a009

Page 1

รากเหงาวัฒนธรรมบางนาเมื่อ ๕๐ ป ที่แลว ศึกษารากเหงาวัฒนธรรมสองฝงคลองบางนา ฐานขอมูล เมื่อ ๕๐ ปกอน (กอน พ.ศ. ๒๕๐๐)

สัมภาษณ : น.อ.พิเศษ สวัสดิ์ ประดิษฐเวช ร.น. อายุ ๗๔ ป โดย : กลุมนักศึกษาคณะศิลปศาสตรและนิติศาสตร ๒๐ คน

บางนา เปนชื่อ ตําบล ไดมาจากชื่อ คลองบางนา เปนเสนเลือดใหญของตําบล ดินแดน ส ว นนี้ อ ยู ใ ต สุ ด ของกรุ ง เทพมหานคร มี ค ลองบางอ อ อยู ทิ ศ เหนื อ ของตํ า บลคลองสํ า โรง คลองประวัติศาสตรอยูดานทิศใต คลองบางนาที่อยูตรงกลางนั้นทอดยาวเปนเสนเลือดเศรษฐกิจ หล อ เลี้ ย งชี วิ ต ชาวบางนามาแต อ ดี ต มี ค วามยาวเฉพาะที่ อ ยู ใ นเขตบางนา ๑๗๕ เส น กวาง ๑๕–๒๐ วา ปากคลองเริ่มจากแมน้ําเจาพระยา มีวัดบางนาในอยูตนคลองวัดบางนานอกอยู ตรงกลางลําคลอง ทอดยาวลึกเขาไปถึงเขตอําเภอบางพลีจังหวัดสมุทรปราการ ปลายคลองหักเลี้ยว ขึ้นเหนือเปนเสนกั้นเขตแดนบางนากับบางแกว เชื่อมกับคลองเคล็ด อันเปนที่ตั้งของสถานีตํารวจ บางนาในปจจุบัน คลองบางนามีชื่อเรียกตามตําบลที่ผาน คือ คลองบางแกว คลองสาหราย ตลอด สองฝงลําคลอง มีหลอด หรือ ลําประโดงเปนทางน้ําเล็กๆ เปนกางปลานําพาน้ําเขาทํานา ทําความ ชุม ชื้ น ให แ ก แ ผน ดิ น ได แ ก หลอดสามเบ า หลอดสามง า ม ตํ า บลบางนามี เ นื้ อ ที่ ๑๙.๖ ตาราง กิโลเมตร หรือ ประมาณ ๑๓,๐๐๐ ไร ปจจุบันถูกวัฒนธรรมความมักงายของคนตางถิ่นที่อพยพมา ประกอบอาชีพและอยูอาศัย ทําใหสภาพคลองตื้นเขิน สกปรก น้ําดํา เนาเหม็น นับแตปากคลองบางนาเขาไปซึ่งเปนตนคลอง มีหมูบานเปนหมูๆ เปนที่อยูอาศัยของกลุม ชนดั้งเดิม เขมร สยาม จีน ลาว และมอญ เปนชุมชนดั้งเดิมสืบตอกันมา คนไทยสยาม คนจีนอยูตน คลอง ปลายคลองเป น มอญและลาวซึ่ ง ไม ช อบน้ํ า เพราะอพยพมาจากที่ ด อน คนไทยเหล า นี้ เทือกเถาเหลากอเดิมอยูฝงพระประแดงฝงซายนับแตขาเขาจากปากน้ําบางเจาพระยา ตําบลบางน้าํ ผึง้


ตําบลบางกระเจา ที่ชัดเจนก็มีหมูบานตระกูล คหบดีใหญ ๔-๕ ตระกูล ลวนผูกพันเปนพี่นองกัน ทางสายเลือด มีตระกูล รุงเรือง รุงสวาง รุงแสง ตระกูลบัวรอด ตระกูลประดิษฐเวช เปนตน สวนบริเวณปลายคลอง รัชกาลที่ ๒ พระราชทานเปนที่ทํานาของพวกมอญ มีสมิงราชาเทวะเปน ผูควบคุม และมีมอญ พระประแดงมาจับจองที่ทํากิน มอญมีชื่อสมัยนั้น มียายชา – ตาจอก แกจับ จองที่นาไว 100 กวาไร ซึ่งก็นับวามาก ถึงหนานาแกจะพาลูกหลาน ขนเสบียงอาหาร เครื่องมือ ทํานาใสเรือแจวมาทางคลองปลัดเปรียงไปปลูกเถียงนา ทํานา ไถนา ปลูกขาวจนเสร็จแลวจึงกลับ หมูบานตนตระกูล รุงเรือง รุงสวาง รุงแสง อยูตนคลอง บัวรอด อยูไปปลายคลอง สถาน ที่ตั้งเคหสถานของคนในตระกูลรุงแสง ซึ่งมีชื่อเสียงเปนที่นับถือในคุณความดีมาจนทุกวันนี้คือ คุณชนะ รุงแสง บิดาของทานตั้งนิวาสถานอยูริมคลองบางนาตรงขามกับ กรมอุตุนิยมวิทยากิน บริเวณมาถึง ไบเทค ปจจุบันนี้ สมัยนั้น กอน พ.ศ. ๒๕๐๐ (คือเมื่อ ๕๐ ปที่แลว) เริ่มมีโรงงานแหงแรก คือโรงงานวุนเสน เปนของคนจีน ไดกอความเดือดรอน ปลอยน้ําเนาเสียลงคลองบางนา ปลาตาย ชาวบานเคยไดใช น้ํากินอาบก็ใชไมได ผูที่เปนหัวหนานําชาวบานประทวง คือ หนุมชนะ รุงแสง ขณะเปนนักเรียน มั ธ ยมโรงเรี ย นสวนกุ ห ลาบ แสดงความเป น ผู นํ า สั ง คมประชาธิ ป ไตย เห็ น ภั ย ของการทํ า ลาย สิ่งแวดลอมมาตั้งแตเปนเด็กวัยรุน ในดานการคมนาคมการเดินทางเขากรุงเทพฯ มีทางรถไฟสายปากน้ําวิ่งปากน้ํา-หัวลําโพง มีสถานีจอดตําบลบางนาที่สถานีบางนา บางออ บางจาก สถานีสวนออย บางนางจีนเปนตน วิถีชีวิตชาวบางนาเริ่มเปลี่ยนแปลงชัดเจน เมื่อโรงงานอุตสาหกรรมไหลบาเขามาเปนคลื่น ลูกใหญเปลี่ยนชีวิตอันสงบสุขของคนบางนาแทบจะสิ้นเชิงคือโรงงานวุนเสน วารัน ตอมาก็มี โรงงานฟลิปส โรงงานไมอัดไทย โรงงานแบตเตอรี่ โรงแกว โรงงานใดตั้งกอนหลัง และเลิกไป เมื่อใด เพราะเหตุใดควรจะไดคนควาตอไป บุคคลที่ควรจดจําคือ ปาเผื่อน เปนคุณยาย คุณชนะ รุงแสง ปาทองดี เปนแม นายเพิ่ม รุงเรือง เจาของโรงเรียนอรรถวิทย ในปจจุบัน วัฒนธรรมที่ปรากฏชัดในยุคนั้น คือ วัฒนธรรมความสามัคคีของคนทั้งตําบล ชวยเหลือใน การทํากิน ปองกันภัย แมในที่สุด นิยมแตงงานกันในหมูญาติ วัฒนธรรมความสามัคคี ชี้ใหเห็นไดชัด เชน ๑. กลุ ม บ า นรุ ง แสง และ กลุ ม บ า นรุ ง เรื อ ง หรื อ กลุ ม บ า นอื่ น ก็ ต าม สองบ า นนี้ เ ป น หมูบานใหญ มีธรรมเนียมวัฒนธรรมชวยเหลือกัน ใครทํานานวดขาวเสร็จกอนจะเฮละโล พากันไป ชวยบานที่ยังไมเสร็จ นวดขาว ฝดขาวดวยสีฝด เก็บเขายุงฉาง สนุกสนานกันมาก ซึ่งก็รวมไปถึง การเก็บเกี่ยว ไถหวาน อันเปนกรรมวิธีเกษตรกรรมในสมัยนั้น


๒. เมื่อเสร็จหนานา คลองบางนาจะตื้นเขินเพราะทองน้ําเปนดินเลน ดินออนอยูแลว เมื่อ น้ําแหงลง ดินจะเริ่มแข็งตัว กักน้ํา น้ําไหลไมสะดวก วิธีทําใหคลองลึก กํานัน จะปาวรองใหลูกบาน ใหเอาควายลุ ยโคลน ตั้ ง แตปลายคลองมาออกปากคลอง เวลาน้ําลง ก็จะพั ดพาโคลนเลนออก ปากคลองสูแมน้ําเจาพระยาออกปากอาวไปทําเปนประจําทุกปคลองก็จะไมตื้นเขินน้ําไหลสะดวก วิธีนี้นับวาเปนภูมิปญญาชาวบาน เปนวัฒนธรรมซึ่งสูญไปแลว ๓. ความสามัคคีที่เห็นชัดอีกอยางหนึ่ง คือ เวลามีสัตวใหญตาย เชน วัว ควายจะรูกันทั้ง ตําบล การแลเนื้อ ควาย วัว ตองทําเร็ว มิฉะนั้น จะเนาเสีย หนังควายจะตัดเจียนเปนริ้ว ควั่นเปน เชือกจะเหนียวมากไวสําหรับลากไถ ลากเลื่อน คอง ทําเร็วใชคนมาก ทุกคนจะเอามีดมาคนละ เลมมาชวยกันแล แยกเนื้อ หนัง กระดูก เจาของจะแบงใหพอไปทํากับขาวไดทุกคน ไปตากแหงไว กินยามขัดสนก็ได ปรุงเปนอาหารโปรตีนมีรสก็ได ไมมีการหวงกัน ชาวนาจะไมฆาควาย วัว ดวย นับถือวาเปนเพื่อนมาชวยทํากินเวนแตจะลมเอง สมัยเมื่อป 73-74-75 เศรษฐกิจตกต่ํา นาที่บางนาหลุดมือไปเปนจํานวนมาก เพราะชาวนา ทํานาไดขาวไมพอคาเชา หรือขายไมออก ตองไปจํานองที่นากับ ยายแดง เมียหลวงรักษา นายอากร อยูฝงพระประแดง กิตติศัพท เปนคนขี้เหนียวมาก เจาของที่ดิน ที่จับจองไวตกเปนของคุณยายแดง เป นจํ านวนมาก เหลือรอดไมกี่เ จา ยายแดงมีคนดูแ ลนา คนเก็บคาเชานายายแดง ชื่อ นายเงาะ แสงใหญ นายเงาะ แสงใหญ เปนใคร นาสงสัยอยู? ฉายา ประจําตัว ”แสงใหญ” เปนฉายาของนายทอง แสงใหญ คนสมัยอยุธยา ตอนตน นายทอง เปนวี รชน คายบางระจัน มีเ รื่องเล าประกอบวา คนบางน้ําผึ่ง สืบเชื้อสายมาจากพวก บางระจัน คุณยายของ น.อ.สวัสดิ์ เลาใหลูกหลานฟงวา เมื่อคายจะแตก พวกผูชายตอนใหพวก ผูหญิงและเด็กๆ อพยพลงเรือ พรอมเสบียงอาหาร หนีขาศึกมาตามลําน้ํา มาซอนตัวอยูปากน้ํา เจาพระยา รอพวกผูชายที่จะอพยพตามมา ผูชายชาวเมืองสิงห คายบางระจันตายหมด พวกอพยพจึง ตองสรางบานเรือน สรางครอบครัวขึ้นใหม แตงงานกันในกลุมบาง กับชาวบานบาง ยังมีคนโบราณ เลานิทานนี้กันอยูในปจจุบัน วัฒนธรรมอาหาร ตมกรอ : ปลาหมอตมเค็ม ปลาหมอกลมชุมมาก สิ้นหนานา ปลาหมอจะตกคลักมากมาย ตักมาไดเปนปบๆ ตมเค็มปลาหมอจะใหอรอยตองตมกรอ คือ เอาปลาใสสวิง ลางโคลนใหสะอาด แลวนํามาใสปบ ทั้งเปนๆ เอาเกลือโรย ไมตองใสน้ํา น้ําในตัวปลา จะออกมาเอง ปดปากปบใหแนน ยกขึ้นตั้งไฟทั้งเปน ปลาจะกระโดดหนีตายเสียงกรอใหญ สักพักก็จะเงียบ เนื้อปลาจะหวาน เค็ม อรอยมาก แตเปนการทรมานสัตว วัฒนธรรมนี้ปจจุบันไมมีแลว


มีลุงคนหนึ่ง (ไมออกชื่อ) ตมกรอกินเปนประจํา กอนแกจะตาย ทรมานมาก ถายออกมา ญาติเอากาบหมากรองอุจาระ ปรากฏวามีแตเกล็ดปลาหมอ เต็มไปหมด นับเปนเวรกรรม เลาสอน ลูกหลานไมใหทรมานสัตว จะกินเขาก็ตองกินดีๆ ดวยความเคารพ สุมปลาออ : เปนสุมขนาดใหญกวาธรรมดา 4-5 เทา มีตาขายอยูที่ปากสุม ปลาออ คือ ปลาดุก เวลาน้ําลงจะมาออทวนน้ําจํานวนมาก คนจับปลาออจะเอาสุมไป สุมจับแลวรวบตาขายจะ ไดปลามาจํานวนมาก ไมขาย สวนมากแจกกันกิน เพราะไมมีราคา มันมากเหลือเกิน ตระกูลประดิษฐเวช ทํางานในวัง ตั้งแตรัชกาลที่ ๔ มีประวัติความเปนมาอยางไร ทําไมมา มีที่ดินอยูบางนา ศึกษาและสืบตอไป. --------------------


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.