ใต้ร่มพระบารมี
“สถาบันพระมหาชนก จังหวัดระยอง” “เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุข แห่งมหาชนชาวสยาม” คือพระปฐมบรมราชโองการ ซึ่ง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ พระราชทานแก่ประชาชน ชาวไทย เนื่องในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก เมื่อวันศุกร์ที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ.2493 และนับจากนั้นมาพระองค์ทรงปฏิบัติ พระราชกรณี ย กิ จ นานั ป การ เพื่ อ ให้ ร าษฎรที่ อ าศั ย ใต้ ร ่ ม พระบารมีของพระองค์ ได้มชี วี ติ ความเป็นอยูท่ ดี่ ขี นึ้ แม้กระทัง่ ในวันที่พระองค์ทรงมีพระอาการประชวร ความทุกข์ยาก ล�ำบากของประชาชนก็ไม่เคยรอดพ้นจากพระเนตรพระกรรณ ของพระองค์เลยแม้สักครั้ง คอลัมน์ “ใต้ร่มพระบารมี” ฉบับนี้ ขอพาท่านผู้อ่านไป รู้จักกับ “สถาบันพระมหาชนก จังหวัดระยอง”
ที่มาของสถาบันพระมหาชนก
ระยองเป็ น จั ง หวั ด แรกของประเทศไทย ที่ ไ ด้ จั ด ตั้ ง “สถาบันพระมหาชนก จังหวัดระยอง” ขึ้นเพื่อ “น้อมน�ำ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ไปสูก่ ารปฏิบัตใิ ห้เกิดผลเป็น รูปธรรมกับประชาชนในทุกสังคมทุกอาชีพ” โดยริเริ่ม จัดตั้งสถาบันฯขึ้นตั้งแต่ปี พ.ศ. 2554 เพื่อเฉลิมพระเกียรติ 2
พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว เนื่ อ งในพระราชพิ ธี มหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554 และเพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรม ราชินนี าถ ในโอกาสทรงเจริญพระชนมายุ 80 พรรษา ในวันที่ 12 สิงหาคม 2555 และเพือ่ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระบรม โอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ในโอกาสทรงเจริญ พระชนมายุ 60 พรรษา ในวันที่ 28 กรกฎาคม 2555 สถาบันพระมหาชนก จังหวัดระยอง ได้น�ำข้อความ จากบทพระราชนิ พ นธ์ เ รื่ อ ง “พระมหาชนก” ความว่ า “ฉันพูด..เศรษฐกิจพอเพียง ความหมายคือ ท�ำอะไร ให้เหมาะสมกับฐานะของตัวเอง” มาเป็นแนวทางส�ำคัญ ในการด�ำเนินงาน และได้น้อมน�ำ “ปรัชญาเศรษฐกิจพอ เพียง” มาสู่การปฏิบัติในพื้นที่อ�ำเภอวังจันทร์ และอ�ำเภอ แกลง ซึ่งราษฎรส่วนมากมีอาชีพเกี่ยวกับเกษตรกรรม และ ได้น�ำไปปฏิบัติในอ�ำเภอนิคมพัฒนา ซึ่งราษฎรอาศัยอยู่ใน ภาคอุตสาหกรรม และมีโรงงานหลายร้อยโรงงานอยู่ในพื้นที่ เพื่อพิสูจน์ให้เห็นว่า “ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง” นั้น สามารถน� ำ ไปปรั บ ใช้ ไ ด้ ทั้ ง ในภาคเกษตรกรรมและภาค อุตสาหกรรม
จากปัญหาสู่ “Rayong Model”
ที่ผ่านมาจังหวัดระยอง ได้ด�ำเนินการส่งเสริมอาชีพให้ กับราษฎรทีอ่ ยูภ่ าคการเกษตร โดยการลดรายจ่าย เพิม่ รายได้ ให้แก่เกษตรกร ทว่ากลับพบปัญหาต่อไปอีกว่า เมื่อเกษตรกร มีเงินมทองมากขึ้นแล้ว ก็ยังไม่สามารถเก็บหอมรอมริบได้ เงินทองที่หาได้กลับหมดไปกับข้าวของเครื่องใช้ที่ฟุ่มเฟือย ตามค่านิยมบริโภควัตถุ แสวงหาความสุขทางกาย ส�ำหรับภาคอุตสาหกรรม จังหวัดระยองได้ด�ำเนินการ จัดท�ำโครงการเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างภาคเกษตรและ ภาคอุ ต สาหกรรม เพื่ อ ให้ เ กิ ด ความร่ ว มมื อ ในการพั ฒ นา พร้อมทั้งได้มีการบรรจุโครงการเพื่อการลดและขจัดมลพิษไว้ ในแผนยุทธศาสตร์จังหวัดระยองอยู่หลายโครงการ แต่ก็ยัง ได้รับแจ้งจากประชาชนอยู่เสมอ ว่ามีการปล่อยน�้ำเสีย ปล่อย ก๊าซพิษจากโรงงานอุตสาหกรรม ซึ่งก่อให้เกิดผลกระทบต่อ ชีวิต และสิ่งแวดล้อมอย่างมาก ปัญหาดังกล่าวข้างต้น เป็นตัวสะท้อนให้เห็นได้อย่าง ชัดเจน ว่าวิธีการแก้ปัญหาต่างๆ ที่ภาคราชการได้ก�ำหนดขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการบริหารจัดการด้านงาน เงิน และคน รวมไปถึง ด�ำเนินการตามยุทธศาสตร์การพัฒนาของแต่ละจังหวัดตาม ที่ได้ก�ำหนดไว้นั้น ไม่สามารถตอบสนองต่อการแก้ไขปัญหา
ต่างๆ ได้อย่างยั่งยืน ทั้งนี้ อาจเป็นเพราะยุทธศาสตร์ที่แต่ละ จังหวัดได้ก�ำหนดขึ้นมานั้น ใช้แนวคิดและฐานคติการบริหาร จัดการจากทฤษฎีตะวันตก มีการประเมินผลสัมฤทธิ์ของงาน โดยก�ำหนดเป็นตัวชี้วัด เน้นการปฏิบัติที่เป็นรูปธรรม เพื่อให้ สามารถจับต้องได้ ซึ่งท�ำให้การแก้ไขปัญหาต่างๆ ในพื้นที่ มุ่งแก้ไขที่ “ทุกข์” หรือ “ปัญหา” ไม่ใช่ “สมุทัย” หรือ “สาเหตุ ของการเกิดปัญหา” แต่อย่างใด ประกอบกั บ รั ฐ บาลได้ แ ถลงนโยบายต่ อ รั ฐ สภา เมื่ อ วันที่ 23 สิงหาคม 2554 โดยได้ก�ำหนดนโยบายเร่งด่วนที่ จะเริ่มด�ำเนินการในปีแรก เรื่องที่ 1.1 สร้างความปรองดอง สมานฉันท์ของคนในชาติและฟืน้ ฟูประชาธิปไตย และนโยบาย
จังหวัดระยองได้นำ� เสนอ “Rayong Model – สถาบันพระมหาชนก” ซึง่ เป็นรูปแบบ(Model)ทีจ่ ะน�ำไปเป็นแนวทาง ในการส่งเสริมและพัฒนาให้ประชาชน ทุกสังคมทุกอาชีพมีความสุขอย่างยัง่ ยืนภายใต้ “ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง”
Rayong
3
4 
ที่ 2 นโยบายความมั่งคงแห่งรัฐ เรื่องที่ 2.1 เทิดทูนและ พิทักษ์รักษาไว้ซึ่งสถาบันพระมหากษัตริย์ ดังนั้น กระทรวง มหาดไทย จึงได้จัดท�ำแผนงานส่งเสริมการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข และการ ธ�ำรงไว้ซึ่งสถาบันหลักของชาติในระดับพื้นที่ขึ้น พร้อมทั้ง ได้เน้นย�้ำกับผู้ว่าราชการจังหวัดทุกจังหวัด ให้ตระหนักว่า แผนงานฯ นี้ เป็นภารกิจงานส�ำคัญของกระทรวงมหาดไทย ซึง่ ผูว้ า่ ราชการจังหวัด รองผูว้ า่ ราชการจังหวัด และนายอ�ำเภอ จะต้องให้ความส�ำคัญในล�ำดับแรกๆ ด้วยเหตุและปัจจัยดังที่กล่าวมาข้างต้น จังหวัดระยอง โดย ผู้ว่าราชการจังหวัด จึงได้มอบหมายภารกิจดังกล่าว ให้ที่ท�ำการปกครองจังหวัด เป็นหน่วยงานเจ้าภาพในการ ด�ำเนินงานตามแผนงานฯ ในระดับจังหวัด และได้มอบหมาย รองผูว้ า่ ราชการจังหวัด (นายวราวุธ ปิน่ เงิน) เป็นผูร้ บั ผิดชอบ ในการขับเคลือ่ น แผนงานฯดังกล่าว โดยได้นำ� เสนอ “Rayong Model-สถาบันพระมหาชนก” ซึ่งเป็นรูปแบบ (Model) ที่ จะน�ำไปเป็นแนวทางในการส่งเสริมและพัฒนาให้ประชาชน ทุกสังคมทุกอาชีพ มีความสุขอย่างยั่งยืนภายใต้ “ปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นแนวคิดในการขับเคลื่อนแผนงาน ส่งเสริมการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหา กษัตริย์ทรงเป็นประมุข และการธ�ำรงไว้ซึ่งสถาบันหลักของ ชาติในระดับพื้นที่ให้เกิดผลเป็นรูปธรรมต่อไป
หลักการของ “สถาบันพระมหาชนก”
“เศรษฐกิจ” หมายถึง อาชีพ ซึ่งประชาชนในทุกสังคม ต้องมีการประกอบสัมมาอาชีพด้วยกันทั้งสิ้น แต่ในการ ทีจ่ ะด�ำรงชีวติ ให้มคี วามสุขอย่างยัง่ ยืนได้นนั้ ต้องมีค�ำว่า “พอเพียง” เป็นตัวก�ำกับจิตใจด้วย ซึ่งในการทีจ่ ะก�ำกับจิตใจของตนเองได้นนั้ จะต้องระเบิด จากข้างในออกมา และจะต้องชนะใจตนเองให้ได้ โดยต้องรูใ้ ช้ จ่าย พอประมาณ สร้างภูมิคุ้ม พร้อมทั้งมีจิตใจเมตตากรุณา เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ต่อผู้อื่น ไม่อิจฉาใคร เพราะมีมุทิตา คือ ยินดี เมื่อผู้อื่นได้ดีและมีความสุข สร้างความสามัคคี รวมไปถึง ไม่โลภมากในทุกด้าน ซื่อสัตย์ต่อตนเองและผู้อื่น ไม่ท�ำลาย ทรัพยากรธรรมชาติ มีธรรมาภิบาลหรือบรรษัทภิบาลในจิตใจ ซึ่งต้องมีมานะอดทนต่อการประกอบการอาชีพ อดทนต่อ ปัญหาที่เข้ามาโดยใช้ปัญญาพิจารณา อดทนต่อการยั่วยุใน โลกของวัตถุในระบบบริโภคนิยมหรือทุนนิยม
หากเกษตรกรได้น้อมน�ำ “ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” มาใช้ ก็จะท�ำให้ครอบครัวสามารถด�ำเนินชีวติ ได้ แบบพออยูพ่ อกินมีความเป็นอยูอ่ ย่างเหมาะสม กับฐานะของตนเอง ไม่หลงใหลไปกับระบบ บริโภคนิยมหรือทุนนิยม ยกตัวอย่างเช่น ผูบ้ ริหารโรงงานอุตสาหกรรมก็ตอ้ งมีการ ก�ำหนดนโยบายให้เหมาะสมกับฐานะของตนเอง ไม่ว่าจะ เป็นด้านก�ำลังการผลิต ด้านการตลาด ด้านความรับผิดชอบ ต่อสังคม หรืออะไรต่างๆ ก็ตาม ก็จะท�ำให้เกิดความสัมพันธ์ อันดีระหว่างภาคประชาชนกับภาคอุตสาหกรรม ส�ำหรับภาค เกษตรกรรม หากเกษตรกรได้น้อมน�ำ “ปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง” มาใช้ ก็จะท�ำให้ครอบครัวสามารถด�ำเนินชีวิตได้ แบบพออยูพ่ อกิน มีความเป็นอยูอ่ ย่างเหมาะสมกับฐานะของ ตนเอง ไม่หลงใหลไปกับระบบบริโภคนิยมหรือทุนนิยม
“สถาบันพระมหาชนก” เป็นศูนย์อ�ำนวยการที่จัดตั้งขึ้น เพือ่ “น้อมน�ำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปสูก่ ารปฏิบตั ใิ ห้ เกิดผลเป็นรูปธรรมกับประชาชนในทุกสังคมทุกอาชีพ” ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ “ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง” เป็ น แนวทางในการ แก้ปัญหาที่ “คน” กล่าวคือ “ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” มีฐานคติว่าเป็นสัจธรรม และต้องลงมือท�ำ ซึ่งโดยธรรมชาติ แล้ ว มนุ ษ ย์ เ กิ ด มาไม่ เ หมื อ นกั น และไม่ เ ท่ า เที ย มกั น แต่ สามารถท�ำอะไรที่เหมาะสมกับฐานะของตนเองได้ โดยการ จะน� ำ ไปสู ่ ก ารปฏิ บั ติ ไ ด้ จ ะต้ อ งระเบิ ด จากข้ า งในออกมา วัตถุประสงค์ของ “สถาบันพระมหาชนก” “สถาบันพระมหาชนก” จึงได้จดั ตัง้ ขึน้ โดยมีวตั ถุประสงค์ ข้างนอก ซึง่ เป็นการน�ำธรรมชาติของแต่ละคน มาเป็นแนวทาง ในการด�ำเนินชีวิตตามวิถีของแต่ละคน มุ่งให้ทุกคนมีอาชีพ เพื่อมุ่งสร้าง “คน” ใน 2 ลักษณะ คือ 1. วัยเด็ก มุง่ เน้นการอบรมบ่มนิสยั เพือ่ ก่อให้เกิดธรรมาท�ำกินและมีความสุขในการด�ำเนินชีวิตให้เหมาะสมกับฐานะ ของตนเองในแต่ละห้วงชีวิต หรืออธิบายให้เข้าใจง่ายๆ ว่า ภิบาลขึน้ ในจิตใจ ฝังอยูใ่ นจิตส�ำนึก พร้อมทัง้ เสริมสร้างความ Rayong
5
เข้ า ใจและให้ ยึ ด มั่ น ในการปกครองระบอบประชาธิ ป ไตย อั น มี พระมหากษัต ริย์ทรงเป็นประมุข รวมไปถึงการสร้า ง ความตระหนักและส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ ของสถาบัน พระมหากษัตริย์ที่มีต่อปวงชนชาวไทย การสร้างจิตส�ำนึก ความเป็นชาติ ความรู้สึกหวงแหนความเป็นชาติ ซึ่งพระบรม วงศานุวงศ์ได้ทรงงานในด้านนี้ด้วยเช่นกัน ยกตัวอย่าง เช่น โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว โครงการนมแม่ โรงเรียน ปู่ย่าตายาย โครงการ to be number one และโครงการ ยุติความรุนแรงของผู้หญิง เป็นต้น 2. วัยท�ำงาน มุ่งเน้นการสร้างธรรมาภิบาลขึ้นในอาชีพ ซึ่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2550 มาตรา 83 ได้ ก�ำหนดไว้วา่ “รัฐต้องส่งเสริมและสนับสนุนให้มกี ารด�ำเนิน การตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” เพราะฉะนั้น หน่วยงานของรัฐจึงควรก�ำหนดมาตรการขึ้นมา เพื่อควบคุม และคัดกรองให้ประชาชนที่อยู่ในวัยท�ำงานมีธรรมาภิบาลใน อาชีพ โดยอาจก�ำหนดหลักสูตร “SEE : Sufficiency Economy for Executives” หรือ “ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงส�ำหรับ ผู้บริหาร” ขึ้น เพื่อใช้ในการประกันคุณภาพของผู้บริหาร 6
วัยเด็ก มุ่งเน้นการอบรมบ่มนิสัย เพื่อก่อให้เกิดธรรมาภิบาลขึ้นในจิตใจ ฝังอยูใ่ นจิตส�ำนึกพร้อมทัง้ เสริมสร้างความเข้าใจ และให้ยดึ มัน่ ในการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ทั้งในองค์กรภาครัฐและเอกชนว่าเป็นบุคคลที่มีธรรมาภิบาล ในจิตใจ ไม่หวังผลก�ำไรมากจนเกินไป และไม่เอาเปรียบสังคม เฉกเช่นเดียวกับการประกันคุณภาพต่างๆ ของ ISO จังหวัดระยอง จึงจัดให้มี ศูนย์การเรียนรู้พระราช กรณียกิจของสถาบันพระมหากษัตริย์ ในทุกอ�ำเภอ เพื่อ เป็นแหล่งเรียนรู้และขยายผลโครงการอันเนื่องมาจากพระ ราชด�ำริในจังหวัดระยอง จากวัตถุประสงค์ของ “สถาบันพระ มหาชนก” ทีไ่ ด้จดั ตัง้ ขึน้ โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ มุง่ สร้าง “คน” ใน 2 ลักษณะดังทีไ่ ด้กล่าวมาแล้ว แสดงให้เห็นได้อย่างชัดเจน ว่าเป็นการมุง่ แก้ไขปัญหาที่ “สาเหตุของปัญหา” อย่างแท้จริง
1. ระเบิดจากข้างใน เจ้าหน้าทีข่ อง หน่วยงานราชการทุกคนทุกภาคส่วนจะ ต้องมีจิตใจที่มุ่งมั่น และมีความตั้งใจ อย่ า งแน่ ว แน่ ใ นการที่ จ ะแสดงความ จงรักภักดี ด้วยการสนองพระราชด�ำริ ของพระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ในการ “น้ อ มน� ำ ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพียงไปสู่การปฏิบัติให้เกิดผล เป็ น รู ป ธรรมกั บ ประชาชนในทุ ก สังคมทุกอาชีพ” 2. ความต่ อ เนื่ อ งในการพั ฒ นา ดังทีไ่ ด้กล่าวมาแล้วว่า ในการ “น้อมน�ำ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปสู่การ ปฏิ บั ติ ใ ห้ เ กิ ด ผลเป็ น รู ป ธรรมกั บ ประชาชนในทุกสังคมทุกอาชีพ” ได้ นั้น จะต้องใช้ระยะเวลานานและวัดผล สัมฤทธิ์ได้ยาก จึงจ�ำเป็นจะต้องจัดท�ำ โครงการ/กิจกรรมดังกล่าวอย่างต่อเนือ่ ง และควรก�ำหนดเกณฑ์การประเมินผล เป็นระยะสั้น ระยะกลาง และระยะยาว
เป้าหมายของ “สถาบันพระมหาชนก”
เปรียบได้กับ “พระมหาชนก” ที่หมั่นท�ำความดี โดย เป้าหมายปลายทางของ “สถาบันพระมหาชนก” คือ ไม่มีวันสิ้นสุด เพื่อแสดงให้เห็นว่า สิ่งใดที่ทำ� ได้ยาก แต่ การสร้ า งให้ ป ระชาชนทั้ ง ในวั ย เด็ ก และวั ย ท� ำ งาน ในทุ ก ถ้าเป็นการท�ำเพื่อ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ แล้ว สังคม ทุกอาชีพ ให้สามารถด�ำรงชีวิตได้อย่างมีความสุขและ เจ้าหน้าที่ของหน่วยงานราชการทุกภาคส่วนในจังหวัด มีธรรมาภิบาลในจิตใจ ระยอง สามารถท�ำได้เพื่อพ่อหลวงของปวงชนชาวไทย
เคล็ดลับความส�ำเร็จของ “สถาบันพระมหาชนก หลักสูตร ระยอง” “ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงส�ำหรับผูบ้ ริหาร”
ปั จ จุ บั น มี ส ่ ว นราชการสั ง กั ด ส่ ว นกลาง ส่ ว นภู มิ ภ าค ึ้ เพือ่ ใช้ในการประกันคุณภาพของผูบ้ ริหาร รัฐวิสาหกิจ รวม 142 แห่ง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรวม มีขน ทั้งในองค์กรภาครัฐและเอกชน 68 แห่ง อ�ำเภอทั้ง 8 อ�ำเภอ รวมทั้งสิ้น 218 แห่ง ได้จัดตั้ง “ศูนย์พระมหาชนกระดับพื้นที่” รวมทั้งสิ้น 219 แห่ง จัด ว่าเป็นบุคคลที่มีธรรมาภิบาลในจิตใจ กิจกรรม/โครงการของศูนย์พระมหาชนกระดับพืน้ ที่ ในปี 2555 ไม่หวังผลก�ำไรมากจนเกินไปและไม่เอาเปรียบสังคม เป็นจ�ำนวนกว่า 1,200 โครงการ เป็นต้น ซึ่งการที่จะด�ำเนิน การให้บรรลุวัตถุประสงค์ของ “สถาบันพระมหาชนก” และ หมายเหตุ ขอขอบคุณข้อมูลจาก “Rayong Model“ศูนย์พระมหาชนก” นั้น เจ้าหน้าที่ของหน่วยงานราชการทุก ภาคส่วนจะต้องตระหนักและให้ความส�ำคัญกับสิ่งต่างๆ ดังนี้ สถาบันพระมหาชนก” Rayong
7
เส้นทางสู่ AEC
ไทยจะได้ประโยชน์อย่างไรจากการเป็น หลายๆ ท่านอาจเกิดความสงสัยว่า การเป็นประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน (Asean Economic Community) หรือ AEC นั้น ประเทศไทยจะได้รับประโยชน์อะไรบ้าง ในหนังสือ “50 ค�ำถาม-ค�ำตอบ” ซึง่ กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิ ช ย์ จัด ท�ำขึ้นนั้น ได้กล่าวถึง ประโยชน์ที่ ประเทศไทยจะได้รับจาก AEC ดังนี้คือ
AEC
ต้องพิจารณาเลือกใช้ประโยชน์จากจุดแข็งที่มีอยู่ของแต่ละ ประเทศให้เหมาะสม
3. การเป็นฐานการผลิตให้อุตสาหกรรมไทย ไทย อาจพิจารณาเคลื่อนย้ายฐานการผลิตในบางอุตสาหกรรม ออกไปยังประเทศเพื่อนบ้าน เพื่อสร้างความได้เปรียบในการ แข่งขัน โดยเฉพาะอุตสาหกรรมที่ใช้แรงงาน และแรงงานกึ่ง 1. การเป็ น พั น ธมิ ต รและหุ ้ น ส่ ว น อาเซียนจะเป็น ฝีมอื เช่น อุตสาหกรรมแปรรูปอาหาร สิง่ ทอ เฟอร์นเิ จอร์ แปรรูป พันธมิตรและหุ้นส่วนที่ส�ำคัญของไทย และจะช่วยส่งเสริม ผลิตภัณฑ์ไม้ หรือการไปร่วมลงทุนกับประเทศเพื่อนบ้าน เป้าหมายการเป็น gateway ของไทย ทั้งด้านการค้าและ 4. การเป็นตลาดที่มีประชากรกว่า 550 ล้านคน การ การลงทุน ซึ่งไทยจะต้องปรับเปลี่ยนแนวคิดการมองอาเซียน จากคู่แข่งมาเป็นหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจ โดยการสร้างความ รวมกลุม่ ของอาเซียนจะท�ำให้ตลาดการค้าของไทยในอาเซียน ขยายออกไปมากขึน้ และมีแนวโน้มทีจ่ ะเพิม่ พูนการค้าระหว่าง ไว้วางใจให้เกิดขึ้น ทั้งแก่คนไทยและผู้ประกอบการไทย กันเนื่องจากการลดอุปสรรคในด้านต่างๆ ลง 2. การเป็ น แหล่ ง วั ต ถุ ดิ บ ที่ ส� ำ คั ญ ไทยจะต้องใช้ประโยชน์จากความแตกต่าง ของประเทศสมาชิกอาเซียนแต่ละประเทศ ให้เป็นประโยชน์ โดยพิจารณา competitive advantage เป็นส�ำคัญ เนื่องจากประเทศใน อาเซียนมีความหลากหลาย และความพร้อม ทางเศรษฐกิจที่แตกต่างกันไป มีทั้งกลุ่มที่มี ความช�ำนาญในด้านเทคโนโลยี กลุ่มที่เป็น ฐานการผลิ ต และกลุ ่ ม ที่ มี ท รั พ ยากรและ แรงงานส�ำหรับการผลิต ดังนั้น ไทยจึงจ�ำเป็น 2
สื่อ
ตื่นตาตื่นใจ กับ เพื่อความรู้ความเข้าใจอาเซียน
ยุคนี้ใครที่ยังปิดหูปิดตาเรื่องอาเซียน ที่นับถอยหลังใกล้ เข้ามาทุกที คงจะต้องมานั่งเสียดายเวลาทีหลัง เพราะใครๆ ก็ตื่นตัวกับกระแสอาเซียนกันทั้งเมือง ส่วนอาเซียน ส�ำนักการประชาสัมพันธ์ต่างประเทศ กรมประชาสั ม พั น ธ์ ได้จัดท�ำสื่อเพื่อการประชาสัมพันธ์ ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับอาเซียน เพื่อสร้างความตระหนักรู้และ การเตรียมพร้อมให้แก่บคุ ลากรหรือประชาชนทัว่ ไปในการเข้า สู่ประชาคมอาเซียน ในปี 2558 โดยที่หน่วยงานหรือองค์กร ต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน ที่มีความประสงค์จะจัดกิจกรรม เกี่ยวกับอาเซียน สามารถติดต่อขอยืมใช้โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ใดๆ ทั้งสิ้นค่ะ สื่อต่างๆ ที่จัดท�ำขึ้น ได้แก่ บอร์ดนิทรรศการ ขนาด 180 x 60 ซม.ขนาดน�ำ้ หนักรวม 5 กก. โดยมีเนื้อหาดังนี้คือ ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับอาเซียน แผนที่ตั้ง ภาษาบอกรัก เรียนรู้ ภาษาอาเซียน อาชีพที่สามารถเคลื่อนย้ายท�ำงานได้อย่างเสรี สกุลเงิน ดอกไม้ประจ�ำชาติ ฯลฯ วีดิทัศน์ ธงชาติ (แบบตั้ง โต๊ะ และตั้งพื้น) และ ตุ๊กตา 10 ชาติอาเซียน (แบบตั้งพื้น) หนังสือประเทศไทยกับอาเซียน ตลอดจนเอกสารแผ่นพับ ต่างๆ เป็นต้น หน่วยงานหรือองค์กรใดสนใจ ติดต่อได้ที่ ส่วนอาเซียน ส�ำนักการประชาสัมพันธ์ตา่ งประเทศ กรมประชาสัมพันธ์ ชั้ น 7 ซอยอารี ย ์ สั ม พั น ธ์ เขตพญาไท กทม. โทรศั พ ท์ 02-6182323 ต่อ 1723, 1714 ในวันและเวลาราชการ หรือ ส่งหนังสือมาได้ที่ ผู้อ�ำนวยการส�ำนักการประชาสัมพันธ์ ต่างประเทศ กรมประชาสัมพันธ์ แฟกซ์ 02-6182372
Rayong
3
เหมราชฯ
กับพันธกิจเพื่อการเติบโต อย่างยั่งยืนของชุมชน
บริษัท เหมราชพัฒนาที่ดิน จ�ำกัด (มหาชน) หรือที่ รู้จักกันทั่วไปในนาม “นิคมเหมราชฯ” น่าจะเป็นชื่อที่คุ้นหู คนไทยไม่น้อย โดยเฉพาะผู้ที่อยู่ในแถบจังหวัดระยองและ ชลบุรี อันเป็นที่ตั้งของนิคมอุตสาหกรรมและเขตประกอบการ ของเหมราชฯ หลายแห่ง นอกเหนือไปจากพันธกิจด้านการ พัฒนารากฐานให้แก่อุตสาหกรรมและเศรษฐกิจการค้าของ บริษทั ทีว่ า่ “Committed to Thailand’s Sustainable Growth” ประเทศ บริษัทยังตระหนักถึงหน้าที่และความรับผิดชอบใน โครงการต่างๆ ของเหมราชฯ สามารถแบ่งออกได้ดังนี้ การดูแลสังคม ควบคู่ไปกับการพัฒนานิคมอุตสาหกรรมด้วย
เหมราชฯกับโครงการเพือ่ สังคมชุมชนและสิง่ แวดล้อม
นับตั้งแต่เริ่มก่อตั้งในปี พ.ศ. 2531 เหมราชฯ ได้ด�ำเนิน โครงการเพื่อสังคมด้านต่างๆ มาโดยตลอด ไม่ว่าจะเป็นการ รักษาสิง่ แวดล้อม การสนับสนุนการศึกษา การช่วยเหลือชุมชน และอืน่ ๆ โดยเน้นการพัฒนาอย่างยัง่ ยืน สมดังอุดมการณ์ของ
ด้านสิ่งแวดล้อม
เหมราชฯ ยึดมั่นในนโยบายการพัฒนาที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม เพื่อให้นิคมอุตสาหกรรม ชุมชน และธรรมชาติ อยู่ร่วมกันได้อย่างกลมกลืน โดยมีการวางแผนและบริหาร จั ด การอย่ า งเป็ น ระบบ รวมถึ ง การน� ำ นวั ต กรรมใหม่ ๆ มาใช้ อาทิ การก�ำจัดขยะด้วยวิธีการฝังกลบ การพัฒนา Rayong
1
ระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสียแบบบึงประดิษฐ์ ซึง่ ได้พฒ ั นาจาก แนวพระราชด�ำริขององค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ เป็นระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย โดยการเติมออกซิเจน ลงในน�้ำ และใช้จุลินทรีย์เป็นตัวย่อยสลาย ช่วยให้น�ำ น�้ำกลับมาใช้ใหม่ได้หลากหลายวัตถุประสงค์ และการ จัดตั้งศูนย์เฝ้าระวังและควบคุมคุณภาพสิ่งแวดล้อม (ESIE) หรือที่มีชื่อย่อว่า E:mc^2 (Environmental Monitoring and Contral Center: ESIE) ที่นิคมฯ อีสเทิร์นซีบอร์ด (ระยอง) ซึ่งเป็นหน่วยงานตรวจสอบ ข้อมูลด้านคุณภาพน�้ำและอากาศ รวมถึงระดับมลพิษ ทางเสี ย งได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพตามเวลาจริ ง ของ เอกชนแห่ ง แรกในประเทศไทย รวมไปถึ ง กิ จ กรรม ปลูกป่าเพื่อเพิ่มพื้นที่สีเขียวโดยรอบนิคมอุตสาหกรรม
ด้านการศึกษา
เหมราชฯ ได้ให้การสนับสนุนการศึกษาแก่โรงเรียน ต่างๆ โดยรอบนิคม ในจังหวัดชลบุรี ระยอง และสระบุรี ทั้งในรูปแบบของการมอบอุปกรณ์และทุนการศึกษา จนถึ ง การจั ด ค่ า ยศิ ล ปะส� ำ หรั บ นั ก เรี ย นและครู ผ ่ า น โครงการ “วาดศิลป์... ที่บ้านเกิด” และ “สอนศิลป์... ทีบ่ า้ นเกิด” นอกจากนีย้ งั มีโครงการ “Adopt-A-School” และ “Teacher Fellowship” ซึ่งบริษัทร่วมมือกับมูลนิธิ หอการค้ า อเมริกันในประเทศไทย (AMCHAM) สนั บ สนุ น เงิ น เดื อ นแก่ ค รู อั ต ราจ้ า ง เพื่ อ แก้ ป ั ญ หา ขาดแคลนครูของโรงเรียนซึ่งตั้งอยู่ในพื้นที่รอบนิคม 2
ด้านสังคมและสุขภาพ
เหมราชฯ ส่งเสริมการกีฬาในเขตอีสเทิร์นซีบอร์ด โดยมอบ เงินสนับสนุนสโมสรฟุตบอลชลบุรีเอฟซี และ สโมสรฟุตบอล ระยองเอฟซี รวมทั้งจัดกิจกรรมกีฬาในหมู่เยาวชนอย่างต่อเนื่อง เพื่อส่งเสริมให้เยาวชนใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ และห่างไกล จากยาเสพติด รวมถึงจัดให้มีบริการด้านสุขภาพอื่นๆ อาทิ กิจกรรม บริจาคโลหิต การจัดหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ และหน่วยตรวจสายตา ประกอบแว่น ออกให้บริการแก่ประชาชนในพื้นที่โดยรอบนิคมฯ
ด้านการสนับสนุนเศรษฐกิจชุมชน
โครงการอบรมอาชีพตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง ส่งเสริมให้ประชาชนในชุมชนได้มีโอกาสเรียนรู้หลักเศรษฐกิจ พอเพียงและการท�ำกสิกรรมธรรมชาติตามแนวพระราชด�ำริ ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เพื่อเป็นทางเลือกในการ ด�ำรงชีพอย่างยัง่ ยืน นอกจากนีเ้ หมราชฯ ยังริเริม่ โครงการอืน่ ๆ เพื่อส่งเสริมให้เกิดการจ้างงานและสร้างรายได้ อาทิ การ ฝึกอาชีพแม่บ้าน และโครงการช่วยเหลือเกษตรกรในภาวะ ผลผลิตล้นตลาด
ความช่วยเหลือพิเศษ
เหมราชฯ ยังมีโครงการช่วยเหลือต่างๆ เมื่อมีภัยพิบัติ หรือเหตุการณ์ฉกุ เฉินเกิดขึน้ อาทิ โครงการช่วยเหลือผูป้ ระสบ ภัยพิบตั ทิ างธรรมชาติ ทีบ่ ริจาคปัจจัยจ�ำเป็นในด้านต่างๆ ให้แก่ ประชาชนในเขตประสบภัยพิบัติ เพือ่ ฟื้นฟูสภาพความเป็นอยู่ และสภาพจิตใจภายหลังการเกิดภัยพิบัติ หรือการแจกจ่าย น�ำ้ ดื่มน�้ำใช้แก่ชุมชนโดยรอบนิคมฯ ในภาวะขาดแคลน
เสียงสะท้อนถึงเหมราชฯ
คุณสามารถ สอดทรัพย์ ผู้อ�ำนวยการโรงเรียนบ้านพันเสด็จนอก “คน แถว นี้ รู ้ จั ก และ คุ ้ น เคย กั บ เหม ราช ดี อ ยู ่ แ ล้ ว เพราะบริษทั ได้เข้ามาทำ� กิจกรรมและใหค้ วามช่วยเหลือ ชุมชนมาโดยตลอด ที่โรงเรียนเราเองก็มีโอกาสต้อนรับ คนจ ากเ หมร าชเ ป็ น ประ จ� ำ ภาพ ที่ พี่ ๆ จาก เหม ราช น�ำกระเป๋านักเรียนใบใหม่มามอบให้น้องๆ หรือมาท�ำ ้ กิจกรรมด้านการศึกษาร่วมกัน เป็นภาพที่คนในแถบนี เห็นจนชินตา ส่วนผู้น�ำชุมชนทุกคนก็รู้จักตัวแทนจาก เหมราชเป็นอย่างดีครับ”
เกี่ยวกับเหมราชฯ
ปัจจุบัน บริษัท เหมราชพัฒนาที่ดิน จ�ำกัด (มหาชน) เป็นผู้พัฒนานิคมอุตสาหกรรม สาธารณูปโภค ไฟฟ้า และ อสังหาริมทรัพย์ระดับสากล ซึ่งมีนิคมอุตสาหกรรมและเขต ประกอบการรวม 7 แห่ง ได้แก่ นิคมอุตสาหกรรมอีสเทิร์น ซีบอร์ด (ระยอง) นิคมอุตสาหกรรมเหมราชอีสเทิร์นซีบอร์ด นิ ค มอุ ต สาหกรรมเหมราชตะวั น ออก (มาบตาพุ ด ) นิ ค ม อุตสาหกรรมเหมราชชลบุรี นิคมอุตสาหกรรมเหมราชชลบุรี 2 เขตประกอบการอุตสาหกรรมเหมราชระยอง และเขตประกอบ การอุตสาหกรรมเหมราชสระบุรี มีที่ดินรวมประมาณ 39,109 ไร่ (15,600 เอเคอร์ หรือ 6,300 เฮกตาร์) พร้อมด้วยโรงงาน ส�ำเร็จรูปและโลจิสติกส์พาร์คอีกกว่า 750,000 ตารางเมตร ซึ่งได้พัฒนาให้เป็นศูนย์กลางส�ำหรับอุตสาหกรรมปิโตรเคมี ยานยนต์ และอุตสาหกรรมอื่นๆ เหมราชฯ ได้รับการประเมินว่าเป็นบริษัทที่มีการ ก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ใี นระดับ “ดีเลิศ” (5 โลโก้) จากสมาคม ส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทยในปี 2552, 2553, 2554 2555 และ 2556 www.hemaraj.com Rayong
3
สารอุตสาหกรรมจังหวัดระยอง จังหวัดระยองเริ่มมีการเปลี่ยนแปลงไปเป็นจังหวัดที่มีความโดดเด่นด้าน อุตสาหกรรม นับตั้งแต่มีการค้นพบก๊าซธรรมชาติในอ่าวไทย เมื่อปี พ.ศ. 2520 และมี “โครงการพัฒนาพื้นที่ชายฝั่งทะเลตะวันออก” (Eastern Seaboard Development Program) ตั้งแต่ปี 2524 เป็นต้นมา ส่งผลให้เกิดการพัฒนา อุตสาหกรรมในจังหวัดระยองอย่างต่อเนื่อง ท�ำให้โครงสร้างทางเศรษฐกิจของ จังหวัดระยอง เปลี่ยนเป็นอุตสาหกรรมน�ำการท่องเที่ยวและการเกษตร ปั จ จุ บั น จั ง หวั ด ระยองมี โ รงงานอุ ต สาหกรรมกว่ า 2,000 โรง ในนิ ค ม อุ ต สาหกรรม เขตประกอบการอุ ต สาหกรรม ชุ ม ชนอุ ต สาหกรรม และสวน อุตสาหกรรม รวมทั้งสิ้น 19 แห่ง นอกจากนั้นยังมีโรงงานกระจายอยู่ในพื้นที่ ต่างๆ ของจังหวัด โดยเฉพาะในพืน้ ทีอ่ ำ� เภอเมืองระยอง อ�ำเภอนิคมพัฒนา อ�ำเภอ บ้านฉาง อ�ำเภอปลวกแดง โดยมีเงินลงทุนมากกว่าล้านล้านบาท และมีการจ้าง งานมากกว่า 130,000 คน ทว่าความเจริญก้าวหน้าในด้านอุตสาหกรรมของ จังหวัดระยอง ได้น�ำมาซึ่งปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติอย่างต่อเนื่องด้วยเช่นกัน กระผมในฐานะของอุตสาหกรรมจังหวัดระยอง จึงมีความรู้สึกยินดีอย่างยิ่ง ที่ได้รับมอบหมายให้มาด�ำรงต�ำแหน่งส�ำคัญนี้ โดยจะน�ำความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ มาคลี่คลายปัญหาที่เกิดขึ้นแก่พี่น้องชาวระยอง เพื่อให้ จังหวัดระยองเป็นจังหวัดอุตสาหกรรมที่เป็นมิตรกับชุมชน สิ่งแวดล้อม และ ทรัพยากรธรรมชาติ
นายสุรพล ชามาตย์
.................................... ( นายสุรพล ชามาตย์ ) อุตสาหกรรมจังหวัดระยอง
อุตสาหกรรมจังหวัดระยอง
Rayong
1
เส้นทางพบอุตสาหกรรมจังหวัด
นายสุรพล ชามาตย์ อุตสาหกรรมจังหวัดระยอง
นั บ ตั้ ง แต่ ป ี 2524 ที่ มี ก ารริ เ ริ่ ม โครงการพั ฒ นา พื้ น ที่ บ ริ เ วณชายฝั ่ ง ทะเลตะวั น ออก (Eastern Seaboard) ซึ่งรัฐบาลก�ำหนดให้จังหวัดระยองเป็น ศูนย์อุตสาหกรรมหลักและอุตสาหกรรมต่อเนื่อง ที่ มีความสมบูรณ์ในตัวเอง และก�ำหนดให้ชายฝั่ง ทะเลภาคตะวันออกเป็นประตูทางออกให้กับภาค ตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ ในการส่ ง สิ น ค้ า ออกไป จ�ำหน่ายต่างประเทศ มีการจัดเตรียมระบบ สาธารณู ป โภคขั้ น พื้ น ฐานไว้ อ ย่ า งสมบู ร ณ์ ครบถ้วน ไม่ว่าจะเป็นการขยายถนนสาย ส�ำคัญเป็น 4 ช่องจราจร การขนส่ง สินค้าทางรถไฟ มีท่าเรือน�้ำลึกที่ สามารถรองรั บ เรื อ สิ น ค้ า ขนาด ใหญ่ มีการขนส่งสารเคมีทางท่อ และมีโครงการชลประทานขนาด ใหญ่ เพื่อใช้ในการอุตสาหกรรม และการเกษตรกรรม ตลอดจนมี การขยายระบบสาธารณูปโภคอืน่ ๆ ให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ ส่งผลให้ จังหวัดระยองกลายเป็นศูนย์กลาง ความเจริญแห่งใหม่ และเป็นเมือง ที่มีเศรษฐกิจดี
2
ในขณะเดี ย วกั น จั ง หวั ด ระยองเองก็ ต ้ อ งเผชิ ญ กั บ ผล กระทบจากภาคอุตสาหกรรม ทีก่ อ่ ให้เกิดปัญหาด้านสิง่ แวดล้อม และทรั พ ยากรธรรมชาติ อาทิ ปั ญ หามลพิ ษ จากโรงงาน อุตสาหกรรม ทั้งมลพิษทางอากาศ น�้ำ และมลพิษจากกาก อุตสาหกรรม ปัญหาขยะ และปัญหาแหล่งน�้ำดิบปนเปื้อน สารเคมีจากโรงงานอุตสาหกรรม เป็นต้น ซึ่งปัญหาดังกล่าวยัง คงเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง ด้วยเหตุนี้เอง นายสุรพล ชามาตย์ อุตสาหกรรมจังหวัดระยอง ผู้ซึ่งมีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ทั้งด้านอุตสาหกรรมและสิ่งแวดล้อม พร้อม ดีกรีระดับปริญญาเอกด้านการพัฒนาธุรกิจอุตสาหกรรมและ ทรัพยากรมนุษย์ จึงมุ่งมั่นที่จะสะสางปัญหาต่างๆ ของภาค อุตสาหกรรมในจังหวัดระยองอย่างจริงจังและตรงไปตรงมา โดยเฉพาะอย่างยิง่ ปัญหาอันเนือ่ งมาจากทรัพยากรมนุษย์ เพือ่ ให้บรรลุเป้าหมายที่ว่า...อุตสาหกรรมสามารถอยู่ร่วมกับ สิ่งแวดล้อมและชุมชนได้อย่างมีดุลยภาพและยั่งยืน
เดิมผมอยูจ่ งั หวัดราชบุรี พอย้ายมาทีน่ ตี่ อ้ ง บอกว่าเป็นจังหวัดทีม่ ภี ารกิจท้าทายเพราะระยอง เป็นจังหวัดทีม่ กี ารลงทุนภาคอุตสาหกรรม มากที่สุดถึงแปดแสนล้านบาท ภารกิจท้าทายของอุตสาหกรรมจังหวัดระยอง เดิมผมอยู่จังหวัดราชบุรี พอย้ายมาที่นี่ต้องบอกว่าเป็น จังหวัดทีม่ ภี ารกิจท้าทาย เพราะระยองเป็นจังหวัดทีม่ กี ารลงทุน ภาคอุตสาหกรรมมากที่สุดถึงแปดแสนล้านบาท โดยเฉพาะที่ นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด ซึ่งทางกรมตรวจสอบแจ้งมาว่า ที่นี่มีค่าสารระเหยของเคมีในชั้นบรรยากาศสูงกว่าปกติ ซึ่งเรา เองต้องแก้ไขจุดนี้ ถึงแต่ละโรงจะปล่อยค่าไม่เกิน แต่เมื่อมา รวมกันแล้วยังถือว่าเกินกว่าที่มาตรฐานตั้งไว้ ฉะนั้นสิ่งนี้ย่อม เป็นอันตรายต่อชุนชนและบุคคลทีท่ ำ� งานทีน่ นั่ และกรณีทมี่ กี าร รัว่ ของน�ำ้ มันดิบทีม่ าตามท่อในทะเล เราต้องติดตามดูแล เพราะ เป็นความผิดพลาดที่เกิดจากตัวบุคคล เราจึงต้องสืบหารายละ เอียดทุกๆ อย่าง และมีการควบคุมดูแลให้ดียิ่งขึ้น
ส่วนเส้นทางบนบก ผมก็จะมีหนังสือสั่ง การให้ดแู ลเรือ่ งการล�ำเลียงสารอันตรายต่างๆ ไป ตามท่อที่ฝังอยู่ในดิน ว่าเป็นของใคร มีอันตราย แค่ไหน ซึ่งเป็นอันตรายต่อชาวบ้านได้ง่าย แค่ หายใจเข้าไปบางครั้งก็สามารถท�ำให้เป็นมะเร็ง ในตับได้แล้ว ฉะนั้นในโซนนี้จะต้องรายงานทุก อย่าง เพื่อมาบริหารการจัดการให้ดีที่สุด ตั้งแต่ ผมมาอยูท่ นี่ ี่ ก็มอี บุ ตั เิ หตุเกิดขึน้ อยูต่ ลอดเวลา ซึง่ ความสูญเสียในแต่ละครั้งมันสร้างความสูญเสีย เป็นจ�ำนวนมาก ทั้งทางเงิน ทางสิ่งแวดล้อม และ ชุมชน เราจึงต้องมีการควบคุมดูแลอย่างใกล้ชิด เพื่อให้เกิดการป้องกันการเกิดอุบัติเหตุที่ดีกว่านี้ ต้องท�ำทุกอย่างให้ตรงกับหลักเกณฑ์ ตรงตาม มาตรฐานที่ถูกต้อง เป็นการท�ำงานเชิงป้องกัน Rayong
3
เร่งสะสางปัญหา และสร้างเกราะให้องค์กร เข้มแข็ง ปัญหาเร่งของด่วนที่นี่ คือเรื่องการระเหย ของสารเคมี เราจึงต้องเน้นไปที่อุตสาหกรรม ปิโตรเคมีก่อน ซึ่งแผนของเราจะเน้นไปที่การอยู่ ร่วมกันอย่างผาสุก ยั่งยืน และปลอดภัย เราจึง ต้องเรียกส่วนนี้เข้ามาคุยกัน เพื่อหาข้อสรุป และ ท�ำให้ทุกอย่างตรงกับมาตรฐานให้ได้มากที่สุด และเรือ่ งส�ำคัญอีกเรือ่ งหนึง่ คือ ก่อนทีเ่ ราจะ ไปต่อสู้กับบุคคลภายนอก เราต้องจัดการบริหาร บ้านเราให้ดเี สียก่อน เราถึงจะไปสูใ้ ครเขาได้ และ ยังมีงานค้างอยู่อีกมากที่ต้องท�ำ เนื่องจากการที่ องค์กรจะพัฒนาได้ต้องมีบุคลากรที่ดีไปด้วย ไม่ อย่างนัน้ ระบบอิทธิพลก็จะเข้ามาหาผลประโยชน์ และระบบการท�ำงานก็จะล่มสลายไปด้วย รวมถึงปัญหาเรื่องการร้องเรียนที่ยังค้าง คาอยู่อีกมาก ซึ่งเราต้องท�ำให้ทุกปัญหาได้รับ การแก้ไขเพื่อให้ได้รับความพึงพอใจต่อทุกฝ่าย
ปัญหาเร่งของด่วนทีน่ ี่ คือเรือ่ งการระเหย ของสารเคมี เราจึงต้องเน้นไปทีอ่ ตุ สาหกรรม ปิโตรเคมีกอ่ น ซึง่ แผนของเราจะเน้นไปทีก่ าร อยูร่ ว่ มกันอย่างผาสุก ยัง่ ยืน และปลอดภัย เพราะเมื่อมีการร้องเรียนแล้ว ทางอุตสาหกรรมก็อยากแก้ไข อยู่แล้ว แต่บางเรื่องก็เกิดขึ้นเพราะเรื่องเงินเป็นเรื่องส�ำคัญ ตามแนวคิดทางธุรกิจ ก�ำไรถือว่าส�ำคัญที่สุดในมุมมองของ โรงงาน ดังนั้นความเป็นมาตรฐานก็ลดลงไปด้วย ตามที่ผมไป ดูงานที่ญี่ปุ่นมา คนที่มาดูแลเรื่องอุตสาหกรรมของที่โน่น ก็คือ คนที่เรียนจบด้านนั้นๆ มาโดยตรง ซึ่งทางบ้านเราเองก็สมควร จะท�ำเช่นนั้นด้วย ไม่ใช่เอาคนท้องถิ่นมาดูแลจัดการกันเอง ซึ่ง อาจจะแก้ปัญหา หรือมีมุมมองได้ไม่ดีเท่าใดนัก และไม่มีการ พัฒนาที่ดีเท่าที่ควร โซนนิ่งเด่นชัด ช่วยจ�ำกัดขอบเขตของปัญหา ในระยองจะชัดเจนมากเรื่องการจัดโซนนิ่ง เพราะทางเรา มีการใช้ค�ำว่า “นิคมอุตสาหกรรม” หรือ “เขตอุตสาหกรรม” ซึ่ง มีการโซนนิ่งไว้อย่างเป็นระเบียบอยู่แล้ว แต่ปัญหาหลักๆ ที่ เราเจอคือเรื่องของมลพิษและขยะ ซึ่งบ่อขยะต่างๆ จะมีคนที่มี
4
อิทธิพลในพืน้ ทีค่ อยควบคุมดูแลอยู่ คือไปรับขยะมาจากโรงงาน ต่างๆ ในเขตเขา แต่เป็นเรือ่ งผิดกฎหมาย เพราะปัจจุบนั บ่อขยะ ที่ระยองยังไม่มี ซึ่งเราจะต้องดูแลเรื่องนี้เป็นพิเศษ รวมถึงเรื่อง อ่างเก็บน�ำ ้ เพราะการขนขยะมีพษิ ออกนอกพืน้ ทีเ่ พือ่ ไปฝัง จะมี ผลเสียตามมาต่อน�้ำบาดาล ต่อประชาชนไปอีก ซึ่งผู้มีอิทธิพล ต่างๆ ต่างก็วิ่งเข้าหาผมตามสังคมคนไทย แต่จะอย่างไรก็ตาม ถูกก็ต้องว่าตามถูก ผิดก็ว่าตามผิด แต่เรื่องที่ยากที่สุดในการ บริหารจัดการคือเรื่องคนที่ไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร
ความตืน่ ตัวของภาคประชาชน กับผลกระทบ ต่อภาคอุตสาหกรรม เรื่องปัญหาในกรณีแบบนี้ เช่นเรื่องน�้ำมัน ดิบที่รั่วไหล ซึ่งถ้าเราเองตีข่าวมากๆ ก็จะมีผลก ระทบไปสู่อุตสาหกรรมอย่างอื่นด้วย ซึ่งมันก็ไม่ ดี เราจึงต้องวางระบบทุกอย่างให้เป็นไปในเชิง ป้องกัน เพราะสิ่งที่เกิดขึ้นล้วนแต่มาจากการท�ำ ผิดพลาดของมนุษย์ เราจึงต้องไตร่ตรอง คิดให้ มากๆ ว่าสิ่งที่ท�ำจะมีผลกระทบ และความผิด พลาดใดๆ เกิดขึ้นมาบ้าง
องค์กรจะพัฒนาได้ตอ้ งมีบคุ ลากรทีด่ ไี ปด้วย ไม่อย่างนัน้ ระบบอิทธิพลก็จะเข้ามาหาผลประโยชน์ และระบบการท�ำงานก็จะล่มสลายไปด้วย
แจงบทบาทหน้าที่ต่อกรณีน�้ำมันดิบรั่วไหล ในกรณีของการขนถ่ายทางทะเลไม่ได้อยูใ่ น อ�ำนาจของเรา เพราะกรมเจ้าท่าดูแลอยู่ ของเรา เองดูแลเรื่องวัตถุอันตรายที่มีการเช็ด มีการล้าง ซึ่งเขาจะต้องรายงานจ�ำนวนที่รั่วไหล การก�ำจัด ให้เราทราบข้อมูลที่แท้จริง แต่จุดบอดของเขา
Rayong
5
ตามที่ผมไปดูงานที่ญี่ปุ่นมา คนทีม่ าดูแลเรือ่ งอุตสาหกรรมของที่ โน่น ก็คือคนที่เรียนจบด้านนั้นๆ มาโดยตรง... ไม่ใช่เอาคนท้องถิน่ มาดูแลจัดการกันเอง คือไม่อยากจะเปิดเผย ท�ำให้ปญ ั หาขยายออกไป อีก แต่ก็มีอีกส่วนหนึ่งที่ประชากรที่ไม่มีคุณภาพ ฉกฉวยเอาช่วงเวลาพวกนี้มาหาผลประโยชน์ เป้าหมายการพัฒนาดี แต่ต้องปฏิบัติให้ได้ จริ ง ๆ แล้ ว การพั ฒ นาภาคอุ ต สาหกรรม ในจังหวัดระยองดีอยู่แล้ว ด้วยการคมนาคมที่ สะดวก ซึ่งทางกรมควบคุมมลพิษก็ไม่อนุญาต ให้มีการตั้งโรงงานในมาบตาพุดเพิ่มขึ้นอีก เพื่อ ควบคุมดูแลสารพิษให้ได้ แต่ก็ยังมีการลงทุน เข้ามาอยู่อย่างต่อเนื่อง ในเรื่องชิ้นส่วนยานยนต์ ที่นักลงทุนต้องการเข้ามาลงทุนเพิ่มเติมอีก ซึ่ง ส่วนราชการเราต้องอาศัยความรวดเร็วในเรื่อง การจัดการให้มากกว่านี้ 6
ข้อดีของอุตสาหกรรมระยองเมื่อเข้าสู่ AEC ข้อแรกคือ เรามีอุตสาหกรรมปิโตรเคมีที่ ผลิตใช้เอง และส่งเสริมเรื่องอุตสาหกรรมอื่น ซึ่งเรามองไปในส่วนที่นอกจากการใช้เองแล้ว ยังสามารถดันให้เป็นการส่งออกไปยังเมืองที่ไม่ ติดทะเล ซึ่งเอื้อไปถึงลาว และพม่าบางส่วนได้ อีกด้วย พร้อมช่วยเหลือธุรกิจ SMEs สู่สากล เรามีฝ่ายส่งเสริมอุตสาหกรรมอยู่แล้ว ซึ่ง เรามี ง บประมาณที่ จ ะสนั บ สนุ น สิ น ค้ า พวกนี้ ไม่ว่าจะเป็นโอท็อป กะปิ น�้ำปลา ผลไม้แปรรูป ในส่ ว นนี้ ขึ้ น อยู ่ กั บ กรมส่ ง เสริ ม อุ ต สาหกรรม ซึ่งตั้งเป็นองค์กรอิสระ แต่เราก็สามารถขอความ ร่วมมือกับทางเขาได้
ผูม้ อี ทิ ธิพลต่างๆต่างก็วงิ่ เข้าหาผม ตามสังคมคนไทยแต่จะอย่างไรก็ตาม ถูกก็ตอ้ งว่าตามถูกผิดก็วา่ ตามผิด
ฝากผู้ประกอบการใส่ใจองค์รวมการผลิต ผมอยากฝากถึงผู้ประกอบการ ให้เขาคิด เป็นองค์รวม ตั้งแต่วัตถุดิบที่น�ำเข้ามา ตลอด จนถึงขบวนการผลิต ร่วมดูแลความปลอดภัย ควบคุมดูแลเรื่องมลพิษให้ดียิ่งขึ้น Rayong
7
เส้นทางอุตสาหกรรม
บทพิสจู น์ความมุง่ มัน่ ของ
TGP Group
2
ชี วิ ต ประจ� ำ วั น ของเราต้ อ งใช้ ประโยชน์ จ ากก๊ า ซที่ ม องไม่ เ ห็ น ไม่ มี สี ไม่กลิ่น และไม่ติดไฟ มากมาย ไม่ว่าจะ เป็นการใช้เพื่อช่วยหายใจ ตัดเหล็ก เลี้ยง ปลา เลี้ยงไม้น�้ำ หลอมเหล็ก หลอมแก้ว เชื่ อ มสแตนเลส เชื่ อ มสั ง กะสี ผลิ ต น�้ ำ อัดลม-โซดา-เบียร์ ผลิตน�้ำแข็งแห้ง ใช้ใน การดับเพลิง ใช้ในเครื่องปรับอากาศ ใช้ ไล่อากาศในถุงขนม ใช้เติมลมยางรถยนต์ เป็นต้น ไทยผลิตภัณฑ์กา๊ ซ หรือ TGP Group คื อ ผู ้ บ รรจุ แ ละจ� ำ หน่ า ยก๊ า ซที่ ก ล่ า วถึ ง ข้างต้นมานานกว่า 25 ปี ของครอบครัว ไทย เพชร์กุล โดยเริ่มต้นจากรุ่นคุณพ่อแล้ว ส่งไม้ต่อให้บุตรชายและบุตรสาว 3 ท่าน ได้แก่ คุณชยณัฐ (ป๊อบ) คุณศุภพงศ์ (ป้อ) และ คุณธนพรรษ (เป้) “ธุ ร กิ จ เราเป็ น ลั ก ษณะของธุ ร กิ จ ครอบครัว โดยผู้ริเริ่มธุรกิจนี้ก็คือ คุณพ่อ ซึ่งแต่เดิมนั้นทางบ้านได้เริ่มท�ำธุรกิจเกี่ยว กับมันเส้นอัดเม็ด ซึ่งมันมีความจ�ำเป็นที่ จะต้องสั่งก๊าซออกซิเจนมาใช้ในธุรกิจนี้ ในการสั่งก๊าซมาใช้งานแต่ละครั้งนั้น ต้อง ใช้เวลานานกว่าสินค้าจะมาส่งถึงเรา คุณ พ่อจึงเริ่มมีความสนใจในผลิตภัณฑ์ของ ก๊าซมากขึน้ แล้วจึงได้ศกึ ษาข้อมูลเกีย่ วกับ ธุรกิจด้านก๊าซ ในปี พ.ศ. 2531 ท่านได้เริม่ ต้นท�ำธุรกิจในอุตสาหกรรมนีข้ นึ้ มา รวมถึง ปัจจุบนั นีก้ ็ 25 ปีแล้วครับ” คุณชยณัฐ หรือ คุณป๊อบ ให้สัมภาษณ์
ด้วยวิสัยทัศน์ และนโยบายการด�ำเนินงานของนักบริหารรุ่นใหม่ ผลิตภัณฑ์จาก TGP Group จึงได้รบั การรับรองมาตรฐานการผลิตโดย ส�ำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม “เราคิ ด เสมอว่ า เราขายสิ น ค้ า ที่ มี คุ ณ ภาพที่ เ หมาะสมที่ สุ ด และทั่ ว ถึ ง ค� ำ ว่ า เหมาะสม ในที่ นี้ ห มายถึ ง ของที่ น� ำ ไปใช้ จ ะต้ อ งมี คุ ณ ภาพและปริ ม าณที่ ถูกต้อง อาทิ แรงดันจะต้องไม่ต�่ำกว่า 1800 psi หรือตรงตามข้อก�ำหนดมาตรฐาน อุตสาหกรรม (มอก.) ส�ำหรับค�ำว่า ทั่วถึง นั่นคือการที่ลูกค้าสามารถสั่งซื้อสินค้าได้ใน เขตบริเวณจังหวัดระยอง ชลบุรี จันทบุรี ตราด สระแก้ว และปราจีนบุรี ซึ่งนั่นคือทั่วถึง ในพื้นที่ตะวันออกครับ ทั้งหมดนี้จะตอบโจทย์ถึงนโยบายบริษัทของเรา นั่นคือ มุ่งมั่นสู่ ความเป็นเลิศ ด้านการบรรจุ บริการ และพัฒนาอย่างต่อเนื่องครับ” ปัจจุบัน ผลิตภัณฑ์ของ TGP Group แบ่งเป็นสินค้า (ก๊าซ และลิควิด) และการ บริการ ในประเภทของสินค้าจะมี ก๊าซไนโตรเจน ใช้ไล่ความชืน้ ในอุตสาหกรรมอาหาร, ก๊าซอาร์กอน ใช้เกี่ยวกับการเชื่อม ในภาคอุตสาหกรรม, ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ เกี่ยวกับการเชื่อม หรืออัดน�้ำอัดลม, ก๊าซผสม ซึ่งลูกค้าสามารถสั่งได้ว่าต้องการใช้ก๊าซ อะไรผสมกับอะไร ในปริมาณเท่าไหร่, ก๊าซออกซิเจน ซึ่งใช้ในทางการแพทย์ รวมถึงใช้ ในภาคอุตสาหกรรม คุณชยณัฐ กล่าวเพิ่มเติมในส่วนของการบริการว่า “นอกจากเราจะมีบริการขนส่ง แล้ว เรายังมีบริการตรวจสอบท่อแรงดันสูง นั่นหมายความว่า สินค้าและผลิตภัณฑ์ของ เรามีมาตรฐานสอดคล้องกับกฎหมายอุตสาหกรรม ทั้งหมดนี้จะช่วยสร้างความเชื่อมั่น และความไว้วางใจในสินค้าของเรากับผู้ใช้” ด้วยมาตรฐานของผลิตภัณฑ์และการบริการที่ครอบคลุม TGP Group จึงได้รับ ความไว้วางใจจากลูกค้า ซึ่ง ณ ปัจจุบันสามารถขยายสาขาไปมากถึง 7 แห่ง ครอบคลุม 6 จังหวัดในภาคตะวันออกคือ ระยอง ชลบุรี จันทบุรี ตราด สระแก้ว และปราจีนบุรี ไม่เพียงเท่านัน้ ทีมนักบริหารรุน่ ใหม่ของ TGP Group ยังได้ให้ความส�ำคัญกับการศึกษา ดูงาน และการเรียนรู้นวัตกรรมใหม่ๆ อยู่เสมอ
“เพราะนโยบายของเรามี ก ล่ า วถึ ง การพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ซึ่งคือการที่ เราต้องมีการสร้างมาตรฐานให้ดียิ่งขึ้น ไปเรื่อยๆ เลยไม่อาจท�ำให้หลีกเลี่ยงการ เรียนรู้งานกับประเทศที่มีประสิทธิภาพใน การด�ำเนินงาน และการผลิตที่ดีกว่าใน ประเทศ อีกทั้งด้วยความที่เศรษฐกิจ และ การตลาดที่เติบโตขึ้นอย่างรวดเร็ว ไม่อาจ ท�ำให้เราศึกษาแต่ในประเทศเท่านั้น” คุณป๊อบ กล่าวและเพิ่มเติมว่า “ผม ได้ไปศึกษากระบวนการตรวจสภาพท่อ ทนแรงดันสูง และขั้นตอนกระบวนการ ผลิตก๊าซผสม (Mixed Gas) จากประเทศ สหรั ฐ อเมริ ก า พร้ อ มกั บ น้ อ งชายคื อ คุณป้อมาครับ ส่วนคุณเป้ น้องสาวคน เล็ก ได้ไปศึกษาเพิ่มเติมทางด้านภาษาที่ ประเทศญี่ปุ่น เพื่อจะได้เพิ่มโอกาสในการ หาลูกค้า และสร้างสัมพันธภาพอันดีกับ Rayong
3
ลูกค้าด้วยครับ เพราะประเทศญี่ปุ่นถือ เป็นประเทศที่มีการท�ำธุรกิจอุตสาหกรรม ในประเทศไทยเป็ น จ� ำ นวนไม่ น ้ อ ยเลย ทีเดียว จึงถือเป็นช่องทางหนึ่งที่ท�ำให้เรา สามารถขยายตลาดไปยังกลุ่มลูกค้าใหม่ เหล่านั้นได้ด้วย” คุณศุภพงศ์ หรือ คุณป้อ ให้สมั ภาษณ์ เพิ่มเติมว่า “แต่การศึกษาภายในประเทศ ก็ยังคงจ�ำเป็นส�ำหรับเรานะครับ เพราะ ไม่ ว ่ า คุ ณ จะไปเรี ย นรู ้ อ ะไรมาก็ แ ล้ ว แต่ มันจ�ำเป็นต้องผนวกเข้ากับอุตสาหกรรม และกฎหมายในประเทศไทย อย่างเช่น การเข้าอบรมและการสอบ จป. (เจ้าหน้าที่ รักษาความปลอดภัยพิเศษ) หรือการฝึก ซ้อมดับเพลิง ซึ่งจ�ำเป็นต่อการด�ำเนินงาน เพื่อให้มีมาตรฐานอย่างถูกต้องครับ”
และในโอกาสที่ไทยจะก้าวสู่ AEC ใน ปี 2558 นั้น ผู้บริหารของ TGP Group ได้ กล่าวถึงการตั้งรับและการด�ำเนินการเพื่อ ให้สอดคล้องกับนโยบายของภาครัฐว่า “เนือ่ งด้วยบริษทั ของเรามีฐานการผลิต อยูท่ วั่ ภูมภิ าคตะวันออก ซึง่ ติดกับประเทศ เพื่อนบ้าน อย่างเช่น กัมพูชา นั่นท�ำให้ เราต้องตื่นตัวกับการท�ำธุรกิจกับประเทศ เพื่อนบ้านมากขึ้น แต่ทั้งนี้ เราพยายามที่ จะพัฒนาประสิทธิภาพในการผลิต พร้อม ทั้งจ�ำหน่ายสินค้าของเราออกไปอยู่อย่าง ต่อเนื่อง ซึ่งท�ำให้เกิดแนวทางที่สอดคล้อง กับภาครัฐโดยปริยายครับ” นอกเหนือจากการที่ไม่หยุดนิ่งกับการ พัฒนามาตรฐานการผลิต การบริการ และ การขยายตลาดแล้ว TGP Group ยังให้
สถานที่ท�ำงานในสาขาของ TGP Group ความส�ำคัญกับการสร้างภาพลักษณ์ใหม่ๆ ต่อธุรกิจ ไม่ว่าจะเป็นการใส่ใจกับสภาพ สิง่ แวดล้อมในโรงงาน รวมถึงการสร้างสรรค์ ประโยชน์เพื่อสังคมด้วย “เราอยากลบภาพลักษณ์ของโรงงาน ในแบบเก่าๆ ออกไป ที่คนส่วนใหญ่มัก จะเข้าใจว่ากันไปเองว่า โรงงานจะต้อง มีลักษณะเป็นที่ปิดทึบ ดูอันตราย และ น่ากลัว ซึ่งในคอนเส็พท์ของโรงงานเรา จะเป็นลักษณะที่โปร่ง โล่ง สบาย และ อาศัยธรรมชาติจากต้นไม้ ซึ่งท�ำให้เกิด บรรยากาศที่ดีและผ่อนคลายต่ อ สภาพ จิตใจของเหล่าพนักงานและลูกค้าที่มา เยือน” “ส่ ว นเรื่ อ งของการตอบแทนก� ำ ไรสู ่ สั ง คม ปั จ จุ บั น ทางบริ ษั ท ฯ ได้ ใ ห้ ก าร สนั บ สนุ น กั บ มู ล นิ ธิ กู ้ ภั ย อยู ่ ซึ่ ง เราได้ มี แผนทีจ่ ะท�ำการตอบแทนสังคมให้มากกว่า ที่มีในปัจจุบัน เช่น การมอบทุนการศึกษา หรือการบริจาคให้แก่ผู้ประสบภัย” ทั้งหมดนี่คือมุมมองของนักธุรกิจ รุ่นใหม่ จาก TGP Group ซึ่งไม่ค�ำนึง ถึงผลก�ำไรของธุรกิจเพียงอย่างเดียว เท่านั้น แต่ยังตระหนักและให้ความ ส�ำคัญกับการใส่ใจดูแลพนักงาน ลูกค้า ชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อมด้วย
4
เส้นทางพบทางหลวงชนบท
นายจิรโชติ ปัญญาประดิษฐ์ 11 ปี บนเส้นทาง ผอ.ส�ำนักงานทางหลวงชนบท จังหวัดระยอง
คงปฏิเสธไม่ได้วา่ ในช่วงสิบปีมานี้ ถนนหนทางในจังหวัดระยอง โดยเฉพาะถนนเลียบแนวชายฝั่งทะเลภาคตะวันตก หรือ “ถนน เฉลิมบูรพาชลทิศ” ถนนและท่าเทียบเรือบนเกาะเสม็ด ตลอดจน สะพานข้ามแม่นำ�้ สายส�ำคัญต่างๆ ฯลฯ จะได้รับการพัฒนาไปมาก เกินกว่าการเป็นแค่เส้นทางสัญจรเท่านั้น แต่ยังมีบทบาทในฐานะ ของสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ ให้แก่นักท่องเที่ยวและชาวระยอง ได้เก็บเกีย่ วความสุขจากสองข้างทาง นับเป็นการเปิดมุมมองสูถ่ นน ท่องเที่ยวระดับสากล (World Class) ทั้งหมดนี้ ล้วนเกิดขึ้นจากการ ทุ่มเททั้งพลังกาย พลังใจ และพลังสติปัญญา มานานกว่า 11 ปี ของ นายจิรโชติ ปัญญาประดิษฐ์ ผู้อ�ำนวยการหนุ่มไฟแรงแห่ง ส�ำนักงานทางหลวงชนบทจังหวัดระยอง
ทชจ.ระยอง กับภารกิจบนเส้นทางการพัฒนาแบบบูรณาการ ส�ำนักงานทางหลวงชนบทจังหวัดระยอง หรือ สนง.ทชจ. ระยอง สังกัด ส�ำนักทางหลวงชนบทที่ 3 (ชลบุร)ี กรมทางหลวง ชนบท มี นายจิรโชติ ปัญญาประดิษฐ์ ด�ำรงต�ำแหน่ง ผู้อำ� นวย การ ตั้งแต่ พ.ศ.2546 เพื่อขับเคลื่อนการท�ำงานให้เป็นไปตาม วิสัยทัศน์ของ หรือ สนง.ทชจ.ระยอง ที่ว่า “เป็นองค์กรที่เข้มแข็ง สนองตอบต่อภารกิจของกรม ทางหลวงชนบทอย่างมีประสิทธิภาพ และร่วมพัฒนาภูมิภาค ตามยุทธศาสตร์ เพื่อประโยชนสูงสุดของประชาชน” ทั้ ง นี้ สนง.ทชจ.ระยอง มี พั น ธกิ จ คื อ “พั ฒ นายกระดั บ มาตรฐานทางหลวงชนบท เพื่อสนับสนุนการคมนาคมขนส่ง การท่ อ งเที่ ย ว การพั ฒ นาเมื อ งอย่ า งบู ร ณาการและยั่ง ยืน แก้ไขปัญหาจราจร โดยสร้างทางเชื่อม ทางเลี่ยง ทางลัด ให้ สอดคล้องกับยุทธศาสตร์จังหวัดและกลุ่มจังหวัด รวมทั้งการ สร้างความเข้มแข็งด้านช่างงานทางให้องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น ตลอดจนพัฒนาองค์กรตามยุทธศาสตร์การพัฒนา ระบบราชการ” ทชจ.ระยอง กับโครงการที่ให้มากกว่าเส้นทางสัญจร ตลอดระยะเวลากว่า 11 ปี ซึ่ง นายจิรโชติ ปัญญาประดิษฐ์ ด�ำรงต�ำแหน่ง ผู้อ�ำนวยการ สนง.ทชจ.ระยอง นั้น ได้ผลักดัน สร้างสรรค์ผลงานไว้มากมายนับไม่ถ้วน ซึ่งในที่นี้จะขอกล่าวเฉพาะ โครงการส�ำคัญๆ ดังนี้ 2
ถนนเฉลิมบูรพาชลฑิต (Chaloem Burapha Chonlathit RoadAuspicious Eastern Beach Road) เป็นโครงการพัฒนาถนนเลียบชายฝัง่ ทะเลจังหวัดชลบุรี ระยอง จันทบุรี และตราด เพื่อใช้เป็นเส้นทางส่งเสริมการท่องเที่ยวชายฝั่ง ทะเลในระดับมาตรฐานสากล จึงมีการออกแบบ ถนนและตกแต่ง ภูมิทัศน์ให้สวยงามร่มรื่น มีเส้นทางจักรยาน จุดพักรถ จุดชมวิว ตลอดเส้นทาง ส่วนรูปแบบของสะพานจะเน้นด้านความสวยงาม เพื่อใช้เป็นจุดพักผ่อนและจอดรถชมทัศนียภาพ พื้นที่ด�ำเนินการ ระยะแรกมีจุดเริ่มต้นที่ แยกทล.3161 จากแหลมแม่พิมพ์ อ่าว ไข่ อนุสาวรีย์สุนทรภู่ วัดแหลมสน อนุสาวรีย์เรือรบหลวงประแส ศาลกรมหลวงชุมพร คลองปูน พังราด จ.ระยอง เข้าสู่ อ.นายายอาม อ.ท่าใหม่ อ.แหลมสิงห์ และอ.ขลุง จ.จันทบุรี ซึ่งมีแหล่งท่องเที่ยว ส�ำคัญ อาทิ อ่าวคุ้งวิมาน อ่าวคุ้งกระเบน หาดเจ้าหลาว ตึกแดง คุ ก ขี้ ไ ก่ หาดแหลมสิ ง ห์ อ.ขลุ ง ข้ า มปากแม่ น�้ ำ เวฬุ ไปบ้ า น บางกระดาน อ.แหลมงอบ จ.ตราด รวมระยะทาง 111 กม. เมื่อ การพัฒนาปรับปรุงเส้นทางดังกล่าวแล้วเสร็จ จึงเริ่มโครงการระยะ ที่ 2 พัฒนาเส้นทางจากถนนเลียบชายฝั่งแหลมแม่พิมพ์ อ.แกลง จ.ระยอง มาจนถึงหาดจอมเทียน อ.บางละมุง จ.ชลบุรี เพื่อให้ เป็นไปตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคตะวันออก ด้านส่งเสริมการท่องเที่ยวบริเวณพื้นที่ชายฝั่งทะเลของทั้ง 4 จังหวัด โครงการพัฒนาถนนและท่าเทียบเรือเกาะเสม็ด รย.6021 เกาะเสม็ดเป็นสถานทีท่ อ่ งเทีย่ วทีไ่ ด้รบั ความนิยมอย่างสูงจาก นักท่องเทีย่ ว ทว่าในอดีตทีผ่ า่ นมา ถนนบนเกาะเสม็ดได้รบั การขนาน นามว่า “ถนนโลกพระจันทร์” ดั้งนั้น กรมทางหลวงชนบท ร่วมกับ จังหวัดระยอง อุทยานแห่งชาติเขาแหลมหญ้า-หมู่เกาะเสม็ด และ องค์การบริหารส่วนต�ำบลเพ จึงเห็นพ้องให้มีการปรับปรุง
ถนนบนเกาะเสม็ด เป็นระยะทางประมาณ 8 กิโลเมตร ซึ่ง จ.ระยอง โดย สนง.ทชจ.ระยอง ได้วา่ จ้างบริษทั ทีป่ รึกษาให้ดำ� เนินการศึกษา ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม และส�ำรวจออกแบบรายละเอียดต่างๆ เพื่อปรับปรุงถนนพร้อมระบบระบายน�้ำ ทางเดินเท้า ทางจักรยาน เครื่องหมายจราจร เนินชะลอความเร็ว ป้ายบอกทาง พร้อมงาน ปรับปรุงภูมิทัศน์ และก่อสร้างท่าเทียบเรือใหม่ เพื่อทดแทนของเดิม ที่ช�ำรุดทรุดโทรมมาก ทั้งนี้เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวบนเกาะเสม็ด ให้มีความสะดวก และปลอดภัยในการเดินทาง ควบคู่กับการสงวน รักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมบนเกาะอย่างยั่งยืน การพัฒนาโครงข่ายการจราจรเพื่อการท่องเที่ยวและแก้ไข ปัญหาหารจราจร รย.4036 ถนนเฉลิ ม บรู พ าชลทิ ด ช่ ว งถนนเลี ย บทะเล ระยอง-เนินพระ-มาบตาพุด ระยะทางกว่า 10 กิโลเมตร เพื่อช่วย แก้ปัญหาน�้ำทะเลกัดเซาะชายฝั่งและถนนลูกรังเดิมจนขาดเป็น
Rayong
3
ช่วงๆ จนไม่สามารถสัญจรผ่านไปมาได้ ซึ่งทางจ.ระยองได้เสนอ โครงการพัฒนาปรับปรุงใหม่ 3 เพื่อเชื่อมใจกลางของที่มีอยู่เดิมให้ ระยะโครงสร้างถนนเลียบทะเลมีความต่อเนื่อง รย.1001 ถนนเลียบทะเลหาดแม่รำ� พึง ตัง้ แต่ชว่ งแยก PMYหาดแหลมเจริญ-หาดแม่ร�ำพึง ระยะทาง 14.051 กม. รวมสะพาน ข้ามแยก สะพานข้ามแม่น�้ำ 3 แห่ง ถนนสายแยกทล.3 หรือ ถนนสุขมุ วิท (สีแ่ ยก PMY) ถึงถนน เลียบชายทะเลระยอง ระยะทาง 2.30 ก.ม.พร้อมสะพาน คสล. ข้ามถนนสุขุมวิท บริเวณสี่แยก PMY เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวและ แก้ไขปัญหาการจราจรในเขตตัวเมือง การพัฒนาโครงข่ายการจราจรเพื่อระบบโลจิสติกส์ รย.3013 แยกทางหลวงหมายเลข 331 บรรจบ 3191 เชื่อมต่อ อ.ศรีราชา จ.ชลบุรี กับ อ.ปลวกแดง จ.ระยอง ผ่านย่าน นิคมอุตสาหกรรมขนาดใหญ่หลายแห่ง เช่น นิคมฯสยามอีสเทิร์น อินดัสเตรียล พาร์ค นิคมฯเหมราช นิคมฯอมตะซิตี้ ฯลฯ รย.1035 แยกทางหลวงหมายเลข 3-นิคมฯมาบตาพุด หรือ “ถนนบ้านฉาง พลา บูรพาพัฒน์” เป็นเส้นทางเลี่ยงเมืองบ้านฉาง ที่จะช่วยแบ่งเบาการจราจรจากนิคมฯมาบตาพุด รักษ์ทาง รักถิ่น กับ ทชจ.ระยอง นอกเหนือจากภารกิจส�ำคัญในการพัฒนาโครงข่ายการจราจร ในจังหวัดระยอง ให้มีประสิทธิภาพแล้ว สนง.ทชจ.ระยอง ยังมี ภารกิจส�ำคัญอีกมากมาย ได้แก่ การบ�ำรุงรักษาทางเพื่อมีสภาพที่ ดีพร้อมใช้งานตลอดเวลา และการด�ำเนินกิจกรรมเพื่อดูแลสังคม และสิ่งแวดล้อม อาทิ การจัดตัง้ หน่วยบ�ำรุงทางหลวงชนบทที่ 2 (วังหว้า) เพือ่ ควบคุม ดูแลรักษาทางหลวงชนบทใน อ.เขาชะเมา และ อ.วังจันทร์ ซึ่ง ปัจจุบนั ได้ยกระดับเป็นศูนย์บำ� รุงทางหลวงชนบทแกลง และปัจจุบนั ได้จัดตั้งหน่วยบ�ำรุงทางที่ 2 ทดแทน ได้แก่ การจัดตั้งหน่วยบ�ำรุงทางหลวงชนบทที่ 2 (นิคมพัฒนา) เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพในการซ่อมบ�ำรุงทางในเขต อ.บ้านฉาง อ.นิคม พัฒนา และ อ.ปลวกแดง ซึ่งเป็นที่ตั้งของนิคมอุตสาหกรรมขนาด ใหญ่หลายแห่ง การจัดตั้งศูนย์อ�ำนวยความสะดวกและปลอดภัย แก่ผู้ใช้ เส้นทางในช่วงเทศกาล เพื่ออ�ำนวยความสะดวก ลด และป้องกัน การเกิดอุบัติเหตุบนถนน การปลูกหญ้าแฝกและต้นไม้ ยืนต้น ในโครงการ “จาก วันแม่ถึงวันพ่อ 116 วัน สร้างความสามัคคี” ประจ�ำปี 2551 สนอง พระราชเสาวนีย์ของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ฯ การปลูกป่าชายเลนและปล่อยพันธุ์ปลา ณ ต�ำบลปากน�้ำ ประแส อ.แกลง ใน “โครงการพัฒนาบุคลากรเพื่อสร้างทัศนคติ รักษ์สังคม” 4
การเก็บขยะชายหาดแม่ร�ำพึง ถนนเลียบทะเลระยอง ใน “โครงการรวมพลังครั้งยิ่งใหญ่ คืนความสดใสชายหาดระนอง” ซึ่งจัดโดยจังหวัดระยอง การปลูกต้นไม้เฉลิมพระเกียรติ 12 สิงหาคม และ 5 ธันวาคม พ.ศ.2554 ณ หน่วยบ�ำรุงทางหลวงชนบทที่ 2 นิคมพัฒนา การช่วยเหลือผู้ประสบมหาอุทกภัย ปี 2554 โดยร่วมกับ ภาคเอกชน และชาวระยอง บริจาคสิ่งของเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบ มหาอุทกภัย ปี 2554 ฯลฯ
ปี 2552 รับเครื่องหมายสหัทยานาวี จากผู้บัญชาการทหาร เรือ กองทัพเรือ ปี 2555 รับโล่รางวัลประกาศเกียรติคณ ุ จากเทศบาลต�ำบล เนินพระ ผอ.จิรโชติ ปัญญาประดิษฐ์ แห่ง ส�ำนักงานทางหลวง ชนบทจังหวัดระยอง กล่าวสรุปว่า “รางวัลทีแ่ ท้จริงของพวกเรา เกียรติภูมิของ ทจช.ระยอง ชาว ทชจ.ระยอง คือความภาคภูมิใจที่ได้สร้างและบ�ำรุงทาง จากความตั้งใจ เสียสละ และทุ่มเทให้กับการปฏิบัติงานของ อ�ำนวยความสะดวกปลอดภัยในการเดินทาง เพื่อประโยชน์ นายจิรโชติ ปัญญาประดิษฐ์ ผู้อ�ำนวยการ สนง.ทชจ.ระยอง สุขของประชาชน” น�ำมาซึ่งรางวัลและเกียรติภูมิมากมาย อาทิ ปี 2548, 2551 รางวัลชนะเลิศ “โครงการประกวดหน่วย บริการประชาชน ช่วงเทศกาลสงกรานต์” ปี 2551 รางวัลชนะเลิศ “โครงการทางแห่งความภูมิใจ” ประเภทผิวจราจรเคฟซิล ปี 2551 รับประกาศเกียรติคุณ “โครงการปรับปรุงจุดเสี่ยง อันตรายทางถนน” จาก สนง.นโยบายและแผนการขนส่งและจราจร กระทรวงคมนาคม ปี 2551 รางวัลชนะเลิศ “โครงการรักษ์ทาง รักถิ่น” ประเภท หน่วยงาน
Rayong
5
ส�ำนักงานทางหลวงชนบทจังหวัดระยอง กับภารกิจบน เส้นทางการพัฒนา
ส�ำนักงานทางหลวงชนบทจังหวัดระยอง สังกัด ส�ำนัก ทางหลวงชนบทที่ 3 (ชลบุรี) กรมทางหลวงชนบท มี นายจิร โชติ ปัญญาประดิษฐ์ ด�ำรงต�ำแหน่ง ผูอ้ ำ� นวยการ ตัง้ แต่ พ.ศ.2546 เพื่อขับเคลื่อนการท�ำงานให้เป็นไปตามวิสัยทัศน์ของ หรือ สนง. ทชจ.ระยอง ที่ว่า “เป็นองค์กรที่เข้มแข็ง สนองตอบต่อภารกิจ ของกรมทางหลวงชนบทอย่างมีประสิทธิภาพ และร่วมพัฒนา ภูมิภาคตามยุทธศาสตร์ เพื่อประโยชนสูงสุดของประชาชน” โดยมีพนั ธกิจคือ “พัฒนายกระดับมาตรฐานทางหลวงชนบท เพื่อสนับสนุนการคมนาคมขนส่ง การท่องเที่ยว การพัฒนา ชายแดนด้านตะวันออก การพัฒนาเมืองอย่างบูรณาการและ ยั่งยืน แก้ไขปัญหาจราจร โดยสร้างทางเชื่อม ทางเลี่ยง ทาง ลัด ให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์จังหวัดและกลุ่มจังหวัด รวม ทั้งการสร้างความเข้มแข็งด้านช่างงานทางให้องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิน่ ตลอดจนพัฒนาองค์กรตามยุทธศาสตร์ก ารพัฒนา ระบบราชการ”
6
Office of Rural Roads of Rayong province and their duties.
Office of Rural Roads of Rayong province is under the Department of Rural highway 3 in Chonburi. Mr. Jirachot Panyapradit is the director since 2003 BC. He follows vision of Rayong province to meet the mission of the Department of Rural effectively and development strategy in a strong organization in order to maximum benefit of the people in the country. He tries to develop Rural Roads standards in order that supporting transportation and tourism, development on the eastern border, integrated urban development and sustainability. He tries to decrease traffic problems by creating a shortcut to bypass the provinces. Including built up the strengthening of the technical work for the local government and development of the strategy.
เส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล
องค์การบริหารส่วนต�ำบลนาตาขวัญ วิสัยทัศน์ของ องค์การบริหารส่วนต�ำบลนาตาขวัญ “ศูนย์กลางการพัฒนาด้านเกษตรกรรม ประชาชนอยู่ดีมีสุข ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง”
นายล�ำยอง ธรรมยิ่ง
นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลนาตาขวัญ
องค์การบริหารส่วนต�ำบลนาตาขวัญ ปัจจุบันมี นายล�ำยอง ธรรมยิ่ง เป็น นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลนาตาขวัญ และมี จสอ. อมร เวียนหาผล ด�ำรง ต�ำแหน่ง ปลัดองค์การบริหารส่วนต�ำบลนาตาขวัญ ผู้บริหารองค์การบริหารส่วนต�ำบลนาตาขวัญ ก�ำหนดนโยบายการพัฒนาไว้ 5 ด้านดังนี้
1. นโยบายด้านโครงสร้างพื้นฐาน องค์การบริหารส่วนต�ำบลนาตาขวัญ จะพัฒนาระบบ โครงสร้างพื้นฐานและสาธารณูปโภค ก่อสร้างและปรับปรุง บ�ำรุงรักษาทั้งถนน ทางระบายน�้ำ ปรับปรุงซ่อมแซมถนน ทัง้ สายหลัก และสายซอย เพือ่ ให้ประชาชนมีเส้นทางคมนาคม ทีส่ ะดวกรวดเร็ว และปลอดภัย ขยายเขตประปา ปรับปรุงและ พัฒนาแหล่งน�้ำ เพื่อให้ประชาชนมีน�้ำเพียงพอต่อการอุปโภค โครงการก่อสร้างถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก บริโภค และเพื่อการเกษตร ติดตั้งไฟฟ้าสาธารณะ และไฟ ถนนสายตาโรง-สายใน (ช่วง 2) หมู่ที่ 3 ส่องสว่างในซอยต่างๆ ครอบคลุมพื้นที่ต�ำบลนาตาขวัญ
โครงการก่อสร้างก�ำแพง กั้นดินบริเวณถนน สายชะวึก-ศาลเจ้า หมู่ที่ 3 โครงการก่อสร้างขยายเขตบริการ ท่อจ่ายน�้ำประปา ประจ�ำหมู่บ้าน ตามแนวถนนสายนาตาขวัญชากขนุน, หนองตะเกรา-ทุ่งหลวง, ชากขนุน-หนองตะเกรา ซอย 1 และ ซอย 2, นาตาขวัญ-มาบต้อ) 2
โครงการวางท่อ ระบายน�้ำลอด ถนนสายชะวึกอ่าวไทยธานี หมู่ที่ 3
โครงการก่อสร้างถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก สายหนองละลอก-ไร่ยายข�ำ 2 หมู่ที่ 6
2. นโยบายด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนต�ำบลนาตาขวัญ มีนโยบายใน ด้านการอนุรกั ษ์ฟน้ื ฟู ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม โดย ยึดหลักการมีส่วนร่วมของประชาชนและชุมชนในต�ำบล ส่ง เสริมและสนับสนุนการมีสว่ นร่วมของประชาชน โดยการสร้าง จิตส�ำนึกในการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
4. นโยบายด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และสังคม องค์การบริหารส่วนต�ำบลนาตาขวัญ จะส่งเสริมและ สนับสนุนให้ประชาชนมีสุขภาพที่ดีถ้วนหน้า ควบคู่ไปกับความ รู้ การป้องกัน และการควบคุมทั้งโรคติดต่อและไม่ติดต่อให้กับ ประชาชน เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนในต�ำบลดับ คุณภาพชีวิตของประชาชนในต�ำบล
โครงการจิตอาสา ร่วมพัฒนาดูแลร่างกายจิตใจ ผู้สูงอายุ
โครงการอบรมอาสาสมัครเพื่ออนุรักษ์ป่าชุมชน ประจ�ำปี 2556 โครงการเทิดพระเกียรติ โครงการฝึกอบรมทบทวน 3. นโยบายด้านเศรษฐกิจ ๕ ธันวามหาราช อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่าย องค์การบริหารส่วนต�ำบลนาตาขวัญ จะสนับสนุนและ พลเรือน (อปพร.) ประจ�ำปี 2556 ผลักดันให้มีกระบวนการสร้างรายได้ให้กับประชาชน โดยส่ง เสริมตั้งแต่กระบวนการผลิต การจ�ำหน่าย ส่งเสริมการรวมตัว กันเป็นกลุ่มอาชีพ กลุ่มเกษตรกร ส่งเสริมผู้ประกอบการธุรกิจ ขนาดกลางและขนาดเล็ก เพือ่ เสริมสร้างกระบวนการสร้างราย ได้ให้กับประชาชน โครงการตั้งจุดตรวจ ชุมชนช่วงเทศกาล โครงการรณรงค์สิทธิ และพัฒนา สงกรานต์ 2556 คุณภาพชีวิตคนพิการ ต�ำบลนาตาขวัญ ประจ�ำปี 2556
โครงการช่วยเหลือ เกษตรกรในภาวะราคา ผลผลิตทางการเกษตรตกต�ำ่
5. นโยบายด้านการบริหารจัดการองค์กร องค์การบริหารส่วนต�ำบลนาตาขวัญ มีการบริหารตาม หลักธรรมาภิบาลโดยยึดหลักคุณธรรมและนิตธิ รรม หลักความ โครงการปรับปรุงคุณภาพ รับผิดชอบ หลักความโปร่งใสและตรวจสอบได้ หลักการมีสว่ น มังคุดผิวมัน ปี 2556 ร่วม หลักประสิทธิภาพและประสิทธิผล โครงการจ้างงาน เร่งด่วนและพัฒนาฝีมือ เพื่อบรรเทาความ เดือดร้อนด้านอาชีพ Rayong
3
เส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล
องค์การบริหารส่วนต�ำบลตะพง
นายทวีป แสงกระจ่าง นายกองค์การบริหารส่วน ต�ำบลตะพง กล่าวถึงนโยบายและวิสัยทัศน์การบริหารงาน ขององค์การบริหารส่วนต�ำบล ดังนี้ การพัฒนาต�ำบลตะพง ถือเป็นหน้าที่อันทรงเกียรติของ กระผมและคณะผูบ้ ริหารฯ ตลอดจนเจ้าหน้าทีแ่ ละข้าราชการ ทุกๆ คน โดยยึดหลักการท�ำงานเป็นทีม ผมได้พัฒนาต�ำบล ตะพงของเรา ให้มีความพร้อมในทุกๆ ด้าน ผมและสมาชิกทุก ท่านได้มุ่งมั่นพัฒนาต�ำบลตะพง ให้ไปในทิศทางเดียวกัน เช่น ถนน ไฟฟ้า ประปา การศึกษา ผู้สูงอายุ ผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ และกลุ่มอาชีพต่างๆ ให้ได้รับความสะดวกสบาย ควบคู่ไปกับ การพัฒนาบุคลากร พร้อมทั้งสร้างความมั่นคงให้กับคุณภาพ
2
ชีวิตในทุกๆ ด้าน ตามหลักธรรมาภิบาล ท�ำงานด้วยความ ถูกต้อง โปร่งใส ยึดมั่นตามระเบียบและกฎหมายประชาชน สามารถตรวจสอบได้ ภายใต้วิสัยทัศน์ที่ว่า “เป็ น ท้ อ งถิ่ น น่ า อยู ่ เป็ น แหล่ ง ผลิ ต แปรรู ป และ ศูนย์กลางการจัดจ�ำหน่ายสินค้าเกษตร และศูนย์กลางการ ท่องเที่ยวที่ได้มาตรฐาน” ต�ำบลตะพง ได้จัดตั้งเป็น องค์การบริหารส่วนต�ำบล ตะพง เมื่อวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ.2538 ตั้งอยู่เลขที่ 153/29 หมู่ที่ 12 ต.ตะพง อ.เมือง จ.ระยอง 21000 โดยอยู่ห่างจาก ตัวเมืองระยองประมาณ 9 กิโ ลเมตร ต�ำบลตะพงมี พื้น ที่ ประมาณ 55.93 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 34,955 ไร่
ประวัติของชื่อต�ำบลตะพง นานมาแล้วมีเรือส�ำเภาของพ่อค้าชาวจีน ได้เดินทางมา ค้าขายได้ผ่านมาทางนี้ เรือส�ำเภาของพ่อค้าได้เกิดอุบัติเหตุ ล่มลง บางแห่งเรียกว่า “เขาส�ำเภาคว�่ำ” ส่วนค�ำว่า “ตะพง” นั้นมาจากส่วนของท้องเรือที่เรียกกันว่า “กะโพงเรือ” ซึ่งมี กะโพงนอก และกะโพงใน นานไป จึงพากันเรียกเป็น “ตะพง นอก ตะพงใน” และได้น�ำค�ำว่า “ตะพง” มาตั้งเป็นชื่อต�ำบล มาจนถึงทุกวันนี้ สภาพทั่วไปของต�ำบลตะพง สภาพพืน้ ทีแ่ ละลักษณะภูมปิ ระเทศของต�ำบลตะพง โดย ทั่วไปเป็นที่ราบลุ่มสลับกับที่ดอนลูกฟูก มีภูเขาอยู่ทางด้าน ตะวันออกเฉียงเหนือของต�ำบล มีชื่อเรียกว่าเขายายดาและ เขาพระบาท ซึง่ เป็นต้นก�ำเนิดของคลองหลายสาย อาทิ คลอง ตะพง, คลองยายดา, คลองตะเคียน เป็นต้น คลองเหล่านี้ไหล มาจากภูเขา ผ่านต�ำบลตะพงลงสูท่ ศิ ใต้ตดิ กับทะเลอ่าวไทย ซึง่ เป็นชายหาดทีส่ ว่ ยงาม (หาดแม่รำ� พึง) นับเป็นแหล่งท่องเทีย่ ว ที่สำ� คัญแห่งหนึ่งของจังหวัดระยองและของภาคตะวันออก
ต�ำบลตะพงมีจำ� นวนหมูบ่ า้ นทัง้ หมด 16 หมูบ่ า้ น และอยู่ ในเขตองค์การบริหารส่วนต�ำบลทั้ง 16 หมู่บ้าน มีประชากร ทั้งสิ้น 19,278 คน เป็นชาย 9,658 คน เป็นหญิง 9,620 คน (ณ เดือน กรกฎาคม 2556) ประชากรส่วนใหญ่ท�ำอาชีพ เกษตรกรรม ค้าขาย และการประมง นายก อบต.ตะพง ชวนเที่ยว ร่ ว มสั ม ผั ส การด� ำ เนิ น ชี วิ ต และกิ จ กรรมของชุ ม ชน ต� ำ บลตะพง ค้ น หาและเรี ย นรู ้ การรั ก ษาสภาพแวดล้ อ ม ทรัพยากรธรรมชาติทางทะเล และความเป็นอยูข่ องชาวต�ำบล ตะพง อาทิ ชายหาดแม่รำ� พึง ซึง่ มีชายหาดทอดยาวประมาณ 5 กิโลเมตร แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร และตลาดกลางผล ไม้ตะพง แหล่งรวมผลไม้คุณภาพเยี่ยม สดใหม่จากสวน และ ขอเชิญเที่ยวงานเทศกาลผลไม้และของดีจังหวัดระยอง ซึ่งจัด เป็นประจ�ำทุกปี บริเวณตลาดกลางผลไม้ตะพง
Rayong
3
เส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล
องค์การบริหารส่วนต�ำบลเพ
องค์การบริหารส่วนต�ำบลเพ ตั้งอยู่บริเวณถนนสายชากไผ่-กลางดง หมู่ที่ 1 บ้านในไร่ ต�ำบลเพ อ�ำเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง ห่างจาก ศูนย์ราชการจังหวัดระยองราว 30 กม. มีเนื้อที่ประมาณ 13.28 ตร.กม. หรือ 8,300 ไร่ ปัจจุบนั มี นายมงคล โพธิแ์ สง ด�ำรงต�ำแหน่ง นายกองค์การ บริหารส่วนต�ำบลเพ
7 นโยบายการบริหารงานและพัฒนาของ อบต.เพ
1. นโยบายด้านการเมืองและการบริหาร 1. สง่ เสริมและสนับสนุนการมีสว่ นร่วมของประชาชนในการบริหารจัดการ การปกครองท้องถิ่น และการจัดท�ำแผนพัฒนาท้องถิ่น 2. ส่งเสริมการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารของทางราชการให้กับประชาชน ได้รับทราบอย่างทั่วถึงจากป้ายประชาสัมพันธ์ หอกระจายข่าว โครงการ อินเตอร์เน็ตต�ำบล 3. ส่งเสริมการจัดการท้องถิ่นและองค์กรตามหลักธรรมาภิบาล ได้แก่ หลักนิตธิ รรม หลักคุณธรรม หลักความโปร่งใส หลักการมีส่วนร่วม หลักความ รับผิดชอบ และหลักความคุ้มค่า 4. ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ด้านกฎหมายต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับประชาชน 5. จัดหาและปรับปรุงเครื่องใช้สำ� นักงานให้เพียงพอและมีประสิทธิภาพ 6. อบรมให้ความรูศ้ กึ ษาดูงานแก่สมาชิกสภาอบต.เพ ข้าราชการ พนักงาน ประชาคม ก�ำนันผู้ใหญ่บ้าน และประชาชน เชิงบูรณาการ 7. พัฒนาศักยภาพและทักษะการท�ำงานให้บุคลากรของอบต.เพ ให้มี ศักยภาพทุกระดับ 2. นโยบายด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 1. ส่งเสริม ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2. สง่ เสริมการมีสว่ นร่วมของประชาชนในการอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม 3. รณรงค์รักษาความสะอาดแบบมีส่วนร่วมและการบ�ำบัดน�้ำเสียก่อน ปล่อยลงสู่ธรรมชาติ 4. รณรงค์การเพิม่ พืน้ ทีส่ เี ขียวในพืน้ ที่ ได้แก่ ปลูกต้นไม้รมิ ทาง การปลูกป่า 5. รณรงค์ประชาสัมพันธ์เผยแพร่การแก้ปัญหาสภาวะโลกร้อน 3. นโยบายด้านการท่องเที่ยว 1. รณรงค์รักษาความสะอาด ตลอดจนจัดระเบียบสถานที่ท่องเที่ยว 2. ประชาสัมพันธ์สถานที่ท่องเที่ยวของท้องถิ่นในเชิงรุก
2
3. รณรงค์ป้องกันการเอารัดเอาเปรียบของผู้ ประกอบการท่องเที่ยว 4. จั ด ตั้ ง ศู น ย์ บ ริ ก ารท่ อ งเที่ ย ว เพื่ อ แนะน� ำ ข้อมูลที่เป็นประโยชน์แก่นักท่องเที่ยว 5. ปรับปรุงภูมทิ ศั น์สร้างสวนสาธารณะ เพือ่ ใช้ เป็นที่พักผ่อนหย่อนใจแก่นักท่องเที่ยว 6. ส ่ ง เสริ ม และสนั บ สนุ น การท่ อ งเที่ ย วเชิ ง อนุรักษ์ 4. นโยบายด้านเศรษฐกิจ 1. จัดตั้งกลุ่มอาชีพในพื้นที่ เพื่อส่งเสริมให้มี การรวมกลุ่ม เพื่อให้ประชาชนมีรายได้เพิ่มขึ้น 2. ส่งเสริมและสนับสนุนกลุ่มอาชีพต่างๆ ใน พืน้ ที่ ได้รบั การอบรมให้ความรูเ้ พือ่ เสริมทักษะและ เทคโนโลยีสมัยใหม่ในการประกอบอาชีพให้เข้ม แข็งขึ้น 3. สง่ เสริมและสนับสนุนให้ความรูด้ า้ นเศรษฐกิจ พอเพียง 5. นโยบายด้านสังคม 1. ส่งเสริมและสนับสนุนสวัสดิการสังคมและ ให้การสงเคราะห์สตรี เด็ก เยาวชน ผูส้ งู อายุ ผูป้ ว่ ย เอดส์ และผู้ด้อยโอกาส 2. สนับสนุนงบประมาณช่วยเหลือประชาชน ในกรณีเกิดเหตุอุทกภัย อัคคีภัย วาตภัย พร้อมกับ
ประสานกับหน่วยงานอื่น เพื่อขอรับการสนับสนุน เพิ่มเติม 3. เฝ้ า ระวั ง ป้ อ งกั น การแพร่ ร ะบาดของยา เสพติดและสนับสนุนการแก้ไขปัญหายาเสพติด 4. ส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมกีฬา และ กิจกรรมนันทนาการอื่นๆ 5. ส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม และประเพณี อาทิ ประเพณีสงกรานต์ ลอยกระทง ท�ำบุญกลางทุ่ง ฯลฯ 6. สนับสนุนรณรงค์และป้องกันการเกิดโรค ระบาดต่างๆ อาทิ โรคพิษสุนัขบ้า โรคไข้เลือดออก โรคไข้หวัดนก ฯลฯ 7. ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้แก่ประชาชนใน เรื่องการป้องกันโรคเอดส์ 8. ส่งเสริมการเรียนรู้และเผยแพร่ภูมิปัญญา ท้องถิ่น 9. สนับสนุนกิจกรรมของโรงเรียนในพื้นที่และ ศูนย์เด็กเล็กของอบต.เพ 10. สนับสนุนและส่งเสริมกิจกรรมของศูนย์ สาธารณสุขมูลฐานของชุมชน และศูนย์สงเคราะห์ ราษฎรประจ�ำหมู่บ้าน 6. นโยบายด้านโครงสร้างพื้นฐาน 1. กอ่ สร้าง ปรับปรุง ซ่อมแซมเส้นทางคมนาคม ในพื้นที่ 2. ติดตั้งไฟฟ้าแสงสว่างสาธารณะ 3. ขอขยายเขตการให้บริการไฟฟ้า 4. ขอติดตั้งตู้โทรศัพท์สาธารณะ 5. ก่อสร้างวางท่อระบายน�้ำและรางระบายน�้ำ 6. บำ� รุงและรักษาแหล่งน�ำ้ ทีม่ อี ยูอ่ ย่างต่อเนือ่ ง และก่อสร้างแหล่งน�้ำเพิ่มขึ้น 7. ขอขยายเขตการให้บริการประปาภูมิภาค 7. นโยบายด้านอื่นๆ 1. โครงการกิจกรรมอื่นๆ ที่อาจจัดท�ำขึ้นตาม ความต้องการของประชาชน ผ่านกระบวนการ ประชาคม โดยมุ ่ ง เน้ น โครงการกิ จ กรรมที่ มี ประโยชน์ต่อประชาชนโดยส่วนรวมเป็นหลัก
2. โครงการกิจกรรมอื่นๆ ตามนโยบายของรัฐบาลเพื่อประโยชน์ของ ประชาชนในพื้นที่ 3. โครงการต่างๆ ที่อาจเกิดจากการท�ำงานในลักษณะการบูรณาการการ ร่วมกันกับหน่วยงานอื่นๆ ผลการด�ำเนินงานที่ส�ำคัญของ อบต.เพ องค์การบริหารส่วนต�ำบลเพ ได้ด�ำเนินโครงการต่างๆ เพื่อการพัฒนา เกาะเสม็ดซึ่งเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่ส�ำคัญ ได้แก่ โครงการจัดระเบียบท่า เทียบเรือเกาะเสม็ด โครงการจัดระเบียบผูป้ ระกอบการบริเวณหาดทรายแก้ว โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการท�ำผังเมืองชุมชนเกาะเสม็ด โครงการร่วมใจ อนุรักษ์ธรรมชาติ ฟื้นฟูสิ่งแวดล้อมทะเลไทย เทิดไท้แด่องค์ราชันย์ ครั้งที่ 3 โครงการควบคุมป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากร ด้านการจัดบริการสุขภาพเบื้องต้นในชุมชน โครงการพัฒนาประสิทธิภาพ การจัดการมูลฝอยแบบบูรณาการ โครงการศูนย์พระมหาชนก องค์การบริหาร ส่วนต�ำบลเพ และจากกรณีที่อ่าวพร้าว เกาะเสม็ด ต้องประสบปัญหาน�้ำมันดิบรั่วไหล อบต.เพได้ระดมสรรพก�ำลังร่วมกับหน่วยงานต่างๆ ในการเก็บกูค้ ราบน�ำ้ มัน ไม่ ให้ไหลไปสร้างความเสียหายให้กับพื้นที่อื่นบนเกาะได้ และเป็นศูนย์ประสาน งานให้ความช่วยเหลือเยียวยาแก่ผู้ที่ได้รับผลกระทบด้วย เกาะเสม็ด เพชรงามล�้ำค่าของต�ำบลเพ ต�ำบลเพ มีแหล่งท่องเที่ยวที่สวยงามคือ เกาะเสม็ด หรือ เกาะแก้ว พิ ส ดาร มี อ ่ า วที่ ส วยงามเหมาะแก่ ก ารเล่ น น�้ ำ และด� ำ น�้ ำ ดู ป ะการั ง หลายแห่ง มีพื้นที่ประมาณ 4,200 ไร่ เป็นหมู่บ้านหนึ่งของต�ำบลเพ ใช้ ชื่ อ ว่ า “บ้ า นเกาะเสม็ ด ” หมู ่ ที่ 4 ต� ำ บลเพ และอยู ่ ภ ายใต้ ก ารดู แ ลของ องค์การบริหารส่วนต�ำบลเพ สาธารณูปโภคและสาธารณูปการ มีถนนบน·เกาะเสม็ดเพียงสายเดียว อยู่ระหว่างการปรับปรุงเป็นถนน คอนกรี ต มี ไ ฟฟ้ า เลี ย บแนวถนนสายหลั ก และทุ ก สายรองบนเกาะเสม็ ด สามารถเข้าถึงได้ทุกครัวเรือน มี·ที่ท�ำการไปรษณีย์โทรเลข โรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพต�ำบล บ้านเกาะเสม็ด 1 แห่ง และมีการจัดการขยะมูลฝอย โดยองค์การบริหารส่วนต�ำบลเพ จ้างเหมาเอกชนในการเก็บ ขน และก�ำจัด ด้วยวิธีการคัดแยก ฝังกลบ และเผาด้วยเตาไร้มลพิษ ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน บนเกาะเสม็ด มีสถานีต�ำรวจภูธรเพ สถานีต�ำรวจท่องเที่ยว มีอาสาสมัคร ป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (อปพร.) ศูนย์ประสานงานเตือนภัยช่วยเหลือผูป้ ระสบ ภัยทางบกและทางทะเล และทีมกู้ภัย “หนึ่งต�ำบล หนึ่งทีมกู้ภัย” Rayong
3
เส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล
องค์การบริหารส่วนต�ำบล
ส�ำนักทอง
รู้จัก อบต.ส�ำนักทอง องค์การบริหารส่วนต�ำบลส�ำนักทอง อ�ำเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง เป็ น องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บลขนาด สารจาก กลาง มีพื้นที่ 108 ตร.กม. หรือประมาณ นายสุรินทร์ ตรีไตรรัตนกูล 67,500 ไร่ มี ป ระชากรอาศั ย อยู ่ ใ น นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลส�ำนักทอง พื้ น ที่ โ ดยประมาณ 5,343 คน มี เ ขต “ผมเป็ น คนส� ำ นั ก ทอง และอยู ่ ใ นต� ำ บลส� ำ นั ก ทองมาตั้ ง แต่ อ ายุ 8 ขวบ การปกครองทั้งหมด 5 หมู่บ้าน หมู่ที่ 1 วั น นี้ ผ มมี ค วามมุ ่ ง มั่ น และตั้ ง ใจจริ ง ที่ จ ะพั ฒ นาต� ำ บลส� ำ นั ก ทองให้ มี ค วาม บ้ า นส� ำ นั ก ทอง หมู ่ ที่ 2 บ้ า นยายจั่ น เจริญก้าวหน้าทั้งด้านการศึกษา โครงสร้างพื้นฐาน เศรษฐกิจและสังคม ให้ต�ำบล หมู ่ ที่ 3 บ้ า นธรรมสถิ ต หมู ่ ที่ 4 บ้ า น หาดใหญ่ และหมู ่ ที่ 5 บ้ า นเกษตรศิ ริ ส�ำนักทองเป็นเมืองน่าอยู่” “ตลอดระยะเวลา 6 ปีที่ผ่านมา ผมต้องขอขอบคุณพี่น้องประชาชนชาวต�ำบล สภาพพื้ น ที่ ส ่ ว นใหญ่ เ ป็ น ที่ ร าบสลั บ ส� ำ นั ก ทอง ที่ ไ ด้ ใ ห้ โ อกาสผมเข้ า มาท� ำ หน้ า ที่ น ายกองค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บล เนินเขา ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ ส�ำนักทอง ปัจจุบันองค์การบริหารส่วนต�ำบล (อบต.) เป็นหน่วยงานราชการส่วนท้อง เกษตรกรรมท�ำสวนยางพาราเป็นหลัก ถิ่นที่ใกล้ชิดประชาชนมากที่สุด ท�ำให้การบริหารงานราชการจ�ำเป็นต้องมีวิสัยทัศน์ แหล่งท่องเทีย่ วส�ำคัญของต�ำบลส�ำนักทอง ต�ำบลส�ำนักทอง มีแหล่งท่องเที่ยว (Vision) หรือมีความคิดกว้างไกล ลุ่มลึก เนื่องจากในสังคมยุคปัจจุบันเป็นสังคมยุค โลกาภิวัฒน์ (Globalization) หรือ “สังคมข้อมูลข่าวสาร” (Information Society) ซึ่งทุก ที่ ส� ำ คั ญ และมี ชื่ อ เสี ย งคื อ บรุ ค ไซด์ องค์กรต้องมีการปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก ตลอดจนการเตรียม วั ล เลย์ รี ส อร์ ท ตั้ ง อยู ่ ห มู ่ ที่ 5 เป็ น ความพร้อมการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) นอกจากนั้นแล้วการบริหาร สถานที่ พั ก ผ่ อ นที่ มี ธ รรมชาติ อั น บริ สุ ท ธิ์ ราชการจะต้องส่งเสริมให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาท้องถิ่น มีส่วนร่วม โอบล้อมด้วยอ้อมกอดแห่งขุนเขา ป่าไม้ ในการเข้ามาตรวจสอบการบริหารเพื่อความโปร่งใส และความคุ้มค่าของงบประมาณ เขี ย วขจี และสวนดอกไม้ น านาพั น ธุ ์ มี แผ่นดิน เป็นไปตามแนวทางหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ของพระบาทสมเด็จพระเจ้า กิจกรรมที่สนุกสนานมากมาย ได้รับการ อยู่หัวฯ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาตามแนวคิดส�ำคัญคือ “คนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา” คัดเลือกเป็น Unseen paradise หนึ่งใน ดังวิสัยทัศน์ “องค์การบริหารส่วนต�ำบลส�ำนักทอง เป็นองค์กรที่น�ำหลักปรัชญา ห้าสิ บที่พักในฝันสวรรค์ของนักเดินทาง เศรษฐกิจพอเพียง และองค์ความรู้ พัฒนาคุณภาพชีวิต มุ่งสู่ประชาคมเศรษฐกิจ จากการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย เดอะปาร์ค แอดเวนเจอร์ แลนด์ อาเซียน” รีสอร์ท หรือ สวนเกษตรศิริ ตั้งอยู่หมู่ที่ 5 ต�ำบลส�ำนักทอง เป็นสถานที่พักผ่อนที่ โอบล้ อ มด้ ว ยขุ น เขาและธารน�้ ำ สวน ยางพารา สวนผลไม้นานาพันธุ์ มีกิจกรรม ท่องเที่ยวแบบเชิงธรรมชาติและผจญภัย ยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนา ยุทธศาสตร์การพัฒนา และแนวทาง การพัฒนาในช่วงสามปี (พ.ศ.2557-2559) ขององค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บลส� ำ นั ก ทอง มีดังนี้ 1. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการ ส่งเสริมเศรษฐกิจ 2
1.1 ส่งเสริมการประกอบอาชีพสร้าง รายได้ให้ประชาชน 1.2 ส่งเสริมการเกษตรตามแนวทาง เศรษฐกิจพอเพียง 2. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการ ศึกษา 2.1 ส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพด้าน การศึกษา 2.2 ส่ ง เสริ ม กิ จ กรรมด้ า นศาสนา อนุรกั ษ์ประเพณีวฒ ั นธรรมและภูมปิ ญ ั ญา ท้องถิ่น 2.3 ส่งเสริมกิจกรรมด้านการกีฬา และนันทนาการ 3. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการ ส่งเสริมคุณภาพชีวิต และสร้างความ เข้มแข็งของชุมชน 3.1 เสริมสร้างความเข้มแข็ง ความ สามัคคี ความปลอดภัยในชีวติ และทรัพย์สนิ แก่ประชาชน 3.2 เสริ ม สร้ า งสุ ข ภาพอนามั ย สวั ส ดิ ก าร และให้ ก ารสงเคราะห์ แ ก่ ประชาชน 4. ยุ ท ธศาสตร์ ก ารพั ฒ นาด้ า น โครงสร้างพื้นฐาน 4.1 ก่ อ สร้ า ง ปรั บ ปรุ ง เส้ น ทาง คมนาคมขนส่งและทางระบายน�้ำ 4.2 ก่อสร้าง ปรับปรุงสาธารณูปโภค 4.3 ก่ อ สร้ า ง ปรั บ ปรุ ง อาคาร ลานกีฬาและภูมิทัศน์ 5. ยุ ท ธศาสตร์ ก ารพั ฒ นาด้ า น ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 5.1 การอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 5.2 ส่งเสริมการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม 6. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการ บริหารและการเสริมสร้างธรรมาภิบาล 6.1 เสริมสร้างกระบวนการมีสว่ นร่วม และบูรณาการร่วมกันทุกภาคส่วน
6.3 พัฒนาศักยภาพบุคลากรและการ บริหารจัดการองค์กรสู่ความเป็นเลิศ นโยบายส�ำคัญและเร่งด่วน นอกจากการป้องกันและแก้ไขปัญหา ยาเสพติดทีเ่ ป็นนโยบายระดับชาติแล้ว คือ การส่งเสริมการลงทุนด้านอุตสาหกรรม เกษตร ในพืน้ ทีต่ ำ� บลส�ำนักทอง เพือ่ เตรียม ความพร้อมสูป่ ระชาคมอาเชียนและรองรับ ผลผลิตทางการเกษตรของเกษตรกร เป็น การสร้างงาน สร้างรายได้และฟืน้ ฟูเศรษฐกิจ โดยรวมภายในต� ำ บลส� ำ นั ก ทอง ซึ่ ง มี โรงงานในพื้นที่จ�ำนวน 3 โรงงาน บริ ษั ท มารวย เอส.ที . อาร์ . จ� ำ กั ด ตัง้ อยู่ หมูท่ ี่ 3 เป็นโรงงานอุตสาหกรรมทีร่ บั ซื้อผลผลิตยางพาราจากเกษตรกร เพื่อเข้า สู่กระบวนการผลิตยางแท่งและผลิตภัณฑ์ ยางประเภทอื่นๆ บริษทั ไทยฮัว้ ยางพารา จ�ำกัด (มหาชน) สาขาศังขะฤกษ์ ตั้งอยู่ หมู่ที่ 1 เป็นโรงงาน อุตสาหกรรมที่รับซื้อผลผลิตยางพาราจาก เกษตรกร เพือ่ ผลิตเป็นยางแผ่นรมควันและ ยางคอมพาวด์ บริษัท พี.บี.ฟิชเชอรี่ โปรดักส์ จ�ำกัด ตั้งอยู่ หมู่ที่ 3 เป็นโรงงานอุตสาหกรรมที่ รั บ ซื้ อ ปลาจากชาวประมงเพื่ อ ผลิ ต ปลา ทูน่ากระป๋อง
ผลงานแห่งความภาคภูมิใจ ผลการประเมินมาตรฐานการปฏิบัติ ราชการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประจ�ำปี 2556 (Core Team) รวมทัง้ 4 ด้าน คิดเป็นร้อยละ 86.41 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กต�ำบลส�ำนักทอง และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กโรงเรียน บ้านยายจั่น ได้รับรางวัล “ศูนย์พัฒนา เด็กเล็กปลอดโรค” ระดับดีเยี่ยม และ ดีมาก ประจ�ำปี 2556 ผมพร้ อมด้ ว ยผู ้ บริ ห าร ข้า ราชการ และพนักงาน ขอขอบคุณพี่น้องประชาชน ชาวต� ำ บลส� ำ นั ก ทอง ที่ ไ ด้ เ ข้ า มามี ส ่ ว น ร่วมในการบริหารงานรวมถึงการด�ำเนิน กิ จ กรรมโครงการส� ำ คั ญ ต่ า งๆ ที่ เ ป็ น ประโยชน์ต่อพี่น้องชาวต�ำบลส�ำนักทอง ท� ำ ให้ มี คุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ ดี ขึ้ น เป็ น ไปตาม เจตนารมณ์ที่ก�ำหนดไว้ ผมและผู้บริหาร พร้อมที่จะรับฟังความคิดเห็นและข้อเสนอ แนะที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาท้องถิ่น ในทุ ก ๆ ด้ า น โดยยึ ด ประโยชน์ สู ง สุ ด อันจะเกิดต่อพี่น้องประชาชนชาวต�ำบล ส�ำนักทอง เป็นส�ำคัญ
Rayong
3
เส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล
องค์การบริหารส่วนต�ำบลบ้านแลง “บ้ า นแลงแหล่ ง ต้ น น�้ ำ ล� ำ ธารป่ า โบสถ์พระปรางค์ครั้งอยุธยาค่ายิ่งใหญ่ พระพุทธบาทวัฒนธรรมรวมน�้ำใจ ถิ่นผลไม้ลือเลื่องเมืองระยอง” คือค�ำขวัญของต�ำบลบ้านแลง ซึ่งอยู่ใน เขตการปกครองของ องค์การบริหารส่วน ต�ำบลบ้านแลง ซึ่งมีส�ำนักงานตั้งอยู่เลขที่ 32/10 ต�ำบลบ้านแลง อ�ำเภอเมือง จังหวัด ระยอง ปัจจุบันมี นายสายันต์ ศรีเผือก เป็น นายก องค์การบริหารส่วนต�ำบลบ้านแลง สภาพทั่วไปของต�ำบลบ้านแลง ต� ำ บลบ้ า นแลง ตั้ ง อยู ่ ห ่ า งเทศบาลเมื อ งระยอง ประมาณ 6 กิ โ ลเมตร มี เ นื้ อ ที่ ทั้ ง สิ้ น 19,170 ไร่ หรือ 30.67 ตร.กม. แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 7 หมูบ่ า้ น ดังนี้ หมูท่ ี่ 1 บ้านแลง หมูท่ ี่ 2 บ้านก้นหนอง หมู่ ที่ 3 บ้านหนองพญา หมู่ที่ 4 บ้านขวากลิง หมู่ที่ 5 บ้านหนองหว้า หมู่ที่ 6 บ้านตระเกราทอง หมู่ที่ 7 บ้านหนองหิน โดยประชากรส่วนใหญ่มอี าชีพท�ำสวน ผลไม้ เช่น เงาะ ทุเรียน มังคุด เป็นต้น โดยเฉพาะ มังคุดของบ้านแลงได้ชื่อว่าเป็น “ราชินีแห่งมังคุด” เพราะ เป็นที่ยอมรับว่ามีรสชาติอร่อยที่สุดในระยอง ไม่มีเนื้อแก้ว เปลือกไม่แข็ง และไร้สารพิษ นโยบายการบริหารงาน อบต.บ้านแลง นายสายันต์ ศรีเผือก นายกองค์การบริหารส่วน ต�ำบลบ้านแลง ได้แถลงนโยบายการบริหารงาน ต่อสภา องค์การบริหารส่วนต�ำบลบ้านแลงโดยมีรายละเอียด ดังนี้ 1. นโยบายด้านโครงสร้างพื้นฐาน จัด ล�ำดับความส�ำคัญในการพัฒ นาโครงสร้างพื้น ฐาน โดย เรี ย งล� ำ ดั บ ความส� ำ คั ญ ไว้ ต ามแผนปฏิ บั ติ การเพื่ อ ตอบสนองความต้ อ ง การ และแก้ ไ ขปั ญ หา ของประชาชน ปรั บ ปรุ ง เส้ น ทางคมนาคมให้ ส ามารถ รองรับการขยายตัวของ หมูบ่ า้ น ชุมชนและพืน้ ที่ ต่างๆ ในเขตรับผิดชอบ ตลอดจนเส้นทางทีค่ าบ เกี่ ย วระหว่ า ง ต� ำ บล 2
ให้สามารถสัญจรไปมาได้อย่างสะดวก ด�ำเนินการให้มีการบ�ำรุงรักษา พร้อม กับ จัดสร้างระบบไฟฟ้าส่องสว่างใน ที่และทางสาธารณประโยชน์ พัฒนา ปรับปรุงแหล่งน�้ำให้เกิดประโยชน์ เพื่อ การบริโภค อุปโภค และ เพื่อการเกษตร ต่อพีน่ อ้ งประชาชนในระยะยาว ประสาน งานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อน�ำไป สู่การพัฒนาและฟื้นฟูแบบยั่งยืน และ ประสานกั บ หน่ ว ยงานอื่ น ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง เพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณมา พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานในต�ำบล 2. นโยบายด้านเศรษฐกิจ ส่งเสริมสนับสนุนกิจกรรมของกลุม่ สตรี กลุ่มอาชีพต่างๆ ตลอดจนกลุ่ม เยาวชนภายในต�ำบล ให้มีการบริหาร จัดการอย่างมีระบบแบบต่อเนื่องและ ยั่งยืน พัฒนาองค์ความรู้ด้านอาชีพพื้น ฐานและอาชี พ เสริ ม ที่ เ หมาะสมของ หมู่บ้านและท้องถิ่น และสนับสนุนการ ฝึกฝนและส่งเสริมอาชีพทางการเกษตร ให้แก่เกษตรกรภายในต�ำบล 3. นโยบายด้านสังคม จัดให้มีสวัสดิการทางสังคม ทาง ด้านสุขภาพอนามัย รวมถึง การช่วย เหลือผู้ด้อยโอกาส เช่น การสนับสนุน เบี้ ย ยั ง ชี พ แก่ ผู ้ สู ง อายุ คนพิ ก ารและ ผู้ด้อยโอกาส ให้เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง เป็ น ธรรมและมี ประสิ ท ธิ ภ าพมาก ยิ่งขึ้น ส่งเสริมและสนับสนุนกลุ่มอาสา สมัครต่างๆ ให้มีความเข็มแข็ง และมี ประสิ ท ธิ ภ าพในการรั ก ษาความสงบ เรียบร้อย และความปลอดภัย ในชีวิต และทรัพย์สิน ของ ประชาชนใน ต�ำบล บ้านแลง ส่งเสริม สนับสนุนกิจกรรม ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการกีฬา ซึ่งไม่ได้
มองเพียงผลการแข่งขันเท่านั้น แต่ยังมีประโยชน์เชื่อมโยงอื่นๆ อีกมากเช่น กีฬาน�ำ มาซึ่งเยาวชนที่มีคุณภาพ เพราะรู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ห่างไกลยาเสพ ติด และสนับสนุนการป้องกันและปราบปรามภัยต่างๆ ทั้งในด้านอาชญากรรมและ ภัยสังคมตลอดจนปัญหาเกี่ยวกับยาเสพติด 4. ด้านสาธารณสุข ส่งเสริมและพัฒนางานสุขภาพ อนามัย สาธารณสุข ให้มีการ บริการด้าน สุขภาพในเชิงรุก ทั้งในเรื่องการป้องกัน การควบคุมโรค ติดต่อที่มีผลกระทบต่อ สุขภาวะของพ่อแม่ พี่น้องประชาชน จัดให้มีการบริการสาธารณสุข กับประชาชน อย่างทั่วถึง ส่งเสริมและสนับสนุน กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุข ให้ท�ำงานอย่างมี ประสิทธิภาพประสิทธิผล เกิดขึ้นทุกหมู่บ้าน 5. ด้านการศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมทางศาสนา วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี และภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่ พัฒนาและส่งเสริมด้านความรูเ้ พือ่ ปรับปรุงคุณภาพชีวติ และ การศึกษา ส่งเสริมวัฒนธรรมและประเพณีทอ้ งถิน่ ตลอดจนบูรณปฏิสงั ขรณ์โบราณ สถาน และส่งเสริมพัฒนา และสนับสนุนการศึกษาทั้งในระบบและนอกระบบ ให้ กับเยาวชนและประชาชน เพื่อน�ำไปสู่ความเป็นเลิศทางการศึกษาในระดับท้องถิ่น สนับสนุนและส่งเสริมการจัดประสบการณ์การเรียนรูแ้ ก่เด็ก เยาวชน และประชาชน ให้สอดคล้องกับนโยบายการศึกษาแห่งชาติ 6. นโยบายด้านบริหารจัดการภาครัฐ การปฏิรูปการบริหารจัดการ องค์การบริหารส่วนต�ำบล มุ่งเน้น การพัฒนา ศักยภาพองค์กร ให้สอดคล้องกับทิศทางการท�ำงานภายใต้ ธรรมาภิบาล เพือ่ พัฒนา ไปสู่ความเป็นองค์กรที่มีความเป็นเลิศ โปร่งใส ตรวจสอบได้ และเป็นที่พึงพอใจ ของประชาชน และตอบสนองนโยบายของรัฐบาล มาสู่แนวทางการปฏิบัติงานของ องค์การบริหารส่วนต�ำบลบ้านแลง ส่งเสริมและพัฒนาปรับปรุงกระบวนการท�ำงาน ด้วยการบริหารงานเชิงรุกและเชิงรับ อย่างมีประสิทธิภาพอันก่อให้เกิดประโยชน์ แก่ ประชาชนโดยตรง ให้บริการประชาชนด้วยความสะดวก รวดเร็ว เป็น ธรรม โดยทั่ว ถึงกัน และส่งเสริมพัฒนาและปรับปรุงระบบการบริหารงานบุคคล ตลอดจนการ พัฒนาศักยภาพของบุคลากรให้มีประสิทธิภาพต่อการปฏิบัติหน้าที่ อันจะน�ำไปสู่
ความเป็นเลิศในการบริการประชาชน ในฐานะที่ เ ป็ น หน่ ว ยงานที่ ใ ห้ บ ริ ก าร ทางสังคม 7. นโยบายด้านทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม บริหารจัดการด้านการสิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติ เพือ่ ความยัง่ ยืน ของท้องถิ่น ส่งเสริมสนับสนุน ให้มีการ ใช้สารชีวภาพ เพื่อน�ำมาใช้ทดแทนสาร เคมีทางการเกษตร พัฒนาการบริหาร จัดการขยะมูลฝอยในต�ำบล และ ชุมชน ให้เกิดการจัดการอย่างถูกต้องตามหลัก สุ ข าภิ บ าลสิ่ ง แวดล้ อ ม และปรั บ ปรุ ง ภูมทิ ศั น์และสิง่ แวดล้อม ตลอดจนรณรงค์ สร้างความเข้าใจในเรื่องสิ่งแวดล้อมให้ แก่ประชาชนภายในต�ำบล จากใจนายก อบต.บ้านแลง กระผม นายสายั น ต์ ศรี เ ผื อ ก พร้อมทีมงาน ขอขอบพระคุณพ่อแม่พี่ น้องทุกท่าน และขอขอบคุณทุกคะแนน เสียง ที่ได้ให้ความไว้วางใจ ให้โอกาส เลือกผมเข้ามาท�ำงานรับใช้ ผมขอรับ รองว่าผมจะท�ำหน้าที่อย่างเต็มความ สามารถและท� ำ หน้ า ที่ ใ ห้ ดี ที่ สุ ด เพื่ อ ประโยชน์สุขของประชาชนชาวต�ำบล บ้านแลงของเรา สุดท้ายนี้ผมขออวยพร ให้พ่อแม่พี่น้องจงมีแต่ความสุขความ เจริญ ขอบคุณครับ
Rayong
3
เส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล
องค์การบริหารส่วนต�ำบลแกลง
“ประชาชนมีคณ ุ ภาพชีวติ ทีด่ ี ชุมชนเข้มแข็ง แหล่งท่องเทีย่ วสวยงาม”
คือวิสยั ทัศน์ขององค์การบริหารส่วนต�ำบลแกลง ซึง่ มีนายกิตติศกั ดิ์ กุลรัตน์ เป็นนายกองค์การบริหารส่วนต�ำบล โดยได้ก�ำหนดนโยบาย ส�ำคัญขององค์การ บริหารส่วนต�ำบลแกลง ให้เป็นการพัฒนาทั้งในด้านสังคม เศรษฐกิจ การเมือง สิง่ แวดล้อม การท่องเทีย่ วและโครงสร้างพืน้ ฐาน เช่น การพัฒนาระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการ สนับสนุนส่งเสริมอาชีพเพื่อให้ประชาชนมีรายได้ สนับสนุนการ ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด การดูแลคุณภาพชีวติ ของประชาชน และการดูแล รักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะการดูแลผู้สูงอายุและผู้ด้อย โอกาสให้มีความเป็นอยู่อย่างปกติสุขในสังคม ซึ่งเป็นการด�ำเนินงานให้ครอบคลุม ครบทุกด้านเพื่อพัฒนาภาพรวมของต�ำบลแกลง
องค์การบริหารส่วนต�ำบลแกลง ตั้งอยู่หมู่ที่ ๔ บ้านหัวทุ่ง ต�ำบลแกลง อ�ำเภอ เมือง จังหวัดระยอง แบ่งเขตการปกครองออกเป็น ๕ หมู่บ้าน มีพื้นที่การปกครอง ๔๒ ตารางกิโลเมตร ประชาชนมีชวี ติ ความเป็นอยูท่ เี่ รียบง่ายส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ เกษตรกรรม ประมง และค้าขาย
2
จุดเด่นของต�ำบลแกลง
วัดมาบจันทร์ “ชื่อเดิมว่า ส�ำนัก สงฆ์ สุ ภั ท ทะบรรพต มี ค วามหมาย ว่ า ภู เ ขาแห่ ง ความเจริ ญ รุ ่ ง เรื อ ง” ตั้งอยู่บริเวณเขายายดา ซึ่งมีพื้นที่ส่วน ใหญ่ติดเขตป่าสงวนแห่งชาติ ที่มีป่า ไม้ อุดมสมบูรณ์ ในพื้นที่กว่าหนึ่งพัน ไร่ อยู่ในเขตหมู่บ้านมาบจันทร์ หมู่ที่ ๗ ต.แกลง อ.เมือง จ.ระยอง มีเนื้อที่วัด ๑๒ ไร่ ๓ งาน และเนื้อที่ที่ดูแลรักษา ป่ า ไม้ ซึ่ ง เป็ น พื้ น ที่ ใ กล้ เ คี ย งอี ก กว่ า ๒๐๐ไร่ วัดมาบจันทร์ เป็นวัดเป็นทีส่ งบ ยึดถือหลักธรรมค�ำสอนอย่างเคร่งครัด จึงเป็นที่ศรัทธาและเคารพนับถือของ พุทธศาสนิกชนเป็นจ�ำนวนมาก
ชายหาดสวนสน อยู่ในเขตต�ำบลแกลง ห่างจากต�ำบลเพออกมาประมาณ 2 กิโลเมตร ห่างจากตัวเมืองระยองประมาณ 25 กิโลเมตร มีถนนเลียบชายหาด ไปตลอดเส้นทาง มีพื้นที่ป่าสนริมชายหาดมีต้นสนหลากพันธุ์ขึ้นอยู่ 2 ข้างทาง นอกจากนั้นยังมีพันธุ์ไม้อื่น ๆ เช่น ไม้ยาง ไม้ตะเคียน โดยมีสวนรุกขชาติเพเป็น ผูด้ แู ล ทีบ่ ริเวณสวนสนแห่งนีเ้ ป็นหาดทีเ่ หมาะแก่การเล่นน�ำ้ เป็นหาดทรายทีม่ คี วาม เป็นธรรมชาติสวนงามและคงความเป็นเอกลักษณ์ และโดยรอบบริเวณมีรา้ นอาหาร ไว้บริการนักท่องเที่ยว มีบังกาโล รีสอร์ท ร้านอาหาร สถานที่จ�ำหน่ายอาหารทะเล อุปกรณ์การเล่นน�้ำไว้คอยบริการนักท่องเที่ยวมากมาย
เกาะกุ ฎี เป็ น เกาะที่ อ ยู ่ ใ นพื้ น ที่ ต� ำ บล แกลง อ�ำเภอเมือง จังหวัดระยอง อยู่ทางทิศ ตะวันออกของเกาะเสม็ด ห่างจากชายฝั่ง 6 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 100 ไร่ เป็นเกาะที่มีความเงียบสงบนักท่องเที่ยวนิยม มาด�ำน�้ำดูปะการังน�้ำตื้น ดื่มด�่ำกับธรรมชาติ ที่มีความเป็นส่วนตัว “ผมและพี่น้องชาวต�ำบลแกลง ยินดีต้อนรับทุกท่านด้วยความยินดียิ่ง ที่ท่าน จะเข้ามาท่องเที่ยวและสัมผัสวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของชาวบ้านในพื้นที่อันเป็นการ ส่งเสริมระบบเศรษฐกิจและการท่องเที่ยวของต�ำบลแกลง และในวันนี้ ผมและ ทีมงานพร้อมแล้วที่จะพัฒนาบ้านเกิดของผมให้มีความเจริญก้าวหน้าด้วยความ ตัง้ ใจจริง ท�ำเพือ่ ประโยชน์สว่ นรวมและเพือ่ ประโยชน์สขุ ของพีน่ อ้ งประชาชนอันเป็น ที่รักของผม” Rayong
3
เส้นทางพบเทศบาลต�ำบล
สร้างรายได้ ชุมชนเข้มแข็ง จัดการสิ่งแวดล้อมและ ความรู้ร่วมกับชุมชน, นักท่องเที่ยว อย่างมีมิตรภาพและความสุข
....ต�ำบลเนินฆ้อ พื้นที่แห่งความหลากหลายทางภูมิศาสตร์ ซึ่งมีทั้งพื้นที่ติดทะเลชายฝั่ง แหล่งอาหาร ทะเลหลากหลายและพื้นที่ราบลุ่มเหมาะแก่การเพาะปลูกผลไม้อุดมสมบูรณ์ ดังนี้ 1) พื้นที่ราบลุ่มเพาะปลูกท�ำสวนผลไม้ หมู่ที่ 1, 2, 3, 5, 6 และหมู่ที่ 7 2) พื้นที่ติดทะเลชายฝั่งท�ำประมงเรือเล็ก หมู่ที่ 4, 8 และหมู่ที่ 9 ทัง้ นีท้ กุ เขตพืน้ ทีต่ ำ� บลเนินฆ้อประสานหลอมรวมเป็นหนึง่ เดียวด้วยศาสนาวัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อมอันดีงาม …
....ชวนเที่ยว ศูนย์ประสานงานท่องเที่ยวของเทศบาลต�ำบลเนินฆ้อ โทร 038-037612, 080-6242012 www.neunkho.go.th
....
พาไปแนะ
เที่ยวเชิงเกษตร >> สวนขวัญรักษ์ เงาะสด ลองกองหวาน มังคุดไซส์ใหญ่ โดย คุณขวัญรักษ์ สุขยิ่ง ติดต่อสอบถาม โทร. 081-1122661 >> สวนผู้ใหญ่เหม่ง ทุเรียนหมอนทอง พวงมณี คุณภาพคับลูก โดยคุณกฤษณะ ราษฎร์รักษา ติดต่อ โทร. 081-5886335 >>สวนลุงบ�ำรุง เงาะหวานกรอบ พวงมณี คุณภาพคับลูก โดย คุณกฤษณะ ราษฎร์รักษา ติดต่อ โทร. 081-5886335 >>สวนลุงวีระ ลองกองหวาน มังคุดไซส์ใหญ่ ทุเรียนหมอนทอง โดยคุณกฤษณะ ราษฎร์รักษา ติดต่อ โทร. 081-5886335
เที่ยวเชิงประมง >> กลุม่ ประมงเรือเล็ก บ้านปลาธนาคารปู ท่องทะเลอนุรกั ษ์ สิ่งแวดล้อม โดยคุณส�ำออย รัตนวิจิตร ติดต่อโทร. 081-3839468 >> กลุ่มประมงเรือเล็ก บ้านปลาธนาคารปู ตกปลา ตกหมึก โดยคุณอัญชัน สุวรรณโชติ 086-1379939 >> กลุ่มประมงเรือเล็ก บ้านปลาธนาคารปู ตกปลา ตกหมึก โดยคุณบรรเจิด ศิริลพ 080-0905961 >> กลุ่มอาหารทะเลสด OTOP กะปิน�้ำปลา อาหารทะเลอื่นๆ โดยคุณชูศรี ม่วงสุข ติดต่อสอบถาม โทร. 089-6022871
เที่ยวเชิงวัฒนธรรม >> มณฑปเนินฆ้อสักการะรอยพระพุทธบาทจ�ำลองสนทนาธรรมนั่งวิปัสสนา ติดต่อคุณประภัสศรี เจริญรื่น โทร. 087-7478499 >> หมุดกวีสนุ ทรภู่ “ด้วยเดือนเก้าเข้าวษาเป็นหน้าฝน จึงขัดสนสิง่ ของต้องประสงค์ ครัน้ แล้วลาฝ่าเท้าบิตรุ งค์ ไปบ้านพงค้อตัง้ ริมฝัง่ คลอง” ตามรอยกวีเลื่องชื่อ สืบค้นประวัติศาสตร์ 100 ปี ติดต่อเทศบาลต�ำบลเนินฆ้อ โทร. 038-037612 2
เส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล
ล บ ำ � ต น ว ่ ส ร า องค์การบริห
ุท่งควายกิน
“เทิดทูนสถาบัน ยึดมัน่ ธรรมาภิบาล ดีพร้อมคุณภาพ ชีวิต เศรษฐกิจพอเพียง พัฒนาทุ่งควายกิน” คื อ วิ สั ย ทั ศ น์ (VISION) ขององค์ ก ารบริ ห ารส่ ว น ต� ำ บลทุ ่ ง ควายกิ น ซึ่ ง ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 1 หมู ่ 2 บ้ า นมงคล ต�ำบลทุ่งควายกิน อ�ำเภอแกลง จังหวัดระยอง ปัจจุบันมี นายชัยณรงค์ สันทัสนะโชค ด�ำรงต�ำแหน่ง นายกองค์การ สภาพทั่วไป บริหารส่วนต�ำบลทุ่งควายกิน ต�ำบลทุ่งควายกิน มีเนื้อที่ประมาณ 53,818 ไร่ (86.1 ตร.กม.) มีหมู่บ้านทั้งหมด 13 หมู่บ้าน อยู่ในเขตการปกครอง ของ องค์บริหารส่วนต�ำบลทุ่งควายกิน จ�ำนวน 11 หมู่ คือ หมู่ 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10 ,11 ส่วนหมู่ที่ 1, 12 อยู่ใน เขตเทศบาลต�ำบลทุ่งควายกิน โดยมีนายอรรณพ ตันวิมล เป็นก�ำนันต�ำบลทุ่งควายกิน จ� ำ นวนประชากรในเขตองค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บล ทุ่งควายกิน มีทั้งสิ้น 10,028 คน แยกเป็นชาย 4,906 คน หญิง 5,122 คน มีความหนาแน่นเฉลี่ย 116 คน/ตารางกิโลเมตร 7 นโยบายการพัฒนาขององค์การบริหารส่วนต�ำบลทุ่งควายกิน 1. ด้านการบริหารจัดการ 2. ด้านการศึกษา ศาสนา กีฬา และวัฒนธรรม 3. ด้านสิ่งแวดล้อม และการอนุรักษ์ธรรมชาติ 4. ด้านคุณภาพชีวิต 5. ด้านเศรษฐกิจ 6. ด้านงานป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัย 7. ด้านโครงสร้างพื้นฐาน ผลการด�ำเนินงานบางส่วนในรอบปีที่ผ่านมา การท�ำ (MOU) ระหว่างคลังจังหวัดระยองกับ อบต.ทุ่งควายกิน บั น ทึ ก ความเข้ า ใจ (MOU) ว่ า ด้ ว ยความร่ ว มมื อ การเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพ การคลังท้องถิ่นแบบบูรณาการ ฉบับนี้ จัดท�ำขึ้น ณ องค์การบริหารส่วน 2
6. ส่งเสริมและบ�ำรุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมปิ ญ ั ญา ท้องถิ่นและวัฒนธรรมอันดีงามของท้องถิ่น 7. สร้างจิตส�ำนึกให้เกิดความรักและเห็นคุณค่าตลอดถึง การดูแลคุ้มครองบ�ำรุงรักษาแหล่งน�้ำ สิ่งก่อสร้างสาธารณะ ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และการใช้พลังงานอย่าง เหมาะสม 8. ส่งเสริมกิจกรรมด้านกีฬา เช่นก่อสร้างลานกีฬา อุปกรณ์ ผู้ฝึกสอน เพื่อให้ประชาชนได้ออกก�ำลังกายอย่างต่อเนื่อง 9. จัดให้มีการบริหารจัดการด้านการรักษาความสะอาด และจัดการขยะมูลฝอยอย่างถูกวิธี 10. บริ ห ารจั ด การภายในองค์ ก รให้ มี เ อกภาพในการ ท�ำงานเพือ่ น�ำไปสูป่ ระสิทธิภาพในการบริหารงาน การให้บริการ ประชาชน โดยปรับระบบการท�ำงานให้มีประสิทธิภาพ มุ่งสนอง ตอบต่อความต้องการของประชาชน ด้วยความสะดวก ถูกต้อง รวดเร็ว มีความรับผิดชอบต่อชุมชน และมีความโปร่งใส โดยให้ ประชาชนเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร มีส่วนร่วมในการวางแผน และ ร่วมติดตามตรวจสอบการท�ำงานขององค์การบริหารส่วนต�ำบล ห้วยยาง 11. จัดให้มีโครงสร้างพื้นฐานและระบบบริการสาธารณะ รวมถึงการบ�ำรุงรักษา เช่น ก่อสร้างหรือปรับปรุงซ่อมแซมถนน ขุดลอกล�ำคลอง ก่อสร้างซ่อมแซมฝาย การจัดหาแหล่งน�ำ้ ตลอด ถึงระบบสาธารณูปโภค เช่น ไฟฟ้าสาธารณะ ประปา เป็นต้น 12. การป้องกันและระวังโรคติดต่อ ส่งเสริมการฝึกอบรม ดูงาน กับกลุ่มองค์กรเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการให้บริการแก่ ประชาชนในต�ำบล 13. เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพในการการป้ อ งกั น และบรรเทา สาธารณภัยให้ทนั ต่อเหตุการณ์ ทัง้ อุบตั ภิ ยั และภัยธรรมชาติ โดย ฝึกอบรมและจัดหาครุภัณฑ์ที่จ�ำเป็นในยามเกิดภัย
14. ส่งเสริมการประกอบอาชีพ ของราษฎร และสนับสนุนกลุม่ อาชีพ ต่ า งๆ โดยยึ ด หลั ก ความโปร่ ง ใส การมี ส ่ ว นร่ ว มของประชาชนใน ต�ำบล โดยมีเป้าหมายสู่ความมี เสถี ย รภาพไม่ ก ระจั ด กระจายมี ความรักความสามัคคีร่วมใจกันท�ำงานจนน�ำไปสู่ความยั่งยืน และความเป็นเลิศของต�ำบล 15. ดูแล แก้ไข ร่วมกับหน่วยงานของรัฐและเอกชนใน การช่วยเหลือเกษตรกรยามที่ผลผลิตมีราคาตกต�่ำ ทั้งด้านการ กระจายผลผลิต และด้านราคา 16. จัดให้มีบริการสาธารณะ เช่นการบริการขนส่งมวลชน ไปออกก�ำลังกาย ไปสถานศึกษาตลอดจนจัดให้มีและปรับปรุง สถานพักผ่อนหย่อนใจ 17. ก่อสร้าง ปรับปรุงอาคาร และครุภัณฑ์ ให้พร้อมบริการ ประชาชน 18. เน้นการกระจายอ�ำนาจการบริหารลงสู่หมู่บ้านและ กลุ่มองค์กรต่างๆในต�ำบล โดยร่วมกันท�ำงานในต�ำบลเพื่อ ปลูกจิตส�ำนึกให้เกิดความสามัคคี 19. พัฒนาและดูแลความเป็นอยู่ของประชาชนในต�ำบล ด้วยความเสมอภาคและทั่วถึงให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ภายใต้ แนวพระราชด�ำริเศรษฐกิจพอเพียง
Rayong
3
เส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล
องค์การบริหารส่วนต�ำบลห้วยยาง วิสัยทัศน์การพัฒนา
“มุ่งสู่การมีส่วนร่วม เพื่อเสริมสร้างคุณภาพชีวิตที่ดี โดยยึดวิถีความพอเพียง เป็นต้นแบบในการพัฒนา” องค์การบริหารส่วนต�ำบลห้วยยาง ตั้งอยู่ห่างจากอ�ำเภอแกลงประมาณ 10 กิโลเมตร มีสำ� นักงานตั้งอยู่เลขที่ 69 หมู่ที่ 6 บ้านชากตาด้วง ต�ำบลห้วยยาง อ�ำเภอแกลง จังหวัดระยอง ปัจจุบันมี นายพลพจน์ กิจชัยสวัสดิ์ เป็น นายกองค์การบริหารส่วน ต�ำบลห้วยยาง ข้อมูลทั่วไป องค์การบริหารส่วนต�ำบลห้วยยาง มีเนื้อที่ 43.2 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 27,000 ไร่ สภาพพื้นที่เป็นที่ราบเชิงเขาด้านทิศตะวันตกของอ�ำเภอแกลง ราษฎรส่วนใหญ่ ประกอบอาชีพทางด้านเกษตรกรรม ได้แก่ ท�ำสวนยางพารา ท�ำสวนผลไม้ เช่น ทุเรียน เงาะ มังคุด ปลูกพืชไร่ เช่น มันส�ำปะหลัง เขตการปกครอง ในเขตพื้นที่ขององค์การบริหารส่วนต�ำบลห้วยยาง แบ่งเขตการ ปกครองออกเป็น 9 หมู่บ้าน (เรียงตามล�ำดับ) ได้แก่ บ้านคลองคา บ้านน�้ำเขียว บ้านห้วย ยาง บ้านเขาชากกรูด บ้านห้างญวณ บ้านชากตาด้วง บ้านเนินดินแดง บ้านชากพรวด และ บ้านท่ามะกัก ประชากร มีจำ� นวน 1,418 ครัวเรือน มีประชากรทั้งสิ้น 3,629 คน แบ่งเป็นเพศชาย 1,766 คน เพศหญิง 1,863 คน ประชากรมีความหนาแน่นเฉลี่ย 85 คน /ตารางกิโลเมตร (ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2556 โดย ส�ำนักงานทะเบียนอ�ำเภอแกลง) นโยบายในการพัฒนาของนายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลห้วยยาง ยึดหลักการมีสว่ น ร่วมของประชาชน หลักการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มา ก�ำหนดเป็นนโยบาย เพื่อพัฒนา แก้ไขปัญหา เสริมสร้างความเข้มแข็ง ความเจริญ ความ สามัคคี ในต�ำบลห้วยยาง ดังมีนโยบายดังต่อไปนี้ 1. เน้นการท�ำงานเชิงบูรณการให้ผู้น�ำท้องถิ่น ผู้นำ� ท้องที่ องค์กรภาคประชาชน และ ประชาชนในต�ำบลห้วยยางได้มีบทบาท มีส่วนร่วมในการด�ำเนินงาน กิจกรรมต่างๆ ของ องค์การบริหารส่วนต�ำบลห้วยยาง 2. สนับสนุนให้มีการประชาคมภายใต้การน�ำขององค์การบริหารส่วนต�ำบลและผู้น�ำ ท้องถิ่นเพื่อรับทราบปัญหา ความต้องการของประชาชนและเป็นข้อมูลในการจัดแผน พัฒนาขององค์การบริหารส่วนต�ำบล น�ำไปสู่การจัดท�ำร่างข้อบัญญัติงบประมาณที่ตรง กับความต้องการของประชาชนในต�ำบล 3. สนับสนุนและส่งเสริมกิจกรรมด้านการศึกษา ทั้งในและนอกระบบ กิจกรรมทางศาสนา ตลอดจน วันส�ำคัญของชาติ 4. พัฒนาคุณภาพชีวติ เด็ก เยาวชน สตรี คนชรา ผู้ด้อยโอกาส และคนพิการ 5. ประสานงานกับองค์กรของภาครัฐและเอกชน เพื่อประโยชน์ของส่วนรวมในทุกด้าน 2
ต�ำบลทุ่งควายกิน อ�ำเภอแกลง จังหวัดระยอง วันที่ 19 พฤศจิกายน 2555 โดยคณะผู้บริหาร การคลั ง ประจ� ำ จั ง หวั ด (คบจ.ระยอง) ร่ ว ม กับองค์การบริหารส่วนต�ำบลทุ่งควายกิน ได้ แสดงเจตนารมณ์ร่วมกันที่จะพัฒนาและเพิ่ม ประสิทธิภาพการคลังท้องถิ่นแบบบูรณาการให้ บรรลุผลส�ำเร็จ ตามเป้าหมายในการด�ำเนินงาน การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน เช่น กลุ่มวิสาหกิจ ชุมชน กลุ่มอาชีพ มีความเข้มแข็งด้านการรวม กลุ่ม การบริหารจัดการด้านการผลิต การตลาด การบริหารการเงินที่มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โครงการเฉลิมพระชนมพรรษา พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว เนื่ อ งในโอกาสมหามงคลเฉลิ ม พระชนมพรรษา 85 พรรษา 5 ธันวาคม 2555 โดย องค์การ บริหารส่วนต�ำบลทุ่งควายกิน ได้จัดกิจกรรม มอบรางวัล พ่อดีเด่น จ�ำนวน 11 หมูบ่ า้ น พิธมี อบธงครอบครัวพระมหาชนก ประจ�ำต�ำบลทุ่งควายกิน การแสดงบนเวทีของนักเรียนจาก โรงเรียนภายในเขตพื้นที่ และร่วมถวายเครื่องราชสักการะ และจุดเทียนชัยถวายพระพร เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม 2555 โครงการเฉลิมพระเกียรติ 12 สิงหามหาราชินี ประจ�ำ ปี 2556 องค์การบริหารส่วนต�ำบลทุง่ ควายกิน จัดกิจกรรม มอบรางวัลแม่ดีเด่น จ�ำนวน 11 หมู่บ้าน กิจกรรมประกวด ร้องเพลงที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับแม่ การแสดงบนเวทีของนักเรียน จากโรงเรียนภายในเขตพืน้ ที่ ร่วมถวายเครือ่ งราชสักการะ และ จุดเทียนชัยถวายพระพร เมื่อวันที่ 9 สิงหาคม 2556 โครงการปกป้องสถาบันส�ำคัญของชาติ ประสานงาน เข้าศึกษาดูงานโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา วัดโพธิ์ วัดพระแก้ว และโรงพยาบาลศิริราช ระยะด�ำเนินการ ครั้งที่ 1 วันอังคารที่ 5 กุมภาพันธ์ 2556 และครั้งที่ 2 วันจันทร์ที่ 22-23 เมษายน 2556 เพือ่ สร้างความรักสามัคคีในความเป็นไทย ทีม่ ี สถาบันพระมหากษัตริย์เป็นศูนย์รวมยึดเหนี่ยวจิตใจ และคง อยู่คู่ชาติไทยตลอดไป ปรั บ ปรุ ง สภาพแวดล้ อ มที่ อ ยู ่ อ าศั ย ให้ กั บ ผู ้ ด ้ อ ย โอกาส วันที่ 29 สิงหาคม 2556 ท่านนายกฯชัยณรงค์ สันทัสนะโชค พร้อมด้วยสมาชิกสภาฯ อปพร. พนั ก งาน
ส่ ว นต� ำ บล และพี่ น ้ อ งประชาชน ต� ำ บลทุ ่ ง ควายกิ น ร่ ว มกั บ ชมรม ผู ้ สู ง อายุ ให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ นายธงชัย การสะดวก บ้านเลขที่ 199/4 ม. 6 ต.ทุ่งควายกิน อ.แกลง จ.ระยอง ซึ่ ง มี ค วามพิ ก ารด้ ว ย โรคแขนขาอ่อนแรง ส่วนภรรยาก็ พิการด้วยตาบอดข้างซ้าย ข้างขวา เลื อ นลาง โดยได้ ป รั บ ปรุ ง สภาพ แวดล้อมรอบๆ บ้าน ด้วยการเทพื้น หน้าบ้าน และท�ำราวจับเพื่อให้ฝึก เดิน และเปลี่ยนจากโถส้วมแบบ นั่งยองเป็นโถส้วมแบบนั่งราบ เพื่อ เพิ่ ม ความสะดวกในการใช้ ชี วิ ต ประจ�ำวันมากขึ้น พิธีส่งมอบโครงการ “53 ปี PEA สร้างฝายถวาย ในหลวง” เพื่อสนองพระราชด�ำริพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เกี่ยวกับการดูและรักษ์น�้ำ และสนับสนุนโครงการ อนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริฯ (อพ.สธ.) ณ บ้านวังสะตอ หมู่ที่ 7 ต�ำบลกองดิน และหมู่ที่ 7 ต�ำบล ทุ่งควายกิน อ�ำเภอแกลง จังหวัดระยอง ในวันที่ 25 กันยายน 2556 โครงการรณรงค์ อ อกก� ำ ลั ง กายเพื่ อ สุ ข ภาพโดย จั ก รยาน โดยชมรมจักรยานสร้างสุขภาพ จัดกิจกรรม 2 ครั้ง ปั่นจักรยานเพื่อสุขภาพ และจัดการแข่งขันปั่นจักรยาน มีผู้ร่ว มเข้า แข่งขันประมาณ 600 คน นายกฯชั ย ณรงค์ สันทัสนะโชค มอบรางวัลให้กับผู้ชนะและผู้เข้าร่วมแข่งขัน ทุกท่าน
จากใจนายกอบต.ทุ่งควายกิน
กว่า 1 ปี ที่ผมและคณะผู้บริหาร องค์การบริหารส่วน ต�ำบลทุ่งควายกิน ทุกคน ได้เข้ามาบริหารงาน ด้วยการวาง รากฐานการพัฒนา ร่วมกับคนในต�ำบลทุ่งควายกิน ผมพร้อม ที่จะพาทุกท่านก้าวเดินไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน ด้วยการดูแล คุณภาพชีวิต และสิ่งแวดล้อมบนพื้นฐานแห่งความพอเพียง และสร้างความรู้สึกรักษ์บ้านเกิด อบต.ทุ่งควายกิน ต้อง ไม่ใช่ของคนใดคนหนึง่ หรือของคนกลุม่ ใดกลุม่ หนึง่ แต่ ต้องเป็นของทุกคนร่วมกัน Rayong
3
เส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล
องค์การบริหารส่วนต�ำบล
ตาขัน
“บ้านเก่าถิ่นนายแสง นิราศเมืองแกลงจารึกกวี ประเพณีลงแขก หนองตะแบกถิ่นมันเทศ ตาขันเขตอุทยานการศึกษา หลวงพ่อภาสื่อพระธรรมน�ำใจ” คือค�ำขวัญของต�ำบลตาขัน อ�ำเภอบ้านค่าย จังหวัด ระยอง ซึ่งมีเนื้อที่ 36.66 ตร.กม หรือ 22,880 ไร่ อยู่ใน การปกครองของ องค์การบริหารส่วนต�ำบลตาขัน 28/3 หมู่ 4 ต�ำบลตาขัน อ�ำเภอบ้านค่าย จังหวัดระยอง ปัจจุบันมี นายประจวบ ศิริวัฒน์ เป็น นายกองค์การบริหารส่วน ต�ำบลตาขัน ประวัติความเป็นมาของต�ำบลตาขัน เมื่อประมาณ 200 ปีล่วงมาแล้ว นายขันเป็นครอบครัว แรกที่ เ ข้ า มาตั้ ง ถิ่ น ฐานท� ำ มาหากิ น บริ เ วณพื้ น ที่ ป ่ า ใกล้ บ้านเก่าติดกับแม่น�้ำระยอง จนมีลูกหลานสร้างบ้านเรือน เพิ่ ม มากขึ้ น นายขั น จึ ง เป็ น บุ ค คลที่ ทุกคนให้ความเคารพนับถือ ต่อ มานายขั น ได้ เ สี ย ชี วิ ต ด้ ว ยโรค ชรา บ้านเรือนได้ขยายออกจนเป็น
2
กลุ่มใหญ่ ทางราชการได้มีนโยบายให้จัดตั้งเป็นหมู่บ้าน เพื่อ เป็นการให้เกียรติกับตาขัน จึงตั้งชื่อหมู่บ้านว่า “หมู่บ้าน ตาขัน” เมื่อแบ่งอาณาเขตต�ำบล จึงให้ชื่อว่า “ต�ำบลตาขัน” วิสัยทัศน์ขององค์การบริหารส่วนต�ำบลตาขัน ต�ำบลตาขันจะเป็นต�ำบลแห่งเศรษฐกิจพอเพียงที่ยั่งยืน ยกระดั บ มาตรฐานการศึ ก ษาของโรงเรี ย นในต� ำ บล ดู แ ล คุณภาพชีวิตของประชาชนในต�ำบลทุกๆ ด้าน และสร้างพื้น ฐานสังคมการอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข
นโยบายการบริหาร และแนวทางการพัฒนา 1. ส่งเสริมให้มสี นามกีฬาประจ�ำต�ำบลตาขันพร้อมสถาน พักฟื้นผู้สูงอายุ และสวนสุภาพแบบครบวงจร 2. ส่ ง เสริ ม เชื่ อ มความสั ม พั น ธ์ ใ นการท� ำ งานระหว่ า ง ผู้น�ำท้องถิ่น ทุกส่วนทุกฝ่าย โดยไม่ฝักฝ่ายๆ ใดโดยค�ำนึงถึง ผลประโยชน์ของประชาชนเป็นสิ่งส�ำคัญที่สุด 3. ส่งเสริมสนับสนุนโรงเรียนในต�ำบลตาขันให้พฒ ั นาการ เรียนการสอนให้ก้าวหน้า และพัฒนาสู่สากลให้ก้าวทันใน ระบบเศรษฐกิจสมัยใหม่ 4. ส่งเสริมให้มีถนน คสล.พร้อมระบบระบายน�้ำทุกซอย และประปาทุกหมู่บ้าน ประปาภูมิภาค เพิ่มไฟฟ้าแสงสว่าง ตามเส้นทางการสัญจร และในสนามกีฬา รวมถึงเพิ่มระบบ รักษาความปลอดภัยในหมู่บ้านติดกล้องวงจรปิด หรือ cctv ให้ครบทุกพื้นที่ในต�ำบลตาขัน 5. ส่งเสริมเร่งแก้ไขปัญหาขยะล้นทุกหมูบ่ า้ น โดยจัดการ อย่างมืออาชีพ และคุ้มค่ากับงบประมาณให้มากที่สุด 6. ส่งเสริมประสิทธิ์ภาพด้านผลผลิตทางการเกษตรและ สนับสนุนการประกันราคาพืชผล อาทิเช่น ราคาข้าว ราคา มันเทศ และผลไม้ตามฤดูกาลต่าง ๆ
7. ส่ ง เสริ ม กลุ ่ ม อาชี พ และกลุ ่ ม แม่ บ ้ า น ให้ จั ด สร้ า ง สินค้า otop ประจ�ำต�ำบลให้เป็นเอกลักษณ์ของต�ำบลตาขัน ในอนาคต 8. ส่ ง เสริ ม ด้ า นสาธารณสุ ข โดยส่ ง เสริ ม พั ฒ นาโรงพยาบาลประจ�ำต�ำบล ให้มีเครื่องมือแพทย์ที่ทันสมัยมากขึ้น และร่วมมือประสานงานกับ กลุ่ม อสม. ในต�ำบลตาขัน เพื่อ สร้างกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อสังคมให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ในต�ำบล ตาขัน 9. ส่งเสริมนโยบายต่อต้านยาเสพติดในกลุ่มเยาวชน โดยร่วมมือกับ กลุ่ม อปพร. ในต�ำบลตาขันเพื่อสร้างชุมชนให้ เข้มแข็ง และเป็นชุมชนสีขาวในอนาคตและมุ่งเน้นการสร้าง สรรพกิจกรรมทางสังคม 10. ส่งเสริมให้มสี วัสดิการผูส้ งู อายุ ผูพ้ กิ าร ผูด้ อ้ ยโอกาส 11. ส่ ง เสริ ม สนั บ สนุ น คณะกรรมการหมู ่ บ ้ า น ด้ า น วัฒนธรรมขนบธรรมเนียมประเพณีในต�ำบลตาขัน จากนโยบายข้างต้น ผู้บริหารองค์การบริหารส่วนต�ำบล ตาขัน ได้ประกาศใช้ข้อบัญญัติงบประมาณ เมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน 2555 โดยมีโครงการที่บรรจุอยู่ในข้อบัญญัติ งบประมาณ จ�ำนวน 153 โครงการ งบประมาณ 16,880,400 บาท สามารถจ�ำแนกตามยุทธศาสตร์ ได้ดังนี้
ยุทธศาสตร์ การพัฒนาด้านเศรษฐกิจ การพัฒนาด้านการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม การพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐาน สาธารณูปโภค สาธารณูปการ การพัฒนาด้านสังคมสงเคราะห์ การพัฒนาด้านสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม การพัฒนาด้านการบริหารองค์กร รวม
โครงการ 13 77 22 7 10 24 153
งบประมาณตาม ข้อบัญญัติ 740,000.00 7,565,100.00 4,500,000.00 1,142,500.00 630,000.00 2,302,800.00 16,880,400.00
Rayong
3
เส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล
องค์การบริหารส่วนต�ำบล บางบุตร วิสัยทัศน์
“มุ่งพัฒนาทุกภาคส่วน เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชน อย่างยั่งยืน ทุกระดับชั้น”
ผมมีความมุง่ มัน่ และตัง้ ใจทีจ่ ะพัฒนาพืน้ ทีต่ �ำบลบางบุตรให้นา่ อยูอ่ าศัย ภายใต้ แนวทางปฏิบัติของ “ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระราชด�ำรัสชี้แนะแนวทางการด�ำเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทย และยึดหลัก ธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการ โดยก�ำหนดแนวทางพัฒนาไว้ หลายประการ คือ มุง่ พัฒนาคนให้มคี ณ ุ ภาพชีวติ ทีด่ ี มีคณ ุ ธรรม มีความรูอ้ ย่าง เท่าเทียมกัน มีสขุ ภาวะ ทีด่ ี มุง่ สร้างงานให้พนี่ อ้ งประชาชนมีรายได้ มีงานท�ำ พัฒนาคุณค่าความหลากหลาย ของภูมิปัญญาท้องถิ่น เป็นแบบอย่างที่ดีให้กับผู้ใต้บังคับบัญชา บูรณาการความ ร่วมมือกลุ่มแกนน�ำ ชุมชน โรงเรียน ทุกภาคส่วนในสังคม รวมทั้งสร้างเยาวชน และ ชุมชนให้เกิดความยั่งยืนทุกระดับชั้น ค�ำขวัญต�ำบลบางบุตร
“เขางวงช้างงามตา ยางพาราน�ำ้ ดี ประเพณีเดือนสาม เลื่องลือนามหนองบางบุตร
นายจตุรงค์ วงค์สุวรรณ นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บล บางบุตร
โครงการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการในชุมชน ร่วมกับโรงพยาบาล บ้านค่าย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำ�บล ผู้นำ�ชุมชนในตำ�บลออก เยี่ยมผู้พิการทั้ง 12 หมู่บ้าน
นายจตุรงค์ วงค์สุวรรณ มอบรางวัลแก่ผู้สูงอายุ ที่ร่วมกิจกรรม วันผู้สูงอายุ
นายคนึง ส่งกลิ่น เลขานุการ นายก อบต.บางบุตร ร่วมมอบยาและเวชภัณฑ์ส�ำหรับใช้ในภาวะจ�ำเป็น
โครงการวันผู้สูงอายุ วันที่ 12 เมษายน 2556 ณ นายเฉลา ฉิมภู ประธาน ศาลาอเนกประสงค์หน้าที่ท�ำการ อบต.บางบุตร โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อแสดงความกตัญญูต่อผู้สูง สภา อบต.บางบุตร อายุ ให้เด็กและเยาวชนได้ตระหนักและเห็นคุณค่า ร่วมสรงน�้ำพระ ประเพณีอันดีงาม ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ประจ�ำชาติให้ ในวันผู้สูงอายุ คงอยูส่ บื ไป โดยมีผเู้ ข้าร่วมโครงการจ�ำนวน 236 คน 2
โครงการสืบสานงานประเพณีลอยกระทง ประจ�ำปี 2555 ระหว่ า งวั น ที่ 26 - 28 พฤศจิกายน 2555 ณ วัดหนองพะวา เพื่อ ส่ ง เสริ ม และฟื ้ น ฟู ป ระเพณี ล อยกระทงใน วันเพ็ญเดือนสิบสองให้เป็นประเพณีทเี่ ด็กและ เยาวชนได้เรียนรู้และคงอยู่ตลอดไป
องค์การบริหารส่วนต�ำบลบางบุตรได้จัดท�ำโครงการจัดตั้ง ศูนย์พระ มหาชนก องค์การบริหารส่วนต�ำบลบางบุตร เพื่อน้อมน�ำปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงไปสู่การปฏิบัติให้เกิดผลเป็นรูปธรรมแก่ประชาชน นางนพมาศ ปี 2556
โครงการแข่ ง ขั น กี ฬ าประเพณี ต�ำบล “บางบุตรเกมส์” ครั้งที่ 17 ระหว่างวันที่ 5 – 16 เดือนเมษายน พ.ศ. 2556 ณ สนามกี ฬ าต�ำบล บางบุ ต ร ส่ ง เสริ ม ให้ ป ระชาชนเห็ น ประโยชน์ของการออกก�ำลังกาย ลด ปั ญ หายาเสพติ ด และอบายมุ ข ทุ ก ประเภท
พิธีเปิดงานกีฬา “บางบุตรเกมส์” โดยผู้นำ�ชุมชนสมาชิกสภาอบต. พนักงานและแขกผู้มีเกียรติ
ประชาชน ร่วมแข่งขันกีฬาด้วยความสามัคคี
โครงการวันเด็ก ประจ�ำปี 2556 วันเสาร์ ที่ 12 มกราคม 2556 ณ สนามกีฬาต�ำบล บางบุตร ร่วมสนับสนุนให้เด็กและเยาวชน แสดงออกถึงความสามารถในด้านต่างๆ
ส.ส. สาธิต ปิตุเตชะ ร่วมเป็นเกียรติในงานกีฬา “บางบุตรเกมส์” ครั้งที่ 17
กิจกรรมงานวันเด็กแห่งชาติ โครงการก่อสร้าง แหล่งท่องเที่ยว อุทยานสวนดอกไม้ น�้ำตกเขางวงช้าง หมู่ที่ 2 ต�ำบลบางบุตร ขณะนี้อยู่ ระหว่างด�ำเนินการก่อสร้าง
Rayong
3
เส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล
องค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองตะพาน
หนองตะพานสามัคคี ล้วนรสดีผลไม้ ก้าวไกลการ ท�ำนา ยางพาราปลูกทั่วไป หลวงพ่อป่าเลไลยคุ้มครอง คื อ ค� ำ ขวั ญ ของต� ำ บลหนองตะพาน อ.บ้ า นค่ า ย จ.ระยอง ซึ่งมีประวัติความเป็นมากว่า 300 ปีเศษแล้ว โดย มีผู้เฒ่าผู้แก่เล่าสืบต่อกันมาว่า เดิมบริเวณที่ตั้งของต�ำบล เป็นที่ราบลุ่ม และมีหนองน�้ำขนาดใหญ่หลายร้อยไร่ ผู้คนจึง สัญจรไปมาด้วยเรือ ต่อมามีการสร้างสะพานหลายแห่งเพื่อ เชื่อมสองฟากฝั่ง จึงเป็นที่มาของชื่อ “หนองสะพาน” ต่อมา เสียงเรียกเพี้ยนเป็น “หนองตะพาน” จนกลายเป็นชื่อเรียก อย่างเป็นทางการมาถึงทุกวันนี้ ปัจจุบันต�ำบลหนองตะพาน ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียง ใต้ของที่ว่าการอ�ำเภอบ้านค่าย มีพื้นที่ทั้งหมด 24.29 ตาราง กิโลเมตร หรือประมาณ 15,187 ไร่ อยูภ่ ายใต้การปกครองของ องค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองตะพาน ซึ่งมี นายอดุลย์ บ�ำรุงสุนทร เป็นนายกองค์การบริหารส่วนต�ำบล
2
วิสัยทัศน์การพัฒนา ต้นแบบเกษตรกรรม น�ำการศึกษา พัฒนาคุณภาพชีวิต ต�ำบลปลอดยาเสพติด อนุรักษ์วัฒนธรรม บริหารตามหลักธรรมาภิบาล บน พื้นฐานการมีส่วนร่วมของประชาชน ยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนาในช่วงสามปี องค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองตะพาน มียทุ ธศาสตร์ การพัฒนา 6 ด้านดังต่อไปนี้ 1. ยุทธศาสตร์ด้านการศึกษา การกีฬา ศาสนาและ วัฒนธรรมและ ปัญญาท้องถิ่น 2. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม 3. ยุทธศาสตร์ดา้ นการพัฒนาสังคมและทรัพยากรมนุษย์ 4. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการเมือง การบริหาร และ ข้อมูลข่าวสาร เทคโนโลยีสารสนเทศ 5. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐาน 6. ยุทธศาสตร์ดา้ นการเกษตร เศรษฐกิจและการท่องเทีย่ ว
ชิมมังคุดหวาน ชมงานศิลปะ สักการะพระป่าเลไลย ณ ต�ำบลหนองตะพาน ต� ำ บลหนองตะพาน มีความน่ าสนใจหลายๆ ด้ าน โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง การสร้ า งสรรค์ ผ ลงาน “ศิ ล ปะบน นาข้าว” ที่สวยงามแห่งแรกในไทย เป็นภาพศิลปะที่สะท้อน วิ ถี ชี วิ ต ของชาวนาไทยบนแปลงนาทั้ง ขนาดเล็กและใหญ่ กระจายทั่วไปในพื้นที่หมู่ 2 และ หมู่ 3 ซึ่งสามารถชมศิลปะ บนนาข้าวได้ในช่วงเดือนตุลาคม-ธันวาคม สอบถามเพิ่มเติม ได้ที่ ททท. ส�ำนักงานระยอง โทร. 038-655420-1 หรือ ศูนย์ท่องเที่ยวหนองตะพาน โทร. 038-025224 และกลุ่ม โครงการศิ ล ปะนาข้ าว โทร. 089-8315279 และติดต่อ นายกองค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บลหนองตะพาน โทร. 081-9821554 ชมงานศิลปะบนนาข้าวแล้ว อย่าลืมแวะไปสักการะ พระป่าเลไลย ที่วัดอรัญญิกาวาส สิ่งศักดิ์สิทธิ์คู่บ้านคู่เมือง ของชาวหนองตะพานและชาวระยอง พระป่าเลไลยสร้าง เมื่อปี พ.ศ.2155 โดยเจ้าอาวาสวัดรูปแรกได้เรียกช่างฝีมือ จากเมืองกรุงเก่าอยุธยามาช่วยแกะสลักจากไม้รักทั้งองค์ จนเป็นพระพุทธรูปประทับนั่งบนบัลลังก์และหย่อนพระบาท ทั้งสองลงแตะพื้น พระพาหาทั้งสองวางอยู่บนพระเพลา และ หงายพระหัตถ์ขวาขึ้น เป็นกิริยารับหม้อน�้ำจากพญาช้าง ปาลิ ไ ลยกะ ซึ่ ง เป็ น ช้ า งที่ ม าคอยปรนนิ บั ติ พ ระพุ ท ธองค์ พระป่ า เลไลยถื อ เป็ น พระประจ� ำ วั น ของคนที่ เ กิ ด วั น พุ ธ ตอนกลางคืน หรือวันราหู คนที่เกิดวันพุธกลางคืนจึงนิยมมา สักการะขอพร โดยเฉพาะการขอให้ประสบความส�ำเร็จใน หน้าทีก่ ารงาน โดยมักจะน�ำตุก๊ ตานางร�ำไป ถวายเป็ น จ� ำ นวนมาก แต่ ต ามความเชื่ อ ของ ชาวบ้านค่ายมักจะถวาย ด้วยนางร�ำจริงๆ
ส่ ว นผู ้ ที่ นิ ย มเที่ ย วไปชิ ม ไป ต้ อ งไม่ พ ลาดไปเที่ ย ว “งานมังคุดหวานหนองตะพานและของดีอำ� เภอบ้านค่าย” ซึ่งจัดขึ้นทุกปีในช่วงเดือนพฤษภาคมหรือมิถุนายน ซึ่งเป็น ฤดูกาลที่มังคุดของหนองตะพานจะออกผลผลิตมากที่สุด โดยทางต�ำบลหนองตะพาน อ�ำเภอบ้านค่าย และหน่วยงาน ราชการจากจังหวัดระยอง ได้สนับสนุนการจัดกิจกรรมนี้ขึ้น ที่ศูนย์ท่องเที่ยว ภายในงานนี้มีการแข่งขันและกิจกรรมวิถี ชาวบ้ าน เช่น แข่งด�ำนา ปีนหมาก ทอดแหจับปลา เผา ข้ า วหลาม บางปี ก็ จั ด ประกวดธิ ด าชาวสวน มี ก ารออก ร้านค้าโดยชาวบ้าน ส่วนใหญ่เป็นผลไม้ เครื่องจักรสาน ของกวนดอง ผักปลอดสารพิษ ข้าวสาร ต้นไม้ถุง เป็นต้น ท่านนายก อบต.หนองตะพาน ฝากเชิญชวนว่า “งานนี้ จั ด ติ ด ต่ อ กั น มากว่ า 10 ปี แ ล้ ว ถื อ เป็ น ความร่วมมือร่วมใจของชาวบ้านจริงๆ คนซื้อขายก็คือ ชาวบ้านด้วยกันเอง เป็นงานทีไ่ ม่ใหญ่แต่อบอุน่ สนุกสนาน และมีผลไม้โดยเฉพาะมังคุดสดๆ จากสวนมาจ�ำหน่าย ในราคาย่อมเยาและหวานอร่อย ส่วนโครงงานศิลปะ บนนาข้าว ก็เป็นอีกหนึ่งตัวงานของชุมชนเรา ที่ชาว บ้านต้องการให้ผทู้ สี่ นใจมาเทีย่ ว มาเรียนรูข้ องดีใน ต�ำบลของเรา ยินดีต้อนรับทุกท่านนะครับ”
Rayong
3
เส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล
องค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองละลอก
ต�ำบลหนองละลอก ซึ่งเป็นต�ำบลเก่าแก่มีอายุเกือบ ร้อยปีมาแล้ว ที่มาของชื่อต�ำบลนั้นมาจากในอดีตมีหนองน�้ำ ขนาดใหญ่อยู่ที่หมู่ 3 และมีต้นกระรอกขึ้นล้อมรอบหนองน�้ำ เมือ่ มีลมพัดโชยมาน�ำ้ ในหนองจะเกิดเป็นละลอกคลืน่ สวยงาม ชาวบ้านจึงเรียกกันว่า “หนองละลอก” ต� ำ บลหนองละลอก ประกอบด้ ว ย 11 หมู ่ บ ้ า น อยู ่ ภายใต้การปกครองดูแลขององค์ ก ารบริ หารส่ ว นต� ำ บล หนองละลอก 199 หมู่ 4 ต�ำบลหนองละลอก อ�ำเภอบ้านค่าย จังหวัดระยอง ปัจจุบันมี นายปราโมทย์ ฉันทมิตร์ ด�ำรง ต�ำแหน่ง นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองละลอก สภาพทั่วไป ต�ำบลหนองละลอก มีลกั ษณะภูมปิ ระเทศส่วนใหญ่เป็น พื้นที่ราบลุ่ม มีเนินเขาเป็นบางพื้นที่ มีเนื้อที่ประมาณ 78.18 ตร.กม. หรือ 48,867 ไร่ มีประชากรทั้งสิ้น 10,840 คน ส่วน ใหญ่มีอาชีพทางเกษตรกรรม ท�ำสวนยางพารา ท�ำสวนผลไม้ ท�ำไร่สับปะรด ท�ำนา ท�ำไร่ มันส�ำปะหลัง ส่วนหนึ่งประกอบ อาชีพรับจ้างและอาชีพอื่นๆ 2
วิสัยทัศน์ของอบต.หนองละลอก องค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองละลอก ได้ก�ำหนด วิสัยทัศน์ (VISION) เพื่อเป็นสภาพการณ์ในอุดมคติ ซึ่งเป็น จุดหมายและความต้องการในอนาคต โดยเป็นผลรวมของ การสรุปบทเรียนจากอดีต พิจารณาปัจจุบัน และมุ่งหวังถึง อนาคต ดังนี้ “ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี มีการศึกษา มุ่งพัฒนา องค์กรด้วยหลักธรรมาภิบาล การบริหารกิจการบ้านเมือง ทีด่ ี น�ำเศรษฐกิจพอเพียง ระบบความรูค้ คู่ ณ ุ ธรรม มาใช้ ในการพัฒนาต�ำบล” พันธกิจ (MISSION) 1. ยกระดับคุณภาพชีวติ ของประชาชน ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และวัฒนธรรมประเพณี 2. สร้างโอกาสให้ประชาชนมีรายได้เพิ่มขึ้น ตามอาชีพ ที่เหมาะสมกับตนเองและท้องถิ่น ส่งเสริมปัจจัยเกื้อหนุนให้ ชุมชนเข้มแข็ง โดยใช้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง 3. พัฒนาการศึกษาให้มีคุณภาพ ขยายโอกาสทางการ ศึกษาแก่ประชาชนอย่างทั่วถึง 4. ส่งเสริมศาสนา วัฒนธรรม และคุณธรรมจริยธรรมแก่ ประชาชน 5. พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานถนน ไฟฟ้า สาธารณูปโภค– สาธารณูปการ ตลอดจนแหล่งน�้ำเพื่อการอุปโภค-บริโภค 6. ส่งเสริมระบบการบริการสาธารณสุข และสุขภาพ อนามัยที่ดีแก่ประชาชน 7. อนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ที่ยั่งยืน
8. พั ฒ นาระบบการเมื อ งการบริ ห ารจั ด การที่ ดี เพิ่ ม ศักยภาพขององค์กรให้มีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน โปร่งใส ตรวจสอบได้ และการแปลงแผนไปสู่การปฏิบัติ นโยบายการพัฒนาของอบต.หนองละลอก 1. นโยบายด้านการศึกษา ศาสนา ศิลปวัฒนธรรมและ ภูมิปัญญาท้องถิ่น 2. นโยบายด้านสังคมสงเคราะห์ คุณภาพชีวิต และการ สาธารณสุข 3. นโยบายด้านสิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติ 4. นโยบายด้านเศรษฐกิจ เกษตรกรรม อุตสาหกรรม และ การส่งเสริมรายได้ 5. นโยบายด้านการท่องเที่ยว การกีฬา และนันทนาการ 6. นโยบายด้านการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน 7. นโยบายด้านการเมือง การบริหาร และสารสนเทศ 8. นโยบายด้านการบริหารจัดการองค์กร จุดเด่นของต�ำบลหนองละลอก ต�ำบลหนองละลอก มีแหล่งท่องเที่ยวส�ำคัญ ได้แก่ วัดละหารไร่ ซึง่ เคยมีเกจิอาจารย์ชอื่ ดัง คือหลวงปูท่ มิ ภายใน วัดจึงมีอนุสรณ์ที่ระลึกถึงหลวงปู่อยู่หลายแห่ง และที่เที่ยวที่
โดดเด่นอย่างยิ่งคือ สวนสุภัทราแลนด์ ตั้งอยู่หมู่ที่ 10 เป็น สวนผลไม้ที่เปิดให้ประชาชนเข้าชม มีผลไม้ประเภท มังคุด ทุเรียนเงาะ ลองกอง ส้มโอ ซึ่งนักท่องเที่ยวสามารถนั่งรถไฟ ชมสวนภายใต้บรรยากาศที่ร่มรื่นได้ และที่พลาดไม่ได้คือ ของฝากติดไม้ติดมือภายใต้ชื่อ “คุณละออ” เป็นผลไม้กวน ระดับโอท็อป 5 ดาวของจังหวัด ซึง่ นางละออ สุวรรณสว่าง นักแปรรูปผลไม้ที่อาศัยการทดลองจนได้สูตรการปรุงรสที่ แปลกใหม่อยู่ตลอดเวลา จนได้ผลไม้กวนหลากหลายรสชาติ อาทิ ผลไม้กวนกะทิ สูตรธรรมดา และสูตรบ๊วย และพลาด ไม่ ไ ด้ คื อ ท็ อ ฟฟี ่ ผ สมนมข้ น หวานและเนย รสชาติ เ ข้ ม ข้ น หอมหวานมันอร่อย สนใจอุดหนุนได้ที่หมู่ 4 และสิ่งที่ชาวต�ำบลหนองละลอกภาคภูมิใจอย่างยิ่งคือ ต�ำบลหนองละลอกเป็นทีต่ งั้ ของ มหาวิทยาลัยพระจอมเกล้า พระนครเหนือ วิทยาเขตจังหวัดระยอง ซึ่งผลิตบัณฑิต คุณภาพสู่สังคมมาช้านาน จากภาพรวมทั้งหมดของต�ำบลหนองละลอกที่กล่าวมา ข้างต้น จึงเป็นที่มาของค�ำขวัญประจ�ำต�ำบลที่ว่า หลวงปู่ทิมคุ้มลูกหลาน สงกรานต์งานประเพณี เศรษฐกิจดียางพารา ก้าวหน้ามหาวิทยาลัย
Rayong
3
เส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล
องค์การบริหารส่วนต�ำบลมาบยางพร
“ดินแดนอารยชน สังคมวัฒนธรรม อุตสาหกรรม เป็ น มิ ต ร เศรษฐกิ จ รุ ่ ง เรื อ ง ท้ อ งถิ่ น เมื อ งพั ฒ นา ลือนามว่ามาบยางพร” คื อ ค� ำ ขวั ญ ขององค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บล มาบยางพร ตั้งอยู่ที่หมู่บ้านมาบเตย หมู่ที่ 1 ต�ำบลมาบ ยางพร อ�ำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง ซึ่งอยู่ห่างจาก อ�ำเภอปลวกแดงราว 4 กม. และมีระยะห่างจากตัวจังหวัด ระยองราว 40 กม. มีพนื้ ทีร่ วมทัง้ สิน้ 81.072 ตร.กม. หรือ 50,670 ไร่ ประกอบด้วย 7 หมู่บ้าน มีประชากรรวมทั้งสิ้น 10,208 คน และประชากรแฝงถึงกว่า 40,000 คน นายชาตรี เงินท้วม นายกองค์การบริหารส่วน ต�ำบลมาบยางพร มีความตั้งใจที่จะพัฒนาต�ำบลมาบ ยางพรให้เป็นเมืองน่าอยู่ เพื่อเป็นไปตามวิสัยทัศน์การ พัฒนาคือ “มาบยางพรเป็นเมืองน่าอยูภ่ ายในปี 2560” ต�ำบลมาบยางพร เดิมเป็นพื้นที่การเกษตร มีการ ปลูกมันส�ำปะหลัง สับประรด และยางพารา ซึ่งเป็นพืช เศรษฐกิจของต�ำบลมาบยางพร และจากการที่รัฐบาลมี การส่งเสริมการลงทุน เขตส่งเสริมการลงทุน (BOI Zone) 2 เขตพื้นที่จังหวัดระยอง ต�ำบลมาบยางพร จึงมีโรงงาน อุตสาหกรรมเกิดขึ้นจ�ำนวนมาก พื้นที่เกษตรกรรมที่มี อยู่ก็ได้เปลี่ยนแปลงไปสู่พื้นที่อุตสาหกรรม มีการเคลื่อน ย้ายแรงงานเข้ามาสู่ชุมชน ท�ำให้ประชาชากรในพื้นที่ เพิม่ จ�ำนวนอย่างรวดเร็ว ซึง่ ต�ำบลมาบยางพรก็มกี ารปรับ ตัวเพื่อรองรับการขยายของชุมชนนี้ โดยให้ความส�ำคัญ กับการพัฒนา เช่น ระบบสาธารณูปโภค ไฟฟ้า ประปา สุขภาพอนามัย การมีคุณภาพชีวิตที่ดี การส่งเสริมอาชีพ การศึกษา และความเป็นอยู่ที่ปลอดภัยทั้งในชีวิตและ ทรัพย์สิน เป็นต้น
2
บทบาทการพัฒนาที่ส�ำคัญของ อบต.มาบยางพร
ด้านเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ประชากรส่วนใหญ่ประกอบ อาชีพเกษตรกรรม และเป็นแรงงานในภาคอุตสาหกรรม ซึ่งกลุ่มคนก็มา จากหลายท้องถิ่น จึงเป็นศูนย์รวมของความหลากหลายทางวัฒนธรรม แต่ชาวมาบยางพรยังคงไว้ซึ่งวัฒนธรรมอันดีงาม เช่น ประเพณีสงกรานต์ เข้าพรรษา ลอยกระทง เป็นต้น ซึ่ง อบต.มาบยางพร ได้ตระหนักและให้ ความส�ำคัญกับการอนุรกั ษ์ไว้ซงึ่ วัฒนธรรมและประเพณีทดี่ งี าม ตลอดจน สืบทอดกิจกรรมต่างๆ ในวันส�ำคัญทางพุทธศาสนาไว้ ด้านการส่ง เสริมอาชีพ เนื่องจากประชาชนส่วนใหญ่ในพื้นที่ ต�ำบลมาบยางพร ยังประกอบอาชีพเกษตรกรรม อาทิ ท�ำไร่สับปะรด ไร่ มันส�ำปะหลัง และสวนยางพารา อบต.มาบยางพร จึงได้จัดอบรมให้ ความรู้ด้านวิชาการ วัสดุอุปกรณ์ รวมทั้งสนับสนุนการรวมกลุ่มอาชีพ ให้ ความส�ำคัญกับการสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์เพือ่ เพิม่ มูลค่าสินค้า พัฒนาราย ได้อีกทางหนึ่ง ด้ า นการพั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต เนื่ อ งจากต� ำ บลมาบยางพร มี ป ระชากรเคลื่ อ นย้ า ยเข้ า มาจ� ำ นวนมาก จึ ง มี ค วามต้ อ งการด้ า น สาธารณูปโภคมากขึ้น การขยายพื้นที่การให้บริการระบบสาธารณูปโภค และจ�ำนวนประชากรต้องสอดคล้องกัน เพือ่ ให้ประชาชนได้ใช้ไฟฟ้าทัว่ ถึง มีนำ�้ สะอาดทีเ่ พียงพอ นอกจากการดูแลขัน้ พืน้ ฐานแล้ว อบต.มาบยางพร ยังมุ่งเน้นพัฒนาคุณภาพชีวิตความเป็นอยู่แก่ผู้ด้อยโอกาสทางสังคมเช่น ผู้พิการ ผู้สูงอายุ ผู้ยากไร้ และผู้ป่วยเอดส์ เพื่อให้กลุ่มคนเหล่านี้สามารถ อยู่แบบพึ่งตนเอง และอยู่ได้อย่างมีความสุข และที่ส�ำคัญได้สนับสนุนให้ จัดตั้ง “กองทุนสวัสดิการชุมชนต�ำบลมาบบางพร” เพื่อสร้างวินัยการ ออมและให้เป็นองค์กรทางการเงินที่เอื้อประโยชน์ต่อประชาชนในชุมชน ในการช่วยเหลือสงเคราะห์กรณีฉุกเฉิน เช่น เจ็บป่วย เกิดอัคคีภัย เป็นต้น
ด้านการศึกษา อบต.มาบยางพรให้ความส�ำคัญต่อการ ส่งเสริมการศึกษา จึงได้จัดตั้ง “ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กประจ�ำ ต�ำบลมาบยางพร” เพื่อพัฒนาเด็กเล็กก่อนวัยเรียน ทั้งในด้าน ร่างกาย อารมณ์ สังคม สติปัญญา สนับสนุนด้านวิชาการและ งบประมาณแก่โรงเรียนในเขตพื้นที่ เพื่อให้เด็กได้ความรู้ด้าน วิชาการและมีคุณธรรมควบคู่กันไป ด้ า นความปลอดภั ย ในชี วิ ต และทรั พ ย์ สิ น อบต. มาบยางพร มุ่งเน้นเรื่องการป้องกันอัคคีภัยในชุมชนและโรงงาน อุตสาหกรรม เพือ่ ลดความเสีย่ งและการบาดเจ็บ การอ�ำนวยความ สะดวกในการจราจรของชุมชนในพื้นที่ โดยได้เข้าร่วมโครงการ ฝึกซ้อมการบริหารวิกฤตการณ์ระดับชาติ ประจ�ำปี 2556 เพื่อ รับมือกรณีต้องจัดการกับวัตถุอันตราย และเกิดเพลิงไหม้โรงงาน อุตสาหกรรมในนิคมอุตสาหกรรมอมตะซิตี้ การป้องกัน การตรวจ ขันเรือ่ งการรักษาความสะอาดเรียบร้อยของบ้านเมือง เพือ่ ให้เกิด ความมีระเบียบวินยั และความปลอดภัยในชีวติ และทรัพย์สนิ ของ ทุกคนในชุมชน นอกจากนี้ยังมี “โครงการค่ายลืมความหลัง ตั้งต้นใหม่ด้วยใจเข้มแข็ง” ซึ่งเป็นโครงการดูแลป้องกันปัญหา ยาเสพติดในพื้นที่ โดยมุ่งเน้นผู้เสพยาและกลุ่มเสี่ยงเข้าบ� ำบัด รักษา ด้วยการเข้าค่ายเพื่อพื้นฟูสมรรถภาพและเปลี่ยนแปลง ทัศนคติ และหลังรับการฟืน้ ฟูยงั มีการฝึกอาชีพเพือ่ น�ำไปประกอบ อาชีพต่อไป ด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อม อบต.มาบยางพร เน้นทั้ง การเฝ้าระวัง ป้องกัน และแก้ปัญหาโรคติดต่อ เช่น ไข้เลือดออก และความสะอาดปลอดภัยของอาหาร ของตลาดสดในพื้นที่ และตรวจสอบคุณภาพอาหารของผู้ประกอบการอาหาร หาบเร่ แผงลอย โครงการอาหารสะอาดรสชาติอร่อย และโครงการให้ ความรูผ้ ปู้ ระกอบการขายอาหารในโรงงานอุตสาหกรรม โครงการ เฝ้าระวังปัญหาสิ่งแวดล้อม ฟื้นฟู ป้องกันความเสื่อมโทรมของ สิ่งแวดล้อม โดยเน้นการปลูกจิตส�ำนึกให้ทุกคนตระหนัก และมี
บทบาทร่วมลดการท�ำลายสภาพแวดล้อม ทั้งในด้านการจัดการ บ�ำบัดน�้ำเสียและการก�ำจัดขยะ การปรับปรุงสภาพแม่น�้ำและ คูคลอง การลดมลภาวะทางอากาศและเสียง เป็นต้น ศู น ย์ พ ระมหาชนก อบต.มาบยางพร ได้ จั ด ตั้ ง ขึ้ น เพื่ อ ถ่ า ยทอดพระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ ของ พระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยูห่ วั และพระบรมวงศานุวงศ์ เพือ่ ให้คนในพืน้ ทีแ่ ละคน ทัว่ ไปรับรู้ และตระหนักถึงพระเกียรติคณ ุ และการทุม่ เทพระวรกาย ทรงงานเพือ่ พัฒนาประเทศไทย ให้คนไทยเข้าใจในหลักเศรษฐกิจ พอเพียง และน้อมน�ำไปใช้ในการด�ำรงชีวิตให้มีความสุข ซึ่งได้ สอดแทรกในทุกประชาสัมพันธ์ของ อบต.มาบยางพร ตั้งแต่จัด นิทรรศการ การประชาคมต�ำบล การจัดท�ำวารสาร จดหมายข่าว นอกจากนีย้ งั ได้จดั ท�ำ “โครงการปลูกหญ้าแฝกเพือ่ การอนุรกั ษ์ ดินและน�้ำ” และโครงการอื่นๆ เช่น โครงการค่ายลืมความหลัง ตั้งต้นใหม่ด้วยใจที่เข้มแข็ง ซึ่งเป็นการขยายผลจากโครงการ ใครติดยายกมือขึ้น และ To Be Number One ซึ่งเป็นโครงการ รณรงค์ปอ้ งกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ใน ทูลกระหม่อมหญิง อุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี เป็นต้น บูรณาการการบริหารชุมชนการเกษตร สู่ชุมชนเมือง อุตสาหกรรม เนื่องจากต�ำบลมาบยางพร มีนิคมอุตสาหกรรม จ�ำนวน 3 นิคม คือ นิคมอุตสาหกรรมอมตะซิตี้ นิคมอุตสาหกรรม สยามอิสเทิร์น อินดัสเตรียลปาร์ค และนิคมอุตสาหกรรมโรจนะ ปลวกแดงที่อยู่ระหว่างการด�ำเนินการ และยังมีโรงงานนอกนิคม อุตสาหกรรมจ�ำนวน 12 แห่ง จึงต้องมีการบริหารจัดการชุมชน แบบเกษตรเดิม เพื่อให้สอดคล้องกับอุตสาหกรรม ตลอดจน ใช้ทรัพยากรธรรมชาติร่วมกันอย่างรอบคอบ ระมัดระวัง และมี ประสิทธิภาพ น�ำไปสู่การพัฒนาที่สมดุลและยั่งยืน เกษตรกรมี การพัฒนาการผลิตทางการเกษตร ขณะที่อุตสาหกรรมต้องช่วย สนับสนุนในการเป็นแหล่งตลาดและการบริโภค ช่วยให้เกิดการ จ้างงานเพิ่มรายได้ จึงจะลดปัญหาความยากจนของประชาชน ในชุมชนได้ ดังนั้นจ�ำเป็นต้องอาศัยการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนใน สังคม อบต.มาบยางพรจะส่งเสริมให้ชุมชนทั้ง 7 ชุมชน จัดท�ำ แผนชุมชนอย่างมีส่วนร่วม น�ำปัญหามาวิเคราะห์ และก�ำหนด กิจกรรมด�ำเนินงาน ซึ่งทั้งนี้ต้องด�ำเนินการควบคู่ไปกับการสร้าง สภาวะแวดล้อมให้น่าอยู่อาศัย
Rayong
3
เส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล
องค์การบริหารส่วนต�ำบล
ตาสิทธิ์
“การเกษตรก้าวหน้า การศึกษาก้าวไกล พร้อมน�ำพา ชุมชนให้ยั่งยืน” คือวิสยั ทัศน์การพัฒนาของ องค์การบริหารส่วนต�ำบล ตาสิทธิ์ ซึ่งมีส�ำนักงานตั้งอยู่เลขที่ 46 หมู่ที่ 2 ต�ำบลตาสิทธิ์ อ�ำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง ปัจจุบันมี นายบุญสืบ พิมพ์ โพธิ์ เป็น นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลตาสิทธิ์ ข้อมูลทั่วไปของ อบต.ตาสิทธิ์ ต�ำบลตาสิทธิ์ เป็นต�ำบลหนึ่งในอ�ำเภอปลวกแดง ซึ่ง มีการริเริ่มตั้งถิ่นฐานโดยประชากรที่อพยพครอบครับมาจาก อ�ำเภอบ้านค่าย เข้ามาหักล้างถากพงเพื่อประกอบอาชีพ และ ตั้งถิ่นฐานอยู่ที่ริมคลอง หลังจากนั้นก็มีผู้คนอพยพเข้ามาอยู่ ในบริเวณนี้มากขึ้น จึงตั้งเป็น ต�ำบลตาสิทธิ์ ในปัจจุบัน และ
2
ได้จัดตั้งเป็น องค์การบริหารส่วนต�ำบลตาสิทธิ์ เมื่อวัน ที่ 25 พฤษภาคม 2538 ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บลตาสิ ท ธิ์ มีพื้นที่ทั้งหมด ประมาณ 96.33 ตางรางกิโลเมตร แบ่งเขตการปกครองเป็น 4 หมู่บ้าน ประกอบด้วย หมู่ที่ 1 บ้านคลองกร�ำ หมู่ที่ 2 บ้านเขา ระฆัง หมู่ที่ 3 บ้านหนองค้างคาว และหมู่ที่ 4 บ้านเนินส�ำราญ พื้นที่ส่วนใหญ่ของต�ำบลตาสิทธิ์เป็นที่ราบ จึงเหมาะแก่ การท�ำเกษตรกรรม พืชทีป่ ลูกมากทีส่ ดุ ในพืน้ ที่ ได้แก่ ยางพารา สับปะรด และมันส�ำปะหลัง โดยมีพื้นที่ท�ำการเกษตรรวมที่อยู่ อาศัย ประมาณ 75.56 ตารางกิโลเมตร นอกจากนีใ้ นต�ำบลตา สิทธิ์ยังมีพื้นที่อุตสาหกรรม ประมาณ 20.77 ตารางกิโลเมตร โดยมีโรงงานทั้งสิ้น 116 โรง ที่จัดเก็บภาษี
พันธกิจ (Mission) การพัฒนาของ อบต.ตาสิทธิ์ 1. ส่งเสริมการประกอบอาชีพ และการสร้างรายได้ให้กบั ประชาชน 2. ยกระดับคุณภาพการศึกษา พัฒนาสถานศึกษาใน พืน้ ทีใ่ ห้ได้มาตรฐาน ตลอดจนพัฒนาเทคโนโลยีเพือ่ การศึกษา 3. พัฒนาระบบการรักษาพยาบาลให้ได้มาตรฐานและ ทั่วถึง 3. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านสาธารณสุขและสิง่ แวดล้อม 4. ส่งเสริมสุขภาพ และการอนามัยให้กับประชาชน 4. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านสังคมและความมั่นคง 5. พัฒนาระบบสาธารณูปโภค และสาธารณูปการให้ 5. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการบริหารองค์กรและ เพียงพอ เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม 6. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐาน 7. ส่งเสริมการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ตลอดจน รักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่ และวัฒนธรรม จากใจ นายก อบต.ตาสิทธิ์ อันดีของท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนต�ำบลตาสิทธิ์ มุ่งเน้นการพัฒนา ด้านการศึกษา เพราะการศึกษาเป็นการพัฒนาคน เป็นการ ยุทธศาสตร์การพัฒนาของ อบต.ตาสิทธิ์ 1. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านเกษตร และเศรษฐกิจ เตรียมคนให้มีความรู้ เพื่อที่จักได้เติบโตมาพัฒนาท้องถิ่นของ ตนเอง โดยองค์การบริหารส่วนต�ำบลตาสิทธิ์ มีศูนย์พัฒนา ชุมชน 2. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการศึกษา ศาสนา และ เด็กเล็กก่อนวัยเรียน ในเขตความรับผิดขอบ จ�ำนวน 2 ศูนย์ ได้แก่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กก่อนวัยเรียนวัดหนองบอนวิปัสสนา วัฒนธรรม และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กก่อนวัยเรียนคลองกร�ำ นอกจากนี้ องค์การบริหารส่วนต�ำบลตาสิทธิ์ ยังมุง่ เน้น การพัฒนาด้านการเกษตร โดยมีการจัดฝึกอบรมให้ความรูแ้ ก่ เกษตรกรในเรื่องการกรีดยางพารา การติดตายางพารา เพื่อ เป็นการลดต้นทุนในการเกษตรและเพิม่ รายได้ให้แก่เกษตรกร ท้ายนี้ ผมในฐานะของ นายกองค์การบริ ห ารส่ วน ต�ำบลตาสิทธิ์ มีความมุ่งหวังอยากให้สังคมของชาวต�ำบล ตาสิทธิ์ เป็นเมืองน่าอยู่ ที่อุตสาหกรรมก็พัฒนาได้ ควบคู่ ไปกับเกษตรกรรมยังคงอยู่อย่างยั่งยืน คู่กับสังคมตาสิทธิ์ ต่อไปครับ Rayong
3
เส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล
องค์การบริหารส่วนต�ำบลป่ายุบใน
“โครงสร้างพื้นฐานดี มีสังคมแห่งการเรียนรู้ เชิดชูวัฒนธรรม การท่องเที่ยว เชิ ง นิ เ วศน์ เกษตรกรรมก้ า วหน้ า พั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต สร้ า งจิ ต ส� ำ นึ ก รั ก สิ่งแวดล้อม” คือวิสัยทัศน์การพัฒนาของ องค์การบริหารส่วนต�ำ บลป่ายุบ ใน อ.วังจันทร์ จ.ระยอง ดังนั้น นายนิติพัฒน์ ยุทธเจริญกิจ นายกองค์การบริหารส่วน ต�ำบลป่ายุบใน จึงขอน�ำเสนอเรื่องราวของ ศูนย์กสิกรรมสมุนไพรไท เขาขุนอินทร์ ต้นแบบแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรอินทรีย์ และโครงการจัดงานประเพณี วิ่ ง ควาย เพื่อสืบทอดประเพณีและวัฒนธรรมอันดีงามของต�ำบลป่ายุบใน เพื่อให้ สาธารณชนได้รับทราบดังนี้คือ โครงการจัดงานประเพณีวิ่งควายต�ำบลป่ายุบใน ประจ�ำปี 2556 การจัดงานประเพณีวิ่งควาย สืบเนื่องมาจากชนบทไทยในสมัยก่อนนั้นมีอาชีพ หลักคือการท�ำนา ท�ำไร่ ซึ่งต้องใช้แรงงานจากวัวและควาย เมื่อหมดฤดูท�ำงานก็จะ น�ำมาเป็นพาหนะเดินทางไปท�ำบุญตามวัดต่างๆ โดยเฉพาะงานบุญออกพรรษา เมื่อ ชาวบ้านมารวมกันจึงชักชวนให้มกี ารแข่งวิง่ ควาย ซึง่ ประเพณีวงิ่ ควายนีถ้ อื ก�ำเนิดมาจาก จังหวัดชลบุรี ต่อมาชาวบ้านต�ำบลยุบในได้น�ำมาถือปฏิบัติเป็นประเพณีประจ�ำท้องถิ่น โดยก�ำหนดการจัดงานตรงกับวันแรม 6 ค�ำ่ เดือน 11 ของทุกปี และได้รบั ความนิยม แพร่หลายจนเป็นประเพณีที่สืบทอดต่อกันมาจนถึงปัจจุบัน องค์การบริหารส่วนต�ำบลป่ายุบใน ร่วมกับ สภาวัฒนธรรต�ำบลป่ายุบใน ก�ำนัน ผูใ้ หญ่บา้ น หน่วยงาน องค์กรภาคประชาชน และประชาชนชาวต�ำบลป่ายุบใน พร้อมใจ กันจัดให้มี “งานประเพณีวงิ่ ควายครัง้ ที่ 44 ประจ�ำปี 2556” ขึน้ ณ บริเวณตลาดป่ายุบใน โดยมีวัตถุประสงค์การจัดงานดังนี้คือ 2
1. เพื่อเป็นการอนุรักษ์ประเพณีพื้น บ้านทีไ่ ด้ดำ� เนินการสืบมาเนือ่ งเป็นประจ�ำ ทุกปี 2. เพือ่ เป็นการส่งเสริมอาชีพเกษตรกร 3. เพือ่ เป็นการให้ความรูแ้ ก่ประชาชน ในด้านการเกษตรและอื่นๆ 4. เพื่อเป็นการสร้างความสามัคคี ของประชาชนในต� ำ บลและหน่ ว ยงาน ต่างๆ อบต.ป่ายุบใน จึงขอเชิญชวนนัก ท่องเที่ยวมาเที่ยวจังหวัดระยอง และชม ประเพณีวงิ่ ควาย เพือ่ ร่วมสืบสานประเพณี ท้องถิ่นของต�ำบลป่ายุบใน ให้คงอยู่คู่กับ สังคมไทยสืบไป
ศูนย์กสิกรรมสมุนไพรไท เขาขุนอินทร์ ศู น ย์ ก สิ ก รรมสมุ น ไพรไท เขา ขุนอินทร์ ถือก�ำเนิดขึ้นจากภูมิปัญญา ความทุ ่ ม เทและตั้ ง ใจจริ ง ของ นาย ด� ำ รงศั ก ดิ์ ชุ ม แสงพั น ธ์ ปราชญ์ ชาวบ้านผูเ้ ชีย่ วชาญในการรักษาโรคต่างๆ โดยเฉพาะการรักษาพิษงู ด้วยสมุนไพรพืน้ บ้านตามต�ำรับหมอพื้นบ้านเมืองระยอง จนชาวบ้านเรียกกันติดปากว่า หมอกุ บนพื้นที่ 170 ไร่ ของ “ศูนย์กสิกรรม สมุนไพรไท เขาขุนอินทร์” ประกอบด้วย สวนผลไม้ แปลงนาปลูกข้าว แปลงผัก ที่ มีสมุนไพรมากกว่า 600 ชนิดปลูกแซมอยู่ ทั่วไป ตามแบบไร่นาสวนผสม ด้วยระบบ การจัดการที่แบ่งพื้นที่ออกเป็น แหล่งน�้ำ ซึ่งเป็นหัวใจส�ำคัญของการท�ำเกษตร 10 ไร่ แปลงนาปลูกข้าว (ท�ำไว้กิน) สลับกับ ผักหมุนเวียนปลอดสารพิษ 20 ไร่ ที่เหลือ เป็นสวนผลไม้ 70 ไร่ เรียกได้ว่ามีทุกอย่าง อยากกินอะไรก็หากินได้พนื้ ทีไ่ ม่ตอ้ งไปเสีย เงินซื้อ ที่ส�ำคัญยังเอาไปขายสร้างรายได้ เป็นกอบเป็นก�ำให้กับครอบครัว นอกจาก นี้ ที่ ศู น ย์ ก สิ ก รรมสมุ น ไพรไท เขา ขุนอินทร์ ยังเป็นแหล่งเรียนรู้ และแหล่ง รับซื้อพืชผักปลอดสารพิษ และสมุนไพร จากกลุ่มสมาชิกด้วย ปั จ จุ บั น นอกจากอาชี พ หลั ก คื อ เกษตรกรแล้ว หมอกุยังเป็นที่ปรึกษาของ หลายหน่วยงาน เป็นประธานกลุม่ สมุนไพร และการแพทย์ พื้ น บ้ า น เป็ น ประธาน เครือข่ายเกษตรอินทรีย์ และเป็นวิทยากร ถ่ า ยทอดภู มิ ป ั ญ ญาด้ า นสมุ น ไพรแก่ นักเรียน นักศึกษา ประชาชน และบุคคล ทั่ ว ไปที่ ส นใจใฝ่ รู ้ จนได้ รั บ รางวั ล หรื อ ประกาศเกียรติคณ ุ จากหลากหลายองค์กร
มากกว่า 20 รางวัล อาทิ *รางวัลเกษตรกรดีเด่น (สาขาไร่ นาสวนผสม) ระดับจังหวัด และระดับ ภาคตะวันออก จากกรมส่งเสริมการเกษตร *รางวั ล เกษตรกรดี เ ด่ น (สาขา ไร่นาสวนผสม) ระดับประเทศ จากมูลนิธิ จ�ำเนียร สาระนาถ (ธกส. ส�ำนักงานใหญ่) *รับโล่เกียรติยศสิงห์ทอง รางวัล ผู้น�ำอาชีพก้าวหน้าภาคตะวันออก จาก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย *รับโล่ชเู กียรติคณ ุ ผูม้ ผี ลงานดีเด่น ด้ า นวั ฒ นธรรม สาขาภู มิ ป ั ญ ญาชาว บ้าน ด้านการเกษตร จากคณะกรรมการ วัฒนธรรมแห่งชาติ *รับโล่เกียรติยศ สภาวัฒนธรรม จ.ระยอง “คนดีศรีเมืองระยอง” จาก ผู้ว่าราชการจังหวัดระยอง *ได้ รั บ ยกย่ อ งเชิ ด ชู เ กี ย รติ “ครู ภูมิปัญญาไทย ด้านแพทย์แผนไทย” จากส�ำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ *โลห์เกียรติยศ “คนดีศรีเกษตร อินทรีย์” จากชมรมเกษตรอินทรีย์แห่ง ประเทศไทย หมอกุ เ ล่ า ถึ ง สาเหตุ ข องการปรั บ เปลีย่ นสู่วิถีเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตร อินทรีย์ว่า “หลังจากได้รบั ฟังแนวทางเกษตร แบบพอเพียง ตามแนวพระราชด�ำริ ของในหลวง ทีส่ อนให้รจู้ กั อยูอ่ ย่างพอ เพียงพึ่งตนเองก่อน ผมจึงฉุกคิดและ เริ่มเปลี่ยนความคิด และปฏิบัติตาม แนวทางเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตร อินทรีย์ ซึ่งผมคิดว่าเดินมาถูกทางแล้ว ผมพิสูจน์ด้วยเวลาถึง 37 ปี”
การท� ำ เกษตรอิ น ทรี ย ์ ข องหมอกุ จะไม่ ใ ช้ ส ารเคมี เ ลย เป็ น ความรู ้ ทั้ ง กระบวนการตั้ ง แต่ ก ารฟื ้ น ฟู ส ภาพดิ น การบ�ำรุงดิน รู้จักธรรมชาติของพืชผักผล ไม้ที่ปลูก และสามารถจัดระบบอาหาร ที่ ส อดคล้ อ งกั บ ความต้ อ งการของพื ช แต่ละชนิด จึงได้ผลผลิตที่มีคุณภาพ และ ความรู้อีกอย่างหนึ่งคือความรู้สมุนไพร ที่ มี ก ารต่ อ ยอดเพิ่ ม ขึ้ น เรื่ อ ยๆ จากการ คิ ด ค้ น พั ฒ นาสู ต ร ต� ำ รั บ ยาทั้ ง ส� ำ หรั บ คน พืช สัตว์ ซึ่งหมอกุบอกว่า... “สมุนไพรรอบตัวนั้นมีประโยชน์ ถ้าเรารู้จักสรรพคุณหรือรู้จักมันจริงๆ ก็ไม่เห็นจ�ำเป็นต้องพึง่ หมอ ไปหาหมอ มั น แก้ ที่ ป ลายเหตุ ท� ำ ไมเราไม่ รู ้ จั ก ป้องกัน การรู้จักและใช้ประโยชน์จาก สมุนไพรอย่างถูกวิธีจะช่วยให้สุขภาพ ดี เมื่อสุขภาพดีก็ไม่ต้องมีโรคภัยร้าย แรงไปให้หมอรักษาแพงๆ เราควรจะ มาสนใจสมุนไพรและใช้ประโยชน์จาก สมุนไพรกันให้มากๆ เอาให้หมอไม่มี คนไข้รักษาไปเลย นี่สิถึงจะเป็นการ ป้องกันอย่างแท้จริง” ส� ำ หรั บ ผู ้ ส นใจเยี่ ย มชมหรื อ ศึ ก ษา ดู ง าน ศู น ย์ ก สิ ก รรมสมุ น ไพรไท เขาขุ น อิ น ทร์ ของหมอกุ หรื อ นาย ด�ำรงศักดิ์ ชุมแสงพันธ์ สามารถเดิน ทางไปได้ที่ บ้านเลขที่ 99 หมู่ที่ 1 ต�ำบล ป่ายุบใน อ�ำเภอวังจันทร์ จังหวัดระยอง โทรศัพท์ 081-983-8189 องค์การบริหารส่วนต�ำบลป่ายุบใน เลขที่ 9/9 หมู่ 5 ต.ป่ายุบใน อ.วังจันทร์ จ.ระยอง โทร. 038 666795-97 เบอร์ตดิ ต่อ นายกฯ โทร. 081 864 8808 Rayong
3
เส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล
ล บ ำ � ต น ว ่ ส ร า ห ิ องค์การบร
ชุมแสง
นายสมศักดิ์ อริยสัจ ต�ำแหน่งรองนายกองค์การบริหารส่วนต�ำบล รักษา ราชการแทนนายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลชุมแสง โดยมีวสิ ยั ทัศน์การพัฒนา คือ “มุง่ มัน่ สูค่ วามเป็นเลิศในการบริหารจัดการ ยึดหลักธรรมาภิบาล เป็น องค์กรแห่งการเรียนรู้ เพื่อความผาสุกของประชาชน”
จุดเด่นของพื้นที่ ๑. ท� ำ เลที่ ตั้ ง มี ท างหลวงหมายเลข ๓๔๔ (ถนน บ้านบึง-แกลง) ตัดผ่านท�ำให้สะดวกในการเดินทางระหว่าง กรุ ง เทพมหานครกั บ ภาคตะวั น ออก และท� ำ ให้ ก าร ขนส่ ง ผลิ ต ผลทางการเกษตรได้ ส ะดวกยิ่ ง ขึ้ น และเป็ น ศูนย์กลางเชื่อมโยงแหล่งท่องเที่ยวในภาคตะวันออก ๒. ด้านแหล่งน�้ำ มีโครงการก่อสร้างอ่างเก็บน�้ำประแสร์ ซึง่ เป็นโครงการขนาดใหญ่ ความจุนำ�้ ประมาณ ๒๔๘.๓๐ ล้าน ลูกบาศก์เมตร เป็นแหล่งน�้ำที่ส�ำคัญ และสามารถพัฒนาเป็น แหล่งท่องเที่ยวได้เป็นอย่างดี ๓. เป็นที่ตั้งของโรงเรียนพออยู่พอกิน ตั้งอยู่หมู่ที่ ๖ บ้านแก่งหวาย อ�ำเภอวังจันทร์ จังหวัดระยอง ๔. สภาพภู มิ ป ระเทศอุ ด มสมบู ร ณ์ ไ ปด้ ว ยป่ า ไม้ แ ละ แหล่งน�้ำและภูมิอากาศเหมาะแก่การเพาะปลูกผลไม้ เช่น 2
ทุเรียน, เงาะ, มังคุด โดยเฉพาะทุเรียนซึ่งถือว่ามีคุณภาพดีอีก แห่งหนึ่งของจังหวัดระยอง และท�ำสวนยางพารา ซึ่งเป็นที่มา ของรายได้หลักของประชาชนในต�ำบล และพื้นที่เหมาะเป็น อย่างยิ่งที่จะส่งเสริมให้มีการจัดท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ๕. มี ก ลุ ่ ม วิ ส าหกิ จ ชุ ม ชนเห็ ด นางฟ้ า ตั้ ง อยู ่ ห มู ่ ที่ ๓ บ้านคลองไผ่ อ�ำเภอวังจันทร์ จังหวัดระยอง ๖. เป็ น ที่ ตั้ ง ของพิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ พื้ น บ้ า นต� ำ บลชุ ม แสง ส่งเสริมการมีสว่ นร่วมของประชาชนในการอนุรกั ษ์และสืบสาน คุ ณ ค่ า มรดกวั ฒ นธรรมของต� ำ บลชุ ม แสง ตั้ ง อยู ่ ห มู ่ ที่ ๓ บ้านคลองไผ่ อ�ำเภอวังจันทร์ จังหวัดระยอง ๗. เป็นที่ตั้งตลาดกลางยางพาราภาคตะวันออก ซื้อขาย ยางพาราระดับภาค ตัง้ อยูห่ มูท่ ี่ ๒ บ้านสันติสขุ อ�ำเภอวังจันทร์ จังหวัดระยอง
มีโครงการก่อสร้างโรงเรียนพออยู่พอกิน ณ บริเวณอ่างเก็บน�้ำ ประแสร์ หมู่ที่ ๖ บ้านแก่งหวาย อ�ำเภอวังจันทร์ จังหวัดระยอง ประกอบ ด้วย อาคารศูนย์การเรียนรู้โรงเรียนพออยู่พอกิน อาคารสัมมนา อาคาร ศูนย์ฝึกอาชีพ อาคารรับรอง อาคารสวัสดิการฯลฯ มีวัตถุประสงค์เพื่อ เป็ น แหล่ ง เรี ย นรู ้ แ ละขยายผลโครงการอั น เนื่ อ งมาจากพระราชด� ำ ริ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ณ บริเวณริมอ่างเก็บน�้ำประแสร์ มี ก ารจั ด งานประเพณี ล อยกระทงเป็ น ประจ�ำทุกปี กิจกรรมภายในงานประกอบ ด้วย การแข่งเรือท้องถิ่น แข่งขันสามล้อ พ่วงข้าง แข่งมอเตอร์ไซวิบาก การประกวด นางนพมาศ การประกวดกระทง ฯลฯ
กลุ่มวิสาหกิจชุมชนเห็ดนางฟ้า ตั้งอยู่ที่บา้ นคลองไผ่ หมูท่ ี่ ๓ บ้านคลองไผ่ ต�ำบลชุมแสง อ�ำเภอวังจันทร์ จังหวัด ระยอง มีนางบุญตา บุรุษวยากรณ์ เป็นประธานกลุ่มใน การฝึกอบรมอาชีพให้กับผู้เสพ/ผู้ผ่านการบ�ำบัดยาเสพ ติด, กลุ่มนักศึกษา กศน.อ�ำเภอวังจันทร์, กลุ่มสตรี, กลุ่ม แม่บ้าน รวมทั้งกลุ่มเครือข่ายต�ำบลใกล้เคียงเป็นแหล่ง ศึกษาดูงานที่ส�ำคัญของต�ำบลชุมแสง Rayong
3
เส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล
ต�ำบลพนานิคม เป็นต�ำบลที่แยกออกมาจากต�ำบล มาบข่า ประชากรส่วนใหญ่อพยพมาจากจังหวัดฉะเชิงเทรา เข้ามาจับจองที่ดินท�ำกินของนิคมสร้างตนเอง จังหวัดระยอง เมือ่ ราว 30-40 ปีทผี่ า่ นมา ต่อมาเมือ่ มีการพัฒนาขึน้ ของชุมชน นิคมสร้างตนเองจึงถูกลดบทบาทในการดูแลลง โดยแบ่งเขต การรับผิดชอบประชาชน เป็นเขตองค์การบริหารส่วนต�ำบล พนานิคม ขึ้นกับอ�ำเภอนิคมพัฒนา จ.ระยอง ปัจจุบันมี นายไพศาล อู่เจริญ ด�ำรงต�ำแหน่ง นายกองค์การบริหาร ส่วนต�ำบลพนานิคม
ข้อมูลทั่วไป องค์การบริหารส่วนต�ำบลพนานิคม ตั้งอยู่เลขที่ 90 ถนนทางหลวงหมายเลข 3375 (สาย 13) หมูท่ ี่ ต�ำบลพนานิคม อ�ำเภอนิคมพัฒนา จังหวัดระยอง มีเนือ้ ทีป่ ระมาณ 53 ตาราง กิโลเมตร ประกอบด้วยหมู่บ้านจ�ำนวน 8 หมู่ มีประชากรทั้ง สิ้น 6,944 คน แยกเป็นชาย 3,0405 คน และหญิง 3539 คน (ข้อมูลจาก ส�ำนักงานบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง (อ�ำเภอนิคมพัฒนา) ณ เดือน มิถนุ ายน พ.ศ. 2556) ประชากร ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ได้แก่ ปลูกสับปะรด ปลูก ยางพารา ปลูกมันส�ำปะหลัง การประมงน�้ำจืด เลี้ยงสัตว์ ฯลฯ วิสัยทัศน์ขององค์การบริหารส่วนต�ำบลพนานิคม ต� ำ บลพนานิ ค มมุ ่ ง สู ่ ก ารเป็ น ต� ำ บลที่ ค นมี ก ารพั ฒ นา ประชาชนมี คุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ ดี อยู ่ ร ่ ว มกั น อย่ า งเกื้ อ กู ล สิ่ ง แวดล้ อ มดี และมี ร ะบบการบริ ห ารจั ด การภายใต้ ห ลั ก ธรรมาภิบาล
2
พันธกิจ 1. การพัฒนาศักยภาพของคนและชุมชนให้เข้มแข็ง 2. การพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม และด�ำรงไว้ซงึ่ วัฒนธรรม และ ประเพณีอันดีงาม 3. การพัฒนาระบบคมนาคมขนส่ง โครงสร้างพื้นฐาน และ สาธารณูปโภคที่มีประสิทธิภาพ 4. เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างมี คุณภาพ 5. การพัฒนาให้มีแหล่งท่องเที่ยวในพื้นที่ให้มีมาตรฐาน และ การเชื่อมโยงเครือข่ายการท่องเที่ยวของจังหวัดระยอง 6. การพัฒนาระบบการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล ยกระดับคุณภาพชีวิต เพื่อการอยู่ดีมีสุข องค์การบริหารส่วนตําบลพนานิคม ได้ดำ� เนินโครงการ และกิจกรรมมากมาย เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของชาว ต�ำบลพนานิคม ดังนี้ กิจกรรม 1 ต้น 1 ชีวิต (ภายใต้โครงการพระมหาชนก) กิจกรรมรดน�้ำด�ำหัวผู้สูงอายุ ในวันสงกรานต์ กิจกรรม วันแม่ ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กต�ำบลพนานิคม กิจกรรม อบรมพัฒนาจิตพิชิตยาเสพติด ภายใต้โครงการป้องกัน และแก้ ไ ขปั ญ หายาเสพติ ด เพื่ อ ให้ เ ยาวชนในต� ำ บลพนา นิคมใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ กิจกรรมการฝึกอบรม และทัศนศึกษาดูงานด้านสมุนไพรไทย ภายใต้โครงการ พัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขมูลฐานประจ�ำหมูบ่ า้ น ณ จังหวัดปราจีนบุรี จังหวัดนครนายก กิจกรรมฝึกอบรม อาชีพ หลักสูตรการเดินไฟในอาคาร สิงหาคม 2556 กิจกรรม
อบรมเพิ่มพูนความรู้ โครงการ TO BE NUMBER ONE ภายใต้ โ ครงการรณรงค์ แ ละป้ อ งกั น และแก้ ไ ขปั ญ หายา เสพติ ด โครงการส่ ง เสริ ม และรั ก ษาสิ่ ง แวดล้ อ มฯ ณ สวนสาธารณะ หมู่บ้านพรภิรมย์ กิจกรรมปล่อยพันธุ์ปลา ลงสู่แหล่งน�้ำ กันยายน 2556 กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น องค์การ บริหารส่วนต�ำบลพนานิคม ได้ดำ� เนินโครงการต่างๆ มากมาย อาทิ โครงการกองทุ น ต� ำ บลนมแม่ ฯ ต� ำ บลพนานิ ค ม โครงการส่งเสริมชมรมผู้สูงอายุสุขภาพดี มีมาตรฐาน ประจ�ำปี 2556 ส่งเสริมกิจกรรมการออกก�ำลังกาย ส�ำหรับ ประชาชนในต�ำบลพนานิคม กิจกรรมรณรงค์ป้องกันและ ควบคุมโรคไข้เลือดออก ประจ�ำปี 2556 โครงการรณรงค์ ฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ประจ�ำปี 2556 โครงการ กิจกรรมตั้งด่านค้นหาผู้เสพยาเสพติดและเฝ้าระวังใน พืน้ ทีต่ ำ� บลพนานิคม ภายใต้โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหา ยาเสพติด เพื่อดูแลประชาชนในต�ำบลพนานิคมให้ปลอดจาก ยาเสพติด กิจกรรมอบรมยุวทูตนมแม่ในสถานศึกษา ภาย ใต้โครงการต�ำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัวต�ำบล พนานิคม โครงการพัฒนาระบบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ผู้พิการทางการเคลื่อนไหว โดยให้ความรู้ สิทธิประโยชน์ ของผู้พิการตลอดจนให้ความรู้ทักษะผู้ดูแลผู้พิการ ในต�ำบล พนานิคม วันที่ 6 สิงหาคม 2556 ณ โรงพยาบาลนิคมพัฒนา กิจกรรมการแลกเปลีย่ นเรียนรู้ โรงเรียน ปู่ ย่า ตา ยาย โดยตั ว แทนผู ้ สู ง อายุ ใ นต� ำ บลพนานิ ค ม มาแลกเปลี่ ย น ประสบการณ์ และถ่ายทอดภูมิปัญญาชาวบ้าน ในการเลี้ยง ลูก วันที่ 7 สิงหาคม 2556 เป็นต้น
Rayong
3
เส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล
องค์การบริหารส่วนต�ำบล
เขาน้อย
องค์การบริหารส่วนต�ำบลเขาน้อย อ�ำเภอเขาชะเมา จั ง หวั ด ระยอง มี ส� ำ นั ก งานตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 57 หมู ่ 3 ถนน ทรัพย์แสน่-คลองยาง ต�ำบลเขาน้อย อ�ำเภอเขาชะเมา จังหวัด ระยอง มีระยะทางห่างจากทีว่ า่ การอ�ำเภอเขาชะเมาประมาณ 25 กิโลเมตร ปัจจุบันมี นายสุรเดช ตะเพียรทอง เป็น นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลเขาน้อย หลั ง จากได้ รั บ ความไว้ ว างใจจากชาวต� ำ บลเขาน้ อ ย ให้ดำ� รงต�ำแหน่ง นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลเขาน้อย นายสุรเดช ตะเพียรทอง ก็ได้แถลงนโยบายต่อสภาองค์การ บริหารส่วนต�ำบลเขาน้อย ซึ่งส่วนหนึ่งของค�ำแถลงระบุว่า ...จะน�ำการบริหารงานมาประยุกต์ใช้ตามความเหมาะสม ด้วยความโปร่งใส เป็นธรรม ตรวจสอบได้ มีการวางแผน การพั ฒ นาองค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บลที่ ดี ภายใต้ กระบวนการท�ำงานร่วมกันในการก�ำหนดทิศทางการ บริหารจากทุกภาคส่วนราชการ องค์กรเอกชน และ ภาคประชาชนในลักษณะร่วมคิดร่วมท�ำ เพื่อตอบ สนองและแก้ไขปัญหาความต้องการของประชาชนได้ อย่างถูกต้องและยั่งยืน.. 2
“การก� ำ หนดนโยบายในการบริ ห ารงานองค์ ก าร บริ ห ารส่ ว นต� ำ บลเขาน้ อ ย กระผมได้ น� ำ ปั ญ หาและ ความต้องการของพี่น้องประชาชนในพื้นที่ ประกอบกับ ปัญหาทีเ่ กิดจากสภาพแวดล้อมในชุมชน ตลอดจนกรอบ ของกฎหมายภายใต้บทบาท ภารกิจ อ�ำนาจหน้าที่ของ อบต. มาเป็นแนวทางในการก�ำหนดนโยบายในการบริหาร และพัฒนาต�ำบลเขาน้อย เพื่อให้สามารถแก้ไขปัญหา ความต้องการของประชาชนได้ตรงจุด และครอบคลุม ภารกิจอ�ำนาจหน้าทีข่ องอบต.ทัง้ หมด จึงก�ำหนดนโยบาย ในการบริหารงาน 6 ด้าน...”
วิสัยทัศน์ขององค์การบริหารส่วนต�ำบลเขาน้อย ประชาชนได้รับการยกระดับคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้น ครบ ทุกด้าน 6 นโยบาย เพื่อต�ำบลเขาน้อยก้าวหน้า นายสุรเดช ตะเพียรทอง ได้แถลงนโยบายการพัฒนา ต�ำบลเขาน้อย ได้อย่างครอบคลุมทั้ง 6 ด้าน ดังนี้คือ 1. นโยบายด้านโครงสร้างพื้นฐาน 2. นโยบายด้านการพัฒนาสังคม และส่งเสริมคุณภาพ ชีวิต 3. นโยบายด้านการศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม และกีฬา 4. น โยบายด้ า นการพั ฒ นาทรั พ ยากรธรรมชาติ สิ่ ง แวดล้อม และการท่องเที่ยว 5. นโยบายด้านการพัฒนาเศรษฐกิจ 6. นโยบายด้านการพัฒนาการเมืองและการบริหาร ผลงานแห่งความภาคภูมิใจ ตามพระราชบัญญัติสภาต�ำบลและองค์การบริหารส่วน ต�ำบล พ.ศ.2537 แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 6) พ.ศ.2552 มาตรา 67 ก�ำหนดให้องค์การบริหารส่วนต�ำบลมีหน้าที่ต้อง ท�ำในเขตองค์การบริหารส่วนต�ำบล ดังต่อไปนี้ ข้อ (2) รักษา ความสะอาดของถนน ทางเดิน และที่สาธารณะ รวมทั้งก�ำจัด มูลฝอยและสิ่งปฏิกูล ข้อ (3) ป้องกันโรคและระงับโรคติดต่อ ข้อ (7) คุ้มครอง ดูแลและบ�ำรุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและ สิง่ แวดล้อม ประกอบนโยบายของผูบ้ ริหารทีแ่ ถลงไว้ตอ่ สภาฯ ตามโยบายแก้ไขปัญหาขยะ จัดให้มีระบบก�ำจัดขยะอย่างมี ประสิทธิภาพ ได้ก�ำหนดเป็นวาระเร่งด่วนที่จะแก้ไขปัญหาให้ กับประชาชน
จากการท�ำประชาพิจารณ์ เกี่ ย วกั บ บ่ อ ขยะ ในวั น ที่ 14 มกราคม 2556 และการจัดท�ำ โครงการประชาคมเพื่ อ รองรั บ ฟังความคิดเห็นของประชาชน ต่อการบริหารจัดการขยะมูลฝอย ขององค์การบริหารส่วนต�ำบลเขาน้อย ในวันที่ 25 มกราคม 2556 ประชาชนส่วนมากเห็นด้วยเกี่ยวกับการที่จะบริหาร จัดการขยะมูลฝอยในเขตองค์การบริหารส่วนต�ำบลเขาน้อย ระยะเวลาเพียงแค่ไม่ถึงปีที่ นายสุรเดช ตะเพียรทอง เข้าด�ำรงต�ำแหน่ง นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลเขาน้อย ท่ า นได้ เ ร่ ง ด� ำ เนิ น งานเพื่ อ ให้ ต� ำ บลเขาน้ อ ย ปลอดจาก ขยะมูลฝอย จึงได้จดั ท�ำ โครงการบริหารจัดการขยะมูลฝอย เพื่อจัดหาที่ทิ้งขยะจ�ำนวน 15 ไร่ จัดหารถบรรทุกขยะขนาด 6 ล้อ 6 ตัน จ�ำนวน 1 คัน พร้อมถังรองรับขยะมูลฝอย จ�ำนวน 500 ใบ และบุคลากรส�ำหรับใช้ในการจัดเก็บขยะ ซึง่ ในปัจจุบนั องค์การบริหารส่วนต�ำบลเขาน้อย มีหน่วยงานส�ำหรับจัดเก็บ ขยะมูลฝอยในเขตพื้นที่อย่างเป็นทางการ ท�ำให้คุณภาพชีวิต ของประชาชนในเขตพื้นที่ต�ำบลเขาน้อยดีขึ้นอย่างเห็นได้ชัด ต�ำบลเขาน้อยก้าวไกล หากทุกฝ่ายร่วมใจพัฒนา ผมต้องกราบขอบคุณพ่อแม่-พี่น้อง ประชาชนต�ำบล เขาน้อย อ�ำเภอเขาชะเมา ที่มอบความไว้วางใจให้ผมมาดูแล ทุกข์สุขของท่าน ซึ่งผมตั้งใจและปฏิบัติหน้าที่ในการแก้ไข ปัญหาในพื้นที่ต�ำบลเขาน้อยอย่างเต็มก�ำลังความสามารถ แต่การพัฒนาต�ำบลเขาน้อยนัน้ จะเกิดประโยชน์สมบูรณ์ไม่ได้ หากไม่ได้รับความร่วมมือจากทุกฝ่าย ทัง้ ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน ดังนั้น ผมขอความร่วมมือจากทุกฝ่ายใน การช่ ว ยกั น ส่ ง เสริ ม และพั ฒ นาต� ำ บล เขาน้อยของเรา ให้มีความเจริญอย่าง ยั่งยืนต่อไป ขอบคุณครับ Rayong
3
เส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล
องค์การบริหารส่วนต�ำบลเขาชะเมา
“ต�ำบลห้วยทับมอญเป็นต�ำบล เข้ ม แข็ ง เป็ น ศู น ย์ ก ลางการผลิ ต ทางการเกษตร ประชาชนมีคุณภาพ ชีวิตที่ดี บริหารงานตามหลักธรรมาภิ บ าล” คื อ วิ สั ย ทั ศ น์ ข อง องค์ ก าร บริ ห ารส่ ว นต� ำ บลเขาชะเมา ซึ่ ง มี ส�ำนักงานตั้งอยู่เลขที่ 242 หมู่ 2 ต�ำบล ห้วยทับมอญ อ�ำเภอเขาชะเมา จังหวัด ระยอง องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บล เขาชะเมา เดิมชื่อ องค์การบริหารส่วน ต�ำบลห้วยทับมอญ และได้เปลี่ยนชื่อ ตามประกาศราชกิจจานุเบกษา เล่ม 130 ตอนพิเศษ 149 ง เมือ่ วันที่ 4 พฤศจิกายน 2556 และประกาศกระทรวงมหาดไทย เมื่อวันที่ 19 กันยายน 2556 ปัจจุบันมี นายสมพร พันธ์เฉลิมชัย เป็น นายก องค์การบริหารส่วนต�ำบลเขาชะเมา ผู ้ ซึ่ ง ยึ ด แนวทางการบริ ห ารงานว่ า “บริ การเข้าถึ ง ประชาชน มีปัญ หา ร่วมกันแก้ไข ป้องกันทุกสาธารณภัย ใส่ใจงานบริการประชานชน” 2
ผลการด� ำ เนิ น งานที่ โ ดดเด่ น ของ อบต.เขาชะเมา *การประชุมสภาองค์การบริหาร ส่วนต�ำบลเขาชะเมา สมัยสามัญ และ สมัยวิสามัญ *ร่วมงาน “วันแม่แห่งชาติมหา ราชินี” โดย อบต.เขาชะเมา ร่วมกับ อ�ำเภอเขาชะเมาและหน่วยงานอื่นๆ ถวายพานพุ่มดอกมะลิ และจุดเทียนชัย ถวายพระพร ใน สมเด็จพระนางเจ้า พระบรมราชินีนาถ วันที่ 12 สิงหาคม 2556 ณ ที่ ว ่ า การอ� ำ เภอเขาชะเมา และ นายก อบต.เขาชะเมา ได้น�ำทีม ข้าราชการ และพนักงาน เจ้าหน้าที่ ร่วม กันปลูกต้นไม้ถวายแด่แม่ของแผ่นดิน ณ บริเวณเขตพื้นที่ต�ำบลห้วยทับมอญ *โครงการจั ด ตั้ ง สภาเด็ ก และ เยาวชนระดับอ�ำเภอ จังหวัดระยอง โดย อบต.เขาชะเมา ได้จัดส่งตัวแทน เด็ ก และเยาวชนโรงเรี ย นเขาชะเมา วิทยา เข้าร่วมประชุมโครงการจัดตั้ง
สภาเด็ ก และเยาวชนระดั บ อ� ำ เภอ จั ง หวั ด ระยอง ระหว่า งวั น ที่ 23-24 สิงหาคม 2556 เพื่อเข้ารับการคัดเลือก ประธาน และผู ้ บ ริ ห ารสภาเด็ ก และ เยาวชนอ�ำเภอ/ จังหวัด *ปลูกป่า ๘๐๐ ร้อยล้านกล้า ๘๐ พรรษามหาราชินี เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าฯ ระยะที่ 2 โดย นายก อบต.เขาชะเมา พร้อมด้วย สมาชิ ก สภา อบต.เขาชะเมา ก� ำ นั น ผู้ใหญ่บ้าน และประชาชน เข้าร่วมปลูก ป่า 800 ร้อยล้านกล้า 80 พรรษามหา ราชินี เมื่อวันที่ 25 กันยายน 2556 ณ บริเวณหลังวัดห้วยทับมอญ *งานเยาวชนจังหวัดระยอง ปี 2556 อบต.เขาชะเมา เห็นความส�ำคัญ ของเยาวชนในการมี ส ่ ว นร่ ว มพั ฒ นา สังคม จึงน�ำผู้แทนสภาเด็กและเยาวชน ระดั บ ต� ำ บลในพื้ น ที่ อ� ำ เภอเขาชะเมา เข้าร่วมงานเยาวชนจังหวัดระยอง วันที่ 30 กันยายน 2556
*โครงการส่ ง เสริ ม พั ฒ นาการ เด็ ก ปฐมวั ย ประจ� ำ ปี ง บประมาณ 2557 ณ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กห้วยทับ มอญ หมู่ 2 ต�ำบลห้วยทับมอญ เมื่อวัน ที่ 10 ตุลาคม 2556 โดยมี นางสาวพิมพ์ นารา วารีรักษ์นุกูล ปลัด อบต.เขา ชะเมา กล่าวรายงานวัตถุประสงค์ และ นายสมพร พันธ์เฉลิมชัย เปิดกล่าว โครงการ โดยมีการสัมมนาให้ความรู้ใน การเลีย้ งดูเด็กปฐมวัยแก่ผปู้ กครองด้วย *โครงการจัดงานตักบาตรเทโว โรหนะ เนื่องในเทศกาลออกพรรษา ประจ�ำปี 2556 โดย อบต.เขาชะเมา ร่ ว มกั บ อ� ำ เภอเขาชะเมา จั ด งาน ตักบาตรเทโวโรหนะ โดยมีการแสดง ชุดโปงลางเข้าร่วมขบวน การตักบาตร ข้าวสารอาหารแห้ง และได้น� ำอาหาร มาเลี้ ย งให้ กั บ ประชาชนที่ เ ข้ า มาร่ ว ม งานนี้ด้วย *โครงการจัดฝึกอบรมและศึกษา ดูงานให้กับเกษตรกรในต�ำบลห้วยทับมอญ ประจ�ำปีงบประมาณ 2557 โดย อบต.เขาชะเมา ได้น�ำผู้เข้ารับ การอบรมโดยการน�ำของนายวิ วั ฒ น์
ชืน่ อุดม ประธานสภา อบต.เขาชะเมา ไปศึกษาดูงานนิทรรศการ และเสวนา โครงการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้าน คมนาคมขนส่งของประเทศ ภายใต้ชื่อ งาน “สร้างอนาคตไทย 2020” ในวันที่ 16-17 ตุลาคม 2556 *งานวันปิยะมหาราช ในวันพุธ ที่ 23 ตุลาคม 2556 โดย อบต.เขาชะเมา ได้ร่วมพิธีวางพวงมาลาในงาน พิธวี นั ปิยะมหาราช ณ หอประชุมอ�ำเภอ เขาชะเมาจังหวัดระยอง *ช่วยเหลือผูป้ ระสบภัยพิบตั จิ าก ช้างป่า โดย อบต.เขาชะเมา เข้าตรวจ สอบพื้นที่หมู่ที่ 4 ต�ำบลห้วยทับมอญ เพื่ อ ช่ ว ยเหลื อ ผู ้ ป ระสบภั ย พิ บั ติ ก รณี ฉุกเฉิน เนื่องจากมีช้างป่าจ�ำนวนหลาย เชื อ กลงมาหากิ น และลงมาท� ำ ลาย พื ช ผลทางการเกษตรเสี ย หายเป็ น จ�ำนวนมาก ประชาสัมพันธ์ อบต.เขาชะเมา อบต.เขาชะเมา ขอเชิญชวนให้ ผู ้ ที่ เ กิ ด ก่ อ น 1 ตุ ล าคม 2497 หรื อ ผู้มีอายุครบ 60 ปีบริบูรณ์ และผู้พิการ ที่ มี ภู มิ ล� ำ เนาในเขตพื้ น ที่ ให้ ไ ปลง
ทะเบียนเพื่อแสดงความจ�ำนงขอรับเงิน เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ และเบี้ยคนพิการ ตั้ ง แต่ วั น ที่ 1-30 พฤศจิ ก ายน 2556 นี้ สอบถามรายละเอียดเพิ่ม เติ ม ได้ ที่ งานสวัสดิการและพัฒนาชุมชน อบต. เขาชะเมา โทร. 038-996030
Rayong
3
เส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล
องค์การบริหารส่วนต�ำบลน�ำ้ เป็น
“คิดสร้างสรรค์ มุ่งมั่นพัฒนา เพื่อความก้าวหน้า ของต�ำบลน�้ำเป็น” องค์การบริหารส่วนต�ำบลน�้ำเป็น ซึ่งตั้งอยู่เลขที่ 342 ถนนเขาดิน-สี่แยกพัฒนา หมู่ที่ 1 ต�ำบลน�้ำเป็น อ�ำเภอเขาชะเมา จังหวัดระยอง ปัจจุบันมี นางกรรัตน์ ยั่งยืน เป็น นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลน�้ำเป็น องค์การบริหารส่วนต�ำบลน�้ำเป็น มีเนื้อที่ 53 ตร.กม. หรือ 41,327.50 ไร่ แบ่ง เขตการปกครองเป็น 7 หมู่บ้าน โดยพื้นที่ส่วนใหญ่ของต�ำบลน�้ำเป็น มีลักษณะเป็น ที่ราบเชิงเขา และมีเนินลูกคลื่นสลับสูงต�่ำ มีเนินเขาตั้งกระจายตัวอยู่ทั่วไป และมี ล�ำคลองไหลผ่าน สภาพดินเป็นดินร่วนระบายน�้ำได้ดี จึงเหมาะแก่การท�ำเกษตรกรรม โดยเฉพาะสวนผลไม้ อาทิ เงาะ ทุเรียน มังคุด ลองกอง
2. ยุ ท ธศาสตร์ ก ารพั ฒ นาด้ า น วิสัยทัศน์การพัฒนา “ถิ่นอุทยานแห่งชาติเขาชะเมา งาม เศรษฐกิจชุมชนและอาชีพ ล�้ำสภาพแวดล้อม ฟูเฟื่องเมืองผลไม้ 2.1 พั ฒ นา ฝึ ก อบรมและส่ ง เสริ ม ครอบครัวอยู่ดีกินดี ทุกชีวีใฝ่คุณธรรม อาชีพให้แก่ประชาชน บริหารจัดการโปร่งใส” 2.2 พั ฒ นาความเข้ ม แข็ ง ของกลุ ่ ม อาชีพในต�ำบล ยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนา 3. ยุ ท ธศาสตร์ ก ารพั ฒ นาด้ า น องค์การบริหารส่วนต�ำบลน�้ำเป็น สาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม มียุทธศาสตร์การพัฒนา 7 ด้าน และ 3.1 สนั บ สนุ น ให้ ชุ ม ชนมี ส ่ ว นร่ ว ม มีแนวทางการพัฒนา ดังต่อไปนี้ ในการดู แ ลรั ก ษาและบริ ห ารจั ด การ 1. ยุ ท ธศาสตร์ ก ารพั ฒ นาด้ า น ทรัพยากรสิ่งแวดล้อม โครงสร้างพื้นฐาน 3.2 ส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชน 1.1 ก่ อ สร้ า ง ปรั บ ปรุ ง บ� ำ รุ ง รั ก ษา เสริมสร้างสุขภาพด้วยการออกก�ำลังกาย เส้นทางคมนาคมระหว่างหมู่บ้าน ต�ำบล 3.3 ควบคุมและป้องกันยมลพิษและ 1.2 พัฒนาและขยายเขตไฟฟ้า ติดตัง้ ขยะมูลฝอย ไฟฟ้าให้แสงสว่างตามถนนที่มีทางแยก 3.4 การควบคุมและป้องกันโรคและ ทางโค้ง และ ริมทางสาธารณะ ภัยสุขภาพ 4. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการ 1.3 ปรับปรุงและพัฒนาแหล่งน�้ำ ขุด ลอกสระ ทางระบายน�้ำให้มีคุณภาพและ ศึกษา เพียงพอต่อความต้องการของประชาชน 4.1 พัฒนาและปรับปรุงสถานศึกษา 1.4 ส่ ง เสริ ม พั ฒ นาและปรั บ ปรุ ง 4.2 สนับสนุนและส่งเสริมการศึกษา ระบบประปาให้ มี คุ ณ ภาพ ทั่ ว ถึ ง ทุ ก ทั้งในระบบและนอกระบบ หมู่บ้าน 2
4.3 บริการข้อมูลสารสนเทศทีท่ นั สมัย ในท้องถิ่น 5. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านสังคม วัฒนธรรมและชุมชน 5.1 ส่งเสริมและอนุรักษ์วัฒนธรรม ประเพณีท้องถิ่น 5.2 ส นั บ สนุ น และส่ ง เสริมการดูแ ล ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินและ การ บรรเทาสาธารณภัย 5.3 การสวัสดิการสังคม 5.4 ส่ ง เสริ ม การป้ อ งกั น และแก้ ไ ข ปัญหายาเสพติด 5.5 ส่ ง เสริ ม ให้ ป ระชาชนมี ค วามรู ้ ความเข้าใจในการปกครองตามระบอบ ประชาธิปไตย 6. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการ บริหารจัดการองค์กร 6.1 พัฒนาองค์กรตามหลักธรรมาภิบาล 6.2 ก ารส่ ง เสริ ม จริ ย ธรรมและการ พัฒนาศักยภาพบุคลากร 6.3 สง่ เสริมและพัฒนาศักยภาพของ องค์กร
7. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการท่องเที่ยว 7.1 พัฒนาและสนับสนุนการท่องเที่ยว ผลการด�ำเนินงานในรอบปีที่ผ่านมา องค์การบริหารส่วนต� ำบลน�้ำเป็น ได้ด�ำเนินกิจกรรมต่างๆ มากมาย อาทิ จัดงานผลไม้อ�ำเภอเขาชะเมา ร่วมกับ อ�ำเภอเขาชะเมา โครงการแจกผ้าห่ม กันหนาว ให้กับผู้ยากจน และผู้ด้อยโอกาสในต�ำบลน�้ำเป็น โครงการบัณฑิตน้อย ของนักเรียน ศพด.น�้ำเป็น พิธีมอบประกาศนียบัตรแก่บัณฑิตน้อยที่จบหลักสูตร ระดับชัน้ เตรียมอนุบาล จ�ำนวน 55 คน โครงการจัดงานวันผูส้ งู อายุ ณ อบต.น�ำ้ เป็น โครงการประเพณีเข้าพรรษา น�ำเทียนพรรษาไปถวายวัดในเขตต�ำบลน�้ำเป็นและ ต�ำบลใกล้เคียง โครงการแข่งขันกีฬาต�ำบลน�้ำเป็น ครั้งที่ 15 ณ สนามกีฬาต�ำบล น�ำ้ เป็น โครงการวันแม่แห่งชาติ มอบประกาศนียบัตรให้กบั แม่ดเี ด่นของแต่ละหมูบ่ า้ น โครงการวันพ่อแห่งชาติ มอบประกาศนียบัตรให้กับพ่อดีเด่นของแต่ละหมู่บ้าน อบต.น�ำ้ เป็นชวนเที่ยว การท่ อ งเที่ ย วในต� ำ บลน�้ ำ เป็ น จะเป็ น การท่ อ งเที่ ย วเชิ ง อนุ รั ก ษ์ เนื่ อ งจากมี ทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ และเป็นแหล่งก�ำเนิดต้นน�้ำล�ำธาร มีสัตว์ป่าชุกชุม บ� ำ เพ็ ญ บุ ญ ของพุ ท ธบริ ษั ท ฯ และเป็ น และมีธรรมชาติทสี่ วยงาม เช่น น�ำ้ ตก หน้าผา ถ�ำ้ ทิวทัศน์ตามธรรมชาติทงี่ ดงาม สภาพ สถานที่ปฏิบัติธรรมของวัด บรรยากาศ ภูมอิ ากาศและภูมปิ ระเทศทีเ่ หมาะสม สามารถท่องเทีย่ วได้ตลอดทัง้ ปี แหล่งท่องเทีย่ ว ร่มรื่น เงียบ สงบ เหมาะส�ำหรับผู้ที่ชอบ ที่สำ� คัญของต�ำบลน�้ำเป็น ได้แก่ เข้าวัดปฏิบัติธรรม แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ แวะชิม แวะเที่ยวสวนผลไม้ อุทยานแห่งชาติเขาชะเมา-เขาวง ประกอบไปด้วย น�ำ้ ตกคลองปลาก้าง ตั้งอยู่ ประชาชนในพื้นที่ส่วนใหญ่มีอาชีพ ในเขตหมู่ที่ 2 เป็นอุทยานแห่งชาติล�ำดับที่ 13 ของประเทศไทยมีพื้นที่ทั้งหมด 52,300 เกษตรกรรม เป็นอาชีพหลัก เช่น การท�ำ ไร่ หรือประมาณ 83.68 ตร.กม. มีสภาพเป็นป่าดิบชื้นที่อุดมสมบูรณ์ มักจะพบสัตว์ สวนผลไม้ การปลูกยางพารา เป็นต้น และพันธุ์ไม้นานาชนิดได้ง่าย มีชั้นน�้ำตกที่สวยงาม 8 ชั้น มีปลาพวงเป็นสัญลักษณ์ รายได้ ส ่ ว นใหญ่ ม าจากการขายผลไม้ นักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างชาตินิยมเข้ามาท่องเที่ยวเป็นจ�ำนวนมากทุกปี เช่น ทุเรียน เงาะ มังคุด ลองกอง ผลไม้ บ้านสวนโฮมสเตย์นำ�้ เป็น เป็นบ้านพักแบบโฮมสเตย์ ตั้งอยู่หมู่ที่ 2 และหมู่ที่ 5 ของที่นี้มีรสชาติหอม หวาน และกรอบ ต�ำบลน�้ำเป็น ไว้ส�ำหรับบริการนักท่องเที่ยวที่ชอบใช้ชีวิตแบบเรียบง่าย สมถะ และ และมีความปลอดภัยเนื่องจากชาวบ้าน ยังได้เรียนรู้วิถีชีวิตของคนในท้องถิ่นด้วย ส่วนใหญ่จะใช้ปยุ๋ หมักชีวภาพ ทีช่ าวบ้าน อ่างเก็บน�้ำเขาจุก ตั้งอยู่หมู่ที่ 1 และหมู่ 4 ต�ำบลน�้ำเป็น เป็นอ่างเก็บน�้ำขนาด รวมกลุ ่ ม กั น ท� ำ ใช้ ย าฆ่ า แมลงและยา ใหญ่ ใช้น�้ำในการผลิตน�ำ้ ประปา น�ำ้ เพื่อการเกษตร และเป็นสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ ปราบศั ต รู พื ช น้ อ ยลง ท� ำ ให้ ส ภาพดิ น อีกแห่งหนึ่ง จึงไม่ถูกท�ำลาย ท�ำให้รสชาติผลไม้ของ แหล่งพักผ่อนหย่อนใจด้วยการปฏิบัติธรรม ต� ำ บลน�้ ำ เป็ น มี ร สชาติ ที่ แ ตกต่ า งจาก วัดคลองพระเจ้า ตั้งอยู่บ้านคลองพระเจ้า หมู่ 7 ต�ำบลน�้ำเป็น อยู่บริเวณเชิงเขา ผลไม้ ใ นพื้ น ที่ อื่ น นั ก ท่ อ งเที่ ยวจึง นิย ม ชะเมาด้านทิศตะวันออก บริเวณนีม้ ตี น้ ไม้ชอื่ ว่า “พระเจ้า 5 พระองค์” ขึน้ อยูห่ นาแน่น แวะชิมและซื้อเป็นของฝาก สร้างรายได้ และเป็นที่มาของการสร้าง “ศาลา 5 เหลี่ยม” เพื่อเป็นสถานที่ “อธิษฐานบารมี” ให้กับประชาชนในต�ำบลน�้ำเป็น
Rayong
3
เส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดแลง หรือ วัดบ้านแลง ตั้งอยู่ที่ หมู่ที่ 1 ต�ำบลบ้านแลง อ�ำเภอ เมืองระยอง จังหวัดระยอง เดิมเป็นส�ำนักสงฆ์สร้างขึ้น ในสมัยกรุงศรีอยุธยา เมื่อปีพ.ศ.2285 โดย นายจันทร์เป็นผู้ยกที่ดินไร่อ้อยถวายให้ พระนาคเป็นผูร้ เิ ริม่ ก่อสร้าง และได้ตงั้ ชือ่ วัด ตามชื่อผู้ถวายที่ดินว่า “วัดจันทร์สุวรรณ โพธิธาราม” ต่อมานิยมเรียกกันว่า “วัด แลง” สันนิษฐานว่ามาจากบริเวณวัดเป็น พื้นที่ที่มักพบศิลาแลง จึงใช้เรียกเป็นชื่อ “วัดบ้านแลง” ตามชื่อของต�ำบลที่ตั้ง วัดแลง เป็นวัดในสังกัดมหานิกาย อยู่ ในเขตปกครองคณะสงฆ์ต�ำบลบ้านแลงนาตาขวั ญ อ� ำ เภอเมื อ ง จั ง หวั ด ระยอง ภาค 13 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อปี พ.ศ. 2305 เนื้อที่กว้าง 4.50 เมตร ยาว 10.30 เมตร และได้ประกอบพิธีผูก พัทธสีมา ราวปี พ.ศ. 2306 ลักษณะพื้นที่โดยทั่วไปแห่งบริเวณที่ ตั้งวัด วัดแลงมีที่ดินตั้งวัด จ�ำนวน 15 ไร่ 3 งาน 50 ตาราง และมีที่ธรณีสงฆ์ 2 แปลง มีเนื้อที่ทั้งสิ้นจ�ำนวน 21 ไร่ 3 งาน 4 ตาราง
2
วัดแลง...
แหล่งศึกษาของกุลบุตรกุลธิดา
วา ลักษณะโดยทั่วไปแห่งบริเวณวัด เป็น ที่เนินดินปนทรายชายทุ่งนา น�้ำท่วมไม่ถึง ตลอดปี ทางทิศเหนือเป็นเนินชนิดเดียวกัน กับที่ตั้งวัด ทางทิศใต้เป็นล�ำคลองเล็กๆ มี น�้ำไหลผ่านในฤดูฝน และน�้ำจะแห้งขาด ในฤดูร้อน ต่อจากล�ำคลองออกไปเป็นทุ่ง นาแคบๆ ยาวไปตามล�ำคลอง ปูชนียวัตถุ-โบราณวัตถุสำ� คัญของวัดแลง ภายในวัดแลงมีปูชนียวัตถุ-โบราณ วัตถุส�ำคัญ ได้แก่ พระอุโบสถหลังเก่า สร้างเมื่อ พ.ศ. 2305 ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้แห่งกุฏิ สงฆ์ มีพระประธานก่ออิฐโบกปูนขาวแบบ บัวหงาย สูง 1.20 เมตร กว้าง-ยาว ด้าน ละ 2.26 เมตร และมีพระประธานอีกองค์ ที่ใหญ่กว่าเป็น พระพุทธรูปปางมารวิชัย ก่ออิฐโบกปูนขาวลงรักปิดทอง หน้าตัก กว้าง 2.70 เมตร สูง 3.50 เมตร เป็นศิลปะ ปลายสมัยอยุธยา พระปรางค์ ก่ออิฐฉาบปูนขาว ตั้ง อยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของอุโบสถ หลังเก่า รูปทรงคล้ายแบบขอมหรือศิลปะ สมัยลพบุรี เจดีย์ ก่อด้วยอิฐโบกปูนขาว ตั้งอยู่ ทางตะวันออกเฉียงเหนือแห่งอุโบสถเก่า
มี 2 องค์ องค์ใหญ่ (อยู่ทางตะวันออก) สูง 6.00 เมตร ฐานสี่เหลี่ยมวัดโดยรอบ ได้ 16.62 เมตร เป็นเจดีย์ทรงสี่เหลี่ยม (ย่อ มุม) ซ้อนกัน 7 ชั้น องค์เล็ก (อยู่ทางตะวัน ตก) สูง 4.80 เมตร ฐานสี่เหลี่ยมวัดโดย รอบ 10.80 เมตร เป็นเจดีย์ทรงกลมซ้อน กัน 7 ชั้น องค์เจดีย์เป็นรูประฆังทรงเครื่อง มีสร้อยสังวาลที่องค์เจดีย์ หอไตร ตัง้ อยูท่ างตะวันออก ตรงหน้า อุโบสถ์ สร้างในสระสี่เหลี่ยม กว้าง-ยาว ประมาณ 2.50 เมตร ประมาณการสร้าง เมื่อปี พ.ศ. 2400-2405 ท�ำด้วยไม้ทั้งหลัง หลังคาทรงไทยซ้อน 2 ชั้น มีเฉลียงรอบทั้ง 4 ด้าน มีช่อฟ้า,ใบระกา,นาคสะดุ้ง และหัว นาคท�ำด้วยไม้ตะเคียน มุงด้วยกระเบื้อง ว่าวสลับสี หอไตรนี้ปัจจุบันนี้หักพังทรุด โทรมไปมากแล้ว ก�ำแพงวัด ตั้งอยู่รอบทั้ง 3 ด้าน ด้าน ใต้ท�ำด้วยไม้แก่น เช่นไม้ตะเกรา เป็นต้น ก�ำแพงนี้ก่ออิฐฉาบปูนขาว สูงประมาณ 2.00 เมตร เป็นก�ำแพงทึบ ปัจจุบันนี้หักพัง ไปเกือบหมดแล้ว ที่เห็นอยู่ทางด้านเหนือ ตรงทางเข้าวัดและที่หลังห้องสมุดนั้น เอา อิฐก�ำแพงเก่าที่หักพังไปนั้นรวมกับอิฐใหม่ ก่อขึ้นอีกในแนวเดิมแห่งก�ำแพงเก่านั้น
การบริหารและการปกครอง เจ้ า อาวาสรู ป ปั จ จุ บั น คื อ พระครู วิเวกธรรมาภิราม วิเวโก น.ธ.เอก, ก�ำลัง ศึกษา ม.จ.ร. หน่วยวิทยบริการจังหวัด ระยอง (วัดป่าประดู่) ซึ่งได้วางระเบียบ ปฏิบัติไว้ดังนี้ ระเบียบการบริหาร ควบคุมดูแล ให้ ป ระพฤติ ป ฏิ บั ติ ให้ ถู ก ต้ อ งตามพระ ธรรมวินัย เช่น ท�ำวัตรสวดมนต์ และข้อ วัตรปฏิบัติต่างๆ ให้เหมาะสมควรแก่สมณ สารูป การปกครอง คอยแนะน�ำให้ปฏิบัติ ให้ถูกต้องตามกฎระเบียบข้อบังคับของ คณะสงฆ์ ปกครองแบบสามัคคีธรรม ใคร ผิ ด ก็ ว ่ า กั น ไปตามผิ ด ใครถู ก ก็ ว ่ า กั น ไป ตามถูก หรือยกย่องผู้ที่ควรยกย่อง ติเตียน ผู้ที่ควรติเตียน แหล่งศึกษาศึกษาของกุลบุตรกุลธิดา 1. โรงเรียนพระปริยตั ธิ รรม-แผนก ธรรม เปิดสอนตั้งแต่ปี พ.ศ.2465 จนถึง ปั จ จุ บั น เปิ ด สอนนั ก ธรรมชั้ น ตรี เ ป็ น ประจ�ำทุกๆ ปี นักธรรมชั้นโท และนักธรรม ชั้นเอกนั้น เปิดสอนบ้างเป็นบางปีเท่านั้น การเปิดสอนนักธรรมชั้นตรีเมื่อแรกเริ่มนั้น พระมหาปิด ปญฺตฺติ ป.ธ.7 คนบ้านแลง บวชที่ วั ด แลง แล้ ว ไปศึ ก ษาภาษาบาลี ที่ ก รุ ง เทพฯ อยู ่ ที่ วั ด จั ก รวรรดิ์ ร าชาวาส (สามปลืม้ ) เรียนบาลีสอบได้ ป.ธ.7 ถึงหน้า ร้อนออกมาพักผ่อนที่วัดแลง ได้แนะน�ำ ชั ก ชวนชาวบ้ า นแลง ให้ ส ร้ า งหนั ง สื อ หลั ก สู ต รนั ก ธรรมกั น คนละเล่ ม สองเล่ ม
เมื่อได้หนังสือเพียงพอแล้ว ได้ร่วมกันกับ พระอาจารย์ เย็ น เปิดสอนนักธรรมชั้น ตรีเมื่อ พ.ศ.2465 เป็นปีแรก พระสวัสดิ์ น.ธ.โทเป็นครูสอน มีพระวัดใกล้เคียง เช่น วั ด ขวากลิ ง วั ด นาตาขวั ญ วั ด ตะพงใน วัดตะพงนอก ก็มาเรียนที่วัดแลง การเรียน นักธรรมก็ดีขึ้นตามล�ำดับจนถึงทุกวันนี้ 2. โรงเรียนชุมชนวัดบ้านแลง โรงเรียนชุมชนวัดบ้านแลง สังกัด ส�ำนักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษา ระยอง เขต 1 ส�ำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็นโรงเรียนที่เปิด ท�ำการสอน ตั้ ง แต่ ร ะดั บ อนุ บาล 1 ถึ ง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เปิดเรียนครั้งแรก 1 กรกฎาคม พ.ศ.2467 ในพื้นที่หมู่ที่ 1 ชุมชนวัดบ้านแลง ด้วยความอุปการะของ พระอธิการเย็น ร่วมมือของชาวบ้านที่ เห็ น ความส� ำ คั ญ และห่ ว งใยในอนาคต และต้องการให้ บุตรหลานมี ความรู ้ อ่าน ออกเขียนได้มี นายเฮ่ง วิเชียรประดิษฐ์ เป็นครูใหญ่ ปี พ.ศ.2476 เปลี่ยนชื่อโรงเรียนเป็น โรงเรียนประชาบาลต�ำบลบ้านแลง 1 ปี พ.ศ.2477 พระครูประทุมธรรมาภิ บ าล (หลวงพ่ อ เย็ น ) ได้ ร ่ ว มมื อ กั บ ชาวบ้านสร้างอาคารเรียนขึ้นใหม่ในที่ดิน ของวั ด เป็ น อาคารแบบ ป 1 ค ใต้ ถุ น สูง ขนาดกว้าง 14 เมตร ยาว 28 เมตร 5 ห้องเรียน สิ้นค่าก่อสร้าง 3,573.75 บาท รับงบประมาณจากราชการ 600 บาท ปี พ.ศ. 2478 รัฐได้ขยายการศึกษาอีก 2 ปี เป็นชัน้ ป.5 และ ป.6 เรียกว่า “โรงเรียน
ประถมกลิ ก ร” เปิ ด เรี ย นได้ 2 ปี ต้ อ ง ยุ บ เลิ ก เพราะประชาชนไม่ นิ ย มส่ ง บุ ต ร หลานมาเข้าเรียน ปี พ.ศ.2483 ต�ำบลบ้านแลงยุบไป รวมกับต�ำบลนาตาขวัญ โรงเรียนชุมชนวัด บ้านแลงจึงเปลี่ยนชื่อใหม่เป็นโรงเรียนนา ตาขวัญ จนถึง พ.ศ.2490 ต�ำบลบ้านแลงได้ ยกฐานะเป็นต�ำบลอย่างเดิมจึงเปลี่ยนชื่อ โรงเรียนเป็น “โรงเรียนวัดบ้านแลง (ประทุม ยศราษฎร์รังสรรค์)” ปี พ.ศ.2503 ได้รับอนุญาตให้สร้าง อาคารเรียนหลังใหม่ขึ้น 1 หลัง แบบ 003 ในที่ดินของวัด ซึ่งอยู่นอกก�ำแพงวัด ไป ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ เนือ้ ที่ ประมาณ 15 ไร่เศษ พระเครื่องวัดบ้านแลง การสร้างพระเครื่องของวัดบ้านแลง เมื่ อ วั น ที่ 26 กุ ม ภาพั น ธ์ พ.ศ.2496 มี พระเกจิอาจารย์หลายรูป เข้าร่วมพิธี พุทธาภิเษกจ�ำนวน 9 รูป ดังมีรายนาม ต่อไปนีค้ อื พระมงคลเทพมุณี (หลวงพ่อ สด) วัดปากน�้ำ ธนบุรี เป็นประธานในพิธี หลวงพ่อแฉ่ง วัดบางพัง นนทบุรี หลวง พ่ อ คล้ า ย วั ดสวนขั น นครศรีธ รรมราช หลวงพ่อเงิน วัดดอนยายหอม นครปฐม หลวงพ่ อ บุ ญ ธรรม วัดใหญ่ นครปฐม หลวงปู่เผือก วัดกิ่งแก้ว สมุทรปราการ หลวงปูท่ มิ วัดละหารไร่ ระยอง หลวงพ่อโต วัดเขาบ่อทอง ระยอง และ หลวงพ่อเย็น วัดบ้านแลง ระยอง วัดแลง หรือ วัดบ้านแลง ไม่เพียง แต่จะมีคณ ุ ค่าในฐานะของโบราณสถาน ส�ำคัญของระยองเท่านั้น แต่ยังเป็นวัด ที่เห็นความส�ำคัญของการให้ความรู้ ให้การศึกษาแก่พระสงฆ์ ฆราวาส และ กุลบุตร-กุลธิดา จึงถือเป็นแหล่งสร้าง คนดีให้กับสังคมไทย ที่ควรค่าแก่การ สรรเสริญยิ่งนัก ** กราบขอบพระคุณ ท่านพระครู วิเวกธรรมาภิราม เจ้าอาวาสวัดบ้าน แลง เมตตาเอื้อเฟื้อข้อมูล Rayong
3
อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ (ระยอง)... 1 ในผู้ผลิตไฟฟ้าเพื่อพัฒนาชาติไทย ชื่ อ ของ บี . กริ ม อาจเป็ น ที่ ค ุ้ น หู ข องคนไทยมาบ้ า ง เพราะด�ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ในประเทศไทยร้อ ยกว่าปีม าแล้ว ธุรกิจ พลังงานไฟฟ้า ถือเป็นหนึ่งธุรกิจของ บี.กริม. เพื่อเสริมสร้าง ความมั่ น คงทางพลั ง งานไฟฟ้ า ให้ กั บ ภาคอุ ต สาหกรรมใน ประเทศไทย โดยเฉพาะในจังหวัดระยอง คุณเชิดชาย ยิ่วเหล็ก กรรมการผู้จัดการกลุ่ม โรงไฟฟ้า บริษัท อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ (ระยอง) กรุณาให้สัมภาษณ์ กับนิตยสาร SBL เกีย่ วกับความเป็นมาและศักยภาพของบริษทั นโยบายการบริหารงาน และนโยบายด้าน CSR ซึ่งท�ำให้บริษัท เติบโตมีชื่อเสียงและเป็นที่ยอมรับในวงกว้าง ความเป็นมาของกลุ่มโรงไฟฟ้าอมตะ บี.กริม เพาเวอร์ กลุ่มโรงไฟฟ้าอมตะ บี.กริม เกิดจากการรวมตัวกันของ พั น ธมิ ต รทางธุ ร กิ จ ของกลุ ่ ม บริ ษั ท บี . กริ ม , บริ ษั ท อมตะ คอร์ปอเรชัน (จ�ำกัด) มหาชน และ ซูมิโตโม คอร์ปอเรชัน ที่น�ำ ความเชี่ยวชาญในด้านวิศวกรรม นิคมอุตสาหกรรม และการ 2
บริหารธุรกิจ ผสานรวมเข้าด้วยกัน โดยกลุม่ บริษทั บี.กริม เป็นผูถ้ อื หุ้นรายใหญ่ เกิดเป็นผู้น�ำทางธุรกิจด้านพลังงานของประเทศไทย นโยบายของกลุม่ โรงไฟฟ้าอมตะ บี.กริม คือ การด�ำเนินธุรกิจ ด้วยความโอบอ้อมอารี ประสานกับการจัดกระบวนการองค์กร ด้วยปรัชญาความมุง่ มัน่ ซือ่ สัตย์ จริงใจ และโปร่งใส ด้วยนโยบาย ดังกล่าว ท�ำให้การประกอบธุรกิจโรงไฟฟ้าของบริษัทได้รับการ ยอมรับ และมีการเจริญเติบโต ได้รบั การไว้วางใจจากบริษทั ผูร้ ว่ ม ธุรกิจในกลุ่มพลังงานด้วยกัน
ปัจจุบัน บริษัท อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ มีโรงไฟฟ้าที่ เปิดด�ำเนินการแล้ว 6 โรง มีก�ำลังผลิตไฟฟ้ารวม ประมาณ 730 เมกะวัตต์ ดังนีค้ อื ตัง้ อยูใ่ นนิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร จ.ชลบุรี 3 โรง นิคมอุตสาหกรรมอมตะซิตี้ จ.ระยอง 2 โรง และทีป่ ระเทศ เวียดนาม 1 โรง รู้จักโรงไฟฟ้า อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ (ระยอง) 1, 2 จ�ำกัด โรงไฟฟ้า อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ (ระยอง) 1, 2 จ�ำกัด ตั้งอยู่ที่นิคมอุตสาหกรรมอมตะซิตี้ จ.ระยอง เป็นโรงไฟฟ้า ประเภท Cogeneration (โรงงานผลิตไฟฟ้าพลังงานความ ร้อนร่วม) มีก�ำลังการผลิตรวมประมาณ 240 เมกะวัตต์ โดย จ�ำหน่ายไฟฟ้าให้การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยโรงละ 90 เมกะวัตต์ รวม180 เมกะวัตต์ ไฟฟ้าส่วนที่เหลือรวมถึง ไอน�้ำซึ่งจ่ายได้สูงสุดประมาณ 60 ตัน/ชม. จ�ำหน่ายให้กับ โรงงานอุ ต สาหกรรมในนิ ค มอุ ต สาหกรรมอมตะซิ ตี้ โดย โรงไฟฟ้าทั้ง 2 โรงใช้ก๊าซธรรมชาติ ซึ่งรับมาจากโรงแยกก๊าซ ของบริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) เป็นเชื้อเพลิงในการผลิต ก�ำลังไฟฟ้าที่เหลือจากการจ� ำหน่ายให้แก่ การไฟฟ้ า ฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ประมาณโรงละ 30 เมกะวัตต์ (รวม 60 เมกะวัตต์) ซึ่งสามารถจ�ำหน่ายให้ลูกค้าอุตสาหกรรม ในนิคมอุตสาหกรรม อมตะ ซิตี้ โดยสามารถที่จะจ�ำหน่ายได้ ทั้งแรงดันไฟฟ้า 115 kV และ 22 kV มีลูกค้ารายใหญ่ ได้แก่ บริษัท ซูมิโตโม รับเบอร์ (ไทยแลนด์) จ�ำกัด Rayong
3
ศักยภาพของโรงไฟฟ้า อมตะ บี.กริม (เพาเวอร์) ระยอง 1, 2 จ�ำกัด บริ ษั ท อมตะ บี . กริ ม เพาเวอร์ (ระยอง) 1 จ� ำ กั ด มีก�ำลังการผลิตไฟฟ้า 120 เมกะวัตต์ เปิดด�ำเนินการเพื่อการ พาณิ ช ย์ ใ นเดื อ นพฤศจิ ก ายน พ.ศ. 2556 โดยก� ำ ลั ง ไฟฟ้ า ที่ ผลิตได้จ�ำนวน 90 เมกะวัตต์ จะถูกแจกจ่ายให้กับการไฟฟ้า ฝ่ า ยผลิ ต แห่ ง ประเทศไทย ภายใต้ สั ญ ญาซื้ อ ขายไฟฟ้ า ของ ผูผ้ ลิตไฟฟ้ารายย่อย เป็นระยะเวลา 25 ปี ส่วนพลังงานทีเ่ หลือรวม ไปถึงพลังไอน�ำ้ 30 ตัน/ชม. ก็จะถูกน�ำไปจ�ำหน่ายให้กับลูกค้าใน นิคมอุตสาหกรรมอมตะซิตี้ บริษัท อมตะ บี. กริม เพาเวอร์ (ระยอง) 2 จ�ำกัด เป็นอีกหนึ่งโรงไฟฟ้าที่ก่อสร้างควบคู่ไปกับโรงงานผลิตไฟฟ้า อมตะ บี . กริ ม เพาเวอร์ (ระยอง) 1 โดยผลิ ต และจ่ า ย กระแสไฟฟ้าให้กับการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย จ�ำนวน 90 เมกะวัตต์ ส่วนพลังงานที่เหลือ ก็จะถูกจ�ำหน่ายให้กับลูกค้า ในนิ ค มอุ ต สาหกรรมอมตะซิ ตี้ ซึ่ ง ได้ เ ปิ ด ด� ำ เนิ น การเพื่ อ การ พาณิชย์ ในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2556 ที่ผ่านมา ซึ่งเปิดก่อน อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ (ระยอง) 1 เป็นเวลา 5 เดือน นโยบายด้าน CSR ของโรงไฟฟ้า อมตะ บี.กริม เนื่ อ งจาก โรงไฟฟ้ า อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ (ระยอง) 1, 2 ตัง้ อยู่ ในนิคมอุตสาหกรรมอมตะซิตี้ (ระยอง) ครอบคลุมพืน้ ทีร่ ศั มี 5 กิโลเมตร โดยอยู่ ร่วมกับ 10 ชุมชน โรงไฟฟ้ากลุม่ อมตะ บี . กริ ม เพาเวอร์ ได้ มี ก ารวางแผน และเตรียมการแผนมวลชนสัมพันธ์ โดยด�ำเนินกิจกรรมร่วมกับชุมชนอย่าง ต่อเนื่อง เพื่อส่งเสริมคุณภาพความ เป็นอยู่ และคุณภาพชีวติ ในด้านต่างๆ ประกอบด้วย ด้านการศึกษา ด้านสิ่ง แวดล้อม และชุมชน ด้านการดูแลชีวติ ความเป็นอยู่ ด้านวัฒนธรรม ประเพณี และด้านศาสนา ทั้งนี้ นอกจากด�ำเนินธุรกิจแล้ว เราจึงให้ความส�ำคัญโดยการร่วมมือ และสนั บ สนุ น ทั้ ง ทางตรงและทาง 4
อ้อม กิจกรรมร่วมกับชุมชนถือเป็นส่วนหนึง่ ในการพัฒนาชุมชนใน ด้านต่างๆ เช่น โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย โครงการความ ร่วมมืออาชีวศึกษา โดยร่วมกับ วิทยาลัยเทคนิค ชลบุรี กิจกรรมมวลชนสัมพันธ์ ถือเป็นการเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับ โครงการไปยังท้องถิน่ เรามีแนวทางในการด�ำเนินกิจกรรมมวลชน สัมพันธ์ ดังนี้ • มีการน�ำเสนอข้อมูลด้านการจัดการสิง่ แวดล้อม และความ คืบหน้าของโครงการเป็นระยะ เพือ่ สร้างความมัน่ ใจในการด�ำเนิน การ ตลอดระยะการด�ำเนินโครงการ
• มีช่องทางรับเรื่องร้องเรียน และแก้ไขปัญหาเรื่องร้องเรียน ภายในระยะเวลาที่ก�ำหนด • เปิดให้ประชาชนในชุมชนที่เกี่ยวข้อง สามารถเข้าเยี่ยมชม การด�ำเนินงานโครงการได้ • ส่งเสริมกิจกรรมชุมชนสัมพันธ์ เพื่อสร้างความสัมพันธ์อัน ดีต่อชุมชน • มีนโยบายแต่งตั้งคณะกรรมการไตรภาคี เพื่อท�ำหน้าที่ ติดตาม ตรวจสอบการด�ำเนินงานโครงการ • โรงไฟฟ้ามีการน�ำเงินส่งเข้ากองทุนพัฒนาไฟฟ้า เริ่มตั้งแต่ ช่วงการก่อสร้าง เพื่อใช้ในการพัฒนาชุมชนรอบข้างโรงไฟฟ้า แผนการลงทุนสร้างโรงงานผลิตไฟฟ้าในอนาคต สถานการณ์ประเทศไทยในอีก 5 ปีข้างหน้า แม้เศรษฐกิจ จะชะลอตัวลง แต่การใช้ไฟฟ้าก็ยังมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นโดยบริษัท มีแผนที่จะพัฒนาโรงไฟฟ้าเพิ่มขึ้นอีก 10 โรง โดยอยู่ระหว่าง การก่อสร้าง 4 โรง และอยู่ในช่วงพัฒนาโครงการอีก 6 โรง (ตามแผนพัฒนาโครงการที่อยู่ในความรับผิดชอบของบริษัท อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ (ระยอง) รวม 4 โรง) ภายในปี 2556 บริ ษั ท จะมี โ รงไฟฟ้ า ทั้ ง หมด 16 โรงไฟฟ้ า รวมก� ำ ลั ง การ ผลิ ต ประมาณ 2,000 เมกะวั ต ต์ ทั้ ง นี้ การเลื อ กเทคโนโลยี ของโรงไฟฟ้า ถือเป็นสิง่ ส�ำคัญเพือ่ ให้การผลิตไฟฟ้ามีประสิทธิภาพ สูงสุด และรักษาสิ่งแวดล้อมควบคู่กัน
ฝากถึงนโยบายภาครัฐเพื่อความ มั่นคงทางพลังงานไฟฟ้า การใช้ พ ลั ง งานจะมี ค วาม ต้องการสูงขึ้นตามสภาวะเศรษฐกิจ ซึ่ ง มี ก ารพั ฒ นาเติ บ โตไปอย่ า งต่ อ เนื่อง ดังนั้น เพื่อรักษาเสถียรภาพ และความมั่ น คงทางด้ า นพลั ง งาน ไฟฟ้า ควรจะมีนโยบายที่ชัดเจนจาก ภาครัฐ ในการก�ำหนดยุทธศาสตร์ ด้านพลังงาน ที่จะส่งเสริมให้ภาค เอกชนแข่งขันกันได้อย่างเท่าเทียม และเสมอภาคกัน โดย กลุ่ม อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ พร้อมที่จะพัฒนา และขยายธุ ร กิ จ ทางด้ า นพลั ง งาน ไฟฟ้า เพื่อตอบสนองความต้องการ การใช้พลังงานของประเทศในอนาคต อย่างเต็มความสามารถ
Rayong
5
บทความพิเศษ
ศิวกร ขวัญดี ผู้จัดการ
สหกรณ์การเกษตร ศรีเมืองระยอง จ�ำกัด สหกรณ์การเกษตรศรีเมืองระยอง จ�ำกัด (SRIMUANG RAYONG AGRICULTURAL CO OPERATIVE LTD ) ส�ำนักงาน ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 456 หมู่ 6 ถนนสุขมุ วิท ต�ำบลตะพง อ�ำเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง หมายเลขโทรศัพท์ 038-655430 หมายเลขโทรสาร 038-655430 ต่อ 107 ปัจจุบนั มีสมาชิกทัง้ สิน้ 2,984 คน มีทนุ เรือน หุน้ 177,811,050 บาท มียอดเงินทีส่ มาชิกกูไ้ ปแล้ว 922,134,873 บาท มีทุนสะสมอื่นๆ อีก 60,262,653.12 บาท และมีทุนด�ำเนิน งานทั้งสิ้น 1,119,429,327.51 บาท
2
ประวัติความเป็นมาของสหกรณ์ฯ สหกรณ์การเกษตรศรีเมืองระยอง จ�ำกัด เดิมชือ่ สหกรณ์ การเกษตรเมืองระยองหนึง่ จ�ำกัด ถือก�ำเนิดขึน้ โดยคณะผูแ้ ทน ของสหกรณ์หาทุนจ�ำนวน 16 สหกรณ์ ในเขตอ�ำเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง ได้ประชุมกันเมื่อวันที่ 15 มกราคม 2514 มีมติเป็น เอกฉันท์ขอจดทะเบียนการควบสหกรณ์เข้าด้วยกันเป็นสหกรณ์ เดียว ในประเภทสหกรณ์การธนกิจ ชนิดไม่จำ� กัด มีชื่อว่า สหกรณ์ การเกษตรเมืองระยองหนึ่ง จ�ำกัด ซึ่งนายทะเบียนสหกรณ์เห็นว่า อยู่ในลักษณะที่จะด�ำเนินการให้เป็นผลส�ำเร็จ สมความมุ่งหมาย ของสหกรณ์ได้ จึงรับจดทะเบียนสหกรณ์ไว้ ตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2514 หมายเลขทะเบียน 302/11622 ต่อมาสหกรณ์ได้ขอจดทะเบียนเปลี่ยนชนิด เป็นชนิดจ�ำกัด และได้รับการจดทะเบียนเปลี่ยนชนิด เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม 2514 และต่อมาสหกรณ์กไ็ ด้รบั การจัดประเภทใหม่ จากประเภทสหกรณ์ การธนกิจ เป็นประเภทสหกรณ์การเกษตร ตามประกาศนาย ทะเบียนสหกรณ์ เมื่อวันที่ 3 ตุลาคม 2516 วิสัยทัศน์และนโยบายสหกรณ์การเกษตรศรีเมืองระยอง สหกรณ์เข้มแข็ง มัน่ คงอุดมการณ์ บริการเสมอภาค เพิม่ ศักยภาพบุคลากร เพื่อความก้าวหน้าของสหกรณ์ สู่ความ รุ่งเรืองอย่างยั่งยืน ผูจ้ ดั การสหกรณ์การเกษตรศรีเมืองระยอง จ�ำกัด ขยาย ความถึงนโยบายของสหกรณ์ฯ เพิ่มเติมว่า...สหกรณ์ต้องเป็นที่ พึ่งของมวลสมาชิก ต้องเดินหน้ามุ่งสู่ความเจริญรุ่งเรืองและต้อง ยัง่ ยืนด้วย ในสหกรณ์ภาคการเกษตรจะถูกตีกรอบไว้มาก เราต้อง กล้าคิดนอกกรอบ ต้องปลดเชือกทุกเส้นทีผ่ กู มัดไว้ให้เดินต่อไปได้ ด้วยก�ำลังและความสามารถที่มีอยู่ เราจะไม่รอหรือนั่งอยู่เฉยๆ แล้วรอให้คนอืน่ มาบอกให้เราเดินตามเส้นทางทีเ่ ขาชี้หรือก�ำหนด ให้เรา ต้องกล้าคิด กล้าท�ำ กล้าน�ำธุรกิจ คนที่ไม่มีความกล้ามาก พอที่จะเสี่ยง ย่อมไม่มีวันท�ำสิ่งใดได้ส�ำเร็จ
นโยบายการบริ ห ารงานเพื่ อ ให้ เ กิ ด ประโยชน์ สูงสุดแก่สมาชิก สหกรณ์ เ ป็ น ธุ ร กิ จ ที่ มี ลั ก ษณะเฉพาะของ ตัวเอง มีหลักการและวิธีการของสหกรณ์ ซึ่งองค์การ สั ม พั น ธภาพสหกรณ์ ร ะหว่ า งประเทศ ได้ ก� ำ หนด หลักการให้สหกรณ์ปฏิบัติ 7 หลักการ คือ 1. เป็นสมาชิกโดยสมัครใจและเปิดกว้าง 2. ควบคุมโดยสมาชิก ตามหลักประชาธิปไตย 3. การมีส่วนร่วมทางเศรษฐกิจของสมาชิก 4. การปกครองตนเองและความเป็นอิสระ 5. การศึกษา ฝึกอบรม และสารสนเทศ 6. การร่วมมือกันระหว่างสหกรณ์ 7. การเอื้ออาทรต่อชุมชน เมื่อรู้หลักการ ก็เข้าสู่วิธีการสหกรณ์ คือ การน�ำ หลักสหกรณ์มาประยุกต์ใช้ในการด�ำเนินกิจกรรมทาง เศรษฐกิจและสังคม เพื่อประโยชน์ของมวลสมาชิก และชุมชนโดยไม่ละเลยหลักการธุรกิจที่ดี เมื่อสมาชิก มาท�ำธุรกิจกับสหกรณ์มาก สหกรณ์ย่อมมีผลก�ำไร มาก สหกรณ์ก็จะคืนก�ำไรกลับสู่สมาชิกในรูปของ เงินปันผล เงินเฉลี่ยคืนตามส่วนที่สมาชิกได้มาใช้ บริการกับสหกรณ์ นโยบายการบริหารงานบุคลากร ตามวิสัยทัศน์คือต้องพัฒนาและเพิ่มศักยภาพ บุคลากร ทัง้ นีก้ เ็ พือ่ ให้บคุ ลากรมีประสิทธิภาพ มีความ คิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีทัศนคติที่ดีต่อสหกรณ์ สร้างความสามัคคี ปลูกฝังให้มีอุดมการณ์ ค่า นิยมวัฒนธรรมในแนวทางเดียวกัน มีทัศนคติที่ดี หรือ มีจิตส�ำนึกมุ่งบริการ ที่ส�ำคัญต้องสร้างหลักประกัน แห่งความมั่นคงในสวัสดิการและขวัญก�ำลังใจ Rayong
3
เป้าหมายของสหกรณ์การเกษตรศรีเมืองระยอง จ�ำกัด สหกรณ์การเกษตรศรีเมืองระยอง จ�ำกัด มีเป้าหมายในการ ด�ำเนินการดังนี้คือ 1. สมาชิกสหกรณ์ฯ ทุกคนล้วนเป็นเกษตรกรเป้าหมายของ เราคือ ต้องให้สมาชิกมีความมั่นคงในการประกอบอาชีพ และมี รายได้เพิ่มขึ้น 2. สังคมทัว่ ไป มีความเข้าใจในระบบสหกรณ์ไม่แท้จริง คิดว่า เป็นเพียงกลุม่ บุคคล กลุม่ ใครกลุม่ นัน้ จริงๆ แล้วสหกรณ์สำ� คัญต่อ การพัฒนาประเทศชาติได้มาก สหกรณ์การเกษตรศรีเมืองระยอง จ�ำกัด ก็เช่นกัน เราจะพัฒนาให้เป็นศูนย์กลางการเจรจาด้านธุรกิจ เกษตรในระดับภาคตะวันออก ซึ่งเรามีสถานที่พร้อม รูปแบบการบริการของสหกรณ์ฯ สหกรณ์จะด�ำเนินธุรกิจตามวัตถุประสงค์ของการจัดตั้ง และ ให้บริการสมาชิกในด้านต่างๆ ส�ำหรับสหกรณ์การเกษตรศรีเมือง ระยอง จ�ำกัด มีบริการดังนี้
1. ธุรกิจเกี่ยวกับเงิน 1.1 การให้เงินกู้ สหกรณ์จ่ายเงินกู้ 3 ประเภท คือ เงินกู้ ระยะสั้น, เงินกู้ระยะปานกลาง, เงินกู้ระยะยาว 1.2 การรับฝากเงิน เพื่อให้สมาชิกรู้จักการออมทรัพย์ โดยสหกรณ์จะรับเงินฝากจากสมาชิก 4 ประเภท คือ เงินฝากออม ทรัพย์ เงินฝากออมทรัพย์พิเศษ เงินฝากสัจจะออมทรัพย์ และเงิน ฝากออมทรัพย์ ATM 2. ธุรกิจจัดหาสินค้ามาจ�ำหน่าย สหกรณ์จะจัดหาสินค้า ที่จ�ำเป็นมาจ�ำหน่ายแก่สมาชิก โดยสอบถามความต้องการของ สมาชิกแล้วจัดหาสินค้ามาให้ตรงตามความต้องการ 3. การส่งเสริมการเกษตร จัดให้มีการแนะน�ำความรู้ด้าน วิชาการเกษตร 4. การให้การศึกษาอมรม แก่คณะกรรมการ เจ้าหน้าที่ สมาชิก เพื่อให้เข้าใจถึงอ�ำนาจหน้าที่ และความรับผิดชอบที่ แต่ละคนมีต่อสหกรณ์ และศึกษาอบรมอุดมการณ์ หลักการ และ วิธีการสหกรณ์ 4
สิทธิประโยชน์ของสมาชิก ประโยชน์ที่สมาชิกจะได้รับจาก สหกรณ์ฯ มีอยู่หลายประการ เช่น 1. การรวมกันท�ำให้มีผลในการ ต่อรองทั้งด้านการซื้อและการขาย 2. ท� ำ ให้ ชุ ม ชนมี ค วามสามั ค คี ปรองดอง มีการอยูร่ ว่ มกันอย่างสันติสขุ 3. เป็นแหล่งจัดหาเงินมาให้สมาชิก กูย้ มื ไปลงทุนในการประกอบอาชีพหลัก 4. ช่ ว ยส่ ง เสริ ม ความรู ้ ด ้ า นการ เกษตรแก่สมาชิก 5. ส่งเสริมความเสมอภาคกัน ทุก คนมีสิทธิเท่าเทียมกัน 6. ฝึกให้คนมีความรู้ ประสบการณ์ สนับสนุนด้านเงินทุนการ ผลิต ควบคุมการใช้เงินทุนให้เป็นไปตามแผน แนวทางในการยกระดับคุณภาพชีวิตของสมาชิกสหกรณ์ฯ สหกรณ์ฯ ได้จัดสวัสดิการต่างๆ เพื่อให้คุณภาพชีวิตของ สมาชิกดีขึ้น ได้แก่ โครงการส่งเสริมการศึกษาบุตร – ธิดาสมาชิก, โครงการค่ารักษาพยาบาล, โครงการช่วยเหลือการจัดงานบ�ำเพ็ญ กุศลศพสมาชิก, โครงการจัดหาแหล่งน�้ำบริโภคในครัวเรือน ใน ส่วนของสังคม สหกรณ์ได้มีโครงการทอดผ้าป่าการศึกษาให้กับ โรงเรียนทุกปี และน�ำนักเรียนซึ่งเป็นเยาวชนของชาติดูงานศูนย์ เศรษฐกิจพอเพียง สนับสนุนในโรงเรียนตามโครงการของภาครัฐ และเนื่องในวโรกาสอันเป็นมงคลที่ สมเด็จพระเทพรัตน ราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จะทรงเจริญพระชนมายุครบ 60 พรรษา ในปี 2558 ซึง่ พระองค์ทรงมีพระมหากรุณาธิคณ ุ ต่อวงการ สหกรณ์และขบวนการสหกรณ์ และทรงห่วงใยในด้านการศึกษา ของเยาวชนของชาติ เพื่อเป็นการเทิดพระเกียรติของพระองค์ ท่าน และแบ่งเบาภาระดังกล่าวของพระองค์ สหกรณ์ฯ จึงได้จัด “โครงการสร้างอนาคตทางการศึกษาแก่บุตรสมาชิกสหกรณ์” เพื่อให้ได้รับโอกาสทางการศึกษาที่ดีจนส�ำเร็จระดับปริญญาตรี เป็นการตอบแทนสังคมของสหกรณ์ และเป็นการยกระดับชีวิตใน สังคม ในครอบครัวของสมาชิกให้ดีขึ้น ข้อคิดสู่ความส�ำเร็จแด่เพื่อนสมาชิกสหกรณ์ฯ อนาคตของเราเกิดจากทุกๆ ชั่วโมงที่ผ่านไป อยากจะให้หัน มามองว่า ตอนนี้เราก�ำลังเดินอยู่บนเส้นทางใด และก�ำลังท�ำงาน ด้วยวิธีใด ควรท�ำความคุ้นเคยกับวิธีใหม่ๆ ให้เป็นนิสัย ซึ่งทุกคน รู้ดีว่า วิธีท�ำงานที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด ท�ำได้รวดเร็วที่สุด และ เป็นระบบที่สุด จะท�ำให้ทุกชั่วโมงของเราสมบูรณ์แบบ
ผลงานแห่งความภาคภูมิใจ ปีที่ผ่านมา การท�ำงานที่ประสบผลส�ำเร็จและภูมิใจ ก็คือ สามารถเผยแพร่งานสหกรณ์ ระบบสหกรณ์ให้เป็นที่รู้จัก จนมี เกษตรกรมาสมัครเข้าเป็นสมาชิกกันอย่างมากมาย ฝากถึงเพื่อนสมาชิกของสหกรณ์การเกษตรศรีเมืองระยอง จ�ำกัด สิ่งที่อยากจะฝากถึงสมาชิกสหกรณ์ ก็คือ สหกรณ์จะส�ำเร็จ และยิ่งใหญ่ไม่ได้ ถ้าไม่ได้รับความร่วมมือจากสมาชิก ซึ่งเป็นไป ตามวิถีของสหกรณ์ ตามอุดมการณ์ของสหกรณ์ คือ “การช่วย ตนเองและการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน” จะน�ำไปสู่การกินดี อยู่ดี มีความเป็นธรรม และสันติสุขในสังคมตลอดจน หลักการ วิธีการ และคุณค่าของสหกรณ์ สมาชิกต้องมีความรัก ความ ศรัทธาต่อสหกรณ์
Rayong
5
บทความพิเศษ
5 เมษายน 2511 และเริ่มด�ำเนินการตั้งแต่วันที่ 30 เมษายน 2511 เป็นต้นมา สมาชิก ณ วันแรกตัง้ 210 คน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2511 มีสมาชิกทั้งสิ้น 659 คน มีทุนเรือนหุ้น 181,240.- บาท มีเงินให้กู้แก่ สมาชิก 210,885.- บาท มีทนุ ด�ำเนินงานทัง้ สิน้ 216,445.- บาท โดยมี นายสว่าง มาลารักษ์ เป็น ประธานกรรมการด�ำเนินการ คนแรก ด�ำเนินงานมาแล้ว 45 ปี ปัจจุบันมีสมาชิก 6,871คน มีทุนเรือนหุ้น 2,412,054,150.- บาท มีเงินให้กแู้ ก่สมาชิก6,697,201,617.25บาท มีทุนด�ำเนินงานทั้งสิ้น 6,982,703,828.41บาท โดยมีนายธวัชชัย อุ่ยพานิช เป็นประธานกรรมการด�ำเนินการ คนปัจจุบัน
สหกรณ์ออมทรัพย์ครูระยองจ�ำกัด ว่า
มุ่งมั่นสร้างสรรค์เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีก
วิสัยทัศน์ (VISION) สหกรณ์ อ อมทรั พ ย์ ค รู ร ะยอง มั่ น คงในธรรมาภิ บ าล มุ ่ ง สู ่ มาตรฐานสากล The Rayong Teachers Saving and Credit Cooperative. Being Stable in the Good Governance. Towards International Standards. สิทธิของสมาชิก 1. ร่วมประชุมแสดงความคิดเห็น และความต้องการต่อที่ประชุม ใหญ่ ซักถามข้อสงสัย ข้อเสนอแนะได้เท่าเทียมกัน 2. ออกเสียงเลือกตัง้ กรรมการด�ำเนินการ และมีสทิ ธิได้รบั เลือก ตั้งเป็นกรรมการจากที่ประชุมใหญ่ได้ 3. สอบถามการด�ำเนินงานของสหกรณ์ จากคณะกรรมการหรือ เจ้าหน้าที่ได้ รวมทั้งขอตรวจดูเอกสารรายงานการประชุมต่างๆ ได้ ตามที่ข้อบังคับก�ำหนด
“ครู” คือผูท้ มี่ บี ทบาทส�ำคัญต่อการพัฒนาประเทศชาติให้ เจริญก้าวหน้า ขณะเดียวกัน ครูเองก็จำ� เป็นต้องมีคณ ุ ภาพชีวติ ทีด่ ดี ว้ ย สหกรณ์ออมทรัยพ์ครูจงึ มีบทบาทส�ำคัญยิง่ ต่อการช่วย เสริมเติมเต็มคุณภาพชีวิตของครู ให้มีความพร้อมต่อการท�ำ หน้าที่ที่ส�ำคัญนั้นให้สมบูรณ์ที่สุด สหกรณ์ออมทรัพย์ครูระยอง จ�ำกัด (THE RAYONG TEACHERS SAVING AND CREDIT COOPERATIVE, LIMITED) ประโยชน์ของสมาชิก จดทะเบียนก่อตั้งตามพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ. 2511 เมื่อวันที่ 1. สมาชิกมีความสามัคคี ปรองดอง อันจะน�ำความเจริญมาสู่ ประเทศชาติได้ 2. สหกรณ์ส่งเสริมให้สมาชิกรู้จักการอยู่ ร่วมกันโดยสันติ การสหกรณ์เป็นวิธีการที่อุ้มชู ผู้ที่ยากจนให้มีฐานะดีขึ้น โดยมิได้ท�ำลายคน มั่งมี 3. เป็นแหล่งจัดหาเงินทุนมาให้สมาชิก กู้ยืมไปลงทุนในการประกอบอาชีพเสริม 4. มีความเสมอภาคกันและเป็นประชาธิปไตย โดยให้ทุกคนมีสิทธิเท่าเทียมกัน ในการออก เสียงแสดงความคิดเห็นเกีย่ วกับกิจการสหกรณ์ 5. ได้รับสวัสดิการต่างๆ ตามที่สหกรณ์ จัดให้ อาทิ ทุนการศึกษาบุตร ค่าตอบแทน สมาชิกทีเ่ กษียณอายุราชการ สงเคราะห์สมาชิก ที่เสียชีวิต สงเคราะห์คู่สมรส และบุตรสมาชิก กรณีเสียชีวิต การประกันเงินกู้ ฯลฯ รูปแบบการให้บริการของสหกรณ์ฯ 1. บริการรับฝากเงิน ออมทรัพย์ ออมทรัพย์ พิเศษ และฝากประจ�ำ ดอกเบี้ยสูงกว่าธนาคาร 2
2. บริการให้เงินกูแ้ ก่สมาชิกทีห่ ลากหลาย อาทิ กูส้ ามัญ กูพ้ เิ ศษ กู้ฉุกเฉิน โดยเสียดอกเบี้ยต�ำ่ กว่าธนาคาร 3. บริการให้ความรู้แก่สมาชิกอย่างน้อยคนละ 1 ครั้ง ตามที่ ต้นสังกัดจัดให้ ทิศทางการบริหารงานสหกรณ์ฯ สหกรณ์ออมทรัพย์ครูระยอง จ�ำกัด บริหารงานตามพันธกิจ ของสหกรณ์ คือ 1. บริการสมาชิกด้วยความประทับใจ 2. การพั ฒ นาระบบข้ อ มู ล สารสนเทศและเทคโนโลยี ที่ มี ประสิทธิภาพมาใช้ในการบริหารจัดการ 3. พัฒนาการจัดการองค์กร โครงสร้างและระบบบริหารงาน สหกรณ์ให้เป็นไปตามมาตรฐานองค์กร รางวัลคุณภาพแห่งชาติ (Thailand Quality Award) 4. จั ด สวั ส ดิ ก ารเพื่ อ พั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต ของสมาชิ ก และ ครอบครัวให้มีความมั่นคง 5. พัฒนาบุคลากรสหกรณ์ให้มีความพร้อมในการขับเคลื่อน การพัฒนาสหกรณ์ 6. สร้างภาคีเครือข่ายการบริหารสหกรณ์กบั องค์กรต่าง ๆ และ เชือ่ มโยงเครือข่ายธุรกิจในขบวนการสหกรณ์ให้เอือ้ ต่อประสิทธิภาพ การบริหารงานของสหกรณ์ 7. ให้การช่วยเหลือและมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชนและ สังคม
บุคลากร ก�ำหนดวิธีการประเมิน การเลื่อนต�ำแหน่งโดยเทียบเคียง กับต�ำแหน่งของบุคลากรในสายวิชาชีพต่างๆ 3. ก�ำหนดหลักสูตรและก�ำหนดมาตรฐานความรู้และทักษะ ที่จ�ำเป็น ส�ำหรับการปฏิบัติงานของพนักงาน ฝ่ายจัดการ ตลอด จนการเลื่อนต�ำแหน่ง (Career Pathway) ให้สอดคล้องกับการ ปฏิบัติงานในองค์กรยุคใหม่อย่างมืออาชีพ 4. ประสานความร่วมมือกับสถาบันการศึกษา ชุมชนสหกรณ์ และภาคีเครือข่ายสหกรณ์ในการพัฒนาพนักงานฝ่ายจัดการให้มี ความเป็นมืออาชีพ สหกรณ์ออมทรัพย์ครูระยอง จ�ำกัด เป็นสถาบันการเงินที่ เป็นทีพ ่ งึ่ ของสมาชิก ช่วยเหลือเกือ้ กูล ซึง่ กันและกัน โดยสมาชิก แต่ละท่านสามารถตรวจสอบการด�ำเนินงานของสหกรณ์ฯ ได้ ทุกขั้นตอน รวมทั้งเสนอแนวคิดที่เป็นประโยชน์เพื่อพัฒนา กิจการสหกรณ์ฯ ให้ยั่งยืนสืบไป
แนวทางการบริหารจัดการสหกรณ์ สหกรณ์ออมทรัพย์ครูระยอง จ�ำกัด มีแนวทางในการบริหาร จัดการ เพื่อให้เกิดผลประโยชน์สูงสุดแก่สมาชิกและสหกรณ์ คือ การระดมเงินทุนของสหกรณ์ ในรูปแบบต่างๆ ทั้งเงินฝาก หุ้น เงินกู้ ตลอดจนกองทุนต่างๆ ของสหกรณ์โดยมีเป้าหมายให้มยี อดเงิน ฝาก และเงินหุน้ ตลอดจนกองทุนต่างๆ สูงกว่ายอดเงินทีใ่ ห้สมาชิกกู้ ยังประโยชน์ให้เกิดความมั่นคงทั้งมวลสมาชิกและสหกรณ์ฯ หลักการบริหารงานบุคลากร 1. ศึกษาการก�ำหนดโครงสร้างและมาตรฐานต�ำแหน่งของ พนักงานฝ่ายจัดการทีส่ อดคล้องกับการจัดการองค์กร อย่างมืออาชีพ รองรับการปรับเปลีย่ นและพัฒนาองค์กรสูค่ วามเป็นมาตรฐานสากล 2. พัฒนาและปรับโครงสร้างต�ำแหน่ง การก�ำหนดมาตรฐาน ต�ำแหน่ง ก�ำหนดต�ำแหน่งงานที่เหมาะสมกับภาระงาน การก�ำหนด สายงาน การก�ำหนดความก้าวหน้าในต�ำแหน่งแต่ละสายงานของ
Rayong
3
สโมสรฟุตบอล
ง อ ย ะ ร . ท ปต
รู้จักทีมสโมสรฟุตบอล ปตท.ระยอง
สโมสรฟุตบอล ปตท.ระยอง ก่อตั้งมาตั้งแต่ปี 2526 โดยเพื่อนพนักงาน ปตท. และสมาชิกของชมรมฟุตบอล มีชื่อ เดิมว่า ทีมฟุตบอล ปตท. ผ่านการแข่งขันมาหลากหลาย รายการทั้งในประเทศและต่างประเทศ โดยมีฐานเหย้าอยู่ที่ สนามธูปะเตมีย์ กรุงเทพมหานคร ปลายปี 2553 บริษัทในกลุ่ม ปตท. พื้นที่มาบตาพุด จังหวัดระยอง เล็งเห็นว่า จังหวัดระยองนั้นเปรียบเสมือนบ้าน หลังที่สองของกลุ่ม ปตท. จึงมีเป้าหมายอย่างชัดเจนในการ พัฒนาคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อมของชุมชนให้ดีขึ้นในทุกๆ ด้าน อีกทั้งเล็งเห็นว่า กีฬาสามารถสร้างความแข็งแกร่งใน ชุมชน สร้างความรักความสามัคคีได้ ซึง่ สอดคล้องกับแนวทาง ความรับผิดชอบต่อสังคม ของกลุ่ม ปตท. และเพื่อให้สมดัง เจตนารมณ์กลุ่ม ปตท.และหน่วยงานในจังหวัดระยอง จึงได้ จัดตั้งทีมฟุตบอลให้กับจังหวัดระยองใน นาม “ ทีมฟุตบอล ปตท.ระยอง ” โดยมีแนวทางจากการพัฒนาทีมฟุตบอล ปตท. เดิมที่มีอยู่แล้ว ให้เข้มแข็งอย่างจริงจังมากยิ่งขึ้น โดยมี เป้าหมายที่จะก้าวสู่ระดับ Thai Premier League และระดับ สากล น�ำพาชื่อเสียงมาสู่จังหวัดระยอง
2
ในปี 2554 สโมสรฟุตบอล ปตท.ระยอง ได้จดทะเบียน เป็นนิติบุคคล เพื่อปรับระบบการบริหารจัดการสโมสรให้มี ความเป็นมืออาชีพ และเพื่อเตรียมขึ้นสู่ลีกอันดับ 1 ของเมือง ไทย ภายใต้ชื่อบริษัท สปอร์ต เซอร์วิสเซส อัลไลแอนซ์ จ�ำกัด พร้อมกับการสร้างสนามเหย้าเป็นของตัวเองคือ “สนาม สวนสมุนไพร-มาบข่า” ต่อมาในปี 2556 ได้เปลี่ยนชื่อเป็น “สนามพีทีที สเตเดียม” และพัฒนาระบบต่างๆ ภายใน สนามให้พร้อมท�ำหน้าที่แบ่งปันรอยยิ้ม ความสุข และความ สนุกสนานจากเกมกีฬาฟุตบอล ให้กับชาวระยองและพื้นที่ ใกล้เคียงได้อย่างจุใจ นับตั้งแต่การคัดเลือกหญ้าคุณภาพดี การสร้างอัฒจันทร์ที่มีความจุถึง 16,000 ที่นั่ง พร้อมด้วยห้อง แถลงข่าว ห้องรับรองสื่อมวลชน ห้องพักนักกีฬาทีมเหย้าและ ทีมเยือน ห้องพักผู้ตัดสิน ห้องปฐมพยาบาล ห้องวีไอพี ร้าน จ�ำหน่ายสินค้าที่ระลึก ที่ส�ำคัญในสนามมีไฟส่องสว่างอยู่ที่ 1,200 ลักซ์ จัดได้ว่า เป็นสนามฟุตบอลคุณภาพสูงตามหลัก มาตรฐานสากล และใหญ่ที่สุดในจังหวัดระยอง
วิสัยทัศน์ พันธกิจ ภารกิจ สโมสรฟุตบอล ปตท. ระยอง วิสัยทัศน์ สโมสรฟุตบอล ปตท. ระยอง จะสร้างทีมฟุตบอลที่แข็งแกร่ง สามารถก้าวสูร่ ะดับพรีเมียร์ลีก และเป็นทีมชั้นน�ำของภูมภิ าคเอเชีย เยาวชนในพืน้ ทีจ่ งั หวัดระยองและพืน้ ทีใ่ กล้เคียง จะต้องได้รบั โอกาส ในการพัฒนาทักษะทางด้านฟุตบอลอย่างต่อเนื่อง จนสามารถก้าว สู่การเป็นนักกีฬาฟุตบอลอาชีพในระดับประเทศและระดับสากล สโมสรฟุตบอล ปตท. ระยอง จะต้องเป็นทีมยอดนิยม เชือ่ มต่อความ รัก ความผูกพัน และความสามัคคีของชาวระยองเข้าด้วยกัน พันธกิจ 1. สร้างและพัฒนาทีมฟุตบอลให้แข็งแกร่งและมีคณ ุ ภาพอย่าง ต่อเนื่องทั้งในระยะสั้นและระยะยาว 2. เสริมสร้างความรูค้ วามสามารถ และทักษะทางด้านฟุตบอล ให้กับเยาวชนในจังหวัดระยองอย่างต่อเนื่อง 3. สร้างและพัฒนาความสัมพันธ์ทดี่ รี ะหว่าง สโมสรฯ กับชุมชน อย่างต่อเนื่อง ภารกิจ นอกจากเกมการแข่งขันฟุตบอลแล้ว สโมสรฟุตบอล ปตท. ระยอง ได้ด�ำเนินโครงการส่งเสริมและพัฒนาทักษะทางด้านกีฬา ฟุตบอลให้แก่เยาวชนในจังหวัดระยอง เพื่อให้ได้รับโอกาสในการ พัฒนาทักษะทางด้านฟุตบอลอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ กลุ่ม ปตท. ยังมีแผนทีจ่ ะสร้าง Football Academy เพือ่ เปิดโอกาสให้กบั เยาวชน ในพื้นที่จังหวัดระยองและใกล้เคียงได้มีประสบการณ์และพัฒนา ทักษะทางด้านฟุตบอล เพื่อเป็นการวางรากฐานให้เยาวชนสามารถ ก้าวสูก่ ารเป็นนักกีฬาฟุตบอลอาชีพในระดับประเทศและระดับสากล ต่อไปในอนาคต อาทิ
Rayong
3
● โครงการค่ายส่งเสริมและพัฒนาทักษะทางด้านกีฬาฟุตบอล
โดย เปิดโอกาสให้เด็กและเยาวชนอายุไม่เกิน 19 ปี ที่มีทักษะการเล่นฟุตบอล เป็นอย่างดี เพื่อคัดเลือกเป็นตัวแทนของทีมปตท.ระยอง เข้าแข่งขัน “ฟุตบอลเยาวชนโค้กคัพ” ● โครงการฟุตบอลเยาวชน “PTT Group Cup” ชิงถ้วยพระราชทาน สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ● โครงการ Football Academy ร่วมกับโรงเรียนในจังหวัดระยอง ● โครงการพัฒนาทักษะฟุตบอลเยาวชนเบื้องต้น ● โครงการพัฒนาทักษะฟุตบอลเยาวชน Football On Tour กับ โรงเรียนในจังหวัดระยอง อีกทั้งกิจกรรมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างแฟนคลับชาวระยองอีก มากมาย ทั้งนี้เพื่อเชื่อมต่อความรัก ความผูกพัน และความสามัคคีของ ชาวระยองเข้าด้วยกัน อันจะน�ำไปสู่ความผาสุกของครอบครัวและสังคม ระยองต่อไป อาทิ + โครงการจิตอาสา ครั้งที่ 1 รวมใจอาสา แบ่งปันรอยยิ้มสู่น้องๆ คามิลเลียน ระยอง + โครงการจิตอาสา ครั้งที่ 2 ร่วมด้วยช่วยกันสานฝันสนามเด็กเล่น + โครงการประกวดมิสพลังเพลิง พลังเชียร์จากสาวสวย เมืองระยอง + โครงการฟุตบอลแฟนคลับ ศึกบูรพาเกมส์และกิจกรรม สร้างความสัมพันธ์อนื่ อย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ ส่งเสริมการเสริมสร้าง ความรัก ความสุข ภายในครอบครัว และชุมชน
4