SBL บันทึกประเทศไทย | ฉบับที่ 111 - จังหวัดนนทบุรี

Page 1

นิตยสารแนะน�ำแหล่งท่องเที่ยวและของดีจังหวัดนนทบุรี ประจ�ำปี 2563

NONTHABURI จังหวัดนนทบุรี

EXCLUSIVE

“สั กการะพระเจ้าตากสิ น วัดบางอ้อยช้าง ศู นย์รวมมรดกวัฒนธรรมล�้ำค่า แห่งเมืองนนท์”

“ส่ งเสริมพระพุ ทธศาสนา ให้มีความมั่นคง”

“พุ ทธศาสนิกชนมีความเข้มแข็ง ด้วยหลักพุ ทธธรรม น�ำสังคมสู่คุณภาพชีวิตที่ดี”

Vol.10 Issue 111/2020

www.issuu.com

.indd 3

21/9/2563 17:13:09



THE IMPORTANT TEMPLES NONTHABURI

NONTHABURI

รายชื่อวัดใน จังหวัดนนทบุรี

พระต�ำหนักสง่างาม ลือนามสวนสมเด็จ เกาะเกร็ดแหล่งดินเผา วัดเก่านามระบือ เลื่องลือทุเรียนนนท์ งามน่ายลศูนย์ราชการ

NONTHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 3

3

22/9/2563 16:33:18


อ�ำเภอเมืองนนทบุรี วัดกล้วย บ้านกล้วย ม.5 ต�ำบลบางเขน

วัดกลางบางซื่อ

วัดโบสถ์ดอนพรหม ถนนบางกรวย-ไทรน้อย ม.10 ต�ำบลบางกร่าง

ถนนนนทบุรี 1 ม.6 ต�ำบลบางกระสอ วัดก�ำแพง ม.8 ต�ำบลบางเขน

วัดไทรม้าใต้

บ้านบางข่า ม.8 ต�ำบลบางกร่าง

วัดนครอินทร์

วัดขวัญเมือง

บ้านไทรม้า ม.4 ต�ำบลไทรม้า

วัดไทรม้าเหนือ ม.4 ต�ำบลไทรม้า

วัดปราสาท ถนนบางกรวย - ไทรน้อย ม.4 ต�ำบลบางกร่าง

วัดปากน�้ำ ถนนพิบูลสงคราม ม.9 ต�ำบลสวนใหญ่

วัดเขมาภิรตาราม

ม.6 ต�ำบลสวนใหญ่

ต�ำบลสวนใหญ่ วัดเขียน ม.2 ต�ำบลบางไผ่ วัดค้างคาว ม.4 ต�ำบลบางไผ่

วัดน้อยนอก คลองบางกระสอ ม.4 ต�ำบลบางกระสอ

วัดแคนอก

วัดบัวขวัญ

ถนนสนามบินน�ำ้ -นนทบุรี ม.2 ต�ำบลบางกระสอ วัดแคใน ต�ำบลบางกร่าง

ต�ำบลบางกระสอ

วัดบางกร่าง

ม.9 ต�ำบลสวนใหญ่

วัดแจ้งศิริสัมพันธ์

คลองบางกร่าง ม.3 ต�ำบลบางกร่าง

ถนนสนามบินน�ำ้ -นนทบุรี ม.5 ต�ำบลบางกระสอ

วัดบางขวาง

ม.1 ต�ำบลบางศรีเมือง

ม.4 ต�ำบลสวนใหญ่

วัดเฉลิมพระเกียรติ

วัดบางนา

ม.3 ต�ำบลบางศรีเมือง วัดชมภูเวก ม.4 ต�ำบลท่าทราย

บ้านบางนา ม.6 ต�ำบลไทรม้า

วัดบางแพรกใต้

ม.3 ต�ำบลบางไผ่

วัดบางแพรกเหนือ

วัดโชติการาม

ม.3 ต�ำบลสวนใหญ่

วัดป่าเรไร ถนนนนทบุรี-บางบัวทอง ม.1 ต�ำบลบางศรีเมือง

วัดฝาง ม.3 ต�ำบลบางเขน

วัดพลับพลา วัดพุฒิปรางค์ปราโมทย์ วัดพุทธปัญญา ม.7 ต�ำบลบางเขน

วัดเพลง ม.5 ต�ำบลไทรม้า

วัดโพธิ์ทองล่าง ม.7 ต�ำบลบางเขน

ถนนประชาราษฎร์ ม.2 ต�ำบลสวนใหญ่

วัดลานนาบุญ

วัดต�ำหนักใต้

วัดบางระโหง

วัดศาลารี

ถนนสนามบินน�ำ้ -นนทบุรี ม.4 ต�ำบลท่าทราย วัดตึก ม.4 ต�ำบลบางไผ่

คลองอ้อม ม.9 ต�ำบลบางกร่าง

วัดบางรักน้อย

บ้านตลาดขวัญ ม.9 ต�ำบลบางกร่าง

วัดบางศรีเมือง

วัดแดงธรรมชาติ ม.1 ต�ำบลไทรม้า

วัดโตนด

วัดทองนาปรัง ม.5 ต�ำบลบางไผ่

วัดทางหลวง ม.6 ต�ำบลบางเขน

วัดท้ายเมือง บ้านตลาดขวัญ ม.1 ต�ำบลสวนใหญ่

4

วัดทินกรนิมิต ถนนประชาราษฎร์ ม.4 ต�ำบลสวนใหญ่

บ้านบางรักน้อย ม.3 ต�ำบลบางรักน้อย

ม.9 ต�ำบลสวนใหญ่ ม.4 ต�ำบลบางไผ่

วัดสมรโกฎิ ถนนวงแหวน ม.8 ต�ำบลบางกระสอ

วัดสลักใต้

ถนนนนทบุรี-ไทรน้อย ม.1 ต�ำบลบางศรีเมือง

ม.3 ต�ำบลบางศรีเมือง

วัดบางรักน้อย

บ้านบางไผ่น้อย ม.3 ต�ำบลบางไผ่

บ้านบางรักน้อย ม.3 ต�ำบลบางรักน้อย

วัดบางศรีเมือง ถนนนนทบุรี-ไทรน้อย ม.1 ต�ำบลบางศรีเมือง

วัดสังฆทาน วัดอมฤต คลองบางศรีทอง ม.1 ต�ำบลบางไผ่

SBL บันทึกประเทศไทย I นนทบุรี

.indd 4

22/9/2563 16:33:20


THE IMPORTANT TEMPLES NONTHABURI

อ�ำเภอไทรน้อย วัดคลองขวาง บ้านคลองขวาง ม.6 ต�ำบลคลองขวาง

วัดคลองขุนศรี บ้านคลองขุนศรี ม.3 ต�ำบลขุนศรี

วัดคลองเจ้า บ้านคลองทวีวัฒนา ม.2 ต�ำบลไทรน้อย

วัดคลองตาคล้าย บ้านคลองตาคล้าย ม.2 ต�ำบลไทรน้อย

วัดไทรน้อย ถนนบางกรวย-ไทรน้อย ม.1 ต�ำบลไทรน้อย

วัดไทรใหญ่ บ้านไทรใหญ่ ม.5 ต�ำบลไทรน้อย

วัดปลายคลองขุนศรี บ้านคลองขุนศรี ม.3 ต�ำบลไทรใหญ่

วัดเพรางาย บ้านคลองตาชม ม.6 ต�ำบลหนองเพรางาย

วัดมะสง บ้านคลองมะสง ม.6 ต�ำบลทวีวัฒนา

วัดยอดพระพิมล บ้านปลายคลองพระพิมล ม.6 ต�ำบลขุนศรี

วัดราษฎร์นิยม ม.2 ต�ำบลราษฎร์นิยม

วัดลากค้อน บ้านคลองลากค้อน ม.4 ต�ำบลราษฎร์นิยม

วัดสโมสร บ้านคลองหม่อมแช่ม ม.9 ต�ำบลไทรใหญ่

วัดเสนีวงศ์ ปลายคลองมะสง ม.9 ต�ำบลหนองเพรางาย

วัดอ่วมอ่องประชานฤมิต เคหการเกษตร ม.10 ต�ำบลหนองเพรางาย

อ�ำเภอบางใหญ่ วัดคงคา คลองบางใหญ่ ม.3 ต�ำบลบางม่วง

คลองบางกอกน้อย ม.2 ต�ำบลบางม่วง

วัดดอนสะแก

วัดยุคันธราวาส

ม.14 ต�ำบลบางแม่นาง วัดต้นเชือก ม.4 ต�ำบลบ้านใหม่ วัดโตนด ม.1 ต�ำบลบางใหญ่

บ้านสวนเจ้า ม.7 ต�ำบลบางเลน

วัดท่าบันเทิงธรรม

วัดศรีราษฎร์

คลองบางโสน ม.1 ต�ำบลบางใหญ่

บ้านศรีราษฎร์ ม.8 ต�ำบลบางเลน

วัดบางโค

วัดส้มเกลี้ยง

คลองบางโค ม.14 ต�ำบลบางแม่นาง วัดบางม่วง ม.6 ต�ำบลบางม่วง

คลองใหญ่ ม.2 ต�ำบลบางแม่นาง

วัดบางเลนเจริญ

ถนนบางกรวย-ไทรน้อย ม.10 ต�ำบลบางเลน

วัดบางเลนเจริญ ถนนบางกรวย-ไทรน้อย ม.10 ต�ำบลบางเลน

วัดราษฎร์ประคองธรรม คลองอ้อม ม.1 ต�ำบลเสาธงหิน

วัดสวนแก้ว บ้านบางเลน ม.1 ต�ำบลบางเลน

วัดสะแก ถนนนนทบุรี-บางใหญ่ ม.9 ต�ำบลบางเลน

วัดสังวรพิมลไพบูลย์

วัดปรางค์หลวง

คลองบางม่วง ม.12 ต�ำบลบางม่วง

คลองบางกอกน้อย ม.1 ต�ำบลบางม่วง

วัดเสาธงหิน ม.1 ต�ำบลเสาธงหิน

วัดไผ่เหลือง

วัดหลังบาง

ม.5 ต�ำบลบางม่วง

คลองบางใหญ่ ม.5 ต�ำบลบางแม่นาง วัดอัมพวัน ม.13 ต�ำบลบางม่วง วัดอินทร์ ม.2 ต�ำบลเสาธงหิน

วัดพระเงิน คลองบางม่วง ม.8 ต�ำบลบางม่วง

วัดพระนอน คลองโยง ม.3 ต�ำบลบางแม่นาง

วัดพิกุลเงิน

วัดนกดิษฐาราม

ม.3 ต�ำบลบางใหญ่

NONTHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 5

5

22/9/2563 16:33:21


อ�ำเภอบางกรวย วัดกระโจมทอง ถนนบางบัวทอง ม.2 ต�ำบลวัดชลอ วัดกล้วย คลองบางกรวย ม.3 ต�ำบลวัดชลอ

วัดเกดประยงค์เล็กตัง้ ตรงจิตร คลองบางกอกน้อย ม.8 ต�ำบลวัดชลอ วัดแก้วฟ้า คลองบางกอกน้อย ม.5 ต�ำบลบางขนุน วัดโคนอน ถนนบางกรวย-ไทรน้อย ม.4 ต�ำบลบางสีทอง

วัดโคนอนมหาสวัสดิ์ ม.7 ต�ำบลมหาสวัสดิ์ วัดจันทร์ ถนนบางกรวย-ไทรน้อย ม.6 ต�ำบลบางกรวย วัดจ�ำปา คลองบางขุนกอง ม.3 ต�ำบลบางขุนกอง วัดชลอ ถนนบางกรวย-ไทรน้อย ม.3 ต�ำบลวัดชลอ

วัดเชิงกระบือ ถนนบางกรวย-ไทรน้อย ม.1 ต�ำบลบางกรวย

วัดซองพลู ม.2 ต�ำบลบางขุนกอง

วัดแดงประชาราษฎร์ ม.3 ต�ำบลบางสีทอง วัดตะเคียน ม.3 ต�ำบลบางคูเวียง

วัดตะระเก

นายไกร ม.4 ต�ำบลบางขุนกอง

วัดโตนด บ้านหัวแหลม ม.8 ต�ำบลวัดชลอ วัดโตนด ม.5 ต�ำบลมหาสวัสดิ์ วัดท่า ถนนบางกรวย-ไทรน้อย ม.10 ต�ำบลวัดชลอ

วัดไทยเจริญ บ้านจีน ม.3 ต�ำบลบางขุนกอง วัดไทร ม.1 ต�ำบลบางสีทอง วัดบางไกรนอก บ้านบางไกร ม.3 ต�ำบลบางขุนกอง วัดบางไกรใน บ้านบางไกร ม.9 ต�ำบลบางขุนกอง วัดบางขนุน ต�ำบลบางขนุน วัดบางค้อ คลองบางค้อ ม.5 ต�ำบลบางคูเวียง

วัดบางอ้อยช้าง

วัดรวก

วัดส�ำโรง

บ้านบางอ้อยช้าง ม.2 ต�ำบลบางสีทอง วัดโบสถ์บน คลองบางกอกน้อย ม.4 ต�ำบลบางคูเวียง

ถนนบางกรวย-ไทรน้อย ม.4 ต�ำบลบางสีทอง

ถนนบางกรวย-ไทรน้อย ม.8 ต�ำบลบางกรวย

วัดละมุดใน

วัดสิงห์

คลองบางราวนก ม.1 ต�ำบลบางคูเวียง

บ้านคลองบางคูเวียง ม.7 ต�ำบลบางคูเวียง

วัดลุ่มคงคาราม

วัดสุนทรธรรมิการาม

บ้านลุ่ม ม.3 ต�ำบลบางกรวย

คลองหัวคูนอก ม.4 ต�ำบลปลายบาง

วัดประชารังสรรค์ บ้านบางกร่าง ม.10 ต�ำบลบางกร่าง

วัดป่ามณีกาญจน์ ม.3 ต�ำบลศาลากลาง วัดพิกุลทอง คลองบางกอกน้อย ม.6 ต�ำบลวัดชลอ

วัดศรีประวัติ

วัดแพรก

วัดศรีเรืองบุญ

บ้านปลายบาง ม.4 ต�ำบลปลายบาง

ถนนบางบัวทอง-ตลิ่งชัน ม.1 ต�ำบลปลายบาง วัดสนามนอก ถนนสุขาภิบาล วัดชลอ ม.4 ต�ำบลวัดชลอ วัดสนามใน ม.4 ต�ำบลวัดชลอ

วัดใหม่ผดุงเขต

ถนนบางบัวทอง-ตลิ่งชัน ม.2 ต�ำบลบางคูเวีย วัดสวนใหญ่ ม.2 ต�ำบลวัดชลอ วัดสักใหญ่ ม.9 ต�ำบลวัดชลอ

วัดอุบลวนาราม

วัดโพธิ์บางโอ คลองบางกอกน้อย ม.9 ต�ำบลวัดชลอ

วัดโพธิ์เผือก ถนนบางกรวย-ไทรน้อย ม.6 ต�ำบลบางกรวย วัดโพธิ์เอน คลองบางราวนก ม.6 ต�ำบลบางขุนกอง

วัดยางป่า คลองวัดสัก ม.4 ต�ำบลบางขนุน

วัดหูช้าง

ถนนพระประแดง-สุพรรณบุรี ม.1 ต�ำบลปลายบาง

คลองบางราวนก ม.1 ต�ำบลบางคูเวียง คลองปลายบาง ม.3 ต�ำบลศาลากลาง

วัดอุทยาน คลองบางกอกน้อย ม.5 ต�ำบลบางขุนกอง

วัดส้มเกลี้ยง

ม.3 ต�ำบลปลายบาง

อ�ำเภอบางกรวย วัดเต็มรักสามัคคี

วัดมะเดื่อ

บ้านบางคูรัด ม.8 ต�ำบลบางคูรัด วัดบรมราชากาญจนาภิเษกอนุสรณ์ ม.4 ต�ำบลโสนลอย

บ้านบางมะเดื่อ ม.9 ต�ำบลบางรักใหญ่

วัดบางไผ่

คลองอ้อมนนท์ ม.14 ต�ำบลบางรักใหญ่

คลองบางไผ่ ม.15 ต�ำบลบางรักพัฒนา

วัดบางแพรก คลองบางแพรก ม.11 ต�ำบลบางรักใหญ่

วัดบางรักใหญ่ บ้านบางรักใหญ่ ม.3 ต�ำบลบางรักใหญ่

วัดพูนพิมลราช คลองขุดค่ายสาม ม.4 ต�ำบลพิมลราช

6

วัดโมลี วัดละหาร บ้านบางบัวทอง ม.2 ต�ำบลโสนลอย

วัดลาดปลาดุก คลองบางไผ่ ม.17 ต�ำบลบางรักใหญ่

วัดล�ำโพ คลองล�ำโพ ม.3 ต�ำบลล�ำโพ

วัดสามง่าม สามง่าม ม.8 ต�ำบลล�ำโพ

SBL บันทึกประเทศไทย I นนทบุรี

.indd 6

22/9/2563 16:33:23


THE IMPORTANT TEMPLES NONTHABURI

อ�ำเภอปากเกร็ด

วัดกลางเกร็ด

บ้านคลองลัดเกร็ด ม.1 ต�ำบลบางตลาด

วัดกู้ ม.6 ต�ำบลบางพูด

วัดเกาะพญาเจ่ง ม.1 ต�ำบลปากเกร็ด

วัดฉิมพลี วัดโพธิ์บ้านอ้อยโอ่งอ่าง ม.1 ต�ำบลเกาะเกร็ด

วัดชลประทานรังสฤษดิ์ ถนนติวานนท์ ม.1 ต�ำบลบางตลา

วัดช่องลม คลองวัดช่องลม ม.4 ต�ำบลบ้านใหม่ วัดเชิงเลน ม.8 ต�ำบลท่าอิฐ วัดตาล ม.1 ต�ำบลบางตะไนย์

วัดต�ำหนักเหนือ บ้านต�ำหนัก ม.3 ต�ำบลบางตะไนย์

วัดเตย บ้านเตย ม.3 ต�ำบลบางตะไนย์

วัดบางจาก

วัดศรีรัตนาราม

บ้านบางจาก ม.1 ต�ำบลคลองพระอุดม

บ้านคลองบางพัง ม.2 ต�ำบลบางพูด

วัดบางบัวทอง

วัดศาลากุล

คลองบางบัวทอง ม.3 ต�ำบลท่าอิฐ

บ้านเกาะศาลากุล ม.3 ต�ำบลเกาะเกร็ด

วัดพูดนอก บ้านคลองบางพูด ม.7 ต�ำบลบางพูด

วัดบางพูดใน ถนนพัฒนา ม.1 ต�ำบลปากเกร็ด

วัดปรมัยยิกาวาส ม.7 ต�ำบลเกาะเกร็ด

วัดปากคลองพระอุดม บ้านแหลม ม.5 ต�ำบลบางตะไนย์ วัดป่าเลไลยก์ บ้านแหลมเหนือ ม.5 ต�ำบลบางตะไนย์

คลองพระอุดม ม.3 ต�ำบลคลองพระอุดม

วัดสาลีโขภิตาราม ม.3 ต�ำบลบางพลับ

วัดสิงห์ทอง

วัดผาสุกมณีจักร

วัดเสาธงทอง

บ้านบางพูด ม.9 ต�ำบลบางพูด

บ้านอ้อมเกร็ด ม.6 ต�ำบลเกาะเกร็ด

วัดไผ่ล้อม บ้านใหม่ ม.2 ต�ำบลบ้านใหม่

บ้านหัวถนนแจ้งวัฒนะ ม.2 ต�ำบลปากเกร็ด

วัดสะพานสูง

คลองบางบัวทอง ม.2 ต�ำบลอ้อมเกร็ด

คลองพระอุดม ม.6 ต�ำบลคลองพระอุดม

วัดบ่อ

ม.5 ต�ำบลบ้านใหญ่

คลองพระอุดม ม.2 ต�ำบลคลองพระอุดม

บ้านโอ่งอ่าง ม.1 ต�ำบลเกาะเกร็ด

คลองชลประทาน ม.6 ต�ำบลคลองพระอุดม วัดท่าอิฐ ม.7 ต�ำบลท่าอิฐ

วัดสลักเหนือ

วัดโปรดเกษ

วัดท้องคุ้ง วัดท่าเกวียน

วัดสนามเหนือ บ้านคลองลัดเกร็ด ม.3 ต�ำบลปากเกร็ด

วัดโพธิ์ทองบน วัดโพธิ์บ้านอ้อย ถนนแจ้งวัฒนะ 2 ม.4 ต�ำบลบางพูด

วัดเรืองเวชมงคล บ้านหนองปรือ ม.3 ต�ำบลบ้านใหม่

วัดศรีเขตนันทาราม ม.10 ต�ำบลคลองข่อย

วัดแสงสิริธรรม บ้านท่าอิฐ ม.5 ต�ำบลท่าอิฐ

วัดหงษ์ทอง ถนนสุขาประชาสรรค์ 2 ม.3 ต�ำบลบางพูด

วัดใหญ่สว่างอารมณ์ บ้านคลองบางน้อย ม.6 ต�ำบลอ้อมเกร็ด

วัดอินทาราม บ้านคลองบ้านแหลม ม.1 ต�ำบลคลองพระอุดม

NONTHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 7

7

22/9/2563 16:33:25


8

.indd 8

SBL บันทึกประเทศไทย I นนทบุรี

21/9/2563 17:40:01


สะพานมหาเจษฎาบดินทรานุสรณ์

NONTHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 9

9

21/9/2563 17:40:02


10

.indd 10

SBL บันทึกประเทศไทย I นนทบุรี

21/9/2563 17:40:02


วัวัดดบรมราชากาญจนา เล่งเน่ยยี่ 2 ภิเษกอนุสรณ์

วัดบรมราชากาญจนาภิเษกอนุสรณ์ หรือเรียกง่ายๆ ว่า วัดเล่งเน่ยยี่ 2 เป็นวัดแห่งใหม่ที่มีพื้นที่กว้างใหญ่ ขนาด 12 ไร่เศษ จัดสร้างขึน้ เพือ่ เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดชมหาราช เนื่ อ งใน วโรกาสงานฉลองสิริราชสมบัติครบ 50 ปี พร้อมด้วย สถาปัตยกรรมแบบจีนที่สวยงามตระการตา ราวกับว่าได้ วาร์ปไปเมืองจีนเลย วัดเล่งเน่ยยี่ 2 ตั้งอยู่ไม่ไกลจาก กรุงเทพ อยู่ที่อำ� เภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรีนี่เอง วัน หยุดนี้พาคุณพ่อคุณแม่ออกไปเที่ยวนนทบุรี พร้อมขอพร แก้ปีชง 2563 ที่วัดแห่งนี้กัน ที่ตั้ง : 75 ถนนเทศบาลสาย 9 ต�ำบลโสนลอย อ�ำเภอ บางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี 11110 ติดต่อวัดมังกรกมลาวาส โทร. 02-2223975 การเดินทาง : รถประจ�ำทาง สาย 127,177 หรือ รถตู้สาย บางบัวทอง-พระปิ่นเกล้า และรถตู้สายบางบัวทอง-พงษ์ เพชร ลงบริเวณตลาดบางบัวทอง NONTHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 11

11

21/9/2563 17:40:03


ศาลากลาง

จังหวัดนนทบุรี

แต่เดิมทีศาลากลางจังหวัดนนทบุรี นั้นถูกสร้างขึ้นในสมัย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยหมายมั่น ให้กลายมาเป็นโรงเรียนกฎหมาย แต่สุดท้ายแล้วก็ไม่ได้เปิด จนได้กลายมาเป็นโรงเรียนราชวิทยาลัย ซึ่งต่อมาพอได้เกิด ยุคทีเ่ ศรษฐกิจตกต�ำ่ ทัว่ โลก ก็ได้ถกู ทิง้ ร้างไป จนได้กลายมาเป็น ศาลากลางจังหวัดนนทบุรี และมีการเปิดส่วนด้านหน้าให้เป็น พิพิธภัณฑ์ ซึ่งศาลากลางจังหวัดนี้ถือเป็นแลนด์มาร์คส�ำคัญอีก แห่งของเมืองนนทบุรีที่ไม่ควรพลาด 12

.indd 12

SBL บันทึกประเทศไทย I นนทบุรี

21/9/2563 17:40:05


NONTHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 13

13

21/9/2563 17:40:08


14

.indd 14

SBL บันทึกประเทศไทย I นนทบุรี

21/9/2563 17:40:12


STREET ART เมืองนนท์ อีกหนึง่ แลนด์มาร์คใหม่สดุ ชิค แห่งนนทบุรี Street Art เมืองนนท์ ใต้สะพานมหาเจษฎาบดินทร์ เป็น Street Art ทีว่ าดได้อย่างว้าว สวยงามสมจริงแบบสามมิติ แต่ละภาพ สะท้อนเรื่องราว วิถีชีวิต ชุมชน ประเพณี วัฒนธรรม ของดีจังหวัดนนท์ รวมถึงอัตลักษณ์ความเป็นเมืองนนท์ ถูกถ่ายทอดไว้บนภาพศิลปะแบบสตรีทอาร์ททัง้ บนก�ำแพง บริเวณตอม้อสะพาน กลายเป็นสีสัน ที่ใครผ่านไปมาต้อง หันมามองและแวะมาถ่ายภาพ ส�ำหรับการเดินทางมาที่ Street Art นนทบุรี ให้มาที่ ศาลหลักเมืองคลองอ้อม ซึ่งเป็นศาลหลักเมืองเก่านนทบุรี อย่าตัง้ ในกูเกิล้ ว่าศาลหลักเมืองนนทบุรนี ะคะ เพราะคนละ แห่งกัน หากเดินทางมาจากกรุงเทพไม่ต้องข้ามสะพาน เจษฎาแต่ให้เลียบซ้ายกลับรถใต้สะพาน โดยภาพ Street Art จะอยู ่ ใ ต้สะพานมหาเจษฎาฯ ตรงบริเวณทางเข้าศาล หลักเมืองเก่าพอดี เมื่อมาถึงแล้วสามารถหาที่จอดใต้ สะพานได้เลย

NONTHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 15

15

21/9/2563 17:40:20


Ad 10

.indd 16

21/9/2563 17:16:45


ก้าวเข้าสู่ปีที่ 10

บั น ทึ ก ประเทศไทย ถือเป็นแหล่งข้อ มู ล อ้ า งอิ งได้ อ ย่ า งสมบู ร ณ์ โดยให้ ร ายละเอี ยดข้ อมู ลอย่ า งครบถ้ ว น สมบู ร ณ์ และถู กต้ อง พร้อมรู ป ภาพจากสถานที่จริ ง ณ ปั จจุ บัน ล้ ว นได้ ถูกบั นทึ กเอาไว้ แ ล้ ว ในหนั ง สื อเล่ มนี้ !

Ad 10

.indd 17

10 th

ANNIVERSARY ISSUE

21/9/2563 17:17:07


Editor's talk.indd 18

22/9/2563 11:24:48


SBL

EDITOR’S

บันทึกประเทศไทย www.sbl.co.th issue 109/2020

บริษัท สมาร์ทบิซิเนสไลน์ จ�ำกัด 9/4-6 ถนนรามอินทรา แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพฯ 10220 โทรศัพท์ : 0-2522-7171 เว็บไซต์ : www.sbl.co.th คณะผู้บริหาร คณะที่ปรึกษา : ศ.ดร.กฤช เพิ่มทันจิตต์, พลเอกสรชัช วรปัญญา, ดร.นิเวศน์ กันไทยราษฎร์, ดร.ประยุทธ คงเฉลิมวัฒน์, ดร.ชาญ ธาระวาส, ดร.สุมิท แช่มประสิท, ดร.วัลลภ อารีรบ, ดร.พิชัย ทรัพย์เกิด, ดร.ไอศูรย์ ดีรัตน์, ดร.สุเทษณ์ จันทรุกขา, ดร.อรรถสิทธิ์ ตันติวิรัชกุล

ปัณณ์ฐาโชค ธนสานสิทธิโชติ

อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์

วนัสกฤษณ์ ศิลปรังสรรค์

บรรณาธิการการตลาด นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย

บรรณาธิการอ�ำนวยการ นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย

บรรณาธิการงานบุคคล นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย

“SBL บันทึกประเทศไทย ฉบับเทีย่ วชานเมืองในจังหวัดนนทบุรี อยูใ่ นมือท่านผูอ้ า่ นแล้วนะครับ กับ ชีวิตการท่องเที่ยวแนวใหม่ กลับมาหาใจตนเองในทุกย่างก้าวแห่งสติ เราต้องมองบวกในท่ามกลางความ เป็นจริงครับ เราจึงไปต่อกันได้ อย่างไรก็ตาม สติ คือ ความตระหนักรูช้ ว่ ยเราได้ทกุ สถานการณ์ ผมเชือ่ มัน่ การฝึกตนตามรอยองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ดังพุทธพจน์บทหนึง่ ว่า “ทูเร สนฺโต ปกาเสนฺติ หิมวนฺ โตว ปพฺพโต : ท่านผู้สงบย่อมปรากฏได้ในที่ไกล เหมือนภูเขาหิมวันต์ฉะนั้น” ขออ�ำนวยพรจากพระองค์ และสิ่งศักดิ์ทั้งปวงที่ท่านนับถือจงดลบันดาลให้ก้าวผ่านอุปสรรคทั้งปวงไปสู่ความส�ำเร็จทุกด้านครับ” อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์ บรรณาธิการอ�ำนวยการ “ชุมชนส�ำคัญในจังหวัดนนทบุรีแห่งหนึ่งคือ บ้านตลาดขวัญ ซึ่งตั้งอยู่ริมแม่น�้ำเจ้าพระยาที่มีดินดี ที่สมบูรณ์ในภาคกลางเพราะการพัดผ่านของกระแสน�ำ้ สวนเมืองนนท์จึงขึ้นชื่อในสมัยกรุงศรีอยุธยามา จนถึงปัจจุบัน ธุรกิจที่นี่จึงมีเอกลักษณ์ทางเกษตรกรรมจากสวนอันอุดมและยั่งยืน ผมมาเดินเล่นเที่ยววัด ในเกาะเกร็ดและสัมผัสเขือ่ นดินเผารอบเกาะ อันเป็นปราการศิลปะทีย่ งั คงแฝงด้วยเสน่หจ์ ากครก ทีต่ งั้ อยู่ กลางแม่น�้ำเจ้าพระยาท้าลมฝนพายุทุกฤดูกาลมาจนถึงวันนี้ ที่ยังคงงดงามเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวและ ชวนให้นักท่องเที่ยวทางธรรมจากรอบโลกเดินทางมาแล้วมาอีกอย่างไม่รู้เบื่อ ปัณณ์ฐาโชค ธนสานสิทธิโชติ บรรณาธิการการตลาด “ด้วยความอบอุน่ จากแสงแห่งพระธรรมน�ำชีวติ มาแต่ครัง้ โบราณกาลของชาวจังหวัดนนทบุรี ทีมงานผม เจาะลึกการท่องเที่ยวทางธรรมวัดในจังหวัดนนทบุรีมาฝากกว่า 200 วัด หนึ่งในนั้นคือ วัดปรางค์หลวง ที่ ท�ำให้เราตระหนักว่าน�ำ้ พระราชหฤทัยของพระมหากษัตริย์ยิ่งใหญ่นัก สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้า อูท่ อง) โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึน้ เพือ่ เป็นหลักแก่ชมุ ชนชาวเมืองอูท่ องทีอ่ พยพหนีโรคระบาดมาตัง้ บ้านเรือน อยู่บริเวณนี้ก่อนจะมีการสถาปนากรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี พระองค์ทรงตระหนักในเรื่องความเป็นอยู่ อันปลอดภัยของปวงประชาเป็นหลัก ด้วยมีฐานรากส�ำคัญคือพระพุทธศาสนาเป็นขวัญแห่งแผ่นดินมายาม นานตั้งแต่ก่อนตั้งกรุงสุโขทัยมาจนถึงทุกวันนี้ ขอความสุขสวัสดีจงบังเกิดกับทุกท่านครับ” วนัสกฤษณ์ ศิลปรังสรรค์ บรรณาธิการฝ่ายบุคคล

บรรณาธิการอ�ำนวยการ : อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์ บรรณาธิการงานบุคคล : พงษ์ศักดิ์ พรณัฐวุฒิกุล, วนัสกฤษณ์ ศิลปรังสรรค์ บรรณาธิการการตลาด : ปัณณ์ฐาโชค ธนสานสิทธิโชติ ฝ่ายประสานงานโครงการภาครัฐและเอกชน ผู้จัดการ : กิตติชัย ศรีสมุทร, ทวัชร์ ศรีธามาศ, อัครกฤษ หวานวงศ์, ภูษิต วิทยา คณะทีมงาน : อรรถพร สว่างแจ้ง, ธนิน ตั้งธ�ำรงจิต, ถาวร เวปุละ, พุฒิธร จันทร์หอม, อมร อนันต์รัตนสุข, นิรุจน์ แก้วเล็ก, สุษฎา พรหมคีรี, พร้อมพงศ์ สืบด้วง, สรวิชญ์ อังกูรศุภเศรษฐ์ ผู้จัดการฝ่ายประสานงานข้อมูล : นันท์ธนาดา พลพวก ฝ่ายประสานงานข้อมูล : ศุภญา บุญช่วยชีพ, นลัชนันท์ เทียมเกตุทวีโชค นักเขียน : มนสิกุล โอวาทเภสัชช์ ฝ่ายศิลปกรรม ผู้จัดการฝ่ายศิลปกรรม : พัชรา ค�ำมี กราฟิกดี ไซน์ : พิมพ์พิสุทธิ์ พังจูนันท์, วรเชษฐ สมประสงค์, อนุธิดา ค�ำหล้า ช่างภาพ : ปณต ปิติจารุวิศาล, กิติวัฒน์ ทิศมั่ง วิทยา ประเสริฐสังข์, ธีระพงษ์ ธรรมเจริญ ตัดต่อวีดีโอ : วัชรกรณ์ พรหมจรรย์, ณัฐพล ชื่นข�ำ ฝ่ายบัญชี / การเงิน บัญชี : ปัฐมาภรณ์ แสงบุราณ ผู้จัดการฝ่ายการเงิน : สุจิตรา แดนแก้วนิต การเงิน : ชวัลชา นกขุนทอง, สุภาวรรณ สุวรรณวงค์

SBL MAGAZINE

Editor's talk.indd 19

22/9/2563 11:24:54


111

ISSUE

สารบัญ

CONTENTS 22

NONTHABURI PROVINCIAL OFFICE OF BUDDHISM

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงาน พระพุทธศาสนาจังหวัดนนทบุรี นายประยูร จรเจริญ

14 Editor's talk.indd 20

28 30 34 40 42 48 52 54

เจ้าคณะจังหวัดนนทบุรี รองเจ้าคณะจังหวัดนนทบุรี ท่องเที่ยวจังหวัดนนทบุรี วัดบัวขวัญ วัดแจ้งศิริสัมพันธ์ วัดสังฆทาน วัดลานนาบุญ วัดพุทธปัญญา

22/9/2563 11:24:59


วัดบางขวาง วัดบางอ้อยช้าง วัดจันทร์ วัดเชิงกระบือ วัดสักใหญ่ วัดอุบลวนาราม วัดโคนอน วัดยางป่า (ยั้ง) วัดหูช้าง วัดโคนอนมหาสวัสดิ์ วัดบางเลนเจริญ วัดเตย วัดบ่อ ปากเกร็ด วัดสพานสูง วัดบางพูดนอก

56 58 62 68 74 78 80 82 84 86 88 94 96 98 100

102 104 106 108 112 114 116 120 128 134 136

วัดกู้ วัดเกาะพญาเจ่ง วัดหงษ์ทอง วัดบางไผ่ พระอารามหลวง วัดสามง่าม วัดบางรักใหญ่ วัดอ่วมอ่องประชานฤมิต วัดไทรน้อย วัดไทรใหญ่ วัดคลองตาคล้าย แนะน�ำวัดท่องเที่ยว จังหวัดสมุทรสาคร วัดท่ากระบือ

38

Editor's talk.indd 21

22/9/2563 11:25:01


EXC LUS I VE

NONTHABURI PROVINCIAL OFFICE OF BUDDHISM นายประยู ร จรเจริ ญ ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดนนทบุรี 22

SBL บันทึกประเทศไทย I นนทบุรี


เปิดเส้นทาง 6 วัด พระอารามหลวง ในประวัติศาสตร์ แห่งการท่องเที่ยว ทางธรรมในเมืองนนท์

วิสยั ทัศน์ เป็นองค์กรหลักในการส่งเสริมพระพุทธ ศาสนา ให้มีความมั่นคง พุทธศาสนิกชนมี ความเข้มแข็ง ด้วยหลักพุทธธรรม น�ำสังคม สู่คุณภาพชีวิตที่ดี พันธกิจ 1. ส่งเสริม สนับสนุนวัดในจังหวัดนนทบุรี ให้เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ และศูนย์กลางการ จัดกิจกรรมทางพระพุทธศาสนา 2. สนองงานคณะสงฆ์ จั ง หวั ด ด้ า นการ ปกครอง ด้านการศาสนศึกษา ด้านการเผยแผ่ ด้านการสาธารณูปการ ด้านการศึกษาสงเคราะห์ และด้านการสาธารณสงเคราะห์ และภารกิจอืน่ ๆ ของคณะสงฆ์ 3. สนับสนุนคณะสงฆ์จังหวัดที่ท�ำหน้าที่ เผยแผ่พระพุทธศาสนา จัดการศึกษาพระปริยัติ ธรรมรวมทั้ ง การศึ ก ษาธรรมศึ ก ษา ให้ เจริ ญ งอกงามด้วยหลักพุทธธรรม 4. สนับสนุนส่งเสริมการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ที่พัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ด้วยหลักธรรมทาง พระพุ ท ธศาสนาที่ ส ามารถเสริ ม สร้ า งให้ ประชาชน นักเรียน นักศึกษา มีการน�ำหลักธรรม ไปใช้ชีวิตประจ�ำวัน

5. ดูแล รักษา และจัดการที่ดินและอาคาร ศาสนสมบัตกิ ลางและวัดร้าง ให้เกิดประโยชน์ตอ่ พระพุทธศาสนาและสังคมให้มากที่สุด รวมทั้ง ช่วยในการจัดศาสนสมบัติของวัด ยุทธศาสตร์ เพือ่ ให้บรรลุเป้าหมายตามพันธกิจ ยุทธศาสตร์ที่ 1 สนับสนุนคณะสงฆ์ในจังหวัด นนทบุรี ในการน�ำหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต

ยุทธศาสตร์ที่ 2 การอุปถัมภ์และคุ้มครอง พระพุทธศาสนา ยุทธศาสตร์ที่ 3 เสริมสร้างความเข้มแข็งให้ กับศาสนทายาท ยุทธศาสตร์ที่ 4 ส่งเสริมพัฒนาการจัดการ ศาสนสมบัตกิ ลาง ศาสนสมบัตวิ ดั และศาสนสถาน ปัจจุบนั ในจังหวัดนนทบุรี มีพระภิกษุ และ สามเณร จ�ำนวนทั้งสิ้น 3,227 รูป และมีวัด ทั้งหมด 196 วัด

NONTHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

23


EXC LUS I VE

24

SBL บันทึกประเทศไทย I นนทบุรี

วัด บางไผ่ (พระอารามหลวง ชั้ นตรี )


ชวนเที่ยววัดพระอารามหลวงในเมื อ งนนท์ 6 วัด ในประวั ติ ศ าสตร์ 1. วัดเฉลิมพระเกียรติวรวิหาร (พระอารามหลวงชั้นโท)

ต� ำ บลบางศรี เ มื อ ง อ� ำ เภอเมื อ งนนทบุ รี จังหวัดนนทบุรี วัดเฉลิมพระเกียรติวรวิหาร เป็นวัดเก่าแก่คู่ บ้านคู่เมืองจังหวัดนนทบุรีมากว่า 100 ปี ตั้งอยู่ ริมแม่น�้ำเจ้าพระยา เป็นวัดที่พระบาทสมเด็จ พระนัง่ เกล้าเจ้าอยูห่ วั โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึน้ ใน พื้นที่ซึ่งเป็นนิวาสสถานเดิมของพระอัยกา (ตา) พระอัยกี (ยาย) และพระราชมารดาของพระองค์ โดยพระองค์ทรงเห็นว่าควรที่จะสถาปนาสถาน ทีแ่ ห่งนีข้ นึ้ เป็นพระอารามหลวงสักแห่งหนึง่ เพือ่ เป็นการเฉลิมพระเกียรติแก่บคุ คลทัง้ สาม ภายใน พระอุโบสถงดงามด้วยสถาปัตยกรรมแบบไทย ผสมจีน หลังคามุงด้วยกระเบื้องรางดินเผาท�ำ เป็นลอนลูกฟูกแบบจีน หน้าบันประดับด้วย กระเบื้องเคลือบสีสดจากประเทศจีน ภายใน ประดิษฐาน “พระพุทธมหาโลกาภินันทปฏิมา” พระพุ ท ธรู ป ปางมารวิ ชั ย งดงามเป็ น ยิ่ ง นั ก ท่ามกลางบรรยากาศที่แสนจะร่มรื่นด้วยต้นไม้ น้ อ ยใหญ่ ให้ ค วามสุ ข และความสงบใจแก่ พุทธศาสนิกชนทุกคน

2. วั ด เขมาภิ ร ตารามราชวรวิ ห าร (พระอารามหลวงชั้นโท) ต�ำบลสวนใหญ่ อ�ำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัด นนทบุรี

วัดเขมาภิรตารามเป็นพระอารามหลวง ชั้นโท ชนิดราชวรวิหาร สร้างขึ้นในสมัยกรุงศรีอยุธยา ตอนต้น เดิมเรียกว่า “วัดเขมา” จนเมื่อสมัย รัชกาลที่ 4 ทรงมีคำ� สัง่ ให้ปฏิสงั ขรณ์ใหม่ทงั้ พระ อารามและพระราชทานสร้อยนามต่อท้ายว่า “วัดเขมาภิรตาราม” เป็นวัดที่จอมพล ป. พิบูล สงคราม เคยเรียนหนังสือในสมัยเด็ก เมื่อครั้ง ราชวงศ์จักรีมีอายุ 200 ปีและมีพิธีสมโภชกรุง รัตนโกสินทร์ใน พ.ศ. 2525 คณะกรรมการวัดได้ มีความเห็นว่าวัดนีม้ คี วามส�ำคัญกับราชวงศ์จกั รี และพระบรมวงศานุวงศ์ทรงให้ความอุปถัมภ์ บ�ำรุงมาตลอด จึงมีมติสร้างศาลาอเนกประสงค์ “ศาลา 200 ปีกรุงรัตนโกสินทร์” ภายในวัดมี พระมหาเจดีย์ ซึ่งเป็นสถานที่บรรจุพระบรม สารีริกธาตุ อยู่ด้านหลังโบสถ์ วัดเขมาภิรตาราม ราชวรวิหาร ถือเป็นวัดทีค่ วรค่าแก่การเคารพสัก การะและเป็นแหล่งศึกษาทางประวัติศาสตร์อีก แห่งหนึ่งที่ทั้งอยู่ติดริมแม่น�้ำเจ้าพระยา

3. วั ด ปรมั ย ยิ ก าวาสวรวิ ห าร (พระอารามหลวงชั้ น โท)

เจดีย์มุเตา สัญลักษณ์แห่งต�ำบลเกาะเกร็ด อ�ำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี วัดปรมัยยิกาวาสเป็นวัดโบราณ สันนิฐานว่า น่าจะสร้างหลังจากพระเจ้าท้ายสระโปรดให้ ขุ ด คลองขึ้ น เมื่ อ พ.ศ. 2264 เรี ย กกั น ว่ า “วัดปากอ่าว” เมื่อพม่าบุกยึดเมือง กลายเป็น

วั ด ร้ า งในปี พ .ศ. 2317 ต่ อ มาสั น นิ ษ ฐานว่ า ชาวรามั ญ ที่ อ พยพมาฟื ้ น ฟู วั ด ขึ้ น มาเรี ย กว่ า “เพียมุเกีย๊ ะเติง้ ” ในสมัยสมเด็จพระบาทสมเด็จ พระเจ้าตากสินมหาราช ต่อมาเมื่อพุทธศักราช 2417 พระเจ้าบรมมหัยยิกาเธอ กรมสมเด็จ พระสุดารัตน์ราชประยูร ได้ปฏิสังขรณ์ขึ้นใหม่ จนเสร็ จ เรี ย บร้ อ ย พระบาทสมเด็ จ พระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ได้เสด็จพร้อมด้วยพระเจ้า บรมมหั ย ยิ ก าเธอ กรมสมเด็ จ พระสุ ด ารั ต น์ ราชประยูร ทรงถวายไตรจีวรเครือ่ งสมณบริขาร แด่พระสงฆ์และโปรดให้เปลี่ยนนามวัดใหม่เป็น “วัดปรมัยยิกาวาส” ซึง่ มีความหมายว่า “วัดของ พระบรมอัยยิกา” เพือ่ เฉลิมพระเกียรติตอ่ สมเด็จ ยายที่ทรงอภิบาลท่าน ภายในวัดมีพระอุโบสถ ที่ มี ภ าพจิ ต กรรมฝาผนั ง แบบไทยประยุ ก ต์ มีพ ระวิหารซึ่งเป็น ที่ประดิษฐาน “พระพุทธ ไสยาสน์ขนาดใหญ่” ส่วนด้านหน้าพระวิหาร มี “พระนนทมุนนิ ท์” เป็นพระพุทธรูปปางขัดสมาธิ เพชร ซึ่งเป็นพระพุทธรูปประจ�ำเมืองนนทบุรี และมี “เจดีย์มุเตา” ทรงรามัญที่จ�ำลองแบบมา จากพระธาตุเจดีย์มุเตา เมืองหงสาวดี โดยขึ้น ทะเบียนเป็นโบราณสถานในวันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2478 ภายในบรรจุพระธาตุเป็นทีเ่ คารพสักการะ ของชาวไทยเชื้อสายมอญ ปัจจุบันกลายเป็น สั ญ ลั ก ษณ์ ข องเกาะเกร็ ด ไปแล้ ว โดยยั ง คง อนุรกั ษ์ให้มสี ภาพเอียงไว้ซงึ่ นักท่องเทีย่ วทัว่ โลก รู้จักกันดี

NONTHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

25


4. วัดบางไผ่ (พระอารามหลวง ชั้นตรี)

ตาํ บลบางรักใหญ่ อาํ เภอบางบัวทอง จังหวัด นนทบุรี วัดบางไผ่ (พระอารามหลวง) เป็นวัดเก่าแก่ ตามประวัติของกรมการศาสนา ที่สร้างตั้งแต่ พ.ศ.2309 ในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลายจนถึง ต้นกรุงรัตนโกสินทร์ วัดนีจ้ งึ มีพระพุทธรูปศิลปะ สมัยกรุงสุโขทัยและพระพุทธรูปศิลปะสมัยอูท่ อง รวมถึงสิง่ ปลูกสร้างถาวรวัตถุสำ� คัญมากมาย เช่น หอพระไตรปิฎกกลางน�ำ้ ทรงจตุรมุข ส�ำหรับเก็บ พระไตรปิฎกและเป็นที่ประดิษฐานพระแก้ว มรกตจ� ำ ลอง ภายในพระอุ โ บสถหลั ง เก่ า มี พระพุทธมงคลศรีสุโขทัยหรือ “หลวงพ่อทอง” เป็ น พระประธานปางมารวิ ชั ย นั่ ง ขั ด สมาธิ องค์พระเป็นเนื้อทองค�ำทั้งองค์สันนิษฐานว่า สร้างในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย นอกจากนี้ ยังมีโรงเรียนพระปริยัติธรรมรูปแบบทรงไทย และ ศาลาทีปังกรรัศมีโชติเป็นอาคาร 3 ชั้น ให้พุทธศาสนิกชนได้ใช้เป็นสถานที่ปฏิบัติธรรม อีกด้วย เมือ่ เข้ามาในบริเวณวัดจะสัมผัสถึงความ ร่มรื่นสวยงามและความสงบเงียบ ในปี พ.ศ. 2549 ได้ รั บ พระกรุ ณ าโปรดเกล้ า ฯ ให้ เ ป็ น พระอารามหลวงชั้ น ตรี ช นิ ด สามั ญ ใช้ ชื่ อ ว่ า “วัดบางไผ่ (พระอารามหลวง)”

5. วั ดชลประทานรังสฤษดิ์ (พระอารามหลวง ชั้นตรี)

ต�ำบลบางตลาด อ�ำเภอปากเกร็ด จังหวัด นนทบุรี วัดชลประทานรังสฤษดิ์ สร้างขึ้นในปีพ.ศ. 2502 เมื่ อ หม่ อ มหลวงชู ช าติ ก� ำ ภู อธิ บ ดี กรมชลประทาน ไปเยีย่ มชมวัดอุโมงค์ (สวนพุทธ ธรรม) จังหวัดเชียงใหม่ ได้ฟงั การแสดงธรรมของ พระปัญญานันทภิกขุ ซึง่ จ�ำพรรษาอยูท่ วี่ ดั อุโมงค์ ในขณะนั้น และเลื่อมใสวิธีการสอนธรรมะแนว ใหม่ ข องท่ า น ที่ ส ามารถท� ำ ให้ ค นทุ ก ชนชั้ น สามารถเข้าถึงธรรมมะได้อย่างเป็นธรรมชาติ จึงได้อาราธนาพระปัญญานันทภิกขุมาเป็นเจ้า อาวาสในพ.ศ. 2503 26

SBL บันทึกประเทศไทย I นนทบุรี

ภายในวัดมีความกว้างขวางร่มรื่นด้วยหมู่ แมกไม้นานาชนิดปกคลุมอยูท่ วั่ บริเวณ นอกจาก นั้นยังมีลานไผ่อเนกประสงค์ ซึ่งชาวพุทธโดย ทัว่ ไปจะมารวมกันเป็นจ�ำนวนมาก เพือ่ ประกอบ พิธีกรรมทางศาสนา และฟังธรรมเทศนาในทุก วันอาทิตย์ และวันส�ำคัญทางพุทธศาสนา ตลอด จนทุกวันก็สามารถเดินทางมาท่องเที่ยว เรียนรู้ จิตใจตนเองได้ ส�ำหรับทุกท่านทีอ่ ยากท�ำบุญและ ท่องเทีย่ วไปพร้อม ๆ กัน แวะมาหาความสงบใน จิตใจที่อาจจะได้ความสงบเย็นกลับไป

6. วัดบัวขวัญ (พระอารามหลวง ชั้ น ตรี ชนิ ดสามั ญ )

ต� ำ บลบางกระสอ อ� ำ เภอเมื อ งนนทบุ รี จังหวัดนนทบุรี วัดบัวขวัญ เดิมเป็นเพียงส�ำนักสงฆ์กลาง ท้องนา ที่สร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 5 และต่อมา พั ฒ นาเป็ น วั ด ในสมั ย ของพระครู ป รี ช าเฉลิ ม (หลวงปู่แฉ่ง) ชื่อวัดเฉลิมพระเกียรติวรวิหาร และได้รับอนุญาตให้สร้างเป็นวัดในวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2435 โดยใช้ชื่อว่า “วัดสะแก”

ต่อมามีผู้บริจาคที่ดินสร้างวัดเพิ่ม คือ นายบัว ฉุนเฉียว จึงได้เปลี่ยนมาเป็นชื่อ “วัดบัวขวัญ” เพือ่ เป็นเกียรติแก่นายบัว และได้รบั พระราชทาน วิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 24 มกราคม พ.ศ.2506 ต่อมาในปี พ.ศ.2537 พระมหาไสว สุขวโร (ป.ธ. 4) ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดบางแพรก (เหนือ) ได้มา ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส จนถึงปัจจุบนั เป็นพระ ราชาคณะชัน้ สามัญ ที่ พระโสภณสุตาลังการ ซึง่ ได้พฒ ั นาวัดทัง้ ด้านถาวรวัตถุ ทางด้านการศึกษา จนเป็ น โรงเรี ย นพระปริ ยั ติ ธ รรม แผนกบาลี ประจ�ำจังหวัดนนทบุรี แห่งที่ 1 และได้รับพระ กรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ยกวัดราษฎร์ ขึ้นเป็นพระ อารามหลวง ชั้นตรี ชนิดสามัญ ในวันที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2551 ภายในวัดมีพระอุโบสถจตุรมุข ก่อสร้างขึ้น เมือ่ เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2546 โดยมีพระพุทธ เมตตา (จ� ำ ลองมาจากพระพุ ท ธเมตตาที่ ประดิษฐานในมหาเจดีย์พุทธคยา สาธารณรัฐ อินเดีย) เป็นพระประธานในพระอุโบสถ ซึ่งนัก ท่ อ งเที่ ย วสามารถเดิ น ทางมาสั ก การบู ช า พระพุทธเมตตาได้ทุกวัน

ขอเชิญทุกท่านเดินทางท่องเที่ยวทางธรรมริมแม่น�้ำ เจ้ า พระยา ท่ า น�้ ำ เมื อ งนนทบุ รี ที่ มี วั ด ในชุ ม ชนเกื อ บ สองร้ อ ยวั ด ให้ ท ่ า นได้ สั ม ผั ส ความสงบเย็ น ใจในทั น ที เมื่อไปถึง... ที่ ตั้ ง ส� ำ นั ก งานพระพุ ท ธศาสนาจั ง หวั ด นนทบุ รี ศาลากลางจั ง หวั ด นนทบุ รี (ชั้ น 2 อาคาร 3 ชั้ น ) ถนนรัตนาธิเบศร์ – บางกระสอ ต�ำบลบางกระสอ อ�ำเภอ เมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี รหัสไปรษณีย์ 11000 โทรศัพท์ 029-503-024 โทรสาร 029-503-024 เว็บไซต์ http://nbi.onab.go.th Email: nbi@onab.go.th , nbi.onab@gmail.com


EXC LU S IV E

วัด บัวขวัญ (พระอารามหลวง ชั้ นตรี ชนิ ดสามั ญ) NONTHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

27


พระราชนั น ทมุ น ี ฉายา สุขวโร เจ้าคณะจังหวัดนนทบุรี

อายุ 65 ปี พรรษา 44 วิทยฐานะ น.ธ.เอก , ป.ธ.4 ปริญญาพุทธศาสตร์ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ ปั จจุบันด�ำรงต�ำแหน่ง 1. เจ้าอาวาสวัดบัวขวัญ พระอารามหลวง 2. เจ้าคณะจังหวัดนนทบุรี สถานะเดิม ชื่อ ไสว นามสกุล สุขวงศ์ เกิดวันที่ 4ฯ13 6 ค�่ำ ปีมะแม ตรงกับ วันที่ 4 เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2498 บิดาชื่อ นายหลั่ง มารดาชื่อ นางบุ ญ เรื อ งบ้ า นเลขที่ 129 หมู ่ ที่ 2 ต� ำ บลบ้ า นใหม่ ชั ย มงคล อ�ำเภอทุ่งเสลี่ยม จังหวัดสุโขทัย อุ ปสมบท วัน 7 ฯ5 4 ค�่ำ ปีมะโรง ตรงกับวันที่ 20 เดือนมีนาคม พ.ศ.2519 ณ วัดสวัสติการาม ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอสวรรคโลก จังหวัดสุโขทัย พระอุปชั ฌาย์ พระครูสจุ ติ สีลาจารย์ วัดสวัสติการาม ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอสวรรคโลก จังหวัดสุโขทัย พระกรรมวาจาจารย์ พระครูสุนันคุณาภรณ์ วัดสวรรคาราม ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอสวรรคโลก จังหวัดสุโขทัย พระอนุสาวนาจารย์ พระบุญช่วย อนุตฺตโร วัดสวัสติการาม ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอสวรรคโลก จังหวัดสุโขทัย วิทยฐานะ พ.ศ.2509 ส�ำเร็จชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านท่าวิเศษ ต�ำบลบ้านใหม่ชัยมงคล อ�ำเภอทุ่งเสลี่ยม จังหวัดสุโขทัย พ.ศ.2525 น.ธ.เอก ส�ำนักเรียนคณะจังหวัดนนทบุรี วัดบางแพรก.เหนือ อ�ำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี พ.ศ.2531 ป.ธ.4 ส�ำนักเรียนคณะจังหวัดนนทบุรี วัดบางแพรก.เหนือ อ�ำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี พ.ศ.2548 ส�ำเร็จการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรการบริหาร กิจการคณะสงฆ์ (ป.บส.) รุ่นที่ 1 พ.ศ.2550 ได้รับปริญญาพุทธศาสตร์มหาบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขา บริหารการศึกษา จากมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย พ.ศ.2560 ได้ รั บ ปริ ญ ญาพุ ท ธศาสตร์ ดุ ษ ฎี บั ณ ฑิ ต กิ ต ติ ม ศั ก ดิ์ สาขาการจั ด การเชิ ง พุ ท ธ จากมหาวิ ท ยาลั ย มหาจุ ฬ าลงกรณ์ ราชวิทยาลัย 28

SBL บันทึกประเทศไทย I นนทบุรี

ต�ำแหน่งด้านการปกครอง พ.ศ.2531 ได้รับแต่งตั้งเป็นผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดบางแพรก.เหนือ ต�ำบลสวนใหญ่ อ�ำเภอเมือง นนทบุรี จังหวัดนนทบุรี พ.ศ.2531 กรรมวาจาจารย์ พ.ศ.2537 ได้ รั บ แต่ ง ตั้ ง เป็ น เจ้ า อาวาสวั ด บั ว ขวั ญ ต� ำ บล บางกระสอ อ�ำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี พ.ศ.2538 ได้รับแต่งตั้งเป็นพระอุปัชฌาย์ พ.ศ.2547 ได้รับแต่งตั้งเป็นรองเจ้าคณะอ�ำเภอเมืองนนทบุรี พ.ศ.2547 ได้รับแต่งตั้งเป็นผู้จัดการโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกบาลี ประจ�ำจังหวัดนนทบุรี แห่งที่ 1 พ.ศ.2548 ได้รับแต่งตั้งเป็นพระวินยาธิการ พ.ศ.2551 ได้รับแต่งตั้งเป็นประธานตรวจสอบพระกรรมวาจา จารย์ และเป็นประธานซ้อม พระอุปัชฌาย์ที่จะขอแต่งตั้งใหม่ พ.ศ.2552 ได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาสวัดบัวขวัญ พระอาราม หลวง พ.ศ.2555 ได้รับแต่งตั้งเป็นรองเจ้าคณะจังหวัดนนทบุรี พ.ศ.2557 ได้ รั บ แต่ ง ตั้ ง เป็ น ผู ้ รั ก ษาการแทนเจ้ า คณะจั ง หวั ด นนทบุรี พ.ศ.2557 ได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าคณะจังหวัดนนทบุรี สมณศักดิ์ พ.ศ.2544 ได้รับแต่งตั้งเป็นฐานานุกรม ในพระธรรมกิตติมุนี เจ้ า คณะจั ง หวั ด นนทบุ รี เจ้ า อาวาสวั ด เฉลิ ม พระเกี ย รติ ต�ำบลบางศรีเมือง อ�ำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี ที่ “พระครู ปลัดกิตติวรวัฒน์” พ.ศ.2545 ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์เป็นพระครูสัญญาบัตร เทียบผูช้ ว่ ยเจ้าอาวาสพระอารามหลวงชัน้ เอก ที่ “พระครูสริ สิ ตุ าลังการ” พ.ศ.2549 ได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ จากพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ เนื่องในวโรกาสครองสิริราช สมบั ติ ค รบ 60 ปี เป็ น พระราชาคณะชั้ น สามั ญ มี ร าชทิ น นามที่ “พระโสภณสุตาลังการ” พ.ศ.2557 เป็ น พระราชาคณะชั้ น ราชที่ “พระราชนั น ทมุ นี เมธีปริยัติกิจ มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี”


NONTHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

29


พระอุ ด มสิ ท ธิ น ายก (ก�ำพล คุณงฺกโร ป.ธ.9,ผศ.ดร.)

เจ้าอาวาสวัดบางอ้อยช้าง รองเจ้าคณะจังหวัดนนทบุรี ชาติภูมิ เกิ ด วั น ที่ 25 ธั น วาคม พ.ศ. 2515 อ� ำ เภอเมื อ งสมุ ท รสาคร จังหวัดสมุทรสาคร บรรพชา เมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2528 ณ วัดศรีเรืองบุญ จังหวัดนนทบุรี อุปสมบท เมื่อวันที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2536 ณ วัดใหม่ผดุงเขต จังหวัดนนทบุรี โดยมี พระครูนนทสิริวัฒน์ วัดศรีเรืองบุญ เป็นพระอุปัชฌาย์ วิทยฐานะ พ.ศ. 2528 ส�ำเร็จชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 พ.ศ. 2530 สอบได้ นักธรรมชั้นเอก วัดใหม่ผดุงเขต จังหวัดนนทบุรี พ.ศ. 2543 สอบได้ เปรียญธรรม 9 ประโยค วัดใหม่ผดุงเขต จังหวัดนนทบุรี พ.ศ. 2546 สอบได้ จูฬอาภิธรรมิกะโท พ.ศ. 2548 ส�ำเร็จหลักสูตรประกาศนียบัตรการบริหารกิจการคณะสงฆ์ (ป.บส.) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. 2552 ส�ำเร็จการศึกษาพุทธศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ เชิงพุทธ (พธ.บ.) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. 2554 ส� ำ เร็ จ การศึ ก ษาพุ ท ธศาสตรมหาบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช า การจัดการเชิงพุทธ (พธ.ม.) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. 2558 ส� ำ เร็ จ การศึ ก ษาพุ ท ธศาสตรดุ ษ ฎี บั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช า การจัดการเชิงพุทธ (พธ.ด.) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. 2560 ส�ำเร็จหลักสูตรประกาศนียบัตรการสอนศีลธรรมในโรงเรียน (ป.สศ.) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. 2561 ส�ำเร็จการศึกษานิติศาสตรบัณฑิต (น.บ.) มหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย งานพิเศษ และรางวัลอื่น ๆ พ.ศ. 2538 ทรงพระปาติโมกข์ พ.ศ. 2549 ได้รับพระราชทานรางวัลเสมาธรรมจักร สาขา การศึกษา พระปริยัติธรรม พ.ศ. 2550 ได้รับคัดเลือกเป็น “บุคคลแห่งการให้และการอาสา” จังหวัดนนทบุรี พ.ศ. 2550 เป็นผู้อ�ำนวยการศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ วัดบางอ้อยช้าง พ.ศ. 2550 เป็นประธานหน่วยอบรมประชาชนประจ�ำต�ำบลบางสีทอง พ.ศ. 2551 ได้รับประกาศเชิดชูเกียรติเป็น “ต้นแบบคนดีศรีแผ่นดิน” ของกระทรวง พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ พ.ศ. 2554 ได้ รั บ รางวั ล พุ ท ธคุ ณู ป การ รั ช ตเกี ย รติ คุ ณ จาก คณะกรรมาธิการ การศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม สภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2554 ได้รับเกียรติบัตรผู้ทำ� คุณประโยชน์ต่อกระทรวงวัฒนธรรม พ.ศ. 2556 ผ่ า นการฝึ ก อบรมพระวิ ป ั ส สนาจารย์ ใ นโครงการทุ น เล่าเรียนหลวง พ.ศ. 2556 ได้รับเกียรติบัตรยกย่องเชิดชูเกียรติให้เป็นศิษย์เก่าดีเด่น คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. 2558 ได้รับประกาศเกียรติคุณ คนดีแบบอย่างของแผ่นดิน 30สาขา SBLนับักนทึพักฒประเทศไทย I นนทบุ รี ต่อสังคม และพระพุทธศาสนา นาผู้ท�ำคุณ ประโยชน์

พ.ศ. 2561 ได้รับเกียรติบัตรยกย่องเชิดชูเกียรติให้เป็นศิษย์เก่าดีเด่น เกียรติคุณของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย งานการศึกษา พ.ศ. 2538 เป็นครูสอนพระปริยัติธรรม พ.ศ. 2542 เป็นกรรมการสนามหลวงแผนกธรรม พ.ศ. 2542 เป็นกรรมการสนามหลวงแผนกบาลี พ.ศ. 2543 เป็นพระปริยัตินิเทศก์ พ.ศ. 2558 เป็นอาจารย์ประจ�ำ หลักสูตรบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาการ จัดการเชิงพุทธ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. 2560 เป็นผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ สาขาวิชาการจัดการเชิงพุทธ (มจร) พ.ศ. 2561 เป็นรองคณบดีคณะสังคมศาสตร์ ฝ่ายบริหาร (มจร) พ.ศ. 2562 เป็นผู้อ�ำนวยการหลักสูตรบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาการ จัดการเชิงพุทธ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย งานปกครอง พ.ศ. 2541 เป็นผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดใหม่ผดุงเขต พ.ศ. 2541 เป็นพระกรรมวาจาจารย์ พ.ศ. 2543 เป็นเลขานุการเจ้าคณะต�ำบลบางขนุน พ.ศ. 2545 เป็นเลขานุการรองเจ้าคณะอ�ำเภอบางกรวย พ.ศ. 2548 เป็นรองเจ้าคณะอ�ำเภอบางกรวย พ.ศ. 2549 เป็นพระวินยาธิการจังหวัดนนทบุรี พ.ศ. 2549 เป็นเจ้าอาวาสวัดบางอ้อยช้าง พ.ศ. 2551 เป็นกรรมการตรวจสอบพระกรรมวาจาจารย์จงั หวัดนนทบุรี พ.ศ. 2552 เป็นผู้รักษาการแทนเจ้าคณะต�ำบลบางกรวย พ.ศ. 2552 เป็นผู้รักษาการแทนเจ้าคณะต�ำบลบางขุนกอง เขต 1 พ.ศ. 2552 เป็นผู้รักษาการแทนเจ้าคณะต�ำบลบางขุนกอง เขต 2 พ.ศ. 2553 เป็นผู้รักษาการแทนเจ้าคณะอ�ำเภอบางกรวย พ.ศ. 2553 เป็นเจ้าคณะอ�ำเภอบางกรวย พ.ศ. 2554 เป็นผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาสวัดเชิงกระบือ พ.ศ. 2556 เป็นพระอุปัชฌาย์ พ.ศ. 2557 เป็นรองเจ้าคณะจังหวัดนนทบุรี พ.ศ. 2557 เป็นเลขานุการคณะพระวินยาธิการจังหวัดนนทบุรี พ.ศ. 2557 เป็นประธานกรรมการตรวจสอบพระกรรมวาจาจารย์ พ.ศ. 2558 เป็นผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาสวัดพุทธปัญญา พ.ศ. 2558 ได้รบั มอบหมายให้ปฏิบตั หิ น้าทีแ่ ทนเจ้าคณะจังหวัดในงาน 5 ด้าน พ.ศ. 2562 เป็นผู้รักษาการแทนเจ้าคณะอ�ำเภอไทรน้อย สมณศักดิ์ พ.ศ. 2559 ได้รบั พระราชทานตัง้ สมณศักดิเ์ ป็นพระราชาคณะชัน้ สามัญ ในราชทินนามที่ พระอุดมสิทธินายก (12 สิงหาคม 2559) ประเทศที่ได้ไปศึกษาดูงาน เกาหลีใต้ จีน ฮ่องกง ญี่ปุ่น เดนมาร์ก ตุรกี นครรัฐวาติกัน นอร์เวย์ เนเธอร์แลนด์ เนปาล โปแลนด์ ฝรั่งเศส พม่า ฟินแลนด์ เยอรมนี ลัตเวีย ลาว ลิทัวเนีย เวียดนาม ศรีลังกา สวิตเซอร์แลนด์ สหรัฐอเมริกา สวีเดน สาธารณรัฐเช็ค สหราชอาณาจักร สกอตแลนด์ ออสเตรเลีย ออสเตรีย อิตาลี อินเดีย อินโดนีเซีย เอสโตเนีย ฮังการี


NONTHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

31


ท�ำเนียบการบริหารงาน คณะสงฆ์จังหวัดนนทบุรี

รองเจ้าคณะจังหวัดนนทบุรี พระอุดมสิทธินายก (ก�ำพล คุณงฺกโร ป.ธ.9 ,ดร.) เจ้าอาวาสวัดบางอ้อยช้าง

เจ้าคณะอ�ำเภอบางกรวย พระครูโอภาสนนทกิตติ์ (ศักดา โอภาโส ,ดร.) เจ้าอาวาสวัดจันทร์

เจ้าคณะอ�ำเภอบางบัวทอง พระโสภณนนทสาร (บุญเลิศ ชาตปุญฺโญ)

เจ้าอาวาสวัดบางไผ่ พระอารามหลวง

32

เจ้าคณะอ�ำเภอเมือง พระโสภิตกิตติธาดา (ศรชัย ธมฺมทินฺโน ป.ธ.7) เจ้าอาวาสวัดแจ้งศิริสัมพันธ์

เจ้าคณะจังหวัดนนทบุรี พระราชนันทมุนี (ไสว สุขวโร ป.ธ.4) เจ้าอาวาสวัดบัวขวัญ พระอารามหลวง

เจ้าคณะอ�ำเภอปากเกร็ด พระครูนนทธรรมาภรณ์ (สมนึก กลฺยาณธมฺโม)

เจ้าคณะอ�ำเภอบางใหญ่ พระครูกิตติวิริยาภรณ์ (วิทยา มหาวีโร)

เจ้าอาวาสวัดเตย

เจ้าอาวาสวัดราษฎร์ประคองธรรม

เจ้าคณะอ�ำเภอไทรน้อย พระครูวิสุทธินนทคุณ (ทวี สุทธว์ โส ธรรมธิรา) เจ้าอาวาสวัดราษฎร์

SBL บันทึกประเทศไทย I อุดรธานี

.indd 32

22/9/2563 13:50:04


เหตุของความทุกข์

คือการยึดติดกับบางสิ่งไม่ปล่อยวาง UDONTHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 33

33

22/9/2563 13:50:07


34

.indd 34

SBL บันทึกประเทศไทย I นนทบุรี

21/9/2563 17:40:45


NONTHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 35

35

21/9/2563 17:40:45


เกาะเกร็ด เที่ยว กิน ชิล จ.นนทบุรี

36

.indd 36

SBL บันทึกประเทศไทย I นนทบุรี

21/9/2563 17:40:46


NONTHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 37

37

21/9/2563 17:40:47


38

.indd 38

SBL บันทึกประเทศไทย I นนทบุรี

21/9/2563 17:40:48


ไหว้พระ นั่งเรือ ขี่จักรยาน เที่ยวเกาะเกร็ด

เกาะเกร็ด เป็นหมู่บ้าน OTOP ต้นแบบภาคกลาง (Knowledge-based Village Cluster) เป็นแหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่น และเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ในด้าน การผลิตสินค้าหัตถกรรมเครือ่ งปัน้ ดินเผาทีเ่ ป็นเอกลักษณ์ ของชาวไทยมอญที่ได้สืบทอดกันมายาวนาน และการท�ำ ขนมมงคล เกาะเกร็ดมีสถานที่ท่องเที่ยวมากมาย ไม่ว่าจะเป็น วัดวาอาราม ร้านเครื่องปั้นดินเผาเล็กๆ น่ารัก ราคาถูก ไปจนถึงพิพิธภัณฑ์เครื่องปั้นดินเผา และเครื่องปั้น ทาง ศิลปะแขนงต่างๆ อีกมากมาย นอกจากนี้ บนเกาะเกร็ดยังมี กิจกรรมให้ทำ� กันอีกเยอะแยะ ไม่วา่ จะเป็นการปัน่ จักรยาน รอบเกาะ (ไปปัน่ เองมาแล้ว เพลินดีคะ่ ) อย่าพลาดจอดแวะ ลงเดินเลือกซื้อของฝากจ�ำพวกเครื่องปั้นดินเผา แวะชิม ขนมไทย ทอดมันหน่อกะลา ข้าวแช่ กะละแม และคะนอนจิม อาหารชาวมอญโบราญ แล้วไปปิดท้ายด้วยการนั่งเรือกิน ลมชมทั ศ นี ย ภาพรอบเกาะเกร็ ด กั น ก็ ไ ด้ แหมพู ด แล้ ว ชักอยากไปอีกครั้ง

NONTHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 39

39

21/9/2563 17:40:57


History of buddhism....

วั(WatดบัBuakhwan) วขวัญ พระอารามหลวง ชั้นตรี ชนิดสามัญ

พระราชนันทมุนี ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดบัวขวัญ / เจ้าคณะจังหวัดนนทบุรี

วัดบัวขวัญเดิมเป็นเพียงส�ำนักสงฆ์ แต่ต่อมาเมื่อมีพระสงฆ์มา จ�ำพรรษาและปฏิบัติสังฆกรรมมากขึ้น จึงได้รับการพัฒนาขึ้นมาเป็น วัดเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2435 มีนามว่า “วัดสะแก” โดยมี พระครูปรีชาเฉลิมจากวัดเฉลิมพระเกียรติวรวิหารเป็นผู้เริ่มสร้างวัด และ เป็นเจ้าอาวาสในช่วงแรก พ.ศ. 2491 พระอธิการพยุง จัตตมโล จากวั ด ก� ำ แพง ได้ รั บ นิ ม นต์ จากชาวบ้ า นให้ ม าเป็ น เจ้ า อาวาส 40

SBL บันทึกประเทศไทย I นนทบุรี

เนื่องจากการมรณภาพของอดีตเจ้าอาวาส จากนั้นจึงได้มีการบูรณ ปฏิสังขรณ์เรื่อยมา กระทั่งมีผู้มีจิตศรัทธานามว่า นายบัว ฉุนเฉียว บริ จ าคที่ ดิ น ให้ กั บ วั ด ซึ่ ง ในเวลาต่ อ มาจึ ง ได้ เ ปลี่ ย นนามมาเป็ น วัดบัวขวัญ เพื่อเป็นเกียรติแก่ผู้บริจาคที่ดิน และได้รับพระราชทาน วิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 24 มกราคม พ.ศ. 2506 โดยมีพระอธิการ พยุง จัตตมโล เป็นเจ้าอาวาสถึงปี พ.ศ. 2520 และพระอธิการ บุญช่วย ปุญญคุตโต ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสถึง ปี พ.ศ. 2535 พระมหาไสว สุขวโร (ป.ธ.4) ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดบางแพรกเหนือ ได้ มาด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสเมื่อปี พ.ศ. 2537 โดยได้รับพระราชทาน สมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะชั้นสามัญที่ “พระโสภณสุตาลังการ” และได้พัฒนาวัดบัวขวัญทั้งในด้านถาวรวัตถุ ปรับปรุงภูมิทัศน์ ตลอด ทั้ ง ให้ ค วามส� ำ คั ญ ด้ า นการศึ ก ษาพระธรรม กระทั่ ง เป็ น โรงเรี ย น


พระปริยัติธรรมแผนกบาลีประจ�ำจังหวัดนนทบุรี แห่งที่ 1 และยัง เป็นสถานที่ปฏิบัติธรรมส�ำหรับอุบาสกอุบาสิกาในทุกวันส�ำคัญ และ ให้ความส�ำคัญทางการศึกษาโดยเปิดเป็นสถานที่เรียน ก.ศ.น. อีกทั้ง ยังมีการจัดกิจกรรมส�ำหรับพุทธศาสนิกชนและประชาชนทั่วไปเมื่อ ถึงวันส�ำคัญทางศาสนาและวันนักขัตฤกษ์เรื่อยมา วัดบัวขวัญได้รับ การพระราชทานพระบรมราชานุญาตสถาปนาเป็น พระอารามหลวง ชั้นตรี ชนิดสามัญ พระอุโบสถจตุรมุขของวัดบัวขวัญฯ ได้เริ่มก่อสร้างเมื่อเดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2546 โดยมี พระพุทธเมตตา (จ�ำลองมาจาก พระพุทธเมตตาที่ประดิษฐานในเจดีย์พุทธคยา ประเทศอินเดีย) เป็นพระประธานในพระอุโบสถ ภายในวัดบัวขวัญมีวัตถุมงคลมากมาย ให้เรามาท�ำบุญกราบไหว้ ไม่ว่าจะเป็น พระราหู พระตรีมูรติ เจ้าแม่กวนอิม พระมหาเศรษฐี นวโกฏิ พระพิฆเนศ ท�ำบุญโลงศพผู้ยากไร้ ท�ำบุญต่ออายุ และวัตถุ มงคลมากมาย นอกจากนั้นยังมีโซนส�ำหรับดูดวงชะตาอีกด้วย

ที่ตั้งวัด เลขที่ 25 ซอยงามวงศ์วาน 23 แยก 20 ต�ำบลบางกระสอ อ�ำเภอ เมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี 11000 เบอร์โทรติดต่อ 0-2589-8084, 0-2952-8060, 0-2952-8062 การเดินทาง (แผนที่) วัดบัวขวัญ นนทบุรี นั่งรถตู้มาลงที่พันธทิพย์ งามวงศ์วาน แล้วต่อรถสองแถวสีครีม ที่หน้าซอยงามวงค์วาน 23 เข้าไปวัดบัวขวัญ ราคาประมาณ 7 บาท NONTHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

41


History of buddhism....

วัWatดChaengsirisambhandh แจ้งศิริสัมพันธ์

42

SBL บันทึกประเทศไทย I นนทบุรี


วัดแจ้งศิริสัมพันธ์ อุโบสถ วิหาร ตระหง่านเคียงคู่

วั ด แจ้ ง ศิ ริ สั ม พั น ธ์ เป็ น วั ด เก่ า แก่ อี ก แห่ ง หนึ่ ง ของจั ง หวั ด นนทบุ รี ที่ ค วรค่ า แก่ ก ารแวะมาเยี่ ย มเยื อ น เพราะเป็ น วั ด ที่ มี ลักษณะพิเศษที่งดงาม คือ อุโบสถ วิหาร ตระหง่านเคียงคู่กัน วั ด แจ้ ง ศิ ริ สั ม พั น ธ์ ตั้ ง อยู ่ ถ นนนนทบุ รี 1 ต� ำ บลบางกระสอ อ�ำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี อยู่ติดกับแม่น�้ำเจ้าพระยาและ อยู ่ ใ กล้ กั บ สะพานพระนั่ ง เกล้ า ซึ่ ง วั ด แห่ ง นี้ เ ดิ ม ชื่ อ “วั ด แจ้ ง ” สร้างเมื่อปี พ.ศ.2360 โดยพระนนทบุรี (ม่วง) ราชินิกุล (บุตรท่านสาด น้ อ งนางต่ า งชนนี ข องพระชนนี เ พ็ ง ) เจ้ า เมื อ งนนทบุ รี ต่ อ มา นายพลโท พระยาสโมสรสรรพการ (ทัด ศิริสัมพันธ์) ผู้เป็นหลานได้ มาบูรณะปฏิสังขรณ์อุโบสถวิหารและเสนาสนะภายในวัดใหม่ทั้งหมด และได้น�ำนามสกุลที่ได้รับพระราชทานมาเติมท้ายชื่อวัดแจ้งเป็น “วัดแจ้งศิริสัมพันธ์” ตราบจนปัจจุบัน

พระโสภิตกิตติธาดา (ศรชัย ธมฺมทินฺโน ป.ธ.๗) เจ้าอาวาสวัดแจ้งศิริสัมพันธ์ / เจ้าคณะอ�ำเภอเมืองนนทบุรี (ผูช้ ว่ ยเจ้าอาวาสวัดเฉลิมพระเกียรติวรหวิหาร รับค�ำสัง่ ด�ำรงต�ำแหน่งเมือ่ 16 มีนาคม 2561) NONTHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

43


History of buddhism.... “หลวงพ่อชนะมาร” ประดิษฐานในอุโบสถ เปล่งฉัพพรรณรังสี ตระหง่ า นบนฐานชุ ก ชี ใ นซุ ้ ม เรื อ นแก้ ว ผนั ง อุ โ บสถด้ า นบน มี จิ ต รกรรมวิ จิ ต รศิ ล ป์ พุ ่ ม ข้ า วบิ ณ ฑ์ ก ้ า นแย่ ง ภาพเทพพนม ด้านล่างเป็นภาพทศชาติชาดก นิยมบูชาขอเมตตาบารมีเกียรติยศ หน้าที่การงานด้วยผ้าไตร

44

SBL บันทึกประเทศไทย I นนทบุรี


History of buddhism....

พระพุทธองค์แสนล้านมหาไชยมงคล SAMUT SAKHON I SBL บันทึกประเทศไทย NONTHABURI

45


History of buddhism....

“หลวงพ่อทันใจ” และพระพุทธรูปอืน่ อีก 13 องค์ ประดิษฐานในวิหาร ปิดทองเหลืองอร่ามทุกองค์ ผนังมีภาพจิตกรรมที่งดงามลายพุ่มข้าว บิณฑ์เทพพนม บานประตูหน้าต่างด้านในเขียนสีภาพกอบัวและเทพ ผู้พิทักษ์ทวารบาล ด้านนอกเทพทวารบาลลงรักปิดทอง นิยมบูชา ด้วยน�้ำหวานน�้ำแดงเพื่อความปรารถนาส�ำเร็จรวดเร็วดังใจปรารถนา “พระพุ ท ธฉาย” พระส� ำ คั ญ ประจ� ำ วั ด แจ้ ง ศิ ริ สั ม พั น ธ์ งานประจ�ำปีนมัสการพระพุทธฉาย ตรงกับวันขึ้น 7 ค�่ำ เดือน 4 ช่วงเดือนกุมภาพันธ์-มีนาคม ของทุกปีเพื่อให้สาธุชนทั้งหลายได้มี โอกาสเข้ามากราบไหว้ขอพรเพื่อความเป็นสิริมงคลความสมบูรณ์ พูนสุขแก่ตนเองและครอบครัว “แดนสนธยา” ดินแดนแห่งโลกเร้นลับ มีศาลพ่อปู่ขุนศรีมงคล ทหารสมเด็ จ พระเจ้ า ตากสิ น มหาราชผู ้ ร ่ ว มกอบกู ้ ก รุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา และศาลแม่ตะเคียนสายฟ้า บันดาลโชค ค�ำขวัญวัดแจ้งศิริสัมพันธ์ เปี่ยมเมตตาธรรม หลวงพ่อชนะมารในอุโบสถ เลิศล�้ำปาฏิหาริย์ หลวงพ่อพระพุทธฉาย บันดาลศักดิ์สิทธิ์ หลวงพ่อทันใจในวิหาร เข้มขลังเรืองฤทธิ์ พ่อปู่ขุนศรีมงคลแดนสนธยา โชคลาภประสิทธิ์ แม่ตะเคียนสายฟ้าแดนสนธยา วิจิตรงดงาม อุโบสถวิหาร 46

SBL บันทึกประเทศไทย I นนทบุรี


History of buddhism....

พระครูโอภาสนนทกิตติ์, ผศ.ดร. เจ้าคณะอ�ำเภอบางกรวย / เจ้าอาวาสวัดจันทร์

ที่ตั้ง วัดแจ้งศิริสัมพันธ์ เลขที่ 245 ถนนนนทบุรี 1 ต�ำบลบางกระสอ อ�ำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี 11000 โทรศัพท์ 0-2525-2191

NONTHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

47


History of buddhism....

วัดสังฆทาน

อุโบสถแก้ว หรือ โบสถ์แก้ว 48

SBL บันทึกประเทศไทย I นนทบุรี


พระครูปลัดไพรินทร์ สิริวฑฺฒโน เจ้าอาวาสวัดสังฆทาน

วัดสังฆทาน ตั้งอยู่เลขที่ 100/1 หมู่ที่ 3 บ้านบางไผ่น้อย ต�ำบล บางไผ่ อ�ำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย พื้นที่ตั้งวัดเป็นที่ราบลุ่มแวดล้อมไปด้วนสวนของราษฎร อุโบสถแก้ว หรือ โบสถ์แก้ว รูปแบบของอุโบสถที่หลวงพ่อสนองด�ำริให้สร้างขึ้นใหม่นั้นเป็น รูปทรงแปดเหลี่ยม ท�ำด้วยกระจกทั้งหมด และก�ำหนดเวลาการ ก่อสร้างเป็นเวลา 1 ปีครึ่ง โดยท่านตั้งจุดประสงค์ว่าอุโบสถของ วัดสังฆทาน ต้องเป็นอุโบสถที่ใช้ประโยชน์ได้อย่างสูงสุดและถูกต้อง ตามความเป็นจริง ขนาดของอุโบสถต้องจุคนได้ 600 คน ปี พ.ศ. 2537 หลวงพ่อสังวาล เขมโก วางศิลาฤกษ์อุโบสถแก้ว ตรงกับวันมาฆบูชา ที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2537 เวลา 02.46 น. คณะพระภิกษุ – สามเณร จากวัดสังฆทาน, วัดทุ่งสามัคคีธรรม อ� ำ เภอสามชุ ก จั ง หวั ด สุ พ รรณบุ รี และวั ด สาขาของวั ด สั ง ฆทาน ทั้งหมด ( ในขณะนั้น 17 สาขา) เป็นจ�ำนวนกว่า 200 รูป รวมทั้ง สาธุ ช นจ� ำ นวนมากได้ พ ร้ อ มใจกั น น้ อ มจิ ต อธิ ษ ฐานปฏิ บั ติ ธ รรม สวดมนต์ ภาวนา เวียนเทียนรององค์หลวงพ่อโต ถึงวันนี้อุโบสถแก้วได้ตั้งตระหง่านแซมพุ่มไม้ใบบัง ภายในเขต สีมาวัดสังฆทาน ก�ำลังรอสายธารศรัทธาจากสาธุชนทั่วทุกสารทิศ ทั้ ง นี้ เ พื่ อ อุ โ บสถแก้ ว หลั ง นี้ จ ะได้ เ ป็ น ศาสนสมบั ติ อั น ถาวรเป็ น ที่ อุปสมบทแห่งกุลบุตรทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศผู้ศรัทธาใน พระพุทธศาสนาสืบไป

หลวงพ่อโต หลวงพ่อโต พระประธานของวัดสังฆทาน มีพุทธลักษณะปางมาร วิชัย นั่งขัดสมาธิเดิมเป็นปูนปั้นมีขนาดหน้าตักกว้าง 8 ศอก มีพุทธ ลักษณะ และพุทธศิลป์เป็นพระพุทธรูปแบบอู่ทองเป็นพระพุทธรูป ที่มีความศักดิ์สิทธิ์ และทรงอภินิหารหันพระพักตร์ไปทางทิศตะวัน ออกในช่วงฤดูหนาวคือระหว่างวันที่ 2 – 20 ธันวาคม เวลาประมาณ 06.15 น. ดวงอาทิตย์จะท�ำมุมฉาก 90 องศาตรงพระพักตร์พอดี

ปราสาทจตุรมุขพุทธภูมิ ปราสาทจตุรมุขพุทธภูมิ เป็นด�ำริหลวงพ่อสนอง กตปุญโญ ที่จะ สร้างปราสาทจตุรมุขพุทธภูมิ เพื่อที่จะประดิษฐาน พระพุทธภูมิ ทองค�ำ โดยมีพิธียกเสาเอกในวันแม่แห่งชาติ วันที่ 12 สิงหาคม 2555 ก่อนที่หลวงพ่อสนอง กตปุญโญ จะละสังขารเมื่อวันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2555 หลังจากที่หลวงพ่อสนอง กตปุญโญ ได้ละสังขารแล้ว พระครูปลัดไพรินทร์ สิริวฑฺฒโน เจ้าอาวาสวัดสังฆทาน องค์ปัจจุบัน ได้สานต่อด�ำริหลวงพ่อสนอง กตปุญโญ ในการก่อสร้างปราสาท จตุ ร มุ ข พุ ท ธภู มิ ให้ อ ยู ่ คู ่ วั ด สั ง ฆทาน คู ่ พ ระพุ ท ธศาสนาสื บ ไป ได้ด�ำเนินการก่อสร้างมาเรื่อยๆ ตามก�ำลังศรัทธาสาธุชนที่ร่วมบุญ กัน และในวันที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2558 เวลา 09.09 น. ก็ได้มีพิธี อัญเชิญพระพุทธโลกุตระ ขึ้นประดิษฐานบนยอดปราสาทจตุรมุข พุทธภูมิ และได้ด�ำริที่จะน�ำอัฐบริขารของหลวงพ่อสนอง กตปุญโญ เก็บรักษาไว้บนปราสาทจตุรมุขชั้นสอง ชั้นบนสุดจะประดิษฐาน พระพุทธภูมิ ให้ญาติธรรมได้มาร�ำลึกถึงหลวงพ่อสนอง กตปุญโญ NONTHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

49


History of buddhism....

เรือนไทย สวรรคาลัย

50

SBL บันทึกประเทศไทย I นนทบุรี


History of buddhism....

กว่าจะมาเป็นวัดสังฆทาน ปี พ.ศ. 2511 หลวงพ่อสนอง พบวัดสังฆทานร้างอยู่กลางสวน มีเพียงหลวงพ่อโตกับศาลาไม้ มุงสังกะสีเก่าๆ บนที่ไร่เศษ พิจารณา แล้วว่าที่นี่เหมาะแก่การเผยแผ่พระพุทธศาสนาตาม แนวทางธุดงค กรรมฐาน เนื่องด้วยอยู่ใกล้แหล่งของผู้มีก�ำลังและปัญญาที่สามารถ ช่วยศาสนาได้ดีในอนาคต ท่านจึงตัดสินใจที่จะอยู่ที่นี่ไม่เหมือนที่อื่น การที่จะเข้ามาท�ำอะไรนั้นท�ำได้ไม่ยาก จะต้องให้เขาเห็นดีให้เขา เข้าใจเพราะเป็นการเผยแผ่ธรรมะให้กับผู้มีปัญญา ท่านจึงตั้งใจกลับ ไปปฏิบัติธรรมในถ�้ำหมีและถ�้ำกระเปาะอีก 6 ปี ปี พ.ศ. 2517 หลวงพ่อสนองกลับมาวัดสังฆทานอีกครั้งเพื่อ จ�ำพรรษา ร่วมกับพระสงฆ์อีก 5 รูป ด้วยปฏิปทาตามหลักธุดงค กรรมฐาน ชาวบ้ า นบางคนตั้ ง ข้ อ หาว่ า เป็ น พระคอมมิ ว นิ ส ต์ ความเป็นอยู่จึงล�ำบาก ถูกข่มขู่ด้วยปืนและปาระเบิด บิณฑบาตเกือบ ไม่ได้ เมื่อน�ำอาหารมาเทรวมกันก็มีน้อยมากทุกรูปไม่ยอมตักอาหาร ใส่บาตร หลวงพ่อต้องเป็นผู้ตักใส่บาตรให้ น�้ำดื่มต้องตักจากบ่อเก่า มาต้มฉัน ไม่มีน�้ำปานะ ไม่มีไฟฟ้า ปี พ.ศ. 2518 หลวงพ่อสนองไปรับ พระอาจารย์พลอย เตชพโล แห่งวัดเขาภูคา ต�ำบลหัวหวาย อ�ำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์ มา ช่วยเป็นหัวหน้าช่างในการบูรณะ องค์หลวงพ่อโต พร้อมพระเณร ประมาณ 10 กว่ารูป รวมทั้งชาวบ้านญาติโยม การบูรณะที่แขนช�ำรุด มากต้องเอาแป๊บน�้ำใส่แล้วโบกปูนทับ ส่วนที่ใดเนื้อปูนยุ่ยก็ขูดออก แล้ ว โบกปู น ทั บ น� ำ ปู น เก่ า มาผสมปั ้ น เป็ น หลวงพ่ อ สั ง กั จ จายน์ (พระมหากัจจายนะ)

ในวันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ.2536 หลวงพ่อสนองด�ำริให้รื้อถอน ศาลาเพื่อจะสร้างอุโบสถใหม่ เนื่องด้วยศาลาหลวงพ่อโตมีความ ช�ำรุดทรุดโทรม และคับแคบไม่เพียงพอที่จะรองรับจ�ำนวนพระภิกษุ สามเณร และผู้เข้ามาปฏิบัติธรรมได้ นอกจากนี้หลังคาสังกะสีเวลา ฝนตกจะมีเสียงดังมาก หน้าร้อนก็จะร้อนมาก ดังนั้น พระภิกษุ ผ้าขาวและชาวบ้านจึงช่วยกันรื้อถอนแม้กระทั่งชาวอังกฤษที่เพิ่ง เดินทางมาถึงก็ร่วมช่วยด้วย

NONTHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

51


History of buddhism....

History of buddhism....

วัดลานนาบุญ พระมหาศรีสมหวัง ธมฺมธีโร เจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน

วัดลานนาบุญ ตั้งอยู่เลขที่ 21 หมู่ 9 ต�ำบลตลาดขวัญ อ�ำเภอ เมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี 11000 สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ 17 ไร่ 3 งาน 45 ตารางวา โฉนดเลขที่ 57105, 57106 และ 57107 พื้นที่ตั้งวัดเป็นที่ราบต�่ำอยู่ริมคลองตะนาวศรี ผ่านทางด้านทิศใต้ อาณาเขต ทิศเหนือ ยาว 500 เมตร ติดกับที่ดินเอกชน ทิศใต้ ยาว 300 เมตร ติดต่อกับคลองตะนาวศรี ทิศตะวันออก ยาว 400 เมตร ติดต่อกับที่ดินเอกชน ทิศตะวันตก ยาว 600 เมตร ติดต่อกับที่ดินเอกชนและทรัพย์ ส่วนพระมหากษัตริย์ 52

SBL บันทึกประเทศไทย I นนทบุรี

ภายในวัดมีอาคารเสนาสนะต่าง ๆ ดังนี้ - อุ โ บสถ กว้ า ง 8 เมตร ยาว 15 เมตร ลั ก ษณะทรงไทย ไม่มีช่อฟ้าใบระกา หลังคาลด 2 ชั้น - หอสวดมนต์ สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2508 - สร้างศาลาการเปรียญ สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2511 - กุฎีสงฆ์ สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2519 จ�ำนวน 10 หลัง เป็นอาคาร ทรงไทย


ประวัติวัดลานนาบุญ สันนิษฐานว่า ได้สร้างขึ้นในสมัยอยุธยาตอนปลาย ประมาณ พ.ศ. 2310 ไม่ทราบนามและประวัติผู้สร้าง ต่อมาวัดช�ำรุดทรุดโทรม ลง พ.ศ. 2459 นายนรินทร์ กลึง ท�ำการบูรณะปฏิสังขรณ์อุโบสถและ เสนาสนะต่าง ๆ ท�ำให้วัดเจริญรุ่งเรืองขึ้นมาตามล�ำดับ วัดลานนาบุญ เดิมมีนามว่า “วัดลานวัว” สาเหตุเนื่องมาจาก สถานที่ ดั ง กล่ า ว เดิ ม เป็ น ที่ เ ลี้ ย งวั ว ของแขก พ.ศ. 2459 ได้ รั บ พระราชทานวิสุงคามสีมา วันที่ 23 พฤษภาคม 2494 ได้เปลี่ยนเป็น “วัดลานนาบุญ” โดยค�ำแนะน�ำของสมเด็จพระธีรญาณมุนี ทางวัด จึงได้ท�ำหนังสือขอเสนอเปลี่ยนนามวัดใหม่และได้รับอนุมัติตามที่ขอ เปลี่ยนไป ปรากฏตามหลักฐานการอนุมัติแจ้งโดยล�ำดับจนถึงว่าการ อ� ำ เภอเมื อ งนนทบุ รี ดั ง ความในหนั ง สื อ ที่ 1266/2454 ลงวั น ที่ 31 พฤษภาคม 2494 ของแผนการศึกษาธิการอ�ำเภอเมืองนนทบุรี ตอนหนึ่ ง ว่ า ด้ ว ยได้ รั บ หนั ง สื อ คณะกรรมการจั ง หวั ด นนทบุ รี ที่ 24622494 ลงวันที่ 23 พฤษภาคม 2494 ว่า เจ้าคณะตรวจการ ภาค 1 ได้อนุมัติให้เปลี่ยนชื่อวัดในท้องที่อ�ำเภอเมืองนนทบุรี คือ 1. วัดคลองด้วน อ�ำเภอเมืองนนทบุรี เปลีย่ นชือ่ เป็น วัดทินกรนิมติ 2. วัดลานวัว อ�ำเภอเมืองนนทบุรี เปลี่ยนชื่อเป็น วัดลานนาบุญ ฉะนั้น ให้ท่านแจ้งคณะกรรมการสงฆ์อ�ำเภอ และเจ้าอาวาสวัด ดังกล่าวให้ทราบด้วย วัดลานนาบุญ จึงเป็นนามที่เรียกกันต่อมา จนกระทั้งปัจจุบันนี้ และได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาอีกครั้งหนึ่ง เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 15 เมตร ยาว 21 เมตร

ล�ำดับเจ้าอาวาส 1. พระอธิการเงิน 2. พระอธิการสาคร ธมฺมธโร 3. พระอธิการเอิบ สุนฺทโร 4. พระมหาวิมุตติ ญาณกิตฺติ 5. พระมหาธีระ คฺคจิตโต 6. พระมหาศรีสมหวัง ธมฺมธีโร รูปปัจจุบัน ปูชนียวัตถุ หลวงพ่อด�ำ หลวงพ่อด�ำ หรือพระคันธารราฐ ปางเรียกฝน สร้างจ�ำลองขึ้น เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2496 สมัยพระอธิการเอิบ สุนฺทโร เพื่อเป็นที่สักการะบูชาประจ�ำวัด โดยมี พระครูนนทวุฑฺฒาจารย์ (หลวงปูช่ ว่ ง จนฺทโชโต) วัดบางแพรก เป็นประธาน และให้พระพุทธรูป ขนาดเล็ ก ปางคั น ธารราฐ เป็ น แบบในการสร้ า งที่ ห ายาก ท� ำ ขึ้ น ครั้งแรกในสมัยรัชกาลที่ 5 อุโบสถ หลังเก่าจะไม่มีช่อฟ้าใบระกา คาดว่าเป็นอุโบสถที่ชาวมอญเป็น ผู้สร้างขึ้นจะสังเกตได้หน้าอุโบสถจะมีหงส์สองตัวอยู่หน้าอุโบสถ ปัจจุบันได้บูรณะใหม่เมื่อปีพุทธศักราช 2535 โดยการใส่ช่อฟ้า ใบระกา และหน้าบัน และมีก�ำแพงแก้วล้อมรอบ พระประธานในอุโบสถ เป็ น พระประธานที่ ท� ำ ด้ ว ยปู น ปั ้ น ทั้ ง องค์ ป างมารวิ ชั ย และมี พระสารีบุตร และพระโมคคัลลานะเถระ มีการบูรณะปฏิสังขรใหม่ โดยการท�ำฐานใหม่ พร้อมทั้งอุโบสถจากไม่มีช่อฟ้าใบระกา

NONTHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

53


History of buddhism....

History of buddhism....

วัดพุทธปัญญา พระมหาทวี โพธิเมธี เจ้าอาวาสวัดพุทธปัญญา

ประวัติวัดพุทธปัญญา ที่ตั้ง วัดพุทธปัญญา ซอยงามวงศ์วาน 6 ต�ำบลบางเขน อ�ำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี 11000 นิกายสงฆ์ คณะสงฆ์มหานิกาย พื้นที่ 6 ไร่ 2 งาน 70 ตารางวา อาณาเขตติดต่อ ทิศเหนือติดกับกระทรวงสาธารณสุข ทิศตะวันออกติดกับคลองบาฬี ติดตะวันตกและทิศใต้ติดกับที่ของชาวบ้าน 54

SBL บันทึกประเทศไทย I นนทบุรี

ความเป็นมา วัดพุทธปัญญาเกิดขึ้นโดยปฐมศรัทธาของคุณแม่ไสว ทองแจ้ง ที่ได้ยกโฉนดที่ดินของตน 3 โฉนด ถวายแด่พระพรหมมังคลาจารย์ (หลวงพ่ อ ปั ญ ญานั น ทะ) เจ้ า อาวาสวั ด ชลประทานรั ง สฤษดิ์ ขณะด�ำรงสมณศักดิ์ที่ พระธรรมโกศาจารย์ เพื่อสร้างวัดถวายเป็น พระราชกุศลพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ในมงคลสมัย


ความเรียบร้อย และได้รับอนุมัติจากมหาเถรสมาคม ให้กระทรวง ศึกษาธิการประกาศตั้งวัดเมื่อวันที่ 3 มิถุนายน พุทธศักราช 2542 ได้นามว่า “วัดพุทธปัญญา” ซึง่ เป็นนามปากกาของบูรพาจารย์สองท่าน คือ ท่านพุทธทาส หรือพระธรรมโกศาจารย์ (เงื่อม อินฺทปญฺโญ) และ ท่านปัญญานันทะ หรือพระพรหมมังคลาจารย์ (ปั่น ปทุมุตฺตโร) และได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา เมือ่ วันที่ 8 สิงหาคม พุทธศักราช 2556 ในปัจจุบันมีพระมหาทวี โพธิเมธี เป็นเจ้าอาวาสวัดพุทธปัญญา ได้สืบสานปณิธานและสานต่อเจตนารมณ์ของบูรพาจารย์ในอดีต บูรณปฏิสังขรณ์ สร้างถาวรวัตถุ สร้างศาสนทายาท ปรับปรุงภูมิทัศน์ ภายในวัดและด�ำเนินกิจกรรมการเผยแผ่ศาสนา โดยมีการอบรม วิปัสสนากรรมฐานจัดปฏิบัติธรรมประจ�ำเดือน การสอนพระพุทธ ศาสนาทุกวันอาทิตย์ การแสดงพระธรรมเทศนาทุกวันพระ จัดพิธี บรรพชาอุปสมทบและบวชเนกขัมมะบารมี เป็นต้น เกียรติประวัติ พ.ศ. 2549 เป็นศูนย์ปฏิบัติธรรมประจ�ำจังหวัดนนทบุรี แห่งที่ 3 พ.ศ. 2562 เป็นอุทยานการศึกษาในวัด

กาญจนาภิ เ ษก พิ ธี ม อบโฉนดที่ ดิ น ถวายในการสร้ า งวั ด เกิ ด ขึ้ น ณ ห้องประชุมใหญ่ส�ำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา เมื่อวันที่ 3 สิงหาคม พุทธศักราช 2539 โดยมีศาสตราจารย์(พิเศษ) เภสัชกร ภักดี โพธิศิริ เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา เป็นประธาน ฝ่ายฆราวาส และ กระทรวงสาธารณสุข โดยฯพณฯ ท่านเสนาะ เทียนทอง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขในสมัยนั้น ได้รับ วัดพุทธปัญญาไว้ในอุปถัมภ์ ตั้งแต่ปีพุทธศักราช 2539 เป็นต้นมา การสร้างเสนาสนะเริ่มขึ้นเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม พุทธศักราช 2540 เมือ่ พระพรหมมังคลาจารย์ (หลวงพ่อปัญญานันทะ) ได้รบั สัง่ ให้ สัทธิวิหารริกวัดชลประทานรังสฤษดิ์ ได้แก่ พระศรีธวัช อนิวตฺติโก ป.ธ.6 (พระครูมงคลภาวนานุศาสก์ วิ.), พระมหาสง่า สุภาจาโร (พระปัญญานันทมุนี เจ้าอาวาสวัดชลประทานฯ รูปปัจจุบัน), พระครู ปลั ด ทองใบ เป็ น ต้ น ร่ ว มกั น พลิ ก ฟื ้ น พื้ น ที่ ส วนให้ ก ลายเป็ น วั ด แห่งใหม่ในจังหวัดนนทบุรี การสร้างวัดพุทธปัญญานั้นเป็นไปด้วย

ล�ำดับเจ้าอาวาส 1. พระครูมงคลภาวนานุศาสก์ วิ. พุทธศักราช 2542 – 2558 2. พระมหาทวี โพธิเมธี พุทธศักราช 2559 – ปัจจุบัน ถาวรวัตถุและปูชนียวัตถุ 1. อุโบสถจตุรมุข 2 ชั้น 2. อาคารพระธรรมโกศาจารย์ 3. กุฎีที่พักสงฆ์ จ�ำนวน 3 หลัง 4. พระพุทธมงคล พระประธานอุโบสถชั้น 2 5. พระพุทธศากยมุนี พระประธานอุโบสถชั้น 1 6. พระพุทธแสนสุขธรรมสวามินทร์ พระประธานอาคาร พระธรรมโกศาจารย์ 7. พระพุทธธรรมจักร องค์ที่ 95 8. รูปหล่อพระธรรมโกศาจารย์ (พุทธทาสภิกขุ) 9. รูปหล่อพระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ) 10. รูปหล่อพระครูมงคลภาวนานุศาสก์ วิ. NONTHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

55


History of buddhism....

History of Wat Bang khwang

วัดบางขวาง

พระเทพวรเมธี (ดรุณ สุมโน) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดบางขวาง

วัดบางขวาง ตั้งอยู่เลขที่ 1 ถนนประชาราษฎร์ ซอย 17 ต�ำบล สวนใหญ่ อ�ำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี มีเนื้อที่ประมาณ 11 ไร่ 1 งานเศษ วัดบางขวาง เป็นวัดเก่าแก่สร้างประมาณปลายกรุงศรีอยุธยา สิง่ ทีย่ งั เป็นประจักษ์พยาน คือ หอระฆัง สะพานช้าง ข้ามคลองบางขวาง สร้างโดย แม่คุ้ม กันหมี (ปัจจุบันบูรณะใหม่ จึงไม่เป็นรูปแบบเดิม) วิหาร เป็นการก่อสร้างแบบเก่าอายุร้อยปีเศษ (ได้รับการบูรณะใหม่ เมื่อครบร้อยปี พ.ศ. 2538) โบสถ์หลังเก่า เป็นรูปทรงโบราณ จะเห็น 56

SBL บันทึกประเทศไทย I นนทบุรี


เจ้าอธิการชื่น เขมงฺกโร

พาไลเตี้ยๆ อยู่ด้านหลัง ในอุโบสถมีพระประธานทรงเครื่อง เรียกว่า ปางทรมานท้าวมหาชมพูบดี และพระอัครสาวกทั้งสอง สันนิษฐานว่า วั ด นี้ เ คยเป็ น วัด มาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธ ยา ด้วยเวลานั้ น แม่ น�้ำ เจ้าพระยา ตอนตั้งแต่หน้าวัดเขมาภิรตารามถึงปากล�ำแม่น้�ำอ้อม ยังไม่ได้ขุด แม่น�้ำสายเดิมจะเข้าทางปากคลองตลาดแก้ว (บางกรวย) ใต้ วั ด ค้ า งคาว ตรงไปออกปากคลองบางกรวยเหนื อ วั ด ชะลอ แล้วเลี้ยวไปทางเหนือออกปากล�ำแม่น�้ำอ้อม ส่วนคลองบางสีทองกับ คลองบางขวางนั้น เดิมทีก็คือล�ำคลองเดียวกัน ต่อมาในสมัยพระเจ้าปราสาททอง เห็นว่าการเดินเรือตามล�ำแม่นำ�้ ที่มีอยู่นั้นเป็นการอ้อมท�ำให้เปลืองเวลามาก จึงโปรดให้จัดการขุดผืน แผ่นดินจากวัดเขมาภิรตารามมาถึงปากล�ำแม่นำ�้ อ้อม คลองบางสีทอง จึงถูกตัดขาดไป คลองตอนต้นยังคงเรียกว่าคลองบางสีทองตามเดิม ส่วนตอนปลายได้เรียกชื่อคลองบางขวาง จะเป็นด้วยเหตุที่มีคลองนี้ ขวางหน้าในเวลาทีม่ กี ารขุดแม่นำ�้ นัน่ เองชาวบ้านจึงเรียกว่า คลองบางขวาง วัดจึงเรียกชื่อไปตามชื่อคลองว่าเป็น วัดบางขวาง มาจนถึงทุกวันนี้ สถานที่ส�ำคัญของวัด 1. วิหาร อายุ 125 ปี (พ.ศ. 2438 - 2563) 2. อุโบสถ พระญาณวโรดม (สนธิ์. กิจฺจกาโร) วัดบวรนิเวศวิหาร เป็นผู้ดำ� เนินงานก่อสร้างอุโบสถวัดบางขวาง 3. ศาลาการเปรียญไม้สัก

พระครูศีลาภิรม (ท้วม ธมฺมธโร)

พระครูศีลาภิรม (เนตร ปญฺญาทีโป)

พระญาณวโรดม (สนธิ์. กิจฺจกาโร) วัดบวรนิเวศวิหาร เป็นผู้ด�ำเนินงานก่อสร้าง อุโบสถวัดบางขวาง

พระเทพวรเมธี (ดรุณ สุมโน) เจ้าอาวาสวัดบางขวางองค์ปัจจุบัน

ท�ำเนียบเจ้าอาวาสวัดบางขวาง 1.เจ้าอธิการชื่น เขมงฺกโร ไม่ปรากฏ พ.ศ – 2434 2.พระครูศีลาภิรม (ท้วม ธมฺมธโร) พ.ศ. 2435 – 2494 3.พระครูศีลาภิรม (เนตร ปญฺญาทีโป) พ.ศ. 2496 – 2516 4.พระเทพวรเมธี (ดรุณ สุมโน) วันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2517 - ปัจจุบัน NONTHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

57


History of buddhism....

วัดบางอ้อยช้าง พระอุดมสิทธินายก (ก�ำพล คุณงฺกโร ป.ธ.9,ผศ.ดร.) เจ้าอาวาสวัดบางอ้อยช้าง / รองเจ้าคณะจังหวัดนนทบุรี

วั ด บางอ้ อ ยช้ า ง ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 79 บ้ า นบางอ้ อ ยช้ า ง หมู ่ ที่ 2 ซอยบางกรวย-ไทรน้อย 29 ถนนบางกรวย-ไทรน้อย ตําบลบางสีทอง อํ า เภอบางกรวย จั ง หวั ด นนทบุ รี สั ง กั ด คณะสงฆ์ ม หานิ ก าย ที่ดินตั้งวัด มีเนื้อที่ 18 ไร่เศษ อาณาเขตของวัดบางอ้อยช้างทั้ง 4 ทิศ ติดต่อกับสถานทีต่ า่ งๆ ดังต่อไปนี้ ทิศเหนือจรดคลองบางอ้อยช้าง หรื อ คลองหมอจํ า ปี , ทิ ศ ใต้ จ รดคลองศาลเจ้ า , ทิ ศ ตะวั น ออก จรดที่ดินของเอกชน, ทิศตะวันตกจรดคลองบางกอกน้อย

58

SBL บันทึกประเทศไทย I นนทบุรี

“วัดบางอ้อยช้าง” ปัจจุบันในอาณาบริเวณของวัดบางอ้อยช้าง ยังคงประกอบด้วย ส่วนที่เป็นที่อยู่อาศัย ของชาวชุมชนวัดบางอ้อยช้าง และส่วนที่วัด ใช้ประโยชน์ แบ่งเป็นส่วนที่เป็นเขตพุทธาวาส เขตสังฆาวาส และ ส่วนที่เป็นสาธารณประโยชน์ต่างๆ ด้วยความรัก ความผูกพัน และ ความศรั ท ธาระหว่ า งวั ด กั บ ชาวชุ ม ชนวั ด บางอ้ อ ยช้ า ง และ พุทธศาสนิกชนจากท้องที่ต่างๆ รวมทั้งส่วนราชการ นับแต่อดีตจนถึง ปัจจุบัน ประกอบกับ เจ้าอาวาสวัดบางอ้อยช้างทุกรูปมีความเอาใจ ใส่ในกรณียกิจด้านการพัฒนาและมีศีลาจารวัตรที่งดงาม จึงทําให้ วัดบางอ้อยช้างมีภูมิทัศน์ที่สวยงาม และมีภูมิสถานที่มั่นคงตราบกาล ปัจจุบัน


สิ่งส�ำคัญภายในวัดบางอ้อยช้าง ประกอบด้วย อุโบสถปัจจุบัน อุโบสถของวัดบางอ้อยช้างในปัจจุบัน สร้างขึ้นทางด้านทิศใต้ของ อุโบสถหลังเก่า เริ่มก่อสร้างเมื่อ พ.ศ. 2497 แล้วเสร็จใน พ.ศ. 2499 มี พิ ธี ฝ ั ง ลู ก นิ มิ ต ในราวเดื อ นกุ ม ภาพั น ธ์ พ.ศ. 2500 และพิ ธี ผูกพัทธสีมาในวันที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2500 อาณาเขตอุโบสถรวม สิ่งปลูกสร้างภายในบริเวณนั้นทั้งหมดมีขนาดกว้าง 24.50 เมตร ยาว 65.10 เมตร ภายในอาณาเขตอุ โ บสถประกอบด้ ว ย อุโบสถ กว้าง 8.50 เมตร ยาว 24.30 เมตร วิหารน้อย 4 มุม มุมละห้อง ห้องหนึ่งกว้าง 3 เมตร ยาว 6 เมตร และมีวิหารตั้งอยู่ ด้านหน้าในทิศตะวันออกของพระอุโบสถ ขนาดกว้าง 7.75 เมตร ยาว 11 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2481 เป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูป ปางประจํ า วั น ต่ า งๆ ซึ่ ง เป็ น พระพุ ท ธรู ป ระเบี ย งพระอุ โ บสถเก่ า มีชื่อว่า “วิหารพระประจําวัน” บริเวณกําแพงพระอุโบสถด้านใน มีช่องสําหรับบรรจุอัฐิ NONTHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

59


วิหารพระประจําวัน วิหารพระประจําวัน ตั้งอยู่ในเขตพุทธาวาส ด้านทิศตะวันออก ของอุโบสถ มีขนาดกว้าง 7 เมตร ยาว 11 เมตร ภายในประดิษฐาน พระพุ ท ธรู ป ประจํ า วั น ต่ า งๆ และพระพุ ท ธรู ป อื่ น ๆ เพื่ อ ให้ พุทธศาสนิกชนได้สักการบูชา วิหารนี้บูรณะขึ้นใหม่เมื่อ พ.ศ. 2538 โดยสร้ า งลงในบริ เ วณวิ ห ารหลั ง เดิ ม วิ ห ารหลั ง นี้ มี อี ก ชื่ อ หนึ่ ง ว่า “ศาลาตาแจก” หรือ นายแจก ทองสุกมาก (มีชีวิตตั้งแต่ พ.ศ. 2421 – 2504) เนื่องจากนายแจกนั้นเป็นผู้บูรณะเมื่อ พ.ศ. 2481 พระธรรมทานาจารย์ กล่าวถึง “นายแจก” ในฐานะผู้สร้างวิหาร และ ผู ้ ส ร้ า งพระพุ ท ธรู ป ประดิ ษ ฐานในอุ โ บสถ ว่ า “นายแจกเป็ น ผู้สร้างศาลาการเปรียญ” ศาลาการเปรียญ เป็นอาคารในเขตสังฆาวาส ถือว่าเป็นอาคารที่เก่าแก่และคงอยู่ ในบริ เวณเดิ ม มาตั้ ง แต่ อ ดี ต ไม่ มี ก ารเปลี่ ย นตํ า แหน่ ง พระธรรม ทานาจารย์ กล่าวถึงศาลาการเปรียญ ภาพเขียนบนศาลาการเปรียญ และการบูรณะเสาศาลาการเปรียญ ว่าศาลาการเปรียญเป็นของเก่า มีลวดลายเพดานทุกห้อง ทางวัดได้รักษาไว้มีอยู่เดี๋ยวนี้ เขียนอย่าง ฝีมือวิจิตร น�้ำยาเขียนด้วยแบบลายไทยสีน�้ำกาวสีต่างกัน ลายต่างกัน ทุกห้อง เพดานที่เขียนลายต่างกัน สีก็ต่างกันเป็นการแปลก และเสา ทุกต้น เขียนลายต่างๆ สีต่างๆ กัน เป็นการไว้ฝีมือเขียนลายพระบาท ปิดทอง เสาศาลาไม้เดิม เดี๋ยวนี้เปลี่ยนใหม่ เป็นคอนกรีต ทาสีน�้ำมัน 60

SBL บันทึกประเทศไทย I นนทบุรี

มณฑปที่ ป ระดิ ษ ฐานรอยพระพุ ท ธบาทและรู ป หล่ อ พระครู นนทวัตรวิบูลย์ มณฑป 2 หลั ง อั น ที่ ป ระดิ ษ ฐานรอยพระพุ ท ธบาทและ รูปหล่อพระครูนนทวัตรวิบูลย์นี้ มีขนาดกว้างและยาว ราว 3.7 เมตร ตั้งอยู่ใกล้กลับศาลาท่าน�้ำ ริมคลองแม่น�้ำอ้อม โดยมณฑปที่ ประดิษฐานรอยพระพุทธบาท ตั้งอยู่ฝั่งทิศเหนือของวัด ส่วนมณฑป ที่ประดิษฐานรูปหล่อพระครูนนทวัตรวิบูลย์ ตั้งอยู่ฝั่งทิศใต้ของวัด มณฑปทั้ ง สองหลั ง ตั้ ง อยู ่ ร ะหว่ า งศาลาท่ า น�้ ำ หลั ง กลาง ลั ก ษณะ มณฑปเป็นมณฑปยอดปราสาท


ศาลาและอาคารอื่นๆ ศาลาบางหลังกลายเป็น “อดีต” ทีห่ ลงเหลืออยูแ่ ต่ในความทรงจํา บางหลังยังคงปรากฏร่องรอยให้เห็น ศาลาและอาคารต่างๆ ได้แก่ หอไตร ศาลาตานวน ศาลาตักบาตร ศาลายายเพิ่ม ศาลาตาโม้ เรือนนันทศรีวิบูลย์ ปูชนียวัตถุวัดบางอ้อยช้าง ปูชนียวัตถุที่สําคัญของวัดบางอ้อยช้าง ได้แก่ พระประธานใน อุโบสถ พระศรีศาสดา รอยพระพุทธบาทสําริด รูปหล่อพระครู นนทวัตรวิบลู ย์ พระบรมราชานุสาวรียส์ มเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช และเจว็ ด เจ้ า พ่ อ 3 องค์ คื อ เจ้ า พ่ อ หอหนั ง เจ้ า พ่ อ เสื อ และ เจ้าพ่อนารายณ์ โบราณวัตถุวัดบางอ้อยช้าง โบราณวั ต ถุ ที่ น ่ า สนใจของวั ด บางอ้ อ ยช้ า ง ประกอบด้ ว ย ภาพเขี ย นรอยพระพุ ท ธบาท ดาวเพดาน และรู ป พระพุ ท ธเจ้ า บนเพดานของศาลาการเปรียญ ธรรมาสน์ทรงยอดปราสาทโบราณ ที่มีผู้สันนิษฐานว่ามีอายุราวสมัยอยุธยา ตั้งอยู่บนศาลาการเปรียญ ธรรมาสน์สงั เค็ดทีเ่ คยมีอยูท่ วี่ ดั บางอ้อยช้างจนกระทัง่ สมัยรัชกาลที่ 5 รวมถึ ง ตู ้ พ ระไตรปิ ฎ กลายรดน�้ ำ คั ม ภี ร ์ ใ บลาน สมุ ด ไทย และ วัตถุโบราณอื่นๆ

ท�ำเนียบเจ้าอาวาสวัดบางอ้อยช้าง ต�ำบลบางสีทอง อ�ำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี รูปที่ 1 พระครูนวกรรมโกศล (อยู่) พ.ศ. 2359 – 2408 รูปที่ 2 พระอธิการอินทร์ พ.ศ. 2408 – 2417 รูปที่ 3 พระอธิการเสือ พ.ศ. 2417 – 2423 รูปที่ 4 พระครูนนทปรีชา (พระนันทวิริยะ โพธิ์) พ.ศ. 2423 – 2444 รูปที่ 5 พระอธิการเปรม พ.ศ. 2444 – 2457 รูปที่ 6 เจ้าอธิการเขียว ธนิโย พ.ศ. 2457 – 2473 รูปที่ 7 พระอธิการวาสน์ ธมฺมโชโต พ.ศ. 2473 – 2490 รูปที่ 8 พระมหาจ�ำปี สิริวฑฺฒโน ป.ธ.3 พ.ศ. 2490 – 2493 รูปที่ 9 พระครูนนทวัตรวิบูลย์ (วิบูลย์ ธมฺมโชโต ป.ธ.5) พ.ศ. 2493 – 2545 รูปที่ 10 พระอธิการสมพงษ์ อาภากโร พ.ศ. 2545 – 2549 รูปที่ 11 พระอุดมสิทธินายก (ก�ำพล คุณงฺกโร ป.ธ.9, ผศ.ดร.) พ.ศ. 2549 – ปัจจุบัน NONTHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

61


History of buddhism....

62

SBL บันทึกประเทศไทย I นนทบุรี

วัดจันทร์


ปริศนาธรรม.... นายอิน นายจันทร์ กินเหล้าด้วยกันเอาจอกไว้นอกหรือไว้ใน ใครแก้ปริศนาธรรมได้ จะเจอทอง

พระครูโอภาสนนทกิตติ์, ผศ.ดร. เจ้าคณะอ�ำเภอบางกรวย / เจ้าอาวาสวัดจันทร์

วั ด จั น ทร์ ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 27 หมู ่ 6 ถนนบางกรวย-ไทรน้ อ ย ต�ำบลบางกรวย อ�ำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี สังกัดคณะสงฆ์ มหานิกาย อาณาเขตติดต่อวัดจันทร์ ทิศเหนือ ติดกับ คลองบางกรวย ทิศใต้ ติดกับ ถนนบางกรวย -ไทรน้อย ทิศตะวันออก ติดกับ หมู่บ้านเทพประทาน ทิศตะวันตก ติดกับ คลองย่อยบางกรวย ลักษณะของวัดจันทร์มีลักษณะเหมือนด้ามขวาน หรือแผนที่ ประเทศไทย โดยด้านที่เป็นที่ตั้งวัดและอาคารเสนาสนะและโรงเรียน เป็นพื้นที่กว้างส่วนด้านแคบเรียวยาวเป็นที่ตั้งของชุมชนวัดจันทร์ วัดจันทร์ สร้างเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2315 และได้รับ พระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อวันที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2338 เขต วิสุงคามสีมา กว้าง 40 เมตร ยาว 40 เมตร ตัวอาคารอุโบสถกว้าง 10 เมตร ยาว 20 เมตร และได้รับการบูรณะใหม่เมื่อ พ.ศ. 2464 และ พ.ศ. 2529 และได้สร้างก�ำแพงแก้วรอบอุโบสถพร้อมซุ้มประตู ในปี พ.ศ. 2514 พระประทานในอุโบสถเป็นลักษณะปางมารวิชัย หน้าตักกว้าง 108 นิ้ว หันหน้าไปทางทิศตะวันออก ก่ออิฐถือปูน ลง ลักปิดทอง สันนิษฐานว่าได้สร้างมาพร้อมกับอุโบสถ สมัยกรุงธนบุรี อายุราว 235 ปี มีอัครสาวกซ้าย - ขวา มีพระพุทธรูปเก่าที่ได้สร้าง มาพร้อมกับ พระประทาน รวม 7 องค์ คือ NONTHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

63


History of buddhism.... 1. ปางมารวิชัย เนื้อส�ำริด หน้าตักกว้าง 20 นิ้ว ลงลักปิดทอง 1 องค์ 2. ปางมารวิชัย เนื้อส�ำริด หน้าตักกว้าง 30 นิ้ว ลงลักปิดทอง 1 องค์ 3. ปางประทานพร เนื้อส�ำริด สูง 150 ซม. ลงลักปิดทอง 1 องค์ 4. ปางห้ามสมุทร เนื้อส�ำริด สูง 1 เมตร 70 ซม. ลงลักปิดทอง 4 องค์ ซึ่ ง ปางห้ ามสมุทร 4 องค์ ได้หายไป เมื่อวั น ที่ 3 พฤศจิกายน 2544 ซึ่งพระพุทธรูปปางห้ามสมุทรองค์นี้ ในอดีตได้เคยหายไป 2 ครั้งแล้วเมื่อหลายสิบปีก่อน และได้ กลับคืนมาได้ โดยที่โจรไม่สามารถเอาไปได้โดยทิ้งไว้ที่ล่องสวน ในสมัยนั้น แต่ครั้งสุดท้ายนี้ยังไม่ได้พระกลับคืนมา พระประทาน และพระสาวกทั้งหมดรวม 11 องค์ ได้บูรณะและปิดทองค�ำแท้ใหม่ รวมทั้งฉัตรเมื่อปี พ.ศ. 2548

64

SBL บันทึกประเทศไทย I นนทบุรี


พระพุทธองค์แสนล้านมหาไชยมงคล SAMUT SAKHON I SBL บันทึกประเทศไทย NONTHABURI

65


ความเป็นมาของวัดจันทร์ วัดจันทร์ เป็นวัดเก่าแก่วัดหนึ่งสร้างในสมัยกรุงธนบุรี มีอายุกว่า 200 ปี สืบทอดกันต่อ ๆ มาจวบจนปัจจุบันนี้ การก่อสร้างและบูรณ ปฏิสังขรณ์ถาวรวัตถุต่าง ๆ ที่ช�ำรุดทรุดโทรมเป็นอันมาก ซึ่งเป็นปกติ ธรรมดาของธรรมชาติที่ต้องมีการบุบสลายแตกหักลง วั ด จั น ทร์ โดยการดู แ ลของเจ้ า อาวาสแต่ ล ะรู ป แต่ ล ะสมั ย ที่ ปกครองดูแล และก่อสร้างบูรณปฏิสังขรณ์เสนาสนะในเขตสังฆาวาส และอุโบสถในเขตพุทธาวาสกันสืบต่อมาจนกระทั่งถึงผู้บันทึกข้อมูล นี้ ในสมัยที่ยังเป็นสามเณรอายุประมาณ 19 - 20 ปี เสนาสนะกุฏิ สงฆ์ที่เป็นที่พักอาศัยท�ำวัตรสวดมนต์หรือที่ท�ำศาสนกิจส�ำหรับพระ ภิกษุสงฆ์ก็ได้รื้อย้ายเปลี่ยนแปลงเป็นจ�ำนวนมาก เป็นต้นว่า กุฏิสงฆ์ ได้จัดท�ำในรูปแบบเสนาสนะกุฏิสงฆ์ เป็นเรือนไม้ชั้นเดียว โดยสร้าง ล้อมรอบหอสวดมนต์ และทางเดินก็เป็นไม้ คือ สร้างเหมือนเรือน ทรงไทยเป็ น หมู ่ ใ หญ่ โดยมี ห อสวดมนต์ อ ยู ่ ต รงกลางและสร้ า ง เสนาสนะกุ ฏิ ส งฆ์ ล ้ อ มรอบ สมั ย ก่ อ นมี กุ ฏิ ส งฆ์ ห ลั ง หนึ่ ง เรี ย กว่ า กุฏิ 200 ปี เป็นลักษณะเรือนทรงไทย ประตูทางเข้ากุฏิสูงประมาณ 50เซนติเมตร ขณะเข้ากุฏิจะต้องยกขาข้ามจึงจะสามารถเข้าไป ภายในกุฏิได้ ส�ำหรับหอสวดมนต์ มีอายุประมาณ 50 - 60 ปี โดยการน�ำของ ผู้ใหญ่อุดม ศรีทรัพย์ ซึ่งในสมัยนั้นได้อุปสมบทเป็นพระภิกษุอยู่ และ ได้เป็นผู้ดูแลวัดทั้งหมด โดยท�ำการก่อสร้างทั้งหมดเป็นจ�ำนวนเงิน 40,000 บาท และได้ ส ร้ า งพระพุ ท ธรู ป ขึ้ น อี ก 1 องค์ เรี ย กว่ า 66

SBL บันทึกประเทศไทย I นนทบุรี

พุทธสิหิงค์ 25 ศตวรรต โดยท่านเป็นผู้จัดหาช่างมาหล่อขึ้นเอง หน้าตักพระกว้าง 19 นิ้ว ซึ่งขณะนี้ก็ยังปรากฏอยู่ให้ชาวพุทธทั่วไป สักการบูชากราบไหว้เพื่อเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจมาโดยตลอด สมัยก่อน หอสวดมนต์ หลังนี้หันหน้าไปทางทิศเหนือ จวบจน สมัยของพระครูนนททิวากร (ทวี จิตต์ไทย) ท่านได้เปลี่ยนแปลงหอ สวดมนต์ให้หันหน้าไปทางทิศตะวันออก จนปัจจุบันหอสวดมนต์ดัง กล่าวก็ยังสมบูรณ์อยู่ ในสมัยของผู้บันทึก คือ พระครูโอภาส นนท กิตติ์ ซึ่งด�ำรงต�ำแหน่งเป็นเจ้าอาวาสวัดจันทร์เมื่อ ปี พ.ศ. 2543 ก็ได้ บูรณปฏิสังขรณ์ถาวรวัตถุต่าง ๆ ในวัดเป็นจ�ำนวนมากมาย เช่น ด�ำเนินการถมดินด้านหน้ากุฏิสงฆ์ (บริเวณลานด้านหน้าอุโบสถ) สูงถึง 1 เมตร เพราะวัดจันทร์ตั้งอยู่ในพื้นที่ลุ่มเป็นสวนมาก่อน พอ ถึงหน้าน�้ำ ๆ ก็ท่วมจะเป็นอยู่อย่างนี้ทุก ๆ ปี ระดับน�้ำสูงประมาณ 1 เมตรบ้าง ระดับเอวบ้าง บางปีน�้ำท่วมถึงหน้าอกเลยก็มี ทางวัดได้ น�ำโต๊ะนักเรียนมาต่อกันเป็นทางเดินเท้า บางปีเทศบาลก็จะเอาไม้ มาต่อกันเป็นทางเดินทั่วไป ระยะเวลาน�้ำท่วมก็จะอยู่ประมาณ 1 - 2 เดือน บางปีน�้ำท่วมในช่วงเข้าพรรษา ทางวัดต้องจัดหาเรือรับส่งโยม จากหน้าวัดเข้ามาที่ศาลาการเปรียญ ในยุคของผู้บันทึกจึงต้องถมดิน ให้ สู ง ขึ้ น เพื่ อ หนี น�้ ำ ส่ ว นบริ เวณลานเป็ น สถานที่ ร ่ ม รื่ น นั้ น ก็ เช่ น เดียวกัน ได้ด�ำเนินการถมดินปรับพื้นที่ให้สูงขึ้นทั้งหมด จนปัจจุบัน นี้น�้ำไม่ท่วมอีก หากปีไหนฝนตกชุกมากเกินความจ�ำเป็น น�้ำก็จะท่วม เต็มลานที่ถมประมาณ 4 - 5 เซนติเมตรเท่านั้น แต่ก็ยังดีกว่าในสมัย ก่อนเป็นอย่างมาก


พระครูโอภาสนนทกิตติ์, ผศ.ดร. เจ้าคณะอ�ำเภอบางกรวย / เจ้าอาวาสวัดจันทร์

คุณวุฒิ 1. พธ.บ. (พระพุ ท ธศาสนา) เกี ย รติ นิ ย มอั น ดั บ 1 พ.ศ.2553 มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย 2. พธ.ม. (การบริหารการศึกษา) พ.ศ. 2554 มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ ราชวิทยาลัย 3. พธ.ด. (พุทธบริหารการศึกษา) พ.ศ.2558 มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลง กรณราชวิทยาลัย 4. ค� ำ สั่ ง มหาวิ ท ยาลั ย มหาจุ ฬ าลงกรณราชวิ ท ยาลั ย ที่ 78/2562 เรื่อง แต่งตั้งผู้ช่วยศาสตราจารย์ สาขาวิชาการบริหารการศึกษา ฝ่ายปกครอง - พ.ศ. 2543 เป็น เจ้าอาวาสวัดจันทร์ - พ.ศ. 2553 เป็น รองเจ้าคณะอ�ำเภอบางกรวย - พ.ศ.2557 เจ้าคณะอ�ำเภอบางกรวย

รายนามเจ้าอาวาสอดีตจนถึงปัจจุบัน รายนามเจ้าอาวาสวัดจันทร์เท่าที่พอค้นพบและสอบถามได้ มีปรากฏอยู่ 10 รูป ดังนี้ 1. พระอธิการ จีน (หลวงปู่จีน) 2. พระอธิการแตง 3. พระอธิการแบน สุจิตฺโต 4. พระอธิการแดง 5. พระอธิการธูป จิตฺตสงฺวโร 6. พระครูแบน สุจิตฺโต 7. พระครูเขมเขตวิชัย 8. พระครูนนททิวากร (ทวี ทีปโก ) พ.ศ. 2526 - 2542 9. พระครูปลัดกิตติวรวัฒน์ (รักษาการเจ้าอาวาส) 11. พระครูโอภาสนนทกิตติ์ (ศักดา โอภาโส) พ.ศ. 2543 - ปัจจุบนั

ผลงานดีเด่นและรางวัลเกียรติคุณ • ศิษย์เก่าดีเด่นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย 2561 จากสมาคมศิษย์เก่า มจร. • ศิษย์เก่าดีเด่นของคณะครุศาสตร์ 2561 ด้านผลงานสร้างสรรค์ ผลงานวิชาการ ผลงานนวัตกรรมและเทคโนโลยี จากคณะครุศาสตร์ มจร • รางวัลเสมาธรรมจักวันวิสาขบูชาโลก 2561 สาขาส่งเสริมกิจการ คณะสงฆ์ จากกรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม • รางวัลผู้ท�ำคุณประโยชน์ ประเภทผู้มีผลงานระดับนานาชาติดีเด่น ในโครงการเชิดชูเกียรติผทู้ ำ� คุณประโยชน์ดเี ด่นแห่งปี รางวัลคชจักร ครัง้ ที่ 1 • รางวัลคนดีแบบอย่างของชาติ “ผู้ท�ำคุณประโยชน์ต่อสังคมและ ประเทศชาติ” รางวัลธรรมลักษณ์ศิลา • รางวัลเสาอโศกผู้น�ำศีลธรรม ผู้ท�ำคุณประโยชน์ด้านศาสนา สังคม และประเทศชาติ (รางวัลเสาอโศก) • รางวั ล เกี ย รติ คุ ณ นานาชาติ ส่ ง เสริ ม ตนดี มี คุ ณ ธรรม เทศกาล วันมาฆบูชา “คุณธรรม คุณค่า แห่งบุคคล” • โล่ เ กี ย รติ คุ ณ บาลี ศึ ก ษาสมาคม เป็ น พระผู ้ มี คุ ณ ธรรมเทิ ด ทู น พระพุทธศาสนา ในโครงการสาธยายพระบาลีธรรมบท • ประกาศเกียรติคุณ คนดีแบบอย่างของแผ่นดิน สาขานักพัฒนา ผู้ท�ำคุณประโยชน์ต่อสังคม และพระพุทธศาสนา • รางวัลพระปฐมเจดีย์ทอง ผู้อุปถัมภ์และคุ้มครองพระพุทธศาสนา ด้านสาธารณสงเคราะห์ • รางวัลโล่เกียรติคุณ “บุคคลต้นแบบท�ำความดี” ในฐานะผู้ท�ำคุณ ประโยชน์ต่อพระพุทธศาสนา สังคม และประเทศชาติ NONTHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

67


History of buddhism....

68

SBL บันทึกประเทศไทย I นนทบุรี

วัดเชิงกระบือ


พระมหาโอภาส จนฺทาโภ เจ้าอาวาสวัดเชิงกระบือ

วั ด เชิ ง กระบื อ ตั้ ง อยู ่ ริ ม ถนนบางกรวย – ไทรน้ อ ย เลขที่ 46/3 หมู ่ ที่ 1 ต� ำ บลบางกรวย อ� ำ เภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี 11130 วัดเชิงกระบือ ตั้งวัดเมื่อวันที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2512 แต่เดิมสร้างขึ้นในสมัยอยุธยาตอนปลาย ประมาณปี พ.ศ. 2310 ต่อมาขาดผู้ท�ำนุบ�ำรุงจึงกลายเป็นวัดร้างไปในที่สุดและได้รับการ บูรณะให้เป็นวัดเจริญรุ่งเรืองอีกครั้งหนึ่ง กระทรวงศึกษาธิการ ได้ ป ระกาศเปลี่ ย นสภาพวั ด ร้ า งเป็ น วั ด มี พ ระสงฆ์ เ มื่ อ วั น ที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2512 ชาวบ้านนิยมเรียกนามว่า “วัดป่า” เพราะเคยเป็ น วั ด ร้ า งอยู ่ ใ นป่ า ขาดการท� ำ นุ บ� ำ รุ ง ได้ รั บ พระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2516 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 20 เมตร ยาว 40 เมตร อาคารเสนาสนะ ประกอบด้วย - อุโบสถ กว้าง 8 เมตร ยาว 24.50 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2519 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็กลักษณะทรงไทยโบราณ - หอสวดมนต์ จ�ำนวน 1 หลัง - กุฏิสงฆ์ จ�ำนวน 13 หลัง เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก ปูชนียวัตถุ มีพระประธานประจ�ำอุโบสถ มีนามว่า “หลวงพ่อใหญ่”

NONTHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

69


History of buddhism.... ประวัติวัดเชิงกระบือ วัดเชิงกระบือ เดิมเป็นวัดร้างไม่ปรากฏหลักฐานว่าสร้างขึ้นใน สมัยใด เป็นวัดที่รกร้างมานาน ชาวบ้านเรียกว่า “วัดป่า” ไม่ปรากฏ หลักฐานว่ามีกุฏิ ศาลา หรือสถานที่ต่างๆ ครั้งก่อนของวัด สิ่งที่ ปรากฏเห็นชัดคือ อุโบสถหลังเก่าช�ำรุด หลังคาไม่มี มีแต่ผนังก่อด้วย อิฐ 4 ด้าน มีเจดีย์เล็กอยู่ 2 องค์ มีต้นโพธิ์ 3 ต้น ต้นตาล 10 ต้น มีบ่อน�้ำ 3 บ่อ ในอุโบสถมีแท่นพระประธาน มีพระประธานสร้างด้วย ศิลาแลง 1 องค์ ปรักหักพังไม่มีชิ้นส่วนเป็นองค์พระที่สมบูรณ์ ต่อมามีนายทองหล่อ จีนปั่น ได้ติดต่อขอเช่าต่อกรมกัลปนา มีเนื้อที่ประมาณ 12 ไร่ และอนุญาตให้นายทองหล่อ จีนปั่น เช่าที่ดิน โดยคิดค่าเช่าปีละ 12 บาท 37 สตางค์ นายทองหล่อได้ถากถาง ที่รกร้างและขุดเป็นร่องสวนท�ำเป็นสวนส้มเขียวหวาน ในช่วงต่อมา กรมกัลปนาได้เก็บค่าเช่าที่เพิ่มขึ้นเป็นปีละ 600 บาท เดิมนาย ทองหล่อแต่ผู้เดียว ต่อมาได้แบ่งแยกที่ดินให้เช่าเป็น 5 เจ้าของ เมื่อต้นปี พ.ศ.2510 ได้มีพระภิกษุเฉลียว หรืออาจารย์ทุย ได้เดิน ทางมาในลักษณะพระธุดงค์ มาปักกลดอยู่ที่หน้าอุโบสถอยู่ประมาณ 5-6 คืน และมีลูกศิษย์มาปลูกกุฏิขึ้น 1 หลัง โดยการยินยอมของ นายหลิ่ม อยู่ชมสุข เป็นผู้ดูแล และในเวลาต่อมาได้มีพระภิกษุน้อย ได้มาดูบริเวณวัดแล้วได้ปรารภว่าจะสร้างวัด แต่ถูกปฏิเสธจากผู้ดูแล และห้ามตัดต้นไม้ พระภิกษุเฉลียวมาอยู่ที่วัดนี้ในเดือนพฤษภาคม ตรงกั บ เดื อ น 6 ในเดื อ นเดี ย วกั น ได้ มี ห ลวงพ่ อ เพชร ท่ า นได้ ม า ปักกลดอยู่ในโบสถ์ พอรุ่งเช้าท่านฉันเช้าแล้วจะกลับ ก่อนท่านจะ กลับท่านบอกว่า ท่านจะกลับมาสร้างวัดนี้ จะขอจ�ำพรรษาในโบสถ์ พอใกล้เข้าพรรษาราวเดือนข้างแรมท่านก็มาพักในโบสถ์ พอรุ่งเช้า ประชาชนน�ำภัตตาหารมาถวาย เมื่อประชาชนเห็นว่าหลวงพ่อเพชร จะจ�ำพรรษาในโบสถ์แน่ ชาวบ้านจึงปรึกษากันช่วยกันท�ำหลังคากัน ฝนกันแดดให้ท่านมุงด้วยจากขึ้นในอุโบสถ ครั้นเมื่อวันเสาร์เดือน 7 ชาวบ้านจึงปรึกษากันว่าควรจะปฏิสังขรณ์พระประธานองค์เก่าขึ้น บางส่วนยังหาได้ เช่น พระเศียร พระวรกาย และชิ้นส่วนใหญ่ จึง ช่วยกันน�ำเอาชิ้นส่วนต่างๆ มาประกอบขึ้นเป็นองค์เดิม โดยถือเอา พระลักษณะรูปเดิมเพื่อรักษาไว้มิให้เปลี่ยนแปลง ผู้เขียนคือ คุณไปล่ เหมือนแม้น ได้ปรึกษากันว่า ส.ต.อ.จ�ำลอง เอี่ยมเย็น ยศในสมัยนั้น ปรึกษากันเพื่อบูรณะพระประธานนี้ไว้เพื่อจะได้สักการบูชาท�ำบุญใน อุโบสถตามเทศกาล แล้วจะได้มาสวดมนต์ไหว้พระกันในตอนเย็นๆ มิได้หมายจะยกขึ้นเป็นวัดมีพระสงฆ์อย่างที่เห็นกันในปัจจุบันการต่อ เติมพระประธานท�ำให้ยากมาก บางส่วนหาไม่พบ เช่น พระหัตถ์เบื้อง ขวา หาไม่พบจึงต้องใช้ปูนท�ำแทน เมื่อน�ำชิ้นส่วนต่างๆ มาประกอบ ครบทุกส่วนแต่ยังขาดพระเกตุหาเท่าไหร่ก็หาไม่เจอ หลวงพ่อเพชร ท่ า นรั บ ท� ำ เอง ท่ า นใช้ ปู น ปั ้ น เมื่ อ ท� ำ เสร็ จ แล้ ว ใช้ ไ ม่ ไ ด้ หั ก หมด ท่านพยายามท�ำอยู่สองสามครั้งไม่ส�ำเร็จ คุณไปล่และ ส.ต.อ.จ�ำลอง จึงจุดธูปเทียน อาราธนาแล้วอธิษฐานขอให้พบพระเกตุของท่าน 70

SBL บันทึกประเทศไทย I นนทบุรี


NONTHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

71


History of buddhism....

ทั้งสองจึงช่วยกันค้นหาจนพบพระเกตุ มีลักษณะคล้ายดอกบัวตูม แตกเหลือเพียงครึ่งเดียว จึงน�ำพระเกตุไปลองสวมที่พระเศียรของ ท่านและใช้ได้พอดี แต่มีครึ่งเดียว จึงใช้ปูนปั้นเสริมแต่งให้เหมือน ของเดิ ม ดั ง ที่ เ ห็ น อยู ่ ใ นปั จ จุ บั น นั บ แต่ ไ ด้ บู ร ณะพระประธานขึ้ น ข่าวนี้ได้ลือกันไปในที่ต่างๆ ท�ำให้สาธุชนสนใจและได้มานมัสการ สักการบูชากันเป็นประจ�ำวันละมากๆ บ้างก็บริจาคทรัพย์เพื่อให้ท�ำ แท่นวางองค์ท่าน การบูรณปฏิสังขรณ์พระประธานคือ องค์หลวงพ่อใหญ่ ถือเอา วันแรมค�่ำ เดือน 7 ตรงกับวันเสาร์ เป็นการสร้างวัดเชิงกระบือ ด้วยอ�ำนาจบุญบารมีของหลวงพ่อใหญ่ และเป็นโชคดีของชาว วัดเชิงกระบือ ที่จะมีวัดขึ้นมาใหม่ ได้มีถนนตัดผ่านหน้าวัด ต่อมามี การสร้างหอสวดมนต์ การขนวัสดุอุปกรณ์การก่อสร้างสะดวกสบาย จึงด�ำเนินการก่อสร้างไปโดยล�ำดับอย่างต่อเนื่อง หลวงพ่อพระครู รัตโนภาสสุนทร ได้เห็นความพร้อมเพรียงของชาวบ้านมีศรัทธาแก่กล้า หลวงพ่ อพระครูท่านได้ช ่ว ยติด ต่อกับ มหาเถรสมาคมท�ำ เรื่ อ งให้ สมาคมช่วยเหลือติดต่อกับกรมการศาสนาเพื่อยกระดับจากวัดร้าง ให้เป็นวัดโดยมีพระภิกษุสงฆ์อยู่อย่างสมบูรณ์ 72

SBL บันทึกประเทศไทย I นนทบุรี

ในระหว่างที่ขอเป็นวัด มีพระสงฆ์เดินทางมาเพื่อจะขออยู่เป็น จ�ำนวนมาก ซึ่งในขณะนั้นยังไม่มีเจ้าอาวาส มีอาจารย์เจริญมาเป็น ผู้ดูแลและพระในวัด จึงได้ไปนิมนต์ อาจารย์เจริญ และ หลวงพ่อ สมบุญ ปาละกูล พระทั้ง 2 รูป รับนิมนต์และได้มาอยู่วัดเชิงกระบือ เมื่อวันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2512 ทางกรมการศาสนาออกหนังสือ แจ้งความเรื่องยกวัดเชิงกระบือ (วัดร้าง) ขึ้นเป็นวัดให้มีพระสงฆ์อยู่ จ�ำพรรษา เมื่อทางเถรสมาคมโปรดอนุมัติให้ยกวัดเชิงกระบือ(ร้าง) เป็นวัด มีพระสงฆ์ขึ้น อยู่ในความปกครองของคณะสงฆ์ ก็ได้รับการสนับสนุน จากเจ้าคณะจังหวัด เจ้าคณะอ�ำเภอ เจ้าคณะต�ำบล ตลอดจนกระทั่ง ชาวบ้านต�ำบลใกล้เคียงก็มีความยินดีเป็นอย่างยิ่ง พื้นที่ดินของวัดทั้ง หวดก็กลับคืนสภาพมาเป็นของวัดอย่างสิ้นเชิง คณะกรรมการวัดจึง ลงมติ ว ่ า สิ่ ง ใดที่ ยั ง ไม่ ก ่ อ สร้ า งก็ ยิ น ยอมให้ เ จ้ า ของเดิ ม เก็ บ ผล ประโยชน์ไปพลางก่อน เมื่อทางวัดต้องการที่ท�ำการก่อสร้างก็ด�ำเนิน การก่อสร้างไปโดยปราศจากเงื่อนไข ส่วนหลวงพ่อเพชร ก็ได้ย้ายกุฏิไปอยู่ทางด้านทิศตะวันตกของ โบสถ์ ท่านได้จ�ำพรรษาอยู่ประมาณ 1 ปี แล้วได้ย้ายไปสร้างวัดแดง


History of buddhism....

พระพุทธองค์แสนล้านมหาไชยมงคล พระมหาโอภาส จนฺทาโภ เจ้าอาวาสวัดเชิงกระบือ

NONTHABURI SAMUT SAKHON II SBL NONTHABURI SBL บับันนทึทึกกประเทศไทย ประเทศไทย

73 73


History of buddhism....

วัดสักใหญ่

74

SBL บันทึกประเทศไทย I นนทบุรี


พระปลัดณนณัฎฐ์ จารุธมฺโม เจ้าอาวาสวัดสักใหญ่

วัดสักใหญ่ ตั้งอยู่ต�ำบลบางขนุน อ�ำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี ซึ่งเป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์ฝ่ายมหานิกาย

หลวงพ่อโสกโขทัย 600 ปี NONTHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

75


วัดสักใหญ่ สร้างตั้งแต่เมื่อใดไม่มีหลักฐานปรากฏชัดเจน แต่พอ สั น นิ ษ ฐานได้ จ าก “หลวงพ่ อ ใหญ่ ” พระประธานในอุ โ บสถ เทียบเคียงจากหลักฐานทางราชการของวัดเพลงร้าง ซึ่งบริเวณใกล้ เคียงกันตามลักษณะสถาปัตยกรรมและลายปูนปั้นที่เหลืออยู่คาดว่า สร้างขึ้น สมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (พ.ศ. 2199 - พ.ศ. 2231) อันเป็นศิลปะสมัยอยุธยาหรือศิลปะอู่ทอง รวมทั้งหอระฆังวัดสักใหญ่ มี ศิ ล ปะสมั ย พระนารายณ์ เช่ น กั น ต่ อ มาเมื่ อ เกิ ด ศึ ก สงครามไทย กั บ พม่ า เมื่ อ ครั้ ง เสี ย ครั้ ง กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยาครั้ ง ที่ 2 (ประมาณเดื อ น 10 พ.ศ. 2310) มั ง มหานรธาแม่ ทั พ พม่ า นาทั พ ขึ้ น ย้ อ นมาจาก ทางใต้ขึ้นมาตามล�ำน�้ำ และได้ตั้งค่ายตามริมสองฝั่งแม่น�้ำเจ้าพระยา ชาวบ้ า นและพระสงฆ์ วั ด สั ก ใหญ่ ซึ่ ง อยู ่ ติ ด คลองวั ด สั ก หรื อ คลองวัดสักใหญ่ (คลองวัดสักเป็นล�ำน�้ำสาขาของคลองอ้อมนนท์) ต้องหลบหนีภัยสงครามหรือถูกเกณฑ์ไปเป็นทหาร ท�ำให้วัดสักใหญ่ ร้างไปชัว่ ระยะหนึง่ มีเรือ่ งเล่าต่อกันมาว่า ก่อนพระเจ้าตากสินจะยกทัพ ไปตี ค ่ า ยโพธิ์ ส ามต้ น ซึ่ ง เป็ น ค่ า ยของพม่ า เพื่ อ ชิ ง เอาเอกราชคื น จากพม่า (สันนิษฐานว่าประมาณเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2310) ทรงยกทัพมาจากเมืองจันทบุรีแล้วมาพักกองทัพระหว่างเดินทาง ตรงท้องที่บางกรวยรวมทั้งบริเวณวัดสักใหญ่ด้วย ภายหลังเสด็จจาก การยกทั พ ไปตี เ มื อ งเชี ย งใหม่ ร าว ๆ พ.ศ. 2317 เมื่ อ ชนะศึ ก เมืองเชียงใหม่ ได้ทรงน�ำพระพุทธรูปปางสุโขทัยหรือหลวงพ่อสุโขทัย มาด้ ว ยและทรงให้ ป ระดิ ษ ฐานไว้ ที่ วั ด สั ก ใหญ่ พ ร้ อ มทั้ ง ได้ ท รง ท�ำนุบ�ำรุงฟื้นฟูวัดขึ้นมาใหม่อีกครั้ง (บางต�ำนานเล่าว่า หลวงพ่อ สุโขทัยได้อัญเชิญมาจากอุโบสถวัดยางป่าสมัยที่ยังเป็นวัดร้างโบราณ) หลวงพ่อสุโขทัย เป็นพระพุทธรูปโบราณอายุกว่า 700 ปี สันนิษฐานว่า สร้างสมัยพระมหาธรรมราชาลิไทย ในสมัยสุโขทัยเป็นพระพุทธรูป ปางมารวิชัย หน้านางหรือเทวดา พุทธลักษณะงดงาม อ่อนช้อย ลักษณะพระเกศจะเป็นก้นหอย รัศมีพระเกศเป็นเปลวเพลิง จีวรมี ทั้งจีวรเรียบ ขนาดหน้าตัก 29 นิ้ว ชาวบ้านนิยมมาสักการะขอพร เกี่ยวกับด้านสุขภาพและโชคลาภอยู่เสมอ 76

SBL บันทึกประเทศไทย I นนทบุรี

วัดสักใหญ่ มีรายนามเจ้าอาวาสวัดเท่าที่สืบได้รวม 10 รูป ได้แก่ 1. พระอธิการเปีย 2. พระอธิการอยู่ 3. พระอธิการชม สุวโจ 4. พระมหาแคล้ว 5. พระมหาเริ่ม 6. พระครูนนทวัฒน์ วิบูลย์ 7. พระครูจันทร์ โชติปาโล 8. พระครูวินัยธรแจ๋ว ธมฺมโรจโน 9. พระครูสุนทรนันทาภิวัฒน์ 10. พระครูสังฆรักษ์ ประยูร ถิรจิตโต 11. พระปลัดณนณัฎฐ์ จารุธมฺโม ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2552 จนถึงปัจจุบัน


History History of of buddhism.... buddhism....

NONTHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

77


History of buddhism....

History of buddhism....

วัดอุบลวนาราม พระมหาวัฒนา จนฺทโชโต ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดอุบลวนาราม

วัดอุบลวนาราม ตั้งอยู่ต�ำบลปลายบาง อ�ำเภอบางกรวย จังหวัด นนทบุรี ประวัติวัดอุบลวนาราม สันนิษฐานว่าก่อนจะเป็นวัด ตรงที่ตั้งวัดนี้คงจะเป็นที่ปักกลดของ พระธุดงค์ เป็นที่พักระหว่างทางที่จะไปไหว้พระพุทธบาทที่จังหวัด สระบุรีหรือพระพุทธบาทพระแท่นดงรัง จังหวัดกาญจนบุรี ที่ตรงนี้ ติดคลองปลายบางเป็นเนินดินที่มีบึงบัว มีบ้านคนที่จะพอบิณฑบาต ได้ เมื่อพักสองถึงสามวันก็ออกเดินทางต่อไป ชาวบ้านอยากจะมีพระ ไว้ ป ระจ� ำ เพื่ อ ท� ำ บุ ญ กราบไหว้ จึ ง สร้ า งกุ ฏิ ใ ห้ พ ระอยู ่ เกิ ด เป็ น ส�ำนักสงฆ์ขึ้นมา เจ้าอาวาสองค์ที่หนึ่งชื่อ หลวงพ่อคง(พระอธิการ คง) คิดจะสร้างโบสถ์ให้เป็นวัดถูกต้องสมบูรณ์ คนจึงจดจ�ำหลวงพ่อ 78

SBL บันทึกประเทศไทย I นนทบุรี

องค์นี้ได้เป็นองค์แรก แต่ยังสร้างไม่ทันเสร็จหลวงพ่อคงก็ได้มรณภาพ ลงจนแล้ ว เสร็ จ ในสมั ย ของหลวงพ่ อ เนี ย ม (พระครู เ นี ย ม) ขอ วิสุงคามสีมา เมื่อปี พ.ศ. 2430 (ยังไม่มีหลักฐานแน่ชัด) ต่อจากหลวง พ่อคง ได้มีเจ้าอาวาสเข้ามาพัฒนาวัดอุบลวนาราม ดังต่อไปนี้ สมัยหลวงพ่อแป๋น (พระอธิการแป๋น) (เจ้าอาวาส ปี พ.ศ.2475 – พ.ศ.2487) มีเหตุการณ์ส�ำคัญดังนี้ 1. เปลี่ยนชื่อจาก วัดบัว เป็น วัดอุบลวนาราม ตามรัฐนิยมสมัย รัฐบาลจอมพล ป.พิบูลสงคราม (ประมาณปี พ.ศ.2482) 2. พ.ศ. 2481 เปิดโรงเรียนประชาบาล สอนชั้นมูล ถึง ประถม ศึกษาปีที่3 โดยเมื่อขึ้นถึงชั้นประถมศึกษาปีที่4 ต้องย้ายไปเรียนต่อ ที่วัดศรีประวัติโดยใช้ศาลาการเปรียญเป็นอาคารเรียน


สมัยหลวงพ่อปลด (พระอธิการปลด ปญฺญาสาโร) (เจ้าอาวาส ปี พ.ศ.2487 – พ.ศ.2516) ซึ่งหลวงพ่อปลดท่านมีบารมีอย่างมาก โดยเฉพาะเมตตาบารมีและขันติบารมี มีการสร้างถาวรวัตถุ ศาลา การเปรียญหลังใหญ่ที่สุดในขณะนั้น (พ.ศ.2512) ซึ่งมีขนาดกว้าง 17 เมตร ยาว 41.30 เมตร สร้างอุโบสถ สร้างหอฉัน หอสวดมนต์ สร้าง วิหารหลวงพ่อโสธรและอีกหลายๆ อย่าง หลวงพ่อปลดมรณภาพ เมื่อพ.ศ.2516 (ซึ่งลูกศิษย์ได้ท�ำบุญครบรอบปี ในทุกๆ ปีไม่เคยขาด จนถึงปัจจุบัน) สมัยหลวงพ่อชาญ ท่านได้สมณศักดิ์เป็น พระครูนนทพัฒนาทร (เจ้าอาวาสปี พ.ศ.2520-พ.ศ.2544) มีผลงานส�ำคัญในสมัยของท่าน คือ มูลนิธิวัดอุบลวนาราม รวมถึงการซ่อมแซมและต่อเติมศาลา การเปรียญเป็นการใหญ่ พัฒนาที่ดินของวัดเป็นหมู่บ้านได้ประมาณ 100 หน่วย ท�ำให้วัดมีรายได้ขึ้นมามาก และในปัจจุบันมี พระมหาวัฒนา จนฺทโชโต เปรียญธรรม 9 ประโยค นักธรรมเอก เป็นเจ้าอาวาส (เริ่มเป็นเจ้าอาวาสเมื่อ 23 มกราคม พ.ศ.2556 – ปัจจุบัน) หลวงพ่อมหาวัฒนา ได้มาพัฒนา วัดอุบลวนาราม โดยเฉพาะทางด้านการศึกษาของพระภิกษุและ สามเณรรวมถึงฆราวาส เช่น การศึกษานักธรรม, เปรียญธรรม, อภิธรรม, การบวชเนกขัม อีกทั้งการให้ความอุปถัมภ์โรงเรียนประถม ศึกษาในวัด มีการปฏิบัติธรรมในวันส�ำคัญต่างๆ รวมถึงสร้างความ สัมพันธ์ระหว่างวัดกับชุมชนได้ดีเยี่ยม หลวงพ่อมหาวัฒนา เป็นที่รัก และเคารพของประชาชนในละแวกวั ด เป็ น อย่ า งมาก ท� ำ ให้ มี ประชาชนมาท�ำบุญที่วัดอุบลวนารามมากขึ้นตามล�ำดับในปัจจุบัน ท�ำเนียบเจ้าอาวาสวัดอุบลวนาราม 1. หลวงพ่อคง 2. หลวงพ่อนาค 3. พระครูเนียม (ราว พ.ศ.2430) 4. พระอธิการหงษ์ (ไม่ทราบ พ.ศ.แน่ชัด – พ.ศ.2475) 5. พระอธิการแป๋น (พ.ศ.2475 – พ.ศ.2487) 6. พระอธิการปลด ปญฺญาสาโร (พ.ศ.2487 – พ.ศ.2516) 7. พระครูนนทพัฒนาทร (ชาญ อกิญจฺ โน) (พ.ศ.2520 – พ.ศ.2544) 8. พระอธิการเนียน (พ.ศ. 2544 - 2545) 9. พม.ดร.สันติ นาควโร (พ.ศ. 2545 - 2546) 10. พม.สกรัตน กิตฺติโก (พ.ศ. 2546 - 2556) 11. พระมหาวัฒนา จนฺทโชโต (23 มกราคม พ.ศ.2556 – ปัจจุบนั ) **หมายเหตุ** ในช่วงปี พ.ศ.2516-พ.ศ.2520 ยังไม่มีเจ้าอาวาสที่ เป็นทางการแน่นอนแต่มีรายนามพระที่รักษาการแทนดังนี้ 1. หลวงตาเล็ก (รักษาการแทน) (พ.ศ.2516 – พ.ศ.2517) 2. พระมหานิวัติ (รักษาการแทน) (พ.ศ.2517 – พ.ศ.2519) ในช่วงกลางปี พ.ศ.2519 ได้มีพระประยูร(หลานหลวงพ่อปลด) มาดูแลรักษาการแทนช่วงระยะหนึ่ง**

สถานที่ส�ำคัญภายในวัด 1. โบสถ์ของวัดอุบลวนาราม ซึ่งเป็นโบสถ์เก่าแก่ ได้มีการ วิสุงคาสีมาตั้งแต่ปี พ.ศ.2430 จนมาบูรณะอีกครั้ง ปี พ.ศ.2508 2. วิหารหลวงพ่อโสธร สร้างในสมัยหลวงพ่อปลด ปญฺญาสาโร (ประมาณปี2512) มีพระพุทธรูปหลวงพ่อโสธรที่เก่าแก่ รวมถึงรอย พระพุ ท ธบาทจ� ำ ลอง เป็ น ที่ นั บ ถื อ ของประชาชนภายในละแวก รวมถึงให้ประชาชนได้สกั การะ กราบไหว้ เป็นระยะเวลาหลายปีมาแล้ว 3. วิหารองค์จตุคามรามเทพ วิหารนี้มีความยิ่งใหญ่ ภายในวิหาร มีองค์จตุคามรามเทพขนาดใหญ่ (ในสมัยที่สร้างประมาณพ.ศ.2546 – พ.ศ.2556) ถือว่าเป็นองค์จตุคามที่ใหญ่ที่สุดในเขตศาลากลาง จ.นนทบุ รี เป็ น ที่ เ คารพนั บ ถื อ และมี ป ระชาชนมากราบไหว้ เป็นจ�ำนวนมาก รวมถึงภายในยังมีพระอรหันต์และองค์เทพที่ส�ำคัญ อยู ่ อี ก ด้ ว ย เช่ น พระบรมครู หมอชี ว กโกมารภั จ จ์ , พระสิ ว ลี , พระสังกัจจายน์, องค์เทพไฉ่ซิงเอี๊ย (เทพเจ้าแห่งโชคลาภ) เป็นต้น 4. มณฑปหลวงพ่อปลด หลวงพ่อปลดอดีตเจ้าอาวาส (พ.ศ.2487 – พ.ศ.2516) ท่านมีบารมีอย่างมากเป็นที่เคารพและเป็นที่กราบไหว้ บู ช าของประชาชนจ� ำ นวนมาก เมื่ อ ท่ า นมรณภาพได้ มี ก ารสร้ า ง มณฑปในสมัยหลวงพ่อชาญ (ชาญ อกิญฺจโน) (พ.ศ.2520 – พ.ศ. 2544) และมี รู ป ปั ้ น หลวงพ่ อ ปลดประดิ ษ ฐานที่ ม ณฑป เพื่ อ ให้ ประชาชนได้กราบไหว้บูชา NONTHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

79


History of buddhism....

History of buddhism....

วัดโคนอน Wat Kho Non พระครูวินัยธร รุ่งฤทธิ์ ฐิตทินโน ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดโคนอน

วัดโคนอน ตั้งอยู่เลขที่ 77 ถนนบางกรวย-ไทรน้อย หมู่ 4 ต�ำบล บางสีทอง อ�ำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี ปัจจุบัน พระครูวินัยธร รุ่งฤทธิ์ ฐิตทินโน ท่านเป็นเจ้าอาวาสวัด โคนอน ซึ่งเป็นวัดเก่าแก่ ตั้งอยู่ในต�ำบลบางสีทอง อ�ำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี ประวัติความเป็นมาของวัดนี้มีความเป็นมายาวนาน ประมาณ 300 ปีมาแล้ว โดยต�ำนานได้บันทึกไว้ว่า มีพระธุดงค์ 80

SBL บันทึกประเทศไทย I นนทบุรี

รูปหนึ่งท่านได้มาจากทางเหนือ มาแวะพักปักกลดที่นี่ การมาของ พระธุดงค์ในครั้งนั้น ท่านไม่ได้มารูปเดียว แต่มีวัวติดตามมาด้วย 2 ตัว ท่านเห็นว่า ที่นี่มีสัปปายะอันเงียบสงบดี จึงได้สร้างเป็นวัดขึ้น และขนานนามชื่อวัด ตามนิมิตหมายที่มีวัว 2 ตัวติดตามมาด้วยว่า “วัดโคนอน” แต่ชาวบ้านมักจะเรียกกันว่า “วัดวัว” เมื่อพูดถึง “วัดวัว” ก็หมายถึง “วัดโคนอน “ นั่นเอง


วัดโคนอน ได้มีเจ้าอาวาสปกครองสืบๆ กันมาหลายชั่วอายุแล้ว บางยุคบางสมัยก็รุ่งเรือง บางยุคบางสมัยก็เสื่อมโทรม ทั้งนี้ทั้งนั้นก็ เป็นไปตามกฎอนิจจังนั่นเอง กล่าวคือเมื่อเจริญรุ่งเรืองถึงขีดสุด มัน ก็ย่อมจะถึงจุดเสื่อมโทรมเข้าสักวัน และเมื่อเสื่อมโทรมแล้ว มันก็มี โอกาสเจริญรุ่งเรืองขึ้นอีกได้ สลับสับเปลี่ยนกันไปอย่างนี้ ตามกระแส ธรรมดาของโลกจวบจนกระทั่งเมื่อปี พ.ศ. 2529 จึงได้เริ่มฟื้นฟู วัดโคนอน เพื่อให้เป็นวัดปฏิบัติและเผยแพร่สัจธรรม ที่ดูเด่นเป็นสง่า ก็เห็นจะได้แก่ ศาลปฏิบัติธรรมหลังใหญ่ซึ่งจุคนได้ถึง 1,000 คน ท่านใช้เวลาสร้างเพียงไม่ถึงปีก็แล้วเสร็จ นอกจากนั้น กุฏิกรรมฐาน แต่ ล ะหลั ง ซึ่ ง ตั้ ง อยู ่ เรี ย งราย ก็ ส ร้ า งอย่ า งเรี ย บง่ า ย สิ่ ง ต่ า งๆ ทั้งหมดนี้ เกิดจากแรงศรัทธาของประชาชนทั้งสิ้น ท่านมีนโยบายที่ จะเผยแพร่เพียงสัจธรรม โดยไม่ต้องมีพิธีกรรมอย่างอื่นเข้ามาล่อใจ ตอนนี้ ท ่ า นก� ำ ลั ง มี โ ครงการที่ จ ะขยั บ ขยายที่ เ พื่ อ สร้ า งเป็ น เขต ธุดงคสถาน เพื่อให้มีที่รองรับส�ำหรับผู้จะมาปฏิบัติธรรมมากขึ้น ฉะนั้นก็ใคร่บอกกล่าวประชาสัมพันธ์ให้ทราบไว้ ณ โอกาสนี้ โดยทั่ ว กั น ส� ำ หรั บ รายละเอี ย ดและหมายก� ำ หนดการนั้ น ติ ด ต่ อ สอบถามได้ โ ดยตรงที่ วั ด โคนอน หมายเลขโทรศั พ ท์ 02- 443 0324, 098- 537 -0280

พระครูวินัยธร รุ่งฤทธิ์ ฐิตทินโน

NONTHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

81


History of buddhism....

History of buddhism....

วัดยางป่า (ยั้ง) พระปลัดอ�ำนวย อาภากโร ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดยางป่า

วัดยางป่า (ยั้ง) เป็นวัดที่สร้างในสมัยอยุธยา ตั้งอยู่ต�ำบลบางขนุน อ�ำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี แต่ไม่ปรากฏหลักฐานแน่ชัดว่าเป็น สมัยอยุธยาตอนใด แต่มีหลักฐานปรากฏแสดงว่าเป็นสมัยอยุธยาจาก ซากกระเบื้องหลังคาของพระอุโบสถหลังเก่า และพระพุทธรูปใต้ฐาน พระประธานองค์เดิมที่ขุดพบ ซึ่งชาวบ้านเรียกพระประธานองค์นี้ว่า “หลวงพ่อเหลือ” ส่วนพระพุทธรูปที่ขุดพบนั้นเป็นพระบุหนังสมัย อยุธยา จึงเป็นหลักฐานได้ว่า วัดยางป่า (ยั้ง) แห่งนี้เป็นวัดร้างที่สร้าง ขึ้นในสมัยอยุธยา 82

SBL บันทึกประเทศไทย I นนทบุรี

วัดถูกปล่อยว่างรกร้างมานาน จนกระทั่งพระอาจารย์ อาภากโร (อ� ำ นวย) มาพบเห็ น วั ด จึ ง มี ค วามคิ ด ที่ จ ะริ เริ่ ม สร้ า งวั ด ขึ้ น ใหม่ จากนั้นจึงเป็นผู้น�ำในการบูรณะวัดยางป่า (ประมาณ ปี.ศ. 2553 ซึง่ ขณะนัน้ มีพระภิกษุ จ�ำพรรษา 9 รูป และได้บรู ณะองค์พระประธาน “หลวงพ่อเหลือ” สร้างหอระฆัง 1 หลัง และกุฏิ 10 หลัง


ขณะนี้ทางวัดได้ด�ำเนินการก่อสร้างหอสวดมนต์แล้วเสร็จเป็นที่ เรี ย บร้ อ ย เพื่ อ เป็ น สถานที่ ใ นการปฏิ บั ติ ธ รรมของพระภิ ก ษุ แ ละ พุทธศาสนิกชนในคราวต่อไป และเริ่มด�ำเนินการก่อสร้างอุโบสถ เมื่อปี พ.ศ.2555 ขึ้น 9 ค�่ำ เดือนอ้าย แต่ เ ดิ ม หลวงพ่ อ สุ โขทั ย ที่ อ ยู ่ วั ด สั ก ใหญ่ ต อนนี้ นั้ น เดิ ม เคย ประดิษฐานอยู่ที่วัดยางป่ามาก่อน ชาวบ้านเอาไปประดิษฐานที่ วัดสักใหญ่ เคยถามผู้เฒ่าผู้แก่เอาไปประมาณ 60 ปีกว่าเห็นจะได้

ขอเชิญท่านผู้มีจิตศรัทธา ร่วมท�ำบุญกับวัดยางป่า (ยั้ง) ได้ที่ พระปลัดอ�ำนวย อาภากโร ผู้น�ำในการบูรณะวัดยางป่า (ยั้ง) โทร 087-097 9601หรือโอนผ่านธนาคารไทยพาณิชย์ สาขาตลาด อ�ำเภอบางกรวย เลขที่บัญชี 148-2-18858-5 ชื่อบัญชี พระอ�ำนวย นวลแจ่ม

NONTHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

83


History of buddhism....

History of buddhism....

วัดหูช้าง

พระครูสุวรรณโชติวุฒิ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดหูช้าง

กราบสักการะ ไหว้ขอพร หลวงพ่อบัวขาว

วัดหูช้าง ตั้งอยู่เลขที่ 39 หมู่ที่ 1 ต�ำบลบางคู เวียง อ�ำเภอ วัดคลองตาคล้าย บางกรวย จังหวัดนนทบุรี ประวัติวัดหูช้าง วัดหูช้าง แต่เดิมนั้นเป็นวัดร้างจากหลักฐานต่างๆ และค�ำบอกเล่า ของชาวบ้ า นในสมั ย ก่ อ นเข้ า ใจกั น ว่ า เป็ น วั ด ที่ ส ร้ า งขึ้ น ในสมั ย กรุงศรีอยุธยา จะเป็นตอนต้นหรือตอนปลายมิได้ระบุไว้ สมัยก่อน บริเวณนี้เป็นที่อยู่ของฝูงช้าง บูรณปฏิสังขรณ์กลับมาเป็นวัดอีกครั้ง ในสมั ย พระครู วิ ห ารกิ จ จานุ ก าร (หลวงพ่ อ ปาน โสนั น โทเถระ) 84

SBL บันทึกประเทศไทย I นนทบุรี

อดีตเจ้าอาวาสวัดบางนมโค จังหวัดพระนครศรีอยุธยา หลวงพ่อปาน ท่านได้เดินธุดงค์มาเยี่ยมเยียนลูกหลานของท่านที่ย้ายจากจังหวัด พระนครศรีอยุธยามาพักอาศัยอยู่ในย่านนี้ ท่านเห็นบริเวณนี้มีซาก เจดีย์เก่าสมัยอยุธยาเป็นชัยภูมิที่ดีเหมาะกับการสร้างวัด ท่านจึงได้ บอกบุ ญ กั บ ลู ก หลานของท่ า นและชาวบ้ า นในละแวกใกล้ เ คี ย ง ช่วยกันสร้างกลับขึ้นมาเป็นวัดอีกครั้ง


หลวงพ่อปานวัดบางนมโคท่านได้สร้างพระอุโบสถและกุฎิทรง ไทยขึ้นไว้สามหลัง และท่านยังได้หล่อพระประธานไว้เพื่อประดิษฐาน ภายในพระอุโบสถวัดหูชา้ งอีกหนึง่ องค์ชอื่ พระพุทธนิมติ รกิจจานุการ เมื่อสร้างวัดเสร็จแล้วก่อนหลวงพ่อปานท่านจะเดินธุดงค์กลับจังหวัด พระนครศรีอยุธยา หลวงพ่อปานท่านได้แต่งตั้งให้ศิษย์ของท่านคือ หลวงพ่อจวนและหลวงพ่อแจ่มขึ้นเป็นเจ้าอาวาสปรกครองวัดหูช้าง หลวงพ่อจวนท่านได้ปกครองดูแลวัดหูช้างจนอายุ 60 ปีท่านก็ได้ มรณะภาพลง หลวงพ่อแจ่มซึ่งเป็นพระน้องชายคู่แฝดของท่านได้ขึ้น เป็นเจ้าอาวาสวัดหูช้างปกครองดูแลวัดหูช้างต่ออีก 3 ปีท่านก็ได้ มรณภาพลง ชาวบ้านในสมัยนั้นจึงได้เชิญ หลวงพ่อกี๋ขึ้นปกครอง วัดหูช้างสืบต่อมา ในช่วงสมัยหลวงพ่อกี๋ขึ้นเป็นเจ้าอาวาสปกครอง ดูแลวัดหูช้างนั้น วัดหูช้างทรุดโทรมและขาดการพัฒนา หลวงพ่อกี๋ ท่านได้ท�ำนุบ�ำรุงวัดหูช้างขี้นมาใหม่อย่างจริงจังอีกครั้ง พระอุโบสถ ของวัดหูช้างในปัจจุบัน หลวงพ่อกี๋ท่านได้บูรณปฏิสังขรณ์ขึ้นมาใหม่ อย่างสวยงามในยุคของหลวงพ่อกี๋เป็นเจ้าอาวาส ในราว พ.ศ.2517 และเป็นที่รู้กันว่าปัจจัยที่ได้มาในการบูรณปฏิสังขรณ์พระอุโบสถ ส่วนใหญ่นั้น มาจากเงินท�ำบุญของผู้คนที่หมายปอง “ปลัดขิก” อันโด่งดังของหลวงพ่อกี๋ จนมีค�ำพูดที่ว่า ปลัดขิกสร้างโบสถ์ ส่วนกุฎิ และสิ่งก่อสร้างภายในวัดที่สร้างด้วยไม้ในยุคของหลวงพ่อกี๋เป็น

เจ้าอาวาสนั้น ชาวบ้านผู้ศรัทธาในองค์หลวงพ่อกี๋ ได้ล่องไม้ซุงลงมา ตามแม่ น�้ ำ เพื่ อ ให้ ห ลวงพ่ อ กี๋ ท ่ า นใช้ ใ นการสร้ า งและท� ำ นุ บ� ำ รุ ง วัดหูช้างจากทางจังหวัดตาก เพราะท่านได้สร้างศรัทธาแก่ชาวบ้าน ที่นั่นเมื่อครั้งท่านยังธุดงค์กรรมฐานอยู่ในป่าลึกแถบภาคเหนือ วัดหูช้างมี 4 พระเกจิ ผู้เรืองปัญญาและอาคม คอยดูแลพัฒนา วัดต่อเนื่องกันมาเป็นลูกโซ่อย่างไม่ขาดสายมานานกว่า 100 ปี เริ่มแต่ “พระอุปัชฌาจวน” , “พระอธิการแจ่ม” , “หลวงปู่กี๋” และ “หลวงปู่ตี๋ พระครูกิตตินนทคุณ” หลวงปู่กี๋ พระครูกิตตินนทคุณ เกิดเมื่อปี พ.ศ. 2444 ละสังขาร ปี พ.ศ. 2522 บวชอยู่วัดหูช้างตลอดมากระทั่งได้เป็นเจ้าอาวาส คนเมืองนนท์นับถือมาก ถึงกับตั้งฉายาให้ท่านว่า “ปลัดขิกสร้าง โบสถ์” ท่านได้ถ่ายทอดวิชาอาคมให้กับหลวงพ่อตี๋ หรือพระครู สุวรรณโชติวุฒิหลานชายของท่าน ที่บวชและอยู่รับใช้ท่านตลอดมา กระทั่งมรณภาพ ปัจจุบันสังขารของท่านยังอยู่ที่วัด หลวงพ่อตี๋ พระครูสุวรรณโชติวุฒิ หลานหลวงปู่กี๋ ผู้สืบทอดวิชา อาคมจากปู่กี๋ พระครูกิตตินนทคุณ อดีตเจ้าอาวาสวัดหูช้างผู้เป็นลุง วัตถุมงคลหลวงพ่อตี๋วัดหูช้างท่านจัดสร้างให้บูชาพัฒนาวัดตลอดมา หลายอย่าง วัตถุมงคลหลวงพ่อตี๋ออกให้บูชาในงานปีและงานสวด ภาณยักษ์ใหญ่แบบโบราณ วัตถุมงคลของท่านล้วนแต่มีประสบการณ์ ด้านแคล้วคลาด คงพระพัน เป็นเมตตามหานิยม วัตถุมงคลของหลวง พ่อตี๋ออกมาครั้งละไม่มากโดยเฉพาะเบี้ยแก้และปลัดขิกไม่ต้องไปหา ท�ำออกมาวันละไม่กี่ชิ้นมีผู้คนจองเกลี้ยงตู้ทุกวัน NONTHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

85


History of buddhism....

History of buddhism....

วัดโคนอนมหาสวัสดิ์

พระครูนนทวีรวัฒน์ เจ้าอาวาสวัดโคนอนมหาสวัสดิ์

วัดโคนอนมหาสวัสดิ์ ตั้งอยู่ที่ต�ำบลมหาสวัสดิ์ เลขที่ 108/2 หมู่ 7 ต�ำบลมหาสวัสดิ์ อ�ำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี 11130 ประวัติวัดโคนอนมหาสวัสดิ์ วัดโคนอนมหาสวัสดิ์ ตั้งวัดเมื่อวันที่ 20 สิงหาคม พ.ศ.2529 เป็น วัดร้าง เดิมเรียกกันว่า (วัดวัวนอน) ที่เรียกว่าวัดโคนอนมหาสวัสดิ์ เพราะวัดตั้งอยู่ท่ามกลางไร่นาของชาวบ้าน ทิศใต้ของวัดติดกับคลอง 86

SBL บันทึกประเทศไทย I นนทบุรี

โคนอน เชื่อมต่อกับคลองมหาสวัสดิ์และคลองบางราวนกที่ชาวบ้าน สัญจรทางเรือเพื่อค้าขาย ในวัดมีต้นกร่างใหญ่ ชาวบ้านน�ำวัวมาพัก ใต้ต้นกร่างจึงเป็นที่มาของชื่อ วัดโคนอน ประกอบกับวัดตั้งอยู่ในเขต พื้นที่ต�ำบลมหาสวัสดิ์จึงตั้งชื่อวัดว่า วัดโคนอนมหาสวัสดิ์ ได้รับ พระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ.2535


สิ่งส�ำคัญภายในวัดโคนอนมหาสวัสดิ์ พระประธานประจ�ำอุโบสถ เป็นพระพุทธรูปปรางค์มารพระวิชัย มีขนาดหน้าตักกว้าง 60 นิ้ว สูง 80 นิ้ว สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2536 พระประธานประจ�ำศาลาการเปรียญ เป็นพระพุทธรูปปรางค์ มารพระวิชัย มีขนาดหน้าตักกว้าง 40 นิ้ว สูง 80 นิ้ว สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2544 และยังมีปูชนียวัตถุอื่นๆ เช่น พระประธานประจ�ำวิหารปรางค์ สมาธิเป็นพระพุทธรูปเก่าแก่นามว่า หลวงพ่อใหญ่วัดโคนอน มีขนาด หน้าตักกว้าง 94 นิ้ว สูง 110 นิ้ว เป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจของพี่น้อง ญาติโยมได้กราบนมัสการ NONTHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

87


History of buddhism....

วัดบางเลนเจริญ

88

SBL บันทึกประเทศไทย I นนทบุรี


วัดบางเลนเจริญ ตั้งอยู่เลขที่ 3 ซอยวัดน้อย ถนนบางกรวยไทรน้อย หมู่ที่ 10 ตําบลบางเลน อําเภอบางใหญ่ จังหวัดนนทบุรี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ 10 ไร่ วั ด บางเลนเจริ ญ เดิมมีนามว่า “วัดน้อย” สร้างขึ้นเมื่อ ประมาณปี พ.ศ. 2300 ในสมัยอยุธยา ต่อมาขาดการทะนุบ�ำรุงจึง กลายเป็นวัดร้างไประยะหนึ่ง ประวัติวัดบางเลนเจริญตามคําบอกเล่าของคุณตาผลัด ภู่พันธ์ วัดบางเลนเจริญ ตําบลบางเลน อําเภอบางใหญ่ จังหวัดนนทบุรี ในอดีตกาล วัดบางเลนเจริญ มีชื่อว่า วัดน้อย เป็นวัดร้างมาร่วม 200 ปี วั ต ถุ ก ่ อ สร้ า งต่ า งๆ ไม่ มี ห ลงเหลื อ ให้ ป รากฏอยู ่ เ ลย สิ่ ง ที่ ป รากฏเป็ น หลั ก ฐาน มี แ ต่ อ งค์ พ ระประธานอยู ่ 5 องค์ เป็นพระพุทธรูปศิลาแลง สมัยกรุงศรีอยุธยา มีเกศาแหลมทั้ง 5 องค์ ด้านหลังพระอุโบสถมีเจดีย์ก่อด้วยอิฐ 2 องค์ ทางด้าน ทิศตะวันตก และทิศตะวันออกของอุโบสถก็มีเจดีย์อีก 2 องค์ เจดีย์ทั้ง 4 องค์ก็ปรักหักพังลงมากองกับพื้นแล้ว เมื่อสมัยที่ ทางวัดสระแกได้ทาํ การก่อสร้างศาลาการเปรียญ เมือ่ ปี พ.ศ. 2453 ได้ขออนุญาตต่อศึกษาธิการอําเภอบางใหญ่ สมัยนั้นเรียกว่า ธรรมการ ก็มีขออนุญาตนําอิฐที่ปรักหักพังบ้าง ดีบ้าง ไปถมใส่ ก้ น หลุ ม สร้ า ง ศาลาการเปรี ย ญวั ด สระแก สมั ย หลวงพ่ อ ชื่ น เป็นเจ้าอาวาส

พระปลัดณัฐวุฒิ อานนฺโท เจ้าอาวาสวัดบางเลนเจริญ NONTHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

89


History of buddhism....

วัดน้อยร้างสมัยนั้น มีเนื้อที่ประมาณ 10 ไร่เศษ ทางด้านทิศ ตะวั น ตก ของวั ด มี ท างรถไฟของเจ้ า พระยาวรพงศ์ ตั ด ผ่ า นไป สมัยก่อนปี พ.ศ. 2475 มีรถไฟของเจ้าพระยาวรพงศ์ ซึ่งตั้งต้นจาก บ้านปูน ตรงข้ามกับปากคลองเทเวศน์ รถไฟมีทางผ่านสามแยก บางใหญ่ ไปบางบัวทองถึงระแหง ไปกรุงเทพมหานคร หรือเมือง บางกอกในสมัยนั้น ขึ้นรถไฟไปลงที่บ้านปูนลงเรือข้ามฟากแม่น�้ำ เจ้าพระยา ไปขึน้ ท่าเรือปากคลองเทเวศน์ รถไฟสายเจ้าพระยาวรพงศ์ มาเลิกกิจการเดินรถเมือ่ ปี พ.ศ.2455 หลังสงครามโลกครัง้ ที่ 2 นัน้ เอง และวัดน้อยที่ร้างก็ได้เริ่มมีการพัฒนาขึ้นมาใหม่ เมื่อปี พ.ศ.2511 โดยมีประชาชนร่วมกันสร้างวิหารถวายหลวงพ่อพระประธานทั้ง 5 องค์ ต่อมาทางคณะสงฆ์ โดยมีพระครูนนทปภากร เจ้าอาวาสวัดพิกลุ เงิน เป็นเจ้าคณะอําเภอ บางใหญ่ ได้สง่ พระภิกษุจรมารักษาการเจ้าอาวาส เมื่อค่อยๆ เจริญขึ้นก็ได้ดําเนินการขออนุญาตทางมหาเถรสมาคม ยกฐานะวัดน้อยจากวัดร้างขึน้ เป็น วัดบางเลนเจริญ จนถึงปัจจุบนั และ เมื่อวันที่ 20 ธันวาคม พ.ศ.2519 ชาวบ้านได้ร่วมแรงร่วมใจรวมปัจจัย กันสร้างอุโบสถหลังใหม่ขนึ้ พร้อมกับมีการเลือกตัง้ เจ้าอาวาสตามสมัย ประชาธิปไตย พระภิกษุบุญชูได้รับ คะแนนเสียงข้างมาก ชนะพระ คู่แข่ง 3 คะแนนจึงได้เป็นเจ้าอาวาส ในการสร้างอุโบสถหลังใหม่ครั้งนี้ ได้มีอดีตนายกรัฐมนตรีเมื่อครั้ง ท่านบวชเป็นพระภิกษุคือพระภิกษุพลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ ได้เดินทางมาเป็นประธานวางศิลาฤกษ์ในการก่อสร้างอุโบสถดังกล่าว ข้างต้น นับว่าเป็นสิ่งที่เป็นมงคลของวัดตลอดมา หลังจากนั้นมาก็ได้ ทํ า พิ ธี เ ททองหล่ อ พระประธานขึ้ น มาใหม่ โดยมี อ ดี ต ท่ า นอธิ บ ดี กรมป่าไม้เป็นประธาน เพื่อประดิษฐานในอุโบสถหลังใหม่ อุโบสถหลังใหม่ยงั ไม่แล้วเสร็จ ทางคณะสงฆ์จงึ ได้สง่ พระมหาบุญชัย กิตฺติปุญฺโญ (ป.ธ. ๖) มาเป็นเจ้าอาวาสองค์ใหม่ ได้เริ่มพัฒนาก่อสร้าง อุโบสถ ศาลาฌาปนสถาน และศาลาการเปรียญขึ้นมาใหม่ ตลอดจน เทพื้นลานวัดด้วยคอนกรีต และท่านก็ได้มรณภาพเมื่อปี พ.ศ. 2556 90

SBL บันทึกประเทศไทย I นนทบุรี


พระพุทธองค์แสนล้านมหาไชยมงคล SAMUT SAKHON I SBL บันทึกประเทศไทย NONTHABURI

91


History of buddhism....

92

SBL บันทึกประเทศไทย I นนทบุรี


ปัจจุบนั พระปลัดณัฐวุฒิ อานนฺโท เจ้าอาวาสองค์ปจั จุบนั ได้มา ปกครองวัด เมือ่ ปี พ.ศ. 2556 -ปัจจุบนั โดยท่านได้สานต่องานและพัฒนา วัดจนกระทัง้ เจริญรุง่ เรืองและเป็นทีศ่ รัทธาของพุทธศาสนิกชนโดยทัว่ ไป อย่างกว้างขวาง

NONTHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

93


History of buddhism....

History of buddhism....

วัดเตย Wat Tuay

ชมจิตรกรรมศิลป์ ฝาผนังวัดเตย ตำ�บลบางตะไนย์

พระครูนนทธรรมาภรณ์ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดเตย / เจ้าคณะอ�ำเภอปากเกร็ด

วัดเตยตั้งอยู่ริมแม่น�้ำเจ้าพระยา เป็นวัดที่มีความส�ำคัญมาก ในต�ำบลบางตะไนย์ เป็นสถานที่จัดงานประเพณีท้องถิ่น วัดเตยอยู่ ตรงข้ามตลาดปากเกร็ด จึงมีเรือข้ามฟากจากตลาดปากเกร็ดไปยัง วัดเตยได้ดว้ ย วัดเตยเป็นวัดมอญอีกวัดหนึง่ กล่าวกันว่าเดิมบริเวณวัดนี้ 94

SBL บันทึกประเทศไทย I นนทบุรี

เป็นดงเตยขึ้นหนาแน่น ชาวบ้านช่วยกันถางดงเตยแล้วสร้างวัดขึ้น จึ ง ตั้ ง ชื่ อ ว่ า “วั ด เตย” และได้ นิ ม นต์ พ ระจากเมื อ งมอญมาเป็ น เจ้าอาวาส โบราณสถานของวัดคือ พระอุโบสถซึ่งอยู่ต�่ำกว่าบริเวณวัด (เข้าใจว่าทางวัดถมดินบริเวณวัดเพือ่ ป้องกันน�ำ้ ท่วม) หน้าบันพระอุโบสถ ประดับกระจกสีสวยงามมาก มีมุขหน้าหลังและเสาด้านหน้าและ ด้านหลังพระอุโบสถด้านละ 2 ต้น และมีบัวหัวเสาด้วย นอกนั้นมี หอระฆัง ศาลาริมน�้ำ 3 หลัง หลังหนึ่งเป็นท่าเรือเพื่อข้ามฟากไปยัง ตลาดปากเกร็ด ขณะนี้ทางวัดก�ำลังสร้างพระอุโบสถหลังใหม่ด้วย


สันนิษฐานว่าเมื่อประมาณ 200 ปี มาแล้ว บริเวณที่ตั้งของต�ำบล บางตะไนย์และต�ำบล คลองพระอุดม มีราษฎรไทยเชื้อสายมอญได้ มาตั้งบ้านเรือนอาศัยอยู่เป็นจ�ำนวนมาก ทางราชการจึงได้แบ่งแยก ต�ำบลบ้านแหลม ออกเป็น 2 ต�ำบล คือต�ำบลคลองพระอุดม และ ต�ำบลบางตะไนย์ ที่ตั้ง วัดเตย Wat Tuay ที่อยู่ : เลขที่ 53 หมู่ที่ 3 ต�ำบลบางตะไนย์ อ�ำเภปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี NONTHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

95


“ ”

History of buddhism....

อุโบสถหลังนี้ เป็นหลังที่ 3 บูรณะสร้างครอบเขต พัทธสีมาเดิมบูรณะใหม่ ครั้งที่ 3 เมื่อปี พ.ศ.2557

History of buddhism....

วัดบ่อ ปากเกร็ด (Wat Bo) พระมหาสวัสดิ์ ฐิตวณฺโณ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดบ่อ

วัดบ่อ เป็นวัดราษฎร์ ตั้งอยู่เลขที่ 110 หมู่ท่ี 2 หัวถนนแจ้งวัฒนะ ต�ำบลปากเกร็ด อ�ำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี สังกัดคณะสงฆ์ มหานิกาย

2315 สันนิษฐานนามผู้สร้างตามที่ปรากฏ ณ ซุ้มประตู้วัดแต่เดิมคือ นายสี - นางกง และนายทอง-นางแพ ต่ อ มาได้ รั บ พระราชทาน วิสุงคามสีมาเมื่อปี พ.ศ.2320 ในแผ่นดินเดียวกัน

ประวัตความเป็นมา ( พอสังเขป) วั ด บ่ อ เป็ น ศู น ย์ ก ลางและศู น ย์ ร วมความศรั ท ธาของชุ ม ชน ชาวปากเกร็ดมาแต่โบราณสร้างโดยครอบครัวชาวมอญที่อพยพตาม เจ้าพระยามหาโยธา (เจ่ง) ผู้เป็นแม่ทัพ เข้ามาพึ่งพระบรมโพธิสมภาร ในรัชสมัยของสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ซึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกล้า โปรดกระหม่อมให้มาตั้งรกรากที่บ้านปากเกร็ด ราวพุทธศักราช

เสนาสนะส�ำคัญของวัดบ่อ มีดังนี้ - อุโบสถ เดิมเป็นอาคารสถาปัตยกรรมอย่างอยุธยาตอนปลาย ต่อมาในสมัยพระครูนันทมุนี (จ�ำปี) ครองวัด ได้ด�ำริรื้อถอนแล้วสร้าง อุโบสถหลังใหม่ เนื่องจากมีความช�ำรุดทรุดโทรมเป็นอันมากเมื่อ พุทธศักราช 2500 โดยปรับรูปแบบสถาปัตยกรรมให้เป็นไปตาม สมัยนิยม

96

SBL บันทึกประเทศไทย I นนทบุรี


รายนามเจ้าอาวาสเท่าที่สืบค้นได้ 1. พระมหาธรรมวิสันดะ 2. พระสุเมธมุนี (วร นนฺทิโย) พ.ศ. 2426 - 2466 3.พระครูนันทมุนี (จ�ำปี) พ.ศ. 2466 - 2506 4. พระครูนนทวรากร (สวัสดิ์ องฺกุโร ป.ธ.4 ) พ.ศ. 2507 - 2555 5. พระครูกิตติวรานุวัตร ( ประยูร ธมฺมวโร ) พ.ศ. 2555 - 2563 6. พระมหาสวัสดิ์ ฐิตวณฺโณ ตั้งแต่วันที่ 3 มกราคม พ.ศ.2563 - ปัจจุบัน

- พระประธาน เป็นพระพุทธรูปปูนปั้นลงรักปิดทองศิลปะอยุธยา ปางมารวิชัย มีพระพุทธรูปบริวารรายล้อมฐานชุกชีหันไปทิศต่างๆ ประกอบอีก 6 องค์ การประดิษฐานพระพุทธรูปเช่นนี้ เป็นคตินิยม แต่ครั้งกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี - เจดีย์ ด้านหน้าอุโบสถ มีเจดีย์ย่อมุมไม้สิบสอง ศิลปะแบบ อยุธยา ตั้งอยู่บนฐานสี่เหลี่ยมตามศิลปะอย่างรามัญ ด้านตะวันออก และด้ า นตะวั น ตกมี ซุ ้ ม จระน� ำ ประดิ ษ ฐานพระพุ ท ธรู ป ปู น ปั ้ น ปางปาลิไลย์ ด้านล่างมีวิหารน้อยเชื่อมกับฐานสี่เหลี่ยม ด้านทิศเหนือ ประดิษฐาน รูปปูนปั้นพระมาลัยเถระ ส่วนด้านทิศใต้ประดิษฐาน รูปปูนปั้นพระกัจจายนะเถระ - วิหารพระครูนันทมุนี เป็นอาคารคอนกรีตทรงไทยประยุกต์ ประกอบด้วยตรีมุข ภายในประดิษฐานพระพุทธรูปและรูปปั้นพระครู นันทมุนี ผู้เป็นบูรพาจารย์ของวัด - ศาลาการเปรียญ เป็นอาคารคอนกรีตสองชั้นสถาปัตยากรรม ไทยร่วมสมัย มีชานใส่บาตรส�ำหรับผู้มาบ�ำเพ็ญกุศลในวันธรรมสวนะ พระครูนนทวรากร สร้างขึ้นแทนหลังเก่าซึ่งเป็นอาคารไม้ทั้งหลังและ มีความช�ำรุดทรุดโทรมตามกาลเวลา - กุฎิพระฤาษี เป็นอาคารทรงไทยประยุกต์ติดกับก�ำแพงแก้ว ประดิษฐานรูปพระฤาษี ปูนปั้นที่มีมาคู่กับวัด - โรงเรียนพระปริยัติธรรม เป็นอาคารทรงไทยประยุกต์ ก่อสร้าง ด้วยคอนกรีตสองชั้น เมื่อปี พ.ศ.2535 ปัจจุบันเป็นที่ใช้ศึกษานวก ภูมิของพระภิกษุผู้จ�ำพรรษาในวัด - ฌาปนสถาน ประกอบด้วยเมรุทรงไทยจัตุรมุขยอดปราสาท พร้อมศาลาบ�ำเพ็ญกุศล อีก 3 หลัง เป็นไม้ 1 หลัง และคอนกรีตอีก 2 หลัง - หมู่กุฎีสงฆ์ ประกอบด้วยกุฎีคอนกรีตทรงไทย 2 ชั้น จ�ำนวน 6 หลัง รายล้อมอาคารหอสวดมนต์ ซึ่งเป็นอาคารคอนกรีตทรงไทย ประยุกต์ 2 ชั้นเช่นกัน

ด้วยพระครูกิตติวรานุวัตร (ประยูร ศรีจันทร์) ฉายา ธมฺมวโร อายุ 77 พรรษา 33 ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง เจ้ า อาวาสวั ด บ่ อ มาตั้ ง แต่ ป ี พ.ศ.2555 ชราภาพมาก กอปรกับสุขภาพร่างกายทรุดโทรม มีโรค ภั ย เบี ย ดเบี ย นต้ อ งเข้ า พั ก รั ก ษาตั ว ที่ โรงพยาบาลเป็ น ประจ� ำ ไม่ สามารถปฏิบัติงานในหน้าที่ให้สมบูรณ์ได้ดังแต่ก่อน สมควรได้รับ การปลดเปลื้องภาระเพื่อให้พักผ่อนรักษาตัว ดังนั้นอาศัยอ�ำนาจตาม ความในข้อ 39 แห่งกฎมหาเถรสมาคม ฉบับที่ 24 (พ.ศ.2541 ) ว่า ด้วยการแต่งตั้งถอดถอนพระสังฆาธิการ จึงยกพระครูกิตติวรานุวัตร เจ้าอาวาสวัดบ่อเป็นเจ้าอาวาสกิตติมศักดิ์ ตั้งแต่วันที่ 3 มกราคม พ.ศ.2563 และแต่งตั้งให้ พระมหาสวัสดิ์ ฉายา ฐิตวณฺโณ อายุ 40 พรรษา 15 วิทยฐานะ น.ธ.เอก, ป.ธ.4,ป.บส.,พธ.บ. ผู้ช่วยเจ้าอาวาส วั ด บ่ อ ต� ำ บลปากเกร็ ด อ� ำ เภอปากเกร็ ด จั ง หวั ด นนทบุ รี ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดบ่อ มีหน้าที่และอ�ำนาจตามพระราช บั ญ ญั ติ ค ณะสงห์ พ.ศ.2505 แก้ ไขเพิ่ ม เติ ม โดยพระราชบั ญ ญั ติ คณะสงฆ์ (ฉบับที่ 2 ) พ.ศ.2535

NONTHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

97


History of buddhism....

History of buddhism....

วัดสพานสูง พระครูสุทธิกิจโกศล เจ้าอาวาสวัดสพานสูง

วัดสพานสูง ตัง้ อยูท่ หี่ มู่ 3 ถนนเกษตรพัฒนา ต�ำบลคลองพระอุดม อ�ำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี ประวัติวัดสะพานสูง (พอสังเขป) วัดสพานสูง เดิมชื่อ วัดสว่างอารมณ์ เป็นวัดเก่าแก่ในจังหวัด นนทบุ รี ตั้ ง อยู ่ ที่ ต� ำ บลคลองพระอุ ด ม อ� ำ เภอปากเกร็ ด จั ง หวั ด นนทบุรี เรือ่ งราวทีพ่ อจะสืบทราบได้ ก็จะเป็นในสมัยของหลวงปูเ่ อีย่ ม ปฐมนาม (อ่านว่า ปะ-ฐะ-มะ-นาม) ซึ่งเป็นเจ้าอาวาส ในขณะนั้น 98

SBL บันทึกประเทศไทย I นนทบุรี

(จากการสอบถามผู้เฒ่า ผู้แก่ แถวนั้น ได้ความว่า วัดสพานสูงน่าจะ เป็ น วั ด เก่ า แก่ ส ร้ า งมาก่ อ นยุ ค ของหลวงปู ่ เ อี่ ย ม) ซึ่ ง ประวั ติ ข อง วัดสพานสูง ก่อนหน้านั้น ไม่มีการบันทึกไว้เป็นหลักฐาน สภาพโดย ทั่วไป ในวัดสพานสูงยุคนั้น มีสภาพเก่าทรุดโทรม แสดงถึงความ เก่ า แก่ อายุ ข องโบราณวั ต ถุ โดยเฉพาะสพานสู ง บริ เวณหน้ า วั ด ส่วนอุโบสถ สร้างขึ้นในปีพุทธศักราช 2397 โดย หลวงพิบูลย์สมบัติ ทางหลวงปู่เอี่ยม ได้ปรารภถึงความช�ำรุดทรุดโทรม ของถาวรวัตถุ ภายในวัด หลวงพิบูลย์สมบัติ จึงยินดีช่วยเหลือ โดยการบอกบุญ แก่ ญาติ โ ยม จึ ง ได้ ร ่ ว มกั น สร้ า งพระอุ โ บสถ และจั ด สร้ า ง ศาลา การเปรียญ ในปี พุทธศักราช 2431 และในปีนี้เอง หลวงปู่เอี่ยม ได้เริ่มจัดสร้าง พระเจดีย์องค์ประธาน แต่ยังก่อสร้างไม่เสร็จ หลวง ปู่เอี่ยมก็ถึงแก่มรณภาพ หลวงปู่กลิ่น เจ้าอาวาสรูปต่อมา จึงได้สาน ต่อจนก่อสร้างส�ำเร็จ ลุล่วงด้วยดี จวบจนกระทั่งปีพุทธศักราช 2516 พระเจดีย์องค์ประธานมีการช�ำรุด ทรุดโทรม ตามกาลเวลา ถึงยุค หลวงพ่อทองสุข เป็นเจ้าอาวาส จึงมีการซ่อมยอด พระเจดีย์


ประวั ติ หลวงปู ่ เ อี่ ย ม ป ฐ ม น า ม วั ด ส พ า น สู ง (พอสังเขป) หลวงปู ่ เ อี่ ย ม ปฐมนาม (อ่านว่า ปะถะมะนามะ หรือ ปถมนาม) เกิ ด ในรั ช กาลที่ 2 เมื่อปีฉลู พ.ศ. 2359 เป็นบุตร นายนาค นางจันทร์ โดยมีพี่น้อง รวมด้วยกัน 4 คน คือ 1. หลวงปูเ่ อีย่ ม 2. นายฟัก 3. นายข�ำ 4. นางอิม่ บ้านเกิดของหลวงปู่เอี่ยมอยู่ที่ ต�ำบลบานแหลมใหญ่ ฝัง่ ใต้ ข้าง วั ด ท้ อ งคุ ้ ง อ� ำ เภอปากเกร็ ด จังหวัดนนทบุรี เมือ่ ปี พ.ศ.2381 อายุทา่ นได้ 22 ปี ได้อปุ สมบท ทีว่ ดั บ่อ ต�ำบลปากเกร็ด อ�ำเภอ ปากเกร็ด (วัดบ่อนีอ้ ยูค่ ดิ กับตลาด ในท่าน�ำ้ ปากเกร็ด) ท่านอุปสมบท ได้ประมาณหนึ่งเดือน ท่านก็ได้ ย้ า ยไปประจ� ำ พรรษาอยู ่ ที่

วัดกัลยาณมิตร ธนบุรซี งึ่ ในขณะ นัน้ พระพิมลธรรมพร เป็นเจ้าอาวาส ซึ่ ง ย้ า ยมาจากวั ด ราชบู ร ณะ พระนคร หลวงปู่เอี่ยมท่านได้ ศึกษาพระปริยตั ธิ รรม และแปล พระธรรมบทอยูท่ วี่ ดั นีอ้ ยูไ่ ด้ถงึ 7 พรรษาท่านจึงได้ยา้ ยไปจ�ำพรรษา อยูท่ วี่ ดั ประยูรวงศาวาส เมื่อปี พ.ศ. 2388 อยู ่ วั ด ประยูรวงศาวาสได้ 3 พรรษา ถึ ง ปี พ.ศ. 2391 นายแขก สมุหบ์ ญ ั ชี ได้นมิ นต์หลวงปูเ่ อีย่ ม ไปจ�ำพรรษาเจริญพระกัมมัฏฐาน เป็นเริม่ แรก และได้ศกึ ษาอยู่ 5 พรรษา วัดนวลนรดิต ถึงปี 2396 ญาติ โ ยมพร้ อ มด้ ว ยชาวบ้ า น ภู มิ ล� ำ เนาเดิ ม ในคลองบ้ า น แหลมใหญ่ (ซึ่งปัจจุบันนี้ คือ คลองพระอุดม) อ�ำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี ได้เดินทางมา

อาราธนานิ ม นต์ ห ลวงปู ่ เ อี่ ย ม กลับไปปกครองวัดสว่างอารมณ์ หรือวัดสพานสูง ในปัจจุบนั นี้ ท่านหลวงปู่เอี่ยม เป็นพระ ผู้มีอาคมขลัง มีวาจาศักดิ์สิทธิ์ มักน้อย ถือสันโดษ ด้วยเหตุนเี้ อง ท�ำให้หลวงปูเ่ อีย่ ม ท่านมีลกู ศิษย์ ลูกหามากมาย ทัง้ ชาวบ้านและ เจ้านายผูใ้ หญ่ในพระนครนับถือ ท่านมากจนกระทัง่ ถึงวาระสุดท้าย ของชีวติ ก่อนทีห่ ลวงปูเ่ อีย่ มจะ มรณภาพด้วยโรคชรา นายหรุน่ แจ้งมา ซึ่งเป็นลูกศิษย์ที่ใกล้ชิด คอยอยูป่ รนนิบตั ทิ า่ นหลวงปูเ่ อีย่ ม ได้ขอร้องท่านว่า “ท่านอาจารย์มี อาการเต็มทีแ่ ล้ว ถ้าท่านมีอะไรก็ กรุณาได้สงั่ และให้ศษิ ย์เป็นครัง้ สุดท้าย” ซึง่ ท่านหลวงปูเ่ อีย่ มก็ ตอบว่า “ถ้ามีเหตุทกุ ข์เกิดขึน้ ให้ ระลึกถึงท่านและเอ่ยชื่อท่านก็ แล้วกัน” หลวงปู่เอี่ยมท่านได้ มรณภาพ เมื่ อ ปี พ.ศ.2439 รวมอายุได้ 80 ปี บวชได้ 59 พรรษา ขอขอบคุณข้อมูลจาก กระทรวง การท่ อ งเที่ ย วและกี ฬ า และ https://thailandtourismdirectory.go.th/ ทีม่ า: อนุสรณ์งานพระราชทาน เพลิง NONTHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

99


History of buddhism....

History of buddhism....

วัดบางพูดนอก พระครูนนทคุณวิสุทธิ์ สุทฺธจิตฺโต ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดบางพูดนอก

วั ด บางพู ด นอก ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 40 หมู ่ 7 บ้ า นคลองบางพู ด ถนนสุ ข าประชาสรรค์ 2 ต� ำ บลบางพู ด อ� ำ เภอปากเกร็ ด จังหวัดนนทบุรี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีเนื้อที่ทั้งหมด 17 ไร่ พื้นที่ส่วนใหญ่ เป็นที่ราบลุ่ม การคมนาคมทางน�้ำมีคลองบางพูด ผ่านทางทิศใต้ของวัดมาแต่ครั้งโบราณ ดังปรากฏใน นิราศภูเขาทอง โดยท่านสุนทรภู่ได้ประพันธ์ไว้ว่า “ถึงบางพูดพูดดีเป็นศรีศกั ดิ ์ มีคนรักรสถ้อยอร่อยจิต แม้พูดชั่วตัวตายท�ำลายมิตร จะชอบผิดในมนุษย์เพราะพูดจา” ชุมชนนี้มีมาตั้งแต่สมัยอยุธยา วัดบางพูดนอก ได้เริ่มสร้างเมื่อ พ.ศ. 2140 และได้ รั บ พระราชทานวิ สุ ง คามสี ม า ผู ก พั ท ธสี ม า พ.ศ. 2190 ในเวลาต่อมา จึงถึงปัจจุบันนี้มีอายุกว่า 300 ปี 100

SBL บันทึกประเทศไทย I นนทบุรี

ความเป็นมาของปัจจุบันไม่มีผู้ทราบประวัติ ทราบเพียงว่า วัดนี้ ที่ได้นาม วัดบางพูดนอก เพราะตั้งอยู่ที่ บ้านคลองบางพูด จึงได้ ขนานนามตามภูมิประเทศที่ตั้งวัด จึงเป็นที่รู้จักกันดี เจ้าอาวาสเท่าที่ทราบนามและประวัติ มี 5 รูป รูปที่ 1 พระอธิการมุ้ย ไม่ทราบฉายา รูปที่ 2 พระอธิการไพร ปคุโณ พ.ศ. 2521 รูปที่ 3 พระครูนนทพุทธิสาร (สนั่น พุทฺธิสาโร) อายุ 60 ปี พรรษา 14 พ.ศ. 2521- 2524 รูปที่ 4 พระปลัดบุญแถม โชติวํโส พ.ศ. 2538 - 2529 รูปที่ 5 พระครูนนทคุณวิสทุ ธิ์ สุทธฺ จิตโฺ ต พ.ศ. 2538 จนถึงปัจจุบนั


อาคารเสนาสนะ ภายในวัดบางพูดนอก 1. หอสวดมนต์ 2. ศาลาเอนกประสงค์ 3. ศาลาใหญ่ 4. หอระฆัง 5. วิหารหลวงพ่อสนั่น (อดีตเจ้าอาวาส) 6. เมรุ กิจกรรมประจ�ำทุกปี 1. ทุกเดือนเมษายน มีบรรพชาสามเณรภาคฤดูร้อน 2. ทุกเดือนพฤษภาคม จัดงานประจ�ำปีปิดทองพระ ท�ำบุญแด่ หลวงพ่อสนั่น และอดีตเจ้าอาวาสทุกรูป 3. กิ จ กรรมทางพระพุ ท ธศาสนา วั น มาฆบู ช า วั น วิ ส าขบู ช า วันอาสาฬหาบูชา

อุโบสถ กว้าง 8 เมตร ยาว 15 เมตร เป็นลักษณะทรงไทยแบบเก่า มีช่องประตู 3 ประตู ด้านหน้า 1 และด้านหลัง 2 ไม่มีช่องหน้าต่าง ต่อมาในปี พ.ศ. 2553 ท่านพระครูนนทคุณวิสุทธิ์ เจ้าอาวาสองค์ ปัจจุบัน ได้เริ่มท�ำการบูรณปฏิสังขรณ์อุโบสถ ได้ท�ำการปิดประตูด้าน หลังทั้ง 2 ให้เหลือประตูเข้า -ออก เพียงประตูเดียวเท่านั้น ซึ่งตรง กั บ ลั ก ษณะของโบสถ์ ม หาอุ ต ม์ แบบโบราณที่ มี ป ระตู เข้ า -ออก เพียงประตูเดียว ไม่มีหน้าต่างซึ่งมีมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาตอน ต้นคล้องกับอายุของโบสถ์ และเดิมที่โบสถ์ไม่มีหน้าต่างอยู่แล้ว อุโบสถนี้จึงเป็นลักษณะโบสถ์มหาอุตม์ เป็นไปตามโบราณลักษณะ ใช้ เ ป็ น ที่ พุ ท ธาภิ เ ษกวั ต ถุ ม งคลโดยเฉพาะประเภทมหาอุ ต ม์ ภายในอุโบสถนี้เป็นที่ประดิษฐานพระประธาน “หลวงพ่อเพชร” พระพุทธรูปเก่าแก่ปางมารวิชัย ซึ่งเป็นที่เคารพ สักการะ นับถือของ ชาวบางพูดอย่างมาก มาโดยตลอด

ประวัติเจ้าอาวาส • พระครูนนทคุณวิสุทธิ์ ฉายา สุทฺธจิตฺโต นามสกุล อุตสาหกิจ อายุ 55 ปี พรรษา 32 • วิทยฐานะ นักธรรมเอก ปริญญาโท สาขาวิปัสสนาภาวนา • วัดบางพูดนอก ต�ำบลบางพูด อ�ำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี ปัจจุบันด�ำรงต�ำแหน่ง • เจ้าอาวาสวัดบางพูดนอก พ.ศ. 2538 • เจ้าคณะต�ำบล พ.ศ. 2554 • พระวินยาธิการจังหวัดนนทบุรี สถานเดิม ชื่อพระสมพงษ์ นามสกุล อุตสาหกิจ เกิดวันที่ 11 เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2508 บิดาชื่อนายสมบูรณ์อุตสาหกิจ มารดาชื่อนางพิมพ์ รังสรรค์ ณ บ้านเลขที่ 96 หมู่ที่ 3 ต�ำบลท่าทอง อ�ำเภอสวรรคโลก จังหวัดสุโขทัย อุปสมบท วันที่ 9 เดือนมิถุนายน พ.ศ.2531 ตรงกับวันข้างขึ้น/แรม 7 ค�่ำ เดื อ นมิ ถุ น ายน ปี ฉ ลู ณ วั ด บางพู ด นอก ต� ำ บลบางพู ด อ� ำ เภอ ปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี โดยมี พระครูนันทาภิวัฒน์ เป็นพระอุปัชฌาย์ พระครูนนทพุทธิสาร เป็นกรรมวาจาจารย์ พระมงคล ถิรปุญฺโญ เป็นอนุสาวนาจารย์ NONTHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

101


History of buddhism....

พระประธานในโบสถ์ ใหญ่ที่สุดในจังหวัดนนทบุรี History of buddhism....

วัดกู้

พระครูวิมลสุวรรณกร (สมพงษ์ จนฺทวโร ป.ธ.๓) เจ้าอาวาสวัดกู้ / รองเจ้าคณะอ�ำเภอปากเกร็ด

วัดกู้ ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 57 ซอยสุขาประชาสรรค์ 2 หมูท่ ี่ 5 ตําบลบางพูด อํ า เภอปากเกร็ ด จั ง หวั ด นนทบุ รี สั ง กั ด มหานิ ก าย พื้ น ที่ ตั้ ง วั ด เนื้อที่ 25 ไร่ - งาน 88 ตารางวา วัดกู้ ตั้งอยู่ในพื้นที่ราบลุ่ม ห่างจากอําเภอปากเกร็ดไปทางด้าน ทิศเหนือ 2.5 กิโลเมตร การคมนาคมไปมาได้สะดวกทั้งทางบกและ ทางน�้ำ ตั้งอยู่ที่ตําบลบางพูด อําเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี วัดนี้ สร้างขึน้ ในสมัยพระยาเจ่ง ซึง่ เป็นหัวหน้าครอบครัวมอญนําพวกมอญ อพยพเข้ามาในแผ่นดินพระเจ้ากรุงธนบุรี ซึ่งถือว่า เป็นมอญที่เป็น บรรพชนของมอญ ชาวเกาะเกร็ ด วั ด นี้ จึ ง ถู ก สร้ า งโดยศิ ล ปะ แบบมอญ ภายในวิหาร มีภาพเขียนฝาผนังที่เป็นศิลปะแบบมอญ เดิมชื่อวัด “ท่าสอน” 102

SBL บันทึกประเทศไทย I นนทบุรี

ต่อมา เมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2423 เรือพระที่นั่งของ สมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์พระบรมราชเทวี พระปิยมเหสี ในรัชการที่ 5 เกิดอุปทั วเหตุลม่ ลงบริเวณใกล้วดั ท่าสอน ตําบลบางพูด จั ง หวั ด นนทบุ รี ในคราวเสด็ จ ประพาสพระราชวั ง บางปะอิ น ทางชลมารค และได้กู้เรือพระที่นั่งพร้อมพระศพพระนางเจ้าสุนันทา กุ มารี รั ต น์ พระบรมราชเทวี ขึ้ น ที่ วั ด ท่ า สอนเชิญ พระศพมาไว้ที่ วัดศาลาท่าน�้ำเป็นการชั่วคราว จึงได้ขนานนามใหม่ว่า “วัดกู้” และ


พระนอน ยาวที่สุดในจังหวัดนนทบุรีอายุ 300 กว่าปี

ศาลสมเด็จพระนางเจ้าสุนนั ทากุมารีรตั น์พระบรมราชเทวี (พระนางเรือล่ม)

ภายในวัดยังมีศาลที่สร้างขึ้น เพื่อเป็นอนุสรณ์แก่ สมเด็จพระนางเจ้า สุนันทากุมารีรัตน์พระบรมราชเทวี อีกด้วย ซึ่งปัจจุบันได้มีการบูรณ ปฏิสังขรณ์เป็นครั้งที่สามแล้ว โครงการไถ่ชีวิต โค - กระบือ การบริจาคร่วมสมทบเข้าโครงการไถ่ชีวิตโค-กระบือ สามารถ ดําเนินการได้ 3 วิธี คือ

วิธีที่ 1 บริจาคเป็นเงิน ตามกําลังศรัทธา หรือบริจาคเป็นตัวๆ ละ 25,000.- บาท (สองหมื่นห้าพันบาท) โดยผู้บริจาคติดต่อบริจาคได้ที่ วัดกู้ เลขที่ 57 หมู่ 5 ตําบลบางพูด อําเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี 11120 โทร. 086-5339171, 02-9633866 วิธีที่ 2 โอนเงินผ่านธนาคาร โอนเงินบริจาคได้ที่ ธนาคารธนชาติ ชื่อบัญชี วัดกู้ (โค-กระบือ) สาขา ปากเกร็ด เลขที่บัญชี 232-251357-9 วิธีที่ 3 บริจาคเป็นโค-กระบือ ไม่จํากัด จํานวน โดยไปบริจาค ได้ที่ วัดกู้ เลขที่ 57 หมู่ 5 ตําบลบางพูด อําเภอปากเกร็ด จังหวัด นนทบุรี 11120 โทร. 086-5339171, 02-9633866 เมื่อรับบริจาค โค-กระบื อ มาแล้ ว ทางวั ด จะน�ำมาไว้ ที่ วั ด กู ้ ชั่ ว คราวเสร็ จ แล้ ว จะนําไปบริจาคให้เกษตรกรต่อไป สถานที่น่าชมภายในวัดกู้ 1.พระนอน ยาวที่สุดในจังหวัดนนทบุรี อายุ 300 กว่าปี 2.พระประธานในโบสถ์ใหญ่ที่สุดในจังหวัดนนทบุรี 3.ศาลสมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์พระบรมราชเทวี (พระนางเรือล่ม) NONTHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

103


History of buddhism....

History of buddhism....

วัดเกาะพญาเจ่ง พระประสิทธิ์ เขมรโต เจ้าอาวาสวัดเกาะพญาเจ่ง

วัดเกาะพญาเจ่ง ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 108 หมูท่ ี่ 1 ซอยสุขาประชาสรรค์ 2 ซอย 15 ถนนสุขาประชาสรรค์ 2 ต�ำบลปากเกร็ด อ�ำเภอ ปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี 11120 ประวัติความเป็นมา (พอสังเขป) วัดเกาะพญาเจ่ง สร้างในสมัยรัชกาลที่ 3 เป็นวัดที่ เจ้าพระยา มหาโยธา (ทอเรี่ยะ) บุตรเจ้าพระยามหา โยธา (เจ่ง) เป็นผู้สร้างตรง บริ เวณที่ เ ป็ น นิ ว าสสถาน เป็ น บ้ า นของท่ า นผู ้ ส ร้ า งซึ่ ง อยู ่ ใ กล้ ปากคลองบางพูด เจ้าพระยามหาโยธา (ทอเรี่ยะ) รับราชการตั้งแต่ 104

SBL บันทึกประเทศไทย I นนทบุรี

สมั ย รั ช กาลที่ 1 ซึ่ ง ขณะนั้ น บิ ด าท่ า นดํ า รงตํ า แหน่ ง เจ้ า พระยา มหาโยธา (เจ่ง) ถึงแก่อสัญกรรม ท่านได้ดํารงตําแหน่งเจ้าพระยา มหาโยธาแทนบิดา ในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นจักรีมอญควบคุมกองอาสามอญทัง้ ปวง การสร้างวัดเกาะพญาเจ่ง คงสร้างประมาณหลัง พ.ศ. 2365 และคงใช้เวลาหลายปีเนื่องจาก เป็นวัดที่ ใหญ่มาก พ.ศ. 2508 หลวงบริณัยจรรยาราษฎร์ (มณฑล คชเสนี) ซึ่งเป็น ผู้สืบสกุลจากเจ้าพระยามหาโยธา (เจ่ง) ได้ดําเนินการขอเปลี่ยนชื่อ


วัดซึ่งขณะนั้นใช้ชื่อวัดเกาะบางพูดเป็นวัดเกาะพญาเจ่ง เพื่อเป็น อนุสรณ์แก่บรรพบุรุษต้นตระกูลผู้สร้างวัด คือ เจ้าพระยามหาโยธา (เจ่ง) ผู้เป็นบิดาของเจ้าพระยามหาโยธา (ทอเรี่ยะ) และเป็นต้นสกุล คชเสนี และได้รับอนุมัติจากกรมการศาสนาเมื่อ วันที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2517 ปัจจุบันจึงใช้ชื่อ วัดเกาะพญาเจ่ง สิ่งสําคัญภายในวัด วัดเกาะพญาเจ่ง มีสิ่งสําคัญควรแก่การอนุรักษ์และการศึกษาทาง ด้ า นสถาปั ต ยกรรมศิ ล ปกรรม และ จิ ต รกรรมที่ ส วยงามและ มีคุณค่ามาก คือ อุโบสถ ช่อฟ้า ใบระกา หางหงส์ ซุ้มประตูและซุ้มหน้าต่าง ซุ้มเสมารอบอุโบสถ พระประธานในอุโบสถ ภาพจิตรกรรมฝาผนัง วิหาร ศาลาการเปรียญ หอสวดมนต์และหมู่กุฏิสงฆ์ หอระฆัง วิหารพระพุทธไสยาสน์

พระประสิทธิ์ เขมรโต เจ้าอาวาสวัดเกาะพญาเจ่ง

อนุสาวรีย์ “พระยาเจ่ง”

อนุสาวรีย์ “พระนางเรือล่ม” NONTHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

105


History of buddhism....

History of buddhism....

วัดหงษ์ทอง

พระครูกิตติเขมาภิรม (ทผล.ชพ.) ดร. เจ้าอาวาสวัดหงษ์ทอง

วั ด หงษ์ ท อง ตั้ ง อยู ่ ณ ต� ำ บลบางพู ด อ� ำ เภอปากเกร็ ด จังหวัดนนทบุรี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย วั ด หงษ์ ท อง สร้ า งขึ้ น ในสมั ย อยุ ธ ยาตอนปลายถึ ง กรุ ง ธนบุ รี วัดหงษ์ทองสร้างขึ้นโดยชาวมอญที่อพยพลงมาจากอยุธยามาอยู่ตาม ริมแม่น�้ำเจ้าพระยา พอชาวมอญมาตั้งถิ่นฐานหลักแหล่งนี้ก็จะสร้าง วัดขึน้ เพือ่ เป็นทีย่ ดึ เหนีย่ วจิตใจและเป็นศูนย์กลางการศึกษา วัดหงษ์ทอง ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อวันที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2518 วัดหงษ์ทองมีที่ดิน 2 แปลง ได้แก่ 1. ที่ดินธรณีสงฆ์มีเนื้อที่ 24 ไร่ 1 งาน 32 ตารางวา 2. ที่ตั้งวัด 24 ไร่ 3 งาน 22 ตารางวา 106

SBL บันทึกประเทศไทย I นนทบุรี

เจ้าอาวาสตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน 12 รูป ที่ปรากฏหลักฐาน เด่นชัด คือ 1. พระมหาบุญ ปภสฺสโร ปธ.13 เจ้าอาวาสรูปที่ 6 2. พระอธิการชื้น คุณาธโร เจ้าอาวาสรูปที่ 9 3. พระครูกิตติเขมาภิรม (ทผล.ชพ.) ดร. ตั้งแต่วันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2545 จนถึงปัจจุบัน


พระครูกิตติเขมาภิรม (ทผล.ชพ.) ดร. เจ้าอาวาสวัดหงษ์ทอง

ปัจจุบันวัดหงษ์ทอง เป็นศูนย์รวมจิตใจของชาวบ้านที่ใกล้เคียง เป็นที่ประกอบศาสนกิจส�ำคัญทางพระพุทธศาสนา ได้รับการพัฒนา จากเจ้าอาวาสรูปปัจจุบันและชาวบ้าน เรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน วัดหงษ์ทอง มีเสนาสนะ ดังนี้ - กุฏิสงฆ์ 4 หลัง - หอสวดมนต์ 1 หลัง - ศาลาการเปรียญ 1 หลัง - ศาลาบ�ำเพ็ญกุศล 2 หลัง - อุโบสถ - วิหาร NONTHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

107


History of buddhism....

วัดบางไผ่ พระอารามหลวง วั ด บางไผ่ พระอารามหลวง เป็ น พระอารามหลวงชั้ น ตรี ชนิดสามัญ ตั้งอยู่เลขที่ 15 หมู่ที่ 3 ริมคลองบางไผ่ ต�ำบลบางรัก พัฒนา อ�ำเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีเนื้อที่ 38 ไร่ 18 ตารางวา พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศร รามาธิ บ ดี จั ก รี น ฤบดิ น ทร สยามมิ น ทราธิ ร าช บรมนาถบพิ ต ร ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ยกฐานะวัดบางไผ่ซึ่งเป็น วัดราษฎร์มาตั้งแต่ปลายสมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานีประมาณ พ.ศ.2309 ให้เป็น วัดพระอารามหลวง เมื่อวันที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2549 ขานนามวัดตามชื่อเดิมและเพิ่ม “พระอารามหลวง” ไว้ท้าย ชื่อว่า “วัดบางไผ่ พระอารามหลวง” ประวัติวัดบางไผ่ พระอารามหลวง สมัยกรุงศรีอยุธยา ผู้สร้างวัดบางไผ่เป็นแม่ทัพนายกองหรือคหบดีในเมืองเมื่อปลาย สมัยกรุงศรีอยุธยา เป็นราชธานีประมาณ พ.ศ.2309 ณ ชุมชนที่สงบ แห่งหนึ่ง แหล่งอารยธรรมเก่า ของลุ่มแม่น�้ำเจ้าพระยาเดิม (ปัจจุบัน คือคลองอ้อม) ตั้งชื่อตามลักษณะภูมิศาสตร์ ของพื้นที่เพราะแต่เดิม พื้นที่บริเวณนี้ เต็มไปด้วยดงกอไผ่ขึ้นกระจัดกระจายมากมายไปทั่ว จะเห็นได้ว่าเมืองนนทบุรี เป็นที่ราบลุ่มอุดมสมบูรณ์ด้วยพืชพันธุ์ 108

SBL บันทึกประเทศไทย I นนทบุรี

พระพุทธศรีรัตนมุนี พระประธานประจ� ำ พระอุ โ บสถ เป็ น พระพุ ท ธรู ป หล่ อ โลหะ ปางมารวิ ชั ย ลงรั ก ปิ ด ทอง หน้ า ตั ก กว้ า ง 70 นิ้ ว สู ง 90 นิ้ ว แท่ น ฐานประดั บ ผ้ า ทิ พ ย์ ป ระดิ ษ ฐานพระนามาภิ ไ ธย ม.ว.ก. ด�ำเนินการปั้นหล่อแล้วเสร็จเมื่อปี พ.ศ.2532 สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชสกลมหาสังฆปรินายก เสด็จมายกฉัตร ธัญญาหาร สันนิษฐานว่าเป็นวัดที่มีความส�ำคัญในสมัยนั้นเพราะ ปรากฏว่ามีโบสถ์และวิหารสร้างไว้คู่กันซึ่งแสดงถึงฐานะวัดเพราะ โดยปรกติการสร้างวัดโดยทั่วไป มักจะสร้างเพียงโบสถ์เพื่อประกอบ


สังฆกรรม เพียงหลังเดียวการมีทั้งโบสถ์และวิหารย่อมแสดงถึงฐานะ ว่าเป็นวัดส�ำคัญและเป็นศูนย์กลางของชุมชน วัดบางไผ่น่าจะเป็นวัดเดียวในแถบนี้ ที่มิได้รับผลกระทบจากภัย สงคราม เมื่อครั้งเสียกรุงศรีอยุธยา พ.ศ.2310 ทั้งที่ปรากฏว่าเมื่อ พ.ศ.2308 พม่าได้ยึดเมืองนนทบุรี และตั้งค่ายอยู่ที่ ต�ำบลตลาดขวัญ ปากคลองอ้อมตรงข้ามวัดเขมาภิรตาราม ก่อนสร้างวัดบางไผ่ 1 ปี สมัยกรุงธนบุรี วัดบางไผ่ ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อปี พ.ศ.2315 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 4 เมตร ยาว 17 เมตร และผูกพัทธสีมา ในปีเดียวกัน สมัยรัตนโกสินทร์ วัดบางไผ่ เป็นวัดที่สงบร่มรื่นสืบมาถึงสมัยรัตนโกสินทร์ เมื่อ ชุมชนเจริญขึ้น ประชาชนมาตั้งถิ่นฐานมากขึ้น วัดบางไผ่จึงเป็น ศูนย์กลางที่ราษฎรในท้องถิ่นนี้มีศรัทธามาบ�ำเพ็ญกุศลอย่างต่อเนื่อง สันนิษฐานว่าตัง้ แต่รชั กาลพระบาทสมเด็จพระนัง่ เกล้าเจ้าอยูห่ วั สืบมา ความเจริญรุ่งเรืองแห่งพระพุทธศาสนาได้เข้ามาในเมืองนนทบุรี คือ พระนครแห่งพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ด้วยพระอัยกา พระยานนทบุรีศรีอุทยาน (บุญจัน) เจ้าเมืองนนทบุรี คือ พระชนก ของสมเด็จพระศรีสุลาลัย สมเด็จพระบรมราชชนนีพันปีหลวงของ พระบาทสมเด็จพระนัง่ เกล้าเจ้าอยูห่ วั พระนามเดิม เจ้าจอมมารดาเรียม ทรงเป็ น ชาวนนทบุ รี ป ระสู ติ ณ นิ ว าสสถานเดิ ม บริ เวณป้ อ มริ ม ก�ำแพงวัดเฉลิมพระเกียรติวรวิหารในปัจจุบัน มิได้ปรากฏว่าเจ้าอาวาสหรือผูป้ กครองวัดระยะแรกๆ เป็นผูใ้ ดบ้าง แต่ได้มีชื่อพระสงฆ์องค์แรก ปรากฏอยู่ คือ พระครูสอน ซึ่งเป็นผู้ ชักชวนราษฎรบริเวณใกล้เคียงมาร่วมกันบูรณปฏิสังขรณ์ถาวรวัตถุ

โรงเรียนพระปริยัติธรรม วั ด บางไผ่ เ ป็ น สถานที่ เ ปิ ด การเรี ย น-การสอนพระปริ ยั ติ ธ รรม ทั้งแผนกธรรมและแผนกบาลีมานาน และได้จัดสร้างโรงเรียนพระ ปริยัติธรรมขึ้น เพื่อเป็นสถานที่ศึกษาเล่าเรียนพระธรรมวินัยของ พระภิกษุ สามเณร ในวัดบางไผ่ พระอารามหลวง และวัดใกล้เคียง แบ่งตามระดับชัน้ แผนกธรรมศึกษา และแผนกบาลี ตัง้ แต่ชนั้ ประโยค 1-2 ถึงเปรียญธรรม 9 ประโยค และได้วางศิลาฤกษ์ตอกเสาเข็ม เมื่อปี พ.ศ.2538 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็กทรงยาว 3 ชั้น ภายในวัดให้แข็งแรงมั่นคง และสืบต่อกันมาจนถึงปัจจุบัน ถาวรวัตถุ ที่ส�ำคัญภายในวัดได้แก่ โบสถ์ วิหาร และพระพุทธรูปปฏิมาประธาน ที่ประดิษฐานอยู่ภายในวัด คือ พระพุทธมงคลศรีสุโขทัย หรือหลวง พ่อทอง ซึ่งถือเป็นพระพุทธรูปส�ำคัญคู่วัดมาแต่แรกสร้าง NONTHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

109


110

หอพระไตรปิฎก

วิหารเก่า

พระอุโบสถหลังเก่า

หลวงพ่อพระวิหาร

พระประธานในอุโบสถเก่า

ศาลาปฏิบัติธรรมทีปังกรรัศมีโชติ

หอฉันสงฆ์ ไม้สัก

พิพิธภัณฑ์ วัดบางไผ่

SBL บันทึกประเทศไทย I นนทบุรี


มณฑปหลวงพ่อเปล่ง

นิทรรศการ ร.10

นิทรรศการ ร.10

ฌาปนสถาน

พระโสภณนนทสาร (บุญเลิศ ชาตปุญฺโญ) เจ้าคณะอ�ำเภอบางบัวทอง / เจ้าอาวาสวัดบางไผ่ พระอารามหลวง พระโสภณนนทสาร มี น ามเดิ ม ว่ า บุ ญ เลิ ศ สิ ง หรา ณ อยุ ธ ยา เกิดเมือ่ วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2493 ณ ต�ำบลไทรใหญ่ อ�ำเภอไทรน้อย จังหวัด นนทบุรี บิดาชือ่ ม.ล. บุญ สิงหรา ณ อยุธยา มารดาชือ่ นางฉาย สิงหรา ณ อยุธยา อุปสมบท เมือ่ วันที่ 16 เมษายน พ.ศ. 2513 ณ พระอุโบสถวัดบางไผ่ โดยมี พระปรีชานนทโมลี เป็นพระอุปชั ฌาย์ พระมหาเปล่ง เป็นพระกรรม วาจาจารย์ พระครูนนทโมลี เป็นพระอนุสาวนาจารย์ และได้รบั ฉายาทาง สมณเพศว่า ชาตปุญโฺ ญ พระโสภณนนทสาร ปัจจุบนั อายุ 67 ปี พรรษา 46 วิทยฐานะ นักธรรมเอก วัดบางบางไผ่ พระอารามหลวง ต�ำบลบางรักพัฒนา อ�ำเภอบางบัวทอง จังหวัด นนทบุรี ปัจจุบนั ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดบางไผ่ / เจ้าคณะอ�ำเภอบางบัวทอง สมณศักดิ์ พ.ศ. 2539 ได้รบั พระราชทานเลือ่ นสมณศักดิเ์ ป็นพระครูสญ ั ญาบัตรเทียบ ผูช้ ว่ ยเจ้าอาวาส พระอารามหลวง ชัน้ เอก ในราชทินนามเดิม พ.ศ. 2546 ได้รับพระราชทานแต่งตั้งสมณศักดิ์ เป็นพระราชาคณะ ชัน้ สามัญ เมือ่ วันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2546 พ.ศ. 2550 ได้รบั แต่งตัง้ เป็น เจ้าอาวาสพระอารามหลวง เมือ่ วันที่ 24 มกราคม พ.ศ. 2550 เกียรติประวัติ พ.ศ. 2534 ได้รบั พัดยศวัดพัฒนาดีเด่น จากกรมการศาสนา เมือ่ วันที่ 4 มิถนุ ายน พ.ศ.2534 พ.ศ. 2534 ได้รบั ประกาศนียบัตรบุคคลดีเด่นประจ�ำปี จากสมาคมผูส้ อื่ ข่าวหนังสือพิมพ์ภมู ภิ าคแห่งประเทศไทย เมือ่ วันที่ 26 สิงหาคม พ.ศ.2534 พ.ศ. 2534 ได้รบั รางวัลชมเชยในโครงการคัดเลือกสถานทีด่ เี ด่น เพือ่ สิง่ แวดล้อมในวันสิง่ แวดล้อมไทย 4 ธันวาคม พ.ศ.2534 จากรองนายกรัฐมนตรี พลต�ำรวจเอกเภา สารสิน พ.ศ. 2536 ได้รบั พระราชทานรางวัลผูท้ ำ� คุณประโยชน์ตอ่ ศาสนา สาขา ศึกษาพระปริยตั ธิ รรม (แปนกธรรม บาลี ธรรมศึกษา) จากสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี เมือ่ วันที่ 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2537 พ.ศ. 2541 ได้รบั เกียรติบตั รพระนักพัฒนาดีเด่นจากหนังสือพิมพ์ฐาน เศรษฐกิจ พ.ศ. 2542 ได้รบั รางวัลที่ 3 ระดับประเทศจากกรมการศาสนา ในการ ประกวดศูนย์การเรียนรูช้ มุ ชนของวัด พ.ศ. 2549 ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติประกาศยกวัดราษฎร์ เป็นพระอารามหลวงด้วยทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ยกวัดบางไผ่ เป็นพระอารามหลวง ชัน้ ตรี ชนิดสามัญ ตัง้ แต่วนั ที่ 23 มิถนุ ายน พ.ศ. 2549 เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2549 รับกฐินหลวง เมือ่ วันที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2549 โดยนางจิตรา เทพพิทกั ษ์ เป็นผูแ้ ทนในพระองค์ พ.ศ. 2550 ได้รับพัดรองพระอารามหลวง ที่วัดพนัญเชิง จังหวัด พระนครศรีอยุธยา

NONTHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

111


History of buddhism....

History of buddhism....

วัดสามง่าม

พระมหาสมบัติ สิริวณฺโณ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดสามง่าม

วั ด สามง่ า ม ตั้ ง อยู ่ เ ลชที่ 45/1 หมู ่ ที่ 8 บ้ า นสามแยก ถนนบางบั ว ทอง – สุ พ รรณบุ รี ต� ำ บลล� ำ โพ อ� ำ เภอบางบั ว ทอง จังหวัดนนทบุรี ที่ดินที่ตั้งวัดมีเนื้อที่ 7 ไร่ 1 งาน 42 ตารางวา โฉนดที่ดินเลขที่ 84200 สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย วัดสามง่าม ตั้งเมื่อวันที่ 9 เดือนธันวาคม พ.ศ.2542 เดิมทีเป็น วัดร้างมาเป็นระยะเวลา 75 ปี เมือ่ ปลายปี 2535 ทางคณะสงฆ์อ�ำเภอ บางบัวทอง โดยมีพระปรีชานนทโมลี รองเจ้าคณะจังหวัดนนทบุรีได้ ส่งพระปลัดไวพจน์ กตปุญฺโญ (พระครูวิสุทธิธีรญาณ) มาพัฒนาวัด โดยยกฐานะวั ด ร้ า งให้ เ ป็ น วั ด ที่ มี พ ระภิ ก ษุ อ ยู ่ จ� ำ พรรษา ต่ อ มา 112

SBL บันทึกประเทศไทย I นนทบุรี

พระปลัดไวพจน์ กตปุญฺโญ พร้อมด้วยชาวบ้านในละแวกนั้นได้พัฒนา วัดร้างให้เป็นส�ำนักปฏิบัติธรรมประจ�ำจังหวัดนนทบุรี แห่งที่ 2 พ.ศ.2547 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 9 เดือนมกราคม พ.ศ.2544 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 20 เมตร ยาว 40 เมตร การบริหารและการปกครอง มีเจ้าอาวาสเท่าที่ทราบนาม คือ รูปที่ 1 พระครูวิสุทธิธีรญาณ วิ. พ.ศ.2535 – 2557 รูปที่ 2 พระมหาสมบัติ สิริวณฺโณ พ.ศ.2557 – ปัจจุบัน


อาคารเสนาสนะ ประกอบด้วย 1. อุโบสถ กว้าง 8 เมตร ยาว 25.5 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ.2538 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก 2. ศาลาการเปรียญ กว้าง 26 เมตร ยาว 35 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ.2544 เป็น ทรงไทยชั้น เดียว ปูด ้ว ยกระเบื้ อ งหลั ง คามุ ง ด้ ว ย กระเบื้องลอนเล็ก 3. ศาลาปฏิบตั ธิ รรม เฉลิมพระเกียรติ ทรงครองราชย์ ครบ 60 ปี กว้าง 12 เมตร ยาว 24 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ.2549 เป็นอาคาร ทรงไทย 2 ชั้น ชั้นล่างเป็นคอนกรีตเสริมเหล็ก ชั้นบนทรงไทยไม้สัก มุงด้วยกระเบื้องสุโขทัย 4. กุฎิสงฆ์ จ�ำนวน 11 หลัง สร้างเป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก จ�ำนวน 7 หลัง ครึ่งครึ่งไม้ จ�ำนวน 4 หลัง 5. ศาลาปฏิบัติธรรม เฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา กว้าง 12 เมตร ยาว 24 เมตร สร้างเมื่อพ.ศ.2550 เป็นอาคารทรงไทย 2 ชั้น ชั้นล่างเป็นคอนกรีตเสริมเหล็กพื้นปูด้วยไม้ปาเก้ ชั้นบนทรงไทย ไม้สัก มุงด้วยกระเบื้องสุโขทัย 6. กุฏิสงฆ์ ทรงไทยที่พักส�ำหรับผู้ปฏิบัติธรรม สร้างเมื่อ พ.ศ. 2550 จ�ำนวน 16 หลัง ขนาดกว้าง 4 เมตร ยาว 4 เมตร ลักษณะ เป็นเรือนทรงไทย ชั้นเดียว ท�ำด้วยไม้สัก มุงด้วยกระเบื้องสุโขทัย 7. ศาลาปฏิบัติธรรม เฉลิมพระเกียรติ 87 พรรษา กว้าง 28 เมตร ยาว 60 เมตร สร้างเมื่อพ.ศ.2557 เป็นอาคารทรงไทย 2 ชั้น ชั้นล่างเป็นคอนกรีตเสริมเหล็กพื้นปูด้วยกระเบื้อง ชั้นที่ 2 พื้นไม้ หลังคา มุงด้วยแผ่นเมทัลชีท 8. ศาลาปฏิบัติธรรม เฉลิมพระเกียรติ 88 พรรษา กว้าง 30 เมตร ยาว 40 เมตร สร้างเมื่อพ.ศ.2558 เป็นอาคารทรงไทย 3 ชั้น ทั้ง 3 ชั้นเป็นคอนกรีตเสริมเหล็ก พื้นปูด้วยกระเบื้อง หลังคามุงด้วย แผ่นเมทัลชีท นอกจากนี้ มีอาคารเสนาสนะต่างๆ ดังนี้ คือ ฌาปนสถาน 1 หลัง, หอระฆัง 1 หลัง, กุฏิเจ้าอาวาส 1 หลัง , ห้องน�้ำ – ห้องสุขา 91 ห้อง

ปูชนียวัตถุ มี - พระประธานในอุโบสถ ปางมารวิชัย ขนาดหน้าตักกว้าง 80 นิ้ว สูง 80 นิ้ว สร้างเมื่อ พ.ศ.2539 - พระประธานในศาลาการเปรียญปางมารวิชัย ขนาดหน้าตัก กว้าง 60 นิ้ว สูง 60 นิ้ว สร้างเมื่อ พ.ศ.2540 NONTHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

113


History of buddhism....

History of buddhism....

วัดบางรักใหญ่ ไหว้พระขอพร กราบหลวงปู่สาย “วาจาสิทธิ์” หลวงพ่อหินหกร้อยปี

พระครูนนทกิจจานุกูล ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดบางรักใหญ่

วั ด บางรั ก ใหญ่ ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 56 หมู ่ 3 ต� ำ บลบางรั ก ใหญ่ อ�ำเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี ประวัติวัดบางรักใหญ่ วัดบางรักใหญ่ เริ่มสร้างประมาณปลายสมัยอยุธยา พ.ศ. 2310 – 2361 เข้าสู่ต้นสมัยรัตนโกสินทร์ ตามค�ำบอกเล่าของ พระครูกิตติ วราภิรักษ์ เจ้าอาวาสวัดบางรักน้อย เล่าว่า วัดบางรักใหญ่ และ วัดบางรักน้อย เป็นวัดที่สร้างขึ้นร่วมสมัยกัน ประวัติเล่าว่า วัดบางรักใหญ่และวัดบางรักน้อย บูรณะสร้างขึ้นโดย เศรษฐีชื่อว่า สุทิน ณ พิบาล เป็นชาวมอญอพยพ มาตั้งรกราก ณ บริเวณนี้ เดิมทีวัดบางรักใหญ่ วัดบางรักน้อย เป็นเพียงที่พักสงฆ์ เท่านั้น และเริ่มสร้างขึ้นเป็นวัด ด้วยความศรัทธาในพระพุทธศาสนา ของชุมชนชาวมอญแต่ดั้งเดิม 114

SBL บันทึกประเทศไทย I นนทบุรี

นายสุทิน ณ พิบาล ด้วยความที่เป็นเศรษฐีมีความร�่ำรวยมาก จึงมีภรรยา 2 คน และได้สร้างวัดให้เป็นที่สักการะกราบไหว้และ ท�ำบุญ ของภรรยาทั้งสอง ภรรยาคนแรก สร้าง “วัดบางรักใหญ่” ให้ เ ป็ น ที่ สั ก การะกราบไหว้ และท� ำ บุ ญ ส่ ว นภรรยาอี ก คนสร้ า ง “วัดบางรักน้อย” ให้เป็นที่สักการะกราบไหว้ท�ำบุญ เช่นเดียวกัน ส่ ว นตนเองก็ ไ ด้ ส ร้ า งวั ด อี ก วั ด หนึ่ ง ไว้ เ ป็ น ที่ ท� ำ บุ ญ ของตนชื่ อ ว่ า “วั ด ดาวดึ ง ส์ ” ปั จ จุ บั น เป็ น วั ด ร้ า ง อยู ่ ที่ โรงเรี ย นป่ า ไม้ อุ ทิ ศ 9 บั้นปลายชีวิตของเศรษฐีสุทิน ณ พิบาล ได้มาบวชอยู่ที่วัดบางรักน้อย และสร้ า งอุ โ บสถขึ้ น หลั ก ฐานที่ ป รากฏว่ า สร้ า งขึ้ น ในสมั ย ใดนั้ น ได้จารึกเป็นหลักฐานด้านหลังพระประธาน อุโบสถวัดบางรักน้อย กล่าวถึงผู้สร้างและวันเดือนปีที่สร้าง ประวัติเล่าว่า วัดสองวัดนี้ สร้างขึ้นเป็นวัดที่ถูกสาปไม่ให้รู้ถึงกัน แม้ว่าจะตีกลองเคาะระฆังดังขนาดไหน ก็ไม่สามารถดังถึงกันได้ ซึ่งเกิดจากสาเหตุนายสุทิน ณ พิบาล ไม่ต้องการให้ภรรยาหลวงทราบ ว่ามีภรรยาน้อยอีกจึงสาปไว้ เล่ากันว่าสมัยก่อนชุมชนวัดบางรักใหญ่ และบางรักน้อย เจอหน้ากันไม่ได้ต้องทะเลาะกันเรื่อยมา หลวงพ่อพระครูกิตติวราภิรักษ์ เล่าว่า เดิมทีวัดบางรักใหญ่และ วัดบางรักน้อย ถูกสร้างขึ้นมานานแล้ว ก่อนที่ชาวมอญจะอพยพมา ตั้งรกราก ณ บริเวณนี้ สถานที่วัดบางรักใหญ่ เป็นเพียงวัดร้าง คาดว่าสร้างมาในราวสมัยกรุงศรีอยุธยา กลายเป็นวัดร้าง เดิมทีชื่อ “วัดโพธาราม”


โบราณวัตถุ และปูชนียวัตถุ พระพุทธรูปหลวงพ่อหิน คาดว่าเป็นพระพุทธรูป ศิลปะสมัย อยุ ธ ยาปางมารวิ ชั ย พระพุ ท ธรู ป เก่ า แก่ ป ระจ� ำ วั ด บางรั ก ใหญ่ ผู้ใดสร้างไม่ทราบแน่ชัด คาดว่าสร้างในสมัยอยุธยา พ.ศ. 1893 – ปัจจุบัน มีอายุราว 670 ปี เมื่อปี พ.ศ. 2495 วิหารประดิษฐาน พระพุทธรูปปางมารวิชัย พังถล่มลงพระพุทธรูปในวิหารพังเกือบ ทั้งหมดเหลือเพียงพระพุทธรูปปางมารวิชัยองค์เดียว ไม่เป็นอะไรเลย “หลวงพ่อหิน” เป็นพระพุทธรูปที่หลวงปู่สาย ปภาโส ได้ตั้งชื่อให้ ในภายหลัง ซึง่ ก่อนหน้านีไ้ ม่ได้ชอื่ หลวงพ่อหิน เป็นพระพุทธรูปเก่าแก่ ที่สร้างร่วมสมัยกับ พระพุทธรูปปางมารวิชัย วัดบางรักน้อย วัตถุดิบ ใช้สร้างหินศิลาแลงเช่นเดียวกัน แต่มีชื่อที่ต่างกัน วัดบางรักน้อย หลวงพ่อเจ้าอาวาสในอดีตตัง้ ชือ่ ว่า หลวงพ่อเทพพนิมติ ชาวบ้านเชื่อ ว่ามีความศักดิ์สิทธิ์ในการป้องกัน เภทภัยต่างๆ นิยมขอพรความ มั่นคงมั่งคั่ง กราบไหว้เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจ จนถึงปัจจุบัน พระประธานประจ�ำอุโบสถ หลวงพ่อพุทธศรีวิชัยลาภ เป็น พระพุทธรูปเก่าแก่ สร้างสมัยใดนั้นไม่มีใครทราบแน่ชัด ย้ายจาก อุโบสถหลังเก่า มาประดิษฐาน ณ อุโบสถหลังใหม่ จากค�ำบอกเล่า ว่าเป็นพระพุทธรูปที่ขุดพบจากทุ่งนา สวนไร่ชาวบ้าน และน�ำมา ประดิษฐาน ณ อุโบสถบางรักใหญ่ มี พ.ศ. สลักที่องค์พระพุทธรูป ปี พ.ศ. 2447 คาดว่า เป็นปี พ.ศ. ที่ขุดพบ 116 ปีผ่านมา หลวงพ่ อ ทั น ใจ พระพุ ท ธรู ป หลวงพ่ อ ทั น ใจ ขออะไรสมหวั ง ดังใจนึก เป็นพระพุทธรูปทีส่ ร้างขึน้ ใหม่ ในภายหลังด้วยความครัทธาของ ชาววัดบางรักใหญ่ ในพระพุทธรูปหลวงพ่อทันใจ สร้างพระพุทธรูป ปั้นหลวงพ่อทันใจปางมารวิชัย สร้างใน พ.ศ2560 สร้างเสร็จภายใน วันเดียว เป็นที่สักการะกราบไหว้ขอพร ธูป 9 ดอก ดอกไม้ พวงมาลัย

พระครูนนทกิจจานุกูล เจ้าอาวาสวัดบางรักใหญ่

กราบไหว้สกั การะสรีระสังขาร หลวงปูส่ าย ปภาโส (พระครูนนการ ประสิทธิ์) พระเดชพระคุณหลวงปู่ อดีตเจ้าอาวาสวัดบางรักใหญ่ รูปที่ 8 หลวงปู่สายเป็นชาวบางบัวทอง เข้ารับอุปสมบทอายุประมาณ 23 ปี โดยมีหลวงพ่อชุ่ม วัดประชารังสรรค์ เป็นพระอุปัชฌาย์ ไม่เคยจ�ำพรรษาที่ใดเลย ตลอดอายุพรรษาทั้งชีวิต หลวงปู่สาย ปภาโส เป็นพระที่ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ หลังจาก อุ ป สมบท ก็ ไ ด้ ศึ ก ษาเล่ า เรี ย นผ่ า นพระอุ ป ั ช ฌาย์ ก ระทั่ ง สอบได้ นักธรรมตรี หลวงปู่เป็นพระที่เคร่งในพระธรรมวินัย เจริญวิปัสสนา กัมมัฏฐาน ด้วยตนเองเป็นทีม่ ศี ลี าจารวัตรงดงามรูปหนึง่ ไม่เคยว่าร้าย ไม่เคยกล่าวว่าร้ายใคร หลวงปู่จะพูดแต่สิ่งที่ดี ท�ำแต่สิ่งที่ดี กระทั่ง ศิษยานุศิษย์ให้ขนานนามว่า หลวงปู่เป็นผู้มี “วาจาสิทธิ์” NONTHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

115


History of buddhism....

วัดอ่วมอ่องประชานฤมิต

116

SBL บันทึกประเทศไทย I นนทบุรี


พระครูนนทกิจโกศล ดร. เจ้าอาวาสวัดอ่วมอ่องประชานฤมิต / เจ้าคณะอ�ำเภอไทรน้อย

วัดอ่วมอ่องประชานฤมิต เป็นของคณะสงฆ์เถรวาท สังกัดคณะ สงฆ์ฝา่ ยมหานิกาย ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 37 หมู่ 10 ต�ำบลหนองเพรางาย อ�ำเภอ ไทรน้อย จังหวัดนนทบุรี มีเนื้อที่ จ�ำนวน 15 ไร่ 2 งาน 15 ตารางวา เป็ น วั ด ที่ เ ป็ น ศู น ย์ ก ลางในการท� ำ กิ จ กรรมทางพระพุ ท ธศาสนา ของชุมชน รวมทั้งเป็นวัดที่ตั้งของส�ำนักงานเจ้าคณะอ�ำเภอไทรน้อย โดยมีพระครูนนทกิจโกศล, ดร. เป็นเจ้าอาวาส และเป็นผูบ้ ริหารกิจการ พระพุทธศาสนาภายในวัด วัดอ่วมอ่องประชานฤมิต นายสาย อ่วมอ่อง และนายสี อ่วมอ่อง สองคนพีน่ อ้ งได้บริจาคทรัพย์ และทีด่ นิ จ�ำนวน 15 ไร่ 2 งาน 15 ตารางวา สร้างวัดอ่วมอ่องประชานฤมิต เพื่ออุทิศผลบุญกุศลให้แก่บิดามารดา คือ คุณพ่อสอน - คุณแม่เฝือ่ น อ่วมอ่อง และด้วยความอนุเคราะห์จาก ครอบครัว ญาติพี่น้องของนายสาย และนายสี อ่วมอ่อง รวมทั้งผู้มีจิต ศรั ท ธามากมายได้ ร ่ ว มกั น บริ จ าคทรั พ ย์ ทะนุ บ� ำ รุ ง วั ด อ่ ว มอ่ อ ง ประชานฤมิตตลอดมาตั้งแต่เริ่มก่อสร้างจนถึงปัจจุบัน เสนาสนะภายในวัด - อุ โ บสถ มี ก ารเชิ ญทรงพระพุ ท ธชิ น ราช มาประดิษ ฐานอยู่ ณ วัดอ่วมอ่องประชานฤมิต จังหวัดนนทบุรี ประวัติของท่านมาจาก ณ วิหารด้านตะวันตกในวัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร จังหวัด พิษณุโลก สันนิษฐานว่าสร้างขึ้นในปี พ.ศ. 1900 ตรงกับรัชสมัย พระมหาธรรมราชาที่ 1 (ลิไทย) พระมหากษัตริยแ์ ห่งกรุงสุโขทัย พร้อม กับพระพุทธชินสีห์ พระศรีศาสดา และพระเหลือ พระพุทธชินราชได้ รับการยอมรับว่าเป็นพระพุทธรูปทีม่ พี ทุ ธลักษณะงดงามทีส่ ดุ องค์หนึง่ และยังเป็นพระพุทธรูปที่นิยมจ�ำลองกันมากที่สุดในประเทศไทย นอกจากนี้ยังเป็นพระพุทธรูปที่ประชาชนชาวไทยศรัทธาและนิยม เดินทางมากราบไหว้มากที่สุดองค์หนึ่งด้วย NONTHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

117


History of buddhism.... - หลวงพ่อประทานพร ประวัติ พระพุทธรูปปางประทานพร (นั่ง) เมื่ อ ครั้ ง พระอานนท์ ถู ก เลื อ กให้ ท� ำ หน้ า ที่ เ ป็ น พระอุ ป ั ฏ ฐากของ พระพุทธเจ้า ท่านได้ขอพร 8 ประการ จากสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พร 4 ข้อแรก ได้แก่ - ไม่ประทานจีวรอันประณีตแก่ท่าน - ไม่ประทานบิณฑบาตอันประณีตที่พระองค์ได้มาแก่ท่าน - ไม่ประทานให้ท่านอยู่คันธกุฏิเดียวกับพระพุทธองค์ - ไม่ทรงพาท่านไปในที่นิมนต์ - ขอให้พระพุทธองค์ไปในที่นิมนต์ที่ท่านรับไว้ - ถ้าท่านน�ำพุทธบริษัทมาจากแดนไกลขอให้ได้เข้าเฝ้าทันที - ถ้าท่านมีความสงสัยขอให้ถามท่านได้ทันที - ถ้าพระพุทธองค์ทรงไปแสดงพระธรรมที่ไหน ถ้าท่านไม่ได้ฟัง ขอให้ แ สดงแก่ ท ่ า นอี ก ครั้ ง หนึ่ ง ทั้ ง นี้ เ พื่ อ ป้ อ งกั น ค� ำ ครหาว่ า ท่ า น อุปฏั ฐากแล้วไม่ได้รบั ความเอือ้ เฟือ้ จากพระพุทธองค์เลยพระพุทธองค์ ได้ประทานพรทั้ง 8 ประการ แก่พระอานนท์ วิหาร กุฏิสงฆ์ เป็นเรือนไทยโบราณ 4 หลัง ศาลาการเปรียญหลังเก่าไม้ทรงไทยโบราณ ศาลาท�ำบุญมีรูปหล่อไอ้ไข่จากวัดเจดีย์ให้ชาวบ้านได้ไหว้บูชา เมรุ ฌาปนกิจศพเป็นเตาถ่าน หอระฆัง ลานปฏิบัติธรรม ศาลปู่ฤาษี สถานที่อภัยทานให้อาหารปลา ศาลาบ�ำเพ็ญกุศล 2 หลัง กุฏิแม่ชี 1 หลัง ศาลารวมใจ 1, 2

หลวงพ่อประทานพร

กุฏิสงฆ์ทรงไทยแฝด 2 ชั้น กุฏิเจ้าอาวาส 118

SBL บันทึกประเทศไทย I นนทบุรี

ล�ำดับเจ้าอาวาส รูปที่ 1 พระอธิการจรินทร์ จนฺทปญฺโญ รูปที่ 2 พระครูนนทกิจโกศล (สิริชัย สิริชโย พ.ศ.2510-),ดร. พ.ศ. 2554-ปัจจุบัน (เจ้าคณะอ�ำเภอไทรน้อย)


History Historyof ofbuddhism.... buddhism....

พระพุทธองค์แสนล้านมหาไชยมงคล

พระพุทธชินราช

SAMUT SAKHON I SBL บันทึกประเทศไทย NONTHABURI

119


History of buddhism....

วัดไทรน้อย

120

SBL บันทึกประเทศไทย I นนทบุรี


วัดไทรน้อย ปัจจุบันตั้งอยู่ที่ 40 หมู่ที่ 1 ถนนบางกรวย-ไทรน้อย ต�ำบลไทรน้อย อ�ำเภอไทรน้อย จังหวัดนนทบุรี เดิมด้านหน้าวัด อยู ่ ท างทิ ศ ตะวั น ออกเฉี ย งใต้ ติ ด คลองพระพิ ม ล ภายในอุ โ บสถ มีพระประธานประจ�ำอุโบสถ ปางมารวิชัย ขนาดหน้าตัก กว้าง 59 นิ้ ว สู ง 72 นิ้ ว ตั้ ง ชื่ อ วั ด ตามหมู ่ บ ้ า นว่ า “วั ด ไทรน้ อ ย” ได้ รั บ พระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อวันที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2526 มีโรงเรียน พระปริยตั ธิ รรมแผนกธรรม และมีการสอนธรรมศึกษา ชัน้ ตรี โท เอก วัดไทรน้อยเริ่มต้นเมื่อปี พ.ศ. 2430 ได้กลุ่มมอญจากมหาชัย บ้านบางกระเจ้า บ้านไร่และบ้านแพ้ว จังหวัดสมุทรสาคร เข้ามา หักร้างถางป่า ซึ่งแต่เดิมเป็นชายป่ากระทุ่มมืดติดต่อกับป่าหนอง เพรางายเพื่อท�ำนา พระราชาภิมณฑ์ได้ด�ำเนินการขุดคลองพระราชา พิมลจากคลองบางบัวทองมาทางทิศตะวันตกจนถึงป่ากระทุ่มมืดใกล้ รางกระทุ ่ ม จึ ง มี ค นมอญมาจั บ จองที่ ดิ น ริ ม คลองพระราชาพิ ม ล มากขึ้น จนเป็นชุมชนเล็กๆ

พระครูไพบูลย์อาทรกิจ เจ้าอาวาสวัดไทรน้อย/ เจ้าคณะต�ำบลไทรน้อย เขต 2 NONTHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

121


History of buddhism.... ปีพ.ศ. 2437 คนมอญเหล่านี้จึงได้สร้างวัดในชุมชนขึ้น ชื่อวัดสาลี มุนีภิรมย์ หมายถึง บริเวณที่ตั้งวัดเป็นที่อุดมสมบูรณ์ด้วยพืชพันธุ์ ธัญญาหารโดยเฉพาะข้าว และเป็นที่พ�ำนักอันรื่นรมย์ของผู้ทรงศีล ซึ่งมะธุ หรือ ตาธุ ได้บริจาคที่ดินจ�ำนวน 42 ไร่ 2 งาน เพื่อใช้เป็นที่ สร้างวัด ชาวบ้านได้ช่วยตัดต้นไม้ใหญ่ที่มีในพื้นที่มาเลื่อยท�ำเสา ท�ำกระดานและไม้ส�ำหรับใช้สร้างที่พักสงฆ์ หลวงตาโจ๊กพระมอญ องค์ ห นึ่ ง ได้ ม าด� ำ เนิ น การก่ อ สร้ า งจนเป็ น วั ด มี พ ระสงฆ์ ม าอยู ่ จ� ำ พรรษาที่วัดสร้างใหม่แห่งนี้ หลวงตาโจ๊กได้อยู่จ�ำพรรษาที่วัดนี้และ ช่วยเหลือในการก่อสร้างเสราสนะ และสิ่งก่อสร้างภายในวัดอยู่นาน ประมาณ 30 ปี เรียกว่า ศาลหลวงตาโจ๊ก ตั้งอยู่ริมคลองหน้าวัดทาง ทิศตะวันออกเฉียงใต้ ในเวลาต่อมา ชาวบ้านได้นิมนต์พระอาจารย์เกร็บ พระมอญจาก วัดปรมัยยิกาวาส ต�ำบลเกาะเกร็ด อ�ำเภอปากเกร็ดจังหวัดนนทบุรี มาเป็นเจ้าอาวาสรูปแรกของวัด ต่อมามีการสร้างวัดบึงลาดสวายที่ ต�ำบลภาษี อ�ำเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม ชาวบ้านวัดบึงลาดสวาย นิมนต์พระอาจารย์เกร็บไปเป็นเจ้าอาวาส ท่านจึงย้ายไปอยู่วัดบึง ลาดสวาย พระอธิการเผื่อน ได้เป็นเจ้าอาวาสในเวลาต่อมา ในสมัย พระอธิการเผื่อน สิกขโร เจ้าอาวาสรูปที่ 2 ของวัดร่วมกับก�ำนันพร ประสิ ท ธิ ชั ย ก� ำ นั น ต� ำ บลไทรน้ อ ยคนแรก และชาวบ้ า นได้ ส ร้ า ง อุโบสถ เป็นอาคารก่ออิฐถือปูนเพื่อให้พระสงฆ์ได้ท�ำสังฆกรรม

122

SBL บันทึกประเทศไทย I นนทบุรี


พระพุทธองค์แสนล้านมหาไชยมงคล SAMUT SAKHON I SBL บันทึกประเทศไทย NONTHABURI

123


History of buddhism....

124

SBL บันทึกประเทศไทย I นนทบุรี


NONTHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

125


ปี พ.ศ.2556 ได้ จั ด สร้ า งมหาเจดี ย ์ มุ นี ภิ ร มย์ เพื่อฉลองพุทธชยันตี ๒๖๐๐ ปี แห่งการตรัสรู้ของพระ สั ม มาสั ม พุ ท ธเจ้ า และถวายเป็ น พระราชกุ ศ ลแด่ พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว รั ช กาลที่ 9 และ พุทธสถานส�ำคัญที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุซึ่ง สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหา สังฆปรินายก วัดบวรนิเวศราชวรวิหารรวมทั้งเพื่อเป็น สถานที่ปฏิบัติธรรม มหาเจดีย์มุนีภิรมย์ มีขนาดกว้าง 45 เมตร ยาว 45 เมตร ความสูง 53 เมตร มีลักษณะ เป็นเจดียท์ รงนครปฐม ทัง้ นี้ ได้ประกอบพิธวี างศิลาฤกษ์ เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2555 โดยมีคุณหญิงสุดารัตน์ เกยุราพันธุ์ ร่วมวางศิลาฤกษ์ นอกจากจะมาไหว้พระขอพร กราบสักการบูชา หลวงพ่อสมปรารถนา หลวงพ่อส�ำเร็จ และหลวงพ่อทันใจ ที่ วั ด ไทรน้ อ ยแล้ ว ท่ า นสามารถเดิ น ชมตลาดน�้ ำ วัดไทรน้อย ได้อย่างเพลิดเพลิน ทั้งของกิน พื้นบ้าน พื้ น ถิ่ น ของชาวไทรน้ อ ย ได้ ทั้ ง อิ่ ม บุ ญ และอิ่ ม ท้ อ ง ชมบรรยากาศริมคลอง ร่มรื่นสะอาดตา ปีพ.ศ. 2495 ท่านเจ้าคุณพระศรีโพธิ์(เสงี่ยม) อดีตเจ้าคณะจังหวัด นนทบุรี (ต่อมาได้รับพระราชทานสมณศักดิ์สมเด็จพระพุฒาจารย์ อดีตเจ้าอาวาสวัดสุทัศน์เทพวราราม) ขณะนั้นด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าคณะ จังหวัดนนทบุรี ได้จัดให้มีการประชุมพระสังฆาธิการและมัคนายก ของวัดทั่วทั้งจังหวัดนนทบุรี ขณะนั้นพระอธิการเผื่อนเป็นเจ้าอาวาส ได้ไปร่วมประชุมพร้อมกับมัคนายกวัด ซึ่งเป็นคนมอญ ในการประชุม ครั้งนั้นท่านเจ้าคณะจังหวัดได้ให้เจ้าอาวาสและมัคนายกของทุกวัด มาแจ้ ง ชื่ อ วั ด ซึ่ ง ท่ า นเจ้ า คณะจั ง หวั ด เห็ น ว่ า ชื่ อ วั ด นั้ น ยาวมาก ประกอบกับผู้แจ้งเป็นคนมอญที่พูดไทยไม่คล่อง จึงบอกชื่อวัดเป็น ภาษาไทยไม่ได้ อีกทั้งชื่อวัดสาลีมุนีภิรมย์นั้นออกเสียงยากส�ำหรับ คนมอญสมัยนั้น จึงท�ำการเปลี่ยนชื่อวัดจากวัดสาลีมุนีภิรมย์มาเป็น วัดไทรน้อย สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ปีพ.ศ. 2499 พระอธิการเผื่อน เจ้าอาวาสวัดไทรน้อยรูปแรกใน ขณะนั้นได้มรณภาพลง ทางมัคนายกได้นิมนต์ให้หลวงพ่อประสิทธิ์ มาเป็นเจ้าอาวาสรูปที่ 2 ของวัดไทรน้อย ตั้งแต่เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2499 พร้อมทั้งได้บูรณปฏิสังขรณ์วัดไทรน้อย เมื่อออกพรรษาในปี เดียวกัน จึงได้ท�ำการฝังลูกนิมิตอุโบสถหลังเก่า ปีพ.ศ.2500 หลวงพ่อประสิทธิ์ได้ท�ำการสร้างหอปริยัติธรรม ศาลาการเปรียญ กุฏิ และปีพ.ศ.2502 อุโบสถช�ำรุด จึงสั่งรื้อ แล้ว ได้สร้างอุโบสถหลังใหม่โดยใช้เวลาสร้างประมาณ 5 ปี เมื่อ พ.ศ. 2507 จึงได้จัดงานฝังลูกนิมิต ได้กราบบังคมทูลเชิญสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จมาเป็นองค์ประธานในพิธี ตัดลูกนิมิตอุโบสถหลังใหม่ 126

SBL บันทึกประเทศไทย I นนทบุรี


History of buddhism....

NONTHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

127


History of buddhism....

วัดไทรใหญ่ 128

SBL บันทึกประเทศไทย I นนทบุรี


กราบขอพร หลวงพ่อทองคำ� วัดไทรใหญ่ พระครูวิสุทธินนทคุณ (ทวี สุทฺธวํโส) เจ้าอาวาสวัดไทรใหญ่ / ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดนนทบุรี

วัดไทรใหญ่ ตั้งอยู่เลขที่ 65 หมู่ที่ 5 ต.ไทรน้อย อ.ไทรน้อย จ.นนทบุรี เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย วั ด ไทรใหญ่ สร้ า งขึ้ น เมื่ อ ปี 2410 ช่ ว งสมั ย รั ช กาลที่ 4 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั โดยมี นางเง็ก แสงประภา เป็นผูถ้ วายทีด่ นิ เพือ่ สร้างวัด เดิมชือ่ “วัดมหานิโครธาราม” แปลว่า “ไทรต้นใหญ่” ต่อมาได้เปลี่ยนมาเป็น “วัดไทรใหญ่” เนื่องจาก ชาวบ้านเรียกง่ายกว่า นอกจากที่ตั้งวัดประมาณ 20 ไร่แล้ว นางเง็ ก ยั ง ได้ ถ วายที่ ดิ น เป็ น ที่ ธ รณี ส งฆ์ อี ก จ� ำ นวน 77 ไร่ 72 ตารางวา และนางผัน ค�ำจงจิต ได้ถวายที่ดินเป็นที่ธรณีสงฆ์ 15 ไร่ 96 ตารางวา วัดไทรใหญ่ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 10 สิงหาคม 2491 ได้ท�ำพิธีผูกพัทธสีมาเมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2498 ส�ำหรับปูชนียวัตถุที่ส�ำคัญของวัดไทรใหญ่ คือ พระประธาน ในอุโบสถขนาดหน้าตักกว้าง 1.69 เมตร ปางมารวิชัย หล่อด้วย โลหะทองสัมฤทธิ์ สร้างขึ้นสมัยอู่ทอง ฝีมือช่างหลวง มีความ งดงาม อลังการมาก ชาวบ้านทั่วไปเรียกท่านว่า “หลวงพ่อ ทองค�ำ” มีการบอกเล่ากันมาว่า ได้อัญเชิญมาจากทางหัวเมือง เหนือ เป็นพระพุทธรูปที่มีความศักดิ์สิทธิ์มาก ใครมาขอพรหรือ บนบานศาลกล่าวใดๆ มักจะสมหวังเสมอ

NONTHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

129


History of buddhism....

ส�ำหรับท่านผู้อ่านที่จะไปเยี่ยมชม วัดไทรใหญ่ นอกจากจะได้ กราบขอพร หลวงพ่อทองค�ำ แล้ว ยังมีโอกาสได้แวะชม “ตลาดน�้ำ ไทรน้ อ ย” ซึ่ ง ตั้ ง อยู ่ ริ ม คลองพระพิ ม ลราชา ติ ด กั บ วั ด ไทรใหญ่ ตลาดน�้ ำ แห่ ง นี้ เ ป็ น ศู น ย์ ร วมของอาหารคาวหวาน ผั ก ผลไม้ นานาชนิ ด ที่ ช าวบ้ า นน� ำ มาจ� ำ หน่ า ยริ ม ฝั ่ ง คลอง มี ร สชาติ อ ร่ อ ย สะอาด ถู ก หลั ก อนามั ย และราคาเป็ น กั น เอง สามารถเลื อ กซื้ อ เลือกหาได้ตามอัธยาศัย

130

SBL บันทึกประเทศไทย I นนทบุรี


พระพุทธองค์แสนล้านมหาไชยมงคล SAMUT SAKHON I SBL บันทึกประเทศไทย NONTHABURI

131


History of buddhism....

132

SBL บันทึกประเทศไทย I นนทบุรี


อีกทั้งยังมีโอกาสได้ชมทัศนียภาพ และวิถีชีวิตของชาวนนทบุรี ที่อาศัยอยู่ตามริมฝั่งคลองซึ่งยังคงสภาพความเป็นธรรมชาติและ ความเป็นไทยที่รักษาประเพณีท้องถิ่นดั้งเดิมไว้อยู่อย่างพร้อมมูล ซึ่งนับวันจะหาดูได้ยากในขณะนี้..เปิดเฉพาะวันเสาร์-อาทิตย์ และ วันหยุดนักขัตฤกษ์

หลวงพ่อทองค�ำ ที่ประดิษฐานอยู่ในอุโบสถหลังใหม่ ท�ำพิธี หล่อเมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2554 ขนาดหน้าตัก 99 นิ้ว และ มีพิธีหล่อหัวใจหลวงพ่อทองค�ำ (ทองค�ำแท้ๆ) หนัก 949.29 กรัม โดยท�ำพิธีบรรจุหัวใจหลวงพ่อทองค�ำเมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559 โดยมี เจ้ าประคุ ณ สมเด็ จ พระมหารั ช มั ง คลาจารย์ ผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช เป็นประธานในพิธี

วั น จั น ทร์ ที่ 19 กุ ม ภาพั น ธ์ พ.ศ. 2561 เวลา 15.09 น. ได้ ป ระกอบพิ ธี ย กฉั ต รและเบิ ก เนตรหลวงพ่ อ ทองค� ำ โดยมี เจ้ า พระคุ ณ สมเด็ จ พระอริ ย วงศคตญาณ สมเด็ จ พระสั ง ฆราช สกลมหาสังฆปรินายก เสด็จเป็นประธานในพิธี

NONTHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

133


History of buddhism....

History of buddhism....

วัดคลองตาคล้าย (War Kholng Ta Kline) กราบสักการะ ไหว้ขอพร หลวงพ่อบัวขาว วัดคลองตาคล้าย

พระครูถาวรสุตกิจ (เจียม ถาวโร ป.ธ.๓) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดคลองตาคล้าย

วัดคลองตาคล้าย ตั้งอยู่เลขที่ 23 บ้านคลองตาคล้าย หมู่ที่ 2 ต�ำบลไทรน้อย อ�ำเภอไทรน้อย จังหวัดนนทบุรี วั ด คลองตาคล้ า ย สร้ า งเมื่ อ ปี พ.ศ.2450 โดยมี น ายวิ ง วิงประวัติ เป็นผู้สร้างขึ้น และได้รับขนานนามตามนามท้องที่ตั้งวัด 134

SBL บันทึกประเทศไทย I นนทบุรี

วัดคลองตาคล้าย ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 13 เมษายน 2469 เขตวิสุงคามสีมากว้าง 50 เมตร ยาว 120 เมตร ผูกพัทธสีมา เมื่อวันที่ 20 เมษายนปี พ.ศ. 2469 วัดคลองตาคล้าย สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ 23 ไร่ โฉนดที่ดินเลขที่ 5018 อาณาเขต ทิศเหนือ ยาว 5 เส้น ติดต่อกับที่ดินนางมาลี กิ่งเกตุ ทิศใต้ ยาว 5 เส้น ติดต่อกับที่ดินนายถา รุ่งโรจน์ ทิศตะวันออก ยาว 4 เส้นติดต่อกับคลองตาคล้าย ทิศตะวันตก ยาว 4 เส้น ติดต่อกับที่ดินนางมาลี กิ่งเกตุ ที่ธรณี สงฆ์จ�ำนวน 1 แปลง เนื้อที่ 52 ไร่ 3 งาน 84 ตารางวา โฉนดเลขที่ 5416 พื้นที่ตั้งวัดเป็นที่ราบลุ่ม การคมนาคมทางน�้ำมีคลองตาคล้าย ผ่านทางทิศตะวันออก


พระครูถาวรสุตกิจ (เจียม ถาวโร ป.ธ.๓) เกิดวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2487 อายุ 76 ปี พรรษา 49 อุปสมบท เมื่อวันที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2514 วุฒิการศึกษา น.ธ.เอก, ป.ธ.๓, ป.บส., พธ.บ. รับต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดคลองตาคล้าย ตัง้ แต่ พ.ศ.2538 เป็นต้นมา ร่วมสร้างเส้นทางบุญ วัดคลองตาคล้าย ก�ำลังสร้างปูชนียสถาน 4 ต�ำบล ญาติธรรม และผู้มีจิตศรัทธาทั้งหลายสามารถร่วมท�ำบุญ ติดต่อกับวัดโดยตรง หรือติดต่อเจ้าอาวาส โทร 086 802 6339

ส�ำหรับปูชนียวัตถุ มี - พระประธานในอุโบสถ นามว่า หลวงพ่อบัวขาว ภายในวัดมีอาคารเสนาสนะต่างๆ ดังนี้ - อุโบสถ กว้าง 8 เมตร ยาว 23 เมตร สร้างเมื่อ 2514 ลักษณะ ทรงไทย มีช่อฟ้าใบระกา บัวปลายเสา คันทวย หน้าบันประดับด้วย กระจกและปิดทอง - กุฏิสงฆ์ จ�ำนวน 9 หลัง สร้างขึ้นตั้งแต่ปี พ.ศ.2510 เป็นต้นมา - ศาลาการเปรียญ กว้าง 18.50 เมตร ยาว 50.50 เมตร

NONTHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

135


History of buddhism....

วัดท่ากระบือ กราบสักการะ ไหว้พระ ปิดทอง หลวงพ่อรุ่ง องค์ใหญ่ที่สุดในโลก วัดท่ากระบือ ประวัติ หลวงพ่อรุ่ง ติสฺสโร พอสังเขป

หลวงพ่อรุง่ เป็นบุตรคนเดียวของนายพ่วง และนางกิม พ่วงประพันธ์ เกิดวันเสาร์ แรม 8 ค�่ำ เดือน 9 ปีระกา พ.ศ. 2416 ที่ต�ำบลหนองนกไข่ อ�ำเภอกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร เมื่อเยาว์วัยบรรพชาเป็นสามเณร และได้เรียนหนังสือไทย ขอม ภาษาบาลี มูลกัจจายน์ กับ พระอุปชั ฌาย์ทบั วัดน้อยนพคุณ กรุงเทพฯ จนกระทั่งอายุ 21 ปี ได้อุปสมบทเมื่อวันเสาร์ ที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ.2437 ขึน้ 1 ค�ำ ่ เดือน 6 ปีมะเมีย โดยเจ้าอธิการบัว วั ด น้ อ ยนพคุ ณ และเจ้ า อธิ ก ารทั บ วั ด ใหม่ ท องเสน ได้ รั บ ฉายาว่ า “ติสฺสโร” หลังจากอุปสมบท ท่านได้ย้ายมาอยู่ที่วัดท่ากระบือ ซึ่งเดิม เป็นส�ำนักสงฆ์ตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2430 หลวงพ่อรุ่งท่านมีความสนใจ ในเรื่องพระเวทย์วิทยาคมเป็นอย่างมากท่านเคยเรียนวิชาจากส�ำนัก วัดปากคลองมะขามเฒ่ากับหลวงปูศ่ ขุ เรียนวิชาธาตุ ท่านยังได้ศึกษากับ หลวงปู่นาค วัดสุนทรสถิตย์, หลวงปู่ทอง วัดราชโยธา, หลวงปู่รุน วัดช้างเผือก, พระอาจารย์หล�่ำ วัดอ่างทอง, พระอาจารย์เซ่ง วัดหงส์ อรุณรัศมีและหลวงปู่ไปล่ วัดก�ำแพง ในปี พ.ศ. 2442 พระอธิ ก ารรุ ่ ง ติ สฺ ส โร ได้ ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง เป็ น เจ้าอาวาสวัดท่ากระบือ และได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ ดังนี้ - พ.ศ.2474 เป็นพระอุปัชฌาย์ - พ.ศ.2482 เป็นพระครูชั้นประทวนเป็นชื่อ พระครูรุ่ง ติสฺสโร - พ.ศ.2483 เป็นเจ้าคณะอ�ำเภอกระทุ่มแบน - พ.ศ.2489 เป็นพระครูไพโรจน์มันตาคม (พระครูชั้นโท) - พ.ศ.2494 เป็นพระครูไพโรจน์มันตาคม (ชั้นเอก) - พ.ศ.2499 เป็นพระราชาคณะมีราชทินนามว่าพระไพโรจน์วฒ ุ าจารย์ มรณภาพเมื่อวันที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2500 ตรงกับขึ้น 3 ค�่ำ เดือน 11 ปีระกา เวลา 01.05 น. รวมอายุได้ 84 ปี

136

8

SBL บันทึกประเทศไทย I นนทบุรี

.indd 136

21/9/2563 16:47:21


NONTHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

8

.indd 137

137

21/9/2563 16:47:31


การสร้ า งวั ต ถุ ม งคลหลวงพ่ อ รุ ่ ง วั ด ท่ า กระบื อ เป็ น พระคณาจารย์ผู้ทรงคุณเรืองเวทย์พุทธาคมยิ่งองค์หนึ่งของ เมืองสมุทรสาครท่านได้สร้างวัตถุมงคลเอาไว้หลายชนิดใน วาระและโอกาสต่างๆ รวมทั้งร่วมพิธีพุทธาภิเษกครั้งส�ำคัญ อยู่เสมอเช่นพิธีวัดราชบพิธปี พ.ศ. 2481 พิธีพระพุทธชินราช อินโดจีน วัดสุทัศน์และพิธี 25 พุทธศตวรรษ เป็นต้น

เหรียญหลวงพ่อรุ่ง รุ่นแรก พิมพ์หน้าหนุ่มยันต์ตรงไข่ปลาตาขีด พ.ศ.2484SBL เนื้อทองแดง บันทึกประเทศไทย

138

8

.indd 138

I

เหรียญหลวงพ่อรุ่ง รุ่นแรก พิมพ์หน้าหนุ่มยันต์ตรงขาปลาตาเม็ด นนทบุรี พ.ศ. 2484 เนื้อทองแดง

เหรียญหลวงพ่อรุ่ง วัดท่ากระบือรุ่นแรก พ.ศ.2484 - เหรียญหลวงพ่อรุ่งหน้าหนุ่มยันต์ตรงไข่ปลาตาขีด - เหรียญหลวงพ่อรุ่งหน้าหนุ่มยันต์ตรงขาปลาตาเม็ด - เหรียญหลวงพ่อรุ่งหน้าแก่ยันต์หยิกพิมพ์นิยม เหรียญหลวงพ่อรุ่งวัดท่ากระบือรุ่น 2 พ.ศ.2488 - เหรียญหลวงพ่อรุ่งพิมพ์หลังพระประธาน เหรียญหลวงพ่อรุ่งวัดท่ากระบือรุ่น 3 พ.ศ.2500 - เหรียญหลวงพ่อรุ่งพิมพ์พัดยศ

เหรียญหลวงพ่อรุ่ง รุ่นแรก พิมพ์นิยมหน้าแก่หลังยันต์หยิก พ.ศ. 2484 เนื้อเงินลงยา

เหรียญหลวงพ่อรุ่ง รุ่นสอง พิมพ์หลังพระประธาน พ.ศ. 2488 เนื้อทองแดง บล็อกหลังไม่มีเม็ดกลาก

เหรียญพัดยศ หลวงพ่อรุ่ง พ.ศ. 2500 เนื้อเงิน

21/9/2563 16:47:41


พระครูสิริสาครธรรม เจ้าอาวาสวัดท่ากระบือ

สัญญาบัตรเทียบเท่า ผู้ช่วยเจ้าอาวาสพระอารามหลวงชั้นพิเศษ

ประวัติเจ้าอาวาสองค์ปัจจุบัน ( พอสังเขป)

พระครูสิริสาครธรรม (จ�ำนงค์ คุณงฺโค ป.ธ.5) พระครูสริ สิ าครธรรม มีนามเดิมว่า จ�ำนงค์ ฉิมมณี เกิดเมือ่ วันจันทร์ ที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2493 ขึ้น 1 ค�ำ่ เดือน 2 ปีขาล ณ บ้านเลขที่ 8 หมู่ที่ 4 ต�ำบลหนองนกไข่ อ�ำเภอกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร โยมบิดา นายจ๊วน โยมมารดา นางจรินทร์ ฉิมมณี บรรพชา เมื่อ วันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2506 อายุ 14 ปี โดยมี พระครูวิเศษสมุทคุณ ( หลวงปู่ฮะ) วัดดอนไก่ดี เป็นพระอุปัชฌาย์ ณ กุฏิหลวงพ่อวัดท่ากระบือ จ�ำพรรษาที่วัดหนองนกไข่ มีพระอธิการ ประดับ ปญฺญาพโล เป็นผู้ให้อุปการะปกครอง ให้การศึกษานักธรรม

อุปสมบท วันที่ 21 มิถนุ ายน พ.ศ. 2514 ณ พัทธสีมา วัดหนองนกไข่ โดยมีพระเทพวรเวที ปัจจุบันได้เลื่อนสมณศักดิ์เป็น สมเด็จพระ มหารัชมังคลาจารย์ (ช่วง วรปุญโญ) เจ้าอาวาสวัดปากน�ำ้ เป็นพระอุปชั ฌาย์ พระครูสงั ฆรักษ์แกะ ญาณธมฺโม ปัจจุบนั ได้รบั สมณศักดิท์ ี่ พระครูปลัด สุวฒ ั น์วรคุณ เจ้าอาวาสวัดสวนส้ม เป็น พระกรรมวาจาจารย์ พระอธิการ ประดับ ปญฺญาพโล ปัจจุบัน ได้รับสมณศักดิ์เป็นพระครูสัญญาบัตรที่ พระครูสาครปัญญาคุณ เจ้าอาวาสวัดหนองนกไข่ เป็นพระอนุสาวนาจารย์ ได้รับนามฉายา คุณงฺโค พระครูสิริสาครธรรม ( พระมหาจ�ำนงค์ คุณงฺโค) เจ้าอาวาสองค์ ปัจจุบนั ท่านเป็นพระนักพัฒนา ปฏิบตั ธิ รรมเคร่งในระเบียบวินยั เป็น นักพัฒนาอัธยาศัยดีเลิศ เป็นที่เคารพนับถือแก่ญาติธรรมทั้งหลาย ที่ได้มากราบไหว้ขอพร NONTHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

8

.indd 139

139

21/9/2563 16:47:45


อุโบสถ

วัดท่ากระบือ

ประวัติวัดท่ากระบือ (พอสังเขป)

วัดท่ากระบือ ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 17 หมู่ 5 ต�ำบลบางยาง อ�ำเภอกระทุม่ แบน จังหวัดสมุทรสาคร แต่เดิมเป็นเพียงส�ำนักสงฆ์ ตัง้ ขึน้ เมือ่ ปี พ.ศ. 2430 ต่อมา จึ ง ยกฐานะเป็น วัด ชื่อ วั ด ท่ า ควาย หลวงพ่อ รุ ่ง เห็ น ว่ า ชื่อ ไม่ ไ พเราะ จึงเปลีย่ นเป็น วัดท่ากระบือ จนถึงปัจจุบนั ความเป็นมาของชือ่ วัดท่ากระบือ (วัดท่าควาย) เนื่องจากบริเวณนี้เป็นท่าน�้ำส�ำหรับน�ำควายข้ามแม่น�้ำ เพื่อน�ำควายไปขายหรือไปท�ำนา

ถาวรวัตถุที่ส�ำคัญภายในวัดท่ากระบือ

อุโบสถ สร้างเมือ่ ปีพ.ศ. 2485 ปัจจุบนั ได้รบั การบูรณะแล้ว อาคารทรงไทย ก่ออิฐถือปูนทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า หลังคาเครื่องไม้มุงกระเบื้องลดชั้น 2 ชั้น ซ้อนกันชั้นละ 3 ตับ ช่อฟ้าใบระกา หางหงส์ หน้าบันไม้แกะสลักประดับ กระจกสี ด้านหน้ามีมุขลด รองรับโครงหลังคาด้วยเสาปูนสี่เหลี่ยม ด้านข้าง มีคนั ทวย ผนังก่ออิฐถือปูนตัง้ อยูบ่ นฐานบัว ด้านหน้ามีประตูทางเข้า 2 ประตู ซุม้ ประตูทรงมณฑป ผนังตอนบนระหว่างซุม้ หน้าต่างมีภาพจิตรกรรมฝาผนัง โดยรอบอาคารเป็นระเบียงทางเดินและมีบันไดทางขึ้นทางด้านหน้าและ ด้านข้าง ภายในอุโบสถประดิษฐานพระประธาน เป็นพระพุทธรูปประทับนัง่ แสดงปางสมาธิ และฝาผนังมีภาพจิตรกรรมที่เขียนขึ้นใหม่ นับเป็นจุดเด่น ของอุโบสถมีวิหารขนาบข้างซ้ายและขวาซึ่งมีเพียงหนึ่งเดียวในสมุทรสาคร 140

8

SBL บันทึกประเทศไทย I นนทบุรี

.indd 140

21/9/2563 16:47:56


วิหาร 2 หลัง ตั้งอยู่ด้านข้างของอุโบสถ สร้างเมือ่ ปี พ.ศ. 2493 ลักษณะเป็นอาคารทรงไทย ก่ออิฐถือปูน หลังคาเครื่องไม้มุงกระเบื้องลดชั้น 2 ชั้น ซ้อนกันชั้นละ 2 ตับ มีชอ่ ฟ้า ใบระกา หางหงส์ ด้านหน้ามีมขุ ลด รองรับ โครงหลังคาด้วยเสา 4 ต้น ด้านข้างมีชายคาปีกนก เสาหลอกและคันทวย ผนังอาคารก่ออิฐถือปูนตั้งอยู่บน ฐานบัว

พระปรางค์ พระปรางค์ จ�ำนวน 4 องค์ ตั้งอยู่ทาง ด้านตะวันออกของอุโบสถติดกับแม่นำ�้ ท่าจีน ลักษณะเป็น เจดี ย ์ ท รงปรางค์ ก่ อ อิ ฐ ถื อ ปู น ตั้ ง อยู ่ บ นฐานเขี ย ง ที่ฐานมีค�ำอุทิศจารึกอยู่บนแผ่นหินอ่อน ถัดขึ้นไปเป็น ชุ ด ฐานสิ ง ห์ เรือนธาตุมีซุ้ม จระน�ำทั้งสี่ทิศ ส่วนยอด ทรงปรางค์ มีนพศูลโลหะประดับอยู่

NONTHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

8

.indd 141

141

21/9/2563 16:48:04


วิหารจตุรมุข พระไพโรจน์วุฒาจารย์ (หลวงพ่อรุ่ง) ประดิษฐาน รูปหล่อเหมือนขนาดเท่าองค์จริง ภายในองค์ทา่ นได้บรรจุอฐั ธิ าตุไว้เมือ่ ปี พ.ศ. 2501 ศาลาการเปรียญ ด้านหน้าทรงจัตรุ มุข สร้างเมือ่ ปีพ.ศ. 2462 และ ได้รบั การบูรณะเมือ่ พ.ศ. 2533 ลักษณะเป็นอาคารทรงไทยยกพืน้ สูง หลังคาเครื่องไม้มุงกระเบื้อง มีชายคาปีกนกโดยรอบ

ศาลาการเปรียญ วัดท่ากระบือ

142

8

SBL บันทึกประเทศไทย I นนทบุรี

.indd 142

21/9/2563 16:48:18


นอกจากนี้ ทางวัดยังมีที่ให้อาหารปลาหน้าวัดท่ากระบือริมแม่น�้ำท่าจีน ก็สร้างบุญได้อีกทางหนึ่งเช่นกัน และเพื่อความเป็นสิรมิ งคล ในชีวติ อย่าลืมเช่าบูชาเหรียญหลวงพ่อรุง่ ตะกรุด ผ้ายันต์ หรือเครือ่ งรางของขลัง ติดตัวกลับบ้านตามจิตศรัทธา เพราะเป็นการร่วมกัน บริจาคทรัพย์เพื่อบ�ำรุงศาสนสถาน ศาสนวัตถุภายในวัดท่ากระบือด้วย สาธุชนทัง้ หลายทีไ่ ด้มโี อกาสผ่านไปแถววัดท่ากระบือ อย่าลืมแวะกราบไหว้หลวงพ่อรุง่ องค์ใหญ่ทสี่ ดุ ในโลกและเทีย่ วชมความงามของ วัดท่ากระบือ และท่านยังได้เรียนรูว้ ถิ ชี วี ติ ของชาวสวนเกษตรต�ำบลบางยางอย่างใกล้ชดิ ด้วย ทางวัดได้รว่ มกับต�ำบลและประชาชนในพืน้ ที่ ช่วยกันจัดตลาดน�้ำขึ้นเพื่อส่งเสริมอาชีพ และน�ำเสนอวิถีชีวิตความเป็นอยูข่ องคนในชุมชนให้มคี วามเข้มแข็ง สามารถพึง่ พาตนเองได้

NONTHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

8

.indd 143

143

21/9/2563 16:48:27


กรรมการวัดท่ากระบือ

ก�ำนันพิษณุ ชวนเที่ยว แบบชิคชิค ใช้ชีวิตแบบชิวชิว

ตลาดริมน�ำ้ รุง่ ประชารัฐวัดท่ากระบือนี้ จะจัดทุกวันเสาร์ – อาทิตย์ ตั้งแต่เวลา 06.00 น.เป็นต้นไป ที่บริเวณลานตลาดแพริมแม่น�้ำหน้า วัดท่ากระบือ โดยจะมีเกษตรกรในชุมชน ต�ำบลบางยาง ต�ำบลหนองนกไข่ และพื้นที่ใกล้เคียง ซึ่งเป็นผู้เพาะปลูก พืช ผัก ผลไม้ กลุ่มอาชีพ กลุ่มวิสาหกิจชุมชน ฯลฯ มาจัดจ�ำหน่ายสินค้าโดยตรง เพื่อเป็นการ ประชาสัมพันธ์และส่งเสริมตลาด ขยายผลผลิตคุณภาพสู่ตลาดชุมชน ตามแหล่งท่องเทีย่ วส�ำคัญชุมชน เพือ่ เป็นการเพิม่ ช่องทางให้เกษตรกร และชาวสวนในชุมชนที่ปลูกพืชผักผลไม้ต่างๆ

144

8

SBL บันทึกประเทศไทย I นนทบุรี

.indd 144

21/9/2563 16:48:38


ได้มีสถานที่จ�ำหน่ายสินค้าทางการเกษตรให้กับผู้บริโภคโดยตรง เพือ่ ให้กลุม่ อาชีพ กลุม่ วิสาหกิจชุมชน ได้นำ� สินค้าของกลุม่ มาจ�ำหน่าย เป็ น การเพิ่ ม รายได้ เพื่ อ กระตุ ้ น เศรษฐกิ จ ในระดั บ ฐานราก ซึ่ ง สอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาลและเพือ่ เป็นการเชือ่ มโยงการท่องเทีย่ ว แบบวิถีชีวิตชุมชนของจังหวัดสมุทรสาครทั้ง 3 อ�ำเภอ ให้เป็นที่รู้จัก มากยิ่ ง ขึ้ น ซึ่ ง นั ก ท่ อ งเที่ ย วสามารถเดิ น ทางมาท่ อ งเที่ ย วได้ แ บบ One Day Trip ไม่ต้องใช้เงินทองมากมาย แต่ได้ทั้งท�ำบุญไหว้พระ หลวงพ่อรุ่ง พระเกจิชื่อดังแห่งลุ่มน�้ำท่าจีน และยังได้จับจ่ายซื้อสินค้า ดีมีคุณภาพจากเกษตรกรโดยตรงอีกด้วย จึงขอเชิญชวนให้ทุกคน มาเที่ยวที่ ตลาดประชารัฐวัดท่ากระบือ ณ บริเวณแพริมน�้ำหน้า วัดท่ากระบือ ต.บางยาง อ.กระทุ่มแบน จ.สมุทรสาคร ทุกวันเสาร์ – อาทิตย์ ตั้งแต่เวลา 06.00 น. เป็นต้นไป NONTHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

8

.indd 145

145

21/9/2563 16:48:48


146

SBL บันทึกประเทศไทย I นนทบุรี


History of buddhism....

วัดอ่วมอ่องประชานฤมิต

ตั้งอยู่เลขที่ 37 หมู่ 10 ต�ำบลหนองเพรางาย อ�ำเภอไทรน้อย จังหวัดนนทบุรี NONTHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

147


Buddhism

in Thailand

SBL บันทึกประเทศไทย น�ำเสนอเรื่องราวของจังหวัดต่างๆ ทั่วประเทศไทย อย่างเจาะลึกและครอบคลุมทุกมิติ อาทิ มิติด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ จากหน่วยงานราชการส�ำคัญในจังหวัด มิติด้านการท่องเที่ยวที่สดใหม่ทันสมัย ทั้งสถานที่เที่ยว ที่พัก ร้านอาหาร ร้านกาแฟ แหล่งช็อปปิ้งใหม่ๆ ฯลฯ มิติด้านอุตสาหกรรม-การค้าการลงทุนที่เป็นตัวขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ตลอดจนมิติด้านการศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม และวิถีชีวิต ที่มีจุดเด่นและมีเอกลักษณ์น่าสนใจ

WWW.SBL.CO.TH

.indd 148

21/9/2563 17:20:59


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.