การศึกษาวัฒนธรรมบางนาที่ตั้งวิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก ศึกษาทีม่ าของคํา วัฒนธรรม ประเพณี จารีต สัจธรรม จริยธรรม เอกลักษณ ------------------“บางนา” อันเปนที่ตั้งของวิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก เปนชื่อตําบลเกามาแตกอน พื้นดิน เปนนาขาวอยูในเขตการปกครองของอําเภอพระโขนง เมืองนครเขื่อนขันธ ซึ่งสถาปนาขึ้นเมื่อ ป ๒๓๕๗ แตเดิมทีแผนดินบริเวณนี้เปนที่ตั้งของเมืองพระประแดง (ซึ่งยังมีกําแพงเมืองอยูที่ ตําบลราษฎรบูรณะคลองเตย) บางนาถูกยกฐานะเปน “แขวงบางนา” เมื่อประชากรเพิ่มมากขึ้น และ ไดยกฐานะเปนอําเภอหรือเขต ชื่อ “เขตบางนา กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ ๑๔ ตุลาคม ๒๕๔๐” นี่เอง สถานะภาพทางสังคมของตําบลนี้ ที่เปนสัญลักษณเดนชัด คือ วัฒนธรรมทองถิ่นบางนา คือ วัฒนธรรมการทํานา มีวิถีชีวิตของชาวนาปลูกขาวในอดีต เอกลักษณบางนา คือ การทํานาขาว ขาวคือชีวิต สัญลักษณของวิทยาลัย คือ รวงขาวประคองดวงปญญาคือคบเพลิง พันธกิจเดิมตามพระราชบัญญัติการจัดการศึกษาของมหาวิทยาลัยฯคือ สอน วิจัย ใหบริการ ทางวิชาการแกสังคม และทํานุบํารุงศิลปะวัฒนธรรม เปนไปตามกฎหมายเดิม เมื่อมีการปฏิรูป ระบบการศึกษาป ๒๕๔๐ ไดกําหนดพันธกิจแตละดานใหชัดเจนยิ่งขึ้น ดานทํานุบํารุงศิลปะและ วัฒนธรรม มีพันธกิจที่จะตองสรางเอกลักษณของวิทยาลัยที่สะทอนถึงภูมิปญญาทองถิ่น วิถีชีวิต ชุมชนและประเพณีทองถิ่น และเอกลักษณที่สรางจะตองเปนที่ยอมรับของชุมชนดวย สํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษากระทรวงศึกษาธิการ ไดกําหนด พันธกิจหลักดานทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรมไวดังนี้ 4.มาตรฐานดานการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม การอนุรักษสืบสาน พัฒนา เผยแพรเอกลักษณศิลปะและวัฒนธรรม ภูมิปญญาไทย ภูมิปญญาทองถิ่น อันเปนมรดกไทย และการบูรณาการในการผลิตบัณฑิต การวิจัย และการบริการวิชาการและวิชาชีพ รวมทั้ง สรางสรรคและสงเสริมภูมิปญญาไทยใหเปนรากฐานของการพัฒนาองคความรูที่สามารถพัฒนาสูสากล
บางนาในอดีตเมื่อ ๕๐ ปที่แลวมานี้เอง พื้นที่ทั้งหมดทํานา ประชากรประกอบดวยคนจีน อยูในแหลงชุมชนคาขาย คนสยาม คนมอญและคนลาวเปนสวนใหญ เลี้ยงชีพดวยการทํานาขาว ขา วคื อชี วิ ต ก อให เ กิ ด วัฒ นธรรมประเพณี จารีต และวิถีชี วิต ผู ก พัน อยูกับข าว เป น วั ฒ นธรรม เกษตรกรรมทํานาขาว ทั้งดานความเปนอยู ความเชื่อ พิธีกรรม การดําเนินชีวิตและวัฒนธรรม การทํางาน
ชาวบางนา อยูรวมกันเปนกลุม ๆ ๘ หมูบาน สวนมากเปนพี่นองเครือญาติและผูพักอาศัย ประชากรไมเกิน ๒,๐๐๐ คน เมื่อความเจริญแบบสมัยใหมแผมาถึง มีการตัดถนนสรางทางคมนาคมสายสําคัญหลายสาย เชื่อมตอกับพระนครหลวงและเมืองสําคัญเปน”ประตูสูบูรพาวิถี” ประชากรจากทุกภูมิภาค หลากหลายอาชี พ ไหลบ า เข า มาครอบครองที่ ดิ น ทํ า การอุ ต สาหกรรมขนาดใหญ เกิ ด หมู บ า น จัดสรรคเพื่อการอยูอาศัย การพาณิชย การศึกษาและบริการทุกประเภท สภาพที่ดินที่เคยใชทํานา แปรเปลี่ยนไป วัฒนธรรมดั้งเดิมและวิถีชีวิตถูกกระทบอยางแรง เริ่มเลือนหายไปในชวงไมกี่ปมานี้ เองเปนพันธกิจของวิทยาลัยเซาธอีสทบางกอกที่จะตอง “อนุรักษ สืบสาน พัฒนา เผยแพรศิลปะและวัฒนธรรม ภูมิปญญาไทย ภูมิปญญาทองถิ่น (บางนา)อันเปนมรดกไทย….” ใหเปนไปตามมาตรฐานดานการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม (หัวขอที่ 4) แบบอยางการศึกษา : ใชแบบอยางการศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภัฎอันมีที่ตั้งอยูในวังสวน สุนันทาสวนดุสิต ซึ่งศึกษาและสรางเอกลักษณตลอดจนอนุรักษวัฒนธรรมชาววัง ซึ่งสูญไปแลว เมื่อ๕๐ ปกอน ฟนฟูขึ้นมาใหมโดยใชแบบอยางวิถีชีวิตชาววัง มีวัฒนธรรมภูมิปญญาดานอาหาร ชาววัง การแตงกาย ศิลปะการจัดดอกไม การทําเครื่องของหอมอันเปนวิถีชีวิตชาววัง เปนตน วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก ตั้งอยูในเขตตําบลบางนา โฉนดที่ตั้งออกใหโดยเมืองนคร เขื่อนขันธ จะไดศึกษา,สรางเอกลักษณและอนุรักษวัฒนธรรมชาวนา ประชากรบางนา ชาวเมือง นครเขื่อนขันธที่มีวิถีชีวิตทํานา ซึ่งก็ไดสูญไปแลว เมื่อ ๕๐ ปกอน มีวัฒนธรรมปจจัย ๔ ดานที่อยู อาศัย เครื่ องนุ ง หม การแต ง กาย อาหาร ยารัก ษาโรค ศาสนา ความเชื่อ ศิ ล ปะและสั น ทนาการ การละเลน เพื่อสงเสริมความเขาใจ ความภาคภูมิใจในวิถีชีวิต และภูมิปญญาบรรพชน สองฝงคลอง บางนา นับแตเปดดําเนินการ สํานักศิลปวัฒนธรรมของวิทยาลัยฯสงเสริมและจัดกิจกรรมเขา ร ว มกั บ ชุ ม ชนอย า งแข็ ง ขั น อย า งเต็ ม ที่ ทุ ก เทศกาลงานบุ ญ นั ก ศึ ก ษาสมาชิ ก ชมรมศิ ล ปะและ วัฒนธรรมจํานวนมาก แตงการชุดไทยประเพณี ชุดไทยพื้นถิ่น เขารวมขบวนอัญเชิญสัญลักษณ ของงาน เชนการแหเทียนพรรษา เทศกาลลอยกระทง ประเพณีสงกรานต รดน้ําขอพรผูอาวุโสใน ทองถิ่น งานวันนพไหวบูรพคณาจารย มีการใชวงคนตรีของวิทยาลัยรวมนําขบวน ชวยใหงานของ ชุมชนมีความสํา คั ญเปนการอนุ รักษ และสืบสานประเพณีมี ภาพประกอบแสดงวันเวลาการจัด กิจกรรมเปนหลักฐานจํานวนมาก คณะกรรมการรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ไดมา ประเมินคุณภาพการศึกษาครั้งสอง ไดเสนอจุดเดนและขอเสนอเพื่อการพัฒนาวิทยาลัยฯ เมื่อวันที่ ๒๕ มีนาคม ๒๕๔๙ มีขอเสนอ วา
4. ดานศิลปะและวัฒนธรรม “ ควรทําความเขาใจความหมายของศิลปวัฒนธรรมใหถูกตองตรง และการสราง เอกลักษณของวิทยาลัยก็ควรจะเปนเอกลักษณที่สามารถสะทอนถึงภูมิปญญาทองถิ่น วิถีชีวิตของ ชุมชนและประเพณีทองถิ่น และเอกลักษณที่สราง ควรจะเปนที่ยอมรับของชุมชนดวย” ภาควิชาการ : วิทยาลัยไดศึกษาและทําความเขาใจความหมายของคําและกิจกรรม ประกอบ ดังนี้ วัฒนธรรม หมายถึง สิ่งที่ทําความเจริญงอกงามใหแกหมูคณะ เชน วัฒนธรรมไทย,วัฒนธรรมใน การแตงกาย,วิถีชีวิตของหมูคณะ เชน วัฒนธรรมพื้นบาน,วัฒนธรรมชาวเขา :: พจนานุกรมฉบับ ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ น.๑๐๕๘ วัฒนธรรม หมายถึง วิถีชีวิตที่ที่มนุษยไดคิดสรางขึ้น โดยอาศัยการเรียนรูและสืบทอดเพื่อ แกปญหาในการดํารงอยูและตอบสนองความตองการทางรางกาย จิตใจ สังคม ปฏิบัติกันมาจนเปน ปกติวิสัย วัฒนธรรมหมูบาน หมายถึง เรื่องราวการดําเนินชีวิตของกลุมชนในหมูบานที่สะทอนให เห็นลักษณะความเปนอยูในดานตาง ๆ เชนการเลือกทําเลที่อยูอาศัย การประกอบอาชีพ การแตงกาย การแพทย ความเชื่อ ประเพณี การละเลน ศิลปกรรม เครื่องมือเครื่องใชของประชาชน ในหมูบาน ในชุมชนที่ไดสรางสรรค สั่งสมและสืบทอดกันมา ประเพณี น. สิ่งที่นิยมถือประพฤติปฏิบัติสืบ ๆ กันมาจนเปนแบบแผน ขนบธรรมเนียม หรือจารีต ประเพณี. ประเพณีนิยม น.ประเพณีของสังคมที่ถือปฏิบัติสืบทอดกันมา. :: พจนานุกรมฉบับ ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ น.๖๖๓ จารีตประเพณี น. ประเพณีที่นิยมและประพฤติกันสืบมา ถาฝาฝนถือวาเปนผิดเปนชั่ว เชน.หญิงชาย รักชอบพอกันตองสูขอแตงงาน ถาฝาฝน ถือวาผิดจารีตประเพณี . รีต แปลวาเยี่ยงอยาง,แบบแผน, เชน. เขารีต, นอกรีต จารีต ถือวาตองปฏิบัติ วิถีชีวิต น.ทางดําเนินชีวิต เชนวิถีชีวิตชาวบาน เปนสิ่งที่ควรปฏิบัติ ไมปฏิบัติก็ได วัฒนธรรม : จึงเปนสิ่งที่ดีงาม สิ่งที่เจริญ เปนการปลูกฝงสิ่งที่ดีงามใหตนเอง แกหมูคณะ สวน ประเพณี เปนพฤติกรรมของประชาชน เปนแบบแผน มีกําหนดเวลาปฏิบัติ ทั้งตัวบุคคลและสถานที่ เชนประเพณีลอยกระทง แหเทียนพรรษา ประเพณีไหวครู แหผาขึ้นธาตุ เปนตน (ชึ่งจะไดรวบรวมความหมายของวัฒนธรรมประเพณี เพื่อการศึกษาอีกครั้งหนึ่ง.) จริยธรรม : จริยธรรมคืออะไร ก็คือการที่จะทําใหชีวิตดําเนินไปดวยดี หรือหลักการดําเนินชีวิตที่ดี ประกอบดวยสามดานของชีวิต คือพฤติกรรม จิตใจ และปญญา ซึ่งจะตองเอามาประสานกันใหเปน องครวมใหได เพราะคนเราเรียนรูจากสามดานนี้มาประสานกัน แตละดานก็มีการเรียนรู (พระธรรม ปฎก ป.อ.ปยุตโต : กระบวนการเรียนรู เพื่อพัฒนาคนสูประชาธิปไตย หนา57 )
ที่มาของ วัฒนธรรม สัจธรรม จริยธรรม และเอกลักษณ ฐานและแกนสารของวัฒนธรรม วัฒนธรรมนี้ วาที่จริงก็เปนเรื่องของรูปแบบ คือสภาพที่ปรากฏขึ้นภายนอกโดยสวนมาก วัฒนธรรมที่เปนรูปปรากฏหรือเปนรูปแบบนี้ จะมีแกนสารแทจริง ก็จะตองมีตัวความจริงที่ลึกซึ้ง ลงไปรองรับ ระดับที่เปนฐาน เปนรากที่สุดไดแก สัจธรรม สัจธรรมคือตัวความจริงที่มีอยูตามธรรมดา ของธรรมชาติ สัจธรรมนี้เปนฐานเริ่มตนที่รองรับวัฒนธรรมไว ตอจากสัจธรรม ก็คือสิ่งที่เรียกวา จริยธรรม อันไดแกหลักเกณฑความดีงาม ซึ่งเปนความ จริงที่มนุษยจะตองปฏิบัติตองดําเนินการ เพื่อใหเกิดผลสําเร็จตามความเปนจริงของธรรมชาติ ความ จริงของมนุษยตองสอดคลองกับความจริงของธรรมชาติ จึงจะเกิดผลสําเร็จไดดวยดี จากนั้นจึงจะมาถึง วัฒนธรรม วัฒนธรรมซึ่งเปนรูปแบบหรือเปนวิธีปฏิบัติที่จะใหเกิดผล ตามที่มนุษยตองการ จากวัฒนธรรม ประพฤติปฏิบัติ จนติดเปนนิสัยฝงรากลึกเปน เอกลักษณ ของวัฒนธรรม เปนรูปแบบตาง ๆ อันมีลักษณะเดนตางจากสังคมอื่น เอกลักษณ เกิดขึ้นมาจากวัฒนธรรมและวิถีชีวิตของสังคมปรากฏขึ้นเปนรูปลักษณะเปน แบบแผนจําเพาะของวัฒนธรรม หรือวัฒนธรรมจําเพาะของชุมชน-สังคมและประเทศชาติ (พระธรรมปฎก ป.อ.ปยุตโต : สืบสานวัฒนธรรมไทย บนฐานแหงการศึกษาที่แท หนา ๕–๑๑) เกณฑตรวจสอบวา เปนวัฒนธรรมหรือไม? ๑. ดูวา วัฒนธรรมนั้น ตั้งอยูบนฐานแหงสัจธรรม มีเนื้อหาสาระและมีเหตุผลตามความ เปนจริงของธรรมชาติหรือไม ถาวัฒนธรรมนั้นไมมีความจริงตามธรรมชาติรองรับอยู ไมมีความ เปนเหตุเปนผล วัฒนธรรมนั้นก็ขาดฐานที่มั่นคง ไมสําเร็จผลดี และไมสามารถดํารงอยูไดยั่งยืนนาน ๒. ดูวา มีความดีงามอยูในวัฒนธรรมนั้นหรือไม รูปแบบที่ปรากฏที่เราดํารงรักษาและ ยึ ด ถื อ ปฏิ บั ติ เ ป น วิ ถี ชี วิ ต ของสั ง คมนั้ น มี ค วามดี ง าม เช น มี ก ารปฏิ บั ติ ที่ ไ ม เ บี ย ดเบี ย นตน ไม เบียดเบียนผูอื่นหรือไม คือสอดคลองกับจริธรรม ๓. ดูวา วัฒนธรรมที่เปนรูปแบบและเปนวิธีการนั้น ไดผลหรือไมและมากนอยเพียงใด ในการที่จะใหสําเร็จความตองการตามกระบวนการของธรรมชาติ ๔. ดูวา วัฒนธรรมที่เปนรูปแบบวิธีการนั้น เหมาะสมกับสภาพแวดลอมคือกาลเทศะ หรือไม เขากับยุคสมัยและถิ่นฐานบานเมืองที่เปลี่ยนแปลงไปหรือไม ถาวัฒนธรรมไมเหมาะสมไม สอดคลองกับสภาพแวดลอม ไมใหผลตามหลัก สัจธรรมและจริยธรรม วัฒนธรรมนั้นก็จะเสื่อม สลายไป
๕. ดู ว า วั ฒ นธรรมที่ เ ป น รู ป แบบนั้ น เข า กั บ ตั ว เราไหม เข า กั บ สั ง คมของเราไหม เหมาะสมกับสังคมของเราไหม กระทบตอผลประโยชนของสังคมของเราหรือเปลา เชนวัฒนธรรม จากภายนอกที่เขามา บางทีทําใหเกิดความเสียหายแกสังคมของเรา ๖. ดูวา รูปแบบวัฒนธรรมนั้นมีลักษณะที่นาชื่นชม ชวนนิยม มีความตื่นตาตื่นใจเรา ความสนใจแคไหนเพียงไรเปนสําคัญ วัฒนธรรมตางประเทศที่แผขยายเขามาและเสื่อมสลายไป อยางรวดเร็ว อยูในขอนี้ เชน วัฒนธรรมฮิบป วัฒนธรรมเครื่องดื่มและอาหารการกิน วัฒนธรรมการ แตงกายและทรงผม เปนตน ซึ่งจะไดวิเคราะหและนําเสนอในเชิงวิชาการตอไป
------------------
บรรณานุกรม พระธรรมปฎก(ประยุทธ ปยุตโต). สืบสานวัฒนธรรมไทยบนฐานแหงการศึกษาที่แท . กรุงเทพฯ : สหธรรมิก.