คู่มือท่องเที่ยวอำเภอแม่ฟ้าหลวง

Page 1

คู่มือการท่องเที่ยว

ภายใต้แผนงานวิจัยเรื่อง “การสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชนบนพื้นที่สูงโดยใช้การ ท่องเที่ยวโดยชุมชนเป็นเครื่องมือ ในเขตบริการศูนย์การเรียนบ้านนาโต่ อาเภอแม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย” สนับสนุนโดย : สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) และสานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ปีงบประมาณ 2559 - 2560

1


2


สารบัญ หน้า ศูนย์ประสานงานการท่องเที่ยวโดยชุมชนแม่ฟ้าหลวง

1

ประวัติความเป็นมา

1

แผนที่จุดท่องเที่ยวภายในอาเภอ

2

ราคาค่าใช้จ่ายการท่องเที่ยว

3

การติดต่อ

3

แหล่งท่องเที่ยวตาบลแม่สลองใน กลุ่มการท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านนาโต่ กลุ่มการท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านโป่งไฮ

8 22

กลุ่มการท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านห้วยกระ

34

ชมรมชีววิถี

48

กลุ่มการท่องเที่ยวโดยชุมชนห้วยหยวกป่าโซ

54

แหล่งท่องเที่ยวตาบลเทอดไทย กลุ่มการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์โดยชุมชนบ้านปางมะหัน

64

3 3


ศูนย์ประสานงานการท่องเที่ยวโดยชุมชน

ประวัตคิ วามเป็นมา ศูนย์ประสานงานการท่องเที่ยวโดยชุมชนแม่ฟ้า หลวง เกิดขึ้นในปี 2559 จากการรวมตัวกันของ 4 กลุ่มการท่องเที่ยวในพื้นที่ตาบลแม่สลองใน คือ กลุ่ม การท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านนาโต่ กลุ่มการท่องเที่ยว โดยชุมชนบ้านโป่งไฮ กลุ่มการท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้าน ห้วยกระ และชมรมชีววิถี (โครงการศูนย์การเรียนบ้าน นาโต่ ตามพระราชดาริสมเด็จพระเทพฯ) ในปี 2560 เกิดกลุ่มการท่องเที่ยวใหม่เพิ่มขึ้นใน 2 หมู่บ้าน ได้แก่ กลุ่มการท่องเที่ยวโดยชุมชนห้วย หยวกป่าโซ ตาบลแม่สลองใน และกลุ่มการท่องเที่ยว เชิงอนุรักษ์โดยชุมชนบ้านปางมะหัน ตาบลเทอดไทย ปัจจุบันเครือข่ายฯ จึงมีกลุ่มการท่องเที่ยวโดยชุมชน ทั้งหมดรวม 6 กลุ่ม

4 4

แผนที่จดุ สนใจในอ


อาเภอ

ไทยเขิน

5 5


ราคาค่าใช้จา่ ยการท่องเทีย่ ว รายการ

ราคา

1. ค่าที่พัก - โฮมสเตย์ 150 บาท/คน/คืน - โครงการศูนย์การเรียนบ้านนาโต่ 200 บาท/คน/คืน 2. ค่าอาหาร 70 - 150 บาท/คน/มื้อ - โตกอาหารแบบตกแต่ง (ไม่เกิน 6 คน) 1,000 บาท/โตก/มื้อ 3. ค่าผู้นาเที่ยว ท่องเที่ยวจุดท่องเที่ยว สัมผัสวิถีชีวิต เยี่ยมชมบ้านปราชญ์/ครูภูมิปัญญา - กลุ่มนักท่องเที่ยว ไม่เกิน 10 คน 300 บาท/วัน/กลุ่ม เดินป่าเส้นทางศึกษาธรรมชาติ - กลุ่มนักท่องเที่ยว ไม่เกิน 5 คน 600 บาท/วัน/กลุ่ม (นักท่องเที่ยวเพิ่ม 3 คน เพิ่มผู้นาเที่ยวอีก 1 คน) เรียนรู้วิถีการหาอาหารในลาธาร - กลุ่มนักท่องเที่ยว 1 - 7 คน 900 บาท/วัน/กลุ่ม - กลุ่มนักท่องเที่ยว 8 - 15 คน 1,200 บาท/วัน/กลุ่ม 4. ค่ารถบริการ (รถปิ๊กอัพของชุมชน 1 คันรับได้สงู สุด 10 คน) - ค่าบริการรถเดินทางระหว่างตาบล 1,000 - 2,000 บาท/วัน/คัน - ค่าบริการรถเดินทางไป-กลับในชุมชน 500 - 1,000 บาท/วัน/คัน 5. ค่าบารุงกิจกรรมการเรียนรู้ 300 – 500 บาท/กลุ่ม 6. ค่าบารุงกิจกรรมแสดงวิถีชีวิต ดนตรี หรือ 200 – 1,500 บาท/กลุ่ม การละเล่น หมายเหตุ: 1) ราคานี้ยังไม่รวมค่าบารุงชุมชน 10% จากราคารวม 2) ค่าประสานงาน 100 บาท/ชุมชน (นอกเหนือจากราคาตามโปรแกรม)

6

6


การติดต่อ

ศูนย์ประสานงานการท่องเที่ยวโดยชุมชนแม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย ผู้ประสานงานหลัก การท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านนาโต่ การท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านโป่งไฮ การท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านห้วยกระ ชมรมชีววิถี การท่องเที่ยวโดยชุมชนห้วยหยวกป่าโซ การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์โดยชุมชนบ้านปางมะหัน

08-1960-1789 นภัสสร 09-8656-1636 หมี่ซู 09-8005-4249 ธนัช 09-7938-2416 สินอังคาร 08-9949-2905 สอยดาว 08-5791-0596 นิรามัย 08-8598-5034

ข้อมูลทางวิชาการ: ผศ.ดวงพร อ่อนหวาน 08-9700-4396

7

7


แหล่งท่องเที่ยว

แผนที่ท่องเที่ยวบ้านน

กลุ่มการท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านนาโต่ กลุ่มการท่องเที่ ยวโดยชุมชนบ้ านนาโต่ จัดตั้ งขึ้นในปี 2559 จุดเด่นของกลุ่มนี้เป็นวิถีชีวิตชาวไทยใหญ่ ชาวพุทธที่เลื่อมใส ศรัทธาในพุทธศาสนา พึ่งพาสายน้าแม่คาเพื่อดารงชีวิตแบบเรียบ ง่าย มีจุดเด่น คือ วัดผุดผ่องพรรณธรรมมารามและพระธาตุก่อเมือง คู่บ้านคู่เมืองชาวไทยใหญ่ บ้านไทยใหญ่ดั้งเดิมซึ่งเหลืออยู่เพียงไม่กี่ หลัง การตัดเย็บเสื้อผ้าและการแต่งกายชาวไทยใหญ่ การทาขนม ไทยใหญ่ (ทากันเอง-กินกันเอง) ชิมสมุนไพรนานาชนิดจากภูมิปัญญา ที่สืบทอดมาจากประเทศพม่า สนุกสนานกับการราวงแบบไทยใหญ่ และลิ้มรสอาหารท้องถิ่นในแบบไทยใหญ่

8

8


นาโต่

9

9


วัดผุดผ่องพรรณ ธรรมมาราม กิจกรรม: สักการะสิ่งศักดิ์สิทธิ์ วิทยากร: ผู้นาเที่ยวท้องถิ่น

เป็นที่ตั้งของวัดเดิมที่อยู่ในบริเวณเนินเขากลางหมู่บ้าน ซึ่งบริเวณพื้นที่นี้ เดิมทีเป็นหมู่บ้านของว้าแดง วัดเดิมสร้างเมื่อปี พ.ศ. 2525 และได้มีการรื้อ ถอนออกไป ยังคงเห็นฐานพระประเดิมของวิหารเดิมอยู่ เป็นศูนย์ร วมจิตใจของหมู่บ้าน ที่ชุมชนให้ความเคารพ และเป็นสถานที่ ประกอบพิธีกรรมทางศาสนา ประกอบไปด้วย วันเข้าพรรษา วันออกพรรษา วันสงกรานต์ งานทอดกฐินผ้าป่า งานซองสลาก เป็นต้น 10

10


พระธาตุกอ่ เมือง กิจกรรม: เยี่ยมชมวิวทิวทัศน์หมู่บ้าน

วิทยากร: ผู้นาเที่ยวท้องถิ่น

เป็นพระธาตุที่สร้างขึ้นเมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2545 โดยมีผู้ร่วมก่อสร้าง จานวน 4 คน จากบ้านเทอดไทย โดยก่อสร้างองค์พระธาตุมีลักษณะเป็นสีขาว ตามศิลปะแบบดั้งเดิม เพื่อแสดงถึงการก่อบ้านสร้างเมืองที่สมบูร ณ์ สามารถ มองเห็นทิวทัศน์ของหมู่บ้านนาโต่ได้โดยรอบ โดยชาวไทยใหญ่มีความเชื่อที่ว่าหากที่ชุมชนไทยใหญ่ที่ไหนจะต้องมีองค์พระ ธาตุเสมอ เพื่อแสดงถึงการก่อบ้านสร้างเมืองที่สมบูรณ์ 11

11


ศาลเทวดา ในวั น ขึ้น 8 ค่า ของเดื อ น สิงหาคมของทุกปี จะมีการทา พิธีไหว้ศาลเจ้า โดยหนานพรม ค า จั น ท ร์ จ ะ เ ป็ น ผู้ ท า พิ ธี ชาวบ้ า นจะมาร่ ว มกั น ท าของ ไหว้ ซึ่ ง ของไหว้ คื อ การกวน ขนมชนิ ด หนึ่ ง จ านวน 2 หม้ อ ใหญ่ และเมื่ อ ท าพิ ธี เ สร็ จ สิ้ น จะท าการแบ่ ง ขนมนั้ น ออก แจกจ่า ยให้ แ ก่ทุ ก ครอบครั ว ที่ อยู่ในหมู่บ้านถือเป็นขนมมงคล

12

12

กิจกรรม : เรียนรู้ความเชื่อและศรัทธา วิทยากร: ผู้นาเที่ยวท้องถิ่น


บ้านไทใหญ่

กิจกรรม : เยี่ยมชมบ้านไทใหญ่ วิทยากร: ผู้นาเที่ยวท้องถิ่น สถานที่

สถาปั ตยกรรมการสร้า งบ้ า น ไทยใหญ่ บ่งบอกถึงศิลปวัฒนธรรม ของชาวใหญ่ และภูมิปัญญาในกา สร้า งบ้ านเรือ น มีอ ายุก ว่า 20 ปี แม้ จ ะท าจากไม้ ไ ผ่ เป็ น การใช้ ประโยชน์วัสดุจากธรรมชาติในการ สร้างบ้านเรือนและมีลวดลายที่เป็น เอกลักษณ์

นายจินหุง ไทยใหญ่

13

13


หมอสมุนไพร ผู้ มี ค วามรู้ ด้ า นสมุ น ไพร เพื่ อ การรั ก ษาโรค ซึ่ ง เป็ น คว ามรู้ ที่ ไ ด้ ศึ ก ษามาจ าก ประเทศพม่ า สมุ น ไพรส่ ว น ใหญ่ เ น้ น การรั ก ษาโดยการ เก็บสมุนไพรแต่ละชนิดมาตาก แห้ ง ต า หรื อ อบ แล้ ว ใช้ วิธีก ารต้ม ไม่ ว่า ต้มดื่ ม หรื อ ต้มอาบ และยั งใช้ การรักษา โดยใช้พิธีกรรมทางความเชื่อ อีก ด้ วย เช่ น ความเชื่ อเรื่ อ ง เครื่องรางของขลัง เป็นต้น 14

14

กิจกรรม : เรียนรู้สมุนไพร และชิมชา วิทยากร: นายออ ชัยวงศ์


ตัดเย็บเสือ้ ผ้าไทยใหญ่

กิจกรรม : เยี่ยมชมการตัดเย็บเสื้อผ้า วิทยากร: ผู้นาเที่ยวท้องถิ่น สถานที่

นายป้อม หล้าคา

เป็นแหล่งตัดเย็บชุดไทยใหญ่ แห่งเดียวในหมู่บ้านที่ได้รับความ นิ ย มในชุ ม ชน จึ ง ท าให้ ช าวไทย ใหญ่ยังคงใส่ชุดประจาชาติพันธุ์ใน งานประเพณี ต่ างๆ อย่า งพร้ อ ม เพรียง ในปี 2550 ได้นาเอาความรู้ และทั ก ษะในการตั ด เย็ บ ชุ ด ไทย ใหญ่ ที่ ได้ศึก ษามาจากเมื องเกซี ประเทศเมี ย นมาร์ มาใช้ ใ นการ ประกอบอาชีพ รั บจ้า งตั ด เย็ บชุ ด ไทยใหญ่ โดยคิด ราคาประมาณ ชุดละ 1,500 บาท

15

15


ทอผ้าไทยเขิน ชาวไทยเขินที่มีความสามารถ ในการทอผ้าแบบดั้งเดิม โดยใช้กี่ เอวตามภู มิปัญญา โดยสามารถ ประยุกต์ใช้วัสดุธรรมชาติรอบตัว นามาดัดแปลงเป็นอุปกรณ์ทอผ้า ขนาดเล็ ก สามารถพกพาไ ด้ สะดวก ซึ่งป้าแห้ง สามารถผลิต เป็ น ถุ ง ย่ า ม ซึ่ ง มี ล วดลายแบบ ดั้งเดิมที่สวยงาม

กิจกรรม : เยี่ยมชมการทอผ้าไทยเขิน วิทยากร: ผู้นาเที่ยวท้องถิ่น

สถานที่

16

16

นางแห้ง ลุงแสง


ขนมไทยไหญ่ ชาวไทยใหญ่ มี ฝี มื อ ใน การท าขนมดั้ ง เดิ ม แบบไทย ใหญ่ ได้ แ ก่ ขนมบ้ ว ง (ขนม วง) ขนมข้ า วยาคู้ ขนมเขา ควาย เป็นต้น กิจกรรม : เรียนรู้การทาขนมไทยใหญ่ วิทยากร: นางรอด นามแสง

สถานที่

นางรอด นามแสง

ระยะเวลา 1 ชั่วโมง 17

17


วิถกี ารหาปลา หมู่บ้านนาโต่ มีแม่น้าคาที่ ไหลผ่ า นกลางหมู่ บ้ า นที่ ยั ง มี ความอุดมสมบูรณ์ ชาติ พั น ธุ์ ไ ทยใหญ่ ที่ อ าศั ย ตั้ ง บ้ า นเรื อ นอยู่ บ ริ เ วณริ ม แม่ น้าคา มีวิถีในการจับปลาแม่น้า สัตว์น้าที่ได้จากแม่น้า มีทั้งปลา ปู แมลง ที่ส ามารถน ามาปรุ ง เป็ น อาหาร ได้ โ ดยใช้ อุ ป กรณ์ จับปลา ได้แก่ สวิง (ซอน) ข้อง (แปม)

กิจกรรม : เรียนรู้การหาปลา วิทยากร: ผู้นาเที่ยวท้องถิ่น สถานที่

แม่น้าคา

ระยะเวลา 2 ชั่วโมง 18

18


ราวงไทยใหญ่

กิจกรรม : การราวงไทยใหญ่ วิทยากร: ผู้นาเที่ยวท้องถิ่น

สถานที่

นายออ ชัยวงศ์

ระยะเวลา 1 ชั่วโมง

นิยมละเล่นในงานรื่นเริงต่างๆ ผู้แสดงประกอบด้ วย ชาย หญิ ง ตั้งแต่อายุรุ่นหนุ่ม รุ่นสาวจนถึงสูง วัย วิธีการคือ จะมีการตั้งโต๊ะและ วางขันเงินใส่ข้าวสาร เสียบกรวย ดอกไม้และใส่ธนบัตรเป็นค่าไหว้ครู วางไว้บนโต๊ะ จากนั้น ผู้แสดงจะ ร่ ว มกั น ร าวงประกอบเพลงไทย ใหญ่ด้ วยความสนุ ก สนาน และมี การเชิญแขกที่ มาร่ วมงานร่ วมร า วงด้ ว ย เพลงที่ ใ ช้ ป ระกอบเป็ น เพลงไทยใหญ่ โดยเนื้ อ หาเป็ น เรื่องราวในชีวิตประจาวัน 19

19


การบริการอาหาร

20

20

กิจกรรม : ลิ้มรสอาหารท้องถิ่น วิทยากร: ผู้ให้บริการอาหารในชุมชน


อาหารฤดูฝน

ยาแตง

ผัดหน่อไม้

อาหารฤดูหนาว

แกงผักเฮือด

ไข่เจียวใส่แมลงปอน้า อาหารฤดูรอ้ น

แกงฝักทอง

ตาขนุน 21

21


กลุ่มการท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านโป่งไฮ กลุ่ม การท่อ งเที่ยวโดยชุม ชนบ้านโป่ งไฮ จั ดตั้ง ขึ้น ในปี 2559 ตั้ ง อยู่ ต าบลแม่ ส ลองใน มี จุ ด เด่ น คื อ เดิ น ท่ อ ง ธรรมชาติ ช มพื้ น ที่ ป่ า อนุ รั ก ษ์ ที่ มี ค วามร่ ม รื่ น กว่ า 2 พั น ไร่ แหล่งอาหารและสมุนไพรของคนในชุ มชน บนพื้นที่ ตะเข็ บ ชายแดนไทย-พม่าที่มีความน่าสนใจในประวัติความเป็นมา การก่อตั้งและโยกย้ายหมู่บ้านทั้งหมู่บ้าน สัมผัสบรรยากาศ การทาอาหารกลางป่าในแบบอาข่าจากพืชพรรณธรรมชาติ ตามเส้ น ทางเดิ น ขากลั บ แวะนมั ส การวั ด โป่ ง ไฮ สถานที่ พานักพระขี่ม้า จิบชาชิมข้าวปุ๊กคลุกงา และเยี่ยมชมการปั่น ฝ้าย-ทอผ้าแบบอาข่าดั้งเดิม ภูมิปัญญาที่สูญหายไปแล้ว

22

22


แผนที่ท่องเที่ยวบ้านโป่งไฮ

23

23


วัดโป่งไฮ

24

24

กิจกรรม : สักการะสิ่งศักดิ์ วิทยากร: ผู้นาเที่ยวท้องถิ่น


พระขีม ่ า้

กิจกรรม : ทาบุญ ตักบาตรพระขี่ม้า

พระสงฆ์ซึ่งพานัก ณ วัด โปงไฮ เป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจ ของชาวพุ ท ธในพื้ น ที่ และ ยังคงบิณฑบาตในตอนเช้าทุก วัน หากมีโอกาสได้พัก อาศั ย ใ นห มู่ บ้ า น ท่ า นสา มา ร ถ ทาบุญใส่บาตรพระขี่ม้าได้ ณ บ้านพักโฮมสเตย์โป่งไฮ

วิทยากร: ผู้นาเที่ยวท้องถิ่น สถานที่

นายอาจือ มาเยอะ

25

25


การปัน ่ ฝ้าย เป็ น การน าฝ้ า ยดิ บ มาปั่ น ให้ กลายเป็นเส้นด้าย เพื่อนาไปใช้ใน การทอผ้ า เนื่ อ งจากคนอาข่ า ใน สมั ย ก่ อ นสวมใส่ เ สื้ อ ผ้ า ที่ ไ ด้ จ าก กา ร ท อเอง (ไม่ ไ ด้ ซื้ อ เห มื อ น ปัจจุบัน) อีกทั้งผ้าที่ได้จากการทอ ยังมีความสาคัญต่อพิธีกรรมต่างๆ ทาให้เกือบทุกครอบครัวมีการทอ ผ้าใช้เอง โดยการปั่นฝ้ายหรือทอ ผ้านั้นเป็นหน้าที่ของผู้หญิง

26

26

กิจกรรม : เรียนรู้การปั่นฝ้ายอาข่า วิทยากร: นางอาบา มาเยอะ สถานที่

นายอาจือ มาเยอะ


การทอผ้า

กิจกรรม : เรียนรู้การทอผ้าอาข่า วิทยากร: นางอายา มาเยอะ

สถานที่

นายอาจือ มาเยอะ

การทอผ้าถือว่าเป็นอีกสิ่งหนึ่งที่ มีความสาคัญกับคนอาข่า เนื่องจาก ผ้าที่ได้จากการทอ ไม่ได้ใช้สวมใส่ ในชีวิ ต ประจาวั นทั่ ว ไปเพีย งอย่ า ง เดี ย ว แต่ ผ้ า ที่ ไ ด้ จ ากการทอยั ง มี ค ว า ม ส า คั ญ ต่ อ ก า ร ป ร ะ ก อ บ พิธีกรรมทางศาสนาของเผ่า อาข่ า เป็ น อย่ า งยิ่ ง ในสมั ย ก่ อ นหาก ครอบครั ว ใดไม่ มี ก ารทอผ้ า ใช้ เ อง และต้องไปหยิบยืมคนอื่นถือว่าเป็น เรื่ อ งที่ น่ า อั บ อาย เพราะนั่ น จะ หมายความว่าผู้หญิงครอบครัวนั้น เกียจคร้านหรือไม่มีความสามารถ (ไม่เป็นกุลสตรี) 27

27


กิจกรรมเรียนรูว ้ ถิ ี กินอยูก่ ับป่า กิจกรรมเรียนรู้วิถีการกิน อยู่ กั บ ป่ า ของชาติ พั น ธุ์ อ าข่ า ท าให้ ไ ด้ รั บ ประสบการณ์ เกี่ยวกับพืชพรรณธรรมชาติที่ สามารถเป็ น พื ช อาหารได้ โดยใช้ วั ส ดุ ร อบตั ว ในการ ทาอาหาร เช่น ไม้ไผ่

กิจกรรม : เรียนรู้วิถีการกินอยู่กับป่า วิทยากร: ผู้นาเที่ยวท้องถิ่น สถานที่

ป่าอนุรักษ์บ้านโป่งไฮ

ระยะเวลา 3 ชั่วโมง

28

28


ตาข้าวปุก๊

กิจกรรม : เรียนรู้การตาข้าวปุ๊ก วิทยากร: ผู้นาเที่ยวท้องถิ่น

สถานที่

เป็นประเพณีของชาติพันธุ์อาข่า ในหนึ่ ง ปี ทุ ก เดื อ นจะมี เ ทศกาล ของชาวอาข่า ซึ่งแต่เดิมนั้นข้าวปุ๊ก จะท าการต าทุ ก ครั้ ง ที่ มี ง านพิ ธี ข้าวปุ๊ก ในสมัยก่อนถือ เป็นอาหาร มงคลซึ่ง จะใช้เป็ นของไหว้ ซึ่ งถื อ ว่าใช้แทนข้าว และจะรวมกับของ ไหว้อื่นๆ เช่นน้าชา เป็นต้น การตา ข้าวปุ๊ก

นายอาจือ มาเยอะ

29

29


การบริการอาหาร

30

30

กิจกรรม : ลิ้มรสอาหารท้องถิ่น วิทยากร: ผู้ให้บริการอาหารในชุมชน


อาหารฤดูฝน

หนอนรถด่วน

วุ้นไม้ไผ่

แกงหน่อไม้สดใส่เห็ดและชะอม

แกงฟักทอง

อาหารฤดูหนาว

น้าพริกอาข่า (พริกสด)

หมูผัดขิง 31

31


การบริการทีพ ่ กั โฮมสเตย์

32

32

ปั จ จุ บั น มี จ านวน 3 หลั ง ที่ ส ามารถ รองรับนักท่องเที่ยวได้ จานวน 10 ท่าน


การบริการยานพาหนะ

33

33


แผนที่ทอ่ งเทีย่ วบ้านห้วยกระ

34

34


กลุ่มการท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านห้วยกระ กลุ่มการท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านห้วยกระ จัดตั้งขึ้นในปี 2559 ตั้งอยู่ตาบล แม่สลองใน มีจุดเด่นคือ สัมผัสวิถีการหาอาหารตามลาธาร เก็บผักธรรมชาติ ปลอดสารพิษ การหาปลาด้วยการปักเบ็ดในแบบอาข่า เดินชมนาและทาอาหาร อาข่ากลางท้องทุ่ง ประตูหมู่บ้านหรือประตูผี วิถีความเชื่อชาวอาข่าที่บอกเล่า ประวั ติ ความเป็น ของหมู่บ้ า น รวมถึง ลานโล้ชิ งช้ า ตามวิถี แ บบดั้ง เดิม หนึ่ง ใน ประเพณีสาคัญในรอบปีของชาวอาข่าที่ยังคงนับถือบรรพบุรุษ บ้านอาข่าซึ่งทา จากไม้ไผ่และหญ้าคาตามภูมิปัญญาดั้งเดิม สัมผัสการละเล่นสะบ้า พักจิบชาชิมขนมอาข่าก่อนอาลาชุมชน 35 35


ประตูหมูบ ่ า้ น การสร้ า งซุ้ ม ประตู เ ข้ า หมู่บ้าน มีความเชื่อว่าบริเวณนี้ เป็ น ทางผ่ า นเข้ า ออกหมู่ บ้ า น แสดงถึ ง เป็ น บริ เ วณของการ สร้างชุม ชน สืบ เผ่าพัน ธุ์ เมื่อ มี การเสียชีวิตในหมู่บ้านจะต้องนา ร่างผู้เสียชีวิตเดินผ่านซุ้มประตู หมู่บ้านออกมาจากหมู่บ้านเพื่อ นาไปประกอบพิธีฝัง ในป่า (ข้อ ห้า ม คนปกติห้ า มเดิน ผ่า น ถ้ า ไม่ เ ช่ น นั้ น ก็ จ ะเกิ ด สิ่ ง ที่ ไ ม่ ดี ตามมา) 36

36

กิจกรรม : สักการะสิ่งศักดิ์ วิทยากร: ผู้นาเที่ยวท้องถิ่น


ศาลเจ้าอาข่า

กิจกรรม : สักการะสิ่งศักดิ์

เป็ น ศ าล เจ้ า ที่ ช าว อา ข่ า ใ น หมู่ บ้ า นอาข่ า สร้ า งขึ้ น เพื่ อ เป็ น สถานที่ศักดิ์สิทธิ์ เคารพกราบไหว้ หรือทาพิธีบนบาน ศาลกล่าว เช่น เมื่ อ มี เ หตุ เ รื่ อ งเดื อ ดร้ อ น หรื อ ปั ญ หาใหญ่ ๆ เช่ น ทรั พ ย์ สิ น สู ญ หาย หรื อมี ผู้ ที่เ จ็ บป่ ว ยจนอาการ หนัก

วิทยากร: ผู้นาเที่ยวท้องถิ่น

37

37


บ่อน้าศักดิส์ ทิ ธิ์ เป็ น บ่ อ น้ าธรรมชาติ ตั้ ง อยู่ ที่ ป๊ อ ก 3 ของหมู่ บ้ า นห้ ว ยกระ เป็ น สถ า น ที่ ที่ มี น้ า ผุ ด ต ล อ ดปี เ ป็ น สถานที่ศักดิ์สิทธิ์ ที่ชาวบ้านจะมาทา การตั ก น้ าไปใช้ ใ นการท าพิ ธี ม งคล ต่ า งๆ โ ดย เฉพาะใ นช่ ว งปี ใ ห ม่ วิธีการตักน้า ผลน้าเต้าแห้งมาตักน้า จากบ่อ แล้วนาไปใส่กระบอกไม้ไผ่ที่ มีขี้ เ ถ้ า ข้ า วสาร และขิ ง อยู่ ภ ายใน เมื่อใส่น้าศักดิ์สิทธิ์แล้ว ขั้นตอนต่อไป จะใช้หลอดดูดน้าศักดิ์สิทธิ์ สามครั้ง แล้วนาไปใส่ภาชนะจาน หรือถ้วย ที่ นาไปรวมกับเครื่องไหว้อื่นๆ ต่อไป 38

38

กิจกรรม : เยี่ยมชมสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ วิทยากร: ผู้นาเที่ยวท้องถิ่น


ลานโล้ชิงช้า

กิจกรรม : เยี่ยมชมสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ วิทยากร: ผู้นาเที่ยวท้องถิ่น

เป็นบริเวณที่มีการสร้างชิงช้า ที่ ท าจากเสาไม้ 4 เสา มี เ ชื อ ก เส้ น ยาวอยู่ ต รงกลางตามความ เชื่ อ ชาวอาข่ า เชื่ อ ว่ า เป็ น สะดื อ ของคนในหมู่บ้าน หมายถึงทุกคน มีเชือกนี้เป็นสะดือเดียวกัน ความ เป็ น อั น หนึ่ ง อั น เดี ย วกั น แต่ เ ดิ ม เชื อ กที่ ใ ช้ จ ะต้ อ งเป็ น เชื อ กของ เถาวัลย์สะบ้า เส้นใหญ่ๆ เพราะ จะมีความเหนียว แต่ในปัจจุบันหา ยากจึ ง ใช้ เ ชื อ กที่ มี จ าหน่ า ยตาม ท้องตลาดแต่เป็นเชือกเส้นใหญ่ 39

39


จักสาน (โต๊ะ,เก้าอี)้ เป็ น ผู้ มี ฝี มื อ ในการจั ก สาน หวาย ซึ่งในหมู่บ้านนี้เหลือเพียง รายเดี ย วที่ ยั ง จัก สานหวายได้ อย่ า งปราณี ต สวยงาม เป็ น แหล่งผลิตเครื่องใช้ในครัวเรือน จากวั ส ดุ ธรรมชาติ ให้ กั บ คนใน ชุมชน

กิจกรรม : เยี่ยมชมภูมิปัญญา วิทยากร: ผู้นาเที่ยวท้องถิ่น

40

40


บ้านดัง่ เดิมอาข่า ลั ก ษณะบ้ า นของชาวอาข่ า สร้างจากวัสดุธรรมชาติ ได้แก่ ไม้ ไผ่มุงด้วยหญ้าคา ภายในแสดงถึง วิ ถี ชี วิ ต อ า ข่ า ที่ ห า กิ น อ ยู่ กั บ ธรรมชาติ ภู มิ ปั ญ ญาในการเก็ บ รั ก ษาพื ช พรรณส าหรั บ เอาไว้ ใ ช้ เพาะปลูกต่อในฤดูกาลถัดไป กิจกรรม : เยี่ยมชมบ้านดั้งเดิม วิทยากร: ผู้นาเที่ยวท้องถิ่น

41

41


การละเล่นสะบ้า การละเล่นนี้ได้หายไปจาก หมู่บ้านมานานแล้ว แต่กลุ่มการ ท่องเที่ยวได้โดยเฉพาะแม่บ้าน ร่ ว มกั น รื้ อ ฟื้ น ขึ้ น มาเพื่ อ เป็ น กิจกรรมที่ช่วยสร้างความตื่นตัว ให้กับชุมชน/เยาวชน ให้กลับมา สนใจการละเล่ น ดั้ ง เดิ ม ที่ ช่ ว ย สร้ า งความสั ม พั น ธ์ กั น ในหมู่ เยาวชน รวมถึ ง สร้ า งความ สนุ ก สนานและความสั ม พั น ธ์ ระหว่างเจ้าบ้านกับนักท่องเที่ยว

กิจกรรม : แข่งขันสะบ้า วิทยากร: ผู้นาเที่ยวท้องถิ่น

สถานที่

นายอาเพียว

ระยะเวลา 1 ชั่วโมง 42

42


การเต้นกระทุง้ ไม้ไผ่

กิจกรรม : เต้นกระทุ้งไม้ไผ่

เป็ น การละเล่ น ที่ ใ ช้ เ ครื่ อ ง ดนตรี ป ระกอบด้ ว ย การละเล่ น ประเภทนี้ ส่ ว นใหญ่ จ ะเป็ น ผู้ ห ญิ ง จะเล่นกันในช่วงเทศกาลประเพณีที่ สาคัญในหมู่บ้าน เช่น ประเพณีโล้ ชิงช้า ไล่ผี และเทศกาลต่างๆ ซึ่ง จะมีการเต้นเป็นวงกลมตามจังหวะ ของกลอง ฆ้อง ฉิ่ง ฉาบ .

วิทยากร: ผู้นาเที่ยวท้องถิ่น

สถานที่

นายอาเพียว

ระยะเวลา 1 ชั่วโมง 43

43


เรียนรูว ้ ถิ ห ี าปลา

เส้นทางเดินในลาห้วยอันร่มรื่น ประสบการณ์เร เดินชมนาและทาอาหาร ณ เถียงนา วิถีชีวิตชาวอาข

กิจกรรม : การเรียนรู้วิถีหาปลา และ ทาอาหาร ณ เถียงนา วิทยากร: ผู้นาเที่ยวท้องถิ่น

สถานที่

ลาธาร

ระยะเวลา 2 –3 ชั่วโมง

44

44


รียนรู้วิธีการหาอาหารในลาธาร เช่น พืชผัก การปักเบ็ดหาปลา ข่าที่มอบประสบการณ์แสนประทับใจ

45

45


อาหารฤดูฝน

ยาผักโขมกับเห็ดลม

ยาถั่วใส่ผักไผ่

แกงมะเขือใส่ชะอมกับยอดฟักทอง

ยามะเขือเทศใส่กะหล่าปลี

อาหารทุกฤดู

46

46

ห่อหมกไข่

ยาผักกูด

น้าพริกมะเขือเทศ

แกงฟักใส่ข้าว


การบริการยานพาหนะ

47

47


ชมรมชีววิถี ชมรมชีววิถี จัดตั้งขึ้นในปี 2559 ตั้งอยู่ในพื้นที่บ้านนาโต่ ตาบล บ้า นแม่ ส ลองใน มี จุ ดเด่ น คื อ แหล่ งเรี ย นรู้ ด้ า นการเกษตรแบบ พอเพี ยงของนัก เรียน ณ โครงการศูน ย์การเรีย นบ้านนาโต่ ตาม พระราชด าริ ส มเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ น าชมแปลงเกษตร ผสมผสานกับการเลี้ยงสัตว์แบบพอเพียง ใช้จุลินทรีย์เพื่อการปลูก พื ช เลี้ ย งสั ต ว์ ชมบ้ า นสมุ น ไพรแหล่ ง ขยายพั น ธุ์ พื ช สมุ น ไพรเพื่ อ สุขภาพ ชิมชาสมุนไพรสด 7 ชนิดที่มีกลิ่นและรสชาติหอมสดชื่น ลง สารวจแม่น้าเพื่อเรียนรู้เกี่ยวกับแมลงตัวชี้วัดคุณภาพน้าในแม่น้าคา

แผนที่ทอ่ งเทีย่ วชมรมชีววิถี

48

48


49

49


บ้านพอเพียง การจาลองพื้นที่การเกษตร ของครั ว เรื อ น โ ดยก ารน า หลักการชีววิถีมาใช้ในการผลิต หรือเรียกได้ว่า “ชีวเพื่อชีวิต” ใ ช้ EM ข ย า ย ม า ใ ช้ ใ น ขบวนการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ และ เมื่อผลิตแล้วสามารถนาไปใช้ใน การปลู ก พืชผัก ปลอดสารตาม ฤดูการผลิต ผลิตพืชผักที่ปลอด สาร และเลี้ ย งสั ต ว์ เช่ น ไก่ หมู ในพื้นที่เดียวกัน

50

50

กิจกรรม : เยี่ยมชมการทาน้าหมัก วิทยากร: ผู้นาเที่ยวท้องถิ่น

สถานที่

ศูนย์การเรียนบ้านนาโต่


บ้านสมุนไพร เป็ น แหล่ งรว บรว มพั น ธุ์ พื ช สมุ น ไพรท้ อ งถิ่ น /เป็ น แหล่ ง ผลิ ต สมุ น ไพรปลอดสารพิ ษ โดยใช้ กระบวนการทางชีววิถี เช่น ในการ ใช้สาร EM เพิ่ มความร่วนซุยของ ดิน กิจกรรม : เยี่ยมชมบ้านสมุนไพร เก็บสมุนไพรสดทาชา วิทยากร: ผู้นาเที่ยวท้องถิ่น สถานที่

ศูนย์การเรียนบ้านนาโต่

51

51


การบริการอาหาร

52

52

กิจกรรม : ลิ้มรสอาหารท้องถิ่น วิทยากร: ผู้ให้บริการอาหาร


การบริการทีพ ่ กั

ปั จ จุ บั น มี จ านวน 5 หลั ง ที่ ส ามารถ รองรับนักท่องเที่ยวได้ จานวน 14 ท่าน

53

53


แผนที่ท่องเที่ยวบ้านห้วยหยวกป

54

54


ป่าโซ

กลุ่มการท่องเที่ยวโดยชุมชนห้วยหยวกป่าโซ กลุ่มการท่องเที่ยวโดยชุมชนห้วยหยวกป่าโซ ก่อตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2560 อยู่ในพื้นที่สถานีพัฒนาการเกษตรที่สูง ตามพระราชดาริ บ้านห้วยหยวกป่า โซ เป็ นชุ มชนวั ฒนธรรมชาวอาข่า มี จุด เด่ นคื อ บ้ านหมอสมุน ไพรที่ เป็ น ทางเลือกให้กับคนในชุมชน การเป่าขลุ่ยและเป่าแคน ดนตรีที่ใช้เพื่อการจีบ หญิงสาวและใช้ในงานประเพณีต่างๆ ของชาวอาข่า การแต่งกายแบบอาข่า การเย็บ-ปักเสื้อผ้าและลวดลายที่เป็นเอกลักษณ์ของชาติพันธุ์ ความเชื่อของ การตีมีดที่เป็นส่วนหนึ่งของพิธีกรรมสาคัญของชาวอาข่า ปราชญ์ผู้มีฝีมือใน การจักสานผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่และหวายที่มีความละเอียดและประณีต และ ยังสามารถเดินข้ามไปยังหมู่บ้านห้วยกระโดยใช้เส้นทางธรรมชาติได้อีกด้วย

55

55


เป่าขลุย่ /แคนน้าเต้า เครื่ อ งดนตรี แ หม่ ลี้ (ขลุ่ ย ) สามารถใช้ ไม้ หยะคาและไม่ ไ ผ่ แก่ๆ เพื่อให้ได้เสียงที่ชัดเจน ซึ่ง หามาจากป่ า ในชุ ม ชนโดยต้ อ ง เลื อก ข นาดเล็ ก ค ว ามก ว้ า ง ป ร ะ ม า ณ 3 0 เ ซ น ติ เ ม ต ร ภา ยใ นไ ม้ จ ะ ต้ อ งก ลว งแ ละ จะต้องเปิดรูไว้หนึ่งข้างและรูตัน หนึ่งด้าน แหม่ลี๊เป็นเครื่องดนตรี ที่ ใ ช้ เ พื่ อ ความสนุ ก สนานทั้ ง ใน ยามว่างและยามมีงานสังสรรค์

56

56

กิจกรรม : เยี่ยมชมการเล่น ดนตรี วิทยากร: นายอาทือ มาเยอะ สถานที่

นายอาทือ มาเยอะ


การจักสาน

กิจกรรม : เยี่ยมชมภูมิปัญญา วิทยากร: นายลีตี๊ เพอเมียะ

สถานที่

นายลีตี๊ เพอเมียะ

นายลี ตี๊ ประกอบอาชี พ จั ก สานตั้ ง แต่ อ ายุ ป ระมาณ 30 ปี โดยทาการขายให้กับผู้ที่ต้องการ ซื้ อ ทั้ ง คนภายในและภายนอก ชุมชน เอกลักษณ์จุดเด่นงานสาน ของนายลี ตี๊ อยู่ ที่ ล วดลายที่ ไ ม่ เหมือนใครและไม่มีใครในหมู่บ้าน สามารถท าตามได้ โดยใช้ ไ ม้ ไ ผ่ รมควันให้เป็นสีดาจากธรรมชาติ แล้วนามาสานให้เกิดเป็นลวดลาย ที่สวยงาม

57

57


หมอสมุนไพร ผู้ที่ มีค วามรู้เ รื่อ งสมุ นไพร (ยาหว่า)ที่ดีที่สุดในหมู่บ้านโดย สามารถรักษาอาการปวดท้อง ไอ ไข้ ลมพิษ และรั ก ษาแผล สด โดยการนาสมุนไพรที่ใช้ใน การรั กษาโดยหามาจากป่าใน ชุมชน ซึ่งเรียนรู้มาจากการสืบ ทอดภู มิ ปั ญ ญามาจากบรรพ บุรุษของตนเองเป็นผู้สอน โดย ไม่ มี ก าร จดบั น ทึ ก เป็ น ลาย ลักษณ์อักษร ใช้ความสามารถ ในการจ าตั ว ยาสมุ น ไพรด้ ว ย ตนเอง 58

58

กิจกรรม : เยี่ยมชมภูมิปัญญา วิทยากร: นายหล่อเชอะ ยั่วลึ สถานที่

นายหล่อเชอะ ยั่วลึ


ช่างตีมดี

กิจกรรม : เยี่ยมชมภูมิปัญญา วิทยากร: นายศุภกร รัตนพิศาล สถานที่

ช่างตีเหล็ก ในหมู่บ้านซึ่งได้รั บ สืบทอดภูมิปัญญาการตีมีดมาจาก รุ่นพ่ อซึ่ งสื บทอดกั นมาตั้ง แต่ สมั ย บรรพบุ รุษ โดยตีมี ดและอุป กรณ์ การเกษตรให้กับคนในชุมชน ซึ่งจะ ผลิตชิ้นงาน เช่น มีด ขาตั้งเตาไฟ อุปกรณ์การเกษตร ฯลฯ ขั้นตอนในการตีเหล็กแต่ละครั้ง จะต้องมีผู้ช่วยไม่ต่ากว่า 4 คน

นายศุภกร รัตนพิศาล

59

59


การแต่งกายอาข่า

60

60


การทาชา เรี ย นรู้ อ าชี พ การปลู ก ชา การเก็บชาไปทาชา วิธีการทา ชาเพื่ อ ดื่ ม การคั่ ว การนวด การตาก และนามาชงชาดื่มใน วิถีอาข่า กิจกรรม : เรียนรู้วิถีการทาชา วิทยากร: ผู้นาเที่ยวท้องถิ่น สถานที่

สวนชาสอยดาว

ระยะเวลา 2 ชั่วโมง 61

61


น้าตก แหล่ ง น้ ำ ธรรมชำติ ข อง หมู่ บ้ ำ น ซึ่ ง เป็ น แหล่ ง น้ ำ ที่ ใ ช้ เพื่อกำรเกษตรของชุมชน

กิจกรรม : เยี่ยมชมน้าตก วิทยากร: ผู้นาเที่ยวท้องถิ่น สถานที่

น้าตกบ้านห้วยหยวกป่าโซ

ระยะเวลา 1 ชั่วโมง 62

62


การบริการอาหาร

กิจกรรม : ลิ้มรสอาหารท้องถิ่น วิทยากร: ผู้ให้บริการอาหารในชุมชน

63

63


แหล่งท่องเที่ยว

กลุ่มการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์โดยชุมชนบ้านปางมะหัน กลุ่ ม การท่อ งเที่ ย วโดยชุม ชนบ้ า นปางมะหั น จั ดตั้ ง ขึ้น ในปี 2560 ตั้งอยู่ตาบลเทอดไทย บ้านลาหู่บะเกียว หนึ่งเดียวในอาเภอ แม่ฟ้าหลวง มีจุดเด่น คือ ภูมิปัญญาการจักสานกระด้งจากไม้ไผ่เพื่อ ใช้ในครัวเรือน การทอผ้าและเย็บกระเป๋าแบบลาหู่ ลิ้มรสข่อซอยบ๊ะ อาหารว่างรสชาติดี โยนลูกช่วงและตีลูกข่างการละเล่นสาหรับชาย หญิงลาหู่ในช่วงปีใหม่ การแต่งกาย การเต้นปอแกแหล่ะเพื่อถวาย เทพเจ้าที่มีความเป็นมาของท่าเต้นแต่ละท่าที่น่าสนใจ และเยี่ยมชม พื้น ที่ โครงการศึ ก ษาและพั ฒนาการปลู ก ชาน้ ามั น ปางมะหั น ตาม พระราชด าริ ส มเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ดาฯ สยามบรมราชกุ ม ารี สามารถมองเห็นพื้นที่ไร่ชาโดยรอบและมีวิวทิวทัศน์ที่สวยงาม และ ยังสามารถใช้เส้นทางเดินชมหมู่บ้านท่องเที่ยวใกล้เคียง คือ บ้านโป่ง ไฮ โดยใช้เส้นทางเดินธรรมชาติได้ด้วย

64

64


แผนที่ท่องเที่ยวบ้านปางมะหัน

65

65


การเต้นจะคึ ทุ ก คนที่ เ ข้ า มายั ง ลาน เต้ น โดยแต่ ง กายด้ ว ยชุ ด ประจาเผ่า ในการเต้ น และ ตรงกลางจะมี ต้ น ไม้ ห นึ่ ง ต้ น ตั้ ง อยู่ ก ลางวงเต้ น เรี ย กว่ า ข่อแจ่ โดยเต้ นรอบต้ นไม้ต้ น นี้ ต ลอดทั้ งคื น โ ดย ต้ น ไ ม้ จะต้องอยู่จนกว่าจะเสร็จสิ้ น เทศกาลปีใหม่จนกว่าจะถอน ทิ้งได้

กิจกรรม : เรียนรู้การเต้นจะคึ วิทยากร: นายจะติ จะซือโป สถานที่

ลานเต้น

ระยะเวลา 30 นาที 66

66


เต้นปอแกแหละ

กิจกรรม : ร่วมเต้นปอแกแหละ วิทยากร: นายจะติ จะซือโป สถานที่

ทุกคนที่เข้ามายังลานเต้น ต้อง แต่งกายด้วยชุดประจาเผ่า ในการ เต้ น ตั้ ง เป็ น แถวตรงถ้ า หากมี จานวนคามากอาจจะ 2 - 3 แถว เต้นตามจังหวะเพลง มีอยู่ 3 ท่า ได้แก่ • ท่าอุ๊คุเปอเว (ทักทาย) • ท่าโป๊ะฟูรุ (หมุน) • ท่ า คื อ เกาะแป้ ด ะเว (สลั บ ขา)

ลานเต้น

ระยะเวลา 30 นาที 67

67


การโยนลูกช่วง ก า ร โ ย น ลู ก ช่ ว ง เ ป็ น การละเล่ น ในอดี ต เพื่ อ สร้ า ง ค ว า ม ส นุ ก ส น า น ส ร้ า ง ความสัมพันธ์และเป็นการหาคู่ ของหนุ่ ม สาวเผ่า ลาหู่ เพราะ เวลาส่ว นใหญ่ของเผ่ าละหู่จ ะ ทาการเกษตร ซึ่งจะมีเวลาว่าง เฉพาะช่วงเทศกาลเท่านั้น จึง เป็ น ช่ว งที่ ได้ พ บปะผู้ ห นุ่ม สาว เป็นจานวนมากของชนเผ่าลาหู่

กิจกรรม : เรียนรู้การโยนลูกช่วง วิทยากร: นางนาคือ แสงลี่ สถานที่

ลานโยนลูกช่วง

ระยะเวลา 30 นาที 68

68


การเล่นลูกข่าง

กิจกรรม : เรียนรู้การเล่นลูกข่าง วิทยากร: นายจะกอ ละหู่สือ สถานที่

ในสมั ย ก่ อ นมี ค วำมเชื่ อ ว่ ำ หำกเล่นลูกข่ำงชนะอีกฝ่ำย จะท้ำให้ พื ช ผลที่ ผ ลิ ต จะอุ ด มสมบู ร ณ์ แ ละ ให้ผลผลิตดี แต่ในปัจจุบันเป็นกำรละเล่นเพื่อ ค ว ำ ม ส นุ ก ส น ำ น แ ล ะ เ ชื่ อ ม ควำมสั มพั น ธ์ ระหว่ ำ งคนในชุ ม ชน และนอกชุมชน (ชำวลำหู่)

ลานเล่นลูกข่าง

ระยะเวลา 30 นาที 69

69


การจักสาน ชาวบ้านในสมัยก่อนนั้นไม่ มีอุปกรณ์ที่ใช้ในชีวิตประจาวัน ชาวบ้านจึงคิดค้นการจักสาน จ า ก ไ ม้ ไ ผ่ เ พื่ อ น า ม า ใ ช้ ประโยชน์ ในการดาเนินชีวิต เช่น กระด้ง ตะกร้าเพื่อนามา ร่ อ นข้ า วหรื อ ตากพริ ก ตาก ผักต่า งๆ รวมถึง การจั กสาน ซุ้ ม ไก่ แ ละการจั ก สานที่ ดั ก ปลา เป็นต้น ซึ่งสืบทอดการ จักสานจนถึงปัจจุบัน

70

70

กิจกรรม : เยี่ยมชมการจักสาน วิทยากร: นางนานู จะทอ สถานที่

นางนานู จะทอ


การทอผ้าทาย่าม ถุงย่าม สามารถใช้บรรจุสิ่งของ ต่ า ง ๆ ไ ว้ ใ ช้ ใ น ก า ร ด า เ นิ น ชี วิ ต ประจ าวั น ติ ด ตั ว ผู้ ใ ช้ ไ ปทุ ก ที่ และนิยมมอบเป็นของที่ร ะลึก ชาว ล า หู่ ห า ก แ ต่ งชุ ด ล า หู่ จ ะ ต้ อ ง สะพายถุงย่าม กิจกรรม : เยี่ยมชมการทอผ้า วิทยากร: นางนาทอ จะซือโป สถานที่

นางนาทอ จะซือโป

71

71


ข่อซอยบ๊ะ เป็ น อาหารท้ อ งถิ่ น ของ ช า ว ล า หู่ บ ะ เ กี ย ว ซึ่ ง ใ น ปั จ จุ บั น เป็ น ร้ า นเดี ย วที่ มี ข่ อ ซอยบ๊ะขายในหมู่บ้าน

กิจกรรม : เรียนรู้การทาบ่อซอยบ๊ะ วิทยากร: นางนาเหมย ลาหู่นะ

สถานที่

ร้านนางนาเหมย ลาหู่นะ

ระยะเวลา 30 นาที 72

72


วิถกี ารหาปลา ประกอบอาหาร หรือหากจับได้เป็นจานวนมากก็ จะจาหน่ายในหมู่บ้าน

กิจกรรม : สักการะสิ่งศักดิ์ วิทยากร: นางนาทอ จะอือ

สถานที่

แม่น้า

ระยะเวลา 30 นาที 73

73


การบริการอาหาร

74

74

กิจกรรม : ลิ้มรสอาหารท้องถิ่น วิทยากร: ผู้ให้บริการอาหารในชุมชน


อาหารฤดูฝน

แกงหน่อไม้ (วะตูจ้าเว) ผักกูดอบหม้อ (ดะก๊ะลูแฮแมอะเว) อาหารฤดูหนาว

ต้มถั่วฝักยาวดอย (เนอะสึจ๋าอะเว) อาหารทุกฤดู

ไข่เจียว (วะอูฮูอะเว)

ซุปผักกาดดอง 75

75


ตัวอย่างโปรแกรมท่องเทีย่ ว 1 วัน โปรแกรมท่องเที่ยวบ้านนาโต่ (ชาติพันธุ์ไทยใหญ่) เวลา กิจกรรม 09.00 น. กลุม่ การท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านนาโต่กล่าวต้อนรับ ณ วัดผุดผ่อง พรรณธรรมมาราม 09.30 น. เยี่ยมชมวัดผุดผ่องธรรมมาราม พระธาตุก่อเมือง ศาลเจ้า 10.00 น. เยี่ยมชมบ้านสมุนไพร และชิมน้าสมุนไพร 10.30 น. เยี่ยมชมบ้านไทยใหญ่ 11.00 น. เรียนรู้การทาขนมไทยใหญ่ 12.30 น. รับประทานอาหารกลางวัน 13.30 น. เดินสารวจเส้นทางลาน้าคา 16.30 น. กล่าวอาลา เดินทางกลับโดยสวัสดิภาพ

โปรแกรมท่องเที่ยวบ้านโป่งไฮ (ชาติพันธุ์อาข่า) เวลา 09.00 น. 09.30 น. 10.00 น. 12.00 น. 13.00 น. 13.30 น. 14.00 น. 15.30 น.

กิจกรรม กลุ่มการท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านโป่งไฮกล่าวต้อนรับ ออกเดินทางไปป่าอนุรักษ์บ้านโป่งไฮ (โดยใช้รถชุมชนบ้านโป่งไฮ) เดินศึกษาธรรมชาติในเส้นทางป่าชุมชนบ้านโป่งไฮ รับประทานอาหารกลางวัน ออกเดินทางกลับมายังฐานเรียนรู้ เรียนรู้การทอผ้า ปั้นฝ้าย เรียนรู้การตาข้าวปุ๊ก กล่าวอาลา เดินทางกลับโดยสวัสดิภาพ

โปรแกรมท่องเที่ยวชมรมชีววิถี (ศูนย์การเรียนบ้านนาโต่) เวลา 09.00 น. 09.30 น. 11.00 น. 12.30 น. 13.30 น. 14.30 น. 76

76

กิจกรรม กลุ่มชมรมชีววิถี กล่าวต้อนรับ เยี่ยมชมฐานเรียนรู้บ้านพอเพียง (ทาน้าหมักชีวภาพ) เยี่ยมชมฐานเรียนรู้บ้านสมุนไพร รับประทานอาหารกลางวัน ชมการแสดงชาติพันธุ์ชนเผ่าของนักเรียนในศูนย์การเรียนบ้านนาโต่ กล่าวอาลา เดินทางกลับโดยสวัสดิภาพ


โปรแกรมท่องเที่ยวบ้านห้วยกระ (ชาติพันธุ์อาข่า) เวลา 09.00 น. 09.30 น. 11.30 น. 12.30 น. 13.30 น. 14.00 น. 14.30 น. 16.00 น.

กิจกรรม กลุ่มการท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านห้วยกระกล่าวต้อนรับ เรียนรู้วิถีชีวิตการเก็บผัก ปักเบ็ดหาปลาในลาห้วย เรียนรู้การทาอาหารอาข่า (หมกไข่/ปลา+ผักกูด) รับประทานอาหารกลางวัน เยี่ยมชมบ้านอาข่าโบราณ ประตูหมู่บ้าน โล้ชิงช้า เยี่ยมชมการจักสารหวาย (โต๊ะ เก้าอี้) เรียนรู้การเล่นสะบ้า กล่าวอาลา เดินทางกลับโดยสวัสดิภาพ

โปรแกรมท่องเที่ยวบ้านห้วยหยวกป่าโซ (ชาติพันธุ์อาข่า) เวลา 09.00 น. 09.30 น. 10.30 น. 12.00 น. 13.00 น. 13.30 น. 14.00 น. 14.30 น.

กิจกรรม กลุ่มการท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านห้วยหยวกป่าโซกล่าวต้อนรับ เรียนรู้เรื่องชา และเก็บชา เรียนรู้ขั้นตอนการทาชา รับประทานอาหารกลางวัน เยี่ยมชมการเย็บผ้า ปักผ้า ลายอาข่าดั้งเดิม เยี่ยมชมการจักสาน เยี่ยมชมการเป่าขลุ่ย กล่าวอาลา เดินทางกลับโดยสวัสดิภาพ

โปรแกรมท่องเที่ยวบ้านปางมะหัน (ชาติพันธุ์ลาหู่บะเกียว) เวลา 09.00 น. 09.30 น. 10.00 น. 10.30 น. 12.00 น. 13.00 น. 14.30 น. 15.00 น.

กิจกรรม กลุ่มการท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านปางมะหันกล่าวต้อนรับ ชมการแสดงเต้นจะครึ เป๊าะแก๊ะและ เยี่ยมชมการทอผ้ากระเป๋าย่าม เรียนรู้การเล่นลูกข่าง รับประทานอาหารกลางวัน เรียนรู้การจักสานกระด้ง ชิมข่อซ่อยบ๊ะ (ข้าวซอยแผ่น) กล่าวอาลา เดินทางกลับโดยสวัสดิภาพ 77

77


ตัวอย่างโปรแกรม 4 วัน 6 ชุมชน อ.แม่ฟ้าหลวง จ.เชียงราย วันที่ 1 เวลา กิจกรรม 18.00 น. เข้าที่พัก ณ สถานีเกษตรห้วยหยวกป่าโซ รับประทานอาหารเย็น วันที่ 2 07.30 น. อาหารเช้า ณ บ้านพ่อหลวง บ้านห้วยหยวกป่าโซ (ชาติ

76

08.10 08.50 09.30 10.10 10.50 11.30 12.00

น. น. น. น. น. น. น.

13.00 13.40 14.30 14.10 15.10 16.00 17.00 17.15 18.00 18.40

น. น. น. น. น. น. น. น. น. น.

78

เรียนรู้ภูมิปัญญาจากหมอสมุนไพร เยี่ยมชมการเป่าขลุ่ย และเป่าแคน เยี่ยมชมการจักสาน การตีมีด เสื้อผ้าและการแต่งกายอาข่า อาลานักท่องเที่ยว เดินทางไปบ้านปางมะหัน อาหารเที่ยง ณ บ้านปางมะหัน (ชาติพันธุ์ลาหูบ่ ะเกียว) กล่าวต้อนรับ แนะนาหมู่บ้าน ทาอาหาร “ข่อซ่อยบ๊ะ” (ข้าวซอยแผ่น) ชมการทอย่ามลาหู่ การละเล่นลูกข่าง การจักสานกระด้ง การเต้นปอแกแหละ และจะคึ ออกเดินทางไปบ้านโป่งไฮ บ้านโป่งไฮ ณ บ้านพ่อหลวง ต้อนรับ แนะนาหมู่บ้าน ชมการปั่นฝ้าย-ทอผ้าอาข่า อาหารเย็น ณ บ้านพ่อหลวง เข้าที่พักโฮมสเตย์บ้านโป่งไฮ


วันที่ 07.00 08.00 08.30 08.45 09.00 11.00 12.30

3

น. น. น. น. น. น. น.

น.

อาหารเช้า ณ บ้านพักโฮมสเตย์ ใส่บาตรพระขี่ม้า ณ บ้านพ่อหลวง ออกเดินทางไปบ้านห้วยกระ ถึงจุดลงน้า บ้านห้วยกระต้อนรับ แนะนาหมู่บ้าน เรียนรู้วิถีเก็บผัก ปักเบ็ดหาปลาในลาห้วย ทาอาหารอาข่า (หมกไข่/ปลา+ผักกูด) ณ เถียงนา ออกเดินไปยังทางเข้าหมู่บ้าน (ซุ้มประตู) เดินทางโดยรถยนต์ ไปยัง บ้านดั้งเดิมอาข่า ประตูหมู่บ้าน (ประตูผ)ี ลานโล้ชิงช้า ออกเดินทางจากบ้านห้วยกระ บ้านนาโต่ (ชาติพันธุ์ไทใหญ่) ต้อนรับ ณ วัดผุดผ่องพรรณ ธรรมาราม เยี่ยมชมพระธาตุก่อเมือง เยี่ยมชมบ้านไทใหญ่ และเรียนรู้การทาขนมไทใหญ่ (ทาเองกินเอง) เรียนรู้ภูมิปัญญาจากหมอสมุนไพร (น้าสมุนไพร) เดินทางไปศูนย์การเรียนบ้านนาโต่ ศูนย์การเรียนบ้านนาโต่ ต้อนรับ ณ อาคาร 2 แนะนาความ เป็นมาของศูนย์การเรียนฯ เข้าที่พัก อาหารเย็น (บริการอาหารโดยบ้านนาโต่) ชมการแสดง เยาวชนในศูนย์ฯ การแสดงนก (ไทยใหญ่) และการแสดง กระทุ้งไม้ไผ่ (อาข่า) เข้าที่พัก

น. น. น. น. น.

อาหารเช้า ณ ที่พัก นาชมฐานเรียนรู้ นัดพบ ณ ที่พัก ฐานเรียนรู้บ้านพอเพียง ฐานเรียนรู้บ้านสมุนไพร เก็บสมุนไพรสดมาทาชาสมุนไพรสด อาลานักท่องเที่ยว เดินทางกลับโดยสวัสดิภาพ

13.30 น. 13.45 น. 14.30 น. 15.45 น. 16.15 น. 16.30 น. 18.00 น.

19.30 วันที่ 07.00 08.00 08.30 09.00 10.00

4

79

77


เครือข่ายการท่องเที่ยวโดยชุมชนอาเภอกัลยาณิวัฒนา

ประธานเครือข่าย : นายเฉลิมชัย พิริยะวรคุณ Facebook : CBT Galyani Vadhana Chiang Mai ประธานกลุ่มการท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านวัดจันทร์ : นายเฉลิมชัย พิริยะวรคุณ ประธานกลุ่มการท่องเที่ยวโดยชุมชนดงสามหมื่น : นายธงไชย แซ่โซ้ง ประธานกลุ่มเครือข่ายการท่องเที่ยวโดยชุมชนเหล่อชอ : นายฤทธิศักดิ์ ศรวันเพ็ญ ศูนย์ประสานงานการท่ องเที ย่ วโดยชุ ชนแม่ หลวง ประธานกลุ ่มการท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้ านเสาแดง : มนายจี ระพัฟ นธ์า้ โสภาพรรณ ราย หวัาดนห้เชีวยยปูงราย ประธานกลุ่มการท่องเที่ยวโดยชุจัมงชนบ้ : นายเกียรติชัย อร่ามคีรีพนา ประธานกลุ่มการท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านห้วยบะบ้า : นายสุดจา ลิขิตเบญจกุล ต่อเราได้ที่นี่ ผู้ประสานงานเส้นทางเสด็จพระราชดติดาเนิ น: นายประเสิรฐ พรรณ งาม พัฒนาศักยภาพชุมชนพึ่งตนเองอย่างยั่งยืน โดย ศูนย์จัดการข้อมูลเพื่อการวิจัยและพัฒนาศักยภาพชุมชน (ศจพช.) สาขาวิชาการจัดการ คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ถนนห้วยแก้ว อาเภอเมือง เชียงใหม่ 50300 โทรศัพท์ 0-5392-1444 ต่อ 2846 มือถือ 08-1960-1789 โทรสาร 0-5322-6895 e-mail: rmutl.dmdc@gmail.com www.dmdc.rmutl.ac.th , www.facebook.com/dmdc.rmutl

สนับสนุนโดย : สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) และสานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ปีงบประมาณ 2559 - 2560 80


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.