นิตยสารแนะน�ำแหล่งท่องเที่ยวและของดีจังหวัดสุพรรณบุรี ประจ�ำปี 2563 EXCLUSIVE
เปิดโครงการเศรษฐกิจ จิตอาสาวิถีธรรมชาติ วันเสาร์เข้าวัด นายเดชา ก่อเกิด ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงาน พระพุ ทธศาสนา จังหวัดสุพรรณบุรี วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ วัดคู่บ้านคู่เมือง อายุไม่ต�่ำกว่า 600 ปี จังหวัดสุพรรณบุรี
จังหวัดสุพรรณบุรี
Vol.10 Issue 112/2020
SUPHAN BURI
www.issuu.com
.indd 3
14/10/2563 17:24:20
History of buddhism....
วัดเจ้าพระยาธรรมาราม พระอธิการจรูญ ปิยสีโล เจ้าอาวาสวัดเจ้าพระยาธรรมาราม
วัดเจ้าพระยาธรรมาราม ตั้งอยู่เลขที่ 49 หมู่ 2 ต�ำบลพิหารแดง อ�ำเภอเมืองสุพรรณบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย
2
วัดเจ้าพระยาธรรมาราม มีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ 12 ไร่ 2 งาน 36 ตารางวา ภายหลังมีการขยายเขตด้านทิศตะวันออกไปอีกประมาณ 17 ไร่ และด้านทิศตะวันตก อีก 23 ไร่ ปัจจุบันมีที่ดินทั้งหมดประมาณ 52 ไร่เศษ และมีโครงการสมทบทุน จัดซื้อที่ดินขยายอาณาเขตของวัดออกไปอีกเพื่อสร้างป่าล้อมวัด เพื่อเป็นรมณีย สถานอันสงบเงียบ ร่มเย็นเหมาะกับการปฏิบัติภาวนา วิปัสสนากรรมฐาน
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
2
.indd 2
9/10/2563 16:14:10
วัดเจ้าพระยาธรรมาราม ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2542 โดยมีนายเฉลิม มั่งคงดี พร้อมทั้งครอบครัวได้ถวายที่ดินเพื่อ สร้างวัด และ นายส�ำราญ พรหมาส เป็นผู้ขออนุญาตสร้างวัด แนวทางปฏิบัติของวัดเจ้าพระยาธรรมาราม ผู้ปฏิบัติเน้นใน ไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ ปัญญา และสอนบุคคลทั่วไปในเรื่องของ ทาน ศีล ภาวนา หลักของการภาวนาคือ อาณาปานสติเป็นเบื้องต้น
การบริหารและการปกครอง มีเจ้าอาวาสเท่าที่ทราบนาม คือ 1. พระชุบ (รักษาการ) 2. พระสนธิ สันติตโช 3. พระอธิการจรูญ ปิยสีโล
พ.ศ. 2532 – 2535 พ.ศ. 2535 - 2541 พ.ศ. 2541 – ปัจจุบัน
SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 3
3
9/10/2563 16:14:22
ยอดเขาเทวดา สมบูรณ์ที่สุดของ จังหวัดสุพรรณบุรี 4
.indd 4
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
13/10/2563 12:12:49
ดินแดนแห่งขุนเขา อุทยานแห่งชาติพุเตย
SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 5
5
13/10/2563 12:12:50
6
.indd 6
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
13/10/2563 12:12:52
อ่างเก็บน�้ำหุบเขาวง ปางอุ๋งสุพรรณบุรี SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 7
7
13/10/2563 12:12:54
8
.indd 8
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
13/10/2563 12:12:56
SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 9
9
13/10/2563 12:12:57
Ad 10
.indd 10
14/10/2563 13:40:36
ก้าวเข้าสู่ปีที่ 10
บั น ทึ ก ประเทศไทย ถือเป็นแหล่งข้อ มู ล อ้ า งอิ งได้ อ ย่ า งสมบู ร ณ์ โดยให้ ร ายละเอี ยดข้ อมู ลอย่ า งครบถ้ ว น สมบู ร ณ์ และถู กต้ อง พร้อมรู ป ภาพจากสถานที่จริ ง ณ ปั จจุ บัน ล้ ว นได้ ถูกบั นทึ กเอาไว้ แ ล้ ว ในหนั ง สื อเล่ มนี้ !
Ad 10
.indd 11
10 th
ANNIVERSARY ISSUE
14/10/2563 13:40:59
Editor's talk.indd 12
14/10/2563 13:43:23
SBL
EDITOR’S
บันทึกประเทศไทย www.sbl.co.th issue 109/2020
บริษัท สมาร์ทบิซิเนสไลน์ จ�ำกัด 9/4-6 ถนนรามอินทรา แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพฯ 10220 โทรศัพท์ : 0-2522-7171 เว็บไซต์ : www.sbl.co.th คณะผู้บริหาร คณะที่ปรึกษา : ศ.ดร.กฤช เพิ่มทันจิตต์, พลเอกสรชัช วรปัญญา, ดร.นิเวศน์ กันไทยราษฎร์, ดร.ประยุทธ คงเฉลิมวัฒน์, ดร.ชาญ ธาระวาส, ดร.สุมิท แช่มประสิท, ดร.วัลลภ อารีรบ, ดร.พิชัย ทรัพย์เกิด, ดร.ไอศูรย์ ดีรัตน์, ดร.สุเทษณ์ จันทรุกขา, ดร.อรรถสิทธิ์ ตันติวิรัชกุล
ปัณณ์ฐาโชค ธนสานสิทธิโชติ
อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์
วนัสกฤษณ์ ศิลปรังสรรค์
บรรณาธิการการตลาด นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย
บรรณาธิการอ�ำนวยการ นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย
บรรณาธิการงานบุคคล นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย
สุพรรณบุรไี ด้ชอื่ ว่าเป็นเมืองประวัตศิ าสตร์ มีโบราณสถานโบราณวัตถุ และวัดวาอาราม เก่าแก่ สิ่งปลูกสร้างอันทรงคุณค่าทางพุทธศาสนามากมาย รวมถึงพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ อายุหลายร้อยปี ซึง่ เป็นศูนย์รวมความเชือ่ ความศรัทธาของชาวงจังหวัดสุพรรณบุรมี าตัง้ แต่ อดีตจนถึงปัจจุบนั SBL บันทึกประเทศไทย ขอเชิญชวนทุกท่านไปกราบสักการะสิง่ ศักดิส์ ทิ ธิ์ คู่บ้านคู่เมืองสุพรรณบุรี เพื่อความเป็นสิริมงคลกันครับ อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์ บรรณาธิการอ�ำนวยการ มาถึงเรือนมาเยือนถึงถิ่นเมืองสุพรรณบุรีกันทั้งที การได้ไปกราบสักการะหลวงพ่อโต พระพุทธรูปองค์ใหญ่สงู ตระหง่านและศักดิส์ ทิ ธิ์ ทีว่ ดั ป่าเลไลยก์วรวิหาร ถือว่าเป็นสิรมิ งคล ต่อชีวติ อย่างยิง่ ครับ ส่วนท่านใดทีเ่ ป็นสายเข้าวัดท�ำบุญ จังหวัดสุพรรณบุรยี งั มีวดั วาอาราม เก่าแก่และสิ่งศักดิ์สิทธิ์อีกมากมายรอการมาเยือนอยู่นะครับ ปัณณ์ฐาโชค ธนสานสิทธิโชติ บรรณาธิการการตลาด ถ้าชีวิตไปต่อไม่ไหว เราจ�ำเป็นต้อง “พักก่อน” ทิ้งความเครียด โยนความทุกข์ ที่ท�ำให้ จิตใจเศร้าหมอง แล้วออกเดินทางไปหาความเงียบ ความสงบ อยู่กับตัวเองสักพัก เที่ยววัด กราบพระขอพรที่จังหวัดสุพรรณบุรีกันครับ วนัสกฤษณ์ ศิลปรังสรรค์ บรรณาธิการฝ่ายบุคคล
บรรณาธิการอ�ำนวยการ : อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์ บรรณาธิการงานบุคคล : พงษ์ศักดิ์ พรณัฐวุฒิกุล, วนัสกฤษณ์ ศิลปรังสรรค์ บรรณาธิการการตลาด : ปัณณ์ฐาโชค ธนสานสิทธิโชติ ฝ่ายประสานงานโครงการภาครัฐและเอกชน ผู้จัดการ : กิตติชัย ศรีสมุทร, ทวัชร์ ศรีธามาศ, อัครกฤษ หวานวงศ์, ภูษิต วิทยา คณะทีมงาน : อรรถพร สว่างแจ้ง, ธนิน ตั้งธ�ำรงจิต, ถาวร เวปุละ, พุฒิธร จันทร์หอม, อมร อนันต์รัตนสุข, นิรุจน์ แก้วเล็ก, สุษฎา พรหมคีรี, พร้อมพงศ์ สืบด้วง, สรวิชญ์ อังกูรศุภเศรษฐ์ ผู้จัดการฝ่ายประสานงานข้อมูล : นันท์ธนาดา พลพวก ฝ่ายประสานงานข้อมูล : ศุภญา บุญช่วยชีพ, นลัชนันท์ เทียมเกตุทวีโชค นักเขียน : มนสิกุล โอวาทเภสัชช์ ฝ่ายศิลปกรรม ผู้จัดการฝ่ายศิลปกรรม : พัชรา ค�ำมี กราฟิกดี ไซน์ : พิมพ์พิสุทธิ์ พังจูนันท์, วรเชษฐ สมประสงค์, อนุธิดา ค�ำหล้า ช่างภาพ : ปณต ปิติจารุวิศาล, กิติวัฒน์ ทิศมั่ง วิทยา ประเสริฐสังข์, ธีระพงษ์ ธรรมเจริญ ตัดต่อวีดีโอ : วัชรกรณ์ พรหมจรรย์, ณัฐพล ชื่นข�ำ ฝ่ายบัญชี / การเงิน บัญชี : ปัฐมาภรณ์ แสงบุราณ ผู้จัดการฝ่ายการเงิน : สุจิตรา แดนแก้วนิต การเงิน : ชวัลชา นกขุนทอง, สุภาวรรณ สุวรรณวงค์
SBL MAGAZINE
Editor's talk.indd 13
14/10/2563 13:43:29
112
ISSUE
CONTENTS วัดเจ้าพระยาธรรมาราม 2 SUPHAN BURI 16 PROVINCIAL OFFICE OF BUDDHISM
นายเดชา ก่อเกิด ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงาน พระพุทธศาสนาจังหวัดสุพรรณบุรี
วัดวิมลโภคาราม วัดลาวทอง วัดอุทุมพราราม วัดสองเขต วัดศรีสันต์มณฑาราม (ไผ่แปลกแม่)
Editor's talk.indd 14
22 24 30 36 41
42 44 46 48 50 52 54 56 58 60
วัดสมอลม วัดพุทธมงคล (หนองปรือ) วัดไผ่ลูกนก วัดการ้อง วัดสังฆจายเถร วัดบ้านโพธิ์ตะวันตก วัดสวนแตง วัดปู่บัว วัดม่วง วัดสารภี
14/10/2563 13:43:36
วัดลาดกระจับ วัดพระนอน วัดหน่อพุทธางกูร วัดคันทด วัดโคกโคเฒ่า วัดดอนโพธิ์ทอง วัดน้อย วัดภูเขาดิน วัดโรงช้าง วัดพร้าว วัดราษฎร์ศรัทธาธรรม วัดโพธิ์นางเทรา วัดสระกระโจม วัดท่าเตียน วัดฝาโถ
62 64 66 68 70 72 74 76 77 78 79 80 86 90 96
SUPHAN BURI
Editor's talk.indd 15
102 106 108 114 120 124 128 131 132 134 136 141 142 148 154 158 160
วัดกุ่มโคก วัดยางนอน วัดเดิมบาง วัดบรรหารแจ่มใส วัดเขาถ�้ำหมี วัดเขาตะเภาทอง วัดบ้านกล้วย วัดสาลี วัดป่าพฤกษ์ วัดสวนหงส์ วัดดอนบุบผาราม วัดบ้านกร่าง วัดสัปรสเทศ วัดพังม่วง วัดไก่เตี้ย วัดคลองชะโด วัดเทพสุธาวาส (วัดตึก)
162 164 166 168 173 174 178 182 184 186 188 190 192 198 204 208 214 216 218 220 222 224 230 234 238 242 244 246 248
วัดห้วยเจริญ วัดม่วงเจริญผล วัดโพธิ์ศรีเจริญ วัดใหม่นพรัตน์ วัดเกาะแก้ว วัดศรีเฉลิมเขต วัดทุ่งเข็น วัดบางสาม วัดอนัมนิกาย เฉลิมพระชนมพรรษากาล (วัดเง็กเซ่งตั๋ว) วัดทองประดิษฐ์ วัดบวรศิริธรรม วัดศรีประทุนทอง วัดบางซอ วัดสามชุก วัดวังหิน วัดหนองผักนาก วัดทุ่งแฝก วัดล�ำพระยา วัดวังหว้า วัดหนองบัวทอง วัดกระเสียว วัดยางยี่แส วัดคอกวัว วัดพระธาตุโพธิ์ทอง วัดโพธาราม วัดโสภาวราราม (หนองกุฏิ) วัดโภคาราม วัดห้วยมงคล วัดโป่งพรานอินทร์
14/10/2563 13:43:42
EXC LU SI VE I N TE RVI EW
SUPHAN BURI PROVINCIAL OFFICE OF BUDDHISM นายเดชา ก่อเกิด
ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดสุพรรณบุรี
16
.
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
อนุส. รณ์สถานท้(6าวสุรนารี าโม) อ�ำเภอเมือง ).indd(ย่16
9/10/2563 15:31:15
EXC LU S IV E
วิสัยทัศน์ (Vision) ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัด สุ พ รรณบุ รี เป็ น หน่ ว ยงานในการ ขับเคลื่อนพระพุทธศาสนา ให้มีความ มั่นคงยั่งยืน และสังคมมีความสุขด้วย หลักพุทธธรรม พันธกิจ (Mission) ส่งเสริม สนับสนุน และสนองงาน คณะสงฆ์ ให้พระพุทธศาสนาเจริญ งอกงาม โดยพัฒนาความรู้คู่คุณธรรม เพื่ อ ให้ สั ง คมพุ ท ธธรรมมี ค วามเข้ ม แข็ง และกิจการทางพระพุทธศาสนา มีความมั่นคงยั่งยืน
นายเดชา ก่ อ เกิ ด
ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานพระพุทธศาสนา จังหวัดสุพรรณบุรี
SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.
.
(6
).indd 17
17
9/10/2563 15:31:18
EXC LU SI VE I N TE RVI EW
โครงการ นวัตกรรมขับเคลื่อนศีลธรรมอย่างเป็นระบบ สร้างสังคมสงบสุข เพื่อสันติสุขยั่งยืน โรงเรียนรักษาศีล 5 เชิงคุณภาพ ครอบครัวอบอุ่น ง่ายเกินคาด ผลเกินคุ้ม ระบบยั่งยืน คือ โครงการที่สนับสนุนสถาบันการศึกษาในการ พัฒนาเยาวชนให้เป็นคนดีมีศีลธรรม ด้วยกรอบแนวคิด “7 กิจวัตรความดี” ผ่านแพลตฟอร์มศีลธรรมออนไลน์ พร้อมแคมเปญกิจกรรมเสริม ทักษะชีวิตอย่างสร้างสรรค์ 18
.
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.
(6
).indd 18
9/10/2563 15:31:24
SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.
.
(6
).indd 19
19
9/10/2563 15:31:26
ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดสุพรรณบุรี เชิญ ชวนไหว้พระ 9 วัดส�ำคัญเมืองสุพรรณฯ ได้แก่ 1. วัดป่าเลไลยก์วรวิหาร ไปเริ่มกันที่วัดเก่าแก่คู่บ้านคู่เมือง สุ พ รรณบุ รี ที่ ไ ม่ ค วรพลาดเป็ น อย่ า งยิ่ ง ตั้ ง อยู ่ ริ ม ถนนมาลั ย แมน ต�ำบลรั้วใหญ่ อ�ำเภอเมือง อยู่ทางฝั่งตะวันตกของล�ำน�้ำสุพรรณฯ วั ด ป่ า เลไลยก์ เ ป็ น พระอารามหลวง ประดิ ษ ฐาน “หลวงพ่ อ โต ปางป่าเลไลยก์” องค์ใหญ่และสวยงามทีส่ ดุ ของจังหวัดสุพรรณบุรี โดย ภายในองค์พระพุทธรูป บรรจุ “พระบรมสารีริกธาตุไว้ 36 องค์” 2. วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ ตั้งอยู่บนถนนสมภารคง แยกจาก ถนนมาลัยแมนไปประมาณ 300 เมตร ด้านทิศตะวันตกของแม่น�้ำ สุพรรณบุรี เป็นวัดคู่บ้านคู่เมืองที่ปลูกสร้างขึ้นในสมัยของพระเจ้า อู่ทอง ซึ่งมีอายุไม่ต�่ำกว่า 300 ปี ภายในพระปรางค์องค์ประธานเป็น ที่บรรจุพระบรมสารีริกธาตุไว้ “ไหว้พระพุทธรูปหินทราย 279 องค์” พระพิมพ์ผงสุพรรณบุรที จี่ ดั ว่าโด่งดังมากทีส่ ดุ หนึง่ ใน “เบญจภาคี 5” 3. วัดแค ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นค่ายเก่า ต�ำบลรัว้ ใหญ่ อ�ำเภอเมือง จังหวัด สุพรรณบุรี นมัสการ “พระพุทธบาทสีร่ อย” และพระประธาน ในวิหาร มหาอุ ต ม์ วั ด แคเป็ น วั ด ที่ มี ชื่ อ อยู ่ ใ นวรรณคดี “ขุ น ช้ า งขุ น แผน” ภายในวัดมีต้นมะขามใหญ่ โคนต้นโดยรอบวัดได้ประมาณ 10 เมตร เชือ่ กันว่าขุนแผนได้มาเรียนวิชาเสกใบมะขามให้เป็นตัวต่อตัวแตน จาก มะขามต้นนี้ เพื่อจู่โจมตีข้าศึก 4. วัดสารภี เดินทางมากราบนมัสการ “พระพุทธมีนีศรีมงคล” กันทีต่ ำ� บลพิหารแดง อ�ำเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี เป็นพระประธาน ในโบสถ์มหาอุตม์วดั สารภี และลอดท้องช้างพระอินทร์ทรงช้างเอราวัณ 5. วัดพระลอย กราบนมัสการ “พระนาคปรกสมัยลพบุรี อายุ กว่า 800 ปี” ที่ต�ำบลรั้วใหญ่ อ�ำเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี และเดิน ชมอุทยานมัจฉา ทีม่ าของชือ่ วัดพระลอยนัน้ ในอดีตเคยมีพระพุทธรูป ลอยมาตามน�้ำ ชาวบ้านจึงได้ช่วยกันอัญเชิญขึ้นมาประดิษฐานไว้ใน วิหารของวัด จึงได้ตั้งชื่อว่า “วัดพระลอย” 6. วัดหน่อพุทธางกูร เดิมชือ่ “วัดมะขามหน่อ” อยูฝ่ ง่ั ทิศตะวันตก ของแม่น�้ำสุพรรณบุรี สร้างขึ้นในสมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ภายใน พระอุโบสถหลังเก่า มีภาพจิตรกรรมฝาผนังเกี่ยวกับพุทธประวัติ ที่มีความงดงาม และไปกราบนมัสการขอพร “พระหน่อพุทธางกูร หลวงพ่อด�ำ”
20
.
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.
(6
).indd 20
9/10/2563 15:31:28
7. วัดพระนอน ตั้งอยู่ที่ต�ำบลพิหารแดง อ�ำเภอเมือง จังหวัด สุพรรณบุรี เป็นวัดเก่าแก่สมัยอูท่ อง ซึง่ มีการบูรณะวัดขึน้ ใหม่ มีรปู ปัน้ พระนอนในลักษณะนอนหงาย สร้างเท่าขนาดคนจริงสมัยโบราณ ซึ่งมีเพียงองค์เดียวในประเทศไทย ลักษณะเหมือนพระนอน ที่เมือง กุสินาราประเทศอินเดีย 8. วัดพิหารแดง ตั้งอยู่ที่ต�ำบลพิหารแดง อ�ำเภอเมือง จังหวัด สุพรรณบุรี อยู่ห่างจากวัดพระนอนเล็กน้อย ภายในวัดพิหารแดงมี พระประธานองค์ใหญ่ ซึ่งเป็นพระพุทธรูปเก่าแก่ อายุกว่า 700 ปี นามว่า”พระพุทธทศพลญาณมหามุนี” สร้างขึ้นในสมัยพระเจ้าอู่ทอง ตอนปลาย
9. วัดชีสขุ เกษม ตัง้ อยูท่ ี่ ถนนสมภารคง ต�ำบลพิหารแดง อ�ำเภอ เมื อ ง จั ง หวั ด พรรณบุ รี วั ด นี้ มี โ บราณวั ต ถุ เ ก่ า แก่ ที่ น ่ า สนใจ คื อ “พระพุทธรูปเก่าแก่ศิลาทรายอายุกว่า 1,000 ปี” จากเมืองโบราณ อู ่ ท อง ถู ก ขุ ด พบทั้ ง หมด 3 องค์ ส� ำ หรั บ 2 องค์ จั ด แสดงอยู ่ ที่ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติอู่ทอง และอีกหนึ่งองค์ประดิษฐานอยู่ท่ี วัดชีสุขเกษม ขอบคุณข้อมูล : http://www.suphan.biz/TampleNine.htm
SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.
.
(6
).indd 21
21
9/10/2563 15:31:30
History of buddhism....
วัดวิมลโภคาราม พระมงคลกิตติวิบูลย์ (ทับทิม กิตฺติเสโน ป.ธ.4) เจ้าอาวาสวัดวิมลโภคาราม/ เจ้าคณะจังหวัดสุพรรณบุรี
วัดวิมลโภคาราม ตั้งอยู่เลขที่ 526 หมู่ที่ 2 ต�ำบลสามชุก อ�ำเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี
22
2
วัดวิมลโภคาราม เดิมชื่อ วัดรัตนโภคาราม แต่ชาวบ้านและชาวตลาด สามชุกมักจะเรียกวัดแห่งนี้ว่า วัดใหม่สามชุก โดยมีนายผัน โภคานันท์ พร้อมด้วยชาวบ้านและชาวตลาดสามชุก ร่วมด้วยช่วยกันจนสามารถ จัดการหาที่ดินได้ 26 ไร่ 3 งาน 53 ตารางวา จึงได้ขออนุญาตสร้างวัดและ ได้รับอนุญาตให้สร้างวัดเมื่อวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2490 และชาวบ้าน ได้ช่วยกันสร้างเสนาสนะ กุฏิ ที่พักสงฆ์ และในปี พ.ศ. 2491 ได้อาราธนา พระสงฆ์มาอยู่จ�ำพรรษา ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อวันที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2513 ส่วนโบสถ์หลังใหม่ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อ วันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2550
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 22
8/10/2563 11:32:28
หลวงพ่อพันปี
วัดวิมลโภคาราม ตั้งอยู่ในเขตเทศบาลต�ำบลสามชุก ติดตลาด สามชุกร้อยปี มีประชากรอาศัยอยู่หนาแน่น อันแสดงถึงความเจริญ รุ่งเรืองของบ้านและวัด ประชาชน ชาวตลาดสามชุกและประชาชน ทั่วไปจะมาขอพรจากพระพุทธรูปโบราณเก่าอันล�้ำค่า ประดิษฐาน อยู่ในวิหารจ�ำนวน 2 องค์ อายุกว่า 1,000 ปี องค์ที่ 1 เป็นพระปางมารวิชัย เนื้อหินทราย สมัยอู่ทอง หน้าตัก กว้าง 60 เซนติเมตร เดิมสถิตอยู่ที่วัดร้างใกล้วัดลาดสิงห์ องค์ท่าน จมอยู ่ ใ นดิ น ครึ่ ง องค์ ต่ อ มาก� ำ นั น วงษ์ ทองนาค จุ ด ธู ป บู ช าขอ อาราธนาน�ำองค์ท่านมาบูชา และน�ำมาถวายวัดวิมลโภคารามเมื่อปี พ.ศ.2490 ชาวบ้านสามชุกเรียกชื่อว่า หลวงพ่อพุทธนิมิต องค์ที่ 2 เป็นพรางนาคปรก เนื้อหินเขียว สมัยทวารวดี หน้าตัก กว้าง 70 เซนติเมตร เดิมสถิตอยู่ ณ วัดร้าง ชาวบ้านแถวนั้นเรียกว่า ดอนทางพระ ต่อมามีหมอดูเกิดนิมิตเห็นองค์พระอยู่ในเนินดินใหญ่ และชาวบ้านได้ช่วยกันขุด น�ำไปถวายวัดวิมลโภคาราม เมื่อวันที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2511 เดิมหลวงพ่อ 2 องค์นี้ ประดิษฐานอยู่บนศาลา การเปรี ย ญ ต่ อ มาคณะกรรมการและชาวบ้ า นตลาดสามชุ ก ได้ พร้ อ มใจร่ ว มกั น สร้ า งวิ ห ารเพื่ อ ถวายเป็ น พุ ท ธบู ช าโดยใช้ ชื่ อ ว่ า “วิหารหลวงพ่อสามชุกรัตนพุทธนิมิต” เพื่อให้ประชาชนทั่วไปได้ กราบไหว้ขอพร สักการบูชา เป็นการอนุรักษ์ปูชนียวัตถุที่ล�้ำค่า ของ สังคม และประเทศชาติสืบไป
พระชัยพุทธมหานาถ (พระนาคปรก)
การสืบค้นข้อมูลโดยการพูดคุยกับผู้สูงอายุชาวบ้านสระ ได้ทราบ ว่าการขุดพบ พระนาคปรก ในปี พ.ศ. 2511 ด�ำเนินการโดยมีคณะ บุคคลจากตลาดสามชุกเท่าที่ทราบมีนายก้าว (ไม่ราบนามสกุล ถึง แกกรรมแล้ว) ร่วมอยู่ในคณะ คุณลุงประทีป มากเทพวงศ์ ให้ข้อมูล ว่าไปดูการขุด คณะที่มาขุดเริ่มขุดเปิดโพรง พบพระอยู่ลึกจากผิวดิน มาก และจมอยู่ในทรายที่มีความละเอียด สถานที่ขุดพบไม่มีเศียร ตั้งแต่อังสา(บ่า) ขึ้นมา คณะที่มาขุดน�ำพระมาไว้ที่วัดบ้านสระระยะ หนึ่ง ต่อมาจึงเคลื่อนย้ายน�ำไปถวายวัดวิมลโภคาราม พระครูวิบูลกิตติวัฒน์ เล่าว่าพระที่ขุดได้เป็นพระศิลาทรายสี เขียว มีสภาพช�ำรุดไม่มีเศียร เหลือเพียงองค์พระและหัวนาคคงเหลือ 2 หัว ด้านซ้ายมือขององค์พระใต้ฐานมีแกนหิน ขนาดประมาณ ยาว 50 กว้าง 30 เซนติเมตร เพื่อเสียบตั้งองค์พระบนแท่นประดิษฐาน รอยหักเป็นรอยเก่า โดยมีคราบรอยรากไม้พาดผ่านส่วนที่หักนั้นการ บูรณะท�ำโดยช่างในท้องถิ่นปั้นเสริมด้วยปูนซิเมนต์ โดยพุทธลักษณะ เป็นตามแบบที่ช่างจัดหามาเอง ท�ำให้ลักษณะผิดไปจากศิลปะเขมร แบบบายน ดั้งเดิม
SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 23
23
8/10/2563 11:32:39
History of buddhism....
วัดลาวทอง พระสมุห์ สุประวีณ์ (โจ) ปญญาธโร เจ้าอาวาสวัดลาวทอง
วัดลาวทอง ตั้งอยู่เลขที่ 62 หมู่ที่ 4 ต�ำบลสนามชัย อ�ำเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย
24
6
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 24
8/10/2563 11:45:38
วัดลาวทองเดิมขึ้นอยู่กับท้องที่ตําบลหัวเวียง อ.เมือง จ.สุพรรณบุรี ต่อมา ในปี พ.ศ. 2519 ตําบลหัวเวียงได้ถูกแบ่ง เขตการปกครอง ท้องถิ่นออกเป็นตําบลพิหารแดงกับตําบลสนามชัย วัดลาวทองจึงได้ถูกโอนย้ายไปขึ้นอยู่กับต�ำบลสนามชัยจนถึงปัจจุบัน แต่เดิมวัดแห่ง นี้เป็นวัดร้างชื่อวัดเลา ได้มีพระภิกษุรูปหนึ่งเดินธุดงค์มาปักกลด ชาวบ้านแถวนั้นที่ได้รักษาเขตที่ดินของวัดไว้ ได้เชิญพระภิกษุเดินธุดงค์ รูปนั้น มาทําการบูรณปฏิสังขรณ์วัดขึ้นมาใหม่ คือหลวงปู่พ่วงเจ้าอาวาสวัดองค์แรก หลังจากบูรณปฏิสังขรณ์แล้วเสร็จชาวบ้านจึงพากัน ตั้งชื่อใหม่ว่า วัดลาวทอง เพื่อให้สอดคล้องกับวัดต่างๆ ใกล้เคียงอีกหลายวัด เช่นวัดพลายชุมพล วัดศรีมาลา และวัดพลายงาม ซึ่งล้วน แต่เป็นชื่อตัวละครในวรรณคดี ซึ่งคนในท้องถิ่นภาคภูมิใจ นั้นคือขุนช้างขุนแผน SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
6
.indd 25
25
8/10/2563 11:45:45
เดิมทีวัดลาวทองเป็นวัดร้างเก่าแก่ตั้งอยู่ริมฝั่ง แม่ น�้ ำ ท่ า จี น มี พ ระอุ โ บสถหลั ง เก่ า แก่ ซึ่ ง เหลื อ เพี ย งซากอิ ฐ หั ก พั ง ซึ่ ง ไม่ มี ห ลั ง คา จากรู ป แบบ สถาปัตยกรรมสิง่ ก่อสร้างทีเ่ ก่าแก่ภายในวัด อันได้แก่ พระอุโบสถเก่าแก่ดั้งเดิม ที่มีพระพุทธรูปโบราณ ประดิษฐานอยู่ภายในและยังมีซากปรักหักพังของ องค์เจดีย์เก่าแก่อยู่หลายองค์ สันนิษฐานว่าได้รับ การบูรณปฏิสังขรณ์มาหลายยุคหลายสมัยแล้ว จนกระทั่งสมัยปลายกรุงศรีอยุธยา 200 กว่าปี ได้บูรณปฏิสังขรณ์ขึ้นมาเป็นวัดอีกครั้งหนึ่ง ด้วยเหตุนี้จึงไม่มีใครคาดคิดว่า บนพื้นที่ ที่มี การสร้างวัดประมาณ 200 กว่าปี ของวัดแห่งนี้ จะมีกรุพระเครือ่ งโบราณกว่า 800 ปี ซึง่ ซ่อนตัวอยู่ การค้นพบพระกรุวัดลาวทองนี้แตกต่างจากการ ค้นพบทั่วไป ซึ่งพระกรุทั่วไปจะพบในกรุในโบสถ์ หรือในองค์เจดีย์ แต่ของวัดลาวทองขุดค้นพบใน โอ่งในไหฝังดิน 26
6
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 26
8/10/2563 11:45:46
การแตกของพระกรุวัดลาวทอง
เมื่อปี พ.ศ. 2504 ตาป้อม ภารโรงของโรงวัดลาวทอง ซึ่งทางวัด ได้มอบที่ดินของวัดให้สร้างโรงเรียนแก่เด็กๆ ในชุมชนนั้นตา ป้อม ต้องการจะปลูกบ้านพักอาศัยหลังใหม่ขึ้นภายในบริเวณโรงเรียน จึงได้ทําการขุดหลุดที่จะลงเสาเรือน ได้พบโอ่งใบหนึ่งฝังไว้ภายใน พื้นดิน เมื่อเปิดออกมาภายในมีพระเครื่องบรรจุอยู่เป็นจํานวนมาก มีพุทธลักษณเนื้อชิน รวมทั้งพระบูชา เนื้อสัมฤทธิ์ต่างๆ ตาป้อมจึง แอบลําเลียงพระเครื่องเล่านั้น ไปเก็บที่บ้านหลังเก่า ต่อมาไม่นาน ชาวบ้านในละแวกนั้นก็ ทราบข่าวนี้กันจนได้ แต่ก็ไม่มีใครเชื่อว่าพระ ที่ตาป้อมขุดพบนั้นจะเป็นพระแท้ เพราะปักใจเชื่อว่าพระแท้นั้นจะ ต้องฝังอยู่ ในองค์เจดีย์คงเป็นไปไม่ได้ท่ีจะมีใครนําไปฝังทิ้งไว้ ทิ้งๆ ขว้างๆในพื้นดินทั่วไป อีกทั้งยังล�่ำลือกันไปต่างๆ นานา ว่า ตาขุน ภารโรงอีกคนเป็นผู้นําไปฝังไว้ หรือไม่ตาป้อมก็อาจจะเป็นผู้ลงมือฝัง ด้วยตัวเอง เพื่อสร้างภาพหลอกขาย ว่าเป็นพระเก่าแก่ ให้ได้ราคา ในสนามพระ
SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
6
.indd 27
27
8/10/2563 11:45:49
เสียงวิพากษ์วิจารณ์ของชาวบ้านส่วนใหญ่นั้น ว่ากันว่าพระกรุ ที่ตาป้อมขุดพบไม่ใช่พระกรุที่เก่าแก่จริง ดังนั้นจึงทําให้พระกรุที่ ตาป้อมขุดพบ ไม่สามารถเอาไปปล่อยเช่าให้กับใครได้เลยถึงแม้ ตาป้อมจะเอาไปเสนอขายตามร้านค้าต่างๆในตัวเมืองสุพรรณบุรี ก็ตาม แม้จะไม่มั่นใจว่าพระที่ขุดเจอนั้นเก่าแก่และมีมูลค่ามากน้อย แค่ไหน แต่ตาป้อมก็ตัดสินใจนําพระเครื่องต่างๆเหล่านั้น ไปตระเวน ขายตามที่ต่างๆในจังหวัดสุพรรณบุรี ซึ่งก็ไม่มีที่ไหนๆ หรือร้านค้า ใดๆ สนใจ กระทัง่ ตาป้อมก็ได้มาเจอกับครูสอนวาดเขียนชือ่ ครูสจุ ริต บุญชาติ ที่ยอมเสียเงินซื้อพระกับตาป้อม ไว้ 2-3 องค์ ในราคา องค์ละ 20-30 บาทในสมั ย นั้ น ต่ อ มาครู ส อนวาดเขี ย นต้ อ งเดิ น ทางเข้ า กรุ ง เทพไปสอบวิ ช าวาดเขี ย น จึ ง ถื อ โอกาสนํ า พระที่ เช่ า ซื้ อ จาก ตาป้อมไปเสนอขายที่วัดมหาธาตุ ซึ่งเป็นที่น่าแปลกใจเซียนพระที่ สนามวัดมหาธาตุรับซื้ออย่างง่ายดาย ได้ราคาสูงถึงองค์ละ 100 บาท เพราะหลังจากที่บรรดาเซียนพระทั้งหลายได้พิจารณาพระจากกรุวัด ลาวทองแล้วมีสีแดงจัดจ้านมาก แสดงว่ามีความเก่าแก่อย่างแท้จริง นั บ ตั้ ง แต่ นั้ น มาครู ส อนวาดเขี ย นจึ ง เดิ น ทางขึ้ น ล่ อ ง กรุ ง เทพฯสุพรรณบุรี บ่อยครัง้ เพือ่ ทํากําไรจากการซือ้ ขายพระ พระทีเ่ ป็นทีน่ ยิ ม ของเซียนพระในวัดมหาธาตุในสมัยนั้น คือ พระนาคปรกวัดลาวทอง
28
6
ล�ำดับเจ้าอาวาส วัดลาวทอง
รูปที่ 1 หลวงพ่อ พ่วง เกสรทองค�ำ รูปที่ 2 พระอาจารย์ แพร รูปที่ 3 พระมหาวิสูตร รูปที่ 4 พระครูสุวรรณกิตติคุณ (หลวงพ่อฟ้อน) รูปที่ 5 พระครูวินัยธรเล็ก ปญฺญคโม รูปที่ 6 พระสมุห์ สุประวีณ์ ปญฺญาธโร (หอมทรัพย์)
ผีวัดลาวทอง โดยหลวงพ่อพระราชพรหมยาน วัดท่าซุง
ส�ำหรับผีพระวัดลาวทองนี้ อยู่ที่จังหวัดสุพรรณบุรี วัดลาวทองนี่ มี ป ระวั ติ เ ป็ น มายั ง ไงอาตมาก็ ไ ม่ ท ราบเหมื อ นกั น แต่ ว ่ า มี ปรากฏการณ์ครั้งหนึ่ง เคยขึ้นไปเทศน์ที่จังหวัดสุพรรณบุรีแล้วก็มี โอกาสไปพักที่วัดลาวทองสองสามคืน คราวนั้นปรากฏว่าเขามีงานที่ วัดโพธิพญา พระในวัดก็ไปเที่ยวหมด คืนนั้นเดือนหงายนั่งคุยกันอยู่ ที่หน้ากุฏิ พอเห็นมันดึกแล้วก็จะเข้าข้างในใกล้ๆ จะ 24 นาฬิกา แถว นั้นขโมยมันเยอะเหมือนกัน ปรากฏว่าที่หน้ากุฏิเสียงคนเดินชัด ลาก ไม้ไปด้วย เหมือนกับลากไม้หรือไม้ตะพดไปด้วย แกรกๆๆ มองไป ตามช่องฝาได้ยินเสียงคนเดินไปเดินมาหัวกุฏิ ท้ายกุฏิ แต่มองไม่เห็น ตัวคน ประเดี๋ยวโน่นได้ยินเสียงเดินที่ศาลา ซึ่งศาลาอยู่ใกล้มาก เดิน ไปเดินมาท�ำเสียงเหมือนของหนักหล่อดังตึงถนัด ก็เลยไปดูที่ศาลา อีก ก็ไม่มี ปรากฏว่าไม่มี ก็กลับมานอน พอกลับมานอนประเดี๋ยว เดียวก็มีเสียงเคาะประตู ทีนี้ก็เลยถามว่าใคร ? บอก กูชื่อพ่วง กูเป็นคนสร้างวัดนี้ ถาม ว่ามาเรียกท�ำไม ? ตอบ เอ็งอย่ามานอนซี ขโมยมันจะเข้าวัด บอก ว่า เข้าวัดก็ไล่มันไปซี ตอบว่า กูเป็นผีนี่ มันมองไม่เห็นตัว มึงออกมา ซี มานั่งคุยข้างนอก มันได้ยินเสียงคนคุยมันก็ไม่กล้าลักของ มึงมา นั่งขวางคอมันหน่อยเดียวเท่านั้นแหละ นอกนั้นกูจัดการเอง นี่เป็น เรื่องของท่าน ก็เลยออกไปนั่งด้วยกันทั้งหมด นั่งคุยกันตามอัธยาศัย วันรุ่งขึ้นจึงไปเทศน์
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 28
8/10/2563 11:45:51
ต่อมาทางการทราบว่ามีการลักลอบค้าขายวัตถุโบราณ โดยไม่ ได้รับอนุญาต จึงทําการออกกวาดล้าง ตาป้อมจึงต้องเคลื่อนย้ายพระ ทั้งหมดไปฝากไว้กับญาติซึ่งบวชเป็นพระภิกษุเจ้าอาวาสวัดแห่งหนึ่ง ในจังหวัดกาญจนบุรี โชคไม่ดีที่พระรูปนั้นตัดกิเลสไม่ขาดนําพระที่ ตาป้อมฝากไว้ไปขายพระกรุวัดลาวทองจึงสูญหายไปจากจังหวัด สุพรรณบุรีแทบจะไม่มีหลงเหลืออยู่เลย พุทธลักษณะที่ขุดค้นพบในวัดลาวทองนั้น บ่งบอกได้ว่าเป็น พระเก่าแก่นา่ จะถูกสร้างมาไม่ตำ�่ กว่า 800 ปี ซึง่ ตรงกับช่วงอาณาจักร ละโว้ลพบุรี ได้แผ่ขยายอาณาจักรกําลังเจริญรุ่งเรื่องนั่นเอง พระที่ ถูกขุดค้นพบในวัดลาวทอง ไม่ว่าจะเป็นพระพุทธรูปในพระอุโบสถ หลังเก่าแก่ ที่ชาวบ้านเรียกขนานนามว่าหลวงพ่อดําวัดลาวทอง หรือ พระเครื่ อ งต่ า งๆ ก็ ดี เนื้ อ หาอายุ ค วามเก่ า แก่ จ ากข้ อ มู ล ทาง ประวัติศาสตร์ สันนิษฐานว่าทั้งหมดสร้างขึ้นยุคลพบุรีกว่า 800 ปี ยังมีการระบุว่า ชนชาติขอม ที่เคยขยายอิทธิพลได้มาเผยแผ่ ลัทธิทางความเชื่อ ตลอดจนรูปแบบศิลปะไว้ในดินแดนแถบนี้ โดย เฉพาะผู้ที่นับถือลัทธิมหายานปนพราหมณ์ ซึ่งมีธรรมเนียมในการ สร้างพระเครื่องพระบูชา และบรรจุไว้ในไหในโอ่งก่อนนําไปฝังดิน ข้อมูลเหล่านี้ช่วยตอกย�้ำให้มั่นใจยิ่งขึ้นไปอีกว่าจุดกําเนิดของพระกรุ วัดลาวทอง เกิดขึ้นในยุคลพบุรีกว่า 800 ปี แน่นอน พระกรุวัดลาวทอง ที่ขุดพบภายในบริเวณวัดลาวทองนั้น ถือ ได้ว่าเป็นการขุดพบหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่สําคัญบนพื้นแผ่น ดินที่อุปถัมภ์ค�้ำชูพระพุทธศาสนามาอย่างยาวนานเป็นที่บรรจุมรดก แผ่นดินอันทรงคุณค่าในครั้งหนึ่งโบราณสถานที่แห่งนี้ วัดลาวทอง อ้างอิงจาก รายการตามรอยตํานาน.... ตอนวัดลาวทอง จ.สุพรรณบุรี ประวัติการขุดค้นพบ พระนาคปรก กรุวัดลาวทอง ชมรมพระเครื่องแทนท่าพระจันทร์
พระสมุห์ สุประวีณ์ (โจ) ปญญาธโร เจ้าอาวาสวัดลาวทอง
SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
6
.indd 29
29
8/10/2563 11:45:53
30
6
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 30
8/10/2563 11:27:01
History of buddhism....
วัดอุทุมพราราม พระครูพิสุทธิ์สมณการ (หลวงปู่ทวน) เจ้าอาวาสวัดอุทุมพราราม
วัดอุทุมพราราม(ไผ่แขก) ตั้งอยู่เลขที่ 49 หมู่ 5 ต�ำบลดอนโพธิ์ทอง อ�ำเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี เบอร์ โทร 064-6732396
SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
6
.indd 31
31
8/10/2563 11:27:07
วัดอุทุมพราราม (ไผ่แขก ) สร้างเมื่อ ปี พ.ศ. ใดไม่มีปรากฏ มี เพียงแต่ผู้บุกเบิกที่ปรากฏ นามว่าพระอาจารย์เลี่ยม วัดอุทุมพราราม ไผ่แขก ได้รับพระราชทานวิสุคามสีมา พ.ศ. 2511 มีพระพุทธรูป ศักดิส์ ทิ ธิป์ ระจ�ำวัดเป็นโบรานวัตถุนามว่า “ หลวงพ่อเสด็จประทานพร” เป็นพระพุทธรูปปางห้ามสมุทรทรงเครื่องจักรพรรดิปลายอยุธยา มีผู้คนเคารพมากมาย ทั้งในจังหวัดสุพรรณและจังหวัดใกล้เคียง นอกจากนี้ยังมีพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์อีกสององค์ นาม หลวงพ่อส�ำเร็จ ทันใจก้าวหน้า และพระมหาสังกัจจายน์ ที่มีผู้คนเข้ามากราบไหว้ บูชาอย่างต่อเนือ่ ง นอกจากนีว้ ดั อุทมุ พราราม ไผ่แขก ยังมีสงิ่ ศักดิส์ ทิ ธิ์ ทีม่ ผี คู้ นให้ความเคารพเข้ามาเทีย่ วชมกราบไหว้บชู าไม่ขาดสาย นัน่ คือ ท่านพ่อขุนช้างมหาเศรษฐีเมืองสุพรรณบุรี ขอได้ ไหว้รับ ปัจจุบันมีท่านพระครูพิสุทธิ์สมณการ (หลวงพ่อทวน) ด�ำรง ต�ำแหน่งเจ้าอาวาส และมีท่านพระครูวินัยธรดุสิต สุจิณฺโณ ด�ำรง ต�ำแหน่งผู้ช่วยเจ้าอาวาส ทั้งนี้ท่านพระครูพิสุทธิ์สมณการ (หลวงพ่อทวน) หลวงพ่อท่าน เจ้าอาวาสมีอายุ 84 ปี ( 64 พรรษา ) จึงมอบหมายให้ท่านพระครู วินัยธรดุสิต สุจิณฺโณ ด�ำรงต�ำแหน่งผู้ช่วยเจ้าอาวาส เป็นผู้รับสนอง งานภายในวัด วัดอุทุมพราราม ไผ่แขก ได้บูรณปฏิสังขรณ์ปรับภูมิทัศน์จนกลาย เป็นสถานที่ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ทางพระพุทธศาสนาและเป็นแหล่ง เรียนรู้ประจ�ำชุมชน 32
6
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 32
8/10/2563 11:27:10
SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
6
.indd 33
33
8/10/2563 11:27:14
อาคารเสนาสนะ ประกอบด้วย
- อุโบสถ สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2524 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก - ศาลาการเปรียญ สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2516 เป็นอาคารไม้ - หอสวดมนต์ สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2536 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก - กุฏิสงฆ์ จ�ำนวน 2 หลัง เป็นอาคารครึ่งไม้ครึ่งปูน
การบริหารและการปกครอง เจ้าอาวาสเท่าที่ทราบนาม คือ
รูปที่ 1 พระอธิการเหลี่ยม รูปที่ 2 พระอธิการถม รูปที่ 3 พระอธิการเพชร รูปที่ 4 พระอธิการวาด รูปที่ 5 พระอธิการโฮ้ รูปที่ 6 พระอธิการเพ็ง รูปที่ 7 พระอธิการเพิ่ม รูปที่ 8 พระอธิการแกละ รูปที่ 9 พระครูพสิ ทุ ธิส์ มณการ (หลวงปูท่ วน)เจ้าอาวาสองค์ปจั จุบนั
พระครูพิสุทธิ์สมณการ (หลวงปู่ทวน) เจ้าอาวาสวัดอุทุมพราราม
พระครูวินัยธรดุสิต สุจิณฺโณ
ผู้ช่วยเจ้าอาวาส (ผู้คนรู้จักในนามหลวงปู่ดุสิต ) พระผู้มีเมตตาพระนักพัฒนา สนองงานแทนเจ้าอาวาสในขณะนี้
34
6
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 34
8/10/2563 11:27:20
SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
6
.indd 35
35
8/10/2563 11:27:22
History of buddhism....
วัดสองเขต พระอธิการวีระ ภทฺทโก เจ้าอาวาสวัดสองเขต
วัดสองเขต ตั้งอยู่เลขที่ 19 หมู่ 5 ต�ำบลสนามคลี อ�ำเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี โทร 081- 7343 163, 089-2564 159
36
5
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 36
9/10/2563 10:28:06
SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
5
.indd 37
37
9/10/2563 10:28:13
ประวัติหลวงพ่อเขา
สมัยสงครามโลกครั้งที่ 1 มีเหตุการณ์ที่ควายธรรมดาตัวหนึ่งได้ พาตัวเองเข้ามาหมอบและสิ้นลมหายใจภายในอาณาเขตของวัดแห่ง หนึ่งในจังหวัดนนทบุรี แต่ชาวบ้านก็คิดว่าก็แค่ควายสิ้นใจธรรมดา แต่พอชาวงเวลาค�่ำคืนได้เกิดสิ่งอัศจรรย์ที่ปรากฏแก่สายตาบรรดา พระภิกษุภายในวัด คือ ได้เกิดเป็นแสงไฟพะเนียงคล้ายพลุไฟลุกโชน พุ่งออกมาที่เขาควายส่วนปลายที่มีลักษณะเช่นดอกบัวตูมหรือเรียก ว่า ปลายพลุแตก ทางวัดเห็นว่าเรื่องที่เกิดขึ้นเป็นเรื่องอัศจรรย์จึงได้ แจ้งให้แก่ผู้เป็นเจ้าของควายเพื่อเก็บไว้เป็นสิริมงคลแก่ครอบครัว นางถมยา ผู ้ เ ป็ น เจ้ า ของจึ ง ได้ ตั ด เขาควายนั้ น เก็ บ รั ก ษาไว้ จนกระทั่งนางถมตาบอดจึงมอบเขาควายให้กับนางทองใบ อ่อนสิน ผู้เป็นน้องสะใภ้เป็นผู้รักษาสืบต่อมา นางทองใบ อ่อนสิน ได้ดูแลรักษาเขาควายเป็นอย่างดี จนกระทั่ง มรเหตุการณ์ไม่คาดคิดเกิดขึ้น คือ มีโจรพยายามเข้ามาในบ้านของ นางทองใบ หลายครั้งเพื่อจะขโมยเขาควายและต่อมาไม่นานก็ยังเกิด เหตุเพลิงไหม้บ้านของนางทองใบอีก หลายๆ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นท�ำให้นางทองใบเริ่มนึกถึงความไม่ ปลอดภัยที่คุกครามกับครอบครัวท�ำให้เกิดความคิดจะถวายเขาควาย นี้ให้แก่สงฆ์ จึงเดินทางไปพร้อมเขาควายเพื่อถวายให้กับวัดถึง 2 วัด คือ วัดถ�้ำกระบอกและวัดบางนาใกล้ๆ บ้าน แต่กลับรับการปฏิเสธ จากวัดทั้งสองแห่งด้วยเหตุผลสั้นๆ ว่าไม่สามารถรักษาได้ นางทองใบ จึงวิตกกังวลและทุกข์ใจนานาประการ จนอายุล่วงเลยถึงเกือบ 70 ปี ช่ ว งเวลาที่ แ ม่ ท องใบก� ำ ลั ง วิ ต กกั ง วล บั ง เอิ ญ ลู ก ชายของแม่ ทองใบซึ่งเป็นหนึ่งในบรรดาลูกศิษย์ของหลวงปู่เกลื่อน จะเปิดร้าน ท�ำการค้าจึงได้นิมนต์หลวงปู่เกลื่อนและคณะสงฆ์มาฉันภัตตาหารที่ บ้านของแม่ทองใบ และได้มีโอกาสพบปะกับแม่ทองใบแต่ค�ำทักทาย ของหลวงปู่เกลื่อนที่เอ่ยทักแม่ทองใบ กับท�ำให้แม่ทองใบตกตะลึง และงุนงงสงสัย กับสิ่งที่หลวงปู่เกลื่อนเอ่ยทักทายว่า โยมไหนละ 38
5
หลวงพ่อเขา หลังจากสนทนาแม่ทองใบจึงน�ำเขาควายออกมาให้ หลวงปู่เกลื่อนพิจารณา เขาควายที่ปรากฏออกมาต่อสายตาท่าน คือ ยาว 13 นิ้ว กว้างประมาณ 4.5 นิ้ว หลวงพ่อเขาในเวลานั้นมีขนาด เท่าเมล็ดถั่วเขียว ในขณะที่เขาควายอยู่ในมือหลวงปู่เกลื่อน ท่านได้ เอ่ยขึ้นว่า เออ เราตามหามานานแล้วหลวงพ่อเขา ท่านกับเราเคย ร่วมสร้างบารมีกันมา เราธุดงค์ไปหาตามภูเขาตามถ�้ำด้วยเข้าใจว่า จะอยู่ตามป่าเขาพร้อมทั้งบอกนิมิตก่อนหน้านี้ จนกระทั่งนิมิตบอก อีกครั้งที่บ้นแม่ทองใบ พร้อมทั้งอธิบายถึงวัตถุธาตุขนาดเล็กตรงส่วน ปลายเขาว่า คือ องค์หลวงพ่อเขา ต่อไปภายหน้าองค์พระจะเปลี่ยน ขนาดใหญ่ขึ้นท่านเป็นคู่พระคู่บุญกันมากับเรา องค์พระท่านมาจุติ แล้ว ตั้งแต่นี้โยมจะเก็บรักษาไว้เองไม่ได้แล้ว เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นกับ ครอบครัวของแม่ทองใบก่อนหน้าที่หลวงปู่เกลื่อนจะมาคงยืนยันค�ำ พูดของท่านได้เป็นอย่างดีว่า “ องค์พระท่านมาจุติเวลานี้โยมจะเก็บ รักษาไว้เองไม่ได้” ในปี พ.ศ.2524 แม่ทองใบได้น�ำหลวงพ่อเขามาถวายแด่หลวง หลวงปู่เกลื่อน ฉนฺทธมฺโม ( เผือกพันธุ์มุข) ณ วัดสองเขต เลขที่ 19 หมู่ 5 ต�ำบลสนามคลี อ�ำเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี 72230 หลังจากที่หลวงพ่อเขาได้มาอยู่กับหลวงปู่เกลื่อน ฉนฺธมฺโม (เผือก พันธุ์มุข) ก็ได้มีขนาดใหญ่ขึ้น มีความสูง 5 นิ้ว ขนาดรอบองค์ 1 นิ้ว ด้วยความศรัทธาที่ญาติโยมมีต่อหลวงปู่เกลื่อนจึงท�ำให้มีญาติโยมเข้า มากราบนมัสการและขอพรต่างๆ จาก หลวงพ่อเขา กันไม่ขาดสาย ท่านผู้อ่านที่สนใจกราบนมัสการ หลวงพ่อเขา เชิญกราบนมัสการ ได้ที่ วัดสองเขต และหากท่านใดสนใจร่วมท�ำบุญกับวัดสองเขต เพื่อ ประกอบศาสนกิจของสงฆ์ในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาให้เจริญ สถาพรต่อไป อนิสงส์ของการให้ทานจะให้ท่านทั้งหลายได้มนุษย์ สมบัติ สวรรค์สมบัติ ในภายภาคหน้าด้วยเทอญ
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 38
9/10/2563 10:28:15
สิ่งศักดิ์สิทธิ์ ภายในวัดสองเขต - หลวงพ่อเขา - หลวงพ่อทอง - หลวงพ่อพุทธสิหิงค์ - หลวงพ่อเศียรสัมฤทธิ์ผล - หลวงพ่อสีวลี - หลวงพ่อสังกัจจายน์ - หลวงพ่อสมปรารถนา - หลวงปู่สังวาล เขมโก - หลวงปู่เกลื่อน ฉนฺทธมฺโม - พระพุทธชินราช - หลวงพ่อทันใจ
ศักดิ์สิทธิ์เจริญรุ่งเรือง กินไม่ไหว ใช้ไม่หมด เหลือกิน เหลือใช้ สมบูรณ์พูนผล สมความปรารถนาทุกประการ ร�่ำรวย มีกิน มีใช้ ล้นเหลือ อุดมสมบูรณ์ตลอดกาล สมหวัง สมประสงค์ทุกประการ บารมี มากล้น นะเมตตา โมกรุณา พุทธปราณี ธายินดี ยะเอ็นดู พระศักดิ์สิทธิ์ คู่บ้าน คู่เมือง สยามประเทศ คุณงามความดี ทั้งหลาย ทั้งปวง เห็นผล ทันตาเห็นรวดเร็วในภพนี้ SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
5
.indd 39
39
9/10/2563 10:28:23
40
5
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 40
9/10/2563 10:28:28
History of buddhism....
วัดศรีสันต์มณฑาราม (ไผ่แปลกแม่) พระครูสุวรรณธรรมาภิมณฑ์ เจ้าอาวาสวัดศรีสันต์มณฑาราม (ไผ่แปลกแม่)
วัดศรีสันต์มณฑาราม (ไผ่แปลกแม่) ตั้งอยู่เลขที่ 96 บ้านไผ่แปลกแม่ หมู่ที่ 2 ต�ำบลสวนแตง อ�ำเภอเมืองสุพรรณบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย
อาคารเสนาสนะ ประกอบด้วย
- อุโบสถ กว้าง 6.30 เมตร ยาว 20 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2539 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็กทรงไทย - ศาลาการเปรียญ กว้าง 30 เมตร ยาว 48 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2528 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็กทรงไทย 2 ชั้น - หอสวดมนต์ กว้าง 30 เมตร ยาว 48 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2528 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก 2 ชั้นทรงไทย - กุฏิสงฆ์ จ�ำนวน 14 หลัง เป็นอาคารไม้ 10 หลัง ครึ่งตึกครึ่งไม้ 4 หลัง วิหารเป็นอาคารไม้ทรงไทย สร้าง พ.ศ. 2525 - ศาลาเอนกประสงค์ กว้าง 20 เมตร ยาว 48 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2541 เป็นอาคารไม้ทรงไทย นอกจากนี้มีอาคารเสนาสนะต่างๆ ดังนี้ คือ เมรุ หอกระจายข่าว และที่เก็บน�้ำฝน ปูชนียวัตถุมี พระประธานประจ�ำอุโบสถ วัดศรีสันต์มณฑาราม (ไผ่แปลกแม่) พ.ศ. 2527 แต่เดิมชาวบ้านจะเรียกว่าวัดไผ่แปลกแม่ เนื่องจากมีไผ่กอหนึ่งแตกหน่อออกมาเป็นสีทอง ผิดไปจากไผ่กอแม่ จึงพากันเรียกวัดนี้ว่า วัดไผ่แปลกแม่ วัดนี้ได้เริ่มก่อสร้างเมื่อ พ.ศ. 2525 ได้มีพระครูปรีชาวุฒิคุณ (หลวงพ่อฮวด) เป็นผู้ริเริ่มและได้รับ ความร่ ว มมื อ ร่ ว มใจจากชาวบ้ า นจนได้ ด� ำ เนิ น การขอสร้ า งและ ตั้งวัดได้อย่างถูกต้อง และได้ตั้งชื่อวัดนี้ว่าวัดศรีสันต์มณฑารามแทน วัดไผ่แปลกแม่ ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 16 เมษายน 2541 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 28 เมตร ยาว 45 เมตร
การบริหารและการปกครอง มีเจ้าอาวาสเท่าที่ทราบนาม คือ
รูปที่ 1 พระสมุห์สมบุญ ฐิตปญฺโญ พ.ศ. 2525 – 2530 รูปที่ 2 พระอธิการสมพิศ กิตฺติสาโร พ.ศ. 2531 – 2535 รูปที่ 3 พระครูสุวรรณธรรมาภิมณฑ์ พ.ศ. 2536 – ปัจจุบัน พระครูสุวรรณธรรมาภิมณฑ์
เจ้าอาวาสวัดศรีสันต์มณฑาราม (ไผ่แปลกแม่)
SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
1
.indd 41
41
9/10/2563 14:26:59
History of buddhism....
วัดสมอลม พระอธิการวีระ จนฺทธมฺโม เจ้าอาวาสวัดสมอลม
วัดสมอลม เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์ฝ่ายมหานิกาย ตั้งอยู่ต�ำบลสนามคลี อ�ำเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี
42
2
วัดสมอลม ตั้งเป็นวัดเมื่อไหร่ไม่ปรากฏหลักฐานแน่ชัด แต่เป็นวัดที่เก่า แก่อยูค่ ตู่ ำ� บลสนามคลีมาช้านาน เป็นสถานทีร่ วมจิตใจของศาสนิกชน และ ชาวบ้านใกล้เคียง เป็นสถานที่จัดกิจกรรมประเพณีส�ำคัญทางพระพุทธ ศาสนา เป็นศูนย์รวมจิตใจของชาวพุทธในต�ำบลสนามคลี
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 42
8/10/2563 11:35:42
ในบริเวณวัดสมอลม มีพระเจดีย์บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ ตั้ง เด่นเป็นสง่าอยู่ภายในวัดสีเหลืองทองอร่าม สวยงาม มีพระพุทธรูป สวยงาม ภายในวัดสงบร่มรื่น ควรแก่การไปกราบไหว้สักการบูชาสิ่ง ศักดิ์สิทธิ์ เพื่อความเป็นสิริมงคลแก่ตนเองและครอบครัว การเดินทางไปวัดสมอลม ต�ำบลสนามคลี อ�ำเภอเมืองสุพรรณบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี อยู ่ ห ่ า งจากกรุ ง เทพประมาณ 121 กม.ใช้ เวลาเดิ น ทางจาก กรุงเทพประมาณ 1 ชั่วโมง 44 นาที อยู ่ ห ่ า งจากตั ว จั ง หวั ด ประมาณ 23.9 กม.ใช้ เวลาเดิ น ทาง ตัวจังหวัดประมาณ 31 นาที อยู ่ ห ่ า งจากตั ว อ� ำ เภอประมาณ 19.0 กม.ใช้ เวลาเดิ น ทาง ตัวอ�ำเภอประมาณ 29 นาที
พระอธิการวีระ จนฺทธมฺโม เจ้าอาวาสวัดสมอลม
SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 43
43
8/10/2563 11:35:57
History of buddhism....
วัดพุทธมงคล (หนองปรือ) พระครูสุนันทโชติ เจ้าอาวาสวัดพุทธมงคล
วัดพุทธมงคล (หนองปรือ) ตั้งอยู่เลขที่ 309 หมู่ 7 ต�ำบลสระแก้ว อ�ำเภอเมืองสุพรรณบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี
44
2
เมื่อสมัยก่อนชาวบ้าน บ้านหนองปรือจะท�ำบุญแต่ละครั้งต้องเดิน ทางไกล จึงมีความคิดเห็นกันว่าควรจะสร้างวัดกันขึ้นมาเพื่อจะได้มีวัด ท�ำบุญท�ำกุศลใกล้บ้านและในคราวครั้งนั้นจึงมีผู้มีจิตศรัทธามอบที่ดิน บริจาคให้สร้างวัดจ�ำนวน 11 ไร่ 3 งาน 15 ตารางวา เป็นที่ดินของ นายพิน-นางสุ่ม จันทร์ทอง , นายจั้ว-นางสิน มากวงศ์ และผู้ใหญ่หล่อนางมล ลอสุวรรณ ผู้ด�ำเนินการก่อสร้างวัด คือ นายจั๊ว มากวงศ์ ได้ชักชวนชาวบ้านที่มีจิตศรัทธาร่วมกันบริจาคทรัพย์เมื่อปี พ.ศ.2511
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 44
9/10/2563 11:14:53
ชาวบ้านได้ไปนิมนต์พระนิ่ม โชติธมฺโม (แก้วตา) หรือพระครู สุ นั น ทโชติ จากวั ด พั น ต� ำลึ ง มาจ� ำพรรษา เริ่ ม สร้ า งศาลาดิ น และ เสนาสนะต่างๆ ขึ้น ตั้งชื่อวัดว่า “วัดหนองปรือ” ต่อมาสมเด็จ พระอริ ย วงศาคตญาณ สมเด็ จ พระสั ง ฆราช(ปุ ่ น ปุ ณฺ ณ สิ ริ ) วั ด พระเชตุ พ ลวิ ม ลมั ง คลาราม สั ง ฆราชพระองค์ ที่ 17 เป็ น ผู ้ พ ระราชทานชื่อให้ว ่า “วั ด พุ ท ธมงคล” และวั ด พุ ท ธมงคลดั้ บ ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ ประกาศให้เป็นวัดในพระพุทธศาสนา ณ วันที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2516 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2534 วัดพุทธมงคล (หนองปรือ) ตั้งอยู่เลขที่ 309 บ้านหนองปรือ หมูท่ ี่ 7 ต�ำบลสระแก้ว อ�ำเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี สังกัดคณะสงฆ์ มหานิกาย ที่ดินที่ตั้งวัดมีเนื้อที่ 11 ไร่ 3 งาน 15 ตารางวา อาณาเขต ทิศเหนือ ติดที่ดินของนายเชื่อม สุขพินิจ, ทิศใต้ ติถถนนสาย 3460 ท่าเสด็จ-พลับพลาไชย, ทิศตะวันออก ติดที่ดินของ นางสาววีระกานต์ พรมข� ำ และทิ ศ ตะวั น ตกติ ด ถนนสาธารณะ ต่ อ มา พ.ศ.2525 ได้ซื้อที่ดินของนายเชื่อม สุขพินิจ เพิ่มอีก 18 ไร่ 2 งาน 65 ตารางวา ก�ำลังจะด�ำเนินการออกโฉนด จึงรวมเนื้อที่เป็น 30 ไร่ 1 งาน 80 ตารางวา
อาคารเสนาสนะ ประกอบด้วย
- อุโบสถ กว้าง 7 เมตร ยาว 14 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ.2531 แล้วเสร็จเมื่อปี พ.ศ.2533 - ศาลาการเปรียญ กว้าง 20 เมตร ยาว 44 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ.2517 แล้วเสร็จเมื่อปี พ.ศ.2543 เป็นอาคารคอนกรีต - หอสวดมนต์ กว้าง 11 เมตร ยาว 18 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2550 - กุฏิสงฆ์ จ�ำนวน 3 หลัง เป็นอาคารครึ่งตึก ครึ่งไม้ สร้างเมื่อปี พ.ศ.2518 - ศาลาอเนกประสงค์ กว้าง 19 เมตร ยาว 29.30 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ.2562 คาดว่าจะแล้วเสร็จ ปีพ.ศ.2564
พระครูสุนันทโชติ
เจ้าอาวาสวัดพุทธมงคล SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 45
45
9/10/2563 11:15:05
History of buddhism....
วัดไผ่ลูกนก พระมหาวิไล รวิวณฺโณ เจ้าอาวาสวัดไผ่ลูกนก
วัดไผ่ลูกนก ตั้งอยู่เลขที่ 157 หมู่ 6 ตําบลสวนแตง อําเภอเมืองสุพรรณบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี
46
2
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 46
วัดไผ่ลูกนก สร้างเมื่อพุทธศักราช 2456 วันที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ.2556 มีเนื้อที่ 14 ไร่ 2 งาน 60 ตารางวา ความเป็นมาชุมชนคนอําเภอบางปลาม้า ได้ย้ายถิ่นฐานมา อยูท่ า้ ยหมูบ่ า้ นและเริม่ หลัก ปักฐานขึน้ บริเวณนัน้ มีกอไผ่เป็นจํานวนมาก มีฝงู นกนานาชนิด มาทํารัง อาศัยอยู่ที่กอไผ่เป็นจํานวนมาก สมัยนั้นชาวบ้านใช้เรือสัญจรในการดํารงชีวิต มีความคุ้นเคยกับสายน�้ำและท�ำนาจึงตั้งชื่อตามลักษณะที่อยู่อาศัยว่า บ้านไผ่ลูกนก ก่อตั้งหมู่บ้านไผ่ลูกนกเมื่อปี พ.ศ.2432 ความเป็นมาของวัดไผ่ลูกนก มาจากการตั้งหมู่บ้าน แล้วก็เริ่มสร้างวัดขึ้น เพื่อเป็น เครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจ สร้างบุญกุศลขึ้น ช่วงนั้นมีพระภิกษุรูปหนึ่งชื่อว่า พระพร มาอยู่ วัดนี้ เลยตั้งชื่อว่า วัดใหม่เจริญพร มีผู้เสนอความเห็นว่าน่าจะตั้งชื่อวัดตามหมู่บ้านเลย ตั้งชื่อมาเป็นตามชื่อหมู่บ้านว่า วัดไผ่ลูกนก ในปี พ.ศ. 2456 จนถึงปัจจุบัน
9/10/2563 16:28:40
รายนามผู้อุปถัมภ์บริจาคที่ดิน 1. พ่อใจ มาตรวิจิตร 2. พ่อโพธิ์ ปั้นเหน่งเพชร 3. พ่อช้วน ปั้นเหน่งเพชร
สิ่งศักดิ์สิทธิ์ประจําวัด
1. หลวงพ่อนาคพันปีสีชมพู เป็นพระพุทธลักษณะพระปาง นาคปรก เป็นเนื้อศิลา พื้นผิวเป็นสีชมพู สูง 59 เซนติเมตร กว้าง 28 เซนติเมตร เป็นพระประจําวัดที่ศักดิ์สิทธิ์และเก่าแก่มาก 2. แม่ตะเคียนทอง ประชาชนบ้านใกล้บ้านไกล มาจากที่ต่างๆ เพื่อมาขอลาภ, ขอหวย และแก้บนต่างๆ ประสบความสําเร็จมากมาย เป็นแม่ตะเคียนทองที่ให้โชคให้ลาภ กับผู้ที่มาสักการะ สมหวังมา มากมาย 3. พระประจําวันเกิด หล่อโบราณปี 39 4. กุมารไอ้ใข่วัดไผ่ลูกนก
ลําดับเจ้าอาวาส ปี พ.ศ.2456 - 2557 1. หลวงพ่อพร
2. หลวงพ่อจันทร์ ชัยเกตุ 3. หลวงพ่อจวน อินทร์แก้ว 4. หลวงพ่อยิ้ม ฐิตธมฺโม 5. พระอธิการสมจิตร พ.ศ.2514 - 2518 6. พระอาจารย์สิม ธมมฺโชโต พ.ศ.2519 - 2520 7. พระอธิการเสลี่ยม กิตติโสภโณ พ.ศ.2520 - 2530 8. พระครูโกสุมธรรมสาร (บัว มีใจดี) พ.ศ. 2511 - 2554 9. พระมหาวิโล รวิวณฺโณ (วิไล วงษ์นก 9 น.ธ.เอก, ป.ธ.4, ป.บส, พ.ธ.บ) พ.ศ.2557- ปัจจุบัน
อาคารเสนาสนะและสิ่งส�ำคัญภายในวัดไผ่ลูกนก
1. อุโบสถ 2. ศาลาการเปรียญ 3. หอสวดมนต์ 4. หอระฆัง 5. กุฏิเจ้าอาวาส 6. หมู่กุฏิพระสงฆ์ 7. กุฏิเรือนไทย หลวงพ่อบัว 8. ศาลเจ้าแม่ตะเคียนทอง 9. พระสีวลี 10. พระประธานพร 11. ศาลาบําเพ็ญกุศล
12. ศาลาริมน�้ำพญาหงส์ 13. ซุ้มประตูวัด 14. ศาลเจ้าที่วัด 15. ศาลาหน่วยอบรม อ.ป.ต. 16. ศาลาทรงไทยทีใ่ ส่บาตร 17. แพให้อาหารปลา 18. เมรุ (ฌาปนสถาน) 19. ห้องน�้ำชาย – หญิง 20. ลานจอดรถ 21. สนามโรงเรียน 22. ลานโพธิ์เงิน ผู้ว่าราชการจังหวัด
พระมหาวิ ไล รวิวณฺโณ เจ้าอาวาสวัดไผ่ลูกนก
SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 47
47
9/10/2563 16:28:53
วัดการ้อง ตั้งขึ้นเมื่อ ปี พ.ศ. 2457 โดย สถานทีต่ งั้ วัด บริเวณนีส้ นั นิษฐานว่าเดิมน่าจะ เป็นวัดเก่ามาก่อนแล้วถูกทิง้ ร้างไป สิง่ ทีพ่ งึ เห็น เป็นเค้ามูลปรากฏหลักฐานคือมีซากกองอิฐซึง่ แต่ก่อนยังพอมีสันนิษฐานให้เห็นมีลักษณะ เป็นวิหารหรือโบสถ์เก่าแต่ในปัจจุบันเหลือ เพียงเนินดิน พบหินทรายแดงมีลักษณะคล้าย ใบเสมาและยังพบพระพุทธรูปหินทรายขาว และแดงซึ่งถ้าดูจากลักษณะแล้วจะเป็นศิลปะ อยุธยาตอนปลายอีกจ�ำนวนมากแต่ปัจจุบัน เหลือเพียงซากปรักหักพัง เพราะชาวบ้านและ เจ้าอาวาสในสมัยก่อนขาดความรู้ในด้านการ อนุรักษ์ และยังมีผู้แอบอ้างส่วนราชการน�ำรถ มาขนย้ายออกไปจ�ำนวนมาก
History of buddhism....
วัดการ้อง พระปลัดเขตขันฑ์ อิสฺสโร เจ้าอาวาสวัดการ้อง
จากค�ำบอกเล่าของชาวบ้านที่เล่าสืบต่อ กันมา ชื่อ วัดการ้อง มีมาแต่ครั้งสมัยกรุงศรี อยุธยา มีมูลเหตุมาจากเด็กชายแก้ว ซึ่งเป็น บุตรของยายเกตุ คหบดีผู้มั่งคั่งในสมัยนั้น ได้ บรรพชาเป็นสามเณรเพือ่ ศึกษาเล่าเรียนสรรพ วิชาจากเกจิอาจารย์ตา่ ง ทีธ่ ดุ งค์ผา่ นไปมา ได้มา เสียชีวิตลงบริเวณนี้ ผู้เป็นแม่คือยายเกตุและ ชาวบ้านตามหาเท่าไรก็ไม่พบ จนได้ยินเสียง นกการ้องจึงเดินตามเสียงการ้องที่ส่งเสียง จึงมาพบศพ บริเวณ ณ ที่แห่งนี้ ยายเกตุและ ชาวบ้านจึงร่วมกันสร้างเป็นวัดขึน้ มาเพือ่ อุทศิ ให้ โดยเรียกชื่อว่า วัดการ้อง มาตั้งแต่ก่อน และได้ถูกทิ้งร้างไป เนื่องจากภัยสงครามสมัย กรุงศรีอยุธยาเสียกรุงครัง้ ทีส่ อง มายุคหลังราว ก่อน พ.ศ. 2457 หลวงพ่อแจ้ง ได้รเิ ริม่ ชักชวน ชาวบ้านซึ่งมีเชื้อสายชาวลาวที่มาตั้งถิ่นฐาน อยู่ในบริเวณแถบนี้มาท�ำการก่อสร้างวัดขึ้น มาใหม่และได้รับการตั้งวัด ในปี พ.ศ. 2457 และมีเจ้าอาวาสได้พัฒนาวัดให้เจริญรุ่งเรือง จนถึงปัจจุบันนี้
วัดการ้อง ตั้งอยู่เลขที่ 19 หมู่ที่ 1 บ้านดอนระก�ำ ต�ำบลสวนแตง อ�ำเภอเมืองสุพรรณบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย
48
2
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 48
12/10/2563 17:14:15
เสน
ปูชนียวัตถุและสิ่งส�ำคัญภายในวัดการ้อง
หลวงพ่อพระยศ
หลวงพ่อพระชัย
หลวงพ่อทันใจ
หลวงพ่อส�ำเร็จ
พระปลัดอิศรา
พระอธิการวิจิตร
หลวงพ่อเณรแก้ว
ปูนปั้นสดนรก 16 ขุม
อุโบสถสองชั้น ชั้นบน ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ พระประธาน ประจ�ำอุโบสถ เป็นพระพุทธชินราชจ�ำลอง ขนาดหน้าตักกว้าง 59 นิ้ว และ พระอัครสาวก 2 องค์ มีพระพุทธรูปศิลปะอูท่ องและเชียงแสน หน้าตักกว้าง 59 นิ้ว 2 องค์ หลวงพ่อเหลือ หน้าตักกว้าง 19 นิ้ว 1 องค์ อุโบสถชั้นล่าง มีพระพุทธรูปปรักหักพังสมัยอยุธยาตอนปลาย ราว จ� ำ นวน 13 องค์ ภาพปู น ปั น สดบรรยายนรกภู มิ ในไตรภู มิ พ ระร่ ว ง จ�ำนวน 16 ภาพ และยังมีรปู ปูนปัน้ สดเทวดาพระเกตุ พระมาลัยโปรดสัตว์นรก และพระยายมราชภาคเทวดา วิหารจัตุรมุข มีพระแก้วมรกตจ�ำลองเป็นพระประธานภายในวิหาร พระปูนปั้นหลวงพ่อเณรแก้ว 1 องค์ สร้างในสมัยใดไม่ปรากฏ และ พระพุทธรูปปูนปั้นสด อีก 4 องค์ ที่พระปลัดอิศรา ญาณธโร อดีตเจ้าอาวาส ได้สร้างขึ้นได้แก่ พระยศ พระชัย พระทันใจ พระส�ำเร็จ รูปเหมือน พระอธิการวิจิตร ฐิตลาโภ เจ้าอาวาสล�ำดับที่ 11 ผู้ริเริ่มพัฒนาวัดหลังจาก เสื่อมโทรมมาเป็นเวลานาน รูปเหมือนพระปลัดอิศรา ญาณธโร เจ้าอาวาส ล�ำดับที่ 12 เกจิอาจารย์ผเู้ ป็นต้นต�ำรับผ้ายันต์สารพัดกันทีโ่ ด่งดังในปี 2555 วิหารหลวงพ่อโสธรจ�ำลองซึ่งสร้างขึ้นบริเวณเนินดินที่สันนิษฐานไว้ว่า เป็นวิหารหรืออุโบสถเก่าตามประวัติวัดที่เล่าสืบต่อกันมา
ท�ำเนียบเจ้าอาวาส
1. พระอาจารย์แจ้ง 2. พระอาจารย์จ�ำปี 3. พระอาจารย์มวล 4. พระอาจารย์เล็ก 5. พระอาจารย์พุฒ 6. พระอาจารย์หวน 7. พระอาจารย์อุ่น 8. พระอาจารย์เพิ่ม
9. พระครูวินัยธรบุญทรง ปคุโน พ.ศ. 2518 – 2540 10. พระอาจารย์พิศิษฐ์ พ.ศ. 2540 - 2541 11. พระอธิการวิจิตร ฐิตลาโภ พ.ศ. 2542 – 2550 12. พระปลัดอิศรา ญาณธโร พ.ศ. 2551 – 2555 13. พระปลัดเขตขันฑ์ อิสฺสโร พ.ศ. 2555- ปัจจุบัน SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 49
49
9/10/2563 10:51:30
อ 251 ว ลักษ ศ เมื่อป ห 254 ก จ�ำน นอก ฌ จ�ำน ห้อง
5
มหากัจจายะโน จะ มหาเถโร ยักขาเทวา นะปูชิโต โสระโห ปัจจะยาทิมหิ มหาลาภัง สุขัง ภะวันตุเม
วัดสังฆจายเถร
ตั้งอยู่ที่บ้านท่าช้าง เลขที่ 233 หมู่ที่ 8 ต�ำบลสวนแตง อ�ำเภอเมืองสุพรรณบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี โทร. 063-3641994 วัดสังฆจายเถร สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ทีด่ นิ ตัง้ วัดมีเนือ้ ที่ 31 ไร่ 1 งาน 129 ตารางวา อาคารเสนาสนะประกอบด้วย อุโบสถ กว้าง 8 เมตร ยาว 23 เมตร สร้างเมือ่ พ.ศ.2500 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก ศาลาการเปรียญ กว้าง 25 เมตร ยาว 44 เมตร สร้างเมือ่ พ.ศ.2532 เป็น อาคารครึง่ ตึกครึง่ ไม้ 2 ชัน้ หอสวดมนต์ กว้าง 25 เมตร ยาว 30 เมตร สร้างเมือ่ พ.ศ.2527 เป็นอาคารครึง่ ตึกครึง่ ไม้ (บูรณะเมือ่ พ.ศ.2557) กุฎสิ งฆ์ จ�ำนวน 8 หลัง เป็นอาคารครึง่ ตึกครึง่ ไม้ ศาลาบ�ำเพ็ญกุศล จ�ำนวน 1 หลัง สร้างด้วยคอนกรีตเสริมเหล็ก เมรุ จ�ำนวน 1 หลัง สร้างด้วย คอนกรีตเสริมเหล็ก มณฑปทรงไทยจัตรุ มุข กว้าง 11 เมตร ยาว 11 เมตร สร้างด้วยคอนกรีตเสริมเหล็ก (สร้าง พ.ศ.2552)
50
2
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
_By TONY e.indd 50
8/10/2563 14:35:10
ประวัติวัดสังฆจายเถร
วัดสังฆจายเถร ตัง้ ขึน้ เมือ่ พ.ศ.2464 ไม่ปรากฏว่าผูใ้ ดเป็นผูส้ ร้าง เป็นวัดเก่าแก่วดั หนึง่ จากหลักฐานมีเจดียท์ รงปรางค์ ซึง่ สร้างมาประมาณ 600 กว่าปี กรมศิลปกรมาจดขึน้ ทะเบียนแล้ว แต่เดิมนัน้ วัดนีม้ ชี อื่ ว่า “วัดวังฆ้อง” เพิ่งมาเปลี่ยนเป็นวัดสังฆจายเถร ได้ประมาณ 99 ปี คนเก่าเล่าให้ฟงั ว่า ก่อนทีจ่ ะเปลีย่ นชือ่ วัดเป็นชือ่ วัดสังฆจายเถร บริเวณ วัดแห่งนี้เป็นป่ารกทึบ มีสิงห์สาราสัตว์นาๆ ชนิด อาศัยอยู่ในพื้นที่ น่ากลัวกว่าสมัยนี้ แต่เป็นธรรมดาของคนทีน่ บั ถือพระพุทธศาสนา ไม่วา่ จะอยู่ ณ สถานทีใ่ ด หมูบ่ า้ นใด ก็จะช่วยกันสร้างวัดวาอารามไว้ เพือ่ เป็น เครือ่ งยึดเหนีย่ วจิตใจ นิมนต์พระมาจ�ำพรรษา ผลัดเปลีย่ นกันมาดูแล พระบ้างดูแลวัดบ้าง มีเจ้าอาวาสคอยให้ธรรมะแก่ชาวบ้าน เพือ่ ขัดเกลา กิเลสให้เบาบาง หมุนเวียนเปลี่ยนไปตามวัฎจักร ชาวบ้านละแวกนี้ บางกลุม่ เป็นคนไทย บางกลุม่ เป็นคนลาวเวียง ลาวโซ่ง และคนจีน ทีม่ า อาศัยท�ำมาหากินกันในบริเวณนี้ ต่อมามีชาวจีนได้มาท�ำการถากถางป่าเพื่อที่จะเป็นพื้นนาไว้ท�ำ มาหากิน ไถดินบริเวณวัด ได้เจอพระพุทธรูปองค์หนึง่ เป็นเนือ้ หินทราย มีลกั ษณะอ้วน ขนาดหน้าตักประมาณ 9 นิว้ จึงน�ำไปมอบให้แก่ทา่ น เจ้าอาวาสในยุคนั้น ท่านเจ้าอาวาสก็ทราบดีว่านี่คือพระสังกัจจายน์ ถือว่าเป็นนิมิตหมายที่ดี จึงเรียกชาวบ้านมาคุยกันและเปลี่ยนชื่อวัด เสียใหม่ โดยให้ชอื่ ว่า วัดสังฆจายเถร พระสังกัจจายน์เถระ ตามประวัติ ทางพระพุทธศาสนาท่านเป็นพระเถระองค์หนึง่ ในสาวก 80 องค์ ทีเ่ ป็น พระอรหันต์ จึงได้ชอื่ ว่าพระสังกัจจายน์เถระ และได้อาศัยชือ่ ของท่าน มาเป็นชือ่ วัด แต่ตวั หนังสืออาจเขียนผิดกันเพราะคนในสมัยก่อนจะเขียน หนังสือตามความเข้าใจ อ่านง่าย จึงได้เขียนชือ่ วัดว่า “วัดสังฆจายเถร”
พระสังกัจจายน์ (องค์ ใหญ่)
สร้างด้วยเนือ้ โลหะพิเศษ หน้าตักกว้าง 9 เมตร 9 นิว้ สูง 10 เมตร พระครูสริ กิ ติ ติคณ ุ (ชาญชัย วงศ์ตนั ฮวด) เจ้าอาวาสองค์ปจั จุบนั มาด�ำริ ทีจ่ ะจัดสร้างพระสังกัจจายน์ ให้เป็นเอกลักษณ์ของวัด และตรงกับชือ่ ของวัด จึงได้ปรึกษากับคณะกรรมการวัด และชาวบ้าน ว่าจะท�ำการ สร้างพระสังกัจจายน์ ด้วยแรงศรัทธาของชาวบ้าน และผูม้ ศี รัทธาทัว่ ไป ได้ทำ� การสร้างขึน้ เมือ่ พ.ศ. 2557 แล้วเสร็จเมือ่ พ.ศ. 2560 และท�ำการ เฉลิมฉลองเมื่อต้นปี พ.ศ. 2561 และเปิดให้พุทธศาสนิกชนทั่วไปมา สักการะบูชา ขอพร ขอโชคลาภ ได้ตลอด
SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
2
_By TONY e.indd 51
51
8/10/2563 14:35:22
History of buddhism....
วัดบ้านโพธิ์ตะวันตก พระอธิการนพรัตน์ สุธีโร เจ้าอาวาสวัดบ้านโพธิ์ตะวันตก
วัดบ้านโพธิ์ตะวันตก ตั้งอยู่เลขที่ 165 หมู่ที่ 2 ต�ำบลบ้านโพธิ์ อ�ำเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี
52
สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีเนื้อที่ทั้งหมด 44 ไร่ 1 งาน 43 ตารางวา แบ่งเป็นที่ธรณีสงฆ์ 2 แปลง แปลงที่ 1 มีเนื้อที่ 1 ไร่ 31 ตารางวา แปลงที่ 2 มีเนื้อที่ 5 ไร่ 3 งาน 36 ตารางวา เนื้อที่ตั้งวัด 37 ไร่ 1 งาน 76 ตารางวา
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
2
.indd 52
9/10/2563 13:55:07
ประวัติวัดบ้านโพธิ์ตะวันตก
พระครู ศ รี ไ ด้ เ ล่ า ตามคนเก่ า ๆ เล่ า ต่ อ ๆ กั น มาว่ า ประชาชน ชาวบ้านโพธิ์ เดิมอยู่ที่นครเวียงจันทร์ได้อพยพจากนครเวียงจันทร์ เมื่อครั้งเมืองเวียงจันทร์ถูกข้าศึกตีแตกย้ายมาอยู่บ้านโพธิ์ตะวันตก หมู่ 2 ต�ำบลบ้านโพธิ์ อ�ำเภอเมืองสุพรรณ ท่านพระครูศรีเล่าต่อไป อีกว่า เมื่อท่านบวชได้ 5 พรรษา ท่านได้ไปเที่ยวเยี่ยมญาติของท่าน ถึงนครเวียงจันทร์ สมัยพระเจ้ากรุงธน เรื่องมีอยู่ว่า พระวอเสนาบดี เมืองเวียงจันทร์ เกิดวิวาทกับเจ้าเมืองเวียงจันทร์ สู้เจ้าเมืองเวียง จั น ทร์ ไ ม่ ไ ด้ จึ ง หนี เ ข้ า มาอยู ่ บ ้ า นดอนมดแดง (ที่ ตั้ ง จั ง หวั ด อุบลราชธานี) แล้วยอมอ่อนน้อมต่อไทย ครัง้ ต่อมาเจ้าเมืองเวียงจันทร์ ให้กองทัพมาจับข้าเสีย สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงกริ้ว เพราะ เป็นการหมิ่นพระเดชานุภาพ จึงให้สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตรย์ศึก กับเจ้าพระยาสุรสีหย์ กทัพไปตีได้เมืองเวียงจันทร์กบั เมืองหลวงพระบาง พร้อมทั้งเมืองขึ้นทั้งปวง ตอนยกทัพกลับได้อันเชิญพระแก้วมรกต และพระบาง มายังกรุงธนบุรีด้วยนับจาก พ.ศ. 2321 – พ.ศ. 2545 บัดนี้ได้ 224 ปีแล้ว ในครั้งนี้เองคนไทยในนครเวียงจันทร์จึงได้อพยพ ติดตามพระแก้วมรกตและพระบาง นับตั้งแต่ พ.ศ. 2321 ได้อพยพ มาจากนครเวี ย งจั น ทร์ ม าอยู ่ ที่ บ ้ า นพลู ห ลวง จนถึ ง พ.ศ. 2359 หลวงพ่อแหยมเกิดถึง พ.ศ. 2400 ในระหว่างนี้ได้แยกย้ายจากบ้าน พลูหลวงไปอยูใ่ นทีต่ า่ งๆ ดังทีก่ ล่าวมาแล้วนัน้ มาอยูบ่ า้ นโพธิต์ ะวันตกนัน้ ท่านกล่าวว่า ได้ทยอยกันมาท�ำนาท�ำไร่ กว่าจะตั้งบ้านเรือนขึ้นให้ เป็นปึกแผ่นแน่นหนาได้ก็ในราว 41 ปี ตั้งแต่ พ.ศ. 2400 เป็นต้นไป หลวงพ่อแหยม บวชเมื่อปี พ.ศ. 2379 บวชที่วัดหน่อพุทธางกูร เมื่อ ท่านอายุครบ 21 ปี บ้านโพธิ์ตะวันตกนี้เดิมเรียกกันว่า บ้านดอนเฟือง ตามที่คนเก่าได้เล่าต่อๆ กันมาว่า มีพระธาตุจอมเฟืองอยู่ที่บ้าน นางทองดี นางดาวเรือง นางทวน และนางปรานี ที่อยู่ปัจจุบันนี้ บัดนี้ ได้ สู ญ หายหมดแล้ ว วั ด บ้ า นโพธิ์ ต ะวั น ตก เดิ ม คงจะเรี ย กกั น ว่ า วัดโพธิ์สุวรรณ บ้านดอนเฟืองจริงๆ วัดโพธิ์สุวรรณ เพราะช่างแผนที่ ได้ถามหาหลักหินขนาดใหญ่สี่เหลี่ยม สมัยก่อนอยู่ท่ีต้นโพธิ์วัดเก่าใน แผนที่เรียกว่าวัดโพธิ์สุวรรณ ต่อมา พระอธิการศรี มีอายุได้ 19 ปี ขณะนั้นท่านยังบวชเป็นสามเณรอยู่ หลวงพ่อแหยม เป็นสมภาณ วัดบ้านโพธิ์ตะวันตก อายุได้ 81 ปี พรรษาที่ 14 ในตอนนี้เป็น พ.ศ. 2440 ปี ประชาชนชาวบ้านโพธิ์ฝั่งตะวันออกได้จัดสร้างวัดขึ้นทาง ฝั่งตะวันออกของล�ำบึงบ้านโพธิ์ ได้นิมนต์หลวงพ่อโสม ซึ่งบวชอยู่ วั ด บ้ า นโพธิ์ ต ะวั น ตก ไปเป็ น สมภาณวั ด บ้ า นโพธิ์ ต ะวั น ออก วัดบ้านโพธิ์ตะวันตกนี้ ได้สร้างขึ้นก่อนวัดอื่นๆ ภายในต�ำบลนี้ เมื่อ สร้างวัดนี้ขึ้นแล้วแถบบ้านโพธิ์ท่าทราย วังมะเกลือ บึงคัน มาท�ำบุญ ที่วัดนี้ทั้งนั้น เหตุที่สร้างวัดบ้านโพธิ์ตะวันตกขึ้น ก็เนื่องจากคนแก่ๆ ไปท�ำบุญที่วัดหน่อพุทธางกูร ไม่ไหวนั่นเอง ที่ย้ายบ้านพลูหลวงมา อยู ่ บ ้ า นโพธิ์ นี้ มิ ใ ช่ มี แ ต่ ค นที่ เ กิ ด แต่ ใ นบ้ า นพลู ห ลวงเท่ า นั้ น ผู้ที่เกิดมาจากเวียงจันทร์ มาอยู่ที่บ้านพลูหลวงแล้วย้ายมาอยู่ที่ บ้านโพธิ์ก็มี อาทิเช่น 1. นายบา - นางพุฒ (โยมหลวงพ่อแหยม)
2. นายป่อง- นางโสม (ตาและยายของพระครูศรี) 3. นายพันชาติ (เป็นตาของนายด�ำดี แก้วพิลา) 4. นายเท้า- นางสุข (เป็นปู่และย่า ของนางสุ่ม พันพุฒ) 5. นางอุ่น (เป็นยายของโยมหล่อง) ท่านที่กล่าว มานี้ ไ ด้ เ กิ ด ที่ น ครเวี ย งจั น ทร์ หลวงพ่ อ แหยมกั บ ชาวบ้ า นโพธิ์ ไ ด้ หักล้างถางป่าสร้างวัดบ้านโพธิ์นี้ขึ้นได้ประมาณ 1 ไร่เศษๆ ปลูกกุฏิ ได้ 2-3 หลัง ใช้เสาทุบเปลือกหลังคามุงแฝกพื้นปูฝาก พระครูศรี กล่าวว่า สร้างวัดเสร็จหลวงพ่อแหยมได้ไปนิมนต์ หลวงพ่อแจ่ม มาจากบ้านโข้ง มาเป็นสมภารวัดองค์แรก
พระอธิการนพรัตน์ สุธีโร เจ้าอาวาสวัดบ้านโพธิ์ตะวันตก
รายชื่อเจ้าอาวาสวัดบ้านโพธิ์ตะวันตก รูปที่ 1 พระอาจารย์แจ่ม
รูปที่ 2 พระอาจารย์อ�่ำ รูปที่ 3 พระอาจารย์ปล้อง รูปที่ 4 พระอาจารย์บุญเรือน รูปที่ 5 พระอาจารย์พู รูปที่ 6 พระอาจารย์แหยม รูปที่ 7 พระครูศรี จนฺทโชโต พ.ศ. 2459 – 2509 รูปที่ 8 พระอธิการบุญชู ฐิตวณฺโณ พ.ศ. 2510 – 2524 รูปที่ 9 พระอธิการเพี้ยน กตสาโร พ.ศ. 2525 – 2546 รูปที่ 10 พระอธิการศักดิ์นริทร์ จกฺกวโร พ.ศ. 2546 – 2556 รูปที่ 11 พระอธิการนพรัตน์ สุธีโร พ.ศ. 2557 – ปัจจุบัน SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 53
53
9/10/2563 13:55:15
History of buddhism....
วัดสวนแตง พระมหาสมบูรณ์ สิริปุญฺโญ (ป.ธ.6) เจ้าอาวาสวัดสวนแตง
วัดสวนแตง ตั้งอยู่เลขที่ 324 หมู่ที่ 4 ต�ำบลสวนแตง อ�ำเภอเมืองสุพรรณบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย
54
2
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 54
วัดสวนแตง ตั้งเมื่อ พ.ศ.2403 อายุ 155 ปี ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 15 มกราคม 2513 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 20 เมตร ยาว 40 เมตร วัดมีเนื้อที่จ�ำนวน 16 ไร่ 1 งาน 71 ตารางวา ชาวบ้านแถวนี้เป็นชาวลาวเวียงอพยพ มาจากเวียงจันทร์ ท�ำอาชีพปลูกแตงไทย แตงโม กันเป็นส่วนใหญ่ จึงเรียกชื่อหมู่บ้าน ตามลักษณะอาชีพของชาวบ้านคือ บ้านสวนแตง วัดสวนแตงเป็นที่ตั้ง ร.พ. ส.ต.สวนแตง, โรงเรียนวัดสวนแตง (ปฐม), โรงเรียน สวนแตงวิทยา (มัธยม), ศูนย์เด็กเล็กวัดสวนแตง และยังเป็นสถานทีป่ ระกอบศาสนกิจ ส�ำคัญทางพระพุทธศาสนา เป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจของชาวบ้านในชุมชน และในส่วน ของวัดสวนแตงยังจัดให้เป็นตลาดสดสวนแตง เพื่อให้ประชาชนชาวบ้านได้มีอาชีพ สร้างรายได้ น�ำอาหาร พืชผักมาจ�ำหน่าย เป็นจุดแลกเปลี่ยนสินค้าชุมชนก่อให้เกิด รายได้ในชุมชนอีกทางหนึ่ง
8/10/2563 11:49:47
พระมหาสมบูรณ์ สิริปุญฺโญ (ป.ธ.6) เจ้าอาวาสวัดสวนแตงองค์ ปัจจุบัน ท่านเป็นพระนักพัฒนา และพระยอดกตัญญู เลี้ยงดูโยมแม่ วัย 94 ปี ซึ่งอาศัยอยู่ที่วัดสวนแตง และยังมีชีวิตอยู่ ท่านปฏิบัติ หน้าที่ของลูกที่ดี เป็นตัวอย่างที่ดีให้กับชาวบ้าน และยังช่วยดูแล พัฒนาวัดสวนแตง ร่วมกับชาวบ้านได้เป็นอย่างดี ปัจจุบันวัดสวนแตงมีพระภิกษุจ�ำพรรษา 10 รูป
ล�ำดับเจ้าอาวาส
1. พระครูทุย กนฺตสีโล 2. พระครูธรรมสารรักษา 3. พระครูเกษมสุวรรณคุณ 4. พระอธิการกาญจน์ กาญฺจโน 5. พระครูพิศาล ประชากิจ 6. พระอธิการสุริยัน ปสุโต 7. พระมหาสมบูรณ์ สิริปุญฺโญ
SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 55
55
8/10/2563 11:50:02
History of buddhism....
วัดปู่บัว พระครูสิริวิริยาภรณ์ เจ้าอาวาสวัดปู่บัว
วัดปู่บัว ตั้งอยู่ที่ต�ำบลสนามชัย อ�ำเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี
56
2
ประวัติของวัดปู่บัว ไม่ปรากฏแน่ชัดแต่มีต�ำนานเล่าว่าแต่เดิมมีชื่อว่า “วัดปลุกบัว” โดยย้อนเหตุการณ์ไปเมื่อสมเด็จพระนเรศวรมหาราชเสร็จจากการศึกสงครามให้น�ำศพ ทหารมาช�ำระล้างที่หนองน�้ำหน้าวัด และประกอบพิธีปลุกบัวเพื่อขอขมาต่อศพวีรชน เหล่านั้น จึงได้ชื่อว่า “วัดปลูกบัว” และภายหลังเพี้ยนมาเป็น “ปู่บัว”
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 56
9/10/2563 10:40:05
สิ่งส�ำคัญภายในวัดปู่บัว ได้แก่
- เจดีย์ประธาน ตั้งอยู่ริมแม่น�้ำท่าจีน ลักษณะเป็นเจดีย์ฐาน สี่เหลี่ยมซ้อนขึ้นไป มีห้องคูหาตรงส่วนของเรือนธาตุ ส่วนยอดบน เป็นทรงระฆังคอดรองรับปลียอด จากการขุดแต่งทางโบราณคดีพบ ว่ า เจดี ย ์ อ งค์ นี้ มี ก ารบู ร ณะซ่ อ มแซมมาแล้ ว โดยเป็ น การก่ อ เสริ ม บริเวณส่วนฐานขององค์เจดีย์ - เจดีย์ราย จ�ำนวน 7 องค์ อยู่ด้านหน้าของเจดีย์ประธาน ตั้ง เรียงในแนวทิศเหนือ-ใต้ เมือ่ พิจารณาจากรูปแบบสถาปัตยกรรมประกอบกับหลักฐานทาง โบราณคดี สันนิษฐานว่าเป็นงานศิลปกรรมสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น เอกสารเก่าจากหอจดหมายแห่งชาติ ระบุว่าเมื่อปี พ.ศ.2471 เคยมีการพบพระพุทธรูปนาคปรกหินทรายสมัยลพบุรี มากกว่า 30 องค์ จากเจดีย์ของวัดปุ่บัว แต่ปัจจุบันถูกเคลื่อนย้ายและสูญหายไป เกือบหมดคงเหลือองค์ที่สมบูรณ์อยู่ภายในอุโบสถของวัดปู่บัว 1 องค์ และเก็บรักษาไว้ที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สุพรรณบุรี 1 องค์ กรมศิลปากร ประกาศขึ้นทะเบียนโบราณสถานวัดปู่บัว ในราช กิจจานุเบกษา เล่ม 52 หน้า 1711 วันที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2478 ส�ำนักศิลปากรที่ 2 สุพรรณบุรี ด�ำเนินการขุดแต่งและบูรณะ โบราณสถานวัดปู่บัว เมื่อปี พ.ศ. 2554 โดยเป็นการบูรณะเสริมความ มั่นคงตามรูปแบบสถาปัตยกรรมเดิม
อาคารเส
- อุโบ มีแต่พระพ 18 เมตร - พร อุโบสถ พ สูง 19.9 เ ในวโรกาส - ศาล ถือปูนโคร - โรงค 12 เมตร - กุฏสิ ขนาดกว้า หลังที่ 2 กว้าง 6.2 ทรงไทยไ ยาว 7 เม - หอ 2.30 เมต - พระ พระราชก - รูปห สร้างเมื่อป
พระครูสิริวิริยาภรณ์ เจ้าอาวาสวัดปู่บัว
SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 57
57
9/10/2563 10:40:20
History of buddhism....
วัดม่วง พระปลัดสมจิต สนฺตกาโย เจ้าอาวาสวัดม่วง
58
2
วัดม่วง ตั้งอยู่เลขที่ 1 หมู่ที่ 1 ต�ำบลสวนแตง อ�ำเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย
วัดม่วงเป็นวัดเก่าแก่สมัยอยุธยาตอนต้น สร้างเป็นวัดตั้งแต่ปีไหน ไม่มีหลักฐาน แน่ชัด ทราบแต่เพียงว่าเป็นวัดร้าง วัดเก่าแก่ จากหลักฐานที่ปรากฏคือมีเจดีย์ เก่าแก่อยู่ภายในวัด ปัจจุบันได้รับอนุญาตให้สร้างเป็นวัดในปี พ.ศ.2462 ได้รับ วิสุงคามสีมา ปี พ.ศ. 2510
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 58
8/10/2563 14:05:44
จากอดีตจนถึงปัจจุบันมีพระสงฆ์ดูแลปกครองวัดด้วยกันทั้งหมด 14 องค์ ซึง่ เจ้าอาวาสปัจจุบนั เป็นองค์ที่ 14 พระปลัดสมจิต สนฺตกาโย ได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาสวัดม่วงเมื่อปี พ.ศ. 2551 ท่านได้ร่วมกัน กับชาวบ้านในละแวกนี้พัฒนาวัดม่วง สร้างเสนาสนะ สิ่งปลูกสร้าง ถาวรวัตถุให้คงอยู่คู่กับวัดม่วงมากมายและเพื่อสืบทอดพระพุทธ ศาสนาต่อไปภายหน้า เป็นสถานที่ยึดเหนี่ยวจิตใจของศาสนิกชน ชั่วรุ่นลูกรุ่นหลานสืบไป อาคารเสนาสนะ และสิ่งปลูกสร้าง ภายในวัดม่วง ได้แก่ อุโบสถ ศาลาการเปรียญ เมรุ ศาลาธรรมสังเวช กุฏิพระสงฆ์ และอื่นๆ
ร่วมสร้างเส้นทางบุญ
ขอเชิ ญ ญาติ ธ รรม ศาสนิ ก ชนทั้ ง หลายร่ ว มสร้ า งเส้ น ทางบุ ญ ร่วมกันสืบทอดพระพุทธศาสนาให้คงอยู่กับเราตลอดไป ท่านสามารถ ร่วมท�ำบุญ ไหว้พระ กับวัดม่วง ได้ตลอดทุกวัน
พระปลัดสมจิต สนฺตกาโย เจ้าอาวาสวัดม่วง
SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 59
59
8/10/2563 14:06:00
History of buddhism....
วัดสารภี พระครูใบฎีกาสมบัติ ปภาโส เจ้าอาวาสวัดสารภี
วัดสารภี ตั้งอยู่เลขที่ 1 หมู่ 6 ตําบลสระแก้ว อําเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี โทรศัพท์ 097-938 9955
60
2
เดิมวัดสารภีเป็นวัดร้าง ต่อมาได้มีพระภิกษุมา ทําการบูรณะวัด ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2353 ภายในวัดได้มพี ระปรางค์เก่า แต่ได้พงั ลงมา เนือ่ งจากถูกขุดเจาะเอาสิง่ ของ มีค่าในพระปรางค์ไป สมัยนั้นและ ได้ทําการไถกลบ ปัจจุบันพื้นที่บริเวณนั้น ได้ทําเป็นศาลาการเปรียญ สิ่งของที่เหลืออยู่ในพระปรางค์คือ พระนาคปรก พระประจําวัด วัดสารภี ได้ตั้งวัดเมื่อปี พ.ศ. 2353 และได้รับพระราชทาน วิสุงคามสีมาเมื่อปี พ.ศ. 2497
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 60
8/10/2563 16:13:54
ประวัติเจ้าอาวาส
พระครู ใ บฎี ก าสมบั ติ ฉายา ปภาโส อายุ 45 พรรษา 17 นั ก ธรรมเอก พธ.ม. นามเดิ ม ชื่ อ นายสมบั ติ อิ่ ม เลี้ ย ง เกิ ด วั น ที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2518 ปีขาล บิดาชื่อนายแสง อิ่มเลี้ยง มารดาชื่อ นางวรรณณา อิ่มเลี้ยง ภูมิล�ำเนาเดิมอยู่ที่ต�ำบลสระแก้ว อ�ำเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี อุปสมบทเมื่ออายุ 29 วันที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2547 ณ วัดสารภี ต�ำบลสระแก้ว อ�ำเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี ดํารงตําแหน่งเจ้าอาวาสวัดสารภี เมื่อวันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2555 พระอุ ป ั ช ฌาย์ คื อ พระครู ส นั น ทโชติ , พระกรมวาจาจารย์ คื อ พระอธิการทอง ฐานัสสาโร วัดปลายน�้ำ, พระอนุสาวนาจารย์ คือ พระประดับ ปภากโร วัดสารภี
พระครูใบฎีกาสมบัติ ปภาโส เจ้าอาวาสวัดสารภี
SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 61
61
8/10/2563 16:14:08
History of buddhism....
วัดลาดกระจับ พระอธิการมารุตต์ รกฺขิโต เจ้าอาวาสวัดลาดกระจับ
วัดลาดกระจับ ตั้งอยู่เลขที่ 337 หมู่ที่ 10 ต�ำบลศาลาขาว อ�ำเภอเมืองสุพรรณบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี
62
2
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 62
วัดลาดกระจับสมัยก่อนนี้เป็นวัดร้าง มีหลักฐานปรากฏให้เห็นคือเนินดินเก่า อิฐเก่าสมัยโบราณ ในปี พ.ศ. 2518 หลวงพ่อจ�ำรัส กับชาวบ้านได้ปรึกษาหารือกันว่า จะสร้างวัดเพื่อเป็นที่ประกอบพิธีกรรมทางพระพุทธศาสนา เป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจของ ชาวบ้าน จึงได้ร่วมกันถากถางพื้นที่เพื่อเป็นสถานที่สร้างวัด และจากความร่วมมือกัน ของญาติโยมจึงท�ำให้เกิดเป็นวัดกระจับมาและได้รับการพัฒนามาเรื่อยๆ และได้รับ พระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อปี พ.ศ.2549
9/10/2563 16:23:47
รายนามเจ้าอาวาสปกครองวัดลาดกระจับ
ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน มีดังนี้ 1. พระอาจารย์จ�ำรัส 2. พระอาจารย์มานิตย์ 3. พระอาจารย์จวน โอปายิโก 4. พระอาจารย์บุญธรรม จนฺทธมฺโม 5. พระสมุห์สังวาล โกสโล 6. พระอาจารย์สุนทร 7. พระอาจารย์วิโรจน์ 8. พระอธิการมารุตต์ รกฺขิโต เจ้าอาวาสองค์ปัจจุบัน
พระอธิการมารุตต์ รกฺขิโต เจ้าอาวาสวัดลาดกระจับ
SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 63
63
9/10/2563 16:24:03
History of buddhism....
วัดพระนอน พระมหาอานนท์ เขมปาลี เจ้าอาวาสวัดพระนอน
64
2
วัดพระนอน ตั้งอยู่เลขที่ 166 ต�ำบลพิหารแดง อ�ำเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 64
8/10/2563 15:07:59
วัดพระนอน สร้างขึ้นในสมัยรัตนโกสินทร์ ได้รับพระราชทาน วิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2523 ภายในวัดมีอุทยาน มัจฉาแห่งชาติ อยู่บริเวณริมน�้ำหน้าวัดมีปลานานาชนิดชุกชุมทั้ง ปลาสวาย ปลาตะเพียน ปลาแรด ทางวัดประกาศเป็นเขตอภัยทาน และปลู ก ต้ น ไม้ ทั้ ง ไม้ ผ ล ไม้ ป ระดั บ บริ เวณวั ด จึ ง ร่ ม รื่ น สวยงาม เป็นสถานที่พักผ่อนหย่อนใจของจังหวัด และยังมีวิหารประดิษฐาน พระพุทธรูปปางไสยาสน์ส ลั ก หิ น มี ลั ก ษณะแปลกกว่ า ที่ อื่ น คื อ พระพุทธรูปอยูใ่ นลักษณะนอนหงายขนาดเท่าคนโบราณ ยาวประมาณ 2 เมตร ลักษณะคล้ายกับพระนอนที่เมืองกุสินารา ประเทศอินเดีย สถานที่ปรินิพพานของพระพุทธเจ้า มีศาลเจ้าแม่กวนอิม และยังเป็น แหล่งท่องเที่ยวหนึ่งใน Unseen Thailand อีกด้วย
ประวัติเจ้าอาวาส
พระมหาอานนท์ ฉายา เขมปาลี เจ้าอาวาสวัดพระนอน อายุ 57 พรรษา 34 วิทยฐานะ นักธรรมชั้นเอก เปรียญธรรม 3 ประโยค เดิมชื่อ นายอานนท์ ชูวงษ์ เกิดเมื่อวันที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2506 บิดาชื่อ นายเอียด ชูวงษ์ มารดาชื่อ นางจ�ำเนียร ชูวงษ์ อยู่หมู่ที่ 7 ต�ำบลร�ำมะสัก อ�ำเภอโพธิ์ทอง จังหวัดอ่างทอง ก่อนจะอุปสมบทได้ บรรพชาเป็นสามเณรอยู่ ณ วัดป่าพระเจ้าระหว่างนัน้ ได้ศกึ ษาเล่าเรียน พระธรรมวิ นั ย สอบนั ก ธรรมตรี - โท ตามล� ำ ดั บ แล้ ว ได้ ย ้ า ยมาอยู ่ วัดสุวรรณภูมิเพื่อศึกษาต่อจนส อบนักธรรมเอกและเปรียญธรรม 3 ประโยคในส� ำ นั ก ศาสนศึ ก ษาวั ด สุ วรรณภู มิ ต� ำ บลท่ า พี่ เ ลี้ ย ง อ�ำเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรีหลังจากนั้นเข้ารับการอุปสมบทเมื่อ วันที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ.2529 ณ วั ดป่าพระเจ้า ต�ำบลปลายนา อ�ำเภอศรีประจันต์ จังหวัดสุพรรณบุรี และได้ย้ายจากวัดสุวรรณภูมิ มาจ� ำ พรรษาที่ วั ด พระนอนและได้ รั บ แต่ ง ตั้ ง เป็ น เจ้ า อาวาส วัดพระนอนเมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ.2545 จนถึงปัจจุบัน
พระมหาอานนท์ เขมปาลี เจ้าอาวาสวัดพระนอน
SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 65
65
8/10/2563 15:08:12
History of buddhism....
วัดหน่อพุทธางกูร พระครูปริยัติวรางกูร เจ้าอาวาสวัดหน่อพุทธางกูร
วัดหน่อพุทธางกูร ตั้งอยู่เลขที่ 52 หมู่ที่ 1 ต�ำบลพิหารแดง อ�ำเภอเมืองสุพรรณบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี 72000
66
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
2
.indd 66
วัดหน่อพุทธางกูรนี้สร้างขึ้นในสมัยใดไม่ปรากฏหลักฐานแน่ชัด ชาวบ้านเล่าลือ สืบต่อกันมาว่าชาวลาวที่ถูกกวาดต้อนมาจากเวียงจันทน์ เมื่อคราวกบฏเจ้าอนุวงศ์ ปี พ.ศ. 2369 ได้อพยพมาตั้งถิ่นฐานบริเวณนี้และได้สร้างส�ำนักสงฆ์ขึ้นในบริเวณที่มี ฐานอุโบสถเก่าอยู่ก่อนแล้ว แต่ไม่สามารถสืบหาอายุได้ว่าส�ำนักสงฆ์นี้สร้างขึ้นเมื่อใด ต่อมาขุนพระพิมุขข้าหลวงในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงได้มาสร้าง เป็ น วั ด ขึ้ น ให้ ชื่ อ ว่ า “วั ด มะขามหน่ อ ” จนกระทั่ ง ในสมั ย พระครู สุ ว รรณวรคุ ณ (ค�ำ จนทโชโต) เป็นเจ้าอาวาสจึงได้เปลี่ยนชื่อวัดนี้เป็น “วัดหน่อพุทธางกูร”
9/10/2563 15:43:35
พระอุโบสถเก่าของวัดที่มีภาพจิตรกรรมฝาผนังนั้น สันนิษฐาน ว่าน่าจะสร้างมาตั้งแต่สมัยอยุธยาตอนปลาย เนื่องจากลักษณะของ ฐานที่แอ่นโค้งแบบท้องเรือส�ำเภาอันเป็นรูปแบบที่นิยมมากในสมัย อยุธยาตอนปลาย จิตรกรรมของวัดนี้เขียนอยู่ภายในและภายนอก พระอุโบสถ ผู้เขียน คือ นายค�ำ ช่างหลวงที่ถูกกวาดต้อนมาจาก เวียงจันทร์เมื่อคราวกบฏเจ้าอนุวงศ์
อุโบสถเก่าวัดหน่อพุทธางกูร
ลักษณะทางสถาปัตยกรรมของอุโบสถ เป็นอาคารรูปสี่เหลี่ยม ผืนผ้าก่ออิฐถือปูนขนาด 3 ห้อง ด้านหน้าโบสถ์มีมุขยื่นออกมามีเสา รองรับอยู่ 4 ต้น หน้าบันและส่วนประดับต่างๆ เป็นไม้จ�ำหลักงดงาม มาก หลังคามุงกระเบื้องดินเผาปลายมน ฐานอาคารแอ่นโค้งเป็นรูป ท้องเรือส�ำเภา ซึ่งเป็นลักษณะของสถาปัตยกรรม ที่นิยมในสมัย อยุธยาตอนปลาย
ภาพจิตรกรรมที่ผนังด้านนอกอาคาร
ปัจจุบันเหลือหลักฐานที่ซุ้มประตูทางเข้าซึ่งน่าจะเขียนยังไม่เสร็จ เพราะยังปรากฏภาพร่างลายเส้นดินสอด�ำ เขียนเป็นภาพต้นนารีผล ส่วนภาพจิตรกรรมภายในอุโบสถเขียนที่ผนังทั้ง 4 ด้าน เรื่องพุทธ ประวัติทศชาติชาดก พระเจดีย์จุฬามณี และเทพชุมนุม ภาพจิตรกรรมที่อุโบสถวัดหน่อพุทธางกูรเป็นจิตรกรรมแบบไทย ภาพจิตรกรรมระบายสีแบบเรียบด้วยสีสันสดใสแล้วตัดเส้นเป็นภาพ สองมิติที่ให้ความรู้สึกเพียงด้านกว้างและด้านยาว เนื้อเรื่องที่เขียน เป็นเรื่องราวในพุทธศาสนามีทั้ง ทศชาติชาดก พุทธประวัติ เทพยดา ต่ า งๆ และเรื่ อ งราวในไตรภู มิ ซึ่ ง เป็ น ที่ นิ ย มโดยทั่ ว ไปในสมั ย รัตนโกสินทร์ตอนต้น อุโบสถวัดหน่อพุทธางกูร มีการเขียนภาพจิตรกรรมทั้งด้านนอก และด้านในของอาคารด้านนอกบริเวณประตูทางเข้าอุโบสถเป็นรูป พระเจดีย์จุฬามณี ช่างใช้เทคนิคประติมากรรมผสมจิตรกรรม ท�ำเป็น ซุ้มปูนปั้นเหนือประตูทางเข้าแทนพระเจดีย์จุฬามณี แล้วใช้จิตรกรรม เขียนตกแต่งประกอบชั้นบนสุดของฝาผนังเป็นรูปคนธรรณพ์วิทยา ธรเหาะมุ่งหน้าเข้าหาพระเจดีย์จุฬามณี ทางด้านซ้ายเจดีย์เป็นภาพ ต้นนารีผล มีนักสิทธิ์และวิทยาธรก�ำลังชื่นชมและเก็บผล จิตรกรรม ฝาผนังที่ประตูเปล่าและส่วนใหญ่เป็นภาพร่างด้วยดินสอด�ำ ซึ่งเป็น ประเด็นที่น่าสนใจเนื่องจากประวัติการเขียนภาพที่ชาวบ้านเล่าสืบ ต่อกันมาระบุว่า นายค�ำช่างเขียนภาพเขียนที่วัดหน่อพุทธางกูร ก่อน แล้วจึงไปเขียนภาพที่วัดประตูสารต่ออาจเป็นไปได้ว่าช่างเขียนภาพ ที่วัดประตูสารก่อนแล้วจึงมาเขียนภาพที่วัดหน่อพุทธางกูรต่อ พระครูปริยัติวรางกูร
เจ้าอาวาสวัดหน่อพุทธางกูร
SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 67
67
9/10/2563 15:43:47
History of buddhism....
วัดคันทด พระครูสังฆรักษ์ มนูญ สุจิณฺโณ เจ้าอาวาสวัดคันทด
วัดคันทด ตั้งอยู่เลขที่ 87 บ้านคันทด หมู่ที่ 4 ตําบลท่าระหัด อําเภอเมืองสุพรรณบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย
68
2
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 68
วัดบางซอ
8/10/2563 11:23:48
อาคารเสนาสนะ ประกอบด้วย
- อุโบสถ กว้าง 40 เมตร ยาว 80 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2506 - ศาลาการเปรียญ กว้าง 19 เมตร ยาว 41 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2537 - หอสวดมนต์ กว้าง 12 เมตร ยาว 22 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2522 - กุฏิสงฆ์ จํานวน 7 หลัง เป็นอาคารไม้ - ศาลาอเนกประสงค์ กว้าง 11 เมตร ยาว 54 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2529 - ศาลาบําเพ็ญกุศล จํานวน 1 หลัง สร้างด้วยคอนกรีตเสริมเหล็ก ปูชนียวัตถุ มี พระประธานประจําอุโบสถ วัดคันทด ตั้งเมื่อ พ.ศ. 2451 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2517 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 40 เมตร ยาว 80 เมตร วั ด คั น ทด เดิ ม เป็ น สํ า นั ก สงฆ์ ร างตะควร อยู ่ ใ นเขตหมู ่ ที่ 4 ประชาชนใต้ วั ด ส่ ว นมากอพยพมาจาก หมู ่ ที่ 1 และหมู ่ ที่ 2 ประชาชนทางเหนือวัดอพยพมาจาก บ้านโคกหม้อ และบ้านวัดไทรย์ หลวงพ่อยิ้ม ยโสธโร เป็นพระหมอสมุนไพรคนเลื่อมใส ท่านสร้างวัด ให้เจริญรุ่งเรืองพอสิ้นหลวงพ่อยิ้ม หลวงพ่อศรีเมืองสร้างต่อ
พระอุโบสถ
พระพุทธชินราช พระประธานในอุโบสถ
เจ้าแม่กวนอิม
บ้านคันทด
เมือ่ ถึงหน้านำ�้ ลด ราวเดือนอ้ายต่อกับเดือนยี่ น�ำ้ ในทุง่ นา (ทุง่ นอก) ก็ไหลลดมารวมกันที่ลําสมุห์ แล้วไหลมารวมกันที่ด้านเหนือของ หมู ่ 4 ไหลผ่ า นไปลงที่ ค ลองวั ด น้ อ ยและแม่ น�้ ำ ท่ า จี น เป็ น ลํ า ดั บ น�้ำอีก ส่วนหนึ่งก็ไหลไปทางบ้านโรงนาบางยี่หน ชาวบ้านคันทดซึ่ง ส่วนใหญ่ย้ายไปจากบ้านโคกหม้อ ช่วยกัน ทําคันทดน�้ำไว้ใช้ในหน้า แล้ง ใช้ทําไร่ทําสวนและเลี้ยงสัตว์จึงเรียกว่า บ้านคันทด
เกจิอาจารย์ดังแห่งวัดคันทด
กุฏิสงฆ์
หลวงพ่อศรีเมือง อินทวัณโณ ท่านเป็นพระสงฆ์ผู้ยึดสันโดษ ปฏิ บั ติ อ ยู ่ อ ย่ า งเรี ย บง่ า ย แต่ ด ้ ว ยบารมี และวิ ช าที่ ท ่ า นรั บ การ ถ่ายทอดจากครูบาอาจารย์มานั้นก็นับว่าเป็นที่พึ่งพาแก่ญาติโยมได้ เป็นอย่างมาก และท่านได้สร้างพระขุนแผน ตุ๊กแกไว้เพื่อเป็นสิ่งยึด เหนี่ยวจิตใจให้กับชาวบ้าน และหลวงพ่อยิ้ม เป็นพระหมอสมุนไพร โบราณที่มีชื่อเสียงมากแห่งวัดคันทด
รูปเหมือนพระปลัดยิ้ม ยสธโร
ปู่ศรีสุทโธนาคาธิบดี ย่าศรีปทุมมานาคิณี
เทพทันใจ
วิหารหลวงพ่อยิ้ม สยธโร อดีตเจ้าอาวาส (หมอยาโบราณ)
ศาลาการเปรียญ SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 69
69
8/10/2563 11:23:57
History of buddhism....
วัดโคกโคเฒ่า พระครูสุวรรณสีลโสภิต มานิโต เจ้าอาวาสวัดโคกโคเฒ่า
วัดโคกโคเฒ่า ตั้งอยู่เลขที่ 138 บ้านโคกโคเฒ่า ถนนสุพรรณบุรี - ป่าโมก หมู่ที่ 1 ต�ำบลโคกโคเฒ่า อ�ำเภอเมืองสุพรรณบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี
70
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
2
.indd 70
13/10/2563 13:25:21
วัดโคกโคเฒ่า เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ที่ดิน ตั้งวัด 13 ไร่ 2 งาน 18 ตารางวา อุโบสถ สันนิษฐานว่าสร้างในสมัย อู่ทองหรือสมัยอยุธยาตอนต้น วัดโคกโคเฒ่าตั้งวัดเมื่อปี พ.ศ. 2455 เป็นวัดเก่าแก่สันนิษฐานจากหลักฐานที่ค้นพบ ได้แก่ พระพุทธรูปที่ ท�ำด้วยศิลาแลง ลักษณะรูปทรงสมัยอู่ทองหรืออยุธยาตอนต้น จาก ต�ำนานและค�ำบอกเล่าเดิมมีสองตายายอพยพมาท�ำมาหากินในถิ่น นี้และได้มอบสมบัติให้บุตรสาวบุตรเขย คือ คันไถและวัวแก่หนึ่งตัว เริ่มท�ำมาหากินจนกระทั่งเป็นเศรษฐีและได้สร้างวัดเพื่อทดแทน บุญคุณพ่อแม่ได้สร้างวัดในที่ดอน เป็นโคกเนินสูง จึงตั้งชื่อวัดว่า “วัดโคกโคเฒ่า” โดยตั้งชื่อตามพื้นที่ตั้งของวัดและได้ร�่ำรวยเพราะ โคแก่เป็นมรดกของพ่อแม่ที่ให้มาจึงน�ำเป็นชื่อวัดดังกล่าว ส�ำหรับ หมู่บ้านของสามีภรรยาคู่นี้ได้ชื่อว่าบ้านดอนเศรษฐีก็ยังปรากฏอยู่ ทางทิศใต้ของวัดจากหลังฐานที่พบภายหลังซึ่งมีอุโบสถ วิหาร และ พระพุทธรูปเก่าแก่มากมายหลงเหลืออยู่เป็นซากปรักหักพัง
ท�ำเนียบเจ้าอาวาส
1. พระอธิการสุข 2. พระอธิการเฉย 3. พระอธิการหมอ 4. พระอธิการช้าง 5. พระอธิการพระครูวุฒิธรรมนาถ 6. พระครูสุวรรณสีลโสภิต พ.ศ. 2550 – ปัจจุบัน
SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 71
71
13/10/2563 13:25:34
History of buddhism....
วัดดอนโพธิ์ทอง พระครูโพธิสุวรรณคุณ ดร. (พระอุปัชฌาย์มานพ) เจ้าอาวาสวัดดอนโพธิ์ทอง / เจ้าคณะตำ�บลดอนโพธิ์ทอง
วัดดอนโพธิ์ทอง ตั้งอยู่เลขที่ 204 ต�ำบลดอนโพธิ์ทอง อ�ำเภอเมืองสุพรรณบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี
72
2
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 72
วัดดอนโพธิท์ อง เริม่ มีการก่อสร้างวัดในปี พ.ศ. 2481 โดยพระครูปรีชาวุฒคิ ณ ุ (หลวงพ่อฮวด) ได้มาสร้างวัดสมัยก่อนนั้นยังเป็นป่า เป็นไร่นาปนกัน มีทั้งไร่ มี ทั้งนา โดยมากเป็นป่าสะแก ระก�ำ ล�ำพุก แฝก คา เป็นต้น เมื่อสร้างวัดเสร็จได้ ตั้งชื่อวัดว่า วัดดอนโพธิ์ทอง เพราะเป็นที่ดอนและมีต้นโพธิ์รวมที่ดินสร้างวัด ทั้งหมด 35 ไร่ 54 ตารางวา วัดดอนโพธิ์ทอง ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อปี พ.ศ. 2491
8/10/2563 15:29:05
ซึ่งมีล�ำดับเจ้าอาวาสปกครองมาโดยตลอด
1. พระครูปรีชาวุฒิคุณ (หลวงพ่อฮวด) พ.ศ. 2481- 2539 2. พระครูโพธิสุวรรณคุณ ดร. (พระอุปัชฌาย์มานพ) พ.ศ. 2539 -ปัจจุบัน พระครูปรีชาวุฒคิ ณ ุ (หลวงพ่อฮวด) อดีตเจ้าอาวาสวัดดอนโพธิท์ อง อดีตเจ้าคณะต�ำบลดอนโพธิ์ทอง ท่านเป็นพระผู้ทรงรัตตัญญู สูงยิ่ง อีกรูปหนึ่งของคณะจังหวัดสุพรรณบุรี ด�ำรงมั่นในพระธรรมวินัยมา โดยเคร่งครัดมิได้ด่างพร้อยเศร้าหมอง หมดจดงดงาม สมหน่อเนื้อ พระชินวรณ์อย่างสมบูรณ์ ที่ส�ำคัญคือท่านประกอบด้วยพรหมวิหาร ธรรม 4 ประการ อย่างเสมอต้นเสมอปลาย ประกอบด้วย เมตตา กรุณา ปรากฏแก่สาธุชนมาโดยตลอด ทั้งยังเป็นสัตบุรุษ ผู้รู้จักเหตุ และผลเป็นที่ตั้ง ไม่มัวเมาลุ่มหลงในโลกธรรม มีวาจาเป็นมงคล แยบคายในปฏิสันถาร ทั้งยังรู้จักถนอมจิตใจของสาธุชนทั้งใกล้ไกล ไม่มียกเว้น ไม่จ�ำกัดว่ายากดีมีจน ท่านสงเคราะห์ให้จนหมดสิ้น มิมี ผู้ใดที่มากราบท่านแล้วจะพบกับความผิดหวัง ปฏิปทาที่เด่นชัดคือท่านถือเคร่งในวัตรปฏิบัติมาก ตื่นจ�ำวัดเวลา ตี 4 ทุกวัน หลังออกบิณฑบาตและเสร็จจากฉันเช้าแล้ว ทีห่ ลวงพ่อฮวด กระท�ำมาโดยตลอดคือ การน�ำพระภิกษุสงฆ์ปัดกวาดลานวัด เมื่อถึง เวลาเย็นท่านจะเดินถือจอบ ถือเสียม เพื่อถากหญ้าอยู่กลางลานวัด เป็นที่ชินตามาอย่างยาวนาน หลังท�ำวัตรเย็นเสร็จ จะปฏิบัติและเป็น อาจารย์ผู้สอน วิปัสสนากัมมัฏฐานให้กับพระภิกษุ-สามเณรภายใน วัดดอนโพธิ์ทอง หลวงพ่อฮวดมรณภาพ เมื่อวันที่ 15 สิงหาคม 2539 สิริอายุ 86 ปี หลวงพ่อฮวด เป็นพระเถระผู้มากด้วยคุณธรรม มโนธรรม ละโลภ โกรธหลงได้อย่างวิเศษ จนเป็นที่ชินตาว่า ในครั้งท่านมีชีวิตอยู่ พิธี พุทธาภิเษกตามวัดวาอารามต่าง ๆ ในจังหวัดสุพรรณบุรี จะปรากฏ นามท่านร่วมนั่งปรกอธิษฐานจิตอยู่เสมอ รวมถึงละแวกจังหวัดใกล้ เคียงก็ตาม ด้วยเหตุที่ว่าท่านมีปฏิปทาที่น่าเลื่อมใส ประกอบกับ สรรพวิชาพุทธาคมทีท่ า่ นได้รำ�่ เรียนมา จึงก่อเกิดค�ำว่า “ความเข้มขลัง ทางเวทมนต์ ”
ด้วยเหตุนี้ท่านจึงเป็นที่ศรัทธาของสาธุชน ท�ำให้ศิษยานุศิษย์ พร้อมใจกันบรรจุสรีระสังขารของหลวงพ่อฮวด ในมณฑปพระครู ปรีชาวุฒิคุณ และสร้างรูปหล่อหมือนด้วยทองเหลือง ขนาดกว้าง 5 เมตร สูง 7 เมตร นับว่าใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เป็นสถานที่กราบ ไหว้สักการะขอพรด้านโชคลาภ รวมไปถึงขอเลื่อนต�ำแหน่งหน้าที่ การงานอีกด้วย สัทธิวิหาริกของหลวงพ่อฮวด พระครูโพธิสุวรรณคุณ ดร. หรือที่ ชาวบ้านทั่วไปรู้จักในนาม “พระอุปัชฌาย์มานพ” บ้างก็เรียกว่า “หลวงพ่อมานพ” บ้าง “พระครูมานพ” บ้าง “พระอาจารย์มานพ” เจ้าอาวาสวัดดอนโพธิ์ทององค์ปัจจุบัน เจ้าคณะต�ำบลดอนโพธิ์ทอง ท่านเป็นศิษย์เอกทายาทพุทธาคมผูเ้ ป็นบุตรบุญธรรมของหลวงพ่อฮวด ปัจจุบันพระอุปัชฌาย์มานพเป็นหนึ่งในพระเกจิอาจารย์ชื่อดัง ของ จังหวัดสุพรรณบุรี ซึง่ เป็นทีเ่ คารพศรัทธาของพุทธศาสนิกชน ทัง้ ชาวไทย และชาวต่างประเทศ ด้วยท่านเป็นพระทีม่ วี ิทยาคมแก่กล้า มีวัตรปฏิบัติ และปฏิปทาน่าเคารพเลื่อมใส ใจดี และเป็นกันเองกับพุทธศาสนิกชน โดยทัว่ ไป ทีส่ ำ� คัญยิง่ คือ พระอุปชั ฌาย์มานพเป็นพระผูท้ มี่ อี ารมณ์ขนั เป็นที่ติดตราตรึงใจสาธุชนผู้สนทนาธรรมมาโดยตลอด อีกทั้งยังเป็น พระนักพัฒนา น�ำความเจริญรุ่งเรืองมาสู่วัดดอนโพธิ์ทอง ด้วยเหตุนี้วัตถุมงคลของพระอุปัชฌาย์มานพ อาทิเช่น เหรียญ รุ่นแรก 5 รอบ ตะกรุดโทนในบาตร จึงเป็นที่นิยมในวงกว้าง ปรากฏ พุทธคุณความขลังในด้านต่าง ๆ ให้ผู้ที่บูชาหรืออาราธนาติดตัว ประจั ก ษ์ โ ดยเฉพาะด้ า นเมตตามหานิ ย ม ค้ า ขาย แคล้ ว คลาด คงกระพันเป็นที่กล่าวขานกันมาก
พระครูโพธิสุวรรณคุณ ดร. (พระอุปัชฌาย์มานพ) เจ้าอาวาสวัดดอนโพธิ์ทอง / เจ้าคณะต�ำบลดอนโพธิ์ทอง
SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 73
73
12/10/2563 17:19:55
History of buddhism....
วัดน้อย พระครูใบฎีกาสามารถ ขันฺติวโร เจ้าอาวาสวัดน้อย / เจ้าคณะตำ�บลโคกครามเขต 2
วัดน้อย ตั้งอยู่เลขที่ 55 หมู่ที่ 2 ต�ำบลโคกคราม อ�ำเภอบางปลาม้า จังหวัดสุพรรณบุรี ร่วมสร้างเส้นทางบุญ ขอเชิญญาติธรรม ร่วมท�ำบุญกับ วัดน้อย โดยโอนผ่านบัญชี ธนาคารกรุงไทย เลขที่บัญชี 359-0-28037-9
74
2
วัดน้อย เป็นวัดเก่าแก่วัดหนึ่ง คาดว่าอาจจะสร้างในราวปลายสมัยอยุธยา เพราะมีโบราณวัตถุให้พิสูจน์ได้คือ วิหารหลังเก่าที่สุดที่มีสภาพทรุดโทรม แต่ได้ รับการบูรณะซ่อมแซมโดยกรมศิลป์เมื่อไม่กี่ปีมานี้เพื่ออนุรักษ์และตีตราขึ้นเป็น สถานที่ทางโบราณคดีและอยู่ภายใต้การควบคุมของกรมศิลป์
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 74
วัดบางซอ
9/10/2563 15:35:09
สมัยเมื่อราวๆ ร้อยปีผ่านมา วัดน้อยมีความเจริญสูงสุด เพราะ สถานที่ตั้งภูมิศาสตร์ติดแม่น�้ำท่าจีน ซึ่งเป็นทางคมนาคมหลักเข้า ออกสุพรรณในสมัยนัน้ จากค�ำบอกเล่าของผูเ้ ฒ่าผูแ้ ก่ตอ่ มายังลูกหลาน ท่านเล่าให้ฟังว่า วัดน้อยในสมัยหลวงปู่เนียมยังทรงสังขารอยู่นั้น เป็นเหมือนส�ำนักตักศิลาในการเรียนปฏิบัติพระกรรมฐาน วัดน้อย ในสมัยนั้นมีความเจริญรุ่งเรืองมาก เพราะครองวัดโดยพระมหาเกจิเถราจารย์นามกระเดื่อง ผู้เชี่ยวชาญทางคันธุระ วิปัสสนาธุระและ วิทยาคมชื่อหลวงปู่เนียม ถาวรวัตถุที่เชื่อกันว่าสร้างมาในสมัยหลวงปู่ที่ยังพอมีให้เห็นก็คือ กุฏิไม้สัก ศาลาจัตุรมุข ซึ่งเดิมทีหลวงปู่ท่านสร้างไว้ประดิษฐานรอย พระพุทธบาท ภายในมีงานจิตรกรรมฝาผนังซึ่งเป็นงานเขียนโดย นายสน เขียนไว้ในสมัยรัชกาลที่ 5 โดยมีพระพุทธรูปเก่าแก่และ งานปูนปั้นจ�ำลองเปรตต่างๆ เดิมทีหลวงปู่ท่านสร้างศาลาจตุรมุขนี้ ไว้ เ พื่ อ ประดิ ษ ฐานรอยพระพุ ท ธบาท เพื่ อ ให้ ป ระชาชนมากราบ สักการบูชา ต่อมา ศาลาหลังนี้ก่อนบูรณะนั้นได้เก่าและผุพังลงมาก เจ้าอาวาสรุ่นต่อมาจึงย้ายรอยพระพุทธบาทมาไว้บนกุฏิ และปัจจุบัน ก็ย้ายมาอยู่ห้องบูชาวัตถุมงคลให้ประชาชนมากราบไว้บูชา พระอุโบสถหลังที่หลวงปู่ท่านสร้างนั้น ตั้งอยู่ ณ ที่อุโบสถหลัง ปัจจุบันตั้งอยู่ เพราะพระอุโบสถหลังปัจจุบันสร้างคร่อมพระอุโบสถ เก่าของหลวงปู่ในสมัย พระครูสังฆรักษ์ (ตุ้ม) นนฺทโชโต (ชุมใจหาญ) เจ้าอาวาสองค์ที่ 4 ต่อจากหลวงพ่อจอนและหลวงพ่ออั้น พระอุโบสถ หลั ง ปั จ จุ บั น นี้ ไ ด้ ถู ก ยกให้ สู ง ขึ้ น พระประธานในพระอุ โ บสถ หลังปัจจุบันเป็นพระที่หลวงปู่ท่านสร้างไว้ เมื่อตอนที่ท�ำการยก พระประธานองค์ เ ดิ ม ของหลวงปู ่ ขึ้ น ประดิ ษ ฐานบนแท่ น ที่ ย กสู ง เตรียมไว้แล้วนั้น ได้พบวัตถุมงคลจ�ำนวนหนึ่ง จากค�ำบอกกล่าวของ พระลูกวัดร่วมยกประดิษฐานพระประธานในขณะนั้นว่า หลวงปู่ท่าน บรรจุวตั ถุมงคลไว้ในองค์พระประธานเลย นอกจากนัน้ ยังพบเหรียญช้าง ซึง่ เป็นเงินเหรียญทีใ่ ช้กนั ในสมัยรัชกาลที่ 4 อยูป่ ระมาณสองถึงสามถัง พระอุโบสถหลังใหม่หรือหลังปัจจุบันนั้นเริ่มก่อสร้างเมื่อปี พ.ศ. 2502 แล้วเสร็จเมื่อปี พ.ศ. 2504 สิ้นค่าใช้จ่ายทั้งสิ้น 400,000 บาท แต่ที่ส�ำคัญที่สุดคือ พัทธสีมาหินสีเขียวที่เห็นในปัจจุบันยังเป็นของ เก่าสมัยหลวงปู่เนียม ทั้ง 7 องค์ ประดิษฐานอยู่รอบพระอุโบสถ เพียงแต่สร้างซุ้มใหม่ครอบไว้เท่านั้น
ดังนั้น นับได้ว่าหลวงปู่ท่านเป็นผู้บุกเบิกบูรณะวัดน้อยให้กลับ มาเป็นที่พึ่งของชาวบ้านละแวกนั้น ต่อมาเจริญรุ่งเรืองและโด่งดัง มากที่สุดวัดหนึ่งในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ อีกทั้งยังเป็นส�ำนักตักศิลา ทีบ่ รรดาพระเกจิชอื่ ดังหลายองค์ทงั้ ระดับจังหวัดสุพรรณและประเทศ รายนามเจ้าอาวาสวัดน้อยเท่าที่ที่สืบประวัติได้นับจาก หลวงปู่เนียม มีเจ้าอาวาสดังรายนามต่อไปนี้ 1. หลวงปู่เนียม ธมฺมโชติ 2. หลวงพ่อจอน อินฺทสโร (มณีอินทร์) 3. หลวงพ่ออั้น พรหมฺสโร (น่วมดอกไม้) 4. หลวงพ่อพระครูสังฆรักษ์ (ตุ้ม) นนฺทโชโต (ชุ่มใจหาญ) 5. พระครูสุวรรณสารวินิต พุทธคารโว (ฉิมวัย) 6. พระครูใบฎีกาสามารถ ขันติวโร (พัฒนจันทร์) เจ้าอาวาสองค์ปัจจุบัน
พระครูใบฎีกาสามารถ ขันติวโร (พัฒนจันทร์) เจ้าอาวาสวัดน้อย / เจ้าคณะต�ำบลโคกคราม เขต 2
SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 75
75
9/10/2563 15:35:21
History of buddhism....
วัดภูเขาดิน พระอธิการไพรสน วรธมฺโม เจ้าอาวาสวัดภูเขาดิน
พระอธิการไพรสน วรธมฺโม เจ้าอาวาสวัดภูเขาดิน
76
1
วัดภูเขาดิน ตั้งอยู่ ที่ต�ำบลสระแก้ว อ�ำเภอเมืองสุพรรณบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี
ตั้งวัดเมื่อปี พ.ศ. 2463 และได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อ วันที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2533 สภาพวัดในปัจจุบันกล่าวได้ว่าเป็น วัดเก่าแก่มากโดยเฉพาะองค์เจดีย์อันเป็นโบราณสถานที่จะบ่งชี้ให้ ทราบถึงอายุสมัยและความสําคัญของวัดเขาดินในอดีตกาลได้และ จะเป็นที่น่าเสียดายเป็นอย่างมากหากวัดนี้ไม่ได้รับการดูแลและ เอาใจใส่จากชาวบ้านและทางการโดยปล่อยให้สภาพของวัดและ โบราณสถานที่มีอ ยู่เ สื่อมโทรมไปตามการเวลาและจนกลายเป็น วัดร้างในที่สุด ประวัติวัดภูเขาดิน ดูจะไม่มีผู้ทราบนักเห็นจะทราบ แต่ว่าที่ชื่อ “เขาดิน” เพราะมีเจดีย์ใหญ่ที่ตั้งอยู่บนเนินมีลักษณะ คล้ายภูเขา ตามหลักฐานเอกสารที่ค้นพบ ได้พบว่าพระราชหัตถเลขา ของพระบาทสมเด็จจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 5 เมื่อครั้งที่ พระองค์ท่านเสด็จ ประพาสสระศักดิ์สิทธิ์ที่ริมน�้ำท่าว้าได้ระบุถึงชื่อ “เขาดิน” ไว้ดังนี้ วันที่ 21 ตุลาคม ร.ศ. 127 (พ.ศ. 2451) ลงเรือพระศรีเทพไป เข้าครองระหว่างวัดมหาธาตุ (วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ) และหลักเมือง ไปออกหลังเมือง ในท้องทุ่งหลังเมืองมีต้นตาลเป็นอันมาก เป็นคัน ตลิ่งสูงดงตาลแลสุดสายตา เมื่อขึ้นฝั่งน�้ำไปทั้งสองข้างในระหว่างดง ตาลนั้นเป็นทุ่งนางามดีเป็นอันมาก พระป่าเลไลย์อยู่ชายดงตาล เมื่อ พ้นดงตาลออกไปแล้ว เป็นป่าไผ่มีทางเกวียน ทางเกวียนนั้นหน้าน�้ำ ใช้เป็นคลองที่เรือไป วันนี้ นาน ๆ ก็ตกเป็นทุ่งเป็นนามีชื่อต่าง ๆ ทุ่งละใหญ่ๆทางนั้นคดไปคดมาเรียกว่า" สามสิบสามคด” มีอยู่แห่ง หนึ่ง ระยะทางตั้งแต่ล�ำน�้ำนี้ขึ้นไป 700 เส้น จึงถึงล�ำน�้ำเก่าเขาเรียก ว่า ล�ำน�้ำเขาดินท่าว้า ที่ได้ชื่อว่าเขาดินนั้นเพราะเหตุว่า มีสระสี่สระ อยู่เหนือน�้ำ วัดหน้าพระธาตุเมืองเก่าอยู่ใต้น�้ำวัดเขาดินนี้อยู่ ย่าน กลางเป็นวัดใหญ่อยู่ฝั่งตะวันตกมีพระเจดีย์และโบสถ์ แต่พระสงฆ์ ลงไปจ�ำพรรษาวัดสารภีเหนือน�้ำขึ้นไป เหตุด้วยตามล�ำน�้ำข้างเหนือ มีน�้ำตลอดปี เมื่อพิจารณาข้อความในพระราชหัตถเลขานี้แล้วชื่อ ล�ำน�้ำเขาดินเห็นจะตั้งขึ้นตามชื่อวัดเขาดิน ที่อยู่ในย่านกลางของ ล�ำน�้ ำ ดั ง กล่ า วชี้ ใ ห้ เ ห็ น ว่ า ชื่ อ วั ด เขาดิ น เรี ย กกั น มาตั้ ง แต่ ค รั้ ง สมั ย รัชกาลที่ 5 แล้วแต่จะเริ่มเรียกกันมาแต่ครั้งใดด้วยสาเหตุใดนั้นไม่ ปรากฏหลักฐานใดระบุถึง
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 76
9/10/2563 16:10:58
History of buddhism....
วัดโรงช้าง พระครูสังฆรักษ์สมจิต ปฺญญาวุโธ (ผลิศร) เจ้าอาวาสวัดโรงช้าง
วัดโรงช้าง ตั้งอยู่เลขที่ 58 หมู่ที่ 2 ต�ำบลศาลาขาว อ�ำเภอเมืองสุพรรณบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย
วัดโรงช้าง มีเนื้อที่ จ�ำนวน 21 ไร่ 2 งาน 41 ตารางวา อาณาเขต ที่ดินของวัดทั้งสี่ทิศ จรดทางสาธารณประโยชน์ วัดโรงช้าง เป็นวัดเก่าแก่ประมาณสมัยอยุธยา แต่ไม่ปรากฏ หลักฐานที่แน่ชัด ว่าใครเป็นคนสร้าง ตั้งวัดเมื่อปี พ.ศ.2473 ได้รับ พระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อปีพ.ศ. 2490 มีเจ้าอาวาสปกครองวัด และพัฒนาวัดมาแล้วไม่ตำ�่ กว่า 8 รูป ปัจจุบนั มี พระครูสงั ฆรักษ์สมจิต ปฺญญาวุโธ (ผลิศร)เป็นเจ้าอาวาส วัดโรงช้างเป็นศูนย์รวมจิตใจของ ศาสนิกชนในต�ำบลศาลาขาวและใกล้เคียงเป็นสถานทีป่ ระกอบศาสนกิจ ทางพระพุทธศาสนา เป็นสถานทีร่ ม่ รืน่ และสงบเหมาะแก่การไปท�ำบุญ ฟังธรรมของญาติโยม
พระครูสังฆรักษ์สมจิต ปฺญญาวุโธ (ผลิศร) เจ้าอาวาสวัดโรงช้าง
SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
1
.indd 77
77
9/10/2563 16:31:51
History of buddhism....
วัดพร้าว พระครูจันทสุวรรณเทพ เจ้าอาวาสวัดพร้าว
วัดพร้าว ตั้งอยู่เลขที่ 179 หมู่ 1 ต�ำบลโพธิ์พระยา อ�ำเภอเมืองสุพรรณบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี
วัดพร้าวเป็นวัดที่เก่าแก่มากติดกับประตูน�้ำโพธิ์พระยา ห่างจาก ตัวจังหวัดสุพรรณบุรีประมาณ 9 กิโลเมตร มีโบราณวัตถุสมัยอู่ทอง ตอนปลาย และสมั ย อาณาจั ก รอยุ ธ ยา คื อ ใบเสมาหิ น ทรายแดง สมัยอยุธยา และพระพุทธรูปหินทรายสมัยอู่ทองตอนปลาย หาชม ได้ยาก นับเป็นโบราณวัตถุที่เก่าแก่ และน่าศึกษามาก ภายในวั ด มี ต ้ น ยางขนาดใหญ่ ซึ่ ง เป็ น ที่ อ ยู ่ อ าศั ย ของค้ า งคาว แม่ไก่จ�ำนวนนับแสนตัวสมกับเป็นวัดที่อนุรักษ์พันธุ์สัตว์ ไม่มีใคร รบกวนค้างคาวซึ่งนับวันจะเพิ่มจ�ำนวนมากขึ้น เป็นที่น่าตื่นตาตื่นใจ แก่ผู้ที่มาเที่ยวชมเป็นยิ่งนัก และมีหอไตรซึ่งตั้งอยู่กลางน�้ำสวยสด งดงามน่าชื่นชม แปลกตา และในบริเวณวัดมีวิหาร 2 มณฑป 5 ศาลา 1 วิหาร หมายถึง วิหารมีหลังคา 2 ชั้น มณฑป มีหลังคา 5 ชั้น และศาลาหลังคา 1 ชั้น ซึง่ ตามต�ำราของวัดแล้ว ถูกต้องตามต�ำราของวัดโดยแท้ซงึ่ หาชมได้ยาก
78
1
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 78
8/10/2563 15:43:32
History of buddhism....
วัดราษฎร์ศรัทธาธรรม พระครูสมุห์ พานิช สุจิณฺโณ เจ้าอาวาสวัดราษฎร์ศรัทธาธรรม
วัดราษฎร์ศรัทธาธรรม ตั้งอยู่เลขที่ ¼ หมู่ที่ 5 ต�ำบลศาลาขาว อ�ำเภอเมืองสุพรรณบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี
วัดราษฎร์ศรัทธาธรรม เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย เป็นวัดประจ�ำต�ำบลศาลาขาว เป็นศูนย์รวมจิตใจของพุทธศาสนิกชน เป็นสถานที่ประกอบกิจกรรมทางพระพุทธศาสนา วันส�ำคัญต่างๆ ในบริเวณวัดร่มรื่น มีสิ่งปลูกสร้าง ถาวรวัตถุที่สวยงามเหมาะแก่การ เข้าไปท�ำบุญ ไหว้พระ ขอพร
พระครูสมุห์ พานิช สุจิณฺโณ เจ้าอาวาสวัดราษฎร์ศรัทธาธรรม
SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
1
.indd 79
79
9/10/2563 16:16:49
History of buddhism....
วัดโพธิ์นางเทรา พระมหาภิญโญ จิตฺตปญฺโญ เจ้าอาวาสวัดโพธิ์นางเทรา
วัดโพธิ์นางเทรา ตั้งอยู่หมู่ที่ 3 ต�ำบลท่าระหัด อ�ำเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี
วัดโพธิ์นางเทรา เดิมชื่อวัดโพธิ์นางนั่งเศร้า วัดตั้งอยู่แถบบน ฝั่งซ้ายของแม่น�้ำท่าจีน อยู่ห่างจากศาลากลางจังหวัดสุพรรณบุรี หลั ง เก่ า ประมาณ 4 กม. ทางทิ ศ ใต้ ห น้ า วั ด ติ ด กั บ เขตถนนสาย สุพรรณ-บางปลาม้า (ถนนขุนแผน) ลักษณะเป็นวัดประเภทพัทธสีมา มีพระอุโบสถ เนื้อที่วัดประมาณ 40 ไร่ วัดโพธิ์นางเทรา สร้างมาตั้งแต่สมัยใดไม่ทราบแน่ชัด แต่เดิมมี หลักฐานวัตถุโบราณ คือ เจดีย์ องค์เก่าซึ่งตั้งอยู่ทิศเหนือ วิหารเก่า ที่เห็นอยู่ในขณะนี้แต่ถูกท�ำลายลง อิฐที่ก่อสร้างเจดีย์ เป็นอิฐรุ่น เดียวกันกับอิฐที่ก่อสร้างเจดีย์ที่พระนครศรีอยุธยา สมัยเป็นราชธานี (สมัยกลาง) ฉะนั้นวัดนี้น่าจะมีอายุประมาณ 500 กว่าปีมาแล้ว โบสถ์หลังนี้เป็นหลังที่ 2 กุฏิเป็นเรือนไทยสมัยโบราณทั้งหมด มี หมู่บ้านติดวัดทั้ง 3 ด้าน และในวัดยังมีมณฑปประดิษฐานพระพุทธ รูปและฝ่าพระพุทธบาทจ�ำลอง ประเพณีประจ�ำปีของวัดได้แก่ วันเพ็ญเดือนสิบสอง งานลอย กระทงและปิดทองพระพุทธบาท และหลวงพ่อสุวรรณ หลวงพ่อด�ำ ซึ่งเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ส�ำคัญประจ�ำวัดโพธิ์นางเทรา มีคนมากราบไหว้ ขอพรเป็นประจ�ำ
พระมหาภิญโญ จิตฺตปญฺโญ เจ้าอาวาสวัดโพธิ์นางเทรา
80
1
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 80
9/10/2563 16:18:37
Buddhism
in Thailand
Everything You Need to Know About Buddhism in Thailand There are some 30,000 Buddhist temples in Thailand.
SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 81
81
13/10/2563 12:13:36
PICCOLO House_Artwork_2P.indd 82
13/10/2563 13:23:56
PICCOLO House_Artwork_2P.indd 83
13/10/2563 13:24:05
Artwork U Turn_X2 84
8/10/2563 15:18:41
Artwork U Turn_X2 85
8/10/2563 15:18:46
History of buddhism....
วัดสระกระโจม พระครูสุวรรณธีรวงศ์ เจ้าอาวาสวัดสระกระโจม
86
3
วัดสระกระโจม ตั้งอยู่เลขที่ 450 บ้านสระกระโจม หมู่ที่ 3 ต�ำบลสระกระโจม อ�ำเภอดอนเจดีย์ จังหวัดสุพรรณบุรี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ที่ดินตั้งวัดมีเนื้อที่ 49 ไร่ 2 งาน 20 ตารางวา
วัดสระกระโจม ตัง้ วัดเมือ่ ปี พ.ศ. 2475 รับพระราชทาน วิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2503 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 40 เมตร ยาว 80 เมตร
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 86
9/10/2563 15:26:01
อาณาเขต
ทิศเหนือและทิศใต้ จดถนนสาธารณะประโยชน์ ทิศตะวันออก จดโรงเรียน ทิศตะวันตก จดตลาดสด
อาคารเสนาสนะ ประกอบด้วย
- อุโบสถ กว้าง 10 เมตร ยาว 20 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2529 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก หลังคา 2 ชัน้ มุงด้วยกระเบือ้ งกาบกล้วย - ศาลาการเปรียญ กว้าง 24 เมตร ยาว 74 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2532 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก 2 ชั้น - หอสวดมนต์ กว้าง 14 เมตร ยาว 24 เมตร สร้างเมือ่ พ.ศ. 2519 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก - กุฏิสงฆ์ จ�ำนวน 5 หลัง เป็นอาคารไม้ 1 หลังและอาคาร คอนกรีตเสริมเหล็ก 1 หลัง - วิหาร กว้าง 12 เมตร ยาว 18 เมตร เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก สร้างเมื่อ พ.ศ. 2529 ปูชนียวัตถุ มีพระประธานประจ�ำอุโบสถ
SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
3
.indd 87
87
9/10/2563 15:26:12
การบริหารและการปกครอง มีเจ้าอาวาสเท่าที่ทราบนาม คือ รูปที่ 1 พระตุ้ม รูปที่ 2 พระครูโสภณอรรถโกวิท พ.ศ. 2511 – 2560 รูปที่ 3 พระครูสุวรรณธีรวงศ์ พ.ศ. 2561 – ปัจจุบัน
การศึกษา
- มีโรงเรียนพระปริยตั ธิ รรมแผนกธรรม เปิดสอนเมือ่ ปี พ.ศ. 2511 - ศูนย์การศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ เปิดสอนเมือ่ ปี พ.ศ. 2535 - ศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ในวัด เปิดสอนเมื่อปี พ.ศ. 2517
พระครูสุวรรณธีรวงศ์ เจ้าอาวาสวัดสระกระโจม
88
3
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 88
9/10/2563 15:26:19
บึงฉวาก
สถานแสดงพันธุ์สัตว์นำ�้ บึงฉวากเฉลิมพระเกียรติ บึงฉวากเฉลิมพระเกียรติ เป็นบึงน�้ำธรรมชาติขนาด ใหญ่ มีพนื้ ทีท่ งั้ หมดประมาณ 2,700 ไร่ อยูห่ า่ งจากตัวเมือง สุพรรณบุรีประมาณ 64 กิโลเมตร บึงฉวากมีพื้นที่ติดต่อ กับอ�ำเภอหันคา จังหวัดชัยนาทและอ�ำเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี ส่วนทีอ่ ยูใ่ นเขตอ�ำเภอเดิมบางนางบวช มีพื้นที่ประมาณ 1,700 ไร่ บึงฉวากได้รับประกาศให้เป็น เขตห้ามล่าสัตว์มาตัง้ แต่ ปี พ.ศ. 2526 และในปี พ.ศ. 2541 ได้รับการจัดให้เป็นพื้นที่ชุ่มน�้ำที่มีความส�ำคัญระดับชาติ สถานทีท่ อ่ งเทีย่ วในบึงฉวาก มีทงั้ โซนสวนสัตว์ อุทยาน ผักพื้นบ้าน อุโมงค์ปลาน�้ำจืด บ่อจระเข้น�้ำจืด เหมาะ ส�ำหรับพาครอบครัวไปท่องเที่ยว ที่สำ� คัญภายในบึงฉวาก ยังมี่ที่พักคอยให้บริการอีกด้วย SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 89
89
13/10/2563 12:15:22
History of buddhism....
วัดท่าเตียน พระครูพิสิฐสุวรรณวงศ์ เจ้าอาวาสวัดท่าเตียน
วัดท่าเตียน ตั้งอยู่เลขที่ 93 หมู่ 4 ต�ำบลเดิมบาง อ�ำเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี
90
6
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 90
9/10/2563 11:10:15
วัดท่าเตียน เริ่มก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ.2455 เป็นที่พักสงฆ์ชื่อเดิมเรียกบ้านหาดชุมแสง ต่อมาหลวงพ่อแบน ปาสาทิโก เป็นผู้ด�ำริก่อตั้ง วัดท่าเตียน เห็นว่ามีบ้าน มีประชาชนตั้งหลักปักฐานในละแวกนี้พอสมควร และท�ำเลที่ติดกับแม่น�้ำท่าจีนก็อุดมสมบูรณ์ด้วยพืชพันธุ์ ธัญญาหาร เดินทางโดยทางเรือก็สะดวก หลวงพ่อแบน ท่านจึงด�ำริว่าควรจะสร้างที่พักสงฆ์ขึ้นเพื่อให้ประชาชนสะดวกในการท�ำบุญท�ำกิจ พระศาสนา ละแวกนั้น วัดวาอารามก็ห่างไกลกัน หลวงพ่อแบนจึงปรึกษากับคุณโยมในสมัยนั้น มีคุณโจมจาด- คุณโยมเลี่ยม คล้ายนาค, คุณโยมสวาดและคุณโยมกลิบ จันทร์นุ่ม ได้มีศรัทธาถวายที่ดินส่วนตัวให้กับหลวงพ่อแบนเพื่อก่อตั้งที่พักสงฆ์ประมาณปี พ.ศ.2455 ต่อมาระยะหนึ่ง เมื่อมีเสนาสนะสงฆ์ขึ้นแล้ว จึงได้ขออนุญาตสร้างวัดจากทางราชการและได้รับอนุญาตจากทางราชการเมื่อปี พ.ศ.2461 อายุรวมการก่อตั้งเป็นคณะสงฆ์รวมได้ 96 ปีถึงปัจจุบัน SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
6
.indd 91
91
9/10/2563 11:10:21
หลังจากได้ก่อตั้งเป็นวัดที่ถูกต้องแล้วได้มีรายนาม เจ้าอาวาสปกครองดูแลวัดและคณะสงฆ์ มีเจ้าอาวาส ทั้งหมด ดังนี้
6
1. พระอธิการดัด 2. พระอธิการละไม้ โกสิโย 3. พระอธิการเจ๊ก 4. พระเพิ่ม 5. พระอาจารย์วงษ์ 6. พระอาจารย์ประเสริฐ 7. พระอาจารย์กวย 8. พระจ�ำลอง 9. พระครูสุวรรณสันติคุณ 10. พระครูพิสิฐสุวรรณวงศ์
92
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 92
ปกครอง 15 ปี ปกครอง 8 ปี ปกครอง 5 ปี ปกครอง 3 ปี ปกครอง 4 ปี ปกครอง 2 ปี ปกครอง 2 ปี ปกครอง 1 ปี ปกครองปี พ.ศ. 2500 - 2556 ปกครอง ปี พ.ศ. 2557 - ปัจจุบัน
9/10/2563 11:10:24
ประวัติพระครูสุวรรณสันติคุณ ( พอสังเขป)
พระครูสุวรรณสันติคุณ (ละม้าย สนฺตกาโม) ค�ำแผง เกิดเมื่อ วันศุกร์ ที่ 6 มิถุนายน พ.ศ.2477 ที่บ้านท่าเตียน บ้านเลขที่ 155 หมู่ 4 ต�ำบลเดิมบาง อ�ำเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี อุปสมบท ปี พ.ศ. 2497 อายุครบ 20 ปี พระอธิการเจียก สุเมโธ เป็ น พระปั ช ฌาย์ , พระสนิ ท สารโท เป็ น พระกรรมวาจาจารย์ , พระอธิการสุวินย์ ปภากโร เป็นพระอนุสาวนาจารย์ หน้าที่การงานที่รับผิดชอบ - ปี พ.ศ. 2501 ได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาสวัดท่าเตียน - ปี พ.ศ. 2514 ได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าคณะต�ำบลเดิมบาง - ปี พ.ศ. 2518 ได้รับแต่งเป็นพระอุปัชฌาย์ - ปี พ.ศ. 2534 ได้รับแต่งตั้งเป็นรองเจ้าคณะ อ�ำเภอเดิมบางนางบวช - ปี พ.ศ. 2542 ได้รับการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม เลื่อนสมณศักดิ์ เป็นพระครูสัญญาบัตร ชั้นเอก - ปี พ.ศ. 2554 ได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าคณะอ�ำเภอเดิมบางนางบวช
หลังจากบวชตอบแทนบุญคุณให้กับโยมพ่อโยมแม่แล้ว ท่านหมั่น ศึกษาพระธรรมวินัย จนจบนักธรรมชั้นเอกในโอกาสต่อมาและได้รับ มอบหมายให้มาดูแลวัดท่าเตียน ด้วยความหนักใจว่า ตัวเราเอง พรรษาน้อยนิด การปกครองไม่ได้เล่าเรียนรู้อะไรเลย แต่ก็อาศัย ครูบาอาจารย์แนะแนวทางและเพื่อนสหธรรมมิตรญาติโยมผู้เฒ่า ผู้แก่คอยแนะน�ำ ท�ำให้การบริหารวัดได้เจริญเติบโตเป็นล�ำดับจะเห็น ได้ว่า เมื่อก่อนวัดท่าเตียนมีเนื้อที่ประมาณ 10 ไร่ โดยการบริจาค ถวายของ นายจาด-นางเลี่ยม คล้ายนอก จ�ำนวน 5 ไร่, นายสวาดนางกลิ บ จั น ทร์ นุ ่ ม จ� ำ นวน 5 ไร่ ถวายตั้ ง เป็ น ที่ พั ก สงฆ์ ใ ห้ กั บ หลวงพ่อแบน ปาสทิโก ปี พ.ศ.2455 รวมมีเนื้อที่ 10 ไร่ ต่อมาได้ ขอเป็นวัดจากทางราชการอย่างถูกต้องและพัฒนามาเป็นล�ำดับจาก กุฏิเล็กเป็นไม้ศาลาเก่าๆ ผุพังได้อาศัยแรงศรัทธาใกล้ไกลได้บริจาค ทุนทรัพย์มากน้อยจนมีศาลากว้าง บรรจุคนได้ 2,000 กว่าคน เป็น คอนกรีตและไม้งามสง่า ชาวบ้านท่าเตียนก็มีความสามัคคี ปรองดอง ร่วมแรงร่วมใจช่วยกันพัฒนาวัดท่าเตียนจนเห็นได้ชัดว่าเจริญรุ่งเรือง จนเป็นที่เลื่องลือของคนในละแวกนั้น ในการบริหารงานวัดท่าเตียน ได้สร้างโบสถ์ กุฏิ หอระฆัง หอฉัน ต่อมาก็ซื้อที่เพิ่มอีก 22 ไร่ ปลูก ต้นไม้เนื้อแข็ง ดูร่มเย็นถนนหนทางเป็นสัดส่วน เดินทางไปมาสะดวก วัดวาสะอาดสะอ้าน ชาวบ้านได้อาศัยวัดจัดงานเป็นประจ�ำตลอดมา ชาวบ้านจะสามัคคีได้เพราะผู้น�ำในชุมชนท�ำจริง พัฒนาจริง เป็น ผู้ให้ผู้เสียสละอดทน วัดจึงเป็นที่เจริญรุ่งเรืองมาจนถึงปัจจุบัน SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
6
.indd 93
93
9/10/2563 11:10:27
ปกครองด้วย พรหมวิหาร 4 พระครูสุวรรณสันติคุณ ท่านเป็นพระที่มีเมตตาธรรมสูง เป็น ผู้ท�ำให้ดู ท�ำให้ดี ไม่ดีไม่ท�ำ ท่านมีความกตัญญู ต่อผู้มีพระคุณ ช่วยเหลือเกื้อกูล สหธรรมมิตร ญาติโยมทั่วไปไม่เลือกว่ามีหรือจน ใครได้สนทนากับท่านแล้วมีความสุขใจเมื่อได้สนทนากับท่าน กิจวัตร ที่ท่านท�ำต่อเนื่องเป็นประจ�ำ คือ ตื่นเช้าจะได้ยินเสียงเครื่องกระจาย เสียงท่านพูดข่าวสารและธรรมะเป็นประจ�ำ เวลา 05.00 น. ทุกวัน และวันพระ ท่านจะชงกาแฟ โอวัลติน หม้อใหญ่ๆ เอาไว้ให้ญาติโยม มาทานบนศาลาเป็นประจ�ำ อยู่เนืองนิตย์ ท�ำบุญด้วยยามากมาย เป็นทานจนชาวบ้านเลื่องลือกันไปทั่วทุกสารทิศ มีคนร่วมท�ำบุญ สร้างวัดจนไม่ขาดสาย ท่านปรารถนาให้ผู้อื่นได้รับความสุข ท่านไม่ เคยละเลยญาติ บริ ว าร ผู ้ ใ กล้ ชิ ด เกิ ด ความทุ ก ข์ ท่ า นได้ เข้ า ปลดเปลื้องให้พ้นทุกข์ จนสามารถเดินต่อไปได้ ยินดีกับลูกหลานหรือ ศิษย์ทุกคน และท่านไม่ยินดียินร้ายในเรื่องบางเรื่อง ท่านวางเฉย ท่านจึงเป็นที่เคารพบูชาของคนทั่วไป
94
6
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 94
9/10/2563 11:10:30
พระพุทธรูปในวิหาร 100 ปี
วิหาร 100 ปี
พระครูพิสิฐสุวรรณวงศ์ เจ้าอาวาสวัดท่าเตียน
แพให้อาหารปลาแม่น�้ำท่าจีนที่วัดท่าเตียน
พรหมวิหาร 4
ความหมายของพรหมวิหาร 4 พรหมวิหาร แปลว่า ธรรมของพรหม หรือของท่านผู้เป็นใหญ่ พรหมวิหารเป็นหลักธรรมส�ำหรับทุกคน เป็นหลักธรรมประจ�ำใจที่ จะช่วยให้เราด�ำรงชีวิตอยู่ได้อย่างประเสริฐและบริสุทธิ์ หลักธรรมนี้ ได้แก่ เมตตา ความปรารถนาให้ผู้อื่นได้รับสุข กรุณา ความปรารถนาให้ผู้อื่นพ้นทุกข์ มุทิตา ความยินดีเมื่อผู้อื่นได้ดี อุเบกขา การรู้จักวางเฉย SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
6
.indd 95
95
14/10/2563 15:43:57
History of buddhism....
วัดฝาโถ พระปลัดนพรัตน์ ปุสสโก เจ้าอาวาสวัดฝาโถ
วัดฝาโถ ตั้งอยู่เลขที่ 164 หมู่ที่ 7 ต�ำบลหัวนา อ�ำเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี
96
4
เดิมชื่อว่า “วัดโบสถ์” เป็นวัดเก่าแก่สมัยกรุงศรีอยุธยา ทหารพม่าเผา จนเหลือเพียงโบสถ์เก่าและพระพุทธรูปหลงเหลือ กับซากปรักหักพังของอิฐ ชาวบ้านสมัยนั้นได้ท�ำการบูรณะและตั้งชื่อตามฝาโถ ที่แตกบ้างดีบ้างอยู่เต็ม เกลือ่ นกราดตามบริเวณวัดชือ่ ว่า “วัดฝาโถ” บางคนก็เรียกว่า วัดฝา “โถท่าข้าม”
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 96
12/10/2563 14:48:33
เคยมีนกั วิชาการด้านประวัตศิ าสตร์สำ� รวจและสันนิษฐานว่า เป็น แหล่งอารยธรรมโบราณสมัยทวารวดี มีการผสมผสานและก่อสร้าง ศาสนสถานสื บ ต่ อ กั น มายาวนานจนถึ ง สมั ย กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยาเป็ น ราชธานี เจริญรุ่งเรืองถึงขีดสุดและเสื่อมสลายไปตามกาลเวลา จนมี ชาวบ้านไปแผ้วถางป่าพบโบสถ์เก่าและเจดีย์ร้าง จึงมีการท�ำนุบ�ำรุง ขึน้ มาใหม่และปัจจุบนั มี พระปลัดนพรัตน์ ปุสสโก หรือพระอาจารย์แดง เป็นเจ้าอาวาส
พระอาจารย์ แ ดง ก� ำ เนิ ด ในสกุ ล พลเสน เมื่ อ วั น พฤหั ส บดี แรม 8 ค�่ำ เดือนยี่ ปีวอก ณ บ้านวังหิน ต�ำบลสามชุก อ�ำเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี โดยเป็นบุตรคนที่ 4 ของครอบครัว มีพี่น้องร่วม อุทรทั้งสิ้น 5 คน อายุครบ 21 ปี ก็เข้าสู่ร่มกาสาวพัตร์อุปสมบทเมื่อ วันเสาร์ที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ.2519 ตรงกับวันขึ้น 10 ค�่ำ เดือน 6 ปีมะโรง เวลา 11.00 น. ณ พัทธสีมาวัดดอนบุบผาราม (วัดตะค่า) ต� ำ บลบ้ า นกร้ า ง อ� ำ เภอศรี ป ระจั น ต์ จั ง หวั ด สุ พ รรณบุ รี โดยมี พระครูศรีคณานุรัก์ (หลวงพ่อสม คังควัณโณ) เป็นพระอุปัชฌาย์, พระปลัดเตี้ยม เป็นพระกรรมวาจาจารย์ , พระมหาสมทรง เป็น พระอนุสาวนาจารย์ ได้รับฉายา “ ปุสสโก” แปลว่า ผู้มีความบริสุทธิ์ ดุจดอกไม้สีขาว ในระหว่างครองสมณเพศ พระอาจารย์แดง ได้ปรนนิบตั ริ บั ใช้และ ศึกษาพระธรรมวินัย เจริญสมาธิวิปัสสนากรรมฐานกับหลวงพ่อสม วัดดอนบุบผาราม (วัดตะค่า) พระอุปชั ฌาย์ ของท่าน อดีตรองเจ้าคณะ จังหวัดสุพรรณบุรี ผู้สืบทอดสรรพวิชาจาก วัดน้อย หลวงพ่ออิ่ม วัดหัวเขา ซึ่งสมัยก่อนหลวงพ่อสมโด่งดังเรื่องพระเวทย์อาคมพร้อม กับพระเกจิรุ่นเดียวกันคือ หลวงพ่อมุ่ย วัดดอนไร่ และหลวงพ่อนุ่ม วัดนางใน ดังนั้นการสืบทอดสรรพวิชาต่างๆ จากหลวงปู่อ้นมาสู่ หลวงพ่อสม จึงผ่องถ่ายให้หลานศิษย์อย่าง พระอาจารย์แดง จน หมดสิ้น ความขยันหมั่นเพียร ความเข้มขลังและพลังจิตกล้าแกร่ง ของท่ า นเป็ น ที่ ชื่ น ชมของ หลวงพ่ อ สม จนได้ รั บ แต่ ง ตั้ ง เป็ น ฐานานุกรมในอุปัชฌาย์ที่ พระปลัดนพรัตน์ ปุสสโก SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
4
.indd 97
97
12/10/2563 14:48:44
ในด้ า นการศึ ก ษาและการปกครอง พระอาจารย์ แ ดง สอบ นักธรรมตรีได้ในพรรษาแรกๆ และรับหน้าที่เป็นพระกรรมวาจาจารย์ ในพรรษาที่ 8 จนถึง พ.ศ.2528 ท่านก็รับนิมนต์จากชาวบ้าน ต�ำบล หัวนา อ�ำเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี มาพัฒนาวัดฝาโถ เมื่อวันพุธที่ 13 พ.ย.2528 ตรงกับขึ้น 2 ค�่ำ เดือน 12 ปีฉลู และได้ รั บ แต่ ง ตั้ ง เป็ น เจ้ า อาวาสวั ด ฝาโถ เมื่ อ วั น ที่ 29 ตุ ล าคม 2530 วิทยฐานะนักธรรมตรี ขณะอายุ 31 ปี พรรษา 11 โดยท่านมุ่งมั่น พั ฒ นาวั ด ฝาโถ ปฏิ บั ติ ศ าสนกิ จ เพื่ อ พระพุ ท ธศาสนา จนได้ รั บ พระราชทานวิสุงคามสีมาเป็นวัดโดยสมบูรณ์ในสมัยรัชกาลที่ 9 แห่ง ราชวงศ์จักรี
98
4
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 98
12/10/2563 14:48:49
วัดฝาโถ เป็นวัดเก่าแก่อนุมานจากโบราณวัตถุน่าจะสร้างในราว อยุธยาตอนปลาย วัดแห่งนี้ใกล้กับคลองหัวกระบือที่เชื่อมต่อกับ ล�ำน�้ำกะเสียว และใกล้กันคือวัดอู่ตะเภาที่น่าจะสร้างไล่ๆ กัน โบราณ สถาน มี อุโบสถ เจดีย์ สระน�้ำขนาดใหญ่ อุโบสถ หลังเก่าผ่านการ ใช้งานและบูรณะในยุคหลัง ลักษณะเดิมคงเป็นแบบมหาอุตแล้วเจาะ ช่องหน้าต่างภายหลัง จากใบเสมาที่พออนุมานได้ว่าอุโบสถหลังนี้คง สร้ างมาแต่ ส มัยอยุธ ยาตอนปลาย ถึงแม้พระพุ ท ธรู ปบางองค์ ใ น อุโบสถจะมีเค้าศิลปะอยุธยาตอนต้น อาจน�ำมาจากที่อื่นหรือเป็นของ ประจ�ำวัดมาแต่เดิมในยุคก่อนหน้า ตรงนี้ไม่มีข้อมูลเจดีย์ เหลือด้าน หน้าอุโบสถหนึ่งองค์ทางด้านเหนือ สภาพถูกเจาะ ยอดองค์ระฆังหัก ทลายไม่แน่ใจว่าจะสร้างทับฐานเก่าหรือไม่ เดิม อาจมีคู่กัน สระน�้ำ ขนาดใหญ่ เป็นลักษณะที่พบได้บ่อยในวัดโบราณแถบสุพรรณมักมี สระน�้ำใกล้อุโบสถ จะเป็นสระที่ใช้ในการบริโภคอุปโภคหรือเพื่อ พิธีกรรมบางอย่างหรือป่าว (เช่น สีมาน�้ำ สระเสกน�้ำ) การที่มีวัดโบราณมีสิ่งปลูกสร้างฝีมือดีแข็งแรงในย่านนี้ อาจ เพราะว่ า สภาพแวดล้ อ มในสมั ย ก่ อ นไม่ ไ ด้ แ ห้ ง แล้ ง แบบปั จ จุ บั น การค้าของป่าเป็นสินค้าส�ำคัญในสมัยอยุธยา อาจท�ำให้เกิดชุมชน ขึ้นมา ในเส้นทางที่น�ำสินค้าออกมาขาย ในอดีตคงเป็นชุมชนใหญ่ที่ มีก�ำลังมากพอในการสร้างโบราณสถานเหล่านี้ วัดฝาโถออกแนว วัดป่าสมถะวิปัสนา อาจสร้างมาคู่กัน (เพิ่มเติม) โบสถ์ฐานส�ำเภาและ พระประธานแบบสามพี่ น ้ อ ง ที่ พ บแบบเดี ย วกั น มี วั ด อู ่ ต ะเภา วัดฝาโถ วัดน�้ำพุ วัดหัวนา ซึ่งน่าจะสร้างมายุคเดียวกัน ซึ่งทุกวัดมี ร่องคลองใหญ่(สมัยก่อน)เชื่อมถึงกัน แสดงถึงการไปมาหาสู่กันของ ชุมชนโบราณ และยังมีการขุดพบซากโบราณสถาน วัดเก่ามี่ร้างพัง ไปอีกหลายที่
SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
4
.indd 99
99
12/10/2563 14:48:53
100
.indd 100
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
13/10/2563 12:15:51
เขื่อนกระเสียว
เป็ น หนึ่ ง ในสถานที่ ที่ ส ามารถชมความงดงาม ยาม พระอาทิตย์ตกดินที่สวยที่สุด ของจังหวัดสุพรรณบุรี ยิ่งในช่วง หน้าหนาว แสงสีทคี่ อ่ ยๆ เปลีย่ นไป ภาพดวงอาทิตย์สแี ดงกลมโต ที่ค่อยๆ เลื่อนลงเหนือยอดเขา และแสงเงาที่กระทบลงผืนน�้ำ อากาศที่หนาวเย็น นับเป็นช่วงเวลาที่มีความหมาย เป็นช่วง เวลาที่เราจะได้สัมผัสกับธรรมชาติอย่างแท้จริง
SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 101
101
13/10/2563 12:15:52
History of buddhism....
วัดกุ่มโคก พระครูวิริยศาสนกิจ (สมเจต รุ่งเรือง) เจ้าอาวาสวัดกุ่มโคก
วัดกุ่มโคก ตั้งอยู่เลขที่ 197 หมู่ 5 ต�ำบลทุ่งคลี อ�ำเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี
102
4
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 102
9/10/2563 16:08:44
วัดกุ่มโคก เดิมคือ วัดใหม่ศรัทธาราษฎร์ มีพื้นที่ 14 ไร่ ในอดีต ผู้เริ่มก่อสร้างวัด คือ ก�ำนันไวย์ ใจดี เมื่อตอนอายุครบ 22 ปี ได้บวชทดแทนคุณบิดา มารดา ที่วัดแหลมคาง ต�ำบลแม่ลา อ�ำเภอ บางระจัน จังหวัดสิงห์บุรี 1 พรรษา สึกออกมาพบรักที่บ้านกุ่มโคก จึงขอแต่งงานกับแม่ทองอยู่ โกสุมา (ในขณะนั้นได้ย้ายมาท�ำกินที่ บ้านกุ่มโคกแล้ว) อยู่กินด้วยกันมีบุตร 2 คน คือ นายสวัสดิ์ ใจดี และนางหยิบ ใจดี ต่อมาในปี พ.ศ. 2473 ก�ำนันไวย์ ใจดี ได้ไป ปรึกษาหารือกับปู่เนียมผู้เป็นพ่อว่า อยากมีวัดในหมู่บ้านที่อยู่ ซึ่ง มีความคิดเห็นตรงกันกับปู่เนียมผู้เป็นพ่อ จึงยกที่ดินให้หนึ่งแปลง 20 ไร่ เศษ (ในอดีต) เพื่อสร้างวัดใหม่ศรัทธาราษฏร์ (วัดกุ่มโคก) ขึ้นเป็นวัดแรกในถิ่นนั้น และได้ชักชวนญาติพี่น้องเพื่อนสนิทมิตร สหาย และชาวบ้านใกล้เรือนเคียงมาร่วมกันก่อสร้างวัดกุ่มโคก จนส�ำเร็จลุล่วงได้ดีและได้ดูแลปฏิสังขรณ์ตามก�ำลังศรัทธารุ่นสู่รุ่น มาจนถึงปัจจุบันนี้ SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
4
.indd 103
103
9/10/2563 16:08:53
โดยมีเจ้าอาวาสปกครองวัด ทั้งหมด 5 รูป ดังนี้
รูปที่ 1 พระอาจารย์หลี รูปที่ 2 พระอาจารย์สิงห์ รูปที่ 3 พระอาจารย์ใกล้ รูปที่ 4 พระครูสุภัทรานุกิจ (ชิ้น อินพรหม) รูปที่ 5 พระครูวิริยศาสนกิจ (สมเจต รุ่งเรือง)
104
4
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 104
9/10/2563 16:09:01
SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
4
.indd 105
105
9/10/2563 16:09:05
History of buddhism....
วัดยางนอน พระสมุห์เจน ฉนฺทธมฺโม เจ้าอาวาสวัดยางนอน
วัดยางนอน ตั้งอยู่เลขที่ 31 บ้านยางนอน หมู่ที่ 3 ต�ำบลยางนอน อ�ำเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ที่ดินตั้งวัดมีเนื้อที่ 18 ไร่ 1 งาน 99 ตารางวา
106
2
วัดยางนอน ตั้งเมื่อปี พ.ศ.2480 ชื่อวัดตั้งตามชื่อหมู่บ้าน ราษฎรบ้าน ยางนอนได้ร่วมกันบริจาคทรัพย์เพื่อสร้างเสนาสนะเพื่อใช้เป็นที่พักสงฆ์ และบ�ำเพ็ญกุศล ผู้มีส่วนส�ำคัญในการก่อสร้างวัดคือ นายแหยม นางเน้ย นายพวง นางพริ่ง นายอยู่ นางห้อย นายเปรื่อง นางเป้า นายเชย นางห้อง นายแขก นางปุก นายหรั่ง นางผ่อน นายเผียน นางกลืน นายคูณ และ นางห่วง ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2525 เขตวิสุงคามสีมากว้าง 20 เมตร ยาว 40 เมตร
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 106
8/10/2563 11:37:46
อาคารเสนาสนะ ประกอบด้วย
- อุโบสถ กว้าง 14.50 เมตร ยาว 35 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2516 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก - ศาลาการเปรียญ กว้าง 24 เมตร ยาว 44 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ.2533 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก - หอสวดมนต์ กว้าง 16 เมตร ยาว 24 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2543 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก - กุฏิสงฆ์ จ�ำนวน 8 หลัง เป็นอาคารไม้ - อาคารอเนกประสงค์ (โดม) กว้าง 22 เมตร ยาว 24 เมตร เป็นโครงเหล็ก นอกจากนี้มีฌาปนสถาน 1 หลัง ปูชนียวัตถุมี พระประธาน ประจ� ำ อุ โ บสถ พร้ อ มพระโมคคั ล ลาน์ และพระสารี บุ ต ร และ พระพุทธรูปปางมารวิชัย นามว่า หลวงพ่อด�ำ ขนาดหน้าตักกว้าง 90 เซนติเมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2489
การบริหารและการปกครอง มีเจ้าอาวาสเท่าที่ทราบนาม คือ
รูปที่ 1 พระสอ รูปที่ 2 พระสม รูปที่ 3 พระอ�่ำ รูปที่ 4 พระแจ้ง รูปที่ 5 พระสร้อย รูปที่ 6 พระแส รูปที่ 7 พระเพี้ยน รูปที่ 8 พระปาน รูปที่ 9 พระใบฎีกาปล้อง หิริสมฺปนฺโน พ.ศ. 2516 – 2527 รูปที่ 10 พระประเสริฐ เขมสีโล พ.ศ. 2527 – 2529 รูปที่ 11 พระมานิต จตฺตสลโล พ.ศ. 2530 – 2531 รูปที่ 12 พระจ�ำรูญ ฐิตปุญฺโญ พ.ศ. 2531 – 2536 รูปที่ 13 พระประเทือง ปสนฺนจิตฺโต พ.ศ. 2536 -2549 รูปที่ 14 พระครูศรีวิสุทธิกิจ (ป.ธ.6,น.ธ.เอก) พ.ศ. 2549 – 2558 รูปที่ 15 พระสมุห์เจน ฉนฺทธมฺโม พ.ศ. 2558 – ปัจจุบัน
พระสมุห์ เจน ฉนฺทธมฺโม เจ้าอาวาสวัดยางนอน
SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 107
107
8/10/2563 11:38:00
History of buddhism....
วัดเดิมบาง พระครูสุวรรณปุญญารักษ์ เจ้าอาวาสวัดเดิมบาง
วัดเดิมบางได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อปี พ.ศ. 2431
108
3
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 108
พระอาจารย์ ปภากโร อดีตเจ้าอาวาสวัดเดิมบาง กล่าวว่า
วัดเดิมบางได้สร้างขึ้นเมื่อประมาณสมัยหลวงพ่อสี เป็นเจ้าอาวาส ปกครองมีกุฏิ 2 หลัง เสาไม้แก่น ฝาขัดด้วยไม้ไผ่หลังคามุงแฝก สมัยนั้น ประชาชนตัง้ บ้านเรือนอยูไ่ ม่สมู้ ากนัก อยูใ่ ต้วดั หมูห่ นึง่ และอยูห่ มูก่ ลางหมูห่ นึง่ ประชาชนส่วนมากมีเชื้อสายมาจากธนบุรีและกรุงเทพฯ หรือเรียกกันว่า คนชาวสวน
8/10/2563 11:22:32
สาเหตุที่เลือกสร้างวัดบริเวณนี้ เนื่องจากมีโบราณสถานสร้างไว้ ก่อนแล้ว 2 อย่าง ได้แก่ 1. วิหาร สร้างด้วยเสาไม้แก่น มุงหลังคา ไม่มฝี าผนัง มีพระพุทธรูป หลายองค์ทั้งองค์เล็กและองค์ใหญ่ 2. เจดีย์ เป็นเจดียย์ อ่ มุมไม้สบิ สอง ฐานเจดียงั้ 4 มุมชีไ้ ปทางทิศทัง้ 4 เช่นเดียวกับเขาพระสุเมรุราช ต่อมาสมัยหลวงพ่อแจ่มได้จดั การปฏิสงั ขรณ์สร้างมีฝาผนังเสาปูน และอุปกรณ์ประเภทอื่นๆ อีก และมีแม่เฒ่าจันทร์ แม่เฒ่าเปี่ยม แม่เฒ่าเกลี้ยง เป็นเจ้าภาพออกเงินให้สร้างพระเจดีย์นั้น เดิมทีมีรูป ลักษณะเหมือนปัจจุบนั นีแ้ ต่มยี อดหัก ภายหลังต่อมาสมัยหลวงพ่อแจ่ม ได้บรู ณะพอกปูนต่อยอดใหญ่ สิง่ ทีแ่ ปลกและหน้าสังเกตของพระเจดีย์ องค์นี้คือ มีมุมฐานทั้ง 4 มุม แทงสวนทิศทั้ง 4 ซึ่งผิดกว่าเจดีย์ธรรมดา ที่สร้างกันไว้ทั่วๆ ไป สันนิษฐานว่าคงจะสร้างขึ้นโดยคือเอาแบบเขา พระสุเมรุราช มีหลักฐานจากเขาพระสุเมรุราชส่องพระเจดีย์องค์นี้ก็ เช่นกัน ในวันหนึ่ง ๆ พระอาทิตย์จะส่องแสงสว่างถูกทั้ง 4 เหลี่ยม คือ เวลาเช้าขึน้ ไปถึงเทีย่ งถูก 2 เหลีย่ ม ตัง้ แต่เทีย่ งลงไปถึงเย็นอีก 2 เหลีย่ ม
การสร้างพระเจดีย์และพระวิหาร
สันนิษฐานว่า คงจะสร้างขึน้ ครัง้ สมัยวัดใต้ หรือวัดบนยอดเขาใหญ่ วัดเขาขึ้น สมัยกรุงศรีอยุธยา แผ่นดินพระเจ้าอ้าย เจ้ายี่ เจ้าฮาม และ ได้ถูกล่มจมลงเมื่อสมัยศึกบางระจัน เมื่อหลวงพ่อสีล่วงแล้ว ต่อมาหลวงพ่อสงเป็นเจ้าอาวาสปกครอง เมื่อหลวงพ่อสงล่วงไปแล้ว หลวงพ่อตาบุญได้เป็นเจ้าอาวาสปกครอง หลวงพ่อสีนปี้ ระวัตขิ องท่านเล่าว่าเดิมเป็นคนกรุงเทพฯ และอุปสมบท มาจากรุงเทพฯคงจะติดตามญาติพนี่ อ้ ง มาตัง้ บ้านเรือนท�ำมาหากินอยู่ ตามแถวถิ่นนี้ เมื่อหลวงพ่อสีมาอยู่ มีญาติแถวกรุงเทพฯ ถวายเครื่อง ไม้มาปลูกศาลาการเปรียญ 1 หลัง กว้างยาวเท่าไหร่ไม่ปรากฏแต่มา ภายหลังหลวงพ่อแจ่มได้เปลีย่ นแปลงศาลาหลังนัน้ เสียใหม่โดยเห็นว่า หลังเล็กเกินไป ศาลาที่เปลี่ยนใหม่ก็คือหลังที่มีอยู่ปัจจุบันนี้ เมื่อ หลวงพ่อสีลว่ งไปแล้ว ต่อมาพระอาจารย์โพธิไ์ ด้เป็นเจ้าอาวาสปกครอง วัดนี้ พระอาจารย์โพธิ์ได้ลาสิกขาออกไปครองฆราวาส หลวงพ่อแจ่ม ก็ได้เป็นเจ้าอาวาสวัดเดิมบาง สืบมา สมัยนัน้ บ้านเดิมบาง มีประชาชนตัง้ บ้านเรือนอยูไ่ ม่สมู้ ากนัก จะมี อยู่ใต้วดั หมูห่ นึง่ และอยูห่ มู่กลางอีกหมูห่ นึง่ ประชาชนบางส่วนอพยพ มาจากธนบุรีและกรุงเทพฯ ที่เรียกกันว่าคนชาวสวน SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
3
.indd 109
109
8/10/2563 11:22:42
เจ้าอาวาสวัดเดิมบาง ตั้งแต่เริ่มสร้างวัด จนถึงปัจจุบัน รวม 12 องค์ ดังนี้
รูปที่ 1 หลวงพ่อสี รูปที่ 2 หลวงพ่อสง รูปที่ 3 หลวงตาบุญ รูปที่ 4 พระอาจารย์โพธิ์ รูปที่ 5 พระครูสงั วรศิลาจารย์ (หลวงพ่อแจ่ม) รูปที่ 6 หลวงพ่อแบน ปาสาทิโก (หรพสมุหแ์ บน) รูปที่ 7 พระอาจารย์ทองหล่อ สุมงฺคโล พ.ศ. 2481 – 2488 รูปที่ 8 พระอาจารย์เยือ้ น พ.ศ. 2488 – 2489 รูปที่ 9 พระอาจารย์ทวน จนุทวโํ ส พ.ศ. 2489 – 2498 รูปที่ 10 พระอาจารย์สวุ นิ ปภากโร พ.ศ. 2498 – 2512 รูปที่ 11 พระครูสวุ รรณปัญญาภรณ์ ( พระอาจารย์ถนอม เตชปญฺโญ) พ.ศ. 2513 – 2518 รูปที่ 12 พระครูสวุ รรณปุญญารักษ์
110
3
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 110
8/10/2563 11:22:51
Artwork.indd 111
13/10/2563 13:25:01
_Artwork x2.indd 112
13/10/2563 13:25:32
_Artwork x2.indd 113
13/10/2563 13:25:41
History of buddhism....
วัดบรรหารแจ่มใส พระครูธรรมสารรักษา (ป่วน) เจ้าอาวาสวัดบรรหารแจ่มใส
วัดบรรหารแจ่มใส ตั้งอยู่ที่ตำ� บลด่านช้าง อ�ำเภอด่านช้าง จังหวัดสุพรรณบุรี
114
5
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 114
อ�ำเภอด่านช้าง เดิมทีเป็นบ้านหนองปลาดุก อ�ำเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี มีต�ำนานเล่าว่า มีโขลงช้างมากินน�้ำและเล่นน�้ำที่ ล�ำห้วยกระเสียว จึงตั้งชื่อว่า “ด่านช้าง” ซึ่งแยกมาจากอ�ำเภอเดิมบางฯ ตัง้ เป็นกิง่ อ�ำเภอเมือ่ วันที่ 30 สิงหาคม 2517 และต่อมารัฐบาลได้ยกฐานะ เป็นอ�ำเภอเมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม 2524
12/10/2563 15:16:20
สถานที่ตั้ง “วัดบรรหารแจ่มใส” เดิมเป็นส�ำนักสงฆ์วัดกิโลสอง บนที่ดินเขตป่าสงวนแห่งชาติ ซึ่งแต่เดิมเป็นถิ่นทุรกันดารมาก ต่อมา ในปี พ.ศ.2517 สมัยนายสวัสดิ์ มีเพียร เป็นผู้ว่าราชการจังหวัด สุพรรณบุรี องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุพรรณบุรี ได้รับอนุญาตจาก กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ให้ใช้ที่ดินในเขตป่าสงวนแห่งชาติ จ�ำนวน 2,705 ไร่ 3 งาน 5 ตารางวา เพื่อใช้ประโยชน์ในการจัดตั้ง อ�ำเภอด่านช้าง ซึ่งทางส�ำนักผังเมืองได้วางแผนแสดงการใช้ที่ดิน โดย แบ่งเขตเป็นศูนย์ราชการ ศูนย์การศึกษา ศูนย์การค้า เขตที่อยู่อาศัย เขตสาธารณูปโภค เขตเกษตร เป็นต้น และได้จัดสรรที่ส่วนหนึ่งไว้ เป็นศาสนสถานจ�ำนวน 100 ไร่ คือสถานที่ก่อสร้างวัดบรรหารแจ่มใส ในปัจจุบันนี้ ในปี พ.ศ. 2517 พระครูภาวนาวิกรม (ปัจจุบันนายทองเหมาะ หงษ์ทอง) อดีตเจ้าอาวาสวัดปราสาททองและเลขานุการเจ้าคณะ จังหวัดสุพรรณบุรี ได้น�ำเรื่องการก่อสร้างวัดไปปรึกษานายบรรหาร ศิลปอาชา เพื่อให้เป็นผู้ก่อสร้างวัดนี้ ซึ่งนายบรรหารได้พิจารณาแล้ว เห็นความส�ำคัญของวัด อันเป็นสถาบันทางพระพุทธศาสนา ถ้าได้ ก่อสร้างขึ้นแล้วก็จะอ�ำนวยประโยชน์อย่างไพศาล จึงได้ตกลงใจเป็น ผู้ด�ำเนินการก่อสร้างวัดขึ้นในปีดังกล่าวนั้นเอง โดยได้ขออนุญาต สร้างวัดต่อกรมการศาสนาและตั้งชื่อว่า “วัดบรรหารแจ่มใส” ซึ่ง ได้รับใบอนุญาตเป็นวัดในปี พ.ศ. 2518 และได้รับพระราชทาน วิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2522 โดยมีพระมหาชะอ้อน สมณวํโส เป็นเจ้าอาวาสรูปแรก SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
5
.indd 115
115
12/10/2563 15:16:30
ต่อมาได้มีการวางผังเขตพุทธาวาสและได้ด�ำเนินการก่อสร้าง ถาวรวัตถุขึ้น คือเริ่มแต่ปี พ.ศ. 2520 ได้ก�ำหนดการก่อสร้างอุโบสถ เป็นอันดับแรก เพื่อที่จะได้เป็นที่ท�ำสังฆกรรมของสงฆ์ มีขนาดกว้าง 7 เมตร ยาว 23 เมตร สร้ า งบนเนิ น ดิ น สู ง 1.50 เมตร ด้ ว ย คอนกรีตเสริมเหล็กแบบลักษณะทรงไทย ได้ประกอบพิธีวางศิลา ฤกษ์เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม โดยมีเจ้าพระคุณสมเด็จพุทธโฆษาจารย์ วัดสามพระยา กรุงเทพมหานคร เป็นองค์ประธานพิธี ซึ่งนายบรรหาร และคุณหญิงแจ่มใส ศิลปอาชา เป็นผู้อุปถัมภ์ในการก่อสร้าง และ ท�ำพิธียกช่อฟ้าเมื่อวันอาทิตย์ที่ 19 เมษายน พ.ศ. 2530 ต่อมาได้ ท�ำพิธีผูกพัทธสีมา เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2532 ในปี พ.ศ. 2523 ได้ปรับปรุงพืน้ ทีด่ า้ นหลังส่วนหนึง่ จ�ำนวน 60 ไร่ จัดเป็น สวนรุกขชาติ โดยใช้ชื่อว่า “สวนรุกชาติวัดบรรหาร แจ่มใส” ต่อมาเมื่อวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2524 เจ้าคณะจังหวัดสุพรรณบุรี ได้ย้ายพระครูประยูร กตสาโร เจ้าอาวาสวัดเนินพระปรางค์ อ�ำเภอ สองพี่ น ้ อ ง จั ง หวั ด สุ พ รรณบุ รี ให้ ม าด� ำ รงต� ำ แหน่ ง เจ้ า อาวาส วั ด บรรหารแจ่ ม ใสและเจ้ า คณะอ� ำ เภอด่ า นช้ า ง ท่ า นได้ ท� ำ การ ก่อสร้างถาวรวัตถุต่าง ๆ 116
5
พ.ศ. 2525 คณะสงฆ์จังหวัดสุพรรณบุรี ได้ประกาศยกเขตการ ปกครองขึ้ น เป็ น คณะสงฆ์ อ� ำ เภอด่ า นช้ า งและได้ แ ต่ ง ตั้ ง พระครู สุวรรณคณาภิบาลเป็นเจ้าคณะอ�ำเภอด่านช้างรูปแรก พ.ศ. 2542 วันเสาร์ที่ 17 เมษายน พระครูสุวรรณคณาภิบาล (ยนต์) ได้มรณภาพด้วยภาวะหัวใจล้มเหลว สิริอายุรวมได้ 66 ปี 7 เดือน เมื่อพระครูสุวรรณคณาภิบาล ได้มรณภาพ เจ้าคณะจังหวัด สุ พ รรณบุ รี ไ ด้ ย ้ า ยพระครู ธ รรมสารรั ก ษา(ป่ ว น) เจ้ า อาวาสวั ด หนองบัวทอง เจ้าคณะต�ำบลกระเสียว มาเป็นเจ้าอาวาสวัดบรรหาร แจ่มใสและเจ้าคณะอ�ำเภอด่านช้าง สิ่งศักดิ์สิทธิ์ประจ�ำวัดบรรหารแจ่มใส ที่เป็นเคารพศรัทธาของ ประชาชนอ�ำเภอด่านช้างคือหลวงพ่อแจ่มใส พระพุทธรูปปางมารวิชยั หน้าตัก 19 นิ้ว ซึ่งเป็นพระพุทธเก่าแก่ที่ขุดได้จากวัดเนินมะปรางค์ ซึ่งพระครูสุวรรณคณาภิบาล(ยนต์) ได้น�ำมาพร้อมกับท่านด้วย
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 116
12/10/2563 15:16:36
ล�ำดับเจ้าอาวาส
1. พระมหาชะอ้อน สมณวํโส พ.ศ. 2518 - 2524 (ลาสิกขาบท) 2. พระครูสุวรรณคณาภิบาล (ประยูร) พ.ศ. 2524 - 2542 (มรณภาพ) 3. พระราชปริยัติสุธี (สะอิ้ง) พ.ศ. 2542 รักษาการแทนเจ้าอาวาส 4. พระครูธรรมสารรักษา (ป่วน) พ.ศ. 2542 - ปัจจุบัน
ความส�ำคัญและสิ่งส�ำคัญของวัดบรรหารแจ่มใส
1. เป็นวัดที่มีอุโบสถหลังแรกในอ�ำเภอด่านช้าง 2. มีศาลาการเปรียญอาคารไม้ที่มีเสาไม้ที่ใหญ่ที่สุดในจังหวัด สุพรรณบุรี
เสนาสนะ
1. อุโบสถ 2. ศาลาการเปรียญ หรือ ศาลากาญจนาภิเษก 3. ศาลาพุทธบารมี 4. ศาลาพระครูสุวรรณคณาภิบาล 5. ศาลาอุทยานมิตรผล 6. ศาลาบรรหารแจ่มใส 7. อาคารเอนกประสงค์ 8. เมรุ (แบบใช้ถ่าน) SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
5
.indd 117
117
12/10/2563 15:16:40
118
5
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 118
12/10/2563 15:16:42
REST24 x1_New.indd 119
13/10/2563 13:26:18
History of buddhism....
วัดเขาถ�ำ้ หมี
Wat Khao Tham Mee พระครูภาวนาจิตตาภิรักษ์ เจ้าอาวาสวัดเขาถ้ำ�หมี Phra Khru Pawwanajittaphirak, abbot of Wat Khao Tham Mee
สำ�นักปฏิบัติธรรมประจำ�จังหวัดสุพรรณบุรี แห่งที่ 11
11th Dhamma retreat of Suphan Buri
120
4
วัดเขาถ�้ำหมี ตั้งอยู่เลขที่ 12 บ้านป่าสัก ต�ำบลหนองมะค่าโมง อ�ำเภอด่านช้าง จังหวัดสุพรรณบุรี
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
2
.indd 120
12/10/2563 15:18:52
วั ด เขาถ�้ ำ หมี หรื อ ส� ำ นั ก ป่ า พุ ท ธอุ ท ยานเขาถ�้ ำ หมี ตั้ ง อยู ่ บ นเนิ น เขาบริ เวณ บ้ า นป่ า สั ก ริ ม ทางหลวงชนบท สพ 3062 เป็นสถานปฏิบตั ธิ รรม มหานิกาย มีถำ�้ แคบๆ ทีเ่ รียกว่าเป็นถ�ำ้ ทีอ่ ยูอ่ าศัยของหมี มีรอยพระพุทธบาทจ�ำลองอยูบ่ นยอดเขา มีบนั ไดขึน้ ยอดเขา จ�ำนวน 201 ขั้น Wat Khao Tham Mee or Samnak Pa Phuttha Utthayan Khao Tham Mee is located on the hill in Ban Pasak, the side of rural road of Suphan Buri no.3062. It is Dhamma retreat that belongs to Maha Nikaya clergy. There is a narrow cave which is the residence of many bear. It also has imitation of Buddha’s footprint on top of a mountain which can be reached by 201 step staircase.
พระครูภาวนาจิตตาภิรักษ์ เจ้าอาวาสวัดเขาถ�้ำหมี
SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
4
2
.indd 121
121
12/10/2563 15:19:02
ความเป็นมาวัดเขาถ�้ำหมี (พอสังเขป)
เมื่อห้าสิบกว่าปีก่อนบริเวณนี้เป็นป่าทึบหลวงพ่อสนอง กตปุญโญ เดินทางแสวงหาที่วิเวกส�ำหรับภาวนา และพบว่าเป็นสถานที่ สัปปายะ เหมาะแก่การเจริญกรรมฐาน จึงสร้างที่พักง่ายๆอยู่จ�ำพรรษา มีชาวบ้าน ศรัทธามาท�ำบุญปฏิบัติธรรมมากพอควร และแม้หลวงพ่อสนองจะจาริก ไปทางอื่นแล้ว ที่พักสงฆ์แห่งนี้ก็ยังมีพระธุดงค์กรรมฐานเวียนมาจ�ำพรรษา มิได้ขาด ต่อมาพระหัวหน้าสงฆ์ท่ีมีโอกาสอยู่นานก็พัฒนาสถานที่ให้ดีขึ้น โดยล�ำดับและให้ชื่อว่า “พุทธอุทยานเขาถ�้ำหมี” ในปี พ.ศ. 2545 กระทรวงศึกษาธิการประกาศตั้งที่พักสงฆ์พุทธ อุ ทยานเขาถ�้ำหมีเป็น วัด ในพระพุทธศาสนาชื่อว่า “วั ด เขาถ�้ ำ หมี ” มี พระถนัดกิจ ถิรจิตโฺ ต หัวหน้าสงฆ์ ในเวลานั้นเป็นเจ้าอาวาส และต่อมาใน ปี พ.ศ. 2556 พระอธิการถนัดกิจ ก็ได้รับสมณศักดิ์เป็น “พระครูภาวนา จิตตาภิรักษ์” ปัจจุบัน วัดเขาถ�้ำหมี ได้รับการพัฒนาและดูแล จากญาติโยมและ เจ้าอาวาสเป็นอย่างดี เป็นสถานที่ปฏิบัติธรรมประจ�ำจังหวัดสุพรรณบุรี แห่งที่ 11 เป็นสถานที่ร่มรื่น เหมาะแก่การ นั่งภาวนาจิต ฝึกสมาธิ และ เพื่อเป็นการสืบทอดพระพุทธศาสนาให้อยู่ต่อไป Brief history of Wat Khao Tham Mee 50 years ago, this area was thick forest. Luang Phor Sanong Katapunyo who was searching for a place to pray and meditate at that time. He found out that this area was a Sappaya (Suitable place for mental development in Buddhism). He then built simple residence for staying. There were many locals came to make merit and practice the dharma with him. Although he made a pilgrimage to other area, his residence still had another monk on pilgrimage came to stay continuously. After that, the monk dean who had an opportunity to develop this place for quite some time, started to develop this place respectively and named it “Phuttha Utthayan Khao Tham Mee”. In B.E.2545, Ministry of Education announced the promotion of this place from Phuttha Utthayan Khao Tham Mee Monk residence to official Buddhist temple under the name of “Wat Khao Tham Mee” which had Phra Thanatkit Thirajitto, the monk dean at that time, took a position of abbot. Then, in 2556 B.E., Phra Athikarn Thanatkit was bestowed monk’s title as “Phra Khru Pawwanajittaphirak” At present, Wat Khao Tham Mee is being developed rightly and under the good care of folks and abbot. It is the 11th place for practicing the dharma in Suphan Buri. It is a cool and pleasant place which is suitable for praying and meditating in order to carry on the existence of Buddhism everlastingly. 122
4
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
2
.indd 122
12/10/2563 15:19:07
SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
4
2
.indd 123
123
12/10/2563 15:19:11
History of buddhism....
วัดเขาตะเภาทอง
Wat Khao Tapao Thong พระครูสุวรรณ กิตติธาดา เจ้าอาวาสวัดเขาตะเภาทอง PHRA KHRU SUWAN KITTITHADA, ABBOT OF WAT KHAO TAPAO THONG
วัดเขาตะเภาทอง ตั้งอยู่ เลขที่ 58/ หมู่ 14 บ้านห้วยขมิ้น ต�ำบลห้วยขมิ้น อ�ำเภอด่านช้าง จังหวัดสุพรรณบุรี 72180 หมายเลขโทรศัพท์ 085 196 2966
124
4
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
2
.indd 124
12/10/2563 15:22:10
วัดเขาตะเภาทอง ได้รบั อนุญาตจากส�ำนักพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ประกาศตั้งเป็นวัด เมื่อวันที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2551 ถูกต้องตาม กฎแห่งกระทรวงฉบับที่ 2,000 507 ออกตามความในพระราชบัญญัติ คณะสงฆ์ พ.ศ. 2505 ประกาศตัง้ เป็นวัดให้มนี ามว่า วัดเขาตะเภาทอง มี พื้ น ที่ อ นุ ญ าตสร้ า งวั ด ทั้ ง หมด 62 ไร่ อาณาเขตทิ ศ เหนื อ จด ล�ำห้วยขมิ้น ทิศใต้จดทางสาธารณะ ทิศตะวันออก จดเขาตะเภาทอง ทิศตะวันตก จดทางสาธารณะ และ ล�ำห้วยขมิ้น Wat Khao Tapao Thong got a permission from National Office of Buddhism to be an official temple on 18 August 2008 which is legally established according to ministerial regulations volume 2,000 507 that issued by following the content in The Sangha Act of 1962 which is announced the establishment of this temple and named it as Wat Khao Tapao Thong. There are 24.5 acres of land that was permitted for building temple, north borders on Khamin Canal, south adjoins public road, east is adjacent to Tapao Thong Mountain, west borders on public road and Khamin Canal.
SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
4
2
.indd 125
125
12/10/2563 15:22:19
สิ่งส�ำคัญในวัด
- วิหารสมเด็จองค์ปฐม ประดับด้วยกระจกแก้ว - วิหารสมเด็จปทุม มุตตะระ หลวงพ่อศักดิ์สิทธิ์ - วิหารพระศรีอริยเมตไตรย - อุ โ บสถ มี ส มเด็ จ พระพุ ท ธสิ ก ขี หลวงพ่ อ ปาฏิ ห าริ ย ์ ทั น ใจ ปรางชี้แนะ ประทับอยู่ในพระอุโบสถ มีพระช�ำระหนี้สงฆ์ หน้าตัก 80 นิว้ สูง 120 นิว้ ทัง้ หมดปัจจุบนั 155 องค์ พร้อมทัง้ วิหาร 155 หลัง - พระพุทธรูป หน้าตัก 5 เมตร สูง 8 เมตร อีก 3 พระองค์ มีนามว่า หลวงพ่อทอง หลวงพ่อเงิน หลวงพ่อ พุทธรังสี ประดิษฐาน อยู่ด้านทิศตะวันออกเฉียงใต้ของวัด - ศาลาการเปรียญ อยูด่ า้ นทางทิศตะวันออก ติดกับ เขาตะเภาทอง ไว้ส�ำหรับประกอบกิจทางศาสนา 1 หลัง - ศาลาห้องสวดมนต์ รับแขก และห้องรับพระอาคันตุกะ 1 หลัง - กุฏิวิหารศาลาที่รับแขก รวมทั้งหมด อีก 4 หลัง ปัจจุบันได้ขออนุญาตใช้พื้นที่ในการก่อสร้างประกอบกิจทาง ศาสนา และได้ปลูกต้นไม้ หลายชนิด ไว้ภายในวัดเพื่อให้เกิดความ ร่มเย็น พื้นที่ที่ขอใช้ทั้งหมดปัจจุบัน 62 ไร่ และได้ท�ำเรื่องขอใช้ ถึง กระทรวงการเกษตรเรียบร้อยแล้ว ซึ่งทางกระทรวงการเกษตร ที่ดิน และป่าไม้ได้อนุญาต ให้ใช้พื้นที่ได้อย่างถูกต้องตามกฎหมาย
126
4
Important buildings in this temple are as follows:
- Somdet Ong Prathom Vihara (Buddha image hall) decorated with glass mirrors. - Vihara of Somdet Pathum Muttara, the sacred monk. - Phra Sri Ariya Mettrai Vihara. - Ubosot (Buddhist sanctuary), there are Somdet Phra Phuttha Sikki, Luang Phor Than Jai (Buddha image in attitude of instructing), 155 of Phra Chamra Ni (Buddha image that was built for paying a debt that layperson owe monk, it is a belief in Buddhism) which the Na Tak is 80 inches and the height is 120 inches (Na Tak is long measure of the Buddha statue in the posture of meditation), together with 155 small Viharas. - Three Buddha images which are Luang Phor Thong, Luang Phor Ngoen and Luang Phor Phuttha Rangsi. The Na Tak of these 3 Buddha images are 5 meters and the height are 8 meters. It is enshrined at southeast area of the temple. - Sermon hall, it is located in the eastern area of this temple which is adjacent to Tapao Thong Mountain. It is used for performing religious rite. - Chanting pavilion and room for receiving visitors. - Building and pavilion for receiving visitors, there are 4 buildings in total. At present, the temple has asked for permission to use the land for building, performing religious rites and planting various kinds of tree in the temple in order to create shady and cool environment. The scale of aforementioned land is 24.5 acres which the temple already got permission from Ministry of Agriculture and Cooperatives to use this land legally.
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
2
.indd 126
12/10/2563 15:22:21
ประวัติการสร้างวัด
เมื่อประมาณปี พ.ศ. 2526 ได้มีพระธุดงค์ มาปฏิบัติธรรมในถ�้ำ บนยอดเขาตะเภาทอง 4 รูปด้วยกัน องค์แรกคือ พระอาจารย์ชื่อว่า หลวงพ่อล�ำพวนอนากุโล องค์ที่ 2 คือ พระอาจารย์ปยิ ะพงษ์ กิตติญาโณ กลุ่มที่ 3 คือ พระอารีธัมมวโร องค์ที่ 4 คือ สามเณรบุปผา ทั้ง 4 ท่าน ได้เดินทางมาจากจังหวัดมหาสารคาม เมื่อถึงจังหวัด สิงห์บุรี และ เข้ามาถึงอ�ำเภอด่านช้างจังหวัดสุพรรณบุรี ได้เดินทางธุดงค์ มาหาที่ ปฏิบัติธรรม ตามป่า ตามภูเขา ซึ่งเป็นที่วิเวก ได้พ�ำนักและปฏิบัติ ธรรมในถ�้ำและภูเขา ได้ประมาณ 1 อาทิตย์ มีหัวหน้าชาวบ้าน บ้านห้วยขมิ้น ซึ่งในขณะนั้น ยังมีบ้าน เพียง 2-3 หลัง มานิมนต์ขอ ให้มาพ�ำนักอยู่ที่ตีนเขาตะเภาทอง พระอาจารย์ ล�ำพวนได้ ตอบรับ กับชาวบ้าน ที่จะอยู่ บริเวณ เชิงเขาตะเภาทอง ชาวบ้านจึงได้ พร้อมใจกัน มาปลูกศาลา ไว้ท�ำบุญ กว้างประมาณ 10 เมตร ยาว 10 เมตร มุงหญ้าคา พื้น เป็นฟากไม้ไผ่ ต่อมามีชาวบ้านถวายทีด่ นิ ตีนเขา จ�ำนวน 13 ไร่ และท�ำเรือ่ งขอวัด ได้เป็นทะเบียนวัด ครบถ้วน ตามเถรสมาคม ประกาศแต่งตั้งใน วันที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2551 มีเจ้าอาวาสองค์แรกคือ หลวงพ่อจ�ำพวน อนากุโล กลุ่มที่ 2 ซึ่งเป็นองค์ปัจจุบันคือ พระครูสุวรรณกิตติธาดา (หลวงพ่อปิยะพงษ์ กิตติญาโณ ) อายุ 63 ปี 38 พรรษา ปัจจุบัน มีภิกษุจ�ำพรรษาอยู่ทั้งหมด 10 รูป การก่ อ ตั้ ง วั ด เน้ น การประพฤติ วั ต ร ปฏิ บั ติ ธ รรม ในทาง กรรมฐาน เรียกว่า วิปัสสนาธุระ จะไม่เน้นคันถธุระ คือ การเล่าเรียน
พระครูสุวรรณ กิตติธาดา เจ้าอาวาสวัดเขาตะเภาทอง
SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
4
2
.indd 127
127
12/10/2563 15:22:27
History of buddhism....
วัดบ้านกล้วย พระอธิการธาดา ธมฺมธโร เจ้าอาวาสวัดบ้านกล้วย
วัดบ้านกล้วย ตั้งอยู่ที่บ้านกล้วย หมู่ที่ 1 ต�ำบลวังยาว อ�ำเภอด่านช้าง จังหวัดสุพรรณบุรี
128
2
วัดบ้านกล้วย สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ที่ดินที่ตั้งวัดมีเนื้อที่ 50 ไร่ อาณาเขต ทิ ศ เหนื อ ทิ ศ ใต้ และทิ ศ ตะวั น ตก จดล� ำ ห้ ว ย ทิ ศ ตะวั น ออก จดถนนสาธารณะ วัดบ้านกล้วย เริ่มก่อสร้างเมื่อวันที่ 28 กันยายน พ.ศ.2465 ชื่อวัดตั้งตามชื่อหมู่บ้าน ผูบ้ ริจาคทีด่ นิ ให้สร้างวัดคือ นายจะโท งามยิง่ , นายพยงห์ โอก่าย และนายเคลาะแคละ งามยิ่ง วัดได้รับการพัฒนาและบูรณะมาตลอด
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 128
12/10/2563 15:28:58
อาคารเสนาสนะ ประกอบด้วย
- อุโบสถ กว้าง 10 เมตร ยาว 20 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ.2537 เป็นคอนกรีตเสริมเหล็ก - ศาลาการเปรียญ กว้าง 18 เมตร ยาว 21 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ.2547 เป็นอาคารไม้ - กุฏิสงฆ์ จ�ำนวน 12 หลัง เป็นอาคารไม้ 5 หลัง และอาคารครึ่งไม้ครึ่งตึก 7 หลัง - ศาลาอเนกประสงค์ กว้าง 20 เมตร ยาว 24 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ.2536 เป็นอาคารไม้ - วิหารพระประจ�ำวัน กว้าง 12 เมตร ยาว 19 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ.2545 เป็นอาคารปูน - หอระฆัง กว้าง 6 เมตร ยาว 6 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ.2546 เป็นอาคารปูน - ลานอเนกประสงค์ กว้าง 20 เมตร ยาว 40 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ.2547 เป็นพื้นเซรามิค - ศาลาปฏิบัติธรรม กว้าง 6 เมตร ยาว 6 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ.2549 เป็นอาคารครึ่งตึกครึ่งไม้ - ห้องน�ำ ้ – ห้องสุขา จ�ำนวน 18 ห้อง กว้าง 4 เมตร ยาว 30 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ.2549 และ พ.ศ.2549 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก - โรงครัว จ�ำนวน 1 หลัง กว้าง 6 เมตร ยาว 12 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ.2549 เป็นอาคารไม้พื้นคอนกรีตเสริมเหล็ก - อาคารส�ำนักงานคณะสงฆ์ต�ำบลวังยาว จ�ำนวน 1 หลัง กว้าง 8 เมตร ยาว 10 เมตร เป็นคอนกรีตเสริมเหล็กชั้นเดียว ปูชนียวัตถุ พระประธานประจ�ำอุโบสถ พร้อมพระโมคคัลลานะ – สารีบุตร
การบริหารและการปกครอง มีเจ้าอาวาสเท่าที่ทราบนาม 1. พระสุชาติ ติกฺขปญฺโญ พ.ศ.2531 - 2540
2. พระมหาชาญวิวฒ ั น์ ชุตนิ ธฺ โร พ.ศ.2540 - ปัจจุบนั ลาสิกขา 3. พระอธิการประไพ ขนฺติโก ลาออก 4. พระอธิการธาดา ธมฺมธโร รูปปัจจุบัน
พระอธิการธาดา ธมฺมธโร เจ้าอาวาสวัดบ้านกล้วย
SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 129
129
12/10/2563 15:29:09
ตลาดเก่าร้อยปี ตลาดสามชุก
ตลาดเก่าแก่อายุนับร้อยปี ที่สร้างด้วยไม้เรียงติดกัน อยู่ริมฝังตะวันตกของแม่น�้ำท่าจีน ภาพวิถีชีวิตของผู้คน ในชุมชน สถาปัตยกรรมโบราณ เชิงชายไม้แกะสลัก อาคารพิพิธภัณฑ์บ้านขุนจ�ำนงค์ จีนารักษ์ ร้านขายยาจีน ร้านกาแฟโบราณ ร้านถ่ายรูปโบราณ ฯลฯ ยังคงมีสภาพ และรูปแบบดั้งเดิม เหมาะแก่การอนุรักษ์ไว้ให้คนรุ่นหลัง ได้ดู ด้วยความร่วมมือกันของชุมชน ท�ำให้ตลาดสามชุก เป็นตลาดโบราณที่กลับมามีชีวิตอีกครั้ง และเป็นต้นแบบ ให้กับอีกหลายๆ ตลาดที่มีอายุเก่าแก่ ได้กลับมาค้าขายกัน เช่นอดีต โดยปรับปรุงดูแล และยังคงรักษารูปแบบดั้งเดิม เมื่อนับร้อยปี จนกระทั้งปี พ.ศ. 2552 ชุมชนสามชุกตลาด ร้ อ ยปี ได้ รั บ รางวั ล มรดกโลก ประเภทอนุ รั ก ษ์ ม รดก วัฒนธรรม แห่งเอเชียแปซิฟิก จากองค์การยูเนสโก
130
.indd 130
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
13/10/2563 12:16:26
History of buddhism....
วัดสาลี พระครูโสภณคุณาธาร เจ้าคณะอำ�เภอบางปลาม้า เจ้าอาวาสวัดสาลี
วัดสาลี ตั้งอยู่ที่ตำ� บลสาลี อ�ำเภอบางปลาม้า จังหวัดสุพรรณบุรี
พระครูโสภณคุณาธาร เจ้าคณะอ�ำเภอบางปลาม้า เจ้าอาวาสวัดสาลี
SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
1
.indd 131
131
12/10/2563 15:10:50
History of buddhism....
วัดป่าพฤกษ์ พระครูวิมลวัฒนกิจ (ปัญญา สิริวฑฺฒโก) เจ้าอาวาสวัดป่าพฤกษ์
วัดป่าพฤกษ์ ตั้งอยู่เลขที่ 108 หมู่ที่ 3 ต�ำบลบ้านแหลม อ�ำเภอบางปลาม้า จังหวัดสุพรรณบุรี
132
2
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 132
12/10/2563 15:13:53
วัดป่าพฤกษ์ ตั้งอยู่บนที่ดินโฉนดเลขที่ 16312 จ�ำนวน 23 ไร่ 52 ตารางวา อยู่ทางทิศตะวันตกของแม่น�้ำท่าจีน ห่างจากตัวอ�ำเภอ 6 กม.ห่างจากตัวจังหวัด 19 กิโลเมตร สภาพวัดเป็นวัดราษฎร์ สร้างในสมัยใดไม่ปรากฏหลักฐานชัดเจน เดิมชื่อว่า “ วัดวิหารลายทอง” ครั้นต่อมาราวปีพุทธศักราช 2459 จึงได้เปลี่ยนชื่อเป็น “ วัดป่าพฤกษ์” เพื่อให้สอดคล้องกับชื่อหมู่บ้าน จากข้อมูลสันนิษฐานว่าสร้างในสมัยอยุธยา เฉพาะสิ่งก่อสร้างอุโบสถ จากอดีตถึงปัจจุบันสร้างมาเป็นหลังที่ 3 และมีหลักฐานวัตถุโบราณ ที่มีอยู่กับวัด เช่น ระฆังสัมฤทธิ์ สร้างในปีพุทธศักราช 2240 และ พระพุทธรูปหินทรายแกะสลักเป็นพระประธาน ประจ�ำอุโบสถและ วิหาร รวม 3 องค์ เป็นศิลปะสมัยอยุธยา
งานบุญประเพณีประจ�ำปี วัดป่าพฤกษ์
งานชั ก พระเล่ น เพลง ตั ก บาตรกลางน�้ ำ หนึ่ ง เดี ย วในจั ง หวั ด สุพรรณบุรี วันเสาร์ - อาทิตย์ ที่ 3 ของเดือนพฤศจิกายน ของทุกปี
อดีตเจ้าอาวาสผู้ปกครองวัด มีจ�ำนวนแต่เดิมไม่ปรากฏชัด แต่พอก�ำหนดภายหลังได้ดังนี้
1. หลวงพ่อสี 2. พระครูวินัยธรแสง 3. พระอธิการห่วง 4. พระอธิการฮั้ว ฐานทตฺโต 5. พระอธิการอ่อน อินทวีโร 6. พระครูไห ฐานุตฺตโร 7. พระครูสุวรรณวุฒิคุณ (ต่วน ทินฺนปาโล) 8. พระอธิการก้อน เขมจิตฺโต 9. พระครูวิมลวัฒนกิจ (ปัญญา สิริวฑฺฒโก) พ.ศ. 2538 – ปัจจุบัน
พ.ศ. – 2435 พ.ศ. 2435 – 2456 พ.ศ. 2456 – 2464 พ.ศ. 2464 – 2478 พ.ศ. 2478 – 2486 พ.ศ. 2486 – 2504 พ.ศ. 2504 – 2520 พ.ศ. 2520 – 2538
พระครูวิมลวัฒนกิจ (ปัญญา สิริวฑฺฒโก) เจ้าอาวาสวัดป่าพฤกษ์
SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 133
133
12/10/2563 15:14:06
History of buddhism....
วัดสวนหงส์ พระครูโกศลธรรมานุสิฐ, ดร. รองเจ้าคณะอำ�เภอบางปลาม้า / เจ้าอาวาสวัดสวนหงส์
วัดสวนหงส์ ตั้งอยู่เลขที่ 6 หมู่ที่ 8 ต�ำบลบางปลาม้า อ�ำเภอบางปลาม้า จังหวัดสุพรรณบุรี
วัดสวนหงส์ มีแม่น�้ำวกอ้อมวัดถึง 3 ทิศ 3 ด้าน สันนิษฐานว่าตั้งวัดก่อนปี พ.ศ. 2374 อ้างอิงหลักฐานจาก นิราศสุพรรณ ของสุนทรภู่ ที่นั่งเรือผ่านหน้าวัด สวนหงส์ ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อปี พ.ศ. 2408 เล่ากันว่ามีเศรษฐี โคกครามสองสามีภรรยา ชื่อ นายสวน กับนางหงส์ มีศรัทธาสร้างวัดขึ้นมา แล้ว เรียกขานชื่อวัดว่า “วัดสวนหงส์” ปัจจุบันมีที่ดิน ตั้งวัดเนื้อที่ 47 ไร่ 6 ตารางวา
โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกบาลี
วัดสวนหงส์ เปิดการเรียนการสอนพระปริยัติธรรม แผนกธรรม พ.ศ. 2491 สมัยของ พระครูสุมนคณารักษ์ และเพื่อเป็นการสานต่อเจตนารมณ์ของหลวง พ่อที่เคยกล่าวไว้ว่า “ต่อไปในอนาคต วัดสวนหงส์ จะเต็มไปด้วยมหาเปรียญ” พระครู โ กศลธรรมานุ สิ ฐ ดร. จึ ง ได้ เ ปิ ด การเรี ย นการสอนพระปริ ยั ติ ธ รรม แผนกบาลีขึ้น พัฒนาเรื่อยมาจนต่อมาได้รับการประกาศให้จัดตั้งเป็น “โรงเรียน พระปริยตั ธิ รรมแผนกบาลีประจ�ำจังหวัดสุพรรณบุรี แห่งที่ 2” จากมติมหาเถรสมคม เมือ่ พ.ศ. 2555 จัดการเรียนการสอนพระปริยตั ธิ รรม ประโยค 1-2 ถึงเปรียญธรรม 9 ประโยค และได้รางวัล ส�ำนักศาสนศึกษาดีเด่น ติดต่อกันหลายปี
134
2
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 134
12/10/2563 14:28:19
หลวงพ่อมรณภาพอย่างสงบเมื่อวันที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2545 สิริอายุ 94 ปี 5 เดือน 7 วัน พรรษา 74 ท่ามกลางความเศร้าโศก เสียใจของชาวอ�ำเภอบางปลาม้าเป็นอย่างยิ่ง ในระหว่างที่สวดศพ ตลอด 9 วัน มีเหตุอัศจรรย์ คือ ผึ้งหลวงและผึ้งธรรมดา บินรอบศาลา และตกลงมาตายจ�ำนวนมาก สรีระของหลวงพ่อสงบนิ่งในโลงแก้ว ภายในหอสวดมนต์ สรีระของท่านเพียงแต่แห้งไปเท่านั้น ไม่เน่า ไม่เปื่อยแต่อย่างใด มีพุทธศาสนิกชนไปกราบไหว้ไม่ขาดสาย
หลวงพ่อปลื้ม จิตฺตสญฺโต อดีตเจ้าอาวาสวัดสวนหงส์
หนึง่ ในพระเกจิชอื่ ดังทีไ่ ด้รบั ความเลือ่ มใสศรัทธากันมาก ชือ่ สกุลเดิม ปลื้ม ศุภพินิจ เกิดเมื่อวันที่ 17 ต.ค. 2450 ณ บ้านยอด ต�ำบลเก้าห้อง อ�ำเภอบางปลาม้า จังหวัดสุพรรณบุรี อายุ 14 ปี บรรพชาที่วัดน้อย อ.บางปลาม้า จ.สุพรรณบุรี ต่อมา บรรพชาอีกครั้งที่วัดมหาธาตุฯ กรุงเทพฯ โดยมีสมเด็จพระวันรัต (เฮง เขมจารี) เป็นพระอุปัชฌาย์ อยู่จ�ำพรรษาที่คณะ 1 เพื่อเล่าเรียน นักธรรมบาลี ในปี พ.ศ. 2471 เข้าพิธีอุปสมบทที่วัดมหาธาตุมี สมเด็จพระวันรัต (เฮง เขมจารี) เป็นพระอุปัชฌาย์ ได้รับฉายาว่า “จิตฺตสญฺโต” ในวันที่ 27 ก.ค. 2491 ได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาส วัดสวนหงส์ และเจ้าคณะต�ำบลโคกคราม ค่อนชีวิตของท่านเป็นครูสอนนักธรรมแก่พระเณรมาโดยตลอด ทางด้านวิปัสสนากรรมฐาน ท่านก็ถือปฏิบัติอย่างเคร่งครัด ชอบเดิน จงกรม ก�ำหนดจิตให้เป็นสมาธิอยู่ตลอดเวลา แม้ว่าหลวงพ่อปลื้ม เป็นพระที่ดุ แต่โดยส่วนลึกในจิตใจของท่านนั้น มีเมตตาแก่ทุกคนที่ แวะเวียนไปกราบไหว้ ผูท้ เี่ ดือดร้อนเป็นทุกข์ทางใจไปหาท่าน หลวงพ่อ จะพรมน�้ำมนต์ให้ เรื่องร้ายมักผ่อนคลาย แถมโชคดีอีกต่างหาก และ ท่านได้ฟื้นฟูประเพณีการแข่งเรือยาวชิงถ้วยพระราชทานฯ ซึ่งจัด เป็นประจ�ำทุกๆ ปี ในช่วงเดือนพฤศจิกายน SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 135
135
12/10/2563 14:28:30
History of buddhism....
วัดดอนบุบผาราม พระศรีประจันตคณาภิบาล์ (สมทรง โชติปญฺโญ) เจ้าอาวาสวัดดอนบุบผาราม
วัดดอนบุบผาราม ตั้งอยู่เลขที่ 218 หมู่ที่ 3 ต�ำบลบ้านกร่าง อ�ำเภอศรีประจันต์ จังหวัดสุพรรณบุรี
136
5
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 136
8/10/2563 11:55:12
วัดดอนบุบผาราม เป็นวัดซึ่งมีอดีตเจ้าอาวาสและเจ้าอาวาสรูปปัจจุบันเป็นพระสังฆาธิการด�ำรงต�ำแหน่งตั้งแต่ เจ้าคณะ ต�ำบล เจ้าคณะอ�ำเภอ รองเจ้าคณะจังหวัด และรักษาการแทนเจ้าคณะจังหวัด วัดสร้างเมื่อใดไม่ปรากฏข้อมูลแน่ชัด จากประวัติ ค�ำบอกเล่าว่าเดิมชื่อ “วัดตะค่า” สร้างในสมัยอยุธยา ได้ขึ้นทะเบียนตั้งวัดเมื่อปี พ.ศ. 2341 ต่อมาสมัยพระครูธรรมสารรักษา เป็นเจ้าอาวาส นิยมเรียกกันว่า “วัดโคกดอกไม้” พระครูธรรมสารักษาเห็นค�ำว่า “ โคก” ฟังไม่ไพเราะจึงเปลี่ยนเป็น “วัดดอนดอกไม้” และ “วัดดอนบุบผาราม” ตามล�ำดับ SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
5
.indd 137
137
8/10/2563 11:55:19
ปัจจุบันวัดมีพื้นที่จ�ำนวน 38 ไร่ 1 งาน 54 ตารางวา ได้รับ พระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 8 กันยายน พ.ศ.2498 เขต วิสุงคามสีมากว้าง 40 เมตร ยาว 60 เมตร
ล�ำดับเจ้าอาวาส (เท่าที่ทราบนาม)
1. สมภารมี 2. สมภารออง 3. พระครูธรรมสารักษา (อ้น ติสฺโส) พ.ศ. 2411 – 2469 4. พระครูศรีคณานุรัก์ (สม คงฺคสุวณฺโณ) พ.ศ.2470 – 2532 5. พระครูอาภัสสรคุณ (เตี้ยม อาภสฺสโร) พ.ศ.2532 – 2552 6. พระศรีประจันตคณาภิบาล (สมทรง โชติปญฺโญ) พ.ศ.2552 – ปัจจุบัน
138
5
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 138
8/10/2563 11:55:24
ปูชนียวัตถุ – ปูชนียสถาน
- พระปรางค์ สร้างสมัยพระครูธรรมสารักษา เป็นเจ้าอาวาส บูรณะสมัยพระครูศรีคณานุรักษ์ เป็นเจ้าอาวาส - หลวงพ่อดอกไม้ พระประธานประจ�ำอุโบสถเก่าสร้างสมัย พระครูธรรมสารรักษาเป็นเจ้าอาวาส ครั้งวัดยังชื่อวัดดอนดอกไม้ - พระพุทธมงคลนิมิต มีอายุเก่าแก่นับร้อยปี อัญเชิญมาจาก วัดราชบุรณราชวรวิหาร พร้อมกับพระพุทธรูปบางวัดในเขตอ�ำเภอ ศรีประจันต์ อาทิ วัดพังม่วง วัดม่วงเจริญผล วัดคลองชะโด วัดโพธิ์ ศรี เ จริ ญ หลั ง จากเหตุ ก ารณ์ ส งครามโลกครั้ ง ที่ 2 เพื่ อ เป็ น พระประธานประจ�ำอุโบสถซึ่งสร้างเมื่อ พ.ศ.2498 และมีพิธีฉลอง พร้อมอุโบสถ เมื่อ พ.ศ.2506 - พระศรีสุคโตโพธสุธนทศพลญาณ พระพุทธรูปปางลีลา สร้าง ราว พ.ศ.2530 กว่าๆ โดยการน�ำของนายประภัตร โพธสุธน - รอยพระพุ ท ธบาทจ� ำ ลอง สร้ า งเมื่ อ ปี พ.ศ.2458 เป็ น รอยพระพุทธบาท 4 รอย มีมงคล 108 ปัจจุบันประดิษฐานในมณฑป - รูปเหมือนพระครูธรรมสารรักษา หรือหลวงพ่ออ้น สร้างก่อน ท่านจะมรณภาพในปี พ.ศ.2469 ปัจจุบันประดิษฐานในมณฑป - รูปเหมือนพระครูศรีคณานุรักษ์ หรือหลวงพ่อสม สร้างเมื่อ ปี พ.ศ.2513 ปัจจุบันประดิษฐานในมณฑป - สังขารหลวงพ่อสม ซึ่งมรณภาพตั้งแต่ พ.ศ. 2532 ปัจจุบัน ประดิษฐานในโลงแก้วภายในศาลาจัตุรมุข เทศกาลประจ�ำปี พิธบี ำ� เพ็ญกุศลวันคล้ายวันมรณภาพหลวงพ่อสม (วันบูรพาจารย์) และงานปิดทองไหว้พระประจ�ำปี วันแรม 15 ค�่ำ เดือน 4 ( ตรุษไทย)
พระศรีประจันตคณาภิบาล เจ้าอาวาสวัดดอนบุบผาราม
SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
5
.indd 139
139
8/10/2563 11:55:30
140
5
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 140
8/10/2563 11:55:35
History of buddhism....
วัดบ้านกร่าง พระครูสุนทรสีลสัมบัน เจ้าอาวาสวัดบ้านกร่าง
วัดบ้านกร่าง ตั้งอยู่เลขที่ 252 หมู่ที่ 2 ต�ำบลบ้านกร่าง อ�ำเภอศรีประจันต์ จังหวัดสุพรรณบุรี
วัดบ้านกร่าง สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตัง้ อยูร่ มิ แม่นำ�้ สุพรรณบุรี (ท่าจีน) ฝั่งตะวันตก มีพื้นที่ปัจจุบันจ�ำนวน 29 ไร่ เป็นวัดเก่าแก่สมัย อยุธยา สันนิษฐานว่ามีอายุราว 400 – 500 ปี ได้รับพระราชทาน วิ สุ ง คามสี มา (ปั จ จุ บัน ) วั น ที่ 21 กุ มภาพั นธ์ พ.ศ. 2523 เขต วิสุงคามสีมา กว้าง 29 เมตร ยาว 49 เมตร ได้รับยกย่องจากกรม การศาสนา กระทรวงศึกษาธิการให้เป็นวัดพัฒนาตัวอย่างปี พ.ศ.2536
ปูชนียวัตถุ – ปูชนียสถาน สิ่งที่น่าสนใจภายในวัดบ้านกร่าง
- อุโบสถ สร้างราวปี พ.ศ.2474 เป็นที่ประดิษฐานพระประธาน ปางมารวิชัย ศิลปะอู่ทอง มีพระนามว่า “หลวงพ่ออู่ทอง” - วิหาร สมัยอยุธยาภายในประดิษฐานพระพุทธรูปและใบเสมาเก่า พระประธานในวิหารนั้น มีพระนามว่า “หลวงพ่อแก้ว” - กรุพระขุนแผน เป็นกรุบรรจุพระพิมพ์ พระบูชาสมัยอยุธยา - พระขุนแผนวัดบ้านกร่างองค์ใหญ่ องค์จ�ำลองจากพระกรุ มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลกสร้างเมื่อปี พ.ศ. 2560 - พระพุทธบาท สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2476 ปัจจุบันประดิษฐานที่ ศาลารายซึ่งตั้งอยู่บริเวณด้านหลังวิหาร - มณฑป สร้างสมัยพระเมธีธรรมสาร เป็นเจ้าอาวาส ปัจจุบัน เป็นที่ประดิษฐานรูปเหมือนพระครูอาภัสศีลคุณ - มณฑปพระเมธีธรรมสาร (ไสว ธมฺมสาโร ) อดีตเจ้าอาวาส ผู้สร้างโรงเรียน วัด สาธารณูปการในหลายพื้นที่ รูปเหมือนสร้างสมัย ท่านยังมีชีวิตอยู่ในปี พ.ศ. 2508 - เจดีย์กลางน�้ำ เป็นเจดีย์ย่อมุมไม้สิบสอง สร้างในสมัยพระบาท สมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 4 ) แต่เดิมเจดีย์ตั้งอยู่กลาง แม่น�้ำ ต่อมากระแสน�้ำเปลี่ยนเป็นเหตุให้เจดีย์ตั้งอยู่ริมแม่น�้ำใน ปัจจุบัน - ศาลและอนุ ส าวรี ย ์ ห ลวงปู ่ ท วน หรื อพระอุปัช ฌาย์ท วน สุนทรวิภาค (อดีตเจ้าอาวาส) อนุสาวรียน์ นั้ สร้างเมือ่ ราวปี พ.ศ.2475 - พระบรมรูปสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ทรงหลัง่ น�ำ้ ทักษิโนทก ประกาศอิสรภาพ แกะสลักจากไม้ตะเคียนขนาดใหญ่ - อุทยานมัจฉา เขตอภัยทาน แหล่งรวมปลาน�้ำจืดนานาพันธุ์ ของแม่น�้ำสุพรรณบุรี มีเรือนแพสามารถลงให้อาหารปลาได้ SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
1
.indd 141
141
8/10/2563 11:41:35
History of buddhism....
วัดสัปรสเทศ พระครูภัทรกิตติสาร (วิจิตร กิตฺติภทฺโท) เจ้าอาวาสวัดสัปรสเทศ
วัดสัปรสเทศ ตั้งอยู่เลขที่ 162 หมู่ที่ 6 ต�ำบลวังยาง อ�ำเภอศรีประจันต์ จังหวัดสุพรรณบุรี
142
5
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 142
8/10/2563 15:37:20
SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
5
.indd 143
143
8/10/2563 15:37:26
144
5
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 144
8/10/2563 15:37:28
วัดสัปรสเทศ เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย เขตการ ปกครองคณะสงฆ์ ต�ำบลวังยาง อ�ำเภอศรีประจันต์ จังหวัดสุพรรณบุรี ภาค 14 วัดตั้งอยู่ริมน�้ำบริเวณส่วนโค้งของแม่น�้ำท่าจีน ซึ่งเคยเป็น ชุมชนสมัยก่อนประวัติศาสตร์ ขุดพบลูกปัดหินสีต่างๆ วัดสร้างขึ้น เมื่อใดไม่ปรากฏข้อมูลแน่ชัด มีพระพุทธรูปหินทรายแดงอยู่องค์หนึ่ง สันนิษฐานว่ามีอายุอยู่ในสมัยอยุธยา ปัจจุบันวัดมีพื้นที่จ�ำนวน 24 ไร่เศษ ได้รับอนุญาตตั้งวัดเมื่อปี พ.ศ.2412 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2499 เขตวิสุงคามสีมากว้าง 40 เมตร ยาว 80 เมตร
ล�ำดับเจ้าอาวาส (เท่าที่ทราบนาม)
1. พระอาจารย์นิล 2. พระอาจารย์เดช 3. พระอาจารย์คง 4. พระอาจารย์คุย พุ่มเข็ม 5. พระอาจารย์เปี่ยม ศรีวิเชียร 6. พระอาจารย์เปรื่อง ศรีเดิมมา 7. พระอาจารย์รอด 8. พระครูใหญ่ ไพรฤทธิ์ พ.ศ.2480 – 2496 9. พระครูสถิตธรรมคุณ (จ�ำเรือง ฐิตธมฺโม) พ.ศ. 2496 – 2520 10. พระครูภัทรกิตติสาร (วิจิตร กิตฺติภทฺโท) พ.ศ.2526 – ปัจจุบัน
พระครูภัทรกิตติสาร (วิจิตร กิตฺติภทฺโท) เจ้าอาวาสวัดสัปรสเทศ
SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
5
.indd 145
145
8/10/2563 15:37:36
ปูชนียวัตถุ – ปูชนียสถาน – สิ่งที่น่าสนใจ
- หลวงพ่อมงคลบพิตร พระพุทธรูปหินทรายแดงแกะสลัก สมัยอยุธยา เป้นพระประธานในวิหาร - พระพุทธสามัคคีชัยบรมโพธิสัตว์ สร้างเมื่อปี พ.ศ.2501 เป็นพระประธานประจ�ำอุโบสถ - พระพุทธรูปปางถวายพระเพลิง ประดิษฐานบนเขาถวาย พระเพลิงจ�ำลองในมณฑป - พระแท่นดงรังจ�ำลอง ประดิษฐานในมณฑป สร้างสมัยพระอาจารย์คุ่ยเป็นเจ้าอาวาส - ภาพวาดหนุมาน จิตรกรรมฝาผนังในมณฑป วาดโดยนายสง่า มะนุระ (จิตรกรผู้มีชื่อเสียง) เมื่อปี พ.ศ.2468 - รอยพระพุทธบาทจ�ำลอง พ.ศ.2556 ประดิษฐานในมณฑป - รูปเหมือนพระครูสถิตธรรมคุณ หรือหลวงพ่อเรือง (อดีตเจ้าอาวาส ) ประดิษฐานในอนุสาวรีย์ - วังมัจฉา เขตอภัยทาน แหล่งปลาน�้ำจืดนานาพันธุ์ ในแม่น�้ำท่าจีนบริเวณวัด
เทศกาลประจ�ำปี งานปิดทองไหว้พระ วันแรม 14 – 15 ค�่ำ เดือน 4
146
5
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 146
8/10/2563 15:37:42
ตลาดน�ำ้ สะพานโค้ง สุ่มปลายักษ์ SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 147
147
13/10/2563 12:16:52
History of buddhism....
วัดพังม่วง พระมหามนพ กิตฺติมโน ป.ธ.8 เจ้าอาวาสวัดพังม่วง
วัดพังม่วง ตั้งอยู่ที่บ้านพังม่วง เลขที่ 108 หมู่ที่ 3 ถนนทางหลวง หมายเลข 340 ( กม.91.700) สายกรุงเทพ –สุพรรณบุรี –ชัยนาท ต�ำบลวังน�้ำซับ อ�ำเภอศรีประจันต์ จังหวัดสุพรรณบุรี 72140
148
5
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 148
8/10/2563 15:51:56
SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
5
.indd 149
149
8/10/2563 15:52:03
เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่
ชลประทานสามชุก มีที่ดินตั้งวัดเป็นที่ธรณีสงฆ์จ�ำนวน 22 ไร่ 28 ตารางวา โฉนด เลขที่ 5873 อาณาเขตทิศเหนือติดที่ดินเอกชน ทิศใต้ติดที่ดินเอกชน ทิศตะวันออกติดที่ดินเอกชนใกล้ถนนทางหลวงหมายเลข 340 และ ทิศตะวันตกติดแม่น�้ำท่าจีนฝั่งตะวันออก มีที่ดินประเภทธรณีสงฆ์ 2 แปลง รวมเนื้อที่ 30 ไร่ คือ 1. ที่ตั้งริมถนนทางหลวงหมายเลข 340 กม. 91.300 จ�ำนวน 2 ไร่เศษ ต�ำบลวังน�้ำซับ อ�ำเภอศรีประจันต์ จังหวัดสุพรรณบุรี บริจาคถวายวัดโดยนายม้วน วังกรานต์ ปัจจุบันเอกชนเช่าปลูกบ้าน 2. ที่ ตั้ ง บริ เวณริ ม บึ ง ล� ำ ควง หมู ่ 4 ต� ำ บลวั ง น�้ ำ ซั บ อ� ำ เภอ ศรีประจันต์ จังหวัดสุพรรณบุรี จ�ำนวน 28 ไร่ บริจาคถวายโดย นายก๊ก พวงผกา
ประวัติหมู่บ้าน
ประการที่ 1. สันนิษฐานว่า ในสมัยกรุงศรีอยุธยา ช้างพังใน กองทัพสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ซึ่งไปรบกับกองทัพพม่าที่ต�ำบล หนองสาหร่าย อ�ำเภอดอนเจดีย์ กลับมาข้ามแม่น�้ำท่าจีนตรงบริเวณ นี้ จะไปกรุงศรีอยุธยา (ในหน้าแล้ง แม่น�้ำท่าจีนบริเวณนี้ จะแห้งขอด จนสามารถเดินข้ามได้ เป็นที่มาของต�ำบลวังน�้ำซับ) แล้วล้ม จึงชื่อ ว่า วัดพังม่วง ตามลักษณะของช้างมงคลหัตถี ผิวดังสีดอกอัญชัน รูปร่างสูงสง่า ประการที่ 2. สันนิษฐานว่า สุนทรภู่เขียนไว้ในนิราศสุพรรณบุรี เมื่อ พ.ศ. 2379 ว่า “บางม่วง” ชาวบ้านในชุมชนนี้เห็นว่าน่าจะเป็น “พังม่วง” มากกว่า ด้วยเหตุผลว่าไม่มีป่าหรือสวนมะม่วง เดิมเป็น ป่าเบญจพรรณ เคยขุดพบงาช้างฝังดินในพื้นที่คู่หนึ่งในช่วงปลาย สงครามโลกครั้งที่ 2 และน่าจะเป็นที่อยู่ของโขลงช้าง มีช้างบางเชือก มีผิวสีเข้มออกม่วง ซึ่งตรงกับต�ำราคชศาสตร์ลักษณะช้างดี ช้างมงคล เรียกว่า “ช้างตระกูลมงคลหัตถี” จึงเรียกหมู่บ้านนี้ว่า “พังม่วง” บ้านพังม่วงมีพื้นที่ครอบคลุมทั้ง 2 ฝั่งแม่น�้ำท่าจีน พื้นที่ราวๆ 4 ตารางกิ โ ลเมตร และน่ า จะเป็ น หมู ่ บ ้ า นชายเขตพระนครเมื อ ง สุพรรณบุรี หมู่บ้านหนึ่ง อยู่ห่างเพียง 23 กิโลเมตร จึงอาจจะใช้ชื่อ นี้มาก่อนสมัยกรุงศรีอยุธยา 150
5
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 150
8/10/2563 15:52:08
การตั้งวัด
ในอดีต ในหมู่บ้านพังม่วงมีวัดตั้งอยู่ 2 วัดคือ 1. วัดพังม่วง อยู่ริมแม่น�้ำท่าจีนฝั่งตะวันตก แต่ได้กลายเป็นวัด ร้างมาแต่ปลายสมัยกรุงศรีอยุธยา ปัจจุบันที่ดิน ที่ตั้งบ้านเรือนของ ชาวบ้านออกโฉนดโดยราชการเมื่อปี พ.ศ. 2453 ( ร.ศ. 128) 2. วัดพิกุนทอง อยู่ริมแม่น�้ำท่าจีนฝั่งตะวันออก เป็นวัดมาตั้งแต่ ต้นสมัยรัตนโกสินทร์ มีเจ้าอาวาสรูปแรกคือพระอาจารย์เปรม พ.ศ. 2370 หลักฐานการเป็นวัดพิกุนทอง คือรอยพระพุทธบาทจ�ำลอง หล่อ ด้วยทองเหลืองขนาดกว้าง 60 ซม. ยาว 147 ซม. ขอบสูง 15 ซม. และสลักข้อความไว้ว่า “พระพุทธสักราช 2441 พรรสา พระอาจารย์ ทั้งวัดพิกุนทอง นายนุต แม่หนู กับทายกทั้งหลายมีใจสัททา ทร่าง พระพุทธบาดไว้ในพระศาสนา ขอให้ภพกพระศาสนา พระสีอาริเมด ไตร โน้นเทินฯ”
การเปลี่ยนชื่อวัด
สมัยก่อนคนอ่านออก เขียนได้มีจ�ำนวนน้อย วัดไม่มีป้าย และ ในหมู่บ้านนี้มีเพียงวัดพิกุนทองเพียงวัดเดียว แต่ชาวบ้านทั่วไปเรียก ชื่อวัดตามหมู่บ้านว่า “วัดบ้านพังม่วง” แล้วกร่อนมาเป็น “วัดพัง ม่วง” ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา ครั้งแรกในรัชสมัยรัชกาลที่ 6 และครั้งที่สอง เมื่อ วันที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2497
รายนามเจ้าอาวาส
พระมหามนพ กิตฺติมโน ป.ธ.8 เจ้าอาวาสวัดพังม่วง
1. หลวงพ่อเปรม พ.ศ. 2370 - 2372 (ย้ายไปจ�ำพรรษาที่อื่น) 2. หลวงพ่อบัว พ.ศ. 2375 - 2379 (ย้ายไปจ�ำพรรษาที่อื่น) 3. หลวงพ่อริด พ.ศ. 2390 - 2414 4. หลวงพ่อแฉ่ง พ.ศ. 2430 - 2430 (ลาสิกขา) 5. หลวงพ่อช้าง พ.ศ. 2435 - 2445 (ลาสิกขา) 6. หลวงพ่อโฉม พ.ศ. 2447 - 2460 (ลาสิกขา) 7. หลวงพ่อลอย พ.ศ. 2460 - 2476 (ลาสิกขา) 8. พระครูทอง (ทอง) พ.ศ. 2476 - 2510 9. พระครูสุวรรณประภาธร (ทองอยู่) พ.ศ. 2510 - 2544 10. หลวงพ่อสมชาย พ.ศ. 2544 - 2545(ลาสิกขา) 11. พระศรีธรรมคุณาธาร พ.ศ. 2545 - 2560 (จ�ำนง วรวฑฺฒโน ป.ธ.9) 12. พระมหามนพ กิตฺติมโน ป.ธ.8 พ.ศ. 2560 - ปัจจุบัน SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
5
.indd 151
151
8/10/2563 15:52:13
152
5
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 152
8/10/2563 15:52:18
บ้านควาย
หมู่บ้านอนุรักษ์ควายไทย บ้านควาย คือสถานที่ที่รวบรวมเรื่องราว และรูปแบบ วิถีชีวิตของคนในชนบท รูปแบบที่ก�ำลังจะเลือนหายไป เป็นอีกสถานทีห่ นึง่ ทีไ่ ม่ควรพลาด หากมีโอกาสได้เดินทาง มาท่องเที่ยวเมืองสุพรรณ ด้วยสุพรรณ เป็นจังหวัดที่มี อาชีพหลักคือการเกษตรกรรม และ “ควาย” ก็เป็นสัตว์ เลี้ยงเพื่อการใข้งาน ที่มีวิถีชีวิตเคียงคู่กับคนสุพรรณโดย ตลอดมา นอกจากนี้ หมู่บ้านอนุรักษ์ควายไทย ยังมีกิจกรรม หลากหลายให้นักเรียนนักศึกษา และนักท่องเที่ยว ได้ร่วม สนุกและได้ความรู้ เกี่ยวกับวิถีชีวิตของชาวนาไทย และ การแสดงความสามารถของควายแสนรู้
SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 153
153
13/10/2563 12:17:26
History of buddhism....
วัดไก่เตี้ย พระครูสุกิจจานุรักษ์, ดร.(อคฺควณฺโณ) เจ้าคณะตำ�บลวังยาง / เจ้าอาวาสวัดไก่เตี้ย
วัดไก่เตี้ย ตั้งอยู่เลขที่ 293 หมู่ 2 ต�ำบลวังยาง อ�ำเภอศรีประจันต์ จังหวัดสุพรรณบุรี
154
4
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 154
8/10/2563 11:29:52
ข้อมูลจากกรมศาสนาระบุว่า “วัดไก่เตี้ย” เดิมมี สภาพเป็นวัดร้าง สันนิษฐานจากโบราณสถานน่าจะ มีอายุอยู่ในสมัยอยุธยาตอนต้น มีการถูกทิ้งร้างเป็น ระยะๆ มี ร ่ อ งรอยการสร้ า งวิ ห ารสถาปั ต ยกรรม แบบสมัยรัชกาลที่ 3 – 4 จนกระทั่งสมัยรัชกาลที่ 5 ปี พ.ศ. 2428 มีพระภิกษุนามว่า “หลวงพ่ออิ่ม” จาก วัดเสาธงทองได้เข้ามาอยู่จ�ำพรรษา จึงได้มีการฟื้นฟู จากวัดร้างมาเป็นวัดที่มีพระสงฆ์อยู่จ�ำพรรษา ได้รับ พระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2495 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 40 เมตร ยาว 80 เมตร ปัจจุบนั วัดไก่เตีย้ มีพนื้ ที่ 35 ไร่ 3 งาน 40 ตารางวา โดยเจ้าอาวาส (พระครูสกุ จิ จานุรกั ษ์) พร้อมด้วยคณะสงฆ์ วั ด ไก่ เ ตี้ ย ชาวบ้ า นวั ด ไก่ เ ตี้ ย และศิ ษ ยานุ ศิ ษ ย์ ข อง วัดไก่เตี้ย ได้ร่วมกันพัฒนาวัดในทุก ๆ ด้าน จนเมื่อ วันที่ 5 เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2559 ส�ำนักงานพระพุทธ ศาสนาแห่งชาติ ได้คัดเลือกให้วัดไก่เตี้ย เป็นอุทยาน การศึกษาในวัด ประจ�ำปี 2558 และต่อมา เมื่อวันที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2562 ได้คัดเลือกให้วัดไก่เตี้ย เป็น วัดพัฒนาตัวอย่าง ประจ�ำปี 2561 SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
4
.indd 155
155
8/10/2563 11:30:04
ล�ำดับเจ้าอาวาส (เท่าที่ทราบนาม)
1. หลวงพ่อนาค 2. หลวงพ่อรอด 3. หลวงพ่อน้อย 4. หลวงพ่อแสน สุวณฺโณ พ.ศ. 2471 - 2486 5. พระอาจารย์พราหมณ์ พ.ศ. 2486 – 2489 6. พระครูสุกิจวิจารณ์ (จวน ฐิติโก) พ.ศ. 2489 – 2544 7. พระครูสุกิจจานุรักษ์, ดร. (ชยุตม์ อคฺควณฺโณ) พ.ศ. 2544 – ปัจจุบัน
156
4
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 156
8/10/2563 11:30:09
ปูชนียวัตถุ – ปูชนียสถาน
- หลวงพ่อเพชร พระพุทธรูปหินทรายแดง สมัยอยุธยา ศิลปะ สกุลช่างอู่ทอง (สุพรรณภูมิ) เป็นพระประธานประจ�ำวิหาร ซึ่งวิหาร ประดับด้วยลวดลายปูนปั้นเครือถาลายจีนและกระเบื้องเบญจรงค์ อันเป็นรูปแบบสถาปัตยกรรมในสมัยรัชกาลที่ 3 – 4 - หลวงพ่อพุทธกวัก พระประธานประจ�ำอุโบสถวัดเดียวใน อ�ำเภอฯ ทีเ่ ป็นปางประทานเอหิภกิ ขุ ส่วนอุโบสถสร้างเมือ่ ปี พ.ศ.2491 - หลวงพ่อขาว พระพุทธรูปเก่าแก่คู่วัด เดิมห่อหุ้มด้วยปูน อยู่ บริเวณโคนต้นไม้ภายในวัด กระทั่งปูนกะเทาะหลุดออกจึงทราบว่า เป็นพระพุทธรูปศิลปะแบบพม่า แกะสลักจากหินหยกแท้สีขาว - สมเด็จพระกกุสนั โธฐิตโิ กปจารานุสรณ์ พระพุทธรูปปางอุม้ บาตร ( ประจ� ำ วั น พุ ธ กลางวั น ) สร้ า งเป็ น อนุ ส รณ์ พ ระครู สุ กิ จ วิ จ ารย์ (จวน ฐิติโก) เมื่อปี พ.ศ. 2544 ประดิษฐานในวิหารซึ่งจัดท�ำเป็น พิพิธภัณฑ์ขนาดเล็ก เก็บรวบรวมสิ่งของเครื่องใช้ ภาพถ่าย เอกสาร - รอยพระพุ ท ธบาทจ� ำ ลอง สร้ า งด้ ว ยโลหะ ศิ ล ปะสมั ย รัตนโกสินทร์ เป็นพระพุทธบาท 4 รอย มีมงคล 108 ประการ - หลวงพ่อเณร สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2544 เป็นองค์ขนาดใหญ่ จ�ำลองจากพระพิมพ์อันเลื่องชื่อซึ่งมีต้นก�ำเนิดจากเจดีย์ของวัด - เจดีย์แปดเหลี่ยม ส่วนองค์เจดีย์มีซุ้มจรน�ำ ประดิษฐานพระ ปางลีลา 8 ด้านสมัยอยุธยาตอนต้นซึ่งรับอิทธิพลศิลปะสุโขทัย ซึ่ง เป็นโบราณสถานส�ำคัญมากเพราะในพืน้ ทีภ่ าคกลางของไทยพบเจดีย์ แปดเหลี่ยมอิทธิพลศิลปะสุโขทัยที่มีสภาพสมบูรณ์เช่นเจดีย์องค์นี้อยู่ น้อยมาก ได้รับการบูรณะแล้วเมื่อปี พ.ศ. 2544 และขึ้นทะเบียน เป็นโบราณสถานเมื่อวันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2548
เทศกาลประจ�ำปี
- งานปิดทองไหว้พระ ตรงกับ วันแรม 7-8 ค�ำ ่ เดือน 4 ของทุกปี - พิธีบ�ำเพ็ญกุศลวันคล้ายวันมรณภาพพระครูสุกิจวิจารย์ (วันบูรพาจารย์ ) ตรงกับ วันที่ 2 สิงหาคม ของทุกปี
SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
4
.indd 157
157
8/10/2563 11:30:14
History of buddhism....
วัดคลองชะโด พระปลัดกิมฮั้วะ นิกฺกิเลโส เจ้าอาวาสวัดคลองชะโด
วัดคลองชะโด ต�ำบลวังหว้า อ�ำเภอศรีประจันต์ จังหวัดสุพรรณบุรี
158
2
เมื่อปี พ.ศ.2483 นายหรั่ง –นายกอง บุญเรืองรอด กับนายกลิ้ง-นางทองพูล ประทุม เป็นผู้ริเริ่มเสียสละที่ดินและชักชวนชาวบ้านคลองชะโด ร่วมกันสร้างวัด เป็นศูนย์รวมจิตใจของชุมชน โดยตั้งชื่อตามหมู่บ้านว่า “ วัดคลองชะโด” ปัจจุบันวัดคลองชะโด มีพื้นที่จ�ำนวน 23 ไร่ 2 งาน 76 ตารางวา อนุญาตตั้ง วัดเมื่อปี พ.ศ.2485 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ.2515 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 20 เมตร ยาว 40 เมตร
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 158
8/10/2563 11:53:22
ล�ำดับเจ้าอาวาส เท่าที่ทราบนาม
1. พระอธิการถึก 2. พระอธิการหมอน 3. พระอธิการเก๋ 4. พระอธิการชิ้น 5. พระอธิการใบ 6. พระอธิการผิว 7. พระอธิการก๊ก กลฺยาโณ 8. พระครูสุกิจวิบูล (สุทัศน์ โอปายิโก) พ.ศ.2511 – 2558 9. พระปลัดกิมฮั้วะ นิกฺกิเลโส พ.ศ.2558 – ปัจจุบัน
ปูชนียวัตถุ
- หลวงพ่อสุโขทัย พระพุทธรูปปางมารวิชัย เนื้อทองสัมฤทธิ์ ศิลปะสมัยสุโขทัย อายุราวพุทธศตวรรษที่ 18 เป็นหนึ่งในจ�ำนวน พระพุทธรูปซึ่งพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (รัชกาลที่ 1 ) โปรดให้อัญเชิญมาจากหัวเมืองต่างๆ เพื่อประดิษฐาน ณ วัดราชบุรณาราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร กระทั่งเกิดเหตุการณ์ สงครามโลกครั้งที่ 2 วัดราชบุรณาฯ ได้รับความเสียหาย ทางราชการ จึงมีมติให้ยุบเลิกวัด และอนุญาตให้วัดต่างๆ อัญเชิญพระพุทธรูปไป ประดิษฐานยังวัดของตนได้ หนึ่งในนั้นคือพระพุทธรูปองค์นี้ ซึ่งขณะ นั้นมีลักษณะเป็นพระพุทธรูปปูนปั้นทั่วไป ขนาดไม่ใหญ่โต จึงไม่มี ใครสนใจ แต่นายหรั่ง บุญเรืองรอด เห็นแล้วเกิดจิตศรัทธาจึงขอเพื่อ น�ำมาถวายวัดคลองชะโด อัญเชิญประดิษฐานทีศ่ าลาพืน้ ต่อมาปูนปัน้ ซึ่งพอกองค์พระหลุด จึงปรากฏให้ชาวบ้านได้เห็นว่าจริงแล้วเนื้อแท้ ของพระพุทธรูปองค์นี้เป็นทองสัมฤทธิ์ ชาวบ้านจึงช่วยกันกะเทาะ ปู น ออก พร้ อ มทั้ ง อั ญ เชิ ญ ประดิ ษ ฐานยั ง ที่ เ หมาะสม กระทั่ ง พ.ศ.2554 พระครูสุกิจวิบูลจึงสร้างวิหารและอัญเชิญประดิษฐานเช่น ทุกวันนี้ - พระประธาน ประจ�ำอุโบสถ พร้อมด้วยพระมหาโมคคัลลานะ พระสารีบุตร สร้างเมื่อ พ.ศ.2515 - หลวงพ่อสุโขทัย ทรงเครื่อง สร้างเมื่อ พ.ศ.2560 ประดิษฐาน ชั้นล่างของอุโบสถ - รอยพระพุทธบาทจ�ำลอง สร้างเมื่อ พ.ศ.2548 ประดิษฐาน ในวิหารหลวงพ่อสุโขทัย - รูปเหมือนพระครูสกุ จิ วิบลู หรือหลวงพ่อสุทศั น์ อดีตเจ้าอาวาส ซึ่งเป็นที่เคารพนับถือของชาวบ้าน การศึกษา ส�ำนักศาสนศึกษาพระปริยัติธรรม แผนกธรรม เริ่ม เปิดสอนเมื่อ พ.ศ.2512 เทศกาลประจ�ำปี งานปิดทองไหว้พระ หลวงพ่อสุโขทัย วันแรม 14 ค�่ำ เดือน 12 ถึง วันขึ้น 2 ค�่ำ เดือนอ้าย
พระปลัดกิมฮั้วะ นิกฺกิเลโส เจ้าอาวาสวัดคลองชะโด
SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 159
159
8/10/2563 11:53:34
หลวงพ่อชินสีห์ พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์คู่วัดเทพสุธาวาส ที่ชาวบ้านเคารพนับถือ กราบไหว้ขอพร
History of buddhism....
วัดเทพสุธาวาส (วัดตึก) พระใบฎีกาเสนาะ ยสินฺโท เจ้าอาวาสวัดเทพสุธาวาส
160
2
วัดเทพสุธาวาส ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น�้ำสุพรรณ (ท่าจีน) ฝั่งตะวันตก ในบ้านมดแดง หมู่ที่ 1 ต�ำบลมดแดง อ�ำเภอศรีประจันต์ จังหวัดสุพรรณบุรี
วั ด เทพสุ ธ าวาส เป็ น วั ด ราษฎร์ ใ นสั ง กั ด คณะสงฆ์ ม หานิ ก าย ชาวบ้านนิยมเรียกว่า “วัดตึก” ตามชื่อเดิมของวัด วัดเทพสุธาวาส เป็นวัดเก่าแก่ ไม่ปรากฏแน่ชดั ว่าสร้างมาแต่เมือ่ ใดแต่มบี างเว็บทีบ่ อก ว่าวัดนี้ตั้งเมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2427 (รัชกาลที่ 5) ซึ่งถ้าดู จากช่วงเวลาของล�ำดับเจ้าอาวาสและรูปแบบสถาปัตยกรรมของ พระอุโบสถหลังเก่าที่เป็นโบสถ์แบบมหาอุดแล้วน่าจะเป็นไปได้
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 160
9/10/2563 15:40:19
วัดเทพสุธาวาส ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาครั้งล่าสุดเมื่อ วันที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2533 และมีโรงเรียนพระปริยัติธรรมซึ่ง เปิดสอนมาตั้งแต่ พ.ศ. 2524 พระอุโบสถใหม่สร้างเมื่อ พ.ศ. 2533 ส่วนศาลาการเปรียญซึ่งเป็นที่ตั้งของภาพจิตรกรรมอีกแห่งนั้นสร้าง เมื่อ พ.ศ. 2484 แต่ได้รับการบูรณะครั้งใหญ่เมื่อไม่นานมานี้ อุโบสถ (เก่า) มีลักษณะเป็นอาคารทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า ขนาดกว้าง 7.24 เมตร ยาว 15.30 เมตร หันหน้าไปทางทิศตะวันออกเข้าไปสู่ แม่น�้ำท่าจีน ( แม่น�้ำสุพรรณบุรี) ตัวอาคารมีประตูทางเข้าที่ผนังหุ้ม กลองหน้า 2 ประตู ภายในประดิษฐานพระพุทธรูปปูนปั้นจ�ำนวน 6 องค์บนฐานชุกชี ด้านนอกมีฐานเสมาอยู่ทั้ง 8 ทิศ เมื่ อ พิ จ ารณาจากรู ป แบบสถาปั ต ยกรรมและศิ ล ปกรรม สั น นิ ษ ฐานว่ า อุ โ บสถหลั ง นี้ น ่ า จะสร้ า งขึ้ น ราวสมั ย รั ช กาลที่ 4-5 ส�ำนักศิลปากรที่ 2 สุพรรณบุรี ได้ด�ำเนินการบูรณะอุโบสถหลังนี้เมื่อ ปี พ.ศ.2557 โดยได้รับการสนับสนุนงบประมาณการบูรณะจาก กองทุนตลาดหุ้นร่วมใจช่วยภัยน�้ำท่วม อุโบสถใหม่ บริเวณเหนือหน้าต่างและประตูเขียนพุทธประวัติ ส่วนผนังทีอ่ ยูร่ ะหว่างหน้าต่างและประตูเขียนทศชาติเรียงครบทุกชาติ ศาลาการเปรียญ มีภาพพุทธประวัติบนคอสอง
พระใบฎีกาเสนาะ ยสินฺโท เจ้าอาวาสวัดเทพสุธาวาส
SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 161
161
9/10/2563 15:40:33
History of buddhism....
วัดห้วยเจริญ
ส�ำนักปฏิบัติธรรมประจ�ำจังหวัดสุพรรณบุรี แห่งที่ 41
พระครูสมุห์สุทัศน์ ทตฺตมโน เจ้าอาวาสวัดห้วยเจริญ โทร 087-168-0855
วัดห้วยเจริญ ตั้งอยู่เลขที่ 4/1 หมู่ 4 ต�ำบลวังน�้ำซับ อ�ำเภอศรีประจันต์ จังหวัดสุพรรณบุรี
162
2
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 162
9/10/2563 16:33:12
วัดห้วยเจริญ ตั้งอยู่บ้านห้วยเจริญ หรือชื่อเดิมว่า “บ้านห้วยผี ” สมั ย ก่ อ นมี ลั ก ษณะเป็ น ชนบทห่ า งไกลความเจริ ญ ยั ง ไม่ มี สาธารณูปโภค เช่น วัด หรือถนนเข้าออกหมู่บ้าน เมื่อชาวบ้านเสีย ชี วิ ต จึ ง น� ำ ศพไปท� ำ พิ ธี ก รรมโดยการเผาหรื อ ฝั ง ยั ง ป่ า ช้ า ภายใน หมู่บ้านบริเวณริมล�ำน�้ำซึ่งชาวบ้านนิยมเรียกว่า “ห้วยผี” อันเป็น ล�ำน�้ำสาขาของล�ำน�้ำปลายนา (สามจุ่น) แต่เดิมชาวบ้านต้องเดินทางไปท�ำบุญหรือประกอบพิธีกรรมยัง วัดพังม่วงซึ่งอยู่ห่างไปทางใต้ราว 3 กิโลเมตร ด้วยความยากล�ำบาก กระทั่ง พ.ศ. 2493 นายบุรี พรหมลักขโณ (นายอ�ำเภอศรีประจันต์) จึ ง จั ด สรรงบประมาณตั ด ถนนจากวั ด พั ง ม่ ว งมายั ง บ้ า นห้ ว ยผี หลั ง จากท� ำ ถนนเสร็ จ ราว พ.ศ. 2495 นายอ� ำ เภอจึ ง เปลี่ ย นชื่ อ หมู่บ้านเป็น “บ้านห้วยเจริญ” แต่ชาวบ้านยังคงนิยมเรียกบ้านห้วยผี เช่นเดิม จึงต้องตั้งคนในหมู่บ้านท�ำหน้าที่ตรวจปรับผู้ที่เรียกชื่อบ้าน ห้วยผีครั้งละ 5 บาท ผลปรากฏว่านับแต่นั้นมาจึงเปลี่ยนชื่อหมู่บ้าน ได้ส�ำเร็จ เมื่อมีถนนจึงยกเลิกการใช้ป่าช้าห้วยผี ด้วยสามารถเดินทางน�ำ ศพไปยังวัดพังม่วงได้สะดวก อีกทั้งการเผาศพในพื้นที่ดังกล่าวนั้นมี ความเห็นกันว่าไม่เหมาะสมนัก ราวปี พ.ศ. 2500 เป็นต้นมาป่าช้า ริมห้วยผีจึงถูกเลิกใช้ไปอย่างสิ้นเชิง ต่ อ มาชุ ม ชนขยายตั ว พ.ศ. 2527 ชาวบ้ า นห้ ว ยเจริ ญ และ ใกล้เคียง นายประสงค์ โพธสุธน (ก�ำนันต�ำบลวังน�้ำซับ) คณะสงฆ์ วัดพังม่วงโดยการน�ำของพระครูสุวรรณประภาธร จึงร่วมกันประกาศ สร้างวัดในชุมชนบ้านห้วยเจริญชื่อว่า “ วัดห้วยเจริญ” แล้วนิมนต์ หลวงพ่อสุทัศน์จากวัดอ้อย (จังหวัดอ่างทอง) ซึ่งเป็นพระนักพัฒนา นักก่อสร้าง มีผลงานปรากฏในหลายๆ วัด มาเป็นเจ้าอาวาสและผู้น�ำ ในการสร้างวัด ปัจจุบันมีพื้นที่จ�ำนวน 17 ไร่ 20 ตารางวา ได้รับอนุญาตตั้งวัด เมื่อวันที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2531 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2536 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 20 เมตร ยาว 40 เมตร
พระครูสมุห์สุทัศน์ ทตฺตมโน เจ้าอาวาสวัดห้วยเจริญ
ล�ำดับเจ้าอาวาส
1. พระอธิการสุทัศน์ สุภทฺโท พ.ศ. 2527 - 2541 2. พระครูสุภัทราจารวัตร (เดชา จนฺทโชโต) พ.ศ. 2542 - 2560 3. พระครูสมุห์สุทัศน์ ทตฺตมโน พ.ศ. 2560 – ปัจจุบัน
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 163
163
9/10/2563 16:33:20
History of buddhism....
วัดม่วงเจริญผล พระใบฎีกา มนูญ คุณสมฺปนฺโน เจ้าอาวาสวัดม่วงเจริญผล
164
2
วัดม่วงเจริญผล ตั้งอยู่เลขที่ 120 หมู่ที่ 6 ต�ำบลศรีประจันต์ อ�ำเภอศรีประจันต์ จังหวัดสุพรรณบุรี
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 164
วัดม่วงเจริญผล เป็นชุมชนซึ่งมีลักษณะภูมิประเทศเป็นพื้นที่ดอนปนราบลุ่ม ราวรัตนโกสินทร์ตอนกลางมีชาวจีนกลุ่มหนึ่งอพยพมาตั้งถิ่นฐานและท�ำไร่สวน อยู่ริมคลองบ้านม่วง จากนั้นไม่นานชาวบ้านท�ำเน ดอนตูม มะกรูด ซึ่งอยู่ไม่ไกล นัก เห็นว่าพื้นที่แห่งนี้มีความอุดมสมบูรณ์จึงย้ายถิ่นมาตั้งบ้านเรือนท�ำมาหากิน แผ้วถางพื้นที่ท�ำการเกษตรและนิยมปลูกมะม่วงกันอย่างมาก จึงเป็นที่มาของ ชื่อ บ้านม่วง
8/10/2563 13:50:18
ล�ำดับเจ้าอาวาส
1. พระอาจารย์จันทร์ พ.ศ. 2480- 2481 2. พระอาจารย์โหน่ง พ.ศ. 2481 – 2482 3. พระอาจารย์หยวก พ.ศ. 2482 – 2484 4. พระอธิการบาง พ.ศ. 2484 – 2488 5. พระอธิการจุ่น พ.ศ. 2488 – 2491 6. พระอธิการเปล่ง พ.ศ. 2491 – 2494 7. พระอธิการวิบูลย์ ปาสาทิโก พ.ศ. 2494 – 2500 8. พระอธิการบุญช่วย ลาภเวชโช พ.ศ. 2500- 2502 9. พระสมุห์บุญส่ง ถาวรธมฺโม พ.ศ. 2502 – 2517 10. พระครูสุวรรณธรรมทัต (จ�ำนง ฐานทตฺโต) พ.ศ. 2517-2562 11. พระใบฎีกา มนูญ คุณสมฺปนฺโน พ.ศ. 2562 - ปัจจุบัน
ปูชนียวัตถุ-ปูชนียสถาน
- พระประธาน ( หลวงพ่ออู่ทอง) พระประธานประจ�ำอุโบสถ หลังปัจจุบันซึ่งสร้าง พ.ศ.2551 ผูกพัทธสีมา พ.ศ.2553 – 2554 - สมเด็จพระพุทธชัยมงคล สร้างเมื่อปี พ.ศ.2458 เคยเป็น พระประธานประจ�ำอุโบสถหลังเดิมซึ่งสร้างเมื่อปี พ.ศ.2512 - พระพุ ท ธพรหมจั ก ร (หลวงพ่ อ เลี ย บ) เป็ น พระประธาน ประจ�ำหอสวดมนต์ซึ่งสร้างเมื่อปี พ.ศ.2491 เป็นพระพุทธรูปซึ่ง พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (รัชกาลที่ 1 ) โปรดให้อัญเชิญมาจากหัวเมืองต่างๆ เพื่อประดิษฐาน ณ วัดราชบุรณ ราชวรวิหาร (วัดเลียบ) กรุงเทพมหานคร กระทั่งเกิดเหตุการณ์ สงครามโลกครั้งที่ 2 วัดราชบุรณฯ ได้รับความเสียหาย ทางราชการ จึ ง มี ม ติ ใ ห้ ยุ บ เลิ ก วั ด เมื่ อ ปี พ.ศ. 2488 และอนุ ญ าตให้ วั ด ต่ า งๆ อัญเชิญพระพุทธรูปไปประดิษฐานยังวัดของตนได้ โดยในเขตอ�ำเภอ ศรีประจันต์ อาทิ วัดคลองชะโด วัดโพธิ์ศรีเจริญ วัดดอนบุบผาราม วัดพังม่วง วัดม่วงเจริญผล - พระบรมราชานุสาวรีย์ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช สร้าง เมื่ อ ปี พ.ศ.2529 ประดิษฐานในหมู่บ ้าน ตามความเชื่ อ และข้ อ สันนิษฐาน จากเส้นทางการเดินทัพของสมเด็จพระนเรศวรฯ ตาม พระราชพงศาวดารซึ่งเสด็จกรีฑาทัพผ่านบ้านสามโก้ และทรงกระท�ำ ยุทธหัตถีที่บริเวณหนองสาหร่าย อ�ำเภอดอนเจดีย์ เมื่อปี พ.ศ.2135 ซึ่งจากลักษณะภูมิประเทศแล้วสันนิษฐานว่ากองทัพของพระองค์ซึ่ง มี ไ พร่ พ ลจ� ำ นวนมากนั้ น ส่ ว นหนึ่ ง ต้ อ งเดิ น ทั พ ผ่ า นบริ เวณพื้ น ที่ สูงดอน ซึ่งคือหมู่บ้านม่วงในปัจจุบันนี้
การศึกษา
- ส�ำนักศาสนศึกษาพระปริยัติธรรม แผนกธรรม เริ่มเปิดสอนเมื่อปี พ.ศ. 2502 - ศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 165
165
8/10/2563 13:50:29
History of buddhism....
วัดโพธิ์ศรีเจริญ พระครูประจันตสีลาภรณ์ (ชาคริต) เจ้าคณะตำ�บลบ้านกร่าง / เจ้าอาวาสวัดโพธิ์ศรีเจริญ
วัดโพธิ์ศรีเจริญ ตั้งอยู่เลขที่ 117 หมู่ที่ 6 ต�ำบลบ้านกร่าง อ�ำเภอศรีประจันต์ จังหวัดสุพรรณบุรี
166
2
วัดโพธิ์ศรีเจริญ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกายมีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ 12 ไร่ 3 งาน มีพระอธิการโต ปุญญศิริ อดีตเจ้าอาวาสวัดโพธิ์ศรีเจริญ เป็นผู้ริเริ่มสร้างวัดและ ก่อตั้งโรงเรียน ได้จัดตั้งวัดเมื่อวันที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2478 ได้รับพระราชทาน วิสุงคามสีมา เมื่อ พ.ศ. 2484 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 20 เมตร ยาว 30 เมตร
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 166
8/10/2563 13:42:30
อาคารเสนาสนะ ประกอบด้วย
- อุโบสถ กว้าง 8 เมตร ยาว 80 เมตร - หอสวดมนต์ กว้าง 10 เมตร ยาว 12 เมตร - กุฏิสงฆ์ จ�ำนวน 8 หลัง - ศาลาอเนกประสงค์ กว้าง 12 เมตร ยาว 24 เมตร
รูปที่ 1 พระโต รูปที่ 2 พระเสงี่ยม รูปที่ 3 พระง้วน รูปที่ 4 พระแกร รูปที่ 5 พระมิ่ง รูปที่ 6 พระบุญช่วย รูปที่ 7 พระอุทัย รูปที่ 8 พระศิริ รูปที่ 9 พระบุญช่วย รูปที่ 10 พระเสงี่ยม รูปที่ 11 พระครูวิบูลโพธิธรรม รูปที่ 12 พระครูประจันตสีลาภรณ์ (ชาคริต) เจ้าอาวาสองค์ปัจจุบัน
การบริหารและการปกครองมีเจ้าอาวาส เท่าที่ทราบนาม คือ
หลวงพ่อพระพุทธเทวเทพ (เนื้อทองสัมฤทธิ์)
หน้าตัก 6 ศอก สูง 8 ศอกเศษ ปี พ.ศ.2487 อยู่ในภาวะหลังสงคราม เครื่องมือทุ่นแรงทุกชนิด ไม่เจริญอัตคัดขัดสน ต้องใช้ก�ำลังคน ใช้สติปัญญา ใช้ความรู้ความ ช�ำนาญ โดยเฉพาะอย่างยิ่งความสามัคคี แก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ อย่างดีเยี่ยม การเคลื่อนย้ายหลวงพ่อพระพุทธเทวเทพไม่มีอุปสรรค เหตุร้าย ภัยใดๆ ตั้งแต่เริ่มติดต่อประสานงานจนถึงเคลื่อนย้ายประทับใน อุโบสถ ปลอดโปร่ง สะดวกทุกอย่าง การเดินทางขณะนัน้ มีเรือทางเดียว ไม่มีถนนหนทาง รถยนต์ รถบก รถพ่วง เป็นประสงค์ของพระองค์ที่ จะเสด็จมาสถิต ณ โบสถ์วัดโพธิ์ศรีเจริญ จากที่เจริญแล้วมาอยู่บ้าน นอกทุ่งนา ป่าดอน ท�ำได้ยาก ซึ่งมีพระสมณโคดมที่เสด็จประทับแต่ ในดงป่าภูเขาโคนไม้ เปรียบกับยุคโลกาภิวัตปัจจุบันตรงกันข้าม ถือว่าเป็นนิมิตหมายสูงส่ง หาค่าใดๆ มาเสมอเหมือนไม่ได้
พระครูประจันตสีลาภรณ์ (ชาคริต)
เจ้าคณะต�ำบลบ้านกร่าง / เจ้าอาวาสวัดโพธิ์ศรีเจริญ
SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 167
167
12/10/2563 17:21:06
History of buddhism....
วัดใหม่นพรัตน์ พระสมุห์กิตติศักดิ์ ยโสธโร เจ้าอาวาสวัดใหม่นพรัตน์
วัดใหม่นพรัตน์ ตั้งอยู่เลขที่ 32 หมู่ที่ 3 ต�ำบลเนินพระปรางค์ อ�ำเภอสองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรี
168
5
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 168
12/10/2563 15:05:43
SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
5
.indd 169
169
12/10/2563 15:05:49
วัดใหม่นพรัตน์ ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2442 โดยมีพระอธิการแก้ว จนฺทสาโร (หลวงพ่อแก้ว) อดีตเจ้าอาวาสใหม่นพรัตน์ เป็นผูด้ ำ� เนินการ ก่อสร้าง ณ บ้านลาดจระเข้เพราะในขณะนั้นบริเวณวัดทีล�ำลาดใหญ่ ซึ่งมีจระเข้ชุกชม ชาวบ้านจึงเรียก วัดลาดจระเข้ ต่อมามีการสัญจร ไปมา เข้า-ออก วัดไม่สะดวกเท่าที่ควร พระอธิการแก้วจึงได้ย้ายวัด มาตั้งชื่อใหม่ ณ บ้านดอนกลาง ระหว่างบ้านดอนกลางนั้น ขณะนี้ ชาวบ้ า นทั่ ว ไป เรี ย กว่ า บ้ า นดอนไผ่ ขี้ น ก บ้ า นดอนไผ่ ช ่ อ งลม บ้านดอนจิกโค้ง บ้านรางทอง เหตุที่วัดตั้งอยู่ระหว่างบ้านดอนกลาง ดังกล่าวข้างต้นนั้น จึงเรียกว่า วัดดอนกลาง หรือนัยหนึ่งขณะนี้จะ กล่าวขานกันว่า วัดใหม่นพรัตน์ หรือ วัดดอนกลาง ใกล้พระใหญ่ วัดไผ่โรงวัว ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อใหม่ ชื่อว่า วัดใหม่นพรัตน์ เพื่อให้ เป็นเกียรติ แก่หลวงพ่อแก้วผู้สร้างวัด ซึ่งชื่อวัดมีความหมายว่า วัดแก้ว 9 ประการ
170
5
เมื่อปี พ.ศ. 2453 ได้สร้างอุโบสถ จะมีอายุ 89 ปี ในปี พ.ศ. 2542 และในปี พ.ศ. 2462 ได้สร้างพระพุทธรูปใหญ่อีก องค์หนึ่ง ปางมารวิชยั ก่ออิฐถือปูน หน้าตักกว้าง 5 วา สูง 9 วา ได้ถวายนามว่า พระโลกเชษฐ์มหามณีรัตนปฏิมากร ชาวบ้านเรียกว่า หลวงพ่อโต ในปี พ.ศ. 2542 จะมีอายุครบ 100 ปี วัดใหม่นพรัตน์ มีทดี่ นิ ตัง้ วัด 17 ไร่ 1 งาน 5 ตารางวา มีทธี่ รณีสงฆ์ จ�ำนวน 2 แปลง เนื้อที่ 73 ไร่ 3 งาน 44 ตารางวา โฉนดที่ดิน 64167
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 170
12/10/2563 15:05:54
อาคารเสนาสนะ ประกอบด้วย
- อุโบสถ กว้าง 8 เมตร ยาว 26 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2512 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก - ศาลาการเปรียญ กว้าง 18 เมตร ยาว 40 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2528 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก - หอสวดมนต์ กว้าง 10 เมตร ยาว 16 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2536 เป็นอาคารไม้ - กุฏิสงฆ์ จ�ำนวน 7 หลัง เป็นอาคารไม้ 2 หลัง ครึ่งตึกครึ่งไม้ 5 หลัง - ศาลาอเนกประสงค์ กว้าง 11 เมตร ยาว 25 เมตร สร้างปี พ.ศ. 2530 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก - ศาลาบ�ำเพ็ญกุศล จ�ำนวน 2 หลัง เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก 1 หลัง สร้างด้วยไม้ 1 หลัง - มณฑปหลวงพ่อแก้ว สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2559 - ซุ้มประตู สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2557 คณะสงฆ์ได้จัดงานฉลอง 100 ปี ขึ้นในวันที่ 12 – 16 มีนาคม พ.ศ. 2542 ท�ำพิธีบรรจุพระบรมสารีริกธาตุลงในเกศหลวงพ่อโต ใน วันเดียวกันประกอบพิธีหล่อพระประธาน หน้าตัก 79 นิ้ว ถวายนาม ว่า พระพุทธนพรัตน์ศตวรรษมหามงคล แล้วจึงน�ำไปประดิษฐานใน อุโบสถหลังเก่า
การบริหารและการปกครองมีเจ้าอาวาสเท่าที่ทราบนาม
รูปที่ 1 พระอธิการแก้ว จนฺทสาโร รูปที่ 2 พระอธิการพวน เปสโล รูปที่ 3 พระครูพิพิธพัฒนคุณ พ.ศ. 2499 – 2554 รูปที่ 4 พระสมุห์กิตติศักดิ์ ยโสธโร พ.ศ. 2554 – ปัจจุบัน
พระสมุห์กิตติศักดิ์ ยโสธโร เจ้าอาวาสวัดใหม่นพรัตน์
SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
5
.indd 171
171
12/10/2563 15:06:00
172
5
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 172
12/10/2563 15:06:04
History of buddhism....
วัดเกาะแก้ว พระปลัดสมชาย ถามิโก เจ้าอาวาสวัดเกาะแก้ว
วัดเกาะแก้ว ตั้งอยู่ที่หมู่ 8 ต�ำบลหัวโพธิ์ อ�ำเภอสองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรี
วัดเกาะแก้ว สันนิษฐานว่าสร้างในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย เพราะเป็ น ทางเดิ น ทั พ ของทหารพม่ า เดิ ม ที เ ป็ น วั ด ร้ า ง มี อ ายุ ประมาณ 100 กว่าปี ปัจจุบันมีเนื้อที่ 29 ไร่เศษ เดิมที่ดินวัดเป็น เกาะใกล้บริเวณนั้น น�้ำจะท่วมและเต็มไปด้วยดงไผ่ ดงสะแก ต้นปลง ต้นอ้อ มีแต่บริเวณวัดที่มีต้นไม้ใหญ่ และต่อมาได้มีคนอพยพมาอยู่ มากขึ้ น และเดิ น ทางไปท� ำ บุ ญ ที่ วั ด ท่ า ไชย ซึ่ ง ต้ อ งข้ า มล� ำ น�้ ำ ไป ด้วยความล�ำบาก ชาวบ้านจึงได้ร่วมกันบริจาคบูรณะวัดขึ้นมาใหม่ แต่เดิมเรียกว่า วัดเกาะแก้ว พลับพลาชัย มีพระพุทธรูปนามว่า “หลวงพ่อหิน” ประดิษฐานอยู่เป็นที่เคารพสักการะของประชาชน
อาคารเสนาสนะวัดเกาะแก้ว ประกอบด้วย
หลวงพ่อหิน
พระธาตุเจดีย์ศรีสุวรรณ หลวงพ่ออรุณ อดีตเจ้าอาวาส
1. อุโบสถ กว้าง 8 เมตร ยาว 20 เมตร ได้รับพระราชทาน วิสุงคามสีมา วันที่ 12 กรกฎาคม 2531 2. วิหาร กว้าง 1 เมตร ยาว 15 เมตร เป็นที่พุทธาภิเษกวัตถุมงคล ของทางวัด 3. ศาลาท�ำบุญ กว้าง 15 เมตร ยาว 25 เมตร เป็นศาลาไม้ยกพืน้ สูง เสาคอนกรีตเสริมเหล็ก 4. กุฏิเจ้าอาวาส เป็นอาคารไม้ 2 ชั้น ชั้นบนเป็นไม้ ชั้นล่างเป็น คอนกรีตเสริมเหล็ก 5. ห อสวดมนต์ แ ละกุ ฏิ ส งฆ์ เป็ น อาคารไม้ ท รงไทยเก่ า และ คอนกรีตเสริมเหล็ก จ�ำนวน 12 ห้อง 6. มณฑปหลวงพ่อหิน เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก ยกพื้นสูง 7. พระธาตุเจดีย์ศรีสุพรรณ เป็นพระธาตุทรงสูง มีพระประจ�ำวัน เกิ ด ประดิ ษ ฐานอยู ่ ด ้ า นในก่ อ สร้ า งโดย หลวงพ่ อ พระครู ป ลั ด อรุณ ญาณวโร อดีตเจ้าอาวาสวัดเกาะแก้ว 8. ศาลาธรรมสังเวช (เมรุ) เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก เมรุ อยู่ด้านนอกศาลา
การบริหารและการปกครอง มีเจ้าอาวาสเท่าที่ทราบนาม พระปลัดสมชาย ถามิโก เจ้าอาวาสวัดเกาะแก้ว
รูปที่ 1 พระอธิการจ�ำรัจ บุญเกิด รูปที่ 2 พระครูปลัดอรุณ ญาณวโร รูปที่ 3 พระปลัดสมชาย ถามิโก
พ.ศ. 2435 พ.ศ. 2505 – 2555 พ.ศ. 2555 – ปัจจุบัน
SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
1
.indd 173
พระปลัดสมชาย ถามิโก
173
9/10/2563 15:13:15
History of buddhism....
วัดศรีเฉลิมเขต พระปลัดสมพร กิตฺติโสภโณ, ดร. เจ้าอาวาสวัดศรีเฉลิมเขต
174
4
วัดศรีเฉลิมเขต ตั้งอยู่เลขที่ 136 หมู่ที่ 6 ต�ำบลดอนมะนาว อ�ำเภอสองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรี SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 174
9/10/2563 16:41:31
วัดศรีเฉลิมเขต เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีเนื้อที่ตั้งวัดจ�ำนวน 53 ไร่ 2 งาน 19 ตารางวา ได้รับหนังสืออนุญาตให้สร้าง วัดจากกระทรวงศึกษาธิการเมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2515 ต่อมาได้รับหนังสือประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องการจัดตั้งวัดในพระพุทธ ศาสนาให้นามว่าวัดศรีเฉลิมเขตและเมื่อวันที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2516 ได้รับหนังสือประกาศส�ำนักนายกรัฐมนตรีเรื่องพระราชทานวิสุงคามสีมา ซึ่งประกาศในพระราชกิจจานุเบกษา วันที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ.2548
SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
4
.indd 175
175
9/10/2563 16:41:42
176
4
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 176
9/10/2563 16:41:46
รายนามเจ้าอาวาส
1. พระครูโฆสิตสุวรรณคุณ พ.ศ. 2516 - 2551 2. พระปลัดสมพร กิตติโสภโณ, ดร. พ.ศ. 2551 - ปัจจุบัน
พระปลัดสมพร ฉายา กิตติโสภโณ เจ้าอาวาสวัดศรีเฉลิมเขต อายุ 41 ปี พรรษา 22
พระปลั ด สมพร กิ ต ติ โ สภโณ นามสกุ ล โพธิ์ สุ ว รรณ เกิ ด เมื่ อ วันจันทร์ที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2522 อุ ป สมบท เมื่ อ อายุ 20 ปี วั น ที่ 19 เดื อ นเมษายน 2542 โดยมี พ ระครู พิ พิ ธ พั ฒ นคุ ณ เป็ น พระอุ ป ั ช ฌาย์ พระปลั ด บุ ญ ยั ง ฐานกโร เป็นพระกรรมวาจาจารย์ พระอธิการบุญมี ฐิตญาโณ เป็น พระอนุสาวนาจารย์ - พ.ศ. 2544 จบการศึกษานักธรรมชั้นเอกจากวัดป่าคูเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ - พ.ศ. 2555 จบการศึกษา ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต - พ.ศ. 2560 จบการศึกษาพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต คณะครุศาสตร์ สาขาวิชาพุทธบริหารการศึกษา
พระปลัดสมพร กิตติโสภโณ, ดร. เจ้าอาวาสวัดศรีเฉลิมเขต
SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
4
.indd 177
177
9/10/2563 16:41:53
History of buddhism....
วัดทุ่งเข็น พระครูขันตยานุสิฐ ธมฺมสาโร เจ้าอาวาสวัดทุ่งเข็น / เจ้าคณะตำ�บลศรีสำ�ราญ
วัดทุ่งเข็น ตั้งอยู่ที่บ้านทุ่งเข็น เลขที่ 97 หมู่ที่ 12 ต�ำบลทุ่งคอก อ�ำเภอสองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรี
178
3
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 178
เมือ่ ราวปี พ.ศ.2450-2451 ชาวมอญจากบ้านดอนกระเบือ้ ง อ�ำเภอโพธาราม
จังหวัดราชบุรี จ�ำนวน 4-5 ครอบครัว ได้อพยพครอบครัวเพื่อหาแหล่งที่ท�ำกิน แห่งใหม่ เดินทางกันมาด้วยวัวเทียมเกวียน มุง่ หน้าไปทิศเหนือ ตัง้ ใจจะไปลงหลัก แหล่งยังบ้านดอนส�ำโรง ขบวนเดินทางผ่านเส้นทางอ�ำเภอก�ำแพงแสน จังหวัด นครปฐม ผ่านบ้านทะเลบก และบ้านหนองพงนก จนล่วงเข้ามาในเขตพืน้ ทีอ่ ำ� เภอ สองพีน่ อ้ ง จังหวัดสุพรรณบุรี เกวียนเล่มน�ำขบวนเกิดติดหลุมโคลน จุห๊ มิน่ จุเ๊ หมิง่ จุซ๊ วั่ หัวหน้าขบวนอพยพและผูร้ ว่ มขบวนมาต่างช่วยกันทัง้ ลากทัง้ เข็นจนอ่อนแรง จนกระทั่งมือค�่ำลงขบวนอพยพทั้งหมด
8/10/2563 11:43:15
จึงต้องล้อมเกวียนพักแรมตรงทีต่ ดิ หลุมนัน้ ตกกลางคืนมีเจ้าทีเ่ จ้า ทางมาเข้าฝันจุ๊หมิ่นว่าให้อยู่เสียที่นี่ด้วยหนทางข้างหน้าเป็นที่ลุ่มและ มักถูกน�ำ้ ท่วมเสมอ รุง่ เช้าจุห๊ มิง่ จึงหารือกับชาวบ้านทีร่ ว่ มขบวนมาด้วย ทีส่ ดุ จึงตัดสินใจลงหลักปักฐานจับจองทีท่ ำ� กินยังบริเวณนัน้ ช่วยกันหัก ร้างถางพงบุกเบิกที่ดินท�ำไรท�ำนา เนื่องจากพื้นที่ตั้งหมู่บ้านมอญแห่ง นีว้ า่ บ้านทุง่ เข็น และภายหลังเมือ่ สร้างวัดจึงได้ชอื่ ว่า วัดทุง่ เข็น ต่อมา จุ๊หมิ่น จุ๊เหมิ่ง จุ๊ซั่ว ได้สร้างวัดขึ้นโดยมี นายพุด ส�ำเนียงแจ่ม เป็นผู้ บริจาคทีด่ นิ ชาวบ้านได้ขนวัสดุกอ่ สร้างมาจากวัดรางไฟไหม้ซงึ่ เป็นวัด ร้าง สภาพวัดทุ่งเข็นในระยะแรกมีขนาดเล็ก หลังคากุฏิและเสนาสนะ ล้วนมุงด้วยแฝก ปัจจุบนั กุฏเิ สนาสนะสงฆ์ภายในวัดสร้างด้วยไม้และคอนกรีตมัน่ คง ถาวร สวยงามตามแบบสถาปัตยกรรมไทยและมีกลิ่นอายของศิลปะ มอญอยู่หลายแห่ง ได้แก่ หลังคาหอระฆังทรงมณฑปที่ให้สีสันแบบ มอญ ก�ำแพงแก้วรอบอุโบสถปูนปั้นรูปหงส์ลอยตัวยืนเรียงเฉียงสลับ กันตามแนวก�ำแพงนับร้อยตัว รวมทัง้ มณฑปประดิษฐานรูปหล่อสมเด็จ พระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) ลักษณะหลังคามณฑปออกแบบให้มี ลักษณะแบบเจดีย์มอญ ครั้งแรกๆ รูปทรงสัดส่วนไม่ถูก ต้องแก้ไขอยู่ หลายครั้ง ที่ต้องพิถีพิถันเช่นนี้ก็เพื่อฉลองในวาระที่วัดและหมู่บ้าน แห่งนี้มีอายุครบ 100 ปี ในพ.ศ. 2551 SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
3
.indd 179
179
8/10/2563 11:43:25
อาคารเสนาสนะ ประกอบด้วย
- อุโบสถ กว้าง 6 เมตร ยาว 12 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2538 อาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก - ศาลาการเปรียญ กว้าง 12 เมตร ยาว 20 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2507 อาคารครึ่งตึกครึ่งไม้ - หอสวดมนต์ กว้าง 6 เมตร ยาว 12 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2484 อาคารไม้ - กุฏิสงฆ์ สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2561 อาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก - วิหาร กว้าง 15 เมตร ยาว 15 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2553 อาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก - ศาลาอเนกประสงค์ สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2552 - ศาลาบ�ำเพ็ญกุศล กว้าง 12 เมตร ยาว 20 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2539 อาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก นอกจากนี้มีอาคารเสนาสนะต่างๆ ดังนี้ ฌาปนสถาน จ�ำนวน 1 หลัง, หอระฆัง จ�ำนวน 2 หลัง, หอกลอง จ�ำนวน 1 หลัง, โรงครัว จ�ำนวน 1 หลัง ,เรือนเก็บพัสดุ จ�ำนวน 1 หลัง , เรือนรับรอง จ�ำนวน 1 หลัง ปูชนียวัตถุ มี พระประธานประจ�ำอุโบสถ ปางสะดุ้งมาร
การบริหารและการปกครอง มีเจ้าอาวาส 10 รูป ดังนี้
รูปที่ 1 พระฉุย รูปที่ 2 พระอ๊อก รูปที่ 3 พระบ๊ะ รูปที่ 4 พระคราด รูปที่ 5 พระกรีต รูปที่ 6 พระพิพัฒน์ รูปที่ 7 พระอธิการปรีชา อินฺทาโภ รูปที่ 8 พระปลัดประสิทธิ์ ภทฺทโก รูปที่ 9 พระครูสุนทรสุวรรณประทีป พ.ศ. 2530 – 2540 รูปที่ 10 พระครูขันตยานุสิฐ พ.ศ. 2543 – ปัจจุบัน
พระครูขันตยานุสิฐ ธมฺมสาโร
เจ้าอาวาสวัดทุ่งเข็น / เจ้าคณะต�ำบลศรีส�ำราญ
180
3
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 180
8/10/2563 11:43:31
มังกรสวรรค์
อุทยานมังกรสวรรค์ ศาลเจ้าพ่อหลักเมือง อุทยานมังกรสวรรค์ พิพิธภัณฑ์ลูกหลานพันธุ์มังกร ศาลเจ้าพ่อหลักเมือง และหมูบ่ า้ นมังกรสวรรค์ คือสถานที่ ที่ตั้งอยู่ในบริเวณเดียวกัน อลังการงานสร้าง ด้วยแรงเงิน และแรงศัทธา สถานที่รวบรวมเรื่องราวที่มากคุณค่าทาง ประวัติศาสตร์ ห้องเรียนที่น่าตื่นตาตื่นใจ และสถานที่ ท่องเที่ยวที่ไม่อาจผ่านเลย ศาลเจ้าพ่อหลักเมือง สถานที่เคารพของชาวไทยเชื้อ สายจีน เป็นหนึ่งในสถานที่ที่ผู้คนต้องแวะเวียนมากราบ ไหว้ขอพร ที่ซึ่งหลายคนเชื่อว่า หากได้มากราบไหว้แล้ว จะน�ำมาซึง่ โชคลาภ ความร�ำ่ รวย ความส�ำเร็จ และความสุข พิพธิ ภัณฑ์ลกู หลานพันธุม์ งั กร จัดแสดงประวัตศิ าสตร์ ของจีน จัดตกแต่งสวยงาม มีรูปปั้น ระฆังยักษ์ และน�ำ้ ตก ขนาดใหญ่ แบ่งเป็นห้อง 18 ห้อง รูปแบบแปลกตาด้วย ภาพ แสงสีเสียง และเทคนิกพิเศษ น่าชมเป็นอย่างยิ่ง หมู่บ้านมังกรสวรรค์ หมู่บ้านซึ่งได้จ�ำลองรูปแบบ “เมืองลีเจียง” ซึ่งเป็นเมืองเก่าแก่โบราณอายุนับพันปี ที่มี รูปแบบที่สวยงามจนได้รับแต่งตั้งให้เป็นเมืองมรดกโลก SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 181
181
13/10/2563 12:17:53
History of buddhism....
วัดบางสาม พระครูปลัดบุญสร้าง ปญฺญาวโร เจ้าอาวาสวัดบางสาม
182
2
วัดบางสาม ตั้งอยู่เลขที่ 125 หมู่ที่ 7 ต�ำบลบางตะเคียน อ�ำเภอสองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรี
วัดบางสาม ตัง้ วัดเมือ่ ปี พ.ศ. 2444 ทีด่ นิ ตัง้ วัด 45 ไร่ โฉนดทีด่ นิ เลขที่ 1926 มีทธี่ รณีสงฆ์ จ�ำนวน 2 แปลง มีเนือ้ ที่ 46 ไร่ โฉนดทีด่ นิ เลขที่ 255/4932
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 182
13/10/2563 13:26:33
อาคารเสนาสนะ ประกอบด้วย
- อุโบสถ กว้าง 8.24 เมตร ยาว 24.25 เมตร (หลังใหม่) สร้าง เมื่อปี พ.ศ. 2515 ซึ่งอุโบสถหลังเก่ามีอายุราว 100 ปี - ศาลาการเปรียญเก่า ที่คาดว่าสร้างในราวปี พ.ศ. 2470 มี เ ลาไม้ ต ้ น ใหญ่ นั บ สิ บ ๆ ต้ น และมี ศ าลาการเปรี ย ญหลั ง ใหม่ ซึ่ ง ประดิษฐานพระพุทธรูปปางต่างๆ รวมทั้งธรรมาสน์เก่ามีอายุใกล้ เคี ย งกั บ ศาลาการเปรี ย ญหลั ง เก่ า แต่ ยั ง มี ล วดลายและดู ส วยงาม ส่วนด้านหลังวัดติดแม่น�้ำมีต้นไทรขนาดใหญ่และมีซุ้มวงกลมส�ำหรับ เดินจงกลม ซึ่งมีพระพุทธรูปปางลีลาและพระสิวลี ประดิษฐานอยู่ บนแท่นส�ำหรับทางด้านหน้านั้นเป็นที่ตั้งของวิหารจัตุรมุขภายใน ประดิษฐานรูปหล่อพระครูเขมานุโยคอดีตเจ้าอาวาสวัดบางสาม (หลวงพ่อชุน บูชา) และมีหอระฆังอายุราว 100 ปี ปั จ จุ บั น มี ก ารสร้ า งหอระฆั ง หลั ง ใหม่ ใ นปี พ.ศ. 2528 เป็ น คอนกรี ต เสริ ม เหล็ ก และกุ ฏิ ส งฆ์ 2 ชั้ น 40 ห้ อ ง เป็ น อาคาร คอนกรี ต เสริม เหล็ก สร้างขึ้น ปี พ.ศ. 2553 – 2555 สร้ า งด้ ว ย งบประมาณห้ า สิ บ ล้ า นบาทเศษ สร้ า งถวายด้ ว ยแรงศรั ท ธาของ พุทธศาสนิกชน ชาวบ้านบางสาม เมื่อปี พ.ศ. 2557 ได้มีการสร้าง หอเทพเทวาสถิตเป็นเรือนไทยประยุกต์ 2 ชั้นและยังมีจดหมายเหตุ ร.ศ. 123 พ.ศ. 2447 สมเด็จกรมพระยาด�ำรงราชานุภาพเล่าเรื่อง เสด็จประพาสต้นเอาไว้ หลักฐานประวัตศิ าสตร์วดั บางสาม ได้ถกู บันทึกไว้ในจดหมายเหตุ ทางราชการไทย เช่ น ในยุ ค สมั ย เสด็ จ ประพาสต้ น ของสมเด็ จ พระปิยมหาราชว่า 3 สิงหาคม 2447 เสด็จประพาสบ้านสองพี่น้อง เสวยพระกระยาหารเย็นทีว่ ดั บางสาม ประทับแรมหน้าวัดบางบัวทอง (ปัจจุบันคือวัดรางบัวทอง) จังหวัดสุพรรณบุรี
พระครูปลัดบุญสร้าง ปญฺญาวโร เจ้าอาวาสวัดบางสาม
SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 183
183
13/10/2563 13:26:48
History of buddhism.... วัดอนัมนิกายเฉลิมพระชนมพรรษากาล (วัดเง็กเซ่งตั๋ว) องสรพจนสุนทร (ปรีชา เถี่ยนกือ) เจ้าอาวาสวัดอนัมนิกายเฉลิมพระชนมพรรษากาล(วัดเง็กเซ่งตั๋ว)
วัดอนัมนิกายเฉลิมพระชนมพรรษากาล ตั้งอยู่เลขที่ 208 บ้านดอนมะนาว หมู่ 1 ต�ำบลดอนมะนาว อ�ำเภอสองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรี สังกัดคณะสงฆ์อนัมนิกาย
184
2
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 184
วัดบางซอ
9/10/2563 16:20:30
วั ด อนั ม นิ ก ายเฉลิ ม พระชนมพรรษากาล ตั้ ง วั ด เมื่ อ วั น ที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2542 ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการเมื่อวันที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2542 ได้ตั้งชื่อวัดว่า “วัดเง็กเซ่งตั๋ว” ต่อมาเมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2542 พระมหาคณานั ม ธรรมปั ญ ญาธิ วั ต ร (เจริ ญ กิ๊ น เจี๊ยว) เจ้าคณะใหญ่อนัม นิก ายได้ท� ำ หนั ง สื อ กราบทู ล สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก องค์ที่ 19 ขอประทานชื่อวัดใหม่ สมเด็จพระสังฆราชทรงมีบัญชา ตั้งชื่อวัดว่า “วัดอนัมนิกายเฉลิมพระชนมพรรษากาล” ที่ดินตั้งวัดมี เนื้อที่ 22 ไร่ 7 ตารางวา ได้ท�ำเรื่องขอพระราชทานวิสุงคามสีมา แล้วได้รับพระราชทาน วิสุงคามสีมา ตามประกาศราชกิจจานุเบกษา งวดที่ 6 ประจ�ำปี 2547 ที่ 49 ฉบับประกาศทั่วไป เล่มที่ 122 ตอนที่ 22ง วันที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2548 ก�ำหนด กว้าง 32 เมตร ยาว 40 เมตร ในปีพ.ศ. 2555 ผูกพัทธสีมาฝังลูกนิมิตอุโบสถ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า โสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ เสด็จเป็นประธานตัดหวายลูกนิมิต อุโบสถ มีองสรพจนสุนทร (ปรีชา เถี่ยนกือ) ผู้ช่วยปลัดขวาคณะสงฆ์ อนัมนิกาย เป็นเจ้าอาวาสรูปแรก
พิธีกรรมทางศาสนาของ วัดอนัมนิกายเฉลิมพระชนมพรรษากาล
- ประกอบพิธีบูชาดาวนพเคราะห์ 8 - 10 ค�่ำจีน เดือน 1 จีน - เข้าพรรษา 16 ค�่ำจีน เดือน 4 จีน ออกพรรษา 16 ค�่ำจีน เดือน 7 จีน - ประกอบพิธีทิ้งกระจาดแจกทาน 15 ค�่ำจีน เดือน 7 จีน - เทศกาลถือศีลกินเจ 1 – 10 ค�่ำจีน เดือน 9 จีน
องสรพจนสุนทร (ปรีชา เถี่ยนกือ)
เจ้าอาวาสวัดอนัมนิกายเฉลิมพระชนมพรรษากาล (วัดเง็กเซ่งตั๋ว)
SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 185
185
9/10/2563 16:20:45
History of buddhism....
วัดทองประดิษฐ์ พระครูสุวรรณอโนมคุณ ปริปุณฺโณ เจ้าอาวาสวัดทองประดิษฐ์ / เจ้าคณะตำ�บลบางเลน
วัดทองประดิษฐ์ ตั้งอยู่เลขที่ 20 บ้านจิกหมู่ หมู่ที่ 2 ต�ำบลบางเลน อ�ำเภอสองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรี
186
2
ตั้งวัดเมื่อปี พ.ศ.2443 อยู่ริมคลองสองพี่น้องฝั่งทางทิศตะวันตก ชาวบ้าน ในละแวกนั้นเรียกว่า วัดกุฎีเดียว วัดเล็ก บ้าง เริม่ จากมีชาวบ้านไม่ทราบชือ่ ทราบนามสกุลว่า น้อยแก้ว ได้เป็นผูน้ ำ� ชักชวน ชาวบ้ า นย้ า ยที่ ตั้ ง วั ด ใหม่ โดยบริ จ าคที่ ดิ น ตรงกั น ข้ า มกั บ ที่ ตั้ ง เดิ ม ทางทิ ศ ตะวันออกของคลองสองพี่น้อง อยู่ในการปกครองของต�ำบลบางเลน อ�ำเภอ สองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรี มีพระภิกษุทอง เป็นเจ้าอาวาสรูปแรกใช้ชื่อวัดว่า “วั ด น้ อ ยราษฎร์ ศ รั ท ธาธรรม” ตามนามสกุ ล ของผู ้ น� ำ ในการก่ อ ตั้ ง สมั ย นั้ น เจ้าคณะภาค (คณะสงฆ์) ได้ออกตรวจเยี่ยมวัดในเขตปกครอง โดยเดินทางเรือ มาตามล�ำคลองสองพี่น้องได้พบกับเจ้าอาวาสมีปฏิสันถานและเสนอแนะให้ เปลี่ยนชื่อวัดใหม่อีกครั้ง ตามนามของเจ้าอาวาสว่า “วัดทองประดิษฐ์”
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 186
วัดบางซอ
8/10/2563 15:20:31
หลังจากสมภารทองเจ้าอาวาสมรณภาพก็มอี าจารย์นมิ่ เทียมจันทร์ เป็นเจ้าอาวาสองค์ตอ่ มา 2-3 ปี ท่านได้ลาสิกขาบทไป พระอาจารย์แวว เทียมจันทร์ เป็นน้องชายก็ได้รับการแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาสองค์ถัดมา ท่านได้ก่อสร้างพัฒนา ปรับปรุงบูรณปฏิสังขรณ์ โบสถ์ ศาลา หอฉัน หอสวดมนต์ ศาลาการเปรียญใหม่ จนได้รับการยกย่องจากทาง คณะสงฆ์ฝ่ายปกครองว่า วัดทองประดิษฐ์เป็นวัดพัฒนาตัวอย่าง ของ อ�ำเภอสองพี่น้องกอรปด้วยศีลาจริยวัตร วิทยาคุณในพระพุทธคุณ ของท่านเจ้าอาวาสจึงได้รับเลื่อนสมณศักดิ์แต่งตั้งเป็นพระครูโอภาส ศีลวัตร เจ้าคณะต�ำบลต้นตาล และเป็นพระอุปัชฌาย์ ในปี พ.ศ. 2514 หลวงพ่ อ แวว หรื อ พระครู โ อภาสศี ล วั ต รได้ ม รณภาพลง คณะสงฆ์และพุทธศาสนิกชนได้ตั้งพระอ�ำนวย เทียมจันทร์ ผู้เป็น หลาน เป็นเจ้าอาวาสองค์ต่อมา ซึ่งพระอาจารย์อ�ำนวย ก็ยึดถือ ปฏิบัติในศีลจริยาวัตรเช่นเดียวกับท่านพระครูโอภาสศีลวัตร มีการ พั ฒ นาบู ร ณปฏิ สั ง ขรณ์ จ นเป็ น ที่ ศ รั ท ธาเลื่ อ มใสทางคณะสงฆ์ และพุทธศาสนิกชนทั่วไปท่านจึงได้รับการแต่งตั้งเลื่อนสมณศักดิ์ เป็ น พระครู สุ ว รรณอโนมคุ ณ เจ้ า คณะต� ำ บลบางเลน และเป็ น พระอุปัชฌาจารย์ ตามล�ำดับจนถึงปัจจุบัน วัดทองประดิษฐ์ เป็นศูนย์รวมจิตใจของชาวบ้านต�ำบลบางเลน และเป็นสถานที่จัดกิจกรรมของชุมชนมาแต่ครั้งอดีต ปัจจุบันวัดทอง ประดิษฐ์ได้กลายมาเป็นแลนด์มาร์คแห่งใหม่ที่ไม่เพียงมีความส�ำคัญ กับคนสองพี่น้องเท่านั้นแต่ได้กลายเป็นสถานที่ท่องเที่ยวแห่งใหม่ที่ ใครๆ ก็อยากมาสัมผัสเพราะที่นี่คือที่ตั้งของสุ่มปลายักษ์นั่นเอง สุ่มปลา เป็นอุปกรณ์หาปลาที่คนบ้านใกล้คลองต้องมีติดบ้านไว้ เช่นเดียวกับคนคลองสองพีน่ อ้ งทีม่ สี มุ่ ปลากันเกือบทุกบ้าน ชาวบ้านจึง ใช้สมุ่ ปลามาเป็นแรงบันดาลใจในการสร้าง สุม่ ปลายักษ์ เป็นสัญลักษณ์ ของชุมชน โดยช่วยกันสร้างจากไม้ไผ่กว่า 5,000 ชิน้ กลายเป็นจุดชุมวิว ที่มองได้ไกลแบบ 360 องศา จากวัดทองประดิษฐ์ มีสะพานไม้ไผ่เป็น ทางเดินทอดยาว
ร่วมสร้างเส้นทางบุญ
ขอเชิญศาสนิกชน ญาติโยม ร่วมสร้างอุโบสถหลังใหม่ กับวัดทองประดิษฐ์ โดยโอนผ่านบัญชี บัญชีธนาคารออมสิน ชื่อบัญชี เงินสร้างอุโบสถวัดทองประดิษฐ์ เลขที่ 020027087871
พระครูสุวรรณอโนมคุณ ปริปุณฺโณ
เจ้าอาวาสวัดทองประดิษฐ์ / เจ้าคณะต�ำบลบางเลน
SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 187
187
8/10/2563 15:20:45
History of buddhism....
วัดบวรศิริธรรม พระอธิการพูลศักดิ์ อุตฺตโม เจ้าอาวาสวัดบวรศิริธรรม
วัดบวรศิริธรรม ตั้งอยู่ที่บ้านเขามอ เลขที่ 76 หมู่ที่ 2 ต�ำบลหนองบ่อ อ�ำเภอสองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรี
วั ด บวรศิ ริ ธ รรม ได้ รั บ อนุ ญ าตให้ ตั้ ง วั ด เมื่ อ ปี พ.ศ. 2537 เดิมเป็นทีพ่ กั สงฆ์ตงั้ อยูบ่ นพืน้ ทีด่ า้ นบนเขามอ โดยมีพระอ�ำภา ติกฺขวีโร และนายฟอง พลายยงค์ มาเป็นผู้ริเริ่มก่อสร้างและขออนุญาตตั้งเป็นส�ำนักสงฆ์ เมือ่ ปี พ.ศ. 2511 สิง่ ก่อสร้างในขณะนัน้ มีศาลาไม้ 1 หลัง และกุฏิ 2 หลัง ต่อมาเมื่อปี พ.ศ. 2515 พระอ�ำภา ติกฺขวีโร ได้มรณภาพ แต่ก่อนที่ท่านจะมรณภาพ ได้มี นายปลั่ง มดน้อย มาถวายที่ให้กับท่านจ�ำนวน 5 ไร่ และพระอ�ำภาได้ซื้อที่จากนายปลั่งอีก 5 ไร่รวมเป็น 10 ไร่ เพื่ อ เป็ น สถานที่ ส ร้ า งวั ด และให้ เ ป็ น สมบั ติ ของวัดปัจจุบันในโฉนดเหลือจ�ำนวน 9 ไร่ 1 งาน เป็น พื้นที่ด้านล่าง บริเวณหน้าทางขึ้นเขามอ 188
2
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 188
8/10/2563 13:15:33
หลั ง จากที่ พ ระอ� ำ ภา มรณภาพไป นายปลั่ ง มดน้ อ ย จึ ง ได้ อุปสมบทเป็นพระภิกษุ เมื่อปี พ.ศ. 2516 และได้จ�ำพรรษาอยู่ที่ ส�ำนักสงฆ์บวรศิริธรรมและท่านก็ได้เป็นผู้ก่อสร้างถาวรวัตถุในพื้นที่ ด้านล่างขึ้น เช่น ศาลาเอนกประสงค์ และกุฏิสงฆ์เล็กๆ 2 หลัง และ ท่านก็ได้รื้อศาลาไม้ด้านบนเขาลงมาปลูกสร้างใหม่ในพื้นที่ด้านล่าง เพื่อเป็นการสะดวกแก่โยมและตัวท่าน เพราะท่านมีอายุมากแล้ว และเมื่อปีพ.ศ. 2537 ส�ำนักสงฆ์แห่งนี้ได้รับอนุญาตจากกรมการ ศาสนาให้เป็นวัดชื่อ วัดบวรศิริธรรม สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย และ พระปลั่ง ได้รับการแต่งตั้งจากคณะสงฆ์จังหวัดสุพรรณบุรี ให้ด�ำรง ต�ำแหน่งเจ้าอาวาส ที่พระอธิการปลั่ง สีลสุทฺโธ และหลังจากรับ ต�ำแหน่งเจ้าอาวาสได้ประมาณ 5 ปี ท่านก็มรณภาพ เมื่อ วันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2541 ต่อมาก็มีพระอธิการจรูญมาเป็นเจ้าอาวาสอยู่ได้ 2 ปีก็มรณภาพและเมื่อปี พ.ศ. 2545 ได้มีพระภิกษุพูลศักดิ์ อุตฺตโม ได้ธุดงค์มาพบวัดแห่งนี้และท่านเห็นว่าวัดแห่งนี้มีสถานที่อันสบง เหมาะแก่การปฏิบัติธรรม ไม่มีพระดูแลจึงตั้งใจจะมาพัฒนาและ บูรณปฏิสังขรณ์ถาวรวัตถุที่ทรุดโทรมให้ดีขึ้นกว่าเดิม โดยล�ำดับแรก ท่านได้บูรณะเมรุและศาลาและเมื่อปี พ.ศ. 2546 ท่านได้รับการ แต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาสที่พระอธิการพูลศักดิ์ อุตฺตโม จากนั้นท่านก็ สร้างถาวรวัตถุต่างๆ อีกมากเช่น พระใหญ่, อุโบสถ, พระประธาน ในอุโบสถ, กุฏิสงฆ์, ห้องน�้ำ, พระอัครสาวก, ศาลากัมมฐาน โดยการ ก่อสร้างที่กล่าวมาบางส่วนก็ส�ำเร็จแล้ว บางส่วนก็ยังไม่แล้วเสร็จ เช่น อุโบสถและพระใหญ่ และในปัจจุบันนี้ท่านก็ยังคงด�ำรงเป็น เจ้าอาวาสวัดบวรศิริธรรม
อาคารเสนาสนะและ สิ่งส�ำคัญภายในวัดบวรศิริธรรม
- อุโบสถ สร้างด้วยคอนกรีตเสริมเหล็ก ผนังก่ออิฐถือปูน ไม่มหี ลังคา มีแต่พระพุทธรูปองค์ใหญ่ประดิษฐานแทนอยู่บนหลังคา ขนาดกว้าง 18 เมตร ยาว 28 เมตร ขณะนี้ยังด�ำเนินการก่อสร้างยังไม่แล้วเสร็จ - พระพุทธมหามงคลอุดมบุญบารมีศรีสุพรรณ ประดิษฐานบน อุโบสถ พุทธลักษณะสุโขทัย ปางประทานพร ขนาดกว้าง 14.9 เมตร สูง 19.9 เมตร เริม่ สร้างเมือ่ ปี พ.ศ. 2548 สร้างถวายเป็นพระราชกุศล ในวโรกาส 80 พรรษา ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 - ศาลาการเปรียญ ขนาดกว้าง 12.30 เมตร ยาว 20 เมตรก่ออิฐ ถือปูนโครงหลังคาไม้ มุงกระเบื้อง หน้าบันลายปูนปั้น - โรงคลังเก็บของและโรงครัว สร้างเมือ่ ปี พ.ศ. 2552 ขนาดกว้าง 12 เมตร ยาว 36 เมตร - กุฏสิ งฆ์ หลังที่ 1 ทรงไทย ก่ออิฐถือปูนยกพืน้ หลังคามุงกระเบือ้ งลอน ขนาดกว้าง 6.20 เมตร ยาว 9.60 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2553, หลังที่ 2 ทรงไทย ก่ออิฐถือปูนยกพื้น หลังคามุงกระเบื้องลอน ขนาด กว้าง 6.20 เมตร ยาว 15 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2553, หลังที่ 3 ทรงไทยไม้สักทั้งหลัง หลังคามุงกระเบื้อง ขนาดกว้าง 6.20 เมตร ยาว 7 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2554 - หอระฆัง ทรงเก๋งจีน ระฆังขันลงหินจ�ำนวน 3 ใบ ขนาดกว้าง 2.30 เมตร สูง 5 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2552 - พระพุทธรูปหินหยกขาว จากประเทศเวียดนาม สร้างถวายเป็น พระราชกุศลแก่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวสร้างเมื่อปี พ.ศ. 2553 - รูปหล่อเหมือนหลวงปูท่ วด-สมเด็จพระพุทฒาจารย์โต พรหมรังสี สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2553
ล�ำดับเจ้าอาวาส
1.พระอาจารย์อ�ำภา ติขวโร 2.พระอธิการปลั่ง สีลสุทฺโธ 3.พระอธิการจรูญ 4.พระอธิการพูลศักดิ์ อุตฺตโม
พ.ศ. 2511 - 2515 มรณภาพ พ.ศ. 2516 - 2541 มรณภาพ พ.ศ. 2542 – 2543 มรณภาพ พ.ศ. 2546 ถึงปัจจุบัน
SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 189
189
8/10/2563 13:15:45
History of buddhism....
วัดศรีประทุนทอง พระปลัดชำ�เรือง อาภากโร เจ้าอาวาสวัดศรีประทุนทอง
190
2
วัดศรีประทุนทอง ตั้งอยู่เลขที่ 327 หมู่ที่ 7 ต�ำบลหัวโพธิ์ อ�ำเภอสองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรี
วัดศรีประทุนทอง เริ่มก่อตั้งวัด ตั้งแต่ปีพ.ศ.2513 บนเนื้อที่ประมาณ 6 ไร่เศษ โดยมียายเหรียญ ทองสุกใส และก�ำนันบุญ เนาวรัตน์ , ยายรั่ว เรืองขจร เป็นผูบ้ ริจาคทีด่ นิ ถวายทางวัด ครัน้ ต่อมา นายประเทือง วงศ์ขวัญเมือง สารวัตรก�ำนันได้ดำ� เนินการขอใบการตัง้ วัด โดยมีพระอธิการเสริม อาภากโร ขณะนั้นด�ำรงต�ำแหน่งเป็นเจ้าอาวาสรูปแรก เริ่มปลูกสร้างอุโบสถ มีพระครู อุภัยธรรมสถิต (หลวงพ่อหนุ่น ) เป็นประธานในการสร้างอุโบสถหลังแรก ของวัด วัดศรีประทุนทอง ได้รบั พระราชทานใบวิสงุ คามสีมา ในวันที่ 29 ตุลาคม พ.ศ.2525 และได้ท�ำการจัดงานปิดทองฝังลูกนิมิต ไปเมื่อปี พ.ศ. 2533
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 190
9/10/2563 15:01:25
การบริหารและการปกครอง มีเจ้าอาวาสเท่าที่ทราบนาม
รูปที่ 1 พระอธิการเสริม อาภากโร รูปที่ 2 พระสุด ธมฺมปาโล (รักษาการ) รูปที่ 3 พระทองอยู่ ฐานธมฺโม รูปที่ 4 พระครูพิพัฒน์รังสรรค์ รูปที่ 5 พระปลัดช�ำเรือง อาภากโร ปีพ.ศ.2550 – ปัจจุบัน
เสนาสนะภายในวัดประทุนทอง
- อุโบสถ - ศาลาการเปรียญ - วิหาร - เมรุ - กุฎิ - หอสวดมนต์ - สระน�้ำ
พระปลัดช�ำเรือง อาภากโร เจ้าอาวาสวัดศรีประทุนทอง
SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 191
191
9/10/2563 15:01:38
History of buddhism....
วัดบางซอ พระครูดิลกวัฒนาภรณ์ เจ้าอาวาสวัดบางซอ
วัดบางซอ ตั้งอยู่เลขที่ 57 หมู่ที่ 5 ต�ำบลบางตะเคียน อ�ำเภอสองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรี
192
2
วัดบางซอ ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ.2442 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อปี พ.ศ.2472 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 8 เมตร ยาว 12.5 เมตร วัดบางซอมีเนื้อที่ 19 ไร่ 2 งาน 84 ตารางวา และมีที่ธรณีสงฆ์ จ�ำนวน 1 แปลง เนื้อที่ 11 ไร่ 1 งาน 4 ตารางวา น.ส.ก.เลขที่ 84
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 192
9/10/2563 16:30:15
อาคารเสนาสนะ ประกอบด้วย
- อุโบสถ กว้าง 8 เมตร ยาว 12.5 เมตร เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก - ศาลาการเปรียญ กว้าง 16 เมตร ยาว 20 เมตร สร้างเมื่อ ปี พ.ศ.2473 เป็นอาคารไม้ - ศาลาการเปรียญกลางน�้ำ จ�ำนวน 1 หลัง - หอสวดมนต์ กว้าง 16 เมตร ยาว 20 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ.2473 เป็นอาคารไม้ - วิหารพระทองค�ำ จ�ำนวน 1 หลัง - มณฑปหลวงพ่อวุ่น จ�ำนวน 1 หลัง - ศาลา 111 ปี (หลวงพ่อวุ่น) จ�ำนวน 1 หลัง - กุฏิสงฆ์ จ�ำนวน 13 หลัง เป็นอาคารไม้ - ศาลาอเนกประสงค์ กว้าง 16 เมตร ยาว 40 เมตร สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2539 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก - โรงเรียนพระปริยัติธรรม จ�ำนวน 1 หลัง - ห้องสุขา จ�ำนวน 2 หลัง ปูชนียวัตถุ มี พระประธานประจ�ำอุโบสถ
การบริหารและการปกครอง ล�ำดับเจ้าอาวาส
1. หลวงพ่อศุก พ.ศ. 2442 – 2451 2. พระอาจารย์ค�ำ ปานอ�ำพันธ์ พ.ศ. 2451 – 2455 3. พระอาจารย์ผิน ปรางศร พ.ศ. 2460 – 2461 4. พระอาจารย์แผ้ว ศรีสวัสดิ์ พ.ศ. 2456 – 2459 5. พระอาจารย์เผือก สีชมภู พ.ศ. 2460 – 2461 6. พระอาจารย์วุ่น ชินปุตฺโต (สุขเกษม) พ.ศ. 2462 – 2465 7. พระอาจารย์ขาว ปานอ�ำพันธ์ พ.ศ. 2477 - 2480 8. พระอาจารย์ตุ้ย ศรีสวัสดิ์ พ.ศ. 2480 – 2483 9. พระอาจารย์ทองเหลี่ยม ศรีทวีสุข พ.ศ. 2483 – 2485 10. พระอาจารย์ถนอม สุมิตฺโต พ.ศ. 2485 – 2494 11. พระอาจารย์จ�ำนง ปานอ�ำพันธ์ พ.ศ. 2494 – 2508 12. พระอาจารย์ทองหล่อ โรจน์สนธิ์ พ.ศ. 2508 – 2511 13. พระครูสุวรรณสังฆกิจ (ชื่น จุนฺโท) พ.ศ. 2511 – 2535 14. พระอาจารย์จ�ำนงค์ ปริสุทฺโธ พ.ศ. 2535 – 2548 15. พระครูดิลกวัฒนาภรณ์ (สมชาย อคฺคปญฺโญ มีลือนาม) พ.ศ. 2548 – ปัจจุบัน
พระครูดิลกวัฒนาภรณ์ (สมชาย อคฺคปญฺโญ มีลือนาม) เจ้าอาวาสวัดบางซอ
SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 193
193
9/10/2563 16:30:27
_Artwork x2.indd 194
8/10/2563 15:45:22
_Artwork x2.indd 195
8/10/2563 15:45:37
_Artwork_2P-3.indd 196
9/10/2563 10:39:51
_Artwork_2P-3.indd 197
9/10/2563 10:39:56
History of buddhism....
วัดสามชุก พระครูสุวรรณวิจิตร เจ้าอาวาสวัดสามชุก
วัดสามชุก ตั้งอยู่หมู่ที่ 1 เลขที่ 3 ตําบลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี
198
6
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 198
9/10/2563 13:10:25
SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
6
.indd 199
199
9/10/2563 13:10:33
วัดสามชุก เป็นวัดเก่าไม่ปรากฏหลักฐานว่าสร้าง
สมัยใดสิ่งที่เป็นหลักฐานว่าเป็นวัดเก่า คือ 1. พระพุทธบาทสีร่ อย กรมศิลปากรได้จดทะเบียนไว้เป็นโบราณ วัตถุ ประดิษฐานอยู่ในมณฑปที่สร้างขึ้นเมื่อ 200 ปี 2. พระพุทธรูปหินทราย สมัยอยุธยา ปัจจุบันประดิษฐาน เป็น พระประธานบนศาลาการเปรียญ 3. หงส์สัมฤทธิ์ 1 คู่เดิมตั้งอยู่บนยอดเสาหน้ามณฑป มีงาน ปิดทองพระพุทธบาทสี่รอยเป็นงานประจําปี 4. หลวงพ่อธรรมจักร เป็นพระพุทธรูปสมัยอู่ทอง เป็นที่สักการ บูชาของประชาชนถือว่าเป็นพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์คู่กับวัดมานาน ทะเบียนวัดของสํานักงานศึกษาธิการอําเภอสามชุก ประมาณว่าสร้าง ขึ้นเมื่อประมาณปี พ.ศ. 2300 (สันนิษฐาน) เดิมชื่อ วัดอัมพวัน อุ โ บสถหลั ง ปั จ จุ บั น สร้ า งขึ้ น บนพื้ น ที่ อุ โ บสถหลั ง เดิ ม ซึ่ ง ชํ า รุ ด ทรุดโทรม ได้รับพระราชทาน วิสุงคามสีมาเมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2481 ขณะนั้นเรียกอําเภอนางบวช
200
6
พระพุทธบาทสี่รอย อยู่กับวัดมานานทายกชื่อ ก๋งกวย มีศรัทธา นําชาวบ้านสร้างมณฑป เพื่อเป็นที่ประดิษฐาน พระพุทธบาทสี่รอย ทุกปีมีการจัดงานปิดทองพระพุทธบาทสี่รอย มีการติดประทีปโคม ไฟสว่าง ใช้ตะเกียงเจ้าพายุ ตะเกียงสมัยโบราณความหมายของคํา ว่า “สามชุก” น่าจะหมายถึงมีอะไร ชุก สักอย่างหนึ่ง หรือ 3 อย่าง หรื อ อย่ า งเดี ย ว ในพจนานุ ก รมตรงกั บ คํ า ว่ า “กระชุ ก ” คํ า ว่ า “สามชุก” มีมานานเมื่อครั้งสุนทรภู่มาเมืองสุพรรณบุรี พ.ศ. 2384 ได้เขียนไว้ในนิราศสุพรรณว่า ถึงนามสามชุกท่า ป่าดง กระเหรี่ยงไร่ได้ฝ้ายลง แลกล�้ำ เรือค้าท่าคง คอยกระเหรี่ยง รายจอดทอดท่าน�้ำ นั้นฝ่ายขายของ ฯลฯ
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 200
9/10/2563 13:10:37
“บ้านสามชุก”
เล่าสืบกันมาว่า แม่น�้ำสุพรรณ ฝั่งตะวันตกตรงข้าม วัดสามชุกมีท่าสําหรับชาวบ้านนําโค กระบือ ลงน�้ำเป็นท่าน�้ำใหญ่ เกวียนขึ้นลงได้สะดวก เรียกท่ายางที่ปากท่ามี หาดทรายตื้น ฤดูน�้ำแล้งขาดตอน เรือแพสัญจรไปมาไม่ได้ ต้องขน ถ่ายสินค้า พวกชาวป่า ลาวกระเหรี่ยง เอาสินค้าบรรทุกเกวียนมา ขายให้ชาวเรือ ถ้าพ่อค้าชาวเรือกับพ่อค้าชาวเกวียนพบกัน ก็ซื้อขาย กันสะดวก ถ้า ครั้งใด ไม่พบกัน ฝ่ายที่มาก่อนก็ต้องรอ แล้วขนถ่าย สินค้าลงกองไว้ ส่วนชาวป่าก็นํากระชุก หรือ สามชุกลงจากเกวียน แล้วใส่สินค้าที่นํามาจากป่าเก็บไว้ในกระชุกของตน ท่ายางในสมัย โน้นได้กลายเป็นชุมชนการค้า บรรดาพ่อค้า แม่ค้าต่างก็มาทําการ ซื้อขายกัน โดยมีกระชุกหรือสามชุก เป็นภาชนะใส่ของ ซึ่งเป็นที่นิยม ในขณะนั้น นักการค้า ทั้งหลายจึงนํามาไว้เป็นภาชนะเก็บสินค้า ตลอดมา ทําเล การค้าแห่งนี้ บรรดาชาวบ้านระแวกนั้น เรียกว่า บ้านกระชุก หรือสามชุก โรงเรียนวัดสามชุก (รร.ราษฎร์วิริยานุกูล) เป็นโรงเรียนหลัง แรกของอําเภอสามชุก ผู้ริเริ่มในการก่อสร้าง คือ พระมหาสุมน โอภาโส นําชาวบ้านสามชุก สร้างอุโบสถหลังใหม่ ในที่เดิมของ อุโบสถหลังเก่าที่ชํารุด พระครูสุวรรณวิจิตร เจ้าอาวาสวัดสามชุก
SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
6
.indd 201
201
9/10/2563 13:10:43
ร่วมสร้างเส้นทางบุญกับวัดสามชุก
202
6
ขอเชิญญาติโยม ผูม้ จี ติ ศรัทธา ร่วมท�ำบุญ บ�ำรุงพระพุทธศาสนา สร้างศาลาปฏิบตั ธิ รรม สามารถร่วมบุญได้โดยการโอน ธนาคารกรุงไทย สาขาสามชุก ชือ่ บัญชี วัดสามชุก เลขที่ 711-1-19496-9
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 202
9/10/2563 13:10:48
การสร้างและพัฒนาวัด ตามล�ำดับ
พ.ศ.2483 พระมหาสุมน โอภาโส ลาสิกขาบท พ.ศ.2485 คณะสงฆ์จังหวัดสุพรรณบุรี ได้ส่ง พระครูกริ่ง หํโส (พระครูสุนทรานุกิจ) มาอยู่วัดสามชุก เพื่อ ดํารงตําแหน่งเจ้าอาวาส วัดสามชุก และเป็นเจ้าคณะหมวดสามชุก และได้สร้างต่อเติมพระอุโบสถ จนแล้วเสร็จและ จัดงานปิดทองฝังลูกนิมิตเมื่อ พ.ศ. 2493 พ.ศ. 2498 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช และ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ เสด็จทางชลมารคผ่าน วัดสามชุก ได้เสด็จขึ้นวัดสามชุก พ.ศ. 2501 สร้างหอสวดมนต์ พ.ศ. 2509 สร้างศาลาการเปรียญ และพัฒนา เสนาสนะอื่นๆ ตามลําดับ พ.ศ. 2530 พระครูสุนทรานุกิจ เจ้าอาวาสวัด สามชุกมรณภาพ พ.ศ.2531 พระครูสุวรรณวิจิตร เป็นเจ้าอาวาสวัดสามชุก พ.ศ. 2532 สร้างศาลาปฎิบัติธรรม พ.ศ. 2537 สร้างสะพานข้ามแม่น�้ำท่าจีน หน้าวัดสามชุก พ.ศ. 2540 บูรณปฏิสังขรณ์ศาลาการเปรียญ ยกพื้นเป็น 2 ชั้น พ.ศ. 2544 รับถวายที่ดินจากประชาชนผู้มีศรัทธา ถวาย 1 ไร่ 10 ตารางวา พ.ศ. 2546 ตั้งสถานีวิทยุเพื่อการเผยแผ่พระพุทธศาสนา FM 100.25 MHZ พ.ศ. 2552 ซื้อที่ดินเพื่อขยายที่ดินบริเวณวัด 4 ไร่ 1 งาน 62 ตารางวา พ.ศ. 2556 ซื้อที่ดินเพื่อขยายที่ดินบริเวณวัด 4 ไร่ 1 งาน 3 ตารางวา การพัฒนาวัดได้ดําเนินการตามนโยบายของคณะสงฆ์ และส่วน ราชการทั้งด้านสาธารณูปการและการเผยแผ่พระพุทธศาสนา ได้รับ การยกย่องจากคณะสงฆ์และราชการ ดังนี้ - พ.ศ. 2527 เป็นหน่วยเผยแพร่ศีลธรรมวัดสามชุก - พ.ศ. 2532 ได้รับประกาศเกียรติคุณ เป็นวัด พัฒนาตัวอย่าง - พ.ศ. 2538 ได้รับประกาศเกียรติคุณ เป็นวัด พัฒนาตัวอย่างที่ มีผลงานดีเด่น - พ.ศ. 2549 ได้รับแต่งตั้งเป็นสํานักปฏิบัติธรรม ประจําจังหวัด สุพรรณบุรีแห่งที่ 4 - พ.ศ. 2552 ได้รับประกาศเป็นสํานักปฏิบัติธรรมประจําจังหวัด ดีเด่น - พ.ศ. 2552 เป็นศูนย์เสมาส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ประจํา จังหวัดสุพรรณบุรี สํานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาสุพรรณบุรีเขต 3 - พ.ศ. 2552 เป็นศูนย์พัฒนาจิตเฉลิมพระเกียรติ ประจําจังหวัด สุพรรณบุรี กระทรวงศึกษาธิการ - พ.ศ. 2560 เป็นวัดส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม “ระดับดีเยี่ยม” จากกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อมกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
6
.indd 203
203
9/10/2563 13:10:54
History of buddhism....
วัดวังหิน พระครูสุภรัตโนภาส เจ้าอาวาสวัดวังหิน
วัดวังหิน ตั้งอยู่ที่หมู่ 5 ต�ำบลย่านยาว อ�ำเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี
204
4
เดิ ม วั ด วั ง หิ น ทางแถบแม่ น�้ ำ ท่ า จี น ไม่ มี ป ระตู พอถึ ง หน้ า แล้ ง น�้ ำ จะแห้ ง เป็นช่วงๆ โดยเฉพาะหน้าวัดวังหินจะเป็นช่วงน�้ำลึกเป็นที่มีปลาชุกชุม ชาวบ้าน มักจะถามกันว่าไปหาปลาที่ไหน ชาวบ้านส่วนใหญ่ จะบอกว่าไปหาปลาที่วังหิน เพราะที่นี่มีหิน กรวด เป็นจ�ำนวนมาก ฝูงปลามักจะเข้ามาอาศัยชุมนุมอยู่ อีกทั้ง ผู้คนที่มาอยู่อาศัยอยู่กันเป็นหมู่ใหญ่ จึงได้ตั้งชื่อหมู่บ้านว่า "บ้านวังหิน"
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 204
9/10/2563 14:08:17
ต่อมาเมื่อมีความเจริญจึงสร้างวัดขึ้นโดยที่ประชาชนชาวบ้านมี ความคิดเห็นตรงกัน ให้มีชื่อว่า “วัดวังหิน” ได้รับอนุญาตจากทาง กรมการศาสนาให้สร้างวัดขึ้น เมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2434 พระอธิการขวัญ ได้รับต�ำแหน่งเป็นเจ้าอาวาส โดยมีเนื้อที่ดินตั้งวัด ทั้งหมด 37 ไร่ หลังจากนั้นพระอธิการขวัญ ได้มีการสร้างอุโบสถ และผูกพัทธสีมาเมื่อปี พ.ศ. 2442 หลังจากนั้นพระอธิการขวัญได้ ลาสิกขาบท ต่อมาพระครูวิริยสุนทร (หลวงพ่อเล็ก) ได้รับต�ำแหน่งเจ้าอาวาส ได้ ป รั บ ปรุ ง วั ด ให้ ดี ขึ้ น และสร้ า งมณฑปหลั ง เก่ า หลวงพ่ อ โตปาง ป่าเลไลยก์ จากนั้นได้รับต�ำแหน่งเจ้าคณะอ�ำเภอสามชุก อยู่ประมาณ 8 พรรษา จึงได้มรณภาพ พระสมุห์แปรก ได้รับต�ำแหน่งเจ้าอาวาสเป็นองค์ต่อมา อยู่ได้ ไม่นานก็ลาสิกขา หลั ง จากนั้ น พระครู โ กมุ ด สมาณคุ ณ (พระมหาเผื่ อ น) ได้ รั บ ต�ำแหน่งเจ้าอาวาส และต�ำแหน่งเจ้าคณะอ�ำเภอสามชุก ได้ปกครอง พระคณะสงฆ์ อยู่ต่อมาก็ลาสิกขาไปอีก ต่อมาพระครูสิริสุตคุณ (หลวงพ่อแคล้ว) ได้รับต�ำแหน่งเจ้าอาวาส และต�ำแหน่งเจ้าคณะต�ำบลย่านยาว นานพอสมควร เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2533 ได้มรณภาพ จากนั้นปี พ.ศ. 2534 ตั้งศพหลวง พ่อแคล้วได้เกิดไฟไหม้ศาลาขึ้น เมื่อวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2534
SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
4
.indd 205
205
9/10/2563 14:08:27
หลั ง จากนั้ น พระครู สุ ภั ท รกิ ต ติ ญ าณ (เจริ ญ ) ได้ รั บ ต� ำ แหน่ ง เจ้าอาวาส และรับต�ำแหน่งรองเจ้าคณะต�ำบลสามชุก ได้ปรับปรุง วัดใหม่สร้างศาลาการเปรียญขึ้นใหม่ และย้ายกุฏิมาอยู่ใต้ศาลา การเปรียญ เดิมทีกุฏิอยู่เหนือศาลาการเปรียญ เมื่อปี พ.ศ. 2537 พระครูสุภัทรกิตติญาณ ได้มีความคิดเห็นว่า อุโบสถเก่าช�ำรุด จึงได้สร้างอุโบสถใหม่ขึ้นมา สร้างเสร็จเมื่อปี พ.ศ. 2541 ใช้งบประมาณในการ ก่อสร้างเป็นจ�ำนวนเงิน 6,006,689 บาท และผูกพัทธสีมาเมื่อวันที่ 30 ธันวาคม พ.ศ. 2542 ถึง วันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2543 ต่อมาเมื่อปี พ.ศ. 2547 ได้สร้างมณฑปหลัง ใหม่และย้ายหลวงพ่อโตปางป่าเลไลยก์จากหลังเก่า มาอยู่หลังใหม่ หลังจากนั้น พระครูสุภัทรกิตติญาณ ได้มรณภาพ เมื่อปี พ.ศ. 2549 จากนั้นพระอธิการมณี ติกฺขญาโณ ได้จัดสร้างสะพานข้ามแม่น�้ำ ท่าจีนขึ้นเมื่อ วันที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2550 สร้างเสร็จเมื่อ วันที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2551 ใช้งบประมาณในการก่อสร้างสะพานเป็น จ�ำนวน 5,795,625 บาท และทาง อบต. ย่านยาว นางจ�ำเนียร จันทร์วิเศษ ได้จัดงบประมาณมาช่วย 200,000 บาท ปี พ.ศ. 2552 พระอธิการมณี ติกฺขญาโณ ได้บูรณะเมรุหลังเก่า และสร้างห้องน�้ำขึ้นใหม่ใช้งบประมาณในการก่อสร้างเป็นจ�ำนวน เงิน 1,730,352 บาทต่อมาพระอธิการมณี ติกฺขญาโณ ได้บูรณะ อุโบสถหลังเก่าเปลี่ยนกระเบื้องเป็นบางส่วน และเทหินขัดพื้นใช้ งบประมาณการก่อสร้างเป็นจ�ำนวนเงิน 23,800 บาท เพื่ออนุรักษ์ ของเก่า ไว้ ใ ห้ เ ด็ ก รุ ่ น หลั ง ดู อุ โ บสถหลั ง เก่ า นั บ ร้ อ ยกว่ า ปี และปี พ.ศ. 2557 ได้รบั ต�ำแหน่งพระปลัดมณี ติกขฺ ญาโณ ต่อมาเมือ่ ปี 2558 ได้รับงบประมาณ ของกรมโยธาธิ ก ารและผั ง เมื อ งงบประมาณ 29,700,000 บาท เมื่อวันที่ 7 มกราคม 2559 ได้รับพระราชทาน สมณศักค์ชั้นโท พระราชชินนามว่า พระครูสุภรัตโนภาส
การพัฒนาวัดในปัจจุบัน
- อุ โ บสถหลั ง ใหม่ ใช้ ง บประมาณในการก่ อ สร้ า งประมาณ ห้าแสนเศษ - ปี พ.ศ. 2559 ได้สร้างเขื่อนและแพน�้ำ ที่หน้าวัด งบประมาณ ห้าแสนเศษ - ศาลาท่าน�้ำ งบประมาณในการสร้างประมาณ ห้าแสนเศษ - เปลี่ยนเมรุจากเตาถ่านมาเป็นเมรุไฟฟ้าในปัจจุบัน - บูรณะวิหารหลวงพ่อโตปางป่าเลไลย์ และในปี พ.ศ. 2562 พระครูสุภรัตโนภาส ได้บูรณะลงรักปิดองค์หลวงพ่อโตใหม่ ปัจจุบันวัดวังหินมีเนื้อที่ตั้งวัด 50 ไร่เศษ วัดตั้งอยู่ทางฝั่งตะวัน ตกของแม่น�้ำท่าจีน ภายในวัดมีต้นยางใหญ่ และต้นส�ำโรงใหญ่ ประมาณ 4 คนโอบ อายุราว 300-400 ปี ต่อมาได้เกิดลมพายุพัด แรงท�ำให้ต้นส�ำโรงใหญ่โค่นลง ในวันที่ 27 มิถุนายน 2563
พระครูสุภรัตโนภาส เจ้าอาวาสวัดวังหิน
206
4
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 206
9/10/2563 14:08:30
SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
4
.indd 207
207
9/10/2563 14:08:35
History of buddhism....
วัดหนองผักนาก พระครูสุวรรณธีรวัฒน์ (ชำ�นาญ) เจ้าอาวาสวัดหนองผักนาก
208
5
วัดหนองผักนาก ตั้งอยู่หมู่ที่ 5 ต�ำบลหนองผักนาก อ�ำเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 208
13/10/2563 13:24:36
SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
5
.indd 209
209
13/10/2563 13:24:44
210
5
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 210
13/10/2563 13:24:46
วัดหนองผักนาก เป็นวัดเก่าแก่ไม่มีใครรู้ว่าสร้างมาตั้งแต่สมัยใด ภายในวัดมีอุโบสถเก่าคู่วัด 1 หลัง และเจดีย์เก่าหลายองค์ หน้าวัด มีหนองน�้ำ ชาวบ้านเรียกว่า “หนองผักนาก” แต่จริงๆ แล้ว คือ ชาวบ้านในหมู่บ้านจะอุปสมบทลูกหลานก็จะท�ำการแห่นาคมาที่วัด และจะหยุดพักผ่อนกินข้าวเสร็จเรียบร้อยแล้วก็จะท�ำการแห่นาควน รอบอุโบสถ เมื่อวนรอบอุโบสถเรียบร้อยแล้วจะน�ำช้าง ม้า ไปเล่น สนุกกันที่ดอนแห่นาค ปัจจุบันดอนแห่นาค อยู่ทางทิศตะวันตก เฉียงเหนือของวัด เพราะสมัยก่อนนั้นวัดบริเวณใกล้เคียงยังไม่มี อุโบสถ จะนิยมน�ำนาคมาอุปสมบทที่วัดหนองผักนาก เมื่อเดินทาง มาใกล้ จึ ง ต้ อ งแวะพั ก ที่ บ ริ เวณสระน�้ ำ ที่ เรี ย กว่ า หนองผั ก นาก ก่อนต่อมาอุโบสถ ทรุดโทรมลง ชาวบ้านจึงท�ำการรื้อ อุโบสถหลังเก่า สิ่งที่พบบริเวณอุโบสถส่วนใหญ่เป็นพระพุทธรูป เบี้ยจั่น แขวนหูบุ้ง และซากพระพุทธรูปแตกหัก ใบเสมา และเมื่อเทียบดูจากหนังสือ และกรมศิลปากร บอกได้ว่าใบเสมานั้นมีลักษณะ อายุ อยู่ในช่วง กรุงศรีอยุธยาตอนกลาง ในอุโบสถมีพระประธานองค์ใหญ่ หน้าตัก 3 ศอก 1 คืบ พระบริวารประมาณ 12 องค์ ต่อมา พ.ศ. 2504 ได้ ท�ำการสร้างอุโบสถหลังใหม่ขึ้น 1 หลัง ได้ย้ายพระประธานในอุโบสถ หลังเก่ามาประดิษฐานที่อุโบสถหลังใหม่ 1 หลัง ได้ย้ายพระประธาน ในอุโบสถหลังเก่ามาประดิษฐานที่อุโบสถหลังใหม่ ชาวบ้านเรียกว่า “ หลวงพ่อโต” พระประธานเป็นที่เคารพนับถือของชาวบ้านและวัด หนองผักนาก ยังมีพระพุทธรูปอีก 1 องค์ คือ หลวงพ่อยิ้ม เป็น พระพุทธรูปสมัยอู่ทอง ซึ่งสมัยก่อนชาวบ้านหนองผักนากไปซุ่มปลา ได้มา เนื่องจากแม่น�้ำในช่วง มีนาคม – เมษายน น�้ำในแม่น�้ำจะลด ลงหรือแห้งขอด ชาวบ้านจึงไปหาปลา สุ่มปลา ยกยอ และได้พบ พระพุทธรูป จึงน�ำพระพุทธรูปกลับมาบ้านต่อมาไม่นานชาวบ้าน คนนั้นได้มาซื้อลักทาพระ มาทาองค์พระทองค�ำเปลว จ�ำนวน 2 ไพร ลักปิดพระซื้อมา 1 ไพร มาปิดองค์พระเพื่อป้องกันไม่ให้คนเห็นเนื้อ องค์พระ เพราะว่าองค์พระมีเนื้อทองสีดอกบวบ เสร็จแล้วจึงนิมนต์ พระสงฆ์มาท�ำการสวดมนต์ ท�ำบุญ เพื่อเป็นการฉลององค์พระ แล้วจึงน�ำพระพุทธรูปมาถวายวัดหนองผักนาค ผู้ที่พบพระพุทธรูป ชื่อ นางจู ไม่ทราบนามสกุล เป็นชาวบ้านหนองผักนาก ปั จ จุ บั น วั ด หนองผั ก นาก ได้ มี ก ารพั ฒ นาและเป็ น สถานที่ ประกอบพิ ธี ก รรมทางพระพุ ท ธศาสนา เป็ น ศู น ย์ ร วมจิ ต ใจของ ชาวบ้านหนองผักนาก
SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
5
.indd 211
211
13/10/2563 13:24:54
212
5
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 212
13/10/2563 13:25:00
Buddhism
in Thailand
Everything You Need to Know About Buddhism in Thailand There are some 30,000 Buddhist temples in Thailand.
SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 213
213
13/10/2563 12:18:09
History of buddhism....
วัดทุ่งแฝก พระครูบวรสุวรรณสถิต (ประวร ปวโร) เจ้าอาวาสวัดทุ่งแฝก
วัดทุ่งแฝก ตั้งอยู่ที่ต�ำบลวังลึก อ�ำเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี เป็นวัดราษฎร์สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย
214
2
วัดทุ่งแฝก สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2484 โดยชาวบ้านทุ่งแฝก ร่วมใจกันสร้าง วัดเล็กๆ แต่เดิมจะมีพระจ�ำพรรษา 1-2 รูป ครั้นพอออกพรรษาก็จะปล่อยวัดร้าง (ปัจจุบันวัดเก่า คือที่ต้ังของโรงเรียนทุ่งแฝกพิทยาคม) ในปี พ.ศ. 2499 มีการ ขุดคลองชลประทาน ชาวบ้านจึงได้ย้ายวัดมาสร้างบริเวณริมคลอง และกลาย เป็นที่ตั้งของวัดทุ่งแฝกจนทุกวันนี้
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 214
8/10/2563 16:04:02
สิ่งศักดิ์สิทธิ์ภายในวัด คือ พระพุทธรูปหลวงพ่อทองด�ำหรือ หลวงพ่อทองค�ำ ประดิษฐานทีว่ หิ ารไม้ ประวัตสิ ร้างพระพุทธรูปดังกล่าว ไม่มีหลักฐานบ่งชัด แต่จากพุทธลักษณะ เครื่องทรงมีลายดอกพิกุล ทัง้ องค์เป็นพระพักตร์อมิ่ ประทับนัง่ ปางมารวิชยั (สะดุง้ มาร) ด้านหลัง องค์มหี ว่ งคล้ายมีไว้สำ� หรับปักฉัตร แต่เท่าทีส่ อบถามผูท้ เี่ คยเจอครั้งแรก ไม่ปรากฏว่ามีฉัตรติดองค์มาด้วย ลักษณะดังกล่าวผู้รู้กล่าวว่าเป็น ศิลปะสมัยตอนปลายกรุงศรีอยุธยาตอนต้นกรุงรัตนโกสินทร์ มีอายุ ราวๆ 200 กว่าปี
ประวัติเจ้าอาวาส (พอสังเขป)
พระครูบวรสุวรรณสถิต (ประวร ปวโร) หรือ พระอาจารย์ไก่ ปัจจุบันสิริอายุ 49 ปี พรรษา 16 เกิดเมื่อวันที่ 13 ส.ค. 2515 ที่ ต�ำบลออมน้อย อ�ำเภอกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร ในช่วงวัยเด็ก ให้ความสนใจทางธรรม ฝากตัวเป็นศิษย์ หลวงพ่อสุด สิริธโร หรือ “พระครูสมุทรธรรมสุนทร” อดีต เจ้าอาวาสวัดกาหลง อ�ำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร พระเกจิชอื่ ดังเป็นทีน่ บั ถือของชาวเมือง สมุทรสาคร เคยสร้างวัตถุมงคลมากมาย ที่ได้รับความนิยม อาทิ ยันต์ ตะกร้อที่มีพุทธคุณด้านอยู่ยงคงกระพัน หลังจากหลวงพ่อสุดมรณภาพ ชีวิตของท่านโลดโผน ตามประสา วัยรุ่น เดินทางไปสถานที่ต่างๆ ทั่วภาคเหนือ ภาคใต้ ท�ำงานรับจ้าง ทัว่ ไป กระทัง่ อายุ 32 ปี เข้าพิธอี ปุ สมบททีว่ ดั ท่าพิกลุ ทอง ต�ำบลวังลึก อ�ำเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี เมื่อวันที่ 24 ส.ค.2547 โดยมี พระครูปลัดสุรนิ ทร์ วิมโร เป็นพระอุปชั ฌาย์, พระสมุหส์ มบูรณ์ ฐานวิโรโร เป็นพระอนุสาวนาจารย์ และ พระอธิการเฮง สุทโธ วัดท่าพิกุลทอง เป็นพระกรรมวาจาจารย์ มุ่งมั่นศึกษาพระปริยัติธรรม เวลาผ่านไป 2 พรรษา กราบลาเจ้าอาวาสและพระอุปัชฌาย์ เพื่อออกเดินธุดงค์ ไปตามสถานทีต่ า่ งๆ เช่น เขาตะนาวศรี เขาใหญ่ ป่าดงพญาเย็น-เขาใหญ่ ห้วยขาแข้ง ฯลฯ ในปี พ.ศ.2554 วัดทุ่งแฝกว่างเว้น เจ้าอาวาส ชาวบ้านเห็นวัตร ปฏิบตั ิ เกิดความเลือ่ มใสศรัทธา นิมนต์ให้มาด�ำรงต�ำแหน่งเป็นเจ้าอาวาส เพื่อพัฒนาวัดหลังจากย้ายมาอยู่จ�ำพรรษาที่วัดแห่งนี้ ได้ทุ่มเทก�ำลัง กายก�ำลังใจพัฒนาวัดในทุกด้านอย่างเต็มที่ ล�ำดับสมณศักดิ์ วันที่ 28 ก.ค.2562 ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ เป็นพระครูสัญญาบัตรเจ้าอาวาสวัดราษฎร์ชั้นโท ในราชทินนามที่ พระครูบวรสุวรรณสถิตด้วยความทีพ่ ระอาจารย์ไก่ เป็นพระ นักปฏิบตั ิ นักพัฒนา มีวทิ ยาคมทีเ่ ข้มขลัง จึงมีชอื่ เสียงอยูใ่ นศรัทธาของญาติโยม ในแต่ละวันจึงมีญาติโยมจ�ำนวนมาก เดินทางมากราบนมัสการ รับฟังธรรม ประพรมน�ำ้ พระพุทธมนต์ เสริมความเป็นสิรมิ งคลทีว่ ดั อย่างไม่ขาดสาย ในปี พ.ศ.2563 นี้ พระครูบวรสุวรรณสถิต ขอเชิญญาติธรรม ศาสนิกชนทัง้ หลาย กราบสักการะขอพร หลวงพ่อทองด�ำ หรือหลวงพ่อ ทองค�ำ ซึ่งเป็นพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ ที่มีอายุเก่าแก่ ประดิษฐานที่ วิหารไม้ ในวัดทุ่งแฝก เพื่อความเป็นสิริมงคลแก่ตนเองและครอบครัว
พระครูบวรสุวรรณสถิต (ประวร ปวโร) เจ้าอาวาสวัดทุ่งแฝก
SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 215
215
8/10/2563 16:04:14
History of buddhism....
วัดล�ำพระยา พระครูดิลกปัญญาภรณ์ เจ้าอาวาสวัดลำ�พระยา
วัดล�ำพระยา เดิมเรียกว่า วัดวังพญา ตั้งอยู่ที่ 147 หมู่ 1 ต�ำบลย่านยาว อ�ำเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี
216
2
สร้างขึ้นมาประมาณ 700 กว่าปี แต่ไม่มีหลักฐานมีเพียงพระพุทธรูปปาง สะดุ้งมารศิลปะอู่ทอง 1 องค์ สูง 2.50 เมตร กว้าง 2 เมตร พระพุทธรูปปูนปั้น ประดิ ษ ฐานอยู ่ ข ้ า งสระน�้ ำ ด้ า นหลั ง พระพุ ท ธรู ป มี ต ้ น พระศรี ม หาโพธิ์ มีผู้เชี่ยวชาญประมาณไว้ว่า พระพุทธรูปองค์นี้สร้างมาประมาณ 700 ปี เมื่อ ประมาณปี พ.ศ. 2507 หลวงพ่อหร�่ำ กิตติสาโร วัดวังจิก เกจิอาจารย์ในขณะนั้น พร้อมด้วยชาวบ้านล�ำพระยาและใกล้เคียงได้เริม่ ปฏิสงั ขรณ์ขนึ้ มาเป็นวัดวังพญา (ชือ่ เดิม) เมือ่ ปี พ.ศ.2507 ตรงกับเดือน 7 ขึน้ 7 ค�ำ ่ วัดล�ำพระยา มีทดี่ นิ ประมาณ 18 ไร่ วัดล�ำพระยาสร้างและบูรณปฏิสังขรณ์มาแล้วประมาณ 56 ปี
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 216
9/10/2563 14:38:44
ร่วมสร้างเส้นทางบุญ ร่วมบูรณะพระอุโบสถ วัดล�ำพระยา
สามารถร่วมท�ำบุญได้โดยโอนผ่านบัญชี ธนาคารกรุงเทพ ชื่อบัญชีวัดล�ำพระยา เลขที่บัญชี 418-046419-2 สาขาสามชุก ท่านที่ร่วมท�ำบุญบูรณะพระอุโบสถ รับเหรียญ พญาเต่าเรือน รุ่นมงคลเศรษฐี บารมีพญาเต่าเรือน หลวงพ่อใหญ่ – หลวงพ่อหร�่ำ กิตติสาโร
พระครูดิลกปัญญาภรณ์ เจ้าอาวาสวัดล�ำพระยา
SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 217
217
9/10/2563 14:38:58
History of buddhism....
วัดวังหว้า พระครูสุวรรณเขมาภิรัต เจ้าอาวาสวัดวังหว้า
218
2
วัดวังหว้า ตั้งอยู่เลขที่ 81 หมู่ที่ 2 ต�ำบลย่านยาว อ�ำเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี
ชื่อวัด วังหว้า มีความหมายว่าครั้งก่อนมีต้นหว้าใหญ่มากมายหลายต้น วัดสร้างเมื่อ พ.ศ.2463 ผู้สร้าง อาจารย์ปั้น หมายเกิด สถานที่วัดมีเนื้อที่ จ�ำนวน 28 ไร่ 39 วา ตั้งอยู่เลขที่ 81 หมู่ท่ี 2 ต�ำบลย่านยาว อ�ำเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 218
9/10/2563 13:45:57
ท�ำเนียบเจ้าอาวาส
รูปที่ 1 พระอาจารย์ปั้น ผู้สร้างวัด รูปที่ 2 อาจารย์ถม ได้สร้างอุโบสถหลังแรก เมื่อปี พ.ศ.2472 รูปที่ 3 อาจารย์แต้ม รูปที่ 4 อาจารย์เพร็ช เรืองเวที รูปที่ 5 อาจารย์เชิญ เพียรเงิน รูปที่ 6 อาจารย์โสภณ (แกละ) สิริวณฺโณ ต่อมาได้รับสมณศักดิ์ เป็น พระครูสุวรรณสิริคุณ ได้สร้างหอสวดมนต์ใหม่ขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2513 และย้ายกุฏิมาอยู่รวมกับหอสวดมนต์ใหม่ (เดิมกุฏิอยู่ริม แม่น�้ำ) แล้วท่านก็สร้างหอระฆังจนแล้วเสร็จ ก็มรณภาพเมื่อวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ.2522 ต่อมาพระครูเจริญ ทิตติญาโณ เจ้าอาวาสวัดวังหินได้มารักษา การแทนและได้ท�ำการบูรณะศาลาการเปรียญพร้อมกับสร้างเมรุ เผาศพขึ้น ต่อมาจึงได้แต่งตั้งพระสุนทร ผลปุญโญ เป็นเจ้าอาวาส (รูปที่ 7) และได้เลื่อนสมณศักดิ์เป็นพระปลัดสุนทร ผลปุญโญ และ ได้สร้างอุโบสถหลังใหม่ขึ้น เริ่มก่อสร้างเมื่อวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2533 ใช้เวลา 3 ปีเศษ และได้จัดพิธีผูกพัทธสีมา ปี พ.ศ.2537 พระปลัดสุนทร ผลปุญโญ ด�ำรงต�ำแหน่งอยู่จนถึง ปี พ.ศ.2539 จึงได้ลาสิกขา คณะกรรมการจึงนิมนต์พระครูสวุ รรณวิจติ เจ้าคณะต�ำบลสามชุกให้มาแต่งตั้งพระสมบูรณ์ เขมาภิรโต ให้รักษา การแทนมาเกือบ 1 ปี จึงได้รับการแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาสวัดวังหว้า (รูปที่ 8) เมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ.2540 ตอนรักษาการอยู่ได้ร่วมกับ กรรมการสร้างศาลาปูนปั้นทรงไทยปลายปี พ.ศ.2539 ต่อมาได้ บูรณะหอสวดมนต์ ปี พ.ศ.2540 ได้ต่อเชิงชายคาหอสวดมนต์ให้ติดกับกุฏิขัดเงาเสา และพื้นติดเพดานฝ้า ท�ำห้องน�้ำ ห้องสุขาใหม่ 3 ห้อง ปี พ.ศ. 2541 ได้บูรณะศาลาการเปรียญขัดเสาทาสีภายในและ ภายนอกติดโคมไฟเดินสายไฟใหม่ ปี พ.ศ.2543 ได้ร่วมสร้างก�ำแพงแก้วพระอุโบสถและซุ้มประตู ปี พ.ศ.2544 ได้บูรณะกุฏิสงฆ์กั้นห้องติดเพดานฝ้า ทาสี ท�ำเสร็จ แล้ว 5 หลัง รวม 15 ห้องยังเหลืออีกหนึ่งหลังยังรอเงินเพราะต้อง ท�ำใหม่เกือบทั้งหลังซึ่งต้องใช้งบประมาณมาก
ถาวรวัตถุภายในวัด - หอสวดมนต์ หอระฆัง สร้างเมื่อ พ.ศ. 2513 พระครูสุวรรณ
สิริคุณ (แกละ) ผู้สร้าง - ศาลาการเปรียญ สร้างเมื่อ พ.ศ. 2499 พระครูเจริญกิตติญาโณ มาบูรณะต่อเติมและสร้างเมรุ เมื่อปี พ.ศ.2522 - อุโบสถหลังใหม่ สร้างเมื่อปี พ.ศ.2533 พระปลัดสุนทร ผล ปุญโญ ผู้สร้าง ปูชนียวัตถุในวัด มีหลวงพ่อเพชร ปางสมาธิแบบสุโขทัย หน้าตัก กว้าง 25 นิว้ สูง 46 นิว้ การบูรณปฏิสงั ขรณ์ ศาลาการเรียญ หอสวดมนต์ และกุฎี สร้างศาลาหลวงปูนปั้นทรงไทย สร้างก�ำแพงแก้วอุโบสถ เทปูนหน้าศาลาการเปรียญในปี พ.ศ.2539 – 2544 บูรณะโดย พระอธิการสมบูรณ์ เขมาภิรโต เจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน
พระครูสุวรรณเขมาภิรัต เจ้าอาวาสวัดวังหว้า
SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 219
219
9/10/2563 13:46:08
History of buddhism....
วัดหนองบัวทอง พระครูวิกรมปริยัตยากร เจ้าอาวาสวัดหนองบัวทอง / เจ้าคณะตำ�บลกระเสียว
วัดหนองบัวทอง เป็นวัดราษฎร์ สังกัดมหานิกาย ตั้งอยู่เลขที่ 129 หมู่ 8 ต�ำบลกระเสียว อ�ำเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี
220
2
วัดหนองบัวทอง สร้างขึ้นมาแต่ครั้งใดไม่ปรากฏแน่ชัด จนเมื่อปี พ.ศ.2503 หลวงพ่อมุ่ย (พระครูสุวรรณวุฒาจาย์) อดีตเจ้าอาวาสวัด ดอนไร่ และเจ้าคณะต�ำบลหนองสะเดา เป็นประธานฝ่ายสงฆ์ ได้มอบ หมายให้นายจุน มาลัยทอง เป็นผูข้ อจัดตัง้ ส�ำนักสงฆ์และนิมนต์พระภิกษุ สามเณรมาอยู่จ�ำพรรษา โดยมี พระภิกษุอ�่ำ เขมงฺกโร เป็นหัวหน้าภิกษุ สงฆ์ มีภิกษุ สามเณร อยู่จ�ำพรรษารวม 5 รูป จนกระทั่งในปี พ.ศ.2512 ได้รับการยกฐานะจากส�ำนักสงห์ข้ึนเป็นวัด ต่อมาในปี พ.ศ.2517 ก็ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาและได้ด�ำเนินการจัดงานผูกพัทธสีมา ฝังลูกนิมิตในปี พ.ศ.2526
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 220
9/10/2563 10:15:53
วัดหนองบัวทอง แต่เดิมได้ตั้งอยู่อีกฟากถนนกับที่อยู่ปัจจุบัน ได้ย้ายมาอยู่ในปัจจุบันเมื่อปี พ.ศ. 2506 โดยมีนายผล - นางแม้น ละวรรณวงษ์, ก�ำนันไน เกิดสมบุญ ได้อุทิศที่ดินจ�ำนวน 6 ไร่ 2 งาน ให้เป็นที่ธรณีสงฆ์ในปีนี้มีพระภิกษุทวี เป็นหัวหน้าภิกษุสงฆ์ มีภิกษุ สามเณรอยู่จ�ำพรรษารวม 8 รูป จากนั้นก็ได้พระภิกษุไพ่ ธมฺมวโร มาเป็นประธานสงฆ์ จนกระทั่งเมื่อปี พ.ศ. 2512 ทางคณะสงฆ์ได้ ประกาศยกฐานะจากส�ำนักสงห์เป็นวัดตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ และตามมติมหาเถรสมาคม โดยในปีนี้มี พระภิกษุกมล อินฺทโชโต เป็นผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาส และในปี พ.ศ.2513 พระภิกษุทวีป ชยธมฺโม เป็นผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาส มีภิกษุสามเณรอยู่จ�ำพรรษา รวม 8 รูป ในปีนี้ชาวบ้านได้เริ่มก่อสร้างศาลาการเปรียญขึ้น มีขนาด กว้าง 7 วา ยาว 14 วา ในปี พ.ศ.2515 พระภิกษุยวด ชพงฺกโร เป็นผู้รักษาการแทน เจ้าอาวาส มีภิกษุสามเณรอยู่จ�ำพรรษารวม 5 รูป จากนั้นในปี พ.ศ. 2516 พระภิกษุล�ำดวน อจรธมฺโม เป็นผู้รักษาเจ้าอาวาส มีภิกษุ สามเณรอยู่จ�ำพรรษารวม 5 รูป และช่วงนั้นหลังออกพรรษาวัดเกือบ จะร้าง เพราะไม่มีภิกษุสามเณรอยู่เป็นนิจสิน กระทั่งในปีต่อมา ชาวบ้านในพื้นที่ก็ได้ไปอาราธนาพระครูปลัดโสภณ ณฏฺฐโสภโณ จากวัดนาคกลาง กรุงเทพฯ มาเป็นเจ้าอาวาสและตั้งแต่บัดนั้นมา ก็ได้มีการก่อสร้างเสนาสนะต่างๆ เช่น กุฏิทรงไทยโบราณ หลังคามุง กระเบื้อง 9 หลัง สร้างต่อเติมศาลาการเปรียญที่ค้างอยู่จนส�ำเร็จ เรียบร้อย สร้างห้องสุขา เครื่องก�ำเนิดไฟฟ้า ซื้อที่ดินเพื่อขยายที่ธรณี สงฆ์เพิ่มอีกจ�ำนวน 6 ไร่และได้มีการสร้างโรงเรียนพระปริยัติธรรม ในปี พ.ศ.2517 หลั ง จากที่ พ ระครู ป ลั ด โสภณ ณฏฺ ฐ โสภโณ มาเป็นเจ้าอาวาส ก็ได้เริ่มก่อสร้างอุโบสถและได้รับพระราชทาน วิสุงคามสีมาในปีนั้น ภายหลังจากสร้างอุโบสถเสร็จสิ้น ก็มีพิธีผูก พัทธสีมาฝังลูกนิมิตในปี พ.ศ.2526 ในปี พ.ศ.2542 พระครูธรรมสารรักษา (พระครูปลัดโสภณ ณฏฺฐโสภโณ) ได้ย้ายไปอยู่วัดบรรหารแจ่มใส อ�ำเภอด่านช้าง เพื่อ ด� ำ รงต�ำแหน่งเจ้าคณะอ�ำเภอด่านช้าง ทางคณะสงฆ์อ�ำเภอสามชุก จึงมอบหมาย ให้พระมหาแดง สนฺตวํโส รองเจ้าอาวาส ขึ้นด�ำรง ต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดหนองบัวทองสืบต่อไป
พระครูวิกรมปริยัตยากร
เจ้าอาวาสวัดหนองบัวทอง / เจ้าคณะต�ำบลกระเสียว
SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 221
221
9/10/2563 10:16:05
History of buddhism....
วัดกระเสียว พระอธิการบุญนาค คมฺภีรธมฺโม เจ้าอาวาสวัดกระเสียว
วัดกระเสียว ตั้งอยู่เลขที่ 65 หมู่ที่ 7 ต�ำบลกระเสียว อ�ำเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี
วัดกระเสียว เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์ฝ่ายมหานิกาย สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2366 ตามหลักฐานในใบพระราชทานวิสุงคามสีมาอุโบสถหลังเก่า เจ้า อาวาสรูปแรก คือหลวงพ่อแก้ว รตนโชติ ปกครองวัดเมื่อปี พ.ศ.2366 จนถึงปี พ.ศ.2416 รวม 50 ปี มรณภาพเมื่ออายุ 109 ปี ปัจจุบนั วัดกระเสียว ได้รบั การพัฒนามาตลอด สภาพแวดล้อมร่มรืน่ สะอาดตา เป็นระเบียบเรียบร้อย เหมาะแก่การไหว้พระ ท�ำบุญ
222
2
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 222
12/10/2563 14:34:53
อาคารเสนาสนะ ประกอบด้วย
- อุโบสถ กว้าง 8 เมตร ยาว 24.40 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ.2525 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก - ศาลาการเปรียญ กว้าง 22 เมตร ยาว 28 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ.2535 อาคารครึ่งไม้ครึ่งตึก - หอสวดมนต์ กว้าง 9.50 เมตร ยาว 14 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2553 เป็นอาคารครึ่งตึกครึ่งไม้ - กุฏิสงฆ์ จ�ำนวน 6 หลัง อาคารครึ่งตึกครึ่งไม้ - วิหาร กว้าง 5.50 เมตร ยาว 12 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ.2553 อาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก ปูชนียวัตถุ มี พระประธานประจ�ำอุโบสถ ปางสะดุ้งมาร ขนาด หน้าตักกว้าง 50 นิ้ว สูง 60 นิ้ว สร้างเมื่อปี พ.ศ.2525 , พระประธาน ประจ�ำศาลาการเปรียญ ปางประทานพร ขนาดหน้าตักกว้าง 30 นิ้ว สูง 36 นิ้ว สร้างเมื่อปี พ.ศ.2535
ท�ำเนียบเจ้าอาวาส
1. พระอาจารย์แก้ว พ.ศ. 2366 2. พระอาจารย์ภู่ พ.ศ.2417 3. พระอาจารย์ทองอินทร์ พ.ศ.2423 4. พระอาจารย์กุล พ.ศ.2429 5. พระอาจารย์แผ้ว พ.ศ.2432 6. พระอาจารย์ก๋ง พ.ศ.2435 7. พระอาจารย์บุญ พ.ศ.2445 8. พระอาจารย์ทองอินทร์ พ.ศ.2447 9. พระอาจารย์จู พ.ศ.2450 10. พระอาจารย์โต๊ะ พ.ศ.2464 11. พระอธิการม้วน พ.ศ.2466 12. พระอธิการเปรื่อง พ.ศ.2481 13. พระอาจารย์ไข่ – พระอาจารย์ชื้น- พระอาจารย์อรุณ พ.ศ.2493 – 2495 14. พระอธิการถวิล อนาวิไล พ.ศ.2496 15. พระอธิการทองใบ สารโท พ.ศ.2503 16. พระอธิการทองอินทร์ จนฺทโชโต พ.ศ.2509 17. พระอาขารย์ประชวน ปสนฺโน พ.ศ.2510 18. พระอธิการวิทยา ฉนฺตธมฺโม 19. พระอธิการสุมล- พระอาจารย์สุเมธ-พระอาจารย์กมล พ.ศ.2515 20. พระครูวิเชียร อิทธิเตโช พ.ศ.2516 21. อาจารย์หรั่ง 22. อาจารย์นิก 23. พระอธิการบุญนาค คมฺภีรธมฺโม พ.ศ.2533 จนถึงปัจจุบัน
พระอธิการบุญนาค คมฺภีรธมฺโม เจ้าอาวาสวัดกระเสียว
SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 223
223
12/10/2563 14:35:07
History of buddhism....
วัดยางยี่แส พระสมุหห์สมลักษณ์ ติกฺขปญฺโญ เจ้าอาวาสวัดยางยี่แส
วัดยางยี่แส ตั้งอยู่เลขที่ 105 หมู่ที่ 4 ต�ำบลกระจัน อ�ำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี
224
6
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 224
9/10/2563 16:52:54
SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
6
.indd 225
225
9/10/2563 16:53:01
226
6
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 226
9/10/2563 16:53:02
วัดยางยีแ่ ส เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย เป็นวัดเก่าแก่ แต่ไม่ปรากฏหลักฐานแน่ชัดว่าสร้างวัดมาตั้งแต่สมัยไหน วัดยางยี่แส มีอายุหลายร้อยปี สิ่งที่ปรากฏอยู่ภายในวัดที่พอจะบ่งบอกความเก่า แก่โบราณของวัด คือ กุฏิเก่า มีอายุประมาณเกือบร้อยปี ซึ่งวัดอยู่ ติดแม่น�้ำเก่าจระเข้สามพัน น�้ำมักจะท่วมบ่อยๆ จึงได้ความร่วมมือ ร่ ว มใจจากชาวบ้ า นในชุ ม ชนยางยี่ แ ส ช่ ว ยกั น ขนดิ น มาปรั บ ปรุ ง บริเวณวัดเพื่อไม่ให้น�้ำท่วมถึง และวัดยางยี่แสยังเป็นศูนย์รวมจิตใจ ของชาวบ้านใกล้เคียง ซึ่งได้ร่วมมือร่วมใจกันพัฒนาสร้างวัดมาตั้งแต่ อดีตจนถึงปัจจุบัน เพื่อใช้เป็นสถานที่ประกอบกิจกรรมทางพระพุทธ ศาสนา วันส�ำคัญทางพระพุทธศาสนา เพราะชาวบ้านทุกคนศรัทธา บารมี หลวงพ่อสมบุญ อดีตเจ้าอาวาส จนมาถึง พระสมุหห์สมลักษณ์ ติกฺขปญฺโญ เจ้าอาวาสองค์ปัจจุบัน ซึ่งชาวบ้านให้ความเคารพนับถือ
พระสมุหห์สมลักษณ์ ติกฺขปญฺโญ เจ้าอาวาสวัดยางยี่แส
SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
6
.indd 227
227
9/10/2563 16:53:06
ประวัติและปฏิปทา หลวงพ่อสมบุญ
หลวงพ่อสมบุญ เขมาภรโต เกิดเมื่อวันที่ 19 มีนาคม 2433 โยมบิดาชื่อหมี โยมมารดาชื่อเรือน นามสกุล รักน้อย อาชีพท�ำนา มีนิสัยรักสงบและมีความเรียบร้อยมาตั้งแต่เล็กๆ ท่านบรรพชาเป็น สามเณร เมื่อ พ.ศ. 2466 เรียนหนังสือไทยและขอมได้อย่างแตกฉาน สวดมนต์เก่งลาสิกขาออกไปท�ำไร่ไถนา พอตอนอายุ 21 ปี พ.ศ. 2454 ก็เข้าอุปสมบท ณ พัทธสีมาวัดยุ้งทะลาย คือวัดโบสถ์วิทยาคาร ต�ำบลยุง้ ทะลาย อ�ำเภออูท่ อง จังหวัดสุพรรณบุรี พระครุฑ วัดท่าโขลง เป็นพระอุปัชฌาย์ พระครูช้อย วัดขวาง เป็นพระกรรมวาจาจารย์ พระครูสุดใจ วัดโพธิ์นางเทรา เป็นพระอนุสาวนาจารย์ เมื่ออุปสมบท แล้วก็มาจ�ำพรรษาที่วัดยางยี่แส ท่านสนใจในการศึกษา วิปัสสนากร รมญานและได้ศึกษากับหลวงพ่อแขม เจ้าอาวาสวัดยางยี่แส แล้ว เดินทางไปศึกษาเพิม่ เติมกับอาจารย์ทวี่ ดั โกสินารายน์ อ�ำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี เมื่อกลับมา อีกไม่นานท่านก็เดินทางมาฝากตัวเป็น ลูกศิษย์เอกหลวงพ่อเนียม วัดน้อยอยู่อีก 1-2 ปี พลังจิตท่านสูงมาก สามารถแผ่พลังจิตไปยังสัตว์ทั้งหลายได้ 228
6
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 228
9/10/2563 16:53:12
SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
6
.indd 229
229
9/10/2563 16:53:19
History of buddhism....
วัดคอกวัว พระครูสิริสุวรรณาภรณ์ (สุรพล ภูริปญฺโญ วิสาธรรม) เจ้าอาวาสวัดคอกวัว
วัดคอกวัว ต�ำบลหนองโอ่ง อ�ำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี
230
4
เมื่อนายจอน - นางทองป้อม ศรีสมพงศ์ ได้ถวายที่ดิน 13 ไร่ 40 ตารางวา เพือ่ ให้สร้างวัด ด้วยความเห็นชอบของกระทรวงศึกษาธิการ และ มหาเถรสมาคม อนุญาตให้นายบัว เสงี่ยมสวัสดิ์ อยู่บ้านเลขที่ 15/2 หมู่ที่ 3 ต�ำบลหนองโอ่ง อ�ำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี สร้างวัดขึ้นที่บ้านคอกวัว หมู่ 3 ต�ำบลหนอง โอ่ง อ�ำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี ภายในก�ำหนดตั้งแต่ วันที่ 11 ธันวาคม 2522 ถึงวันที่ 10 ธันวาคม 2527 อนุญาตเมื่อวันที่ 18 มกราคม 2523
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 230
9/10/2563 13:23:46
ประวัติการตั้งวัด
ตามที่นายบัว เสงี่ยมสวัสดิ์ ได้รับอนุญาตให้สร้างวัด ณ หมู่ 3 ต�ำบลหนองโอ่ง อ�ำเภออูท่ อง จังหวัดสุพรรณบุรนี นั้ บัดนี้ ผูร้ บั อนุญาต พร้อมด้วยศรัทธาสาธุชนได้ก่อสร้างเสนาสนะขึ้นสมควรเป็นที่พ�ำนัก ของพระภิกษุสงฆ์ได้แล้วและด้วยความเห็นชอบของมหาเถรสมาคม กระทรวงศึกษาธิการจึงประกาศตัง้ เป็นวัดในพระพุทธศาสนา มีนามว่า “วัดคอกวัว” ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป เมื่อวันที่ 30 กันยายน 2523 ก็ มีพระสงฆ์มาน�ำพาชุมชนหมู่ 3 พัฒนาวัดมาตามล�ำดับ จนถึงปี พ.ศ. 2529 จึงแต่งตั้ง พระปลัดถวิล เป็นเจ้าอาวาสรูปแรก เมื่อปี พ.ศ.2529 ด้วยอาการอาพาธจึงขอลาออกจากต�ำแหน่งเจ้าอาวาส ปีพ.ศ. 2541 เมื่อวันที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2543 ชาวบ้านได้ไปนิมนต์พระมหา สุรพล ภูริปญฺโญ เปรียญธรรม 5 ประโยค จากวัดปฐมบุตรอิศราราม เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร มารักษาการแทนองค์เก่า และได้รับ การแต่ ง ตั้ ง ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง ปี พ .ศ.2545 จนถึ ง ปั จ จุ บั น และรั บ พระราชทานสมณศักดิ์ที่ “พระครูสิริสุวรรณาภรณ์” เป็นเจ้าอาวาส วั ด ราษฎร์ ชั้ น เอก วั ด คอกวั ว ได้ รั บ วิ สุ ง คามสี ม าเมื่ อ วั น ที่ 29 พฤษภาคม 2560 เขตวิสุงคามสีมากว้าง 22 เมตร ยาว 57 เมตร
ประวัติพระประธานในอุโบสถ (หลวงพ่ออู่ทอง)
เมื่อปีพ.ศ.2546 นายปริญญา วงษ์สืบและนายช่างตี๋ ได้มา ปรารภเรื่องหล่อพระประธานในอุโบสถว่า ”ผมและทีมงานจะขึ้นหุ่น พระ ถวาย” ในราคา 500,000 บาท (ห้าแสนบาท) ทางวัดพร้อม คณะกรรมการจึ ง มี ฉั น ทามติ ใ ห้ เ ททองหล่ อ ประธาน เป็ น สมั ย ”อู่ทอง” ขนาดหน้าตัก 129 นิ้ว ( 6ศอก 9 นิ้ว )ได้ก�ำหนดเททอง เมื่อ วันที่ 5 ธันวาคม 2546 และได้อัญเชิญขึ้นชั้นบนเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม 2552 SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
4
.indd 231
231
9/10/2563 13:23:56
ท�ำเนียบเจ้าอาวาส
1. พระปลัดถวิล น.ธ.เอก 2. พระครูสิริสุวรรณาภรณ์
232
4
พ.ศ. 2530 – 2541 มรณภาพ พ.ศ. 2543 – ปัจจุบัน
ประวัติเจ้าอาวาส วัดคอกวัว พอสังเขป
พระครูสิริสุวรรณาภรณ์ (สุรพล ภูริปญฺโญ วิสาธรรม) พระครูสิริสุวรรณาภรณ์ นามสกุล วิสาธรรม เกิดเมื่อวันพฤหัสบดี ที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2504 บ้านเลขที่ 12 หมู่ 1 ต�ำบลเวียงค�ำ อ�ำเภอกุมภวาปี จังหวัดอุดรธานี เป็นบุตรคนที่ 6 ของคุณพ่อเสาร์ - คุณแม่ทองสี วิสาธรรม บรรพชาอุปสมบท เมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2525 ณ พัทธสีมาวัดศรีบุญเรือง ต�ำบลเวียงค�ำ อ�ำเภอกุมภวาปี จังหวัด อุดรธานี โดยมี พระครู บุญญาภิสิทธิ์ เป็นพระอุปัขฌาย์, พระอธิการค�ำสิงห์ จนฺทปญฺโญ เป็ น พระกรรมวาจาจารย์ , พระอาจารย์ ป ระจั ก ร จกฺ ก วโร เป็ น พระอนุสาวนาจารย์ การศึกษาสามัญ จบชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ณ โรงเรียนบ้านนาแบก ต�ำบลเวียงค�ำ อ�ำเภอกุมภวาปี จังหวัดอุดรธานี การศึกษาทางธรรม พ.ศ. 2525 สอบได้นักธรรมชั้นตรี สหศึกษาบาลวัดอู่ทอง อ�ำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี พ.ศ. 2526 สอบได้นักธรรมชั้นโท สหศึกษาบาลวัดอู่ทอง อ�ำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี พ.ศ. 2527 สอบได้นักธรรมชั้นเอก สหศึกษาบาลวัดอู่ทอง อ�ำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี พ.ศ. 2528 สอบได้ประโยค 1-2 สหศึกษาบาลวัดอู่ทอง อ�ำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี พ.ศ. 2529 สอบได้ประโยค ป.ธ.3 สหศึกษาบาลวัดอู่ทอง อ�ำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี พ.ศ. 2533 สอบได้ประโยค ป.ธ.4 ส�ำนักเรียนวัดนิมมารดี ภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2534 สอบได้ประโยค ป.ธ.5 ศาสนศึกษาวัดจันทร์ บางกรวย จังหวัดนนทบุรี
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 232
9/10/2563 13:24:05
SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
4
.indd 233
233
9/10/2563 13:24:10
History of buddhism....
วัดพระธาตุโพธิ์ทอง พระอธิการอุทัย อุทโย เจ้าอาวาสวัดพระธาตุโพธิ์ทอง
วัดพระธาตุโพธิ์ทอง ตั้งอยู่หมู่ที่ 12 บ้านโพธิ์ทอง ต�ำบลจรเข้สามพัน อ�ำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี
234
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
4
.indd 234
8/10/2563 11:47:14
ประวัติวัดพระธาตุโพธิ์ทอง โดย พระอธิการอุทัย อุทโย
พระอธิการอุทัย อุทโย อุปสมบทที่วัดดอยธรรมเจดีย์ จังหวัด สกลนคร เมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2534 อยู่จ�ำพรรษากับ พ่อแม่ครูอาจารย์แบน ธนากโร 10 พรรษา ปี พ.ศ. 2544 ได้ออกจากวัดดอยธรรมเจดีย์ ไปพักจ�ำพรรษา ณ ที่พักสงฆ์บ้านท่ากระดาน อ�ำเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี ซึ่ง หลวงปู่สงวน ยุตตฺธมฺโม วัดธุดงคนิมิต จังหวัดกาญจนบุรีเมตตา ส่งไป ก่อนออกพรรษาในปีนั้น คุณนงลักษณ์ โอเอี่ยมสุวรรณ ซึ่งเป็น ญาติธรรมเก่าแก่ตั้งแต่ข้าพเจ้ามาพักภาวนาจ�ำพรรษาอยู่ที่ภูเขาซ่อน หม้อเมื่อปี พ.ศ. 2539 ได้ไปนิมนต์ให้ช่วยมาโปรดหลานชายซึ่งเป็น นายต�ำรวจ ได้ป่วยเป็นเนื้องอกในสมองอาการน่าเป็นห่วง ข้าพเจ้า ได้สั่งให้คุณนงลักษณ์ หาสถานที่ ที่ร่มรื่นใกล้ๆ ตลาดเขตโดยไม่เอา ที่ภูเขาซ่อนหม้อเพราะไม่สะดวกบางอย่าง หลังจากทีค่ ณ ุ นงลักษณ์กลับไปแล้วก็ได้ไปหาทีพ่ กั ให้ขา้ พเจ้าตาม ที่ได้สั่งไป เธอได้ไปเห็นสวนของคุณเกตุทอง แซ่โห ซึ่งอยู่ไม่ไกลจาก ตลาดเขตมากนักและบรรยากาศสงบร่มรื่นดีมาก จึงได้ปรึกษาขอ อนุญาตคุณเกตุทองเพื่อให้ข้าพเจ้าได้มาพักในสวนของเธอ ก็นับว่า เป็นโชคดีที่คุณเกตุทองเธอจ�ำข้าพเจ้าได้ในสมัยที่มาพักอยู่ที่ภูเขา ซ่อนหม้อ และมาบิณฑบาตที่บ้านของเธอเป็นบ้านรองสุดท้าย เธอ จึงยินดีอย่างยิ่งและช่วยกันสร้างกุฏิไม้ไผ่มุงหญ้าคาเสร็จในวันเดียว เลย เมื่อออกพรรษาแล้วข้าพเจ้าจึงรีบเดินทางมาเยี่ยมคนป่วยและ พักภาวนาที่สวนคุณเกตุทองตามที่รับปากไว้ เมื่ออยู่นานเข้าข้าพเจ้า ก็ยังไม่ได้คิดไปไหนต่อ ญาติโยมในตลาดที่เคยคุ้นกันตั้งแต่มาอยู่ที่ ภูเขาซ่อนหม้อและชาว ร.ร.การบิน ซึ่งเคยเป็นที่ท�ำงานเก่าของ ข้าพเจ้า ได้พากันมาท�ำบุญตักบาตรฟังเทศน์ทุกเช้ามากขึ้น จนต้อง ขออนุญาตคุณเกตุทอง สร้างศาลาฉันแบบง่ายๆ มุงจากเพื่อเอาไว้ รับรองญาติโยมทีม่ าหา ในทีส่ ดุ คุณเกตุทอง อยากให้ขา้ พเจ้าอยูถ่ าวร ณ ที่ตรงนี้ เธอจึงได้ถวายที่ให้ซึ่งเป็นที่ชายธงจ�ำนวน 1 ไร่กับอีก 33 ตารางวา ข้าพเจ้าจึงตั้งชื่อสถานที่นี้ว่า “ ธรรมสถานบ้านโพธิ์ทอง” เมื่อข้าพเจ้าอยู่นานวันนานปีเข้า ก็มีศรัทธาญาติโยมจ�ำนวนมากเข้า มาถวายอาหารมากขึ้น ต่อมาก็เริ่มเข้ามาสวดมนต์ภาวนาด้วยมากขึ้น ข้าพเจ้าจึงจ�ำต้องสร้างกุฏิที่พักเพิ่มขึ้น สร้างศาลาสวดมนต์ สร้าง ห้ อ งน�้ ำ สร้ า งโรงครั ว เพื่ อ รองรั บ ศรั ท ธาญาติ โ ยมที่ เ พิ่ ม มากขึ้ น เป็นล�ำดับ ปี พ.ศ. 2551 มีโยมท่านหนึ่งศรัทธาข้าพเจ้ามาก ได้ถวายปัจจัย ให้ใช้ส่วนตัว 1,000,000 บาท ข้าพเจ้าไม่รู้ว่าจะใช้ปัจจัยนั้นท�ำอะไร ให้เกิดประโยชน์ดีในตอนนั้น มองเห็นศรัทธาของชาวบ้านที่เข้ามา เกี่ยวข้อง พวกเขาเป็นคนมีน�้ำใจว่านอนสอนง่าย เราจ�ำต้องตอบแทน น�้ำใจเขา คิดดังนั้นแล้วข้าพเจ้าก็ชักชวนชาวบ้านที่เข้ามาเกี่ยวข้อง ด้วยดี เหมารถให้ไปกราบพระบรมสารีริกธาตุตามพระเจดีย์ทางภาค เหนือโดยไม่เก็บค่าใช้จ่ายใดๆ ทั้งสิ้น ปรากฏว่าทุกคนมีความสุขมาก SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
4
.indd 235
235
8/10/2563 11:47:26
เมื่อกลับมาถึงวัดข้าพเจ้าก็มาพิจารณาว่า ถ้าจะพาชาวบ้าน ไปฟรีๆ อย่างนี้ทุกปีคงท�ำไม่ได้ และถ้าจะให้ข้าพเจ้าเก็บเงินคน ที่ไปด้วยก็น่าจะไม่สะดวกเช่นกัน ข้าพเจ้าเลยลองถามความเห็น เหมื อ นประชาพิ จ ารณ์ ว ่ า ถ้ า เรามี พ ระเจดี ย ์ บ รรจุ พ ระบรม สารีริกธาตุของเราเอง เราสามารถกราบไหว้ได้ทุกเวลาจะดีไหม ? ปรากฏว่าเกือบ 500 คนเห็นด้วย ในปีพ.ศ. 2553 ผอ.นรุตม์ ภัทรวารินทร์ เจ้าของ ร.ร.รัตน ไพศาล ซึ่งเป็นญาติธรรมที่มีก�ำลังความสามารถคนหนึ่ง ได้เป็น ผู ้ ริ เริ่ ม โครงการระดมทุ น เพื่ อ น� ำ มาซื้ อ ที่ ดิ น จากคุ ณ ประจวบ พลายมี และคุณเบญจวรรณ อ่อนวันทา สองคนพี่น้องคนละ แปลงรวมกัน 22 ไร่เศษ ในราคาไร่ละ 100,000 บาทถ้วน ซึ่งคุณ ประจวบและคุณเบญจวรรณ มีจิตศรัทธาถวายให้คนละ 1 ไร่ ต้นเดือนเมษายน พ.ศ. 2545 ขณะก�ำลังปรับที่ถมดินและให้ รถแม็คโครขุดร่องน�้ำเป็นเขตแดนอยู่นั้น คุณบุญช่วย พูลสวัสดิ์ และครอบครัวเกิดศรัทธาถวายที่ดินติดกันเพิ่มทางด้านเหนือให้ อีก 4 ไร่ 3 งาน 71 ตารางวา
236
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
4
.indd 236
8/10/2563 11:47:30
วันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2554 สมเด็จพระมหามุนีวงศ์ (สมเด็จ พระสังฆราชองค์ที่ 20 ) วัดราชบพิธ เป็นประธานวางศิลาฤกษ์พระ มหาเจดีย์ สะพานข้ามคลองสู่พระมหาเจดีย์ ยาว 12 เมตร กว้าง 9 เมตร ราคา 1,200,000 บาท ได้รับการอนุเคราะห์ก่อสร้างให้โดย คุณทรงกลด จานทองธิติ ซึ่งเป็นเจ้าของโรงปูนเขตรุ่งเรือง ตลาดเขต ทั้งนี้คุณทรงกลดได้มีจิตศรัทธาถวายปัจจัยประเดิมให้ 200,000 บาท ส่วนค่าจ้างที่เหลือ 1,000,000 บาทเป็นเงินบริจาคทั่วไป ข้าพเจ้าได้ให้เกียรติตั้งชื่อสะพานนี้ว่า "สะพานทรงกลด" ถนนลาดยางแอสฟัลส์ จากทางแยกมาสู่สะพานข้ามไปพระมหา เจดีย์ระยะทาง 800 เมตร ราคาเกือบ3,000,000 บาท ถวายให้ ทั้งหมดโดยคุณสมัคร จงสมจิตต์ และผู้ใหญ่ชากร จงสมจิตต์ เพื่อ อุทิศผลบุญให้กับคุณสุพจน์ จงสมจิตต์ น้องชายคนเล็กซึ่งเพิ่งเสีย ชีวิตไป การตั้งเสาไฟฟ้าแรงสูงและการเดินสายไฟ 3 เฟส รวมทั้งการติด ตั้งหม้อแปลง ค่าใช้จ่ายทั้งสิ้น550,000 บาท จากเงินบริจาคทั่วไป, แท็งค์น�้ำสูง 22 เมตรจุ 10,000 ลิตร ราคา 350,000 บาท จากเงิน บริจาคทั่วไป วันที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558 ได้รับอนุญาตให้สร้างวัด วัน ที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2559 ได้รับอนุญาตให้ตั้งวัด เนื้อที่ขออนุญาต ตั้งวัด 7 ไร่ 3 งาน 50 ตารางวา ปัจจุบัน ( 25 ก.ค.61 ) วัดพระธาตุ โพธิ์ทองมีเนื้อที่ทั้งหมด 27 ไร่ 36 ตารางวา วันที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2562 วัดพระธาตุโพธิ์ทอง ได้รับการถวาย ที่ดินเพิ่มอีก 1 ไร่ 57 ตารางวาจากคุณ เกตุชุลี แซ่โห รวมเป็นที่ดิน ของวัดทั้งสิ้น 28 ไร่กับอีก 98 ตารางวา แปลงที่ 1 - 7 ไร่ 3 งาน 50 ตารางวา โฉนดเลขที่ 25390 แปลงที่ 2 - 14 ไร่ 1 งาน 20 ตารางวา โฉนดเลขที่ 25386 แปลงที่ 3 - 4 ไร่ 3 งาน 71 ตารางวา โฉนดเลขที่ 674713 แปลงที่ 4 - 1 ไร่ 57 ตารางวา โฉนดเลขที่ 53454 รวมเป็นที่ดินของวัดทั้งสิ้น 28 ไร่กับอีก 98 ตารางวา
พระอธิการอุทัย อุทโย
เจ้าอาวาสวัดพระธาตุโพธิ์ทอง SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
4
.indd 237
237
8/10/2563 11:47:37
History of buddhism....
วัดโพธาราม พระครูอนุกูลปัญญาวุธ เจ้าคณะตำ�บลกระจัน-เจดีย์/ เจ้าอาวาสวัดโพธาราม
วัดโพธาราม ตั้งอยู่เลขที่ 1 หมู่ 6 ต�ำบลจระเข้สามพัน อ�ำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี
238
3
วัดโพธาราม ตั้งอยู่ริมแม่น�้ำจรเข้สามพัน ต�ำบลจรเข้สามพัน อ�ำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี เป็นวัดเก่าอยู่ คูช่ มุ ชนจรเข้สามพัน บรรยากาศร่มรืน่ มีโบราณสถาน คืออุโบสถเก่า(วิหารทอง) ประดิษฐานหลวงพ่อดวงดี พระพุทธรูปศักดิส์ ทิ ธ์อายุ 300 กว่าปี นอกจากนี้ยังเป็นวัดที่มีเกจิชื่อดังของสุพรรณบุรี คือ หลวงปู่เปี้ยน ชินปุตฺโต (พระครูสัทธานุสารี อดีตเจ้าคณะแขวงจรเข้สามพัน อดีตเจ้าอาวาสวัดโพธาราม ) และยังเป็นวันเก่าบ้านเกิดของ นักร้องชื่อดัง สังข์ทอง สีใส
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 238
8/10/2563 11:39:24
วิหารทอง วัดโพธาราม
วิ ห ารทองวั ด โพธาราม เดิ ม เป็ น อุ โ บสถเก่ า ของวั ด โพธาราม สันนิษฐาน ว่าน่าจะสร้างขึ้นในสมัยเมืองอู่ทองเจริญรุ่งเรือง โดยเป็น ฐานอิฐมอญโบราณ และถูกทิ้งร้างไป จนมาถึงช่วงอยุธยาตอนปลาย จึงได้มีชาวบ้านมาตั้งหมู่บ้านริมแม่น�้ำจรเข้สามพัน และได้บูรณะ วัดโพธารามให้เจริญรุง่ เรือง และได้บรู ณะฐานอุโบสถโดยก่ออิฐถือปูน ผนังโดยรอบ ให้เป็นอุโบสถมหาอุตม์ มุงหลังคาด้วยกระเบื้องดินเผา และสร้างก�ำแพงแก้วย่อมุม 12 มีซุ้มประตูทางเข้าทั้ง 2 ด้าน ที่หน้า บันซุ้มประตู มีปฏิมากรรมปูนปั้นโบราณ ลวดลาย ครุฑยุดนาค ประดับลวดลายด้วยสีโบราณและถ้วยกระเบือ้ งเคลือบ สวยงาม มีเจดีย์ โบราญย่อมุมไม้ 12 อยู่ 2 องค์ ด้านหน้าวิหาร 1 องค์ ด้านหลัง 1 องค์ ภายในประดิษฐานพระพุทธรูปปูนปัน้ ปางมารวิชยั ศิลปะอยุธยา เป็น ประธานอุโบสถ อุโบสถหลังนี้ ใช้ท�ำสังฆกรรมและท�ำวัตร สวดมนต์ มาจนถึงปี พ.ศ. 2510 เพราะว่าวัดโพธารามได้ก่อสร้างอุโบสถหลัง ใหม่เสร็จและได้จัดงานผูกพัทธสีมาอุโบสถหลังใหม่ จึงท�ำให้อุโบสถ หลังเก่าถูกยกเป็นวิหาร และเป็นทีจ่ ำ� พรรษาของพระภิกษุสงฆ์สามเณร ช่วงปี พ.ศ. 2540 วิหารหลังนีช้ ำ� รุดทรุดโทรมมาก ทางวัดจึงไม่อนุญาต ให้เข้าไปด้านในเพราะกลัวจะพังทลาย และถูกทิ้งร้างไป จนถึงปี พ.ศ. 2557 มีกลุม่ คนร่วมทางและชาวบ้านมาขอบูรณปฏิสงั ขรณ์วหิ ารและ พระพุทธรูป ปิดทองค�ำพระพุทธรูปทั้งองค์ มุงกระเบื้องหลังคาด้วย กระเบื้องดินเผาโบราณ ใช้เวลาบูรณะ 1 ปี กับ 6 เดือน แล้วเสร็จ ใน ช่วงเดือนเมษายน พ.ศ. 2559 กลุ่มคนร่วมทางและชาวบ้าน จรเข้สามพันจึงพร้อมใจกันถวายนามพระประธานวิหารทอง ว่า หลวงพ่อดวงดี และเชือ่ กันว่า ใครได้มากราบไหว้ขอพร หลวงพ่อดวงดี พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์คู่บ้านคู่เมืองอู่ทอง แล้วจะดวงดี โชคดี เจริญ รุ่งเรือง ประสบความส�ำเร็จในหน้าที่การงาน มีความสุข สมปรารถนา ตามที่ตั้งใจ
วัดโพธารามยังเป็นวัดที่มีเกจิที่โด่งดัง คือหลวงปู่เปี้ยน ชินปุตฺโต หรือ พระครูสัทธานุสารี อดีตเจ้าแขวงจรเข้สามพัน อดีตเจ้าอาวาส วัดโพธาราม เป็นวันเก่าบ้านเกิดของนักร้องชื่อดัง คือ สังข์ทอง สีใส (เปีย๊ ก ศรีเหรา) และได้ขบั ร้องเพลงคิดถึงบ้านเกิด ทีม่ เี นือ้ เพลง กล่าว ถึงหลวงปู่เปี้ยน วัดโพธาราม และหมู่บ้านจรเข้สามพัน จึงท�ำให้ วัดโพธาราม เป็นที่รู้จักของคนทั่วไป
SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
3
.indd 239
239
8/10/2563 11:39:34
หลวงปู่เปี้ยน วัดโพธาราม อู่ทอง สุพรรณบุรี
พระครูสัทธานุสารี (เปี้ยน ชินปุตฺโต) เจ้าอาวาสวัดโพธาราม (จรเข้สามพัน) หลวงปู่เปี้ยน เกิดเมื่อปีพ.ศ.2397 เป็นเจ้าคณะแขวง อ�ำเภอจรเข้สามพันรูปแรก(เมื่อก่อนอู่ทองยังไม่ใช่อ�ำเภอ) เหรียญ รุ่นแรกสร้างปีพ.ศ.2460 เป็นที่ระลึกส�ำหรับท่านผู้บริจาคทรัพย์สร้าง โรงเรียนธรรมวัดโพธาราม เหรียญรุน่ สองสร้างเป็นทีร่ ะลึกได้รบั พระครู สัญญาบัตรพระครูสัทธานุสารี พ.ศ.2471 หลวงปู่เปี้ยนมรณภาพเมื่อ ปี พ.ศ.2477 รวมอายุ 80 ปี
พระครูอนุกูลปัญญาวุธ เจ้าคณะต�ำบลกระจัน-เจดีย์/ เจ้าอาวาสวัดโพธาราม
240
3
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 240
8/10/2563 11:39:42
Buddhism
in Thailand
Everything You Need to Know About Buddhism in Thailand There are some 30,000 Buddhist temples in Thailand.
SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 241
241
13/10/2563 12:20:14
History of buddhism....
วัดโสภาวราราม (หนองกุฏิ) พระครูโสภณชยานุศาสน์ (ขวัญชัย ขนฺติโก) เจ้าอาวาสวัดโสภาวราราม (หนองกุฏิ) เจ้าคณะตำ�บลพลับพลาไชย เขต 2 / เลขานุการเจ้าคณะอำ�เภออู่ทอง
วัดโสภาวราราม (หนองกุฏิ) ตั้งอยู่เลขที่ 69 หมู่ที่ 7 ต�ำบลพลับพลาไชย อ�ำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี
วัดโสภาวราราม (หนองกุฏิ) ตั้งอยู่เลขที่ 69 หมู่ที่ 7 ต�ำบลพลับพลาไชย อ�ำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี รหัสไปรษณีย์ 72160 โทรศัพท์ 081 – 3834987 สถานที่วัดห่างจากที่ตั้งอ�ำเภออู่ทองประมาณ 13 กิโลเมตร วัดตั้งอยู่ทิศตะวันตกของจังหวัดสุพรรณบุรี ห่างจากอ�ำเภอเมืองสุพรรณบุรีประมาณ 21 กิโลเมตร กรมศาสนาอนุญาตให้สร้างวัดเมื่อวันที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2508 ที่ดินตั้งวัด 27 ไร่ 2 งาน 28 ตารางวา โฉนดเลขที่ 2019 – 36159, เลขที่ 30494 -17025, เลขที่ 16679 รวม 5 แปลง พื้นที่ติดกัน ปัจจุบันมีพระภิกษุ จ�ำพรรษา 14 รูป สามเณร 5 ศิษย์วัด 5 คน พระครูสุวรรณโพธิวัฒน์ เจ้าอาวาสรูปแรกได้น�ำพาประชาชน เริ่มสร้างวัดขึ้นที่หมู่บ้านหนองกุฏิ อดีตหมู่ที่ 8 ต�ำบลบ้านโข้ง อ�ำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี สร้างกุฏิ วันศุกร์ที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2499 ปีมะแม ( แรม 11 ค�่ำเดือน 5) 242
(
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
)2
.indd 242
9/10/2563 13:59:48
ประว
ขอเชิญมหาเศรษฐีใจบุญร่วมบริจาคทรัพย์
เพื่อบ�ำรุงวัดเป็น-ค่าน�้ำ ค่าไฟ เป็นเจ้าภาพสร้างศาลาปฏิบัติ ธรรมมหาเจดีย์ศรีสุวรรณภูมิวัดโสภาวราราม (หนองกุฏิ) จึงขอเชิญ สาธุชนทุกท่านร่วมท�ำบุญมหากุศลแบบออนไลน์ ตามก�ำลังศรัทธา โดยโอนเงินผ่านบัญชีธนาคารของทางวัด บัญชีธนาคารออมสิน ชื่อบัญชี : วัดโสภาวราราม QR สาธุ บัญชี เลขที่ 020246051856 สาขาอู่ทอง หรือ บัญชีธนาคารกรุงไทย ชื่อบัญชี : วัดโสภาวราราม บัญชีเลขที่ 725-0-02333-0 สาขาอู่ทอง
แผนการพัฒนาวัดโสภาวราราม (หนองกุฏิ) ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2551 – ปัจจุบันและในอนาคต
พระครูโสภณชยานุศาสน์ (ขวัญชัย ขนฺติโก) เจ้าอาวาสวัดโสภาวราราม (หนองกุฏิ) เจ้าคณะต�ำบลพลับพลาไชย เขต 2 / เลขานุการเจ้าคณะอ�ำเภออู่ทอง
รายนามเจ้าอาวาสวัดโสภาวราราม (หนองกุฏิ)
รูปที่ 1 พระครูสุวรรณโพธิวัฒน์ (ประเดิม ฐิตปุญโญ) พ.ศ. 2499 – 2548 รูปที่ 2 พระอธิการสายันต์ ชยธมฺโม พ.ศ. 2548 – 2550 รูปที่ 3 พระครูโสภณชยานุศาสน์ (ขวัญชัย ขนฺติโก) พ.ศ. 2551 – ปัจจุบัน
ถาวรวัตถุส�ำคัญในวัด
1. พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ปางปฐมเทศนาเมืองบาดาล 2. พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ปางปฐมเทศนาเมืองบาดาลไม้ตะเคียน อายุกว่า 100 ปี 3. รอยพระพุทธบาทศักดิ์สิทธิ์แกะสลักด้วยไม้ตะเคียนอายุกว่า 100 ปี 4. พญาคชสีห์ทอง – พญาคชสีห์เงินประดิษฐานอยู่หน้าวัด 5. ศาลามหาเจดีย์ศรีสุวรรณภูมิ (วัดโสภารวราราม) ด�ำเนินการ ก่อสร้างด้วยพลังศรัทธาของชาวบ้าน
1. โครงการบูรณปฏิสังขรณ์ศาลาการเปรียญ เป็นเงิน 1,500,000 บาท 2. โครงการต่อเติมศาลาร่วมใจ(ศาลาธรรมสังเวช) เป็นเงิน 1,250,000 บาท 3. โครงการสร้างซุ้มประตูทางเข้าวัด เป็นเงิน 600,000 บาท 4. โครงการบูรณะหอสวดมนต์หลังเก่า ยก ย้าย ปูพื้นหินแกรนิต 1,105,000 บาท 5. ปั้นคชสีห์พร้อมแท่น เป็นเงิน 70,000 บาท 6. โครงการสร้างรั้วก�ำแพงแก้วติดกระจกและสะแตนเลส 1,300,000 บาท 7. โครงการสร้างกุฏิทรงไทย (กุฏิสงวนทรัพย์) ร่วมเป็นเจ้าภาพ 200,000 บาท 8. โครงการสร้างพระปางปฐมเทศนาเมืองบาดาล เป็นเงิน 595,000 บาท 9. โครงการบูรณะกุฏิพระสงฆ์หลังเก่า เป็นเงิน 150,000 บาท 10. โครงการสร้างห้องสมุดหนังสือในศาลาชั้นล่าง 20,000 บาท 11. โครงการสร้างศาลามุกทรงไทยหน้าบันไดศาลาการเปรียญ 350,000 บาท 12. โครงการสร้างศาลาพักร้อน 2 หลัง 70,000 บาท 13. โครงการสร้างกุฏิพระสงฆ์ 2 ห้อง พร้อมที่เก็บของ เป็นเงิน 205,000 บาท 14. โครงการท�ำป้ายโฆษณาหน้าวัด เป็นเงิน 40,000 บาท 15. โครงการสร้างศาลาปฏิบัติธรรม 2 ชั้นหลังคายอดองค์ปฐม เจดีย์ศรีสุวรรณภูมิ งบประมาณ 15,000,000 บาท
พระครูโสภณชยานุศาสน์ เจ้าคณะต�ำบลพลับพลาไชย เขต 2 เลขานุการเจ้าคณะอ�ำเภออู่ทอง เจ้าอาวาสวัดโสภาวราราม โทร 081-383-4987 SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
(
)2
.indd 243
243
9/10/2563 13:59:58
เ มีหนิ เมื่อป นคร เนื่อง และน สมค ปี พ. บุ ญ ก วิสงุ ค ปี พ.ศ ซึ่งด�ำ
History of buddhism....
วัดโภคาราม พระครูกิตติสุวรรณวัฒน์ ที่ปรึกษาเจ้าคณะ อำ�เภออู่ทอง เจ้าอาวาสวัดโภคาราม (วัดดอนคา)
วัดโภคาราม ตั้งอยู่เลขที่ 201 ถนนสายบ้านดอนคา ต�ำบลดอนคา อ�ำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี
244
2
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 244
เมื่อผู้คนอพยพย้ายถิ่นฐานบ้านเรือนมาตั้งมั่นอยู่ ณ หมู่บ้านดอนคาแห่งนี้ ซึง่ ราษฎรทุกคนในสมัยนัน้ นับถือพระพุทธศาสนา เป็นเครือ่ งยึดเหนีย่ วจิตใจ ท�ำให้ อยู่ร่วมกันได้อย่างปกติสุข “วัดดอนคา” ก�ำเนิดขึ้นมาพร้อมกับการตั้งหมู่บ้าน สันนิษฐานว่าน่าจะมีอายุเก่าแก่ประมาณ 100 กว่าปีมาแล้ว โดยมีหลวงพ่อธรรม เป็นเจ้าอาวาสองค์แรก ท่านเป็นบุตรของพ่อคุณหงษ์ สถานที่ตั้งวัดในอดีตนั้นอยู่ บริเวณตลาดวัดเก่ามีแม่น�้ำไหลผ่าน ท�ำให้การเดินทางของผู้คนในสมัยนั้นสะดวก สบายในการติดต่อค้าขาย และไปมาหาสู่กัน หลวงพ่อธรรม ได้เป็นเจ้าอาวาส รู ป แรก เป็ น ศู น ย์ ร วมจิ ต ใจของพุ ท ธศาสนิ ก ชนชาวพุ ท ธ เป็ น ผู ้ ว างรากฐาน การปฏิบัติตนที่ดีตามค�ำสอนของพระพุทธเจ้าแก่ชาวบ้านดอนคา
9/10/2563 15:07:34
เจ้าอาวาสองค์ที่ 2 คือ หลวงพ่อคง เนื่องจากวัดดอนคาเดิมอยู่ ติดแม่น�้ำและมีสถานที่ คับแคบไม่สามารถขยายขอบเขตของวัดเพื่อ ก่ อ สร้ า งบู ร ณะปฏิ สั ง ขรณ์ วั ด ให้ เ พี ย งพอต้ อ นรั บ พุ ท ธศาสนิ ก ชน ทั้งหลายได้ ถึงฤดูเข้าพรรษาไม่สามารถมาลงปาฏิโมกข์เพราะต้อง ข้ามน�้ำ ไปลงที่สินน�้ำสระใหญ่วัดโภคารามในปี พ.ศ. 2444 ได้ท�ำการ ย้ายกุฏิจากวัดเก่ามาอยู่ที่วัดโภคารามในปัจจุบัน และในปี พ.ศ. 2450 ได้ประกอบพิธีฝังลูกนิมิตอุโบสถหลังแรกหลังเก่า หลวงพ่อคง ได้ท�ำนุบ�ำรุงวัดโภคารามจนเป็นที่เลื่อมใสศรัทธาแก่พุทธศาสนิกชน ทั้งหลาย ให้อยู่ร่วมกันได้อย่างสงบสุขทุกครัวเรือน เจ้ า อาวาสองค์ ที่ 3 หลวงพ่ อ เหมื อ น ปิ ติ ธ ม.โม ท่ า นเป็ น หมอยาประจ�ำหมู่บ้าน ใครเจ็บไข้ได้ป่วยจะท�ำการรักษาให้และได้ สั่งสอนลูกศิษย์ลูกหาให้ใช้สูตรคิดหาพื้นที่ไร่ที่นา ในปี พ.ศ. 2471 หลวงพ่อเหมือนพร้อมด้วยคณะศิษยานุศิษย์ ชาวบ้านดอนคา ได้น�ำ เกวียนไปอัญเชิญพระพุทธรูปองค์ใหญ่ที่วัดหัวตาหนู อยู่เหนือวัดตีน เป็ดมาประดิษฐานที่เหนืออุโบสถ วัดโภคาราม ชาวบ้านเรียกขาน “หลวงพ่อพระใหญ่” เนือ่ งจากในสมัยนัน้ พระพุทธรูปองค์นี้ มีขนาดใหญ่ ทีส่ ดุ ในเขตเหนืออ�ำเภออูท่ องขึน้ มา หลวงพ่อพระใหญ่เป็นพระพุทธรูป ที่มีบารมีแก่กล้าเป็นที่เลื่อมใสศรัทธาแก่บุคคลทั้งหลาย ใครมีทุกข์มี ร้อนอันใดมาขอพรจากทาน ท่านจะโปรดประทานพรให้กับทุกคน ได้รับความส�ำเร็จสมความมุ่งมาดปรารถนาทุกประการ ในกาลต่อมาพระอาจารย์อุ่นเป็นลูกศิษย์ที่หลวงพ่อเหมือนส่งไป เรียนธรรมะที่วัดบ้านเก่า อ. บางปลาม้า เรียนจบแล้วกลับมาอยู่ จ�ำพรรษาทีว่ ดั โภคาราม หลวงพ่อเหมือนจึงลาญาติโยมชาวบ้านดอนคา มาอยู ่ ที่ บ ้ า นหนองหมี จากนั้ น จึ ง เดิ น ธุ ด งค์ ไ ปตามสถานที่ ต ่ า งๆ แล้วไปจ�ำพรรษาอยู่ที่เขาหน่อนาหุบ จ.นครสวรรค์ เจ้าอาวาสองค์ที่ 4 คือ พระอธิการอุ่น อินทโชโต เป็นบุตรของ นายเฮ้า - นางเสาร์ ได้บรู ณะปฏิสงั ขรณ์วดั โภคารามต่อมานานหลายปี แล้วจึงลาสิกขา เจ้าอาวาสองค์ที่ 5 คือ หลวงพ่อเพ็ง ปุญญมโณ บุตรนายฐา นางดา ในปี พ.ศ. 2485 หลังพระอาจารย์อุ่นลาสิกขาแล้วญาติโยมทั้งหลาย จึงได้แต่งตั้ง หลวงพ่อเพ็งขึ้นเป็นเจ้าอาวาสองค์ต่อมา ท่านเรียน คาถา เรือ่ งตะกรุดยาวเท่าอก ในปี พ.ศ. 2481 ได้นำ� พาชาวบ้านร่วมกัน สร้างศาลาการเปรียญขึ้น 1 หลัง ท่านได้บูรณะปฏิสังขรณ์วัดมา อีกนานหลายปี จึงได้มรณะภาพในปี พ.ศ. 2493 เจ้าอาวาสองค์ที่ 6 คือ หลวงพ่อเหมือน ปิติธมโม หลังจาก หลวงพ่อเพ็งมรณะภาพแล้ว ในปี พ.ศ. 2495 ชาวบ้านดอนคาได้ไป นิมนต์หลวงพ่อเหมือนที่วัดเขาหน่อนาหุบให้มาอยู่จ�ำพรรษาเป็น เจ้าอาวาสวัดโภคาราม ในปี พ.ศ. 2496 ชาวบ้านดอนคาได้ร่วมกัน จัดซื้อเครื่องไฟยี่ห้อ "โอแนน" เครื่องขยายฮอร์น อาร์ ซี เอ (RCA) ปิคอั๊บการ์ราส ไมค์ชัวร์ ถวายไว้เป็นสมบัติของวัด ท่านได้มรณะภาพ ในปี พ.ศ. 2499 จากนั้นวัดโภคารามได้ว่างเว้นเจ้าอาวาส ปกครองวัด
เจ้าอาวาสองค์ที่ 7 คือ พระครูศุภการโกศล ( เงิน สุภวโร ) บุตรนายอ้ม-นางพลอย เป็นบุตรชายคนโต ท่านอุปสมบทตั้งแต่ปี พ.ศ. 2494 แล้วไปจ�ำพรรษาอยูว่ ดั ทางภาคอีสานอยู่ 2 ปี ในปี พ.ศ. 2502 ชาวบ้านจึงไปนิมนต์ให้ท่านกลับมาเป็นสมภารที่วัดโภคาราม จนถึง พ.ศ. 2516 ตลอดระยะเวลาที่หลวงพ่อเงินได้เป็นเจ้าอาวาส ท่านได้ บริหารปกครองวัดโภคารามด้วยดีตลอดมา ท่านได้วางกฎระเบียบ แบบแผน การด�ำเนินชีวิตที่ถูกต้องดีงาม อบรมสั่งสอนบุตรหลานให้ เป็นคนดีของหมู่บ้านชุมชน นอกจากหลวงพ่อเงินยังได้น�ำพาพุทธ บริษัททั้งหลายร่วมกันจัดสร้างถาวรวัตถุ บูรณปฏิสังขรณ์ รวมทั้งได้ จัดสร้างอุโบสถขึน้ วันเสาร์ที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2502 ขึน้ 8 ค�ำ ่ เดือน 4 จนส�ำเร็จพร้อมทั้งได้ประกอบพิธีจัดงานปิดทองฝังลูกนิมิตขึ้น เมื่อ วันที่ 25 มีนาคม 2514 ถึง วันที่ 1 เมษายน 2514 ฝังลูกนิมิตได้เงิน 523,063 บาท และท่านได้มรณะภาพลงวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2516 เจ้าอาวาสองค์ที่ คือ พระครูกิตติสุวรรณวัฒน์ (พ.ศ. 2521 ปัจจุบัน) บุตรชายคนที่ 1 ของคุณพ่อเลี่ยม - คุณแม่ท�ำ นนท์ช้าง บวชครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2513 ลาสิกขาในปี พ.ศ. 2516 เมื่อหลวง พ่อเงินมรณะภาพ จึงกลับมาอุปสมบทใหม่ ในปี พ.ศ. 2516 จนถึง ปัจจุบันได้บูรณะปฏิสังขรณ์ ก่อสร้างถาวรวัตถุขึ้นอีกเป็นจ�ำนวนมาก บนเนื้อที่ 16 ไร่ โดยยึดหลักตามแนวทางที่หลวงพ่อเงินวางไว้ให้ ท�ำให้วัดโภคาราม (ดอนคา) เจริญรุ่งเรือง ดังเช่นทุกวันนี้
พระครูกิตติสุวรรณวัฒน์ เจ้าอาวาสวัดโภคาราม
SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 245
245
9/10/2563 15:07:42
History of buddhism....
วัดห้วยมงคล พระครูโสภณโพธิมัณฑ์ (ไพรวัลย์ วุสุทฺโธ ช้างเขียว ) เจ้าอาวาสวัดห้วยมงคล / รองเจ้าคณะอำ�เภออู่ทอง
วัดห้วยมงคล ตั้งอยู่เลขที่ 246 หมู่ที่ 8 บ้านเกษตรสุข ต�ำบลหนองโอ่ง อ�ำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี
วัดห้วยมงคล เดิมมีชื่อว่า “วัดห้วยด้วน” ตั้งอยู่เลขที่ 246 หมู่ที่ 8 บ้านเกษตรสุข ต�ำบลหนองโอ่ง อ�ำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี อยู่ทางทิศเหนือของที่ว่าการอ�ำเภออู่ทอง ระยะทางประมาณ 6 กิโลเมตร ที่ดินตั้งวัด 17 ไร่ 2 งาน 25 ตารางวา โฉนดเลขที่ 17597 สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ได้รับอนุญาตสร้างวัดเมื่อวันที่ 27 มกราคม พ.ศ.2527 ได้รับการประกาศตั้งวัดเมื่อ วันที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ.2527 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2532 นายทองเหมาะ – นางพิมพ์ พัดเพชร ได้ถวายที่ดิน 10 ไร่ ให้สร้างวัดและซื้อที่ดินเพิ่มเติม ได้ด�ำเนินการปิดทองฝังลูกนิมิตผูกพัทธสีมา เมื่อวันที่ 9 มกราคม พ.ศ.2541 และวันที่ 24 เมษายน พ.ศ.2549 ได้รับอนุญาตให้เปลี่ยนชื่อ “ วัดห้วยด้วน “ เป็นชื่อ “ วัดห้วยมงคล” 246
2
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 246
9/10/2563 14:25:13
ประว
เ มีหนิ เมื่อป นคร เนื่อง และน สมค ปี พ. บุ ญ ก วิสงุ ค ปี พ.ศ ซึ่งด�ำ
ท�ำเนียบเจ้าอาวาสวัดห้วยมงคล ดังนี้
รูปที่ 1 พระใบฎีกาบุญช่วย ฉายา มหาวิริโย พ.ศ. 2527 – 2542 รูปที่ 2 พระครูโสภณโพธิมัณฑ์ (ไพรวัลย์ วุสุทฺโธ ช้างเขียว ) น.ธ.เอก พุทธศาสตรมหาบัณฑิต เจ้าอาวาส รูปปัจจุบัน
อาคารเสนาสนะ สิ่งปลูกสร้างภายในวัดห้วยมงคล
1. อุโบสถ จ�ำนวน 1 หลัง 2. ศาลาการเปรียญ จ�ำนวน 1 หลัง 3. หอสวดมนต์ จ�ำนวน 1 หลัง 4. กุฏิพระสงฆ์ จ�ำนวน 6 หลัง 5. มลฑป จ�ำนวน 1 หลัง 6. หอระฆัง จ�ำนวน 1 หลัง 7. กุฏิอาคันตุกะ จ�ำนวน 1 หลัง 8. ฌาปนสถาน จ�ำนวน 1 หลัง 9. พระพุทธศากยมงคลสุวรรณภูมิ 9/13.59 จ�ำนวน 1 องค์ 10. ซุ้มประตูวัด จ�ำนวน 1 ซุ้ม 11. ศาลาอเนกประสงค์ 12. ศาลาพักร้อน จ�ำนวน 3 หลัง 13. ศาลาปฏิบัติธรรม จ�ำนวน 1 หลัง 14. ห้องน�้ำ – ห้องสุขา จ�ำนวน 20 ห้อง
พระครูโสภณโพธิมัณฑ์ (ไพรวัลย์ วิสุทฺโธ) น.ธ.เอก พุทธศาสตรมหาบัณฑิต
การปกครอง - พ.ศ. 2532 เป็นผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดโพธาราม - พ.ศ. 2532 เป็นเจ้าคณะต�ำบลดอนคา - พ.ศ. 2546 เป็นเจ้าอาวาสวัดห้วยมงคล - พ.ศ. 2546 เป็นเจ้าคณะต�ำบลหนองโอ่ง เขต 2 - พ.ศ. 2547 เป็นพระอุปัชฌาย์ - พ.ศ. 2558 เป็นรองเจ้าคณะอ�ำเภออู่ทอง สมณศักดิ์ - พ.ศ. 2527 เป็นฐานานุกรมที่ พระปลัด ในพระครูวรกิจโสภณ เจ้าคณะอ�ำเภออู่ทอง - พ.ศ. 2537 เป็นพระครูสัญญาบัตรที่ พระครูโสภณโพธิมัณฑ์ จต.ชั้นตรี - พ.ศ. 2545 เป็นพระครูสญ ั ญาบัตร จต.ชัน้ โท ในราชทินนามเดิม - พ.ศ. 2550 เป็นพระครูสญ ั ญาบัตร จต.ชัน้ เอก ในราชทินนามเดิม พระครูโสภณโพธิมัณฑ์ (ไพรวัลย์ วุสุทฺโธ ช้างเขียว )
เจ้าอาวาสวัดห้วยมงคล / รองเจ้าคณะอ�ำเภออู่ทอง
SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 247
247
9/10/2563 14:25:25
History of buddhism....
วัดโป่งพรานอินทร์ พระมหารัตนโชติ อติวีโร เจ้าอาวาสวัดโป่งพรานอินทร์
วัดโป่งพรานอินทร์ ตั้งอยู่หมู่ที่ 14 ต�ำบลดอนคา อ�ำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี
248
2
วัดโป่งพรานอินทร์ ตามที่โบราณผู้เฒ่าผู้แก่ได้บอกเล่าต่อๆ กันมา สถานที่ ตั้งวัดนั้นสมัยก่อนอยู่ชายเขาเป็นป่ารกชัฏมีสัตว์ป่าชุกชุม และในบริเวณวัดมี ดิ น โป่ ง ท� ำ ให้ สั ต ว์ ป ่ า จ� ำ นวนมากพากั น มากิ น ดิ น โป่ ง เป็ น ธรรมดาของป่ า รก ย่อมมีเจ้าที่เจ้าทาง ผีสาง นางไม้ และรุกขเทวดา อยู่อาศัย ในบริเวณนี้ก็เช่นกัน มีผีโป่ง ผีป่า (สิ่งลี้ลับที่รักษาดินโป่ง) มาวันหนึ่งพรานอินทร์ซ่ึงเป็นที่เคารพ ศรัทธาของชาวบ้านได้มาล่าสัตว์ และได้เสียชีวิตที่บนบริเวณนี้ ปัจจุบันได้ ตั้ ง ศาลพรานอิ น ทร์ ไว้ ท่ี ห น้ า วั ด เพื่ อ จะได้ สั ก การบู ช า และเรี ย กชุ ม ขนนี้ ว ่ า “บ้านโป่งพรานอินทร์”
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 248
8/10/2563 11:51:57
ต่อมามีชาวบ้านจากดอนคา อ�ำเภออู่ทอง และชาวบ้านจากดอน โพธิ์ทองอ�ำเภอเมืองสุพรรณบุรี ได้มาบุกเบิกถากถางป่าเพื่อท�ำไร่ และตั้งเป็นชุมชนเป็นหมู่บ้านเรียกว่า “บ้านโป่งพรานอินทร์” ต่อมา ในปี พ.ศ.2494 เดือนพฤษภาคม ชาวบ้านได้ร่วมใจกันก่อสร้างวัด ขึ้นโดยมีคุณพ่อตา – คุณแม่วอน หงส์ทองมอญ เป็นผู้ถวายที่ดิน จ�ำนวน 2 งาน สร้างเป็นส�ำนักสงฆ์เล็กๆ ให้ชื่อตามหมู่บ้านว่า “โป่งพรานอินทร์” ต่อมาพระใบฎีกาสุพัฒน์ สุปญฺโญ ได้มาเป็น เจ้าอาวาสในปี พ.ศ. 2511 ปี พ.ศ. 2514 ได้ซื้อที่ดินจากคุณตากอ้าก ยศวิ ชั ย จ� ำ นวน 2 ไร่ และคุ ณ พ่ อ สิ ง ห์ – คุ ณ แม่ แ หว อุ ่ น ตาดี อีกจ�ำนวน 11 ไร่ ต่อมานายไพฑูรย์ สุนทรวิภาต (ในขณะนั้นด�ำรง ต�ำแหน่งนายอ�ำเภออู่ทอง) ได้ยื่นเรื่องเสนอขอตั้งวัด ในวันที่ 10 เมษายน พ.ศ.2513 และได้รับประกาศอนุญาตให้ตั้งเป็นวัดได้ เมื่อ วันที่ 9 เมษายน พ.ศ.2514 พระใบฎีกาสุพัฒน์ สุปญฺโญ ได้ริเริ่มสร้าง อุโบสถขึ้นในปี พ.ศ.2516 ได้รับความร่วมมือจากชาวบ้านและคณะ ศรั ท ธาจากกรุ ง เทพฯ โดยการน� ำ ของคุ ณ พ่ อ บุ ญ เสริ ม วิ เ ศษณั ฐ ซึ่งได้ก่อสร้างอุโบสถทับบริเวณที่มีดินโป่งใช้ระยะเวลาการสร้างเพียง 1 ปี 6 เดือน และได้รับวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2522 ได้บูรณะอุโบสถ เมื่อปี พ.ศ.2550 และได้มีการบูรณปฏิสังขรณ์ ก่ อ สร้ า งเสนาสนะเรื่ อ ยมา โดยอดี ต เจ้ า อาวาสและเจ้ า อาวาส รูปปัจจุบัน ด้วยความร่วมมือร่วมใจของชาวบ้านและผู้ศรัทธาใน พระพุทธศาสนา ดังที่ปรากฏอยู่ทุกวันนี้
ท�ำเนียบเจ้าอาวาสวัดโป่งพรานอินทร์
1. หลวงพ่อเสงี่ยม 2. หลวงพ่อพรหม 3. หลวงพ่อทิพย์ 4. พระใบฎีกาสุพัฒน์ สุปญฺโญ 5. พระอธิการสมควร 6. พระอาบ 7. พระอธิการประยูร ปภาโต 8. พระมหารัตนโชติ อติวีโร
พ.ศ.2495 – 2498 พ.ศ.2498 – 2507 พ.ศ.2507 – 2510 พ.ศ.2511 – 2536 พ.ศ.2536 – 2538 พ.ศ.2538 – 2539 พ.ศ.2540 – 2552 พ.ศ.2552 – ปัจจุบัน
เสนาสนะ ภายในวัดโป่งพรานอินทร์
1. อุโบสถ จ�ำนวน 1 หลัง 2. ศาลาการเปรียญ จ�ำนวน 1 หลัง 3. หอสวดมนต์ จ�ำนวน 1 หลัง 4. กุฏิสงฆ์ จ�ำนวน 5 หลัง 5. ฌาปนสถาน จ�ำนวน 1 หลัง 6. ห้องน�้ำ จ�ำนวน 15 ห้อง 7. วิหาร จ�ำนวน 1 หลัง 8. ศาลาบรรจุอัฐิ จ�ำนวน 1 หลัง 9. หอระฆัง จ�ำนวน 1 หลัง
พระมหารัตนโชติ อติวีโร เจ้าอาวาสวัดโป่งพรานอินทร์
SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 249
249
8/10/2563 11:52:08
History of buddhism....
วัดสระบัวทอง พระอธิการบรรเจิด สุริยโชโต เจ้าอาวาสวัดสระบัวทอง
วัดสระบัวทอง ตั้งอยู่เลขที่ 1 หมู่ที่ 6 ต�ำบลบ้านโข้ง อ�ำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี
250
2
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 250
13/10/2563 13:27:25
วัดสระบัวทอง เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตั้งวัด เมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2512 ได้รับวิสุงคามสีมา เมื่อปี พ.ศ. 2513
พระอธิการบรรเจิด สุริยโชโต เจ้าอาวาสวัดสระบัวทอง
SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 251
251
13/10/2563 13:27:40
TOLOPOTI_Artwork_2P.indd 252
13/10/2563 13:52:19
TOLOPOTI_Artwork_2P.indd 253
13/10/2563 13:52:29
Artwork 254
8/10/2563 16:53:35
Artwork 255
8/10/2563 16:53:43
Artwork-2.indd 256
8/10/2563 15:59:04
Artwork-2.indd 257
8/10/2563 15:59:08
ขอเชิญ
สาธุชนทุกท่าน
เทีย่ วชมและไหว้พระขอพร ทีม่ พี ระองค์ใหญ่ กลางแจ้งทีเ่ ห็นเด่นชัด คือ พระไพโรจน์วฒ ุ าจารย์ (หลวงพ่อรุ่ง) เป็นที่นับถือของชาวกระทุ่มแบน ไว้ให้กราบสักการะ ทำ�บุญ เสริมมงคล กราบไหว้ พระองค์ใหญ่แล้ว ฝั่งตรงข้ามกับพระองค์ใหญ่ เป็นพื้นที่ในส่วนของวัดท่ากระบือ มีพระวิหาร และอุ โ บสถที่ มี ค วามงดงามภายในอุ โ บสถ ประดิษฐานรูปหล่อ หุ่นขี้ผึ้ง หลวงปู่รุ่ง ให้ได้ กราบไหว้บูชา Recommend Travel
วัดท่ากระบือ
ต�ำบลบางยาง อ�ำเภอกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร
258
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 258
13/10/2563 11:53:59
SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 259
259
13/10/2563 11:54:06
เลขที่ 233 หมู่ที่ 8 ตำ�บลสวนแตง อำ�เภอเมืองสุพรรณบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี
_Back Cover e.indd 260
063-3641994
8/10/2563 14:42:58