BIG BAND SBC สุนทรียภาพดานดนตรีชาวบางกอกอุษาคเนย พื้นถิ่นวิทยาลัยเซาธอสี ทบางกอก ---------
“ดนตรีและการฟอนรํา แสดงออกซึ่งความเปนอิสรภาพของอารมณ เปนสุนทรียภาพทาง จินตนาการของมนุษย เปนเครื่องหมายของความเจริญของบุคคล ชุมชน เปนเครื่องวัดความ ศิวิไลซของสังคม และเปนหนาตาของประเทศ” เอกสารนี้เปนบันทึกโครงการกิจกรรมสงเสริมและสืบสานศิลปวัฒนธรรมสากล ฝกหัดและ พัฒนาดนตรีสากล ศิลปะการแสดงของตางชาติ ที่วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอกปฏิบัติในปจจุบัน ประวัติความเปนมาของดนตรีสากล “ชาวบางนา” เปนประชากรพื้นถิ่นของบางกอกอุษาคเนย ที่ตั้งของวิทยาลัยเซาธอีสท บางกอก ในอดีตเมื่อกอน พ.ศ. ๒๕๐๐ หรือเมื่อ ๕๐ ปกอน มีแหลงบันเทิงอยูที่วัด วัดบางนานอก ปากคลองบางนา วัดบางนาใน เมื่อมีงานเทศกาลสําคัญ งานปประเพณี งานฉลอง และงานวายชนม ของผูมีทรัพย มีการละเลนเพื่อความบันเทิงไมมีกําหนดเวลาตายตัว อาจปละ ๑-๒ ครั้งหรือมากกวา ที่พูดกันติดปากก็คือ “ลิเกผาด ระนาดพุม” ลิเก ทองใบ รุงเรือง โขนสด ละครชาตรีของแมครูสุด ประเสริฐ ศรีออน นอกจากนั้นก็มีการละเลนกันเองหลังจากเหน็ดเหนื่อยจากงานในทองนายามค่ํา เลนทรงเจาเขาผี ผูหญิงเลนบายศรี ผูชายเลนผีนางดง วัยรุนเลนลิงลม งานบวชลูกคนมีทรัพยก็จะมี แตรวง สําหรับแหนําพอนาคเขาโบสถบวชพระบรรพชาสามเณร ทั้งหมดที่กลาวมานี้ เลือนหายไป ตามกาลเวลาเหลือที่ยังเห็นอยูก็มีแต “แตรวงแหนํานาคเขาบรรพชาอุปสมบทในอุโบสถวัด ตางๆ ในเขต บางนาและบางกอกอุษาคเนย” แตรวงเปนเครื่องดนตรีฝรั่ง เปนเครื่องเปาทองเหลือง ถือกําเนิดขึ้นในเมืองไทยครั้งแรก พ.ศ.๒๓๙๕ สมัยรัชกาลที่ ๔ ตอมาพระเจนดุริยางค (Peter Feit) บุตรนายยาคอบ ไฟท
(Jacob Feitch) ชาวเยอรมัน กับนางทองอยูชาวมอญพระประแดงผูเปนมารดาคุณพระเจนดุริยางค ผูเปนเจากรมมหรสพหลวง สมัยนั้นรัฐบาลสงเสริมใหมีดนตรีฝรั่งเพื่อความศิวิไลซ โดยใหโรงเรียน ประจําจังหวัดทั่วประเทศมีกองลูกเสือ และใหมีครูที่มีความรูดานดนตรีเพื่อคุมกองดุริยางคลูกเสือ บรรเลงเพลงนํากองลูกเสือ นําขบวนนักกีฬาและกิจกรรมแหอื่น ๆ อันเปนความบันเทิงของอารมณ โรงเรียนประจําจังหวัดและโรงเรียนมัธยมขนาดใหญทุกโรงเรียนมีเครื่องดนตรี มีครู แตครูไมมี ความรูความชํานาญในการสอนมากอนเลย คุณพระเจนดุริยางค บิดาแหงการดนตรีสากลสมัยนั้น จึงใหเรียก ครูดนตรีประจําโรงเรียนในตางจังหวัดมาเขาคายฝกซอมที่กรุงเทพฯ เปนรุนๆ รุนละ ๑-๓ เดือน จนครบทั่วประเทศ ครูดนตรีเหลานี้ กลับไปฝกซอมใหกับศิษยของตนตอไป ทั้งครูและ ศิษยเมื่อมีความชํานาญมากขึ้นมีเวลาวางก็ออกรับงาน รับแสดงดนตรี ตามงานมงคลขึ้นบานใหม งานแต ง แห นํ า นาคเข า โบสถ ไปจนถึ ง งานอวมงคล งานศพหารฟายได เ สริ ม หารายได เ ลี้ ย ง ครอบครัว และแพรหลายมาจนทุกวันนี้ คุณพระเจนดุริยางคมีลูกศิษย ทั่วประเทศ ทานไดรับความ เคารพอยางสูง และไดรับการยกยองใหเปนบิดาแหงการดนตรีสากลของประเทศไทย สิ่งที่นักแตร วงพึงกระทําคือแสดงความกตัญูกตเวที “รําลึก คุณทานดวยการขยันฝกซอมประพฤติตัวดีเปน การตอบแทนใหสมกับศิษยมีครู” สถานภาพปจจุบัน BIG BAND SBC เปนวงดนตรีเครื่องเปาขนาดเล็กของวิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก ตั้งเปน แผนกดนตรี ส ากลเมื่ อ ๘ มิ ถุ น ายน ๒๕๔๘ เป น โครงการภายใต ก ารกํ า กั บ ดู แ ลของ ศูนยศิลปวัฒนธรรม มีผูอํานวยการศูนยฯ เปนผูดูแลบังคับบัญชา ในสายงานของรองอธิการบดี ฝ า ยกิ จ การนั ก ศึ ก ษาและกิ จ การพิ เ ศษ มี อ ธิ ก ารบดี เ ป น ผู ใ ห ก ารสนั บ สนุ น ทั้ ง นี้ เพื่ อ สื บ ทอด เจตนารมยที่จะนําผูฟงเขาสูสุนทรียภาพทางการรับฟงเสียงอันไดเรียบเรียงเปนเพลงไทยคลาสสิก Symphony Orchestra ซึ่งเปนสากลของโลกเพราะดนตรีสากลเปนของโลก คนทั้งโลกรูจักแลว มีแต การจะฝกใหคนไทยไดเขาถึงความประณีต เพิ่มขึ้น เขาสูระดับคลาสสิกสากลในที่สุด วิทยาลัยฯ เปนแหลงใหการศึกษาฝกอบรม จึงตระหนักวาการเลนดนตรีเพื่อเขาถึงความเปนคลาสสิกเปน กิจกรรมที่ ก อประโยชนใ นการพั ฒนาทั ก ษะ สรางสมาธิและสรางความคิ ด ที่เ ป น ระบบ อั น จะ สงเสริมใหการดําเนินชีวิตมีคุณภาพยิ่งขึ้น การที่นักศึกษาสวนหนึ่ง มีใจรักดานดนตรี มีทักษะ อยาก เรียน อยากฝกซอม ใหมีทักษะมีความชํานาญและมีเวทีแสดงทดสอบผลของการฝกซอมใหมีความ ชํานาญ จนสามารถใชประกอบเปนอาชีพที่สองได เปนแบบอยางแกนักศึกษาทั้งวิทยาลัยฯ ได นับวาเปนการลงทุนที่คุมคา อธิการบดีในฐานะผูนําการบริหารจึงเห็นสมควรใหการสนับสนุนอยาง เต็ มที่จึ งขออนุ มัติสภาวิท ยาลั ย ฯ สนับสนุ น เงิน ทุน ตั้ ง แผนกดนตรีส ากลมีว งดนตรี ชื่ อวา BIG BAND SBC โดยกําหนดเปนวัตถุประสงคสังเขปไว ดังนี้
วัตถุประสงค ๑.เพื่ อ ให พั น ธกิ จ ครบถ ว นตามประเภทที่ กํ า หนดในโครงการ/กิ จ กรรมแสดง ศิลปวัฒนธรรมสากลและการฝกหัดดนตรีสากล ๒.ใหการศึกษาและสรางสุนทรีภาพทางดานการบรรเลง การฟง แกนักนักศึกษาและชุมชน เปนบริการสังคม ๓.ตั้งวงดนตรีฝกซอมนักศึกษาชุมชนใกลเคียงที่มีพื้นฐานและใจรักทางดนตรีใหสามารถ รับงานแสดงทั้งภายในและภายนอกได เปนรายไดเสริม ๔.สงเสริมการฟงและเผยแพรธรรมเนียมและมารยาทการชม การบรรเลงเพลงคลาสสิก Symphony orchestra อันเปนสากลของโลก ๕.ใชบรรเลงประกอบในวาระพิเศษทั้งภายในและภายนอกเปนบริการสังคมของวิทยาลัยฯ และชุมชนชาวบางกอกอุษาคเนย การประกอบวง วง BIG BAND SBC ประกอบดวยผูเลนดนตรี จํานวน ๑๔ คน ครูควบคุมวง ๑ คน เปน นักดนตรีมีความชํานาญ มีทักษะจากวงโยธวาทิตมาจากโรงเรียนอรรถวิทย ๑๑ คน เปนนักศึกษา จากโรงเรียนอื่น ๓ คน นักศึกษาทั้งหมด ๑๕ คน เปนนักศึกษาขอรับทุนอุดหนุนจากวิทยาลัยฯ ๑๔ คน ไมขอรับทุน ๑ คน ผูขอรับทุนจะไดรับยกเวนคาเลาเรียน คาบํารุง และมีรายไดจาก การแสดงแตละครั้ง มีรายชื่อผูเริ่มตน ดังนี้ รายชื่อนักศึกษาทุนดนตรีสากล นักศึกษาชาวบางนาบางกอกอุษาคเนย รุนแรก รุนบุกเบิกการดนตรีของวิทยาลัยฯ มีดังนี้ น.ส. ภาวิณี อุดมพันธ (บธ.ตลาด) นางสาวอมรทิพย ปราณีมาโพธิ (บธ ตลาด) นายณภัทร ปญญาพร (วิทยฯเทคฯ) นายพลากร บุญยัง (บธ. คอมฯ) น.ส.สิริพันธุ สกุลแสง (บธ.โลจิสฯ) นายอิทธิกร อับดุลรอมาน (บธ. ตลาด) นายพงศกร มวงคราม (บธ. ตลาด) นายมณัฐพล กาสา (บธ. คอมฯ) นายธงชัย สุขเกษม (บธ.คอมฯ) นายบุญชัย สายธเรศ (บธ.คอมฯ) นายภานุพงษ หุนดี (บธ.คอมฯ) นายกฤษณะ อินทรศิริ (บธ.โลจิสฯ) นายชนาธิป งามขํา (บธ.คอมฯ) (ไมขอรับทุน) นายศราวุธ นูพิมพ (บธ.คอมฯ) นายธนชัย เทพชุลีพรศิลป (บธ.โลจิสฯ) การลงทุน การตั้งวงดนตรีสากล ดนตรีไทย เปนสิ่งที่สถาบันการศึกษาทุกมหาวิทยาลัย ทุกระดับให ความสํ าคั ญ และส ง เสริ ม เพราะเป น สาขาหนึ่ ง ของวั ฒ นธรรม สถาบัน ต อ งลงทุ น เครื่ อ งดนตรี สถานที่ฝกซอม ใหนักศึกษาดนตรีมีทักษะมีความชํานาญเลนประกอบวงได
วิทยาลัยฯ ลงทุนจัดหาเครื่องดนตรีไวใหนักศึกษาไดเลนไดฝกซอม ตามความถนัดของ นักศึกษาแตละคน ประกอบดวย Alto Saxophone ๒ ตัว Tenor Saxophone ๒ ตัว Baritone Saxophone ๑ ตัว Trumpet ๔ ตัว Tenor Trombone ๓ ตัว Brass Trombone ๑ ตัว เครื่องตี มี กลองชุด ๑ ชุด คียบอรด ๑ ตัว กีตารไฟฟา ๑ ตัว ๑ ตัว กีตารเบส เครื่องเคาะ มีกลองคองกา ๑ ชุด กลองทิมเบอเรต ๑ ชุด ลําโพง ๒ ตัว ขาตั้งโนตเพลง ๒๐ ชุด การใชเงินลงทุน ๑. ลงทุนเครื่องดนตรี ๑๔ รายการ ๔๑ ชิ้น ๒. ทุนสนับสนุนคาเลาเรียน ตลอดหลักสูตร นักศึกษาทุนตลอดระยะเวลาศึกษา ๑๔ ทุน ปละ ๓. เครื่องแตงกาย (คนละ ๑,๐๐๐ บาท) X 14 คน ปละ ๔. คาซอมบํารุงเครื่องดนตรี ปละ ๕. บรรจุอาจารยผูสอน ผูควบคุมวง ปละ ๖. คาใชจายวิทยากรรับเชิญ ปละ ๗. คาใชจายเบ็ดเตล็ด (คาพาหนะเดินทางไปแสดง) ปละ รวมคาใชจายประจําป ปละ (๑) ลงทุนอุปกรณ ครั้งแรก (๒) รวมคาลงทุนป ๒๕๔๘ (๑+๒) รวมคาลงทุนป ๒๕๔๙ (๑) รวมคาลงทุนป ๒๕๕๐ (๑) รวมคาลงทุนป ๒๕๕๑ (๑) รวมลงทุน ๔ ป
๒,๐๐๐,๐๐๐
บาท
๗๐๐,๐๐๐ ๑๔,๐๐๐ ๕๐,๐๐๐ ๑๒๐,๐๐๐ ๓๐,๐๐๐ ๓๐,๐๐๐ ๙๔๔,๐๐๐ ๒,๐๐๐,๐๐๐ ๒,๙๔๔,๐๐๐ ๙๔๔,๐๐๐ ๙๔๔,๐๐๐ ๙๔๔,๐๐๐ ๕,๗๗๖,๐๐๐
บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท
การฝกซอม และวินัย - ใชการฝกซอม หลังเลิกเรียน วันเสาร-อาทิตย วันวาง และการเขาคายอบรม - นักศึกษามีวนิ ยั ในการฝกซอมดีมาก - มีบันทึกการฝกซอม ระยะเวลา (ชั่วโมงบิน) และประเมินผลเปนรายวัน โดยนักศึกษา และผูควบคุมการฝกซอมเสนอผูสนับสนุนทุน เปนรายสัปดาหและรายเดือน
หมวดเพลงที่ใชสอน และฝกซอม ๑. เพลงพระราชนิพนธ ๒. เพลงลูกทุงที่กําลังเปนที่นยิ ม ๓. เพลงตลาด String ๔. เพลง JAZZ ๕. เพลงคลาสสิกไทยตนแบบบรรเลงโดยวง ซิมโฟนีออเคสตราของ TPO การออกงานแสดง ๑. แสดงที่สวนหลวง ร.๙ เทศกาลสําคัญ และวันประสาทปริญญาบัตร ของบัณฑิตวิทยาลัย เซาธอีสทบางกอก แสดงแลว ๔ ครั้ง มีผูชมครั้งละประมาณ ๒,๐๐๐ คน ๒. แสดงใหประชาชนชม ในงานพระราชทานเพลิงพระศพ สมเด็จพระเจาพี่นางเธอเจาฟา กัลยาณิวัฒนากรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร ที่วัดบางนาในวันถวายเพลิงพระศพทานมีผูชม ประมาณ ๒,๐๐๐ คน ๓. แสดงประจําที่ศูนยการคาซีคอนสแควรเปนบริการสังคม ภาคการศึกษาละ ๒ ครั้ง มีผูเขาชมประมาณ ครั้งละ ๕๐๐ คน ๔. ไดรับเชิญไปโชวคอนเสิรตแบบเบิรด เบิรด ทั้ง ๒ คอนเสิรต อาจารยผูควบคุมการฝกสอน อาจารย เพียวพันธ เทวงษรักษา เปนผูควบคุมวง อาจารยเพียวพันธ มีความสามารถเลน ดนตรีไดหลายประเภททั้งไทยและสากล ที่ชํานาญและเลนไดดีคือ ทรอมโบน (Trombone) และ ทูบา ทรอมโบน เปนแตรทองเหลืองชนิดหนึ่งมีทอลมสวม ซอนกัน บังคับเสียงโดยวิธีชักทอลม เลื่อนเขาออก ใชในวงโยธวาทิต วงดนตรีลูกทุงและวงซิมโฟนีออเคสตรา Trombone ที่นิยมใชใน ปจจุบัน มี ๔ ชนิด คือ Alto Trombone ระดับเสียงสูงที่สุด คีย Eb ชนิดที่ ๒ Tenor Trombone มี ระดับเสียง Bb ต่ํากวา Alto เปน Trombone มาตรฐาน ชนิดที่ ๓ Marching Trombone เปน Trombone ออกแบบสําหรับเดินเทานั้น ชนิดที่ ๔ Bass Trombone มีระดับเสียงสูงสุดใกลเคียงกับ Tenor และมีระดับเสียงต่ํา ต่ํามาก ต่ํามากกวา Tenor อาจารยเพียวพันธเลนไดดีทุกชนิดอุปกรณ แต ที่ชํานาญที่สุดคือ Tenor Trombone อาจารยเพียวพันธ มีชีวิตแนบแนนอยูกับธรรมชาติ สายลม แสงแดดและเกลียวคลื่น เปน ลูกชาวสวนเกิดที่ ตําบลสวนสม คลองดําเนินสะดวก ซึ่งเปนแดนเกษตรชั้นดีอยู อําเภอกระทุมแบน จังหวัดสมุทรสาคร เปนบุตรนายปุน นางถนอม เทวงษรักษา เกิดวันที่ ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๒๗ ต อ มาภายหลั ง บิ ด าย า ยครอบครั ว ไปประกอบอาชี พ ที่ อํ า เภอหั ว หิ น จั ง หวั ด ประจวบคี รี ขั น ธ อาจารยเพียวพันธ ไดเริ่มการศึกษาเบื้องตนที่โรงเรียนมัธยมไกลกังวลหัวหินจนจบชั้นมัธยม ๖ สมั ค รเข า เรี ย นดนตรี แ ละเป น นั ก ดนตรี วงโยธวาทิ ต ของโรงเรี ย นตั้ ง แต ชั้ น มั ธ ยม ๑ ด ว ยเหตุ
บันดาลใจใหสนใจดนตรีเพราะรูสึกวาตนนาจะมีพรสวรรคทางดนตรีจับเครื่องดนตรีเลนไดมา ตั้งแตชั้นประถม ดนตรีไทยก็เลนไดทั้งระนาดเอก ระนาดทุม ฆองวงและเครื่องประกอบจังหวะ ส ว นการศึ ก ษาในระดั บ มหาวิ ท ยาลั ย นั้ น สอบเข า ศึ ก ษาต อ ที่ ม หาวิ ท ยาลั ย ศิ ล ปากร สาขาดุริยางคศาสตร เปนรุนที่ ๕ (๒๕๔๖) เครื่องดนตรีที่เลนไดดีที่สุดคือ ทรอมโบน และทูบา เครื่องดนตรีอื่นเรียนทฤษฎีจบหมด เรียนอยู ๔ ป สําเร็จการศึกษาปริญญาตรีดุริยางคศาสตรสาขา การแสดงดนตรีในรุนที่ ๕ นี้ นักศึกษาเลือกเรียนทรอมโบนมีมากกวา ๑๐๐ คน แตจบหลักสูตร เพียง ๓๐ คนเทานั้นไดเรียนกับอาจารยสอนเครื่องมือเอก Trombone เปนอาจารยชั้นยอดในวงการ เปนหัวหนากลุม Oboe คือ อาจารยดําริห บรรณวิทยกิจ อาจารยหัวหนากลุมเครื่องเปาทองเหลือง ของวง BSO (Bangkok Symphony Orchestra) ซึ่งมีงานแสดงทั้งในและตางประเทศมาก อาจารยทานเอาใจใสสอนอยางดีนับเปนครูในดวงใจ และอีกทานหนึ่งอาจารยที่เขมงวดกวดขันใหมี วินัยทางดนตรีและไม ทอดทิ้งจนถึงปจจุบัน คือทั้งขยันฝก ซอมและกวดขันใหแสวงหาความรู ใหม ๆ คือทานอาจารยสรพจน วรแสง อาจารยเครื่องเอก Trombone ของวิทยาลัยและวง BSO เชนเดียวกันในขณะเรียนเมื่อมีฝมือดีพอควรครูทานแนะนําใหใชเวลาวางออกไปหารายไดพิเศษหา ประสบการณและรายไดชวยครอบครัว มีรายไดดีพอประมาณ แตตองระมัดระวังมิใหตองเสีย การเรียน ในด า นการแสดง อาจารย เ พี ย วพั น ธ เทวงษ รั ก ษา มี ป ระสบการณ ก ารแสดง ได เ ป น MEMBER รวมวงแสดงรายการใหญอยูในวงดุริยางค THE SOUTHEST ASIA YOUTH SYMPHONY ORCHESTRA, (Wind Ensemble, SAYOWE) ของมหาวิทยาลัยมหิดล ซึ่งดูแลและ อํานวยการโดย รศ.ดร.สุกรี เจริญสุข แสดงที่ศูนยวัฒนธรรมแหงประเทศไทยและรีเจนท ชะอํา นําวง BIG BAND ของ SBC เขารวมคอนเสิรตกับ เบิรด ธงชัย แมคอินไตย ที่ผานมา ทั้งสองคอนเสิรตไดรับคําชมมาก รวมเลน กับวง BSO (Bangkok Symphony Orchestra) สองครั้ง ใกล ๆ นี้ได เขารวม Audition คือ รวมแสดงใหดู และรวมเขาคายคัดสรรฝมือเพื่อเขารวม วง UNITY (University Thailand Youth Ochestra) ซึ่งเปนการรวมตัวกันของสุดยอดเยาวชนดนตรี คลาสสิกกวา ๑๓๐ ชีวิต ในโครงการ The Unity Music Camp คัดเลือกเยาวชนมีฝมือจากทั่วประเทศ ซึ่ ง บั ณ ฑิ ต อึ้ ง รั ง สี ควบคุ ม และอํ า นวยเพลงแสดงที่ ศู น ย วั ฒ นธรรมแห ง ประเทศไทย เมื่ อ ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๕๑ อาจารยเพียวพันธ สมัครเปนอาจารยที่วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก ดวยความมุงมั่นที่จะทํา วง Big Band ใหเปน Big Band จริง ๆ หาหนทางพัฒนาการฟง การเลนดนตรี ของลูกหลานชาว บางนาใหยกระดับขึ้นจากการเลนดนตรีการฟงดนตรีในระดับชาวบาน แตเมื่อไดศึกษาวิชาการถึง ระดับปริญญาบัณฑิต นักศึกษาควรมีสํานึก มีความรูและรสนิยมในดนตรีอันเปนสากลบาง เพื่อ สังคมกับบุคคลระดับวิชาการ เชน รูจักเพลงคลาสสิกของดุริยกวีมีชื่อเชนของ Beethoven Mozart
หรือ โจฮันน สเตราส เทคนิค การฟงเพลงคลาสสิก การทําความเขาใจในบทเพลงกอนฟง มารยาท ในการฟง การชมการแสดง การปรบมือ ควรปรบทอนไหน ยาวนานแคไหน หรือถาเปนเพลงไทย ก็ ค วรจะรู จั ก หลวงประดิ ษ ฐ ไ พเราะ (ศร ศิ ล ปบรรเลง) พระยาประสานดุ ริ ย ศั พ ท (แปลก ประสานศัทพ) เปนตน รายการเพลงที่ใชฝกซอมและบรรเลง ทุกครั้งที่วง BIG BAND บรรเลงเพื่อสาธารณะจะอัญเชิญเพลงพระราชนิพนธออกแสดง เพื่อเปนสิริมงคลทุกครั้ง ดวยความที่เปนคลาสสิกอยูในตัว สามารถจูงจินตนาการผูฟงใหเขาถึง ความเปนเพลงคลาสสิกสากลตามเนื้อเพลงได หลังจากนั้น จึงจะตามดวยเพลงตลาด ลูกทุง String และหรือ Jazz ตามสมัยนิยม เพื่อใหผูฟงติดตามและจะจบลงดวยเพลงไทยคลาสสิกเพื่อยกระดับ รสนิ ย มการฟ ง ให เ ป น สากลในโอกาสต อ ไป โดยเลื อ กอั ญ เชิ ญ เพลงตามความเหมาะสมกั บ บรรยากาศสิ่งแวดลอม โดยจะมี “สูจิบัตร” ใหรายละเอียดการแสดงทุกครั้ง ๑. เพลงพระราชนิพนธ ที่ใชบรรเลง ยามเย็น (Love at Sundown) เพลงพระราชนิพนธเพลงแรก จังหวะฟอกซทร็อต สายฝน (Falling Rain) เพลงโปรดเกลาฯ ใหนําออกบรรเลงเปนเพลงที่ ๒ เปนเพลง จังหวะวอลทซ แสงเดือน (Magic Beams) โปรดเกลาฯ ใหใชประกอบระบําบัลเลต ฝกซอมโดยคุณหญิง เจเนเวียฟ เดมอน แสดงในงานการกุศล เกาะในฝน (Dream Island) พระราชนิพนธเปนอันดับ ๔ เปนเพลงปลุกใจใหรัก ชาติบานเมือง บางครั้งเรียกเพลง Alexandra ไรเดือน ( No Moon) เพลงที่ทรงพระราชนิพนธคํารองเปนภาษาอังกฤษ ดวยพระองคเอง อยูในชุด “Still on My Mind” และ “Old Fashioned Melody “ ชะตาชีวิต (H.M. Blues) เปนเพลงที่ทรงพระราชนิพนธขณะที่เสด็จฯ ทรง ศึกษาตอที่ประเทศสวิสเซอรแลนดหลังเสวยราช สมบัติแลว H.M. Blues ยอมาจาก “Hungry Men’s Blues” คือทรงบรรเลงเพลงตลอดครึ่งคืน ในวันเลี้ยงขาราชบริพารและนักเรียนไทยขณะที่ ไมไดทรงเสวยอะไรเลย ใกลรุง (Near Down) ทรงพระราชนิพนธขณะทีเ่ ปนสมเด็จพระอนุชาธิราช เพลงนี้ประพันธเนื้อเพลงตอนไกขันใกลรุงบรรเลงครั้งแรก เมื่อ ๔ มิถุนายน ๒๔๘๙
ดวงใจกับความรัก (Never mind the H.M.Blues) เปนเพลงแจส คลาสสิคระดับเดียวกับ ของ Duke Ellington เพลงชุดมโนราห (Kinari Suite) เปนเพลงพระราชนิพนธประกอบการแสดงบัลเลต ชุดมโนราห มีทั้งหมด ๖ บท คือ “ Nature Waltz” “The Hunter” “ Kinari Waltz” และ “ภิรมยรัก” ๒. เพลงลูกทุง ตลาด และ Jazz BIG BAND เลือกบรรเลงเพลงอันเปนที่นิยมของตลาด ณ เวลานั้น เพื่อความบันเทิงของ ผูฟง และปลู ก ฝง และชั ก นํ า ให ผูฟ งสรางรสนิย มในเพลงคลาสสิ ก ในโอกาสต อไป เหมือ นกั บ ตองเลานิทานใหฟงกอนจึงจะสอนธรรมะได ๓. เพลงไทยคลาสสิก เพลงไทยคลาสสิก เปนเปาหมายสูงสุดไมจํากัดกาลเวลา ที่นํามาศึกษาและฝกซอมเปน เพลงไทยเดิมที่มีอยูเดิมเกาแกก็มีและเขียนขึ้นใหมก็มี เชนเพลง “ศรีอยุธยา” ที่ปรากฏในหนังสือ จดหมายเหตุ ล าลู แ บร เ ป น เพลงสรรเสริ ญ พระบารมี สมเด็ จ พระนารายณ พระเจนดุ ริ ย างค ใ ช วงออเคสตราของกรมศิลปากรบรรเลง ปจจุบันเพลงนี้บรรเลงโดยวง Thailand Philharmonic Orchestra ของวิทยาลัยดุริยางคศิลป มหาวิทยาลัยมหิดล อันมี รศ.ดร.สุกรี เจริญสุข เปนคณบดี และผูอํานวยการ วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก โดยสํานักศิลปวัฒนธรรม แผนกดนตรีสากลไดฝกซอมเพลงที่ รูจักกันดี เปนลําดับ เชน เพลง “พมาเขว” หรือคุนหูกันในนามเพลงชาง ชาง ชาง เพลง “คางคาวกินกลวย” หรือเพลงลิงกับเสือ เปนเพลงไดรับความนิยมสูง เพลง “อัศวลีลา” หรือเพลงมายอง เพลง “ร็องเง็ง” เปนศิลปะการเตนรําพื้นเมืองของชาวไทยมุสลิมภาคใต เพลง “ลาวคําหอม” เปนเพลงประกอบหนาทับลาว จาเผนผยองยิ่ง แตง เพลง “เขมรลออองค” เปนเพลงเกาสมัยอยุธยา ลิเกรองเลนกันทั่วไป รัชกาลที่ ๗ ทรงนํามาปรับปรุงใหม เพลง “สรรเสริญเสือปา” หรือบุหลันลอยเลื่อน (ร.๒) หรือเพลงสรรเสริญ พระบารมี รัชกาลที่ ๕ เพลง “ศรีอยุธยา” สรรเสริญพระนารายณมหาราช ดังกลาวแลว เพลง “คลื่นกระทบฝง” เปนเพลงฉิ่งโบราณเกามาก อยูในชุดเพลงฟองน้ํา เพลง “ฝงน้ํา” ฯลฯ
เพลงไทยคลาสสิกเหลานี้มีบรรเลงใหชาวตางชาติชมเปนการแพรหลายอยูในกรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย เยอรมัน และหลายประเทศในยุโรป ในโอกาสเทศกาลดนตรีประจําปทุก ป ประเทศไทยมีบรรเลงประจําที่หอแสดงดนตรี วิทยาลัยดุริยางคศิลปมหาวิทยาลัยมหิดล มีผูชมทั้ง ไทยและตางประเทศ ซื้อบัตรเขาชมแนนทุกรอบ วันศุกร และวันเสาร สูจิบัตร สูจิบัตร BIG BAND SBC เปนเอกสารแสดงรายละเอียดกิจกรรมกอนการบรรเลงดนตรีตอ สาธารณชนทุกครั้ง แผนกดนตรีสากล ศูนยศิลปะและวัฒนธรรมจะนําผูชมเขาสูบรรยากาศการ แสดงดวย “สูจิบัตร” ซึ่งจะใหรายละเอียดในบริบทของการรับฟง วันเวลา สถานที่ ผูควบคุมวง เพลงที่นํามาบรรเลง ชื่อเพลง เนื้อรอง เนื้อเรื่อง ชนิดของเครื่องดนตรี เครื่องสาย เครื่องลมไม เครื่อง ลมทองเหลือง เครื่องเคาะใหจังหวะ ประวัติความเปนมาของเพลงรายละเอียดของผูบรรเลง เพื่อเปน การยกยองใหเกียรติในความอุตสาหะฝกซอมและเสียสละมาแสดงใหชม ซึ่งทั้งหมดนี้แสดงรายการ โดยสังเขป จะอยูภายใตการอุปถัมภอุดหนุนของวิทยาลัยฯ โดยรวม เพลงไทยคลาสสิกและการนํานักศึกษาผูฟงในชุมชนเขาสูความเปนสากล พันธกิจของแผนกดนตรีสากล คือ ดําเนินการตามโครงการ/กิจกรรม แสดงศิลปวัฒนธรรม สากล เชน ฝกหัดดนตรีสากล ศิลปะการแสดง งานประดิษฐ งานหัตถกรรมของตางชาติ มีเปาหมาย อยูที่การสงเสริมและสืบสานความเปนเพลงคลาสสิกสากลของเพลงไทย สงเสริมใหนักศึกษา สมาชิกในทองถิ่น ไดเขาถึงความเปนสากลของเพลงไทย ฟงเพลงคลาสสิกเปน รูจักเพลง รูจัก เครื่องมือ รูจักมารยาทในการฟง การชม อันเปนสากลที่ชาวโลกรับรองเปนวัฒนธรรมวาดีวาถูกตอง ซึ่งตองศึกษา ฝกฝน เอาใจใส และเห็นความสําคัญดังตัวอยางผูสนใจดนตรีคลาสสิกทานหนึ่งคือ สมเด็จพระพี่นางฯ มีผูบันทึกพระจริยวัตรของทานวา “พระจริ ย วั ต รของสมเด็ จ พระพี่ น างฯ คื อ ทรงฟ ง อย า งจริ ง จั ง มากก อ นเสด็ จ ฯ ไป ทอดพระเนตรคอนเสิรต พระองคทรงศึกษาโปรแกรมอยางละเอียด มีเพลงอะไรบาง แลวหาเพลง นั้นมาฟง แมแตคณะผูติดตามก็ตองฟงกอนวา เพลงเปนแบบนี้ มีกี่ทอน ตองปรบมือชวงไหนบาง พระองคเปนแบบอยางที่ดีในการศึกษาดนตรี….ทรงสอนนักเรียนทุนวา คุณเปนนักดนตรีจะเลน ตามโนตอยางเดียวไมได แตตองรูใหลึกวา เพลงที่จะเลน มีที่มาที่ไปอยางไร ผูประพันธผานอะไร มาบางในชีวิต และตอนที่เขียนเพลงนั้นสภาพสังคมเปนอยางไร” พระองค ท รงพระราชทานทุ น ส ว นพระองค ส ง นั ก เรี ย นไทยไปเรี ย นดนตรี ต อ ใน ตางประเทศ พระราชทานทุนถึงปริญญาเอก และตอมาไดกอตั้งกองทุนสงเสริมดนตรีคลาสสิก มีผูไดรับทุนรวมทั้งสิ้น ๒๑ คนแลว
แผนขั้นตอนและวิธีการนําเขาสูเพลงคลาสสิก ของ SBC ๑. ใชวง BIG BAND SBC บรรเลงเพลงตลาดเพื่อเราความสนใจ ๒. นําดวยเพลงพระราชนิพนธและสอดแทรกดวยเพลงคลาสสิกทุกโอกาส ๓. สรางเอกลักษณการฟงเพลงไทยคลาสสิก ใหวิทยาลัยฯใชเวลาวางระหวางพักใหเปน ประโยชนกับการฟงเพลงคลาสสิก ชวงเชาเวลา ๗.๐๐ - ๙.๐๐ น. ชวงกลางวันเวลา ๑๒.๐๐ - ๑๓.๐๐ น. และเย็น ๑๖.๐๐ - ๑๘.๐๐ น. เปดเพลงไทยคลาสสิก เชน ลาวคําหอม เขมรลออองค คลื่นกระทบ ฝง คางคาวกินกลวย พมาเขว หรือ ชาง ชาง เปนการสรางความคุนเคย ๔. เพลงที่นํามาเปดใหฟงจะเปนทั้งเพลงคลาสสิกและเพลงไทยเดิมเปดช้ํากันไปมาทุกวัน ตลอดภาคการศึกษาเมื่อสิ้นภาค มีการวัดและประเมินผลโดยแบบสอบถามวานักศึกษารูจักเพลง อะไรบาง มีรางวัลสําหรับผูใหความสนใจ ๕. กอนบรรเลงเพลงทุกโอกาส ทําสูจิบัตรแจก บอกชื่อเพลง ประวัติ ผูบรรเลง รายละเอียด ที่จําเปนแกการแนะนําทุกครั้ง ๖.นํานักศึกษาไปฟงเพลงคลาสสิกซึ่งมีการแสดงเปนประจําที่หอฟงเพลงที่วิทยาลัยดุริยางคศิลป มหาวิทยาลัยมหิดล ภาคการศึกษาละ ๑ ครั้ง กลาวมาทั้งหมดนี้ เปนทั้งปณิธาน ภารกิจ และการปฏิบัติงานของแผนกดนตรีสากล ใน ปจจุบัน. ----------------------------
เอกสารอางอิง รักขิต รัตจุมพฏ, เสี้ยวหนึ่งของรุงงาม Reader’s Digest สรรสาระ หนา ๔๒–๔๙, ฉบับประจํา พฤศจิกายน 2551,บริษัท รีดเดอรส ไดเจสท(ประเทศไทย)จํากัด ๕๔ สุขุมวิท ๒๑ ถนน อโศก เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร ๑๐๑๑๐ สุ ก รี เจริ ญ สุ ข รศ.ดร.,พรสวรรค ส ร า งได , วิ ท ยาลั ย ดุ ริ ย างคศิ ล ป มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล, ถนนพุทธมณฑลสาย ๔ ศาลายา จังหวัดนครปฐม ๗๒๑๗๐ THAI BEVERAGE PLC., Thailand Philhamonic Orchestra 7-8 December 2007, College of Music, mahidol University , Salaya, Bakhonpathom, Thailand 73170