SAR วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก ปีการศึกษา 2551

Page 1


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report, SAR) ประจําปการศึกษา 2551 (1 มิถุนายน 2551 – 31 พฤษภาคม 2552)

มิถุนายน 2552


สารบัญ คํานํา บทสรุปสํ าหรับผู้บริหาร บทที่ 1 ขอมูลเบื้องตนของวิทยาลัย 1.1 ประวัติความเปนมาและสภาพปจจุบัน 1.2 ปรัชญา ปณิธาน วิสัยทัศน พันธกิจ วัตถุประสงค และแผนงาน 1.3 โครงสรางการบริหารงาน 1.4 รายชื่อผูบริหารชุดปจจุบัน 1.5 คณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา 10 1.6 หลักสูตรและสาขาวิชาที่เปดสอน 1.7 คณาจารย 1.8 นักศึกษา 1.9 งบประมาณ 1.10 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษา

ก 2 3 4 6 10 11 11 12 12

บทที่ 2 ผลการประเมินตามตัวบ่ งชี้ของ สกอ. องคประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค และแผนดําเนินการ องคประกอบที่ 2 การเรียนการสอน องคประกอบที่ 3 กิจกรรมพัฒนานิสิตนักศึกษา องคประกอบที่ 4 การวิจัย องคประกอบที่ 5 การบริการทางวิชาการแกสังคม องคประกอบที่ 6 การทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม องคประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการ องคประกอบที่ 8 การเงินและงบประมาณ องคประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ

14 18 34 39 44 49 54 70 74

บทที่ 3 สรุปผลการประเมิน และแนวทางพัฒนา จุดเดน จุดทีค่ วรพัฒนา และแนวทางการพัฒนา

79

ภาคผนวก ตารางที่ ป.1 ผลการประเมินตนเองรายตัวบงชี้ตามองคประกอบคุณภาพ เฉพาะตัวบงชี้ของ สกอ. ตารางที่ ป.2 ผลการประเมินตนเองตามองคประกอบคุณภาพ เฉพาะตัวบงชี้ของ สกอ. ตารางที่ ป.3 ผลการประเมินตนเองตามมาตรฐานการอุดมศึกษา ตารางที่ ป.4 ผลการประเมินตนเองตามมุมมองดานการบริหารจัดการ


คํานํา รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report) ปการศึกษา 2551 นี้ จัดทําขึ้นเพื่อเปนขอมูล สําหรับการประเมินคุณภาพภายในของวิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก เพื่อเสนอตอสํานักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา และเปดเผยตอสาธารณชน เพื่อนําไปสูการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา รายงานนี้ ประกอบดวย 4 สวน คือ บทที่ 1 ขอมูลเบื้องตนของวิทยาลัย บทที่ 2 ผลการประเมิน ตนเองตามตัวบงชี้คุณภาพ 9 องคประกอบ ตามเกณฑของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) บทที่ 3 สรุปผลการประเมินและทิศทางการพัฒนา และสวนที่ 4 ภาคผนวก รายงานการประเมินตนเอง ฉบับนี้ นอกจากจะแสดงถึงสัมฤทธิผลในการดําเนินงานแลว ยังเปน ขอมูลในการวางแผนการดําเนินงานในปการศึกษาตอไปดวย

วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก กันยายน 2552


บทสรุปสําหรับผูบริหาร วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก จัดตั้งขึ้นดวยความสํานึกในพระคุณของแผนดินที่เห็นคุณคาของ การศึกษา โดยไดรับอนุมัติจัดตั้งเมื่อวันที่ 29 มีนาคม 2542 และไดรับรองวิทยฐานะสถาบันอุดมศึกษา เอกชน เมื่อวันที่ 3 มีนาคม 2543 ซึ่งทําใหวิทยาลัยสามารถเปดดําเนินการหลักสูตรแรก คือ หลักสูตร บริหารธุรกิจบัณฑิต ใน 3 สาขาวิชาได ตั้งแตภาคการศึกษาที่ 1 ปการศึกษา 2543 ปจจุบันวิทยาลัยมีโครงสรางการจัดองคกรเปน 5 คณะ เปดดําเนินการหลักสูตรระดับปริญญาโท 2 หลักสูตร 3 สาขาวิชา ปริญญาตรี 4 หลักสูตร 12 สาขาวิชา มีคณาจารยทั้งสิ้น 91 คน จําแนกเปนคุณวุฒิ ปริญญาเอก 18 คน ปริญญาโท 72 คน และปริญญาตรี 1 คน ในปการศึกษา 2551 มีนกั ศึกษาจํานวนรวม ทั้งสิ้น 1,866 คน ในจํานวนนีร้ วมนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวน 100 คน โดยวิทยาลัยมุงผลิตบัณฑิตที่มี คุณภาพตามปรัชญา และปณิธานของวิทยาลัย อีกทั้งบัณฑิตที่สําเร็จการศึกษาจะตองมีคุณสมบัติ พึงประสงค ดังนี้ 1. 2. 3. 4.

มีความรู ความชํานาญในศาสตรเฉพาะสาขาหรือวิชาเอก มีความรูความสามารถในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยางมีประสิทธิภาพ มีความรูความสามารถในการใชภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารไดเปนอยางดี มีคุณธรรม จริยธรรม ตลอดจนความเปนไทย

ผลการประเมินคุณภาพภายในของวิทยาลัย ทั้ง 9 องคประกอบ มีดังนี้ องคประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค และแผนการดําเนินงาน ผลการประเมินอยูในระดับดี การบรรลุเปาหมายของแผนการดําเนินงานประจําปอยูที่รอยละ 78 ซึ่งยังไมเปนไปตามเปาหมายซึ่งตั้งไวที่รอยละ 85 โดยเฉพาะพันธกิจดานการวิจัยนั้น ยังบรรลุเปาหมาย คอนขางต่ํา ดังนัน้ หนวยงานทีด่ แู ลดานการวางแผน และดูแลพันธกิจหลักของวิทยาลัยตองหมัน่ ติดตามดูแล ตรวจสอบ และประเมินผลการดําเนินงานตามแผน โครงการและกิจกรรมตางๆ อยางสม่ําเสมอ


องคประกอบที่ 2 การเรียนการสอน ผลการประเมินอยูในระดับดี โดยวิทยาลัยมีการพัฒนาหลักสูตร โดยเนนผูเรียนเปนสําคัญ สงเสริม กิจกรรมและพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนใหเกิดประสิทธิภาพ ภายใตกรอบจรรยาบรรณวิชาชีพ บัณฑิต มีอัตราการไดงานสูงและเงินเดือนเริ่มตนสูงกวาเกณฑ ผูประกอบการ นายจางและผูใชบัณฑิตพึงพอใจใน คุณภาพบัณฑิตอยูในระดับดีมาก โดยเฉพาะดานคุณธรรมจริยธรรม องคประกอบที่ 3 กิจกรรมพัฒนานิสิตนักศึกษา ผลการประเมินอยูในระดับดีมาก โดยวิทยาลัยมีกิจกรรมเพื่อพัฒนานักศึกษาหลายดานและ นักศึกษาสนใจเขารวมคอนขางมาก รวมทั้งการใหบริการแกศิษยเกาในดานขอมูลตางๆ ก็ไดดําเนินการ อยางไรก็ตาม กิจกรรมหรือโครงการที่จัดขึ้น ควรใหนักศึกษาเปนผูริเริ่มและนํากระบวนการของ การประกันคุณภาพ เชน การกําหนดตัวชี้วัดผลสําเร็จของโครงการมาใชในทุกๆ โครงการ องคประกอบที่ 4 การวิจัย ผลการประเมินอยูในระดับพอใช อาจารยเริ่มหันมาสนใจการทําวิจัยมากขึ้น แตยังใชเวลาในการ พัฒนางานวิจัยคอนขางมากไมเปนไปตามกรอบระยะเวลา รวมทั้งวิทยาลัยยังมีศักยภาพไมมากพอที่จะ ขอทุนอุดหนุนการวิจัยจากแหลงทุนภายนอกใหไดเพิ่มมากขึ้น องคประกอบที่ 5 การบริการทางวิชาการแกสังคม ผลการประเมินอยูในระดับดี โดยวิทยาลัยจัดใหบริการทางวิชาการแกสังคมอยางสม่ําเสมอ โดยเฉพาะในเรื่องที่คณะและสาขาวิชาตางๆ มีความชํานาญ รวมทั้งวิทยาลัยยังเอื้อใหประชาคมบางนามาใช สถานที่ทํากิจกรรมตางๆ หรือใชวิทยาลัยเปนแหลงเรียนรู องคประกอบที่ 6 การทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม ผลการประเมินอยูในระดับดี โดยวิทยาลัยพยายามสรางฐานขอมูลและองคความรู ในเรื่อง ศิลปวัฒนธรรมของชุมชนทองถิ่น (บางกอกอุษาคเนย) มีการจัดสรางชิ้นงานทางวัฒนธรรมใหเปนรูปธรรม มีการเผยแพรประชาสัมพันธกิจกรรมของศูนยศิลปวัฒนธรรม แตยังขาดการบูรณาการเขากับพันธกิจอื่นๆ ใหครบถวน


องคประกอบที่ 7 การบริหารจัดการ ผลการประเมินอยูในระดับดี โดยวิทยาลัยและผูบริหารมีวิสัยทัศนที่จะขับเคลื่อนพันธกิจตางๆ ของ วิทยาลัยไปสูเปาหมายของการบริหารจัดการที่ดี สวนสิ่งที่ตองเรงพัฒนา คือ การพัฒนาศักยภาพของระบบ ฐานขอมูล เพื่อการเรียนการสอน การวิจัย และการพัฒนาศักยภาพของอาจารยรุนใหม องคประกอบที่ 8 การเงินและงบประมาณ ผลการประเมินอยูในระดับดี วิทยาลัยมีระบบและกลไกการตรวจสอบการเงินและงบประมาณ อยางมีประสิทธิภาพ รวมทั้งมีการใชทรัพยากรภายในและภายนอกสถาบันรวมกัน ทําใหเกิดการใช ทรัพยากรอยางคุมคา องคประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ ผลการประเมินอยูในระดับดี โดยคณะกรรมการประกันคุณภาพทุกระดับทํางานประสานกันดี รวมทั้งไดรับการสนับสนุนทุกดานจากฝายบริหาร แตกระบวนการทํางานดานการประกันคุณภาพคอนขาง ลาชา ไมเปนไปตามแผนงานที่กําหนดไว


บทที่ 1 ขอมูลเบื้องตนของ วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก


บทที่ 1 ข้ อมูลเบือ้ งต้ นของ วิทยาลัยเซาธ์ อสี ท์ บางกอก 1.1 ประวัติความเป็ นมา และสภาพปัจจุบัน วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก ตั้งอยูเลขที่ 290 ถนนสรรพาวุธ แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพมหานคร 10260โทรศัพท 0-2398-1352, 0-2744-7356-68 โทรสาร 0-2398-1356 เว็บไซต : www.southeast.ac.th อีเมล : info@southeast.ac.th ดวยสํานึกในพระคุณของแผนดิน อันมีคุณานุกูลตอตระกูล นายเพิ่ม – นางละออง รุงเรือง จนกอใหเกิด ความเจริญกาวหนาในชีวิต และการงานสืบเนื่องตอกันมาหลายชั่วชีวิต ในเขตพื้นที่บางนา อันเปนเขต ชานเมืองดานตะวันออกเฉียงใตของกรุงเทพมหานคร ประกอบกับความตระหนักในคุณคาของการศึกษา ที่ดีมีคุณภาพสูงเทานั้น ที่ประชาชนชาวไทยควรไดรับ จึงจะกอใหเกิดการพัฒนาสถาพรอยางยั่งยืนแก แผนดินและมวลมนุษยชาติ วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก ถือกําเนิดขึ้นมาดวยปณิธานแนวแนในการสราง คนไทยใหเปนมนุษยที่มีศักยภาพและสมรรถนะระดับสากล วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก (Southeast Bangkok College) ไดรับอนุญาตจัดตั้งเมื่อวันที่ 29 มีนาคม 2542 และทบวงมหาวิทยาลัย (สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา : สกอ. ในปจจุบัน) ไดอนุญาตให เปดดําเนินการ หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิตใน 3 สาขาวิชา คือ สาขาวิชาการบัญชี สาขาวิชาการตลาด และสาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ รวมทั้งใหการรับรองวิทยฐานะสถาบันอุดมศึกษาเอกชน เมื่อวันที่ 3 มีนาคม 2543 ซึ่งมีผลทําใหวิทยาลัยสามารถเปดดําเนินการเรียนการสอนไดในภาคการศึกษาแรก ของปการศึกษา 2543 ตอมาในปการศึกษา 2544 วิทยาลัยไดเปดดําเนินการเรียนการสอนคณะนิติศาสตร และบัณฑิตวิทยาลัย หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารการศึกษา และในปการศึกษา 2545 ไดเปดดําเนิน การเรียนการสอนคณะศิลปศาสตร หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษธุรกิจ และเปดสอน ระดับบัณฑิตศึกษาเพิ่มอีก 1 หลักสูตร คือ หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต ตอมาในปการศึกษา 2548 บัณฑิตวิทยาลัยไดเปดการเรียนการสอน เพิ่มอีก 2 สาขาวิชา คือ สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส (Logistics Management) และหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต ( Master of Management) สาขาวิชา การจัดการภาครัฐและภาคเอกชน (Public and Private Management)


ในปการศึกษา 2549 วิทยาลัยไดเปดดําเนินการเรียนการสอนคณะวิทยาศาตรและเทคโนโลยี หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และเพิ่มสาขาวิชาใหม อีก 1 สาขาวิชา ในคณะบริหารธุรกิจ คือ สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส 1.2 ปรัชญา ปณิธาน วิสัยทัศน์ พันธกิจ วัตถุประสงค์ และแผนงาน 1.2.1 ปรัชญา คุณวุฒิ คุณธรรม คุณค่ า หมายความวาบัณฑิตของวิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก จะตองเปนผูที่มีคุณลักษณะที่พึงประสงค อยู 3 ประการใหญๆ คือ คุณวุฒิ หมายความวา บัณฑิตของวิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก จะตองถึงพรอมในดานวิทยาการ ตางๆ เปนอยางดี มีความรูแตกฉานในสาขาวิชาที่ไดศึกษา มีสมรรถนะสูงระดับสากล สามารถนํา องคความรูที่ไดศึกษาเลาเรียนไปประกอบอาชีพใหเกิดประโยชนทั้งตอตนเอง สังคม และประเทศชาติ ไดเปนอยางดี คุณธรรม หมายความวา บัณฑิตของวิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก จะตองมีจรรยาบรรณแหงวิชาชีพ มีจริยธรรม มุงมั่นในการสรางสรรคความเจริญใหแกองคกร มีน้ําใจ มีความรับผิดชอบ มีความเสียสละ และ มีความจงรักภักดี ตอองคกรที่ปฎิบัติหนาที่อยู คุณค่ า หมายความวา บัณฑิตของวิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก จะตองเปนทรัพยากรมนุษยที่มีคา ทั้งตอองคกร และตอประเทศชาติ 1.2.2 ปณิธาน วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก มีปณิธานแนวแนในการพัฒนาศักยภาพของมนุษยใหมีสมรรถนะสูง ระดับสากล โดยเฉพาะในศาสตรที่วิทยาลัยเปดดําเนินการหลักสูตร วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอกจะพัฒนา ขีดความสามารถของคณาจารย ทรัพยากรเพื่อการเรียนการสอนการวิจัย และเทคโนโลยีเพื่อ การจัดการศึกษาที่มีคุณภาพและมาตรฐานสูงแกประชาชน 1.2.3 วิสัยทัศน์ “วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก เปนองคกรการเรียนรูที่มีคุณภาพ เพื่อเสริมสรางศักยภาพสูงสุด ของมนุษย ” ซึ่งหมายความวา วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอกจะไดรับการพัฒนาเปนองคกรที่มีศักยภาพตอ การสรางความรู คูคุณธรรม สรางปญญา และสมรรถนะของมนุษย เปนองคกรที่มีความยืดหยุนสูง เปลี่ยนแปลงตามเทคโนโลยี และวิชาการได


1.2.4 พันธกิจ พันธกิจหลักของวิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก คือ การผลิตบัณฑิต การวิจัย การใหบริการทาง วิชาการ แกสังคม การทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย เพื่อใหเปน สถาบันการศึกษาชั้นนําระดับสากลที่มีคุณคาตอสังคม 1.2.5 วัตถุประสงค์ และแผนงาน วัตถุประสงคหลัก ในการจัดการศึกษาของวิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก คือ การผลิตบัณฑิตใหมี คุณสมบัติที่พึงประสงค 4 ประการ คือ 1) มีความรู ความชํานาญในศาสตรที่ศึกษา 2) มีความสามารถในการใชภาษาอังกฤษ เพื่อการสื่อสารไดเปนอยางดี 3) มีความสามารถในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศไดอยางมีประสิทธิภาพ 4) มีคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณ ตลอดจนความเปนไทย แผนงาน ในปการศึกษา 2551 นี้ วิทยาลัยไดดําเนินงานตามภารกิจตางๆ ดังที่ปรากฎอยูในแผนยุทธศาสตร วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก พ.ศ. 2548 – 2552 1.3 โครงสร้ างการบริหารงาน


โครงสร้ างการบริหารวิทยาลัยเซาธ์ อสี ท์บางกอก สภาวิทยาลัย สภาวิชาการ อธิการบดี

ทีป่ รึกษา

กรรมการบริหารวิทยาลัย สํานักอธิการบดี

รองอธิการบดี ฝ่ ายบริหาร สํานักการคลัง สํานักบริการ

รองอธิการบดี ฝ่ ายวิชาการ บัณฑิตวิทยาลัย คณะบริหารธุรกิจ คณะนิตศิ าสตร์ คณะศิลปศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี สํานักวิชาการ สํานักประกัน คุณภาพการศึกษา สํานักทะเบียน และประมวลผล

รองอธิการบดี ฝ่ ายวางแผนและพัฒนา สํานักวิจยั และวางแผน สํานักวิทยบริการ ฝ่ ายเทคโนโลยีสารสนเทศ ฝ่ ายวิเทศสัมพันธ์

รองอธิการบดี ฝ่ ายกิจการนักศึกษา และกิจการพิเศษ สํานักกิจการ นักศึกษาและ กิจการพิเศษ สํานักประชา สัมพันธ์ และ การตลาด ศู นย์ ศิลป วัฒนธรรม


1.4 รายชื่อผู้บริหารชุ ดปัจจุบัน คณะกรรมการสภาวิทยาลัยเซาธ์ อสี ท์ บางกอก (พ.ศ. 2547 – 2551) 1.4.1. สภาวิทยาลัยเซาธ์ อสี ท์ บางกอก มีอํานาจและหนาที่ในการควบคุมดูแลกิจการทั่วไปของวิทยาลัย โดยเฉพาะอยางยิ่ง การวาง นโยบายเกี่ยวกับการศึกษา การวิจัย การใหบริการทางวิชาการแกสังคม การทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม การเงินและทรัพยสิน การออกระเบียบขอบังคับวาดวยการบริหารงานบุคคล การแตงตั้ง การถอดถอน ผูบริหาร และการอนุมัติปริญญา ดังมีรายชื่อตอไปนี้ นายกสภาวิทยาลัย นายชนะ รุ่งแสง คุณวุฒิ พาณิชยศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ประสบการณ์ อดีต รองประธานกรรมการอํานวยการ บมจ.ธนาคารกสิกรไท ย สมาชิกสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

อุปนายกสภาวิทยาลัย ศาสตราจารย์ ดร.วรภัทร โตธนะเกษม คุณวุฒิ Ph.D. (Economics) University of IIIinois, U.S.A. ประสบการณ์ อดีต ผูชวยกรรมการผูจัดการธนาคารกสิกรไทย ศาสตราจารยพิเศษ คณะพาณิชยศาสตร และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ปัจจุบัน กรรมการผูจัดการบริษัท THAI RATING INFORMATION SERVICES (TRIS)


กรรมการสภาวิทยาลัย ศาสตราจารย์ ดร.อรุ ณ รักธรรม คุณวุฒิ Ph.D. (Public Ad.) University of Southern California U.S.A. ประสบการณ์ อดีต รองอธิการบดีฝายบริหารและพัฒนา สถาบัน บัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร ปัจจุบัน ผูอํานวยการ หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร รองศาสตราจารย์ ดร.ทศพร ศิริสัมพันธ์ คุณวุฒิ Ph.D. (Public Ad.) Northern IIIinois University U.S.A. ประสบการณ์ อดีต ผูชวยอธิการบดี จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปัจจุบัน เลขาธิการสํานักงานพัฒนาระบบราชการ รองศาสตราจารย์ วริ ัช สงวนวงศ์ วาน คุณวุฒิ Master of Commerce พาณิชยศาสตรมหาบัณฑิต (M.Com) University of New South Wales, Australia ประสบการณ์ อดีต รองอธิการบดีฝายพัฒนา มหาวิทยาลัยรามคําแหง ปัจจุบัน ผูอํานวยการบัณฑิตศึกษา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยรามคําแหง

นายเชนทร์ วิพฒ ั น์ บวรวงศ์ คุณวุฒิ - พบ.ม. (เกียรตินิยมดี) คณะรัฐประศาสนศาสตร สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร - ปริญญาบัตร วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร (วปอ.) รุนที่ 42 ประสบการณ์ อดีต - กรรมการผูแทนสมาชิกขาราชการพลเรือน - คณะอนุกรรมการกฎหมายกองทุนบําเหน็จบํานาญ ขาราชการ - ผูตรวจราชการกระทรวงมหาดไทย


ดร.เซ็น แก้วยศ คุณวุฒิ Ph.D. (Ed.Admin) University of Alberta Canada ประสบการณ์ อดีต รองอธิบดีกรมวิชาการ, รองอธิบดีกรมอาชีวศึกษา อาจารยประจํา และผูทรงคุณวุฒิ สาขาวิชาการ บริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ดร.ณัฐรัตน์ ประโยชน์ อดุ มกิจ คุณวุฒิ Ph.D. (Educational Administration) IIIinois State University, U.S.A. ประสบการณ์ อดีต อาจารยพิเศษ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปัจจุบัน ผูรับใบอนุญาต – อาจารยใหญโรงเรียนอรรถวิทย ผูพิพากษาสมทบศาลเยาวชนและครอบครัวกลางกรุงเทพ ดร.สมศักดิ์ รุ่ งเรือง คุณวุฒิ Ph.D. (Management) Adamson University, Philippines ประสบการณ์ อดีต ผูรับใบอนุญาต – ผูอํานวยการโรงเรียนอรรถวิทยพณิชยการ ปัจจุบัน อธิการบดีวิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก

ดร.ทิวา พงศ์ ธนไพบูลย์ คุณวุฒิ Ph.D. (Management) Adamson University, Philippines ประสบการณ์ อดีต อาจารยประจําบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเซนตจอหน ผูจัดการโรงเรียนอรรถวิทยพาณิชยการ ปัจจุบัน รองอธิการบดีฝายกิจการนักศึกษาและกิจการพิเศษ วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก ดร.วัลยา ชู ประดิษฐ์ คุณวุฒิ Ph.D. (Development Administration) (International Program) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร ประสบการณ์ อดีต รองคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย หลักสูตรบริหารธุรกิจ มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเซนตจอหน ปัจจุบัน รองอธิการบดีฝายวิชาการ วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก


1.4.2 สภาวิชาการ มีอํานาจหนาที่ในการกําหนดนโยบาย แผนพัฒนาทางวิชาการของวิทยาลัย กํากับดูแลคุณภาพ และมาตรฐานวิชาการของวิทยาลัย กลั่นกรองและเสนอแนะตอสภาวิทยาลัย ในการอนุมัติหลักสูตร การศึกษา การเปดสอน การรับรองมาตรฐานการศึกษา รวมทั้งการปรับปรุงหลักสูตร การยุบรวมและ การยกเลิกหลักสูตรการศึกษา ตลอดจนเสนอแนะแนวทางและมาตรการตอสภาวิทยาลัย ในอันที่จะทําให การศึกษา การวิจัย การใหบริการทางวิชาการแกสังคม และการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมใหกาวหนายิ่งขึ้น ซึ่งประกอบไปดวย 1. อธิการบดี ประธานสภาวิชาการ 2. ศ.ดรอุดม วโรตมสิกขดิตก กรรมการสภาวิชาการผูทรงคุณวุฒิ 3. รศ.ดร.พนารัตน ปานมณี กรรมการสภาวิชาการผูทรงคุณวุฒิ 4. รศ.ดร.เชาว โรจนแสง กรรมการสภาวิชาการผูทรงคุณวุฒิ 5. รศ.จุฑามาศ นิศารัตน กรรมการสภาวิชาการผูทรงคุณวุฒิ 6. รศ.ประทีป บัญญัตินพรัตน กรรมการสภาวิชาการผูทรงคุณวุฒิ 7. รองอธิการบดีฝายกิจการนักศึกษาฯ กรรมการสภาวิชาการ 8. คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย กรรมการสภาวิชาการ 9. คณบดีคณะบริหารธุรกิจ กรรมการสภาวิชาการ 10. คณบดีคณะนิติศาสตร กรรมการสภาวิชาการ 11. คณบดีคณะศิลปศาสตร กรรมการสภาวิชาการ 12. คณบดีคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี กรรมการสภาวิชาการ 13. รองอธิการบดีฝายวิชาการ กรรมการสภาวิชาการและเลขานุการ 14. หัวหนาสํานักวิชาการ ผูชวยเลขานุการ สภาวิชาการ


1.5 คณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา ปการศึกษา 2551 วิทยาลัยมีคําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษาชุดใหม โดยมีหนาที่ กําหนดแนวทางการดําเนินการเกี่ยวกับการประกันคุณภาพ ปรับปรุงคูมือการประกันคุณภาพของวิทยาลัย จัดใหมีการเผยแพรระบบประกันคุณภาพการศึกษา กําหนดมาตรฐานการตรวจสอบ และติดตามประเมินผล และหนาที่อื่นๆ ตามนโยบายการประกันคุณภาพการศึกษาของวิทยาลัย ซึ่งประกอบไปดวย 1. รองอธิการบดีฝายวิชาการ ประธาน 2. คณบดีคณะบริหารธุรกิจ กรรมการ 3. คณบดีคณะนิติศาสตร กรรมการ 4. คณบดีคณะศิลปศาสตร กรรมการ 5. คณะบดีคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี กรรมการ 6. คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย กรรมการ 7. หัวหนาสํานักวิชาการ กรรมการ 8. หัวหนาสํานักประกันคุณภาพการศึกษา กรรมการและเลขานุการ 1.6 หลักสู ตรและสาขาวิชาทีเ่ ปิ ดสอน ในปการศึกษา 2551 วิทยาลัยเปดสอนในหลักสูตรและสาขาวิชาตางๆ ประกอบดวย 1.6.1 คณะบริหารธุรกิจ หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต (4 ป) สาขาวิชาการบัญชี สาขาวิชาการตลาด สาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ และสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส และหลักสูตรบริหารธุรกิจ บัณฑิต (ตอเนือ่ ง) สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส 1.6.2 คณะนิติศาสตร์ เปดดําเนินการ 1 หลักสูตร คือ หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต 1.6.3 คณะศิลปศาสตร์ เปดดําเนินการ 1 หลักสูตร คือ หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา ภาษาอังกฤษธุรกิจ 1.6.4 คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี เปดดําเนินการ 2 หลักสูตร คือ หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (ตอเนือ่ ง) สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (4 ป) สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 1.6.5 บัณฑิตวิทยาลัย เปดดําเนินการ 2 หลักสูตร คือ หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชา การบริหารธุรกิจ และสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส และหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน จากหลักสูตรและสาขาวิชาที่เปดสอน สรุปแสดงในตารางที่ 1


ตารางที่ 1 แสดงจํานวนคณะและสาขาทีเ่ ปิ ดสอนในปี การศึกษา 2551 คณะ บัณฑิตวิทยาลัย บริหารธุรกิจ นิติศาสตร ศิลปศาสตร วิทยาศาสตรและ เทคโนโลยี รวม

บธ.บ.

หลักสู ตรและสาขาวิชา บธ.บ. น.บ. ศ.ศ.บ.

บธ.ม.

กจ.ม.

2 -

1 -

1 -

4 -

1 -

2

1

1

4

1

(ต่ อเนื่อง)

วท.บ.

วท.บ.

รวม

1 -

1

1

3 5 1 1 2

1

1

1

12

(ต่ อเนื่อง)

(4 ปี )

1.7 คณาจารย์ ในปการศึกษา 2551 วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอกมีอาจารยประจํา รวมทั้งสิ้น 91 คน จําแนกเปนอาจารย คุณวุฒิปริญญาเอก 18 คน ปริญญาโท 72 คน และปริญญาตรี 1 คน และมีตําแหนงทางวิชาการเปน รองศาสตราจารย 3 คน ผูชวยศาสตราจารย 2 คน และตําแหนงอาจารย 86 คน 1.8 นักศึกษา ในปการศึกษา 2551 วิทยาลัยมีนักศึกษา จํานวนรวมทั้งสิ้น 1,866 คน คิดเปนจํานวนนักศึกษาเทียบเทา เต็มเวลา (FTES) เทากับ 1,663 คน ดังนี้ ตารางที่ 2 แสดงจํานวนนักศึกษา ประจําปี การศึกษา 2549 – 2551 จําแนกตามคณะ ปี การศึกษา คณะบริหารธุรกิจ คณะนิติศาสตร คณะศิลปศาสตร คณะวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยี บัณฑิตวิทยาลัย รวมจํานวนนักศึกษา

2549 1,389 84 93 53

2550 1,426 94 77 114

2551 1,441 76 56 193

125 1,744

115 1,826

100 1,866


1.9 งบประมาณ ในปการศึกษา 2551 วิทยาลัยมีระบบการจัดสรรงบประมาณไวในแผนการดําเนินงานโดย อิงพันธกิจ หลัก 5 ประการ คือ การผลิตบัณฑิต การวิจัย การใหบริการทางวิชาการแกสังคม การทํานุบํารุง ศิลปวัฒนธรรมและการพัฒนาทรัพยากรมนุษย โดยแหลงเงินงบประมาณมาจากรายไดของวิทยาลัย (คาหนวยกิตและคาบํารุงการศึกษาอื่นๆ) ซึ่งสํานักการคลังรับผิดชอบภายใตการกํากับดูแลของ รองอธิการบดีฝายบริหาร ในการจัดสรรงบประมาณ มีขั้นตอนการดําเนินการดังนี้ (1) คณะ / สํานัก / ศูนย กําหนดรายละเอียดของงบประมาณประจําป ในสวนของคาตอบแทน คาใชจายคาวัสดุ – ครุภัณฑ และอื่นๆ นําเสนอสํานักการคลัง (2) สํานักการคลังรวบรวม และนําเสนอคณะกรรมการพิจารณางบประมาณประจําป ซึ่งไดรับการ แตงตั้งจากอธิการบดี (3) คณะกรรมการพิจารณางบประมาณ พิจารณาและเสนออธิการบดีเพื่ออนุมัติ (4) คณะ / สํานัก / ศูนย ดําเนินการและเบิกจายงบประมาณตามที่ไดรับอนุมัติ สําหรับการตรวจสอบการใชงบประมาณ สํานักการคลัง มีหนาที่ตรวจสอบการใชงบประมาณของ คณะ / สํานัก / ศูนย 1.10 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษา วิทยาลัยจัดใหมีระบบประกันคุณภาพ และกลไกการประกันคุณภาพที่มีประสิทธิภาพ ซึ่งเปนสวน หนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษา เพื่อนําไปสูการพัฒนาคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษาอยางตอเนื่อง พรอมรองรับการประเมินคุณภาพภายนอกได ระบบประกันคุณภาพการศึกษาของวิทยาลัย จําแนกออกเปน 2 ระบบ ไดแก ระบบประกันคุณภาพ ภายใน และระบบการประกันคุณภาพภายนอก ตามกระบวนการประเมินคุณภาพภายนอกของ สมศ. กลไกและระบบประกันคุณภาพการศึกษาของวิทยาลัย ประกอบดวย 1) มีคณะกรรมการประกันคุณภาพประจําหนวยงานใน 2 ระดับ ไดแก (1) ระดับวิทยาลัย มี คณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก (2) ระดับคณะวิชา ศูนย / สํานัก มีคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา ประจําคณะวิชา ศูนย / สํานัก 2) เกณฑ / ดัชนีการประกันคุณภาพและการประเมินคุณภาพ 3) กระบวนการในการดําเนินการประกันคุณภาพการศึกษา 4) ผูบริหารและพนักงานของทุกหนวยงานทั้งหมดของวิทยาลัย 5) การประเมินตนเองและการจัดทํารายงานการประเมินตนเองเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษา ภายในและประเมินจากองคกรภายนอก


วิทยาลัยโดยคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษาไดกําหนดความรับผิดชอบในระบบ การประกันคุณภาพการศึกษาไวดังนี้ 1) ระดับสถาบัน ไดมอบหมายใหสํานักประกันคุณภาพการศึกษาเปนหนวยงานรับผิดชอบ โดยมอบหมายใหคณะกรรมการประกันคุณภาพภายในที่ไดรับแตงตั้งในระดับสถาบัน / คณะ เปนผูตรวจสอบและประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน (สํานัก / ศูนย) และประเมินภายนอก วิทยาลัยพรอมกันดวย 2) ระดับคณะวิชา (กลุมสาขาวิชา) ไดมอบหมายใหคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา ระดับหนวยงานตางๆ ที่ประกอบดวย คณบดี แตละคณะ หัวหนาสํานัก หรือผูแทน เปน ผูรับผิดชอบการประกันคุณภาพการศึกษาของแตละหนวยงานใหเปนไปตามนโยบายประกัน คุณภาพการศึกษาของวิทยาลัย


บทที่ 2 ผลการประเมินตามตัวบงชี้ของ สกอ.


องคประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค และแผนดําเนินการ

ตัวบงชี้ที่ 1.1 มีการกําหนดปรัชญาหรือปณิธาน ตลอดจนมีกระบวนการพัฒนากลยุทธแผนดําเนินงาน และมีการกําหนดตัวบงชี้เพื่อวัดความสําเร็จของการดําเนินงานตามแผนใหครบทุกภารกิจ ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ เกณฑมาตรฐาน : ระดับ เอกสาร หมายเลข 1-1.1-1 1-1.1-2

เกณฑมาตรฐาน

มี

ไมมี

1. มีการกําหนดปรัชญาหรือปณิธาน 2. มีกระบวนการพัฒนากลยุทธ แผนการดําเนินงานและแผนปฏิบตั กิ าร ประจําปใหสอดคลองกันและกัน และสอดคลองกับภารกิจหลักของ สถาบัน ยุทธศาสตรและแผนพัฒนาของชาติ 3. มีการกําหนดตัวบงชี้ของการดําเนินงาน และกําหนดเปาหมายของ แตละตัวบงชี้เพื่อวัดความสําเร็จของการดําเนินงาน 4. มีการดําเนินการตามแผนครบทุกภารกิจ 5. มีการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการดําเนินงานตามตัวบงชี้ อยางนอยปละ 2 ครั้ง และรายงานผลตอผูบริหารและสภาสถาบัน 6. มีการวิเคราะหความสอดคลองระหวางกลยุทธ แผนการดําเนินงาน เปาประสงค เปาหมายกับยุทธศาสตรและแผนพัฒนาของชาติ ตลอดจนสภาพการณปจจุบันและแนวโนมในอนาคตอยางสม่ําเสมอ 7. มีการนําผลการประเมินและผลการวิเคราะหมาปรับปรุงกลยุทธและ แผนการดําเนินงานอยางตอเนือ่ ง

 

-

-

 

-

-

1-1.1-2 / 1-1.1-3 1-1.1-4 1-1.1-5/1 1-1.1-5/2 1-1.1-6

-

1-1.1-7

เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 มีการดําเนินการไมครบ 5 ขอแรก คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2551

คะแนน 2 มีการดําเนินการ 5-6 ขอแรก : :

คะแนน 3 มีการดําเนินการครบทุกขอ ระดับ 7 ระดับ 7


ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2551 วิทยาลัยมีผลงานผานระดับ 7 ตามเกณฑมาตรฐาน สกอ. คือ เกณฑ ระดับ 1

ระดับ 2

ระดับ 3

ระดับ 4 ระดับ 5

ระดับ 6

ระดับ 7

การดําเนินงานในแตละระดับ มีการกําหนด ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงคของวิทยาลัย และมีการเผยแพรใหคณาจารย เจาหนาที่ และนักศึกษา ทุกคนไดรับทราบ เพื่อเปนแนวทางในการดําเนินงานรวมกัน (1-1.1-1) คณะกรรมการจัดทําแผนพัฒนาการศึกษาของวิทยาลัย ไดวิเคราะหจุดแข็ง จุดออน โอกาส และภัยคุกคาม แลวนํามาพัฒนา กําหนดเปนแผนพัฒนาการศึกษาของวิทยาลัย พ.ศ 2551 – 2555 และแผนการดําเนินงาน ใหสอดคลองกัน โดยครอบคลุมภารกิจหลัก ดานการเรียนการสอน การวิจัย การบริการทางวิชาการ และการทํานุบํารุง ศิลปวัฒนธรรม (1-1.1-2) มีการกําหนดตัวบงชี้ของการดําเนินงาน โดยผนวกใชตัวบงชี้ของ สกอ. สมศ. และตัวบงชี้ ที่พัฒนาขึ้นเปนเครื่องชี้ผลงาน เพื่อวัดความสําเร็จของการดําเนินงานตามแผนทุกภารกิจ (1-1.1-2 / 1-1.1-3) มีการดําเนินการตามแผนการดําเนินงานประจําป ตามที่กําหนดไวของทุกหนวยงาน (1-1.1-4) มีการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการดําเนินงานตามตัวบงชี้ และเสนอรายงาน ผลการติดตามเขาพิจารณาในการประชุมผูบริหารวิทยาลัย (1-1.1-5/1) และเสนอเขา พิจารณาในการประชุมสภาวิทยาลัย (1-1.1-5/2) มีการวิเคราะหความสอดคลองระหวางกลยุทธ แผนการดําเนินงาน เปาประสงค เปาหมาย กับยุทธศาสตร และแผนพัฒนาของชาติ ตลอดจนสภาพการปจจุบัน และแนวโนมในอนาคต (1-1.1-6) มีการนําผลการประเมินและผลการวิเคราะหมาปรับปรุงกลยุทธ และแผนการดําเนินงาน ในชวงเวลาตอไป (1-1.1-7)

การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 3 คะแนน

การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย


รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ชื่อเอกสาร/รายละเอียด ระดับ 1 1-1.1-1 วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก คูมือการศึกษาและหลักสูตร ปการศึกษา 2551 ระดับ 2 1-1.1-2 ยุทธศาสตร เปาประสงค กลยุทธ ตัวชี้วัด เปาหมาย แผนพัฒนาการศึกษาวิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก พ.ศ.2551 – 2555 ระดับ 3 1-1.1-2 ยุทธศาสตร เปาประสงค กลยุทธ ตัวชี้วัด เปาหมาย แนวปฎิบัติและแผนการดําเนินงาน ประจําปการศึกษา 2551 ของ 1-1.1-3 ทุกหนวยงาน ระดับ 4 1-1.1-4 รายงานการประเมินตนเอง (SAR) ประจําปการศึกษา 2551 ของ ทุกหนวยงาน ระดับ 5 1-1.1-5/1 รายงานการประชุมของอธิการบดี ที่ปรึกษา รองอธิการบดี คณบดี ครั้งที่ 4 /2551 รายงานการประชุมสภาวิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก ครั้งที่ 3/2551 1-1.1-5/2 ระดับ 6 1-1.1-6 รายงานการประชุม การจัดทําแผนและโครงการสําคัญในระยะ เวลา 6 ป ขางหนา ระดับ 7 1-1.1-7 แผนและโครงการสําคัญในระยะ 6 ป ขางหนา (พ.ศ. 2552 – 2557) ตัวบงชี้ที่ 1.2 รอยละของการบรรลุเปาหมายตามตัวบงชี้ของการปฏิบัติงานที่กําหนด ชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิต เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 บรรลุเปาหมายรอยละ 60-74 บรรลุเปาหมายรอยละ 75-89 บรรลุเปาหมายรอยละ 90-100 คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2551

: :

รอยละ 85 รอยละ 78

ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2551 วิทยาลัยไดกําหนดตัวบงชี้ ตามแผนดําเนินการประจําป จํานวน 47 ตัวบงชี้ โดยสามารถดําเนินการใหบรรลุเปาหมายได 37 ตัวบงชี้ คิดเปนรอยละ 78 การบรรลุเปาหมาย ไมบรรลุเปาหมาย เพราะวิทยาลัยไดกําหนดเปาหมายไวที่ รอยละ 85


การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 2 คะแนน

การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย ไมบรรลุเปาหมาย

รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ชื่อเอกสาร/รายละเอียด รอยละ 78 1-2.2-1 ยุทธศาสตร เปาประสงค กลยุทธ ตัวชี้วัด เปาหมาย แผนพัฒนา การศึกษา วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก พ.ศ. 2551 - 2555


องคประกอบที่ 2 การเรียนการสอน

ตัวบงชี้ที่ 2.1 มีระบบและกลไกการพัฒนาและบริหารหลักสูตร ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ เกณฑมาตรฐาน : ระดับ เกณฑมาตรฐาน

มี

ไมมี

1. มีระบบและกลไกการเปดและปดหลักสูตร 2. มีการกําหนดเปาหมายการผลิตบัณฑิตทุกหลักสูตรในแผนการผลิต บัณฑิต 3. มีการเตรียมความพรอมกอนการเปดหลักสูตรใหมและการปรับปรุง หลักสูตรใหเปนไปตามเกณฑมาตรฐานหลักสูตรทุกเรื่อง 4. มีการวิเคราะหขอมูลการดําเนินการทุกหลักสูตรประจําปการศึกษา เชน รอยละของหลักสูตรที่ไมเปนไปตามเกณฑมาตรฐานรอยละของ บทความจากวิทยานิพนธที่ตีพิมพเผยแพรรอยละของบัณฑิตที่ทํางาน ตรงสาขา 5. มีการนําผลการวิเคราะหขอมูลการดําเนินการหลักสูตรประจําป การศึกษาไปปรับปรุงหลักสูตร และหรือปรับปรุงระบบและกลไก การบริหารหลักสูตร 6. หลักสูตรที่เปดสอนทุกหลักสูตรไดมาตรฐานตามเกณฑมาตรฐาน หลักสูตรทุกเรื่อง และมีการประกันคุณภาพหลักสูตรครบทุกประเด็น ตามเกณฑมาตรฐานหลักสูตร 7. หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาที่เนนการวิจัย (ปริญญาโทเฉพาะแผน (ก) และปริญญาเอก) ที่เปดสอนมีจํานวนมากกวารอยละ 50 ของ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด

 

-

เอกสาร หมายเลข 2-2.1-1 2-2.1-2

-

2-2.1-3

-

2-2.1-4

-

2-2.1-5

-

2-2.1-6

-

-

เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 มีการดําเนินการไมครบ 5 ขอแรก คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2551

คะแนน 2 มีการดําเนินการ 5 ขอแรก

คะแนน 3 มีการดําเนินการครบ 6 ขอแรก : :

ระดับ 6 ระดับ 6


ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2551 วิทยาลัยมีผลงานผานระดับ 6 ตามมาตรฐาน สกอ. คือ เกณฑ การดําเนินงานในแตละระดับ ระดับ 1 มีการกําหนดแนวปฎิบตั แิ ละขัน้ ตอนการเปดและปดหลักสูตรของวิทยาลัย (2-2.1-1) ระดับ 2 มีการกําหนดเปาหมายและการรับนักศึกษา และแผนการผลิตบัณฑิตในทุกหลักสูตร (2-2.2-2) ระดับ 3 มีการเตรียมความพรอมกอนเปดหลักสูตรใหมทุกหลักสูตร และไดมีการปรับปรุงและประเมิน หลักสูตรดวยกรรมการผูทรงคุณวุฒิ (2-2.1-3) ระดับ 4 มีการวิเคราะหขอมูลการดําเนินการทุกปการศึกษา โดยทุกคนจะรายงานสถานภาพ การดําเนินการหลักสูตร ใหฝายบริหารทราบ (2-2.1-4) ระดับ 5 มีการนําผลการวิเคราะหขอมูลการดําเนินการหลักสูตร มาวิเคราะหเพื่อปรับปรุงหรือแกไข หลักสูตร แลวนําไปปรับปรุงหลักสูตร ในทุกรอบระยะเวลาของการผลิตบัณฑิตหนึ่งรุน (2-2.1-5) ระดับ 6 หลักสูตรทุกหลักสูตรเปนไปตามเกณฑมาตรฐานของสํานักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา และมีการประกันคุณภาพหลักสูตรครบทั้ง 4 ประเด็น ตามเกณฑมาตรฐาน หลักสูตร คือ การบริหารหลักสูตรทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน การสนับสนุน และ การใหคําแนะนํานักศึกษา และความตองการของตลาดแรงงาน สังคม และหรือ ความพึงพอใจของผูใชบัณฑิต (2-2.1-6) การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 3 คะแนน

การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย

รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ชื่อเอกสาร/รายละเอียด ระดับ 1 2-2.1-1 แนวปฎิบตั แิ ละขัน้ ตอนการเปดและปดหลักสูตร ระดับ 2 2-2.1-2 เปาหมายการรับนักศึกษาและแผนการผลิตบัณฑิตแตละหลักสูตร ระดับ 3 2-2.1-3 แผนธุรกิจ โครงการเปดดําเนินการหลักสูตร กระบวนการและ รายละเอียดการเตรียมความพรอมกอนเปดหลักสูตร ระดับ 4 2-2.1-4 รายงานวิเคราะหขอมูลการดําเนินงานหลักสูตร ระดับ 5 2-2.1-5 รายงานการประชุมคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตร และมาตรฐาน การศึกษา ระดับ 6 2-2.1-6 หลักสูตรที่ไดรับการรับรองจากสํานักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา


ตัวบงชี้ที่ 2.2 มีกระบวนการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ เกณฑมาตรฐาน : ระดับ มี

ไมมี

1. มีกลไกการใหความรูความเขาใจกับอาจารยผูสอนถึงวัตถุประสงค และเปาหมายของการจัดการศึกษาทุกหลักสูตร 2. มีการออกแบบการเรียนการสอนและจัดกิจกรรมการเรียนรูที่เนน ผูเรียนเปนสําคัญทุกหลักสูตร 3. มีการใชสื่อเทคโนโลยีหรือนวัตกรรมในการสอนเพื่อสงเสริม การเรียนทุกหลักสูตร 4. มีการจัดการเรียนการสอนที่มีความยืดหยุนและหลากหลายที่จะ สนองตอบตอความตองการของผูเรียน

-

เอกสาร หมายเลข 2-2.2-1

-

2-2.2-2

-

2-2.2-3

-

5. มีการประเมินผลการเรียนการสอนที่สอดคลองกับสภาพการเรียนรูที่

-

2-2.2-4 2-2.2-5 2-2.2-6 2-2.1-7

-

2-2.1-8

-

-

เกณฑมาตรฐาน

จัดใหผูเรียน และอิงพัฒนาการของผูเรียนทุกหลักสูตร 6. มีการประเมินผลความพึงพอใจของผูเรียนในเรื่องคุณภาพการสอน และสิ่งสนับสนุนการเรียนรูทุกหลักสูตร 7. มีระบบการปรับปรุงวิธีการเรียนการสอน และพัฒนาผูเรียนอยาง ตอเนื่องทุกหลักสูตร เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 มีการดําเนินการไมครบ 5 ขอแรก มีการดําเนินการ 5-6 ขอแรก คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2551

คะแนน 3 มีการดําเนินการครบทุกขอ : :

ระดับ 6 ระดับ 6


ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2551 วิทยาลัยมีผลงานผานระดับ 6 ตามมาตรฐาน สกอ. คือ เกณฑ ระดับ 1

ระดับ 2

ระดับ 3

ระดับ 4

ระดับ 5

ระดับ 6

การดําเนินงานในแตละระดับ มีกลไกใหความรูกับอาจารยผูสอน ถึงวัตถุประสงคและเปาหมายของการจัดการศึกษา ทุกหลักสูตร โดยการจัดการประชุมเชิงปฎิบัติการ กําหนดวัตถุประสงค การพัฒนา การเรียนการสอน และการวัดผล รวมทั้งเปาหมายของการจัดการศึกษาทุกหลักสูตรที่ วิทยาลัยเปดดําเนินการ (2-2.1-1) วิทยาลัยจัดใหอาจารยผูสอน จัดทําแผนการสอนและโครงการสอนทุกรายวิชาที่สอน มีการ จัดกิจกรรมการเรียนการสอนสอดคลองกับโครงการสอน โดยทุกรายวิชาตองระบุ วัตถุประสงคของการสอน วิธีการสอน กิจกรรม สื่อการเรียนการสอน ตลอดจน วิธีการวัด และประเมินผลของแตละรายวิชา (2-2.1-2) วิทยาลัยสงเสริมใหมีการใชสื่อเทคโนโลยี ในการสงเสริมการเรียนรูทุกหลักสูตร โดยจัด ใหมีการนําโครงการสอน แผนการสอน เอกสารประกอบการสอน และสื่อประกอบ การเรียนการสอน ไวบน website ของอาจารย รวมทั้งจัดใหมี e-mail, web board ในการ สื่อสารแลกเปลี่ยนเรียนรูระหวางคณาจารยและนักศึกษา (2-2.1-3) วิทยาลัยมีระบบในการสงเสริมและกระตุนใหอาจารย จัดการเรียนการสอนที่สงเสริมให นักศึกษาศึกษาคนควาดวยตนเอง โดยจัดใหทุกรายวิชาระบุชั่วโมงการศึกษาคนควาดวย ตนเอง ระบุใหมีการจัดทํารายงาน การนําเสนอ ไวในโครงการสอนของทุกรายวิชา (2-2.1-4/1) (2-2.1-4/2) (2-2.1-4/3) วิทยาลัย กําหนดใหอาจารยผูสอนตองกําหนดระบบการวัดและประเมินผล ตามหลักเกณฑ ของคณะกรรมการกํากับมาตรฐานหลักสูตรทุกหลักสูตร ไวในโครงการสอน โดยตองแจง ใหผูเรียนทราบกอนสอน และประเมินผลตามกิจกรรมการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปน สําคัญ (2-2.1-5) วิทยาลัย จัดใหมีการประเมินการสอนของอาจารย โดยนักศึกษาในทุกภาคการศึกษา โดยมี การประเมินผลความพึงพอใจ ของนักศึกษาตอคุณภาพการสอนของอาจารย และสิ่ง สนับสนุนการเรียนรู สําหรับผลการประเมินนั้น จะแจงใหอาจารยผูสอนรับทราบเปน รายบุคคล (2-2.1-6)

การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 2 คะแนน

การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย


รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ชื่อเอกสาร/รายละเอียด ระดับ 1 2-2.2-1 รายงานสรุปการประชุมเตรียมความพรอม เปดภาคการศึกษา ที่ 1 / 2551 และ 2 / 2551 ระดับ 2 2-2.2-2 โครงการสอนของทุกรายวิชา ระดับ 3 2-2.2-3 Web site e-learning ของอาจารย โครงการสอน / แผนการสอนรายวิชา ระดับ 4 2-2.2-4/1 จํานวนชั่วโมงที่เปดใหบริการแกนักศึกษา ในการใชหองสมุดและ 2-2.2-4/2 หองคอมพิวเตอร จํานวนและรายชื่อวิชาเลือกเสรี (คูมือการศึกษา ปการศึกษา 2551) 2-2.2-4/3 ระดับ 5 2-2.2-5 โครงการสอน / แผนการสอนรายวิชา ระดับ 6 2-2.2-6 รายงานผลการประเมินการสอนของอาจารย ปการศึกษา 2551 ตัวบงชี้ที่ 2.3 มีโครงการหรือกิจกรรมที่สนับสนุนการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอนซึ่งบุคคล องคกร และชุมชนภายนอกมีสวนรวม ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ เกณฑมาตรฐาน : ระดับ เอกสาร เกณฑมาตรฐาน มี ไมมี หมายเลข  1. มีระบบและกลไกที่กําหนดใหผูทรงคุณวุฒิ หรือผูรูในชุมชนมาชวย 2-2.3-1 ในการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรทุกหลักสูตร  2. มีการจัดการเรียนการสอนที่สงเสริมใหผูเรียนมีความรูและทักษะ 2-2.3-2 ที่นําไปใชในการปฏิบัติไดจริง โดยมีผูทรงคุณวุฒิ หรือผูรูในชุมชน มีสวนรวมทุกหลักสูตร  3. มีการจัดโครงการ กิจกรรมทางการศึกษาทั้งที่กําหนดและไมกําหนด 2-2.3-3 ในหลักสูตรโดยความรวมมือกับองคการหรือหนวยงานภายนอก  4. มีการติดตาม ตรวจสอบและประเมินกิจกรรมการเรียนการสอน 2-2.3-4 ที่ไดรับการสนับสนุนจากผูทรงคุณวุฒิหรือชุมชนภายนอกสถาบัน ทุกหลักสูตร  5. มีการนําผลการประเมินไปปรับปรุงการมีสวนรวมของบุคคล 2-2.3-5 องคการ และชุมชนภายนอกในการพัฒนาหลักสูตรและการเรียน การสอนทุกหลักสูตร


เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 มีการดําเนินการไมครบ 4 ขอแรก

คะแนน 2 มีการดําเนินการ 4 ขอแรก

คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2551

คะแนน 3 มีการดําเนินการครบทุกขอ : :

ระดับ 5 ระดับ 5

ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2551 วิทยาลัยมีผลงานผานระดับ 5 ตามมาตรฐาน สกอ. คือ เกณฑ ระดับ 1 ระดับ 2

ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5

การดําเนินงานในแตละระดับ มีการกําหนดนโยบายใหแตละคณะจัดทําฐานขอมูลผูทรงคุณวุฒิ ผูรู เพื่อรวมในการพัฒนา และปรับปรุงหลักสูตร (2-2.3-1) มีการสงเสริมการเรียนการสอนโดยเนนผูเรียนเปนศูนยกลางสามารถนําความรูและเกิด ทักษะในการปฎิบัติงานไดจริง โดยเชิญผูทรงคุณวุฒิ หรือผูรู มารวมใหความคิดเห็นเพื่อ การจัดการเรียนการสอนที่ใชปฎิบัติงานไดจริง (2-2.3-2) มีการจัดโครงการและกิจกรรมทางการศึกษาทั้งที่กําหนดและไมกําหนดในหลักสูตร โดย ความรวมมือกับสถานประกอบการในการศึกษาดูงานและฝกงาน (2-2.3-3) มีการติดตามตรวจสอบและประเมินกิจกรรมการเรียนการสอนที่ไดรับการสนับสนุนจาก ผูทรงคุณวุฒิ หรือชุมชนภายนอกสถาบันทุกหลักสูตร (2-2.3-4) มีการนําผลการประเมินไปปรับปรุงการมีสวนรวมของบุคคล องคกร และชุมชนภายนอก ในการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอน เชน ปรับปรุงหลักสูตรทุกหลักสูตร ที่วิทยาลัยผานการรับรองมาตรฐานโดยเฉพาะหลักสูตรที่สถานประกอบการใชบัณฑิต และมีขอเสนอแนะปรับปรุงแกไข (2-2.3-5)

การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 3 คะแนน

การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย


รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ชื่อเอกสาร/รายละเอียด ระดับ 1 2-2.3-1 ฐานขอมูลผูทรงคุณวุฒิ ผูนําชุมชนและสถานประกอบการในเขต กรุงเทพตะวันออกเฉียงใต ระดับ 2 2-2.3-2 รายงานการประเมินกิจกรรมการเรียนการสอน โดยผูทรงคุณวุฒิ หรือชุมชนภายนอกสถาบัน ระดับ 3 2-2.3-3 สรุปโครงการศึกษาดูงานภายนอกวิทยาลัย ประจําปการศึกษา 2551 ระดับ 4 2-2.3-4 โครงการบรรยายโดยผูทรงคุณวุฒิ หรือชุมชนภายนอกสถาบัน ประจําปการศึกษา 2551 ระดับ 5 2-2.3-5 รายงานการประเมินโครงการกิจกรรมการเรียนการสอน ประจําปการศึกษา 2551 ตัวบงชี้ที่ 2.4 จํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทาตอจํานวนอาจารยประจํา ชนิดของตัวบงชี้ : ปจจัยนําเขา เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 6-9.99% และ -6 – (-9.99)% ≥ +10% หรือ ≤ -10% ของเกณฑมาตรฐาน ของเกณฑมาตรฐาน คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2551 การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 2 คะแนน

: :

คะแนน 3 (-5.99) – 5.99% ของเกณฑมาตรฐาน 6-9.99% ของเกณฑมาตรฐาน -7.2% ของเกณฑมาตรฐาน

การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย

รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ชื่อเอกสาร/รายละเอียด -7.2% ของ 2-2.4-1 สรุปจํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทา (FTES) ปการศึกษา 2551 เกณฑมาตรฐาน


ตัวบงชี้ที่ 2.5 สัดสวนของอาจารยประจําที่มีวุฒิปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก หรือเทียบเทา ตออาจารยประจํา ชนิดของตัวบงชี้ : ปจจัยนําเขา เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 วุฒิปริญญาเอกอยูระหวาง 1. วุฒิปริญญาเอกอยูระหวาง 1. วุฒิปริญญาเอกมากกวาหรือ เทากับรอยละ 30 และ รอยละ 20-29 และ รอยละ 1-19 หรือ วุฒปิ ริญญาเอก 2. วุฒิปริญญาตรีเทากับหรือ 2. วุฒิปริญญาตรีเทากับหรือ อยูระหวางรอยละ 20-29 แต นอยกวารอยละ 5 นอยกวารอยละ 5 วุฒิปริญญาตรีมากกวารอยละ 5 หรือ 1. วุฒิปริญญาเอกมากกวาหรือ เทากับรอยละ 30 และ 2. วุฒิปริญญาตรีมากกวารอยละ 5 คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2551

: :

วุฒปิ ริญญาเอกรอยละ 20-29 วุฒปิ ริญญาเอกรอยละ 20

ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2551 วิทยาลัยมีอาจารยคุณวุฒิปริญญาเอก จํานวน 18 คน และปริญญาตรี จํานวน 1 คน โดยมีอาจารยประจํารวมทั้งสิ้น 91 คน คิดเปนสัดสวนอาจารยปริญญาเอก เทากับรอยละ 20 (19.78) และปริญญาตรี เทากับรอยละ 1.1 การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 2 คะแนน

การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย

รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ชื่อเอกสาร/รายละเอียด รอยละ 20 2-2.5-1 รายงานขอมูลสถิติ ปการศึกษา 2551


ตัวบงชี้ที่ 2.6 สัดสวนของอาจารยประจําที่ดํารงตําแหนงอาจารย ผูชวยศาสตราจารย รองศาสตราจารย และศาสตราจารย ชนิดของตัวบงชี้ : ปจจัยนําเขา เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 ผูดํารงตําแหนงระดับ ผศ. รศ. 1. ผูดํารงตําแหนงระดับ ผศ. รศ. 1. ผูดํารงตําแหนงระดับ ผศ. รศ. และศ. รวมกันอยูระหวาง และศ. รวมกันอยูระหวาง และศ. รวมกันมากกวาหรือ รอยละ 1-39 เทากับ รอยละ 60 รอยละ 40-59 และ 2. ผูดํารงตําแหนงระดับ รศ. 2. ผูดํารงตําแหนงระดับ รศ. หรือ ผูดํารงตําแหนงระดับ ผศ. ขึ้นไปเทากับหรือมากกวา ขึ้นไปเทากับหรือมากกวา รศ. และศ. รวมกันอยูระหวาง รอยละ 10 รอยละ 10 รอยละ 40-59 แตผูดํารงตําแหนง หรือ ระดับ รศ. ขึ้นไปนอยกวา 1. ผูดํารงตําแหนงระดับ ผศ. รศ. รอยละ 10 และศ. รวมกันมากกวาหรือ เทากับรอยละ 60 และ 2. ผูดํารงตําแหนงระดับ รศ. ขึ้นไปนอยกวาละ 10 คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2551

: ผูชวยศาสตราจารย รองศาสตราจารย และศาสตราจารย รอยละ 1-39 : ผูชวยศาสตราจารย รองศาสตราจารย และศาสตราจารย รอยละ 5.50

ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2551 วิทยาลัยมีอาจารยดํารงตําแหนงเปนรองศาสตราจารย จํานวน 3 คน และผูชวย ศาสตราจารย จํานวน 2 คน โดยมีอาจารยประจํา จํานวนรวมทั้งสิ้น 91 คน คิดเปนรอยละ 5.50 การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 1 คะแนน

การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย

รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ชื่อเอกสาร/รายละเอียด รอยละ 5.50 2-2.6-1 รายงานขอมูลสถิติ ปการศึกษา 2551


ตัวบงชี้ที่ 2.7 มีกระบวนการสงเสริมการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพของคณาจารย ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ เกณฑมาตรฐาน : ระดับ เกณฑมาตรฐาน

มี

ไมมี

1. สถาบันมีการกําหนดจรรยาบรรณวิชาชีพคณาจารยไวเปน ลายลักษณอักษร 2. มีกระบวนการสงเสริมใหผูเกี่ยวของไดปฏิบัติตามจรรยาบรรณ วิชาชีพ 3. มีการกํากับดูแลการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ 4. มีระบบในการดําเนินการกับผูที่ไมปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ 5. มีการดําเนินการวางแผน ปองกัน หรือหาแนวทางแกไขการกระทํา ผิดจรรยาบรรณวิชาชีพ

-

เอกสาร หมายเลข 2-2.7-1

-

2-2.7-2

  

-

2-2.7-3 2-2.7-3 2-2.7-3

เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 มีการดําเนินการไมครบ 3 ขอแรก คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2551

คะแนน 2 มีการดําเนินการ 3 ขอแรก

คะแนน 3 มีการดําเนินการอยางนอย 4 ขอแรก : :

ระดับ 5 ระดับ 5

ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2551 วิทยาลัยมีผลงานผานระดับ 5 ตามมาตรฐานของ สกอ. คือ เกณฑ การดําเนินงานในแตละระดับ ระดับ 1 มีการกําหนดจรรยาบรรณวิชาชีพคณาจารยวิทยาลัยเซาธอีสทบางกอกไวเปนลายลักษณอักษร ระดับ 2 มีการแตงตั้งคณะทํางานเพื่อกําหนดจรรยาบรรณคณาจารย ระดับ 3 มีการจัดทําคูมือการปฎิบัติงานและจรรยาบรรณคณาจารย พรอมทั้งเผยแพรใหคณาจารย ทั้งวิทยาลัยไดรับทราบ โดยเฉพาะคณาจารยใหมที่พึ่งมาปฎิบัติหนาที่ ระดับ 4 มีระบบในการดําเนินการกับผูที่ไมปฎิบัติตามจรรยาบรรณ ทั้งในการพัฒนาตนเองดานวิชาการ วิชาชีพ เจตคติ และมีการประเมินผลการปฎิบัติงานในรอบปที่ครอบคลุมประเด็นเรื่องจรรยาบรรณ ระดับ 5 มีการดําเนินการวางแผน ปองกัน หรือหาแนวทางแกไขการกระทําผิด จรรยาบรรณ เชน ใหมี คณะกรรมการกํากับมาตรฐานวิชาการ ทําหนาที่วัดผลและพิจารณาการตัดเกรด มีคณะกรรมการ ประเมินผลการปฎิบัติงานในแตละภาคการศึกษา


การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 3 คะแนน

การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย

รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ชื่อเอกสาร/รายละเอียด ระดับ 1 2-2.7-1 คูมือจรรยาบรรณอาจารย วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก ระดับ 2 2-2.7-2 คําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการกําหนดจรรยาบรรณอาจารย วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก ระดับ 3 2-2.7-3 คูมือการปฎิบัติงานบุคลากร วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก ระดับ 4 2-2.7-3 คูมือการปฎิบัติงานบุคลากร วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก ระดับ 5 2-2.7-3 คูมือการปฎิบัติงานบุคลากร วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก ตัวบงชี้ที่ 2.8 มีระบบและกลไกสนับสนุนใหอาจารยประจําทําการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ เกณฑมาตรฐาน : ขอ เอกสาร เกณฑมาตรฐาน มี ไมมี หมายเลข  1. มีการกําหนดแนวทางการพัฒนาอาจารยดานความรูความเขาใจ 1-1.1-2 เกี่ยวกับการวิจัยและพัฒนา นวัตกรรมการเรียนการสอน 2-2.8-1  2. มีกลไกการบริหารวิชาการที่จะกระตุนใหอาจารยคิดคนพัฒนา 2-2.8-2 นวัตกรรมใหม ๆ ในดานการเรียนการสอน  3. มีแหลงทุนสนับสนุนการวิจัย เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนและ 2-2.8-3 นวัตกรรมทางการศึกษา  4. มีผลงานวิจยั ดานการเรียนการสอนและมีการจัดเวทีแลกเปลีย่ นและ 2-2.8-4 เผยแพรผลงานวิจัยดานการเรียนการสอนและนวัตกรรมทาง การศึกษาอยางสม่ําเสมอ  5. มีการสรางเครือขายวิจัยดานนวัตกรรมการเรียนการสอนทั้งภายใน 1-1.1-2 และภายนอกสถาบัน เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 มีการดําเนินการไมครบ 3 ขอ

คะแนน 2 มีการดําเนินการ 3-4 ขอ

คะแนน 3 มีการดําเนินการครบทุกขอ


คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2551

: :

4 ขอ 5 ขอ

ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2551 วิทยาลัยมีผลการดําเนินงานผานเกณฑ 5 ขอ ดังนี้ เกณฑ การดําเนินงานในแตละขอ ขอ 1 มีการกําหนดแนวทางการพัฒนาอาจารย ดานความรูความเขาใจเกี่ยวกับการวิจัยและพัฒนา นวัตกรรมการเรียนการสอน เชน โครงการสรางและสงเสริมนักวิจัย โครงการฝกอบรม การวิจัย โครงการคลีนิกวิจัย โครงการเผยแพรงานวิจัย ขอ 2 มีกลไกการบริหารวิชาการที่จะกระตุนใหอาจารยคิดคนพัฒนานวัตกรรมใหมๆ ในดาน การเรียนการสอน เชน นโยบายการจัดการศึกษาของวิทยาลัยที่กําหนดใหอาจารยคิดคน พัฒนานวัตกรรมใหมๆ เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน ขอ 3 มีแหลงทุนสนับสนุนการวิจัย เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนและนวัตกรรมทางการศึกษา เชน โครงการจัดหาทุนอุดหนุนการวิจยั จากภายนอกวิทยาลัย โครงการทุนอุดหนุนการวิจยั จากภายในวิทยาลัย ขอ 4 มีผลงานวิจัยดานการเรียนการสอนและมีการจัดเวทีแลกเปลี่ยน และเผยแพรผลงานวิจัย ดานการเรียนการสอน และนวัตกรรมทางการศึกษาอยางสม่ําเสมอ โดยการประสานงาน กับสํานักวิทยบริการในการนําเสนอผานฐานขอมูลของวิทยาลัย และเผยแพรใน วารสารวิชาการ วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก รวมทั้งบรรจุไวในฐานขอมูลของ Thailist Digital Collection ขอ 5 มีการสรางเครือขายวิจัยดานนวัตกรรมการเรียนการสอนทั้งภายในและภายนอกสถาบัน เชน โครงการรวมเครือขายวิจัย จ.สมุทรปราการ โครงการรวมเครือขายวิจัยภาคกลาง ตอนบน โครงการรวมเครือขายวิจัยภาคกลางตอนลาง โครงการรวมวิจัยของประเทศไทย ดานทรัพยากรน้ํา การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 3 คะแนน

การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย


รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ชื่อเอกสาร/รายละเอียด ขอ 1 1-1.1-2 วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก แผนยุทธศาสตร พ.ศ. 2548 – 2552 เอกสาร 2-2.8-1 ประกอบโครงการอบรมการวิจัย และการใชโปรแกรมทางสถิติเพื่อการวิจัย ของสํานักวิจัย วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก ขอ 2 2-2.8-2 เอกสารประกอบการประชุมเตรียมความพรอมกอนเปดภาคการศึกษา 1/2551 ขอ 3 2-2.8-3 แนวปฎิบัตและแผนการดําเนินงานของสํานักวิจัย ประจําปการศึกษา 2551 ขอ 4 2-2.8-4 รายงานการประเมินตนเอง (SAR) สํานักวิจัย ประจําปการศึกษา 2551 ขอ 5 1-1.1-2 วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก แผนยุทธศาสตร พ.ศ. 2548 - 2552 ตัวบงชี้ที่ 2.9 รอยละของบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ไดงานทําและการประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ป ชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิต เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 รอยละ 1- รอยละ 59 รอยละ 60- รอยละ 79 มากกวาหรือเทากับรอยละ 80 คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2551

: :

รอยละ 80 รอยละ 80.19

ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2551 วิทยาลัยมีผูสําเร็จการศึกษาจํานวน 469 คน กรอกแบบสํารวจการมีงานทําของ สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา จํานวน 323 คน ในจํานวนนี้มีผูไดงานทําและประกอบอาชีพอิสระ จํานวน 259 คน คิดเปนรอยละ 80.19 การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 3 คะแนน

การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย

รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ชื่อเอกสาร/รายละเอียด รอยละ 80 2-2.9-1 รายงานการสํารวจภาวะการมีงานทําของบัณฑิตและมหาบัณฑิตที่ สําเร็จการศึกษา ปการศึกษา 2550 – 2551


ตัวบงชี้ที่ 2.10 รอยละของบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ไดรับเงินเดือนเริ่มตนเปนไปตามเกณฑ ชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิต เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 รอยละ 1- รอยละ 74 ไดรับ รอยละ 75- รอยละ 99 ไดรับ รอยละ 100 ไดรับเงินเดือนเทากับ เงินเดือนเทากับหรือสูงกวา เงินเดือนเทากับหรือสูงกวา หรือสูงกวาเกณฑ ก.พ. เกณฑ ก.พ. เกณฑ ก.พ. คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2551

: :

รอยละ 95 รอยละ 99.56 (100)

ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา วิทยาลัยสํารวจระดับความพึงพอใจของนายจาง ผูประกอบการ และผูใชบัณฑิตแลว ผลอยูในระดับพึงพอใจมาก (3.58) การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 3 คะแนน

การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย

รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ชื่อเอกสาร/รายละเอียด รอยละ 100 2-2.10-1 รายงานการสํารวจภาวะการมีงานทําของบัณฑิตและมหาบัณฑิตที่ สําเร็จการศึกษา ปการศึกษา 2550 - 2551 ตัวบงชี้ที่ 2.11 ระดับความพึงพอใจของนายจาง ผูประกอบการ และผูใชบัณฑิต ชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิต เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 ระดับความพึงพอใจมีคะแนน ระดับความพึงพอใจมีคะแนน ระดับความพึงพอใจมีคะแนนเฉลี่ย เฉลี่ยอยูระหวาง 1- 2.49 เฉลี่ยอยูระหวาง 2.50- 3.49 มากกวาหรือเทากับ 3.50


คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2551

การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 3 คะแนน

≥ 3.50 3.58 ระดับความพึงพอใจอยูในระดับมาก

: :

การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย

รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ชื่อเอกสาร/รายละเอียด รอยละ 3.58 2-2.11-1 รายงานการสํารวจความพึงพอใจของผูประกอบการที่มีตอบัณฑิต และมหาบัณฑิตที่สําเร็จการศึกษา ปการศึกษา 2550 -2551 ตัวบงชี้ที่ 2.12 รอยละของนักศึกษาปจจุบันและศิษยเกาที่สําเร็จการศึกษาในรอบ 5 ปที่ผานมาที่ไดรับ การประกาศเกียรติคุณยกยองในดานวิชาการ วิชาชีพ คุณธรรม จริยธรรม กีฬา สุขภาพ ศิลปะและวัฒนธรรม และดานสิ่งแวดลอมในระดับชาติหรือนานาชาติ ชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิต เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 รอยละ 0.003- รอยละ 0.015 รอยละ 0.016- รอยละ 0.029 1. มากกวาหรือเทากับรอยละ 0.030 และ 2. อยางนอยรอยละ 50 ของนักศึกษา และศิษยเกาไดรางวัล ในขอ 1 เปนรางวัลดานศิลปะและ วัฒนธรรม คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2551

: :

รอยละ 0.02 รอยละ 0.18


ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2551 วิทยาลัยสํารวจพบวามีนักศึกษาปจจุบันและศิษยเกาที่สําเร็จการศึกษา ในรอบ 5 ป ที่ไดรับการประกาศเกียรติคุณยกยองในดานวิชาการ วิชาชีพ คุณธรรม จริยธรรม กีฬา สุขภาพ ศิลปะและวัฒนธรรม และดานสิง่ แวดลอม ในระดับชาติจาํ นวน 7 คน โดยมีนักศึกษาปจจุบัน จํานวน 1,866 คน และศิษยเกาที่สําเร็จการศึกษาไปแลวในรอบ 5 ป จํานวน 1,873 คน คิดเปนรอยละ 0.18 แตในจํานวนนี้ไมมีผูไดรางวัลทางดานศิลปะและวัฒนธรรม จึงมีผลการดําเนินงานอยูในระดับ 2 คะแนน การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 2 คะแนน

การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย ไมบรรลุเปาหมาย

รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ชื่อเอกสาร/รายละเอียด รอยละ 0.15 2-2.12-1 ประวัติและผลงานนักศึกษาที่ไดรับรางวัลดีเดน


องคประกอบที่ 3 กิจกรรมการพัฒนานิสิตนักศึกษา ตัวบงชี้ที่ 3.1 มีการจัดบริการแกนักศึกษาและศิษยเกา ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ เกณฑมาตรฐาน : ระดับ

มี

ไมมี

1. มีการสํารวจความตองการจําเปนของนักศึกษาปที่ 1 2. มีการจัดบริการดานสิ่งอํานวยความสะดวกที่เอื้อตอการพัฒนา การเรียนรูของนักศึกษา

 

-

3. มีการจัดบริการดานกายภาพที่สงเสริมคุณภาพชีวิตของนักศึกษา 4. มีการจัดบริการใหคําปรึกษาแกนักศึกษา

 

-

5. มีบริการขอมูลขาวสารที่เปนประโยชนตอนักศึกษาและศิษยเกา

-

6. มีการจัดโครงการเพื่อพัฒนาประสบการณทางวิชาชีพแกนักศึกษา และศิษยเกา 7. มีการประเมินคุณภาพของการใหบริการทั้ง 5 เรื่องขางตนเปน ประจําทุกป 8. นําผลการประเมินคุณภาพของการใหบริการมาพัฒนาการจัดบริการ แกนักศึกษาและศิษยเกา

-

-

เอกสาร หมายเลข 3-3.1-1 3-3.1-2/1 3-3.1-2/2 3-3.1-2/3 3-3.1-2/4 3-3.1-3 3-3.1-4/1 3-3.1-4/2 3-3.1-5/1 3-3.1-5/2 3-3.1-5/3 3-3.1-6/1 3-3.1-6/2 3-3.1-7

-

3-3.1-8

เกณฑมาตรฐาน

เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 มีการดําเนินการไมครบ 7 ขอแรก คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2551

คะแนน 2 มีการดําเนินการ 7 ขอแรก

คะแนน 3 มีการดําเนินการครบทุกขอ : :

ระดับ 8 ระดับ 8


ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2551 วิทยาลัยมีผลงานระดับ 8 ตามมาตรฐาน สกอ. คือ เกณฑ การดําเนินงานในแตละระดับ ระดับ 1 มีการจัดทําแบบสํารวจความตองการจําเปนของนักศึกษา ชั้นปที่ 1 ทุกปการศึกษา (3-3.1-1) ระดับ 2 มีการจัดบริการสิ่งอํานวยความสะดวก ที่เอื้อตอการเรียนรูของนักศึกษา ไดแก - หนังสือ วารสาร และสื่อการเรียนรู โดยสํานักวิทยบริการ (3-3.1-2/1) - บริการสัญญาณเชื่อมตออินเตอรเน็ต ในบริเวณอาคารเรียน หองปฎิบัติการ คอมพิวเตอร โดยศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ (3-3.1-2/2) - หองปฎิบัติการภาษา และศูนยการเรียนรูภาษาดวยตนเอง โดยคณะศิลปศาสตร (3-3.2-2/3) - หองปฎิบัติการฟสิกส และเคมี โดยคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (3-3.1-2/4) ระดับ 3 มีการจัดการดานกายภาพที่สงเสริมคุณภาพชีวิตของนักศึกษาโดยการจัดพื้นที่ใชสอยในอาคาร เรียนในลักษณะเบ็ดเสร็จ ทั้งดานการเรียนการสอน และการใหบริการแกนักศึกษา มีการ ประกันอุบัติเหตุ มีรานอาหาร ซุมเครื่องดื่ม ศูนยจําหนายหนังสือและอุปกรณการศึกษา มีบริการ รถรับ-สงนักศึกษา ตามจุดชุมชนตางๆ จํานวน 5 สาย ตลอดจนมีกองทุนกูยืม เพื่อการศึกษา และ ทุนการศึกษาของวิทยาลัยหลายประเภท อาทิ ทุนชางเผือกมัธยมสูบัณฑิต ทุนความสามารถ พิเศษ ประเภท ฟุตบอล ดนตรีสากล เชียรลีดเดอร ทุนเรียนดีเยี่ยม ทุนเรียนดีแตขาดแคลน ทุนทรัพย เปนตน (3-3.1-3) ระดับ 4 วิทยาลัยมีการแตงตั้งอาจารยที่ปรึกษา เพื่อใหคําปรึกษาดานวิชาการ และปญหาสวนตัว (3-3.1-4/1) รวมทั้งแตงตั้งฝายใหคําปรึกษาเพื่อชวยเหลือ ใหคําปรึกษาในดานการใชชีวิต สังคมและอาชีพ โดยมีการจัดเก็บขอมูลเปนความลับและติดตามผลการแกไขปญหา อยางใกลชิด (3-3.1-4/2) ระดับ 5 มีบริการขอมูลขาวสารที่เปนประโยชนตอนักศึกษาและศิษยเกา โดยมีการจัดปฐมนิเทศใหกับ นักศึกษา เพื่อใหขอมูลที่สําคัญแกนักศึกษา (3-3.1-5/1) จัดทําคูมือการศึกษา (3-3.1-5/2) ปายประชาสัมพันธภายในวิทยาลัย รวมทั้งโครงการดอกเสลาบานสะพรั่ง (สําหรับศิษยเกา) (3-3.1-5/3) ระดับ 6 มีการจัดโครงการเพื่อพัฒนาประสบการณทางวิชาชีพแกนักศึกษา เชน โครงการศึกษา ดูงานเพื่อเสริมสรางประสบการณ (3-3.1-6/1) โครงการสงนักศึกษาปจจุบันเขาฝกงานกับศิษย เกาการสงขอมูลขาวสารใหศิษยเกาเขารวมสัมมนาดานวิชาการ และวิชาชีพ ที่วิทยาลัยจัดขึ้น (3-3.1-6/2) ระดับ 7 มีการประเมินคุณภาพของการใหบริการที่จําเปนเปนประจําทุกป โดยจะมีการประเมินผลการ ดําเนินงานโครงการและกิจกรรมทุกกิจกรรม (3-3.1-7) ระดับ 8 สํานักกิจการนักศึกษา ไดนําผลการประเมินคุณภาพของการใหบริการตางๆ มาพัฒนา การจัดบริการแกนักศึกษาและศิษยเกาทุกโครงการ (3-3.1-8)


การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 3 คะแนน

การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย

รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ชื่อเอกสาร/รายละเอียด ระดับ 1 3-3.1-1 รายงานความตองการจําเปนของนักศึกษาปที่ 1 วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก ประจําปการศึกษา 2551 ระดับ 2 3-3.1-2/1 รายงานการประเมินตนเอง สํานักวิทยบริการ ปการศึกษา 2551 3-3.1-2/2 รายงานการประเมินตนเอง ศูนยเทคโนโลยีและสารสนเทศ ปการศึกษา 2551 3-3.1-2/3 รายงานการประเมินตนเอง คณะศิลปศาสตร ปการศึกษา 2551 3-3.1-2/4 รายงานการประเมินตนเอง คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ปการศึกษา 2551 ระดับ 3 3-3.1-3 คูมือการศึกษาและหลักสูตร ปการศึกษา 2551 (สวนบริการและสวัสดิการสําหรับนักศึกษา) ระดับ 4 3-3.1-4/1 คําสั่งแตงตั้งอาจารยที่ปรึกษาของทุกสาขาวิชา 3-3.1-4/2 รายงานสรุปการใหคําปรึกษาแกนักศึกษา สํานักกิจการนักศึกษา ประจําปการศึกษา 2551 โครงการปฐมนิเทศนักศึกษาใหม ปการศึกษา 2551 ระดับ 5 3-3.1-5/1 คูมือการศึกษาและหลักสูตร ปการศึกษา 2551 3-3.1-5/2 โครงการดอกเสลาบานสะพรั่ง 3-3.1-5/3 ระดับ 6 3-3.1-6/1 โครงการศึกษาดูงานเพื่อเสริมสรางประสบการณของแตละสาขา 3-3.1-6/2 โครงการสงนักศึกษาปจจุบันเขาฝกงานกับศิษยเกา ระดับ 7 3-3.1-7 รายงานผลการปฎิบัติงาน โครงการกิจกรรม สํานักกิจการนักศึกษา ระดับ 8 3-3.1-8 รายงานการประชุมสํานักกิจการนักศึกษา ประจําปการศึกษา 2551


ตัวบงชี้ที่ 3.2 มีการสงเสริมกิจกรรมนักศึกษาที่ครบถวนและสอดคลองกับคุณลักษณะของบัณฑิต ที่พึงประสงค ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ เกณฑมาตรฐาน : ระดับ เกณฑมาตรฐาน มี ไมมี เอกสาร หมายเลข  1. มีการจัดทําแนวทางสงเสริมการจัดกิจกรรมที่สอดคลองกับ 3-3.2-1/1 วิสัยทัศนของสถาบันและคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค 3-3.2-1/2 ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา  2. มีการสงเสริมใหสถาบันและองคการนักศึกษาจัดกิจกรรมนักศึกษา 3-3.2-2 ใหครบทุกประเภท โดยอยางนอยตองดําเนินการใน 5 ประเภท ดังนี้ - กิจกรรมวิชาการ - กิจกรรมกีฬาและการสงเสริมสุขภาพ - กิจกรรมบําเพ็ญประโยชนและรักษาสิ่งแวดลอม - กิจกรรมนันทนาการ - กิจกรรมสงเสริมศิลปวัฒนธรรม  3. มีกระบวนการติดตามและประเมินผลโครงการหรือกิจกรรม ทั้งที่ 3-3.2-3 จัดโดยสถาบันและองคการนักศึกษาทุกสิ้นปการศึกษา  4. มีการนําผลการประเมินไปปรับปรุงการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนา 3-3.2-4/1 นักศึกษาอยางตอเนื่อง 3-3.2-4/2 เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 มีการดําเนินการไมครบ 3 ขอแรก คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2551

คะแนน 2 มีการดําเนินการ 3 ขอแรก

คะแนน 3 มีการดําเนินการครบทุกขอ : :

ระดับ 4 ระดับ 4


ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2551 วิทยาลัยมีผลงานระดับ 4 ตามมาตรฐาน สกอ. คือ เกณฑ การดําเนินงานในแตละระดับ ระดับ 1 มีการจัดทําแนวปฎิบัติและแผนการดําเนินงาน ที่สอดคลองกับวิสัยทัศนของวิทยาลัย มีการจัดสรรงบประมาณอยางครอบคลุมทุกกิจกรรม รวมทั้งมีการกําหนดนโยบายและ ดําเนินการใหนักศึกษาเขารวมโครงการ / กิจกรรมที่เปนการสงเสริมคุณลักษณะของ บัณฑิตที่พึงประสงค (3-3.2-1/1) (3-3.2-1/2) ระดับ 2 มีการสงเสริมใหทุกคณะวิชา สํานักกิจการนักศึกษาและองคการนักศึกษาจัดกิจกรรม นักศึกษา ใน 5 ประเภท ไดแก กิจกรรมวิชาการ กิจกรรมกีฬาและสงเสริมสุขภาพ กิจกรรม บําเพ็ญประโยชนและรักษาสิ่งแวดลอม กิจกรรมนันทนาการ และกิจกรรมสงเสริม ศิลปวัฒนธรรม (3-3.2-2) ระดับ 3 มีกระบวนการติดตามและประเมินผล โครงการหรือกิจกรรมทั้งที่จัดโดยวิทยาลัยและ องคการนักศึกษาทุกสิ้นปการศึกษา โดยการสรุปผลเปนรายงานผลการดําเนินงานโครงการ (3-3.2-3) ระดับ 4 มีการนําผลการประเมินไปปรับปรุง การจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนานักศึกษาอยางตอเนื่อง เชน ปรับเพิ่มกิจกรรม และเพิ่มงบประมาณ เชน โครงการลูกเซาธอีสทบางกอกออกคายอาสา พัฒนาชนบท ครั้งที่ 9 (3-3.2-4/1) โครงการ SBC Freshy 2008 (3-3.2-4/2) การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 3 คะแนน

การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย

รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ชื่อเอกสาร/รายละเอียด แนวปฎิบัติและแผนดําเนินการสํานักกิจการนักศึกษา ประจําป ระดับ1 3-3.2-1/1 การศึกษา 2551 ระเบียบฯ วาดวยการรวมกิจกรรมของนักศึกษา ปการศึกษา 2547 3-3.2-1/2 ระดับ2 3-3.2-2 รายงานประเมินตนเอง สํานักกิจการนักศึกษาและกิจการพิเศษ ปการศึกษา 2551 ระดับ3 3-3.2-3 สรุปผลการดําเนินงานตามโครงการตางๆ ระดับ4 3-3.2-4/1 โครงการลูกเซาธอีสทบางกอกออกคาย อาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 9 3-3.2-4/2 โครงการ SBC Freshy 2008


องคประกอบที่ 4 การวิจัย

ตัวบงชี้ที่ 4.1 มีการพัฒนาระบบและกลไกในการสนับสนุนการผลิตงานวิจัยและงานสรางสรรค ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ เกณฑมาตรฐาน : ขอ เอกสาร หมายเลข 4-4.1-1/1 4-4.1-1/2

เกณฑมาตรฐาน

มี

ไมมี

1. มีการจัดทําระบบบริหารงานวิจัยและงานสรางสรรค เพื่อให บรรลุเปาหมายตามแผนของสถาบันและสอดคลองกับยุทธศาสตร การวิจัยของชาติ 2. มีการจัดทําระบบฐานขอมูลและสารสนเทศที่เกี่ยวของกับ การบริหารงานวิจัยและงานสรางสรรคที่ใชประโยชนไดจริง 3. มีการจัดสรรทรัพยากรการเงิน ทรัพยากรบุคคล แหลงคนควาตาง ๆ เพื่อสนับสนุนงานวิจัยและงานสรางสรรค 4. มีระบบและกลไกพัฒนาทรัพยากรบุคคลดานการวิจัย

-

-

-

-

5. มีระบบสรางขวัญและกําลังใจและยกยองนักวิจัยที่มีผลงานวิจัยและ งานสรางสรรคดีเดน 6. มีระบบและกลไกสงเสริมความรวมมือระหวางนักวิจัยกับองคกร ภายนอกทั้งภาครัฐเอกชนและภาคอุตสาหกรรม

-

4-4.1-2/1 4-4.1-2/2 4-4.1-3/1 4-4.1-3/2 4-4.1-4/1 4-4.1-4/2 4-4.1-5

-

-

เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 มีการดําเนินการไมครบ 3 ขอ คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2551

คะแนน 2 มีการดําเนินการ 3-4 ขอ

คะแนน 3 มีการดําเนินการอยางนอย 5 ขอ : :

3 ขอ 5 ขอ


ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2551 วิทยาลัยมีการดําเนินงาน 5 ขอ ดังนี้ เกณฑ การดําเนินงานในแตละระดับ ขอ 1 มีการทําระบบบริหารงานวิจัยและงานสรางสรรค ดังแสดงในคูมือแนวปฎิบัติและแผน ดําเนินงาน สํานักวิจยั และวางแผนประจําป 2551 (4-4.1-1/1) เพื่อใหบรรลุเปาหมายตาม แผนยุทธศาสตรของวิทยาลัย (4-4.1-1/2) ที่สอดคลองกับยุทธศาสตรการวิจัยของชาติ ขอ 2 มีการจัดทําระบบฐานขอมูลและสารสนเทศ (4-4.1-2/1) ที่เกี่ยวของกับการบริหารงานวิจัย และงานสรางสรรคที่ใชประโยชนไดจริง ไดแก โครงการเปลี่ยนประเภทวิทยาลัยเปน มหาวิทยาลัย เลมที่ 5 (4-4.1-2/2) ขอ 3 มีการจัดสรรทรัพยากรเงิน ทรัพยากรบุคคล (4-4.1-3/1) แหลงคนควาตางๆ (4-4.1-3/2) เพื่อสนับสนุนงานวิจัยและงานสรางสรรค ขอ 4 มีระบบและกลไกพัฒนาทรัพยากรบุคคลดานการวิจัย โดยการจัดโครงการอบรมการวิจัย เปนระยะๆ (4-4.1-4/1) และวิเคราะหปจจัยที่เกี่ยวของกับการผลิตงานวิจัยของอาจารย (4-4.1-4/2) ขอ 5 มีระบบสรางขวัญและกําลังใจยกยองนักวิจัยที่มีผลงานวิจัยและสรางสรรค (4-4.1-5) การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 3 คะแนน รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ขอ 1 4-4.1-1/1 4-4.1-1/2 ขอ 2 4-4.1-2/1 4-4.1-2/2 ขอ 3 4-4.1-3/1

ขอ 4

4-4.1-3/2 4-4.1-4/1 4-4.1-4/2

ขอ 5

4-4.1-5

การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย

ชื่อเอกสาร/รายละเอียด แนวปฎิบตั แิ ละแผนดําเนินงานสํานักวิจยั และวางแผน ยุทธศาสตร SBC ป 2548 – 2552 ฐานขอมูลงานวิจัยของ SBC (ฐานขอมูล .xls) เอกสารการเปลี่ยนประเภทเปนมหาวิทยาลัย เลมที่ 5 คําสั่งที่ 52-53/2551, 58-59/2551 เรื่องแตงตั้งคณะกรรมการ สงเสริมงานวิจัย สมุดบันทึกการสงงานวิจัยเขาสํานักวิทยบริการ เอกสารประกอบการอบรมโปรแกรม SPSS เมื่อธันวาคม 2551 รายงานการวิจัย เรื่อง “ปจจัยที่เกี่ยวกับการทําวิจัยของอาจารย ประจําวิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก” นโยบายผูบริหาร (ฝายบุคลากร)


ตัวบงชี้ที่ 4.2 มีระบบบริหารจัดการความรูจากงานวิจัยและงานสรางสรรค ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ เกณฑมาตรฐาน : ขอ เกณฑมาตรฐาน 1. มีระบบและกลไกสนับสนุนการเผยแพรผลงานวิจัยและงาน สรางสรรคทั้งในวงการวิชาการและการนําไปใชประโยชน 2. มีระบบรวบรวม คัดสรร วิเคราะหและสังเคราะหความรูจากงานวิจัย และงานสรางสรรคที่เชื่อถือไดและรวดเร็วทันตอการใชประโยชน 3. มีการสรางเครือขายเผยแพรผลงานวิจัยและงานสรางสรรคไปยัง ผูเกี่ยวของทั้งภายในและภายนอกสถาบัน 4. มีระบบและกลไกการสนับสนุนความรวมมือระหวางนักวิจัยกับ องคการภายนอกสถาบันเพื่อการนําผลงานไปใชประโยชน 5. มีกลไกสนับสนุนการจดสิทธิบัตรการซื้อขายทรัพยสินทางปญญา ตลอดจนการคุมครองสิทธิของงานวิจัย หรือสิ่งประดิษฐ หรือ นวัตกรรมใหแกนักวิจัยเจาของผลงาน เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 มีการดําเนินการไมครบ 3 ขอ คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2551

คะแนน 2 มีการดําเนินการ 3 ขอ

มี

ไมมี

-

-

-

เอกสาร หมายเลข 4-4.2-1/1 4-4.2-1/2 4-4.2-2/1 4-4.2-2/2 4-4.2-3

-

4-4.2-4

-

-

คะแนน 3 มีการดําเนินการอยางนอย 4 ขอ : :

3 ขอ 4 ขอ

ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2551 วิทยาลัยมีผลการดําเนินงาน 4 ขอ ดังนี้ เกณฑ การดําเนินงานในแตละระดับ ขอ 1 มีระบบและกลไกสนับสนุนการเผยแพรผลงานวิจัยและงานสรางสรรคทั้งในวงวิชาการ และการ นําไปใชประโยชน (4-4.2-1/1) มีแผนผลิตผลงานวิจัยและงานสรางสรรคจําแนกตามคณะ (4-4.2-1/2) ขอ 2 มีการสรางเครือขายเผยแพรงานวิจัยใน http://www.southeast.ac.th/lib/database.php (4-4.2-2/1) และ วารสารวิชาการของวิทยาลัย (4-4.2-2/2) ขอ 3 มีการสรางเครือขายเผยแพรผลงานวิจัย และงานสรางสรรคไปยังผูที่เกี่ยวของทั้งภายในและภายนอก สถาบัน (4-4.2-3) ขอ 4 มีระบบและกลไกการสนับสนุนความรวมมือระหวางนักวิจัยกับองคกรภายนอกสถาบัน


การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 3 คะแนน รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ขอ 1 4-4.2-1/1 4-4.2-1/2 ขอ 2 4-4.2-2/1 4-4.2-2/2 ขอ 3 4-4.2-3 ขอ 4 4-4.2-4

การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย

ชื่อเอกสาร/รายละเอียด แผนยุทธศาสตรวิทยาลัยเซาธอีสทบางกอกป 2548 – 2552 เอกสารเปลี่ยนประเภทเปนมหาวิทยาลัย เลมที่ 5 เว็บไซต http://www.southeast.ac.th/lib/database.php วารสารวิชาการของวิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก เครือขายความรวมมือในการเผยแพรผลงานวิจัย เครือขายนักวิจัย

ตัวบงชี้ที่ 4.3 เงินสนับสนุนงานวิจัยและงานสรางสรรคจากภายในและภายนอกสถาบันตอจํานวน อาจารยประจํา ชนิดของตัวบงชี้ : ปจจัยนําเขา เกณฑการประเมิน : 1. เกณฑทั่วไป คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 อยูระหวาง 1- 16,999.- บาท 17,000.- บาท – 24,999.- บาท มากกวาหรือเทากับ 25,000.- บาท คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2551

: :

25,000 บาท 7,923 บาท

ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2551 เงินสนับสนุนงานวิจัยและงานสรางสรรคจากภายในและภายนอกสถาบัน จํานวนรวมทัง้ สิน้ 721,000 บาท โดยมีอาจารยประจํา จํานวนทั้งสิ้น 91 คน คิดเปน 7,923 บาท ตอจํานวน อาจารยประจํา 1 คน การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 1 คะแนน

การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย ไมบรรลุเปาหมาย


รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ชื่อเอกสาร/รายละเอียด อยูระหวาง 4-4.3-1 ฐานขอมูลการวิจัยของ วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก 1-16,999 บาท ตัวบงชี้ที่ 4.4 รอยละของงานวิจัยและงานสรางสรรคที่ตีพิมพเผยแพร ไดรับการจดทะเบียนทรัพยสิน ทางปญญา หรือนําไปใชประโยชนทั้งในระดับชาติและในระดับนานาชาติตอจํานวนอาจารย ประจํา ชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิต เกณฑการประเมิน : 1. เกณฑทั่วไป คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 รอยละ 1- รอยละ 19 รอยละ 20- รอยละ 29 มากกวาหรือเทากับรอยละ 30 คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2551

: :

รอยละ 15 รอยละ 1.1

ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2551 จํานวนงานวิจัยและงานสรางสรรคจากภายในและภายนอกสถาบัน ตอจํานวน อาจารยประจํา มีจํานวน 17 โครงการ ตอจํานวนอาจารยประจํา 91 คน คิดเปนรอยละ 18.68 แตตีพิมพ เผยแพรในวารสารของวิทยาลัย ซึ่งเผยแพรในทุกมหาวิทยาลัย จํานวน 1 เรือ่ ง (4-4.4-1) คิดเปนรอยละ 1.1 กาารประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 1 คะแนน

การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย ไมบรรลุเปาหมาย

รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ชื่อเอกสาร/รายละเอียด รอยละ 1-19 4-4.1-1 วารสารวิชาการวิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก


องคประกอบที่ 5 การบริการวิชาการแกสังคม

ตัวบงชี้ที่ 5.1 มีระบบและกลไกในการบริการทางวิชาการแกสังคมตามเปาหมายของสถาบัน ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ เกณฑมาตรฐาน : ระดับ เกณฑมาตรฐาน

มี

ไมมี

1. มีการจัดทํานโยบาย แผนกลยุทธ และแผนดําเนินงานของ การบริการวิชาการแกสังคม 2. มีคณะกรรมการ คณะทํางานหรือหนวยงานดําเนินการใหบริการ วิชาการแกสังคมตามแผนที่กําหนด 3. มีการกําหนดหลักเกณฑและหรือระเบียบในการใหบริการวิชาการ แกสังคม 4. มีการประเมินผลการปฏิบัติงานตามแผนที่กําหนด 5. มีการนําผลการประเมินไปปรับปรุงการบริการวิชาการแกสังคม 6. มีการจัดทําแผนการเชื่อมโยงและบูรณาการการบริการทางวิชาการ แกสังคมเขากับการเรียนการสอน หรือการวิจัย หรือการทํานุบํารุง ศิลปวัฒนธรรม 7. มีการประเมินสัมฤทธิผลและนําผลการประเมินไปพิจารณา ปรับปรุงความเชื่อมโยงและบูรณาการระหวางการบริการวิชาการ แกสังคมกับภารกิจอื่น ๆ ของสถาบัน

-

เอกสาร หมายเลข 5-5.1-1

-

5-5.1-2

-

5-5.1-2

  -

5-5.1-4 5-5.1-5 -

-

-

เกณฑการประเมิน : 1. เกณฑทั่วไป คะแนน 1 มีการดําเนินการไมครบ 3 ขอแรก

คะแนน 2 มีการดําเนินการ 3-4 ขอแรก

คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2551

คะแนน 3 มีการดําเนินการอยางนอย 5 ขอแรก : :

ระดับ 5 ระดับ 5


ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2551 วิทยาลัยมีผลการดําเนินงานผานระดับ 5 ดังนี้ เกณฑ การดําเนินงานในแตละระดับ ระดับ 1 มีการจัดทํานโยบาย แผนกลยุทธ และแผนดําเนินงานของการบริการวิชาการแกสังคม (5-5.1-1) ระดับ 2 มีหนวยงานดําเนินการ โดยมีฝายฝกอบรมและบริการทางวิชาการ สํานักวิชาการ ทําหนาที่ รับผิดชอบการดําเนินการใหบริการทางวิชาการแกสังคม ตามที่ระบุไวในแผน (5-5.1-2) ระดับ 3 มีการกําหนดหลักเกณฑในการใหบริการทางวิชาการแกสังคม ไดแก แนวปฎิบัติในการ ใหบริการทางวิชาการแกสังคม (5-5.1-2) ระดับ 4 มีการประเมินผลการปฎิบัติงานตามแผนที่กําหนด โดยการประเมินผลงาน โครงการ ใหบริการทางวิชาการแกสังคมทุกโครงการ โดยเปรียบเทียบกับแผนที่กําหนดไว (5-5.1-4) ระดับ 5 มีการนําผลการประเมินไปปรับปรุงการบริการทางวิชาการแกสังคม (5-5.1-5) การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 3 คะแนน

การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย

รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ชื่อเอกสาร/รายละเอียด ระดับ 1 5-5.1-1 วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก แผนยุทธศาสตร พ.ศ. 2548 – 2552 ระดับ 2 5-5.1-2 แนวปฎิบัติและแผนดําเนินการ ฝายฝกอบรมและบริการทาง วิชาการ ปการศึกษา 2551 ระดับ 3 5-5.1-2 แนวปฎิบัติและแผนดําเนินการ ฝายฝกอบรมและบริการทาง วิชาการ ปการศึกษา 2551 ระดับ 4 5-5.1-4 แบบประเมินผลการปฎิบัติงาน ระดับ 5 5-5.1-5 รายงานการนําผลประเมินไปปรับปรุงการใหบริการทางวิชาการ


ตัวบงชี้ที่ 5.2 รอยละของอาจารยประจําที่มีสวนรวมในการใหบริการทางวิชาการแกสังคม เปนที่ปรึกษา เปนกรรมการวิทยานิพนธภายนอกสถาบัน เปนกรรมการวิชาการ กรรมการวิชาชีพใน ระดับชาติหรือระดับนานาชาติตออาจารยประจํา ชนิดของตัวบงชี้ : ปจจัยนําเขา เกณฑการประเมิน : 1. เกณฑทั่วไป คะแนน 1 อยูระหวางรอยละ 1- รอยละ 14

คะแนน 2 รอยละ 15- รอยละ 24

คะแนน 3 มากกวาหรือเทากับรอยละ 25 : :

คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2551

รอยละ 15 รอยละ 10

ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2551 รอยละของอาจารยประจําที่มีสวนรวมในการใหบริการทางวิชาการแกสังคม เปนที่ปรึกษา เปนกรรมการวิทยานิพนธภายนอกสถาบัน เปนกรรมการวิชาการ กรรมการวิชาชีพใน ระดับชาติ หรือระดับนานาชาติ ตออาจารยประจําเทากับรอยละ 10 การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 1 คะแนน

การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย ไมบรรลุเปาหมาย

รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ชื่อเอกสาร/รายละเอียด รอยละ 15-24 5-5.2-1 รายชื่ออาจารยที่มีสวนรวมในการใหบริการทางวิชาการแกสังคม ตัวบงชี้ที่ 5.3 รอยละของกิจกรรมหรือโครงการบริการวิชาการและวิชาชีพที่ตอบสนองความตองการพัฒนา และเสริมสรางความเขมแข็งของสังคม ชุมชน ประเทศชาติและนานาชาติตออาจารยประจํา ชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิต เกณฑการประเมิน : 1. เกณฑทั่วไป คะแนน 1 อยูระหวางรอยละ 1- รอยละ 19

คะแนน 2 รอยละ 20- รอยละ 29

คะแนน 3 มากกวาหรือเทากับรอยละ 30


: :

คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2551 ผลการดําเนินงาน คณะ บริหารธุรกิจ นิติศาสตร ศิลปศาสตร วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี บัณฑิตวิทยาลัย รวม

จํานวนโครงการทางวิชาการ 8 2 3 2 3 18

การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 2 คะแนน

รอยละ 20 รอยละ 20

จํานวนอาจารยประจํา 61 5 5 5 15 91

รอยละ 13 40 60 40 20 20

การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย

รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ชื่อเอกสาร/รายละเอียด รอยละ 20 5-5.3-1 สรุปโครงการและกิจกรรมบริการวิชาการแกสังคม ประจําปการศึกษา 2551 ตัวบงชี้ที่ 5.4 รอยละของระดับความพึงพอใจของผูรับบริการ ชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิต เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 รอยละ 65- รอยละ 74 คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2551

คะแนน 2 รอยละ 75- รอยละ 84

คะแนน 3 มากกวาหรือเทากับรอยละ 85 : :

รอยละ 85 รอยละ 86


ขอมูลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2551 โครงการบริการทางวิชาการของวิทยาลัย มีรอยละของระดับความพึงพอใจ ของผูรับบริการ คิดเปนรอยละ 86.8 คณะ บริหารธุรกิจ นิติศาสตร ศิลปศาสตร วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี บัณฑิตวิทยาลัย รวม การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 3 คะแนน

ความพึงพอใจของผูรับบริการ (รอยละ) 88 87 89 85 85 86.8

การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย

รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ชื่อเอกสาร/รายละเอียด รอยละ 86 5-5.4-1 สรุปความพึงพอใจของผูรับบริการทางวิชาการของวิทยาลัย ประจําปการศึกษา 2551


องคประกอบที่ 6 การทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม

ตัวบงชี้ที่ 6.1 มีระบบและกลไกในการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ เกณฑมาตรฐาน : ระดับ เกณฑมาตรฐาน

มี

ไมมี

1. มีการกําหนดนโยบายที่ชัดเจนปฏิบัติได และมีแผนงานรองรับ 2. มีการกําหนดกิจกรรมหรือโครงการที่เปนประโยชนสอดคลองกับ แผนงาน และมีการดําเนินกิจกรรมอยางตอเนื่อง 3. มีการบูรณาการงานดานทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมกับภารกิจ ดานอื่น ๆ 4. มีการสงเสริมการดําเนินงานดานศิลปวัฒนธรรมทั้งในระดับชาติ และนานาชาติ อาทิ การจัดทําฐานขอมูลดานศิลปวัฒนธรรม การสรางบรรยากาศศิลปะและวัฒนธรรม การจัดกิจกรรม ประชุม เสวนาทางวิชาการ การจัดสรรงบประมาณสนับสนุนอยางพอเพียง และตอเนื่อง 5. มีการกําหนดหรือสรางมาตรฐานดานศิลปวัฒนธรรม โดย ผูเชี่ยวชาญ และมีผลงานเปนที่ยอมรับในระดับชาติหรือนานาชาติ 6. มีการเผยแพรและบริการดานศิลปวัฒนธรรมในระดับชาติและ นานาชาติ อาทิ มีสถานที่หรือเวทีแสดงผลงาน จัดทําวารสาร ศิลปวัฒนธรรมในระดับตาง ๆ มีความรวมมือในการใหการบริการ วิชาการดานศิลปวัฒนธรรมกับสังคมในระดับตาง ๆ

 

-

เอกสาร หมายเลข 6-6.1-1 6-6.1-2

-

6-6.1-3

-

6-6.1-4

-

-

-

-

เกณฑการประเมิน : 1. เกณฑเฉพาะสถาบันที่เนนการผลิตบัณฑิตและพัฒนาศิลปวัฒนธรรม คะแนน 1 มีการดําเนินการไมครบ 4 ขอแรก

คะแนน 2 มีการดําเนินการ 4-5 ขอแรก

คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2551

คะแนน 3 มีการดําเนินการครบทุกขอ : :

ระดับ 4 ระดับ 4


ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2551 วิทยาลัยมีผลการดําเนินงานผานระดับ 4 ดังนี้ เกณฑ การดําเนินงานในแตละระดับ ระดับ 1 มีการกําหนดนโยบายที่ชัดเจน ในการดําเนินภารกิจดานการสงเสริมศิลปวัฒนธรรม เชน การกําหนดแนวปฎิบตั แิ ละแผนการดําเนินงานของศูนยศลิ ปวัฒนธรรม สํานักกิจการ นักศึกษาและกิจการพิเศษ (6-6.1-1) ระดับ 2 มีการจัดโครงการหรือกิจกรรมสงเสริมศิลปวัฒนธรรมอยางตอเนื่อง (6-6.1-2) ระดับ 3 มีการบูรณาการงานทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมกับภารกิจดานการพัฒนานักศึกษา ไดแก คายเรียนรูคุณธรรมนําชีวิตพอเพียง มีการสอดแทรกกิจกรรมทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม ใหเปนสวนหนึ่งของกิจกรรมการเรียนรู (6-6.1-3) ระดับ 4 มีการสงเสริมการดําเนินงานดานศิลปวัฒนธรรมในระดับชาติ โดยการเขารวมในกิจกรรม ตางๆ อยางสม่ําเสมอ เชน โครงการดนตรีไทยอุมศึกษาครั้งที่ 36 (6-6.1-4/1) มีการจัดทํา ฐานขอมูลดานศิลปวัฒนธรรมกรุงเทพอุษาคเนย โดยเริ่มตนในรูปแบบของจุลสาร ศิลปวัฒนธรรม (6-6.1-4/2) มีการสรางบรรยากาศดานศิลปวัฒนธรรม ดานการรณรงค ใหบคุ ลากรแตงกายดวยผาไทยในทุกวันพฤหัสบดี (6-6.1-4/3)

การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 2 คะแนน

การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย

รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ชื่อเอกสาร/รายละเอียด ระดับ 1 6-6.1-1 แนวปฎิบัติและแผนการดําเนินงาน ศูนยศิลปวัฒนธรรม สํานักกิจการนักศึกษาและกิจการพิเศษ ปการศึกษา 2551 ระดับ 2 6-6.1-2 สรุปผลการดําเนินงานดานการสงเสริมศิลปะและวัฒนธรรม ปการศึกษา 2551 ระดับ 3 6-6.1-3 โครงการคายเรียนรูคุณธรรม นําชีวิตพอเพียง ป 2551 โครงการดนตรีไทยอุดมศึกษา ครั้งที่ 36 ระดับ 4 6-6.1-4/1 โครงการศิลปวัฒนธรรมกรุงเทพอุษาคเนย 6-6.1-4/2 โครงการอนุรักษวัฒนธรรมการแตงกายดวยผาไทย 6-6.1-4/3


** ตัวบงชี้ที่ 6.2 มีผลงานหรือชิ้นงานการพัฒนาองคความรู และสรางมาตรฐานศิลปวัฒนธรรม (เฉพาะสถาบันที่เนนการผลิตบัณฑิตและพัฒนาศิลปวัฒนธรรม) ชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิต เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 จํานวน 1 ผลงาน

คะแนน 2 จํานวน 2 ผลงาน

คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2551

คะแนน 3 จํานวนมากกวาหรือเทากับ 3 ผลงาน : :

1 ผลงาน 1 ผลงาน

ผลการดําเนินงาน มีการดําเนินการฟนฟู อนุรักษ สืบสาน เผยแพรวัฒนธรรมอาหารทองถิ่น “ขนมตึงตัง ” ซึ่งสูญหายไปกวา 50 ปแลว ใหกลับมาเปนที่รูจักของชุมชนบางนาอีกครั้งหนึ่ง โดยเปนหนึ่งในโครงการ อนุรักษ สืบสาน ภูมิปญญาบรรพชนทองถิ่น การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 1 คะแนน

การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย

รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ชื่อเอกสาร/รายละเอียด จํานวนผลงาน 6-6.2-1/1 สูจิบัตรโครงการฟนฟู อนุรักษ สืบสาน เผยแพรวัฒนธรรมอาหาร 1 ผลงาน ทองถิ่น “ขนมตึงตัง” 6-6.2-1/2 รายงานผลการดําเนินงานโครงการเผยแพรวัฒนธรรมอาหาร ทองถิ่นบางนา “ขนมตึงตัง”


** ตัวบงชี้ที่ 6.3 ประสิทธิผลในการอนุรักษ พัฒนาและสรางเสริมเอกลักษณศิลปวัฒนธรรม (เฉพาะสถาบันที่เนนการผลิตบัณฑิตและพัฒนาศิลปวัฒนธรรม) ชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิต เกณฑมาตรฐาน : ระดับ เกณฑมาตรฐาน

มี

ไมมี

1. มีแผนหรือโครงการเพื่อการอนุรักษ พัฒนาและเสริมสราง เอกลักษณศิลปวัฒนธรรม 2. มีการดําเนินการตามแผนหรือโครงการที่กําหนด 3. มีการบูรณาการงานดานทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมเขากับพันธกิจอื่น อีก 1 ดาน อยางนอย 1 โครงการ 4. มีการบูรณาการงานดานทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมเขากับพันธกิจอื่น อีก 2 ดาน อยางนอย 1 โครงการ 5. มีการบูรณาการงานดานทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมเขากับพันธกิจอื่น อีกมากกวาหรือเทากับ 2 ดาน และมีการนําศิลปวัฒนธรรมหรือ ภูมิปญญาไทยออกเผยแพรในระดับสากล อยางนอย 1 โครงการ

-

เอกสาร หมายเลข 6-6.3-1

 

-

6-6.3-2 6-6.3-3

-

-

-

-

เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 มีการดําเนินการไมครบ 3 ขอแรก คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2551

คะแนน 2 มีการดําเนินการ 3 ขอแรก

คะแนน 3 มีการดําเนินการอยางนอย 4 ขอแรก : :

ระดับ 3 ระดับ 3

ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2551 วิทยาลัยมีผลการดําเนินงานผานเกณฑระดับ 3 ดังนี้ เกณฑ การดําเนินงานในแตละระดับ ระดับ 1 มีแผนหรือโครงการเพื่อการอนุรักษพัฒนาและสงเสริมเอกลักษณศิลปวัฒนธรรม โดยบรรจุไวใน แนวปฎิบัติและแผนการดําเนินงานประจําป เชน โครงการลอยกระทงสืบสานวัฒนธรรม (6-6.3-1) ระดับ 2 มีการดําเนินการตามแผนและโครงการที่กําหนด (6-6.3-2) ระดับ 3 มีการบูรณาการงานดานศิลปวัฒนธรรมเขากับพันธกิจ ดานการเรียนการสอน ไดแก โครงการ นาฎศิลปไทย กับวิชาภูมิปญญาทองถิ่น (6-6.3-3)


การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 2 คะแนน

การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย

รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ชื่อเอกสาร/รายละเอียด ระดับ 1 6-6.3-1 แนวปฎิบัติและแผนการดําเนินงาน ปการศึกษา 2551 ศูนยศิลปวัฒนธรรม สํานักกิจการนักศึกษาและกิจการพิเศษ ระดับ 2 6-6.3-2 สรุปโครงการเพื่อการอนุรักษพัฒนาและเสริมสรางเอกลักษณ ศิลปวัฒนธรรม ปการศึกษา 2551 ระดับ 3 6-6.3-3 โครงการเปดรับนักศึกษาและผูสนใจเขาเรียนและฝกซอม นาฎศิลปไทย


องคประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการ

ตัวบงชี้ที่ 7.1 สภาสถาบันใชหลักธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการและสามารถผลักดันสถาบันใหแขงขันได ในระดับสากล ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ เกณฑมาตรฐาน : ขอ เอกสาร เกณฑมาตรฐาน มี ไมมี หมายเลข  1. สภาสถาบันมีบทบาทสําคัญในการกําหนดทิศทาง ยุทธศาสตรและ 7-7.1-1 นโยบายของสถาบัน  7-7.1-2/1 2. สภาสถาบันมีการติดตามผลการดําเนินงานตามภารกิจหลักของ 7-7.1-2/2 สถาบันมากกวาปละ 2 ครั้ง 7-7.1-2/3  3. มีการประชุมกรรมการสภาสถาบันอยางต่ํารอยละ 80 ของแผน 7-7.1-3 ในการประชุมแตละครั้งมีกรรมการเขารวมโดยเฉลี่ยไมนอยกวา รอยละ 80 โดยมีการสงเอกสารใหกรรมการสภาสถาบันอยางนอย 7 วันกอนการประชุม  4. สภาสถาบันจัดใหมีการประเมินผลงานของอธิการบดีหรือผูบริหาร 7-7.1-4 สูงสุดตามหลักเกณฑที่ตกลงกันไวลวงหนา  7-7.1-5 5. สภาสถาบันมีการดําเนินงานโดยใชหลักธรรมาภิบาลและสงเสริม การบริหารงานโดยใชหลักธรรมาภิบาลทั่วทั้งองคกร เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 มีการดําเนินการไมครบ 4 ขอ คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2551

คะแนน 2 มีการดําเนินการ 4 ขอ

คะแนน 3 มีการดําเนินการครบทุกขอ : :

5 ขอ 5 ขอ


ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2551 วิทยาลัยมีผลการดําเนินงาน 5 ขอ ดังนี้ เกณฑ การดําเนินงานในแตละขอ ขอ 1 คณะกรรมการสภาวิทยาลัยมีบทบาทสําคัญในการกําหนดทิศทาง ยุทธศาสตรและนโยบาย ของวิทยาลัย โดยมีสว นรวมในการใหขอ เสนอแนะ และพิจารณาใหความเห็นชอบแผน ยุทธศาสตร พ.ศ. 2548 – 2552 ของวิทยาลัย (7-7.1-1) ขอ 2 คณะกรรมการสภาวิทยาลัยมีการติดตามผลการดําเนินงานตามภารกิจหลักของวิทยาลัย มากกวาปละ 2 ครั้ง โดยในการประชุมแตละครั้ง ฝายบริหารจะรายงานการดําเนินงานตาม ภารกิจหลักของวิทยาลัยทุกครั้ง (7-7.1-2/1) (7-7.1-2/2) (7-7.1-2/3) ขอ 3 มีการประชุมกรรมการสภาวิทยาลัย จํานวน 4 ครั้ง ตามที่กําหนดไวในแผนการประชุม โดย มีกรรมการเขารวมประชุมเฉลี่ยไมนอยกวารอยละ 80 โดยมีการจัดสงเอกสาร อยางนอย 7 วัน กอนการประชุม (7-7.1-3) ขอ 4 สภาวิทยาลัยจัดใหมีการประเมินผลงานของอธิการบดี ตามหลักเกณฑที่ตกลงไวลวงหนา (7-7.1-4) ขอ 5 สภาวิทยาลัยมีการดําเนินงานโดยใชหลักธรรมาภิบาล และสงเสริมการบริหารงาน โดยใช หลักธรรมาภิบาลทั่วทั้งองคกร (7-7.1-5) การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 3 คะแนน

การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย

รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ชื่อเอกสาร/รายละเอียด ขอ 1 7-7.1-1 รายงานการประชุมสภาวิทยาลัย พิจารณาใหขอเสนอแนะ และให ความเห็นชอบแผนยุทธศาสตร 5 ป ของวิทยาลัย (การประชุมสภา ครั้งที่ 2/2548) ขอ 2 7-7.1-2/1 รายงานการประชุมสภา ครั้งที่ 2/2551 7-7.1-2/2 รายงานการประชุมสภา ครั้งที่ 3/2551 7-7.1-2/3 รายงานการประชุมสภา ครั้งที่ 4/2551 ขอ 3 7-7.1-3 สรุปรายงานกรรมการที่เขารวมประชุมสภาและลายเซ็นตเขารวม ประชุมประจําป พ.ศ. 2551 ขอ 4 7-7.1-4 เกณฑประเมินผลการปฎิบัติงานบุคลากร (อธิการบดี) ขอ 5 7-7.1-5 สรุปรายงานผลการดําเนินงานของสภาวิทยาลัยประจําป พ.ศ. 2551


ตัวบงชี้ที่ 7.2 ภาวะผูนําของผูบริหารทุกระดับของสถาบัน ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ เกณฑมาตรฐาน : ระดับ เกณฑมาตรฐาน

มี

ไมมี

1. มีกระบวนการสรรหาผูบริหารที่เปนระบบ โปรงใส ตรวจสอบได

-

2. ผูบริหารดําเนินการบริหารดวยหลักธรรมาภิบาลและใชศักยภาพ

-

-

-

ภาวะผูนําที่มีอยูโดยคํานึงถึงประโยชนของสถาบันและผูมีสวนได สวนเสีย 3. มีกระบวนการประเมินศักยภาพและผลการปฏิบัติงานของผูบริหาร ที่ชัดเจนและเปนที่ยอมรับในสถาบัน 4. มีการจัดทําแผนและกลไกการพัฒนาศักยภาพของผูบริหารตามผล การประเมิน และดําเนินการตามแผนอยางครบถวน

เอกสาร หมายเลข 7-7.2-1/1 7-7.2-1/2 7-7.2-1/3 7-7.2-2

7-7.2-3/1 7-7.2-3/2 7-7.2-4

เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 มีการดําเนินการไมครบ 3 ขอแรก คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2551

คะแนน 2 มีการดําเนินการ 3 ขอแรก

คะแนน 3 มีการดําเนินการครบทุกขอ : :

ระดับ 4 ระดับ 4

ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2551 วิทยาลัยมีผลการดําเนินงานผานระดับ 4 ดังนี้ เกณฑ การดําเนินงานในแตละระดับ ระดับ 1 มีกระบวนการสรรหาผูบริหารที่เปนระบบ โปรงใส ตรวจสอบได โดยมีการแตงตั้ง คณะกรรมการสรรหาและคัดเลือก (7-7.2-1/1) มีแบบฟอรมการพิจารณา (7-7.2-1/2) และปฎิบัติตามระเบียบฯ วาดวยการบริหารงานบุคคลของวิทยาลัยอยางเครงครัด (7-7.2-1/3) ระดับ 2 ผูบริหารดําเนินการบริหารดวยหลักธรรมาภิบาล และใชศักยภาพภาวะผูนําที่มีอยูโดย คํานึงถึงประโยชนของสถาบันและผูมีสวนไดสวนเสีย (7-7.2-2)


ระดับ 3

ระดับ 4

มีกระบวนการประเมินผลศักยภาพ และผลการปฎิบัติงานของผูบริหารที่ชัดเจน และเปนที่ ยอมรับในสถาบัน (7-7.2-3/1) โดยมีคณะกรรมการประเมินผลการปฎิบัติงาน (7-7.2-3/2) และมีการรายงานผลใหอธิการบดีรับทราบ และใหผลปอนกลับแกผูถูกประเมินเพื่อพัฒนา ตนเอง มีการจัดทําแผนและกลไกการพัฒนาศักยภาพของผูบริหาร ตามผลการประเมินและ ดําเนินการตามแผนอยางครบถวน (7-7.2-4)

การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 3 คะแนน รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน ระดับ 1

ระดับ 2 ระดับ 3

ระดับ 4

เอกสาร หมายเลข 7-7.2-1/1 7-7.2-1/2 7-7.2-1/3 7-7.2-2 7-7.2-3/1 7-7.2-3/2 7-7.2-4

การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย

ชื่อเอกสาร/รายละเอียด คําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการสรรหาและคัดเลือก แบบฟอรมพิจารณาคุณสมบัติ และการสัมภาษณบุคลากร ระเบียบฯ วาดวยการบริหารงานบุคคลในวิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก เอกสารประกอบการประชุมเตรียมความพรอม ปการศึกษา 2551 รายงานผลการปฎิบัติงานของบุคลากร ประจําปการศึกษา 2551 คําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการประเมินผลการปฎิบัติงาน ประจําป การศึกษา 2551 แผนพัฒนาอาจารย วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก


ตัวบงชี้ที่ 7.3 มีการพัฒนาสถาบันสูองคการเรียนรู ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ เกณฑมาตรฐาน : ระดับ เกณฑมาตรฐาน 1. มีการทบทวนและจัดทําแผนการจัดการความรู เพื่อมุงสูองคกรแหง การเรียนรูและประชาสัมพันธเผยแพรใหประชาคมของสถาบันรับทราบ 2. มีการดําเนินการตามแผนจัดการความรูและประสบความสําเร็จตาม เปาหมายไมนอยกวารอยละ 50 3. มีการดําเนินการตามแผนจัดการความรูและประสบความสําเร็จตาม เปาหมายรอยละ 100 4. มีการติดตามประเมินผลความสําเร็จของการจัดการความรู 5. มีการนําผลการประเมินไปปรับใชในการพัฒนากระบวนการ จัดการความรูใหเปนสวนหนึ่งของกระบวนงานปกติและปรับปรุง แผนการจัดการความรู

มี

ไมมี

-

เอกสาร หมายเลข 7-7.3-1

-

-

-

-

-

 

-

เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 มีการดําเนินการไมครบ 3 ขอแรก คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2551

คะแนน 2 มีการดําเนินการ 3 ขอแรก

คะแนน 3 มีการดําเนินการอยางนอย 4 ขอแรก : :

ระดับ 3 ระดับ 1

ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2551 วิทยาลัยมีผลการดําเนินงานผานเกณฑระดับ 1 ดังนี้ เกณฑ การดําเนินงานในแตละระดับ ระดับ 1 มีการทบทวนและจัดทําแผนการจัดการความรู เพื่อมุงสูองคกรแหงการเรียนรู และ ประชาสัมพันธเผยแพรใหประชาคมของวิทยาลัยทราบ โดยมีระบบในการรวบรวมความรู จากการอบรม การประชุมสัมมนา มีการเผยแพรความรูโดยใชเอกสาร/จุลสาร และ เทคโนโลยีสารสนเทศ (ผานโปรแกรม Microsoft Outlook และ เว็บไซตของวิทยาลัย)


การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 1 คะแนน

การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย ไมบรรลุเปาหมาย

รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ชื่อเอกสาร/รายละเอียด ระดับ 1 7-7.3-1 แผนการจัดการความรู วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก ปการศึกษา 2551 ตัวบงชี้ที่ 7.4 มีระบบและกลไกในการบริหารทรัพยากรบุคคลเพื่อพัฒนาและธํารงรักษาไวใหบุคลากรมี คุณภาพและประสิทธิภาพ ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ เกณฑมาตรฐาน : ระดับ เอกสาร เกณฑมาตรฐาน มี ไมมี หมายเลข  1. มีการจัดทําแผนการบริหารทรัพยากรบุคคลที่เปนรูปธรรม ภายใต 7-7.4-1 การวิเคราะหขอมูลเชิงประจักษ  2. มีระบบและกลไกในการบริหารทรัพยากรบุคคลที่เปนการสงเสริม 7-7.4-2/1 สมรรถนะในการปฏิบัติงาน เชน การสรรหา การจัดวางคนลง 7-7.4-2/2 ตําแหนง การกําหนดเสนทางเดินของตําแหนง การสนับสนุน 7-7.4-2/3 เขารวมประชุม ฝกอบรมและหรือเสนอผลงานทางวิชาการ การประเมินผลการปฏิบัติงาน มาตรการสรางขวัญกําลังใจ มาตรการลงโทษ รวมทั้งการพัฒนา และรักษาบุคลากรที่มีคุณภาพ  3. มีระบบสวัสดิการและเสริมสรางสุขภาพที่ดี และสรางบรรยากาศ 7-7.4-3 ที่ดีใหบุคลากรทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพและอยูอยางมีความสุข  4. มีระบบสงเสริมสนับสนุนบุคลากรที่มีศักยภาพสูงใหมีโอกาส 7-7.4-4 ประสบความสําเร็จและกาวหนาในอาชีพอยางรวดเร็วตามสายงาน  5. มีการประเมินความพึงพอใจของบุคลากรทุกระดับอยางเปนระบบ  6. มีการนําผลการประเมินความพึงพอใจเสนอผูบริหารระดับสูง และ มีแนวทางในการปรับปรุงพัฒนาเพื่อใหดีขึ้น


เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 มีการดําเนินการไมครบ 3 ขอแรก มีการดําเนินการ 3- 4 ขอแรก คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2551

คะแนน 3 มีการดําเนินการอยางนอย 5 ขอแรก : :

ระดับ 4 ระดับ 4

ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2551 วิทยาลัยมีผลการดําเนินงานผานเกณฑระดับ 4 ดังนี้ เกณฑ การดําเนินงานในแตละระดับ ระดับ 1 มีการจัดทําแผนการบริหารทรัพยากรบุคคลที่เปนรูปธรรม ภายใตการวิเคราะหขอมูล เชิงประจักษ ไดแก การจัดทําแผนพัฒนาอาจารยและบุคลากร (7-7.4-1) ระดับ 2 มีระบบและกลไกการบริหารทรัพยากรบุคคลที่เปนการสงเสริมสมรรถนะในการ ปฎิบัติงาน เชน การสรรหา การกําหนดตําแหนง (7-7.4-2/1) การสนับสนุนใหเขารวม อบรม ประชุม สัมมนา และ/หรือเสนอผลงาน (7-7.4-2/2) การประเมินผลการปฎิบัติงาน การสรางขวัญกําลังใจ มาตรการลงโทษ รวมทั้งการพัฒนาและรักษาบุคลากรที่มีคุณภาพ (7-7.4-2/3) ระดับ 3 มีระบบสวัสดิการและเสริมสรางสุขภาพที่ดี และสรางบรรยากาศที่ดีใหบุคลากรทํางานได อยางมีประสิทธิภาพและอยูอยางมีความสุข มีสวัสดิการตามที่ระบุไวใน ระเบียบฯ วาดวย การบริหารงานบุคคล ในวิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก (7-7.4-3) ระดับ 4 มีระบบสงเสริมสนับสนุนบุคลากรที่มีศักยภาพสูงใหมีโอกาสประสบความสําเร็จและ กาวหนาในอาชีพอยางรวดเร็ว โดยการสงเสริมใหลาศึกษาตอ การใหทุนเพื่อการศึกษาตอ (7-7.4-4) การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 2 คะแนน

การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย


รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ชื่อเอกสาร/รายละเอียด ระดับ 1 7-7.4-1 แผนยุทธศาสตร วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก พ.ศ. 2548-2552 ระดับ 2 7-7.4-2/1 แนวปฎิบัติและแผนการดําเนินงาน ฝายบุคคล สํานักอธิการบดี ปการศึกษา 2551 สรุปการเขารวมประชุม ฝกอบรม ของคณาจารยและเจาหนาที่ 7-7.4-2/2 ปการศึกษา 2551 สรุปรายงานการประเมินผลการปฎิบัติงานของคณาจารย เจาหนาที่ 7-7.4-2/3 ปการศึกษา 2551 ระดับ 3 7-7.4-3 ระเบียบฯ วาดวยการบริหารงานบุคคลในวิทยาลัยเซาธอีสท บางกอก ระดับ 4 7-7.4-4 รายการลาศึกษาตอ และการใหทุนเพื่อการศึกษาตอ ตัวบงชี้ที่ 7.5 ศักยภาพของระบบฐานขอมูลเพื่อการบริหาร การเรียนการสอน และการวิจัย ชนิดของตัวบงชี้ : ปจจัยนําเขา เกณฑมาตรฐาน : ระดับ เกณฑมาตรฐาน

มี

ไมมี

1. มีนโยบายในการจัดทําระบบฐานขอมูลเพื่อการตัดสินใจ 2. มีระบบฐานขอมูลเพื่อการตัดสินใจ 3. มีการประเมินประสิทธิภาพ และความปลอดภัยของระบบฐานขอมูล 4. มีการประเมินความพึงพอใจของผูใชฐานขอมูล 5. มีการนําผลการประเมินในขอ 3 และ 4 มาปรับปรุงระบบฐานขอมูล 6. มีการเชื่อมโยงระบบฐานขอมูลของสถาบันผานระบบเครือขายกับ สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาตามรูปแบบมาตรฐานที่ กําหนด

   -

  

เอกสาร หมายเลข 7-7.5-1 7-7.5-2 7-7.5-3 -

เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 มีการดําเนินการไมครบ 2 ขอแรก คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2551

คะแนน 2 มีการดําเนินการ 2 ขอแรก

คะแนน 3 มีการดําเนินการอยางนอย 3 ขอแรก : :

ระดับ 3 ระดับ 3


ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2551 วิทยาลัยมีผลการดําเนินงานผานเกณฑระดับ 3 ดังนี้ เกณฑ การดําเนินงานในแตละระดับ ระดับ 1 วิทยาลัยมีนโยบายในการจัดทําระบบฐานขอมูลเพื่อการตัดสินใจ โดยจัดทําฐานขอมูล ใหตรงกับความตองการของผูใชมากที่สุด (7-7.5-1) ระดับ 2 วิทยาลัย มีการจัดซื้อและพัฒนาระบบซอฟตแวรเพื่อสนับสนุนดานการเรียนการสอน ดานการบริหารจัดการ และดานการใหบริการ โดยแบงเปนระบบตางๆ ดังนี้ 1. ระบบบริการการศึกษา ประกอบดวย ระบบยอย ดังนี้ 1.1 ระบบฐานขอมูลพื้นฐาน 1.2 ระบบงานทะเบียน ประวัตินักศึกษา 1.3 ระบบงานทะเบียนอาจารยและเจาหนาที่ 1.4 ระบบงานกําหนด และรับรายงานตัวนักศึกษาใหม 1.5 ระบบกําหนดตารางเรียน ตารางสอน และตารางสอบ 1.6 ระบบรับลงทะเบียนนักศึกษา 1.7 ระบบงานใบรับรอง 1.8 ระบบงานวัดผลและประมวลผล 1.9 ระบบงานสําเร็จการศึกษา 1.10 ระบบงานบริการผานทาง web site (1) สําหรับนักศึกษา อาจารย และบุคคลทั่วไป (2) สําหรับผูบริการ 2. ระบบงบประมาณ การเงิน และบัญชี 2.1 ระบบงบประมาณการเงิน 2.2 ระบบบัญชี Express 3. ระบบงานบุคลากร 3.1 ระบบฐานขอมูลบุคลากร 4. ระบบอิเล็กทรอนิกสเมล 5. ระบบฐานขอมูลหองสมุดออนไลน (7-7.5-2)


ระดับ 3

1. ติดตั้งระบบไฟฟาสํารองและระบบการจายไฟฟาสํารอง เพื่อใหระบบมีความมั่นคงและ มีเสถียรภาพสูง เมื่อเกิดปญหาไฟฟาดับ เครื่องคอมพิวเตอรแมขายยังสามารถทํางานได เปนปกติ และระบบฐานขอมูลตางๆ สามารถทํางานไดตามปกติ 2. มีการกําหนดรหัสหรือการกําหนดสิทธิ์ในการเขาถึงขอมูล ของระบบฐานขอมูลตางๆ สําหรับผูปฎิบัติงานในแตละระดับ 3. ดําเนินการติดตั้งอุปกรณ Firewall และ IDS/IPS เพื่อปองกันการใชเครือขายอินเทอรเน็ต อยางผิดประเภท และสรางระบบตรวจจับและปองกันการบุกรุก จากบุคคลที่ ประสงคราย 4. ดําเนินการติดตั้ง Radius Server ดวยโปรแกรม Internet Authentication Service (IAS) ของบริษัทไมโครซอฟต เพื่อใชสําหรับตรวจสอบ และระบุตัวตนพรอมทั้งกําหนดสิทธิ์ ในการใชงานและจัดเก็บล็อคไฟลตาม พรบ. คอมพิวเตอร ป 2550 (7-7.5-3)

การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 3 คะแนน

การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย

รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ชื่อเอกสาร/รายละเอียด ระดับ 1 7-7.5-1 รายงานการประชุมคณะผูบริหารวิทยาลัย และการอนุมัติโครงการ พัฒนาระบบสารสนเทศของวิทยาลัย ระดับ 2 7-7.5-2 คูมือการใชงานระบบฐานขอมูลตางๆ ของวิทยาลัย ระดับ 3 7-7.5-3 รายงานการประเมินตนเอง ปการศึกษา 2551 ฝายบริการเทคโนโลยีสารสนเทศ


ตัวบงชี้ที่ 7.6 ระดับความสําเร็จในการเปดโอกาสใหบุคคลภายนอกเขามามีสวนรวมในการพัฒนา สถาบันอุดมศึกษา ชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิต เกณฑมาตรฐาน : ระดับ เกณฑมาตรฐาน

มี

ไมมี

1. มีการเปดเผยขอมูลขาวสารแกประชาชนอยางโปรงใส ผานชองทาง ตาง ๆ อาทิ เอกสารสิ่งพิมพ เว็บไซต นิทรรศการ 2. มีระบบการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนผานชองทางที่เปดเผย และเปนที่รับรูกันโดยทั่วอยางนอย 3 ชองทาง 3. มีการนําความคิดเห็นของประชาชนไปประกอบการบริหารงาน โดยมีเจาหนาที่รับผิดชอบและมีการดําเนินงานอยางเปนรูปธรรม 4. มีที่ปรึกษาที่มาจากภาคประชาชน ทั้งที่เปนทางการและไมเปน ทางการ และมีการดําเนินกิจกรรมรวมกันอยางตอเนื่องและชัดเจน เชน จัดประชุมรวมกันอยางนอยปละ 2 ครั้ง 5. มีกระบวนการหรือกลไกการติดตามตรวจสอบโดยภาคประชาชน

-

เอกสาร หมายเลข 7-7.6-1

-

7-7.6-2

-

7-7.6-3

-

-

-

-

เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 มีการดําเนินการไมครบ 3 ขอแรก มีการดําเนินการ 3- 4 ขอแรก คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2551

คะแนน 3 มีการดําเนินการครบทุกขอ : :

ระดับ 3 ระดับ 3

ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2551 วิทยาลัยมีผลการดําเนินงานผานเกณฑระดับ 3 ดังนี้ เกณฑ การดําเนินงานในแตละระดับ ระดับ 1 วิทยาลัยมีระบบในการเปดเผยขอมูลผานชองทางตางๆ ของวิทยาลัย ไดแก จดหมายขาว เว็บไซตของวิทยาลัย สื่อหนังสือพิมพ โทรทัศน เคเบิลทีวี อยางตอเนื่อง (7-7.6-1) ระดับ 2 มีการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนผานชองทางที่เปดเผย และเปนที่รับรูกันอยางนอย 3 ชองทาง ไดแก ชองทาง web board ระบบรับเรื่องรองเรียนผานเว็บไซต ระดับรับฟง ความคิดเห็นของนักศึกษาในการปรับปรุง (7-7.6-2)


ระดับ 3

วิทยาลัยมีแนวทางในการนําความคิดเห็นของภาคประชาชน มาพัฒนาการดําเนินงานของ วิทยาลัย ผานคณะกรรมการที่เปนบุคคลภายนอกที่เขามาเกี่ยวของ เชน คณะกรรมการ กํากับมาตรฐาน เปนตน (7-7.6-3)

การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 2 คะแนน

การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย

รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ชื่อเอกสาร/รายละเอียด ระดับ 1 7-7.6-1 จดหมายขาว (Newletter) SBC (มิ.ย. 51 – พ.ค. 52) ตัวอยางสิ่งพิมพ ที่มีการเผยแพรขอมูลขาวสารของวิทยาลัย เว็บไซตวิทยาลัย ระดับ 2 7-7.6-2 ตัวอยางเอกสารการรับฟงความคิดเห็นจากประชาชน เชน เว็บบอรดการรับฟงความคิดเห็น ระดับ 3 7-7.6-3 คําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการกํากับมาตรฐาน ตัวบงชี้ที่ 7.7 รอยละของอาจารยประจําที่ไดรับรางวัลผลงานทางวิชาการหรือวิชาชีพในระดับชาติหรือ นานาชาติ ชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิต เกณฑการประเมิน : 1. เกณฑเฉพาะสถาบันที่เนนการผลิตบัณฑิตและพัฒนาศิลปวัฒนธรรม คะแนน 1 รอยละ 0.1- รอยละ 0.99

คะแนน 2 รอยละ 1- รอยละ 1.99

คะแนน 3 1.มากกวาหรือเทากับรอยละ 2 และ 2.อยางนอยรอยละ 50 ของผูที่ไดรับ รางวัลในขอ 1 เปนรางวัลดานศิลปะ และวัฒนธรรม

หมายเหตุ กรณีไดขอ 1 แตไมไดขอ 2 ถือวา ไดคะแนน 2

คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2551

: :

รอยละ 0.1 รอยละ 0


ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2551 อาจารยประจําของวิทยาลัยยังไมไดรับรางวัลผลงานทางวิชาการ หรือวิชาชีพ ในระดับชาติ หรือนานาชาติ การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 0

การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย ไมบรรลุเปาหมาย

ตัวบงชี้ที่ 7.8 มีการนําระบบบริหารความเสี่ยงมาใชในกระบวนการบริหารการศึกษา ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ เกณฑมาตรฐาน : ระดับ เกณฑมาตรฐาน

มี

ไมมี

1. มีการแตงตั้งคณะกรรมการหรือคณะทํางานบริหารความเสี่ยง โดยมีผูบริหารระดับสูงและตัวแทนที่รับผิดชอบพันธกิจหลักของ สถาบันรวมเปนคณะกรรมการหรือคณะทํางาน โดยผูบริหาร ระดับสูงตองมีบทบาทสําคัญในการกําหนดนโยบายหรือแนวทาง ในการบริหารความเสี่ยง 2. มีการวิเคราะหและระบุปจจัยเสี่ยงที่สงผลกระทบหรือสรางความ เสียหายหรือความลมเหลวหรือลดโอกาสที่จะบรรลุเปาหมายใน การบริหารงาน และจัดลําดับความสําคัญของปจจัยเสี่ยง 3. มีการจัดทําแผนบริหารความเสี่ยง โดยแผนดังกลาวตองกําหนด มาตรการหรือแผนปฏิบัติการในการสรางความรู ความเขาใจใหกับ บุคลากรทุกระดับในดานการบริหารความเสี่ยงและการดําเนินการ แกไข ลด หรือปองกันความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นอยางเปนรูปธรรม 4. มีการดําเนินการตามแผนบริหารความเสี่ยง 5. มีการสรุปผลการดําเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยง ตลอดจนมี การกําหนดแนวทางและขอเสนอแนะในการปรับปรุงแผนบริหาร ความเสี่ยงโดยไดรับความเห็นชอบจากผูบริหารสูงสุดของสถาบัน

-

เอกสาร หมายเลข 7-7.8-1

-

7-7.8-2

-

-

-

 

-

เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 มีการดําเนินการไมครบ 3 ขอแรก มีการดําเนินการ 3- 4 ขอแรก

คะแนน 3 มีการดําเนินการครบทุกขอ


คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2551

: :

ระดับ 1 ระดับ 2

ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2551 วิทยาลัยมีผลการดําเนินงานผานเกณฑระดับ 2 ดังนี้ เกณฑ การดําเนินงานในแตละระดับ ระดับ 1 มีการแตงตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง โดยมีผูบริหารระดับสูงเปนกรรมการ โดยมี หนาที่ในการกําหนดนโยบาย และแนวทางในการบริหารความเสี่ยง (7-7.8-1) ระดับ 2 วิทยาลัยและหนวยงานหลักไดมีการวิเคราะหและระบุปจจัยเสี่ยงที่จะสงผลกระทบหรือ สรางความเสียหาย หรือความลมเหลว ทําใหโอกาสในการบรรลุเปาหมายตามภารกิจหลัก ลดลง (7-7.8-2) การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 1 คะแนน

การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย

รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ชื่อเอกสาร/รายละเอียด ระดับ 1 7-7.8-1 คําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ระดับ 2 7-7.8-2 สรุปรายงานการประชุมคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ครั้งที่ 1/2551 ตัวบงชี้ที่ 7.9 ระดับความสําเร็จของการถายทอดตัวชี้วัดและเปาหมายของระดับองคกรสูระดับบุคคล ชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิต เกณฑมาตรฐาน : ระดับ เอกสาร เกณฑมาตรฐาน มี ไมมี หมายเลข  1. มีการกําหนดแนวทางการดําเนินการในการประเมินผลภายใน 7-7.9-1 สถาบัน  2. มีแผนงานการประเมินผลภายในสถาบัน 7-7.9-2  3. มีการกําหนดตัวบงชี้และเปาหมายตามพันธกิจและยุทธศาสตรของ 7-7.9-3 สถาบัน


4. มีการจัดทํา Strategy Map ของหนวยงานในระดับคณะหรือ

เทียบเทา โดยกําหนดเปาประสงคของแตละประเด็นยุทธศาสตร ที่เกี่ยวของกับหนวยงานใหเชื่อมโยงกับเปาประสงคและประเด็น ยุทธศาสตรของสถาบัน 5. มีการยืนยันวิสัยทัศนและประเด็นยุทธศาสตรของ สถาบันอุดมศึกษาในระดับคณะหรือเทียบเทา 6. มีระบบในการติดตามผลการดําเนินงานตามตัวชี้วัดและเปาหมาย ตามคํารับรองของผูบริหารระดับตาง ๆ 7. มีการประเมินผลการดําเนินงานตามตัวชี้วัดและเปาหมายตาม คํารับรอง 8. มีการนําผลการประเมินการดําเนินงานของผูบริหาร ไปเชื่อมโยง กับระบบการสรางแรงจูงใจ

-

7-7.9-4

-

7-7.9-5

-

-

-

-

-

-

เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 มีการดําเนินการไมครบ 5 ขอแรก มีการดําเนินการ 5- 7 ขอแรก คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2551

คะแนน 3 มีการดําเนินการครบทุกขอ : :

ระดับ 5 ระดับ 5

ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2551 วิทยาลัยมีผลการดําเนินงานผานเกณฑระดับ 5 ดังนี้ เกณฑ การดําเนินงานในแตละระดับ ระดับ 1 วิทยาลัยมีการกําหนดแนวทางการดําเนินการในการประเมินผลภายในสถาบัน ทั้งในระดับบุคคลและหนวยงาน โดยชี้แจงและทําความเขาใจกับบุคลากรทุกระดับ ในการประชุมสัมมนาประจําป (7-7.9-1) ระดับ 2 มีแผนงานการประเมินผลภายในสถาบัน ทั้งในระดับบุคคลและหนวยงาน ในระเบียบฯ วาดวยการบริหารงานบุคคลในวิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก (7-7.9-2)


ระดับ 3

ระดับ 4 ระดับ 5

มีการกําหนดตัวบงชี้และเปาหมายตามพันธกิจและยุทธศาสตรของวิทยาลัย โดยมีแผน ยุทธศาสตรทั้ง 8 ดาน คือ การสรางบัณฑิตที่มีคุณภาพ การวิจัยและพัฒนา การบริการ ทางวิชาการตอสังคม การทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม และการสงเสริมเอกลักษณไทย การเสริมสรางขีดความสามารถของอาจารยและบุคลากร หลักสูตรการเรียนการสอน และการประกันคุณภาพ (7-7.9-3) มีการจัดทํา Strategy Map ของหนวยงานระดับคณะ โดยกําหนดเปาประสงคของ แตละ หนวยงานใหเชื่อมโยงกับเปาประสงคและประเด็นยุทธศาสตรของวิทยาลัย (7-7.9-4) มีการยืนยันวิสัยทัศนและประเด็นยุทธศาสตรของวิทยาลัย ในระดับคณะ (7-7.9-5)

การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 2 คะแนน

การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย

รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ชื่อเอกสาร/รายละเอียด ระดับ 1 7-7.9-1 เอกสารประกอบการประชุมการสัมมนาประจําปการศึกษา 2551 (นโยบายและวิสัยทัศนของวิทยาลัย) ระดับ 2 7-7.9-2 ระเบียบฯ วาดวยการบริหารงานบุคคลในวิทยาลัยเซาธอีสท บางกอก (การประเมินผล) ระดับ 3 7-7.9-3 วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก แผนยุทธศาสตร พ.ศ. 2548-2552 ระดับ 4 7-7.9-4 วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก แผนยุทธศาสตร พ.ศ. 2548-2552 ระดับ 5 7-7.9-5 ประกาศวิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก เรื่อง การประกาศใช แผนพัฒนา วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก : แผนยุทธศาสตร พ.ศ. 2548-2552


องคประกอบที่ 8 การเงินและงบประมาณ

ตัวบงชี้ที่8.1 มีระบบและกลไกในการจัดสรร การวิเคราะหคาใชจาย การตรวจสอบการเงินและงบประมาณ อยางมีประสิทธิภาพ ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ เกณฑมาตรฐาน : ระดับ เอกสาร เกณฑมาตรฐาน มี ไมมี หมายเลข 1. มีแผนกลยุทธทางการเงินที่สอดคลองกับยุทธศาสตรของสถาบันให  8-8.1-1 เปนไปตามเปาหมาย  2. มีแนวทางจัดหาทรัพยากรทางการเงิน แผนการจัดสรร และการ 8-8.1-2 วางแผนการใชเงินอยางมีประสิทธิภาพ โปรงใส ตรวจสอบได  3. มีการจัดทําระบบฐานขอมูลทางการเงินที่ผูบริหารสามารถนําไปใช 8-8.1-3 ในการตัดสินใจและวิเคราะหสถานะทางการเงิน 4. มีการจัดทํารายงานทางการเงินอยางเปนระบบ อยางนอยปละ 2 ครั้ง  8-8.1-4  5. มีการนําขอมูลทางการเงินไปใชในการวิเคราะหคาใชจาย และ 8-8.1-5 วิเคราะหสถานะทางการเงินและความมั่นคงขององคการอยาง ตอเนื่อง  6. มีหนวยงานตรวจสอบภายในและภายนอก ทําหนาทีต่ รวจ ติดตาม 8-8.1-6 การใชเงินใหเปนไปตามระเบียบและกฎเกณฑที่สถาบันกําหนด 7. ผูบริหารระดับสูงมีการติดตามผลการใชเงินใหเปนไปตามเปาหมาย  8-8.1-7 และนําขอมูลจากรายงานทางการเงินไปใชในการวางแผนและ การตัดสินใจ เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 มีการดําเนินการไมครบ 5 ขอแรก มีการดําเนินการ 5- 6 ขอแรก คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2551

คะแนน 3 มีการดําเนินการครบทุกขอ : :

ระดับ 7 ระดับ 7


ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2551 วิทยาลัยมีผลการดําเนินงานผานระดับ 7 ดังนี้ เกณฑ การดําเนินงานในแตละระดับ ระดับ 1 มีการกําหนดแผนการดําเนินงานทางดานการเงิน ที่สอดคลองกับยุทธศาสตรของวิทยาลัย ใหเปนไปตามเปาหมาย (8-8.1-1) ระดับ 2 มีการกําหนดแนวทางการจัดหาทรัพยากรทางดานการเงิน แผนการจัดการ และวางแผน การใชเงินอยางมีประสิทธิภาพ โปรงใส ตรวจสอบได โดยดําเนินการตามแนวปฎิบัติและ แผนการดําเนินงานสํานักการคลัง (8-8.1-2) ระดับ 3 มีการจัดทําฐานขอมูลทางการเงิน เพื่อใชในการวิเคราะหสถานะทางการเงิน และการ ตัดสินใจ โดยสํานักการคลังเปนผูดูแลระบบและวิเคราะหสถานะทางการเงินตามที่ ผูบริหารตองการ (8-8.1-3) ระดับ 4 มีการจัดทํารายงานทางการเงินอยางเปนระบบ โดยวิทยาลัยตองเสนอผลการตรวจสอบ บัญชี เพื่อแสดงสถานะการเงินและทรัพยสินของวิทยาลัย เพื่อขออนุมัติงบการเงินประจําป ตอสภาวิทยาลัยเปนประจําทุกป (8-8.1-4) ระดับ 5 มีการนําขอมูลทางการเงินไปใชในการวิเคราะหคาใชจาย และวิเคราะหสถานะการเงินและ ความมั่นคงขององคกรอยางตอเนื่อง (8-8.1-5) ระดับ 6 มีหนวยงานตรวจสอบภายในและภายนอก ทําหนาที่ตรวจติดตามการใชเงินใหเปนไปตาม ระเบียบที่วิทยาลัยกําหนด (8-8.1-6) ระดับ 7 ผูบริหารระดับสูงมีการติดตามผลการใชเงินใหเปนไปตามเปาหมาย และนําขอมูลจาก รายงานทางการเงินไปใชในการวางแผนและการตัดสินใจ (8-8.1-7) การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 3 คะแนน

การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย


รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ชื่อเอกสาร/รายละเอียด ระดับ 1 8-8.1-1 แผนการดําเนินงาน สํานักการคลัง ระดับ 2 8-8.1-2 แนวปฎิบัติและแผนการดําเนินงาน สํานักการคลัง ปการศึกษา 2551 ระดับ 3 8-8.1-3 แนวปฎิบัติและแผนการดําเนินงาน สํานักการคลัง ปการศึกษา 2551 (การใชฐานขอมูล) ระดับ 4 8-8.1-4 งบการเงินประจําป 2551 ระดับ 5 8-8.1-5 รายงานการเงิน ประจําป 2551 ระดับ 6 8-8.1-6 แนวปฎิบัติและแผนการดําเนินงาน สํานักการคลัง ปการศึกษา 2551 (ภาระหนาที่) ระดับ 7 8-8.1-7 รายงานการประชุมคณะผูบริหารวิทยาลัย ตัวบงชี้ที่ 8.2 มีการใชทรัพยากรภายในและภายนอกสถาบันรวมกัน ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ เกณฑมาตรฐาน : ระดับ เกณฑมาตรฐาน

มี

ไมมี

1. มีคณะกรรมการวิเคราะหความตองการการใชทรัพยากรของ หนวยงาน 2. มีผลการวิเคราะหความตองการในการใชทรัพยากรของหนวยงาน 3. มีแผนการใชทรัพยากรรวมกันกับหนวยงานอื่นในสถาบัน 4. มีแผนการใชทรัพยากรรวมกันกับหนวยงานอื่นนอกสถาบัน 5. มีผลการประหยัดงบประมาณที่เกิดจากการใชทรัพยากรรวมกันกับ หนวยงานอื่น

-

เอกสาร หมายเลข 8-8.2-1

  

-

8-8.2-2 8-8.2-3 8-8.2-4 -

-

เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 มีการดําเนินการไมครบ 3 ขอแรก คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2551

คะแนน 2 มีการดําเนินการ 3 ขอแรก

คะแนน 3 มีการดําเนินการอยางนอย 4 ขอแรก : :

ระดับ 4 ระดับ 4


ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2551 วิทยาลัยมีผลการดําเนินงานผานเกณฑระดับ 4 ดังนี้ เกณฑ การดําเนินงานในแตละระดับ ระดับ 1 มีคณะกรรมการวิเคราะหความตองการใชทรัพยากรของวิทยาลัย โดยคณะผูบริหาร วิทยาลัย จะทําหนาที่วิเคราะหความตองการใชทรัพยากร เพื่อใชในการวางแผนดําเนินงาน (8-8.2-1) ระดับ 2 มีผลการวิเคราะหความตองการทรัพยากรของวิทยาลัย (8-8.2-2) ระดับ 3 มีแผนการใชทรัพยากรรวมกันกับหนวยงานอื่นในสถาบัน ซึ่งเปนนโยบายและแผนงาน ของวิทยาลัย ที่จะใหทุกหนวยงานไดใชทรัพยากรใหเกิดประโยชนสูงสุด (8-8.2-3) ระดับ 4 มีแผนการใชทรัพยากรรวมกันกับหนวยงานอื่นภายนอกสถาบัน เชน การใชหอประชุมของ วิทยาลัย ซึ่งเปดใหหนวยงานภายนอกมาใชได เพื่อประโยชนทางการศึกษาหรือเพื่อบริการ ชุมชน โดยสํานักบริการจะมีหนาที่รับผิดชอบ (8-8.2-4) การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 3 คะแนน

การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย

รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ชื่อเอกสาร/รายละเอียด ระดับ 1 8-8.2-1 รายงานการประชุมคณะผูบริหารวิทยาลัย ประจําปการศึกษา 2551 (ครั้งที่ 2/2551) ระดับ 2 8-8.2-2 รายงานการประชุมคณะผูบริหารวิทยาลัย ประจําปการศึกษา 2551 (ครั้งที่ 3/2551) ระดับ 3 8-8.2-3 เอกสารประกอบการประชุม การเตรียมความพรอม ประจําปการศึกษา 2551 ระดับ 4 8-8.2-4 แนวปฎิบัติและแผนการดําเนินงาน สํานักบริการ ปการศึกษา 2551


องคประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ

ตัวบงชี้ที่ 9.1 มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพภายในที่เปนสวนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษา ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ เกณฑมาตรฐาน : ระดับ เอกสาร เกณฑมาตรฐาน มี ไมมี หมายเลข  1. มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายในที่เหมาะสม 9-9.1-1/1 กับระดับการพัฒนาของสถาบัน 9-9.1-1/2  2. มีการกําหนดนโยบายและใหความสําคัญเรื่องการประกันคุณภาพ 9-9.1-2 จากคณะกรรมการระดับนโยบายและผูบริหารสูงสุดของสถาบัน ภายใตการมีสวนรวมจากภาคีทั้งภายในและภายนอกสถาบัน  3. มีการกําหนดมาตรฐานตัวบงชี้ และเกณฑคุณภาพที่สอดคลองกับ 9-9.1-3 มาตรฐานการอุดมศึกษา และมาตรฐานอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ และ สอดคลองกับการประเมินคุณภาพภายนอก  4. มีการดําเนินงานดานการประกันคุณภาพที่ครบถวน ทั้งการควบคุม 9-9.1-4 คุณภาพ การติดตาม ตรวจสอบ และประเมินคุณภาพอยางตอเนื่อง เปนประจํา (อยางนอย 3 ปนับรวมปที่มีการติดตาม)  5. มีการนําผลการประกันคุณภาพมาพัฒนาปรับปรุงการดําเนินงาน 9-9.1-5  6. มีระบบฐานขอมูลและสารสนเทศที่สนับสนุนการประกันคุณภาพ การศึกษาและใชรวมกันทั้งระดับบุคคล ภาควิชา คณะ และสถาบัน  7. มีระบบสงเสริมการสรางเครือขายดานการประกันคุณภาพ การศึกษาระหวางหนวยงานทั้งภายในและภายนอกสถาบัน เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 มีการดําเนินการไมครบ 4 ขอแรก คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2551

คะแนน 2 มีการดําเนินการ 4 ขอแรก

คะแนน 3 มีการดําเนินการอยางนอย 5 ขอแรก : :

ระดับ 5 ระดับ 5


ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2551 วิทยาลัยมีผลการดําเนินงานผานเกณฑระดับ 5 ดังนี้ เกณฑ การดําเนินงานในแตละระดับ ระดับ 1 มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายในวิทยาลัย (9-9.1-1/1) (9-9.1-1/2) ระดับ 2 มีการกําหนดนโยบายและใหความสําคัญ เรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา (9-9.1-2) ระดับ 3 มีการกําหนดมาตรฐานตัวบงชี้และเกณฑคุณภาพที่สอดคลองกับมาตรฐานการอุดมศึกษา และมาตรฐานอื่นๆ ที่เกี่ยวของ และสอดคลองกับการประเมินคุณภาพภายนอก (9-9.1-3) ระดับ 4 มีการดําเนินงานดานการประกันคุณภาพที่ครบถวน ทั้งการควบคุมคุณภาพ การติดตาม ตรวจสอบ และการประกันคุณภาพอยางตอเนื่อง (9-9.1-4) ระดับ 5 มีการนําผลประเมินมาพัฒนาปรับปรุงการดําเนินงาน (9-9.1-5) การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 3 คะแนน รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ระดับ 1 9-9.1-1/1 9-9.1-1/2 ระดับ 2 9-9.1-2 ระดับ 3 9-9.1-3 ระดับ 4 9-9.1-4 ระดับ 5

9-9.1-5

การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย

ชื่อเอกสาร/รายละเอียด คําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา รายงานการประชุมคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา นโยบายการประกันคุณภาพการศึกษา วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก คูมือการประกันคุณภาพการศึกษา ปการศึกษา 2551 รายงานการประชุมคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา (แผนการประกันคุณภาพการศึกษา) รายงานการปรับปรุงตามขอเสนอแนะการประเมินคุณภาพภายใน วิทยาลัย


ตัวบงชี้ที่ 9.2 มีระบบและกลไกการใหความรูและทักษะดานการประกันคุณภาพแกนักศึกษา ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ เกณฑมาตรฐาน : ระดับ เกณฑมาตรฐาน

มี

ไมมี

1. มีระบบการใหความรูและทักษะการประกันคุณภาพการศึกษาแก นักศึกษา 2. มีระบบสงเสริมใหนักศึกษานําความรูดานการประกันคุณภาพไปใช กับกิจกรรมนักศึกษา 3. มีกลไกใหนักศึกษามีสวนรวมในการประกันคุณภาพการศึกษาของ มหาวิทยาลัย 4. นักศึกษามีการใชกระบวนการคุณภาพ ในการพัฒนาคุณภาพของ กิจกรรมหรือโครงการนักศึกษา 5. นักศึกษาสรางเครือขายการพัฒนาคุณภาพภายในสถาบันและ ระหวางสถาบัน 6. มีระบบติดตามประเมินผลการประกันคุณภาพในกิจกรรมที่ นักศึกษาดําเนินการ และในสวนที่นักศึกษามีสวนรวมกับการ ประกันคุณภาพของสถาบัน 7. มีการนําผลการประเมินไปพัฒนากระบวนการใหความรูและกลไก การดําเนินงานประกันคุณภาพที่เกี่ยวของกับนักศึกษาอยางตอเนื่อง

-

เอกสาร หมายเลข 9-9.2-1

-

9-9.2-2

-

9-9.2-3

-

9-9.2-4

-

-

-

-

-

-

เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 มีการดําเนินการไมครบ 4 ขอแรก มีการดําเนินการ 4- 5 ขอแรก คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2551

คะแนน 3 มีการดําเนินการอยางนอย 6 ขอแรก : :

ระดับ 5 ระดับ 4

ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2551 วิทยาลัยมีผลการดําเนินงานผานเกณฑระดับ 4 ดังนี้ เกณฑ การดําเนินงานในแตละระดับ ระดับ 1 วิทยาลัยมีกระบวนการใหความรูดานการประกันคุณภาพการศึกษาแกนักศึกษาเปนประจํา ทุกป เชน การปฐมนิเทศนักศึกษาใหม (9-9.2-1)


ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4

มีระบบสงเสริมใหนักศึกษานําวงจรคุณภาพ PDCA ไปใชกับการจัดทําโครงการตางๆ รวมทั้งการนําตัวชี้วัด มาใชในการวัดความสําเร็จของกิจกรรม/โครงการ (9-9.2-2) นักศึกษามีสวนรวมในการประกันคุณภาพการศึกษา เชน การประเมินการสอนของอาจารย การประเมินผลโครงการตางๆ ที่วิทยาลัยจัดให (9-9.2-3/1) (9-9.2-3/2) นักศึกษามีการใชกระบวนการคุณภาพในการพัฒนากิจกรรม หรือโครงการนักศึกษา โดย การใชวงจรคุณภาพ PDCA

การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 2 คะแนน

การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย ไมบรรลุเปาหมาย

รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ชื่อเอกสาร/รายละเอียด ระดับ 1 9-9.2-1 กําหนดการปฐมนิเทศนักศึกษาใหม ปการศึกษา 2551 ระดับ 2 9-9.2-2 ตัวอยางโครงการของนักศึกษา/องคการนักศึกษาประจําป การศึกษา 2551 ระดับ 3 9-9.2-3/1 รายงานการประเมินการสอนของอาจารยโดยนักศึกษา 9-9.2-3/2 ตัวอยางการประเมินโครงการศิลปวัฒนธรรม ระดับ 4 9-9.2-4 ตัวอยางโครงการ/กิจกรรมของนักศึกษา ปการศึกษา 2551 ตัวบงชี้ที่ 9.3 ระดับความสําเร็จของการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิต เกณฑมาตรฐาน : ระดับ เกณฑมาตรฐาน

มี

ไมมี

1. มีการดําเนินการตามระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษา ภายในระดับคณะ และสถาบันอยางตอเนื่อง 2. มีการปรับปรุงระบบประกันคุณภาพภายในโดยสอดคลองกับ พันธกิจและพัฒนาการของสถาบัน 3. มีการรายงานผลการประกันคุณภาพการศึกษาภายในตอหนวยงาน ที่เกี่ยวของและสาธารณชนภายในเวลาที่กําหนด

-

เอกสาร หมายเลข 9-9.3-1

-

9-9.3-2

-

9-9.3-3


เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 มีการดําเนินการไมครบ 3 ขอแรก

คะแนน 2 มีการดําเนินการ 3 ขอแรก

คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2551

คะแนน 3 มีการดําเนินการอยางนอย 4 ขอแรก : :

ระดับ 4 ระดับ 3

ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2551 วิทยาลัยมีผลการดําเนินงานผานเกณฑระดับ 3 ดังนี้ เกณฑ การดําเนินงานในแตละระดับ ระดับ 1 วิทยาลัยมีการดําเนินการตามระบบและกลไกการประกันคุณภาพภายใน โดยมีนโยบาย เปาหมาย และแผนการดําเนินงานคุณภาพอยางตอเนื่อง (9-9.3-1) ระดับ 2 มีการปรับปรุงระบบการประกันคุณภาพภายใน ใหสอดคลองกับพันธกิจและพัฒนาการ ของวิทยาลัย (9-9.3-2) ระดับ 3 มีการรายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในตอหนวยงานที่เกี่ยวของ (9-9.3-3/1) และเผยแพรผลประเมินทางจุลสารประกันคุณภาพ (9-9.3-3/2) และเว็บไซตของวิทยาลัย ในสวนของสํานักประกันคุณภาพการศึกษา (www.southeast.ac.th) (9-9.3-3/3) การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 2 คะแนน

การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย

รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ชื่อเอกสาร/รายละเอียด ระดับ 1 9-9.3-1 คูมือการประกันคุณภาพการศึกษา ปการศึกษา 2551 ระดับ 2 9-9.3-2 รายงานการประชุมคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา ปการศึกษา 2551 รายงานการประเมินตนเอง ปการศึกษา 2551 ระดับ 3 9-9.3-3/1 จุลสารประกันคุณภาพการศึกษา 9-9.3-3/2 เว็บไซตของวิทยาลัย 9-9.2-3/3


บทที่ 3 สรุปผลการประเมินและแนวทางการพัฒนา


จุดเดน จุดที่ควรพัฒนา และแนวทางการพัฒนา วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก ดําเนินการประเมินตนเองตามผลการดําเนินงานการจัดการศึกษา ในปการศึกษา 2551 (มิถนุ ายน 2551 – พฤษภาคม 2552) โดยใชองคประกอบ ตัวบงชี้ และเกณฑ การประเมินของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ผลการประเมินสามารถสรุปเปนจุดเดนและ จุดที่ควรพัฒนา รวมทั้งแนวทางการแกไขเพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของวิทยาลัยใหเกิด ประสิทธิผลได ดังนี้ องคประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถประสงค และแผนดําเนินการ จุดเดน วิทยาลัยมีการกําหนดปรัชญา ปณิธาน รวมทั้งแผนการดําเนินงานประจําป จุดที่ควรพัฒนา การบรรลุเปาหมายของการปฎิบัติตามแผนดําเนินงาน อยูที่รอยละ 78 ซึ่งยัง ไมเปนไปตามเปาหมายของวิทยาลัย รวมทั้งพันธกิจดานที่เปนจุดดอย คือ งานวิจัยยังไมสามารถดําเนินการ ใหบรรลุเปาหมายได แนวทางการพัฒนา หนวยงานหลักที่ดูแลเกี่ยวกับพันธกิจหลักทั้ง 4 ประการของวิทยาลัย ตองติดตามดูแล และ ประเมินผลการดําเนินการตามโครงการและกิจกรรมตางๆ อยางใกลชิด เพื่อใหพันธกิจตางๆ บรรลุเปาหมาย ตามที่กําหนดไวใหมากที่สุด องคประกอบที่ 2 การเรียนการสอน จุดเดน วิทยาลัยมีกระบวนการพัฒนาและบริหารหลักสูตรใหมีความทันสมัย ทุกหลักสูตร สอดคลองกับเกณฑมาตรฐานและความตองการของสังคมและผูเรียน บัณฑิตของวิทยาลัยมีอัตราการไดงาน การทํางานตรงสาขา และเงินเดือนเปนไปตามเกณฑ ผูประกอบการหรือนายจางมีความพึงพอใจในคุณภาพ ของบัณฑิตอยูในระดับดีมาก โดยเฉพาะมีความพอใจบัณฑิตที่มีคุณธรรม จริยธรรม อยูในระดับสูง จุดที่ควรพัฒนา กระบวนการสนับสนุนใหอาจารยทําวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนาการสอนยังไม เขมแข็งเพียงพอ ทําใหขาดผลงานวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน นอกจากนี้สัดสวนคุณวุฒิอาจารย ปริญญาเอก และอาจารยที่มีตําแหนงทางวิชาการ ยังไมเปนไปตามเกณฑ แนวทางการพัฒนา 1. หนวยงานดานพัฒนาการเรียนาการสอนของคณะตองติดตาม และประเมินผลอยางใกลชิดให อาจารยในคณะหรือสาขาวิชา พัฒนาการสอนอยางตอเนื่อง รวมทั้งการทําวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน 2. ใหอาจารยประจําเรงสรางผลงานทางวิชาการ เชน ผลการวิจัย เอกสารประกอบการสอน หรือ บทความทางวิชาการ ใหมีมาตรฐานและจํานวนเพียงพอ เพื่อเขาสูกระบวนการขอตําแหนงทางวิชาการ


องคประกอบที่ 3 กิจกรรมพัฒนานิสิตนักศึกษา จุดเดน วิทยาลัยมีการจัดบริการใหแกนักศึกษาและศิษยเกา รวมทั้งสงเสริมกิจกรรมนักศึกษา ทุกประเภท จุดที่ควรพัฒนา กิจกรรมที่ทําเปนประจําทุกปนั้น ควรมีการพัฒนาตอยอด โดยเนนผลลัพธในการ สรางบัณฑิตใหมีคุณลักษณะที่พึงประสงค ตามปณิธานของวิทยาลัย แนวทางการพัฒนา 1. สํานักกิจการนักศึกษา ควรสงเสริมใหนักศึกษาจัดกิจกรรมที่เนนผลลัพธเปนรูปธรรมและ สอดคลองกับการสรางบัณฑิตใหมีคุณลักษณะที่พึงประสงค 2. สมาคมศิษยเกาควรมีบทบาทมากขึ้น ในการสานความสัมพันธระหวางศิษยเกาและวิทยาลัย ในการรวมกันจัดกิจกรรมที่เปนประโยชนตอศิษยเกา และเพื่อพัฒนาวิทยาลัยตอไป องคประกอบที่ 4 การวิจัย จุดเดน วิทยาลัยมีนโยบายสนับสนุนการวิจัยที่ชัดเจน รวมทั้งจัดงบประมาณสําหรับการวิจัยไว อยางเพียงพอ จุดที่ควรพัฒนา ตองเสริมสรางศักยภาพของอาจารยในการทําวิจัย โดยอาจจัดใหมีทีมวิจัย โดยเฉพาะ ซึ่งมีศักยภาพมากพอในการจัดทําโครงการวิจัยเพื่อขอทุนวิจัยจากแหลงทุนจากภายนอกได แนวทางการพัฒนา วิทยาลัยตองจัดใหมีการเสริมสรางศักยภาพของอาจารยในการทําวิจัยอยางตอเนื่อง ใหมีพี่เลี้ยงที่มี ประสบการณ และมีงานวิจัยที่มีคุณภาพ รวมทั้งเขารวมในเครือขายวิจัย เพื่อเสริมสรางประสบการณ งานวิจัยใหแกอาจารยรุนใหมดวย องคประกอบที่ 5 การบริการวิชาการแกสังคม จุดเดน วิทยาลัยไดจัดใหมีบริการทางวิชาการแกสังคม โดยจัดใหบริการทั้งภายในและภายนอก สถาบัน ตามความชํานาญของคณะและสาขาวิชาตางๆ จุดที่ควรพัฒนา อาจารยประจํายังขาดประสบการณ และไมมีตําแหนงทางวิชาการ จึงไมไดแสดง ศักยภาพใหประชาคมอุดมศึกษาประจักษ จึงมีโอกาสคอนขางนอยที่จะไดรับเชิญไปเปนอาจารยที่ปรึกษา ภายนอกสถาบัน แนวทางการพัฒนา 1. เรงพัฒนาใหอาจารยประจํามีตําแหนงทางวิชาการ 2. จัดหาอาจารยอาวุโสที่มีชื่อเสียง หรือมีความเชี่ยวชาญในวิชาชีพมารวมงานเพื่อชวยเปนพี่เลี้ยง ใหแกอาจารยรุนใหมๆ


องคประกอบที่ 6 การทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม จุดเดน วิทยาลัยมีโครงการ / กิจกรรม เพื่อการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมตลอดทั้งป และมีการสราง ฐานขอมูลดานวัฒนธรรมของบางกอกอุษาคเนย ซึ่งเปนเขตที่ตั้งของวิทยาลัย จุดที่ควรพัฒนา ควรใหคณะวิชาตางๆ ริเริ่มโครงการดานการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมใหมากขึ้น แนวทางการพัฒนา จัดตั้งคณะกรรมการ ซึ่งมีผูแทนจากคณะวิชาตางๆ มารวมกันทําโครงการดานการทํานุบํารุง ศิลปวัฒนธรรม ซึ่งจะทําใหมีชิ้นงานดานศิลปวัฒนธรรมมากขึ้น องคประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการ จุดเดน สภาวิทยาลัยประกอบดวย ผูทรงคุณวุฒิที่มีประสบการณหลากหลายและผูบริหารมี วิสัยทัศนที่จะขับเคลื่อนพันธกิจของวิทยาลัยไปสูเปาหมายของการบริหารจัดการที่ดี จุดที่ควรพัฒนา การดําเนินการตามแผนการจัดการความรู ยังไมเกิดผลสําเร็จตามเปาหมาย ศักยภาพของระบบฐานขอมูลเพื่อการบริหาร การเรียนการสอน และการวิจัยยังไมสมบูรณ จําเปนตองเพิ่ม ทรัพยากรบุคคล เงิน และเครื่องมือ เพื่อพัฒนาใหมากขึ้น แนวทางการพัฒนา 1. ควรพัฒนาระบบบริหารจัดการความรูในองคกร ใหเปนรูปธรรม 2. จัดสรรทรัพยากรเพื่อพัฒนาระบบฐานขอมูลเพื่อการบริหาร การเรียนการสอน และการวิจัย ใหมากขึ้น เพื่อใชประโยชนจากระบบอยางเต็มที่ องคประกอบที่ 8 การเงินและงบประมาณ จุดเดน วิทยาลัยมีระบบและกลไกการตรวจสอบการเงินและงบประมาณอยางมีประสิทธิภาพ และ มีการใชทรัพยากรภายในและภายนอกสถาบันรวมกัน ทําใหเกิดการใชทรัพยากรอยางคุมคา จุดที่ควรพัฒนา แหลงรายไดของวิทยาลัยควรมาจากแหลงอื่นๆ เชน จากการเปนที่ปรึกษา การวิจัย การฝกอบรม สัมมนา เปนตน แนวทางการพัฒนา ควรสนับสนุนใหหนวยงานภายในที่มีศักยภาพ เปนหนวยงานที่หารายไดใหกับวิทยาลัย โดย ดําเนินการอยางจริงจังและตอเนื่อง


องคประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ จุดเดน คณะกรรมการประกันคุณภาพทุกระดับทํางานประสานกันดี รวมทั้งไดรับการสนับสนุน ทุกดานจากฝายบริหาร จุดที่ควรพัฒนา กระบวนการทํางานการประกันคุณภาพ คอนขางลาชาไมเปนไปตามกําหนดเวลา หรือแผนงานที่วางไว การติดตามตรวจสอบในระดับคณะวิชาและหนวยงานยังกระทําไมจริงจัง ขอเสนอแนะที่คณะกรรมการเสนอไปยังปฎิบัติไดไมเห็นผลชัดเจน การจัดเก็บเอกสารประกอบตางๆ ยังไม เปนระบบที่ดี แนวทางการพัฒนา คณะกรรมการประกันคุณภาพระดับสถาบันตองหามาตรการในการกระตุนและสงเสริมใหคณะ และหนวยงานตางๆ ดําเนินการประกันคุณภาพตามแผนงานและกําหนดเวลาที่วางไว รวมทั้งจัดใหมีระบบ และขั้นตอนปฎิบัติงานที่ดีในการจัดเก็บเอกสารและขอมูลสําหรับอางอิง อยางเปนระบบและมีแบบแผน


ภาคผนวก


ตารางที่ ป.1 ผลการประเมินตนเองรายตัวบงชี้ตามองคประกอบคุณภาพเฉพาะตัวบงชี้ของ สกอ.

ตัวบงชี้คุณภาพ

เปาหมาย

ตัวบงชี้ 1.1

ระดับ 7

ตัวบงชี้ 1.2

รอยละ 85

ตัวบงชี้ 2.1 ตัวบงชี้ 2.2 ตัวบงชี้ 2.3 ตัวบงชี้ 2.4 ตัวบงชี้ 2.5 ตัวบงชี้ 2.6 ตัวบงชี้ 2.7 ตัวบงชี้ 2.8 ตัวบงชี้ 2.9 ตัวบงชี้ 2.10 ตัวบงชี้ 2.11 ตัวบงชี้ 2.12

ระดับ 6 ระดับ 6 ระดับ 5 6-9.99% รอยละ 20-29 รอยละ 1-39 ระดับ 5 4 ขอ รอยละ 80 รอยละ 95 ≥ 3.50 0.20

ผลการดําเนินงาน ตัวตั้ง ผลลัพธ ตัวหาร ( % หรือสัดสวน) ระดับ 7 37 x 100 = 78% 47 ระดับ 6 ระดับ 6 ระดับ 5 -7.2% รอยละ 20 รอยละ 5.50 ระดับ 5 5 ขอ รอยละ 80 รอยละ 100 3.58 0.15

บรรลุเปาหมาย  = บรรลุ  = ไมบรรลุ 

คะแนนประเมิน (เกณฑ สกอ.) 3

2

           

3 2 3 2 2 1 3 3 3 3 3 2


ตารางที่ ป.1 ผลการประเมินตนเองรายตัวบงชี้ตามองคประกอบคุณภาพเฉพาะตัวบงชี้ของ สกอ. (ตอ) ผลการดําเนินงาน ตัวตั้ง ผลลัพธ ตัวหาร ( % หรือสัดสวน) ระดับ 8 ระดับ 4 ระดับ 5 3 ขอ 8,275 บาท รอยละ 1.1 ระดับ 5

บรรลุเปาหมาย  = บรรลุ  = ไมบรรลุ       

คะแนนประเมิน (เกณฑ สกอ.)

ตัวบงชี้คุณภาพ

เปาหมาย

ตัวบงชี้ 3.1 ตัวบงชี้ 3.2 ตัวบงชี้ 4.1 ตัวบงชี้ 4.2 ตัวบงชี้ 4.3 ตัวบงชี้ 4.4 ตัวบงชี้ 5.1

ระดับ 8 ระดับ 4 ระดับ 3 3 ขอ 25,000 บาท รอยละ 15 ระดับ 5

ตัวบงชี้ 5.2

รอยละ 15

10 x 100 = 10% 91

1

ตัวบงชี้ 5.3

รอยละ 20

2

ตัวบงชี้ 5.4 ตัวบงชี้ 6.1 ตัวบงชี้ 6.2 ตัวบงชี้ 6.3

รอยละ 85 ระดับ 4 1 ผลงาน ระดับ 3

18 x 100 = 20% 91 รอยละ 87 ระดับ 4 1 ผลงาน ระดับ 3

   

3 2 1 2

3 3 3 3 1 1 3


ตารางที่ ป.1 ผลการประเมินตนเองรายตัวบงชี้ตามองคประกอบคุณภาพเฉพาะตัวบงชี้ของ สกอ. (ตอ)

ตัวบงชี้คุณภาพ

เปาหมาย

ตัวบงชี้ 7.1 ตัวบงชี้ 7.2 ตัวบงชี้ 7.3 ตัวบงชี้ 7.4 ตัวบงชี้ 7.5 ตัวบงชี้ 7.6 ตัวบงชี้ 7.7 ตัวบงชี้ 7.8 ตัวบงชี้ 7.9 ตัวบงชี้ 8.1 ตัวบงชี้ 8.2 ตัวบงชี้ 9.1 ตัวบงชี้ 9.2 ตัวบงชี้ 9.3

5 ขอ ระดับ 4 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 3 ระดับ 3 รอยละ 0.1-0.99 ระดับ 1 ระดับ 5 ระดับ 7 ระดับ 4 ระดับ 5 ระดับ 5 ระดับ 4

ผลการดําเนินงาน ตัวตั้ง ผลลัพธ ตัวหาร ( % หรือสัดสวน) 5 ขอ ระดับ 4 ระดับ 1 ระดับ 4 ระดับ 3 ระดับ 2 รอยละ 0 ระดับ 2 ระดับ 5 ระดับ 7 ระดับ 4 ระดับ 5 ระดับ 4 ระดับ 3

บรรลุเปาหมาย  = บรรลุ  = ไมบรรลุ              

คะแนนประเมิน (เกณฑ สกอ.) 3 3 1 2 3 2 0 1 2 3 3 3 2 2


ตารางที่ ป.2 ผลการประเมินตนเองตามองคประกอบคุณภาพเฉพาะตัวบงชี้ของ สกอ. ประเภทสถาบัน □ เนนวิจัย

□ เนนพัฒนาสังคม □ เนนพัฒนาศิลปะและวัฒนธรรม □ เนนเฉพาะผลิตบัณฑิต คะแนนการประเมินเฉลี่ย

องคประกอบ องคประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค และแผนดําเนินการ องคประกอบที่ 2 การเรียนการสอน องคประกอบที่ 3 กิจกรรมพัฒนานิสิตนักศึกษา องคประกอบที่ 4 การวิจัย องคประกอบที่ 5 การบริการทางวิชาการแกสังคม องคประกอบที่ 6 การทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม องคประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการ องคประกอบที่ 8 การเงินและงบประมาณ องคประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ เฉลี่ยรวมทุกตัวบงชี้ของทุกองคประกอบ

I

ผลการประเมิน

≤ 1.50 1.51-2.00 2.01-2.50 2.51-3.00

การดําเนินงานของสถาบันยังไมไดคุณภาพ การดําเนินงานของสถาบันไดคุณภาพในระดับพอใช การดําเนินงานของสถาบันไดคุณภาพในระดับดี การดําเนินงานของสถาบันไดคุณภาพในระดับดีมาก

P

O

รวม

-

3.0

2.0

2.50

ดี

1.67

2.8 3.0 3.0 3.0 2.0 2.0 3.0 2.5 2.7

2.75 1.0 2.5 1.5 1.33 2.0 1.86

2.40 3 1.67 2.16 1.75 2.11 3 2.25 2.07

ดี ดีมาก พอใช ดี พอใช ดี ดีมาก ดี ดี

1.0 1.0 3.0 1.67


ตารางที่ ป.3 ผลการประเมินตนเองตามมาตรฐานการอุดมศึกษา คะแนนการประเมินเฉลี่ย มาตรฐานการอุดมศึกษา 1. มาตรฐานดานคุณภาพบัณฑิต 2. มาตรฐานดานการบริหารจัดการ ก.มาตรฐานดานธรรมาภิบาลของ การบริหารการอุดมศึกษา ข.มาตรฐานดานพันธกิจของ การบริหารการอุดมศึกษา 3. มาตรฐานดานการสราง และพัฒนาฐานความรูและสังคม แหงการเรียนรู เฉลี่ยรวมทุกตัวบงชี้ของทุก มาตรฐาน

ผลการประเมิน

≤ 1.50 1.51-2.00 2.01-2.50 2.51-3.00

การดําเนินงานของสถาบันยังไมไดคุณภาพ การดําเนินงานของสถาบันไดคุณภาพในระดับพอใช การดําเนินงานของสถาบันไดคุณภาพในระดับดี การดําเนินงานของสถาบันไดคุณภาพในระดับดีมาก

I

P

O

รวม

-

-

2.75

2.75

ดีมาก

3.0

2.6

1.6

2.40

ดี

1.4

2.78

1.8

2.00

พอใช

-

2.0

-

2.0

พอใช

2.20

2.46

2.05

2.23

ดี


ตารางที่ ป.4 ผลการประเมินตนเองตามมุมมองดานการบริหารจัดการ คะแนนการประเมินเฉลี่ย องคประกอบ 1. ดานนักศึกษาและผูมีสวนไดสวนเสีย 2. ดานกระบวนการภายใน 3. ดานการเงิน 4. ดานบุคลากรการเรียนรูแ ละ นวตกรรม รวมทุกตัวบงชี้ของทุกมุมมอง

ผลการประเมิน

I

P

O

รวม

1.5 1.0 2.0 1.5

2.67 2.57 3.0 2.5 2.68

2.57 2.0 1.0 1.85

2.24 2.28 2.00 1.83 2.01

≤ 1.50 1.51-2.00 2.01-2.50 2.51-3.00

การดําเนินงานของสถาบันยังไมไดคุณภาพ การดําเนินงานของสถาบันไดคุณภาพในระดับพอใช การดําเนินงานของสถาบันไดคุณภาพในระดับดี การดําเนินงานของสถาบันไดคุณภาพในระดับดีมาก

ดี ดี พอใช พอใช ดี




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.