Saturday School Season 5: Make It Count! Booklet

Page 1

T I E K A M ! T N U O C


01 02 04 05 20

CEO TALK

OUR STORY OUR

TEAM

OUR

PARTNERS

OUR

LEARNING

34 36 38 46

STUDENT WORDS VOLUNTEER

WORDS

OUR

RESEARCH

OUR

FOOTPRINT


CEOTALK ความพยายามในการสร้างห้องเรียนที่ตอบสนองความต้องการของ เด็กๆใน 9 พื้นที่การเรียนรู้ ทำ�ให้เกิด Saturday School Season 5 ภายใต้ธีม “Make it count” แปลว่า ทำ�ให้สุดๆไปเลย การจัดการเรียน รู้ใน Season นี้จึงเกิดขึ้นด้วยแนวคิดที่เด็กๆจะได้เรียนรู้และทำ�อย่างสุด ความสามารถเพื่อให้ไปถึงฝั่งฝันที่อยากจะเป็น การเปลี่ยนแปลงที่ชัดเจนเกิดขึ้นใน Saturday School Season นี้ นอกจากจำ�นวนพื้นที่ จำ�นวนนักเรียน และจำ�นวนอาสาสมัครที่มากขึ้น คือ การมีทีมช่วยเหลือ ทีมเก็บข้อมูล และทีมวิจัย เพื่อสนับสนุนการ ทำ�งานของครูอาสาที่อยู่ประจำ�ห้องเรียน เพราะเราต้องการให้สิ่งดีๆที่ ครูอาสาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับเด็กในห้องเรียนเกิดคุณค่ามากที่สุดใน การพัฒนาทั้งโครงการและรูปแบบห้องเรียนที่ดีของการศึกษาไทย ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกับเด็กและองค์ความรู้ที่น่าสนใจเกิดขึ้นมากมาย ตลอดทั้งSeasonโดยเฉพาะวันBig Day วันที่เด็กๆต่างมาแสดงความ สามารถร่วมกัน ได้แสดงให้ทุกคนที่ไปร่วมงานเห็นว่าเด็กๆ เมื่อได้รับ บรรยากาศการเรียนรู้ที่เหมาะสม ประกอบกับครูอาสาที่เชื่อในตัวพวก เขา เขาสามารถปลดปล่อยสิ่งดีงามที่อยู่ในตัวออกมาได้อย่างน่าเหลือ เชื่อ เป็นปรากฏการณ์ที่ขนาดครูอาสาที่สอนเองยังแปลกใจว่าเด็กๆที่ พวกเขาสอนสามารถทำ�ได้ถึงระดับนี้ ใน Booklet เล่มนี้จะถ่ายทอดสิ่งที่เกิดขึ้นใน Saturday School Season 5 ออกมาได้อย่างละเอียดที่สุด และเมื่อทุกคนได้เห็น ผมเชื่อ ว่าทุกคนจะมีความหวังกับการพัฒนาการศึกษาไทยที่ถูกยืนยันโดยการ เติบโตอย่างน่าทึ่งของเด็กๆโดยอาสาสมัครที่มีคุณภาพทุกคน

สรวิศ ไพบูลย์รัตนากร )ครูยีราฟ(

1


OUR STORY Saturday School ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2557 จากการตระหนักถึง ความสำ�คัญของการสร้างแรงบันดาลใจในการเรียนรู้ให้แก่เด็กและการ พัฒนาเด็กที่มากไปกว่าการเรียนในชั้นเรียนของ นายสรวิศ ไพบูลย์ รัตนากร หรือ "ครูยีราฟ" ครูวิชาคณิตศาสตร์ โรงเรียนเพี้ยนพินอนุ สรณ์ภายใต้โครงการครูผู้นำ�การเปลี่ยนแปลงรุ่นที่ 1 ของมูลนิธิ Teach For Thailand โดยมุ่งหวังที่จะสร้างพื้นที่การเรียนรู้ในวันเสาร์สำ�หรับ พัฒนาทักษะชีวิตและเปิดมุมมองใหม่ ๆ ให้แก่เด็กมากขึ้น

ภายใต้การด�ำเนินงานของ Saturday School ทีมงานยังมีพันธกิจที่ มุ่งหวังให้โครงการเป็นองค์กรด้านการศึกษาที่เน้นการพัฒนาศักยภาพ ของสมองและทักษะที่เด็กควรจะมีในศตวรรษที่ 21 ผ่านการสร้างพื้นที่ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างครูอาสากับเด็ก ๆ ในทุก ๆ พื้นที่ของ ประเทศไทย เพื่อที่เด็กเหล่านี้และเครือข่ายอาสาสมัครจะช่วยพัฒนา ชุมชนและสังคมในบริเวณใกล้เคียงอย่างยั่งยืน

SEASON

SEASON

SEAS

VARIES : SUBJECT 1 : SCHOOL 20 : STUDENT 15 : TEACHER - : CORETEAM

3 : SUBJECT 1 : SCHOOL 40 : STUDENT 40 : TEACHER - : CORETEAM

VARIES : SU 2 : SC 50 : ST 50 : TE - :C

1

2014 2

2

2015

3

201


Saturday School มุ่งถ่ายทอดประสบการณ์และการเรียนรู้นอก เหนือจากการเรียนตามหลักสูตรในโรงเรียนให้แก่เด็ก เช่น ศิลปะ ภาพยนตร์ ศิลปะการออกแบบ ดนตรี ศิลปะการป้องกันตัว การแสดง การท�ำอาหาร ฯลฯ โดยวิชาที่เปิดสอนในแต่ละเทอมจะจัดตามความ สนใจของเด็กในโรงเรียนหรือชุมชนต่าง ๆ รวมไปถึงความสามารถ ของอาสาสมัครที่เข้าร่วมกิจกรรม ซึ่งมีการขยายจ�ำนวนโรงเรียน และชุมชนที่จัดกิจกรรม Saturday School อย่างต่อเนื่อง ล่าสุดใน Season ที่ 5 นี้มีโรงเรียนเข้าร่วมกิจกรรม 8 โรงเรียน และมีชุมชนเข้า ร่วมอีก 1 ชุมชน มีเด็ก ๆ กว่า 450 คน ที่เข้าร่วมกิจกรรม นอกจากจ�ำนวนของเด็กที่เข้าร่วมกิจกรรมแต่ละเทอมแล้วSaturday Schoolยังมีอาสาสมัครเข้าร่วมกิจกรรมเพิ่มขึ้นเป็นเท่าตัวในทุกๆ Seasonซึ่งบุคคลเหล่านี้ล้วนมาจากสาขาอาชีพที่แตกต่างกันตั้งแต่ อาสาสมัครที่เป็นอาจารย์มหาวิทยาลัย นักเรียน นักศึกษา นักธุรกิจ นักพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ไปจนถึงข้าราชการทหาร ด้วยความ รู้ความสามารถและช่วงวัยที่แตกต่างกัน Saturday School จึงถือ เป็นพื้นที่ศูนย์รวมส�ำหรับแลกเปลี่ยนมุมมองและประสบการณ์ส�ำหรับ อาสาสมัครที่เข้าร่วมโครงการเป็นอย่างดี

SON

3

UBJECT CHOOL TUDENT EACHER CORETEAM

15

SEASON

SEASON

13 : SUBJECT 7 : SCHOOL 270 : STUDENT 80 : TEACHER 7 : CORETEAM

18 : SUBJECT 9 : SCHOOL 450 : STUDENT 130 : TEACHER 120 : CORETEAM

2016

2016

4

5

3


OUR

TEAM

4


5


School & Community Selection and Coordinator

- สรรหาชุมชนและโรงเรียนที่เป็นกลุ่มเป้าหมายของโครงการ - ศึกษาข้อมูลและความต้องการของโรงเรียนและชุมชน - ติดต่อและประสานงาน

Leadership and Talent Development Team Staff

- สรรหาครูอาสา - พัฒนาครูอาสารูปแบบออนไลน์ - พัฒนาครูอาสารูปออฟไลน์ - ติดตามและประเมินผลครูอาสา

Learning Buddy - รวบรวมข้อมูลการเรียนรู้ที่ได้จากในชั้นเรียน - ให้คำ�แนะนำ�และคำ�ปรึกษาในการพัฒนากระบวนการและนวัตกรรมการเรียนรู้กับครูอาสา - รวบรวมฐานข้อมูลโรงเรียน ชุมชน ที่รับผิดชอบ - รวบรวมฐานข้อมูลอย่างละเอียดของหลักสูตรแต่ละวิชาและการเรียนการสอนในห้องเรียน - บันทึกและทำ�วิจัยสิ่งที่เกิดขึ้นในห้องเรียนทุกการเรียนการสอน - นำ�กระบวนการทบทวนหลังการสอนของครูอาสาและเสนอแนะแนวทางการพัฒนาในทุกครั้งที่มีการเรียน การสอนในโรงเรียนและชุมชน

6


Acting Team Staff

- พัฒนาตนเองเพื่อให้พร้อมส�ำหรับการน�ำน้องๆ ชั้น ม.ต้น - น�ำกิจกรรมพัฒนาความเป็นผู้น�ำให้น้องๆ ชั้น ม.ต้น

Event Staff

- เลือกสถานที่ (ติดต่อประสานงาน + ค่าใช้จ่ายการใช้สถานที่) - ก�ำหนดรูปแบบงาน และบริหารงานเวทีแสง สี เสียง การบันทึกภาพ (นิ่ง+เคลื่อนไหว) - ประเมินผล/ท�ำรายงานเพื่อเก็บข้อมูลเป็นประวัติและง่ายต่อการท�ำซ�้ำในอนาคต

Research and Development

- ศึกษาวิจัยปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในโครงการเพื่อน�ำไปสู่การพัฒนา และเพื่อสะท้อน ผลการศึกษาจากโครงการให้แก่สาธารณะ

7


OUR

PARTNERS รร.บางยี่ขันวิทยาคม 4 :classes

รร.วัดรางบัว 4 :classes

ชุมชนวัดดวงแข 2 :classes รร.ชุมชน 3 :class รร.วัดบางปะกอก 4 :classes

8

รร 4


รร.วัดเกาะสุวรรณาราม 5 :classes

รร.แย้มจาดวิชชานุสรณ์ 2 :classes

นหมู่บ้านพัฒนา ses

รร.แก่นทองอุถัมภ์ 5 :classes

ร.เพี้ยนพินอนุสรณ์ :classes

9

SCHOOLS & COMUNITY

33

CLASSES

18

SUBJECTS

450

STUDENTS

9


โรงเรียนเพี้ยนพินอนุสรณ์ ส�ำนักงานเขตบางนา

โรงเรียนเพี้ยนพินอนุสรณ์เป็นโรงเรียนแห่งแรกใน โครงการ SaturdaySchoolที่เกิดจากความคิดของนาย สรวิศ ไพบูลย์รัตนากรที่ต้องการเปิดโลกกว้างให้กับ นักเรียน เรียนรู้สิ่งใหม่ๆที่โรงเรียนในระบบไม่ได้สอน และ ได้รับแรงบันดาลใจจากอาสาสมัครจากหลากหลายอาชีพ โดยเข้าร่วมกิจกรรมกับ Saturday School มาแล้ว ทั้งหมด 5 Season

ข้อมูลโรงเรียน

23

TEACHERS

ฟุตซอล

ถ่ายภาพ

60

STUDENTS

ท�ำอาหาร การแสดง

10


โรงเรียนวัดเกาะสุวรรณาราม

ส�ำนักงานเขตสายไหม โรงเรียนวัดเกาะสุวรรณารามเป็นโรงเรียนขยาย โอกาส เพิ่มระดับมัธยมต้นขึ้นมาจากเดิมอยู่ติดกับวัด เกาะสุวรรณาราม บริเวณชุมชนวัดเกาะมีคนค่อนข้าง หลากหลาย มีชุมชนที่ทำ�เกี่ยวกับผ้า ชุมชนริมคลอง และกลุ่มช่าง และมีกรมทหารอากาศอยู่ในบริเวณใกล้ เคียงนักเรียนส่วนใหญ่อาศัยในบ้านเช่า ห้องเช่า บ้าน ริมคลอง หรือบ้านส่วนตัวเป็นส่วนน้อย โดยโรงเรียน วัดเกาะสุวรรณารามเข้าร่วมกิจกรรมกับ Saturday School มาแล้วทั้งหมด 3 Season คือ Season 3-5

21 60

TEACHERS

STUDENTS

ถ่ายภาพ

STEM

การเต้น

การแสดง

ร้องเพลง

ถ่ายภาพ

11


โรงเรียนชุมชนหมู่บ้านพัฒนา

ส�ำนักงานเขตคลองเตย

โรงเรียนชุมชนหมู่บ้านพัฒนา ได้รับความช่วยเหลือจาก อาสาสมัครที่มีวุฒิทางการศึกษาเข้ามาช่วยจัดชั้นเรียน ให้เป็นไปตาม หลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ เปิด การเรียนการสอนตั้งแต่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 - 3 โดย มีครูประทีป อึ้งทรงธรรม และอาสาสมัครอีก 9 คน เป็น ครูผู้สอน ต่อมาครูประทีปตัดสินใจโอนโรงเรียนชุมชน หมู่บ้านพัฒนาให้กับกรุงเทพมหานคร เพื่อให้นักเรียนที่ จบการศึกษา ได้รับใบประกาศนียบัตรอย่างถูกต้องตาม หลักสูตร และในปัจจุบันเปิดสอนตั้งแต่ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1 - 6 และมัธยมศึกษาปีที่ 1 - 3 โดยโรงเรียนชุมชน หมู่บ้านพัฒนาเข้าร่วมกิจกรรมกับ Saturday School มาแล้วทั้งหมด 2 Season ( Season 4-5)

14

TEACHERS

ฟุตซอล

12

ท�ำอาหาร

56

STUDENTS

งานประดิษฐ์


โรงเรียนแก่นทองอุปถัมภ์

ส�ำนักงานเขตประเวศ โรงเรียนแก่นทองอุปถัมภ์ เปิดทำ�การสอนครั้งแรก เมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม 2512 ปัจจุบันมีอาคารเรียนเพิ่มอีก 2 หลัง เปิดทำ�การสอนตั้งแต่ชั้นอนุบาล – มัธยมศึกษาปี ที่6 เป็นโรงเรียนขยายโอกาสสังกัดกรุงเทพมหานคร โดยโรงเรียนแก่นทองอุปถัมภ์ เข้าร่วมกิจกรรมกับ Saturday School ใน Season 5 เป็นครั้งแรก

29

TEACHERS

118 STUDENTS

ละครเวที

มวย

ท�ำอาหาร

ถ่ายภาพ

ภาษาอังกฤษ

13


โรงเรียนบางยี่ขันวิทยาคม เขตบางพลัด

โรงเรียนบางยี่ขันวิทยาคมเป็นหนึ่งในโรงเรียน ขยายโอกาสสังกัดกรุงเทพมหานคร โดยโรงเรียนบางยี่ขันวิทยาคมเข้าร่วมกิจกรรม กับ Saturday School มาแล้วทั้งหมด 2 Season ( Season 4-5)

14

17 51

TEACHERS

ร้องเพลง

เทควันโด

STUDENTS

ท�ำอาหาร

ถ่ายภาพ


โรงเรียนวัดบางประกอก

เขตราษฎร์บูรณะ

โรงเรียนวัดบางปะกอกเป็นโรงเรียนขยายโอกาสขนาดใหญ่ ตั้ ง อยู่ ใ นพื้ น ที่ ข องวั ด บางปะกอกผู้ ป กครองส่ ว นใหญ่ ประกอบอาชีพกรับจ้าง ทำ�งานโรงงาน อาชีพค้าขาย รับ ราชการ และทำ�ธุรกิจส่วนตัว โรงเรียนเปิดโอกาสให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมทำ�กิจกรรมใน โรงเรียน และใช้อาคารสถานที่ในการจัดกิจกรรมต่าง ๆ เช่น งานพิธี ประชุม แข่งกีฬาและออกกำ�ลังกาย ปัจจุบันชุมชน เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา โดยโรงเรียนวัดบาง ประกอกเข้าร่วมกิจกรรมกับ Saturday Schoolใน Season 5 เป็นครั้งแรก

36 119

TEACHERS

STUDENTS

ภาษาญี่ปุ่น

ท�ำอาหาร

ศิลปะป้องกันตัว

ฟุตซอล

การแสดง

ถ่ายภาพ

15


โรงเรียนแย้มจาดวิชชานุสรณ์ เขตบึงกุ่ม

เป็นโรงเรียนขยายโอกาส สอนในระดับชั้นประถม ศึกษา-มัธยมศึกษาปีที่ 3 สังกัดกรุงเทพมหานคร โดย โรงเรี ย นแย้ ม จาดวิ ช ชานุ ส รณ์ เ ข้ า ร่ ว มกิ จ กรรมกั บ Saturday School ใน Season 5 เป็นครั้งแรก

16

15 38

TEACHERS

ออกแบบ

STUDENTS

ศิลปะภาพยนตร์


โรงเรียนวัดรางบัว

ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 โรงเรียนวัดรางบัว เป็นโรงเรียนรัฐบาลในสังกัดสำ�นักงาน เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 1 ประเภทโรงเรียน มัธยมศึกษาขนาดกลาง ซึ่งเปิดสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษา ตอนต้นและตอนปลาย สังกัดสำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 1 สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น พื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการรับนักเรียนเข้าศึกษาตั้งแต่ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1–6 โดยโรงเรียนแย้มจาดวิชชานุสรณ์เข้า ร่วมกิจกรรมกับSaturday School ใน Season 5 เป็นครั้ง แรก

6

TEACHERS

ถ่ายภาพ

34

STUDENTS

เทควันโด

17


ชุมชนวัดดวงแข

เขตปทุมวัน โดยมูลนิธิเพื่อการพัฒนาเด็ก มูลนิธิเพื่อการพัฒนาเด็ก(มพด.) มีจุดประสงค์เพื่อ พัฒนาเด็กกลุ่มเป้าหมาย 4 กลุ่มหลักคือ: เด็กในสภาวะ วิกฤต 3 จังหวัดภาคใต้, แรงงานเด็ก,เด็กถูกทอดทิ้งใน ชนบท, และ เด็กชุมชนแออัดในเมือง พันธกิจของ มพด.ศูนย์ชุมชนวัดดวงแขนั้นคือการส่ง เสริมพัฒนาการของเด็กๆในชุมชนแออัดเมืองทั้งทางด้าน ร่างกายจิตใจ อารมณ์และสังคมผ่านการสร้างพื้นที่ สร้างสรรค์ เช่นการปรับภูมิทัศน์โดยรอบชุมชนและการมา พื้นที่สำ�หรับให้เด็กๆได้เล่นและเรียนรู้ที่ผ่านมา ในพื้นที่ มพด.ศูนย์ดวงแขมีการจัดกิจกรรมอยู่เรื่อยๆ แต่ยังขาด ความต่อเนื่อง การที่ Saturday School มีคอร์สระยะ ยาว 3 เดือนจึงทำ�ให้น้องๆได้ความรู้นั้นๆเข้มข้นกว่า กิจกรรมทั่วไป โดยชุมชนวัดดวงแขเข้าร่วมกิจกรรมกับ Saturday School มาแล้วทั้งหมด 2 Season ( Season 4-5)

9

TEACHERS

ดนตรี

18

20

STUDENTS

เต้นCOVER


MAKE IT COUNT ! Training Day Saturday School Season 5 17 -18 ธันวาคม 2016 @ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย

19


OUR

learning

20


ไม่เปิดใจเรียนรู้

ไม่กล้าที่จะคิด

ไม่พูดในสิ่งที่คิด

ไม่ท�ำในสิ่งที่พูด

Theorem ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง อุปสรรคทั้ง 5 ตัวคืออุปสรรคพื้นฐาน ที่ขัดขวางการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพใน ห้องเรียน การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ มุ่ ง ลดหรื อ ขจั ด อุ ป สรรคอย่ า งน้ อ ย 1อย่ า งข้ า งต้ น จะสามารถปรั บ เปลี่ ย น ทัศนคติ ท่าที และพฤติกรรมต่อการ เรี ย นรู้ ที่ ดี ขึ้ น ของนั ก เรี ย นได้ โ ดยการ ดำ�เนินการของ Saturday School Season 5 ตลอด 11สัปดาห์ของ กิ จ กรรมได้ ใ ช้ เ ครื่ อ งมื อ จากทฤษฎี ยู (Theory U)สำ�หรับการเฝ้าสังเกตของ ปรากฏการณ์ในห้องเรียนเพื่อหาหลัก ฐานการสนั บ สนุ น การเติ บ โตของ นักเรียน

ไม่รู้สึกได้ ประโยชน์จาก การกระท�ำที่ท�ำ ลงไปของตนเอง

Downloading

Transforming

Suspending

Embodying

Redirecting

Enacting

Presencing

กิจกรรมที่เกิดขึ้นตลอด Season เป็นกระบวนการแบบค่อยเป็นค่อยไป ใน 11 สัปดาห์กระบวนการเรียนรู้เน้นการชะลอ ระงับ ปฏิกิริยาตอบโต้ทันทีทันใด ทำ�ให้มีเวลาคิด พิจารณา ใคร่ครวญนานยิ่งขึ้น มุ่งให้นักเรียนสามารถมองหาทางเลือกทางการเรียนรู้ ได้มากขึ้นยอมรับความสามารถของตัวเอง นำ�มาสู่ เปิดจิต (open mind) เปิดใจ (open heart) และเปิดเจตน์จำ�นง (open will) ที่จะเรียนรู้ในสิ่งใหม่ และพัฒนาเปลี่ยนแปลงตัวเองให้ได้โดยกระบวนการเฝ้ามองการเติบโตนี้ทีม Learning Buddy จะเฝ้า สังเกตการณ์ตลอดในช่วง 11 สัปดาห์ และนำ�เสนอความเห็นถึงการพัฒนาตนเองตามทฤษฎีตัวยู ซึ่งทาง Saturday School ได้ นำ�ทฤษฎีตัวยูมาปรับให้เหมาะสมกับรูปแบบของโครงการ

21


theory U process นั ก เรี ย นทุ ก คนที่ เ ข้ า ร่ ว มกิ จ กรรมของ saturday schoolด้วยความ สมัครใจ

ขั้ น นี้ เ หมาะมากสำ � หรั บ มองหาสิ่ ง ที่ ค รู อาสาทำ � ได้ ดี ห รื อ สิ่ ง ที่ ล้ ม เหลวในการ พยายามเปลี่ยนแปลงหรือพัฒนานักเรียน และเป็นขั้นที่เหมาะอย่างมากสำ�หรับการ สั ง เกตอุ ป นิ สั ย ที่ โ ดดเด่ น ของนั ก เรี ย น เพราะเมื่อนักเรียนก้าวข้ามขั้นที่ 4 มาแล้ว นักเรียนจะแสดง พฤติกรรม ท่าที และทัศนคติออกมาให้สังเกตเห็น เช่น ความ อดทนพยายาม ความตรงต่อเวลา ในขั้นนี้นักเรียนจะพยายามหา ที่แสดงออกถึงการเปลี่ยนแปลงตัวเอง เช่น พูดเสนอความเห็น บ่อยขึ้น ชอบนำ�โชว์บ่อยขึ้น(นำ�โชว์อย่างสร้างสรรค์) และทำ�มัน ออกมาด้วยความตั้งใจของตัวเอง

ขั้นที่ 2 Suspending

ขั้นที่ 6 Embodying

ขั้นที่ 1 Downloading

ครูอาสานำ�พานักเรียนมาถึงจุดที่เด็กเปิด ใจยอมรับที่จะเรียนรู้ โดยสังเกตจากท่าทีที่ เปิดรับครูอาสา ไม่แสดงอาการต่อต้าน ใน ขณะที่ครูอาสาเองก็ ไม่ได้สร้างเงื่อนไขที่ทำ�ให้ นักเรียนปฏิเสธที่จะเปิดใจยอมรับ

ขั้นที่ 3 Redirecting ขั้นนี้สังเกตจาก 3 ตัว คือ ท่าที ทัศนคติ และพฤติ ก รรมเป็ น สำ � คั ญ ที่ บ่ ง บอกว่ า นักเรียนเริ่มหรือพยายามที่จะเปลี่ยนแปลง ตนเอง หรือ พัฒนาตนเอง โดยอาจสังเกต จากการจดบันทึก ในประเด็นเรื่องพฤติกรรม การเข้าร่วมกิจกรรม ว่านักเรียนเป็นอย่างไร

ขั้นที่ 4 Presencing (ขั้ น มุ ด รู เ ข็ ม )ขั้ น นี้ คื อ ขั้ น ที่ ท้ า ทายที่ สุ ด สำ�หรับกระบวนการนี้ คำ�ที่นิยามขั้นนี้ได้ดี คือ การเอาชนะใจตัวเอง ครูอาสานำ�พานักเรียน หรือกระตุ้นให้นักเรียนเกิดพฤติกรรมที่รู้สึก ว่าตนเองต้องเปลี่ยนแปลง หรือพัฒนาเพื่อ เอาชนะใจตัวเอง นักเรียนรู้ว่าตนเองกำ�ลังทำ� สิ่งต่าง ๆเพื่อพัฒนาตนเอง และรู้ดีว่าตนเอง กำ�ลังทำ�อะไร มี 2 ข้อสังเกตสำ�คัญ สำ�หรับ ขั้นนี้ คือ นักเรียนรู้ว่า เขาเป็นใคร และ เขา กำ�ลังทำ�อะไร สิ่งที่ต้องย้ำ�ในขั้นนี้คือ นักเรียน ทำ�ทุกอย่างบนความตั้งใจ มุ่งมั่นของตนเอง ไม่ใช่การทำ�ตามเพื่อน หรือทำ�เพราะอยาก เอาใจครูอาสา

22

ขั้นที่ 5 Enacting

ในขั้นนี้ ในกรอบของเรื่องการพัฒนาชิ้น งาน หรือสร้างสรรค์ไอเดีย ถือเป็นขั้นสุด ของกระบวนการแล้ว แต่ในมิติที่เกี่ยวข้อง กั บ การเปลี่ ย นแปลงตนเองและการ พั ฒ นาบุ ค คลยั ง ถื อ ว่ า เป็ น ขั้ น ก่ อ น สุดท้ายคำ�นิยามอย่างสั้นสำ�หรับขั้นนี้คือ เปลี่ยนจากหน้ามือเป็นหลังมือโดยปรากฏการณ์ในห้องเรียนที่ สะท้อนเรื่องนี้ได้ดี คือพฤติกรรมที่ทำ�งานจนลืมเวลาของนักเรียน (Flow) นักเรียนตั้งใจอย่างมากกับการทำ�สิ่งใดสิ่งหนึ่ง นักเรียน เปลี่ ย นไปจากสั ป ดาห์ แ รกๆที่ ร่ ว มกิ จ กรรมซึ่ ง ครู อ าสาเป็ น สิ่ ง สำ�คัญอย่างมากที่จะกระตุ้นให้เกิดด้านนี้ เช่น ให้กำ�ลังใจ สร้งา บรรยากาศสนับสนุน ไม่กดดัน หรือกดดันอย่างสร้างสรรค์(ไม่ เกิดความกลัว แต่เกิดความท้าทาย) นอกจากนั้นยังสังเกตได้จาก วัน BigDayถึงพฤติกรรมที่นักเรียนแสดง โดยดูที่ผลลัพธ์ที่แสดง หรือความภูมิใจกับสิ่งที่ตนเองทำ� โดยมีข้อสังเกตในขั้นนี้ คือจะ Embodyingได้ ต้องมีระยะเวลาเป็นตัวพิสูจน์ คือ นักเรียนเปลี่ยน และสร้างตัวตนใหม่แล้ว และรักษาตัวตนนั้น ๆได้ระยะเวลาหนึ่ง

ขั้นที่ 7 Transforming

คื อ ขั้ น สู ง สุ ด ของกระบวนการตามความ คาดหวังให้เกิดขึ้นใน Saturday School คำ�นิยามอย่างสั้นสำ�หรับขั้นนี้ คือ เฉิดฉาย คือทุกอย่างเปลี่ยนไปอย่างชัดเจน แต่ข้อ สังเกตว่าครูอาสาได้พานักเรียนมาถึงขั้นนี้ จริงหรือไม่ ให้โฟกัสที่พฤติกรรมหลังจาก เฉิดฉายแล้ว ว่านักเรียนมีแนวโน้มที่จะ พัฒนาตัวเองออกไปอีก หรือเริ่มสร้างเป้าหมายที่สูงขึ้นเพื่อ พิสูจน์ตนเอง


what ผลการสำ happened? �รวจเชิงปรากฏการณ์ หลังจากการด�ำเนินตลอดระยะเวลา 10 สัปดาห์ ในชั้นเรียน รวมกับ 1 สัปดาห์ ในวัน Big Day ของ Saturday School ได้ข้อสรุปของการพัฒนานักเรียนตามทฤษฎีตัวยูดังนี้ 35 30 25

14

20

5

CLAsses

CLAsses

CLAsses

CLAsses

CLAsses

15 10

4

4

3

4

3

CLAsses

1

CLAss

0 Downloading Suspending Redirecting Presencing

Enacting

Embodying Transforming

หากมองความสำ�คัญเชิงทฤษฎีกาที่ห้องเรียนส่วนใหญ่ นำ � พานั ก เรี ย นไปถึ ง ได้ นั บ ตั้ ง แต่ ขั้ น Presencingจนถึ ง Transforming อาจเป็นความคาดหวังสูงสุดแต่ในความ เป็ น จริ ง แล้ ว เพี ย งแค่ ก ระบวนการจั ด การเรี ย นรู้ ไ ด้ พ า นักเรียนมาถึงจุด Suspending ก็นับเป็นความสำ�เร็จที่ สำ�คัญ เพราะถือเป็นจุดเริ่มต้นในกระบวนการพัฒนาเด็ก การที่นักเรียนเริ่มเปิดใจยอมรับครูอาสา เปิดใจยอมรับการ เรียนรู้ ห้อยแขวนความเชื่อเดิมที่มี และพร้อมจะเรียนสิ่ง ใหม่ นับเป็นก้าวขั้นที่สำ�คัญ กระบวนการพัฒนาการเรียนรู้ ในชั้นเรียนจะประสบความสำ�เร็จไม่ได้เลย หากละเลยการให้ ความสำ�คัญกับผู้เรียน และจุดเริ่มต้นของการให้ความ สำ�คัญกับนักเรียน คือการทำ�ให้นักเรียนรับรู้ถึงความ สำ�คัญที่เหล่าครูอาสามอบให้ Saturday School จะได้นำ�เสนอบางห้องเรียนที่ได้บันทึกการเรียนรู้ไว้ และมุมมองที่มีต่อการเรียนรู้ที่เกิดขึ้น ทั้งนี้เป็นการบันทึก และให้มุมมองโดย Learning Buddy ในแต่ละโรงเรียนในหน้าถัดไป

23


OBSERVATION #1 ห้องเรียนวิชาฟุตซอล โรงเรียนวัดบางประกอก "หัวใจสำ�คัญของการเรียนวิชาฟุตซอลคือการพยายามสร้างความเป็นทีมให้นักเรียน เนื่องจากนักเรียนทุกคน ต่างก็มีทักษะในการเล่นมาแล้ว ดังนั้นสิ่งที่ครูจะสร้างเสริมให้จากการเข้ามาเรียนวันเสาร์ คือ ความเป็นทีม ผ่าน เครื่องมือต่าง ๆ ที่ครูออกแบบให้ นักเรียนมีความสมัครใจมาเรียน รวมถึงพยายามหาเพื่อนมารวมให้ครบทีม เห็น จากกรณีที่มีนักเรียนขอย้ายมาจากวิชาทำ�อาหาร เพราะอยากเล่นฟุตบอลกับเพื่อน ในขณะที่เพื่อนที่เรียนอยู่แล้ว ก็อยากให้เพื่อนได้เข้ามาเรียนด้วยกัน เพื่อที่จำ�นวนคนจะได้ครบทีม วิธีการที่โดดเด่นที่ครูใช้สร้างความเป็นทีม คือ ภายหลังจากการฝึกและเล่นจริงทุกครั้ง ในท้ายชั่วโมงก่อนเขียน ไดอารี่ ครูอาสาจะให้นักเรียนได้พูด feedback ให้แก่คนอื่น ๆ ในทีมฟัง ไม่ว่าจะเป็นเรื่องที่พอใจกันหรือไม่พอใจกัน รวมถึงสิ่งที่อยากให้ปรับปรุง รวมถึงครูอาสาเองก็ช่วยออกความเห็นสะท้อนให้นักเรียนได้รับรู้ด้วย

"สิ่ ง ที่ เ ห็ น ได้ ชั ด เจนของนั ก เรี ย นกลุ่ ม นี้ คื อ ความตั้งใจ ทุกๆเช้าจะเป็นกลุ่มที่รวมตัวกันมา โรงเรียนก่อนนักเรียนวิชาอื่นๆเตรียมสถานที่ อุปกรณ์ ให้พร้อมก่อนที่ครูอาสาจะมาเสียอีก และยิ่ ง เมื่ อได้ รู้ว่าจะมีการแข่งขันนักเรียนยิ่ งมี ค วาม พยายามซ้อมมากขึ้น" กระบวนการที่ครูนำ�มาใช้กับนักเรียนที่เป็นโมเดลที่ น่าสนใจ คือ การใส่ใจนักเรียนจากรายบุคคลสู่ ความเป็นทีม โดยเริ่มแรกจากการทำ�ผลสถิติทักษะ ด้านต่าง ๆ ของนักเรียนในสัปดาห์แรกที่เรียน ในช่วง ท้ายก็ส่งเสริมความเป็นทีมด้วยการให้นักเรียนเปิดใจ พูดถึงทีมและพูดถึงตัวเองทุกคน ทำ�ให้เห็นว่าการ พัฒนาความเป็นทีมนั้นต้องใส่ใจและให้นักเรียนรู้จักตัว เอง รู้จักคนอื่นในทีม จึงทำ�ให้ความเป็นทีมเกิดขึ้นมาได้ แต่นอกจากการจัดรูปแบบของครูอาสาแล้วธรรมชาติ ของวิชากีฬาที่เน้นความเป็นทีมอยู่แล้วก็ยิ่งส่งเสริม ให้การจัดการเรียนการสอนเป็นไปง่ายขึ้นและเกิดความ เปลี่ยนแปลงที่ปรากฏให้เห็นได้อย่างชัดเจน"

ปฏิพัทธ์ สถาพร

Learning Buddy โรงเรียนวัดบางประกอก

24


OBSERVATION #2 วิชาร้องเพลงและดนตรี ชุมชนวัดดวงแข วิชาเต้นและร้องเพลง เป็นวิชาที่ครูอาสาสามารถพานักเรียนมาได้ ไกลถึงล�ำดับขั้นที่นักเรียนมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม อย่างเห็นได้ ชัด เมื่อเปรียบเทียบกับสัปดาห์แรกในการเรียนการสอน ในชั้นเรียนนี้ นักเรียนส่วนใหญ่มีพื้นฐานในด้านการร้องเพลง และการเล่นดนตรี อยู่ก่อนแล้ว วิชาร้องเพลง น้องเต้ยและน้องกาย พื้นฐานมีเนื้อเสียงที่ดีอยู่แล้ว การเรียนการ สอนเน้นการร้องเพลง และแก้ไข หรือเพิ่มเทคนิคในการร้องเพลง เพื่อให้น้องๆนำ�ไปใช้ได้จริง สิ่งที่เห็นการเปลี่ยนแปลงอย่างชัดเจน ของน้องๆ คือความกระตือรือร้นในการเรียน ความตรงต่อเวลา โดย สัปดาห์หลังๆ น้องๆมักมารอครูอาสาก่อนเวลาเริ่มสอนทุกครั้ง หรือถ้าครั้งไหนที่น้องไม่สามารถมาเรียนได้ น้องก็จะนำ�การบ้านที่ครู ฝากไว้ไปฝึกซ้อม มีครั้งหนึ่งที่น้องกายแจ้งว่าติดธุระ ไม่สามารถมา ซ้อมได้ และสุดท้ายก็รีบเคลียร์งานและมาซ้อมเนื่องจากตนเองกลัว จะซ้อมไม่ทัน วิชาดนตรี วิชาดนตรีมีเทคนิคการสอนน้องแตกต่างกันไปขึ้นกับเครื่องดนตรี พื้นฐานและเทคนิคของครูอาสา แบ่งได้ดังนี้ กีตาร์ (น้องเดี่ยว) กลอง (น้องไอซ์) มีพื้นฐานอยู่ก่อนแล้ว การเรียน การสอนเน้นการเลือกเพลง และฝึกเล่นทีละท่อน โดยครูอาสามีการ สอนเทคนิคต่างๆเข้าไปสลับกับการสอน Basic เพื่อให้น้องใช้ต่อ เบส (น้องเจมส์) คีย์บอร์ด (น้องกี้ น้องเนตร) ไม่มีพื้นฐานในการเล่น ดนตรีนัก ครูต้องเน้นการสอนสลับกับการเปิด YouTube โดยเน้น สอนเป็นท่อนๆ และสอนน้อง ๆฝึกอ่านโน้ตด้วย ช่วงการสอนครูอาสาใช้วิธีชม และให้กำ�ลังกับน้อง โดยพยายามยก ตัวอย่างของนักดนตรีที่ต้องฝึกฝนเป็นเวลานากว่าจะเก่งได้

การเปลี่ยนแปลงที่เห็นได้ชัดในชั้นเรียนนี้คือ ในช่วงแรกๆ น้องๆไม่ได้ ให้ความสนใจกับการเรียนการสอนมากนัก โดยมีการขาดเรียน และ ไม่เข้าเรียนบ้างเป็นบางครั้ง แต่หลังจากที่เริ่มคุ้นเคยกับครู อาสา ครูอาสาหลายคนถือเป็น Idol ของน้อง และสามารถ ซื้อใจน้องได้ในระยะเวลาสั้นๆ ด้วยสไตล์ส่วนตัวและความ สามารถ หลังจากน้องทราบว่าเวที Big Day จะเป็นเวที แรกในการแสดงศักยภาพของน้องๆเอง น้องหลายคนมี ความกระตือรือร้น สามารถ Focus กับการเรียนได้เป็น เวลานานมากขึ้น มีการเสนอและเลือกเพลงที่ตนเองอยากแสดง และเข้าเรียนตรงเวลา มารอครูอาสาในสัปดาห์ท้ายๆ ก่อนการเรียน ทุกครั้ง สำ�หรับเครืองดนตรีไหนที่ซ้อมไม่ทัน น้องมีการนัดแนะขอ

ผลลัพธ์จากวัน Big Day น้องๆมีความภาคภูมิใจมาก เนื่องจากได้ รับเสียงตอบรับท่วมท้น และเป็นที่ยอมรับจากนักเรียนโรงเรียนอื่น น้องมีโครงการที่คิดขึ้นมาเองเพื่อท�ำต่อเนื่องจากการเรียนการสอน โดยมีการตั้งเฟสบุ๊คเพจของตัวเอง เพื่อโปรโมทผลงานและได้ใช้สิ่ง ที่ได้เรียนมาจาก Saturday School 4 และ 5 ต่อยอดสิ่งตัวเองท�ำ

พิมลพงศ์ ศรียาภัย

Learning Buddy ชุมชนวัดดวงแข

25


OBSERVATION #3 วิชาท�ำอาหาร โรงเรียนชุมชนหมู่บ้านพัฒนา นักเรียนทุกคนเต็มใจมาเรียน ตอนแรกจะมีประมาณ 11 คน แต่ตอน ช่วงหลังที่มาประจำ� เหลือ 8 คนทุกรักคุณครูอาสามาก นักเรียนมี พฤติกรรมที่ดีอย่างมากในการเรียน จะมารอคุณครูแต่เช้า แทบไม่ อยากขาดเรียนเลย ตั้งใจฟังครูมากๆ ขนาดเวลาพักยังไม่ยอมพักเลย ตอนแรกมีเด็กผู้ชายคนหนึ่งยังเข้ากลุ่มเพื่อนๆ ไม่ได้ เพราะที่เหลือเป็น ผู้หญิง แต่สุดท้ายกระบวนการเรียนรู้ที่ครูอาสาใช้ ทำ�ให้นักเรียนทุก คนเข้าใจเพื่อนมาขึ้น และยอมรับเพื่อนเข้าสู่กลุ่มด้วยความเต็มใจ นักเรียนกลุ่มนี้รู้ตัวตนตัวเองจริงๆ ว่ารักการทำ�อาหารมาก มีความสุข เมื่อได้ทำ�อาหาร เกิดความภูมิใจในตนเองมากขึ้น ตอนนี้มีนักเรียน 3 คนจากนี้ เข้าร่วมโครงการ Chef จาก Connection ของ ครู พิ้ ง ค์ ทำ � ให้ เ ข้ า มี โ อกาสได้ เ รี ย นรู้ จ ากเชฟดั ง ๆใน ประเทศไทย และถ้าผ่านการคัดเลือกจริงๆ นักเรียนกลุ่มนี้จะได้รับทุน ให้เรียนต่อในโรงเรียนทำ�อาหารของเครือโรงแรมดุสิตธานี แล้วเขาก็จะ มีอนาคตเป็นเชฟ หรือ เปิดร้านอาหารของตัวเองได้จริงๆ

บรรยากาศในการเรียนตลอดทั้ง Season ออกมาดี มากๆ เป็นห้องเรียนที่น่าเรียนมาก ขนาดตัวเราเองอยู่ ในห้องด้วยยังสนุก และมีความสุขร่วมด้วยกับตัว นักเรียน มีประเด็นเรื่องความต่อเนื่องของครูอาสาใน ช่วงแรกเล็กน้อย เพราะมีครูแค่ 2 คน ครูแก้ไขปัญหาดี มากโดยการดึงเพื่อนๆ ในที่ทำ�งานมาเป็นครูอาสาเพิ่ม และช่วยประชาสัมพันธ์โครงการให้คนรู้จักได้มากขึ้น

ปฐวี เสวกวรรณ์

Learning Buddy โรงเรียนชุมชนหมู่บ้านพัฒนา

OBSERVATION #4 ห้องเรียนวิชาภาษาอังกฤษการพูด โรงเรียนแก่นทองอุปถัมภ์ เป็นวิชาที่ครูอาสามี commitment สูงมาก โดยในหลายๆ สัปดาห์ครูอาสามาครบ กันทุกคน สัดส่วนครูต่อนักเรียนจะอยู่ที่ประมาณ 1:3 ถือเป็นความโชคดีของเด็กๆ ที่ อ่อนภาษาอังกฤษเพราะสามารถถามครูได้ตลอดเวลา ถึงแม้ว่าจะเป็นวิชาที่เนื้อหามีความเป็นวิชาการมากกว่าคลาสอื่นๆ ครูอาสาแทบจะไม่ ได้สอนโดยวิธีการ lecture เลย ทุกครั้งที่ Buddy เดินผ่านห้องนี้จะเห็นนักเรียนทำ� กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาในวันนั้นอย่างสนุกสนานรวมถึงกิจกรรมที่มีชาวต่างชาติ มาร่วมด้วยในหลายๆสัปดาห์จะได้ยินครูอาสาพูดถึงความพยายามและการข้ามผ่าน อุปสรรคให้นักเรียนฟังอยู่เสมอ ไม่ว่าจะเป็นการพูดผ่าน session ในชั้นเรียนที่จัดขึ้นมา เพื่อเล่าถึงประสบการณ์ของครูอาสาโดยเฉพาะ หรือการพูดขึ้นมาระหว่าง ในชั้นเรียน ปกติ บวกกับสิ่งแวดล้อมในห้องเรียนที่มีบรรยากาศเกื้อกูลและความเป็น femininity สูง ทำ�ให้นักเรียนเกิดการยอมรับตัวเองและความสามารถของตัวเองเพราะรู้ว่าไม่ว่า ความสามารถตอนนี้จะอยู่ระดับใดก็สามามารถพัฒนาขึ้นไปได้และมีคนคอยสนับสนุน เขาอยู่ (ทั้งครูอาสาและเพื่อน) จนกระทั่งนักเรียนมีความมุ่งมั่นในการพัฒนาตัวเองต่อ ไป ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดคือเรื่องราวของน้องที่ ไม่กล้าแนะนำ�ตัวเองแม้ครู อาสาจะให้พูดภาษาไทยก่อนในคลาสแรก แต่ในวันสุดท้ายหรือ Big Day น้องเสนอตัวเป็นพิธีกรของโรงเรียน

26

นัจญมี อู่งามสิน

Learning Buddy โรงเรียนแก่นทองอุปถัมป์


MAKE IT COUNT !

กระบวนการถอดบทเรียน Saturday School Season 5 1 เมษายน 2017 โดย Team Learning Buddy 27


เรื่องราวข้างต้นคือตัวอย่างเรื่องราวที่เกิดขึ้น ใน4ห้องเรียนต่างๆโดยคร่าวๆ ซึ่งแต่ละราย ละเอียดจะสะท้อนการเปลี่ยนแปลง เติบโตของ เด็กนักเรียน รวมไปถึงบางครั้งครูอาสาเองก็ เติบโตไปพร้อมกับเรื่องราวที่เกิดขึ้น ทั้งนี้หาก จะชี้ให้เห็นว่าแต่ละห้องเรียนได้นำ�พานักเรียนไป ถึงจุดใดของการเปลี่ยนแปลงตามทฤษฎียูทาง Saturday School ขอนำ�เสนอให้เห็นดัง แผนภาพด้านข้าง "ทั้งนี้ระดับขั้นที่แตกต่างกันไม่ ได้ สะท้อนความสำ�เร็จที่แตกต่างกันหากแต่ เป็นเครื่องสะท้อนเรื่องราวในแต่ละวิชาซึ่งใน บริบทการทำ�งานจริงแต่ละวิชา เนื้อหา รูปแบบ กิจกรรม ธรรมชาติของนักเรียน รวมไปถึง ทักษะความสามารถของครูอาสามีความแตก ต่างกันไป แต่ทุกห้องเรียนต่างมีเรื่องราวที่ปรบ ความสำ � เร็ จ รวมไปถึ ง เรื่ อ งราวที่ จ ะเป็ น ประโยชน์ต่อการทำ�งานในอนาคตจำ�นวนมาก" จากที่กล่าวไปก่อนหน้าว่าในบริบทของหการ ทำ�งานภาคการศึกษา เพียงสิ่งที่เกิดขึ้นนำ�พา นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมโดยตนเอง รวมไปถึง เปิดใจที่จะเรียนรู้ถือเป็นจุดเริ่มต้นที่สำ�คัญที่สุด แล้ว ผลลัพธ์ที่มากไปกว่านั้นคือผลกำ�ไรที่เกิด ขึ้ น เพราะจุ ด มุ่ ง หมายที่ แ ท้ จ ริ ง คื อ การพา นักเรียนออกมาเรียนรู้ทักษะในวิชานอกห้อง เรียนใหม่ๆ ที่จะส่งเสริมการพัฒนานักเรียนทั้ง ทางตรงและทางอ้อมต่อไป

Downloading วิขาเทควันโดโรงเรียนบางยี่ขันวิทยาคม

Suspending วิชาเต้น วัดดวงแข

วิชางานประดิษฐ์ โรงเรียนชุมชนหมู่บ้านพัฒนา วิชาฟุตซอล โรงเรียนชุมชหมู่บ้านพัฒนา วิชาศิลปะการแสดง โรงเรียนเพี้ยนพินอนุสรณ์ วิชาฟุตซอล โรงเรียนเพี้ยนพินอนุสรณ์ วิชาท�ำอาหาร โรงเรียนวัดบางปะกอก วิชาภาษาญี่ปุ่น โรงเรียนวัดบางปะกอก วิชาถ่ายภาพ โรงเรียนวัดบางปะกอก วิชาศิลปะป้องกันตัว โรงเรียนวัดบางประกอก วิชาถ่ายภาพ โรงเรียนวัดรางบัว วิชามวยไทย โรงเรียนแก่นทองอุปถัมภ์ วิชาถ่ายภาพ โรงเรียนแก่นทองอุปถัมภ์ วิชาถ่ายภาพ โรเรียนวัดเกาะสุวรรณาราม

Re directing วิชาท�ำอาหาร โรงเรียนเพี้ยนพินอนุสรณ์ วิชาถ่ายภาพ โรงเรียนเพี้ยนพินอนุสรณ์ วิชาการแสดง โรงเรียนวัดบางปะกอก วิชาท�ำอาหาร โรงเรียนแก่นทองอุปถัมภ์

28


CHANGING DIAGRAM ระดับขั้นการเปลี่ยนแปลงในแต่ละห้องห้องเรียน Transforming วิชาเต้น โรงเรียนวัดเกาะสุวรรณาราม

วิชา STEM โรงเรียนวัดเกาะสุวรรณาราม วิชาการออกแบบ โรงเรียนแย้มจาดวิชชานุสรณ์

Embodying วิชาดนตรี-ร้องเพลง ชุมชนวัดดวงแข

วิชาศิลปะการแสดง โรงเรียนวัดเกาะสุวรรณาราม วิชาร้องเพลง โรงเรียนยวัดเกาะสุวรรณาราม วิชาเทควันโด โรงเรียนวัดรางบัว

Enacting วิชาศิลปะภาพยนตร์ โรงเรียนแย้มจาดวิชชานุสรณ์ วิชาฟุตซอล โรงเรียนวัดบางปะกอก วิชาการแสดง โรงเรียนแก่นทองอุปถัมภ์

Presencing วิชาท�ำอาหาร โรงเรียนชุมชนหมู่บ้านพัฒนา

วิชาท�ำอาหาร โรงเรียนบางยี่ขันวิทยาคม วิชาร้องเพลง โรงเรียนบางยี่ขันวิทยาคม วิชาภาอังกฤษการพูด โรงเรียนแก่นทองอุปถัมภ์

29


LEARNING ECOLOGY นิเวศการเรียนรู้ Saturday School Season 5

นิเวศการเรียนรู้เป็นสิ่งที่ Saturday School ให้ความสนใจเป็นอย่างมากในการจัดกระบวนการเรียนรู้ ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกับเด็ก มักมาจากหลายปัจจัย โดยหนึ่งในปัจจัยสำ�คัญคือบรรยากาศการเรียนรู้ที่เอื้อต่อการพัฒนานักเรียน ทั้งนี้มิติของนิเวศการเรียนรู้ ที่ Saturday School ให้ความสำ�คัญมีอยู่หลายประการ ทั้งนี้ตัวชี้วัดด้านนิเวศการเรียนรู้ของ Saturday School Season 5 มี อยู่ทั้งหมด 13 ตัวชี้วัดหลัก และ 51 ตัวชี้วัดย่อย โดยตัวชี้วัดทั้งหมดเกิดจากกระบวนการ Design Thinking โดยทีม Learning Buddy ซึ่งมีดังนี้ ในด้านนี้เป็นองค์ประกอบหลักอันเป็นส่วนส�ำคัญที่ท�ำให้การเรียนรู้เกิดขึ้นได้อย่างมี ประสิทธิภาพนับตั้งแต่การสร้างหลักสูตร การจัดกระบวนการเรียนรู้ เทคนิคในชั้น เรียนไปจนถึงการสนับสนุนนักเรียนทางตรงเพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างสูงสุด ทั้งนี้ นิเวศน์หลักเพื่อสร้างการเรียนรู้ประกอบด้วยข้อสังเกตการณ์ที่รวบรวมได้ ดังนี้

นิเวศน์

หลัก

ตัวชี้วัดหลัก

30

ตัวชี้วัดย่อย

1.ลักษณะการเรียนรู้

-Lecture Base -Activity Base

2. ลักษณะเป้าหมายการเรียนรู้

-Learning Goal -Performance Goal

3. ส่งเสริมและพัฒนาความ มั่นใจ

-ตระหนักรู้ในความสามารถของตนเอง -สร้างกระบวนการส่งเสริมการแสดงออก

4. ครูเป็นตัวอย่างที่ดีให้กับ นักเรียน

-นักเรียนเกิดความภาคภูมิที่ได้เรียนรู้กับครูผู้สอน -ครูสามารถกระตุ้นให้นักเรียนเกิดการยอมรับคุณค่าในตัวเอง -นักเรียนยึดถือครูเป็นต้นแบบ (Role Model)

5. ศิลปในการใช้อารมณ์ความ รู้สึกเพื่อสร้างบรรยากาศการ เรียนรู้

-ศิลปะในการถ่ายทอดอารมณ์เพื่อให้นักเรียนเข้าใจความหมายของกิจกรรม -ใช้สถานการณ์ความตึงเครียดได้เกิดประโยชน์ -สร้างบรรยากาศ Melodrama เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ -สร้างความสนิทสนมระหว่างครูและนักเรียน -เอื้อเฟื้อ เผื่อแผ่

6. ความคิดสร้างสรรค์

-ส่งเสริมการมีจินตนาการอย่างสร้างสรรค์ -พัฒนากระบวนการส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ -สร้างบรรยากาศเชิงบวกต่อการมีความคิดสร้างสรรค์ -เปิดใจในการเรียนรู้สิ่งใหม่

ตัวชี้วัดหลัก

-สร้างพื้นที่ส่งเสริมความกล้า (กล้าคิด กล้าทำ� กล้าคิดนอกกรอบ)


ตัวชี้วัดหลัก

ตัวชี้วัดย่อย -ส่งเสริมให้นักเรียนได้เลือกบทบาทที่ตนเองมีความถนัดหรือสนใจ -นักเรียนทำ�หน้าที่ที่ได้รับผิดชอบอย่างตั้งใจ -ตระหนักถึงความสำ�คัญของการทำ�งานร่วมกัน -สร้างศักยภาพได้สูงสุดจากการทำ�งานร่วมกันอย่างทรงพลัง -สร้างความสามัคคี -สร้างการเป็นหนึ่งเดียว

7. ความร่วมมือ

-สร้างการมีส่วนร่วมในการออกแบบกฎระเบียบในชั้นเรียน -ใช้กระบวนการประชาธิปไตย -สร้างกระบวนการที่เสียสละ ลดความเห็นแก่ตัว -ปลูกฝังการสร้างวินัยในตนเอง

8. ระเบียบวินัย

9. ความพร้อมในการเรียนรู้ (OPEN MIND)

นิเวศน์

เสริม

-สร้างมุมมองที่เห็นร่วมตรงกัน -Positive conversation -น้อมรับคำ�วิจารณ์ -เปิดใจรับฟัง -เปิดมุมมองใหม่ / เปิดหูเปิดตา -มีความยืดหยุ่นสูง

ประสิทธิภาพ ในด้านนี้เป็นรูปแบบกิจกรรม หรือกระบวนการที่ต้องใช้องค์ความรู้เพิ่ม เติม หรือกระบวนการเพิ่มเติมเพื่อส่งเสริมและพัฒนาเด็กในชั้นเรียนให้ได้รับประโยชน์ สูงสุดจากการเรียนรู้ โดยใน Season นี้ มีนิเวศโดยเด่นของด้านนี้ ดังนี้

ตัวชี้วัดหลัก

ตัวชี้วัดย่อย

1. Growth Mindset & Grit

-ปลูกฝังคุณค่าของการพยายาม -แสดงออกถึงความพยายามในสิ่งที่ยากลำ�บาก -ไม่กลัวความล้มเหลว และพร้อมเผชิญหน้าความล้มเหลว มุ่งมั่นพากเพียร ไม่ย่อท้อ ครูตั้งเป้าหมายที่ใหญ่กับนักเรียน

2.Professional Commitment

-การอุทิศตัว -มีความมุ่งมั่น -ความรับผิดชอบ -ยอมรับความเห็นต่าง

3. Flow

-ชอบและรู้สึกสนุก -ตั้งใจ จดจ่อ

31


"การศึกษาไม่ใช่ระบบเครื​ื่องยนต์กลไก มันเป็นระบบของมนุษย์..... เราต้องมองว่านี่เป็นเรื่องของมนุษย์ ซึ่งเติบโตงอกงามได้ดีในสภาวะบางอย่าง และไม่สามารถเติบโตได้ในสภาวะบางอย่าง"

- Sir Ken Robinson -

April 2013 at TED Talks Education

32


cONCLUSION นิเวศตามแผนภาพคือนิเวศที่สนับสนุนให้นักเรียนได้เรียนรู้และเติบโตไปกับกิจกรรมการเรียนรู้ สู่การ แก้ไขอุปสรรคการเรียนรู้อย่างน้อย 1 ใน 5 ของอุปสรรคการเรียนรู้และสร้างทัศนคติ ท่าที และ พฤติกรรมตามที่กล่าวไว้ในบทนำ� ทั้งนี้ในตลอด Season มีการเฝ้าสังเกตอย่างน้อย 51ตัวชี้วัดที่แสดงถึงนิเวศที่สนับสนุนให้เด็กมี การเติบโต โดยมีอย่างน้อย 22 ตัวชี้วัดที่มีความเด่นชัด (ค่าเฉลี่ยมากกว่า 3.5 เต็ม 5) เรียงล�ำดับ ตามค่าเฉลี่ยได้ดังนี้

ตัวชี้วัด

Activity Base ครูมีความสนใจในนักเรียนสูง ความสนิทสนม ระหว่างครูและนักเรียน ปลูกฝังคุณค่า ของการพยายาม เกิดความภาคภูมิที่ได้เรียนรู้กับครูผู้สอน เปิดใจรับฟัง ครูให้ตัวอย่างที่ดีอย่างหลากหลายกับนักเรียน ครูเป็น Role Model ให้กับนักเรียน ความสนุก Positive conversation เปิดมุมมองใหม่ / เปิดหูเปิดตา นักเรียนท�ำหน้าที่ที่ได้รับผิดชอบอย่างตั้งใจ มีความยืดหยุ่นสูง Self-Awareness ความมุ่งมั่น ความรับผิดชอบ ครูสามารถกระตุ้นให้นักเรียนเกิดการยอมรับคุณค่าในตัวเอง แสดงออกถึงความพยายามในสิ่งที่ยากล�ำบาก ครูมีความเสมอต้นเสมอปลาย นักเรียนได้เลือกบทบาทที่ตนเองมีความถนัดและสนใจ ไม่กลัวความล้มเหลว และพร้อมเผชิญหน้าความล้มเหลว เกิดความตั้งใจจดจ่อ

ค่าเฉลี่ย

4.55 4.23 4.16 3.94 3.84 3.81 3.77 3.77 3.71 3.71 3.71 3.68 3.65 3.61 3.58 3.58 3.58 3.58 3.58 3.52 3.52 3.45

33


VOLUNTEER

WORDS

34


"เรารู้จัก Saturday School จากที่มีเพื่อนแชร์มาทางเฟสบุ๊ค ตอนนั้นกำ�ลังรับสมัครครูอาสา โครงการที่ 5 แล้วเห็นครั้งแรกก็ อยากร่วมโครงการทันทีเพราะ สนใจประเด็นเรื่องการศึกษา ไทยและสภาพแวดล้อมที่ส่งผล ต่อการเติบโตของเยาวชนมา นาน"

"ตอนสมัครก็ไม่ได้คิดว่าโครงการจะจริงจัง ขนาดนี้หรอกนะ มี workshop ด้วย มีการเท รนด์แบบเน้นไปที่ความคิด ให้เราเข้าใจเด็ก การ สื่อสารกับเด็ก การปลูกฝังให้เด็กอยากพัฒนา ตัวเอง และให้เชื่อว่าเขาสามารถทำ�ได้ เขา สามารถเปลี่ยนแปลงชีวิตตัวเองได้ เราว่ามันดี กับเด็กนะ น่าจะให้คุณครูจริงๆ มาเข้าร่วม อบรมด้วย แถมยังมีทีมวิจัยเก็บข้อมูลทั้งครู อาสาและนักเรียนเพื่อเอาไปพัฒนาครั้งต่อไป ด้วย #จริงจังมาก เค้าไม่ใช่กลุ่มคนที่เอาแต่บ่น ในเฟสว่าระบบการศึกษาไทยห่วยอ่ะ แต่เค้า ลงมือทำ� และพยายามแก้ไขมันจริงๆ"

"สามเดือนที่เข้าร่วมโครงการ ไม่ใช่แค่นักเรียนเท่านั้นที่ ได้ ประโยชน์จากโครงการนี้แต่ครูเช่นกัน ที่ ได้ทบทวนความ เชื่อที่พกมาและพัฒนาตัวเองไปพร้อม ๆ กัน" วิธีออกแบบบรรยากาศในห้องเรียนให้ผ่อนคลายและ สนุกฯลฯจนจบโครงการเราเห็นการเปลี่ยนแปลงระดับ ที่ตอนแรกก็ไม่ได้คาดว่าจะได้เห็น นักเรียนหลายคน ทลายกำ�แพงของความไม่มั่นใจที่จะพูดภาษาอังกฤษ พิสูจน์ให้เราได้เห็นถึงความพยายาม และผลลัพธ์ที่น่า ชื่นใจ ท้ายที่สุดคือพิสูจน์ความเชื่อของเราว่าถ้าคนเป็น ครู ห ยิ บ ยื่ น ศรั ท ธาและความเชื่ อ ให้ นั ก เรี ย นก่ อ น นักเรียนจะมอบสิ่งล้ำ�ค่ากลับมาแน่นอน มันคือผล ตอบแทนที่ยิ่งกว่าคุ้มค่า เทียบกับการลงทุน ลงแรง "ยอมรับว่าทุกเช้าที่ต้องตื่นไปสอนจะรู้สึกขี้เกียจ มาก แต่พอฮึบไปสอนได้ กลับมาก็จะรู้สึกว่า ขอบคุณตัวเองที่ตื่นไป : )"

35


student

words

36


#SATURDAYSCHOOL #MAKEITCOUNT #SS5

37


OUR RESEARCH

38


ประเด็นที่ทำ�การศึกษา Sense of Purpose คือ แรงจูงใจที่เป็นแรงผลักดันไปสู่การบรรลุเป้าหมายในอนาคต โดยเป้าหมายในอนาคต

นั้นขึ้นอยู่กับการให้คุณค่า และความเชื่อของแต่ละบุคคล ส่งผลให้เกิดเป็น พฤติกรรมที่แตกต่างกันไปในแต่ละ บุคคล การมี Sense of Purpose ที่ดีทำ�ให้บุคคลนั้นมีพฤติกรรมที่ส่งเสริมให้เกิดคุณภาพชีวิตที่ดี และจากการ ศึกษาในสหรัฐอเมริกา ในกลุ่มตัวอย่างผู้ใหญ่ 3,489 คน อายุระหว่าง 32 ถึง 84 ปี พบว่าคนที่มี Sense of Purpose สูงจะมีความจำ�ที่ดีและมี Executive Function ที่ดีด้วย Grit ใน ทางจิตวิทยา ดร. Angela Duckworth ได้นิยาม Grit ว่า Passion and Perseverance สำ�หรับเป้า หมายในระยะยาว(หลายปี) Grit คือการมุ่งมั่นทำ�งานหนักและรักษาความสนใจอย่างต่อเนื่องเป็นระยะเวลานาน หลาย ปีโดยไม่ยอมแพ้ต่อความล้มเหลวหรือปัญหาที่ต้องเจอ ดร. Duckworth ได้เปรียบเทียบการทำ�งานของ คนที่มี Grit ว่าเหมือนกับการวิ่งมาราธอน คนที่มี Grit จะมีความอึด (Stamina) เป็นอาวุธในการผลักดันตัวเอง ไปข้างหน้า ในขณะที่คนอื่นจะยอมแพ้ไปเมื่อเจอกับความผิดหวังหรือความเบื่อหน่าย ในงานวิจัยของดร. Duckworth เธอได้ศึกษาความสัมพันธ์ของ Grit กับความสำ�เร็จของคนกลุ่มต่างๆตั้งแต่นักศึกษามหาวิทยาลัย ไปจนถึงนักเรียนใน โรงเรียนของกองทัพ เธอพบว่าค่าวัด Grit ที่แตกต่างกันในคนแต่ละคนเป็นตัวชี้วัดของความ สำ�เร็จที่มีประสิทธิภาพ และเป็นตัวชี้วัดได้ดีกว่า IQ Learning Motivation คือแรงขับเคลื่อนที่อยู่ภายในตัวบุคคล ที่จะกระตุ้นให้บุคคลนั้นเกิดการกระทำ� แรง ขับดังกล่าวเกิดจากความต้องการพื้นฐาน แรงผลัก / พลังกด หรือความปรารถนา อันเนื่องมาจากสิ่งล่อใจ ความคาดหวัง หรือการตั้งเป้าหมาย ทำ�ให้บุคคลพยายามดิ้นรนเพื่อให้บรรลุผลสำ�เร็จตามวัตถุประสงค์ ซึ่งแรง จูงใจอาจจะเกิดมาตามธรรมชาติหรือจากการเรียนรู้ก็ได้ ในทางการศึกษา Learning Motivation จึงหมายถึง แรงขับเคลื่อนภายในตัวบุคคลที่ต้องการเรียนรู้และประสบความสำ�เร็จในการเรียนรู้ อาจเกิดขึ้นจากตนเอง หรือ จากการสนับสนุนจากบุคคล สภาพแวดล้อมที่อาศัยอยู่

Self-control เป็นทักษะ ความสามารถในการควบคุมอารมณ์ ความคิด พฤติกรรม ในสถานการณ์ที่ทำ�ให้

เกิดความไม่พึงพอใจ ไม่ปรารถนา โดยมีการศึกษาวิจัยโดยห้องปฏิบัติการของ ดร.Duckworth พบว่าการ ควบคุมตนเองเป็นปัจจัยหนึ่งในการทำ�นายระดับ Grit ของแต่ละบุคคล โดย Grit เป็นแนวโน้มที่จะรักษาความ สนใจและเป้าหมายในระยะยาว แต่ Self-Control เป็นการควบคุมตนเองในสถานการณ์เฉพาะหน้า อย่างไร ก็ตามบุคคลที่มี Self-Control สูงอาจจะไม่ได้เป็นบุคคลที่มี Grit สูงเสมอไป และเป็นเช่นเดียวกันในทางตรงข้าม ทั้งนี้เนื่องจากปัจจัยด้านเวลาที่สะท้อนให้เห็นถึงการควบคุมตนเองในระดับชั่วโมง อาจใช้แรงขับภายในแตกต่าง จากการควบคุมตนเองในช่วงเวลาที่ยาวเป็นเดือน ปี หรือทศวรรษได้

คำ�ว่า Growth Mindset และ Fixed mindset ถูกนิยามขึ้นโดยดร. Carol Dweck เพื่ออธิบายความเชื่อที่ มีต่อการเรียนรู้และสติปัญญาของแต่ละคน ในงานวิจัยเพื่อศึกษาทัศนะคติของเด็กแต่ละคนหลังจากที่พบกับ ความล้มเหลว ดร. Dweck พบว่าเด็กบางคนสามารถที่จะรับมือกับความล้มเหลวและพยายามกลับมาสู่ความ สำ�เร็จได้ ในขณะที่เด็กบางคนกลับรู้สึกท้อแท้แม้กับความผิดพลาดเพียงแค่เล็กน้อย ดร. Dweck เรียกเด็กกลุ่ม ที่เชื่อว่าความสามารถและสติปัญญาของตนเองสามารถพัฒนาขึ้นได้ ถ้าได้รับการฝึกฝนว่ามี Growth Mindset และเรียกเด็กอีกกลุ่มหนึ่งที่เชื่อว่าความสามารถและสติปัญญานั้นเป็นสิ่งที่ ติดตัวมาตั้งแต่เกิด และ ยากที่จะพัฒนาได้ว่ามี Fixed Mindset Growth Mindset เป็นตัวบ่งชี้ที่สำ�คัญตัวหนึ่งสำ�หรับคาดการณ์ความสำ�เร็จของเด็กแต่ละคน เด็กที่มี Fixed Mindset ที่เชื่อว่าระดับสติปัญญานั้นถูกกำ�หนดมาตั้งแต่เกิดจะพยายามทำ�ให้ตัวเองดู ฉลาดอยู่เสมอ ซึ่งส่งผล ให้เขาพยายามหนีและยอมแพ้กับความท้าทายที่มากเกินไป และเขาจะรู้สึกว่าการพยายามเรียนรู้ไม่มีความหมาย อะไร ในขณะเดียวกันเด็กที่มี Growth Mindset ที่เชื่อว่าความสามารถของตนเองสามารถพัฒนาขึ้นได้ด้วย การฝึกฝนจะพยายามใช้ เวลากับการเรียนรู้มากขึ้น และไม่ยอมแพ้เมื่อเจอกับอุปสรรคหรือความท้าทายที่มาก ขึ้น ซึ่งจะนำ�ไปสู่อัตราการประสบความสำ�เร็จที่สูงขึ้น

39


วิธีการวิจัย

การวิจัยครั้งนี้ทำ�การเก็บข้อมูลจาก 3 แหล่งสำ�คัญ ได้แก่ แบบสอบถามก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการ ไดอะรีที่นักเรียนบันทึกหลัง การเรียนแต่ละครั้ง และทำ�การสัมภาษณ์ตัวแทนครู และทีมงานในโครงการ

STEP1 STEP2 STEP3 STEP4 STEP5 STEP6

SEASON START

AFTER SEASON SEASON END

แบบสอบถาม 1. แบบวัด Sense of Purpose แปลมาจาก David Yeager และคณะ

10 ข้อ

2. แบบวัด Growth Mindset (เชิงความคิด) แปลมาจาก แบบวัดของ Carol Dweck

16 ข้อ

3. แบบวัด Growth Mindset (เชิงพฤติกรรม) พัฒนาขึ้นโดยทีมวิจัย Saturday School Season5

14 ข้อ

4. แบบวัด Grit แปลมาจาก แบบวัดของ Angela Duckworth 5. แบบวัด Learning Motivation พัฒนามาจากแบบวัดของ สุกิจ ทวีศักดิ์ 6. แบบวัด Self-Control พัฒนาขึ้นโดยทีมวิจัย Saturday School Season5

40

8 ข้อ 13ข้อ 8ข้อ

ใ น โ ค ร ง ก า ร นี้ ทำ � ก า ร เ ก็ บ แบบสอบถาม2 ครั้ง คือสัปดาห์ที่ 1 ก่อน เริ่มกิจกรรม และสัปดาห์สุดท้ายหลังสิ้น สุดกิจกรรมในชั้นเรียน ทำ�การวิเคราะห์ เปรียบเทียบความแตกต่างจากนั้นทำ�การ สัมภาษณ์กลุ่มโดยมีตัวแทนครูตัวแทน ทีมงานเพื่ออธิบายผลการวิเคราะห์ที่ค้น พบ แบบสอบถามที่ใช้ในการเก็บข้อมูลทีม วิ จั ย ไ ด้ แ ป ล แ ล ะ พั ฒ น า ขึ้ น จ า ก แบบสอบถามฉบับภาษาอังกฤษ โดยมี รายละเอียดในการพัฒนาแบบสอบถาม ตามตารางด้านขวามือ


ไดอารี่ ไดอารี่เป็นสมุดที่ให้นักเรียนบันทึกหลังการเรียนการสอนแต่ละ ครั้ง โดยมีการบันทึก 2 รูปแบบคือแบบมีคำ�ถามนำ� และแบบไม่มี คำ�ถามนำ�โดยครูผู้สอนแต่ละคนเป็นผู้กำ�หนดว่าจะให้นักเรียน บันทึกในลักษณะใดตามความเหมาะสมของผู้เรียนและชั้นเรียน ของตน ในการวิเคราะห์ครั้งนี้ได้ทำ�การสุ่มเลือกไดอารี่จำ�นวน 174 เล่ม และทำ � การอ่ า นพร้ อ มกั บ นั บ จำ � นวนครั้ ง ที่ เ ด็ ก นั ก เรี ย นบั น ทึ ก ข้อมูลที่แสดงให้เห็นว่าเกิดการเรียนรู้ สนใจ หรือมีพัฒนาการใน ประเด็นที่ทำ�การศึกษา และเพื่อลดอคติในการตรวจสอบ ทีมวิจัย ได้ใช้วิธี Inter-Rater โดยให้ทีมงาน 3 คนอ่านไดอารี่เล่มเดียวกัน และบันทึกจำ�นวนครั้งที่เด็กนักเรียนเขียนข้อความในแต่ละประเด็น ก่อนจะนำ�มาหาสรุปโดยใช้ค่ากลาง (Median) ของคะแนนจากผู้ อ่านทั้ง 3 คน

การสัมภาษณ์กลุ่ม

การสั ม ภาษณ์ ก ลุ่ ม มี จุ ด มุ่ ง หมายเพื่ อ หาคำ � อธิ บ าย ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นจากผลการศึกษาที่ ได้จากการวิเคราะห์ แบบสอบถามและไดอารี่ โดยมีผู้ให้ข้อมูลเป็นครู และทีมงานใน โครงการ โดยมีการนำ�เสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลและสอบถาม ถึงรูปแบบการเรียนการสอนที่น่าจะทำ�ให้เกิดผลตามข้อมูลเชิง ประจักษ์ พร้อมทั้งรวบรวมข้อเสนอแนะในการดำ�เนินโครงการ ครั้งต่อไป

41


ผลการวิเคราะห์ข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามนักเรียน พบว่าค่าเฉลี่ย Growth Mindset Self Control และ Grit ของนักเรียนเพิ่มขึ้น อย่างมีนัยสำ�คัญทางสถิติ โดยระดับการเพิ่มขึ้นอยู่ในช่วง .015 - .160 จากมาตรวัดที่มีช่วงคะแนน 4 คะแนน จึงอาจกล่าวได้ ว่าการเพิ่มขึ้นนั้นไม่เด่นชัดจนเกิดเป็น Practical Significant เมื่อพิจารณาค่าเฉลี่ยแต่ละด้าน พบว่าด้าน Sense of Purpose และ ด้าน Motivation มีค่าเฉลี่ยค่อนข้างสูง จึงอาจ เป็นสาเหตุหนึ่งที่ ไม่มีการเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำ�คัญทางสถิติที่ ชัดเจน ในด้านอื่น ๆ นั้นมีค่าเฉลี่ยอยู่ในช่วง 3.0 – 3.5 ซึ่งจัดอยู่ ในเกณฑ์ปานกลาง แผนภูมิเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยด้านต่างๆ ก่อนเรียน-หลังเรียน ของตัวแปรที่ศึกษาในโครงการ 4.50 4.00 3.50 3.00 2.50 2.00 1.50 1.00 0.50 0.00

Sense of Purpose

Growth Mindset

ประเด็นที่ศึกษา

42

Growth Behavier

Learning Motivation

Self Control

Grit


ในการวิเคราะห์ข้อมูลจากไดอารี่ ทีมงานใช้เครื่องมือเป็นแบบประเมินเนื้อหา โดยมีข้อประเด็นในการประเมินดังนี้ ข้อความที่ท่านอ่าน แสดงให้เห็นลักษณะดังต่อไปนี้หรือไม่ จำ�นวนทั้งหมดกี่ครั้ง (การบันทึกข้อความลักษณะเดียวกันในวัน เดียวกันนับเป็น 1 ครั้ง) ข้อความเชิงบวก

ข้อความเชิงลบ

1. เด็กสนใจในกิจกรรมที่ทำ� 2. เด็กชอบ / สนุกในกิจกรรมที่ทำ� 3. เด็กอยากพัฒนาตนเองเพิ่มเติม / อยากเก่งขึ้น 4.เด็กเจอปัญหาในการเรียน/สร้างผลงานแต่ ไม่ยอมแพ้ พยายามแก้ไขจนสำ�เร็จ 5. เด็กรู้สึกว่าสามารถนำ�ไปใช้ประโยชน์ในชีวิต / อาชีพได้ 6. เด็กอยากเรียนอีก / อยากรู้เพิ่ม

1. เด็กรู้สึกว่ากิจกรรมไม่น่าสนใจ 2. เด็กรู้สึกเบื่อหน่ายในการเรียน 3. เด็กรู้สึกว่าเนื้อหา งานที่ทำ�ยากเกินไป ไม่สามารถทำ�ให้สำ�เร็จ ได้ 4. เด็กไม่รู้ว่าสิ่งที่เรียนไปมีความหมาย ประโยชน์อย่างไรต่อ ตนเอง 5. เด็กรู้สึกอยากเลิกเรียน อยากไปเรียนอย่างอื่น ไม่อยากเรียน สิ่งนี้ต่อ

จำ�นวนครั้งที่นักเรียนบันทึกข้อความที่สะท้อนถึงประเด็นด้านต่างๆในไดอารี่

160 คน 140 คน 120 คน 100 คน 80 คน 60 คน 40 คน 20 คน 0 คน

160 คน 140 คน 120 คน 100 คน 80 คน 60 คน 40 คน 20 คน 0 คน

สนใจ

สนุก

พัฒนาตนเอง

ไม่ยอมแพ้

ประโยชน์

อยากเรียน

มากกว่า3ครั้ง 3 ครั้ง 2 ครั้ง ไม่น่าสนใจ

เบื่อหน่าย

ยอมแพ้

ไม่ประโยชน์

อยากเลิกเรียน

1 ครั้ง

43


สรุปผลการวิเคราะห์

LAYOUT

LEARNING

ในภาพรวม หลังดำ�เนินโครงการจบแล้ว นักเรียนที่เข้าร่วม โครงการมีค่า Growth Mindset หรือความเชื่อมั่นใน ตนเองว่าสามารถพัฒนาความฉลาดและพรสวรรค์ของตน เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำ�คัญ(statistical significant) หรือ กล่ า วได้ ว่ า นั ก เรี ย นเกื อ บทั้ ง หมดมี ก ารเติ บ โตในด้ า นดั ง กล่าว แต่ในทางสถิติค่าที่เพิ่มขึ้นนั้นไม่เด่นชัด (practical significant) จึ ง สามารถตั้ ง สมมติ ฐ านได้ ว่ า การเพิ่ ม ขึ้ น ของ Growth Mindset ในโครงการน่าจะไม่ได้เกิดจาก ปัจจัยระดับหน่วยย่อย เช่นครู ห้องเรียน หรือโรงเรียน แต่เป็นปัจจัยที่เกิดจากหน่วยใหญ่ที่นักเรียนทุกคนใน โครงการได้รับเหมือน ๆ กัน เช่น รูปแบบของโครงการ เป็นต้น

ด้าน Self-Control และ Grit เป็นด้านที่มีการเพิ่มขึ้นอย่างมี นัยสำ�คัญ และมีแบบแผนคล้ายคลึงกับด้าน Growth Mindset คือมีการเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำ�คัญทางสถิติ แต่ไม่แตกต่างอย่าง เด่นชัดโดยจากงานวิจัยอื่นๆ พบว่า Self-Control และ Grit มีความเกี่ยวโยงกัน การเพิ่ม ขึ้นของสองสิ่งมีความสอดคล้องกันคือด้านพฤติกรรมเชิงลบ ในด้ า นความสนใจในสิ่ ง ต่ า งๆของนั ก เรี ย นนั้ น ลดลงซึ่ ง สันนิษฐานว่าน่าจะเกิดจากการที่นักเรียนได้เรียนรู้สิ่งที่ตนเอง สนใจในรูปแบบที่เหมาะสมกับตนเอง การพัฒนานี้เป็นเช่นเดียว กับ Growth Mindset คือมีการเปลี่ยนแปลงเฉพาะข้อคำ�ถาม เชิงลบซึ่งอาจจะเป็นการควบคุมพฤติกรรมด้านที่ไม่พึงประสงค์ ของตนเอง รวมทั้งเกิดความเชื่อมั่นว่าตนเองสามารถพยายาม ทำ�สิ่งต่างๆอย่างตั้งใจได้มากขึ้นแต่เมื่อสะท้อนออกมาในด้าน LearningMotivationกลับพบว่าไม่มีการเปลี่ยนแปลงที่ชัดเจน

ในทางกลับกัน พบว่าพฤติกรรมของคนที่มี Growth Mindset กลับไม่มีการเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำ�คัญทางสถิติซึ่ง หากพิจารณาเฉพาะข้อคำ�ถามที่มีการเปลี่ยนแปลงพบว่า เฉพาะข้ อ คำ � ถามเชิ ง ลบที่ มี ก ารเปลี่ ย นแปลงอย่ า งมี นั ย สำ�คัญ ซึ่งแบบทดสอบนี้เป็นแบบทดสอบที่ประยุกต์มาก จากแบบวัด Growth Mindset และข้อคำ�ถามเชิงลบเป็นข้อ คำ�ถามสำ�หรับ Fixed Mindset จึงอาจกล่าวได้ว่าระดับความคิดแบบFixed Mindset ของนักเรียนลดลงและมีแนวโน้มที่จะเปลี่ยนแปลงเป็น Growth Mindset ได้ แต่ยังไม่พบการเปลี่ยนแปลงนั้น ในโครงการนี้

จึงอาจกล่าวได้ว่านอกจากพฤติกรรมด้าน SelfControl ที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างเด่นชัดแล้ว ในด้านอื่น ๆ นั้นเป็นจุดเริ่มต้นและเกิดการเปลี่ยนแปลงในระดับความ คิดยังไม่มีการแสดงออกมาเป็นพฤติกรรมที่ชัดเจนทาง สถิติ

DIARY การวิเคราะห์ ไดอารี่ของนักเรียนพบว่านักเรียนส่วนใหญ่ แสดงทัศนคติเชิงบวกในการเข้าร่วมโครงการ อาจเนื่องจากใน โครงการครั้งนี้การเขียนไดอารี่มีประโยชน์หลักใน การสื่อสาร ระหว่างครูและนักเรียนมากกว่าประโยชน์ด้านการ วิจัย ในการ ดำ�เนินโครงการครั้งต่อไปจะมีการพิจารณา ปรับเปลี่ยนรูปแบบ การเก็บข้อมูลผลสะท้อนกลับจาก นักเรียนมากขึ้น และฝึกให้ นักเรียนสะท้อนกลับความรู้สึก ทั้งที่เด่นชัดและไม่เด่นชัดซึ่งล้วน เป็นสิ่งสำ�คัญในการ พัฒนาการจัดการเรียนรู้ต่อไป

44


FOCUS GROUP จากการสัมภาษณ์กลุ่ม พบว่าความเปลี่ยนแปลงไม่ได้เกิดจาก ปัจจัยที่เกิดจากบุคคล แต่เกิดปัจจัยที่ทุกคนได้รับเหมือนกัน เช่น โอกาสใน การเรียนสิ่งที่ตนเองสนใจ โอกาสในการได้ทำ�ผล งานที่มีความ ท้าทายในวิชาเรียน การเห็นคุณค่าของสิ่งที่ ตนเองได้ทำ�จาก กิจกรรม Big Day แต่ทั้งนี้ยังไม่สามารถระบุ เจาะจงลงไปได้ว่า เกิดจากสาเหตุใดเป็นหลักในแต่ละรายบุคคล

ทีมวิจัย

น.ส.ศิโรรัตน์ จรัสรุ่งโรน์กุล นายศุภฤกษ์ รักชาติ น.ส.ภาวิณี จันทร์แก้ว นายณชพงศ์ กนกสุทธิวงศ์ นายณพล รัชตะสัมฤทธิ์ นายกันตวัฒน์ สุวรรณเลขา นายพิรัล วีสมหมาย น.ส.รุจิรา กตัญญู น.ส. วรรณธิรา น้อยศิริ น.ส. พัฒนลักษณ์ พิมสามสี น.ส. ชนินาถ ปุญญาวิวัฒน์ น.ส.ณัชชา โตธรรม นายณัฐพันธ์ ตันติวรวงศ์ น.ส. ชุติกาญจน์ ตั้งจินดามณี

NEXT SEASON...!!! ในการจัดโครงการครั้งต่อไปจะมีการศึกษาวิจัย ทฤษฎี แนวคิดที่จะพัฒนา พร้อมทั้งทำ�ความเข้าใจในการพัฒนา เด็ ก ด้ า นที่ น อกเหนื อ จากรายวิ ช าของครู ที่ จ ะเข้ า ไปสู่ โครงการให้มีทิศทางการพัฒนาไปในทางเดียวกันที่ รวม ถึงเตรียมความพร้อมด้านทักษะ ในการส่งเสริมปัจจัยใน การพัฒนาเด็ก เช่น Growth Mindset, Grit, Sense of Purpose, การเสริมสร้าง self-Esteem, และ Learning Motivation เป็นต้น ซึ่งจะมีการศึกษาแบบแผน แนวทาง เพื่อนำ�มาพัฒนาปรับใช้ จากงานวิจัยของสถาบันต่างๆทั้งในและต่างประเทศ ที่ ได้พยายามสร้างนวัตกรรมใหม่ๆเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ ของเด็กๆ นอกจากนั้นแล้ว การวัดผลด้านปัจจัยต่าง ๆ ที่ศึกษา ครั้งนี้เป็นเป้าหมายหนึ่งในการวิเคราะห์ผลการทำ�งาน ของโครงการ นอกจากนี้จะยังมีการศึกษาผลการเรียนรู้ ในการเรียนแต่ละวิชา เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการพัฒนา รายวิชาในต่อไป ทั้งนี้การวัดผลสัมฤทธิ์อาจจะใช้แนวทาง อื่น ๆ ที่ไม่ใช่การสอบเพื่อไม่ให้เกิดแรงกดดัน และขัดกับ เป้าหมายเดิมของการเรียน เช่นการสังเกต หรือแบบ บันทึกการประเมินผู้เรียนจากครูผู้สอน การสัมภาษณ์ เป็นต้น

45


OUR

FOOTPRINT อาสาสมัครโรงเรียนวัดรางบัว สุรเชษฐ์ ตรรกโชติ ตติยาภรณ์ หิรัญลาภ กชกร ความเจริญ ธัญญา ฉัตรร่มเย็น ทัตพร ฝักเจริญผล พราวพิไล รุ่งเรืองสาคร จิญาดา พฤกษาชลวิทย์ แภทริเซีย ดวงฉ่ำ� สรัลปภา อุดมสัจจพรรณ ฐาปนา ไชยมานนท์ ณัฐดนัย จารุศิลาวงศ์ ณัฐพัชร์ จันทร์โชติญาณ ต่อภูมิ พฤฒิรังสี สริฎา ธนะกาญจนสุทธิ์ ปวันรัตน์ พสวงศ์ ปวีร์ ไพฑูรย์รังสฤษดิ์

อาสาสมัครศูนย์ดวงเเเข เสาวรัตน์ ประดาห์ ปัทมวรรณ ผุดบัวน้อย Pimolpong Sriyapai Nichada Watcharatit Salisa Sresthaporn ชัชวัฒน์ แสนเวียง ฝนทิพย์ วัชราภร กันตวัฒน์ สุวรรณเลขส ชัยอมร ตระการกุลพันธ์ ปวีณา ปาเทลา สมขจร เจนกษิดิศ สรวิศ แสงนาค กิตติพล หมั่นคติธรรม ณัฐณิชา สุขประวิทย์ ณิชกมล กิตติวรรณศักดิ์ ปองธรรม เครือรัตน์ คมเดช อุดมพุทธชาติ

46

Mission Partner Mission Partner Mission Partner Learning Buddy Talent development Talent development Acting Team Acting Team Research Research ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา

Mission Partner Mission Partner Learning Buddy Talent development Talent development Acting Team Research Research ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา

อาสาสมัครโรงเรียนบางยี่ขันวิทยาคม ฐานวีร์ พงศ์พศวัต ศิริภัสร์ ทองชู ชอว์ ขันติคเชนชาติ พิภ้ช บุญเพิ่ม วงศธร สถิตย์สุขเสนาะ Nisarat Wutinarongtrakool ณพิม สิงห์โตโรจน์ สมฤดี เอื้อวิริยะวิทย์ ปลาทู วสุนันท์ ชุ่มเชื้อ พิทวัส นิลไพรัช วณัต ประทักษ์วิริยะ วิไลพร โชคชัยกตัญญู อัจฉรา ศุภวิไล ปวีณ์นุช ไกรทอง พิฌาน สุขวิชชัย วรัญญา วุฒิวัน ศศกรณ์ ยศอมรสุนทร สลิลพัชร โรจนาภินันทน์ อรุณวตรี รัตนธารี ณปภัทร บัวรุ่งโรจน์ ภาธร จรรยาเศรษฐกุล กุลภัทร ไตรรัตนพันธ์ จุรีมาศ แนวกันยา พงศ์กรณ์ ลาภชีวะสิทธิ์ สมิตา ประกายทิพย์ ครูไนท์

Mission Partner Mission Partner Learning Buddy Learning Buddy Talent development Talent development Acting Team Acting Team Research Research ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา

อาสาสมัครโรงเรียนแย้มจาดวิชชานุสรณ์ ทัฬหวิชญ์ ฐิติรัตน์สกุล ปวริศา บัวพิมพ์ สุณิชา อนันคภัณฑ์นันท์ ภูดิท โชคเสงี่ยม ธานินทร์ แสนทวีสุข พรเพ็ญ ฟ้าอำ�นวย วรรณธิรา น้อยศิริ ธนิก นาคปรีชา ณัฐฎา ศุภฤกษ์ ปริณดา ดวงดารา วิชญพล จันทร์แซม ชลธิชา เตย์อารักษ์ ประภาศรี คุณะกฤดาธิการ ปาจรีย์ อัศวปยุกต์กุล ปุณณภา คุปต์สินชัย พศวัต อปริมาณ ฤดีอำ�ไพ ควรทรงธรรม

Mission Partner Mission Partner Learning Buddy Talent development Talent development Acting Team Research ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา


อาสาสมัครโรงเรียนวัดเกาะสุวรรณาราม จักริน บูรณะนิตย์ Sirinun Tompong ฉันทิศา เจริญวิเศษกรณ์ เมธัส ไกรฤกษ์ โอปอ เหมือนเนื้อทอง นัทธมน ศุภรเวทย์ ฤกษ์ฤทธิ์ โรจน์วาธรรม จิตรลดา จินตารุณ ณพิม สิงห์โตโรจน์ สมฤดี เอื้อวิริยะวิทย์ สิรีธร เบญจตานนท์ กนกวรรณ โชวศรี ภัทรพร จักรทอง กนกวรรณ โชว์ศรี กรัณฑรัตน์ ครองสิริวัฒน์ ศิริพร ทุมสิงห์ ปวิธ วงศ์สว่างรัศมี นัทธมน ศุภรเวทย์ อลิสา เฉลยจิตร์ ณพิม สิงห์โตโรจน์ จิตรลดา จินตารุณ สมฤดี เอื้อวิริยะวิทย์ ฤกษ์ฤทธิ์ โรจน์วาธรรม อคริมา ทองแก้ว อริยา ปลื้มปัญญา อุ้ม ประจวบวัน ปีติมน โปรเทียรณ์ ปภาณิน อำ�นวยกิจวณิชย์ ภัทรวดี ดินเด็ม คงมนัส ยาวะประภาษ ชาญชัย เสริมใหม่ โชติกา วัฒนานิกร ปาณัท สุทธินนท์ ครู ไฟต์

Mission Partner Learning Buddy Talent development Talent development Talent development Acting Team Acting Team Acting Team Acting Team Acting Team School Coordinator Research Research ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา

อาสาสมัครโรงเรียน เพี้ยนพินอนุสรณ์ ศดานันท์ ล้อเพ็ญภพ ธนิต แคล้วโยธา นสวรรณ์ โพธิ์สุวรรณ ปิติภัทร ปฏิโภคสุทธิ์ ศศธร สินธุพันธ์ กวิน พันทรกิจ ร่มเกล้า ช้างน้อย อาริยา เทพรังสิมันต์กุล ลดาภา เทพรังสิมันต์กุล ธนิก นาคปรีชา พิรัล ศรีสมหมาย ชญาธาร ปิ่นโต ธนรัตน์ ตันติวิวัฒนพันธ์ ณัฏฐ์ระพี วงศ์ชนเดช ณัฐกานต์ วงษ์กะวัน กัญชพร พรหมรัตน์ กัญญาณัฐ พรหมรัตน์ กัญญารัตน์ คูสุวรรณ พรทิพย์ โภวันนา ลลิตา อารีย์จิตเกษม อรนิช ปัญสุวรรณ์ สาณุรักษ์ ฟ่องวาริน กฤษกร สุขทรัพย์ รวิภา ไชยยนต์ กัญญ์วรา พรหมรัตน์ ศรุชา งามเหลือ ธัญจิรา สินพยัคฆ์

Mission Partner Mission Partner Mission Partner Learning Buddy Talent development Talent development Acting Team Acting Team Acting Team Acting Team Research ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา

“One small step can leave

a footprint, but all small steps can leave a blueprint” -ยุทธกฤต เฉลิมไทย -

Head of Leadership and Talent Development

47


อาสาสมัครโรงเรียนชุมชนหมู่บ้านพัฒนา นีติรัฐ พึ่งเดช ปาริฉัตร คำ�แหง ปฐวี เสวกวรรณ์ Mantana Tienchaitat Jirachaya Chantawaranurak อัมพิกา กิตติเธียร วรรณิกา ถิรชาดา กฤษณ์ สงวนปิยะพันธ์ ธนิก นาคปรีชา ธีรวิทย์ ชัยณรงค์โสภณ รุจิรา กตัญญู ปิญน์ชา รัชตวุฒิพงศ์ Apichart Thanomkiet วัชรพล วัชรวิเศษกุล อัครเทพ​ศรีนฤหล้า​ ณัฐธิดา ศรชำ�นิ ภาพเพรง เลี้ยงสุข ภาวิตา ทองเจริญ รชิตา กลิ่นมาลี วริษฐา อุยยามะพันธุ์ ศิรดา โชควารีพร สุพรทิพย์ กตัญญูบุญญาพงศ์ กรกช จันทร์ธีรสกุล พนิตรา แสงรัตนชัย ภัทริน ขาวจันทร์ อภิญญา วังศิริไพศาล

48

Mission Partner Mission Partner Learning Buddy Talent development Talent development Acting Team Acting Team Acting Team Acting Team School Coordinator Research Research ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา

อาสาสมัครโรงเรียนแก่นทองอุปถัมป์

นิออน ประกฤติพงศ์ อุซมา ดารามั่น นัจญมี อู่งามสิน อรณัส เติมเศรษฐเจริญ Surapat Klovuttisatien ศิรดา ศิริจินดาพันธ์ ฐิติพร บวรกิจไพบูลย์ ชัชวัฒน์ แสนเวียง Sasisha Dansamasathid ธิติ ศรีจำ�เริญ พิชชากร เขษมโอภาส พัฒนลักษณ์ พิมสามสี ณชพงศ์ กนกสุทธิวงศ์ Thitiporn Bovonkitpaiboon Vipada Ketaniruj จิดาภา เพียรยิ่ง พิมลพรรณ แสนพงษ์ วรเศรษฐ์ ธนาสุริยฉัตร ธินศักดิ์ นาวีเกษมกุล เมธิตา เปี่ยมสุธานนท์ สุกัญญา แสงทอง นภัสภรณ์ ใช้คล่องกิจ นิศรา ถาวรธรรมรัตน์ เบญญา จิตต์จงรัก ปริยากร อินจันสุข ปุณฑริกา นุชาหาญ วรวรรณ สุขพาสน์เจริญ วรัศยา น่วมบาง อรจิรา ศรีสวัสดิ์ อิงครัตน์ จรัสวงศ์ ณัฐมล พันธุ์วิชาติกุล สฐิรพัชร ทองรงค์ เสกข์ แสงรัฐกาญจนสิน ศุภวิชญ์ ทรัพย์พิศาลกุล Sasisha Dansamasathid ศิรดา ศิริจินดาพันธ์ สิรภพ อัตโตหิ สุรพัศ คลอวุฒิเสถียร ธิติ ศรีจำ�เริญ ชัชวัฒน์ แสนเวียง ครู ชมพู่ ครู ไซน์

Mission Partner Mission Partner Learning Buddy Talent development Acting Team Acting Team Acting Team Acting Team Acting Team Acting Team School Coordinator Research Research ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา


อาสาสมัครโรงเรียนวัดบางปะกอก เวธนี คงปลื้มจิตต์ ปฏิพัทธ์ สถาพร ธีรินต์ แจ้งสว่าง มิวมิว Sasisha Dansamasathid พลาศิณี ศรีสองเมือง กชกร ชูโต Natnaree Somransukawat อัมพิกา กิตติเธียร วรรณิกา ถิรชาดา วรรณภาลักษณ์ ต้นประสงค์ ชนินาถ ปุญญาวิวัฒน์ ธนกร จรัลเสาวพงศ์ เกศสุดา ลำ�ใย ณัฐนรี สำ�ราญสุขวัฒน์ พลาศิณี ศรีสองเมือง กชกร ชูโต Nattapat Chaimanowong ณัฐพล ปุณฑวชิรพันธ์ จิดาภา จิรรัตนชาญ Peerada Saneevong Na Ayuthaya กมลวรรณ บวรวราภรณ์ กฤษฏ์ วรรณวิทยาภา ธนัชญา ลาภงามชนะ พัทธนันท์ ศิรินิ่มนวลกุล พันธกานต์ ไชยพยอม ภัทรมน วิวัฒน์ธนสาร สรสิช โภคทรัพย์ นรวุฒิ ศิริอัฐ ศักดิธัช โรจน์วาธรรม วรานนท์ ตันวัฒนเสรี Charlie Withayachamnankul พิศุทธิ์ ชื่นใจ สิตานัน เบ็ญจศิริวรรณ ชวลิต วิริยะวัฒนา ถิรพัฒน์ วิวิธนาภรณ์ พร้อม อุดมเดช

Mission Partner Learning Buddy Talent development Talent development Acting Team Acting Team Acting Team Acting Team Acting Team Acting Team School Coordinator Research Research ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา ครูอาสา

สรวิศ ไพบูลย์รัตนากร [ CEO & Founder ]

วิศรุต นุชพงษ์

[ Head of Cirliculum and Learning Research ]

วโรตม์ คำ�บุตร

[ Head of Corporate Affair]

ณัฐรดา ลิ้มศุภวานิช

[ Head of Management ]

ยุทธกฤต เฉลิมไทย

[ Head of Leadership &Talent development ]

ศิโรรัตน์ จรัสรุ่งโรจน์กุล

[Head of Innovation & Impact Evaluation]

พศวัต อปริมาณ

[ Contents Graphic & Presentation ]

49


SATURDAY SCHOOL booklet season 5


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.