วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก
รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report, SAR) ประจําปการศึกษา 2552 (1 มิถุนายน 2552 – 31 พฤษภาคม 2553)
มิถุนายน 2553
คํานํา บทสรุปสํ าหรับผู้บริหาร
สารบัญ
บทที่ 1 ขอมูลเบื้องตนของวิทยาลัย 1.1 ประวัติความเปนมาและสภาพปจจุบัน 1.2 ปรัชญา ปณิธาน วิสัยทัศน พันธกิจ วัตถุประสงค และแผนงาน 1.3 โครงสรางการบริหารงาน 1.4 รายชื่อผูบริหารชุดปจจุบัน 1.5 คณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา 10 1.6 หลักสูตรและสาขาวิชาที่เปดสอน 1.7 คณาจารย 1.8 นักศึกษา 1.9 งบประมาณ 1.10 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษา
ก 2 3 4 6 10 11 11 12 12
บทที่ 2 ผลการประเมินตามตัวบ่ งชี้ของ สกอ. องคประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค และแผนดําเนินการ องคประกอบที่ 2 การเรียนการสอน องคประกอบที่ 3 กิจกรรมพัฒนานิสิตนักศึกษา องคประกอบที่ 4 การวิจัย องคประกอบที่ 5 การบริการทางวิชาการแกสังคม องคประกอบที่ 6 การทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม องคประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการ องคประกอบที่ 8 การเงินและงบประมาณ องคประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ
13 17 36 45 52 62 69 86 90
บทที่ 3 สรุปผลการประเมิน และแนวทางพัฒนา จุดเดน จุดทีค่ วรพัฒนา และแนวทางการพัฒนา
96
ภาคผนวก ตารางที่ ส 1. ตารางสรุปการประเมินตามองคประกอบคุณภาพ เฉพาะตัวบงชี้ของ สกอ. ตารางที่ ส 2. ตารางสรุปการประเมินตามมาตรฐานการอุดมศึกษา เฉพาะตัวบงชี้ของ สกอ. ตารางที่ ส 3. ตารางสรุปการประเมินตามมุมมองดานการบริหารจัดการ เฉพาะตัวบงชี้ของ สกอ.
100 103 106
คํานํา รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report) ปการศึกษา 2552 นี้ จัดทําขึ้นเพื่อเปนขอมูล สําหรับการประเมินคุณภาพภายในของวิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก เพื่อเสนอตอสํานักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา และเปดเผยตอสาธารณชน เพื่อนําไปสูการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา รายงานนี้ ประกอบดวย 3 สวน คือ บทที่ 1 ขอมูลเบื้องตนของวิทยาลัย บทที่ 2 ผลการประเมิน ตนเองตามตัวบงชี้คุณภาพ 9 องคประกอบ ตามเกณฑของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) และสวนที่ 3 ภาคผนวก รายงานการประเมินตนเอง ฉบับนี้ นอกจากจะแสดงถึงสัมฤทธิผลในการดําเนินงานแลว ยังเปน ขอมูลในการวางแผนการดําเนินงานในปการศึกษาตอไปดวย
วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก กันยายน 2553
บทสรุปสําหรับผูบริหาร การประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับสถาบันของวิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก ปการศึกษา 2552 9 องคประกอบ 41 ตัวบงชี้ ผลการประเมินไดระดับดีมากในองคประกอบที่ 2, 3, 5, 6, 8, 9 ระดับดีใน องคประกอบที่ 4, 7 ระดับพอใชในองคประกอบที่ 1 ผลการประเมินในภาพรวมไดระดับดีมาก คะแนน การประเมิน 2.56 จุดเดน 1. ผูบริหารระดับสูงมีวิสัยทัศน มีความมุงมั่นตั้งใจ 2. บุคลากรใหความรวมมือ รวมใจในกิจกรรมของวิทยาลัยดี 3. มีความรวมมือและสัมพันธภาพที่ดีกับชุมชน โดยเฉพาะในเรื่องการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม 4. ทําเลที่ตั้งดีเหมาะแกการจัดหลักสูตรพิเศษ หลักสูตรบัณฑิตศึกษา ภูมิทัศนเหมาะแกการเปน สถานศึกษา 5. บุคลากรวัยหนุมสาว มีความกระฉับกระเฉง ทําใหทุมเทกับงานเต็มที่ 6. การใชทรัพยากร (สถานที)่ รวมกันอยางคุมคา 7. ใหความสําคัญกับหองสมุด ขอเสนอแนะ 1. ควรสงเสริมใหมีกิจกรรมบริการวิชาการเพิ่มขึ้น 2. ควรสงเสริมคณาจารยวัยหนุมสาวใหเรียนตอปริญญาในระดับสูงขึ้นเพื่อเปนกําลังสําคัญของ วิทยาลัยในอนาคต 3. ควรใหอาจารยแตละคนจัดทําแผนพัฒนาตนเองในเชิงวิชาการ 4. ควรสงเสริมการประชาสัมพันธใหกวางขวางยิ่งขึ้น 5. จากผลการวิจัยสถาบันพบวา ผูใชบัณฑิตอยากใหวิทยาลัยพัฒนาภาษาอังกฤษใหนักศึกษาเพิ่มขึ้น 6. ควรผลักดันนโยบายและทิศทางใหมๆ ใหจริงจัง เชน TQF แนวปฏิบัติที่ดี มีศูนยสืบสานภูมิปญญาบรรพชนบางนา เพื่อสงเสริมใหเกิดความเขาใจวิถีชีวิตและภูมิปญญา บรรพชน จัดเก็บเปนฐานขอมูลไวเพื่อการสืบคนแกผูที่สนใจทั่วไปและเผยแพรในเว็บไซตของวิทยาลัย
บทที่ 1 ขอมูลเบื้องตนของ วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก
บทที่ 1 ข้ อมูลเบือ้ งต้ นของ วิทยาลัยเซาธ์ อสี ท์ บางกอก 1.1 ประวัติความเป็ นมา และสภาพปัจจุบัน วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก ตั้งอยูเลขที่ 290 ถนนสรรพาวุธ แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพมหานคร 10260โทรศัพท 0-2398-1352, 0-2744-7356-68 โทรสาร 0-2398-1356 เว็บไซต : www.southeast.ac.th อีเมล : info@southeast.ac.th ดวยสํานึกในพระคุณของแผนดิน อันมีคุณานุกูลตอตระกูล นายเพิ่ม – นางละออง รุงเรือง จนกอใหเกิด ความเจริญกาวหนาในชีวิต และการงานสืบเนื่องตอกันมาหลายชั่วชีวิต ในเขตพื้นที่บางนา อันเปนเขต ชานเมืองดานตะวันออกเฉียงใตของกรุงเทพมหานคร ประกอบกับความตระหนักในคุณคาของการศึกษา ที่ดีมีคุณภาพสูงเทานั้น ที่ประชาชนชาวไทยควรไดรับ จึงจะกอใหเกิดการพัฒนาสถาพรอยางยั่งยืนแก แผนดินและมวลมนุษยชาติ วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก ถือกําเนิดขึ้นมาดวยปณิธานแนวแนในการสราง คนไทยใหเปนมนุษยที่มีศักยภาพและสมรรถนะระดับสากล วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก (Southeast Bangkok College) ไดรับอนุญาตจัดตั้งเมื่อวันที่ 29 มีนาคม 2542 และทบวงมหาวิทยาลัย (สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา : สกอ. ในปจจุบัน) ไดอนุญาตให เปดดําเนินการ หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิตใน 3 สาขาวิชา คือ สาขาวิชาการบัญชี สาขาวิชาการตลาด และสาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ รวมทั้งใหการรับรองวิทยฐานะสถาบันอุดมศึกษาเอกชน เมื่อวันที่ 3 มีนาคม 2543 ซึ่งมีผลทําใหวิทยาลัยสามารถเปดดําเนินการเรียนการสอนไดในภาคการศึกษาแรก ของปการศึกษา 2543 ตอมาในปการศึกษา 2544 วิทยาลัยไดเปดดําเนินการเรียนการสอนคณะนิติศาสตร และบัณฑิตวิทยาลัย หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารการศึกษา และในปการศึกษา 2545 ไดเปดดําเนิน การเรียนการสอนคณะศิลปศาสตร หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษธุรกิจ และเปดสอน ระดับบัณฑิตศึกษาเพิ่มอีก 1 หลักสูตร คือ หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต ตอมาในปการศึกษา 2548 บัณฑิตวิทยาลัยไดเปดการเรียนการสอน เพิ่มอีก 2 สาขาวิชา คือ สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส (Logistics Management) และหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต ( Master of Management) สาขาวิชา การจัดการภาครัฐและภาคเอกชน (Public and Private Management)
ในปการศึกษา 2549 วิทยาลัยไดเปดดําเนินการเรียนการสอนคณะวิทยาศาตรและเทคโนโลยี หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และเพิ่มสาขาวิชาใหม อีก 1 สาขาวิชา ในคณะบริหารธุรกิจ คือ สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส 1.2 ปรัชญา ปณิธาน วิสัยทัศน์ พันธกิจ วัตถุประสงค์ และแผนงาน 1.2.1 ปรัชญา คุณวุฒิ คุณธรรม คุณค่ า หมายความวาบัณฑิตของวิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก จะตองเปนผูที่มีคุณลักษณะที่พึงประสงค อยู 3 ประการใหญๆ คือ คุณวุฒิ หมายความวา บัณฑิตของวิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก จะตองถึงพรอมในดานวิทยาการ ตางๆ เปนอยางดี มีความรูแตกฉานในสาขาวิชาที่ไดศึกษา มีสมรรถนะสูงระดับสากล สามารถนํา องคความรูที่ไดศึกษาเลาเรียนไปประกอบอาชีพใหเกิดประโยชนทั้งตอตนเอง สังคม และประเทศชาติ ไดเปนอยางดี คุณธรรม หมายความวา บัณฑิตของวิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก จะตองมีจรรยาบรรณแหงวิชาชีพ มีจริยธรรม มุงมั่นในการสรางสรรคความเจริญใหแกองคกร มีน้ําใจ มีความรับผิดชอบ มีความเสียสละ และ มีความจงรักภักดี ตอองคกรที่ปฎิบัติหนาที่อยู คุณค่ า หมายความวา บัณฑิตของวิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก จะตองเปนทรัพยากรมนุษยที่มีคา ทั้งตอองคกร และตอประเทศชาติ 1.2.2 ปณิธาน วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก มีปณิธานแนวแนในการพัฒนาศักยภาพของมนุษยใหมีสมรรถนะสูง ระดับสากล โดยเฉพาะในศาสตรที่วิทยาลัยเปดดําเนินการหลักสูตร วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอกจะพัฒนา ขีดความสามารถของคณาจารย ทรัพยากรเพื่อการเรียนการสอนการวิจัย และเทคโนโลยีเพื่อ การจัดการศึกษาที่มีคุณภาพและมาตรฐานสูงแกประชาชน 1.2.3 วิสัยทัศน์ “วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก เปนองคกรการเรียนรูที่มีคุณภาพ เพื่อเสริมสรางศักยภาพสูงสุด ของมนุษย ” ซึ่งหมายความวา วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอกจะไดรับการพัฒนาเปนองคกรที่มีศักยภาพตอ การสรางความรู คูคุณธรรม สรางปญญา และสมรรถนะของมนุษย เปนองคกรที่มีความยืดหยุนสูง เปลี่ยนแปลงตามเทคโนโลยี และวิชาการได
1.2.4 พันธกิจ พันธกิจหลักของวิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก คือ การผลิตบัณฑิต การวิจัย การใหบริการทาง วิชาการ แกสังคม การทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย เพื่อใหเปน สถาบันการศึกษาชั้นนําระดับสากลที่มีคุณคาตอสังคม 1.2.5 วัตถุประสงค์ และแผนงาน วัตถุประสงคหลัก ในการจัดการศึกษาของวิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก คือ การผลิตบัณฑิตใหมี คุณสมบัติที่พึงประสงค 4 ประการ คือ 1) มีความรู ความชํานาญในศาสตรที่ศึกษา 2) มีความสามารถในการใชภาษาอังกฤษ เพื่อการสื่อสารไดเปนอยางดี 3) มีความสามารถในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศไดอยางมีประสิทธิภาพ 4) มีคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณ ตลอดจนความเปนไทย แผนงาน ในปการศึกษา 2552 นี้ วิทยาลัยไดดําเนินงานตามภารกิจตางๆ ดังที่ปรากฎอยูในแผนยุทธศาสตร วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก พ.ศ. 2548 – 2552 1.3 โครงสร้ างการบริหารงาน
โครงสร้ างการบริหารวิทยาลัยเซาธ์ อสี ท์บางกอก สภาวิทยาลัย สภาวิชาการ อธิการบดี
ทีป่ รึกษา
กรรมการบริหารวิทยาลัย สํานักอธิการบดี
รองอธิการบดี ฝ่ ายบริหาร สํานักการคลัง สํานักบริการ ศู นย์ เทคโนโลยี สารสนเทศ
รองอธิการบดี ฝ่ ายวิชาการ บัณฑิตวิทยาลัย คณะบริหารธุรกิจ คณะนิตศิ าสตร์ คณะศิลปศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี สํานักวิชาการ สํานักประกัน คุณภาพการศึกษา สํานักทะเบียน และประมวลผล สํานักวิทยบริการ
รองอธิการบดี ฝ่ ายวางแผนและพัฒนา สํานักวิจยั และวางแผน ฝ่ ายวิเทศสัมพันธ์
รองอธิการบดี ฝ่ ายกิจการนักศึกษา และกิจการพิเศษ สํานักกิจการ นักศึกษาและ กิจการพิเศษ สํานักประชา สัมพันธ์ และ การตลาด ศู นย์ ศิลป วัฒนธรรม
1.4 รายชื่อผู้บริหารชุ ดปัจจุบัน คณะกรรมการสภาวิทยาลัยเซาธ์ อสี ท์ บางกอก 1.4.1. สภาวิทยาลัยเซาธ์ อสี ท์ บางกอก มีอํานาจและหนาที่ในการควบคุมดูแลกิจการทั่วไปของวิทยาลัย โดยเฉพาะอยางยิ่ง การวาง นโยบายเกี่ยวกับการศึกษา การวิจัย การใหบริการทางวิชาการแกสังคม การทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม การเงินและทรัพยสิน การออกระเบียบขอบังคับตาง ๆ การแตงตั้ง การถอดถอนผูบริหาร และการอนุมัติ ปริญญา ดังมีรายชื่อตอไปนี้ นายกสภาวิทยาลัย นายชนะ รุ่ งแสง
คุณวุฒิ พาณิชยศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ประสบการณ์ อดีต รองประธานกรรมการอํานวยการ บมจ.ธนาคารกสิกรไทย สมาชิกสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ อุปนายกสภาวิทยาลัย
ศาสตราจารย์ ดร.วรภัทร โตธนะเกษม คุณวุฒิ Ph.D. (Economics) University of IIIinois, U.S.A. ประสบการณ์ อดีต ผูชวยกรรมการผูจัดการธนาคารกสิกรไทย ศาสตราจารยพิเศษ คณะพาณิชยศาสตร และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร กรรมการผูจัดการบริษัท THAI RATING INFORMATION SERVICES (TRIS) กรรมการสภาวิทยาลัย ศาสตราจารย์ เกียรติคุณ ดร.ไพบูลย์ ช่ างเรียน คุณวุฒิ Ph.D.(Political Science) Syracuse University ประสบการณ อดีต คณบดีคณะรัฐประศาสนศาสตร สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร ปจจุบัน นายกสภามหาวิทยาลัยการจัดการและเทคโนโลยีเอเชีย
-
รองศาสตราจารย นาวาเอก ยุทธนา ตระหงาน คุณวุฒิ M.S.(Computer Science) Florida Institute of Technology U.S.A. ปริญญาบัตร วิทยาลัยปองกันอาณาจักร รุนที่ 49 ประสบการณ อดีต ประธานคณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยศรีปทุม ปจจุบัน รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง รองศาสตราจารย ดร.เอกชัย แสงอินทร คุณวุฒิ Ph.D.(Electrical&Electronic Engineering) Imperial College, University of London ประสบการณ อดีต รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยเชียงใหม ปจจุบัน อาจารยประจําภาควิชาวิศวกรรมไฟฟา คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม รองศาสตราจารย์ ดร.ทศพร ศิริสัมพันธ์ คุณวุฒิ Ph.D. (Public Ad.) Northern IIIinois University U.S.A. ประสบการณ์ อดีต ผูชวยอธิการบดี จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปัจจุบัน เลขาธิการสํานักงานพัฒนาระบบราชการ
รองศาสตราจารย์ วริ ัช สงวนวงศ์ วาน คุณวุฒิ Master of Commerce พาณิชยศาสตรมหาบัณฑิต (M.Com) University of New South Wales, Australia ประสบการณ์ อดีต รองอธิการบดีฝายพัฒนา มหาวิทยาลัยรามคําแหง ผูอํานวยการบัณฑิตศึกษา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยรามคําแหง นายเชนทร์ วิพฒ ั น์ บวรวงศ์ คุณวุฒิ - พบ.ม. (เกียรตินิยมดี) คณะรัฐประศาสนศาสตร สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร - ปริญญาบัตร วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร (วปอ.) รุนที่ 42 ประสบการณ์ อดีต - กรรมการผูแทนสมาชิกขาราชการพลเรือน - คณะอนุกรรมการกฎหมายกองทุนบําเหน็จบํานาญ ขาราชการ - ผูตรวจราชการกระทรวงมหาดไทย
ดร.เซ็น แก้ วยศ
คุณวุฒิ Ph.D. (Ed.Admin) University of Alberta Canada ประสบการณ์ อดีต รองอธิบดีกรมวิชาการ, รองอธิบดีกรมอาชีวศึกษา อาจารยประจํา และผูทรงคุณวุฒิ สาขาวิชาการบริหาร การศึกษา มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
คุณวุฒิ ปัจจุบัน
ดร.ณัฐรัตน์ ประโยชน์ อุดมกิจ Ph.D. (Educational Administration) IIIinois State University, U.S.A. ประสบการณ์ อดีต อาจารยพิเศษ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ผูรับใบอนุญาต – อาจารยใหญโรงเรียนอรรถวิทย ผูพิพากษาสมทบศาลเยาวชนและครอบครัว
กลางกรุงเทพ ดร.ฉันทวิทย สุชาตานนท คุณวุฒิ Ph.D.(Educational Administration) Michigan State University, Michigan, U.S.A. ประสบการณ อดีต ผูชวยเลขาธิการ คณะกรรมการการอุดมศึกษา รองเลขาธิการ คณะกรรมการการอุดมศึกษา
คุณวุฒิ ปัจจุบัน
ดร.สมศักดิ์ รุ่ งเรือง Ph.D. (Management) Adamson University, Philippines ประสบการณ์ อดีต ผูรับใบอนุญาต – ผูอํานวยการโรงเรียนอรรถวิทยพณิชยการ อธิการบดีวิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก
ดร.ทิวา พงศ์ ธนไพบูลย์ คุณวุฒิ Ph.D. (Management) Adamson University, Philippines ประสบการณ์ อดีต อาจารยประจําบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเซนตจอหน ผูจัดการโรงเรียนอรรถวิทยพาณิชยการ ปัจจุบัน รองอธิการบดีฝายกิจการนักศึกษาและกิจการพิเศษ วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก
ผศ.ดร.วัลยา ชู ประดิษฐ์ คุณวุฒิ Ph.D. (Development Administration) (International Program) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร ประสบการณ์ อดีต รองคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเซนตจอหน ปัจจุบัน รองอธิการบดีฝายวิชาการ วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก นางสุ ณี ทิพย์เกษร คุณวุฒิ ร.ป.ม.(การบริหารโครงการและนโยบาย) มหาวิทยาลัยอีสเทิรนเอเชีย ประสบการณ์ อดีต ครูใหญโรงเรียนคริสตธรรมศึกษา ปัจจุบัน ผูอํานวยการสํานักอธิการบดี วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก 1.4.2 สภาวิชาการ มีอํานาจหนาที่ในการกําหนดนโยบาย แผนพัฒนาวิชาการของวิทยาลัย กํากับดูแลคุณภาพและ มาตรฐานวิชาการของวิทยาลัย กลั่นกรองและเสนอแนะตอสภาวิทยาลัย ในการอนุมัติหลักสูตรการศึกษา การเปดสอน การรับรองมาตรฐานการศึกษา รวมทั้งการปรับปรุงหลักสูตร การยุบรวมและการยกเลิก หลักสูตรการศึกษา ตลอดจนเสนอแนะแนวทางและมาตรการตอสภาวิทยาลัย ในอันที่จะทําใหการศึกษา การวิจัย การใหบริการทางวิชาการแกสังคม และการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมใหกาวหนายิ่งขึ้น ซึ่งประกอบไปดวย 1. อธิการบดี ประธานสภาวิชาการ 2. ศ.ดรอุดม วโรตมสิกขดิตก กรรมการสภาวิชาการผูทรงคุณวุฒิ 3. รศ.ดร.พนารัตน ปานมณี กรรมการสภาวิชาการผูทรงคุณวุฒิ 4. รศ.ดร.เชาว โรจนแสง กรรมการสภาวิชาการผูทรงคุณวุฒิ 5. รศ.จุฑามาศ นิศารัตน กรรมการสภาวิชาการผูทรงคุณวุฒิ 6. รศ.ประทีป บัญญัตินพรัตน กรรมการสภาวิชาการผูทรงคุณวุฒิ 7. รองอธิการบดีฝายกิจการนักศึกษาฯ กรรมการสภาวิชาการ 8. คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย กรรมการสภาวิชาการ 9. คณบดีคณะบริหารธุรกิจ กรรมการสภาวิชาการ 10. คณบดีคณะนิติศาสตร กรรมการสภาวิชาการ 11. คณบดีคณะศิลปศาสตร กรรมการสภาวิชาการ 12. คณบดีคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี กรรมการสภาวิชาการ 13. รองอธิการบดีฝายวิชาการ กรรมการสภาวิชาการและเลขานุการ 14. หัวหนาสํานักวิชาการ ผูชวยเลขานุการ สภาวิชาการ
1.5 คณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา ปการศึกษา 2552 วิทยาลัยมีคําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษาชุดใหม โดยมีหนาที่ กําหนดแนวทางการดําเนินการเกี่ยวกับการประกันคุณภาพ ปรับปรุงคูมือการประกันคุณภาพของวิทยาลัย จัดใหมีการเผยแพรระบบประกันคุณภาพการศึกษา กําหนดมาตรฐานการตรวจสอบ และติดตามประเมินผล และหนาที่อื่น ๆ ตามนโยบายการประกันคุณภาพการศึกษาของวิทยาลัย ซึ่งประกอบไปดวย 1. รองอธิการบดีฝายวิชาการ ประธาน 2. คณบดีคณะบริหารธุรกิจ กรรมการ 3. คณบดีคณะนิติศาสตร กรรมการ 4. คณบดีคณะศิลปศาสตร กรรมการ 5. คณะบดีคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี กรรมการ 6. คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย กรรมการ 7. หัวหนาสํานักวิชาการ กรรมการ 8. หัวหนาสํานักประกันคุณภาพการศึกษา กรรมการและเลขานุการ 1.6 หลักสู ตรและสาขาวิชาทีเ่ ปิ ดสอน ในปการศึกษา 2552 วิทยาลัยเปดสอนในหลักสูตรและสาขาวิชาตาง ๆ ประกอบดวย 1.6.1 คณะบริหารธุรกิจ หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชี สาขาวิชาการตลาด สาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ และสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส 1.6.2 คณะนิติศาสตร์ เปดดําเนินการ 1 หลักสูตร คือ หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต 1.6.3 คณะศิลปศาสตร์ เปดดําเนินการ 1 หลักสูตร คือ หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา ภาษาอังกฤษธุรกิจ 1.6.4 คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี เปดดําเนินการ 1 หลักสูตร คือ หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 1.6.5 บัณฑิตวิทยาลัย เปดดําเนินการ 2 หลักสูตร คือ หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชา การบริหารธุรกิจ และสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส และหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน จากหลักสูตรและสาขาวิชาที่เปดสอน สรุปแสดงในตารางที่ 1
ตารางที่ 1 แสดงจํานวนคณะและสาขาทีเ่ ปิ ดสอนในปี การศึกษา 2552 คณะ บัณฑิตวิทยาลัย บริหารธุรกิจ นิติศาสตร ศิลปศาสตร วิทยาศาสตรและ เทคโนโลยี รวม
หลักสู ตรและสาขาวิชา บธ.บ. น.บ. ศ.ศ.บ.
บธ.ม.
กจ.ม.
2 -
1 -
4 -
1 -
2
1
4
1
วท.บ.
รวม
1 -
1
3 4 1 1 1
1
1
10
(4 ปี )
1.7 คณาจารย์ ในปการศึกษา 2552 วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอกมีอาจารยประจํา รวมทั้งสิ้น 72 คน จําแนกเปนอาจารย คุณวุฒิปริญญาเอก 16 คน ปริญญาโท 55 คน และปริญญาตรี 1 คน และมีตําแหนงทางวิชาการเปน รองศาสตราจารย 2 คน ผูชวยศาสตราจารย 2 คน และตําแหนงอาจารย 68 คน 1.8 นักศึกษา ในปการศึกษา 2552 วิทยาลัยมีนักศึกษา จํานวนรวมทั้งสิ้น 1,814 คน คิดเปนจํานวนนักศึกษาเทียบเทา เต็มเวลา (FTES) เทากับ 1,663 คน ดังนี้ ตารางที่ 2 แสดงจํานวนนักศึกษา ประจําปี การศึกษา 2550 – 2552 จําแนกตามคณะ ปี การศึกษา คณะบริหารธุรกิจ คณะนิติศาสตร คณะศิลปศาสตร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี บัณฑิตวิทยาลัย รวมจํานวนนักศึกษา
2550 1,426 94 77 114 115 1,826
2551 1,426 76 56 193 100 1,866
2552 1,397 80 45 207 85 1,814
1.9 งบประมาณ ในปการศึกษา 2552 วิทยาลัยมีระบบการจัดสรรงบประมาณไวในแผนการดําเนินงานโดย อิงพันธกิจ หลัก 5 ประการ คือ การผลิตบัณฑิต การวิจัย การใหบริการทางวิชาการแกสังคม การทํานุบํารุง ศิลปวัฒนธรรมและการพัฒนาทรัพยากรมนุษย โดยแหลงเงินงบประมาณมาจากรายไดของวิทยาลัย (คาหนวยกิตและคาบํารุงการศึกษาอื่นๆ) ซึ่งสํานักการคลังรับผิดชอบภายใตการกํากับดูแลของ รองอธิการบดีฝายบริหาร ในการจัดสรรงบประมาณ มีขั้นตอนการดําเนินการดังนี้ (1) คณะ / สํานัก / ศูนย กําหนดรายละเอียดของงบประมาณประจําป ในสวนของคาตอบแทน คาใชจายคาวัสดุ – ครุภัณฑ และอื่นๆ นําเสนอสํานักการคลัง (2) สํานักการคลังรวบรวม และนําเสนอคณะกรรมการพิจารณางบประมาณประจําป ซึ่งไดรับการ แตงตั้งจากอธิการบดี (3) คณะกรรมการพิจารณางบประมาณ พิจารณาและเสนออธิการบดีเพื่ออนุมัติ (4) คณะ / สํานัก / ศูนย ดําเนินการและเบิกจายงบประมาณตามที่ไดรับอนุมัติ สําหรับการตรวจสอบการใชงบประมาณ สํานักการคลัง มีหนาที่ตรวจสอบการใชงบประมาณของ คณะ / สํานัก / ศูนย 1.10 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษา วิทยาลัยจัดใหมีระบบประกันคุณภาพ และกลไกการประกันคุณภาพที่มีประสิทธิภาพ ซึ่งเปนสวน หนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษา เพื่อนําไปสูการพัฒนาคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษาอยางตอเนื่อง พรอมรองรับการประเมินคุณภาพภายนอกได ระบบประกันคุณภาพการศึกษาของวิทยาลัย จําแนกออกเปน 2 ระบบ ไดแก ระบบประกันคุณภาพ ภายใน และระบบการประกันคุณภาพภายนอก ตามกระบวนการประเมินคุณภาพภายนอกของ สมศ. กลไกและระบบประกันคุณภาพการศึกษาของวิทยาลัย ประกอบดวย 1) มีคณะกรรมการประกันคุณภาพประจําหนวยงานใน 2 ระดับ ไดแก (1) ระดับวิทยาลัย มี คณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก (2) ระดับคณะวิชา ศูนย / สํานัก มีคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา ประจําคณะวิชา ศูนย / สํานัก 2) มีเกณฑ / ดัชนีการประกันคุณภาพและการประเมินคุณภาพ 3) มีกระบวนการในการดําเนินการประกันคุณภาพการศึกษา 4) ผูบริหารและพนักงานของทุกหนวยงานทั้งหมดของวิทยาลัยมีสวนรวม 5) มีการประเมินตนเองและการจัดทํารายงานการประเมินตนเองเพื่อการประกันคุณภาพ การศึกษาภายในและรองรับการประเมินจากองคกรภายนอก
บทที่ 2 ผลการประเมินตามตัวบงชี้ของ สกอ.
องคประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค และแผนดําเนินการ
ตัวบงชี้ที่ 1.1 มีการกําหนดปรัชญาหรือปณิธาน ตลอดจนมีกระบวนการพัฒนากลยุทธแผนดําเนินงาน และมีการกําหนดตัวบงชี้เพื่อวัดความสําเร็จของการดําเนินงานตามแผนใหครบทุกภารกิจ ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ เกณฑมาตรฐาน : ระดับ เกณฑมาตรฐาน
มี
ไมมี
1. มีการกําหนดปรัชญาหรือปณิธาน 2. มีกระบวนการพัฒนากลยุทธ แผนการดําเนินงานและแผนปฏิบตั กิ าร ประจําปใหสอดคลองกันและกัน และสอดคลองกับภารกิจหลักของ สถาบัน ยุทธศาสตรและแผนพัฒนาของชาติ 3. มีการกําหนดตัวบงชี้ของการดําเนินงาน และกําหนดเปาหมายของ แตละตัวบงชี้เพื่อวัดความสําเร็จของการดําเนินงาน 4. มีการดําเนินการตามแผนครบทุกภารกิจ 5. มีการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการดําเนินงานตามตัวบงชี้ อยางนอยปละ 2 ครั้ง และรายงานผลตอผูบริหารและสภาสถาบัน 6. มีการวิเคราะหความสอดคลองระหวางกลยุทธ แผนการดําเนินงาน เปาประสงค เปาหมายกับยุทธศาสตรและแผนพัฒนาของชาติ ตลอดจนสภาพการณปจจุบันและแนวโนมในอนาคตอยางสม่ําเสมอ 7. มีการนําผลการประเมินและผลการวิเคราะหมาปรับปรุงกลยุทธและ แผนการดําเนินงานอยางตอเนือ่ ง
-
-
-
-
-
เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 มีการดําเนินการไมครบ 5 ขอแรก คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2552
คะแนน 2 มีการดําเนินการ 5-6 ขอแรก : :
เอกสาร หมายเลข 1-1.1-1 1-1.1-2/1 1-1.1-2/2 1-1.1-2 1-1.1-3 1-1.1-4
คะแนน 3 มีการดําเนินการครบทุกขอ ระดับ 7 ระดับ 4
ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2552 วิทยาลัยมีผลงานผานระดับ 4 ตามเกณฑมาตรฐาน สกอ. คือ เกณฑ การดําเนินงานในแตละระดับ ระดับ 1 มีการกําหนด ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงคของวิทยาลัย และมีการเผยแพรใหคณาจารย เจาหนาที่ และนักศึกษา ทุกคนไดรับทราบ เพื่อเปนแนวทางในการดําเนินงานรวมกัน ระดับ 2 คณะกรรมการจัดทําแผนพัฒนาการศึกษาของวิทยาลัย ไดวิเคราะหจุดแข็ง จุดออน โอกาส และภัยคุกคาม แลวนํามาพัฒนา กําหนดเปนแผนพัฒนาการศึกษาของวิทยาลัย พ.ศ 2551 – 2555 และแผนการดําเนินงาน ใหสอดคลองกัน โดยครอบคลุมภารกิจหลัก ดานการเรียนการสอน การวิจัย การบริการทางวิชาการ และการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม ระดับ 3 มีการกําหนดตัวบงชี้ของการดําเนินงาน โดยผนวกใชตัวบงชี้ของ สกอ. สมศ. และตัวบงชี้ ที่พัฒนาขึ้นเปนเครื่องชี้ผลงาน เพื่อวัดความสําเร็จของการดําเนินงานตามแผนทุกภารกิจ ระดับ 4 มีการดําเนินการตามแผนการดําเนินงานประจําป ตามที่กําหนดไวของทุกหนวยงาน การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 2 คะแนน
การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย ไมบรรลุเปาหมาย
รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ชื่อเอกสาร/รายละเอียด ระดับ 1 1-1.1-1 วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก คูมือการศึกษาและหลักสูตร ปการศึกษา 2552 ระดับ 2 1-1.1-2/1 วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก แผนยุทธศาสตร พ.ศ. 2548 - 2552 1-1.1-2/2 ยุทธศาสตร เปาประสงค กลยุทธ ตัวชี้วัด เปาหมาย แผนพัฒนาการศึกษาวิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก พ.ศ.2551 – 2555 ระดับ 3 1-1.1-2 ยุทธศาสตร เปาประสงค กลยุทธ ตัวชี้วัด เปาหมายฯ แนวปฎิบัติและแผนการดําเนินงาน ประจําปการศึกษา 2552 ของ 1-1.1-3 ทุกหนวยงาน ระดับ 4 1-1.1-4 รายงานการประเมินตนเอง (SAR) ประจําปการศึกษา 2552 ของ ทุกหนวยงาน
ตัวบงชี้ที่ 1.2 รอยละของการบรรลุเปาหมายตามตัวบงชี้ของการปฏิบัติงานที่กําหนด ชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิต เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 บรรลุเปาหมายรอยละ 60-74 บรรลุเปาหมายรอยละ 75-89 บรรลุเปาหมายรอยละ 90-100 : :
คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2552
รอยละ 85 รอยละ 88
ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2552 วิทยาลัยไดกําหนดตัวบงชี้ ตามแผนดําเนินการประจําป จํานวน 263 ตัวบงชี้ โดยสามารถดําเนินการใหบรรลุเปาหมายได 232 ตัวบงชี้ คิดเปนรอยละ 88 การบรรลุเปาหมาย บรรลุเปาหมาย เพราะวิทยาลัยไดกําหนดเปาหมายไวที่ รอยละ 88 การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 2 คะแนน
การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย
รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ชื่อเอกสาร/รายละเอียด รอยละ 88 1-1.2-1 รายงานผลการดําเนินงานตามยุทธศาสตร เปาประสงค กลยุทธ ตัวชี้วัด และเปาหมายของแผนพัฒนาการศึกษา วิทยาลัยเซาธอีสท บางกอก ปการศึกษา 2552
องคประกอบที่ 2 การเรียนการสอน
ตัวบงชี้ที่ 2.1 มีระบบและกลไกการพัฒนาและบริหารหลักสูตร ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ เกณฑมาตรฐาน : ระดับ เกณฑมาตรฐาน
มี
ไมมี
1. มีระบบและกลไกการเปดและปดหลักสูตร 2. มีการกําหนดเปาหมายการผลิตบัณฑิตทุกหลักสูตรในแผนการผลิต บัณฑิต 3. มีการเตรียมความพรอมกอนการเปดหลักสูตรใหมและการปรับปรุง หลักสูตรใหเปนไปตามเกณฑมาตรฐานหลักสูตรทุกเรื่อง 4. มีการวิเคราะหขอมูลการดําเนินการทุกหลักสูตรประจําปการศึกษา เชน รอยละของหลักสูตรที่ไมเปนไปตามเกณฑมาตรฐานรอยละของ บทความจากวิทยานิพนธที่ตีพิมพเผยแพรรอยละของบัณฑิตที่ทํางาน ตรงสาขา 5. มีการนําผลการวิเคราะหขอมูลการดําเนินการหลักสูตรประจําป การศึกษาไปปรับปรุงหลักสูตร และหรือปรับปรุงระบบและกลไก การบริหารหลักสูตร 6. หลักสูตรที่เปดสอนทุกหลักสูตรไดมาตรฐานตามเกณฑมาตรฐาน หลักสูตรทุกเรื่อง และมีการประกันคุณภาพหลักสูตรครบทุกประเด็น ตามเกณฑมาตรฐานหลักสูตร 7. หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาที่เนนการวิจัย (ปริญญาโทเฉพาะแผน (ก) และปริญญาเอก) ที่เปดสอนมีจํานวนมากกวารอยละ 50 ของ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด
-
เอกสาร หมายเลข 2-2.1-1 2-2.1-2
-
2-2.1-3
-
2-2.1-4
-
2-2.1-5
-
2-2.1-6
-
-
เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 มีการดําเนินการไมครบ 5 ขอแรก คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2552
คะแนน 2 มีการดําเนินการ 5 ขอแรก
คะแนน 3 มีการดําเนินการครบ 6 ขอแรก : :
ระดับ 6 ระดับ 6
ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2552 วิทยาลัยมีผลงานผานระดับ 6 ตามมาตรฐาน สกอ. คือ เกณฑ การดําเนินงานในแตละระดับ ระดับ 1 มีการกําหนดแนวปฎิบตั แิ ละขัน้ ตอนการเปดและปดหลักสูตรของวิทยาลัย ใหสอดคลอง กับแนวปฏิบัติในการนําเสนอหลักสูตรระดับอุดมศึกษาตอสํานักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา และ แนวปฏิบัติการแจงปดหลักสูตรสาขาวิชาตามที่สํานักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษากําหนด ระดับ 2 มีการกําหนดเปาหมายการรับนักศึกษา และแผนการผลิตบัณฑิตในทุกหลักสูตร ระดับ 3 มีการเตรียมความพรอมกอนเปดหลักสูตรใหม โดยการศึกษาความเปนไปไดของโครงการ เปดดําเนินการหลักสูตร การทําแผนธุรกิจโครงการ และจัดทําหลักสูตรตามเกณฑมาตรฐาน ทุกหลักสูตร ระดับ 4 มีการวิเคราะหขอมูลการดําเนินงานหลักสูตรทุกปการศึกษา ไดแก รอยละของหลักสูตรที่ได มาตรฐาน รอยละของบทความวิทยานิพนธที่ตีพิมพเผยแพร รอยละของบัณฑิตที่ทํางานตรงสาขา เปนตน ระดับ 5 มีการนําผลการวิเคราะหขอมูลการดําเนินการหลักสูตร มาวิเคราะหเพื่อปรับปรุงและแกไขระบบ และกลไกการบริหารหลักสูตร ระดับ 6 หลักสูตรทุกหลักสูตรของวิทยาลัยไดรับความเห็นชอบจากสํานักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา (สกอ.) ดังนี้ 1. หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต (การบัญชี) รับรองหลักสูตร 23 ก.ค. 2551 2. หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต (การตลาด) รับรองหลักสูตร 23 ก.ค. 2551 3. หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต (คอมพิวเตอรธุรกิจ) รับรองหลักสูตร 23 ก.ค. 2551 4. หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต (การจัดการโลจิสติกส) รับรองหลักสูตร 10 ส.ค. 2549 5. หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต รับรองหลักสูตร 23 ก.ค. 2551 6. หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต (ภาษาอังกฤษธุรกิจ) รับรองหลักสูตร 23 ก.ค. 2551 7. หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (เทคโนโลยีสารสนเทศ) รับรองหลักสูตร 18 ก.ค. 2549 8. หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต รับรองหลักสูตร 23 ก.ค. 2551 9. หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (การจัดการโลจิสติกส) รับรองหลักสูตร 23 ก.ค. 2551 10. หลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต (การจัดการภาครัฐและเอกชน) รับรองหลักสูตร 23 ก.ค. 2551 การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 3 คะแนน
การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย
รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ชื่อเอกสาร/รายละเอียด ระดับ 1 2-2.1-1 แนวปฎิบตั แิ ละขัน้ ตอนการเปดและปดหลักสูตรของวิทยาลัย ระดับ 2 2-2.1-2 เปาหมายการรับนักศึกษาและแผนการผลิตบัณฑิตแตละหลักสูตร ระดับ 3 2-2.1-3 (ตัวอยาง) การศึกษาความเปนไปไดโครงการเปดดําเนินการ หลักสูตร/แผนธุรกิจโครงการฯ ระดับ 4 2-2.1-4 รายงานการประเมินตนเอง ปการศึกษา 2551 ระดับ 5 1-1.1-5/1 รายงานการประชุมคณะผูบริหารวิทยาลัย ปการศึกษา 2552 ระดับ 6 2-2.1-6 หลักสูตรที่ไดรับการรับรองจากสํานักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา (ทุกหลักสูตร) ตัวบงชี้ที่ 2.2 มีกระบวนการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ เกณฑมาตรฐาน : ระดับ เกณฑมาตรฐาน
มี
ไมมี
1. มีกลไกการใหความรูความเขาใจกับอาจารยผูสอนถึงวัตถุประสงค และเปาหมายของการจัดการศึกษาทุกหลักสูตร 2. มีการออกแบบการเรียนการสอนและจัดกิจกรรมการเรียนรูที่เนน ผูเรียนเปนสําคัญทุกหลักสูตร 3. มีการใชสื่อเทคโนโลยีหรือนวัตกรรมในการสอนเพื่อสงเสริม การเรียนทุกหลักสูตร 4. มีการจัดการเรียนการสอนที่มีความยืดหยุนและหลากหลายที่จะ สนองตอบตอความตองการของผูเรียน 5. มีการประเมินผลการเรียนการสอนที่สอดคลองกับสภาพการเรียนรูที่ จัดใหผูเรียน และอิงพัฒนาการของผูเรียนทุกหลักสูตร 6. มีการประเมินผลความพึงพอใจของผูเรียนในเรื่องคุณภาพการสอน และสิ่งสนับสนุนการเรียนรูทุกหลักสูตร 7. มีระบบการปรับปรุงวิธีการเรียนการสอน และพัฒนาผูเรียนอยาง ตอเนื่องทุกหลักสูตร
-
เอกสาร หมายเลข 2-2.2-1
-
2-2.2-2
-
2-2.2-3
-
2-2.2-4
-
2-2.1-5
-
2-2.1-6
-
2-2.2-7
เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 มีการดําเนินการไมครบ 5 ขอแรก มีการดําเนินการ 5-6 ขอแรก คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2552
คะแนน 3 มีการดําเนินการครบทุกขอ : :
ระดับ 6 ระดับ 7
ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2552 วิทยาลัยมีผลงานผานระดับ 7 ตามมาตรฐาน สกอ. คือ เกณฑ ระดับ 1 ระดับ 2
ระดับ 3
ระดับ 4
ระดับ 5
ระดับ 6
ระดับ 7
การดําเนินงานในแตละระดับ มีกลไกการใหความรูความเขาใจกับอาจารยผูสอน ถึงวัตถุประสงคและเปาหมายของการ จัดการศึกษาทุกหลักสูตร วิทยาลัยกําหนดใหผูสอนจัดทําแผนการสอนและโครงการสอนทุกวิชา โดยมีการระบุ วัตถุประสงคของการสอน วิธีการสอน กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อการสอน ตลอดจน การวัดผล โดยเนนผูเรียนเปนสําคัญ วิทยาลัยสงเสริมใหมีการใชสื่อเทคโนโลยี ในการสงเสริมการเรียนรู โดยจัดใหมีการนํา โครงการสอน แผนการสอน เอกสารประกอบการสอน และสื่อตาง ๆ ไวบน website ของ อาจารย รวมทั้งจัดใหมี e-mail, web board ในการสื่อสารแลกเปลี่ยนเรียนรูระหวางอาจารย และนักศึกษา วิทยาลัยสงเสริมใหอาจารยจัดการเรียนการสอนที่หลากหลายตอบสนองตอความตองการ ของผูเรียน สงเสริมใหนักศึกษาไดเรียนรูดวยตัวเอง ใหมีการมอบหมาย ใหทํารายงาน โครงงาน ตามความสนใจของผูเรียน วิทยาลัยกําหนดใหผูสอนตองกําหนดระบบการวัดและประเมินผล ตามหลักเกณฑของ คณะกรรมการกํากับมาตรฐานวิชาการทุกหลักสูตร ไวในโครงการสอน โดยตองแจงให ผูเรียนทราบกอนสอน และประเมินผลตามกิจกรรม โดยอิงพัฒนาการของผูเรียน วิทยาลัยจัดใหมีการประเมินการสอนของอาจารย โดยนักศึกษาทุกภาคการศึกษา โดยมี การประเมินผลความพึงพอใจของนักศึกษาตอคุณภาพการสอนของอาจารย และ สิ่งสนับสนุนการเรียนรู การประเมินคุณภาพการสอนนี้ เปนการประเมิน online อาจารย ผูสอนสามารถตรวจสอบขอมูลผลการประเมินของตนเองไดจากระบบบริหารการศึกษา วิทยาลัยมีการปรับปรุงวิธีการเรียนการสอนโดยใชสื่อ E-Learning และสงเสริมใหผูเรียน ศึกษาคนควาเพิ่มเติม
การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 3 คะแนน
การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย
รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ชื่อเอกสาร/รายละเอียด ระดับ 1 2-2.2-1 รายงานสรุปการประชุมเตรียมความพรอม เปดภาคการศึกษา ที่ 1 / 2552 และ 2 / 2552 ระดับ 2 2-2.2-2 โครงการสอนของทุกรายวิชา ปการศึกษา 2552 ระดับ 3 2-2.2-3 ตัวอยาง Website ของอาจารย/e-book รายวิชา/ web-board ของคณะ ระดับ 4 2-2.2-2 โครงการสอนรายวิชา / จํานวนชั่วโมงที่เปดใหบริการแกนักศึกษา 2-2.2-4 ในการใชหองสมุด และหองคอมพิวเตอร ระดับ 5 2-2.2-2 โครงการสอนรายวิชา ปการศึกษา 2552 ระดับ 6 2-2.2-6 รายงานผลการประเมินการสอนของอาจารย ปการศึกษา 2552 ระดับ 7 2-2.2-7 ตัวอยาง E-Learning หลักการสืบคนขอมูลสารสนเทศในหัวขอ การใชหองสมุดรายวิชาทักษะในการศึกษา ตัวบงชี้ที่ 2.3 มีโครงการหรือกิจกรรมที่สนับสนุนการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอนซึ่งบุคคล องคกร และชุมชนภายนอกมีสวนรวม ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ เกณฑมาตรฐาน : ระดับ เอกสาร เกณฑมาตรฐาน มี ไมมี หมายเลข 1. มีระบบและกลไกที่กําหนดใหผูทรงคุณวุฒิ หรือผูรูในชุมชนมาชวย 2-2.3-1 ในการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรทุกหลักสูตร 2. มีการจัดการเรียนการสอนที่สงเสริมใหผูเรียนมีความรูและทักษะ 2-2.3-2 ที่นําไปใชในการปฏิบัติไดจริง โดยมีผูทรงคุณวุฒิ หรือผูรูในชุมชน มีสวนรวมทุกหลักสูตร 3. มีการจัดโครงการ กิจกรรมทางการศึกษาทั้งที่กําหนดและไมกําหนด 2-2.3-3 ในหลักสูตรโดยความรวมมือกับองคการหรือหนวยงานภายนอก 4. มีการติดตาม ตรวจสอบและประเมินกิจกรรมการเรียนการสอน 2-2.3-4 ที่ไดรับการสนับสนุนจากผูทรงคุณวุฒิหรือชุมชนภายนอกสถาบัน ทุกหลักสูตร
เกณฑมาตรฐาน 5. มีการนําผลการประเมินไปปรับปรุงการมีสวนรวมของบุคคล
มี
ไมมี
-
เอกสาร หมายเลข 2-2.3-5
องคการ และชุมชนภายนอกในการพัฒนาหลักสูตรและการเรียน การสอนทุกหลักสูตร เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 มีการดําเนินการไมครบ 4 ขอแรก
คะแนน 2 มีการดําเนินการ 4 ขอแรก
คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2552
คะแนน 3 มีการดําเนินการครบทุกขอ : :
ระดับ 5 ระดับ 5
ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2552 วิทยาลัยมีผลงานผานระดับ 5 ตามมาตรฐาน สกอ. คือ เกณฑ ระดับ 1 ระดับ 2
ระดับ 3
ระดับ 4
ระดับ 5
การดําเนินงานในแตละระดับ วิทยาลัยมีระบบและกลไกในการเชิญผูทรงคุณวุฒิเขามารวมในการพัฒนาและปรับปรุง หลักสูตรทุกหลักสูตร วิทยาลัยมีการจัดการเรียนการสอน หรือจัดโครงการกิจกรรมตาง ๆ โดยใหผูทรงคุณวุฒิ ภายนอกที่มีความรู มีประสบการณ มาเปนอาจารยพิเศษประจําหลักสูตรหรือวิทยากร บรรยายพิเศษ มีการจัดโครงการและกิจกรรมทางการศึกษาทั้งที่กําหนด และไมกําหนดในหลักสูตร โดย ความรวมมือกับสถานประกอบการในการศึกษาดูงานและฝกงาน รวมทั้งโครงการสหกิจ ศึกษา มีการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินกิจกรรมการเรียนรูของนักศึกษาที่ไดปฎิบัติงานหรือ เรียนรูจากภายนอก เชน โครงการฝกงานภายนอก โครงการสหกิจศึกษา มีการจัดการนิเทศ โดยอาจารย เพื่อติดตามการเรียนรูของนักศึกษา มีการนําผลการประเมินจากผูทรงคุณวุฒิ มาใชในการพัฒนาปรับปรุงหลักสูตรในทุกรอบ ระยะเวลา 5 ป เพื่อพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนใหสอดคลองและทันตอการ เปลีย่ นแปลง
การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 3 คะแนน
การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย
รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ชื่อเอกสาร/รายละเอียด ระดับ 1 2-2.3-1 คําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตร ระดับ 2 2-2.3-2 คําสั่งแตงตั้งอาจารยพิเศษ ปการศึกษา 2552 สรุปรายชื่อวิทยากร ภายนอก ที่มาบรรยายพิเศษ ปการศึกษา 2552 ระดับ 3 2-2.3-3 สรุปโครงการศึกษาดูงานภายนอกวิทยาลัย ประจําปการศึกษา 2552/โครงการสหกิจศึกษา ระดับ 4 2-2.3-4 รายงานการประเมินการเรียนรูในโครงการฝกงานภายนอก/ โครงการสหกิจศึกษา ระดับ 5 2-2.3-5 รายงานการประชุมสภาวิชาการ ครั้งที่ 1/2552 ตัวบงชี้ที่ 2.4 จํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทาตอจํานวนอาจารยประจํา ชนิดของตัวบงชี้ : ปจจัยนําเขา เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 6-9.99% และ -6 – (-9.99)% ≥ +10% หรือ ≤ -10% ของเกณฑมาตรฐาน ของเกณฑมาตรฐาน : :
คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2552 ผลการดําเนินงาน คณะ บริหารธุรกิจ นิติศาสตร ศิลปศาสตร วิทยาศาสตรฯ บัณฑิตวิทยาลัย สถาบัน
จํานวน อาจารย 42 5 5 5 15 72
FTES 882 54 31 156 76 1,199
คะแนน 3 (-5.99) – 5.99% ของเกณฑมาตรฐาน 6.9.99% ของเกณฑ 33.41% ของเกณฑ
FTES / นักศึกษาตออาจารย หางจาก รอยละ อาจารย ตามเกณฑปกติ เกณฑ 21 : 1 25 : 1 -4 -16 11 : 1 25 : 1 -14 -56 6:1 25 : 1 -19 -76 31 : 1 20 : 1 11 55 5:1 10 : 1 -5 50 16 : 1 25 : 1 -9 36
ในปการศึกษา 2552 จํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทาตอจํานวนอาจารยประจําเทากับ รอยละ 33.41 ของเกณฑ ซึ่งวิทยาลัยตองเรงเพิ่มจํานวนนักศึกษาในคณะที่มีจํานวนนักศึกษานอยใหมากขึ้น เพื่อให เกิดประสิทธิภาพในการดําเนินงาน
การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 1 รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน 33.41% ของเกณฑ มาตรฐาน
เอกสารหมายเลข 2-2.4-1 2-2.4-2
การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย ไมบรรลุเปาหมาย ชื่อเอกสาร / รายละเอียด จํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทา ปการศึกษา 2552 ขอมูลจํานวนบุคลากรปจจุบัน วิทยาลัยเซาธอีสท บางกอก ปการศึกษา 2552
ตัวบงชี้ที่ 2.5 สัดสวนของอาจารยประจําที่มีวุฒิปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก หรือเทียบเทา ตออาจารยประจํา ชนิดของตัวบงชี้ : ปจจัยนําเขา เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 วุฒิปริญญาเอกอยูระหวาง 1. วุฒิปริญญาเอกอยูระหวาง 1. วุฒิปริญญาเอกมากกวาหรือ เทากับรอยละ 30 และ รอยละ 20-29 และ รอยละ 1-19 หรือ วุฒปิ ริญญาเอก 2. วุฒิปริญญาตรีเทากับหรือ 2. วุฒิปริญญาตรีเทากับหรือ อยูระหวางรอยละ 20-29 แต นอยกวารอยละ 5 นอยกวารอยละ 5 วุฒิปริญญาตรีมากกวารอยละ 5 หรือ 1. วุฒิปริญญาเอกมากกวาหรือ เทากับรอยละ 30 และ 2. วุฒิปริญญาตรีมากกวารอยละ 5 คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2552
: :
รอยละ 20 – 29 รอยละ 22.22
ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2552 วิทยาลัยมีคณาจารยคุณวุฒิปริญญาเอกจํานวน 16 คน ปริญญาโท 55 คน และ ปริญญาตรี 1 คน โดยมีอาจารยประจํารวม 72 คน คิดเปนสัดสวนอาจารยคุณวุฒิปริญญาเอก รอยละ 22.22 และคุณวุฒิปริญญาตรี รอยละ 1.39
การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 2 คะแนน รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข รอยละ 22 2-2.5-1
การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย ชื่อเอกสาร / รายละเอียด ขอมูลจํานวนบุคลากรปจจุบันวิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก ปการศึกษา 2552 (ปริญญาเอก)
ตัวบงชี้ที่ 2.6 สัดสวนของอาจารยประจําที่ดํารงตําแหนงอาจารย ผูชวยศาสตราจารย รองศาสตราจารย และศาสตราจารย ชนิดของตัวบงชี้ : ปจจัยนําเขา เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 ผูดํารงตําแหนงระดับ ผศ. รศ. 1. ผูดํารงตําแหนงระดับ ผศ. รศ. 1. ผูดํารงตําแหนงระดับ ผศ. รศ. และศ. รวมกันอยูระหวาง และศ. รวมกันอยูระหวาง และศ. รวมกันมากกวาหรือ รอยละ 1-39 เทากับ รอยละ 60 รอยละ 40-59 และ 2. ผูดํารงตําแหนงระดับ รศ. 2. ผูดํารงตําแหนงระดับ รศ. หรือ ผูดํารงตําแหนงระดับ ผศ. ขึ้นไปเทากับหรือมากกวา ขึ้นไปเทากับหรือมากกวา รศ. และศ. รวมกันอยูระหวาง รอยละ 10 รอยละ 10 รอยละ 40-59 แตผูดํารงตําแหนง หรือ ระดับ รศ. ขึ้นไปนอยกวา 1. ผูดํารงตําแหนงระดับ ผศ. รศ. รอยละ 10 และศ. รวมกันมากกวาหรือ เทากับรอยละ 60 และ 2. ผูดํารงตําแหนงระดับ รศ. ขึ้นไปนอยกวาละ 10 คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2552
: :
รอยละ 10 รอยละ 5.55
ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2552 วิทยาลัยมีคณาจารยดํารงตําแหนงทางวิชาการเปนรองศาสตราจารย จํานวน 2 คน และผูชวยศาสตราจารย จํานวน 2 คน รวมเปนผูมีตําแหนงทางวิชาการจํานวน 4 คน จากจํานวนอาจารย ประจําทั้งหมด 72 คน คิดเปนรอยละ 5.55
การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 1 คะแนน รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข รอยละ 6 2-2.6-1
การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย ไมบรรลุเปาหมาย ชื่อเอกสาร / รายละเอียด ขอมูลจํานวนบุคลากรปจจุบันวิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก ปการศึกษา 2552 (ตําแหนงวิชาการ)
ตัวบงชี้ที่ 2.7 มีกระบวนการสงเสริมการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพของคณาจารย ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ เกณฑมาตรฐาน : ระดับ เกณฑมาตรฐาน
มี
ไมมี
1. สถาบันมีการกําหนดจรรยาบรรณวิชาชีพคณาจารยไวเปน ลายลักษณอักษร 2. มีกระบวนการสงเสริมใหผูเกี่ยวของไดปฏิบัติตามจรรยาบรรณ วิชาชีพ 3. มีการกํากับดูแลการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ 4. มีระบบในการดําเนินการกับผูที่ไมปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ 5. มีการดําเนินการวางแผน ปองกัน หรือหาแนวทางแกไขการกระทํา ผิดจรรยาบรรณวิชาชีพ
-
เอกสาร หมายเลข 2-2.7-1
-
2-2.7-2
-
2-2.7-3 2-2.7-4 2-2.7-5
เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 มีการดําเนินการไมครบ 3 ขอแรก คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2552
คะแนน 2 มีการดําเนินการ 3 ขอแรก : :
คะแนน 3 มีการดําเนินการอยางนอย 4 ขอแรก ระดับ 5 ระดับ 5
ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2552 วิทยาลัยมีผลงานผานระดับ 5 ตามมาตรฐาน สกอ. คือ เกณฑ การดําเนินงานในแตละระดับ ระดับ 1 มีการกําหนดจรรยาบรรณวิชาชีพคณาจารยวิทยาลัยเซาธอีสทบางกอกไวเปนลายลักษณ อักษร ระดับ 2 มีกระบวนการสงเสริมใหคณาจารยและเจาหนาที่ ปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ ระดับ 3 มีการกํากับดูแลการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ โดยการจัดทําคูมือการปฏิบัติงานและ จรรยาบรรณคณาจารย เผยแพรใหคณาจารยไดรับทราบ และเนนย้ําความสําคัญอยูเสมอใน การประชุมกอนเปดภาคการศึกษาทุกป ระดับ 4 มีระบบในการดําเนินการกับผูที่ไมปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ และมีการประเมินผล การปฏิบัติงานที่ครอบคลุมประเด็นเรื่องจรรยาบรรณ ระดับ 5 มีการดําเนินการวางแผน ปองกัน หรือหาแนวทางแกไขการกระทําผิดจรรยาบรรณ เชน ใหมีคณะกรรมการกํากับมาตรฐานวิชาการ ทําหนาที่พิจารณาการตัดเกรดเพื่อปองกัน การใชเกรดเปนเครื่องมือในการชักจูงนักศึกษา หรือมีคณะกรรมการประเมินผล การปฏิบัติงานในแตละภาคการศึกษา เพื่อใหคณาจารยตระหนักถึงผลลัพธในการทํางาน การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 3 คะแนน รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ระดับ 1 2-2.7-1 ระดับ 2
2-2.2-1
ระดับ 3
2-2.7-1
ระดับ 4
2-2.7-4
ระดับ 5
2-2.7-5
การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย ชื่อเอกสาร / รายละเอียด คูมือปฏิบัติงานบุคลากร สําหรับอาจารยวิทยาลัย เซาธอีสทบางกอก รายงานสรุปการประชุมเตรียมความพรอมเปดภาค การศึกษาที่ 1/2552 และ 2/2552 คูมือปฏิบัติงานบุคคลากร สําหรับอาจารยวิทยาลัย เซาธอีสทบางกอก ขอบังคับวิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก วาดวยการ บริหารงานบุคคล ในวิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก พ.ศ. 2550 คําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการประเมินผลการปฏิบัติงาน ประจําปการศึกษา 2552
ตัวบงชี้ที่ 2.8 มีระบบและกลไกสนับสนุนใหอาจารยประจําทําการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ เกณฑมาตรฐาน : ขอ เอกสาร เกณฑมาตรฐาน มี ไมมี หมายเลข 1. มีการกําหนดแนวทางการพัฒนาอาจารยดานความรูความเขาใจ 2-2.8-1 เกี่ยวกับการวิจัยและพัฒนา นวัตกรรมการเรียนการสอน 2. มีกลไกการบริหารวิชาการที่จะกระตุนใหอาจารยคิดคนพัฒนา 2-2.8-2 นวัตกรรมใหม ๆ ในดานการเรียนการสอน 3. มีแหลงทุนสนับสนุนการวิจัย เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนและ 2-2.8-3 นวัตกรรมทางการศึกษา 4. มีผลงานวิจยั ดานการเรียนการสอนและมีการจัดเวทีแลกเปลีย่ นและ 2-2.8-4 เผยแพรผลงานวิจัยดานการเรียนการสอนและนวัตกรรมทาง การศึกษาอยางสม่ําเสมอ 5. มีการสรางเครือขายวิจัยดานนวัตกรรมการเรียนการสอนทั้งภายใน 2-2.8-5 และภายนอกสถาบัน เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 มีการดําเนินการไมครบ 3 ขอ คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2552
คะแนน 2 มีการดําเนินการ 3-4 ขอ
คะแนน 3 มีการดําเนินการครบทุกขอ : :
4 ขอ 5 ขอ
ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2552 วิทยาลัยมีผลงานผาน 5 ขอตามมาตรฐาน สกอ. คือ เกณฑ ขอ 1
ขอ 2
การดําเนินงานในแตละขอ มีการกําหนดแนวทางการพัฒนาอาจารย ดานความรู ความเขาใจ เกี่ยวกับการวิจัยและ พัฒนานวัตกรรมการเรียนการสอน เชน โครงการสรางและสงเสริมนักวิจัย โครงการ ฝกอบรมการวิจัย โครงการคลีนิกวิจัย โครงการเผยแพรงานวิจัย มีกลไกการบริการวิชาการที่จะกระตุนใหอาจารยคิดคนพัฒนานวัตกรรมใหมๆ ในดาน การเรียนการสอน เชน นโยบายสงเสริมการพัฒนานวัตกรรม เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
เกณฑ ขอ 3
ขอ 4
ขอ 5
การดําเนินงานในแตละขอ มีแหลงทุนสนับสนุนการวิจัย เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน และนวัตกรรมทางการศึกษา ไดแก โครงการทุนอุดหนุนการวิจัยภายในวิทยาลัย โครงการจัดหาทุนอุดหนุน การวิจัย จากภายนอกวิทยาลัย มีผลงานวิจัยดานการเรียนการสอน และมีการจัดเวทีแลกเปลี่ยน และเผยแพรผลงานวิจัย ดานการเรียนการสอน และนวัตกรรมทางการศึกษา โดยการประสานกับสํานักวิทยบริการ ในการนําเสนอผานฐานขอมูลของวิทยาลัย และเผยแพรในวารสารวิชาการวิทยาลัย เซาธอีสทบางกอก รวมทั้งบรรจุไวในฐานขอมูลของ Thailis Digital Collection มีการสรางเครือขายวิจัยดานนวัตกรรมการเรียนการสอนทั้งภายในและภายนอกสถาบัน เชน โครงการวิจัยรวมกับวิทยาลัยเซนตหลุยส โครงการเครือขายวิจัยภาคกลางตอนบน โครงการตนกลานักวิจัย
การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 3 คะแนน รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ขอ 1 2-2.8-1 ขอ 2
2-2.2-1
ขอ 3
2-2.8-1
ขอ 4
2-2.8-4
ขอ 5
2-2.8-5
การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย ชื่อเอกสาร / รายละเอียด แนวปฏิบตั แิ ละแผนการดําเนินงานของสํานักวิจยั และ วางแผน ประจําปการศึกษา 2552 เอกสารประกอบการประชุมเตรียมความพรอมกอนเปด ภาคการศึกษา 1/2552 แนวปฏิบตั แิ ละแผนการดํานินงานของสํานักวิจยั และ วางแผน ประจําปการศึกษา 2552 รายงานการประเมินตนเอง (SAR) สํานักวิจัยและ วางแผน ประจําปการศึกษา 2552 โครงการวิจัยรวมกับวิทยาลัยเซนตหลุยส โครงการ เครือขายวิจัยภาคกลางตอนบน โครงการตนกลาวิจัย
ตัวบงชี้ที่ 2.9 รอยละของบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ไดงานทําและการประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ป ชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิต เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 รอยละ 1- รอยละ 59 รอยละ 60- รอยละ 79 มากกวาหรือเทากับรอยละ 80 : :
คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2552 ผลการดําเนินงาน คณะ
ผูสําเร็จ การศึกษา
ผูกรอก แบบสอบ ถาม
บริหารธุรกิจ นิติศาสตร ศิลปศาสตร วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สถาบัน
377 10 19 42 448
315 10 19 37 381
การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 3 คะแนน
ผูมีงานทํา ประจําอยูแลว กอนสําเร็จ การศึกษา 173 5 27 205
รอยละ 80 รอยละ 90.70
ศึกษาตอ
มีงานทํา/ประกอบ อาชีพอิสระหลัง สําเร็จการศึกษา
รอยละ
41 1 5 47
101 4 19 5 117
90.09 100 100 100 90.70
การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย
รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ชื่อเอกสาร/รายละเอียด รอยละ 90.70 2-2.9-1 รายงานการสํารวจภาวะการมีงานทําของบัณฑิตและมหาบัณฑิตที่ สําเร็จการศึกษา ปการศึกษา 2550 – 2551
ตัวบงชี้ที่ 2.10 รอยละของบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ไดรับเงินเดือนเริ่มตนเปนไปตามเกณฑ ชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิต เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 รอยละ 1- รอยละ 74 ไดรับ รอยละ 75- รอยละ 99 ไดรับ รอยละ 100 ไดรับเงินเดือนเทากับ เงินเดือนเทากับหรือสูงกวา เงินเดือนเทากับหรือสูงกวา หรือสูงกวาเกณฑ ก.พ. เกณฑ ก.พ. เกณฑ ก.พ. คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2552 ผลการดําเนินงาน
คณะ บริหารธุรกิจ นิติศาสตร ศิลปศาสตร วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี รวม
บัณฑิตที่มีงานทําและใหขอมูล 270 9 17 37 333
การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 3 คะแนน
: :
รอยละ 95 รอยละ (100)
บัณฑิตที่ไดเงินเดือนตามเกณฑ 270 9 17 37 333
รอยละ 100 100 100 100 100
การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย
รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ชื่อเอกสาร/รายละเอียด รอยละ 100 2-2.9-1 รายงานการสํารวจภาวะการมีงานทําของบัณฑิต ประจําป 2552 ตัวบงชี้ที่ 2.11 ระดับความพึงพอใจของนายจาง ผูประกอบการ และผูใชบัณฑิต ชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิต เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 ระดับความพึงพอใจมีคะแนน ระดับความพึงพอใจมีคะแนน ระดับความพึงพอใจมีคะแนนเฉลี่ย เฉลี่ยอยูระหวาง 1- 2.49 เฉลี่ยอยูระหวาง 2.50- 3.49 มากกวาหรือเทากับ 3.50
คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2552
≥ 3.50 4.15
: :
ผลการดําเนินงาน ระดับความพึงพอใจของนายจาง ผูประกอบการ และผูใชบัณฑิตที่มีตอบัณฑิต ปการศึกษา 2551 คณะ บริหารธุรกิจ นิติศาสตร ศิลปศาสตร วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี รวม
จํานวนบัณฑิต 286 9 17 22 334
*หมายถึง จํานวนบัณฑิตที่นายจางตอบแบบสํารวจกลับคืนมา การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 3 คะแนน
คาเฉลี่ย 4.01 4.30 3.50 4.02 4.15
ระดับความพึงพอใจ มาก มาก มาก มาก มาก
การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย
รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ชื่อเอกสาร/รายละเอียด 4.15 2-2.11-1 สรุปรายงานความพึงพอใจของผูใชบัณฑิต ประจําปการศึกษา 2551 ตัวบงชี้ที่ 2.12 รอยละของนักศึกษาปจจุบันและศิษยเกาที่สําเร็จการศึกษาในรอบ 5 ปที่ผานมาที่ไดรับ การประกาศเกียรติคุณยกยองในดานวิชาการ วิชาชีพ คุณธรรม จริยธรรม กีฬา สุขภาพ ศิลปะและวัฒนธรรม และดานสิ่งแวดลอมในระดับชาติหรือนานาชาติ ชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิต เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 รอยละ 0.003- รอยละ 0.015 รอยละ 0.016- รอยละ 0.029 1. มากกวาหรือเทากับรอยละ 0.030 และ 2. อยางนอยรอยละ 50 ของนักศึกษา และศิษยเกาไดรางวัล ในขอ 1 เปนรางวัลดานศิลปะและ วัฒนธรรม
คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2552
: :
รอยละ 0.02 รอยละ 0.15
ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2552 วิทยาลัยสํารวจพบวามีนักศึกษาปจจุบันและศิษยเกาที่สําเร็จการศึกษา ในรอบ 5 ป ที่ไดรับการประกาศเกียรติคุณยกยองในดานวิชาการ วิชาชีพ คุณธรรม จริยธรรม กีฬา สุขภาพ ศิลปะและวัฒนธรรม และดานสิง่ แวดลอม ในระดับชาติจาํ นวน 6 คน โดยมีนักศึกษาปจจุบัน จํานวน 1,814 คน และศิษยเกาที่สําเร็จการศึกษาไปแลวในรอบ 5 ป จํานวน 2,056 คน คิดเปนรอยละ 6 x 100 = 0.15 3,870 และในจํานวนนีม้ ผี ไู ดรางวัลทางดานศิลปะและวัฒนธรรมจํานวน 5 คน ผลการดําเนินงานอยูในระดับ 3 คะแนน โดยมีรายละเอียด ดังนี้ 1. นายธนชัย เทพชุลีพรศิลป สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส 2. นางสาวสิริพันธุ สกุลแสง สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส 3. นายเจษฎา มีเมล สาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ 4. นายภานุพงษ หุน ดี สาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ 5. นายชนาธิป งามขํา สาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ ไดรับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 “Central Festival Pattaya Beach Music Contest” หนวยงาน ศูนยการคาเซ็นทรัลเฟสติวัล พัทยาบีช จังหวัดชลบุรี เมื่อ วันที่ 20 กันยายน 2552 6. นางสาวปุณณดา เรืองอุนแกว สาขาวิชาการตลาด ไดรับรางวัลรางวัลชนะเลิศ ประกวดแผนการตลาด “TK Young Marketing camp” หนวยงาน สํานักงานอุทยานการเรียนรู TK Park สํานักนายกรัฐมนตรี เมื่อ วันที่ 27 พฤศจิกายน 2552 การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 3 คะแนน
การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย
รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ชื่อเอกสาร/รายละเอียด รอยละ 0.15 2-2.12-1 ประวัติและผลงานนักศึกษาที่ไดรับรางวัลดีเดน
องคประกอบที่ 3 กิจกรรมการพัฒนานิสิตนักศึกษา
ตัวบงชี้ที่ 3.1 มีการจัดบริการแกนักศึกษาและศิษยเกา ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ เกณฑมาตรฐาน : ระดับ เกณฑมาตรฐาน
มี
ไมมี
1. มีการสํารวจความตองการจําเปนของนักศึกษาปที่ 1
-
2. มีการจัดบริการดานสิ่งอํานวยความสะดวกที่เอื้อตอการพัฒนา
-
เอกสาร หมายเลข 3-3.1-1/1 3-3.1-1/2 3-3.1-2/1 3-3.1-2/2
การเรียนรูของนักศึกษา
ภาพถายประกอบ
3. มีการจัดบริการดานกายภาพที่สงเสริมคุณภาพชีวิตของนักศึกษา
-
6. มีการจัดโครงการเพื่อพัฒนาประสบการณทางวิชาชีพแกนักศึกษา และศิษยเกา
-
7. มีการประเมินคุณภาพของการใหบริการทั้ง 5 เรื่องขางตนเปน ประจําทุกป
-
8. นําผลการประเมินคุณภาพของการใหบริการมาพัฒนาการจัดบริการ แกนักศึกษาและศิษยเกา
-
4. มีการจัดบริการใหคําปรึกษาแกนักศึกษา 5. มีบริการขอมูลขาวสารที่เปนประโยชนตอนักศึกษาและศิษยเกา
เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 มีการดําเนินการไมครบ 7 ขอแรก คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2552
คะแนน 2 มีการดําเนินการ 7 ขอแรก
3-3.1-3
3-3.1-4 3-3.1-5/1 3-3.1-5/2 1-1.2-2 3-3.1-6/1 3-3.1-6/2 3-3.1-6/3 3-3.1-7/1 3-3.1-7/2 3-3.1-7/3 3-3.1-7/4 3-3.1-8
คะแนน 3 มีการดําเนินการครบทุกขอ : :
ระดับ 7 ระดับ 8
ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2552 วิทยาลัยมีผลงานระดับ 8 ตามเกณฑมาตรฐาน สกอ. คือ เกณฑ การดําเนินงานในแตละระดับ ระดับ 1 มีการจัดทําสํารวจความตองการจําเปนของนักศึกษาปที่ 1 ตั้งแตชวงที่เปดภาคเรียน ตามโครงการ ปฐมนิเทศนักศึกษาใหม มีการแจกคูมือการศึกษาและหลักสูตร ปการศึกษา 2552 ใหกับ นักศึกษาใหม ระดับ 2 มีการจัดบริการสิ่งอํานวยความสะดวกที่เอื้อตอการเรียนรูของนักศึกษา เชน จัดซื้อระบบ บริหารงานวิทยาลัย (E-Registration) เพื่อเอื้อและอํานวยความสะดวกใหกับนักศึกษา โครงการ จัดซื้อหนังสือตําราเพื่อใชศึกษาคนควาในหองสมุด ระดับ 3 มีการจัดการดานกายภาพที่สงเสริมคุณภาพชีวิตของนักศึกษา โดยการจัดพื้นที่ใชสอยในอาคาร เรียนในลักษณะเบ็ดเสร็จ ทั้งดานการเรียนการสอน และการใหบริการแกนักศึกษา มีการประกัน อุบัติเหตุ มีรานอาหาร ซุมเครื่องดื่ม ตู ATM ศูนยจําหนายหนังสือและอุปกรณการศึกษา มีบริการ รถรับ-สงนักศึกษา ตามจุดชุมชนตางๆ จํานวน 5 สาย ไดแก สายบางนา – ตราด สายเคหะบางพลี สายตําหรุ สายปากน้ํา และ สายพระประแดง ตลอดจนมีกองทุนกูยืมเพื่อการศึกษา และ ทุนการศึกษาของวิทยาลัยหลายประเภท อาทิ ทุนชางเผือกมัธยมสูบัณฑิต ทุนความสามารถพิเศษ ประเภท ฟุตบอล ดนตรีสากล เชียรลีดเดอร ทุนเรียนดีเยี่ยม ทุนเรียนดีแตขาดแคลนทุนทรัพย เปนตน ระดับ 4 มีการจัดบริการดานการแนะแนวและการใหคําปรึกษา เชน กิจกรรมการพัฒนาศักยภาพของ ตนเองเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางาน โครงการปจฉิมนิเทศนักศึกษา/ประกาศการจัดหางาน/ งานประจํา-พิเศษ เปนตน ระดับ 5 มีการจัดบริการขอมูลขาวสารที่เปนประโยชนแกนักศึกษาและศิษยเกา เชน จัดบอรด ประชาสัมพันธจัดหางาน การจัดทํา Website ขอมูลขาวสารวิทยาลัย โครงการลูกเซาธอีสท ออกคายอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 11 ระดับ 6 มีการจัดโครงการเพื่อพัฒนาประสบการณทางวิชาชีพแกนักศึกษาและศิษยเกา เชน โครงการ แขงขันพูดภาษาอังกฤษในที่ชุมชน (คณะศิลปศาสตร) โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการซอมและ ประกอบคอมพิวเตอร และระบบเครือขายเบื้องตน (สาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจ)โครงการศึกษาดูงานที่ศาลจังหวัดธัญญบุรี (คณะนิติศาสตร) เปนตน ระดับ 7 มีการประเมินคุณภาพของการใหบริการที่จําเปนเปนประจําทุกป โดยจะมีการประเมินผลการ ดําเนินงานโครงการและกิจกรรมทุกกิจกรรม เชน 7.1 มีการสํารวจความตองการจําเปนของนักศึกษา สํานักกิจการนักศึกษาและกิจการพิเศษ มีการสํารวจความตองการของนักศึกษาในวันปฐมนิเทศ โดยสํารวจความตองการหรือความ คาดหวังของนักศึกษาที่อยากใหวิทยาลัยเปนในดานตางๆ ไดแก ดานวิชาการ ดานการจัดกิจกรรม ดานสิง่ อํานวยความสะดวก ดานการจัดสถานที่ ความรวดเร็วแมนยําในการลงทะเบียนเรียน
เกณฑ
ระดับ 8
การดําเนินงานในแตละระดับ การประชาสัมพันธขอมูลขาวสารตาง ๆ สําหรับผลของการสํารวจขอมูล สํานักกิจการนักศึกษา และกิจการพิเศษ จะนําขอมูลที่ไดรับมาปรับปรุงแกไขและนํากลับไปพัฒนาวิทยาลัยตอไป 7.2 การจัดบริการแกนักศึกษา มีการจัดหนวยบริการแกนักศึกษาใหครอบคลุมตามความ ตองการจําเปน โดยมีการบริการดังตอไปนี้ - การบริการดานสิ่งอํานวยความสะดวกที่เอื้อตอการพัฒนาการเรียนรู เชน วิทยาลัยไดมี การจัดตกแตงอาคารสถานที่ใหทันสมัย ติดตั้งเครื่องปรับอากาศทุกหองเรียน มีอุปกรณการเรียน ครบครัน หองสมุดมีตําราที่ทันสมัย มีหองปฏิบัติการตาง ๆ ที่สนับสนุนการเรียนการสอน เชน หองปฏิบัติการคอมพิวเตอรที่มีระบบ Internet และจัดตั้งศูนยบริการเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อ เปนศูนยกลางในการดําเนินงานใหบริการคอมพิวเตอรแกหนวยงานของวิทยาลัย เพื่อเอื้อและ อํานวยความสะดวกในการเรียนการสอน การวิจัย ระบบงานบริหาร การเงิน และงานทะเบียน ตลอดจนโปรแกรมตาง ๆ เพื่อความทันสมัยตอการพัฒนาดานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร - การบริการดานการใหคําปรึกษา วิทยาลัยมีการแตงตั้งอาจารยที่ปรึกษาใหชวยในการ สอดสองดูแลใหคําปรึกษาแกนักศึกษาทั้งในเรื่องวิชาการ ปญหาสวนตัวไดตลอดเวลา และ นอกจากนี้วิทยาลัยยังมีการแตงตั้งฝายใหคําปรึกษา ไวใหนักศึกษาที่มีปญหาเกี่ยวกับวิชาการ และปญหาสวนตัว โดยจะมีการจัดเก็บขอมูลเปนความลับและติดตามผลสําหรับนักศึกษาที่มี ปญหาอยางใกลชิด - การบริการดานขอมูลขาวสารที่เปนประโยชนตอนักศึกษาและศิษยเกา วิทยาลัยมีการ จัดทําบอรดของแตละสํานัก แตละคณะ และบอรดสวนกลาง เพื่อติดประกาศขอมูลขาวสารของ วิทยาลัย และยังนําขอมูลขาวสารที่สําคัญลงในเว็บไซต เพื่อเผยแพรและประชาสัมพันธ ทําให ขอมูลขาวสารรวดเร็ว ทันสมัย และเขาถึงทั้งนักศึกษาและศิษยเกา ตลอดจนใหบริการการจัด หางานใหนักศึกษา โดยประสานงานกับหนวยงานที่รองขอ - การจัดโครงการเพื่อพัฒนาประสบการณทางวิชาชีพแกนักศึกษา และศิษยเกา วิทยาลัย จะมีฝา ยแนะแนวและจัดหางาน ไวเปนผูป ระสานงานและติดตอระหวางหนวยงานสงนักศึกษา ไปฝกงานเพื่อหาประสบการณในดานวิชาชีพ หรือหารายไดในชวงปดภาคเรียน สําหรับการ พัฒนาศิษยเกาดานการบริการและวิชาชีพ วิทยาลัยจะมีการสงขาวสารใหกับศิษยเกาในการเขา รวมสัมมนาในดานวิชาการและวิชาชีพที่วิทยาลัยจัดขึ้น และเห็นวาเปนประโยชนกับศิษยเกา มีการนําผลการประเมินโครงการ รวบรวมการแสดงความคิดเห็นของนักศึกษาผานเว็บไซต และ กลองรับความคิดเห็น มาประเมินเพื่อปรับปรุงการใหบริการแกนักศึกษา
การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 3 คะแนน
การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย
รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ระดับ 1 3-3.1-1/1 3-3.1-1/2 ระดับ 2 3-3.1-2/1 3-3.1-2/2 ระดับ 3 3-3.1-3/1 3-3.1-3/2 ระดับ 4 ระดับ 5
ระดับ 6
3-3.1-1/1 3-3.1-4 1-1.2-2 3-3.1-5/1 3-3.1-5/2 3-3.1-6/1 3-3.1-6/2
ระดับ 7
3-3.1-6/3 3-3.1-7/1
ระดับ 8
3-3.1-7/2 3-3.1-7/3 3-3.1-8
ชื่อเอกสาร/รายละเอียด - โครงการปฐมนิเทศนักศึกษาใหม - คูมือการศึกษาและหลักสูตร ป 2552 - การจัดซื้อระบบบริหารงานวิทยาลัย (E-Registration) - โครงการจัดซื้อหนังสือตําราเพื่อใชศึกษาคนควา - ขอมูลเชิงประจักษ (ภาพถายประกอบ) - คูมือการศึกษาและหลักสูตรปการศึกษา 2552 (สวนบริการและ สวัสดิการสําหรับนักศึกษา) โครงการปฐมนิเทศนักศึกษา/ประกาศการจัดหางาน/งานประจําพิเศษ เปนตน - โครงการลูกเซาธอีสทบางกอกออกคายอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 11 - ขอมูลประชาสัมพันธจัดหางาน - การจัดทํา Websites ขอมูลขาวสารวิทยาลัย - โครงการแขงขันพูดภาษาอังกฤษในที่ชุมชน (คณะศิลปศาสตร) - โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการซอมและประกอบคอมพิวเตอรและ ระบบเครือขาย (สาขาคอมพิวเตอรธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจ) - โครงการศึกษาดูงานที่ศาลจังหวัดธัญญบุรี (คณะนิติศาสตร) - การประเมินผลความตองการจําเปนของนักศึกษา ระดับปริญญา ตรีเบื้องตน - ขอมูลเอกสารการใหคําปรึกษา - ขอมูลเอกสารการรับสมัครงาน - รายงานการประชุมสํานักกิจการนักศึกษา - (ตัวอยาง) แบบสอบถามโครงการดอกเสลาบานสพรั่ง (สําหรับ ศิษยเกา)
ตัวบงชี้ที่ 3.2 มีการสงเสริมกิจกรรมนักศึกษาที่ครบถวนและสอดคลองกับคุณลักษณะของบัณฑิต ที่พึงประสงค ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ เกณฑมาตรฐาน : ระดับ เกณฑมาตรฐาน มี ไมมี เอกสาร หมายเลข 1-1.1-2 1. มีการจัดทําแนวทางสงเสริมการจัดกิจกรรมที่สอดคลองกับ 3-3.2-1/1 วิสัยทัศนของสถาบันและคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค 3-3.2-1/2 ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา 2. มีการสงเสริมใหสถาบันและองคการนักศึกษาจัดกิจกรรมนักศึกษา ใหครบทุกประเภท โดยอยางนอยตองดําเนินการใน 5 ประเภท ดังนี้ 3-3.1-6/3 - กิจกรรมวิชาการ 3-3.2-2/1 3-3.2-2/2 3-3.2-2/3 3-3.2-2/4 3-3.2-2/5 3-3.2-2/6 - กิจกรรมกีฬาและการสงเสริมสุขภาพ 3-3.2-2/7 3-3.2-2/8 1-1.2-3 - กิจกรรมบําเพ็ญประโยชนและรักษาสิ่งแวดลอม 1-1.2-2 3-3.2-2/9 3-1.2-4 1-1.2-1 - กิจกรรมนันทนาการ 3-3.2-2/10 - กิจกรรมสงเสริมศิลปวัฒนธรรม 3-3.2-2/11 3-3.2-2/12
เกณฑมาตรฐาน
มี
3. มีกระบวนการติดตามและประเมินผลโครงการหรือกิจกรรม ทั้งที่ จัดโดยสถาบันและองคการนักศึกษาทุกสิ้นปการศึกษา
4. มีการนําผลการประเมินไปปรับปรุงการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนา
คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2552
นักศึกษาอยางตอเนื่อง เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 มีการดําเนินการไมครบ 3 ขอแรก
ไมมี
คะแนน 2 มีการดําเนินการ 3 ขอแรก : :
เอกสาร หมายเลข 1-1.2-1 1-1.2-2 1-1.2-3 1-1.2-4 3-3.2-15 3-3.2-16 3-3.2-17 3-3.2-18 1-1.2-1 1-1.2-2
คะแนน 3 มีการดําเนินการครบทุกขอ ระดับ 4 ระดับ 4
ผลการดําเนินงาน วิทยาลัยมีผลการดําเนินงานผาน 4 ระดับตามเกณฑมาตรฐาน สกอ. ดังนี้ เกณฑ การดําเนินงานในแตละระดับ 1. มีการจัดทําแนวทางสงเสริมการจัดกิจกรรมที่สอดคลองกับวิสัยทัศนองวิทยาลัยคือ มีการกําหนดเปนแนวปฏิบัติและแผนดําเนินการสํานักกิจการนักศึกษาประจําป 2552 2. มีการจัดสรรงบประมาณเพื่อสนับสนุนการจัดกิจกรรมนักศึกษาอยางครอบคลุม ทุกประเภทอยางเหมาะสมโดยผานการพิจารณาจากคณะกรรมการพิจารณางบประมาณ ระดับ 1 3. สํานักกิจการนักศึกษารวมกับ องคการนักศึกษาไดจัดทําโครงการโดยมีการระบุ คุณลักษณะของผูเขารวมกิจกรรม เปาหมาย จํานวนผูเขารวม ตัวบงชี้ความสําเร็จของ กิจกรรม วิธีการดําเนินการประเมินผล 4. มีการกําหนดนโยบายและดําเนินการใหนักศึกษาเขารวมโครงการ/กิจกรรมที่เปน การสงเสริมคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค
เกณฑ
ระดับ 2
การดําเนินงานในแตละระดับ มีการสงเสริมใหวิทยาลัยและองคการนักศึกษาจัดกิจกรรมนักศึกษาใน 5 ประเภทดังนี้ 2.1 กิจกรรมวิชาการ เชน โครงการศึกษาดูงานที่ศาลจังหวัดธัญญบุรี โครงการ วันรพี 2552 สัมมนาทางวิชาการ “กลยุทธทางการตลาดขายตรง ” (คณะบริหารธุรกิจ) โครงการอบรมทักษะการสราง Basic Web e-Commute ดวยภาษา ASP.Net โครงงาน เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนวิชาภูมิปญญาไทยดานศิลปวัฒนธรรม จังหวัดอยุธยา โครงการ ศึกษาดูงานเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนวิชาภูมิปญญาไทยดานภูมิปญญาชาวบาน จังหวัด สมุทรปราการ 2.2 กิจกรรมกีฬาและสงเสริมสุขภาพ เชน โครงการภาคีรณรงคการปองกันการแพร ระบาดของไขหวัดใหญสายพันธใหม 2009 โครงการการเขารวมแขงขัน ฟุตบอล (ฝายกีฬาฟุตบอล) โครงการเขารวมแขงขันเชียรลีดเดอร (ฝาย เชียรลดี เดอร) 2.3 กิจกรรมบําเพ็ญประโยชนและรักษาสิ่งแวดลอม เชน - โครงการลูกเซาธอีสทบางกอกออกคายอาสาพัฒนาชนบทครั้งที่ 11 - โครงการสัมมนาผูนํานักศึกษาดานกิจกรรมเพื่อพัฒนากิจกรรมนักศึกษา - โครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง - โครงการคายเรียนรูคุณธรรม นําชีวิตพอเพียง ป 2552 2.4 กิจกรรมนันทนาการ เชน - โครงการ SBC FRESHY NO ALCOHOL 2009 - กิจกรรมไหวพระ 9 วัด - กิจกรรมรณรงค งดเหลา ปลอดบุหรี่ - กิจกรรม SBC Green World - กิจกรรม SBC Freshy No Alcohol 2009 2.5 กิจกรรมสงเสริมศิลปวัฒนธรรม เชน - โครงการหลอเทียนและแหเทียนจํานําพรรษา - โครงการลอยกระทงสืบสานประเพณีไทย - โครงการวันสถาปนาวิทยาลัย - โครงการรดน้ําดําหัวขอพรผูใหญและฝายบริหาร - โครงการพิธีประณตนอมสักการบูรพคณาจารยและพิธีกตัญูกตเวธิคุณ - โครงการดนตรีไทยอุดมศึกษา ครั้งที่ 37 (ดุริยารมณ อุดมศึกษา) - โครงการศิลปวัฒนธรรมอุดมศึกษา ครั้งที่ 10 (ศิลปะ ศิลปน ศิลปากร)
เกณฑ
ระดับ 3
ระดับ 4
การดําเนินงานในแตละระดับ มีกระบวนการติดตามและประเมินผลโครงการหรือกิจกรรมทั้งที่จัดโดยวิทยาลัยและ องคการนักศึกษาทุกสิ้นปการศึกษา กระบวนการติดตามหรือการประเมินผลโครงการหรือ กิจกรรมหลังจากที่ไดทําโครงการหรือกิจกรรมเสร็จเรียบรอยจะมีการทําการประเมินผล โครงการทุกครั้งในสรุปรายงานโครงการทั้งที่ดําเนินการโดยวิทยาลัยหรือองคการ นักศึกษาเชนโครงการ SBC FRESHY NO ALCOHOL 2009 โครงการลูกเซาธอีสท บางกอกออกคายอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 11 โครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โครงการ คายเรียนรูคุณธรรมนําชีวิตพอเพียง มีการนําผลการประเมินไปปรับปรุงการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนานักศึกษาอยางตอเนื่องเชน ปรับเพิ่มกิจกรรมของโครงการและเพิ่มงบประมาณ เชน โครงการลูกเซาธอีสทบางกอก ออกคายอาสาพัฒนาชนบทครั้งที่ 11 โครงการ SBC FRESHY NO ALCOHOL 2009 เปนตน
การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตังบงชี้ สกอ. 3 คะแนน รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข 3-3.2-1 ระดับ 1
ระดับ 2
3-3.2-1/1 3-3.1-1/2 3-3.1-6/3 3-3.2-2/1 3-3.2-2/2 3-3.2-2/3 3-3.2-2/4
การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย ชื่อเอกสาร / รายละเอียด - แนวปฏิบตั แิ ละแผนการดําเนินการ สํานักิจการนักศึกษา ปการศึกษา 2552 - คําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการพิจารณางบประมาณ ป 2552 - คูมือการศึกษาและหลักสูตรปการศึกษา 2552 - โครงการศึกษาดูงานที่ศาลจังหวัดธัญญบุรี จ.ปทุมธานี - โครงการวันรพี - สัมมนาทางวิชาการ กลยุทธทางการตลาดขายตรง (คณะบริหารธุรกิจ) - โครงการอบรมทักษะการสราง Basic Web e- Commerce ดวยภาษา ASP.Net (คณะวิทยาศาสตร) - โครงการศึกษาดูงานเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนวิชา ภูมิปญญาไทยดานศิลปวัฒนธรรม จ.อยุธยา
หลักฐาน
เอกสารหมายเลข 3-3.2-2/5 3-3.2-2/6 3-3.2-2/7 3-3.2-2/8 1-1.2-2 3-3.2-2/9 1-1.2-4 1-1.2-1 1-1.2-3 3-3.2-2/10 3-3.2-2/11 3-3.2-2/12 3-3.2-2/13 3-3.2-2/14 3-3.2-2/15 3-3.2-2/16 1-1.2-1 1-1.2-2
ระดับ 3
ระดับ 4
1-1.2-3 1-1.2-4 1-1.2-1 1-1.2-2
ชื่อเอกสาร / รายละเอียด - โครงการศึกษาดูงานเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนวิชา ภูมิปญญาไทยดานภูมิปญญาชาวบาน จ.สมุทรปราการ - โครงการภาคีรณรงคการปองกันการแพรระบาดของ ไขหวัดใหญสายพันธุใหม 2009 - โครงการการเขารวมการแขงขันฟุตบอล (ฝายกีฬาฟุตบอล - โครงการการเขารวมการแขงขันเชียรลีดเดอร (ฝายเชียรลีด - โครงการลูกเซาธอีสทบางกอกออกคายอาสาพัฒนา ชนบท ครั้งที่ 11 - โครงการสัมมนาผูนํานักศึกษาดานกิจกรรมเพื่อพัฒนา กิจกรรมนักศึกษา ป 52 - โครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง - โครงการ SBC FRESHY NO ALCOHOL 2009 - โครงการคายเรียนรูคุณธรรม นําชีวิตพอเพียง ป 2552 - โครงการหลอเทียน และแหเทียนจํานําพรรษา - โครงการลอยกระทงสืบสานประเพณีไทย - โครงการวันสถาปนาวิทยาลัย - โครงการรดน้าํ -ดําหัวขอพรผูบริหารและผูสูงอายุ - โครงการพิธีประณตนอมสักการบูรพคณาจารย - โครงการดนตรีไทยอุดมศึกษา ครั้งที่ 37 (ดุริยารมณ อุดมศึกษา) - โครงการศิลปวัฒนธรรมอุดมศึกษา ครั้งที่ 10 (ศิลปะ ศิลปน ศิลปากร) - โครงการSBC FRESHY NO ALCOHOL 2009 - โครงการลูกเซาธอีสทบางกอกออกคายอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 11 - โครงการคายเรียนรูคุณธรรม นําชีวิตพอเพียง ป2552 - โครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ป2552 - โครงการSBC FRESHY NO ALCOHOL 2009 - โครงการลูกเซาธอีสทบางกอกออกคายอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 11
องคประกอบที่ 4 การวิจัย
ตัวบงชี้ที่ 4.1 มีการพัฒนาระบบและกลไกในการสนับสนุนการผลิตงานวิจัยและงานสรางสรรค ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ เกณฑมาตรฐาน : ขอ เอกสาร หมายเลข 1-1.1-2
เกณฑมาตรฐาน
มี
ไมมี
1. มีการจัดทําระบบบริหารงานวิจัยและงานสรางสรรค เพื่อให บรรลุเปาหมายตามแผนของสถาบันและสอดคลองกับยุทธศาสตร การวิจัยของชาติ 2. มีการจัดทําระบบฐานขอมูลและสารสนเทศที่เกี่ยวของกับ การบริหารงานวิจัยและงานสรางสรรคที่ใชประโยชนไดจริง 3. มีการจัดสรรทรัพยากรการเงิน ทรัพยากรบุคคล แหลงคนควาตาง ๆ เพื่อสนับสนุนงานวิจัยและงานสรางสรรค 4. มีระบบและกลไกพัฒนาทรัพยากรบุคคลดานการวิจัย 5. มีระบบสรางขวัญและกําลังใจและยกยองนักวิจัยที่มีผลงานวิจัยและ งานสรางสรรคดีเดน 6. มีระบบและกลไกสงเสริมความรวมมือระหวางนักวิจัยกับองคกร ภายนอกทั้งภาครัฐเอกชนและภาคอุตสาหกรรม
-
-
-
4-4.1-1 4-4.1-2 4-4.1-3
1-1.1-2 4-4.1-4
เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 มีการดําเนินการไมครบ 3 ขอ คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2552
คะแนน 2 มีการดําเนินการ 3-4 ขอ
คะแนน 3 มีการดําเนินการอยางนอย 5 ขอ : :
5 ขอ 5 ขอ
ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2552 วิทยาลัยมีผลงานผาน 5 ขอตามมาตรฐาน สกอ. คือ เกณฑ การดําเนินงานในแตละขอ ขอ 1 สํานักวิจัยและวางแผนมีการจัดทําระบบบริหารงานวิจัยและงานสรางสรรค เพื่อให บรรลุเปาหมายตามแผนของสถาบันและสอดคลองกับยุทธศาสตรการวิจัยของชาติ โดยเฉพาะ ยุทธศาสตรการวิจัยที่ 3 : การสรางศักยภาพและความสามารถเพื่อการพัฒนา ทางวิทยาการและทรัพยากรบุคคล - กลยุทธการวิจัยที่ 1 วิจัยเพื่อการพัฒนานวัตกรรมและองคความรูใหมทาง วิทยาศาสตร ทางสังคมศาสตร และการพัฒนาองคความรูใหมในวิทยาการตาง ๆ - กลยุทธการวิจัยที่ 2 วิจัยเพื่อการสรางศักยภาพและความสามารถของทรัพยากร บุคคลในวิทยาการตาง ๆ โดยสํานักวิจยั และวางแผนไดพฒ ั นาเปนกลยุทธและแผนงานวิจัย ป 2552-2553 ขอ 2 สํานักวิจัยและวางแผนมีฐานขอมูลบุคลากรนักวิจัย และฐานขอมูลงานวิจัยเพื่อการสืบคน งานวิจัยของวิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก ขอ 3 สํานักวิจัยและวางแผน มีหนาที่ดําเนินการในการจัดสรรทรัพยากรการเงิน จากแหลงทุนทั้ง ทุนวิจัยของวิทยาลัย และทุนวิจัยของแหลงทุนภายนอก รวมทั้งสนับสนุนทรัพยากรบุคคล แหลงคนควาตาง ๆ เพื่อสนับสนุนงานวิจัยและงานสรางสรรค ตามที่ อาจารยเสนอ โครงการ ขอ 4 สํานักวิจัยและวางแผน มีระบบและกลไกพัฒนาทรัพยากรบุคคลดานการวิจัย ตามกลยุทธ และแผนงานวิจยั ป 2552-2553 กลยุทธที่ 4 การพัฒนาศักยภาพบุคลากรดานการวิจัย ขอ 5 ขอ 6 สํานักวิจัยและวางแผน มีการรวมมือกับเครือขายการวิจัยภาคกลางตอนบน และโครงการ รวมมือกับวิทยาลัยเอกชนดวยกัน ไดแกวิทยาลัยพยาบาลเซนตหลุยส การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 3
การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย
รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน ขอ 1 ขอ 2 ขอ 3 ขอ 4 ขอ 5 ขอ 6
เอกสารหมายเลข 1-1.1-2 4-4.1-1 , 4-4.1-2 4-4.1-3 1-1.1-2 4-4.1-4 , 4-4.1-5
ชื่อเอกสาร / รายละเอียด กลยุทธและแผนงานวิจัย ป 2552-2553 ฐานขอมูลบุคคลากรงานวิจัย และฐานขอมูลงานวิจัย(database) แฟมเอกสารอนุมัติโครงรางงานวิจัยของอาจารย กลยุทธและแผนงานวิจัย ป52-53 แฟมการประชุมเครือขาย (RS 006) ,แฟมความรวมมือภายนอก สถาบัน(วิทยาลัยเซนตหลุยส)
ตัวบงชี้ที่ 4.2 มีระบบบริหารจัดการความรูจากงานวิจัยและงานสรางสรรค ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ เกณฑมาตรฐาน : ขอ เกณฑมาตรฐาน
มี
ไมมี
1. มีระบบและกลไกสนับสนุนการเผยแพรผลงานวิจัยและ งานสรางสรรคทั้งในวงการวิชาการและการนําไปใช ประโยชน 2. มีระบบรวบรวม คัดสรร วิเคราะหและสังเคราะหความรู จากงานวิจัยและงานสรางสรรคที่เชื่อถือไดและรวดเร็วทัน ตอการใชประโยชน 3. มีการสรางเครือขายเผยแพรผลงานวิจัยและงาน สรางสรรคไปยังผูเกี่ยวของทั้งภายในและภายนอกสถาบัน 4. มีระบบและกลไกการสนับสนุนความรวมมือระหวาง นักวิจัยกับองคการภายนอกสถาบันเพื่อการนําผลงานไปใช ประโยชน 5. มีกลไกสนับสนุนการจดสิทธิบัตรการซื้อขายทรัพยสิน ทางปญญา ตลอดจนการคุมครองสิทธิของงานวิจัย หรือ สิ่งประดิษฐ หรือนวัตกรรมใหแกนักวิจัยเจาของผลงาน
-
เอกสาร หมายเลข 4-4.2-1
-
-
-
4-4.1-2
-
4-4.1-4 , 4-4.1-5
-
-
เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 มีการดําเนินการไมครบ 3 ขอ
คะแนน 2 มีการดําเนินการ 3 ขอ
คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2552
คะแนน 3 มีการดําเนินการอยางนอย 4 ขอ 4 ขอ 3 ขอ
ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2552 วิทยาลัยมีผลงานผาน 3 ขอตามมาตรฐาน สกอ. คือ เกณฑ การดําเนินงานในแตละขอ ขอ 1 สํานักวิจยั และวางแผนมี “คูมือการวิจัยของวิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก ” ระบบและกลไก สนับสนุนการเผยแพรผลงานวิจัยและงานสรางสรรคทั้งในวงการวิชาการและการนําไปใช ประโยชน ขอ 2 ขอ 3 สํานักวิจัยและวางแผน กําลังดําเนินการจัดทํา ฐานขอมูลงานวิจัย (database) เพื่อแสดง บน website ของวิทยาลัยเพื่อสรางเครือขายเผยแพรผลงานวิจัยและงานสรางสรรคไปยัง ผูเกี่ยวของทั้งภายในและภายนอกสถาบัน ขอ 4 สํานักวิจัยและวางแผน เริ่มสรางระบบและกลไกการสนับสนุนความรวมมือระหวางนักวิจัย กับ องคกรภายนอกสถาบันเพื่อการนําผลงานไปใชประโยชน ไดแกความรวมมือกับเครือขาย การวิจัยภาคกลางตอนบน และความรวมมือกับวิทยาลัยพยาบาลเซนตหลุยส ขอ 5 การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 2 รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ขอ 1 4-4.2-6 ขอ 2 ขอ 3 4-4.1-2 ขอ 4 4-4.1-5 ขอ 5 -
การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย ไมบรรลุเปาหมาย ชื่อเอกสาร / รายละเอียด คูมือการวิจัยของวิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก ฐานขอมูลงานวิจัย (database) แฟมความรวมมือภายนอกสถาบัน -
ตัวบงชี้ที่ 4.3 เงินสนับสนุนงานวิจัยและงานสรางสรรคจากภายในและภายนอกสถาบันตอจํานวนอาจารยประจํา ชนิดของตัวบงชี้ : ปจจัยนําเขา เกณฑการประเมิน : 1. เกณฑทั่วไป คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 อยูระหวาง 1- 16,999.- บาท 17,000.- บาท – 24,999.- บาท มากกวาหรือเทากับ 25,000.- บาท คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2552
: :
25,000 26,055.55
ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา 2552 วิทยาลัยไดรับเงินสนับสนุนการวิจัยและสรางสรรคจากภายในและภายนอก รวมทั้งสิ้น 1,876,000 บาท ดังนั้นเงินสนับสนุนการวิจัยและงานสรางสรรคจากภายในและภายนอกสถาบัน ตอจํานวนอาจารยประจํา 72 คน จึงเทากับ 26,055.55 บาท การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 3 รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข 1 4-4.1-1
การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย ชื่อเอกสาร / รายละเอียด เอกสารฐานขอมูลบุคลากรนักวิจัย ป 2552
ตัวบงชี้ที่ 4.4 รอยละของงานวิจัยและงานสรางสรรคที่ตีพิมพเผยแพร ไดรับการจดทะเบียนทรัพยสินทาง ปญญา หรือนําไปใชประโยชนทั้งในระดับชาติและในระดับนานาชาติตอจํานวนอาจารยประจํา ชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิต เกณฑการประเมิน : 1. เกณฑทั่วไป คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 รอยละ 1- รอยละ 19 รอยละ 20- รอยละ 29 มากกวาหรือเทากับรอยละ 30 คาเปาหมายของวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2552
: :
รอยละ 15 รอยละ 6
ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2552 วิทยาลัยมีผลงานวิจัยตีพิมพเผยแพร จํานวน 4 เรื่อง โดยมีจํานวนอาจารย ประจําทั้งสิ้น 72 คน คิดเปนรอยละ 4 x 100 = 6 72 โดยมีรายละเอียด ดังนี้ อําพล นววงศเสถียร. 2552. ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจซื้อสินคาไพรเวทแบรนดของผูบริโภคใน กรุงเทพฯ. นวัตกรรมทางรัฐประศาสนศาสตร : รวมบทความวิชาการในวาระครบรอบการสถาปนา 54 ป คณะรัฐประศาสนศาสตร สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร จิระภา สุขเกษม. 2552. ปจจัยที่มีอิทธิพลตอพฤติกรรมการใชบริการสปาของประชากร ในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารวิชาการวิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก ปที่ 6 ฉบับที่ 9 กรกฎาคม - ธันวาคม 2552. นันทิยา สุวรรณ. 2553. การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ระหวางวิธีการสอนภาษาอังกฤษแบบการแปล กฎไวยากรณ และแบบการสื่อสาร เรื่องการใช Simple Present Tense, Simple Past Tense และ Present Continuous Tense for Future ของนักศึกษาปริญญาตรี ชั้นปที่ 1 วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก. วารสารวิชาการ วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก. ปที่ 7 ฉบับที่ 10 มกราคม – มิถุนายน 2553. ญาณวัฒน พลอยเทศ. 2553. ปญหาการใชเสรีภาพเกี่ยวกับการชุมนุมในการปกครองระบอบ ประชาธิปไตย ศึกษาการชุมนุมตามบทบัญญัติ มาตรา 63 แหงรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550. วารสารวิชาการวิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก. ปที่ 7 ฉบับที่ 10 มกราคม – มิถุนายน 2553. งานวิจัยทั้ง 2 เรื่องนี้ นอกจากตีพิมพเผยแพรในวารสารวิชาการฯแลว ยังไดเผยแพรและเขารวม นําเสนอผลงานวิจัย ในการประชุมวิชาการระดับชาติ “การวิจัยสูวิทยาการทางปญญาสําหรับคนไทย ” (The Research Through Intellectual Sciences for Thai People) ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา กรุงเทพมหานคร ดวย การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 1
การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย ไมบรรลุเปาหมาย
รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข 4-4.4-1
4-4.4-2 4-4.4-3 4-4.4-4
ชื่อเอกสาร / รายละเอียด วารสารนวัตกรรมทางรัฐประศาสนศาสตร : รวมบทความ วิชาการใรวารสารครบรอบการสถาปนา 54 ป คณะรัฐศาสนศาสตร สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร วารสารวิชาการวิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก ปที่ 6 ฉบับที่ 9 ก.ค. – ธ.ค. 2552 วารสารวิชาการวิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก ปที่ 7 ฉบับที่ 10 ม.ค. – มิ.ย. 2553 โปรแกรมและบทคัดยอ การประชุมวิชาการระดับชาติ “การวิจัยสูวิทยาการทางปญญา สําหรับคนไทย ” มหาวิทยาลัยราชภัฎบานสมเด็จเจาพระยา กรุงเทพมหานคร
องคประกอบที่ 5 การบริการวิชาการแกสังคม
ตัวบงชี้ที่ 5.1 มีระบบและกลไกในการบริการทางวิชาการแกสังคมตามเปาหมายของสถาบัน ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ เกณฑมาตรฐาน : ระดับ เกณฑมาตรฐาน
มี
ไมมี
1. มีการจัดทํานโยบาย แผนกลยุทธ และแผนดําเนินงานของ การบริการวิชาการแกสังคม 2. มีคณะกรรมการ คณะทํางานหรือหนวยงานดําเนินการใหบริการ วิชาการแกสังคมตามแผนที่กําหนด 3. มีการกําหนดหลักเกณฑและหรือระเบียบในการใหบริการวิชาการ แกสังคม 4. มีการประเมินผลการปฏิบัติงานตามแผนที่กําหนด 5. มีการนําผลการประเมินไปปรับปรุงการบริการวิชาการแกสังคม 6. มีการจัดทําแผนการเชื่อมโยงและบูรณาการการบริการทางวิชาการ แกสังคมเขากับการเรียนการสอน หรือการวิจัย หรือการทํานุบํารุง ศิลปวัฒนธรรม 7. มีการประเมินสัมฤทธิผลและนําผลการประเมินไปพิจารณา ปรับปรุงความเชื่อมโยงและบูรณาการระหวางการบริการวิชาการ แกสังคมกับภารกิจอื่น ๆ ของสถาบัน
-
เอกสาร หมายเลข 5-5.1-1
-
5-5.1-2
-
5-5.1-2
-
5-5.1-4 5-5.1-5 -
-
-
เกณฑการประเมิน : 1. เกณฑทั่วไป คะแนน 1 มีการดําเนินการไมครบ 3 ขอแรก
คะแนน 2 มีการดําเนินการ 3-4 ขอแรก
คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2552
คะแนน 3 มีการดําเนินการอยางนอย 5 ขอแรก : :
ระดับ 5 ระดับ 5
ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2552 วิทยาลัยมีผลการดําเนินงานผานระดับ 5 ดังนี้ เกณฑ การดําเนินงานในแตละระดับ ระดับ 1 มีการจัดทํานโยบาย แผนกลยุทธ และแผนดําเนินงานของการบริการวิชาการแกสังคม ระดับ 2 มีหนวยงานดําเนินการ โดยมีฝายฝกอบรมและบริการทางวิชาการ สํานักวิชาการ ทําหนาที่ รับผิดชอบการดําเนินการและประสานงานโครงการใหบริการทางวิชาการแกสังคม ตามที่ ระบุไวในแผน ระดับ 3 มีการกําหนดหลักเกณฑในการใหบริการทางวิชาการแกสังคม ไดแก แนวปฎิบัติในการ ใหบริการทางวิชาการแกสังคม ซึ่งทุกคณะจะมีภารกิจในการจัดบริการทางวิชาการ แกชุมชน สังคม ในศาสตรสาขาที่ชํานาญ โดยแตละสาขาวิชา จะมีโครงการบริการวิชาการ แกชุมชน สังคม อยางนอยปละ 1 เรื่อง โดยในปการศึกษา 2552 วิทยาลัยมีโครงการบริการ วิชาการ วิชาชีพ จํานวนรวมทั้งสิ้น 33 โครงการ ระดับ 4 มีการประเมินผลการปฎิบัติงานตามแผนที่กําหนด โดยการประเมินผลงาน โครงการ ใหบริการทางวิชาการแกสังคมทุกโครงการ โดยเปรียบเทียบกับแผนที่กําหนดไว ระดับ 5 มีการนําผลการประเมินไปปรับปรุงการบริการทางวิชาการแกสังคม การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 3 คะแนน
การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย
รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ชื่อเอกสาร/รายละเอียด ระดับ 1 1-1.1-2/2 ยุทธศาสตร เปาประสงค กลยุทธ ตัวชี้วัด เปาหมาย แผนพัฒนา การศึกษา วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก แผนยุทธศาสตร พ.ศ. 2551 – 2555 ระดับ 2 5-5.1-2 แนวปฎิบตั แิ ละแผนดําเนินการสํานักวิชาการ (ฝายฝกอบรมและ บริการทางวิชาการ) ปการศึกษา 2552 ระดับ 3 5-5.1-2 แนวปฎิบัติและแผนดําเนินการ ฝายฝกอบรมและบริการทาง วิชาการ ปการศึกษา 2552 ระดับ 4 5-5.1-4 รายงานผลการปฎิบัติงานตามยุทธศาสตรที่ 3 : พัฒนาบริการทาง วิชาการตามความตองการของชุมชน/สังคม ระดับ 5 5-5.1-5 แฟมโครงการบริการทางวิชาการแกสังคม
ตัวบงชี้ที่ 5.2 รอยละของอาจารยประจําที่มีสวนรวมในการใหบริการทางวิชาการแกสังคม เปนที่ปรึกษา เปนกรรมการวิทยานิพนธภายนอกสถาบัน เปนกรรมการวิชาการ กรรมการวิชาชีพใน ระดับชาติหรือระดับนานาชาติตออาจารยประจํา ชนิดของตัวบงชี้ : ปจจัยนําเขา เกณฑการประเมิน : 1. เกณฑทั่วไป คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 อยูระหวางรอยละ 1- รอยละ 14 รอยละ 15- รอยละ 24 มากกวาหรือเทากับรอยละ 25 : :
คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2552
รอยละ 15 รอยละ 28
ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2552 นี้ อาจารยประจําของวิทยาลัย มีสวนรวมในการใหบริการทางวิชาการ แกสังคม เปนกรรมการวิชาการ กรรมการวิชาชีพ จํานวน 20 คน จากจํานวนอาจารยทั้งหมด 72 คน คิดเปน รอยละ 28 ดังรายละเอียดตอไปนี้ ลักษณะการเปนกรรมการ วิทยานิพนธ วิชาการ วิชาชีพ
ลําดับที่
ชื่อ - สกุล อาจารยประจํา
1
อาจารยสุริยะ พุมเฉลิม
คอมพิวเตอร ธุรกิจ
2
อาจารยเชาวลิต จันภิรมย
คอมพิวเตอร ธุรกิจ
3
อาจารยสุดาสวรรค งามมงคล วงษ
คอมพิวเตอร ธุรกิจ
4
อ.รวมพล จันทศาตร
โลจิสติกส
5
อ.สุรัตน จันทองปาน
โลจิสติกส
6
อ.อํานวย แกวใส
โลจิสติกส
7
ดร.จิระภา สุขเกษม
ประกันคุณภาพ
8
อาจารยธิปตย โสตธิวรรณ
วิจัย
หนวยงานที่เปนกรรมการ สํานักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา สํานักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา สํานักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา อนุกรรมการสมาคม โลจิสติกสแหงประเทศไทย อุปนายกสมาคมโลจิสติกส แหงประเทศไทย อนุกรรมการสมาคม โลจิสติกสแหงประเทศไทย กรรมการตรวจประเมิน ภายใน ม.เกริก คณะกรรมการเครือขายวิจัย อุดมศึกษา ภาคกลางตอนบน
ลําดับที่
ชื่อ - สกุล อาจารยประจํา
ลักษณะการเปนกรรมการ วิทยานิพนธ วิชาการ วิชาชีพ
9
อาจารยสคุ นธ สนธิ
กิจการนักศึกษา
10
อาจารยวฤนดา วงษเล็ก
กิจการนักศึกษา
11
อาจารยอารีย เพชรหวน
12
ดร.สฤษดิผ์ ล ชมไพศาล
13
อาจารยเกษม มโนสันต
14
อาจารยญาณวัฒน พลอย เทศ
15
ดร.ทิวา พงศธนไพบูลย
16
อาจารยศรีมณา เกษสาคร
หนวยงานที่เปนกรรมการ
ประธานคณะอนุกรรมการฝาย พัฒนาศักยภาพนักศึกษา เลขานุการคณะอนุกรรมการฝาย พัฒนาศักยภาพนักศึกษา ฝายกิจการนักศึกษา สมาคม สถาบันอุดมศึกษาเอกชน แหงประเทศไทย อนุกรรมการพัฒนาระบบ เครือขายหองสมุด บรรณารักษ สถาบันอุดมศึกษาเอกชนแหง ประเทศไทย สํานักอนุญาโตตุลาการ อนุญาโตตุลาการ สํานักงานศาลยุติธรรม ที่ปรึกษาอาวุโส สถาบันพัฒนาวิสาหกิจ ดานกฎหมาย ขนาดกลางและขนาดยอม และการควบคุม ภายใน
อนุกรรมการ จัดทําแผนพัฒนา พนักงานสวน ตําบล 1. กรรมการ วิชาการสถาบัน อุดมศึกษา ภาคกลางเพือ่ พัฒนาบัณฑิต อุดมคติไทย 2. อุปนายกฝาย วิชาการ อนุกรรมการ จัดทําแผนพัฒนา พนักงาน สวนตําบล
องคการบริหารสวนตําบลบาง น้ําผึ้ง กรมสงเสริมการปกครอง สวนทองถิ่น กระทรวงมหาดไทย สํานักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
สมาคมครูสถานศึกษาเอกชน แหงประเทศไทย องคการบริหารสวนตําบลบาง น้ําผึ้ง กรมสงเสริมการปกครอง สวนทองถิ่น กระทรวงมหาดไทย
ลําดับที่
17
18
19
20
ชื่อ - สกุล อาจารยประจํา
อาจารยนันทิยา สุวรรณ
รศ.ดร.เฉลิมรัฐ ขัมพานนท
ดร.จตุพร สังขวรรณ
อาจารยไชยยศ ไชยมัน่ คง
ลักษณะการเปนกรรมการ วิทยานิพนธ วิชาการ วิชาชีพ อนุกรรมการ จัดทําแผนพัฒนา พนักงาน สวนตําบล กรรมการ สอบดุษฎี นิพนธ กรรมการ ที่ปรึกษา ดุษฎีนิพนธ กรรมการ สอบ วิทยานิพนธ
องคการบริหารสวนตําบลบาง น้ําผึ้ง กรมสงเสริมการปกครอง สวนทองถิ่น กระทรวงมหาดไทย หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนา ทรัพยากรมนุษย มหาวิทยาลัยปทุมธานี มหาวิทยาลัยรามคําแหง
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช มหาวิทยาลัยอีสทเทิรนเอเชีย
กรรมการกํากับ มาตรฐาน
การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 3 คะแนน
หนวยงานที่เปนกรรมการ
การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย
รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ชื่อเอกสาร/รายละเอียด รอยละ 28 5-5.2-1 รายชื่ออาจารยที่มีสวนรวมในการใหบริการทางวิชาการแกสังคม ตัวบงชี้ที่ 5.3 รอยละของกิจกรรมหรือโครงการบริการวิชาการและวิชาชีพที่ตอบสนองความตองการพัฒนา และเสริมสรางความเขมแข็งของสังคม ชุมชน ประเทศชาติและนานาชาติตออาจารยประจํา ชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิต เกณฑการประเมิน : 1. เกณฑทั่วไป คะแนน 1 อยูระหวางรอยละ 1- รอยละ 19 คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2552
คะแนน 2 รอยละ 20- รอยละ 29
คะแนน 3 มากกวาหรือเทากับรอยละ 30 : :
รอยละ 20 รอยละ 46
ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2552 วิทยาลัยจัดใหมีกิจกรรมหรือโครงการบริการวิชาการและวิชาชีพ ที่ตอบสนอง ความตองการพัฒนาและเสริมสรางความเขมแข็งของสังคม ชุมชน ประเทศชาติ รวมทั้งสิ้น 33 โครงการ โดยมีจํานวนอาจารยประจําทั้งสิ้น 72 คน คิดเปนรอยละ 46 ดังมีรายละเอียดดังตอไปนี้ ลําดับที่
1
2
3
4
5
6
กิจกรรม / โครงการ คณะบริหารธุรกิจ โครงการบริการชุมชน”กรอกแบบภาษีเงินไดบุคคล ธรรมดา” (29 ม.ค.53) (จํานวน 38 หนวยงาน) - กลุมงานที่ 1 โครงการบริการชุมชน”กรอกแบบภาษีเงินไดบุคคล ธรรมดา” (29 ม.ค.53) (จํานวน 38 หนวยงาน) - กลุมงานที่ 2 โครงการบริการชุมชน”กรอกแบบภาษีเงินไดบุคคล ธรรมดา” (29 ม.ค.53) (จํานวน 38 หนวยงาน) - กลุมงานที่ 3 โครงการบริการชุมชน”กรอกแบบภาษีเงินไดบุคคล ธรรมดา” (29 ม.ค.53) (จํานวน 38 หนวยงาน) - กลุมงานที่ 4 โครงการบริการชุมชน”กรอกแบบภาษีเงินไดบุคคล ธรรมดา” (29 ม.ค.53) (จํานวน 38 หนวยงาน) - กลุมงานที่ 5 โครงการสัมมนาวิชาการเรื่อง "เตรียมหลักฐาน เอกสารอยางนักบัญชีมอื อาชีพ (24 พ.ค.52)
ลักษณะการบริการวิชาการ บริการจัดอบรม/สัมมนาแบบใหเปลา
บริการจัดอบรม/สัมมนาแบบใหเปลา
บริการจัดอบรม/สัมมนาแบบใหเปลา
บริการจัดอบรม/สัมมนาแบบใหเปลา
บริการจัดอบรม/สัมมนาแบบใหเปลา
บริการจัดอบรม/สัมมนาแบบเก็บ คาลงทะเบียน
7
โครงการฝกอบรม"การจัดทําบัญชีดวยโปรแกรม สําเร็จรูปทางการบัญชี ครั้งที่ 2 (2 -3 มี.ค.52)
บริการจัดอบรม/สัมมนาแบบใหเปลา
8
โครงการสัมมนา การสรางความสามารถทางการ แขงขันทางการตลาดของธุรกิจไดอยางไร
บริการจัดอบรม/สัมมนาแบบใหเปลา
9
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ "เทคนิคการขาย แบบมืออาชีพ" 27 ส.ค.52
บริการจัดอบรม/สัมมนาแบบใหเปลา
10
โคงการ SBC TUTOR CAMP (15-16 ธ.ค.2552)
บริการจัดอบรม/สัมมนาแบบใหเปลา
กลุมเปาหมาย นักศึกษาวิทยาลัย เซาธอสี ทบางกอก และผูสนใจทั่วไป นักศึกษาวิทยาลัย เซาธอสี ทบางกอก และผูสนใจทั่วไป นักศึกษาวิทยาลัย เซาธอสี ทบางกอก และผูสนใจทั่วไป นักศึกษาวิทยาลัย เซาธอสี ทบางกอก และผูสนใจทั่วไป นักศึกษาวิทยาลัย เซาธอสี ทบางกอก และผูสนใจทั่วไป นักศึกษาวิทยาลัย เซาธอสี ทบางกอก และผูสนใจทั่วไป นักศึกษาวิทยาลัย เซาธอสี ทบางกอก และผูสนใจทั่วไป นักศึกษาวิทยาลัย เซาธอสี ทบางกอก และผูสนใจทั่วไป นักศึกษาวิทยาลัย เซาธอสี ทบางกอก และผูสนใจทั่วไป นักศึกษาวิทยาลัย เซาธอสี ทบางกอก และผูสนใจทั่วไป
กิจกรรม / โครงการ โครงการสัมมนา การเปดการคาเสรีและผลกระทบ ตอโลจิสติกสในประเทศไทย (21 ม.ค. 53)
ลักษณะการบริการวิชาการ บริการจัดอบรม/สัมมนาแบบเก็บ คาลงทะเบียน
12
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อฝกทักษะการ ประกอบเครื่องคอมพิวเตอร(21 ม.ค. 53)
บริการจัดอบรม/สัมมนาแบบใหเปลา
13
โครงการสัมมนา”เทคโนโลยีการประมวลผลภาพ Image Processing (20 ก.ย. 52)
บริการจัดอบรม/สัมมนาแบบใหเปลา
14
โครงการเสริมทักษะดานคอมพิวเตอรธุรกิจ”การ พัฒนาเว็บไซต”(29 ม.ค. 53)
บริการจัดอบรม/สัมมนาแบบใหเปลา
15
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อฝกทักษะ การ ติดตั้งระบบเครือขาย(2 ก.พ. 53)
บริการจัดอบรม/สัมมนาแบบใหเปลา
16
โครงการสัมมนาระบบเครือขายในองคกร (9 พ.ค. 53)
บริการจัดอบรม/สัมมนาแบบใหเปลา
17
โครงการฝกอบรมภาคปฎิบัติโดยใชโปรแกรม สําเร็จรูปทางสถิติ (5-6 ต.ค.52)
บริการจัดอบรม/สัมมนาแบบเก็บ คาลงทะเบียน
18
โครงการภาคีรณณรงคการแผระบาดของไขหวัด ใหญ สายพันธุใหม 2009 (9 ก.ย.-1 ต.ค.52)
บริการอื่น ๆ
19
โครงการลูกเซาวอีสทบางกอก ออกคายอาสาพัฒนา บริการอื่น ๆ ชนบท ครั้งที่ 11 (9 ก.ย.-1 ต.ค.52)
20
โครงการรวมรณรงค 9 วันอันตราย เมาไมขับ - งวง บริการอื่น ๆ ไมขับ (8 เม.ย.53)
ลําดับที่
11
กลุมเปาหมาย นักศึกษาวิทยาลัย เซาธอสี ทบางกอก และผูสนใจทั่วไป นักศึกษาวิทยาลัย เซาธอสี ทบางกอก และผูสนใจทั่วไป นักศึกษาวิทยาลัย เซาธอสี ทบางกอก และผูสนใจทั่วไป นักศึกษาวิทยาลัย เซาธอสี ทบางกอก และผูสนใจทั่วไป นักศึกษาวิทยาลัย เซาธอสี ทบางกอก และผูสนใจทั่วไป นักศึกษาวิทยาลัย เซาธอสี ทบางกอก และผูสนใจทั่วไป นักศึกษาวิทยาลัย เซาธอสี ทบางกอก และผูสนใจทั่วไป นักศึกษาวิทยาลัย เซาธอสี ทบางกอก และผูสนใจทั่วไป นักศึกษาวิทยาลัย เซาธอสี ทบางกอก และผูสนใจทั่วไป นักศึกษาวิทยาลัย เซาธอสี ทบางกอก และผูสนใจทั่วไป
ลําดับที่
21
กิจกรรม / โครงการ
คณะนิติศาสตร โครงการชวยเหลือและใหบริการทางกฎหมาย
22
โครงการที่ปรึกษากฎหมายประจําศาลจังหวัด พระโขนง
23
โครงการบรรยายพิเศษทางกฎหมาย
24
คณะศิลปศาสตร โครงการ Brush Up English Grammar 1
ลักษณะการบริการวิชาการ - ใหบริการใหคําปรึกษาเกี่ยวกับปญหา ขอกฎหมาย และการดําเนินคดีในศาล - ขอรับคําปรึกษาไดที่คณะนิติศาสตร วันจันทร-ศุกร 8.30-16.30 น. - เปนการบริการแบบใหเปลา - ใหความชวยเหลือ และใหคําแนะนํา กับประชาชนทีม่ าศาลในคดีทกุ ประเภท - การบรรยายพิเศษในหัวขอทาง กฎหมายทีอ่ ยูใ นความสนใจ - เปนการบริการแบบใหเปลา
- บริการจัดอบรม / สัมมนา แบบเก็บคา ลงทะเบียน
25
โครงการสอนภาษาอังกฤษนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปที่ 6 รร.ดานชางวิทยา จ.สุพรรณบุรี
- บริการจัดอบรม / สัมมนา แบบให เปลา
26
โครงการอบรมภาษาอังกฤษสําหรับบุคลากร โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ เตรียมอุดมศึกษา พัฒนาการ
- บริการจัดอบรม / สัมมนา แบบให เปลา
27
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ หลักสูตร ภาษาอังกฤษ สําหรับพนักงานนวดแผนโบราณ
- บริการจัดอบรมเชิงปฏิบตั กิ าร แบบใหเปลา
28
โครงการอบรมภาษาอังกฤษ และเรียนรูวัฒนธรรม ตางชาติสําหรับพอคา แมคา ตลาดน้ําบางน้ําผึ้ง อ.พระประแดง จ.สมุทรปราการ
- บริการจัดอบรมเชิงปฏิบตั กิ าร แบบใหเปลา
29
โครงการอบรมภาษาอังกฤษสําหรับนักกฎหมาย
- บริการจัดอบรม / สัมมนา แบบให เปลา
กลุมเปาหมาย นักศึกษา คณาจารย ผูสนใจทั่วไป
ผูสนใจทั่วไป
นักเรียนมัธยมศึกษา ผูสนใจทั่วไป
นักศึกษาคณะศิลปศาสตร และผูสนใจ ทั่วไป นักเรียน ชั้น ม.6 รร.ดานชางวิทยา จ.สุพรรณบุรี บุคลากรโรงเรียน นวมินทราชินูทิศ เตรียมอุดมศึกษา พัฒนาการ พนักงานนวดแผน โบราณ ตลาดน้ํา บางน้ําผึ้ง อ. พระประแดง จ. สมุทรปราการ พอคา แมคา ตลาดน้ําบางน้ําผึ้ง อ. พระประแดง จ. สมุทรปราการ นักกฎหมาย ผูสนใจทั่วไป
ลําดับที่
30
31
32
33
กิจกรรม / โครงการ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี โครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพในงาน E-Commerce ดานภาษา ASP.NET โครงการ Hardware Academy Evolution
ลักษณะการบริการวิชาการ บริการจัดอบรมเชิงปฏิบตั กิ าร มีคาใชจาย บริการจัดอบรม แบบใหเปลา
บัณฑิตวิทยาลัย - สัมมนาโดยมีคา ลงทะเบียน โครงการสัมนาทางวิชาการเรื่อง “กลยุทธโลจิสติกส ฝาวิกฤตสภาวะเศรษฐกิจและ การเมืองปจจุบัน” โครงการอบรมโปรแกรมสําเร็จรูปทางสถิติเพื่อการ - อบรมเชิงปฎิบัติการแบบใหเปลา วิเคราะห (SPSS)
คณะ บริหารธุรกิจ นิติศาสตร ศิลปศาสตร วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี บัณฑิตวิทยาลัย รวม
จํานวนโครงการทางวิชาการ 20 3 6 2 2 33
การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 3 คะแนน
กลุมเปาหมาย นักศึกษา ผูสนใจทั่วไป นักศึกษา ผูสนใจทั่วไป ผูสนใจทั่วไป
นักศึกษา ผูสนใจทั่วไป
จํานวนอาจารยประจํา 42 5 5 5 15 72
รอยละ 48 60 120 40 13 46
การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย
รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ชื่อเอกสาร/รายละเอียด รอยละ 46 5-5.3-1 สรุปโครงการและกิจกรรมบริการวิชาการแกสังคม ประจําปการศึกษา 2552 ตัวบงชี้ที่ 5.4 รอยละของระดับความพึงพอใจของผูรับบริการ ชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิต เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 รอยละ 65- รอยละ 74
คะแนน 2 รอยละ 75- รอยละ 84
คะแนน 3 มากกวาหรือเทากับรอยละ 85
คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2552
: :
รอยละ 85 รอยละ 88.4
ขอมูลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2552 โครงการบริการทางวิชาการของวิทยาลัย มีรอยละของระดับความพึงพอใจ ของผูรับบริการ คิดเปนรอยละ 88.4 คณะ บริหารธุรกิจ นิติศาสตร ศิลปศาสตร วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี บัณฑิตวิทยาลัย รวม การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 3 คะแนน
ความพึงพอใจของผูรับบริการ (รอยละ) 84 95 90 88 85 88.4 การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย
รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ชื่อเอกสาร/รายละเอียด 5-5.3-1 สรุปโครงการและกิจกรรมบริการวิชาการแกสังคม ประจําปการศึกษา 2552
องคประกอบที่ 6 การทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม
ตัวบงชี้ที่ 6.1 มีระบบและกลไกในการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ เกณฑมาตรฐาน : ระดับ
เอกสาร หมายเลข 1-1.2-2 1-1.2-1 3-3.2-18 1-1.1-2 6-6.1-1 6-6.1-2 3-3.2-14 3-3.2-15 3-3.2-18 6-6.1-3
เกณฑมาตรฐาน
มี
ไมมี
1. มีการกําหนดนโยบายที่ชัดเจนปฏิบัติได และมีแผนงานรองรับ 2. มีการกําหนดกิจกรรมหรือโครงการที่เปนประโยชนสอดคลองกับ แผนงาน และมีการดําเนินกิจกรรมอยางตอเนื่อง
-
3. มีการบูรณาการงานดานทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมกับภารกิจ ดานอื่น ๆ 4. มีการสงเสริมการดําเนินงานดานศิลปวัฒนธรรมทั้งในระดับชาติ และนานาชาติ อาทิ การจัดทําฐานขอมูลดานศิลปวัฒนธรรม การสรางบรรยากาศศิลปะและวัฒนธรรม การจัดกิจกรรม ประชุม เสวนาทางวิชาการ การจัดสรรงบประมาณสนับสนุนอยางพอเพียง และตอเนื่อง 5. มีการกําหนดหรือสรางมาตรฐานดานศิลปวัฒนธรรม โดย ผูเชี่ยวชาญ และมีผลงานเปนที่ยอมรับในระดับชาติหรือนานาชาติ 6. มีการเผยแพรและบริการดานศิลปวัฒนธรรมในระดับชาติและ นานาชาติ อาทิ มีสถานที่หรือเวทีแสดงผลงาน จัดทําวารสาร ศิลปวัฒนธรรมในระดับตาง ๆ มีความรวมมือในการใหการบริการ วิชาการดานศิลปวัฒนธรรมกับสังคมในระดับตาง ๆ
-
-
-
-
-
-
เกณฑการประเมิน : 1. เกณฑเฉพาะสถาบันที่เนนการผลิตบัณฑิตและพัฒนาศิลปวัฒนธรรม คะแนน 1 มีการดําเนินการไมครบ 4 ขอแรก
คะแนน 2 มีการดําเนินการ 4-5 ขอแรก
คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2552
คะแนน 3 มีการดําเนินการครบทุกขอ : :
ระดับ 4 ระดับ 4
ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2552 วิทยาลัยมีผลการดําเนินงานผานระดับ 4 ตามมาตรฐาน สกอ. ดังนี้ เกณฑ ระดับ 1 ระดับ 2
ระดับ 3
ระดับ 4
ระดับ 5 ระดับ 6
การดําเนินงานในแตละระดับ มีการกําหนดนโยบายที่ชัดเจนปฏิบัติไดและมีแผนงานรองรับ เชน มีการกําหนด แนวปฎิบัติและแผนการดําเนินงานกิจกรรมงบประมาณประจําป 2552 มีการกําหนดกิจกรรมหรือโครงการที่เปนประโยชนสอดคลองกับแผนงาน เชน การสงเสริมคุณธรรมจริยธรรมนิสิตนักศึกษา, โครงการ SBC FRESHY NO ALCOHOL 2009 โครงการสงเสริมศิลปวัฒนธรรมอุดมศึกษา ครั้งที่ 10 และโครงการ/กิจกรรมอื่น ในแนวปฏิบัติและแผนการดําเนินงานสํานักกิจการนักศึกษา ปการศึกษา 2552 มีการบูรณาการงานดานทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม เชน โครงการอาหารพื้นถิ่น “ขนมตึงตัง ขนมเอกลักษณของบางนา ” นําผลการสืบสาน เผยแพรวัฒนธรรม มาจัดทําฐานขอมูล ดานศิลปวัฒนธรรม และนํามาบูรณาการกับพันธกิจดานการเรียนการสอนในรายวิชาภูมิ ปญญาไทย วิชาจริยธรรม วิชาเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งเปนวิชาในหมวดศึกษาทั่วไป รวมทั้ง บูรณาการกับการเรียน วิชาบัญชีตนทุน เปนตน นอกจากนี้ยังบูรณาการเขากับการบริการวิชาการแกชุมชน โดยการจัดสาธิต สอนและ เผยแพร ใหกับผูสนใจในชุมชน สังคม ในเทศกาลสงกรานตของทุกป และเผยแพรผานสื่อ เคเบิ้ลทีวีทองถิ่นดวย มีการสงเสริมการดําเนินงานดานศิลปวัฒนธรรมทั้งในระดับชาติโดยการจัดสรร งบประมาณอยางพอเพียงและตอเนื่อง เชน โครงการดนตรีไทยอุดมศึกษาครั้งที่ 37 โครงการศิลปวัฒนธรรมอุดมศึกษา ครั้งที่ 10 มีการสรางบรรยากาศเพื่อสงเสริมทํานุบํารุง ศิลปวัฒนธรรม เชน โครงการอนุรักษวัฒนธรรมการแตงกายดวยผาไทยทุกวันพฤหัสบดี โครงการพิธรี ดน้าํ – ดําหัวขอพรผูบริหารและผูสูงอายุฯ โครงการวันสถาปนาวิทยาลัย เปนตน -
การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 2 คะแนน
การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย
รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ชื่อเอกสาร/รายละเอียด ระดับ 1 3-3.2-1 แนวปฎิบัติและแผนการดําเนินการสํานักกิจการนักศึกษา (สวนศูนยศลิ ปวัฒนธรรม) - โครงการ SBC FRESHY NO ALCOHOL 2009 ระดับ 2 1-1.2-1 - แนวปฏิบัติและแผนการดําเนินการสํานักกิจการนักศึกษา ป 2552 3-3.2-2 - โครงการสงเสริมศิลปวัฒนธรรมอุดมศึกษา ครั้งที่ 10 3-3.2-2/16 - โครงการศึกษาความเปนมารับการถายทอดวิธีทําขนมตึงตังและ ระดับ 3 6-6.1-1 เผยแพรวัฒนธรรมอาหารทองถิ่นบางนา “ขนมตึงตัง” สาขาวิชา การบัญชี - โครงการฟนฟูอนุรักษสืบสาน เผยแพรวัฒนธรรมทองถิ่น 6-6.1-2 การละเลน “สะบามอญ” สาขาวิชาการบัญชี - โครงการวันสถาปนาวิทยาลัย ระดับ 4 3-3.2-2/14 - โครงการพิธรี ดน้าํ - ดําหัวขอพรผูบริหารและผูสูงอายุ 3-3.2-2/13 - โครงการดนตรีไทยอุดมศึกษา ครั้งที่ 37 3-3.2-2/15 - โครงการศิลปวัฒนธรรมอุดมศึกษา ครั้งที่ 10 3-3.2-2/16 - โครงการอนุรักษวัฒนธรรมการแตงกายดวยผาไทย 6-6.1-4 ทุกวันพฤหัสบดี ระดับ 5 ระดับ ** ตัวบงชี้ที่ 6.2 มีผลงานหรือชิ้นงานการพัฒนาองคความรู และสรางมาตรฐานศิลปวัฒนธรรม (เฉพาะสถาบันที่เนนการผลิตบัณฑิตและพัฒนาศิลปวัฒนธรรม) ชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิต เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 จํานวน 1 ผลงาน คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2552
คะแนน 2 จํานวน 2 ผลงาน
คะแนน 3 จํานวนมากกวาหรือเทากับ 3 ผลงาน : :
2 ผลงาน 3 ผลงาน
ผลการดําเนินงาน 1. ขนมตึงตัง ขนมเอกลักษณบางนา อาหารไทยมีเอกลักษณเฉพาะถิ่น ประกอบดวย พืช สมุนไพร วัสดุธรรมชาติ นํามา ประดิษฐ ผสมใหคุณคาทางโภชนาการ อาหารหลายอยาง บอกถิ่นที่มา เชน ขาวซอยจากภาคเหนือ ขาวยํา จากปกษใต และ “ขนมตึงตัง” ของบางนาที่กําลังจะสูญหายไป ผลงาน “ขนมตึงตัง ขนมเอกลักษณบางนา ” เปนขนมของชาวไทย เชื้อสายมอญ แหงคลองบางนาแท ๆ ไมมีปรากฎในตําราอาหารใด ๆ ไมมีคนทํารับประทานมานานเกือบ 50 ป ซึ่งกําลัง จะสูญหายไป กลุมสาขาวิชาบริหารธุรกิจจึงไดฟนฟูและพัฒนาองคความรู ดานวัฒนธรรมการกินของ ชาวมอญบางนาขึ้นมาสรางเปนผลงานเพื่อการสืบสานและอนุรักษตอไป โดยมีการศึกษาวิธีการทํา นํามา จัดแสดง และสาธิต ใหประชาคมบางนาไดทดลองชิมโดยจัดเปนประเพณีเผยแพรในงานสงกรานตของ ทุกป ผลการประเมินพบวา สังคมชาวบางนาเกิดการตื่นตัววาบางนายังมีของดีอีกมากที่ยังไมได รับการถายทอดภูมิปญญา จากผูเฒาผูแก ซึ่งนับวันจะสูญหาย วิทยาลัยไดจัดตั้งศูนยสืบสานภูมิปญญา บรรพชนบางนา เพื่อสงเสริมใหเกิดความเขาใจวิถีชีวิตและภูมิปญญาบรรพชน 2. สะบามอญ วัฒนธรรมการละเลนพื้นบานของชาวพระประแดง พระโขนง บางนา บางพลี (6-6.1-2) การละเลนสะบามอญ เปนการละเลนของชาวมอญ โดย คณะบริหารธุรกิจได รวมกับ คณะศิลปศาสตรและนิติศาสตร ศึกษาความเปนมา นํามาฝกหัด โดยนักศึกษาที่สนใจ มีการจัดแสดง และ เผยแพร และรวบรวมขอมูลที่เกี่ยวของตาง ๆ มาเผยแพรตอสาธารณชนที่สนใจการฝกหัด เพื่อสรางผลงาน “การละเลนสะบามอญ” นี้เปนการสงเสริมใหเกิดความเขาใจวิถีชีวิตและภูมิปญญาบรรพชน 3. เพลงเรือชุมชนมอญ (6-6.1-3) เปนวัฒนธรรมที่สูญหายไปไมนอยกวา 50 ปแลว เดิมมีการเลน ในชวงเดือนตุลาคม – พฤศจิกายน ซึ่งเปนประเพณีแขงเรือประจําป สถานที่เลน หนาเมืองพระประแดง หรือแหลมปูเจาสมิงพราย การละเลนจะเปนการรองรํา แกเพลงในเชิงเกี้ยวพาราศี หนุมสาวที่เลนตองมี ไหวพริบปฎิพานในเรื่องเพลง เพราะจะเปนการแตงสด รองสด การแตงกายของหนุมสาวก็จะแตงตัวตาม วัฒนธรรม ซึ่งมีความสวยงาม ผลงานในการพัฒนาองคความรูดานศิลปะและวัฒนธรรม จํานวน 3 ชิ้นงาน วิทยาลัย ไดนํามารวบรวม เพื่อตีพิมพเผยแพรในจุลสารศิลปและวัฒนธรรม วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก และเผยแพร เปนรูปเลมในสํานักวิทยบริการ และจัดเก็บเปนฐานขอมูลไวเพื่อการสืบคนแกผูที่สนใจทั่วไป และเผยแพรไวในเว็บไซตของวิทยาลัย www.southeast.ac.th การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 3 คะแนน
การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย
รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ชื่อเอกสาร/รายละเอียด 6-6.1-1 - รายงานการสืบสานวัฒนธรรมอาหารทองถิ่นบางนา “ขนมตึงตัง” (คณะบริหารธุรกิจ 4-4.3-1) - รายงานการเผยแพรวัฒนธรรมอาหารทองถิ่นบางนา “ขนมตึงตัง” (คณะบริหารธุรกิจ 4-4.3-2) - สูจิบัตร โครงการฟนฟู อนุรักษ สืบสาน เผยแพรวัฒนธรรม อาหารทองถิ่นบางนา “ขนมตึงตัง” (คณะบริหารธุรกิจ 4-4.3-3) 6-6.1-2 - รายงานการสืบสานวัฒนธรรมทองถิ่นการละเลน “สะบามอญ” (คณะบริหารธุรกิจ 4-4.3-4) - รายงานการเผยแพรวัฒนธรรมทองถิ่นการแสดง การละเลน “สะบามอญ” (คณะบริหารธุรกิจ 4-4.3-5) - สูจิบัตร โครงการฟนฟู อนุรักษ สืบสาน เผยแพรวัฒนธรรม การละเลน “สะบามอญ” (คณะบริหารธุรกิจ 4-4.3-6) 6-6.1-3 - ประวัติบุคคลสําคัญดานวัฒนธรรม อาจารย ฉวีวรรณ ควรแสวง - จุลสารศิลปะและวัฒนธรรม วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก ฉบับที่ 40, 42 และ 48 ** ตัวบงชี้ที่ 6.3 ประสิทธิผลในการอนุรักษ พัฒนาและสรางเสริมเอกลักษณศิลปวัฒนธรรม (เฉพาะสถาบันที่เนนการผลิตบัณฑิตและพัฒนาศิลปวัฒนธรรม) ชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิต เกณฑมาตรฐาน : ระดับ เกณฑมาตรฐาน
มี
ไมมี
1. มีแผนหรือโครงการเพื่อการอนุรักษ พัฒนาและเสริมสราง เอกลักษณศิลปวัฒนธรรม 2. มีการดําเนินการตามแผนหรือโครงการที่กําหนด 3. มีการบูรณาการงานดานทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมเขากับพันธกิจอื่น อีก 1 ดาน อยางนอย 1 โครงการ 4. มีการบูรณาการงานดานทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมเขากับพันธกิจอื่น อีก 2 ดาน อยางนอย 1 โครงการ
-
เอกสาร หมายเลข 3-3.2-13
-
1-1.1-2 6-6.1-1
-
6-6.1-2
เกณฑมาตรฐาน
มี
ไมมี
5. มีการบูรณาการงานดานทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมเขากับพันธกิจอื่น อีกมากกวาหรือเทากับ 2 ดาน และมีการนําศิลปวัฒนธรรมหรือ ภูมิปญญาไทยออกเผยแพรในระดับสากล อยางนอย 1 โครงการ
-
เอกสาร หมายเลข -
เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 มีการดําเนินการไมครบ 3 ขอแรก คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2552
คะแนน 2 มีการดําเนินการ 3 ขอแรก
คะแนน 3 มีการดําเนินการอยางนอย 4 ขอแรก : :
ระดับ 4 ระดับ 4
ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2552 วิทยาลัยมีผลการดําเนินงานผานเกณฑระดับ 4 ดังนี้ เกณฑ การดําเนินงานในแตละระดับ ระดับ 1 มีแผนหรือโครงการเพื่อการอนุรักษพัฒนาและเสริมสรางเอกลักษณศิลปวัฒนธรรม ในการจัด โครงการ/กิจกรรมจะตองบรรจุไวในแนวปฎิบัติและแผนการดําเนินงานประจําป เชน โครงการ ลอยกระทงสืบสานประเพณีไทย ระดับ 2 มีการดําเนินการตามแผนหรือโครงการที่กําหนดทุกครั้งที่จะทําโครงการ/กิจกรรมจะดําเนินการ ตามแนวปฎิบัติและแผนการดําเนินการสํานักกิจการนักศึกษา ประจําปการศึกษา 2552 ระดับ 3 มีการบูรณาการงานดานทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม เขากับพันธกิจดานการเรียนการสอนโดยนํา ผลการสืบสาน เผยแพรวัฒนธรรม มาจัดทําฐานขอมูลดานศิลปวัฒนธรรม และนํามาบูรณาการกับ พันธกิจดานการเรียนการสอนในรายวิชาภูมิปญญาไทย วิชาจริยธรรม วิชาเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งเปนวิชาในหมวดศึกษาทั่วไป นอกจากนี้ยังนํามาบูรณาการกับการเรียนวิชาเอกเลือกของ กลุมสาขาวิชาการบัญชี ไดแก วิชาการบัญชีตนทุน (6-6.3-1) เปนตน
เกณฑ ระดับ 4
การดําเนินงานในแตละระดับ มีการบูรณาการงานดานศิลปวัฒนธรรม เขากับพันธกิจดานการบริการวิชาการ และพันธกิจดาน การวิจัยโดย โครงการอาหารพื้นถิ่น “ขนมตึงตัง ขนมเอกลักษณบางนา ” ไดบูรณาการเขากับ การบริการวิชาการแกชุมชน โดยการจัดสาธิต สอน และเผยแพร ใหกับผูสนใจ ในชุมชน สังคม ในเทศกาลสงกรานตของทุกป ที่วิทยาลัย และเผยแพรผานสื่อเคเบิ้ลทีวี ของ บริษัท ปราการเคเบิ้ล ทีวี จํากัด และบริษัท นครเขื่อนขันธ เคเบิ้ลทีวี จํากัด รวมทั้งเผยแพรผานวิทยุชุมชน และ หนังสือพิมพทองถิ่น เพื่ออนุรักษ สืบสานวัฒนธรรม ตอไป สําหรับฐานขอมูลซึ่งพัฒนามาจาก โครงการเรียนรู สืบสาน อนุรักษ วัฒนธรรม และภูมิปญญาบรรพชนนั้น ยังนํามาบูรณาการเขากับ พันธกิจดานการวิจัย ในการดําเนินโครงการวิจัยประวัติศาสตรทองถิ่นบางนา ซึ่งดําเนินการขั้นตน ไปแลวในปการศึกษา 2552 และในป 2553 จะดําเนินการขอทุนสนับสนุนการวิจยั ทั้งจากภายใน และภายนอกวิทยาลัย โดยมีประธานคณะทํางานวิจัย คือ ดร. อําพล นววงศเสถียร (ผูชวยคณบดี คณะบริหารธุรกิจ) และมีอาจารยสมชาย ชูประดิษฐ เปนที่ปรึกษาโครงการ
การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 3 คะแนน
การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย
รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ชื่อเอกสาร/รายละเอียด ระดับ 1 3-3.2-2/11 โครงการลอยกระทงสืบสานประเพณีไทย ระดับ 2 3-3.2-1 แนวฏิบัติและแผนการดําเนินงานสํานักกิจการนักศึกษา ปการศึกษา 2552 ระดับ 3 6-6.3-1 - โครงการสอนวิชาภูมิปญญาไทย (คณะบริหารธุรกิจ 4-4.4-2) - โครงการสอนวิชาจริยธรรม (คณะบริหารธุรกิจ 4-4.4-3) - โครงการสอนวิชาเศรษฐกิจพอเพียง (คณะบริหารธุรกิจ 4-4.4-4) - โครงการสอนวิชาการบัญชีตนทุน (คณะบริหารธุรกิจ 4-4.4-5) ระดับ 4 6-6.3-2 หลักฐานการเผยแพรทางเคเบิ้ลทีวีทองถิ่น/วิทยุชุมชนทองถิ่น 6-6.3-3 หลักฐานการบูรณาการกับพันธกิจดานการวิจัย
องคประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการ
ตัวบงชี้ที่ 7.1 สภาสถาบันใชหลักธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการและสามารถผลักดันสถาบันใหแขงขันได ในระดับสากล ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ เกณฑมาตรฐาน : ขอ เอกสาร เกณฑมาตรฐาน มี ไมมี หมายเลข 1. สภาสถาบันมีบทบาทสําคัญในการกําหนดทิศทาง ยุทธศาสตรและ 7-7.1-1 นโยบายของสถาบัน 7-7.1-2 2. สภาสถาบันมีการติดตามผลการดําเนินงานตามภารกิจหลักของ สถาบันมากกวาปละ 2 ครั้ง 3. มีการประชุมกรรมการสภาสถาบันอยางต่ํารอยละ 80 ของแผน 7-7.1-3 ในการประชุมแตละครั้งมีกรรมการเขารวมโดยเฉลี่ยไมนอยกวา รอยละ 80 โดยมีการสงเอกสารใหกรรมการสภาสถาบันอยางนอย 7 วันกอนการประชุม 4. สภาสถาบันจัดใหมีการประเมินผลงานของอธิการบดีหรือผูบริหาร 7-7.1-4 สูงสุดตามหลักเกณฑที่ตกลงกันไวลวงหนา 7-7.1-5 5. สภาสถาบันมีการดําเนินงานโดยใชหลักธรรมาภิบาลและสงเสริม การบริหารงานโดยใชหลักธรรมาภิบาลทั่วทั้งองคกร เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 มีการดําเนินการไมครบ 4 ขอ คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2552
คะแนน 2 มีการดําเนินการ 4 ขอ
คะแนน 3 มีการดําเนินการครบทุกขอ : :
5 ขอ 5 ขอ
ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2552 วิทยาลัยมีผลการดําเนินงาน 5 ขอ ดังนี้ เกณฑ การดําเนินงานในแตละขอ ขอ 1 คณะกรรมการสภาวิทยาลัยมีบทบาทสําคัญในการกําหนดทิศทาง ยุทธศาสตรและนโยบาย ของวิทยาลัย โดยมีสว นรวมในการใหขอ เสนอแนะ และพิจารณาใหความเห็นชอบแผน ยุทธศาสตร พ.ศ. 2548 – 2552 ของวิทยาลัย และแผนการพัฒนาการศึกษา วิทยาลัย เซาธอีสทบางกอก พ.ศ. 2551 – 2555 ขอ 2 คณะกรรมการสภาวิทยาลัยมีการติดตามผลการดําเนินงานตามภารกิจหลักของวิทยาลัย มากกวาปละ 2 ครั้ง โดยในการประชุมแตละครั้ง ฝายบริหารจะรายงานการดําเนินงานตาม ภารกิจหลักของวิทยาลัยทุกครั้ง ขอ 3 มีการประชุมกรรมการสภาวิทยาลัย จํานวน 4 ครั้ง ตามที่กําหนดไวในแผนการประชุม โดย มีกรรมการเขารวมประชุมเฉลี่ยไมนอยกวารอยละ 80 โดยมีการจัดสงเอกสาร อยางนอย 7 วัน กอนการประชุม ขอ 4 สภาวิทยาลัยจัดใหมีการประเมินผลงานของอธิการบดี ตามหลักเกณฑที่ตกลงไวลวงหนา ขอ 5 สภาวิทยาลัยมีการดําเนินงานโดยใชหลักธรรมาภิบาล และสงเสริมการบริหารงาน โดยใช หลักธรรมาภิบาลทั่วทั้งองคกร การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 3 คะแนน รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ขอ 1 7-7.1-1/1 (1-1.1-2/1) 7-7.1-1/2 (1-1-1-2/2) ขอ 2 7-7.1-2 (1-1.1-5-2) ขอ 3 7-7.1-3 ขอ 4 ขอ 5
7-7.1-4 7-7.1-5
การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย
ชื่อเอกสาร/รายละเอียด วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก แผนยุทธศาสตร พ.ศ. 2548 – 2552 แผนพัฒนาการศึกษา วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก พ.ศ. 2551 – 2555 รายงานการประชุมสภา วิทยาลัยประจําป พ.ศ. 2552 สรุปรายงานกรรมการที่เขารวมประชุมสภาและลายเซ็นตเขารวม ประชุมประจําป พ.ศ. 2552 แบบประเมินผลการปฎิบัติงานบุคลากร (อธิการบดี/รองอธิการบดี) สรุปรายงานผลการดําเนินงานของสภาวิทยาลัยประจําป พ.ศ. 2552
ตัวบงชี้ที่ 7.2 ภาวะผูนําของผูบริหารทุกระดับของสถาบัน ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ เกณฑมาตรฐาน : ระดับ เกณฑมาตรฐาน
มี
ไมมี
1. มีกระบวนการสรรหาผูบริหารที่เปนระบบ โปรงใส ตรวจสอบได
-
2. ผูบริหารดําเนินการบริหารดวยหลักธรรมาภิบาลและใชศักยภาพ
-
-
-
ภาวะผูนําที่มีอยูโดยคํานึงถึงประโยชนของสถาบันและผูมีสวนได สวนเสีย 3. มีกระบวนการประเมินศักยภาพและผลการปฏิบัติงานของผูบริหาร ที่ชัดเจนและเปนที่ยอมรับในสถาบัน 4. มีการจัดทําแผนและกลไกการพัฒนาศักยภาพของผูบริหารตามผล การประเมิน และดําเนินการตามแผนอยางครบถวน
เอกสาร หมายเลข 7-7.2-1/1 7-7.2-1/2 7-7.2-1/3 7-7.2-2 7-7.2-2/2 7-7.2-3/1 7-7.2-3/2 7-7.2-4
เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 มีการดําเนินการไมครบ 3 ขอแรก คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2552
คะแนน 2 มีการดําเนินการ 3 ขอแรก
คะแนน 3 มีการดําเนินการครบทุกขอ : :
ระดับ 4 ระดับ 4
ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2552 วิทยาลัยมีผลการดําเนินงานผานระดับ 4 ดังนี้ เกณฑ การดําเนินงานในแตละระดับ ระดับ 1 มีกระบวนการสรรหาผูบริหารที่เปนระบบ โปรงใส ตรวจสอบได โดยมีการแตงตั้ง คณะกรรมการสรรหาและคัดเลือก มีแบบฟอรมการพิจารณา และปฎิบัติตามระเบียบฯ วาดวยการบริหารงานบุคคลของวิทยาลัยอยางเครงครัด ระดับ 2 ผูบริหารดําเนินการบริหารดวยหลักธรรมาภิบาล และใชศักยภาพภาวะผูนําที่มีอยูโดย คํานึงถึงประโยชนของสถาบันและผูมีสวนไดสวนเสีย
เกณฑ ระดับ 3
ระดับ 4
การดําเนินงานในแตละระดับ มีกระบวนการประเมินผลศักยภาพ และผลการปฎิบัติงานของผูบริหารที่ชัดเจน และเปนที่ ยอมรับในสถาบัน โดยมีคณะกรรมการประเมินผลการปฎิบัติงาน และมีการรายงานผลให อธิการบดีรับทราบ และใหผลปอนกลับแกผูถูกประเมินเพื่อพัฒนาตนเอง เมื่อปรากฎวาผลการประเมินผูบริหารไมเปนไปตามเกณฑ ใหสํานักอธิการบดีเสนอแผน และกลไกในการพัฒนาศักยภาพใหสูงขึ้น
การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 3 คะแนน
การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย
รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน ระดับ 1
ระดับ 2
ระดับ 3
ระดับ 4
เอกสาร หมายเลข 7-7.2-1/1 7-7.2-1/2 7-7.2-1/3 7-7.2-2/1 (2-2.2-1) 7-7.2-2/2 (1-1.1-5/1) 7-7.2-3/1 7-7.2-3/2 7-7.2-4
ชื่อเอกสาร/รายละเอียด คําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการสรรหาและคัดเลือก แบบฟอรมพิจารณาคุณสมบัติ และการสัมภาษณบุคลากร ระเบียบฯ วาดวยการบริหารงานบุคคลในวิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก เอกสารประกอบการประชุมเตรียมความพรอม ปการศึกษา 2552 รายงานการประชุมคณะผูบริหาร ปการศึกษา 2552 รายงานผลการปฎิบัติงานของบุคลากร ประจําปการศึกษา 2552 คําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการประเมินผลการปฎิบัติงาน ประจําป การศึกษา 2552 เกณฑการประเมินผลการปฏิบัติงานประจําปของบุคลากร วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก
ตัวบงชี้ที่ 7.3 มีการพัฒนาสถาบันสูองคการเรียนรู ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ เกณฑมาตรฐาน : ระดับ เกณฑมาตรฐาน 1. มีการทบทวนและจัดทําแผนการจัดการความรู เพื่อมุงสูองคกรแหง การเรียนรูและประชาสัมพันธเผยแพรใหประชาคมของสถาบันรับทราบ 2. มีการดําเนินการตามแผนจัดการความรูและประสบความสําเร็จตาม เปาหมายไมนอยกวารอยละ 50 3. มีการดําเนินการตามแผนจัดการความรูและประสบความสําเร็จตาม เปาหมายรอยละ 100 4. มีการติดตามประเมินผลความสําเร็จของการจัดการความรู 5. มีการนําผลการประเมินไปปรับใชในการพัฒนากระบวนการ จัดการความรูใหเปนสวนหนึ่งของกระบวนงานปกติและปรับปรุง แผนการจัดการความรู
มี
ไมมี
-
เอกสาร หมายเลข 7-7.3-1
-
7-7.3-2
-
-
-
เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 มีการดําเนินการไมครบ 3 ขอแรก คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2552
คะแนน 2 มีการดําเนินการ 3 ขอแรก
คะแนน 3 มีการดําเนินการอยางนอย 4 ขอแรก : :
ระดับ 3 ระดับ 3
ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2552 วิทยาลัยมีผลการดําเนินงานผานเกณฑระดับ 2 ดังนี้ เกณฑ การดําเนินงานในแตละระดับ ระดับ 1 มีการทบทวนและจัดทําแผนการจัดการความรู เพื่อมุงสูองคกรแหงการเรียนรู และ ประชาสัมพันธเผยแพรใหประชาคมของวิทยาลัยทราบ โดยมีระบบในการรวบรวมความรู จากการอบรม การประชุมสัมมนา มีการเผยแพรความรูโดยใชเอกสาร/จุลสาร และ เทคโนโลยีสารสนเทศ (ผานโปรแกรม Microsoft Outlook และ เว็บไซตของวิทยาลัย)
เกณฑ ระดับ 2
ระดับ 3
การดําเนินงานในแตละระดับ มีการดําเนินการตามแผนจัดการความรู และประสบความสําเร็จตามเปาหมายประมาณ ครึ่งหนึ่งของแผนโดยเปาหมายหลักในปการศึกษา 2552 คือ จัดใหมีหนวยงานกลาง ในการดําเนินการและเผยแพรความรู ตามแผนการจัดการความรู มีการดําเนินการตามแผนจัดการความรู และประสบตามสําเร็จตามเปาหมาย กลาวคือ ทุกคณะมีการดําเนินการดานการจัดการความรูอยางเปนรูปธรรม
การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 2 คะแนน
การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย
รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ชื่อเอกสาร/รายละเอียด ระดับ 1 7-7.3-1 แผนการจัดการความรู วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก ปการศึกษา 2552 ระดับ 2 7-7.3-2 ตัวอยาง Print out การจัดการความรูของหนวยงานกลาง (สํานักวิทยบริการ) และหนวยงานคณะ (คณะศิลปศาสตร) ระดับ 3 7-7.3-3 การจัดการความรูของคณะ ปการศึกษา 2552 ตัวบงชี้ที่ 7.4 มีระบบและกลไกในการบริหารทรัพยากรบุคคลเพื่อพัฒนาและธํารงรักษาไวใหบุคลากรมี คุณภาพและประสิทธิภาพ ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ เกณฑมาตรฐาน : ระดับ เกณฑมาตรฐาน 1. มีการจัดทําแผนการบริหารทรัพยากรบุคคลที่เปนรูปธรรม ภายใต การวิเคราะหขอมูลเชิงประจักษ 2. มีระบบและกลไกในการบริหารทรัพยากรบุคคลที่เปนการสงเสริม สมรรถนะในการปฏิบัติงาน เชน การสรรหา การจัดวางคนลง ตําแหนง การกําหนดเสนทางเดินของตําแหนง การสนับสนุน เขารวมประชุม ฝกอบรมและหรือเสนอผลงานทางวิชาการ การประเมินผลการปฏิบัติงาน มาตรการสรางขวัญกําลังใจ มาตรการลงโทษ รวมทั้งการพัฒนา และรักษาบุคลากรที่มีคุณภาพ
มี
ไมมี
-
-
เอกสาร หมายเลข 7-7.4-1 7-7.4-2/1 7-7.4-2/2 7-7.4-2/3
เกณฑมาตรฐาน 3. มีระบบสวัสดิการและเสริมสรางสุขภาพที่ดี และสรางบรรยากาศ ที่ดีใหบุคลากรทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพและอยูอยางมีความสุข 4. มีระบบสงเสริมสนับสนุนบุคลากรที่มีศักยภาพสูงใหมีโอกาส ประสบความสําเร็จและกาวหนาในอาชีพอยางรวดเร็วตามสายงาน 5. มีการประเมินความพึงพอใจของบุคลากรทุกระดับอยางเปนระบบ 6. มีการนําผลการประเมินความพึงพอใจเสนอผูบริหารระดับสูง และ มีแนวทางในการปรับปรุงพัฒนาเพื่อใหดีขึ้น
มี
ไมมี
-
เอกสาร หมายเลข 7-7.4-3
-
7-7.4-4
-
-
เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 มีการดําเนินการไมครบ 3 ขอแรก มีการดําเนินการ 3- 4 ขอแรก คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2552
คะแนน 3 มีการดําเนินการอยางนอย 5 ขอแรก : :
ระดับ 4 ระดับ 4
ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2552 วิทยาลัยมีผลการดําเนินงานผานเกณฑระดับ 4 ดังนี้ เกณฑ การดําเนินงานในแตละระดับ ระดับ 1 มีการจัดทําแผนการบริหารทรัพยากรบุคคลที่เปนรูปธรรม ภายใตการวิเคราะหขอมูล เชิงประจักษ ไดแก การจัดทําแผนพัฒนาอาจารยและบุคลากร ระดับ 2 มีระบบและกลไกการบริหารทรัพยากรบุคคลที่เปนการสงเสริมสมรรถนะในการ ปฎิบัติงาน เชน การสรรหา การกําหนดตําแหนง การสนับสนุนใหเขารวมอบรม ประชุม สัมมนา และ/หรือเสนอผลงาน การประเมินผลการปฎิบัติงาน การสรางขวัญกําลังใจ มาตรการลงโทษ รวมทั้งการพัฒนาและรักษาบุคลากรที่มีคุณภาพ ระดับ 3 มีระบบสวัสดิการและเสริมสรางสุขภาพที่ดี และสรางบรรยากาศที่ดีใหบุคลากรทํางานได อยางมีประสิทธิภาพและอยูอยางมีความสุข มีสวัสดิการตามที่ระบุไวใน ระเบียบฯ วาดวย การบริหารงานบุคคล ในวิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก ระดับ 4 มีระบบสงเสริมสนับสนุนบุคลากรที่มีศักยภาพสูงใหมีโอกาสประสบความสําเร็จและ กาวหนาในอาชีพอยางรวดเร็ว โดยการสงเสริมใหลาศึกษาตอ การใหทุนเพื่อการศึกษาตอ
การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 2 คะแนน
การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย
รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ชื่อเอกสาร/รายละเอียด ระดับ 1 1-1.1-2/1 แผนยุทธศาสตร วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก พ.ศ. 2548-2552 ระดับ 2 7-7.4-2/1 แนวปฎิบัติและแผนการดําเนินงาน ฝายบุคคล สํานักอธิการบดี ปการศึกษา 2552 สรุปการเขารวมประชุม ฝกอบรม ของคณาจารยและเจาหนาที่ 7-7.4-2/2 ปการศึกษา 2552 สรุปรายงานการประเมินผลการปฎิบัติงานของคณาจารย เจาหนาที่ 7-7.4-2/3 ปการศึกษา 2552 ระดับ 3 7-7.2-1/3 ระเบียบฯ วาดวยการบริหารงานบุคคลในวิทยาลัยเซาธอีสท บางกอก ระดับ 4 7-7.4-4 รายงานการลาศึกษาตอ และการใหทุนเพื่อการศึกษาตอ ตัวบงชี้ที่ 7.5 ศักยภาพของระบบฐานขอมูลเพื่อการบริหาร การเรียนการสอน และการวิจัย ชนิดของตัวบงชี้ : ปจจัยนําเขา เกณฑมาตรฐาน : ระดับ เกณฑมาตรฐาน
มี
ไมมี
1. มีนโยบายในการจัดทําระบบฐานขอมูลเพื่อการตัดสินใจ 2. มีระบบฐานขอมูลเพื่อการตัดสินใจ 3. มีการประเมินประสิทธิภาพ และความปลอดภัยของระบบฐานขอมูล 4. มีการประเมินความพึงพอใจของผูใชฐานขอมูล 5. มีการนําผลการประเมินในขอ 3 และ 4 มาปรับปรุงระบบฐานขอมูล 6. มีการเชื่อมโยงระบบฐานขอมูลของสถาบันผานระบบเครือขายกับ สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาตามรูปแบบมาตรฐานที่ กําหนด
-
เอกสาร หมายเลข 7-7.5-1 7-7.5-2 7-7.5-3 7-7.5-4 7-7.5-4 7-7.5-5
เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 มีการดําเนินการไมครบ 2 ขอแรก
คะแนน 2 มีการดําเนินการ 2 ขอแรก
คะแนน 3 มีการดําเนินการอยางนอย 3 ขอแรก
คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2552
: :
ระดับ 3 ระดับ 6
ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2552 วิทยาลัยมีผลการดําเนินงานผานเกณฑระดับ 6 ดังนี้ เกณฑ การดําเนินงานในแตละระดับ ระดับ 1 วิทยาลัยมีนโยบายในการจัดทําระบบฐานขอมูลเพื่อการตัดสินใจ โดยจัดทําฐานขอมูล ใหตรงกับความตองการของผูใชมากที่สุด ระดับ 2 วิทยาลัย มีการจัดซื้อและพัฒนาระบบซอฟตแวรเพื่อสนับสนุนดานการเรียนการสอน ดานการบริหารจัดการ และดานการใหบริการ โดยแบงเปนระบบตางๆ ดังนี้ 1. ระบบบริการการศึกษา ประกอบดวย ระบบยอย ดังนี้ 1.1 ระบบฐานขอมูลพื้นฐาน 1.2 ระบบงานทะเบียน ประวัตินักศึกษา 1.3 ระบบงานทะเบียนอาจารยและเจาหนาที่ 1.4 ระบบงานกําหนด และรับรายงานตัวนักศึกษาใหม 1.5 ระบบกําหนดตารางเรียน ตารางสอน และตารางสอบ 1.6 ระบบรับลงทะเบียนนักศึกษา 1.7 ระบบงานใบรับรอง 1.8 ระบบงานวัดผลและประมวลผล 1.9 ระบบงานสําเร็จการศึกษา 1.10 ระบบงานบริการผานทาง web site (1) สําหรับนักศึกษา อาจารย และบุคคลทั่วไป (2) สําหรับผูบริการ 2. ระบบงบประมาณ การเงิน และบัญชี 2.1 ระบบงบประมาณการเงิน 2.2 ระบบบัญชี Express 3. ระบบงานบุคลากร 3.1 ระบบฐานขอมูลบุคลากร 4. ระบบอิเล็กทรอนิกสเมล 5. ระบบฐานขอมูลหองสมุดออนไลน
เกณฑ ระดับ 3
ระดับ 4 ระดับ 5 ระดับ 6
การดําเนินงานในแตละระดับ 1. ติดตั้งระบบไฟฟาสํารองและระบบการจายไฟฟาสํารอง เพื่อใหระบบมีความมั่นคงและ มีเสถียรภาพสูง เมื่อเกิดปญหาไฟฟาดับ เครื่องคอมพิวเตอรแมขายยังสามารถทํางานได เปนปกติ และระบบฐานขอมูลตางๆ สามารถทํางานไดตามปกติ 2. มีการกําหนดรหัสหรือการกําหนดสิทธิ์ในการเขาถึงขอมูล ของระบบฐานขอมูลตางๆ สําหรับผูปฎิบัติงานในแตละระดับ 3. ดําเนินการติดตั้งอุปกรณ Firewall และ IDS/IPS เพื่อปองกันการใชเครือขายอินเทอรเน็ต อยางผิดประเภท และสรางระบบตรวจจับและปองกันการบุกรุก จากบุคคลที่ ประสงคราย 4. ดําเนินการติดตั้ง Radius Server ดวยโปรแกรม Internet Authentication Service (IAS) ของบริษัทไมโครซอฟต เพื่อใชสําหรับตรวจสอบ และระบุตัวตนพรอมทั้งกําหนดสิทธิ์ ในการใชงานและจัดเก็บล็อคไฟลตาม พรบ. คอมพิวเตอร ป 2550 มีการประเมินความพึงพอใจ ประสิทธิภาพและความปลอดภัยของระบบฐานขอมูล โดยผล การประเมินความพึงพอใจของผูใชบริการโดยรวมอยูในระดับมาก ( x =3.94) มีการนําผลการประเมินมาปรับปรุงระบบฐานขอมูล มีการเชื่อมโยงระบบฐานขอมูลของวิทยาลัยผานระบบเครือขายของ สกอ. เชน ฐานขอมูล นักศึกษา ฐานขอมูลบุคลากร ฐานขอมูลหลักสูตร ซึ่งตองจัดสงตามกําหนดเวลา รวมทั้ง การเชื่อมโยงผานระบบ CHE QA ONLINE เปนตน
การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 3 คะแนน
การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย
รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ชื่อเอกสาร/รายละเอียด ระดับ 1 7-7.5-1 การอนุมัติโครงการพัฒนาระบบสารสนเทศของวิทยาลัย ระดับ 2 7-7.5-2 คูมือการใชงานระบบฐานขอมูลตางๆ ของวิทยาลัย ระดับ 3 7-7.5-3 รายงานการประเมินตนเอง ปการศึกษา 2552 ฝายบริการเทคโนโลยีสารสนเทศ ระดับ 4 7-7.5-4 รายงานสรุปผลการประเมินความพึงพอใจ ประสิทธิภาพ และ ความปลอดภัยของระบบฐานขอมูล ระบบบริการการศึกษา ระดับ 5 7-7.5-4 รายงานสรุปผลการประเมินความพึงพอใจ ประสิทธิภาพ และ ความปลอดภัยของระบบฐานขอมูล ระบบบริหารการศึกษา ระดับ 6 7-7.5-5 การจัดสงฐานขอมูลตาง ๆ ให สกอ. ตามกําหนดเวลา การเชื่อมโยง ระบบ CHE QA ONLINE เปนตน
ตัวบงชี้ที่ 7.6 ระดับความสําเร็จในการเปดโอกาสใหบุคคลภายนอกเขามามีสวนรวมในการพัฒนา สถาบันอุดมศึกษา ชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิต เกณฑมาตรฐาน : ระดับ เกณฑมาตรฐาน
มี
ไมมี
1. มีการเปดเผยขอมูลขาวสารแกประชาชนอยางโปรงใส ผานชองทาง ตาง ๆ อาทิ เอกสารสิ่งพิมพ เว็บไซต นิทรรศการ 2. มีระบบการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนผานชองทางที่เปดเผย และเปนที่รับรูกันโดยทั่วอยางนอย 3 ชองทาง 3. มีการนําความคิดเห็นของประชาชนไปประกอบการบริหารงาน โดยมีเจาหนาที่รับผิดชอบและมีการดําเนินงานอยางเปนรูปธรรม 4. มีที่ปรึกษาที่มาจากภาคประชาชน ทั้งที่เปนทางการและไมเปน ทางการ และมีการดําเนินกิจกรรมรวมกันอยางตอเนื่องและชัดเจน เชน จัดประชุมรวมกันอยางนอยปละ 2 ครั้ง 5. มีกระบวนการหรือกลไกการติดตามตรวจสอบโดยภาคประชาชน
-
เอกสาร หมายเลข 7-7.6-1
-
7-7.6-2
-
7-7.6-3
-
-
-
เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 มีการดําเนินการไมครบ 3 ขอแรก มีการดําเนินการ 3- 4 ขอแรก คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2552
คะแนน 3 มีการดําเนินการครบทุกขอ : :
ระดับ 3 ระดับ 4
ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2552 วิทยาลัยมีผลการดําเนินงานผานเกณฑระดับ 3 ดังนี้ เกณฑ การดําเนินงานในแตละระดับ ระดับ 1 วิทยาลัยมีระบบในการเปดเผยขอมูลผานชองทางตางๆ ของวิทยาลัย ไดแก จดหมายขาว เว็บไซตของวิทยาลัย สื่อหนังสือพิมพ โทรทัศน เคเบิลทีวี วิทยุชุมชน อยางตอเนื่อง ระดับ 2 มีการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนผานชองทางที่เปดเผย และเปนที่รับรูกันอยางนอย 3 ชองทาง ไดแก ชองทาง web board ระบบรับเรื่องรองเรียนผานเว็บไซต ระบบรับฟง ความคิดเห็นของนักศึกษาเพื่อนําไปปรับปรุงและพัฒนากระบวนการทํางานและการ ใหบริการ
เกณฑ ระดับ 3
ระดับ 4
การดําเนินงานในแตละระดับ วิทยาลัยมีแนวทางในการนําความคิดเห็นของภาคประชาชน มาพัฒนาการดําเนินงานของ วิทยาลัย ผานคณะกรรมการที่เปนบุคคลภายนอกที่เขามาเกี่ยวของ เชน คณะกรรมการ กํากับมาตรฐาน เปนตน มีที่ปรึกษาที่มาจากภาคประชาชน เขารวมในการจัดโครงการตาง ๆ ของวิทยาลัย เชน โครงการอบรมภาษาอังกฤษ และเรียนรูวัฒนธรรมตางชาติ สําหรับ พอคา แมคา ตลาดน้ํา บางน้ําผึ้ง อ.พระประแดง สมุทรปราการ วิทยาลัยมีที่ปรึกษาโครงการเปนนายก อบต. บางน้ําผึ้ง เปนตน การมีที่ปรึกษามาจากภาคประชาชน ทําใหโครงการประสบความสําเร็จ เปนอยางยิ่ง และไดรับการรองขอใหจัดโครงการตอเนื่องอีก เปนตน
การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 2 คะแนน
การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย
รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ชื่อเอกสาร/รายละเอียด ระดับ 1 7-7.6-1 จดหมายขาว (Newsletter) SBC (มิ.ย. 52 – พ.ค. 53) ตัวอยาง สิ่งพิมพที่มีการเผยแพรขอมูลขาวสารของวิทยาลัย เว็บไซต วิทยาลัย ระดับ 2 7-7.6-2 ตัวอยางเอกสารการรับฟงความคิดเห็นจากประชาชน เชน เว็บบอรดการรับฟงความคิดเห็น ระดับ 3 7-7.6-3 คําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการกํากับมาตรฐาน ระดับ 4 7-7.6-4 โครงการอบรมภาษาอังกฤษและเรียนรูวัฒนธรรมตาชาติของพอคา แมคา ตลาดน้ําบางน้ําผึ้ง ฯ
ตัวบงชี้ที่ 7.7 รอยละของอาจารยประจําที่ไดรับรางวัลผลงานทางวิชาการหรือวิชาชีพในระดับชาติหรือ นานาชาติ ชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิต เกณฑการประเมิน : 1. เกณฑเฉพาะสถาบันที่เนนการผลิตบัณฑิตและพัฒนาศิลปวัฒนธรรม คะแนน 1 รอยละ 0.1- รอยละ 0.99
คะแนน 2 รอยละ 1- รอยละ 1.99
คะแนน 3 1.มากกวาหรือเทากับรอยละ 2 และ 2.อยางนอยรอยละ 50 ของผูที่ไดรับ รางวัลในขอ 1 เปนรางวัลดานศิลปะ และวัฒนธรรม
หมายเหตุ กรณีไดขอ 1 แตไมไดขอ 2 ถือวา ไดคะแนน 2
คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2552
: :
รอยละ 0.1 รอยละ 1.4
ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2552 อาจารยประจําของวิทยาลัยยังไดรับรางวัลผลงานวิชาชีพในระดับนานาชาติ จํานวน 1 คน คือ ดร.สฤษดิ์ผล ชมไพศาล ไดรับรางวัล Highly Recommended Lawyer จาก Global Counsel 3000 การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 2 คะแนน
การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย
ตัวบงชี้ที่ 7.8 มีการนําระบบบริหารความเสี่ยงมาใชในกระบวนการบริหารการศึกษา ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ เกณฑมาตรฐาน : ระดับ เกณฑมาตรฐาน
มี
ไมมี
1. มีการแตงตั้งคณะกรรมการหรือคณะทํางานบริหารความเสี่ยง โดยมีผูบริหารระดับสูงและตัวแทนที่รับผิดชอบพันธกิจหลักของ สถาบันรวมเปนคณะกรรมการหรือคณะทํางาน โดยผูบริหาร ระดับสูงตองมีบทบาทสําคัญในการกําหนดนโยบายหรือแนวทาง ในการบริหารความเสี่ยง 2. มีการวิเคราะหและระบุปจจัยเสี่ยงที่สงผลกระทบหรือสรางความ เสียหายหรือความลมเหลวหรือลดโอกาสที่จะบรรลุเปาหมายใน การบริหารงาน และจัดลําดับความสําคัญของปจจัยเสี่ยง 3. มีการจัดทําแผนบริหารความเสี่ยง โดยแผนดังกลาวตองกําหนด มาตรการหรือแผนปฏิบัติการในการสรางความรู ความเขาใจใหกับ บุคลากรทุกระดับในดานการบริหารความเสี่ยงและการดําเนินการ แกไข ลด หรือปองกันความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นอยางเปนรูปธรรม 4. มีการดําเนินการตามแผนบริหารความเสี่ยง 5. มีการสรุปผลการดําเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยง ตลอดจนมี การกําหนดแนวทางและขอเสนอแนะในการปรับปรุงแผนบริหาร ความเสี่ยงโดยไดรับความเห็นชอบจากผูบริหารสูงสุดของสถาบัน
-
เอกสาร หมายเลข 7-7.8-1
-
7-7.8-2
-
7-7.8-3
7-7.8-3 -
-
เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 มีการดําเนินการไมครบ 3 ขอแรก มีการดําเนินการ 3- 4 ขอแรก คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2552
คะแนน 3 มีการดําเนินการครบทุกขอ : :
ระดับ 1 ระดับ 4
ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2552 วิทยาลัยมีผลการดําเนินงานผานเกณฑระดับ 4 ดังนี้ เกณฑ ระดับ 1 ระดับ 2
ระดับ 3
ระดับ 4
การดําเนินงานในแตละระดับ มีการแตงตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง โดยมีผูบริหารระดับสูงเปนกรรมการ มีหนาที่ในการกําหนดนโยบาย และแนวทางในการบริหารความเสี่ยง วิทยาลัยและหนวยงานหลักไดมีการวิเคราะหและระบุปจจัยเสี่ยงที่จะสงผลกระทบหรือ สรางความเสียหาย หรือความลมเหลว ทําใหโอกาสในการบรรลุเปาหมายตามภารกิจหลัก ลดลง มีการจัดทําแผนบริหารความเสี่ยง ปการศึกษา 2552 โดยมุงสรางความรูความเขาใจใหแก บุคลากรทุกระดับ ในดานการบริหารความเสี่ยง และการดําเนินการเพื่อแกไข ลด หรือ ปองกันความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้น มีการดําเนินการตามแผนบริหารความเสี่ยง
การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 2 คะแนน
การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย
รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ชื่อเอกสาร/รายละเอียด ระดับ 1 7-7.8-1 คําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ระดับ 2 7-7.8-2 สรุปรายงานการประชุมคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ครั้งที่ 1/2552, ครั้งที่ 2/2552 ระดับ 3 7-7.8-3 แผนบริหารความเสี่ยง วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก ปการศึกษา 2552 ระดับ 4 7-7.8-3 แผนบริหารความเสี่ยง วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก ปการศึกษา 2552
ตัวบงชี้ที่ 7.9 ระดับความสําเร็จของการถายทอดตัวชี้วัดและเปาหมายของระดับองคกรสูระดับบุคคล ชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิต เกณฑมาตรฐาน : ระดับ เอกสาร เกณฑมาตรฐาน มี ไมมี หมายเลข 1. มีการกําหนดแนวทางการดําเนินการในการประเมินผลภายใน 7-7.9-1 สถาบัน 2. มีแผนงานการประเมินผลภายในสถาบัน 7-7.9-2 3. มีการกําหนดตัวบงชี้และเปาหมายตามพันธกิจและยุทธศาสตรของ 7-7.9-3 สถาบัน 4. มีการจัดทํา Strategy Map ของหนวยงานในระดับคณะหรือ เทียบเทา โดยกําหนดเปาประสงคของแตละประเด็นยุทธศาสตร ที่เกี่ยวของกับหนวยงานใหเชื่อมโยงกับเปาประสงคและประเด็น ยุทธศาสตรของสถาบัน 5. มีการยืนยันวิสัยทัศนและประเด็นยุทธศาสตรของ สถาบันอุดมศึกษาในระดับคณะหรือเทียบเทา 6. มีระบบในการติดตามผลการดําเนินงานตามตัวชี้วัดและเปาหมาย ตามคํารับรองของผูบริหารระดับตาง ๆ 7. มีการประเมินผลการดําเนินงานตามตัวชี้วัดและเปาหมายตาม คํารับรอง 8. มีการนําผลการประเมินการดําเนินงานของผูบริหาร ไปเชื่อมโยง กับระบบการสรางแรงจูงใจ เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 มีการดําเนินการไมครบ 5 ขอแรก มีการดําเนินการ 5- 7 ขอแรก คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2552
คะแนน 3 มีการดําเนินการครบทุกขอ : :
ระดับ 5 ระดับ 3
ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2552 วิทยาลัยมีผลการดําเนินงานผานเกณฑระดับ 3 ดังนี้ เกณฑ การดําเนินงานในแตละระดับ ระดับ 1 วิทยาลัยมีการกําหนดแนวทางการดําเนินการในการประเมินผลภายในสถาบัน ทั้งในระดับบุคคลและหนวยงาน โดยชี้แจงและทําความเขาใจกับบุคลากรทุกระดับ ในการประชุมสัมมนาประจําป ระดับ 2 มีแผนงานการประเมินผลภายในสถาบัน ทั้งในระดับบุคคลและหนวยงาน ในระเบียบฯ วาดวยการบริหารงานบุคคลในวิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก ระดับ 3 มีการกําหนดตัวบงชี้และเปาหมายตามพันธกิจและยุทธศาสตรของวิทยาลัย โดยมี แผนยุทธศาสตรทั้ง 5 ดาน คือ การสรางบัณฑิตที่พึงประสงค การสรางผลงานวิจัยเพื่อ การพัฒนา การพัฒนาบริการทางวิชาการตามความตองการของชุมชน/สังคม การทํานุบํารุง ศิลปวัฒนธรรมสงเสริมสืบสาน สานสัมพันธวัฒนธรรมกับชุมชน และอนุรักษภูมิปญญา บรรพชนทองถิ่น และการพัฒนาวิทยาลัยและเสริมสรางการบริหารจัดการที่ดี การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 1 คะแนน
การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย ไมบรรลุเปาหมาย
รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ชื่อเอกสาร/รายละเอียด ระดับ 1 7-7.9-1 เอกสารประกอบการประชุมการสัมมนาประจําปการศึกษา 2552 (นโยบายและวิสัยทัศนของวิทยาลัย) ระดับ 2 7-7.2-1/3 ระเบียบฯ วาดวยการบริหารงานบุคคลในวิทยาลัยเซาธอีสท บางกอก (การประเมินผล) ระดับ 3 7-7.9-3 ยุทธศาสตร เปาประสงคฯ แผนพัฒนาการศึกษา พ.ศ. 2551-2555 (1-1.1-2/2)
องคประกอบที่ 8 การเงินและงบประมาณ
ตัวบงชี้ที่8.1 มีระบบและกลไกในการจัดสรร การวิเคราะหคาใชจาย การตรวจสอบการเงินและงบประมาณ อยางมีประสิทธิภาพ ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ เกณฑมาตรฐาน : ระดับ เอกสาร เกณฑมาตรฐาน มี ไมมี หมายเลข 1. มีแผนกลยุทธทางการเงินที่สอดคลองกับยุทธศาสตรของสถาบันให 8-8.1-1 เปนไปตามเปาหมาย 2. มีแนวทางจัดหาทรัพยากรทางการเงิน แผนการจัดสรร และการ 8-8.1-1 วางแผนการใชเงินอยางมีประสิทธิภาพ โปรงใส ตรวจสอบได 3. มีการจัดทําระบบฐานขอมูลทางการเงินที่ผูบริหารสามารถนําไปใช 8-8.1-1 ในการตัดสินใจและวิเคราะหสถานะทางการเงิน 4. มีการจัดทํารายงานทางการเงินอยางเปนระบบ อยางนอยปละ 2 ครั้ง 8-8.1-4 5. มีการนําขอมูลทางการเงินไปใชในการวิเคราะหคาใชจาย และ 8-8.1-5 วิเคราะหสถานะทางการเงินและความมั่นคงขององคการอยาง ตอเนื่อง 6. มีหนวยงานตรวจสอบภายในและภายนอก ทําหนาทีต่ รวจ ติดตาม 8-8.1-1 การใชเงินใหเปนไปตามระเบียบและกฎเกณฑที่สถาบันกําหนด 7. ผูบริหารระดับสูงมีการติดตามผลการใชเงินใหเปนไปตามเปาหมาย 8-8.1-4 และนําขอมูลจากรายงานทางการเงินไปใชในการวางแผนและ การตัดสินใจ เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 มีการดําเนินการไมครบ 5 ขอแรก มีการดําเนินการ 5- 6 ขอแรก คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2552
คะแนน 3 มีการดําเนินการครบทุกขอ : :
ระดับ 7 ระดับ 7
ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2552 วิทยาลัยมีผลการดําเนินงานผานระดับ 7 ดังนี้ เกณฑ การดําเนินงานในแตละระดับ ระดับ 1 มีการกําหนดแผนการดําเนินงานทางดานการเงิน ที่สอดคลองกับยุทธศาสตรของวิทยาลัย ใหเปนไปตามเปาหมาย ระดับ 2 มีการกําหนดแนวทางการจัดหาทรัพยากรทางดานการเงิน แผนการจัดการ และวางแผน การใชเงินอยางมีประสิทธิภาพ โปรงใส ตรวจสอบได โดยดําเนินการตามแนวปฎิบัติและ แผนการดําเนินงานสํานักการคลัง ระดับ 3 มีการจัดทําฐานขอมูลทางการเงิน เพื่อใชในการวิเคราะหสถานะทางการเงิน และการ ตัดสินใจ โดยสํานักการคลังเปนผูดูแลระบบและวิเคราะหสถานะทางการเงินตามที่ ผูบริหารตองการ ระดับ 4 มีการจัดทํารายงานทางการเงินอยางเปนระบบ โดยวิทยาลัยตองเสนอผลการตรวจสอบ บัญชี เพื่อแสดงสถานะการเงินและทรัพยสินของวิทยาลัย เพื่อขออนุมัติงบการเงินประจําป ตอสภาวิทยาลัยเปนประจําทุกป ระดับ 5 มีการนําขอมูลทางการเงินไปใชในการวิเคราะหคาใชจาย และวิเคราะหสถานะการเงินและ ความมั่นคงขององคกรอยางตอเนื่อง ระดับ 6 มีหนวยงานตรวจสอบภายในและภายนอก ทําหนาที่ตรวจติดตามการใชเงินใหเปนไปตาม ระเบียบที่วิทยาลัยกําหนด ระดับ 7 ผูบริหารระดับสูงมีการติดตามผลการใชเงินใหเปนไปตามเปาหมาย และนําขอมูลจาก รายงานทางการเงินไปใชในการวางแผนและการตัดสินใจ การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 3 คะแนน
การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย
รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ชื่อเอกสาร/รายละเอียด ระดับ 1 8-8.1-1 แนวปฏิบัติและแผนการดําเนินงาน สํานักการคลัง ปการศึกษา 2552 ระดับ 2 8-8.1-1 แนวปฎิบัติและแผนการดําเนินงาน สํานักการคลัง ปการศึกษา 2552 ระดับ 3 8-8.1-1 แนวปฎิบัติและแผนการดําเนินงาน สํานักการคลัง ปการศึกษา 2552 (การใชฐานขอมูล) ระดับ 4 8-8.1-4 งบการเงินประจําป 2552 ระดับ 5 8-8.1-5 รายงานการเงิน ประจําป 2552 ระดับ 6 8-8.1-1 แนวปฎิบัติและแผนการดําเนินงาน สํานักการคลัง ปการศึกษา 2552 (ภาระหนาที่) ระดับ 7 8-8.1-4 งบการเงินประจําป 2552 ตัวบงชี้ที่ 8.2 มีการใชทรัพยากรภายในและภายนอกสถาบันรวมกัน ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ เกณฑมาตรฐาน : ระดับ เกณฑมาตรฐาน
มี
ไมมี
1. มีคณะกรรมการวิเคราะหความตองการการใชทรัพยากรของ หนวยงาน 2. มีผลการวิเคราะหความตองการในการใชทรัพยากรของหนวยงาน 3. มีแผนการใชทรัพยากรรวมกันกับหนวยงานอื่นในสถาบัน 4. มีแผนการใชทรัพยากรรวมกันกับหนวยงานอื่นนอกสถาบัน 5. มีผลการประหยัดงบประมาณที่เกิดจากการใชทรัพยากรรวมกันกับ หนวยงานอื่น
-
เอกสาร หมายเลข 8-8.2-1
-
8-8.2-2 8-8.2-3 8-8.2-4 -
-
เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 มีการดําเนินการไมครบ 3 ขอแรก คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2552
คะแนน 2 มีการดําเนินการ 3 ขอแรก
คะแนน 3 มีการดําเนินการอยางนอย 4 ขอแรก : :
ระดับ 4 ระดับ 4
ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2552 วิทยาลัยมีผลการดําเนินงานผานเกณฑระดับ 4 ดังนี้ เกณฑ การดําเนินงานในแตละระดับ ระดับ 1 มีคณะกรรมการวิเคราะหความตองการใชทรัพยากรของวิทยาลัย โดยคณะผูบริหาร วิทยาลัย จะทําหนาที่วิเคราะหความตองการใชทรัพยากร เพื่อใชในการวางแผนดําเนินงาน ระดับ 2 มีผลการวิเคราะหความตองการทรัพยากรของวิทยาลัย ระดับ 3 มีแผนการใชทรัพยากรรวมกันกับหนวยงานอื่นในสถาบัน ซึ่งเปนนโยบายและแผนงาน ของวิทยาลัย ที่จะใหทุกหนวยงานไดใชทรัพยากรใหเกิดประโยชนสูงสุด ระดับ 4 มีแผนการใชทรัพยากรรวมกันกับหนวยงานอื่นภายนอกสถาบัน เชน การใชหอประชุมของ วิทยาลัย ซึ่งเปดใหหนวยงานภายนอกมาใชได เพื่อประโยชนทางการศึกษาหรือเพื่อบริการ ชุมชน โดยสํานักบริการจะมีหนาที่รับผิดชอบ การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 3 คะแนน รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ระดับ 1 8-8.2-1 (1-1.1-5/1) ระดับ 2 8-8.2-2 (1-1.1-5/1) ระดับ 3 8-8.2-3 (2-2.2-1) ระดับ 4 8-8.2-4
การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย
ชื่อเอกสาร/รายละเอียด รายงานการประชุมคณะผูบริหารวิทยาลัย ประจําปการศึกษา 2552 รายงานการประชุมคณะผูบริหารวิทยาลัย ประจําปการศึกษา 2552 เอกสารประกอบการประชุม การเตรียมความพรอม ประจําปการศึกษา 2552 แนวปฎิบัติและแผนการดําเนินงาน สํานักบริการ ปการศึกษา 2552
องคประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ
ตัวบงชี้ที่ 9.1 มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพภายในที่เปนสวนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษา ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ เกณฑมาตรฐาน : ระดับ เอกสาร เกณฑมาตรฐาน มี ไมมี หมายเลข 1. มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายในที่เหมาะสม 9-9.1-1/1 กับระดับการพัฒนาของสถาบัน 9-9.1-1/2 2. มีการกําหนดนโยบายและใหความสําคัญเรื่องการประกันคุณภาพ 9-9.1-2 จากคณะกรรมการระดับนโยบายและผูบริหารสูงสุดของสถาบัน ภายใตการมีสวนรวมจากภาคีทั้งภายในและภายนอกสถาบัน 3. มีการกําหนดมาตรฐานตัวบงชี้ และเกณฑคุณภาพที่สอดคลองกับ 9-9.1-3 มาตรฐานการอุดมศึกษา และมาตรฐานอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ และ สอดคลองกับการประเมินคุณภาพภายนอก 4. มีการดําเนินงานดานการประกันคุณภาพที่ครบถวน ทั้งการควบคุม 9-9.1-4 คุณภาพ การติดตาม ตรวจสอบ และประเมินคุณภาพอยางตอเนื่อง เปนประจํา (อยางนอย 3 ปนับรวมปที่มีการติดตาม) 5. มีการนําผลการประกันคุณภาพมาพัฒนาปรับปรุงการดําเนินงาน 9-9.1-5 6. มีระบบฐานขอมูลและสารสนเทศที่สนับสนุนการประกันคุณภาพ 9-9.1-6 การศึกษาและใชรวมกันทั้งระดับบุคคล ภาควิชา คณะ และสถาบัน 7. มีระบบสงเสริมการสรางเครือขายดานการประกันคุณภาพ การศึกษาระหวางหนวยงานทั้งภายในและภายนอกสถาบัน เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 มีการดําเนินการไมครบ 4 ขอแรก คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2552
คะแนน 2 มีการดําเนินการ 4 ขอแรก
คะแนน 3 มีการดําเนินการอยางนอย 5 ขอแรก : :
ระดับ 6 ระดับ 6
ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2552 วิทยาลัยมีผลการดําเนินงานผานเกณฑระดับ 6 ดังนี้ เกณฑ การดําเนินงานในแตละระดับ ระดับ 1 มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายในวิทยาลัย ระดับ 2 มีการกําหนดนโยบายและใหความสําคัญ เรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา ระดับ 3 มีการกําหนดมาตรฐานตัวบงชี้และเกณฑคุณภาพที่สอดคลองกับมาตรฐานการอุดมศึกษา และมาตรฐานอื่นๆ ที่เกี่ยวของ และสอดคลองกับการประเมินคุณภาพภายนอก ระดับ 4 มีการดําเนินงานดานการประกันคุณภาพที่ครบถวน ทั้งการควบคุมคุณภาพ การติดตาม ตรวจสอบ และประเมินคุณภาพอยางตอเนื่องเปนประจํา ระดับ 5 มีการนําผลประเมินมาพัฒนาปรับปรุงการดําเนินงาน ระดับ 6 มีระบบฐานขอมูลและสารสนเทศที่สนับสนุนการประกันคุณภาพการศึกษา และใชรวมกัน ทั้งระดับบุคคล สาขาวิชา คณะและสถาบัน การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 3 คะแนน รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ระดับ 1 9-9.1-1/1 9-9.1-1/2 ระดับ 2 9-9.1-2 ระดับ 3 9-9.1-3 ระดับ 4 9-9.1-4 ระดับ 5
9-9.1-5
ระดับ 6
9-9.1-6
การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย
ชื่อเอกสาร/รายละเอียด คําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา รายงานการประชุมคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา นโยบายการประกันคุณภาพการศึกษา วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก คูมือการประกันคุณภาพการศึกษา ปการศึกษา 2552 รายงานการประชุมคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา (แผนการประกันคุณภาพการศึกษา) รายงานการปรับปรุงตามขอเสนอแนะการประเมินคุณภาพภายใน วิทยาลัย ขอมูลพื้นฐาน (Common Data Set) สาขาวิชา คณะ หนวยงาน สนับสนุน และสถาบัน
ตัวบงชี้ที่ 9.2 มีระบบและกลไกการใหความรูและทักษะดานการประกันคุณภาพแกนักศึกษา ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ เกณฑมาตรฐาน : ระดับ
เอกสาร หมายเลข 9-9.2-1/1 9-9.2-1/2 9-9.2-2
เกณฑมาตรฐาน
มี
ไมมี
1. มีระบบการใหความรูและทักษะการประกันคุณภาพการศึกษาแก นักศึกษา 2. มีระบบสงเสริมใหนักศึกษานําความรูดานการประกันคุณภาพไปใช กับกิจกรรมนักศึกษา 3. มีกลไกใหนักศึกษามีสวนรวมในการประกันคุณภาพการศึกษาของ มหาวิทยาลัย 4. นักศึกษามีการใชกระบวนการคุณภาพ ในการพัฒนาคุณภาพของ กิจกรรมหรือโครงการนักศึกษา 5. นักศึกษาสรางเครือขายการพัฒนาคุณภาพภายในสถาบันและ ระหวางสถาบัน 6. มีระบบติดตามประเมินผลการประกันคุณภาพในกิจกรรมที่ นักศึกษาดําเนินการ และในสวนที่นักศึกษามีสวนรวมกับการ ประกันคุณภาพของสถาบัน 7. มีการนําผลการประเมินไปพัฒนากระบวนการใหความรูและกลไก การดําเนินงานประกันคุณภาพที่เกี่ยวของกับนักศึกษาอยางตอเนื่อง
-
-
-
-
9-9.2-3/1 9-9.2-3/2 9-9.2-4
-
9-9.2-5
-
-
-
-
เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 มีการดําเนินการไมครบ 4 ขอแรก มีการดําเนินการ 4- 5 ขอแรก คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2552
คะแนน 3 มีการดําเนินการอยางนอย 6 ขอแรก : :
ระดับ 5 ระดับ 5
ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2552 วิทยาลัยมีผลการดําเนินงานผานเกณฑระดับ 5 ดังนี้ เกณฑ การดําเนินงานในแตละระดับ ระดับ 1 วิทยาลัยมีระบบการใหความรูและทักษะการประกันคุณภาพการศึกษาแกนักศึกษา เชน การปฐมนิเทศนักศึกษาใหม การเผยแพรประชาสัมพันธขาวสารดานการประกันคุณภาพ การศึกษา ในจุลสารประกันคุณภาพ, SBC Newsletter และเว็บไซตสํานักประกันคุณภาพ ระดับ 2 มีระบบสงเสริมและใหความรูเรื่องวงจร PDCA แกนักศึกษาเพื่อนําไปใชในกิจกรรม นักศึกษา ระดับ 3 นักศึกษาสามารถประเมินการสอนของอาจารยในทุกภาคการศึกษา และมีสวนรวมในการ ประเมินผลการโครงการตางๆ ที่วิทยาลัยจัดให ระดับ 4 นักศึกษาสามารถนําวงจร PDCA มาประเมินผลโครงการ และใหขอเสนอแนะ เพื่อ ปรับปรุงคุณภาพของโครงการ ระดับ 5 นักศึกษาสามารถนําความรูดานการประกันคุณภาพไปใชในกิจการองคการนักศึกษา เพื่อใชประเมินกิจกรรม/โครงการที่ดําเนินการรวมกันระหวางสถาบัน การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 2 คะแนน
การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย
รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ชื่อเอกสาร/รายละเอียด ระดับ 1 9-9.2-1/1 กําหนดการปฐมนิเทศนักศึกษา ปการศึกษา 2552 9-9.2-1/2 จุลสารประกันคุณภาพ, SBC Newletter ,Print out ขอมูลเผยแพร สํานักประกันคุณภาพ ระดับ 2 9-9.2-2 ตัวอยางโครงการ/กิจกรรมของนักศึกษา และองคการนักศึกษา ปการศึกษา 2552 ระดับ 3 9-9.2-3/1 รายงานการประเมินการสอนของอาจารยโดยนักศึกษา ปการศึกษา 2552 9-9.2-3/2 รายงานประเมินผลการจัดโครงการ/กิจกรรมตาง ๆ ที่วิทยาลัยจัด ปการศึกษา 2552 ระดับ 4 9-9.2-4 ตัวอยางขอเสนอแนะจากการรประเมินกิจกรรม/โครงการของ นักศึกษา ปการศึกษา 2552 ระดับ 5 9-9.2-5 ตัวอยางการประเมินกิจกรรม/โครงการที่จัดขึ้นระหวางสถาบัน ปการศึกษา 2552
ตัวบงชี้ที่ 9.3 ระดับความสําเร็จของการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิต เกณฑมาตรฐาน : ระดับ เกณฑมาตรฐาน
มี
ไมมี
1. มีการดําเนินการตามระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษา ภายในระดับคณะ และสถาบันอยางตอเนื่อง 2. มีการปรับปรุงระบบประกันคุณภาพภายในโดยสอดคลองกับ พันธกิจและพัฒนาการของสถาบัน 3. มีการรายงานผลการประกันคุณภาพการศึกษาภายในตอหนวยงาน ที่เกี่ยวของและสาธารณชนภายในเวลาที่กําหนด
-
เอกสาร หมายเลข 9-9.3-1
-
9-9.3-2
-
4. มีการนําผลการประเมินไปใชในการปรับปรุงการดําเนินงานของ หนวยงานอยางตอเนื่อง 5. มีนวัตกรรมดานการประกันคุณภาพที่หนวยงานพัฒนาขึ้น หรือมี การจัดทําแนวปฏิบัติที่ดี เพื่อเปนแหลงอางอิงใหกับหนวยงานและ สถาบันอื่น ๆ
-
9-9.3-3/1 9-9.3-3/2 9-9.3-3/3 9-9.3-4
-
-
เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 มีการดําเนินการไมครบ 3 ขอแรก คาเปาหมายของแผนวิทยาลัย ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2552
คะแนน 2 มีการดําเนินการ 3 ขอแรก
คะแนน 3 มีการดําเนินการอยางนอย 4 ขอแรก : :
ระดับ 4 ระดับ 4
ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2552 วิทยาลัยมีผลการดําเนินงานผานเกณฑระดับ 5 ดังนี้ เกณฑ ระดับ 1 ระดับ 2
การดําเนินงานในแตละระดับ วิทยาลัยมีการดําเนินการตามระบบและกลไกการประกันคุณภาพภายใน ระดับคณะและ สถาบันโดยดําเนินการอยางตอเนื่อง มีการปรับปรุงระบบประกันคุณภาพภายในโดยสอดคลองกับพันธกิจ และพัฒนาการของ สถาบัน
เกณฑ ระดับ 3
ระดับ 4
การดําเนินงานในแตละระดับ มีการรายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในตอหนวยงานที่เกี่ยวของ และเผยแพร ผลประเมินทางจุลสารประกันคุณภาพ และเผยแพรตอสาธารณชนภายในเวลาที่กําหนด โดยผานทางเว็บไซตของวิทยาลัย ในสวนของหนวยงานประกันคุณภาพการศึกษา (www.southeast.ac.th) มีการนําผลการประเมินไปใชในการปรับปรุงการดําเนินงานของหนวยงานอยางตอเนื่อง
การประเมินตนเอง คะแนนอิงเกณฑการประเมินตัวบงชี้ สกอ. 3 คะแนน รายการหลักฐานอางอิง หลักฐาน เอกสารหมายเลข ระดับ 1 9-9.3-1 ระดับ 2 9-9.3-2 ระดับ 3 9-9.3-3/1 9-9.3-3/2 9-9.3-3/3 ระดับ 4 9-9.3-4
การบรรลุเปาหมายของวิทยาลัย บรรลุเปาหมาย
ชื่อเอกสาร/รายละเอียด คูมือการประกันคุณภาพการศึกษา ปการศึกษา 2552 แผนกําหนดเปาหมายระดับสถาบัน ปการศึกษา 2552 รายงานการประเมินตนเอง ปการศึกษา 2552 จุลสารประกันคุณภาพการศึกษา เว็บไซตของวิทยาลัย รายงานการประเมนิตนเอง ปการศึกษา 2551
ภาคผนวก
จุดแข็ง ขอเสนอแนะ และแนวทางการพัฒนา องคประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค และแผนการดําเนินงาน จุดแข็ง - มีแผน โครงการ ชัดเจนดี ขอเสนอแนะ - ประเมินและวิเคราะหแผน และการนําผลการประเมินมาปรับปรุงการดําเนินงานของวิทยาลัย และนําผลการประเมินเสนอสภาวิทยาลัยดวย องคประกอบที่ 2 การเรียนการสอน จุดแข็ง 1. หลักสูตรที่เปดสอนมีการพัฒนาเริ่มตนจากการวิเคราะหความตองการของตลาดแรงงานอยาง แทจริง 2. ทุกหลักสูตร(10 หลักสูตร) ไดรับการรับรองตามมาตรฐานของ สกอ. 3. การจัดการเรียนการสอนทุกหลักสูตรมุงเนนสรางคุณภาพอยางชัดเจน 4. การจัดการเรียนการสอนทุกหลักสูตร / รายวิชา เนนนักศึกษาเปนศูนยกลาง 5. นักศึกษาไดมีโอกาสแสดงความคิดริ่เริ่ม ความคิดสรางสรรคอยางมาก 6. การจัดการเรียนการสอนทุกหลักสูตรเนนการสรางเอกลักษณ ศักยภาพ ใหเปนไปตามที่ วิทยาลัยกําหนด 7. ทุกหลักสูตรมีการกําหนดรายวิชาที่มีลักษณะยืดหยุนและเปนไปตามความตองการของ นักศึกษา ขอเสนอแนะ 1. ควรใหมีการทําวิจัยเนนพัฒนาการเรียนการสอนใหมากขึ้น
องคประกอบที่ 3 กิจกรรมพัฒนานิสิตนักศึกษา จุดแข็ง 1. วิทยาลัยมีกิจกรรมการพัฒนานักศึกษาที่เขมแข็ง และมุงพัฒนานักศึกษาใหมีเอกลักษณ สอดคลองกับปรัชญา คุณวุฒิ คุณธรรม คุณคา อยางมาก 2. นักศึกษาไดมีสวนรวมในกิจกรรมที่ทางวิทยาลัยจัดดําเนินการอยางมาก 3. วิทยาลัยมีการดําเนินการที่ทําใหนักศึกษากับวิทยาลัยมีความสัมพันธใกลชิดกันมาก องคประกอบที่ 4 การวิจัย จุดแข็ง - วิทยาลัยใหการสนับสนุนเรื่องงานวิจัยดี มีกําหนดนโยบายใหเปอรเซ็นตโดยใหผลงานวิจัย คิดเปน 20 % ของการประเมินผลงานประจําป ขอเสนอแนะ - ยังขาดรางวัลใหกับนักวิจัยหรือผลงานวิชาการ - ควรพัฒนาเครือขายทั้ง เครือขายนักวิชาการและเครือขายชุมชน องคประกอบที่ 5 การบริการทางวิชาการแกสังคม จุดแข็ง 1. บุคลากรมีความตั้งใจที่จะชวยจัดทําโครงการบริการวิชาการแกสังคม แนวทางเสริม 1. ควรมีการสงเสริมใหคณาจารยพัฒนาความรู และแลกเปลี่ยนประสบการณ จากหนวยงาน ภายนอก หรือศาสตรที่สถาบันเปดสอน จุดที่ควรพัฒนา 1. ควรมีแผนบริการวิชาการแกสังคม ที่สรางรายไดเขาสถาบัน ขอเสนอแนะ 1. ควรมีการสํารวจความตองการของทองถิ่นบางนา สมุทรปราการ ถึงความตองการที่สถาน ประกอบการจะไดรับความรู ศาสตรหรือวิทยาการใหม ๆ เพื่อสถาบันจะไดทําการวางแผนจัด ฝกอบรมบริการวิชาการไดตรงกลุมเปาหมาย
องคประกอบที่ 6 การทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม จุดแข็ง 1. สถาบันมีความตั้งใจพัฒนาอนุรักษงานศิลปวัฒนธรรม แนวทางเสริม 1. ควรมีการสงเสริมใหบุคลากร พัฒนาองคความรูรวมกับชุมชนอยางจริงจัง 2. ควรทําวิจัยเพื่อตอยอดการวิจัยประวัติศาสตรทองถิ่นบางนาอยางจริงจัง จะไดนําความรูมาใช ประโยชนสูงสุดกับสถาบัน องคประกอบที่ 7 การบริหารจัดการ จุดแข็ง 1. ผูบริหารมีความมุงมั่นและตั้งใจพัฒนาวิทยาลัยตามนโยบายที่ตั้งไว 2. คณาจารยและบุคลากรมีศักยภาพ ทุมเทการทํางานใหวิทยาลัยอยางเต็มที่ แนวทางเสริม 1. ควรพัฒนาเรื่องการจัดการความรูใหชัดเจนและเปนรูปธรรม สงเสริมใหมีเวทีสําหรับการ แลกเปลี่ยนเรียนรู และติดตามประเมินผลสําเร็จของการจัดการความรู 2. ควรจัดทํา Strategy Map ทั้งในระดับวิทยาลัยและคณะ โดยเชื่อมโยงประเด็นใหสอดคลองกับ เปาประสงค และยุทธศาสตรของวิทยาลัย มุงสูวิสัยทัศน จุดที่ควรพัฒนา 1. การจัดทําแผนบริหารความเสี่ยงยังไมชัดเจน ขอเสนอแนะ 1. ควรจัดทําแผนบริหารความเสี่ยง วิเคราะห input process output สรุปผลการดําเนินงานตาม แผนบริหารความเสี่ยง กําหนดแนวทางและขอเสนอแนะในการปรับปรุงแผนบริหารความ เสี่ยง
องคประกอบที่ 8 จุดแข็ง 1. มีการใชทรัพยากรภายในและภายนอกสถาบันอยางเปนรูปธรรม แนวทางเสริม 1. ควรสรุปผลการวิเคราะหความตองการใชทรัพยากรสถาบัน เพื่อนําขอมูลไปใชประกอบการ วางแผนการใชทรัพยากรใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น องคประกอบที่ 9 จุดแข็ง - ผูบริหารมีนโยบายและใหการสนับสนุนชัดเจน - ผูปฏิบัติงานมุงมั่นและตั้งใจ ขอเสนอแนะ - ควรมีเครือขายประกันคุณภาพของนักศึกษาระหวางสถาบัน
ขอมูลสัมภาษณ ผูบริหาร วิทยาลัย
สรุปบทสัมภาษณ
คณะผูบริหารทางวิทยาลัย 1. อธิการบดี 2. รองอธิการบดีฝายกิจการนักศึกษาและกิจการพิเศษ 3. รองอธิการบดีฝา ยวางแผนและพัฒนา 4. คณบดีคณะบริหารธุรกิจ 5. คณบดีคณะศิลปศาสตร 6. คณบดีคณะนิติศาสตร 7. คณบดีคณะวิทยาศาสตร 8. คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย จุดแข็ง
1. ฝายบริหารมีการถายทอดนโยบายสูองคกรทุกระดับอยางชัดเจนและทั่วทั้งองคกร 2. ฝายบริหารเปดโอกาสใหบุคคลากรมีสวนรวมในการบริหาร เชน การวางแผนจากระดับลาง 3. 4. 5. 6. 7. 8.
จุดออน
ขึ้นสูระดับบน ฝายบริหารใชหลักธรรมาภิบาลในการบริหารงานอยางมาก ฝายบริหารมีความมุงมั่นในการพัฒนาวิทยาลัยทุกภาคสวนรวมกันอยางชัดเจน ฝายบริหารพยายามสราง Brand ของมหาวิทยาลัยใหเปนที่ยอมรับของสังคมอยางตอเนื่อง วิทยาลัยกําหนดทิศทาง จุดมุงหมาย เปาหมาย ของการดําเนินงานอยางชัดเจน วิทยาลัยมีจุดมุงหมายดานคุณภาพของหลักสูตรและประสิทธิภาพอยางมาก ฝายบริหารกําหนดเอกลักษณ/บัณฑิตที่พึงประสงคอยางชัดเจนและสงผลตอคุณภาพของนักศึกษา อยางแทจริง
1. ชื่อของวิทยาลัยยังไมไดเปนที่ยอมรับของประเทศไทยเนื่องจากเปนภาษาอังกฤษ
ขอมูลสัมภาษณกรรมการสภาวิทยาลัย ขอเสนอแนะ • กรรมการสภาเห็นวาวิทยาลัยมีการเติบโตอยางตอเนื่อง มั่นคง และในอนาคตใหเนนการเปด การศึกษาระดับปริญญาโทและระดับปริญญาเอกใหมากขึ้นตอไป และใหสงเสริมทางดานงานวิจัย ใหมากขึ้น • กรรมการสภาเห็นวาคณาจารยของเราอยูในวัยหนุมสาวกันมาก จึงนาจะมีแผนสงเสริมใหเรียนตอ ใหมากขึ้น ควรมีการพัฒนาดานภาษาอังกฤษ เพื่อเตรียมรับเขตการคาเสรีอาเซียน ( AFTA), ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) • นาจะสงเสริมการเรียนการสอนในเชิง Global Business ใหมากขึ้น • นโยบาย สกอ. บางเรื่องยังมีปญหาในทางปฏิบัติ เชน เรื่อง TQF วิทยาลัยอาจจะจัดการสัมมนาเชิง Workshop เพื่อชวยใหอาจารยเขาใจมากยิ่งขึ้น
ขอมูลสัมภาษณอาจารย จุดแข็ง
- ผูบริหารระดับสูงมีนโยบายชัดเจน ในเรื่องประกันคุณภาพ พรอมชี้แจงใหทุกระดับได รับทราบ - เปนสถาบันที่มีความเชี่ยวชาญในดานบริหารธุรกิจ - มีนักศึกษาบริหารธุรกิจในสัดสวนที่มาก - อาจารยมีความรูความสามารถดานบริหารธุรกิจดี - ทําเลที่ตั้งแวดลอมดวยอุตสาหกรรมโลจิสติกส - การดูแลนักศึกษาดี อาจารยที่ปรึกษาดูแลใกลชิด - มีสภาพแวดลอมสะดวกในการเดินทาง - สิง่ แวดลอมเปน Green Place - เปนสังคมการเรียนรูของสังคมเขตบางนา โดยมีการอบรมใหชุมชน - พัฒนานักศึกษาใหมีทักษะการปฏิบัติงานและปรับตัวเขากับสภาพการทํางานไดดี - ทําเลเปนศูนยกลางของอุตสาหกรรมหลากหลาย - อาจารยมีความใกลชิดกับนักศึกษา สงผลทําใหมีความสัมพันธกับศิษยเกา - คุณภาพของหลักสูตรผานการรับรองจากสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา - คุณภาพของบัณฑิต ผูวาจางมีความพึงพอใจคอนขางสูง - วิทยาลัยมีการกําหนดทิศทางชัดเจน - สนับสนุนใหบุคลากรเขาอบรมทั้งอาจารยชาวไทย ชาวตางประเทศ - จัดกิจกรรมใหนักศึกษาฝกงานนอกสถานที่
- ศูนย SALLC (ศูนยการเรียนรูดวยตนเอง) เพื่อใหนักศึกษาไดเรียนรูภาษาอังกฤษดวยตนเอง - หมวดศึกษาทั่วไปสอบวัดความรู ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร และความรูทางดานธุรกิจ นักศึกษาป 1 และป 4 - อาจารยเปนผูมีประสบการณ - นักศึกษานอยเขาถึงที่เรียนไดอยางดี - การสอนเนนนักศึกษาเปนศูนยกลางการเรียนรู - สงเสริมใหนักศึกษามีการเรียนรูตลอดชีวิต โดยเฉพาะคณะนิติศาสตร - บุคลากรมีความจงรักภักดีสูงตอองคกร - สนับสนุนใหอาจารยเรียนตอปริญญาเอก ใหมีโอกาสไดเรียนโดยเสมอภาค - สนับสนุนใหทุนนักศึกษาเปนทุนใหเปลา - มีโครงการบริการวิชาการฟรีมาก จุดที่ควรพัฒนา - สถานที่ทํากิจกรรมของนักศึกษายังไมเพียงพอ - การใชประโยชนจากฐานขอมูลยังไมเต็มที่ ทําใหสูญเสียโอกาสและรายไดที่องคกรพึงไดรับ - ควรมีศูนยสงเสริมการเรียนรูในแตละ Area โดยเฉพาะ Business Center - ควรปรับปรุงหลักสูตร English for Specific Purposes (ภาษาอังกฤษเฉพาะทาง) เชน ภาษาอังกฤษสําหรับ IT หรือภาษาอังกฤษสําหรับนักกฎหมาย - หลักสูตรควรสอดคลองกับที่ตั้ง เชน การจัดการอุตสาหกรรม อุตสาหกรรมบริการ การจัดการ การทองเที่ยว การโรงแรม
ขอมูลสัมภาษณบุคลากร
จุดแข็ง
-
ผูบริหารรับฟงความคิดเห็นจากบุคลากรทุกระดับ ผูบริหาร คณาจารย เจาหนาที่ มีความเปนกันเอง สนับสนุนบุคลากรใหเรียนตอ มีการจัดสรรทุนให บุคลากรมีความสามัคคี ชวยเหลือซึ่งกันและกันในการทํากิจกรรม สงเสริมอนุรักษวัฒนธรรมไทยการแตงกายผาไทยทุกวันพฤหัสบดี
จุดที่ควรพัฒนา - ควรสงเสริมใหมกี ารแลกเปลีย่ นเรียนรูท ง้ั ภายในหนวยงานและภายนอกหนวยงาน - ควรมีกองทุนสะสมเงินเลี้ยงชีพ
ขอมูลการสัมภาษณศิษยเกา จุดแข็ง
-
ความรู ศาสตรที่ไดรับจากสถาบัน สามารถนําไปใชไดตรงกับชีวิตการทํางาน อาจารยผูสอนใหความรูเต็มที่กับนักศึกษาทั้งดานการเรียนและเรื่องสวนตัว อาจารยกับศิษยมีความใกลชิดผูกพัน ชวยเหลือเอื้อเฟอ เกื้อกูลกันเปนอยางดี ระบบการเรียนการสอนของสถาบันมีกระบวนการที่ดี มีทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติเหมาะ สําหรับนักศึกษาภาคปกติที่ไมเคยมีประสบการณในการทํางาน สามารถเรียนรูไดจริง - กิจกรรม ชมรม ของวิทยาลัยมีความหลากหลาย ใหเลือก ถานักศึกษามีความสนใจทํากิจกรรม จะเปนประโยชนมาก
จุดที่ควรพัฒนา - ควรทําประชาสัมพันธ หรือการทํากิจกรรมที่เปนการใหขอมูลกับบุคคลทั่วไป ในเรื่องการ สรางความเขาใจกับคําวา วิทยาลัยกับมหาวิทยาลัย โดยยึดกลุมเปาหมายกลุมโรงเรียน กลุม สถานประกอบการผานสื่อตาง ๆ เชน หนังสือพิมพ เปนตน - ควรมีศูนยออกกําลังกายประจําสถาบันและสงเสริมใหนักศึกษาที่วางจากการเรียนมาออกกําลัง กายเพื่อสุขภาพที่ดี - ควรเรงเปลี่ยนประเภทจาก วิทยาลัย เปน มหาวิทยาลัยใหไดเร็วที่สุด - วิทยาลัยควรเพิ่มคณะสาขาวิชาใหมากขึ้น เชน เพิ่มคณะนิเทศศาสตร - วิทยาลัยควรเพิ่มเทคโนโลยีดานการเรียนการสอน เชน มีสถานีวิทยุของ SBC เพื่อ ประชาสัมพันธขาวสารภายใน บริการความรูดานวิชาการแกสังคมในรัศมียานบางนาและ สมุทรปราการ - ในอนาคตอีก 5 – 10 ปขางหนา วิทยาลัยควรมีสถานีโทรทัศนเคเบิ้ลทีวีทองถิ่นของสถาบันเพื่อ จะไดเปนชองทางการประชาสัมพันธขาวสารของวิทยาลัย
ขอมูลการสัมภาษณศิษยปจจุบัน จุดแข็ง
- อาจารยมีความใกลชิดกับนักศึกษาใหความชวยเหลือในทุกดาน และใหคําแนะนําในการ ดําเนินชีวิตที่ดี - หลักสูตรการเรียนการสอนของสถาบันถาเปรียบเทียบกับสถาบันอื่นอยูในระดับดี สามารถ แขงขันกับสถาบันอื่นได - ความสัมพันธรุนพี่รุนนองมีความสนิทสนมกันเปนอยางดี - วิทยาลัยมีบริการสื่อการเรียนการสอนที่นักศึกษาสามารถเขาถึงการใชบริการไดงายโดยไมมี ขั้นตอนหรือกระบวนการที่ยุงยากซับซอน - วิทยาลัยมีความอบอุน มีบรรยากาศสวยงาม
จุดที่ควรพัฒนา - ควรมีหองสําหรับการทํากิจกรรมเฉพาะของสาขาวิชา - ควรมีสถานีวิทยุประจําสถาบัน และหองประชาสัมพันธของสถาบันในการจัดทํารายการ - ควรมีหองออกกําลังกาย และอุปกรณกีฬา ที่มีความหลากหลาย เพียงพอตอความตองการของ นักศึกษา - ควรพัฒนาหองพยาบาลใหมีเจาหนาที่ประจํา และใหคําแนะนําในการปฐมพยาบาลเบื้องตนที่ สมบูรณ - ควรเพิ่มสถานที่พักผอนใหเพียงพอกับจํานวนนักศึกษา - ควรเปดคณะ หลักสูตรที่หลากหลาย เชน คณะนิเทศศาสตร สาขาวิชาเทคโนโลยี สื่อสารมวลชน, การโรงแรม - ควรจัดใหมีการทํากิจกรรมเสริมรวมกันระหวางอาจารยกับศิษยเพื่อสรางความสัมพันธที่ดีอยู แลวใหเพิ่มมากขึ้น - จัดกิจกรรมระหวางรุนพี่กับรุนนอง เชน กิจกรรมเลี้ยงสงรุนพี่ที่สําเร็จการศึกษาโดยรุนนอง เปนผูจัด และสรางใหเปนวัฒนธรรมคูกับ SBC - ควรเพิ่มที่จอดรถ ที่ทานอาหารใหเพียงพอกับจํานวนนักศึกษา - ควรปรับปรุงหองน้ําใหมีความสะอาดมากขึ้น