นิตยสารแนะน�ำแหล่งท่องเที่ยวและของดีจังหวัดสมุทรสาคร ประจ�ำปี 2563
Samut Sakhon
กราบสักการะขอพร รูปหล่อ “หลวงพ่ อรุ่ง” องค์ใหญ่ที่สุดในโลก “วัดท่ากระบือ” ต.บางยาง อ.กระทุ่มแบน จ.สมุทรสาคร
EXCLUSIVE
นายวีระศั กดิ์ วิจิตร์แสงศรี ผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรสาคร
EXCLUSIVE
ครองตน ครองคน ครองงาน
นางพั ชรินทร์ พั ดทอง ผอ.ส�ำนักงานพระพุ ทธศาสนา จังหวัดสมุทรสาคร
Vol.10 Issue 110/2020
www.issuu.com
.indd 3
17/8/2563 11:01:08
.indd 4
17/8/2563 11:34:57
ท่าไม้รสี อร์ท แอนด์ เรสเตอร์รองค์ รีสอร์ทริมแม่น�้ำท่าจีน ใกล้กรุง
ท่ า ไม้ รี ส อร์ ท เเอนด์ เรสเตอร์ ร องค์ เป็นรีสอร์ทสุดชิลล์ ติดแม่นำ�้ ท่าจีน บรรยากาศดีด๊ ี มีทั้งร้านกาแฟ ห้องอาหาร (อาหารรสชาติเด็ด) ห้ อ งจั ด เลี้ ย ง เรื อ ใหญ่ พ าล่ อ งชมแม่ น�้ ำ ท่ า จี น บ้านพักมีสองไสตล์ มีบ้านหลังพร้อมที่จอดรถ ส่วนตัวหน้าบ้าน และบ้านพักเป็นเรือ คือน�ำเรือ จริงมาท�ำเป็นห้องพัก รีสอร์ทนี้อยู่ใกล้ๆ วัดท่าไม้ และวัดท่ากระบือ
ท่าไม้รสี อร์ท แอนด์ เรสเตอร์รองค์
เลขที่ 70 หมู่ 10 ต�ำบลท่าไม้ อ�ำเภอกระทุม่ แบน จังหวัดสมุทรสาคร 74110
โทร 091 989 6868
3
1
.indd 3
13/8/2563 12:01:11
History of buddhism....
วัดท่ากระบือ กราบสักการะ ไหว้พระ ปิดทอง หลวงพ่อรุ่ง องค์ใหญ่ที่สุดในโลก วัดท่ากระบือ ประวัติ หลวงพ่อรุ่ง ติสฺสโร พอสังเขป
หลวงพ่อรุง่ เป็นบุตรคนเดียวของนายพ่วง และนางกิม พ่วงประพันธ์ เกิดวันเสาร์ แรม 8 ค�่ำ เดือน 9 ปีระกา พ.ศ. 2416 ที่ต�ำบลหนองนกไข่ อ�ำเภอกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร เมื่อเยาว์วัยบรรพชาเป็นสามเณร และได้เรียนหนังสือไทย ขอม ภาษาบาลี มูลกัจจายน์ กับ พระอุปชั ฌาย์ทบั วัดน้อยนพคุณ กรุงเทพฯ จนกระทั่งอายุ 21 ปี ได้อุปสมบทเมื่อวันเสาร์ ที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ.2437 ขึน้ 1 ค�ำ ่ เดือน 6 ปีมะเมีย โดยเจ้าอธิการบัว วั ด น้ อ ยนพคุ ณ และเจ้ า อธิ ก ารทั บ วั ด ใหม่ ท องเสน ได้ รั บ ฉายาว่ า “ติสฺสโร” หลังจากอุปสมบท ท่านได้ย้ายมาอยู่ที่วัดท่ากระบือ ซึ่งเดิม เป็นส�ำนักสงฆ์ตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2430 หลวงพ่อรุ่งท่านมีความสนใจ ในเรื่องพระเวทย์วิทยาคมเป็นอย่างมากท่านเคยเรียนวิชาจากส�ำนัก วัดปากคลองมะขามเฒ่ากับหลวงปูศ่ ขุ เรียนวิชาธาตุ ท่านยังได้ศึกษากับ หลวงปู่นาค วัดสุนทรสถิตย์, หลวงปู่ทอง วัดราชโยธา, หลวงปู่รุน วัดช้างเผือก, พระอาจารย์หล�่ำ วัดอ่างทอง, พระอาจารย์เซ่ง วัดหงส์ อรุณรัศมีและหลวงปู่ไปล่ วัดก�ำแพง ในปี พ.ศ. 2442 พระอธิ ก ารรุ ่ ง ติ สฺ ส โร ได้ ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง เป็ น เจ้าอาวาสวัดท่ากระบือ และได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ ดังนี้ - พ.ศ.2474 เป็นพระอุปัชฌาย์ - พ.ศ.2482 เป็นพระครูชั้นประทวนเป็นชื่อ พระครูรุ่ง ติสฺสโร - พ.ศ.2483 เป็นเจ้าคณะอ�ำเภอกระทุ่มแบน - พ.ศ.2489 เป็นพระครูไพโรจน์มันตาคม (พระครูชั้นโท) - พ.ศ.2494 เป็นพระครูไพโรจน์มันตาคม (ชั้นเอก) - พ.ศ.2499 เป็นพระราชาคณะมีราชทินนามว่าพระไพโรจน์วฒ ุ าจารย์ มรณภาพเมื่อวันที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2500 ตรงกับขึ้น 3 ค�่ำ เดือน 11 ปีระกา เวลา 01.05 น. รวมอายุได้ 84 ปี
อ่านต่อหน้าที่...60 4
8
SBL บันทึกประเทศไทย I สมุทรสาคร
.indd 4
18/8/2563 16:45:20
SAMUT SAKHON I SBL บันทึกประเทศไทย
8
.indd 5
5
18/8/2563 16:45:28
สุเทพ ปัญญาสาคร กรรมการผูจ้ ดั การบริษทั D Land property จ�ำกัด ผมเกิ ด และเติ บ โตที่ นี้ จึ ง มี แ นวคิ ด อยากพั ฒ นาจั ง หวั ด สมุ ท รสาคร เริ่มต้นจากการท�ำธุรกิจด้านอสังหาริมทรัพย์ ในนาม “D land group” โดยเริม่ ต้นจากโครงการรินรดา โอเรียนทอล พัฒนาเรือ่ ยมาตัง้ แต่ทาวโฮม, อาคารพาณิชย์และบ้านเดี่ยว จนพัฒนาต่อยอดมายัง Lifestyle Mall ภายใต้ชอื่ Porto Chino ภายใต้การบริหารงานของ บริษทั ดี-แลนด์ พรอพ เพอร์ตี้ จ�ำกัด เพื่อมาเติมเต็มและตอบสนองไลฟ์สไตล์ ที่จะสามารถตอบ โจทย์การใช้ชีวิตของคนสมุทรสาครและผู้ที่จะเดินทางลงสู่ภาคใต้
6-8 ad
3
E1 6
จุดเด่นด้านศักยภาพของท�ำเลทีต่ งั้ ของ Porto Chino คื อ อยู ่ บ นถนนพระราม 2 ในเขตพื้ น ที่ ข องจั ง หวั ด สมุ ท รสาคร และด้ ว ยความที่ ผ มเป็ น ลู ก หลานชาว สมุทรสาคร จึงอยากพัฒนาธุรกิจนีใ้ ห้มชี อื่ เสียงเป็นทีร่ จู้ กั เป็ น การช่ ว ยกระตุ ้ น เศรษฐกิ จ และสร้ า งรายได้ให้กับ ชาวจังหวัดสมุทรสาคร
13/8/2563 13:49:33
Porto Chino คอมมูนติ มี้ อลล์ทเี่ ป็นเสมือน the heart of your community ของคนสมุทรสาคร
จุดเด่นของ Porto chino ส�ำหรับ Porto chino แนวคิดเริ่มต้นมาจาก Concept ของความเป็นเมืองท่าค้าขายของคนไทยและจีนหรือที่เรียก กันว่าท่าจีน ในสมัยก่อน จึงเป็นที่มาของ “Porto Chino” ส่วนการออกแบบต่างๆภายในโครงการ เป็นการผสมผสาน แนวคิ ด เกี่ ย วกั บ วิ ถี ชี วิ ต ชาวประมง จึ ง น� ำ ทั้ ง สั ต ว์ น�้ ำ และ อุปกรณ์ประมงต่างๆ มาใช้ตกแต่งอาคารและบริเวณภายใน โครงการ
Porto Chino (Community ของคนสมุทรสาคร)
ความเป็น Community Mall ท�ำให้ Porto Chino มีความ แตกต่างจากห้างสรรพสินค้าทัว่ ไปในแง่ของการเข้าถึง เนือ่ งจาก รูปแบบโครงการจะมีการจัดวางอาคารร้านค้าต่างๆไว้ใกล้กบั จุด จอดรถในแต่ละโซน ท�ำให้การเข้าถึงร้านค้าของลูกค้าที่มา ใช้บริการมีความสะดวกสบายมากยิ่งขึ้น
6-8 ad
3
E1 7
Porto Chino ที่นอกจากความสะดวกในการเข้าถึง ยังตอบโจทย์ ชีวิตในหลายด้านกับความหลากหลายของร้านค้าทั้ง foodland supermarket /วราภรณ์ /Starbucks /MK /PetClub /KAMU /Yamaha /Daiso /Foodport /S&P /Watson /55wash /Kbank ด้ ว ยความเป็ น ศู น ย์ ก ารค้ า แบบเปิ ด มี Supermarket จึ ง เปิ ด 24 ชั่วโมง และยังมีร้านกาแฟ Starbucks Drive thru แห่งแรกใน ประเทศไทย
13/8/2563 13:49:45
Drive thru แบรนด์ ไทยแห่งแรก
Porto Go จุดแวะพักและเติมเต็ม ส�ำหรับนักเดินทาง ต่อยอดประสบการณ์ เราได้พฒ ั นาโมเดลธุรกิจใหม่ทชี่ อื่ ว่า “Porto Go” ทีต่ อบสนองไลฟ์สไตล์ของนักเดินทางยุคใหม่ เป็นจุดพักรถ หรือทีร่ จู้ กั กัน ในรูปแบบ “Rest Area” มีร้านค้า ร้านสะดวกซื้ออยู่ภายในโครงการ ขายอาหาร เครื่องดื่ม สินค้าอุปโภค บริโภคเป็นหลัก มีจุดเด่นด้วยสิ่ง อ�ำนวยความสะดวกต่างๆ อาทิ ห้องน�ำ้ ติดแอร์ สินค้า Drive Thru แบรนด์ ชัน้ น�ำต่างๆ ทัง้ Starbucks, KFC , McDonald นอกจากนีย้ งั มีบริการ Drive thru ของคนไทยสาขาแรกในประเทศเรา คื อ วราภรณ์ ซ าลาเปา และชาตรามื อ รวมถึ ง มี ป ั ๊ ม น�้ ำ มั น Caltex เพื่อให้เป็นจุดแวะพักและเติมเต็มส�ำหรับนักเดินทางได้อย่างสมบูรณ์ ปัจจุบัน Porto Go ได้เปิดให้บริการแล้ว 2 สาขา ที่บางปะอิน บนถนนสายเอเชีย และทีท่ า่ จีน บนถนนพระราม 2 ถัดจาก Porto Chino ไป 15 กิโลเมตร
6-8 ad
3
E1 8
13/8/2563 13:49:55
สารจากผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรสาคร ในยุคสมัยที่เปลี่ยนไปอะไรๆ ก็เปลี่ยนแปลง การบริหารจัดการที่จะช่วยอ�ำนวยประโยชน์สุขให้กับ พี่น้องประชาชนในจังหวัดสมุทรสาคร จ�ำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องปรับเปลี่ยนวิธีการในการท�ำงานใหม่ เพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์ในปัจจุบันที่ไม่หยุดนิ่ง และสนองความต้องการของพี่น้องประชาชน ได้อย่างหลากหลาย ตรงจุด ละทั่วถึง ขณะเดียวกันการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม สิ่งแวดล้อม รวมทั้งความมั่นคงของจังหวัด ก็ต้องมี ความสมดุลกับการใช้ทรัพยากรต่างๆ อย่างเหมาะสมและมีความยั่งยืน เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่ที่มี ความหลากหลาย สามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างปกติสุข ดั ง นั้ น การพั ฒ นาจั ง หวั ด สมุ ท รสาคร จึ ง เน้ น การมี ส ่ ว นร่ ว มจากทุ ก ภาคส่ ว น เพื่ อ แก้ ไขปั ญ หา ความเดือดร้อนและความต้องการของประชาชนอย่างแท้จริง
นายวีระศักดิ์ วิจิตร์แสงศรี ผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรสาคร
SAMUT SAKHON I SBL บันทึกประเทศไทย
(7
).indd 9
9
17/8/2563 9:47:08
Special Interview
SAMUT SAKHON
GOVERNOR ผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรสาคร
นายวีระศัก ดิ์ วิจิตร์แ สงศรี
ในช่วงที่เกิดสถานการณ์เชื้อไวรัส COVID-19 ระบาด เห็นได้ชัดเจนว่า ท่านผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรสาคร นายวีระศักดิ์ วิจิตร์แสงศรี ท่านเอาจริงเอาจังกับการรับมือกับโรคดังกล่าว ด้วยการประกาศกฎเหล็ก จับและปรับบุคคลที่ออกจากบ้าน โดยไม่สวมหน้ากากอนัยมัย เป็นจังหวัดแรกๆ ของประเทศ จนท�ำให้สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อ COVID-19 ในจังหวัดสมุทรสาคร คลี่คลายลงอย่างต่อเนื่อง และนี่ก็เป็นส่วนหนึ่งในการพัฒนาจังหวัดสมุทรสาคร ด้วยความห่วงใจ ใส่ใจพี่น้องประชาชน ให้มีชีวิตที่มีความสุข สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ การพัฒนาจังหวัดสู่การเป็น “เมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ เกษตรและอาหารปลอดภัย ท่องเที่ยวทางเลือกใหม่ สังคมเป็นสุข”
10
SBL บันทึกประเทศไทย I สมุทรสาคร
(7
).indd 10
17/8/2563 9:47:11
SAMUT SAKHON I SBL บันทึกประเทศไทย
(7
).indd 11
11
17/8/2563 9:47:14
12
SBL บันทึกประเทศไทย I สมุทรสาคร
(7
).indd 12
17/8/2563 9:47:15
ส�ำหรับการพัฒนาด้านศรษฐกิจและสังคม สิ่งแวดล้อม จังหวัดสมุทรสาคร ได้จัดท�ำยุทธศาตร์การพัฒนาไว้ดังนี้
เมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ เกษตรและอาหารปลอดภัย ท่องเที่ยวทางเลือกใหม่ สังคมเป็นสุข
ยุทธศาสตร์จังหวัดสมุทรสาคร ปี 2563 1. พัฒนาสภาพแวดล้อมให้เป็นเมืองน่าอยู่ อย่างยั่งยืน 2. ส่งเสริมภาคการผลิตการแปรรูปอาหาร และการบริการ สู่ตลาดสากล 3. พัฒนาคุณภาพชีวติ ส่งเสริมชุมชนเข้มแข็ง สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้
พันธกิจ 1. สร้างสมดุลสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนา อย่างยั่งยืน 2. พัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันและ สร้างมูลค่าเพิ่ม ของสินค้าเกษตร ประมง ประมงแปรรูป และการบริการ ให้ได้มาตรฐาน สากล 3. พัฒนาคุณภาพชีวติ สังคมชุมชนให้มคี วาม เข้มแข็งและด�ำรงชีวติ ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง สามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างปกติสุข
SAMUT SAKHON I SBL บันทึกประเทศไทย
(7
).indd 13
13
17/8/2563 9:47:15
เป้าประสงค์รวม 1. จังหวัดสมุทรสาครมีสภาพแวดล้อมน่าอยู่ 2. สิ น ค้ า ด้ า นการเกษตร การประมง ประมง แปรรูป และการบริการ มีมูลค่าเพิ่มขึ้น และสินค้า อุตสาหกรรมมีมาตรฐานสามารถแข่งขันในตลาดโลก 3. ประชาชนอยูร่ ว่ มกันอย่างมีความสุข และชุมชน เข้มแข็ง
แนวทางการพัฒนา 1. พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานให้ครอบคลุมทั่วถึง และได้มาตรฐาน 2. เร่งรัดฟืน้ ฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม อย่างสมดุลและยั่งยืน 3. ยกระดั บ การจั ด การสิ่ ง แวดล้ อ มและความ ปลอดภัยในพื้นที่ 4. ส่งเสริมภาคการผลิต การแปรรูปอาหาร และ ภาคอุตสาหกรรมต่อเนื่องให้ได้มาตรฐานสากล 5. เพิ่มช่องทางการตลาด การจ�ำหน่ายสินค้าและ การบริหารทั้งในและต่างประเทศ 6. ยกระดับคุณภาพและมาตรฐานแหล่งท่องเทีย่ ว และการบริหาร 7. พั ฒ นาคุ ณ ชี วิ ต และครอบครั ว ตามแนวทาง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 8. เสริมสร้างความมั่นคงและความสงบเรียบร้อย 9. สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้
14
SBL บันทึกประเทศไทย I สมุทรสาคร
(7
).indd 14
17/8/2563 9:47:20
SAMUT SAKHON I SBL บันทึกประเทศไทย
(7
).indd 15
15
17/8/2563 9:47:22
Editor's talk.indd 16
19/8/2563 11:56:34
อาหารทะเลสด ตลาดมหาชัย
สารพัดอาหารทะเล ในสไตล์ตลาดสดของที่นี่รับรองว่า ไม่เคยเห็นจากทีไ่ หนมาก่อน ตลาดอืน่ ๆ อาจจะเรียงรายไปด้วย ผักสีเขียว แต่ที่นี่จะได้เห็นกับกุ้งตัวโตๆ หมึกสีนมสด และอีก สารพัดปูปลาหอยเรียงรายกันเป็นพรืด แฟนพันธุ์แท้อาหาร ทะเลอาจจะคลั่งตายก็เป็นได้หากได้เห็นแผงหมึกทั้งกระดอง ฯลฯ ซุกตัวเรียงรายอยู่ในทุ่งน�้ำแข็งเกล็ดด้วยสนนราคาเร้าใจ จนอยากจะกินประชดทั้งแคลลอรี่และคอเรสเตอรอลกันไป ข้างหนึ่งเลยทีเดียว ในฝั่งของอาหารแห้งนั้นก็ใช่ย่อย กองกันเป็นภูเขาเลากา ให้เลือกซือ้ เลือกชัง่ ราคาค่าตัวก็ถกู น่าใจหายอีกเหมือนกันเมือ่ นึกถึงตลาดแถวบ้าน ชอบใจแบบไหนถูกใจอะไรก็เข้าไปจัดกัน ได้ตามใจชอบ เรื่องราวอันน่าอัศจรรย์อีกเรื่องของชาวตลาดมหาชัยก็คือ ในช่วงราวๆ เดือนตุลาคม น�้ำทะเลจะหนุนระดับน�ำ้ ในแม่นำ�้ ท่าจีนให้สูงขึ้นจนกระทั่งเข้าท่วมในตลาดตั้งแต่ริมแม่น�้ำไป จนถึงถนนหลักในระดับประมาณหัวเข่า บรรดาพ่อค้าแม่ขาย ต้องย้ายของหนีนำ�้ กันชุลมุน แต่ถงึ กระนัน้ ก็ยงั มีผเู้ ข้ามาจับจ่าย ซื้อของทั้งเดินลุยน�้ำไปจนกระทั่งว่ายน�้ำเข้ามาก็ยังมี
Editor's talk.indd 17
19/8/2563 11:56:37
Let’s Go Thailand With SBL บันทึกประเทศไทย
HISTORY OF THE PROVINCE
TOURIST ATTRACTIONS SBL บันทึกประเทศไทย
Let's go thailand.indd 13
www.sbl.co.th SBL MAGAZINE
THE VILLAGERS IN THE PROVINCE SBL บันทึกประเทศไทย
. - 25/11/2562 09:25:59 AM
SBL
EDITOR’S
บันทึกประเทศไทย www.sbl.co.th issue 109/2020
บริษัท สมาร์ทบิซิเนสไลน์ จ�ำกัด 9/4-6 ถนนรามอินทรา แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพฯ 10220 โทรศัพท์ : 0-2522-7171 เว็บไซต์ : www.sbl.co.th คณะผู้บริหาร คณะที่ปรึกษา : ศ.ดร.กฤช เพิ่มทันจิตต์, พลเอกสรชัช วรปัญญา, ดร.นิเวศน์ กันไทยราษฎร์, ดร.ประยุทธ คงเฉลิมวัฒน์, ดร.ชาญ ธาระวาส, ดร.สุมิท แช่มประสิท, ดร.วัลลภ อารีรบ, ดร.พิชัย ทรัพย์เกิด, ดร.ไอศูรย์ ดีรัตน์, ดร.สุเทษณ์ จันทรุกขา, ดร.อรรถสิทธิ์ ตันติวิรัชกุล
ปัณณ์ฐาโชค ธนสานสิทธิโชติ
อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์
วนัสกฤษณ์ ศิลปรังสรรค์
บรรณาธิการการตลาด นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย
บรรณาธิการอ�ำนวยการ นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย
บรรณาธิการงานบุคคล นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย
บรรณาธิการอ�ำนวยการ : อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์ บรรณาธิการงานบุคคล : พงษ์ศักดิ์ พรณัฐวุฒิกุล, วนัสกฤษณ์ ศิลปรังสรรค์ บรรณาธิการการตลาด : ปัณณ์ฐาโชค ธนสานสิทธิโชติ
สมุทรสาคร “เมืองแห่งทะเลและแม่น�้ำ” ผมไม่แปลกใจเลยครับว่าท�ำไมจังหวัดสมุทรสาคร จึงเป็นแหล่งศูนย์รวมอาหารทะเลต่างๆมากมาย ส�ำหรับนักท่องเทีย่ วทีม่ เี วลาน้อยไม่ควรมองข้าม เมืองสมุทรสาคร เพราะอยู่ใกล้กรุงเทพฯ แค่เอื้อม ใช้เวลาเพียงวันเดียวก็เที่ยวได้ครับ อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์ บรรณาธิการอ�ำนวยการ “พันท้ายนรสิงห์” นายท้ายเรือที่ทำ� หัวเรือพระที่นั่งของ “พระเจ้าเสือ” หัก ถูกบันทึกไว้ใน ประวัติศาสตร์กรุงศรีอยุธยา ปัจจุบันอนุสรณ์แสดงความความซื่อสัตย์และจงรักภักดียิ่งของพัน ท้ายนรสิงห์ที่มีต่อพระเจ้าเสือ อยู่ในเมืองสมุทรสาคร ได้ท่องเที่ยวพร้อมกับเรียนรู้ประวัติศาสตร์ ชาติไทย มีแต่ได้กับได้นะครับ
ปัณณ์ฐาโชค ธนสานสิทธิโชติ บรรณาธิการการตลาด
ถ้าขับรถลงภาคใต้ แล้วไม่ผ่าน “มหาชัย” ผมว่าหลงทางชัวร์ เพราะถ้าไม่หลงผมรับประกัน ว่าต้องผ่านทัง้ ขาไปและขากลับ แต่ถา้ ตัง้ ใจขับรถมาเทีย่ วจังหวัดสมุทรสาครแล้วไม่เลีย้ วเข้าไปช้อ ปอาหารทะเล Sea Food สดๆ ที่ตลาดมหาชัย ติดไม้ติดมือกลับบ้านด้วยล่ะก็ บอกได้เลยว่า เสียดายครับ วนัสกฤษณ์ ศิลปรังสรรค์ บรรณาธิการงานบุคคล
ฝ่ายประสานงานโครงการภาครัฐและเอกชน ผู้จัดการ : กิตติชัย ศรีสมุทร, ทวัชร์ ศรีธามาศ, อัครกฤษ หวานวงศ์, ภูษิต วิทยา คณะทีมงาน :ธนิน ตั้งธ�ำรงจิต, ถาวร เวปุละ, พุฒิธร จันทร์หอม, อมร อนันต์รัตนสุข, นิรุจน์ แก้วเล็ก, สุษฎา พรหมคีรี, พร้อมพงศ์ สืบด้วง, สรวิชญ์ อังกูรศุภเศรษฐ์ ผู้จัดการฝ่ายประสานงานข้อมูล : นันท์ธนาดา พลพวก ฝ่ายประสานงานข้อมูล : ศุภญา บุญช่วยชีพ, นลัชนันท์ เทียมเกตุทวีโชค นักเขียน : มนสิกุล โอวาทเภสัชช์ ฝ่ายศิลปกรรม ผู้จัดการฝ่ายศิลปกรรม : พัชรา ค�ำมี กราฟิกดี ไซน์ : พิมพ์พิสุทธิ์ พังจูนันท์, วรเชษฐ สมประสงค์, อนุธิดา ค�ำหล้า ช่างภาพ : ปณต ปิติจารุวิศาล, กิติวัฒน์ ทิศมั่ง วิทยา ประเสริฐสังข์, ธีระพงษ์ ธรรมเจริญ ตัดต่อวีดีโอ : วัชรกรณ์ พรหมจรรย์ ฝ่ายบัญชี / การเงิน บัญชี : ปัฐมาภรณ์ แสงบุราณ ผู้จัดการฝ่ายการเงิน : สุจิตรา แดนแก้วนิต การเงิน : ชวัลชา นกขุนทอง, สุภาวรรณ สุวรรณวงค์
SBL MAGAZINE
Editor's talk.indd 19
19/8/2563 11:56:52
110
ISSUE
สารบัญ
CONTENTS 9
SAMUT SAKHON GOVERNOR
ผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรสาคร นายวีระศักดิ์ วิจิตร์แสงศรี
24 28
38 Editor's talk.indd 20
เมืองสาครบุรี
บันทึกความเป็นมาจังหวัดสมุทรสาคร
SAMUT SAKHON PROVINCIAL OFFICE OF BUDDHISM
ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงาน พระพุทธศาสนาจังหวัดสมุทรสาคร
32
วัดเจษฎารามพระอารามหลวง
(Wat Chetsadaram Royal monastery)
19/8/2563 12:01:44
วัดปากบ่อ วัดป่ามหาไชย วัดป่าท่าทราย วัดป่าชัยรังสี วัดปัจจันตาราม วัดท่ากระบือ วัดอ้อมน้อย วัดราษฎร์ศรัทธากะยาราม วัดเทพรัตนาราม วัดสวนส้ม THE IMPORTANT TEMPLES SAMUT SAKHON
41 42 48 54 58 60 68 70 74 76 78
SAMUT SAKHON
17
Editor's talk.indd 21
20/8/2563 9:28:59
WO R K LI FE
5G พา AI มาพลิกเศรษฐกิจโลก Are you ready? จบการประมูลคลืน่ ความถี่ 5G ไปสดๆ ร้อนๆ เมือ่ วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2563 รัฐ กวาดรายได้ กว่าแสนล้านบาท การมาของเทคโนโลยีที่รวดเร็ว ย่ อ มส่ ง ผลกระทบต่ อ โครงสร้ า งของสั ง คมไปจากเดิ ม แน่ น อน เช่ น วิถีชีวิต รูปแบบท�ำงาน การศึกษา ไปจนถึงการพัฒนาและขับเคลื่อน อุตสาหกรรมในทุกมิติของไอซีที จากนี้ เ ราจะได้ เ ห็ น ภาพการเปลี่ ย นแปลงของเทคโนโลยี แบบก้าวกระโดด โดยเฉพาะการเข้ามามีบทบาทอย่างกว้างขวางของ AI หรือปัญญาประดิษฐ์ “หุ่นยนต์เปลี่ยนโลก” งานอันดับต้นๆ ที่จะโดน หุ่นยนต์ หรือ AI แย่งไปท�ำ ก็คืองานที่ท�ำซ�้ำๆ อย่างงานในโรงงาน อุ ต สาหกรรม ไปจนถึ ง สายงานด้ า นบั ญ ชี สาธารณสุ ข การตลาด กฎหมาย โรงพยาบาล พนักงานขับรถ รวมถึงงานอีกหลากหลายสาขา แล้วมนุษย์อย่างเราพร้อมแล้วหรือยังที่จะให้ AI มาท�ำงานแทน ตลกร้าย ที่เราต้องเจอแน่นอน
22
22-23
SBL บันทึกประเทศไทย I สมุทรสาคร
อนุสรณ์ สถานท้าวสุร2นารี (ย่22าโม) อ�ำเภอเมือง AEC
13/8/2563 13:52:06
Thai ฮับ 5G แหง่ อาเซี ย น นายสมคิด จาตุศรีพิทักษ์ รองนายกรัฐมนตรี ได้เดิน ทางไปยังเมืองเซินเจิ้น ประเทศจีน เพื่อเจรจาและกระชับ ความสัมพันธ์ และร่วมกันส่งเสริมนวัตกรรมระบบนิเวศ 5G และปัญญาประดิษฐ์ (AI) ในประเทศไทย พร้อม ผลั ก ดั น ให้ ป ระเทศก้ า วเข้ า สู ่ โ ลกแห่ ง อั จ ฉริ ย ะล�้ ำ สมั ย ผ่ า นโครงการต่ า งๆ ซึ่ ง สอดคล้ อ งกั บ ยุ ท ธศาสตร์ ประเทศไทย 4.0 ที่ต้องการผลักดันประเทศไทยให้เป็น ศูนย์กลางหลักของดิจิทัลฮับแห่งอาเซียน ด้วยการพัฒนา โครงสร้างพื้นฐานเพื่อรองรับเทคโนโลยี 5G และการสร้าง สรรค์สมาร์ทอีโคซิสเต็ม 5G ครบวงจร SAMUT SAKHON I SBL บันทึกประเทศไทย
22-23
AEC
2
23
23
13/8/2563 13:52:06
เมืองสาครบุรี สมุทรสาคร
จั ง หวั ดสมุท รสาคร “เมือ งแห่งทะเลและ แม่น�้ำ” เป็นเมืองเศรษฐกิจ มีศักยภาพทั้งด้าน การอุตสาหกรรม การประมง และเกษตรกรรม ถึงแม้ว่าจะเกิดวิกฤตการเงินโลก ส่งผลกระทบ ต่อความต้องการสินค้าและบริการลดลง แต่ จังหวัดสมุทรสาครยังเป็นจังหวัด 1 ใน 10 ของ จังหวัดที่มีมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมสูงมาตลอด ทางด้านประวัติศาสตร์ จังหวัดสมุทรสาคร เป็น ดินแดนที่มีความส�ำคัญและมีประวัติความเป็น มาที่น่าสนใจ มาตั้งแต่สมัยสมเด็จพระมหาจักร พรรดิแห่งกรุงศรีอยุธยา จนถึงสมัยรัตนโกสินทร์ 24
.indd 24
SBL บันทึกประเทศไทย I สมุทรสาคร
17/8/2563 10:49:44
“เมืองประมง ดงโรงงาน ลานเกษตร เขตประวัติศาสตร์”
สมัยกรุงศรีอยุธยา เดิมสมุทรสาคร ชื่อว่า “บ้านท่าจีน” เป็นชุมนุมชนขนาดใหญ่ ตัง้ อยูบ่ ริเวณอ่าวไทย ซึ่งเป็นท�ำเลที่เหมาะส�ำหรับการท�ำพาณิชย์ มาก มีเรือส�ำเภาค้าขายจากประเทศจีนมา จอดเทียบท่าเพื่อขนถ่ายซื้อขายสินค้าเป็นที่ รู ้ จั ก กั น ทั่ ว ไป จนมี ชื่ อ เรี ย กกั น ติ ด ปากว่ า “ท่าจีน” ซึ่งมีฐานะเป็นเพียงหมู่บ้านแห่ง หนึ่งเท่านั้น ในสมั ย สมเด็ จ พระมหาจั ก รพรรดิ ราชวงศ์สุพรรณภูมิ (ครองราชย์ พ.ศ. 2091 -2111) แห่งกรุงศรีอยุธยา หลังสงครามเสีย สมเด็จพระศรีสุริโยทัย พ.ศ. 2092 ได้ยก ฐานะบ้านท่าจีนเป็นเมือง “สาครบุรี” เพื่อ เป็นหัวเมืองส�ำหรับเรียกระดมพลเวลาเกิด สงคราม และเป็นเมืองด่านหน้าป้องกันข้าศึก ศัตรูที่จะเข้ามารุกรานทางทะเล ดังปรากฏ อยู่ในพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยาฉบับ พันจันทนุมาศ ฉบับพิมพ์ พ.ศ. 2507 หน้า 60 ว่า “สมเด็จพระมหาจักรพรรดิราชาธิราช ตรัสว่า ไพร่บ้านพลเมือง ตรี จัตวา ปากไต้ เข้าพระนครครั้งนี้น้อย หนีออกอยู่ป่าดง ห้วยเขาต้อนไม่ได้เป็นอันมาก ให้เอาบ้าน ท่าจีนตั้งเป็น สาครบุรี” สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 ทรงโปรดให้เปลี่ยนชื่อ “เมืองสาครบุรี” เป็น “เมืองสมุทรสาคร”
ซึง่ มีความหมายว่า “เมืองแห่งทะเลและแม่นำ�้ ” พ.ศ. 2456 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า เจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 โปรดเกล้าให้ทาง ราชการ เปลีย่ นค�ำว่า “เมือง” เป็น “จังหวัด” “เมื อ งสมุ ท รสาคร” จึ ง ได้ เ ปลี่ ย น เป็ น “จังหวัดสมุทรสาคร” ตัง้ แต่บดั นัน้ เป็นต้นมา พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 5 ทรงปฏิรูปการปกครองมีการจัด ระบบการบริหารราชการส่วนภูมิภาคเป็น มณฑลเทศาภิบาล และได้ทรงมีพระราชด�ำริ ทีจ่ ะสร้างความเจริญให้แก่ทอ้ งถิน่ โดยใช้การ ปกครองรู ป แบบ “สุ ข าภิ บ าล” จึ ง ได้ มี พระบรมราชโองการให้ยกฐานะ “ต�ำบลท่า ฉลอม” เป็น “สุขาภิบาลท่าฉลอม” เมื่อวัน ที่ 18 มี น าคม พ.ศ.2448 นั บ ว่ า เป็ น สุ ข า ภิบาลที่ตั้งขึ้นในหัวเมืองเป็นแห่งแรกของ ประเทศไทย ส่วนค�ำว่า “มหาชัย” ที่คนทั่วไปชอบ เรี ย กกั น นั้ น เป็ น ชื่ อ คลองที่ ส มเด็ จ พระ สรรเพชญที่ 8 แห่งกรุงศรีอยุธยาโปรดให้ขุด คลองลัดจากเมืองธนบุรี ไปออกปากน�ำ้ เมือง สาครบุรี แทนคลองโคกขามทีค่ ดเคีย้ ว แต่ขดุ คลองยังไม่ทันแล้วเสร็จก็ทรงสวรรคตเสีย ก่อน จนถึงรัชสมัยสมเด็จพระสรรเพชญที่ 9 (ขุนหลวงท้ายสระ) โปรดให้ขุดคลองต่อ เมื่อ แล้วเสร็จจึงได้พระราชทานนามว่า “คลอง มหาชัย” ซึ่งต่อมา บริเวณฝั่งซ้ายปากคลอง ได้เกิดชุมชนขนาดใหญ่ขึ้นชื่อว่า “มหาชัย” จึงนิยมเรียกมาตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมา SAMUT SAKHON I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 25
25
17/8/2563 10:49:44
วัดกาหลง
ต�ำบลกาหลง อ�ำเภอเมืองสมุทรสาคร
26
.indd 26
SBL บันทึกประเทศไทย I สมุทรสาคร
Everything You Need to Know About Buddhism in Thailand There are some 30,000 Buddhist temples in Thailand.
17/8/2563 10:49:49
วัดโกรกกราก
ต�ำบลโกรกกราก อ�ำเภอเมืองสมุทรสาคร
Buddhism
in Thailand
SAMUT SAKHON I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 27
27
17/8/2563 10:49:54
EXC LU SI VE I N TE RVI EW
EXC LU SI VE
SAMUT SAKHON PROVINCIAL OFFICE OF BUDDHISM นางพั ช ริ น ทร์ พั ด ทอง ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดสมุทรสาคร 28
28-31
SBL บันทึกประเทศไทย I สมุทรสาคร
อนุ4สรณ์ส28ถานท้าวสุรนารี (ย่าโม) อ�ำเภอเมือง
13/8/2563 13:56:44
ส� ำ นั ก ง า น พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า จั ง ห วั ด สมุ ท รสาคร อยู ่ ภ ายใต้ ก ารก� ำ กั บ ดู แ ลของ ส� ำ นั ก งานพระพุ ท ธศาสนาแห่ ง ชาติ และ การบริ ห ารงานของนางพั ช ริ น ทร์ พั ด ทอง ผู ้ อ� ำ นวยการส� ำ นั ก งานพระพุ ท ธศาสนา จั ง หวั ด สมุ ท รสาคร โดยปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ต าม นโยบาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจขององค์กรหลัก “องค์ ก รขั บ เคลื่ อ นกิ จ การพระพุ ท ธศาสนา สู่ความมั่นคง สังคมด�ำรงศีลธรรม น�ำสันติสุข อย่างยั่งยืน” หลักการบริหารงาน 1. ครองตน ศีล 5 (ปาณาติปาตาเวรมณีฯ อทินนาทานาเวรมณีฯ กาเมสุมิฉาจาเวรมณีฯ มุสาวาทาเวรมณีฯ และ สุราเมรยมัชปะมาทัตถา นาเวรมณีฯ) 2. ครองคน สังคหวัตถุ 4 (ทาน ปิยวาจา อัตถจริยา สมานัตตตา) 3. ครองงาน ธรรมโอวาทของสมเด็จพระ พุ ฒ าจารย์ เจ้ า อาวาสวั ด ไตรมิ ต รวิ ท ยาราม วรวิหาร “รู้หน้าที่ ท�ำตามหน้าที่ ไม่หลีกเลี่ยง หน้าที่ ไม่ท�ำเกินหน้าที่ และไม่ก้าวก่ายหน้าที่“
SAMUT SAKHON I SBL บันทึกประเทศไทย
28-31
4
29
29
13/8/2563 13:56:52
หลักการบริหารงานของ ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงาน พระพุทธศาสนาจังหวัดสมุทรสาคร คือ ครองตน ครองคน และครองงาน
ข้ อ มู ล พื้ น ฐานด้ า นพระพุ ท ธศาสนาจั ง หวั ด สมุทรสาคร 1. มีวัดทั้งสิ้น จ�ำนวน 110 วัด (มหานิกาย 98 วัด ธรรมยุต 11 วัด และอนัมนิกาย 1 วัด) 2. มี ส� ำ นั ก ปฏิ บั ติ ธ รรมฯ ตามระเบี ย บ มหาเถรสมาคม จ�ำนวน 9 แห่ง 3. มี พ ระอารามหลวง จ� ำ นวน 3 วั ด (วั ด เจษฏาราม วั ด สุ ท ธิ ว าตวรารามและ วัดป้อมวิเชียรโชติการาม) 4. มีพระจริยานิเทศก์ จ�ำนวน 2 รูป 5. มีพระบัณฑิตเผยแผ่ จ�ำนวน 1 รูป 6. มี พ ระธรรมทู ต ฝ่ า ยบริ ห าร จ� ำ นวน 10 รูป และฝ่ายปฏิบัติการ จ�ำนวน 26 รูป 7. มีพระปริยัตินิเทศก์ จ�ำนวน 5 รูป 8. มีครูแผนกบาลี จ�ำนวน 14 รูป และครู แผนกธรรม จ�ำนวน 24 รูป 9. สถานทีส่ ำ� คัญทางพระพุทธศาสนาประจ�ำ จังหวัดสมุทรสาคร ได้แก่ พุทธมณฑลจังหวัด สมุทรสาคร
30
28-31
4
สนองงานคณะสงฆ์ตามแผนยุทธศาสตร์การ ปฏิรปู พระพุทธศาสนา 20 ปี ทีก่ ำ� หนดพันธกิจ ไว้ 6 ด้าน + 1 ประกอบด้วย 1. ด้ านการปกครอง การบริ ห ารจั ด การ องค์กรอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล 2. ด้านศาสนศึกษา การจัดและการส่งเสริม การศึกษาพระปริยัติธรรม 3. ด้านศึกษาสงเคราะห์ สนับสนุนและส่ง เสริมการศึกษาสงเคราะห์แก่คฤหัสถ์ 4. ด้านเผยแผ่ การสื่อพุทธธรรมสู่สังคมให้ เกิดสันติสุข 5. ด้านสาธารณูปการ การบริหารจัดการ ศ า ส น ส ม บั ติ อ ย ่ า ง มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ แ ล ะ ประสิทธิผล
6. ด้านสาธารณสงเคราะห์ การอนุเคราะห์ และสงเคราะห์ประโยชน์ส่วนรวม 7. พัฒนาพุทธมณฑล การพัฒนาพุทธมณฑล สู่ศูนย์กลางการบริหารกิจการพระพุทธศาสนา
SBL บันทึกประเทศไทย I สมุทรสาคร
30
13/8/2563 13:56:53
วัดส�ำคัญและโดดเด่น ประกอบด้วย พระอารามหลวง จ�ำนวน 3 วัด ได้แก่ วัดเจษฏาราม พระอารามหลวง อ�ำเภอ เมืองสมุทรสาคร วัดสุทธิวาตวราราม พระอาราม หลวง อ�ำเภอเมืองสมุทรสาคร และวัดป้อมวิเชียร โชติ ก าราม พระอารามหลวง อ� ำ เภอเมื อ ง สมุทรสาคร ส่วนวัดอื่นๆ ในเขตอ�ำเภอเมือง สมุทรสาคร ได้แก่ วัดโกรกกราก วัดเกตุมดี ศรีวราราม อ�ำเภอบ้านแพ้ว ได้แก่ วัดหลักสี่ ราษฎร์สโมสร วัดราษฎร์ศรัทากระยาราม อ�ำเภอ กระทุม่ แบน ได้แก่ วัดหนองพะอง วัดท่ากระบือ วัดท่าไม้ เป็นต้น ผลการด�ำเนินงานที่โดดเด่น 1.โครงการจัดพิธเี จริญพระพุทธมนต์ ถวาย พระพรชัยมงคลแด่สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินนี าถ พระบรมราชชนนีพนั ปีหลวง พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว และ สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี ทุกวันที่ 28 ของเดือนตลอดปี (การด�ำเนินการเป็นไปด้วย ความเรียบร้อยทุกครั้ง) 2.การจัดท�ำน�้ำอภิเษก และการจัดพิธีเนื่อง ในการพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ของจังหวัด สมุทรสาครเป็นไปด้วยความเรียบร้อยและสม พระเกี ย รติ (ข้ า ราชการส� ำ นั ก งานพระพุ ท ธ ศาสนาจังหวัดสมุทรสาครได้รับการเลื่อนเงิน เดือนเพิ่มขึ้นจากโควตาจังหวัด จ�ำนวน 2 ราย)
3.โครงการบรรพชาอุปสมบท และปฏิบัติ ธรรมเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มหาวชิราลงกรณบดินทรเทพยวรางกูร เนื่องใน พระราชพิธีบรมราชาภิเษก (เป้าหมายตามมติ มหาเถรสมาคม 79 รูป มีผู้เข้าร่วมโครงการ 102 รูป) 4.โครงการสร้างความปรองดองสมานฉันท์ โดยใช้หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา (หมู่บ้าน รักษาศีล 5) ( จังหวัดสมุทรสาคร หมูบ่ า้ นสะพานด�ำ อ�ำเภอกระทุ่มแบน ได้รับการพิจารณาคัดเลือก เป็น หมูบ่ า้ นรักษาศีล 5 ต้นแบบ ประจ�ำปี 2563 ระดับภาค)
5.การจัดงานสัปดาห์ส่งเสริมการเผยแผ่ พระพุ ท ธศาสนา เนื่ อ งในเทศกาลวั น ส� ำ คั ญ ทางพระพุทธศาสนาประกอบด้วย วันมาฆบูชา วั น วิ ส าขบู ช า วั น ส� ำ คั ญ สากลของโลก วันอาสาฬหบูชา และวันเข้าพรรษา (การด�ำเนิน การเป็นไปด้วยความเรียบร้อยทุกวันส�ำคัญ) 6.การถวายความรู ้ แ ด่ พ ระสั ง ฆาธิ ก าร เรื่อง พระราชบัญญัติ กฎ กฎหมาย ระเบียบ หลักเกณฑ์ และมติต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการ ป้ อ งกั น และแก้ ไขปั ญ หาด้ า นกรรมสิ ท ธิ์ ที่ ดิ น ของวัด (วัดยื่นลิขิตขอกันเขตจัดประโยชน์เพิ่ม ขึ้นเรื่อยๆ)
SAMUT SAKHON I SBL บันทึกประเทศไทย
28-31
4
31
31
13/8/2563 13:56:54
History of buddhism....
วัดเจษฎาราม พระอารามหลวง (Wat Chetsadaram Royal monastery) พระเทพสาครมุนี (สมบูรณ์ ปญฺญาวุโธ ป.ธ.๙) เจ้าอาวาสวัดเจษฎาราม พระอารามหลวง, เจ้าคณะจังหวัดสมุทรสาคร
วัดเจษฎาราม พระอารามหลวง สร้างเมื่อ พ.ศ.2401 ไม่ปรากฏ หลั ก ฐานการสร้ า งในปี พ.ศ.2401 ในรั ช กาลพระบาทสมเด็ จ พระจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั พระอาจารย์นว่ ม จากวัดแสมด�ำ และชาวบ้าน 32
2
ได้ร่วมกันก่อสร้างวัดขึ้นมาใหม่ มีพระสงฆ์จ�ำพรรษาอยู่ตลอดมา จนถึ ง ปั จ จุ บั น เป็ น เวลาประมาณ 140 ปี และได้ ข นานนามว่ า “วัดธรรมสังเวช“ แต่ประชาชนนิยมเรียกว่า “วัดกระเจ็ด” ตามชื่อ คลองกระเจ็ด ซึ่งอยู่ทางด้านทิศตะวันออกของวัด ในราวปีวอก พ.ศ. 2439 เจ้าจอมมารดาในรัชกาลที่ 5 ได้เดินทางมายังต�ำบลมหาชัย และพั ก แรมอยู ่ บ ริ เวณวั ด นี้ ได้ ข นานนามวั ด ให้ ใ หม่ เปลี่ ย นจาก “วัดธรรมสังเวช” ว่า “วัดเจษฎาราม” มาจนตราบเท่าทุกวันนี้ วัดเจษฎาราม เป็นสถานที่ประกอบพิธีเสกน�้ำศักดิ์สิทธิ์ ทูลเกล้าฯ ถวายพระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ฯ ณ มณฑลพระราชพิ ธี ท้องสนามหลวง เมื่อวันเสาร์ที่ 5 ธันวาคม 2530 เนื่องในพระราช พิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ ในอดีตทางราชการได้ใช้ สถานที่วัดนี้หล่อรูปพันท้ายนรสิงห์และได้เชิญไปประดิษฐาน ที่ต�ำบล โคกขามเป็นสถานที่ประวัติศาสตร์ครั้งสมเด็จพระศรีสรรเพ็ชญที่ 8 (พระเจ้าเสือ) เสด็จเมืองสาครบุรี วัดเจษฎารามเป็นวัดราษฎร์สร้าง ขึ้นแต่มีความส�ำคัญด้วยเป็นสถานที่ประกอบพิธีทางศาสนาของทาง ราชการจังหวัดสมุทรสาคร มีโอกาสได้รับเสด็จพระบรมวงศานุวงศ์ สมเด็จพระสังฆราช ได้ต้อนรับพระมหาเถระหลายรูป โรงเรียน
SBL บันทึกประเทศไทย I สมุทรสาคร
E1 32
13/8/2563 13:58:12
พระปริยัติธรรมเป็นสนามสอบพระปริยัติธรรมสนามหลวงแผนก ธรรมและแผนกบาลีประจ�ำจังหวัดสมุทรสาคร ด�ำเนินกิจกรรมใน การเผยแผ่พระพุทธศาสนา รวมทั้งกิจกรรมเพื่อสาธารณประโยชน์ และสังคม เป็นวัดที่ช่วยเชิดชูพระพุทธศาสนาให้เจริญรุ่งเรืองได้รับ เกียรติยกย่อง กระทรวงศึกษาธิการจึงขอพระราชทานยกฐานะขึ้น เป็นพระอารามหลวงชั้นตรีชนิดสามัญ ตั้งแต่วันที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2531 สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยานิวัฒนาฯ ได้เสด็จฯ มาเป็นการส่วนพระองค์เสด็จขึ้นพักที่วัดเจษฎาราม พระบาทสมเด็จ
พระวชิ ร เกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว สมั ย เป็ น สมเด็ จ พระบรมโอรสาธิ ร าชฯ สยามมกุ ฎ ราชกุ ม าร ทรงเสด็ จ วั ด เจษฎาราม พระอารามหลวง ทรงเป็นประธานประกอบพิธีเททองหล่อพระเกตุ “พระศรีสาคร ภูมิบาลประทานธรรมสุทัศน์” วันที่ 25 เมษายน 2554 เป็นสถานที่ อุปสมบทเฉลิมพระเกียรติ อุปสมบทถวายพระราชกุศล เป็นสถานที่ ถวายไม้ จั น ท์ สมเด็ จ พระเจ้ า พี่ น างเธอ เจ้ า ฟ้ า กั ล ยาณิ วั ฒ นา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และถวายไม้จันท์พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวรัชการที่ 9 และจัดกิจกรรมของคณะสงฆ์ตลอดมา SAMUT SAKHON I SBL บันทึกประเทศไทย
2
E1 33
33
13/8/2563 13:58:15
จุดชมวิวปลาโลมา สะพานแดง
สะพานแดง ตั้งอยู่ที่หมู่ 8 ต�ำบลพันท้ายนรสิงห์ อ�ำเภอ เมืองสมุทรสาคร แลนด์มาร์คส�ำคัญของเมืองสมุทรสาคร อีก แห่งหนึ่ง เพราะนอกจากวิวสะพานสีแดงจัด(ปลัดบอก) จะ สวยงาม ยังเป็นจุดชมวิวพระอาทิตย์ตกและพระอาทิตย์ขึ้นที่ งดงาม หรือจะเดินเล่น เดินชิลล์ๆ รับลมทะเล ถ้าโชคดีอาจจะ ได้เห็นปลาโลมา ออกมาอวดโฉมให้ได้ชมกันอีกด้วย 34
.indd 34
SBL บันทึกประเทศไทย I สมุทรสาคร
19/8/2563 12:13:18
SAMUT SAKHON I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 35
35
19/8/2563 12:13:18
Buddhism วัดนางสาว
ต�ำบลท่าไม้ อ�ำเภอกระทุ่มแบน
36
.indd 36
in Thailand
SBL บันทึกประเทศไทย I สมุทรสาคร
17/8/2563 10:50:24
Everything You Need to Know About Buddhism in Thailand There are some 30,000 Buddhist temples in Thailand.
วัดสุทธิวาตวราราม
ต�ำบลท่าฉลอม อ�ำเภอเมืองสมุทรสาคร
SAMUT SAKHON I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 37
37
17/8/2563 10:50:29
วัดหนองพะอง
ต�ำบลสวนหลวง อ�ำเภอกระทุ่มแบน
ศาลเจ้าพ่ อมัจฉาณุ
ต�ำบลพั นท้ายนรสิงห์ อ�ำเภอเมืองสมุทรสาคร
38
.indd 38
Buddhism
in Thailand
SBL บันทึกประเทศไทย I สมุทรสาคร
17/8/2563 10:50:36
“หลวงพ่ อโตวัดหลักสี่ฯ”
วัดหลักสี่ราษฎร์สโมสร ริมคลองด�ำเนินสะดวก อ�ำเภอบ้านแพ้ ว
Everything You Need to Know About Buddhism in Thailand There are some 30,000 Buddhist temples in Thailand.
.indd 39
SAMUT SAKHON I SBL บันทึกประเทศไทย
39
17/8/2563 10:50:41
วัดหลักสี่ราษฎร์สโมสร ริมคลองด�ำเนินสะดวก อ�ำเภอบ้านแพ้ ว
Buddhism
in Thailand
40
.indd 40
SBL บันทึกประเทศไทย I สมุทรสาคร
17/8/2563 10:50:50
History of buddhism....
วัดปากบ่อ
ตั้งอยู่เลขที่ 28 หมู่ที่ 4 ตำ�บลชัยมงคล อำ�เภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร 74000
พระครูวิมลธรรมภาณี ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดปากบ่อ
วัดปากบ่อ วัดเก่าแก่อายุกว่า 140 ปี ด้วยท�ำเลที่ตั้งเป็นถิ่นของ ชาวมอญ ท�ำให้วัดแห่งนี้เป็นวัดที่ชาวมอญนิยมมาประกอบพิธีทาง ศาสนา เป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจของชาวมอญในพื้นที่ใกล้เคียง ความสวยงามและลักษณะเด่นของวัดปากบ่อ ตัวเจดีย์ด้านหน้า มีความสวยงามในแบบสถาปัตย์มอญชัดเจน และยังมีโบสถ์ที่สร้าง จากไม้สักทองแท้ ๆ หน้าต่างมีภาพแกะสลักสามมิติบอกเล่าเรื่องราว ของวรรณคดีไทย ภายในโบสถ์มพี ระประธาน 2 องค์ คือ หลวงพ่อใหญ่ สรรเพชร ศรีชัยมงคล และ พระประธานขัดสมาธิ ซึ่งเป็นที่นับถือ ของชาวสมุทรสาคร SAMUT SAKHON I SBL บันทึกประเทศไทย
1
41
41
13/8/2563 13:59:26
History of buddhism....
วัดป่ามหาไชย วัดป่ามหาไชย สำ�นักปฏิบัติธรรมประจำ�จังหวัดสมุทรสาคร (ธรรมยุต) แห่งที่ 1
พระครูสิริสุตวราภรณ์ (ประกอบ ธมฺมชีโว) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดป่ามหาไชย
กว่าจะเป็นวัดป่ามหาไชย วัดป่ามหาไชย ส�ำนักปฏิบัติธรรมประจ�ำจังหวัดสมุทรสาคร (ธรรมยุต) แห่งที่ 1 วัดป่ามหาไชย จังหวัดสมุทรสาคร ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2533 เป็ น วั ด แบบส� ำ นั ก สงฆ์ ประกาศตั้ ง วั ด ในพระพุ ท ธศาสนา โดยกระทรวงศึกษาธิการ ตามความเห็นชอบของมหาเถรสมาคม 42
6
เมื่ อ วั น ที่ 30 สิ ง หาคม พ.ศ.2536 อยู ่ ใ นเขตปกครองภาค 14 (ธรรมยุ ต ) ตั้ ง อยู ่ ห ่ า งจาก เขตเทศบาล จั ง หวั ด สมุ ท รสาคร 13 กิโลเมตร ห่างจากถนนพระรามที่ 2 (ธนบุรี-ปากท่อ) 5 กิโลเมตร ทีช่ อื่ ว่า “วัดป่ามหาไชย” พระมหาประกอบ ธมฺมชีโว ผูใ้ ห้กำ� เนิดวัด มี เจตนาสร้ า งวั ด ให้ เ ป็ น วั ด ป่ า ยึ ด ถื อ แนวปฏิ บั ติ ฝ ่ า ยอรั ญ ญวาสี วิปัสสนาธุระ ประจ�ำจังหวัดสมุทรสาคร อนึ่ง ค�ำว่า “วัดป่ามหาไชย” เป็นมงคลนามของวัด เป็นสถานที่ เหมาะแก่การประพฤติวัตร ปฏิบัติธรรมเพื่อเอาชนะกิเลสทั้งหลาย อันเป็นความชนะยิ่งใหญ่เหนือความชนะทั้งปวง ในปี พ.ศ.2555 โดยความเห็นชอบของมหาเถรสมาคม จัดตั้งให้ วั ด ป่ า มหาไชยเป็ น ส� ำ นั ก ปฏิ บั ติ ธ รรมประจ� ำ จั ง หวั ด สมุ ท รสาคร (ธรรมยุต) แห่งที่ 1
SBL บันทึกประเทศไทย I สมุทรสาคร
42
13/8/2563 14:01:05
ประวัติ เจ้าอาวาส พระครู สิ ริ สุ ต วราภรณ์ (ประกอบ ธมฺ ม ชี โ ว) นามสกุ ล โคตรสมบัติ เกิดวันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ.2503 ตรงกับวันเสาร์ แรม 8 ค�่ำ เดือน 8 ปีชวด เวลา 08.00 น. ที่บ้านเลขที่ 19 หมู่ที่ 10 บ้ า นหนองทองหลาง ต� ำ บลหนองหิ น อ� ำ เภอยโสธร จั ง หวั ด อุบลราชธานี ปัจจุบันเป็น อ�ำเภอเมืองยโสธร จังหวัดยโสธร (พ.ศ. 2515) จบการศึกษาชั้นประถมปีที่ 4 จากโรงเรียนบ้านหนองหิน อ�ำเภอยโสธร จังหวัดอุบลราชธานี บรรพชา เป็นสามเณรเมื่ออายุ 13 ปี ที่อุโบสถวัดศรีธรรมมาราม (วั ด สร่ า งโคก) อ.เมื อ งยโสธร จ.ยโสธร พระครู อ มรวิ สุ ท ธิ์ (พวง สุขินฺทฺริโย) เป็นพระอุปัชฌาย์ เมื่อวันที่ 19 เมษายน พ.ศ.2516 อุปสมบท เมื่ออายุ 20 ปี (บวชต่อจากสามเณร) ณ พัทธสีมา วัดโพธิสมภรณ์ อ.เมืองอุดรธานี จ.อุดรธานี โดยมีพระเทพเมธาจารย์ (จันทร์ศรี จนฺททีโป) เป็นพระอุปัชฌาย์ เมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2523 จบการศึกษาเปรียญธรรม 5 ประโยค นักธรรมชั้นเอก จากศูนย์ บาลีศึกษาอีสาน ภาค 1,9,10,11 (ธรรมยุต) วัดโพธิสมภรณ์จังหวัด อุดรธานี พ.ศ.2524 จ�ำพรรษาที่วัดบรมนิวาส กรุงเทพมหานคร พ.ศ.2525 – 2528 ได้ก่อตั้งศูนย์อบรมภาวนา สิริจนฺโท วัดบรมนิวาส ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดป่าชัยรังสี วันที่ 28 พฤษภาคม พ.ศ.2528 – วันที่ 29 มิถุนายน พ.ศ.2533 รวมเวลา 5 ปี ให้ก�ำเนิดวัดป่ามหาไชย และด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส ตั้งแต่ วันที่ 29 มิถุนายน พ.ศ.2533 – ปัจจุบัน SAMUT SAKHON I SBL บันทึกประเทศไทย
6
43
43
13/8/2563 14:01:10
กราบสรีระสังขารหลวงปู่ครูบาธรรมชัย ในดินแดนพระนิพพาน
History of buddhism....
โบสถ์มหาอุด
44
6
SBL บันทึกประเทศไทย I สมุทรสาคร
44
13/8/2563 14:01:11
ว ตาม เดิมม อยู่ต นาน หมู่บ
พระพุทธองค์แสนล้านมหาไชยมงคล SAMUT SAKHON I SBL บันทึกประเทศไทย
6
45
45
13/8/2563 14:01:12
ศึกษาธรรม น�ำปฏิบัติ พัฒนาจิต คิดค้นทางพ้นทุกข์ แนวทางการปฏิ บั ติ ธ รรม เดิ น ตามหลั ก ปฏิ ป ทาพระธุ ด งค กรรมฐานสายท่านพระอาจารย์มั่น ภูริทตฺโต ตามที่พระมหาประกอบ ธมฺมชีโว เจ้าอาวาสวัดป่ามหาไชย ได้มี ความตั้งใจเพื่อที่จะเผยแผ่พระธรรมค�ำสอนของพระบรมศาสดา โดย การเปิดให้พระภิกษุ สามเณร พุทธศาสนิกชนได้มีสถานที่ในการ ปฏิบัติธรรม เพื่อเป็นแนวทางในการด�ำเนินชีวิตต่อพุทธศาสนิกชน ได้มีหลักในการเริ่มต้นศึกษาธรรม ปฏิบัติธรรมน�ำไปสู่การพัฒนา จิตใจและเห็นหนทางแห่งการพ้นทุกข์โดยแท้จริง ตามหลักธรรมของ องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า และได้ยึดหลักปฏิปทา พระธุดงค กรรมฐานตามสายท่านพระอาจารย์มั่น ภูริทัตฺโต โครงการบรรพชาอุปสมบท วัดป่ามหาไชย เล็งเห็นความส�ำคัญของพระภิกษุ ที่มีต่อการด�ำรง อยู่ของพระพุทธศาสนา จึงได้จัดโครงการ “บรรพชาอุปสมบทเพื่อ สืบทอดอายุพระพุทธศาสนา” เพื่อเปิดโอกาสให้พุทธศาสนิกชนได้ เข้ามาบรรพชาอุปสมบท เพื่อจะได้เรียนธรรม ศึกษาธรรม ปฏิบัติ ธรรมและเผยแพร่ธ รรม ตามหลัก พระธรรมวิ นั ย ขององค์ ส มเด็ จ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ผู้ประสงค์เข้าร่วมโครงการไม่เสียค่าใช้จ่ายตลอดโครงการ 46
6
SBL บันทึกประเทศไทย I สมุทรสาคร
.indd 46
19/8/2563 10:04:36
การสงเคราะห์สังคม (บวร บ้าน วัด โรงเรียน เพื่อส่งต่อสังคมดีๆ ให้สังคม) พระอาจารย์มหาประกอบ ธมฺมชีโว ได้เล็งเห็นความส�ำคัญต่อการช่วยเหลือ สงเคราะห์ ด้านต่างๆ เพื่อที่จะให้เกิดการพัฒนาสถาบันทางสังคม ไม่ว่าจะเป็น สถาบันครอบครัว, เศรษฐกิจ, การศึกษา และศาสนา เช่น การสร้างอาคารเรียน มอบเครื่องอุปโภค บริโภค มอบทุนการศึกษาให้กับนักเรียน มอบรถฉุกเฉิน, รถเอกซเรย์ดิจิตอล, ข้าวสารให้กับโรงพยาบาล และมอบข้าวสารเพื่อเลี้ยงดู สุ นั ข จรจั ด รวมแล้ ว ในแต่ ล ะเดื อ น เป็ น ค่ า ใช้ จ ่ า ยที่ สู ง พอสมควร อี ก ทั้ ง พระอาจารย์ยังให้ความส�ำคัญต่อการพัฒนาบุคลากร เพื่อให้สังคมชุมชนได้มี บุคลากรที่ปฏิบัติหน้าที่ต่อสังคมได้อย่างดีและมีความซื่อสัตย์ วัดป่ามหาไชย และศิษยานุศิษย์ ร่วมกันส่งต่อสิ่งดีๆ เหล่านี้นับว่าเป็นเวลา 20 กว่าปี และจะมี กิจกรรมเช่นนี้เรื่อยไป ที่อยู่ : วัดป่ามหาไชย ส�ำนักปฏิบัติธรรมประจ�ำจังหวัดสมุทรสาคร (ธรรมยุต) แห่งที่ ๑ 50/3 หมู่ 7 ต�ำบลบ้านเกาะ อ�ำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร โทร : 085-379-5589 Website : www.watpamahachai.org Facebook : www.facebook.com/watpamahachai Youtube : วัดป่ามหาไชย ส�ำนักปฏิบัติธรรม SAMUT SAMUT SAKHON SAKHON II SBL SBL บับันนทึทึกกประเทศไทย ประเทศไทย
6
47
47
13/8/2563 14:01:38
History of buddhism....
วัดป่าท่าทราย พระครูประจักษ์ วรญาณ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดป่าท่าทราย
วัดป่าท่าทราย ตั้งอยู่ที่บ้านท่าทราย เลขที่ 24/2 หมู่ที่ 5 ต�ำบล ท่าทราย อ�ำเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร อยูต่ ดิ แม่นำ�้ ท่าจีน ซึ่งเป็นแม่น�้ำใหญ่ที่ไหลผ่านหลายจังหวัดของภาคกลางไปลงทะเลที่ ปากอ่ า วจั ง หวั ด สมุ ท รสาคร ทางเข้ า วั ด อยู ่ เชิ ง สะพานท่ า จี น ข้ า ง วัดกลางอ่างแก้ว ห่างจากถนนพระราม 2 ประมาณ 1 กิโลเมตร วั ด มี บ รรยากาศ ที่ ส งบเงี ย บร่ ม รื่ น ด้ ว ยแมกไม้ อยู ่ ติ ด ถนนใหญ่ ลมทะเลพัดผ่านเย็นสบายเหมาะแก่การปฏิบัติธรรม 48
SBL บันทึกประเทศไทย I สมุทรสาคร
6
.indd 48
ในอดีตก่อนจะมาเป็นวัดป่าท่าทรายนั้น เดิมเป็นวัดร้าง 2 วัด อยู่บริเวณเดียวกัน คือวัดใหม่ลั่นทม และ วัดช่องสะเดาร้าง ซึ่งเป็น วัดโบราณมีอายุนานหลายร้อยปี ในการต่อมาได้กลายเป็นวัดร้างไม่มี ภิกษุจำ� พรรษามาเป็นเวลาช้านาน จนไม่มศี าสนสถานใดๆ หลงเหลืออยู่ จะมีแต่พระพุทธรูปเก่าซึ่งไม่สมบูรณ์หักเป็นท่อนๆ จ�ำนวนหนึ่ง เมื่อปีพุทธศักราช 2528 พระอาจารย์สมบัติ อินทวังโส (พระครู ประจักษ์วรญาณ) ในขณะนั้นท่านเป็น เจ้าอาวาสวัดป่าศรีดอนเงิน และเป็นเจ้าคณะต�ำบลเสอเพอ-ห้วยกิ้ง อยู่ที่อ�ำเภอกุมภวาปี จังหวัด อุดรธานี ได้รุกขมูลนาปฏิบัติธรรม (ธุดงค์วัตร) ในบริเวณวัดร้างแห่งนี้ ท่านได้พิจารณาเห็นว่าเป็นศาสนสถานที่เหมาะสมที่จะบูรระขึ้นมา ใหม่ให้เป็นวัดป่าเพื่อประโยชน์แก่พระพุทธศาสนาสืบไป จึงได้ทำ� การ บูรณะก่อสร้างเสนาสนะต่างๆ ขึ้นมาใหม่โดยในระยะแรกได้รับความ อนุเคราะห์จากมูลนิธิพุทธบูชา ของคุณหมอนเรนทร์ ทิพย์ประพันธ์ และ จากสาธุชนชาวสมุทรสาครและกรุงเทพมหานคร ได้ร่วมแรง ร่ ว มใจกั น สร้ า งขึ้ น เพื่ อ ให้ เ ป็ น วั ด ป่ า สาสยปฏิ บั ติ ต่ อ มาคื อ วัดป่าท่าทราย
19/8/2563 10:07:48
ในปัจจุบันนี้ ทางวัดได้มีการก่อสร้างเสนาสนะ ต่างๆ อย่างพร้อมมูล และได้ขอยกวัดร้างขึ้นเป็นวัด มีพระสงฆ์อยู่ประจ�ำ และได้รับอนุญาตเป็นวัดที่ถูก ต้องตามระเบียบมหาเถรสมาคม และกรมการศาสนา ได้ประกาศยกขึ้นเป็นวัดที่พระสงฆ์อยู่ประจ�ำในปี พุ ท ธศั ก ราช 2531 และได้ ข อรั บ พระราชทาน วิสุงคามสีมาในปีพุทธศักราช 2539 ต่อมามีพระภิกษุ อยู่จ�ำพรรษาหลายรูปมิได้ขาดและได้รับการเปลี่ยน จากวั ด ร้ า งเป็ น วั ด ป่ า ท่ า ทราย เมื่ อ ปี พุ ท ธศั ก ราช 2541 ซึ่งทางคณะผู้ปกครองจึงได้แต่งตั้งให้พระครู ประจักษ์ วรญาณ เป็นเจ้าอาวาส ตั้งแต่ปีพุทธศักราช 2541 จนถึงปัจจุบัน SAMUT SAKHON I SBL บันทึกประเทศไทย
6
.indd 49
49
19/8/2563 10:07:54
History of buddhism....
พระนอนปางไสยาสน์ วัดป่าท่าทราย ขนาดความยาว 42 เมตร สูง 7 เมตร
ขอเชิญพุทธศาสนิกชน กราบไหว้ขอพร พระนอนปางไสยาสน์ และร่วมสร้างเส้นทางบุญ กับวัดป่าท่าทราย โดยตรงกับท่านเจ้าอาวาส ชื่อบัญชี พระครูประจักณ์ วรญาณ ธนาคารไทยพาณิชย์สาขานิคมอุตสาหกรรมมหาชัย เลขที่บัญชี 838 242 0699 50
SBL บันทึกประเทศไทย I สมุทรสาคร
6
.indd 50
ขอให้ทุกท่านจงเจริญทั้งทางโลกและทางธรรม
19/8/2563 10:07:54
ว ตาม เดิมม อยู่ต นาน หมู่บ
SAMUT SAKHON I SBL บันทึกประเทศไทย
6
.indd 51
51
19/8/2563 10:07:54
ปูชนียวัตถุ ที่ส�ำคัญภายในวัดป่าท่าทราย
52
6
SBL บันทึกประเทศไทย I สมุทรสาคร
52
13/8/2563 14:04:47
สิ่งส�ำคัญภายในบริเวณวัดป่าท่าทราย
SAMUT SAKHON I SBL บันทึกประเทศไทย
6
53
53
13/8/2563 14:05:03
History of buddhism....
วัดป่าชัยรังสี วัดป่าชัยรังสีเป็นวัดที่ร่มรื่น สงบ
พระครูศรีปริยัติวิธาน (พระมหาแม้น คุปตรํสี ) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดป่ารังสี
วัดป่าชัยรังสี ตั้งอยู่เลขที่ 130 หมู่ 4 ต�ำบลบ้านเกาะ อ�ำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร ได้รับอนุญาตสร้างวัดเมื่อ วันที่ 24 มีนาคม 2526 ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ ให้ตั้งวัดในพระพุทธศาสนา เมื่อวันที่ 30 มกราคม 2530 และได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา ขนาดกว้าง 40 เมตร ยาว 80 เมตร เมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม 2530 การเดินทาง จากมหาชัย เดินทางไปตามถนนเศรษฐกิจ (ทางหลวงหมายเลข 54
4
3091) ประมาณ 5 กิโลเมตร แล้วแยกซ้ายบริเวณหลักกิโลเมตรที่ 16 (ตรงข้ า มสถานี ไ ฟฟ้ า ย่ อ ย) เข้ า ไปประมาณ 2.5 กิ โ ลเมตร แล้วเลี้ยวขวาประมาณ 500 เมตร ก็จะถึงวัดป่าชัยรังสี เป็นวัดที่มี รูปแบบสถาปัตยกรรมที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวคล้ายกับปราสาทหิน ทางภาคอีสาน มีการน�ำรูปแบบสถาปัตยกรรมขอม มาตกแต่ง เช่น มีรูปปั้นพญานาคขนาดใหญ่โอบล้อมพระอุโบสถและพระวิหารบุรพ สยามรังสี ที่ประตูทางเข้าสร้างเป็นพญานาคห้าเศียรและเจ็ดเศียร อาคารพระอุโบสถมีสองชั้น ผนังชั้นล่างก่อด้วยหิน ส่วนชั้นบนเป็น ไม้เนื้อแข็งชั้นดี มีหลังคาซ้อนลดหลั่งลง แทนช่อฟ้าอย่างที่เคยเห็น ตามวัดทั่วไป ภายในพระอุโบสถตั้งแต่ที่ผนังด้านหลังพระประธาน มีท่อนซุงขนาดใหญ่ใช้เป็นฐานพระประธาน ใช้ส�ำหรับประกอบ สังฆกรรมของสงฆ์
SBL บันทึกประเทศไทย I สมุทรสาคร
E1 54
13/8/2563 14:08:59
ความเป็นมา พ.ศ.2524 พระราชวุ ฒ าจารย์ (ดุ ล ย์ อตุ โ ล) วั ด บู ร พาราม จ.สุรินทร์ ได้รับมอบถวายที่ดิน จ�ำนวน 25 ไร่ จากศรัทธาอันสูงยิ่ง ของนางสาวบุญศรี บุญเสริม ที่มีต่อท่านหลวงปู่ เนื่องในโอกาส ท�ำบุญคล้ายวันเกิดของท่าน ณ วัดบูรพาราม ต่อมาท่านจึงมอบที่ดิน ดังกล่าวนี้แก่ พระเทพสิทธิญาณรังสี (พระอาจารย์จันทร์ คเวสโก) เพื่อให้เป็นผู้ด�ำเนินการสร้างให้เป็นวัดปฏิบัติแบบพระกรรมฐาน อันนับเนือ่ งในปฏิปทาของท่านพระอาจารย์มนั่ ภูรทิ ตั โต เป็นวัดปฏิบตั ิ มีการฝึกอบรมจิตภาวนา หลวงปู่ดุลย์ ด�ำริว่าการสร้างวัดควรสร้าง คนควบคู่กันไปกับวัตถุนั้น คือ ควรให้เน้นหนักทั้งสองด้าน การปฏิบัติ ศาสนาจึงจะได้ผลพร้อมกับมอบปัจจัยเป็นทุนเริ่มต้นในการด�ำเนิน การสร้างวัดแก่พระอาจารย์จันทร์ คเวสโก พ.ศ. 2525 ซึ่งตรงกับวันที่ 25 เมษายน อันตรงกับวันประกอบ พระราชพิธีฉลองกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี พระพุทธพจนวราภรณ์ (สมเด็จพระพุทธปาพจนบดี วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม) เป็น ประธานวางศิลาฤกษ์อโุ บสถพระพุทธภูมริ งั สี ซึง่ เป็นสถานทีป่ ระกอบ สังฆกรรม ส�ำหรับพระสงฆ์ ได้จัดสร้างเป็นอาคาร 2 ชั้น ชั้นล่าง ก่อด้วยหินถือปูน ชั้นบนท�ำด้วยไม้กว้าง 25 เมตร ยาว 60 เมตร พ.ศ. 2527 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯ ทรงประกอบพิธีเททองหล่อพระประธานประจ�ำอุโบสถและ พระราชทานมงคลนามว่า “พระพุทธชัยรังสีมงคล-ทศพลมหากรุณา
สาคร” อันมีความหมายว่า พระพุทธเจ้าผู้ทรงพระญาณอันเปี่ยมพลัง ทรงมี พ ระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ แผ่ ไ พศาลดั ง มหาสาคร และทรง พระราชทานมงคลนามอุโบสถว่า “อุโบสถพระพุทธภูมิรังสี” เพื่อให้ เป็นอนุสรณ์แห่งความเจริญมั่นคงยิ่งโดยธรรมแห่งแผ่นดินไทยอัน เป็นเสมือนหนึ่งเป็นพุทธภูมิ ได้สร้างต�ำหนักสมเด็จพระสังฆราชขึ้น 1 หลัง กุฏิเรือนไทย เพื่อเป็นที่พักแก่พระภิกษุสามเณร 12 หลัง กุฏิคณะญาติธรรมเนรมิตรังสี 6 หลัง พ.ศ. 2530 ได้สร้างวิหารบูรพสยามราชรังสี (มหาวิหารหลวง สก.) ไว้ เ ป็ น ที่ ส� ำ หรั บ ประชุ ม สงฆ์ และประกอบพิ ธี โ ดยสมเด็ จ พระอริยวงษาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราชสกลมหาสังฆปรินายก (วาสน์วาสนมหาเถร) วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามเสด็จมาเป็นองค์ ประธานวางศิลาฤกษ์ ได้จัดสร้างเป็นอาคาร 2 ชั้น ชั้นล่างภายใน ตกแต่งด้วยหินอ่อน ชั้นบนภายในท�ำด้วยไม้กว้าง 50 เมตร ยาว 100 เมตร ภายในเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ประจ�ำวัด คือ หลวงพ่ อ ใหญ่ ชั ย รั ง สี เป็ น พระพุ ท ธรู ป ทรงเครื่ อ งปางมารวิ ชั ย พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว และสมเด็ จ พระนางเจ้ า พระบรม ราชินีนาถได้พระราชทานผ้าสะไบคลุมองค์พระเพื่อเป็นพุทธบูชา สิ่งศักดิ์สิทธิ์ประจ�ำวิหารอีกประการหนึ่งคือ พระบรมสารีริกธาตุของ องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ซึ่งได้รับประทานมาจากสมเด็จ พระญาณสงวรสมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายกเมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม 2552 SAMUT SAKHON I SBL บันทึกประเทศไทย
4
E1 55
55
13/8/2563 14:09:07
กราบสรีระสังขารหลวงปู่ครูบาธรรมชัย ในดินแดนพระนิพพาน
History of buddhism....
56
4
SBL บันทึกประเทศไทย I สมุทรสาคร
E1 56
13/8/2563 14:09:09
ว ตาม เดิมม อยู่ต นาน หมู่บ
ภายในพระวิหารได้วาดภาพของบูรพาจารย์ในอดีตทั่วเมืองไทย ซึ่ ง ปฏิ บั ติ ดี ป ฏิ บั ติ ช อบไว้ เ พื่ อ ให้ พุ ท ธศาสนิ ก ชนได้ สั ก การบู ช า ประดั บ ตกแต่ ง ด้ ว ยตู ้ มุ ก มี เ ครื่ อ งเบญจรงค์ ล ายครามโบราณที่ พุทธศาสนิกชนน�ำมาถวายจัดแสดงไว้ และเสาแต่ละต้นประดับด้วย แจกันเบญจรงค์ขนาดใหญ่จากประเทศจีนซึ่งมีคณะศรัทธาสาธุชน ได้น�ำมาบูชา ไว้จ�ำนวนมาก มหาวิหารแห่งนี้เปิดให้ประชาชนได้เข้า ชมและสการะขอพรสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทุกวันตั้งแต่เวลา 07.00-17.00 น. พ.ศ. 2532 สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังราชสกลมหา สังฆปรินายก (เจริญ สุวฑฒโน) วัดบวรนิเวศวิหารเสด็จมาเป็นองค์ ประธานวางศิลาฤกษ์สร้างโรงเรียนพระปริยัติธรรม จ�ำนวน 3 หลัง เพื่อใช้เป็นที่ศึกษาพระธรรมวินัยของพระภิกษุสามเณร ปัจจุบันได้ เปิดใช้อาคาร สธ. เพื่อเป็นที่ศึกษาของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย (มหาวิทยาลัยสงฆ์) ได้เปิด การศึกษาระดับอุดมศึกษาในวัดเพื่อให้ประชาชนได้มีโอกาสศึกษา หาความรู้ท้ังทางโลกและทางธรรม เป็นสถาบันการศึกษาระดับ อุ ด มศึ ก ษาของรั ฐ เปิ ด การสอนแก่ นั ก ศึ ก ษาทั้ ง ที่ เ ป็ น พระภิ ก ษุ สามเณรและประชาชนทั่วไป โดยมุ่งผลิตให้เป็นบัณฑิตที่มีคุณภาพ ทางวิชาการ และสร้างเสริมคุณธรรมของบัณฑิต ให้เป็นผู้สามารถ ด� ำ รงอยู ่ ร ่ ว มในสั ง คมได้ อ ย่ า งเป็ น สุ ข โดยการด� ำ เนิ น งานของ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตสิรินธรราชวิทยาลัย มี พระครูศรีปริยัติวิธาน เจ้าอาวาส เป็นหัวหน้าโครงการ และสร้าง กุฏิคุวานันท์เป็นส�ำนักงานกลางของวัด พ.ศ. 2550 วันที่ 29 สิงหาคม พระเจ้าวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าโสม เสาวลีพระวรราชาธินัดดามาตุ เสด็จมาทรงประกอบพิธีเททองหล่อ พระนาคปรกองค์ใหญ่ที่สุดประจ�ำวัด
สถานที่ส�ำคัญในวัด • พระอุโบสถ, พระวิหารบุรพสยามรังสี, โรงทานโพธินันทรังสี, โรงเรียนพระปริยัติธรรม, กุฏิหอโสสราชรังสี, กุฏิสงฆ์, ปลูกป่าไม้, สระน�้ำ, ซุ้มประตูวัด, หอระฆัง, บริเวณวัดโดยรวม สิ่งศักดิ์สิทธิ์ประจ�ำวัด • หลวงพ่อใหญ่ชัยรังสี (ที่พระวิหาร) • สมเด็จพระพุทธชัยรังสี (ที่พระอุโบสถ) • พระบรมสารีริกธาตุ (ที่พระวิหาร) วัดป่าชัยรังสีมีเจ้าอาวาสตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบันตามล�ำดับดังนี้ ๑. พระมหาประกอบ ธมฺมชีโว (พระครูสิริสุตวราภรณ์) ๒. พระเทพสิทธิญาณรังสี (พระอาจารย์จนั ทร์ คเวสโก) ผูก้ อ่ ตัง้ วัด ๓. พระครูปรีชาธรรมรังสี (พระมหาประมวล ปิยะธมฺโม) ๔. พระครูศรีปริยัติวิธาน (พระมหาแม้น คุปตรํสี) (ปัจจุบัน)
ในปั จ จุ บั น นี้ วั ด ป่ า ชั ย รั ง สี ไ ด้ ข ยายพื้ น ที่ จ ากเดิ ม 25 ไร่ เป็น 104 ไร่ ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา ตั้งเป็นวัดในพระพุทธ ศาสนาเมื่อ 30 มกราคม 2530 มีพระภิกษุจ�ำพรรษาเพิ่มจ�ำนวนมาก ขึ้นทุกปี ปัจจุบัน พ.ศ. 2557 มีพระสงฆ์จ�ำพรรษาจ�ำนวน 23 รูป สามเณร 3 รูป แม่ชี 3 คน เนื่องจากวัดป่าชัยรังสีเป็นวัดที่ร่มรื่น สงบ มีเสนาสนะพร้อมทาง จังหวัดสมุทรสาครร่วมกับวัดป่าชัยรังสี จึงได้ก�ำหนดให้จัดเป็นสถาน ที่ ป ฎิ บั ติ ธ รรมแก่ พุ ท ธศาสนิ ก ชน การเข้ า ค่ า ย อบรม คุ ณ ธรรม จริยธรรม ส�ำหรับนักเรียน นิสิต นักศึกษา หน่วยงานของรัฐและ ประชาชนทั่วไป โดยมีคณะต่างๆ มาใช้สถานที่ทุกเดือน
SAMUT SAKHON I SBL บันทึกประเทศไทย
4
E1 57
57
13/8/2563 14:09:14
History of buddhism....
วัดปัจจันตาราม
“วัดพรมแดน” เพราะอยู่ระหว่างเขตแดนจังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดสมุทรสงคราม
พระครูสถิตสมณวงศ์ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดปัจจันตาราม
วัดปัจจันตาราม ตั้งอยู่เลขที่ 6 หมู่ 6 ต�ำบลนาโคก อ�ำเภอเมือง สมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร วัดปัจจันตาราม เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตัง้ เมือ่ ปี พ.ศ.2460 ตามค�ำบอกเล่ามาว่า ชาวรามัญ ร่ ว มกั บคนไทยที่ อ ยู ่ ในละแวกบ้านนัน้ ตัง้ ชือ่ ว่า “วัดพรมแดน” เพราะอยูร่ ะหว่างเขตแดน จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดสมุทรสงคราม ต่อมาท่านเจ้าคุณสุนทร คุณากร ได้เปลี่ยนชื่อมาเป็น “วัดปัจจันตาราม” จนกระทั่งปัจจุบัน 58
2
ภายในวั ด ยั ง มี โรงเรี ย นวั ด ปั จ จั น ตาราม ซึ่ ง ก่ อ ตั้ ง ขึ้ น เมื่ อ วั น ที่ 23 พฤษภาคม 2489 โดยมี พระครูสุนทรพุทธิคุณ (หลวงพ่อบัว) เป็ น ประธาน โรงเรี ย นได้ ใ ห้ ก ารศึ ก ษากั บ เด็ ก นั ก เรี ย นในพื้ น ที่ และนักเรียนจากต�ำบลใกล้เคียง ได้แก่เด็กจากหมู่ที่ 2 ต�ำบลโรงเข้ อ� ำ เภอบ้ า นแพ้ ว , เด็ ก จากหมู ่ ที่ 1 ต� ำ บลนางตะเคี ย น, หมู ่ ที่ 6 ต�ำบลนาโคก และหมู่ที่ 8 ต�ำบลลาดใหญ่ อ�ำเภอเมืองสมุทรสงคราม โดยในครั้งแรกมีครูประจ�ำการ 2 ต�ำแหน่ง โรงเรียนได้จัดตั้งมาด้วย เวลาที่ใกล้เคียงกับการสร้างวัดปัจจันตาราม
SBL บันทึกประเทศไทย I สมุทรสาคร
58
13/8/2563 14:34:37
ในการด�ำเนินงานในครั้งแรกประสบปัญหาอุปสรรคอย่างมาก ในเรื่องงบประมาณและวัสดุอุปกรณ์ แต่ด้วยจิตศรัทธาจากผู้มีใจ อันเป็นกุศล ภายใต้การประสานงานของท่านนายอ�ำเภอขณะนั้น ท�ำให้สามารถเปิดท�ำการเรียนการสอนได้ตามก�ำหนดเวลา วั ด ปั จ จั น ตาราม เป็ น ทั้ ง ที่ พึ่ ง ทางใจ ให้ กั บ พุ ท ธศาสนิ ก ชน และคอยช่วยเหลือเกื้อกูลชาวบ้านในชุมชน พัฒนาวัด พัฒนาจิตใจ ให้กับชาวบ้านและชุมชน SAMUT SAKHON I SBL บันทึกประเทศไทย
2
59
59
13/8/2563 14:34:46
การสร้ า งวั ต ถุ ม งคลหลวงพ่ อ รุ ่ ง วั ด ท่ า กระบื อ เป็ น พระคณาจารย์ผู้ทรงคุณเรืองเวทย์พุทธาคมยิ่งองค์หนึ่งของ เมืองสมุทรสาครท่านได้สร้างวัตถุมงคลเอาไว้หลายชนิดใน วาระและโอกาสต่างๆ รวมทั้งร่วมพิธีพุทธาภิเษกครั้งส�ำคัญ อยู่เสมอเช่นพิธีวัดราชบพิธปี พ.ศ. 2481 พิธีพระพุทธชินราช อินโดจีน วัดสุทัศน์และพิธี 25 พุทธศตวรรษ เป็นต้น
เหรียญหลวงพ่อรุ่ง รุ่นแรก พิมพ์หน้าหนุ่มยันต์ตรงไข่ปลาตาขีด พ.ศ.2484 SBLเนื้อบัทองแดง นทึกประเทศไทย
60
8
.indd 60
I
เหรียญหลวงพ่อรุ่ง รุ่นแรก พิมพ์หน้าหนุ่มยันต์ตรงขาปลาตาเม็ด สมุทรสาครพ.ศ. 2484 เนื้อทองแดง
เหรียญหลวงพ่อรุ่ง วัดท่ากระบือรุ่นแรก พ.ศ.2484 - เหรียญหลวงพ่อรุ่งหน้าหนุ่มยันต์ตรงไข่ปลาตาขีด - เหรียญหลวงพ่อรุ่งหน้าหนุ่มยันต์ตรงขาปลาตาเม็ด - เหรียญหลวงพ่อรุ่งหน้าแก่ยันต์หยิกพิมพ์นิยม เหรียญหลวงพ่อรุ่งวัดท่ากระบือรุ่น 2 พ.ศ.2488 - เหรียญหลวงพ่อรุ่งพิมพ์หลังพระประธาน เหรียญหลวงพ่อรุ่งวัดท่ากระบือรุ่น 3 พ.ศ.2500 - เหรียญหลวงพ่อรุ่งพิมพ์พัดยศ
เหรียญหลวงพ่อรุ่ง รุ่นแรก พิมพ์นิยมหน้าแก่หลังยันต์หยิก พ.ศ. 2484 เนื้อเงินลงยา
เหรียญหลวงพ่อรุ่ง รุ่นสอง พิมพ์หลังพระประธาน พ.ศ. 2488 เนื้อทองแดง บล็อกหลังไม่มีเม็ดกลาก
เหรียญพัดยศ หลวงพ่อรุ่ง พ.ศ. 2500 เนื้อเงิน
17/8/2563 9:39:51
พระครูสิริสาครธรรม เจ้าอาวาสวัดท่ากระบือ
สัญญาบัตรเทียบเท่า ผู้ช่วยเจ้าอาวาสพระอารามหลวงชั้นพิเศษ
ประวัติเจ้าอาวาสองค์ปัจจุบัน ( พอสังเขป)
พระครูสิริสาครธรรม (จ�ำนงค์ คุณงฺโค ป.ธ.5) พระครูสริ สิ าครธรรม มีนามเดิมว่า จ�ำนงค์ ฉิมมณี เกิดเมือ่ วันจันทร์ ที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2493 ขึ้น 1 ค�ำ่ เดือน 2 ปีขาล ณ บ้านเลขที่ 8 หมู่ที่ 4 ต�ำบลหนองนกไข่ อ�ำเภอกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร โยมบิดา นายจ๊วน โยมมารดา นางจรินทร์ ฉิมมณี บรรพชา เมื่อ วันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2506 อายุ 14 ปี โดยมี พระครูวิเศษสมุทคุณ ( หลวงปู่ฮะ) วัดดอนไก่ดี เป็นพระอุปัชฌาย์ ณ กุฏิหลวงพ่อวัดท่ากระบือ จ�ำพรรษาที่วัดหนองนกไข่ มีพระอธิการ ประดับ ปญฺญาพโล เป็นผู้ให้อุปการะปกครอง ให้การศึกษานักธรรม
อุปสมบท วันที่ 21 มิถนุ ายน พ.ศ. 2514 ณ พัทธสีมา วัดหนองนกไข่ โดยมีพระเทพวรเวที ปัจจุบันได้เลื่อนสมณศักดิ์เป็น สมเด็จพระ มหารัชมังคลาจารย์ (ช่วง วรปุญโญ) เจ้าอาวาสวัดปากน�ำ้ เป็นพระอุปชั ฌาย์ พระครูสงั ฆรักษ์แกะ ญาณธมฺโม ปัจจุบนั ได้รบั สมณศักดิท์ ี่ พระครูปลัด สุวฒ ั น์วรคุณ เจ้าอาวาสวัดสวนส้ม เป็น พระกรรมวาจาจารย์ พระอธิการ ประดับ ปญฺญาพโล ปัจจุบัน ได้รับสมณศักดิ์เป็นพระครูสัญญาบัตรที่ พระครูสาครปัญญาคุณ เจ้าอาวาสวัดหนองนกไข่ เป็นพระอนุสาวนาจารย์ ได้รับนามฉายา คุณงฺโค พระครูสิริสาครธรรม ( พระมหาจ�ำนงค์ คุณงฺโค) เจ้าอาวาสองค์ ปัจจุบนั ท่านเป็นพระนักพัฒนา ปฏิบตั ธิ รรมเคร่งในระเบียบวินยั เป็น นักพัฒนาอัธยาศัยดีเลิศ เป็นที่เคารพนับถือแก่ญาติธรรมทั้งหลาย ที่ได้มากราบไหว้ขอพร SAMUT SAKHON I SBL บันทึกประเทศไทย
8
.indd 61
61
17/8/2563 9:40:02
อุโบสถ
วัดท่ากระบือ
ประวัติวัดท่ากระบือ (พอสังเขป)
วัดท่ากระบือ ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 17 หมู่ 5 ต�ำบลบางยาง อ�ำเภอกระทุม่ แบน จังหวัดสมุทรสาคร แต่เดิมเป็นเพียงส�ำนักสงฆ์ ตัง้ ขึน้ เมือ่ ปี พ.ศ. 2430 ต่อมา จึ ง ยกฐานะเป็น วัด ชื่อ วั ด ท่ า ควาย หลวงพ่อ รุ ่ง เห็ น ว่ า ชื่อ ไม่ ไ พเราะ จึงเปลีย่ นเป็น วัดท่ากระบือ จนถึงปัจจุบนั ความเป็นมาของชือ่ วัดท่ากระบือ (วัดท่าควาย) เนื่องจากบริเวณนี้เป็นท่าน�้ำส�ำหรับน�ำควายข้ามแม่น�้ำ เพื่อน�ำควายไปขายหรือไปท�ำนา
ถาวรวัตถุที่ส�ำคัญภายในวัดท่ากระบือ
อุโบสถ สร้างเมือ่ ปีพ.ศ. 2485 ปัจจุบนั ได้รบั การบูรณะแล้ว อาคารทรงไทย ก่ออิฐถือปูนทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า หลังคาเครื่องไม้มุงกระเบื้องลดชั้น 2 ชั้น ซ้อนกันชั้นละ 3 ตับ ช่อฟ้าใบระกา หางหงส์ หน้าบันไม้แกะสลักประดับ กระจกสี ด้านหน้ามีมุขลด รองรับโครงหลังคาด้วยเสาปูนสี่เหลี่ยม ด้านข้าง มีคนั ทวย ผนังก่ออิฐถือปูนตัง้ อยูบ่ นฐานบัว ด้านหน้ามีประตูทางเข้า 2 ประตู ซุม้ ประตูทรงมณฑป ผนังตอนบนระหว่างซุม้ หน้าต่างมีภาพจิตรกรรมฝาผนัง โดยรอบอาคารเป็นระเบียงทางเดินและมีบันไดทางขึ้นทางด้านหน้าและ ด้านข้าง ภายในอุโบสถประดิษฐานพระประธาน เป็นพระพุทธรูปประทับนัง่ แสดงปางสมาธิ และฝาผนังมีภาพจิตรกรรมที่เขียนขึ้นใหม่ นับเป็นจุดเด่น ของอุโบสถมีวิหารขนาบข้างซ้ายและขวาซึ่งมีเพียงหนึ่งเดียวในสมุทรสาคร 62
8
SBL บันทึกประเทศไทย I สมุทรสาคร
.indd 62
17/8/2563 9:40:08
วิหาร 2 หลัง ตั้งอยู่ด้านข้างของอุโบสถ สร้างเมือ่ ปี พ.ศ. 2493 ลักษณะเป็นอาคารทรงไทย ก่ออิฐถือปูน หลังคาเครื่องไม้มุงกระเบื้องลดชั้น 2 ชั้น ซ้อนกันชั้นละ 2 ตับ มีชอ่ ฟ้า ใบระกา หางหงส์ ด้านหน้ามีมขุ ลด รองรับ โครงหลังคาด้วยเสา 4 ต้น ด้านข้างมีชายคาปีกนก เสาหลอกและคันทวย ผนังอาคารก่ออิฐถือปูนตั้งอยู่บน ฐานบัว
พระปรางค์ พระปรางค์ จ�ำนวน 4 องค์ ตั้งอยู่ทาง ด้านตะวันออกของอุโบสถติดกับแม่นำ�้ ท่าจีน ลักษณะเป็น เจดี ย ์ ท รงปรางค์ ก่ อ อิ ฐ ถื อ ปู น ตั้ ง อยู ่ บ นฐานเขี ย ง ที่ฐานมีค�ำอุทิศจารึกอยู่บนแผ่นหินอ่อน ถัดขึ้นไปเป็น ชุ ด ฐานสิ ง ห์ เรือนธาตุมีซุ้ม จระน�ำทั้งสี่ทิศ ส่วนยอด ทรงปรางค์ มีนพศูลโลหะประดับอยู่
SAMUT SAKHON I SBL บันทึกประเทศไทย
8
.indd 63
63
17/8/2563 9:40:15
วิหารจตุรมุข พระไพโรจน์วุฒาจารย์ (หลวงพ่อรุ่ง) ประดิษฐาน รูปหล่อเหมือนขนาดเท่าองค์จริง ภายในองค์ทา่ นได้บรรจุอฐั ธิ าตุไว้เมือ่ ปี พ.ศ. 2501 ศาลาการเปรียญ ด้านหน้าทรงจัตรุ มุข สร้างเมือ่ ปีพ.ศ. 2462 และ ได้รบั การบูรณะเมือ่ พ.ศ. 2533 ลักษณะเป็นอาคารทรงไทยยกพืน้ สูง หลังคาเครื่องไม้มุงกระเบื้อง มีชายคาปีกนกโดยรอบ
ศาลาการเปรียญ วัดท่ากระบือ
64
8
SBL บันทึกประเทศไทย I สมุทรสาคร
.indd 64
17/8/2563 9:40:27
นอกจากนี้ ทางวัดยังมีที่ให้อาหารปลาหน้าวัดท่ากระบือริมแม่น�้ำท่าจีน ก็สร้างบุญได้อีกทางหนึ่งเช่นกัน และเพื่อความเป็นสิรมิ งคล ในชีวติ อย่าลืมเช่าบูชาเหรียญหลวงพ่อรุง่ ตะกรุด ผ้ายันต์ หรือเครือ่ งรางของขลัง ติดตัวกลับบ้านตามจิตศรัทธา เพราะเป็นการร่วมกัน บริจาคทรัพย์เพื่อบ�ำรุงศาสนสถาน ศาสนวัตถุภายในวัดท่ากระบือด้วย สาธุชนทัง้ หลายทีไ่ ด้มโี อกาสผ่านไปแถววัดท่ากระบือ อย่าลืมแวะกราบไหว้หลวงพ่อรุง่ องค์ใหญ่ทสี่ ดุ ในโลกและเทีย่ วชมความงามของ วัดท่ากระบือ และท่านยังได้เรียนรูว้ ถิ ชี วี ติ ของชาวสวนเกษตรต�ำบลบางยางอย่างใกล้ชดิ ด้วย ทางวัดได้รว่ มกับต�ำบลและประชาชนในพืน้ ที่ ช่วยกันจัดตลาดน�้ำขึ้นเพื่อส่งเสริมอาชีพ และน�ำเสนอวิถีชีวิตความเป็นอยูข่ องคนในชุมชนให้มคี วามเข้มแข็ง สามารถพึง่ พาตนเองได้
SAMUT SAKHON I SBL บันทึกประเทศไทย
8
.indd 65
65
17/8/2563 9:40:34
กรรมการวัดท่ากระบือ
ก�ำนันพิษณุ ชวนเที่ยว แบบชิคชิค ใช้ชีวิตแบบชิวชิว
ตลาดริมน�ำ้ รุง่ ประชารัฐวัดท่ากระบือนี้ จะจัดทุกวันเสาร์ – อาทิตย์ ตั้งแต่เวลา 06.00 น.เป็นต้นไป ที่บริเวณลานตลาดแพริมแม่น�้ำหน้า วัดท่ากระบือ โดยจะมีเกษตรกรในชุมชน ต�ำบลบางยาง ต�ำบลหนองนกไข่ และพื้นที่ใกล้เคียง ซึ่งเป็นผู้เพาะปลูก พืช ผัก ผลไม้ กลุ่มอาชีพ กลุ่มวิสาหกิจชุมชน ฯลฯ มาจัดจ�ำหน่ายสินค้าโดยตรง เพื่อเป็นการ ประชาสัมพันธ์และส่งเสริมตลาด ขยายผลผลิตคุณภาพสู่ตลาดชุมชน ตามแหล่งท่องเทีย่ วส�ำคัญชุมชน เพือ่ เป็นการเพิม่ ช่องทางให้เกษตรกร และชาวสวนในชุมชนที่ปลูกพืชผักผลไม้ต่างๆ
66
8
SBL บันทึกประเทศไทย I สมุทรสาคร
.indd 66
17/8/2563 9:40:43
ได้มีสถานที่จ�ำหน่ายสินค้าทางการเกษตรให้กับผู้บริโภคโดยตรง เพือ่ ให้กลุม่ อาชีพ กลุม่ วิสาหกิจชุมชน ได้นำ� สินค้าของกลุม่ มาจ�ำหน่าย เป็ น การเพิ่ ม รายได้ เพื่ อ กระตุ ้ น เศรษฐกิ จ ในระดั บ ฐานราก ซึ่ ง สอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาลและเพือ่ เป็นการเชือ่ มโยงการท่องเทีย่ ว แบบวิถีชีวิตชุมชนของจังหวัดสมุทรสาครทั้ง 3 อ�ำเภอ ให้เป็นที่รู้จัก มากยิ่ ง ขึ้ น ซึ่ ง นั ก ท่ อ งเที่ ย วสามารถเดิ น ทางมาท่ อ งเที่ ย วได้ แ บบ One Day Trip ไม่ต้องใช้เงินทองมากมาย แต่ได้ทั้งท�ำบุญไหว้พระ หลวงพ่อรุ่ง พระเกจิชื่อดังแห่งลุ่มน�้ำท่าจีน และยังได้จับจ่ายซื้อสินค้า ดีมีคุณภาพจากเกษตรกรโดยตรงอีกด้วย จึงขอเชิญชวนให้ทุกคน มาเที่ยวที่ ตลาดประชารัฐวัดท่ากระบือ ณ บริเวณแพริมน�้ำหน้า วัดท่ากระบือ ต.บางยาง อ.กระทุ่มแบน จ.สมุทรสาคร ทุกวันเสาร์ – อาทิตย์ ตั้งแต่เวลา 06.00 น. เป็นต้นไป SAMUT SAKHON I SBL บันทึกประเทศไทย
8
.indd 67
67
17/8/2563 9:40:51
History of buddhism....
วัดอ้อมน้อย
กราบนมัสการ หลวงพ่อเพ็ง ณ วัดอ้อมน้อย
จ�ำนวน 1 หลัง 3 ห้อง หลังคามุงด้วยจาก ฝากรุกระแชงอ่อนได้ อาราธนาพระภิกษุผนั มาเป็นเจ้าอาวาส ต่อมาได้สร้างอุโบสถขึน้ 1 หลัง มุงด้วยจาก ฝากรุ ด้วยจากเช่นกัน พระอธิการผันได้พัฒนาวัดให้ เจริญขึ้นมาเป็นล�ำดับ จนถึงสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 5 พระอธิการผันได้ขอพระราชทานวิสุงคามสีมา ซึ่ ง พระองค์ ท ่ า นได้ ท รงพระเมตตาโปรดเกล้ า ฯ พระราชทาน วิสุงคามสีมา ให้แก่วัดอ้อมน้อย เมื่อวันที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2425 และได้มีเจ้าอาวาสผลัดเปลี่ยนเข้ามาพัฒนาวัดเรื่อยมาตามล�ำดับ
พระครูสาครเขมคุณ (มนูญ เขมวํโส) รามัญอุดม ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดอ้อมน้อย
วั ด อ้ อ มน้ อ ย ตั้ ง อยู ่ บ ้ า นเลขที่ 1 หมู ่ ที่ 4 ต� ำ บลอ้ อ มน้ อ ย อ�ำเภอกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร ตามประวัติได้เริ่มสร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2410 ในรัชกาลพระบาท สมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 4 โดยอุบาสิกาฉิม เกิดเจริญ เป็ น ผู ่ มี ศ รั ท ธาแรงกล้ า ยกที่ ดิ น ให้ 1 6ไร่ 3 งาน และอุ บ าสกอ่ ว ม เกิดเจริญ เป็นผู้สร้างวัดให้โดยปลูกกุฏิขึ้น 2 ห้อง หอสวดมนต์ 68
2
SBL บันทึกประเทศไทย I สมุทรสาคร
68
13/8/2563 14:37:43
อุโบสถหลังใหม่นี้ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช กุมารี เสด็จพระราชด�ำเนินทรงยกช่อฟ้าและเททองหล่อรูปจ�ำลอง พระประธานอุโบสถ เมื่อวันพุธที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2536 ยังความ ปลาบปลื้มปิติยินดีเป็นล้นพ้นมาสู่พสกนิกร ชาวต�ำบลอ้อมน้อย อ�ำเภอกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร ประวัติหลวงพ่อเพ็งวัดอ้อมน้อย หลวงพ่อเพ็ง พระพุทธรูปประธานประจ�ำอุโบสถวัดอ้อมน้อย เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย ขนาดหน้าตักกว้าง 49 นิ้ว สูง 69 นิ้ว ประวัติความเป็นมาในการสร้างพระพุทธรูปองค์นี้ไม่ปรากฏหลักฐาน ที่แน่นอนชัดเจนว่าสร้างในปีพ.ศ. ใด จากค�ำบอกเล่าฃองผู้เฒ่าผู้แก่ ในต�ำบลอ้อมน้อยกล่าวว่า เกิดมาก็เห็นหลวงพ่อเพ็งเป็นพระประธาน ในอุโบสถ์วัดอ้อมน้อยมาก่อนแล้ว จึงสันนิษฐานได้ว่าคงสร้างขึ้น พร้อมกับการสร้างวัดและอุโบสถ์หลังเก่า และสังเกตได้จากลวดลาย ของจีวร เป็นจีวรลายดอกพิกุล ซึ่งเป็นที่นิยมของคนในสมัยโบราณ พร้อมกันนี้ก็เรียกขานนามของพระพุทธรูปองค์นี้ว่า “หลวงพ่อเพ็ง” หลวงพ่อเพ็งเป็นพระพุทธรูปที่ศักดิ์สิทธิ์ที่ชาวต�ำบลอ้อมน้อย และ ต�ำบลใกล้เคียงให้ความเคารพนับถือและศรัทธาเป็นอย่างยิ่ง SAMUT SAKHON I SBL บันทึกประเทศไทย
2
69
69
13/8/2563 14:37:57
History of buddhism....
วัดราษฎร์ ศรัทธากะยาราม อนุรักษ์วัฒนธรรมไทย-มอญ พระรามัญมุนี (ศักดิ์ดา อกนิฏโฐ ป.ธ.3 น.ธ.เอก) เจ้าอาวาสวัดราษฎร์ศรัทธากะยาราม
วัดราษฎร์ศรัทธากะยาราม ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 189 หมูท่ ี่ 2 ต�ำบลหลักสาม อ�ำเภอบ้านแพ้ว จังหวัดสมุทรสาคร ย้ า ยมาสร้ า งวั ด ใหม่ เ มื่ อ ปี พ .ศ.2438 ตั้ ง อยู ่ ติ ด กั บ คลองด�ำเนินสะดวก สถานที่ ตั้ ง วั ด แต่ เ ดิ ม ตั้ ง อยู ่ ที่ ฝ ั ่ ง เหนื อ ของคลอง ด�ำเนินสะดวก (โฉนดที่ดินเลขที่ 8185) สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2418 มีชื่อเดิมว่า วัดมอญราษฎร์บ�ำรุง อ�ำเภอตลาดใหม่ มณฑลนครไชยศรี โดยมี ผู ้ ม อบที่ ดิ น ให้ 2 ท่า น คื อ พระยาโลฏิ ก ราเศรษฐี กั บ พระยาไพบู ล ราชรั ง สรรค์ มีเนื้อที่ 49 ไร่ 3 งาน 48 ตารางวา อาคารเสนาสนะมี ดั ง นี้ กุ ฏิ จ� ำ นวน 7 หลั ง , หอฉั น จ� ำ นวน 1 หลั ง สร้างแบบทรงไทยโบราณ เรือนมุงด้วยจาก ฝาไม้สัก ประชาชนส่วนมากเป็นชาวไทยรามัญได้ไปอาราธนา พระอาจารย์ ท องอิ น ทร์ อิ น ทฺ โ ชโต ซึ่ ง ท่ า นเป็ น ชาวไทยรามัญมาจากวัดรามัญประดิษฐาราม (บางไส้ไก่) กรุงเทพมหานคร มาเป็นเจ้าอาวาสรูปแรก บ้านเดิมของ ท่ า นอยู ่ ที่ ป ากลั ด อ� ำ เภอพระประแดง จั ง หวั ด สมุทรปราการ ตามค�ำบอกเล่าของผู ้ เ ฒ่ า ในท้ อ งถิ่ น หลายคนบอกว่าสภาพของวัดในสมัยนั้นไม่ค่อยเจริญ
70
SBL บันทึกประเทศไทย I สมุทรสาคร
4
70
13/8/2563 14:40:16
SAMUT SAKHON I SBL บันทึกประเทศไทย
4
71
71
13/8/2563 14:40:17
History of buddhism....
72
SBL บันทึกประเทศไทย I สมุทรสาคร
4
72
13/8/2563 14:40:18
ต่อมาเมื่อปีมะแม พ.ศ.2438 พระอธิการทองอินทร์ อินฺทโชโต และชาวบ้านมีนายเจิ้น นางทะเกิ้น มีความเห็นกันว่าสถานที่สร้าง วัดนั้นตั้งอยู่ไกลจากหมู่บ้านของชาวบ้านมาก เป็นการไม่สะดวกใน การที่จะไปท�ำบุญที่วัด เพราะระยะทางจากต�ำบลบ้านแพ้วและต�ำบล หลักสาม ห่างไกลจากวัดมากการคมนาคมไปมาทางน�้ำไม่สะดวก เพราะน�ำ้ ขึน้ -ลง เร็ว (ในตอนนัน้ ยังไม่มปี ระตูนำ�้ บางยาง-บางนกแขวก) และสถานที่ ส ่ ว นมากของอ� ำ เภอตลาดใหม่ แ ละอ� ำ เภอบ้ า นแพ้ ว (อ� ำ เภอบ้ า นบ่ อ ) ในครั้ ง นั้ น มี ส ภาพเป็ น ป่ า แขมและป่ า จาก ท่านอาจารย์ทองอินทร์ และชาวบ้านจึงได้ย้ายวัด กุฏิ เสนาสนะ และ สิ่งก่อสร้างอื่นๆ ไปสร้างวัดในสถานที่ใหม่ซึ่งซื้อที่ดินจาก นายเกริ่ม อ�ำแดงจ๊อด ที่ฝั่งทิศใต้ของคลองด�ำเนินสะดวก และตั้งชื่อวัดใหม่ว่า วัดราษฎร์ศรัทธาราม มาเปลีย่ นชือ่ วัดในภายหลังว่า วัดราษฎร์ศรัทธา กะยาราม (แปลว่าอารามที่ราษฎรมีศรัทธาซื้อที่ดินบริจาคถวาย ให้วัด) โดยมีท่านพระอาจารย์ทองอินทร์เป็นเจ้าอาวาสต่อไป และ สถานที่ของวัดมอญราษฎร์บ�ำรุง (เก่า) เป็นวัดร้างแต่ใช้เป็นสถานที่ เก็บศพและเผาศพอยู่ถึง 13 ปี (ต่อมาเป็นที่ตั้งของวัดหลักสอง ราษฎร์บ�ำรุง พ.ศ.2453)
รายนามเจ้าอาวาส ตั้งแต่รูปแรกจนถึงปัจจุบัน รูปที่ 1 พระอธิการทองอินทร์ อินฺทโชโต พ.ศ.2418 – พ.ศ.2448 รูปที่ 2 พระอธิการจ๊ะ พ.ศ.2449 – พ.ศ.2479 รูปที่ 3 พระอธิการเกิด อุปสมุปนฺโน พ.ศ.2480 – พ.ศ.2481 รูปที่ 4 พระครูนิวิฏฐธรรมธาดา (ต่วน ปุปผรมโม) พ.ศ.2482 – พ.ศ. 2501 รูปที่ 5 พระครูกันตศีลาจาร (โม กทฺทโม) พ.ศ.2502 – พ.ศ.2525 รูปที่ 6 พระครูอินทบุญญานนท์ (บุญนนท์ อินทโก) พ.ศ.2526 – พ.ศ. 2534 รูปที่ 7 พระรามัญมุนี (ศักดิ์ดา อกนิฏโฐ ป.ธ.3 น.ธ.เอก) พ.ศ.2534 ถึงปัจจุบัน SAMUT SAKHON I SBL บันทึกประเทศไทย
4
73
73
13/8/2563 14:40:30
History of buddhism....
วัดเทพรัตนาราม ตั้งอยู่หมู่ที่ 1 ตําบลสวนส้ม อําเภอบ้านแพ้ว จังหวัดสมุทรสาคร
พระอาจารย์สมปอง ธัมมาลโย ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดเทพรัตนาราม
วั ด เทพรั ต นาราม เริ่ม ก่อสร้างเมื่อปี พ.ศ. 2539 ก่ อ นที่ จ ะ ก่อสร้างวัดนั้น ทางมูลนิธิสิรินธรราชวิทยาลัย ในพระราชูปถัมภ์ ได้ไปดําเนินการขอเช่าที่ดินจากศาสนสมบัติกลาง กรมการศาสนา จํานวน 42 ไร่เศษ มาแต่ปี พ.ศ. 2538 โดยมีวัตถุประสงค์ 5 ประการ ได้แก่ 1. เป็นสถานที่พํานักสงฆ์ 2. สร้างศูนย์เด็กเล็กตามแนวพระราชดําริ 74
2
3. สร้างสวนป่า เพื่อให้ประชาชนใช้เป็นสถานที่พักผ่อน 4. สร้างสถานที่อบรมกัมมัฏฐานแก่ประชาชน 5. สร้างศูนย์กีฬาสําหรับเยาวชน เมื่อได้รับอนุญาตให้เช่าแล้ว จึงดําเนินการสร้างถนนชั่วคราว ย้ายราษฎรออกจากพื้นที่ขุดคันกั้นน�้ำ ต่อมาประมาณเดือนมกราคม พ.ศ.2538 จึ ง ได้ ติ ด ต่ อ ที่ ดิ น ข้ า งเคี ย ง ปรากฏว่ า ที่ ดิ น ดั ง กล่ า ว เป็นของ นายไพบูลย์ เพชรดี ผู้ล่วงลับไปแล้ว ดังนั้น นางสาวพูนสุข เพชรดี และพีน่ อ้ ง จึงบริจาคทีด่ นิ จํานวน 6 ไร่ 9 ตารางวา เพือ่ สร้างวัด ในพระพุทธศาสนา ตามความประสงค์ของบิดา พ.ศ. 2539 ดําเนินการขุดสระน�้ำ เพื่อถม สถานที่ก่อสร้างวัด บนที่ดิน 6 ไร่ 9 ตารางวา และสร้างถนนเข้าวัด ระยะทางประมาณ 200 เมตร พ.ศ. 2541 – 2544 จึงได้ดําเนินการก่อสร้างอุโบสถ 1 หลัง, กุฏิทรงไทย 2 ชั้น 2 หลัง, กุฏิทรงไทย 1 ชั้น 1 หลัง ซึ่ง พระธรรมวราจารย์ วัดบวรนิเวศวิหาร ร่วมกับมูลนิธิสิรินธรราช วิ ท ยาลั ย และ พุ ท ธศาสนิ ก ชนทั่ ว ไป ดํ า เนิ น การก่ อ สร้ า งวั ด ในพระพุ ท ธศาสนา เพื่ อ เฉลิ ม พระเกี ย รติ ในโอกาสพระราชพิ ธี มหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 72 พรรษา 5 ธันวาคม
SBL บันทึกประเทศไทย I สมุทรสาคร
74
13/8/2563 14:42:54
วันที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2542 ซึ่งเป็นปีที่เฉลิมฉลองในโอกาส พระราชพิธีมหามงคลเฉลิม พระชนมพรรษา 6 รอบ สมเด็จพระญาณ สังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก วัดบวรนิเวศวิหาร เสด็จไปทรงเป็นประธานวางศิลาฤกษ์อุโบสถ ประกอบพิธีบนอุโบสถ วัดนี้ ได้รับพระราชทานพระนามาภิไธย ในสมเด็จพระเทพรัตน ราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เป็น นามของวัดว่า “วัดเทพรัตนาราม” มาแต่วันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544 สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จ พระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก ประธานพุทธภาษิตประจําวัด ว่า ปณฺญา นราหํ รตนํ เมื่อ พ.ศ. 2544 วัดเทพรัตนาราม ได้ดําเนินการขออนุญาตสร้างวัด และได้รับ อนุญาต เมื่อวันที่ 29 มีนาคม 2545 ต่อมาได้รับการประกาศจาก สํานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ เรื่องตั้งวัดในพระพุทธศาสนา ลงวันที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2546 ดังนั้นวัดเทพรัตนารามจึงเป็นวัด ถูกต้องตามกฎหมายคณะสงฆ์ ภายในวัดบนเนื้อที่ 6 ไร่ 9 ตารางวา ได้ก่อสร้างแล้ว ดังนี้ 1. อุโบสถ 1 หลัง ค่าก่อสร้างประมาณ 30 ล้านบาทเศษ 2. กุฎีทรงไทย ชั้นเดียวขนาด 4.00 X 12.00 เมตร จ�ำนวน 2 หลัง ประมาณ 900,000 บาท 3. กุฏิทรงไทย ชั้นเดียวขนาด 6.00 x 20.00 เมตร ประมาณ 700,000 บาท 4. ปรั บ ปรุ ง พื้ น ที่ สร้ า งถนน ถมลู ก รั ง ปลู ก ต้ น ไม้ เ ต็ ม เนื้ อ ที่ รวมค่าก่อสร้างแล้วประมาณ 31 ล้านบาทเศษ
อนึ่ ง พระประธานในอุ โ บสถได้ ข ออนุ ญ าตจํ า ลองพระศาสดา หน้าตัก 80 นิ้ว หล่อด้วยโลหะลงรักปิดทอง พร้อมด้วยพระอัครสาวก 2 องค์ พร้อมโต๊ะหมู่บูชา มูลค่า 2 ล้านเศษ วัดเทพรัตนาราม มีพระภิกษุสามเณรอยู่จําพรรษาปีละ 10 รูป ตลอดมา และขณะนี้ กํ า ลั ง ดํ า เนิ น การ เสนอคณะสงฆ์ แ ต่ ง ตั้ ง พระธรรมวราจารย์ วัดบวรนิเวศวิหาร เป็นผู้รักษาการเจ้าอาวาสแล้ว และจักได้ ดําเนินการขอพระราชทานวิสุงคามสีมาต่อไป ปัจจุบัน ตั้งพระอาจารย์สมปอง เป็นเจ้าอาวาส ตั้งแต่ พ.ศ. 2555 SAMUT SAKHON I SBL บันทึกประเทศไทย
2
75
75
13/8/2563 14:43:01
History of buddhism....
วัดสวนส้ม
กราบนมัสการ หลวงพ่ออู่ทอง ณ วัดสวนส้ม
พระครูสาครวิมลกิจ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดสวนส้ม
วัดสวนส้ม ตั้งอยู่ริมคลองด�ำเนินสะดวก เลขที่ 47 หมู่ที่ 2 ต�ำบล สวนส้ ม อ� ำ เภอบ้ า นแพ้ ว จั ง หวั ด สมุ ท รสาคร สั ง กั ด คณะสงฆ์ มหานิกาย จ�ำนวนเนื้อที่ตั้งวัด 15 ไร่ 84 ตารางวา ธรณีสงฆ์ 13 ไร่ 1 งาน 82 ตารางวา ที่วัดและธรณีสงฆ์มีอาณาเขตติดต่อเป็นผืน เดียวกันรวมแล้วได้ 28 ไร่ 2 งาน 66 ตารางวา วัดนี้สร้างมานาน 76
2
76
หาหลักฐานการสร้างในสมัยแรกๆ ไม่ได้พบว่าขุดลึกลงไปประมาณ 1 เมตร ใต้พื้นดินยังมีอิฐแดงและโครงสร้างเสนาสนะโบราณจ�ำนวน มาก พบหลักฐานว่าได้รับ พระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อ พ.ศ.2409 วัดสวนส้มนี้ประวัติการสร้างไม่มีหลักฐานแน่นอน จากซากอิฐ โบราณสันนิฐานว่ามีการสร้างมานานแล้ว ปรากฏหลักฐานแน่นอน ในสมัยเริ่มขุดคลองด�ำเนินสะดวกในปี พ.ศ.2409 พระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 มีพระบรมราชโองการโปรด เกล้าฯ ให้ขุดคลองเชื่อมแม่น�้ำท่าจีนกับแม่น�้ำแม่กลอง เพื่อประโยชน์ ในการป้องกันราชอาณาจักรและการเกษตรกรรม โดยให้เจ้าพระยา ศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุญนาค) เป็นแม่กองขุดคลองดังกล่าว โดยตั้งที่พัก ท�ำการอยู่ตรงข้ามกับวัดสวนส้มซึ่งอยู่ริมคลองเกาะ การขุดคลอง ด�ำเนินสะดวกนี้ แนวคลองที่เป็นเส้นตรงตัดเอาที่ดินวัดทาง ด้านทิศ เหนือบางส่วนไปด้วย ท่านเจ้าพระยาฯ จึงบัญชาให้ถมคลองเกาะ และขุ ด คลองเกาะใหม่ โ ดยขยั บ แนวคลองเกาะที่ ขุ ด ใหม่ ไ ปทาง ทิศตะวันออกประมาณ 100 เมตร เพื่อชดใช้ที่ดินของวัดที่ถูกคลอง ด�ำเนินสะดวกตัดขาดหายไป ท่านผู้หญิงพันธุ์ซึ่งท�ำหน้าที่เป็นแม่บ้าน หุงหาอาหารส�ำหรับท่านเจ้าพระยาฯ ได้เห็นวัดช�ำรุดทรุดโทรมมาก
SBL บันทึกประเทศไทย I สมุทรสาคร
13/8/2563 14:45:15
แทบไม่มีอะไรเหลือแล้ว จึงได้เรียนท่านเจ้าพระยาฯ ผู้เป็นบิดาว่า อยากจะบู ร ณะวั ด ให้ ดี ขึ้ น และมี พ ระสงฆ์ อ ยู ่ จ� ำ พรรษา โดยปกติ ท่ า นผู ้ ห ญิ ง พั น ธุ ์ ก็ ตั ก บาตรพระสงฆ์ เป็ น ประจ� ำ ซึ่ ง การนี้ ท่านเจ้าพระยาฯ ก็เห็นชอบด้วยจึงตกลงให้บูรณะวัดจนบริบูรณ์ ทุกประการ เมื่อบูรณะวัดแล้วไม่ทราบว่าวัดเดิมมีชื่อเรียกว่าอย่างไร จึงได้ ปรึกษากันตั้งชื่อวัดว่า “วัดต้นคลองด�ำเนิน” สมัยต่อมาบริเวณนั้น ประชาชนส่วนมากท�ำสวนส้มชาวบ้านก็เรียกชื่อวัดเปลี่ยนไปตาม สภาพที่มีสวนส้มว่า “วัดสวนส้ม” สภาพของวัดจากนั้นก็พบว่ามี ความเจริญรุ่งเรืองเป็นอันมาก จากหลักฐานทางวัตถุของใช้ในการ ประกอบศาสนกิจ เช่น ธรรมมาศ ตู้พระธรรม คัมภีร์ใบลาน เป็นต้น ประวัติหลวงพ่ออู่ทองโดยย่อ หลวงพ่ออู่ทอง เป็นพระสมัยอู่ทองตอนปลาย สร้างด้วยการแกะ สลักจากหินทรายแดงอยู่ที่วัดกลางบางแก้ว หลวงพ่อแกะ (หรือหลวง พ่อพระครูปลัดสุวัฒนวรคุณ) ได้ไปขอมาจากเจ้าอาวาสในขณะนั้น ไม่ทราบชัด ว่าเป็นหลวงปู่บุญหรือไม่ แต่ที่แน่ๆ ได้มาจากวัดหลวง
ปู่บุญ เจ้าอาวาสท่านก็เมตตา ให้หลวงพ่อแกะไปเลือกเอา ท่านก็ได้ เลือกเอาหลวงพ่ออู่ทอง มาเป็นพระประจ�ำที่วัดสวนส้มเมื่อปี พ.ศ. 2513 โดยความสามัคคี ของชาวบ้านต�ำบลสวนส้ม และต�ำบลใกล้ เคียง ได้น�ำเรือต่อไปบรรทุกมาขึ้นที่หน้าวัดสวนส้ม จึงมีคนพูดว่า หลวงพ่ออู่ทองท่านลอยน�้ำมา จึงเป็นพระประจ�ำวัด ที่ประชาชนให้ ความเคารพนับถือ ในความศักดิ์สิทธิ์ของท่านจึงมีคนเดินทางมา ขอพรท่าน อยู่เป็นประจ�ำ ตามจริงแล้วหลวงพ่ออู่ทองเป็นพระปาง มารวิชัยแต่ได้หยิบส่วนแขนผิดข้างมา จึงเปลี่ยนเป็นปางสมาธิไป อย่างที่เห็นในปัจจุบันนี้ได้น�ำหลวงพ่ออู่ทองมาประดิษฐานไว้ที่วิหาร ริมคลองด�ำเนิน หน้าวัดสวนส้มแล้วจึงขอเชิญชวนท่านทั้งหลายได้ มากราบไหว้ น มั ส การขอพรเพื่ อ เป็ น สิ ริ ม งคลให้ กั บ ตั ว เองและ ครอบครัวให้มีความสุขความเจริญ ได้ทุกวันไม่มีวันหยุด
2
77
SAMUT SAKHON I SBL บันทึกประเทศไทย
77
13/8/2563 14:45:25
SAMUT SAKHON
จังหวัดสมุทรสาคร
เมืองประมง ดงโรงงาน ลานเกษตร เขตประวัติศาสตร์
78
SBL บันทึกประเทศไทย I สมุทรสาคร
.indd 78
17/8/2563 9:51:38
THE IMPORTANT TEMPLES SAMUT SAKHON
อ�ำเภอเมืองสมุทรสาคร วัดกระซ้าขาว บ้านกระซ้าขาว ม.9 ต�ำบลบ้านบ่อ
วัดกลางอ่างแก้ว ม.6 ต�ำบลท่าจีน วัดกาหลง ม.1 ต�ำบลกาหลง
วัดเกตุมดีศรีวราราม
วัดบางตะคอย
วัดไร่ไทรทอง
ม.2 ต�ำบลชัยมงคล
บ้านไร่ ม.1 ต�ำบลนาโคก
วัดบางน�้ำวน ม.4 ต�ำบลบางโทรัด วัดบางปลา ม.4 ต�ำบลบ้านเกาะ วัดบางปิ้ง ม.2 ต�ำบลนาดี
ม.6 ต�ำบลบางโทรัด วัดเกาะ ม.2 ต�ำบลบ้านเกาะ วัดแก้วมงคล ม.7 ต�ำบลกาหลง วัดโกรกกราก ต�ำบลโกรกกราก วัดคลองครุ ม.8 ต�ำบลท่าทราย วัดโคกขาม ม.1 ต�ำบลโคกขาม
วัดบางพลี
วัดเจ็ดโคก
วัดบ้านไร่เจริญผล
บ้านบางหญ้าแพรก ม.3 ต�ำบลบางหญ้าแพรก
ม.5 ต�ำบลพันท้ายนรสิงห์
วัดประสาทสามัคคีธรรม
วัดเจริญสุขาราม
ม.10 ต�ำบลบางโทรัด
วัดบางหญ้าแพรก ม.5 ต�ำบลบางหญ้าแพรก
วัดบ้านโคก ม.2 ต�ำบลพันท้ายนรสิงห์
ม.1 ต�ำบลบางโทรัด
ม.2 ต�ำบลบางกระเจ้า วัดเจษฎาราม ต�ำบลมหาชัย วัดชัยมงคล ม.2 ต�ำบลชัยมงคล วัดชีผ้าขาว ม.2 ต�ำบลท่าจีน
วัดป้อมวิเชียรโชติการาม
ต�ำบลมหาชัย
วัดป่าชัยรังสี
วัดใต้บ้านบ่อ ม.1 ต�ำบลบ้านบ่อ วัดทองธรรมิการาม
วัดป่าท่าทราย
วัดตึกมหาชยาราม
ม.7 ต�ำบลท่าทราย
วัดเทพธงชัย
ต�ำบลมหาชัย
วัดปัจจันตาราม ม.6 ต�ำบลนาโคก วัดปากบ่อ ม.10 ต�ำบลชัยมงคล ม.4 ต�ำบลบ้านเกาะ บ้านท่าทราย ม.5 ต�ำบลท่าทราย
วัดป่ามหาไชย
วัดวิสุทธาราม (บางสีคต) ม.4 ต�ำบลบางกระเจ้า
วัดวิสุทธิวราวาส ม.2 ต�ำบลพันท้ายนรสิงห์
วัดศรัทธายิ้มพานิชวราราม ม.8 ต�ำบลมหาชัย
วัดศรีบูรณาวาส ม.4 ต�ำบลโคกขาม วัดศรีเมือง ม.3 ต�ำบลท่าทราย
วัดศรีวนาราม
ม.4 ต�ำบลบางกระเจ้า
วัดศรีสุทธาราม ม.2 ต�ำบลบางหญ้าแพรก
วัดศาลพันท้ายนรสิงห์ บ้านพันท้ายนรสิงห์ ม.3 ต�ำบลพันท้ายนรสิงห์
วัดศิริมงคล ม.5 ต�ำบลบ้านเกาะ
วัดสหกรณ์โฆสิตาราม ม.9 ต�ำบลโคกขาม
วัดสหธรรมาราม ม.4 ต�ำบลพันท้ายนรสิงห์
วัดสามัคคีศรัทธาราม ม.3 ต�ำบลบางหญ้าแพรก
ม.1 ต�ำบลบางน�ำ้ จืด วัดเทพนรรัตน์ ม.4 ต�ำบลนาดี
บ้านอ้อมโรงหีบ ม.7 ต�ำบลบ้านเกาะ
วัดสุทธิวาตวราราม
วัดพันท้ายนรสิงห์
วัดโสภณาราม
ม.5 ต�ำบลชัยมงคล
ม.5 ต�ำบลพันท้ายนรสิงห์
วัดน่วมกานนท์
วัดน้อยนางหงษ์
วัดพันธุวงษ์
วัดนาขวาง
ม.1 ต�ำบลบ้านเกาะ วัดโพธิ์แจ้ ม.3 ต�ำบลบางน�ำ้ จืด
บ้านนาขวาง ม.5 ต�ำบลกาหลง วัดนาโคก ม.2 ต�ำบลนาโคก
วัดมหาชัยคล้ายนิมิต ต�ำบลมหาชัย
ม.7 ต�ำบลบางโทรัด
ต�ำบลนาโคก
บ้านท่าจีน ม.4 ต�ำบลท่าจีน
วัดบัณทูรสิงห์ (บางโทรัด) วัดบางกระเจ้า
ม.6 ต�ำบลบางกระเจ้า วัดบางขุด ม.7 ต�ำบลบ้านบ่อ
วัดราษฎร์ธรรมาราม ม.7 วัดราษฎร์รังสรรค์ (คอกกระบือ)
ต�ำบลท่าฉลอม ม.5 ต�ำบลโคกขาม
วัดหลังศาลประสิทธิ์ ม.1 ต�ำบลท่าจีน
วัดแหลมสุวรรณาราม ต�ำบลท่าฉลอม
วัดใหญ่จอมปราสาท ม.5 ต�ำบลท่าจีน
วัดใหญ่บ้านบ่อ ม.3 ต�ำบลบ้านบ่อ
ม.2 ต�ำบลคอกกระบือ
SAMUT SAKHON I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 79
79
17/8/2563 9:51:39
อ�ำเภอกระทุ่มแบน วัดเกษตรพันธาราม บ้านแคราย ม.2 ต�ำบลแคราย
วัดคลองมะเดื่อ ม.6 ต�ำบลคลองมะเดื่อ
วัดดอนไก่ดี ต�ำบลกระทุ่มแบน
วัดท่ากระบือ ม.5 ต�ำบลบางยาง
วัดท่าไม้ ม.11 ต�ำบลท่าไม้
วัดท่าเสา ม.1 ต�ำบลท่าเสา
วัดนางสาว บ้านตลาดท้องคุ้ง ม.7 ต�ำบลท่าไม้
วัดบางยาง
80
ม.1 ต�ำบลบางยาง
วัดราษฎร์บำ� รุง ม.2 ต�ำบลคลองมะเดื่อ
วัดศรีส�ำราญราษฎร์บ�ำรุง ม.12 ต�ำบลอ้อมน้อย
วัดสุวรรณรัตนาราม ม.4 ต�ำบลแคราย
วัดหนองนกไข่ ม.4 ต�ำบลหนองนกไข่
วัดหนองพะอง ม.7 ต�ำบลสวนหลวง
วัดอ้อมน้อย ม.4 ต�ำบลอ้อมน้อย
วัดอ่างทอง ม.11 ต�ำบลบางยาง
SBL บันทึกประเทศไทย I สมุทรสาคร
.indd 80
17/8/2563 9:51:40
THE IMPORTANT TEMPLES SAMUT SAKHON
SAMUT SAKHON I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 81
81
17/8/2563 9:51:41
อ�ำเภอบ้านแพ้ว
วัดกระโจมทอง
วัดราษฎร์ศรัทธากะยาราม
ม.5 ต�ำบลหลักสอง
ม.2 ต�ำบลหลักสาม
วัดคลองตันราษฎร์บำ� รุง
วัดโรงเข้
ม.3 ต�ำบลเกษตรพัฒนา
ม.1 ต�ำบลโรงเข้
วัดเจ็ดริ้ว
วัดโรงเข้วนาราม
ม.3 ต�ำบลเจ็ดริ้ว
บ้านโรงเข้ ม.3 ต�ำบลโรงเข้
วัดดอนโฆสิตาราม
วัดวังชัยทรัพย์วิมล
ม.5 ต�ำบลหนองบัว
บ้านวังจรเข้ ม.5 ต�ำบลหลักสาม
วัดเทพรัตนาราม
วัดศรีเพชรพัฒนา
บ้านดอนกระทือ ม.1 ต�ำบลสวนส้ม
ม.3 ต�ำบลโรงเข้
วัดธรรมจริยาภิรมย์
ม.4 ต�ำบลสวนส้ม
ม.1 ต�ำบลหลักสาม
วัดธรรมเจดีย์ศรีพิพัฒน์
82
วัดศรีสินมา วัดสวนส้ม ม.2 ต�ำบลสวนส้ม
บ้านคลองตาปลั่ง ม.4 ต�ำบลบ้านแพ้ว
วัดสุนทรสถิตย์
วัดธรรมโชติ
วัดหนองบัว
ม.6 ต�ำบลโรงเข้
ม.4 ต�ำบลหนองบัว
วัดธัญญารามราษฎร์บำ� รุง
วัดหนองสองห้อง
ม.7 ต�ำบลอ�ำแพง
ม.8 ต�ำบลหนองสองห้อง
วัดปทุมทองรัตนาราม
วัดหลักสองราษฎร์บำ� รุง
ม.2 ต�ำบลหนองสองห้อง
ม.2 ต�ำบลหลักสอง
วัดป่าสุวัฑฒนาราม
วัดหลักสี่ราษฎร์สโมสร
บ้านทุ่งอินทรีย์ ม.11 ต�ำบลหลักสาม
ม.2 ต�ำบลยกกระบัตร
วัดฟุ้งประชาธรรมาราม ม.7 ต�ำบลโรงเข้
บ้านคลองตัน ม.5 ต�ำบลคลองตัน
วัดยกกระบัตร
วัดใหม่ราษฎร์นุกูล
ม.6 ต�ำบลยกกระบัตร
ม.1 ต�ำบลบ้านแพ้ว
วัดรางต้นนิลประดิษฐ์
วัดอุทยาราม
ม.5 ต�ำบลหนองบัว
บ้านพาดหมอน ม.4 ต�ำบลเจ็ดริ้ว
ม.2 ต�ำบลอ�ำแพง
วัดใหม่คลองตันประชาสรรค์
SBL บันทึกประเทศไทย I สมุทรสาคร
.indd 82
17/8/2563 9:51:43
Buddhism
in Thailand
SBL บันทึกประเทศไทย น�ำเสนอเรื่องราวของจังหวัดต่างๆ ทั่วประเทศไทย อย่างเจาะลึกและครอบคลุมทุกมิติ อาทิ มิติด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ จากหน่วยงานราชการส�ำคัญในจังหวัด มิติด้านการท่องเที่ยวที่สดใหม่ทันสมัย ทั้งสถานที่เที่ยว ที่พัก ร้านอาหาร ร้านกาแฟ แหล่งช็อปปิ้งใหม่ๆ ฯลฯ มิติด้านอุตสาหกรรม-การค้าการลงทุนที่เป็นตัวขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ตลอดจนมิติด้านการศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม และวิถีชีวิต ที่มีจุดเด่นและมีเอกลักษณ์น่าสนใจ
WWW.SBL.CO.TH
.indd 84
17/8/2563 11:41:48