุณต้องการการสื่อสาร นั่นก็คือการดึงพวกเขามากอด อยูเ่ สมอ
62
ISSUE 03/2011
Good Together Motion
93
(จุด)...เพียงจุดๆ เดียวก็มีความหมายสำหรับการเริ่มต้น ความดีเป็นงานที่แสนประหลาด...ยิ่งทำมากยิ่งหายเหนื่อย เริ่มต้นวัดปริมาณ ความชื่นใจที่คุณได้รับจากการทำความดี ด้วยการเขียนจุดเพื่อพล็อตตำแหน่งและปริมาณความดีในแต่ละวันที่เกิดขึ้น แล้วความเหนื่อย ก็จะหายเป็นปลิดทิ้ง เมื่อจุดของคุณได้เริ่มต้นและเรียงถี่ยิบจนแทบจะเป็นเส้นทึบแสนพิเศษ
จำนวนเงินที่บริจาคให้มูลนิธิ
GET S TAR TING
ปี ISSUE 03/2011
63
94 S WEET SHAR ING
เมื่อความรู้สึกของการได้ทานไอศกรีมยังหวาน และอร่อยอยูท่ ป่ี ลายลิน้ เจ้าของร้านไอศกรีม โฮมเมดเล็กๆ ย่านสามเสนจึงอยากให้เด็กด้อย โอกาสได้ทานไอศกรีมเหล่านี้บ้าง เขาจึงจัด โครงการเลี้ยงไอศกรีมเด็ก ‘Scoop The Love’ ตั้งใจผลิตไอศกรีมนมโฮมเมดให้กับเด็กๆ ด้อย โอกาส เด็กพิการ ฯลฯ อย่างต่อเนื่อง ร่วมสร้าง ความสุขให้เด็กๆ เหล่านีไ้ ด้ดว้ ยการสัง่ ซือ้ ไอศกรีม เพื่อไปแจกเด็กๆ ร่วมกัน หรือไปร่วมกิจกรรม ตักไอศกรีมแจกเด็กๆ กับเขาได้ ดูรายละเอียด เพิ่มเติมได้ที่ www.facebook.com/scoopthelove
64
ISSUE 03/2011
Mom made Toys ยังจำของเล่นชิ้นแรกในชีวิตของเรากันได้อยู่หรือเปล่า ยังจำ ของขวัญที่แม่ซื้อให้เล่นได้ทุกชิ้นหรือไม่ ของเล่นหลากหลายชนิด ในชีวิตที่ผ่านมา ล้วนแล้วแต่สร้างความทรงจำให้เราได้ทั้งนั้น แล้วหากว่าจะมีของเล่นสักชิ้นที่สร้างความทรงจำและสามารถ สร้างพัฒนาการให้เด็กน้อยด้วยความรักจากมือแม่คงจะดีไม่นอ้ ย เลยทีเดียวใช่ไหมคะ ความรักของแม่นั้นยิ่งใหญ่เสมอ ไม่ว่าลูก จะเป็นเช่นไร แม่ก็พร้อมจะอยู่เคียงข้างลูกไม่ห่างไปไหน ดังเช่น แม่กลุ่มหนึ่งซึ่งพวกเขาเป็นแม่ของเด็กพิเศษ ที่เฝ้าฟูมฟักเลี้ยงดู ลูกน้อยให้เติบใหญ่มีพัฒนาการที่ดีขึ้นเรื่อยๆ และสิ่งหนึ่งที่จะ ช่วยให้พวกเขามีพัฒนาการดีขึ้นได้นั่นคือ ‘ของเล่น’ ซึ่งเป็นของ เล่นทำมือที่กลุ่มแม่ของเด็กออทิสติกได้รวมตัวกันเพื่อสร้างมันให้ กับลูกๆ ของพวกเธอ เพราะไม่มีใครจะสามารถเข้าใจและสื่อสาร กับลูกน้อยที่เป็นเด็กพิเศษของพวกเขาได้เท่ากับ ‘แม่’ อีกแล้ว ร่วมสนับสนุนทุนทรัพย์เพื่อให้พวกเธอได้ผลิตของเล่นสำหรับเด็ก พิเศษให้กับลูกและเด็กน้อยอีกมากมายในประเทศไทยที่
95 LOVE SEW ING ...................................
Mom made toys
www.mommadetoys.com
ISSUE 03/2011
65
96 UP COUNTRY HERO
66
ISSUE 03/2011
คุณครูสมยศ พงศาปาน เมื่อกีฬาคืออนาคตของเด็กๆ แม้เป็นเพียงโรงเรียนประถมเล็กๆ แต่โรงเรียนบ้านขอนหาด ในจังหวัดนครศรีธรรมราช กลับมีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักทั่วประเทศ เพราะที่นี่มีทีมวอลเลย์บอลที่คว้าแชมป์ระดับประเทศ ถึง 3 ปีซ้อน การผลักดันให้เด็กๆ มีความเข้มแข็งทั้งด้านจิตใจและร่างกายด้วยกีฬา วอลเลย์บอลได้อย่างสำเร็จ มีกำลังเล็กๆ จากคุณครูที่พวกเขาเรียกกันว่า คุณครูสมยศ คุณครูสมยศ พงศาปาน คุณครูวิชาประวัติศาสตร์ ใช้เวลานอกเหนือจากการสอน รายวิชาประจำ มาฝึกสอนกีฬาวอลเลย์บอลให้กับเด็กๆ ชั้นประถมโรงเรียนบ้านขอนหาด เพราะต้องการให้เด็กๆ มีความสามารถในด้านกีฬา เป็นนักกีฬาวอลเลย์บอลที่มีคุณภาพ และใช้ความสามารถนี้ในการสร้างโอกาสให้แก่ตัวเองต่อไป มากกว่าที่จะใช้เวลาไปกับ สิ่งยั่วยุอื่น ๆ การปลุกปั้นให้โรงเรียนที่อยู่ห่างไกลเมือง ให้มีความดีเด่นด้านการกีฬา เมื่อ 15 ปีที่แล้ว ซึง่ ขาดความพร้อมทัง้ ด้านบุคลากรและอุปกรณ์ทางการกีฬาอาจดูเป็นเรือ่ งยาก แต่มนั กลับ เป็นแรงผลักที่ยิ่งใหญ่ให้กับผู้ที่มีหัวใจความเป็นครู กว่า 15 ปี ในการปลุกปั้นโครงการ ‘กีฬา เพื่ออนาคต’ ขึ้น มีเด็กที่ได้รับการฝึกฝนกีฬา หลายคนสามารถสานฝันต่อในเส้นทางนักกีฬาอาชีพ หลายคนได้รับโควต้านักกีฬา ศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัย นอกจากกีฬาจะให้อนาคตที่ดีกับเด็กๆ แล้ว ทีมวอลเลย์บอลในรั้วโรงเรียนที่เริ่มต้นจากความไม่เข้าใจของพ่อแม่ ผู้ปกครองแห่งนี้ กลับทำหน้าที่ในการเชื่อมความสัมพันธ์ของคน ในชุมชน ทำให้ชมุ ชนบ้านขอนหาดเป็นหนึง่ ในชุมชนทีเ่ ข็มแข็ง มีความรัก สามัคคี เพราะเมื่อมีการแข่งขันครั้งใดจะมีเสียงเชียร์ของ ชาวบ้านขอนหาดตามไปเชียร์ลกู หลานของเขา ด้วยทุกครั้ง
97 DIGITAL RESCUE
Com4Child ในขณะทีเ่ ทคโนโลยีทก่ี ำลังก้าวไปข้างหน้าอย่างไม่หยุดยัง้ เราต่างกำลังอัพเดทเทคโนโลยี ใหม่ๆ ที่เปลี่ยนแปลงอยู่สม่ำเสมอ แต่ในสังคมเรายังมีเด็กอีกจำนวนมากที่ไม่มีโอกาส ได้สัมผัสความก้าวหน้าของเทคโนโลยีเหล่านั้น เพียงเพราะความขาดแคลนในสิ่งต่างๆ เหล่านี้ คอมพิวเตอร์เก่าๆ ที่เราไม่มีความจำเป็นต้องใช้งานแล้ว จะช่วยต่อเติมความฝัน ของเด็กน้อยอีกมากมายให้ได้ใกล้ชิดกับเทคโนโลยีได้ไม่ยาก คอมพิวเตอร์เก่าอย่าทิ้ง! เพียงคุณนำไปบริจาคให้กับมูลนิธิกระจกเงา เพื่อนำไปซ่อมแซมให้มันกลับมาใช้งานได้ อีกครั้ง เพื่อส่งต่อให้กับเด็กที่ขาดแคลนอีกจำนวนมากได้ใช้งาน หรือจะสนับสนุนเป็น เงินทุนเพื่อซื้อคอมพิวเตอร์เครื่องใหม่ก็ได้ ร่วมบริจาคได้ที่ โครงการคอมพิวเตอร์เพื่อน้อง เลขที่ 8/12 ซอยวิภาวดี 44 ถนนวิภาวดี-รังสิต แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 หรือ สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ หมายเลขโทรศัพท์ 0-2941-4194-5 ต่อ 17 หรือบริจาคทุนทรัพย์ได้ที่ ชื่อบัญชี ‘มูลนิธิกระจกเงา’ ธนาคารกรุงไทย สาขานานาเหนือ เลขที่บัญชี 000-0-01369-2 ประเภทออมทรัพย์หรือชื่อบัญชี ‘มูลนิธิกระจกเงา’ ธนาคาร ไทยพาณิชย์ สาขาไชยยศ เลขที่บัญชี 040-2-37446-1 ประเภทออมทรัพย์ หรือ www.com4child.org
ISSUE 03/2011
67
98 GIVING AN OPPOR TU NIT Y
68
ISSUE 03/2011
มูลนิธิอาสาพัฒนาเด็ก เด็กเปรียบเหมือนผ้าขาวที่แสนบริสุทธิ์ และเด็ก จะสดใสได้นน้ั ผูใ้ หญ่อย่างเราต้องช่วยกันแต่งเติม สีสันที่สดสวย แต่หากยังมีเด็กอีกจำนวนไม่น้อย ทีโ่ ลกของเขาเจือไปด้วยสีเทาค่อนไปดำ ก่อให้เกิด ปัญหาสังคมตามมาอีกมากมาย วัยทีค่ วรไปเรียน หนังสือตามโรงเรียน กลับต้องมาขายพวงมาลัย ตามสี่แยก ช่วงเวลาที่ควรได้ดื่มนมกลับต้องมา ดมกาวตามข้างถนน ช่วงเวลาที่พวกเขาควรได้ วิง่ เล่นอยูส่ วนสนุก กลับต้องมาเร่ขายยาตามสถาน เริงรมย์ ช่างเป็นเรือ่ งทีไ่ ม่นา่ พิสมัยเท่าไรใช่ไหมคะ ร่วมช่วยเหลือ ฟื้นฟู ดูแลเด็กพวกนีไ้ ด้กบั มูลนิธิ อาสาพัฒนาเด็กทีม่ อี าสาสมัครใจดี ลงพืน้ ที่ ช่วยเหลือเด็กด้อยโอกาสเหล่านีอ้ ย่างต่อเนื่อง และจริงใจ ร่วมเป็นหนึ่งเติมสีสันที่สดใสให้ชีวิต เด็กได้ที่ www.vgcd.org
99 SPECIAL EDUC ATION MEETING
กลุ่ม ครูอาสา ซ. โซ่อาสา “โตขึ้นอยากเป็นอะไร?” คือคำถามที่มักติดอยู่ในใจผู้ใหญ่อย่าง พวกเราเสมอ หลายคนอาจอยากจะเป็นหมอ ทหาร ตำรวจ ทนายความ และอีกมากมาย แน่นอนว่า หนึ่งในคำตอบเหล่านี้ ต้องมีอาชีพ ‘คุณครู’ รวมอยู่ด้วย แต่ทว่าเมื่อเราเติบโตขึ้น ความฝันของเราต่างถูกชะตาชีวติ ขีดให้ไปตามสิง่ ทีถ่ นัดและสนใจ ในเวลาต่อมา ความฝันที่อยากเป็นคุณครูจึงถูกเก็บเอาไว้ให้เป็น ความฝันต่อไป มาในวันนีค้ ณ ุ สามารถจุดประกายความฝันให้ตวั คุณเองได้อกี ครัง้ ด้วยการร่วมกับกลุ่มคุณครูอาสาที่ชื่อว่า กลุ่ม ซ. โซ่อาสา ที่รับ สอนหนังสือเด็กน้อยตามแหล่งชุมชนแออัด และเด็กด้อยโอกาส ตามสถานที่ต่างๆ ตั้งแต่ระดับอนุบาลถึงประถมศึกษาปีที่ 6 หรือ อยากจะร่วมบริจาคเป็นเงินทุนสมทบและอุปกรณ์สิ่งของให้กับ นักเรียนของกลุ่มคุณครูอาสาก็ย่อมได้ สละเวลาและทุนทรัพย์ คนละเล็กน้อยแต่ยิ่งใหญ่ในความรู้สึก เพื่อต่อเติมฝันและความรู้ ให้กับเด็กด้อยโอกาสอีกมากมายเพื่อให้เขาได้ค้นหาคำตอบ ในชีวิตว่า “โตขึ้นอยากเป็นอะไร?” แทนพวกเราอีกครั้ง สนใจ ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ www.sorsoarsar.multiply.com
ISSUE 03/2011
69
100 FROM GOOD TO GRE AT
ศุกร์อาสากับข้าราชการไทย ทราบกันไหมคะว่า ข้าราชการไทยสามารถลางานได้ถึง 5 วัน เพือ่ ไปทำงานอาสาสมัคร แล้วทราบกันไหมคะว่า เขาจัด กิจกรรมจิตอาสากันทุกเดือนเพื่อเปิดโอกาสให้ข้าราชการไทย ได้ทำงานเพื่อสังคม ไม่ว่าจะเป็น ปลูกป่า ดูแลคนป่วย พาคนสูงวัยเข้าวัด ปรับภูมทิ ศั น์ชายหาด สร้างศาลาการเรียน ให้เด็ก และอีกมากมาย หากคุณเป็นข้าราชการไทยที่อยาก ทำงานเพื่อสังคม คลิกไปดู รายละเอียดกิจกรรมดีๆ ทีค่ ณ ุ สนใจ ได้ท่ี www.thaivolunteer.org
70
ISSUE 03/2011
ช่วยน้องๆ ไปโรงเรียน
มูลนิธิเสริมกล้าร่วมกับ SCB Sansiri Platinum Card, Sansiri Family SIM และ 360 Privileges ร่วมเป็นส่วนหนึ่งของการส่งผ่านความสุข สร้างรอยยิ้มทางการศึกษาให้กับเยาวชนไทย
SCB Sansiri Platinum Card
Sansiri Family SIM
ทุก 2,000 คะแนน มีค่า 200 บาท ร่วมสนับสนุนการศึกษาของเด็กไทย
ทุกการเปิดใช้ Sansiri Family SIM มีค่า 100 บาท ร่วมสนับสนุนการศึกษาของเด็กไทย
ทุก 1 ข้อความ มีค่า 3 บาท ร่วมพัฒนาคุณภาพชีวิตและการศึกษา ของเด็กในถิ่นทุรกันดาร
บริษัทแสนสิริและธนาคารไทยพาณิชย์ ชวนคุณร่วมสนับสนุนการศึกษาของเยาวชนไทย ด้วยการส่งต่อความสุขเป็นทุนการศึกษา เอกสิทธิ์ พิเศษทีจ่ ะเปลีย่ นทุกคะแนนสะสมเป็นทุนการศึกษา ร่วมกับมูลนิธิเสริมกล้าเพื่อเด็กด้อยโอกาส มูลนิธิเสริมกล้า เงินบริจาค 200 บาท เพือ่ มูลนิธเิ สริมกล้า Code: 54138 2,000 Points. พร้อมรับ DVD คาราโอเกะ Love Inspires Love1 แผ่น แทนคำขอบคุณจากใจ
แสนสิริแฟมิลี่ซิม ชวนคุณร่วมสนับสนุนการศึกษาของเยาวชนไทย โดยทุก 1 ซิมทีท่ า่ นเปิดใช้ Sansiri Family SIM เท่ากับร่วมสมทบทุน 100 บาท มอบแด่มูลนิธิ เสริมกล้าเพือ่ เป็นทุนการศึกษาให้เด็กด้อยโอกาส ตั้งแต่ 1 ต.ค.-31 ธ.ค. 54
รับสิทธิพิเศษเพื่อเติมสีสันให้ชีวิตกับความสุข ที่ไม่รู้จบ ทุกความสุขที่คุณได้รับ คือการส่งต่อ ความสุขให้เด็กในถิน่ ทุรกันดาร ทุก SMS ทีล่ กู บ้าน กดเพื่อขอรับสิทธิพิเศษ (ข้อความละ 3 บาท) ทาง 360 Privileges นำรายได้ทั้งหมดมอบให้ มู ล นิ ธิ เ สริ ม กล้ า เพื่ อ นำไปใช้ ใ นการพั ฒ นา คุณภาพชีวิต การศึกษา และพลานามัยของเด็ก ในถิ่นทุรกันดาร
ติดต่อสอบถามรายละเอียดเกี่ยวกับมูลนิธิเสริมกล้า โทร. 0-2201-3922 ติดต่อแลกคะแนนที่ SCB Call Center 0-2777-7777
สำหรับผู้ที่ยังไม่เคยลงทะเบียน พิมพ์ Sansiri ส่งมาที่ 489001 รอรับข้อความตอบกลับจาก Sansiri (ค่าบริการ sms ครั้งละ 3 บาท ทุกเครือข่าย) สำหรับผู้ที่ลงทะเบียนแล้ว พิมพ์ Code ของร้านค้า SR_ _ _ ส่งมาที่ 4890011 หลังจากนั้นรอรับ Code ตอบกลับทาง sms แสดงสิทธิ์ ณ จุดให้บริการ เพื่อรับสิทธิพิเศษ (ค่าบริการ sms ครั้งละ 3 บาท ทุกเครือข่าย)
VOLUNTEER SPIR IT C ALEN DAR October / ตุลาคม 2554
November / พฤศจิกายน 2554
01 S AT *
01 TUE
02 S U N *
02 WED
03 M O N
03 THU
04 T U E
04 FRI*
05 W E D
05 SAT*
06 T H U
06 SUN*
07 F R I *
07 MO N
08 S AT *
08 TUE
09 S U N *
09 WED
10 MO N
10 THU
11 T U E
11 FRI*
12 W E D
12 SAT*
13 T H U
13 SUN*
14 F R I *
14 MO N
15 S AT *
15 TUE
16 S U N*
16 WED
17 MO N
17 THU
18 T U E
18 FRI*
19 W E D
19 SAT*
20 T H U
20 SUN*
21 F R I *
21 MO N
22 S AT *
22 TUE
23 S U N *
23 WED
24 MO N
24 THU
25 T U E
25 FRI*
26 W E D
26 SAT*
27 T H U
27 SUN*
28 F R I *
28 MO N
29 S AT *
29 TUE
30 S U N *
30 WED
31 M O N
ตุลาคม
พฤศจิกายน
3-5 ตุลาคม 2554 กำหนดการประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ‘พลังบวก เพื่อเด็ก: ขุดเปลี่ยนการพัฒนาเด็กและเยาวชน’ โดย สสส. www.thaihealth.or.th 9 ตุลาคม 2554 ฟังด้วยหัวใจ: อาสาฟังคนใกล้ตัวด้วยหัวใจ www.semsikkha.org 10-14 ตุลาคม 2554 ค่ายเด็กสืบสานล้านนา ณ โฮงเฮียนสืบสานภูมปิ ญ ั ญา ล้านนา www.lannawisdoms.com 20 ตุลาคม 2554 งานภาวนาหมู่บ้านพลัมประจำปี 54 www.thaiplumvillage.org 21 ตุลาคม 2554 อนุรักษ์ต้นน้ำกับเยาวชนเขาหลัก ณ น้ำตกเขาหลัก จังหวัดตรัง www.thaivolunteer.org 21-23 ตุลาคม 2554 ค่ายสำหรับเด็กโรคมะเร็ง มูลนิธสิ ายธารแห่งความหวัง ณ หาดตะวันรอน จังหวัดชลบุรี www.wishingwellthai.org 22-23 ตุลาคม 2554 ทำบุญทาสีกุฏิดิน ปลูกป่ากินได้ จังหวัดชัยภูมิ www.facebook.com/cbudpage 22-24 ตุลาคม 2554 ดวงจันทร์โคจร ชวนไปนอนในป่า เรียนรูธ้ รรมชาติผา่ น ทุกประสาทสัมผัส ณ อุทยานแห่งชาติทงุ่ แสลงหลวง โดย มูลนิธกิ ระต่ายในดวงจันทร์ www.rabbitinthemoon.org 22-25 ตุลาคม 2554 ให้ยกกำลังสอง 2 Give 2 Share 2 Care ณ บ้านแม่ กลางหลวง จังหวัดเชียงใหม่ rodpasa.multiply.com 23 ตุลาคม 2554 อาสาสร้างฝายน้ำ ตามแนวพระราชดำริ ชะลอโลกร้อน จังหวัดเพชรบุรี www.baandinthai.com
7-13 พฤศจิกายน 2554 Let’s Live and Learn Together เข้าร่วมค่าย แลกเปลีย่ นเยาวชน ไทย-กัมพูชา ทีจ่ งั หวัดสีหะนุวลิ ประเทศกัมพูชา 11-13 พฤศจิกายน 2554 ฌอ เฌอชะลอโลกล้า หน้ากอไก่ ปลูกพลับพลึงธาร ณ เขตรักษาพันธ์พุ ชื และสัตว์ปา่ คลองนาคา จังหวัดระนอง E-mail: sunday2309@hotmail.com 25 พฤศจิกายน 2554 ปล่อยพันธุก์ งุ้ ปลูกป่าชายเลน ณ ชุมชนหลอมปืน ละงู จังหวัดสตูล www.thaivolunteer.org
INDE X December / ธันวาคม 2554 01 T H U 02 F R I * 03 S AT * 04 S U N * 05 M O N 06 T U E 07 W E D 08 T H U 09 F R I * 10 S AT * 11 S U N * 12 MO N 13 T U E 14 W E D 15 T H U 16 F R I *
มูลนิธิหนังสือเพื่อเด็ก Books for Children Foundation 73 ถนนพุทธมณฑลสาย 1 แขวงบางด้วน เขตภาษีจริญ กรุงเทพฯ 10160 โทร. 0-2805-0202 แฟ็กซ์ 0-2805-1308 E-mail: thaibby@hotmail.com www.thaibby.in.th
มูลนิธิเด็ก / Foundation for Children 95/24 หมู่ที่ 6 ซอยกระทุ่มล้ม 18 ถนนพุทธมณฑล สาย 4 ตำบลกระทุ่มล้ม อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม 73220 โทร. 0-2814-1481-7 แฟ็กซ์ 0-2814-0369 E-mail: donation@ffc.or.th www.ffc.or.th
มูลนิธิสร้างสรรค์เด็ก Foundation for the Better Life of Children 100/475 ซอยแจ้งวัฒนะ 10 แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210 โทร. 0-2574-1381, 0-2574-3753, 0-2574-6162 แฟ็กซ์ 0-2982-1477 E-mail: fblc_th@hotmail.com www.fblcthai.org
กลุ่ม ซ. โซ่อาสา / Sor So Arsar 1 ซอยสีน้ำเงิน เขตบางซื่อ กรุงเทพฯ 10800 โทร. 0-2911-7023, 08-9125-1790 www.sorsoarsar.multiply.com
มูลนิธิสงเคราะห์เด็กยากจน ซี.ซี.เอฟ.ฯ CCF Foundation 9 ถนนเฉลิมพระเกียรติ ร.9 ซอย 8 แขวงหนองบอน เขตประเวศ กรุงเทพฯ 10250 โทร. 0-2747-2600 แฟ็กซ์ 0-2747-2620-1 E-mail: ccfthai@ccfthai.or.th www.ccfthai.or.th
17 S AT * 18 S U N * 19 MO N 20 T U E 21 W E D 22 T H U
มูลนิธิเพื่อการพัฒนาเด็ก Foundation for Child Development 143/109-111 หมู่บ้านปิ่นเกล้าพัฒนา ซอยวัดสุวรรณคีรี ถนนบรมราชชนนี แขวงอรุณอมรินทร์ เขตบางกอกน้อย กรุงเทพฯ 10700 โทร. 0-2433-6292, 0-2435-5281, 0-2884-6603 กด 0 แฟ็กซ์ 0-2435-5281 www.iamchild.org
23 F R I * 24 S AT * 25 S U N * 26 M O N 27 T U E 28 W E D 29 T H U 30 F R I * 31 S AT *
ธันวาคม 9-12 ธันวาคม 2554 คลายหนาวให้ชาวดอยกับอาสากับข้าราชการไทย จังหวัดเชียงใหม่ www.thaivolunteer.org 10-12 ธันวาคม 2554 โครงการครูบ้านนอก รุ่นที่สัญจร 16 สะบายดี เมืองลาว www.bannok.com 10-12 ธันวาคม 2554 อาสาสร้างอุโบสถดิน วัดเฉลิมพระเกียรติ 84 พรรษา จังหวัดน่าน www.baandinthai.com
* ทุกวันศุกร์
กิจกรรมครูอาสากลางกรุง teacher4sunday.multiply.com * โครงการแสนสิริอะคาเดมี่
เปิดสอน 6 สาขา ทุกวันเสาร์-อาทิตย์ เวลา 8.00-10.00 น. 1. สาขาพุทธมณฑลสนามฟุตบอลวิทย์ซอคเกอร์ 2. สาขาสนามฟุตบอลหญ้าเทียมบอยท่าพระจันทร์ 3. สาขาสนามฟุตบอลหญ้าเทียมคอนเนอร์พุทธมณฑลสาย 2 4. สาขาประชาชื่น 5. สาขารามอินทรา 6. สาขาบางนา ผู้ที่สนใจเข้าร่วมโครงการ นำชุดกีฬามาพร้อมกับรูปถ่าย 2 ใบ สำเนาทะเบียนบ้าน สำเนาสูจิบัตร ไปสมัครได้ที่สนาม โดยไม่มีค่าใช้จ่าย
มูลนิธิเด็กตัวเล็ก / Small Kids Foundation 117/10 หมู่ 7 ถนนกาญจนาภิเษก แขวงฉิมพลี เขตตลิ่งชัน กรุงเทพฯ 10170 โทร. 0-2884-4010 แฟ็กซ์ 0-2884-4073 www.smallkidsfoundation.or.th กลุ่มนิทานกระดานหก / Kradanhok 40/893-4 แขวงบางบอน เขตบางบอน กรุงเทพฯ 10150 โทร. 08-9678-5421, 08-1898-9818 แฟ็กซ์ 0-2284-3358 www.kradanhok.com มูลนิธิเพื่อเยาวชนชนบท (มยช.) Foundation for Rural Youth (FRY) 29 หมู่ 6 ซอยเอกชัย 89/4 ถนนเอกชัย แขวงบางบอน เขตบางบอน กรุงเทพฯ 10150 โทร. 0-2416-8073-4 แฟ็กซ์ 0-2894-2819 E-mail: fry@fry1985.org www.fry1985.org บ้านครูน้อย / Ban Kru Noi 319 หมู่ 1 ซอยราษฎร์บูรณะ 26 ถนนราษฎร์บูรณะ เขตราษฎร์บูรณะ กรุงเทพฯ 10140 โทร./แฟ็กซ์ 0-2871-3083 E-mail: bankrunoi@moobankru.com www.moobankru.com/bankrunoi
มูลนิธิกระจกเงา / The Mirror Foundation 8/12 ซอยวิภาวดี 44 ถนนวิภาวดี-รังสิต แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทร. 0-2941-4194-5 แฟ็กซ์ 0-2941-4194 ต่อ 109 E-mail: webmaster@mirror.or.th www.mirror.or.th มูลนิธิสื่อชาวบ้าน (มะขามป้อม) 55 อินทามระ ซอย 3 ถนนสุทธิสารวินิจฉัย สามเสนใน พญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทร. 0-2616-8473 แฟ็กซ์ 0-2616-8474 www.makhampom.net ห้องสมุดคนตาบอดแห่งชาติ National Library of the Blind 85/1-2 ซอยบุญอยู่ ถนนดินแดง แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทร. 0-2248-0555, 0-2246-3835 ต่อ 200-201 แฟ็กซ์ 0-2248-0556 www.nlbp.org มูลนิธิกระต่ายในดวงจันทร์ The Rabbit in the Moon Foundation 103/62 หมู่บ้านศุภฤกษ์ ซอยลาดพร้าว 26 ถนนลาดพร้าว แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทร. 0-2513-9767, 0-2513-9686 แฟ็กซ์ 0-2513-9766 www.rabbitinthemoon.org, www.kidsa.org มูลนิธิครูสร้างสรรค์ Teacher Plus Foundation 33/10 ซอยหลังสวน ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทร. 0-2684-1500 แฟ็กซ์ 0-2684-1609 E-mail: info@teacherplusfoundation.com www.teacherplusfoundation.com มูลนิธิสันติสุข / Santisuk Foundation 100/4 ถนนอาจณรงค์ แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทร. 0-2240-1729-30 แฟ็กซ์ 0-2249-7312 E-mail: santisuk@santisuk.or.th www.santisuk.or.th กลุ่มนวัตกรรมเยาวชนเพื่อสังคม (YIY) สำนักงานวายไอวาย (Why I, Why) 24/147 ซอยลาดพร้าว 21 ถนนลาดพร้าว แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทร. 0-2513-5501 แฟ็กซ์ 02-5135501 www.deksiam.com