นิตยสารแนะน�ำแหล่งท่องเที่ยวและของดีจังหวัดอ�ำนาจเจริญ ประจ�ำปี 2564
EXCLUSIVE ที่นี่คือดินแดนแห่งวิถีพุทธ
ในทุกมิติของการใช้ชีวิต
เปิดใจผู้ว่าฯ คนเก่า นายสุธี ทองแย้ม ต้อนรับผู้ว่าฯ คนใหม่ นายทวีป บุตรโพธิ์ กับการพัฒนาอ�ำนาจเจริญให้เป็น SMART CITY เมืองแห่งความปลอดภัย
สักการะ
“พระมงคลมิ่งเมือง” สร้างพลังใจให้ชีวิต
กราบพระพุทธชินราช แห่งภาคอีสาน
ณ วัดพระเหลาเทพนิมิต การเดินทางพิเศษ
กับชีวิตอันแสนมหัศจรรย์ ในเมืองเก่าแก่ที่ทันสมัยในทุกย่างก้าว สัมผัสลมหนาวกับไออุ่นใน
“อ�ำนาจเจริญ”
Vol.11 Issue 115/2021
www.issuu.com
.indd 3
อ�ำนาจเจริญ
AMNAT CHAROEN 16/12/2563 16:26:40
ร้านเล็กๆ แต่อบอุ่น วันดีดี เสิร์ฟสิ่งดีดีให้คุณทุกเมนู
One ดีดี Coffee & Resturant ให้บริการอาหารและเครือ่ งดืม่ เปิดบริการ 10.00 น.- 22.00 น. เพือ่ เป็นทางเลือกให้กบั คุณลูกค้า ทางร้าน One ดี ดี ได้ เปิดบริการโทรสั่งอาหาร เพื่อน�ำกลับไปทานที่บ้านได้นะคะ
One ดีดี Coffee & Restaurant
: 132 ม.9 ต�ำบลห้วยไร่ อ�ำเภอเมืองอ�ำนาจเจริญ จังหวัดอ�ำนาจเจริญ : One ดีดี Coffee&Restaurant
Tel. 065 265 9166
062 564 CHACHOENGSAO 2469I SBL บันทึกประเทศไทย 3 1
.indd 3
9/12/2563 12:17:14
ที่พักอ�ำนาจเจริญเหมาะส�ำหรับนักท่องเที่ยว ที่อยากได้ห้องพักแบบเรียบง่าย เดินทางสะดวกอยู่ ไม่ไกลจากตัวเมือง โดยภายในห้องพักทางโรงแรมจะ ใส่ใจเรือ่ งความสะอาด เพือ่ ให้ลกู ค้าได้พกั ผ่อนอย่าง เต็มที่ พร้อมมีพนักงานคอยดูแลและบริการแบบเป็น กันเอง และบริการอินเทอร์เน็ตไร้สาย ( WiFi )
4
2
SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา
.indd 4
9/12/2563 12:20:45
สิ่งอ�ำนวยความสะดวกครบครัน สะดวก สบาย ราคาประหยัด ไม่แพง มีที่จอดรถ อยู่ใกล้ตลาดและย่านการค้าในตัวเมือง สะดวกสบายใกล้สถานที่ส�ำคัญ เช่น - ร้านสะดวกซื้อ 7-11 มี 2 ร้านห่างประมาณ 2 กิโลเมตร - ร้านอาหารรสนิยมห่างประมาณ 1 กิโลเมตร - ตลาดเช้าห่างประมาณ 1 กิโลเมตร - ธนาคารพาณิชย์ตา่ งๆ ห่างประมาณ 2-3 กิโลเมตร - โรงพยาบาลห่างประมาณ 2-3 กิโลเมตร - สถานีต�ำรวจห่างประมาณ 3-4 กิโลเมตร - ไปรษณีย์หา่ งประมาณ 3-4 กิโลเมตร
โรงแรมนครินทร์ Nakarin hotel
300 หมู่ 10 ต�ำบลบุ่ง อ�ำเภอเมือง อ�ำนาจเจริญ จังหวัดอ�ำนาจเจริญ 37000 : โรงแรมนครินทร์ ส�ำรองห้องพักโทร.
045 511226
CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 5
5
9/12/2563 12:20:54
Buddhism
in Thailand
Everything You Need to Know About Buddhism in Thailand There are some 30,000 Buddhist temples in Thailand.
6
AD.indd 6
SBL บันทึกประเทศไทย I อ�ำนาจเจริญ
16/12/2563 14:09:50
WORK L IFE
องค์การบริหารส่วนต�ำบลจิกดู่ “คุ ณ ธรรมน� ำ ชี วิ ต เศรษฐกิ จ มั่ น คง ชุ ม ชนเข้ ม แข็ ง ส่ ง เสริ ม ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ชุ ม ชน พึ่ ง พาตนตามแนวปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง” วิ สั ย ทั ศ น์ แ ละพั น ธกิ จ
จุดมุ่งหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน
นายพิ ชิต โคมทอง
นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลจิกดู่
1. เพื่อให้บุคลากรทุกระดับได้รับการเพิ่มพูนความรู้ ทักษะและทัศนคติในการบริหารงาน 2. เพื่อให้มีการบริหารงานมุ่งผลสัมฤทธิ์ 3. เพื่อให้ชุมชนมีความเข้มแข็งแบบยั่งยืน 4. เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ 5. เพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 6. เพื่อส่งเสริมการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล 7. เพื่อส่งเสริมการน�ำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ 8. เพื่อส่งเสริมการเกษตรอินทรีย์และปลูกข้าวหอมมะลิพันธุ์ดี 9. เพื่อส่งเสริมการศึกษาและภูมิปัญญาท้องถิ่น
พันธกิจการพัฒนา
1. พัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ความสามารถ อย่างเป็นระบบ ทั่วถึงและต่อเนื่อง 2. ส่งเสริมการบริหารงานมุ่งผลสัมฤทธิ์ 3. พัฒนาความเข้มแข็งของชุมชน 4. พัฒนาการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ 5. อนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม 6. ส่งเสริมการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล 7. ส่งเสริมการน�ำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมา ใช้เพื่อการพัฒนา 8. ส่งเสริมการเกษตรอินทรียแ์ ละปลูกข้าวหอม มะลิพันธุ์ดี 9. ส่งเสริมการศึกษาและภูมิปัญญาท้องถิ่น
ต�ำ กระท ปกครอ หมู่ที่ หมู่ที่ ซึ่งได้ร ปัจจุบ
อ่านต่อหน้า 122 AMNAT CHAROEN I SBL บันทึกประเทศไทย
5
.
7
4
.indd 7
7
17/12/2563 11:51:22
รดาว สบาย มสงบ บการ นบ้าน นพัก ที่ สุ ด
ยินดีต้อนรับสู่บ้านระเมียรดาว
Ramiarndao Boutique Place Hotel โรงแรมระเมียรดาวบูติคเพลส
6
เราให้บริการโรงแรมที่พักในอ�ำนาจเจริญ บ้านแห่งการพักผ่อน ความพิเศษ ของบ้านพักสไตล์ท้องถิ่น ตกแต่งด้วยไม้สักทอง ในรูปแบบบ้านพักรีสอร์ทที่จัด บรรยากาศแมกไม้ และสวนขวัญ ให้อารมณ์ที่สัมผัสกับมนต์เสน่ห์แห่งธรรมชาติ พร้อมด้วยสิ่งอ�ำนวยความสะดวกมากมาย อาทิเช่น เคเบิลทีวี ตู้เย็น เครื่องปรับ อากาศ เครื่องท�ำน�้ำอุ่น พร้อมทั้งบริการอินเทอร์เน็ตฟรี ในทุกห้อง
SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา
2
.indd 6
9/12/2563 12:13:27
บริการด้วยหัวใจ นึกถึง บ้านระเมียรดาวบูติคเพลส เพื่อการพักผ่อนที่ สะดวกสบาย และใกล้ชิดธรรมชาติ ท่ามกลางความสงบร่มรื่น ของพันธุ์ ไม้ งาม ท่านจะได้รบั การบริการด้วยหัวใจทีอ่ บอุน่ จากพนักงานบ้านระเมียรดาว ทุกคน เพราะเราเข้าใจดีว่าวันพักผ่อนของท่านนั้น เป็นวันที่มีค่ามากที่สุด ส�ำหรับเรา
โรงแรมระเมียรดาวบูติคเพลส (Ramiarndao Boutique Place Hotel)
151-153 หมู่ 18 ต�ำบลบุ่ง อ�ำเภอเมือง จังหวัดอ�ำนาจเจริญ : ramiarndao@gmail.com ส�ำรองห้องพักโทร.
081-0674149, 045-984-449 CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 7
7
9/12/2563 12:13:39
ที่พักแนวใหม่ เอาใจคุณลูกค้า เรือนค�ำอ�ำนาจเจริญ
Ruen Come Garden Resort And Hotel
เรือนค�ำ การ์เด้นท์ รีสอร์ท แอนด์ โฮเต็ล
10
2
เที่ ย วอ� ำ นาจเจริ ญ ให้ ส นุ ก สุ ด เหวี่ ย งแล้ ว ค่ อ ยกลั บ มาทิ้ ง ตั ว ลงนอนบนเตี ย งนุ ่ ม ๆ ปรั บ เข้าโหมดพักผ่อนนอนเก็บแรงกับที่พักอ�ำนาจเจริญ สุดสบายย่านใจกลางเมืองที่ เรือนค�ำ การ์เด้นท์ รีสอร์ท แอนด์ โฮเต็ล พร้อมสดชื่นไปกับสวนสวย และมุมนั่งเล่น รวมถึงฟิตเนสให้ ได้ออกก�ำลังกาย เรียกเหงื่อกันอีกด้วย
SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา
.indd 10
16/12/2563 16:14:54
เราให้บริการห้องพัก รายวัน-รายเดือน ห้องพักสะอาด บรรยากาศบ้านสวน ใจกลางเมือง finesse free, wifi free พร้อมความปลอดภัยสูง สะดวก สบาย ห้องพักหรู นอกจากนั้นท่านยังเดินทางสะดวกสบาย ใกล้สถานที่ส�ำคัญ ต่างๆ เช่น แขวงการทางจังหวัดอ�ำนาจเจริญ, แยกบายพาสทางไป อ�ำนาจเจริญ-อุบลราชธานี, Toyota อ�ำนาจเจริญ
ติดต่อ เรือนค�ำ การ์เด้นท์ รีสอร์ท แอนด์ โฮเต็ล
เลขที่ 202 หมู่2 ต�ำบลบุ่ง อ�ำเภอเมือง อ�ำนาจเจริญ อ�ำนาจเจริญ 37000 : Ruencome In hotel Amnatcharoen ส�ำรองห้องพักโทร.
082
3488345 045 511261
CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 11
11
17/12/2563 11:19:08
Editor's talk.indd 12
16/12/2563 16:22:51
SBL
EDITOR’S
บันทึกประเทศไทย www.sbl.co.th issue 115/2021
บริษัท สมาร์ทบิซิเนสไลน์ จ�ำกัด 9/4-6 ถนนรามอินทรา แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพฯ 10220 โทรศัพท์ : 0-2522-7171 เว็บไซต์ : www.sbl.co.th คณะผู้บริหาร คณะที่ปรึกษา : ศ.ดร.กฤช เพิ่มทันจิตต์, พลเอกสรชัช วรปัญญา, ดร.นิเวศน์ กันไทยราษฎร์, ดร.ประยุทธ คงเฉลิมวัฒน์, ดร.ชาญ ธาระวาส, ดร.สุมิท แช่มประสิท, ดร.วัลลภ อารีรบ, ดร.พิชัย ทรัพย์เกิด, ดร.ไอศูรย์ ดีรัตน์, ดร.สุเทษณ์ จันทรุกขา, ดร.อรรถสิทธิ์ ตันติวิรัชกุล
ปัณณ์ฐาโชค ธนสานสิทธิโชติ
อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์
วนัสกฤษณ์ ศิลปรังสรรค์
บรรณาธิการการตลาด นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย
บรรณาธิการอ�ำนวยการ นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย
บรรณาธิการงานบุคคล นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย
“SBL บันทึกประเทศไทย ฉบับอ�ำนาจเจริญ มาพร้อมกับความมหัศจรรย์อันหลากหลายในทุก เส้นทางทีก่ ระผมและทีมงานอยากจะให้ทา่ นผูอ้ า่ นค้นพบด้วยตนเอง ตลอดจนการท่องเทีย่ วอย่างปลอดภัย ในยุคหลังโควิดมาเยือน หรือจะเรียกว่า ยุควิถีใหม่ แท้จริงแล้ว ก็คือการได้สัมผัสกับทุกสิ่งทุกอย่างด้วยใจ ที่เปิดออกอย่างเข้าใจในการเปลี่ยนแปลง ด้วยความขอบพระคุณอย่างสูงส�ำหรับความเมตตาจาก ท่านผู้ว่าฯ สุธี ทองแย้ม และท่านทวีป บุตรโพธิ์ ผู้วา่ ราชการจังหวัดอ�ำนาจเจริญคนใหม่ ที่ทีมงานของเรา ได้รับความกรุณาจากท่านทัง้ สองในช่วงการเดินทางท่องเที่ยวเพือ่ เขียนเรือ่ งราวและถ่ายภาพมาฝากท่าน ผู้อ่านซึ่งเป็นช่วงผลัดใบตามฤดูกาลพอดี ที่ท�ำให้ลมฝนที่จางไปสู่ลมหนาวที่มาเยือนในครั้งนี้อบอุ่น อย่างยิ่งครับ” อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์ บรรณาธิการอ�ำนวยการ “Smart City เมืองแห่งความปลอดภัย นี่คือจุดขายของการท่องเที่ยวยุคใหม่จริงๆ ที่เราปฏิเสธกัน ไม่ได้แล้วนะครับ อ�ำนาจเจริญก็ก�ำลังพัฒนาไปสู่จุดนี้อย่างเต็มรูปแบบด้วยความคิดสร้างสรรค์ของทุกคน ในพืน้ ทีท่ เี่ ตรียมพร้อมกับการต้อนรับนักท่องเทีย่ วอย่างสบายใจกันได้ กระผมและทีมงานมัน่ ใจว่า เมือ่ เรา มีการท่องเที่ยวเชิงรุกในการต้อนรับ ทุกอย่างก�ำลังไปได้สวยและงดงามครับ” ปัณณ์ฐาโชค ธนสานสิทธิโชติ บรรณาธิการการตลาด “การท่องเที่ยวในดินแดนอู่อารยธรรมอีสานโบราณ เป็นส่วนหนึ่งของความมหัศจรรย์ในวิถีชีวิต แบบใหม่ครับ เพราะการเดินทางไม่ได้ให้เพียงการบันทึกความทรงจ�ำและเก็บไว้ประทับใจเพียงล�ำพังเท่านัน้ หากทว่าความสดใหม่ธรรมชาติในยามเช้าที่ประพรมด้วยน�้ำค้างบนยอดหญ้าในสถานที่อันศักดิ์สิทธิ์ ในชั่วขณะที่เราได้ถอดรองเท้าออกเดินด้วยความเคารพและศรัทธาในสถานที่และเรียนรู้ภูมิปัญญาของ บรรพชน สามารถเติมพลังหัวใจของเราให้แข็งแกร่งพร้อมเผชิญกับทุกวิกฤติที่จะท�ำไปสู่ความส�ำเร็จบน เส้นทางใหม่ๆ ได้เสมอ กระผมและทีมงานขอให้การท่องเที่ยวครั้งใหม่ของทุกท่าน เป็นพลังบันดาลใจ ให้ก่อเกิดความคิดสร้างสรรค์ที่จะต่อยอดธุรกิจและชีวิตให้ประสบความส�ำเร็จทุกด้านครับ วนัสกฤษณ์ ศิลปรังสรรค์ บรรณาธิการฝ่ายบุคคล
บรรณาธิการอ�ำนวยการ : อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์ บรรณาธิการงานบุคคล : พงษ์ศักดิ์ พรณัฐวุฒิกุล, วนัสกฤษณ์ ศิลปรังสรรค์ บรรณาธิการการตลาด : ปัณณ์ฐาโชค ธนสานสิทธิโชติ ฝ่ายประสานงานโครงการภาครัฐและเอกชน ผู้จัดการ : กิตติชัย ศรีสมุทร, ทวัชร์ ศรีธามาศ, อัครกฤษ หวานวงศ์, ภูษิต วิทยา คณะทีมงาน : อรรถพร สว่างแจ้ง, ธนิน ตั้งธ�ำรงจิต, ถาวร เวปุละ, พุฒิธร จันทร์หอม, อมร อนันต์รัตนสุข, นิรุจน์ แก้วเล็ก, สุษฎา พรหมคีรี, พร้อมพงศ์ สืบด้วง, สรวิชญ์ อังกูรศุภเศรษฐ์ ผู้จัดการฝ่ายประสานงานข้อมูล : นันท์ธนาดา พลพวก ฝ่ายประสานงานข้อมูล : ศุภญา บุญช่วยชีพ, นลัชนันท์ เทียมเกตุทวีโชค นักเขียน : มนสิกุล โอวาทเภสัชช์ ฝ่ายศิลปกรรม ผู้จัดการฝ่ายศิลปกรรม : พัชรา ค�ำมี กราฟิกดี ไซน์ : พิมพ์พิสุทธิ์ พังจูนันท์, วรเชษฐ สมประสงค์, อนุธิดา ค�ำหล้า ช่างภาพ : ปณต ปิติจารุวิศาล, กิติวัฒน์ ทิศมั่ง วิทยา ประเสริฐสังข์, ธีระพงษ์ ธรรมเจริญ ตัดต่อวีดีโอ : วัชรกรณ์ พรหมจรรย์, ณัฐพล ชื่นข�ำ ฝ่ายบัญชี / การเงิน บัญชี : ปัฐมาภรณ์ แสงบุราณ ผู้จัดการฝ่ายการเงิน : สุจิตรา แดนแก้วนิต การเงิน : ชวัลชา นกขุนทอง, สุภาวรรณ สุวรรณวงค์
SBL MAGAZINE
Editor's talk.indd 13
16/12/2563 16:22:59
115
ISSUE
สารบัญ
CONTENTS 20
AMNAT CHAROEN GOVERNOR
ผู้ว่าราชการจังหวัดอ�ำนาจเจริญ นายทวีป บุตรโพธิ์
23
AMNAT CHAROEN GOVERNOR
ผู้ว่าราชการจังหวัดอ�ำนาจเจริญ นายสุธี ทองแย้ม
115 Editor's talk.indd 14
32
AMNAT CHAROEN VICE GOVERNOR
รองผู้ว่าราชการจังหวัดอ�ำนาจเจริญ นายพิจิตร บุญทัน
16/12/2563 16:23:15
AMNAT CHAROEN PROVINCIAL OFFICE FOR LOCAL ADMINISTRATION
34
AMNAT CHAROEN PROVINCIAL OFFICE OF BUDDHISM
36
วัดศรีบุญเรือง วัดส�ำราญนิเวศพระอารามหลวง องค์การบริหารส่วนต�ำบลโนนโพธิ์ วัดภูหินเหล็กไฟ วัดศรีบุญเรือง องค์การบริหารส่วนต�ำบลโคกสาร วัดศรีชมภู่ วัดเชตวนาราม
57 58 60 64 67 68 73 74
ท้องถิ่นจังหวัดอ�ำนาจเจริญ นางสาวณัฐชยา ช่างแกะ
ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงาน พระพุทธศาสนาจังหวัดอ�ำนาจเจริญ นายประสงค์ ทองประ
Editor's talk.indd 15
76 78 81 82 88 91 92 97 100 102 106 110 116 118 119 120 122 128
วัดจันทรังษี องค์การบริหารส่วนต�ำบลลือ วัดปัจฉิมวัน เทศบาลต�ำบลพระเหลา องค์การบริหารส่วนต�ำบลไม้กลอน วัดอ�ำนาจ องค์การบริหารส่วนต�ำบลดงบัง วัดอัมพวัน ที่ว่าการอ�ำเภอเสนางคนิคม เทศบาลต�ำบลเสนางคนิคม เทศบาลต�ำบลสิริเสนางค์ องค์การบริหารส่วนต�ำบลโพนทอง วัดบ่อชะเนง วัดพระศรีเจริญ วัดศรีทอง ที่ว่าการอ�ำเภอหัวตะพาน องค์การบริหารส่วนต�ำบลจิกดู่ องค์การบริหารส่วนต�ำบลสร้างถ่อน้อย
16/12/2563 16:23:23
รดาว สบาย มสงบ บการ นบ้าน นพัก ที่ สุ ด
โรงแรมบ้านสวน ฟ้าใส
Baan Suan
Fah Sai
14
2
มาเที่ยวอ�ำนาจเจริญ จังหวัดที่ ไม่ใช่เมือง ท่องเทีย่ วหลักอาจจะหาทีพ ่ กั ล�ำบาก แต่บอกเลย ว่ า ไม่ จ ริ ง และคิ ด ผิ ด สุ ด ๆ เพราะมี โ รงแรม รีสอร์ต ให้เลือกนอนกันอย่างสะดวกสบายกับ ที่พักอ�ำนาจเจริญ นอนเพลินในราคาเกินคุ้ม ที่ โรงแรมบ้านสวน ฟ้าใส
SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา
.indd 14
9/12/2563 12:04:10
บริการห้องพัก รายวัน รายเดือน ห้องพักสะอาด ปลอดภัย ที่จอดรถ สะดวกสบาย Free WiFi ทุกห้อง อุปกรณ์อำ� นวยความสะดวกในห้องครบ ครัน บริการด้วยความเป็นกันเอง ที่พักอยู่ใจกลางเมืองใกล้สถานที่ส�ำคัญ เดินทางสะดวก บรรยากาศดี ล้อมรอบด้วยดอกไม้นานาพันธุ์ การเดินทาง : จากตัวเมือง จ.อ�ำนาจเจริญ ใช้ถนนส�ำราญราษฎร์ ให้ สั ง เกตปั ๊ ม น�้ ำ มั น ปตท. ทางซ้ า ยมื อ ตรงมาจนพบโรงแรมฝ้ า ยขิ ด ให้เลี้ยวเข้าซอยข้างโรงแรมฝ้ายขิด ตรงไปอีกประมาณ 100 เมตร ก็จะเจอ บ้านสวนฟ้าใส
โรงแรมบ้านสวน ฟ้าใส
479 ม.12 ถ.ส�ำราญราษฎร์ ต.บุ่ง อ.เมือง จ.อ�ำนาจเจริญ 37000 : baansuanfahsai ส�ำรองห้องพักโทร.
086-6687073, 045-512022 CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 15
15
9/12/2563 12:04:17
Costa Mesa Apartment คอสตา เมซ่า อพาร์ตเมนต์ อ�ำนาจเจริญ
ครบวงจร ของที่พักอพาร์ทเม้นต์ใจกลางเมือง ห้องพักกว้างขวาง บรรยากาศดี วิวสวย บริการครบวงจร ส�ำหรับลูกค้าของเรา “ คอสตา เมซ่า อพาร์ตเมนต์ ”
คอสตา เมซ่า อพาร์ตเมนต์อ�ำนาจเจริญ
062-175-4558
โรงแรมที่ดี ที่สุด ในอ�ำนาจเจริญ
LJ The Emerald Hotel โรงแรม แอลเจ ดิเอมเมอรัล
LJ The Emerald Hotel โรงแรมในตัวเมืองอ�ำนาจเจริญ บรรยากาศสบายๆ เครื่องอ�ำนวยความสะดวกครบครัน บริการเหมือนท่านมาเยี่ยมบ้านตัวเอง บริเวณกว้างขวาง มาตรฐานห้องพัก เทียบเท่าจังหวัดใหญ่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ LJ The Emerald Hotel เราให้บริการห้องพัก ห้องประชุมสัมมนา ห้องจัดเลี้ยง สังสรรค์ พร้อมคาราโอเกะ ไว้คอยบริการ
การเดินทาง : จากตัวเมืองอ�ำนาจเจริญ เข้าถนนอรุณประเสริฐ ตรงไปสี่แยกที่จะไปเขมราฐ ฝั่งเดียวกับกสิกร ด้านซ้ายมือประมาณ 500 เมตร จะเห็นโรงแรมแอลเจ ซึ่งติดกับคอสตา เมซ่า อพาร์ทเม้นต์อยู่ดา้ นซ้ายมือ กล้องวงจรปิดและยามรักษาความปลอดภัยทุกอาคาร www.ljamnathotel.com
เลขที่ 904 หมู่ 9 ต�ำบลบุ่ง อ�ำเภอเมือง จังหวัดอ�ำนาจเจริญ 37000
089 715 1999, 045- 525888
.
.indd 16
9/12/2563 12:32:48
Buddhism
in Thailand
Everything You Need to Know About Buddhism in Thailand There are some 30,000 Buddhist temples in Thailand.
AMNAT CHAROEN I SBL บันทึกประเทศไทย
AD.indd 19
19
16/12/2563 14:10:14
S P EC I A L I N TE RVI EW
AMNAT CHAROEN
GOVERNOR ผู้ว่าราชการจังหวัดอ�ำนาจเจริญ
นายทวีป บุตรโพธิ์
สารจากผู้ว่าราชการจังหวัดอ�ำนาจเจริญ นับตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม พุทธศักราช 2563 กระผมนายทวีป บุตรโพธิ์ มีความยินดีอย่างยิ่งที่ได้มารับใช้พ่อแม่พี่น้อง ประชาชนชาวอ�ำนาจเจริญ แม้ว่ากระผมเพิ่งมาด�ำรงต�ำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัดอ�ำนาจเจริญไม่นานนัก แต่ความผูกพัน นั้นเกินกว่าจะอธิบายได้ ด้วยความตั้งใจที่จะพัฒนาจังหวัดใน 4 ประเด็นให้บรรลุวัตถุประสงค์ไปถึงเป้าหมายตามแผนพัฒนา จังหวัด (พ.ศ.2561- 2565) ดังนี้ 1. พัฒนาการผลิตและเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์สมุนไพร สินค้าเกษตรอินทรีย์และสินค้าเกษตรปลอดภัยด้วยหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง 2. ส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจ การค้า การลงทุนของจังหวัด เพื่อสร้างอาชีพและรายได้แก่ชุมชนให้ สามารถแข่งขันได้ 3. การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม ดิน น�้ำ และพลังงานเพื่อการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ ที่สมดุล ยั่งยืน และ 4. การพัฒนาคน ชุมชน และการจัดการภาครัฐ ให้มีคุณภาพ มั่นคง และทันสมัย กระผมคิดว่า การพัฒนาทั้งหมดไปพร้อมๆ กับปักหมุดการพัฒนานิเวศน์ชุมชนเมืองให้เป็น เมืองธรรมเกษตร น้อมน�ำหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้กับวิถีชีวิตของคนอ�ำนาจเจริญ การอนุรักษ์พลังงานโดยการส่งเสริมการใช้โซล่าเซลล์ ส่งเสริมให้อ�ำนาจเจริญเป็นเมืองที่สะอาดปลอดภัย และนี่คือพื้นฐานส�ำคัญในการรองรับการท่องเที่ยวในยุควิถีชีวิตใหม่ ให้ผสานไปกับการท�ำธุรกิจเพื่อสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
(นายทวีป บุตรโพธิ์)
ผู้ว่าราชการจังหวัดอ�ำนาจเจริญ 20
2
SBL บันทึกประเทศไทย I อ�ำนาจเจริญ
.indd 20
9/12/2563 9:40:50
AMNAT CHAROEN I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 21
21
9/12/2563 9:40:51
ทีส ่ ด ุ แห่งการบันทึก ความทรงจ�ำ SBL บันทึกประเทศไทย SBL บันทึกประเทศไทย น�ำเสนอเรื่องราวของจังหวัดต่างๆ ทั่วประเทศไทย อย่างเจาะลึก และครอบคลุมทุกมิติ อาทิ มิติด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ จากหน่วยงาน ราชการส�ำคัญในจังหวัด มิติด้านการท่องเที่ยวที่สดใหม่ ทันสมัย ทั้งสถานที่เที่ยว ที่พัก ร้านอาหาร ร้านกาแฟ ฯลฯ มิติด้านอุตสาหกรรม-การค้าการลงทุนที่เป็นตัวขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ตลอดจนมิติด้านการศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม และวิถีชีวิต ที่มีจุดเด่นและมีเอกลักษณ์น่าสนใจ
Magazine
AD_
.indd 146
www.sbl.co.th
9/12/2562 14:33:51
สารจากผู้ว่าราชการจังหวัดอ�ำนาจเจริญ นับตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม พุทธศักราช 2562 กระผมนายสุธี ทองแย้ม มาด�ำรงต�ำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัดอ�ำนาจเจริญ จนถึงปัจจุบนั ได้มกี ารปฏิบตั หิ น้าทีร่ าชการอย่างเต็มก�ำลังความสามารถ อันดับแรก คือ เราท�ำงานโดยการยึดโยงยุทธศาสตร์ชาติ และวิ สั ย ทั ศ น์ ข องประเทศที่ มุ ่ ง ไปสู ่ ค วามมั่ น คง มั่ ง คั่ ง และยั่ ง ยื น โดยเชื่ อ มโยงการท� ำ งานจากส่ ว นกลาง ภู มิ ภ าค และท้องถิ่น และการมีส่วนร่วมของภาคเอกชน ประชาสังคม ประชาชน มีการวางแนวทางการท�ำงานที่ชัดเจนให้ข้าราชการ และบุคลากรของจังหวัดท�ำงานเพื่อมุ่งสู่ความส�ำเร็จร่วมกันตามวิสัยทัศน์ของจังหวัดอ�ำนาจเจริญว่า “เมืองธรรมเกษตร เขตพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียง เส้นทางการค้าสู่อาเซียน” ด้วยจังหวัดอ�ำนาจเจริญเป็นแดนแห่งวิถีพุทธ ไม่ใช่เพียงพุทธศาสนา แต่มีการน�ำธรรมะไปใช้ในการประกอบอาชีพ เป็นการ ท�ำเกษตรโดยไม่เบียดเบียนผู้อ่ืนเป็นการท�ำเกษตรที่ยั่งยืน จึงท�ำให้เกิดกลุ่มเกษตรอินทรีย์เพราะไม่อยากเบียดเบียนผู้บริโภค ไม่ต้องการใช้ยาสารเคมีในการฆ่าแมลง นอกจากนี้ จังหวัดอ�ำนาจเจริญมีจุดเด่นหลาย ๆ อย่าง ทั้งการท่องเที่ยวเชิงวิถีพุทธ ท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติ การท่องเที่ยว เชิงนิเวศ การท่องเที่ยวจากศูนย์เรียนรู้ ศูนย์เรียนรู้เกษตรอินทรีย์ ศูนย์เรียนรู้หัตถกรรม ผลิตภัณฑ์ OTOP แล้วจังหวัด อ�ำนาจเจริญก็ยังมีประเพณีของท้องถิ่นคือประเพณีแห่ยักษ์คุ ที่ยังไม่มีใครรู้จัก เป็นประเพณีที่น่าสนใจซึ่งที่อื่นไม่มี ที่นี่มีประวัติ และต�ำนานที่เล่าต่อกันมาอย่างช้านาน ซึ่งเป็นประเพณีที่อยากให้คนเข้ามาท่องเที่ยวเข้ามาศึกษาเพื่อที่จะได้รู้จักจังหวัด อ�ำนาจเจริญมากขึ้น กระผมคิดว่า แนวทางและการด�ำเนินงานอย่างสอดคล้องประสานกันเช่นนี้ จะท�ำให้บรรลุวัตถุประสงค์และไปถึงเป้าหมาย ของการพัฒนาร่วมกัน ท�ำให้การพัฒนาจังหวัดอ�ำนาจเจริญก้าวหน้ายั่งยืนไปพร้อมกับการพัฒนาประเทศอย่างแน่นอน
(นายสุธี ทองแย้ม)
ผู้ว่าราชการจังหวัดอ�ำนาจเจริญ
AMNAT CHAROEN I SBL บันทึกประเทศไทย
9
.indd 23
23
9/12/2563 10:44:00
S P EC I A L I N TE RVI EW Special Interview
AMNAT CHAROEN
GOVERNOR “ ท�ำความรู้จักกับจังหวัดอ�ำนาจเจริญ 380 องศา ”
ผู้ว่าราชการจังหวัดอ�ำนาจเจริญ
นายสุธี ทองแย้ม
SBL บันทึกประเทศไทย ฉบับ จังหวัดอ�ำนาจเจริญ มีความภูมิใจอย่างยิ่งที่ได้สนทนาอย่างเป็นกันเอง กับท่านสุธี ทองแย้ม ผู้ว่าราชการจังหวัดอ�ำนาจเจริญ กับบทบาทเชิงรุกด้านการท่องเที่ยวเชิงพุทธ การท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติ โครงการต่างๆ กับผลงานของท้องถิ่นในปัจจุบัน จากแผนพัฒนาจังหวัดอ�ำนาจเจริญปีพ.ศ. 2561 – 2565 สู่ภาคการปฏิบัติอย่างชัดเจน รอบด้าน
24
SBL บันทึกประเทศไทย I อ�ำนาจเจริญ
9
.indd 24
9/12/2563 10:44:02
AMNAT CHAROEN I SBL บันทึกประเทศไทย
9
.indd 25
25
9/12/2563 10:44:04
S P EC I A L I N TE RVI EW
เปิดใจท่านผู้ว่าฯ สุธี ทองแย้ม ในฐานะที่ผมเข้ามารับต�ำแหน่งเป็นผู้ว่าราชการจังหวัดอ�ำนาจเจริญ ทราบว่ามีหลายคนอาจจะยังไม่รจู้ กั จังหวัดอ�ำนาจเจริญ บางคนก็บอกว่าย้าย มาจากจังหวัดหนองคาย จังหวัดอุดรธานีซึ่งที่จริงแล้วไม่ใช่เลย จึงเป็น โจทย์ที่ตัวผม ต้องท�ำการแก้ไขต้องท�ำให้คนรู้จักจังหวัดอ�ำนาจเจริญ จั ง หวั ด อ� ำ นาจเจริ ญ เป็ น เมื อ งทางผ่ า นที่ แ ยกออกมาจากจั ง หวั ด อุบลราชธานี ตั้งเป็นจังหวัดที่ 75 จาก 77 จังหวัดของประเทศไทย มี จังหวัดใหม่ที่ตั้งขึ้นพร้อมๆ กันคือหนองบัวล�ำภู เป็นจังหวัดที่ 76 และ จังหวัดบึงกาฬเป็นจังหวัดที่ 77 ซึ่งผู้คนก็เริ่มรู้จัก 2 จังหวัดนั้นแล้ว แต่ใน ส่วนของจังหวัดอ�ำนาจเจริญนั้นยังไม่มีค่อยมีคนรู้จัก ซึ่งเป็นโจทย์ที่ท�ำให้ ต้องคิดว่าจะขับเคลื่อนอย่างไร จึงจะท�ำให้คนรู้จักจังหวัดอ�ำนาจเจริญและ มาเที่ยวมากขึ้น
เหตุที่นักท่องเที่ยวยังไม่ค่อยรู้จักจังหวัดอ�ำนาจเจริญ พอมีโจทย์แล้วก็มาถามคนในพืน้ ทีจ่ งั หวัดอ�ำนาจเจริญ ว่าท�ำไมไม่คอ่ ยมี คนรู ้ จั ก จั ง หวั ด เราทั้ ง ที่ ใ นจั ง หวั ด ของเรานั้ น ก็ มี ข องดี มี สิ่ ง ที่ น ่ า สนใจ เยอะแยะ ก็มาดูข้อมูลทางเศรษฐกิจในภาพรวมของจังหวัดอ�ำนาจเจริญ ในข้อมูลนักท่องเที่ยวเข้ามาเที่ยวในจังหวัดอ�ำนาจเจริญเป็นล�ำดับที่ 77 ซึ่งอยู่ท้ายสุด ส่วนรายได้ของจังหวัดอ�ำนาจเจริญนั้นอยู่ในล�ำดับที่ 76 ของประเทศ ก็เลยมาตั้งโจทย์ว่ามันเกิดจากอะไร แล้ววิเคราะห์ออกมา
26
หลักการเข้าถึงประชาชน และการบริหารของหน่วยงานราชการจังหวัด ผมคิ ด ว่ า จะเริ่ ม จากระบบส่ ว นราชการก่ อ น และต้ อ งเริ่ ม ที่ ตั ว เรา เพิ่มประสิทธิภาพในการท�ำงานของภายในและส่วนราชการทั้งหมดก่อน เลยมอบแนวทางให้ส่วนงานราชการทุกภาคส่วนรวมทั้งองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นทั้งก�ำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ออกไปพบปะพูดคุยมอบแนวทางการ ปฏิบัติราชการ ดังนี้ 1. พัฒนาประสิทธิภาพของตัวเอง ดูว่าตัวเองมี ประสิทธิภาพในการท�ำงานมากน้อยแค่ไหน 2. พัฒนาความเจริญในพื้นที่ มีความร่วมมือกันจากทุกภาคส่วนจนท�ำให้เกิดความเจริญในพื้นที่ และ 3. พัฒนาแล้วต้องสร้างความพึงพอใจ ตอบสนองความต้องการให้พี่น้อง ในท้องที่ ต้องรู้ว่าคนในพื้นที่ต้องการอะไร สร้างแล้วต้องเกิดประโยชน์กับ คนในท้องที่
SBL บันทึกประเทศไทย I อ�ำนาจเจริญ
9
.indd 26
9/12/2563 10:44:07
หลักการบริหารทรัพยากรการเกษตรและการท่องเที่ยว อาชีพของชาวจังหวัดอ�ำนาจเจริญส่วนใหญ่เป็นภาคการเกษตร ท�ำนา เป็นการเกษตรหลัก ท�ำไร่มันส�ำปะหลัง ไร่ข้าวโพด ไร่อ้อยบ้างเล็กน้อย ซึ่ง การเกษตรมีตัวเลขในการขับเคลื่อนทางเศรษฐกิจของจังหวัดสูงถึง 30% เนื่องจากชาวอ�ำนาจเจริญได้ท�ำนาข้าวแบบเกษตรอินทรีย์ซึ่งเป็นจุดแข็ง มีการรวมกลุ่มกันเช่น กลุ่มเกษตรอินทรีย์ กลุ่มผักปลอดสารพิษ รวมทั้ง ภายในจังหวัด ยังมีสถานที่ท่องเที่ยวต่างๆ มีสิ่งศักดิ์สิทธิ์ พระคู่บ้านคู่เมือง มีพุทธสถานให้กราบไหว้บูชา มีพื้นที่ติดล�ำน�้ำโขงซึ่งเป็นจุดที่น่าสนใจและ จุดเด่นของจังหวัด
หลักการบริหารภาคธุรกิจ การค้าการลงทุน ที่ผมสังเกตดู คนส่วนมากไปจับจ่ายใช้สอยอยู่จังหวัดอุบลราชธานี ซึ่งเป็นจังหวัดใหญ่ที่ติดกับจังหวัดอ�ำนาจเจริญ จึงท�ำให้เกิดปัญหาทาง ธุรกิจภายในจังหวัดอ�ำนาจเจริญ จะต้องท�ำการค้าอย่างไร ที่จะดึงให้ ผู้คนมาใช้จ่าย มาชิม มาช้อปปิ้ง ภายในจังหวัดและให้คนภายนอกเดินทาง มาท่องเที่ยวเพื่อเพิ่มรายได้ทางธุรกิจ
พัฒนาการส่งเสริมการตลาดภาคการเกษตรอินทรีย์ ให้ดียิ่งขึ้น เกษตรกรรมเป็นจุดเด่นของจังหวัดอ�ำนาจเจริญมากที่สุด การเพิ่ม แหล่งน�้ำเพื่อให้ประชาชนท�ำเกษตรได้ทั้งปี เพื่อที่จะได้เป็นการขับเคลื่อน เศรษฐกิจของจังหวัดอ�ำนาจเจริญได้ตลอดทั้งปี ปัจจุบันมีการเจาะบาดาล โดยใช้พลังงานแสงอาทิตย์ประมาณ 200 กว่าบ่อ เป็นแหล่งน�้ำดิบที่ใช้ใน ภาคเกษตรกรรมในฤดูแล้งเพื่อช่วยเหลือเกษตรกร ณ ตอนนี้ท�ำเสร็จไป แล้วกว่า 70 เปอร์เซ็นต์ ปีต่อไปก็สามารถเพิ่มผลผลิตในช่วงฤดูแล้ง เพิ่มรายได้และสร้างโอกาสให้ประชาชนได้แล้ว มีการส่งเสริมทางการเกษตรแล้วก็ต้องมีการส่งเสริมทางการตลาด ก็ ต ้ อ งไปดู ว ่ า ข้ า วอิ น ทรี ย ์ ร าคาเท่ า ไหร่ แ ล้ ว ราคาจะตกไหมในอนาคต ปัจจุบันข้าวอินทรีย์ขายได้ราคาดีกว่าข้าวที่ปลูกโดยใช้สารเคมี แต่การท�ำ ข้าวอินทรีย์ต้องใช้เวลานานถึง 3 ปี ก่อนจะได้รับใบรับรองก่อนการ ส่งข้าวออกจ�ำหน่าย เราต้องเข้าไปช่วยเกษตรกรเพื่อให้มั่นใจว่าเมื่อเลือก ท�ำข้าวอินทรีย์แล้วจะมีผลผลิตและรายได้ที่เพิ่มขึ้นจริง
AMNAT CHAROEN I SBL บันทึกประเทศไทย
9
.indd 27
27
9/12/2563 10:44:13
S P EC I A L I N TE RVI EW
อ�ำนาจเจริญคือดินแดน แห่งวัฒนธรรมวิถีพุทธ การท่องเที่ยวของจังหวัดอ�ำนาจเจริญ เป็น ดินแดนวัฒนธรรมแห่งวิถีพุทธ ไปที่ไหนก็จะมี คนพูดถึงเมืองธรรมเกษตร จึงกลายเป็น วิสัยทัศน์ของจังหวัดอ�ำนาจเจริญโดยตลอด โดยมีค�ำกล่าวว่า “เมืองธรรมเกษตร เขตพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียง เส้นทางการค้าสู่อาเซียน” จังหวัดอ�ำนาจเจริญกลายเป็นแดนแห่งวิถพี ทุ ธ ไม่ใช่เพียงพุทธศาสนา แต่มีการน�ำธรรมะไปใช้ ในการประกอบอาชีพ เป็นการท�ำเกษตรโดย ไม่ เ บี ย ดเบี ย นผู ้ อื่ น เป็ น การท� ำ เกษตรที่ ยั่ ง ยื น จึงท�ำให้เกิดกลุ่มเกษตรอินทรีย์เพราะไม่อยาก เบียดเบียนผู้บริโภค ไม่ต้องการใช้ยาสารเคมีใน การฆ่าแมลง อย่างไรก็ดีในการพัฒนาให้คนรู้จักจังหวัด อ� ำ นาจเจริ ญ ให้ ค นมาท่ อ งเที่ ย ว ซึ่ ง จั ง หวั ด อ� ำ นาจเจริ ญ มี จุ ด เด่ น หลายๆ อย่ า ง ทั้ ง การ ท่ อ งเที่ ย วเชิ ง วิ ถี พุ ท ธ ท่ อ งเที่ ย วเชิ ง ธรรมชาติ การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ การท่องเที่ยวจากศูนย์ เรียนรู้ ศูนย์เรียนรู้เกษตรอินทรีย์ ศูนย์เรียนรู้ หั ต ถกรรม ผลิ ต ภั ณ ฑ์ OTOP แล้ ว จั ง หวั ด อ� ำ นาจเจริ ญ ก็ ยั ง มี ป ระเพณี ข องท้ อ งถิ่ น คื อ ประเพณีแห่ยกั ษ์คุ ทีย่ งั ไม่มใี ครรูจ้ กั เป็นประเพณี ที่น่าสนใจซึ่งที่อื่นไม่มี ที่นี่มีประวัติและต�ำนานที่ เล่าต่อกันมาอย่างช้านาน ซึง่ เป็นประเพณีทอี่ ยาก ให้คนเข้ามาท่องเทีย่ วเข้ามาศึกษาเพือ่ ทีจ่ ะได้รจู้ กั จังหวัดอ�ำนาจเจริญมากขึ้น
เป้าหมายการพัฒนาจังหวัดอ�ำนาจเจริญ ในห้วงแผนพัฒนาระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561 – 2565) ของจั ง หวั ด อํ า นาจเจริ ญ ได้ กํ า หนด เป้าหมายการพัฒนาจังหวัดไว้วา่ เราจะขับเคลือ่ น กิจกรรมการพัฒนาในจังหวัดในด้านต่างๆ เพื่อที่ จะมุ่งสู่การเป็นจังหวัดแห่ง “เมืองธรรมเกษตร เขตพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียง เส้นทางการค้า สู่อาเซียน” โดยได้กําหนดนิยาม ความหมายของ แต่ละเป้าหมายไว้เพื่อให้เข้าใจตรงกันไว้ ดังนี้ 28
SBL บันทึกประเทศไทย I อ�ำนาจเจริญ
9
.indd 28
9/12/2563 10:44:14
นิยามความหมาย เมืองธรรมเกษตร จากแผนพัฒนาจังหวัดอ�ำนาจเจริญ (พ.ศ.2561 – 2565) ฉบับทบทวน ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ.2563 อธิบายว่า เมืองธรรมเกษตร หมายถึง การ ทําการเกษตรที่ยึดหลักของคุณธรรม เห็นคุณค่าของชีวิต เคารพในความเป็นมนุษย์ มีจิตสํานึกในการหวงแหนและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อม มีการพัฒนาตนเองโดยวิธีการเรียนรู้ด้วยตนเอง เพื่อให้มีความรู้ความสามารถในการดํารงชีวิตอย่างมีความสุข มีจิตใจที่ดีงาม เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่และมีจิตใจ สาธารณะ จากการเกษตรที่เกื้อกูลธรรมชาติ โดย 1. การยึดหลักคุณธรรมจริยธรรมในการประกอบกิจกรรมการเกษตร การจัดการการเกษตรด้วยปัญญา การเอื้ออาทร การเรียนรู้วัฒนธรรม ประเพณี เป็นการเกษตรที่เคารพ และเห็นคุณค่าของชีวิตและความเป็นมนุษย์ 2. การอนุรักษ์ เคารพ และใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม อย่างยั่งยืน มีการจัดการดิน น�้ำ อย่างมีประสิทธิภาพ มีการทําการเกษตรที่เข้าใจธรรมชาติ และรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง 3. การจัดการการเกษตร แบบสมดุล สามารถพึ่งตนเองได้ในปัจจัยพื้นฐานของชีวิต (อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัย และยารักษาโรค) และมีความเป็นเลิศด้านนวัตกรรม เพื่อ ความมั่นคงทางอาหาร และข้อ 4. ทําการเกษตรด้วยศาสตร์พระราชาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ยึดหลักการพึ่งตนเอง และมีหลักธรรมใน การดําเนินชีวิต
AMNAT CHAROEN I SBL บันทึกประเทศไทย
9
.indd 29
29
9/12/2563 10:44:16
S P EC I A L I N TE RVI EW
เขตพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียง หมายถึ ง การมุ ่ ง เน้ น การพั ฒ นาประชาชนในเขตพื้ น ที่ จั ง หวั ด อํานาจเจริญให้ยึดหลักการดําเนินชีวิตอย่างพอเพียง ซึ่งความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผลรวมถึงความจําเป็นที่จะต้อง มีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควรต่อการมีผลกระทบใดๆ อันเกิดจาก การเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน ทั้งนี้จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่ง ในการนําวิชาการต่างๆ มาใช้ในการวางแผนและการดําเนินการทุกขั้นตอน และขณะเดียวกันจะ ต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในจังหวัด โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของ รัฐ นักวิชาการ และนักธุรกิจในทุกระดับให้มีสํานึกในคุณธรรม ความ ซื่อสัตย์สุจริตและให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ดําเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบโดยการ 1. ก ารน้ อ มนํ า หลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง เพื่ อ การสร้ า ง วัฒนธรรม เศรษฐกิจ และวิถีชีวิตชุมชน ครอบครัว ยึดสัมมาชีพที่พึ่งตนเอง สุจริต ไม่เบียดเบียนสิ่งแวดล้อม และเป็นมติร่วมในการพัฒนาเศรษฐกิจ ของชุมชน 2. การเสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันเพื่อสร้างอาชีพ รายได้ และ เศรษฐกิจชุมชนที่มั่นคง พึ่งตนเองได้ มีการสร้างโอกาสทางเศรษฐกิจ จาก ภูมิปัญญาและ ผลผลิตของชุมชน มีระบบการจัดการ แปรรูปสร้าง คุณค่ามูลค่า และการตลาดของชุมชนที่ เข้มแข็ง 3. ก ารเสริ ม สร้ า งการมี วิ ถี ชี วิ ต ใหม่ ใ นครอบครั ว ชุ ม ชน ตามหลั ก ปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ยึดความพอประมาณ ความมีเหตุผล ความ มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี บนฐาน ของความรู้ คุณธรรม นําไปสู่เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรม ที่มีความสมดุล พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง 4. การเสริมสร้างคุณภาพชีวิต การพัฒนาคนที่มีคุณภาพ ที่สามารถ จัดการตนเอง และปรับตัวได้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง แต่ยังคงความเป็น ชุมชนแห่งความสุขทีด่ าํ รงไว้ซงึ่ วัฒนธรรม ประเพณีพนื้ ถิน่ และการดําเนิน ชีวิตด้วยหลักธรรมทางศาสนา 5. การเสริมสร้างความสงบเรียบร้อย และความมั่นคงในระดับชุมชน อําเภอ จังหวัด ที่เข้มแข็งเป็นจังหวัดที่น่าอยู่และมีสันติสุข 30
เส้นทางการค้าสู่อาเซียน หมายถึงการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน สิ่งอํานวยความสะดวก และ ศักยภาพทางการค้าบริเวณชายแดนเพื่อเชื่อมโยงการค้าการลงทุนใน ประเทศอาเซียน รองรับการเติบโตของเศรษฐกิจชายแดนในอนาคตตาม องค์ประกอบ ดังนี้ 1. การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน การสร้างสาธารณูปโภค การคมนาคม และ โลจิสติกส์ รวมทั้งสิ่งอํานวยความสะดวกทางการค้าการพัฒนาชุมชน ชายแดน และการพัฒนาบริการของรัฐเพื่อหนุนเสริมการค้าการบริการ และการลงทุน 2. การพัฒนาความสัมพันธ์และความร่วมมือระหว่างประเทศเพื่อ เชื่อมโยงการค้า ชุมชนชายแดนของจังหวัดอํานาจเจริญ กับชุมชนไซพูทอง (สปป.ลาว) มีการส่งเสริมการผลิต การค้า การบริการ สนับสนุนการสร้าง งานสร้ า งอาชี พ และเศรษฐกิ จ ร่ ว มชายแดนที่ ถู ก กฎหมายและเติ บ โต ต่อเนื่อง เพื่อเป็นรากฐานในการพัฒนาความเชื่อมโยงสู่ระดับอาเซียน และ นานาชาติ 3. การเสริมสร้างศักยภาพทางการค้าของผู้ประกอบการ สนับสนุน การสร้างพื้นที่ค้าขายส่งเสริมการลงทุนการค้า การบริการทั้งในเขตพื้นที่ ชายแดน และพื้นที่เมือง 4. การพั ฒ นาระบบเศรษฐกิ จ การค้ า ด้ ว ยการนํ า เทคโนโลยี แ ละ นวัตกรรมที่เท่าทัน กระแสโลกมาปรับใช้กับระบบการค้าและบริการของ จั ง หวั ด ส่ ง เสริ ม ให้ ผู ้ ผ ลิ ต และ ผู ้ ป ระกอบการเปิ ด รั บ และปรั บ ตั ว นํา นวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้เป็นเครื่องมือใน การค้าขาย เพื่อ เพิ่มช่องทางการตลาดให้ผู้บริโภคสามารถติดต่อซื้อขายสินค้าได้ง่ายขึ้น รวมทั้งมีการสร้างแบรนด์ของจังหวัดที่เข้มแข็งและเติบโตจากชุมชน
SBL บันทึกประเทศไทย I อ�ำนาจเจริญ
9
.indd 30
9/12/2563 10:44:18
AMNAT CHAROEN I SBL บันทึกประเทศไทย
9
.indd 31
31
9/12/2563 10:44:19
EXC LU SI VE I N TE RVI EW
EXC LU SI VE
“แบบอย่างในการท�ำงานที่ส�ำคัญ คือ ศาสตร์พระราชาของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (รัชกาลที่ 9) ที่ ได้น�ำมาประพฤติปฏิบัติ โดย การครองตน คือ ยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ส่วนการครองคน ครองงาน ได้ยึดหลักการ เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา”
AMNAT CHAROEN
VICE GOVERNOR นายพิจิต ร บุญทัน รองผู้ว่าราชการจังหวัดอ�ำนาจเจริญ
“กระผมมีความระลึกอยู่เสมอว่า มีหน้าที่ช่วยเหลือผู้ว่าราชการจังหวัด และต้องท�ำงานเป็นทีม “ทีมอ�ำนาจเจริญ” ภายใต้เงื่อนไข นโยบายของรัฐบาล ผู้บังคับบัญชา ส่วนราชการ และการมีส่วนร่วมของประชาชนทุกภาคส่วน นายพิจิตร บุญทัน รองผู้ว่าราชการจังหวัดอ�ำนาจเจริญ SBL บันทึกประเทศไทย มีความภูมิ ใจอย่างยิ่งที่ ได้สนทนาอย่างอบอุ่นกับท่านพิจิตร บุญทัน รองผู้ว่าราชการจังหวัดอ�ำนาจเจริญ ที่สร้างแรงบันดาลใจให้กับคนรุ่นใหม่ ในการสร้างฐานรากของชีวิตจากความศรัทธาปสาทะที่มุ่งมั่นในการด�ำเนินชีวิตเพื่อส่วนรวมอันยัง ประโยชน์เพื่อประเทศชาติเป็นเอนกอนันต์ 32
2
SBL บันทึกประเทศไทย I อ�ำนาจเจริญ
.indd 32
9/12/2563 11:14:17
EXC LU S IV E
ภารกิจหลักการกับท�ำงานเป็นทีม ส�ำหรับการย้ายมาด�ำรงต�ำแหน่งจากรองผู้ว่าราชการจังหวัดบุรีรัมย์ มาด�ำรงต�ำแหน่งรองผู้ว่าราชการจังหวัดอ�ำนาจเจริญ ตั้งแต่เดือนตุลาคม พ.ศ.2562 กระผมได้ รั บ มอบหมายจากท่ า นผู ้ ว ่ า ราชการจั ง หวั ด อ�ำนาจเจริญ นายสุธี ทองแย้ม ในภารกิจด้านการเมือง การปกครอง ความ มั่นคง การรักษาความสงบเรียบร้อย การบริการสาธารณะ และการรักษา ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระผมมีความระลึกอยู่เสมอว่า มีหน้าที่ช่วยเหลือผู้ว่าราชการจังหวัด และต้องท�ำงานเป็นทีม “ทีมอ�ำนาจเจริญ” ภายใต้เงื่อนไขนโยบายของ รัฐบาล ผู้บังคับบัญชา ส่วนราชการ และการมีส่วนร่วมของประชาชนทุก ภาคส่วน
“ยุทธศาสตร์การแก้ ไขปัญหายาเสพติด” ผลงานที่ภาคภูมิใจ
ปณิธานอันแรงกล้าในวัยเยาว์ กระผมตั้งใจที่จะประกอบอาชีพรับราชการเพราะได้พบกับแรงกดดัน ในวัยเด็ก เคยเป็นบุคคลที่ตกหล่น ไม่มีชื่อในทะเบียนบ้าน ต้องไปแก้ไข รายการ บิดา มารดา ชื่อ นามสกุล ไม่ตรงกันหลายรอบ มีปัญหาอุปสรรค เป็ น อย่ า งมาก เนื่ อ งจากการด� ำ เนิ น การแก้ ไขข้ อ มู ล บุ ค คล จะต้ อ งมี ข้าราชการระดับ 3 มารับรอง พร้อมด้วยพยานบุคคล ขั้นตอนมากและ ล่าช้า ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการเหมารถเพื่อน�ำบุคคลไปรับรองข้อมูล ตลอด ทั้งการเลี้ยงรับรองเจ้าหน้าที่ ยิ่งซ�้ำเติมครอบครัวข้าพเจ้าที่มีฐานะยากจน เป็นชาวไร่ชาวนาอยู่แล้ว นับแต่บัดนั้น กระผมจึงตั้งปณิธานว่าจะเป็น ข้าราชการให้ได้ เพื่อจะได้แก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนให้ รวดเร็วประหยัดค่าใช้จ่ายโดยไม่จ�ำเป็น ไม่ให้เหมือนกับกระผมในอดีต
“ศาสตร์พระราชา” คือ แบบอย่างในชีวิต
เมื่อกระผมได้เข้ารับราชการแล้ว ได้เห็นแบบอย่างในการท�ำงานที่ ส�ำคัญ คือ ศาสตร์พระราชา หลักการทรงงานและพระราชกรณียกิจของ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (รัชกาลที่ 9) จึงได้น�ำ มาประพฤติปฏิบัติ โดย การครองตน ได้ยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ส่วนการครองคน ครองงาน ได้ยึดหลักการ “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” “การเข้าใจ” เราต้องเข้าใจประชาชนและประชาชนเข้าใจเรา “เข้าถึง” เราต้องเข้าถึงประชาชนและประชาชนเข้าถึงเรา “พัฒนา” เมื่อเข้าใจและเข้าถึงกันแล้วก็จะได้ข้อตกลงร่วมกันในการ พัฒนา ให้สอดคล้องกับปัญหาและความต้องการเชิงพื้นที่ของประชาชน ซึ่ ง ตลอดระยะเวลาในการท� ำ งานและใกล้ จ ะเกษี ย ณอายุ ร าชการ ในปี 2567 กระผมมีคติพจน์เพื่อเป็นพลังในการท�ำงานตลอดเวลาคือ “ท�ำงานให้มีความสุข สนุกกับการท�ำงาน”
ผลการท�ำงานภายใต้การก�ำกับดูแลหลายภารกิจที่ประสบความส�ำเร็จ แต่ ผ ลการท� ำ งานที่ ก ระผมภาคภู มิ ใจมากที่ สุ ด คื อ การแก้ ไขปั ญ หา ยาเสพติดซึ่งเป็นหนึ่งในนโยบายส�ำคัญของผู้ว่าราชการจังหวัดอ�ำนาจเจริญ ท่านสุธี ทองแย้ม กล่าวคือ เป็นการแก้ไขปัญหายาเสพติดอย่างเป็นระบบ ในยุค 4.0 โดยการมีส่วนร่วมของประชาชนภายใต้ระบบ “AMNAT GIS” เป็นการสร้างระบบฐานข้อมูลที่ใช้ในการบริหารงานตั้งแต่ข้อมูลบุคคลที่ เกี่ยวข้องกับยาเสพติด ที่ได้รับจากส่วนราชการที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไข ปัญหายาเสพติด การร้องเรียน และการแจ้งเบาะแสของประชาชนใน ทุกระดับ ผ่านคิวอาร์โค้ด (QR Code) ซึง่ มีความปลอดภัยส�ำหรับประชาชน ที่ร้องเรียน และแจ้งเบาะแส ผู้เกี่ยวข้องกับยาเสพติด มีการสอนการใช้ระบบตั้งแต่ส่วนราชการ อ�ำเภอทุกอ�ำเภอ องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นทุกแห่ง ต�ำบลทุกต�ำบล หมู่บ้านทุกหมู่บ้าน ซึ่งศูนย์ อ�ำนวยการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดจังหวัดอ�ำนาจเจริญมีการ ประชุมการบริหารข้อมูล ทุกวันอังคาร เพื่อมอบหมายภารกิจแก่หน่วย งานที่เกี่ยวข้องในทุกๆ ด้าน ไม่ว่าจะเป็นด้านการปราบปราม การบ�ำบัด รักษา การสร้างความเข้มแข็งให้หมู่บ้าน หรือ ชุมชน ตามกระบวนการ 9 ขั้นตอน เป็นต้น โดยมีเป้าประสงค์ให้ทุกภาคส่วนให้ความส�ำคัญในปัญหา และให้ประชาชนเชื่อมั่นในระบบราชการ ประชาชนตระหนักถึงปัญหา ยาเสพติดในพื้นที่ การแก้ไขปัญหายาเสพติด ถือว่าเป็นหน้าที่ของประชาชนชาวจังหวัด อ�ำนาจเจริญทุกคน อย่างน้อยต้องสอดส่องดูแลและร้องเรียน หรือ แจ้งเบาะแส ผ่านระบบ “AMNAT GIS” ซึ่งคาดว่าปัญหายาเสพติดจะอยู่ในสภาวะที่ ไม่ระบาดรุนแรงอย่างเช่นปัจจุบัน
เชิญชวนประชาชนจิตอาสาร่วมพัฒนาจังหวัด
กระผมคิ ด ว่ า ความส� ำ เร็ จ ในการท� ำ งานในยุ ค ปั จ จุ บั น ไม่ เ พี ย ง ข้าราชการและประชาชน รูจ้ กั บทบาทหน้าทีข่ องตนเองเท่านัน้ ยังจะต้องมี “จิตอาสา” ซึ่งเป็นศาสตร์พระราชาของพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้า เจ้าอยู่หัว เป็นบทสรุปรวมของทุกสิ่งทุกอย่างที่จะท�ำงานทุกงานให้ประสบ ความส� ำ เร็ จ จั ง หวั ด อ� ำ นาจเจริ ญ ถึ ง จะเจริ ญ ตามที่ พี่ น ้ อ งประชาชน ชาวจังหวัดอ�ำนาจเจริญปรารถนา AMNAT CHAROEN I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 33
33
9/12/2563 11:14:19
EXC LU SI VE
“ ประชาสังคมเข้มแข็ง แหล่งผลิตข้าวหอมมะลิคุณภาพดี มีโอกาสทางการศึกษา พัฒนาคุณภาพชีวิต ”
AMNAT CHAROEN
PROVINCIAL OFFICE FOR LOCAL ADMINISTRATION
ท้องถิ่นจังหวัดอ�ำนาจเจริญ
นางสาวณั ฐ ชยา ช่ า งแกะ
ส�ำนักส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัดอ�ำนาจเจริญ เดิมกระทรวงมหาดไทย กรมการปกครองได้เห็นความส�ำคัญของการกระจายอ�ำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่น โดยเฉพาะรูปแบบเทศบาล สุขาภิบาลและองค์การบริหารส่วนจังหวัด จึงก�ำหนดโครงสร้างของที่ท�ำการปกครองจังหวัดให้มีฝ่ายท้องถิ่นมีหน้าที่รับผิดชอบงานประสาน สนับสนุนและส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น โดยหัวหน้าฝ่ายมีชื่อต�ำแหน่งว่าผู้ตรวจการส่วนท้องถิ่น ต่อมาเมื่อปี พ.ศ.2545 รัฐบาลมีนโยบายที่จะปฏิรูประบบราชการเพื่อให้มีความสามารถในการแข่งขันและให้บริการประชาชนได้อย่างมี ประสิทธิภาพ จึงมีแนวคิดที่จะแบ่งโครงสร้างส่วนราชการใหม่ โดยออกพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 โดยจัดตั้ง กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นขึ้นเพื่อรองรับภารกิจในการส่งเสริม สนับสนุนและก�ำกับดูแลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยให้ค�ำปรึกษาแนะน�ำ องค์กรปกครองท้องถิน่ ในด้านการจัดท�ำแผนพัฒนาท้องถิน่ การบริหารงานบุคคล การบริหารจัดการเพือ่ ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ มีความเข้มแข็ง และเสริมสร้างศักยภาพการปกครองท้องถิ่นให้สามารถจัดบริการสาธารณะ และสนองตอบความต้องการของประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ เมื่อวันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ.2545 และได้มีการจัดตั้งส�ำนักส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัดอ�ำนาจเจริญขึ้นเมื่อวันที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2545
34
SBL บันทึกประเทศไทย I อ�ำนาจเจริ อำ�นาจเจริญ
(2
).indd 34
9/12/2563 11:11:25
ปัจจุบนั ส�ำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิน่ จังหวัดอ�ำนาจเจริญ เป็นราชการบริหารส่วน ภูมิภาค สังกัดกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น เป็น1 ใน 8 ของกรมสังกัดกระทรวงมหาดไทย
วิสัยทัศน์ส�ำนักงานส่งเสริมการปกครอง ท้องถิ่นจังหวัดอ�ำนาจเจริญ “เป็นหน่วยงานที่มีสมรรถนะในการแนะน�ำ ช่วยเหลือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้เป็น แกนหลักในการพัฒนาท้องถิ่นได้อย่างเข้มแข็ง”
ภารกิ จ ส� ำ นั ก งานส่ ง เสริ ม การปกครอง ท้องถิ่นจังหวัดอ�ำนาจเจริญ รั บ ผิ ด ชอบในการให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ สนับสนุนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่ ให้ด�ำเนินการตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ราชการ ตลอดจนสนองตอบต่องานนโยบาย ของรัฐบาล และแผนปฏิบัติราชการของกรม ส่งเสริมการปกครองท้องถิน่ และแผนยุทธศาสตร์ การพัฒนาจังหวัดอ�ำนาจเจริญ
ข้อมูลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในจังหวัดอ�ำนาจเจริญ มีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จ�ำนวน 3 รูปแบบ คือ อบจ., เทศบาล, อบต. จ�ำนวน 64 แห่ ง แยกเป็ น 1. องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว น จังหวัดอ�ำนาจเจริญ 1 แห่ง 2. เทศบาล 24 แห่ง ประกอบด้วย เทศบาลเมือง 1 แห่ง เทศบาล ต�ำบล 23 แห่ง และ องค์การบริหารส่วนต�ำบล จ�ำนวน 39 แห่ง แยกตามขนาดขององค์การ บริหารส่วนต�ำบลขนาดกลาง 39 แห่ง
ติดต่อสอบถาม
ส�ำนักงานส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิน่ ศาลากลางจังหวัด ชั้น 3 ถนนชยางกูร ต�ำบลโนนหนามแท่ง อ�ำเภอเมือง จังหวัดอ�ำนาจเจริญ
AMNAT CHAROEN I SBL บันทึกประเทศไทย
(2
).indd 35
35
9/12/2563 11:11:28
“ ประชาสังคมเข้มแข็ง แหล่งผลิตข้าวหอมมะลิคุณภาพดี มีโอกาสทางการศึกษา พัฒนาคุณภาพชีวิต ”
EXC LU SI VE I N TE RVI EW
วิสัยทัศน์ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดอ�ำนาจเจริญ “ขับเคลื่อนงานพระพุทธศาสนาสู่ความมั่นคง สังคมแห่งศีลธรรม น�ำชีวิตสู่ความสุข”
AMNAT CHAROEN
PROVINCIAL OFFICE OF BUDDHISM
นายประสงค์ ทองประ
ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดอ�ำนาจเจริญ “วิถีชีวิตและวัฒนธรรมไทยทุกด้าน มีรากฐานส�ำคัญมาจากคติธรรมทางพระพุทธศาสนา แบบแผนและครรลองวิถีพุทธ เป็นแนวทางและมาตรฐานส�ำหรับการประพฤติปฏิบัติ ทั้งในด้านหน้าที่การงาน และการด�ำเนินชีวิตของคนในสังคมไทย ทุกระดับ”
ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัด มีภารกิจเกี่ยวกับ การดําเนินงานสนองงานคณะสงฆ์ และรัฐ โดยการทํานุบํารุง ส่งเสริมกิจการพระพุทธ ศาสนา ให้การอุปถัมภ์ คุ้มครองและส่งเสริม พัฒนางานพระพุทธศาสนา ดูแล รักษา จัดการศาสนสมบัติ พัฒนาพุทธมณฑลให้เป็นศูนย์กลาง ทาง พระพุทธศาสนา รวมทั้งให้การสนับสนุน ส่งเสริมพัฒนาบุคลากรทางศาสนา มีอ�ำนาจหน้าที่ ดังนี้ 1. ศึกษาวิเคราะห์และรายงานข้อมูลสารสนเทศ ด้านพระพุทธศาสนาเพื่อก�ำหนดนโยบาย ในระดับจังหวัด รวมทั้งเสนอแนวทางแก้ไข 2. ติดตามและประเมินผลการด�ำเนินงานตามนโยบาย แผนงาน โครงการของหน่วยงาน ในความดูแลของส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัด รวมทั้งรายงานผลการด�ำเนินงาน ปัญหาและอุปสรรค ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบ 3. ส่งเสริม ดูแล รักษา และท�ำนุบ�ำรุงศาสนสถาน และศาสนวัตถุทางพระพุทธศาสนา รวมทั้งดูแลรักษา และจัดการวัดร้างและศาสนสมบัติ กลางในจังหวัด 4. ส่งเสริม สนับสนุนให้วัดเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ และแหล่งภูมิปัญญาของชุมชน รวมทั้งส่งเสริมให้มีศูนย์กลางในการจัดกิจกรรมทาง พระพุทธศาสนาของจังหวัด 5. ส่งเสริม สนับสนุน และประสานงาน ด้านการเผยแผ่พระพุทธศาสนา และด้านพุทธศาสน-ศึกษา รวมทั้งดูแลและควบคุมมาตรฐานคุณภาพ การศึกษาของสถานศึกษาในสังกัดภายในจังหวัดให้ผู้เรียนมีความรู้คู่คุณธรรม และพัฒนาบุคลากรทางพระพุทธศาสนา 6. รับสนองงาน ประสานงาน และสนับสนุนกิจการและการบริหารการปกครองคณะสงฆ์ ตลอดจนด�ำเนินการตามนโยบายและมาตรการใน การคุ้มครองพระพุทธศาสนา 7. ส่งเสริมและประสานงานการด�ำเนินงานในการปฏิบัติศาสนพิธีและกิจกรรมในวันส�ำคัญทางพระพุทธศาสนา 8. ปฏิบัติงานตามกฎหมายในความรับผิดชอบของส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ซึ่งก�ำหนดให้เป็นอ�ำนาจหน้าที่ของผู้ว่าราชการจังหวัด หรือตามที่ได้รับมอบหมาย 9. ปฏิบัติงานร่วมกับ หรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง หรือที่ได้รับมอบหมาย 36
. .
2
SBL บันทึกประเทศไทย I อ�ำนาจเจริ อำ�นาจเจริญ
.indd 36
9/12/2563 10:47:53
EXC LU S IV E
ข้อมูลพื้นฐานทางพระศาสนาจังหวัดอ�ำนาจเจริญ 1. พระภิกษุ จ�ำนวน 927 รูป 2. สามเณร จ�ำนวน 175 รูป 3. วัดมีพระสงฆ์ จ�ำนวน 386 วัด 4. ส�ำนักปฏิบัติธรรมประจ�ำจังหวัด จ�ำนวน 21 แห่ง 5. หน่วยอบรมประชาชนประจ�ำต�ำบล จ�ำนวน 56 หน่วย 6. โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จ�ำนวน 5 โรง 7. ส�ำนักปฏิบัติธรรมประจ�ำจังหวัดดีเด่น ส�ำนักปฏิบัติธรรมประจ�ำ จังหวัดอ�ำนาจเจริญ แห่งที่ 1 วัดเก่าบ่อ ต�ำบลหนองแก้ว อ�ำเภอหัวตะพาน จังหวัดอ�ำนาจเจริญ 8. วัดท่องเที่ยวเชิงพุทธ 1) วัดพระเหลาเทพนิมิต ต�ำบลพนา อ�ำเภอพนา 2) วัดอ�ำนาจ ต�ำบลอ�ำนาจ อ�ำเภอลืออ�ำนาจ 3) วัดส�ำราญนิเวศ พระอารามหลวง อ�ำเภอเมืองอ�ำนาจเจริญ 4) วัดบ่อชะเนง ต�ำบลหนองแก้ว อ�ำเภอหัวตะพาน 5) วัดพระศรีเจริญ ต�ำบลหัวตะพาน อ�ำเภอหัวตะพาน 6) วัดถ�้ำแสงเพชร ต�ำบลหนองมะแซว อ�ำเภอเมืองอ�ำนาจเจริญ 7) วัดสี่แยกแสงเพชร ต�ำบลหนองมะแซว อ�ำเภอเมืองอ�ำนาจเจริญ 8) วัดยักษ์คุธรรมานุสรณ์ ต�ำบลชานุมาน อ�ำเภอชานุมาน 9) ที่พักสงฆ์พูพนมดี ต�ำบลหนองไฮ อ�ำเภอเสนางคนิคม
ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดอ�ำนาจเจริญ กับการการขับเคลื่อนงานด้านพระพุทธศาสนา
งานส่งเสริมการปกครองคณะสงฆ์
งานส่งเสริมการศาสนศึกษา
งานส่งเสริมการสาธารณูปการ
งานส่งเสริมการสาธารณสงเคราะห์ และการด�ำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาแห่งเศรษฐกิจพอเพียง
งานส่งเสริมด้านศิลปวัฒนธรรม
รับโล่เชิดชูเกียรติ ผ่านการประเมินในระดับดีมาก ตามโครงการประเมินเพื่อพัฒนา ประสิทธิภาพ ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563
งานส่งเสริมกิจกรรมการเผยแผ่พระพุทธศาสนา
งานบริหารส�ำนักงาน
งานส่งเสริมกิจกรรมสัมพันธ์ AMNAT CHAROEN I SBL บันทึกประเทศไทย
. .
2
.indd 37
37
9/12/2563 10:47:57
AMNAT CHAROEN กราบพระมงคลมิ่งเมือง แหล่งรุ่งเรืองเจ็ดลุ่มน�้ำ งามล�้ำถ�้ำศักดิ์สิทธิ์ เทพนิมิตพระเหลา เกาะแก่งเขาแสนสวย เลอค่าด้วยผ้าไหม ราษฎร์เลื่อมใสใฝ่ธรรม อ�ำนาจเจริญ ตัง้ อยูใ่ นภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง มีประวัตศิ าสตร์มาอย่างยาวนาน โดยมีหลักฐานหลาย อย่างที่แสดงว่าเคยมีมนุษย์มาตั้งถิ่นฐานอยู่ตามยุคสมัยต่าง ๆ ตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์มาถึงยุคปัจจุบัน ผ่าน ฐานะการเป็นบ้านเมืองมาหลายระดับ จากชุมชนโบราณมา เป็นบ้านเมือง ซึ่งพื้นที่ของจังหวัดอยู่ในเขตแอ่งโคราช อาณาเขตด้านตะวันออกติดกับแม่นำ�้ โขง ทางด้านทิศใต้คลุมล�ำเซบก อยูใ่ กล้กบั ลุม่ แม่นำ�้ มูลตอนบน ทางทิศตะวันตก ติดกับล�ำเซบาย อยู่ใกล้กับลุ่มแม่น�้ำชี ล�ำน�้ำทั้งหลายเป็นเส้นทางส�ำคัญของการเผยแผ่อารยธรรมจากรัฐและเมือง ต่างๆ มาสู่แอ่งโคราชและแอ่งสกลนคร สืบเนื่องมาถึงบริเวณที่เป็นพื้นที่ของจังหวัดในปัจจุบัน ประวัติความเป็นมา จากการค้นพบใบเสมาอายุราว 1,000 ปี เป็นหลักฐานส�ำคัญในการบ่งบอกถึงการปักหมุดพระพุทธศาสนาใน บริเวณนี้อย่างมั่นคงมากว่าพันปีที่ท�ำให้เกิดมีชุมชนตั้งแต่โบราณกาลซึ่งมีรากฐานอันแข็งแรงแห่งความสันติ ก่อเกิด การสร้างพุทธศิลป์มากมายทีย่ งั ด�ำรงอยูใ่ นรูปวัดซึง่ เป็นโบราณสถาน และโบราณวัตถุมากมาย ซึง่ กรมศิลปากร พบว่า ดินแดนแห่งนีต้ งั้ เป็นเมืองมานานหลายร้อยปี โดยเมือ่ ประมาณปีพทุ ธศักราช 2393 ท้าวอุปราชเจ้าเมืองจ�ำพร แขวง สุวรรณเขต ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ได้อพยพครอบครัวเข้ามาพึ่งพระบรมโพธิสมภาณ พระบาทสมเด็จพระนัง่ เกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 3 มาตัง้ ถิน่ ฐานอยูบ่ า้ นค้อใหญ่ (ปัจจุบนั คือบ้านอ�ำนาจ ต�ำบลอ�ำนาจ อ�ำเภอลืออ�ำนาจ) ต่อมาพุทธศักราช 2401 ท้าวจันทบุรม (เสือ) ผู้ครองเมืองในสมัยต่อมา ได้กราบบังคมทูลพระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 ยกฐานะบ้านค้อใหญ่ขึ้นเป็นเมืองอ�ำนาจเจริญ และท่านได้รับพระกรุณาโปรด เกล้าให้เป็นเจ้าเมือง มียศเป็นพระอมรอ�ำนาจ (เสือ อมรสิน) เป็นเมืองในการปกครองของนครเขมราฐ ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 5 มีการปฏิรปู การปกครอง เมืองอ�ำนาจเจริญ ได้ยก ฐานะเป็นอ�ำเภออ�ำนาจเจริญ ในการปกครองของจังหวัดอุบลราชธานี และต่อมาได้มีพระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัด อ�ำนาจเจริญ เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ.2536 และยกฐานะอ�ำเภออ�ำนาจเจริญเป็น อ�ำเภอเมืองอ�ำนาจเจริญ (ราช กิจจานุเบกษา ฉบับพิเศษ หน้า 4-5-6 เล่ม 110 ตอนที่ 125 ลงวันที่ 2 กันยายน 2536) ปัจจุบันจังหวัดอ�ำนาจเจริญ แบ่งเขตการปกครอง เป็น 7 อ�ำเภอ 56 ต�ำบล และ 607 หมู่บา้ น
38
.indd 38
SBL บันทึกประเทศไทย I อ�ำนาจเจริญ
16/12/2563 16:20:55
ประชากรในจังหวัดอ�ำนาจเจริญ ส่วนใหญ่เป็นคนท้องถิ่นเชื้อสายไทย-ลาว และมีคนกลุ่มอื่นที่มีหลาย เชื้อสาย และภาษาพูดต่างออกไปได้แก่ ชาวภูไท พบในเขตอ�ำเภอชานุมาน และอ�ำเภอเสนางคนิคม ส่วยและข่า พบในอ�ำเภอชานุมาน ในชุมชนที่มี การค้าขายหรือในเขตเมือง จะมีคนไทยเชื้อสายจีนและญวนปะปนอยู่ ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพค้าขาย ประชากรส่วนใหญ่ของจังหวัดนับถือ พระพุทธศาสนา ร้อยละ 97.50 มีวัดในบวรพระพุทธศาสนาอยู่ 266 แห่ง เป็นฐานรากอันส�ำคัญของวิถีชีวิตชาวบ้านที่น�ำความสงบสันติสุขมาสู่ชาว จังหวัดตั้งแต่อดีตกาลมาจนถึงปัจจุบัน โครงสร้างทางเศรษฐกิจ เศรษฐกิจส�ำคัญของชาวอ�ำนาจเจริญขึ้นอยู่กับการท�ำเกษตรกรรม มี พื้นที่ถือครองทางการเกษตร รวมทั้งสิ้น 1,021,798 ไร่ หรือประมาณร้อย ละ 51.72 ของเนื้อที่ทั้งหมด โดยมีการท�ำนา พื้นที่นาถือครองมีสัดส่วน 869,574 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 85.10 ของพื้นที่ถือครองท�ำการเกษตร เป็น พื้นที่เก็บเกี่ยว 558,530 ไร่ ผลผลิตรวมประมาณ 83,821 ตัน และมีการ ปลูกพืชไร่รวมพื้นที่ประมาณ 7,825 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 7.65 ของพื้นที่ ถือครองท�ำการเกษตร พืชเศรษฐกิจที่ส�ำคัญคือ ข้าวเหนียว ข้าวหอมมะลิ มันส�ำปะหลัง ปอ แก้ว ถัว่ ลิสง ส่วนการอุตสาหกรรมส่วนใหญ่เป็นโรงสีขา้ ว และอุตสาหกรรม ในครัวเรือน ค�ำว่า “อ�ำนาจเจริญ” มีความหมายตามตัว คือ อ�ำนาจเจริญ สมเป็น เมืองที่มีสมญานามว่า เมืองข้าวหอมโอชา ถิ่นเสมาพันปี โดยมีตราประจ�ำ จังหวัดเป็นรูป “พระมงคลมิง่ เมือง” ซึง่ เป็นหนึง่ ในเอกลักษณ์ประจ�ำจังหวัด และพระมงคลมิ่งเมือง ได้รับการอาราธนามาอยู่ใน ค�ำขวัญประจ�ำจังหวัด ด้วย ดังนี้
“พระมงคลมิ่งเมือง แหล่งรุ่งเรืองเจ็ดลุ่มน�้ำ งามล�้ำถ�้ำศักดิ์สิทธิ์ เทพนิมิตพระเหลา เกาะแก่งเขาแสนสวย เลอค่าด้วยผ้าไหม ราษฎร์เลื่อมใสใฝ่ธรรม”
ถอดรหัสค�ำขวัญสู่การท่องเที่ยวแบบ NEW N0RMAL พระมงคลมิ่งเมือง เป็นพระพุทธรูปศักดิส์ ทิ ธิ์ เป็นมิง่ มงคลควรแก่การ เคารพบูชาแก่ปวงชนทัว่ ไป เป็นพระพุทธรูปคูบ่ า้ นคูเ่ มืองของชาวอ�ำนาจเจริญ ประดิษฐานอยู่ที่เขาดานพระบาทซึ่งเป็นที่ตั้งพุทธสถานอันศักดิ์สิทธิ์มาแต่ ดึกด�ำบรรพ์ อยูต่ ดิ ถนนสายชยางกูรเส้นทางอ�ำนาจเจริญ-มุกดาหาร อยูห่ า่ ง จากตัวจังหวัดประมาณ 3 กิโลเมตร บริเวณโดยรอบตกแต่งเป็นพุทธมณฑล ส�ำหรับเป็นที่บ�ำเพ็ญและเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่ส�ำคัญของภาคตะวันออก เฉียงเหนือ แหล่งรุ่งเรืองเจ็ดลุ่มน�ำ้ หมายถึง การก่อตั้งจังหวัดอ�ำนาจเจริญได้มา จากการรวมอ�ำเภอด้านเหนือของจังหวัดอุบลราชธานี ที่มาจากชาวลุ่มน�้ำ ต่างๆ 7 ลุม่ น�ำ้ ได้แก่ ชาวลุม่ น�ำ้ โขง -อ�ำเภอชานุมาน ชาวลุม่ น�ำ้ ละโอง-อ�ำเภอ เสนางคนิคม ชาวลุ่มน�้ำพระเหลา-อ�ำเภอพนา ชาวลุ่มน�้ำห้วยยาง-อ�ำเภอ ปทุมราชวงศา ชาวลุ่มน�้ำเซบก-อ�ำเภอลืออ�ำนาจ ชาวลุ่มน�้ำเซบาย-อ�ำเภอ หัวตะพาน ชาวลุม่ น�ำ้ ห้วยปลาแดกและเซบาย-อ�ำเภอเมืองอ�ำนาจเจริญ โดย ทั้ง 7 อ�ำเภอล้วนมีประเพณี วัฒนธรรม มีแหล่งโบราณคดีด้านศาสนาและ ศิลปกรรมมาแต่ครั้งอดีตกาล และต่อนี้ไป ประชาชนชาวเจ็ดลุ่มน�้ำเหล่านี้ จะผนึกก�ำลังกันพัฒนาจังหวัดอ�ำนาจเจริญให้เป็นแหล่งแห่งความเจริญ รุ่งเรืองในอนาคต งามล�้ำถ�ำ้ ศักดิ์สิทธิ์ ก็คือ ในจังหวัดอ�ำนาจเจริญมีถ�้ำศักดิ์สิทธิ์ที่ส�ำคัญ และมีชื่อเสียงโด่งดังคือ ถ�้ำแสงแก้วและถ�้ำแสงเพชร ภายในถ�้ำมีพระพุทธ รูปที่สวยงาม นักท่องเที่ยวจากทุกสารทิศต่างมุ่งหน้าไปขอพรและปฏิบัติ ธรรมมิได้ขาด เทพนิมิตพระเหลา หมายถึง พระเหลาเทพนิมิต เป็นพระพุทธรูปปาง มารวิชยั ทีม่ ลี กั ษณะงดงามทีส่ ดุ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีสมญานามว่า “พระพุทธชินราชแห่งอีสาน” ประดิษฐานอยู่ในวัดพระเหลาเทพนิมิต อ�ำเภอพนา ซึง่ เป็นอ�ำเภอหนึง่ ในจังหวัดอ�ำนาจเจริญ โดย “พระเหลา” เป็น พระพุทธรูปทีศ่ กั ดิส์ ทิ ธิม์ าก มีความเชือ่ ว่าเทพยดาเป็นผูน้ มิ ติ ขึน้ มามีตำ� นาน สร้างมาหลายร้อยปี ตั้งแต่สมัยอยุธยาตอนปลายเป็นที่เคารพสักการะของ ปวงชนทั่วไป เกาะแก่งเขาแสนสวย คือสถานที่ท่องเที่ยวที่สุดแห่งแดนสยามของ จังหวัดอ�ำนาจเจริญ อยู่ทางด้านอ�ำเภอชานุมาน มีแม่น�้ำโขงกั้นเขตแดน ระหว่างไทยกับลาว มีเกาะ แก่งทีส่ วยงาม มีภเู ขาและป่าไม้กลายเป็นทิวทัศน์ ที่สวยงามตามธรรมชาติ ผู้คนสามารถไปเที่ยวชมและพักผ่อนได้ทุกฤดูกาล เลอค่าด้วยผ้าไหม เพราะชาวอ�ำนาจเจริญทุกอ�ำเภอล้วนมีวฒ ั นธรรมการทอผ้า ทั้งผ้าไหม ผ้าฝ้าย และผ้าลายขิดที่มีเอกลักษณ์เป็นของตนเอง ที่มีชื่อเสียง มากได้แก่การทอผ้าไหมบ้านเปือย อ�ำเภอลืออ�ำนาจ ผ้าไหมบ้านสร้อย-บ้าน จานลาน อ�ำเภอพนา การทอผ้าลายขิดบ้านค�ำพระ อ�ำเภอหัวตะพาน โดย เฉพาะผ้าไหมบ้านเปือย ได้รับยกย่องจากสมเด็จพระนางเจ้าพระบรม ราชินีนาถว่าเป็นผ้าไหมที่งดงามล�้ำเลอค่าและมีคุณภาพดีกว่าถิ่นใดๆ พระองค์ทรงก�ำหนดราคาขายไว้ให้อย่างเป็นธรรมโดยไม่ให้เอาเปรียบผูผ้ ลิต ราษฎร์เลือ่ มใสใฝ่ธรรม ชาวจังหวัดอ�ำนาจเจริญมีวถิ ชี วี ติ ความเป็นอยู่ บนพืน้ ฐานของความเชือ่ ทางพระพุทธศาสนา มีความเลือ่ มใสศรัทธาในหลัก ค�ำสอนของพระพุทธศาสนามาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน มีวัดให้ประกอบ ศาสนกิจทุกหมู่บ้าน ทวยราษฎร์เป็นคนดีมีคุณธรรม สังคมอ�ำนาจเจริญจึง อยู่กันด้วยความสุขสงบร่มเย็นมาโดยตลอดจนถึงทุกวันนี้ สมญานามว่า เมืองข้าวหอมโอชา ถิ่นเสมาพันปี... AMNAT CHAROEN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 39
39
16/12/2563 16:20:56
40
.indd 40
SBL บันทึกประเทศไทย I อ�ำนาจเจริญ
16/12/2563 16:21:00
AMNAT CHAROEN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 41
41
16/12/2563 16:21:03
9 ทั่วจังหวัดอ�ำนาจเจริญ ไหว้พระศักดิ์สิทธิ์
42
.indd 42
วัด
SBL บันทึกประเทศไทย I อ�ำนาจเจริญ
16/12/2563 16:21:04
ไหว้พระมงคลมิ่งเมือง อ�ำเภอเมือง
1
มาถึงจังหวัดอ�ำนาจเจริญ เพื่อความเป็นสิริมงคลก็ต้องไป กราบพระมงคลมิ่งเมือง พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์คู่บ้านคู่เมืองของชาวจังหวัด อ�ำนาจเจริญกันก่อนเลย ซึง่ ประดิษฐานอยูท่ พี่ ทุ ธอุทยาน ถนนชยางกูร อ�ำเภอเมือง พระมงคลมิง่ เมืองมีพทุ ธลักษณะทีไ่ ด้รบั อิทธิพลมาจากศิลปะของแคว้นปาละ ประเทศอินเดียเหนือ ซึ่งได้แผ่ขยายอิทธิพลมายังภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ของประเทศไทยจากพ่อค้าทีเ่ ดินทางมาค้าขาย เมือ่ ราวพุทธศตวรรษที่ 13-16 เป็นพุทธรูปปางมารวิชยั หน้าตักกว้าง 11 เมตร สูงจากพืน้ ดินถึงยอดเปลว 20 เมตร โครงสร้างเป็นคอนกรีตเสริมเหล็กทั้งองค์ ฉาบด้วยปูน บุด้วยกระเบื้องโมเสก สีทอง สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2508 เชื่อกันว่าพระมงคลมิ่งเมือง เป็นพระพุทธรูปที่ ศักดิส์ ทิ ธิ์ ชาวอ�ำนาจเจริญและประชาชนจังหวัดใกล้เคียง ให้ความเคารพและ กราบไหว้บูชาจ�ำนวนกันมาก โดยในวันขึ้น 15 ค�่ำ เดือน 3 หรือวันมาฆบูชา ของทุกปี ชาวบ้านจะร่วมกันจัดงานนมัสการพระมงคลมิ่งเมืองและถือว่าเป็น งานประจ�ำปีที่ยิ่งใหญ่ของจังหวัดอ�ำนาจเจริญ ที่ปฏิบัติสืบทอดกันมาจนถึง ปัจจุบัน นมัสการพระมงคลมิ่งเมืองกันเรียบร้อยแล้ว ลองเดินต่อไปยังบริเวณ ด้านหลังของพระมงคลมิ่งเมือง จะพบพระพุทธรูปโบราณที่มีลักษณะแปลก คือ “พระละฮาย” หรือในภาษาอีสานเรียกว่า “พระขี่ล่าย” ซึ่งหมายถึง ไม่สวยงาม พบอยู่ในหนองน�้ำเมื่อปี พ.ศ. 2505 ขณะปรับปรุงฝายกั้นน�้ำ โดย ชาวบ้านก็มีความเชื่อว่าเป็นพระที่ให้โชคลาภด้วยเช่นกัน
AMNAT CHAROEN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 43
43
16/12/2563 16:21:08
ไหว้พระสังกัจจายน์ วัดส�ำราญนิเวศ อ�ำเภอเมือง
2
เชือ่ กันว่าผูใ้ ดทีไ่ ด้มาไปกราบไหว้พระสังกัจจายน์ จะเป็นการสั่งสมปัญญาบารมี ท�ำให้มีสติปัญญา เฉลียวฉลาด และได้ไปเกิดและพบกับพระศรีอริย เมตไตรยในยุคต่อไป พระสังกัจจายน์ ประดิษฐานอยู่ภายในพระ วิหารของวัดส�ำราญนิเวศ อ�ำเภอเมือง จังหวัด อ�ำนาจเจริญ เป็นพระพุทธรูปที่มีขนาดหน้าตัก กว้างประมาณ 6 เมตร ความสูงประมาณ 10 เมตร สร้างจากคอนกรีตเสริมเหล็ก ฉาบด้วยปูน ประดับ ตกแต่งด้วยกระเบือ้ งสีอย่างสวยงาม ความเชือ่ ทาง พระพุทธศาสนา พระสังกัจจายน์ เป็นพระพุทธรูป ปางหนึ่งของพระศรีอริยเมตไตรย ผู้มีหน้าที่ลงมา ประกาศพระพุทธศาสนาต่อจากพระศรีศากยมุณี หรือพระพุทธเจ้า พระสังกัจจายน์เป็นพระทีม่ คี วาม เฉลี ย วฉลาด เชี่ ย วชาญในปฏิ สั ม ภิ ท า 8 และ สามารถท�ำให้พระพุทธศาสนากลับมาเจริญรุง่ เรือง อีกครั้งหลังจากที่ตกต�่ำถึงขีดสุด
อ�ำเภอเมืองจังหวัดอ�ำนาจเจริญ ยังมีแหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมที่เป็นเอกลักษณ์ ของชาวอีสาน ซึ่งก็คือ
หมู่บ้านหมอล�ำ
หมู่บ้านหมอล�ำ ตั้งอยู่ที่บ้านปลาค้าว อ�ำเภอเมือง จังหวัดอ�ำนาจเจริญ ถือว่าเป็น หมู่บ้านที่มีคณะหมอล�ำซิ่งมากที่สุดในประเทศไทย ที่สร้างรายได้ให้กับชุมชนนับหลายสิบ ล้านบาทต่อปีและเป็นชุมชนเกษตรกรรมที่มีความอุดมสมบูรณ์ ชุมชนบ้านปลาค้าวเป็น ชุมชนที่มีศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้านเก่าแก่ของภาคอีสาน และโบราณวัตถุล�้ำค่ามากมาย เช่น บ้านอีสานโบราณขนานแท้ เมือ่ มาเทีย่ วชม ก็จะได้ชมศิลปะการแสดงและเรียนรูห้ มอล�ำกลอน หมอล�ำซึ่งพิณ-แคน ขับกล่อมล�ำน�ำต�ำนานหมู่บ้านหมอล�ำให้ได้เพลิดเพลินและประทับใจ กลับไป....
ไหว้พระพุทธไสยาสน์ (พระนอน) วัดถ�้ำแสงเพชร อ�ำเภอเมือง
พระนอน หรือพระพุทธไสยาสน์ ทีว่ ดั ถ�ำ้ แสงเพชร อ�ำเภอเมือง จังหวัด อ�ำนาจเจริญ ว่ากันว่าเป็นพระพุทธรูปทีม่ พี ทุ ธลักษณะทีง่ ดงามทีส่ ดุ ในภาค อีสาน จัดอยูใ่ นพระพุทธรูปศิลปะลาว สกุลช่างเวียงจันทน์ ทีไ่ ด้รบั อิทธิพลมา จากศิลปะล้านนา ช่วงพุทธศตวรรษที่ 21-22 ทีม่ คี วามส�ำคัญและให้การเคารพ บูชากราบไหว้ ของประชาชนในชุมชนและประชาชนทัว่ ไป ไหว้พระนอนแล้ว พาไปแวะเทีย่ วชมสถาปัตยกรรมโบราณเก่าแก่ของ เมืองอ�ำนาจเจริญอีกแห่งหนึง่ คือ
3
สิม หรือโบสถ์โบราณ
สิม หรือโบสถ์ เป็นสถาปัตยกรรมท้องถิน่ อีสานโบราณ ตัง้ อยูท่ วี่ ดั ราสิยาราม บ้านไก่คำ� ต�ำบลไก่คำ� อ�ำเภอเมือง จังหวัดอ�ำนาจเจริญ มีลกั ษณะเป็นอาคาร สีเ่ หลีย่ มผืนผ้าขนาดเล็ก กว้าง 4.2 เมตร ยาว 2.4 เมตร มุขเป็นหน้าไม้และ ลูกฟัก บริเวณเหนือบานประตูหน้าอุโบสถ มีภาพเขียนเรื่องราวเกี่ยวกับ พระเวสสันดรชาดก และนรกสวรรค์ เขียนขึน้ เมือ่ ประมาณ พ.ศ. 2468 สมัย พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 6 ภายในมีพระประธาน เป็นพระพุทธรูปปูนปัน้ แบบพืน้ บ้าน ปางมารวิชยั 44
.indd 44
SBL บันทึกประเทศไทย I อ�ำนาจเจริญ
16/12/2563 16:21:11
AMNAT CHAROEN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 45
45
16/12/2563 16:21:13
46
.indd 46
SBL บันทึกประเทศไทย I อ�ำนาจเจริญ
16/12/2563 16:21:15
4
ไหว้พระเจ้าใหญ่ลือชัย วัดอ�ำนาจ อ�ำเภอลืออ�ำนาจ
พระเจ้าใหญ่ลอื ชัยไม่ปรากฏชัดเจนว่าใครเป็นผูส้ ร้าง และสร้างขึน้ ในสมัยใด แต่มเี รือ่ งเล่าทีฟ่ งั จากผูเ้ ฒ่าผูแ้ ก่ของ หมูบ่ า้ นได้เล่าให้ฟงั ว่ามี 3 พีน่ อ้ งจากประเทศลาวได้พากัน ท�ำการก่อสร้าง คนหนึง่ สร้างพระเหลา คนหนึง่ สร้างพระลือ คนหนึง่ สร้างพระโรจน์ แต่กไ็ ม่มหี ลักฐานยืนยันชัดเจน แต่เมือ่ มาค้นคว้าดูจากหลักฐานต�ำราหนังสือสร้างบ้าน แปลงเมืองทีค่ ณ ุ พ่อวิเชียร อุดมสันต์ เขียนเอาไว้และจาก ต�ำราประวัตกิ ารตัง้ บ้านแปลงเมืองอ�ำนาจเจริญ ก็ได้ขอ้ มูล ว่าวัดแห่งนีม้ กี ารบูรณะอุโบสถไม้เมือ่ ปี พ.ศ.2360 ตอน ทีท่ างวัดท�ำการบูรณะอุโบสถ ในครัง้ นัน้ ก็มอี งค์พระเจ้าอยู่ แล้ว และจากการศึกษาดูจากวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการ ก่อสร้างองค์พระเจ้าใหญ่ลอื ชัย ตอนทีอ่ งค์พระเจ้าใหญ่ทา่ น ร้าวแตก ทางวัดได้ทำ� การบูรณะและได้รวู้ า่ ในชัน้ ในจริงๆ วัสดุที่ใช้ในการก่อสร้างไม่ใช่ปูนสมัยใหม่เป็นดินเหนียว ธรรมดา และฉาบทาด้วยเปลือกหอยทีเ่ ผาไฟ และต่อมาชัน้ นอกจริงมีรอยฉาบด้วยปูนทีค่ นโบราณท�ำกันและมีปนู สมัย ใหม่อยูด่ า้ นนอกบางส่วน อันแสดงให้เห็นว่าพระเจ้าใหญ่ลอื ชัยได้มกี ารบูรณะซ่อมแซมมาหลายยุคหลายสมัยชัว่ คนพอ สมควร และทีฐ่ านพระเจ้าใหญ่ลอื ชัยจะมีปลวกขึน้ อยูร่ อบ ฐานตลอดเวลาท�ำอย่างไรก็ไม่หาย บางทีทางวัดต้องขุดดิน ปลวกออกเป็น 5 สอบ ถึง 10 สอบ ก็มี แต่ดนิ ปลวกก็ไม่ หมดสักที ซึง่ พระองค์อนื่ ไม่มอี ย่างนี้ และทีน่ า่ สังเกตอีกอย่าง
.indd 47
ก็คอื เวลาทางวัดจะมีงานนมัสการหรือจะมีคนมาท�ำบุญทีว่ ดั มากนัน้ จะมีปลวกล้นพูนขึน้ มาเป็น จ�ำนวนมากเป็นทีน่ า่ อัศจรรย์อย่างยิง่ เพราะเหตุเหล่านีจ้ งึ แสดงให้เห็นว่าพระเจ้าใหญ่ลอื ชัยหรือ พระฤทธิล์ อื ชัย ได้มกี ารบูรณะซ่อมแซมมาหลายยุคหลายสมัยหลายชัว่ อายุคนพอสมควร ด้วย เหตุนที้ ำ� ให้ผเู้ ขียนประวัตไิ ม่รจู้ ะสรุปการสร้างว่าสร้างใน พ.ศ. ใด จึงได้สรุปและสันนิษฐานเอา เฉพาะตอนบูรณะอุโบสถไม้มาเท่านัน้ คือ ประมาณปี พ.ศ.2360 ถึงการตัง้ เมืองคือ พ.ศ.2393 โดยมีหลวงพ่อบัณฑิตและหมืน่ ชาโนชิตเป็นผูน้ ำ� ในการก่อสร้าง ก่อนทีจ่ ะท�ำการก่อสร้างได้เกิด นิมติ แก่หลวงพ่อบัณฑิตว่า จะหล่อหรือจะเหลา หรือจะเอาโลด AMNAT CHAROEN I SBL บันทึกประเทศไทย
47
16/12/2563 16:21:21
5
ไหว้พระเจ้าใหญ่ศรีเจริญ วัดพระศรีเจริญ อ�ำเภอหัวตะพาน
พระเจ้าใหญ่ศรีเจริญ ประดิษฐานอยูใ่ นพระอุโบสถวัดพระศรีเจริญ บ้าน หัวตะพาน ต�ำบลพระศรีเจริญ อ�ำเภอหัวตะพาน จังหวัดอ�ำนาจเจริญ เป็น พระพุทธรูปขัดสมาธิราบ ปางมารวิชยั สร้างด้วยอิฐถือปูน ลงรักปิดทอง ขนาด หน้าตักกว้าง 1.30 เมตร มีความสูงจากยอดพระชงฆ์เบือ้ งล่างถึงพระเกตุ 2 เมตร ถือเป็นพระพุทธรูปศักดิส์ ทิ ธิค์ บู่ า้ นคูเ่ มืองของจังหวัดอ�ำนาจเจริญอีก องค์หนึง่ ทีม่ อี ายุกว่า 750 ปี โดยจะมีการจัดงานนมัสการปิดทององค์พระเจ้า ใหญ่ศรีเจริญ ในวันขึน้ 8 ค�ำ่ และ 15 ค�ำ่ เดือน 4 ของทุกปี
ไหว้หลวงปู่ขาว อนาลโย วัดบ่อชะเนง อ�ำเภอหัวตะพาน
6
วิหารหลวงปู่ขาวอนาลโย ตั้งอยู่ที่วัดบ่อชะเนง ต�ำบลหนองแก้ว อ�ำเภอ หัวตะพาน จังหวัดอ�ำนาจเจริญ หลวงปูข่ าว อนาลโย เป็นพระภิกษุ ธรรมยุตนิ กิ าย ได้รบั ความ เคารพนับถือจากลูกศิษย์ลกู หาและพุทธศาสนิกชนมากมาย ด้วยเพราะท่านเป็นพระนักปฏิบตั ิ วิปัสสนากรรมฐาน ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ สายพระอาจารย์มั่น ภูริทัตโต พระนักปฏิบัติสาย วิปัสสนากรรมฐาน ผู้ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบที่มีชื่อเสียงจากจังหวัดสกลนคร
48
.indd 48
SBL บันทึกประเทศไทย I อ�ำนาจเจริญ
16/12/2563 16:21:26
7
ไหว้พระเหลาเทพนิมิต
วัดพระเหลาเทพนิมิต อ�ำเภอพนา
องค์พระเหลาเทพนิมิต เป็นพระ ประธานประดิษฐานอยู่ในอุโบสถวัด พระเหลาเทพนิมิต สร้างด้วยอิฐถือปูน ลงรักปิดทอง เป็นพระพุทธรูปปางมาร วิ ชั ย มี ลั ก ษณะงดงามยิ่ ง และมี อภินหิ ารเป็นทีน่ า่ อัศจรรย์เล่าลือกันมา ในหมู่ชาวบ้าน จนเป็นที่เคารพนับถือ ของประชาชนชาวพุทธทั่วไปมานาน กว่า 200 ปีมาแล้ว นักโบราณคดีจากกรมศิลปากร สันนิษฐานว่าทัง้ โบสถ์และพระประธาน นี้เป็นสถาปัตยกรรม และศิลปกรรม ของเวียงจันทน์สมัยเป็นเมืองหลวงของ ไทยล้านช้าง ราว พ.ศ.2263 พระเหลาเทพนิมิต เป็นพระพุทธ รูปศักดิ์สิทธิ์คู่บ้านคู่เมือง มีค�ำเล่าสืบ กันมาว่า ในคืนวันพระ 7-8 ค�ำ่ 14-15 ค�ำ่ จะแสดงพุทธานุภาพเป็นปาฎิหาริย์ ปรากฏให้เห็นเป็นแก้วเขียวแกมขาวขจี ลอยออกจากโบสถ์ในเวลาเงียบสงัด
8
ไหว้พระบรมสารีริกธาตุ
ที่พระธาตุนาป่าแซง อ�ำเภอปทุมราชวงศา
พระธาตุใหญ่นาป่าแซง ตั้งอยู่ที่วัดสุทธิกาวาส ต�ำบลนาป่าแซง อ�ำเภอปทุมราชวงศา จังหวัด อ�ำนาจเจริญ สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2520 โดยพระครูสุทธิพัฒนาภรณ์ ลูกศิษย์พระอาจารย์มั่น ภูริทัตโต โดย ได้รับพระบรมสารีริกธาตุ 113 องค์ มาบรรจุไว้ 2 แห่ง คือ ยอดพระธาตุ และกลางพระธาตุ พระธาตุใหญ่ นาป่าแซง มีความสูงเท่ากับพระธาตุพนมในจังหวัดนครพนม เชื่อกันว่าถ้าใครได้มากราบไหว้พระธาตุ นาป่าแซง เท่ากับได้ไปกราบไหว้พระธาตุพนมเลยทีเดียว ซึง่ จะประสบความส�ำเร็จในสิง่ ทีข่ อและปรารถนา ท�ำให้มีอ�ำนาจบารมีสูง เป็นผู้น�ำและเป็นที่นับหน้าถือตาของบุคคลทั่วไป AMNAT CHAROEN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 49
49
16/12/2563 16:21:32
9
ไหว้พระพุทธรูปปูนปั้นแบบพื้นบ้าน ปางมารวิชัย สถาปัตยกรรมท้องถิ่นอีสานโบราณ วัดราสิยาราม อ�ำเภอเมือง
สิมเก่า
สิม เป็นสิมขนาดเล็ก ลักษณะเป็นอาคารสี่เหลี่ยม ผืนผ้า กว้าง 4.20 เมตร ยาว 2.4 เมตร สูง 6.60 เมตร รูปแบบสถาปัตยกรรมแบบพื้นถิ่นอีสาน หันหน้าชนกัน กับสิมใหม่ เข้าออกทางเดียว มีมขุ ด้านหน้า โดยแบ่งเป็น ส่วนมุขและส่วนตัวสิม หลังคาเดียวกัน มีประตูไม้สอง บานเป็นทางเข้าออก เหนือประตูมีการเขียนฮูปแต้มสี เรือ่ งเวสสันดรชาดกและนรกสวรรค์ ฐานสูงก่ออิฐถือปูน มีโครงสร้างเสาไม้แบกรับหลังคา มีชอ่ งเจาะเป็นหน้าต่าง ด้านละสามช่อง ไม่มีบานหน้าต่าง ไม่มีคันทวย มีไม้ ระเบียงกั้นช่องหน้าต่างไว้ หน้าบันเป็นไม้ท�ำเป็นลูกฟัก และพระอาทิตย์ส่องแสง ส่วนรวงผึ้งท�ำด้วยไม้ฉลุลาย เหมือนกันทัง้ สามช่อง เสามุขด้านหน้ามีสเี่ สาเป็นเสาปูน ครีง่ ไม้มบี วั หัวเสา หลังคายกชัน้ มุงด้วยสังกะสี บันไดทาง ขึ้นสี่ขั้นท�ำด้วยปูน ราวบันไดปั้นเป็นสัตว์เลื้อยคลานล�ำ ตัวยาวไปตามราวบันไดคล้ายตะกวด ภายในมีฐานชุกชี เต็มพื้นที่มีพระพุทธรูปปูนปั้นแบบพื้นบ้านปางมารวิชัย เป็นพระประธาน และยังมีพระพุทธรูปแกะไม้โบราณ อีกหลายองค์ ผนังด้านในไม่มีการเขียนฮูปแต้ม
50
.indd 50
SBL บันทึกประเทศไทย I อ�ำนาจเจริญ
16/12/2563 16:21:37
Buddhism
in Thailand
Everything You Need to Know About Buddhism in Thailand There are some 30,000 Buddhist temples in Thailand.
AMNAT CHAROEN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 51
51
16/12/2563 16:21:39
52
.indd 52
SBL บันทึกประเทศไทย I อ�ำนาจเจริญ
16/12/2563 16:21:40
AMNAT CHAROEN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 53
53
16/12/2563 16:21:41
54
.indd 54
SBL บันทึกประเทศไทย I อ�ำนาจเจริญ
16/12/2563 16:21:42
AMNAT CHAROEN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 55
55
16/12/2563 16:21:43
Buddhism
in Thailand
Everything You Need to Know About Buddhism in Thailand There are some 30,000 Buddhist temples in Thailand.
56
.indd 56
SBL บันทึกประเทศไทย I อ�ำนาจเจริญ
16/12/2563 16:21:44
History of buddhism....
วัดศรีบุญเรือง พระเจ้าใหญ่ศรีบุญเรือง
เลขที่ 111 บ้านดงบัง หมู่ 10 ต�ำบลน�้ำปลีก อ�ำเภอเมือง จังหวัดอ�ำนาจเจริญ
AMNAT CHAROEN I SBL บันทึกประเทศไทย
.
.indd 57
57
9/12/2563 16:08:30
History of buddhism....
วัดส�ำราญนิเวศพระอารามหลวง พระวิชัยมุนี (ไพฑูรย์ เมตฺตจิตฺโต) เจ้าอาวาสวัดสำ�ราญนิเวศพระอารามหลวง
วัดส�ำราญนิเวศ ตั้งอยู่เลขที่ 14 หมู่ 9 ติดกับทางหลวงหมายเลข 212 (ถนนชยางกูร สายอุบลราชธานีถึงนครพนม) ต�ำบลบุ่ง อ�ำเภอเมืองอ�ำนาจเจริญ จังหวัดอ�ำนาจเจริญ
58
ชาวอ�ำนาจเจริญเรียกว่า “วัดส�ำราญ” สังกัดคณะสงฆ์ธรรมยุตนิกาย เจ้าของกรรมสิทธิท์ ดี่ นิ ทัง้ 3 ท่าน คือ ขุนสกล – คุณแม่บญ ุ เยือง สุวรรณกูฎ, คุณแม่ค�ำหยาด ระพาเพศ และก�ำนันนวน สุวรรณกูฎ เป็นผู้มีศรัทธา มอบที่ ดิ น ของตน รวมกั น เข้ า ประมาณ 36ไร่ ให้ ส ร้ า งวั ด และได้ รั บ พระบรมราชานุญาตให้สร้างตามพระราชบัญญัติลักษณะการปกครอง ของสงฆ์ ร.ศ. 121 เมื่อปี พ.ศ. 2484
SBL บันทึกประเทศไทย I อ�ำนาจเจริญ
.indd 58
9/12/2563 16:10:02
วัดส�ำราญนิเวศมีเจ้าอาวาสมาแล้ว 5 รูป คือ
1. พระครูทัศนประกาศ (หลวงตาบุ จนฺทสิริ) พ.ศ. 2484 - 2517 2. พระครูวิจิตรธรรมภาณี (หลวงตาสิงห์ สุขปุญฺโญ) พ.ศ. 2517-2525 3. พระครูทัศนประกาศ (เขียน นารโท) พ.ศ. 2525-2530 4. พระสุทธิสารมุนี(บุญรักษ์ ฐิตปุญฺโญ) พ.ศ. 2530-2544 5. พระวิชัยมุนี (ไพฑูรย์ เมตฺตจิตฺโต) เจ้าอาวาสองค์ปัจจุบัน พระครูทัศนประกาศ (บุ จนฺทสิริ) เป็นเจ้าอาวาสองค์ที่ 1 พร้อม ด้วยพระภิกษุสามเณรอุบาสกอุบาสิกาได้ด�ำเนินการก่อสร้างปรับปรุง ศาสนสถาน ศาสนวัตถุ ศาสนบุคคล และศาสนธรรม ด้วยความวิริยะ อุตสาหะ วัดนีเ้ ดิมเป็นวัดป่า มีตน้ ไม้นอ้ ยใหญ่รม่ รืน่ สงัดเงียบ ไกลจาก หมู่บ้าน ไม่มีเสียงมารบกวน สะดวกแก่การโคจรบิณฑบาตของ พระภิกษุสามเณร จึงเป็นสถานที่อันเหมาะสมในการเจริญสมณธรรม ของพระกัมมัฏฐานอุบาสกอุบาสิกามีความเชือ่ มัน่ ในคุณพระรัตนตรัย ไปรับการศึกษาอบรมสมาธิภาวนาเกิดศรัทธา ปสาทะในการปฏิบัติ ธรรม จึงได้ช่วยกันสนับสนุนการก่อสร้างเป็นอย่างดี ทั้งนี้เป็นเพราะ บุญญาบารมีของพระพุทธศาสนา ครัน้ กาลเวลาล่วงเลยมาถึง พ.ศ.2485 เจ้าพระคุณสมเด็จพระมหา วีรวงศ์ (ติสสะมหาเถระ อ้วน) ออกตรวจการพระศาสนา และตรวจ การคณะสงฆ์เดินทางมาพักแรมที่วัดนี้ พิจารณาเห็นว่าที่นี่สมควรตั้ง ให้เป็นวัด ที่จะอ�ำนวยประโยชน์สุขแก่พุทธศาสนิกชน จึงได้ตั้งชื่อวัด นีว้ า่ “วัดส�ำราญนิเวศ” ให้เป็นวัดคูก่ บั วัดพรหมวิหาร อ�ำเภอเลิงนกทา จังหวัดอุบลราชธานี (ปัจจุบันขึ้นกับจังหวัดยโสธร)
พ.ศ. 2485 เจ้าพระคุณพระมหาวีรวงศ์ (ติสสะมหาเถระ อ้วน) ได้สง่ พระมหาดุสติ เทวิโล วัดบรมนิวาส มาเป็นเจ้าคณะอ�ำเภออ�ำนาจเจริญ ซึ่งต่อมาท่านได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ที่ “พระครูทัศนวิสุทธิ์” พ�ำนักอยู่ที่วัดส�ำราญนิเวศ วัดส�ำราญนิเวศจึงเป็นศูนย์รวมใจของ พุทธศาสนิกชน มีจดั การศึกษาพระปริยตั ธิ รรมแผนกธรรม ตรี-โท-เอก มีพระครูทศั นประกาศ (บุ จนฺทสิร)ิ เป็นครูสอนปริยตั ธิ รรมแผนกธรรม พ.ศ. 2487 ท่านเจ้าคุณพระธรรมบัณฑิต (ญาณ ญาณชาโล) เจ้าคณะ จังหวัดอุบลราชธานี ได้ส่ง พระมหาสิงห์ สุทฺธจิตฺโต ป.ธ. 7 (ต่อมาเป็น พระธรรมฐิติญาณ เจ้าคณะภาค 10 ธรรมยุต) มาเป็นครูสอนปริยัติ ธรรมแผนกบาลี ประจ�ำส�ำนักเรียนวัดส�ำราญนิเวศ มีพระเปรียญเกิด ขึ้นที่วัดส�ำราญนิเวศหลายรูป พ.ศ. 2487 วัดส�ำราญนิเวศ ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา ศาสนวัตถุและศาสนสถานภายในวัด พ.ศ. 2489 สร้างโรงเรียนพระปริยัติธรรม อาคารไม้ 2 ชั้น พ.ศ. 2516 สร้างพระสังกัจจายน์ พ.ศ. 2515 สร้างอุโบสถ พ.ศ. 2516 สร้างกุฏิวิชิตสิน พ.ศ. 2517 สร้างเมรุและศาลาเมรุ พ.ศ. 2520 สร้างก�ำแพงรอบวัด พ.ศ. 2527 สร้างศาลาการเปรียญคอนกรีต 2 ชั้น วัดส�ำราญนิเวศ ได้รับพระราชทานให้เป็นพระอารามหลวง เมื่อ พ.ศ. 2543 อาณาเขตของวัดในปัจจุบัน ทิศตะวันออก จรดชุมชนสุขส�ำราญและชุมชนอรุณประเสริฐ ทิศตะวันตก จรดถนนชยางกูรและ บริษัท ทีโอที ทิศเหนือ จรดชุมชนสุขส�ำราญ ทิศใต้ จรดธนาคาร ธกส. และโรงเรียนเจริญวิทยา
พระวิชัยมุนี (ไพฑูรย์ เมตฺตจิตฺโต)
เจ้าอาวาสวัดส�ำราญนิเวศพระอารามหลวง AMNAT CHAROEN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 59
59
9/12/2563 16:10:10
WO R K LI FE
องค์การบริหารส่วนต�ำบลโนนโพธิ์ “11 หมู ่ บ ้ า น ย่ า นเกษตรกรรม เลิ ศ ล�้ ำ พระปฏิ ม า การศึ ก ษาพื้ น ฐาน เจริ ญ การอนามั ย ก้ า วไกลการกี ฬ า หมู ่ บ ้ า นประชาศรั ท ธาธรรม” ค� ำ ขวั ญ องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บลโนนโพธิ์
ต�ำบลโนนโพธิ์ เป็นต�ำบลหนึ่งใน 19 ต�ำบลของอ�ำเภอเมืองอ�ำนาจเจริญ ได้รับการประกาศจาก กระทรวงมหาดไทยแยกเขตการปกครองเป็นต�ำบลโนนโพธิ์ มีผลเมื่อ พ.ศ. 2520ปัจจุบัน แบ่งการ ปกครองออกเป็น 11 หมูบ่ า้ น คือ หมูท่ ี่ 1 บ้านนาห้วยยาง, หมูท่ ี่ 2 บ้านสองคอน, หมูท่ ี่ 3 บ้านโนนโพธิ์ หมู่ที่ 4 บ้านโพธิ์ศิลา, หมู่ที่ 5 บ้านนาหว้า, หมู่ที่ 6 บ้านก้าวหน้าสามัคคี, หมู่ที่ 7 บ้านดงสวาง, หมู่ที่ 8 บ้านโพธิ์ศิลา, หมู่ที่ 9 บ้านโนนโพธิ์ , หมู่ที่ 10 บ้านค�ำงูเหลือม และ หมู่ที่ 11 บ้านโพธิ์ศิลา ซึ่งได้รับยกฐานะจากสภาต�ำบลโนนโพธิ์เป็นองค์การบริหารส่วนต�ำบลโนนโพธิ์ เมื่อปี พ.ศ. 2540 ปัจจุบัน นายประยงค์ พิมพ์หาญ ด�ำรงต�ำแหน่ง นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลโนนโพธิ์
นายประยงค์ พิ ม พ์ ห าญ นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลโนนโพธิ์
“ชุ ม ชนน่ า อยู ่ อู ่ ข ้ า วเกษตรอิ น ทรี ย ์ กี ฬ าเด่ น มุ ่ ง เน้ น วั ฒ นธรรม ล�้ ำ ค่ า พระปฏิ ม า ภู มิ ป ั ญ ญาท้ อ งถิ่ น ” วิ สั ย ทั ศ น์
ประวัติความเป็นมา
เหตุทไี่ ด้ชอื่ “โนนโพธิ”์ เพราะเมือ่ สมัยก่อน ลักษณะภูมิประเทศโดยทั่วไปเป็นที่ราบลุ่มเป็น หมู่บ้านที่ตั้งมานานมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2384 มีต้น โพธิ์ขนาดใหญ่จ�ำนวนมาก โดยแยกออกจาก ต�ำบลนาจิก อ�ำเภอเมืองอ�ำนาจเจริญ ในปี พ.ศ. 2520 คณะกรรมการต่างๆ จึงได้ลงมติให้ เป็ น ชื่ อ ต� ำ บลโนนโพธิ์ และได้ ร วบรวม หมู่บ้านต่าง ๆ ขึ้นเป็นต�ำบล “โนนโพธิ์”
60
.
3
SBL บันทึกประเทศไทย I อำ�นาจเจริญ
.indd 60
9/12/2563 10:02:50
WORK L IFE
อาณาเขต
ต�ำบลโนนโพธิ์ มีอาณาเขตพื้นที่อยู่ติดกันท้องถิ่นใกล้เคียง 6 ส่วน คือ ต�ำบลโนนหนามแท่ง ต�ำบลนาจิก ต�ำบลบุง่ ต�ำบลนายม ต�ำบลน�ำ้ ปลีก และ ต�ำบลดอนเมย มีพื้นที่ตามประกาศกระทรวงมหาดไทยประมาณ 24,594 ไร่ หรือประมาณ 59.34 ตารางกิโลเมตร เป็นที่ราบลุ่ม ลักษณะดินเป็นดิน ร่วนปนทราย พืน้ ทีท่ อี่ ยูใ่ นเขต ส.ป.ก. จ�ำนวน 12,925 ไร่ และแบ่งเป็นพืน้ ที่ การเกษตรทั้งหมดรวม 19,290 ไร่
ประชากรในพื้นที่
จากข้อมูลของส�ำนักทะเบียนราษฎร์ของอ�ำเภอเมืองอ�ำนาจเจริญ เมื่อ เดือนพฤษภาคม พ.ศ.2558 พบว่า ต�ำบลโนนโพธิม์ ปี ระชากรทัง้ สิน้ 6,665 คน จ�ำแนกเป็นชาย 3,297 คน หญิง 3,368 คน และมีจ�ำนวนครัวเรือนทั้งสิ้น 2,090 ครัวเรือน
สภาพทางสังคม และ การศึกษา
ในพืน้ ทีอ่ งค์การบริหารส่วนต�ำบลโนนโพธิ์ มีโรงเรียนในพืน้ ระดับประถม ศึกษา จ�ำนวน 4 โรงเรียน คือ โรงเรียนนาห้วยยางสองคอน, โรงเรียนบ้าน โนนโพธิ์, โรงเรียนโพธิ์ศิลานาหว้า และโรงเรียนก้าวหน้าสามัคคีค�ำงูเหลือม
ระบบเศรษฐกิจ
ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม คือท�ำนา พืชไร่ ไม้ยืนต้น พืชผัก ต่างๆ และมีประชากรทีป่ ระกอบอาชีพการประมง เพาะเลีย้ งสัตว์นำ�้ จ�ำนวน 17 ครัวเรือน โดยใช้นำ�้ จากอ่างเก็บน�ำ้ ล�ำห้วยโพธิ์ นอกจากนีก้ ย็ งั มีประชากร ที่ประกอบอาชีพเกี่ยวกับการปศุสัตว์ อีกด้วย
ศาสนา ประเพณี วัฒนธรรม
ประชาชนในต�ำบลโนนโพธิโ์ ดยส่วนใหญ่นบั ถือศาสนาพุทธ โดยมี ศาสน สถาน 7 แห่ง เป็นศูนย์รวมจิตใจ คือ 1.วัดป่าศรีสขุ เกษม ตัง้ อยูท่ ี่ บ้านสองคอน หมู่ 2 โดยมี พระครูธวัธชัย เตชวโร เป็นเจ้าอาวาส 2.วัดบ้านโนนโพธิ์ ตั้งอยู่ที่ บ้านโนนโพธิ์ หมู่ที่ 3 โดยมี พระครูสิริสมาจารคุณ เป็นเจ้าอาวาส 3.วัดบ้านโพธิ์ศิลา ตั้งอยู่ที่บ้านโพธิ์ศิลา หมู่ที่ 4 โดยมีพระครูอธิการทองค�ำ ธีปธรรมโม เป็นเจ้าอาวาส 4.วัดสวนภิรมย์ ตั้งอยู่ที่บ้านนาหว้า หมู่ 5 โดย มีพระครูผาสุกิจ วรธรรม เป็นเจ้าอาวาส 5.วัดบ้านก้าวหน้าสามัคคี ตั้งอยู่ที่ บ้านก้าวหน้าสามัคคี โดยมีพระสุชาติ บุญยกาโม เป็นเจ้าอาวาส 6.วัดบ้าน ดงสวาง ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นดงสวาง หมู่ 7 โดยมีพระอธิการสัมภาษณ์ วรธมโม เป็น เจ้าอาวาส 7.วัดบ้านค�ำงูเหลือม ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นค�ำงูเหลือม หมู่ 10 โดยมีพระครู นิรันดร์ เป็นเจ้าอาวาส
AMNAT CHAROEN I SBL บันทึกประเทศไทย
.
3
.indd 61
61
9/12/2563 10:02:52
WO R K LI FE
สถานที่ท่องเที่ยวทางธรรมประจ�ำต�ำบล
สักการบูชา “พระพุทธองค์ทรงสัมมาสัมโพธิญาณ” วัดป่าศรีสุขเกษม บ้านนาห้วยยาง ต�ำบลโนนโพธิ์ จังหวัดอ�ำนาจเจริญ เมื่อประมาณปี พ.ศ. 2484 หลวงปู่อรุณ พุ่มโพธิ์ ได้ชักชวนให้ชาวบ้านห้วยยางและบ้านสองคอน ย้ายจากที่เดิม คือวัดบ้านนาห้วยยาง แล้วมาตั้งวัดใหม่ มีผู้มีจิตศรัทธาบริจาคที่ดินเพื่อสร้างวัดคือ นางชน ไหว้ครู เป็นจ�ำนวน 24 ไร่ โดยในขณะนั้นมีนายเพ็ง ไหว้ครู เป็นหัวหน้าฝ่ายบ้านเมืองได้พร้อมใจกันตั้ง ชื่อวัดแห่งนี้ใหม่ว่า “วัดป่าศรีสุขเกษม” ซึ่งวัดแห่งนี้เป็นที่ปฏิบัติกิจทางสงฆ์และเป็นสถานที่ยึดเหนี่ยวจิตใจของพุทธศาสนิกชนในบริเวณใกล้เคียงมาจนถึง ทุกวันนี้ ต่อมาในปี พ.ศ. 2540 พระธรรมธรวิชัย กันตจาโร พร้อมทั้งชาวบ้านนาห้วยยางและบ้านสองคอนได้ร่วมมือร่วมใจกันก่อสร้างพระพุทธรูปองค์ใหญ่ซึ่งมี ขนาดหน้าตักกว้าง 7.99 เมตร สูง 16.99 เมตร และในปี พ.ศ.2541 คณะกรรมการหมู่บ้านทั้งสองได้ท�ำเรื่องเพื่อขอพระราชทานนามจากสมเด็จพระญาณ สังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาปรินายก และได้รับพระราชทานนามว่า พระพุทธองค์ทรงสัมมาสัมโพธิญาณ
62
.
3
SBL บันทึกประเทศไทย I อำ�นาจเจริญ
.indd 62
9/12/2563 10:02:53
ทิ้งความเหน็ดเหนื่อยไว้กับ ที่พักอ�ำเภอชานุมาน จังหวัดอ�ำนาจเจริญ
Chomtawanresort ชมตะวันรีสอร์ท
หลังจากต้องนั่งรถนาน ๆ หรือตะลอนเที่ยวจนเพลีย แค่ได้อาบน�้ำแล้วนอนกลิ้งตากแอร์บนเตียงก็ช่วยเรียก ความสดชื่นได้เยอะ อีกทั้งบ้านแต่ละหลังค่อนข้างเป็น ส่วนตัวและยังเน้นเรื่องความสะอาดกันแบบสุด ๆ รับรอง พักสบายหายเหนื่อยแน่นอน มาอ�ำนาจเจริญครั้งใด ในอ�ำเภอชานุมาน อย่าลืมแวะพัก ชมตะวัน รีสอร์ท กันนะคะ ถ้าไม่อยากนอนค้างในตัวเมืองลองเปลี่ยนบรรยากาศ แวะมานอนเล่นตีพุงให้สบายใจพร้อมชมวิวชิลล์ ๆ กับที่พัก ภายในบ้านแต่ละหลังเน้นความเรียบง่าย เพื่อให้ทุกคนที่เข้าพักได้สัมผัสการใช้ชีวิต แบบต่างจังหวัดอย่างแท้จริง เลขที่ 93 หมู่ 14 บ้านโนนส�ำราญ ต�ำบลชานุมาน อ�ำเภอชานุมาน จังหวัดอ�ำนาจเจริญ 083 562 0417 Chomtawanresort - ชมตะวันรีสอร์ท 1
.indd 63
9/12/2563 11:51:33
History of buddhism....
วัดภูหินเหล็กไฟ พระชุมพล กิตติโก เจ้าอาวาสวัดภูหินเหล็กไฟ
64
ส�ำหรับวัดภูหินเหล็กไฟแห่งนี้ มีพระชุมพล กิตติโก เป็นผู้ก่อตั้งและเป็น เจ้าอาวาส พื้นที่ของวัดตั้งอยู่ติดแม่น�้ำโขง ท�ำให้มีทัศนียภาพสวยงามและ เงียบสงบ ร่มรื่น ร่มเย็น เหมาะแก่การปฏิบัติธรรม และยังเป็นสถานที่ให้นัก ท่องเที่ยว ประชาชนเข้ามากราบไหว้พระพุทธรูปประจ�ำวัด และท�ำบุญ ตักบาตรในวันส�ำคัญต่างๆ เป็นประจ�ำ ซึ่งวัดแห่งนี้เป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจ ของญาติโยม
วัดภูหินเหล็กไฟ ตั้งอยู่บ้านหินกอง หมู่ที่ 5 ต�ำบลโคกก่ง อ�ำเภอชานุมาน จังหวัดอ�ำนาจเจริ โทรศัพท์ : 064-5529799
SBL บันทึกประเทศไทย I อ�ำนาจเจริญ
.indd 64
17/12/2563 11:34:12
ความเป็นมา พอสังเขป
พระชุมพล กิตติโก เจ้าอาวาสวัดภูหินเหล็กไฟ
พระชุมพล กิตติโก บวชวันที่ 1 มิถุนายน 2549 ที่พักส�ำราญ นิเวศน์อารามหลวง บวชนาคหลวงเฉลิมฉลองครบรอบ 60 พรรษา ครองราชย์ในหลวงรัชกาลที่ 9 และก็ได้ไปอยู่วัดแสนสวัสดิ์ทัศนาราม บ้านแสนสวาส ต�ำบลบุ่ง อ�ำเภอเมือง จังหวัดอ�ำนาจเจริญ ท่านบวช ได้ 2 พรรษาและขอเป็นศิษย์ขององค์หลวงปูสรวง ที่วัดถ�้ำพรหม สวัสดิ์ จังหวัดลพบุรี หลังจากนั้นท่านก็ได้เกิดนิมิตเห็นภูเขาและน�้ำ หลายครั้ง จนได้มาอยู่ที่วัดภูหินเหล็กไฟ ตามนิมิต ในปี พ.ศ. 2551 และได้เริ่มพัฒนาก่อสร้าง วัดภูหินเหล็กไฟ ในปี พ.ศ. 2553 จนถึง ปัจจุบันนี้ พระชุมพล กิตติโก ได้ร่วมกับชาวบ้าน และญาติโยม ช่วยกัน พัฒนาสร้างถาวรวัตถุ และปูชนียวัตถุ เพื่อส่งเสริมพระพุทธศาสนา ให้เจริญงอกงามในใจของชาวพุทธต่อไป ซึ่งดูได้จากความสวยงาม ของซุ้มประตูวัด อุโบสถ พระประธานศรีวิชัย และสิ่งต่างๆ รอบ บริเวณวัด ซึ่งเกิดจากแรงศรัทธาของญาติโยมทั้งหลายที่ได้ร่วมกัน พัฒนาวัดมาโดยตลอด ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน AMNAT CHAROEN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 65
65
9/12/2563 16:11:03
66
SBL บันทึกประเทศไทย I อ�ำนาจเจริญ
.indd 66
9/12/2563 16:11:11
History of buddhism....
วัดศรีบุญเรือง พระมหาทินกร อิสฺสโร ป.ธ.9 เจ้าอาวาสวัดศรีบุญเรือง / เจ้าคณะอำ�เภอชานุมาน
วัดศรีบุญเรือง ตั้งอยู่เลขที ่ 210 บ้านชานุมาน อ�ำเภอชานุมาน จังหวัดอ�ำนาจเจริญ
วัดศรีบญ ุ เรือง ต�ำบลชานุมาน อ�ำเภอชานุมาน จังหวัดอุบลราชธานี (ปัจจุบนั จังหวัดอ�ำนาจเจริญ) มีเนือ้ ทีท่ งั้ หมด 3 ไร่ 2 งาน 32 ตารางวา เดิมตั้งอยู่ริมแม่น�้ำโขง เป็นวัดเก่าแก่โบราณ นายราชวังเมืองซึ่งเป็น หัวหน้าชาวบ้านได้ยา้ ยจากทีเ่ ดิมไปสร้างทีใ่ หม่เมือ่ ปี พ.ศ.2367 ซึง่ ห่าง จากวัดเดิมประมาณ 20 เส้น ได้สร้างกุฎีและศาลาการเปรียญ มี พระภิกษุสา เป็นเจ้าอาวาสรูปแรก จนกระทั่ง พ.ศ.2397 พระภิกษุสา ก็มรณภาพ
ต่อมามีเจ้าอาวาสปกครองวัด ดังนี้
- พระภิกษุโท พ.ศ. 2379 - พระภิกษุนวน พ.ศ. 2417 - พระภิกษุบุตดี พ.ศ. 2427 - พระภิกษุพรม พ.ศ. 2429 - พระภิกษุจันทร์ พ.ศ. 2437 - พระภิกษุเภา พ.ศ. 2449 - พระภิกษุอ่อน พ.ศ. 2457 - พระภิกษุบุญสอน พ.ศ. 2460 - พระภิกษุบุญจันทร์ พ.ศ. 2466 - พ.ศ.2477 พระครูชานุมานพิทกั ษ์ เจ้าคณะต�ำบลเขมราฐ มาเป็น เจ้าอาวาสและเจ้าคณะอ�ำเภอชานุมาน จนถึง พ.ศ.2495 ท่านมรณภาพ - พ.ศ.2495-2499 พระครูเมธีชานุเขต (ลี เมธีโก) เป็นเจ้าอาวาส และเจ้าคณะอ�ำเภอชานุมาน - พ.ศ.2500-2557 พระครูเมธีชานุเขต (สงวน สุภาจาโร) เป็นเจ้า อาวาสและเจ้าคณะอ�ำเภอชานุมาน - พ.ศ. 2557-ปัจจุบัน พระมหาทินกร อิสฺสโร เปรียญธรรม 9 ประโยค มาเป็นเจ้าอาวาสและเจ้าคณะอ�ำเภอชานุมาน
พระมหาทินกร อิสฺสโร ป.ธ.๙
เจ้าอาวาสวัดศรีบุญเรือง/เจ้าคณะอ�ำเภอชานุมาน
AMNAT CHAROEN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 67
67
9/12/2563 16:14:47
เม ทางไก ท�ำบุญ บริจา นายพ นางม ได้ชัก
อาคาร
- อุโ เป็นอาค -ศ พงศ. 2 -ห 2528 - กุฏ 4 หลัง -ศ พ.ศ. 25
WO R K LI FE
องค์การบริหารส่วนต�ำบลโคกสาร “ การพั ฒ นาของต� ำ บลโคกสาร เป็ น นโยบายส� ำ คั ญ ที่ อ งค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บลโคกสาร จะต้ อ งดู แ ลปั ญ หาร่ ว มกั บ ส่ ว นราชการอื่ น ๆ ของอ� ำ เภอและจั ง หวั ด เพื่ อ ความเจริ ญ ของท้ อ งถิ่ น และความผาสุ ก ของพี่ น ้ อ งประชาชน”
ทีท่ ำ� การองค์การบริหารส่วนต�ำบลโคกสาร ตัง้ อยูใ่ นอ�ำเภอชานุมาน จังหวัดอ�ำนาจเจริญ มีจำ� นวน หมู่บ้านที่อยู่ในเขตการปกครองทั้งหมด 9 หมู่บ้าน คือ หมู่ที่ 1 บ้านโคกสารเทิง หมู่ที่ 2 บ้านโคกเจริญ หมู่ที่ 3 บ้านคันสูง หมู่ที่ 4 หินขัน หมู่ที่ 5 โคกสารท่า หมู่ที่ 6 โคกสะอาด หมู่ที่ 7 โคกนกกระเต็น หมู่ที่ 8 บ้านโคกเจริญ หมู่ที่ 9 โคกสาร และมีจ�ำนวนประชากรทั้งหมด 6,107 คน ชาย 3,024 คน หญิง 3,083 คน จ�ำนวนครัวเรือน 1,684 (ข้อมูล ณ ตุลาคม พ.ศ. 2563) ลักษณะภูมิประเทศ โดยทั่วไปของต�ำบลโคกสารเป็นที่ลุ่ม เป็นเนินเขาเตี้ยๆ มีแม่น�้ำโขงเป็นแนว เขตกั้นระหว่างจังหวัดอ�ำนาจเจริญกับสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวที่อ�ำเภอชานุมาน
นายเหรี ย ญ บุ ญ ทาป นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลโคกสาร
ต�ำบลโคกสาร เป็น 1 ใน 5 ต�ำบลในเขต อ�ำเภอชานุมาน จังหวัดอ�ำนาจเจริญ มีอาณาเขต พื้นที่อยู่ติดกับท้องถิ่น ดังนี้คือ ทิศเหนือ ติดต่อ ต�ำบลชานุมาน อ�ำเภอชานุมาน จังหวัดอ�ำนาจเจริญ ทิ ศ ตะวั น ออก ติ ด ต่ อ กั บ แม่ น�้ ำ โขงประเทศ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ทิศใต้ ติดต่อกับต�ำบลโคกก่ง อ�ำเภอชานุมาน จังหวัด อ�ำนาจเจริญ และ ทิศตะวันตก ติดต่อกับต�ำบล ค�ำเขือ่ นแก้ว อ�ำเภอชานุมาน จังหวัดอ�ำนาจเจริญ
68
.
5
SBL บันทึกประเทศไทย I อำ�นาจเจริญ
.indd 68
9/12/2563 9:36:20
WORK L IFE
สภาพทางสังคม
การศึกษา ในพื้นที่องค์การบริหารส่วนต�ำบลโคกสาร มีโรงเรียนในพื้น ระดับประถมศึกษา 2 แห่ง คือ โรงเรียนบ้านคันสูง และ โรงเรียนบ้านหินขัน โรงเรียนระดับประถมศึกษาขยายโอกาส 1 แห่ง (ข้อมูล ณ วันที่ 10 มิถนุ ายน พ.ศ.2562) สาธารณสุข ต�ำบลโคกสารมีโรงพยาบาลชุมชน 1 แห่ง คือโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพชุมชนต�ำบลโคกเจริญ ตั้งอยู่ที่บ้านโคกเจริญ หมู่ที่ 8 ต�ำบลโคกสาร อ�ำเภอชานุมาน จังหวัดอ�ำนาจเจริญ โดยให้บริการทางด้าน สาธารณสุขในเขตต�ำบลโคกสาร 9 หมู่บ้าน การสังคมสงเคราะห์ ในแต่ละเดือนองค์การบริหารส่วนต�ำบลโคกสาร ได้มกี ารจ่ายเบีย้ ยังชีพให้แก่ประชาชนในเขตพืน้ ทีต่ ำ� บลโคกสารรายละเอียด ดังนี้ ผู้ติดเชื้อเอดส์ ( H.I.V.) 3 คน ผู้สูงอายุ 849 คน ผู้พิการทุพพลภาพ 226 คน (ข้อมูล ณ ตุลาคม พ.ศ. 2563) ระบบบริการพืน้ ฐาน เส้นทางคมนาคมการคมนาคมของต�ำบลโคกสาร มีถนนสายหลักคือ ทางหลวงหมายเลข 2034 สายหนองผือ–มุกดาหาร เป็นถนนสายส�ำคัญจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนสู่ตอนล่างตาม ล�ำแม่น�้ำโขง
โครงการอบรมคุณธรรม จริยธรรม
ระบบเศรษฐกิจ
การเกษตร ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม โดยมี กิจกรรมการเกษตรทีส่ ำ� คัญได้แก่ ท�ำนา รองลงมา คือ ท�ำไร่ เลีย้ งสัตว์รบั จ้าง นอกจากนี้ยังมีกิจกรรมอื่นๆ คือ ปลูกพริก ตามล�ำดับ การประมง พื้นที่ต�ำบลโคกสารติดแม่น�้ำโขงประชากรบางส่วนจึง ประกอบอาชีพท�ำการประมงเพื่อเป็นอาหารและขายเพื่อเป็นรายได้เสริม ปลาแม่น�้ำโขงที่พบเห็นเป็นส่วนมาก ได้แก่ ปลาเนื้ออ่อน ปลาเพี้ย ปลาเคิง ปลายาง เป็นต้น การปศุสัตว์ ในพื้นที่ต�ำบลโคกสารจะนิยมเลี้ยงโค กระบือเพราะสภาพ ภูมิประเทศส่วนใหญ่จะเป็นทุ่งหญ้า เหมาะแก่การเลี้ยงโค กระบือ การบริการ รีสอร์ท จ�ำนวน 1 แห่ง
กิจกรรม รร.ผู้สูงอายุ
กิจกรรมจิตอาสา
อุตสาหกรรม
1. ลานมันนพรัตน์ หมู่ 3 บ้านคันสูง ต�ำบลโคกสาร อ�ำเภอชานุมาน จังหวัดอ�ำนาจเจริญ และ 2. บริษัทเอี่ยมอ�ำนาจแป้งมัน 199 หมู่ 9 ต�ำบล โคกสาร อ�ำเภอชานุมาน จังหวัดอ�ำนาจเจริญ
องค์กร/กลุ่มอาชีพ
จากการจัดเวทีชุมชนและสอบถามตัวแทนกลุ่มและองค์กรในชุมชน ท�ำให้ได้ข้อมูลกลุ่มต่างๆ ในต�ำบลโคกสาร ดังนี้ กลุ่มเย็บผ้า กลุ่มทอเสื่อกก กลุ่มจักสาน และกลุ่มแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร ในจ�ำนวนดังกล่าวมี กลุ่มที่น่าสนใจ เช่น กลุ่มแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรหมู่ที่ 4 เช่น กล้วย อบน�้ำผึ้ง และ ปลูกถั่วลิสงเพื่อน�ำมาแปรรูป หลังจากปลูกถั่วลิสงในนาแล้ว ก็ท�ำนาซึ่งเป็นการปลูกพืชหมุนเวียนท�ำให้ดินมีความอุดมสมบูรณ์และยัง ท�ำให้ขา้ วงามด้วย
โครงการแข่งขันกีฬาโคกสารคัพ
โครงการแข่งขันตกปลานานาชาติ AMNAT CHAROEN I SBL บันทึกประเทศไทย
.
5
.indd 69
69
9/12/2563 9:36:22
WO R K LI FE
การท่องเที่ยว
ในพื้นที่ต�ำบลโคกสาร มีสถานที่ท่องเที่ยวที่สนใจ ดังนี้ 1. แก่งคันสูง ตั้งอยู่ที่บา้ นคันสูง หมู่ 3 ต�ำบลโคกสาร อ�ำเภอชานุมาน จังหวัดอ�ำนาจเจริญ 2. แก่งส่องใหญ่ ตั้งอยู่ที่บ้านโคกนกกระเต็น หมู่ 7 ต�ำบลโคกสาร อ�ำเภอชานุมาน จังหวัดอ�ำนาจเจริญ 3. น�้ำตกลานถ�้ำพระ ตั้งอยู่ระหว่างบ้านโคกสะอาดและบ้านโคกนก กระเต็น ต�ำบลโคกสาร อ�ำเภอชานุมาน จังหวัดอ�ำนาจเจริญ 4. แก่งหินขัน ตั้งอยู่ที่บ้านหินขัน หมู่ 4 ต�ำบลโคกสาร อ�ำเภอชานุมาน จังหวัดอ�ำนาจเจริญ
70
.
5
SBL บันทึกประเทศไทย I อำ�นาจเจริญ
.indd 70
9/12/2563 9:36:28
WORK L IFE
ประเพณีและงานประจ�ำปี
1. งานแข่งเรือบ้านคันสูง หมู่ 3 ต�ำบลโคกสาร อ�ำเภอชานุมาน จังหวัด อ�ำนาจเจริญ 2. งานบุญบั้งไฟ ต�ำบลโคกสาร อ�ำเภอชานุมาน จังหวัดอ�ำนาจเจริญ 3. งานลอยกระทง บ้านโคกสารท่า หมู่ 5 ต�ำบลโคกสาร อ�ำเภอชานุมาน จังหวัดอ�ำนาจเจริญ 4. งานประเพณีบญ ุ พระเวสสันดรชาดก ต�ำบลโคกสาร อ�ำเภอชานุมาน จังหวัดอ�ำนาจเจริญ
ประเพณีแข่งเรือหาปลา ประเพณีลอยกระทง ศาสนา ประเพณี และ วัฒนธรรม
ประเพณีบุญบั้งไฟ
การนับถือศาสนา ประชากรส่วนใหญ่ในพื้นที่ต�ำบลโคกสาร นับถือ ศาสนาพุทธ โดยมีพุทธสถานทั้งหมด 8 แห่ง ดังนี้ 1. วัดศิริมงคล ตั้งอยู่ที่บา้ นโคกสารเทิง หมู่ 1 ต�ำบลโคกสาร อ�ำเภอ ชานุมาน จังหวัดอ�ำนาจเจริญ 2. วัดโคกเจริญ ตั้งอยู่ที่บ้านโคกเจริญ หมู่ 2 ต�ำบลโคกสาร อ�ำเภอ ชานุมาน จังหวัดอ�ำนาจเจริญ 3. วัดบ้านคันสูง ตั้งอยู่ที่บ้านคันสูง หมู่ 3 ต�ำบลโคกสาร อ�ำเภอ ชานุมาน จังหวัดอ�ำนาจเจริญ 4. วัดโพธิ์ศิลาราม ตั้งอยู่ที่บ้านหินขัน หมู่ 4 ต�ำบลโคกสาร อ�ำเภอ ชานุมาน จังหวัดอ�ำนาจเจริญ 5. วัดแจ่มอารมณ์ ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นโคกสารท่า หมู่ 5 ต�ำบลโคกสาร อ�ำเภอ ชานุมาน จังหวัดอ�ำนาจเจริญ 6. วัดโคกสะอาด ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นโคกสะอาด หมู่ 6 ต�ำบลโคกสาร อ�ำเภอ ชานุมาน จังหวัดอ�ำนาจเจริญ 7. วัดโคกนกกระเต็น ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นโคกนกกระเต็น หมู่ 7 ต�ำบลโคกสาร อ�ำเภอชานุมาน จังหวัดอ�ำนาจเจริญ 8. วัดป่าโคกสาร สาขาภูมะโรง ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นโคกสาร หมู่ 9 ต�ำบลโคกสาร อ�ำเภอชานุมาน จังหวัดอ�ำนาจเจริญ
AMNAT CHAROEN I SBL บันทึกประเทศไทย
.
5
.indd 71
71
9/12/2563 9:36:30
WO R K LI FE
ทรัพยากรธรรมชาติ
ปลูกป่าเฉลิมพระเกียรติ
น�้ำ ที่ใช้ในการอุปโภค-บริโภค เป็นน�้ำที่ได้จากน�้ำฝนและน�้ำดิบจาก แม่น�้ำโขงและยังมีแหล่งน�้ำจากธรรมชาติ เช่น ห้วยยาง ห้วยถ่ม และห้วย ตุ้มแตน ป่าไม้ ส่วนใหญ่เป็นป่าเต็งรัง ป่าไม้มีค่า ได้แก่ ยาง ประดู่แดง เต็ง รัง เป็นต้นพืน้ ที่ป่ามีความสมบูรณ์อยู่ในบริเวณพื้นที่ตอนบนแนวเขตติดต่อกับ จังหวัดมุกดาหารและจังหวัดยโสธร คุณภาพของทรัพยากร ในพื้นที่ขององค์การบริหารส่วนต�ำบลโคกสาร ส่วนมากเป็นพื้นที่ส�ำหรับเพาะปลูก เป็นที่นาไร่ สวน ที่อยู่อาศัย ร้านค้า สถานประกอบการ ตามล� ำ ดั บ และมี พื้ น ที่ เ พี ย งเล็ ก น้ อ ยที่ เ ป็ น พื้ น ที่ สาธารณะ ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่ ได้แก่ ดิน น�้ำ ต้นไม้ อากาศที่ไม่มี มลพิษ ปัญหาคือ เนื่องจากว่าพื้นที่บางส่วนเป็นดินเค็ม น�้ำใต้ดินก็เค็ม หรือ ไม่กเ็ ป็นน�ำ้ กร่อย ไม่สามารถทีจ่ ะน�ำน�ำ้ จากใต้ดนิ มาใช้ในการอุปโภค-บริโภค ได้ ต้องอาศัยน�้ำดิบจากแหล่งอื่นและน�้ำฝนน�้ำในการเกษตรก็ต้องรอฤดูฝน มีแหล่งน�้ำใช้ในการเกษตรไม่เพียงพอ ปัญหาคือยังไม่สามารถหาแหล่งน�้ำ ส�ำหรับการเกษตรได้เพิม่ ขึน้ เพราะพืน้ ทีส่ ว่ นมากเป็นของประชาชน เอกชน โครงการปลูกต้นไม้ในวันส�ำคัญต่างๆ ในพืน้ ทีข่ องสาธารณะรวมทัง้ ปรับปรุง สภาพภูมิทัศน์ให้ร่มรื่นสวยงาม เป็นที่พักผ่อนหย่อนใจของประชาชน
ภูมิปัญญาท้องถิ่น
ศิลปะการแสดงหมอล�ำ (อังคณา คุณชัย) ภาษาถิ่นของชาวต�ำบลโคกสาร คือ ภาษาภูไท และภาษาลาวส่วย
สินค้าพื้นเมืองและของที่ระลึก
ผลิตภัณฑ์กล้วยตากกล้วยตากอบน�้ำผึ้งบ้านหินขัน หมู่ที่ 4 ต�ำบล โคกสาร อ�ำเภอชานุมาน จังหวัดอ�ำนาจเจริญ และ ผ้าพื้นบ้านบ้านโคกนก กระเต็น หมู่ที่ 7 ต�ำบลโคกสาร อ�ำเภอชานุมาน จังหวัดอ�ำนาจเจริญ 72
.
5
SBL บันทึกประเทศไทย I อำ�นาจเจริญ
.indd 72
9/12/2563 9:36:32
History of buddhism....
วัดศรีชมภู่
ส�ำนักปฏิบัติธรรมประจ�ำจังหวัดอ�ำนาจเจริญ แห่งที่ 5 พระครูสิริวรานุกูล (สวาท เตชวโร) เจ้าคณะอำ�เภอปทุมราชวงศา / เจ้าอาวาสวัดศรีชมภู่
วัดศรีชมภู่ เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์ฝ่ายมหานิกาย ตั้งอยู่เลขที่ 196 หมู่ที่ 2 ต�ำบลนาหว้า อ�ำเภอปทุมราชวงศา จังหวัดอ�ำนาจเจริญ
พระครูสิริวรานุกูล (สวาท เตชวโร)
เจ้าคณะอ�ำเภอปทุมราชวงศา / เจ้าอาวาสวัดศรีชมภู่
AMNAT CHAROEN I SBL บันทึกประเทศไทย
1
.indd 73
73
9/12/2563 11:42:55
History of buddhism....
วัดเชตวนาราม พระอธิการสายยัน ติสฺสวโร เจ้าอาวาสวัดเชตวนาราม
เมื่อปี พ.ศ.2465 พ่อเฒ่าจารย์ชาสิงห์คำ � สาใส, พ่อเฒ่าจารย์ชาฟอง เนตรสว่าง พ่อเฒ่าจ�ำ่ เหมี่ยง เพ็งพวง เป็นต้น ได้ย้าย มาจากบ้านหนองหลัก อ�ำเภอม่วงสามสิบ จังหวัดอุบลราชธานี มาเห็นพื้นที่อุดมสมบูรณ์เหมาะสมกับการประกอบอาชีพ จึงตัง้ หลักปักฐานสร้างบ้านขึน้ ทีน่ ี้ ครัง้ แรกมีประมาณ 6- 7 หลังคาเรือน ต่อมาประชากรเพิม่ ขึน้ หลายสิบหลังคาเรือน คนทัว่ ไป เรียกชื่อบ้านว่า “ บ้านหนองโจด” เพราะมีหนองไผ่โจดอยู่ที่หมู่บ้าน คนจึงนิยมเรียกว่าบ้านหนองโจด ต่อมาเมื่อปี พ.ศ.2480 บ้านหนองโจดจึงได้เปลี่ยนชื่อเป็นทางการว่า “ บ้านแสนสุข” จนถึงปัจจุบัน 74
2
SBL บันทึกประเทศไทย I อ�ำนาจเจริญ
.indd 74
9/12/2563 11:40:01
เมือ่ ปี พ.ศ. 2469 หลวงปูอ่ ปุ ชั ฌาย์มี วัดบ้านลือ ได้นำ� พาญาติโยม ชาวบ้านแสนสุขสร้างวัดประจ�ำหมู่บ้านขึ้น โดยมีพระอาจารย์สิม พิลาทอง เป็นเจ้าอาวาส เมื่อปี พ.ศ.2487 พระอาจารย์ชื่น ได้สร้างรั้ว รอบวัด ต่อมาปี พ.ศ. 2493 พระอาจารย์ใส ได้สร้างซ่อมแซมศาลา การเปรียญหลังเก่า เริม่ ตัง้ แต่ปี พ.ศ.2508 เป็นต้นมา ต�ำแหน่งเจ้าอาวาส วัดเชตวนาราม ว่างลง เมื่อปี พ.ศ. 2512 ชาวบ้านแสนสุขจึงได้ไป อาราธนา พระอาจารย์ค�ำสิงห์ ถามวโร หรือพระครูกิตติธรรมโสภิต อดี ต เจ้ า อาวาสวั ด เชตวนาราม / เจ้ า คณะอ� ำ เภอปทุ ม ราชวงศา ได้ย้ายมาจากวัดโฆสิตาราม บ้านลือ มาด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส วัดเชตวนาราม และปีพ.ศ. 2513 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา ปี พ.ศ. 2522 ได้ทำ� การผูกพัทธสีมา และได้บรู ณปฏิสงั ขรณ์ศาสนวัตถุขนึ้ หลายอย่าง เช่น สร้างอุโบสถ กุฏิพระสงฆ์ สามเณร ศาลาการเปรียญ หอระฆัง ก�ำแพงวัด เมรุ ปีพ.ศ. 2527 ได้รบั แต่งตัง้ เป็นเจ้าคณะต�ำบลสือ ปี พ.ศ. 2538 ได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าคณะอ�ำเภอปทุมราชวงศา เป็นองค์ แรกของอ�ำเภอ และปีพ.ศ. 2556 หลวงพ่อพระครูกิตติธรรมโสภิตได้ มรณภาพลง พระครูปทีปธรรมานุยุต จึงได้รับแต่งตั้งด�ำรงต�ำแหน่ง เจ้าอาวาสวัดเชตวนารามแทน และน�ำพาญาติโยมชาวบ้านได้สร้าง พระธาตุเจดีย์ศรีปทุมขึ้น ตามเจตนารมณ์ของหลวงพ่อพระครูกิตติ ธรรมโสภิต และปี พ.ศ. 2559 ท่านพระครูปทีปธรรมานุยุตได้ลาออก จากต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดเชตวนาราม ท�ำให้ตำ� แหน่งเจ้าอาวาสวัดว่างลง ต่อมาจึงได้แต่งตั้งพระอาจารย์สายยัน ติสฺสวโร สานงานการสร้าง พระธาตุเจดีย์ศรีปทุมต่อ ซึ่งท่านเป็นรองเจ้าอาวาสให้ด�ำรงต�ำแหน่ง เจ้าอาวาสวัดเชตวนาราม องค์ปัจจุบัน
พระครูกิตติธรรมโสภิต
อดีตเจ้าอาวาสวัดเชตวนาราม
พระอธิการสายยัน ติสฺสวโร เจ้าอาวาสวัดเชตวนาราม
AMNAT CHAROEN I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 75
75
9/12/2563 11:40:13
History of buddhism....
วัดจันทรังษี พระครูปทีปธรรมานุยุต รองเจ้าคณะอำ�เภอปทุมราชวงศา/ เจ้าอาวาสวัดจันทรังษี
วัดจันทรังษี ตั้งอยู่เลขที่ 53 หมู่ที่ 7 ต�ำบลลือ อ�ำเภอปทุมราชวงศา จังหวัดอ�ำนาจเจริญ
วัดจันทรังษี เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ก่อตัง้ วัดเมือ่ ปี พ.ศ. 2469 เดิมชื่อ วัดสิงห์ทอง ภายในวัดมีการจัดการศึกษา ธรรมศึกษา ศูนย์ศึกษาพระพุทธ ศาสนาวันอาทิตย์ ศูนย์เด็กก่อนเกณฑ์ในวัด และศูนย์ผลิตสมุนไพร
พระครูรังษีนวกิจ
อดีตเจ้าอาวาสวัดจันทรังษี
พระครูปทีปธรรมานุยุต
รองเจ้าคณะอ�ำเภอปทุมราชวงศา / เจ้าอาวาสวัดจันทรังษี
76
SBL บันทึกประเทศไทย I อ�ำนาจเจริญ
1
.indd 76
9/12/2563 11:23:24
If you love
HISTORY OF THAILAND you'll adore SBL MAGAZINE
www.sbl.co.th
SBL บันทึกประเทศไทย SBL MAGAZINE SBL บันทึกประเทศไทย
วั ด ภู เ ขาพระอั ง คาร ตั้งอยู่ในท้องที่ อ�ำเภอเฉลิมพระเกียรติ
และเขตของอ� ำ เภอนางรอง จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ เป็ น ภู เ ขาไฟที่ ดั บ สนิ ท แล้ ว ห่ า งจากภู เ ขาพนมรุ ้ ง ไปทางทิ ศ ตะวั น ตกประมาณ 10 กิ โ ลเมตร ห่ า งจาก จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ ป ระมาณ 72 กิ โ ลเมตร ตามเส้ น ทางบุ รี รั ม ย์ - นางรอง
Book of sbl.indd 16
. - 19/04/2562 14:30:07 PM
WO R K LI FE
องค์การบริหารส่วนต�ำบลลือ “ต� ำ บลน่ า อยู ่ ราษฎร์ เ ชิ ด ชู ศ าสนา ภู มิ ป ั ญ ญามากมี ของดี ข ้ า วหอมมะลิ เกจิ พ ระอาจารย์ ใบลานต� ำ นานศิ ล ป์ ท้ อ งถิ่ น พอเพี ย ง ลื อ เลื่ อ งต� ำ บลลื อ ” ค� ำ ขวั ญ
นายวิ ท ยา ชาลี โ สม
ปลัดองค์การบริหารส่วนต�ำบลลือ ปฏิบัติหน้าที่นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลลือ
องค์การบริหารส่วนต�ำบลลือ ตั้งอยู่หมู่ที่ 7 ถนนสว่างใต้–พนา ต�ำบลลือ อ�ำเภอปทุมราชวงศา จังหวัดอ�ำนาจเจริญ อยู่ห่างจากอ�ำเภอปทุมราช วงศา 20 กิโลเมตร เนื้อที่องค์การบริหารส่วน ต�ำบลลือ มีเนื้อที่ทั้งหมด 69 ตารางกิโลเมตร (49,847 ไร่) พื้นที่การเกษตร 27,816 ไร่ และ มีป่าไม้ 9,000 ไร่ ลักษณะภูมิประเทศ เป็นที่ราบลุ่ม ส่วนใหญ่ เป็ น พื้ น ที่ ท� ำ การเกษตรและเป็ น ที่ อ ยู ่ อ าศั ย ทิศเหนือ จดต�ำบลนาป่าแซง อ�ำเภอปทุมราชวงศา จังหวัดอ�ำนาจเจริญ ทิศตะวันออก จดต�ำบลห้วย อ�ำเภอปทุมราชวงศา จังหวัดอ�ำนาจเจริญ และ ต�ำบลหนองเต่า อ�ำเภอตระการพืชผล จังหวัด อุบลราชธานี ทิศใต้ จดต�ำบลไม้กลอน อ�ำเภอพนา จังหวัดอ�ำนาจเจริญ ทิ ศ ตะวั น ตก จดต�ำบล ปลาค้าว อ�ำเภอเมือง จังหวัดอ�ำนาจเจริญ และ ต�ำบลโนนงาม อ�ำเภอปทุมราชวงศา จังหวัด อ�ำนาจเจริญ 78
.
3
ประวัติความเป็นมา สภาต�ำบลลือประกาศจัดตั้งขึ้นเมื่อ ปี 2537 ตามลักษณะเขตต�ำบลตามกฎหมายว่าด้วยลักษณะ ปกครองท้องที่ และต่อมาจัดตั้งเป็นองค์การบริหารส่วนต�ำบลลือ ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2539 และประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2539 มีฐานะเป็นนิติบุคคล และเป็นราชการบริหารส่วนท้องถิ่น ประกอบด้วย ส่วนที่ 1 สภาองค์การ บริหารส่วนต�ำบล มีสมาชิก จ�ำนวน 28 คน มาจากการเลือกตั้ง และ ส่วนที่ 2 นายกองค์การบริหาร ส่วนต�ำบลลือ ปัจจุบันมี นายวิทยา ชาลีโสม ปลัดองค์การบริหารส่วนต�ำบล ปฏิบัติหน้าที่นายก องค์การบริหารส่วนต�ำบลลือ ตามประกาศคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 85/2557 มีอ�ำนาจหน้าที่ ในการพัฒนาต�ำบลทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม โดยมีเป้าหมายในจัดบริการสาธารณะ ให้กับประชาชน ตามพระราชบัญญัติสภาต�ำบลและองค์การบริหารส่วนต�ำบล พ.ศ. 2537 องค์การบริหารส่วนต�ำบลลือ มีหมู่บ้านในเขตทั้งหมด 14 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ที่ 1 บ้านหนองลุมพุก หมู่ที่ 2 บ้านโสกใหญ่ หมู่ที่ 3 บ้านโสกใหญ่ หมู่ที่ 4 บ้านนาค�ำ หมู่ที่ 5 บ้านหนองยาง หมู่ที่ 6 บ้านแสนสุข หมู่ที่ 7 บ้านฤกษ์อุดม หมู่ที่ 8 บ้านลือ หมู่ที่ 9 บ้านเกษมสุข หมู่ที่ 10 บ้านอู่สะเภา หมู่ที่ 11 บ้านชูชาติ หมู่ที่ 12 บ้านหนองลุมพุก หมู่ที่ 13 บ้านแสนสุข และ หมู่ที่ 14 บ้านลือ โดย มีจ�ำนวนประชากรทั้งหมด 8,331 คน และมีจ�ำนวนครัวเรือนทั้งหมด 2,389 หลังคาเรือน ราษฎรส่วนใหญ่ประมาณร้อยละ 80 ประกอบอาชีพท�ำการเกษตรกรรม ได้แก่ทำ� นา ปลูกข้าว ที่เหลือ ท�ำการประมง การปศุสัตว์ ประกอบอาชีพส่วนตัว ค้าขาย และรับจ้าง
SBL บันทึกประเทศไทย I อำ�นาจเจริญ
.indd 78
9/12/2563 11:00:35
WORK L IFE
เปิ ด แผนพั ฒ นาท้ อ งถิ่ น องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บลลื อ พ.ศ. 2561– 2565 (ฉบับย่อ)
ยุทธศาสตร์การพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีความสัมพันธ์ กับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) 6 ยุทธศาสตร์ ดังนี้ 1. ยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคง 2. ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างความสามารถ ในการแข่งขัน 3. ยุทธศาสตร์การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน 4. ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทาง สังคม 5. ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตร กับสิ่งแวดล้อม 6. ยุทธศาสตร์ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการ บริหารจัดการภาครัฐ
ประชาชนในต�ำบลลือ หมู่ที่ 1-14 นับถือศาสนาพุทธ โดยมีวัดใน เขตองค์การบริหารส่วนต�ำบลลือทั้งหมด 10 วัด คือ 1. วัดศรีสุข พระครู สุธรรมโกวิท เป็นเจ้าอาวาส 2. วัดเชตวนาราม พระอธิการสายัน ติสสวโร เป็นเจ้าอาวาส 3. วัดจันทรังษี พระครูประทีปธรรมานุยุต เป็นเจ้าอาวาส 4. วัดป่าฤกษ์อุดม พระครูอุดมกิจ เป็นเจ้าอาวาส 5.วัดนาค�ำ พระอธิการ ศักดา ญาณวโร เป็นเจ้าอาวาส 6.วัดตรีสุขาราม พระครูสุวิฐานวกิจ เป็น เจ้ า อาวาส 7.วั ด สุ ท ธาวาส พระครู สุ ท ธขั น ติ ธ รรม เป็ น เจ้ า อาวาส 8.วัดโฆสิตาราม พระอริการยุทธนา สุภทโท เป็นเจ้าอาวาส 9. วัดบ้านลือ อุทธาทิพย์ พระอธิการนเรนทร จรณธมโม เป็นเจ้าอาวาส 10.วัดบ้านชูชาติ (มัชฌิมาราม) หลวงพ่อมัชฌิม ธรรมวงศ์ เป็นเจ้าอาวาส และมีส�ำนักสงฆ์ 1 แห่ง คือ ส�ำนักสงฆ์บ้านหนองยาง พระอาจารย์ สมชาย ปัญญาธิโก เป็นเจ้าอาวาส กับ ที่พักสงฆ์ 1 แห่ง คือ ที่พักสงฆ์ โสกใหญ่เมตาสิริ พระอาจารย์ทองสุข เป็นเจ้าอาวาส ประเพณีและงานประจ�ำปี : ต�ำบลลือมีงานบุญ ทั้ง 12 เดือน ตามฮีต 12 คลอง 14 และช่วงเดือนเมษายน มีงานแห่พระ และ สรงน�้ำผู้สูงอายุ ภูมิปัญญาท้องถิ่น : การทอผ้าพื้นเมือง เครื่องจักสาน และท�ำขวัญ (บายศรีสู่ขวัญ) ภาษาท้องถิ่น : ประชาชนใช้ภาษาถิ่นในการสื่อสารในชีวิตประจ�ำวัน คือภาษาอีสาน สินค้าพื้นเมืองและของที่ระลึก : ผลิตผ้าพื้นเมืองจ�ำหน่าย โบราณวัตถุส�ำคัญในต�ำบลลือ คือ ใบเสมา ค้นพบที่บริเวณโคก พระสะเนตร ในพืน้ ที่ บ้านอูส่ ะเภา หมู่ 10 รวบรวมโดยกระทรวงวัฒนธรรม
AMNAT CHAROEN I SBL บันทึกประเทศไทย
.
3
.indd 79
79
9/12/2563 11:00:38
WO R K LI FE
แผนพัฒนามหาภาค/แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด/แผนพัฒนาจังหวัด กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง (อุบลราชธานี ศรีสะเกษ ยโสธร อ�ำนาจเจริญ)
วิสัยทัศน์ “หุ้นส่วนเศรษฐกิจกับประเทศเพื่อนบ้าน” เป้าประสงค์การพัฒนา 1. เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวและเพิ่มขีดความสามารถในการผลิตของ กลุ่มจังหวัด 2. ขยายฐานการลงทุนไปสู่เพื่อนบ้าน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นในเขตจังหวัด
วิสยั ทัศน์ การพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ จังหวัดอ�ำนาจเจริญ “อ�ำนาจเจริญเมืองน่าอยู่ อู่ข้าวหอมมะลิล�้ำค่า เน้นการศึกษา กีฬา ศาสนาและวัฒนธรรม น้อมน�ำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน ให้เป็นสังคมเมืองน่าอยู่ ยุทธศาสตร์ที่ 2 ส่งเสริมการศึกษา ศาสนา อนุรักษ์ประเพณี วัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น ยุทธศาสตร์ท ี่ 3 ส่งเสริมการด�ำเนินชีวติ ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ยุทธศาสตร์ที่ 4 ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์ที่ 5 การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
ยุทธศาสตร์ขององค์การบริหารส่วนต�ำบลลือ
วิสัยทัศน์ องค์การบริหารส่วนต�ำบลลือ ได้ก�ำหนดวิสัยทัศน์ (Vision) เพื่อเป็น สถานการณ์ในอุดมคติ ซึ่งเป็นจุดมุ่งหมายและปรารถนา คาดหวังที่จะให้ เกิดขึ้นหรือบรรลุผลในอนาคตข้างหน้า ต�ำบลลือเป็นต�ำบลขนาดใหญ่ ประชาชนส่วนใหญ่พักอาศัยอยู่หนาแน่นปานกลางและสงบสุข และคาด การณ์ว่าในอนาคตต้องเป็นชุมชนที่สงบสุขน่าอยู่น่าอาศัย มีทัศนียภาพ และสิ่งแวดล้อมดี จึงได้ก�ำหนดวิสัยทัศน์ความคาดหวังที่จะเกิดขึ้นใน อนาคตดังนี้ “ต�ำบลน่าอยู่ เชิดชูศาสนา อนุรักษ์ภูมิปัญญา รักษาวัฒนธรรม”
พันธกิจ
1. พัฒนาสาธารณูปโภคพื้นฐานอย่างเป็นระบบทั่วถึง 2. ส่งเสริม เกษตรอินทรีย์และพัฒนากลุ่มอาชีพ 3. ส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพดี มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน 4. อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม 5. ส่งเสริมการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล 6. ส่งเสริม การศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ประเพณีภูมิปัญญาท้องถิ่น
80
.
3
จุดมุ่งหมายเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
1. เพื่อให้ประชาชนมีอาชีพและรายได้ แก้ไขปัญหาความยากจนของ ประชาชน 2. เพื่อปลูกฝังหลักจริยธรรมและคุณธรรมให้ประชาชนอยู่ร่วมกัน อย่างสันติสุข 3. เพื่อให้ประชาชนมีสาธารณูปโภค สาธารณูปการ อย่างทั่วถึง 4. เพื่อให้เป็นการดูแล และพัฒนาสร้างเสริมสุขภาพของประชาชน 5. เพื่อให้ประชาชนตระหนักถึงความส�ำคัญในสิทธิเสรีภาพและหน้าที่ ของประชาชนตามหลักประชาธิปไตย 6. เพื่อรักษาประเพณีท้องถิ่นอันดีงามของชุมชน 7. เพื่อใช้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมคงอยู่กับชุมชนตลอดไป
SBL บันทึกประเทศไทย I อำ�นาจเจริญ
.indd 80
9/12/2563 11:00:41
เม ทางไก ท�ำบุญ บริจา นายพ นางม ได้ชัก
อาคาร
- อุโ เป็นอาค -ศ พงศ. 2 -ห 2528 - กุฏ 4 หลัง -ศ พ.ศ. 25
History of buddhism....
วัดปัจฉิมวัน สำ�นักปฏิบัติธรรมประจำ�จังหวัดอำ�นาจเจริญ แห่งที่ 13 พระมหาสาลี กิตฺติปญฺโญ เจ้าอาวาสวัดปัจฉิมวัน / เจ้าคณะอำ�เภอพนา วัดปัจฉิมวัน ตั้งอยู่บ้านเสารีก เลขที่ 100 หมู่ที่ 5 ต�ำบลพระเหลา อ�ำเภอพนา จังหวัดอ�ำนาจเจริญ 37180
พระมหาส�ำลี กิตฺติปญฺโญ
เจ้าอาวาสวัดปัจฉิม/ เจ้าคณะอ�ำเภอพนา
วัดปัจฉิมวัน ได้รับอนุญาตตั้งเป็นส�ำนักสงฆ์ในปี พ.ศ. 2453 ได้ รับพระราชทานวิสุงคามสีมา วันที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2479 และ ได้ผูกเป็นพัทธสีมาในปี พ.ศ. 2480 มีที่ดิน 22ไร่เศษเป็นลักษณะ สี่เหลี่ยมผืนผ้า ภายในอุโบสถประดิษฐานพระพุทธชินสีห์มุนีรัตนากรบวรสรรพ ไชยสิทธิป์ จั ฉิมนาถบพิตร ซึง่ เป็นพระประธานและประดิษฐานพระบรม สารีริกธาตุที่สมเด็จพระญาณสังวรสมเด็จพระสังฆราชสกลมหาสังฆ ปรินายก ประทานมาเมื่อ วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2546 ทางวัดได้ตั้งโรงเรียนขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2536 คือโรงเรียนพระปริยัติ ธรรมปัจฉิมวันวิทยา โดยเจ้าอธิการวิชา ญาณธโร (พระครูโสภิตวร ญาณ) ครั้งเป็นเจ้าอาวาสในขณะนั้น ได้เป็นวัดอุทยานการศึกษา พ.ศ. 2558 และมีพระเจ้าใหญ่ไชยฤทธิ์ สรรพสิทธิป์ รารถนาโคตม มหามุนี (หลวงพ่อส�ำเร็จ) ประดิษฐานอยูใ่ น ธรรมสถานสวนป่าอนัตตา (ป่าดอนใหญ่) ขอเชิญญาติธรรมทุกท่าน แวะเยี่ยมชม ไหว้พระขอพร ได้ทุกวัน ขอความสุขความเจริญจงมีแก่ทุกท่านเทอญ AMNAT CHAROEN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 81
81
9/12/2563 16:16:09
WO R K LI FE
เทศบาลต�ำบลพระเหลา “องค์ ก รธรรมาภิ บ าล สื บ สานวั ฒ นธรรม ก้ า วล�้ ำ การศึ ก ษา พั ฒ นาสาธารณู ป โภคและสั ง คม เศรษฐกิ จ ชุ ม ชนเข้ ม แข็ ง การเกษตรพอเพี ย ง”
เทศบาลต�ำบลพระเหลา เป็นต�ำบลหนึ่งใน 4 ต�ำบล ของอ�ำเภอพนา จังหวัดอ�ำนาจเจริญ ซึ่งต�ำบลพระเหลา แยกออกจากต�ำบลพนาเมื่อปีพุทธศักราช 2532 มีหมู่บ้านที่รับผิดชอบอยู่ 11 หมู่บ้าน ยกฐานะจากสภาต�ำบลเป็นองค์การบริหารส่วนต�ำบลเมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2540 จากองค์การบริหารส่วนต�ำบลพระเหลายกฐานะเป็นเทศบาลต�ำบลพระเหลา เมื่อวันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ.2548 และวันที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2554 เทศบาลต�ำบลพระเหลาได้ปรับขนาดจากเทศบาล ขนาดเล็กเป็นเทศบาลขนาดกลาง
วิสัยทัศน์และพันธกิจ
“เทศบาลต�ำบลพระเหลา เป็นองค์กรธรรมาภิบาล ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง สูอ่ าเซียน”
นายสุ ร ศั ก ดิ์ ผุ ด ผ่ อง
นายกเทศมนตรีต�ำบลพระเหลา
“กระผมได้กำ� หนดนโยบายและการบริหาร งานเทศบาลต� ำ บลพระเหลา โดยยึ ด หลั ก ครรลองตามระบอบประชาธิ ป ไตยแบบมี ส่ ว นร่ ว มให้ ค รอบคลุ ม และสอดคล้ อ งกั บ นโยบายของรัฐบาล และคณะผูบ้ ริหารมีความ ตั้งใจที่จะบริหารเทศบาลต�ำบลพระเหลาให้มี ประสิทธิภาพเกิดความมั่นคงในทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การบริหารการศึกษา การ สาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เพื่อประโยชน์สุข ของประชาชนในเขตเทศบาลต�ำบลพระเหลา”
82
ส�ำนักงานเทศบาลต�ำบลพระเหลา ตั้งอยู่เลขที่ 19 หมู่ที่ 4 บ้านปทุมแก้ว ต�ำบลพระเหลา อ�ำเภอ พนา จังหวัดอ�ำนาจเจริญ มีเนื้อที่ 25,719 ไร่ หรือ 53 ตารางกิโลเมตร ห่างจากที่วา่ การอ�ำเภอพนา ประมาณ 3 กิโลเมตร มีลักษณะภูมิประเทศเป็นที่ราบ พื้นที่ส่วนใหญ่ท�ำการเกษตรกรรม โดยการ ท�ำนาเป็นส่วนใหญ่
คณะผู้บริหารเทศบาลต�ำบลพระเหลา
1. นายสุรศักดิ์ ผุดผ่อง 2. นายสุวรรณ สิงห์นาค 3. นายสมบัติ มีทองแสน 4. นายบุญหลาย พันธุ์อ่อน
นายกเทศมนตรีต�ำบลพระเหลา รองนายกเทศมนตรีต�ำบลพระเหลา รองนายกเทศมนตรีต�ำบลพระเหลา ที่ปรึกษานายกเทศมนตรีต�ำบลพระเหลา
ประชากร ในเขตเทศบาลต�ำบลพระเหลามีทงั้ หมด 6,057 คน เป็นชาย 3,029 คน หญิง 3,028 คน และมีบ้านจ�ำนวน 2,139 หลังคาเรือน (ข้อมูลปีพ.ศ.2563)
สารจากนายกเทศมนตรีต�ำบลพระเหลา
SBL บันทึกประเทศไทย I อำ�นาจเจริญ
5
.indd 82
9/12/2563 9:54:07
WORK L IFE
สภาพทางสังคม
ด้านการศึกษา มีโรงเรียนประถมศึกษา 4 แห่ง ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 4 แห่ง และ โรงเรียนมัธยมศึกษา 2 แห่ง มีทอี่ า่ นหนังสือพิมพ์ประจ�ำหมูบ่ า้ น กับห้องสมุดประชาชนรวม 10 แห่ง และศูนย์การเรียนรูใ้ นเขตพืน้ ทีเ่ ทศบาล ต�ำบลพระเหลา 5 แห่ง ด้านสาธารณสุข มีศูนย์แพทย์แผนไทย โรงพยาบาลพนา 1 แห่ง และ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบล 1 แห่ง ระบบบริการพื้นฐาน มีถนนสายหลักในความรับผิดขอบของกรม ทางหลวง คือ ทางหลวง อบจ.หมายเลข อจ.2134 และ ทางหลวงชนบท หมายเลข อจ.2005
สภาพเศรษฐกิจ
ประชากรส่วนใหญ่ร้อยละ 80 ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ได้แก่ การ ท�ำนา ไร่อ้อย ข้าวโพด ปลูกพริก และปลูกผัก ที่เหลือประกอบอาชีพส่วน ตัวและรับจ้าง นอกจากนีใ้ นต�ำบลพระเหลาก็มกี ารท�ำปศุสตั ว์ เช่น การเลีย้ ง โค สุกร เป็ด ไก่ เป็นต้น
AMNAT CHAROEN I SBL บันทึกประเทศไทย
5
.indd 83
83
9/12/2563 9:54:12
WO R K LI FE
การพาณิชย์เข้มแข็งและกลุ่มอาชีพมั่นคงในต�ำบลพระเหลา
กลุ่มปุ๋ยอินทรีย์ หมู่ 7 บ้านต�ำแย กลุ่มทอผ้าไหมลายขิด หมู่ 8 บ้านต�ำแย กลุ่มทอผ้าสายฝน หมู่ 3 บ้านอีเก้ง กลุ่มโรงสีชุมชน หมู่ 8 บ้านต�ำแย กลุ่มปุ๋ยอินทรีย์ หมู่ 4 บ้านปทุมแก้ว กลุ่มโรงสีชุมชน หมู่ 10 บ้านพนานต์ กลุ่มวิสาหกิจสตรีทอผ้า หมู่ 4 บ้านปทุมแก้ว กลุ่มส่งเสริมและผลิตพันธุ์ข้าว หมู่ 4 บ้านปทุมแก้ว กลุ่มเมล็ดพันธุ์ข้าวหอมมะลิ หมู่ 3 บ้านอีเก้ง กลุ่มปุ๋ยอินทรีย์ หมู่ 5 บ้านเสารีก กลุ่มกองบุญสัจจะสวัสดิการชุมชน และ กลุ่มทอผ้าขิด หมู่ 2 บ้านเสารีก กลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มปลูกหม่อนเลี้ยงไหมทอผ้าไหม ผ้าฝ้าย หมู่ 2 และหมู่ 5 บ้านเสารีก
84
SBL บันทึกประเทศไทย I อำ�นาจเจริญ
5
.indd 84
9/12/2563 9:54:20
WORK L IFE
ต�ำบลพระเหลาชวนเที่ยว
ศูนย์แพทย์แผนไทยอ�ำเภอพนา ตั้งอยู่ที่ หมู่ 10 ต�ำบลพระเหลา ฝายร่องหิน ตั้งอยู่ที่ หมู่ 4 ต�ำบลพระเหลา พระเจ้าใหญ่ชัยฤทธิ์ ( หลวงพ่อส�ำเร็จ ) ตั้งอยู่ที่หมู่ 2 บ้านเสารีก ต�ำบลพระเหลา
ศาสนา ประเพณี วัฒนธรรม
ประชาชนส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ โดยมีวัดและส�ำนักสงฆ์ในการ ปฏิบตั ธิ รรมเพือ่ สร้างสรรค์ชวี ติ ให้ปลอดภัย สังคมสันติสขุ จ�ำนวน 8 แห่ง ดังนี้ 1. วัดปัจฉิมวัน หมู่ 5 บ้านเสารีก ต�ำบลพระเหลา อ�ำเภอพนา จังหวัด อ�ำนาจเจริญ 2. วัดสว่างโสภิตาราม หมู่ 9 บ้านสว่างนาฝาย ต�ำบลพระเหลา อ�ำเภอ พนา จังหวัดอ�ำนาจเจริญ 3. วัดมิคคาราม หมู่ 3 บ้านอีเก้ง ต�ำบลพระเหลา อ�ำเภอพนา จังหวัด อ�ำนาจเจริญ 4. วัดป่าพนารักษ์ประชาราม หมู่ 10 บ้านพนานต์ ต�ำบลพระเหลา อ�ำเภอพนา จังหวัดอ�ำนาจเจริญ 5. วัดโพธาราม หมู่ 8 บ้านต�ำแย ต�ำบลพระเหลา อ�ำเภอพนา จังหวัด อ�ำนาจเจริญ 6. วัดป่าบ้านต�ำแย หมู่ 8 บ้านต�ำแย ต�ำบลพระเหลา อ�ำเภอพนา จังหวัดอ�ำนาจเจริญ 7. วัดแสงทอง หมู่ 6 บ้านนาสะแบง ต�ำบลพระเหลา อ�ำเภอพนา จังหวัดอ�ำนาจเจริญ 8. ส�ำนักสงฆ์บา้ นนาสะแบง หมู่ 11 บ้านนาสะแบง ต�ำบลพระเหลา อ�ำเภอพนา จังหวัดอ�ำนาจเจริญ
ประเพณี งานประจ�ำปี และการแสดงวัฒนธรรมพื้นเมือง
ช่วงเดือนมกราคม ประเพณีบญุ เดือนอ้ายปริวาสกรรม บ้านเสารีก ต�ำบล พระเหลา อ�ำเภอพนา จังหวัดอ�ำนาจเจริญ ช่วงเดือนพฤษภาคม - มิถุนายน ประเพณีบุญบั้งไฟ บ้านต�ำแย ต�ำบล พระเหลา อ�ำเภอพนา จังหวัดอ�ำนาจเจริญ
อนุรกั ษ์สบื สานวิถปี ราชญ์ชาวบ้านและภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่ จากบรรพชน หมอล�ำกลอน นางชาดี บุญมาศ หมู่ 4 บ้านปทุมแก้ว ต�ำบลพระเหลา อ�ำเภอพนา จังหวัดอ�ำนาจเจริญ หมอแคน นายสุวรรณ บุญมาศ หมู่ 4 บ้านปทุมแก้ว ต�ำบลพระเหลา อ�ำเภอพนา จังหวัดอ�ำนาจเจริญ หมอพิณ นายประสงค์ ด�ำบรรพ์ หมู่ 4 บ้านปทุมแก้ว ต�ำบลพระเหลา อ�ำเภอพนา จังหวัดอ�ำนาจเจริญ หมอสูตร นายสุวรรณ สิงห์นาค หมู่ 3 บ้านอีเก้ง ต�ำบลพระเหลา อ�ำเภอพนา จังหวัดอ�ำนาจเจริญ หมอพื้นบ้าน ยาสมุนไพร แพทย์แผนไทย นายปรีชา พึ่งโพธิ์ หมู่ 3 บ้านอีเก้ง ต�ำบลพระเหลา อ�ำเภอพนา จังหวัดอ�ำนาจเจริญ
AMNAT CHAROEN I SBL บันทึกประเทศไทย
5
.indd 85
85
9/12/2563 9:54:27
WO R K LI FE
สินค้าพื้นเมืองและของที่ระลึกที่โดดเด่น
ท่องเทีย่ วเชิงอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติทสี่ ำ� คัญในต�ำบลพระเหลา
ป่าชุมชนดอนใหญ่
เป็นแหล่งท่องเทีย่ วเชิงธรรมชาติและอนุรกั ษ์ เป็นป่าชุมชนทีม่ ขี นาดใหญ่ ซึง่ ประกอบด้วยพันธุไ์ ม้นานาชนิด ให้ความร่มรืน่ และมี พระเจ้าใหญ่ชยั ฤทธิ์ (หลวงพ่อส�ำเร็จ) พระพุทธรูปปางมารวิชัย องค์สีขาวบริสุทธิ์ ประดิษฐาน อยู่บริเวณหน้าป่าดอนใหญ่ ยังเป็นที่สักการะบูชาของคนในชุมชนและ นักท่องเทีย่ วทีช่ อบการท่องเทีย่ วเชิงอนุรกั ษ์และชืน่ ชอบในความสงบร่มรืน่ อีกด้วย
กลุ่มวิสาหกิจชุมชนทอผ้าบ้านปทุมแก้ว ต�ำบลพระเหลา อ�ำเภอพนา จังหวัดอ�ำนาจเจริญ ผลิตและจ�ำหน่ายผ้าฝ้ายทอมือ ลายพื้นเมืองต่างๆ คุณภาพดี ฝีมือประณีต กลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มปลูกหม่อนเลี้ยงไหมทอผ้าไหม ผ้าฝ้าย หมู่ 2 และหมู่ 5 บ้านเสารีก ทรัพยากรธรรมชาติ แหล่งน�ำ้ ตามธรรมชาติ ได้แก่ ล�ำห้วยพระเหลา ล�ำห้วยเสารีก ล�ำห้วยจิก ล�ำห้วยยาง แหล่งน�้ำที่สร้างขึ้น ได้แก่ คลองชลประทาน(คอนกรีต) 2 สาย ระบบประปาหมู่บ้าน ในเขตพื้นที่ เทศบาลต�ำบลพระเหลามีทั้งหมด 10 แห่ง และมีบ่อน�้ำตื้น 1 แห่ง ป่าไม้ ส่วนใหญ่เป็นป่าเต็งรัง ป่าไม้ชนิดมีค่า ได้แก่ ยาง ประดู่ แดง เต็ง รัง เป็นต้น 86
ฝายร่องหิน
เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติและอนุรักษ์เป็นฝายน�้ำจืดขนาดใหญ่ ภายในประกอบด้วยไม้นานาพันธุ์ มีความร่มรื่นเป็นที่พักผ่อนหย่อนใจ และมีหอประชุมเพื่อจัดกิจกรรมต่างๆ บนพื้นที่อันกว้างขวาง
SBL บันทึกประเทศไทย I อำ�นาจเจริญ
5
.indd 86
9/12/2563 9:54:33
SBL บันทึกประเทศไทย
Website : www.sbl.co.th
Ad-SBL Magazine Online Sukhothai.indd 56
06/07/61 14:25:11
WO R K LI FE
องค์การบริหารส่วนต�ำบลไม้กลอน “สร้ า งบ้ า นแปลงเมื อ ง หนุ น เนื อ งคุ ณ ภาพชี วิ ต เศรษฐกิ จ พอเพี ย งสู ่ เ มื อ งธรรมเกษตร เป็ น แหล่ ง ท้ อ งถิ่ น ธรรมาภิ บ าล” วิ สั ย ทั ศ น์ อ งค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บลไม้ ก ลอน
องค์การบริหารส่วนต�ำบลไม้กลอน ตั้งอยู่เลขที่ 222 หมู่ 2 ต�ำบลไม้กลอน อ�ำเภอพนา จังหวัด อ�ำนาจเจริญ เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีฐานะเป็นนิติบุคคล มีหมู่บ้านในเขตการปกครอง ทั้งสิ้น 16 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ที่ 1 บ้านไม้กลอน, หมู่ที่ 2 บ้านโพนเมือง, หมู่ที่ 3 บ้านดอนชาด, หมูท่ ี่ 4 บ้านหัวดอน, หมูท่ ี่ 5 บ้านขาม, หมูท่ ี่ 6 บ้านดอนม่วง, หมูท่ ี่ 7 บ้านโนนทุง่ , หมูท่ ี่ 8 บ้านนายูง, หมู่ที่ 9 บ้านจิก, หมู่ที่ 10 บ้านถ่อน, หมู่ที่ 11 บ้านโพนเมือง, หมู่ที่ 12 บ้านโนนสูง, หมู่ที่ 13 บ้านจิก, หมู่ที่ 14 บ้านดอนหวาย, หมู่ที่ 15 บ้านโคกกลาง และหมู่ที่ 16 บ้านหัวดอน มีการแบ่งเขตการเลือก ตัง้ ตามจ�ำนวนหมูบ่ า้ นทัง้ หมด 16 เขตเลือกตัง้ และมีจำ� นวนครัวเรือน 2,141 ครัวเรือน ประชากรทัง้ สิน้ 7,488 คน แยกเป็นชาย 3,769 คน และ หญิง 3,719 คน (ที่มา ข้อมูลจากทะเบียนราษฎร์ อ�ำเภอพนา จังหวัดอ�ำนาจเจริญ ณ วันที่ 19 เมษายน พ.ศ.2562)
ด้านการศึกษา
นายสั ม ฤทธิ์ เผ่ าผม
นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลไม้กลอน
ต�ำบลไม้กลอน ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของที่ ว่าการอ�ำเภอพนา ระยะทางประมาณ 6 กิโลเมตร ตามถนนบ้านโคกจักจั่น - บ้านโพนเมือง มีพื้นที่ ทั้งหมด 62.44 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 39,025 ไร่ แบ่ ง เป็ น พื้ น ที่ ก ารเกษตรกรรม 28,610 ไร่ พืน้ ทีป่ า่ สาธารณประโยชน์ 7,568 ไร่ พื้นที่อยู่อาศัย 856 ไร่ พื้นที่สาธารณะ 1,906 ไร่ โดยมีอาณาเขต ดังนี้ ทิศเหนือ จรดเขตต�ำบลลือ อ�ำเภอปทุมราชวงศา จังหวัดอ�ำนาจเจริญ ทิศใต้ จรดเขตต�ำบลไร่ขี อ�ำเภอลืออ�ำนาจ จังหวัด อ�ำนาจเจริญ ทิศตะวันออก จรดเขตต�ำบลพระเหลา อ�ำเภอพนา จังหวัดอ�ำนาจเจริญ ทิศตะวันตก จรดเขตต�ำบลดงบัง อ�ำเภอลืออ�ำนาจ จังหวัด อ� ำ นาจเจริ ญ และจรดเขตต� ำ บลปลาค้ า ว อ�ำเภอเมือง จังหวัดอ�ำนาจเจริญ
88
.
3
มีศนู ย์การเรียนรูช้ มุ ชนต�ำบลไม้กลอน 1 แห่ง, ทีอ่ า่ นหนังสือพิมพ์ประจ�ำหมูบ่ า้ น 16 แห่ง, โรงเรียน ประถมศึกษา 8 แห่ง, โรงเรียนมัธยมศึกษา 1 แห่ง คือ โรงเรียนมูลนิธิสุดีวิทยา หมู่ 2 บ้าน โพนเมือง, โรงเรียนบ้านหัวดอนขามสามัคคี (โรงเรียนขยายโอกาสมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 ) 1 แห่ง, ศูนย์การเรียนรู้ ชุมชน 2 แห่ง และ ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนเกณฑ์ในวัดและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 8 แห่ง
ด้านสาธารณสุข
มีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพในเขตต�ำบลไม้กลอนมี จ�ำนวน 2 แห่ง คือ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ต�ำบลโพนเมือง หมูท่ ี่ 11 บ้านโพนเมือง และ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลบ้านถ่อน หมูท่ ี่ 10 บ้านถ่อน
ด้านสังคมสงเคราะห์
องค์การบริหารส่วนต�ำบลไม้กลอน ได้ด�ำเนินการด้านสังคมสงเคราะห์ ดังนี้คือ 1. ด�ำเนินการจ่าย เบี้ยยังชีพให้กับผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ป่วยเอดส์ 2. รับลงทะเบียนและประสานโครงการเงินอุดหนุน เพือ่ การเลีย้ งดูเด็กแรกเกิด 3. ประสานการท�ำบัตรผูพ้ กิ าร 4. ตัง้ โครงการการจ้างนักเรียน และนักศึกษา ท�ำงานช่วงปิดภาคเรียน 5. ตั้งโครงการช่วยเหลือผู้ยากจน ยากไร้ รายได้น้อย และผู้ด้อยโอกาสไร้ที่พึ่ง 6. ตั้งโครงการปรับปรุงซ่อมแซมบ้านคนจน 7. ประสานหน่วยงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของ มนุษย์ฯ หรือที่เกี่ยวข้องขอรับสนับสนุนเงิน สงเคราะห์ในการเลี้ยงชีพให้ผู้ยากจน และผู้ด้อยโอกาส
ด้านเศรษฐกิจการเกษตร
ประชากรในเขตองค์การบริหารส่วนต�ำบลไม้กลอนร้อยละ 80 ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ผลผลิต ทางการเกษตรที่ส�ำคัญ ได้แก่ ข้าว มันส�ำปะหลัง และยางพารา เป็นต้น
SBL บันทึกประเทศไทย I อำ�นาจเจริญ
.indd 88
9/12/2563 9:09:12
WORK L IFE
ประเพณีและงานประจ�ำปี
ประเพณีวันขึ้นปีใหม่ ประมาณเดือนมกราคม, แห่ช้างสืบสานประเพณี บุญผะเหวด ประมาณเดือนเมษายน, ประเพณีวนั สงกรานต์ ประมาณเดือน เมษายน, ประเพณีบญุ บัง้ ไฟ ประมาณเดือนมิถนุ ายน, ประเพณีลอยกระทง ประมาณเดือนตุลาคม พฤศจิกายน, ประเพณีวันเข้าพรรษา ออกพรรษา ประมาณเดือนกรกฎาคม ตุลาคม และพฤศจิกายน
ภูมิปัญญาท้องถิ่น และภาษาถิ่น
ประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนต�ำบลไม้กลอน อนุรักษ์ภูมิปัญญา ท้องถิ่น ได้แก่ วิธีการท�ำเครื่องจักสานใช้ส�ำหรับในครัวเรือน วิธีการเลี้ยง ไหมและการทอผ้าไหม วิธีการจับปลาธรรมชาติ การรักษาโรคด้วยยา สมุนไพร และทอผ้าพืน้ เมืองด้วยฝ้ายจุกคราม ส�ำหรับภาษาถิน่ ร้อยละ 100 % พูดภาษาอีสาน
กลุ่มทอผ้าบ้านโนนทุ่ง หมู่ 7
อ�ำเภอพนา จังหวัดอ�ำนาจเจริญ โทรศัพท์ : 089-2814913
สินค้าพื้นเมืองและของที่ระลึก
ประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนต�ำบลไม้กลอน ผลิตของใช้พนื้ เมือง ขึน้ ใช้ในครัวเรือน และเหลือเอาไว้จำ� หน่ายบ้าง ได้แก่ ผ้าฝ้าย ผ้าไหม เครือ่ ง จักสานที่ท�ำจากไม้ไผ่ ไม้กวาด ข้าวกล้อง ข้าวไร้เบอร์รี่ ผ้ามัดหมี่ย้อมคราม เป็นต้น
ศาสนา ประเพณี วัฒนธรรม และการนับถือศาสนา
ประชาชนในเขตต�ำบลไม้กลอน ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ มีวัดเป็น ศูนย์รวมจิตใจทั้งหมด 11 วัด คือ 1.วัดสว่างอารมณ์, 2.วัดไชยาติการาม 3.วัดสันติธรรมมาติการาม, 4.วัดอัมพร, 5.วัดเขมาราม, 6.วัดบ้านดอนม่วง 7.วัดสุคันธาราม, 8.วัดศรีมงคล, 9.วัดโสภณาราม, 10.วัดศรีสุทราราม 11.วัดสงบอารมณ์
กลุ่มสตรีสหกรณ์บ้านโนนสูง หมู่ 12
อ�ำเภอพนา จังหวัดอ�ำนาจเจริญ โทรศัพท์ : 061-1689489
AMNAT CHAROEN I SBL บันทึกประเทศไทย
.
3
.indd 89
89
9/12/2563 9:09:19
WO R K LI FE
ด้านการท่องเที่ยว
แหล่งท่องเที่ยวในเขตองค์การบริหารส่วนต�ำบลไม้กลอน
วัดไชยติการาม ตั้ ง อยู ่ ที่ บ ้ า นโพนเมื อ ง ต� ำ บลไม้ ก ลอน ในวั ด มี พระพุทธรูปส�ำริดประทับขัดสมาธิราบปางมารวิชัย สูง 55 เซนติเมตร จัดอยู่ในกลุ่มพระพุทธรูปศิลปะลาว สกุลช่างเวียงจันทร์ เปรียบเทียบได้กบั พระพุทธรูปปาง มารวิชัยที่ระเบียงหอพระแก้วเมืองเวียงจันทร์ และ พระพุทธรูปที่วัดวิชุลเมือง หลวงพระบาง ซึ่งมีอายุอยู่ ในราวปลายพุทธศตวรรษที่ 22 ถึงพุทธศตวรรษที่ 23
แหล่งโบราณคดีบ้านโพนเมือง
เป็นชุมชนที่ปรากฏชั้นดินที่เกี่ยวเนื่องกับการอยู่อาศัยไม่น้อยกว่า 3 ชั้นวัฒนธรรม ก่อนประวัติศาสตร์ พบภาชนะดินเผา โครงกระดูก และเนินศาสนสถาน ซึ่งสันนิษฐาน ว่าน่าจะมีการนับถือศาสนาพุทธ สภาพทั่วไปเป็นเนินดินตั้งอยู่ที่ริมถนนเป็นพื้นที่โล่ง บริเวณโดยรอบมีต้นไม้ขึ้นเป็นระยะตามแนวเนินดินรอบๆ หลักฐานที่พบคือ เนินดินที่ อัดแน่นด้วยเศษภาชนะดินเผาประเภทเนือ้ ดินเผา (earthenware) สีสม้ มีการตกแต่งด้วย การขูดขีดเป็นรูปต่างๆ และลายเชือกทาบเป็นส่วนใหญ่ วางตั้งอยู่บนเนินดินที่อยู่ใกล้ๆ กับเนินเศษภาชนะดินเผา 90
.
3
SBL บันทึกประเทศไทย I อำ�นาจเจริญ
.indd 90
9/12/2563 9:09:26
History of buddhism....
วัดอ�ำนาจ หลวงพ่อพระครูสิริสีลวัตร เจ้าอาวาสวัดอำ�นาจ / รองเจ้าคณะจังหวัดอำ�นาจเจริญ
วัดอ�ำนาจ ตั้งอยู่ที่ 54 หมู่ 4 บ้านอ�ำนาจ ต�ำบลอ�ำนาจ อ�ำเภอลืออ�ำนาจ จังหวัดอ�ำนาจเจริญ
วัดอ�ำนาจ ไม่ปรากฏหลักฐานการสร้างอย่างชัดเจน สันนิษฐานว่า สร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 3 โดยมีหลวงพ่อพระครูบัณฑิต กับ จมื่นชา โนชิต เป็นผู้น�ำในการก่อสร้างครั้งแรก ปัจจุบันนี้ วัดอ�ำนาจ ตั้งอยู่ที่ 54 หมู่ 4 บ้านอ�ำนาจ ต�ำบลอ�ำนาจ อ�ำเภอลืออ�ำนาจ จังหวัด อ�ำนาจเจริญ เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย เดิมมีที่ดิน เฉพาะบริเวณที่ต้ังวัดมีเนื้อที่ 14 ไร่ 1 งาน 32 ตารางวา ต่อมามี ผูเ้ ลือ่ มใสศรัทธาในพระพุทธศาสนาได้ซอื้ ทีด่ นิ ถวายวัดอีก 15 ไร่ 2 งาน 80 ตารางวา รวม 30 ไร่ 12 ตารางวา ภายในบริเวณวัดและวัดมีเขต อุปจารวัดดังนี้ ทิศเหนือ จดถนนของหมู่บ้าน หมู่ที่ 4 ทิศใต้ จดที่ดินของนายประมวล บุญหลง ทิศตะวันออก จดที่นางบรรจง นาคอ่อน ทิศตะวันตก จดล�ำห้วยค้อ มีที่ธรณีสงฆ์อยู่ 2 แปลง คือที่ตั้งการประปาส่วนภูมิภาค หมู่ที่ 2 และ ลานอเนกประสงค์ หมู่ที่ 5 ปูชนียวัตถุ วัดอ�ำนาจมีปูชนียวัตถุที่ส�ำคัญ คือ พระเจ้าใหญ่ลือชัย ซึ่งเป็น พระพุทธรูปประธานในอุโบสถก่อด้วยอิฐถือปูนขนาดหน้าตักกว้าง 2.20 เมตร สูง 3.00 เมตร ลงรักปิดทองครัง้ สุดท้ายเมือ่ วันที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2561 จ�ำนวน 18,000 แผ่น เป็นพระพุทธรูปศิลปะล้านช้างปาง มารวิชัย ตามประวัติและหลักฐานที่มีมาพอสันนิษฐานได้ว่าสร้างขึ้น ในสมัยรัชกาลที่ 3 วัดอ�ำนาจตั้งแต่ตั้งวัดมามีเจ้าอาวาสมาแล้ว 16 รูป เจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน คือ หลวงพ่อพระครูสิริสีลวัตร ปัจจุบันด�ำรง ต�ำแหน่ง รองเจ้าคณะจังหวัดอ�ำนาจเจริญ สถานที่ติดต่อ วัดอ�ำนาจ 54 หมู่ 4 บ้านอ�ำนาจ ต�ำบลอ�ำนาจ อ�ำเภอลืออ�ำนาจ จังหวัดอ�ำนาจเจริญ รหัสไปรษณีย์ 37120 โทรศัพท์. 087 2535599, 086 2462724 E-mail: psurasinp@gmail.com AMNAT CHAROEN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 91
91
18/12/2563 18:09:44
เม ทางไก ท�ำบุญ บริจา นายพ นางม ได้ชัก
อาคาร
- อุโ เป็นอาค -ศ พงศ. 2 -ห 2528 - กุฏ 4 หลัง -ศ พ.ศ. 25
WO R K LI FE
องค์การบริหารส่วนต�ำบลดงบัง “องค์ ก รธรรมาภิ บ าล สื บ สานวั ฒ นธรรม ก้ า วล�้ ำ การศึ ก ษา พั ฒ นาสาธารณู ป โภคและสั ง คม เศรษฐกิ จ ชุ ม ชนเข้ ม แข็ ง การเกษตรพอเพี ย ง”
ประวัติความเป็นมา
นายอุ เ ทน กาเผื อก
ชุมชนดงบังมีประวัติความเป็นมา การตั้งถิ่นฐานการปกครอง วิถีการด�ำเนินชีวิตจากการบอกเล่า ของคนเฒ่าคนแก่ทเี่ ล่าสืบต่อกันมา พอรวบรวมเป็นข้อมูลโดยสังเขปคือ มีการตัง้ ถิน่ ฐานของราษฎรใน สมัยรัชกาลที่ 2 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ประมาณ พ.ศ. 2360 โดยราษฎรอพยพมาจากหมูบ่ า้ นลืออ�ำนาจ (ในเขตเทศบาลต�ำบลลืออ�ำนาจปัจจุบัน) โดยทางเกวียนแบกหามสัมภาระต่าง ๆ มาตั้งถิ่นฐานที่บ้าน (ดงบ้านยาง) ตั้งอยู่ทิศตะวันตกบ้านเสาเล้าในปัจจุบัน ต่อมาได้เกิดโรคระบาด ราษฎรล้มป่วยและตายจ�ำนวนหนึง่ จึงอพยพผูค้ นครอบครัวโดยทางเกวียน ขนสัมภาระสิ่งของต่างๆ และสัตว์เลี้ยงไปทิศตะวันออก เดินทางประมาณ 2 กิโลเมตร โดยเกวียน (พาหนะที่ใช้วัวลากจูง 2 ตัว) แอกที่คอวัวเกิดหัก จึงไม่สามารถเดินทางต่อไปได้ จึงพักแรม ณ บริเวณ นั้นและตั้งเป็นหมู่บ้าน ชื่อบ้านกุดแอก (ตามต�ำนานแอกหัก) อยู่มาหลายสิบปี เกิดโรคอหิวาระบาด หรือชาวบ้านเรียกโรคห่า ชาวบ้านจึงพากันอพยพไปทางทิศตะวันออกอีก โดยตั้งชื่อหมู่บ้านว่า (บ้าน- ขามป้อม) ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็นบ้านโนนจาน และกลุ่มหนึ่งอพยพไปทางทิศตะวันตก ตั้งชื่อ หมู่บ้านว่า “บ้านดงบัง” จนถึงปัจจุบัน ปัจจุบนั ชาวบ้านได้เรียกชือ่ บ้านกุดแอก เป็น โนนบ้านเก่า โดยมีหลักฐานยืนยันว่ามีการตัง้ ถิน่ ฐาน ของราษฎรในสมัยรัชกาลที่ 2 ซึ่งสันนิษฐานจากหลักฐาน ซึ่งเป็นโบราณสถานและโบราณวัตถุ คือ ใบเสมาที่ดงบ้านยาง หนองกุดสิม ต้นศรีมหาโพธิ์ โนนบ้านเก่า
นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลดงบัง
องค์การบริหารส่วนต�ำบลดงบัง ตั้งอยู่ใน อ�ำเภอลืออ�ำนาจ จังหวัดอ�ำนาจเจริญ เดิมต�ำบลดงบัง อยู่ในเขตการปกครองของ อ�ำเภออ�ำนาจเจริญ จังหวัดอุบลราชธานี ต่อมา อ� ำ เภออ� ำ นาจเจริ ญ ได้ รั บ การยกฐานะเป็ น จังหวัดอ�ำนาจเจริญ เมือ่ ปี พ.ศ.2536 ต�ำบลดงบัง จึงอยู่ในเขตการปกครองของอ�ำเภอลืออ�ำนาจ จังหวัดอ�ำนาจเจริญ แบ่งการปกครองออกเป็น 16 หมู่บ้าน ปัจจุบัน นายอุเทน กาเผือก ด�ำรง ต�ำแหน่งนายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลดงบัง
92
.
5
SBL บันทึกประเทศไทย I อำ�นาจเจริญ
.indd 92
9/12/2563 10:55:33
WORK L IFE
พื้นที่
ต�ำบลดงบังมีสภาพทัว่ ไปเป็นทีร่ าบ มีลำ� ห้วยไหลผ่าน 2 สายคือ ล�ำห้วย จันลัน และล�ำห้วยแซว พืน้ ทีด่ ำ� เนินการเกษตร โดยเฉพาะการท�ำนา มีพนื้ ที่ 45.23 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 28,125 ไร่
เขตพื้นที่
ทิศเหนือ ติดต่อกับ ต�ำบลหนองมะแซว อ�ำเภอเมือง จังหวัดอ�ำนาจเจริญ ทิศใต้ ติดต่อกับ ต�ำบลไร่ขี อ�ำเภอลืออ�ำนาจ จังหวัดอ�ำนาจเจริญ ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ต�ำบลปลาค้าว อ�ำเภอเมือง จังหวัดอ�ำนาจเจริญ ทิศตะวันตก ติดต่อกับ ต�ำบลเปือย อ�ำเภอลืออ�ำนาจ จังหวัดอ�ำนาจเจริญ
อาชีพ
อาชีพหลัก ท�ำนา อาชีพเสริม หัตถกรรม
สาธารณูปโภค
ต�ำบลดงบังมีไฟฟ้าครบทุกหมู่บ้าน โทรศัพท์สาธารณะ 27 แห่ง
การเดินทาง
เส้ น ทางเข้ า สู ่ ต� ำ บลดงบั ง เป็ น ถนนลาดยาง จากอ� ำ เภอลื อ อ� ำ นาจ ประมาณ 17 กิโลเมตร และถนนเข้าทางต�ำบลปลาค้าว อ�ำเภอเมือง จังหวัด อ�ำนาจเจริญ ประมาณ 35 กิโลเมตร เป็นถนนลาดยาง
ผลิตภัณฑ์
น�้ำปลาจากปลาร้า
AMNAT CHAROEN I SBL บันทึกประเทศไทย
.
5
.indd 93
93
9/12/2563 10:55:38
WO R K LI FE
ประเพณีวัฒนธรรมที่ส�ำคัญ “ประเพณีบุญปราสาทผึ้ง” วัดบ้านดอนชี ต�ำบลดงบัง
ความเป็นมาของงานบุญปราสาทผึง้ บุญปราสาทผึง้ เป็นประเพณีประจ�ำ ปีของชาวบ้านดอนชีมาช้านาน ซึ่งได้ปฏิบัติกันมาตั้งแต่โบราณ เมื่อครั้งที่ บ้านดอนชียังเป็นหมู่บ้านเล็ก ๆ ประมาณ 20-30 หลังคาเรือน ตอนนั้น ชาวบ้านดอนชียงั นับถือปูต่ าเป็นทีย่ ดึ เหนีย่ วทางจิตใจ จนกระทัง่ มีพระธุดงค์ รูปหนึ่ง ว่ากันว่าเป็นผู้แตกฉานทางธรรม และมีญาณวิเศษ มีนามว่า พระอาจารย์ผกุ ซึง่ เป็นทีเ่ ลือ่ มใสศรัทธาของผูค้ นในสมัยนัน้ ได้ธดุ งค์ผา่ นมา และจ�ำพรรษาอยู่ใกล้กับหมู่บ้านดอนชี พระอาจารย์ผุกท่านนี้เองที่เป็นต้น ก�ำเนิดประเพณีปราสาทผึ้งอันยาวนานและงดงามเข้ามายังหมู่บ้านดอนชี ครัง้ หนึง่ พระอาจารย์ผกุ นัง่ วิปสั สนาอยูท่ วี่ ดั บ้านสว่าง ท่านเข้าฌานนิมติ เห็นว่า มีกระดูกพระอรหันต์ (พระสารีริกธาตุ) อยู่บนยอดเขาภูสระดอกบัว ปัจจุบนั คือ อุทยานแห่งชาติภสู ระดอกบัว อ�ำเภอดอนตาล จังหวัดมุกดาหาร แล้วท่านก็ได้ให้เหล่าลูกศิษย์ไปค้นหาในวันแรกไปแล้วไม่เจอ จนวันที่สอง จึงได้พบกับพระสารีริกธาตุนั้น และได้ท�ำการสักการะเก็บรักษาอยู่ที่ วัดบ้านสว่าง อ�ำเภอเสนางคนิคม
94
.
5
จนเวลาผ่านไปหลายเดือน พระอาจารย์ผุก ได้พิจารณาหาสถานที่จะ เก็บรักษาพระสารีริกธาตุนี้เพื่อประดิษฐาน ท่านระลึกถึงญาติโยมชาวบ้าน ดอนชี ซึ่งเป็นหมู่บ้านที่ศรัทธาในพระพุทธศาสนาและชาวบ้านนั้นยึดมั่น ในธรรม ท่านจึงเดินทางมาแล้วไต่ถามชาวบ้านดอนชีวา่ จะยึดปฏิบตั ใิ นการ สักการะได้หรือไม่ โดยมีขอ้ แม้วา่ ชาวบ้านดอนชีจะต้องเลิกนับถือปูต่ า และ จะต้องน�ำ “ต้นดอกผึ้ง” (ปราสาทผึ้ง) สักการะปีละสองครั้ง คือในวันเพ็ญ เดือนห้า และวันเพ็ญเดือนสิบสอง โดยให้ทำ� ทุก ๆ ปีสืบต่อไป โดยท่าน กล่าวว่าหากผู้ใดต้องการหรือประสงค์สิ่งใด หากเป็นสิ่งที่ไม่ผิดศีลธรรมให้ ไปบนกับพระพุทธรูป ซึ่งมีพระสารีริกธาตุบรรจุอยู่ แล้วให้ท�ำต้นดอกเผิ่ง (ปราสาทผึ้ง ) มาถวายสักการะในวันเพ็ญเดือน 5 หรือวันเพ็ญเดือน 12 จะ สมหวังดั่งปรารถนา จากวันนั้นเป็นต้นมา ประเพณีบุญปราสาทผึ้งของชาวบ้านดอนชีก็ได้ ก�ำเนิดขึ้นซึ่งเป็นเวลายาวนานเกือบร้อยปี และจะยังคงสืบทอดต่อกันไป ชั่วลูกชั่วหลาน เพื่อบ่งบอกความเป็นปึกแผ่นและวัฒนธรรมอันงดงาม ความเป็นสิริมงคลให้ลูกหลานชาวบ้านดอนชีสืบไป
SBL บันทึกประเทศไทย I อำ�นาจเจริญ
.indd 94
9/12/2563 10:55:38
WORK L IFE
“บุญประสาทผึ้ง” ประเพณีงานบุญของหมู่บ้านทางภาคอีสาน
ในแต่ละหมู่บ้านทางอีสานแต่ละชุมชนนั้นอาจจะเหมือนหรือแตกต่าง กันไปบ้างตามวัฒนธรรมของแต่ละท้องถิ่น โดยบุญปราสาทผึ้งนั้นเป็น ประเพณีที่พุทธศาสนิกชนที่ได้จัดท�ำขึ้นมาสักการบูชาพระพุทธรูป หรือ พระสงฆ์ ซึ่งเชื่อกันว่าได้อานิสงส์ยิ่งนัก การบูชาด้วยขีผ้ งึ้ นัน้ เกิดอานิสงส์ได้เพราะขีผ้ งึ้ ทีน่ ำ� ไปสักการบูชานัน้ ให้ คุณประโยชน์อย่างยิ่ง เพราะในสมัยก่อนยังไม่มีไฟฟ้าใช้ในตอนกลางคืน ผูค้ นต่างอาศัยแสงสว่างในตอนกลางคืน โดยอาศัยแสงสว่างจากตะเกียงไต้ (กระบอง) หรือเทียนไข ซึง่ ขีผ้ งึ้ สามารถน�ำไปหล่อเทียนได้ โดยเทียนทีห่ ล่อ ได้นนั้ สามารถน�ำมาจุดบูชาสักการะได้ และยังให้แสงสว่างอีกด้วย โดยพระสงฆ์ จะน�ำขีผ้ งึ้ ทีช่ าวบ้านน�ำมาสักการะไปหล่อเป็นเทียนเพือ่ ใช้บชู าพระพุทธรูป และให้แสงสว่างในยามค�ำ่ คืน ซึ่งเป็นคุณประโยชน์อย่างมาก การเดินทาง : จากอ�ำเภอลืออ�ำนาจไปทางทิศตะวันออกประมาณ 17 กิโลเมตรถึงต�ำบลดงบัง อ�ำเภอลืออ�ำนาจ จังหวัดอ�ำนาจเจริญ นอกจากนี้ การสืบทอดวัฒนธรรมของชาวดงบัง อ�ำเภอลืออ�ำนาจ ส่วน ใหญ่ยังคงด�ำเนินตามฮีตสิบสองครองสิบสี่ ประเพณีบุญ มีประจ�ำทุกเดือน ส�ำหรับประเพณีที่จัดได้ย่ิงใหญ่จนเป็นที่กล่าวว่าเป็นเอกลักษณ์ของอ�ำเภอ ลืออ�ำนาจ ได้แก่ ประเพณีบุญคูณลานในเดือนยี่ และ ประเพณีบุญบั้งไฟ หรือบุญเดือนหก ส่วนด้านศิลปะนั้นนอกจากการแสดงหมอล�ำ ในหมู่บ้านฟ้าห่วน ต�ำบล ไร่ขี บ้านน�้ำท่วม ต�ำบลเปือย บ้านดงบัง บ้านดอนชี บ้านกุงชัย ต�ำบลดงบัง แล้ว ยังมีการแสดงกลองยาวในหลายหมู่บ้าน มีการตั้งคณะกลองยาว รับ แสดงในงานต่าง ๆ อีกด้วย
AMNAT CHAROEN I SBL บันทึกประเทศไทย
.
5
.indd 95
95
9/12/2563 10:55:40
WO R K LI FE
96
.
5
SBL บันทึกประเทศไทย I อำ�นาจเจริญ
.indd 96
9/12/2563 10:55:42
History of buddhism....
วัดอัมพวัน พระครูศรีกิตติคุณาธาร อายุ 48 พรรษา 23 เจ้าอาวาสวัดอัมพวัน
พระครูศรีกิตติคุณาธาร เจ้าอาวาสวัดอัมพวัน
วัดอัมพวัน ตั้งอยู่เลขที่ 188 หมู่ที่ 3 บ้านหัวดง ต�ำบลเปือย อ�ำเภอลืออ�ำนาจ จังหวัดอ�ำนาจเจริญ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีพนื้ ที่ ทั้งหมด 12 ไร่ 3 งาน สร้างเมื่อปี พ.ศ.2423 (ประมาณ 140 ปีมาแล้ว) ได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมาเมือ่ ปี พ.ศ.2435 เขตวิสงุ คามสีมา กว้าง 12 เมตร ยาว 15 เมตร การปกครองมีเจ้าอาวาสวัดดูแลติดต่อกันมาโดยตลอด โดยมี รายนามเจ้าอาวาสวัดตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ดังต่อไปนี้ 1. พระอาจารย์ ทัง 2. พระอาจารย์ ครูบา 3. พระอาจารย์ ค�ำ 4. พระอาจารย์ บุญ ทัง้ 4 ท่านไม่มใี ครรูจู้ กั ว่า เป็นเจ้าอาวาสจาก พ.ศ.ไหน ถึง พ.ศ.ไหน 5. พระอาจารย์ หลอ พ.ศ. 2455-2474 รวม 19 ปี 6. พระอาจารย์ พัน พ.ศ. 2474-2478 รวม 4 ปี 7. พระอาจารย์ ลอง พ.ศ. 2478-2480 รวม 2 ปี 8. พระอาจารย์ อ่อน (วอ) พ.ศ. 2480-2493 รวม 13 ปี 9. เจ้าอธิการสุบรรณ ปัญญาธโร พ.ศ. 2493-2522 รวม 29 ปี 9. พระอธิการอุทัย (เป้ย) จันทสาโร พ.ศ. 2522-2530 รวม 8 ปี 10. พระครูวชิรวรธรรม พ.ศ. 2534-2554 รวม 20 ปี ปัจจุบัน พระครูศรีกิตติคุณาธาร เป็นเจ้าอาวาส จาก พ.ศ. 2555 จนถึงปัจจุบัน วัดอัมพวัน เป็นส�ำนักเรียนเปิดสอนพระปริยัติธรรม แผนกธรรม แผนกบาลี ตั้งแต่อดีต จนถึงปัจจุบัน AMNAT CHAROEN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 97
97
9/12/2563 16:21:52
98
AD.indd 98
SBL บันทึกประเทศไทย I อ�ำนาจเจริญ
16/12/2563 16:08:33
Buddhism
in Thailand
AMNAT CHAROEN I SBL บันทึกประเทศไทย
AD.indd 99
99
16/12/2563 16:08:34
WO R K LI FE
ที่ว่าการอ�ำเภอเสนางคนิคม “เมื อ งสองนาง เด่ น ดั ง ข้ า วจี่ ดี ล�้ ำ พลุ ต ะไล ผ้ า ไหมลายขิ ด วิ จิ ต รภู โ พนทอง ชื่ อ ก้ อ งกลองยาว” ค� ำ ขวั ญ อ� ำ เภอเสนางคนิ ค ม
เมืองเสนางคนิคมขึ้นตรงต่อจังหวัดอุบลราชธานีเมื่อปี พ.ศ. 2388 ในสมัยรัชกาลที่ 3 โดยมี พระศรีสุราชเมืองตะโปน (ปัจจุบันอยู่ในประเทศลาว) เป็นผู้รักษาเมือง ต่อมาเมื่อ พ.ศ. 2455 กระทรวงมหาดไทยได้ยกเลิกและยุบเป็นหมู่บ้านตามเดิมขึ้นกับอ�ำเภออ�ำนาจเจริญ ต่อมายกฐานะ เป็นกิ่งอ�ำเภอเมื่อวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2518 และยกฐานะเป็นอ�ำเภอเมื่อวันที่ 21 เมษายน พ.ศ.2526 ปัจจุบันที่ว่าการอ�ำเภอเสนางคนิคม ตั้งอยู่หมู่ที่ 3 ต�ำบลเสนางคนิคม อ�ำเภอเสนางคนิคม จังหวัดอ�ำนาจเจริญ
อ� ำ เภอเสนางคนิ ค ม มีพื้นที่ประมาณ 367 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 229,375 ไร่
พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบมีภูเขาสลับบ้าง แหล่งน�้ำที่ส�ำคัญ คือ ล�ำเซบาย ล�ำห้วยละโอง ล�ำห้วยถ่ม ล�ำห้วยสะแบก และล�ำห้วยหินฮาว พื้นที่อาศัยประมาณ 97,214 ไร่ พื้นที่เลี้ยงสัตว์และใช้ประโยชน์ อื่นๆ พื้นที่ป่าไม้ จ�ำนวน 93,784 ไร่ พื้นที่การเกษตรแบ่งเป็น พื้นที่ท�ำนา 121,481 ไร่ พื้นที่ท�ำไร่ และพืชผัก 6,235 ไร่ พื้นที่ไม้ผลและไม้ยืนต้น 4,900 ไร่ พื้นที่ปลูกยางพารา 12,871 ไร่ ลักษณะ ดินส่วนใหญ่เป็นดินร่วนปนทรายไม่อุ้มน�้ำ
อาณาเขตติดต่อ
นายนิ กร ทองจิ ต ร
นายอ�ำเภอเสนางคนิคม
ประวัติความเป็นมา
ทิศเหนือ ติดต่อกับอ�ำเภอเลิงนกทา จังหวัดยโสธร ทิศตะวันออก ติดต่อกับอ�ำเภอชานุมาน จังหวัดอ�ำนาจเจริญ ทิศใต้ ติดต่อกับอ�ำเภอเมือง จังหวัดอ�ำนาจเจริญ ทิศตะวันตก ติดต่อกับอ�ำเภอไทยเจริญ จังหวัดยโสธร
ต� ำ นานเล่ า ขานว่ า มี ช าวผู ้ ไ ทอพยพมาตั้ ง ถิ่นฐานขึ้นใหม่ และในถิ่นนี้มีครอบครัวของ ชาวผู้ไทครอบครัวหนึ่งมีสาวงามสองคนชื่อว่า พิ ม พาและมาลา ชายหนุ ่ ม ในหมู ่ บ ้ า นและ หมู่บ้านใกล้เคียงต่างก็หลั่งไหลมายลโฉมจน บ้านนี้มีชื่อเรียกว่า “หมู่บ้านส่องนาง” หรือ สองนาง ต่อมาความทราบถึงเจ้าเมืองจึงได้น�ำ ตั ว เข้ า เฝ้ า และเจ้ า เมื อ งได้ ป ระทานรางวั ล ให้ โดยยกฐานะหมู่บ้านขึ้นเป็นเมืองชื่อเมือง “เสียนาง” ตรงกับค�ำอีสานผู้ไทว่า “เสนาง” คนทั่วไปจึงเรียกเมืองเสียนางว่าเสนางจนมา กระทั่งทุกวันนี้
100
SBL บันทึกประเทศไทย I อำ�นาจเจริญ
2
.indd 100
9/12/2563 10:50:58
WORK L IFE
การแบ่งเขตการปกครองและประชากร
อ�ำเภอเสนางคนิคม แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 6 ต�ำบล 58 หมู่บา้ น ดังนี้ 1.ต�ำบลเสนางคนิคม 15 หมู่บ้าน 2.ต�ำบลโพนทอง 10 หมู่บ้าน 3.ต�ำบลหนองไฮ 9 หมู่บ้าน 4.ต�ำบลไร่สีสุก 9 หมู่บ้าน 5.ต�ำบลนาเวียง 9 หมู่บ้าน และ 6.ต�ำบลหนองสามสี 6 หมู่บ้าน โดยมีประชากรทั้งหมด 40,489 คน แยกเป็นชาย 20,213 คน หญิง 20,636 คน จ�ำนวนครัวเรือน 12,353 ครัวเรือน (ข้อมูล ณ 30 กันยายน พ.ศ.2563) ส่วนใหญ่ประกอบ อาชีพเกษตรกรรม
ศาสนา วัฒนธรรม
ชาวอ�ำเภอเสนางคนิคมมีวัฒนธรรม จารีต ประเพณี เหมือนชาวอีสาน ทั่ วไป มี การจั ด งานประเพณี ต ่ า งๆ เช่ น งานแห่ เ ทีย นเข้ า พรรษาบุ ญ มหาชาติ บุญกฐิน บุญบั้งไฟ บุญข้าวจี่ เป็นต้น ประชากร นับถือศาสนา พุทธ 91% ศาสนาคริสต์ 9%
ผลิตผลทางการเกษตรที่ส�ำคัญ
อ�ำเภอเสนางคนิคม เป็นแหล่งผลิตข้าวหอมมะลิที่มีคุณภาพและมีชื่อ เสียงในระดับประเทศและจังหวัด ในการประกวดข้าวหอมมะลิระดับ ประเทศของกระทรวงพาณิชย์ ประจ�ำปี 2552 ได้รางวัลชนะเลิศอันดับที่ 1 ได้แก่ ข้าวตราไก่ โรงสีขา้ วเสนางคนิคม อ�ำเภอเสนางคนิคม จังหวัดอ�ำนาจเจริญ
สถานที่ท่องเที่ยวที่ส�ำคัญ
1.ภูพนมดี ตั้งอยู่ที่บ้านนาอุดม หมู่ที่ 3 ต�ำบลหนองไฮ อยู่ในแนวเทือก เขาภูพาน เดิมชื่อว่า “ภูแม่หม้าย” ต่อมาจึงเปลี่ยนชื่อเป็น “ภูพนมดี” เพื่อเป็นสิริมงคล แต่ทางราชการเรียกว่า “ภูผาดี” ซึ่งในบริเวณนี้ห่างจาก ภูพนมดีประมาณ 5 กิโลเมตร ก็จะพบเจดีย์หินพันล้านก้อน พระโรจน์ เล่าว่า ในช่วงวันเพ็ญ 15 ค�่ำ ชาวต�ำบลหนองไฮ มักเห็นปรากฏการณ์ ประหลาดเกิดขึ้นเสมอ ซึ่งชาวบ้านจะพบเห็นล�ำแสงสีเขียวพาดผ่านถ�้ำปู่ อัคฮาดไปยังถ�้ำแสงแก้ว และเชื่อว่าปู่อัคฮาดแสดงปาฏิหาริย์ ซึ่งเป็น ผู้ปกป้องรักษาบริเวณพื้นป่าและเทือกเขาแห่งนี้ให้อุดมสมบูรณ์ ไม่ให้ ตัดไม้ทำ� ลายป่า ต่อมา พ.ศ.2530 พระอาจารย์ปญั ญา จากวัดสุปฏั วนาราม วรวิหาร จังหวัดอุบลราชธานี มาปฏิบัติธรรมร่วมกับพระอาจารย์เพียว พระอาจารย์โจ ระหว่างวิปัสสนากรรมฐาน พระอาจารย์ปัญญานิมิต อัศจรรย์ขึ้นว่าเหล่าเทวดาต้องการให้สร้างสถานที่ยึดเหนี่ยวจิตใจ จึงน�ำ เรื่องไปปรึกษาญาติโยม จากนั้นจึงร่วมใจกันสร้างเจดีย์เพื่อความเป็น สิริมงคล ส�ำหรับพุทธศาสนิกชนได้กราบไหว้บูชาเป็นที่ยึดเหนี่ยวทางจิตใจ 2.ภูเกษตร ตั้งอยู่ที่บ้านนาอุดม หมู่ที่ 3 ต�ำบลหนองไฮ เป็นภูเขาสูง มีลานหินกว้าง มีน�้ำตกตาดฮังที่สวยงามในฤดูฝน มีหินเป็นรูปร่างต่างๆ มากมายเกิ ด จากธรรมชาติ และมี ห น้ า ผาสู ง ชั น เป็ น ที่ ตั้ ง วั ด ภู เ กษตร (ดานหินหัวนาค) 3.ภูโพนทอง ตั้งอยู่ที่บ้านโป่งหิน หมู่ที่ 5 และบ้านน้อยดอกหญ้า หมู่ที่ 8 ต�ำบลโพนทอง เป็นภูเขาหินทรายสูงจากระดับน�้ำทะเลประมาณ 353 ฟุต มีสิ่งที่น่าสนใจ คือ “สร้างวัด” หมายถึง โพรงหิน มีลักษณะ เหมือนบ่อน�้ำ “สร้าง” ภาษีอีสานออกเสียงว่า “ส่าง” หรือ “บ่อน�้ำดื่ม” อีกที่หนึ่งคือ แอวขัน ส�ำหรับค�ำว่า “แอว” เป็นภาษาอีสาน คือ “เอว” เป็นหน้าผาขนาดใหญ่ เป็นจุดชมวิวสวยงามแห่งหนึ่ง “ขัน” คือ ภาชนะ ตักน�้ำคล้ายพานคอกช้าง คือ เพิงหินขนาดใหญ่ เป็นลานกว้างมีก้อนหิน ขนาดใหญ่ ล ้ อ มรอบ เมื่ อ ก่ อ นช้ า งที่ ขึ้ น ไปหากิ น หญ้ า หรื อ ใบไม้ บ น ภูโพนทอง จะอาศัยเพิงหินแห่งนี้เป็นที่พักหรือที่หลบฝน ชาวบ้านจึงเรียก ว่า “คอกช้าง”
แนวทางการพัฒนาอ�ำเภอเสนางคนิคม จังหวัดอ�ำนาจเจริญ ปีงบประมาณ พ.ศ.2564
1. ส่งเสริมให้อ�ำเภอเสนางคนิคมเป็นแหล่งพัฒนาการ ผลิตข้าวหอมมะลิ และสินค้าเกษตรปลอดภัย 2. ส่งเสริมพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศและวัฒนธรรม 3. ส่งเสริมพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนและเสริมสร้าง ความมั่นคงในพื้นที่
AMNAT CHAROEN I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 101
101
9/12/2563 10:51:00
WO R K LI FE
เทศบาลต�ำบลเสนางคนิคม “เทศบาลต� ำ บลเสนางคนิ ค มน่ า อยู ่ เชิ ด ชู ส ่ ง เสริ ม และสนั บ สนุ น การศึ ก ษา แหล่ ง ผลิ ต ข้ า วหอมมะลิ ล�้ ำ ค่ า ส่ ง เสริ ม ประเพณี แ ละวิ ถี ป ระชา น้ อ มน� ำ ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง” วิ สั ย ทั ศ น์
ปัจจุบัน นายพุทธา นารีวงศ์ ด�ำรงต�ำแหน่งนายกเทศมนตรีต�ำบลเสนางคนิคม นายชัยเฉลิม ชุบขุนทด รองนายกเทศมนตรีต�ำบลเสนางคนิคม นายสุรเชษฐ์ สุริยะศรี รองนายกเทศมนตรีต�ำบลเสนางคนิคม นายสัญญา สุริยะวัน เลขานุการนายกเทศมนตรีต�ำบลเสนางคนิคม นายวิละ สุดวิเศษ ที่ปรึกษานายกเทศมนตรีต�ำบลเสนางคนิคม นายบัญชา พันธ์จ�ำปา ปลัดเทศบาลต�ำบลเสนางคนิคม
พันธกิจของเทศบาลต�ำบลเสนางคนิคม
นายพุ ท ธา นารี ว งศ์
นายกเทศมนตรีต�ำบลเสนางคนิคม
เทศบาลต�ำบลเสนางคนิคม เป็นเทศบาล ต� ำ บลขนาดเล็ ก ได้ รั บ การยกฐานะมาจาก สุขาภิบาล เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ.2542 ตามพ.ร.บ. เปลี่ยนแปลงฐานะสุขาภิบาลเป็น เทศบาล พ.ศ. 2542 ตั้ ง อยู ่ ใ นพื้ น ที่ ต� ำ บล เสนางคนิ ค ม อ� ำ เภอเสนางคนิ ค ม จั ง หวั ด อ�ำนาจเจริญ โดยมีอาณาเขตครอบคลุมบ้าน หนองทับม้า หมู่ที่ 1,3,4,11,12 และบ้านบก หมู่ที่ 2 และหมู่ที่ 14 มีพื้นที่ประมาณ 5.1 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 3,187.5 ไร่ อยู ่ ท างทิ ศ เหนื อ ของจั ง หวั ด อ� ำ นาจเจริ ญ ประมาณ 23 กิโลเมตร ห่างจากกรุงเทพมหานคร ประมาณ 640 กิโลเมตร
102
1.พั ฒ นาโครงสร้ า งพื้ น ฐาน และระบบสาธารณู ป โภคให้ ค รบทุ ก หมู ่ บ ้ า น 2.อนุ รั ก ษ์ ฟ ื ้ น ฟู ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม 3.ส่งเสริมและพัฒนาการผลิตข้าวหอมมะลิคุณภาพดี 4.พัฒนา คุณภาพชีวิตของชุมชน 5.ส่งเสริมการศึกษา การกีฬา และกิจกรรมนันทนาการ ตลอดจนอนุรักษ์ ศิลปวัฒนธรรมประเพณี ให้คงอยู่สืบไป 6.ส่งเสริมการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี 7.ส่งเสริมการ น้อมน�ำเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
รางวัลแห่งความตั้งใจและภูมิใจ
เทศบาลต�ำบลเสนางคนิคม ได้รับรางวัล จ�ำนวน 3 รางวัล การบริหารจัดการขยะมูลฝอย “อ�ำนาจเจริญเมืองสะอาด” ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ.2563 ดังนี้ 1. รางวัลรองชนะเลิศ อันดับ 2 ประเภท “ตลาด” 2. รางวัลชมเชย ประเภท องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 3. รางวัลชมเชย ประเภท สถานศึกษาศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ทต.เสนางคนิคม ขอบคุณทุกท่านที่มีส่วนร่วม “รางวัลแห่งความตั้งใจและภูมิใจ” ของกองสาธารณสุข และ ทุกกอง รวมทั้งประชาชนชาวเทศบาลที่ร่วมด้วยช่วยกัน
SBL บันทึกประเทศไทย I อำ�นาจเจริญ
3
.indd 102
9/12/2563 11:07:30
WORK L IFE
ทต.เสนางคนิคมชวนเที่ยว “หอแจก” วัดโพธาราม
วัดโพธาราม ตั้งอยู่ที่บ้านหนองทับม้า ต�ำบลเสนางคนิคม อ�ำเภอ เสนางคนิคม จังหวัดอ�ำนาจเจริญ ในวัดเป็นทีต่ งั้ หอแจก (ศาลาการเปรียญ) มีอายุเก่าแก่งดงาม เรียบง่าย เป็นศาลาโรงธรรมประจ�ำวัด เป็นสถานที่ แจกธรรมะ กลางหอแจกจึงมีธรรมาสน์ให้พระสงฆ์สวดพระธรรมเทศนา ให้ ป ระชาชนฟั ง นอกจากนั้ น หอแจกยั ง เป็ น อาคารเอนกประสงค์ สาธารณะของผู้คนในชุมชน เพราะวัดเป็นศูนย์กลางกิจกรรมสาธารณะ ในสังคมไทย จึงท�ำหน้าที่รองรับกิจกรรมสาธารณะต่างๆ ของผู้คนใน ชุมชนด้วย เช่น การชุมนุมในงานประเพณีต่างๆ เป็นต้น
สักการบูชา “พระเจ้าใหญ่ชัยสิทธิวรมหามงคลอนันตจักรวาล” วัดตาลเลียน
วัดตาลเลียน เป็นวัดประจ�ำหมู่บ้าน เป็นศูนย์รวมจิตใจของชาวบ้าน ตั้งอยู่ที่บ้านบก หมู่ 2 ต�ำบลเสนางคนิคม อ�ำเภอเสนางคนิคม จังหวัด อ�ำนาจเจริญ ค�ำว่า ตาลเลียน มีที่มาจากที่เมื่อก่อนมีต้นตาลเรียงกันเป็น แถวอยู่บริเวณวัด ซึ่งค�ำว่า “เรียง” ภาษาอีสานก็จะเพี้ยนเป็น “เลียน” จึงตั้งชื่อวัดว่า วัดตาลเลียน เมื่อเข้ามาภายในวัดก็จะพบกับ “พระเจ้า ใหญ่ชัยสิทธิวรมหามงคลอนันตจักรวาล” หรือที่ชาวบ้านเรียกว่าองค์ พระเจ้าใหญ่ สร้างขึ้นเพื่อเป็นสัญลักษณ์ให้กับวัดและเป็นเครื่องยึดเหนี่ยว จิตใจให้กับชาวบ้าน AMNAT CHAROEN I SBL บันทึกประเทศไทย
3
.indd 103
103
9/12/2563 11:07:35
WO R K LI FE
“โครงการสร้างสัญลักษณ์แห่งสถานที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ รัชกาลที่ 9 เสด็จพระราชด�ำเนินทรงปฏิบตั พิ ระราชกรณียกิจ เพือ่ บ�ำบัด ทุกข์ บ�ำรุงสุข แก่ประชาชน เฉลิมพระเกียรติ เนื่องในโอกาสมหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550” คือป้ายแห่งประวัติศาสตร์และความภาคภูมิใจของชาวเสนางคนิคม เมื่อประชาชนที่เดินทางมาติดต่อราชการ ณ ที่ว่าการอ�ำเภอเสนางคนิคม จังหวัดอ�ำนาเจริญ ผ่านประตูที่ 1 เข้าไปไม่ถึง 100 เมตร จะพบเห็นแผ่น ป้ายซีเมนต์ขนาดกลางติดตั้งอยู่ เขียนค�ำว่า “โครงการสร้างสัญลักษณ์ แห่งสถานที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ เสด็จพระราชด�ำเนินทรง ปฏิบัติพระราชกรณียกิจ เพื่อบ�ำบัด ทุกข์ บ�ำรุงสุข แก่ประชาชน เฉลิมพระเกียรติ เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 ” อย่างเด่นชัด ขอเชิญชวนนักท่องเที่ยวเข้าชม โดยภายในศาลาคอนกรีต ซึ่งตั้งเด่น เป็นสง่าอยู่กลางสนามหญ้า หน้าที่ว่าการอ�ำเภอเสนางคนิคม มีภาพถ่าย ในหลวงรัชกาลที่ 9 และพระบรมวงศานุวงศ์ ได้เสด็จพระราชด�ำเนินทรง ปฏิบัติพระราชกรณียกิจ เยี่ยมเยียนพสกนิกรชาวเสนางคนิคม และอ�ำเภอ ใกล้เคียง ซึ่งประชาชนผู้ที่เคยเฝ้ารับเสด็จฯ ก็จะพาบุตรหลานมาชม ภาพถ่ายเป็นประจ�ำ เพื่อย้อนร�ำลึกถึงประวัติศาสตร์ที่ครั้งหนึ่ง พระบาท สมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร รัชกาลที่ 9 เสด็จพระราชด�ำเนินมาโปรดท�ำให้แผ่นดินสงบร่มเย็น โดย เฉพาะเมื่ อ ถึ ง วั น ที่ 5 ธั น วาคม หรื อ วั น พ่ อ แห่ ง ชาติ ของทุ ก ปี จ ะมี ประชาชนเดินทางมาชมภาพประวัติศาสตร์ที่ศาลาแห่งนี้อย่างต่อเนื่อง
อนุสรณ์ผู้ก่อตั้งบ้านหนองทับม้า “อาชญาเฒ่าเจ้าก�่ำ”
อนุ ส รณ์ ผู ้ ก ่ อ ตั้ ง บ้ า นหนองทั บ ม้ า “อาชญาเฒ่ า เจ้ า ก�่ ำ ” ซึ่ ง เป็ น ราชบุตรของพระวอราชภักดี ก่อตั้งในสมัยพระเจ้ากรุงธนบุรีศรีมหาสมุทร ในปี พ.ศ. 2319
ติดต่อ เทศบาลต�ำบลเสนางคนิคม
ตั้งอยู่เลขที่ 278 หมู่ 11 ถนนดอนหวาย-นาไร่ใหญ่ ต�ำบลเสนางคนิคม อ�ำเภอเสนางคนิคม จังหวัดอ�ำนาจเจริญ รหัสไปรษณีย์ 37290 โทรศัพท์ 045-461-015 โทรสาร 045-461-039 104
SBL บันทึกประเทศไทย I อำ�นาจเจริญ
3
.indd 104
9/12/2563 11:07:39
Let’s Go Thailand With SBL บันทึกประเทศไทย
HISTORY OF THE PROVINCE
TOURIST ATTRACTIONS SBL บันทึกประเทศไทย
Let's go thailand.indd 13
www.sbl.co.th SBL MAGAZINE
THE VILLAGERS IN THE PROVINCE SBL บันทึกประเทศไทย
. - 25/11/2562 09:25:59 AM
WO R K LI FE
เทศบาลต�ำบลสิริเสนางค์ “สิ ริ เ สนางค์ ชุ ม ชนเข้ ม แข็ ง แหล่ ง ธรรมะเกษตรอิ น ทรี ย ์ สื บ สานประเพณี วั ฒ นธรรม น้ อ มน� ำ เศรษฐกิ จ พอเพี ย ง อนุ รั ก ษ์ ท รั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ มเป็ น ท้ อ งถิ่ น ธรรมาภิ บ าล” วิ สั ย ทั ศ น์ เ ทศบาลต� ำ บลสิ ริ เ สนางค์
นายเดชา กาฬจั น ทร์ นายกเทศมนตรีต�ำบลสิริเสนางค์
เป็นพืน้ ทีร่ าบ เหมาะแก่การท�ำการเกษตรกรรมไม่มแี ม่นำ�้ ไหลผ่าน แต่จะมีหว้ ย หนองน�ำ้ ตามธรรมชาติ เช่น ห้วยกื๊กก๊าก ห้วยละโอง ห้วยบ้าน ห้วยนาหว้า ห้วยหินลิบ หนองบัวขาว เป็นต้น นอกจากนั้น ยังมีแหล่งน�้ำที่สร้างขึ้นเอง เช่น สระเก็บน�้ำ บ่อบาดาล ซึ่งไม่เพียงพอ กับความต้องการของ ประชาชนในการใช้นำ �้ โดยเฉพาะน�ำ้ ท�ำการเกษตรในฤดูแล้ง สภาพดิน ส่วนใหญ่เป็นดินร่วนปนทราย เทศบาลต�ำบลสิริเสนางค์ มีประชากรทั้งสิ้น 6,842 คน แบ่งเป็น ชาย 3,409 คน หญิง 3,433 คน มีจ�ำนวนครัวเรือนทั้งสิ้น 2,207 ครัวเรือน อาชีพ ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพด้านเกษตรกรรม โดยท�ำนาท�ำไร่ เลี้ยงสัตว์ เป็นหลัก และประกอบอาชีพรับจ้างหลังฤดูกาลเก็บเกี่ยวเป็นอาชีพเสริมนอกจากนั้น ยังมี การท�ำไร่นาสวนผสมบ้าง แต่มจี ำ� นวนเพียงเล็กน้อย ปัจจุบนั ได้มกี ารรวมกลุม่ ทางเศรษฐกิจ เพื่อให้มีอ�ำนาจต่อรอง ในการ ประกอบอาชีพ เช่น กลุ่มอาชีพต่างๆ ฯลฯ เทศบาลต�ำบลสิริเสนางค์ มีศักยภาพเอื้อต่อการพัฒนา มีความได้เปรียบของสถานที่ตั้ง ที่พื้นที่เขตติดต่อกับศูนย์ราชการอ�ำเภอเสนางคนิคมและเทศบาลต�ำบลเสนางคนิคม การ คมนาคมติดต่อกับภาครัฐ และเอกชนของประชาชนมีความสะดวก มีแหล่งชุมชนร้านค้า ที่ใหญ่ที่สุดในอ�ำเภอเสนางคนิคม ติดกับถนนชยางกูร ซึ่งเป็นข้อได้เปรียบในด้านธุรกิจ ที่สามารถขยายตัวได้อีกมาก
เทศบาลต�ำบลสิริเสนางค์ ยกฐานะจากองค์การบริหาร ส่วนต�ำบลเสนางคนิคม เมื่อวันที่ 5 กันยายน 2556 เป็น เทศบาลต�ำบลขนาดกลางที่ตั้งอยู่ทางทิศเหนือของจังหวัด อ�ำนาจเจริญ ห่างจากตัวจังหวัด ระยะทาง 22 กิโลเมตร และมีพื้นที่ติดต่อกับเขตเทศบาลต�ำบลเสนางคนิคม โดยมี เนือ้ ทีท่ งั้ สิน้ 58,687.50 ไร่ หรือ 93.9 ตารางกิโลเมตร และ เป็นพื้นที่เกษตรกรรมจ�ำนวน 15,386 ไร่
106
.
3
SBL บันทึกประเทศไทย I อำ�นาจเจริญ
.indd 106
17/12/2563 11:34:44
WORK L IFE
แหล่งท่องเที่ยวในพื้นที่ ไหว้พระใหญ่หลวงพ่อทันใจวัดบ้านนาไร่ใหญ่
ถ�้ำจ�ำปาบ้านนาสะอาด
ไหว้พระใหญ่บ้านคึมข่า
4. หมู่บ้านวัฒนธรรมชาวภูไทบ้านนาสะอาด และ ศูนย์ OTOP โฮมสเตย์บ้านนาสะอาด
AMNAT CHAROEN I SBL บันทึกประเทศไทย
.
3
.indd 107
107
17/12/2563 11:34:50
WO R K LI FE
สินค้า OTOP
ชาวต�ำบลเสนางคนิคมมีฝีมือและความถนัดด้านศิลปหัตถกรรม จาก กลุ่มสตรีทอผ้า และกลุ่มตัดเย็บเสื้อผ้า ซึ่งได้พัฒนาต่อไปเป็นสินค้า OTOP ที่มีคุณภาพ ประกอบด้วย 1. ทอผ้าลายขิดภูไท ระดับ 5 ดาว ราคา 200 บาท ผลิตโดยกลุ่ม เเม่บ้านทอผ้าลายขิดภูไท ที่อยู่ ม.7 บ้านนาสะอาด ต�ำบลเสนางคนิคม อ�ำเภอเสนางคนิคม จังหวัดอ�ำนาจเจริญ 37290 เบอร์ 082-1353504 2. ผ้าทอมือผ้าพันคอ,ผ้าตัดเสื้อ,ผ้าคลุมไหล่,ผ้ามัดหมี่ ระดับ 5 ดาว ราคา 150 บาท ผลิตโดยกลุ่มวิสาหกิจผ้าทอมือบ้านนาสะอาด ที่อยู่ 164 ม.7 บ้านนาสะอาด ต�ำบลเสนางคนิคม อ�ำเภอเสนางคนิคม จังหวัด อ�ำนาจเจริญ 37290 เบอร์ 082-1353504 3. ปลาส้มคุณเจต ปลาส้มกิโลกรัมละ 150 บาท, ไส้กรอกปลาราคา 50 บาท ระดับ 5 ดาว ผลิตโดยวิสาหกิจชุมชนเเปรรูปผลผลิตการเกษตร ม.7 ที่อยู่ 192 ม.7 บ้านนาสะอาด ต�ำบลเสนางคนิคม อ�ำเภอเสนางคนิคม จังหวัดอ�ำนาจเจริญ 37290 เบอร์ 084-4782750 4. ข้าวเกรียบกลอยภูไท ระดับ 5 ดาว ผลิตโดยวิสาหกิจชุมชนเเม่บา้ น เเปรรูปกลอยเมืองธรรมเกษตร ที่อยู่ 91 ม.7 ต�ำบลเสนางคนิคม อ�ำเภอ เสนางคนิคม จังหวัดอ�ำนาจเจริญ 37290 เบอร์ 0800043231
กิจกรรมส�ำคัญของส�ำนักงาน
ประเพณีสงฆ์น�้ำพระถ�้ำ ณ วัดป่าบ้านนาสะอาด และสงฆ์น�้ำพระถ�้ำ ณ บริเวณภูพระถ�้ำโยงโยก จัดขึ้นเป็นประจ�ำทุกปี เป็นประเพณีที่มีความ เป็นมาอย่างยาวนานของชาวต�ำบลเสนางคนิคม ก่อนฤดูการท�ำนา ชาวบ้าน ต่างพร้อมใจกันจัดงานท�ำบุญเพื่อความร่มเย็นเป็นสุข เมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม 2561 เทศบาลต�ำบลสิริเสนางค์ ร่วมกับ สภา วัฒนธรรมต�ำบลเสนางคนิคม และชาวบ้านนาสะอาด จัดกิจกรรมสงฆ์น�้ำ พระถ�ำ ้ ณ วัดป่าบ้านนาสะอาด และสงฆ์นำ�้ พระถ�ำ ้ ณ บริเวณภูพระถ�ำ้ โยงโยก พร้อมทั้งเชิญชวนพุทธศาสนิกชน ชาวบ้านในพื้นที่ ต�ำบลเสนางคนิคม ร่วมท�ำบุญถวายภัตตาหารเพลแด่พระสงฆ์ ซึง่ ได้นมิ นต์มาจากวัดทุกแห่งใน พื้นที่อำ� เภอเสนางคนิคม เพื่อปลุกจิตส�ำนึกให้เยาวชนและประชาชนทั่วไป ร่วมท�ำบุญท�ำความดี และเป็นการสืบสานประเพณีวัฒนธรรมดั้งเดิมของ ชาวบ้านในการอนุรักษ์วัฒนธรรมพื้นบ้านให้คงอยู่สืบไป เพื่อความร่มเย็น เป็นสุข พร้อมทั้งส่งเสริมให้เยาวชนและประชาชนทั่วไป ได้ร่วมกันปลูกป่า อนุรักษ์ธรรมชาติ 108
.
3
SBL บันทึกประเทศไทย I อำ�นาจเจริญ
.indd 108
17/12/2563 11:34:50
2.indd 999
3/8/2561 9:24:03
WO R K LI FE
องค์การบริหารส่วนต�ำบลโพนทอง “เชิ ด ชู วั ฒ นธรรม เกษตรกรรมปลอดสารพิ ษ พั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต เศรษฐกิ จ แบบพอเพี ย ง” วิ สั ย ทั ศ น์
เขตการปกครอง
แบ่งเป็น 10 หมู่บ้าน คือ หมู่ที่ 1 บ้านโพนทอง หมู่ที่ 2 บ้านสว่าง หมู่ที่ 3 บ้านโพนทอง หมู่ที่ 4 บ้านโพนทอง หมู่ที่ 5 บ้านโป่งหิน หมู่ที่ 6 บ้านหนองโน หมู่ที่ 7 บ้านสวนโคก หมู่ที่ 8 บ้านน้อยดอก หญ้า หมู่ที่ 9 บ้านโพนทอง และหมู่ที่ 10 บ้านโป่งหิน
จ�ำนวนประชากร
มีประชากรทั้งสิ้น 5,539 คน แยกเป็นชาย 2,764 คน หญิง 2,785 คน มีจ�ำนวนครัวเรือนทั้งหมด 1,462 ครัวเรือน
สภาพทางเศรษฐกิจ
นายธวั ช ผลให้
การประกอบอาชีพของประชาชน ในเขตองค์การบริหารส่วนต�ำบลโพนทอง ส่วนใหญ่ประกอบ อาชีพเกษตรกรรม ได้แก่ ท�ำไร่ ท�ำนา ท�ำสวน และรับจ้าง เป็นต้น ส�ำหรับพืชทีเ่ พาะปลูกได้แก่ ยางพารา มันส�ำปะหลัง ยูคาลิปตัส ข้าวโพด และพืชผักสวนครัวอื่นๆ นอกจากนี้ ยังมีการรวมกลุ่มเพื่อท�ำ หัตถกรรมพื้นบ้านเป็นอาชีพเสริม หลังเสร็จสิ้นฤดูกาลเก็บเกี่ยว ได้แก่ ฝ้าย ผ้าไหม การจักสาน เช่น กลุ่มอาชีพสตรี กลุ่มแม่บ้านทอผ้า บ้านน้อยดอกหญ้ากลุ่มทอผ้า สตรีทอผ้า ม.9 กลุ่มทอผ้าไหมต�ำบล โพนทอง กลุ่มประดิษฐ์ดอกไม้ใยบัว เพื่อจ�ำหน่ายเป็นผลิตภัณฑ์ OTOP เป็นต้น รวมถึงการรวมกลุ่ม อาชีพอื่นๆ เช่น กลุ่มยางพารา กลุ่มตัดเย็บเสื้อผ้า กลุ่มนวดสมุนไพร กลุ่มผลิตปุ๋ยอินทรีย์ ซึ่งจะมีการ รวมกลุ่มกันทุกหมู่บ้าน
องค์การบริหารส่วนต�ำบลโพนทอง
องค์การบริหารส่วนต�ำบลโพนทอง จัดตัง้ ขึน้ เมือ่ วันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2540 เป็นองค์การ บริหารส่วนต�ำบลขนาดกลาง ตัง้ อยูท่ างทิศเหนือ ของจั ง หวั ด อ� ำ นาจเจริ ญ ห่ า งประมาณ 31 กิ โ ลเมตร มี พื้ น ที่ โ ดยประมาณ 61 ตาราง กิโลเมตร ท�ำเลที่ตั้งต�ำบลโพนทองเป็น 1 ใน 6 ต� ำ บลในเขตอ� ำ เภอเสนางคนิ ค ม จั ง หวั ด อ�ำนาจเจริญ โดยต�ำบลโพนทองอยู่ห่างจากที่ ว่าการอ�ำเภอเสนางคนิคม ไปทางทิศตะวันออก เป็นระยะทางประมาณ 6 กิโลเมตร ปัจจุบัน นายธวัช ผลให้ ด�ำรงต�ำแหน่งนายกองค์การ บริหารส่วนต�ำบลโพนทอง
110
.
5
SBL บันทึกประเทศไทย I อำ�นาจเจริญ
.indd 110
9/12/2563 10:22:04
WORK L IFE
สภาพทางสังคม
การศึกษา มีโรงเรียนประถม 3 แห่ง คือ โรงเรียนบ้านโพนทอง ซึ่งเป็น โรงเรียนขยายโอกาสแห่งเดียวในต�ำบลโพนทอง , โรงเรียนบ้านหนองโนสวน โคก และ โรงเรียบบ้านโป่งหิน นอกจากนี้ยังมี ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 2 แห่ง คือ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้าน โพนทอง หมูท่ ี่ 1 และศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กบ้านโป่งหิน หมูท่ ี่ 5 ,หมูท่ ี่ 10 และ ศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์วัดอินทราราม บ้านสว่าง หมู่ที่ 2 ส�ำหรับทีอ่ า่ นหนังสือพิมพ์ประจ�ำตามทีท่ ำ� การผูใ้ หญ่บา้ นมีทงั้ หมด 10 แห่ง
สถาบันและองค์กรทางศาสนา มีวัด 4 แห่ง ดังนี้ 1. วัดบ้านโพนทอง หมู่ที่ 1,3,4,8,9 2. วัดบ้านสว่าง หมู่ที่ 2 3. วัดบ้านหนองโนน หมู่ที่ 6,7 4. วัดบ้านโป่งหิน หมู่ที่ 5,10 และมีที่พักส�ำนักสงฆ์ 3 แห่ง หมู่ที่ 8
AMNAT CHAROEN I SBL บันทึกประเทศไทย
.
5
.indd 111
111
9/12/2563 10:22:08
WO R K LI FE
วัดกลางรุ่งอรุณบ้านหนองโนสวนโศก สาธารณสุข
มีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบล / หมู่บ้าน 2 แห่ง คือ โรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพบ้านโพนทอง และ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านโป่งหิน
ศักยภาพต�ำบล
ต�ำบลโพนทองมีภเู ขา คือ ภูเขาโพนทอง ซึง่ เหมาะทีจ่ ะพัฒนาเป็นแหล่ง ท่องเที่ยวระดับต�ำบล หรือระดับจังหวัดต่อไป เพราะมีสภาพภูมิศาสตร์ ที่สามารถพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยวตามธรรมชาติ และแหล่งท่องเที่ยว เชิงนิเวศ อีกทัง้ ยังเป็นพืน้ ทีท่ มี่ ศี กั ยภาพมีความพร้อมทีเ่ ป็นแหล่งผลิตสินค้า เศรษฐกิจ ได้แก่ ข้าวหอมมะลิ ยางพารา มันส�ำปะหลัง เป็นต้น
ภูมิปัญญาพื้นบ้าน
ชาวต�ำบลโพนทองมีฝมี อื ด้านศิลปหัตถกรรม เช่น มีกลุม่ ประดิษฐ์ดอกไม้ ใยบัว กลุ่มสตรีทอผ้า กลุ่มฟ้อนนก และ กลุ่มตัดเย็บเสื้อผ้า ซึ่งพัฒนาเป็น สินค้า OTOP ที่มีคุณภาพและส่งออกในปัจจุบัน ประเพณีท้องถิ่น ประเพณีบญุ บัง้ ไฟ, ประเพณีสรงน�ำ้ พระภู เชิดชูวฒั นธรรม ณ ภูโพนทอง ทุกวันที่ 15 เมษายน ของทุกปี, ประเพณีบุญเลี้ยงบ้าน และ กีฬาประเพณี เป็นต้น 112
.
5
SBL บันทึกประเทศไทย I อำ�นาจเจริญ
.indd 112
9/12/2563 10:22:12
WORK L IFE
วัดอินทราราม
วัดบ้านโพนทอง AMNAT CHAROEN I SBL บันทึกประเทศไทย
.
5
.indd 113
113
9/12/2563 10:22:17
WO R K LI FE
ชนท่องเที่ยว ถ�้ำพระ ภูโพนทอง ต�ำบลโพนทอง อ�ำเภอเสนางคนิคม จังหวัดอ�ำนาจเจริญ มีพระพุทธรูปเก่าแก่อายุหลายร้อยปี มีทั้งด้วยไม้ ดิน หิน
ชาวบ้านนิยมขึ้นไปสรงน�ำ้ พระในวันสงกรานต์ ปีใดฝนแล้งชาวบ้านจะขึ้นไปขอฝน และภูโพนทองแห่งนี้ มีประวัติศาสตร์มากมายชวนศึกษาและเรียนรู้ จึง ขอเชิญนักท่องเที่ยวมากราบสักการบูชาพระพุทธรูปเก่าแก่เพื่อความเป็นสิริมงคลแห่งชีวิต และชื่นชมธรรมชาติอันบริสุทธิ์ที่ยังคงสงบเย็นมาจนถึงทุกวันนี้
114
.
5
SBL บันทึกประเทศไทย I อำ�นาจเจริญ
.indd 114
9/12/2563 10:22:20
“ ห้องพักสะอาด บรรยากาศดี วิวสวย ”
WITCHAYA Resort โรงแรมวิชยารีสอร์ท
โอบล้ อ มด้ ว ยสี เ ขี ย ว ร่ ม รื่ น เงี ย บเหมาะกั บ การพั ก ผ่ อ นในวั น หยุ ด และส� ำ หรั บ ท่ า นที่ ต ้ อ งการความเป็ น ส่ ว นตั ว บ้ า นพั ก เป็ น หลั ง จะพั ก คนเดี ย ว เป็ น คู ่ หรื อ ครอบครั ว ก็ ไ ด้ มี ที่ จ อดรถสะดวก ปลอดภั ย อุ ป กรณ์ อ� ำ นวย ความสะดวกครบครัน
บริการห้องพักตลอด 24 ชั่วโมง ส�ำรองห้องพักติดต่อได้ ที่
โรงแรมวิชยารีสอร์ท (WITCHAYA RESORT) ข้างโรงพยาบาลหัวตะพาน เลขที่ 260 ม.7 ต.รัตนวารี อ.หัวตะพาน จ.อ�ำนาจเจริญ 37240 โรงแรมวิชยา รีสอร์ท (ติดต่อ messenger วิชยารีสอร์ท) @nutchanart1
I SBL บันทึกประเทศไทย 115 Tel : 0813894635 และNAN0933214635
.
1
.indd 115
16/12/2563 16:20:08
History of buddhism....
วัดบ่อชะเนง พระราชปรีชาญาณมุนี (หลอม มหาวิริโย ป.ธ.7) เจ้าอาวาสวัดบ่อชะเนง / เจ้าคณะจังหวัดอำ�นาจเจริญ
116
2
วัดบ่อชะเนง 51 หมู่ 4 บ้านบ่อชะเนง ต�ำบลหนองแก้ว อ�ำเภอหัวตะพาน จังหวัดอ�ำนาจเจริญ
วัดบ่อชะเนง ต�ำบลหนองแก้ว อ�ำเภอหัวตะพาน จังหวัดอ�ำนาจเจริญ ตัง้ วัดเมื่อประมาณปี พ.ศ. 2345 เดิมชื่อว่าวัดโพธิ์ศรี ตั้งอยู่ที่บ้านบ่อชะเนง ต�ำบลหนองแก้ว อ�ำเภอหัวตะพาน จังหวัดอ�ำนาจเจริญ เป็นถิ่นก�ำเนิดของ บูรพาจารย์ผู้ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ คือ หลวงปู่ขาว อนาลโย วัดถ�้ำกลองเพล จังหวัดหนองบัวล�ำภู พระกรรมฐานชือ่ ดังลูกศิษย์หลวงปูม่ นั่ ภูรทิ ตฺโต วัดถ�ำ้ กลองเพล จังหวัดหนองบัวล�ำภู ด้วย
SBL บันทึกประเทศไทย I อ�ำนาจเจริญ
.indd 116
9/12/2563 11:29:51
วิหารหลวงปู่ขาว อนาลโย
ประวัติ หลวงปู่ขาว อนาลโย
หลวงปู่ขาว อนาลโย วัดถ�้ำกลองเพล อ.เมือง จ.หนองบัวล�ำภู นามเดิม ขาว โคระถา เกิดเมื่อวันที่ 28 ธันวาคม พ.ศ.2431 ที่บ้าน บ่อชะเนง ต.หนองแก้ว อ.หัวตะพาน จ.อ�ำนาจเจริญ บิดา ชื่อ พั่ว มารดาชื่อ รอด อาชีพท�ำนา มีพี่น้อง 7 คน หลวงปู่ขาว คนที่ 4 และ ตอนหลวงปู่ขาว ยังเป็นฆราวาสครองเรือน แต่งงานมีธิดา 7 คนการ ครองเรือนไม่ราบรื่น เพราะภรรยา ไม่ตั้งอยู่ในศีลธรรม เป็นเหตุให้ หลวงปู่ขาว เกิดความสลดสังเวช เบื่อหน่ายในชีวิตของการครองเรือน จึงได้ตัดสินใจบวชอย่างสง่างาม ที่วัดบ่อชะเนง สมัยนั้นเรียกว่า วัดโพธิ์ศรี ในปี พ.ศ.2462 อยู่จ�ำพรรษา 6 พรรษา จึงได้ออกเดิน ธุดงคกรรมไปที่วัดพระธาตุพนม ลุถึงอุดร หนองคาย ได้พบศึกษา อบรม ปฏิบัติธรรม กับ หลวงปู่มั่น ภูริทตโต ที่ อ.ท่าบ่อ จ.หนองคาย เมื่อหลวงปู่มั่น อยู่ที่เชียงใหม่ หลวงปู่ขาว จึงเดินธุดงคกรรมฐาน ไปด้วย พักจ�ำพรรษา ตามป่าภูเขาล�ำเนาไพร ผจญสัตว์ป่า มีช้างใหญ่ เสือโคร่ง เป็นต้น แต่หลวงปู่ขาว ไม่ท้อถอย ปฏิบัติธรรมตามปกติ ได้ศึกษา ข้ออรรถธรรมกับหลวงปู่มั่น อยู่บ่อยๆ จนภูมิธรรมเต็มจิตใจ หมดความสงสัยในธรรมอย่างสิ้นเชิง จึงได้อนุสรณ์ย้อนกลับถิ่นปิตุภูมิ มาตุภูมิ เพื่อโปรดญาติโยมและจ�ำพรรษาในอุโบสถวัดบ้านเก่าบ่อ 1 พรรษา จึงกลับสกลนคร ในปี พ.ศ.2501 หลวงปู่ขาว ท่านได้วิเวกไปตามล�ำดับ จนถึง วัดถ�้ำกลองเพล ท่านเห็นว่า เหมาะสมแก่อัธยาศัย จึงพักประจ�ำอยู่ ที่นี่ จนถึงวาระสุดท้าย ของชีวิตท่าน ซึ่งมรณภาพ เมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2526 สิริรวมอายุได้ 96 ปี 64 พรรษา
ขณะที่ หลวงปู่ขาว อนาลโย บวชและจ�ำพรรษาอยู่ที่วัดบ่อชะเนง ปี พ.ศ.2462 – 2468 พร้อมด้วยญาติโยม ชาวบ้าน ได้ท�ำการก่อสร้าง เป็นลักษณะ ก่อด้วยอิฐฉาบดินเหนียว สูตรผสมตามภูมปิ ญ ั ญาชาวบ้าน หลังคามุงด้วยกระเบือ้ ง ดินเผา ให้เป็นทีท่ ำ� สังฆกรรมของสงฆ์ จนกลาย เป็นอุโบสถหลังใหม่ ปี พ.ศ. 2530 จึงเปลีย่ นเป็น “วิหารหลวงปูข่ าว” ในปัจจุบัน ตั้งอยู่ใกล้กับอุโบสถ ภายในประดิษฐานมณฑป บรรจุ พระบรมสารีรึกธาตุ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ด้านซ้ายองค์พระประธาน ซึ่งพุทธศาสนิกชน เดินทางเข้ามากราบนมัสการเป็นประจ�ำ การบูรณปฏิสังขรณ์ ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2521 เปลี่ยนหลังคากระเบื้องดินเผาเป็นสังกะสี ครั้งที่ 2 พ.ศ. 2530 เปลี่ยนทรงหลังคา และมุงด้วยกระเบื้องลอนคู่ ครัง้ ที่ 3 พ.ศ. 2547 รือ้ อาคารครอบทีช่ ำ� รุดออก และออกแบบสร้างใหม่ โดยได้รับสายธารศรัทธาจาก คุณสาคร-คุณกัลยาณี กยาวัฒนกิจ พร้อมด้วยบุตรธิดา กรุงเทพมหานคร บริจาคเงินเป็นค่าก่อสร้าง และ ผูม้ จี ติ ศรัทธาบริจาคร่วมสมทบ ซึง่ มี พระราชปรีชาญาณมุนี เจ้าอาวาส วัดบ่อชะเนง และเจ้าคณะจังหวัดอ�ำนาจเจริญ เป็นประธานอ�ำนวยการ พร้อมด้วยคณะกรรมการทุกฝ่ายได้ร่วมกันดูแลการก่อสร้างจนแล้ว เสร็จบริบูรณ์ ท�ำพิธีเปิดป้ายเมื่อวันที่ 11 เมษายน พ.ศ. 2548
พระราชปรีชาญาณมุนี (หลอม มหาวิริโย ป.ธ.๗) เจ้าอาวาสวัดบ่อชะเนง / เจ้าคณะจังหวัดอ�ำนาจเจริญ
AMNAT CHAROEN I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 117
117
9/12/2563 11:30:04
เม ทางไก ท�ำบุญ บริจา นายพ นางม ได้ชัก
History of buddhism....
วัดพระศรีเจริญ
อาคาร
กราบสักการะขอพร พระเจ้าใหญ่ศรีเจริญ พระครูกิตติโกศล (สมศักดิ์ กิตฺติญาโณ ป.ธ.๓) เจ้าอาวาสวัดพระศรีเจริญ / เจ้าคณะอำ�เภอหัวตะพาน วัดพระศรีเจริญ ตั้งอยู่เลขที ่ 59 หมู่ที่ 6 บ้านหัวตะพาน ต�ำบลหัวตะพาน อ�ำเภอหัวตะพาน จังหวัดอ�ำนาจเจริญ
วั ด พระศรี เจริ ญ ได้ ตั้ ง ขึ้ น ตั้ ง แต่ ป ี พ.ศ.2360 ก่ อ นนั้ น เป็ น ส�ำนักสงฆ์ อยูม่ าเป็นเวลานาน จนถึงปีพ.ศ.2475 จึงได้รบั พระราชทาน วิสุงคามสีมา และมีพระภิกษุอยู่จ�ำพรรษาเรื่อยมา วัดพระศรีเจริญ ได้รับการพัฒนาเรื่อยมาจากอดีตจนถึงปัจจุบัน
ล�ำดับเจ้าอาวาสวัดพระศรีเจริญ 1. 2. 3. 4. 5.
ญาครูศรี ญาครูด่าง ญาครูชัยเชษฐ์ ญาครูดา ญาครูศรสมุทร
ประวัติพระเจ้าใหญ่ศรีเจริญ
พระเจ้าใหญ่ศรีเจริญ หรือพระศรีเจริญ เป็นพระพุทธรูปทีช่ าวบ้าน อ�ำเภอหัวตะพาน และอ�ำเภอใกล้เคียงนับถือเป็นทีเ่ คารพสักการะเป็น อย่างยิ่ง และเรียกกันติดปากว่า “ พระเจ้าใหญ่” เป็นพระพุทธรูปนั่ง ขัดสมาธิราบ ปางมารวิชัย หล่อด้วยปูนมีลักษณะที่งดงามสูงใหญ่ ขนาดหน้าตักกว้าง 1.30 เมตร ส่วนสูงจากพระสงฆ์ถึงยอดพระเกศ 2 เมตร ปัจจุบันประดิษฐานอยู่ภายในอุโบสถวัดพระศรีเจริญ 118
SBL บันทึกประเทศไทย I อ�ำนาจเจริญ
.indd 118
17/12/2563 11:39:47
- อุโ เป็นอาค -ศ พงศ. 2 -ห 2528 - กุฏ 4 หลัง -ศ พ.ศ. 25
เม ทางไก ท�ำบุญ บริจา นายพ นางม ได้ชัก
History of buddhism....
วัดศรีทอง พระอธิการประสิทธิ์ ทีฆายุโก เจ้าอาวาสวัดศรีทอง
วัดศรีทอง ตั้งอยู่เลขที่ 34 บ้านหนองไหลน้อย หมู่ที่ 8 ต�ำบลสร้างถ่อน้อย อ�ำเภอหัวตะพาน จังหวัดอ�ำนาจเจริญ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย
วัดศรีทอง ตั้งเมื่อปี พ.ศ.2301 โดยพ่อใหญ่อรสังกา (ตุ่น) เป็นผู้ บริจาคทีด่ นิ และเป็นผูน้ ำ� ในการสร้างวัด ได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา เมื่อปี พ.ศ.2340 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 15 เมตร ยาว 30 เมตร
อาคารเสนาสนะ ประกอบด้วย
- อุโบสถ กว้าง 6 เมตร ยาว 12 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ.2493 เป็น อาคารคอนกรีต - ศาลาการเปรียญ กว้าง 12 เมตร ยาว 21 เมตร สร้างเมือ่ ปี พ.ศ. 2501 เป็นอาคารไม้ - กุฏสิ งฆ์ จ�ำนวน 2 หลัง เป็นอาคารไม้ 1 หลัง และครึง่ ตึก ครึง่ ไม้ 1 หลัง - ศาลาอเนกประสงค์ กว้าง 12 เมตร ยาว 20 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2522 เป็นอาคารไม้ - ปูชนียวัตถุมี พระพุทธรูป จ�ำนวน 6 องค์ และเจดีย์ 1 องค์
การบริหารและการปกครอง มีเจ้าอาวาสเท่าที่ทราบนาม
พระอธิการประสิทธิ์ ทีฆายุโก เจ้าอาวาสวัดศรีทอง
รูปที่ 1 พระบุญมา กมโล รูปที่ 2 พระเคน ธมฺมปาโล รูปที่ 3 พระอุ่น ตปุญโญ รูปที่ 4 พระสิงห์ สมจาโร รูปที่ 5 พระเทิง คมฺภีโร รูปที่ 6 พระอุ่น ฐิตปญฺโญ รูปที่ 7 พระปุ๋ย ขนฺติโก รูปที่ 8 พระหมุน โชติปาโล รูปที่ 9 พระเนียม สญฺญโม รูปที่ 10 พระครูปริยัติวรานุกูล รูปที่ 11 พระอธิการประสิทธิ์ ทีฆายุโก
พ.ศ. 2421 – 2428 พ.ศ. 2428 – 2436 พ.ศ. 2436 – 2444 พ.ศ. 2444 – 2449 พ.ศ. 2449 – 2454 พ.ศ. 2454 – 2469 พ.ศ. 2469 – 2475 พ.ศ. 2475 – 2483 พ.ศ. 2483 – 2487 พ.ศ. 2487 - 2551 พ.ศ. 2551 ถึงปัจจุบนั
AMNAT CHAROEN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 119
119
17/12/2563 11:36:30
อาคาร
- อุโ เป็นอาค -ศ พงศ. 2 -ห 2528 - กุฏ 4 หลัง -ศ พ.ศ. 25
WO R K LI FE
ที่ว่าการอ�ำเภอหัวตะพาน “พระศรี เ จริ ญ องค์ ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ผ้ า ลายขิ ด เลอเลิ ศ แหล่ ง ก� ำ เนิ ด นั ก ปราชญ์ มรดกชาติ ป ่ า ดงใหญ่ งามวิ ไ ลหนองสามขา ปวงประชาใฝ่ ธ รรม” ค� ำ ขวั ญ อ� ำ เภอหั ว ตะพาน
ต่อมาในพุทธศักราช 2511 ทางราชการเห็นว่ามีต�ำบลในเขตอ�ำเภอม่วงสามสิบมีอาณาเขตใกล้ กับที่ตั้งที่ว่าการกิ่งอ�ำเภอหัวตะพาน หากผนวกให้อยู่ในเขตการปกครองของกิ่งอ�ำเภอหัวตะพาน ราษฎรจะมีความสะดวกในการติดต่อสื่อสาร และท�ำให้กิ่งอ�ำเภอหัวตะพานเป็นปึกแผ่น อีกทั้ง มีอาณาเขตกว้างขวางมากยิ่งขึ้น จึงได้รวมเอาต�ำบลโพนเมืองน้อย ต�ำบลสร้างถ่อน้อย และต�ำบล จิกดู่ ซึ่งอยู่ในเขตการปกครองของอ�ำเภอม่วงสามสิบ จังหวัดอุบลราชธานี มาอยู่ในเขตการปกครอง ของกิ่งอ�ำเภอหัวตะพาน ตั้งวันที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2511 ตามพระราชกฤษฎีกาเปลี่ยนแปลง เขตอ�ำเภอม่วงสามสิบและกิ่งอ�ำเภอหัวตะพาน อ�ำเภออ�ำนาจเจริญ จังหวัดอุบลราชธานี พ.ศ. 2511 ลงวันที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2511 จึงท�ำให้กิ่งอ�ำเภอหัวตะพานมี 7 ต�ำบล ต่อมาได้แยกต�ำบลเพิ่มอีก 1 ต�ำบล คือ ต�ำบลรัตนวารี และยกฐานะเป็นอ�ำเภอเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514 ตามพระราชกฤษฎีกาตั้งอ�ำเภอหัวตะพานลงวันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514
นายพรชั ย วงศ์ งาม นายอ�ำเภอหัวตะพาน
อ�ำเภอหัวตะพาน เดิมมีฐานะเป็นต�ำบลอยู่ ในเขตการปกครองของอ� ำ เภออ� ำ นาจเจริ ญ จั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี อยู ่ ห ่ า งจากอ� ำ เภอ อ�ำนาจเจริญไปทางทิศใต้ประมาณ 40 กิโลเมตร ประกาศตั้งเป็นกิ่งอ�ำเภอเมื่อวันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2510 ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย ลงวันที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2510 (วันก�ำนัน ผู้ใหญ่บ้าน) โดยมีเขตการปกครอง 4 ต�ำบล คือ ต�ำบลหัวตะพาน ต�ำบลค�ำพระ ต�ำบลเค็งใหญ่ และต�ำบลหนองแก้ว
120
แหล่งโบราณคดี
SBL บันทึกประเทศไทย I อำ�นาจเจริญ
2
.indd 120
9/12/2563 10:52:35
WORK L IFE
OTOP อ�ำเภอหัวตะพาน
ผ้าลายตะขอสลับเอื้อ เป็นลายผ้าประจ�ำจังหวัดอ�ำนาจเจริญ ขณะนี้ มีผลิตแห่งเดียวคือศูนย์วิสาหกิจชุมชนต�ำบลค�ำพระ อ�ำเภอหัวตะพาน จังหวัดอ�ำนาจเจริญ
สถานที่ท่องเที่ยว ป่าดงใหญ่
ตั้งอยู่ที่ต�ำบลสร้างถ่อน้อย อ�ำเภอหัวตะพาน จังหวัดอ�ำนาจเจริญ มีเนื้อที่ประมาณ 32,250 ไร่ เป็นป่าไม้ชุมชนที่ราษฎรในพื้นที่มีส่วนร่วม ในการอนุรักษ์ป่า ทุกคนมีจิตส�ำนึกร่วมในการอนุรักษ์ป่าไม้ อีกทั้งยังเป็น ศูนย์เพาะเลี้ยงและขยายพันธุ์สัตว์ป่า (บริเวณศูนย์ศิลปาชีพ), สวนสัตว์ เปิ ด เฉลิ ม พระเกี ย รติ บ ้ า นนาคู และหนองสี โว อี ก ทั้ ง มี ที่ พั ก บริ เวณ หนองหาร ซึ่งมีน�้ำใสสะอาด บริเวณโดยรอบเป็นป่าทึบ มีลานกว้างบริเวณ ชายหนองน�้ำ เหมาะส�ำหรับจัดเป็นที่พักแรมของนักท่องเที่ยว
วัดพระศรีเจริญ
ตั้ ง อยู ่ ใ นต� ำ บลหั ว ตะพาน อ� ำ เภอหั ว ตะพาน จั ง หวั ด อ� ำ นาจเจริ ญ ภายในวัดพระศรีเจริญ มีพระเจ้าใหญ่ศรีเจริญ ประดิษฐานอยู่ในอุโบสถ วัดพระศรีเจริญ มีพุทธลักษณะแบบศิลปะล้านช้าง ปางมารวิชัย สร้างมา ประมาณ 750 ปี ซึ่งพระเจ้าใหญ่ศรีเจริญมีความศักดิ์สิทธิ์เป็นที่เลื่องลือ ถึงความแคล้วคลาด ใครที่ได้มากราบไหว้ขอพร หรือมีพระเครื่องพระเจ้า ใหญ่ ศ รี เจริ ญ จะเดิ น ทางไปมาค้ า ขายแคล้ ว คลาดปลอดภั ย จนเป็ น ที่ กล่าวขานมาจนถึงปัจจุบัน จังหวัดอ�ำนาจเจริญ ได้ด�ำเนินโครงการรากวัฒนธรรมตามที่กระทรวง วัฒนธรรมมีภารกิจในการอนุรักษ์ ส่งเสริมและสืบทอดงานด้านศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรมของชาติให้คงอยู่อย่างยั่งยืน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ แสวงหารากวัฒนธรรม “ของดีบ้านฉัน” ที่โดดเด่นและเป็นสุดยอดจาก ทุกท้องถิ่น โดยมีพระครูกิตติโกศล เป็นเจ้าอาวาส
ท่อง “เมืองงิ้ว” แหล่งโบราณคดีหลัง พ.ศ. 1000
เมืองงิ้ว ตั้งอยู่ที่บ้านชาด ต�ำบลเค็งใหญ่ อ�ำเภอหัวตะพาน จังหวัด อ�ำนาจเจริญ “บ้านชาด” เดิมชื่อว่า “บ้านงิ้ว” ตั้งอยู่กึ่งกลางระหว่าง บ้านดู่ กับบ้านชาด ต�ำบลเค็งใหญ่ อ�ำเภอหัวตะพาน จังหวัดอ�ำนาจเจริญ ปัจจุบันเรียกว่า “โนนบึง” โบราณกาลเรียกว่า “เมืองงิ้ว” เมืองงิ้วเคยเป็นที่อยู่ของชนชาวขอม ซึ่งมีถ้วย โถ หม้อ ไห ที่ปั้นด้วย ดินเหนียว เป็นสัญลักษณ์ปรากฏอยู่ตราบเท่าทุกวันนี้ ที่นี่ยังมีใบเสมาฝัง อยู่รอบๆ ศาลพระภูมิส่วนตั้งใบเสมาสันนิษฐานว่าคงเป็นวัดเก่ารกร้างเมื่อ ประมาณ 2,000 ปี มาแล้ว และยังพบเศษภาชนะดินเผาเนื้อหยาบ เผาด้วยอุณหภูมิต�่ำ ส่วนมากเป็นแบบผิวเรียบ มีการชุบน�้ำโคลน เขียนสี อีกด้วย นอกจากนี้ยังพบกลุ่มเสมาหินทรายสีชมพู ยอดเรียวแหลม สลัก เป็นแนวเส้นนูนตรงกลางแผ่นเป็นลวดลายประดับงดงาม AMNAT CHAROEN I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 121
121
9/12/2563 10:52:37
WO R K LI FE
องค์การบริหารส่วนต�ำบลจิกดู่ ท�ำเลที่ตั้งต�ำบล
ต�ำบลจิกดู่ มีพื้นที่ต�ำบลตามประกาศกระทรวงมหาดไทยประมาณ 55 ตารางกิโลเมตร คิดเป็น 34,375 ไร่ เป็นเขตปกครององค์การบริหารส่วน ต�ำบลจิกดู่ ทั้งหมด 12 หมู่บ้าน เป็นต�ำบลที่มี พื้นที่ค่อนข้างมาก และเป็น 1 ใน 8 ต�ำบล ที่ตั้งอยู่ในเขตอ�ำเภอหัวตะพาน จังหวัดอ�ำนาจเจริญ มีอาณาเขตพื้นที่อยู่ติดกับท้องถิ่นใกล้เคียง 4 ต�ำบล คือ ต�ำบลสร้างถ่อน้อย ต�ำบลโพนเมืองน้อย ต�ำบลโนนรัง อ�ำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี และ ต�ำบลนาเลิง อ�ำเภอม่วงสามสิบ จังหวัดอุบลราชธานี ส�ำนักงานองค์การบริหารส่วนต�ำบลจิกดู่ ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 224 หมูท่ ี่ 5 ต�ำบล จิกดู่ อ�ำเภอหัวตะพาน จังหวัดอ�ำนาจเจริญ ปัจจุบัน นายพิชิต โคมทอง ด�ำรงต�ำแหน่งนายกองค์การบริหารต�ำบลจิกดู่
122
5
.
ประวัติความเป็นมา
จากการศึกษาประวัติของหมู่บ้านในเขตต�ำบลจิกดู่ อ�ำเภอหัวตะพาน จังหวัดอ�ำนาจเจริญ ทุกหมู่บ้านมีความสอดคล้องกัน สันนิษฐานการตั้ง หมู่บ้านได้ว่ามีกลุ่ม 3 กลุ่มที่ได้ย้ายมาหาแหล่งที่อยู่อาศัยที่อุดมสมบูรณ์ กลุ่มแรกเป็นกลุ่มที่มาจากบ้านศรีสุข อ�ำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี กลุ่มที่สอง มาจากบ้านกุดตะกล้า อ�ำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี และ กลุ่มที่สามมาจากบ้านน�้ำอ้อม อ�ำเภอม่วงสามสิบ จังหวัดอุบลราชธานี โดย สองกลุม่ แรกข้ามล�ำเซบายเข้ามากระจายกันตัง้ บ้านเรืองตัง้ แต่บา้ นจิกดูเ่ ลย มาถึงบ้านดู่ใน และในฤดูฝนน�้ำท่วมบริเวณริมฝั่งล�ำเซ มาตั้งอยู่ที่บ้านเหล่า ขี้เหล็ก ปัจจุบันคือบริเวณโรงเรียนจิกดู่วิทยา มีข้อสันนิษฐานว่า บ้านจิกดู่กับบ้านดู่ในเป็นหมู่บ้านกลุ่มแรกที่ตั้งขึ้น ก่อน เพราะมีประวัตขิ องหมูบ่ า้ นทีก่ ล่าวถึงหมูบ่ า้ นทัง้ สอง บ้านเหล่าขีเ้ หล็ก ได้เกิดไฟไหม้บ้านเรือนเหลือไม่กี่หลัง จึงย้ายมาตั้งที่บ้านดู่ในปัจจุบัน และ บางส่วนก็ย้ายไปตั้งที่บ้านโนนผักหวาน บ้านหนองเทา อีกกลุ่มหนึ่งมาตั้งที่ บ้านงิ้ว (ปัจจุบันคือบ้านหนองยอ) สาเหตุที่เรียกบ้านงิ้ว เพราะท�ำเลที่ตั้งบ้านเป็นสวนร้างมีต้นงิ้วขึ้นมาก ต่อมาขยายออกหลายครอบครัวจึงตัง้ หมูบ่ า้ นขึน้ ใหม่ โดยมีรอ่ งน�ำ้ หนองแสง ใหญ่ไหลผ่าน เรียกบ้านหนองยอหรือบ้านงิ้วหนองยอ คนเฒ่าคนแก่สมัย รัชกาลที่ 5 หรือราว พ.ศ.2432 มีการเล่าสืบต่อกันมาตอนเริ่มตั้งหมู่บ้าน ซึ่งปัจจุบันบ้านงิ้วไม่มีชื่อในทางราชการแล้ว ส่วนการตัง้ บ้านจิกดู่ ก็มปี ระวัตคิ วามเป็นมาพร้อมกับบ้านดูใ่ น โดยกลุม่ ที่เข้ามาจากอ�ำเภอเขื่องใน แรกเริ่มตั้งบ้านเรือนอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ของหมู่บ้าน เรียกว่าคุ้มป่าติ้วหรือกลุ่มบ้านน้อย ประมาณ พ.ศ. 2337 (ซึ่งอายุของหมู่บ้านราว 200 กว่าปีแล้ว ตั้งหมู่บ้านได้ประมาณ 50 ปีเศษ) เกิดน�ำ้ ท่วมในฤดูฝนน�ำ้ หลากจากล�ำเซบาย ท�ำให้ผนู้ ำ� ในสมัยนัน้ คือ ขุนวิจยั เห็นว่าควรอพยพลูกบ้าน ย้ายท�ำเลทีต่ งั้ บ้านเรือนใหม่ โดยย้ายมาอยูค่ มุ้ ป่าดู่ ซึ่งเป็นสถานที่ตั้งหมู่บ้านในปัจจุบัน และเรียกชื่อหมู่บ้านใหม่ตามลักษณะ ภูมศิ าสตร์เพราะมีตน้ จิก และต้นดูม่ าก จึงเรียกว่า หมูบ่ า้ นจิกดู่ ต่อมามีการ ขยายครอบครัวมากขึ้นจนตั้งเป็นต�ำบลในเวลาต่อมาจนถึงทุกวันนี้
SBL บันทึกประเทศไทย I อำ�นาจเจริญ
7
4
.indd 122
17/12/2563 11:50:13
WORK L IFE
จุดเด่นของต�ำบลจิกดู่
นางสาวจริ ญ าภรณ์ การิ นทร์ ปลัดองค์การบริหารส่วนต�ำบลจิกดู่
ต�ำบลจิกดู่ เป็นแหล่งผลิตข้าวทีส่ ำ� คัญอีกแห่งหนึง่ ของอ�ำเภอหัวตะพาน และมีอาชีพเสริมทีเ่ ป็นเอกลักษณ์คอื ขายโอ่งมังกร ซึง่ จะไปรับโอ่งทีจ่ งั หวัด ราชบุรี และแถบภาคกลางเพื่อมาจ�ำหน่ายโดยใส่รถสิบล้อขายไปตาม หมู่บ้าน และการค้าขายเครื่องตกแต่งบ้าน (ชุดเฟอร์นิเจอร์) จนท�ำให้ ชาวจิกดู่ส่วนมากมีฐานะร�่ำรวย และอีกอาชีพหนึ่งที่ก�ำลังท�ำรายได้และ ได้รบั ความนิยมคือ เย็บปลอกหมอน ทีน่ อนปิกนิก เป็นชุดปลอกหมอนส�ำเร็จ ส่งขายทั่วประเทศ อาชีพที่เป็นเอกลักษณ์และท�ำติดต่อกันมาหลายชั่วอายุคนของชาว ต�ำบลจิกดู่คือ ท�ำน�้ำตาลโตนดที่ขึ้นชื่อลือชา แต่ท�ำได้เฉพาะช่วงฤดูหนาว ทีบ่ า้ นโพนขวาว ปัจจุบนั กลายเป็นสินค้า OTOP (หนึง่ ผลิตภัณฑ์ หนึง่ ต�ำบล : ONE TAMBON ONE PRODUCT) ต�ำบลจิกดู่ จึงเป็นแหล่งการค้ารายใหญ่ ของอ�ำเภอหัวตะพานอีกแห่งหนึ่ง ส�ำหรับบ้านโพนขวาวเป็นหมู่บ้านอารยธรรมโบราณ และมีการศึกษา ทั้งปริยัติและสามัญเจริญรุ่งเรืองมากในอดีต คือ โรงเรียนสาธุวิทยาศิลป์ ซึง่ ครูอาจารย์และข้าราชการส่วนมากของอ�ำเภอหัวตะพาน และอ�ำเภอใกล้เคียง ได้รบั การศึกษา เป็นแหล่งก�ำเนิดของพระสงฆ์ทรงสมณศักดิห์ ลายรูป ต�ำบล จิกดู่จึงมีความร่มเย็นเป็นธรรมมาแต่ครั้งโบราณกาลจนถึงปัจจุบัน
AMNAT CHAROEN I SBL บันทึกประเทศไทย
5
.
7
4
.indd 123
123
17/12/2563 11:50:18
WO R K LI FE
ท่องเที่ยวทางธรรมชาติและวัฒนธรรม ล�ำเซบาย เป็นล�ำน�ำ้ ส�ำคัญทีไ่ หลผ่าน ต�ำบลจิกดูท่ ำ� ให้ ชาวบ้านในพืน้ ที่ มีแหล่งน�ำ้ ส�ำหรับการเกษตร รวมถึงเป็นแหล่งท่อง เทีย่ วพักผ่อนหย่อนใจของชาวต�ำบลจิกดู่ และชาวอ�ำเภอหัวตะพาน จังหวัดอ�ำนาจเจริญ อีกด้วย
บ่อบักฮุก เป็นแหล่งน�้ำธรรมชาติที่ส�ำคัญอีกแห่งหนึ่ง ซึง่ มีความอุดมสมบูรณ์ทางระบบนิเวศทัง้ ป่า แหล่งน�ำ้ และสัตว์ตา่ งๆ ที่อาศัยในบริเวณดังกล่าว มีอาณาบริเวณพื้นที่กว่า 637 ไร่ 124
5
.
หอไตรวัดบ้านโพนขวาว เป็นสถานทีส่ ำ� คัญ ทางพระพุทธศาสนาทีส่ ำ� คัญอีกแห่งหนึง่ ซึง่ วัดบ้านโพนขวาวแห่งนีม้ หี อไตร เก็บพระไตรปิฎก ที่มีการสร้างด้วยการออกแบบทางสถาปัตยกรรมที่ สวยงาม
SBL บันทึกประเทศไทย I อำ�นาจเจริญ
7
4
.indd 124
17/12/2563 11:50:25
WORK L IFE
่ ว OTOP ชุมชนท่องเทีย
นวัตวิถีบ้านโพนขวาว และบ้านหนองยอ
1. กลุ่มสมุนไพรลดา บ้านดู่ใน ต�ำบลจิกดู่ อ�ำเภอหัวตะพาน จังหวัดอ�ำนาจเจริญ ปู ห ่ ลักบ้าน เป็นเสาหลักบ้านของชุมชนบ้านหนองยอ ต�ำบลจิกดู่ เป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ยึดเหนี่ยวจิตใจของชาวบ้านที่มีความเก่า แก่และมีประวัติความเป็นมายาวนาน ตั้งแต่สมัยสร้างบ้านแปลงเมือง เป็นต้นมา 2. กลุ่มยาดมสมุนไพร และการท�ำผ้าห่มและปลอกหมอน บ้านหนองยอ หมู่ที่ 9
พระใหญ่ วั ด ป่ า ดู่ ใ น ตั้ ง อยู ่ ที่ วั ด ป่ า ดู ่ ใ น ต�ำบลจิกดู่ เป็นที่ประดิษฐาน “พระใหญ่” ที่ชาวบ้านในพื้นที่มีความ เลื่อมใสศรัทธา แสดงถึงความเจริญรุ่งเรืองของพระพุทธศาสนาและ ความมีจิตใจที่ดีงามของคนในพื้นที่
3. ชุมชนคนท�ำตาลบ้านโพนขวาว
4.วิสาหกิจชุมชนจิกดู่สร้างสรรคผลิตภัณฑ์ผ้า พวงกุญแจอิหล้าเอ้ย, สร้อยคอทอรัก,สายรัดผ้าซิ่น,มาลัยกรผ้าพันคอ
สิมวัดโพธิศ ์ รี มีลักษณะเป็นสิม (โบสถ์) พื้นบ้านอีสาน ก่ออิฐฉาบปูน หลังคาทรงจัว่ มุงด้วยกระเบือ้ งดินเผา ผนังด้านข้างประตูทางเข้า มีภาพจิตรกรรม (ฮูปแต้ม) และมีรปู สัตว์หมิ พานต์ ประเภทสิงห์ขา้ งละ 1 รูป เสมาพันปี เป็นใบเสมาโบราณ มีความเป็นมาที่น่าศึกษา ค้นคว้าทางประวิติศาสตร์ ซึ่งสันนิษฐานว่าน่าจะเกี่ยวเนื่องกับการสร้างวัด ในบวรพระพุทธศาสนาทีม่ มี ากว่าพันปีแล้วในแถบต�ำบลจิกดู่ ปัจจุบนั ยังไม่มี ข้อมูลทางวิชาการมาอธิบายว่าเสมาพันปีนี้ มีประวัติความเป็นมาอย่างไร มีเพียงค�ำบอกเล่าของคนเฒ่าคนแก่ในพื้นที่เท่านั้น จึงน่าเดินทางท่องเที่ยว มาสนทนากับภูมิปัญญาของบรรพชนเป็นอย่างยิ่ง
5.วิสาหกิจชุมชนแปรรูปอาหารและเครื่องดื่ม
AMNAT CHAROEN I SBL บันทึกประเทศไทย
5
.
7
4
.indd 125
125
17/12/2563 11:50:32
126
AD.indd 126
SBL บันทึกประเทศไทย I อ�ำนาจเจริญ
16/12/2563 16:09:03
AMNAT CHAROEN I SBL บันทึกประเทศไทย
AD.indd 127
127
16/12/2563 16:09:04
WO R K LI FE
องค์การบริหารส่วนต�ำบลสร้างถ่อน้อย “ต� ำ บลสร้ า งถ่ อ น้ อ ยเข้ ม แข็ ง เป็ น แหล่ ง เรี ย นรู ้ เ ศรษฐกิ จ พอเพี ย ง อยู ่ เ คี ย งคู ่ รู ้ ธ รรมชาติ สื บ สานปราชญ์ วั ฒ นธรรม ก้ า วน� ำ ด้ า นการศึ ก ษา สร้ า งคุ ณ ค่ า คุ ณ ภาพชี วิ ต ” วิ สั ย ทั ศ น์
ประวัติความเป็นมา
สืบจากเรื่องเล่าอิงต�ำนานวรรณคดีอีสานเรื่องผาแดงนางไอ่ ว่ามีการจัดงานประเพณีบุญบั้งไฟ และบั้งไฟที่จุดแข่งขันกันมาตกลงบริเวณหนองนี้(บ้านสร้างถ่อนอกในปัจจุบัน) โดยเล่าขานกันว่า ส่วนล�ำตัวของบั้งไฟนั้นตกบริเวณสถานที่ว่างเปล่า(โล่ง) ส่วนหางได้ไปตกลงในบริเวณหนองน�้ำ แห่งหนึ่ง(หนองหารปัจจุบัน)ห่างจากส่วนล�ำตัวบั้งไฟตกไปทางทิศตะวันตกประมาณ 2 กิโลเมตร ต่อมามีชาวบ้านกลุม่ หนึง่ ได้มาตัง้ ถิน่ ฐานในบริเวณดังกล่าวและได้พบตัวบัง้ ไฟซึง่ ชุมชนในพืน้ ทีเ่ รียกว่า (สร้ า งถ่ อ ) ในลั ก ษณะที่ ฝ ั ง ลึ ก ลงไปในเลนตมบริ เวณน�้ ำค� ำ มี เ ส้ น ผ่ า ศู น ย์ ก ลางขนาด 1 เมตร ลึกประมาณ 4 เมตร จึงได้ตั้งชื่อหมู่บ้านว่า “บ้านสร้างถ่อนอก” และแปลเปลี่ยนเป็นชื่อต�ำบลสร้าง ถ่อน้อย ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา “สร้างถ่อบั้งไฟใหญ่” ยังปรากฏให้เห็นจวบจนปัจจุบันโดยอยู่ทางทิศใต้ของวัดประมาณ 6 เส้น (บริเวณทุ่งนา) ส่วนหนองหารตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของหมู่บ้าน ระยะทางประมาณ 2 กิโลเมตร ปัจจุบนั ต�ำบลสร้างถ่อน้อย อยูใ่ นเขตการปกครองของอ�ำเภอหัวตะพาน จังหวัดอ�ำนาจเจริญ แบ่งการปกครองออกเป็น 13 หมู่บ้าน ได้แก่ บ้านสร้างถ่อนอก หมู่ 1,11 บ้านค�ำน้อย หมู่ 2 บ้านสร้างถ่อใน หมู่ 3,13 บ้านค�ำข่า หมู่ 4 บ้าน บ้านคึมน้อย หมู่ 5 บ้านหนองไหล หมู่ 6,8 โนนแคน หมู่ 7,12 บ้านนาคู หมู่ 9 และ บ้านใหม่พัฒนา หมู่ 10
นายดาบชั ย พิ ทั กษ์ เทพสมบั ติ นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลสร้างถ่อน้อย
องค์การบริหารส่วนต�ำบลสร้างถ่อน้อย ตัง้ อยูบ่ า้ นเลขที่ 78 หมูท่ ี่ 11 ต�ำบลสร้างถ่อน้อย อ�ำเภอหัวตะพาน จังหวัดอ�ำนาจเจริญ 37240 ต�ำบลสร้างถ่อน้อย เป็น 1 ใน 8 ต�ำบลของ อ�ำเภอหัวตะพาน จังหวัดอ�ำนาจเจริญ ห่างจาก ตัวอ�ำเภอ หัวตะพาน ประมาณ 6 กิโลเมตร และห่างจากตัวจังหวัดอ�ำนาจเจริญ ประมาณ 48 กิโลเมตร มีพื้นที่ทั้งหมด 92 ตารางกิโลเมตร หรือ 75,000 ไร่ พื้นที่บางส่วนอยู่ในเขตป่า สงวนแห่ ง ชาติ ป ่ า ดงใหญ่ มี ป ระชากรทั้ ง สิ้ น 7,649 คน จ�ำนวนทั้งหมด 2,007 ครัวเรือน
128
.
3
SBL บันทึกประเทศไทย I อำ�นาจเจริญ
.indd 128
9/12/2563 10:11:20
WORK L IFE
สถานที่ส�ำคัญทางธรรมชาติ ประเพณีและวัฒนธรรม การท่องเที่ยว
โครงการส่งเสริมศิลปาชีพบ้านสร้างถ่อนอก เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน 2538 สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรม ราชินนี าถ พระบรมราชชนนีพนั ปีหลวง เมือ่ ครัง้ ด�ำรงพระบรมราชอิสริยยศ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ได้เสด็จพระราชด�ำเนินเยี่ยม ราษฎรที่บ้านสร้างถ่อนอก ต�ำบลสร้างถ่อน้อย เพื่อพระราชทานธงพิทักษ์ ป่าเพื่อรักษาชีวิต แก่ผู้น�ำหมู่บ้านและราษฎร ต�ำบลสร้างถ่อน้อย จ�ำนวน 12 หมู่บ้าน ก่อให้เกิดการจัดตั้งราษฎรอาสาสมัครพิทักษ์ป่าประจ�ำต�ำบล สร้างถ่อน้อย เพื่อเป็นอาสาสมัครดูแลรักษาทรัพยากรป่าไม้ในพื้นที่ชุมชน ของตนเองได้เป็นอย่างดี และทรงปลูกต้น “ตะเคียนหิน” จ�ำนวน 1 ต้น ซึง่ เป็นต้นไม้ประจ�ำจังหวัดอ�ำนาจเจริญ และทรงรับทราบว่าราษฎรส่วนใหญ่ มีฐานะยากจน รายได้จากอาชีพหลักไม่เพียงพอต่อการยังชีพ จึงได้มี พระราชเสาวนีย์ให้จัดตั้งโครงการส่งเสริมศิลปาชีพขึ้นเพื่อเป็นการสร้าง อาชีพเสริม เพื่อให้ราษฎรมีรายได้เพิ่มขึ้น และมีด�ำริให้ด�ำเนินการก่อสร้าง ศาลาทรงงาน และอาคารฝึกงาน เพื่อเป็นศูนย์ปฏิบัติงานและฝึกอบรม วิชาชีพให้กับราษฎรในพื้นที่โดยใช้ชื่อ “โครงการส่งเสริมศิลปาชีพใน สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ บ้านสร้างถ่อนอก” ตั้งแต่ บัดนั้นเป็นต้นมา การเสด็จพระราชด�ำเนินครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน 2544 สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง เมื่อครั้งด�ำรงพระบรมราชอิสริยยศ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรม ราชินีนาถ และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหา วชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อครั้งด�ำรงพระบรมราชอิสริยยศ สมเด็ จ พระบรมโอรสาธิ ร าชฯ สยามมกุ ฎ ราชกุ ม าร ได้ ต ามเสด็ จ พระราชด�ำเนิน เพือ่ ทรงติดตามการด�ำเนินงานของราษฎรอาสาสมัครพิทกั ษ์ เพือ่ รักษาชีวติ ในพืน้ ทีต่ ำ� บลสร้างถ่อน้อย และมีความห่วงใยถึงความเป็นอยู่
ของราษฎรและสมาชิกตามโครงการพระราชเสาวนีย์ พร้อมได้มีพระราช เสาวนี ย ์ ใ ห้ มี ก ารส่ ง เสริ ม อาชี พ และพั ฒ นาฝี มื อ สมาชิ ก ตามโครงการ พระราชเสาวนีย์และสมาชิกโครงการส่งเสริมศิลปาชีพบ้านสร้างถ่อนอก ได้แก่ กลุ่มทอผ้าไหม กลุ่มเจียระไนพลอย กลุ่มจักสาน และสมาชิกสมทบ และได้ทรงปลูกต้น “กฤษณา” จ�ำนวน 2 ต้น ในบริเวณทิศตะวันออก ศาลาทรงงาน
ป่าดงใหญ่ พื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติป่าดงใหญ่ จ�ำนวน 25,000 ไร่ ในเขตพื้นที่ต�ำบล สร้างถ่อน้อย เป็นป่าสงวนแห่งชาติที่มีป่าไม้อุดมสมบูรณ์ ด้วยสภาพพื้นที่ ป่าดงใหญ่มคี วามหลากหลายทางชีวภาพสูง มีระบบนิเวศทีแ่ ตกต่างประกอบ ด้วยป่าดงดิบแล้ง ป่าบุ่งและป่าทาม ป่าเต็งรัง แสดงถึงความสมดุลทาง ธรรมชาติแต่แตกต่างในองค์รวม โครงการฝายล�ำเซบาย ตัง้ อยูบ่ า้ นสร้างถ่อนอก ก่อสร้างขึน้ โดยกระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม มีวัตถุประสงค์เพื่อเก็บกักน�้ำต้นทุนไว้ในล�ำเซบายและ น�ำมาใช้เพื่อการเกษตรในฤดูแล้งก่อสร้างฝายกั้นล�ำเซบาย ส�ำหรับสูบน�้ำ เพื่อการเกษตร และท�ำการประมง มีทัศนียภาพสวยงามเหมาะส�ำหรับการ พักผ่อนหย่อนใจในเทศกาลต่างๆ AMNAT CHAROEN I SBL บันทึกประเทศไทย
.
3
.indd 129
129
9/12/2563 10:11:25
WO R K LI FE
สวนสัตว์เปิดเฉลิมพระเกียรติบ้านนาคู และสวนสาธารณะหนองสีโว จัดตัง้ ขึน้ เมือ่ ปี พ.ศ.2540 ซึง่ ตัง้ อยูบ่ ริเวณทีส่ าธารณะดอนโพธิด์ อนปูต่ า บ้านนาคู หมู่ที่ 9 มีพื้นที่จ�ำนวน 32 ไร่ โดยเกิดจากความร่วมมือร่วมใจ ของคนในชุมชน บ้าน วัด โรงเรียน ต่อมา สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ในครั้งทรงด�ำรงพระบรม ราชอิสริยยศ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในคราวเสด็จ พระราชด�ำเนิน ณ ป่าดงใหญ่ เมื่อปี พ.ศ.2538 ได้เล็งเห็นความส�ำคัญ ทางทรัพยากรธรรมชาติเป็นแหล่งขยายพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตทั้งพืชและสัตว์ ในลั ก ษณะสวนสั ต ว์ เ ปิ ด และอี ก ทั้ ง เป็ น แหล่ ง พั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต ประชาชน ได้มีพระราชด�ำริให้มีกิจกรรมการพัฒนาทั้งในด้านการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและส่งเสริมรายได้แก่ชุมชน ซึ่งภายในสวนสัตว์มีสัตว์ จ�ำนวน 10 ชนิด รวมจ�ำนวนทั้งสิ้น 104 ตัว ได้แก่ กวางป่า เนื้อทราย แพะ หมู ลิง อีกัวน่า อีเห็น ไก่ป่า เต่า และกระต่าย ภายในสวนสาธารณะ มี พ ระเจ้ า ใหญ่ “พระพุ ท ธศรี ว ะโรตะมะ มหาวนานุ รั ก ษ์ มุ ณี ” ให้ ประชาชนมาสักการบูชา วัดบ้านสร้างถ่อนอก ตั้งอยู่ที่บ้านสร้างถ่อนอก หมู่ 11 ห่างจากตัว อ�ำเภอหัวตะพาน ประมาณ 5 กิโลเมตร สร้างขึ้นในปี พ.ศ. 2410 โดย การน�ำของหลวงปู่ขุย เจ้าอาวาส เป็นสถานที่ส�ำคัญทางพุทธศาสนาที่ ส�ำคัญอีกแห่งหนึ่งที่ชาวบ้านเคารพนับถือมาช้านาน ซึ่งวัดแห่งนี้มีการ สร้างด้วยการออกแบบทางสถาปัตยกรรมที่สวยงามพระอุโบสถสีขาว สะดุดตา ซึ่งภายในเป็นที่ประดิษฐานพระประธานปางประทานพร ถือเป็น หนึ่งเดียวในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภายในบริเวณวัดยังมีพระ ประทานองค์ใหญ่ที่นักท่องเที่ยวเดินทางมาสักการะขอพรเพื่อความเป็น สิริมงคลในชีวิต
ภูมิปัญญาท้องถิ่นของต�ำบลสร้างถ่อน้อย
ต�ำบลสร้างถ่อน้อย มีการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่ น�ำมาจักสานหรือประดิษฐ์สิ่งของเครื่องใช้ที่ จ�ำเป็นในการด�ำรงชีวิต เช่น กระติบข้าว หวด ตะกร้า กระบุง กระด้ง กระทอ ตลอดจนเครื่องมือในการ ดักจับสัตว์ และยังได้ประยุกต์สานเป็นของใช้ในครัวเรือนหลายประเภท เช่น กระจาดผลไม้ กระบอกใส่ เครื่องเขียน ตะกร้าใส่เสื้อผ้า เป็นต้น ในส่วนการใช้สมุนไพร ในท้องถิ่นยังมีการน�ำพืชสมุนไพรต้มกินหรือ ฝนทาใช้ทั้งภายนอกและภายใน และใช้ในการรักษาโรคต่างๆ เช่น รักษาแผลภายนอก ภายใน โรคนิ่ว โรคไต โรคกระเพาะ และอื่นๆ
สินค้าพื้นเมืองและของที่ระลึก
1) ผลิตภัณฑ์จากผ้าไหม เป็นผ้าที่ทอด้วยมือ ที่วิจิตรงดงามมีลักษณะพิเศษ มีมากมายหลายประเภท ตามประโยชน์ใช้สอย เช่น ผ้าซิ่นไหม ผ้าคลุมไหล่ ผ้าคลุมโต๊ะ สไบใหญ่เล็ก ชุดรับแขก ผ้าตัดเสื้อ เป็นต้น 2) ผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่ น�ำมาจักสานหรือประดิษฐ์สงิ่ ของเครือ่ งใช้ทจี่ ำ� เป็นในการด�ำรงชีวติ เช่น กระติบข้าว หวด ตะกร้า กระบุง กระด้ง กระทอ ตลอดจนเครื่องมือในการดักจับสัตว์ และยังได้ประยุกต์สานเป็น ของใช้ในครัวเรือนหลายประเภท เช่น กระจาดผลไม้ กระบอกใส่เครื่องเขียน ตะกร้าใส่เสื้อผ้า เป็นต้น 3) ผลิตภัณฑ์จากป่าตามฤดูกาล เช่น เห็ด ผักและผลไม้ป่า และขี้ใต้ ขี้กระบอง 130
.
3
SBL บันทึกประเทศไทย I อำ�นาจเจริญ
.indd 130
9/12/2563 10:11:30
AMNAT CHAROEN I SBL บันทึกประเทศไทย
AD.indd 131
131
16/12/2563 16:09:26
Buddhism
in Thailand
SBL บันทึกประเทศไทย น�ำเสนอเรื่องราวของจังหวัดต่างๆ ทั่วประเทศไทย อย่างเจาะลึกและครอบคลุมทุกมิติ อาทิ มิติด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ จากหน่วยงานราชการส�ำคัญในจังหวัด มิติด้านการท่องเที่ยวที่สดใหม่ทันสมัย ทั้งสถานที่เที่ยว ที่พัก ร้านอาหาร ร้านกาแฟ แหล่งช็อปปิ้งใหม่ๆ ฯลฯ มิติด้านอุตสาหกรรม-การค้าการลงทุนที่เป็นตัวขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ตลอดจนมิติด้านการศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม และวิถีชีวิต ที่มีจุดเด่นและมีเอกลักษณ์น่าสนใจ
WWW.SBL.CO.TH
.indd 132
16/12/2563 15:29:06