ภูมิศาสตร์ ม 3 หน่วยที่ 1

Page 1

รายวิชาพื้นฐาน

กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ สังคมศึกษาฯ

วิชา ภูมิศาสตร์ ม.3


หน่ วยการเรียนรู้ ที่

1

เครื่องมือทางภูมศิ าสตร์


ประเภทของเครื่ องมือ ทางภูมิศาสตร์

แนวทางการใช้เครื่ องมือ ทางภูมิศาสตร์

การนาเสนอข้อมูลทางภูมิศาสตร์



ความหมายและประเภทของเครื่องมือทางภูมศิ าสตร์ ความหมายของเครื่องมือทางภูมิศาสตร์

ประเภทของเครื่องมือทางภูมศิ าสตร์

วัสดุ อุปกรณ์รูปแบบต่างๆ ที่นามาใช้ 1. ทาหน้าที่เป็ นสื่ อความรู ้ เช่น ลูกโลก เพือ่ การศึกษาค้นคว้า สารวจ เก็บรวบรวม แผนที่เล่ม รู ปถ่ายทางอากาศ ภาพจาก บันทึก วิเคราะห์ขอ้ มูล และใช้เป็ นสื่ อเผยแพร่ ดาวเทียม เป็ นต้น ข้อมูลทางภูมิศาสตร์ 2. ทาหน้าที่เป็ นสื่ อเก็บรวบรวมข้อมูล เช่น เข็มทิศ จีพเี อส กล้องสามมิติ บารอมิเตอร์ เป็ นต้น


แผนที่ • ใช้แสดงลักษณะของพื้นผิวโลกและสิ่ งที่ปรากฏอยู่ บนพื้นผิวโลก ทั้งที่เกิดเองตามธรรมชาติและที่มนุษย์ สร้างขึ้น ด้วยการย่อส่ วนให้มีขนาดเล็กลงตามมาตรา ส่ วนที่ตอ้ งการ โดยใช้สัญลักษณ์แทนสิ่ งต่างๆ ที่มีอยู่ จริ งบนพื้นผิวโลก ทั้งนี้ จะยังคงความเหมือนจริ งไว้ ทั้งขนาด ทิศทาง รู ปร่ าง และตาแหน่งที่ต้ งั • แผนที่เล่ม (atlas) เป็ นการรวบรวมแผนที่ชนิดต่างๆ มาไว้ในเล่มเดียวกัน เช่น แผนที่แสดงลักษณะภูมิ ประเทศ แผนที่แสดงลักษณะทางธรณีวิทยา แผนที่ แสดงเขตภูมิอากาศ แผนที่แสดงเขตพืชพรรณ ธรรมชาติ เป็ นต้น


องค์ ประกอบของแผนที่ 1. ชื่อแผนที่ 2. ชื่อภูมศิ าสตร์ 3. ทิศ 4. มาตราส่ วน 5. สัญลักษณ์ 6. สี


การคานวณหาระยะจริงบนพืน้ ผิวโลกจากแผนที่ • สูตร มาตราส่ วน = ระยะทางบนแผนที่ (Map Distance) • ระยะทางจริงบนพืน้ ผิวโลก(Ground Distance)

• โจทย์ • แผนที่มาตราส่ วน 1:50,000 ถ้ าวัดระยะทางในแผนที่ ได้ 5 ซ.ม อยากทราบว่ าระยะทางจริงบนพืน้ ผิวโลกเป็ นกี่ กิโลเมตร


สี นา้ เงิน


สี เขียว


สี นา้ ตาล


สี ดา


การบอกระดับความสู งตา่ ในแผนที่ภูมปิ ระเทศ เส้ นชันความสู ้ ง Contour Line คือ เส้ นสมมุติที่ลากผ่านบริ เวณ ต่างๆของภูมิประเทศ มีตวั เลขกากับค่าของเส้ นชันความสู ้ งนัน้


การใช้ แถบสี

• การจาแนกความแตกต่างของลักษณะภูมิประเทศโดยใช้ แถบสี พืน้ ดิน • สีเขียว แสดง ที่ราบ ที่ต่า • สีเหลือง แสดง เนินเขาหรื อที่สงู • สีน ้าตาล แสดง ภูเขาสูง • สีขาว แสดง ภูเขาที่มีหิมะปกคลุม • พืน้ นา้ • สีฟ้าอ่อน แสดง เขตทะเลตื ้น • สีน ้าเงินแก่ แสดง เขตทะเลที่มีความลึกมาก


เส้ นลายขวานสั บ หรือเส้ นลาดเขา • เป็ นเส้ นขีดสันๆเรี ้ ยงกันตามทิศทางลาดของพื ้นดินเพื่อแสดง รูปทรงของภูมิประเทศนันๆ ้ หากเป็ นพื ้นที่ลาดชัน เส้ นขีดจะสัน้ หนาและชิดกัน หากเป็ นพื ้นที่ลาดเท เส้ นขีดจะยาว บางและ ห่างกัน


การแรเงา • เป็ นการแสดงความสูงของภูมปิ ระเทศอย่ างหยาบๆ โดย เขียนหรื อแรเงาพืน้ ที่ให้ มีลักษณะเป็ นภาพสามมิตหิ รื อมี ทรวดทรงขึน้


เส้ นลองติจูต

เส้ นเมริเดียน กริต

อุณหภูมิ ลักษณะอากาศ บอกเวลาเริ่มต้ น

เส้ นละติจูต


การรับรู ้จากระยะไกล Remote sensing ภาพถ่ายดาวเทียม รูปถ่ายทางอากาศ


ภาพจากดาวเทียม • เป็ นภาพที่ได้จากดาวเทียมที่โคจรรอบโลกบันทึกข้อมูลเชิงเลขพื้นผิวโลกไว้และส่ งข้อมูลนั้น ลงมาที่สถานที่รับสัญญาณ • ภาพจากดาวเทียมบางภาพจาแนกชนิดของพื้นผิวโลกได้ และเมื่อมีเหตุการณ์ใดๆ เกิดขึ้น กะทันหัน เช่น การเกิดสึ นามิ น้ าท่วม แผ่นดินถล่ม ไฟป่ า ก็สามารถเห็นข้อมูลและนาไป เปรี ยบเทียบข้อมูลที่ผา่ นมาได้อย่างดี ภาพจากดาวเทียมจึงมีประโยชน์ต่อการใช้ขอ้ มูล การนา ข้อมูลไปวางแผนและป้ องกันพื้นที่ต่างๆ ได้


ภาพจากดาวเทียม กรุ งวอชิงตัน ดีซี สหรัฐอเมริ กา


รู ปถ่ ายทางอากาศ • 1) ประเภทของรู ปถ่ ายทางอากาศ รูปถ่ายทาง อากาศ มี 2 ประเภทใหญ่ๆ ตามลักษณะการถ่ายรูปดังนี ้ • 1.1) รู ปถ่ ายทางอากาศแนวดิง่ • 1.2) รู ปถ่ ายทางอากาศแนวเฉียง เป็ นรูปถ่ายที่เกิดจากการกาหนด แกนของกล้ องในลักษณะเฉียง แบ่งออกเป็ น 2 ชนิด คือ • 1) รู ปถ่ ายทางอากาศแนวเฉียงสูง ลักษณะรูปถ่ายจะเห็นแนวขอบ ฟ้าเป็ นแนวกว้ างใหญ่ • 2) รู ปถ่ ายทางอากาศแนวเฉียงต่า เป็ นรูปถ่ายทางอากาศที่ไม่ ปรากฏเส้ นขอบฟ้า




ระบบบอกพิกดั ตาแหน่งบนพื ้นโลก (Global Positioning System)

หรื อเรี ยกย่อว่า GPS เพื่อใช้ หาตาแหน่งต่างๆบนพื ้นโลก ระบบบอกพิกดั ตาแหน่งบนพื ้นโลกเป็ นวิธีที่ใช้ หา เส้ นรุ้ง เส้ นแวง และ ระดับความสูงของตาแหน่งบนพื ้นโลกโดยใช้ คลื่นวิทยุ และรหัสที่สง่ จาก ดาวเทียม ณ เวลาใดๆ ในบริ เวณหนึง่ จะมีดาวเทียม GPS อยู่เหนือ ขอบฟ้าตังแต่ ้ 5 – 8 ดวง เครื่ องรับสัญญาณ จะรับสัญญาณที่สง่ มาจาก ดาวเทียมเหล่านัน้ คอมพิวเตอร์ ที่อยู่ภายในเครื่ องรับสัญญาณ GPS จะ คานวณตาแหน่งและระดับความสูงของผู้ใช้ ออกมา







องค์ ประกอบ GPS

• ส่ วนอวกาศ • ส่ วนสถานีควบคุม • ส่ วนผู้ใช้


การทางานของเครื่ องรับ GPS • ดาวเทียมแต่ ละดวงจะถ่ ายทอดสัญญาณในรูปแบบ คลื่นวิทยุ • เครื่องรับ GPS Receiver มีหน้ าที่หลักๆ ก็คือรับ สัญญาณจากดาวเทียม แล้ วมาแปลงเป็ นพิกัดของ ตาแหน่ งที่มันอยู่บนพืน้ โลก คานวณและให้ คาตอบจะมี 3 ค่ า คือ พิกัด ความเร็วในการ เคลื่อนที่ และ เวลา



ประโยชน์ GPS

• หาตาแหน่ งบนพืน้ โลกได้ 24 ช.ม. • นาทาง • ติดตามการเคลื่อนที่ของคน สิ่งของ • ทาแผนที่ ใช้ ระบุพกิ ัดพืน้ ที่แปลงโฉนดที่ดนิ


ใช้ ในการจัดทาแผนที่ • • • •

ได้ ผลลัพธ์ การกาหนดตาแหน่ งออกมา 3 รูปแบบ จุดตาแหน่ ง (Waypoints) เส้ นทางการเคลื่อนที่(Tracks) เส้ นเชื่อมโยงจุดตาแหน่ ง(Routes)




ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ Geographic Information System

หมายถึงกระบวนการใช้ระบบคอมพิวเตอร์ในการดาเนินการ เกี่ยวกับข้อมูลทางภูมิศาสตร์ 1.นาเข้าข้อมูล 2. การจัดเก็บข้อมูล ปรับปรุ ง 3. การวิเคราะห์ขอ้ มูล 4. แสดงผลที่สามารถอ้างอิงตาแหน่งบนพื้นโลก รู ปแผนที่ ตาราง คาบรรยาย


องค์ประกอบของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์


ลักษณะของข้ อมูลและการจัดเก็บในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ สาธารณูปโภค อาคารสถานที่

สภาพพื ้นที่จริ ง



ภาพ ก. เก้าอี้แสดงในแบบแรสเตอร์ (ตารางกริ ด)

และ ข. แบบเวคเตอร์


โครงสร้างข้อมูลแบบเวกเตอร์ จะแทนที่ลกั ษณะพื้นที่จริ งด้วย รู ปทรงเรขาคณิ ต 3 แบบ 1. จุด (Point)มีพิกดั X,Y(คาร์เตเซียน) 2. เส้น มีพิกดั (Arc)เช่นถนน 3. อาณาบริ เวณ (Polygon)

หรื อพื้นที่


การแสดงรูปแบบจาลองข้ อมูล 2 รูปแบบ



การวางซ้ อนแผนที่ แต่ละแผ่นจะบันทึกความเป็ นจริ งด้ านใดด้ าน หนึง่


ลูกโลก • มีลกั ษณะเป็ นทรงกลมที่ยอ่ ส่ วนของโลกลงบน วัสดุต่างๆ • มีขอ้ มูลปรากฏอยู่ 2 ลักษณะ ได้แก่ - ข้อมูลที่แสดงลักษณะทางกายภาพ เช่น ส่ วนที่เป็ นพื้นน้ า พื้นดิน เป็ นต้น - ข้อมูลที่กาหนดขึ้น เช่น เส้นละติจูด ลองจิจูด เป็ นต้น • ข้อดีของการใช้ลูกโลก คือ แสดงตาแหน่งที่ต้ งั รู ปร่ าง ขนาด ทิศทาง และระยะทางของสิ่ งที่ ปรากฏบนลูกโลกได้อย่างถูกต้อง แต่มีขนาด เล็ก จึงให้รายละเอียดเฉพาะภาพรวมเท่านั้น


เว็บไซต์ • การศึกษาและรวบรวมข้อมูลทางภูมิศาสตร์ ต้องมีความทันสมัยเป็ นปัจจุบนั เป็ นเว็บไซต์ที่ เชื่อถือได้ สื บค้นง่าย ซึ่งข้อมูลจากเว็บไซต์สามารถตอบสนองได้ดี และเป็ นแหล่งข้อมูลที่ ได้รับความนิยมมากที่สุด • การใช้ขอ้ มูลจากเว็บไซต์อาจมีขอ้ จากัดด้านภาษา แต่อาจใช้ search engine ของ google มาช่วยแปลภาษาได้ แม้จะแปลไม่สละสลวย แต่กพ็ อจะคาดคะเนได้วา่ เป็ นเรื่ องอะไร • การเลือกใช้เว็บไซต์ควรพิจารณาเลือกจากองค์กรหรื อหน่วยงานที่มีความน่าเชื่อถือหรื อ เกี่ยวข้องกับเรื่ องนั้นๆ โดยตรง


เว็บไซต์ www.cia.gov แสดงข้อมูลทางภูมิศาสตร์ ที่ทนั สมัย


สื่อสิ่งพิมพ์ • มีสื่อสิ่ งพิมพ์อีกหลายประเภทที่สามารถให้ขอ้ มูลทางภูมิศาสตร์ได้ • เช่น The World Almanac ซึ่งเป็ นหนังสื อที่รวบรวมสถิติต่างๆ ของโลกและของประเทศ ต่างๆ อย่างละเอียด นิตยสารเนชัน่ แนล จีโอกราฟฟิ ก ฉบับภาษาไทย ซึ่งเสนอเรื่ องราวของ ธรรมชาติ สิ่ งแวดล้อม วิทยาศาสตร์ วิถีชีวติ ของผูค้ นและสัตว์ต่างๆ เป็ นต้น



หลักการใช้ เครื่องมือทางภูมศิ าสตร์ ใช้เครื่ องมือที่เหมาะสมกับ ลักษณะของข้อมูล

ใช้เครื่ องมือ ที่ทนั สมัย

ใช้เครื่ องมือที่มีคุณภาพ

หลักการใช้ เครื่องมือ ทางภูมศิ าสตร์

ใช้เครื่ องมือทางภูมิศาสตร์หลากหลายผสมกัน

ตรวจสอบข้อมูล ที่ได้จากเครื่ องมือ


ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์

ระบบสารสนเทศภูมศิ าสตร์ หรือ GIS ( Geographic Information System ) หมายถึง การเก็บ รวบรวม และบันทึกข้ อมูลทางภูมศิ าสตร์ ด้ วยระบบคอมพิวเตอร์โดยข้ อมูลเหล่านี้สามารถ ปรับปรุงแก้ ไขให้ ถูกต้ อง ทันสมัย สามารถแสดงผลและเผยแพร่เป็ นตัวเลข สถิติ ตาราง แผนที่ พิมพ์ออกมาเป็ นเอกสารได้



แบบแผนที่ • เหมาะแก่การนาเสนอข้อมูลทาง ภูมิศาสตร์ที่ตอ้ งการให้เห็นภาพรวม ของพื้นที่ ไม่ตอ้ งอธิ บายความมาก และเหมาะกับการแสดงข้อมูล 1-2 ประเภท

ตัวอย่างแผนที่ผลิตภัณฑ์มวลรวมใน ประเทศของทวีปอเมริ กาใต้ ค.ศ. 2010


แบบกราฟ • เหมาะแก่การนาเสนอข้อมูลเรื่ องใดเรื่ องหนึ่งที่มีการเปลี่ยนแปลงตามช่วงเวลา สามารถแสดง ข้อมูลได้หลายชุดในภาพเดียวกันได้ และเหมาะกับการแสดงข้อมูลเชิงเปรี ยบเทียบ

ตัวอย่างกราฟการส่ งออก การนาเข้า และดุลการค้าของประเทศแคนาดา ค.ศ. 2001-2010


แบบแผนภูมิ • เหมาะแก่การนาเสนอข้อมูลเพือ่ ให้ เข้าใจถึงความสัมพันธ์ของสิ่ งต่างๆ ตลอดจนแสดงข้อมูลในเชิงเปรี ยบเทียบ หรื อแสดงให้เห็นปริ มาณ

ตัวอย่างแผนภูมิเชื้อชาติของประชากร สหรัฐอเมริ กา ค.ศ. 2007


แบบกราฟิ ก • เป็ นการใช้เส้น สัญลักษณ์ รู ปวาด ภาพถ่าย สี ฯลฯ เพือ่ สื่ อความหมายให้การแสดงข้อมูลนั้น เข้าใจง่ายและมีความสวยงามดึงดูดความสนใจ การนาเสนอทาได้หลากหลาย แต่ตอ้ งระวัง มิให้สื่อข้อมูลคลาดเคลื่อนจากความเป็ นจริ ง

ตัวอย่างกราฟิ กสรุ ปผลจากเหตุการณ์แผ่นดินไหวที่ประเทศเฮติ ค.ศ. 2010


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.