นิตยสารแนะน�ำแหล่งท่องเที่ยวและของดีจังหวัดอุตรดิตถ์ ประจ�ำปี 2563
UTTARADIT จังหวัดอุตรดิตถ์
กราบนมัสการ องค์พระสาระสุทธีมุณีนาถ วัดพลอยสังวรนิรันดร์ (สาขาวัดนาหลวง) อ�ำเภอทองแสนขัน จังหวัดอุตรดิตถ์
ขับเคลื่อนกิจการ พระพุ ทธศาสนาสู่ความมั่นคง
นางจรรยา รัตนเลขา ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงาน พระพุ ทธศาสนาจังหวัดอุตรดิตถ์
Vol.10 Issue 113/2020
www.issuu.com
.indd 3
21/10/2563 14:55:11
ถิ่นพระยาพิ ชัย อุตรดิตถ์ "เหล็กน�้ำพี้ลือเลื่อง เมืองลางสาดหวาน บ้านพระยาพิชยั ดาบหัก ถิน่ สักใหญ่ของโลก" อุตรดิตถ์ถิ่นผู้กล้าที่กลายเป็นเมืองท่องเที่ยว ที่ใครหลายคนติดอกติดใจ อยากไปหลายๆ รอบ เพื่อซึมซับวัฒนธรรมล้านนาโบราณ อันล�ำ้ ค่า ชืน่ ชมธรรมชาติทสี่ วยงาม ตลอดจน สักการะสิง่ ศักดิส์ ทิ ธิค์ บู่ า้ นคูเ่ มืองทีช่ าวอุตรดิตถ์ ให้ความเคารพศรัทธา จึงถือว่าเป็นมงคลต่อ ชีวิต
UTTARADIT I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 3
3
21/10/2563 10:30:33
4
.indd 4
SBL บันทึกประเทศไทย I อุตรดิตถ์
21/10/2563 10:30:48
UTTARADIT I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 5
5
21/10/2563 10:30:49
6
.indd 6
SBL บันทึกประเทศไทย I อุตรดิตถ์
21/10/2563 10:30:50
UTTARADIT I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 7
7
21/10/2563 10:30:52
น�้ำตกแม่พูล 8
.indd 8
SBL บันทึกประเทศไทย I อุตรดิตถ์
21/10/2563 10:30:53
UTTARADIT I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 9
9
21/10/2563 10:30:54
Editor's talk.indd 10
21/10/2563 10:29:56
SBL
EDITOR’S
บันทึกประเทศไทย www.sbl.co.th issue 109/2020
บริษัท สมาร์ทบิซิเนสไลน์ จ�ำกัด 9/4-6 ถนนรามอินทรา แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพฯ 10220 โทรศัพท์ : 0-2522-7171 เว็บไซต์ : www.sbl.co.th คณะผู้บริหาร คณะที่ปรึกษา : ศ.ดร.กฤช เพิ่มทันจิตต์, พลเอกสรชัช วรปัญญา, ดร.นิเวศน์ กันไทยราษฎร์, ดร.ประยุทธ คงเฉลิมวัฒน์, ดร.ชาญ ธาระวาส, ดร.สุมิท แช่มประสิท, ดร.วัลลภ อารีรบ, ดร.พิชัย ทรัพย์เกิด, ดร.ไอศูรย์ ดีรัตน์, ดร.สุเทษณ์ จันทรุกขา, ดร.อรรถสิทธิ์ ตันติวิรัชกุล
ปัณณ์ฐาโชค ธนสานสิทธิโชติ
อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์
วนัสกฤษณ์ ศิลปรังสรรค์
บรรณาธิการการตลาด นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย
บรรณาธิการอ�ำนวยการ นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย
บรรณาธิการงานบุคคล นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย
บรรณาธิการอ�ำนวยการ : อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์ บรรณาธิการงานบุคคล : พงษ์ศักดิ์ พรณัฐวุฒิกุล, วนัสกฤษณ์ ศิลปรังสรรค์ บรรณาธิการการตลาด : ปัณณ์ฐาโชค ธนสานสิทธิโชติ
SBL บันทึกประเทศไทย ฉบับนี้ ขออาสาพาไปท่องเที่ยว ศึกษาเรียนรู้ ศิลปวัฒนธรรม ประเพณี และกราบสักการะพระพุทธรูปศักดิส์ ทิ ธิค์ บู่ า้ นคูเ่ มืองอุตรดิตถ์ 9 องค์ โดยพระพุทธ รูปศักดิ์สิทธิ์ทั้ง 9 องค์นี้ เป็นพระพุทธรูปสมัยโบราณ บางองค์มีอายุนับ 1,000 ปี ประดิษฐานกระจายอยูท่ วั่ เมืองอุตรดิตถ์ การได้มากราบนมัสการพระพุทธรูปศักดิส์ ทิ ธิค์ รบ ทั้ง 9 จึงเป็นมหามงคล ครับ อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์ บรรณาธิการอ�ำนวยการ การได้มาไหว้พระขอพรพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์สำ� คัญของจังหวัดอุตรดิตถ์ อย่างน้อย 1 ใน 9 ก็ถือว่าคุ้มและเป็นมงคลต่อชีวิตแล้ว ส�ำหรับท่านที่มีเวลาน้อย ขอแนะน�ำให้ไปที่วัด คุง้ ตะเภา เพราะจะได้กราบสักการะพระพุทธรูปศักดิส์ ทิ ธิเ์ ก่าแก่สมัยสุโขทัย ถึง 2 องค์ ครับ ปัณณ์ฐาโชค ธนสานสิทธิโชติ บรรณาธิการการตลาด อภินิหารเหนือธรรมชาติจากสิ่งศักดิ์สิทธิ์ เป็นความเชื่อความศรัทธาส่วนบุคคล แต่ อภินิหารและกุศลจากการออกเดินทางไหว้พระท�ำบุญที่จังหวัดอุตรดิตถ์ ซึ่งทุกคนได้รับ เหมือนกันคือ ความสบายอกสบายใจครับ วนัสกฤษณ์ ศิลปรังสรรค์ บรรณาธิการฝ่ายบุคคล
ฝ่ายประสานงานโครงการภาครัฐและเอกชน ผู้จัดการ : กิตติชัย ศรีสมุทร, ทวัชร์ ศรีธามาศ, อัครกฤษ หวานวงศ์, ภูษิต วิทยา คณะทีมงาน : อรรถพร สว่างแจ้ง, ธนิน ตั้งธ�ำรงจิต, ถาวร เวปุละ, พุฒิธร จันทร์หอม, อมร อนันต์รัตนสุข, นิรุจน์ แก้วเล็ก, สุษฎา พรหมคีรี, พร้อมพงศ์ สืบด้วง, สรวิชญ์ อังกูรศุภเศรษฐ์ ผู้จัดการฝ่ายประสานงานข้อมูล : นันท์ธนาดา พลพวก ฝ่ายประสานงานข้อมูล : ศุภญา บุญช่วยชีพ, นลัชนันท์ เทียมเกตุทวีโชค นักเขียน : มนสิกุล โอวาทเภสัชช์ ฝ่ายศิลปกรรม ผู้จัดการฝ่ายศิลปกรรม : พัชรา ค�ำมี กราฟิกดี ไซน์ : พิมพ์พิสุทธิ์ พังจูนันท์, วรเชษฐ สมประสงค์, อนุธิดา ค�ำหล้า ช่างภาพ : ปณต ปิติจารุวิศาล, กิติวัฒน์ ทิศมั่ง วิทยา ประเสริฐสังข์, ธีระพงษ์ ธรรมเจริญ ตัดต่อวีดีโอ : วัชรกรณ์ พรหมจรรย์, ณัฐพล ชื่นข�ำ ฝ่ายบัญชี / การเงิน บัญชี : ปัฐมาภรณ์ แสงบุราณ ผู้จัดการฝ่ายการเงิน : สุจิตรา แดนแก้วนิต การเงิน : ชวัลชา นกขุนทอง, สุภาวรรณ สุวรรณวงค์
SBL MAGAZINE
Editor's talk.indd 11
21/10/2563 10:30:02
113
ISSUE
CONTENTS 14 UTTARADIT
PROVINCIAL OFFICE OF BUDDHISM
นางจรรยา รัตนเลขา ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงาน พระพุทธศาสนาจังหวัดอุตรดิตถ์
20 เจ้าคณะจังหวัดอุตรดิตถ์ พระปัญญากรโมลี (นิพนธ์ ปญฺญาสาโร)
22 รองเจ้าคณะจังหวัดอุตรดิตถ์ พระศรีปริยัติวิมล ป.ธ.9 (ตึ๋ง สีเสนียด) ฉายา ปริธมฺโม
Editor's talk.indd 12
21/10/2563 10:30:07
วัดคลองโพธิ์ พระอารามหลวง วัดหมอนไม้ วัดใหม่เจริญธรรม วัดป่าสักเรไร วัดธรรมาธิป ไตย วัดเขาแก้ว วัดเกษมจิตตาราม วัดด่านนาขาม วัดอรัญญิการาม วัดกลิ่นลอยบุปผาราม วัดวังกะพี้ วัดม่อนหินขาว
30 32 38 42 46 48 50 52 54 57 58 62
UTTARADIT
Editor's talk.indd 13
66 70 74 80 83 84 86 90 92
วัดวังดิน วัดศรีธาราม วัดพลอยสังวรนิรันดร์ วัดภูเงินวนาราม วัดส่องแดด วัดท่าไม้เหนือ วัดหน้าพระธาตุ วัดเอกา วัดพระแท่นศิลาอาสน์ พระอารามหลวง 96 วัดเจดีย์คีรีวิหาร 98 วัดเสาหิน 101 วัดดอยมูล
21/10/2563 10:30:13
EXC LU SI VE I N TE RVI EW
UTTARADIT PROVINCIAL OFFICE OF BUDDHISM นางจรรยา รัต นเลขา
ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดอุตรดิตถ์
14
.
SBL บันทึกประเทศไทย I อุตรดิตถ์
.
(6
).indd 14
19/10/2563 16:15:36
EXC LU S IV E
วิสัยทัศน์ (Vision) เป็ น องค์ ก รในการสนองงาน กิจการพระพุทธศาสนาและคณะสงฆ์ อย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและส่ ง เสริ ม การน�ำหลักธรรมไปพัฒนาคุณภาพ ชี วิ ต ของประชาชนให้ เ กิ ด สั น ติ สุ ข อย่างยั่งยืน พันธกิจ (Mission) 1. อุปถัมภ์ทำ� นุบำ� รุงคุม้ ครองดูแล รักษาศาสนสถาน ศาสนวัตถุ ศาสน สมบัติวัดและจัดการวัดร้าง รวมถึง พัฒนากิจการพระพุทธศาสนา 2. สนองงานคณะสงฆ์ด้านการ ปกครอง ด้านการศาสนาศึกษา ด้าน การเผยแผ่ ด้านการสาธารณูปการ ด้านการศึกษาสงเคราะห์ 3. ส่ ง เสริ ม และสนั บ สนุ น คณะ สงฆ์ในการร่วมมือกับทุกภาคส่วนใน การสร้ า งเครื อ ข่ า ยการเผยแผ่ห ลัก ธรรมทางพระพุ ท ธสาสนาสู ่ เ ด็ ก เยาวชนและประชาชน 4. พั ฒ นาส� ำ นั ก งานพระพุ ท ธ ศาสนาจังหวัดให้เป็นองค์กรหลักใน การขับเคลื่อนกิจกรรมทางพระพุทธ ศาสนาอย่างยั่งยืน
นางจรรยา รั ตนเลขา
ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานพระพุทธศาสนา จังหวัดอุตรดิตถ์
UTTARADIT I SBL บันทึกประเทศไทย
.
.
(6
).indd 15
15
19/10/2563 16:15:38
EXC LU SI VE I N TE RVI EW
ค่านิยมหลักขององค์การ 1. ส่งเสริมพุทธธรรมน�ำชีวิต มุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน มีจิตบริการ และประสานสามัคคี 2. ส่งเสริมพุทธธรรมน�ำชีวิต หมายถึง การสนับสนุน ส่งเสริมการน�ำหลักธรรมทางพระพุทธศาสนามาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ�ำวันอย่างมี ความสุข ชุมชนเข้มแข็งก่อให้เกิดสังคมคุณธรรม 3. มุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน หมายถึงปฏิบัติหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลด�ำเนินงานให้แล้วเสร็จตามวัตถุประสงค์และใช้ทรัพยากร อย่างคุ้มค่า 4. มีจติ บริการ เข้าใจความต้องการของผูร้ บั บริการอย่างถูกต้องและรวดเร็วให้บริการและช่วยเหลือผูร้ บั บริการด้วยความยิม้ แย้มแจ่มใส และ กระตือรือร้นต่อการตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการ 5. ประสานสามัคคี หมายถึง เคารพผู้ร่วมงาน ช่วยเหลือเกื้อกูลกันไม่แบ่งพรรคแบ่งพวกและเสียสละเพื่อประโยชน์ส่วนรวม
16
.
SBL บันทึกประเทศไทย I อุตรดิตถ์
.
(6
).indd 16
19/10/2563 16:15:39
กิจกรรมต่างๆ ประชุมพระสังฆาธิการจังหวัดอุตรดิตถ์ วั น อั ง คารที่ 3 สิ ง หาคม 2563 เวลา 13.30 น. นางจรรยา รัตนแลขา ผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักงานพระพุทธศาสนา จังหวัดอุตรดิตถ์ พร้อมด้วยเจ้าหน้าที่ส�ำนักงานพระพุทธ ศาสนาจังหวัดอุตรดิตถ์ เข้าร่วมประชุมพระสังฆาธิการ คณะสงฆ์จังหวัดอุตรดิตถ์ ณ วัดป่ากบาก อ�ำเภอบ้านโคก จังหวัดอุตรดิตถ์ โดยมีพระปัญญากรโมลี เจ้าคณะจังหวัด อุตรดิตถ์ เป็นประธานการประชุมฯ กิจกรรมเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา 28 กรกฎาคม 2563 วันอังคารที่ 28 กรกฎาคม 2563 เวลา 06.50 น. นางจรรยา รัตนแลขา ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานพระพุทธ ศาสนาจังหวัดอุตรดิตถ์ พร้อมด้วยเจ้าหน้าที่ส�ำนักงาน พระพุ ท ธศาสนาจั ง หวั ด อุ ต รดิ ต ถ์ เข้ า ร่ ว มกิ จ กรรม เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องใน โอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา 28 กรกฎาคม 2563 พิ ธีท�ำ บุ ญ ตัก บาตรถวายพระราชกุศล ณ บริ เวณถนน ประชานิมติ ร หน้าอนุสาวรียพ์ ระยาพิชยั ดาบหัก และพิธลี ง นามถวายพระพรชัยมงคล ณ หอประชุมใหญ่ มหาวิทยาลัย ราชภัฎอุตรดิตถ์ UTTARADIT I SBL บันทึกประเทศไทย
.
.
(6
).indd 17
17
19/10/2563 16:15:41
EXC LU SI VE I N TE RVI EW
ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดอุตรดิตถ์ แนะน�ำเส้นทาง “นมัสการ 9 พระพุทธปฏิมากรศักดิ์สิทธิ์แห่ง เมืองอุตรดิตถ์” ได้แก่ 1. วัดดงสระแก้ว ตั้งอยู่หมู่ 5 ต�ำบลไผ่ล้อม อ�ำเภอลับแล จังหวัด อุตรดิตถ์ จัดเด่นของวัดคือ “อุ โ บสถไม้ สั ก ทอง” ทั้งหลัง และ “หลวงพ่ออู่ทอง” (ทองค�ำ) พระพุทธรูปปางมารวิชัยเนื้อโลหะทอง คําบริสุทธิ์ สูง 43 นิ้ว หน้าตักกว้าง 34 นิ้ว หนักกว่า 200 กิโลกรัม สร้างในสมัยอู่ทอง เคยเป็นพระประธานในอุโบสถไม้สักทอง แต่ถูก โจรกรรมหายไปเมือ่ พ.ศ. 2520 และเมือ่ ปีพ.ศ. 2548 พระครูปภากร สิทธิคุณ เจ้าอาวาส และชาวบ้านจึงได้ร่วมกันหล่อหลวงพ่ออู่ทอง องค์จําลองขึ้นมาแทน โดยมีขนาดเท่ากับองค์เดิม 2. วัดพระแท่นศิลาอาสน์ เดิมชื่อ “วัดมหาธาตุ” ตั้งอยู่ที่บ้าน พระแท่น ต�ำบลทุง่ ยัง้ อ�ำเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์ ติดกับวัดพระยืน พุทธบาทยุคล กราบนมัสการ “หลวงพ่อธรรมจักร” พระพุทธรูป ศักดิส์ ทิ ธิโ์ ลหะสัมฤทธิ์ (รูปหล่อพระอรหันต์) ศิลปะอยุธยา ปางพระมาลัย ประทับนั่ง ประดิษฐานในวิหารหลวงพ่อธรรมจักร 3. วัดพระยืนพุทธบาทยุคล ต�ำบลทุ่งยั้ง อ�ำเภอลับแล จังหวัด อุตรดิตถ์ สิ่งที่น่าสนใจ ภายในวัดได้แก่ “มณฑปศิลปะเชียงแสน” สร้างขึ้นเพื่อครอบรอยพระพุทธบาทคู่ และยังมีพระพุทธรูปหล่อด้วย สัมฤทธิ์ ปางมารวิชัย ศิลปะสุโขทัยนามว่า “หลวงพ่อพุทธรังสี” ปัจจุบันประดิษฐานอยู่ในนพระอุโบสถ 4. วัดหมอนไม้ นมัสการ “หลวงพ่อสัมฤทธิ์” พระพุทธรูป ศักดิส์ ทิ ธิ์ 1 ใน 9 พระพุทธรูปศักดิส์ ทิ ธิแ์ ห่งเมืองอุตรดิตถ์ องค์พระพุทธ รูปเป็นพระสกุลช่างสุโขทัย สร้างในสมัยกรุงสุโขทัยเป็นราชธานี ตัวองค์พระเป็นเนือ้ โลหะส�ำริด ปางมารวิชยั ประดิษฐานเป็นพระประธาน ภายในอุโบสถ วัดหมอนไม้ อ�ำเภอเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ 5. วัดท่าถนน ตัง้ อยูเ่ ลขทีต่ ำ� บลท่าอิฐ อ�ำเภอเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัด อุตรดิตถ์ ชาวบ้านมักเรียกกันว่า “วัดหลวงพ่อเพ็ชร” หลวงพ่อเพ็ชร เป็นพระพุทธรูปส�ำริดปางมารวิชยั ขัดสมาธิเพชร ศิลปะเชียงแสนสิงห์ หนึ่ง หน้าตักกว้าง 32 นิ้ว มีพุทธลักษณะงดงามมาก ชาวอุตรดิตถ์ ถือว่าเป็นพระพุทธรูปส�ำคัญประจ�ำเมืองอุตรดิตถ์ 6. วัดธรรมาธิปไตย เดิมชื่อ “วัดต้นมะขาม” ตั้งอยู่ใกล้สี่แยกจุด ตัดถนนอินใจมีกับถนนส�ำราญรื่น ต�ำบลท่าอิฐ อ�ำเภอเมือง จังหวัด อุตรดิตถ์ มากราบนมัสการ “หลวงพ่อเชียงแสน” พระประธานใน อุโบสถธรรมสภา พุทธลักษณะปางมารวิชัย เนื้อโลหะสัมฤทธิ์บริสุทธิ์ สร้างในสมัยสุโขทัย สกุลช่างสุโขทัยยุคกลาง มีอายุกว่า 700 ปี 18
.
SBL บันทึกประเทศไทย I อุตรดิตถ์
.
(6
).indd 18
20/10/2563 14:58:55
7. วัดคุ้งตะเภา ตั้งอยู่ บ้านคุ้งตะเภา หมู่ 4 ทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 11 ต�ำบลคุ้งตะเภา อ�ำเภอเมืองอุตรดิตถ์ ที่วัดแห่งนี้ ประดิษฐาน “พระพุทธสุวรรณเภตรา” หรือนามสามัญ หลวงพ่อ สุวรรณเภตรา เป็นพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ส�ำคัญ 1 ใน 9 องค์แห่งเมือง อุตรดิตถ์ องค์พระหล่อด้วยโลหะปางมารวิชยั หน้าตักกว้าง 47 นิว้ สูง 62 นิ้ว (ตลอดถึงพระรัศมี) มีพุทธลักษณะสมัยสุโขทัย 8. นมัสการ “หลวงพ่อสุโขทัยสัมฤทธิ์” ประดิษฐานภายในหอ พระพุทธสุโขสัมฤทธิ์อุตรดิตถ์มุนี บนอาคารอสีติวัสสายุมงคลมหา ศาลาการเปรียญ “วัดคุ้งตะเภา” ชื่อเต็ม “พระพุทธสุโขสัมฤทธิ์ อุตรดิตถ์มนุ ”ี พระพุทธรูปโบราณศักดิส์ ทิ ธิ์ ปางมารวิชยั ศิลปะสุโขทัยเชียงแสน 9. วัดพระฝางสวางคบุรมี นุ นี าถ นมัสการ “พระฝางทรงเครือ่ ง” (จ�ำลอง) เป็นพระพุทธรูปสร้างใหม่ ประดิษฐานที่อุโบสถวัดพระฝาง สว่างคบุรีมุนีนาถ อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ ซึ่งจ�ำลองมาจาก พระพุทธรูปพระฝาง ทีป่ ระดิษฐาน ณ วัดเบญจมบพิตร ทัง้ องค์จำ� ลอง และองค์จริงมีพทุ ธลักษณะปางมารวิชยั ทรงเครือ่ งอย่างจักรพรรดิราช ศิลปะสมัยอยุธยาวัสดุโลหะลงรักปิดทอง (องค์จริงโลหะสัมฤทธิ์ ปิดทอง) หน้าตักกว้าง 1 ศอก 1 คืบเศษ (31 นิ้ว) ขอบคุณข้อมูล : วิกิพีเดีย ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดอุตรดิตถ์ ศาลาการเปรียญ (ชั้น 2 ) วัดกลาง ถนนเจริญธรรม ต�ำบลท่าอิฐ อ�ำเภอเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ 53000 โทรศัพท์ 0 5541 7796
UTTARADIT I SBL บันทึกประเทศไทย
.
.
(6
).indd 19
19
20/10/2563 14:58:58
“สึกไปก็ช่วยอะไรใครไม่ ได้ จงช่วยตัวเองเสียก่อน” EXC LU S I VE
พระปัญญากรโมลี (นิพนธ์ ปญฺญาสาโร)
เจ้าคณะจังหวัดอุตรดิตถ์ ชาติ ภู มิ นามเดิ ม นิ พ นธ์ นามสกุ ล ฮวดเกิ ด เกิ ด วั น พฤหั ส บดี ที่ 20 กั น ยายน พ.ศ. 2505 ที่ บ ้ า นเลขที่ 66 หมู ่ 1 ต� ำ บลบ้ า นหม้ อ อ� ำ เภอพิ ชั ย จั ง หวั ด อุ ต รดิ ต ถ์ อุ ป สมบท อุ ป สมบท เมื่ อ วั น อาทิ ต ย์ ที่ 20 เดื อ นมี น าคม พ.ศ. 2526 ที่ วั ด โรงม้ า ต� ำ บลท่ า มะเฟื อ ง อ� ำ เภอพิ ชั ย จั ง หวั ด อุ ต รดิ ต ถ์ มี พระครู พิ ชั ย ธรรมคุ ณ เจ้ า อาวาสวั ด ดอกไม้ เป็ น พระอุ ป ั ช ฌาย์ พระสมุ ห ์ แ ป้ น เป็ น พระกรรมวาจาจารย์ และพระอธิ ก ารสงวน เป็ น พระอนุ ส าวนาจารย์ การศึ ก ษา พ.ศ. 2528 สอบไล่ ไ ด้ นั ก ธรรมชั้ น เอก ส� ำ นั ก เรี ย น วั ด มหาธาตุ ต� ำ บลในเมื อ ง อ� ำ เภอพิ ชั ย จั ง หวั ด อุ ต รดิ ต ถ์ พ.ศ. 2543 ส� ำ เร็ จ การศึ ก ษาปริ ญ ญาตรี (คบ.) สถาบั น ราชภั ฎ อุ ต รดิ ต ถ์ พ.ศ. 2546 ส� ำ เร็ จ การศึ ก ษาปริ ญ ญาโท (กศ.ม.) มหาวิ ท ยาลั ย นเรศวร (บริ ห ารการศึ ก ษา) พ.ศ. 2559 ส� ำ เร็ จ การศึ ก ษาปริ ญ ญาเอก (รป.ด.) มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคลรั ต นโกสิ น ทร์ (ศาลายา) งานปกครอง พ.ศ. 2529 ได้ รั บ การแต่ ง ตั้ ง เป็ น เลขานุ ก ารเจ้ า คณะอ� ำ เภอ พ.ศ. 2533 ได้ รั บ การแต่ ง ตั้ ง เป็ น เจ้ า คณะต� ำ บลท่ า มะเฟื อ ง พ.ศ. 2538 ได้ รั บ แต่ ง ตั้ ง เป็ น พระอุ ป ั ช ฌาย์ พ.ศ. 2541 ได้ รั บ การแต่ ง ตั้ ง เป็ น รองเจ้ า คณะอ� ำ เภอพิ ชั ย พ.ศ. 2555 ได้ รั บ การแต่ ง ตั้ ง เป็ น รองเจ้ า คณะ จั ง หวั ด อุ ต รดิ ต ถ์ พ.ศ. 2557 ได้ รั บ แต่ ง ตั้ ง เป็ น เจ้ า คณะจั ง หวั ด อุ ต รดิ ต ถ์
20
งานการศึ ก ษา พ.ศ. 2528 เป็ น ครู ส อนพระปริ ยั ติ ธ รรม ประจ� ำ ส� ำ นั ก ศาสนศึ ก ษาวั ด มหาธาตุ ต� ำ บลในเมื อ ง อ� ำ เภอพิ ชั ย จั ง หวั ด อุ ต รดิ ต ถ์ พ.ศ. 2530 ได้ รั บ แต่ ง ตั้ ง เป็ น กรรมการสนามหลวง แผนกธรรม พ.ศ. 2547 เป็ น ผู ้ แ ทนแม่ ก องธรรมสนามหลวง พ.ศ. 2550 เป็ น กรรมการสอบบาลี ส นามหลวง จั ง หวั ด อุ ต รดิ ต ถ์ พ.ศ. 2552 เป็ น อาจารย์ ป ระจ� ำ หน่ ว ยวิ ท ยบริ ก าร วิ ท ยาลั ย สงฆ์ พุ ท ธชิ น ราช มหาวิ ท ยาลั ย จุ ฬ าลงกรณราชวิ ท ยาลั ย วั ด หมอนไม้ พ.ศ. 2561 เป็ น ผู ้ รั ก ษาการแทนผู ้ อ� ำ นวยการหน่ ว ย วิทยบริการวิทยาลัยสงฆ์พุทธชินราช วัดหมอนไม้ สมณศั ก ดิ์ พ.ศ. 2531 ได้ รั บ แต่ ง ตั้ ง เป็ น “ พระใบฎี ก า” พ.ศ. 2533 ได้ รั บ แต่ ง ตั้ ง เป็ น “ พระปลั ด “ พ.ศ. 2539 ได้ รั บ พระราชทานแต่ ง ตั้ ง เป็ น พระครู สั ญ ญาบั ต ร เจ้ า คณะต� ำ บลชั้ น ตรี ในราชทิ น นามที่ “พระครู วิ สุ ท ธิ ป ั ญ ญาสาร” พ.ศ. 2541 ได้ ป รั บ เปลี่ ย นพั ด จากเจ้ า คณะต� ำ บลชั้ น ตรี เป็ น รองเจ้ า คณะอ� ำ เภอชั้ น โท พ.ศ. 2550 ไ ด้ เ ลื่ อ นสมณศั ก ดิ์ เ ป็ น เจ้ า คณะอ� ำ เภอชั้ น เอก พ.ศ. 2556 ได้ ป รั บ เลื่ อ นพั ด จากเจ้ า คณะชั้ น เอก เป็ น รองเจ้ า คณะจั ง หวั ด 5 ธั น วาคม 2558 ได้ เ ลื่ อ นสมณศั ก ดิ์ เ ป็ น พระราชาคณะ ชั้ น สามั ญ ที่ “ พระปั ญ ญากรโมลี “
SBL บันทึกประเทศไทย I อุแพร่ ตรดิตถ์
.indd 20
19/10/2563 14:39:07
PHRAE I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 21
21
19/10/2563 14:39:09
“สึกไปก็ช่วยอะไรใครไม่ ได้ จงช่วยตัวเองเสียก่อน” EXC LU S I VE
พระศรีปริยัติวิม ล ป.ธ.9 (ตึ๋ง สีเสนียด) ฉายา ปริธมฺโม
รองเจ้าคณะจังหวัดอุตรดิตถ์ ชาติ ภู มิ เกิ ด วั น ที่ 1 กุ ม ภาพั น ธ์ พ.ศ.2508 อายุ 56 พรรษา 36 วิ ท ยฐานะ น.ธ.เอก ป.ธ.9 ศษ.บ. ปั จ จุ บั น ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง ผู ้ รั ก ษาการแทนเจ้ า อาวาสวั ด คลองโพธิ์ พระอารามหลวง , รองเจ้ า คณะจั ง หวั ด อุ ต รดิ ต ถ์ การศึ ก ษา พ.ศ. 2530 สอบได้ นั ก ธรรมชั้ น เอก พ.ศ. 2540 ส� ำ เร็ จ ปริ ญ ญาศึ ก ษาศาสตรบั ณ ฑิ ต มหาวิ ท ยาลั ย สุ โ ขทั ย ธรรมาธิ ร าช
22
การปกครอง พ.ศ. 2548 ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง ผู ้ ช ่ ว ยเจ้ า อาวาสวั ด คลองโพธิ์ พระอารามหลวง พ.ศ. 2549 ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง รองเจ้ า คณะจั ง หวั ด อุ ต รดิ ต ถ์ พ.ศ. 2561 เป็ น พระอุ ป ั ช ฌาย์ ป ระเภทวิ ส ามั ญ พ.ศ. 2563 ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง ผู ้ รั ก ษาการแทนเจ้ า อาวาส วั ด คลองโพธิ์ พระอารามหลวง สมณศั ก ดิ์ พ.ศ. 2540 สอบได้ เ ปรี ย ญธรรม 9 ประโยค 5 ธั น วาคม พ.ศ. 2548 เป็ น พระราชาคณะชั้ น สามั ญ ที่ พระศรี ป ริ ยั ติ วิ ม ล
SBL บันทึกประเทศไทย I อุแพร่ ตรดิตถ์
.indd 22
13/10/2563 15:58:10
UTTARADIT PHRAE I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 23
23
13/10/2563 15:58:10
ท�ำเนียบการปกครองคณะสงฆ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ ภาค 5
พระธรรมมหาวีรานุวัตร (อ�ำนวย) ที่ปรึกษาเจ้าคณะภาค 5
พระปัญญากรโมลี, ดร. (นิพนธ์)
พระสุธรรมญาณ (ทองค�ำ)
พระครูสิริกิจวิธาน
พระมหามงคล กตปุญโญ ป.ธ.7 เจ้าคณะอ�ำเภอตรอน / เจ้าอาวาสวัดธรรมาธิปไตย
เจ้าคณะอ�ำเภอพิชัย / ผู้ช่วยเจ้าอาวาส วัดคลองโพธิ์ พระอารามหลวง
พระครูสุมนวีรโสภิต
พระครูวรดิตถ์คณารักษ์
เจ้าคณะจังหวัดอุตรดิตถ์/ เจ้าอาวาสวัดท่าไม้เหนือ
เจ้าคณะอ�ำเภอลับแล / เจ้าอาวาสวัดเสาหิน
เจ้าคณะอ�ำเภอน�ำ้ ปาด / เจ้าอาวาสวัดส่องแดด
24
ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดอุตรดิตถ์ / เจ้าอาวาสวัดเจดีย์คีรีวิหาร
เจ้าคณะอ�ำเภอฟากท่า / เจ้าอาวาสวัดกกต้อง
พระศรีปริยัติวิมล (ตึ๋ง) ป.ธ.9
พระครูพิศาลจริยธรรม
พระอุดมปิฎก (วิจารย์) ป.ธ.9
พระครูพิทักษ์สารคุณ
พระครูวีรศาสน์ประดิษฐ์
พระมหาวิญญู สิริมงคโล ป.ธ.7
รองเจ้าคณะจังหวัดอุตรดิตถ์ / เจ้าอาวาสวัดคลองโพธิ์ พระอารามหลวง
เจ้าคณะอ�ำเภอบ้านโคก / เจ้าอาวาสวัดโพธิ์ชัยศรี
เจ้าคณะอ�ำเภอเมืองอุตรดิตถ์ / เจ้าอาวาสวัดวังกะพี้
เจ้าคณะอ�ำเภอท่าปลา / เจ้าอาวาสวัดผาเลือด
เจ้าคณะอ�ำเภอทองแสนขันธ์ / เจ้าอาวาสวัดโพธิ์ทอง
SBL บันทึกประเทศไทย I อุดรธานี
5.indd 24
19/10/2563 16:01:49
“การท�ำความดีในปัจจุบัน
ส�ำคัญที่สุด” UDONTHANI I SBL บันทึกประเทศไทย
5.indd 25
25
19/10/2563 16:01:51
26
asd.indd 26
SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา
21/10/2563 11:08:43
ภายหลังเมื่อความโกรธหายแล้ว เขาย่อมเดือดร้อนเหมือนถูกไฟไหม้ ...พุทธพจน์
CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย
asd.indd 27
27
21/10/2563 11:08:45
Ad 10
.indd 10
21/10/2563 10:40:35
ก้าวเข้าสู่ปีที่ 10
บั น ทึ ก ประเทศไทย ถือเป็นแหล่งข้อ มู ล อ้ า งอิ งได้ อ ย่ า งสมบู ร ณ์ โดยให้ ร ายละเอี ยดข้ อมู ลอย่ า งครบถ้ ว น สมบู ร ณ์ และถู กต้ อง พร้อมรู ป ภาพจากสถานที่จริ ง ณ ปั จจุ บัน ล้ ว นได้ ถูกบั นทึ กเอาไว้ แ ล้ ว ในหนั ง สื อเล่ มนี้ !
Ad 10
.indd 11
10 th
ANNIVERSARY ISSUE
21/10/2563 10:40:57
History of buddhism....
วัดคลองโพธิ์ พระอารามหลวง พระธรรมมหาวีรานุวัตร (อำ�นวย จนฺทสโร) ป.ธ. 4, น.ธ.เอก, ค.ม. (กิตติมศักดิ์) อดีตเจ้าคณะจังหวัดอุตรดิตถ์, อดีตเจ้าอาวาสวัดคลองโพธิ์ พระอารามหลวง
วัดคลองโพธิ์ พระอารามหลวง ตั้งอยู่เลขที่ 9 ถนนเจริญธรรม ต�ำบลท่าอิฐ อ�ำเภอเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์
30
SBL บันทึกประเทศไทย I อุตรดิตถ์
2
.indd 30
วัดคลองโพธิ์ พระอารามหลวง มีเนื้อที่ตั้งวัด 12 ไร่ 2 งาน 75 ตารางวา ที่ธรณีสงฆ์ 2 แปลง เนื้อที่ 7 ไร่ 3 งาน 98 ตารางวา ( ใช้จัดประโยชน์สงเคราะห์ ปลูกสร้างที่อยู่อาศัยของประชาชน ) ได้รับอนุญาตให้สร้างวัดประมาณปี พ.ศ. 2365 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2462 เนื้อที่ กว้าง 20 เมตร ยาว 38 เมตร
19/10/2563 14:06:55
วัดคลองโพธิ์ ในที่ตั้งปัจจุบันนี้ เป็นวัดที่ย้ายขึ้นมาสร้างใหม่ เพราะตัววัดเดิมนั้นสร้างติดอยู่ที่ฝั่งคลองโพ ด้านตะวันออกติดกับ แม่น�้ำน่านในปัจจุบัน เดิมนั้นชื่อว่า “วัดป่าข่อย” ไม่มีโบสถ์ เป็น วัดเก่าแก่ที่ไม่มีหลักฐานแน่ชัดว่าสร้างในสมัยใด สืบถามคนเก่าแก่ ที่มีอายุมาก ก็พอจะทราบว่าเมื่อเกิดมาก็เห็นวัดอยู่ในสภาพนี้แล้ว ต่อมาวัดได้ถูกภัยธรรมชาติน�้ำซัดตลิ่งพังลงมาเรื่อยๆ นานเข้าก็ถึงกุฏิ และศาลาการเปรียญ ท่านเจ้าอาวาสในสมัยนัน้ คือท่านอุปชั ฌาย์เรือง จึงได้ย้ายวัดป่าข่อยมาสร้างใหม่ทางด้านตะวันตกของวัดเก่า เพียง แต่มีข้ามคลอง (คลองโพ) ห่างจากแม่น�้ำน่านประมาณ 2 เส้น ประชาชนมักนิยมเรียกวัดที่ย้ายมาสร้างใหม่นี้ว่า “วัดใหม่” ต่อมาประมาณปี พ.ศ. 2462 สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรม พระยาวชิรญาณวโรรส เสด็จตรวจการคณะสงฆ์หนเหนือ ในขณะที่ เสด็จตรวจการจังหวัดอุตรดิตถ์ ได้จอดเรือพระประเทียบประทับแรม ริมฝั่งแม่น�้ำน่านหน้าวัดใหม่ ซึ่งเป็นท่าข้ามไปมาระหว่างฝั่งแม่น�้ำ มีตามค�ำบอกเล่าของคนเก่าคนแก่ว่า ในครั้งนั้นคณะสงฆ์ร่วมกับ คณะอุบาสกอุบาสิกา ได้มารอรับเสด็จที่หน้าวัดจ�ำนวนมาก และได้ สร้างปะร�ำพิธีรับเสด็จที่ริมฝั่งแม่น�้ำน่านหน้าวัดใหม่นั่นเอง เมื่อพระองค์ประทานโอวาทแก่คณะสงฆ์และอุบาสกอุบาสิกา ที่มารอรับเสด็จแล้วมีรับสั่งกับเจ้าอาวาสวัดใหม่นั้นว่า "วัดนี้ชื่ออะไร มีพระภิกษุสามเณรกี่รูป และมีการศึกษาพระปริยัติหรือไม่" ท่าน เจ้าอาวาสได้กราบทูลตามความเป็นจริงทุกประการ และพระองค์ได้ ทรงถามคลองที่ผ่านหน้าวัดว่าชื่ออะไร ท่านเจ้าอาวาสจึงกราบทูล ชื่อ “คลองโพ” พระองค์จึงรับสั่งว่า ถ้าอย่างนั้นวัดนี้ก็ควรจะชื่อว่า “วัดคลองโพธิ์” วัดใหม่จึงได้เปลี่ยนชื่อมาเป็น วัดคลองโพธิ์ จนมา ถึงปัจจุบันนี้ วัดคลองโพธิ์ได้รับการสถาปนาเป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิด สามัญ นับแต่วันที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2530 กระทรวงศึกษาธิการได้ ประกาศเมื่อวันที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2530
เกียรติคุณของวัด
- ได้รับยกย่องให้เป็น ส�ำนักเรียนตัวอย่างดีเด่น จากกรมการ ศาสนา พ.ศ. 2523 - เป็นวัดพัฒนาที่มีผลงานดีเด่น จากกรมการศาสนา พ.ศ. 2525 - วัดคลองโพธิ์เป็น โรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกบาลี ประจ�ำ จังหวัดอุตรดิตถ์ แห่งที่ 1 จากแม่กองบาลีสนามหลวง พ.ศ. 2542 - เป็นวัดดีเด่นด้านการจัดการศึกษาพระปริยัติธรรมแผนกธรรม บาลี ของ สอศ. พ.ศ. 2545 – 2547 - เป็นวัดที่มีนักเรียนสอบบาลีผ่านมากที่สุด ปี พ.ศ. 2546 - เป็นโรงเรียนพระปริยัติธรรมที่มีนักเรียนสอบได้มากเป็นอันดับ 3 ในเขตปกครองคณะสงฆ์หนเหนือ - เป็ น ศู น ย์ ศึ ก ษาพระปริ ยั ติ ธ รรมแผนกบาลี ของคณะสงฆ์ ภาค 5 (โครงการน� ำ ร่ อ ง) ตั้ ง แต่ เปรี ย ญธรรม 6 ประโยค ถึ ง เปรียญธรรม 9 ประโยค (ป.ธ.6-7-8-9) พ.ศ. 2552 โดยได้รับมอบ หมายจากส�ำนักงานแม่กองบาลีสนามหลวงแผนกบาลีและกองศาสน ศึกษา ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ วัดคลองโพธิ์ ในปัจจุบันจัดว่าเป็น ศูนย์กลางของการปกครอง คณะสงฆ์ การเผยแผ่ แ ละสาธารณู ป การของคณะสงฆ์ จั ง หวั ด อุตรดิตถ์ เป็นแหล่งให้ความรู้ภาษาบาลีแก่บรรพชิตและคฤหัสถ์ โดย เป็นที่ตั้งโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกบาลี, ส�ำนักศาสนศึกษา แผนกธรรม – บาลี โดยทางวัดได้เปิดสอนพระปริยัติธรรมแผนกธรรม และแผนกบาลีอย่างเต็มรูปแบบ ตั้งแต่ พ.ศ. 2513 , เป็นศูนย์อบรม ก่อนสอบคณะสงฆ์ภาค 5 ,ศูนย์กลางการเรียนการสอนบาลีพิเศษ, ศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์, ศูนย์ศึกษาเด็กก่อนเกณฑ์, ศูนย์ครูพระปริยัตินิเทศจังหวัดอุตรดิตถ์, ศูนย์ปฏิบัติธรรมวันอาทิตย์ ของอุบาสก อุบาสิกา UTTARADIT I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 31
31
19/10/2563 14:07:06
History of buddhism....
วัดหมอนไม้ พระครูวิหารกิจจานุยุต รกฺขิโต เจ้าอาวาสวัดหมอนไม้ / รองเจ้าคณะอำ�เภอเมืองอุตรดิตถ์
วัดหมอนไม้ ตั้งอยู่เลขที่ 1 หมู่ที่ 3 ต�ำบลป่าเซา อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ มีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ 20 ไร่ 8 ตารางวา ได้รับอนุญาตสร้างเป็นวัดเมื่อปี พ.ศ.2484 ได้รับพระราชทานสุงคามสีมาเมื่อปี พ.ศ. 2492
32
6
SBL บันทึกประเทศไทย I อุตรดิตถ์
.indd 32
19/10/2563 14:34:34
สันนิษฐานว่าวัดหมอนไม้สร้างขึ้นราวปีพุทธศักราช 2344 เเต่เดิม มีผู้อาวุโส เล่าว่า วัดหมอนไม้ ในอดีตไม่สามารถหาหลักฐานที่ ชัดเจนได้ ชื่อเดิม "วัดท่าดอกไม้" วัดหมอนไม้ตั้งอยู่ระหว่างกลางของ 4 หมู่บ้านในต�ำบลป่าเซา อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ ประกอบ ด้วย บ้านบุ่งวังงิ้ว (เดิมเรียกบ้านปากคลอง) แบ่งเป็นหมู่ที่ 1, บ้านปากคลอง หมู่ท่ี 2 , บ้านหมอนไม้ หมู่ท่ี 3, บ้านเกาะไทย (เดิมเรียก บ้านมอญ) หมู่ที่ 4 วัดหมอนไม้ตั้งอยู่ระหว่างกลางหมู่บ้านปากคลองหมู่ 2 ติดต่อกับบ้านหมอนไม้ หมู่ 3 มีประชาชน อาศัยอยู่หนาเเน่น หลายร้อยหลังคาเรือนต่อมา มีบริษัทท�ำไม้ชื่อบริษัทบอมเบย์ ได้ชักลากไม้ซุงล่องตามเเม่น้�ำมาจากทางเหนือ ได้น�ำไม่ซุงมากองรวมไว้ ที่บริเวณหน้าวัด ประกอบกับบริเวณนี้ตั้งอยู่ที่บ้านหมอนไม้ ชาวบ้านจึงเปลี่ยนชื่อใหม่ เรียกว่า "วัดหมอนไม้" จนถึงปัจจุบัน UTTARADIT I SBL บันทึกประเทศไทย
6
.indd 33
33
19/10/2563 14:34:42
ความเป็นมาของวัด สมัยก่อนไม่มอี โุ บสถส�ำหรับท�ำการอุปสมบท ให้แก่ชาวบ้าน ผู้ที่ประสงค์จะบวชเรียนได้ ต้องให้ท�ำการอุปสมบท จากวัดอืน่ ก่อนแล้วค่อยมาอยูว่ ดั นี้ สิง่ ก่อสร้างต่างๆ เช่น กุฏิ หอสวดมนต์ ศาลาการเปรียญ เท่าที่มีอยู่ช�ำรุดทรุดโทรมเสื่อมสภาพไปตามอายุ เนื่องจากประชาชนในสมัยนั้นยังไม่หนาแน่น ได้ท�ำการท�ำนุบ�ำรุง สภาพของกุฏชิ ำ� รุดจนไม่อาจอยูอ่ าศัยได้ ก็ได้ชว่ ยกันก่อสร้างขึน้ มาใหม่ เพื่อทดแทนของเก่า หมุนเวียนสร้างกันอยู่เช่นนี้ตลอดมา และต่อมา ในสมัยที่นายเสริม โลกเลื่อง ได้รับเลือกตั้งเป็นผู้แทนราษฎรของ จังหวัดอุตรดิตถ์ ซึ่งเป็นลูกบ้านปากคลอง หมู่ 2 เคยเป็นลูกศิษย์ วัดหมอนไม้ ได้ของบประมาณแผ่นดิน มาท�ำการก่อสร้างก�ำแพงล้อม บริเวณรอบวัด สร้างเตาเผาศพ หลังจากนั้นชาวบ้านก็ไม่ได้หยุดเพียง เท่านั้น ยังได้ท�ำการก่อสร้างกุฏิขึ้นใหม่แทนของเก่าที่ช�ำรุด และมี การก่อสร้างเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ดังที่ได้เห็นอยู่ในปัจจุบัน ต่อมาคณะกรรมการวัดหมอนไม้พร้อมด้วยเจ้าอาวาสได้ประชุม หารือกันว่าเรามีของดีในวัด ท�ำอย่างไรจึงจะเป็นการเทิดทูนสิ่งนั้น คือ “หลวงพ่อสัมฤทธิ์” ซึ่งเป็นองค์พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ มีความ เก่าแก่รุ่นราวคราวเดียวกับหลวงพ่อเพชร วัดท่าถนน จะมีวิหารเพื่อ ประดิษฐานเหมือนหลวงพ่อองค์อื่นๆ พอดีกับคณะดารารัชฟิล์ม จากกรุ ง เทพฯ ได้ มี จิ ต ศรั ท ธาอยากท� ำ บุ ญ ได้ มี ก ารติ ด ต่ อ กั บ 34
6
คณะกรรมการวัดหมอนไม้ เพื่อขอทราบวัตถุประสงค์ว่าทางวัดอยาก จะก่อสร้างอะไรจะขอน�ำกฐินมาทอดร่วมกับคณะชาวจังหวัดอุตรดิตถ์ ที่ ป ระกอบอาชี พ ที่ ก รุ ง เทพฯ จะได้ แจ้ ง วั ต ถุ ป ระสงค์ ข องทางวั ด ได้ถูกต้อง คณะกรรมการวัดจึงได้ประชุมหารืออีกครั้งและมีมติว่าจะ สร้างวิหาร หลวงพ่อสัมฤทธิ์ จากนั้นก�ำหนดการต่างๆ ได้เริ่มขึ้นและ การด�ำเนินการก่อสร้างตามวัตถุประสงค์ก็ได้ส�ำเร็จลุล่วงและได้มีงาน ฉลองวิหารและร่วมอนุโมทนากันจนถึงทุกวันนี้
SBL บันทึกประเทศไทย I อุตรดิตถ์
.indd 34
20/10/2563 15:02:16
ผู้น�ำคณะ ได้กล่าวค�ำอัญเชิญออกมาดังชัดเจน หลังจากสมภารติ่งได้ กล่าวค�ำอัญเชิญดังกล่าวแล้วคู่ใหญ่ปรากฏการณ์ดังกล่าวจึงได้สงบ ลงเหมือนไม่มีอะไรเกิดขึ้น หลังจากปรากฏการณ์ได้สงบลงแล้วก็ได้ น�ำมาประดิษฐานไว้ที่วัดหมอนไม้นี้ เคยน�ำไปซ่อมและเสริมต่อส่วนที่ช�ำรุดที่กรุงเทพฯ ครั้งหนึ่งหลัง จากที่มาอยู่ท่ีวัดหมอนไม้แล้วเพียงไม่กี่ปี สาเหตุเพราะเนื่องจาก ถูกทอดทิ้งมานาน ก่อนที่จะมีผู้ไปพบเห็น ความช�ำรุดตอนที่น�ำมา คือ พระเกตุ และพระเมาลีเดิมไม่มี ได้หักหายไป ในส่วนบนตั้งแต่ เดิม กับพระพาหาตลอดพระกรและดัชนีเบื้องขวา ก็ได้หักหายมา ตั้งแต่เดิมด้วยนอกจากนี้ทุกส่วนคงสภาพเดิมทุกประการ การน�ำไป ซ่อมได้น�ำไปไว้ที่วัดสระเกตุ กรุงเทพฯ และเมื่อแล้วเสร็จจึงน�ำกลับ มาไว้วัดหมอนไม้จนถึงทุกวันนี้
เสนาสนะ และสิ่งปลูกสร้างภายในวัดหมอนไม้ มีดังนี้
ประวัติหลวงพ่อสัมฤทธิ์ ( พอสังเขป)
หลวงพ่อสัมฤทธิ์ เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย (สะดุ้งมาร) มี ขนาดหน้าตัก กว้าง 37.50 นิ้ว สูง 46.50 นิ้ว มีพระพุทธลักษณะ สวยสดงดงามสมส่ ว นทุ ก ประการ มี ผู ้ สั น นิ ษ ฐานว่ า สร้ า งในสมั ย สุโขทัย ยุคที่ 2 ราว พ.ศ. 1800 – 1981 ถ้าจะค�ำนวณอายุจากการ สร้างทีผ่ สู้ นั นิษฐานไว้ไม่ตำ�่ กว่า 500 ปีเศษเมือ่ ประมาณปีเถาะ ในสมัย ที่เจ้าอาวาสวัดนี้ชื่อ พระติ่ง เป็นเจ้าอาวาสวัดหมอนไม้ ได้เป็นผู้ไป พบเห็นพระพุทธรูปโบราณที่วัดร้าง อยู่ในโบสถ์เก่าแก่ซึ่งช�ำรุดหักพัง จนแทบว่าจะไม่เป็นวัด ส่วนทีเ่ ห็นคงมีแต่ซากก�ำแพงอยูบ่ า้ งบางส่วนนัน้ ได้มีต้นไม้และเถาวัลย์ขึ้นปกคลุมเป็นอันมาก ต่อมาได้สืบทราบว่า เป็นวัดร้างมีชื่อว่า วัดฝายจอมแจ้ง อยู่ในท้องที่ของอ�ำเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์ อยู่มาวันหนึ่งพระภิกษุติ่งเจ้าอาวาสวัดได้ชักชวน พระลูกวัด พร้อมมัคทายกไปท�ำพิธีอัญเชิญพระพุทธรูปองค์นี้ เพื่อที่ จะน� ำ มาไว้ วั ด หมอนไม้ ขณะที่ ท� ำ พิ ธี อั ญ เชิ ญ อยู ่ นั้ น ได้ เ กิ ด มี พ ายุ เหมือนราวกับว่ามีลมฟ้าฝนคล้ายฝนจะตกลงมา ปรากฏการณ์อันนี้ ทุกคนที่ไปมีความตกใจและกลัวมากจนกระทั่งพระภิกษุติ่ง ซึ่งเป็น
- อุโบสถหลังใหม่ ขนาดกว้าง 15 เมตร ยาว 39.09 เมตร คอนกรีตเสริมเหล็ก โครงหลังคาเป็นไม้มงุ ด้วยกระเบือ้ งแผ่นเล็ก - วิหาร ขนาดกว้าง 6 เมตร ยาว 12 เมตร คอนกรีตเสริมเหล็ก โครงหลังคาเป็นไม้มุงด้วยกระเบื้องแผ่นเล็ก - กุฎีเจ้าอาวาส ขนาดกว้าง 10 เมตร ยาว 22 เมตร คอนกรีตเสริมเหล็กหลังคาโครงเหล็ก มุงกระเบื้องซีแพ็คสีแดง - กุฎีสงฆ์ ขนาดกว้าง 9 เมตร ยาว 30 เมตร คอนกรีตเสริมเหล็ก ทรงไทยประยุกต์ หลังคามุงกระเบื้อง - ศาลาการเปรียญ ขนาดกว้าง 22 เมตร ยาว 55 เมตร เสาคอนกรีต หลังคาเป็นโครงไม้ มุงกระเบื้องลอนคู่สีแดง - ศาลาอเนกประสงค์ ขนาดกว้าง 7.50 เมตร ยาว 20.50 เมตร หลังคาโครงเหล็ก มุงกระเบื้อง - โรงเรียนพระปริยัติธรรม ขนาดกว้าง 20 เมตร ยาว 32 เมตร คอนกรีตเสริมเหล็ก ทรงไทยประยุกต์ 2 ชั้น - หอระฆัง ขนาดกว้าง 4 เมตร สูง 18 เมตร 3 ชั้น คอนกรีตเสริมเหล็กมุงกระเบื้อง - เมรุ ขนาดกว้าง 5 เมตร ยาว 6 เมตร คอนกรีตเสริมเหล็ก 2 เตาคู่ - ห้องน�้ำ- ห้องสุขา จ�ำนวน 45 ห้อง คอนกรีตเสริมเหล็ก UTTARADIT I SBL บันทึกประเทศไทย
6
.indd 35
35
19/10/2563 14:34:49
รายนามเจ้าอาวาส ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
6
1. ไม่ปรากฏนามเจ้าอาวาส 2. พระอธิการคีบ 3. พระมหาสนิท 4. พระอธิการเผื่อน 5. พระมหาทองหล่อ 6. พระอาจารย์ช่วย 7. พระอาจารย์สวาท สิริปุญโญ 8. พระอธิการอ๊อด สคารโว 9. พระอธิการเติม ปิยธมฺโม 10. พระครูเกษมธรรมาลังการ 11. พระครูวิหารกิจจานุยุต รกฺขิโต เจ้าอาวาสองค์ปัจจุบัน
36
SBL บันทึกประเทศไทย I อุตรดิตถ์
.indd 36
ประวัติเจ้าอาวาส (พอสังเขป)
พระครูวิหารกิจจานุยุต ฉายา รกฺขิโต อายุ 61 พรรษา 31 วิทยฐานะ น.ธ.เอก สามัญ ปริญญาตรี วัดหมอนไม้ ต�ำบลบ้านเกาะ อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ ปัจจุบันด�ำรงต�ำแหน่ง เจ้าอาวาสวัดหมอนไม้ / รองเจ้าคณะอ�ำเภอ เมืองอุตรดิตถ์ สถานะเดิม ชื่อ ประสาทพร นามสกุล ฉายา เกิดเมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม 2502 บ้านเลขที่ 114/1 หมู่ที่ 1 ต�ำบลป่าเซ่า อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ บิดา นายเสนาะ ฉายา มารดา นางบุญนาค ฉายา อุปสมบท วันที่ 17 พฤษภาคม 2529 ณ พัทธสีมาวัดหมอนไม้ ต� ำ บลบ้ า นเกาะ อ� ำ เภอเมื อ ง จั ง หวั ด อุ ต รดิ ต ถ์ พระอุ ป ั ช ฌาย์ พระมหาพล ฉายา ชยเสโน วัดท่าถนน ต�ำบลท่าอิฐ อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ วิทยฐานะ - พ.ศ. 2533 สอบไล่ได้นักธรรมชั้นเอก ส�ำนักเรียน วัดหมอนไม้ ต�ำบลบ้านเกาะ อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ - พ.ศ. 2543 ส�ำเร็จการศึกษาหลักสูตร ปริญญาตรี ครุศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ ต�ำบลท่าอิฐ อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ หน้าที่พิเศษ 1. เป็นพระธรรมทูตประจ�ำจังหวัดอุตรดิตถ์ 2. เป็นครูสอนปริยัติธรรมกรมการศาสนา 3. เป็นครูสอนศีลธรรมในโรงเรียน 4. เป็นกรรมการตรวจข้อสอบนักธรรมชั้นตรี 5. เป็นกรรมวาจาจารย์ 6. เป็นพระวิปัสสนาจารย์จังหวัดอุตรดิตถ์
19/10/2563 14:34:53
การสาธารณะสงเคราะห์วัดหมอนไม้
การสาธารณะสงเคราะห์ ได้จัดตั้งชมรมอาสากู้ภัยวัดหมอนไม้ ออกช่วยเหลือประชาชนผู้ประสบสาธารณภัย เช่น อัคคีภัย วาตภัย อุทกภัย ภัยจากอุบัติเหตุบนท้องถนน และอื่นๆ บริจาคหีบศพ สงเคราะห์ศพไม่มีญาติ และคนยากจน มอบ เสื้อผ้า ผ้าห่ม ข้าวสารอาหารแห้ง แก่ผู้ประสบอุทกภัย ผู้ประสบภัย หนาว เป็นประจ�ำ ให้สถานที่จัดกิจกรรมส่งเสริมอาชีพกลุ่มสตรี แม่บ้านในเขตต�ำบลป่าเซา ส่งเสริมอาชีพเยาวชน ส่งเสริมการศึกษา และสันทนาการ มอบทุนการศึกษา ส่งเสริมโครงการอาหารกลางวัน แก่นักเรียนในโรงเรียน UTTARADIT I SBL บันทึกประเทศไทย
6
.indd 37
37
19/10/2563 14:34:58
History of buddhism....
วัดใหม่เจริญธรรม
Wat Mai Charoen Tham พระครูสุจิตพัฒนพิธาน สมจิตฺโต (สมพงษ์ ชูเชื้อ) เจ้าอาวาสวัดใหม่เจริญธรรม / เจ้าคณะตำ�บลคุ้งสำ�เภา
Abbot of Wat Mai Charoen Tham / Khung Samphao sub-district monk dean
วัดใหม่เจริญธรรม ตั้งอยู่บ้านป่าขนุน เลขที่ 109 หมู่ที่ 3 ต�ำบลคุ้งตะเภา อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์
38
SBL บันทึกประเทศไทย I อุตรดิตถ์
4
2
.indd 38
13/10/2563 15:20:00
ศาสนสถาน – ถาวรวัตถุ
- อุโบสถ กว้าง 19.50 เมตร ยาว 29 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2539 - ศาลาการเปรียญ กว้าง 20 เมตร ยาว 30 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2484 เป็นอาคารไม้ ปัจจุบันบูรณะเป็นอาคาร 2 ชั้น - กุฏิทรงไทย จ�ำนวน 1 หลัง กว้าง 8 เมตร ยาว 16 เมตร สร้าง เมือ่ ปี พ.ศ. 2545 เป็นอาคารครึง่ ตึกครึง่ ไม้ทรงไทย เป็นกุฏเิ ป็นห้องสมุด - กุฏิสงฆ์ จ�ำนวน 2 หลัง เป็นอาคารครึ่งตึกครึ่งไม้ 1 หลัง และ ตึก 1 หลัง สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2528 เป็นอาคาร 2 ชั้น - ศาลาอเนกประสงค์ กว้าง 15 เมตร ยาว 25 เมตร สร้างเมื่อ ปี พ.ศ. 2546 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก ก่ออิฐถือปูน ชั้นเดียว - ซุ้มประตูไม้ลักษณะทรงไทย กว้าง 5 เมตร ยาว 9 เมตร สร้าง เมื่อปี พ.ศ. 2551
Religious place – Permanent structure
วัดใหม่เจริญธรรม หรือทีช่ าวบ้านเรียก วัดป่าขนุน (ชือ่ เดิม วัดท่าควาย) เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ภาค 5 ได้รบั พระบรมราชานุญาต ให้สร้างวัด ตามพระราชบัญญัติลักษณะการปกครองคณะสงฆ์ ร.ศ.121 เมือ่ ปี พ.ศ. 2480 มีพระบรมราชโองการพระราชทานวิสงุ คามสีมาปี พ.ศ. 2539 ที่ดินเฉพาะบริเวณที่ตั้งวัด มีเนื้อที่ 7 ไร่1 งาน 13 ตารางวา โดยมี หนังสือแสดงกรรมสิทธิท์ ดี่ นิ เป็น โฉนดเลขที่ 74 กรรมสิทธิท์ ดี่ นิ เป็นของวัด Wat Mai Charoen Tham or called by locals as Wat Pa Khanun(Former name was Wat Tha Khwai) is a Wat Rat (Temple that was bestowed the land from Royal family but not registered as royal temple). It belongs to Maha Nikaya clergy, provincial clergy region 5. It was granted royal permission to build the temple by following regulation in Sangha administration act of 1902 in 1937. This temple was granted Wisungkhamsima (Land granted from Royal family to build temple or other religious buildings) in 1996. The scale of this temple’s land is 2.76 acres and 452 square meters, title deeds of this land is title deeds no.74 which state that owner of this land is this temple.
- Ubosot (Buddshit Sanctuary) 19.50 meters in width and 29 meters in length. It was built in 1996. - Sermon hall 20 meters in width and 30 meters in length. It was built in 1941. It is reconstructed to be 2 story building now. - Thai-style monk’s dwelling 8 meters in width and 16 meters in length. It was built in 2002. It is Thai-style half-wood, half-concrete building which is also a library. - 2 Monk’s houses One is a half wood, half concrete building which the other one is concrete building. Both are 2 story building and were built in 1985. - Multi-purpose hall 15 meters in width and 25 meters in length. It was built in 2003. It is a 1 story brick building which is plastered and fortified with reinforced concrete. - Thai-style wooden arch 5 meters in width and 9 meters in length. It was built in 2008.
UTTARADIT I SBL บันทึกประเทศไทย
4
2
.indd 39
39
13/10/2563 15:20:10
ประวัติหลวงพ่อทันใจ
ความศรัทธาของคนไทยที่มีต่อสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ชื่อว่า “หลวงพ่อ ทันใจ” ซึ่งเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ว่ากันว่าเป็นสุดยอดแห่งสิ่งศักดิ์สิทธิ์ใน การอธิษฐาน ด้วยความที่อธิษฐานแล้วได้ผลลัพธ์ทันตาเห็นผลทันใจ ขอพรเพียงไม่กี่วัน พรที่ขอก็สัมฤทธิ์ผลดังปาฏิหาริย์ ส�ำหรับหลวงพ่อทันใจ วัดใหม่เจริญธรรม (บ้านป่าขนุน) ต�ำบล คุ้งตะเภา อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ ลักษณะเป็นปางประทานพร
History of Luang Phor Than Jai
Faith of Thai people toward sacred item that its name is “Luang Phor Than Jai” which is a re-known sacred item for its sacredness on blessing due to anyone who pray to this item, their wishes will be granted miraculously in just a few days afterwards. As for Luang Phor Than Jai of Wat Mai Charoen Tham (Ban Pa Khanun) at Khung Tapao sub-district, Mueang district, Uttaradit province, it is a Buddha statue in attitude of giving boons.
ประวัติหลวงพ่อส�ำเภาทอง
หลวงพ่อส�ำเภาทอง เป็นพระพุทธรูปสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น มีลักษณะปางประทานพร ฐานพระพุทธรูปมีเรือส�ำเภาและหีบใส่เงิน แบบโบราณอยู่รอบฐานพระพุทธรูป ซึ่งสันนิษฐานว่าสร้างขึ้นมาเพื่อ เป็นพระพุทธรูปประจ�ำเรือค้าขายและเดินเรือตามล�ำแม่น�้ำน่านขึ้น มาจนถึงท่าน�้ำที่ส�ำคัญ 3 ท่า (ท่าเหนือ) คือ ท่าเสา ท่าอิด และ ท่าโพธิ์ ซึ่งมีความส�ำคัญและเจริญรุ่งเรืองมาแต่สมัยขอมปกครอง ท่าอิดตัง้ แต่ พ.ศ.1400 ปัจจุบนั ก็คอื ตลาดท่าเสา ต�ำบลท่าเสา อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ และได้น�ำพระพุทธรูปองค์นี้ถวายไว้วัดป่ากล้วย เจ้าอาวาสวัดป่ากล้วยได้น�ำพระพุทธรูปไปถวายไว้เป็นพระประธาน ประจ�ำวัดใหม่เจริญธรรม (บ้านป่าขนุน) ต�ำบลคุ้งตะเภา อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ เมื่อสร้างวัดเสร็จตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา
History of Luang Phor Samphaothong
Luang Phor Samphaothong is Buddha statue in attitude of giving boons that was built in early Rattanakosin period. There are argosy and ancient coffer around the base of this Buddha statue which is assumed that this Buddha statue was built for making it a Buddha statue of trading argosy which sailed on Nan River upstream until it reached three important northern harbors: Sao Harbor, It Harbor and Pho Harbor. These three harbor played a significant role at that time which had been prosperous since the time when Cambodia had governed It harbor in 857. At present, these harbors become Tha Sao market in Tha Sao sub-district, Mueang district, Uttaradit province. After that, this Buddha statue was offered to Wat Pa Kluay. The abbot then offered it to Wat Mai Charoen Tham (Ban Pa Khanun) when the construction of this temple was finished, to be the principle Buddha image which it has been enshrined at this temple since then until today. 40
SBL บันทึกประเทศไทย I อุตรดิตถ์
4
2
.indd 40
13/10/2563 15:20:13
พระครูสุจิตพัฒนพิธาน สมจิตฺโต (สมพงษ์ ชูเชื้อ) เจ้าอาวาสวัดใหม่เจริญธรรม / เจ้าคณะต�ำบลคุ้งส�ำเภา
ประวัติเจ้าอาวาส
พระครูสุจิตพัฒนพิธาน สมจิตฺโต (สมพงษ์ ชูเชื้อ) น.ธ.เอก ป.บส. พธ.บ. พธ.ม. เจ้ า อาวาสวั ด ใหม่ เจริ ญ ธรรม / เจ้ า คณะต�ำ บลคุ ้ ง ส� ำ เภา / พระอุปัชฌาย์ พระครูสอนปริยัติธรรม ครูสอนศีลธรรมในโรงเรียน อาจารย์ประจ�ำหลักสูตร สาขาวิชาการจัดการเชิงพุทธ หน่วยวิทย บริการจังหวัดอุตรดิตถ์ วิทยาลัยสงฆ์พุทธชินราช มหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ประสบการณ์ การท�ำงาน - พ.ศ. 2533 ก่อตั้งหน่วยอบรมเข้าค่ายพุทธบุตร ประจ�ำจังหวัด อุตรดิตถ์ - พ.ศ. 2534 เป็ น อาจารย์ ใ หญ่ โรงเรี ย นพระพุ ท ธศาสนาวั น อาทิตย์ วัคคลองโพธิ์ ต�ำบลบ้านเกาะ อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ - พ.ศ. 2535 - ปัจจุบัน เป็นครูสอนพระปริยัติธรรมแผนกธรรม ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ จังหวัดอุตรดิตถ์ - พ.ศ. 2544 เป็ น กรรมการสถานศึ ก ษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียน เตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้าอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ - พ.ศ. 2544 – ปัจจุบัน เป็นกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนป่าขนุนเจริญวิทยา อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ - พ.ศ. 2546 – ปัจจุบัน เป็นครูสอนศีลธรรม โรงเรียนป่าขนุน เจริญวิทยา อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ - พ.ศ. 2558 – ปัจจุบัน เป็นอาจารย์รับผิดชอบหลักสูตร คณะ สังคมศาสตร์ สาขาการจัดการเชิงพุทธ หน่วยวิทยบริการ วัดหมอนไม้ จังหวัดอุตรดิตถ์ วิทยาลัยสงฆ์พุทธชินราช มหาวิทยาลัยมหาจุฬา ลงกรณราชวิทยาลัย รางวัลเกียรติยศ พ.ศ. 2538 ได้รับรางวัลพระราชทานเสาเสมาธรรมจักร สาขา การเผยแผ่พระพุทธศาสนาดีเด่นในประเทศ UTTARADIT I SBL บันทึกประเทศไทย
4
2
.indd 41
41
13/10/2563 15:20:21
History of buddhism....
วัดป่าสักเรไร
Wat Pa Sak Lelai พระอธิการบุญศรี จารุวณฺโณ เจ้าอาวาสวัดป่าสักเรไร Phra Athikarn BoonSri Jaruwanno, abbot of Wat Pat Sak Lelai
วัดป่าสักเรไร ตั้งอยู่ที่บ้านหัวหาด หมู่ที่ 5 ต�ำบลคุ้งตะเภา อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์
42
4
2
SBL บันทึกประเทศไทย I อุตรดิตถ์
.indd 42
13/10/2563 15:17:09
วัดป่าสักเรไร สร้างขึน้ เมือ่ ประมาณปี พ.ศ. 2464 สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีทดี่ นิ ทีต่ งั้ วัดจ�ำนวน 9 ไร่ 21 ตารางวา ประชาชนชาวบ้านหัวหาดได้รว่ มใจกัน สร้างวัดนีเ้ พือ่ เป็นทีป่ ระกอบศาสนกิจและกิจกรรมของชุมชน ได้รบั พระราชทาน วิสงุ คามสีมาเมือ่ วันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2520 เขตวิสงุ คามสีมากว้าง 30 เมตร ยาว 50 เมตร Wat Pa Sak Lelai was built around 1921. It belongs to Maha Nikaya clergy. The scale of this temple’s land is 3.55 acres and 82 square meters. People of Ban Hua Hat joined together to build this temple to be a place for performing religious activities and community activities. It was granted Wisungkhamsima (Land granted from Royal family to build temple or other religious buildings) on 30 August 1977, which the scale of this land is 30 meters in width and 50 meters in length.
พื้นที่ตั้งของวัดมีลักษณะเป็นพื้นที่ราบ
- ทิศเหนือ ยาว 3 เส้น 6 วา จดหาดแม่น�้ำน่าน - ทิศใต้ ยาว 3 เส้น 6 วา จดทางสาธารณะ - ทิศตะวันออก ยาว 3 เส้น 6 วา จดทางสาธารณะ - ทิศตะวันตก ยาว 3 เส้น 6 วา จดโรงเรียนบ้านหัวหาด
The topography of temple’s location is a plain. - North 132 meters in length, it borders on the bank of Nan River. - South 132 meters in length, it is adjacent to public road. - East 132 meters in length, it is adjacent to public road. - West 132 meters in length, it borders on Ban Hua Hat School.
UTTARADIT I SBL บันทึกประเทศไทย
4
2
.indd 43
43
13/10/2563 15:17:21
ศาสนสถาน-ถาวรวัตถุ
- อุโบสถ กว้าง 30 เมตร ยาว 50 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2520 เป็นอาคารคอนกรีต - หอสวดมนต์ กว้าง 16 เมตร ยาว 24 เมตร เป็นอาคารไม้ - วิหารอดีตเจ้าอาวาส สร้างด้วยคอนกรีตจ�ำนวน 1 หลัง - กุฏิสงฆ์ จ�ำนวน 3 หลัง เป็นอาคารครึ่งตึกครึ่งไม้ 1 หลัง และ ตึก 2 หลัง - ศาลาบ�ำเพ็ญกุศล จ�ำนวน 1 หลัง สร้างด้วยคอนกรีต 1 หลัง - เมรุมณฑป สร้างด้วยคอนกรีตจ�ำนวน 1 หลัง
Religious place-Permanent structure
- Ubosot 30 meters in width, 50 meters in length. It was built in 1977. It is a concrete building. - Chanting Hall 16 meters in width and 24 meters in length. It is a wooden building. - Vihara of former abbot It is a concrete building. - Monk’s house There are 3 houses. One is half-wood, half-concrete building. Other 2 buildings are concrete buildings. - Merit-making Pavilion There is only building which is built from concrete. - Crematory in Mondop style (square hall with a pyramidal roof) It is a concrete building.
ท�ำเนียบเจ้าอาวาสวัดป่าสักเรไร
รายนามเจ้าอาวาสวัดป่าสักเรไร พ.ศ. 2464 - ปัจจุบัน 1. หลวงพ่อบาง 2. หลวงพ่อดัด 3. หลวงพ่อแดง 4. พระอธิการบุญธรรม ปุญญกาโม 5. พระอธิการบุญศรี จารุวณฺโณ เจ้าอาวาสองค์ปัจจุบัน
Directory of abbot of Wat Pa Sak Lelai
พระอธิการบุญศรี จารุวณฺโณ เจ้าอาวาสวัดป่าสักเรไร
44
4
2
Order of abbot of Wat Pa Sak Lelai since 1921 until now 1. Luang Phor Bang Unknown title 1921. 2. Luang Phor Dat Unknown title Year is unknown. 3. Luang Phor Daeng Unknown title Year is unknown. 4. Phra Athikarn Boontham Punyakamo The current abbot.
SBL บันทึกประเทศไทย I อุตรดิตถ์
.indd 44
13/10/2563 15:17:27
UTTARADIT I SBL บันทึกประเทศไทย
4
2
.indd 45
45
13/10/2563 15:17:32
History of buddhism....
วัดธรรมาธิปไตย พระมหามงคล กตปุญโญ ป.ธ.7 เจ้าอาวาสวัดธรรมาธิปไตย / เจ้าคณะอำ�เภอตรอน
วัดธรรมาธิปไตย ตั้งอยู่เลขที่ 7 ถนนส�ำราญรื่น ต�ำบลท่าอิฐ อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย
46
2
SBL บันทึกประเทศไทย I อุตรดิตถ์
.indd 46
ได้ รั บ พระบรมราชานุ ญ าตให้ ส ร้ า งวั ด ตามพระราชบั ญ ญั ติ ลั ก ษณะการ ปกครองคณะสงฆ์ ร.ศ.121 เมือ่ ปี พ.ศ.2430 มีพระบรมราชโองการ พระราชทาน วิสงุ คามสีมา เมือ่ วันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ.2485 ทีด่ นิ เฉพาะบริเวณทีต่ งั้ วัด มีเนือ้ ที่ 19 ไร่ 24 ตารางวา ลั ก ษณะที่ ตั้ ง วั ด และบริ เ วณโดยรอบเป็ น ที่ ร าบตั้ ง อยู่ใจกลางชุมชน
13/10/2563 15:19:34
วัดธรรมาธิปไตย เดิมชื่อวัด “วัดท่าทราย” ตั้งอยู่ริมแม่น�้ำน่าน (ท่าอิฐล่าง) หรือบ้านบางโพเหนือ เนื่องจากน�้ำได้เซาะตลิ่งพังเข้ามา เรื่อยๆ จนถึงที่ตั้งวัด จึงย้ายหนีน�้ำขึ้นมาห่างจากที่เดิมประมาณสอง กิโลเมตรเศษ จากสภาพท�ำเล ที่ตั้งวัดใหม่มีต้นไม้ร่มรื่นมากมาย โดยเฉพาะต้ น มะขามขนาดใหญ่ อ ยู ่ ใ นบริ เวณวั ด จึ ง ได้ ใ ห้ ชื่ อ ว่ า “วัดต้นมะขาม” ในปี พ.ศ.2345 ต่อมาเจ้าคณะจังหวัดอุตรดิตถ์ได้ ส่งพระสุธรรมเมธี (พระมหาบันลือ ธมฺมธโร) ป.ธ.8 มาเป็นเจ้าอาวาส วัดต้นมะขาม เมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ.2482 พระสุธรรมเมธี ฟังชื่อวัดแล้วเหมือนอยู่ในป่าดง และต้นมะขามไม่มีปรากฏแล้วจึง ได้ด�ำเนินการขออนุญาตเปลี่ยนชื่อวัดใหม่เป็น “วัดธรรมาธิปไตย” ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา วัดธรรมาธิปไตย ยังเป็นสถานที่ปฏิบัติธรรมของผู้สูงอายุ เป็น สถานที่กระจายข่าวสารของชุมชน เป็นศูนย์ประชุมพบปะระหว่าง ประชาชนกับหน่วยงานของรัฐและเอกสาร และเป็นวัดตัวอย่างของ คณะสงฆ์ประจ�ำจังหวัดอุตรดิตถ์
รายนามผู้บริหารวัดธรรมาธิป ไตย
1. พระมหามงคล กตปุญโญ ป.ธ.7 เจ้าอาวาสวัดธรรมาธิปไตย 2. พระปลัดวิสุทธิ์ คม. รองเจ้าอาวาสวัดธรรมาธิปไตย 3. พระมหานิมิต ปริปุณโณ ป.ธ.5 ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดธรรมาธิปไตย 4. พระมหาศิริชัย สุทธสีโล ป.ธ.5 ครูสอนปริยัติธรรม 5. พระมหาสืบศักดิ์ โชติวโร ป.ธ.4 ครูสอนปริยัติธรรม
คณะกรรมการ และไวยาวัจกร
ประวัติเจ้าอาวาส พอสังเขป
พระมหามงคล กตปุญโญ ป.ธ.7 สถานะเดิม ชื่อ มงคล นามสกุล วรรณศรี เกิดวันจันทร์ ที่19 พฤษภาคม พ.ศ.2501 ณ บ้านเลขที่9 หมู่ที่ 5 ต�ำบลเมืองเก่า อ�ำเภอ พนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา อุปสมบท วันอาทิตย์ ขึ้น 5 ค�่ำ เดือน 5 ปีวอก ตรงกับวันที่ 23 มีนาคม พ.ศ.2523 ณ พัทธสีมาวัดบึงกระจับ ต�ำบลหนองแหน อ�ำเภอ พนมสารคาม จั ง หวั ด ฉะเชิ ง เทรา โดยมี พระครู ศิ ริ จั น ทคู ณ วัดหนองบัว ต�ำบลหนองแหน อ�ำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา เป็นพระอุปัชฌาย์ งานการปกครอง พ.ศ. 2538 – 2548 ได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัด คลองโพธิ์ พระอารามหลวง ต�ำบลบ้านเกาะ อ�ำเภอเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ พ.ศ. 2540 ได้รับการแต่งตั้งเป็นพระกรรมวาจาจารย์ จังหวัดอุตรดิตถ์ พ.ศ. 2540 – 2548 ได้รับการแต่งตั้งเป็นเลขานุการเจ้าคณะ จังหวัดอุตรดิตถ์ พ.ศ. 2543 – 2547 ได้รับการแต่งตั้งเป็นรองเจ้าคณะอ�ำเภอ เมืองอุตรดิตถ์ พ.ศ. 2544 ได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาส วัดธรรมาธิปไตย พ.ศ. 2546 ได้รับการแต่งตั้งเป็นพระอุปัชฌาย์เขตปกครอง อ�ำเภอเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ พ.ศ. 2547 ได้รับการแต่งตั้งเป็นเจ้าคณะอ�ำเภอตรอน พ.ศ. 2549 ได้รับการแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาสวัดธรรมาธิปไตย
1. พ.ท.คงศักดิ์ แจ้งเอี่ยม ข้าราชการบ�ำนาญ กรรมการวัดธรรมาธิปไตย 2. พ.ต.สมเพ็ชร พลิกศรี ข้าราชการบ�ำนาญ ไวยาวัจกร วัดธรรมาธิปไตย 3. พ.ต.ธีระ จันทร์เสน ข้าราชการบ�ำนาญ ไวยาวัจกร วัดธรรมาธิปไตย 4. นายอนันต์ พันธุ์มี ข้าราชการบ�ำนาญ ไวยาวัจกร วัดธรรมาธิปไตย 5. นายสิทธิพงษ์ ผาสุก กรรมการมูลนิธิ วัดธรรมาธิปไตย
พระมหามงคล กตปุญโญ
เจ้าอาวาสวัดธรรมาธิป ไตย / เจ้าคณะอ�ำเภอตรอน
UTTARADIT I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 47
47
13/10/2563 15:19:45
History of buddhism....
วัดเขาแก้ว พระครูวิจิตรธรรมรส (สนั่น ชิโนรโส) เจ้าอาวาสวัดเขาแก้ว
วัดเขาแก้ว ตั้งอยู่บ้านงิ้วงาม หมู่ที่ 4 ต�ำบลงิ้วงาม อ�ำเภอเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย
48
2
SBL บันทึกประเทศไทย I อุตรดิตถ์
.indd 48
มีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ 7 ไร่ 2 งาน อาณาเขต ทิศเหนือยาว 66 วา ติดต่อกับที่ดิน ของนายบุญมา ขอบใจ, ทิศใต้ยาว 60 วา 2 ศอก ติดต่อกับถนนส�ำราญรื่น, ทิศตะวันออกยาว 53 วา 2 ศอก ติดต่อกับถนนซอยเข้าหมู่บ้าน, ทิศตะวันตกยาว 53 วา 2 ศอก ติดต่อกับสุสานต�ำบลงิ้วงาม
13/10/2563 15:21:12
วัดเขาแก้ว สร้างขึ้นเป็นวัดนับตั้งแต่วันที่ 10 มีนาคม พ.ศ. 2475 ตรงกับวันขึ้น 15 ค�่ำ เดือน 4 ปีวอก มีนามตามชื่อของภูเขา เดิมวัด ตั้งอยู่ที่เชิงภูเขาอยู่ห่างจากที่ตั้งปัจจุบันไปทางทิศตะวันตกประมาณ 800 เมตร โดยมีหมื่นพิศาลสหกิจ (ใส ป็อกหลง) น�ำญาติพี่น้องและ ชาวบ้านร่วมใจกันจัดสร้างวัดนี้ ต่อมาเห็นว่าสถานที่ไม่สะดวกในการ คมนาคมจึ ง ได้ ย ้ า ยวั ด มาจั ด ตั้ ง ใหม่ ณ ที่ ตั้ ง ปั จ จุ บั น ตรงกั บ วันพฤหัสบดี ขึ้น 9 ค�่ำ เดือน 4 ปีมะโรง วันที่ 6 มีนาคม พ.ศ.2484 โดยมีหมื่นพิศาลสหกิจเป็นผู้บริจาคที่ดินให้เป็นที่ตั้งวัดเนื้อที่ 7 ไร่ 2 งาน วัดนี้ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514 ได้ผูกพัทธสีมาวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2515
ท�ำเนียบเจ้าอาวาสมีทั้งหมด 10 รูป
รูปที่ 1 หลวงพ่อต่าย พ.ศ. 2475 – 2476 รูปที่ 2 หลวงพ่อธูป พ.ศ. 2476 – 2477 รูปที่ 3 หลวงพ่อนก พ.ศ. 2477 – 2479 รูปที่ 4 หลวงพ่อโพธิ์ พ.ศ. 2479 – 2480 รูปที่ 5 พระอธิการสุนทร พ.ศ. 2480 – 2483 รูปที่ 6 พระปลัดป่วน พ.ศ. 2483 – 2499 รูปที่ 7 เจ้าอธิการละมูล ปสนฺโน พ.ศ. 2499 – 2508 รูปที่ 8 พระสุมาลี พ.ศ. 2508 – 2512 รูปที่ 9 พระอธิการอ่อน โสตฺถิโก พ.ศ. 2519 รูปที่ 10 พระครูวจิ ติ รธรรมรส(สนัน่ ชิโนรโส) เจ้าอาวาสองค์ปจั จุบนั
พระครูวิจิตรธรรมรส(สนั่น ชิโนรโส) เจ้าอาวาสวัดเขาแก้ว
สถานะเดิม ชื่อสนั่น นามสกุล ศรีสกุล เกิดวันที่ 2 เดือนมิถุนายน พ.ศ.2496 บ้านเลขที่ 201 หมู่ที่ 4 ต�ำบลงิ้วงาม อ�ำเภอเมือง จังหวัด อุตรดิตถ์ อุปสมบท เมื่อวันที่ 12 มีนาคม พ.ศ.2520 ณ วัดงิ้วงาม ต�ำบลงิ้วงามเขต อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ โดยมี พระครูสิมพลี คณานุยุต เป็นพระอุปัชฌาย์ , พระอธิการหล้า เป็นพระกรรมวาจาร จารย์ , พระควลเกต เป็นพระอนุสาวนาจารย์
พระครูวิจิตรธรรมรส(สนั่น ชิโนรโส) เจ้าอาวาสวัดเขาแก้ว
UTTARADIT I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 49
49
13/10/2563 15:21:25
History of buddhism....
วัดเกษมจิตตาราม พระครูสุจิตตานุโยค วิ. (สมชัย สมจิตฺโต) เจ้าอาวาสวัดเกษมจิตตาราม
50
2
วัดเกษมจิตตาราม เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์ฝ่ายมหานิกาย ตั้งอยู่เลขที่ 37 ต�ำบลท่าอิฐ อ�ำเภอเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์
วัดเกษมจิตตาราม เดิมชื่อ วัดม่อนศัลยพงษ์ ได้รับพระบรมราชานุญาตให้ สร้างวัด ตามพระราชบัญญัติลักษณะการปกครองคณะสงฆ์ ร.ศ.121 เมื่อปี พ.ศ. 2473 โดยพ่อกว้าง และ แม่ชีแปลก ศัลยพงษ์ สองคนพี่น้อง ได้ถวายที่ดินสร้าง วัดขึ้น มีเนื้อที่ 32 ไร่ 45 ตารางวา จึงตั้งชื่อตามนามสกุลของตน วัดม่อนศัลยพงษ์ เริม่ ท�ำการก่อสร้างอุโบสถในปี พ.ศ. 2480 ความกว้าง 4 วา 2 ศอก ความยาว 13 วา 2 ศอก ความสูง 4 วา 2 ศอกได้รับพระราชทาน วิสุงคามสีมาวันที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2480
SBL บันทึกประเทศไทย I อุตรดิตถ์
.indd 50
13/10/2563 15:37:52
ต่อมาในปี พ.ศ. 2482 พระมหากระแส ได้ขอเปลี่ยนชื่อวัดโดย ให้เหตุผลว่าชื่อเดิมนั้นเป็นวัดประจ�ำตระกูล เป็นวัดที่มีเจ้าของไม่ เป็นสาธารณะผู้คนที่จะมาท�ำบุญก็ตะขิดตะขวางใจเพราะเหมือนมี เจ้าของ จึงขอเปลี่ยนชื่อเป็นวัดเกษมจิตตาราม โดยการยินยอม พร้อมใจของ พ่อกว้าง แม่ศิริ ศัลยพงษ์ และแม่ชีแปลก ศัลยพงษ์ ผู้เป็นพี่สาว ต่อมาปี พ.ศ. 2503 พระใบฎีกาสวัสดิ์ อธิวาโส ได้มาด�ำรง ต�ำแหน่งเจ้าอาวาส ได้รับพระราชทานพระราขทินนาม คือ พระครู ภาวนากิตติคุณ ได้มาบูรณปฏิสังขรณ์โบสถ์จนส�ำเร็จเรียบร้อย และ ได้ท�ำการสร้างถาวรวัตถุขึ้นอีกหลายหลัง พร้อมทั้งซื้อที่ดินใกล้เคียง เพิ่มอีกหลายแปลง วั น ที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2545 ได้ รั บ แต่ ง ตั้ ง เป็ น ส� ำ นั ก ปฏิบัติธรรมประจ�ำจังหวัดแห่งที่ 1 ปัจจุบันวัดเกษมจิตตาราม มีเสนาสนะถาวรวัตถุภายในวัด เช่น มีวหิ าร ศาลาการเปรียญ ศาลาอเนกประสงค์ โรงเรียนพระปริยตั ธิ รรม อุโบสถ หอระฆัง ศาลาหอฉัน เมรุ ศาลาธรรมสังเวช และกุฏิสงฆ์ ทั้งหมด 11 หลัง วั ด เกษมจิ ต ตาราม ตั้ ง อยู ่ บ นเนิ น เขาเดี ย วกั บ โรงพยาบาล อุ ต รดิ ต ถ์ ในปี พ.ศ. 2470 เคยมี ผู ้ พ บกลองมะโหรทึ ก ส� ำ ริ ด สมัยวัฒนธรรมดองซอน อายุกว่า 2,000 ปี และโบราณวัตถุสมัยก่อน ประวั ติ ศ าสตร์ บ นม่ อ นวั ด เกษมจิ ต ตารามแห่ ง นี้ ปั จ จุ บั น กลอง มโหระทึ ก ดั ง กล่ า วจั ด แสดงอยู ่ ที่ พ ระที่ นั่ ง ศิ ว โมกข์ วิ ม าน พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติพระนคร ความน่าสนใจภายในวัดเกษมจิตตาราม คือ ระหว่างช่วงเดือน 5 ไทย วัดเกษมจิตตาราม จะจัดงานประจ�ำปีของวัด คือ งานกวน ข้าวทิพย์หรือข้าวมธุปายาศ ซึ่งเป็นวัดเดียวในจังหวัดอุตรดิตถ์ที่มี การจัดงานที่เป็นทางการและเป็นหนึ่งเดียวในภาคเหนือที่จัดอย่าง ยิ่งใหญ่ ขอบคุณข้อมูลจาก http://www.templethailand.org/
พระครูสุจิตตานุโยค วิ. (สมชัย สมจิตฺโต) เจ้าอาวาสวัดเกษมจิตตาราม
UTTARADIT I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 51
51
13/10/2563 15:38:06
History of buddhism....
วัดด่านนาขาม เจ้าอธิการสุเวทย์ เจ้าอาวาสวัดด่านนาขาม / เจ้าคณะตำ�บลด่านนาขาม
52
2
วัดด่านนาขาม ตั้งอยู่ที่บ้านด่านนาขาม เลขที่ 316 หมู่ที่ 2 ถนนพัฒนาการ ต�ำบลบ้านด่านนาขาม อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย
SBL บันทึกประเทศไทย I อุตรดิตถ์
.indd 52
ตามต้นฉบับเดิมในส�ำนักเลขาธิการในพระราชวังเดิม เลขที่ 114 หมู่ที่ 2 เมื่อ ปี พ.ศ. 2464 ปัจจุบันเปลี่ยนเป็น 316 หมู่ท่ี 2 เปลี่ยนใหม่เมื่อวันที่ 15 สิงหาคม 2548 เนื่องจากเจ้าหน้าที่ทะเบียนสมัยก่อนรู้ความจริงก็เกิดบ้านเลขที่วัดเจ้า หน้าที่เทศบาลก็เลยเปลี่ยนใหม่เป็น 316 หมู่ที่ 2 ใหม่ ประวัติเดิมจริงนั้น ตาม ต�ำนานต้นฉบับจริง ด่านเกิด ค�ำว่าด่านตรงนี้ หมายถึง ยุทธศาสตร์ทหารคนกลุ่ม หนึ่งตั้งด่านสู้รบสมัยพระเจ้าตากสิน กรุงธนบุรี เมื่อปีขาล พ.ศ.1217 ได้จัดทหาร และคนกลุม่ หนึง่ ให้ตงั้ ด่านรักษาด่านให้อยูเ่ ส้นทางสายนีซ้ งึ่ เป็นเส้นทางเสด็จผ่าน กรุงเทพผ่านไปเชียงใหม่ ได้อยู่เฝ้าเป็นประจ�ำหลายปี เพราะยุทธศาสตร์ที่ดี การ สูร้ บแต่ละครัง้ จะได้รบั ชัยชนะต้องพักทีน่ อี่ ย่างน้อย 1 ปี จึงจะชนะเพราะอาถรรพ์ หลายปีเข้าก็เกิดสร้างบ้านเรือนกันขึ้น บวกกับสถานที่ที่มีท�ำเลดีเป็นยุทธศาสตร์ ศักดิ์สิทธิ์ดีและมีต้นมะขามเป็นป่า ทึบไปด้วยมะขามนานาพันธุ์ บ้านเมืองก็เกิด ขึ้นมาเรื่อยๆ
13/10/2563 15:22:10
ปี พ.ศ.1313 มี ห มู ่ บ ้ า นเกิ ด ขึ้ น หลายหมู ่ บ ้ า น และเป็ น ปี ที่ หลวงพ่อตู้ ได้เดินธุดงค์มาพักที่นี่ ชาวบ้านก็นิมนต์ท่านให้อยู่แล้วก็ ช่วยกันสร้างวัด ที่พักสงฆ์จึงเกิดขึ้นเมื่อปี ฉลู รศ. 1355 พ.ศ. 2430 ก็ได้รับใบประกาศอนุญาตให้สร้างวัดเป็นต้นมา ได้รับพระราชทาน วิสุงคามสีมา เมื่อปี พ.ศ. 1353 โบสถ์หลังนี้เป็นโบสถ์ไม้ สร้างกลาง สระน�้ ำ กว้ า ง 7 เมตร ยาว 15 เมตร ต่ อ มาเมื่ อ ปี พ.ศ.2471 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเป็นครั้งที่ 2 สร้างเป็นตึกคอนกรีต ห่างจากที่เดิม 20 เมตร กว้าง 7 เมตร ยาว 20 เมตร และปีพ.ศ. 2550 ได้ท�ำการปฏิสังขรณ์ใหม่อยู่ที่เดิม กว้าง 9 เมตร ยาว 27 เมตร
อาคารเสนาสนะ ประกอบด้วย
- อุโบสถ กว้าง 9 เมตร ยาว 27 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ.2471 อาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก - ศาลาการเปรียญ กว้าง 20 เมตร ยาว 30 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2551 อาคารเสริมเหล็ก - กุฏสิ งฆ์ จ�ำนวน 1 หลัง อาคารคอกรีตเสริมเหล็ก จ�ำนวน 1 หลัง - ศาลาอเนกประสงค์ กว้าง 15 เมตร ยาว 29 เมตร สร้างเมื่อ ปี พ.ศ. 2560 อาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก นอกจากนี้ยังมี ฌาปนสถาน จ�ำนวน 2 หลัง , หอระฆัง จ�ำนวน 1 หลัง, โรงครัว จ�ำนวน 1 หลัง , เรือนเก็บพัสดุ จ�ำนวน 1 หลัง
ปูชนียวัตถุ มี
- พระประธานประจ�ำอุโบสถปางมารวิชัย ขนาดหน้าตักกว้าง 99 นิ้ว สูง 109 นิ้ว สร้างเมื่อ พ.ศ. 2559 - พระประธานประจ�ำศาลาการเปรียญ ปางมารวิชัย ขนาด หน้าตักกว้าง 79 นิ้ว สูง 89 นิ้ว สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2471
ปูชนียวัตถุอื่นๆ ได้แก่
- หลวงพ่อทันใจ 3 องค์ - โบสถ์กลางสระน�้ำ - ซุ้มประตูเข้าวัดทั้ง 3 ด้าน
การบริหารและการปกครอง มีเจ้าอาวาส 5 รูป ดังนี้
รูปที่ 1 หลวงปู่ตู้ ถาวโร พ.ศ. 1313 รูปที่ 2 หลวงปู่อ้น ฐิตวณฺโณ รูปที่ 3 หลวงปู่ปวง ปริสุทโธ รูปที่ 4 เจ้าอธิการแล สีตา รูปที่ 5 เจ้าอธิการสุเวทย์ ตั้งแต่ พ.ศ. 2519 – ปัจจุบัน
เจ้าอธิการสุเวทย์
เจ้าอาวาสวัดด่านนาขาม
UTTARADIT I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 53
53
20/10/2563 15:04:39
History of buddhism....
วัดอรัญญิการาม พระครูกัลยาณกิตติวัฒน์ (การเวก) เจ้าอาวาสวัดอัญญิการาม
54
2
วัดอรัญญิการาม ตั้งอยู่ถนนอินใจมี หมู่ 4 ต�ำบลท่าเสา อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์
วัดอรัญญิการาม ตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2465 โดยมีพ่อคร้าม-แม่เข้ม วิเศษสุข ใครจะสร้างกุศลอันยิ่งใหญ่ไว้ในพระพุทธศาสนา จึงได้เสาะหาที่ดินเพื่อจัดตั้ง ส�ำนักสงฆ์ ได้เห็นที่ดิน เด่นกระต่าย ซึ่งตั้งอยู่ระหว่างบ้านคลองโพธิ์เหนือ และ บ้านหินก้อนเดียว (หนองค�ำฮ้อย) เหมาะสมที่จะตั้งส�ำนักสงฆ์ ที่ดินผืนนี้เป็นของ พ่อปา-แม่กลม ทีงิ้วงาม คนบ้านนาโป่ง พ่อคร้ามจึงได้ไปติดต่อขอซื้อที่ดินจาก พ่อปา ด้วยวาทศิลป์อันมีเหตุผลในทางธรรมของพ่อคร้าม พ่อปาจึงเกิดศรัทธา อันยิ่งใหย่ได้ถวายที่ดินผืนที่พ่อคร้ามติดต่อขอซื้อให้พ่อคร้ามสร้างวัด ที่ดิน ประมาณ 9 ไร่เศษ
SBL บันทึกประเทศไทย I อุตรดิตถ์
.indd 54
13/10/2563 15:23:12
พ่ อ คร้ า มได้ ชั ก ชวนญาติ พี่ น ้ อ ง คณะศรั ท ธาชาวบ้ า นใกล้ วัดบ้านหนองค�ำฮ้อยและบ้านเกาะกลาง ให้ช่วยกันสร้างวัด ณ ที่ดิน ผืนที่พ่อปา แม่กลม มอบให้ คณะศรัทธาทุกครอบครัวช่วยเหลืออย่าง เต็มที่ วัดอรัญญิการามเกิดขึ้นได้ก็เพราะความร่วมมือร่วมใจจาก คณะศรัทธาวัดอรัญญิการามทุกคน พระวิเชียรปัญญามุนี เจ้าคณะจังหวัด ได้ตั้งชื่อวัดว่า วัดเอกะศิลา เพราะตัง้ อยูใ่ กล้หมูบ่ า้ นหินก้อนเดียว บางคนก็เรียกว่า วัดเด่นกระต่าย ในปี พ.ศ. 2470 มีพระมาจ�ำพรรษาหลายองค์เพื่อให้พระท่าน สะดวกในเรื่องที่อยู่อาศัย พ่อคร้ามและแม่เข้มจึงยกบ้านของท่าน ถวายวัดอรัญญิการาม เพื่อสร้างกุฏิพระ เมื่อพ่อคร้ามออกจากงาน แล้ว ไม่มีบ้านอยู่ จึงต้องพาครอบครัวไปเช่าบ้านอยู่หลังจากนั้นอีก หลายปีต่อมาคุณตาปั้น –คุณยายจันทร์ ปั้นนพศรี และแม่ลออ ปั้น นพศรี บุตรสาว ได้อุทิศเรือน 1 หลัง ให้ทางวัดสร้างศาลาการเปรียญ (ศาลาหลังเก่า) เมื่อทางวัดเจริญขึ้น ท่านเจ้าคุณสุธรรมเมธี เจ้าคณะจังหวัด ได้เปลี่ยนชื่อวัด เอกะศิลา โดยให้ชื่อใหม่ว่า วัดอรัญญิการาม เพราะ ได้หักร้างถางพงป่าให้เป็นวัด พ.ศ. 2481 ทางราชการได้ตั้งโรงเรียนวัดอรัญญิการามเป็นที่ เรียนท�ำการสอนตั้งแต่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1- 4 พ.ศ. 2482 เจ้าคุณสุธรรมเมธี (ทองสุข) ได้ปรึกษากับเจ้าคุณ นิ ม มานโกวิ ท (ทองค� ำ ) พิ จ ารณาส่ ง พระภิ ก ษุ ด วน วี ต ราโค ซึ่ ง จ� ำพรรษาอยู่ที่วัด ศัลยพงษ์ (เกษมจิต ตาราม) ให้ มาจ�ำ พรรษาที่ วัดอรัญญิการาม พ.ศ. 2496 กระทรวงศึกษาธิการได้อนุมัติงบประมาณจัดสร้าง อาคารเรียน ขนาด 5 ห้องเรียน ให้โรงเรียนวัดอรัญญิการาม โดย สร้างเป็นอาคารเอกเทศในที่ดินของวัดด้านทิศตะวันตก วัดอรัญญิการามเจริญขึ้นเพราะหมู่บ้านหนองค�ำฮ้อย หมู่บ้าน เกาะกลาง (หลังวัด) และหน้าวัด ก็เพราะทุกคนมีความเคารพรักและ ศรั ท ธาต่ อ พระครู พิ ทั ก ษ์ อ รั ญ วั ต ร เจ้ า อาวาสวั ด อรั ญ ญิ ก าราม ยิ่งเจริญมากขึ้นเมื่อนายจันทร์ และนายพร้อม คลังวิเชียร บุตรปู่มี คลังวิเชียร มาเป็นทายกวัด มาช่วยพ่อคร้าม แม่เข้ม ทะนุบ�ำรุงวัด ให้เจริญรุ่งเรือง เมื่อนายจันทร์และนายพร้อมถึงแก่กรรม ก็มีนายโท้ คลังวิเชียร ซึ่งเป็นหลานของปู่มี ได้มาเป็นก�ำลังส�ำคัญทะนุบ�ำรุงวัด อรัญญิการาม โดยมีนายบก ทั้งทอง, นายประควร พรมจุ้ย, นายวัน เพชรครุฑ, นายป้อม ทองงามแท้, ก�ำนัน ช่วยกันท�ำนุบ�ำรุง พัฒนา วัดจนเจริญมาถึงทุกวันนี้
ล�ำดับเจ้าอาวาส วัดอรัญญิการาม
1. พระครูพิทักษ์อรัญวัตร(ล�ำดวน) พ.ศ. 2486 - 2535 2. เจ้าอธิการบุญเชิด ภัทฺทปญฺโญ พ.ศ. 2535 - 2542 3. พระครูกัลยาณกิตติวัฒน์ (การเวก) พ.ศ. 2543 - ปัจจุบัน ปัจจุบัน ปี 2563 มีพระจ�ำพรรษา 24 รูป
พระครูกัลยาณกิตติวัฒน์ (การเวก) เจ้าอาวาสวัดอัญญิการาม
UTTARADIT I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 55
55
13/10/2563 15:23:25
ชีวประวัติ
พิพิธภัณฑ์ พระยาพิชัยดาบหัก ถั ด จากลานอนุ ส าวรี ย ์ พ ระยาพิ ชั ย ดาบหั ก คื อ อาคาร พิพธิ ภัณฑ์พระยาพิชยั ดาบหัก ส�ำหรับให้นกั ท่องเทีย่ วได้ศกึ ษา เรียนรู้ ชีวประวัติความเป็นมาและวีรกรรมของท่านพระยา พิชยั ดาบหัก โดยมีการตกแต่งสถานทีอ่ ย่างสวยงาม และแบ่ง การจัดแสดงเรือ่ งราวต่างๆ ไว้อย่างละเอียด ตลอดจนเรือ่ งราว ของพระพุทธศาสนา ศิลปวัฒนธรรมประจ�ำท้องถิ่น รวมถึง วิถีชีวิตความเป็นอยู่ของชาวอ�ำเภอพิชัย
56
.indd 56
SBL บันทึกประเทศไทย I อุตรดิตถ์
21/10/2563 10:32:04
History of buddhism....
วัดกลิ่นลอยบุปผาราม พระครูพิจิตรธรรมสุนทร เจ้าอาวาสวัดกลิ่นลอยบุปผาราม
วัดกลิ่นลอยบุปผาราม ตั้งอยู่เลขที่ 393 หมู่ที่ 1 ต�ำบลน�้ำริด อ�ำเภอเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์
วั ด กลิ่ น ลอยบุ ป ผาราม เป็ น สถานที่ สั บ ปายะเหมาะแก่ ก าร ปฏิบัติธรรม บรรยากาศภายในวัดสงบ ร่มเย็น ร่มรื่น และยังเป็น สถานที่ปฏิบัติศาสนกิจ ประจ�ำหมู่บ้าน ชุมชน ต�ำบลใกล้เคียง เป็น ทีย่ ดึ เหนีย่ วจิตใจของพุทธศาสนิกชนทัง้ หลาย นอกจากนี้ วัดกลิน่ ลอย บุปผาราม ได้ร่วมกับจังหวัดจัดโครงการปลูกป่าและป้องกันไฟป่า เพื่อร่วมแสดงความจงรักภักดีและส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณของ พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 10 ที่ได้ทรงปฏิบัติ พระราชกรณียกิจนานัปการเพื่อประโยชน์สุขแห่งอาณาราษฎร โดย ก�ำหนดพื้นที่ปลูกป่า ณ บริเวณวัดกลิ่นลอยบุปผาราม เนื้อที่จ�ำนวน 4 ไร่
ร่วมสร้างเส้นทางบุญ สร้างวิหารและโบสถ์ วัดกลิ่นลอยบุปผาราม
ขอเชิญญาติโยม ผู้มีจิตศรัทธาทั้งหลาย ร่วมสร้างวิหาร และ โบสถ์ วัดกลิ่นลอยบุปผาราม สามารถร่วมบุญกับทางวัดโดยตรง โทร 098 692 9256 UTTARADIT I SBL บันทึกประเทศไทย
1
.indd 57
57
14/10/2563 10:35:31
History of buddhism....
วัดวังกะพี้ พระครูพิศาลจริยธรรม เจ้าอาวาสวัดวังกะพี้ / เจ้าคณะอำ�เภอเมืองอุตรดิตถ์
58
3
วัดวังกะพี้ ตั้งอยู่เลขที่ 353 หมู่ 5 ต�ำบลวังกะพี้ อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์
SBL บันทึกประเทศไทย I อุตรดิตถ์
.indd 58
สภาพพื้นที่เป็นป่ามีแม่น�้ำน่านไหลผ่าน มีวังใหญ่และมีต้นกระพี้ใหญ่
ขึ้นอยู่ข้างตลิ่งริมวังน�้ำ ได้มีประชาชนจากบ้านวังหมูได้มาจับจองท�ำไร่และ สร้างที่อยู่เป็นจ�ำนวนมาก แต่ไม่มีสถานที่บ�ำเพ็ญกุศล นายอ่วม (สมัยนั้น ไม่มีนามสกุล เป็นต้นตระกูลอ่วมศรี) ได้ชักชวนกันตั้งวัดเพื่อบ�ำเพ็ญกุศลได้ บริจาคที่ดินของตน เพราะพิจารณาเห็นว่าสถานที่เป็นทีร่มเย็น แต่เนื้อที่ไม่ พอจึงขอที่นายโฉม บ้านเหนือ ,นายบุญ, นางหุ่นและนายยี่ บ้านใต้ และได้ จัดตั้งวัด และตั้งชื่อตามสถานที่ว่า “วัดวังกะพี้” เพราะหน้าวัดเป็นวังและ ริมวังมีต้นกระพี้ใหญ่ขึ้นอยู่ เริ่มแรกได้สร้างวัดเมื่อประมาณปี พ.ศ. 2400 มีศาลาดินเป็นที่บ�ำเพ็ญกุศล
13/10/2563 15:24:04
วัดวังกะพี้ ได้รับอนุญาตให้ตั้งวัด ส�ำหรับวัดที่สร้างหลังปี พ.ศ. 2484 เท่านั้น ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อวันที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2508 เนื้อที่กว้าง 40 เมตร ยาว 80 เมตร และประกอบพิธีผูก พัทธสีมา เมื่อวันที่ 15 เดือนมีนาคม พ.ศ. 2519 (อุโบสถหลังใหม่) ส่วนอุโบสถหลังเก่าสร้างเมื่อปี พ.ศ.2456 ได้ท�ำการรื้อถอนไปแล้ว
เสนาสนะและสิ่งปลูกสร้างภายในวัดวังกะพี้
1. อุโบสถ กว้าง 8 เมตร ยาว 24 เมตร สร้างเสร็จเมื่อปี พ.ศ. 2519 ลักษณะทั่วไป อุโบสถทรงไทย 3 ลด ก่อคอนกรีตเสริมเหล็ก ภายในเขียนภาพสีน�้ำมันประวัติพระเจ้าสิบชาติ เริ่มสร้างปี พ.ศ. 2506 สร้างเสร็จปี พ.ศ.2519 ใช้เวลาก่อสร้าง 13 ปี อุโบสถหลังเก่า ทรงไทยก่ออิฐถือปูน สร้างเสร็จปี พ.ศ.2456 รื้อเมื่อปี พ.ศ.2519 มีอายุ 63 ปี 2. ศาลาการเปรียญ กว้าง 24 เมตร ยาว 42 เมตร สร้างเสร็จ เมื่อปี พ.ศ.2467 ลักษณะทั่วไปทรงมะลิลา เสาก่ออิฐถือปูน เสาต่อ เป็นไม้ อาคารไม้มุงสังกะสี มีห้องน�้ำ 2 ห้อง ห้องสุขา 2 ห้อง มีห้อง แม่ชี อาศัยอยู่ 3 ห้อง 3. โรงเรียนพระปริยัติธรรม กว้าง 10 เมตร ยาว 18 เมตร สร้าง เสร็จเมื่อปี พ.ศ.2476 ลักษณะทั่วไปทรงปั้นหยาออกมุข ยกพื้น ก่อคอนกรีตเสริมเหล็ก มี 2 ชั้น เป็นอาคารไม้ ใช้เวลาสร้าง 1 ปี 4. หอสวดมนต์ กว้าง 11.50 เมตร ยาว 25 เมตร สร้างเสร็จเมื่อ ปี พ.ศ.2470 ลักษณะทั่วไปทรงมะลิลา เสาคอนกรีตเสริมเหล็ก เสา ต่อเป็นไม้ พื้นไม้มุงสังกะสี ใช้เวลาก่อสร้าง 1 ปี 5. กุฏิ จ�ำนวน 6 หลัง คือ หลังที่ 1 กว้าง 10.50 เมตร ยาว 13 เมตร สร้างเสร็จปี พ.ศ.2486 ลักษณะทั่วไป ทรงปั้นหยา 5 หลบ ออกมุข 5 ห้อง เสาคอนรีตเสริมเหล็กอาคารไม้ มุงกระเบื้องใช้เวลา ก่อสร้าง 1 ปี UTTARADIT I SBL บันทึกประเทศไทย
3
.indd 59
59
13/10/2563 15:24:17
การบริหารและการปกครอง
รูปที่ 1 อาจารย์ยอด รูปที่ 2 อาจารย์ฟกั รูปที่ 3 อาจารย์หรีด รูปที่ 4 อาจารย์คง ข�ำฉา รูปที่ 5 อาจารย์แดง รูปที่ 6 อาจารย์พดั จันทรังสี รูปที่ 7 อาจารย์โม้ เรืองจ�ำรูญ รูปที่ 8 อาจารย์พอ่ ง สุธรรมรักขติ รูปที่ 9 พระวิเชียร ปัญญามุนี เจ้าคณะจังหวัด รูปที่ 10 พระปลัดแนม ยุตติโก รูปที่ 11 พระธรรมธรจ�ำรัส ศีลธโร รูปที่ 12 พระจวน เขมวโร รูปที่ 13 พระครูพศิ าลจริยธรรม
พระครูพิศาลจริยธรรม (มงคล ปคุโณ)
พ.ศ. 2476 – 2495 พ.ศ. 2495 – 2506 พ.ศ. 2506 – 2526 พ.ศ. 2526
สถานะเดิม ชือ่ มงคล นามสกุล ทัดกาหลง เกิดวันที่ 3 เดือนมกราคม พ.ศ.2498 บิดา นายเลีย้ ม มารดา นางไพร บ้านโคกกะทือ เลขที่ 2 หมู่ 5 ต�ำบลวังใหญ่ อ�ำเภอศรีสำ� โรง จังหวัดสุโขทัย อุปสมบท วันที่ 3 เดือนมีนาคม พ.ศ.2520 วัดกงไกรลาศ ต�ำบลกง อ�ำเภอกงไกรลาส จังหวัดสุโขทัย พระอุปชั ฌาย์ พระครูไกรลาศสมานคุณ วัดกงไกรลาศ ต�ำบลกง อ�ำเภอกงไกรลาศ จังหวัดสุโขทัย การศึกษา นักธรรมชัน้ เอก ปริญญาพุทธศาสตรบัณฑิต (พธ.บ.) ต�ำแหน่ง ฝ่ายปกครอง - เจ้าอาวาสวัดวังกะพี้ - เจ้าคณะอ�ำเภอเมืองอุตรดิตถ์ สมณศักดิ์ - พ.ศ. 2536 เป็นพระครูสญั ญาบัตร เจ้าคณะต�ำบล ชัน้ ตรี ที่ พระครูพศิ าลจริยธรรม - พ.ศ. 2542 เป็นพระครูสญั ญาบัตร รองเจ้าคณะอ�ำเภอ ชัน้ โท ในราชทินนามเดิม - พ.ศ. 2546 เป็นพระครูสญั ญาบัตร รองเจ้าคณะอ�ำเภอ ชัน้ เอก ในราชทินนามเดิม - 5 ธันวาคม พ.ศ. 2559 เป็นพระครูสญั ญาบัตร เทียบเจ้าคณะอ�ำเภอ ชัน้ พิเศษ ในราชทินนามเดิม
พระครูพิศาลจริยธรรม
เจ้าอาวาสวัดวังกะพี้ / เจ้าคณะอ�ำเภอเมืองอุตรดิตถ์
60
3
SBL บันทึกประเทศไทย I อุตรดิตถ์
.indd 60
13/10/2563 15:24:23
Buddhism
in Thailand
Everything You Need to Know About Buddhism in Thailand There are some 30,000 Buddhist temples in Thailand.
UTTARADIT I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 61
61
21/10/2563 10:32:24
History of buddhism....
วัดม่อนหินขาว พระครูโสภณสิทธิธรรม เจ้าคณะตำ�บล บ้านด่าน / เจ้าอาวาสวัดม่อนหินขาว
62
2
วัดม่อนหินขาว ตั้งอยู่ที่บ้านม่อนหินขาว เลขที่ 99 หมู่ที่ 10 ต�ำบลผาจุก อ�ำเภอเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์
SBL บันทึกประเทศไทย I อุตรดิตถ์
.indd 62
เนื่องจากชาวบ้านม่อนหินขาวต้องไปท�ำบุญไกล ที่วัดคลองนาพง ระยะทาง ประมาณ 4 กิโลเมตร ต่อมาปี พ.ศ. 2530 อาจารย์บรรเลง สดใส จึงไปปรึกษา กับ พระครูพิพิธนวการ เจ้าอาวาสวัดคลองนาพง เพื่อขอไม้มาสร้างศาลาท�ำบุญ อยู่ที่ในโรงเรียนบ้านม่อนหินขาว ได้ท�ำบุญกันเรื่อยมาจนถึงปี พ.ศ. 2536 นายบุญส่ง จอมเงินนาย , นายประเทือง เลิกดี, นายบุญส่ง ป๊อกแป๊ก และ ชาวบ้านม่อนหินขาว ได้ขอที่ดินจากสภาต�ำบลผาจุก กับก�ำนันเม่ง ด่านผาทอง ประธานสภาฯ พิจารณาให้ใช้ที่ดินสาธารณะประโยชน์จ�ำนวน 20 ไร่ เพื่อย้าย ศาลาท�ำบุญจากโรงเรียนบ้านม่อนหินขาวมาอยู่ในที่ดินสาธารณะประโยชน์ท�ำ เป็นที่พักสงฆ์ม่อนหินขาว วันที่ 21 ตุลาคม ปีพ.ศ. 2553 ได้รับอนุญาตให้ตั้งวัด นามว่า “วัดม่อนหินขาว”
14/10/2563 11:11:14
พ.ศ. 2553 พระครูโสภณสิทธิธรรม ได้รบั บริจาคทีด่ นิ จากนายถม วงสมบัติ เนือ้ ที่ 6 ไร่ 1 งาน 85 ตารางวา 2 โฉนด คือ โฉนดทีด่ นิ เลขที่ 29067 และโฉนดทีด่ นิ เลขที่ 67696 ต�ำบลผาจุก อ�ำเภอเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ เพื่อสร้างวัดม่อนหินขาว อาณาเขตวัดม่อนหินขาว ทิศเหนือ ติดกับถนน, ทิศใต้ ติดกับที่ดินของนายอ�ำนวย ไทยป๊อก, ทิศตะวันออก ติดกับทางสาธารณะประโยชน์, ทิศตะวันตก ติดกับ ทางสาธารณะประโยชน์
เสนาสนะและถาวรวัตถุภายในวัดม่อนหินขาว ดังนี้
1. กุฏิสงฆ์ กว้าง 7.5 เมตร ยาว 7.5 เมตร จ�ำนวน 1 หลัง สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2535 2. กุฏิสงฆ์ กว้าง 9 เมตร ยาว 14 เมตร จ�ำนวน 1 หลัง สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2543 3. ศาลาการเปรียญ กว้าง 22 เมตร ยาว 32 เมตร จ�ำนวน 1 หลัง สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2539 4. ห้องน�้ำ กว้าง 1.5 เมตร ยาว 9 เมตร จ�ำนวน 1 หลัง สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2543 5. เมรุ กว้าง 9 เมตร ยาว 11 เมตร จ�ำนวน 1 หลัง สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2544 6. ศาลาธรรมอเนกประสงค์ กว้าง 12 เมตร ยาว 21 เมตร จ�ำนวน 1 หลัง สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2545 7. หอระฆัง กว้าง 6 เมตร ยาว 6 เมตร จ�ำนวน 1 หลัง สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2549
UTTARADIT I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 63
63
14/10/2563 11:11:27
พระครูโสภณสิทธิธรรม
เจ้าคณะต�ำบลบ้านด่าน / เจ้าอาวาสวัดม่อนหินขาว
ประวัติพระครูโสภณสิทธิธรรม (พอสังเขป)
พระครูโสภณสิทธิธรรม ฉายา วิเวกนนฺโท อายุ 60 พรรษา 39 วิทยฐานะ น.ธ.เอก ปริญญาตรี (พธ.บ) วัดม่อนหินขาว ต�ำบลผาจุก อ�ำเภอเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ อุ ป สมบท เมื่ อ วั น ที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2524 วั ด งิ้ ว งาม ต�ำบลงิว้ งาม เขต 1 อ�ำเภอเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ พระครูฉนิ พลี คณานุยตุ เป็นพระอุปชั ฌาย์ , พระประสิทธิ ์ เป็นพระกรรมวาจาจารย์, พระประดิษฐ์ ฐานกโร เป็นพระอนุสาวนาจารย์ วัดม่อนหินขาว ขอเชิญญาติธรรมทั้งหลายไหว้พระขอพร หลวงพ่อเพชร หลวงพ่อกายสิทธิ์ กุมารเทพไอ้ไข่เด็กวัดเจดีย์ ศิษย์หลวงปู่ทวด แดนใต้
64
2
SBL บันทึกประเทศไทย I อุตรดิตถ์
.indd 64
14/10/2563 11:11:31
“เมืองลับแล”
พิพิธภัณฑ์เมืองลับแล บริเวณซุม้ ประตูเมืองลับแล ยังมีอาคารทีร่ วบรวมเรือ่ งราว ประวัติความเป็นมา วิถีชีวิตความเป็นอยู่ของผู้คนชาวเมือง ลับแล หรือพิพิธภัณฑ์เมืองลับแล ส�ำหรับให้นักท่องเที่ยว และผู้มาเยือนได้ศึกษาเรียนรู้ ว่าในอดีตเมืองลับแลเป็นแค่ เมืองเล็กๆ เส้นทางไปมาหาสู่กันไม่สะดวกสบาย หนทาง คดเคี้ยว ท�ำให้ผู้ที่ไม่ช�ำนาญ หลงทางได้ง่าย จนได้ชื่อว่าเป็น “เมืองลับแล” และอีกหลายต�ำนานทีก่ ล่าวถึงความลึกลับของ เมืองลับแล
UTTARADIT I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 65
65
21/10/2563 10:33:00
History of buddhism....
วัดวังดิน พระปลัดชาญณรงค์ อธิปญฺโญ เจ้าอาวาสวัดวังดิน
วัดวังดิน ตั้งอยู่ที่บ้านวังดิน เลขที่ 7 หมู่ที่ 1 ต�ำบลวังดิน อ�ำเภอเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์
66
3
SBL บันทึกประเทศไทย I อุตรดิตถ์
.indd 66
วั ด วั ง ดิ น เป็ น วั ด ที่ ส ร้ า งขึ้ น มาเมื่ อ ประมาณปี พ.ศ.2311 ได้ รั บ พระราชทานวิสุงคามสีมา วันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ.2517 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 40 เมตร ยาว 80 เมตร มีพระภิกษุอยู่จ�ำพรรษาประมาณ 5 รูป และ สามเณร 4 รูป
20/10/2563 15:06:35
รายนามเจ้าอาวาส ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน มีดังนี้
รูปที่ 1 หลวงพ่อเทียน รูปที่ 2 หลวงพ่ออินทร์ รูปที่ 3 หลวงพ่อซ้อน รูปที่ 4 หลวงพ่อบาง รูปที่ 5 หลวงพ่อน้อย รูปที่ 6 พระป่วน รูปที่ 7 พระทอง รูปที่ 8 พระหวัน รูปที่ 9 พระเรื่อง รูปที่ 10 พระทองสุข รูปที่ 11 พระสม อาภาธโร รูปที่ 12 พระบรรจบ กิตติญาโณ รูปที่ 13 พระปลัดชาญณรงค์ อธิปญฺโญ (รูปปัจจุบัน)
วัดวังดิน มีเนื้อที่ 6 ไร่ อาณาเขตติดต่อดังนี้
ทิศเหนือ ยาว 40 วา ติดต่อกับที่ดินของนายยะ ลือชัย ทิศใต้ ยาว 40 วา ติดต่อกับที่ดินของนายริ้ว เหรียญทอง ทิศตะวันออก ยาว 65 วา ติดต่อกับถนน ทิศตะวันตก ยาว 65 วา ติดต่อกับที่ดินของนายด�ำ นาพันธ์ และมีที่ธรณีสงฆ์อีก 2 แปลงเนื้อที่ 31 ไร่ พื้นที่ตั้งวัดเป็นที่ราบ
พระปลัดชาญณรงค์ ฉายา อธิปญฺโญ อายุ 61 ปี พรรษา 20 วิทยฐานะ น.ธ.เอกสามัญ ปริญญาตรี สังกัดวัดวังดิน ต�ำบลวังดิน อ�ำเภอเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ UTTARADIT I SBL บันทึกประเทศไทย
3
.indd 67
67
13/10/2563 15:25:25
อาคารเสนาสนะ มี
- อุโบสถ กว้าง 8 เมตร ยาว 18 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ.2517 มี ก�ำแพงแก้วโดยรอบ - ศาลการเปรียญ กว้าง 8 เมตร ยาว 24 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2517 สร้างด้วยไม้ - หอสวดมนต์ กว้าง 4 เมตร ยาว 8 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2525 เป็นอาคารไม้ - กุฎีสงฆ์ มีจำ� นวน 2 หลัง เป็นอาคารไม้ ส�ำหรับปูชนียวัตถุ มี พระพุทธรูปขนาดและปรางค์ต่างๆ จ�ำนวน 9 องค์
68
3
SBL บันทึกประเทศไทย I อุตรดิตถ์
.indd 68
13/10/2563 15:25:34
2.indd 999
3/8/2561 9:24:03
History of buddhism....
วัดศรีธาราม พระครูสุปุญญาภินันท์ เจ้าอาวาสวัดศรีธาราม
70
3
วัดศรีธาราม ตั้งอยู่เลขที่ 236 บ้านวังสีสูบ หมู่ที่ 1 เทศบาลต�ำบลงิ้วงาม อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย SBL บันทึกประเทศไทย I อุตรดิตถ์
.indd 70
เดิมทีมีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ 13 ไร่ 63 ตารางวา ทิศเหนือติดต่อกับถนน
สาธารณะ ทิศใต้ถนนสาธารณะ ทิศตะวันออกติดต่อกับที่ดินนายทองพจน์ – นางจ�ำรอง มีศิริพันธ์ และ นายเชิญ ใสสีสูบ ทิศตะวันตกติดกับโรงเรียน วัดศรีธาราม
13/10/2563 15:32:57
วัดศรีธาราม สร้างขึ้นเป็นวัดนับตั้งแต่ประมาณปี พ.ศ. 2348 ประชาชนร่วมใจกันจัดสร้างวัดนี้ขึ้น ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา ครั้งที่ 1 เมื่อปี พ.ศ. 2350 มีพระภิกษุอยู่จ�ำพรรษาปีละประมาณ 10 – 14 รูป บางปีก็มี 6-8 รูป ต่อมาในปี พ.ศ. 2550 มีศรัทธาจาก นายฐิติ วิริยะกุล และคณะศรัทธาชาวบ้านวังสีสูบได้ร่วมกันสร้าง อุโบสถ์หลังใหม่ขึ้น และได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา วันที่ 9 พฤศจิกายน 2552 ในปัจจุบันมีพระจ�ำพรรษาปีละประมาณ 8 รูป
อาคารเสนาสนะ และสิ่งส�ำคัญต่างๆ มี
- อุโบสถ กว้าง 7 เมตร ยาว 21 เมตร สร้างปี พ.ศ. 2550 - ศาลาการเปรียญ กว้าง 22 เมตร ยาว 24.50 เมตร - กุฏิสงฆ์ กว้าง 16 เมตร ยาว 36.50 เมตร สร้างปี พ.ศ. 2536 - พระวิหาร (หลวงพ่อกา) สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2350 ได้บูรณะใหม่เมื่อปี พ.ศ. 2557 - ห้องน�้ำ-สุขา จ�ำนวน 5 ห้อง กว้าง 3.50 เมตร ยาว 8 เมตร สร้างปี พ.ศ. 2534 - เมรุ กว้าง 5.50 เมตร ยาว 12 เมตร สร้างปี พ.ศ. 2552 - ศาลาธรรมสังเวช กว้าง 20 เมตร ยาว 25 เมตร สร้างปี พ.ศ. 2552 และเทพืน้ ถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก เต็มพืน้ ที่ หน้าศาลาธรรมสังเวช ห้องน�้ำ-สุขา จ�ำนวน 10 ห้อง กว้าง 3 เมตร ยาว 15 เมตร
UTTARADIT I SBL บันทึกประเทศไทย
3
.indd 71
71
13/10/2563 15:33:09
ท�ำเนียบเจ้าอาวาส
เจ้าอาวาสที่ผ่านมาก่อนรูปที่หนึ่งไม่มีใครรู้ ว่าชื่ออะไร รูปที่ 1 พระครูเขียว ปฺญญกาโม พ.ศ. 2500 - 2539 รูปที่ 2 พระใบฏีกาปลั่ง ปุญญนันท์โท (ร.ก) พ.ศ. 2539 – 2540 ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส พ.ศ. 2540-2548 รับพระราชทาน สมณศักดิพ์ ดั ยศชัน้ โท พระราชทินนาม พระครูสปุ ญ ุ ญาภินนั ท์ พ.ศ. 2548 เลื่อนชั้นเอก พ.ศ. 2556 พระครูสุปุญญาภินันท์ ฉายา ปุญฺญนนฺโท อายุ 67 พรรษา 27 วิทยฐานะนักธรรมเอก-ปริญญาตรี อุปสมบท เมื่ออายุ 40 ปี วันที่ 12 เดือนเมษายน พ.ศ. 2536 เวลา 18.40 น. วัดศรีธาราม ต�ำบลงิ้วงามอ�ำเภอเมืองจังหวัดอุตรดิตถ์ พระอุปัชฌาย์ชื่อ พระครูสิมพลีคณานุยุต วัดงิ้วงาม ต�ำบลงิ้วงาม อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ พระกรรมวาจาจารย์ ชือ่ พระอธิการลมูล อาสโภ วัดศรีธาราม ต�ำบลงิ้วงาม อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ พระอนุสาวนาจารย์ ชือ่ พระสมบูรณ์ ฐานุตตโร วัดงิว้ งาม ต�ำบลงิว้ งาม อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์
พระครูสุปุญญาภินันท์ เจ้าอาวาสวัดศรีธาราม
72
3
SBL บันทึกประเทศไทย I อุตรดิตถ์
.indd 72
13/10/2563 15:33:18
SBL บันทึกประเทศไทย
Website : www.sbl.co.th
Ad-SBL Magazine Online Sukhothai.indd 56
06/07/61 14:25:11
History of buddhism....
วัดพลอยสังวรนิรันดร์
74
วัดพลอยสังวรนิรันดร์ สาขาวัดนาหลวง (อภิญญาเทสิตธรรม) ตั้งอยู่ที่ตําบลป่าคาย อําเภอทองแสนขัน จังหวัดอุตรดิตถ์
SBL บันทึกประเทศไทย I อุตรดิตถ์
6
.indd 74
20/10/2563 15:19:24
UTTARADIT I SBL บันทึกประเทศไทย
6
.indd 75
75
20/10/2563 15:19:33
วัดพลอยสังวรนิรันดร์ สาขาวัดนาหลวง(อภิญญาเทสิตธรรม) สังกัดคณะสงฆ์ฝา่ ยมหานิกาย ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 154 หมูท่ ี่ 5 บ้านนาลับแลง ตําบลป่าคาย อําเภอทองแสนขัน จังหวัดอุตรดิตถ์ มีเนื้อที่ 25 ไร่ 2 งาน ตามหนังสือ นส.3 เลขที่ 258และเนื้อที่ 100 ไร่ เป็นที่ดิน ส.ป.ก. มีอาณาเขตดังนี้ ทิศเหนือ เขตติดต่อพื้นที่ป่า ทิศใต้ เขตติดต่อ พื้นที่ป่า ทิศตะวันออก เขตติดต่อ พื้นที่ป่า ทิศตะวันตก เขตติดต่อ ที่ดิน นายผล ดําสวัสดิ์
ประวัติความเป็นมา
วัดพลอยสังวรนิรันดร์ สาขาวัดนาหลวง(อภิญญาเทสิตธรรม) ได้รบั มอบถวายทีด่ นิ จากคุณแม่พลอย อ่อนนิวนั คุณประจักษ์ ฤทธิแ์ ก้ว และครอบครัว เนื้อที่ 25 ไร่ 2 งาน ตามหนังสือ นส.3 เลขที่ 258 และเนื้อที่ 100 ไร่ เป็นที่ดิน ส.ป.ก. เมื่อวันที่ 5 มกราคม 2554 มีพระเดชพระคุณพระราชสิทธาจารย์ (หลวงปู่ทองใบ ปภัสสโร) ประธานสงฆ์วัดนาหลวง (อภิญญาเทสิต ธรรม) ที่ปรึกษาเจ้าคณะ ภาค 8 จังหวัดอุดรธานี เป็นผู้รับมอบถวาย และได้มีพระเมตตา มอบหมายให้ พระมหาศักดิ์ดา ปญญาวฑฒโก ดําเนินการก่อสร้าง วัดตามลําดับ ดังนี้ วันที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554 เริ่มต้นดําเนินการก่อสร้างเป็น สํานักสงฆ์พลอยสังวรนิรันดร์ วันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2559 ทําพิธีปิดทองฝังลูกนิมิต โดยได้ รับพระเมตตาจาก เจ้าประคุณสมเด็จพระพุทธชินวงศ์ เจ้าคณะใหญ่ หนกลาง พระราชสิทธาจารย์ (หลวงปู่ทองใบ ปภัสสโร) ประธาน สงฆ์วัดนาหลวง (อภิญญาเทสิตธรรม) ที่ปรึกษาเจ้าคณะ ภาค 8 จังหวัดอุดรธานี และ พระปัญญากร โมลี เจ้าคณะจังหวัดอุตรดิตถ์ เมตตาเป็นองค์ประธานในการตัดหวายลูกนิมิต วันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557 สํานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ประกาศตั้งวัดใน พระพุทธศาสนา มีนามว่า “วัดพลอยสังวรนิรันดร์” สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย วันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2557 แต่งตั้ง พระครูวินัยธรศักดิ์ดา ฉายา ปญญาวฑฒโก เจ้าอาวาสวัดพลอยสังวรนิรันดร์
76
วันที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2558 แต่งตั้ง พระมหาศักดิ์ดา ฉายา ปญญาวฑฒโก เป็นฐานานุกรมที่ พระครูวินัยธร วันที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2561 แต่งตั้ง พระครูวินัยธรศักดิ์ดา ฉายา ปญญาวฑฺฒโก เจ้าอาวาสวัดพลอยสังวรนิรนั ดร์ ดํารงตําแหน่ง รองเจ้าคณะตําบลป่าคาย อําเภอทองแสนขัน จังหวัดอุตรดิตถ์ วันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2561 คณะกรรมการจัดตั้งสํานักปฏิบัติ ธรรมประจําจังหวัด จัดตั้งสํานักปฏิบัติธรรมประจําจังหวัดอุตรดิตถ์ แห่งที่ 4 โดยมี พระครูวินัยธรศักดิ์ดา ปญญาวฑฺฒโก เจ้าอาวาส วัดพลอยสังวรนิรันดร์ เป็นเจ้าสํานัก สิ่งปลูกสร้างที่ได้เริ่มดําเนินการ ก่อสร้างตั้งแต่ปี พ.ศ. 2554 มีดังต่อไปนี้ 1. กุฏิ จํานวน 17 หลัง 2. ศาลาเอนกประสงค์ 1 หลัง 3. อาคารที่พักพระอคันตุกะ 2 หลัง 4. ศาลาที่พักผู้ปฏิบัติธรรม 1 หลัง 5. ห้องน�้ำพระภิกษุ-สามเณร 2 หลัง รวม 30 ห้อง 6. ห้องน�้ำญาติโยม 2 หลัง 50 ห้อง 7. โรงครัว 1 หลัง 8. สระน�้ำ 1 สระ 9. พระพุทธรูปองค์ใหญ่ หน้าตัก 6.80 เมตร จํานวน 1 องค์ 10. พระพุทธรูปหินหยกขาว หน้าตัก 2 เมตร จํานวน 1 องค์ 11. พระสาระสุทธิมุนีนาถ นาคปรก หน้าตัก 10 เมตร 1 องค์ 12. ถนนคอนกรีตภายในวัด และรั้วกําแพงรอบวัด ในการก่อสร้างสิ่งปลูกสร้างตามข้างต้น มีคณะศรัทธาญาติโยม จากทุกสารทิศ ที่มีจิตศรัทธา ได้ร่วมกันเสียสละทรัพย์เพื่อส่งเสริม ให้เกิดประโยชน์ แก่พระพุทธศาสนา ซึ่งมีผู้ที่ให้การอุปถัมภ์ เป็นเจ้า ภาพหลักในการขับเคลื่อนให้ วัดพลอยสังวรนิรันดร์ เป็นวัดที่สมบูรณ์ แบบ สัปปายะ สามารถรองรับ พุทธศาสนิกชนที่ได้มาประกอบ กิจกรรมทางศาสนาและกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ แก่ส่วนรวม
SBL บันทึกประเทศไทย I อุตรดิตถ์
6
.indd 76
14/10/2563 9:07:29
เจ้าอาวาสวัดพลอยสังวรนิรันดร์
พระครูวินัยธรศักดิ์ดา ปญญาวฑฺฒโก อายุ 40 พรรษา 19 วิทยฐานะ ป.ธ.3, น.ธ.เอก, สามัญ ม.6 ปัจจุบันต�ำแหน่งทางการคณะสงฆ์เป็น เจ้าอาวาสวัดพลอยสังวรนิรันดร์ รองเจ้าคณะตําบลป่าคาย อําเภอทองแสนขัน จังหวัดอุตรดิตถ์ UTTARADIT I SBL บันทึกประเทศไทย
6
.indd 77
77
14/10/2563 9:07:32
อุโบสถ
อุโบสถ วัดพลอยสังวรนิรันดร์ ได้เริ่มดําเนินการก่อสร้าง เมื่อ วั น ที่ 18 กุ ม ภาพั น ธ์ 2554 มี ลั ก ษณะเรี ย บง่ า ย เพื่ อ ประหยั ด งบประมาณในการก่อสร้าง ภายในมีพื้นที่กว้าง สามารถรองรับ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมทางพระพุทธศาสนา ได้จํานวนมาก
กุฏิพระ
ที่ทําการก่อสร้างเพิ่มเติม ได้ทําการก่อสร้างกุฏิท่ีพักสําหรับ พระอคันตุกะ และฆาราวาสผูป้ ฏิบตั ธิ รรม ทีต่ อ้ งการความเป็นส่วนตัว ให้เพียงพอ สัปปายะ
78
SBL บันทึกประเทศไทย I อุตรดิตถ์
6
.indd 78
20/10/2563 15:11:00
มหาอุบาสกคนสําคัญ ทีม่ อบถวายทีด่ นิ และให้การอุปถัมภ์ งานก่อสร้างภายในวัด
คุณสมศักดิ์ จิตติพลังศรี ประธานกรรมการบริหาร บริษัท ซัยโจ เด็นกิ อินเตอร์เนชั่นแนล จํากัด ผู้มีบทบาทสําคัญ ในการขับเคลื่อน และสนับสนุนให้วัดพลอยสังวรนิรันดร์ เป็น วัดที่ สมบูรณ์แบบ สนับสนุนงบประมาณหลักในการก่อสร้าง โดยเฉพาะ การสร้าง พระสาระสุทธิมุนีนาถ นาคปรก ซึ่งใช้งบประมาณในการ ก่อสร้างจํานวนมากขณะนี้ใกล้สําเร็จลุล่วงแล้ว เป็นที่ประจักษ์แก่ สายตาผู้ที่ได้พบเห็น ได้ฝังรากลึก และฝังอริยะทรัพย์ไว้ในพระพุทธ ศาสนา อยู่คู่แผ่นดินตลอดกาลนาน
นายษกะ ฌานรานนท์ กรรมการบริหาร บริษัท ส.อรุณ คอนกรีต จํากัด คหบดีที่ให้การสนับสนุน วัสดุ อุปกรณ์ในการก่อสร้างทุกชนิด เป็นบุคคลที่อุปถัมภ์ให้การช่วยเหลือ โดยไม่มีประมาณ อุปกรณ์สิ่งปลูกสร้างมากมาย ที่ได้รับเมตตาจาก บุคคลผู้ที่เปี่ยมด้วยพลังแห่งความศรัทธา อันประเมินค่ามิได้จะตรา ตรึงไว้ในทุกดวงจิตอย่างน่าอนุโมทนา
นายคณิต เอี่ยมระหงส์ ดํารงตําแหน่งสุดท้าย ผู้ว่าราชการจังหวัดชัยนาท บุคคลที่ได้ทะนุบํารุงพระศาสนาสุดที่จะคณานับ เป็นผู้ที่เสียสละ เวลา สละทรัพย์ สละความสุขตน เผยแผ่ความดีและบุญกุศลไว้เหลือ ประมาณได้ทําหน้าที่อันทรงเกียรติ ทั้งทางโลก และทางธรรม
แม่พลอย อ่อนนิวัน, คุณประจักษ์ ฤทธิ์แก้ว และครอบครัว ได้รว่ มกันมอบถวายทีด่ นิ เนือ้ ที่ 25 ไร่ 2 งาน ตามหนังสือ นส.3 เลขที่ 258 และเนื้อที่ 100 ไร่ เป็นที่ดิน ส.ป.ก. เมื่อวันที่ 5 มกราคม 2554 มีพระเดชพระคุณพระครูพระราชสิทธาจารย์ (หลวงปูท่ องใบ ปภัสสฺ โร) ประธานสงฆ์วัดนาหลวง (อภิญญาเทสิตธรรม) ที่ปรึกษาเจ้าคณะภาค 8 จังหวัดอุดรธานี เป็นผู้รับมอบถวาย UTTARADIT I SBL บันทึกประเทศไทย
6
.indd 79
79
20/10/2563 15:11:08
History of buddhism....
วัดภูเงินวนาราม พระอธิการเงิน อกิญฺจโน เจ้าอาวาสวัดภูเงิน
80
2
วัดภูเงินวนาราม ตั้งอยู่เลขที่ 105 หมู่ที่ 3 ต�ำบลบ้านฝาย อ�ำเภอน�้ำปาด จังหวัดอุตรดิตถ์ 53110
ศูนย์ปฏิบัติธรรมวัดภูเงินวนาราม ได้ก่อตั้งเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2521 โดยท่านพระครูขันตยาภิรมย์ เจ้าคณะอ�ำเภอในขณะนั้นได้ด�ำริคิดสร้างสถานที่ ปฏิบัติธรรมในเขตอ�ำเภอน�้ำปาด จึงได้ปรึกษากับญาติโยม และเห็นว่าสถานที่ บนดอยภูเงินเป็นสถานที่เหมาะสม จึงเริ่มน�ำพาคณะศรัทธาสร้างกุฏิที่พักและ นิมนต์ พระอาจารย์ทองพัด จากวัดชุมพลมาอยู่เป็นองค์แรก พ.ศ. 2539 พระอาจารย์ หน่อย สุมโน เป็นผู้ดูแล ได้มีการจัดงานตักบาตรเทโวโรหณะ ประจ�ำปีขึ้น หลังจากนั้นเมื่อปี พ.ศ. 2543 ขาดพระอยู่ประจ�ำพรรษา ญาติธรรม ได้นิมนต์ พระอาจาย์เงิน อกิญฺจโน มาจ�ำพรรษา
SBL บันทึกประเทศไทย I อุตรดิตถ์
.indd 80
21/10/2563 9:39:11
พ.ศ. 2545 ได้สร้างศาลาปฏิบัติธรรมขึ้นหลังหนึ่งความกว้าง 12 เมตร ยาว 22 เมตร และห้องสมุดเพื่อประโยชน์ต่อการศึกษา และปฏิบัติธรรม ได้เริ่มด�ำเนินการขออนุญาตสร้างวัดให้ถูกต้อง ตามกฏหมาย ซึ่ ง ทางเถรสมาคมได้ รั บ การอนุ ญ าตสร้ า งวั ด ในปี พ.ศ. 2550 โดยนายสมสักดิ์ แจ่มใส ไวยาวัจกรของวัด เป็นผู้ขอสร้าง ได้ รั บ อนุ ญ าตการตั้ ง วั ด ตามกฏเถรสมาคม พ.ศ. 2552 มี ชื่ อ ว่ า วัดภูเงินวนาราม โดยถือเอาตามสถานที่ของที่ตั้งวัด เพราะชาวบ้าน เรียกกันปกติว่า ดอยภูเงิน ได้มีการแต่งตั้งเจ้าอาวาสองค์แรกของวัด คือพระอาจารย์ เงิน อกิญฺจโน เมื่อเดือน ธันวาคม พ.ศ. 2553 ปั จ จุ บั น ได้ ด� ำ เนิ น การก่ อ สร้ า งอุ โ บสถ และขอพระราชทาน วิสุงคามสีมา อุโบสถดังกล่าวไม้สักแกะสลัก มีความสวยงามเป็นสง่า ส� ำ หรั บ ใช้ ใ นสั ง ฆกรรมของสงฆ์ ประโยชน์ ใ นการแสวงบุ ญ ของ ชาวพุทธสืบไป
สุขกาย ใจเย็นในร่มโพธิ์ธรรมดอยภูเงิน
- อุโบสถไม้สัก - พระประธานไม้สักแกะสลัก พระพุทธชินราช หนัาตัก 2 เมตร - พระพุทธรูปไม้สักแกะสลัก หน้าตักกว้าง 1.5 เมตร
พระอธิการเงิน อกิญฺจโน เจ้าอาวาสวัดภูเงิน
UTTARADIT I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 81
81
21/10/2563 9:39:28
Let’s Go Thailand With SBL บันทึกประเทศไทย
HISTORY OF THE PROVINCE
TOURIST ATTRACTIONS SBL บันทึกประเทศไทย
Let's go thailand.indd 13
www.sbl.co.th SBL MAGAZINE
THE VILLAGERS IN THE PROVINCE SBL บันทึกประเทศไทย
. - 25/11/2562 09:25:59 AM
History of buddhism....
วัดส่องแดด พระครูสุมนวีรโสภิต เจ้าอาวาส / เจ้าคณะอำ�เภอน้ำ�ปาด
วัดส่องแดด ตั้งอยู่ ต�ำบลบ้านฝาย อ�ำเภอน�้ำปาด จังหวัดอุตรดิตถ์ 53110
วัดส่องแดด เป็นวัดเก่าแก่ตกส�ำรวจทีส่ ร้างขึน้ ก่อนพระราชบัญญัติ คณะสงฆ์ พ.ศ. 2484 มีที่ดินเป็นของวัดมีอาคารเสนาสนะมั่นคง มีพระภิกษุสงฆ์อยู่จ�ำพรรษามาตลอด ทางวัดพร้อมด้วยคณะศรัทธา ญาติ โ ยมประชาชนชาวบ้ า นใหม่ ไ ด้ ด� ำ เนิ น การขอขึ้ น ทะเบี ย นวั ด กรมการศาสนาได้ตรวจสอบเอกสารหลักฐานโดยได้รบั ความเห็นชอบ จากคณะกรรมการศาสนาจังหวัดอุตรดิตถ์ ตามรายงานการประชุม คณะกรรมการศาสนาจังหวัดอุตรดิตถ์ ครั้งที่ 2/2539 ลงวันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2539 กรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ ได้เห็น สมควรน�ำวัดส่องแดดขึน้ ทะเบียนวัดตามหนังสือส�ำคัญแสดงกรรมสิทธิ์ ที่ดิน และหลักฐานการตั้งวัด พ.ศ.2445 ต่อมาได้รับพระราชทาน วิสุงคามสีมา ณ วันที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2542 จากค�ำบอกเล่าของนายแจ่ม บุญพิมพ์ อดีตผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 2 ต�ำบลบ้านฝาย อ�ำเภอน�้ำปาด จังหวัดอุตรดิตถ์ เดิมตั้งแต่ประชาชน ชาวบ้ า นใหม่ ไ ด้ มี จิ ต ศรั ท ธาร่ ว มแรงร่ ว มใจกั น สร้ า งวั ด มาตั้ ง แต่ ปี พ.ศ. 2445 สมัยนั้นได้พากันตั้งชื่อวัดว่า วัดช่องแดด เนื่องจากที่ ตั้ ง วั ด มี ภู เขาอยู ่ ใ กล้ ที่ ตั้ ง วั ด ด้ า นทิ ศ ตะวั น ออก มี เ พี ย งถนนหลวง แผ่นดิน สายห้วยหูด-น้าปาด-ฟากท่า (1047) เป็นแนวกั้นเท่านั้น ซึ่ ง ด้ า นทิ ศ ตะวั น ออกนี้ มี ย อดเขาที่ ตั้ ง สลั บ กั น ขึ้ น เป็ น ช่ อ งว่ า งให้ แสงอาทิตย์ได้ส่องผ่านมายังที่ตั้งวัดในยามเช้า ชาวบ้านใหม่จึงได้ พากันตั้งชื่อวัดว่า วัดช่องแดด แต่ต่อมาภายหลังกาลเวลาผ่านไป ประชาชนได้พากันเรียกชื่อวัดผิดเพี้ยนไปจากเดิมคือ วัดช่องแดด มาเป็นชื่อวัดว่า วัดส่องแดด จนถึงปัจจุบันนี้
ปูชนียวัตถุ มี
- พระประธานประจ�ำอุโบสถ ปางมารวิชัย ขนาดหน้าตักกว้าง 1.25 เมตร สูง 2.30 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ.2538 - พระประธานประจ�ำศาลาการเปรียญ ปางมารวิชยั ขนาดหน้าตัก กว้าง 1.25 เมตร สูง 2.30 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ.2550
ร่วมสร้างเส้นทางบุญ พระครูสุมนวีรโสภิต
เจ้าอาวาสวัดส่องแดด / เจ้าคณะอ�ำเภอน�้ำปาด
ขอเชิญญาติโยม ร่วมสร้างอุโบสถ กับวัดส่องแดด สามารถ ร่วมบุญโดยโอนผ่านบัญชี ธนาคารกรุงไทย สาขาน�้ำปาด ชื่อบัญชี พระครูสุมนวีรโสภิต เลขบัญชี 537-1-11591-9 UTTARADIT I SBL บันทึกประเทศไทย
1
.indd 83
83
13/10/2563 14:45:12
History of buddhism....
วัดท่าไม้เหนือ พระปัญญากรโมลี เจ้าอาวาสวัดท่าไม้เหนือ / เจ้าคณะจังหวัดอุตรดิตถ์
วัดท่าไม้เหนือ ตั้งอยู่ตำ� บลบ้านหม้อ อ�ำเภอพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์
84
2
SBL บันทึกประเทศไทย I อุตรดิตถ์
.indd 84
วัดท่าไม้เหนือ ตัง้ วัดเมือ่ ประมาณปี พ.ศ. 2401 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 และได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา (ครัง้ ที1่ ) เมือ่ ปี พ.ศ.2418 ต่อมาได้มกี ารปฏิสงั ขรณ์ อุโบสถ เมือ่ ปี พ.ศ. 2471 และได้ด�ำเนินการก่อสร้าง อุโบสถใหม่แทนอุโบสถเดิมที่ทรุดโทรม ได้รับ พระราชทานวิสุงคามสีมา(ครั้งที่2) เมื่อวันที่ 22 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2557 หลังจากนั้นได้ปฏิสังขรณ์ ศาลาการเปรียญ เมื่อปี พ.ศ. 2559
19/10/2563 14:33:25
วัดท่าไม้เหนือยังมีปูชนียวัตถุที่ ส�ำคัญ ดังนี้ 1. รูปหล่อเหมือนหลวงพ่อทองเหลือปาลิโต ซึ่งเป็น สิ่งศักดิ์สิทธิ์ ที่ชาวบ้านท้ายน�้ำนับถือเป็นอย่างยิ่ง ประดิษฐาน ณ วิหารหลวงพ่อ ทองเหลือ 2. พระทศพลญาณปัญญาสารประชาบพิตร ซึ่งเป็นพระประธาน ปางมารวิชัย ประดิษฐาน ณ อุโบสถวัดท่าไม้เหนือได้รับประทานชื่อ จากสมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์วัดปากน�้ำภาษีเจริญ
อาคารเสนาสนะ ประกอบด้วย
1. อุโบสถ กว้าง 9 เมตร ยาว 23 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2552 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก 2. ศาลาการเปรียญ กว้าง 29 เมตร ยาว 39 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2560 3. หอสวดมนต์ กว้าง 8 ยาว 10 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2517 เป็นอาคารไม้ 4. กุฏิสงฆ์ จ�ำนวน 10 หลัง อาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก จ�ำนวน 2 หลัง, อาคารครึ่งตึกครึ่งไม้ จ�ำนวน 1 หลัง, อาคารไม้ จ�ำนวน 7 หลัง 5. วิหาร กว้าง 6 เมตร ยาว 12 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2548 อาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก 6. ฌาปนสถาน 7. เรือนรับรอง
การบริหารและการปกครอง
รูปที่ 1 หลวงพ่อกลิ่น รูปที่ 2 หลวงพ่อน่วม รูปที่ 3 หลวงพ่อเลื่อม รูปที่ 4 พระวินัยธรรมพร หนูนิล รูปที่ 5 พระสมุห์เฉื่อย แจ้งการณ์ รูปที่ 6 หลวงพ่อมิ่ง รูปที่ 7 พระอาจารย์เกิน ดีท่า รูปที่ 8 หลวงพ่อเป๊าะ ลี่มู้ รูปที่ 9 พระครูสุนทรคุณวัฒน์ (หลวงพ่อทองเหลือ) รูปที่ 10 พระปัญญากรโมลี ตั้งแต่ พ.ศ. 2546 จนถึงปัจจุบัน
พระปัญญากรโมลี
เจ้าอาวาสวัดท่าไม้เหนือ / เจ้าคณะจังหวัดอุตรดิตถ์
UTTARADIT I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 85
85
19/10/2563 14:33:39
History of buddhism....
วัดหน้าพระธาตุ สักการบูชาหลวงพ่อโต กตัญญุตาพระยาพิชัยดาบหัก
86
4
วัดหน้าพระธาตุ ตั้งอยู่หมู่ที่ 1 ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์
SBL บันทึกประเทศไทย I อุสุตพรดิ รรณบุ ตถ์ รี
.indd 86
วัดหน้าพระธาตุ ตั้งอยู่ริมแม่น�้ำน่าน หมู่ 1 ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอพิชัย จังหวัด อุตรดิตถ์ อยูไ่ ม่ไกลจากบ้านเกิดพระยาพิชยั ดาบหัก เป็นวัดเก่าแก่คบู่ า้ นคูเ่ มืองพิชยั มาตั้งแต่โบราณนานนับพันกว่าปี ประดิษฐานอยู่ที่บริเวณปราสาทพระนวมะ ราชบพิตร ภายในบริเวณวัดมีโบราณวัตถุที่น่าสนใจคือ “หลวงพ่อโต” พระพุทธ รูปปูนปั้นขนาดใหญ่ หน้าตักกว้าง 6 เมตร นอกจากนี้ยังมีพระบรมสารีริกธาตุ ของพระพุทธเจ้า โบสถ์เก่าแก่ โอ่งโบราณอายุหลายร้อยปี และร่มรืน่ ไปด้วยไม้ปา่ โบราณนานาชนิ ด อาทิ ต้ น จั น ทร์ และต้ น จามรี ให้ ช นรุ ่ น หลั ง ได้ ศึ ก ษา ประวัตศิ าสตร์ความเป็นมาของความร่มเย็นในบวรพระพุทธศาสนามาแต่ครัง้ บรรพชน
19/10/2563 15:04:44
ความเป็นมา วัดหน้าพระธาตุ
เดิมทีมีต�ำนานเล่าขานกันมาว่าวัดหน้าพระธาตุแห่งนี้ สร้างโดย พระยาโคตรบอง เมื่อปี พ.ศ.1470 โดยมีหลวงพ่อโตประดิษฐานอยู่ ในวิ ห ารแบบปราสาทจั ตุ ร มุ ข มี เ นื้ อ ที่ 99 ตารางวา พระเจดี ย ์ เป็นยอด 5 องค์ ความสูง 49 เมตร นอกจากเป็นที่ประดิษฐาน หลวงพ่อโตแล้ว ยังเป็นที่ประดิษฐาน “พระบรมสารีริกธาตุ” และ “รอยพระพุทธบาทจ�ำลอง” อีกด้วย ส�ำหรับพระบรมสารีริกธาตุเป็นส่วนแห่งพระสรีระของสมเด็จ พระสั ม มาสั ม พุ ท ธเจ้ า ที่ ต รั ส แก่ พ ระอานนท์ เ มื่ อ ใกล้ ป ริ นิ พ พาน โดยให้ประดิษฐานในพระสถูปท่ามกลางชุมชน อันมีมาแต่ทิศทั้ง 4 เพื่ อ เป็ น ที่ ก ราบไหว้ สั ก การบู ชาของเทพยดาและมนุษ ย์ทั้งหลาย ซึ่งโทณพราหมณ์ได้จัดแบ่งถวายกษัตริย์และพราหมณ์ 8 นคร น�ำไป ก่ อ พระสถู ป บรรจุ ไว้ ใ นนครต่ า งๆ เป็ น ครั้ ง แรก จนถึ ง รั ช สมั ย พระเจ้าอโศกมหาราชได้รวบรวมแจกจ่ายไปยังนานาประเทศนอก ชมพูทวีปที่พระพุทธศาสนาแผ่ไปถึง
UTTARADIT I SBL บันทึกประเทศไทย
4
.indd 87
87
19/10/2563 15:05:00
วัดหน้าพระธาตุ ในอดีตกาลมีความสําคัญอีกระยะหนึ่ง เมื่อ พระเจ้าตากสินมหาราช กู้ชาติไทย โปรดให้พระยาพิชัยอยู่รักษาด่าน ด้านทิศเหนือ จนได้ต่อสู้กับพม่าข้าศึกถึง 2 ครั้ง จนดาบหักคามือ ได้ฉายาว่า “พระยาพิชัยดาบหัก” ที่สาธุชนและชาวพิชัยได้ช่วยกัน ฟื้นฟูกอบกู้เกียรติคุณ ด้วยการสร้างอนุสาวรีย์ไว้ที่บ้านห้วยคาบ้าน เกิดของท่านหลัง จากนั้นมาเมืองพิชัยยิ่งมีความสําคัญได้ควบคุมดูแล เมืองแพร่ เมืองน่าน และเมืองหลวงพระบาง อีกทั้งเป็นเมืองตัวอย่าง ทดลองการปกครองแบบเทศาภิบาล ครัง้ หนึง่ วิหารหลวงพ่อโต วัดหน้าพระธาตุ เกิดผุพงั จนใช้การไม่ได้ อาจารย์จติ รบัวบุศย์ อดีตอาจารย์ใหญ่ โรงเรียนเพาะช่าง เป็นผูอ้ อกแบบ เป็นปราสาทจัตุรมุข มีพระเจดีย์เป็นยอด 5 องค์ รวมเป็นเนือ้ ทีก่ อ่ สร้าง 600 ตารางวา หรือ 1 ไร่ 2 งาน จากนั้น คุณมนัส ปิติวงษ์ อธิบดีกรมชลประทานในขณะนั้น มอบ ให้คุณเอกชัย ยอดยิ่ง ท�ำรายละเอียดแบบแปลนเป็นการด�ำเนินงาน ด้านธุรการ เริ่มมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2515 จนถึงปี พ.ศ.2524 จึงลงมือ รื้อวิหารหลวงพ่อโตแล้วเริ่มด�ำเนินการก่อสร้างมาโดยล�ำดับในนาม คณะพระสังฆาธิการจังหวัดอุตรดิตถ์ โดยพระราชประสิทธิคุณ เจ้าคณะจังหวัดอุตรดิตถ์ ในพระสังฆราชูปถัมภ์ และอุปถัมภ์ของ เจ้าคณะจังหวัดทั่วราชอาณาจักร จนถึงปี พ.ศ.2531 ได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากพระบาทสมเด็จ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร รัชกาลที่ 9 โปรดเกล้าฯ พระราชทานนามว่า “ปราสาทพระนวมะ ราชบพิตร” พร้อมด้วยตราสัญลักษณ์มหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ ให้ ม าสถิ ต เป็ น นิ มิ ต หมายน� ำ ศรั ท ธามหาชนในการเสด็ จ พระราชกุศลร่วมพระบารมี วัดหน้าพระธาตุจึงเป็นที่เชิดหน้าชูตา เป็นสง่าราศีของชาวเมืองพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์ มาจนถึงปัจจุบัน นอกจากนี้ทางวัดยังมีของโบราณ ของเก่าสมัยก่อน ที่ยังคง หลงเหลื อ ให้ เ ห็ น และควรค่ า แก่ ก ารอนุ รั ก ษ์ ไว้ เช่ น โอ่ ง โบราณ โบสถ์เก่า เจดีย์ และ ต้นไม้ใหญ่อายุหลายร้อยปีจ�ำนวนหลายต้น
88
4
SBL บันทึกประเทศไทย I สุพรรณบุรี
.indd 88
19/10/2563 15:05:10
บันไดบานประตูเป็นไม้ตะเคียนทองจากประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ขนาดหนา 4 นิ้ว กว้าง 49 นิ้ว ยาว 5 เมตร 25 เซนติเมตร จ�ำนวน 6 แผ่นแกะสลักด้วยฝีมือช่างผู้ช�ำนาญการจากเมืองแพร่จารึกประวัติ การก่อสร้างไว้ด้วย หน้าต่าง เป็นลวดลายอัลลอยด์ ซุ้มฐานด้านนอกประดิษฐาน เทพพระเคราะห์ และพระพุทธประติมากรปางต่างๆ เป็นพระประจ�ำวันเกิด ส่วนในปราสาทจ�ำลองผอบทองค�ำที่บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ และสร้างพญานาคประจ�ำราวบันไดทั้ง 4 ทิศ 4 ตัว
UTTARADIT I SBL บันทึกประเทศไทย
4
.indd 89
89
19/10/2563 15:05:15
History of buddhism....
วัดเอกา พระอธิการยุทธพงษ์ อาภากโร เจ้าอาวาสวัดเอกา
วัดเอกา ตั้งอยู่ที่หมู่ 1 ต�ำบลคอรุม อ�ำเภอพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย พื้นที่วัดเนื้อที่ประมาณ 12 ไร่
90
2
วัดเอกา เดิมเป็นวัดร้าง ต่อมาเมื่อปี พ.ศ.2531 พระอาจารย์เฉลย ฐาตุกาโม ได้เข้ามาท�ำการบุกเบิกและขออนุญาตกรมการศาสนายกขึ้นเป็นวัดบนที่เดิม และใช้ชื่อเดิมตามวัดร้างนั้นคือ “วัดเอกา” ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 23 สิงหาคม พ.ศ.2556
SBL บันทึกประเทศไทย I อุตรดิตถ์
.indd 90
13/10/2563 15:43:39
การแบ่งเขตพื้นที่และเสนาสนะภายในวัด
เขตพุทธาวาส โรงอุโบสถ ที่พระราชทานวิสุงคามสีมา กว้าง 40 เมตร ยาว 60 เมตร ประดิษฐานพระพุทธชินราชจ�ำลองเป็น พระประธานในอุโบสถ เขตสังฆาวาส กุฏิ ตั้งเป็นแถวเรียงรายอย่างเป็นระเบียบด้าน ทิศเหนือของอุโบสถ เขตบ�ำเพ็ญกุศล ศาลาการเปรียญ 1 หลัง , วิหาร หลวงพ่อเฉลย ฐาตุกาโม อดีตเจ้าอาวาส 1 หลัง เขตฌาปนสถาน ประกอบด้วย เมรุ 1 หลัง
การบริหารและการปกครอง
1 หลวงพ่อเฉลย ฐาตุกาโม พ.ศ. 2530 2 พระอธิการกิตติศักดิ์ คนฺธิโก พ.ศ. 2545 3 พระอธิการอนุวัฒน์ จนฺทสโร พ.ศ. 2552 - 2561 4 พระอธิการยุทธพงษ์ อาภากโร พ.ศ. 2562 – ปัจจุบัน
พระยาพิชัยเห็นหมื่นหาญณรงค์ถูกกระสุนปืนข้าศึกตายดังนั้น ก็ ตกใจอาลัยหมื่นหาญณรงค์ผู้เพื่อนยากยิ่งนัก เลยดาลโทษะเข้าไล่ ตะลุมบอนฟันแทงพม่ามิได้คิดแก่ชีวิต พม่าต้านทานไม่ไหวก็แตก พ่ายไป พระยาพิชัยกลับมากอดศพหมื่นหาญณรงค์ร้องไห้ร�ำพันถึง ความทุกข์ยาก เป็นคู่ร่วมชีวิตจริงใจมาด้วยกัน พลอยให้ไพร่พลใน กองของพระยาพิชัยร้องไห้เศร้าสลดใจด้วยความสงสารนายของ ตัวเองไปตามกัน เมื่อค่อยสงบความโศกลงแล้ว จึงให้ไพร่พลหามศพ หมื่นหาญณรงค์กลับเข้าเมืองกระท�ำฌาปนกิจให้สมแก่เกียรติยศ ตั้งแต่นั้น พระยาพิชัย จึงได้ชื่อว่า พระยาพิชัยดาบหัก ปรากฏอยู่ใน พระราชพงศาวดารเล่ม 2 นั้นแล้ว” (ที่ ม า : ประวั ติ พ ระยาพิ ชั ย ดาบหั ก เรี ย บเรี ย งโดย พระยา ศรีสัชนาลัยบดี หนังสือที่ระลึกในงานท�ำบุญฉลองอายุครบ 6 รอบ คุณพ่อทิว วิชัยขัทคะ)
ประวัติวัดเอกาในทางประวัติศาสตร์
วัดเอกานี้ เดิมเป็นวัดร้างตัง้ อยูใ่ นท้องทีต่ ำ� บลคอรุม เหนือวัดขวาง ชัยภูมิ วัดนี้ปรากฏในพระราชพงศาวดารฉบับพระราชหัตถเลขา ตอนที่พม่ายกทัพมาตีเมืองพิชัย ได้ตั้งค่ายอยู่ ณ วัดเอกา ปัจจุบันยัง มีซากโบราณสถาน ศิลาแลงและใบเสมา สันนิษฐานว่าเป็นอุโบสถ มาก่อน ตามประวัตพิ ระยาพิชยั ดาบหัก เรียบเรียงโดย พระยาศรีสชั นาลัยบดี (เลี้ยง ศิริปาลกะ) ได้กล่าวถึงวัดเอกา ความว่า “ลุศักราช 1134 ปีมะโรงจัตวาศก โปสุพลาพม่า ซึ่งมาอยู่ช่วย รักษาเมืองเชียงใหม่ยกกองทัพลงมาตีเมืองลับแลแตกแล้ว ยกมาตี เมืองพิชัยซึ่งตั้งค่าย ณ วัดเอกาในคลองคอรุม พระยาพิชัยจัดการ ป้องกันเมืองเป็นสามารถ เจ้าพระยาสุรสีห์ผู้ครองเมืองพิษณุโลกก็ ยกกองทัพขึ้นมาช่วย ยกเข้าตีพม่าพร้อมกับทัพพระยาพิชัยต่อรบกัน ถึงอาวุธสั้น พระยาพิชัยถือดาบ 2 มือคาดด้ายแน่นน�ำทหารเข้า ตะลุมบอนฟันแทงพม่าล้มตายเป็นอันมาก พม่าต้านทานมิได้ก็แตก พ่ายหนีกลับไปเมืองเชียงใหม่” “ในปีมะโรงนั้น โปสุพลายกกองทัพมาตีเมืองพิชัยอีก พระยา พิชัยยกก�ำลังออกต่อรบกลางทางใกล้ วัดเอกา เจ้าพระยาสุรสีห์ ผู้ครองเมืองพิษณุโลกก็ยกกองขึ้นมาช่วยอีก พระยาพิชัยถือดาบ 2 มือคาดด้ายแน่นตามเคย คุมพลทหารออกไล่ฟันแทงพม่า ในก�ำลัง ชุลมุนฟันแทงกันอยู่นั้น เท้าพระยาพิชัยเหยียบดินลื่นเซจะล้ม จึงเอา ดาบยันดินไว้เพื่อมิให้ล้ม ดาบหักไป 1 เล่ม พม่าเห็นพระยาพิชัยเสีย เชิงเช่นนั้นจึงกลับปราดเข้ามาจะฟัน หมื่นหาญณรงค์นายทหารคู่ชีพ พระยาพิชัย ก็ทะลึ่งเข้ารับพม่าผู้นั้นมิทันท�ำร้ายพระยาพิชัยได้พม่า ผู้นั้นเสียท่าหมื่นหาญณรงค์ฟันตาย ก็พอกระสุนปืนพม่ายิงมาถูก หมื่ น หาญณรงค์ ต รงอกทะลุ ห ลั ง ล้ ม ฟุ บ ลงขาดใจตายในขณะนั้ น
พระอธิการยุทธพงษ์ อาภากโร เจ้าอาวาสวัดเอกา
UTTARADIT I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 91
91
13/10/2563 15:43:51
History of buddhism....
วัดพระแท่นศิลาอาสน์ พระอารามหลวง พระวินัยสาทร (ถวิล ถาวโร) เจ้าอาวาสวัดพระแท่นศิลาอาสน์ พระอารามหลวง / เจ้าคณะจังหวัดอุตรดิตถ์-พิษณุโลก _ธรรมยุต
วัดพระแท่นศิลาอาสน์ ตั้งอยู่บ้านพระแท่น ต�ำบลทุ่งยั้ง อ�ำเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์
92
วัดพระแท่นศิลาอาสน์ เดิมชื่อ วัดมหาธาตุ ตั้งอยู่ที่บน เนินเขาเต่า บ้านพระแท่น ต�ำบลทุ่งยั้ง อ�ำเภอลับแล จังหวัด อุตรดิตถ์ ติดกับวัดพระยืนพุทธบาทยุคล ซึ่งตั้งอยู่ทางด้าน ทิ ศ ตะวั น ออก บนเนิ น เขาลู ก เดี ย วกั น แต่ ค นละยอด วัดพระแท่นศิลาอาสน์เป็นวัดโบราณ ไม่ปรากฏหลักฐานว่า ผู้ใดสร้าง และสร้างแต่เมื่อใด ในศิลาจารึกครั้งกรุงสุโขทัย ไม่ปรากฏ
SBL บันทึกประเทศไทย I อุตรดิตถ์
4
.indd 92
19/10/2563 14:50:21
ข้อความกล่าวถึงพระแท่นศิลาอาสน์ แต่เพิ่งมีปรากฏในหนังสือ พระราชพงศาวดาร ในรัชสมัยพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศพระองค์ได้ เสด็จนมัสการพระแท่นศิลาอาสน์ เมื่อปี พ.ศ. 2283 ได้แสดงว่า พระแท่นศิลาอาสน์ได้มีมาก่อนหน้านี้แล้ว จนเป็นที่เคารพสักการะ ของคนทั่วไปอย่างกว้างขวาง และทางราชการได้น�ำพระแท่นศิลา อาสน์ไปประดิษฐานไว้ในตราประจ�ำจังหวัดอุตรดิตถ์ แสดงถึงความ ศรัทธาเลื่อมใสและความส�ำคัญขององค์พระแท่นศิลาอาสน์ได้เป็น อย่างดี ปัจจุบันวัดพระแท่นศิลาอาสน์ ได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นพระ อารามหลวงชั้นตรี สังกัดธรรมยุตินิกาย เมื่อปี พ.ศ. 2549
UTTARADIT I SBL บันทึกประเทศไทย
4
.indd 93
93
19/10/2563 14:50:37
ประวัติ วัดพระแท่นศิลาอาสน์
สมเด็จกรมพระยาด�ำรงราชานุภาพทรงสันนิษฐานว่า พระแท่น ศิลาอาสน์อาจมีมาก่อนแล้วช้านาน ก่อนที่พระเจ้าบรมโกศเสด็จ ไปบูชา เพราะพระแท่นศิลาอาสน์อยู่ริมเมืองทุ่งยั้งซึ่งมีมาตั้งแต่ครั้ง สมัยอาณาจักรเชียงแสนก่อนสุโขทัย และบางทีชื่อทุ่งยั้งนั้นเอง จะ เป็นนิมิตให้เกิดมีพระแท่น เป็นที่พระพุทธเจ้าประทับยับยั้ง เมื่อเสด็จ ผ่านมาทางนั้น ในทางต�ำนานมีคติที่เชื่อว่าพระพุทธเจ้าได้เสด็จยัง ประเทศต่างๆ ภายนอกอินเดียด้วยอิทธิฤทธิ์ฌานสมาบัติ และได้ ประดิษฐานเจดีย์ หรือตรัสพยากรณ์อะไรไว้ในประเทศเหล่านั้น เป็น คติที่เกิดในลังกาทวีป และประเทศอื่นได้รับเอาไปเชื่อถือด้วย จึงเกิด มี เจดี ย ์ วั ต ถุ แ ละพุ ท ธพยาการณ์ ที่ อ ้ า งว่ า พระพุ ท ธองค์ ไ ด้ ท รง ประดิษฐานเจดีย์ไว้ มากบ้าง น้อยบ้างทุกประเทศ เฉพาะเมืองไทย มีปรากฏในพงศาวดารโดยล�ำดับมาว่า พบรอยพระพุทธบาท ณ ไหล่ เขาสุวรรณบรรพต เมื่อรัชกาลพระเจ้าทรงธรรม รัชกาลพระเจ้าเสือ ได้เสด็จไปบูชาพระพุทธฉาย ณ เขาปัถวี และพระเจ้าบรมโกศ เสด็จ ไปบูชาพระแท่นศิลาอาสน์ มีเรื่องเล่าสืบต่อกันมาว่า นายช่างที่สร้าง วิหาร วัดพระแท่นศิลาอาสน์ วัดพระฝาง และวัดสุทัศน์ เป็นนายช่าง คนเดี ย วกั น บานประตู เ ก่ า ของพระวิ ห ารเป็ น ไม้ แ กะสลั ก ฝี มื อ ดี แกะไม้ออกมาเด่น เป็นลายซ้อนกันหลายชั้น แม่ลายเป็นก้านขด ปลายเป็ น รู ป ภาพต่ า งๆ เป็ น ลายเดี ย วกั บ ลายบานมุ ข ที่ วิ ห าร พระพุทธชินราช อาจสร้างแต่ครั้งพระเจ้าติโลกราช กษัตริย์แห่ง ราชอาณาจักรล้านนา เคียงคู่กับสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถกษัตริย์ แห่งกรุงศรีอยุธยา ในสมัยนั้น ต่อมาพระเจ้าบรมโกศมีพระราช ศรัทธา ให้ท�ำประตูมุขตามลายเดิมถวายแทน แล้วโปรดให้เอาบาน เดิมนั้นไปใช้เป็นบานวิหารวัดพระแท่นศิลาอาสน์ ประตูวิหารเก่า บานดังกล่าวได้ถูกไฟไหม้ไปเมื่อ วันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2451 เป็น ไฟป่าลุกลามไหม้เข้ามาถึงวัด ไฟไหม้ครั้งนั้น เหลือกุฏิซึ่งประดิษฐาน หลวงพ่อธรรมจักรอยู่เพียงหลังเดียว ต่อมาพระยาวโรดมภักดีศรี อุตรดิตถ์นคร (อั้น หงษนันท์) เจ้าเมืองอุตรดิตถ์ ได้เรี่ยไรเงินสร้าง และซ่อมแซมวิหาร ภายในวิหารมีซุ้มมณฑปครอบพระแท่นศิลา อาสน์ไว้
94
พระแท่นศิลาอาสน์
พระแท่นศิลาอาสน์เป็นพุทธเจดีย์ เช่นเดียวกับพระแท่นดงรัง เป็นที่เชื่อกันมาแต่โบราณว่า สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทั้งห้า พระองค์ ใ นภั ท รกั ป นี้ ได้ เ สด็ จ และจะได้ เ สด็ จ มาประทั บ นั่ ง บน พระแท่นแห่งนี้ เพื่อเจริญภาวนา และได้ประทับยับยั้งในเวลาที่ตรัสรู้ แล้ว เพื่อโปรดสัตว์ ซึ่งแสดงว่าพระแท่นศิลาอาสน์นี้ มีประวัติความ เป็นมาอย่างต่อเนื่อง ในพระพุทธศาสนามายาวนาน ตัวพระแท่น เป็นศิลาแลง มีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ขนาดกว้าง 8 ฟุต ยาว ประมาณ 10 ฟุต สูง 3 ฟุต ที่ฐานพระแท่นประดับด้วยลายกลีบบัว โดยรอบ มีพระมณฑป ศิลปะเชียงแสนครอบ อยู่ภายในพระวิหาร
SBL บันทึกประเทศไทย I อุตรดิตถ์
4
.indd 94
19/10/2563 14:50:47
พระวินัยสาทร (ถวิล ถาวโร) น.ธ.เอก, ประโยค 1 – 2 เจ้าอาวาสวัดพระแท่นศิลาอาสน์ พระอารามหลวง เจ้าคณะจังหวัดพิษณุโลก - อุตรดิตถ์ (ธ)
การศึกษา นักธรรมชั้นเอก ประโยค 1 -2 ต�ำแหน่งฝ่ายปกครอง เจ้าอาวาสวัดพระแท่นศิลาอาสน์ พระอารามหลวง เจ้าคณะจังหวัดพิษณุโลก - อุตรดิตถ์ (ธ) สมณศักดิ์ พ.ศ. 2539 เป็น พระครูปลัด พ.ศ. 2540 เป็น พระครูสญ ั ญาบัตร ผูช้ ว่ ยเจ้าอาวาสวัดราษฎร์ ที่ พระครูถาวรธรรมโกวิท พ.ศ. 2541 เป็น พระครูสัญญาบัตร เจ้าคณะต�ำบล ชั้นตรี ใน ราชทินนามเดิม
4
.indd 95
พ.ศ. 2542 เป็น พระครูสัญญาบัตร เจ้าคณะอ�ำเภอ ชั้นโท ใน ราชทินนามเดิม พ.ศ. 2545 เป็น พระครูสัญญาบัตร เจ้าคณะอ�ำเภอ ชั้นเอก ในราชทินนามเดิม พ.ศ. 2549 เป็น พระครูสัญญาบัตร เจ้าอาวาสพระอาราม หลวง ชั้นโท ในราชทินนามเดิม พ.ศ. 2550 เป็น พระครูสัญญาบัตร เจ้าอาวาสพระอาราม หลวง ชั้นเอก ในราชทินนามเดิม 5 ธันวาคม พ.ศ. 2554 เป็น พระราชาคณะชั้นสามัญ ที่ พระ วินัยสาทร UTTARADIT I SBL บันทึกประเทศไทย 95
19/10/2563 14:50:50
History of buddhism....
วัดเจดีย์คีรีวิหาร พระสุธรรมญาณ (ทองคำ� กมโล) เจ้าอาวาสวัดเจดีย์คีรีวิหาร / รองเจ้าคณะจังหวัดอุตรดิตถ์
96
2
วัดเจดีย์คีรีวิหาร ตั้งอยู่ที่บ้านวัดป่า หมู่ที่ 9 ต�ำบลฝายหลวง อ�ำเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์ 53130
วัดเจดีย์คีรีวิหาร เป็นวัดของคณะสงฆ์ไทยสังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย และ พระเจดีย์แห่งนี้ยังเป็นพระบรมธาตุเจดีย์แห่งแรก ในอ�ำเภอลับแล จังหวัด อุตรดิตถ์ ทีป่ จั จุบนั กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรมได้ขนึ้ ทะเบียนไว้เป็นโบราณ สถานของชาติ
SBL บันทึกประเทศไทย I อุตรดิตถ์
.indd 96
13/10/2563 15:47:27
วัดเจดีย์คีรีวิหาร เดิมมีชื่อว่าวัดป่าแก้ว สร้างขึ้นเมื่อประมาณ พ.ศ. 1519 สร้ า งขึ้ น โดยเจ้ า ฟ้ า ฮ่ า มกุ ม ารปฐมกษั ต ริ ย ์ ผู ้ ค รอง นครลับแลทูลขอแบ่งพระบรมสารีริกธาตุจากพระมหาชินธาตุเจ้า (พระธาตุดอยตุง) จังหวัดเชียงราย และสร้างเจดีย์ขึ้น อัญเชิญมา บรรจุไว้ในเจดียท์ พี่ ระองค์ทรงสร้างขึน้ โดยเจดียแ์ ห่งนีเ้ ป็นเจดียแ์ ห่งแรก ในอ� ำ เภอลั บ แล จั ง หวั ด อุ ต รดิ ต ถ์ ที่ บ รรจุ พ ระบรมสารี ริ ก ธาตุ (ปัจจุบันกรมศิลปากร สังกัดกระทรวงวัฒนธรรมได้ขึ้นทะเบียนไว้ เป็นโบราณสถาน) และในกาลเวลาต่อมานานนับพันปีเจดีย์แห่งนี้ก็ ทรุดโทรมลงตามกาลเวลา แต่ปัจจุบันเจดีย์แห่งนี้ได้รับการบูรณะ ซ่อมแซมเจดีย์จนอยู่ในสภาพเดิมทุกประการ
ลักษณะเด่นวัดเจดีย์คีรีวิหาร
- โบราณสถาน เจดีย์ ปีพ.ศ.1519 -โบสถ์ รศ.16 - มีสถาปัตยกรรม -กรมศิลปากรมาขอส�ำรวจเจดีย์ - อุโบสถเก่าแก่ของวัด -อุโบสถใหม่ของวัด - ศาลาการเปรียญหลังเก่าของวัด - ศาลาการเปรียญหลังใหม่ของวัด - ตึกธรรมฐิติวงศ์ -ต�ำหนักคีรีรมย์ - หอระฆังของวัด -เจดีย์เก่าแก่ของวัด - รูปหล่อเหมือนหลวงปู่บุญใหม่ –พระประธานศิลปะสุโขทัย
วัดเจดีย์คีรีวิหาร ได้รับคัดเลือกเป็นวัดพัฒนาตัวอย่าง ปี พ.ศ. 2534 และได้รับคัดเลือกเป็นวัดพัฒนาตัวอย่างที่มีผลงานดีเด่น พ.ศ. 2535
ประวัติเจ้าอาวาส พอสังเขป
พระธรรมญาณ กมโล น.ธ.เอก อายุ 88 พรรษา 64 นามเดิ ม ทองค� ำ มะโนค� ำ เกิ ด วั น ที่ 5 มี น าคม พ.ศ.2475 อุปสมบท วันที่ 31 มีนาคม พ.ศ.2499 ทีว่ ดั เจดียค์ รี วี หิ าร ต�ำบลฝายหลวง อ�ำเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์
ต�ำแหน่งทางคณะสงฆ์
พ.ศ. 2555 ได้รับการแต่งตั้งให้ด�ำรงต�ำแหน่งรองเจ้าคณะจังหวัด พ.ศ.2544 ได้รับการแต่งตั้งให้ด�ำรงต�ำแหน่งรองเจ้าคณะจังหวัด พ.ศ.2505 ได้รับการแต่งตั้งให้ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าคณะอ�ำเภอ
UTTARADIT I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 97
97
13/10/2563 15:47:40
History of buddhism....
วัดเสาหิน พระครูสิริกิจวิธาน (ครูบาแก้ว) เจ้าอาวาสวัดเสาหิน
วัดเสาหิน ตั้งอยู่เลขที่ 143 ต�ำบลศรีพนมมาศ อ�ำเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์
98
2
ตั้งวัดเมื่อปี พ.ศ.2177 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อปี พ.ศ.2324 วัดเสาหินมีเนื้อที่ทั้งหมด 9 ไร่ 2 งาน 62 ตารางวา ที่ธรณีสงฆ์ด้านทิศตะวันตก เป็นโบสถ์ มีเนื้อที่ 9 ไร่ 3 งาน 90 ตารางวา ที่ซื้อเพิ่มเติมประมาณ 1 ไร่ 2 งาน ด้านทิศตะวันออกติดที่แม่สังเวียน รัตนศักดิ์ ด้านทิศเหนือติดธนาคารออมสิน สาขาลับแล ด้านทิศตะวันตกติดถนนศรีพนมมาศ ด้านทิศใต้ติดคลองเหมือง
SBL บันทึกประเทศไทย I อุตรดิตถ์
.indd 98
13/10/2563 15:27:34
เดิมวัดเสาหิน ชาวบ้านเรียกกันติดปากว่า วัดฝายหิน สันนิษฐาน คงเรียกตามล�ำน�้ำคลองฝายหิน ฝายหินที่ชาวบ้านเรียกกันนั้นอยู่ทาง เหนือบ้านคอกช้าง ทางเข้าบ้านต้นม่วง-นารี ปัจจุบันมีหลักฐาน อ้างอิงว่าใต้วัดลงไป หลังวัดชัยจุมพลเรียกว่าทุ่งฝายหินก้อม (น้อยๆ) ศรัทธาที่ประจ�ำวัดมีชุมชนประมาณ 500 กว่าหลังคาเรือน รวมบ้าน ปากทางทั้งต�ำบลฝายฝั่งซ้ายถนนอินใจมี ฝั่งขวาถนนอินใจมีเป็น ต�ำบลชัยจุมพล ศรัทธาหลักของวัดมีตลาดลับแล (ตลาดม่อน) ชุมชนยางกะได เหนือ – ชุมชนยางกะไดใต้ (ชุมชน) ทางซอยม่อนาตุเป็นส่วนมาก ผู้มาท�ำบุญจะไม่นับเป็นบ้านเพราะวัดเสาหินเป็นชุมชนกลางมีส่วน ราชการแวดล้อมรอบ เช่น สถานีต�ำรวจภูธรลับแล ที่ว่าการอ�ำเภอ ลับแล ธนาคารออมสิน และโรงเรียนเทศบาลศรีพนมมาศทิพยากร วั ด อยู ่ ใ นชุ ม ชนเช่ น นี้ ส ่ ว นใหญ่ จ ะมี ส ่ ว นราชการและโรงเรี ย นมา ประกอบกิจกรรมทางพระพุทธศาสนาประจ�ำ เช่น วันส�ำคัญในทาง พระพุทธศาสนา เช่น วันมาฆบูชา วันอาสาฬหบูชา วัดเสาหิน บางครั้งก็มีผู้คนมาจากต่างท้องที่ขอพักอาศัยเพราะ เป็นศูนย์กลางและสะดวกในการเดินทาง เช่น งานที่ทางอ�ำเภอ ต�ำบล เทศบาล จัดขึ้น เช่น งานลางสาด ประกวดทุเรียน เทศกาล ทางพระพุทธศาสนาบ้าง เดือน 3 งานนมัสการพระแท่นศิลาอาสน์ พระยืนพุทธบาทยุคล พระนอนพุทธไสยยาสน์ เดือน 6 งานวิสาขบูชา ร�ำลึกของวัดบรมธาตุทุ่งยั้ง งานถวายพระเพลิงพระพุทธเจ้าเดือน 5 งานนมัสการงานไหว้เจดีย์เก่าแก่ของลับแลวัดเจดีย์คีรีวิหาร
ปูชนียวัตถุ มี
- พระพุทธรูปประจ�ำวัด คือ หลวงพ่อสุโขทัย หน้าตักกว้าง 60 นิว้ เนื้อทอง 80 เปอร์เซ็นต์ - พระพุทธรูปปางสมาธิ ทรงเวียงแสนสิงห์หน้าตักกว้าง 60 นิ้ว เนื้อสัมฤทธิ์ พระพุทธรูปองค์นี้ เดิมประดิษฐานเป็นประธานอยู่ศาลา บ�ำเพ็ญพอกด้วยปูน
อาคารเสนาสนะ ประกอบด้วย
- กุฎีที่พักสงฆ์ จ�ำนวน 3 หลัง อาคารไม้ 2 หลัง ตึก 1 หลัง - วิหาร กว้าง 20 เมตร ยาว 50 เมตร เป็นทรงไทยก่ออิฐถือปูน เป็นวิหารดั้งเดิมเก่าแก่ของวัด บูรณปฏิสังขรณ์เอาแบบใหม่ - ศาลาการเปรียญ (บ�ำเพ็ญบุญ) กว้าง 50 เมตร ยาว 100 เมตร เป็นอาคารไม้ทรงไทย เป็นไม้ทั้งหลัง เก่าแก่มีต้นสาไม้ศาลา คนโอบไม่ ร อบยั ง คงมี ศ าลาที่ เ ก่ า แก่ ห ลั ง เดี ย วในอ� ำ เภอลั บ แลได้ บูรณปฏิสังขรณ์มา 2 ชั่วอายุคน สันนิษฐานว่านายอ�ำเภอพิศาล น�ำศรัทธาสาธุชนสร้าง นายเลียง ค�ำแสน อายุ 98 ปี เล่าว่าตอนพ่อ เป็นผู้ใหญ่บ้านต้องใช้ก�ำลังช้างช่วยก�ำลังคนเป็นร้อย มรรคทายกตา มาต้น ลูกชายของผู้ใหญ่บ้านยางกะไดเหนือ อายุ 79 ปี ต้องเกณฑ์ คนมาช่วยปลูกสร้างผู้ชายถากเสา ถากเคลื่อนขน ผู้หญิงท�ำส�ำรับ ข้าวมาเลี้ยงผู้ก่อสร้างใช้แรงงานคนเป็นร้อยคน เพราะเครื่องมือใน การก่อสร้างไม่มี - ศาลาอเนกประสงค์ 1 หลัง กว้าง 10 เมตร ยาว 30 เมตร เป็นที่บ�ำเพ็ญงานศพ - เมรุ 1 หลัง พระครูสิริกิจวิธาน (ครูบาแก้ว) เจ้าอาวาสวัดเสาหิน
UTTARADIT I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 99
99
13/10/2563 15:27:46
If you love
HISTORY OF THAILAND you'll adore SBL MAGAZINE
www.sbl.co.th
SBL บันทึกประเทศไทย SBL MAGAZINE SBL บันทึกประเทศไทย
วั ด ภู เ ขาพระอั ง คาร ตั้งอยู่ในท้องที่ อ�ำเภอเฉลิมพระเกียรติ
และเขตของอ� ำ เภอนางรอง จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ เป็ น ภู เ ขาไฟที่ ดั บ สนิ ท แล้ ว ห่ า งจากภู เ ขาพนมรุ ้ ง ไปทางทิ ศ ตะวั น ตกประมาณ 10 กิ โ ลเมตร ห่ า งจาก จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ ป ระมาณ 72 กิ โ ลเมตร ตามเส้ น ทางบุ รี รั ม ย์ - นางรอง
Book of sbl.indd 16
. - 19/04/2562 14:30:07 PM
History of buddhism....
วัดดอยมูล พระครูอดุลพัฒนาธร เจ้าอาวาสวัดดอยมูล
วัดดอยมูล ตั้งอยู่ที่บ้าน�ำ้ ท่วม เลขที่ 103 หมู่ที่ 2 ต�ำบลฝายหลวง อ�ำเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์
โทรศัพท์ 086 2152068 / ไลน์ 095 5718692
วัดดอยมูล เริ่มสร้างตั้งแต่ปี พ.ศ. 2425 ได้รับการรับรองสภาพ วัดจากกรมศาสนาในปี พ.ศ. 2428 หลังจากนั้นจึงได้สร้างอุโบสถ และท�ำการขอพระราชทานวิสุงคามสีมา โดยท�ำการขอพระราชทาน วิสุงคามสีมาถึงสองครั้งจึงได้รับพระราชทานในปี พ.ศ. 2432 และ ได้ตั้งเป็นวัดที่สมบูรณ์แบบนับตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา ในส่วนของเจ้าอาวาสที่ปกครองดูแลวัดดอยมูลนั้น ตั้งแต่เริ่ม สร้างวัดปี พ.ศ. 2425 ถึงปี พ.ศ. 2475 ไม่ได้ท�ำการบันทึกไว้จนถึง เมื่อคราวที่บูรณะซ่อมแซมอุโบสถเมื่อปี พ.ศ. 2512 ได้สอบถาม ผู้เฒ่าผู้แก่จึงได้ข้อมูลรายนามเจ้าอาวาสดังนี้ 1. หลวงปู่เครื่อง สุธีโร พ.ศ. 2475 – 2480 2. หลวงปู่เจ๊ก วุฑฺโฒ พ.ศ. 2480 – 2489 3. หลวงปู่น้อย ปิยธมฺโม พ.ศ. 2489 – 2495 4. พระครูสุนทรธรรมสถิต (หลวงปู่เล็ก) พ.ศ. 2495 – 2527 5. พระอธิการบุญลึก รตนวณฺโณ พ.ศ. 2527 – 2532 6. พระหุ่ย จกฺกวโร (รักษาการแทน) พ.ศ.2532 – 2538 7. พระวินัยธรปี ฐานวุฑฺโฒ พ.ศ.2538 – ปัจจุบัน พระวินัยธรปี ฐานวุฑฺโฒ ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ เป็น พระครู สั ญ ญาบั ต รเจ้ า อาวาสวั ด ราษฎร์ ชั้ น โท ในราชทิ น นาม “พระครูอดุลพัฒนาธร” ในปี พ.ศ. 2545
พระครูอดุลพัฒนาธร เจ้าอาวาสวัดดอยมูล
UTTARADIT I SBL บันทึกประเทศไทย
1
.indd 101
101
13/10/2563 14:44:18
UTTARADIT
รายชื่อวัดในจังหวัดอุตรดิตถ์
เหล็กน�้ำพี้ลือเลื่อง เมืองลางสาดหวาน บ้านพระยาพิชัยดาบหัก ถิ่นสักใหญ่ของโลก
อ�ำเภอเมืองอุตรดิตถ์ วัดกลาง บ้านเกาะ ต�ำบลท่าอิฐ วัดกุมภีล์ทอง บ้านไร่ ม.5 ต�ำบลบ้านด่าน
วัดเกษมจิตตาราม บ้านคลองโพธิ์ ต�ำบลท่าอิฐ
วัดเกาะเรไร บ้านทุ่ง ม.5 ต�ำบลแสนตอ
วัดขุนฝาง บ้านขุนฝาง ม.5 ต�ำบลขุนฝาง
วัดเขาแก้ว บ้านงิ้วงาม ม.4 ต�ำบลงิ้วงาม
วัดเขาตองพรหมประสิทธิ์ บ้านเขาตอง ม.9 ต�ำบลหาดกรวด
วัดเขาผึ้ง บ้านวังดิน ม.2 ต�ำบลวังดิน
วัดคลองนาพง บ้านคลองนาพง ม.7 ต�ำบลผาจุก
วัดคลองโพธิ์ บ้านเจริญธรรม ต�ำบลท่าอิฐ
วัดคุ้งตะเภา บ้านคุง้ ตะเภา ม.4 ต�ำบลคุง้ ตะเภา
วัดคุ้งยาง บ้านคุ้งยาง ม.7 ต�ำบลบ้านด่าน
วัดคุ้งวารี บ้านคุ้งวารี ม.6 ต�ำบลบ้านเกาะ
วัดงิ้วงาม บ้านงิ้วงาม ม.5 ต�ำบลงิ้วงาม
วัดจอมคีรี บ้านชายเขาใต้ ม.4 ต�ำบลน�้ำริด
วัดช่องลม บ้านช่องลม ม.2 ต�ำบลหาดงิ้ว
วัดชายเขา บ้านชายเขา ม.5 ต�ำบลน�้ำริด
วัดดงช้างดี บ้านดงช้างดี ม.3 ต�ำบลหาดกรวด
102
วัดดอยแก้ว
วัดทุ่งเศรษฐี
บ้านทุ่งแสนตอ ม.4 ต�ำบลแสนตอ
บ้านห้วยบง ม.7 ต�ำบลป่าเซ่า
วัดดอยท่าเสา
วัดเทพนิมิตรจอมคีรีธรรม
บ้านท่าเสา ม.8 ต�ำบลท่าเสา วัดด่านนาขาม บ้านด่านนาขาม ม.2 ต�ำบลบ้านด่านนาขาม
บ้านห้วยปอม ม.8 ต�ำบลวังดิน
วัดเด่นกระต่าย
วัดนาน้อย
บ้านเด่นกระต่าย ม.11 ต�ำบลผาจุก
บ้านนาน้อย ม.6 ต�ำบลหาดงิ้ว
วัดเด่นด่าน
วัดนาโป่ง
บ้านเด่นด่าน ม.2 ต�ำบลบ้านด่าน
บ้านนาโป่ง ม.3 ต�ำบลท่าเสา
วัดทองเหลือ
วัดน�ำ้ ริดใต้
บ้านแม่พร่อง ม.4 ต�ำบลบ้านเกาะ
บ้านน�้ำริด ม.1 ต�ำบลน�ำ้ ริด
วัดทับใหม่
วัดน�ำ้ ริดเหนือ
บ้านทับใหม่ ม.1 ต�ำบลหาดกรวด บ้านส�ำราญรื่น ต�ำบลท่าอิฐ
บ้านน�้ำริด ม.2 ต�ำบลน�ำ้ ริด วัดน�ำ้ วังหลวง บ้านน�้ำวังหลวง ม.10 ต�ำบลบ้านด่าน
วัดท่าทอง
วัดแนวคีรี
บ้านท่าทอง ม.2 ต�ำบลวังกะพี้
บ้านม่อนดินแดง ม.5 ต�ำบลท่าเสา
วัดท้ายตลาด
วัดบุ่งวังงิ้ว
บ้านท่าอิฐ ต�ำบลท่าอิฐ
บ้านบุ่งวังงิ้ว ม.1 ต�ำบลป่าเซ่า
วัดทุ่งเศรษฐี
วัดประชาธรรม
บ้านห้วยบง ม.7 ต�ำบลป่าเซ่า
บ้านด่านน�้ำ ม.3 ต�ำบลบ้านด่าน
วัดเทพนิมิตรจอมคีรีธรรม
วัดปากฝาง
บ้านห้วยปอม ม.8 ต�ำบลวังดิน
บ้านปากฝาง ม.9 ต�ำบลงิ้วงาม
วัดธรรมาธิปไตย
วัดป่ากล้วย
บ้านสี่แยกวัดธรรมา ต�ำบลท่าอิฐ บ้านแม่พร่อง ม.4 ต�ำบลบ้านเกาะ
บ้านป่ากล้วย ม.2 ต�ำบลคุ้งตะเภา วัดปางต้นผึง้ บ้านปางต้นผึง้ ม.8 ต�ำบลบ้านด่านนาขาม
วัดทับใหม่
วัดป่าเซ่า
บ้านทับใหม่ ม.1 ต�ำบลหาดกรวด
บ้านป่าเซ่า ม.10 ต�ำบลบ้านเกาะ
วัดท่าถนน
วัดป่าพุทธวิโมกข์
บ้านส�ำราญรื่น ต�ำบลท่าอิฐ
บ้านขุนฝาง ม.5 ต�ำบลขุนฝาง
วัดท่าทอง
วัดป่าสักเรไร
บ้านท่าทอง ม.2 ต�ำบลวังกะพี้
บ้านหัวหาด ม.5 ต�ำบลคุ้งตะเภา
วัดท้ายตลาด
วัดผาจักร
บ้านท่าอิฐ ต�ำบลท่าอิฐ
บ้านผาจักร ม.8 ต�ำบลผาจุก
วัดท่าถนน
วัดทองเหลือ
วัดธรรมาธิปไตย บ้านสี่แยกวัดธรรมา ต�ำบลท่าอิฐ
วัดผาจุก
วัดหนองกลาย
บ้านผาจุก ม.5 ต�ำบลผาจุก
บ้านหนองกลาย ม.6 ต�ำบลป่าเซ่า
วัดไผ่ล้อม
วัดหนองคันธมาศ
บ้านท่าอิฐล่าง ต�ำบลท่าอิฐ
บ้านหนองคัน ม.5 ต�ำบลบ้านเกาะ
วัดไผ่ใหญ่
วัดหนองปล้อง
บ้านไผ่ใหญ่ ม.7 ต�ำบลหาดกรวด
บ้านหนองปล้อง ม.7 ต�ำบลคุ้งตะเภา
วัดพระฝางสวางคบุรีมุนีนาถ บ้านฝาง ม.3 ต�ำบลผาจุก
วัดม่อนหินขาว บ้านม่อนหินขาว ม.10 ต�ำบลผาจุก วัดแม่เฉย บ้านแม่เฉย ม.5 ต�ำบลบ้านด่านนาขาม
วัดยางจุ้ม บ้านยางจุ้ม ม.3 ต�ำบลวังดิน
วัดยางโทน บ้านยางโทน ม.4 ต�ำบลวังดิน
วัดวังกะพี้ บ้านวังกะพี้ ม.5 ต�ำบลวังกะพี้
วัดวังขอน บ้านวังขอน ม.7 ต�ำบลงิ้วงาม
วัดวังดิน บ้านวังดิน ม.1 ต�ำบลวังดิน
วัดวังแดง บ้านวังแดง ม.5 ต�ำบลหาดงิ้ว
วัดวังถ�้ำ บ้านวังถ�้ำ ม.3 ต�ำบลถ�้ำฉลอง
วัดวังโป่ง บ้านวังโป่ง ม.8 ต�ำบลวังกะพี้
วัดหนองป่าไร่ บ้านหนองป่าไร่ ม.5 ต�ำบลวังดิน
วัดหนองผาสันติการาม บ้านหนองผา ต�ำบลท่าอิฐ วัดหน้าฝาย บ้านหน้าฝาย ม.4 ต�ำบลบ้านด่านนาขาม
วัดหมอนไม้ บ้านหมอนไม้ ม.3 ต�ำบลป่าเซ่า
วัดห้วยกั้ง บ้านห้วยกั้ง ม.6 ต�ำบลบ้านด่านนาขาม
วัดห้วยฉลองราษฎร์บ�ำรุง บ้านห้วยฉลอง ม.2 ต�ำบลถ�ำ้ ฉลอง
วัดห้วยโปร่ง บ้านห้วยโปร่ง ม.1 ต�ำบลหาดงิ้ว วัดห้วยฮ้า บ้านห้วยฮ้า ม.7 ต�ำบลบ้านด่านนาขาม
วัดหาดงิ้ว บ้านหาดงิ้ว ม.4 ต�ำบลหาดงิ้ว
วัดหาดเสือเต้น บ้านหาดเสือเต้น ม.6 ต�ำบลคุ้งตะเภา
วัดวังหมู
วัดเหล่าป่าสา
บ้านวังหมู ม.4 ต�ำบลหาดกรวด
บ้านเหล่าป่าสา ม.1 ต�ำบลขุนฝาง
วัดศรีธาราม
วัดใหญ่ท่าเสา
บ้านวังสีสูบใต้ ม.1 ต�ำบลงิ้วงาม
บ้านท่าเสา ต�ำบลท่าอิฐ
วัดสามัคยาราม
วัดใหม่เจริญธรรม
บ้านด่านน�้ำ ม.3 ต�ำบลบ้านด่าน
บ้านป่าขนุน ม.3 ต�ำบลคุ้งตะเภา
วัดสิงห์ศรีสว่าง
ใหม่ช่องลม
บ้านปากสิงห์ ม.7 ต�ำบลแสนตอ
บ้านวังสีสบู เหนือ ม.3 ต�ำบลงิว้ งาม
วัดสุวรรณคีรี
วัดอรัญญิการาม
บ้านวังยาง ม.1 ต�ำบลผาจุก
บ้านหนองค�ำฮ้อย ม.4 ต�ำบลท่าเสา
SBL บันทึกประเทศไทย I อุตรดิตถ์
.indd 102
19/10/2563 16:02:52
THE IMPORTANT TEMPLES UTTARADIT
อ�ำเภอตรอน
วัดพงสะตือ
วัดศรัทธาพร
วัดหลวงป่ายาง
บ้านพงสะตือ ม.7 ต�ำบลบ้านแก่ง
บ้านท่าอวน ม.1 ต�ำบลวังแดง
บ้านหัวดาน ม.8 ต�ำบลวังแดง
วัดพิกุลทอง
วัดศรีพุทธโคดม
บ้านหลวงป่ายาง ม.2 ต�ำบลน�ำ้ อ่าง
วัดบ้านแก่งใต้
บ้านห้วยพิกลุ ทอง ม.7 ต�ำบลวังแดง
บ้านเนินสวรรค์ ม.10 ต�ำบลน�ำ้ อ่าง
วัดข่อยสูง
วัดถาวรสามัคคีธรรม
บ้านข่อยสูง ม.1 ต�ำบลข่อยสูง
วัดคลึงคราช บ้านเด่นส�ำโรง ม.4 ต�ำบลหาดสองแคว
บ้านแก่ง ม.3 ต�ำบลบ้านแก่ง
วัดมงคลนิมิตร บ้านแก่ง ม.2 ต�ำบลบ้านแก่ง
วัดช�ำทอง
วัดบ้านใหม่โพธิ์เย็น บ้านใหม่ ม.6 ต�ำบลวังแดง
วัดราษฎร์สามัคคี
วัดป่าปทีปาราม
บ้านเหนือใหญ่ ม.1 ต�ำบลน�้ำอ่าง
บ้านช�ำทอง ม.8 ต�ำบลบ้านแก่ง
วัดไชยมงคล
บ้านแก่ง ม.1 ต�ำบลบ้านแก่ง
วัดหาดสองแคว บ้านหาดสองแคว ม.1 ต�ำบลหาดสองแคว
วัดศรีสะอาด
วัดแหลมคูณ
บ้านคร้อกลาง ม.4 ต�ำบลน�้ำอ่าง
บ้านแหลมคูณ ม.5 ต�ำบลหาดสองแคว
วัดสักลาย
วัดไผ่ลูกช้าง
วัดวังแดง
บ้านไผ่ลูกช้าง ม.3 ต�ำบลข่อยสูง
บ้านวังแดง ม.3 ต�ำบลวังแดง
วัดดอยสวรรค์
วัดไผ่สว่างสามัคคีธรรม
บ้านวังแดง ม.2 ต�ำบลวังแดง
บ้านใหม่พฒ ั นา ม.10 ต�ำบลวังแดง
บ้านเขาไก่เขี่ย ม.1 ต�ำบลวังแดง
บ้านไผ่สว่าง ม.5 ต�ำบลหาดสองแคว
วัดวังหิน
วัดหมู่ห้าสามัคคี
บ้านวังหิน ม.4 ต�ำบลวังแดง
บ้านหมู่ห้า ม.5 ต�ำบลบ้านแก่ง
บ้านไชยมงคล ม.7 ต�ำบลน�้ำอ่าง
วัดดอยแก้ว บ้านไร่ ม.5 ต�ำบลน�้ำอ่าง
วัดวังแดงหมู่สอง
บ้านสักลาย ม.6 ต�ำบลข่อยสูง
วัดสัจจาราษฎร์บำ� รุง
วัดแหลมทอง บ้านแหลมทอง ม.2 ต�ำบลข่อยสูง
วัดใหม่เยาวชน บ้านใหม่โพธิท์ อง ม.5 ต�ำบลวังแดง
UTTARADIT I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 103
103
19/10/2563 16:02:53
อ�ำเภอพิชัย วัดกองโค บ้านกองโค ม.3 ต�ำบลคอรุม
บ้านทุ่งป่ากระถิน ม.6 ต�ำบลพญาแมน
วัดเกาะวารี
วัดนาคะนึง
บ้านท่ามะปราง ม.5 ต�ำบลพญาแมน
บ้านนาคะนึง ม.6 ต�ำบลนายาง
วัดขวางชัยภูมิ
วัดนางลิง
บ้านปากคลอง ม.1 ต�ำบลคอรุม
บ้านคลองกะชี ม.7 ต�ำบลในเมือง
วัดเขาดินสุวรรณบาท
วัดนายาง
บ้านม่วงตาล ม.3 ต�ำบลนายาง
บ้านนายาง ม.4 ต�ำบลนายาง
วัดคลองกล้วย
วัดนาอิซาง
บ้านคลองกล้วย ม.8 ต�ำบลคอรุม
บ้านนาอิซาง ม.1 ต�ำบลนายาง
วัดคลองกะพั้ว
วัดนาอิน
บ้านคลองกะพัว้ ม.6 ต�ำบลบ้านโคน
บ้านนาอิน ม.3 ต�ำบลนาอิน
วัดคลองละมุง
วัดบางนา
บ้านคลองละมุง ม.5 ต�ำบลไร่อ้อย
บ้านบางนา ม.7 ต�ำบลคอรุม
วัดคลองละวาน
วัดบ้านเกาะ
บ้านคลองละวาน ม.6 ต�ำบลในเมือง
บ้านเกาะ ม.3 ต�ำบลบ้านดารา
วัดคีรีรัตนวนาราม
บ้านขอม ม.5 ต�ำบลพญาแมน
บ้านเฟือ่ งฟ้าสีขาว ม.7 ต�ำบลนาอิน
วัดคีรีวงกต บ้านหนองกวาง ม.2 ต�ำบลนายาง
วัดช�ำตก บ้านช�ำตก ม.8 ต�ำบลท่าสัก
วัดช�ำสอง บ้านช�ำสอง ม.6 ต�ำบลท่าสัก
วัดช�ำหนึ่ง บ้านช�ำหนึ่ง ม.5 ต�ำบลท่าสัก วัดดอกไม้ บ้านท่ามะเฟือง ม.2 ต�ำบลท่ามะเฟือง
วัดเด่นกระต่าย บ้านไร่เจริญ ม.7 ต�ำบลบ้านโคน
วัดเต่าไห
วัดบ้านดง บ้านดง ม.3 ต�ำบลพญาแมน
วัดบ้านดารา บ้านดารา ม.4 ต�ำบลบ้านดารา วัดบึงสัมพันธ์ บ้านหาดสาแล ม.5 ต�ำบลบ้านหม้อ
วัดบุพพาราม บ้านโคน ม.1 ต�ำบลพญาแมน
บ้านท่าเดื่อ ม..5 ต�ำบลคอรุม
วัดโรงม้า บ้านหม้อ ม.1 ต�ำบลบ้านหม้อ วัดไร่อ้อย บ้านไร่อ้อย ม.6 ต�ำบลไร่อ้อย
วัดวงษ์สวรรค์สุทธาวาส บ้านเต่าไหเหนือ ม.2 ต�ำบลท่าสัก
วัดวังตอ บ้านวังตอ ม.7 ต�ำบลไร่อ้อย
วัดวังผักรุง บ้านวังผักรุง ม.3 ต�ำบลไร่อ้อย
วัดวังพะเนียด บ้านวังพะเนียด ม.5 ต�ำบลในเมือง
วัดวังสะโม บ้านวังสะโม ม.1 ต�ำบลบ้านดารา
วัดวังสัมโม บ้านวังสัมโม ม.2 ต�ำบลบ้านดารา
วัดศรีจ�ำปาศักดิ์ บ้านทับยา ม.1 ต�ำบลท่ามะเฟือง
วัดหน้าพระธาตุ บ้านหน้าพระธาตุ ม.1 ต�ำบลในเมือง
วัดหลักร้อย บ้านหลักร้อย ม.5 ต�ำบลนายาง
วัดหาดก�ำแพง บ้านหาดก�ำแพง ม.5 ต�ำบลบ้านโคน
วัดประชาศรัทธาธรรม
วัดใหม่สามัคคีธรรม
บ้านเต่าไหใต้ ม.4 ต�ำบลท่าสัก วัดป่ากะพี้ บ้านป่ากะพี้ ม.4 ต�ำบลท่ามะเฟือง
วัดเอกา
วัดป่าแต้ว
บ้านใหม่สามัคคีธรรม ม.5 ต�ำบลไร่อ้อย บ้านปากคลอง ม.1 ต�ำบลคอรุม
บ้านป่าแต้ว ม.4 ต�ำบลคอรุม
บ้านเต่าไห ม.3 ต�ำบลท่าสัก
วัดท่าดินแดง บ้านท่าดินแดง ม.5 ต�ำบลไร่อ้อย
วัดท่าไม้เหนือ บ้านท้ายน�ำ้ ม.5 ต�ำบลบ้านหม้อ
วัดทุ่งป่ากระถิน บ้านทุง่ ป่ากระถิน ม.6 ต�ำบลพญาแมน
วัดท่าดินแดง บ้านท่าดินแดง ม.5 ต�ำบลไร่อ้อย
วัดท่าไม้เหนือ บ้านท้ายน�ำ้ ม.5 ต�ำบลบ้านหม้อ
วัดทุ่งป่ากระถิน 104
วัดบ้านขอม
วัดราษฎร์ประดิษฐ์
วัดพระยาปันแดน บ้านพญาแมน ม.4 ต�ำบลพญาแมน
วัดโพธาราม บ้านดอนโพธิ์ ม.6 ต�ำบลบ้านหม้อ
วัดโพธิ์ดาราราม บ้านดารา ม.5 ต�ำบลบ้านดารา
วัดฟากบึง บ้านฟากบึง ม.4 ต�ำบลนาอิน
วัดภักดีราษฎร์บูรณาราม บ้านท่าสัก ม.1 ต�ำบลท่าสัก
วัดมหาธาตุ บ้านมหาธาตุ ม.3 ต�ำบลในเมือง
SBL บันทึกประเทศไทย I อุตรดิตถ์
.indd 104
19/10/2563 16:02:54
THE IMPORTANT TEMPLES UTTARADIT
อ�ำเภอลับแล
วัดน�ำ้ ใส
วัดกุฏิพระฤาษีทรงธรรม
วัดดอนสัก
บ้านตาล ม.4 ต�ำบลทุ่งยั้ง
บ้านนารฮี ม.3 ต�ำบลฝายหลวง
วัดปทุมคงคา
วัดเจดีย์คีรีวิหาร
วัดดอยมูล
บ้านแสนสิทธิ ม.1 ต�ำบลแม่พูล
บ้านวัดป่า ม.9 ต�ำบลฝายหลวง
บ้านน�้ำท่วม ม.2 ต�ำบลฝายหลวง
วัดป่ายาง
วัดไชยจุมพล
วัดด่านแม่ค�ำมัน
บ้านป่ายาง ต�ำบลศรีพนมมาศ
บ้านไชยจุมพล ม.2 ต�ำบลชัยจุมพล
วัดซ�ำผักหนามชัยมงคล
บ้านด่านแม่ค�ำมัน ม.5 ต�ำบลด่านแม่ค�ำมัน
บ้านฟากท่า ม.5 ต�ำบลแม่พูล
บ้านซ�ำผักหนาม ม.2 ต�ำบลด่านแม่คำ� มัน
วัดท้องลับแล บ้านท้องลับแล ม.7 ต�ำบลฝายหลวง
วัดดงสระแก้ว
วัดทุ่งเอี้ยง
บ้านดงสระแก้ว ม.5 ต�ำบลไผ่ล้อม
บ้านทุ่งเอี้ยง ม.5 ต�ำบลฝายหลวง
วัดดอนแก้ว
วัดท้องลับแล
บ้านนอกด่าน ม.10 ต�ำบลแม่พูล
บ้านท้องลับแล ม.7 ต�ำบลฝายหลวง
วัดดอนค่า
วัดนาทะเล
บ้านต้นงั่ว ม.9 ต�ำบลแม่พูล
บ้านนาทะเล ม.5 ต�ำบลชัยจุมพล
วัดดอนไชย
วัดนานกกก
บ้านคุ้ม ม.4 ต�ำบลชัยจุมพล
บ้านนานกกก ม.3 ต�ำบลนานกกก
บ้านน�้ำใส ม.1 ต�ำบลชัยจุมพล
วัดผักราก วัดไผ่ล้อม บ้านไผ่ล้อม ม.1 ต�ำบลไผ่ล้อม
วัดพระแท่นศิลาอาสน์ บ้านพระแท่น ม.6 ต�ำบลทุ่งยั้ง
วัดทุ่งเอี้ยง บ้านทุ่งเอี้ยง ม.5 ต�ำบลฝายหลวง
วัดพระบรมธาตุ บ้านทุ่งยั้ง ม.3 ต�ำบลทุ่งยั้ง
วัดพระยืน บ้านพระแท่น ม.6 ต�ำบลทุ่งยั้ง
วัดโพธิ์ทอง
วัดวรดิตถาวาส
บ้านเกาะตาเพชร ม.3 ต�ำบลไผ่ลอ้ ม วัดโพธิบัลลังก์ บ้านห้วยผึ้ง ม.5 ต�ำบลฝายหลวง วัดโพธิ์ล้อม บ้านน�้ำใสใต้ ม.9 ต�ำบลศรีพนมมาศ
บ้านตลิ่งต�ำ่ ม.8 ต�ำบลทุ่งยั้ง
วัดม่อนนางเหลียว
วัดเสาหิน
บ้านร่องยาง ม.8 ต�ำบลชัยจุมพล
บ้านยางกะใด ต�ำบลศรีพนมมาศ
วัดม่อนปรางค์
วัดห้องสูง
บ้านคอกช้าง ต�ำบลศรีพนมมาศ
บ้านห้องสูง ม.3 ต�ำบลชัยจุมพล
วัดม่อนพัฒนาราม
วัดหัวดง
บ้านท้องลับแลพัฒนา ม.10 ต�ำบลฝายหลวง
บ้านหัวดง ม.2 ต�ำบลแม่พูล
วัดร่มโพธิญาณ บ้านโพธิญาณ ม.7 ต�ำบลชัยจุมพล
บ้านด่านแม่คำ� มัน ม.4 ต�ำบลด่านแม่คำ� มัน
วัดร่องเสี้ยว
วัดใหม่เชียงแสน
บ้านป่าสัก ม.10 ต�ำบลชัยจุมพล
บ้านเชียงแสน ม.1 ต�ำบลฝายหลวง
วัดศรีอุทุมพรคณารักษ์ บ้านผามูบ ม.7 ต�ำบลแม่พูล
วัดสว่างอารมณ์ บ้านป่าแดด ม.2 ต�ำบลไผ่ล้อม
วัดใหม่เจริญสุข
วัดฤาษีสำ� ราญ บ้านป่าเผือก ม.1 ต�ำบลทุ่งยั้ง
อ�ำเภอน�้ำปาด วัดโพนสว่าง
วัดโคกทรายขาวสามัคคี
วัดนาน�ำ้ พาย
บ้านโคกทรายขาว ม.8 ต�ำบลบ้านฝาย
บ้านน�้ำพาย ม.2 ต�ำบลเด่นเหล็ก
วัดช่องลม
บ้านน�้ำไคร้ ม.1 ต�ำบลน�้ำไคร้
บ้านห้วยไคร้ ม.2 ต�ำบลแสนตอ
วัดชัยชนะพล บ้านหัวนา ม.7 ต�ำบลแสนตอ
วัดชุมพล
วัดน�้ำไคร้
บ้านห้วยเดื่อ ม.2 ต�ำบลน�ำ้ ไผ่
วัดภูเงินวนาราม บ้านนากวาง ม.3 ต�ำบลบ้านฝาย
วัดลานชุม
วัดประชาสวรรค์ บ้านช�ำบุ่น ม.7 ต�ำบลบ้านฝาย
วัดปากปาด บ้านปากปาด ม.1 ต�ำบลแสนตอ
บ้านท่าโพธิ์ ม.1 ต�ำบลเด่นเหล็ก
วัดวังผาชัน บ้านวังผาชัน ม.6 ต�ำบลน�ำ้ ไคร้
วัดปากห้วยแค
วัดศรีสะอาดโพธิ์ชัย
บ้านแสนตอ ม.4 ต�ำบลแสนตอ
บ้านปากห้วยแค ม.5 ต�ำบลเด่น เหล็ก
วัดส่องแดด
วัดต้นตาล
วัดไผ่ล้อม
บ้านม่วง ม.4 ต�ำบลบ้านฝาย
บ้านนาคันทุง ม.6 ต�ำบลแสนตอ
วัดทรายมูล
วัดพรหมประสิทธิ์
บ้านสวน ม.5 ต�ำบลแสนตอ
บ้านห้วยหูด ม.3 ต�ำบลแสนตอ
วัดนากล�่ำ
วัดโพธิ์หย่อน
บ้านนากล�่ำ ม.2 ต�ำบลน�้ำไคร้
บ้านนากวาง ม.3 ต�ำบลบ้านฝาย
วัดทรายมูล
วัดโพนทัน
บ้านสวน ม.5 ต�ำบลแสนตอ
บ้านนาผักฮาด ม.1 ต�ำบลน�ำ้ ไผ่
วัดนากล�่ำ
วัดโพนร้อง
บ้านนากล�่ำ ม.2 ต�ำบลน�้ำไคร้
บ้านเด่นเหล็ก ม.3 ต�ำบลเด่นเหล็ก
บ้านแสนตอ ม.4 ต�ำบลแสนตอ
วัดต้นตะคร้อ
บ้านฝาย ม.1 ต�ำบลบ้านฝาย บ้านใหม่ ม.2 ต�ำบลบ้านฝาย
วัดห้วยคอม บ้านห้วยคอม ม.4 ต�ำบลน�ำ้ ไผ่
วัดห้วยน�้ำไหล บ้านห้วยน�้ำไหล ม.5 ต�ำบลน�ำ้ ไคร้
วัดห้วยเนียม บ้านห้วยเนียม ม.5 ต�ำบลน�้ำไผ่
วัดห้วยมุ่น บ้านห้วยมุ่น ม.2 ต�ำบลห้วยมุ่น
วัดห้วยแมง บ้านห้วยแมง ม.3 ต�ำบลน�ำ้ ไคร้
UTTARADIT I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 105
105
19/10/2563 16:02:55
อ�ำเภอท่าปลา วัดงอมถ�้ำ
วัดปากลี
บ้านงอมถ�้ำ ม.1 ต�ำบลท่าแฝก
บ้านท่าช้าง ม.6 ต�ำบลจริม วัดปากห้วยฉลอง บ้านปาก ห้วยฉลอง ม.4 ต�ำบลผาเลือด
วัดจริม บ้านปางหมิ่น ม.1 ต�ำบลน�้ำหมัน
วัดซ�ำบ้อ
วัดป่ากั้ง
บ้านซ�ำบ้อ ม.11 ต�ำบลผาเลือด
บ้านเนินสว่าง ม.8 ต�ำบลท่าปลา
บ้านป่ากั้ง ม.5 ต�ำบลท่าแฝก วัดผาเต่า บ้านผาเต่าพัฒนา ม.3 ต�ำบลผาเลือด วัดผาเต่าบ�ำรุง บ้านผาเต่าบ�ำรุง ม.5 ต�ำบลผาเลือด
วัดท่าแฝก
วัดผาเลือด
บ้านวังโป่ง ม.2 ต�ำบลจริม
บ้านผาเลือด ม.1 ต�ำบลผาเลือด
วัดตีนดอย บ้านตีนดอย ม.2 ต�ำบลหาดคล้า
วัดท่าปลา
วัดท่าปลา
วัดวังหัวดอย
บ้านเนินสว่าง ม.8 ต�ำบลท่าปลา บ้านวังโป่ง ม.2 ต�ำบลจริม
บ้านวังหัวดอย ม.2 ต�ำบลน�ำ้ หมัน วัดสิงห์คอมพัฒนา บ้านสิงห์ คอมพัฒนา ม.7 ต�ำบลท่าปลา
วัดนาโห้ง
วัดเสกษนาราม
บ้านโป่งแก้ว ม.4 ต�ำบลหาดคล้า บ้านน�้ำคอม ม.3 ต�ำบลท่าปลา
บ้านวังชมภู ม.7 ต�ำบลจริม วัดหนองโบสถ์ บ้านหนองโบสถ์ ม.7 ต�ำบลร่วมจิต
วัดน�้ำปึง
วัดหนองย่าร�ำ
บ้านปากดง ม.1 ต�ำบลจริม
บ้านหนองย่าร�ำ ม.6 ต�ำบลร่วมจิต
วัดน�้ำพร้า
วัดห้วยต้าใต้
บ้านน�้ำพร้า ม.1 ต�ำบลนางพญา วัดน�้ำสิงห์ ใต้ บ้านน�้ำสิงห์ใต้ ม.5 ต�ำบลท่าปลา
บ้านเลิศชัย ม.4 ต�ำบลจริม
วัดท่าแฝก
วัดน�้ำคอม
บ้านห้วยต้า ม.4 ต�ำบลนางพญา
วัดน�้ำสิงห์เหนือ
วัดห้วยเลิศ
บ้านน�ำ้ สิงห์เหนือ ม.4 ต�ำบลท่าปลา วัดน�้ำหมัน บ้านน�้ำหมันกลาง ม.5 ต�ำบลน�ำ้ หมัน
บ้านสามร้อยเมตร ม.2 ต�ำบลท่าปลา
วัดเนินสวน
บ้านเนินสูง ม.5 ต�ำบลจริม
บ้านเนินสวน ม.6 ต�ำบลท่าปลา
วัดเนินสว่าง บ้านเนินสว่าง ม.12 ต�ำบลท่าปลา
วัดเนินสิงห์
วัดห้วยอ้อย วัดหาดไก่ต้อย
วัดโคกใหม่
วัดบ่อเบี้ยวนาราม
วัดหาดลั้ง
บ้านโคกใหม่ ม.3 ต�ำบลบ้านโค
บ้านบ่อเบี้ย ม.1 ต�ำบลบ่อเบี้ย
วัดโคกเหนือ
วัดโพธิ์ชัยศรี
บ้านปางผึ้ง ม.10 ต�ำบลท่าปลา
วัดหาดล้าใต้
วัดประชาธรรม
บ้านร่วมจิต ม.1 ต�ำบลร่วมจิต
วัดประชานิมิต บ้านย่านดู่ ม.10 ต�ำบลผาเลือด
อ�ำเภอบ้านโคก
บ้านหาดไก่ตอ้ ย ม.3 ต�ำบลหาดคล้า
บ้านเนินสิงห์ ม.9 ต�ำบลร่วมจิต วัดเบญจมาราม บ้านคลองชมภู ม.6 ต�ำบลหาดคล้า บ้านงุ้นงาม ม.11 ต�ำบลจริม
106
วัดห้วยต้าเหนือ
บ้านโคกเหนือ ม.1 ต�ำบลบ้านโคก
บ้านโคก ม.7 ต�ำบลบ้านโคก
บ้านห้วยหัวช้าง ม.4 ต�ำบลร่วมจิต
วัดจอมแจ้ง
วัดฟากนา
วัดหาดล้าเหนือ
บ้านม่วงเจ็ดต้น ม.2 ต�ำบลม่วงเจ็ดต้น
บ้านฟากนา ม.5 ต�ำบลบ้านโคก
วัดหาดสองแคว บ้านดงงาม ม.3 ต�ำบลจริม
วัดนาขุม บ้านนาขุม ต�ำบลนาขุม
วัดห้วยครั่ง บ้านห้วยครั่ง ม.4 ต�ำบลบ้านโคก
วัดห้วยเหล่า บ้านห้วยเหล่า ม.2 ต�ำบลนาขุม
SBL บันทึกประเทศไทย I อุตรดิตถ์
.indd 106
19/10/2563 16:02:57
THE IMPORTANT TEMPLES UTTARADIT
อ�ำเภอฟากท่า วัดกกต้อง
วัดโพนลาน
บ้านกกต้อง ม.3 ต�ำบลฟากท่า
บ้านช�ำบอน ม.4 ต�ำบลสองห้อง
วัดนาแซง
วัดฟากนา
บ้านนาแซง ม.3 ต�ำบลสองห้อง
บ้านฟากนา ม.7 ต�ำบลฟากท่า
วัดนาไพร
วัดมหาธาตุ
บ้านนาไพร ม.4 ต�ำบลฟากท่า
บ้านเสี้ยว ม.1 ต�ำบลบ้านเสี้ยว
วัดนาไร่เดียว
วัดวังกอง
บ้านนาไร่เดียว ม.5 ต�ำบลสองห้อง
บ้านวังกอง ม.1 ต�ำบลสองคอน
วัดนาหน�่ำ
วัดวังขวัญ
บ้านนาหน�่ำ ม.2 ต�ำบลฟากท่า
บ้านวังขวัญ ม.9 ต�ำบลฟากท่า
วัดบ้านเดิ่น
วัดวังอ้อ
บ้านเดิ่น ม.2 ต�ำบลสองห้อง
บ้านวังอ้อ ม.4 ต�ำบลบ้านเสี้ยว
วัดบ้านลุ่ม
วัดสองห้อง
บ้านลุ่ม ม.2 ต�ำบลบ้านเสี้ยว บ้านผาโปด ม.5 ต�ำบลบ้านเสี้ยว
บ้านสองห้อง ม.1 ต�ำบลสองห้อง วัดห้วยไข่เขียด บ้านห้วยไข่เขียด ม.7 ต�ำบลสองคอน
วัดโพธิ์ชัย
วัดห้วยลึก
บ้านฟากท่า ม.1 ต�ำบลฟากท่า วัดโพธิ์เตี้ย บ้านสองคอน ม.3 ต�ำบลสองคอน
บ้านห้วยลึก ม.5 ต�ำบลบ้านเสี้ยว
วัดโพนดู่
วัดห้วยใส
บ้านโพนดู่ ม.2 ต�ำบลสองคอน
บ้านห้วยใส ม.5 ต�ำบลสองคอน
วัดโพนธาตุ
วัดหัวทุ่ง
บ้านโพนธาตุ ม.6 ต�ำบลฟากท่า
บ้านหัวทุ่ง ม.3 ต�ำบลบ้านเสี้ยว
วัดผาโปด
วัดห้วยสูน บ้านห้วยสูน ม.4 ต�ำบลสองคอน
อ�ำเภอทองแสนขัน วัดคีรีวงกฎ
วัดร้องลึกศรีชุมภรณ์
บ้านวังปรากฎ ม.1 ต�ำบลป่าคาย
บ้านร้องลึก ม.6 ต�ำบลผักขวง
วัดดอนมูลน�้ำลอก
วัดราชคีรีวิเศษ
บ้านน�้ำลอก ม.4 ต�ำบลบ่อทอง
บ้านแพะ ม.7 ต�ำบลบ่อทอง
วัดท่าช้าง
วัดไร่ห้วยพี้
บ้านท่าช้าง ม.3 ต�ำบลบ่อทอง
บ้านไร่ห้วยพี้ ม.6 ต�ำบลป่าคาย
วัดนาป่าคาย
วัดวังตะเคียน
บ้านนาป่าคาย ม.4 ต�ำบลป่าคาย
บ้านวังตะเคียน ม.8 ต�ำบลผักขวง
วัดนาลับแลง
วัดวังเบน
บ้านนาลับแลง ม.5 ต�ำบลป่าคาย
บ้านวังเบน ม.8 ต�ำบลบ่อทอง
วัดน�้ำพี้
วัดวังปรากฏ
บ้านน�้ำพี้ ม.2 ต�ำบลน�ำ้ พี้
บ้านวังปรากฏ ม.2 ต�ำบลป่าคาย
วัดน�้ำหมีน้อยสามัคคี
วัดวังโป่ง
บ้านน�้ำหมีน้อย ม.5 ต�ำบลผักขวง วัดเนินชัย ม.10 ต�ำบลบ่อทอง
บ้านวังโป่ง ม.4 ต�ำบลผักขวง
วัดเนินโพธิ์
บ้านซ่าน ม.6 ต�ำบลหาดกรวด
วัดบ่อทอง บ้านบ่อทอง ม.9 ต�ำบลบ่อทอง
วัดปางวุ้น บ้านปางวุ้น ม.14 ต�ำบลผักขวง
วัดปางหมิ่น บ้านปางหมิ่น ม.5 ต�ำบลบ่อทอง
วัดผักขวง บ้านผักขวง ม.2 ต�ำบลผักขวง
วัดพลอยสังวรนิรันดร์
วัดศรีบุญเรือง บ้านปางค้อ ม.6 ต�ำบลบ่อทอง
วัดสว่างคลองตรอน บ้านน�้ำหมีใหญ่ ม.1 ต�ำบลผักขวง
วัดแสนขัน บ้านแสนขัน ม.2 ต�ำบลบ่อทอง
วัดหนองหิน บ้านหนองหิน ม.6 ต�ำบลน�้ำพี้
วัดห้วยปลาดุก บ้านห้วยปลาดุก ม.5 ต�ำบลน�ำ้ พี้
วัดใหม่เจริญธรรม บ้านแพะ ม.14 ต�ำบลบ่อทอง
บ้านนาลับแลง ม.5 ต�ำบลป่าคาย
UTTARADIT I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 107
107
19/10/2563 16:02:58
โรงแรม อิงน่านรีสอร์ท พักผ่อนสบายๆ สไตล์รีสอร์ท บรรยากาศร่มรื่น ห้องนอนส่วนตัวหรูทันสมัย
อิงน่าน รีสอร์ท ที่พักใกล้ตัวเมือง ห้องพักสะอาด บรรยากาศดี เงียบสงบ สดชื่น ร่มรื่นเต็มไปด้วยต้นไม้ มีความเป็นส่วนตัว พนักงานบริการดี ให้บริการตลอด 24 ชั่วโมง มาอุตรดิตถ์ ครั้งใด อย่าลืมแวะพัก โรงแรม อิงน่าน รีสอร์ท กันนะคะ
108
2
SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน
.indd 108
19/10/2563 15:47:06
โรงแรม อิงน่านรีสอร์ท ตั้งอยู่เลขที่ 99/3 หมู่ 2 บ้านคุ้งตะเภา อ�ำเภอเมืองอุตรดิตถ์ อุตรดิตถ์ 53000 โรงแรม อิงน่าน รีสอร์ท
ส�ำรองห้องพักได้ที่
055-429-292 NAN I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 109
109
19/10/2563 15:47:08
เกษมสุข อพาร์ทเม้นท์ อุตรดิตถ์ kasamsook apartment uttaradit
บริการห้องพัก รายวัน-รายเดือน ตั้งอยู่โซนใกล้ สถานศึ ก ษา ของจั ง หวั ด อุ ต รดิ ต ถ์ ตกแต่ ง เรี ย บหรู บนท� ำ เลที่ ดี เงี ย บสงบ เดิ น ทางสะดวกอยู ่ ใ กล้ มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ อุ ต รดิ ต ถ์ ศู น ย์ ธุ ร กิ จ การค้ า ศูนย์ราชการ สถานบันเทิง และ แหล่งช็อปปิ้งมอล์ แห่งใหม่ TT GARDDEN 110
2
SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน
.indd 110
19/10/2563 15:49:27
ภายในห้องพัก มีสิ่งอ�ำนวยความสะดวกครบครัน ทีวีLED, ตู้เย็น, เครื่องท�ำน�้ำอุ่น, เครื่องปรับอากาศ บริการ FREE WIFI มุมนั่งพัก ผ่อนอิริยาบถ เกษมสุข อพาร์ทเม้นต์ อุตรดิตถ์ บริการห้องพักรายวัน - รายเดือน ซอยตลาด5หน้าราชภัฏอุตรดิตถ์
เกษมสุข อพาร์ทเม้นท์ อุตรดิตถ์
เลขที่ 280 หมู่ 5 ต.ท่าเสา อ.เมือง จ.อุตรดิตถ์ 53000
055-411791 098-8922396 NAN I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 111
111
19/10/2563 15:49:34
“เพื่อการพักผ่อนที่สมบูรณ์แบบ”
ชัชวาล รีสอร์ท Chatchawan Resort
112
2
SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน
.indd 112
19/10/2563 15:50:43
ที่ พั ก ใจกลางเมื อ งอุ ต รดิ ต ถ์ บรรยากาศเงี ย บสงบ สะดวกสบาย ใกล้ ตั ว เมื อ ง เมื่ อ ตื่ น ขึ้ น มาตอนเช้ า คุ ณ จะได้ สั ม ผั ส กั บ อากาศที่ บ ริ สุ ท ธิ์ ให้ บ ริ ก ารห้ อ งพั ก ทั้ ง แบบบ้ า นและแบบอาคาร เรี ย กได้ ว ่ า ตอบโจทย์ ทุ ก กลุ ่ ม นักท่องเที่ยว ห้องพักแต่ละห้องเน้นการตกแต่งอย่างเรียบง่าย มีเครื่องปรับ อากาศ และอุปกรณ์เครื่องใช้อ�ำนวยความสะดวกครบครัน และฟรีอาหารเช้า พักที่นี่ คุ้มทั้งบรรยากาศและราคาอย่างแน่นอน มาเที่ ย วอุ ต รดิ ต ถ์ นึ ก ถึ ง ชั ช วาลย์ รี ส อร์ ท มาสั ม ผั ส อากาศบริ สุ ท ธิ์ แ ละ ธรรมชาติ บรรยากาศ ล้อมรอบด้วยคลองน�ำ้ ใสและทุง่ นากว้าง ห้องพักกว้างขวาง สวยสะอาด
ชัชวาล รีสอร์ท
: เลขที่ 284 หมู่ 5 ต.ท่าเสา อ.เมืองอุตรดิตถ์ จ.อุตรดิตถ์ 53000 : ชัชวาลรีสอร์ท
061-6239587 055 411 455 NAN I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 113
113
19/10/2563 15:50:50
“เฮือนไทย โฮมสเตย์ & รีสอร์ท อุดรธานี”
Tonthong Resort โรงแรมต้นทองรีสอร์ท
โรงแรมต้นทอง ให้บริการ ห้องพักสะอาด จอดรถสะดวก อยู่ใกล้ตัวเมือง ราคาเป็นเอง อีกหนึ่งโรงแรมที่มีคนพูดถึงมากที่สุด ที่นี่เราบริการห้องพักที่ดีที่สุดส�ำหรับคุณ พร้อมสิ่งอ�ำนวยความสะดวกครบครัน ดูแลการพักผ่อนของคุณต้นทองรีสอร์ท เรียบง่าย สะดวกสบาย กว้างขวางเหมาะส�ำหรับคนมีระดับเช่นคุณ ต้อนรับคุณในทุกโอกาสมากกว่า 100 ห้อง และเรายังบริการสระว่ายน�้ำ ห้องประชุมสัมนา บริการจัดเลี้ยงตามโอกาสต่างๆ
114
SBL บันทึกประเทศไทย าน ติดต่Iอน่โรงแรมต้ นทองรีสอร์ท
เลขที่ 123/9 ต.บ้านเกาะ อ.เมืองอุตรดิตถ์ จ.อุตรดิตถ์ 53000
ส�ำรองห้องพักโทร.083- 6237117, 055-443211
1
.indd 114
19/10/2563 15:52:49
“เฮือนไทย โฮมสเตย์ & รีสอร์ท อุดรธานี”
Barista Hotel โรงแรมบาริสต้า โรงแรมบาริสต้า โรงแรมสไตร์โมเดิร์นเรียบหรูแห่งใหม่ของจังหวัดอุตรดิตถ์ มีทั้งห้องอาหาร สวน ลานระเบียง และมีคาเฟ่ให้คุณนั่งจิบกาแฟในสวนอย่างผ่อนคลาย ห้องพัก Standard Queen Room กว้างขวางสะอาด เตียงควีนไซส์นุ่มๆ รับรองว่าคุณต้องหลับสบายตลอดคืนแน่นอน
ให้บริการห้องพักรายวัน ห้องพักเตียงเดี่ยว เตียงคู่ ตั้งอยู่ในตัวจังหวัดอุตรดิตถ์ ห่างจากมหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ เพียง 1.6 กม. มาทางลับแล เดินทางสะดวก ภายในห้องพักเรียบหรู บริการอินเตอร์เน็ตไร้สาย อุปกรณ์อ�ำนวยความสะดวกครบครัน แผนกต้อนรับเปิดตลอด 24 ชั่วโมง อยู่ใกล้แหล่งท่องเที่ยว ห่างจากอ�ำเภอลับแล ใช้เวลาเดินทางเพียง 15 นาที
ติดต่อ โรงแรมบาริสต้า : โรงแรมบาริสต้า อุตรดิตถ์
1
.indd 115
NAN I SBL บันทึกประเทศไทย 69/1 ต.ท่าเสา อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ 53000
115
Tel : 091 814 6930, 055 070 959
19/10/2563 15:54:24
กับ ที่พัก...ที่เป็นมาก
in the Rice World
ให้บริการที่พักที่เป็นมิตรกับสัตว์เลี้ยง
Thaimit Resort ไทยมิตร รีสอร์ท
116
2
ไทยมิตร รีสอร์ท ที่พักจังหวัดอุตรดิตถ์ ที่นี่ออกแบบห้องพักแต่ละห้อง โดยตกแต่งอย่างเรียบง่าย เน้นความสะดวก สบายในการใช้งานเป็นส�ำคัญ และมาพร้อมด้วยสิ่งอ�ำนวยความสะดวกต่าง ๆ อย่างห้องฟิตเนส ใครมา พักผ่อนที่นี่ รับรองว่าหายเหนื่อยเป็นปลิดทิ้งทุกคน ห้องพักแบ่งออกเป็น เตียงเดียวกับเตียงคู่ ทุกห้องได้ตกแต่งได้อย่างลงตัว สิ่งอ�ำนวยความสะดวก ในห้ อ งพั ก ได้ แ ก่ ฟรี อิ น เทอร์ เ น็ ต Wi-Fi โทรศั พ ท์ ส ายตรง เคเบิ้ ล ที วี เครื่องปรับอากาศ มินิบาร์ ตู้เย็น และเครื่องท�ำน�้ำอุ่น สิ่งอ�ำนวยความสะดวก บริการ 24 ชั่วโมง ที่จอดรถ Wi-Fi ฟรีในทุกพื้นที่
SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา
.indd 116
19/10/2563 15:55:57
พัก...ที่เป็นมากกว่าที่พัก
ไทยมิ ต ร รี ส อร์ ท (Thaimit Resort) อ.เมื อ งอุ ต รดิ ต ถ์ อยู ่ ใ นท� ำ เลที่ ส ะดวกสบาย ติ ด ถนนหลั ก (ถนนอิ น ใจมี ) เยื้ อ ง วัดอรัญญิการาม ทางเข้าสู่ประตูเมืองลับแล คุณจะเดินทาง ท่องเที่ยวในเมืองได้อย่างสะดวก ระยะทางห่างจากตัวเมือง ไม่ถึง 1 กิโลเมตร ห่างจากประตูเมืองลับแล 3 กิโลเมตร
ไทยมิตร รีสอร์ท (THAIMIT RESORT) : 28/9 หมู่ 4 ต�ำบลท่าเสา อ�ำเภอเมือง อุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ 53000
093 181 8228 055 417 858 CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 117
117
19/10/2563 15:56:06
แสงท
118
.indd 118
SBL บันทึกประเทศไทย I อุตรดิตถ์
21/10/2563 10:33:45
“ถ�้ำจัน”
วนอุทยานถ�้ำจัน วนอุ ท ยานถ�้ ำ จั น ตั้ ง อยู ่ ที่ บ ้ า นน�้ ำ หมี ใ หญ่ อ� ำ เภอทองแสนขั น จั ง หวั ด อุ ต รดิ ต ถ์ เป็ น วนอุทยานขนาดเล็ก บริเวณโดยรอบอุทยานมีถ�้ำ หินปูนจ�ำนวนมาก หนึง่ ในนัน้ คือ “ถ�ำ้ จัน” ซึง่ เป็น ถ�ำ้ ทีม่ ขี นาดใหญ่ทสี่ ดุ ภายในถ�ำ้ จันมีความสวยงาม มาก จึงเป็นอีกสถานที่หนึ่งที่นักท่องเที่ยวสาย ธรรมชาติไม่ควรพลาด
UTTARADIT I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 119
119
21/10/2563 10:33:57
อุทยานแห่งชาติต้นสักใหญ่ 120
.indd 120
SBL บันทึกประเทศไทย I อุตรดิตถ์
21/10/2563 10:33:58
ตกเหล็กน�้ำพี้ที่บ่อเหล็กน�้ำพี้ ในพิพิธภัณฑ์พื้นบ้านบ่อเหล็กน�้ำพี้ ใครที่เคยไปเที่ยวที่พิพิธภัณฑ์ พื้นบ้านบ่อเหล็กน�้ำพี้แห่งนี้มาแล้ว คงจะไม่พลาดกิจกรรมสนุกๆ อย่าง การตกเหล็กน�้ำพี้ ที่บ่อแร่น�้ำพี้ (บ่อ พระขรรค์และบ่อพระแสง) ซึ่งอยู่ ภายในพื้นที่ของพิพิธภัณฑ์บ่อเหล็ก น�้ำพี้แห่งนี้ด้วย ซึ่งตั้งอยู่ท่ี ต.น�้ำพี้ อ.ทองแสนขัน จ.อุตรดิตถ์ เมือ่ พูดถึงเหล็กน�ำ้ พี้ หลายๆ คนคงนึกถึง พระยาพิชัยดาบหัก ก็ดาบของพระยาพิชัยก็ ใช้เหล็กน�้ำพี้ ตามประวัติศาสตร์ เหล็กน�้ำพี้นี่ มีความแข็งแกร่งมากจึงนิยมใช้ทำ� มีดดาบ รวม ทั้งดาบของพระยาพิชัยด้วย เหล็กน�ำ้ พีน้ มี้ คี ณ ุ ภาพสูง มีชอื่ เสียงว่าเป็น แร่เหล็กชั้นดี มีการน�ำเอาแร่เหล็กน�้ำพี้มาใช้ ประโยชน์ตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา น�ำมาถลุง และผลิตเป็นอาวุธนานาชนิดใช้สู้รบกับข้าศึก ภายในพิพิธภัณฑ์แห่งนี้ มีห้องจัดแสดงเกี่ยว กับเหล็กน�ำ้ พี้ และการถลุงการน�ำเหล็กน�ำ้ พีไ้ ป ใช้เป็นอาวุธ ส�ำหรับทีเ่ ป็นจุดยอดฮิตและทีส่ นุกสนาน กันของนักท่องเที่ยวก็คงจะเป็นบ่อเหล็กน�้ำพี้ ซึง่ ในบ่อจะมีแร่เหล็กชิน้ เล็ก ชิน้ น้อย บ้างก็ชนิ้ ใหญ่อยูม่ ากพอสมควร และอนุญาตให้นกั ท่อง เทีย่ วน�ำกลับไปได้ดว้ ย แต่หา้ มลงไปในบ่อ โดย จะต้องใช้เบ็ดตกเอาเท่านั้น โดยที่บ่อจะมีเบ็ด ตกแร่น�้ำพี้ให้นักท่องเที่ยวได้ใช้ ปลายเชือกจะ ผูกแม่เหล็กเอาไว้ เมื่อหย่อนลงไปเจอแร่เหล็ก น�ำ้ พี้ มันก็จะติดขึ้นมา ได้ก้อนเหล็กบ้าง ใหญ่ บ้าง สนุกสนานน่าดู บริเวณใกล้ๆ กันกับบ่อเหล็กน�้ำพี้ก็จะมี ร้านขายของที่ระลึกซึ่งส่วนใหญ่ก็เป็นมีดดาบ จากเหล็กน�้ำพี้ มีทั้งอันใหญ่ๆ ไว้ตั้งโชว์ และ แบบอันเล็กๆ น่ารัก UTTARADIT I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 121
121
21/10/2563 10:34:00
122
.indd 122
SBL บันทึกประเทศไทย I อุตรดิตถ์
21/10/2563 10:34:02
Buddhism
in Thailand
Everything You Need to Know About Buddhism in Thailand There are some 30,000 Buddhist temples in Thailand.
UTTARADIT I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 123
123
21/10/2563 10:34:03
History of buddhism....
วัดพระแท่นศิลาอาสน์ พระอารามหลวง
124
SBL บันทึกประเทศไทย I อุตรดิตถ์
.indd 124
วัดพระแท่นศิลาอาสน์ ตั้งอยู่บ้านพระแท่น ต�ำบลทุ่งยั้ง อ�ำเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์
19/10/2563 15:05:44