สถาบันดนตรี กัลยาณิวัฒนา Princess Galyani Vadhana Institute of Music
นางสาว สราลี สิทธิการุ ณ
วิทยานิพนธ์นี ้เป็ นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริ ญญาสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณฑิต ภาควิชาสถาปั ตยกรรมศาสตร์ คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 255
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l ก
สถาบันดนตรี กัลยาณิวัฒนา Princess Galyani Vadhana Institute of Music คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย อนุมตั ใิ ห้ วทิ ยานิพนธ์นี ้เป็ นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร ปริญญาสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณฑิต
คณะกรรมการดาเนินงานวิทยานิพนธ์ (…………………………………....) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พิรัส พัชรเศวต ประธานคณะกรรมการดาเนินงานวิทยานิพนธ์ (…………………………………....) รองศาสตราจารย์ ดร. ทิพย์สดุ า ปทุมานนท์ กรรมการที่ปรึกษา (…………………………………....) รองศาสตราจารย์ ดร. ม.ล. ปิ ยลดา ทวิปรังษิพร ประธานกรรมการ (…………………………………....) อาจารย์ ภมรเทพ อมรวนิชย์กิจ กรรมการ (…………………………………....) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วาริชา วงศ์พยัต กรรมการและเลขานุการ
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l ข
บทคัดย่ อ สมเด็จพระเจ้ าพี่นางเธอ เจ้ าฟ้ากัลยาณิวฒ ั นา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ทรงศึกษาศิลปศาสตร์ ทาง ตะวันตกหลายแขนง ทรงสนพระทัยในดนตรี และการละครทุกประเภทมาช้ านาน และมีความสนพระทัยเป็ นพิเศษต่อดนตรี คลาสสิก ซึ่งถือเป็ นผลงานการประพันธ์ดนตรี ชนสู ั ้ งจากคีตกวีเอกของโลก ระยะแรกดนตรี คลาสสิกไม่คอ่ ยแพร่หลายมาก นัก ในประเทศไทยเนื่องจากมีผ้ สู นใจอยู่เพียงในวงจากัด และแม้ วา่ ในปั จจุบนั จะมีหลักสูตรการศึกษาดนตรี คลาสสิกใน ประเทศไทยมากขึ ้นก็ตาม แต่ก็ยงั ขาดความรู้ทางด้ านดนตรี ที่ถกู ต้ อง จึงทรงมีพระดาริจดั ตัง้ “ทุนส่งเสริมดนตรี คลาสสิกใน พระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้ าพี่นางเธอฯ เจ้ าฟ้ากัลยาณิวฒ ั นากรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ” ขึ ้นจากพระราชทรัพย์สว่ น พระองค์ โดยมีวตั ถุประสงค์สง่ เสริ มให้ คนไทยเข้ าใจดนตรี คลาสสิกและให้ ทนุ การศึกษาแก่นกั เรี ยนดนตรี นักดนตรี อาจารย์ มหาวิทยาลัยได้ มีโอกาสเรี ยนดนตรี หรื อฝึ กอบรมในสถาบันดนตรี ที่มีชื่อเสียง เพื่อจะได้ นาความรู้ที่ได้ รับกลับมาถ่ายทอด และพัฒนาวงการดนตรี คลาสสิกในประเทศไทยให้ แพร่ หลายมากขึ ้น เพื่อเฉลิมพระเกียรติเนื่องในโอกาสมหามงคลที่สมเด็จพระเจ้ าพี่นางเธอเจ้ าฟ้ากัลยาณิวฒ ั นา กรมหลวงนราธิวาส ราชนครินทร์ ทรงเจริญพระชนมายุ 84 พรรษา วันที่ 6 พฤษภาคม 2550 กระทรวงวัฒนธรรม และมหาวิทยาลัยศิลปากร จึง ร่วมกันดาเนินโครงการจัดตังสถาบั ้ นกัลยาณิวฒ ั นา เป็ นสถานศึกษาในกากับของรัฐ โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อจัดตัง้ “สถาบัน ดนตรี กลั ยาณิวฒ ั นา” ให้ มีหน้ าที่จดั การศึกษาเฉพาะเยาวชนไทยที่มีความสามารถพิเศษ ให้ สามารถพัฒนาอัจฉริยภาพ ทางด้ านดนตรี เพื่อก้ าวไปสูค่ วามเป็ นนักดนตรี ชนน ั ้ าระดับโลกที่สามารถสร้ างชื่อเสียงให้ กบั ประเทศทังในเวที ้ การแสดงและ การแข่งขันในระดับนานาชาติ สถาบันดนตรี กัลยาณิวฒ ั นา เป้าหมายมุง่ สูก่ ารเป็ นสถาบันดนตรี ชนน ั ้ าของโลก มีพนั ธกิจ 3 ประการ ดังนี ้ 1. สร้ างและพัฒนาบุคคลากรทางด้ านดนตรี คลาสสิกที่มีศกั ยภาพสูง มีความคิดสร้ างสรรค์ และมีความสามารถ จะประยุกต์ ใช้ องค์ความรู้ทางด้ านดนตรี ให้ เป็ นประโยชน์ และเหมาะสมกับบริบทของสังคม 2. เป็ นศูนย์กลางในการเผยแพร่องค์ความรู้ทางด้ านดนตรี และศาสตร์ อื่นๆ ที่เกี่ยวข้ องให้ กับสังคม 3. เป็ นศูนย์รวมในการศึกษาค้ นคว้ าวิจยั บูรณาการ รวมถึงแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ทางด้ านดนตรี ระหว่าง บุคคล ชุมชน และสถาบันศึกษาต่างๆ ทังในและต่ ้ างประเทศ ส่วนประกอบของโครงการมีดงั นี ้ 1) ส่วนการเรี ยนการสอน 2) ส่วนความรู้และบันเทิงสาธารณะ 3) ส่วนบริหาร 4) ส่วนสนับสนุนและงานระบบ 5) ที่จอดรถ สรุปพื ้นที่(รวมทางสัญจร)
1,379.48 6,297.19 454.52 444.11 5,075.11 16,294.50
ตรม. ตรม. ตรม. ตรม. ตรม. ตรม.
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l ค
ABSTRACT Her Royal Highness Princess Galyani Vadhana Krom Luang Naradhiwas Rajanagarindra is interested in many field of western art, espescially classical music, which is created by the world great artists. In the past, Thailand is lack of correct knowledge and did not widely know Classical music. To educate educate new audiences, She founded “Fund for Classical Music Promotion Under the Patronage of Her Royal Highness Princess Galyani Vadhana” as a schorlarship for talented students, teachers to study abroad in the world famous institute and come back to improve Thai classical community. The Institute initiated in 2007 as a royal project celebrating the occasion of the 84th birthday of Her Royal Highness Princess Galyani Vadhana Krom Luang Naradhiwas Rajanagarindra by Ministry of Culture and Silpakorn University. “The Princess Galyani Vadhana Institute of Music or PGVIM” is a unique conservatory of music with a contemporary approach to classical music. Following her royal vision to developing an international standard for Thai musicians. The Institute’s goal is to be a leading international conservatory of music, with 3 missions 1. Develop young talents, the creatively designed curriculum shall provide the opportunities for the students to learn the skill of music making while developing their understanding of music as a tool for an advancement of man and harmony of society. 2. To be the dissemination center of classical music and other related field for Thai society. 3. To be the center of researchers, professionals, musicians, Thai and international music institute, in order to exchange their musical experiences, make dialogues and share their love of music together. Project’s components 1) Music School 2) Public Educatation and Entertainment 3) Administrator office 4) Service and Building System 5) Parking Project’s area (include circulation)
1,379.48 6,297.19 454.52 444.11 5,075.11 16,294.50
sq.m. sq.m. sq.m. sq.m. sq.m. sq.m.
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l ง
กิตติกรรมประกาศ มีสงิ่ หนึ่งที่อยู่ในใจมาตลอด คือธีสสิ เป็ นงานเดี่ยวที่ไม่สามารถทาคนเดียวได้ ธีสสิ เป็ นเรื่ องของความช่วยเหลือกัน ไปมา และมันทาให้ ร้ ูวา่ มีความช่วยเหลือมีอยู่รอบตัวเรา - แรกสุดคือครอบครัวที่ support เต็มที่ตลอดมา ป๊ าแม่เจ้ ปรางที่ทาให้ แปมยังมีชีวติ อยู่และร่ างกายยังไม่พงั โซ้ ย เจ็กที่ให้ คาปรึกษาและทาให้ ร้ ูจกั พี่ฟ้า กทม. อ.ปุ้ม ดุริยางค์มหิดล - อาสาโรชน์ ผู้อานวยการศูนย์วฒ ั นธรรม ที่ให้ ข้อมูลเรื่ องศูนย์วฒ ั นฯเฟสใหม่ และให้ บตั รชมการแสดงเพื่อได้ สัมผัสหอประชุมใหญ่ ศูนย์วฒ ั นธรรมแห่งประเทศไทย - เจ้ าหน้ าที่กทม.มากมาย ที่ให้ ข้อมูลเรื่ องโรงเรี ยนดนตรี กีฬา โปรเจคที่ไม่ได้ กลายมาเป็ นธีสสิ โดยเฉพาะพี่ฟ้า สถาปนิกกองสวนสาธารณะ ที่แนะนาคนอีกมากมายรวมถึงให้ คอนแทคหัวหน้ าสวนสาธารณะเฉลิมพระเกียรติ - พี่ปอง บด.36 ที่นาพาธีสิสนี ้มาให้ พร้ อมทังท ้ าให้ แปมได้ เจอกับคนใจดีมากมายทัง้ พี่ขนุน อ.อโณทัย อ.กวาง น้ องวาว และ น้ องซินดี ้ PGVIM รุ่น1 - บุคคลที่ช่วยให้ ความรู้เปิ ดโลกดนตรี คลาสสิค ครูย่นุ และครูเอียดโรงเรี ยนนพ โสถิพนั ธ์ พี่เมฆ(มิติ วิสทุ ธิ์อมั พร) น้ องกร ดุริยางค์ฯมหิดล - ขอบคุณคณะนี ้ที่มีหลายภาควิชา ที่ทาให้ เราเดินเข้ าไปหาเอกสารและปรึกษาได้ อย่างง่ายดายทังอาจารย์ ้ หมี อาจารย์จิ๋นผังเมือง พี่พดั งู ตัม้ เบล มิ ้งค์ มีมี่ ผังเมือง / พาย ใหม่ชาย ใหม่หญิง แลนด์ ที่ช่วยหาข้ อมูลและให้ คาปรึกษาช่วงหาโครงการ - กลุม่ Sound of Thesis ชาวธีสสิ โรงเรี ยนดนตรี ที่แม้ อยู่คนละภาค เตยแลนด์ สมิทธ์ สน. อ้ อ สถ. แต่คอย ช่วยเหลือและแบ่งปั นข้ อมูลกันเสมอ - พี่ๆที่ให้ คาปรึกษาและกาลังใจ พี่เมือง76 พี่เนี ้ยบ76 พี่โน77 พี่เก้ ง75 พี่เภา77 พี่คดิ 77 พี่ก้อง77 พี่มคิ 75 พี่เกียร์ 76 พี่แพรว77 พี่อิ๊ง75 พี่แพม77 พี่ปิ๊ก77 พี่พดั หญิง76 - พันธมิตรจากต่างสถาบัน แพรบางมด ดัชต์และเบสรังสิต ทีโน่ มช. - พี่อิ๊งที่อสุ า่ แบกชีทข้ อมูลตกทอดมาให้ ได้ ใช้ เยอะเลยค่ะ . - ชาวบ้ านธีสิส QuackQuack ทังมิ ้ วสิค โดมและกี ้ เป็ นช่วงเวลาดร้ าฟที่สนุกมากๆ ขอบคุณกีต้าร์ ของโดม - ภาพพิมพ์ ชานนทร์ ปอ โทเรโด้ เฟม ที่มาอยู่ด้วยกันช่วงทาเพลต - กาลังใจเสมอๆจาก มิ ้นโตะ และชาวฮอบบิท - หมิว ทังช่ ้ วยอ่านเว็บภาษาอังกฤษหาข้ อมูลวัสดุ และมาช่วยตัดโมถึงสตู - สายรหัส62 ที่รักกกกกกมากๆๆๆ อุ่นใจที่มีทกุ คนอยู่ พี่ต้น พี่สุ พี่หวาน พี่ออม พี่นทั น้ องวิช น้ องใจ๋ น้ องเบ๊ นซ์ น้ องมินนี่ ที่เข้ ามาช่วยทุกขันตอน ้ ทังให้ ้ คาปรึกษา ช่วยทาเพลตจนถึงโมเดล ค่อยส่งข้ าวส่งน ้า มาชวนคุย - ขอบคุณใจ๋และไปป์ที่มาถ่ายรูปโมเดลให้ - โมเดลสวยๆนอกจากสายรหัสยังมี น้ องพลอยอนัญญา น้ องเอิน น้ องหมิวน้ องมอส(น้ องใหม่คณะเรา) กิ ้ฟเว่น สน. ชนินทร์ สน. อุ๋ง สน. วิน สน. แอน ผังเมือง ที่มาช่วยตัดโม
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l จ - หนวด ผังเมือง ทังช่ ้ วยตัดโมและซ้ อมพรี เซ้ นต์ให้ - คุณวา ที่ช่วยดูsection หาข้ อมูลเรื่ องรางน ้าให้ - ชาวกังสดาล กัมปนาทธี+สิส ทุกคนทาให้ เราต้ องขยันขึ ้นอีกสิบล้ านเท่า เฟม อรุท โดม แน้ ค แกทุกคนเก่งและ ขยันมาก โดยเฉพาะแน้ ค แกสู้มากๆยอมเลย ขอบคุณเฟมสาหรับเลย์เอาท์ด้วย - พี่หมู PN Synchronize ให้ ความรู้เรื่ องศาลาดนตรี ม.รังสิต ทาให้ เข้ าใจเทคนิคมากมายที่บางครัง้ ไม่มีในหนังสือ และเห็นภาพรวมของอาคารประเภทนี ้ในไทยชัดเจนขึ ้นมาก - ขอบคุณ อ.เลอสม พี่เดนซ์ พี่ตี๋ และคุณเล็ก A49 ที่ให้ เข้ าไปรบกวนถึงสามครัง้ ด้ วยกันเพื่อขอโปรเจคสถาบัน กัลยาฯและ มหิดลสิทธาคาร รวมถึงข้ อมูลจากการดูงานสิทธาคารพร้ อมกับน้ องๆ79 ซึ่งทาโปรเจคออดิทอเรี ยม - น้ องป้อ น้ องวิช น้ องเอมมี่ สตู79 ที่แบ่งข้ อมูลและคอยแจ้ งข่าวการดูงาน รวมถึงแบ่งปั นชีท เลคเช่อร์ กับพี่ - เพื่อนๆอีกหลายๆคนในสตู ที่เวลาเจอหน้ าก็มกั จะถามไถ่ให้ กาลังใจกันเสมอ รวมถึงให้ ยืมของในการทาโม ช่วย ยกโม แปะเพลต ถ่ายรูป - ขอบคุณพี่ป๋อมแป๋ ม พี่ก๊อตจิ และพี่กอล์ฟ แห่งรายการเทยเที่ยวไทย ที่ทาให้ ผ่านค่าคืนยาวนานและช่วงเวลา เครี ยดๆของธีสิสมาได้ - และที่สาคัญมาก คืออาจารย์ทกุ ท่านที่ให้ ความรู้หนูมาจนถึงวันนี ้ หนูระลึกถึงเสมอค่ะ การทาธีสิสครัง้ นี ้ทาให้ หนู ซึ ้งถึงสปิ ริตของความเป็ นครูของหลายๆท่าน ทังอ.แม้ ้ ว ที่มาสอนพวกหนูแต่เช้ าตรู่ด้วยรอยยิ ้ม แม้ ว่าต้ องคอยดูแล คุณแม่ที่อยู่รพ.ด้ วย อ.อ้ อ ที่เชื่อมัน่ ในตัวหนู(มากกว่าตัวหนูเองอีก555) และใจเย็นกับเด็กดื ้อคนนี ้อย่างมาก ทาให้ หนูไม่ล้มความพยายามทางานให้ ดีขึ ้นอีก อ. เอ๋ ที่ให้ ปรึกษาทังธี ้ สสิ และชีวติ แถมยังร้ องไห้ ตามหนูไปด้ วย อ.ภมร เทพ ที่คอยช่วยเหลือตลอดมา ทุกท่านใจดีสดุ ๆ และใส่ใจในรายละเอียดงานนิสติ แต่ละคนอย่างมาก ดีใจที่อยู่ กลุม่ นี ้ค่ะ - ขอบคุณอ.สรศักดิ์ และอ.พรหมมินทร์ ที่กรุณาหนูเสมอมาทังแนะน ้ าหนังสือดีๆให้ มากมาย - อ. อ้ อน ที่ชี ้ให้ เห็นจุดอ่อนทังของงานและของตั ้ วหนูเอง มันมีคา่ มากค่ะ หนูจะเรี ยนรู้ให้ มากขึ ้นอีก - อ.วัฒนชัย ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ กรุณาตรวจเช็คโครงสร้ างให้ - อ.ปื น และ อ.อรรจน์ ที่ช่วยตรวจทานแบบคอนเสิร์ตฮอลล์ - อ.สรายุทธ อาจารย์ให้ คาปรึกษาตังแต่ ้ เลือกโครงการ และการออกแบบดีเทลฟาสาดอาคาร - ขอบคุณโดม (ธนพล โฆษิตสุรังคกุล) อีกครัง้ ถ้ าไม่มีแกเราไม่จบ แกอยู่ในทุกขันตอนของธี ้ สสิ เรา ขอบคุณ ที่จอด รถพระราชทาน ขอบคุณที่รองรับอารมณ์งอแง แก้ ปัญหาและมีสติในเวลาที่เราไม่มีสติ - สุดท้ าย ขอบคุณแปม สราลี ที่ไม่ยอมแพ้ นะ ขอบคุณที่จริงใจกับงาน ธีสสิ นี ้เสร็จและ A ได้ เพราะบุคคลเหล่านี ้ อยากขอขอบคุณและแบ่งปั นความสาเร็จนี ้ร่วมกันค่ะ
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l ฉ
สารบัญ บทคัดย่อภาษาไทย บทคัดย่อภาษาอังกฤษ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญรูปภาพ
หน้ า ข ค ง ฉ ฌ ญ
บทที่ 1 บทนา 1.1 ความเป็ นมาของโครงการ 1.2 วัตถุประสงค์ของโครงการ 1.3 ขอบเขตของโครงการ 1.4 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้ รับ
1 1 1 1 2
บทที่ 2 การศึกษาวิเคราะห์ อาคารประเภทเดียวกัน 2.1 อาคารกรณีศกึ ษาในต่างประเทศ 2.1.1 The Royal Conservatory of Music TELUS Centre for Performance and Learning - ข้ อมูลพื ้นฐานของโครงการ - แนวความคิดในการวางผังบริเวณและผังพื ้น - แนวความคิดในการออกแบบประโยชน์ใช้ สอย - แนวความคิดในการออกแบบรูปทรงและที่วา่ งสถาปั ตยกรรม - แนวความคิดในการออกแบบโครงสร้ าง ระบบเทคโนโลยีอาคาร และวัสดุ - หอแสดงดนตรี - บทวิเคราะห์ / ข้ อดี-ข้ อเสีย 2.1.2 School of Music - Lisbon Polytechnic Institute - ข้ อมูลพื ้นฐานของโครงการ - แนวความคิดในการวางผังบริเวณและผังพื ้น - แนวความคิดในการออกแบบประโยชน์ใช้ สอย - แนวความคิดในการออกแบบรูปทรงและที่วา่ งสถาปั ตยกรรม - แนวความคิดในการออกแบบโครงสร้ าง ระบบเทคโนโลยีอาคาร และวัสดุ - หอแสดงดนตรี - บทวิเคราะห์ / ข้ อดี-ข้ อเสีย 2.2 อาคารกรณีศกึ ษาภายในประเทศ
3 3 3 3 3 3 4 4 4 5 9 9 9 9 9 9 9 11 12
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l ช 2.2.1 วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล และมหิดลสิทธาคาร - ข้ อมูลพื ้นฐานของโครงการ - แนวความคิดในการวางผังบริเวณและผังพื ้น - แนวความคิดในการออกแบบประโยชน์ใช้ สอย - แนวความคิดในการออกแบบรูปทรงและที่วา่ งสถาปั ตยกรรม - แนวความคิดในการออกแบบโครงสร้ าง ระบบเทคโนโลยีอาคาร และวัสดุ - หอแสดงดนตรี - บทวิเคราะห์ / ข้ อดี-ข้ อเสีย 2.2.2 วิทยาลัยดนตรี มหาวิทยาลัยรังสิต - ข้ อมูลพื ้นฐานของโครงการ - แนวความคิดในการวางผังบริเวณและผังพื ้น - แนวความคิดในการออกแบบประโยชน์ใช้ สอย - แนวความคิดในการออกแบบรูปทรงและที่วา่ งสถาปั ตยกรรม - แนวความคิดในการออกแบบโครงสร้ าง ระบบเทคโนโลยีอาคาร และวัสดุ - หอแสดงดนตรี - บทวิเคราะห์ / ข้ อดี-ข้ อเสีย 2.3 การวิเคราะห์เปรี ยบเทียบอาคารกรณีศกึ ษา
12 12 12 12 12 13 13 13 19 19 19 19 20 20 21 21 24
บทที่ 3 เกณฑ์ ในการออกแบบโครงการ 3.1 ทฤษฎีและเกณฑ์ที่เกี่ยวข้ องกับการออกแบบโครงการ 3.2 กฏหมายและเทศบัญญัตทิ ี่เกี่ยวข้ อง
28 28 29
บทที่ 4 การวิเคราะห์ ท่ ีตงั ้ โครงการ 4.1 การวิเคราะห์ทาเลที่ตงั ้ 4.2 การวิเคราะห์สถานที่ตงั ้
42 42 43
บทที่ 5 รายละเอียดโครงการ 5.1 รายละเอียดโครงการด้ านการบริหาร 5.2 รายละเอียดโครงการด้ านโครงสร้ างหน้ าที่ใช้ สอย 5.3 รายละเอียดโครงการด้ านพื ้นที่ใช้ สอย 5.4 รายละเอียดโครงการด้ านวิศวกรรมงานระบบ 5.5 รายละเอียดโครงการด้ านอื่นๆ ที่เกี่ยวข้ อง
49 49 51 54 57 58
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l ซ บทที่ 6 ผลงานการออกแบบ 6.1 แนวความคิดในการออกแบบ 6.2 การวิเคราะห์รูปแบบทางเลือก 6.3 ผลงานการออกแบบขันสมบู ้ รณ์ - ผังบริเวณ - ผังพื ้นอาคาร - รูปด้ านอาคาร - รูปตัดอาคาร - แบบขยาย (ถ้ ามี) - รูปทัศนียภาพภายนอกและภายในอาคาร - หุ่นจาลอง
59 59 60 60 60 62 64 65 66 67 68
บทที่ 7 บทสรุปและข้ อเสนอแนะ
70
บรรณานุกรม ภาคผนวก ภาคผนวก ก ภาคผนวก ข ภาคผนวก ค ภาคผนวก ง
71 73 73 81 84 93
การออกแบบอคูสติก การออกแบบที่นงั่ หอแสดงดนตรี หลักสูตรและจานวนห้ องเรี ยน วงดุริยางค์สถาบันดนตรี กัลยาณิวฒ ั นา
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l ฌ
สารบัญตาราง ตารางที่ 2.1 ตารางที่ 3.1 ตารางที่ 5.1 ตารางที่ 5.2 ตารางที่ 5.3 ตารางที่ ก.1 ตารางที่ ก.2 ตารางที่ ก.3 ตารางที่ ก.4 ตารางที่ ก.5 ตารางที่ ค.1
วิเคราะห์เปรี ยบเทียบอาคารกรณีศกึ ษา สรุปจานวนห้ องน ้าตามกฏหมาย แสดงความสัมพันธ์ระหว่างพื ้นที่ ช่วงเวลา และกลุม่ ผู้ใช้ แสดงการใช้ ห้องเรี ยนต่างๆในรอบสัปดาห์ สรุปรายละเอียดโครงการด้ านพื ้นที่ใช้ สอย ค่าการส่งผ่านเสียง STC (Sound Transmission Class) ค่าเสียงรบกวน (NC : Noise Control) ค่าเวลาสะท้ อนกลับของเสียง RT (Reverberation Time) สัมประสิทธิ์การดูดซับเสียง ปริมาตรของหอแสดงดนตรี สรุปวิชาตลอดทังหลั ้ กสูตร
หน้ า 25 38 51 52 53 75 76 76 77 78 87
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l ญ
สารบัญรู ปภาพ รูปที่ 2.1 รูปที่ 2.2 รูปที่ 2.3 รูปที่ 2.4 รูปที่ 2.5 รูปที่ 2.6 รูปที่ 2.7 รูปที่ 2.8 รูปที่ 2.9 รูปที่ 2.10 รูปที่ 2.11 รูปที่ 2.12 รูปที่ 2.13 รูปที่ 2.14 รูปที่ 2.15 รูปที่ 2.16 รูปที่ 2.17 รูปที่ 2.18 รูปที่ 2.19 รูปที่ 2.20 รูปที่ 4.1 รูปที่ 4.2 รูปที่ 4.3 รูปที่ 4.4 รูปที่ 4.5 รูปที่ 4.6 รูปที่ 4.7 รูปที่ 5.1 รูปที่ 5.2 รูปที่ 6.1
ภาพแสดงความสัมพันธ์ระหว่างโครงการและบริบทที่ตงั ้ รูปตัด รูปทัศนียภาพภายในหอแสดงดนตรี รูปทัศนียภาพภายนอก รูปทัศนียภาพแสดงความสัมพันธ์กบั อาคารโดยรอบ ภาพสเก็ตซ์แสดงความสัมพันธ์ระหว่างโครงการและบริ บทที่ตงั ้ (ซ้ าย) ภาพไอโซเมตริก(ขวา) รูปตัดอาคาร ตามขวาง (บน) ตามยาว (ล่าง) ผังพื ้นชันหนึ ้ ่ง (ซ้ าย) และผังพื ้นชันระดั ้ บดิน (ขวา) ทัศนียภาพภายนอก(ซ้ าย) โมเดลจาลอง(ขวา) ทัศนียภาพภายใน ความสัมพันธ์ระหว่างโครงการและบริบทที่ตง(ซ้ ั ้ าย) อาคาร D (ขวา) ทัศนียภาพภายนอกอาคาร A(ซ้ าย) และ อาคาร B(ขวา) ผังพื ้นอาคาร A ผังพื ้นอาคาร D รูปตัดหอแสดงดนตรี (ซ้ าย)การยกกลุม่ ที่นงั่ สะท้ อนเสียงไปกลางหอแสดง(ขวา) ผังพื ้นมหิดลสิทธาคาร โครงการและบริบทที่ตง(ซ้ ั ้ าย) Box within a box (ขวา) ทัศนียภาพภายนอก(ซ้ าย) ภายใน(ขวา) รูปตัดหอแสดงดนตรี (ซ้ าย) การสะท้ อนของเสียง (ขวา) ผังพื ้นอาคารแสดงการใช้ พื ้นที่ ศักยภาพของทาเลที่ตงั ้ การคมนาคม การเข้ าถึงโครงการโดยรถไฟฟ้า (บน) ทางรถยนต์ (กลาง) และทางเรื อ (ล่าง) ทิศทางลม(บน)และแสงแดด(ล่าง) กฏหมายที่เกี่ยวข้ องกับที่ตงโครงการ ั้ ภาพสิง่ ก่อสร้ างและที่วา่ งข้ างเคียง มุมมองจากภายนอกและภายในที่ตงั ้ แผนภูมสิ ภาสถาบันดนตรี กลั ยาณิวฒ ั นา(บน) แผนภูมโิ ครงสร้ างการบริหาร(ล่าง) เครื่ องดนตรี เอกที่เปิ ดสอน คุณลักษณะของสมเด็จพระเจ้ าพี่นางเธอฯ 7 ประการ
หน้ า 7 7 8 8 8 11 11 12 12 12 16 16 17 18 18 19 23 23 23 24 45 46 46 47 47 48 48 49 50 59
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l ฎ รูปที่ 6.2 รูปที่ 6.3 รูปที่ 6.4 รูปที่ 6.5 รูปที่ 6.6 รูปที่ 6.7 รูปที่ 6.8 รูปที่ 6.9 รูปที่ 6.10 รูปที่ 6.11 รูปที่ ก.1 รูปที่ ก.2 รูปที่ ก.3 รูปที่ ก.4 รูปที่ ก.5 รูปที่ ข.1 รูปที่ ข.2 รูปที่ ข.3 รูปที่ ข.4 รูปที่ ข.5 รูปที่ ค.1 รูปที่ ค.2 รูปที่ ค.3 รูปที่ ค.4 รูปที่ ง.1
หุ่นจาลองในขันพั ้ ฒนาแบบ ผังพื ้นชันผิ ้ วดินและใต้ ดนิ (ซ้ าย) ผังพื ้นชัน1(ขวา) ้ ผังพื ้นชัน2(บนซ้ ้ าย) ผังพื ้นชัน3(บนขวา) ้ ผังพื ้นชัน4(ซ้ ้ ายล่าง) การออกแบบอาคารซ้ อมดนตรี (ขวาล่าง) แผนภาพแสดงโครงสร้ างและวัสดุ(บน) รูปตัดอาคาร(ล่าง) รูปด้ านอาคารทิศ เหนือ ใต้ ตะวันออก และตะวันตก ภาพอธิบายการออกแบบหอแสดงดนตรี ทัศนียภาพภายนอกอาคารซ้ อม(บน) ทัศนียภาพภายในอาคารซ้ อม(กลาง) ทัศนียภาพภายในโถงพักคอย(ล่าง) ทัศนียภาพจากแม่น ้าเจ้ าพระยา ภาพหุ่นจาลองบริเวณร้ านค้ า(บน) ภาพหุ่นจาลองอาคารเรี ยน(ล่าง) ภาพหุ่นจาลองแสดงเผลือกอาคาร(บนซ้ าย) หุ่นจาลองอาคารซ้ อม(บนขวา) ภาพหุ่นจาลองรวมทังโครงการ(ล่ ้ าง) มุมตกกระทบเท่ากับมุมสะท้ อน(ซ้ าย) เมื่อเสียงชนกับผนัง(ขวา) การสะท้ อนของคลื่นเสียงบนระนาบแบบต่างๆ ออดิทอเรี ยมรูปพัด(ซ้ าย) ทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้ า (ขวา) ปรากฏการณ์ของเสียง วิธีที่เสียงเดินทางข้ ามห้ อง ความกว้ างขององศาการมอง ตาแหน่งที่คนจะเลือกนัง่ เมื่อเลือกได้ อย่างอิสระ จากนิยมที่สดุ A ไปน้ อยที่สดุ F (ซ้ าย) และไม่นิยมเลือกที่นงั่ ที่เกิน 100องศา จากขอบของกรอบภาพเวที (ขวา) ระยะต่างๆของที่นงั่ ซ้ ายลักษณะการจัดที่นงั่ (ซ้ าย) จุดศูนย์กลางความโค้ ง(ขวา) วิธีลากเส้ นสายตาเพื่อสร้ างรูปตัดหอแสดงดนตรี ลักษณะห้ องเรี ยนดนตรี การจัดตู้เก็บของเพื่อกระจายความหนาแน่นของนักเรี ยน ตาแหน่งเครื่ องดนตรี ต่างๆบนเวทีแสดงออร์ เครสตร้ า นิทรรศการออร์ เคสตร้ าจาลอง สมาชิกวงวงดุริยางค์สถาบันดนตรี กลั ยาณิวฒ ั นา(ซ้ าย) การแสดงเปิ ดฤดูกาล2558 (ขวา)
60 62 63 64 65 66 67 68 68 69 73 74 74 78 79 81 81 82 82 83 89 90 90 92 93
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l 1
01 บทนา 1.1 ความเป็ นมาของโครงการ สมเด็จพระเจ้ าพี่นางเธอ เจ้ าฟ้ากัลยาณิวฒ ั นา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ทรงสนพระทัยเป็ นพิเศษต่อดนตรี คลาสสิก จึงทรงมีพระดาริจดั ตัง้ “ทุนส่งเสริมดนตรี คลาสสิกในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้ าพี่นางเธอฯ เจ้ าฟ้ากัลยาณิวฒ ั นา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ” ขึ ้นจากพระราชทรัพย์สว่ นพระองค์ หลังจากนันในปี ้ 2550 เพื่อเฉลิมพระเกียรติเนื่องใน โอกาสมหามงคลที่สมเด็จพระเจ้ าพี่นางเธอเจ้ าฟ้ากัลยาณิวฒ ั นา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ทรงเจริญพระชนมายุ 84 พรรษา กระทรวงวัฒนธรรมและมหาวิทยาลัยศิลปากรจึงร่วมกันดาเนินโครงการจัดตังสถาบั ้ นกัลยาณิวฒ ั นา เพื่อความเป็ น เลิศด้ านดนตรี คลาสสิก เนื่องจากที่ตงปั ั ้ จจุบนั บริเวณเชิงสะพานพระราม 8 ฝั่ งธนบุรีนนมี ั ้ ขนาดเล็กและต้ องอยู่ร่วมกับหน่วยงานอื่น ผนวก กับข้ อจากัดของกฎหมายผังเมืองรวมจึงไม่สามารถขยายสถานศึกษาหรื อสร้ างโรงมหรสพเพิ่มได้ ซึ่งสถาบันดนตรี กลั ยาณิ วัฒนา มีวสิ ยั ทัศน์ที่จะก้ าวเป็ นสถาบันดนตรี ชนนาในระดั ั้ บนานาชาติในอนาคต จึงต้ องหาสถานที่ทาการสถาบันที่มีขนาด ใหญ่ขึ ้น พร้ อมมีการออกแบบพิเศษที่รองรับการ เรี ยน เล่น แสดง ดนตรี โดยเฉพาะ หรื อจัดกิจกรรมอื่นใดที่สอดคล้ องกับ พันธกิจ พร้ อมทังสร้ ้ างอัตลักษณ์ของสถาบันผ่านสถาปั ตยกรรม ให้ ยิ่งใหญ่ งดงาม สมพระเกียรติสมเด็จพระเจ้ าพี่นางเธอ เจ้ าฟ้ากัลยาณิวฒ ั นา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์
1.2 วัตถุประสงค์ ของโครงการ วัตถุประสงค์ หลัก - เป็ นสถาบันอุดมศึกษาเฉพาะทางด้ านดนตรี คลาสสิกสาหรับนักเรี ยนความสามารถพิเศษ -
จัดการแสดงเป็ นประจาทุกเดือนเปิ ดโอกาสให้ บคุ คลทัว่ ไปได้ มีประสบการณ์ในการรับฟั งดนตรี คลาสสิกที่มี
คุณภาพ รวมทังเป็ ้ นการมอบโอกาสให้ นกั ดนตรี ของประเทศไทย ได้ มีเวทีในการแสดงศักยภาพทางด้ านดนตรี วัตถุประสงค์ รอง - เป็ นแหล่งค้ นคว้ าความรู้ด้านดนตรี คลาสสิก -
เปิ ดการสอนนักเรี ยนนอกเวลาแก่ประชาชนทัว่ ไป
-
จัดกิจกรรมเพื่อเผยแพร่ ความรู้ด้านดนตรี และศาสตร์ อื่นๆที่เกี่ยวข้ อง
วัตถุประสงค์ พเิ ศษ - สร้ างภาพลักษณ์ของผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทาง - เป็ นศูนยก์กลางในวงการดนตรี คลาสสิกไทย
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l 2
1.3 ขอบเขตของโครงการ วิทยานิพนธ์โครงการสถาบันดนตรี กลั ยาณิวฒ ั นา มีขอบเขตที่จะศึกษาดังต่อไปนี ้ การศึกษาอาคารประเภทเดียวกัน - อาคารที่เป็ นทังสถานศึ ้ กษาและสถานที่แสดงดนตรี ในประเทศ 2 แห่ง และต่างประเทศ 2 แห่ง เกณฑ์ ในการออกแบบโครงการ - หลักการออกแบบสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษา และหอแสดงดนตรี - กฏหมายและข้ อกาหนดต่างๆ ที่เกี่ยวข้ องกับลักษณะทางกายภาพของอาคาร การศึกษาทาเลที่ตงั ้ โครงการ - ลักษณะการใช้ ที่ดนิ การพัฒนาของเมืองในอนาคต เช่นเส้ นทางรถไฟฟ้า และตาแหน่งสถานี ซึ่งอนุญาตให้ สร้ างสถาบันอุดมศึกษาและโรงมหรสพได้ - บริบทรอบข้ าง การเข้ าถึง สาธารณูปโภค สาธารณูปการ ที่มีอิทธิพลต่อการวางผังและออกแบบโครงการ การศึกษาและวิเคราะห์ รายละเอียดโครงการเพื่อการออกแบบ - วิธีออกแบบเพื่ออคูสติกที่แสดงออกมาในลักษณะทางกายภาพของสถาปั ตยกรรม - มาตรฐานการออกแบบอคูสติกในอาคารเพื่อการแสดงดนตรี ประเภทไม่ใช้ เครื่ องขยายเสียง กาหนดให้ การ แสดงของวงออร์ เคสตราเป็ นวัตถุประสงค์หลัก การออกแบบและศึกษาข้ อมูลทังหมดจะเป็ ้ นไปเพื่อให้ ได้ คุณภาพเสียงที่เหมาะกับการแสดงประเภทนี ้ - การกาหนดจานวนของห้ องต่างๆคานวนจากหลักสูตรและแนวทางการดาเนินงานของสถาบันดนตรี กลั ยาณิ วัฒนา อ้ างอิงในปี การศึกษา 2557 - ลักษณะของการใช้ พื ้นที่ศกึ ษาอันจากการเรี ยนการสอนของสถาบันดนตรี กัลยาณิวฒ ั นาในปั จจุบนั หรื อการ เทียบเคียงจากโครงการอื่นที่มีกิจกรรมใกล้ เคียงกัน
1.4 ประโยชน์ ท่ คี าดว่ าจะได้ รับ 1) เพิม่ ประสิทธิภาพการเรี ยนการสอนของสถาบันอย่างเต็มประสิทธิภาพ ด้ วยอาคารและที่ว่างที่เพียงพอ และ ตอบสนองต่อความต้ องการในทุกๆด้ าน และมีลกั ษณะทางอคูสติกที่เหมาะสม 2) ประชาชนมีความรู้ความเข้ าใจเรื่ องดนตรี คลาสสิกลึกซึ ้งมากยิ่งขึ ้น 3) ปลูกฝั งความรัก และสนใจในดนตรี เปิ ดกลุม่ ผู้ฟังและผู้เล่นใหม่ๆ 4) เป็ นพื ้นที่สาธารณะแห่งใหม่ของเมือง ที่คนทุกเพศ ทุกวัย สามารถมาใช้ เวลาว่างในการพักผ่อน เรี ยนรู้ และ รับชมการแสดงเพื่อความบันเทิงร่วมกัน
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l 3
02 การศึกษาวิเคราะห์ อาคารประเภทเดียวกัน เหตุผลในการเลือกกรณีศกึ ษา กรณีศกึ ษาในต่างประเทศ The Royal Conservatory of Music TELUS Centre
School of Music Lisbon Polytechnic Institute
การวางอาคารโดยคานึงถึง บริ บทโดยรอบ และมีความเป็ น สาธารณะ เชิญชวน บุคคลภายนอก
การประยุกต์ใช้ ข้อจากัดเรื่ อง Acoustic มาเป็ นโจทย์ในการ ออกแบบรู ปทรง
กรณีศกึ ษาภายในประเทศ วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ ศาลาดนตรี วิทยาลัยดนตรี มหาวิทยาลัยมหิดล และมหิดล มหาวิทยาลัยรังสิต สิทธาคาร สถาบันการศึกษาดนตรีแนว หน้ าของไทย มีการสร้ างสรรค์ พื ้นที่สาธารณะ ที่ส่งเสริ ม ชีวิตชีวาให้ กบั สถานศึกษา รวมถึงมีหอแสดงดนตรีที่โดด เด่นเรื่ องคุณภาพเสียง
มีความใกล้ เคียงทังพื ้ ้นที่ใช้ สอย และขนาดของที่แสดง ดนตรี เด่นทางด้ านการ ออกแบบระบบอคูสติกที่ ทันสมัยและเต็มประสิทธิภาพ ด้ วยงบประมาณที่เพียงพอ
2.1 อาคารกรณีศกึ ษาในต่ างประเทศ 2.1.1 The Royal Conservatory of Music TELUS Centre for Performance and Learning สถาปนิก: ที่ตง:ั ้ ขนาดโครงการ: ปี ก่อสร้ าง:
Kuwabara Payne McKenna Blumberg Architects 273 Bloor Street West, Ontario, Toronto, Canada 17,651.60 ตารางเมตร ค.ศ. 2005 - 2009
แนวความคิดในการวางผังบริเวณและผังพืน้ TELUS Centre for Performance and Learning เป็ นโครงการก่อสร้ างระยะสุดท้ ายในผังแม่บทของสถาบัน ศึกษาทางดนตรี และศิลปะชันน ้ าของแคนนาดา หรื อ the Royal Conservatory ที่กาหนดไว้ ตงแต่ ั ้ ปี 1991 ในอาณาบริเวณ ของดาวทาวน์แคมปั ส มหาวิทยาลัย Toronto ติดกับ Philosopher’s Walk ทางเดินเท้ าสายสาคัญซึ่งทอดยาวเหนือใต้ เชื่อม ถนน Bloor Street กับมหาวิทยาลัย บริเวณเดียวกับ Royal Ontario Museum และ Gardiner Museum รอบๆ Queen Park การออกแบบจึงเป็ นไปเพื่อสร้ างย่านแห่งวัฒนธรรม โดยอาคารที่สร้ างใหม่นี ้อยู่ตดิ กับอาคารอนุรักษ์ Mazzoleni Hall ซึ่งเป็ น อาคารเรี ยนเดิมสร้ างในปี 1881 คลุมด้ วยหลังคาโปร่งที่เชื่อมอาคารเก่าใหม่เข้ าด้ วยกัน ทังยั ้ งโยงที่วา่ งของโรงเรี ยนและส่วน สาธารณะให้ ตอ่ เนื่องกัน ทางทิศตะวันออกเปิ ดต้ อนรับคนจาก Philosopher's Walk เดินผ่านส่วนห้ องซ้ อมเข้ าสูโ่ ถงกระจก ใจกลางโรงเรี ยน พื่นที่นี ้จึงเป็ นศูนย์กลางนักเรี ยน เกิดกิจกรรมที่หลากหลายและมีความเคลื่อนไหวตลอดเวลา อีกทังยั ้ งเปิ ด โอกาสให้ คนภายนอกผู้หลงใหลได้ เข้ ามาเยี่ยมชม
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l 4 แนวความคิดในการออกแบบประโยชน์ ใช้ สอย RCM มีวตั ถุประสงค์เพื่อพัฒนาศักยภาพของคนด้ วยดนตรี และศิลปะ อาคารที่สร้ างขึ ้นใหม่นี ้ประกอบด้ วย หอ แสดงดนตรี Koerner Hall ห้ องสมุด ห้ อง e-learning เวิร์คชอป ห้ องถ่ายทอดวีดีโอ สตูดโิ อการขับร้ อง ห้ องซ้ อมการแสดง อเนกประสงค์ 150 ที่นงั่ ห้ องซ้ อมรวมวง ห้ องเรี ยนปฎิบตั ดิ นตรี และห้ องซ้ อมใหม่ 43 ห้ อง ในขณะที่ Ihnatowycz Hall ซึ่ง เป็ นอาคารเรี ยนเดิมสร้ างในปี 1881 ใช้ เป็ นห้ องเรี ยนปฎิบตั ดิ นตรี ห้ องเรี ยน media-lab สานักงานอานวยการ และหอแสดง ดนตรี ขนาดเล็ก 237 ที่นงั่ ทังสองอาคารเชื ้ ่อมกันด้ วยโถงกระจก ซึ่งบางครัง้ ถูกใช้ เป็ นพื ้นที่เล่าเรี ยน และพื ้นที่แสดงศิลปะสาหรับนิทรรศการ เครื่ องดนตรี โบราณ ที่ชนผิ ั ้ วดินมีคาเฟ่ เป็ นจุดรวมพลของนักเรี ยนพบปะพูดคุย แลกโน้ ตเพลงกันดู ผนังกระจกใสกันระหว่ ้ าง สตูดโิ อ ด้ านเหนือศรี ษะเป็ นสะพานที่พาคนจากพื ้นที่ขายบัตรไปยังหอแสดง มีระเบียงขนาดเล็กยื่นออกมาจากบันไดของ อาคารอนุรักษณ์เพื่อใช้ สงั เกตุการณ์ยามมีงานเลี ้ยง ติดกับโถงกระจกทางทิศตะวันออกเป็ น โถง(lobby)หน้ า Koerner Hall ปูด้วยหินปูน ด้ านบนมีระเบียงอีก 3 ชัน้ เห็นวิวเมืองโตรอนโต และสวนภายนอก ทุกชันมี ้ บาร์ เป็ นของตัวเอง ในโถงจึงเกิดกิจกรรมหลากหลายประเภทที่เกี่ยวเนื่อง กับการแสดงคอนเสิร์ต การประชุม และจัดงานพิเศษอื่นๆ สามารถรองรับการจัดเลี ้ยงได้ 200 ที่นงั่ ด้ วยพื ้นที่จากัดจึง ออกแบบห้ องแขกพิเศษเป็ นกล่องลอยห้ อยลงมาจากโครงสร้ างหลังคา เนื่องจากไม่มีพื ้นที่ในการวาง และยังคงเห็นวิวเมือง โดยไม่ถกู กีดขวางอีกด้ วย แนวความคิดในการออกแบบรูปทรงและที่ว่างสถาปั ตยกรรม เนื่องจากต้ องการกระชับโปรแกรมพื ้นที่ใช้ สอยขนาดใหญ่ลงบนพื ้นที่ก่อสร้ างขนาดเล็ก อาคารเรี ยนจึงเรี ยงขึ ้นไป ในทางตัง้ มวลอาคารถูกออกแบบเป็ นหลายก้ อน มีการออกแบบรอยต่อโดยคานึงเรื่ องการส่งผ่านความสัน่ สะเทือนเสียง แบ่งออกเป็ นทังหมด ้ 4 ส่วน ได้ แก่ ส่วนหอแสดงดนตรี โถงด้ านหน้ าหอแสดง ห้ องซ้ อมอเนกประสงค์ และอาคารเรี ยน 5 ชัน้ โดยที่ผนังของโถงกระจกจะค่อยๆเอียงนาพาคนเข้ าสูโ่ ถง(lobby)หน้ าหอแสดงดนตรี การจัดวางอาคารใหม่ คานึงถึงความเคารพต่ออาคารอนุรักษ์จากศตวรรตที่ 19 อันเป็ นที่ทาการแรกเริ่มของ โรงเรี ยน มวลของอาคารซ่อนตัวจากสายตาเบื ้องหลังอาคารเก่า เทียบความสูงมาจากอาคารอนุรักษ์ สะพานทางเดินเชื่อม ระหว่างสองอาคารก็ถกู สร้ างให้ ตรงกับตาแหน่งช่องเปิ ดของอาคารเดิม หรื อแม้ แต่ระยะห่างของกรอบหลังคากระจกก็ สอดคล้ องกับช่วงเสาของอาคารเดิม วัสดุที่มีความสอดคล้ องรวมถึงเส้ นสายที่ตอ่ เนื่องมา แนวความคิดในการออกแบบโครงสร้ าง ระบบเทคโนโลยีอาคาร และวัสดุประกอบอาคาร วัสดุของอาคารเดิมเป็ นผนังก่ออิฐสีแดง และหลังคาสีเทาเข้ ม อาคารใหม่มีระบบการสร้ างที่ร่วมสมัย เรี ยบง่าย โปร่งใส โครงสร้ างเหล็กและกระจก สร้ างความแตกต่างกับผนังก่อโบราณ ส่วนหอแสดงดนตรี ถกู แยกออกมาเป็ นอีกอาคารหนึ่ง โครงสร้ างลอยอยู่บนแผ่นยางหนาที่ช่วยลดการสัน่ สะเทือน จากรถไฟฟ้าใต้ ดนิ ที่วงิ่ ลอดเกือบใต้ อาคาร และเพื่อลดเสียงจากห้ องระบบปรับอากาศและสนามฮอคกี ้ รวมถึงเสียงที่อาจ เกิดจากห้ องเรี ยนและห้ องซ้ อม ห้ องซ้ อมอเนกประสงค์ ลอยอยู่เหนือกล่องกระจกที่เป็ นห้ องขายตัว๋ ต้ อนรับคนจากถนน Bloor Street ซึ่งเป็ นถนน ใหญ่มีเสียงดัง จึงใช้ วธิ ี box within a box ใช้ ผนังหนักภายนอกเพื่อกันเสียงภายนอกกับภายในออกจากกัน และผนังชันใน ้ ที่จดั การเรื่ องการสะท้ อนเสียงดนตรี ภายในด้ วยงบประมาณจากัด หน้ าต่างกันเสี ้ ยง ใช้ วธิ ีจบั คู่ผนังกระจกเป็ นสองชัน้ ใช้ อากาศเป็ นฉนวน พื ้นเป็ นไม้ มะฮอคกานี ระแนงไม้ ล้อมรอบห้ องตรงครึ่งบนของผนังทุกด้ านช่วยบังแผ่นอคูสติกราคาถูก
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l 5 และรางม่านอคูสติก ระยะจากพื ้นจนถึงโครงสร้ างคานนันเตี ้ ้ย จึงออกแบบให้ ฝ้าเพดานอคูสติกอยู่สงู จากระดับโครงสร้ าง ขึ ้นไปอีก1.50เมตร เพื่อช่วยลดความเข้ มข้ นของเสียงอคูสติกของห้ องซ้ อมใหม่ ทัง้ 43 ห้ องนันถู ้ กออกแบบไม่ให้ เดินทางข้ าม ไปยังห้ องเรี ยนที่ตดิ กันได้ แต่อนุญาตให้ รั่วไหลออกไปยังโถงทางเดิน เพื่อเติมเต็มที่วา่ งด้ วยเสียงดนตรี เบาๆ
หอแสดงดนตรี Koerner Hall ขนาด 1,135 ที่นงั่ อันเป็ นหัวใจหลักของโครงการ การออกแบบเสียงแทรกอยู่ในทุกรายละเอียดของ อาคาร แม้ วา่ งบประมาณจากัดแต่เจ้ าของโครงการยังลงทุนในเรื่ องอคูสติก ขนาดและรูปทรง ขนาดใหญ่พอที่จะจัดการแสดงที่ดีที่สดุ แต่เล็กพอที่จะรู้สกึ ใกล้ ชิดในการแสดงเดี่ยว นัก ออกแบบเลือกห้ องรูปกล่องรองเท้ า รูปทรงที่เหมาะสมสามารถพบในหอแสดงดนตรี ชนน ั ้ าของโลก ระเบียงที่ล้อมรอบอยู่ใช้ เส้ นโค้ งที่จะให้ ความรู้สกึ โอบอุ้มคนดูเอาไว้ ภายในห้ องทรงสี่เหลี่ยมธรรมดา เวที ใช้ เวทีขนาดกลางแทนเวทีขนาดออร์ เคสตราเต็มวง แต่มีความยืดหยุ่น โดยพื ้นสามแถวหน้ าของหอแสดง ตังอยู ้ ่บนลิฟต์ขนาดใหญ่ สามารถย้ ายเก้ าอี ้ออก ยกพื ้นขึ ้น กลายเป็ นส่วนต่อขยายของเวที หรื อกดให้ ต่าลงเพื่อเป็ นหลุม ออร์ เคสตรา (orchestra pit) เวทีแบบ Open Stage มีระเบียงที่นงั่ รายล้ อมทุกด้ านของเวที ระเบียงชันสองลดระดั ้ บลงเล็กน้ อย หลังเวที ใช้ เป็ นที่ยืนของคอรัส สะดวกต่อการได้ ยินกันและกันระหว่างนักร้ องและนักดนตรี ที่น่ ัง หลักมี 20 แถว ระเบียงวงแหวนชันสองและสามมี ้ ไม่เกิน 2 แถว ชันลอยชั ้ นสอง ้ 5 แถว ชันลอยชั ้ นสามมี ้ 7 แถว การที่มีระเบียงทุกด้ านละ 3 ชันนี ้ ้เองทาให้ ที่นี่มีจานวน ”แถวหน้ า” มาก เส้ นสายตาอันทาให้ คนดูร้ ูสกึ เป็ นหนึ่งเดียวกับ การแสดง การจัดที่นงั่ ลักษณะนี ้ยังช่วยเพิม่ จานวนที่นงั่ โดยแถวสุดท้ ายไม่จาเป็ นต้ องอยู่ห่างจากเวทีมากอีกด้ วย ขนาดที่นงั่ กว้ างขวางรองรับขนาดตัวของมนุษย์ที่ใหญ่กว่าเดิม ฝ้าเพดาน เอกลักษณ์ของ Koerner Hall อยู่ที่ฝ้าเพดานติดถาวร ทาจากไม้ ลามิเนตดัดโค้ งเป็ นคลื่น ต่อเนื่อง ออกมาจากฉากหลังของเวทีที่นงั่ นักร้ องคอรัส(ระเบียงชันแรก) ้ ด้ านหลังของเวที พุง่ ขึ ้นไปยังฝ้าเพดานสูง 19.80 เมตร หรื อ ระดับระเบียงทางเดินส่วนบริการต่ากว่าฝ้าจริงเกือบ 7 เมตร เหนือฝ้าไม้ เว้ นที่ว่างไว้ เพื่ออานวยความสะดวกการจัดงานที่ ต้ องการอคูสติกต่างๆกันไป ซึ่งความสูงถึงฝ้าไม้ นี ้เป็ นความสูงเพื่อคคุณภาพของเสียง รูปทรงคล้ ายริบบิ ้นของฝ้าอนุญาติให้ เสียงความถี่กลางและต่าสามารถผ่านไปสูฝ่ ้ าจริงโดยไม่มีอะไรกีดขวาง ในขณะที่กระจายเสียงความถี่สงู ไปทัว่ ๆ หอแสดง นอกจากนี ้ ฝ้าไม้ บดิ เกลียวนี ้ช่วยปกปิ ดงานระบบแสง เสียง และระบบรอกต่างๆ เมื่อจัดการแสดงดนตรี แบบอคูสติก ห้ องนี ้ จะมีภาพลักษณ์ที่สะอาดสะอ้ าน นอกจากนี ้ยังเป็ นตัวนาสายตาไปสูเ่ วทีอีกด้ วย ผนัง ผนังจาเป็ นต้ องแข็งและแน่นเพื่อการสะท้ อนเสียง แต่สถาปนิกต้ องการให้ ลกั ษณะของมันดูเบาและอ่อนนุ่ม แผ่นยิปซัม่ ลอนรูปคลื่นทาผิวขรุขระเหมือนผ้ ากระสอบ ระเบียงนัง่ ชมการแสดงก็เช่นกัน ถูกออกแบบให้ มีความโค้ งเล็กน้ อย เพื่อผลของเสียงและแสง ข้ อดีของโค้ งนูน (convex) คือช่วยสะท้ อนเสียงในหลายทิศทางได้ มากกว่าพื ้นผิวที่ราบ ซึ่งสะท้ อน ไปในทิศทางเดียวเหมือนกับการตีปิงปองด้ วยไม้ ทาให้ ผ้ ชู มได้ รับเสียงที่ดีกว่า ฝ้าเพดานเป็ นโค้ งนูนเช่นกัน วัสดุ ด้ านหน้ าของระเบียง ที่นงั่ และพื ้น ล้ วนเป็ นไม้ โอ้ คธรรมชาติ ตัดกับผนังปูนฉาบสีดาลูกคลื่นน ้าตาล-เทา พื ้นผิวขรุขระแบบกระสอบมันฝรั่งช่วยสร้ างสมดุลเสียงสูงที่สดุ ของโน้ ตสูง การปรับเปลี่ยน ระบบปรับเปลี่ยนค่า RT โดยม่านซับเสียง ที่ซ่อนอยู่เหนือฝ้าและในผนังโค้ ง ที่ปกติจะถูกซ่อน เมื่อเล่นดนตรี คลาสสิก จะถูกดึงออกมาเมื่อการพูดสุนทรพจน์ หรื อการแสดงที่ใช้ เครื่ องขยายเสียง เปลี่ยนค่า RT จากสูงสุด สูศ่ นู ย์ ในไม่กี่นาที
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l 6 การป้องกันเสียงรบกวน กาจัดเสียงจากภายนอกได้ อย่างหมดจด จากเสียงใต้ ดนิ ใช้ Acoustic Barriers ทางออกเป็ นประตูสองชัน้ งานระบบ ระบบลาโพง และแสงพิเศษถูกเก็บซ่อนอยู่เหนือฝ้าเมื่อมีการแสดงดนตรี คลาสสิกที่ไม่ต้องการแสงและ เสียงพิเศษ มีการเผื่อจุดสาหรับติดตังกล้ ้ องถ่ายทอดกว่า 24 จุด
บทวิเคราะห์ / ข้ อดี-ข้ อเสีย ข้ อดี 1. มีการดึงพื ้นที่สาธารณะเข้ าสูอ่ าคาร เปิ ดอาคารเป็ นทางเดิน มีลกั ษณะเชื ้อเชิญบุคคลภายนอก 2. มีพื ้นที่จดั กิจกรรมอเนกประสงค์ที่มีชีวติ ชีวา เนื่องจากเป็ นทางสัญจรหลักในการเข้ า ออก เปลี่ยนห้ องเรี ยน รวมถึง นัง่ พักดื่มกาแฟ คนจึงพลุกพล่านตลอดเวลา ข้ อเสีย 1. ด้ วยข้ อจากัดเรื่ องพื ้นที่ ทาให้ ไม่สามารถกระจายหรื อแยกอาคารได้ การกระชับห้ องต่างๆเข้ ามาติดกัน ทังห้ ้ องซ้ อม ห้ องเรี ยน หอแสดงดนตรี ซึ่งล้ วนก่อเกิดเสียง ทาให้ ต้องแก้ ปัญหาด้ วยการใช้ วสั ดุและเทคโนโลยีแทน
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l 7
รูปที่ 2.1 ภาพแสดงความสัมพันธ์ระหว่างโครงการและบริบทที่ตงั ้
รูปที่ 2.2 รูปตัด
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l 8
รูปที่ 2.3 รูปทัศนียภาพภายในหอแสดงดนตรี
รูปที่ 2.4 รูปทัศนียภาพภายใน
รูปที่ 2.5 รูปทัศนียภาพแสดงความสัมพันธ์กบั อาคารโดยรอบ
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l 9
2.1.2 School of Music - Lisbon Polytechnic Institute สถาปนิก: ที่ตง:ั ้ ขนาดโครงการ: ปี ก่อสร้ าง:
João Luís Carrilho da Graça Lisbon, Portugal 16,900 ตารางเมตร ค.ศ. 2005-2008
แนวความคิดในการวางผังบริเวณและผังพืน้ สถาปนิกเกิดความประทับใจจากการไปเยี่ยมชม Eero Sarrinen’s school of Music in Ann Harbor ซึ่งเขา ประหลาดใจที่ในส่วนของพื ้นที่ส่วนกลางและทางเดินมีความเงียบสงบ ผนวกกับได้ ดสู ารคดี Music Conservatory in Santiago de Cuba ที่เต็มไปด้ วยผู้คน ดนตรี เปี่ ยมไปด้ วยความสุข เขาจึงต้ องการให้ โครงการนีม้ ีความนิ่งสงบ แต่ก็แฝงไป ด้ วยความสนุกสนาน มีชีวติ ชีวา โรงเรี ยนแห่งนี ้ตังอยู ้ ่ใจกลางชุมชนชานเมือง การที่ตงอยู ั ้ ่ในชุมชนทาให้ เข้ าถึงโครงการได้ ง่าย แต่ก็แลกมาซึ่งเสียง รบกวนมากมาย จุดเด่นของของการออกแบบอยู่ที่การสร้ างคอร์ ทสนามหญ้ าขนาด 100 x 40 เมตร ไว้ ใจกลางอาคาร อัน เป็ นที่พบปะสังสรรค์ พื ้นที่วา่ งนี ้ยังสามารถใช้ รองรับส่วนต่อขยายของห้ องเรี ยน และใช้ เป็ นพื ้นที่ในการแสดงคอนเสิร์ต กลางแจ้ ง รายล้ อมด้ วยห้ องซ้ อมและเรี ยนดนตรี ที่ช่วยกันเสียงจากภายนอก สร้ างบรรยากาศอันเงียบสงบท่ามกลางเมืองอัน วุน่ วาย พื ้นที่ใช้ สอยอื่นๆจะอยู่ที่ชนผิ ั ้ วดิน อาคารวางอยู่บนที่ดินอันลาดเอียง ด้ านที่พื ้นดินระดับต่ากว่าถูกทาให้ เป็ นทางเข้ า หลัก ขณะที่อีกด้ านสูงกว่าคืออยู่ระดับเดียวกับสนามหญ้ า แนวความคิดในการออกแบบประโยชน์ ใช้ สอย ชัน้ 1 ส่วนห้ องเรี ยนและห้ องซ้ อม หรื อชันเดี ้ ยวกับสนามหญ้ า โดยห้ องเหล่านี ้จะล้ อมทุกด้ านของคอร์ ท มี บันไดกลางคอร์ ทเชื่อมลงไปชันระดั ้ บผิวดิน ชันดิ ้ น พื ้นที่สาธารณะทังหมดและห้ ้ องเรี ยนขนาดใหญ่จะอยู่ที่ชนล่ ั ้ าง รวมถึง หอแสดงดนตรี มีความจุ 448 ที่ นัง่ อันเป็ นพื ้นที่หลักของโครงการ บางครัง้ ถูกใช้ เป็ นพื ้นที่เรี ยนหนังสือ และยังต้ องรองรับการแสดงใน ระดับที่ดีที่สดุ ห้ องเรี ยนที่มีขนาดหลากหลาย และหอแสดงดนตรี ขนาดเล็ก ล้ อมรอบด้ วยระเบียงขนาด ใหญ่เพื่อเป็ นพื ้นที่สารองในการเชื่อมต่อไปยังส่วนต่อขยายของโรงเรี ยนในอนาคต ห้ องสมุด ร้ านกาแฟ สานักงาน และห้ องเจ้ าหน้ าที่ จะอยู่ทิศใต้ ของชันนี ้ ้ ชัน้ B1-2 ที่จอดรถใต้ ดนิ แนวความคิดในการออกแบบรูปทรงและที่ว่างสถาปั ตยกรรม ความตังใจที ้ ่จะสร้ างพื ้นที่ที่สงบเงียบ โดยการใช้ ห้องซ้ อมมาล้ อมที่ผิวอาคาร เป็ นเหมือนป้อมกาแพงสูง 8 เมตร โดยรอบ ปกป้องจากการรุกล ้าทางเสียงและสายตาจากทางยกระดับวงแหวนชันที ้ ่สอง ที่อยู่ไม่ไกลนัก โดยสร้ าง ปรากฏการณ์จดุ อับเสียง “acoustic shadow” สามด้ านของลานหญ้ าจะถูกปิ ดล้ อมด้ วยผนังอาคารไม่สงู มากเพื่อหลีกเลี่ยง พื ้นที่ปิดอันอาจจะเกิดเสียงสะท้ อน(echo) เมื่อทุกประตูของห้ องล้ อมคอร์ ทเปิ ดออก เกือบทุกด้ านของคอร์ทสูงชันเดี ้ ยว ยกเว้ นผนังด้ านทิศใต้ ที่มีการจัดวางห้ องเรี ยนซ้ อนสองชันเพื ้ ่อเพิม่ พื ้นที่รับความอบอุ่นและแสงสว่างจากดวงอาทิตย์ ผนวก กับภาษาของสถาปั ตยกรรม ที่เรี ยบ ตรง เน้ นเส้ นนอน พื ้นผิวของระนาบที่ราบเรี ยบ หญ้ าสีเขียวสันเตี ้ ยน ช่องเปิ ดประตู หน้ าต่าง ทุกอย่างให้ ความรู้สกึ อันนิ่งสงบ ต่างกับกิจกรรมภายในซึ่งเต็มไปด้ วยเสียงของดนตรี
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l 10 รูปด้ านภายนอกอาคารสี่เหลี่ยมนี ้ทึบตันเกือบทังหมด ้ ยกเว้ นมุมของสี่เหลี่ยมจะเปิ ดเป็ นกระจกเปิ ดมุมมองกว้ าง ให้ เห็นทิวทัศน์เมืองภายนอก แต่ไม่เปิ ดให้ เสียงเล็ดลอด ขณะที่ห้องซ้ อมต่างๆจะมีช่องเปิ ดสูค่ อร์ ทหญ้ ากลางอาคาร ขนาด ความสูงค่อยๆเพิม่ ขึ ้นจากทิศใต้ ไปทิศเหนือตามความลาดชัน ซึ่งความสูง มวลที่แตกต่างกันนี ้ภายในได้ บรรจุห้องซ้ อมเครื่ อง ดนตรี ซึ่งแต่ละชนิดต้ องการความสูงของฝ้า(ปริ มาตรของห้ อง)ที่แตกต่างกัน เช่น เครื่ องเป่ าและเครื่ องสีที่มีเสียงเบาอยู่ด้าน ใต้ ที่ห้องเตี ้ย ขณะที่เครื่ องเคาะจะอยู่ไปทางทิศเหนือที่ห้องมีความสูงกว่า แนวความคิดในการออกแบบโครงสร้ าง ระบบเทคโนโลยีอาคาร และ วัสดุประกอบอาคาร ตัวอาคารใช้ คอนกรี ตเสริมเหล็กเป็ นวัสดุหลัก ซึ่งเป็ นวิธีง่ายที่สดุ ในการควบคุมเสียงเพราะคอนกรี ตมีมวลมาก และทึบตัน เป็ นฉนวนที่ดี พื ้นโดยทัว่ ไปของโครงการใช้ ไม้ เพราะไม้ เป็ นตัวกลางสัน่ สะเทือนของเสียงได้ ดี ช่วยให้ การเล่น ดนตรี เกิดความนุ่มนวลอบอุ่นมากขึ ้น ฝ้าและผนังของห้ องเรี ยนถูกทาให้ ไม่ขนานกันเพื่อป้องกัน เสียงสะท้ อน(echo) และ ห้ องเรี ยนของเครื่ องดนตรี แต่ละชนิดก็มีความสูงของฝ้าแตกต่างกันไป หอแสดงดนตรี หอแสดงดนตรี ขนาด 448 ที่นงั่ ใช้ ทงในการเรี ั้ ยนการสอน และการแสดงของนักเรี ยนสูส่ าธารณะ ฉนวนในห้ อง ดนตรี เป็ น wooden shell ระแนงไม้ ขนาดสูงต่าไม่เท่ากัน ช่วยสะท้ อนกระจายเสียงได้ ดี ช่วยเพิ่มค่า RT ให้ กบั หอขนาดเล็ก การใช้ งานมักเป็ นการแสดงไม่ใช้ เครื่ องขยายเสียง เช่น วงออร์ เคสตรา การแสดงของคณะประสานเสียง และแบบมีระบบ ขยายเสียงเล็กน้ อย
บทวิเคราะห์ / ข้ อดี-ข้ อเสีย ข้ อดี 1. มีพื ้นที่ภายนอกอาคารที่น่าสนใจ สนามหญ้ ากึ่งกลางอาคารเอื ้อต่อการจัดกิจกรรม เป็ นที่รวมตัวของนักเรี ยน 2. บรรยากาศของที่ว่าง เงียบ และสงบนิ่ง จากการคานึงเรื่ องอคูสติก และภาษาของสถาปั ตยกรรม ที่เน้ นเส้ นนอน รูปทรงที่ชดั เจน เรี ยบง่าย พื ้นผิวที่เรี ยบขนาดใหญ่ เป็ นต้ น 3. ใช้ วธิ ีเรี ยบง่ายในการแก้ ปัญหาทางอคูสติก ซึ่งแสดงออกมาในกายภายชัดเจน เช่น ห้ องซ้ อมดนตรี มีการกระจาย ตัวเนื่องจากอยู่ล้อมรอบคอร์ ทที่มีขนาดใหญ่ รวมถึงเป็ น Single Load Corridor ใช้ อากาศเป็ นพื ้นที่กนั ชน ป้องกัน เสียงจากภายนอก และจากห้ องซ้ อมด้ วยกันเอง ข้ อเสีย 1. หอแสดงดนตรี ไม่ปรากฎข้ อมูลระบบใดๆ ที่ปรับเปลี่ยนได้ ตามประเภทการแสดงที่อาจเปลี่ยนแปลงไป 2. บางส่วนของอาคารชันผิ ้ วดินจมอยู่ในพื ้นดินที่ลาดเอียง ทาให้ ไม่ได้ รับแสง และ การระบายอากาศโดยธรรมชาติ ซึ่งอาจไม่เหมาะสมกับภูมอิ ากาศในประเทศไทย
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l 11
รูปที่ 2.6 ภาพสเก็ตซ์แสดงความสัมพันธ์ระหว่างโครงการและบริ บทที่ตงั ้ (ซ้ าย) ภาพไอโซเมตริก(ขวา)
รูปที่ 2.7 รูปตัดอาคาร ตามขวาง (บน) ตามยาว (ล่าง)
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l 12
รูปที่ 2.8 ผังพื ้นชันหนึ ้ ่ง (ซ้ าย) และผังพื ้นชันระดั ้ บดิน (ขวา)
รูปที่ 2.9 ทัศนียภาพภายนอก(ซ้ าย) โมเดลจาลอง(ขวา)
รูปที่ 2.10 ทัศนียภาพภายใน
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l 13
2.2 อาคารกรณีศกึ ษาภายในประเทศ 2.2.1 วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล และมหิดลสิทธาคาร วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ สถาปนิก: บริษัท ต้ นศิลป์ สตูดโิ อ จากัด ที่ตง:ั ้ มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตศาลายา จังหวัดนครปฐม ขนาดโครงการ: 26,500 ตารางเมตร ปี ก่อสร้ าง: พ.ศ. 2539-2549 แนวความคิดในการวางผังบริเวณและผังพืน้ เนื่องจากในโครงการเดียวกันประกอบด้ วยอาคารหลายหลัง การวางผังจึงใช้ ลานอเนกประสงค์ ใจกลางโครงการ ใช้ ในการจัดกิจกรรมกลางแจ้ ง ยกพื ้นเป็ นอัฒจันทร์ โดยรอบ (Amphitheatre) เชื่อมโยงทุกอาคารเข้ าด้ วยกัน ซึ่งลานนี ้เปิ ด ออกสูบ่ งึ น ้าขนาดใหญ่ทางทิศเหนือ เชื่อมโยงสายตากับภูมทิ ศั น์ภายในมหาวิทยาลัยมหิดล ส่วนทางเท้ าทางตะวันตก เดิม เป็ นทางเข้ าหลักของวิทยาลัย ปั จจุบนั ปรับภูมทิ ศั น์ให้ เชื่อมโยงกับพิพธิ ภัณฑ์ดนตรี อษุ าคเนย์ที่สร้ างขึ ้นภายหลัง แนวความคิดในการออกแบบประโยชน์ ใช้ สอย อาคารหลักประกอบด้ วย 4 ส่วนคือ อาคาร A (ภูมพิ ลสังคีต) สูง5ชัน้ พื ้นที่ประมาณ 13,310 ตารางเมตร ตังอยู ้ ่ทิศตะวันออกของโครงการ ใช้ งานเป็ น ฝ่ ายบริหาร ธุรการ ห้ องพักอาจารย์ ห้ องเรี ยน ห้ องซ้ อมดนตรี ส่วนพักผ่อนของนักศึกษาและโรงอาหาร ส่วนมากเป็ นนักเรี ยน ฝ่ ายมัธยม และนักดนตรี เอกเครื่ องเคาะ อาคาร B เป็ นหอประชุมแสดงดนตรี สงู 3 ชัน้ พื ้นที่ 4,338 ตารางเมตร อยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ของโครงการ เป็ นที่จดั แสดงดนตรี ของวิทยาลัยขนาด 350 ที่นงั่ มีห้องควบคุมระบบเสียงและแสงที่ทนั สมัยใช้ ระบบดิจิตอล ฝั่ งตรงข้ าม หอประชุมเป็ นเรื อนกระจกกลางน ้าสูง 2 ชัน้ เดิมทีจะใช้ เป็ นพิพธิ ภัณ์ขนาดเล็ก แต่ได้ ปรับเปลี่ยนเป็ นห้ องรับรองแขกพิเศษ อาคาร C เป็ นอาคารวิทยบริการ สูง 2 ชัน้ พื ้นที่ 1,886 ตารางเมตร อยู่ทางทิศตะวันตกของโครงการ ภายในคือ ห้ องสมุดดนตรี ห้ อง midi-lad และฝ่ ายสิง่ พิมพ์ของวิทยาลัย อาคาร D เป็ นอาคารเรี ยนและห้ องซ้ อมสูง 5 ชัน้ พื ้นที่ 7,000 ตารางเมตร อยู่ทางทิศตะวันตกของหอแสดงดนตรี เพื่อรองรับการขยายตัวและการเพิม่ ของนักศึกษา มีห้องซ้ อมดนตรี ห้ องพักอาจารย์ที่เป็ นห้ องเรี ยนเดี่ยวไปในตัว และยังเป็ น ที่ตงของภาควิ ั้ ชาดนตรี บาบัด แนวความคิดในการออกแบบรูปทรงและที่ว่างสถาปั ตยกรรม พื ้นที่ใช้ สอยทางดนตรี ทังห้ ้ องเรี ยน ซ้ อม แสดง อัดเสียง เหล่านี ้ล้ วนเป็ นพื ้นที่ปิดเพราะต้ องควบคุมเสียงไม่ให้ รบกวนกันระหว่างนอก โดยธรรมชาติของโปรแกรมได้ ผลิตเงื่อนไขของก้ อนทึบตันเรี ยงต่อกันอย่างไร้ ชีวติ ชีวา ผู้ออกแบบ ต้ องการสร้ างชุมชนดนตรี ที่มีชีวิตชีวาจากกล่องทึบตันเหล่านี ้ให้ มี sense of place เป็ นชุมชนทางดนตรี ที่อบอุ่น มีชีวติ ชีวา” ทาให้ เกิดความต่อเนื่อง เคลื่อนไหวของที่วา่ งขึ ้น
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l 14 “พื ้นที่สีเทา” หรื อพื ้นที่กึ่งภายนอกภายในเป็ นหัวใจของโครงการ ถ้ าห้ องที่ ปิ ดอยู่ถกู แทนค่าด้ วย “สีดา” และธรรมชาติภายนอกคือ “สีขาว” ประเด็นสาคัญของ อาคารคือการเคลื่อนไหวอยู่ในพื ้นที่สีเทา ต่างค่าหลายน ้าหนัก เพื่อเชื่อมโยงสร้ าง ความต่อเนื่อง เพื่อปิ ดกัน เพื่อส่งผ่าน เพื่อตอบรับ เพื่อปฏิเสธ สร้ าง Conceptual ของจุด เส้ น ระนาบ รุกล ้าออกไปในภูมทิ ศั น์ นาสายลม, ละอองฝนเข้ ามาในพื ้นที่ สี เทาของอาคาร หรื ออีกความหมายหนึ่งคือทาให้ ขอบเขตของภายนอกและภายใน พร่าเลือนในความรู้สกึ ของผู้คน แนวความคิดในการออกแบบโครงสร้ าง ระบบเทคโนโลยีอาคาร และวัสดุประกอบอาคาร โครงสร้ างทัว่ ไปเป็ นระบบเสา-คาน คอนกรี ตเสริมเหล็ก มีการใช้ แสงธรรมชาติให้ ความสว่างกับอาคารเพื่อลดการ ใช้ พลังงานจากระบบไฟฟ้าส่องสว่าง งานระบบต่างๆควบคุมด้ วยระบบBAS (Building Automation System) ซึ่งช่วยให้ อาคารประหยัดพลังงานมากขึ ้นไม่วา่ จะป็ นระบบลิฟต์ ไฟฟ้า การปรับอากาศ การออกแบบระบบเสียง ในพื ้นที่ใช้ งานที่มีเสียงดัง เช่น ห้ องซ้ อม ห้ องบันทึกเสียง วางในตาแหน่งภายในอาคาร โดยมีเปลือกอาคารหุ้มอีกชันหนึ ้ ่ง ใช้ วสั ดุกนั เสียงในทุกๆห้ อง กระจกที่ใช้ เป็ นกระจกสองชันเพื ้ ่อป้องกันเสียงจากภายนอก หอแสดงดนตรี (มหิดลสิทธาคาร) สถาปนิก: บริษัท สถาปนิก 49 จากัด ที่ตง:ั ้ มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตศาลายา จังหวัดนครปฐม ขนาดโครงการ: 31,426 ตารางเมตร ปี ก่อสร้ าง: พ.ศ. 2552-2557 ความต้ องการในด้ านการใช้ สอย อาคารมหิดลสิทธาคารมีเป้าหมายเพื่อเป็ นหอประชุมที่ใช้ ในงานรับปริญญา ของนักศึกษามหาวิทยาลัยมหิดล นอกจากนี ้ยังใช้ เป็ นหอแสดงดนตรี สาหรับคณะดุริยางคศิลป์ และอาจจะมีการนาการ แสดงจากต่างประเทศเข้ ามาแสดงด้ วย เนื่องจากการใช้ สอยหลักเป็ นการรองรับงานรับปริญญา ที่นงั่ ของโครงการจึงมี มากกว่าโรงละครทัว่ ไป คือ 2000 ที่นงั่ ซึ่งส่วนของหลุมออร์ เคสตรา อาจถูกปรับเป็ นที่นงั่ ได้ อีกประมาณ 100 ที่นงั่ ที่จอดรถ ทังหมดถู ้ กจัดให้ อยู่ในพื ้นที่ใต้ ดนิ และพื ้นชัน้ 1 ใต้ ลานกว้ างด้ านหน้ าอาคาร และส่วนหนึ่งอยู่ใต้ อาคารศูนย์ประชุม ซึ่งการ กระจายทางเข้ าเช่นนี ้ก็ไม่เป็ นปั ญหาเนื่องจากอาคารถูกออกแบบให้ เป็ นทางเปิ ดโล่งสามารถเดินเชื่อมต่อถึงกันได้ โดยรอบ และสามารถเข้ าสูอ่ าคารได้ ในทุกๆทิศในพื ้นที่ด้านหน้ า (front of house) มีการจัดห้ องรับเสด็จอยู่สองส่วนในกรณีที่เสด็จมา ชมการแสดงมากกว่า 1 พระองค์ ส่วนพื ้นที่ด้านหลัง (back of house) ถูกจัดให้ อยู่ในระดับพื ้นดิน ล้ อมรอบตัวโรงละคร เพื่อ ความสะดวกในการขนย้ ายอุปกรณ์ตา่ งๆ และการเชื่อมต่อของการใช้ งานพื ้นที่ นอกจากนี ้ด้ านหลังของเวทีถูกออกแบบให้ เป็ นห้ องซ้ อมดนตรี ขนาดใหญ่ด้วย หลังคา นันเป็ ้ นโครงสร้ างเหล็ก โดยมีตงหลังคาเป็ นตัวหลักที่ก่อให้ เกิดรูปทรงขึ ้นมา การสร้ างจึงจาเป็ นที่จะต้ อง ใช้ การผลิตที่โรงงานให้ เป็ นรูปสาเร็จแล้ วนามาประกอบในพื ้นที่ก่อสร้ างจริง โครงหลังคาทังหมดจึ ้ งเป็ นเปลือกหุ้มอาคาร ทังหมด ้ โดยที่โครงสร้ างรองรับพื ้นอาคารทังหมดเป็ ้ นระบบเสา-คานโครงสร้ างคอนกรี ตเสริมเหล็กทังหมด ้ ส่วนบนของพื ้นที่ โรงละคร จาเป็ นที่จะต้ องรองรับการใช้ งานบางส่วน จึงใช้ โครงสร้ างถักเหล็ก ลึก 3 เมตร เพื่อรองรับฝ้าเพดาน และการใช้ งาน ควบคุมไฟเวทีจากบนฝ้าในเรื่ องของงานระบบ
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l 15 เวที เพื่อรองรับการเล่นละครด้ วย จึงใช้ เวทีแบบเป็ นกรอบภาพ (proscenium)มี หอชักฉาก(flying Tower) และ งานระบบ และพื ้นที่หลังและข้ างเวทีรองรับการแสดงละคร ด้ านหน้ าสุดเป็ นพื ้นยกขึ ้นลงได้ เพื่อต่อเติมเวที ที่นงั่ หรื อเป็ น หลุมออร์ เคสตร้ า ที่น่ ัง จัดเป็ นรูปพัด (Fan Shape) ตัดขอบ มีระยะห่างแถวเพียงพอที่ไม่ต้องลุกเมื่อมีคนเดินผ่าน มีระเบียงที่นั่ง 3 เมตร ซึ่งมุมมองสูเ่ วทีไม่ดีนกั แต่จาเป็ นต้ องมีเพื่อเพิ่มจานวนที่นงั่ นักศึกษาสาหรับรับปริญญา ในงานแสดงดนตรี ที่นงั่ บริเวณนี ้อาจใช้ เป็ นที่นงั่ สปอนเซอร์ ที่ทางานฝ่ ายควบคุมเทคนิคพิเศษ หรื อให้ ผ้ ชู มที่มาสายนัง่ รอ ระเบียงนี ้จะค่อยๆลด ระดับลงเมื่อเข้ าใกล้ เวที ให้ สอดคล้ องกับระดับของฝ้าสะท้ อนเสียง นอกจากนี ้ยังมีการทาห้ องสาหรับเด็ก(Family’s Box) หรื อบางครัง้ ใช้ สาหรับการสอนนักศึกษาในขณะชมการแสดงไปด้ วย ห้ องนี ้ถูกจัดไว้ ในจุดที่อบั เสียงจากการแสดงกันด้ วย กระจกสองชันใช้ ้ อากาศเป็ นฉนวน ผู้ที่นงั่ ภายในจะรับฟั งเสียงดนตรี ผา่ นลาโพงเท่านัน้ ที่แถวกลางของที่นงั่ ชันหลั ้ ก จะมีทางเดินออกสูล่ ฟิ ต์และบันไดหนีไฟโดยตรงถูกจัดไว้ เป็ นที่จอดรถเข็นเพื่อนัง่ ชม การแสดงของผู้พกิ าร ในการซ้ อมบางครัง้ ยังใช้ เป็ นตาแหน่งติดตังซุ ้ ้ มงานควบคุมเสียงเพราะเป็ นจุดที่ มองเห็นและรับฟั ง เสียงได้ ดีที่สดุ บริเวณนี ้สามารถถอดเก้ าอี ้ออกเพื่อนาแท่นประทับมาติดตังส ้ าหรับพระบรมศานุวงศ์ซึ่งขึ ้นลิฟต์พเิ ศษมาจาก ห้ องประทับที่ชนล่ ั ้ างได้ โดยตรง เบาะของเก้ าอี ้ทุกตัวใช้ วสั ดุที่ดดู ซับเสียง ดังนันไม่ ้ ว่าจะมีคนนัง่ เต็มหรื อไม่คณ ุ ภาพเสียงจะคงที่ เพราะร่างกาย ของผู้ชมดูดซับเสียง ฝ้า เหนือที่นงั่ เป็ นยิปซัม่ บอร์ ดหนา 3 ชัน้ ในส่วนเหนือเวทีมี Orchestra Shell สามารถพับเก็บเป็ นแนวตังและดึ ้ ง ขึ ้นไปซ่อนรวมกับระบบฉากละคร พืน้ ระบบพื ้นลอย floating floor มีช่องว่างอากาศในพื ้นสองชัน้ ค ้าไว้ ด้วยอุปกรณ์ที่ทาจากยาง ผนัง แนวคิด box within a boxมีหลังคาใหญ่คลุม หอแสดงจริงภายในซึ่งสร้ างด้ วยอิฐบล็อคหนา ฉาบปูน ประตู แบบสองชันกั ้ นเสียง มีการติดฉนวนกันเสียง ซีลรอยต่อต่างๆด้ วยยาง ผนังภายในติดตายกับที่ ไม่มีการปรับเปลี่ยน อคูสติก โดยใช้ ไม้ ตีเป็ นระแนงสูงต่าไม่เท่ากันเพื่อกระจายเสียง ผนังอื่นๆเช่นขอบระเบียงใช้ ไม้ เช่นกัน เนื่องจากไม้ มีความหนาแน่นที่ ดีตอ่ การสะท้ อนเสียง และเนื่องจากหอแสดงมีลกั ษณะกว้ าง ที่นงั่ ตรงกลางหอจึงไม่ได้ รับเสียงที่สะท้ อนมาจากผนัง ผู้ออกแบบจึงใช้ วธิ ียกกลุม่ ของที่นงั่ ด้ านริมหอแสดงขึ ้นเป็ นอีกความสูงหนึ่ง โดยพื ้นที่ยกขึ ้นนี ้ทาหน้ าที่เป็ นผนังสะท้ อ นเสียง จากเวทีให้ ที่นงั่ ตรงกลาง(ดูรูปที่ 2.16 ขวา) บนเวทีมีผนังออร์ เคสตร้ า(Orchestra Wall) ผนังสูงติดล้ อเลื่อนเก็บเป็ นชิ ้นๆ ใช้ เฉพาะเมื่อแสดงดนตรี แบบไม่ใช้ เครื่ องขยายเสียง ส่ วนงานระบบ เนื่องจากเครื่ องทาน ้าเย็น(Chiller) และเครื่ องจ่ายลมเย็น(AHU) ของระบบปรับความเย็นนัน้ จะ ก่อให้ เกิดความสัน่ สะเทือนสูงนาไปสูเ่ สียงที่มาตามโครงสร้ าง structural borne ในเรื่ องของโครงสร้ าง จึงจาเป็ นที่จะต้ อง แยกพื ้นที่นนออกมา ั้ โดยหล่อคอนกรี ตแยกกันและยาแนวด้ วย วัตถุอดุ กันรั่ว (Sealant) นอกจากนี ้ยังลดการสัน่ สะเทือนของ เครื่ องโดยการวางเครื่ องอยู่บนสปริงและติดตังทั ้ งชุ ้ ดอยู่บนแผ่นยางรองอีกที และด้ วยฝ้าเพดานที่สงู ระบบปรับความเย็น นันใช้ ้ เป็ นการเอ่อขึ ้นมาของอากาศเย็นจากช่องแอร์ ที่อยู่บนพื ้นใต้ ที่นงั่ ทุกที่นงั่ ถือเป็ นระบบที่ประหยัดพลังงานมากที่สดุ และไม่ก่อให้ เกิดเสียงเนื่องจากไม่ต้องใช้ พดั ลมพัดอากาศเย็นให้ ไปถึงผู้ใช้ งาน ใช้ หลักของธรรมชาติให้ อากาศเย็นที่เอ่อ ขึ ้นมาผ่านร่างกายผู้ใช้ งานและลอยตัวขึ ้นไปด้ านบนอาคาร (Displacement) ซึ่งมีความเงียบกว่าระบบทัว่ ไป ในขณะที่ ระบบปรับอากาศของพื ้นที่เวทีจะมาจากด้ านบนเพราะใต้ พื ้นมีงานระบบอยู่มาก
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l 16 บทวิเคราะห์ / ข้ อดี-ข้ อเสีย ข้ อดี 1. การแบ่งการใช้ งานต่างๆ กระจายออกเป็ นหลายอาคาร ทาให้ อาคารมีขนาดไม่ใหญ่มากหรื อทึบตัน การจัดผัง ชัดเจน เข้ าใจง่าย 2. การวางทิศทางของอาคาร ให้ ด้านยาวรับทิศเหนือ-ใต้ ช่วยเรื่ องการระบายอากาศ และการป้องกันความร้ อน 3. พื ้นที่กึ่งภายนอก เสริมสร้ างบรรยากาศที่ดี เป็ นพื ้นที่อนั เกิดชีวติ ชีวา ภายในโครงการ อีกทังเชื ้ ่อมโยงกับภูมทิ ศั น์ ของสวน มีความร่มรื่ น 4. การใช้ เทคโนโลยีสมัยใหม่ ระบบอาคารอัตโนมัติ (BAS) มาช่วยในการประหยัดพลังงาน ข้ อเสีย 1. การวางท่อระบบปรับอากาศเหนือกลุม่ ห้ องซ้ อม ทาให้ เสียงเดินทางข้ ามจากห้ องหนึ่งไปยังอีกห้ องหนึ่งได้ 2. อาคารมีขนาดที่ใหญ่มาก เนื่องจากความจาเป็ นต้ องรองรับนักศึกษาในการเข้ ารับพระราชทานปริญญาบัตร ทา ให้ มีบางที่นงั่ ได้ มมุ มองสูเ่ วทีที่ไม่ดี รวมถึงฝ้าที่สงู มาก ทาให้ เสียงสะท้ อนเดินทางกลับมาช้ า (Delay) เกิดปั ญหา นักดนตรี ไม่ได้ ยินเสียงกันเอง 3. โครงการมีงบประมาณที่จากัด ทาให้ วสั ดุและระบบปรับเปลี่ยนค่า RT ไม่สามารถทาได้ ถึงขันสุ ้ ด
รูปที่ 2.11 ความสัมพันธ์ระหว่างโครงการและบริบทที่ตง(ซ้ ั ้ าย) อาคาร D (ขวา)
รูปที่ 2.12 ทัศนียภาพภายนอกอาคาร A (ซ้ าย) และ อาคาร B (ขวา)
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l 17
รูปที่ 2.13 ผังพื ้นอาคาร A
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l 18
รูปที่ 2.14 ผังพื ้นอาคาร D
รูปที่ 2.15 รูปตัดหอแสดงดนตรี (ซ้ าย) การยกกลุม่ ที่นงั่ เพื่อช่วยสะท้ อนเสียงไปยังบริเวณกลางหอแสดง(ขวา)
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l 19
รูปที่ 2.16 ผังพื ้นมหิดลสิทธาคาร
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l 20
2.2.2 ศาลาดนตรี วิทยาลัยดนตรี มหาวิทยาลัยรังสิต สถาปนิก: ที่ตง:ั ้ ขนาดโครงการ: ปี ก่อสร้ าง:
บริษัท Pillar architect & Associates และ บริษัท Mason Acoustics มหาวิทยาลัยรังสิต อาเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี 15,000 ตารางเมตร พ.ศ. 2555 คาดว่าจะแล้ วเสร็จปี พ.ศ. 2558
แนวความคิดในการวางผังบริเวณและผังพืน้ โครงการเป็ นอาคารเดี่ยวที่เกิดจากการรวมตัวของการใช้ งานสองรูปแบบ คือ โรงมหรสพ และ อาคารเรี ยน วิทยาลัยดนตรี ทังนี ้ ้การเข้ าถึงของทังสองอาคารจะถู ้ กแยกออกจากกัน เพื่อเป็ นการง่ายต่อการควบคุมระบบการสัญจร ภายในอาคาร การเข้ าสูภ่ ายในอาคารมีทงหมด ั้ 5 จุด(ดูรูป 2.21) ได้ แก่ หมายเลข 1 ทางเข้ าหลักของอาคารส่วนโรงมหรสพ สาหรับบุคคลทัว่ ไปที่จะมาใช้ งานอาคารส่วนนี ้สามารถเข้ าถึงได้ จากทังทางด้ ้ านทิศเหนือ และทางลานด้ านทิศตะวันตกของ อาคาร เป็ นลักษณะบันไดขึ ้นไปยังส่วนชัน้ 2 ของอาคาร หมายเลข 2 ทางเข้ ารองของอาคารส่วนโรงมหรสพ สาหรับบุคคล พิเศษ อาทิ พระบรมวงศานุวงศ์ แขกกิตติมศักดิ์ นักดนตรี ผู้มีปัญหาทางด้ านการสัญจร โดยจะเป็ นทางเข้ าสูต่ วั อาคาร ชัน้ 1 หมายเลข 3 ทางเข้ าสูอ่ าคารเรี ยนวิทยาลัยดนตรี สาหรับบุคลากรภายใน และบุคคลทัว่ ไป เป็ นลักษณะบันไดขึ ้นไปเข้ าที่ ชัน้ 2 ของอาคาร หมายเลข 4 ทางเข้ าสาหรับงานบริการ ของอาคารเรี ยนวิทยาลัยดนตรี เป็ นทางเข้ าสูอ่ าคาร ชัน้ 1 หมายเลข 5 ทางเข้ าและทางขนย้ าย สาหรับงานบริการของอาคารส่วน Concert Hall และอาคารเรี ยนวิทยาลัยดนตรี สว่ น Black box theater โดยเป็ นทางสาหรับ บุคลากรที่เกี่ยวข้ องกับการดาเนินงานในโรงละคร เจ้ าหน้ าที่ผ้ ดู แู ลควบคุมด้ าน ต่างๆ จนไปถึงกลุม่ นักแสดงที่จะเข้ ามาใช้ งานในโครงการนี ้ แนวความคิดในการออกแบบประโยชน์ ใช้ สอย ส่ วน Concert Hall ทางเข้ าหลัก และทางเข้ าทางบริการอยู่ที่ชนั ้ 2 โดยมีทางเข้ ารองอยู่ที่ชน1 ั ้ ติดกับลานเทียบรถ มีการใช้ งานในส่วนต่างๆดังนี ้ ชัน้ 1 ห้ องรับรองบุคคลพิเศษ ห้ องน ้า ห้ องแต่งตัวชาย-หญิง ห้ องน้ าสาหรับผู้ดาเนินการแสดง ห้ องพักผ่อนนักแสดง ห้ องเก็บอุปกรณ์ไฟ ห้ องซักรี ด หลุมวงออเคสตร้ า เป็ นชันที ้ ่เป็ นส่วนตัว ชัน้ 2 ใช้ เป็ นโถงทางเข้ า มีห้อง ซ้ อมใหญ่ ห้ องซ้ อมเครื่ องเคาะ ห้ องเก็บเปี ยโน เครื่ องดนตรี อุปกรณ์ ฉาก ชัน้ 4 ส่วนโล่ง ชัน้ 5 ที่นงั่ ชมการแสดงส่วนชัน้ ลอย ทางเดินบริการควบคุมระบบไฟฟ้าแสงสว่าง (Light control catwalk) ชัน้ 6 การใช้ งานส่วนบริการ ทางเดินบริการ ควบคุมระบบรอกรับน้ าหนัก (Rigging control catwalk) ทางเดินควบคุมการฉายไฟส่อง (Follow spot catwalk) ห้ องควบคุม ชัน้ 7 ทางเดินบริการระบบมอเตอร์ รอกรับน ้าหนัก (Rigging motor catwalk) ส่ วนอาคารเรียน ทางเข้ าหลัก และทางเข้ างานบริการสาหรับ Black box theater อยู่ที่ชนั ้ 2 โดยมีทางเข้ าสาหรับ งานบริการอาคารทั่วไปที่ชนั ้ 1 มีการใช้ งานในส่วนต่างๆดังนี ้ ชัน้ 1 กลุม่ ห้ องเรี ยนแบบฟั งบรรยาย ชัน้ 2 ชันหลั ้ ก ประกอบด้ วย สานักงานคณบดีห้องพักอาจารย์ สานักงาน ชัน้ 3 ห้ องปฏิบตั กิ ารทางคอมพิวเตอร์ ห้องปฏิบตั กิ าร Media tech ห้ องปฏิบตั กิ าร Sound lab (2 ห้ อง) ห้ องปฏิบตั กิ าร Dolby Theater 7.1 ห้ องซ้ อมกลองพร้ อมห้ องควบคุม (2ห้ อง) ห้ อง อัดการแสดงสดพร้ อมห้ อง ควบคุม ห้ อง AMP (2 ห้ อง catwalk) ห้ องน้ า การใช้ งานส่วนบริการ ห้ องควบคุมไฟฟ้า AHU ชัน้ 4 ห้ องปฎิบตั กิ ารรวมวง (3ห้ อง) ส่วนห้ องปฏิบตั กิ ารซ้ อมเดี่ยว ชัน้ 5 ห้ องปฏิบตั ปิ ระสานเสียง ห้ องปฏิบตั กิ ารสอนเดี่ยว ชัน้ 6 การใช้ งานส่วนบริการ Black box theater (ส่วน Rigging motor catwalk)
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l 21 แนวความคิดในการออกแบบรูปทรงและที่ว่างสถาปั ตยกรรม โครงการที่อยู่ด้านหลังของประติมากรรมองค์สรุ ิยะเทพซึ่งเป็ นสิง่ ศักดิส์ ทิ ธิ์ของมหาวิทยาลัยรังสิต จึงทาให้ เกิดเป็ น แนวคิดให้ อาคารที่จะสร้ างขึ ้นนี ้เป็ นตัวแทนที่จดจาของมหาวิทยาลัย โดยนาสัญลักษณ์ของมหาวิทยาลัยคือ ดวงอาทิตย์ และ โลกุตระ ที่หล่อเลี ้ยงสิง่ มีชีวติ ทังมวลบนโลก ้ จึงเกิดเป็ นรูปลักษณ์ของอาคารที่มีเส้ นสายโค้ งกลม มีลกั ษณะเป็ นเหมือน วงโคจรในระบบสุริยะ เปรี ยบให้ อาคารนี ้เป็ นดัง่ ศูนย์กลางของมหาวิทยาลัย โดยเน้ นการออกแบบให้ เรี ยบง่ายและสง่า โดย มีการออกแบบแสงไฟทาให้ รูปด้ านของอาคารในยามค่าคืนคล้ ายกับแสงจากเส้ นขอบฟ้าที่ดวงอาทิตย์สาดส่องลงมา ตัว รูปทรงของอาคารเน้ นให้ ไปในทางเรี ยบง่ายและเส้ นสายน้ อยเพื่อให้ เป็ นที่จดจาได้ ง่ายของผู้คนที่พบเห็น
เนื่องจากการที่ต้องคานึงถึงเรื่ องระบบเสียงเป็ นหลัก ประกอบกับการใช้ งานบางส่วนจาเป็ นต้ องควบคุมเรื่ องแสง และอุณหภูมิ พื ้นผิวของอาคารส่วนใหญ่จึงเป็ นลักษณะทึบ มีช่องเปิ ดแต่ในส่วนการใช้ งานที่จาเป็ นเท่านัน้ เช่นห้ องโถง และ ห้ องเรี ยนต่างๆ เป็ นต้ น ส่วนอาคารเรี ยนที่เป็ นรูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้ า หอแสดงดนตรี เป็ นลักษณะวงรี เสายาวชะลูดรับกับ หลังคาผืนใหญ่ เป็ นส่วนต้ อนรับที่มีแนวคิดที่อยากจะให้ ตวั สถาปั ตยกรรมมีความยิ่งใหญ่ และโอ่อ่า ลักษณะทางสถาปั ตยกรรมของโครงการนีเ้ น้ นไปทางด้ านความสมบูรณ์ของระบบอะคูสติก พื ้นที่ส่วนใหญ่ภายใน เป็ นรูปแบบ box within a box กล่าวคือ เป็ นห้ องที่คลุมห้ องขึ ้นมาอีกชันหนึ ้ ่งเพื่อควบคุมในเรื่ องของการควบคุมเสียง ภายในอาคาร ความสูงของอาคารถูกกาหนดด้ วยรูปแบบการใช้ งานของโรงมหรสพ โดยมีระดับความสูงของพื ้นที่ที่มีการใช้ งานจริงทังหมด ้ 5 ชัน้ โดยอิงจากส่วนงานระบบรอกหลังพื ้นที่เวทีการแสดง (ส่วน flying tower) แนวความคิดในการออกแบบโครงสร้ าง ระบบเทคโนโลยีอาคาร และวัสดุประกอบอาคาร โครงสร้ าง อาคารเป็ นระบบ Post-tension + Conventional (ระบบพื ้นคอนกรี ตเสริ มเหล็กอัดแรงดึงภายหลัง รวม กับ ระบบเสาคาน) โดยเลือกใช้ ระบบโครงสร้ าง conventional เฉพาะในส่วนที่จะต้ องมีการรับน ้าหนักมาก และมีโครงสร้ าง เหล็กต่างๆ ในบางจุด เช่น ที่นงั่ ชมการแสดงในโรงละคร และผนังอาคาร พืน้ ทัว่ ไปเป็ นพื ้นคอนกรี ตขัดเรี ยบสาหรับเตรี ยมปูพื ้นด้ วยวัสดุปพู ื ้นต่างๆ โดยพื ้นบางจุดจะมีการใช้ เทคนิคการ ก่อสร้ างสาหรับงานระบบอะคูสติค โดยเป็ นลักษณะที่มีการทาช่องอากาศด้ านใน โดยใช้ หมุดยางขันระหว่ ้ างโครงสร้ างพื ้น และแทรกวัสดุฉนวนกันเสียงลงไป เพื่อลดเสียงที่เกิดจากโครงสร้ าง (Structure borne) ผนัง ตามห้ องที่ต้องมีการออกแบบระบบเสียงภายใน จะใช้ อิฐมวลเบา เนื่องจากเป็ นวัสดุที่มีช่องว่างสาหรับ อากาศภายใน (Air gap) ที่มีผลช่วยในการป้องกันเสียงได้ ผนังที่จะต้ องมีคณ ุ สมบัตปิ ้ องกันเสียงในอาคารนี ้ จะมีลกั ษณะ เป็ นรูปแบบที่ เรี ยกว่า (Box within a box ) โดยความหนาและลักษณะของผนังจะต่างออกไปในแต่ละจุดตามการใช้ งาน ของพื ้นที่นนๆ ั ้ เช่น ผนังของห้ องซ้ อมดนตรี เป็ นผนังก่ออิฐบลอค 2-3ชัน้ เว้ นระยะห่างด้ านในเพื่อใส่วสั ดุซบั เสียง ได้ แก่ ใย หิน ใยแก้ ว และช่องอากาศ ฝ้าเพดาน ฝ้าเพดานของพื ้นที่ทวั่ ไปจะใช้ ยิปซัมบอร์ ดฉาบเรี ยบ แต่ฝ้าสาหรับพื ้นที่ที่มีการเกิดเสียงเช่นห้ องซ้ อม จะมีการใส่ฉนวนกันเสียงแทรกลงไปบนฝ้าเพดาน หรื อ ในห้ องที่จะต้ องมีการออกแบบระบบอะคูสติค เพื่อให้ มีการกระจาย เสียงได้ สมบูรณ์
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l 22 ระบบปรับอากาศ เป็ นระบบจ่ายจากส่วนกลาง ท่ออากาศต่างๆจะต้ องมี Duct silencer เพื่อช่วยลดเสียงที่ เกิดขึ ้น และต้ องมีการจัดระบบการวางตาแหน่งให้ อยู่ในห้ องที่มีการใช้ งานน้ อยที่สดุ เช่นส่วนห้ องซ้ อมดนตรี จะเดินท่อ บริเวณทางเดินหน้ าห้ อง แล้ วค่อยต่อท่อจ่ายลมเย็นเข้ าสูแ่ ต่ละห้ อง วิธีนี ้จะไม่ทาให้ เสียงเดินทางจากห้ องหนึ่งไปสูอ่ ีกห้ อง หนึ่งเหมือนเดินท่อพาดผ่านแนวห้ องซ้ อมโดยตรง หอแสดงดนตรี ขนาดและรูปทรง ที่นงั่ จานวนไม่มาก สัดส่วนบริเวณที่นงั่ กับเวทีเกือบจะเท่ากัน อาจไม่ค้ มุ ในเชิงการลงทุน แต่ เจ้ าของโครงการและผู้ออกแบบต้ องการคุณภาพในการรับชมสูงสุด ระยะแถวสุดท้ ายที่ห่างจากเวทีมาก ทาให้ ทกุ ที่นงั่ ได้ รับ เสียงและการมองเห็นที่ดี รวมถึงระเบียงชันสองยื ้ ่นออกมาเพียงเล็กน้ อยเพื่อไม่ให้ เกิดจุดอับเสียงใต้ ระเบียง เวที รองรับการแสดงละครด้ วยใช้ เวทีแบบเป็ นกรอบภาพ หรื อ Proscenium มี Flying Tower ซ่อนฉากและงาน ระบบ และพื ้นที่หลังและข้ างเวทีรองรับการแสดงละคร ที่น่ ัง รูปพัด (Fan Shape) ตัดขอบ ขนาดเก้ าอี ้กว้ างพิเศษ ผนัง เป็ นผนังคอนกรี ตสองชัน้ มีพื ้นที่วา่ งด้ านใน ที่มีการบรรจุวสั ดุซบั เสียง ได้ แก่ ใยแก้ ว และใยหิน รวมถึง ช่องว่างอากาศ โดยจะมีผนังที่มีลกั ษณะทางอะคูสติคอยู่ในชันนอกอี ้ กทีหนึ่ง มีลกั ษณะเป็ นแท่งสามเหลี่ยม แต่ละด้ านของ สามเหลี่ยมมีพื ้นผิวและใช้ วสั ดุต่างกัน สามารถหมุนปรับเปลี่ยนคุณภาพเสียงในหอแสดงได้ ถึง 12 แบบควบคุมด้ วยระบบ คอมพิมเตอร์ บนเวทีจะมี Orchestra Wall ผนังสูงเลื่อนเก็บได้ เมื่อเล่นละคร ฝ้าเพดาน ฝ้าจะมีลกั ษณะเป็ นแถบเอียงลาดลง โดยมีองศาที่แตกต่างกันออกไปเพื่อให้ ได้ มมุ สะท้ อนเสียงที่ ต่างกัน ในหอแสดงดนตรี ในหอแสดงดนตรี ฝ้าตัวหน้ าสุดติดกับเวทีสามารถปรับองศาได้ ตามจุดกาเนิดเสียงหลักของแต่ละ การแสดง (หลุมออร์ เคสตรา หรื อ บนเวที) หลังคา โครงสร้ างหลังคาหลัก(ส่วนหอแสดงดนตรี )จะเป็ นโครงสร้ างเหล็ก มีวสั ดุมงุ หลังคาเป็ นเมทัลชีท โดยมี การออกแบบให้ หลังคาส่วนนี ้มีความสามารถป้องกันเสียงที่มาจากภายนอก (Air borne) และเสียงจากโครงสร้ างภายใน (Structure borne) โดยออกแบบให้ มี ชันของหลั ้ งคาภายใน 12ชัน้ ที่ประกอบไปด้ วย นอกสุดเป็ นหลังคาเคลือบเยื่อกระดาษ มีการใส่ยางที่จดุ รับรอยต่อโครงสร้ างทุกจุด ใช้ วธิ ีการห้ อย (Stand mount) แผ่นเจาะรู บุผ้าใย Black tissue ถัดไปเป็ นใย แก้ ว คัน่ ด้ วย วีว่าบอร์ ด และใยหิน สลับกันไป ระบบปรับอากาศ แยกห้ องงานระบบออกไปเป็ นอีกอาคารหนึ่งเพื่อป้องกันเสียงรบกวน ภายในหอแสดงดนตรี มี การแยกระบบปรับอากาศในส่วนของเวทีและที่นงั่ ชมเนื่องจากมีความต้ องการเรื่ องเสียงและอุณหภูมทิ ี่ตา่ งกัน บทวิเคราะห์ / ข้ อดี-ข้ อเสีย ข้ อดี 1. มีการแยกทางเข้ าหลายจุด โดยคานึงถึงประเภทของผู้ใช้ งาน 2. แยกงานระบบอันสร้ างเสียงรบกวนออกไปอีกอาคารหนึ่ง 3. มีการคานึงถึงเรื่ องอคูสติกในทุกส่วนของโครงการ งานระบบมีความหลากหลาย ยืดหยุ่น และทันสมัย ข้ อเสีย 1. พื ้นที่ทางเข้ าหลักของส่วนโรงละคร ที่บริเวณส่วนทางเข้ าที่เข้ ามาเป็ นโถงต้ อนรับ พื ้นที่นี ้จะเป็ นพื ้นที่ที่มีการ ตัดของทางสัญจรอยู่มาก ทังการสั ้ ญจรเพื่อไปยังส่วนชมการแสดง ไปส่วนเคาน์เตอร์ เครื่ องดื่ม ห้ องน ้า หรื อ สัญจรไปยังจุดลิฟต์ และบันไดเลื่อน
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l 23
รูปที่ 2.17 โครงการและบริบทที่ตง(ซ้ ั ้ าย) Box in Box (ขวา)
รูปที่ 2.18 ทัศนียภาพภายนอก(ซ้ าย) ภายใน(ขวา)
รูปที่ 2.19 รูปตัดหอแสดงดนตรี (ซ้ าย) การสะท้ อนของเสียง (ขวา)
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l 24
รูปที่ 2.20 ผังพื ้นอาคารแสดงการใช้ พื ้นที่
2.3 การวิเคราะห์ เปรียบเทียบอาคารกรณีศึกษา
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l 25
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l 26
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l 27
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l 28
03 เกณฑ์ ในการออกแบบโครงการ 3.1 ทฤษฎีและเกณฑ์ ท่ เี กี่ยวข้ องกับการออกแบบโครงการ จานวนห้ องเรียน สถาบันอุดมศึกษามีอาคารที่ประกอบด้ วยลักษณะสาคัญของอาคารเรี ยนที่ดี มีห้องครบทุกประเภท พื ้นที่ใช้ สอยที่ ใช้ ในการเรี ยนการสอนและการจัดกิจกรรมทุกประเภทมีจานวนเพียงพอ และเหมาะสมกับจานวนอาจารย์ประจา จานวน นักศึกษาในแต่ละหลักสูตร และจานวนนักศึกษาตามแผนการรับนักศึกษา ตามเกณฑ์พื ้นที่ใช้ สอยอาคารโดยประมาณ รวมทังต้ ้ องจัดให้ มีห้องสมุดตามเกณฑ์มาตรฐาน มีครุภณ ั ฑ์ประจาอาคาร ครุภณ ั ฑ์การศึกษา และคอมพิวเตอร์ จานวน เพียงพอต่อการจัดการศึกษาทังนี ้ ้ อาคารและบริ เวณอาคารจะต้ องมีความมัน่ คง ปลอดภัย ถูกสุขลักษณะหรื อความจาเป็ น อย่างอื่น ตามที่กฎหมายกาหนด1 บรรยากาศ บรรยากาศของสถาบันดนตรี จะต้ องมีสนุ ทรี ยภาพ เหมาะกับการเรี ยนดนตรี มีความยืดหยุ่น รองรับกิจกรรมอัน หลากหลายของนักศึกษา การจัดผังพืน้ เนื่องจากโครงการประกอบด้ วยพื ้นที่ใช้ สอยหลายประเภท ซึ่งต้ องรองรับคนมีจดุ ประสงค์แตกต่างกันมาก เช่น นักเรี ยนและบุคลากรของสถาบัน นักเรี ยนดนตรนอกเวลาราชการ ผู้ชมการแสดง ผู้ใช้ ห้องสมุด ผู้ชมพิพิธภัณฑ์ ซึ่งแต่ละ ส่วนมีเวลาเปิ ดปิ ดทากิจกรรมที่แตกต่างกัน ต้ องคานึงเรื่ องการเปิ ดปิ ดและรักษาความปลอดภัยของอาคาร ความปลอดภัย โดยเฉพาะหอแสดงดนตรี ที่ต้องรองรับคนมากกว่า 1,100 คนในคราวเดียว การเข้ าออก อพยพ จากอาคาร รวมถึง การเข้ าออกของรถ ต้ องเป็ นไปได้ อย่างสะดวกและรวดเร็ว มีระยะทางเดินและบันไดหนีไฟตามกฏหมายกาหนด การป้องกันเสียงรบกวน แต่ละส่วนของโครงการต้ องการความเงียบในระดับที่แตกต่างกัน สานักงาน ห้ องบรรยาย ที่พอรับเสียงรบกวนได้ ไปจนถึงห้ องเรี ยนดนตรี และหอแสดงดนตรี ที่ต้องการความเงียบสูงสุด แต่ด้วยที่ตงโครงการตั ั้ งอยู ้ ่ตดิ ถนนใหญ่กลางเมือง จึงได้ รับเสียงรบกวนจากภายนอก รวมถึงเสียงที่เกิดจากกิจกรรมภายในตลอดเวลา การวางอาคารจึงต้ องคานึงถึงตาแหน่ง ของอาคารโดยสัมพันธ์กบั ปริ มาณเสียงรบกวนภายนอก และมีการจัดภูมทิ ัศน์ช่วยลดความดังเสียง นอกจากนี ้ยังต้ อง ป้องกันเสียงจากภายในโครงการเอง เช่น การจัดกลุ่มห้ องเรี ยน ห้ องซ้ อม โดยคานึงถึงความดังเบาของแต่ละชนิดเครื่ อง ดนตรี ใช้ พื ้นที่ไม่เกิดเสียงหรื อทางเดินเป็ นตัวกัน้ ใช้ ผนังทึบหรื อใช้ ฉนวนดูดซับเสียงอื่นๆ เพื่อการเล่นดนตรี ที่มีประสิทธิภาพ คุณภาพของเสียง คานึงถึงการออกแบบอคูสติกเพื่อให้ ได้ คา่ RT ที่เหมาะสม และป้องกันการเกิดปรากฏการณ์ความบกพร่องของ เสียงในรูปแบบต่างๆ รวมถึงรับฟั งเสียงอย่างทัว่ ถึงและสม่าเสมอในทุกที่นงั่ คุณภาพของการมอง ในหอแสดงดนตรี การคานวนเพื่อออกแบบแถวที่นงั่ อันสอดคล้ องกับธรรมชาติการมองของมนุษย์ เพื่อให้ ทกุ ที่นงั่ มองเห็นเวทีได้ ดี
1
ประกาศกระทรวงศึกษาธิ การ เรื่ อง มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ.2554
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l 29
3.2 กฏหมายและเทศบัญญัติท่ เี กี่ยวข้ อง กฏหมายที่เกี่ยวข้ องกับการออกแบบสถาบันดนตรีกัลยาณิวัฒนา มีดังนี ้ 1. กฎกระทรวงให้ ใช้ บงั คับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2556 2. ข้ อบัญญัตกิ รุงเทพมหานครเรื่ องกาหนดบริ เวณห้ ามก่อสร้ างหรื อดัดแปลงอาคารบางชนิด พ.ศ.2545 3. ข้ อบัญญัตกิ รุงเทพมหานคร เรื่ องกาหนดบริเวณห้ ามก่อสร้ าง ดัดแปลงอาคารบางชนิดหรื อบางประเภทริ มฝั่ ง แม่น ้าเจ้ าพระยาทังสองฝั ้ ่ ง(พ.ศ.2542) 4. กฎกระทรวงว่าด้ วยการอนุญาตให้ ใช้ อาคารเพื่อประกอบกิจการโรงมหรสพ ประเภทและระบบความปลอดภัยของ โรงมหรสพ และอัตราค่าธรรมเนียมสาหรับการอนุญาตให้ ใช้ อาคารเพื่อประกอบกิจการโรงมหรสพ พ.ศ. 2550 5. ระเบียบกรุงเทพมหานครว่าด้ วยการขออนุญาตก่อสร้ างสะพานข้ ามคลอง พ.ศ. 2549 6. กฎกระทรวงฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2517) ที่จอดรถ 7. กฏกระทรวง ฉบับที่ 33 (พ.ศ2535) 8. กฏกระทรวงฉบับที่ 39 (พ.ศ.2537) 9. กฎกระทรวงฉบับที่ 41 (พ.ศ. 2537) 10. กฏกระทรวง ฉบับที่ 55 (พ.ศ.2543) 11. ข้ อบัญญัตกิ รุงเทพมหานคร เรื่ อง ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2544 12. กฎกระทรวงกาหนดสิง่ อานวยความสะดวกในอาคารสาหรับผู้พกิ ารหรื อทุพพลภาพ และคนชราพ.ศ. 2548 เนื่องจากมีกฏหมายที่เกี่ยวข้ องกับการออกแบบเป็ นจานวนมากจึงสรุปเฉพาะข้ อกฏหมายที่สาคัญและเกี่ยวข้ องดังนี ้ กฎกระทรวงให้ ใช้ บงั คับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2556 ข้ อ 15 ที่ดนิ ประเภท ย. 8 เป็ นที่ดนิ ประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นมากที่มีวตั ถุประสงค์ เพื่อรองรับการอยู่อาศัยใน บริเวณพื ้นที่เขตเมืองชันในที ้ ่มีการส่งเสริ มและดารงรักษาทัศนียภาพและสภาพแวดล้ อมทางธรรมชาติ ที่ดนิ ประเภทนี ้ ห้ าม ใช้ ประโยชน์ที่ดนิ เพื่อกิจการตามที่กาหนด ดังต่อไปนี ้ (9) โรงมหรสพตามกฎหมายว่าด้ วยการควบคุมอาคาร เว้ นแต่ที่ตงอยู ั ้ ่ริมถนนสาธารณะ ที่มีขนาดเขตทางไม่น้อย กว่า 30 เมตร หรื อตังอยู ้ ่ภายในระยะ 500 เมตร จากบริ เวณโดยรอบสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน (26) สถานศึกษาระดับอุดมศึกษาและอาชีวศึกษา เว้ นแต่ที่ตงอยู ั ้ ่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า 16 เมตร หรื อตังอยู ้ ภ่ ายในระยะ 500 เมตร จากบริเวณโดยรอบสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน ข้ อ 40 ที่โล่งประเภท ล. 2 และ ล. 3 เป็ นที่โล่งเพื่อการรักษาคุณภาพสิง่ แวดล้ อมบริเวณริมถนนและริมแม่น ้าและ ลาคลอง ให้ ใช้ ประโยชน์ได้ ดังต่อไปนี ้ (1) ที่ดนิ ซึ่งตังอยู ้ ่ริมถนนตามรายชื่อถนนสาธารณะที่กาหนดในรายการประกอบแผนผังกาหนดการใช้ ประโยชน์ ที่ดนิ ตามที่ได้ จาแนกประเภทท้ ายกฎกระทรวงนี ้ ให้ มีที่วา่ งห่างจากแนวเขตทางไม่น้อยกว่า 2 เมตร เพื่อปลูกต้ นไม้ เว้ นแต่เป็ นการก่อสร้ างรัว้ กาแพง ป้อมยาม ป้ายชื่ออาคารหรื อสถานประกอบการ (2) ที่ดนิ ซึ่งตังอยู ้ ่ริมแหล่งน ้าสาธารณะที่มีความกว้ างน้ อยกว่า 10 เมตร ให้ มีที่วา่ งเพื่อปลูกต้ นไม้ ตามแนวขนาน กับริมแหล่งน ้าสาธารณะนันไม่ ้ น้อยกว่า 3 เมตร แต่ถ้าแหล่งน ้าสาธารณะมีความกว้ างตังแต่ ้ 10 เมตร ขึ ้นไป ให้ มี ที่วา่ งเพื่อปลูกต้ นไม้ ตามแนวขนานกับริ มแหล่งน ้าสาธารณะนันไม่ ้ น้อยกว่า 6 เมตร เว้ นแต่เป็ นการก่อสร้ างเพื่อ การคมนาคมและขนส่งทางน ้า การสาธารณูปโภค เขื่อน รัว้ หรื อกาแพงการใช้ ประโยชน์ที่ดนิ ล่วงล ้าเข้ าไปเหนือ
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l 30 น ้า ในน ้า หรื อใต้ น ้าของแหล่งน ้าสาธารณะ ให้ ใช้ ประโยชน์เพื่อการคมนาคมและขนส่งทางนา้ การสาธารณูปโภค เขื่อน สะพาน ท่อ สายเคเบิล คานเรื อ และ โรงสูบน ้า การใช้ ประโยชน์ที่ดนิ ประเภทนี ้ ให้ เป็ นไปดังต่อไปนี ้ (1) มีอตั ราส่วนพื ้นที่อาคารรวมต่อพื ้นที่ดนิ ไม่เกิน 6 : 1 ทังนี ้ ้ ที่ดนิ แปลงใดที่ได้ ใช้ ประโยชน์แล้ ว หากมีการแบ่งแยกหรื อแบ่งโอนไม่วา่ จะกี่ครัง้ ก็ตาม อัตราส่วนพื ้นที่อาคารรวมต่อพื ้นที่ดนิ ของที่ดนิ แปลงที่เกิดจากการแบ่งแยกหรื อแบ่งโอนทังหมดรวมกั ้ นต้ องไม่เกิน 6 : 1 (2) มีอตั ราส่วนของที่วา่ งต่อพื ้นที่อาคารรวมไม่น้อยกว่าร้ อยละห้ า แต่อตั ราส่วนของที่วา่ งต้ องไม่ต่ากว่าเกณฑ์ขนั ้ ต่าของที่วา่ งอันปราศจากสิง่ ปกคลุมตามกฎหมายว่าด้ วยการควบคุมอาคาร และให้ มีพื ้นที่น ้าซึมผ่านได้ เพื่อปลูก ต้ นไม้ ไม่น้อยกว่าร้ อยละห้ าสิบของพื ้นที่วา่ ง ข้ อบัญญัตกิ รุงเทพมหานคร เรื่ องกาหนดบริเวณห้ ามก่อสร้ างหรื อดัดแปลงอาคารบางชนิดหรื อบางประเภท พ.ศ.2545 ห้ ามมิให้ บคุ คลใดก่อสร้ างหรื อดัดแปลงอาคารใดให้ เป็ นอาคารโรงมรสพ อาคารที่มีระยะห่างจากอาคารอื่นน้ อย กว่า 4เมตร อาคารที่มีระยะห่างจากเขตที่ดนิ น้ อยกว่า 2 เมตร อาคารที่มีสงู จากระดับถนนถึงส่วนที่สงู ที่สดุ ของอาคารเกิน 15 เมตร ยกเว้ นอาคารเพื่อประโยชน์เกี่ยวกับกิจการสาธารณูปโภค อาคารที่มีพื ้นที่รวมกันทุกชันในหลั ้ งเดียวเกิน 2000 ตารางเมตร ยกเว้ นอาคารเพื่อประโยชน์เกี่ยวกับกิจการสาธารูปโภค ทังนี ้ ้ภายในระยะ 15 เมตรจากเขตถนนรัชดาภิเษกทังสองฟากจากจุ ้ ดตัดกับถนนเจริญกรุงไปทางทิศตะวันออกจน จดถนนพระราม3 และถนนพระราม3 จากจุดนี ้ทังสองฟากไปจนจดถนนรั ้ ชดาภิเษก และรัชดาภิเษกจากจุดนีท้ งสองฟากไป ั้ จนจดทางแยกสุทรโกษา ข้ อบัญญัตกิ รุงเทพมหานคร เรื่ องกาหนดบริเวณห้ ามก่อสร้ างหรื อดัดแปลงอาคารบางชนิดหรื อบางประเภทริมฝั่ งแม่น ้า เจ้ าพระยาทังสองฝั ้ ่ ง(พ.ศ.2542) ข้ อ 4 ให้ กาหนดพื ้นที่ในบริเวณซึ่งห่างจากริมฝั่ งแม่น ้าเจ้ าพระยาทังสองฝั ้ ่ งในระยะ 45 เมตร ในเขต กรุงเทพมหานคร ท้ องที่ แขวงบางคอแหลม เขตบางคอแหลม เป็ นบริเวณห้ ามมิให้ บคุ คลใดก่อสร้ างดัดแปลงอาคารอื่นใด เว้ นแต่ (1) ภายในระยะ 3 เมตร จากริมฝั่ งแม่น ้าเจ้ าพระยาทังสองฝั ้ ่ ง ให้ ก่อสร้ างเขื่อน อุโมงค์ สะพาน ทางหรื อท่อระบาย น ้า รัว้ กาแพง หรื อประตู (2) ภายในระยะเกิน 3 เมตรขึ ้นไป แต่ไม่เกิน 15 เมตรจากริมฝั่ งแม่น ้าเจ้ าพระยาทังสองฝั ้ ่ งให้ ก่อสร้ างอาคารที่มี ความสูงไม่เกิน 8 เมตร ซึ่งมิใช่ห้องแถวหรื อตึกแถว และให้ อาคารมีระยะห่างจากเขตที่ดนิ ไม่น้อยกว่า 2 เมตร หรื อ มีระยะระหว่างอาคารห่างกันไม่น้อยกว่า 4 เมตร (3) ภายในระยะเกิน 15 เมตรขึ ้นไป แต่ไม่เกิน 45 เมตรจากริมฝั่ งแม่น ้าเจ้ าพระยาทังสองฝั ้ ่ งให้ ก่อสร้ างอาคารที่มี ความสูงไม่เกิน 16 เมตร กฎกระทรวงว่าด้ วยการอนุญาตให้ ใช้ อาคารเพื่อประกอบกิจการโรงมหรสพประเภทและระบบความปลอดภัยของโรง มหรสพ และอัตราค่าธรรมเนียมสาหรับการอนุญาตให้ ใช้ อาคารเพื่อประกอบกิจการโรงมหรสพ พ.ศ. 2550 ข้ อ 2 โรงมหรสพแบ่งออกเป็ น 5 ประเภท ดังต่อไปนี ้ (1) โรงมหรสพประเภท ก หมายความถึง โรงมหรสพที่เป็ นอาคารเดี่ยว จัดที่นงั่ คนดูยึดติดกับพื ้น
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l 31 (2) โรงมหรสพประเภท ข หมายความถึง โรงมหรสพที่เป็ นอาคารเดี่ยว ซึ่งไม่มีการจัดที่นงั่ คนดูใน ลักษณะยึดติดกับพื ้น (3) โรงมหรสพประเภท ค หมายความถึง โรงมหรสพที่ อยู่ในอาคารกิจการหลายประเภทรวมกัน จัดที่ นัง่ คนดูในลักษณะยึดติดกับพื ้น (4) โรงมหรสพประเภท ง หมายความถึง โรงมหรสพที่อยู่ในอาคารที่ประกอบกิจการหลายประเภท รวมกัน ไม่จดั ที่นงั่ คนดูในลักษณะยึดติดกับพื ้น (5) โรงมหรสพประเภท จ หมายความถึง โรงมหรสพที่ตงอยู ั ้ ่กลางแจ้ ง มีลกั ษณะมัน่ คงแข็งแรงกัน้ ขอบเขตโรงมหรสพและมีพื ้นที่ภายในขอบเขตโรงมหรสพตังแต่ ้ 150ตารางเมตรขึ ้นไป ข้ อ 3 สถานที่ตงโรงมหรสพต้ ั้ องมีลกั ษณะ ดังต่อไปนี ้ (1) โรงมหรสพต้ องตังอยู ้ ่ในระดับไม่ต่ากว่าระดับพื ้นดินที่ก่อสร้ าง (2) โรงมหรสพประเภท ก ประเภท ข และประเภท จ ต้ องตังอยู ้ ่ในที่ดนิ ที่ มีด้านใดด้ านหนึ่งของที่ดนิ นัน้ ยาวไม่น้อยกว่า 12 เมตร และที่ดนิ ด้ านนันต้ ้ องติดถนนสาธารณะที่มีเขตทางกว้ างไม่น้อยกว่า 10 เมตร (3) โรงมหรสพประเภท ค และประเภท ง ต้ องตังอยู ้ ่ในตาแหน่งที่มีบนั ไดหนีไฟ หรื อทางหนีไฟจากโรง มหรสพเพื่อออกสูภ่ ายนอกอาคารได้ อย่างน้ อยสองทาง และบันไดหนีไฟ หรื อทางหนีไฟต้ องมีขีด ความสามารถในการระบายคนที่ออกจากโรงมหรสพไปสูภ่ ายนอกอาคารได้ ในระยะเวลาหนึ่งชัว่ โมง ระบบความปลอดภัยและการป้องกันอันตราย ข้ อ 23 อาคารใดที่มีโรงมหรสพตังอยู ้ ่ตงแต่ ั ้ ชนที ั ้ ่สองขึ ้นไป ต้ องจัดให้ มีบนั ไดหนีไฟให้ เป็ นไปตามกฎกระทรวงซึ่ ง ออกตามกฎหมายว่าด้ วยการควบคุมอาคารเกี่ยวกับอาคารสูง ข้ อ 28 โรงมหรสพจะต้ องจัดให้ มีประตูทางออกที่สามารถเปิ ดออกได้ โดยสะดวกตลอดเวลาที่มีคนดูอยู่ข้างใน จานวนและระยะห่ างของสิ่งของหรือส่ วนต่ าง ๆ ภายในและภายนอกอาคารที่ใช้ เป็ นโรงมหรสพ ข้ อ 31 โรงมหรสพประเภท ก และประเภท ค ต้ องจัดที่นงั่ คนดูภายในโรงมหรสพ ดังต่อไปนี ้ (1) กรณีที่จดั ที่นงั่ ติดต่อกันและที่นงั่ ปลายสุดทังสองด้ ้ านติดทางเดิน มีที่นงั่ ติดต่อกันได้ ไม่เกิน 20 ที่นงั่ (2) ในกรณีที่จดั ที่นงั่ ติดต่อกันตลอดแถวเกินกว่าหนึ่งตอนและที่นงั่ ปลายสุดทัง้ สองด้ านของแต่ละตอน ติดทางเดิน ให้ มีที่นงั่ ติดต่อกันได้ ไม่เกินตอนละ 16 ที่นงั่ (3) ในกรณีที่จดั ที่นงั่ ติดต่อกันตลอดแถวเกินกว่าหนึ่งตอนและมีตอนใดตอนหนึ่ง ติดผนังด้ านข้ างของ โรงมหรสพ ให้ ตอนที่ตดิ ผนังโรงมหรสพมีที่นงั่ ได้ ไม่เกิน 6 ที่นงั่ การจัดที่นงั่ ตาม (1) (2) และ (3) นัน้ ต้ องจัดให้ ที่นงั่ ปลายสุดของแต่ละตอนที่ไม่ตดิ ผนังโรงมหรสพติดทางเดินซึ่งมี ความกว้ างสุทธิไม่น้อยกว่า 1.50 เมตร ภายในโรงมหรสพต้ องจัดให้ มีทางเดินตามขวางทังด้ ้ านหน้ าและด้ านหลังมีความ กว้ างสุทธิ ไม่น้อยกว่า 1.50 เมตร และทุกระยะที่นงั่ ไม่เกิน 8 แถว ต้องจัดให้ มีทางเดินตามขวางมีความกว้ างสุทธิ ไม่น้อย กว่า 1.50 เมตร ด้ วย ข้ อ 33 ที่นงั่ คนดูภายในพื ้นโรงมหรสพประเภท จ จะต้องมีระยะห่างจากเวทีการแสดงหรื อจอรับภาพไม่น้อยกว่า 1.5 เท่าของจุดสูงสุดของเวทีการแสดงหรื อจอรับภาพ ข้ อ 34 โรงมหรสพจะต้ องมีจานวนทางออกหรื อประตูทางออก ดังต่อไปนี ้ (1) โรงมหรสพที่มีความจุไม่เกิน 50 คน ต้ องมีทางออกหรื อประตูทางออกไม่น้อยกว่า 2 แห่ง (2) โรงมหรสพที่มีความจุคนตังแต่ ้ 51-250 คน ต้ องมีทางออกหรื อประตูทางออกไม่น้อยกว่า 3 แห่ง
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l 32 (3) โรงมหรสพที่มีความจุคนตังแต่ ้ 251-600 คน ต้ องมีทางออกหรื อประตูทางออกไม่น้อยกว่า 4 แห่ง (4) โรงมหรสพที่มีความจุคนตังแต่ ้ 601 คนขึ ้นไป ต้ องมีทางออกไม่น้อยกว่า 5 แห่ง โรงมหรสพที่มีการจัดที่นงั่ คนดูในพื ้นชันลอย ้ ให้ มีการจัดทางออกหรื อประตูทางออกตามจานวนที่กาหนดไว้ ใน วรรคหนึ่งในพื ้นชันลอยดั ้ งกล่าวด้ วย ทางออกหรื อประตูทางออกของโรงมหรสพที่ตงอยู ั ้ ่ด้านข้ างจะต้ องตรงกับแนวทางเดิน ตามแนวขวางของโรงมหรสพ ในกรณีที่โรงมหรสพมีทางออกหรื อประตูทางออกตังแต่ ้ สามแห่งขึ ้นไปต้ องจัดให้ มีทางออก หรื อประตูทางออกที่ผนังโรงมหรสพสามด้ าน ยกเว้ นผนังด้ านหลังจอรับภาพ และทางออกหรื อ ประตูทางออกอย่างน้ อยสอง แห่งต้ องมีระยะห่างจากทางออกหรื อประตูทางออกอื่นไม่น้อยกว่าครึ่งหนึ่งของเส้ นทแยงมุมที่ยาวที่สดุ ของโรงมหรสพ ใน กรณีที่โรงมหรสพมีเวทีการแสดงจะต้ องมีทางออกหรื อประตูทางออกด้ านหลังเวทีเพิม่ อีกอย่างน้ อยหนึ่งแห่งเพื่อประโยชน์ ในการคานวณจานวนทางออกหรื อประตูทางออกตามข้ อนี ้ ในกรณีของโรงมหรสพที่ไม่มีการจัดที่นงั่ คนดู ให้ คิดจานวนที่นงั่ คนดูเท่ากับความจุคนโดยมีความจุคนไม่เกิน อัตราส่วนหนึ่งคนต่อพื ้นที่ 0.60 ตารางเมตร ข้ อ 35 โรงมหรสพที่ตงอยู ั ้ ่ตงแต่ ั ้ ชนที ั ้ ่สองขึ ้นไป เว้ นแต่โรงมหรสพประเภท จ ต้ องมีระยะห่างเมื่อวัดตามแนวทาง เดิน ดังต่อไปนี ้ (1) ประตูทางออกจากโรงมหรสพจะต้ องมีระยะห่างจากบันไดหนีไฟหรื อทางหนีไฟไม่เกิน 45 เมตร (2) ที่นงั่ ทุกที่นงั่ จะต้ องมีระยะห่างจากบันไดหนีไฟหรื อทางหนีไฟไม่เกิน 60 เมตร โรงมหรสพที่ตงอยู ั้ ่ ระดับพื ้นดิน ประตูทางออกจากโรงมหรสพทุกบานจะต้ องเปิ ดออกสูภ่ ายนอกอาคารโดยตรง หากไม่ สามารถเปิ ดออกสูภ่ ายนอกโดยตรงต้ องอยู่ห่างจากทางออกสูภ่ ายนอกอาคารไม่เกิน 45 เมตร เมื่อวัด ตามแนวทางเดิน ข้ อ 37 ประตูทางออกจากโรงมหรสพจะต้ องมีลกั ษณะ ดังต่อไปนี ้ (1) เป็ นบานประตูซึ่งเปิ ดออกสูภ่ ายนอก และเมื่อเปิ ดออกแล้ วจะต้ องไม่กีดขวางทางเดินหรื อบันไดหรื อ ชานพักบันได (4) มีความกว้ างสุทธิไม่น้อยกว่า 1.50 เมตร สูงไม่น้อยกว่า 2 เมตร และขนาดความกว้ างของทุกประตู รวมกันต้ องเป็ นไปตามจานวนที่นงั่ คนดูในอัตราส่วน 1 เซนติเมตรต่อจานวนที่นงั่ คนดูหนึ่งคน (5) เมื่อเปิ ดออกสูบ่ นั ไดหนีไฟโดยตรงจะต้ องมีชานพักขนาดความกว้ างสุทธิด้านละไม่น้อยกว่า 1.50 เมตร อยู่หน้ าประตูทางออกจากโรงมหรสพ เว้ นแต่โรงมหรสพประเภท จ (6) ต้ องไม่มีธรณีประตูหรื อขอบกัน้ ทังนี ้ ้ พื ้นบริเวณหน้ าประตูทางออกจากโรงมหรสพอยู่ตา่ งระดับกัน ให้ ระดับพื ้นด้ านนอกอยู่ต่ากว่าพื ้นด้ านในได้ ไม่เกิน 2.50 เซนติเมตร ข้ อ 39 โรงมหรสพประเภท ก ประเภท ข และประเภท จ จะต้ องมีทางเดินภายนอกโดยรอบอาคารโรงมหรสพ ซึ่ง ไม่มีสงิ่ กีดขวางและมีความกว้ างสุทธิไม่น้อยกว่า 2.00 เมตร ข้ อ 40 โรงมหรสพประเภท ค และประเภท ง จะต้ องมีทางเดินภายนอกโดยรอบซึ่งไม่มีสงิ่ กีดขวางและมีความ กว้ างสุทธิไม่น้อยกว่า 2.00 เมตร โดยทางเดินโดยรอบดังกล่าวจะต้ องเชื่อมต่อกับบันไดหนีไฟหรื อทางหนีไฟ ในกรณีที่โรงมหรสพตามวรรคหนึ่งมีหลายโรงในบริเวณเดียวกัน และมีทางเดินภายนอกที่ใช้ ร่วมกัน ทางเดิน ภายนอกที่ใช้ ร่วมกันดังกล่าวจะต้ องไม่มีสงิ่ กีดขวาง และมีความกว้ างสุทธิไม่น้อยกว่า3.00 เมตร ระเบียบกรุงเทพมหานครว่าด้ วยการขออนุญาตก่อสร้ างสะพานข้ ามคลอง พ.ศ. 2549 ข้ อ 11 กรุงเทพมหานครอนุญาตให้ ก่อสร้ างสะพานเข้ าสูท่ ี่ดนิ ของผู้ขออนุญาต เฉพาะกรณีที่มีเหตุผลตามความ จาเป็ นและมีความเหมาะสมกรณี ใดกรณีหนึ่ง ดังต่อไปนี ้
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l 33 (4) การก่อสร้ างสะพานเชื่อมต่อระหว่างที่ดนิ 2 ฝั่ ง ในกรณีที่ดนิ มีอาคารที่เข้ าข่ายต้ องมีทางเข้ าออกสู่ ทางสาธารณะ ตามที่กฎหมายควบคุมอาคารกาหนด (5) การก่อสร้ างสะพานที่กรุงเทพมหานครเห็นว่ามีความจาเป็ นและเหมาะสมเพื่อประโยชน์สาธารณะ ตามที่กรุงเทพมหานครเห็นสมควร ข้ อ 25 สะพานที่เข้ าสูท่ ี่ดนิ หรื อถนนเพื่อประโยชน์ในการสัญจรร่วมกัน ให้ สร้ างได้ กว้ างไม่เกินความกว้ างของถนน ที่เชื่อมต่อกับสะพาน และมีความกว้ างไม่เกิน 12.00 เมตร ข้ อ 30 สะพานที่เข้ าสูท่ ี่ดนิ หรื อถนนเพื่อประโยชน์ในการสัญจรร่วมกัน กาหนดให้ มีส่วนลาดชันไม่เกิน 8 ใน 100 ข้ อ 31 ตาแหน่ง เสาสะพานหรื อกาแพงกันดิน ต้ องอยู่ในตาแหน่งที่ไม่ขวางทางน ้าไหลและไม่กีดขวางทางสัญจร ทางน ้า แนวเขตคลองที่มีความกว้ างไม่เกิน 5 เมตร ให้ ก่อสร้ างเป็ นสะพานท่อได้ โดยให้ ผนังของสะพานท่อทังสองด้ ้ านอยู่ นอกแนวเขตคลอง ข้ อ 34 กาหนดให้ ก่อสร้ างกาแพงกันดินตลอดความกว้ างสะพานตามแนวเขตคลองให้ มีความมัน่ คง แข็งแรง สามารถป้องกันการพังทลายของดินริมตลิง่ ตามค่าระดับออกแบบที่กรุงเทพมหานครกาหนดไว้ ซึ่งแนวกาแพงกันดินนี ้ จะต้ องอยู่นอกเขตคลองและยื่นออกจากริมสะพานอย่างน้ อยข้ างละ 3 เมตร ข้ อ 37 กาหนดให้ ค่าระดับต่าสุดของโครงสร้ างสะพานช่วงกลางสาหรับคลองที่ไม่มีการสัญจรทางน ้า มีคา่ ระดับ ไม่น้อยกว่า 2.000 ตามค่าระดับน ้าทะเลปานกลาง กฎกระทรวงฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2517) ที่จอดรถ ข้ อ 6 ที่จอดรถยนต์ต้องจัดให้ อยู่ภายในบริเวณของอาคารนัน้ ถ้ าอยู่ภายนอกอาคารต้ องมีทางไปสูอ่ าคารนันไม่ ้ เกิน 200 เมตร ข้ อ 8 ทางเข้ าออกของรถยนต์ต้องกว้ างไม่น้อยกว่า 6 เมตร ในกรณีที่จดั ให้ รถยนต์วงิ่ ได้ ทางเดียว ทางเข้ าและ ทางออกต้ องกว้ างไม่น้อยกว่า 3.50 เมตร โดยต้ องทาเครื่ องหมายแสดงทางเข้ าและทางออกไว้ ให้ ปรากฏ แนวศูนย์กลาง ปากทางเข้ าออกของรถยนต์ต้องไม่อยู่ในที่ที่เป็ นทางร่วม หรื อทางแยก และต้ องห่างจากจุดเริ่มต้ นโค้ งหรื อหักมุมของขอบ ทางร่วมหรื อขอบทางแยกสาธารณะ สาหรับโรงมหรสพระยะดังกล่าวต้ องไม่น้อยกว่า 50 เมตร แนวศูนย์กลางปาก ทางเข้ าออกของรถยนต์ต้องไม่อยู่บนเชิงลาดสะพาน สาหรับโรงมหรสพระยะดังกล่าวต้ องไม่น้อยกว่า 100 เมตร กฎกระทรวงฉบับที่ 41 (พ.ศ. 2537) ข้ อ 2 ที่จอดรถ 1 คัน ต้ องเป็ นพื ้นที่สี่เหลี่ยมผืนผ้ า และต้ องมีลกั ษณะและขนาด ดังนี ้ 1) ในกรณีที่จอดรถขนานกับแนวทางเดินรถหรื อทามุมกับแนวทางเดินรถน้ อยกว่าสามสิบองศา ให้ มีความ กว้ างไม่น้อยกว่า 2.40 เมตร และความยาวไม่น้อยกว่า 6.00 เมตร 2) ในกรณีที่จอดรถตังฉากกั ้ บแนวทางเดินรถ ให้ มีความกว้ างไม่น้อยกว่า 2.40เมตร และความยาวไม่น้อย กว่า 5.00 เมตร แต่ทงนี ั ้ ้ จะต้ องไม่จดั ให้ มีทางเข้ าออกของรถเป็ นทางเดินรถทางเดียว 3) ในกรณีที่จอดรถทามุมกับแนวทางเดินรถมากกว่าสามสิบองศา ให้ มีความ กว้ างไม่น้อยกว่า 2.40 เมตร และความยาวไม่น้อยกว่า 5.50 เมตร ข้ อ 4 ระยะความสูงสุทธิระหว่างพื ้นที่ที่ใช้ จอดรถ ทางเดินรถ และทางลาดขึ ้นลงของรถกับส่วนที่ต่าสุดของชันที ้ ่ ถัดไปของอาคาร ต้ องไม่น้อยกว่า 2.10 เมตร
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l 34 กฏกระทรวง ฉบับที่ 33 (พ.ศ2535) ลักษณะของอาคารเนือ้ ที่ว่างของภายนอกอาคารและแนวอาคาร ข้ อ 2 ที่ดนิ ที่ใช้ เป็ นที่ตงของอาคารสู ั้ งหรื ออาคารขนาดใหญ่พเิ ศษ ที่มีพื ้นที่อาคารรวมกันทุกชันไม่ ้ เกิน 30,000 ตารางเมตร ต้ องมีด้านหนึ่งด้ านใดของที่ดนิ นันยาวไม่ ้ น้อยกว่า 12.00 เมตร ติดถนนสาธารณะที่มีเขตทางกว้ างไม่น้อยกว่า 10.00 เมตร ยาวต่อเนื่องกันโดยตลอดจนไปเชื่อมต่อกับถนนสาธารณะอื่นที่มีเขตทางกว้ างไม่น้อยกว่า 10.00 เมตร ที่ดนิ ด้ านที่ตดิ ถนนสาธารณะต้ องมีความกว้ างไม่น้อยกว่า 12.00 เมตร ยาวต่อเนื่องกันโดยตลอดจนถึงบริเวณที่ตงของ ั้ อาคาร และที่ดนิ นันต้ ้ องว่างเพื่อสามารถใช้ เป็ นทางเข้ าออกของรถดับเพลิงได้ โดยสะดวกด้ วย ข้ อ 3 อาคารสูงหรื ออาคารขนาดใหญ่พเิ ศษ ต้ องจัดให้ มีถนนที่มีผวิ การจราจรกว้ างไม่น้อยกว่า 6.00 เมตร ที่ ปราศจากสิง่ ปกคลุมโดยรอบอาคาร เพื่อให้ รถดับเพลิงสามารถเข้ าออกได้ โดยสะดวก โดยอยู่ในระยะห้ ามก่อสร้ างอาคาร บางชนิดหรื อบางประเภทริมถนนหรื อทางหลวงตามข้ อบัญญัตทิ ้ องถิ่นหรื อตามกฎหมายที่เกี่ยวข้ องก็ได้ ข้ อ 4 ส่วนที่เป็ นขอบเขตนอกสุดของอาคารสูงหรื ออาคารขนาดใหญ่พเิ ศษไม่วา่ จะอยู่ในระดับเหนือพื ้นดินหรื อต่า กว่าระดับพื ้นดินต้ องห่างจากเขตที่ดนิ ของผู้อื่นหรื อถนนสาธารณะไม่น้อยกว่า 6.00 เมตร ทังนี ้ ้ ไม่รวมถึงส่วนที่เป็ นฐานราก ของอาคาร ข้ อ 7 อาคารสูงหรื ออาคารขนาดใหญ่พเิ ศษที่มีพื ้นของอาคารต่ากว่าระดับพื ้นดิน ต้ องมีระบบ แยกเป็ นอิสระจาก ระบบระบายอากาศ กับระบบบาบัดน ้าเสีย และการระบายน ้าทิ ้งเหนือพื ้นดิน ระบบระบายอากาศ ระบบไฟฟ้าและระบบป้องกันเพลิงไหม้ ข้ อ 22 อาคารสูงต้ องมีบนั ไดหนีไฟจากชันสู ้ งสุดหรื อดาดฟ้าสู่พื ้นดินอย่างน้ อย 2 บันได ตังอยู ้ ่ในที่ที่บุคคลไม่วา่ จะ อยู่ ณ จุดใดของอาคารสามารถมาถึงบันไดหนีไฟได้ สะดวก แต่ละบันไดหนีไฟต้ องอยู่ห่างกันไม่เกิน 60.00 เมตร เมื่อวัดตาม แนวทางเดิน ระบบบันไดหนีไฟตามวรรคหนึ่งต้ องแสดงการคานวณให้ เห็นว่า สามารถใช้ ลาเลียงบุคคลทังหมดในอาคาร ้ ออกนอกอาคารได้ ภายใน 1 ชัว่ โมง ข้ อ 27 ประตูหนีไฟต้ องทาด้ วยวัสดุทนไฟ เป็ นบานเปิ ดชนิดผลักออกสูภ่ ายนอกพร้ อมติดตังอุ ้ ปกรณ์ชนิดที่บงั คับ ให้ บานประตูปิดได้ เอง มีความกว้ างสุทธิไม่น้อยกว่า 90 เซนติเมตร สูงไม่น้อยกว่า 1.90 เมตร และต้ องสามารถเปิ ดออกได้ โดยสะดวกตลอดเวลา ประตูหรื อทางออกสูบ่ นั ไดหนีไฟต้ องไม่มีชนหรื ั ้ อธรณีประตูหรื อขอบกัน้ ระบบกาจัดขยะมูลฝอย ข้ อ 39 การคิดปริมาณมูลฝอยที่เกิดขึ ้นในอาคารใช้ เพื่อการพาณิชยกรรมหรื อการอื่น ปริมาณมูลฝอยไม่น้อยกว่า 0.4 ลิตร ต่อพื ้นที่หนึ่งตารางเมตรต่อวัน ข้ อ 40 อาคารสูงหรื ออาคารขนาดใหญ่พเิ ศษต้ องจัดให้ มีที่พกั รวมมูลฝอยที่มีลกั ษณะดังต่อไปนี ้ต้ องมีขนาดความ จุไม่น้อยกว่า 3 เท่าของปริมาณมูลฝอยที่เกิดขึ ้นในแต่ละวันตามข้ อ 39 ผนังต้ องทาด้ วยวัสดุถาวรและทนไฟพื ้นผิวภายใน ต้ องเรี ยบและกันน ้าซึม ป้องกันกลิน่ และน ้าฝน ระบายน ้าเสียจากมูลฝอยเข้ าสูร่ ะบบบาบัดน ้าเสีย ต้ องมีการระบายอากาศ และป้องกันน ้าเข้ า ที่พกั รวมมูลฝอยต้ องมีระยะห่างจากสถานที่ประกอบอาหารและสถานที่เก็บอาหารไม่น้อยกว่า 4.00 เมตร แต่ถ้าที่ พักรวมมูลฝอยมีขนาดความจุเกิน 3 ลูกบาศก์เมตร ต้ องมีระยะห่างจากสถานที่ดงั กล่าวไม่น้อยกว่า10.00 เมตร และ สามารถขนย้ ายมูลฝอยได้ โดยสะดวก
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l 35 กฏกระทรวง ฉบับที่ 55 (พ.ศ.2543) วัสดุของอาคาร ข้ อ 15 เสา คาน พื ้น บันได และผนังของอาคารที่สงู ตังแต่ ้ สามชันขึ ้ ้นไป โรงมหรสพ หอประชุม โรงงาน โรงแรม โรงพยาบาล หอสมุด ห้ างสรรพสินค้ า อาคารขนาดใหญ่ สถานบริการตามกฎหมายว่าด้ วยสถานบริการ ท่าอากาศยาน หรื อ อุโมงค์ ต้ องทา ด้ วยวัสดุถาวรที่เป็ นวัสดุทนไฟด้ วย พืน้ ที่ภายในอาคาร ข้ อ 21 ช่องทางเดินในอาคารอยู่อาศัยรวม หอพักตามกฎหมายว่าด้ วยหอพัก สานักงาน อาคารสาธารณะ อาคาร พาณิชย์ โรงงาน อาคารพิเศษ 1.50 เมตร ข้ อ 22 ห้ องที่ใช้ เป็ นสานักงาน ห้ องเรี ยน ห้ องอาคาร ห้ องโถงภัตตาคาร โรงงาน 3.00 เมตร ห้ องขายสินค้ า ห้ อง ประชุม คลังสินค้ า โรงครัว ตลาด และอื่นๆ ที่คล้ ายกัน 3.50 เมตร ระยะดิง่ วัดจากพื ้นถึงพื ้น ในกรณีของชันใต้ ้ หลังคา ให้ วดั จากพื ้นถึงยอดฝาหรื อยอดผนังอาคาร ห้ องในอาคารซึ่งมีระยะดิง่ ระหว่างพื ้นถึงพื ้นอีกชันหนึ ้ ่งตังแต่ ้ 5 เมตรขึ ้นไป จะทาพื ้นชันลอยในห้ ้ องนันก็ ้ ได้ โดยพื ้น ชันลอยดั ้ งกล่าวนันต้ ้ องมีเนื ้อที่ไม่เกินร้ อยละสี่สบิ ของเนื ้อที่ห้อง ระยะดิง่ ระหว่างพื ้นชันลอยถึ ้ งพื ้นอีกชันหนึ ้ ่งต้ องไม่น้อย กว่า 2.40 เมตร และระยะดิง่ ระหว่างพื ้นห้ องถึงพื ้นชันลอยต้ ้ องไม่น้อยกว่า 2.40 เมตร ด้ วย ห้ องน ้า ห้ องส้ วม ต้ องมีระยะดิง่ ระหว่างพื ้นถึงเพดานไม่น้อยกว่า 2 เมตร บันไดของอาคาร ข้ อ 24 บันไดของ อาคารสาธารณะ สาหรับที่ใช้ กบั ชัน้ ที่มีพื ้นที่อาคารชันเหนื ้ อขึ ้นไป รวมกันไม่เกิน 300 ตาราง เมตร ต้ องมีความกว้ างสุทธิไม่น้อยกว่า 1.20เมตร แต่สา หรับบันไดของอาคารดังกล่าวที่ใช้ กบั ชันที ้ ่มีพื ้นที่อาคารชันเหนื ้ อ ขึ ้นไปรวมกันเกิน 300 ตารางเมตร ต้ องมีความกว้ างสุทธิไม่น้อยกว่า 1.50 เมตร ถ้ าความกว้ างสุทธิของบันไดน้ อยกว่า 1.50 เมตร ต้ องมีบนั ไดอย่างน้ อยสองบันไดและแต่ละบันไดต้ องมีความกว้ างสุทธิไม่น้อยกว่า 1.20 เมตร บันไดของอาคารที่ใช้ เป็ นที่ชมุ นุมของคนจานวนมาก เช่น บันไดห้ องประชุมหรื อห้ องบรรยายที่มีพื ้นที่รวมกันตังแต่ ้ 500 ตารางเมตรขึ ้นไป หรื อบันไดห้ องรับประทานอาหารหรื อสถานบริการที่มีพื ้นที่รวมกันตังแต่ ้ 1,000 ตารางเมตรขึ ้นไป หรื อบันไดของแต่ละชันของอาคารนั ้ นที ้ ่มีพื ้นที่รวมกันตังแต่ ้ 2,000 ตารางเมตรขึ ้นไป ต้ องมีความกว้ างไม่น้อยกว่า 1.50 เมตร อย่างน้ อยสองบันได ถ้ ามีบนั ไดเดียวต้ องมีความกว้ างไม่น้อยกว่า 3 เมตร บันไดที่สงู เกิน 4 เมตร ต้ องมีชานพักบันไดทุกช่วง 4 เมตร หรื อน้ อยกว่านัน้ และระยะดิง่ จากขันบั ้ นไดหรื อชานพัก บันไดถึงส่วนต่าสุดของอาคารที่อยู่เหนือขึ ้นไปต้ องสูงไม่น้อยกว่า 2.10 เมตร ชานพักบันไดและพื ้นหน้ าบันไดต้ องมีความ กว้ างและความยาวไม่น้อยกว่าความกว้ างสุทธิของบันได เว้ นแต่บนั ไดที่มีความกว้ างสุทธิเกิน 2 เมตร ชานพักบันไดและพื ้น หน้ าบันไดจะมีความยาวไม่เกิน 2 เมตรก็ได้ บันไดตามวรรคหนึ่งและวรรคสองต้ องมีลกู ตังสู ้ งไม่เกิน 18 เซนติเมตร ลูกนอนเมื่อหักส่วนที่ขนบั ั ้ นไดเหลื่อมกัน ออกแล้ วเหลือความกว้ างไม่น้อยกว่า 25 เซนติเมตร และต้ องมีราวบันไดกันตก บันไดที่มีความกว้ างสุทธิเกิน 6 เมตร และ ช่วงบันไดสูงเกิน 1 เมตร ต้ องมีราวบันไดทังสองข้ ้ าง บริ เวณจมูกบันไดต้ องมีวสั ดุกนั ลื่น ข้ อ 25 บันไดตามข้ อ 24 จะต้ องมีระยะห่างไม่เกิน 40 เมตร จากจุดที่ไกลสุดบนพื ้นชันนั ้ น้ ข้ อ 26 บันไดตามข้ อ 23 และข้ อ 24 ที่เป็ นแนวโค้ งเกิน 90 องศา จะไม่มีชานพักบันไดก็ได้ แต่ต้องมีความกว้ าง เฉลี่ยของลูกนอนไม่น้อยกว่า 22 เซนติเมตร สาหรับบันไดตามข้ อ 23 และไม่น้อยกว่า 25 เซนติเมตร สา หรับบันไดข้ อ 24
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l 36
บันไดหนีไฟ ข้ อ 32 พื ้นหน้ าบันไดหนีไฟต้ องกว้ างไม่น้อยกว่าความกว้ างของบันไดและอีกด้ านหนึ่งกว้ างไม่น้อยกว่า 1.50เมตร ที่ว่างภายนอกอาคาร ข้ อ 33 อาคารแต่ละหลังหรื อหน่วยต้ องมีที่ว่างตามที่กาหนดดังต่อไปนี ้ (2) อาคารสาธารณะ และอาคารอื่นซึ่งไม่ได้ ใช้ เป็ นที่อยู่อาศัย ต้ องมีที่วา่ งไม่น้อยกว่า 10 ใน 100 ส่วน ของพื ้นที่ชนใดชั ั ้ นหนึ ้ ่งที่มากที่สดุ ของอาคาร แนวอาคารและระยะต่ าง ๆ ของอาคาร ข้ อ 42 อาคารที่ก่อสร้ างหรื อดัดแปลงใกล้ แหล่งน ้าสาธารณะ เช่น แม่น ้า คู คลอง ลาราง หรื อลากระโดง ถ้ าแหล่ง น ้าสาธารณะนันมี ้ ความกว้ างน้ อยกว่า 10 เมตร ต้ องร่นแนวอาคารให้ ห่างจากเขตแหล่งน ้าสาธารณะนันไม่ ้ น้อยกว่า 3 เมตร แต่ถ้าแหล่งน ้าสาธารณะนันมี ้ ความกว้ างตังแต่ ้ 10 เมตรขึ ้นไป ต้ องร่นแนวอาคารให้ ห่างจากเขตแหล่งน ้าสาธารณะนันไม่ ้ น้ อยกว่า 6 เมตร ทังนี ้ ้ เว้ นแต่ สะพาน เขื่อน รัว้ ท่อระบายน ้า ท่าเรื อ ป้าย อู่เรื อ คานเรื อ หรื อที่วา่ งที่ใช้ เป็ นที่จอดรถไม่ต้อง ร่นแนวอาคาร ข้ อ 44 ความสูงของอาคารไม่ว่าจากจุดหนึ่งจุดใด ต้ องไม่เกินสองเท่าของระยะราบ วัดจากจุดนันไปตั ้ งฉากกั ้ บ แนวเขตด้ านตรงข้ ามของถนนสาธารณะที่อยู่ใกล้ อาคารนันที ้ ่สดุ ความสูงของอาคารให้ วดั แนวดิง่ จากระดับถนนหรื อระดับ พื ้นดินที่ก่อสร้ างขึ ้นไปถึงส่วนของอาคารที่สงู ที่สดุ สา หรับอาคารทรงจัว่ หรื อปั น้ หยาให้ วดั ถึงยอดผนังของชันสู ้ งสุด ข้ อ 48 การก่อสร้ างอาคารในที่ดนิ เจ้ าของเดียวกัน ผนังของอาคารด้ านที่มีหน้ าต่าง ประตู ช่องระบายอากาศหรื อ ช่องแสง หรื อระเบียงของอาคารต้ องมีระยะห่างจากผนังของอาคารอื่นด้ านที่มีหน้ าต่าง ประตู ช่องระบายอากาศหรื อช่อง แสงหรื อระเบียงของอาคาร ดังต่อไปนี ้ (ก) อาคารที่มีความสูงไม่เกิน 9 เมตร ผนังหรื อระเบียงของอาคารต้ องอยู่ห่างจากผนังหรื อระเบียงของ อาคารอื่นที่มีความสูงไม่เกิน 9 เมตร ไม่น้อยกว่า 4 เมตร (ข) อาคารที่มีความสูงไม่เกิน 9 เมตร ผนังหรื อระเบียงของอาคารต้ องอยู่ห่างจากผนังหรื อระเบียงของ อาคารอื่นที่มีความสูงเกิน 9 เมตร แต่ไม่ถึง 23 เมตร ไม่น้อยกว่า 5 เมตร (ค) อาคารที่มีความสูงเกิน 9 เมตร แต่ไม่ถึง 23 เมตร ผนังหรื อระเบียงของอาคารต้ องอยู่ห่างจากผนัง หรื อระเบียงของอาคารอื่นที่มีความสูงเกิน 9 เมตร แต่ไม่ถึง 23 เมตร ไม่น้อยกว่า 6 เมตร ผนังของอาคารด้ านที่เป็ นผนังทึบต้ องมีระยะห่างจากผนังของอาคารอื่นด้ านที่มีหน้ าต่าง ประตู ช่องระบายอากาศ หรื อช่องแสง หรื อระเบียงของอาคาร ดังต่อไปนี ้ (ก) อาคารที่มีความสูงไม่เกิน 15 เมตร ผนังของอาคารต้ องอยู่ห่างจากผนังหรื อระเบียงของอาคารอื่นที่มี ความสูงไม่เกิน 9 เมตร ไม่น้อยกว่า 2 เมตร (ข) อาคารที่มีความสูงไม่เกิน 15 เมตร ผนังของอาคารต้ องอยู่ห่างจากผนังหรื อระเบียงของอาคารอื่นที่มี ความสูงเกิน 9 เมตร แต่ไม่ถึง 23 เมตร ไม่น้อยกว่า 3 เมตร (ค) อาคารที่มีความสูงเกิน 15 เมตร แต่ไม่ถึง 23 เมตร ผนังของอาคารต้ องอยู่ห่างจากผนังหรื อระเบียง ของอาคารอื่นที่มีความสูงไม่เกิน 9 เมตร ไม่น้อยกว่า 2.50 เมตร
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l 37 (ง) อาคารที่มีความสูงเกิน 15 เมตร แต่ไม่ถึง 23 เมตร ผนังของอาคารต้ องอยู่ห่างจากผนังหรื อระเบียง ของอาคารอื่นที่มีความสูงเกิน 9 เมตร แต่ไม่ถึง 23 เมตร ไม่น้อยกว่า 3.50 เมตร ผนังของอาคารที่มีความสูงเกิน 15 เมตร แต่ไม่ถึง 23 เมตร ด้ านที่เป็ นผนังทึบต้ องอยู่ห่างจากผนังของอาคารอื่นที่ มีความสูงเกิน 15 เมตร แต่ไม่ถึง 23 เมตร ด้ านที่เป็ นผนังทึบไม่น้อยกว่า 1 เมตร ข้ อบัญญัตกิ รุงเทพมหานคร เรื่ อง ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2544 บันไดและบันไดหนีไฟ ข้ อ 40 อาคารที่มีชนใต้ ั ้ ดนิ ตังแต่ ้ 2 ชันขึ ้ ้นไป นอกจากจะมีบนั ไดตามปกติแล้ วจะต้ องมีทางหนีไฟโดยเฉพาะอย่าง น้ อยอีกหนึ่งทางด้ วย ข้ อ 41 บันไดหนีไฟต้ องทาด้ วยวัสดุทนไฟและถาวร มีความกว้ างไม่น้อยกว่า 90 เซนติเมตร และไม่เกิน 150 เซนติเมตร ลูกตังสู ้ งไม่เกิน 20 เซนติเมตร และลูกนอนกว้ างไม่น้อยกว่า 22 เซนติเมตร ชานพักกว้ างไม่น้อยกว่าความกว้ าง ของบันได มีราวบันไดสูง 90 เซนติเมตร ห้ ามสร้ างบันไดหนีไฟเป็ นแบบบันไดเวียน พื ้นหน้ าบันไดหนีไฟต้ องกว้ างไม่น้อยกว่า ความกว้ างของบันได และอีกด้ านหนึ่งกว้ างไม่น้อยกว่า 1.50 เมตร กรณีใช้ ทางลาดหนีไฟแทนบันไดหนีไฟ ความลาดชัน ของทางหนีไฟดังกล่าวต้ องมีความ ลาดชันไม่เกินกว่าร้ อยละ 12 ข้ อ 42 บันไดหนีไฟภายในอาคารที่ไม่ใช่อาคารสูง ต้ องมีความกว้ างไม่น้อยกว่า 90 เซนติเมตร มีผนังทึบก่อสร้ าง ด้ วยวัสดุทนไฟและถาวรกันโดยรอบ ้ เว้ นแต่ส่วนที่เป็ นช่องระบายอากาศและช่องประตูหนีไฟ และแต่ละชันต้ ้ องมีช่องระบาย อากาศที่เปิ ดสูภ่ ายนอกอาคารได้ มีพื ้นที่รวมกันไม่น้อยกว่า 1.40 ตารางเมตร โดยต้ องมีแสงสว่างให้ เพียงพอทัง้ กลางวันและ กลางคืน ข้ อ 44 ตาแหน่งที่ตงบั ั ้ นไดหนีไฟ ต้ องมีระยะห่างระหว่างประตูห้องสุดท้ ายด้ านทางเดินที่เป็ นทางตันไม่เกิน 10 เมตร ระยะห่างระหว่างบันไดหนีไฟตามทางเดินต้ องไม่เกิน 60 เมตร ต้ องมีบนั ไดหนีไฟจากชันสู ้ งสุดหรื อดาดฟ้าสูพ่ ื ้นดินถ้ า เป็ นบันไดหนีไฟภายในอาคารและถึงพื ้นชันสองถ้ ้ าเป็ นบันไดหนีไฟภายนอกอาคาร แนวอาคารและระยะต่ างๆ ข้ อ 49 กรณีอาคารตังอยู ้ ่ริมหรื อห่างไม่เกิน 100 เมตร จากถนนสาธารณะที่กว้ างไม่น้อยกว่า 80 เมตร และมี ทางเข้ าออกจากอาคารสูท่ างสาธารณะนันกว้ ้ างไม่น้อยกว่า 12 เมตร ให้ คดิ ความสูงของอาคารจากความกว้ างของถนน สาธารณะที่กว้ างที่สดุ เป็ นเกณฑ์ ข้ อ 50 อาคารที่ก่อสร้ างหรื อดัดแปลงใกล้ ถนนสาธารณะที่มีความกว้ างน้ อยกว่า 6 เมตร ให้ ร่นแนวอาคารห่าง จากกึ่งกลางถนนสาธารณะอย่างน้ อย 3 เมตร มิให้ มีสว่ นของอาคารล ้าเข้ ามาในแนวร่นดังกล่าว ยกเว้ นรัว้ หรื อกาแพงกัน้ แนวเขตที่สงู ไม่เกิน 2 เมตร อาคารที่สงู เกิน 2 ชันหรื ้ อเกิน 8 เมตร ที่ก่อสร้ างหรื อดัดแปลงใกล้ ถนนสาธารณะ ต้ องมีระยะร่น ดังต่อไปนี ้ (1) ถ้ าถนนสาธารณะนันกว้ ้ างน้ อยกว่า 10 เมตร ให้ ร่นแนวอาคารห่างจากกึ่งกลางถนนสาธารณะอย่าง น้ อย 6 เมตร (2) ถ้ าถนนสาธารณะนันกว้ ้ างตังแต่ ้ 10 เมตรขึ ้นไป แต่ไม่เกิน 20 เมตร ให้ ร่นแนวอาคารห่างจากเขต ถนนสาธารณะอย่างน้ อย 1 ใน 10 ของความกว้ างของถนนสาธารณะ (3) ถ้ าถนนสาธารณะนันกว้ ้ างเกิน 20 เมตรขึ ้นไป ให้ ร่นแนวอาคารห่างจากเขตถนนสาธารณะอย่างน้ อย 2 เมตร
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l 38 ข้ อ 52 อาคารสาธารณะต้ องมีที่วา่ งไม่น้อยกว่า 10 ใน 100 ส่วนของพื ้นที่ที่ดนิ อาคารสูงเกิน 2 ชันหรื ้ อสูงเกิน 8 เมตร ให้ มีที่ว่างด้ านหน้ ากว้ างไม่น้อยกว่า 6 เมตร ถ้ าสูงเกิน 3 ชัน้ ให้ มีที่วา่ งกว้ างไม่น้อยกว่า 12 เมตรต้ องมีพื ้นที่ตอ่ เนื่องกัน ยาวไม่น้อยกว่า 1 ใน 6 ของความยาวเส้ นรอบรูปภายนอกอาคารโดยอาจรวมที่วา่ งด้ านข้ างที่ตอ่ เชื่อมกับที่วา่ งด้ านหน้ า อาคารด้ วยก็ได้ และที่วา่ งนี ้ต้ องต่อเชื่อมกับถนนภายในกว้ างไม่น้อยกว่า 6 เมตรออกสูท่ างสาธารณะได้ ถ้ าหากเป็ นถนน ลอดใต้ อาคาร ความสูงสุทธิของช่องลอดต้ องไม่น้อยกว่า 5 เมตร ที่วา่ งนี ้อาจใช้ ร่วมกับที่ว่างของอาคารอื่นได้ อาคารสาธารณะ จะต้ องมีที่วา่ งโดยปราศจากสิง่ ปกคลุมเป็ นทางเดินหลังอาคารได้ ถึงกัน กว้ างไม่น้อยกว่า 2 เมตร โดยให้ แสดงเขตดังกล่าวให้ ปรากฏด้ วย ที่วา่ งตามวรรคหนึ่ง จะก่อสร้ างอาคาร รัว้ กาแพง หรื อสิง่ ก่อสร้ างอื่นใดหรื อจัด ให้ เป็ นบ่อน ้า สระว่ายน ้า ที่พกั มูลฝอยหรื อที่พกั รวมมูลฝอยหรื อสิง่ ของอื่นใดที่จะขัดขวางทางเดินร่วมไม่ได้ ที่วา่ งจะใช้ ร่วมกับที่ว่างของอาคารอีกหลังหนึ่งไม่ได้ เว้ นแต่ใช้ ร่วมกับที่วา่ งของอาคารสูง หรื ออาคารขนาดใหญ่พเิ ศษ ที่จอดรถ ที่กลับรถและทางเข้ าออกของรถ ข้ อ 84 อาคารหรื อส่วนหนึ่งส่วนใดของอาคารหลังเดียว หรื อหลายหลังที่เป็ นอาคารประเภทที่ต้องมีที่จอดรถ ที่ กลับรถ และทางเข้ าออกของรถตามข้ อ 83 ต้ องจัดให้ มีที่จอดรถตามจานวนที่กาหนดของแต่ละประเภทของอาคารที่ใช้ เพื่อ การนันๆ ้ ดังต่อไปนี ้ (1) โรงมหรสพ ให้ มีที่จอดรถ 1 คันต่อจานวนที่นงั่ สาหรับคนดู 10 ที่ (4) ภัตตาคาร ให้ มีที่จอดรถ 10 คันสาหรับพื ้นที่ตงโต๊ ั ้ ะ 150 ตารางเมตรแรก ส่วนที่เกิน 1 คันต่อพื ้นที่ 20 (6) สานักงาน ให้ มีที่จอดรถ 1 คันต่อพื ้นที่อาคาร 60 ตารางเมตร (13) สถานศึกษา ให้ มีที่จอดรถ 1 คันต่อพื ้นที่อาคาร 240 ตารางเมตร (17) ห้ องโถง ให้ มีที่จอดรถ 1 คันต่อพื ้นที่อาคาร 10 ตารางเมตร (18) อาคารพาณิชย์ ให้ มีที่จอดรถ 1 คันต่อพื ้นที่อาคาร 60 ตารางเมตร อาคารจอดรถ ข้ อ 96 ผนังของอาคารจอดรถที่อยู่ห่างเขตที่ดนิ ของผู้อื่น หรื ออาคารอื่นน้ อยกว่า 3 เมตร ต้ องเป็ นผนังกันไฟ และ ห้ ามทาช่องเปิ ดใดๆ ในผนังนัน้ ข้ อ 98 อาคารจอดรถที่มีการใช้ สอยประเภทอื่นรวมอยู่ด้วย ส่วนกันแยกประเภทการใช้ ้ อาคารต้ องเป็ นผนังกันไฟ ให้ มีช่องเปิ ดเฉพาะประตูทาด้ วยวัสดุทนไฟ มีอตั ราทนไฟไม่น้อยกว่าผนังกันไฟ มีอปุ กรณ์ทาให้ บานประตูปิดสนิทเพื่อ ป้องกันควันและเปลวไฟ ข้ อ 99 ทางลาดขึ ้นลงสาหรับรถระหว่างชัน้ ลาดชันได้ ไม่เกินร้ อยละ 15 ทางลาดช่วงหนึ่งๆ ต้ องสูงไม่เกิน 5 เมตร ทางลาดที่สงู เกิน 5 เมตร ให้ ทาที่พกั มีขนาดยาวไม่น้อยกว่า 6 เมตร ทางลาดแบบโค้ งหรื อทางเวียนต้ องมีรัศมีความโค้ งของ ขอบด้ านในไม่น้อยกว่า 6 เมตรและพื ้นทางลาดจะชันได้ ไม่เกินร้ อยละ 12 ทางลาดขึ ้นหรื อลงอาคารจอดรถที่ระดับพื ้นดิน ต้ องอยูห่ ่างปากทางเข้ าและทางออกของอาคาร ปากทางเข้ าของ รถหรื อปากทางออกของรถไม่น้อยกว่า 6 เมตร ให้ มีบนั ไดระหว่างชันจอดรถกว้ ้ างไม่น้อยกว่า 90 เซนติเมตร อย่างน้ อยหนึ่ง บันไดสาหรับพื ้นที่ในชันจอดรถชั ้ นนั ้ นๆ ้ ทุก 2,000 ตารางเมตร เศษของพื ้นที่ถ้าเกินกว่า 1,000 ตารางเมตรให้ มีบนั ได ดังกล่าวเพิม่ ขึ ้นอีกหนึ่งบันได หากต้ องมีเกินหนึ่งบันได แต่ละบันไดต้ องห่างกันไม่น้อยกว่า 30 เมตร
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l 39 กฏกระทรวงฉบับที่ 39 (พ.ศ.2537) และ ข้ อบัญญัตกิ รุงเทพมหานคร ชนิดหรื อประเภทอาคาร
ห้ องส้ วม ห้ อง อ่าง ส้ วม ปั สสาวะ อาบน ้า ล้ างมือ
7. หอประชุม โรงมหรสพ ห้ องโถง ต่อ พื ้นที่อาคาร 200 ตารางเมตร หรื อ ต่อ 100 คน ที่กาหนดให้ ใช้ สอยอาคารนัน้ ก. สารับผู้ชาย และ 1 ข. สาหรับผู้หญิง 3 8. สถานศึกษา แบบ สหศึกษาต่อพื ้นที่ห้องเรี ยน 300 ตารางเมตรหรื อต่อ นักเรี ยน นักศึกษา 50 คน สาหรับนักเรี ยนนักศึกษาชาย สาหรับนักเรี ยนนักศึกษาหญิง 9. สานักงานต่อพื ้นที่ทางาน 300 ตารางเมตร ก. สาหรับผู้ชาย และ ข. สาหรับผู้หญิง 10. ต่อพื ้นที่อาคารที่ใช้ ตงโต๊ ั ้ ะอาหารมากกว่า 105 ตารางเมตรแต่ไม่เกิน 250 ตารางเมตร หรื อต่อ 70ที่นงั่ (ก)สาหรับผู้ชาย (ข) สาหรับผู้หญิง ส่วนที่เกินตามให้ เพิม่ อย่างละ 1 ที่ สาหรับผู้ชาย และอย่างละ 1 ที่ สาหรับผู้หญิง ต่อพื ้นที่อาคารที่ใช้ ตงโต๊ ั ้ ะอาหารทุก150 ตารางเมตร หรื อ จานวนที่นงั่ ทุก 100 ที่นงั่ ทังนี ้ ้ ให้ ถือ จานวนที่มากกว่าเป็ นเกณฑ์ 11. อาคารพาณิชย์ตอ่ พื ้นที่อาคาร 200ตารางเมตร ก. สาหรับผู้ชาย และ ข. สาหรับผู้หญิง สาหรับพื ้นที่อาคารส่วนที่เกิน 1,200 ตา 16. อาคารจอดรถสาหรับบุคคลทัว่ ไป ต่อพื ้นที่อาคาร 1,000 ตารางเมตร (หรื อจานวนรถ 50 คัน) ก. สาหรับผู้ชาย และ ข. สาหรับผู้หญิง สาหรับพื ้นที่อาคารส่วนที่เกิน 3,000 ตารางเมตรให้ ลดจานวนลง ครึ่งหนึ่งที่ระบุไว้
2 -
-
1 1
1 1
1 -
-
1 1
1 3
2 -
-
1 1
3
3
-
3
6
-
-
3
1 3
2 -
-
1
2 6
4 -
-
1 1
ตารางที่ 3.1 สรุปจานวนห้ องน ้าตามกฏหมาย (ยึดจานวนที่มากกว่าเป็ นเกณฑ์)
1
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l 40 กฎกระทรวงกาหนดสิง่ อานวยความสะดวกในอาคารสาหรับผู้พกิ ารหรื อทุพพลภาพ และคนชราพ.ศ. 2548 ทางลาดและลิฟต์ ข้ อ 7 อาคารตามข้ อ 3 หากระดับพื ้นภายในอาคาร หรื อระดับพื ้นภายในอาคารถ้ ามีความต่างระดับกันไม่เกิน 20 มิลลิเมตรต้ องปาดมุมพื ้นส่วนที่ต่างระดับกันไม่เกิน 45 องศา ความกว้ างสุทธิไม่น้อยกว่า 900 มิลลิเมตร ในกรณีที่ทางลาด มีความยาวของทุกช่วงรวมกันตังแต่ ้ 6,000 มิลลิเมตร ขึ ้นไป ต้ องมีความกว้ างสุทธิไม่น้อยกว่า 1,500 มิลลิเมตร มีพื ้นที่หน้ าทางลาดเป็ นที่วา่ งยาวไม่น้อยกว่า 1,500 มิลลิเมตร ต้ องมีความลาดชันไม่เกิน 1:12 และมีความยาวช่วงละไม่ เกิน 6,000มิลลิเมตร ในกรณีที่ทางลาดยาวเกิน 6,000 มิลลิเมตร ต้ องจัดให้ มีชานพักยาวไม่น้อยกว่า 1,500 มิลลิเมตร คัน่ ระหว่างแต่ละช่วงของทางลาด ทางลาดด้ านที่ไม่มีผนังกันให้ ้ ยกขอบสูงจากพื ้นผิวของทางลาดไม่น้อยกว่า 50 มิลลิเมตร และมีราวกันตก ทางลาดที่มีความยาวตังแต่ ้ 2,500 มิลลิเมตร ขึ ้นไป ต้ องมีราวจับทังสองด้ ้ านโดยมี ข้ อ 9 อาคารตามข้ อ 3 ที่มีจานวนชันตั ้ งแต่ ้ สองชันขึ ้ น้ ไปต้ องจัดให้ มีลิฟต์หรื อทางลาดที่ผ้ พู กิ ารหรื อทุพพลภาพ และคนชราใช้ ได้ ระหว่างชันของอาคาร ้ ข้ อ 10 ลิฟต์ที่ผ้ พู กิ ารหรื อทุพพลภาพ และคนชราใช้ ได้ ที่มีลกั ษณะเป็ นห้ องลิฟต์ต้องมีขนาดของห้ องลิฟต์ต้องมี ความกว้ างไม่น้อยกว่า 1,100 มิลลิเมตร และยาวไม่น้อยกว่า1,400 มิลลิเมตรช่องประตูลฟิ ต์ต้องมีความกว้ างสุทธิไม่น้อย กว่า 900 มิลลิเมตร บันได ข้ อ 11 อาคารตามข้ อ 3 ต้ องจัดให้ มีบนั ไดที่ผ้ พู กิ ารหรื อทุพพลภาพ และคนชราใช้ ได้ อย่างน้ อยชันละ ้ 1 แห่ง โดย ต้ องมีความกว้ างสุทธิไม่น้อยกว่า 1,500 มิลลิเมตร มีชานพักทุกระยะในแนวดิง่ ไม่เกิน 2,000 มิลลิเมตร มีราวบันไดทังสอง ้ ข้ าง ลูกตังสู ้ งไม่เกิน 150 มิลลิเมตร ลูกนอนเมื่อหักส่วนที่ขนบั ั ้ นไดเหลื่อมกันออกแล้ วเหลือความกว้ างไม่น้อยกว่า 280 มิลลิเมตร และมีขนาดสม่าเสมอตลอดช่วงบันได ในกรณีที่ขนบั ั ้ นไดเหลื่อมกันหรื อมีจมูกบันไดให้ มีระยะเหลื่อมกันได้ ไม่เกิ น 20 มิลลิเมตรพื ้นผิวของบันไดต้ องใช้ วสั ดุที่ไม่ลื่น ลูกตังบั ้ นไดห้ ามเปิ ดเป็ นช่องโล่ง ที่จอดรถ ข้ อ 12 ถ้ าจานวนที่จอดรถตังแต่ ้ 101 คัน ขึ ้นไป ให้ มีที่จอดรถสาหรับผู้พกิ ารหรื อทุพพลภาพและคนชราอย่างน้ อย 2 คัน และเพิม่ ขึ ้นอีก 1 คัน สาหรับทุก ๆ จานวนรถ 100 คันที่เพิม่ ขึ ้นเศษของ 100 คัน ถ้ าเกินกว่า 50 คัน ให้ คดิ เป็ น 100 คัน ข้ อ 13 ที่จอดรถสาหรับผู้พกิ ารหรื อทุพพลภาพ และคนชราให้ จดั ไว้ ใกล้ ทางเข้ าออกอาคารให้ มากที่สดุ มีลกั ษณะ ไม่ขนานกับทางเดินรถ มีพื ้นผิวเรี ยบ มีระดับเสมอกัน และมีสญ ั ลักษณ์รูปผู้พกิ ารนัง่ เก้ าอี ้ล้ ออยู่บนพื ้นของที่จอดรถด้ านที่ ติดกับทางเดินรถ ข้ อ 14 ที่จอดรถสาหรับผู้พกิ ารหรื อทุพพลภาพ และคนชราต้ องเป็ นพื ้นที่สี่เหลี่ยมผืนผ้ ากว้ างไม่น้อยกว่า 2,400 มิลลิเมตร และยาวไม่น้อยกว่า 6,000 มิลลิเมตร และจัดให้ มีที่วา่ งข้ างที่จอดรถกว้ างไม่น้อยกว่า 1,000 มิลลิเมตร ตลอด ความยาวของที่จอดรถ โดยที่วา่ งดังกล่าวต้ องมีลกั ษณะพื ้นผิวเรี ยบและมีระดับเสมอกับที่จอดรถ ทางเข้ าอาคาร ทางเดินระหว่ างอาคาร และทางเชื่อมระหว่ างอาคาร ข้ อ 15 อาคารตามข้ อ 3 ต้ องจัดให้ มีทางเข้ าอาคารอยู่ในระดับเดียวกับพื ้นถนนภายนอกอาคารหรื อพื ้นลานจอด รถ ในกรณีที่อยู่ตา่ งระดับต้ องมีทางลาดที่สามารถขึ ้นลงได้ สะดวก และทางลาดนี ้ให้ อยู่ใกล้ ที่จอดรถ ประตู ข้ อ 18 ประตูของอาคารตามข้ อ 3 ต้ องมีลกั ษณะ ดังต่อไปนี ้ (3) ช่องประตูต้องมีความกว้ างสุทธิไม่น้อยกว่า 900 มิลลิเมตร
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l 41 (4) ในกรณีที่ประตูเป็ นแบบบานเปิ ดผลักเข้ าออก เมื่อเปิ ดออกสูท่ างเดินหรื อระเบียงต้ องมีพื ้นที่วา่ ง ขนาดกว้ างไม่น้อยกว่า 1,500 มิลลิเมตร และยาวไม่น้อยกว่า 1,500 มิลลิเมตร (5) ในกรณีที่ประตูเป็ นแบบบานเลื่อนหรื อแบบบานเปิ ดให้ มีมือจับที่มีขนาดเท่ากับราวจับ1,000 มิลลิเมตร และปลายด้ านล่างไม่เกิน 800 มิลลิเมตร ในกรณีที่เป็ นประตูบานเปิ ดออกให้ มีราวจับตาม แนวนอนด้ านในประตู และในกรณีที่เป็ นประตูบานเปิ ดเข้ าให้ มีราวจับตามแนวนอนด้ านนอกประตูราว จับดังกล่าวให้ สงู จากพื ้นไม่น้อยกว่า 800 มิลลิเมตร แต่ไม่เกิน 900 มิลลิเมตร ยาวไปตามความกว้ าง ของประตู (6) ในกรณีที่ประตูเป็ นกระจกหรื อลูกฟั กเป็ นกระจก ให้ ตดิ เครื่ องหมายหรื อแถบสีที่สงั เกตเห็นได้ ชดั (7) อุปกรณ์เปิ ดปิ ดประตูต้องเป็ นชนิดก้ านบิดหรื อแกนผลัก อยู่สงู จากพื ้นไม่น้อยกว่า1,000 มิลลิเมตร แต่ไม่เกิน 1,200 มิลลิเมตร ประตูตามวรรคหนึ่งต้ องไม่ตดิ ตังอุ ้ ปกรณ์ชนิดที่บงั คับให้ บานประตูปิดได้ เองที่อาจทาให้ ประตูหนีบหรื อกระแทกผู้ พิการหรื อทุพพลภาพ และคนชรา ห้ องนา้ ข้ อ 20 ให้ มีห้องส้ วมสาหรับบุคคลทัว่ ไป ต้ องจัดให้ มีห้องส้ วมสาหรับผู้พกิ ารหรื อทุพพลภาพ และคนชราเข้ าใช้ ได้ อย่างน้ อย 1 ห้ องในห้ องส้ วมนันหรื ้ อจะจัดแยกออกมาอยู่ในบริเวณเดียวกันกับห้ องส้ วมสาหรับบุคคลทัว่ ไปก็ได้ ข้ อ 21 ห้ องส้ วมสาหรับผู้พกิ ารหรื อทุพพลภาพ และคนชรา ต้ องมีลกั ษณะ ดังต่อไปนี ้ (1) มีพื ้นที่วา่ งภายในห้ องส้ วมเพื่อให้ เก้ าอี ้ล้ อสามารถหมุนตัวกลับได้ ซึ่งมีเส้ นผ่านศูนย์กลางไม่น้อยกว่า 1,500 มิลลิเมตร (2) ประตูของห้ องที่ตงโถส้ ั ้ วมเป็ นแบบบานเปิ ดออกสูภ่ ายนอก โดยต้ องเปิ ดค้ างได้ ไม่น้อยกว่า 90 องศา หรื อเป็ นแบบบานเลื่อน (5) มีด้านข้ างด้ านหนึ่งของโถส้ วมอยู่ชิดผนังโดยมีระยะห่างวัดจากกึ่งกลางโถส้ วมถึงผนังไม่น้อยกว่า 450 มิลลิเมตร แต่ไม่เกิน 500 มิลลิเมตร ต้ องมีราวจับที่ผนัง ส่วนด้ านที่ไม่ชิดผนังให้ มีที่วา่ งมากพอที่ผ้ ู พิการหรื อทุพพลภาพ และคนชราที่นงั่ เก้ าอี ้ล้ อสามารถเข้ าไปใช้ โถส้ วมได้ โดยสะดวก ในกรณีที่ด้านข้ าง ของโถส้ วมทังสองด้ ้ านอยู่ห่างจากผนังเกิน 500 มิลลิเมตร ต้ องมีราวจับที่มีลกั ษณะตาม (6) มีราวจับบริเวณด้ านที่ชิดผนังเพื่อช่วยในการพยุงตัว เป็ นราวจับในแนวนอนและแนวดิง่ (10) มีอ่างล้ างมือ ใต้ อ่างล้ างมือด้ านที่ตดิ ผนังไปจนถึงขอบอ่างเป็ นที่วา่ ง เพื่อให้ เก้ าอี ้ล้ อสามารถสอด เข้ าไปได้ โดยขอบอ่างอยู่ห่างจากผนังไม่น้อยกว่า 450 มิลลิเมตร (ข) มีความสูงจากพื ้นถึงขอบบนของอ่างไม่น้อยกว่า 750 มิลลิเมตร แต่ไม่เกิน 800มิลลิเมตร และมีราว จับในแนวนอนแบบพับเก็บได้ ในแนวดิง่ ทังสองข้ ้ างของอ่าง โรงมหรสพ หอประชุม และโรงแรม ข้ อ 26 อาคารตามข้ อ 3 ที่เป็ นโรงมหรสพหรื อหอประชุมต้ องจัดให้ มีพื ้นที่เฉพาะสาหรั บเก้ าอี ้ล้ ออย่างน้ อยหนึ่งที่ ทุกๆ จานวน 100 ที่นงั่ โดยพื ้นที่เฉพาะนี ้เป็ นพื ้นที่ราบขนาดความกว้ างไม่น้อยกว่า 900 มิลลิเมตร และความยาวไม่น้อย กว่า 1,400 มิลลิเมตร ต่อหนึ่งที่ อยู่ในตาแหน่งที่เข้ าออกได้
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l 42
04 การวิเคราะห์ ท่ ตี งั ้ โครงการ 4.1 การวิเคราะห์ ทาเลที่ตงั ้ สถานที่ตง:ั ้ ขนาดที่ดนิ : ทิศเหนือ: ทิศใต้ : ทิศตะวันออก: ทิศตะวันตก:
ถนนพระราม3 ซอย26 แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร 19.17 ไร่ จรด ถนนพระราม3 จรด แม่น ้าเจ้ าพระยา จรด คลังสินค้ า จรด พื ้นที่วา่ งใต้ สะพานพระราม9
ศักยภาพของทาเลที่ตงั ้ ที่ตงโครงการอยู ั้ ่ในพื ้นที่สีน ้าตาลเข้ ม ย.8-26 หรื อที่อยูอ่ าศัยหนาแน่นสูง แต่เดิมบริเวณนี ้เป็ นทาเลเหมาะแก่การ ตังคลั ้ งสินค้ า เนื่องจากช่วงแม่น ้าที่กว้ าง และอยู่ในอาณาบริเวณต่อเนื่องมากจากท่าเรื อคลองเตย แต่ปัจจุบนั มีแนวคิดใน การย้ ายท่าเรื อออกไป ผังสีที่เปลี่ยนส่งผลให้ กิจกรรมเหล่านี ้ค่อยๆลดน้ อยลง ถนนพระราม 3 รวมถึงเป็ นที่อยู่อาศัยที่ ล้ อมรอบเขตพาณิชยกรรมหนาแน่นสูงอย่างถนนสีลมและสาทร นอกจากนี ้ถนนพระราม 3 ยังเป็ นถนนไม่กี่สายที่เข้ าใกล้ แม่น ้าเจ้ าพระยามาก ส่งผลให้ โครงการสามารถมีอาณา เขตติดแม่น ้าและถนนใหญ่ ซึ่งเป็ นผลดีกบั โรงมหรสพที่ต้องรองรับการเข้ าออกของรถจานวนหลายร้ อยคันในเวลาเดียวกัน โครงการตังอยู ้ ่ในเขตที่อยู่อาศัย การเดินทางที่สะดวก รวมถึงตังอยู ้ ่ห่างจากหอแสดงดนตรี อื่นๆในกรุงเทพและ ปริมณฑล จึงเป็ นผลดีตอ่ จานวนผู้ชมการแสดงในหอแสดงดนตรี พิพิธภัณฑ์ และห้ องสมุด การคมนาคม โครงการตังอยู ้ ่บนถนนพระราม 3 อันเป็ นส่วนนึงของถนนวงแหวนรอบใน(รัชดาภิเษก) รวมถึงสามารถเชื่อมต่อไป ถนนวงแหวนรอบนอก (กาญจนาภิเษก) โดยสะพานภูมพิ ล 1 และ 2 จึงสะดวกทังการเข้ ้ าไปยังส่วนต่างๆของเมืองและ เดินทางออกจากเมือง นอกจากนี ้ยังอยู่ใกล้ กบั ทางพิเศษเฉลิมมหานคร (ระบบทางด่วนขันที ้ ่1) ทางขึ ้นลงอยู่ห่างออกไปราว 1 กิโลเมตร โครงการสามารถเชื่อมต่อไปยังฝั่ งธนบุรีได้ โดยสะพานพระราม9 (ส่วนหนึ่งของทางพิเศษเฉลิมมหานคร) สะพาน ภูมพิ ล สะพานพระราม3 และสะพานกรุงเทพ
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l 43
4.2 การวิเคราะห์ สถานที่ตงั ้ ลักษณะทางกายภาพและการใช้ ท่ ีดนิ โครงการตังอยู ้ ่ริมแม่น ้าเจ้ าพระยา ที่ดนิ อยู่สงู กว่าระดับน ้าทะเลประมาณ 1.50 เมตร1 บริเวณโครงการและพื ้นที่ โดยรอบไม่ได้ รับผลกระทบจากสถานการณ์น ้าท่วมเมื่ออุทกภัยครัง้ ใหญ่ปี 25542 ทังนี ้ ้ อาจเป็ นเพราะความพยายามในการ ปกป้องเขตเมืองชันในของภาครั ้ ฐ ทาให้ น ้าที่ไหลลงมาจากภาคเหนือไหลมาไม่ถึงบริเวณนี ้ อย่างไรก็ดีมีรายงานข่าวนา้ ใน แม่น ้าเจ้ าพระยาเอ่อล้ นเจิ่งถนนพระราม3 ราว 30 ซม.ซึง่ เป็ นผลจากน ้าทะเลหนุน แม่น ้าเจ้ าพระยาบริเวณหน้ าโครงการเป็ นที่ตงของทุ ั้ ่นผูกเรื อสาธุประดิษฐ์ เขตท่าเรื อกรุงเทพ กรมเจ้ าท่า กลางลา น ้าเจ้ าพระยาห่างจากที่ตงโครงการราว ั้ 250 เมตร เรื อที่ผา่ นบริเวณนี ้ได้ จะเป็ นเรื อขนาดไม่เกิน 300 ฟุต การเข้ าออกทาได้ แค่ในเวลาน ้าขึ ้นเท่านัน้ ทาให้ แต่ละช่วงปี มีการเดินเรื อในเวลาต่างๆกัน 3 ลักษณะการใช้ ที่ดนิ ริ มแม่น ้าเจ้ าพระยาโดยรอบที่ตงโครงการยั ั้ งเป็ นคลังสินค้ าอยู่มาก มีคอนโดสูงบ้ างเล็กน้ อย พื ้นที่ริมน ้าที่เปิ ดให้ สาธารณะเข้ าถึงได้ มีเพียง 3 จุดคือ คอมมูนิตี ้มอลล์ เอเชียทีคเดอะริเวอร์ ฟร้ อนท์ เดอะคาแนลลิ และ สวนสาธารณะเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบ ในขณะที่อีกฝั่ งของถนนพระราม 3 ลึกเข้ ามาในแผ่นดิน ประกอบด้ วยที่อยู่อาศัยใน ลักษณะบ้ านเดียว อาคารพาณิชย์ เป็ นหลัก สวนสาธารณะเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบ อยู่ห่างออกไปเพียง150 เมตร มีขนาดใหญ่และทิวทัศน์ที่สวยงาม มีสะพาน พระราม9 เป็ นแลนมาร์ ค คนในชุมชนนิยมมาวิง่ ออกกาลังกายตอนเย็น ซึ่งจัดได้ วา่ เป็ นศูนย์รวมคนดังเดิ ้ มของละแวกนี ้ ซึ่ง สอดคล้ องและส่งเสริมโครงการสถาบันดนตรี ที่มีความตังใจสร้ ้ างแหล่งเรี ยนรู้และสุนทรี ยะแก่ชมุ ชน นอกจากนี ้ภายในโครงการยังมีคลองกว้ าง4เมตร ชื่อคลองเสาหิน บรรจบที่แม่นา้ มีประตูนา้ และลอดใต้ ถนน พระราม3 เข้ าไปในแผ่นดิน ลักษณะภูมอิ ากาศจุลภาค แดด - พระอาทิตย์อ้อมใต้ เป็ นระยะเวลา 8 เดือน และอ้ อมทิศเหนือ 4 เดือน ลม - มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือจะพัดเข้ ามาจากถนนในฤดูหนาว และลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ผสานกับ ลมแม่น ้า พัดเข้ ามาในทิศทางเดียวกัน ดังนันจึ ้ งต้ องคานึงเรื่ องการเปิ ดรับลมและป้องกันฝนสาดของ อาคารด้ านที่เปิ ดสูแ่ ม่น ้าเป็ นพิเศษ ฝน - ฝนตกมากเดือนพฤษภาคมถึงตุลาคม เดือนที่มีฝนตกฉุกที่สดุ คือเดือนกันยายน ระดับน ้าฝนเฉลี่ยต่อปี 1,496.80 มม. ฝนตกราว 128 วันใน 1ปี 4
1 2
ข้ อมูลจาก กองสนามสารวจระดับคันกันน ้ า้ และระดับพื ้นที่กรุ งเทพมหานครและปริ มณฑล กรมแผนที่ทหาร ข้ อมูลจาก สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ(GISDA)
3
ข้ อมูลจาก ธนัช สุขวิมลเสรี, รู ปแบบการใช้ ที่ดินเกี่ยวเนื่องกับการขนส่งสินค้ าทางน ้า, วิทยานิพนธ์ วางแผนภาคและเมือง, 2547
4
ค่าเฉลี่ยสถิติรอบ 30 ปี ข้ อมูลจาก กรมอุตนุ ิยมวิทยา
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l 44 ระบบจราจรและการเข้ าออกที่ตงั ้ ทางเดินเท้ า จากถนนพระราม 3 เท่านัน้ ซึ่งสามารถข้ ามถนนได้ บริ เวณสะพานลอยเหนือแยกพระราม 3 - รัชดา 150 เมตรจากทางเข้ าโครงการ (สะพานพระราม 9 ไม่สามารถเดินข้ ามได้ ) ทางนา้ ปั จจุบนั ยังไม่มีท่าเรื อด่วนประจาทางในระยะ500เมตร(ระยะเดินเท้ า) ท่าเรื อที่ใกล้ ที่สดุ คือท่าบิก๊ ซีราษฎร์ บูรณะ ต่อรถไปข้ ามฟากที่ท่าคลองลัดหลวง มาท่าสาธุประดิษฐ์ แล้ วต่อรถมายังโครงการ รถยนต์ ส่วนบุคคล ทางเข้ าหลักจากถนนพระราม3ซึ่งเป็ นถนนใหญ่ 8 ช่องทางจราจร เขตทางกว้ าง 45 เมตร ลักษณะอ้ อมเข้ ามาในโค้ งน ้าเจ้ าพระยา ไม่ได้ มีจดุ ตัดกับถนนสายอื่นมากนัก ทาให้ ไม่คอ่ ยเป็ นทางผ่าน บวกกับมีสะพาน รถยนต์ข้ามแยกทุกแยก ทาให้ การจราจรไม่ตดิ ขัด มีจดุ กลับรถห่างจากทางเข้ าโครงการเพียง 50 เมตร ทางเข้ ารองจากซอย พระราม3 26 ซึ่งกว้ าง 9.00 เมตร รถประจาทาง ป้ายที่ใกล้ ที่สดุ บนถนนพระราม 3 ฝั่ งโครงการ อยู่บริเวณหน้ าสวนเฉลิมพระเกียรติฯ ห่างออกไป 250 เมตร ป้ายใกล้ ที่สดุ บนถนนพระราม 3 ฝั่ งตรงข้ ามโครงการ คือป้ายหน้ าซอยพระราม 3 29 มีรถประจาทางวิง่ ผ่าน 6 สาย รถโดยสารด่ วนพิเศษ บีอาร์ ที สายสาทร-ราชพฤกษ์ สถานีสะพานพระราม 9 ห่างจากโครงการราว 600 เมตร รถไฟฟ้า รถโมโนเรล สายสีเทา (เริ่ มก่อสร้ างปี 2559) สถานีสะพานพระราม 9 ห่างจากโครงการ 100 เมตร และ รถไฟฟ้ามหานครสายสีมว่ ง (เปิ ดทาการปี 2562) สถานีประชาอุทิศ ฝั่ งธนบุรี สามารถต่อรถแท๊ กซี่ ข้ ามสะพานพระราม 9 มายังโครงการได้ โดยทังสองสายนี ้ ้มีจดุ ตัดกับรถไฟฟ้าทุกสายในกรุงเทพมหานคร กล่าวคือหากโดยสารมาจากสถานีอื่นๆ นอกเหนือจากสถานีบนรถสองสายนี ้แล้ ว ต้ องเปลี่ยนขบวนรถเพียงครัง้ เดียวเท่านัน้ ระบบสาธารณูปโภค เนื่องจากตังอยู ้ ่ในเมืองจึงมีระบบสาธารณูปโภครองรับไว้ แล้ ว สามารถต่อรับไฟฟ้าและประปาที่วงิ่ มาตามถนน พระราม 3 เข้ าสูท่ ี่ตงโครงการโดยตรง ั้ หรื อจากซอย พระราม3 26 ก็ได้ กฏหมายและเทศบัญญัตทิ ่ ีสาคัญ 1. กฎกระทรวงให้ ใช้ บงั คับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2556 2. ข้ อบัญญัตกิ รุงเทพมหานคร เรื่ องกาหนดบริเวณห้ ามก่อสร้ างหรื อดัดแปลงอาคารบางชนิดหรื อบาง ประเภท พ.ศ.2545 3. ระเบียบกรุงเทพมหานครว่าด้ วยการขออนุญาตก่อสร้ างสะพานข้ ามคลอง พ.ศ. 2549 การวิเคราะห์ มุมมองจากภายนอกและภายในที่ตงั ้ จากภายในสู่ภายนอก โครงการมีทิวทัศน์ที่สวยงามจากแม่น ้าเจ้ ายา ช่วงกว้ าง 500 เมตร สองข้ างฝั่ งเป็ นอาคารคอนโดมีเนียมหรื ออาคาร เก็บสินค้ าที่มาจากทางเรื อ น ้าในช่วงนี ้จึงใสสะอาดปราศจากขยะมูลฝอยดังช่วงอื่นๆที่มกั มีชมุ ชนหนาแน่น ร้ านอาหารจับ จองพื ้นที่สองฝั่ งอยู่ ฝั่ งตรงข้ ามแม่น ้าปั จจุบนั เป็ นคลังสินค้ าปละบ้ านพักอาศัยเบาบาง พื ้นที่ส่วนมากเป็ นสีเขียว มีอาคารสูง สองแห่งคือแชปเตอร์ วนั คอนโดมิเนียม และอาคารสานักงานใหญ่ธนาคารกสิกรไทย ด้ านหน้ าโครงการบริเวณถนนพระราม 3 เป็ นช่วงที่มีสะพานข้ ามแยกพระราม3-รัชดาวิง่ ผ่านพอดี บริเวณใต้ สะพานจัดเป็ นสวนหย่อม จากหน้ าโครงการมองเห็นฝั่ งตรงข้ ามโดยลอดผ่านสะพานนี ้ เป็ นที่ดนิ ของเอกชน(ปั จจุบนั เป็ น อาคารพาณิชย์สงู 4ชัน) ้
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l 45 ทิศตะวันตก บริเวณใต้ สะพานพระราม 9 เป็ นที่วา่ งของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย กันไว้ เพื่อรักษาความ ปลอดภัยของสะพาน ซึ่งที่ลกั ษณะนี ้จะมีกฎหมายควบคุมทาให้ ไม่สามารถสร้ างสิง่ ปลูกสร้ างขนาดใหญ่หรื อมัน่ คงถาวรได้ มุมมองสามด้ านที่กล่าวมานี ้จัดเป็ นมุมมองที่แน่นอน ที่ดนิ ด้ านอื่นๆติดกับที่ดิ นเอกชน ปั จจุบนั มีทงส่ ั ้ วนที่เป็ นที่ ว่างและคลังสินค้ า ซึ่งอาจเปลี่ยนแปลงการใช้ ที่ดนิ ได้ ในอนาคต จึงจัดว่าเป็ นมุมมองที่ไม่แน่นอน จากภายนอกสู่ภายใน มุมมองหลักคือจากถนนพระราม 3 และจากบนสะพานข้ ามแยกพระราม3-รัชดา สูงจากระดับถนนราว 6 เมตร ทัง้ สองทางนี ้มองเห็นโครงการเฉพาะฝั่ งที่ติดกับโครงการเท่านัน้ (รถวิง่ จากตะวันออกไปตะวันตก) อีกฝั่ งหนึ่งนันถู ้ กสะพาน ข้ ามแยกกันมุ ้ มมองทาให้ มองเข้ ามาที่โครงการได้ ไม่ชดั เจน มุมมองจากฝั่ งเจ้ าพระยา มีอยู่สองจุดด้ วยกันคือ ฝั่ งตรงข้ ามแม่น ้า ระยะห่างออกไป500เมตร สอง จากเรื อที่แล่น ผ่านหน้ าโครงการ จากบนสะพานพระราม 9 ก็สามารถมองเห็นโครงการได้ เช่นกัน แต่ฝั่งที่ตดิ โครงการของสะพานนัน้ รถมี ทิศทางวิง่ ออกจากกรุงเทพไปยังฝั่ งธน และวิง่ ด้ วยความเร็วสูง โครงการจึงไม่เป็ นที่สงั เกตุนกั ขณะที่สะพานฝั่ งรถวิง่ เข้ าหา กรุงเทพ ก็ห่างเกินจะมองเห็นโครงการ
รูปที่ 4.1 ศักยภาพของทาเลที่ตงั ้
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l 46
รูปที่ 4.2 การคมนาคม
รูปที่ 4.3 การเข้ าถึงโครงการโดยรถไฟฟ้า (บน) ทางรถยนต์ (กลาง) และทางเรื อ (ล่าง)
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l 47
รูปที่ 4.4 ทิศทางลม(บน)และแสงแดด(ล่าง)
รูปที่ 4.5 กฏหมายที่เกี่ยวข้ องกับที่ตงโครงการ ั้
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l 48
รูปที่ 4.6 ภาพสิง่ ก่อสร้ างและที่วา่ งข้ างเคียง
-
รูปที่ 4.7 มุมมองจากภายนอกและภายในที่ตงั ้
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l 49
05 รายละเอียดโครงการ 5.1 รายละเอียดโครงการด้ านการบริ หาร สถาบันดนตรี กัลยาณิวฒ ั นา (อังกฤษ: PRINCESS GALYANI VADHANA INSTITUTE OF MUSIC) เป็ น สถาบันอุดมศึกษาในกากับของรัฐบาล ก่อตังขึ ้ ้นเมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2555 เพื่อให้ มีสถาบันการดนตรี ที่ให้ ความสาคัญต่อดนตรี คลาสสิกอย่างจริงจัง
รูปที่ 5.1 แผนภูมสิ ภาสถาบันดนตรี กัลยาณิวฒ ั นา(บน) แผนภูมโิ ครงสร้ างการบริหาร(ล่าง)
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l 50 สถาบันดนตรี กัลยาณิวฒ ั นา เปิ ดการเรี ยนการสอนระดับปริญญาตรี 4 ปี การศึกษา ปี การศึกษาละ 2 ภาคการ เรี ยน เน้ นการปฏิบตั ิดนตรี รับนักศึกษาปี ละ 30 คน โดยรับสัดส่วนเฉลี่ยในแต่ละเครื่ องดนตรี เท่าๆกัน แบ่งเอกการสอน 5 กลุม่ เครื่ องดนตรี ดังนี ้ 1 เครื่ องสายตะวันตก ประกอบด้ วย ไวโอลิน, วิโอลา, เชลโล, ดับเบิลเบส, ฮาร์ ป และ กีตาร์ คลาสสิก 2 เปี ยโน 3 ขับร้ องคลาสสิก 4 เครื่ องเป่ าลมไม้ ประกอบด้ วย ฟลู๊ท โอโบ คลาริเน็ท บาสซูน 5 เฟร็นช์ ฮอร์ น
รูปที่ 5.2 เครื่ องดนตรี เอกที่เปิ ดสอน
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l 51
5.2 รายละเอียดโครงการด้ านโครงสร้ างหน้ าที่ใช้ สอย 1 ส่ วนการเรียนการสอน จากัดผู้ใช้ เฉพาะนักเรี ยนและบุคลากรของสถาบันเท่านัน้ เปิ ดวันจันทร์ – ศุกร์ เวลา 7:00 – 18:00 น. วิชาเรี ยนเริ่ม 8:00 – 17:00 น. วันเสาร์ – อาทิตย์ เปิ ดให้ นกั ศึกษาเข้ ามาใช้ ห้องซ้ อม และเปิ ดสอนพิเศษให้ บคุ คลทัว่ ไป เวลา 9:00 – 17:00 น. ประกอบด้ วย 3 ส่วนดังนี ้ - ห้ องเรียน - ห้ องซ้ อม - พืน้ ที่ส่วนกลาง 2 ส่ วนความรู้และบันเทิง เปิ ดให้ บริการบุคคลทัว่ ไปที่มีความสนใจในดนตรี คลาสสิกมาหาความรู้ และรับชมการแสดง ประกอบด้ วย - พืน้ ที่แสดงดนตรี 3 แห่ง หอแสดงใหญ่ หอแสดงเล็ก และเวทีกลางแจ้ ง มักจัดแสดงในเวลากลางคืนเวลา ประมาณ 18:00 น. เป็ นต้ นไป แต่เปิ ดให้ นกั ดนตรี เข้ ามาฝึ กซ้ อมได้ ทงวั ั ้ นแล้ วแต่การนัดหมาย - ห้ องสมุด เปิ ดบริการทุกวัน เวลา 8:00 – 18:00 น. ในวันธรรมดา และ 10:00 – 17:00 น. ในวันเสาร์ อาทิตย์ - พิพธิ ภัณฑ์ เปิ ดบริการทุกวันจกเว้ นวันจันทร์ เวลา 10:00 – 17:00 น. - ร้ านค้ า เปิ ดบริการทุกวัน เวลา 10:00 – 17:00 น. - ร้ านอาหาร เปิ ดบริการทุกวัน เวลา 7:00 – 18:00 น. ในวันธรรมดา และ 9:00 – 18:00 น. ในวันเสาร์ อาทิตย์ 3 ส่ วนบริหาร ทาการในวัน จันทร์ – ศุกร์ เวลา 8:30 – 16:30 น.1 แต่เจ้ าหน้ าที่อาจใช้ เวลาก่อนหรื อหลังจากนันในการท ้ างาน เพิม่ เติม ในวันเสาร์ – อาทิตย์เปิ ดบางส่วนเพื่อรองรับการสอนพิเศษในเวลา 9:00 – 17:00 น. - สานักผู้อานวยการ - สานักงาน - ส่ วนกลาง 4 ส่ วนสนับสนุนและงานระบบ
1
ระเบียบกระทรวงศึกษาธิ การ ว่าด้ วยกาหนดเวลาทางานและวันหยุดราชการของสถานศึกษา พ.ศ.2547
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l 52
ตารางที่ 5.1 แสดงความสัมพันธ์ระหว่างพื ้นที่ ช่วงเวลา และกลุม่ ผู้ใช้
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l 53
ตารางที่ 5.2 แสดงการใช้ ห้องเรี ยนต่างๆในรอบสัปดาห์ (พื ้นที่วา่ งในตารางใช้ เพื่อการฝึ กซ้ อม)
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l 54
5.3 รายละเอียดโครงการด้ านพืน้ ที่ใช้ สอย
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l 55
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l 56
ตารางที่5.3 รายละเอียดด้ านพื ้นที่ใช้ สอย
อธิบายสัญลักษณ์ A Analysis การวิเคราะห์ C Case study จากอาคารประเภทเดียวกัน L Law กฎหมาย N Neufert, Architect’s data, M Museum Design W Wenger Planing Guide for school music facilities T Time-saver standards for building types CC Congress Convention and Exhibition Facilities: Planning, Design and Management U ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่ อง มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ.2554 NC Noise Criteria ห้ องที่ต้องควบคุมสียงรบกวน ST Sound Transmission ห้ องที่ก่อเกิดเสียงดัง RT Reverberation Time ห้ องที่ต้องคานึงถึงค่าความก้ องกังวาลเสียง
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l 57
5.4 รายละเอียดด้ านวิศวกรรมงานระบบ ระบบปรับอากาศ ส่วนหอแสดง โถงพักคอย และเวที - ระบบจากส่วนกลางหรื อ centralized air condition system ชนิดระบายความร้ อนด้ วยน ้า water cool chiller น ้าถูกปั๊ มเข้ าเครื่ องทาความเย็น condenser และส่งน ้าเย็นไปยังเครื่ องเป่ าลมเย็นในแต่ละชัน้ ความร้ อนที่เกิดจากเครื่ องทา ความเย็นถูกส่งไประบายความร้ อนที่ cooling tower โดยน ้าเช่นกัน แยกโครงสร้ างของChiller และAHU ออกจากหอแสดง โดยต่อเพียงท่อลมเท่านันไปต่ ้ อ เพื่อกันเสียง Structure Bound - ระบบปรับอากาศของเวทีและส่วนนัง่ ชมแยกระบบออกจากกัน ส่วนบริเวณที่นงั่ ใช้ การเอ่อขึ ้นมาของอากาศเย็น จากช่องแอร์ ที่อยู่บนพื ้นใต้ ที่นงั่ ทุกที่นงั่ ถือเป็ นระบบที่ประหยัดพลังงานและไม่ก่อให้ เกิดเสียงเนื่องจากไม่ต้องใช้ พดั ลมพัด อากาศเย็นให้ ไปถึงผู้ใช้ งาน และธรรมชาติของหอแสดงดนตรี มีฝ้าที่สงู มาก การทาความเย็นลงมาจากด้ านบนซึ่งไม่มีคนอยู่ จึงไม่มีความจาเป็ น ใช้ หลักของธรรมชาติให้ อากาศเย็นที่เอ่อขึ ้นมาผ่านร่างกายผู้ใช้ งานและลอยตัวขึ ้นไปแทนที่อากาศร้ อน ด้ านบนอาคาร (Displacement) ในขณะที่ระบบปรับอากาศของพื ้นที่เวทีจะมาจากด้ านบนเพราะใต้ พื ้นมีงานระบบอยู่มาก ส่วนหลังเวที และห้ องเรี ยนห้ องซ้ อม ระบบปรับอากาศ ระบบ VRV (Variable Refrigerant Volume เป็ นระบบเครื่ องปรับอากาศที่ลกั ษณะการทางานที่ สามารถเปลี่ยนเเปลงปริ มาณสารทาความเย็นตามภาระโหลดของการทาความเย็น เเละจานวนตัวเครื่ องภายในที่ทาการ ติดตัง้ ท่อลมมักมีขนาดใหญ่กว่าปกติเพื่อลดความเร็ วลมอันก่อเกิดเสียงดัง วางแนวการเดินท่อนอกกลุม่ ห้ องเรี ยนเพื่อ ป้องกันเสียงเดินทางผ่านท่อข้ ามห้ อง รวมถึงใช้ ฉนวนกันเสียงติดตังในท่ ้ อลมเพื่อไม่ให้ เสียงเดินทางข้ ามไปยังส่วนอื่นๆผ่าน ทางท่อลม ระบบไฟฟ้าแสงสว่ าง - จ่ายไฟฟ้าจากห้ องเครื่ องห้ องเดียว Centralized main power supply system สะดวกต่อการบารุงรักษาและ ควบคุม สายไฟแรงสูงเป็ นแบบ3 เฟส 4 สายจากการไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค เข้ ามายังโครงการโดยเดินใต้ ดนิ เพื่อความเรี ยบร้ อย ผ่านหม้ อแปลงไฟฟ้าชนิดติดตังในอาคาร ้ ผ่านเข้ าแผงควบคุมการจ่ายไฟรวม ส่งต่อไปยังแผงจ่ายไฟย่อย โดยเดินผ่านcon ceal raceway หรื อ wire way เพื่อความเรี ยบร้ อยสวยงาม และง่ายต่อการบารุงรักษา - มีเครื่ องปั่ นไฟสารอง และตาแหน่งให้ รถของการไฟฟ้ามาต่อเข้ าระบบ เพื่อเตรี ยมพร้ อมกรณีไฟดับ โดยไฟสารอง จะจ่ายให้ กบั ระบบแสงสว่างเป็ นสาคัญเพื่อการอพยพคนออกจากอาคาร สามารถทางานได้ โดยอัตโนมัตไิ ม่น้อยกว่าหนึ่ง ชัว่ โมงเมื่อระบบจ่ายพลังงานไฟฟ้าปกติหยุดทางาน - ใช้ หลอดไฟ LED หรื อ ฟลูออเรสเซนต์ที่มี Quiet-rated ballast เพื่อกาจัดเสียงที่เกิดจากการเปิ ดไฟ - เนื่องจากกิจกรรมที่เกิดขึ ้นในหอแสดงมีความเจาะจงคือการเล่นดนตรี ระบบไฟจึงไม่ซบั ซ้ อนเท่ากับการแสดง ละคร แบ่งเป็ น แสงไฟในตัวอาคาร มีความสว่างทัว่ ๆหอแสดงเพื่อให้ ผ้ ชู มเดินมายังที่นงั่ อ่านสูจิบตั รงาน หรื อให้ ทีมงาน เตรี ยมงานนอกเวลาแสดง นอกจากนี ้ยังมี แสงตามทางเดิน และแสงบอกตาแหน่งทางหนีไฟ แสงไฟเพื่อการแสดง เช่น ceiling spot , wall spot
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l 58 ระบบดับเพลิง - ระบบตรวจจับสัญญาณการเกิดเพลิงไหม้ แบ่งเป็ น heat detector smoke detector และ แบบแจ้ งโดยคน ต่อเชื่อมไปยังแผงควบคุมหลักที่อยู่ในห้ องของเจ้ าหน้ าที่อาคาร เพื่อแจ้ งตาแหน่งเกิดเหตุและส่งสัญญาณเสียงแจ้ งอพยพ รวมถึงเดินระบบฉุกเฉินอื่นๆ - ระบบดับเพลิงอัตโนมัติ เช่น ระบบหัวกระจายน ้าดับเพลิงหรื อระบบอื่นที่เทียบเท่า ที่สามารถทางานได้ ด้วย ตัวเองทันทีเมื่อเกิดเพลิงไหม้ โดยให้ สามารถทางานครอบคลุมพื ้นที่ทงหมด ั้ - ระบบน ้าสารอง ยังมีท่อยืนของอาคารเพียงพอสาหรับใช้ ดบั เพลิงบริเวณพื ้นที่โรงมหรสพทังหมด ้ ในลักษณะตู้ หัวฉีดน ้าดับเพลิงที่ประกอบด้ วย หัวต่อสายฉีดนา้ ดับเพลิงพร้ อมสายฉีดนา้ ดับเพลิงขนาดเส้ นผ่าศูนย์กลางไม่น้อยกว่า 25 มิลลิเมตร หรื อ 1 นิ ้ว และหัวต่อสายฉีดน ้าดับเพลิงชนิดหัวต่อสวมเร็ว ขนาดเส้ นผ่าศูนย์กลาง 65 มิลลิเมตร หรื อ 2.50 นิ ้ว พร้ อมทังฝาครอบและโซ่ ้ ร้อยติดไว้ โดยจะต้ องติดตังในจุ ้ ดที่เข้ าถึงได้ สะดวกและปลอดภัย - เครื่ องดับเพลิงแบบมือถือหรื อเครื่ องดับเพลิงยกหิว้ บริเวณที่นงั่ คนดูชนล่ ั ้ าง ติดตังไว้ ้ ที่ผนังโรงมหรสพหลังที่นงั่ คนดูแถวหลังสุด อย่างน้ อยข้ างละ 1 เครื่ อง ที่ผนังโรงมหรสพประมาณกึ่งกลางที่นงั่ คนดูภายในโรงมหรสพอย่างน้ อยข้ างละ 1 เครื่ อง ติดตังไว้ ้ ที่ผนังโรงมหรสพ หน้ าที่นงั่ คนดูแถวหน้ าสุดอย่างน้ อยข้ างละ 1 เครื่ อง ติดตังไว้ ้ ที่ผนังโรงมหรสพ ด้ านหลัง จอหรื อบนเวทีอย่างน้ อยข้ างละ 1 เครื่ องบริเวณที่นงั่ คนดูชนบน ั้ ติดตังไว้ ้ ที่ผนังโรงมหรสพหน้ าที่นงั่ คนดูแถวหน้ าสุดอย่าง น้ อยข้ างละ 1 เครื่ อง และหลังที่นงั่ คนดูแถวหลังสุดอย่างน้ อยข้ างละ 1 เครื่ องบริเวณห้ องฉาย ติดตังไว้ ้ อย่างน้ อย 2 เครื่ อง สาหรับเวทีแสดงดนตรี กลางแจ้ ง ต้ องติดตังเครื ้ ่ องดับเพลิงแบบมือถือหรื อเครื่ องดับเพลิงยกหิ ้วไม่น้อยกว่า 2 เครื่ อง ต่อพื ้นที่ไม่เกิน 1,000 ตารางเมตร และเพิ่มขึ ้นอีก 1 เครื่ อง ต่อพื ้นที่ 250 ตารางเมตรที่เพิม่ ขึ ้น การติดตังเครื ้ ่ อง ดับเพลิงต้ องติดตังให้ ้ สว่ นบนสุดของตัวเครื่ องสูงจากระดับพื ้นอาคารไม่เกิน 1.50 เมตร ในที่ที่สามารถมองเห็นได้ ชดั เจน สามารถอ่านคาแนะนาการใช้ ได้
5.5 รายละเอียดโครงการด้ านอื่นๆ ที่เกี่ยวข้ อง การจัดภูมิทัศน์ การจัดวางภูมทิ ศั น์ (Landscape) ของโรงเรี ยบนดนตรี ต้องมีความรื่ นรมณ์ มีที่นงั่ เล่น พื ้นที่โล่งทากิจกรรมของ นักศึกษา บริเวณหน้ าหอแสดงดนตรี ต้องมีลกั ษณะเชิญชวน สง่างาม เปิ ดเผยรูปทรงของหอแสดง ใช้ เป็ นจุดรวมคนจานวน มากที่พกั รอก่อนการแสดงเริ่ม และหลังการแสดงจบ ในภูมทิ ศั น์ของโครงการมีสว่ นที่เป็ นเวที กลางแจ้ งรวมอยู่ด้วย ส่วนที่นงั่ ต้ องจัดให้ ร่มรื่ น และเปิ ดมุมมองสูเ่ วทีได้ โดยไม่มีวตั ถุหรื อเส้ นทางสัญจรขวาง นอกจากนี ้อาจใช้ ต้นไม้ ในการดูดซับเสียงจากภายนอก กรองฝุ่ นควันและหักเหทิศทางลมเข้ าสูอ่ าคาร ใช้ รัว้ ใน การกันเสียง สร้ าง Noise Shadow
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l 59
06 ผลงานการออกแบบ 6.1 แนวความคิดในการออกแบบ “Blur Boundary” หรื อ การเชื่อมคนกับดนตรี คลาสสิค เพื่อตอบสนองพันธะกิจทัง้ 3 ประการของสถาบัน 1. สร้ างและพัฒนาบุคคลากรทางด้ านดนตรีคลาสสิกที่มีศักยภาพสูง สาหรับนักดนตรี แล้ ว เสียง รบกวนถือเป็ นBoundary ที่สาคัญในเรี ยนและฝึ กซ้ อม โครงการนี ้จึงต้ องคานึงถึงเรื่ อง Acoustic ในทุกส่วนตังแต่ ้ การวางผัง การเลือกรูปทรง โครงสร้ างและชนิดวัสดุ 2. เป็ นศูนย์ กลางในการเผยแพร่ องค์ ความรู้ด้านดนตรีและศาสตร์ อ่ ืนๆที่เกี่ยวข้ องให้ กับสังคม ดนตรี คลาสสิคมักถูกมองว่าเป็ นดนตรี ของชนชันสู ้ ง เข้ าถึงยาก จึงออกแบบให้ โครงการนี ้เป็ นส่วนนึงของPublic space ของเมือง เชื่อมต่อกับสวนสาธารณะเก่าในชุมชน ต่อเนื่องกับระบบขนส่งสาธารณะ อานวยความสะดวก ให้ กบั คนเดินเท้ ามากที่สดุ และให้ ความสาคัญกับเวที Free Concert ซึ่งเป็ นกิจกรรมที่ Blur Boundary ระหว่าง คนทุกกลุม่ มากที่สดุ รวมถึงคานึงการมองเห็นเข้ าไปยังส่วนต่างๆเพื่อดึงดูดคนให้ เข้ าไปใช้ งาน 3. เป็ นศูนย์ รวมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางด้ านดนตรีระหว่ าง บุคคล ชุมชนและสถาบันศึกษาต่ างๆ ปรากฏในการวางผัง กาหนดให้ เส้ นทางเดินของuser ที่มีความหลากหลายทังในแง่ ้ จดุ ประสงค์การมาเยือน และ ระดับความรู้ด้านดนตรี คือ visitors audiences musicians และ students มาซ้ อนทับกัน เพื่อเกิดการพบปะ แลกเปลี่ยนกัน เช่น เมื่อคนตังใจมาร้ ้ านอาหารได้ เห็นกลุม่ ผู้ชมแต่งตัวมาชมการแสดงอาจอยากรู้วา่ มีโปรแกรม อะไรแสดงอยู่ขณะนี ้ หรื อเมื่อมองเห็นนักเรี ยนที่สะพายเครื่ องดนตรี นัง่ ซ้ อมดนตรี กนั อยู่ก็อาจเกิดความสนใจ ดนตรี มากขึ ้น โดยคาดหวังให้ Visitors หรื อกลุม่ คนที่อาจจะตังใจเข้ ้ ามาเพียงใช้ พื ้นที่ริมน ้าพัฒนาไปเป็ นกลุ่มคน ฟั ง (Audiences) และสุดท้ ายพัฒนาเป็ น Musicians ที่มีความเข้ าใจในดนตรี มากที่สดุ ด้ วยพระนามของสมเด็จพระพี่นางฯที่นามาใช้ เป็ นชื่อสถาบัน จึงต้ องมีการคานึงถึงภาพลักษณ์ของพระองค์ด้วย จากนิทรรศการ “แสงหนึ่ง คือรุ้งงาม” กล่าวถึงคุณลักษณะของพระองค์ 7 ประการ ซึ่งลักษณะภายนอกที่นามาใช้ เป็ น ภาพรวมของโครงการคือ เรี ยบง่าย สง่างาม และอ่อนโยน
รูปที่ 6.1 คุณลักษณะของสมเด็จพระเจ้ าพี่นางเธอฯ 7 ประการ
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l 60
6.2 การวิเคราะห์รูปแบบทางเลือก
รูปที่ 6.2 หุ่นจาลองในขันพั ้ ฒนาแบบ
6.3 ผลงานการออกแบบขันสมบู ้ รณ์ - ผังบริเวณ โครงการตังอยู ้ ่บนถนนพระราม3 ริมแม่น ้าเจ้ าพระยา ทางตะวันตกเป็ นสะพานพระราม9 พื ้นที่ใต้ สะพานใน ปั จจุบนั เป็ นพื ้นที่สีเขียวขนาดใหญ่ ตามกฏของการทางพิเศษแล้ วไม่สามารถสร้ างอาคารสูง หรื อขนาดใหญ่ ที่ถาวรได้ จึง ถือว่าเป็ นทัศนียภาพที่แน่นอนของโครงการ และในอนาคตยังมีแนวโน้ มจะพัฒนาไปเป็ นสวนสาธารณะ เชื่อมต่อกับ สวนสาธารณะเฉลิมพระเกียรติครบหกรอบซึ่งอยู่ถดั ออกไปด้ วย ขณะที่ทางตะวันออกติดที่ดนิ เอกชน ด้ วยศักยภาพของ ที่ดนิ สามารถพัฒนาไปเป็ นอาคารสูง จึงมีผลต่อการวางหอแสดงดนตรี หอแสดงดนตรี ซึ่งเปรี ยบเสมือนหัวใจของโครงการ ต้ องมี ความสง่างาม โดยเว้ นระยะจากที่ดนิ ข้ างเคียงเพื่อเป็ นระยะมองจาก ทางแม่น ้า และขณะเดียวกันก็สามารถมองเห็นจากฝั่ งถนนเพื่อดึงดูด คนเข้ ามาในโครงการ
ผลจากการวางลักษณะนี ้ ทาให้ ที่ดนิ ถูกตัดออกเป็ นสองฝั่ ง จึง ยกหอแสดงดนตรี ขึ ้นเพื่อการเชื่อมต่อของการใช้ งาน
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l 61
โรงเรี ยนเป็ นส่วนที่สาคัญแต่มีขนาดเล็กกว่ามาก ถูกวางใน ตาแหน่งนี ้ด้ วยเหตุผลสาคัญสามประการคือ 1.สามารถเข้ าถึงได้ ง่าย จากการเดินเท้ า ซึ่งนักเรี ยนส่วนมากมาโรงเรี ยนด้ วยระบบขนส่ง สาธารณะ 2.เป็ นจุดที่เงียบสงบที่สดุ ของโครงการเนื่องจากลึกเข้ ามา จากถนน ห่างจากที่ดนิ เอกชน และอยู่บริเวณต้ นลมซึ่งจะช่วยพัดพา เสียงจากการเรี ยนการสอนไปยังสวนอื่นของโครงการด้ วย 3.มองเห็นทัง้ แม่น ้าและสวน บรรยากาศดีเหมาะแก่การเรี ยนการสอน พื ้นที่แคบยาวด้ านหน้ าโครงการ เป็ นตัวเชื่อมต่อระหว่าง โครงการกับเมือง นาพาคนที่มาจากMRT รวมถึงคนที่มาออกกาลังกาย ที่สวนต่อเนื่องเข้ ามาในโครงการ จัดให้ เป็ นร้ านค้ า ร้ านอาหารดนตรี คลาสสิค เพื่อโหมโรงอารมณ์ของคนก่อนเข้ าสูโ่ ลกของดนตรี รวมถึง ดึงดูดคนที่เดินผ่านด้ านหน้ าเข้ ามา กลุม่ ร้ านค้ าถูกทาให้ เป็ นส่วนนึงของภูมสิ ถาปั ตยกรรม รูปทรง ที่หกั ไปมาช่วยทอนspaceที่ตรงยาว ออกเป็ นspaceย่อย เนินหญ้ าที่ เกิดขึ ้นใช้ เป็ นที่นงั่ ชมการแสดงดนตรี ในสวนได้ ต่อเนื่องเข้ ามาผ่านทาง ขึ ้นหอแสดงดนตรี พิพธิ ภัณฑ์ และด้ านในลึกที่สดุ วางร้ านอาหารดนตรี สด ริมแม่นา้ เจ้ าพระยา เป็ น Magnet ของโครงการ ส่วนโรงเรี ยน(สีส้ม) ประกอบด้ วยอาหารเรี ยน อาคารห้ องซ้ อม ซึ่งใช้ โดยบุคคลภายในโรงเรี ยน ในขณะที่ห้องสมุดและโรงอาหารเปิ ดที่ เปิ ดให้ บคุ คลภายนอกใช้ ด้วย ถูกดึงกระจายออกมาทั่วโครงการเพื่อใน แต่ละวันนักเรี ยนจะต้ องเดินออกจากส่วนการเรี ยนมาสร้ างสีสนั และ ชีวติ ชีวาให้ พื ้นที่ โดยเฉพาะโรงอาหาร ที่มกั มีการนัง่ ซ้ อม ต่อเพลงเล่นกัน เสมอ โดยฟั งชัน่ เหล่านี ้จะรายล้ อมที่ว่างตรงกลางอันแบ่งเป็ นสามส่วน คือ คอร์ ทกิจกรรมกลางแจ้ ง คอร์ ทแสดงดนตรี ในร่ม และคอร์ ทโรงอาหาร คอร์ ทกิจกรรมภายในร่มถูกกดลงไปหนึ่งชันเชื ้ ่อมกับลานจอด รถใต้ ดนิ เพื่อเพิม่ ความสูงฝ้า ทางลาดที่เกิดขึ ้นเป็ นที่นั่งชมดนตรี รวมถึง เป็ นทางเดินขึ ้นจากที่จอดรถ ส่วนบริการและงานระบบ แยกเป็ นอีกอาคารอยู่ด้านหลัง ต่อเนื่องกับครัว และทางเข้ าออกสารอง
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l 62 - ผังพื ้นอาคาร ถนนภายในโครงการถูกจัดให้ เข้ าไปในที่ดนิ น้ อยที่สดุ เพื่อไม่ให้ เสียงจากรถยนต์เข้ าไปรบกวนการเล่นดนตรี ถนน ทางเข้ าอยู่ชิดริมทางซ้ ายทาให้ กลุ่มร้ านค้ าเชื่อมต่อกับพื ้นที่สีเขียวด้ านข้ าง และทาให้ คนที่เดินมาจากรถไฟฟ้าใต้ ดนิ ไม่ต้อง ข้ ามถนนเลยเพื่อเข้ าสูโ่ ครงการ ลานจอดรถและงานระบบแยกโครงสร้ างจากหอแสดงดนตรี ทงสอง ั้ เพื่อไม่ให้ เกิดเสียงที่เกิดจากแรงสัน่ สะเทือน ส่งผ่านไปตามโครงสร้ างหรื อ Structure Bound จาก Drop off ทางขวาเป็ นส่วนสานักงาน ใช้ เป็ นทังประชาสั ้ มพันธ์และจาหน่ายบัตรการแสดง รวมถึงช่วยScreen คนก่อนเข้ าไปในส่วนโรงเรี ยน ห้ องซ้ อมรวมวงใหญ่จคุ นมากวางไว้ ชนล่ ั ้ างเพื่อสะดวกคนเข้ าออกจานวนมาก อาคารเรี ยนชันล่ ้ างประกอบด้ วยห้ องพักครูและซ่อมเครื่ องดนตรี ตอ่ เนื่องกับส่วนสานักงาน ชันสองเป็ ้ นกลุ่มห้ อง บรรยายมีสะพานเชื่อมต่อกับแลนด์เสคปภายนอก ชันสามเป็ ้ นห้ องสตูดโิ อเรี ยนปฎิบตั ติ วั ต่อตัวเนื่องจากคนใช้ น้อยและใช้ ไม่กี่วนั ในสัปดาห์ทาให้ ลดภาระของลิฟต์ อาคารห้ องซ้ อม นักเรี ยนใช้ ชีวติ ส่วนใหญ่อยู่ที่ห้องซ้ อม ทังตอนพั ้ ก ตอนเย็น และวันหยุดด้ วย ดังนันจึ ้ งแยกเป้นอีก อาคารเพื่อความสะดสกในการเปิ ดปิ ด เนื่องจากเสียงสามารถส่งผ่านห้ องหนึ่งไปอีกห้ องได้ โดยทะลุผ่านกาแพง จึงออกแบบ ให้ แต่ละห้ องซ้ อมแยกตัวออกจากกัน ที่วา่ งที่เกิดขึ ้นนอกจากจะเป็ นที่พบปะพูดคุยของเพื่อนนักเรี ยนยังเป็ นที่ซ้อมและผ่อน คลายอิริยาบทหลังออกมาจากห้ องซ้ อมที่ผนังทึบตัน ฝั่ งซ้ ายของDrop Off เป็ นส่วนPublic ประกอบด้ วยพิพธิ ภัณฑ์ โรงอาหาร ด้ านที่มองเห็นแม่นา้ เจ้ าพระยา ประกอบด้ วยร้ านอาหารและห้ องสมุด
รูปที่ 6.3 ผังพื ้นชันผิ ้ วดินและใต้ ดนิ (ซ้ าย) ผังพื ้นชัน1(ขวา) ้
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l 63
รูปที่ 6.4 ผังพื ้นชัน2(บนซ้ ้ าย) ผังพื ้นชัน3(บนขวา) ้ ผังพื ้นชัน4(ซ้ ้ ายล่าง) การออกแบบอาคารซ้ อมดนตรี (ขวาล่าง) หอแสดงดนตรี เล็กขนาด250ที่นงั่ รองรับกิจกรรมที่หลากหลายทังคอนเสิ ้ ร์ตเล็ก การกบรรยายสัมนา เปิ ดให้ เห็น ทัศนียภาพแม่น ้าด้ วยผนังกระจกซ้ อนชัน้ ภายในเป้นสุญญากาศเพื่อกันเสียงรบกวน สร้ างความพิเศษจากสถานที่ฟังดนตรี ทัว่ ไปเพื่อดึงดูดคนเข้ ามาใช้ สถานที่ หอแสดงดนตรี หลักขนาด 1,100 ที่นงั่ อยู่ที่ชนเดี ั ้ ยวกัน เพื่อสามารถใช้ ห้องต่างๆใน Backstageร่วมกันได้ โดยห้ องที่ประทับจะอยู่ตรงกลางระหว่างหอแสดง ห้ องต่างๆจัดล้ อมตัวหอแสดงไว้ เพื่อช่วยกันเสียง รบกวนจากภายนอก ผนังและประตูทาเป็ นสองชันทั ้ งหมด ้
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l 64 - รูปตัดอาคาร โครงสร้ างของส่วนโรงเรี ยนเป็ น คสล. ผนัง Double Skin เนื่องจากปะทะกับทิศตะวันตก พื ้นใช้ ระบบFloating Floor หรื อการกลับคานมาอยู่ด้านบน โดยแผ่นพื ้นวางบนโครงสร้ างที่เป็ นยางเพื่อกันเสียงที่จะส่งทะลุระหว่างชัน้ โครงสร้ างส่วนหอแสดงดนตรี เป็ นครงสร้ างเหล็ก รูปแบบกล่องซ้ อนกันสองชัน(Box ้ in Box) เสาชุดหลักขึ ้นไปรับท รัสตัวใหญ่ซึ่งช่วยหิ ้วพยุงพื ้นที่ Cantileve ออกไป ผนังเป็ น Double Skin ใช้ วสั ดุ PTFE Mesh Fabric ซึ่งข้ อดีคือมีความโปร่ง สามารถมองเห็นทัศนียภาพภายนอกในขณะเดียวกันก็กนั แสงแดดที่จะสาดเข้ ามาในช่วงเวลาที่จดั คอนเสิร์ต นอกจากนี ้ยัง สามารถใช้ เป็ นฉากรับภาพให้ กบั การแสดงบนเวทีกลางแจ้ งได้ อีกด้ วย
รูปที่ 6.5 แผนภาพแสดงโครงสร้ างและวัสดุ(บน) รูปตัดอาคาร(ล่าง)
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l 65 - รูปด้ านอาคาร รูปทรงอาคารเรี ยบง่าย เรี ยบร้ อยตามพระจริยวัตรของสมเด็จพระพี่นาง ด้ วยลักษณะของวัสดุที่ดโู ปร่ง เบา ขาว สะอาด ทาให้ อาคารดูอ่อนโยนในยามกลางวัน และเมื่อคอนเสิร์ตในยามเย็นมาถึง แสงจากกิจกรรมภายในที่เรื องออกมาจะ ทาให้ วสั ดที่โปร่งดูหายไป เผยให้ เห็นความเคลื่อนไหวภายใน เปรี ยบเสมือนดวงโคม เป็ น Landmark ขนาดใหญ่ที่จะส่อง สว่าง เชิญชวน นาพาคนไปฟั งดนตรี คลาสสิค
รูปที่ 6.6 รูปด้ านอาคารทิศ เหนือ ใต้ ตะวันออก และตะวันตก
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l 66 - แบบขยาย รูปแบบที่นงั่ จัดในรูปแบบ vineyard style ต่างจากแบบดังเดิ ้ มคือย้ ายแถวที่นงั่ ที่ไกลจากเวทีกลับมาล้ อมรอบเวที ปราศจากกรอบเวที เป็ นการ Blur Boundaryระหว่างนักดนตรี และผู้ชมที่สามารถมองเห็นการเคลื่อนไหวร่ างกายจากการ เล่น และรับฟั งเสียงใกล้ แหล่งกาเนิดเสียง ทังเป็ ้ นผลดีกบั นักเรี ยนที่จะได้ สงั เกตุการณ์จากมุมมองภายในวง สามารถเห้ นสี หน้ าและท่าทางของวาทยากรได้ อย่างชัดเจน หลักการทาง Acoustic คือ เมื่อหอแสดงมีความกว้ างมากขึ ้นจึงยกกลุม่ ที่นงั่ ด้ านข้ างให้ สงู ขึ ้นเพื่อสะท้ อนเสียงไป ยังที่นงั่ ตรงกลางหอ รวมถึงการใช้ ฝ้านอนและฝ้าตังรอบๆหอแสดงในการสะท้ ้ อนเสียง โดยที่ความต่างของ Direct Sound และ Reflect Sound ต้ องไม่เกิน 30 เมตรเพื่อไม่ให้ เกิด echo ใช้ สงู ตรปริมาตรหอแสดงเท่ากับ10ลบม.ต่อ1ที่นงั่ เพื่อให้ ได้ คา่ RT ประมาณ 2 วินาที
รูปที่ 6.7 ภาพอธิบายการออกแบบหอแสดงดนตรี
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l 67 - รูปทัศนียภาพภายนอกและภายในอาคาร
รูปที่ 6.8 ทัศนียภาพภายนอกอาคารซ้ อม(บน) ทัศนียภาพภายในอาคารซ้ อม(กลาง) ทัศนียภาพภายในโถงพักคอย(ล่าง)
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l 68
รูปที่ 6.9 ทัศนียภาพจากแม่น ้าเจ้ าพระยา - หุ่นจาลอง
รูปที่ 6.10 ภาพหุ่นจาลองบริเวณร้ านค้ า(บน) ภาพหุ่นจาลองอาคารเรี ยน(ล่าง)
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l 69
รูปที่ 6.11 ภาพหุ่นจาลองแสดงเผลือกอาคาร(บนซ้ าย) หุ่นจาลองอาคารซ้ อม(บนขวา) ภาพหุ่นจาลองรวมทังโครงการ(ล่ ้ าง)
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l 70
07 บทสรุ ปและข้ อเสนอแนะ สวัสดีน้องๆ ที่กาลังเลือกโปรเจคธีสสิ หวังว่าเรื่ องเล่าต่อไปนี ้จะช่วยน้ องได้ โปรเจคนี ้มีความยากอยู่หลายอย่าง ด้ วยกัน ข้ อแรก ก่อนเลือกไซต์เราควรเห็นภาพโครงการคร่าวๆ ไซต์รูปทรงแบบพี่(ทางเข้ าเล็กๆบานข้ างใน) เป็ นไซต์ที่ยาก และมีปัญหามากทังรู้ ปทรงและบริบท โดยเฉพาะเรื่ องระบบการจราจร การแก้ ไขใช้ เวลาไปหลายครัง้ ตรวจแบบ ข้ อสอง การวางผังบริ เวณเป็ นเรื่ องที่ภาคเรามักจะไม่ชานาญ หากไม่ใช่โครงการเช่นรี สอร์ ทที่ดผู งั บริ เวณเป็ นสาคัญ จะทาให้ เราเอา เวลาที่ควรไปทาอย่างอื่นมาคิดเรื่ องนี ้ ข้ อสาม ถ้ าไม่ชอบเรื่ องโครงสร้ างเหล็ก หรื อพาดช่วงกว้ าง อย่าทาคอนเสิร์ตฮอล ข้ อ สี่ การทาเธียร์ เตอร์ คอนเสิร์ตฮอลใดๆ ต้ องการความรู้เชิงเทคนิคสูง ต้ องพึง่ พาอาจารย์ทงในและนอกกลุ ั้ ่ม ปรึกษาคน ภายนอก และอ่าน textbook เยอะมาก กว่าจะเข้ าใจแตกฉาน บุ๊คพี่แต่ละคนให้ ข้อมูลที่ไม่ตรงกัน สาหรับเล่มนี ้พี่รีเช็ค หนังสืออ้ างอิงหลายเล่มและรวมจากบุ๊คพี่ๆบ้ าง แม้ พี่จะแน่ใจในความถูกต้ องแต่ก็เป็ นเนื ้อหาโดยย่อและสรุป การอ่าน หนังสือเองไปด้ วยจะทาให้ น้องเข้ าใจได้ มากกว่า ข้ อห้ า รูปแบบการจัดที่นงั่ vineyard เป็ นรูปแบบที่ไม่มีธีสสิ พี่ให้ ดเู ป็ น ตัวอย่างมาก่อน ดังนันการพลอตเส้ ้ นสายตาและการสะท้ อนเสียงที่น้องเห็นในงานพี่เกิดจากการใช้ หลักพื ้นฐาน ผสมกับ การศึกษาจากcase เอาplan และ section ของทุกที่ที่หาได้ มาลองลากเส้ นเสียง/สายตาทับดู ซึ่งผลปรากฏว่าบางแห่งเราไม่ สามารถตอบได้ วา่ ทาไมมันถึงออกมาขอบย้ วยๆเช่น philharmonic de Paris ของ Jean Novel พี่จึงใช้ Bing Concert Hall ซึ่งสามารถอธิบายที่มาความโค้ งของระนาบต่างๆได้ มาอ้ างอิง เรื่ องนี ้ค่อนข้ างซับซ้ อนถ้ าอยากถามเพิม่ ก็อีเมลมา Saraleesit@hotmail.com นะคะ ข้ อหก คอนเสิร์ตฮอลมีเรื่ องให้ คดิ เยอะมาก โรงเรี ยนก็เช่นกัน หากชอบทาโรงเรี ยนมากกว่าให้ ทา คอนเสิร์ตฮอลเล็กๆเป็ น Recital จะได้ มีเวลาให้ โรงเรี ยน ข้ อเจ็ด งานนี ้เป็ นงาน Function แต่ด้วยความที่เป็ นโรงเรี ยน ” ดนตรี ” ความสวยและคอนเสปจะถูกคาดหวัง โครงการในลักษณะนี ้ อาจารย์จะดูเรื่ องอะไรเป็ นสาคัญในการตรวจ ? ข้ อแรก การวางผังและcirculation การ จัดการคนนอกคนใน คนจานวนมากที่มาคอนเสิร์ตเข้ าออกพร้ อมๆกัน ทางเสด็จ ทางคนพิการ ข้ อสอง หลักสูตรปรากฏ ออกมาในแบบอย่างไร ข้ อสาม เรื่ องเชิงเทคนิคการออกแบบฮอล งานระบบต่างๆต้ องตอบได้ ข้ อสี่ แม้ จะใช้ เกณฑ์คะแนน ของโรงเรี ยนในการตรวจ แต่ด้วยความที่คอนเสิร์ตฮอลใหญ่ คนก็มกั จะมองหาเรื่ องความงามและแนวคิดในรูปทรงด้ วย ส่วนตัวพี่คดิ ว่าธีสสิ เป็ นการสอบความรู้ที่สงั่ สมมา เวลามันน้ อยเกินกว่าจะเรี ยนรู้ของที่ไม่ชินมือเลย มันไม่ใช่การ ทดลองเรื่ องที่อยากทา ถ้ าน้ องอยากชิว ขอให้ เลือกโปรเจ็คที่เคยทามาแล้ วในสตู หรื อโปรเจคที่อาจารย์ในกลุ่มชานาญ ที่ สาคัญต้ องแน่ใจว่าหาข้ อมูลได้ มีคนรู้จกั ในวงนี ้มากพอ และถามตัวเองว่าอยากได้ อ ะไรจากงานนี ้ อยากเอาอะไรใส่พอร์ ต อย่างตอนพี่เลือกพี่ชอบเรื่ องเมืองและชีวติ คนในเมืองจึงเลือกอาคารที่เป็ น Public Building ธีสสิ เป็ นเรื่ องของจิตใจล้ วนๆ บางคนงานพังเพราะใจพังทังๆที ้ ่มือดี คนที่ไม่อยากเป็ นสถาปนิกไม่คาดหวังกลับทาไปอย่างมีความสุข ขอให้ ใจเย็นและมี สติ อย่าเปรี ยบเทียบ! งานแต่ละชิ ้นมี Nature ที่ไม่เหมือนกัน บางคนช่วงแรกงานจะไวไปช้ าดีเทล บางคนใช้ เวลาวางผังนาน กว่า บางคนฟอร์ มวืดไปแล้ ว แต่ของเราสาระอาจไม่ใช่ฟอร์ มเป็ นต้ น และสุดท้ ายขอให้ เป็ นงานที่น้องชอบและภูมใิ จ อาจารย์ 30 คนไม่มีทางชอบของตรงกัน(อาจารย์ท่านนึงกล่าวว่างานของเพื่อนพี่ดีที่สดุ ในรอบสิบปี ขณะที่อาจารย์อีกท่านให้ Cเพื่อน คนนัน) ้ ประเด็นคือน้ องต้ องมีเหตุผลรองรับการกระทาตัวเอง ไม่นงั่ เทียนเขียน และของเรื่ องพื ้นฐานต้ องไม่ผดิ
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l 71
บรรณานุกรม ภาษาอังกฤษ การจัดพืน้ ที่ใช้ สอย - Ogawa. T, Theather Engineering and StageMachinery. Heartfordshire: Entertainment Technology Press, c2001 - Birgit schmolke, Construction and design manual theatres and concert halls, ArchitectureSingapore : Page One, c2011 - Ernst and Peter Neufert, Architect’s data, Oxford : Blackwell Sceince , c2006. - Joseph De Chiara and Michael J. Crosbie, Time-saver standards for building types, New York : McGraw-Hill, c2001 - Wenger Corporation, Wenger Planing Guide for school music facilities, Owatonna: Wenger Corporation, c2010 - Lawson. Fred, Congress Convention and Exhibition Facilities: Planning, Design and Management, Newyork: Architectural Press, c2000 การออกแบบอคูสติก - Barron M, Auditorium Acoustic and Architectural Design, Newyork : Spon Press, 2010 - William. J, Architectural Acoustics: Principles and Practice, Hoboken : John Wiley & Sons, c2009 - Leslie L. Doelle, Environmental acoustics, Newyork : McGraw-Hill, c1972 - Rossing. T.D., Springer Handbook of Acoustics, New York : Springer Science+Business Media, LLC : c2007 - Newhouse V, Site and Sound, 2007, New York : The Monacelli Press: c2012
ภาษาไทย การจัดพืน้ ที่ใช้ สอย - สุรพล วิรุฬรักษ์ . โรงละคร:แนวคิดการออกแบบ.กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์จฬุ าลงกรณ์ , 2546 การศึกษา - ณรุทธ์ สุทธจิตต์. จิตวิทยาการสอนดนตรี .กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์จฬุ าลงกรณ์ , 2541 - ณรุทธ์ สุทธจิตต์. พฤติกรรมการสอนดนตรี .กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์จฬุ าลงกรณ์ , 2538
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l 72 - ณรุทธ์ สุทธจิตต์. สาระดนตรี ศกึ ษา: แนวคิดสูป่ ฎิบตั ิ.กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์จฬุ าลงกรณ์ , 2535 ดนตรี คลาสสิก - คมสันต์ วงวรรณ์. ดนตรี ตะวันตก. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์จฬุ าลงกรณ์ , 2551 - อติภาพ ภัทรเดชไพศาล.ดนตรี พื ้นที่ เวลา. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์Openbook, 2553 การออกแบบอคูสติก - สราวุฒิ โสนะมิตร. ปั จจัยสาคัญในการออกแบบห้ องประชุมเพื่อสร้ างคุณภาพเสียงที่ดี. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต ภาควิชาสถาปั ตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย , 2551 อื่นๆ - Jan Gehl. เมืองมีชีวติ . กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์ลายเส้ น พับบริชชิ่ง, 2556
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l 73
ภาคผนวก ภาคผนวก ก
การออกแบบอคูสติก
ก-1 ความรู้เบือ้ งต้ นเรื่องเสียง เสียงเป็ นพลังงานคลื่น เกิดจากการสัน่ สะเทือนของตัวกลาง เดินทางผ่านได้ ทงของแข็ ั้ งของเหลว และก๊ าส โมเลกุล ของตัวกลางจะสัน่ ต่อเนื่องกันไป เมื่อเสียงตกกระทบกับระนาบต่างๆ จะมีส่วนหนึ่งสะท้ อนกลับ ส่วนหนึ่งถูกวัสดุดดู ซับไว้ และอีกส่วนที่ทะลุผา่ นไป มนุษย์สามารถได้ ยินเสียงที่ความถี่ 20-20,000 เฮิรตซ์ คลื่นความถี่สงู เราจะได้ ยินเสียงสูง ความถี่ต่าได้ ยินเสียงต่า พลังงานหรื อความเข้ มของเสียงมีหน่วยเดซิเบล ซึ่งจะปลอดภัยต่อหูมนุษย์เมื่อเสียงดังไม่เกิน 120 เดซิเบล เสียงเดินทางได้ เร็วในอากาศร้ อน และเสียงยังถูกพัดพาไปกับลม ดังนันผู ้ ้ ที่อยู่เหนือลมจะได้ ยินเสียงที่แผ่วเบา ขณะผู้ที่อยู่ใต้ ลมจะได้ ยิน เสียงแม้ ว่าจะอยู่ไกลออกไป1 ในหอแสดงดนตรี จะมีคลื่นสองลักษณะที่ได้ ยินคือ เสียงที่ตรงเข้ าสูห่ ขู องผู้ฟังและเสียงที่กระจายออกไปกระทบ กับวัตถุตา่ งๆ และสะท้ อนเข้ าสูห่ ูผ้ ฟู ั ง ในการฟั งดนตรี คลาสสิกนันเสี ้ ยงสะท้ อนมาครัง้ แรกหรื อ Laterlization เป็ นเสียงที่น่า พอใจกว่าเสียงโดยตรง ดังนันการเลื ้ อกรูปทรงของหอแสดง และวัสดุรอบๆจึงเป็ นเรื่ องสาคัญ
รูปที่ ก.1 มุมตกกระทบเท่ากับมุมสะท้ อน(ซ้ าย) เมื่อเสียงชนกับผนัง(ขวา) โค้ งเว้ า Concave เป็ นสิง่ ที่ควรหลีกเลี่ยง เมื่อเสียงตกกระทบพื ้นผิวจะสะท้ อนกลับมารวมที่จดุ โฟกัส Sound Foci ก่อเกิดความราคาญขึ ้นแก่ผ้ ชู มในจุดนัน้ แก้ ไขได้ ด้วยออกแบบให้ จดุ นันอยู ้ ่สงู เหนือศรี ษะผู้ชม หรื อเกิดในช่องทางเดินแทน อาจใช้ วสั ดุซบั เสียงหรื อกระจายเสียง ขณะที่โค้ งนูน Convex เสียงที่ตกกระทบจะกระจายออกไป การจัดการอคูสติกในหอแสดงดนตรี เพื่อ ความดังเสียงมีความใกล้ เคียงกันในทุกที่นงั่ โดยเฉพาะที่นงั่ ที่ห่างออกไป เสียงมีความสม่าเสมอ ค่า RT เหมาะสม ป้องกันปรากฎการณ์บกพร่องต่างๆของเสียง และป้องกันเสียงรบกวน
1
Time Life. 2544. ฟิ สิกส์ และพลังงาน เล่ ม2 จาก หนังสือชุด ขุมทรั พย์ โลกวิทยาศาสตร์ . พิมพ์ครัง้ ที่4 . กรุ งเทพ: อมริ นทร์ พริ น้ ติ ้ง.
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l 74
รูปที่ ก.2 การสะท้ อนของคลื่นเสียงบนระนาบแบบต่างๆ
ก-2 รูปทรงหอแสดงดนตรี มีงานวิจยั หลายงานกล่าวว่า รูปทรงที่เหมาะกับการแสดงดนตรี คือทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้ าหรื อกล่องรองเท้ า (Shoebox) เนื่องจากเกิด เสียงสะท้ อน(Lateral Sound) มาก และยังพบในหอแสดงดนตรี ที่คณ ุ ภาพดีหลายแห่งในโลก สัดส่วนห้ อง กว้ าง : ยาว เป็ น 1:1.2 ความยาวของห้ องที่รับฟั งเสียงที่ดีได้ ต้ องไม่เกิน 2 เท่าของความกว้ าง ส่วนรูปพัดจะเหมาะสาหรับใช้ เพื่อชมการแสดงมากกว่าการรับฟั งเสียงดนตรี เพราะเสียงดนตรี ที่มีความถี่สงู จะไม่ กระจายเสียงไปด้ านข้ างทัว่ ห้ องประชุม เนื่องจากคลื่นเสียงของความถี่สงู นี ้จะมีขนาดเล็กเดินทางเป็ นทิศทางตรง ไม่ กระจายออกไปทางกว้ างเช่น เสียงของไวโอลิน ฉิ่ง ส่วนคลื่นเสียงของความถี่ต่ามีขนาดใหญ่จะกระจายออกได้ มากทัว่ ห้ อง เช่น เสียงเบส เพราะฉะนันผู ้ ้ ที่นงั่ อยู่กลางห้ องประชุมเท่านันที ้ ่จะได้ ยินและรับฟั งเสียงสูง เช่น เสียงของไวโอลินได้ ชดั เจน ส่วนผู้ที่อยู่บริเวณสองข้ าง ของห้ องจะได้ ยินเสียงน้ อยลงไปมาก แต่ถ้าเป็ นการชมการแสดงผู้ชมที่นงั่ ด้ านหลังก็จะขยับเข้ า ใกล้ เวทีการแสดงกระจายออกไปทางด้ านข้ างทาให้ สามารถชมการแสดงได้ ชดั เจนขึ ้น รูปวงกลมเหมาะสาหรับการชกมวย หรื อการแข่งขันกีฬา เช่นบาสเกตบอล วอลเล่ย์บอล มากกว่าการแสดงละคร หรื อดนตรี สิง่ ที่ควรระวังในการออกแบบห้ องประชุมประเภทนี ้ คือ การเกิดเสียงสะท้ อนรวมกัน (Sound Foci) ขึ ้นได้
รูปที่ ก.3 ออดิทอเรี ยมรูปพัด(ซ้ าย) ทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้ า (ขวา)
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l 75 ก-3 ค่ าการส่ งผ่ านเสียง STC (Sound Transmission Class) เป็ นค่าเพื่อใช้ ประเมิณประสิทธิภาพในการกันเสี ้ ยงของวัสดุ ตัวเลขที่แสดงหมายถึงปริมาณของเสียง(เดซิเบล) ที่ ถูกลดทอนก่อนส่งผ่านออกไป ดังนันหากเลขมากหมายถึ ้ งผนังนันกั ้ นเสี ้ ยงได้ ดี ทาให้ ห้องไม่สง่ เสียงรบกวนภายนอกหรื อมี ความเป็ นส่วนตัวสูง เช่น เสียงในห้ องดัง 100 เดซิเบล วัดค่าภายนอกห้ องได้ 30 เดซิเบล หมายความว่าผนังนันมี ้ คา่ STC เท่ากับ 70
ตาราง ก.1 ค่าการส่งผ่านเสียง STC (Sound Transmission Class)
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l 76 ก-5 ค่ าเสียงรบกวน (NC : Noise Criteria) เกณฑ์มาตรฐานควบคุมเสียงรบกวนในห้ องแต่ละประเภท
ตาราง ก.2 ค่าเสียงรบกวน (NC : Noise Control) ก-6 เวลาสะท้ อนกลับของเสียง RT (Reverberation Time) เวลาสะท้ อนกลับของเสียงที่คงเหลืออยู่เมื่อต้ นเสียงหยุดแล้ ว หรื อค่าการจางหายของเสียงที่มีความดัน 60 เดซิ เบล มีหน่วยเป็ นวินาที ซึ่งพื ้นที่การใช้ งานแต่ละชนิดต้ องการค่า RT ที่แตกต่างกัน
ตาราง ก.3 ค่าเวลาสะท้ อนกลับของเสียง RT (Reverberation Time)
ถ้ าค่า RT น้ อย ผู้ฟังจะรู้สกึ ว่าดนตรี นนขาดชี ั้ วติ ชีวา อาจเรี ยกว่าเสียงตายหรื อแห้ ง หาค่า RT มากเกินไป หมายถึง เสียงก้ องกังวาลมากขึ ้น อาจรบกวนได้ ซึ่งค่า RT ที่เหมาะสมของพื ้นที่ใช้ สอยหนึ่งๆจะแตกต่างกันตามช่วงความถี่ของเสียง ในกรณีหอแสดงดนตรี ออร์ เคสตรา ซึ่งประกอดจากเครื่ องดนตรี หลากหลายชนิดอันผลิตเสียงหลายความถี่ เราจะพิจารณา ค่าRT ที่ 500 เฮิร์ต ซึ่งเป็ นค่าตรงกลางของดนตรี คลาสสิก
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l 77 สูตรคานวน RT
=
0.165 V/A
V ปริมาตรของห้ อง A ค่าดูดซับเสียงรวมของห้ อง (Sabine, m3) A
=
S1 α1 + S2 α2 + …… Sn αn
S 1,2,3 พื ้นที่ผวิ ห้ องด้ านหนึ่งๆ หน่วยตารางเมตร α 1,2,3 สัมประสิทธิ์การดูดซับเสียง สัมประสิทธิ์การดูดซับเสียง มาจากเสียงที่หายไปจากการดูดต่อเสียงเดิม วัสดุดดู ซับเสียงได้ ดีมีลกั ษณะ เป็ นเส้ นใย พรุน เมื่อคลื่นเสียงมากระทบ แรงดันในอากาศจะขยับเส้ นใยนัน้ ทาให้ เปลี่ยนเป็ นพลังงานกล เสียงจึงมีพลังงานน้ อยลง ในขณะที่วสั ดุที่แข็ง มวลมาก จะสะท้ อนเสียงได้ ดี ค่าสัมประสิทธิ์ดไู ด้ จากตาราง
ตาราง ก.4 สัมประสิทธิ์การดูดซับเสียง
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l 78 ก-7 ปริมาตรห้ อง ปริมาตรของห้ องส่งผลต่อค่า RT วิศวกรรมเสียงมีตารางเปรี ยบเทียบปริ มาตรต่อคนไว้ เพื่อความสะดวกของ สถาปนิก สามารถคานวณหาขนาดของห้ องได้ ในเบื ้องต้ น หน่วยลูกบาศก์เมตร/ ที่นงั่
ประเภท ห้ องบรรยาย หอแสดงดนตรี โรงอุปรากร โบสถ์คริ สต์ หอประชุมอเนกประสงค์ โรงภาพยนต์
ขัน้ ต่า 2.30 6.20 4.50 5.70 5.10 2.80
กลาง 3.10 7.80 5.70 8.50 7.10 3.50
สูง 4.30 10.80 7.40 12.00 8.50 5.10
ตาราง ก.5 ปริมาตรของหอแสดงดนตรี ที่มา : Leslie L. Doelle.Environmental Acoustic (หน้ า52) จากข้ อมูลในตาราง หลังจากได้ ขนาดพื ้นที่จากการคูณตารางเมตรต่อคน ประสงค์ ก็จะสามารถหาความสูงห้ องได้
โดยกว้ างต่อยาวตามสัดส่วนที่พงึ
ก-8 ปรากฏการณ์ ของเสียง 1 การเหลื่อมกันของเสียง Time Delay และ เสียงสะท้ อน Echo เสียงแม้ ว่าจะเดินทางผ่านตัวกลางเดียวกัน หากมีระยะทางต่างกันทาให้ เดินทางมายังผู้ฟังในเวลาต่างกันจะเกิด การเหลื่อมของเสียงขึ ้น หูและสมองของมนุษย์จะรวมเสียงที่สะท้ อนมาใน 60 มิลลิวนิ าทีแรกได้ ตามปกติเสียงเดินทางได้ ประมาณ 300 เมตรต่อวินาที ดังนันใน60 ้ มิลลิวนิ าทีเสียงเดินทางได้ 18.00 เมตร หากเกิน 18.00 เมตรจะเกิดเสียงล่าช้ าแหบ พร่าซ้ อนกัน และหากต่างกันเกิน 100 มิลลิวนิ าที หรื อ 30 เมตรก็จะเกิดเสียงสะท้ อน(echo) การคานวน R1 + R2 ควรต่างกับD ไม่เกิน 30 เมตร ถ้ า นอกจากพิจารณาบริเวณที่นงั่ ฟั งแล้ วยังต้ องพิจารณาพื ้นที่ บนเวทีด้วย หากเสียงล่าช้ ามากเกินไปส่งผลต่อการเล่นรวมวงของนักดนตรี
รูปที่ ก.4 ปรากฏการณ์ของเสียง
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l 79 2 การรวมของเสียง Sound Foci เกิดจากโค้ งเว้ า รวมเสียงไปที่จดุ ๆหนึ่ง เสียงแทรกสอดกัน อาจจะดังเป็ นสอง เท่า หรื อเกิดจุดบอดเสียง 3 จุดบอดเสียง Dead Spot เสียงที่คลื่นแทรกสอดบริเวณเบาตรงกัน ทาให้ ได้ ยินเสียงไม่ชดั เจน มักเกิดใน ตาแหน่ง 2 ใน 3 ส่วนนับจากเวที 4 เสียงสะท้ อนกลับไปกลับมา Flutter Echo เกิดกับผนังที่ขนานกันสองด้ าน แก้ ได้ โดยการเอียงผนังอย่างน้ อย 5 องศา , ติดวัสดุการจายหรื อซับเสียง 5 จุดอับเสียง Acoustic Shadow ที่นงั่ ที่โดนบัง เช่น ระเบียงที่นงั่ ชันบน ้ 6 เสียงเพีย้ น Distortion การเปลี่ยนคุณภาพเสียงโดยไม่ตงใจ ั ้ เกิดจากวัสดุที่เลือกใช้ สง่ ผลต่อความถี่ต่างๆไม่ เท่ากัน หลีกเลี่ยงโดยใช้ เลือกวัสดุที่ดดู ซับเท่ากันในทุกย่านความถี่เสียง
ก-9 สรุปหลักการออกแบบอคูสติก 1.ส่ วนการเรียนการสอน - การกันห้ ้ องควรแยกขาดออกจากกัน กาแพงสูงติดโครงสร้ างพื ้นชันบนหรื ้ อหลังคา เลือกวัสดุที่มีมวลมาก มีช่อง อากาศ หรื อสอดไส้ ด้วยฉนวน มีการยาแนวรอยต่อวัสดุทงหมด ั้ โดยกาแพงต้ องมีคา่ STC 60 เป็ นอย่างน้ อย - แยกกลุม่ ของห้ องต่างๆตามความดังเสียงที่เกิด อาจใช้ พื ้นที่ไม่มีการใช้ งานบ่อยเช่นห้ องเก็บของ หรื อ ทางเดิน เป็ นตัวกันระหว่ ้ างพื ้นที่เกิดเสียง - คานึงถึงพื ้นผิวของระนาบที่อยู่นอกห้ องเกิดเสียงด้ วย เนื่องจากเมื่อเวลาเปิ ดประตูเสียงสามารถเดินทางออก มาแล้ วสะท้ อนไปยังห้ องอื่นๆ อาจมีการติดวัสดุซบั เสียงที่จดุ นันๆ ้ - แยกห้ องงานระบบออกไปเพื่อป้องกันเสียงและแรงสัน่ สะเทือนที่มากับโครงสร้ าง - ใช้ หลอดไฟ LED หรื อ ฟลูออเรสเซนต์ที่มี Quiet-rated ballast เพื่อกาจัดเสียงที่เกิดจากการเปิ ดไฟ - ระบบปรับอากาศ HVAC ท่อลมต้ องมีขนาดใหญ่กว่าปกติเพื่อลดความเร็ วลมอันก่อเกิดเสียงดัง วางแนวการเดิน ท่อนอกกลุม่ ห้ องเรี ยนเพื่อป้องกันเสียงเดินทางผ่านท่อข้ ามห้ อง รวมถึงใช้ ฉนวนกันเสียงติดตังในท่ ้ อลม - การติดตังวั ้ สดุสะท้ อนและหักเหเสียง รวมถึงปริมาตรห้ องเพื่อค่า RT ที่เหมาะสม - ระมัดระวังการเลือกวัสดุและตาแหน่งเฟอร์ นิเจอร์ ในห้ องเรี ยนห้ องซ้ อมเพราะเป็ นผนังหนึ่งซึ่งมีผลต่อเสียง - หลีกเลี่ยงรูปทรงที่ทาให้ เกิดการระเบิดของเสียง เช่น โดม โค้ งเว้ า
รูปที่ ก.5 วิธีที่เสียงเดินทางข้ ามห้ อง
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l 80 2. หอแสดงดนตรี - ต้ องปราศจากเสียงรบกวน จึงแยกห้ องซ้ อมและงานระบบออกไป ใช้ พื ้นที่ไม่เกิดเสียงมาคัน่ เช่นเดียวกับโรงเรี ยน ทาประตูสองชัน้ หลีกเลี่ยงบานเลื่อนและบานม้ วนพับ พื ้นที่รอบๆ เช่นทางเดิน และโถง (foyer) ติดวัสดุดดู ซับเสียง - ปริมาตรที่เหมาะสม ส่งผลต่อค่า RT - ใช้ เพดานและผนังในการสะท้ อนเสียงไปยังผู้ชม หลังห้ องติดวัสดุซบั เสียงป้องกันการเกิดเสียงเสียงก้ อง(echo)
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l 81
ภาคผนวก ข การออกแบบที่น่ ังหอแสดงดนตรี ข-1 การมองเห็น แนวสายตา (Sight line) มุมมองปกติในแนวราบ กว้ าง 40 องศา เป็ นระยะที่ไม่ต้องเอียงคอเพื่อมองเห็น ใน 15 เมตร เห็นสีหน้ าของผู้แสดงชัดเจน 22.50 เมตร ยังมองเห็นท่าทาง 37.50 เมตร แยกแยะตัวละครได้
รูปที่ ข.1 ความกว้ างขององศาการมอง
รูปที่ ข.2 ตาแหน่งที่คนจะเลือกนัง่ เมื่อเลือกได้ อย่างอิสระ จากนิยมที่สดุ A ไปน้ อยที่สดุ F (ซ้ าย) และไม่นิยม เลือกที่นงั่ ที่เกิน 100องศา จากขอบของกรอบภาพเวที (ขวา) ที่มา : Joseph De Chiara and Michael J. Crosbie, Time-saver standards for building types
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l 82 ข-2 ขนาดของที่น่ ัง
รูปที่ ข.3 ระยะต่างๆของที่นงั่ ข-3 การจัดที่น่ ัง Continental Seating ที่นงั่ เรี ยงต่อกันไม่จากัดจานวนเก้ าอี ้ ข้ อดีคือมีความต่อเนื่องของอารมณ์ระหว่างผู้ชม แต่ การเข้ าถึงและลุกออกลาบาก จึงต้ องการระยะระหว่างแถวมากกว่า ทาให้ ห้องลึกกว่าเดิม ระยะระหว่างแถวนับจากหลังถึง หลังเบาะ ควรกว้ างอย่างน้ อย 0.95-1.05 เมตร Conventional Seating มีความปลอดภัยและสะดวก แต่จะเสียที่นงั่ ที่ดีและเป็ นที่ต้องการไป ระยะระหว่างแถวนับ จากหลังถึงหลังเบาะ ควรกว้ างไม่น้อยกว่า 0.80 เมตร เพื่อการอพยพอย่างทันท่วงทีในกรณีเกิดเหตุฉกุ เฉิน การจัดเก้ าอี ้ควร ไม่เกิน 7 ที่นงั่ ต่อทางเดินหนึ่งฝั่ ง ดังนันถ้ ้ ามีทางเดินขนาบ 2 ฝั่ ง มีเก้ าอี ้กได้ 7 ตัว โดยที่ระยะระหว่างแถวไม่น้อยกว่า 82.50 เซนติเมตร ทางเดินที่คนั่ ระหว่างที่นงั่ ควรมีลกั ษณะตรงเป็ นรัศมีออกจากจุดศูนย์กลางจะดีกว่าแบบตังฉากกั ้ บเวที หรื อแบบ โค้ ง ที่การเดินของดนอาจรบกวนผู้ชมที่นงั่ อยู่
รูปที่ ข.4 ซ้ ายลักษณะการจัดที่นงั่ (ซ้ าย) จุดศูนย์กลางความโค้ ง(ขวา) ที่มา : Joseph De Chiara and Michael J. Crosbie, Time-saver standards for building types เมื่อทุกแถวประจันหน้ าเข้ าสูเ่ วที การโค้ งเล็กน้ อยโดยจุดศูนย์กลางอยู่บนแนวแกนกลาง ด้ านหลังเวที เพื่อมุมมอง ที่ดีขึ ้นและจดจ่ออยู่กบั การแสดง ซึ่งที่นงั่ รูปพัดมีจานวนที่นงั่ มากที่สดุ ที่ยงั คงประสิทธิภาพการมอง และเนื่องจากการแสดง ดนตรี นนมี ั ้ ทิศทางมองลง พนักเบาะจะสูงถึงไหล่ตา่ งจากโรงภาพยนต์ที่พงิ ศรี ษะได้ ที่นงั่ จาเป็ นต้ องสลับหว่างเพื่อการ มองเห็นที่ดีกว่า
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l 83 ข-4 รูปตัด แนวสายตาในแนวตังจะมี ้ มมุ 30 องศา ที่ยงั มีประสิทธิภาพในการรับรู้ภาพ การกาหนดรูปตัดคิดในแนวกลางหอ แสดง แถวที่อยู่หน้ าที่สดุ ระดับสายตาจะอยู่ในตาแหน่งที่มองเห็นพื ้นเวทีได้ ลากมุม 30 องศา จากจุดสูงสุดของวัตถุสาคัญ บนเวที อาจหมายถึงจอภาพ นักแสดง แล้ วแต่การแสดง มายังระดับสายตา จะได้ ตาแหน่งตาของที่นงั่ แถวแรก จากจุดนี ้ลง ไปด้ านล่าง 110 ซม. และด้ านหน้ า 45 ซม จะเป็ นจุดปลายของตาแหน่งเก้ าอี ้ เหนือตาแหน่งสายตา 12.50 ซม. เป็ นระดับพ้ นศรี ษะแถวแรก ลากเส้ นจากจุดนี ้ไปจนถึงขอบเวทีจะถือเป็ นระดับ สายตาของแถวถัดไป
รูปที่ ข.5 วิธีลากเส้ นสายตาเพื่อสร้ างรูปตัดหอแสดงดนตรี ที่มา : Joseph De Chiara and Michael J. Crosbie, Time-saver standards for building types กาหนดระยะระหว่างแถววัดจากหลังเบาะ-หลังเบาะ (ระยะนี ้หลากหลายขึ ้นอยู่กบั รูปแบบที่นงั่ ) ทาซ ้าขันตอนนี ้ ้ไป เรื่ อยๆ เมื่อลากเส้ นต่อจุดจะได้ รูปตัดของหอแสดง ในขณะที่เส้ นสายตาจากระเบียง ทาได้ โดยลากเส้ นจากแถวสุดท้ ายทา มุม 30 องศากับพื ้นราบ
สรุป เส้ นสายตาเป็ นตัวกาหนดลักษณะความแผ่ และความกว้ างของหอแสดง ข้ อจากัดของการมองเห็นกาหนดความ ลึก ระยะห่างจากเวที องศาการมอง เป็ นตัวกาหนดรูปตัด
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l 84
ภาคผนวก ค
หลักสูตรและจานวนห้ องเรี ยน
ค-1.กลุ่มวิชาที่เปิ ดสอน กลุม่ วิชาทักษะปฏิบตั ิ ทักษะวิชาเอก (Major Skill) การบรรเลงรวมวง (Chamber Music) ปฏิบตั กิ ารทักษะดนตรี (Practice Lab) และ ทักษะผู้แสดงดนตรี (Performing Musicianship) กลุม่ วิชาสร้ างเสริ มวิชาชีพ และกลุม่ วิชาเลือกเสรี รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงความรู้ดนตรี ผ่านกลุ่มรายวิชาที่ ครอบคลุมความเชี่ยวชาญเฉพาะต่างๆทางด้ านดนตรี กลุม่ วิชาศึกษาทัว่ ไป ความรอบรู้และความสามารถที่จะเข้ าใจความเปลี่ยนแปลงขององค์ความรู้ต่างๆ ได้ โดยวิชาในกลุม่ นี ้ ประกอบไป ด้ วย หมวดวิชามนุษยศาสตร์ (เลือกอย่างน้ อย 6 หน่วยกิต) สังคมศาสตร์ ภาษา วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ (เลือกกลุม่ ละอย่างน้ อย 8 หน่วยกิต) โดยนักศึกษาสามารถที่จะเลือกเรี ยนได้ ตามความสนใจ รายชื่อวิชาและหน่ วยกิต 1. Core (minimum 96 credits) -Artistic Practices (64 credits) Major Skill 1 - 8 (4 credits) Chamber Music 1 - 8 (2 credits) Performing Musicianship 1 - 8 (2 credits) Practice Lab 1 - 8 (no credits) -Contextual (32 credits) Recital Project 1 - 5 (2 credits) Research Project in Music (2 credits) Graduate Recital (6 credits) Education Populaire 1 - 6 (1 credit) 2. Music Academic Studies (6 credits) and Elective (at least 6 credits) (2 credits per subject) - Performance Performance Practices Interpretation Through Improvisation Style Analysis Contemporary Music Studies - Theory and Composition Theory in Practices I Theory in Practices II
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l 85 Form and Analysis Instrumentation Composition Free Composition - Music and Technology Recording Technology and Sound Production Performing with Technology Music and Digital Media - Musicology and Ethnomusicology World Music Theory and Concepts in Musicology Theory and Concepts in Ethnomusicology - Pedagogy and Special Topics Pedagogy I Pedagogy II Current Topics in Music International Music Perspective 3.General Education (minimum 30 credits) - Humanities (6 credits) Philosophy and Aesthetics Man and Music Man and Creativity Classical Music in a Global Context ASEAN Cultural Landscape Through Music Myth and Ritual of ASEAN ASEAN Way of Life ASEAN Musical Identities ASEAN World Heritage - Sociology (8 credits) Music and Social Harmony Music and Society Man and Society 21st Century Skills Psychology of Communication ASEAN Economic
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l 86 Social Structure and Politics in ASEAN Educational System in ASEAN ASEAN Heroes and Heroines - Sciences (8 credits) Integrated Sciences for Well-Being Music and Innovation Holistic Health Development Technology and Innovation in the 21st Century Research Methodology Musician Illness and Treatment - Language (8 credits) English 1, English 2 Thai 1, Thai 2 Contemporary Thai Literature French 1, French 2 German1, German 2 Italian 1, Italian 2 Chinese 1, Chinese 2 Lao 1, Lao 2 Vietnamese 1, Vietnamese 2 Burmese 1, Burmese 2 Malay 1, Malay 2 Indonesian 1, Indonesian 2 Filipino 1, Filipino 2
ตารางที่ ค.1 สรุปวิชาตลอดทังหลั ้ กสูตร
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l 87
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l 88
ค-2. หลักการจัดตารางสอนและจานวนห้ อง 1 หมวดวิชาหลัก (ฟ้า) วิชาเครื่ องดนตรี หลัก Major Skills เรี ยนตัวต่อตัว นักเรี ยนแต่ละคนต้ องเรี ยน 1 ชม. / สัปดาห์ วิชานี ้จะอยู่ในช่วง ครึ่งแรกของสัปดาห์ (จันทร์ -พุธ 16 ชัว่ โมง) เพื่อให้ นกั เรี ยนได้ พบกับอาจารย์หลังจากที่ฝึกซ้ อมมาในวันเสาร์ -อาทิตย์ ดังนัน้ ห้ องเรี ยนปฏิบตั เิ ดี่ยว จะต้ องมีทงหมด ั้ จานวนนักเรี ยน = 120 . = 7.5 = มีอย่างน้ อย 8 ห้ อง จานวนชัว่ โมงที่ลงได้ 16 วิชารวมวง Chamber แบ่งนักเรี ยนออกเป็ นหลายกลุ่มย่อย คละเครื่ องดนตรี คละชันปี ้ ดังนันนั ้ กเรี ยนทุกคนต้ อง เรี ยนวิชานี ้ในวันเวลาเดียวกัน ห้ องซ้ อมรวมวงเท่ากับ จานวนนักเรี ยน = 120 . = 8 = มีอย่างน้ อย 8 ห้ อง จานวนคน / 1 วง 15 วิชาทักษะนักดนตรี Performing เช่น ฝึ กใช้ คีย์บอร์ ด ฝึ กการฟั งเสียงโน้ ต ฝึ กการประสานเสียง แบ่งเป็ น ภาคทฤษฎี 2 ชัว่ โมง ปฎิบตั ิ 2 ชัว่ โมง การใช้ ห้องมีความยืดหยุ่น แล้ วแต่กิจกรรมและการนัดหมาย 2 หมวดวิชาเสริม (ม่ วง) Practice Lab เพื่อพูดคุยสอบถามปั ญหาการฝึ กซ้ อมกับอาจารย์ รวมถึงแจกจ่ายกาหนดการณ์ฝึกซ้ อมต่างๆ นักศึกษา 4 ชันปี ้ ดังนันใช้ ้ ห้องเลคเชอร์ 4 ห้ อง Recital Project ปั จฉิมนิเทศน์ เป็ นการทาโครงงานประจาภาคการศึกษา อาจเป็ นรายงาน การจัดนิทรรศกาล หรื อการแสดงเดี่ยวดนตรี ฯลฯ การใช้ ห้องมีความหลากหลาย ทังห้ ้ องซ้ อมเดี่ยว ห้ องซ้ อมรวม ห้ องเลคเชอร์ Education Populaire ดนตรี ประชาสังคม การทางานร่ วมกับชุมชน มีการลงพื ้นที่จริง เก็บข้ อมูล ทากิจกรรมร่วมกับคนใน พื ้นที่ จัดคอนเสิร์ต เป็ นต้ น 3 หมวดวิชาเลือก (เหลือง) Music Academic กลุม่ วิชาเลือกสาขา ทุกชันปี ้ จะใช้ วนั อังคารทังวั ้ น เพื่อให้ สามารถเลือกได้ อย่างอิสระ General Education กลุม่ วิชาเลือกศึกษาทัว่ ไป อาจารย์มากภายนอกสถาบัน ใช้ วนั พฤหัสบดีทงวั ั้ น จากตารางเวลาข้ างต้ น หนึ่งเทอมสามารถเปิ ดได้ อย่างต่า 8 วิชา ดังนันใน ้ 4 ปี เปิ ดได้ 64 วิชา หมวดวิชาเลือกทังหมดที ้ ่มี ในหลักสูตร 75 วิชา สถาบันต้ องมีห้องเลคเชอร์ 2 ห้ องเป็ นอย่างน้ อย ดังนันห้ ้ องเลคเชอร์ 4 ห้ องจึงเพียงพอแล้ ว 4 การฝึ กซ้ อมนอกเวลา ตามหลักนักเรี ยนดนตรี ต้องฝึ กซ้ อมอย่างน้ อยวันละ 2 ชัว่ โมง นักเรี ยน 120 คน = วันละ 240 ชัว่ โมง / วัน กาหนดให้ นกั เรี ยนที่ซ้อมที่สถาบันฯ เป็ นร้ อยละ 50 ของแวลาทังหมด ้ = 120 ชัว่ โมง / วัน วันที่นกั เรี ยนเรี ยนวิชาบังคับมากที่สดุ คือวันศุกร์ จะมีเวลาว่างช่วงเช้ า กลางวัน เย็น 4 ชัว่ โมง ดังนันต้ ้ องมีห้องซ้ อม จานวนชัว่ โมงซ้ อม = 120 . = 30 ห้ อง จานวนชัว่ โมงซ้ อมได้ 4 เนื่องจากห้ องเรี ยนสามารถใช้ ซ้อมได้ เช่นกัน ดังนันต้ ้ องการห้ องซ้ อม 30 – 8 = 22 ห้ อง
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l 89
ค-3. อธิบายพืน้ ที่ใช้ สอยสาคัญ 1. ส่วนการเรี ยนการสอน 1.1 ห้ องเรียน ห้ องเรียนปฏิบัตดิ นตรี 1: เรี ยนเดี่ยว อุปกรณ์ที่ใช้ : โต๊ ะเก้ าอี ้ เปี ยโน upright กระดาน ตู้เก็บอุปกรณ์และหนังสือ ห้ องเรียนปฏิบัตดิ นตรี 2: เรี ยนเดี่ยว อุปกรณ์ที่ใช้ : โต๊ ะเก้ าอี ้ แกรนด์เปี ยโน 2 ตัว กระดาน ตู้เก็บอุปกรณ์และหนังสือ ห้ องปฏิบัตกิ ารคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ที่ใช้ : โต๊ ะเก้ าอี ้ คียบอร์ ดที่เชื่อมกับคอมพิวเตอร์ ห้ องบรรยายรวม อุปกรณ์ที่ใช้ : โต๊ ะเก้ าอี ้ เปี ยโน upright กระดาน
รูปที่ ค.1 ลักษณะห้ องเรี ยนดนตรี 1.2 ห้ องซ้ อม ซ้ อมเดี่ยว1 : เครื่ องสาย และเครื่ องเป่ าขนาดเล็ก อุปกรณ์ที่ใช้ : เก้ าอี ้ ขาตังโน้ ้ ต ซ้ อมเดี่ยว2 : เปี ยโน เครื่ องสาย เครื่ องเป่ าขนาดเล็ก อุปกรณ์ที่ใช้ : เปี ยโน ซ้ อมรวมวงย่ อย : สาหรับซ้ อม หรื อเรี ยนวิชา ensemble เล่นดนตรี chamber ขนาดประมาณ15 คน อุปกรณ์ที่ใช้ : เก้ าอี ้ เปี ยโน ขาตังโน้ ้ ต ซ้ อมรวมวงใหญ่ : รองรับวงออร์ เคสตรา 100 ชิ ้น อุปกรณ์ ที่ใช้ : เก้ าอี ้ ขาตังโน้ ้ ต 1.3 ส่ วนกลาง ซ่ อมเครื่องดนตรี สาหรับซ่อมเครื่ องดนตรี ในเบื ้องต้ น หรื อความเสียหายเล็กน้ อย เช่น เปลี่ยนสายไวโอลิน ห้ องเก็บเครื่องดนตรี อยู่ตดิ กับห้ องซ่อมเครื่ องดนตรี เป็ นที่พกั เครื่ องดนตรี ที่รอซ่อมหรื อซ่อมเสร็จแล้ ว รวมถึงเครื่ อง ดนตรี ของสถาบันเอง ที่ใช้ ในการเรี ยนการสอน และการแสดง สโมสรนักศึกษา
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l 90 พื ้นที่อเนกประสงค์ สาหรับรวมตัว ทากิจกรรม ตู้เก็บอุปกรณ์ (locker) สาหรับนักศึกษาใช้ เก็บสมุดหนังสือ เครื่ องเขียน รวมถึงเครื่ องดนตรี ล็อคเกอร์ จะมีขนาด หลากหลายแตกต่างไปตามชนิดเครื่ องดนตรี ลักษณะการช่องเก็บมีการสลับ เพื่อกระจาย จานวนนักเรี ยนที่ใช้ ออกจากกัน
รูปที่ ค.2 การจัดตู้เก็บของเพื่อกระจายความหนาแน่นของนักเรี ยน
2. พื ้นที่แสดงดนตรี 2.1 ส่ วนต้ อนรับ ประกอบด้ วยเคาน์เตอร์ ประชาสัมพันธ์ ขายบัตรชมการแสดง ที่นงั่ รอ จุดบริการเครื่ องดื่ม 2.2 หอแสดงดนตรีใหญ่ (concert hall) FOYER บริเวณพักคอยก่อนเริ่มการแสดง มีเครื่ องดื่มของว่างบริการเมื่อพักครึ่ง ที่น่ ังชมการแสดง เวที(เฉพาะส่ วนที่มองเห็น)
รูปที่ ค.3 ตาแหน่งเครื่ องดนตรี ตา่ งๆบนเวทีแสดงออร์ เครสตร้ า
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l 91 พืน้ ที่ข้างเวที(off stage) กว้ างครึ่งหนึ่งของเวทีสว่ นที่มองเห็น มีสองข้ างซ้ าย-ขวา ห้ องแต่ งตัวรวม สาหรับนักดนตรี และนักร้ องประสานเสียงใช้ รวมกัน แยกชาย-หญิง ห้ องแต่ งตัวเดี่ยว สาหรับนักดนตรี soloist conductor ประธานหรื ออาจารย์ มี 4 ห้ อง มีห้องน ้าในตัว ห้ องพักผ่ อน (green room) เป็ นห้ องพักผ่อนรวมหลังเวที ใช้ ผอ่ นคลายก่อนเริ่ มแสดง ทังนั ้ กแสดงและทีมงาน ห้ องซ้ อมเดี่ยว สาหรับนักดนตรี soloist จานวน 1 ห้ อง ห้ องซ้ อมรวม สาหรับวงออร์ เคสตร้ า ใช่ร่วมกันทังนั ้ กเรี ยนของสถาบัน และนักดนตรี จากภายนอกที่เตรี ยมขึ ้นแสดง ห้ องรับประทานอาหาร บริการอาหารเลี ้ยงนักแสดง รวมถึงเป็ นบริ เวณที่นาอาหารจากภายนอกเข้ ามานัง่ รับประทานได้ มีจดุ บริการเครื่ องดื่มและของว่าง ห้ องควบคุมระบบภาพแสงเสียง ควบคุมระบบในขณะการแสดง การซ้ อม รวมถึงการบันทึกภาพและเสียง อยู่ในตาแหน่งที่เห็นเวทีชดั เจน รวมถึงติดต่อกับทีมงานหลังเวทีได้ ห้ องพักเจ้ าหน้ าที่ควบคุม อยู่ในบริเวณเดียวกับห้ องควบคุมมีห้องน ้าในตัว ห้ องเก็บแกรนด์ เปี ยโน ควบคุมอุณหภูมิ ความชื ้น ตลอดเวลา ตาแหน่งต้ องคานึงถึงการขนย้ ายไปยังเวทีด้วย ห้ องเก็บของ ใช้ เก็บเก้ าอี ้ของวงออเคราสตร้ า ชุดเครื่ องแบบ ขาตังโน้ ้ ตตังโน้ ้ ต เครื่ องแบบนักดนตรี เครื่ องดนตรี ขนาด ใหญ่อื่นๆ เช่นมาริมบ้ า ทิมพานี 2.3 หอแสดงดนตรีเล็ก (recital hall) สาหรับการแสดงดนตรี ภายในสถาบัน(เฉพาะนักศึษา อาจารย์ ผู้ปกครอง) หรื อการแสดงขนาดเล็ก เช่น การแสดงเดี่ยว(solo) ดนตรี แชมเบอร์ (chamber music) ที่นกั แสดงคราวละไม่เกิน 10 คน และบางครัง้ ใช้ ซ้อมรวม วง มีพื ้นยก(riser) ที่นงั่ อาจเป็ นแบบพับเก็บได้ ใช้ สว่ นหลังเวที(back stage) ร่วมกับหอแสดงดนตรี ใหญ่เพื่อความ ประหยัด 2.4 เวทีกลางแจ้ ง (OUT DOOR STAGE) ประกอบด้ วย : ส่วนนัง่ ชมการแสดง และ เวทีสาหรับวงออเครสต้ า 100 ชิ ้น
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l 92 2.3 ห้ องสมุด ห้ องสมุดดนตรี ที่นงั่ คิดจากบริเวณอ่านหนังสือ 25%ของผู้ใช้ 1 โดยแยกประเภทของผู้ใช้ ดงั นี ้ นักเรี ยน 120 คน อาจารย์ 16 คน และบุคคลภายนอก คิดเป็ นจานวนอีกเท่าหนึ่งของจานวนนักเรี ยน รวมเป็ น 256 คน ที่นงั่ 256 x 25% = 64 ที่นงั่ ที่ฟังดนตรี คิด 10% ของผู้ใช้ = 26 ที่นงั่ คนละ 2.75 ตรม. รวม 283.25 ตรม. ส่วนชันหนั ้ งสือ 30เล่ม/คน ดังนันมี ้ หนังสือทังหมด ้ 7680 เล่ม พื ้นที่เก็บหนังสือ ใช้ 1 ตรม/150 เล่ม ดังนันใช้ ้ พื ้นที่ 51.20 ตรม. สานักงานบรรณารักษ์ ที่ทางานและพื ้นที่ซ่อมแซมหนังสือเจ้ าหน้ าที่ 3 คน 40 ตรม. บริการถ่ายเอกสาร 6 ตรม. รวมพื ้นที่ห้องสมุด 380.45 ห้ องสมุดโน้ ตดนตรี เป็ นห้ องเก็บโน้ ตดนตรี มีการควบคุม อนุญาติเฉพาะอาจารย์หรื อหัวหน้ าวงเท่านันในการขอ ้ ยืม /ถ่ายเอกสาร อาจมีลกั ษณะเป็ นมุมๆหนึ่งของห้ องสมุดที่มีชนเก้ ั ้ บโน้ ตเพลง แบ่งตามชนิด เครื่ องดนตรี ที่โต้ ะเก้ าอี ้และอุกกรณ์ช่วยสืบค้ น ควรอยู่ใกล้ ห้องซ้ อม 2.4 พิพธิ ภัณฑ์ ดนตรี ประด้ วยส่วนนิทรรศกาลชัว่ คราว และถาวร นิทรรศกาลถาวรมีเนื ้อหาดังนี ้ - พระกรณียกิจของสมเด็จพระพี่นางเธอฯ - องค์ความรู้ดนตรี คลาสสิค เช่นประวัคคิ วามเป็ นมา เครื่ องดนตรี ประเภทของบทเพลง - วงออร์ เคสตร้ าจาลอง ระบบสื่อประสม จาลองภาพและเสียงจากบนเวทีแสดงดนตรี ให้ ผ้ ชู ม รู้สกึ เสมือนเป็ นส่วนนึงในวงออร์ เครสตร้ า สามารถหยิบเครื่ องดนตรี ขึ ้นมาเล่นไปพร้ อมๆกัน หรื อ ลอง เป็ นวาทยากร ด้ วยระบบ inter active ภายในนิทรรศกาลจะแบ่งเป็ นพื ้นที่ย่อยๆ ของแต่ละกลุ่มเครื่ อง ดนตรี
รูปที่ ค.4 นิทรรศการออร์ เคสตร้ าจาลอง
1
ประกาศทบวงมหาวิทยาลัย เรื่อง มาตรฐานห้ องสมุดสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. 2544
Princess Galyani Vadhana Institute of Music l 93
ภาคผนวก ง
วงดุริยางค์ สถาบันดนตรี กัลยาณิวัฒนา
วงดุริยางค์ สถาบันดนตรีกลั ยาณิวัฒนา PYO วงดุริยางค์สถาบันดนตรี กัลยาณิวฒ ั นา เป็ นอีกโครงการหนึ่งของสถาบันดนตรี กัลยาณิวฒ ั นา ที่จดั ขึ ้นโดยมี เป้าหมายเพื่อสนับสนุน และ พัฒนาทักษะความสามารถในการเล่นวงออร์ เคสตรา ให้ กบั นักดนตรี เยาวชนไทยที่มีทกั ษะ ความสามารถเป็ นเลิศ โดยสมาชิกของวงเป็ นผู้ได้ รับการคัดเลือกจากเยาวชนดนตรี จากทังภายในและภายนอกสถาบั ้ นผ่าน การออดิชนั่ จากปรัชญาของวงดุริยางค์เยาวชนกัลยาณิวฒ ั นา “PYO Experiences - Explore Exchange Excelled” ที่ กล่าวถึงประสบการณ์ การค้ นหาท่วงทานองแห่งเสียงดนตรี จากการที่เยาวชนผู้ร่วมโครงการแต่ละคนจะได้ ค้นพบการ เริ่มต้ นลมหายใจและก้ าวไปในท่วงทานองของจังหวะเดียวกัน ผ่านการฝึ กฝนจนสามารถสื่อสาร แลกเปลี่ยน ประสาน และ หลอมรวมกันไปสูบ่ ทเพลงอันแสดงให้ เห็นถึงความร่วมแรงร่วมใจ ความสามัคคี และความกลมเกลียวกันของเยาวชนที่ พร้ อมใจกันสร้ างสรรค์เสียงอันงดงามออกมาสูใ่ จของผู้ฟัง PYO เป็ นอีกหนึ่งความตังใจที ้ ่จะสืบสานพระปณิธานของสมเด็จพระเจ้ าพี่นางเธอ เจ้ าฟ้ากัลยาณิวฒ ั นา กรม หลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ในการพัฒนาเยาวชนนักดนตรี คลาสสิกให้ มีทกั ษะความสามารถที่เป็ นเลิศทัดเทียมกับ นานาชาติ จากโปรแกรมการแสดงคอนเสิร์ตตลอดทังฤดู ้ กาลที่ทางสถาบันฯ ได้ คดั เลือกวาทยกรระดับนานาชาติอาจารย์ผ้ ู ฝึ กสอนที่ได้ รับการยอมรับในระดับประเทศ รวมถึงการคัดเลือกบทเพลงที่แสดงในแต่ละคอนเสิร์ต เพื่อมุง่ เน้ นการพัฒนา ศักยภาพการบรรเลงในรูปแบบออร์ เคสตรา ไปพร้ อมๆ กับการพัฒนาศักยภาพทางดนตรี สว่ นบุคคลของเยาวชนนักดนตรี ซึ่งประสบการณ์แห่งการเรี ยนรู้ผา่ นเสียงดนตรี ทังในช่ ้ วงเวลาแห่งการฝึ กซ้ อมและแสดงคอนเสิร์ต รวมไปถึงการเปิ ดโอกาส ให้ ครอบครัวของเยาวชนนักดนตรี และสาธารณชนที่สนใจสามารถที่จะเข้ ามาสัมผัสประสบการณ์ดนตรี ร่วมกัน
รูปที่ ง.1 สมาชิกวงวงดุริยางค์สถาบันดนตรี กลั ยาณิวฒ ั นา(ซ้ าย) การแสดงเปิ ดฤดูกาล2558 (ขวา)