Phetburi

Page 1


»¡Ë¹éÒã¹AD ÊÂÒÁ¡ÑÅ.pdf 1 23/8/2557 16:59:15

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K


»¡Ë¹éÒã¹AD ÍԪԵѹ.pdf 1 9/7/2557 15:05:58

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K


AD âçáÃÁÃÍÂÑÅ ä´Á͹ ྪúØÃÕ.pdf 1 26/8/2557 12:14:39

âçáÃÁÃÍÂÑÅ ä´Á͹ ྪúØÃÕ PHETCHABURI

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

âçáÃÁÃÍÂÑÅ ä´Á͹ ྪúØÃÕ

ºÃÔ¡ÒÃˌͧ¾Ñ¡Áҵðҹ 58 ˌͧ,ÇÔÇÊǹ ÇÔÇàÁ×ͧ áÅÐÇÔǾÃÐÃÒªÇѧ ºÃÔ¡ÒÃˌͧ¾Ñ¡»ÃЪØÁ ÊÑÁÁ¹Ò 5 ˌͧ ÃͧÃѺ䴌µÑé§áµ‹ 10 - 1,000 ·‹Ò¹ ºÃÔ¡ÒáÃØ »·ÑÇà 㹻ÃÐà·ÈáÅе‹Ò§»ÃÐà·È âµ ÐáªÃ §Ò¹àÅÕé§ÊѧÊÃä ºÃÔ¡ÒôպÒà ºÒà ʺÒÂæ ·‹ÒÁ ¡ÅÒ§áÁ¡äÁŒ áÅд¹µÃÕÊ´·Õè¨Í´Ã¶ ÃͧÃѺö¹µ 200 ¤Ñ¹ ö·ÑÇà 30 ¤Ñ¹ ºÃÔ¡ÒèѴàÅÕé§ã¹áÅÐ ¹Í¡Ê¶Ò¹·Õè ã¹Theme µ‹Ò§æ ÍÒ·Ô §Ò¹ÇÑ´ Êǹʹء »Òà µÕé ÊíÒÃͧ·Õè¹Ñè§Å‹Ç§Ë¹ŒÒä´Œ·Õè

032411061-70 081-5718524-5

www.royaldiamondhotel.com / www.facebook.com/royaldiamondhotel


p.003AD àÍàªÕ¿մ.pdf 1 27/8/2557 15:40:59

บริษท ั เอเชีย� น ฟี ด จํากัด "ผูผ ้ ลิตและจําหน่ ายอาหารสัตว์นํ�า"

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

บริษท ั เอเชีย� น ฟี ด จํากัด เลขที� 239 ม.3 ถนนเพชรเกษม กม. 180-181 ต.ท่ายาง อ.ท่ายาง จ.เพชรบุรี 76130 Tel : 0-3243-7922-5 Fax : 0-3243-7134-5 Email : Asian7@asianfeed.co.th


AD â«à¿Ãª ÃÕÊÍÃì·.pdf 1 27/8/2557 15:24:53

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

· Ã Í Ê Õ Ã ª Ã â«à¿

ʺÒÂæ¡Ñº¡Òþѡ¼‹Í¹ã¹ºÃÃÂÒ¡ÒÈ Ê§ºæ 㨡ÅÒ§àÁ×ͧྪúØÃÕ ¡Ñº â«à¿Ãª ÃÕÊÍà · ·Õè¾Ñ¡ÊíÒËÃѺ¹Ñ¡·‹Í§à·ÕèÂÇ â«à¿Ãª ÃÕÊÍà · ໚¹ ÃÕÊÍà · ·ÕèµÑé§ÍÂÙ‹ã¹à¢µÍíÒàÀÍ àÁ×ͧྪúØÃÕ ã¡ÅŒÊ¶Ò¹·Õ跋ͧà·ÕèÂǵ‹Ò§æ ÁÒ¡ÁÒ ã¹àÁ×ͧྪà ઋ¹ ¾ÃÐÃÒªÇѧ ºŒÒ¹»„¹ ¾Ãй¤Ã¤ÕÃÕ ¶íéÒà¢ÒËÅǧ ËÃ×Í áËÅ‹§ÃѺ»ÃзҹÍÒËÒà ÃÇÁ¶Ö§ ʶҹ ºÑ¹à·Ô§µ‹Ò§æ

àÅ¢·Õè 64/33 ¶¹¹ÀÙÁÔÃÑ¡É µ.·‹ÒÃÒº Í.àÁ×ͧ ¨.ྪúØÃÕ 089-1774333


AD âÃÁáÃÁ«Ñ¹.pdf 1 25/7/2557 13:08:33


AD ++sbl.pdf

1

8/26/57 BE

7:00 PM

AD ¡Ñ§ÇÒÅ+à¾Ãª+sbl.pdf 1 25/8/2557 20:35:23

C

C

M

M

Y

Y

CM

CM

MY

MY

CY

CY

CMY

CMY

K

K

ร่วมเดินทางไปกับเรา

SBL MAGAZINE

(นิตยสารเส้นทางอุตสาหกรรมและท่องเที่ยว) www.smart-sbl.com

ติดตอลงโฆษณา

Tel. 0-2522-7171 บร�ษัท สมารท บิซิเนส ไลน จำกัด 52 ซอยรามอินทรา 99 แยก 2 ถนนรามอินทรา แขวงคันนายาว เขตคันนายาว กรุงเทพฯ 10230 โทร. 0-2522-7171 แฟกซ. 0-2971-7747 E-mail : sbl2553@gmail.com


AD ford.pdf 1 25/8/2557 13:21:30

ºÃÔÉÑ· ».ÃØ‹§âè¹ ¹µÃ¡Òà 1997 ¨íÒ¡Ñ´

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

ºÃÔÉÑ· ».ÃØ‹§âè¹ ¹µÃ¡Òà 1997 ¨íÒ¡Ñ´ 298 ËÁÙ‹ 6 ¶.à¾Ãªà¡ÉÁ µ.ºŒÒ¹ËÁŒÍ Í.àÁ×ͧ ¨.à¾ÃªºØÃÕ 76000

â·Ã. 032-419266-8


E d i t o r ’s T a l k คณะที่ปรึกษา ศ.ดร.กฤช เพิ่มทันจิตต, นิเวศน กันไทยราษฎร ดร.วัลลภ อารีรบ, ดร.สุมิท แชมประสิทธิ์ ดร.พิชัย ทรัพยเกิด ฝายกฎหมาย สมคิด หวังเชิดชูวงศ, ทวิช อมรนิมิตร บรรณาธิการอํานวยการ ศุภกิจ ศิลปรังสรรค บรรณาธิการบริหารสายงานบุคคล พงษศักดิ์ พรณัฐวิฒิกุล บรรณาธิการการบริหารสายงานการตลาด ปณณศักดิ์ ศิลปรังสรรค กองบรรณาธิการ ชานันท หัสสรังสี, จุฑามาศ วองเลขา ชางภาพ กร พงศไพบูลยเวชย กราฟคดีไซน ศศิธร ดวงแสง, ชานันท หัสสรังสี ผูอํานวยการฝายขายโฆษณา กชกร รัฐวร ผูจัดการฝายโครงการ วิษณุ เกิดศิริ, เปรมยุดา ประพฤติธรรม ประสานงานภาครัฐ ชัชชัย สุโกสิ ฝาย IT และประสานงาน ชานันท หัสสรังสี, จุฑามาศ วองเลขา ฝายการเงิน-การบัญชี ดวงตา พิมลศิริ

ไมทนั ไรเราก็ผา นครึง่ ป 2557 มาอยางรวดเร็ว บานเมืองเราสงบสุขขึ้นและมีขาวดีๆ ออกมาเปน ระยะ ๆ โดยเฉพาะขาวในพระราชสํานักที่เผยแพร การเสด็จฯโครงการช า งหั ว มั น ของพระบาท สมเด็ จ พระเจ า อยู  หั ว เพื่ อ ทรงติ ด ตามความ คืบหนาของโครงการฯอยางใกลชิด เปนภาพที่ เชื่อวาคนไทยเฝารอชมดวยความสุขที่ไดเห็นวา พระองคทรงมีพระพลานามัยสมบูรณแข็งแรง และ มีพระพักตรผองใส นิตยสาร SBL ฉบับแนะนําจังหวัดเพชรบุรี จึงไมพลาดที่จะนําเอาภาพ ความประทับใจของคนไทยมารวบรวมไวอกี ครัง้ คอลัมน “ใตรม พระบารมี” พรอม ทัง้ นําเอาความโดดเดนของจังหวัดเพชรบุรีมานําเสนอใหไดรจู ักกันมากยิ่งขึน้ โดย การสัมภาษณพิเศษ ทานผูวาฯมณเฑียร ทองนิตย พรอมบุคคลสําคัญอีกทาน หนึง่ คือ ทานอลงกรณ พลบุตร นักการเมืองเลือดใหมเจาของฉายา “Mr.Ethanol” และ “มือปราบคอรัปชั่น” ที่แมจะวางเวนจากการทําหนาที่ ส.ส. แตก็ยังไมละทิ้ง ภารกิจปูทางใหภาคธุรกิจกอนเขาสู AEC พรอมการพาเทีย่ วชมสถาปตยกรรมสวยๆ ของพระราชวังทั้งสามแหงในเมืองเพชร และชวนทานไปชมผลงานศิลปกรรมชาง สิบหมูที่หาชมไดยากยิ่ง และเรื่องราวอื่น ๆ อีกมากมาย ในโอกาสนี้กระผมใครขอขอบพระคุณท า นผู  ว  า ฯมณเฑี ย ร ทองนิ ต ย ทานอลงกรณ พลบุตร ทานประเสริฐ สีนํ้าเพชร--อุตสาหกรรมจังหวัดฯ และ พ.จ.อ.กาญจนกุล เทียนสุวรรณ ทองถิ่นจังหวัดฯ หนวยงานราชการตางๆ พรอม ทั้งองคกรปกครองสวนทองถิ่นที่เห็นความสําคัญของการเผยแพรประชาสัมพันธ การทํางานใหเปนที่แพรหลาย และทายนี้ตองขอบคุณบริษัท หางรานที่ใหการ สนับสนุนการจัดพิมพนิตยสารใหสําเร็จลวงดวยดี ซึ่งหากมีสิ่งใดขาดตกบกพรอง กระผมและทีมงานตองกราบขออภัยมา ณ โอกาสนี้ และพรอมรับฟงคําติชมจาก ทุกทานดวยความยินดียิ่งครับ ดวยรักและขอบคุณจากใจ

บริษัท สมารท บิซิเนส ไลน จํากัด 9/4-6 ถนนรามอินทรา แขวงอนุสาวรีย เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร 10220 เบอรโทร 02- 522-7171 www.smart-sbl.com

(ศุภกิจ ศิลปรังสรรค) บรรณาธิการอํานวยการ ติดตอคุณศุภกิจ ศิลปรังสรรค โทรศัพท 08-1442-4445, 08-4874-3861 e-mail : supakit.s@live.com


Contents 100 170

172 158

25 90 17 25 36 45 52 62 63 64 66 68 70 72 74 80 90 119 120 122 124 125

ใต้ร่มพระบารมี เส้นทางพบผู้ว่าราชการจังหวัด เส้นทางพบบุคคลส�าคัญ เส้นทางพบอุตสาหกรรมจังหวัด เส้นทางพบท้องถิ่นจังหวัด เส้นทางพบสนง.สหกรณ์จังหวัด สหกรณ์หุบกะพง สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนจังหวัดเพชรบุรี สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนรวมน�้าใจท่ายาง สหกรณ์การเกษตรบ้านลาด เส้นทางพบสหกรณ์ออมทรัพย์ครู เส้นทางพบ สพป.เพชรบุรี เขต 1 เส้นทางพบโรงเรียนเบญจเทพอุทิศ เส้นทางพบโรงเรียนวัดดอนไก่เตี้ย เส้นทางท่องเที่ยว อบต.ดอนยาง อบต.ธงชัย อบต.ช่องสะแก อบต.บ้านหมอ ทม.ชะอ�า

126 128 130 132 134 135 136 140 142 146 180 182 183

อบต.ห้วยทรายเหนือ อบต.ยางน�้ากลัดใต้ ทต.หนองจอก อบต.มาบปลาเค้า อบต.ไร่สะท้อน อบต.ปากทะเล ทต.บ้านแหลม ทต.บางตะบูน อบต.บางตะบูน เส้นทางการอนุรักษ์ เส้นทางสู่ AEC เส้นทางสุขภาพ เส้นทางความงาม

166 36 90

110

90


Hanapella º·¤ÇÒÁ 1.pdf 1 15/11/2556 17:31:25


Hanapella º·¤ÇÒÁ2.pdf 1 15/11/2556 17:30:14

¹ŒÍ§Êµ Í» ¾ÃÔµµÕéà§Ô¹ÅŒÒ¹

¤Ø³»Ø‡Á਌Ңͧ¼ÅÔµÀѳ±


º·¤ÇÒÁâµâµéÒ.pdf 1 25/8/2557 14:10:22

âµâµŒÒàÁ×ͧྪÃ...·Õè˹Öè§ã¹àÃ×èͧºÃÔ¡Òà àª×èÍá¹‹Ç‹Ò ºÃÔÉÑ· âµâµŒÒàÁ×ͧྪà ¨íÒ¡Ñ´ ¤§¤ØŒ¹Ë٤،¹µÒªÒÇàÁ×ͧྪúØÃÕ ´ŒÇÂÊÑÞÅѡɳ ¼ÕàÊ×éÍ·Õèâ´´à´‹¹ ºÃÔËÒçҹâ´Â ¼ÙŒºÃÔËÒÃÃØ‹¹ãËÁ‹ä¿áç «Ö觵‹Ò§ÁØ‹§ËÇѧãËŒâµâµŒÒàÁ×ͧྪà ໚¹·Õè˹Öè§ã¹ã¨¢Í§ÅÙ¡¤ŒÒªÒÇàÁ×ͧྪúØÃÕáÅШѧËÇÑ´ã¡ÅŒà¤Õ§ÀÒÂ㵌ÊâÅ᡹ "QUALITY AND HAPPINESS ¤Ø³ÀÒ¾áÅФÇÒÁÊØ¢´ŒÇ·ÕèÊØ´áË‹§ºÃÔ¡ÒÃ"

C

M

Y

¤Ø³Ãʨѹ·Ã àÇÈ ÇÃصÁ ¡ÃÃÁ¡Òüٌ¨Ñ´¡Òà ¡Å‹ÒǶ֧¡ÒÃà» ´µÑǢͧâµâµŒÒàÁ×ͧྪÃÇ‹Ò “ àÃÒä´ŒÃѺ¡ÒÃᵋ§µÑé§ ¨Ò¡ º.âµâµŒÒÁÍàµÍà »ÃÐà·Èä·Â àÁ×èÍÇѹ·Õè 1 ¡Ã¡®Ò¤Á 2556«Ö觹͡¨Ò¡¨ÐÁÕâªÇ ÃÙÁ¨íÒ˹‹ÒÂö¹µ ·Ø¡ÃØ‹¹·Ø¡áºº ¾ÃŒÍÁÈٹ ºÃÔ¡Ò÷ѹÊÁÑÂáÅÐÁÕÈٹ «‹ÍÁµÑǶѧáÅÐÊÕ «Öè§ä´ŒÃѺ¡ÒÃÃѺÃͧÁҵðҹäÇŒà¾×èÍãËŒºÃÔ¡ÒÃÍ‹ҧ¤ÃºÇ§¨Ã ãËŒÊÍ´ ¤ÅŒÍ§¡ÑºÊÀÒÇеÅҴö¹µ ¢Í§¨Ñ§ËÇѴྪúØÃÕ ·ÕèÁÕ¡ÒÃᢋ§¢Ñ¹áÅÐà¨ÃÔÞàµÔºâµÍ‹ҧÃÇ´àÃçÇ»ÃСͺ¡ÑºÃ¶Â¹µ ໚¹»˜¨¨Ñ ÊíÒ¤ÑÞ˹Öè§ã¹¡ÒôíÒà¹Ô¹ªÕÇÔµ »˜¨¨ØºÑ¹âµâµŒÒàÁ×ͧྪà ÁÕÊíҹѡ§Ò¹ãËŒºÃÔ¡Òà 2 ÊÒ¢Ò¤×Í Êíҹѡ§Ò¹ªÐÍíÒáÅÐÊíҹѡ§Ò¹ãËÞ‹ ·‹ÒÂÒ§ â´ÂÁÕ»ÃѪÞÒËÃ×ÍËÑÇã¨ÊíÒ¤ÑÞ㹡ÒÃ㪌໚¹¹âºÒÂ㹡ÒúÃÔËÒçҹ¤×Í “QUALITY AND HAPPINESS ¤Ø³ÀÒ¾ áÅФÇÒÁÊØ¢´ŒÇ·ÕèÊØ´áË‹§ºÃÔ¡ÒÔ QUALITY ËÁÒ¶֧¤Ø³ÀÒ¾àÃÒµÃÐ˹ѡ´ÕÇ‹ÒÅÙ¡¤ŒÒ·ÕèÁÒÃѺºÃÔ¡Ò÷ÕèºÃÔÉÑ·âµâµŒÒàÁ×ͧྪà ŌǹµŒÍ§¡ÒäسÀÒ¾ ·Ñ駤سÀҾöãËÁ‹ ¤Ø³ÀҾ㹡Òë‹ÍÁºíÒÃا ¤Ø³ÀҾ㹡Òë‹ÍÁµÑǶѧáÅÐÊÕ ÃÇÁ¶Ö§¤Ø³ÀҾ㹡Òà ãËŒºÃÔ¡Òà áÅÐàÃÒàª×èÍÁÑè¹Ç‹Ò àÁ×èÍÅÙ¡¤ŒÒä´ŒÃѺ¤Ø³ÀÒ¾µÒÁ¤ÇÒÁ¤Ò´ËÇѧáÅŒÇ ¤ÇÒÁÊØ¢ËÃ×Í HAPPINESS ‹ÍÁà¡Ô´¢Öé¹µÒÁ ÁÒÍ‹ҧṋ¹Í¹ ÃÇÁ·Ñ駤ÇÒÁÊØ¢·Õèà¡Ô´¢Ö鹨ҡºÃÃÂÒ¡ÒÈáÅÐÊÔè§ÍíҹǤÇÒÁÊдǡµ‹Ò§æ ·ÕèàÃÒ·ÕÁ§Ò¹âµâµŒÒàÁ×ͧྪà 䴌¨Ñ´àµÃÕÂÁäÇŒÊíÒËÃѺãËŒºÃÔ¡ÒÃÅÙ¡¤ŒÒ·Ø¡·‹Ò¹Í‹ҧ´ÕÂÔè§ ¤Ø³Ãʨѹ·Ã àÇÈ ÇÃصÁ ¡ÃÃÁ¡Òüٌ¨Ñ´¡ÒÃ

CM

MY

CY

CMY

K

¤Ø³¨Ñ¡Ã¡Äɳ àÇÈ ÇÃصÁ ¡ÃÃÁ¡Òüٌ¨Ñ´¡Òà ¡Å‹ÒÇàÊÃÔÁã¹àÃ×èͧ¤ÇÒÁ¾ÃŒÍÁ¢Í§Èٹ ºÃÔ¡Ò÷Õè·Ñ¹ÊÁÑÂä´ŒÁÒµÃ°Ò¹Ç‹Ò “à¹×èͧ¨Ò¡µÅҴö¹µ ÁÕ¡ÒâÂÒµÑÇÍ‹ҧÁÒ¡ »ÃСͺ¡Ñº »ÃÐà·Èä·Â໚¹Èٹ ¡ÅÒ§¢Í§ AEC áÅзÕ輋ҹÁÒ performance ¢Í§¨Ñ§ËÇѴྪúØÃÕ´ÕÁÒ¡ ºÒ§à´×͹¶Ö§ 47 % ¢Í§ÂÍ´ ¢ÒÂöÃÇÁ ·íÒãËŒÈٹ ºÃÔ¡ÒõŒÍ§ÁÕ¢¹Ò´ãËÞ‹äÇŒà¾×èÍÃͧÃѺÅÙ¡¤ŒÒ à¾×èÍãËŒÅÙ¡¤ŒÒä´ŒÁÑè¹ã¨Ç‹Ò¼ÅÔµÀѳ± âµâµŒÒäÇŒ ÇÒ§ã¨ä´Œ µÒÁ·Õèà¤ÂÁÕÇÔ¨ÑÂã¹àÃ×èͧ Reliability «Ö觡Ò÷ÕèâµâµŒÒ໚¹à¨ŒÒµÅÒ´¹Ñé¹ àÃÒäÁ‹ä´ŒÁÒẺ¿Åؤæ ṋ¹Í¹à¹×èͧ¨Ò¡Ç‹ÒÃÒ¤Ò¢Òµ‹Í ¡Òë‹ÍÁºíÒÃا ËÃ×ÍÃÒ¤ÒÍÐäËÅ‹·ÕèäÁ‹á¾§ ·íÒãËŒâµâµŒÒÁըشá¢ç§ “áÅе͹¹ÕéàÃÒÁÕÃкº·ÕèàÃÕÂ¡Ç‹Ò TPS Line ¤×ÍàÃÒ¨Ðá¡»ÃÐàÀ·§Ò¹«‹ÍÁàºÒ «‹ÍÁ˹ѡ ¤×Íᡧҹ«‹ÍÁàºÒÍÍ¡ÁÒ ·íÒãËŒ«‹ÍÁ àÊÃç¨ÀÒÂã¹ 3 Çѹ «Öè§àÃçÇ¡Ç‹Òã¹ÊÁÑ¡‹Í¹ÁÒ¡ ÅÙ¡¤ŒÒ¡ç¾Ö§¾Íã¨ÁÒ¡¢Öé¹ Ê‹Ç¹µ‹ÍÁÒ¡ç¤×ÍÃкº ·ÕèãʋࢌÒä» àÃÕÂ¡Ç‹Ò Ãкº EMCS ¤×Í Electronic Motor Claim Solutions¤×ÍÅÙ¡¤ŒÒÊÒÁÒö ·ÃҺʶҹСÒà Claim ·íÒãËŒ¡ÒÃ͹ØÁѵÔÃÇ´àÃçÇÁÒ¡ ÀÒÂã¹Çѹà´ÕÂÇÅÙ¡¤ŒÒÁÒ¤ÃÑé§à´ÕÂÇ¡ç·ÃÒº ¼Åä´ŒàÅ à¾ÔèÁ¤ÇÒÁ¾Í㨢ͧÅÙ¡¤ŒÒ·ÕèÁÒ㪌ºÃÔ¡Ò÷ÕèÈٹ ºÃÔ¡ÒÃâµâµŒÒàÁ×ͧྪà ËÃ×ÍÇ‹ÒÈٹ «‹ÍÁµÑǶѧáÅÐÊÕäÁ‹¼Ô´ËÇѧṋ¹Í¹¤ÃѺ ÊíÒËÃѺ¤ÇÒÁ¾ÃŒÍÁ´ŒÒ¹ºØ¤ÅÒ¡Ã ¢Í§·Ñé§ 2 ÊÒ¢Ò àÃÒÁÕ ·ÕÁª‹Ò§·ÕèàªÕèÂǪÒÞ¼‹Ò¹¡ÒÃͺÃÁËÅÑ¡ÊٵèҡâµâµŒÒÁÍàµÍà »ÃÐà·Èä·Â ¡Ç‹Ò 50 ¤¹ ·Ñé§Èٹ ºÃÔ¡Òà Èٹ «‹ÍÁµÑǶѧáÅÐÊÕÁҵðҹ â´Â·Ò§ºÃÔÉÑ·âµâµŒÒàÁ×ͧྪÃÁÕ¡ÒùíÒ㪌Ãкº ICMS ã¹Ë¹‹Ç§ҹ CALL CENTER àÁ×èÍÅÙ¡¤ŒÒâ·ÃࢌÒÁÒà¾×è͹ѴËÁÒ¹íÒöࢌÒÃѺºÃÔ¡Òà Ãкº¨Ð´Ö§ ¢ŒÍÁÙÅ»ÃÐÇѵÔÅÙ¡¤ŒÒ¢Öé¹ÁÒä´Œ·Ñ¹·ÕÍ‹ҧÃÇ´àÃçÇ·íÒãËŒÅÙ¡¤ŒÒäÁ‹µŒÍ§àÊÕÂàÇÅÒ¹Ò¹áÅÐà¡Ô´¤ÇÒÁ »ÃзѺã¨ÁÒ¡ÂÔ觢Öé¹

Call Center 032 708 555

¤Ø³¨Ñ¡Ã¡Äɳ àÇÈ ÇÃصÁ ¡ÃÃÁ¡Òüٌ¨Ñ´¡ÒÃ


º·¤ÇÒÁâµâµéÒ.pdf 2 25/8/2557 14:10:29

¤Ø³¾Ñ¹¸Ø ¸Ñª ËÔÃÑÞ¨ÔÃÇ§È Ãͧ¡ÃÃÁ¡Òüٌ¨Ñ´¡Òà ¼ÙŒ´ÙáÅ´ŒÒ¹¡ÒõÅÒ´áÅйâºÒ´ŒÒ¹ªØÁª¹áÅÐÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ ¢Í§âµâµŒÒàÁ×ͧྪúØÃÕ ä´Œ¡Å‹ÒǶ֧¤ÇÒÁãʋ㨵‹ÍÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ Ç‹Ò “µÍ¹¹Õé ºÃÔÉÑ· âµâµŒÒ ÁÍàµÍà »ÃÐà·Èä·Â ¨íÒ¡Ñ´ ÁÕ¹âºÒÂãËÁ‹·ÕèÊ×èÍÊÒÃãËŒ¡ÑºÅÙ¡¤ŒÒ·ÃҺNjҵÑÇá·¹¨íÒ˹‹Ò ö¹µ âµâµŒÒ·ÑèÇ»ÃÐà·ÈÁÕ¤ÇÒÁˋǧ㵋ͪØÁª¹áÅÐÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ ©Ð¹Ñé¹âµâµŒÒàÁ×ͧྪÃÊíҹѡ§Ò¹ãËÞ‹·Õè·‹ÒÂÒ§¨Ö§à»š¹Íա˹Öè§ ¼ÙŒá·¹¨íÒ˹‹ÒµÑÇÍ‹ҧ ·ÕèÊÌҧÍÒ¤ÒÃẺ»ÃÐËÂÑ´¾Åѧ§Ò¹ «Ö觨Ð໚¹ÁԵõ‹ÍÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁáÅÐÊдǡʺÒµ‹Í¾¹Ñ¡§Ò¹ áÅÐÅÙ¡¤ŒÒ·ÕèÁÒ㪌ºÃÔ¡Òö֧áÁŒÇ‹Ò¤‹Ò㪌¨‹ÒÂ㹡Òá‹ÍÊÌҧ¨Ð ÊÙ§¢Öé¹ÁÒ¡¡Ç‹Ò¡Òá‹ÍÊÌҧ·ÑèÇ仡çµÒÁ ᵋ¶ŒÒ¾Ù´¶Ö§¼Åã¹ÃÐÂÐ ÂÒǶ×ÍNjҤ،Á¤‹Ò ·Õèä´ŒÁÕʋǹª‹ÇÂàËÅ×ÍÊѧ¤ÁáÅдÙáÅÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ µÒÁ¹âºÒÂËÅÑ¡¢Í§ ºÃÔÉÑ·âµâµŒÒ ÁÍàµÍà »ÃÐà·Èä·Â ¨íÒ¡Ñ´” ·Ñé§ËÁ´¹Õé¡ç¤×ͤÇÒÁá»Å¡ãËÁèáÅФÇÒÁ¾Ö§¾Í㨷Õè ÅÙ¡¤ŒÒ¨Ðä´ŒÊÑÁ¼ÑʡѺâµâµŒÒàÁ×ͧྪà (TOYOTA Muang Petch) ¤Ø³¾Ñ¹¸Ø ¸Ñª ËÔÃÑÞ¨ÔÃÇ§È Ãͧ¡ÃÃÁ¡Òüٌ¨Ñ´¡ÒÃ

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

¤Ø³¹¾Ãѵ¹ àÇÈ ÇÃصÁ Ãͧ¡ÃÃÁ¡Òüٌ¨Ñ´¡Òà ¼ÙŒ´ÙáÅàÃ×èͧ ÊÔè§ÍíҹǤÇÒÁÊдǡÀÒÂã¹Èٹ ºÃÔ¡Òà ãËŒÃÒÂÅÐàÍÕ´à¾ÔèÁàµÔÁÇ‹Ò “âµâµŒÒàÁ×ͧྪâͧàÃÒÁÕConcept·ÕèÇ‹Ò...¤ÇÒÁÊØ¢ÊÌҧ䴌·Õè¹Õè «Öè§ àÃÒÊÌҧäÇŒÃͧÃѺÊíÒËÃѺ·Ø¡ æ ¤¹ã¹¤Ãͺ¤ÃÑǢͧàÃÒ àÃÒÁÕÁØÁ ¡Òá¿äÇŒÊíÒËÃѺºÃÔ¡ÒÃÅÙ¡¤ŒÒ ໚¹¡Òá¿Ê´à¡Ã´¤Ø³ÀÒ¾ ÃÇÁ¶Ö§¢¹Á ऌ¡áÅТ¹ÁËÇÒ¹µ‹Ò§ æ ¡çÁÕäÇŒºÃÔ¡ÒÿÃÕÊíÒËÃѺ¼ÙŒ·Õè¹íÒöࢌÒÁÒÃѺ ºÃÔ¡Ò÷ÕèÈٹ ºÃÔ¡ÒâͧàÃÒ ã¹Ê‹Ç¹¢Í§ Internet Zone àÃÒÁÕ Internet ¤ÇÒÁàÃçÇÊÙ§äÇŒÊíÒËÃѺÃͧÃѺÅÙ¡¤ŒÒ¡ÅØ‹ÁÅÙ¡ æ ËÅÒ¹ æ ¢Í§àÃÒ ºØµÃËÅҹ䴌àÅ‹¹à¡ÁÊ à¾×èͤÇÒÁºÑ¹à·Ô§ ËÃ×ͨФŒ¹¤ÇŒÒËÒ¢ŒÍÁÙŵ‹Ò§ æ áÅÐã¹Ê‹Ç¹¢Í§ËŒÍ§ÅÙ¡¤ŒÒÃѺÃͧ ¡çÁÕ¤ÇÒÁâ͋⶧ ÊдǡʺÒ ÁÕ Movie Zone ´ŒÇÂ¨Í LED ¢¹Ò´ãËÞ‹¶Ö§ 70 ¹ÔéÇ à¾×èͤÇÒÁ¤ÁªÑ´ áÅЪѴਹ ÃÇÁ¶Ö§à¡ŒÒÍÕé¹Ñ觷ÕèÁÕ¤ÇÒÁÊдǡʺÒÂà·Õº෋ÒâçáÃÁ 5 ´ÒÇ ÊíÒËÃѺÅÙ¡¤ŒÒ·ÕèࢌÒÁÒ·ÕèÊíҹѡ§Ò¹ãËÞ‹·Õè·‹ÒÂÒ§¢Í§àÃÒ àÃÒÁÕ·Õè¨Í´Ã¶ ÁÒ¡¡Ç‹Ò 100 ¤Ñ¹äÇŒÊíÒËÃѺÃͧÃѺÅÙ¡¤ŒÒ ”Eco Showroom" à¾×èÍ Êѧ¤ÁáÅÐÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ·Õè´Õ¡Ç‹Ò ¤Ø³¹¾Ãѵ¹ àÇÈ ÇÃصÁ Ãͧ¡ÃÃÁ¡Òüٌ¨Ñ´¡ÒÃ

Call Center 032 708 555


บทความพิเศษ

คุณโอฬาร อัศวฤทธิกุล

กับ “ไทยไดมอนดซิตี้

เพชรบุรี”

โครงการเพื่อเปลี่ยนแปลงสังคม

คุณโอฬาร อัศวฤทธิกุล ประธาน กรรมการบริ ห าร ไทยไดมอนด ซิ ตี้ เพชรบุ รี และ ไทยไดมอนด แ ลนด แกงกระจาน รีสอรทแอนดคันทรีคลับ อันโดงดังแหงจังหวัดเพชรบุรี ในวันนีท้ า นยังดูสดใส กระฉับกระเฉง จนแทบไมนาเชื่อทานมีวัยลวงมาถึง 75 ปแลว และไดใชเวลากวา 30 ป บากบั่น เจียระไนเพชรนํา้ งามบนพืน้ ทีก่ วาสามหมืน่ ไรแหงนี้ เพื่อจุดมุงหวังที่จะเปลี่ยนแปลง สังคม และเพื่อใหเปนที่เชิดหนาชูตาแก จังหวัดเพชรบุรี “โครงการนี้เราสรางขึ้นมาเพื่อที่ จะเปลี่ยนแปลงสังคม ใหเปนสังคม คุณภาพที่มีความรักใครปรองดองกัน ในครอบครัว โดยการจัดสรรที่ดินผืน งามๆ สัก 2 ไรใหแตละครอบครัว มีบา น พัก มีสิ่งอํานวยความสะดวกให เพื่อให ผูสูงอายุไดพักผอนอยางสุขสบาย อยู ในธรรมชาติที่ดี ในขณะเดียวกันทาน จะได ช  ว ยเลี้ ย งหลาน เพราะเด็ ก ๆ ตองอยูใ นทีท่ อี่ ากาศดีๆ มีคนเลีย้ งทีด่ ๆ ี ที่รักเขาคือปูยา ตายาย ตกเย็นวันศุกร พอแมก็มาหาลูก มาหาปูยาตายาย มา ทําอาหารกินกันอยางมีความสุข” ไทยไดมอนดแลนดซิตี้ เพชรบุรี มี ทั้ ง การจั ด สรรที่ ดิ น แปลงสวย และ นิ ค มอุ ต สาหกรรมบริ ก ารท อ งเที่ ย ว ซึ่ ง เป ด โอกาสให นั ก ลงทุ น ต า งชาติ เ ข า มา ลงทุ น นอกจากนี้ ก็ มี บ ริ ก ารที่ พั ก ใน ไทยไดมอนด แ ลนด แก ง กระจาน รีสอรทแอนดคันทรีคลับ ซึ่งโครงการ ทั้ ง หมดนี้ มี จุ ด เด น อยู  ที่ ก ารออกแบบ ตกแตงบริเวณโดยรอบ ซึ่งทานไดเลือก มื อ ดี ที่ สุ ด ในประเทศไทยมาช ว ยคื อ

14

อาจารยเดชา บุญคํ้า ภายในรีสอรทบานพักมีทั้งหมด 100 กวาหลังๆ ละ 2 หองนอน แตละหลังจะมีดีไซนแตกตางกัน ในสวนของสนามกอลฟ ทานไดคัดสรรผูยิ่งใหญทั้ง 3 ทวีปมาออกแบบ ไดแก Jack Nicklaus แหงทวีปอเมริกา Greg Norman ทวีปออสเตรเลีย สวนทวีปเอเชียคือคุณเชิด บุณยะรัตเวช ซึ่งเคยออกแบบสนามแรกใหทานประทับใจมาก ที่สุดคือ สนามกอลฟ บางปะกง ริเวอรไซด คันทรีคลับ “โครงการอยางนี้ไมมีในประเทศไทย ที่คนซื้อที่ 1 แปลงแลวไดใช facility ถึง 15 รายการ ทั้งสนามกอลฟ 3 สนาม สนามเทนนิส แบตมินตัน เทเบิ้ลเทนนิส อยางละ 15 สนามเหมือนกัน สนามฝกขี่มา สนามฝกบิน สนามฟุตบอล คลินิก เรา มีหมด รวมแลว15 รายการ ในโครงการเราเคยมีภตั ตาคาร 3 แหง เดีย๋ วนีเ้ รายุบไป หนึง่ ไปทําคลินกิ รักษาโรคภัยไขเจ็บฟรี เสียแตเฉพาะคาหองกับคายา แตถา คนจน ไมมีตังคเลยก็ไปที่วังมะนาว เรามีมูลนิธิโอฬารพัฒนาสนับสนุนอยู ที่นั่นฟรีหมด แตสําหรับคนที่พอมีสตางคจายเราก็ใหสวนลด 50%” ในฐานะของนักธุรกิจอาวุโส ทานไดใหขอคิดแกคนรุนใหมที่ตองการประสบความ สําเร็จในชีวิตวา “สวนตัวผมเองสังวรณอยูเสมอวาเราไมใชคนเกง เราเปนเด็ก ยากจนมา แลวเรามาทําประโยชนใหแผนดินไดแคนี้ก็บุญแลว เพราะอายุมาก


หากมีอายุอยางคนหนุมๆ สาวๆ ยัง ไมพอเพียงที่จะทํางานใหไดดีกวาที่ทํา มา เพราะเดี๋ยวนี้มีเทคโนโลยีใหมๆที่ หาใชไมยาก ผมจึงขอฝากคนรุนใหม ว า อย า ท อ ถอยและหงอยเหงา ต อ ง ทําตัวใหคึกตลอดเวลา คนคึกจะเปน คนชนะตลอดครั บ ผมไม ไ ด เ ก ง กล า สามารถอะไร ผมจะตามรอยเบื้ อ ง พระยุคลบาท ในหลวงไปพัฒนาทาง ไหน ผมก็ไปทางนั้น ในหลวงเราทรง ชอบพัฒนาที่ดินรกรางวางเปลาไมทํา อะไร ปลอยรกรางทานก็จะไปพัฒนา ใหดีขึ้น” “คนไทยนี่นะ ถาขยันสักหนอย ไม พกขี้มาเต็มตัวอยางนี้จะเจริญรุงเรือง ผมอยากบอกวาถาคนไทยของเราทุก คนขยันขันแข็ง สลัดขี้ออกจากตัว ทั้ง ขี้เกียจ ขี้เหลา ขี้การพนัน ขี้ยา ขี้คุก สลัดออกใหหมดแลวเราจะเปนหนึ่ง ในเอเชีย” ทายสุดนี้ คุณโอฬาร อัศวฤทธิกุล ไดกลาวเชิญชวนนักทองเที่ยวใหไปสัมผัส กับธรรมชาติบริสุทธิ์ๆ ที่ ไทยไดมอนด แลนด แกงกระจาน รีสอรท แอนด คันทรีคลับ และจับจองที่ดินในโครงการ ไทยไดมอนดซิตี้ เพชรบุรี...ว .วา

“ที่ นี่ เ รามี บ ริ ก ารทั้ ง เที่ ย วท อ งป า สัมมนา ชมนก มีสนามกอลฟ มีกีฬา ทุกอยางใหเลนถึง 15 รายการ ใหทาน เลนโดยไมเสียตังค ยกเวนสนามกอลฟ กับมา และเครื่องบิน ถึงทานจะไมใช สมาชิกก็มาเทีย่ วได แลวกระผมขอกราบ เรียนวาใครที่สนใจเปนเจาของที่ดินใน โครงการไทยไดมอนดซิตี้ เพชรบุรี แหง นี้ ทานจะไดรับผลตอบแทนมากมาย ไมมีอีกแลวครับที่ดินอยางนี้ และเรา เป ด โอกาสให ต  า งชาติ เ ข า มาลงทุ น เรื่อง BOI ก็ใหเต็มที่ เพราะฉะนั้นใคร อยากจะมาคามาขาย ใครอยากจะมาอยู อยางสุขสบาย ก็มาที่นี่ขอเชิญชวนนะ ครับ และตราบใดที่ผมยังมีชีวิตอยู ก็จะ ดูแลที่นี่จนกวาชีวิตจะหาไม”ครับ

Phetchaburi

15


“ ª Ñ § è Ë Ñ Ç Á Ñ ¹ ”

â ¤ Ã § ¡ Ò Ã ¢ Í § ¾ Íà ‹ ¾ × Í è ¾ Ê ¡ ¹ ¡ Ô Ã ä · Â


...คนทีไ่ ปดูกเ็ ห็นไดวา เริม่ ตนดวยไมมอี ะไรเลย แตวา ตอ มาภายในวันเดียว ทุกคนทีอ่ ยูใ นทองทีน่ นั้ ก็เขาใจวาตองชวย กัน และยิง่ ในสมัยนี้ ในระยะนีเ้ ราตองรวมมือกันทํา เพราะวา ถาไมมกี ารรวมมือกัน ก็ไมกา วหนา ไมมคี วามกาวหนา ฉะนัน้ การที่ทานไดทําแลวมีความกาวหนานี้ เปนสิ่งที่ดีมาก หลัก การก็อยูที่ทุกคนตองชวยกันเสียสละ เพื่อใหกิจการในทองที่ กาวหนาไปดวยดี กาวหนาไดอยางไรก็ดวยการชวยเหลือกัน แตกอนนั้นเคยเห็นวากิจการที่ทํามีกลุมคนกลุมหนึ่งทํา แลว ก็ทาํ ใหกา วหนา แตอนั นีม้ นั ไมใชกลุม หนึง่ มันทัง้ หมดรวมกัน ทํา และก็มีความกาวหนาแนนอน อันนี้ก็เปนสิ่งที่มหัศจรรย และเปนสิง่ ทีท่ าํ ใหมคี วามหวัง มีความหวังวาประเทศชาติจะ กาวหนาประเทศชาติจะมีความสําเร็จ.. พระราชด�ารัสข้างต้นนี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทานไว้วันที่ 21 สิงหาคม 2552 โดยแสดงถึงปัจจัยส�าคัญ ของความก้าวหน้าของ “โครงการช่างหัวมัน ตามพระราชดําริ” ซึ่ง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงใช้พระราชทรัพย์ส่วน พระองค์จัดซื้อที่ดินที่แห้งแล้งเสื่อมโทรมประมาณ 250 ไร่ จาก ราษฎรบริเวณอ่างเก็บน�้าหนองเสือ บ้านหนองคอไก่ ต�าบลเขา กระปุก อ�าเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี และทรงพระกรุณาโปรด เกล้าโปรดกระหม่อม ให้กองงานส่วนพระองค์ ส�านักพระราชวัง เข้าพัฒนาพืน้ ทีเ่ พือ่ จัดท�าเป็นโครงการทดลองด้านการเกษตร และ ทรงมีรับสั่งว่าเมื่อท�าเสร็จแล้วจะเสด็จไปทอดพระเนตรโครงการ ด้วยพระองค์เอง ดังที่เราได้เห็นข่าวอยู่เสมอๆ ว่า พระองค์เสด็จ พระราชด�าเนินเป็นการส่วนพระองค์ ไปทอดพระเนตรกิจกรรมของ โครงการฯนี้เป็นระยะๆ จวบจนถึงปัจจุบัน

Phetchaburi 17


“ชั่งหัวมัน” ชื่อนี้มีความหมาย ชื่ อ ของ โครงการช่ า งหั ว มั น ฯ นี้ เ ป็ น ชื่ อ พระราชทาน โดยมี ที่ ม าของชื่ อ คื อ เมื่ อ ครั้ ง ที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จฯไปประทับ ที่พระราชวังไกลกังวล ทรงมีพระราชประสงค์ให้น�า หัวมันเทศที่ชาวบ้านน�ามาถวาย วางไว้บนตาชั่ง แบบโบราณ จากนัน้ พระองค์ได้เสด็จฯกลับกรุงเทพฯ ครั้นเมื่อพระองค์เสด็จฯกลับไปยังพระราชวังไกล กังวลอีก ปรากฏว่าหัวมันเทศที่วางบนตาชั่ง กลับมี ใบงอกออกมาทัง้ ๆ ทีไ่ ม่ได้มกี ารรดน�า้ จึงรับสัง่ ให้นา� หัวมันนั้นไปปลูกใส่กระถางไว้ เมื่อพระองค์ทรงซื้อที่ดินบริเวณอ่างเก็บน�้า หนองเสือในปี 2552 แล้ว ทรงมีพระราชด�ารัสให้ ทดลองปลูกมันเทศ เพราะขนาดหัวมันวางทิ้งไว้บน ตาชั่งยังขึ้นได้เอง ต่อให้ที่ดินแห้งแล้งอย่างไรมันก็ ต้องขึน้ ได้แน่นอน จึงตอบข้อสงสัยของราษฎรทีว่ า่ ... ท�าไมพระองค์ท่านทรงซื้อที่ดินซึ่งแห้งแล้งมากยาก แก่การปลูกพืชพันธุ์ให้ได้ผลส�าเร็จ

18

เปาหมายของโครงการชั่งหัวมันฯ โครงการชั่วหัวมันฯ เป็นการบริหารทรัพยากรแบบบูรณาการ โดยน�าส่วน ราชการที่มีความรู้ความช�านาญ เช่น กรมวิชาการเกษตร กรมพัฒนาที่ดิน กรม ข้าว กรมชลประทาน เกษตรอ�าเภอ เกษตรจังหวัด ฯลฯ เข้ามาดูในส่วนทีเ่ กีย่ วข้อง เพื่อให้เป็นศูนย์กลางเรียนรู้ด้านเกษตรกรรม หรือเป็นแม่บทในการท�าไร่แก่ เกษตรกร และประชาชนทั่วไป โดยมีเป้าหมายหลักๆ 3 ประการดังนี้ 1. เพื่อให้เปนแหล่งรวบรวมพันธุพืชเศรษฐกิจ พืชพันธุดีของอําเภอ ท่ายาง และของจังหวัดเพชรบุรี โดยแบ่งลักษณะของพืชที่ปลูกได้ 3 ประเภท ได้แก่ 1.1 พืชสวนครัว ได้แก่ มะเขือเทศราชินี มะเขือเปราะ กะเพรา โหระพา มะนาวแป้น ผักชี พริกพันธุ์ซุปเปอร์ฮอต กระเจี๊ยบเขียว วอเตอร์เครส มะระขี้นก ผักหวานบ้าน ฯลฯ ซึ่งทั้งหมดเป็นการปลูกแบบปลอดสารพิษ โดยเฉพาะมะนาว นัน้ พระองค์ เคยเสด็จฯลงแปลงปลูกและเก็บมะนาวด้วยพระองค์เอง และผลผลิต มะนาวก็สามารถเก็บขายได้เงินจ�านวนมาก 1.2 ผลไม้ ได้แก่ สับปะรดปัตตาเวีย แก้วมังกร มะละกอแขกด�า มะพร้าว น�้าหอม มะพร้าวแกง ชมพู่เพชรสายรุ้ง กล้วยน�้าว้า กล้วยหักมุก ฯลฯ


1.3 พืชเศรษฐกิจ ได้แก่ อ้อยโรงงาน มันเทศญี่ปุ่น มันเทศออสเตรเลีย มันต่อเผือก มันปีนัง หน่อไม้ฝรั่ง ข้าว เหนียวพันธุช์ วิ แม่จนั ข้าวเจ้าพันธุข์ า้ วหอม ข้าวจ้างพันธุล์ ซี อ ข้าวเจ้าพันธุข์ า้ วขาว ยางนา ยางพารา และชมพูเ่ พชรสายรุง้ 2. เพือ่ เปนแหล่งเรียนรูด้ า้ นการเกษตรแก่เกษตรกร นักศึกษา และประชาชนทั่วไป เพราะอย่างที่เราๆ ท่านๆ ทราบดีวา่ อะไรทีย่ ากล�าบาก พระองค์ทา่ นจะทรงโปรด และ จะทรงท�าเป็นตัวอย่างให้ดู เพือ่ พิสจู น์วา่ ท�าได้ ทัง้ นีเ้ พือ่ จะได้ เป็นแม่แบบแก่พสกนิกรของพระองค์ 3. เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่เข้ามามีส่วนร่วม โดย ทุกๆวันพฤหัสบดี จะเป็นวันทีร่ าษฎรจาก 2 ต�าบล คือ ต�าบล กลัดหลวง และต�าบลเขากระปุก จะเดินมาช่วยกันท�างานใน ไร่ของพระองค์ โดยมาท�าด้วยใจมิได้มคี า่ ตอบแทน ทัง้ นีเ้ พือ่ ให้องค์พ่อหลวงที่พวกเขารักและเทิดทูนมีความสุข ส� า หรั บ ผลผลิ ต ในโครงการฯ เช่ น ผั ก และผลไม้ ที่ เก็บเกี่ยวได้ จะน�ามาล้างท�าความสะอาด คัดเกรด ตัดแต่ง และบรรจุภาชนะ พร้อมน�าไปจ�าหน่ายในสถานที่ต่างๆ ได้แก่ กองงานส่วนพระองค์ (ห้องเครื่องวังไกลกังวล และ สวนจิตรดา), ร้านโกลเด้นเพลส ทั้ง 5 สาขา, ตลาดกลาง การเกษตรหนองบ้วย อ.ท่ายาง จ.เพชรบุรี Phetchaburi 19


จุดเด่นในโครงการช่างหัวมันฯ บ้ า นไร่ ของในหลวง เป็นบ้านพักส่วน พระองค์ที่มีลักษณะเรียบง่ายและพอเพียง โดย พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ทรงมี ชื่ อ ใน ทะเบียนบ้านเลขที่ 1 หมู่ที่ 5 บ้านหนองคอกไก่ ต.เขากระปุก อ.ท่ายาง จ.เพชรบุรี และทรงขึ้น ทะเบียนเป็นเกษตรกรท�าไร่ด้วย กังหันลมผลิตไฟฟา เพื่อผลิตไฟฟ้าจาก พลังงานสะอาด ตามนโยบายรัฐบาล ปัจจุบันมี ทั้งหมด 20 ต้น มีก�าลังการผลิตขนาด 50 กิโล วัตต์ ซึ่งการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค จะด�าเนินการเข้า มารับซือ้ พลังงานสะอาดทีไ่ ด้นี้ แล้วเงินรายได้จาก การขายจะน�าไปหักลบกับพลังงานทีใ่ ช้ในไร่ ซึง่ ทุก เดือนจะมีเงินเหลือจากการขายไฟฟ้าด้วย บันทึกเหตุการณสาํ คัญในโครงการช่างหัวมันฯ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเอา พระทัยใส่และเสด็จพระราชด�าเนินไปทรงติดตาม ผลการด�าเนินงาน และความคืบหน้าในแต่ละส่วน ของโครงการช่างหัวมันฯ เป็นระยะจนถึงปัจจุบัน ตามล�าดับเหตุการณ์ส�าคัญดังนี้ วันที่ 1 สิงหาคม 2552 : พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยูห่ วั เสด็จฯเป็นการส่วนพระองค์ พร้อม ด้วย สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม ราชกุมารี, ท่านผู้หญิงทัศนาวลัย ศรสงคราม และคุณทองแดง นับเป็นการเสด็จฯมาที่ไร่เป็น

20


ครัง้ แรก และประทับทีศ่ าลาเก้าเหลีย่ ม เวลาประมาณ 17.00 น. พระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงขับรถพระที่นั่งแบลคโครเนียด้วยพระองค์เอง และทรงน�าหัวมันเทศญี่ปุ่นวางบนตาชั่ง แล้วทรงเปิดป้าย “โครงการชั่ง หัวมัน” และทรงขับรถยนต์พระที่นั่งทอดพระเนตรการด�าเนินงานภายใน โครงการฯ วันที่ 7 พ.ย. 2556 : พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จฯไปยัง โครงการชัง่ หัวมันตามพระราชด�าริ จังหวัดเพชรบุรี เพือ่ ทอดพระเนตรความ คืบหน้าของโครงการฯ จากนัน้ เสด็จพระราชด�าเนินกลับต�าหนักเปีย่ มสุข วัง ไกลกังวล อ.หัวหิน จ.ประจวบคีรีขันธ์ โดยมีพสกนิกรเฝ้ารอรับเสด็จที่หน้า วังไกลกังวลเป็นจ�านวนมากตลอดเส้นทาง

วันที่ 15 ธ.ค.2556 : พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จฯไปทอดพระเนตรผลการด�าเนินงานโครงการชัง่ หัวมันฯ ในส่วนของพื้นที่ปศุสัตว์ โดยในระยะแรกได้น�าโคนมที่ปลด จากการให้นมแล้ว จากโครงการส่วนพระองค์ สวนจิตรลดา มาเลีย้ งไว้ 14 ตัว ในการนีไ้ ด้พระราชทานนมแก่ลกู วัวทีค่ ลอด ได้ 25 วัน เป็นเพศผู้พันธุ์โฮลสไตล์ ฟรีเชี่ยน หรือที่รู้จักกันใน กลุ่มผู้เลี้ยงโคนมทั่วไปว่าพันธุ์ขาว-ด�า โดยเกิดจากแม่วัวใน โครงการเลีย้ งโคนมชือ่ แม่ใบบัว ปกติลกู วัวจะได้กนิ นมวันละ 2 เวลาเช้า-เย็น ครั้งละ 2 ลิตร โดยใช้นมสดที่รีดมาจากแม่วัว ส�าหรับโคนมพันธุด์ งั กล่าวเป็นโคทีน่ ยิ มเลีย้ งกันในประเทศทีม่ ี อากาศหนาวเย็น แต่ปัจจุบันได้มีการพัฒนาสายพันธุ์มาเพื่อ ให้เหมาะกับสภาพอากาศบ้านเรา โดยมีคุณลักษณะพิเศษ คือให้น�้านมเยอะ จากนั้นได้พระราชทานหญ้าแก่แม่โคนม จ�านวน 9 ตัว ปัจจุบันมีแม่โคที่สามารถรีดน�้านมได้ 9 ตัว, โค ท้อง 2 ตัว และลูกโคอีก 9 ตัว จะรีดน�้านมเวลา 07.00 น.และ 16.00 น.สามารถรีดน�้านมได้ 17 ลิตรต่อวัน และในเดือนมกราคม 2557 จะขยายโครงการเลี้ยง โคนมเพิ่มขึ้น พร้อมทั้งจะก่อสร้างโรงงานผลิตนมพาสเจอร์ ไรซ์ และนมสเตอร์ไรซ์ ขึ้นภายในพื้นที่โครงการ เพื่อจะได้รับ ซื้อน�้านมดิบในปริมาณเพิ่มมากขึ้นเพื่อให้เพียงพอส�าหรับ ป้อนโรงงานในปริมาณวันละ 10 ตันต่อวัน จึงจะเพียงพอต่อ ก�าลังการผลิต และจะรับซื้อน�้านมดิบจากสหกรณ์โคนมห้วย สัตว์ใหญ่ ซึ่งแต่เดิมส่งน�้านมดิบไปยังโครงการส่วนพระองค์ สวนจิตรลดา เพื่อเป็นการลดค่าใช้จ่ายในการขนส่งของ Phetchaburi 21


เกษตรกรไม่ให้เดินทางไกล รวมทั้งเป็นการส่งเสริมให้ราษฎรได้ ดื่มนมที่มีคุณภาพ โดยจะผลิตเป็นนมพาสเจอร์ไรซ์ และสเตอร์ ไรซ์ วางจ�าหน่ายในพื้นที่อ�าเภอชะอ�า จังหวัดเพชรบุรี และอ�าเภอ หัวหิน รวมทั้งอ�าเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ซึ่งขณะนี้ มีสมาชิกชุมนุมสหกรณ์โคนมภาคใต้ ได้ร่วมกันน้อมเกล้าน้อม กระหม่อมถวายแม่โคสาวเพิ่มให้กับโครงการอีกจ�านวน 14 ตัว ส�าหรับเลี้ยงภายในโครงการ วันที่ 1 มกราคม 2557 : พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จฯไปยังโครงการชัง่ หัวมัน ตามพระราชด�าริ ทอดพระเนตรการ ด�าเนินงานในส่วนของพื้นที่โครงการเลี้ยงโคนม ได้พระราชทาน หญ้าพันธุ์แพงโกล่าแก่แม่โคนม จ�านวน 11 ตัว และพระราชทาน นมแก่ลูกวัวเพศผู้ พันธุ์โฮลสไตล์ ฟรีเชี่ยน หรือพันธุ์ขาว-ด�า อายุ 41 วัน ที่ได้พระราชทานนมให้เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2556 ซึ่งได้ พระราชทานชื่อว่า “น้องตุ่ม” การเสด็จพระราชด�าเนินในครั้งนี้ มีราษฎรในพื้นที่โครงการ ชั่งหัวมัน ตามพระราชด�าริ และพื้นที่ใกล้เคียงไปเฝ้าทูลละออง ธุลีพระบาทเป็นจ�านวนมาก โดยต่างปลื้มปีติที่ได้เห็นพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มีพระพลานามัยที่แข็งแรง ซึ่งได้พร้อมใจ กันเปล่งเสียงถวายพระพรทรงพระเจริญอย่างกึกก้อง และต่าง

22

รู้สึกเป็นสิริมงคล ที่ได้มีโอกาสเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในโอกาสวันขึ้นปีใหม่พุทธศักราช 2557 ใน วันนี้ วันที่ 21 มี.ค.2557 : พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั เสด็จฯ ไปยังโครงการชั่งหัวมัน ตามพระราชด�าริ เพื่อทอดพระเนตรโรง เลี้ยงโคนม ทรงป้อนนมโคและทรงป้อนหญ้าพันธุ์แพงโกล่าแก่ลูก โค เพศเมีย อายุ 2 เดือน 30 วัน จ�านวน 2 ตัว ซึ่งเกษตรกรโคนม จ.ราชบุรี น้อมเกล้าฯ ถวายเมื่อวันที่ 9 มกราคม 2557 พร้อมกันนี้ ได้ทอดพระเนตรการเจริญเติบโตของ “น้องตุ่ม” ลูกโค พันธุ์โฮล์ส ไตน์ฟรีเชียน ซึ่งขณะนี้มีการเจริญเติบโตแข็งแรงดี มีน�้าหนักตัว 130 กิโลกรัม โอกาสนี้ ประทับรถยนต์พระที่นั่ง ทรงติดตามผลการด�าเนิน งานของโครงการชั่งหัวมัน ตามพระราชด�าริ โดยทางโครงการฯ ได้ จัดท�าแนวป้องกันไฟป่า ซึง่ เกิดขึน้ บ่อยในช่วงหน้าแล้ง ทีบ่ ริเวณรัว้ ทั้งภายในและนอกโครงการฯ ส�าหรับการปลูกยางพาราและยาง นา ได้ใช้ระบบน�า้ หยด เพือ่ ให้ความชืน้ ท�าให้ตน้ ยางสามารถเติบโต ได้และแข็งแรงดีทอดพระเนตรโรงเลี้ยงไก่ไข่ และแปลงนาข้าว ซึ่ง กรมพัฒนาทีด่ นิ ได้ดา� เนินการปลูกข้าวพันธุไ์ รซ์เบอร์รอี่ นิ ทรีย์ และ นาข้าวพันธุ์ กข.49


วันที่ 7 พ.ค.2556 : พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จฯ ไปยังโครงการชั่งหัวมัน ตามพระราชด�าริ เพื่อทรงติดตามการ ด�าเนินงาน ด้านการเลี้ยงโคนม ทรงป้อนนมแก่ลูกโคเพศเมีย เกิด เมื่อวันที่ 31 มี.ค.ที่ผ่านมา มีอายุเดือนกว่า โดยมีพระราชด�ารัส เกี่ยวกับชื่อเพื่อพระราชทานแก่ลูกโคด้วย และทอดพระเนตรแม่ โค “ทองหยิบ” ซึ่งเพิ่งคลอดลูกเพศผู้ เมื่อประมาณเที่ยงคืนวันที่ 6 พ.ค. ที่ผ่านมา ท�าให้ปัจจุบันมีโคพันธุ์โฮลสไตล์ฟรีเชี่ยน หรือพันธุ์ ขาว-ด�า รวม 34 ตัว เป็นโครีดนม 9 ตัว และลูกโค 6 ตัว นอกนัน้ เป็น โคตั้งท้อง พร้อมกันนี้ยังทอดพระเนตรโค “น้องตุ่ม” ที่ทรงเคยป้อน นม และทรงติดตามการเจริญเติบโตในโอกาสเสด็จฯ ไปทรงเยี่ยม โครงการหลายครั้ง ปัจจุบันมีอายุประมาณ 5 เดือน มีสุขภาพแข็ง แรง และเจริญเติบโตดีเหมาะเป็นโคพ่อพันธุ์ต่อไป 25 จุดเรียนรู้ ในโครงการของพ่อ นายมณเฑียร ทองนิตย ผู้ว่าราชการจังหวัดเพชรบุรี ได้ กล่าวถึงโครงการช่างหัวมัน ตามพระราชดําริ ว่า “ผมไปดู เดีย๋ วนีค้ นไปเยีย่ มวันหนึง่ ประมาณ 2,000 กวา คน เดือนหนึ่ง 4 - 5 หมื่นคน ไมนาเชื่อ เดี๋ยวนี้รถบัส 4-5 คัน

มา ก็ตองแวะมาแวะดู เพราะขาวจะออกเรื่อยๆ วาในหลวง เสด็จฯ นักทองเที่ยวเขาก็อยากมา บางคนก็โชคดีในหลวง เสด็จฯพอดี ก็ไดเขาเฝาดวย” นอกจากพสกนิกรจะได้ชื่นชมพระบารมีอย่างใกล้ชิดแล้ว ภายใน โครงการช่างหัวมัน ตามพระราชดําริ ได้จัดเตรียมเส้น ทางการเยี่ยมชมไว้ทั้งหมด 25 จุด อาทิ พลังงานลม และพลังงาน แสงอาทิตย์, แปลงยางนา, โรงเพาะเห็ด, แปลงมันเทศญี่ปุ่น, โรง บรรจุผลิตภัณฑ์ผัก, นาข้าว และโรงเลี้ยงไก่ไข่ ฯลฯ นอกจากนี้ยัง มีจุดถ่ายภาพประทับใจ และบริการจักรยานส�าหรับผู้รักการออก ก�าลังกายด้วย โดยเปิดให้ชมทุกวันเวลา 08.00-18.00 น. ค่าเข้า ชม ผูใ้ หญ่ 20 บาท เด็ก 10 บาท สอบถามรายละเอียดเพิม่ เติมได้ที่ โครงการชั่งหัวมันตามพระราชด�าริ โทร. 0 3247 2700-1 การเดินทาง โครงการฯตัง้ อยูห่ มูท่ ี่ 5 บ้านหนองคอไก่ ต�าบล เขากระปุก อ�าเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี โดยสามารถเดินทาง เข้าทางอ�าเภอท่ายาง ผ่านโครงการส่งน�า้ และบ�ารุงรักษาเพชรบุรี ไปทางเส้นทางต�าบลท่าไม้รวก ผ่านทีท่ า� การเขตห้ามล่าสัตว์ปา่ เขา กระปุก-เขาตอหม้อ ผ่านโรงเรียนบ้านทุง่ โป่ง ถึงโครงการชัง่ หัวมัน ตามพระราชด�าริ ระยะทางประมาณ 47 กิโลเมตร

Phetchaburi 23


AD »µ·ÍÂظÂÒ.pdf 1 7/5/2556 13:58:09


สารผูวาราชการ จังหวัดเพชรบุรี

เพชรบุรี มีประวัติศาสตรมาตั้งแตสมัยทวารวดี เรื่อยมา จนถึงสมัยสุโขทัย และสมัยอยุธยา ซึ่งเพชรบุรีเปนหัวเมืองหนา ดานที่สําคัญ ถึงสมัยรัตนโกสินทรตอนตน เพชรบุรีไดกลายเปน เมืองพักผอนจากอากาศของพระมหากษัตริยไทยถึง 3 รัชกาล คื อ พระบาทสมเด็ จ พระจอมเกล า เจ า อยู  หั ว พระบาท สมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว และพระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว ปจจุบันเพชรบุรีไดกลายเปนเมืองทองเที่ยวขึ้นชื่อของคน ไทยและตางชาติ เพราะมีที่เที่ยวดึงดูดใจมากมาย โดยเฉพาะ อยางยิ่งพระราชวัง 3 แหง ซึ่งโปรดเกลาฯใหสรางใน 3 รัชกาล คือ พระราชวังพระนครคีรี พระรามราชนิเวศน และพระ ราชนิเวศนมฤคทายวัน มีวัดวาอารามที่งดงามดวยศิลปะปูน ปน ฝมอื ชางเมืองเพชรทีส่ วยงาม ประณีต ออนชอย มีทเี่ ทีย่ วทาง ทะเลทีป่ ลอดจากบรรดาคลับบาร มีอาหารการกินทัง้ ผลไมขนึ้ ชือ่ อยางชมพูเ พชรสายรุง ทีม่ รี สชาติหวานกรอบเปนเอกลักษณ เปน แหลงผลิตนํ้าตาลโตนดซึ่งนําไปทําขนมหวานเมืองเพชรที่ขึ้นชื่อ ในเรื่องความหอม หวาน มัน เขมขน กลมกลอม กระผม ในฐานะของผูวาราชการจังหวัดเพชรบุรี ขอ ขอบคุณนิตยสาร SBL ที่ไดประชาสัมพันธเมืองเพชรบุรีอยาง รอบดาน และขอขอบคุณหนวยงานทั้งภาครัฐและเอกชน ตลอด จนหางรานตางๆ ที่ใหการสนับสนุนจัดพิมพนิตยสารฉบับนี้ จน สําเร็จสวยงามอยูในมือของทาน และกระผมหวังเปนอยางยิ่งวา ผูอานทุกทาน คงจะมีโอกาสแวะมาเยี่ยมเยือนเพชรบุรีของเรา บางนะครับ

(นายมณเฑียร ทองนิตย) ผูวาราชการจังหวัดเพชรบุรี


เสนทางพบ

ผูวาราชการจังหวัด

ยิ่งอยูยิ่งรัก จังหวัดเพชรบุรี

แม ว  า ท า นผู  ว  า ฯมณเฑี ย ร ทองนิ ต ย จะมาเป น พอเมืองเพชรบุรีไดราวสองป แตดวยเสนหอันเปยมลนของ จังหวัดเพชรบุรี ที่ไดชื่อวา “เมือง 3 วัง 3 รส 4 ทะเล” นี้ ก็ทําให ทานหลงรักเพชรบุรอี ยางชนิดทีว่ า “ยิง่ อยูย งิ่ รัก ยิง่ อยูย งิ่ ชอบ” และตองขอเสริมอีกวา...ยิ่งอยู ทานก็ยิ่งสรางสรรคเมือง เพชรบุรี ใหเจริญกาวหนายิ่งขึ้นไปในทุกๆ ดาน เพื่อเตรียมรับ โอกาสดีๆ ที่ไทยจะเขาสู AEC ในไมชานี้ นิ ต ยสาร SBL ไดรับเกียรติอยางสูงจากท า นผู  ว  า ฯ มณเฑียร ทองนิตย ใหสัมภาษณในหลายๆ ประเด็น อาทิ ภาพรวมด า นเศรษฐกิจและสังคม ศัก ยภาพที่โดดเด นของ จังหวัด หลากหลายโครงการทีเ่ ขาถึงทุกปญหาของทุกภาคสวน แนวทางการเตรียมรับมือกับ AEC และความในใจของทานผูว า ฯ ที่มีตอชาวเพชรบุรี ฯลฯ

ภาพรวมดานเศรษฐกิจ & สังคมเมืองเพชร

ภาพรวมดานเศรษฐกิจของจังหวัดเพชรบุรี สวนใหญ ก็จะเปนภาคบริการถึงรอยละ 55 รองลงมาก็เปนภาค อุตสาหกรรมรอยละ 30 และอีก 15% ก็เปนภาคเกษตรกรรม ถึ ง แม ว  า ประชาชนจะประกอบอาชี พ เกษตรกรรมเป น หลั ก แตวามูลคาของภาคเกษตรกรรมก็ยังนอยกวาภาคบริการและ อุตสาหกรรม ดานสภาพสังคมและวิถีชีวิตของคนเมืองเพชร เนื่องจาก เพชรบุรีเปนสังคมเกษตรกรรมมาตั้งแตดั้งเดิม ในสมัยกรุง ศรีอยุธยามาก็เรียกวาเปนหัวเมืองของพระนครศรีอยุธยา เปนอู ขาวอูน าํ้ ทีเ่ วลามีศกึ สงคราม เพชรบุรกี จ็ ะสงเสบียงไปใหอยุธยา พอมาในสมัยรัตนโกสินทร ตั้งแตสมัยรัชกาลที่ 4 ทรงโปรดฯให สรางพระนครคีรี ก็มีการเกณฑคนทั้งไทยทรงดํา ไทยพวน ไทย เวียง มาสรางวังตั้งแตสมัยรัชกาลที่ 3 ตอเนื่องมาจนถึงรัชกาล ที่ 4 แลวคนกลุม นีก้ ม็ าตัง้ หลักปกฐานอยูท นี่ ี่ อยูอ าศัยกลมกลืน กับคนพื้นบานที่นี่ดวย

26

ศักยภาพโดดเดนของเพชรบุรี

จังหวัดเพชรบุรีมีจุดเดนมีอยู 2 เรื่องหลักก็คือ ในเรื่อง ของเกษตรกรรมที่ผมบอกวาเปนอูขาวอูนํ้า เนื่องจากที่นี่เปน เขตชลประทาน เพราะวาเรามีเขื่อนแกงกระจานที่สรางขึ้นเพื่อ ปองกันนํ้าทวม และเรื่องของการชลประทานสงนํ้าใหทางภาค เกษตรเปนหลัก เพราะฉะนั้นจังหวัดเพชรบุรีจึงมีความอุดม สมบูรณเพราะวามีคลองชลประทานหลายสาย สาย 1 สาย 2 สาย 3 และมีคลองใสไก ในพื้นที่ตั้งแต แกงกระจาน บานลาด ทายาง มาที่เขายอย มาอําเภอเมือง และลงทะเลที่บานแหลม นอกจากนี้เรามีแมนํ้าเพชรบุรี ที่เกิดจากเทือกเขาตะนาวศรีติด ชายแดนไทยพมา และนํ้าก็จะไหลมารวมไวที่แกงกระจาน และ ก็สงมาตามลําแมนํ้าเพชรบุรีเดิม ซึ่งจะไหลผานจังหวัดเพชรบุรี แหงเดียว เพราะฉะนัน้ เพชรบุรกี จ็ ะทํานาไดปห นึง่ 3 รอบ คือนาป 1 ครั้ง นาปรัง 2 ครั้ง พอเรามีนํ้า เราก็สามารถปลูกพืชผลอะไร ก็ได ไมวา จะเปนกลวยหอมทองทีส่ ง ออกญีป่ นุ หวีหนึง่ ประมาณ 75 บาท แตวาญี่ปุนเอาไปแยกขายเปนลูกๆ ละรอย และพืชผล ของเราไมใสสารอะไร เพราะวาเขามาคุมคุณภาพและรสชาติไม ใหหวานมาก เพราะวาคนญี่ปุนไมชอบทานหวาน ที่ สํ า คั ญ เราก็ มี ช มพู  เ พชรสายรุ  ง เป น สิ่ ง บ ง ชี้ ท าง ภูมิศาสตร คือมีเฉพาะที่เพชรบุรี แลวชมพูที่อรอยจะ อยูแถววัดชมพูพน ริมแมนํ้าเพชรซึ่งจะมีนํ้าเค็มมาผสม ดวย ปลูกที่อื่นก็ไมอรอยเทาริมแมนํ้าเพชร เอาไปปลูกแถว แกงกระจาน แถวโนนโสน ก็อรอยสูไมได และเราก็จะมีมะนาว แปน แถวทายาง แถวบานลาด ลูกที่ผิวบางๆ นํ้าเยอะๆ มีกลิ่น หอม เหมาะสําหรับเอาไปทําสมตํา ทําสวนผสมของนํ้าจิ้มซีฟูด แลวเดีย๋ วนีท้ เุ รียนก็มที ปี่ า เด็ง แกงกระจาน รสชาติไมแพของนนท ของระยอง เพราะทุเรียนที่นี่จะหวานไมมากและก็มัน นอกจาก นี้ก็มีเงาะ มังคุด ลองกอง คือลองกองนี่มีคนที่เขาอยูภาคใต เขาหนีภัยสงครามภาคใต แลวเอาพันธุมาปลูกที่นี่มันใชไดผล มีมะไฟ มีละมุดบานลาดหวานกรอบอรอย ลูกใหญ เพราะวา ดินดีนํ้าดีมีทั้งป


นายมณเฑีผูยวารราชการจั ทองนิ ต ย งหวัดเพชรบุรี ฉะนั้นเรื่องการเกษตรนี่ที่นี่จะเปนหลัก ที่สําคัญที่สุดที่ ลืมไมไดคือตนตาลโตนด เพชรบุรีมีตนตาลโตนดมาก ทีส่ ดุ ในประเทศไทย ตั้งแตสมัยโบรํ่าโบราณมาแลว และ ผลิตผลจากนํา้ ตาลโตนดทีเ่ อามาทําเปนนํา้ ตาลผงใสกาแฟก็ ไมมีพิษตอรางกายเพราะวาไมไดฟอกขาวเหมาะสําหรับคน ที่รักสุขภาพ เขาวิจัยมาแลววาคนที่เปนความดันเบาหวาน กินได เพราะนํ้าตาลโตนดเปนผลผลิตจากธรรมชาติ แลว นํ้าตาลโตนดก็เอาไปทําขนมไดหลายอยาง ทําขนมหมอแกง ทําขนมเบื้อง ขนมชั้น คือเพชรบุรีนี่ขนมหวานขึ้นชื่อทองหยิบ ทองหยอด ฝอยทอง ใชนาํ้ ตาลโตนดมันจะหอมเปนเอกลักษณ ไมเหมือนที่อื่น และที่คนทั่วไปอาจจะไมรูจักเราคือ แถวบานแหลมนี่ มีนาเกลือสองหมื่นกวาไร ใหญที่สุดในประเทศไทย บางคน อาจจะคิดวามีแตที่สมุทรสงครามเพราะเขาอยูติดถนน แต ของเราติดชายทะเลเลย ถาเขาไปถนน เรียบบางโคล ไปบาง ตะบูน เลาะๆ ไปจะเห็นนาเกลือสุดลูกหูลกู ตา ธรรมชาติดมี าก สมเด็จพระเทพฯ ทรงโปรดเสด็จฯมาทางนี้ ชาวบานเขาก็จะ เรียกวาถนนสายพระเทพฯ เพราะทานมีพระดําริใหสรางถนน เลียบไปไดถงึ ชะอํา แลวแถวนัน้ ก็มบี อ ปลาสลิดตัวเบอเริม่ เลย สมุทรปราการยังสูเราไมไดตองมาเอาที่นี่ไปขาย แถวคลอง บานแหลมก็จะมีฟารมหอยแครงที่ใหญที่สุดในประเทศไทย ตัวใหญๆ เพราะวาเราไปซื้อพันธุมาจากมาเลย ชาวบาน เขาจะถีบกระดานเก็บหอย ไมวาจะเปนหอยสองฝา หอย แครง วันหนึ่งเก็บประมาณ 400-500 ดีกวาคาแรงขั้นตํ่า 300 บางคนขยันหนอยก็เปนพัน แต 400-500 นี่ทําแคครึ่งวัน

วิสัยทัศนเพชรบุรีคือ ‘เปนแหลงอาหาร และแหลงทองเที่ยวชั้นนําในอาเซียน’

Phetchaburi 27


นะ พอแดดมากๆ เขาก็พอ ซึ่งเราจะเรียกวาทะเลโคลน เพราะ วาอาวไทยนี่เปนรูป ก ไก ของเราผาน ก ไก ทางทิศตะวันตก ทรายเม็ดแรก จะอยูท บี่ า นแหลม จากสมุทรสาคร สมุทรสงคราม เปนโคลนอยู พอมาถึงเราก็เปนทรายแลว ฉะนั้นทรายเม็ดแรก อาว ก ไก อยูท บี่ า นแหลม ตรงแหลมผักเบีย้ เปนแหลมทีย่ นื่ มาใน ทะเล เพราะฉะนั้นเราก็จะมีการประมงดวยนอกจากการเกษตร สวนทางดานปศุสตั ว คนอาจจะไมรวู า พืน้ ทีข่ องเพชรบุรี โดยเฉพาะทีแ่ กงกระจานและทายาง เปนแหลงเนือ้ โคขุนที่

ใหญทสี่ ดุ ในประเทศไทย และเปนแหลงสงออกทีใ่ หญทสี่ ดุ ในประเทศไทยดวย โพนยางคําสูของเราไมได โพนยางคํา เขาอาจจะดังมากอน แตวาปริมาณของเราเยอะ คนเลี้ยงกัน เยอะ โคนมก็เยอะ ที่โครงการชั่งหัวมันของ พระบาทสมเด็จ พระเจาอยูหัว ตอนนี้กําลังจะสรางโรงนมพาสเจอรไรสเพราะ ทานเลี้ยงวัวอยูที่นี่ โรงนมที่นี่ก็จะเปนแหลงรับซื้อนมจากเกษตร กรรอบๆ โครงการ ฉะนั้นก็เรียกไดวาคนเพชรบุรีฐานะความเปน อยูด พี อสมควร เปนลําดับที่ 28 ของประเทศ ปหนึง่ มีรายไดเฉลีย่ ตอหัวก็แสนเศษๆ ตกเดือนละหมื่นนี่ก็โอเคนะ

วิสัยทัศนจังหวัดเพชรบุรี

กอนที่เราจะกําหนดวิสัยทัศน เราจะตองดูวาศักยภาพ หรือ potential ของเพชรบุรวี า เปนอยางไร ก็คอื เรามีพนื้ ฐาน ทางเกษตรกรรม เรื่ อ งอาหาร กั บ เรื่ อ งการท อ งเที่ ย ว เพชรบุรีนี่เรามีภูมิทัศนที่ดี มีภูมิประเทศที่ดีคืออยูไมไกลจาก กรุงเทพมหานคร เดินทางสะดวก ถนน 4 เลน ชั่วโมงกวาๆ เรามี หัวหิน ชะอําเปนแหลงทองเที่ยวที่อยูในอันดับโลก เพราะฉะนั้น เราก็จะไดสองอยาง คือเรื่องเกษตรกรรม เรื่องอาหาร กับเรื่อง การทองเที่ยว เพชรบุรีนี่มีครบเลย เรามีแมนํ้า มีภูเขา มีทะเล มีทะเลหมอก ทะเลโคลน ทะเลนํ้าเค็ม ทะเลนํ้าจืดที่อางเก็บนํ้า แกงกระจาน เรามีครบ เรียกไดวามาเที่ยวไดทั้งป

28


โครงการผูวาฯหนาเสาธง ไปเยี่ยม โรงเรียน ไปพูดใหนักเรียนฟงวาควรจะใช ชีวิตอยางไร เด็กๆ ควรจะตั้งเปาหมายใน ชีวิต วาโตขึ้นอยากเปนอะไร

โดยเฉพาะอุทยานแหงชาติแกงกระจาน เปนอุทยานทีใ่ หญ ที่สุดในประเทศไทย ตอนนี้ยื่นเรื่องไปเพื่อผลักดันใหเปนมรดก โลก ถาผานก็จะกลายเปนมรดกโลกแหงใหมของประเทศไทย และเปนพื้นที่ที่ใหญที่สุด ใหญกวาหวยขาแขง ใหญกวาที่เขา ใหญ ของเรามีพื้นที่ 1 ลาน 8 แสนไร เปนพื้นที่ที่มีความอุดม สมบูรณมาก มีสัตวปาที่หาไดยาก มีชาง มีนกเงือก จระเขนํ้า จืดก็มีแหงเดียวในประเทศไทย มีสุนัขจิ้งจอก มีวัวแดง มีนกยูง อะไรตางๆ มีความสมบูรณมาก มีความหลากหลายทางชีวภาพ ดังนั้นศักยภาพทางดานการทองเที่ยวสูงมาก ที่ชะอําเราก็ มีโรงแรม 5 ดาว 4 ดาว 3 ดาว 2 ดาว เรามีใหเลือก เที่ยวหัวหิน กลับมานอนชะอําถูกกวา อาหารการกินถูกกวา คาเชาที่พักถูก กวา เดินทางสะดวกกวารถไมติด จึงเปนที่นิยมของนักทองเที่ยว ชาวสแกนดิเนเวีย แลวพื้นที่ของเราจะไมมีพวกบารเบียร หรือ สถานบริการจะไมเหมือนพัทยาจะสงบสงบ สําหรับคนที่มา พักผอนก็จะชอบ เพราะฉะนั้นวิสัยทัศนเพชรบุรีก็คือ “เปนแหลงอาหาร และแหลงทองเที่ยวชั้นนําในอาเซียน” เพราะเราจะเขาสู ประชาคมอาเซียนในป 2558 เพราะเราดูจากศักยภาพของเรา ซึ่งเราสามารถสงเสริมได เขาถึงทุกพื้นที่ ทุกภาคสวน เพื่อแกไขทุกปญหา ในการทํางานเราจะตองเขาไปถึงพี่นองประชาชน เราจึงมี “โครงการเยี่ยมบานยามเย็น ครอบครัวคนเพชร” ซึ่งเปนวิธี หนึ่งที่เราจะเขาไปถึงพี่นองประชาชนในยามเย็น ที่เขาวางจาก ไรจากนากลับมาบาน เราก็ไปดูวิถีชีวิต เขาไปแลกเปลี่ยนความ คิดเห็นไปเยี่ยมคนที่ดอยโอกาส คนที่ยากจนก็เอาเครื่องอุปโภค บริโภค ไปชวยใหเงินนิดหนอย เอากาชาดไปดูบา นโทรมไหมอะไร ไหม อาจจะสรางบานใหซอมบานใหอะไรตางๆ แบบนี้ และใน ขณะเดียวกันเราก็ไปเยี่ยมคนที่ประสบความสําเร็จ คนที่เขานํา ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใชแลวสามารถสงลูกเรียนไดสูงๆ ครอบครัวมีความสุข เปนผูนําหมูบานอะไรอยางนี้ ก็คือใหถึงทั้ง สองภาค คือภาคคนทีย่ ากจนเราก็ไปชวยเหลือ คนทีฐ่ านะดีเราก็ ไปใหเปนตัวอยางของชุมชน ใหนําไปเปนตัวแบบ คือเปนเทคนิคที่เราจะเขาถึงชาวบาน แลวเราก็พา หัวหนาสวนราชการเขาไปสัมผัสกับพี่นองประชาชน แลว ใหประชาชนสะทอนปญหาเขามาวาหมูบ า นเขาขาดแคลน อะไร หมูบานเขาอาจจะขาดแคลนนํ้าประปา ถนนหนทางไมดี หรือไฟสาธารณไมดี มันเปลี่ยว หรือบางบานอาจจะอยากแกไข ปญหายาเสพติดอะไรตางๆ อยางนี้ เราก็จะเขาไปรับฟงปญหา โดยใหหัวหนาสวนราชการไดรับรูแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน Phetchaburi 29


เราจะเก็บเกี่ยว เอาปญหาความตองการของเขามาทําเปนแผน พัฒนา เราก็จะไปเยี่ยมอะไรแบบนี้เรื่อยๆ แล ว เราไม ไ ด มี โ ครงการเดี ย ว อย า งเมื่ อ เช า นี้ ก็ จ ะมี “โครงการผูว า ฯพาเยีย่ มวัด” ไปไมไดไปเปลานะ พาหัวหนาสวน ไปดวย ไปดูสิวาพระเขาอยูอยางไร แลวชาวบานเขามาทําบุญนี่ วิถีชีวิตความเปนอยูเขาดีไหม เราดูก็จะรูเลย แลววัดบางวัดก็จะ เปนแหลงรวมศิลปะแขนงตางๆ เชน งานปูนปน งานแกะสลัก บานประตูลายรดนํา้ ภาพเขียนทีฝ่ าผนัง งานวิจติ รศิลปอะไรแบบ นี้ คือเปนแหลงรวมของดานชาง นีค่ อื เราก็จะไดเยอะ หัวหนาสวน

ก็จะไดเรื่องศิลปวัฒนธรรมที่จะซึมซาบ ไปชวยกันโปรโมท ชวย กันเชิญชวนนักทองเที่ยวเขามาในพื้นที่ บางวัดมีกุฎีเกาแกมาก บางวัดยอนยุคไปตั้งแตสมัยกรุงศรีอยุธยามีของดีๆ เยอะ อยาง ที่บานแหลม บางวัดมีตําหนักตั้งแตสมัยสมเด็จพระเจาตากสิน วัดสุวรรณารามมีพระที่นั่งถอดมาตั้งแตสมัยกรุงศรีอยุธยา แลว เวลาที่เราลงพื้นที่ ก็มีโครงการสาธารณสุขของมูลนิธิ พอสว. ของสมเด็จพระศรีนครินทราฯ ทํามาอยางตอเนื่อง ที่โรงเรียน เราก็จะมี “โครงการผูวาฯหนาเสาธง” ไปเยี่ยม โรงเรียนไปพูดใหนักเรียนฟงวาควรจะใชชีวิตอยางไร เด็กๆ ควร จะตั้งเปาหมายในชีวิต วาโตขึ้นอยากเปนอะไร ใหมีจุดมุงหมาย ในชีวิต อยาใชชีวิตไปวันๆ ใชเวลาวางใหเปนประโยชน ใหรูจัก พัฒนาตัวเอง เพราะวาเราจะตองเขาสูส งั คมอาเซียนตองแขงขัน กันอะไรกัน อยาไปใชเวลาวางไปตีรนั ฟนแทง ไปมัว่ สุมยาเสพติด ไปมั่วอบายมุข ไปเธคไปผับ หรือวาเปนคุณแมวัยใส จะสอนเขา หมดแหละนี่เปนโครงการผูวาฯหนาเสาธง แลวผมก็จะไปเยี่ยมองคกรปกครองสวนทองถิ่น เรียกวา “โครงการผูว า ฯพาเยีย่ มองคกรปกครองสวนทองถิน่ ” ในพืน้ ที่ ของเรามี 85 แหง ตอนนี้ผมไปเยี่ยมมาแลว 60 กวา คิดวาคงจะ หมดจะครบ เราก็ไปฟงปญหาเขา ซึง่ ปญหาของทองถิน่ สวนใหญ

คืองบประมาณไมพอ สมมุติวามีงบประมาณในการบริหาร อบต. 20 กวาลาน จะเหลืองบพัฒนาจริงๆ 2-3 ลาน เพราะ ตองจายเงินเดือน คาจาง เงินอํานวยการ คานํ้ามันรถ คาไฟฟา นํา้ ประปา บางทีเขาก็อยากพัฒนาแตเขาไมมเี งิน เราก็ไปเก็บเกีย่ ว โครงการเขามา แลวเราก็มาทําแทน ก็นาจะไหว นาจะตรงกับ ปญหาความตองการ แตถาเราไมไปดูแบบนั้นเราก็จะไมเห็น พื้นที่ตรงนี้ถนนตรงนี้ อยางผมไปชองสะแกใกลๆ อําเภอเมือง ถนนปลูกขาวไดเลย นํ้าขัง ใครไมรูติดสองสามกิโลจากเทศบาล เรา แลวถนนก็เปลี่ยวไมมีไฟทาง เคยมีการดักจี้ดักปลน นี่ผม 30


แมระบบดีแตคนไมมีคุณภาพ ระบบก็ไป ไมได ระบบไมดีแตคนมีคุณภาพ ระบบ ยังพอไปได

ไปไลใหมพัฒนาเยอะ สงตํารวจไปชวยดูแล เพราะถาเราไมลง ไปพื้นที่ เราก็จะไมรูปญหาของเขาจริงๆ หรือบางที่ไดสนามฟุต ซอล ซึ่งสวนกลางจัดสรรให แบบนี้มันไมตรงกับความตองการ เราไปก็ไดเห็นปญหา นอกจากนี้ก็มี “โครงการผูวาฯพาเยี่ยมโรงงาน” คือที่ เขายอยจะเปนเขตสงเสริมอุตสาหกรรมเขต 3 คือยกเวนภาษี เขต BOI ใครมาสรางโรงงานก็ยกเวนภาษีไดกี่ปก็วาไป เอา เครื่องจักรเขามาก็ยกเวนภาษี ยกเวนภาษีรายไดของนิติบุคคล บางทีโรงงานแถวสมุทรสาครมันเต็ม พื้นที่ไมมีใหขยายโรงงาน เขาก็ขยายมานี่ บางคนเขาก็ขยายสาขาที่สมุทรสาครเสร็จ เขา ก็มาที่นี่ อยางโรงงานแคล-คอมพ ฯสาขาแรกอยูสมุทรสาคร กําลังสรางโรงงานที่เรา โรงที่ 7 ที่ 8 ที่ 9 แลว ปจจุบันนี้มีคนงาน ประมาณ 6,000 คนงานตางดาวเปนหลัก พมา กัมพูชา ถาเสร็จ แลวคนงานก็ประมาณ 10,000 คน มันทําใหเศรษฐกิจตรงนี้ เปนอยางไรรูไหมครับ ชาวบานที่มีบานอยูแถวนี้ ถามีที่มีทางก็ ทําหอพัก ทําใหมีรายไดหองหนึ่งก็สองพันสามพันสี่พัน ถามีสัก 6-7 หอง เดือนหนึ่งสองสามหมื่นอะไรอยางนี้ หองหนึ่งก็อยูกัน ที 4 คน 5 คน เขาทํางานเปนกะก็อยูรวมกัน ชาวบานแถวนั้นก็มี ตลาดนัดเอาของไปขาย เอาไกเอาปลาเอาผักไปขาย ก็มีอาชีพ สรางรายได

Phetchaburi 31


แตทางราชการมาชวย ไมดนิ้ รนดวยตัวเอง แตคนทีเ่ พชรบุรี เขาเลี้ยงตัวเองได และก็ไมไดหวังพึ่งอะไรจากทางราชการ มาก สวนใหญพึ่งตัวเอง คุณมีมะนาวนิดหนอย เชาขึ้นมาเอา มะนาวใสถงุ ปุย ไปขายในตลาดไดเงินใช ดีกวาคาแรงขัน้ ตํา่ คุณ อยูบ า นแหลมไปถีบหอยเก็บหอยไปถีบกระดานไดแลว 500-600 อยูท บี่ างตะบูนไปตกกุง 3 ตัวกิโลๆ ละ 500-600 ทํางานครึง่ วัน ไม ตองพึง่ คาแรงขัน้ ตํา่ ชาวบานไมมจี น บานลาดก็ตดั กลวยไปขาย ตลาด ทั้งกลวยนํ้าหวา กลวยหอมก็ไดเงินกลับมาแลว มีตลาด มีสหกรณการเกษตรก็ไปขาย เกษตรกรบานลาดรวย ธนาคาร กรุงศรีอยุธยาที่บานลาดเจง เพราะมีแตคนฝากไมมีคนกู แลวที่เพชรบุรีที่เดนที่สุดคือมีสหกรณเครดิตยูเนียน ใหญ ที่สุดในประเทศไทย เพราะวาใครอยากจะกูเงินก็ใหเพื่อนคํ้าให โดยไมตอ งมีหลักทรัพยอะไร เขาเรียกวาเครดิตยูเนียน ใครมีเงินก็ เอามาฝากใหคนอืน่ กูก นิ ดอกนิดๆหนอยๆ เพราะฉะนัน้ ทีเ่ พชรบุรี สหกรณเครดิตยูเนียนใหญที่สุดในประเทศไทย มีเงินประมาณ 5 หมื่นกวาลาน สมาชิกเกือบ 50% ของคนในจังหวัด เพชรบุรีนี่ มีคนประมาณ 4 แสนกวาเกือบ 5 แสน เปนสมาชิกของเครดิต ยูเนียนครึง่ หนึง่ เพราะฉะนัน้ ฐานะความเปนอยูเ ขาก็จะดี จะมีเงิน ชวยเหลืองานศพ งานอะไร ไปดูไดถามีงานศพนะคนเต็มศาลา เขาก็จะไปชวยกันยิงพลุยิงอะไรกันสนั่นหวั่นไหว

เพชรบุรี...ยิ่งอยูยิ่งรัก ยิ่งอยูยิ่งชอบ

ผมพูดอยูตลอดเวลาก็คือ เพชรบุรีนี้ผมมาอยูปครึ่งแลว ยิง่ อยูย งิ่ รัก ยิง่ อยูย งิ่ ชอบคือเราจะชอบทัง้ ภูมปิ ระเทศ อากาศก็ดี เรามีทงั้ ลมบกลมทะเล ลมบกก็จากอุทยานแหงชาติแกงกระจาน เปนโซนทีบ่ ริสทุ ธิ์ ลมทะเลก็มี เพราะฉะนัน้ อากาศมันไมรอ น รอน ก็ไมรอนมาก และก็เปนพื้นที่ที่อุดมสมบูรณไปดวยนํ้า ฝนก็ดีไม แลง อยางเขตแถวหัวหิน นํ้าตองเอาจากแกงกระจานไปใช นํ้า เขาไมพอตองเอาชลประทานไปใช ถาไมมนี าํ้ จากเราแยเลย ชาว บานก็ดีเพราะวาเขาไมเรียกรองอะไรจากทางราชการมาก ผม เคยรับราชการในหลายพื้นที่มีประสบการณ บางที่เขารอ

ผมจะเนนเรื่องบุคคลเปนหลักในการ ทํางาน ถาคนมีคุณภาพงานก็จะได

32


และทีจ่ งั หวัดเพชรบุรี เราก็มคี นทีป่ ระสบความสําเร็จหลาย ดาน เปนนายกรัฐมนตรีก็มีแลว พลเอกสุรยุทธ จุลานนท ดารา ก็มีปอ ณัฐวุฒิ นักรองก็มีเยอะแยะ ไพวัลย ลูกเพชร กังวาลไพร ลูกเพชร อะไรตางๆ เรามีมิตร ชัยบัญชา เรามีความหลากหลาย และที่สําคัญที่สุดเรามีศิลปนแหงชาติ ไมพูดไมไดเลย ศิลปน แหงชาติที่ดังที่สุดคือแทงหยวก งานสําคัญๆ เกี่ยวกับราชวงศ ตางๆ งานพระบรมศพของสมเด็จพระศรีนครินทรา งานของสม เด็จฯพระพี่นาง ฝมือแทงหยวกของชางเมืองเพชรทั้งนั้น ไปแทง หยวกประกอบเมรุทเี่ ชิงตะกอน และก็ชา งปูนปน คนเพชรบุรนี เี่ กง ไดเปนศิลปนแหงชาติ วิจิตรศิลปก็ไดเรื่องภาพวาด ชางทําทอง โบราณ คุณยายเนื่องก็จะมีสามสี่สาขาที่เราไดศิลปนแหงชาติ ดานศิลปะเพราะฉะนั้นชางสิบหมูเพชรบุรีจะดังมาก ลายรดนํ้า ปนหัวโขน ตอกหนัง ตอกกระดาษ ปูนปน ติดกระจกที่กระจก ประดับตามวัดวา แกะสลักไม ที่เอาไมโมกฝงไวในไมสักเปน ลายกนกสวยงามมาก เพราะฉะนัน้ เรามีความเปนศิลปนสูงมาก

มีประเพณีพนื้ เมือง มีการแสดงของไทยทรงดํา ไทยพวน ไทยเวียง กระเหรี่ยง กะหราง ชุมชนในเพชรบุรีอยางนอย 5 เชื้อชาติ เรามี จีน มีมอญ มีมุสลิม มีลาว มีไทย อยูดวยกันอยางสงบสุขไมมี ความขัดแยง บางหมูบ า นทีผ่ มเขาไปมีทงั้ 5 เชือ้ ชาติอยูด ว ย กัน มีสเุ หรา กับวัดอยูใ กลกนั แตเวลาเขามาฟอนตอนรับผม กลายเปนไทยทรงดํา ผมยังอยากใหสามจังหวัดชายแดน ภาคใตมาดูวาเพชรบุรีเขาอยูกันอยางสงบสุขไดอยางไร

AEC กับโอกาสดีๆ ที่ชาวเพชรบุรีตองตั้งรับ

เพชรบุรีจะไดเรื่องการทองเที่ยว ไดเต็มๆ เลย ถาการ คมนาคมดีสมมติวาถนนหนทางจากทางใตจากมาเลย จาก สิงคโปรเขามาเที่ยวใตเสร็จ ก็มาถึงเพชรบุรี เรามีรถไฟความเร็ว สูง มีรถไฟรางคู สนามบินสุวรรณภูมิ คนก็จะเดินทางไปมาหาสูไ ด งาย เพราะเรามีศกั ยภาพในเรือ่ งการทองเทีย่ ว ทะเล ยังพัฒนาได อีกเยอะ ตัง้ แตชะอําไลมาปกเตียน หาดเจาสําราญ สรางโรงแรม สรางรีสอรทไดเยอะแยะ และก็อา งเก็บนํา้ แกงกระจานโซนเหลา นี้ก็ยังเปนภูเขา พวกชอบขี่จักรยาน ชอบลุยปาอยางนี้ได ฉะนั้น เรื่องการทองเที่ยวเราก็จะได เรื่องอาหารการกิน ชมพูเพชรสายรุงนี่ 4 ลูกรอย แพ็คใส กลองสงสิงคโปร กลวยหอมทองสงญี่ปุน เพราะฉะนั้นผลหมาก รากไมทอี่ ยูใ นพืน้ ทีเ่ รา อาหารทะเลของเราก็จะไดประโยชน และ ทีส่ าํ คัญเรามีดา นสิงขรทีป่ ระจวบ พอดานสิงขรทีป่ ระจวบเสร็จก็ เปนดานถาวร เราสามารถนําวัตถุดิบพวกซีฟูด กุง หอย ปู ปลา ตัวใหญๆ จากพมาเขามาทางดานสิงขร แลวก็เอาเขาโรงงานที่ สมุทรสาคร อันนี้แหละที่เราไดประโยชน เรามีวัตถุดิบก็แพ็คสง ตางประเทศ คือวาเอาของดีของประเทศเราขายในประเทศกลุม อาเซียนดวยกัน และก็เรื่องเคลื่อนยายแรงงานอะไรตางๆ เชน เอาแรงงานมาทํางานที่เขายอย ผมวาอันนี้เปนโอกาส

Phetchaburi 33


แตอยางไรก็ตาม เราตองเตรียมตัวเราใหพรอมดวย เรา จะเนนเรือ่ งความสามารถของบุคคลเปนหลัก คือผมเนนใน เรือ่ งศักยภาพของบุคคล เพราะบางทีเราไปเนนในเรือ่ งของ ระบบมาก แตมองขามในเรื่องตัวบุคคล แมระบบดีแตคน ไมมีคุณภาพ ระบบก็ไปไมได ระบบไมดีแตคนมีคุณภาพ ระบบยังพอไปได เพราะคนมันดันระบบไปได เพราะฉะนั้น เราจึงเนนในเรื่องคุณภาพของคน อยางที่ผมพยายามพูดในทุก เวทีนะครับ คนเราอยาใชเวลาวางไปในสิ่งที่ไมเปนประโยชน หัดพัฒนาตัวเอง หัดเรียนรูภาษาเพื่อนบาน บางทีผมยังพูดวา พมาเขาดาคุณๆ ยังไมรเู ลย แตพมาบางทีมาอยูป ระเทศไทยพูด ภาษาไทยได เขาไดเปรียบเรานะ อีกหนอยเราเสียเปรียบ เราเวลา คาขายกับจีน เขามาเขาพูดไทยได แตเราพูดจีนไมได คาขายก็ เสียเปรียบเขาอีก เพราะฉะนั้นเรื่องการเตรียมพรอมเรื่องภาษา เรื่องคอมพิวเตอรนี่สําคัญ ในอนาคตทําอะไรก็ใชคอมพิวเตอร หมด จะซื้อตั๋วรถ ตั๋วหนัง จะชําระเงินใชคอมพิวเตอรหมด ถาคุณไมรูคอมพิวเตอรคุณก็เสียเปรียบ เพราะฉะนั้นเราตอง เตรียมพรอม ถาเราไมเตรียมพรอมเราก็จะเสียเปรียบ

บริหารงานดวยหลักทางสายกลาง

หลักในการบริหารงานของผมคือ ผมจะยึดสายกลาง เปนหลัก พระพุทธเจาสอนใหยึดทางสายกลาง คือไมตึง เกินไป ไมหยอนเกินไป อะไรที่พอพูดคุยกันได ก็ใชการเจรจา พูดคุยกันเปนหลักไมนิยมเรื่องการใชความรุนแรง นอกจากทาง

34

สายกลางแลวก็เนนไปที่บุคคลเปนหลัก ก็คือใหความสําคัญกับ เรื่องบุคคลเปนหลักเพราะมีความเชื่อมั่นวาคนมันเหนือระบบ }ดูตัวอยางรัฐธรรมนูญไทยกี่ฉบับแลว เรารางรัฐธรรมนูญยาว ที่สุดในโลก 300 กวามาตรา แตถามวาอยูไดกี่ป คุณภาพของ นักการเมืองคนไทยของเรา มีการซื้อสิทธิ์ขายเสียง เลือกกันไป มันก็ไดคนคุณภาพอีกระดับหนึ่งก็อยูไมยืด เปนวงจรแบบนี้ เพราะฉะนัน้ ผมจะเนนเรือ่ งคุณภาพของคนวามันเหนือระบบ คือ คุณรางรัฐธรรมนูญใหดีอยางไร แตคนมันไมปฏิบัติตาม ตีความ ตะแบงไปเรือ่ ยๆ ตีความแบบศรีธนญชัย เลนลิน้ เลนตัวอักษรกัน ไมดคู ณ ุ ภาพ ไมดเู จตนารมณ เพราะฉะนัน้ ผมจะเนนเรือ่ งบุคคล เปนหลักในการทํางาน ถาคนมีคุณภาพงานก็จะได

พัฒนาตัวเองไมหยุด เนนทํางานเชิงกลยุทธ

ผมเองไมคอยยึดคติพจนอะไร แตพยายามพัฒนาตัวเอง ตลอดเวลา เราตองแสวงหาความรู พัฒนาตัวเองตอเนือ่ งไมหยุด ไมมใี ครแกเกินเรียน ผมก็พยายามไปอบรมบาง ไปศึกษาเพิม่ เติม ไปเรียนทางดานกฎหมายเพิม่ บาง ไปเรียนทางดานการปกครอง พยายามหาความรูตลอด คือเราจะตองเปนคนทันสมัยไมหยุด นิ่ง และมองระยะยาว ทํางานในเชิงยุทธศาสตร ทํางานเชิงกล ยุทธ คือหมายความวาไมไดทําแบบสะเปะสะปะ ทํางานมี เปาหมายวาตองการใหสําเร็จถึงจุดไหน อยางไร ในระยะ เวลาเทาไหร ใชทรัพยากรอยางไร ไมใชทาํ สุม สีส่ มุ หาไปเรือ่ ย เพราะถาทรัพยากรมีจาํ กัด สมมติเงินในกระเปาเรามีจาํ กัด เราก็ ตองรูจักการจัดสรรปนสวน เพราะฉะนั้นการทํางานก็เหมือนกัน งบประมาณมีจํากัด เราก็ตองศึกษาแลวก็เนนไปวา อะไรสําคัญ ทํากอน เชนปญหาความเดือดรอนของประชาชนตองรีบทํา อะไร ไมสําคัญก็รองๆ ลงไป


สองปกับผลงานที่ภาคภูมิใจ

ผมมาอยูเพชรบุรีก็ไดรางวัลหลายรางวัล ไดโลทูบีนัมเบอร วัน ระดับเงิน ผมมาอยูนี่สองปก็ไดทั้งสองป คือมันมีตั้งแตระดับ ตนแบบ ระดับเงิน ระดับทอง ระดับเพชร มี 4 ระดับ แตละระดับ ก็อยูอ ยางนอย 2 ป ตอนนีเ้ ราไปถึงระดับเงินแลวก็ตอ งพัฒนาตอ ไป ไดโลเรื่องการปองกันแกไขปญหายาเสพติด จังหวัดเพชรบุรี นี้เคยไดที่ 1ในประเทศ เนื่องจากปองกันแกไขปญหายาเสพติด

ทํางานเชิงกลยุทธ คือหมายความวาไม ไดทําแบบสะเปะสะปะ ทํางานมีเปาหมาย วาตองการใหสําเร็จถึงจุดไหน อยางไร ในระยะเวลาเทาไหร ใชทรัพยากรอยางไร ฝากถึงชาวเพชรบุรี ใหรักษาสิ่งดีๆ ไว

ปที่แลวผมก็ไปรับโล มาปนี้ก็จะไดรับโลตอเนื่องเปนปที่ 2 แลว ก็ไดรับรางวัลเมื่อสงกรานตที่ผานมา เพชรบุรีไมมีคนตาย ตาย เปนศูนย มีหลายอยางที่ประสบความสําเร็จ แลวที่มาอยูที่ เพชรบุรีนี่ปญหาเรื่องความขัดแยงจะไมมี ไมวาเหลืองวาแดง เราคุยกันไดหมด จะไมเห็นวามีการตีกนั ยิงกันเหมือนบางจังหวัด เอาธงชาติมาไลฟาดกัน หรือวาเอาระเบิดมาไลขวางกัน ของเรา จะไมมี เราพูดคุยกันรูเรื่อง ขอรองกันได พูดกันได อยามาชุมนุม นะ หรือจะชุมนุมดวยสัญลักษณวันสองวันก็เลิกกันนะ คุยกันได คุณมีออเดอรมาจะตองแสดงสัญลักษณ ใหสองวันคุณกลับนะ คุยกันไดขอรองกันได

ผมอยากจะฝากพี่นองประชาชนเพชรบุรีและหัวหนาสวน ราชการที่มาทํางานในจังหวัดเพชรบุรีวา ประเทศไทยของเรา เปนพื้นที่ที่มีความอุดมสมบูรณ บางประเทศจะเปนทะเลทราย รอนเกินไป บางแหงก็จะเปนหิมะสูงทวมเขาไปไหนไมได บาง แหงก็จะมีแผนดินไหว ญี่ปุนนี่มีภูเขาไฟระเบิด มีสึนามิมีหมด ของเราไมมีอะไรหนักหนามาก ในบรรดา 76 จังหวัดที่ผมไป มาทั่วประเทศไทย เพชรบุรีเปนจังหวัดหนึ่งที่นาอยูนาอาศัย มาก ไมไกลกรุงเทพ มีความอุดมสมบูรณ คนดี ภาษาเพชรบุรี เขาบอกวา รูเรื่อง รูมาก คือรูเรื่องไมตองอธิบายมาก ไมตองไป จํ้าจี้จํ้าไชกัน คนเมืองเพชรนี่นักเลงไง พูดกันรูเรื่อง เพราะฉะนั้น เราไดอยูในพื้นที่ประเทศไทยที่ดีอยูแลว ก็ขอใหชวยรักษาตรง นี้ไว รักษาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม ถาไมอยางนั้น เราจะสูญเสียสิ่งดีๆ เหลานี้ไป เรื่องการทองเที่ยวที่ไมดี อยาง บารเบียร มาเฟย อยางทีห่ ลายๆ แหงเขามีกนั เราก็อยาเอาเขามา ขอใหรักษาจุดดีของเราไว เพชรบุรีก็จะเปนจังหวัดที่นาอยู เพราะวาเรามีความไดเปรียบอยูแ ลวทัง้ ทางดานนํา้ อากาศ ภูมปิ ระเทศ ผูค น ศิลปวัฒนธรรม คือเราสุดยอดทุกดานอยู แลว เสนทางคมนาคมมีความพรอม สถานที่เที่ยวคุณจะนอน โรงแรมระดับไหนมีใหคุณไดเลือก อาหารการกิน จะกินอะไร จะ กินซีฟดู ผลหมากรากไม คือมันมีหมด เพราะฉะนัน้ เราตองรักษา ตรงนี้ เพราะเปนสิ่งที่ปูยาตายายใหเรา ถาเราไมชวยรักษามันก็ จะสูญหายไป ผมก็ขอฝากไว Phetchaburi 35


เสนทางพบ บุคคลสําคัญ

อลงกรณ พลบุตร

วันนี้…กับหลากหลายภารกิจเพื่อชาติ

คุณอลงกรณ พลบุตร เกิดและเติบโตในครอบครัวนักการ เมืองในจังหวัดเพชรบุรี แมในชวงแรกของชีวติ จะคลุกคลีอยูก บั ธุรกิจของครอบครัว และงานในแวดวงสื่อสารมวลชน เมื่อสบ โอกาสกาวสูแ วดวงการเมือง ทานก็เปนนักการเมืองทีม่ วี สิ ยั ทัศน กวางไกล และกลาหาญริเริ่มโครงการมากมาย เพื่อประโยชน ของประชาชนและประเทศชาติอยางแทจริง นิตยสาร SBL ฉบับแนะนําจังหวัดเพชรบุรี จึงไมพลาด ทีจ่ ะพูดคุยกับ ทานอลงกรณ พลบุตร ถึงแนวความคิดทางการ เมือง แนวคิดในการปฏิรปู พรรค ตลอดจนภารกิจมากมายทีท่ า น ยังคงเดินหนาสานตอ เพือ่ ใหประเทศไทยกาวสูก ารเปนประเทศ ชั้นนําของอาเซียน อยูประชาธิปตย เพราะประวัติดี มีอุดมการณ คุณอลงกรณ เลาถึงจุดเริ่มตนสูถนนสายการเมืองของ ท า น และเหตุ จู ง ใจที่ ทํ า ให ท  า นตั ด สิ น ใจเลื อ กสั ง กั ด พรรค ประชาธิปตยวา “หลังจากมีการรัฐประหารโดย รสช. ในป 2534 รัฐธรรมนูญ ไดกําหนดวา สส.จะตองสังกัดพรรคการเมือง หลังจากดูที่มา หลายพรรคก็ตัดสินใจเลือกพรรคประชาธิปตย เพราะเห็นวา เปนพรรคทีเ่ ปนสถาบันการเมือง และเปนพรรคทีม่ อี ายุยาวนาน ทีส่ ดุ มีประวัตกิ ารตอสู มีอดุ มการณทดี่ ี และมีคณ ุ ชวน หลีกภัย เปนหัวหนาพรรค ซึ่งทานเปนคนตางจังหวัดและก็ไมไดมีฐานะ รํ่ารวย ไมไดมีตระกูลโดงดังอะไร แตวามีคุณงามความดี ก็นา เชื่อไดวาพรรคประชาธิปตยสวนใหญประกอบไปดวยคนดีมี อุดมการณ ก็เลยตัดสินใจเลือกพรรคประชาธิปต ย และลงสมัคร เลือกตั้งครั้งแรกที่จังหวัดเพชรบุรี ในเดือนมีนาคม ป 2535”

จุดแข็งของประชาธิปตยคือ ไมมีใคร เปนเจาของ มีความเปนพรรคมวลชน มีบุคลากรทางการเมืองที่มาจากหลาย สาขาอาชีพ มีความรู มีประสบการณ มีการยึดมั่นในอุดมการณที่มั่นคง 36

แมวาการลงสมัคร สส.ครั้งแรกจะไมประสบความสําเร็จ แตในเดือนตุลาคมปเดียวกัน คุณอลงกรณก็สามารถนําทัพ สส.พรรคประชาธิปตย เขาสูเสนชัยไดทั้งจังหวัด “การได รั บ เลื อ กเป น สมาชิ ก สภาผู  แ ทนราษฎรจั ง หวั ด เพชรบุรีหลายสมัย ถือไดวาเปนความภูมิใจเพราะวาทําใหเรา มีวันนี้ วันที่มีโอกาสทํางานใหกับบานเมือง โดยเฉพาะอยางยิ่ง การแลกกับคะแนนเสียงของประชาชนชาวเพชรบุรี ดวยคําพูด สั้นๆ วา ขอโอกาสที่จะเปนผูแทนราษฎรที่ดีของคนเมืองเพชร และของประเทศไทย ทั้งที่การตอสูในยุคเริ่มแรกตองตอสูกับ กลุมการเมืองอิทธิพลที่แข็งแกรงมาก แตประชาชนก็ใหความ ไววางใจกับแนวทางอุดมการณประชาธิปไตยทีเ่ รานํามาบุกเบิก ที่จังหวัดเพชรบุรี จนทายที่สุดเราก็สามารถนําทีมไดรับเลือก ตั้งทุกเขตเลือกตั้งทั้งจังหวัด ไดอยางตอเนื่อง 2-3 สมัยที่ผาน มา นอกจากนั้นแลว ก็คือการที่สามารถเขาไปเปนแกนนําของ พรรคการเมืองทีเ่ กาแก และเปนพรรคการเมืองหลักของประเทศ ก็คือพรรคประชาธิปตย ไดเปนรองหัวหนาพรรคถึง 2 ครั้ง ไดไป ริเริม่ แนวทางการปฏิรปู พรรคทีไ่ ดรบั การตอบรับอยางกวางขวาง ทั้งประเทศ และยังเปนความหวังที่มีโอกาสที่จะประสบความ สําเร็จ ไมวาจะเหนื่อยยากเพียงไหน ก็จะพยายามตอไป” จับจุดแข็ง ปฏิรูปจุดออน เพื่อโอกาศของประเทศไทย ด ว ยสายตาของนั ก บริ ห ารที่ มี วิ สั ย ทั ศ น ก ว า งไกล คุ ณ อลงกรณ ไดนําเสนอแนวทางการปฏิรูปพรรค เพื่อเปนทาง เลือกใหมใหกับประชาชน และเพื่อเปนโอกาสในการพัฒนา ประเทศไทยใหกาวไปขางหนา ไวดังนี้ “จุดแข็งของประชาธิปตยคือ ไมมีใครเปนเจาของ มีความ เปนพรรคมวลชน มีบุคลากรทางการเมืองที่มาจากหลายสาขา อาชีพ มีความรู มีประสบการณ มีการยึดมัน่ ในอุดมการณทมี่ นั่ คง ก็ถือเปนจุดเดนที่ทําใหมองวาเปนพรรคที่เปนสถาบันทางการ เมือง จุดเดนอีกประการคือ การมีสาขาพรรคเกือบ 200 สาขา มีสมาชิกเกือบ 3 ลานคน ซึ่งตางจากพรรคการเมืองอื่นๆ อันนี้ก็ เปนจุดเดน และยังมีประสบการณการเปนรัฐบาลและการเปน ฝายคานอยูหลายยุคหลายสมัยซึ่งทําใหมีบุคลากรการเมืองที่ หลากหลายหลายรุนตอเชื่อมกัน” “แต ความที่ พรรคประชาธิ ป  ต ย เ ป นพรรคที่ เก า แก ที่สุ ด ก อ ตั้ ง ตั้ ง แต ป  2489 ในด า นของการเป น องค ก ร ที่ เ รี ย กว า


Organization ถึงเวลาที่จะตองมีการ reengineering คือการ ยกเครือ่ งในเชิงโครงสรางและระบบ นอกจากนัน้ แลวก็จะตอง มีการปฏิรปู พรอมกันแบบองครวม จะทําดานใดดานหนึง่ ทีละ ดานไมได เพือ่ ใหเปนองคกรทีม่ คี วามเขมแข็ง มีประสิทธิภาพ มีความเปนประชาธิปไตย มีความเปนสถาบันการเมืองอยาง แทจริง ดังนั้นพรรคจะตองปฏิรูปอยางนอย 3 ดาน หนึ่ง-การปฏิรูปโครงสรางและระบบ สอง--การปฏิรูปการบริหาร การจัดการ สาม--การปฏิรูปวัฒนธรรมองคกรและบุคลากร นั่นคือสิ่งที่จําเปนอยางยิ่งเพื่อใหพรรคประชาธิปตยกลับมา เปนทางเลือกที่ดีของประชาชน เพราะวาในการเลือกตั้งครั้ง ที่ 2 คือเดือนตุลาคม ป 2535 เปนชัยชนะครั้งสุดทายของ พรรคประชาธิปต ยในการเลือกตัง้ ทัว่ ไป ตัง้ แตนนั้ มาเปนเวลา 22 ป ที่พรรคประชาธิปตยไมประสบชัยชนะในการเลือกตั้ง ทัว่ ไปเลย และก็เหมือนบางครัง้ ก็ไปอิงแอบอํานาจอืน่ นอกจาก แนวทางรัฐสภา ซึ่งตรงนี้เองที่ดูเหมือนวาพรรคกําลังเดินไป ในแนวทางที่ผิดพลาด แลวเราจําเปนตองปฏิรูปใหเกิดความ ทันสมัย และก็เปนสถาบันทางการเมือง ไมใชเปนเพียงสถาบัน ของนักการเมือง” “แตการที่พรรคประชาธิปตยไมปฏิรูปอยางจริงจัง ไมใช แตเพียงพรรคประชาธิปต ยจะเสียโอกาส แตวา ประเทศชาติจะ เสียโอกาส ระบอบประชาธิปไตยก็จะเสียโอกาส เพราะพรรค ประชาธิปต ยเปนพรรคการเมืองหลัก เปนพรรคการเมืองใหญ ซึ่งถาหากวาพรรคประชาธิปตยไดเปนผูนํารองในการปฏิรูป สูความเปนสถาบันทางการเมือง ก็จะเกิดแรงกระเพื่อมไปสู พรรคการเมืองอื่นที่จะตองปฏิรูปตัวเอง สถาบันการเมืองเขา สูยุคใหม มิติใหมทางการเมืองเชิงสรางสรรค เพราะประเทศ ของเราติดหลมมานาน การเมืองก็ขาดเสถียรภาพ ทําใหการ ขับเคลือ่ นยุทธศาสตร และนโยบายของประเทศขาดความตอ เนื่อง เปรียบเสมือนการยํ่าเทาอยูกับที่ ในขณะที่ประเทศอื่นๆ กําลังพัฒนารุดหนา นอกจากนั้นแลวภูมิภาคทางตะวันออก เฉียงใตเอง ก็กําลังถึงจุดเปลี่ยนที่สําคัญในการกาวเขาสูการ เปนประชาคมอาเซียนในป 2558 จําเปนที่ประเทศไทยเราจะ

พรรคจะตองปฏิรูปอยางนอย 3 ดาน หนึ่ง--การปฏิรูปโครงสรางและระบบ สอง--การปฏิรูปการบริหารการจัดการ สาม--การปฏิรูปวัฒนธรรมองคกรและ บุคลากร Phetchaburi 37


ตองมีรัฐบาลที่เขมแข็ง กาวหนา ทันสมัย มีภาวะความเปนผูนํา สูง สามารถนําประเทศกาวเดินไปขางหนาสูการเปลี่ยนแปลง ครัง้ สําคัญในภูมภิ าคนี้ และประเทศไทยก็เปนประเทศทีม่ ขี นาด เศรษฐกิจเปนอันดับสองของอาเซียน ถาประเทศไทยเกิดปญหา ก็จะกระทบตออาเซียนโดยรวม ดังนัน้ การปฏิรปู ของพรรค จึงไม ไดเปนเพียงแนวคิดเฉพาะการปฏิรูปพรรคประชาธิปตยเพื่อให ชนะเลือกตัง้ แตวา การปฏิรปู พรรคประชาธิปต ยมนั มีความหมาย มากกวานั้น จะนําไปสูการปฏิรูปการเมือง การปฏิรูปประเทศ นําไปสูมิติใหมทางการเมือง แตวาเมื่อเสียงสวนใหญยังไมเห็น ดวย ทําใหเสียโอกาส แตเราก็ตองพยายามตอไป”

38

ความภาคภูมิใจในฐานะนักการเมืองของประชาชน แมวา คุ ณ อลงกรณ พลบุ ต ร จะเปนนักการเมืองที่มี ประสบการณมากกวา 22 ป แตเรียกไดวาเปนนักการเมือง เลือดใหม ที่มีความกลาหาญที่จะลุกขึ้นมาริเริ่มสิ่งใหมๆ เพื่อ ผลประโยชนของประชาชนและประเทศชาติอยางแทจริง จนทาน ไดรับฉายาตางๆ มากมาย อันนํามาซึ่งความภาคภูมิใจในฐานะ นักการเมืองของประชาชน “ในฐานะนักการเมือง ก็มีโอกาสริเริ่มหลายเรื่อง เชน การ ริเริม่ ผลักดันแนวพระราชดําริใน โครงการเอทานอล ซึง่ โครงการ นี้มีความพยายามผลักดันมาหลายยุคหลายสมัยตั้งแตป 2517 แตเมื่อไดมีโอกาสเปนประธานโครงการเอทานอลในป 2543 ก็ไดทุมเทในการศึกษาคนควา จนกระทั่งเสนอคณะรัฐมนตรี ใหความเห็นชอบ เมื่อวันที่ 9 กันยายน 2543 นั่นคือการกําเนิด ของโครงการเอทานอลของประเทศไทยอยางเปนทางการ แลว ก็เปนการนําพระราชดําริของ องพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว มาทํ า ให เ กิ ด เป น จริ ง คนไทยได ใ ช นํ้ า มั น แก ส โซฮอล ทั่ ว ทั้ ง ประเทศ ลดการนําเขานํ้ามันเชื้อเพลิงจากตางประเทศ และยัง ชวยเกษตรกรเนื่องจากผลผลิตทางการเกษตรมาแปรรูปเปน เอทานอล แลวนํามาผลิตเปนแกสโซฮอล ซึง่ ทุกวันนีป้ ระเทศไทย เปนผูผลิตเอทานอลเปนอันดับ 5 ของโลก และเราจะกาวขึ้นเปน อันดับ 3 ของโลกไดอีกไมนานนี้ ถาหากวารัฐบาลมีนโยบายใน การสนับสนุนอยางจริงจังตอไป”


ในยามที่เรามีประชาธิปไตยเราไมสามารถ รักษาไว เราไมมีสิทธิไปโทษทหารไปโทษ ใครเลย เราควรจะหันมาโทษตัวเองบาง ทั้งพรรคการเมืองและนักการเมืองที่ทําให ประเทศชาติไมสามารถเดินไปขางหนาได “สอง--คือการไดรับฉายาวาเปน Research Creative จากการริ เ ริ่ ม นโยบายเศรษฐกิ จ สร า งสรรค ที่ เ รี ย กว า Creative Economy ชวงที่เปนรัฐมนตรี ในป 2552 โดยผลักดัน ใหมีการตั้ง สํานักงานเศรษฐกิจสรางสรรคแหงชาติ สังกัด สํานักนายกรัฐมนตรี มีกองทุนเศรษฐกิจสรางสรรค มีสถาบัน เศรษฐกิจสรางสรรค รวมกับ 15 มหาวิทยาลัย และเครือขาย กวา 100 มหาวิทยาลัย และยังไดผลักดันใหอาเซียน ดําเนิน โครงการ Creative Asean เพราะนโยบายนี้เทานั้นจะทําให ประเทศไทยกาวพนความยากจนและความลาหลัง เนื่องจากวา หลายรอยปที่เรากอตั้งประเทศมาจนถึงยุคโลกาภิวัตน จนถึงยุค ดิจติ อล ประเทศไทยยังเปนประเทศ OEM (Original Equipment Manufacturer) ยกตัวอยางงายๆ เปนเหมือนชางเย็บเสื้อโหล หรือเราเรียกวาเปนประเทศรับจางทําของ เราไดรายไดนอยมาก เพราะวาเรายังขายวัตถุดิบ แตเราจะตองอัพเกรดประเทศเขาสู การเปนประเทศ ODM (Original Design Manufacturer) และ สูการเปนประเทศ OBM (Original Brand Manufacturer) ก็คือ จากชางเย็บเสื้อโหล จะตองเปนชางออกแบบเสื้อผา และกาว เขาสูชางที่เปนเจาของแบรนด จากที่ขายไดโหลละรอย ก็ขาย ไดโหลละพัน และกาวเขาสูเปนการขายโหลละหมื่นได มันตอง ใชแนวทาง Creative Economy ในการที่จะเปลี่ยนประเทศ ไมวาจะเปนสินคาและบริการ นี่ก็เปนสวนหนึ่งที่ไดเริ่มผลักดัน และสรางโครงสรางใหมใหกับประเทศ แตเสียดายเมื่อเปลี่ยน รัฐบาล นโยบายเหลานี้ก็ถูกละทิ้ง คราวนี้ทุกคนก็เห็นวามันเปน ทางออกที่ดี เปนทางเลือกที่ดีของประเทศ” “สาม--คือการไดฉายาวาเปน Mr. Logistics ตอนที่เปน รัฐมนตรี ก็เห็นวาประเทศไทยเปนประเทศที่เชื่อมโยงกับ 4 ประเทศ ไมวาจะเปนมาเลเซีย ลาว กัมพูชา หรือวา เมียนมาร และยังเชื่อมตอไปถึงจีน ไปถึงอินเดียจากทางบกได และจุด ตั้งประเทศก็เปนจุดแข็งที่สุดของภูมิภาค คือเปนศูนยกลางที่ เราเรียกวา Logistics up แตในขณะนั้นเรามีตนทุน Logistics สูงมาก ประมาณเกือบ 20 % ของ GDP ซึ่งมันควรจะตํ่ากวา

10% ทําใหขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศไมเคย กระเตื้องขึ้นเลย เพราะตนทุนการผลิตสินคาของเรา หรือบริการ ของเรามันจะสูงกวาของคนอื่น โดยเฉพาะตนทุน Logistics ตรงนี้นี่เองที่ทําใหคิดวาเราจะตองขับเคลื่อนยุทธศาสตรการ พัฒนา Logistics อยางรวดเร็ว ก็ไดรับแตงตั้งใหเปนประธาน กรรมการ Logistics การคาแหงชาติขึ้นมา จากนั้นมาเราก็เริ่ม วางแนวทางโครงสรางพืน้ ฐานในการเชือ่ มโลก ทัง้ ทางบก ทางนํา้ ทางอากาศ และก็ทางดานของ ICT เพื่อที่จะสรางโอกาสใหกับ ประเทศไทย ในการเปน Logistics up จึงไดผลักดันยุทธศาสตร ที่เรียกวา 3 วงแหวน 5 ประตู เปนครั้งแรกที่ประเทศไทยมี ยุทธศาสตรเศรษฐกิจและการคาที่ชัดเจน โดยมีเปาหมายของ ตลาดเปน 3 วงแหวน คือ อาเซียน, อาเซียน +3, อาเซียน +6

Phetchaburi 39


เปนวงแหวนที่ 1 วงแหวนที่ 2 วงแหวนที่ 3 ซึ่งมีประชากรหรือ กลุมลูกคารวมกันกวา 3 พันลานคน หรือเกินครึ่งโลก เพียงแค 16 ประเทศมีมูลคาการคาระหวางกันเกินครึ่งหนึ่งของมูลคา การคาโลก โดยมีไทยเปนศูนยกลาง ขณะเดียวกันก็ขับเคลื่อน ผาน 5 ประตูการคา ไมวาจะเปนประตูเหนือ ประตูใต ประตู ตะวันตก ประตูตะวันออก หรือประตูตะวันออกเฉียงเหนือ เราขับ เคลื่อนผานยุทธศาสตรสําคัญคือ การผลักดันจนโครงการทวาย เดินหนา แลวพมาไดตกลงกับประเทศไทย เพื่อใหประเทศไทย มีทางออกทางตะวันตกเชื่อมไปเอเซียใต ไปแอฟริกา ไปยุโรป ไปตะวันออกกลาง โดยการผลักดันใหเกิดระเบียงเศรษฐกิจ ไทย-มาเลเซีย ไทย-กัมพูชา ไทย-ลาว เปนตน ตอนนั้นวงการ Logistics ประเทศไทยก็ขนานนามวาเปน Mr. Logistics จนถึง ทุกวันนี้ แลวก็ทาํ ไปพรอมกับการปฏิรปู ระบบราชการทีเ่ กีย่ วของ กับดาน Logistics จนทําใหตนทุน Logistics ของประเทศไทย ลดจากเกือบ 20 % เหลือ 16 % ในชวงเวลา 2 ปกวา ตรงนี้ก็ยัง ตองเปนเรือ่ งขับเคลือ่ น รวมไปถึงโครงการรถไฟความเร็วสูง ผมก็ เปนคนทีเ่ ดินทางไปเชือ่ มโยงเรือ่ งนี้ จนกระทัง่ รัฐบาลไทยขณะนัน้ กับรัฐบาลจีนตกลงที่จะรวมมือกัน จากนั้นจึงไดเกิดคําวา High Speed Train เปนครัง้ แรกในประเทศไทย แลวก็นาํ มาสูโ ครงการ

ตอเนื่องของรัฐบาลชุดถัดๆ มา และโครงการรถไฟสี่รางทางคู นีก่ เ็ ปนโอกาสทีไ่ ดรบั ใชประเทศชาติในฐานะทีเ่ ปนนักการเมือง” “สุดทายนี่คือการเปน มือปราบคอรรัปชั่น ของรัฐสภา ตรงนี้ก็เปนปญหาใหญของประเทศ เหมือนมะเร็งรายที่เกาะกิน ประเทศของเรา ทําใหเปนเหมือนคนปวย ในฐานะที่เปน สส. ก็ไดรับแตงตั้งใหเปนประธานตรวจสอบการทุจริตของรัฐสภา ,5 ปเต็ม แตก็พวงมาดวยคดีเกือบ 20 คดี โดนฟองรองจากคนที่ เราไปตรวจสอบเขาวาเราหมิ่นประมาท แตในชวงนั้นก็เปนชวง ทีก่ ารตอตานคอรรปั ชัน่ เปนไปอยางคึกคัก โดยรวมกับ คุณหญิง จารุวรรณ เมณฑกา คุณกลาณรงค จันทิก และอีกหลายทาน กอตัง้ กลุม Corruption Watch ขึน้ มาทําหนาทีต่ รวจสอบ ปองกัน การทุจริต รวมทั้งเสนอมาตรการแกไขปญหาคอรรัปชั่น ตอนนั้น ในสภาตั้งใหเปนมือปราบคอรรัปชั่น ปราบทุกวันไมมีเวนวัน หยุด แลวในแตละป รัฐสภาโดยสื่อมวลชนทุกแขนง จะเลือก สมาชิกรัฐสภาที่มีผลงานดีเดนที่สุด 1 คนเทานั้น จาก 700 คน ในป 2546 เรามี สส. 500 คน วุฒิสภาอีก 200 คน ก็ไดรับเลือก ใหเปนดาวเดนแหงปของรัฐสภา เปน The Best Performance ก็ถือเปนเกียรติอยางหนึ่งของคนเพชรบุรีและก็ตัวเราเอง ฉะนั้น นี่คือตัวอยางหนึ่งที่เราทําหนาที่เพื่อสวนรวม เปนโอกาสที่เราได รับจากประชาชน โดยผานการเลือกตัง้ ในระบอบประชาธิปไตย”

วันนี้กับหลากหลายภารกิจเพื่อชาติ ปจจุบันแมจะเปนชวงที่วางเวนจากการทําหนาที่ สส. แต สําหรับคุณอลงกรณ แลว กลับใชชวงเวลานี้อยางคุมคา ในการ สานตอทั้งภารกิจสวนรวมเพื่อประเทศชาติ และภารกิจสวนตัว เพื่อครอบครัวและเพื่อชาวเพชรบุรี “ชวงนี้ก็มีงานทั้งสวนตัวและสวนรวม งานสวนตัวก็มีสอง ดานหลักๆ ก็คือเปนทั้งนักเรียน (กําลังศึกษาหลักสูตรผูบริหาร ระดับสูงดานการคาและการพาณิชย-TEPCoT) และก็เปนทั้ง อาจารย นอกจากนั้นแลวก็คือการทําธุรกิจสวนตัว 3-4 เรื่องดวย กัน หนึ่ง--ก็คือธุรกิจเหมืองแร สอง--ก็คือธุรกิจการพัฒนาที่ดิน 40


ในอนาคตเราตองการนักการเมือง เรา ตองการระบบการเมืองที่เปดกวางใหคน ดีมีที่ยืน คนเกงมีที่ยืน มีประตูที่จะเขามา ทํางานเพื่อชาติบานเมือง สาม--ก็คือธุรกิจนําเขา-สงออก สี่--คือธุรกิจทางดานการทอง เที่ยว เชน โครงการ Flower Land Fantasy เปนโครงการที่ ตองการสรางแหลงทองเทีย่ วใหมใหกบั เพชรบุรแี ละประเทศไทย” “งานดานสวนรวม หนึ่ง--ยังเปนประธานมูลนิธิสถาบัน พลังงานทางเลือกแหงประเทศไทย อยางตอเนื่องตั้งแตป 2543 เปนตนมา หลังจากที่เราไดเริ่มผลักดันโครงการเอทานอล ก็ตอเนื่องมาดวยโครงการไบโอดีเซล ก็ไดมีการจัดตั้งเปนมูลนิธิ สถาบันพลังงานทางเลือกแหงประเทศไทย เพื่อสงเสริมพลังงาน ทางเลือกทุกรูปแบบ รวมทัง้ การอนุรกั ษพลังงาน สอง—ทําหนาที่ เปนทูตเศรษฐกิจ เชื่อมโยงระหวางประเทศไทยกับประเทศใน

อาเซียน และพันธมิตรในอาเซียน หรือพันธมิตรของประเทศไทย ในการนํานักลงทุน-นักธุรกิจเขาไปลงทุน และก็ไปทําการคา ในประเทศตางๆ เชน ในพมาเพราะวาเคยดํารงตําแหนงเปน รัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียนดวย และก็เปนประธานกลุม มิตรภาพ รัฐสภาไทย-พมา ผมก็จะเดินทางไปในการเชื่อมความสัมพันธ ไทย-พมา และก็นําคณะนักธุรกิจไทยไปลงทุนในพมา รวมทั้ง จีน และประเทศในอาเซียนอื่นๆ นี่ก็ยังเปนภารกิจที่ทําตอเนื่อง” ผุดแนวคิดการทองเที่ยวใหม เพชรบุ รี เ ป น จั ง หวั ด ที่ มี ท รั พ ยากรทางการท อ งเที่ ย วที่ หลากหลาย ทั้ ง ป า เขา ชายทะเล โบราณสถาน และศิ ล ป วัฒนธรรม จึงไดรับความนิยมจากนักทองเที่ยวมาโดยตลอด ดังนัน้ คุณอลงกรณ จึงรวมกับพีน่ อ งในตระกูลพลบุตร สรางสรรค แหลงทองเทีย่ วแหงใหม และการทองเทีย่ วในรูปแบบใหมๆ เพือ่ ตอบสนองไลฟสไตลที่หลากหลายของนักทองเที่ยว “โครงการ Flower Land Fantasy เปนโครงการที่ตองการ สรางแหลงทองเที่ยวใหมใหกับเพชรบุรีและก็ประเทศไทย เปน อุทยานดอกไม เปนแหลงเรียนรูทางดานไมดอกไมประดับใน ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต ในโครงการนี้ก็มีรีสอรทแบบ ใหม ที่เรียกวา Tree House Resort บานตนไม ออกแบบโดย ใชภูมิปญญาทองถิ่น ใชวัสดุทองถิ่น ใชฝมือชางสิบหมูทองถิ่น ของเรา เชื่อมโยงความตองการตลาดในและตางประเทศ และ ในโครงการนี้ก็ไดกําหนดใหมีศูนยเรียนรูดานพลังงานทดแทน ในประเทศไทยดวย โดยคาดวาจะเปดใหบริการไดในเดือน ธันวาคม 2557 นี้” “อีกโครงการคือการพัฒนาที่ดิน เพื่อสรางเปน Home Resort เปนรูปแบบการจัดสรรที่ดินในสไตลทัสคานี ซึ่งจะเปน แหงแรกในจังหวัดเพชรบุรี นอกจากนัน้ ก็เปนธุรกิจในเรือ่ งรถบาน หรือ Motor Home รวมมือกับทางอังกฤษ ธุรกิจนี้เหมือน CSR คือตองการที่จะสรางการทองเที่ยวชนิดใหมขึ้นในประเทศไทย คือการทองเทีย่ วโดยใชคาราวานรถบาน หรือมอเตอรโฮม เพราะ วาในยุโรป อเมริกา โดยเฉพาะออสเตรเลีย นิวซีแลนดจะนิยม มาก แตบา นเรายังไมมกี ารทองเทีย่ วประเภทนีท้ เี่ ปนกิจลักษณะ ซึ่งไดประสานกับทานผูวาการทองเที่ยวแหงประเทศไทย ในการ สนับสนุนและพัฒนาการทองเทีย่ วรูปแบบนี้ ซึง่ เปนอีกไลฟสไตล ที่อยากเห็นครอบครัวคนไทยไดใชชีวิตรวมกัน ไดสัมผัสชีวิต กลางแจง สัมผัสธรรมชาติ และวัฒนธรรม ประเพณี และวิถีชีวิต พื้นบานมากขึ้น แทนที่จะเขาหางอยางเดียว” แมวาคุณอลงกรณจะมีภารกิจรัดตัว แตทานก็ยังหาเวลา วางอันนอยนิด ทํากิจกรรมสวนตัวที่ทานโปรดปราน เชน “ยามวางก็อานหนังสือ ขี่จักรยาน ตีกอลฟ สอนหนังสือ และก็ตั้งใจเขียนหนังสือสองสามเลม หนึ่ง--คือเรื่องการปฏิรูป Phetchaburi 41


ประเทศ การปฏิรูปเศรษฐกิจ สอง—คือเรื่องของ ทางเลือก ทางรอดของประเทศเรื่ อ งพลั ง งานทดแทน สาม—คื อ โมเดลเศรษฐกิจสรางสรรคอนาคตใหมของประเทศไทย และอาเซียน สี่—คือ Trading Nation มิติใหม ของอนาคต ประเทศไทย เพราะจากประสบการณการเปน สส. การเปน รัฐมนตรี ไปสูการเปนนักบริหาร การที่เราไดมีโอกาสเดินทางไป ทั่วโลก และการคนควาวิจัยเพิ่มเติม เลยพยายามที่จะถายทอด ประสบการณเหลานี้ออกมาเปนตัวหนังสือ เพื่อใหผูนําไทย รุนใหม รวมทั้งคนไทยไดมีโอกาสแลกเปลี่ยนวิสัยทัศนมุมมอง ทั้งปญหาและอนาคตของประเทศ วาเราควรจะกําหนดอนาคต ของประเทศบนเสนทางใด เพือ่ ใหประเทศไทยกาวเขาสูป ระเทศ ชั้นนําของอาเซียน”

ตองสรางระบบการเมืองที่คนมองวา ใครดีที่สุด แตทุกวันนี้ทุกคนก็ยังบอกวา เลือกไอคนที่มันเลวนอยที่สุด เลือกพรรค ที่มันเลวนอยที่สุด แลวประเทศไทย มันจะดีไดอยางไร 42

อนาคตประเทศไทย ตองปฏิรูปครั้งใหญ เมื่ อ ถามถึ ง ความคาดหวั ง ต อ อนาคตของประเทศไทย คุณอลงกรณ ตอบอยางไมลังเลวา “ประเทศไทยตองเดินหนาดวยระบอบประชาธิปไตยเทานัน้ จะตองสรางระบอบประชาธิปไตยใหมั่นคงยั่งยืน และการเมือง จะตองทบทวนปฏิรูปตัวเอง เพราะในยามที่เรามีประชาธิปไตย เราไมสามารถรักษาไวได เราไมมีสิทธิไปโทษทหารไปโทษใคร เลย เราควรจะหันมาโทษตัวเองบาง ทั้งพรรคการเมืองและ นักการเมืองที่ทําใหประเทศชาติไมสามารถเดินไปขางหนาได ไมสามารถแขงขันกับประเทศอื่นได ชวงนี้เปนจุดเปลี่ยนของ ประเทศ ทุกๆ ฝายจะไดตระหนักถึงความผิดพลาดในอดีตแลว เริม่ ตนใหม สรางอนาคตใหประเทศดวยวิถที างประชาธิปไตยดวย การปฏิรูปครั้งใหญ ที่สําคัญก็คือ ประเทศไทยตองมีเปาหมาย มี วิสัยทัศนที่เห็นพองตองกันใน สิบ-ยี่สิบปขางหนา ไมวาใครมา เปนรัฐบาลก็จะตองกาวเดินไปในวิถีทางนั้น” “แตการเมืองในระบบเกาไมสามารถ ตอบสนองตออนาคต ของประเทศได เรามีการคอรรัปชั่นมากเกินไป เราเอารัดเอา เปรียบมากเกินไป ทั้งทางการเมืองและเศรษฐกิจ และสังคม เรามีปญหาความเลื่อมลํ้าสูงมาก ในชวง 50 ปที่ผานมา ความ เลื่อมลํ้าที่ 20% ของคนรวยที่สุดกับคนที่จนที่สุดแตกตางกัน 13 เทา มาวันนี้ เราแทบจะไมสามารถลดความแตกตางนี้ไดเลย แสดงวาประเทศไทยมีปญหาเชิงโครงสรางและระบบ เชน การ ผูกขาดทางธุรกิจทางการคายังมีอยูม าก การทีพ่ รรคการเมืองและ นักการเมืองตกอยูในอิทธิพลของกลุมผูกขาดตางๆ ไมสามารถ ที่จะออกกฎหมายหรือนโยบายที่จะขจัดความเลื่อมลํ้าเหลานี้


นี่เปนตัวสะทอนใหเห็นวาเรามีความพิกลพิการในยุทธศาสตร และทิศทางพัฒนาที่ผานมา” “ประกอบกับเจอวิกฤตการณทางการเมืองอยางตอเนื่อง ยิ่งทําใหประเทศของเราเสมือนถอยหลังเขาคลอง ในขณะที่ โอกาสทองรอยูขางหนา คือการเกิดประชาคมอาเซียน แตเราก็ กําลังจะสูญเสียโอกาสนั้น ฉะนั้นในอนาคตเราตองการนักการ เมือง เราตองการระบบการเมืองที่เปดกวางใหคนดีมีที่ยืน คน เกงมีที่ยืน มีประตูที่จะเขามาทํางานเพื่อชาติบานเมือง แลวก็ มีคณะรัฐมนตรีที่เกง ทรงประสิทธิภาพในการที่จะแขงขันกับ ประเทศ อยางสิงคโปร เกาหลี ญี่ปุน อเมริกา ยุโรปได เพราะทุก วันนี้เราแทบจะสิ้นหวังตอสิ่งเหลานั้น เพราะมันไดพิสูจนแลววา ครึ่งศตวรรษที่ผานมา เราไมไดกาวไปไหนเลย” “ฉะนั้นการที่จะเปดกวางไดก็คือ นักการเมืองจะตองเปน สถาบันการเมืองอยางแทจริง แมแตพรรคประชาธิปต ยเองก็ตอ ง ปรับเปลี่ยนตัวเองจากสถาบันของนักการเมืองมาสูความเปน สถาบันทางการเมือง สรางนโยบาย ยุทธศาสตร และวิสัยทัศนที่ กาวหนาทันสมัย เปลี่ยนการเมืองแบบทําลายลางซึ่งกันและกัน มาสูก ารแขงคิดแขงทํา แลวใหประชาชนตัดสิน ไมใชดวู า ใครเลว นอยที่สุด ซึ่งเปนแนวคิดที่ผิดมาก ตองสรางระบบการเมืองที่คน มองวาใครดีที่สุด แตทุกวันนี้ทุกคนก็ยังบอกวาเลือกไอคนที่มัน เลวนอยที่สุด เลือกพรรคที่มันเลวนอยที่สุด แลวประเทศไทยมัน จะดีไดอยางไร เราตองเปลี่ยนกระบวนทัศนนี้ใหได” “คนไทยตองคิดวาเราเปนเจาของประเทศ ความเปนเจาของ ตองมาพรอมกับความรับผิดชอบในหนาที่ ที่จะตองเลือกคนดี มีความรูเ ขามาเปนผูแ ทน มาเปน สส. มาเปนสมาชิกรัฐสภา เพือ่ ใหไดมาซึง่ คณะรัฐมนตรีทเี่ ปน dream team และก็คอยเฝาจับตา การทํางานของ สส. ก็ดี ของคณะรัฐมนตรีก็ดี แลวก็เลือกครั้งตอ ไปดวยการพิจารณาถึงความรู ความสามารถ ผลงาน มากกวา เหตุผลอื่น จะทําใหเรามีรัฐสภาที่ดี รัฐบาลที่ดี เพียงพอแลว สําหรับการที่จะตอบโจทยอนาคตของประเทศ”

เมืองสามวัง ความเปนเมืองสามนํ้า ความเปนเมืองสามรส และที่สําคัญคือเพชรบุรีกาวมาบนเทรนดของโลก คือการเปน Dream City เราจะเติบโตอยางไมหวือหวา แตเราจะเติบโต ตามพระราชดําริของ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว คืออยู บนเสนทางของความพอเพียง ความพอดี และเปนการพัฒนา แบบยัง่ ยืน เรามีการทองเทีย่ ว ทีแ่ ตกตางไปจากจังหวัดทางภาค ตะวันออก เรายังรักษาความเปนเมืองทองเที่ยวสําหรับคนไทย และชาวตางประเทศ ที่ไมจําเปนจะตองขายเซ็กส ไมจําเปนจะ ตองขายสิ่งแวดลอมที่เรามี แตเรายังรักษาสิ่งเหลานี้ไวไดดวย การทองเที่ยวเชิงนิเวศน ดวยการทองเที่ยวอุทยานแหงชาติ แก ง กระจานก็ ดี ของบ อ นํ้ า พุ ร  อ นก็ ดี ซึ่ ง กํ า ลั ง ได รั บ การขึ้ น ทะเบียนเปนมรดกโลกทางธรรมชาติ เปนอุทยานที่ใหญที่สุดใน ประเทศไทย แลวเราก็รักษาปกปองอุทธยานแหงนี้ไวไดอยางดี ยิ่ง เมื่อเทียบกับอีกหลายภูมิภาคในประเทศนี้” “ขณะเดียวกันเราก็มคี วามสงบ สันติในวิถชี วี ติ ของเรา เราไมตอ งการชีวติ ทีร่ วดเร็วหวือหวาแบบเมืองใหญ เพราะ วาอัตลักษณของเมืองเรา เราเติบโตมากับธรรมชาติและ วัฒนธรรม ผมมองไปขางหนาวาเพชรบุรเี ดินมาถูกทางแลว ผมพยายามจะรักษาความเปนเมืองที่เรียกวา Creative and Eco City ไวใหไดตลอดไป”

เพชรบุรี...บนเสนทางของความพอเพียงและยั่งยืน กอนจบการพูดคุยกับ ทานอลงกรณ พลบุตร ทานไดกลาว ถึงความภาคภูมใิ จทีม่ ตี อ จังหวัดเพชรบุรี และทิศทางการพัฒนา จังหวัดเพชรบุรีวา “เพชรบุรีเปนหนึ่งในความภูมิใจที่ผมไดเกิดบนแผนดินนี้ และไดมโี อกาสทํางานเพือ่ แผนดินนี้ และก็เปนตัวแทนประชาชน ของเมืองนี้ ผมไดเห็นสองทศวรรษที่ผานมาของเพชรบุรี วาเรามี อัตลักษณของตัวเอง มีจุดเดน จุดแข็งของตัวเอง นั่นคือความ เปนเมืองแหงประวัติศาสตร และวัฒนธรรม ความเปนเมือง สีเขียว ความเปนเมืองสรางสรรค ซึ่งเพชรบุรีไดรับเลือกใหเปน 1 ใน 10 Creative City ของประเทศ บนพื้นฐานของความ เป น เมื อ งช า งสิ บ หมู  ความเป น เมื อ งขนมหวาน ความเป น Phetchaburi 43


AD ÂÙà¹Õè¹⪨ÔÃØªÔ (¡Ãк͡¹éÓ).pdf 1 22/1/2557 14:25:23

"Keep Warm & Cool Non Electric"

¡Ãеԡ¹íéÒ ¡ÃеԡÍÒËÒà Êáµ¹àÅÊÊÙÞÞÒ¡ÒÈ

FOOD JAR

MUG CUP

www.unionzojirushi.com , TEL 02-517-8160-1


สารอุตสาหกรรมจังหวัดเพชรบุรี “พัฒนาอุตสาหกรรมให้มีมาตรฐาน สามารถแข่งขันได้ เพื่อผลักดันเศรษฐกิจของจังหวัด” คือวิสยั ทัศน์ของส�ำนักงำนอุตสำหกรรมจังหวัดเพชรบุรี โดยทาง ส�านักงานฯ ได้ด�าเนินโครงการต่างๆ เพื่อให้สอดคล้องกับวิสัยทัศน์การ พัฒนาของจังหวัดเพชรบุรีคือ “เป็นแหล่งอำหำรคุณภำพ และแหล่ง ท่องเที่ยวชั้นน�ำในอำเซียน” ซึง่ ในส่วนของการเป็นแหล่งผลิตอาหารคุณภาพ เราได้นา� โครงกำร พัฒนำขีดควำมสำมำรถในกำรแข่งขันของอุตสำหกรรมแปรรูป กำรเกษตรในภูมภิ ำค ( One Province One Agro-Industrial Product : OPOAI ) มาใช้ โดยน�าผลผลิตที่มีศักยภาพของจังหวัดคือ เกลือ และ ข้าว เข้าสู่การส่งเสริมอุตสาหกรรมแปรรูปสินค้าเกษตรให้มีมาตรฐาน และได้น�าแผนยุทธศาสตร์ของกระทรวงอุตสำหกรรมมาใช้ โดยการ ผลักดันโรงงานให้เข้าร่วมโครงกำรอุตสำหกรรมสีเขียว และโครงกำร ธรรมำภิบำลสิ่งแวดล้อม เพื่อให้ภาคอุตสาหกรรมสามารถอยู่ร่วมกับ สิง่ แวดล้อม และชุมชนได้อย่างยัง่ ยืน และประการส�าคัญคือ ต้องไม่สร้าง ผลกระทบต่อทรัพยากรด้านการท่องเที่ยวของเพชรบุรีด้วย นอกจากนี้ เรายังได้สนองนโยบายของคณะรักษำควำมสงบแห่ง ชำติ หรือ คสช. ซึ่งเล็งเห็นว่าผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดย่อม หรือ SMEs คือกลไกส�าคัญในการผลักดันเศรษฐกิจของประเทศ เราจึงมี กิจกรรมให้ความรู้แก่กลุ่มวิสาหกิจชุมชนในเรื่องต่างๆ เพื่อเตรียมพร้อม สู่การแข่งขันในเวทีของอาเซียน และเวทีโลกด้วย ท้ายนี้ ผมขอขอบคุณทีมงาน SBL อย่างสูง ที่ให้ความส�าคัญกับ ภาคอุตสาหกรรมของจังหวัดเพชรบุรี ซึ่งเป็นภาคส่วนที่ท�ารายได้เป็น อันดับสองให้กับจังหวัด และใคร่ขออาราธนาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ในสากลโลก โปรดดลบันดาลให้ผู้อ่านทุกท่าน และทีมงานนิตยสาร SBL ประสบแต่ ความสุขความเจริญ

นำยประเสริฐ สีน�้ำเพชร อุตสาหกรรมจังหวัดเพชรบุรี

Phetchaburi 45


เส้นทำงพบอุตสำหกรรมจังหวัด

นายประเสริฐ สีนํ้าเพชร

อุตสาหกรรมจังหวัดเพชรบุรี

“นำยประเสริฐ สีน�้ำเพชร” อุตสำหกรรมจังหวัดเพชรบุรี กรุณาให้สัมภาษณ์กับนิตยสำร SBL ในประเด็นต่างๆ อาทิ ภาพรวม ด้านอุตสาหกรรมในเพชรบุรี วิสยั ทัศน์ และนโยบายการพัฒนาของส�านักงานอุตสาหกรรมจังหวัดเพชรบุรี แนวทางการพัฒนาเพือ่ รองรับ การเข้าสู่ AEC ตลอดจนการส่งเสริมผู้ประกอบการวิสาหกิจชุมชน ฯลฯ โดยมีสาระส�าคัญ ดังนี้ ภำพรวมด้ำนอุตสำหกรรมของจังหวัดเพชรบุรี อุตสาหกรรมหลักของจังหวัดเพชรบุรี เป็นอุตสาหกรรมทีเ่ กีย่ วข้องกับผลิตผลทางการ เกษตร จึงมีผลให้ระดับรายได้ไม่คงที่ ตามผลิตผลที่ได้จากทางการเกษตร และผนวก แปรผันตามความต้องการของภาวะการตลาดทั้งในและต่างประเทศ อีกทั้งยังการลงทุน ในภาคอุตสาหกรรมเกษตร ต้องใช้เงินทุนมาก เพราะต้องลงทุนทั้งเครื่องจักรและพื้นที่ ทีใ่ ช้ประกอบการ ซึง่ โรงงานส่วนใหญ่เป็นโรงสีขา้ วส�าหรับอุตสาหกรรมขนาดกลางและ ขนาดใหญ่จะอยูใ่ นเขตอ�าเภอเขาย้อย ซึง่ เป็นอ�าเภอทีม่ กี ารลงทุนและแรงงานมากทีส่ ดุ ในภาคอุตสาหกรรม ภาวะเศรษฐกิจอุตสาหกรรมจังหวัดเพชรบุรี ในป พ.ศ. 2556 เป็นการขยายตัวแบบ ทรงตัว เนือ่ งจากการจ้างงานในโรงงานอุตสาหกรรมไม่ได้เพิม่ ขึน้ จากปกอ่ น (2555) แต่ การลงทุนสภาพทรงตัว การประกอบการบางแห่งต้องหยุดชะงักเป็นพักๆ เนือ่ งจาก order สั่งท�าสั่งซื้อยังไม่แน่นอน และจากการหดตัวลงของสาขาการผลิตที่ส�าคัญ ได้แก่ สาขา อุตสาหกรรมจากภาวะราคาน�้ามันปรับตัวสูงขึ้น ท�าให้ต้นทุนการผลิตปรับตัวสูงขึ้น อี ก ทั้ ง มี ป  ญ หาทางการเมื อ ง ท� า ให้ ค วามเชื่ อ มั่ น ของผู ้ ผ ลิ ต ลดลง การแจ้ ง จดทะเบียนอุตสาหกรรมใหม่จึงชะลอตัวลง ประเภทอุ ต สาหกรรมที่ มี ม ากที่ สุ ด ในจั ง หวั ด เพชรบุ รี คือ ผลิตภัณฑ์จากพืช 172 โรงงาน รองลงมาคืออุตสาหกรรม อาหาร 85 โรงงาน จากจ�านวนโรงงานทัง้ สิน้ 664 โรงงาน ข้อมูล ณ วันที่ 9 ก.ค. 2557 และตัวเลขรายได้จากภาคอุตสาหกรรม ในปที่ผ่านมาอยู่ที่ประมาณ 17,543 ล้านบาท วิสัยทัศน และนโยบำยของอุตสำหกรรมจังหวัด “พัฒนาอุตสาหกรรมใหมีมาตรฐาน สามารถแขงขันได เพื่อผลักดันเศรษฐกิจของจังหวัด” ซึง่ จังหวัดเพชรบุรมี แี ผนพัฒนาจังหวัดให้เป็นแหล่งผลิต อาหารคุณภาพและเมืองท่องเที่ยวชั้นน�าของอาเซียน และ แผนยุทธศาสตร์ของกระทรวงอุตสาหกรรมที่มุ่งการพัฒนา อุตสาหกรรมอย่างยั่งยืน โดยเปาหมายดังกล่าวสอดคล้อง ในเรื่องของความยั่งยืน อยู่ร่วมกัน ทั้งในเรื่องของเกษตรและ อุตสาหกรรมในจังหวัดเพชรบุรี แผนพั ฒ นาดั ง กล่ า วได้ น� า ศั ก ยภาพของจั ง หวั ด เพชรบุ รี ที่ มีสิน ค้ า เกษตรและอาหาร เช่ น ข้ า ว เกลื อ น� า ไปสู ่ ก ารส่ง เสริม อุตสาหกรรมแปรรูปสินค้าเกษตรให้มีมาตรฐาน ซึ่งมีโครงการพัฒนาขีด ความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรมแปรรูปการเกษตรในภูมิภาค ตามนโยบาย One Province One Agro-Industrial Product : OPOAI


จังหวัดเพชรบุรีมีแผนพัฒนา จังหวัดใหเปนแหลงผลิตอาหาร คุณภาพ และเมืองทองเที่ยว ชั้นนําของอาเซียน

โดยการให้ความรู้และค�าปรึกษาแนะน�าด้านการบริหารจัดการ โลจิสติกส์ การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต การปรับปรุงคุณภาพ และพั ฒ นางาน ลดต้ นทุ นพลั ง งาน การยกระดับมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์หรือระบบมาตรฐานสากล นอกจากนี้ก็มีสนับสนุนผู้ประกอบการภาคอุตสาหกรรม ที่ มี ค วามสนใจในการลงทุ น ในจั ง หวั ด เพชรบุ รี และสถาน ประกอบการภาคอุตสาหกรรมในจังหวัดเพชรบุรีให้มีมาตรฐาน ตามโครงการอุตสาหกรรมสีเขียว และโครงการธรรมาภิบาล สิ่งแวดล้อมของกระทรวงอุตสาหกรรม ซึ่งโครงการดังกล่าวจะ เป็นส่วนช่วยผลักดันให้สถานประกอบการในจังหวัดเพชรบุรี มีมาตรฐานและสามารถแข่งขันได้ เพื่อผลักดันเศรษฐกิจของ จังหวัดเพชรบุรี แนวทำงกำรพัฒนำเพื่อรองรับกำรเข้ำสู่ AEC ส�านักงานอุตสาหกรรมจังหวัดเพชรบุรี ด�าเนินการตาม แนวทางการพัฒนาเพื่อรองรับการเข้าสู่ AEC ซึ่งใช้แนวทาง ของกระทรวงอุ ต สาหกรรม โดยการประชาสั ม พั น ธ์ แ ละมี กิจกรรมเชิงลึกเพื่อพัฒนาสถานประกอบการ เช่น กิจกรรม ให้ ค วามรู ้ ข องกลุ ่ ม วิ ส าหกิ จ ชุ ม ชนเกี่ ย วกั บ เรื่ อ งของภาษี การจัดท�าบัญชี มีการอบรมสัมมนาให้แก่ผปู้ ระกอบการเรือ่ งเส้น ทางสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ซึ่งจัดร่วมระหว่างส�านักงาน เศรษฐกิ จ อุ ต สาหกรรม และส� า นั ก งานอุ ต สาหกรรมจั ง หวั ด เพชรบุรี ด้านบุคลากรมีโครงการหลักสูตรภาษาส�าหรับการสื่อสาร เพื่อประชาคมอาเซียน โดยอบรมภาษาอังกฤษให้แก่เจ้าหน้าที่ และอุตสาหกรรมได้รว่ มประชุมระดมความคิดเห็น เพือ่ พัฒนากร อบนโยบายและทิศทางการพัฒนาอุตสาหกรรม เพื่อรองรับการ เข้าสูป่ ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียนของกระทรวงอุตสาหกรรมด้วย Phetchaburi 47


อุตสำหกรรมที่เป็นจุดแข็งของไทย ประเทศไทยมีแรงงานที่มีทักษะฝมือเมื่อเทียบกับประเทศ อืน่ ๆ มีวตั ถุดบิ ทางการเกษตรทีม่ ศี กั ยภาพ ทัง้ ในด้านปริมาณและ คุณภาพ และมีผลผลิตทีห่ ลากหลาย เช่น ข้าว ยางพารา อ้อย ผัก และผลไม้สด เป็นต้นมีที่ตั้งเหมาะสมในด้าน การเป็นศูนย์กลาง ภูมภิ าค ท�าให้มขี อ้ ได้เปรียบหลายด้าน โดยเฉพาะการขนส่ง และ การคมนาคมขนส่งทั้งทางบกและทางอากาศครอบคลุมและ รองรับได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยประเภทของอุตสาหกรรมที่ เข้มแข็งของไทย ประกอบด้วย 1. อุตสำหกรรมยำนยนต ประเทศไทยเป็นฐานการ ผลิ ต รถยนต์ อั น ดั บ 1 ของอาเซี ย น มี ศั กยภาพในการผลิ ต รถยนต์ ที่ มี ค วามเฉพาะใน 3 ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ได้ แ ก่ รถป ก อั พ 1 ตั น รถยนต์ ป ระหยั ด พลั ง งาน หรื อ อี โ คคาร์ และรถยนต์ ขนาดเล็กคุณภาพสูง ซึ่งในส่วนของรถจักรยานยนต์ไทยมีการ ผลิตเป็นอันดับ 3 รองจากอินโดนีเซีย และเวียดนาม ดังนั้น หากเปด AEC ไทยควรจะรักษาฐานการผลิตรถยนต์ขนาดเล็ก ที่มีคุณภาพสูง ฐานการผลิต รถจักรยานยนต์ขนาดใหญ่ และ ส่งเสริมให้ผู้ประกอบการไทยออกไปตั้งฐานการผลิตยานยนต์ และชิ้นส่วนในอาเซียน 2. อุตสำหกรรมเครื่องใช้ไฟฟำภำยในบ้ำน ไทยยัง มีศักยภาพในการแข่งขัน เนื่องจากเป็นฐานการผลิตอันดับ 1 ของอาเซียน อย่างไรก็ตาม หลังการเปด AEC ไทยอาจได้รับ ผลกระทบจากการย้ายฐานการผลิตไปประเทศเพื่อนบ้าน เช่น กรณีทีวีแอลซีดีของโซนี่ ที่ได้ย้ายฐานไปมาเลเซีย เนื่องจากมี ต้นทุนในการขนส่งไปอินเดียที่เป็นตลาดหลักต�่ากว่า แต่ทั้งนี้ ไทยยังคงเป็นฐานการผลิตทีวีแอลซีดีของซัมซุง พานาโซนิก และแอลจี รวมทั้ ง ยั ง รั บ จ้ า งผลิ ต ให้ กั บ อี ก หลายแบรนด์ ขณะที่ เครื่องใช้ไฟฟาอื่นๆ เช่น เครื่องปรับอากาศ ตู้เย็น เครื่อง ซักผ้า ฯลฯ ยังมีแนวโน้มที่ดี 3. อุ ต สำหกรรมอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส ไทยยั ง มี จุ ด แข็ ง ใน เรื่องแรงงานมีฝมือเป็นที่ยอมรับ และมีระบบสาธารณูปโภคที่ พร้อมแต่ยังมีปญหาการขาดแคลนแรงงาน ซึ่งการเปด AEC คาดว่า เรื่องภาษีจะส่งผลต่ออุตสาหกรรมนี้ไม่มาก เพราะได้ ทยอยลดภาษีเป็น 0 เกือบหมดแล้ว อย่างไรก็ตาม ถ้ามองในแง่

นําศักยภาพของจังหวัดเพชรบุรี ที่มี สินคาเกษตรและอาหาร เชน ขาว เกลือ นําไปสูการสงเสริมอุตสาหกรรมแปรรูป สินคาเกษตรใหมีมาตรฐาน 48

ของมาตรการส่งเสริมการลงทุน ไทยยังเสียเปรียบมาเลเซีย และ สิงคโปร์ ทีใ่ ห้สทิ ธิประโยชน์ยดื หยุน่ กว่า โดยแนวโน้มการ อยูร่ อด ของอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ จะต้องส่งเสริมให้เกิดการลงทุน ในผลิตภัณฑ์ที่มีมูลค่าเพิ่มสูง และใช้เทคโนโลยีชั้นสูง 4. อุตสำหกรรมเหล็ก ไทยมีศักยภาพในอันดับต้นๆ ของ อาเซียน เนื่องจากเป็นตลาดที่ใหญ่ และยังมีโอกาสขยายตลาด ในอาเซียนได้อีกมาก แต่มีจุดอ่อนในเรื่องการพึ่งพาวัตถุดิบ น�าเข้าจากต่างประเทศ ไม่มีโรงถลุงเหล็กต้นน�้า ซึ่งหลังจากเปด AEC แล้วความน่าสนใจในการลงทุนอุตสาหกรรมนีอ้ าจด้อยกว่า ประเทศเพื่อนบ้านที่มีการลงทุนเหล็กต้นน�้า 5. อุ ต สำหกรรมอั ญ มณี แ ละเครื่ อ งประดั บ ไทยมี จุ ดแข็ ง เรื่ องฝ มือแรงงาน โดยมี ความเชี่ ยวชาญในเรื่อ งการ ปรับปรุงคุณภาพพลอย แต่มีจุดอ่อนในเรื่องแรงงานมีฝมือซึ่ง มีแนวโน้มลดลง เพราะคนรุ่นใหม่หันไปท�างานด้านอื่น และ ขาดแคลนวัตถุดบิ ภายในประเทศต้องน�าเข้าถึง 90% แต่ทงั้ นี้ เมือ่ เปรียบเทียบในอาเซียนไทยยังคงมีศักยภาพการแข่งขันสูงกว่า ซึง่ เมือ่ เปด AEC จะท�าให้ไทยมีแหล่งวัตถุดบิ เพิม่ ขึน้ จากประเทศ เพื่อนบ้าน 6. อุ ต สำหกรรมสิ่ ง ทอ ไทยมีจุดเด่นในเรื่องขีดความ สามารถในการผลิตครบวงจร เป็นฐานการผลิตใหญ่ในอาเซียน รวมทั้ง ประเทศกัมพูชา พม่า และเวียดนาม ต่างก็ยังพึ่งพา สินค้ากลางน�า้ จ�าพวกผ้าผืนจากไทย ดังนัน้ เมือ่ เปด AEC จะเป็น


ผลดีเนื่องจาก ประเทศเพื่อนบ้านและเวียดนามมีอุตสาหกรรม เครื่องนุ่งห่มที่เติบโตอย่างรวดเร็ว แต่ยังขาดแคลนอุตสาหกรรม ต้นน�า้ และกลางน�า้ จึงต้องน�าเข้าวัตถุดบิ ท�าให้เป็นโอกาสของไทย ในการขยายตลาดในอาเซียน 7. อุตสำหกรรมเครื่องนุ่งห่ม ไทยมีความได้เปรียบและ ความพร้อมในเรือ่ งคุณภาพการผลิตทีป่ ราณีต แต่มจี ดุ อ่อนเรือ่ ง ต้นทุนแรงงาน ดังนัน้ การเปด AEC จะเป็นโอกาส ในการออกไป ตัง้ ฐานการผลิตในสินค้า ปลายน�า้ ในประเทศเพือ่ นบ้านทีม่ ตี น้ ทุน แรงงานต�่า และยังสามารถใช้สิทธิประโยชน์ทางภาษี (GSP) ของประเทศเพื่อนบ้านในการส่งออกไปยังยุโรป และสหรัฐฯ แต่ ผูป้ ระกอบการ จะต้องพัฒนาแบรนด์ และเพิม่ การออกแบบ เพือ่ ให้แข่งขันในตลาดสากลได้ 8. อุตสำหกรรมเม็ดพลำสติก ไทยมีจุดแข็งเมื่อเทียบกับ ประเทศในอาเซียน เพราะมีก�าลังการผลิตมากที่สุดในภูมิภาค การเปด AEC ลดภาษีเป็น 0% ไทยจะส่งเม็ดพลาสติกเข้าไปขาย ได้มากขึ้น โดยเฉพาะประเทศที่มีอุตสาหกรรมต้นน�้าไม่เพียงพอ เช่น อินโดนีเซีย แต่อินโดนีเซียก็มีมาตรการกีดกันทางการค้าใน เม็ดพลาสติก PET จากไทย ดังนั้น หากขจัดอุปสรรคนี้ได้ก็จะ ท�าให้มีการส่งออกมากขึ้น 9. อุตสำหกรรมผลิตภัณฑพลำสติก มีสว่ นแบ่งการตลาด ในอาเซียนเป็นอันดับ 3 รองจากสิงคโปร์ และมาเลเซีย โดย มาเลเซียเป็นคู่แข่งที่น่ากลัว เนื่องจากมีต้นทุนวัตถุดิบ พลังงาน โลจิสติกส์ และแรงงาน ต�่ากว่าไทย รวมทั้งยังมีการเชื่อมโยง คลัสเตอร์พลาสติกที่ดีกว่า ซึ่งเมื่อเปด AEC อุตสาหกรรมนี้ จะขยายตัวตามเศรษฐกิจ ประกอบการไทยสามารถส่งไปยัง ประเทศเพื่อนบ้านได้มากขึ้น ยกเว้นเวียดนามที่เป็นตลาดของ มาเลเซีย 10. อุตสำหกรรมผลิตภัณฑยำง ประเทศไทยมีจุดเด่น ในเรื่องการส่งออกวัตถุดิบยางธรรมชาติเป็นจ�านวนมาก ท�าให้ อุตสาหกรรมนี้ของไทยมีศักยภาพ และความสามารถในการ แข่งขันโดยเฉพาะยางล้อที่เติบโตอย่างมาก แต่ขณะเดียวกัน

ประเทศลาว และเวียดนามได้ขยายการส่งออกยางมากขึ้น ท�าให้อตั ราการเติบของไทยลดลง และไทยยังประสบปญหาการ ขาดแคลนแรงงาน ดังนั้น จึงต้องเร่งผลิตบุคลากรทุกระดับ รวม ทั้งเพิ่มการวิจัยและพัฒนา เพิ่มส่งเสริมให้เกิดการใช้เทคโนโลยี ในการผลิต และการวิจัยสร้างนวัตกรรมในอุตสาหกรรมยาง 11. อุตสำหกรรมเครื่องส�ำอำงและเครื่องประทินผิว ไทยมีจุดเด่นในเรื่องคุณภาพสินค้าที่ดีกว่าจีน และยังเป็นท�าเล ทีเ่ หมาะต่อการเป็นศูนย์กลางกระจายสินค้าในอาเซียน และยังมี ความหลากหลายของสมุนไพรทีใ่ ช้เป็นวัตถุดบิ แต่การเปด AEC จะท�าให้ผู้ประกอบการSMEsต้องปรับตัว เพิ่มขีดความสามารถ ในการแข่งขัน เพราะจะมีคู่แข่งมากขึ้น 12. อุตสำหกรรมอำหำร เป็นอุตสาหกรรมที่ไทยมีความ เข็มแข็งมาก สิ่งที่ต้องระวังคือ ปญหาการขาดแคลนแรงงาน เนื่องจากเป็นอุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานสูงและมีสภาพแวดล้อม การท�างานที่ไม่จูงใจ ดังนั้น รัฐบาลควรมีนโยบายชัดเจนในเรื่อง การเอือ้ ประโยชน์ตอ่ นักลงทุน เช่น การเพิม่ ประสิทธิภาพ การลด ต้นทุนการผลิต การสนับสนุนการวิจัยและพัฒนา เพื่อลดการ พึ่งพาแรงงาน

Phetchaburi 49


แนวโน้มของภำคอุตสำหกรรมที่จะได้รับกำรส่งเสริมเป็น พิเศษเมื่อเข้ำสู่ AEC นโยบายของรัฐบาลไทยเมือ่ เข้าสู่ AEC คือ ด�าเนินนโยบาย มุง่ เน้นการเปดเสรีและส่งเสริมการค้าเสรี ส่งเสริมการลงทุนจาก ต่างประเทศ น�าไปสู่การพัฒนาทักษะ เทคโนโลยี และนวัตกรรม อย่างจริงจัง โดยส่งเสริมและชักจูงอุตสาหกรรม 6 สาขาหลัก ได้แก่ เกษตรกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร พลังงานทดแทน ยานยนต์ อิเล็กทรอนิกส์ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร แฟชัน่ และบริการทีม่ มี ลู ค่าเพิม่ สูง ซึง่ รวมถึงอุตสาหกรรมบันเทิง บริการเพื่อสุขภาพและการท่องเที่ยว สาขาที่ได้รับการจับตา มองเป็นพิเศษ คือเกษตรกรรมและอุตสำหกรรมเกษตร จาก นโยบายดังกล่าวข้างต้นของรัฐบาลจึงท�าให้มีการขยายตัวของ เขตอุตสาหกรรม เพื่อรองรับความต้องการของพลเมืองของไทย และของอาเซียน

สงเสริมผูประกอบการในการดําเนินการ ขอรับการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ ชุมชน เพื่อใหผลิตภัณฑของกลุม วิสาหกิจชุมชนมีคุณภาพ ไดมาตรฐาน และเปนที่ยอมรับ 50

ปญหำของภำคอุตสำหกรรมในเพชรบุรี และแนวทำงกำร แก้ไข การน�าความเจริญเข้ามาสู่ท้องถิ่น สิ่งที่ตามมาก็คือความ เสื่อมโทรมของสิ่งแวดล้อมและคุณภาพชีวิตของประชากรใน พื้นที่ ดังนั้น สิ่งที่ส�าคัญคือ การรักษาสภาพแวดล้อมบริเวณใกล้ เคียงโรงงานอุตสาหกรรม ให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและชุมชน เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่ด�าเนินชีวิตได้อย่างปลอดภัย ทางส่วน ราชการมีแผนรองรับในการแก้ไขปญหาคือ 1. กำรจั ด กำรน�้ ำ เสี ย มี ก ารก� า หนดมาตรการก� า จั ด น�้าเสียบริเวณสถานที่ก่อสร้างโรงงานอุตสาหกรรม เร่งรัดการ สร้ า งระบบบ� า บั ด น�้ า เสี ย กลางของชุ ม ชนก่ อ นลงสู ่ แ หล่ ง น�้ า ธรรมชาติ และติดตามการบ�าบัดน�้าเสีย ส่วนกลางก่อนปล่อย ลงแหล่งน�้าสาธารณะอย่างใกล้ชิดเพื่อไม่ให้ส่งผลกระทบต่อน�้า ใช้อปุ โภคและบริโภคของประชาชนในพืน้ ทีห่ รือบริเวณใกล้เคียง 2. กำรจัดกำรมูลฝอยและกำกของเสีย มีโครงการที่ จะน�ากากของเสียอุตสาหกรรมกลับมาใช้ใหม่ทั้งในรูปวัตถุดิบ และแหล่งพลังงาน สร้างสถานที่ฝงกลบขยะมูลฝอยที่ถูกหลัก สุขาภิบาล และตั้งศูนย์แลกเปลี่ยนของเสียหรือวัสดุเหลือใช้ ระหว่างโรงงานอุตสาหกรรม 3. กำรจัดกำรภูมิอำกำศ คุณภำพอำกำศ และคุณภำพ เสี ย ง ท� า การติ ด ตั้ ง ระบบก� า จั ด ฝุ  น ละออง ส� า หรั บ โรงงาน อุ ตสาหกรรม เข้ มงวดกั บภาคการคมนาคมขนส่ง การผลิต การใช้พลังงาน การควบคุมเขม่า ควัน เสียงและฝุนละออง ปจจุบนั ผูป้ ระกอบกำรวิสำหกิจชุมชนในจังหวัดฯ ได้รบั กำร ส่งเสริมในด้ำนใดบ้ำง ส� ำ นั ก งำนอุ ต สำหกรรมจั ง หวั ด เพชรบุ รี ได้ส่งเสริม ผู้ประกอบการวิสาหกิจชุมชนในด้านต่างๆ ดังนี้ 1. กำรด�ำเนินกำรตำมโครงกำรมำตรฐำนผลิตภัณฑ ชุมชน โดยให้การส่งเสริมผูป้ ระกอบการในการด�าเนินการขอรับ การรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชมุ ชน เพือ่ ให้ผลิตภัณฑ์ของกลุม่ วิสาหกิจชุมชนมีคุณภาพ ได้มาตรฐาน และเป็นที่ยอมรับ ซึ่งถือ เป็นหลักประกันคุณภาพให้กบั ผูบ้ ริโภคในการเลือกซือ้ ผลิตภัณฑ์ ชุมชน เป็นการเพิม่ ศักยภาพการแข่งขันและสร้างรายได้แก่ผผู้ ลิต โดยในป 2557 ส�านักงานอุตสาหกรรมจังหวัดเพชรบุรีได้มีการ ส่งตัวอย่างเพื่อยื่นขอรับการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน แล้วทัง้ สิน้ 72 ราย โดยเป็นผลิตภัณฑ์ประเภทสิง่ ประดิษฐ์ของใช้ อาหารและเครื่องดื่ม สมุนไพรที่มิใช่อาหาร และผลิตภัณฑ์ ผ้าทอ เป็นต้น 2. กำรให้ควำมรู้ทำงด้ำนวิชำกำรต่ำๆ และกำรให้ค�ำ ปรึกษำแนะน�ำ พร้อมทั้งจัดฝกอบรมให้กับกลุ่มผู้ประกอบ กำรวิสำหกิจชุมชน โดยเชิญวิทยากรทีม่ คี วามรูค้ วามเชีย่ วชาญ มาถ่ายทอดให้ความรู้ในเรื่องของการตลาด การบริหารจัดการ


การเขียนแผนธุรกิจ การบัญชี การพัฒนาผลิตภัณฑ์และบรรจุ ภัณฑ์ ภาษีอากร กฎหมายการคุ้มครองผู้บริโภค การเตรียม ความพร้อมเพือ่ รองรับผลกระทบของระเบียบข้อกฎหมายทีม่ ตี อ่ ผลิตภัณฑ์ชมุ ชนประเภทอาหารและเครือ่ งดืม่ การรักษาคุณภาพ และยกระดับผลิตภัณฑ์ชมุ ชนสูค่ วามยัง่ ยืน ซึง่ ผูเ้ ข้ารับการอบรม สามารถน�าความรูท้ ไี่ ด้จากการเข้ารับการอบรมไปประยุกต์ใช้ใน การพัฒนากลุ่มวิสาหกิจชุมชนของตนเองได้ 3. กำรน�ำผู้ประกอบกำรวิสำหกิจชุมชนศึกษำดูงำน บริษัทที่มีระบบในกำรบริหำรจัดกำร และกลุ่มอำชีพที่มี ควำมเข้มแข็ง โดยร่วมกับส�านักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชมุ ชน (สมอ.) ในการน�าผู้ประกอบการวิสาหกิจชุมชนเข้าศึกษาดูงาน เพือ่ ให้ผปู้ ระกอบการวิสาหกิจชุมชนสามารถน�าความรูท้ ไี่ ด้ไปใช้ เป็นแนวทางในการบริหารจัดการ และการพัฒนาผลิตภัณฑ์ของ นโยบำยด้ำนสิง่ แวดล้อมของส�ำนักงำนอุตสำหกรรมจังหวัด เพชรบุรี นโยบำยสิ่ ง แวดล้ อ ม (Environmental Policy) คือ ความตั้งใจ มุ่งมั่น และหลักการในการท�างานด้านการจัดการ สิ่งแวดล้อมโดยรวม เพื่อสภาพแวดล้อมที่ดีของสังคม นโยบาย เป็นตัวส�าคัญในการขับเคลื่อนกลไกในการปฏิบัติ และปรับปรุง ระบบการจั ด การสิ่ ง แวดล้ อ มของสถานประกอบการ เพื่ อ ให้สามารถรักษาและปรับปรุงผลงานด้านสิ่งแวดล้อม ทั้งนี้ ส�านักงานอุตสาหกรรมจังหวัดเพชรบุรี ร่วมกับองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น และสถานประกอบการอุตสาหกรรม ได้ร่วมกันจัด ท�าแผนงานโครงการธรรมาภิบาลสิ่งแวดล้อมสถานประกอบ การอุตสาหกรรมจังหวัดเพชรบุรี ขอบเขตการด�าเนินงานมีดังนี้ 1. ตรวจติ ด ตามสถานประกอบการอุ ต สาหกรรม ทาง ด้านความปลอดภัย สิ่งแวดล้อมด้านต่างๆ เช่น น�้าทิ้ง อากาศ กากอุตสาหกรรม สารเคมี ฯลฯ ให้เป็นไปตามกฎหมาย 2. กลุม่ เปาหมายมีการเปดเผยข้อมูลต่างๆ ในการประกอบ กิจการให้กับชุมชนรับทราบ กรณีที่อาจส่งผลกระทบต่อชุมชน

3. ชุมชนมีส่วนร่วม และเป็นเครือข่ายในการแก้ไขปญหา สิ่งแวดล้อมจากสถานประกอบการอุตสาหกรรม สามารถรับรู้ ข้อมูล และมีความรูเ้ กีย่ วกับสถานประกอบการอุตสาหกรรมและ หลักธรรมาภิบาล 4. สถานประกอบการอุตสาหกรรมมีความตระหนักในเรือ่ ง สิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย และใช้หลักธรรมาภิบาลเป็น แนวทางประกอบกิจการ ป จ จุ บั น ส� า นั ก งานฯ ได้ ด� า เนิ น โครงการดั ง กล่ า วอย่ า ง ต่อเนื่องทุกป เพื่อเป็นการพัฒนาทางด้านอุตสาหกรรมและ ป อ งกั น ป ญ หามลพิ ษ ด้ า นต่ า งๆ และความปลอดภั ย สร้ า ง จิตส�านึกในการรับผิดชอบต่อสังคม เพือ่ สร้างภูมคิ มุ้ กัน และเกิด การพัฒนาอุตสาหกรรมที่ยั่งยืน สถำนประกอบกำรที่เข้ำร่วมโครงกำรอุตสำหกรรมสีเขียว สถานประกอบการในจังหวัดเพชรบุรีที่ได้รับการรับรอง อุตสาหกรรมสีเขียว ประจ�าป 2556 มี จ�านวน 15 ราย แบ่งเป็น ระดับที่ 1 : ความมุ่งมั่นสีเขียว Green Commitment คือความ มุง่ มัน่ ทีจ่ ะลดผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม และมีการสือ่ สารภายใน องค์กรให้ทราบโดยทั่วกัน จ�านวน 12 ราย และระดับที่ 3 : ระบบ สีเขียว Green System คือการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมอย่าง เป็นระบบ มีการติดตามประเมินผล และทบทวนเพื่อการพัฒนา อย่างต่อเนื่อง รวมถึงการได้รับรางวัลด้านสิ่งแวดล้อมที่เป็น ทีย่ อมรับ และการรับรองมาตรฐานด้านสิง่ แวดล้อมต่างๆ จ�านวน 3 ราย เช่น บริษทั ลีพฒ ั นาผลิตภัณฑ์ จ�ากัด (มหาชน) เป็นโรงงาน ผลิตอาหารสัตว์น�้า ตั้งอยู่ ณ อ�าเภอเขาย้อย จังหวัดเพชรบุรี ฝำกถึงภำคอุตสำหกรรมของจังหวัดเพชรบุรี ผมหวังเป็นอย่างยิ่งที่จะเห็นผู้ประกอบการอุตสาหกรรม ยึดมั่นในการประกอบกิจการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และ ประกอบกิจการด้วยความรับผิดชอบต่อสังคมทั้งภายในและ ภายนอกองค์กรเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนต่อไป Phetchaburi 51


เสนทางพบ

ทองถิน่ จังหวัด

พ.จ.อ.กาญจนกุล เทียนสุวรรณ ทองถิ่นจังหวัดเพชรบุรี

“พระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั ทานทรงงาน หนักมากเพือ่ ประโยชนของประชาชนชาวไทยทุก คน ซึ่งผมก็นอมนําพระราชดํารัสของพระองค ทานมาใชเปนแนวทางการปฏิบัติงานเสมอมา” คื อ คํ า กล า วจากใจของ พ.จ.อ.กาญจนกุ ล เทียนสุวรรณ ทองถิ่นจังหวัดเพชรบุรี ซึ่งปฏิบัติ หนาทีใ่ นฐานะขาราชการในพระบาทสมเด็จพระเจา อยูหัว ดวยความตั้งใจและทุมเทอยางเต็มที่ เพื่อให เกิดความคุมคากับเงินภาษีของประชาชน และเพื่อ ประโยชนสขุ ของประชาชนและประเทศชาติเปนสําคัญ นิตยสาร SBL ไดรับเกียรติจากทานทองถิ่น จังหวัดเพชรบุรี ใหสัมภาษณถึงศักยภาพของ อปท. ในจังหวัดเพชรบุรี แผนการพัฒนาอปท. ตลอดจน การเตรียมพรอมกาวสู AEC เปนตน

แผนที่จะสงเสริมความเขมแข็งของ อปท เพชรบุรี คือ การกระตุนใหผูบริหารใหความสําคัญเกี่ยวกับ การสงเสริมตนทุนดานทรัพยากรธรรมชาติ 52

จุดเดนของ อปท.เพชรบุรี อปท.เพชรบุรี มีศักยภาพหรือจุดเดนที่สามารถ แบงออกเปนสองดาน ไดแก ดานการบริหารและ สภาพพื้นที่ ดังนี้ ด า นการบริ ห าร ผู  บ ริ ห ารและพนั ก งาน/ ขาราชการสวนทองถิ่น สวนใหญมีคุณธรรมและมี ความมุ  ง มั่ น ในการบริ ห ารงานและร ว มกั น พั ฒ นา พื้ น ที่ ใ ห มี ค วามเจริ ญ ทั้ ง ด า นโครงสร า งพื้ น ฐาน สาธารณูปโภค สาธารณูปการ และสิ่งอํานวยความ สะดวกตาง ๆ เพื่อประโยชนสูงสุดของประชาชน ดานสภาพพื้นที่ 1. จังหวัดเพชรบุรีเปนเมืองประวัติศาสตร เปน จังหวัดที่มีวังของพระมหากษัตริย 3 พระองค ไดแก รัชกาลที่ 4 รัชกาลที่ 5 และรัชกาลที่ 6 ซึ่งปจจุบันเปน สถานที่ทองเที่ยวที่มีชื่อเสียงระดับประเทศ 2. มีความหลากหลายทางธรรมชาติ และผลผลิต ทางการเกษตร ไมวาจะเปน ทะเล ภูเขา นํ้าตก ถํ้า เขือ่ นแกงกระจาน พืชผลทางการเกษตรทีล่ อื ชือ่ ไดแก มะนาว นํา้ ตาลโตนด ชมพูเ พชร ทุเรียนปาละอู อาหาร ทะเลสด ขนมหวานขึ้นชื่อ 3. เสนทางคมนาคมที่สะดวกสบาย


จุดเดนทัง้ สามดานซึง่ กลาวมาทัง้ หมดกระจายอยูใ น แตละอําเภอ แตละทองถิ่นในจังหวัดเพชรบุรี วิสัยทัศน พันธกิจ และนโยบายของ สถจ.เพชรบุรี วิสยั ทัศน “เปนองคกรหลักในการสงเสริมสนับสนุนให องคกรปกครองสวนทองถิ่นปฏิบัติงานตามอํานาจหนาที่ ภายใตหลักธรรมาภิบาล เพื่อประโยชนสุขของประชาชน” เป น ไปตามวิ สั ย ทั ศ น ข องกรมส ง เสริ ม การปกครอง ทองถิ่น โดยสํานักงานสงเสริมการปกครองทองถิ่น จั ง หวั ด เพชรบุ รี ได มุ  ง มั่ น ส ง เสริ ม สนั บ สนุ น องค ก ร ปกครองสวนทองถิ่นใหมีความเขมแข็งและมีศักยภาพใน การใหบริการสาธารณะเพื่อประโยชนสุขของประชาชน รวมถึงพยายามพัฒนาบุคลากรของสํานักงานสงเสริม การปกครองทองถิ่นจังหวัดเพชรบุรีใหมีศักยภาพใน การสงเสริมองคกรปกครองสวนทองถิ่น และประสาน ความรวมมือกับทุกภาคสวนและการมีสวนรวมของภาค ประชาชน เพื่อรวมกันพัฒนาและสงเสริม สนับสนุนการ บริหารจัดการขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

มีการปรับทัศนคติในการทํางานของผูบริหาร และขาราชการทองถิ่นใหเปนมืออาชีพ มีการ กําหนดยุทธศาสตรในการพัฒนาทองถิ่น เชื่อมโยงกับอาเซียนมากขึ้น Phetchaburi 53


ยุทธศาสตรการพัฒนาของ สถ.จ.เพชรบุรี 1. เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพข า ราชการสํ า นั ก งาน สงเสริมการปกครองทองถิ่นจังหวัดเพชรบุรี ให มีความรูความเขาใจในการปฏิบัติหนาที่ที่รับผิดชอบ เพือ่ ใหบรรลุตามวิสยั ทัศนของสํานักงานสงเสริมการ ปกครองทองถิน่ จังหวัดเพชรบุรี และกรมสงเสริม การปกครองทองถิ่น และทันตอการเปลี่ยนแปลง 2. เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการบริ ห ารจั ด การของ องค ก รปกครองส ว นท อ งถิ่ น ให ต อบสนองความ ตองการของประชาชน 3. เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารงานบุคคลและ กิจการสภาขององคกรปกครองสวนทองถิ่นตามหลัก ธรรมาภิบาล 4. เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารงานการเงินและ การคลังขององคกรปกครองสวนทองถิน่ ใหมอี สิ ระและ พึ่งพาตนเองได 5. เพิม่ ประสิทธิภาพการใหบริการสาธารณะของ องคกรปกครองสวนทองถิ่น แผนสงเสริมความเขมแข็งของ อปท.เพชรบุรี จั ง หวั ด เพชรบุ รี เ ป น จั ง หวั ด ที่ มี ต  น ทุ น ด า น ทรั พ ยากรธรรมชาติ ก ระจายอยู  ทั่ ว ไปของแต ล ะ อําเภอไมวาจะเปนอาหารทะเล ผลไม ภูเขา เขื่อน ปาไมที่สมบูรณ ซึ่งแตละอําเภอแตละทองถิ่นก็มี จุดเดนหรือเอกลักษณของตนเอง แผนที่จะสงเสริม ความเขมแข็งของ อปท เพชรบุรี คือ การกระตุนให ผูบริหารใหความสําคัญเกี่ยวกับการสงเสริมตนทุน ดานทรัพยากรธรรมชาติ และตนทุนดานภูมิปญหา ทองถิ่น โดยใหแตละ อปท.เพชรบุรีดึงจุดเดนของ ตนเองมาพัฒนาใหเกิดศักยภาพในดานตางๆ เชน แหลงทองเที่ยว ผัก ผลไม ปลอดสารพิษ เปนตน เพื่อ นําไปสูก ารสรางรายไดใหแกประชาชนในทองถิน่ ของ ตนเอง ซึ่งก็เปนไปตามวิสัยทัศนและยุทธศาสตรการ พัฒนาจังหวัดเพชรบุรี คือ “แหลงผลิตอาหารและ การทองเที่ยวชั้นนําของ ASEAN” แผนการเตรียมความพรอมกอนเขาสู AEC จั ง หวั ด เพชรบุ รี โ ดยสํ า นั ก งานส ง เสริ ม การ ปกครองทองถิ่นจังหวัดเพชรบุรี ไดจัดทําโครงการ ฝกอบรมเพิ่มศักยภาพขององคกรปกครองสวนทอง ถิ่น เพื่อการเตรียมความพรอมใหแกองคกรปกครอง สวนทองถิ่นกอนเขาสู AEC โดยผูบริหาร ปลัดองคกร 54


การสรางระบบการบริหารจัดการ ธรรมาภิบาลใหเกิดขึ้นกับองคกร ปกครองสวนทองถิ่น ปกครองสวนทองถิ่นในจังหวัดเพชรบุรี เขารับการฝกอบรมให ความรู สรางความเขาใจ ปรับทัศนคติในการปฏิบัติงาน และไป ศึกษาดูงานในตางประเทศซึง่ เปนประเทศทีอ่ ยูใ นภูมภิ าคอาเซียน หลังจากการฝกอบรม มีการสรุปผลการฝกอบรมและศึกษาดู งาน ทําใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นมีการตื่นตัว และมีความ เขาใจเกี่ยวกับการปฏิบัติงาน เพื่อรองรับการเขาสู AEC มีการ ปรับทัศนคติในการทํางานของผูบริหารและขาราชการทองถิ่น ใหเปนมืออาชีพ มีการกําหนดยุทธศาสตรในการพัฒนาทองถิ่น เชื่อมโยงกับอาเซียนมากขึ้น รวมทั้งมีการสงเสริมใหประชาชนลดตนทุนการผลิตและ เพิ่มผลผลิตดานการเกษตร การบริการดานการทองเที่ยวรวมถึง การพัฒนาแหลงทองเทีย่ วใหไดมาตรฐานเปนสากล รวมทัง้ อปท. มีโครงการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษใหกับพนักงาน ขาราชการสวนทองถิ่นและประชาชนในพื้นที่ดวย ปญหาของ อปท.ในเพชรบุรี และแนวทางแกไข ปญหาที่ อปท.ตางๆ สะทอนมาคือ การไดรับงบประมาณ จากส ว นกลางไม เ พี ย งพอต อ การบริ ห ารจั ด การตามความ ตองการของประชาชน สําหรับในเรื่องนี้ สํานักงานสงเสริม การปกครองทองถิ่นไดทําความเขาใจและสงเสริมสนับสนุน ใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นบริหารจัดการดานงบประมาณ ใหเกิดความคุมคา ดังนี้ 1. มาตรการประหยัดงบประมาณดําเนินการ 2. มาตรการประหยัดคาใชจายดานสาธารณูปโภค 3. มาตรการประหยัดนามันเชื้อเพลิง 4. สงเสริมประสิทธิภาพการจัดเก็บรายไดของ อปท. 5. สงเสริมการบริหารจัดการดานการเงิน การคลังและงบ ประมาณ โดยการแตงตั้งคณะทํางานตรวจผลการปฏิบัติงาน ดานการเงินและการคลังของ อปท. ผลการดําเนินงานตามนโยบายของภาครัฐ 1. การปองกันและแกไขปญหายาเสพติด 2. การขับเคลื่อนศูนยปรองดองและสมานฉันท 3. การจัดสรรงบประมาณใหแก อปท.

Phetchaburi 55


4. การพัฒนาบุคลากรของ อปท. 5. การสงเสริมให อปท. ตระหนักถึงความสําคัญของอาเซียน การสงเสริมความรวมมือระหวาง อปท.กับภาคประชาชน สํานักงานสงเสริมการปกครองทองถิน่ จังหวัดเพชรบุรี ใหความสําคัญกับภารกิจหนาที่ขององคกรปกครองสวนทอง ถิ่น กฎหมายกําหนดใหประชาชนเขามามีสวนรวมในการแสดง ความคิดเห็น หรือเปนสวนหนึง่ ในกําหนดนโยบาย เพือ่ ใหองคกร ปกครองสวนทองถิ่นและประชาชนมีสวนในการพัฒนาทองถิ่น ของตนเอง ดังนี้ 1. สงเสริมสรางความรูค วามเขาใจผูบ ริหาร/บุคลากร อปท. ในการสงเสริมการมีสว นรวมของประชาชนในการบริหารและการ พัฒนาทองถิ่น 2. สรางความรวมมือกับสถาบันการศึกษาในการสํารวจ จัด ทํา และพัฒนาฐานขอมูลภาคีเครือขาย ฯ 3. โครงการตรวจรับรองมาตรฐานการปฏิบัติราชการของ อปท. (Core Team) ผลการดําเนินงานที่ภาคภูมิใจ ผลงานทีส่ รางความภาคภูมใิ จของ สถจ.เพชรบุรี คือไดเปน ผูข บั เคลือ่ นนโยบายของรัฐบาล กระทรวงมหาดไทย กรมสงเสริม การปกครองทองถิ่น และจังหวัดเพชรบุรี เชน การปองกันและ แกไขปญหายาเสพติด การจัดทําแผนชุมชน การบูรณาการแผน พัฒนาระหวางองคกรปกครองสวนทองถิ่นกับจังหวัดเพชรบุรี และการพัฒนาความรูใหแกบุคลากรของ อปท.

56


อปท. เปนองคกรที่มีความใกลชิดกับ ประชาชนตั้งแตเกิดจนตาย ดังนั้น ภารกิจขององคกรปกครองสวนทองถิ่น จึงมีเปนจํานวนมาก โครงการเรงดวนเพื่อการพัฒนา อปท. การสรางระบบการบริหารจัดการธรรมาภิบาลใหเกิดขึน้ กับ องคกรปกครองสวนทองถิ่นโดยการเริ่มตนจากโครงการตรวจ รับรองมาตรฐานการปฏิบัติราชการขององคกรปกครองสวน ทองถิ่น ซึ่งเปนแบบประเมินองคกรปกครองสวนทองถิ่นดาน การบริหารจัดการ เปนการนําหลักการบริหารกิจการบานเมืองที่ ดีทั้ง 7 ดาน มากําหนดเปนแบบตรวจประเมิน หากผลการตรวจ ประเมิน อปท. เพชรบุรี ทั้ง 85 แหงผานทั้งหมด ก็จะสะทอนให เห็นวา อปท.เพชรบุรี มีคุณภาพดานการบริหารจัดการ

จากใจทองถิ่นจังหวัด ทองถิน่ จังหวัดมีหนาทีก่ าํ กับ ดูแล และสนับสนุนงานทีเ่ ปน อํานาจหนาที่ของผูวาราชการจังหวัดดานการกํากับดูแล อปท. เพือ่ ใหองคกรปกครองสวนทองถิน่ ปฏิบตั งิ านเปนไปตามระเบียบ กฎหมาย ตอบสนองความตองการของประชาชนไดอยางมี ประสิทธิภาพ และเกิดความยัง่ ยืน เพราะองคกรปกครองสวนทอง ถิ่นเปนองคกรที่มีความใกลชิดกับประชาชนตั้งแตเกิดจนตาย ดังนั้น ภารกิจขององคกรปกครองสวนทองถิ่นจึงมีเปนจํานวน มาก ซึง่ ภารกิจบางอยางบุคลากรยังมีความเขาใจอยางไมถอ งแท จึงตองไดรบั การพัฒนา หรือตองมีพเี่ ลีย้ งคอยใหความชวยเหลือ แนะนําแนวทางปฏิบัติที่ถูกตอง เพื่อการใหบริการแกประชาชน ในพื้นที่ไดอยางมีประสิทธิภาพไมวาจะเปนดานการศึกษา ดาน โครงสรางพื้นฐาน (งานกอสราง) เปนตน ภารกิจบางอยางที่ได รับการถายโอนจากภาคสวนอืน่ ตามพระราชบัญญัตกิ าํ หนดแผน และขัน้ ตอนการกระจายอํานาจของ อปท. สวนราชการทีถ่ า ยโอน ตองใหคาํ แนะนําทีถ่ กู ตองแก อปท. และ อปท. ตองตระหนักและ พัฒนาตนเองใหเปนมืออาชีพ เพื่ออํานวยประโยชนและเปนที่ ยอมรับของประชาชนและสวนราชการอื่นๆ

Phetchaburi 57


แผนที่





เสนทางพบ สนง.สหกรณจังหวัด

สํานักงานสหกรณจังหวัดเพชรบุรี

สํ า นั ก งานสหกรณ จั ง หวั ด เพชรบุ รี สังกัด กรมสงเสริมสหกรณ กระทรวงเกษตร และสหกรณ มีภารกิจหลักในการเผยแพร การสหกรณแกบุคคลทั่วไป ตลอดจนแนะนํา สงเสริมสหกรณ กลุม เกษตรกร และกลุม อาชีพ ที่ อ ยู  ใ นจั ง หวั ด เพชรบุ รี ดํ า เนิ น งานภายใต วิสัยทัศน “เปนองคกรชั้นนําในการสงเสริม สหกรณและกลุมเกษตรกร ใหมีความเขม แข็ง เปนที่พึ่งของมวลสมาชิก”

กรมสงเสริมสหกรณ ไดมีการปรับปรุง และพั ฒ นากระบวนการด า นงานส ง เสริ ม สหกรณ ที่ เ รี ย กว า “ระบบการส ง เสริ ม สหกรณ” (Cooperative Promotion System : CPS) รวมไปถึงการประกาศคานิยมของกรม สงเสริมสหกรณ ที่วา “ริเริ่มสรางสรรค (Creative thinking) มุง มัน่ ฟนฝา (Proactive working) พัฒนา สหกรณ (Develop Cooperatives)” เปนการ สรางคานิยมในการทํางานเชิงรุก มุงเนนผล สัมฤทธิ์ในการทํางาน และคุณภาพการให บริการที่ดีแกสหกรณและกลุมเกษตรกร เพื่อ ใหเจาหนาที่ทุกคนของสํานักงานฯ สามารถ เข า ไปส ง เสริ ม สหกรณ แ ละกลุ  ม เกษตรกร ตางๆ ที่รับผิดชอบไดอยางมีประสิทธิภาพยิ่ง ขึ้น โดยเนนหนักภารกิจดานการสหกรณใหมี ความเขมขนอยางเต็มรูปแบบประกอบดวย ระบบสงเสริมสหกรณ การขับเคลือ่ นวาระแหง ชาติดานการสหกรณ การสรางเครือขายเขม ขนสหกรณเขมแข็ง การสงเสริมศูนยกระจาย สินคาสหกรณ การผลักดันมาตรฐานสหกรณ สรางความเชื่อมโยงระหวางสหกรณเปนหวง โซแหงคุณคา (Value Chain) ตลอดจนการ 62

พัฒนาหวงโซการผลิต (Supply Chain) เพื่อ พัฒนาสูความสําเร็จ ป จ จุ บั น สํ า นั ก งานสหกรณ จั ง หวั ด เพชรบุรี มีสหกรณและกลุมเกษตรกรที่อยู ในความรั บ ผิ ด ชอบจํ า วนทั้ ง สิ้ น 148 แห ง (สหกรณ 86 แห ง และกลุ  ม เกษตรกร 62 แหง) นายคํารณ พวงมณี สหกรณจังหวัด เพชรบุรี ไดเล็งเห็นถึงความสําคัญของการขับ เคลื่อนระบบการสงเสริมสหกรณ (CPS) และ การพัฒนาตน พัฒนาคน การพัฒนางาน เปน ไปตามคานิยมกรมสงเสริมสหกรณ จึงกําหนด นโยบายในการปฏิบัติงานดังนี้ 1. ส ง เสริ ม และพั ฒ นาสหกรณ กลุ  ม เกษตรกร มุงสูคุณธรรม โดยใชหลัก จริยธรรม จรรยาบรรณ ธรรมาภิบาล ความรับผิดชอบ ตอสังคม 2. กําหนดแนวทางในการพัฒนาบุคลากร ของสํานักงานในแตละบุคคล และสานสัมพันธ (Share value) คนในองคกรใหอยูกันไดอยาง มีความสุข 3. พัฒนาองคกรใหเปนองคกรแหงความ ผาสุก (Happy work place) 4. ตรวจสอบการใชงบประมาณที่ไดรับ ให มี ก ารเบิ ก จ า ยเที ย บกั บ แผนการใช ง บ ประมาณ ใหทันตามกําหนดระยะเวลา และ ถูกตองโปรงใส 5. ดําเนินกิจกรรม 5 ส. ในสํานักงาน อยางตอเนื่อง โดยยึดหลัก “ผลการปฏิบัติ

งานดี สํานักงานนาอยู ผูปฏิบัติงานพึงพอใจ” 6. ปรั บ ปรุ ง และพั ฒ นาระบบงานให สอดคลองทันสมัย รวดเร็ว ถูกตอง โดยยึดหลัก การทํางาน ออกเปน 4 ขั้นตอน คือ Approach -A แนวทาง วิธีการที่เปน ระบบ มีการจัดสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เพื่อ มอบหมายแผนงาน กําหนดกรอบแนวทาง รูปแบบการปฏิบัติงาน และถายทอดตัวชี้วัด ลงสูผูปฏิบัติรายบุคคล ตามแผนงานที่ไดรับ มอบหมาย และการจัดประชุมระดมสมอง เพื่อถายทอดองคความรู เหตุผล และความ สําคัญดานระบบการสงเสริมสหกรณ (CPS) ใหกบั บุคลากรของสํานักงานฯ เกิดความเขาใจ สามารถวิเคราะหสถานการณของสหกรณและ กลุมเกษตรกร เพื่อกําหนดประเด็นและ แนวทางแกไขรวมกัน Deployment -D มี ก ารถ า ยทอด แนวทาง/วิ ธี ก ารไปสู  ก ารปฏิ บั ติ อ ย า ง ครอบคลุ ม และทั่ ว ถึ ง มี ก ารสื่ อ สาร และ การชี้แจงใหหนวยงาน หรือบุคคลที่มีสวน เกี่ยวของในทุกขั้นตอนของกระบวนงาน รับ รูและรับทราบหนาที่ความรับผิดชอบ และวิธี ดําเนินการผานชองทางการสือ่ สารขององคกร เพื่อใหการขับเคลื่อนกระบวนงานมีทิศทาง และการดําเนินการที่มีประสิทธิภาพ Learning -L การแลกเปลี่ยนเรียนรูและ นําสูการปรับปรุง สํานักงานสหกรณจังหวัด เพชรบุรี ไดวางกระบวนการไวในสวนของ Aproach และมีการจัดประชุมกลุมงานวิชา การ และกลุม สงเสริมสหกรณ เปนเวทีแหงการ แลกเปลีย่ น การสือ่ สาร การถายทอดแนวทาง นําไปสูปฏิบัติจริง (Deployment) เกิดการ เรียนรู สามารถปฏิบัติงานใหบรรลุผลสําเร็จ ตามเปาหมายได Integration –I การบูรณาการงานรวม กันระหวางหนวยงานภายนอก เชน สํานักงาน ตรวจบัญชีสหกรณจังหวัดเพชรบุรี สํานักงาน เกษตรและสหกรณ จั ง หวั ด เพชรบุ รี และ จังหวัดเพชรบุรี เปนตน เพื่อใหการปฏิบัติ การ วิเคราะห ปรับปรุง มุงสูเปาหมายไดอยางมี ประสิทธิผล Outcome ผลลัพธ 1. การแนะนําสงเสริมสหกรณไดรับการ ยอมรับจากสหกรณและกลุม เกษตรกรเพิม่ ขึน้ 2. ผู  นํ า สหกรณ แ ละกลุ  ม เกษตรกร ตระหนั ก และให ค วามสนใจที่ จ ะผลั ก ดั น กิ จ กรรม/โครงการต า ง ๆ เพื่ อ ส ง เสริ ม / พัฒนาการประกอบอาชีพ และคุณภาพชีวิต ของสมาชิก


เสนทางพบสหกรณ

ศูนยสาธิตสหกรณโครงการหุบกะพง

การขับเคลื่อนกิจกรรมการดําเนินงาน ตามแผนการดําเนินงาน ประจําป และแผนแมบทพัฒนาโครงการตามพระราชประสงค หุบกะพง ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2557 โดย ศูนยสาธิตสหกรณโครงการหุบกะพง สํานักงานสหกรณจังหวัดเพชรบุรี

ภายใต 4 ยุทธศาสตร ดังนี้ ยุทธศาสตรที่ 1 : จัดที่ดินใหเกษตรกรสมาชิกสหกรณ ประกอบอาชีพอยูอาศัยและสงเสริมพัฒนาปรับปรุงดิน เพื่อทําการเกษตรอยางมีประสิทธิภาพ

• โครงการออกหนังสืออนุญาตใหเขาทําประโยชนในที่ดิน ในเขตพื้นที • โครงการตามพระราชประสงคหุบกะพง อําเภอชะอํา จังหวัดเพชรบุรี รุน 3 จํานวน 66 ราย ยุทธศาสตรที่ 2 : สงเสริมสหกรณในการบริหารจัดการนํ้า จากระบบชลประทาน เพื่อการเกษตรและอุปโภคบริโภค อยางมีประสิทธิภาพ

• โครงการบริหารการใชนํ้าในพื้นที่โครงการตามพระราชประสงคหุบ กะพง • โครงการบริหารการใชนํ้า (เงินอุดหนุนใหสหกรณจางเจาหนาที่) ยุทธศาสตรที่ 3 : สงเสริมสหกรณใหเปนองคกร ที่เขมแข็ง สามารถจัดการผลิตผล ผลิตภัณฑ สินคา รวมทั้งดานเศรษฐกิจและสังคม อํานวยประโยชน แกเกษตรกรสมาชิกอยางมีประสิทธิภาพ

• โครงการสรางความนิยม (Brand) สินคาสหกรณและสงเสริมการ ตลาด • โครงการฝกอบรมมัคคุเทศกอาสาแกสมาชิก/เยาวชนสหกรณ • โครงการสนับสนุน สงเสริม การเขาเยี่ยมชมศูนยเรียนรูโครงการตาม พระราชประสงคหุบกะพง ยุทธศาสตรที่ 4 : สงเสริมสหกรณและสมาชิก พัฒนา สาธิตการประกอบอาชีพ และศูนยเรียนรูโครงการตาม พระราชประสงคหุบกะพง เปนแหลงเรียนรูเชิงทองเที่ยว ขยายผลสําเร็จสูประชาชนทั่วไป

• โครงการจัดระบบบัญชีรานจําหนายผลิตภัณฑปานศรนารายณของ สหกรณการเกษตร • โครงการสรางเครือขายตนกลาสหกรณเขมขนสูสหกรณเขมแข็ง • โครงการสงเสริมการทองเที่ยวเชิงศึกษาการสหกรณ โครงการตาม พระราชประสงคหุบกะพง • โครงการสงเสริมอาชีพสมาชิกสหกรณตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง จํานวน 12 รายการ

ซึ่งการดําเนินกิจกรรมทุกโครงการ มีวัตถุประสงค โดยรวมเพื่อเปนการสงเสริม สนับสนุน พัฒนา เติมเต็ม และ แกไขปญหา ใหสมาชิกสหกรณการเกษตรหุบกะพง จํากัด และ เกษตรกรในพื้นที่ ไดอยูดี กินดี ตามอุดมการณ หลักการ วิธีการ สหกรณ และเปนไปตามวัตถุประสงคของโครงการตามพระ ราชประสงคหุบกะพง ภายในภาระหนาที่ความรับผิดชอบงาน ราชการของ ศูนยสาธิตสหกรณโครงการหุบกะพง สํานักงาน สหกรณจังหวัดเพชรบุรี ศูนยสาธิตสหกรณโครงการหุบกะพง 28 กรกฎาคม 2557 Phetchaburi

63


บทความพิเศษ

สหกรณเครดิตยูเนี่ยนจังหวัดเพชรบุรี

สถาบันการเงินและสวัสดิการชุมชนเพื่อชุมชน

พระธรรมรัตนดิลก

ผศ.ดร.นิวัติ กลิ่นงาม

ผศ.สุวิทย เปยผอง

อาจารยชํานาญ อิ่มสะอาด

ความเปนมา 4. คณะกรรมการและฝายจัดการมีความสามารถ และ ป พ.ศ. 2522 วิทยาลัยครูเพชรบุรี โดย อาจารยจํานวน 3 ทาน คือ มีความซื่อสัตย 1). ผศ.ดร.นิ วั ติ กลิ่ น งาม อธิ ก ารบดี ค นป จ จุ บั น 2). ผศ.สุ วิ ท ย 5. มีการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรูของคณะกรรมการ เปยผอง 3). ผศ.บัวเงิน พาทีทิน ไดเขารับ การอบรมและศึกษาดูงาน ทุกแหง เดือนละ 1 ครั้ง หลักสูตรเครดิตยูเนี่ยน ณ ชุมนุมสหกรณเครดิตยูเนี่ยน แหงประเทศไทย 6. การศึกษาอบรมของคณะกรรมการ/ ฝายจัดการ/ จํากัด และไดไปศึกษาดูงาน สหกรณเครดิตยูเนี่ยนดอนมดตะนอย จํากัด สมาชิกอยางตอเนื่อง จ.ราชบุรี และสหกรณเครดิตยูเนี่ยนนักบุญเปรโต จํากัด จ.นครปฐม ซึ่ง 7. รายไดของสมาชิก แตละแหงมีสมาชิกประมาณ 600 คน จึงเห็นโอกาสที่จะเสนอแนะให ชาวบานในจังหวัดเพชรบุรีรูจักประหยัด อดออมเปนประจําทุกเดือน โดยจัดตั้งเปนกองทุน (เครดิตยูเนี่ยน) ขึ้นในชุมชน เพื่อชวยเหลือซึ่งกัน และกัน สมาชิกที่จําเปนเดือดรอน สามารถกูยืมได โดยเสียดอกเบี้ยใน อัตราที่ตํ่า สมาชิกที่สะสมเงินไวจะไดบุญกุศลและไดปนผลเมื่อสิ้นป หลังจากการอบรมเรื่องเครดิตยูเนี่ยน อ.เสยย เกิดเจริญ อธิการ วิทยาลัยครูเพชรบุรี ไดมอบเงินใหจํานวน 3,000 บาท ใหไปจัดตั้งเครดิต ยูเนี่ยนแหงแรกขึ้น โดยมีหลวงพอวัดธรรมรังษี (พระครูอนุกูลประชากิจ) เปนผูรวมคนจัดตั้งเครดิตยูเนี่ยนวัดธรรมรังษี ขึ้นเปนแหงแรก โดย มีสมาชิกแรกตั้ง จํานวน 70 คน มีเงินออมครั้งแรก จํานวน 1,750 บาท ปจจุบัน มีสมาชิกมากกวา 8,000 คนเศษ มีเงินทุนหมุนเวียนประมาณ 150 ลานบาท ปจจุบัน พื้นที่จังหวัดเพชรบุรี มีเครดิตยูเนี่ยนจํานวน 60 แหง สมาชิกราย สค.รวมนํ้าใจทายาง จก. บุคคล 230,000 คน สินทรัพยรวมกวา 5,800 ลานบาท และเครดิต ยูเนี่ยนไดพัฒนาเปน สถาบันการเงินและสวัสดิการชุมชน เพื่อชุมชน สามารถแขงขันกับธนาคารพาณิชย ในดานการระดมเงินออมและ การใหบริการกูย มื และทีเ่ หนือกวา คือ มีการจัดสวัสดิการเพือ่ สมาชิก ที่หลากหลาย ตั้งแตเกิดจนตาย สค.บานหนองกระทุมพัฒนา จก. ปจจัยที่สนับสนุนความสําเร็จเปนจังหวัดเครดิตยูเนี่ยน 1. การสนับสนุนจากสภาบันราชภัฎเพชรบุรี / ชมรมเครดิตยูเนี่ยน เพชรบุรี / ชุมชน 2. การคมนาคมสะดวก 3. การเอาใจใสของผูนํา / อาสาสมัคร 64

สค.โรงเรียนวัดหนองแก จก.

สค.บานซองวังจันทร

สค.บานทับคาง จก.

สค.หนองขานาง จก.


ชมรมเครดิตยูเนี่ยนเพชรบุรี วัตถุประสงค 1. สงเสริมใหสมาชิกออมทรัพย โดยการถือหุนเปนประจําทุกเดือน 2. รับเงินฝากจากสมาชิก 2.1 ฝากออมทรัพย 2.2 ฝากประจํา 3. พัฒนาคนใหมคี ณ ุ ธรรม 5 ประการ ซือ่ สัตย เสียสละ รับผิดชอบ เห็นใจ และ ไววางใจ (สําคัญที่สุด) 4. ใหบริการกูยืมตามความจําเปนหรือมีประโยชน การเผยแพรจัดตั้งเครดิตยูเนี่ยน ในจังหวัดเพชรบุรี ใหมีเพิ่มมากขึ้น ทีมงาน ประกอบดวย ผศ.สุวิทย เปยผอง และ อ.ชํานาญ อิ่มสอาด ไดขอความเมตตา จากเจาคณะจังหวัดเพชรบุรี (พระธรรมรัตนดิลก) ใหชวยเปนองคอุปถัมภในการ อบรมถวายความรูเรื่อง เครดิตยูเนี่ยน แดพระสังฆาธิการ และผูนําชุมชน จํานวน 200 คน ที่วิทยาลัยครู (5 มี.ค.23) หลังจากอบรมครั้งนั้น สามารถจัดตั้งเครดิตยู เนีย่ นไดจาํ นวน 14 แหง และเพือ่ ใหมกี ารจัดตัง้ เครดิตยูเนีย่ นเพิม่ มากขึน้ ใน ป 2529 จึงไดจดั ตัง้ ชมรมเครดิตยูเนีย่ นเพชรบุรี ขึน้ โดยมี อ.คํารณ พราหมณฤกษ เปน ประธานชมรมคนแรก เพื่อทําหนาที่เผยแพร จัดตั้ง และนิเทศ ติดตาม ประเมินผล เยีย่ มเยียนใหกาํ ลังใจแกคณะกรรมการบริหารของเครดิตยูเนีย่ นแตละแหง จากการ ทํางานของผูนํารุนบุกเบิก โดยความรวมมือของคณะกรรมการชมรมเครดิตยูเนี่ยน อยางตอเนื่องและไมทอถอย จึงทําใหเพชรบุรี...เปนเมืองเครดิตยูเนี่ยน ประโยชนของเครดิตยูเนี่ยน 1. สมาชิกไดมีโอกาสสะสมเงินเปนกอนในวันหนึ่งขางหนา 2. ไดชวยเหลือเพื่อนสมาชิกใหกูยืมได 3. ทําใหคนมีเครดิต ( กูยืมได ) 4. ทําใหมีธนาคาร / สถาบันการเงินระดับหมูบาน ตําบล 5. สะดวกในการฝาก – ถอน – กูยืม เพราะตั้งอยูตามหมูบาน 6. ทําใหมีสมาชิกไดรับสวัสดิการตางๆ 6.1 สวัสดิการคุมครองเงินกู ( สก.1 ) 6.2 สวัสดิการคุมครองเงินสะสม ( สก.2 ) 6.3 สวัสดิการรักษาพยาบาล 6.4 สวัสดิการแตงงาน 6.5 สวัสดิการรับขวัญบุตร 6.6 สวัสดิการฌาปนกิจ ฯลฯ ฯลฯ ประโยชนที่ไดรับ - มีเงินออม - สวัสดิการ - แหลงเงินทุน

คุณธรรม 5 ประการ ซื่อสัตย เสียสละ รับผิดชอบ เห็นใจกัน ไววางใจกัน ยามมี มาฝาก ยามยาก มาถอน เดือดรอน มากู ไมรู ใหถาม ........จิตตารมณ.......... สนใจ หวงใย แบงปน รับใช ขบวนการเครดิตยูเนี่ยน เราถือวา We are brothers เราเปนพี่นองกัน

ชุมนุมสหกรณเครดิตยูเนี่ยนแหงประเทศไทย จํากัด สาขาจังหวัดเพชรบุรี โทรศัพท 0-3241-5617 โทรสาร 0-3241-5842 E-mail : cultpetch@cultthai.coop Phetchaburi

65


บทความพิเศษ

“รวมนํ้าใจทายาง” สหกรณเครดิตยูเนี่ยน ถ า เปรี ย บสหกรณ เ ป น บ า นหลั ง หนึ่ ง บ า นรวมนํ้ า ใจ ทายางก็นับเปนบานที่เราอยูกัน อยางมีความสุขตามสมควรกับ อัตภาพ มีรากฐานจากความเปน ครอบครัวทีส่ นใจ หวงใย แบงปน และรับใชซึ่งกันและกัน เปนบาน ที่อยูกันอยางอบอุน ยึดคุณธรรม เปนหลักในการดําเนินชีวิต และ พร อ มที่ จ ะพั ฒ นาลู ก หลานใน บานใหมีคุณภาพชีวิตที่ดี 32 ปมาแลวที่บานหลังนี้ปลูกสรางขึ้นมาจาก ความรวมมือรวมใจของชาวทายาง และทาคอย ที่ เสี ย สละและเห็ น คุ ณ ค า ของการสร า งบ า นนี้ ใ ห มี อุดมการณในการชวยเหลือตนเอง ชวยเหลือผูอ นื่ และ ชวยเหลือซึง่ กันและกัน การสรางบานเปนเรือ่ งยากอยู แลว เนือ่ งจากคนในทายางและทาคอยยังขาดความ เชื่อมั่นในชื่อเครดิตยูเนี่ยน แตการสืบสานใหมั่นคง สถาพรยิง่ ยากไปกวา แตจะยากอยางไร บรรพชนคน เครดิตยูเนี่ยนรวมนํ้าใจทายาง ก็แสดงใหเห็นถึงธาตุ แทของความเสียสละ จริงจัง จริงใจในอุดมการณดัง กลาว “บานรวมนํ้าใจทายาง” จึงเจริญเติบโตอยาง ไมขาดชวงขาดตอน จนกิจการสหกรณลมื ตาอาปาก ไดอยางคอยเปนคอยไป เติบใหญกา วหนาทามกลาง สภาพสังคมที่เปลี่ยนไป สมาชิกมากขึ้น เงินมากขึ้น ปญหามากขึ้น และศีลธรรมที่ออนไหวมากขึ้น

66


รวมนํา้ ใจทายาง ยินดีทมี่ สี ว นในการเปนองคกรทางการ เงินและสวัสดิการสังคมของชุมชนทายาง ทาคอย หนองแฟบ ทากระเทียม หนองบวย หนองแขม กระจิว และจังหวัดเพชรบุรี เรามีอาคารสํานักงานทีน่ า รักสวยงามพอเพียงทีย่ นิ ดีบริการทุก องคกร และทุกคณะบุคคลทีจ่ ะมาเยีย่ มชมกิจการหรือศึกษาหา ประสบการณในดานการสหกรณ

“Welcome to Ruamnumjaithayang” สหกรณเครดิตยูเนี่ยนรวมนํ้าใจทายาง จํากัด

วิสัยทัศน “เปนสหกรณชั้นนําที่มีคุณภาพและมั่นคง บริหาร จัดการอยางมีประสิทธิภาพ พัฒนาคุณภาพชีวิต นําไปสูการ พัฒนาสังคมอยางยั่งยืน” จํานวนสมาชิก (สามัญ) กรรมการดําเนินงานชุดที่ 32 ฝายตรวจสอบกิจการ ฝายจัดการ สวัสดิการสําหรับสมาชิก 1. สวัสดิการเงินกู 2. สวัสดิการเงินสะสม 3. สวัสดิการชวยเหลือ ซึ่งกันและกัน 4. สวัสดิการรับขวัญบุตร 5. สวัสดิการมงคลสมรส

ทุนเรือนหุน เงินฝากออมทรัพย เงินใหสมาชิกกู ทุนดําเนินงาน

6,483 คน จํานวน 15 คน จํานวน 5 คน จํานวน 8 คน

6. สวัสดิการรักษาพยาบาล 7. สวัสดิการเบี้ยยังชีพผูสูงอายุ 8. สวัสดิการอุปสมบท 9. สวัสดิการผูประสบอัคคีภัย 10. สวัสดิการสก.5 (สมัครเพิ่ม) 11. สวัสดิการสงเคราะหศพ ชมรมเพชรบุรี (สมัครเพิ่ม) จํานวน จํานวน จํานวน จํานวน

110,315,560 บาท 104,869,643 บาท 118,445,893 บาท 245,000,000 บาท

(ขอมูล ณ วันที่ 31 กรกฎาคม 2557)

สหกรณเครดิตยูเนี่ยนรวมนํ้าใจทายาง จํากัด โทร. 032 771221-2 แฟกซ 032 771220 Phetchaburi

67


บทความพิเศษ

สหกรณการเกษตรบานลาด จํากัด

สหกรณการเกษตร บานลาด จํากัด มุงเนน ที่ความพึงพอใจของผูใช บริการ สงเสริมใหทุกคน ช ว ยเหลื อ ตนเอง และ ชวยเหลือซึ่งกันและกัน

นายถม พรายประทีป ประธานกรรมการ

นายศิริชัย จันทรนาค ผูจัดการ

ขอมูลทั่วไปของสหกรณ สหกรณการเกษตรบานลาด จํากัด ตั้งอยูเลขที่ 91 หมูที่ 7 ตําบลบานลาด อําเภอบานลาด จังหวัดเพชรบุรี มีพนื้ ทีต่ ดิ กับอําเภอ เมือง อําเภอทายาง อําเภอหนองหญาปลอง และอําเภอแกงกระจาน โดยประชากรในพื้นที่สวนใหญประกอบอาชีพทําการเกษตร เชน ทํานา ทําสวน ทําไร และเลี้ยงสัตว ประวัติสหกรณ สหกรณเริ่มตนตั้งแตป พ.ศ. 2483 จากการรวมตัวกันของ สหกรณหาทุนจํานวน 28 สหกรณ และในป พ.ศ.2495 เพิ่มอีก 4 สหกรณ จัดตั้งเปนสหกรณการเกษตรบานลาด เมื่อวันที่ 15 ตุลาคม 2512 สหกรณดําเนินงานเรื่อยมาจนถึง พ.ศ. 2518 ก็ไดจดทะเบียน ควบรวมกับสหกรณที่ดินบานลาด ในขณะนั้นจัดตั้งเปน “สหกรณ การเกษตรบานลาด จํากัด” เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม 2518 และใน ปเดียวกันสหกรณไดรับโลหรางวัลพระราชทานจากพระบาท สมเด็จพระเจาอยูหัว ประเภทสหกรณการเกษตรดีเดน ในปจจุบันสหกรณดําเนินธุรกิจที่หลากหลาย เพื่อตอบสนอง ความตองการของสมาชิก โดยยึดหลักความตองการของสมาชิกเปน หลัก มุงเนนซึ่งความพึงพอใจของสมาชิกเปนสําคัญ วิสัยทัศน สหกรณการเกษตรบานลาด จํากัด เปนสหกรณการเกษตรชัน้ นําระดับประเทศ พัฒนาสินคาเพือ่ การสงออก พัฒนากาวสูป ระชาคม เศรษฐกิจอาเซียน พัฒนาคุณภาพชีวิตสมาชิกและชุมชนบนพื้นฐาน เศรษฐกิจพอเพียง สถานภาพของสหกรณ (ณ วันที่ 31 มีนาคม 2557 ) จํานวนสมาชิก 8,577 คน 80 กลุม สมาชิกสมทบ 4,487 คน ทุนเรือนหุน 134.86 ลานบาท ทุนสํารอง 98.54 ลานบาท ทุนสะสมอื่นๆ 48.58 ลานบาท เงินรับฝาก 721.52 ลานบาท **ทุนดําเนินงานหมุนเวียน 1,067.75 ลานบาท** กําไรสุทธิประจําปบัญชี 55/56 32.51 ลานบาท 68

การดําเนินธุรกิจตางๆ ของสหกรณ (ใสแผนภูมิสไลดที่ 11) ธุรกิจซื้อ แผนกวัสดุการเกษตร สหกรณวางแผนทางธุรกิจ ในการจําหนายวัสดุการเกษตร ปละ 70-80 ลานบาท โดยสํารวจ แบบสอบถาม และความตองการของสมาชิกเปนหลัก ผลิตปุยหมักอินทรีย สหกรณวางแผนลดปริมาณการใชปุย เคมีของสมาชิก โดยการรวมกับสมาชิกผลิตปุยหมัก ปละ10-20 ตัน ธุรกิจซือ้ แผนกวัสดุกอ สราง แผนธุรกิจจัดหาวัสดุกอ สรางโดย เชื่อมโยงกับธุรกิจสินเชื่อ ใน โครงการบานที่อยูอาศัย โดย ใหเงินกู 3 ระยะ คือ 1.เริ่มเทฐานราก จาย 30 % ของเงินกู 2.ขึ้นโครงหลังคา และ มุงหลังคาจาย 30% ของเงินกู 3.บ า นเสร็ จ พร อ มอยู  อาศัย จาย 40 % ของเงิน กู โดยใหใชวัสดุกอสรางของ สหกรณ ซึ่งใชเงินทุนในธุรกิจ นี้ประมาณ 12 ลานบาทตอป ธุรกิจซือ้ แผนกอุปโภคบริ โ ภค สมาชิ ก มี ค วาม จํ า เป น ต อ งใช สิ น ค า ที่ ใ ช ในชี วิ ต ประจํ า วั น อยู  แ ล ว สหกรณ จึ ง จั ด หาสิ น ค า มา จํ า หน า ยให กั บ สมาชิ ก ใน ราคาตํ่ากวา หรือเทากับทอง ตลาด อีกทั้งยังมีเงินปนผล และเฉลี่ ย คื น ให กั บ สมาชิ ก และสหกรณ ยั ง เป น ศู น ย กระจายสินคาใหกับสหกรณ อื่ น และร า นค า ของสมาชิ ก ในทองถิ่นอีกดวย ในธุรกิจนี้ ใชเงินทุนในการดําเนินธุรกิจ หมุนเวียน 5-6 ลานบาทตอป


ธุรกิจบริการ แผนกปมนํ้ามัน ซึ่งสหกรณเปน ตัวแทนจําหนายนํา้ มันเชือ้ เพลิงของ ปตท. ขนาด 8 หัว จาย โดยใชทุนในการดําเนินธุรกิจ ปละ 50 ลานบาท แตผลกําไรนอย เนื่องจากภาวะราคานํ้ามันไมคงที่ ธุรกิจแปรรูป แผนกโรงสี ปจจุบนั โรงสีขา วของ สหกรณมีกําลังการผลิต 100 ตัน ตอ วันใชวัตถุดิบขาว เปลือกตอปประมาณ 10-20 ลานบาท ไดรบั การรับรอง มาตรฐาน Codex : GMP, HACCP ธุรกิจรวบรวม ตลาดกลางขาวเปลือก สหกรณรวบรวมขาว เปลือกในพื้นที่ใหบริการ โดยเครื่องมือที่ทันสมัย และยุติธรรม ธุรกิจสงเสริมการเกษตร ปรับปรุงและจําหนายเมล็ดพันธุ ขาว สหกรณดําเนินธุรกิจปละ 10 ลานบาทเศษ ชวยใหเกษตรกรมี โอกาสใชเมล็ดพันธุขาวที่ดีมีคุณภาพ สงผลตอปริมาณผลผลิตที่ดี ไดมาตรฐาน ธุรกิจบริการ ตลาดกลางผัก-ผลไม เมื่อมีการผลิตยอมตองมี การตลาดเพือ่ รองรับผลิตผลดานการเกษตรจากสมาชิกของสหกรณ ซึง่ ในปหนาจะมีเงินหมุนเวียนในตลาดไมนอ ยกวา 100 ลานบาท และ ทําใหสมาชิกรูจักการตลาดมากขึ้น ธุรกิจสงเสริมและรวบรวมกลวยหอมทองปลอดสารพิษ เพือ่ การสงออก เปนธุรกิจทําการคาระหวางประเทศไทยกับประเทศ ญี่ปุน ซึ่งในแตละปมีการสงออก 20-30 ลานบาท ซึ่งขึ้นอยูกับภัย ธรรมชาติและผลผลิตของสมาชิก ธุรกิจบริการ รถตูใ หเชา เพือ่ เปนทางเลือกใหสมาชิกทีม่ คี วาม จําเปนตองเดินทางไปที่ตางๆ โดยคิดคาบริการในราคาถูก สวัสดิการของสหกรณ 1. สวัสดิการชวยเหลือสมาชิกกรณีประสบภัยพิบัติตางๆ 2. สวัสดิการชวยเหลือสมาชิกโครงการปลูกกลวยหอมทอง 3. สวัสดิการโครงการดวยรักและผูกพัน 4. สวัสดิการโครงการคิดถึงสหกรณกอนนอนคืนละบาท 5. สวัสดิการทุนการศึกษาแกบุตรสมาชิก 6. สวัสดิการรับขวัญวันวิวาห 7. สวัสดิการทุนสงเสริมอาชีพแกสมาชิก 8. สวัสดิการคารักษาสมาชิก 9. สวัสดิการจายเงินสงเคราะหศพใหสมาชิกที่อายุ 70 ปขึ้นไป 10. สวัสดิการบํานาญผูสูงอายุแกสมาชิก อายุ 70 ปขึ้นไป 11. สวัสดิการสมาคมฌาปนกิจสงเคราะห 12. สวัสดิการเจาภาพรวมงานศพสมาชิก 13. สวัสดิการประกันชีวิตประธานกลุมทุกกลุม 14. สวัสดิการโครงการ “รักษาผืนแผนดินใหสมาชิก”

กิจกรรมสัมพันธ จัดกิจกรรมมิตรสัมพันธ ระหวาสงสมาชิกสหกรณการเกษตร บานลาด จํากัด กับสมาชิกชุมนุมฯ Pal system จัดคลินิกคลายทุกข สหกรณดําเนินโครงการ “คลินิกคลาย ทุกข” เพือ่ แกปญ  หาหนีใ้ หกบั สมาชิกทีเ่ ปนหนีแ้ ลวคางชําระ สหกรณ จะชวยแกปญหาโดยการจัดหนวยเคลื่อนที่ และเปดคลินิกเพื่อแกไข การดําเนินธุรกิจตางๆ ของสหกรณโดยมุงเนนสมาชิก เปนศูนยกลาง (Members Center) และดําเนินธุรกิจตามความ ตองการของสมาชิกโดยการสํารวจความตองการของสมาชิกเพือ่ เปนขอมูลในการดําเนินธุรกิจ และสหกรณมกี ารสํารวจความพึง พอใจของสมาชิกเปนระยะเพื่อนําขอมูลมาพัฒนาธุรกิจตางๆ ใหเปนเลิศ โดยที่สมาชิกสามารถแสดงความคิดเห็นไดหลาย ชองทาง เชน กลองรับความคิดเห็น, โทรศัพท (0-3249-1268) เขาพบโดยตรง หรือฝากกระทูผานเว็บไซตของสหกรณไดที่ www.Banlat-coop.com การถือกําเนิดสหกรณการเกษตรบานลาด จํากัด ดวยสภาพเศรษฐกิจและสังคมของประชาชนในอําเภอบานลาด ในอดีต ซึ่งสวนใหญประกอบอาชีพทํานา ตองประสบปญหาความ เดือดรอนขาดแคลนเงินทุน ถูกเอารัดเอาเปรียบจากพอคา คนกลาง จึงจําเปนตองมีการจัดตัง้ สหกรณการเกษตรบานลาด ขึน้ มาเพือ่ แกไข ปญหาดังกลาว

Phetchaburi

69


บทความพิเศษ

สหกรณออมทรัพยครูเพชรบุรี จํากัด วิ สั ย ทั ศ น และนโยบายของสหกรณ ออมทรัพยครูเพชรบุรี จํากัด วิสัยทัศน ; “เปนสหกรณชั้นนําใน จังหวัดเพชรบุรี ที่มั่นคง โปรงใส ทันสมัย ใสใจสมาชิกและสังคม” นโยบาย ; “บริหารงานเพื่อประโยชน ของสมาชิกเปนสําคัญ”

นายจําลอง บัวงาม ประธานกรรมการดําเนินการ ตําแหนงตนสังกัด รองผูอํานวยการ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษา เพชรบุรี เขต 1 ประวัตคิ วามเปนมาโดยยอของสหกรณ สหกรณออมทรัพยครูเพชรบุรี จํากัด จดทะเบียนตามพระราชบัญญัติสหกรณ เมือ่ วันที่ 15 ตุลาคม 2500 มีชอื่ วา “สหกรณ ครูเพชรบุรี จํากัด สินใช” ใชอาคารเรียนของ โรงเรียนเบญจมเทพอุทิศหลังเกา (ปจจุบัน คือโรงเรียนอนุบาลเพชรบุร)ี เปนสํานักงาน สหกรณ มีสมาชิกทั้งหมด 725 คน ป พ.ศ. 2521 เปลีย่ นชือ่ เปน “สหกรณ ออมทรั พ ย ค รู เ พชรบุ รี จํ า กั ด ” โดยมี วัตถุประสงคเพื่อสงเสริมผลประโยชนทาง เศรษฐกิจและสังคมของสมาชิกโดยวิธชี ว ย ตนเอง และชวยเหลือซึ่งกันและกันตาม หลักการสหกรณดวยการรวมกันดําเนิน ธุ ร กิ จ ประกอบกิ จ การประเภทส ง เสริ ม ใหสมาชิกออมทรัพย รับฝากเงินสมาชิก ตลอดจนใหเงินกูแกสมาชิก ป พ.ศ.2528 จั ด ซื้ อ ที่ ดิ น และเริ่ ม กอสรางสํานักงานไดปลายป พ.ศ.2528 ป พ.ศ.2529 กอสรางอาคารสํานักงาน แลวเสร็จ ตั้งอยูที่เลขที่ 18/11 ถนนชีสระ อินทร ตําบลคลองกระแชง อําเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี จนถึงปจจุบันนี้ 70

สิทธิประโยชน และสวัสดิการสมาชิก Ø สวัสดิการวาดวยการมงคลสมรส ของสมาชิก 1,000 บาท Ø สวั ส ดิ ก ารทุ น การศึ ก ษาบุ ต ร สมาชิก 1,000 บาท (ตอครอบครัว) Ø สวั ส ดิ ก ารทุ น พั ฒ นาศั ก ยภาพ สมาชิก 500 บาท (ตอคน) Ø สวั ส ดิ ก ารว า ด ว ยเงิ น บํ า เหน็ จ สมาชิก 500 บาท ตอป แตไมเกิน 10,000 บาท Ø สวัสดิการวาดวยเงินสงเคราะห ศพสมาชิก (ทายาทรับ) 10,000 บาท100,000 บาท Ø สวั ส ดิ ก ารสงเคราะห ศ พ บิ ด า มารดา คูสมรส และหรือบุตรที่ถูกตองตาม กฎหมาย (ไมบรรลุนิติภาวะ) สหกรณชว ยเหลือ ศพละ 2,000 บาท Ø สวั ส ดิ ก ารมุ ทิ ต าจิ ต ต อ สมาชิ ก อาวุโส 500 บาท-2,000 บาท Ø สวั ส ดิ ก ารว า ด ว ยการรั ก ษา พยาบาล 2,000 บาท-10,000 บาท Ø สวัสดิการเงินประกันชีวิตกลุม สําหรับสมาชิก (ทายาทรับ) 100,000 บาท

รูปแบบการบริการ • รั บ ฝากเงิ น จากสมาชิ ก และ สหกรณ อื่ น ในอั ต ราดอกเบี้ ย ที่ สู ง กว า ธนาคารและสถาบันการเงินอื่น • บริการเงินกู ใหกับสมาชิก ใน อั ต ราดอกเบี้ ย ที่ ตํ่ า กว า ธนาคารและ สถาบันการเงินอื่น โดยแบงประเภทเงินกู ดังตอไปนี้ ü เงินกูสามัญ-สวัสดิการเพื่อการ ศึกษา ü เงินกูสามัญ-ทั่วไป ü เงินกูสามัญ-วิทยฐานะ ü เงินกูพิเศษ ü เงินกูฉุกเฉิน เปาหมายหรือทิศทางในการพัฒนาของ สหกรณออมทรัพยครูเพชรบุรี จํากัด พั ฒ นาระบบการบริ ห ารและการ จัดการใหมีคุณภาพตามหลักธรรมภิบาล เพือ่ ใหสมาชิกมีความเชือ่ มัน่ และศรัทธาใน สหกรณฯ เพือ่ ใหสหกรณเปนทีย่ อมรับของ สมาชิกและสังคม ตลอดจนเพือ่ ใหสหกรณ มีการบริหารและจัดการอยางเปนระบบ การยกระดับคุณภาพชีวิตครูในจังหวัด เพชรบุรี ทีไ่ ดดาํ เนินการแลว และโครงการ อื่นๆ ที่คาดวาจะทําในอนาคต สหกรณฯ เนนการชวยเหลือขาราชการ ครูในจังหวัดเพชรบุรีโดยการใหสินเชื่อที่ หลากหลาย ดวยอัตราดอกเบี้ยที่คอนขาง ตํ่าเพื่อเปดโอกาสใหขาราชการครูตลอด จนบุ ค ลากรทางการศึ ก ษาใน จังหวัดไดมีคุณภาพขีวิตที่ดี มี ความมั่ น คงทางการเงิ น มี ที่ อยูอาศัยที่เหมาะสมกับฐานะ


ตลอดจนมี พ าหนะเพื่ อ ไปปฏิ บั ติ ง าน ราชการตางๆ ภายใตหลักเกณฑการปลอย สินเชื่อที่ตองเหลือเงินหลังการหักชําระหนี้ เพียงพอในการดํารงชีวิต อีกทั้งสหกรณฯ มีการสงเสริมการจัดสวัสดิการตางๆ ให แกสมาชิกอยางสมํ่าเสมอ เพื่อใหสมาชิก สหกรณฯ ไดรับสวัสดิการอยางครอบคลุม หลากหลาย และทั่วถึง สหกรณ ฯ มี โ ครงการที่ ตั้ ง ใจจะทํ า ในอนาคตอันใกลที่สําคัญ คือการพัฒนา ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อเชื่อมโยง เครือขายกับหนวยงานสหกรณ และสถาบัน การเงินอืน่ และการพัฒนาอาคารสํานักงาน ให ทั น สมั ย เพื่ อ ให เ ป น สํ า นั ก งานที่ เหมาะสมกั บ การเป น สถาบั น การเงิ น ที่ สามารถรองรับการใหบริการสมาชิกอยาง เพี ย งพอ ใช ป ระโยชน อ ย า งคุ  ม ค า และ สวยงาม โดยสหกรณฯไดเตรียมที่สําหรับ การกอสรางอาคารสํานักงานใหมเรียบรอย แล ว บริ เ วณข า งโรงพยาบาลเพชรรั ช ต ส ว นการก อ สร า งยั ง อยู  ใ นขั้ น ตอนการ พิจารณาวิธีการที่เหมาะสม และโปรงใส ในการจัดการโดยคณะกรรมการทั้งคณะ ท า นมี แ นวทางในการบริ ห ารจั ด การ สหกรณอยางไร เพื่อใหเกิดประโยชน สูงสุดแกสมาชิก สหกรณฯเนนการชวยเหลือในทุกๆ ดานใหแกสมาชิกเปนสําคัญ มุง เนนการให ขอมูลทีถ่ กู ตองและรวดเร็ว เนนการบริการ ที่เปนกันเอง ใหสมาชิกรูสึกอบอุน รูสึกมีที่ พึ่งเมื่อกาวเขามาสูสหกรณฯ โดยสหกรณ ของเรามีคําขวัญสําหรับ เปนขอยึดถือใน การปฏิบัติหนาที่ วา “สมาชิกคือเจาของ สหกรณ ยิ้มแยม ทักทาย ใสใจใหบริการ” หลักการบริหารบุคลากร และหลักการ บริ ห ารจัดการสหกรณเ พื่อ ใหเ กิดผล กําไรสูงสุด สหกรณออมทรัพย มิไดมุงเนนการ หากํ า ไรสู ง สุ ด แต ส หกรณ อ อมทรั พ ย คื อ สถาบั น การเงิ น ที่ ส  ง เสริ ม ให บุ ค คคที่

เป น สมาชิ ก รู  จั ก การประหยั ด รู  จั ก การ ออมทรั พ ย แ ละสามารถบริ ก ารเงิ น กู  ใ ห แกสมาชิกเพื่อนําไปใชจายเมื่อเกิดความ จําเปน โดยยึดหลักการชวยเหลือซึง่ กันและ กัน ระบบสหกรณจึงเปนการรวมกันแกไข ปญหาทางเศรษฐกิจและสังคมทางหนึ่ง ดั่งพระราชดํารัส ของ พระราชวรวงศเธอ กรมหมื่นพิทยาลงกรณ พระบิดาแหงการ สหกรณไทย “สหกรณเปนวิธจี ดั การรูปหนึง่ ซึ่งบุคคลหลายคนรวมกัน โดยความสมัคร ใจของตนเอง ในฐานะที่เปนมนุษย โดยมี สิทธิ์เสมอหนากันหมดเพื่อบํารุงตัวเองให เกิดความจําเริญในทางทรัพย”

แบงปนประสบการณในการทํางานให ประสบความสําเร็จ เพื่อเปนขอคิดที่ดี แกบรรดาครูที่เปนสมาชิก ความสามัคคี เห็นอกเห็นใจกัน ใน การทํางาน จะนําสูค วามสําเร็จในทีส่ ดุ การ อยูดวยกันอยางญาติมิตร อยูดวยกันดวย ความเขาใจซึ่งกันและกัน จะนํามาซึ่งการ ลดความขัดแยงจากความคิดที่แตกตาง ระหว า งตั ว บุ ค คลซึ่ ง เกิ ด ขึ้ น ได เ สมอใน องคกรตางๆ ดังนั้น การเอาใจเขามาใสใจ เรา คื อ แนวทางที่ สํ า คั ญ ที่ จ ะทํ า ให เ รา ประสบความสําเร็จทุกเรื่องไมใชเฉพาะใน การทํางาน

ผลการดําเนินงานของสหกรณในปที่ผานมา ผลการดําเนินงานและเงินลงทุนสหกรณ ณ 31 ตุลาคม 2556 (ปบัญชี 2556 ; พฤศจิกายน 2555-ตุลาคม 2556 ) สมาชิก - สามัญ เงินทุนเรือนหุนสะสม เงินฝาก ทุกประเภท เงินใหสมาชิกกู ทุกประเภท เงินกูยืมจากสถาบันการเงินอื่น รายไดรวม รายจายรวม กําไรสุทธิ สิง่ ทีท่ า นตองการฝากไปยังบรรดาสมาชิก สหกรณออมทรัพยครูจังหวัดเพชรบุรี จํากัด ผม นายจํ า ลอง บั ว งาม ประธาน กรรมการสหกรณ อ อมทรั พ ย ค รู เ พชรบุ รี จํากัด มีความจริงใจตอสมาชิกในการอาสา เขามาทํางานเพือ่ รับใชสมาชิกสหกรณฯทุก ทาน สิ่งที่ผมยึดมั่นและมอบนโยบายแก

7,236 คน 2,230,517,420.00 บาท 2,214,445,431.07 บาท 5,881,330,251.73 บาท 1,266,000,000.00 บาท 298,084,345.69 บาท 168,051,605.61 บาท 130,032,740.08 บาท เจาหนาทีส่ หกรณ คือ การชวยเหลือสมาชิก ใหไดมากที่สุด ทุกๆ การปฏิบัติงานใหทํา เพือ่ ประโยชนสงู สุดของสมาชิกภายใตการ ดํารงอยูไ ดของสหกรณเปนหลักสําคัญ นับ จากนี้ผมยังมีเวลาประมาณปเศษในการ บริหารสหกรณแหงนี้ ผมจะทํางานอยาง เต็มความสามารถเพือ่ การใหบริการแกมวล สมาชิกใหเกิดความพึงพอใจสูงสุด Phetchaburi

71


บทความพิเศษ

การบริหารจัดการศึกษา ดวย

ปณิธาน 7 ประการ

โดย ดร.กนก ปนตบแตง ผูอํานวยการสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 1

หลักการสําคัญในการบริหารจัดการ ศึกษาในระดับเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา ประการ แรกตองศึกษานโยบายของหนวยงานระดับ สูงกวาเชน นโยบายของรัฐบาล กระทรวง ศึกษาธิการ และสํานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ใหถองแท และนํา มาแปลงลงสูภ าคปฏิบตั ิ ซึง่ เริม่ ตนจากการ วิเคราะหสภาพแวดลอม วิเคราะหพันธกิจ วิเคราะหผลการดําเนินงานที่ผานมา และ กําหนดวิสัยทัศนของ สพป.เพชรบุรี เขต 1 ไวดังนี้ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถม ศึกษาเพชรบุรี เขต 1 เปนหนวยงานหลัก ในการจั ด การศึ ก ษาภาคบั ง คั บ อย า งมี คุ ณ ภาพตามมาตรฐาน มี ค วามเสมอ ภาคด า นโอกาส มี คุ ณ ธรรม จริ ย ธรรม สามารถสื บ ทอดมรดกทางวั ฒ นธรรม ทองถิ่น ประเพณีเมืองเพชรบุรี ควบคูกับ การใชเทคโนโลยีที่เหมาะสมสูสากล เพือ่ สรางสังคมแหงการเรียนรู บนพืน้ ฐานปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง โดยความรวมมือของ ทุกภาคสวน ในการขับเคลื่อนวิสัยทัศนลงสูภาค ปฏิบัติ นอกจากดําเนินงานตามกลยุทธ ของสํ า นั ก งานคณะกรรมการการศึ ก ษา ขั้นพื้นฐาน 5 กลยุทธแลว สพป.เพชรบุรี เขต 1 ไดกําหนดปณิธาน 7 ประการ ใน 72

ระดับเขตพื้นที่การศึกษาเพิ่มเติมขึ้น เพื่อใช เปนเปาหมายในการบริหารจัดการศึกษารวม กัน ประกอบดวย ปณิธานที่ 1 “นาอยู” (Pleasant Atmosphere) หมายถึง : สํานักงานเขตฯ มีความ สะอาด เปนระเบียบ รมรื่น สวยงาม ไรกลิ่นควันและเสียง รบกวน : บุคลากรในสํานักงานเขตฯ มีความสามัคคีกันเปนหนึ่งเดียว ไมแบงฝาย รวมมือ รวมใจกันในการปฏิบัติงาน มีความเอื้ออาทรและใหเกียรติซึ่งกันและกัน ปณิธานที่ 2 “อุนใจ” (Comfortable and Secure) หมายถึง : บรรยากาศของสํานักงานเขตฯ รูสึกอบอุน ปลอดกังวลจากความเสี่ยงตาง ๆ เชน ปลอดภัยทั้งรางกาย จิตใจ ทรัพยสิน และการปฏิบัติภาระงานในหนาที่ : บุคลากรในสํานักงานเขตฯ มีพฤติกรรมสุภาพ ที่แสดงถึงความเปนมิตรที่ดีตอกัน : บุคลากรในสังกัดไดรับความเสมอภาคในการปฏิบัติงาน : ผูรับบริการมีความพึงพอใจในการบริการที่รวดเร็ว เที่ยงธรรม ดวยบรรยากาศ กัลยาณมิตร ปณิธานที่ 3 “คิด อาน เขียนได” (Critical Thinking and Literacy) หมายถึง : ความสามารถของบุคลากรในสํานักงานเขตฯ


- สามารถคิดวิเคราะห คิดสังเคราะห กําหนดเปาหมายความสําเร็จของภาระงาน ที่ตนเองรับผิดชอบได - สามารถวินจิ ฉัยไดวา อะไรคือความ ถูกตอง ความดีงาม ถูกตองตามระเบียบ ทางราชการและมีจิตสาธารณะ - สามารถอาน สรุปประเด็นเรือ่ งทีอ่ า น ได ทั้งในสวนของภาระงานที่ตนเองรับผิด ชอบ และการแสวงหาความรู เพื่อนํามา สรางความรูใ หมหรือประกอบการตัดสินใจ และเพื่อพัฒนาศักยภาพของตนเอง - สามารถเขียนรายงานผลการดําเนิน งาน เพื่อรายงานผูบังคับบัญชา และเพื่อ สื่อสารใหผูอื่นเขาใจตรงกัน ในสวนของ ภาระงานที่ตนเองปฏิบัติ - สามารถพัฒนางานที่รับผิดชอบ ให เปนไปตามมาตรฐานกําหนดตําแหนง และ นําไปสูการวิจัย ปณิธานที่ 4 “มีจดุ ขาย” (Excellence) หมายถึง : การพัฒนาบุคลากรในแตละกลุม ให มีความโดดเดนเปนที่ยอมรับ ตามภารกิจ ของแตละกลุม (อัตลักษณ) : การพัฒนาสํานักงานเขตฯ ใหเปน เลิศหรือโดดเดน ในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง จน เปนที่ยอมรับของสถานศึกษาและบุคคล ทั่วไป (เอกลักษณ) ปณิธานที่ 5 “สรางเครือขาย” (Community Integration) หมายถึง : การสรางเครือขาย และใชเครือขาย ในการทํางาน ทัง้ ทีเ่ ปน องคกร หรือสถาบัน เพื่อชวยในการเรียนรู และการทํางานใน หนาที่ ใหประสบผลสําเร็จ : การสงเสริม สนับสนุนเครือขายการ เรียนรูของสถานศึกษา

: มีแหลงขอมูลทีส่ ามารถเปนเครือขาย ในการทํางานทัง้ ในเขตพืน้ ทีแ่ ละหนวยงาน ที่เกี่ยวของ ปณิธานที่ 6 “ใชตัวชวย” (Multidisciplinary) หมายถึง : มีตัวชวยในการทํางาน ที่เปนบุคคล เชน เพือ่ นรวมงานในเขตพืน้ ที่ หรือตางเขต พื้นที่ ภูมิปญญาทองถิ่น บุคคลในชุมชน ฯลฯ เปนตน : มีอุปกรณ ที่เปนเทคโนโลยี หรือ ICT ในการทํางานอยางเพียงพอ และมี ประสิทธิภาพ : มีการสงเสริม สนับสนุน การใชตัว ชวยเพื่อการเรียนรูของสถานศึกษา ปณิธานที่ 7 “พรอมดวยแหลงเรียนรู” (Academic Resources) หมายถึง : มีการจัดสภาพแวดลอมหรือแหลง ขอมูลเพื่อการเรียนรู ในสํานักงานเขตฯ และ Website ตาง ๆ เปนแหลงเรียนรู เพื่อ ใหบุคลากรในสํานักงานเขตฯ ใชแสวงหา ความรูและเรียนรูดวยตนเองตามอัธยาศัย ในการพัฒนาศักยภาพของแตละคน

: มีการสงเสริม สนับสนุนใหสถาน ศึกษาใชแหลงเรียนรูในการจัดกิจกรรม การเรียนรู การบริหารจัดการศึกษาดวยปณิธาน 7 ประการ ไดกําหนดไว 2 ระดับ คื อ ระดั บ เขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษา และระดั บ โรงเรียน ซึ่งมีรายละเอียดแตกตางกัน ไปในแตละระดับ ในครั้งนี้ขอนําเสนอ ระดับเขตพื้นที่การศึกษา หวังใจวาจะ เปนประโยชนใหแกทานผูอานไดนําไป ปรับประยุกตใชเพื่อยกระดับคุณภาพ การบริหารจัดการศึกษาใหสูงยิ่งๆ ขึ้น ตอไป

Phetchaburi

73


บทความพิเศษ

โรงเรียนเบญจมเทพอุทิศ จังหวัดเพชรบุรี

โดย ดร.ไพบูลย เกตุแกว ผูอํานวยการเชี่ยวชาญ (คศ.4) โรงเรียนเบญจมเทพอุทิศจังหวัดเพชรบุรี อําเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี

“เบญจมเทพอุทิศ” เปนนามพระราชทานที่พระบาทสมเด็ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจา อยูหัว ทรงพระราชทานนามเพื่อเปนที่ระลึกถึงพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา เจาอยูหัว ใหกับสถานศึกษาแหงนี้ เบญจมเทพอุทิศ มีประวัติความเปนมายาวนานถึง 97 ป โดยมีพระยา เพชรพิไสยศรีสวัสดิ์ (แมน วสันตสิงห) เปนผูกอตั้ง เปนโรงเรียนสตรีประจํา จังหวัดเพชรบุรี ตั้งอยูที่ที่วัดชีสระอินทร บนเนื้อที่ 5 ไรเศษ ตอมา พ.ศ. 2473 สมเด็จพระราชปตจุ ฉาเจาฟาวไลยอลงกรณ กรมหลวงเพชรบุรรี าชสิรนิ ธร (พระธิดาในรัชกาลที่ 5) ไดทรงบริจาคพระราชทรัพยสวนพระองคเพื่อสราง อาคารเพิม่ เติม ตอมามีจาํ นวนนักเรียนเพิม่ มากขึน้ จึงไดยา ยมาอยูท ที่ รัพยสนิ สวน} พระมหากษัตริย (หนาเขาวัง) บนเนื้อที่ 36 ไร 3 งาน 76 ตารางวา มาจนถึงปจจุบัน โดยผมเขามาดํารงตําแหนงผูอํานวยการโรงเรียนแหงนี้ เมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ 2554

โรงเรียนแหงนี้ ผลิตนักเรียนเนนการเปน คนดี เกง มีทักษะชีวิต จิตอาสา และอยูในสังคม ไดอยางมีความสุข

74


Phetchaburi

75


โรงเรียนเบญจมเทพอุทศิ จังหวัด เพชรบุรี เปนโรงเรียนขนาดใหญพิเศษ จั ด การเรี ย นการสอนแบบสหศึ ก ษา (นักเรียนชายและหญิง) มีนักเรียน 3,021 คน มีบคุ ลากรจัดการศึกษาประมาณ 200 คน โรงเรียนแหงนี้เปนโรงเรียนยอดนิยม ในจังหวัดเพชรบุรี มีอัตราการแขงขันสูง ในการสอบเขาเรียนตอระดับมัธยมศึกษา

76

ตอนตน (ม.1-3) และมัธยมศึกษาตอน ปลาย (ม.4-6) ในแตละปการศึกษาจะ มีนักเรียนมาสมัครเรียนตอเปนจํานวน มาก แตโรงเรียนรับนักเรียนไดในจํานวน จํากัด จึงใชการสอบเปนเครื่องมือในการ คัดเลือกนักเรียนเพียงครั้งเดียว ในดาน อัตลักษณของโรงเรียน มุงเนนความ ซื่อสัตย กตัญู รูหนาที่ มีนํ้าใจ มี เอกลักษณไทย กาวไกลสูส ากล โรงเรียน แหงนี้ผลิตนักเรียนเนนการเปนคนดี เกง มีทักษะชีวิต จิตอาสา และอยูในสังคม ไดอยางมีความสุข ในแตละปนักเรียน จะเขาศึกษาตอในอุดมศึกษาได 100% มหาวิทยาลัยยอดนิยมของประเทศ ไดแก จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย และมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ฯลฯ การบริ ห ารงานในโรงเรี ย นนั้ น ผมมี ค วามเชื่ อ ว า ผูบริหารจะตองเปนมืออาชีพ เปนผูนําการเปลี่ยนแปลง และคิ ด นอกกรอบเพื่ อ การพั ฒ นา คณะครู อาจารย ตอง “เปนคนเกง” มีความรูความ การบริหารงาน สามารถในด า นวิ ช าการ เอาใจใส ดู แ ลนั ก เรี ย นดั่ ง เป น บุ ต รหลานของ ในโรงเรียนนั้น ผมมี ตนเอง สําหรับนักเรียนนั้น ถาผูบริหาร ความเชื่อวาผูบริหารจะ เอาใจใส นั ก เรี ย น คณะครู - อาจารย ตองเปนมืออาชีพ เปนผูนํา ถ า ยทอดความรู  ไ ด อ ย า งดี เ ยี่ ย ม ผม การเปลี่ยนแปลงและ คิดวานักเรียนจะตองเปนคนดีและเปน คิดนอกกรอบเพื่อ คนเกง พรอมจะเปนกําลังสําคัญในการ

การพัฒนา


พัฒนาสังคมและประเทศชาติตอไป สวน หลั ก ในการทํ า งานนั้ น ผมใช 4 ต. ไดแก เต็มเวลา เต็มหลักสูตร เต็ม ความสามารถ และเต็มใจ บุคลากร ทุ ก คนของโรงเรี ย นมาทํ า งานเต็ ม เวลา คณะครู-อาจารยสั่งสอนลูกศิษย เต็มหลักสูตร เต็มความสามารถและ เต็มใจในการอบรมสั่งสอนศิษย

ความสํ า เร็ จ ของโรงเรี ย นที่ ทํ า ให เกิดความภาคภูมิใจของโรงเรียนแหง นี้คือ การไดรับรางวัลพระราชทาน 6 ครั้ง คือ ครั้งที่ 1 พ.ศ.2522 ครั้งที่ 2 พ.ศ.2527 ครั้งที่ 3 พ.ศ.2537 ครั้ง ที่ 4 พ.ศ.2541 ครั้งที่ 5 พ.ศ.2546 และครั้งที่ 5 พ.ศ.2552 และโรงเรี ยน และ ไดรับโลโรงเรียนรางวัลพระราชทาน อยางยัง่ ยืน (3 ครั้งรวมระยะเวลาไมเกิน 10 ป) โรงเรียนจึงเปนสถานทีศ่ กึ ษาดูงานของ โรงเรียนอื่นๆ และหนวยงานการศึกษาตางๆ ทั่วประเทศ คณะครู-อาจารย ไดรับการยกยองเปน ครูมืออาชีพและไดรับรางวัลระดับประเทศ ไดแก รางวั ล หนึ่ ง แสนครู ดี (ประมาณ 40 คน) รางวั ล

ความสําเร็จของ โรงเรียนที่ทําใหเกิดความ ภาคภูมิใจของโรงเรียน แหงนี้คือ การไดรับ รางวัลพระราชทาน 6 ครั้ง

ครูตนแบบในดานตางๆ รางวัลครูสอนดี เป น ต น ส ว นนั ก เรี ย นนั้ น ได รั บ รางวั ล พระราชทานปการศึกษา 2555 ไดแก เด็กหญิงชนกชนม สายนํ้าผึ้ง และป การศึกษา 2556 ไดแก เด็กหญิงฐิตริ ตั น เตชะพันธ ฯลฯ การจั ด การด า นบริ ก ารที่ โ รงเรี ย น จั ด ให กั บ บุ ค ลากรของโรงเรี ย น ด า น โภชนาการได รั บ รางวั ล อาหารไทย ปลอดภัยอยางมีคุณภาพ (Eat Safe Eat Smart) จากสถาบันอาหาร กระทรวง อุตสาหกรรม ดานหองนํ้า-หองสุขา ได รับรางวัลระดับจังหวัด ระดับภาค และ ระดับประเทศ ในโครงการสุขานาใช Phetchaburi

77


สุขใจไทย-เทศ จากกระทรวงสาธารณสุข รางวัล ชนะเลิ ศ โครงการประกวดปฏิ บั ติ ก ารรณรงค ประหยัดพลังงานระดับประเทศ จากสํานักงาน กกพ.อนุรักษพลังงาน ป 2555 เปนตน นอกจากจะสนั บ สนุ น ให นั ก เรี ย นเก ง ด า น วิชาการแลว โรงเรียนยังสงเสริมความเปนเลิศดาน อื่นๆ จนประสบผลสําเร็จดังนี้ รางวัลชนะเลิศวาย นํ้า กรมพลศึกษา ป พ.ศ.2554 นักเรียนไดรับการ คัดเลือกเปนนักกีฬาเยาวชนทีมชาติไทยแขงขัน กีฬาเอเชียนยุธเกมส ครัง้ ที่ 22 ประเทศ จีน รางวัลชนะเลิศวอลเลยบอล ชายหาด อายุ 18 ป หญิง รายการ สพฐ. รวมกับ ไทย พีบีเอส จังหวัดจันทบุรี ป พ.ศ.2557 ฯลฯ ในการเตรี ย มตั ว เข า สู  ส มาคมอาเซี ย น และประชาคมโลก โรงเรี ย นแห ง นี้ ไ ด ดํ า เนิ น การมาตลอด มีการทํา MOU กับตางประเทศ ไดแก โรงเรียนควีน มากาเร็ท ประเทศแคนาดา และโรงเรียน คาปติ คอลเลจ ประเทศนิวซีแลนด และประเทศ ในกลุมอาเซียน มีการแลกเปลี่ยนนักเรียนระหวาง สถาบัน มีโครงการครอบครัวอุปถัมภ (ดูแลนักเรียน ตางชาติ) และในเดือนสิงหาคม 2557 โรงเรียนได สงนักเรียนแลกเปลี่ยน จํานวน 12 คน ไปศึกษา ณ ประเทศสหรั ฐ อเมริ ก า อั ง กฤษ เยอรมั น จี น เปนตน ทั้งนี้การดําเนินการจะบรรลุวัตถุประสงค ไดตองไดรับความรวมมือจากทุกฝายอันไดแก ผูปกครอง คณะครู-อาจารย และชุมชน ฯลฯ ชวยกันสรรคสรางเยาวชนของ ชาติใหเปนคนดี คนเกง มีทกั ษะชีวติ และอยูใ น สังคมอยางมีความสุข และเปนกําลังสําคัญใน การพัฒนาประเทศชาติ ใหเจริญกาวหนาตอไป

รางวัลชนะเลิศ โครงการประกวดปฏิบัติ การรณรงคประหยัดพลังงาน ระดับประเทศ จากสํานักงาน กกพ.อนุรักษพลังงาน ป 2555

78


AD ACONO.pdf 1 19/11/2556 15:48:18


บทความพิเศษ

โรงเรียนวัดดอนไกเตี้ย

เปนเลิศทางวิชาการสูมาตรฐานสากล

โรงเรี ย นวั ด ดอนไก เ ตี้ ย ตั้งอยู เลขที่ 281 หมูที่ 2 ตําบลธงชัย อําเภอ เมืองเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี เปดทํา การสอนตั้งแตชั้นประถมศึกษาปที่ 1 ถึ ง ชั้ น ประถมศึ ก ษาป ที่ 6 ป จ จุ บั น มี นักเรียนจํานวน 2,318 คน ผูอํานวยการ โรงเรียนคนปจจุบันคือ นายไตรรงค อนันตนิติเวทย วิสัยทัศน โรงเรียนวัดดอนไกเตีย้ เปนโรงเรียน ชั้ น นํ า ทางวิ ช าการ สู  ม าตรฐานสากล สรางคนเปนพลโลก ดวยครูมืออาชีพ คําขวัญ เน น คุ ณ ธรรม เป น ผู  นํ า ความรู  อยูเปนสุขในสังคม

นายไตรรงค อนันตนิติเวทย ผูอํานวยการโรงเรียนวัดดอนไกเตี้ย

นางสาวชลิตตา เชื้อนิล รองผูอํานวยการโรงเรียน งานงบประมาณและงานบุคคล

โครงการ / กิจกรรมพิเศษที่ดําเนินการ 1. โครงการพัฒนาทักษะทางวิชาการ เพื่ อ พั ฒ นานั ก เรี ย นชั้ น ประถมศึ ก ษาป ที่ 6 ใหมีทักษะทางวิชาการเต็มศักยภาพ มี ความพรอมในการสอบระดับชาติขนั้ พืน้ ฐาน (O-NET) และสอบเขาศึกษาตอในระดับ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โดยจัดกิจกรรมกวด วิ ช า (ติ ว เตอร ) ในกลุ  ม สาระการเรี ย นรู  คณิ ต ศาสตร ภาษาไทย วิ ท ยาศาสตร สังคมศึกษา และภาษาอังกฤษ ตลอดปการ ศึกษา ในภาคเรียนที่ 1 ใชเวลาชวง 12.0012.30 น. โดยจัดตารางการสอน และให ครูที่มีความชํานาญในกลุมสาระนั้นๆ กวด วิชาใหกับนักเรียน และในเดือนมกราคมจะ จัดตารางการเรียน โดยปรับเวลาเรียนเหลือ วิชาละ 50 นาที ในหนึ่งวันจะเหลือเวลาอีก1 ชั่วโมง และในเวลา 1 ชั่วโมงนี้จะติวเขม โดยแบงนักเรียนออกเปน 3 กลุม คือ กลุม เกง กลุมปานกลาง และกลุมออน มุงหวังให นักเรียนพัฒนาอยางเต็มศักยภาพ จากการ ดําเนินการดังกลาว สงผลใหผลการทดสอบ ระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นประถม ศึกษาปที่ 6 ปการศึกษา 2556 ของนักเรียน 80

นายวิโรจน บุญดี รองผูอํานวยการโรงเรียน งานวิชาการและงานบริหารทั่วไป

ปรัชญาโรงเรียน ทนฺโต เสฏโฐ มนุสฺเสสุ บุคคลผูฝก ตัวดีแลวประเสริฐสุด

โรงเรียนวัดดอนไกเตี้ย มีผลสัมฤทธิ์เฉลี่ยสูงกวาเกณฑระดับชาติ และกลุมสาระการเรียนรู คณิตศาสตร นักเรียนไดคะแนนเต็ม 100 คะแนน จํานวน 10 คน 2. โครงการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามหลักสูตรกระทรวงศึกษาธิการเปน ภาษาอังกฤษ (ENGLISH PROGRAM) ดวยการสอนเปนภาษาอังกฤษทุกวิชายกเวนภาษา ไทยและวิชาสังคม เพื่อใชภาษาอังกฤษเปนสื่อพัฒนาศักยภาพ ความรู ความสามารถ และ ทักษะภาษาอังกฤษของผูเรียน ตลอดจนการจัดการเรียนรูตามบริบทของความเปนไทยผสม ผสานกับความเปนสากล โดยเปดสอนตั้งแตชั้นประถมศึกษาปที่ 1-ชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ระดับชั้นละ 1 หองเรียน 3. โครงการพัฒนาหลักสูตรสูม าตรฐานสากล (WORLD-CLASS STANDARD SCHOOL) โรงเรียนวัดดอนไกเตีย้ ไดเขารวมโครงการรุน ที่ 1 ตามที่ สํานักงานคณะกรรมการ การศึกษาแหงชาติ นํามาใชเปนมาตรการเรงดวนในการยกระดับคุณภาพการศึกษาไทย โดย มีเปาหมายหลัก คือ เปนเลิศทางการศึกษา สื่อสารสองภาษา ลํ้าหนาทางความคิด ผลิตงาน อยางสรางสรรค และรวมกันรับผิดชอบตอสังคมโลก โดยใชเครื่องมือที่สําคัญ คือ การศึกษา คนควาดวยตนเอง (INDEPENDENT STUDY : IS) 4. กิจกรรมสงเสริมคุณธรรมจริยธรรม เปนการปลูกฝงและอนุรักษขนบธรรมเนียม ประเพณีไทย สงเสริมใหนกั เรียนไดใกลชดิ พระพุทธศาสนา และซึมซับหลักธรรมทางพระพุทธ


ศาสนา พรอมทัง้ สืบสานความเปนไทยใหคงอยูต ลอดไป ดวยกิจกรรมวันพระพรอมใจใสชดุ สี ขาว รวมกิจกรรมตักบาตร ฟงธรรมหนาเสาธง นั่งสมาธิกอนเรียน การสวดมนตหมูสรภัญญะ การบรรยายธรรม กิจกรรมรวมมือสรางสรรคแบงปนนํ้าใจ ฯลฯ มีผลใหโรงเรียนไดรับรางวัล โรงเรียนดีเดนดานคุณธรรมจริยธรรม จากสํานักงาคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน รวมกับธนาคารออมสินอยางตอเนื่อง 5. โครงการสูตรคูณคลองและคณิตคิดคลอง เพือ่ พัฒนาทักษะทางดานคณิตศาสตร แกนักเรียนทุกคน และเพื่อฝกใหนักเรียนมีความรับผิดชอบตอตนเอง โดยจัดทําแบบฝกสูตร คูณคลอง 1 เลม 50 ชุด ๆละ 100 ขอ ใหนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 1-6 ฝกทํา จัดทําแบบ ฝกคณิตคิดคลอง บวก ลบ คูณ หาร 1 เลม 50 ชุด ๆละ 50 ขอ ใหนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปที่ 1 – 6 ฝกทํา และจะทําการทดสอบภาคเรียนละ 1 ครั้ง โดยสอบพรอมกันทั้งโรงเรียน โดยดําเนินการดังนี้ นักเรียนนั่งสอบประจําหอง เปลี่ยนกรรมการคุมสอบ หัวหนาโครงการ ประกาศเสียงตามสาย กําหนดการทําขอสอบและหมดเวลาสอบ สูตรคูณคลองใชเวลา 5 นาที คณิตคิดคลองใชเวลา 15 นาที สูตรคูณคลองเกณฑผานรอยละ 100 คณิตคิดคลองเกณฑ ผานรอยละ 80 ผูผานเกณฑจะไดรับเกียรติบัตร 6. กิจกรรมครูผูปกครองชวยสอน เพื่อพัฒนานักเรียนใหเต็มตามศักยภาพ และ สรางสัมพันธภาพอันดีระหวางบานและโรงเรียน โดยใหแตละหองคัดเลือกผูป กครองนักเรียน หองละ 1 คน มาสอนนักเรียนในหองบุตรของตนตามความถนัด โดยจัดภาคเรียนละ 1 ครั้ง ซึ่งกิจกรรมนี้นักเรียนไดรับความรูอยางหลากหลาย เปนการนําภูมิปญญาทองถิ่นมาจัดการ เรียนการสอนอยางเกิดประโยชนสงู สุด นํามาซึง่ ความสัมพันธอนั ดีระหวางโรงเรียน ผูป กครอง นักเรียน ครู และนักเรียน ผลการดําเนินงานของโรงเรียนวัดดอนไกเตี้ย 1. ไดรับรางวัลโรงเรียนรางวัลพระราชทาน ระดับประถมศึกษา ขนาดใหญ ในปการ ศึกษา 2556 2. ไดรับรางวัลโรงเรียนคุณธรรมจริยธรรมดีเดน ระดับประเทศ จัดโดยสํานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐานรวมกับ ธนาคารออมสิน ในปการศึกษา 2556 3. เด็กหญิงฐิติรัตน เตชะพันธ ได รับรางวัลนักเรียนรางวัลพระราชทาน ระดับ ประถมศึกษาขนาดใหญ ในปการศึกษา 2554 4. เด็กหญิงเปรมกมล มาคลาย ไดรับ รางวัลชนะเลิศ ประกวดบรรยายธรรม รับโล พระราชทานจากสมเด็จพระเทพรัตนราช สุดาสยามบรมราชกุมารี ในปพุทธศักราช 2554 5. เด็กหญิงวรวลัญษ สุมนารุจริ างค ไดรับรางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 1 จากการ ประกวดบรรยายธรรม และรางวั ล ชมเชย เขารับโลพระราชทานจากสมเด็จพระเทพ รั ต นราชสุ ด าสยามบรมราชกุ ม ารี ในป พุทธศักราช 2555 และปพุทธศักราช 2556 6. เด็ ก ชายกนกทั ศ น ขํ า ทวี ไดรับ รางวัลงานศิลปะ จากสมเด็จพระเทพรัตน ราชสุดาสยามบรมราชกุมารี ปพทุ ธศักราช 2555

7. เด็กหญิงพิมพชนก แสงสวัสดิภากร ไดรับรางวัล “นักเรียนดีเดนดานคุณธรรม จริยธรรม” ระดับประเทศ ปการศึกษา 2555 จัดโดยสํานักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐานรวมกับธนาคารออมสิน 8. เด็กหญิงวรวลัญษ สุมนารุจิรางค ไดรับรางวัล “นักเรียนดีเดนดานคุณธรรม จริยธรรม” ระดับประเทศ ปการศึกษา 2556 จัดโดยสํานักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐานรวมกับธนาคารออมสิน 9. นั ก เรี ย นได รั บ การคั ด เลื อ กเป น ตัวแทนของมูลนิธยิ วุ ทูตความดี กระทรวง การตางประเทศ ไปรวมกิจกรรม ณ ประเทศ อิ น โดนี เ ซี ย ได แ ก เด็ ก หญิ ง พิ ม พ ช นก แสงสวัสดิภากร ปพุทธศักราช 2556 10. เด็กชายรวัชญ ผดุงเกียรติวงษ เป น ตั ว แทนประเทศไทยเข า ร ว มแข ง ขั น คณิตศาสตรนานาชาติ ณ ประเทศสิงคโปร ในปการศึกษา 2556 และ ณ ประเทศอินเดีย ในปการศึกษา 2557 11. โรงเรียนไดรับรางวัลสถานศึกษา ดีเ ดน ที่ส งเสริม และพัฒนาคุณ ภาพ และ มาตรฐานการศึกษาที่ประสบความสําเร็จ กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ระดับชั้น ประถมศึกษา ปพุทธศักราช 2556 Phetchaburi

81


เส้นทางความเปนมา

¨Ò¡àÁ×ͧ¾ÃÔº¾ÃÕÊÙ‹

àÁ×ͧྪúØÃÕ จังหวัดเพชรบุรีมีพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ ย้อนไปตั้งแต่สมัยก่อนประวัติสาสตร์ โดยพบหลักฐาน เครื่องมือเครื่องใช้ประเภทขวานหินขัด เครื่องประดับ ที่ ท� า จากหิ น ภาชนะดิ น เผาขวานหิ น ขั ด ลู ก ปั ด หิ น คาร์นีเลียน ลูกปัดหินอาเกต ลูกปัดแก้ว เครื่องมือ เหล็กทีม่ รี ปู แบบดังทีพ่ บตามแหล่งโบราณคดีสมัยก่อน ประวัติศาสตร์ในแถบภาคกลางของประเทศไทย จึง สรุ ป ได้ ว ่ า มี ก ลุ ่ ม คนในสมั ย หิ น ขั ด อาศั ย อยู ่ ใ นเขต ภูเขาทางทิศตะวันตก และในที่ราบลุ่มแม่น�้าเพชรบุรี เมื่อประมาณ 4,000-2,000 ปีมาแล้ว เมื่อมีการติดต่อระหว่างชุมชนในภูมิภาคเอเชีย ตะวั น ออกเฉี ย งใต้ โ ดยทางเรื อ เมื่ อ ประมาณพุ ท ธ ศตวรรษที่ 7 มีเส้นทางการค้าระหว่างอินเดียกับจีนคือ ต้องผ่านคาบสมุทรมลายู โดยเดินทางเลียบตามชายฝัง่ คาบสมุทรมลายูทั้งทางด้านตะวันตก (ทะเลอันดามัน) และด้านตะวันออก (อ่าวไทย) ชุมชนแถบลุ่มแม่น�้า เพชรบุรตี งั้ อยูท่ างด้านตะวันออก จึงน่าเป็นจุดผ่านหรือ จุดพักการเดินทางที่อยู่บนเส้นทางดังกล่าว ต่อมาเมื่อ มีการพัฒนาการเดินเรือน�้าลึกในพุทธศตวรรษที่ 11 มี การขยายการค้าทางเรือของจีน ชุมชนแถบลุ่มแม่น�้า เพชรบุรที ตี่ งั้ อยูใ่ นเส้นทางคมนาคมเหล่านีจ้ งึ เป็นแหล่ง รวมสินค้าหรือจุดแวะพักเพื่อสะสมเสบียง

82


เมืองเพชรบุรีในสมัยทวารวดี เมื่อกระแสวัฒนธรรมจากอินเดียผสมผสานกับวัฒนธรรม ท้องถิน่ ในลุม่ แม่นา�้ เจ้าพระยา ได้เกิดเป็นรูปแบบวัฒนธรรมทีเ่ รียก ว่า วัฒนธรรมทวารวดี เมือ่ ประมาณพุทธศตวรรษที่ 11-16 ดินแดน ในทีร่ าบลุม่ แม่นา�้ เพชรบุรคี งรับเอารูปแบบวัฒนธรรมดังกล่าวเข้า มาด้วย จึงได้พบหลักฐานร่องรอยชุมชนทวารวดีกระจายอยูท่ วั่ ไป ในบริเวณนี้ โดยมีชมุ ชนโบราณทีส่ า� คัญได้แก่ ชุมชนโบราณหนอง ปรง ในเขตอ�าเภอเมือง ฯ โบราณสถานทุง่ เศรษฐี ทีบ่ า้ นโคกเศรษฐี ต�าบลนายาว อ�าเภอชะอ�า ชุมชนแหล่งนี้อยู่ในเขตที่พบพระพุทธ รูปโคลน และเศษวัสดุต่าง ๆ เป็นจ�านวนมาก แหล่งชุมชนโบราณ ส่วนใหญ่จะอยู่ใกล้แม่น�้า และติดชายฝั่งทะเล เมืองเพชรบุรีในวัฒนธรรมเขมร เมื่อวัฒนธรรมเขมรโบราณเริ่มขยายตัวตามดินแดนแถบ นี้ ชุมชนในลุ่มแม่น�้าเพชรบุรีก็ได้รับอิทธิพลของวัฒนธรรมเขมร โบราณ เช่นกัน มีการสร้างเมืองในรูปแบบวัฒนธรรมเขมรโบราณ เป็นรูปสี่เหลี่ยมอยู่ทางฝั่งตะวันออกของแม่น�้าเพชรบุรี หลักฐาน ที่เห็นได้ชัดได้แก่ โบราณสถานที่วัดก�าแพงแลง ที่มีลักษณะ เป็นปรางค์ขนาดใหญ่ห้าองค์ ก่อด้วยศิลาแลง ตกแต่งด้วยลาย ปูนปั้น ล้อมรอบด้วยก�าแพงศิลาแลง ลักษณะทางสถาปัตยกรรม ของวัดก�าแพงแลง เป็นลักษณะศิลปะบายน จึงสันนิษฐานว่าได้ รับอิทธิพลศิลปะเขมรโบราณแบบบายน มีอายุประมาณ ปรากฏชื่อเมือง พุทธศตวรรษที่ 18 เพชรบุรีในเอกสารจีน ในช่ ว งเวลานี้ เ มื อ งเพชรบุ รี น ่ า จะเป็ น เมื อ ง ท่ า ค้ า ขายเช่ น เดี ย วกั บ เมื อ งราชบุ รี ซึ่ ง เป็ น เมื อ ง ราชวงศ์หงวนว่า กันมู่ติง ร่ ว มสมั ย เดี ย วกั น โดยพบหลั ก ฐานเครื่ อ งถ้ ว ย (กทรเตง) ส่งทูตจากเมือง ชามจีนในชุมชนโบราณหลายแห่ง ที่เป็นชุมชน ปี้ชาปู้หลี่ (เพชรบุรี) มาถวาย โบราณสมัยทวารวดี โดยเฉพาะเศษภาชนะดิน เครื่องราชบรรณาการ เผาของจีนที่มีอายุตั้งแต่สมัยห้าราชวงศ์ จนถึง ราชวงศ์ สุ ้ ง หยวน และเหม็ ง เป็ น จ� า นวนมาก ซึ่งตรงกับปี พ.ศ. แสดงให้ เ ห็ น ถึ ง การติ ด ต่ อ กั บ จี น ตั้ ง แต่ ป ระมาณ 1837 พุ ท ธศตวรรษที่ 15-16 จนถึ ง พุ ท ธศตววรษที่ 18-19 เมืองเพชรบุรีร่วมสมัยกับสุโขทัย จากบันทึกของ ลาร์ ลูแบร์ ได้กล่าวถึงกษัตริยเ์ มืองเพชรบุรไี ว้ ว่า...ปฐมกษัตริย์สยามทรงพระนามว่า พระปฐมสุริยเทพ ฯ ครอง นครชัยบุรี เมื่อ พ.ศ.1300 สืบต่อมาสิบชั่วกษัตริย์ องค์สุดท้ายทรง พระนามว่า พญาสุนทรเทพ ฯ โปรดให้ยา้ ยเมืองหลวงมาตัง้ ใหม่ชอื่ ว่า ธาตุนครหลวง ในปี พ.ศ.1731 กษัตริย์องค์ที่ 12 ทรงพระนาม ว่า พระพนมไชยศิริ ได้ให้ราษฎร์ไปอยู่ ณ เมืองนครไทย ทางตอน เหนือของเมืองพิษณุโลก ส่วนพระองค์เองไปสร้างเมืองใหม่ชื่อว่า “พริบพรี” ตัง้ อยูบ่ นฝัง่ แม่นา�้ สายหนึง่ อยูท่ างทิศตะวันตกของแม่นา�้ Phetchaburi

83


เมืองเพชรบุรีใน สมัยอยุธยายังเปน จุดยุทธศาสตร์ที่สําคัญ ใช้เปนที่ตั้งกําลังทาง ทหารทั้งทางบกและ ทางนํ้า

เจ้าพระยา มีกษัตริยส์ บื ต่อมาสีช่ วั่ กษัตริย์ จนถึงองค์สดุ ท้ายทรง พระนามว่า รามาธิบดี ได้สร้างเมืองสยามขึ้น เมื่อปี พ.ศ.1894 มี ห ลั ก ฐานที่ ก ล่ า วถึ ง เมื อ งเพชรบุ รี ในศิ ล าจารึ ก หลั ก ที่ 1 ว่า “.....เบื้องหัวนอนรอดคนที พระบาง แพรก สุพรรณภูมิ ราชบุรี เพชรบุรี ศรีธรรมราช ฝั่งพระสมุทร เป็นที่แล้ว.....” นอกจากนี้ ยังปรากฏชือ่ เมืองเพชรบุรใี นเอกสารจีน ราชวงศ์หงวนว่า กันมูต่ งิ (กทรเตง) ส่งทูตจากเมืองปี้ชา ปูหลี่ (เพชรบุรี) มาถวายเครื่องราชบรรณาการ ซึ่งตรงกับปี พ.ศ. 1837 ปีที่ 31 ในราชวงศ์ รัชกาลจี้หยวน ซึ่งตรงกับรัชสมัยพ่อขุนรามค�าแหง ฯ ร่องรอยวัฒนธรรมก่อนสมัยอยุธยาในเขตเมืองเพชรบุรี มีโบราณสถานและโบราณ วัตถุหลายอย่าง ที่มีความแตกต่างจากศิลปะแบบอยุธยา ซึ่งเรียกว่า ศิลปะก่อนอยุธยา เช่น พระพุทธรูปในถ�้าเขาหลวง เจดีย์แปดเหลี่ยมในถ�้าเขาหลวง ใบเสมาที่วัดมหาธาตุ ซึ่งเป็นเสมาสลักจากหินทรายแดง ตัวเสมาสลักลวดลายเป็นประติมากรรม นอกจากนี้ ยังมีเสมาจากวัดร้างต่าง ๆ เป็นจ�านวนมาก มีลกั ษณะเก่ากว่าแบบทีน่ ยิ มในสมัยอยุธยา

เมืองเพชรบุรีในสมัยอยุธยา ในสมัยอยุธยา เพชรบุรเี ป็นเมืองชุมทางเชือ่ มต่อระหว่างเมืองในลุม่ แม่นา�้ เจ้าพระยา กับหัวเมืองชายทะเลทางใต้ เป็นเมืองท่าส�าคัญทีเ่ รือสินค้าต่างๆ แวะจอดพักก่อนเดินทาง ต่อไปกรุงศรีอยุธยาหรือจะล่องไปหัวเมืองทางใต้ รวมทั้งการเดินทางทางบกไปยังเมือง ท่าฝั่งตะวันตกคือ เมืองมะริด เมืองเมาะล�าเลิง และหัวเมืองมอญ จากศิลาจารึกวัดเขา กบ ซึ่งเป็นศิลาจารึกสมัยสุโขทัยได้กล่าวถึงเส้นทางที่ผ่านเมืองเพชรบุรีไปยังอินเดียคือ เดินทางมาขึ้นบกที่เมืองตะนาวศรี แล้วตัดข้ามมาเมืองเพชรบุรีแล้วไปราชบุรี จนถึง อโยธยาแสดงว่าเส้นทางนี้เป็นเส้นทางที่ใช้กันมาแต่โบราณ 84


จดหมายเหตุของ ม.เซเบเรต์ ราชทูตฝรั่งเศส ที่เดินทาง มาเจริญพระราชไมตรี ในสมัยสมเด็จพระนารายณมหาราช เมื่อปี พ.ศ.2230 กล่าวถึงการเดินทางไปลงเรือที่เมืองมะริดว่า ได้ล่องเรือจากเมืองลพบุรี ผ่านอยุธยา บางกอก แม่น�้าท่าจีน แม่น�้าแม่กลอง แม่น�้าเพชรบุรี ถึงเมืองเพชรบุรี แล้วเดินทาง ต่อไปชะอ�า เมืองปราณ เมืองตะนาวศรี และเมืองมะริด ระ หว่างเดกินทางได้บนั ทึกเหตุการณ์และบรรยายสภาพบ้านเมือง ต่างๆ เอาไว้ โดยได้กล่าวถึงเมืองเพชรบุรีไว้ว่า “เมื่อเรือได้เข้าล�าน�้าเพชรบุรี ได้พบผู้ว่าราชการเมือง เพชรบุรี .....ออกน�าหน้าเรือพวกเรา และได้โยงเรือพวกเรา สามล�าขึน้ ไปจนถึงเมืองเพชรบุรี ซึง่ อยูห่ า่ งปากน�า้ เข้าไปปราณ 8 ไมล์ แถวปากน�้าเพชรบุรีเป็นที่เปล่าเปลี่ยว ไม่มีผู้คนอยู่เลย แต่เมื่อขึ้นไปตามล�าน�้า ประมาณ 2 ไมล์ ภูมิประเทศดูดีขึ้น สองข้างแม่น�้าเป็นทุ่งนา .....บางแห่งก็เป็นทุ่งเต็มไปด้วยโค กระบือ มีเจ้าของน�ามาเลี้ยง .....เมืองเพชรบุรีเป็นเมืองขนาด ใหญ่ในสยาม แต่เดิมพระเจ้าแผ่นดินสยามก็เคยมาประทับ อยู่ที่เมืองนี้เสมอ เมืองนี้มีก�าแพงก่อด้วยอิฐล้อมรอบและมีหอ รบหลายแห่ง แต่ก�าแพงช�ารุดหักพังไปมากแล้ว ยังเหลือดีอยู่ แถวเดียว บ้านเรือนไม่สวยงาม เพราะเป็นเรือนทีส่ ร้างด้วยไม้ไผ่ ทั้งสิ้น สิ่งที่งามมีแต่วัดวาอารามเท่านั้น และวัดในเมืองนี้ก็มีเป็นอันมาก” นอกจากเมื อ งเพชรบุ รี ใ นสมั ย อยุธยายังเป็นจุดยุทธศาสตร์ที่ส�าคัญ ใช้ เ ป็ นที่ ตั้ง ก� า ลั ง ทางทหารทั้ง ทางบก และทางน�้า ในสมัยสมเด็จพระมหา ธรรมราชา เมื่อพระยาละแวก ยกทัพ มาตีกรุงศรีอยุธยาถึงสามครั้ง พระยา เพชรบุรีมีส่วนส�าคัญในการศึกด้วยทุก ครั้ ง ในรั ช สมั ย สมเด็ จ พระนเรศวร มหาราช พระองค์ ไ ด้ โ ปรดให้ ย กทั พ

Phetchaburi

85


พระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ขณะที่พระองค์ทรงผนวช ไปตีเขมร พระยาเพชรบุรีได้รับมอบหมายให้เป็นนายกองเรือ ยกขึ้นไปตีเมืองปาสักและเมืองจตุรมุข แล้วจึงยกไปสมทบ ได้เสด็จประพาสเมืองเพชรบุรี กองทัพหลวงที่เมืองละแวก หลายครั้ง และเมื่อพระองค์ เมื่ อ สมเด็ จ พระนเรศวรมหาราช และสมเด็ จ พระเอกา ได้ขึ้นครองราชย์ ก็ได้ ทศรถ ทรงยกทัพไปตีพม่า ได้โปรดให้พระยาเพชรบุรียกทัพช้าง ม้าและพลรบ จ�านวน 3,000 คน เป็นทัพหนุน ในปี พ.ศ.2308 พม่า โปรดเกล้าฯ ให้สร้าง ยกทัพมาตีกรุงศรีอยุธยา ได้เดินทัพผ่านเมืองเพชรบุรี สมเด็จพระเจ้า พระนครคีรี เอกทัศน์โปรดให้พระยาตาก และพระยาเพชรบุรี คุมกองทัพเรือ ไปรับทัพ พม่า พระยาเพชรบุรีถูกพม่าล้อมและตายในที่รบ

เมืองเพชรบุรีสมัยกรุงธนบุรี ในปี พ.ศ.2312 สมเด็จพระเจ้าตากสิน โปรดให้ยกทัพไปตีนครศรีธรรมราช พระยา เพชรบุรีเป็นกองหน้า และได้ตายในที่รบ กองทัพหลวงยกไปทางเรือ ถึงต�าบลบางทะลุ หาดเจ้าส�าราญ กองเรือถูกพายุ เรือล่มหลายล�า ต้องพักอยู่ที่เมืองเพชรบุรีระยะหนึ่ง เมืองเพชรบุรีสมัยรัตนโกสินทร การเดินทัพของพม่าที่เข้าตีเมืองทางภาคใต้ของไทย จะเดินทัพมาทางด่านสิงขร ซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับเมืองเพชรบุรี ในการรบครั้งส�าคัญที่ต�าบลลาดหญ้า แขวงเมือง กาญจนบุรี พระยาสีหราชเดโชชัย พระยาท้ายน�้า และพระยาเพชรบุรี ได้รับค�าสั่งให้ไป คอยซุ่มโจมตีหน่วยล�าเลียงเสบียงของข้าศึก แต่ทั้งสามค�าท�างานไม่ได้ผลจึงถูกประหาร ชีวิต กองทัพพม่าที่เข้ามาทางด่านบ้องตี้ ได้เข้าตีเมืองราชบุรี เมืองเพชรบุรี ต่อลงไปถึง เมืองชุมพร 86

ในปี พ.ศ.2336 พระบาทสมเด็จ พระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช ได้ โปรดเกล้าฯ ให้เตรียมทัพไปตีพม่า โดย ยกทัพไปตั้งที่เมืองทวาย ฝายพม่าได้ ยกทัพมาล้อมตีเมืองทวาย และยกเข้าตี ค่ายพระยาเพชรบุรี ซึง่ คุมก�าลังไปในการ ทัพครั้งนี้ด้วย พม่าตีค่ายพระยาเพชรบุรี ถึงสองครั้งจึงยึดค่ายได้ แต่ฝายเราก็ยึด คืนได้ภายหลัง ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระ พุทธเลิศหล้านภาลัย พม่ายกทัพมาตี หัวเมืองฝายใต้ พระองค์ได้โปรดเกล้าฯ


ให้พระยาพลเทพไปรักษาเมืองเพชรบุรี และโปรดเกล้าฯ ให้กรมหลวงพิทักษ์ มนตรี เสด็จไปคอยสั่งการทัพที่เมือง เพชรบุรี ในรั ช สมั ย พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พระนัง่ เกล้าเจ้าอยูห่ วั เจ้าเมืองไทรบุรี แข็งเมือง เมื่อปี พ.ศ.2382 พระองค์ได้ โปรดเกล้า ฯ ให้พระยาเพชรบุรีคุมทัพ ไปตัง้ อยูท่ เี่ มืองสายบุรี เพือ่ ดูแลหัวเมือง มลายู จากเอกสารที่พิมพ์เผยแพร่เมื่อ ปี พ.ศ.2392 ได้แสดงข้อมูลประชากร ในเมืองเพชรบุรีว่ามีชาวสยามจ�านวน 2,700 คน ชาวจีน 800 คน ชาวมาเลย์ 4,300 คน และชาวลาว 530 คน ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ขณะที่ พระองค์ทรงผนวช ได้เสด็จประพาสเมืองเพชรบุรีหลายครั้ง และ เมื่อพระองค์ได้ขึ้นครองราชย์ ก็ได้โปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระนคร คีรี ตั้งแต่ปี พ.ศ.2402 โดยสร้างอยู่บนสามยอดเขาซึ่งเดิมเรียก ว่า เขาสมณะ ต่อมาพระองค์ได้พระราชทานนามใหม่ว่าเขา มหาสวรรค์ที่ยอดเขายอดกลาง โปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระเจดีย์ ใหม่ครอบองค์เดิมที่ช�ารุด แล้วบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ แล้ว พระราชทานนามว่ า พระธาตุ จ อมเพชร ยอดเขาทางด้ า นทิ ศ ตะวันออก โปรดเกล้า ฯ ให้สร้างพระเจดีย์ศิลา พระวิหาร พระปรางค์ หอระฆัง และศาลา ยอดเขาทางด้านทิศตะวันตก สร้างพระราชวังส�าหรับ

พระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกล้า เจ้าอยู่หัว พระองค์ได้ เสด็จไปประทับแรม ที่เมืองเพชรบุรี หลายครั้ง

Phetchaburi

87


เป็นทีป่ ระทับ ประกอบด้วยพระทีน่ งั่ และ หมู ่ อ าคารต่ า งๆ พระราชทานนามไว้ เช่น พระที่นั่งเพชรภูมิไพโรจน์ พระที่นั่ง ปราโมทย์มไหสวรรค์ พระที่นั่งเวชยันต์ วิเชียรปราสาท เป็นต้น ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระ จุ ล จอมเกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว พระองค์ได้ เสด็จประพาสเมืองเพชรบุรีหลายครั้ง และได้โปรดเกล้า ฯ ให้สร้างทางรถไฟ จากกรุงเทพ ฯ มาถึงเมืองเพชรบุรี เมื่อปี พ.ศ.2446 ในปลายรัชสมัยของพระองค์ ได้ โ ปรดเกล้ า ฯ ให้ บู ร ณปฏิ สั ง ขรณ์

พระนครคี รี เพื่ อ ใช้ รั บ รองแขกเมื อ ง และได้โปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระราชวัง บ้านปนขึ้นอีกแห่งหนึ่ง มาแล้วเสร็จใน รั ช สมั ย พระบาทสมเด็ จ พระมงกุ ฎ เกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชทานนามว่า พระรามราชนิเวศน์ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระ มงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ได้เสด็จ ไปประทั บ แรมที่ เ มื อ งเพชรบุ รี ห ลาย ครั้ง ได้โปรดเกล้าฯ ให้สร้างพลับพลาที่ ประทับแรมขึ้นที่ชายทะเล ในเขตต�าบล บางทะเล เมื่อปี พ.ศ.2460 เป็นอาคาร ไม้ ใต้ถุนสูง หลังคามุงจาก ฝาขัดแตะ พระราชทานนามว่ า ค่ า ยหลวงหาด เจ้าส�าราญ ในช่วงเวลาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2460 - 2466 พระองค์ได้เสด็จมาประทับ แรมที่ค่ายหลวงหาดเจ้าส�าราญเกือบ ทุกปี 88


ในเวลาต่ อ มา พระองค์ ไ ด้ โปรดเกล้ า ฯ ให้ ส ร้ า งพระราชนิ เ วศน์ มฤคทายวั น ประกอบด้ ว ยพระที่ นั่ ง สามองค์ ได้แก่ พระที่นั่งสมุทรพิมาน พระที่ นั่ ง ไพศาลสาคร และพระที่ นั่ ง สโมสรเสวกามาตย์ ในปี พ.ศ.2468 พระองค์ ไ ด้ เ สด็ จ มาประทั บ แรม ณ พระราชนิเวศน์แห่งนี้เป็นครั้งสุดท้าย ส่ ว นชื่ อ เมื อ งเพชรบุ รี มี ชื่ อ เรี ย ก แตกต่ า งกั น ตามปรากฏในหนั ง สื อ ชาวต่ า งประเทศ เช่ น ชาววิ ลั น ดา เรียกว่า “พิพรีย์” ชาวฝรั่งเศสเรียกว่า “พิพพีล์” และ“ฟฟรี” จึงสันนิษฐานกัน ว่าชื่อ“เมืองพริบพรี” คงเป็นชื่อเดิมของ เมืองเพชรบุรีในปัจจุบันนี้

ขอขอบคุณที่มา “วัฒนธรรม พัฒนาการ ทางประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และ ภูมิปัญญา” จังหวัดเพชรบุรี Phetchaburi

89


เสนทางทองเที่ยว

3

¾ÃÐÃÒªÇѧ ÃѪÊÁÑÂ...

ã¹àÁ×ͧྪÃÏ

90


เ พ ช ร บุ รี มี พั ฒ นาการทาง ประวัติศาสตรมาเนิ่นนานตั้งแตสมัย อาณาจั ก รทวารวดี แ ละศรี วิ ชั ย เจริ ญ รุ  ง เรื อ ง ในสมั ย สุ โ ขทั ย ก็ มี ชื่ อ เมื อ ง เพชรบุรีปรากฏเปนลายลักษณอักษร ครัง้ แรก จนถึงสมัยอยุธยา เพชรบุรกี ย็ งั คงเปนเมืองสําคัญในฐานะหัวเมืองหนา ดานที่สําคัญ เปนแหลงสะสมเสบียง กรังสงกรุงศรีฯ และทีส่ าํ คัญยังเปนเมือง ทาขึน้ ลองระหวางเมืองมะริด ตะนาวศรี และกรุงศรีดวย ครั้นถึงสมัยรัตนโกสินทร เพชรบุรี ไดเปลี่ยนบทบาทจากเมืองยุทธศาสตร มาเปนเมืองที่ประทับแปรพระราชฐาน ของพระมหากษัตริยถึง 3 รัชกาลดวย กั น ดั ง นั้ น ในเมื อ งเพชรบุ รี จึ ง มี ถึ ง 3 พระราชวัง ซึ่งโปรดเกลาฯใหสรางขึ้น ไลลาํ ดับกันมาไดแก พระบาทสมเด็จ พระจอมเกลาเจาอยูหัว โปรดเกลาฯ ให ส ร า ง “พระราชวั ง พระนครคี รี ” หรื อ ที่ เ ราๆ ท า นๆ เรี ย กกั น ติ ด ปาก ว า “เขาวั ง ” พระบาทสมเด็ จ พระ จุลจอมเกลาเจาอยูหัว โปรดเกลาฯ ใหสราง “พระรามราชนิเวศน” หรือ “พระราชวังบานปน” และพระบาท สมเด็ จ พระมงกุ ฎ เกล า เจ า อยู  หั ว โปรดเกลาฯใหสราง “พระราชนิเวศน มฤคทายวั น ” นับจากนั้นเปนตนมา จังหวัดเพชรบุรี จึงกลายเปนเมืองพัก ผอนตากอากาศสําหรับพระบรมวงศ และเจานายชั้นสูงในยุคแรกๆ ปจจุบัน เพชรบุรีไดกลายเปนเมืองทองเที่ยวขึ้น ชื่อของคนไทยและตางชาติเลยทีเดียว “เสนทางทองเที่ยว” ฉบับแนะนํา จังหวัดเพชรบุรี จึงขอนําเรือ่ งเกีย่ วกับ “ 3 พระราชวัง 3 รัชสมัย...ในเมือง เพชรฯ” มาเลาสูกันฟงอีกครั้ง เผื่ออาจ จะมีทานใดอยากไปรําลึกความทรงจํา สมัยยังเด็ก หรือสมัยยังเปนหนุมเปน สาวบางคะ Phetchaburi 91


¾ÃÐÃÒÁÃÒª¹ÔàÇȹ พระรามราชนิเวศน หรือ “พระราชวังบานปน” ในความรับ ผิดชอบของจังหวัดทหารบกเพชรบุรี ต.บานหมอ อ.เมือง จ.เพชรบุรี ครอบคลุมพืน้ ที่ 349 ไร 1 งาน 16 ตารางวา โดย พระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกลาเจาอยูห วั ทรงใชพระราชทรัพยสว นพระองคจดั สรางขึ้นในชวงปลายรัชสมัย เนื่องจากชวงเดือนกันยายนมีฝนตก ชุกทําใหพระองคประชวรอยูเสมอ จึงทรงมีพระราชดําริที่จะหาที่ ประทับนอกพระนคร จึงมีพระราชโองการใหซื้อที่ดินจากชาวบาน ที่เขต “บานปน” ริมแมนํ้าเพชรบุรี และโปรดฯใหสรางพระราชวังตามแบบสถาปตยกรรมยุโรป แตเปนแบบโมเดิรน สไตล โดยมี มิสเตอร คารล ซีกฟรีด เดอห ริง (Karl Siegfried Dohring) ผูเ คยออกแบบ วังบางขุนพรหม วัง วรดิศ และวังพระองคเจาดิลกนพรัฐ เปนสถาปนิกออกแบบ ตามพระราชประสงค ที่ตองการพระตําหนักแบบโมเดิรนสไตล สถาปนิกจึงไดออกแบบมาในลักษณะสถาปตยกรรมแบบเยอรมนี โดยไดแบบแผนมาจากตําหนักในพระราชวังของ พระเจาวิล เฮิรม ไกเซอร แหงเยอรมันดังนั้น มิสเตอร คารล เดอหริง จึง เลือก ดร.ไบเยอร เปนวิศวกร พรอมทีมชางและมัณฑนาการชาว เยอรมนีทงั้ หมด และมี พระเจานองยาเธอ กรมหมืน่ ดํารงราชา นุภาพ (พระยศขณะนั้น) ทรงควบคุมการกอสราง และสมเด็จ พระเจาลูกยาเธอ เจาฟาบริพตั รสุขมุ พันธุ กรมขุนนครสวรรค วรพินิต (พระยศขณะนั้น) ทรงควบคุมดานการไฟฟา

94


ÍØ·ÂÒ¹»ÃÐÇѵÔÈÒʵà ¾Ãй¤Ã¤ÕÃÕ ในสมัยเด็กๆ จําไดวา ครอบครัวเคยพามาเทีย่ วขาวัง ตอนนัน้ ตองใชวธิ กี ารเดินขึน้ มาเทานัน้ เดินไปหยุดดูลงิ ไปเพลิดเพลินดีคะ พอชวงหลังมานีม้ กี ารสรางรถรางขึน้ ไป ทําใหสะดวกสบายแกคนที่ อายุอานามมากขึน้ บริเวณทางขึน้ ลงรถรางก็จดั สรางอยางสวยงาม มีรา นรวงใหดชู มและช็อปปง ดวยคะ แตอดใจไวตอนขากลับลงมา คอยแวะดูดีกวาคะ จะไดไมตองหิ้วขาวของพะรุงพะรัง “อุทยานประวัติศาสตรพระนครคีรี” หรือ “เขาวัง” สราง ขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาล ที่ 4 เนื่องจากทรงพอพระราชหฤทัยที่จะสรางพระราชวัง สําหรับ

เสด็จแปรพระราชฐานในฤดูรอนขึ้น บนยอดเขามหสวรรคดาน ตะวันตก ซึ่งมีความสูง 92 เมตร สามารถมองเห็นวิวทิวทัศนเมือง เพชรบุรีไดสวยงาม จึงโปรดเกลาฯ ให เจาพระยาเพชรนิสัย ศรีสวัสดิ์ ปลัดเมืองเพชรบุรี เปนนายงานกอสราง โดยสรางเสร็จ เมื่อป พ.ศ. 2403 และทรงพระราชทานนามวา “พระนครคีรี” และในครั้ ง นั้ น ยั ง โปรดฯ ให บู ร ณะวั ด เก า สมั ย อยุ ธ ยา ชื่ อ “วั ด มหาสมณาราม” บู ร ณะพระธาตุ เ ก า แก ที่ ท รงบรรจุ พระบรมสารีริกธาตุไวภายใน และพระราชทานนามวา “พระ ธาตุจอมเพชร” โดยตัววัดและพระธาตุตั้งอยูบนสวนยอดกลาง ของเขา พรอมทั้งโปรดฯใหสราง “วัดพระแกว” ขึ้นใหมที่ยอดเขา ดานตะวันตกดวย


ปจจุบัน แมอายุอานามของพระราชวังพระนครคีรี จะ มากถึงรอยหาสิบกวาปมาแลว แตพระที่นั่ง พระตําหนัก และสิ่ง ปลูกสรางตางๆ เชน โรงมา โรงพระราชรถ โรงครัว ศาลามหาดเล็ก รวมถึงปอมปนทัง้ 4 ทิศ ทางกรมศิลปากรไดบรู ณะมาอยางตอเนือ่ ง ทําใหเราไดเห็นโบราณสถานอันทรงคุณคาทางประวัตศิ าสตรแหงนี้ ไฮไลทของการเที่ยวชมเขาวังคือ พระที่นั่งเพชรภูมิไพโรจน, พระที่นั่งปราโมทยมไหสวรรย, พระที่นั่งเวชยันตวิเชียรปราสาท, พระที่ นั่ ง ราชธรรมสภา, หอชั ช ชวาลเวี ย งชั ย , หอพิ ม านเพชร มเหศวร, ตําหนักสันถาคารสถาน และ หอจตุเวทปริตรพจน ซึ่ง สวนใหญเปนสถาปตยกรรมแบบนีโอคลาสสิค และสถาปตยกรรม จีน เมื่อมีตนลั่นทมหรือลีลาวดีอายุนับรอยๆ ป ประกอบดวยก็ยิ่ง ไดบรรยากาศเกาๆ ที่ดูสวยงามคลาสสิคมากขึ้นไปอีก นอกจาก นี้ทางกรมศิลปากรยังจัดตั้ง “พิพิธภัณฑสถานแหงชาติพระ นครคีรี” ขึ้นเพื่อจัดแสดงโบราณวัตถุตางๆ ไดแก เครื่องราชูปโภค ของรัชกาลที่ 4 และ 5 ของประดับตกแตง เชน รูปหลอสําริดและ ทองเหลือง เครื่องกระเบื้องของจีน ญี่ปุน และยุโรป เปนตน เอกลักษณอีกอยางหนึ่งของเขาวังนอกเหนือจากตนลั่นทม แลว ที่นี่ยังเปนที่อยูอาศัยของลิงนับรอยๆ ตัว มาชานานแลว เห็น นารักๆ อยางนี้ อยาเผลอไปแกลงยั่วใหเขาโมโหนะคะ เพราะดู จากปายตามขางทางทีบ่ อกวา “ระวังลิงกัด” ก็แสดงวาลิงทีน่ คี่ งจะ ดุนาดู นอกจากนี้ยังมีปายสีแดงที่ระบุขอหามตางๆ เชน หามให อาหารลิง หามแหยลงิ โดยเฉพาะใครทีพ่ าเด็กเล็กๆ ไปดวยยิง่ ตอง ระมัดระวังเปนพิเศษดวยนะคะ

อุ ท ยานประวั ติ ศ าสตร พ ระนครคี รี เปดให เขาชมทุกวันตั้งแต 08.30-16.30 น. คาเขาชม (รวม คาเขาพิพิธภัณฑฯ และคารถรางไฟฟา) ชาวไทย 60 บาท ชาวต า งประเทศ 190 บาท สอบถาม รายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ โทร.0-3242-5600


การกอสรางพระที่นั่งแหงนี้ ยังไมแลวเสร็จสมบูรณดี พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูห วั เสด็จสวรรคต เสียกอน ครั้น พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว เสด็จขึ้นเสวยราชย จึงโปรดเกลาฯใหดําเนินการกอสราง ตอตามพระราชประสงคของพระราชบิดา จนสําเร็จสวยงาม เมื่อ พ.ศ. 2461 และพระราชทานนามวา “พระที่นั่งศรเพ็ ชรปราสาท” และทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ เปลี่ยนนาม “พระราชวังบานปน” โดยพระราชทานนามใหมวา “พระราม ราชนิเวศน” นอกจากนี้ พระองคยงั โปรดเกลาฯ ใหพระเจาบรมวงศ เธอ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ ทรงดําเนินการหลอ รูปปนพระนารายณทรงปน เพื่อนํามาประดิษฐานไวยังหนา พระทีน่ งั่ (ปจจุบนั รูปปน นีย้ า ยมาไวยงั หนาพระทีน่ งั่ พุทไธสวร รย พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ พระนคร) แตคนทั่วไปจะเรียก ติดปากวา “พระราชวังบานปน” ตาม ชื่อเดิมของถิ่นที่อยู พระรามราชนิเวศน เปนที่ตั้งของ พระที่นั่งศรเพ็ชร ปราสาท ซึ่งมีลักษณะทางสถาปตยกรรมแบบบาโรค ( Baroque ) และแบบอารต นูโว ( Art Nouveau ) หรือที่เยอรมัน เรียกวา “จุงเกนสติล” ( Jugendstil ) ตัวพระตําหนักจะเนน ความทันสมัย ไมมีลายปูนปนวิจิตรพิสดารเหมือนอาคารใน สมัยเดียวกัน แตเนนความสูงของหนาตาง และเพดานซึ่งสูง เปนพิเศษ ทําใหพระตําหนักดูใหญโตอลังการ แผนผังของตัวอาคารสรางเปนสี่เหลี่ยมผืนผาลอมสวน หยอม มีสระนํ้าพุตั้งอยูตรงกลาง สวนที่ประทับเปนตึกสอง ชั้นขนาดใหญ หลังคาทรงสูงรูปโดม ภายในเปนโถงสูงมี บันไดโคงขึน้ สูช นั้ สอง ซึง่ เปนจุดเดนของพระตําหนัก เพราะมี เครือ่ งตกแตงมากมายนาดูชม เชน เสาทีป่ ระดับดวยกระเบือ้ ง เคลือบและตกแตงดวยโลหะ ขัดเงา เสาเหลานี้แลนตลอด จากพื้นจดเพดานชั้นสอง และประดับดวยกระเบื้องเขียวเขา Phetchaburi 95


กันกับบริเวณโดยรอบโถงบันได ที่ หัวเสาตาม ราวบันไดโคงมีตุกตา กระเบื้องรูปเด็กในอิริยาบถตางๆ ประดับไว รอบบริเวณโถงบันไดชั้น บนยังมีกรอบลูกไมกระเบือ้ งเคลือบ ประดับตามชองโดยรอบอีกดวย นอกจากนี้ การตกแตงภายใน แตละหอง ยังแตกตางกันทั้งสีสัน และวัสดุทใี่ ช เชน บริเวณโถงบันได ใช โ ทนสี เ ขี ย ว ห อ งเสวยใช โ ทนสี เหลือง ตกแตงชองประตูดวยเหล็ก ดัดแบบอารต นูโว และประดับผนัง ดวยแผนกระเบื้องเคลือบสีเหลือง สด ตัดกรอบดวยกระเบือ้ งเขียวเปน ชองๆ ตามแนวยืน โดยกระเบื้อง ประดั บ ผนั ง มี ล วดลายนู น เป น รู ป สัตวและพรรณพืชตางๆ แทรกอยู เปนระยะๆ หองพระบรรทมใชโทน สีทอง โดยตกแตงเสาในหองดวย แผนโลหะสีทองขัดเงาดุนลาย หัว เสาเป น ภาพเขี ย นแจกั น ดอกไม หลากสี บนพื้นครึ่งวงกลมสีทอง ดู สงางามและมลังเมลือง

96

พระรามราชนิเวศน เปดใหเขาชมทุกวันตัง้ แตเวลา 8.00 – 16.00 น. คาเขาชม ผูใ หญ 20บาท เด็ก 10 บาท สําหรับผูที่ตองการจะเขาชมเปนหมูคณะ และตองการวิทยากรบรรยาย สามารถทํา หนังสือถึง ผูบังคับการทหารบกจังหวัดเพชรบุรี คายรามราชนิเวศน อําเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี 76000 โทร. (032) 428506-10 ตอ 259


¾ÃÐÃÒª¹ÔàÇȹ ÁĤ·ÒÂÇѹ พระราชนิเวศนมฤคทายวัน ตั้งอยูในคายพระรามหก อําเภอชะอํา จังหวัดเพชรบุรี เปนพระราชวังฤดูรอน ซึ่งพระบาท สมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 6 ทรงรางแบบดวย ฝพระหัตถของพระองคเอง โดยมี เจาพระยายมราช (ปน สุขุม) เสนาบดีกระทรวงมหาดไทย เปนผูอ าํ นวยการกอสราง และสราง แลวเสร็จในป 2467 ลักษณะสถาปตยกรรมเปนแบบไทยประยุกต หลังคาทรงปน หยา สรางดวยไมสกั ทองทัง้ หลัง มีสองชัน้ ใตถนุ สูง พืน้ ลางเทคอนกรีต ประกอบดวยพระที่นั่งสําคัญ 3 องค เชื่อมตอถึงกันดวยแนวระเบียงทางเดินมีหลังคาคลุม พื้นระเบียงและพระที่นั่งทําดวยไมสักลงเงาสวยงาม สวนเพดาน ใชคานไมดัดโคงบรรจุ ระหวาง ชวงเสาทุก ชวงตลอดแนวระเบียงแลดูสวยงามออนชอย พระทีน่ งั่ สามหมู ประกอบดวย พระที่นั่งสโมสรเสวกามาตย สรางเพื่อเปนที่ ประชุมและจัดงานสโมสรตางๆ รวมถึงการแสดงละคร ซึ่งพระองคโปรดอยางยิ่ง ลักษณะเปนอาคาร ไมสอง ชั้น รูปสี่เหลี่ยมผืนผา ชั้นลางเปนโถงโลง ชั้นบนดานทิศ

Phetchaburi 97


ใต มีระเบียงเปนที่ประทับ เวลาเสด็จออก และมี ระเบียบรอบ ปลอยสวนกลางโลง หลังระเบียงที่ประทับ มีหองซึ่งปจจุบัน จัดแสดงเรื่องราว และสิ่งของที่เกี่ยวของ กับความเปนมา และการบูรณะพระราช นิเวศนแหงนี้ไวอยางนาชม พระที่ นั่ ง สมุ ท รพิ ม าน เป น ที่ ประทับในพระบาทสมเด็จ พระมงกุฎ เกล า ฯ อาคารด า นหน า ประกอบ ดวย หองสรง หองพระบรรทม และ หองทรงพระอักษร ซึ่งมีการจัดวาง สิ่งของเครื่องใช และเครื่องเรือน สวน พระองคใหชม อาคารสวนกลางเปน หองโลงกวางมีเพียงลูกกรงกั้นโดย รอบ ลักษณะคลายศาลา เปนที่ซึ่งพระองคโปรด ประทับในเวลากลางวัน ปจจุบันจัดตั้งโตะหมูบูชาประดิษฐาน พระบรมรูปใหคน ทัว่ ไปไดสกั การะ จากดานหนาของพระทีน่ งั่ องคนี้ มีทางเดินทอดยาวไปจดชายหาด พรอมทั้งมีพลับพลาสําหรับเปลี่ยนเครื่องทรง เมื่อเสด็จลงสรงนํ้าทะเลดวย 98


เสนทางทองเที่ยว

“á¡‹§¡ÃШҹ”

ÍØ·ÂÒ¹áË‹§ªÒµÔ·èãÕ ËÞ‹·èÊÕ Ø´ã¹»ÃÐà·Èä·Â


“เรือ่ งปาตนนํา้ ลําธารของแมนาํ้ เพชรบุรี ขอใหเจาหนาที่ ดูแลรักษาอยาใหมกี ารลักลอบตัดไม ถางปาทําไรในปาตนนํา้ ของแมนํ้าเพชรบุรี เพราะจะทําใหเกิดความแหงแลงแมจะ ไดมีการใหสัมปทานปาแปลงนี้ไปบางแลว ก็ขอใหเจาหนาที่ ตรวจดูแลการทําไมอยาใหเปนการทําลายปาเกิดขึ้น” จากพระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เมื่อ คราวที่ไดเสด็จพระราชดําเนินไปเขื่อนแกงกระจานในป 2522 และนโยบายรัฐบาลในขณะนัน้ มีมติของคณะรัฐมนตรี ใหประกาศ พืน้ ทีป่ า ตนนํา้ ลําธารของแมนาํ้ เพชรบุรแี ละแมนาํ้ ปราณบุรี มีภเู ขา สลับซับซอนสภาพปาสมบูรณ มีนํ้าตก ถํ้า หนาผา ทะเลสาบ พันธุ ไมมีคานานาชนิดและเปนแหลงที่อยูอาศัยของสัตวปาตางๆ เชน เลียงผา วัวแดง กระทิง นกและชางปาสัตว ฯลฯ จัดตั้งเปนเขต “อุทยานแหงชาติแกงกระจาน” ลําดับที่ 28 ของประเทศ เมื่อวัน ที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2534 จากนั้นกรมป ่าไมไดมีการสํารวจพื้นที่ ปาโดยรอบหลายครั้งและไดรวมพื้นที่เขากับเขตอุทยานฯ ในที่สุด เขตพื้นที่ของอุทยานแหงชาติแกงกระจานจึงมีพื้นที่มากที่สุดใน ประเทศไทย โดยมีพื้นที่ครอบคลุมทองที่อําเภอหนองหญาปลอง อําเภอแกงกระจาน จังหวัดเพชรบุรี และอําเภอหัวหิน จังหวัด ประจวบคีรีขันธ รวมพื้นที่ปาประมาณ 1,821,687.84 ไร หรือ 2,914.70 ตารางกิโลเมตร ทั้งนี้เพื่อใหเปนแหลงพักผอนหยอนใจ และศึกษาความรูดานตาง ๆ และเพื่อรักษาทรัพยากรธรรมชาติ ใหคงอยูเปนสมบัติของชาติถาวรสืบไปดังพระราชประสงคของ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว Phetchaburi 101


ลักษณะเด่นของอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน มีลกั ษณะเด่นทางธรรมชาติที่ ส�าคัญหลายแห่ง เช่น ทะเลสาบ น�้าตก ถ�้า หน้าผาที่สวยงาม โดย เฉพาะพืชพรรณและสัตว์ป่านั้นก็มีความหลากหลาย ดังนี้ หลากหลายปาไมและพันธุไมในเขตอุทยานฯ อุทยานแห่งชาติแก่งกระจานปกคลุมด้วยพื้นที่ป่าร้อยละ 85.64 ประกอบด้วยชนิดป่าที่ส�าคัญ 4 ชนิด ได้แก่ ปาดงดิบชื้น พบขึ้นอยู่เป็นบริเวณกว้างในระดับความสูง ประมาณ 400 เมตรจากระดับน�้าทะเลปานกลางขึ้นไป พันธุ์ไม้ที่ ส�าคัญได้แก่ กระลอขน ตะแบก เสลา มะค่าโมง เขม่าสาย ยาง โอน เสม็ดฟอง พญารากด�า มะกอกแบน นกน้อย ผมหอม ตาเสือ เสม็ดเขา หนามขี้แรด ชมพูป่า ฯลฯ ส่วนพืชพื้นล่างโดยทั่วไปเป็น ลูกไม้ กล้าไม้ ของไม้ชนั้ บน รวมทัง้ ไม้เถา เช่น เถากระไดลิง เป็นต้น

102

ปาดงดิบแลง พบขึน้ กระจายอยูท่ วั่ พืน้ ที ่ โดยเฉพาะตามทีล่ มุ่ ริมฝง น�า้ ในหุบเขา ไหล่เขา และทีร่ าบต�า่ ระหว่างภูเขา ทีร่ ะดับความ สูงประมาณ 400-500 เมตรเหนือระดับน�้าทะเลปานกลาง พันธุ์ไม้ ที่ส�าคัญ ได้แก่ ด�าดง สมอ จัน ข่อยหนาม กระเบากลัก หมากเล็ก หมากน้อย ถอบแถบ ดีหมี กระเบากลัก กระชิด หงอนไก่ดง ฯลฯ ส่วนพืชพืน้ ล่างโดยทัว่ ไปเป็นลูกไม้ กล้าไม้ ของไม้ชนั้ บน รวมทัง้ ไม้ เถา เช่น ก�าลังหนุมาน สะแกวัลย์ หวายลิง เป็นต้น ปาเบญจพรรณ พบขึน้ อยูท่ างตอนกลางและส่วนเหนือของ อุทยานแห่งชาติ พันธุไ์ ม้ทสี่ า� คัญ ได้แก่ ตีนนก แดง ตะคร�า้ มะกอก ประดู่ ตะแบก อ้อยช้าง ตะโก ตีนเป็ด งิ้วป่า โมกมัน ติ้ว ฯลฯ ส่วน พืชพืน้ ล่างโดยทัว่ ไปเป็นลูกไม้ กล้าไม้ ของไม้ชนั้ บน รวมทัง้ ไผ่ หญ้า คา หญ้าปล้อง และไม้เถา เป็นต้น ป า เต็ ง รั ง พบขึ้ น อยู ่ ท างทิ ศ เหนื อ และทิ ศ ตะวั น ออกของ อุทยานแห่งชาติในระดับความสูง 200-400 เมตรจากระดับน�า้ ทะเล ปานกลาง พันธุไ์ ม้ทสี่ า� คัญ ได้แก่ เต็ง พลวง พะยอม ประดู ่ ตะแบก เปล้าหลวง แดง ฯลฯ ส�าหรับพืชพื้นล่างประกอบด้วย หญ้า ลูกไม้ ของไม้ชั้นบน และไม้เถา เป็นต้น


ศูนยรวมสัตวปาจากเหนือจรดใต เนือ่ งจากอุทยานแห่งชาติแก่งกระจานอยูใ่ นเทือกเขาตะนาว ศรีซงึ่ เชือ่ มต่อกับเทือกเขาภูเก็ตของภาคใต้และตอนเหนือเข้าไปใน ประเทศพม่า สัตว์ป่าจากประเทศอินเดียและพม่าจะแพร่กระจาย ลงมาทางทิศตะวันตกของประเทศลงมาถึงบริเวณนี ้ และพวกสัตว์ ป่าจากประเทศมาเลเซียก็จะแพร่กระจายขึน้ มาตามเทือกเขาภูเก็ต มาถึงบริเวณนี้เช่นเดียวกัน ดังนั้นป่าแก่งกระจานจึงเป็นเสมือนศูนย์รวมสัตว์นานาชนิด จากทิศเหนือและทิศใต้ โดยมีสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมกว่า 57 ชนิด ชนิด เช่น ช้างป่า หมีหมา หมาไน หมาจิ้งจอก เสือดาว เสือโคร่ง เลียงผา สมเสร็จ สมเสร็จมาเลย์ วัวแดง กวางป่า เก้งหม้อ ชะนี มือขาว ลิงเสน อีเห็น ฯลฯ มีนกมากกว่า 400 สายพันธุ์ โดยเฉพาะ นกเงือกมีถึง 6 ชนิด นกอินทรีย์ด�า นกแว่นสีน�้าตาล นกกระสา คอขาว นกหัวขวาน ไก่ปา่ เหยีย่ ว นกกินปลาใหญ่หวั เทา นกเค้าหน้า ผากขาว ฯลฯ สัตว์เลื้อยคลานและสัตว์ครึ่งบกครึ่งน�้า อาทิ กบทูด ปาดยักษ์ เต่าหก จิ้งเหลนภูเขาสีจาง เป็นต้น นอกจากนี้ในบริเวณ ล�าธารและอ่างเก็บน�้า ส�ารวจพบปลาน�้าจืดอาศัยอยู่หลายชนิด เช่น ปลานางอ้าว ปลาซิวใบไผ่ ปลาขี้ยอก ปลากระสูบขีด ปลา กดเหลือง ปลาดุกด้าน ปลากระทุงเหว ปลาหมอช้างเหยียบ ปละ กระสง และปลากระทิง ฯลฯ Phetchaburi 103


นํ้าตกทอทิพย

แหล่งท่องเที่ยวสําคัญ แม้ว่าอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน จะได้ชื่อว่าเป็นอุทยานที่ ใหญ่ที่สุดของประเทศไทย แต่ก็ยังเป็นอุทยานที่รักษาสภาพความ เป็นธรรมชาติได้ได้อย่างดี จ�านวนนักท่องเที่ยวยังไม่พลุกพล่าน เท่ากับอุทยานแห่งชาติอื่นๆ เรียกว่าเหมาะอย่างยิ่งกับนักนิยม ธรรมชาติตัวจริง ในเขตอุทยานมีแหล่งท่องเที่ยวมากมาย อาทิ นํ้าตกทอทิพย นักท่องเที่ยวสามารถเดินทางไปชมได้โดย ทางรถยนต์ เพราะเป็นเส้นทางที่พัฒนาเพื่อการท่องเที่ยวโดย เฉพาะ ระหว่างทางสามารถชมทิวทัศน์ได้ตลอดสายเห็นภูเขา ทะเล หมอก ป่าเขียวขจี และพบเห็นสัตว์นานาชนิด จุดเริ่มต้นของทาง ลงเขาสู่น�้าตกทอทิพย์อยู่บริเวณ กม. 36 สุดทางของเส้นทางสาย วังวน-พะเนินทุ่ง เป็นทางดิ่งลงเขาตลอดระยะทาง 4 กิโลเมตร ตัว น�้าตกมีถึง 9 ชั้น สายน�้าไหลลดหลั่นลงมาเป็นทางยาวตามความ ชันของพืน้ ที ่ สามารถเดินเลาะข้างน�า้ ตกลงมาจนครบทุกชัน้ ปลาย ทางของสายน�้าจะไหลลงสู่แม่น�้าเพชรบุรี บริเวณริมแม่น�้าเป็นจุด กางเต็นท์พักแรมที่เรียกว่า เคยู แค็มป

104


นํ้ า ตกป า ละอู อยู่ทางตอนใต้ของอุทยานแห่ง ชาติ แ ก่ ง กระจาน ในท้ อ งที่ อ� า เภอหั ว หิ น จั ง หวั ด ประจวบคีรีขันธ์ ห่างจากหัวหินประมาณ 60 กิโลเมตร เป็นน�้าตกขนาดใหญ่ มีความสูง 15 ชั้น ไหลลดหลั่น ลงมาเป็นทางยาว ชั้นที่ 1-3 เหมาะส�าหรับการเล่นน�้า เนื่องจากน�้าตกชั้นที่สูงขึ้นไปต้องปีนป่ายไปตามโขด หินสูงชัน น�้าตกชั้นที่สวยที่สุดคือ น�้าตกชั้นที่ 7 มีแอ่งน�้า ใหญ่อยู่ท่ามกลางป่าร่มครึ้ม ใกล้หน่วยพิทักษ์อุทยาน แห่งชาติที่ กจ.3 (ห้วยป่าเลา) บริเวณนี้ทางอุทยานแห่ง นํ้าตกปาละอู

ชาติจดั ให้มพี นื้ ทีก่ างเต็นท์ บ้านพัก และค่ายพักแรม โทรศัพท์ สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ 08 7161 2922 ถํ้ า วิ ม าน ภายในถ�้ า มี หิ น งอกหิ น ย้ อ ยที่ ส วยงาม มี อากาศเย็นสบาย นอกจากนัน้ ยังมีหลักฐานการอาศัยอยูข่ อง มนุษย์ในยุคโบราณ เช่น เซรามิกส์ และขวานหิน ทีร่ าบหนุมาน (เขาปะการัง) เป็นภูเขาหินทีม่ ลี กั ษณะ เหมือนปะการังใต้น�้า เป็นบริเวณที่มีค่างและชะนีอาศัยอยู่ มากและเป็นจุดชมวิวที่ดี เขาพะเนินทุง่ อยูห่ า่ งจากทีท่ า� การอุทยานแห่งชาติ 50 กิโลเมตร เป็นเขาทีส่ งู ประมาณ 1,207 เมตรจากระดับน�า้ ทะเล ปานกลาง จึงมีความหนาวเย็นตลอดปี บนยอดเขาปกคลุม ด้วยทุ่งหญ้าและไม้ต้นเล็กๆ ประกอบด้วยทิวทัศน์ที่งดงาม ทั้งยามปกติ และยามมีทะเลหมอกในช่วงปลายฤดูฝนและ ต้นฤดูฝนหนาวที่งดงามที่สุดแห่งหนึ่ง การเดินเท้าขึ้นยอดเขาพะเนินทุ่งมี 2 เส้นทาง เส้นทาง แรกเริม่ จาก กม. ที ่ 27.5 ของเส้นทางสายวังวน-พะเนินทุง่ โดย เดินข้ามล�าธารหลายสายก่อนขึน้ ถึงยอดเขา ใช้เวลาประมาณ 6 ชั่วโมง อีกเส้นทางหนึ่งเริ่มจากบริเวณ กม. ที่ 30 ของเส้น ทางสายวังวน-พะเนินทุ่ง ใช้เวลาเพียง 4 ชั่วโมง แต่ต้องข้าม เนินเขาหลายลูก ผู้สนใจต้องติดต่อขอเจ้าหน้าที่ช่วยน�าทาง เนื่องจากเส้นทางบ้านกร่าง-เขาพะเนินทุ่ง เป็นเส้น ทางที่ลาดชัน บางช่วงแคบ ผ่านหน้าผา อุทยานแห่งชาติ แก่งกระจานจึงก�าหนดเวลาขึ้น-ลงส�าหรับรถยนต์ที่ใช้เส้น ทางนี ้ เพือ่ ความปลอดภัยของนักท่องเทีย่ ว ดังนี ้ เวลาขึน้ จาก บ้านกร่าง 05.30 น. -07.30 น. เวลาลงจากเขาพะเนินทุ่ง 09.00 น.-10.00 น. และ 16.00 น.-17.00 น. ส่วนนักท่องเทีย่ ว Phetchaburi 105


106


ที่เดินทางเพื่อพักค้างแรมที่เขาพะเนินทุ่ง ก�าหนดให้เดินทางดังนี้ คือ เวลาขึ้นจากบ้านกร่าง 13.00 น.-15.00 น. เวลาลงจาก เขาพะเนินทุ่ง 09.00 น.-10.00 น. และ 16.00 น.-17.00 น. กิจกรรมท่องเที่ยวที่น่าสนใจ ชมทะเลหมอก สามารถชมทะเลหมอกได้เกือบตลอดปี ตรงจุดชมวิวบริเวณ กม.ที่ 36 ของเส้นทางสายวังวน-พะเนินทุ่ง ก่อนถึงทางลงสู่น�้าตกทอทิพย์ ในยามเช้าจะมองเห็นทะเลหมอก สีขาวปกคลุมทั่วหุบเขา เมื่อทะเลหมอกสลายตัวไปแล้วจะมอง เห็นผืนป่าดงดิบเบือ้ งล่างเบียดตัวกันแน่น ท่ามกลางเทือกเขาสลับ ซั บ ซ้ อ นกว้ า งไกลสุ ด ตา บางครั้ ง อาจพบนกกกและนกเงื อ ก กรามช้างบินอยู่เหนือผืนป่า การเดินทางขึ้นสู่จุดชมทะเลหมอกใช้ เส้นทางขึน้ เขาทีม่ กี า� หนดเวลาแน่นอนในการขับรถยนต์ขนึ้ เขาและ ลงเขา ทั้งนี้นักท่องเที่ยวที่จะชมทะเลหมอกต้องกางเต็นท์พักแรม ที่หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติ (พะเนินทุ่ง) บริเวณ กม.30 เพื่อ ตื่นขึ้นมาชมทะเลหมอกในยามเช้า ดูนก จุดที่น่าสนใจส�าหรับการดูนกส่วนใหญ่อยู่ตามเส้น ทางสายวังวน-พะเนินทุ่ง บริเวณกิโลเมตรที่ 15 มีนกพญาปาก กว้าง นกบั้งรอก นกหัวขวาน นกแต้วแล้ว และนกเงือกหลายชนิด ช่วงกิโลเมตรที่ 26 - 29 มีนกเสือแมลงหัวขาว นกกะรางหัวหงอก โดยเฉพาะนกกะลิงเขียดหางหนาม ซึ่งมักหากินรวมฝูงอยู่กับนก ระวังไพรปากแดงสั้น จากบริเวณนี้เป็นต้นไป สามารถพบนกทาง ภาคเหนือ เช่น นกปรอดหัวตาขาว นกเสือแมลงปีกแดง นกกะลิง เขียดสีเทา ฯลฯ ช่วงเวลาที่เหมาะสมในการดูนก คือ ตั้งแต่เวลา 07.00-10.00 น. และ 15.00-17.00 น. ดูผีเสื้อ จุดที่น่าสนใจส�าหรับการดูผีเสื้ออยู่บนเส้นทางสาย วังวน-พะเนินทุง่ โดยเริม่ ตัง้ แต่กโิ ลเมตรที ่ 10 เป็นต้นไป จะพบผีเสือ้ ตามสองข้างทาง บริเวณแอ่งน�้ามีผีเสื้อหนอนจ�าปีจุดแยก ผีเสื้อ

Phetchaburi 107


สะพายฟา ผีเสือ้ วาวสีตา งฤดู ตามพุม ไมมผี เี สือ้ กะลาสีธรรมดา ผีเสื้อสีตาลจุดตาหา ผีเสื้อ ชางรอน ตามกองมูลสัตวมีผีเสื้อเหลืองหนาม ธรรมดา ผีเสื้อตาลหนามใหญ จากหนวย พิทักษอุทยานแหงชาติที่ กจ. 4 (บานกราง) อาจพบผีเสือ้ หางติง่ สะพายเขียวซึง่ เปนผีเสือ้ หายากชนิดหนึง่ โดยชวงเวลาทีเ่ หมาะสมใน การดูผเี สือ้ คือ ตัง้ แตเวลา 10.00 - 14.00 น. ลองแพ/ลองเรือ พายเรือแคนู/คยัค ชมทิ ว ทั ศ น และแค ม ป ป   ง ที่บริเวณ อ า งเก็ บ นํ้ า แก ง กระจาน ซึ่ ง มี เ นื้ อ ที่ ประมาณ 46.5 ตารางกิโลเมตร เกิดจาก การสรางเขื่อนดินปด 3 ชองทางระหวาง หุบเขา ทําใหนํ้าเออลนทวมแกงนํ้าเดิม เปนพื้นนํ้าอาณาเขตกวางขวางจากยอดเขา เนินเขาหลากเปนเกาะโผลพนนํ้าถึง 30-40 เกาะ กอใหเกิดทิวทัศนงดงามยิ่งเหมาะสําหรับการนั่งเรือ ชมทัศนียภาพและชมพระอาทิตยตกยามเย็นที่สันเขาตะนาวศรี 108


เขตอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน (รวมบริเวณบ้านกรางและพะเนินทุ่ง) จะปดไม่ใหนักท่องเที่ยวเขาใน ฤดูฝนตั้งแต่เดือนสิงหาคมถึงตุลาคมของทุกป เพื่อความปลอดภัยของนักท่องเที่ยวและการฟนตัวของป่า สนใจ สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ “อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน” ต.แก่งกระจาน อ.แก่งกระจาน จ.เพชรบุรี 76170 โทรศัพท์ 0 3246 7326, 08 6166 2991, 0 3245 9293, 0 32433658 โทรสาร 0 3245 9291

Phetchaburi 109


เสนทางธรรมหนุนนําชีวิต

äËÇŒ¾Ãдѧ àÁ×ͧྪÃ

ù

ͧ¤ ÇÑ´

เปนทีท่ ราบกันดีวา จังหวัดเพชรบุรนี นั้ มีความสําคัญมาตัง้ แตสมัยอยุธยาเปนราชธานี ทัง้ ในฐานะของการ เปนเมืองหนาดาน เปนแหลงสะสมเสบียง และเปนเมืองทาขึ้นลองจากอยุธยาไปเมืองมะริดและเมืองตะนาว ศรี ดังนัน้ ในเมืองเพชรจึงมีผคู นอาศัยอยูม ากมายและผูค นในยุคนีต้ า งมีความศรัทธาในพระพุทธศาสนามาก จึงชอบทําบุญสรางสมบารมีดวยการสรางวัดตาง ๆ ขึ้นหลายแหง และทุกวันนี้พุทธศาสนิกชนก็ยังนิยมไป ไหวพระใหครบ 9 วัดในวันเดียว ดวยความเชื่อวาจะไดบุญมากและเพื่อเสริมความเปนสิริมงคลแกชีวิตดวย พระศักดิ์สิทธิ์ทั้ง 9 องค 9 วัด ซึ่งเปนปูชนียวัตถุเกาแกคูบานคูเมืองเพชรบุรีมาชานาน ไดแก

1.“ËÅǧ¾‹ Í ·Í§ÇÑ ´ à¢ÒµÐà¤ÃÒ” เปน

พระพุทธรูปนั่งปรกมารวิชัยหรือปางสะดุงมาร หลอดวยเนื้อ ทองหรือทองสัมฤทธิ์ ประดิษฐานอยูภายในศาลาวัดเขาตะ เครา อําเภอบานแหลม เปนวัดเกาแกที่มีชื่อเสียงมาแตโบราณ พุทธศาสนิกชนตางเคารพนับถือรํ่าลือในความศักดิ์สิทธิ์ไดมา นมัสการปดทององคหลวงพอมานานนับรอยป กระทั่งทองคํา เปลวที่ ป  ด บนองค ท  า นพู น หนาทั้ ง องคจนกลมเหมือนลูกฟก จึง เรียกขานวา “หลวงพอ ทองวัดเขาตะเครา”

110


2. “ËÅǧ¾‹ÍÊÑÁÄ·¸ÔÇì ´Ñ µŒ¹Ê¹” ประดิษฐาน

อยูในวิหารวัดตนสน อําเภอบานแหลม เปนพระพุทธรูปเนื้อ สัมฤทธิ์ประทับยืนบนฐานยกพระหัตถทั้งสองในลักษณะปาง หามสมุทร ศิลปะสมัยลพบุรี มีกษัตริยมอญเปนผูสรางขึ้นราว พ.ศ.1600 ตามตํานานเลาวา หลวงพอสัมฤทธิ์วัดตนสน และ หลวงพอทองวัดเขาตะเครา เปนพี่นองกัน เดิมทั้ง 2 องคลอย นํ้ามา โดยหลวงพอสัมฤทธิ์ลอยมาติดที่ทา หนาวัดตนสน ชาวบานจึงไดอัญเชิญ มาประดิ ษ ฐานที่ วั ด และเป น ที่ เคารพนั บ ถื อ สั ก การบู ช าของ พุ ท ธศาสนิ ก ชนทั่ ว ไปตั้ ง แต อดีตจนถึงปจจุบัน

Phetchaburi 111



4. “ËÅǧ¾‹ÍÇÑ´ãËÞ‹ÊØÇÃóÒÃÒÁ” เปนวัด

เกาแกที่สรางในสมัยกรุงศรีอยุธยา มีการปฏิสังขรณครั้งใหญใน สมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจา อยูหัว(รัชกาลที่ 5) ภายในอุโบสถ ประดิษฐานพระพุทธรูปปูนปน ลงรั ก ป ด ทองปางมารวิ ชั ย เปนองคประธาน ดานหลัง พระประธานประดิษฐาน ด ว ยพระพุ ท ธรู ป โลหะ ปางมารวิชัย ที่แตกตาง จากพระพุ ท ธรู ป องค อื่ น เนื่ อ งจากพระบาทขวามี 6 นิ้ว

Phetchaburi 113


5. “¾Ãй͹ÇÑ´¾Ãоط¸äÊÂÒʹ ” ประดิษฐาน อยูภ ายในพระวิหารวัดพระพุทธไสยาสน (เชิงเขาวังทิศใต) อําเภอ เมืองเพชรบุรี เปนวัดเกาแกสมัยอยุธยา เปนพระพุทธรูปปาง ไสยาสน ยาว 21 วา 1 ศอก 1 คืบ 12 นิ้ว ฝ มื อ ช า งเอกสมั ย อยุ ธ ยาสร า งด ว ย อิ ฐ ลงรั ก ป ด ทองตลอดทั้ ง องค งดงามสมบูรณแบบ ปจจุบัน พระนอนวัดไสยาสนองคนมี้ ี ความยาวเปนอันดับ 4 ของ ประเทศไทย

114


6. “¾ÃÐËǧÇÑ´·‹ÒäªÂ” หรือ “¾Ãоط¸ÈÔÃâÔ Ã¨¹ ”

เปนพระพุทธรูปสําริด ปางหามญาติ ศิลปะสมัยลพบุรีรุนหลังอายุ มากกวา 700 ป ประดิษฐานอยูภายในโบสถวัดทาไชยศิริ เปน พระประธานเก า แก แ ละมี ลั ก ษณะพิ เ ศษมี เ พี ย ง 1 ใน 3 ของวัดทั่วประเทศที่มีพระประธานทายืน ประดิษฐานในพระอุโบสถ

Phetchaburi 115


7. “ËÅǧ¾‹ÍྪÃÇѴྪþÅÕ” เปนพระพุทธรูป

ปางสมาธิ รูปสวนสันทัดเนื้อหินเขียวขาวสลักหินเรียบ ประทับ นั่งในซุมบนกําแพงวัดเพชรพลี ซึ่งเปนวัดเกาแกในสมัยตนของ สุวัณณภูมิ (อักขระตามจารึกในประวัติกระเบื้องจารโบราณ) ระหวางป พ.ศ. 272-273 หันพระพักตรเขาวัดซึ่งตรงกับ “บอนํ้า เพชรมหาไชย” คลายนัง่ เสกนํา้ ในบอใหเปนนํา้ พระพุทธมนตอนั ศักดิ์อยูตลอดกาล

116


8. “ËÅǧ¾‹Í´íÒÇÑ´¶íÒé ç¤ ” ประดิษฐานอยูใ นภูเขาหินปูนของวัด ถํา้ รงค อําเภอบานลาด เปนพระพุทธรูปโบราณศักดิส์ ทิ ธิป์ างหามญาติ สมัยทวารวดีที่มีอายุกวา 1,000 ป สลักขึ้นแบบนูนสูงลอยองค ประดิษฐานบนผนังถํ้าบริเวณขอเทาหลวงพอดํามีโซลามอยู ตํานานเลาวาหลวงพอดําเปนพระเจาชู เมื่อเห็นสาว ๆ จะ เขาไปพูดจาเกี้ยวพาราสี จนชาวบานอดทนตอพฤติกรรม ของหลวงพอดําไมไดจึงนําโซมาลามที่ขาไมใหออกไป พบปะพูดคุยกับใคร

Phetchaburi 117


9. “¾Ãоط¸ÃÙ»» ´·ÇÒ÷ѧé 9” ประดิษฐาน

อยูบริเวณริมชายหาดหนาวัดเนรัญชราราม อําเภอชะอํา เปนพระพุทธรูปปูนปนขนาดใหญลักษณะปดทวารทั้ง ๙ คือ ตาสอง จมูกสอง หูสอง ปากหนึ่ง ทวารหนักและทวาร เบา สรางขึ้นเพื่อเปนปริศนาธรรม วาปดหูซาย-ขวา เพื่อมิ ใหไดยินไดฟงสิ่งเปนอัปมงคล ปดตาสองขางไมรูไมเห็น สิ่งไมดีไมงาม ปดปากเสียบางคือไมวากลาวใหรายปายสี ผูอ นื่ เชือ่ วาหากเราทําไดอยางปริศนาธรรมตัวเราก็จะไมมี ทุกขฉันใดก็ฉันนั้น

ขอขอบคุณขอมูลจาก “อบจ.พาเที่ยว” วารสารสัมพันธ องคการบริหารสวนจังหวัดเพชรบุรี ปที่ 2 ฉบับที่ 17 ประจําเดือน พฤศจิกายน 2554 118


เสนทางพบองคการบริหารสวนตําบล (อ.เมือง)

1.

องคการบริหารสวนตําบลดอนยาง “ดอนยางเปนชุมชนนาอยู ประชาชน มีคณ ุ ภาพชีวติ ทีด่ ดี าํ รงชีวติ แบบเศรษฐกิจ พอเพียง รวมใจตานภัยยาเสพติด สงเสริม ผลผลิตทีม่ คี ณ ุ ภาพ มีการบริหารจัดการ ตามหลักธรรมาภิบาล” คื อ วิ สั ย ทั ศ น ก ารพั ฒ นาของ องคการบริหารสวนตําบลดอนยาง อําเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี ซึ่งปจจุบัน มี นายแสง มีทรัพย ดํารงตําแหนง นายกองค ก ารบริ ห ารส ว นตํ า บล ดอนยาง พรอมคณะผูบริหารประกอบ ดวย นายประเชิ ญ กลิ่ น พิ กุ ล และ นายมานะ ชื่นอารมย ดํารงตําแหนง รองนายกองค ก ารบริ ห ารส ว นตํ า บล ดอนยาง นายพรชัย พุฒเทศ ดํารง ตํ า แหน ง เลขานุ ก ารนายกฯ และมี นายพัสกร บุญผูก ดํารงตําแหนงปลัด องคการบริหารสวนตําบลดอนยาง ป จ จุ บั น องค ก ารบริ ห ารส ว น ตํ า บลดอนยางดํ า เนิ น งานในการ แก ไ ขป ญ หาและจั ด ทํ า โครงการเพื่ อ การพั ฒ นาตามความต อ งการของ ประชาชนในพื้ น ที่ ค รบทุ ก ด า น โดย เฉพาะดานโครงสรางพื้นฐานปจจุบัน ถนนแทบทุกสายสรางเปนถนนคอนกรีต ทุกหมูบาน มีระบบไฟฟาทุกครัวเรือน มีการบริหารจัดการประปาหมูบานจน เป น นํ้ า ประปาดื่ ม ได ตั้ ง แต ป  2556

นายแสง มีทรัพย

นายกองคการบริหารสวนตําบล ดอนยาง

2.

3. 4.

เป น ต น ตลอดจนสนั บ สนุ น ส ง เสริ ม กิ จ กรรมการศึ ก ษาและการกี ฬ าแก เยาวชน ด า นการสาธารณสุ ข และ สิ่งแวดลอม และการอนุรักษวัฒนธรรม และประเพณีทองถิ่น

ผลการดําเนินงานที่ผานมาถือได วา การพัฒนาขององคการบริหารสวน ตําบลดอนยางประสบความสําเร็จ เปน ที่ ย อมรั บ สามารถแก ไ ขป ญ หาและ ตอบสนองความตองการของประชาชน ในพื้นที่ไดเปนอยางดี ครอบคลุมถึงการ จัดสถานที่ที่สะดวกสบายและสะอาด เพื่อตอนรับประชาชนที่เขามาใชบริการ จนไดรับรางวัลชนะเลิศสํานักงานสวย สะอาด ตามโครงการ “ทองถิน่ เพชรบุรี สวยดวยมือเรา” 1. การแขงขันกีฬาตําบลดอนยาง ต า นยาเสพติ ด เพื่ อ ความปรองดอง สมานฉันท 2. การแขงขันจักรยานแรลลี่ตาน ยาเสพติด 3. โครงการสงเสริมการเรียนรูดาน วิ ช าการและวิ ช าชี พ ตํ า บลดอนยาง (ภาษาอังกฤษ) 4.โครงการส ง เสริ ม คุ ณ ธรรม จริยธรรมโดยการนําผูบริหาร สมาชิก สภา พนักงาน อบต. เขาวัด ฟงธรรมะ Phetchaburi 119


เส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�าบล (อ.เมือง)

“พั ฒ นาอย า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ สู  สังคม ASEAN” คือวิสัยทัศน์ของ องค์ ก ารบริ ห าร ส่ ว นต� า บลธงชั ย ซึ่งมีส�านักงานตั้งอยู่ เลขที่ 464 หมู่ที่ 8 ถ.คีรีรัฐยา ต.ธงชัย อ.เมือง จ.เพชรบุรี ปัจจุบนั มี นายประหยัด แสงหิรญ ั เปน นายกองค์การบริหารส่วน ต�าบลธงชัย และมี นายปรัชญา เมืองสุข ด�ารงต�าแหน่ง ปลัดองค์การบริหารส่วน ต�าบลธงชัย ยุทธศาสตร์การพัฒนา ผู้บริหารองค์การบริหารส่วนต�าบล ธงชัย ก�าหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาไว้ 8 ยุทธศาสตร์ ดังนี้ 1.ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านเศรษฐกิจ องค์ ก ารบริหารส่วนต�า บลธงชัย ส่งเสริมประชาชนให้ประกอบอาชีพ พึ่งพา ตนเองตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง ผลักดัน ให้มกี ระบวนการสร้างรายได้ให้กบั ประชาชน โดยส่งเสริมตั้งแต่กระบวนการผลิต การ จ�าหน่าย ส่งเสริมการรวมตัวกันเปนกลุ่ม อาชีพ กลุ่มเกษตรกร ส่งเสริมผู้ประกอบ การธุรกิจขนาดกลางและขนาดเล็ก เพื่อ เสริมสร้างกระบวนการสร้างรายได้ให้กับ ประชาชน

องคการบริหารสวนตําบลธงชัย

2. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ระบบสาธารณูปโภค และสาธารณูปการ องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� า บลธงชั ย จะพั ฒ นาระบบโครงสร้ า งพื้ น ฐานและ สาธารณูปโภค ก่อสร้างและปรับปรุงบ�ารุงรักษาทั้งถนน ทางระบายน�้า ปรับปรุงซ่อมแซม ถนน ทั้งสายหลัก และสายซอย เพือ่ ให้ประชาชนมีเส้นทางคมนาคมที่สะดวกรวดเร็ว และ ปลอดภัย ขยายเขตประปา ปรับปรุงและ พัฒนาแหล่งน�า้ เพือ่ ให้ประชาชนมีนา�้ เพียง พอต่อการอุปโภคบริโภคเพื่อการเกษตร ติดตั้งไฟฟ้าสาธารณะ และไฟส่องสว่าง ในซอยต่างๆ ครอบคลุมพื้นที่ต�าบลธงชัย โครงการวางท่อระบายน�้า ซอย จส. 8 หมู่ที่ 2 3. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านทรัพยากรธรรมชาติ สิง่ แวดล้อมและแหล่งท่องเทีย่ ว องค์การบริหารส่วนต�าบลธงชัย พัฒนาโครงสร้างทางด้านบริการสาธารณะบน เขาหลวงเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยว กระจายรายได้ให้แก่ประชาชนในต�าบลธงชัย และ ส่งเจ้าหน้าที่ลงตรวจพื้นที่ และเก็ บ ก� า จั ด ขยะและ เศษวัสดุตา่ งๆ ทีม่ คี นน�ามา ทิง้ ไว้ตามข้างทาง เช่น ศาล พระภูมิ และเศษวัสดุตา่ งๆ ถ�า้ วิมาณจักรี (ถ�า้ เขาหลวง) เปนสถานที่ท่องเที่ยวที่มี ชื่อเสียงในจังหวัดเพชรบุรี

โครงการสาธิตการท�าตุก ตาโมบายลดกลิน่ อับ เพื่อจ�าหน่ายเปนอาชีพเสริม โดยสาธิต ทั้ง 9 หมู่ 4. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านแหล่งน�้า องค์การบริหารส่วนต�าบลธงชัย ได้ ขุดลอกคลองส่งน�า้ และระบายน�า้ เพือ่ ก�าจัด วัชพืช ให้น�้าระบายได้สะดวก ซึ่งเปนคลอง โครงการสาธิตการท�าปอเปยะสดเพื่อเปน ชลประทานทีใ่ ช้สง่ น�า้ เพือ่ การเกษตร ให้กบั อาชีพเสริมเพื่อสร้างรายได้ ทั้ง 9 หมู่ หมู่ที่ 4, หมู่ที่ 5, หมู่ที่ 6, หมู่ที่ 7 120

ให้เจ้าหน้าทีจ่ ดั เก็บศาลพระภูมทิ มี่ คี นน�ามา ทิ้งไว้ ตามข้างทาง

โครงการขุดลอกคลองก�าจัดวัชพืช เพือ่ ระบาย น�้าได้สะดวก คลองชลประทานทีใ่ ช้สง่ น�า้ เพือ่ การเกษตร ให้กับ หมู่ที่ 4, หมู่ที่ 5, หมู่ที่ 6, หมู่ที่ 7


5. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการศึกษา ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนต�า บลธงชัย ส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนในพื้นที่ได้รับ การศึกษาอย่างเสมอภาค ได้ตรวจเยี่ยม ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กต�าบลธงชัย และส่งเสริม ให้เด็กๆ ได้เรียนรู้และร่วมกิจกรรมนอก สถานที่

โครงการ “ชาวเบาหวานวางใจห่างไกลจาก ภาวะแทรกซ้อน”

นายประหยัด แสงหิรัญ นายประหยัด แสงหิรัญ นายกองค์การ บริหารส่วนต�าบลธงชัย และคณะผูบ้ ริหาร ได้ ต รวจเยี่ ย มศู น ย์ พั ฒ นาเด็ ก เล็ ก ของ ต�าบลธงชัย

โครงการพ่นหมอกควัน ป้องกันโรคไข้เลือดออก 7. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านคุณภาพ ชีวิต องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� าบลธงชั ย ส่งเสริมสนับสนุนและพัฒนาคุณภาพชีวิต คนในชุมชนให้ครอบคลุมทุกด้าน

กิจกรรมเสริมสร้างนันทนาการให้สมวัย กับเด็กๆ

กิจกรรมพัฒนาศูนย์เด็กเล็กสัมพันธ์

6. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านสาธารณสุข องค์การบริหารส่วนต�า บลธงชัย จะส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนมี สุขภาพที่ดีถ้วนหน้า ควบคู่ไปกับความรู้ การป้องกัน และการควบคุมทั้งโรคติดต่อ และไม่ตดิ ต่อให้กบั ประชาชน เพือ่ ยกระดับ คุ ณ ภาพชี วิ ต ของประชาชนในต� า บลกั บ คุณฯภาพชีวิตของประชาชนในต�าบล

บริการตรวจสุขภาพแก่ผสู้ งู อายุให้คา� แนะน�า และปรึกษาด้านสุขภาพ

นายกองค์การบริหารส่วนต�าบลธงชัย 8. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการบริหาร จัดการทีด่ ี และส่งเสริมประชาธิปไตย องค์ ก ารบริ ห ารส่ว นต�า บลธงชัย ส่งเสริมให้ประชาชนในต�าบลมีส่วนร่วม ในการบริการจัดการภายในต�าบล เสนอ แนะแนวทางวิ ธี แ ก้ ป ั ญ หา และเสนอ โครงการต่างๆ เพื่อพัฒนาชุมชน

โครงการประชาคมหมู ่ บ ้ า นและรั บ ฟั ง ประชาชนเสนอปัญหา

กิจกรรมรณรงค์ต่อต้านยาเสพติด

องค์การบริหารส่วนต�าบลธงชัย เลขที่ 464 หมู่ที่ 8 ถ.คีรีรัฐยา ต.ธงชัย อ.เมือง จ.เพชรบุรี โทร. 032-780-242 121


เสนทางพบองคการบริหารสวนตําบล (อ.เมือง)

นายชุบ คลายคลึง นายกองคการบริหารสวนตําบลชองสะแก

องคการบริหารสวนตําบลชองสะแก “ต น สะแกเป น ตํ า นาน เล า ขาน กํ า แพงเมื อ ง ลื อ เลื่ อ งงานปู น ป  น ผลิ ต ภั ณ ฑ ข  า วเกรี ย บงา ภู มิ ป  ญ ญา นาฏศิลป ผืนแผนดินถิ่นคนดี นําวิถี ความพอเพียง” คื อ คํ า ขวั ญ ของตํ า บลช อ งสะแก ซึ่ ง อยู  ภ ายใต ก ารปกครองขององค ก าร บริ ห ารส ว นตํ า บลช อ งสะแก ซึ่ ง มี สํานักงานตั้งอยูหมูที่ 6 ตําบลชองสะแก อํ า เภอเมื อ ง จั ง หวั ด เพชรบุ รี ป จ จุ บั น มี นายชุบ คลายคลึง ดํารงตําแหนง นายก องคการบริหารสวนตําบลชองสะแก โดยบริ ห ารงานให เ ป น ไปตามวิ สั ย ทั ศ น ขององคการบริหารสวนตําบลชองสะแก ที่วา“โครงสรางพื้นฐานดี ประชาชนมี คุณภาพ เศรษฐกิจกาวหนา มุงสูการ พัฒนาแบบยั่งยืน” ขอมูลพื้นฐานและสภาพทั่วไป ตําบลชองสะแก มีเนื้อที่ประมาณ 13.73 ตารางกิ โ ลเมตร หรื อ ประมาณ 8,581.25 ไร มีประชากร รวมทั้งสิ้น 7,012 คน (ขอมูล ณ วันที่ 30 มิถนุ ายน 2557) พืน้ ที่ 122

สวนใหญของตําบลชองสะแก มีลักษณะ เปนพื้ น ที่ ลุ มดิ นดํ า เหมาะแก การเกษตร เป น พื้ น ที่ กึ่ ง เมื อ งกึ่ ง ชนบท ประชากร ส ว นใหญ ป ระกอบอาชี พ เกษตรกรรม เชน ทําสวน ทํานา เลี้ยงสัตว และการ แปรรูปสินคาเกษตร เชน นํ้าตาลโตนด ขาวเกรียบงา เปนตน ผลการดําเนินงานที่โดดเดน ศูนยพฒ ั นาเด็กเล็กองคการบริหาร สวนตําบลชองสะแก ด ว ยความตระหนั ก ว า การศึ ก ษา คื อ พื้ น ฐานสํ า คั ญ ในการพั ฒ นาคนให มี คุณภาพ องคการบริหารสวนตําบลชอง สะแก จึ ง ให ค วามสํ า คั ญ ในการจั ด การ ศึ ก ษาให กั บ ลู ก หลานของชาวตํ า บล ชองสะแก โดยมี “ศูนยพัฒนาเด็กเล็ก องคการบริหารสวนตําบลชองสะแก” เพื่ อ พั ฒ นาเด็ ก เล็ ก ให มี คุ ณ ภาพทั้ ง ทาง รางกาย สติปญญา มีความสุข มีความ พรอมที่จะศึกษาในระดับชั้นที่สูงขึ้น และ ประการสําคัญคือ เพื่อแบงเบาภาระการ ดูแลบุตรหลานใหกับชาวตําบลชองสะแก


1.

2.

และเปนทีท่ ราบกันดีวา งานศิลปะปูนปน ของ ชางเมืองเพชรนั้นมีความประณีต งดงาม ละเอียดและออนชอย ซึ่งเปนเอกลักษณที่ โดดเดนและขึ้นชื่อของจังหวัดเพชรบุรี ในตํ า บลช อ งสะแกมี บุ ค ลากรที่ มี บทบาทสํ า คั ญ ในการสืบสานงานศิล ปะ ปู น ป  น สองท า นได แ ก นายทองร ว ง เอมโอษฐ ศิลปนแหงชาติ สาขาทัศนศิลป (ประณีตศิลป-ศิลปะปูนปน ) ประจําป พ.ศ. 2554 และนายสมบั ติ พู ล เกิ ด บุคคล แหงป ประจําป 2555 ดานอนุรักษสืบสาน ศิลปะปูนปน โดยสามารถหาชมผลงาน ศิลปะปูนปน ไดหลายแหง เชน งานปูนปน

1. นายทองรวง เอมโอษฐ 2. นายสมบัติ พูลเกิด

ซึง่ การดําเนินงานทีผ่ า นมาของศูนยพฒ ั นา เด็กเล็กฯ ไดรับรางวัลมากมาย อาทิ ● ไดรับการประเมินรับรองเปนศูนย พั ฒ นาเด็ ก เล็ ก แหล ง เรี ย นรู  โ ภชนาการ สมวัยยอดเยี่ยมระดับดี ป 2555 ● รางวัลชนะเลิศอันดับ 1 โครงการ ประกวดศู น ย เ ด็ ก เล็ ก น า อยู  ใ นชุ ม ชน ป 2555 ● ได รั บ การคั ด เลื อ กเป น ศู น ย เ ด็ ก เล็กคุณภาพดีเดนระดับจังหวัด ประจําป 2556 – 2557 ความสําคัญของตําบลชองสะแก มหาวิ ท ยาลั ย จุ ฬ าลงกรณราช วิทยาลัย วิทยาเขตเพชรบุรี จัดสรางอาคารมหาวิทยาลัยจุฬา ลงกรณราชวิทยาลัย (มจร.) ณ วัดพระรูป

ตําบลชองสะแก เพือ่ เปนสถานศึกษาระดับ อุดมศึกษา และวิชาชัน้ สูง สําหรับพระภิกษุ สามเณร และคฤหัสถ (ประชาชนทัว่ ไป) ซึง่ คาดวาจะแลวเสร็จป 2559 แหลงรวมภูมิปญญาทองถิ่น ดาน ศิลปะปูนปน ศิลปะปูนปน จัดเปนงานชางสาขา หนึ่งในชางสิบหมูของจังหวัดเพชรบุรี ที่ ปรากฏหลักฐานวามีมาแตสมัยอาณาจักร ทวารวดี เรื่อยมาจนถึงสมัยกรุงศรีอยุธยา มี ทั้ ง งานป  น พระพุ ท ธรู ป และงานปู น ป  น ประดั บ ตกแต งตามหน าบั น อุ โ บสถ วิหาร ฐานพระพุทธรูป ฐานเจดีย ที่แสดง ถึ ง เรื่ อ งราวทางพุ ท ธประวั ติ เทพเทวดา สัตวหมิ พานต และสัตวในวรรณคดี เปนตน หน า บั น พระวิ ห ารหลวง พระปรางค งานปูนปน ของศาลาวัดมหาธาตุวรวิหาร งานปนหอระฆัง วัดนาค วัดไตรโลก และวั ด แรก จั ง หวั ด เพชรบุ รี เปนตน ปจจุบนั ทัง้ สองทานเปนอาจารยสอนศิลปะ ปูนปน ถายทอดความรูป ระสบการณใหกบั เด็กและเยาวชน เพือ่ สืบทอดเปนมรดกไทย

สนใจขอมูลเพิ่มเติมติดตอไดที่ อบต.ชองสะแก โทร.032-400058 หรือ www.chongsakae.go.th Phetchaburi 123


เสนทางพบองคการบริหารสวนตําบล (อ.เมือง)

องคการบริหารสวนตําบลบานหมอ วิสัยทัศน “นายกหมี” “โครงสรางการบริหารงานทองถิ่น สาระหลักเปนเรื่องของการมีสวนรวม ที่ ผ  า นมาเลยยึ ดปรัช ญาวา ทํา อยา งไร ใหอบต. มีความสัมพันธที่ดีกับทุกสวน และเอาทุกสวนที่มีกําลังมาเปนแรงขับ เคลื่อน” นายธี ร ศั ก ดิ์ พานิ ช วิ ท ย นายก องค ก ารบริ ห ารส ว นตํ า บลบ า นหม อ อําเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี หรือที่ ชาวบานเรียกกันอยางคุนเคยสั้นๆ วา “กํานันหมี” หรือ “นายกหมี” มี แนวทางการบริหารงานในตําแหนง นายกอบต.บานหมอ โดยใชหลัก ปฏิบัติสําคัญ 3 ประการ คือ 1. แบงความสัมพันธของงาน ในระดับตางๆใหมีสวนรวมในการ ใชอํานาจหนาที่และโครงสรางเชิง อํานาจ 2. การสรางภาคีเพื่อมาหนุนเสริม เชน เมื่อกอนไมมีอนามัย ไมมีโรงเรียนก็ตองไป เอาการมีสวนรวมมาเคลื่อนงานเสริม เปน โครงสรางเชิงระบบการบริการ 3. โครงสรางเชิงแสดงเจตจํานงความ เปนเจาของ ทีเ่ ปดโอกาสใหประชาชนบริหาร

124

จัดการไดเองในบางเรื่อง และใหอํานาจใน เชิงการตรวจสอบ เปดพื้นที่ใหตรวจสอบ ตอบโจทยรวมคิด รวมทํา รวมตรวจสอบ ดึงการมีสวนรวมในทุกภาคสวนมาใชในมิติ ที่ตางกัน มีการแบงอํานาจการสรางความ รวมมือเพื่อใหไดมาซึ่งการบริการ ดวยเหตุที่ตําบลบานหมอมีความเปน เมือง 60% และชนบท 40% ทําใหการมี สวนรวมนอยมาก จึงจัดทําแผนปฏิบัติงาน

นายธีรศักดิ์ พานิชวิทย

นายกองคการบริหารสวนตําบลบานหมอ คือการเขาพบประชาชนในพืน้ ทีใ่ หมากทีส่ ดุ เช น กลยุ ท ธ ห นึ่ ง เย็ น หนึ่ ง ซอย เมื่ อ มี โอกาสจะไปนัง่ คุยกับประชาชน เพือ่ รับทราบ สารทุกขสกุ ดิบ แลวนํามาคิดแผนงานพัฒนา หรือแกไขปญหา ดังที่ นายกหมี ไดกลาว เพิ่มเติมวา “หลังจากนี้จะเนนงานที่มุงสู การพั ฒ นาทรั พ ยากรบุ ค คล ยกระดั บ คุณภาพชีวติ และคุณภาพดานการศึกษา รวมถึงการดูแลผูสูงอายุใหมากขึ้น” สํ า หรั บ แผนการเข า ถึ ง ประชาชนใน อนาคตอันใกลนี้คือ “โครงการจากหนารั้ว สูครัวเรือน” คือการเขาไปพัฒนาคุณภาพ ชีวติ ความเปนอยูใ นบานเรือนของประชาชน ใหดีขึ้น ซึ่งเปนความตั้งใจของ นากยกหมี ตามที่ไดกลาวเพิ่มเติมวา “ปจจุบันตําบล บ า นหมอมี โ ครงสร า งพื้ น ฐานต า งๆ เชน ถนนหนทาง ซึ่งเปรียบเสมือนงาน หนารั้ว สําเร็จเรียบรอยแลว จึงตองการเขาไปในครัวเรือน คื อ เข า ไปเป น ส ว นหนึ่ ง ของ ครอบครัว เพื่อทําใหเกิดความ เชือ่ มัน่ ใหมากขึน้ นัน่ คือแผนงาน ที่เราจะตองเดินหนาตอไปใน อนาคต”


เสนทางพบเทศบาลเมือง (อ.ชะอํา)

เทศบาลเมืองชะอํา “ชะอําเมืองนํา้ ทะเลใส หาดทรายขาว เจาพอเขาใหญศกั ดิส์ ทิ ธิ์ คนจิตใจงาม” คื อ คํ า ขวั ญ ของเมื อ งชะอํ า ซึ่ ง อยู  ภายใต ก ารปกครองของ เทศบาลเมื อ ง ชะอํา เลขที่ 31 ถ.นราธิป ตําบลชะอํา อําเภอ ชะอํา จังหวัดเพชรบุรี ปจจุบันมี นายนุกูล พรสมบูรณศริ ิ เปน นายกเทศมนตรีเมือง ชะอํา ซึง่ ไดรบั ความไววางใจจากประชาชน ใหดํารงตําแหนงติดตอกันถึง 5 สมัย วิสัยทัศน (Vision) ชะอําเปนเมืองนาอยูน า เทีย่ ว ประชาชน มีคุณภาพชีวิตที่ดี มีความสุข พันธกิจ (Mission) พัฒนาและปรับปรุงประสิทธิภาพของ กระบวนการพั ฒ นาท อ งถิ่ น คื อ พั ฒ นา โครงสรางพืน้ ฐานและสิ่งแวดลอมในการให บริการ การพัฒนาคุณภาพชีวิต การศึกษา และสงเสริมศิลปวัฒนธรรมทองถิ่น การ สาธารณสุข และความปลอดภัยในชีวติ และ ทรัพยสินของประชาชน รวมทั้งสงเสริมการ ทองเที่ยวอยางยั่งยืน

นายนุกูล พรสมบูรณศิริ นายกเทศมนตรีเมืองชะอํา

ยุทธศาสตร (Strategies) 1. ปรับปรุงและพัฒนาโครงสรางพื้นฐานเมือง การสาธารณสุขและสิ่งแวดลอมของ ประชาชนใหมมี าตรฐานสูงขึน้ ทัว่ ถึง สอดคลองกับสภาพจริงและระเบียบกฎหมายทีเ่ กีย่ วของ 2. ปรับปรุงและพัฒนาการศึกษาทุกระดับใหมคี ณ ุ ภาพและทัว่ ถึง พรอมกับสงเสริมศิลป วัฒนธรรม และภูมปิ ญ  ญาทองถิน่ ใหเพิม่ คุณคา และเปนสวนหนึง่ ของวิถชี วี ติ ของประชาชน 3. ปรับปรุงและพัฒนากระบวนการพัฒนาคุณภาพชีวติ และความปลอดภัยในชีวติ และ ทรัพยสินของประชาชนใหมีประสิทธิภาพและทั่วถึง นโยบายการบริหารงาน 12 ดาน 1. นโยบายดานการพัฒนาโครงสรางพืน้ ฐาน 2. นโยบายดานการอํานวยความสะดวกและ การบริการประชาชน 3. นโยบายดานเศรษฐกิจ 4. นโยบายดานสิ่งแวดลอม 5. นโยบายดานสวัสดิการและคุณภาพชีวิต 6. นโยบายดานการศึกษา 7. นโยบายดานสาธารณสุข 8. นโยบายดานประเพณี ศิลปวัฒนธรรม 9. นโยบายดานการทองเที่ยว 10. นโยบายดานการเสริมสรางความเขม แข็งของชุมชน 11. นโยบายดานความมัง่ คงปลอดภัย ในชีวิต และทรัพยสิน 12. นโยบายการพัฒนาองคการเทศบาล

สนใจขอมูลเพิ่มเติมติดตอไดที่ สํานักงานเทศบาลเมืองชะอํา 31 ถ.นราธิป ตําบลชะอํา อําเภอชะอํา จังหวัดเพชรบุรี หรือ www.cha-amcity.go.th Phetchaburi 125


เสนทางพบองคการบริหารสวนตําบล (อ.ชะอํา)

องคการบริหารสวนตําบลหวยทรายเหนือ “หุบเขาทุงแฝกขึ้นชื่อ เลื่องลือดอก กระเจี ย วบาน แหล ง ผลิ ต อ อ ยนํ้ า ตาล ตํานานเนื้อทราย” คือคําขวัญของตําบลหวยทรายเหนือ ซึง่ ปกครองโดย องคการบริหารสวนตําบล หวยทรายเหนือ มีสํานักงานตั้งอยูเลขที่ 29/9 หมูท ี่ 1 บานทุง จับญวน ตําบลหวยทราย เหนือ อําเภอชะอํา จังหวัดเพชรบุรี โดยตัง้ อยู หางจากอําเภอชะอําประมาณ 26 กิโลเมตร ปจจุบนั มี นายสมพิษ ดังสะทาน เปน นายก องคการบริหารสวนตําบลหวยทรายเหนือ โดยบริหารงานตามวิสัยทัศนการพัฒนาที่ วา “สงเสริมคุณภาพชีวิต สนับสนุนการ ศึ ก ษา ศาสนาและวั ฒ นธรรม พั ฒ นา สาธารณูปโภคพืน้ ฐาน สนับสนุนการทอง เที่ยวเชิงอนุรักษสิ่งแวดลอม ตามหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” ขอมูลทั่วไป ตําบลหวยทรายเหนือ มีเนือ้ ที่ 40.11 ตร.กม. หรือประมาณ 24,571 ไร แบงเขตการ ปกครองออกเปน 7 หมูบ า น (เรียงตามลําดับ) ไดแก บานทุงจับญวน บานทุงหลวง บานทุง 126

เคล็ด บานบอหลวง บานหนองขาม บานพุ หวาย บานไรดนิ ทอง มีจาํ นวนครัวเรือนทัง้ สิน้ 1,321 ครัวเรือน มีประชากรทัง้ สิน้ 4,073 คน แบงเปนเพศชาย 2,008 คน เพศหญิง 2,065 คน ประชากรมีความหนาแนนเฉลีย่ 102 คน/ ตารางกิโลเมตร (ขอมูล ณ วันที่ 31 มกราคม 2557 โดยสํานักงานทะเบียนอําเภอชะอํา) ด ว ยสภาพพื้ น ที่ ส  ว นใหญ ข องตํ า บลห ว ย ทรายเหนือเปนที่ราบสูงเชิงเขา ราษฎรสวน ใหญจึงประกอบอาชีพเกษตรกรรม ไดแก ไร ออย ไรสับปะรด ไรมันสําปะหลัง 8 นโยบายการพัฒนาของ อบต.หวยทรายเหนือ 1. นโยบายดานแหลงนํ้า 2. นโยบายดานการศึกษา ศาสนา และ วัฒนธรรม 3. นโยบายดานโครงสรางพื้นฐาน 4. นโยบายดานเศรษฐกิจ 5. นโยบายดานสังคม 6. นโยบายดานสาธารณสุข 7. นโยบายดานการเมืองการบริหาร 8. นโยบายดานทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม กิจกรรมเดนในรอบปที่ผานมา โครงการเฉลิ ม พระชนมพรรษา พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว “5 ธันวา มหาราช”

อบต.หวยทรายเหนือ ไดจัดพิธีเนื่อง ในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 87 พรรษา 5 ธันวาคม 2556 ณ บริเวณวัด ทุ  ง จั บ ญวน ภายในงานมี พิ ธี ถ วายเครื่ อ ง ราชสักการะ และมอบรางวัลพอดีเดน-ลูก ดีเดน จํานวน 7 หมูบาน การแสดงบนเวที ของดารานั ก แสดงนํ า จากช อ ง 7 สี อาทิ แพนเคก--เขมนิจ, ไท--ธนาวุฒิ, คุณอวน--


วารุณี สุนทรีสวัสดิ,์ ดาว--มยุรี ,ตู- -ดิเรก, คุณ พิเชษฐ เปนตน โครงการเฉลิมพระเกียรติ 12 สิงหา มหาราชินี ประจําป 2556 อบต.ห ว ยทรายเหนื อ ได ดํ า เนิ น โครงการเมื่ อ วั น ที่ 8 สิ ง หาคม 2556 ณ ศูนยพัฒนาเด็กเล็กตําบลหวยทรายเหนือ กิ จ กรรมในงานประกอบด ว ย การกล า ว ถวายราชสดุดี มอบประกาศเกียรติคุณแก แมตัวอยาง ในการอบรมเลี้ยงดูลูกใหเปน เด็กดี เด็กเกง การแสดงของเด็กๆ และลูกๆ มอบชอมะลิใหแม เพื่อเปนการแสดงความ กตัญูกตเวที โครงการสืบสานประเพณีสงกรานต และลานวัฒนธรรม อบต.ห ว ยทรายเหนื อ ได จั ด งาน ประเพณีสงกรานตขึ้น เมื่อวันที่ 13 เมษายน 2557 ณ บริเวณวัดทุงจับญวน ในงานมี กิจกรรมตางๆ ที่แสดงออกถึงประเพณีไทย

อาทิ พิธรี ดนํา้ ขอพรผูส งู อายุ แขงขันกีฬาและ การเลนพื้นบาน เชน แขงขันขูดมะพราว ,ชัก คะเยอ ,ปดตาตีปบ ,ตีกอลฟ ,ชกมวยตับจาก ,เกาอีด้ นตรี เปนตน บรรยากาศในงานเต็มไป ดวยความสุข สนุกสนาน และความสามัคคี ของคนในตําบลหวยทรายเหนือ โครงการพิธมี อบวุฒบิ ตั รบัณฑิตนอย ประจําป 2557 อบต.ห ว ยทรายเหนื อ จัดพิธีมอบ เกี ย รติ บั ต รแก นั ก เรี ย นที่ ผ  า นการศึ ก ษา หลักสูตรเตรียมความพรอมในระดับกอนวัย เรียน เมื่อ 22 มีนาคม 2557 ณ ศูนยพัฒนา เด็กเล็กตําบลหวยทรายเหนือ ดวยเล็งเห็นวา จุดเริม่ ตนชีวติ คือการเริม่ ชีวติ ในชวงปฐมวัย ดังนัน้ การศึกษาระดับปฐมวัยจึงเปนการวาง รากฐานที่ดี และเปนชวงเวลาที่เหมาะสม ที่สุดสําหรับการปูพื้นฐานทักษะตางๆ ใหแก เด็ก เพื่อใหเด็กมีความพรอมที่จะพัฒนาใน ระดับตอไป

นายสมพิษ ดังสะทาน

นายกองคการบริหารสวนตําบล หวยทรายเหนือ “โครงการวันเด็กแหงชาติ ประจํา ป 2557” อบต.หวยทรายเหนือ ไดจัดกิจกรรม วันเด็กแหงชาติขึ้น เมื่อวันที่ 11 มกราคม 2557 ณ บริ เ วณวั ด ทุ  ง จั บ ญวน เพื่ อ ให ประชาชนและผูรับผิดชอบตออนาคตของ เด็ก ไดตระหนักถึงความสําคัญของเด็กและ เยาวชน ในการเลี้ยงดู อบรมสั่งสอน และให เด็กและเยาวชนมีโอกาสแสดงออกถึงความ สามารถในดานตางๆ อีกทั้งไดตระหนักถึง วินัยหนาที่ของตนเองตอไป ชมทุงดอกกระเจียวบานสะพรั่ง กลาง “หุบเขาทุงแฝก” “หุบเขาทุงแฝก” เปนแหลงทองเที่ยว เชิงอนุรักษบนเทือกเขา “พระรอบ” มีภูเขา น อ ยใหญ ล  อ มรอบซึ่ ง ปกคลุ ม ด ว ยหญ า แฝก จนชาวบานเรียกติดปากวา “หุบเขา ทุงแฝก” ซึ่งมีลักษณะเปนภูเขาสลับซับซอน สูงจากพื้นดินประมาณ 500 เมตร ดานบน เปนที่ราบประมาณ 2,000 ไรเศษ มีพันธุไม นานาชนิด และมีทุงดอกกระเจียวซึ่งจะบาน สะพรั่งพรอมกันไปทั้งหุบเขา ชวยแตงแตม สีสันใหกับธรรมชาติในชวงเดือนพฤษภาคม ถึงเดือนสิงหาคม รอรับการสัมผัสชื่นชมจาก นักทองเที่ยวทั่วทุกสารทิศ

Phetchaburi 127


เสนทางพบองคการบริหารสวนตําบล (อ.หนองหญาปลอง)

นํ้าตกแมกระดังรา หมู 3 บานลิ้นชาง อางเก็บนํ้าหวยแมประจันต หมู 1 บานทุงกระตาย (อันเนื่องมาจากพระราชดําริ)

องคการบริหารสวนตําบล ยางนํ้ากลัดใต “เปนแหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศน และแหลงเรียนรูอัตลักษณชาติพันธุ กะเหรี่ยง” คือวิสัยทัศนของการบริหารงานของ องคการบริหารงานสวนตําบลยางนํ้า กลัดใต อําเภอหนองหญาปลอง จังหวัด เพชรบุ รี ซึ่ ง ป จ จุ บั น มี นายพี ร ศั ก ดิ์ กาฬดิษฐ ดํารงตําแหนง นายกองคการ บริหารสวนตําบลยางนํ้ากลัดใต ขอมูลทั่วไปของอบต.ยางนํ้ากลัดใต สถานภาพทางกฎหมายลั ก ษณะ ปกครองทองถิน่ ตําบลยางนํา้ กลัดใตจดั ตัง้ เปนสภาตําบล (นิตบิ คุ คล) เมือ่ เดือนมีนาคม พ.ศ.2538 และไดยกฐานะเปนองคการ บริหารสวนตําบลในป พ.ศ.2540 ตอมา ได มี ก ารยุ บ รวมสภาตํ า บลยางนํ้ า กลั ด เหนือ ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยวา ดวย การสํารวจเจตนารมณของประชาชน ในเขตสภาตํ า บลหรื อ องค ก ารบริ ห าร สวนตําบล เพื่อไปรวมกับองคการ บริหาร สวนตําบลหรือหนวยการบริหารราชการ สวนทองถิ่นอื่น พ.ศ.2547 เมื่อวันที่ 29 เดือนกันยายน พ.ศ.2547 ทําใหองคการ บริหารสวนตําบลยางนํ้ากลัดใตมีลักษณะ 128

พื้ น ที่ ท างกายภาพและการปกครองที่ แตกต า งจากตํ า บลอื่ น ในลั ก ษณะหนึ่ ง ตําบลสองทองที่ และมีพื้นที่ในเขตความ รับผิดชอบกวางขวางอยูใ นอันดับตนๆ ของ องค ก ารบริ ห ารส ว นตํ า บลที่ มี พื้ น ที่ ม าก แหงหนึ่งในประเทศไทย องคการบริหารสวนตําบลยางนํ้า กลั ด ใต ตั้งอยูเลขที่ 36 ม.2 ต.ยางนํ้า กลัดใต อยูหางจากที่วาการอําเภอหนอง หญ า ปล อ ง ไปทางทิ ศ ใต ป ระมาณ 15 กิโลเมตร สามารถเดินทางติดตอไดโดย ทางหลวงแผ น ดิ น สาย พบ 3349 สาย หนองควง- หนองหญาปลอง อยูหางจาก ทางหลวงหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) ไปทางทิศตะวันตก 22 กิโลเมตร อยูหาง จากตัวจังหวัด 33 กิโลเมตร

องคการบริหารสวนตําบลยางนํ้า กลัดใต มีพนื้ ทีร่ บั ผิดชอบทัง้ หมดประมาณ 1,086 ตารางกิ โ ลเมตร หรื อ ประมาณ 678,750 ไร จําแนกดังนี้ 1. ตําบลยางนํ้ากลัดใต มีพื้นที่ 419 ตร.กม. ประมาณ 262,108 ไร 2. ตํ า บลยางนํ้ า กลั ด เหนื อ มี พื้ น ที่ 667 ตร.กม. ประมาณ 423,593 ไร ยุ ท ธศาสตร ก ารพั ฒ นาของผู  บ ริ ห าร อบต.ยางนํ้ากลัดใต ยุทธศาสตรที่ 1: ยุทธศาสตรการ พัฒนาดานโครงสรางพื้นฐาน มุงเนนการกอสราง ปรับปรุง บํารุง รักษา ซอมแซมถนน พรอมทั้งปรับปรุง ระบบไฟฟาสองสวาง เพื่อใหการสัญจรมี ความสะดวก ปลอดภัย กิจกรรมการประชุมสภา อบต.


โค รง ก าร ฝ  ก อ บ รม ป หมอกควัน

 อ งกั น ไฟ ป  า แ ล ะ

กิจกรรมวันเด็กแหงชาติ

ยุทธศาสตรที่ 2 : ยุทธศาสตรดาน การพัฒนาเศรษฐกิจ สงเสริมการลงทุนและการทองเที่ยว และพั ฒ นากลุ  ม อาชี พ ในพื้ น ที่ ใ ห มี ก าร บริหารจัดการอยางมีระบบตอเนื่องและ เหมาะสมกับสภาพทองถิ่น สงเสริมการ แปรรูปสินคาทางการเกษตร และสงเสริม การท อ งเที่ ย วเชิ ง นิ เ วศน ใ นพื้ น ที่ เช น นํ้าตกกระดังรา นํ้าพุรอน อางเก็บนํ้าหวย แมประจันต (อันเนื่องมาจากพระราชดําริ) ยุทธศาสตรที่ 3 : ยุทธศาสตรการ พัฒนาดานการศึกษา ศาสนา ประเพณี ศิ ล ปวั ฒ นธรรมท อ งถิ่ น นั น ทนาการ และพัฒนาคุณภาพชีวิต มุ  ง เน น ส ง เสริ ม พั ฒ นาด า นการ ศึ ก ษา สนั บ สนุ น อนุ รั ก ษ แ ละสื บ สาน ขนบธรรมเนียมศิลปวัฒนธรรมประเพณี และภูมิปญญาทองถิ่นตลอดจนสงเสริม การเล น กี ฬ านั น ทนาการต า งๆ เพื่ อ ให เยาวชนใชเวลาวางใหเกิดประโยชน หาง ไกลยาเสพติด สงเสริมสุขภาพอนามัยของ ประชาชนโดยเนนเชิงรุกคือปองกันมากกวา การรักษา ยุทธศาสตรที่ 4 : ยุทธศาสตรการ พัฒนาดานการจัดระเบียบชุมชน สังคม และความสงบเรียบรอย

สงเสริมสนับสนุนกิจกรรมดานการ ดู แ ลรั ก ษาความปลอดภั ย ในชี วิ ต และ ทรัพยสินของประชาชน สนับสนุนกิจกรรม ปองกันยาและแกไขยาเสพติดในชุมชน โดยบู ร ณาการการทํ า งานกั บ หน ว ยงา นอื่นๆที่เกี่ยวของ สนับสนุนการปฏิบัติงาน ของอาสาสมั ครป องกั นภั ยฝ า ยพลเรื อน (อปพร.) ใหมีความพรอมในการรับมือกับ ปญหาไดทันทวงที ยุทธศาสตรที่ 5 : ยุทธศาสตรดาน การเมือง การปกครองและการบริหาร จัดการ บริหารงานดวยความโปรงใส โดย ยึดหลักธรรมาภิบาลเพื่อใหเกิดประโยชน สู ง สุ ด กั บ ประชาชน พั ฒ นาศั ก ยภาพใน การทํางาน การใหบริการประชาชนอยาง มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล สามารถ แกไขปญหาความเดือดรอนใหกบั ประชาชน อยางทัว่ ถึงและเปนธรรม สงเสริมการมีสว น ของประชาชนในการพัฒนาทองถิ่น ยุทธศาสตรที่ 6 : ยุทธศาสตรการ พัฒนาดานอนุรกั ษทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม สงเสริมการมีสวนรวมของประชาชน ในการอนุ รั ก ษ ท รั พ ยากรธรรมชาติ แ ละ สิ่ ง แวดล อม ปลู กจิ ตสํ า นึ กในการรั กษา และใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติ อยางรูคุณคา

นายพีรศักดิ์ กาฬดิษฐ

นายกองคการบริหารสวนตําบล ยางนํ้ากลัดใต

“ตากเกมส” โครงการแขงขันกีฬาชาวดอย

กิจกรรมหนวยแพทยอาสา(พอ.สว.) ขบวนแหงานพระนครคีรีป 2557 นํ้าพุรอน หมู 5 บานพุนํ้ารอน

กิจกรรมสานสายใยวันปดภาคเรียน

Phetchaburi 129


เสนทางพบเทศบาลตําบล (อ.ทายาง)

วัดหนองจอก

เทศบาลตําบลหนองจอก

คําขวัญเทศบาลตําบลหนองจอก “อําเภอเการุงเรือง เมืองดอกบัวบาน อนุรักษจักสาน สรางงานผาบาติก”

วิสัยทัศน ” พัฒนาโครงสรางพืน้ ฐาน สืบสาน วัฒนธรรมประเพณี ประชาชนมีสวน รวมในการพัฒนาทองถิ่น“ เทศบาลตําบลหนองจอก ตั้งอยูหมู ที่ 5 ถนนหลังสถานีรถไฟ ตําบลหนองจอก อําเภอทายาง จังหวัดเพชรบุรี อยูหางจาก ที่วาการอําเภอทายาง 10 กิโลเมตร และ อยูหางจากตัวเมืองเพชรบุรี 24 กิโลเมตร อยูห า งจากกรุงเทพมหานคร 158 กิโลเมตร เทศบาลตําบลหนองจอก เปนเทศบาล ขนาดเล็ก ในเขตจังหวัดเพชรบุรี ไดรับการ ยกฐานะจากสุขาภิบาลหนอกจอก ตาม พระราชกฤษฎีกา เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2542 130

นโยบายการพัฒนาของเทศบาลตําบล หนองจอก 1.ดานการพัฒนาโครงสรางพืน้ ฐาน เพื่อปรับปรุงโครงสรางพื้นฐานใหได มาตรฐาน และจัดสิ่งอํานวยความสะดวก ทั้งในดานสาธารณูปโภค สาธารณูปการ อันเปนสิง่ จําเปนขัน้ พืน้ ฐานใหกบั ประชาชน อยางเพียงพอ โดยจะดําเนินการ ดังนี้ 1.1 โครงการกอสรางอาคารสํานักงาน เทศบาลตําบลหนองจอก ใหแลวเสร็จ เพื่อ สรางมาตรฐานการทํางานที่มีระบบ 1.2 โครงการกอสรางทีน่ งั่ รอรถ ทีพ่ กั ริมทาง 1.3 โครงการกอสรางถนนปลอดฝุน และทางระบายนํ้า 1.4 โครงการไฟฟาสวางเต็มที่ 2. ดานการพัฒนาสังคม และคุณภาพ ชีวิตของประชาชน อนุ รั ก ษ ม รดกทางศิ ล ปวั ฒ นธรรม จารีต ประเพณี และภูมปิ ญ  ญาทองถิน่ โดย

พระวชิรธรรมคณี เจาคณะจังหวัดเพชรบุรี เจาอาวาสวัดหนองจอก

จะดําเนินการ ดังนี้ 2.1 สงเสริมการพัฒนาการศึกษาศูนย พัฒนาเด็กเล็กใหมีคุณภาพและมาตรฐาน เพื่อสรางสรรคสังคมแหงการเรียนรู


2.2 สนับสนุนวัดใหเปนสถานที่ไหว พระสําหรับนักทองเที่ยว 2.3 โครงการเยีย่ มบานตัง้ แตเด็กแรก เกิด ดูแลเยาวชน สวัสดิการผูส งู อายุถงึ เสีย ชีวิต 2.4 โครงการใหทนุ การศึกษานักเรียน 2.5 โครงการสายตรวจชาวบาน 24 ชัว่ โมง คุมเขมยาเสพติด เพือ่ ความปลอดภัย ในชีวิตและทรัพยสินของประชาชน 3. ดานเศรษฐกิจ เพือ่ สงเสริมและสนับสนุนการประกอบ อาชี พ และพั ฒ นาการเพิ่ ม รายได ข อง ประชาชน สนั บ สนุ น ให ป ระชาชนได รั บ ความเปนธรรม ไมถูกเอารัดเอาเปรียบใน การซื้อสินคา 3.1 สนั บ สนุ น โอท็ อ ป ขนมเป  ย ะ หนองจอก เครื่องจักรสานหนองจิก และ ผลิตภัณฑ โอท็อปบานดอนยี่พรม 3.2 ปรับปรุงและพัฒนาตลาดนัด ให เปนตลาดสะอาด ปลอดภัย ไดมาตรฐาน เพื่อสงเสริมใหประชาชนไดบริโภคอาหาร ที่สะอาดปลอดภัย และถูกสุขลักษณะ 4. ดานการพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม

เพือ่ สนับสนุนการจัดการสิง่ แวดลอมที่ ดี เพิม่ พืน้ ทีส่ เี ขียว ควบคูไ ปกับการเสริมสราง ความรูค วามเขาใจ ปลูกจิตสํานึกและความ ตระหนักในคุณคาของทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมแกประชาชนในทองถิ่น โดยจะดําเนินการ ดังนี้ 4.1 ปรั บ ปรุ ง และฟ  น ฟู อ นุ รั ก ษ บั ว หลวง (บัวหลวงพระราชินี) 4.2 ปรั บ ปรุ ง ภู มิ ทั ศ น ต ามสถานที่ ตางๆ ในเขตเทศบาลตําบลหนองจอก และ ติดปายประชาสัมพันธเชิญชวนประชาชนใน พื้นที่ใหชวยกันดูแลรักษา 5. ดานการพัฒนากระบวนการ จัดการทีด่ ใี นองคกร และมีสว นรวมของ ประชาชน เพือ่ พัฒนาประสิทธิภาพในการบริหาร ตามหลักธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการ

นายจรัญ ไมจันทร

นายกเทศมนตรีตําบลหนองจอก โดยคํานึงถึงความตองการของประชาชน โดยให ป ระชาชนเป น ศู น ย ก ลางในการ พัฒนา และการเปดโอกาสใหประชาชน ทุกภาคสวนมีโอกาสเสนอแนะขอคิดเห็น ตอเทศบาล ดําเนินการควบคูไปกับการ พัฒนาบุคลากรทองถิน่ ใหยดึ หลักคุณธรรม จริยธรรม การมีจิตสาธารณะ และความ รับผิดชอบตอประชาชนโดยรวม โดยมีการ ดําเนินการ ดังนี้ 5.1 จัดทําโครงการเทศบาลเคลื่อนที่ เพื่อรับฟงปญหา ขอเสนอแนะ และความ คิดเห็นของประชาชนตอเทศบาล 5.2 เนนการบริหารแบบมีสวนรวม โดยใหประชาชนเปนศูนยกลางการพัฒนา ไมทงิ้ ประชาชน สอดคลองกับความตองการ ของประชาชน 5.3 จัดทําเวทีประชาคม จัดทําประชา พิ จ ารณ ในการบริ ห ารกิ จ กรรมอั น เป น ประโยชนตอประชาชนโดยรวม 5.4 เนนการพัฒนาศักยภาพบุคลากร ของเทศบาล เพื่ อ รองรั บ การบริ ก าร ประชาชนใหมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล สูงสุด

Phetchaburi 131


เสนทางพบองคการบริหารสวนตําบล (อ.ทายาง)

องคการบริหารสวนตําบลมาบปลาเคา “มาบปลาเคา คนตรง ดงเกษตร เขต อนุรักษวัฒนธรรม” คือคําขวัญประจําตําบลมาบปลาเคา ซึ่ ง อยู  ภ ายใต ก ารปกครองขององค ก าร บริ ห ารส ว นตํ า บลมาบปลาเค า ซึ่ ง มี สํ า นั ก งานชั่ ว คราวตั้ ง อยู  ที่ โรงเรี ย นบ า น หนองหินถวง หมูที่ 8 ตําบลมาบปลาเคา อําเภอทายาง จังหวัดเพชรบุรี อยูห า งจากตัว อําเภอทายางประมาณ 4 กิโลเมตร ปจจุบัน มี นายไชยยา ไขศรี ดํารงตําแหนง นายก องคการบริหารสวนตําบลมาบปลาเคา ซึ่งบริหารงานใหสอดคลองกับวิสัยทัศนที่วา “มาบปลาเคาเปนชุมชุนที่นาอยู มีปจจัย โครงสรางพื้นฐานครบครัน มีวัฒนธรรม พืน้ บาน ทีเ่ ปนเอกลักษณของชุมชน เปน แหลงผลิตพืชผลทางการเกษตรที่ปลอด สารพิษ” ประวัติความเปนมา “มาบ” เป น ภาษาท อ งถิ่ น แปลว า “ที่ราบตํ่าจนเปนแองนํ้าขนาดใหญ” โดย บรรพบุรษุ ดัง้ เดิมของชาวตําบลมาบปลาเคา เปนกลุมไทยพวนที่อพยพหาแหลงทํามา หากินแหงใหม และไดมาตั้งถิ่นฐานยังมาบ หรือแองนํ้าแหงนี้ซึ่งมีปลาเคาชุกชุมมาก จึง อาศัยแหลงนํ้าแหงนี้เปนที่ทํากิน จนสราง เปนหมูบ า นขนาดยอม และไดตงั้ ชือ่ วา “บาน มาบปลาเคา” ตามลักษณะภูมิประเทศที่ โดดเดน 132

สภาพทั่วไป และขอมูลพื้นฐาน องคการบริหารสวนตําบลมาบปลาเคา มีเนือ้ ทีท่ งั้ หมด 10,277 ไร หรือ 16.44 ตาราง กิโลเมตร มีจาํ นวนหมูบ า นทัง้ สิน้ 11 หมูบ า น สภาพภูมิประเทศ เปนที่ราบลุม มี คลองชลประทานไหลผาน จํานวน 1 สาย ประชากรสวนใหญประกอบอาชีพทางการ เกษตร โดยมีพื้นที่ทางการเกษตร จํานวน 9,253 ไร พื ช ผลทางการเกษตรที่ สํ า คั ญ ไดแก ขาว กลวยหอม มะนาว มะมวง ฯลฯ ประชากร มีประชากรทั้งสิ้น 3,869 คน แยกเปนชาย 1,849 คน หญิง 2,020 คน จํานวนครัวเรือน 1,132 ครัวเรือน มีความ หนาแนน 23,5.34 คน/ตารางกิโลเมตร ผู มีสิทธิเลือกตั้งสมาชิกสภา อบต. จํานวน 2,699 คน ยุทธศาสตรการพัฒนา 1. ยุทธศาสตรพัฒนาดานโครงสราง พื้นฐาน 2. ยุทธศาสตรพฒ ั นาดานการสงเสริม การศึกษา และพัฒนาคุณภาพชีวิต 3. ยุทธศาสตรพฒ ั นาดานการจัดระเบียบ ชุมชน สังคม และรักษาความสงบเรียบรอย 4. ยุทธศาสตรพฒ ั นาดานการวางแผน การสงเสริมการลงทุน พาณิชยกรรม และ ทองเที่ยว

5. ยุทธศาสตรพัฒนาดานการบริหาร จัดการ และการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม 6. ยุทธศาสตรพฒ ั นาดานศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณี และภูมิปญญาทองถิ่น 7. ยุ ท ธศาสตร พั ฒ นากระบวนการ บริหารจัดการที่ดีในองคกร และการมีสวน รวมของประชาชน


แนวทางการพัฒนาทองถิ่น 1. พัฒนาระบบสาธารณูปโภคใหเพียง พอตอความตองการของประชาชน 2. พัฒนาการศึกษาใหมคี ณ ุ ภาพ สงเสริม กิจกรรมสาธารณสุข และสรางรายไดใหชมุ ชน 3. สรางความสงบเรียบรอย และความ ปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน 4. สงเสริมชีวติ แบบพอเพียงพัฒนาการ สรางรายได การอนุรักษ การสงเสริมการ ทองเที่ยว 5. จั ด การทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละ สิ่งแวดลอม ใหยั่งยืนควบคูไปกับการใช ประโยชนอยางสมดุล 6. การอนุ รั ก ษ ภู มิ ป ญ ญา และวั ฒ นธรรม ไทย 7. ปรั บ ปรุ ง พั ฒ นา องคกร ประชาชนพึงพอใจ ในการบริหารกิจการของ องคกร

ผลการพัฒนาขององคการบริหารสวน ตําบล นับตั้งแต องคการบริหารสวนตําบล มาบปลาเคา ไดรบั การยกฐานะมาจากสภา ตําบล ในป 2539 ทางคณะผูบริหารตาง คํานึงถึงความตองการของประชาชนในพืน้ ที่ ซึ่งมีหลากหลายรูปแบบ ทั้งความตองการ ดานโครงสรางพื้นฐาน ระบบสาธารณูปโภค การศึกษา สาธารณสุข ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม โดยเฉพาะดานโครงสราง พื้นฐานจะเปนความตองการอันดับตนๆ องคการบริหารสวนตําบลมาบปลาเคา จึงไดดําเนิน การแกไ ขปญหา และจัดทํา โครงการพัฒนาตางๆ เพื่อตอบ สนองความตองการของประชาชน ในพื้ น ที่ ซึ่ ง ในป จ จุ บั น ในพื้ น ที่ องค ก ารบริ ห ารส ว นตํ า บลมาบ ปลาเคาไดรับการพัฒ นาไปมาก อาทิ

การพั ฒ นาด า นโครงสร า งพื้ น ฐาน ปจจุบนั ถนนแทบทุกสายในทุกๆ หมูบ า น ได กอสรางเปนถนนคอนกรีต ทําใหการสัญจร ไปมาสะดวกสบายยิ่ ง ขึ้ น มี ร ะบบประปา หมูบานเพื่อผลิตนํ้าเพื่อการอุปโภคบริโภค ที่ ส ะอาด และมี ก ารขยายเขตไฟฟ า เพื่ อ ใหความเปนอยูสะดวกสบาย และมีความ ปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสินเพิ่มขึ้น การพั ฒ นาด า นสั ง คม ส ง เสริ ม ด า น การกีฬาใหกับชาวตําบลมีสุขภาพรางกาย เขมแข็ง สนับสนุนดานวัฒนธรรมพื้นบาน และสงเสริมภูมิปญญาทองถิ่น โดยปจจุบัน มีทั้งศูนยทอผาพื้นบาน (สืบสานวัฒนธรรม ไทยพวน บานมาบปลาเคา) และมีโรงสีขาว ซ อ มมื อ ซึ่ ง นั ก ท อ งเที่ ย วชาวต า งชาติ ใ ห ความสนใจแวะเวียนมาเยี่ยมชมอยูเสมอ และทีส่ าํ คัญคือ ตําบลมาบปลาเคาเปนตําบล เดียวของอําเภอทายาง ที่มีสภาวัฒนธรรม ตําบล

สนใจขอมูลเพิ่มเติมติดตอไดที่ อบต.มาบปลาเคา หมูที่ 8 มาบปลาเคา ทายาง เพชรบุรี โทร 032-506200 หรือ www.mapplakhao.go.th Phetchaburi 133


เสนทางพบองคการบริหารสวนตําบล (อ.บานลาด)

องคการบริหารสวนตําบลไรสะทอน “ขุนสะทอนพอบาน เมืองตาลโตนด เลิศลํ้า ถิ่นวัฒนธรรม ภูมิปญญา แหลง การเกษตรลํ้าคา ศูนยการศึกษา ศาสนา ภาษาถิ่นประทับใจ” คือคําขวัญของตําบลไรสะทอน ซึ่ง อยูภายใตการปกครองของ องคการบริหาร สวนตําบลไรสะทอน อําเภอบานลาด จังหวัด เพชรบุรี ปจจุบันมี นายยอม ศรีแจ เปน นายกองคการบริหารสวนตําบลไรสะทอน โดยบริหารงานใหเปนไปตามวิสัยทัศนการ พัฒนาทีว่ า “ตําบลนาอยู อูอ าหารปลอดภัย ดํารงวิถีไทยสู ASEAN ” 7 นโยบายของนายก.อบต.ไรสะทอน นายยอม ศรีแจ นายกองคการบริหาร สวนตําบลไรสะทอน ไดแถลงนโยบายการ บริหารตอ สภาองคการบริหารสวนตําบล ไรสะทอน โดยมีรายละเอียดดังนี้ 1. นโยบายด า นโครงสร า งพื้ น ฐาน พัฒนาแหลงนํ้า และระบบประปาหมูบาน พัฒนา ปรับปรุง และบํารุงรักษาถนน สะพาน ทางเทา ทอระบายนํ้า ขยายเขตไฟฟาใหทั่ว ถึง พรอมไฟฟาสาธารณะ และพัฒนาระบบ จราจร 2. นโยบายดานการสงเสริมการศึกษา

134

และพั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต ไดแก สงเสริม สนับสนุนพัฒนาการศึกษา ทั้งในระบบและ นอกระบบ สงเสริมสุขภาพอนามัย รวมถึงการ ปองกัน และแกไขปญหายาเสพติดและโรค ติดตอ สงเสริมกีฬาและนันทนาการทุกระดับ สงเสริมสวัสดิการสังคม 3. นโยบายดานการพัฒนาดานการ จั ด ระเบี ย บชุ ม ชน สั ง คมและการรั ก ษา ความเรี ย บร อ ย ได แ ก รั ก ษาความสงบ เรี ย บร อ ยและความปลอดภั ย ในชี วิ ต และ ทรัพยสิน จัดหาวัสดุ อุปกรณในการปองกัน และบรรเทาสาธารณภัย สงเสริมและใหความ รูแกเจาหนาที่และประชาชนในการปองกัน อาชญากรรม และสงเสริมการจัดระเบียบ และ สนับสนุนการจัดระเบียบสังคมและชุมชน 4. นโยบายดานการวางแผน การสงเสริม ลงทุ น พาณิ ช ยกรรมและการท อ งเที่ ย ว ไดแก สงเสริมการผลิต ผัก ผลไมปลอดสาร พิ ษ เพื่ อ การบริ โ ภค ส ง เสริ ม สนั บ สนุ น และ พั ฒ นากลุ  ม อาชี พ ให กั บ ประชาชน พั ฒ นา และส ง เสริ ม การท อ งเที่ ย ว ทางเลื อ กด า น ประวัติศาสตร ศิลปะ วัฒนธรรม ควบคูกับ การสงเสริมตลาดนัดนักทองเทีย่ วกลุม ประชุม สัมมนา นันทนาการและสรางความเชื่อมโยง กับการทองเที่ยวหลัก

นายยอม ศรีแจ

นายกองคการบริหารสวนตําบลไรสะทอน 5. นโยบายด า นการบริ ห ารจั ด การ และการอนุรักษ ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอม ไดแก สรางจิตสํานึก และความ ตระหนักในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม บําบัดและฟนฟูทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดลอม จัดระบบบําบัดนํ้า เสีย บําบัดและจัดการขยะ ปองกันอุทกภัย และพั ฒ นาภู มิ ทั ศ น สิ่ ง แวดล อ มเมื อ งและ แมนํ้าสายหลัก 6. นโยบายดา นศิลปะ วัฒนธรรม จารี ต ประเพณี และภู มิ ป  ญ ญาท อ งถิ่ น ไดแก สงเสริมและเผยแพรศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณี และภูมปิ ญ  ญาทองถิน่ อนุรกั ษ ศิลปวัฒธรรม โบราณสถาน โบราณวัตถุ และ พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ 7. นโยบายดานกระบวนการที่ดีใน องคกรและการมีสวนรวมของประชาชน ไดแก พัฒนาการบริหารจัดการที่ดีในองคกร ปรั บ ปรุ ง และพั ฒ นาบุ ค ลากรในองค ก ร ปรับปรุงและพัฒนาเครื่องมือ เครื่องใชและ สถานที่ปฏิบัติงาน สงเสริมการมีสว นรว ม ของประชาชน ในการบริหารงานของทองถิ่น สงเสริมความรู ความสนใจเกี่ยวกับกิจการ ทองถิ่น ปรับปรุงและพัฒนาหารายได และ ปรับปรุงระบบการบริหารกิจการพาณิชย


เสนทางพบองคการบริหารสวนตําบล (อ.บานแหลม)

โครงการกอสรางอาคารกีฬาเฉลิมพระเกียรติ งบประมาณ 9,000,000 บาท

องคการบริหารสวนตําบลปากทะเล

“หลวงพ อ ปลอดศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ แหล ง ผลิตเกลือดี เขียวขจีปา ชายเลน งามเดน กระซาขาว” คือคําขวัญของตําบลปากทะเล ซึ่ง อยูภ ายใตการปกครองของ องคการบริหาร สวนตําบลปากทะเล อําเภอบานแหลม จังหวัดเพชรบุรี โดยมี นายวิโรจน ศรีนาค เป น นายกองค ก ารบริ ห ารส ว นตํ า บล ปากทะเล ซึ่งบริหารงานตามวิสัยทัศนที่ วา “เปนองคการที่มีคุณภาพ มาตรฐาน ดานการศึกษา พัฒนาแหลงทองเที่ยว เชิงอนุรักษ เนนหนักคุณภาพชีวิต ตาม แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง”

ประวัติตําบลปากทะเล เดิมปากคลองปากทะเลมีขนาดกวาง ชาวประมงและพ อ ค า มั ก นํ า เรื อ ประมง และเรือฉลอม (เรือขนสงสินคา) มาหลบ ลมมรสุม คลองปากทะเลจึงกลายเปนแหลง ขนสงและแลกเปลี่ยนสินคาทางเรือ และ เปนเสนทางขนสงทางนํ้าที่สําคัญในอดีต อีกทั้งยังเปนคลองระบายนํ้าที่แยกมาจาก แมนาํ้ เพชรบุรี ผานคลองวัดเกาะ ผานตําบล ชองสะแก ตําบลบางจาน และไหลลงสูท ะเล ทีป่ ากคลองปากทะเล จึงไดตงั้ ชือ่ ตําบลนีว้ า “ตําบลปากทะเล”

จุดเดนของตําบลปากทะเล ตํ า บลปากทะเล มี เ นื้ อ ที่ ป ระมาณ 5,545 ไร หรือ 8.87 ตร.กม. สภาพพื้นที่สวน ใหญเปนที่ราบลุม และที่ราบชายฝงทะเล จึงมีปา ชายเลนทีค่ อ นขางอุดมสมบูรณ และ เปนแหลงกําเนิดกุง หอย ปู ปลา โดยเฉพาะ อยางยิ่งคือ หอยแครง และหอยเสียบ

นายวิโรจน ศรีนาค

นายกองคการบริหารสวนตําบลปากทะเล

นโยบายการบริหาร ของนายก อบต.ปากทะเล 1. จะพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน และ การคมนาคมใหมีความสะดวกรวดเร็ว ได มาตรฐาน ใหครอบคลุมสอดคลองกับความ ตองการของประชาชน 2. จะพัฒนาการศึกษา การสาธารณสุข ศิลปวัฒนธรรม ประเพณี และภูมิปญญา ทองถิน่ เปนระบบ ไดมาตรฐานและสอดคลอง กับวิถีชีวิตชุมชน 3. ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม คงอยูและใชประโยชนอยางสมดุล 4. ประชาชนมีความมั่นคงปลอดภัย ในชีวิตและทรัพยสิน และมีสวนรวมในการ บริหารงานกับ อบต. 5. สงเคราะหใหความชวยเหลือแกผู ดอยโอกาสในสังคมอยางทั่วถึง 6. ประชาชนมีอาชีพทีม่ นั่ คงและมีรายได เพียงพอตอการดํารงชีวิต 7. จะพัฒนาตําบลใหเปนแหลงทองเทีย่ ว เชิงนิเวศ

สนใจขอมูลเพิ่มเติมติดตอ องคการบริหารสวนตําบลปากทะเล อําเภอบานแหลม จังหวัดเพชรบุรี โทร 032-783590-1 หรือ ww.pakthale.go.th Phetchaburi 135


เสนทางพบเทศบาลตําบลบานแหลม

“วัดเขาตะเคราศักดิ์สิทธิ์ หลวง พอสัมฤทธิ์คูบาน ถิ่นฐานหอยแครง สูแหลงเกลือดี เขียวขจีปาชายเลน” คือคําขวัญของอําเภอบานแหลม จังหวัดเพชรบุรี ที่ตั้งของเทศบาลตําบล บานแหลม โดยมี นายวัน เมฆอัคคี เปน นายกเทศมนตรีตําบลบานแหลม ซึง่ บริหารงานใหเปนไปตามวิสยั ทัศนทวี่ า “เทศบาลตําบลบานแหลม เปน องค ก รปกครองส ว นท อ งถิ่ น ที่ เ อื้ อ อํานวยและประสานเชื่อมโยงทั้งภาค รัฐและเอกชนในการพัฒนาทองถิ่น เพือ่ ใหประชาชนมีคณ ุ ภาพชีวติ ทีด่ ี ได รับบริการ สวัสดิการ และการคุม ครอง อยางทั่วถึงเปนธรรมและเสมอภาค ทัง้ สามารถพัฒนาตนเองเพิม่ ศักยภาพ ชวยเหลือครอบครัวใหเขมแข็งและ ชุมชนเปนเมืองนาอยูยิ่งขึ้น”

เทศบาลตําบลบานแหลม

แม นํ้ า เพชรบุ รี ไ หลผ า นชุ ม ชนจากทาง ตะวันตกไปตะวันออกสูทะเลที่ปากอาว บานแหลม

เขตการปกครองเทศบาลตําบล บานแหลม มีพื้นที่เขตปกครองทั้งหมด ขอมูลพื้นฐาน 9 ชุมชน ไดรบั การยกฐานะจากสุขาภิบาล สภาพทัว่ ไปของเทศบาลตําบลบานแหลม เปนเทศบาลตําบล เมือ่ วันที่ 25 พฤษภาคม ที่ตั้ง เทศบาลตําบลบานแหลม 2542 ตั้งอยูในเขตอําเภอบานแหลม จังหวัด เพชรบุรี หางจากอําเภอเมืองประมาณ 15 ประชากร จากหลักฐานทางทะเบียน กิโลเมตร โดยอยูห า งจากกรุงเทพมหานคร ราษฎร ณ เดือน กรกฏาคม พ.ศ.2557 ระยะทางประมาณ 140 กิโลเมตร ตาม ของสํานักทะเบียนทองถิ่น เทศบาล ทางหลวงหมายเลข 4 ถนนเพชรเกษม ตําบลบานแหลม มีจํานวนประชากร และตามเส น ทางถนนพระราม 2 เข า รวม 12,465 คน แบงเปบชาย 6,041 สู  ตํ า บลยี่ ส าร-บางตะบู น ระยะทาง คน หญิง 6,424 คน มีจาํ นวนครัวเรือน ประมาณ 19 กิโลเมตร 3,997 ครัวเรือน สภาพพืน้ ที่ เทศบาลตําบลบานแหลม มีพนื้ ที่ 5.23 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 3268 ไร มีสภาพเปนที่ราบลุมและที่ราบ ชายฝงทะเล พื้นดินมีลักษณะเปนดินเลน และปาชายเลน พื้นที่ทางดานทิศตะวัน ออกเฉียงเหนือติดทะเลอาวไทย และมี

136


3. ชุมชนบานกลางสามัคคี 4. ชุมชนบานในพัฒนา 5. ชุมชนศาลเจากวงกงพัฒนา 6. ชุมชนยานซื่อพัฒนา 7. ชุมชนวัดลักษณารามสามัคคี 8. ชุมชนประมงเจริญพัฒนา 9. ชุมชนศาลเจาฮุดโจวรวมใจพัฒนา ลั ก ษณะการประกอบอาชี พ เนื่องจากพื้นที่เทศบาลตําบลบานแหลม อยูติดกับทะเลอาวไทยทําใหประชาชน สวนใหญมีอาชีพการทําประมง รับจาง อุ ต สาหกรรมในครั ว เรื อ น ข า ราชการ พนั ก งานรั ฐ วิ ส าหกิ จ และพนั ก งานใน องคกรเอกชน ลักษณะชุมชนในทองถิน่ ชุมชนใน เขตเทศบาลตําบลบานแหลม เปนชุมชนที่ ตั้งขึ้นตามนโยบายของกรมการปกครอง ( เดิม) ที่กําหนดใหเทศบาลฯสงเสริมให ประชาชนในเขตเทศบาลฯซึ่ ง แบ ง เป น ชุมชนได มีการรวมกลุมเพื่อรวมกันคิด รวมกันทํา รวมกันแกไขปญหาของกลุม ในรูปแบบของชุมชนยอย ซึง่ อาจแบงตาม สภาพพื้นที่หรือการรวมกลุมตามสังคม โดยจัดใหมีแกนนําชุมชนในรูปของคณะ กรรมการชุมชน เปนผูบริหารงาน และมี ชุมชนจํานวน 9 ชุมชน ดังนี้ 1. ชุมชนวัดอุตมิงคพัฒนา 2. ชุมชนวัดตนสนพัฒนา

เปดวิสัยทัศนการพัฒนา นายวัน เมฆอัคคี นายกเทศมนตรี ตํ า บลบ า นแหลม ได แ ถลงนโยบาย การบริ ห ารต อ สภาเทศบาลตํ า บล บานแหลม ในการประชุมสภาเทศบาล สมัยวิสามัญ สมัยที่ 1 ประจําป 2555 เมื่อวันที่ 5 ตุลาคม 2555 โดยมีใจความ สําคัญบางสวนวา “กระผมขอใชเวลาอันมีคาของ สภาอั น ทรงเกี ย รติ แ ห ง นี้ แถลง นโยบายในการบริ ห ารงานเทศบาล ตําบลบานแหลม ในระยะเวลา 4 ป ข า งหน า ตามกรอบ ภารกิ จ และ อํ า นาจหน า ที่ ข องเทศบาลตาม กฎหมาย โดยเนนการบริหารงานอยาง มีประสิทธิภาพ ซือ่ สัตย สุจริต โปรงใส และสามารถตรวจสอบได กระผม พร อ มที่ จ ะรั บ ฟ ง ความคิ ด เห็ น ของ ประชาชนโดยสวนรวม เพือ่ นํามาเปน แนวทางในการปฏิบตั หิ นาที่ โดยคํานึง

นายวัน เมฆอัคคี

นายกเทศมนตรีตําบลบานแหลม

Phetchaburi 137


ถึงประโยชนสูงสุดของประชาชนเปน ที่ตั้ง ภายใตนโยบายที่วา...รวมคิด รวมทํา รวมกันพัฒนา” นโยบายการพัฒนา 10 ดาน (1) พัฒนาและปรับปรุงโครงสราง พืน้ ฐานในพืน้ ทีเ่ ขตเทศบาลตําบลบานแหลม ใหไดมาตรฐาน เพื่อคุณภาพชีวิตทีดี่ ของ ประชาชน (2) สนับสนุนและประสานความรวม มือทุกภาคสวน ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชนในการขับเคลื่อนพัฒนา ทองถิ่น (3) ปรับปรุงและพัฒนารายไดของ เทศบาล ดานการจัดเก็บภาษีอากร คา ธรรมเนียม ใหทั่วถึงและเปนธรรม

(4) ส ง เสริ ม สนั บ สนุ น การสั ง คม สงเคราะห โดยเฉพาะเด็ก สตรี คนชรา คน พิการ ผูดอยโอกาส และผูประสบภัย (5) มุ  ง เน น การบริ ก ารเชิ ง รุ ก ที่ มี ประสิทธิภาพ เพื่ อ อํ า นวยความสะดวก และความ พึงพอใจแกประชาชน (6) สงเสริมและสนับสนุนการดําเนิน งานของชุมชนทุกชุมชน เพือ่ เปนแนวรวมใน การพัฒนาเทศบาลอยางมีประสิทธิภาพ (7) มุงเนนการบริหารงานเทศบาล โดยใชหลักธรรมาภิบาล และหลักการ บริหารกิจการบานเมืองที่ดี

138

(8) สงเสริมการพัฒนาบุคลากรของ เทศบาลใหเปนผูท มี่ คี วามรูค วามสามารถ รวมทัง้ พัฒนาเครือ่ งมือเครือ่ งใชใหมคี วาม เหมาะสมเพียงพอและทันสมัย เพื่อให สามารถแกไขปญหาความเดือดรอนของ ประชาชนไดอยางมีประสิทธิภาพ (9) สงเสริมดานการศึกษาใหกบั เด็ก เยาวชน และประชาชน (10) ดานสุขภาพและสิ่งแวดลอม ให ป ระชาชนทุ ก เพศ ทุ ก วั ย มี สุ ข ภาพ สมบูรณ แข็งแรง ปราศจากโรคภัย รวมถึง การปองกันโรคตางๆ และสงเสริมอนุรกั ษ ใหสิ่งแวดลอมอยูในสภาพที่ดี


วัดตนสน.... ตั้งอยูในอําเภอบานแหลม เปนวัด สําคัญของชาวบานแหลม เปนศูนยรวม ในการจัดกิจกรรมทางวัฒนธรรมตาง ๆ ของชุมชนบานแหลม มีสิ่งสําคัญอันเปน มิ่งขวัญของชาวบานแหลม คือหลวงพอ สัมฤทธิ์ นอกจากนี้ยังมีรูปปนกรมหลวง ชุมพรเขตรอุดมศัดดิ์ ซี่งแปลกกวาที่อื่น เนื่องจากดานหลังมีรูปปนหลวงพอทวด ยื น เกื อ บชิด กัน บริเวณหนาวัด ตั้งอยูริม แมนํ้าเพชรบุรี มีสะพานคอนกรีตสูงทอด ขามแมนํ้า มีศาลาไทยริมนํ้าสําหรับนั่งพัก ผอน มองเห็นทิวทัศนสวยงามของหมูบาน ชาวประมงมีเรือจอดอยูเรียงรายและมีนก นางแอนมาทํารังอยูในวัดและโดยรอบ จึง มีการทําธุรกิจเก็บรังนก โดยการสรางตึก สูงสําหรับใหนกนางแอนมาอาศัย วัดในกลาง..... เป น วั ด เก า แก มี อ ายุ ไ ม น  อ ยกว า 250 ป เปนวัดที่ สมเด็จพระเจาตากสิน มหาราช ทรงสรางเพื่อถวายพระราชกุศล แดพระมารดาซึ่งเปนคนบานแหลม เจดีย อุโบสถแบบมหาอุด กุฏิ ศาลาการเปรียญ หอระฆั ง และสิ่งปลูก สรางอื่น ๆ ในวัด ลวนเปนศิลปะสมัยอยุธยาตอนปลาย วัด นี้เปนที่ประดิษฐาน หลวงพอสุโขทัย ซึ่ง เปนพระพุทธรูปสมัยสุโขทัย ปางมารวิชัย เปนที่เคารพสักการะของชาวบานตําบล บานแหลมและประชาชนทั่วไป

ผลิตภัณฑ OTOP • ผลิตภัณฑผาไทย ผลิตจากเศษผา ไหมไทยนํามาตัดเย็บเปนกระเปา ถุงใส สิ่งของ ซองจดหมาย อื่น ๆ อีกมากมาย หลายแบบ สวยงามทรงคุณคา • อาหารทะเลแห ง ปราศจากสาร พิษที่ผูบริโภคมั่นใจได ดวยวัตถุดิบที่สด สะอาด และรักษาความใหมสด ดวยการ เก็บผลผลิตดวยขั้นตอนการบรรจุภัณฑที่ ทันสมัย เทศกาลสําคัญ • เทศกาลสงกรานต ในวันที่ 13 – 15 เมษายน ณ วัดลักษณาราม • เทศกาลประเพณีงานปดทองวัด ตนสน เทศกาลประเพณีงานลอยกระทง ประมาณเดือนพฤศจิกายน ณ วัดตนสน • งานเปดโลกทะเลโคลน ณ ที่ทําการ อําเภอบานแหลม

สถานที่ติดตอ สํานักงานเทศบาลตําบลบานแหลม 99 หมู 7 ตําบลบานแหลม อําเภอบานแหลม จังหวัดเพชรบุรี โทร 032-772095-7 www.Banlaemcity.go.th Phetchaburi 139


เสนทางพบเทศบาลตําบล

เทศบาลตําบลบางตะบูน “บางตะบูนเมืองนาอยู สูการพัฒนา สงเสริมการศึกษา พัฒนาคุณภาพชีวิต สรางจิตสํานึกรักษสิ่งแวดลอม พรอมนํา สูการเปนเมืองทองเที่ยว” คื อ วิ สั ย ทั ศ น ข อง เทศบาลตํ า บล บางตะบูน ภายใตการนําของนายชัยยศ สงวนทรั พ ย นายกเทศมนตรี ตํ า บล บางตะบู น ซึ่งบริหารงานเทศบาลตําบล บางตะบูนมาตลอดระยะเวลา 17 ป และ มี ค วามมุ  ง มั่ น ตั้ ง ใจที่ จ ะพั ฒ นาตํ า บล บางตะบูน ซึ่งเปนบานเกิดของตนเอง จาก อดี ต ที่ มี ค วามไม พ ร อ มในหลายด า น จน ปจจุบันสามารถดําเนินการใหมีความเจริญ รุ  ง เรื อ งรุ ด หน า ก า วไกลทั ด เที ย มท อ งถิ่ น อื่นๆ โดยมีการพัฒนาอยางครอบคลุมและ หลากหลาย เพื่ อ ให บ างตะบู น เป น เมื อ ง นาอยู มีความสะดวกสบายอยางครบครัน ทัง้ ดานสาธารณูปโภค สาธารณูปการ ประชาชน มีคุณภาพชีวิตที่ดี มีรายไดเพิ่มขึ้น มีที่อยู อาศัยที่มั่นคง มีสุขภาพกายที่แข็งแรง และ มีสุขภาพจิตที่ดี ตลอดจนเปนสถานที่ที่มี ความพรอมในการรองรับนักทองเที่ยวที่จะ เขาเยือนเพื่อสัมผัสธรรมชาติที่สวยงาม จากผลการดําเนินงานที่ผานมา นาย ชัยยศ สงวนทรัพย นายกเทศมนตรีตาํ บล บางตะบูน ไดพิสูจนใหเห็นถึงศักยภาพใน การบริหารทองถิ่นและการสรางเครือขาย การทํางานรวมกันกับหนวยงานทั้งภายใน และภายนอก โดยบูรณาการความรวมมือ ประสานการทํางาน เพื่อจัดหางบประมาณ มาใชในการพัฒนาตําบลบางตะบูน ใหมี ความเจริญกาวหนาสมดังเจตนารมณทไี่ ดตงั้ ไว อีกทัง้ สามารถตอบสนองตอความตองการ ของประชาชนในพื้นที่ 140

เทศบาลตํ า บลบางตะบู น มุ  ง เน น พั ฒ นาศั ก ยภาพของคนทุ ก วั ย ทุ ก ระดั บ โดยเริม่ ตนตัง้ แตเด็กปฐมวัยในศูนยพฒ ั นา เด็ ก เล็ ก โดยมี ก ารบริ ห ารจั ด การศู น ย พั ฒ นาเด็ ก เล็ ก อย า งเป น ระบบและมี มาตรฐานเอื้อตอการเรียนรู ตลอดจน เปนศูนยเด็กเล็กที่ปลอดโรค จนทําให ศู น ย พั ฒ นาเด็ ก เล็ ก เทศบาลตํ า บล บางตะบูน ไดรบั รางวัลและเกียรติประวัติ จากองค ก รภายนอกอย า งมากมาย นอกจากนั้นเทศบาลตําบลบางตะบูนยังได นํากระแสพระปณิธานของสมเด็จพระบรม โอรสาธิราชสยามมกุฎราชกุมาร และ พระเจาวรวงศเธอพระองคเจาศรีรัศมิ์ พระวรชายา มาเปนแนวทางในการจัดตั้ง ศูนยสามวัยสานสายใยรักแหงครอบครัว บางตะบูนขึน้ ใหสอดคลองกับ 5 แนวคิด หลัก คือ “เตรียมพรอมกอนครองคู เรียนรูร ว มกันแตในครรภ คิดสรางสรรค แตเยาววัย ครอบครัวเสริมกายใจ ผู  สู ง วั ย สานใยรั ก ” โดยให ค วาม อนุ เ คราะห ใ ช อ าคารป อ งกั น และ บรรเทาสาธารณภั ย ฯ ปรั บ ปรุ ง เป น อาคารศู น ย ส ามวั ย สานสายใยรั ก แห ง ครอบครั ว บางตะบู น เพื่ อ เป น ศูนยกลางในการพัฒนาคุณภาพชีวติ เนนความตอเนื่องเชื่อมโยงเปนวงจร ทุกชวงวัย รวมทั้งสรางรูปแบบตัวอยางที่ ดีในการพัฒนา และบูรณาการดําเนินงาน ทุ ก ภาคสวนใหบริก ารแบบองคร วม โดย พระเจาวรวงศเธอพระองคเจาศรีรัศมิ์ พระวรชายา ทรงเปดศูนยฯ แหงนี้เมื่อวันที่ 23 มิถุนายน 2557 ที่ผานมา

นายชั ย ยศ สงวนทรั พ ย นายก เทศมนตรีตําบลบางตะบูน ไดใหความ สํ า คั ญ กั บ การพั ฒ นาแหล ง ท อ งเที่ ย ว เพื่ อ สร า งจุ ด เด น และจุ ด ขายให แ ก ตํ า บล บางตะบูน ซึ่งมีความโดดเดนในธรรมชาติ ที่ อุ ด มสมบู ร ณ มี ภู มิ ทั ศ น ที่ ส วยงามน า สนใจศึ ก ษาเที่ ย วชม เหมาะสํ า หรั บ การ ท อ งเที่ ย วเชิ ง นิ เ วศน ทั้ ง แบบไปเช า เย็ น กลับและพักคางคืน เพื่อสัมผัสธรรมชาติที่ สวยงามและหาชมไดยาก หากมองจาก สะพานเฉลิ ม พระเกี ย รติ ซึ่ ง เชื่ อ มต อ สองฝงแมนํ้าบางตะบูนออกไปบริเวณ ปากอาวบางตะบูน จะเห็นกระเตงเฝา หอยแครงที่นักทองเที่ยวนิยมไปพักคาง


ตกปลา การนั่ ง เรื อ ชมวิ ถี ชี วิ ต ชาว บางตะบู น พื้ น บ า น การชมวาฬบรู ด  า การเดินสะพานชมนิเวศนเพื่อเที่ยวชม ศูนยอนุรกั ษและศึกษาระบบนิเวศนวทิ ยา ป า ชายเลน โรงเรี ย นบางตะบู น วิ ท ยา ชมอาคารภูมปิ ญ  ญาพืน้ บาน ซึง่ ไดบอกถึง ความเปนมา วิถชี วี ติ และภูมปิ ญ  ญาพืน้ บาน ในพื้นที่อยางมากมาย ขณะนี้ยังไดมีการปรับภูมิทัศนบริเวณ ตางๆ อีกมากมาย เชน การจัดสรางหอนาฬกา การพัฒนาริมชายฝงทะเล ลานริมนํ้า ลาน กิจกรรม การจัดสรางอนุสรณสถานกรมหลวง ชุมพรเขตอุดมศักดิ์ เพื่อเปนที่สักการะแก ชาวประมงในพืน้ ที่ และผูส ญ ั จรมาทองเทีย่ ว การกอสรางอาคารจําหนายสินคาพื้นเมือง เพื่ อ รองรั บ นั ก ท อ งเที่ ย วที่ เ ข า มาลิ้ ม ชิ ม รส อาหารทะเลสดรสชาติอรอย เทศบาลตําบลบางตะบูน เปนเทศบาล ตนแบบที่มีการพัฒนาอยางรุดหนากาวไกล ในทุกดานเพื่อใหทัดเทียมกับทองถิ่นอื่นจน

ไดรบั การยอมรับจากบุคคล องคกรภายนอก และไดรับรางวัลมากมาย ไดแก รางวั ล ศู น ย พั ฒ นาเด็ ก เล็ ก น า อยู  ดีเดน จากกรมอนามัย ประจําป 2548 รางวัลโครงการจัดระเบียบการจําหนาย สินคาในที่สาธารณะฯ ดีเดน ประจําป งบประมาณ พ.ศ.2550 รางวัลพระราชทานสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี รางวัล เทศบาลน า อยู  อ ย า งยั่ ง ยื น ระดั บ ประเทศ ประจําป 2550 ประเภทรางวัลชยเชยเทศบาล ขนาดกลาง รางวัลศูนยพัฒนาเด็กเล็กตนแบบ ดีเดนระดับจังหวัด จากกรมสงเสริมการ ปกครองสวนทองถิ่น ประจําป 2550 รางวัลโครงการประกวดศูนยพฒ ั นา เด็ ก เล็ ก ดี เ ด น ขององค ก รปกครองส ว น ทองถิ่น ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2551 ประเภทศูนยพัฒนาเด็กเล็กตนแบบดีเดน รางวั ล โครงการท อ งถิ่ น สะอาด สงเสริมการทองเที่ยวเพชรบุรี ประจําป

นายชัยยศ สงวนทรัพย

นายกเทศมนตรีตําบลบางตะบูน งบประมาณ 2551 ประเภทองคกรปกครอง สวนทองถิ่นที่มีพื้นที่ติดแมนํ้าเพชรบุรี รางวัลทองถิน่ สะอาด (ดานการอนุรกั ษ แมนาํ้ เพชรบุร)ี 4 ปซอ น ตัง้ แตป 2551-2555 รางวัลศูนยพัฒนาเด็กเล็กนาอยูดี เดน จากกรมอนามัย ประจําป 2553 ประเภท ศูนยพัฒนาเด็กเล็กตนแบบดีเดน รางวัลประกาศเกียรติคุณ ประเภท ผูบริหารเขมแข็ง ในการเปนเจาภาพจัด สัมมนาพลังชุมชนพลังทองถิ่น ขับเคลื่อน เมืองนาอยู โลรางวัลศูนยพัฒนาเด็กเล็กผาน เกณฑโภชนาการสมวัยดีเดน ประจําป 2555 ศูนยพัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตําบล บางตะบู น ได ผ  า นเกณฑ ก ารประเมิ น ศูนยเด็กเล็กปลอดโรค ของกรมควบคุม โรค ประจําป 2556 รางวั ล ชนะเลิ ศ ประกวดท อ งถิ่ น สะอาด (ดานการอนุรักษแมนํ้าเพชรบุรี) ประจําป 2557 ผานการประเมินคุณภาพการศึกษา ของสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน คุณภาพการศึกษา (สมศ.) ระดับดีมาก

Phetchaburi 141


เสนทางพบองคการบริหารสวนตําบล (อ.บานแหลม)

องคการบริหารสวนตําบลบางตะบูน สารนายกองคการบริหารสวนตําบลบางตะบูน

นับตั้งแตกาวเขามาทํางานเพื่อทองถิ่น จนถึง ณ วันนี้ กระผมยังรูสึกภาคภูมิใจ ที่ประชาชนไดใหโอกาสเขามาพัฒนาทองถิ่นของเราตามนโยบายที่ไดแถลงตอสภา ทองถิ่นไว กิจกรรมและโครงการตาง ๆ ที่ไดดําเนินการมาสําเร็จลุลวงไปดวยดีหลาย ตอ หลายโครงการ โดยเฉพาะการพัฒนาในดานสาธารณูปโภคพื้นฐาน ซึ่งมีความ สําคัญและจําเปนตอชีวิตความเปนอยู ของพี่นองประชาชนเปนอันดับแรก รวมทั้งยัง เปนพื้นฐานในการพัฒนาในดานอื่น ๆ อีกดวย ถึงแมในบางครั้งอาจยังมีอุปสรรคใน การดําเนินงานอยูบาง แตดวยความรวมมือรวมใจของประชาชนและผูเกี่ยวของทุก ฝาย ก็ทําใหการดําเนินงานตาง ๆ ผานพนไปไดดวยดี กระผมในฐานะหัวหนาผูบริหาร จะผลักดันภารกิจตาง ๆ ที่เปนความตองการ ของประชาชนใน พื้นที่ รวมทั้งดําเนินการตามภารกิจที่ไดรับถายโอนจากรัฐในการก ระจายอํานาจสูท อ งถิน่ ทัง้ ดานสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ เพือ่ พัฒนาชีวติ และ ชุมชนตามหนาทีค่ วามรับผิดชอบใหประชาชนในพืน้ ทีม่ คี ณ ุ ภาพชีวติ และความเปนอยู ที่ดีบนพื้นฐานแหงความพอเพียงตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง อันเปนพระราชดําริของ องคพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ที่ไดทรงพระราชทานไวแกปวงชนชาวไทย และ จะดําเนินงานภายใตหลักการแหงกฎหมาย ระเบียบปฏิบัติที่ถูกตอง เพื่อใชจายงบ ประมาณอยางคุมคาและเกิดประโยชนสูงสุด นายจําลอง เจิมจันทร นายกองคการบริหารสวนตําบลบางตะบูน

142


ขอมูลทัว่ ไป ตําบลบางตะบูน เปนตําบลหนึ่งใน สิบของอําเภอบานแหลม จังหวัดเพชรบุรี หางจากที่วาการอําเภอบานแหลมไปทาง เหนือประมาณ 12 กิโลเมตร มีเนือ้ ทีท่ งั้ หมด 13,380 ไร (21.40 ตารางกิโลเมตร) ลักษณะภูมิประเทศ พื้นที่สวนใหญ ของตําบลบางตะบูนเปนพื้นที่ราบลุมและ เปนที่ราบชายฝงทะเลมีนํ้าทวมถึง ดินเปน ดินเลน ชายทะเลดานทิศตะวันออกของ ตําบลมีสภาพเปนปาชายเลน มีแมนํ้าและ ลําคลองไหลผาน เชน แมนํ้าบางตะบูน ซึ่งเปนสาขาของแมนํ้าเพชรบุรี ซึ่งในสมัย กอนแมนํ้าสายนี้เปนเสนทางสัญจรทาง เรือของพอคาวาณิชตาง ๆ ในสมัยกรุง รัตนโกสินทรตอนตน เมื่อสุนทรภูเดินทาง มาเมืองเพชรบุรี พ.ศ. 2374 ก็ไดใชเสนทาง นี้ ดังคํากลอนที่วา “แลวเคลื่อนคลาลาจากปากคลองชอง ไปตามรองนํ้าหลักปกเปนแถว ขามยี่สารบานสองพี่นองแลว คอยคลองแคลวเขาชวากปากตะบูน”

เขตการปกครอง อบต.บางตะบูน มี หมูบานในเขตความรับผิดชอบ 4 หมูบาน ไดแก หมูที่ 4 บานคุงตําหนัก ตําบลบาง ตะบูนอก หมูที่ 6 บานคลองไหหลํา ตําบล บางตะบูน (บางสวน) หมูที่ 7 บานบางกาง หมูที่ 8 บานบางสามแพรก จํานวนประชากร อบต.บางตะบูนมี ประชากรรวม 4 หมูบาน ประมาณ 1,591 คน แยกเปนชาย 791 คน หญิง 800 คน จํานวนครัวเรือนทั้งสิ้น 423 ครัวเรือน มี ความหนาแนนเฉลี่ยของประชากร 74 คน/ ตารางกิโลเมตร อาชีพ ดวยสภาพพื้นที่ปาชายเลน ของ อบต.บางตะบูน มีตน ตะบูน ตนโกงกาง ตนแสม ตนตะบัน ตนจาก ฯลฯ ซึ่งไมเหลา นี้ถือเปนไมเศรษฐกิจที่หลอเลี้ยงชีวิตชาว บางตะบูนมาหลายชั่วอายุคน ประชากร สวนใหญจงึ ประกอบอาชีพปลูกปาโกงกาง และนําไมจากปาโกงกางมาเผาเปนถาน จําหนาย บางสวนก็รับจางทั่วไป และทํา ประมงจับสัตวนํ้า ยุทธศาสตรการพัฒนา วิสยั ทัศนการพัฒนาองคการบริหาร สวนตําบล “บานเมืองนาอยู ทรัพยากรธรรมชาติ อุ ด มสมบู ร ณ เพิ่ ม พู น รายได ป ระชากร ปกครองตามหลัก ธรรมาภิบาล”

ยุทธศาสตรการพัฒนา องค ก ารบริ ห ารส ว นตํ า บลบาง ตะบู น ได กํ า หนดยุ ท ธศาสตร เ พื่ อ ให สามารถดําเนินการไปสูวิสัยทัศนที่กําหนด ไว โดยกํ า หนดยุ ท ธศาสตร ห ลั ก ไว 7 ยุทธศาสตร ดังนี้ 1. ยุทธศาสตรการพัฒนาดานโครงสราง พืน้ ฐาน 2. ยุทธศาสตรการพัฒนาดานการ สงเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิต 3. ยุทธศาสตรการพัฒนาดานการจัด ระเบียบชุมชน สังคม และการรักษาความ สงบเรียบรอย 4. ยุทธศาสตรการพัฒนาดานการ วางแผน การสงเสริมการลงทุน พาณิชยกร รมและการทองเที่ยว 5. ยุทธศาสตรการพัฒนาดานการ บริหารจัดการและการอนุรักษทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 6. ยุทธศาสตรการพัฒนาดานศิลปะ วัฒนธรรม จารีตประเพณี และภูมิปญญา ทองถิ่น 7. ยุทธศาสตรการพัฒนากระบวนการ บริหารจัดการในองคการ และการมีสวน รวมของประชาชน

สนใจสอบถามขอมูลเพิ่มเติมไดที่ “สํานักงานองคการบริหารสวนตําบลบางตะบูน” ตั้งอยูหมูที่ 7 ตําบลบางตะบูน อําเภอบานแหลม จังหวัดเพชรบุรี (ขางวัดคุงตําหนัก) โทรศัพท 0-3270-6033 , 0-3270-6044 โทรสาร ตอ 12 Phetchaburi 143


p.144 AD sbl.pdf

1

8/26/57 BE

6:48 PM

ร่วมเดินทางไปกับเรา

SBL MAGAZINE

(นิตยสารเส้นทางอุตสาหกรรมและท่องเที่ยว) www.smart-sbl.com

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

ติดตอลงโฆษณา

Tel. 0-2522-7171 บร�ษัท สมารท บิซิเนส ไลน จำกัด

52 ซอยรามอินทรา 99 แยก 2 ถนนรามอินทรา แขวงคันนายาว เขตคันนายาว กรุงเทพฯ 10230 โทร. 0-2522-7171 แฟกซ. 0-2971-7747 E-mail : sbl2553@gmail.com


AD true.pdf 1 30/7/2556 15:01:25


เสนทางการอนุรักษ์

ª‹Ò§ÊÔºËÁÙ‹...

Áô¡ÅíéÒ¤‹ÒáË‹§àÁ×ͧྪúØÃÕ เพชรบุ รี เป น จั ง หวั ด ที่ มี ค วามสํ า คั ญ ทาง ประวั ติ ศ าสตร มี ท รั พ ยากรและมรดกทาง ศิลปวัฒนธรรมที่มีความหลากหลายซึ่งแสดงถึง เอกลักษณของทองถิ่น โดยเฉพาะอยางยิ่งมรดก ทางศิลปกรรมและงานชางที่เรียกวา “สกุลชาง เมืองเพชร” นั้น ไดรับการสืบสานงานฝมือมา ตั้งแตอดีตจวบจนปจจุบัน ในอดีต “ช่างหลวง” หรือ “ช่างสิบหมู่” จัดเป็น กรมหนึ่ ง ที่ ร วบรวมช่ า งฝ มื อ ไว้ ห ลากหลายสาขา (มิ ไ ด้ ห มายถึ ง ช่ า งฝ มื อ เพี ย งแค่ สิ บ สาขาเท่ า นั้ น ) เช่น ช่างเขียน ช่างมุก ช่างไม้ ช่างหุ่น ช่างปั้น ช่าง ศิราภรณ์ ช่างรัก ช่างบุ ช่างกลึง ช่างหล่อ ช่างไม้สูง ช่างฉลุกระดาษ ช่างแกะสลัก (จ�าหลัก) มรดกอันเป็นผลงานสร้างสรรค์ของช่างสิบหมู่ ในเมืองเพชรบุรีมีอยู่หลายสาขา ซึ่งส่วนใหญ่ช่างจะ สร้างขึ้นเพื่อถวายเป็นพุทธบูชา เราจึงเห็นมรดกล�้าค่า เหล่านี้ตามวัดวาอารามต่างๆ โดยช่างเมืองเพชรใน แต่ละสาขาต่างได้พัฒนาฝมือ รูปแบบ และเนื้อหา จนกลายเป็ น ผลงานศิ ล ปกรรมที่ มี ค วามประณี ต งดงามเป็นเอกลักษณ์เฉพาะของตนเอง จนได้รับการ ขนานนามว่า “สกุลช่างเมืองเพชร” งานช่างสิบหมู่ที่ โดดเด่นของเมืองเพชรบุรี ประกอบด้วย

ขอขอบคุณขอมูลจาก สถาบันวิจัยและส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม ศูนย์ข้อมูลกลางทางวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม 146


1.งานปูนปน

งานปูนปั้น เป็นงานช่างสาขาหนึ่งของ เพชรบุรีที่นิยมกันมาแต่สมัยโบราณ มีทั้ง งานปั้นพระพุทธรูป และงานปูนปั้นประดับ ตกแต่ ง ตามหน้ า บั น อุ โ บสถ วิ ห าร ฐาน พระพุทธรูป ฐานเจดีย์ ซึ่งถ่ายทอดเรื่องราว ทางพุทธประวัติ เทพเทวดา สัตว์หิมพานต์ และสัตว์ในวรรณคดี เป็นต้น จากหลั ก ฐานที่ เ ป็ น ลวดลายปู น ปั ้ น สมัยทวารวดีพบว่า ในอดีตกาลนั้นมีการท�า ปูนจากเปลือกหอยเผาแล้วต�าจนละเอียด ผสมกับไฟเบอร์ เช่น ฟางข้าว กล้วยน�้าว้า เยื่อกระดาษ และตัวประสานคือหนังควาย หรือกระดูกควายเคี่ยว เติมน�้าอ้อยเพื่อให้ ปูนรัดตัว ซึ่งแต่ละท้องถิ่นจะมีสัดส่วนและ ส่วนผสมต่างๆ กันไปแล้วแต่สกุลช่างและ ความนิยม ปูนทีไ่ ด้จะมีความเหนียวสามารถ ปั้นเป็นรูปต่างๆได้ง่าย และเมื่อแห้งแล้ว จะแข็งตัวและทนแดดทนฝนได้ดี จึงมีชื่อเรียกปูนนี้ว่า “ปูนเพชร” ส่วนสูตรการท�าปูนที่เป็นจุด เด่ น ของช่ า งเมื อ งเพชรใน ปั จ จุ บั น คื อ น� า หิ น ปู น มา

เผาแล้วหมัก ผสมกับน�้าตาล กาวและกระดาษฟาง ต�าให้เข้ากันจนเหนียว สามารถเก็บไว้ใช้ได้นานเป็นเดือนๆ สามารถหาชมงานศิลปะปูนปั้นได้หลายแห่ง เช่น งานปูนปน หนาบันพระวิหารหลวง พระปรางค์ และ งานปูนปนของศาลา วัดมหาธาตุวรวิหาร ซึ่งเป็นผลงานของช่างเมืองเพชรหลายท่าน เช่น นายพิณ อินฟาแสง นายทองร่วง เอมโอษฐ นายเฉลิม พึ่งแตง นายสมพล พลายแก้ว งานปูนปนหนาบันวิหารพระคันธารราฐ วัดพลับพลาชัย ฝมอื ของนายพิณ อินฟาแสง หนาบันและซุม ประตู อุโบสถวัดปากคลอง ฝมือของนายแปว บ�ารุงพุทธ เป็นต้น ส่วนงาน ปูนปั้นฝมือช่างสมัยอยุธยามีปรากฏอยู่หลายแห่ง เช่น วัดไผ่ล้อม วัดสระบัว วัดเกาะ วัดใหญ่สุวรรณารามวรวิหาร วัดบันไดอิฐ เป็นต้น

Phetchaburi 147


2. งานช่างลายรดน�้า

งานช่างลายรดน�้า เป็นงานประณีตศิลป์ด้านตกแต่งซึ่ง รวมอยู่ในช่างรัก “ลายรดน�้า” หมายถึง การเขียนลวดลาย หรือรูปภาพให้ปรากฏเป็นลายทองด้วยวิธีปิดทองแล้วเอา น�า้ รด จัดเป็นงานประณีตศิลป์ทมี่ คี วามละเอียดอ่อน สวยงาม และทรงคุณค่า การท� า ลายรดน�้ า พบว่ า นิ ย มมาแต่ ค รั้ ง สุ โ ขทั ย เจริ ญ รุ ่ ง เรื อ ง และนิ ย มเรื่ อ ยมาจนถึ ง สมั ย อยุ ธ ยา และสมั ย รัตนโกสินทร์ โดยใช้ส�าหรับตกแต่งสิ่งของเครื่องใช้ และ เครื่องประดับ ตลอดจนใช้ประดับตกแต่งผนังห้องที่มีขนาด ใหญ่ จนกลายเป็นมรดกที่ต กทอดมาถึงยุค สมัยนี้ ได้ แ ก่ ตู้พระธรรม เครื่องใช้สอย เครื่องครุภัณฑ์ ได้แก่ หีบต่างๆ ไม้ประกับหน้าคัมภีร์ พานแว่นฟา โตก ตะลุ่ม ฝา บานตู้ ฉากลับแล ฝาผนัง บานประตูหน้าต่าง เป็นต้น จะเห็นได้ ว่าศิลปะลายรดน�้านี้ได้รับใช้ชนทุกชั้น ตั้งแต่ระดับชาวบ้าน ชาววัด และชาววังเลยทีเดียว

3. งานลงรัก-ปดทอง-ประดับกระจก

งานลงรัก-ปิดทอง-ประดับกระจก จัดเป็นช่าง ศิลป์ประเภทหนึ่งในหมู่ช่างรัก ประกอบด้วย ช่างลงรัก ช่างปิดทอง ช่างประดับกระจก และช่ า งมุ ก โดยงานปิ ด ทองริ เ ริ่ ม มา แต่ ส มั ย ทวารวดี จากหลั ก ฐานที่ พ บ คือ พระพุทธรูปสมัยทวาราวดี ที่ถ�้า เขางู จั ง หวั ด เพชรบุ รี พบร่ อ งรอย การปิดทองที่องค์พระและที่ฐานชุกชี ส่วนสมัยสุโขทัยนั้นมีหลักฐานการปิด ทองบนลวดลายสลักไม้ปรากฏอยู่ตาม เจดีย์ พระพุทธรูป ซุ้มพระปรางค์ ส่วน งานปิดทองและงานประดับกระจกนั้น ได้ รับอิทธิพลและแบบอย่างมาจากอินเดีย ซึ่งนิยม ประดับกระจกสีชิ้นเล็กๆ ลงบนเสื้อผ้าอาภรณ์ หลักฐาน ที่เด่นชัดคือ สมัยอยุธยานิยมประดับกระจกเพื่อเพิ่มความ สวยงามให้กับงานประณีตศิลป์ต่างๆ ปัจจุบันเราสามารถหาชมงานประดับกระจกในจังหวัด เพชรบุรีได้หลายแห่ง เช่น พระวิ ห ารหลวงวั ด มหาธาตุ วรวิหาร ฐานพระประธานในอุโบสถวัดใหญ่สวุ รรณาราม วรวิหาร หรือตามหน้าบันอุโบสถ ช่อฟา ใบระกา ธรรมาสน์ คันทวย และฐานชุกชีพระพุทธรูป เป็นต้น

148


4. งานจิตรกรรม

งานจิตรกรรม เป็นงานศิลปกรรมที่รงคุณค่ายิ่งอย่างหนึ่งของไทย ซึ่งในอดีตนิยมเขียนงานจิตรกรรมไว้ตามผนังอุโบสถ วิหาร หอธรรม ศาลาการเปรียญ สมุดข่อย และสมุดภาพ จิตรกรรมฝาผนังที่ขึ้นชื่อ ของเมืองเพชรคือ งานจิตรกรรมในอุโบสถวัด วัดใหญ่สุวรรณาราม ซึ่งเป็นผลงานของช่างเมืองเพชรในสมัยอยุธยาตอนปลาย โดยเฉพาะ ภาพทวารบาลบนประตูอุโบสถนั้น อาจารย์สันติ เล็กสุขุม ได้ บรรยายไว้ในหนังสือ “ศิลปอยุธยา งานช่างหลวงแห่งแผ่นดิน” ว่า...มีความงดงามไม ความงดงามไมมีที่เปรียบ เกิดจากทีทาสงาอยางนุมนวล พระหั ต ถ ข  า งหนึ่ ง ยกขึ้ น ถื อ ช อ ประดิ ษ ฐ ด  ว ยกระหนกพริ้ ง พราย สีที่ใชไดอยางสดใส แตละสีประกอบกันอยางมี

เอกภาพ สอดคลองกับประสิทธิภาพของการตัดเสน คือคุณภาพเดียวกับจิตรกรรมฝาหนัง ไม่เพียงเท่านั้น ในคราวที่ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยู่ หัว เสด็จมาเมืองเพชรบุรี ในป พ.ศ. 2452 ทรงมีพระ ราชหัตถเลขาแสดงความชื่นชมจิตรกรรมฝาผนังแห่ง นี้ไว้มาก ปัจจุบันจิตรกรรมแห่งนี้ก็เป็นที่ยอมรับกัน ในด้านความคิดและฝมืออันยอดเยี่ยมของส�านักช่าง เพชรบุรีในยุคปลาย

Phetchaburi 149


5. งานช่างทอง

งานศิลปหัตถกรรมเครื่องทองรูปพรรณแบบโบราณ เป็น สั ญ ลั ก ษณ์ อ ย่ า งหนึ่ ง ของจั ง หวั ด เพชรบุ รี ที่ มี ชื่ อ เสี ย งเป็ น ที่ ยอมรับกันทั่วไปว่า เป็นผลงานด้านหัตถศิลป์ที่มีคุณค่า มีความ ประณีต งดงาม แสดงถึงเอกลักษณ์แห่งภูมิปัญญาที่ผสมผสาน กับฝมือของช่างทองเพชรบุรี ที่มักสอนหรือถ่ายทอดให้คนใน ครอบครัว และผู้ที่มีใจรักในศิลปะ จากหลักฐานที่ปรากฏ ช่างทองคนแรกของจังหวัดเพชรบุรี คื อ นายหวน ตาลวั น นา หลั ง จากนั้ น ก็ มี ต ระกู ล ช่ า งอื่ น ๆ ที่ สื บ สานงานศิ ล ปหั ต ถกรรมเครื่ อ งทองจนเป็ น ที่ รู ้ จั ก กั น ดี ใน เวลาต่อมา คือ ช่างทองตระกูล “สุวรรณช่าง” ตระกูล “ทองสัมฤทธิ์” ตระกูล “ชูบดินทร์” ตระกูลช่างทองเหล่านี้ ได้ ถ่ายทอดความรู้ด้านงานช่างทองแก่ลูกหลานและศิษย์ไว้หลาย คน แต่ส่วนใหญ่เสียชีวติ ไปเกือบหมดแล้ว บางคนอายุมากและ สุขภาพไม่ดีจึงเลิกท�าทอง มีแต่ นางเนื่อง แฝงสีค�า ช่าง ทองเชื้ อ สายตระกู ล “ชูบดินทร์” เพียง คนเดี ย วที่ ยั ง คง ท�าทองอยูจ่ นถึง ปัจจุบัน ลั ก ษณะเด่ น ของทองรู ป พรรณของช่ า งทอง เชือ้ สาย ตระกูล “ชูบดินทร์” เป็นการผสมผสานระหว่าง งานช่างกับศิลปะอย่างสมดุล เป็นผลงานที่เกิดจาก ความรู้ ผสานกับอารมณ์ ความรู้สึกและใจรัก งานทุก ชิ้นจึงมีลักษณะเด่นเฉพาะตัว ให้อารมณ์ความรู้สึกที่ลึกซึ้ง สร้างสรรค์ ไม่เลียนแบบผู้ใด และมีความประณีตงดงาม

150


6. งานแทงหยวก

การสลักหยวก หรือ การแทงหยวก เป็นงานฝมือประเภท ช่างสลักของอ่อน ที่สืบทอดกันมาหลายร้อยป โดยมีประเพณี ที่เกี่ยวเนื่องกับการแทงหยวกกล้วย 2 อย่าง คือ การโกนจุก และการเผาศพ (โดยเฉพาะศพผู้ที่มีฐานะปานกลางไปขึ้นไป) ซึ่งประเพณีการโกนจุก จะมีการจ�าลองเขาพระสุเมรุตามความ เชื่อ แล้วตกแต่งภูเขาด้วยรูปสัตว์ต่างๆ ส่วนภูเขาพระสุเมรุ จะตั้งอยู่ตรงกลางร้านม้า ซึ่งท�าโครงสร้างด้วยไม้แล้วหุ้มด้วย หยวกกล้วยแกะสลักเป็นลวดลายต่างๆ ประเพณีการเผาศพ ก็เช่นกันจะท�าร้านม้าซึ่งท�าโครงสร้างด้วยไม้ แล้วประดับด้วย หยวกกล้วยแกะสลักอย่างงดงาม กระบวนการแทงหยวกนั้น ต้องเริ่มจากการ ไหว้ครู เพื่อร�าลึกถึงครูอาจารย์ มีธูป 3 ดอก เทียนขี้ผึ้ง 1 เล่ม ดอกไม้ 3 สี สุรา 1 ขวด ผ้าขาวม้า 1 ผืน เงินค่าครู 142 บาท ขั้นตอนการแทงหยวกและประกอบ เข้าเป็นลายชุด มี 3 ขั้นตอนใหญ่ๆ

คือ ขั้นเตรียมหยวกกล้วย ขั้นแทงลวดลายลงบนหยวก และขั้น ประกอบเป็นลายชุด การแทงหยวกหรือการสลักหยวกกล้วยนัน้ ผู้ที่เป็นช่างจะต้องได้รับการฝกหัดจนเกิดความช�านาญ เพราะ ช่างจะไม่วาดลวดลายแต่จะจับมีดปลายแหลมสองคมแล้ว ลงมือสลักลงบนหยวกกันเลยทีเดียว จึงเรียกว่า “การแทงหยวก” ช่ า งแทงหยวกชื่ อ ดั ง ของเมื อ งเพชรคื อ นายประสม สุสุทธิ ผู้ถวายงานแทงหยวกประดับตกแต่งพระจิตกาธาน ในงานพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพ สมเด็จพระศรี นครินทราบรมราชชนนี ในวันที่ 9 มีนาคม พ.ศ.2539 และ เคยถวายงานแทงหยวกตกแต่งพระจิตกาธานในงานพระราช พิธีพระราชทานเพลิงพระศพ สมเด็ จ พระเจ า พี่ น างเธอฯ พระเมรุมณฑลพิธที อ้ งสนามหลวง ในวันที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 ปัจจุบนั แม้ลงุ ประสมจะเสียชีวติ ลงแล้ว แต่งานแทงหยวกสุกลช่างประสม ก็ได้รับการ สืบทอดโดยลูกหลานในตระกูล อีกทั้งเมื่อ ลุงประสมยังมีชวี ติ อยู่ ก็ได้ถา่ ยทอดศิลปะ แขนงนี้ให้กับเด็กและเยาวชนในจังหวัด เพชรบุรีด้วย

Phetchaburi 151


7. งานตอกกระดาษ

งานตอกกระดาษ คือการน�ากระดาษมาสลักโดยการตอก ด้วยสิ่วให้เป็นลวดลายต่างๆ มีทั้งลายไทย รูปสัตว์ในวรรณคดี สิบสองนักษัตร หรือลายประดิษฐ์อย่างอื่นตามต้องการ ใช้ ส� า หรั บ ประดั บ หรื อ ตกแต่ ง สถานที่ หรื อ เครื่ อ งมื อ เครื่ อ งใช้ ส�าหรับเมืองเพชรบุรีนั้นจะใช้งานตอกกระดาษท�าเป็นลายไทย แล้วน�ามาติดประดับที่ “ลูกโกศ” ซึ่งเป็นโกศขนาดใหญ่บรรจุ กระดูกที่ล้างท�าความสะอาดแล้วส�าหรับตั้งบ�าเพ็ญกุศล ไม่ เพียงงานศพเท่านั้น แต่งานตอกกระดาษยังน�ามาใช้ในงานบุญ เช่น งานบวชและงานแต่งงาน โดยมักใช้กระดาษสีสดใสท�า เป็น “ธงราว” โดยมีลวดลายที่ตอกเป็นลายไทย หรือรูปสัตว์ทั้ง 12 นักษัตร แล้วน�ามาแขวนเรียงราย สร้าง สีสนั และบรรยากาศภายในงาน และใน งานบุญนี้เราก็มักจะเห็นธงราวอยู่ คู่กับ “พวงมะโหตร” หรือเครื่อง ตกแต่ ง กระดาษอี ก แบบหนึ่ ง ที่ใช้วิธีการพับเป็นทบและตัด และเมื่ อ คลี่ ก ระดาษออกมา ก็จะกลายเป็นพวงระย้าสีสัน สดใสสวยงาม

152


8. งานจ�าหลักหนังใหญ่

เป็นการฉลุลายบนหนังวัวหรือหนังควายทีข่ ดู ขนหรือฟอกหนังตากแห้งดีแล้วให้ โดยฉลุเป็นรูปตัวละครในวรรณคดี หนังใหญ่เมืองเพชรมีชอื่ เสียงโด่งดังในสมัยรัชกาล ที่ 5 แต่ปัจจุบันสามารถชมตัวหนังใหญ่ได้ที่ พิพิธภัณฑ์หนังใหญ่ วัดพลับพลาชัย ปัจจุบันมีช่างจ�าหลักหนังใหญ่สกุลช่างเมืองเพชรคือ นายมนู เนตรสุวรรณ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์ ที่มีความสามารถด้านศิลปะงานสกุลช่างหลายด้าน เช่น งานปูนปัน้ งานแกะสลักไม้ การท�าหัวโขน ท�าเครือ่ งประดับศิราภรณ์ และงานจ�าหลัก หนังใหญ่ เป็นต้น ปัจจุบันรับราชการในต�าแหน่งผู้เชี่ยวชาญด้านช่างประณีตศิลป์ (ศิราภรณ์) ที่ส�านักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม

Phetchaburi 153


9. งานแกะสลักไม

งานแกะสลั ก ไม้ หรื อ งานจ� า หลั ก ไม้ เป็ น งาน ศิ ล ปกรรมเก่ า แก่ ป ระเภท หนึ่ ง ของไทย ซึ่ ง นิ ย มแกะ สลักไม้ประกอบโบสถ์ วิหาร ศาลาวัด หอพระไตรปิฎก ตู้พระ ไตรปิฎก พระเจดีย์ ฯลฯ สามารถหา ชมงานแกะสลักไม้สุกลช่างเมืองเพชร ได้ที่ ศาลาการเปรียญ วัดใหญ่สุวรรณาราม ที่ มี ลั ก ษณะที่ โ ดดเด่ น จากงานแกะสลั ก ไม้ ที่ สวยงาม โดยเฉพาะบานประตูสลักลายก้านขด ปิดทอง ธรรมาสน์รูปทรงบุษบกแกะสลักลงรัก ปิดทองงดงาม นอกจากนี้ ยั ง มี ง านแกะสลั ก ไม้ ขั้ น เทพที่ วัดกุฏิ ซึ่งมีพระอุโบสถที่สร้างด้วยไม้สักทั้งหลัง โดยพระครู เ กษม สุ ต คุ ณ (หลวงพ่ อ ชุ ่ ม ) เมื่ อ ป พ.ศ.2479 โดยรอบพระอุโบสถด้านนอกสลัก เป็ น เรื่ อ งมหาชาติ ช าดก 13 กั น ฑ์ และไซอิ๋ ว หน้าบันโบสถ์ทิศตะวันออกแกะสลักเป็นเหรียญ ตรามงกุ ฎ สมั ย รั ช กาลที่ 4 ส่ ว นด้ า นหลั ง ทาง ทิศตะวันตกแกะสลักเป็นรูปเหรียญกษาปณ์ ราคา 1 บาท พร้อมตราแผ่นดินรัชกาลที่ 5 บานประตู เป็นลายเถาทะลุโปร่ง แกะสลักลายลึก ประณีต ละเอียดอ่อนด้วยฝมือช่างเมืองเพชรชั้นครู 154


10. งานปนหัวโขน หัวละคร หัวสัตว์

ส่วนใหญ่จะเป็นการปั้นหัวละครที่เป็นตัวเอกในวรรณคดี ต่างๆ ส่วนงานปั้นหัวสัตว์ จะน�าเอาส่วนที่เป็นเขาของวัว ควาย เก้ง หรือกวางที่เสียชีวิตแล้ว มาติดเข้ากับหัวที่ปั้น ขึน้ แล้วประดับตามฝาผนังวัด บ้านเรือน หรือ ท�าขึน้ เพือ่ ระลึกถึงหรือแสดงความผูกพัน ทีม่ ตี อ่ สัตว์เลีย้ ง ซึง่ จะพบเห็นได้ทวั่ ไป เกือบทุกวัดในเพชรบุรี ปัจจุบันมี การประยุกต์งานปัน้ หัวสัตว์เป็นปัน้ สัตว์ทั้งตัวเสมือนจริง

Phetchaburi 155


เส้นทางการอนุรักษ

µÒÅâµ¹´àÁ×ͧྪÃ... ¡‹Í¹¶Ö§¡ÒÅÍÇÊÒ¹

156


“พอแดดร่มลมชายสบายจิต เที่ยวชมทิศทุกอย่างกลางวิถี ทั่วประเทศเขตแคว้นแดนพริบพรี เหมือนจะชี้ไม่พ้นแต่ต้นตาล ที่พวกท�าน�้าโตนดประโยชนทรัพย มีดส�าหรับเหน็บข้างอย่างทหาร พะองยาวก้าวตีนปีนทะยาน กระบอกตาลแขวนก้นคนละพวง” “นิราศเมืองเพชร” ของ “สุนทรภู” กล่าวถึงต้นตาลและ วิถีชีวิตของชาวเมืองพริบพรี หรือเพชรบุรี ซึ่งผูกพันกับต้นตาล มาช้านาน พอจะท�าให้เราๆ ท่านๆ นึกย้อนไปถึงภาพของจังหวัด เพชรยุรีในอดีตได้ว่า คงจะมีต้นตาลขึ้นอยู่ทุกหัวไร่ปลายนา จน มีการน�าเอาภาพต้นตาลมาเป็นส่วนหนึ่งของตราสัญลักษณ์ และธงประจ�าจังหวัดเพชรบุรี ควบคูก่ บั ภาพพระนครคีรเี ลยที เดียว ทว่าปัจจุบนั จ�านวนต้นตาลเมืองเพชรกลับลดลงอย่าง มาก อาจจะด้วยความเปลี่ยนแปลงของสภาวะธรรมชาติ และวิถีชีวิตของชาวเมืองเพชรเองที่อาจส่งผลต่อการอยู่ รอดของต้นตาล

มีการน�าเอาภาพ ต้นตาลมาเปนส่วนหนึ่ง ของตราสัญลักษณ์และ ธงประจ�าจังหวัดเพชรบุรี นิตยสาร SBL ขอน�าเสนอบทความว่าด้วยเรื่อง ควบคู่กับภาพ “ตาลโตนดเมืองเพชร...กอนถึงกาลอวสาน” เพือ่ เผยแพร่ พระนครคีรี ความพยายามในการอนุรักษ์ต้นตาล และภูมิปัญญาการใช้ ประโยชน์จากต้นตาล พันธุ์พืชซึ่งครั้งหนึ่งเคยได้ชื่อว่ามีมากที่สุด ในจังหวัดเพชรบุรี เพื่อให้คนรุ่นใหม่ได้รู้จักต้นตาลและประโยชน์ ของต้นตาล ก่อนที่ตาลเมืองเพชรจะกลายเป็นแค่ต�านานเล่าขาน ให้ลูกหลานฟัง

Phetchaburi 157


ลักษณะทางพฤกษศาสตรของต้นตาล ต้นตาลเป็นพืชตระกูลปาล์มพัดชนิดหนึ่ง ที่มีอายุยืนเป็น ร้อยปี ทั่วโลกพบต้นตาลมากกว่า 4,000 ชนิด (Species) มีชื่อ วิทยาศาสตร์วา่ Borasas flabellifer L. จัดอยูใ่ นสกุล Borassas ชื่อสามัญ Palmyra Palm ส่วนในประเทศไทยเรียกชื่อต้นตาล แตกต่างกันไปในแต่ละภูมภิ าค เช่น ภาคกลางเรียก ตาลใหญ่ ตาลนาไทย ภาคเหนือเรียก ปลีตาล ภาคใต้เรียก โนด เขมร เรียก ตะนอย เป็นต้น ตาลโตนดเป็นพืชล�าต้นเดีย่ ว (Single stem) ขึน้ จากพืน้ ดิน เพียงต้นเดียว ไม่มกี ารแตกหน่อ ล�าต้นมีขนาดใหญ่ เส้นรอบวง ประมาณ 2-4 ฟุต ผิวด�าเป็นเสี้ยนแข็ง มีความสูงจากพื้นดินถึง ยอดประมาณ 25-30 เมตร หลังจากปลูกต้นตาลแล้วประมาณ 3-5 ปี จะมีความสูงราว 1 เมตรเท่านั้น แต่หลังจากนั้นจะเพิ่ม ความสูงประมาณปีละ 30-40 เซนติเมตรเลยทีเดียว ตาลโตนดที่นิยมปลูกมี 3 พันธุ์ ได้แก่ 1. ตาลหม้อ ซึ่งมีล�าต้นแข็งแรง ตาลหม้อนี้จะ แยกย่อยตามลักษณะของผล หากผลใหญ่เรียกว่า

จากหลักฐาน ทางประวัติศาสตร์ พบว่า เมื่อประมาณ พุทธศตวรรษที่ 11-16 ได้มีตราประทับรูป คนปนต้นตาล

158


“ตาลหม้อใหญ่” มีผิวสีด�ามันแทบไม่มีสีอื่นปนเลย เมื่อสุกแก่มีรอย ขีดตามแนวยาวของผล เมล็ดหนา ใน 1 ผลจะมี 2-4 เมล็ด ใน 1 ทะลายจะมีประมาณ 1-10 ผล โดยจะให้ผลเมื่ออายุ 10 ปีขึ้นไป ขึ้น อยู่กับความอุดมสมบูรณ์ของต้น ส่วนพันธุ์ที่ให้ผลเล็กเรียกว่า “ตาล หม้อเล็ก” มีผลขนาดเล็กสีดา� ผลจะมีรอยขีดเมือ่ แก่ ใน 1 ผล จะมี 2-4 เมล็ด ใน 1 ทะลาย จะมีประมาณ 1-20 ผล ไม่เป็นทีน่ ยิ มเนือ่ งจากผล มีขนาดเล็กและเต้าหรือลอนที่ได้จะมีขนาดเล็กตามไปด้วย 2. ตาลไข ล�าต้นแข็งแรง ผลมีขนาดเล็กสีค่อนข้างเหลือง แบ่ง ออกเป็น 2 ชนิด ได้แก่ “ไข่เล็ก” ผลค่อนข้างเล็ก ใน 1 ทะลายจะมีผล 1-20 ผล เนื่องจากผลเล็กจึงท�าให้เต้ามีขนาดเล็กตามไปด้วย จะให้ ผลเมื่ออายุ 10 ปีขึ้นไป และ “ไข่ใหญ่” ผลมีขนาดใหญ่กว่าไข่เล็ก สี ค่อนข้างเหลือง ใน 1 ทะลายจะมีผล 1-10 ผล เต้ามีขนาดใหญ่กว่า ไข่เล็ก 1ผลจะมี 2-3 เต้า จะให้ผลเมื่ออายุ 10 ปีขึ้นไป 3. ตาลพันธุล กู ผสม ล�าต้นตรงใหญ่แข็งแรง ลูกค่อนข้างใหญ่ เกือบเท่าตาลพันธุ์หม้อ สีด�าผสมน�้าตาล (เหลืองด�า) ในผลจะมี 2-3 เต้า ให้ผลประมาณ 1-20 ผลต่อทะลาย เป็นตาลทีม่ จี า� นวนมากทีส่ ดุ ในจังหวัดเพชรบุรี ส่วนใหญ่จะให้ผลเมื่ออายุ 10 ปีขึ้นไป

สวนประกอบของผล แบ่งออกเป็น 3 ส่วน 1. เปลือกชั้นนอก ผิวเรียบเป็นมันเรียกว่า Exocarp 2. ส่วนที่เป็นเส้นใยเรียก Mesocarp 3. ส่วนที่เป็นกะลาแข็งหุ้มเมล็ดเรียกว่า Endocarp เมื่อผล ตาลแก่จัด (สุก) จะมีกลิ่นหอม จากการศึกษาพบว่าเนื้อตาลสุก ประกอบด้วยแปงและน�า้ ตาลเป็นจ�านวนมาก นอกจากนีย้ งั มีสว่ น ผสมของแคโรทีนอยด์ซึ่งให้สีเหลือง ใช้แต่งสีและกลิ่นของขนม ต่างๆ เช่น ขนมตาล ขนมสอดไส้ ขนมไข่ปลา ขนมขี้หนู เป็นต้น

Phetchaburi 159


ก�าเนิดต้นตาล และต้นตาลในเมืองเพชร นักชีววิทยาได้ศกึ ษาต้นก�าเนิดของต้นตาลและพบว่า ต้นตาล น่าจะมีถิ่นก�าเนิดทางฝังตะวันออกของอินเดีย แพร่ขยายไปสู่ ศรีลังกา สหภาพเมียนม่าร์ ไทย อินโดนีเซีย กัมพูชา โดยมีการ สันนิษฐานถึงการแพร่กระจายของต้นตาลว่า น่าจะมาจากสัตว์ เป็นตัวแพร่พันธุ์ เช่น ช้าง เมื่อกินผลสุกของตาลโตนดจะกลืนทั้ง เมล็ด เมื่อช้างมีการอพยพไปยังถิ่นต่างๆ ก็จะถ่ายมูลไปตามเส้น ทาง เมล็ดตาลจึงแพร่กระจายจากที่หนึ่งไปสู่อีกที่หนึ่งได้ ส่วนในประเทศไทย มีต้นตาลจ�านวนมากที่จังหวัดเพชรบุรี สุพรรณบุรี นครปฐม ส่วนภาคใต้พบมากที่อ�าเภอสทิงพระ อ�าเภอ ระโนด จังหวัดสงขลา โดยสันนิษฐานว่าน่าจะมีการใช้ประโยชน์ จากต้ น ตาลมาก่ อ นสมั ย ทวารวดี เพราะจากหลั ก ฐานทาง ประวัตศิ าสตร์พบว่า เมือ่ ประมาณพุทธศตวรรษที่ 11-16 ได้ มีตรา ประทับรูปคน ปีนต้นตาล แสดงว่าในสมัยนัน้ ได้รจู้ กั วิธใี ช้ประโยชน์ จากต้นตาลแล้ว นอกจากนีต้ าลยังถูกบันทึกเป็นลายลักษณ์อกั ษร มาตั้งแต่สมัยโบราณ เช่น จารึกวัดแดนเมือง จารึกวัดศรีคูณเมือง จารึกวัดศรีเมือง จารึกวัดถ�้าสุวรรณคูหา

ในอดีตต้นตาลเมืองเพชรบุรจี ะขึน้ อยูต่ ามธรรมชาติมากมาย บางแห่งขึน้ เกาะกลุม่ กันเรียกว่า “ดงตาล” ส่วนบางแห่งขึน้ ตามหัว ไร่ปลายนา มองเห็นเป็นแถวจึงเรียกว่า “นาตาลแถว” หรือ “นา ตาลเรียง” เป็นต้น ส่วนสายพันธุ์ต้นตาลเมืองเพชร แบ่งออกได้ เป็น 2 พันธุ์ ดังนี้ 1. ตาลบ้าน มีจ�านวนเต้าตาลในแต่ละผล 1-4 เต้า แบ่งสาย พันธุ์ย่อยได้อีก 3 พันธุ์ คือ ตาลหม้อ--มีผลขนาดใหญ่ ผิวด�าคล�้า ,ตาลไข--มีผลสีขาวเหลือง ผลขนาดเล็กกว่า แต่เต้าตาลใหญ่ขนาด ใกล้เคียงกับตาลหม้อ (มีเนือ้ หุม้ เต้าตาลบาง) และตาลจาก--มีผล ดกแน่นคล้ายทะลายจาก 2. ตาลปา มีผลเล็กขนาดตาลไข่ มีสเี ขียวคล�า้ มีเต้า 1-2 เต้า ล�าต้นสีเขียวสด ก้านใบยาว (บางคนเรียกว่า ตาลก้านยาว) พบแถบ เขาแด่น อ�าเภอบ้านลาด และในเขตอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน ตาลปายังไม่เป็นที่รู้จักกันมากนัก เพราะมักขึ้นอยู่ในปา ด้วยเหตุทมี่ ตี น้ ตาลขึน้ เป็นจ�านวนมากในจังหวัดเพชรบุรี จึงมี การตัง้ ชือ่ หมูบ่ า้ นด้วยชือ่ ตาลแตกต่างกันไป เช่น บ้านโตนดหลาย บ้านโคกโตนด บ้านโตนดน้อย บ้านตาลเดีย่ ว บ้านโตนดหลวง บ้าน ถนนตาล บ้านตาลกง ฯลฯ นอกจากนี้ตาลโตนดเมืองเพชร ยัง มีความเกี่ยวเนื่องกับหน้าประวัติศาสตร์ของไทยมาตั้งแต่ สมัยอยุธยาเป็นราชธานี คือในปีพ.ศ.2134 สมเด็จพระ นเรศวร ฯ พร้อมด้วยสมเด็จพระเอกาทศรถ ได้ เสด็จฯทางสถลมารคไปยังต�าบลสามร้อยยอด เพื่อ ประพาสทางทะเลและทรงเบ็ดทอดปลาฉลามกลาง ทะเล โดยได้เสด็จฯประทับแรม ณ พระต�าหนัก ต�าบลโตนดหลวง (ปัจจุบันอยู่ในเขตต�าบลบาง เก่า อ�าเภอชะอ�า) เป็นเวลา 12 วัน จึงเสด็จฯเข้าเมือง เพชรบุรี และในปี พ.ศ.2246 สมเด็จพระเจ้าเสือ ได้ เสด็จประพาสเมืองเพชรบุรี และได้ประทับแรม ณ พระ ต�าหนักต�าบลโตนดหลวง เช่นกัน จากนัน้ ได้เสด็จไปทรงเบ็ด ที่ต�าบลสามร้อยยอด

สมเด็จพระนเรศวรฯ พร้อมด้วยสมเด็จพระ เอกาทศรถ ได้เสด็จฯ ทาง สถลมารคไปยังต�าบล สามร้อยยอด... โดยได้เสด็จฯ ประทับแรม ณ พระต�าหนัก ต�าบลโตนดหลวง

160


หวานเหมือนน�้าตาลเมืองเพชร เป็นทีท่ ราบกันมาแต่โบราณกาลว่า...ต้นตาลเมืองเพชรนัน้ ให้ผลผลิต น�า้ ตาลโตนดทีม่ รี สชาติหวานอร่อยกลมกล่อมไม่หวานแหลมแบบน�า้ ตาล ทราย ทีส่ า� คัญยังมีกลิน่ หอมติดปากติดใจ จนมีการเปรียบเปรยว่า “หวาน เหมือนน�้าตาลเพชรบุรี” ดังนั้นต้นตาลจึงนับเป็นพืชเศรษฐกิจที่ส�าคัญของจังหวัดเพชรบุรี ซึ่ง ชาวนามักจะปลูกต้นตาลไว้บริเวณคันนา นับเป็นการใช้พื้นที่อย่างคุ้มค่า และท�าให้มีรายได้มาเจือจุนในครัวเรือนเพิ่มขึ้นด้วย และคงไม่เกินเลย ไปนักที่จะกล่าวว่า...น�้าตาลโตนดสร้างวังได้ เพราะรายได้จากการเก็บ ภาษีสินค้าที่มาจากน�้าตาลโตนดและหม้อตาลเมืองเพชร ยังสามารถน�า มาใช้เป็นส่วนหนึ่งในการก่อสร้างพระราชวังพระนครคีรี (เขาวัง)ได้อย่าง วิจิตรสวยงาม จนกลายเป็นแหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ที่ส� าคัญ ของเมืองเพชรด้วย และที่ขึ้นชื่อชนิดที่เรียกว่า...ใครไปเมืองเพชรแล้วไม่ซื้อหรือชิมขนม หวานเมืองเพชร ก็เหมือนไปไม่ถงึ เมืองเพชรจริงๆ เพราะความอร่อยนัน้ มา จากชาวเมืองเพชรจะใช้น�้าตาลโตนดเป็นส่วนผสมที่ส�าคัญในการท�าขนม หวานเมืองเพชร จนมีชอื่ เสียงโด่งดังมาจนถึงปัจจุบนั ดังค�าสวดสุบนิ กุมาร ที่มีอายุมากกว่าร้อยปี กล่าวว่า... “เป็นเครื่องหวานเพชรบุรี โตนดเต้าแลจาวตาล กินกับน�้าตาลปี ของมากมีมาช่วยกัน”

Phetchaburi 161


ประโยชนของต้นตาล ต้นตาลไม่เพียงแต่จะมีประโยชน์แค่ใช้ทา� น�า้ ตาลโตนด รสอร่อยเท่านัน้ แต่เรายังสามารถใช้ประโยชน์จากต้นตาลได้ ครบทุกส่วนตั้งแต่ ผิวนอกของลูกตาล เมือ่ เอามีดปาดออก เรียกว่า “พลอ มออก” ใช้เป็นอาหารส�าหรับวัว ควายได้ มีกลิ่นหอมและรส ออกหวานเล็กน้อย เมล็ดตาลสุก ใช้ท�าของเด็กเล่นได้ โดยน�าเมล็ดตาล ที่ยีเนื้อไปใช้แล้ว ล้างและฟอกให้สะอาด แล้วน�าไปตาก แห้ง เส้นใยตาลสีเหลืองสวยจะมีลกั ษณะฟูฝอย ละเอียดนุม่ สวยงามคล้ายผมตุ๊กตาบาร์บี้ เด็กๆ ผู้หญิงในสมัยโบราณ ที่ยังไม่มีตุ๊กตาส�าเร็จรูปขาย ก็สามารถจินตนาการว่าเป็น หัวตุ๊กตาผู้หญิงผมยาว แล้วใช้หวีหรือแปรงจัดรูปทรงได้ หลายแบบ เปลือกตาล คือส่วนที่เป็นกะลา หลังจากที่ผ่าเอาจาว ตาลออกแล้ว ใช้ท�าเชื้อเพลิงที่มีคุณภาพ เพราะเมื่อเผาแล้ว จะได้ถ่านสีด�าที่มีเปอร์เซ็นต์ของคาร์บอนสูง ปัจจุบันมีผู้รับ ซื้อถ่านที่ผลิตจากเปลือกแข็งของลูกตาลจ�านวนมาก เพื่อ ท�าเป็นสินค้าส่งออก นอกจากนี้ยังใช้เป็นส่วนประกอบของ ยาแก้ท้องอืด ท้องเฟอ และลดกรดในกระเพาะอีกด้วย ส่วนกะลาลูกที่สวยงาม น�ามาผ่าครึ่งเป็นสองฝา แล้ว ขัดถูผิวนอกให้เรียบเนียน เซาะขอบด้านในของฝาหนึ่งกับ ขอบนอกของอีกฝาหนึ่ง แล้วครอบปดเข้ากัน คนโบราณ ใช้แทนตลับหรือกล่องส�าหรับเก็บสิ่งของเล็กๆ น้อยๆ เช่น กระดุม เข็ม ใบจาก เส้นยาสูบ ใบตาลและทางตาล สามารถท�าเป็นพัด โดยตัดเจียน แล้วเย็บริมขอบให้เข้ารูป หรืออาจคัดเลือกใบตาลอ่อนแล้ว รีดให้เรียบ น�ามาจักเป็นใบๆ แล้วเย็บเป็นพัดใบตาลแบบพับ ก็ได้ ซึ่งเหมาะที่จะพกติดตัวไปได้ นอกจากนี้ ใบตาลออน ยังใช้สานท�าเป็นรูปสัตว์ต่างๆ ส�าหรับแขวนให้เด็กดูเล่นได้ อีกหลายชนิด เช่น ปลาตะเพียน กุง้ ตัก๊ แตน ชฎา หรือท�าเป็น รูปสัตว์ใส่ล้อแบบล้อเกวียนให้เด็กๆ ลากเล่น หรือน�ามาจัก เป็นเส้นตอก ถ้าใช้เส้นใหญ่มักสานขึ้นเป็นรูปกระเช้า ถ้าใช้ ตอกเส้นเล็กนิยมสานเป็นกระเปาสตางค์ ส่วนใบตาลขนาด ใหญ นิยมน�ามาผ่าซีกแล้วหักงอผูกกับส่วนที่เป็นก้าน เรียก ว่า “หักคอม้า” น�าไปมุงหลังคา ท�าปะร�า มุงกระท่อม หรือ โรงนา มีอายุใช้งานประมาณ 2-3 ปี ทางตาล เป็นส่วนก้านของใบตาล สามารถลอกผิว นอกส่วนที่อยู่ด้านบน เรียกว่า “หน้าตาล” มาฟันเป็นเชือก ส�าหรับผูกล่ามวัว ควาย เหมาะกับการใช้งานทีต่ อ้ งตากแดด ตากฝน เพราะมีความชุม่ น�า้ ซึง่ หากใช้เชือกทีท่ า� จากวัสดุอนื่ จะเปอยผุพังเร็ว 162


ขาตาล เป็นส่วนของทางตาลตอนโคน ซึง่ อยูต่ ดิ กับต้นตาล มีจา� นวน 2 แฉก เมือ่ ทางตาลแก่จดั จนใบแห้งจะร่วงหล่นลงมาเอง ชาวบ้านเรียกส่วน โคนนี้ว่า “ขาตาล” มีลักษณะบางและแบน จึงเหมาะกับการน�ามาตัดใช้ เป็นคราด หากต่อด้ามหรือท�าเป็นกาบ จะเรียกว่า “กาบตาล” ส�าหรับกอบ สิ่งของที่เป็นกอง เช่น ใช้กอบมูลวัว กอบขี้เถ้า กอบเมล็ดข้าว บางครั้งยังมี การน�าขาตาลแก่จัดมาเป็นส่วนประกอบของเก้าอี้แบบเอนนอนเอกเขนก ได้ด้วย นอกจากนี้ขาตาลแก่ที่ทุบจนแตกฝอย ยังใช้ท�าเป็นแปรงหยากไย่ หรือท�าไม้กวาดได้ค่ะ ล�าต้นตาล ที่อายุมากกว่า 50 ปีขึ้นไป สามารถน�าเปลือกนอก ซึ่งมี ความแข็งและมีเสีย้ นตาล เป็นเส้นสีดา� แทรกอยูใ่ นเนือ้ ไม้ มา แปรรูปแล้วจะได้ไม้กระดาน ขนาด 4-6 นิ้ว หรือ น�ามาประดิษฐ์เป็นเฟอร์นิเจอร์ได้หลายรูป แบบ เช่น โต๊ะ เก้าอี้ เตียงนอน หรือน�าไป เมล็ดตาลสุก ใช้ท�า ท�าของช�าร่วยเล็กๆ เช่น กล่องใส่บุหรี่ ของเด็กเล่นได้ โดยน�า ถ้วยน�า้ ชา แจกันใส่ดอกไม้ ครก ฯลฯ

เมล็ดตาลที่ยีเนื้อไปใช้แล้ว ล้าง และฟอกให้สะอาด แล้วน�าไปตากแห้ง เส้นใยตาลสีเหลืองสวยจะมีลักษณะ ฟูฝอย ละเอียดนุ่ม สวยงาม คล้ายผมตุ๊กตาบาร์บี้

Phetchaburi 163


อาหารคาว-หวาน จากตาลเมืองเพชร แทบไม่นา่ เชือ่ เลยนะคะว่าตาลโตนดต้นเดียว จะมีบทบาทต่อ วิถชี วี ติ ของเราได้มากถึงเพียงนี้ นีย่ งั ไม่รวมถึงเมนูอาหารคาว-หวาน อีกนะคะ เรามาดูกันว่าตาลโตนดจะท�าอาหารอะไรได้บ้างค่ะ ขนมจากลอนตาลออน ในลูกตาลอ่อน จะมีลอนตาลอยู่ 2-3 ลอน ในนั้นมีน�้าขังอยู่ สามารถรับประทานได้ทันที หรือน�ามาหั่น บางๆ ใส่นา�้ แข็งไสราดน�า้ หวาน และนมข้นแค่นกี้ อ็ ร่อยได้ นอกจาก นี้อาจน�าไปต้มในน�้าเชื่อมท�าเป็น “ลูกตาลลอยแก้ว” ก็ได้ค่ะ จาวตาลเชื่อม จาวตาลเกิดจากผลแก่จัดของต้นตาลตัวเมีย จาวตาลนิยมน�าไปเชื่อมรับประทานเป็นของหวานรับประทาน กับข้าวเหนียวมูนน�า้ กะทิ เติมงาคัว่ ผสมน�า้ ตาลทราย เกลือปน และ มะพร้าวขูด จะได้ขนมพื้นเมืองของชาวเพชรที่เรียกว่า “ข้าวเหนียว โตนด” หรือ “ข้าวเหนียวหน้าโตนด” หรือ “ข้าวเหนียวลูกตาล” น�า้ ตาลสด น�าน�า้ ตาลสดทีเ่ ก็บใหม่ๆ จากงวงตาลไปต้มให้สกุ จะได้นา�้ หวานรสชาติหวานหอมอร่อย ใส่นา�้ แข็งดืม่ ได้ชนื่ ใจยิง่ กว่า เครื่องดื่มน�้าซ่าหรือน�้าผลไม้อื่นๆ เชียวค่ะ ขนมตาล ท�าจากลูกตาลสุก น�ามายีได้เนือ้ สีเหลืองมีลกั ษณะ เหลวๆ น�าไปห่อผ้าดิบให้สะเด็ดน�า้ เสร็จแล้วคลุกเคล้ากับแปงและ น�้าเล็กน้อย นวดให้เข้ากันแล้วน�าไปผึ่งแดดประมาณ 2-3 ชั่วโมง จากนั้นเติมน�้าตาลพอสมควร แล้วกวนผสม ให้เข้ากัน น�ามาใส่หอ่ ใบตองหรือใส่กระทงนึง่ ให้ แกงคั่วหัวตาล สุกโรยหน้าด้วยมะพร้าวขูดเป็นเส้นๆ จะได้ คล้ายๆ แกงคั่ว ขนมเนื้อนุ่มฟู เรียกว่า “ขนมตาล” นับเป็น ขนมอีกอย่างหนึ่งที่เกิดจากภูมิปัญญา ชาวเพชรบุรีนิยมใช้เนื้อย่าง หรือเนื้อเค็มหั่นบางๆ ผสมลงไป ของชาวบ้าน โดยไม่ต้องใช้ผงแปงฟูแต่ พร้อมกับใส่ใบส้มซ่าแทนใบมะกรูด อย่างใดแกงคั่วหัวตาล ใช้ลูกตาลที่ยังไม่ เปนอาหารคู่บ้านคู่เมืองของ แก่จัด น�าเอาส่วนของหัวตาลมาปอกผิว นอกออก แล้วหั่นออกเป็นชิ้นบางๆ ก็จะ จังหวัดเพชรบุรีมา ได้หัวตาลอ่อนน�าไปท�าแกงคล้ายๆ แกงคั่ว แต่โบราณกาล มีส่วนผสมของกะทิ กระชาย ปลาย่าง ปลาก รอบ หรือกุ้งสด พริกแกง ปรุงรสด้วยน�้าตาลเมือง เพชร เป็นอาหารทีม่ รี สอร่อยกลมกล่อม แต่สว่ นใหญ่แกงหัว ตาลของชาวเพชรบุรีนิยมใช้เนื้อย่าง หรือเนื้อเค็มหั่นบางๆ ผสมลง ไปพร้อมกับใส่ใบส้มซ่าแทนใบมะกรูด หรืออาจใช้หอยขมมาแกะ เนื้อใส่ผสมลงไปด้วย เป็นอาหารคู่บ้านคู่เมืองของจังหวัดเพชรบุรี มาแต่โบราณกาล ขนมโตนดทอด ใช้จาวตาลเชือ่ มมาชุบแปงข้าวเหนียวทีผ่ สม กับน�้าตาลโตนด และหัวกะทิ (บางสูตรผสมแปงข้าวเจ้านิดหน่อย) แล้วน�าไปทอดลงในกระทะน�้ามันร้อนๆ จะได้ขนมโตนดทอดที่นุ่ม หอม หวาน น่ารับประทาน

164


ตาลโตนดเมืองเพชร...ฤาจะเปนแคต�านาน แม้ว่าจังหวัดเพชรบุรีจะได้ชื่อว่ามีต้นตาลมากที่สุด โครงการส่งเสริม ในประเทศไทย แต่จากข้อมูลปี พ.ศ. 2541 พบว่ามี ต้นตาลอยู่ประมาณ 1,445,000 ต้น มีมากในเขต การปลูกตาลล้านต้น เพื่อ อ�าเภอเมือง ฯ รองลงมาได้แก่ อ�าเภอบ้านลาด เฉลิมพระเกียรติเนื่องวโรกาส อ�าเภอชะอ�า อ�าเภอเขาย้อย และอ�าเภอท่ายาง ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ตามล�าดับ อ�าเภอที่มีต้นตาลน้อยที่สุดคือ อ�าเภอ หนองหญ้าปล้อง ทรงมีพระชนมายุ ทว่าในปี 2550 ต้นตาลกลับลดลงเหลือเพียง ครบ 80 พรรษา 300,355 ต้นเท่านั้น (รวมต้นตัวผู้-ตัวเมีย และที่แยก ในป 2550 เพศไม่ได้) เนือ่ งจากปัจจุบนั มีการท�านา 2 ครัง้ ต่อปี(หรือ อาจมากกว่านัน้ ) พืน้ ทีน่ าจึงมีนา�้ ขังมากและนานเกินไป เป็น ผลให้ตน้ ตาลปรับสภาพไม่ทนั เพราะต้นตาลไม่ได้พกั ตัว หรือทีช่ าว เมืองเพชรเรียกว่า “แต่งตัว” ในที่สุดก็ต้นตาลส่วนใหญ่ก็ต้องยืนต้นตาย ดังนั้นในสมัยที่ นายสยุมพร ลิ่มไทย เป็น ผู้วาราชการจังหวัด เพชรบุรี ท่านเล็งเห็นความส�าคัญของตาลโตนดอันเป็นเอกลักษณ์ ส�าคัญของจังหวัดเพชรบุรี จึงมีกิจกรรมต่างๆ เพื่อส่งเสริมและอนุรักษ์ ต้นตาลเมืองเพชรไว้ อาทิ ● โครงการสงเสริมการปลูกตาลล้านต้น เพื่อเฉลิมพระเกียรติ เนื่องวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหัว ทรงมีพระชนมายุครบ 80 พรรษา ในปี 2550 ● การจั ด ประกวดต้ น ตาลที่ สู ง ที่ สุ ด ในจั ง หวั ด เพชรบุ รี ซึ่ ง ปรากฏว่าต้นที่สูงที่สุดอยู่ที่ต�าบลโรงเข้ อ�าเภอบ้านลาด มีความสูงถึง 37.22 เมตร และเป็นต้นที่ยังคงให้ผลผลิตอยู่ นอกจากนีท้ า่ นผูว้ า่ ฯ ยังได้มอบหมายให้ ส�านักงานเกษตรจังหวัด เพชรบุรี ท�าการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวตาลโตนดทั้งหมดไว้ เพื่อเผยแพร่ และสนับสนุนส่งเสริมให้ตาลโตนดไม่สูญหายไปจากจังหวัดเพชรบุรี SBL ขอถือโอกาสนี้เชิญชวนคุณผู้อ่านว่า หากมีโอกาสไป เยือนเมืองเพชร อย่าลืมอุดหนุนน�้าตาลโตนดเมืองเพชรด้วยนะ คะ เพราะนอกจากเราจะได้น�้าตาลหวานๆ หอมๆ จากธรรมชาติ คุณภาพดีแล้ว ยังช่วยต่อลมหายใจต้นตาลเมืองเพชร และสานต่อ ภูมิปญญาการท�าน�้าตาลโตนดเมืองเพชร ให้ยืนยาวคู่กับจังหวัด เพชรบุรีด้วยค่ะ การเลือกซื้อน�้าตาลโตนดแท้ วิธีสังเกตว่าน�้าตาลโตนดที่จะซื้อนั้นเป็นของแท้หรือเทียมให้ สังเกตดังนี้ค่ะ น�้าตลาดโตนดแท้ จะมีสีออกแดง เนื้อละเอียด ถูกอากาศแล้ว จะนุ่มเหลว รสหวานนุ่ม กลมกล่อม มีกลิ่นหอมหวานของตาลโตนด ชัดเจน น�้าตาลโตนดเทียม จะมีสีจะออกขาว ลักษณะแข็งอยู่ได้นาน เพราะอาจผสมแบะแซ ให้แข็งตัวและได้ปริมาณมาก มีรสหวานเลี่ยน และมีกลิ่นตาลโตนดน้อย

*ขอขอบคุณข้อมูลจาก ส�านักงานเกษตรจังหวัดเพชรบุรี Phetchaburi 165


เสนทางการอนุรักษ

166


ªÁ¾Ù‹à¾ªÃÊÒÂÃØŒ§...

Íա˹Ö觤ÇÒÁËÇÒ¹¤Ù‹àÁ×ͧྪà ÁÒ¡Ç‹Ò »‚

180

แค ฟ  ง ชื่ อ “ชมพู  เ พชรสายรุ  ง ” ก็ ใ ห รู  สึ ก ถึ ง ความไม ธ รรมดาของชมพู  พั น ธุ  นี้ ยิ่ ง เมื่ อ ได ท ราบ ราคาซื้ อ ขายในป จ จุ บั น ด ว ยก็ ยิ่ ง ไม ธ รรมดาสม ชื่ อ เพราะราคากิ โ ลกรั ม หนึ่ ง ไม ตํ่ า กว า ร อ ยบาท และไม ใ ช ว  า จะหาซื้ อ กั น ได ง  า ยๆ ทั้ ง ๆ ที่ ไ ปถึ ง ถิ่ น เรามาดู ค วามไม ธ รรมดาของชมพู  พั น ธุ  นี้ กันคะ ประวัติของชมพูเพชรสายรุง แตเดิม “ชมพูเพชรสายรุง” มีชื่อเรียกหลายชื่อ เชน ชมพูเ ขียวเสวย เพราะมีผลสีเขียว บางทองทีเ่ รียก ชมพูสายนํ้าผึ้ง เพราะเวลาแกจะมองเห็นเสนที่ขางผล เปนสายๆ บางทองที่เรียกชมพูเพชรเฉยๆ แตปจจุบัน นิยมเรียก “ชมพูเพชรสายรุง” เพื่อชี้ชัดลงไปวาเปนพันธุ แทตนตํารับจริงๆ เพราะปจจุบันมีการตั้งชื่อพันธุชมพูที่ปลูกใน เมืองเพชรกันหลากหลายชื่อทําใหคนซื้อสับสน เชน เพชรสุวรรณ เพชรจินดา เพชรทูลเกลา ชมพูเพชรสายรุง เปนชมพูที่มีรสชาติหวานกรอบอรอย จนคนถิ่น อาจพากันชืน่ ชมวา “หวานเหมือนนํา้ ตาล” ก็มี และมักมีการหยอกลอกัน วา...ชมพูเ พชรสายรุง นี้ เปนชมพูท คี่ นกินไมไดซอื้ คนซือ้ ไมไดกนิ เพราะ นิยมซือ้ ไปเปนของกํานัลแกผหู ลักผูใ หญทเี่ คารพรักนับถือหรือฝากผูป ว ย เพราะเปนชมพูป ลอดสารพิษและมีราคาคอนขางแพง บางชวงอาจแพง ถึงสองรอยสามรอยบาทตอกิโลกรัมเลย เพราะคนปลูกจะตองทะนุถนอม ทุกขั้นตอนกวาจะถึงมือผูบริโภค เชน ตองทํานั่งรานและหอกระดาษ ปองกันแมลงตัง้ แตผลยังเล็ก เรียกวาดูแลกันยิง่ กวาไขในหินเลยทีเดียว ตามประวั ติ ที่ เ ล า ต อ ๆ กั น ทํ า ให ท ราบว า ย อ นหลั ง ไปเมื่ อ ป พ.ศ.2375 พระครูญาณวิมล (หลวงพอพวง) เจาอาวาสองคที่ 2 ของวัดศาลาเขื่อน (ตอมาไดสมณศักดิ์เปนพระครูญาณเพชรรัตน) ไดเดินทางไปศึกษาพระธรรมที่วัดราชาธิวาส ซึ่งขณะนั้นพระบาท สมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูห วั ทรงผนวชและเปนเจาอาวาสครองวัด อยู พระองคทรงสอนภิกษุสามเณรเกี่ยวกับคันถธุระและทรงเชี่ยวชาญ เรือ่ งพระไตรปฎก และทรงมีลกู ศิษยลกู หามากมาย รวมทัง้ หลวงพอพวง ก็เปนหนึ่งในลูกศิษยดวย Phetchaburi 167


เมื่ อ ศึ ก ษาเสร็ จ สิ้ น แล ว หลวงพ อ พ ว งก็ จ ะเดิ น ทางกลั บ จั ง หวั ด เพชรบุ รี พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว จึงไดพระราชทานตนอโศกระยา 1 ตน และกิง่ ตอนตนชมพู 1 ตน ซึ่งเปนตนชมพูที่ปลูกอยูในวังที่ประทับ นอกจากนี้ พระองคยงั ไดพระราชทานหองครัวซึง่ สรางดวยไมสกั จํานวน 3 หอง และเรือมาศ 4 แจว 1 ลํา เพื่อใชสําหรับบรรทุกวัสดุในการทํากุฏิ (ปจจุบันยังอยูที่วัดศาลาเขื่อน) เมื่อหลวงพอกลับถึงวัดจึงนํากิ่งชมพูที่ไดรับพระราชทานมาปลูกที่ขางบันได ทางขึ้นที่อยูหนาวัดศาลาเขื่อน ต.ตําหรุ อ.บานลาด จ.เพชรบุรี ในป 2378 เมื่อ ตนชมพูเจริญเติบโตขึ้นหลวงพอไดกออิฐโบกปูนลอมรอบตนชมพูไว ทําใหการ ถายเทอากาศไมสะดวกและการขยายตัวทางดานขางของตนชมพูถ กู จํากัด ในทีส่ ดุ ตนชมพูนี้ตายลงเมื่อป 2530 รวมอายุได 152 ป พื้นดินถิ่นปลูกชมพูเพชรสายรุง เมื่อผูคนไดชิมรสชาติชมพูชนิดนี้ตางก็พากันติดอกติดใจ และมาขอตอนกิ่งตนนี้เปนจํานวนมาก ทําใหชมพูตนนี้ ขยายพันธุอ อกไปอยางรวดเร็ว ปจจุบนั มีการนําไปปลูก เกือบทั่วประเทศ แตคุณภาพยังสูที่ปลูกในจังหวัด เพชรบุรีไมได

จากการศึกษาวิจัยพบวาชมพูพันธุนี้สามารถ ปลูกไดดีในดินแทบทุกชนิด เชน ดินชุดทามวง ดินชุดชัยนาท ดินชุดธนบุรี และดินชุดเชียงใหม แต ดิน ที่ ดีที่สุดคื อดิ นชุ ดท า ม ว ง ซึ่ง เกิด จากการ ทับถมของตะกอนลํานํ้าใหม หรือเกิดจากตะกอนที่ แมนํ้าลําคลองพัดพามาทับถมทุกๆ ป เปนดินใหม อายุนอยในจังหวัดเพชรบุรี สวนใหญดินชุดทามวงจะอยูบริเวณสองฝง แม นํ้ า เพชรบุ รี มี ค วามลาดชั น 5% ระบายนํ้ า ค อ นข า งดี เป น ดิ น ร ว นปนทรายสี นํ้ า ตาลปน เหลืองออน หนาดินลึกไมเกิน 30 เซนติเมตร มี อินทรียวัตถุสูง ดินบนเปนดินรวนปนทรายแปง จนถึ ง ดิ น ร ว นเหนี ย วปนทรายแป ง สี นํ้ า ตาล สี นํ้ า ตาลเข ม และสี นํ้าตาลปนเทา ความเปนกรด เปนดางประมาณ 5.5-6.5 มีปริมาณฟอสฟอรัสและ โปแตสเซียมคอนขางสูง จึงจะเหมาะกับการปลูก ชมพูเพชรสายรุง ปจจุบันมีเกษตรกร เครือขายปลูกชมพูเพชร สายรุ  ง ที่ ตํ า บลหนองโสน และตํ า บลบ า นกุ  ม อํ า เภอ เมืองเพชรบุรี ตําบลทาแรง อําเภอ บานแหลม ตําบลทาเสน ตําบลสมอ พลือ ตําบลทาชาง ตําบลถํา้ รงค อําเภอบานลาด และตําบลทาไมรวก อําเภอทายาง เพราะสภาพ ดินอุดมสมบูรณดังคําที่เรียกวา “นํ้าไหลทรายมูล” ทํ า ให ไ ด ผ ลผลิ ต ดี มี คุ ณ ภาพ ผลใหญ เนื้ อ หนา สีสวย และมีรสชาติหวานกรอบอรอย แตกตางไป จากชมพูเขียวที่มีอยูเดิม ตํานานชมพูเพชรสายรุงหนองโสน แมจะมีการนํากิง่ พันธุช มพูไ ปปลูกตามทีต่ า งๆ ทั่วจังหวัดเพชรบุรี แตขึ้นชื่อวาชมพูที่ปลูกบริเวณ วัดชมพูพน ตําบลหนองโสน อําเภอเมือง จังหวัด เพชรบุรี นัน้ ใหผลผลิตดีกวาชมพูท ปี่ ลูกในพืน้ ทีอ่ นื่ ๆ ซึง่ มีตาํ นานเลาขานเกีย่ วกับเรือ่ งนีว้ า คนทีเ่ อาชมพู เพชรสายรุงมาปลูกเปนคนแรกในตําบลหนองโสน คือ นายหรั่ง แซโคว เกิดเมื่อป พ.ศ.2438 ซึ่งตั้ง บานเรือนอยูริมนํ้าเมืองเพชรบุรี ฝงตรงขามวัดขุน ตราแตเดิมเรียกกันวาบานสะพานยายนม

168


นายหรั่ง เปนชาวหนองโสนโดยกําเนิด มีอาชีพคานํ้าตาล ทางเรือ ระหวางเพชรบุรี-กรุงเทพฯ ตอมานายหรั่งไดนํากิ่งตอน พันธุชมพูเพชรมา 3 กิ่ง ไมปรากฏวามาจากสวนแหงใด ชมพู เพชรทั้ง 3 กิ่งนี้ เปนชมพูเพชรรุนแรกที่นํามาปลูกในบริเวณแมนํ้า เพชรบุรี ซึ่งริมนํ้ามีดินดี มีความรวนซุย นํ้าทวมถึง มีปุยและอิน ทรียวัตถุอุดมสมบูรณ จึงเจริญเติบโตงอกงามใหผลดี สีสวยและ มีรสชาติอรอย ตอมามีผูขอขยายพันธุชมพูเพชรไปปลูกบาง แต เจาของไมประสงคจะใหขยายกิง่ พันธุชมพูเ พชรไปปลูกแพรหลาย ดังนัน้ ในระยะแรกชมพูเ พชรทัง้ สามตนจึงยังไมไดแพรพนั ธุไ ปปลูก ในที่แหงใด ตอมาในชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 จึงมีการขยายพันธุ ดวยการตอนกิ่งชมพูเพชรออกจําหนายใหคนที่ตองการในราคา ประมาณกิ่งละ 200-250 บาท ซึ่งนับวาเปนราคาที่แพงมากใน สมัยนั้น และภายหลังจากป พ.ศ.2500 เปนตนมา กิ่งชมพูเพชร ก็เปนที่แพรหลายไปอยางกวางขวางในทุกพื้นที่ของ จ.เพชรบุรี แตไมอรอยเทากับการปลูกที่ตําบลหนองโสน การทําสวนชมพูเ พชรตามแบบฉบับของชาวตําบลหนองโสน คือ นิยมปลูกในสวนหลังบานคนละ 5-30 ตน ไมนิยมปลูกมาก เนื่องจากตองใชแรงงานในการดูแลและเก็บเกี่ยวมาก เพราะตอง หอตั้งแตผลยังเล็ก ซึ่งตนชมพูสวนใหญจะมีความสูงไมตํ่ากวา 10 เมตร เกษตรกรผูปลูกจึงตองทําหางจาก ไมไผถึง 2-3 ชั้น สูงราว 8 เมตร เพื่อ การห อ และเก็ บ เกี่ ย วผลผลิ ต ราคาไม ไ ผ ใ นการนํ า มาทํ า ห  า ง ก็ ต ก ที่ ตั น ล ะ พั น กว า บาทขึ้ น ไป และ ต อ งคอยเปลี่ ย นเมื่ อ ห า งผุ พั ง ด ว ยเพื่ อ ความปลอดภั ย ของ เกษตรกรเอง นอกจากปญหา ที่วาแลว ยังมีปญหา อั น เกิ ด จากลั ก ษณะ เฉพาะของชมพูซึ่งเปน ผลไม ที่ เ น า เสี ย หรื อ มี ตํ า หนิ ง  า ย และในการเก็ บ ผลผลิตแตละครัง้ แมจะทะนุถนอม อยางดี ก็มักจะมีผลชมพูเนาเสียหรือ มีตาํ หนิประมาณ 30 % ซึง่ หากมีตาํ หนิแลวราคาจะ ลดลงถึง 50 % หรือกวานั้น ดังนั้นจึงพบวามีเกษตรกรปลูกชมพู เพชรสายรุงในปจจุบันไมมากนัก

Phetchaburi 169


ตีทะเบียนชมพูเพชรสายรุง ดวยความโดดเดนของชมพูเพชรสายรุงนี้เอง นายชาย พานิชพรพันธ อดีตผูวาราชการจังหวัดเพชรบุรี จึงไดนํา ชมพูเพชรสายรุงไปตอนรับผูนําและคณะในการประชุมอาเซียน ซัมมิท 2009 เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ - 1 มีนาคม 2552 ที่อําเภอ ชะอํา จังหวัดเพชรบุรีดวย จนเปนที่ชื่นชอบและไดรับความสนใจ สั่งซื้อไปจําหนายยังตางประเทศมากขึ้น แตในขณะเดียวกันมีการแอบอางเอาผลผลิตชมพูพันธุอื่น ไปจําหนายแทน ท า นผู  ว  า ฯชาย จึงจดทะเบียนชมพู เพชรสายรุง ในฐานะสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตร เพื่อ แสดงความเป น เจ า ของในทรั พ ย สิ น ทาง ปญญา และทานยังเปนประธานลงนาม ขอตกลงความรวมมือระหวางผูแทน กลุ  ม เกษตรกรเพาะปลู ก ชมพู  เ พชร สายรุง กับผูประกอบการจําหนาย สินคาประเภทของฝากจากเมืองเพชร

170

ใน “โครงการอนุรักษและพัฒนาศักยภาพชมพูเพชรสายรุง” เพื่อใหเปนผลไมมีชื่อเสียงระดับโลก โดยกลุม เกษตรกรทีเ่ ขารวมโครงการจะไดรบั การสนับสนุนทัง้ งบประมาณ การสงเสริมการตลาดและการผลิต ขณะนีม้ เี กษตรกร ทีไ่ ดรบั การคัดเลือกเขารวมโครงการนํารอง 2 กลุม คือ เกษตรกร ตําบลทาไมรวก อ.ทายาง และเกษตรกรหนองโสน อ.เมืองฯโดย มีสํานักงานเกษตรจังหวัดเพชรบุรี อบรมใหความรูการผลิตชมพู ที่ปลอดภัยเพื่อใหผลผลิตไดมาตรฐานตรงความตองการของ ผูบริโภคและตลาด


วิธีเลือกซื้อชมพูเพชรสายรุงแท ชมพูเพชรสายรุงแทๆ จะมีลักษณะผลที่สามารถสังเกตได ชัดคือ ผลแกจะมีสีเขียวออนปนชมพู ตัวผลไมเงาแตจะขุนขาว เนื้อหนาแนนกรอบ รสชาติหวานถึงหวานจัด บริเวณกนชมพู เพชรสายรุงจะมี 4 กลีบเบียดกันแนน ผลแกจัดจะมองเห็นเสน สีชมพูขางผลเปนสาย ผลที่มีขนาดใหญเฉลี่ย 7-9 ผล/1 กิโลกรัม เลยที เ ดี ย ว ซึ่ ง ราคาก็ จ ะสู ง ตามไปด ว ย บางแห ง กิ โ ลกรั ม ละ สองรอยก็มี สํ า หรั บ ผู  ที่ ชื่น ชอบรั บ ประทานชมพูแ ลว เผอิญวาได มีโอกาสไปเที่ยวเมืองเพชรบุรีละก็ อยาลืมแวะหาซื้อชมพู เพชรสายรุงรับประทานดวยนะคะ เดี๋ยวถูกจะกลาวหาวา... ไปไมถึงเมืองเพชร

Phetchaburi 171


เสนทางการอนุรักษ

ä·Â·Ã§´íÒàÁ×ͧྪà ไทยทรงดําเปนกลุมชาติพันธุหนึ่งที่พูดภาษาตระกูลไท เปนชนชาติไทย สาขาหนึ่ง เรียกวา พวกผูไท ซึ่งแบงออกตามลักษณะสีของเครื่องแตงกาย เชน ผูไทขาว, ผูไทแดง และผูไทดํา เปนตน ผูไทดํา นิยมแตงกายดวยสีดํา จึงเรียกวา “ไทยทรงดํา” หรือ เรียกไดหลายชื่อเชน โซง, ซง, ไทยโซง, ไทยซง, ลาวโซง, ลาวซง, ลาวทรงดํา และ ลาวพุงดํา คําวา “โซง” สันนิษฐานวามาจากคําวา “ซวง” ซึ่งแปลวา กางเกง เพราะ ชาวไทยทรงดํานิยมนุงกางเกงทั้งชายและหญิง คนไทยและลาวพวนจึงเรียกวา “ลาวซวง” ซึ่งหมายถึงลาวนุงกางเกง ตอมาเพี้ยนเปน “ลาวโซง” เหตุที่เรียกไทย ทรงดําวา “ลาวโซง” เพราะคําวา “ลาว” เปนคําที่คนไทยทั่วไปใชเรียกคนที่อพยพ มาจากถิ่นอื่น แตชาวไทยทรงดําถือตนเองวาเปนชนชาติไทย จึงนิยมเรียกตนเอง วา “ไทยโซง” หรือ “ไทยทรงดํา”

172


ที่มาของชาวไทยทรงดํา ผลพวงจากสงครามสมัยพระเจากรุงธนบุรี (สมเด็จ พระเจาตากสินมหาราช) สมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธ ยอดฟาจุฬาโลก (รัชกาลที่ 1) มาจนถึงสมัยพระบาท สมเด็จพระนัง่ เกลาเจาอยูห วั (รัชกาลที่ 3) ทําใหลาวโซง หรือไทยทรงดํา ถูกกวาดครัวมาอยูเ พชรบุรี ระยะแรกไทยทรงดํ า ตั้ ง ถิ่ น ฐานอยู  ที่ ตํ า บล หนองปรง อําเภอเขายอย (สมัยพระเจาตากสิน และ รัชกาลที่ 1) ระยะที่สอง (สมัยรัชกาลที่ 3) โปรดฯ ใหมาตั้งบานเรือนอยูที่ตําบลทาแรง อําเภอ บานแหลมลาวโซ ลาวโซงหรือไทยทรงดํา จึงมาตัง้ ถิน่ ฐานทีท่ า แรง เมือ่ ป พ.ศ. 2378 - 2381 กอนไทยมุสลิมทาแรง ซึง่ ถูกกวาดครัว เขามาภายหลังโซง ไทยมุสลิมหรือ ที่เรียกวา แขกทาแรง มาสูเพชรบุรี ในลั ก ษณะถู ก กวาดครั ว เข า มาอยู  ณ เมืองเพชรบุรีราวป พ.ศ. 2328 เนื่องดวยเหตุผลทางสงครามเชนกัน สงครามครั้งนั้น พวกลาวพวน หรือ ไทยพวน พวกลาวเวียง หรือไทยเวียง ซึ่ง เปนชนชาติไทยดวยสาขาหนึ่ง ไดถูกกวาดครัว มาดวยกัน เมืองเพชรจึงประกอบดวยชนกลุมนอย

ที่เรียกวา “สามลาว” อัน ไดแก ลาวโซง ลาวพวน และ ลาวเวียง ธ ร ร ม ช า ติ ข อ ง ลาวโซง หรือไทยทรงดํา ชอบอยู  ที่ ด อนนํ้ า ท ว ม ไมถึง ชอบภูมิประเทศที่ เปนปาเขา เสมือนถิ่นดั้งเดิม ของตน ครั ว โซ ง กลุ  ม นี้ ไ ม ช อบ ภูมิประเทศที่ทาแรง เพราะโลงเกิน ไป จึงไดอพยพยายถิ่นฐานบานเรือน ไปเรื่อย ๆ สวนใหญเคลื่อนยายมา ตั้งถิ่นฐานอยูที่สะพานยี่หน ทุงเฟอ วั ง ตะโก บ า นสามเรื อ น เวี ย งคอย เขายอย ตามลําดับ เอกลั ก ษณ เ ฉพาะของชาวไทย ทรงดํา ภาษาของชาวไทยทรงดํ า มี ลั ก ษณะคล า ยกั บ ภาษาไทยอื่ น ๆ ทัว่ ไป แตมลี กั ษณะเฉพาะในการออก เสียงและศัพทเฉพาะบางคํา และมี อักษรเขียนของตน ซึง่ ปจจุบนั มีผอู า น ไดนอยลง

Phetchaburi 173


ลั ก ษณะการแต ง กาย เน น ด ว ยผ า สี ดํ า หรื อ สี ก รมท า โดยแบ ง ออกเป น ของ ผูชายและผูหญิง การแตงกายผูชาย คือ ใสเสื้อไทติดกระดุมเงินตั้งแต 11 เม็ดขึ้น ไป สวมซ ว งก อ ม หรื อ (กางเกงขาสั้ น ) คาดด ว ยสายคาดเอว หรื อ (ฝ ก เอว) ใส เ สื้ อ ฮี ช ายในชุ ด พิ ธี ก รรม การแต ง กายผู  ห ญิ ง คื อ ใส เ สื้ อ ก อ มติ ด กระดุ ม เงิ น ไม เ กิ น 11 เม็ ด ฮ า งผ า ซิ่ น ลาย แตงโม ทรงหนาวัว หรือหนาสั้นหลังยาว ผาดบ า ด ว ยผ า เป ย ว สะพายกะเหล็ บ ใสเสื้อฮีหญิงในชุดพิธีกรรม

ท ร ง ผ ม นั บ เป น เอกลั ก ษณ อี ก อย า งหนึ่ ง ที่ นาสนใจโดยเฉพาะทรงผมของ ผูห ญิงมีถงึ 8 แบบ แตละแบบจะ บงบอกถึงสถานภาพของสตรีผูนั้น ไดแก เอื้อมไร สับปน นกกะแลหรือชอดอกแค จุกตบ ขอกะตอก ขอดซอย ปนเกลาตวง ปนเกลาตก (หญิงที่สามีเสียชีวิต) ลักษณะที่อยูอาศัย โซงปลูกบานทีม่ ลี กั ษณะของตนเองแบบหลังคาไมมจี วั่ หลังคายกอกไกสูง มุงดวยตับตนกกมิใชตับจาก รูปหลังคา 174


ลาดคุมเปนรูปคลายกระโจม คลุมลงมาตํ่าเตี้ยจรดฝา ดูไกลๆ จะดู เหมือนไมมีฝาบาน เพราะหลังคาคลุมมิดจนมองไมเห็น บานโซง จะไมมีหนาตาง เนื่องจากโซงมาจากเวียดนามและลาว อยูตาม เทือกเขา อากาศหนาวเย็น ไมชอบมีหนาตางใหลมโกรก พื้นปู ดวยฟากไมไผ รองพื้นดวยหนังสัตว มีใตถุนบานสูงโดยใตถุนบาน ใชเปนที่เลี้ยงสัตวดวย ชาวไทยทรงดํากับการกอสรางพระนครคีรี ในชวงที่มีการกอสรางพระราชวังบนเขา ในยุคที่เครื่องจักรกลหรือ เครื่องทุนแรงยังไมมี ดังนั้นการแผวถางปรับสภาพยอดเขาทั้งสามยอดใหมีทาง ขึ้นลงเชื่อมตอกัน การลําเลียง อิฐ หิน ดิน ทราย อุปกรณการกอสราง จําเปนตอง ใชแรงงานคนจํานวนไมนอย พระเจ า ยาศรี สุ ริ ย วงศ (ช ว ง บุ น นาค) ซึ่งในขณะนั้นดํารงตําแหนง พระสมุหกลาโหม ในฐานะแมกองงานใหญ ในการกอสรางพระราชวังบนเขา มีทงั้ อํานาจทางทหารกําลังไพรพลในการควบคุมดูแลโซงทีไ่ ดกวาดครัวมาไวทเี่ พชรบุรี สมัยรัชกาลที่ 3 (พ.ศ. 2378-พ.ศ. 2381) ไดอพยพมาจากทาแรงโดยตัง้ ถิน่ ฐานใหม ที่เชิงเขากิ่ว สะพานยี่หน เวียงคอย วังตะโก ซึ่งอยูใกลกับเขาสมน จึงถูกกําหนด เกณฑมาใชเปนแรงงาน สรางพระราชวังในครั้งนี้ Phetchaburi 175


นั บ เนื่ อ งแต พ.ศ. 2401-พ.ศ. 2405 เป น ต น มาทุ ก เช า จรดเย็ น แรงงานโซ ง นุงกางเกง (ซวง) สีดํา สวมเสื้อกอมยอมสีครามดํา เดินออกจากหมูบานสะพานยี่หน มุงตรงไปยังเขาสมน นับวัน นับเดือน นับป ดวยความซื่อสัตย และจงรักภักดีตอหนาที่ เมื่อพระราชวังบนเขา พระนครคีรี สําเร็จเปนที่แปรพระราชฐาน ทรงงาน รับ รองพระราชอาคันตุกะตางประเทศ และเปนที่ พักผอนสวนพระองคแล แลว พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา เจาอยูหัว รัชกาลที่ 4 ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ให บุ ต รหลานเจ า เมื อ งและคหบดี ที่ มี ชื่ อ มารั บ ราชการ เปนมหาดเล็ก และโปรดเกลาฯใหคัดเลือกโซงมาเปน เด็กชาดวย เนื่องจากทรงเห็นความดีความชอบจากที่ โซงมาเปนแรงงานกอนสราง ชวงกอสรางพระราชวัง พระนครคีรี ดวยความอดทน อุตสาหะ

176


ชาวไทยทรงดําในเพชรบุรี ป จ จุ บั น ชาวไทยทรงดํ า ในเพชรบุ รี ส  ว นใหญ อาศั ย อยู  ใ นอํ า เภอเขาย อ ย มี อ าชี พ หลั ก คื อ ทํ า นา ทําไร หาของปา และจับสัตวปา นอกจากนีย้ งั มีความ สามารถเปนพิเศษในการจับปลาตามหวย หนอง ลําคลอง สวนอาชีพรอง คือ อาชีพจักสานเปนอาชีพ ที่ แ พร ห ลายของชาวไทยทรงดํ า ในเขตอํ า เภอ เขายอย โดยเฉพาะการจักสานหลัวหรือเขง **คนควาขอมูลเพิ่มเติมไดที่ www.khaoyoi-thaisongdam.com

Phetchaburi 177




เสนทางสู AEC

ธรรมเนียมปฏิบัติใน เมียนมารและเวียดนาม

ศูนยขอมูลประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน กรมเจรจาการคาระหวางประเทศ กระทรวงพาณิชย ไดให ขอมูลที่เปนเกร็ดความรูที่ถึงธรรมเนียมปฏิบัติหรือสิ่งที่ควรทําและไมควรทํา เพื่อการเตรียมตัวใหพรอมเมื่อตองไป ดําเนินธุรกิจหรือพํานักในประเทศกลุมอาเซียน ซึ่งฉบับที่แลวเราไดนําเสนอประเทศ สาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาวและราชอาณาจักรกัมพูชาไปแลว ฉบับนีข้ อนําเสนออีก 2 ประเทศคือ สาธารณรัฐแหงสหภาพเมีย นมารและสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนามคะ เรามาดูกนั วาธรรมเนียมปฏิบตั ขิ องประเทศเขาเปนอยางไรบางคะ

สาธารณรัฐแหงสหภาพเมียนมาร ธรรมเนียมปฏิบัติในเมียนมาร 1. ควรใชมือขวาเทานั้นในการรับและ ยื่นสิ่งของใหแกกัน 2.ไม ค วรพู ด เรื่ อ งการเมื อ งภายใน ประเทศ 3. การเดินทางเขาไปในสหภาพเมีย นมาร เ ครื่ อ งประดั บ หรื อ สิ่ ง ของมี ค  า ควร ติดตัวไปใหนอยที่สุด เพราะตองแจงบัญชี ทรั พ ย สิ น ต อ เจ า หน า ที่ ศุ ล กากรเวลาเข า เมือง และตองแสดงวาอยูครบเวลาจะเดิน ทางกลับจากสหภาพเมียนมาร หากไมครบ ตองเสียภาษีทนั ทีเพราะศุลกากรจะถือวานํา ทรัพยสินนั้นไปขาย 4. การใชจายภายในประเทศตองใช เงินสดเทานั้น ไมมีการรับบัตรเครดิต 5. การเดินทางไปยังเมียนมารตองเต รียมเงินดอลลารสหรัฐเพื่อมาแลกเปลี่ยน

180

เปนเงินจาด โดยมีขอ พึงระวังวาเงินดอลลาร สหรัฐที่นํามาแลกตองมีความสมบูรณ ไมมี รอยพั บ เพราะมั ก จะถู ก ปฏิ เ สธไม รั บ เงิ น ดอลลารสหรัฐที่มีรอยพับหรือรอยยับยูยี่ 6. คนตางชาติที่พํานักในสหภาพเมีย นมารและจําเปนตองจายคาสาธารณูปโภค หรือสินคาทีผ่ ลิตโดยราชการหรือองคกรของ รัฐเชน คานํ้า คาไฟ คาโทรศัพท หรือนํ้ามัน ตองจายดวยเงินสกุลดอลลารสหภาพเมีย นมาร ซึ่งไดจากการนําเงินดอลลารไปแลก 7. รัฐบาลของสหภาพเมียนมารใหใช เงินบาท เงินจาด และเงินดอลลารสหรัฐ

สําหรับการคาชายแดนได เพื่อใหการคา ชายแดนมีความคลองตัว 8. สหภาพเมียนมารมีภาษาทองถิ่นถึง 100 ภาษา โดยนักธุรกิจสามารถใชภาษา อังกฤษในการสื่อสารได สําหรับนามบัตร ควรมีคําแปลเปนภาษาพมาอยูในนั้นและ เมื่อไดรับนามบัตรมาควรอานกอนที่จะเก็บ เพื่อเปนการใหเกียรติ 9. ชาวพม า ไม นิ ย มนั ด หมายหรื อ สือ่ สารผานทางอีเมล ควรติดตอทางโทรศัพท โทรสารหรือพบปะหารือ 10. สิ่งของที่นิยมมอบเปนของที่ระลึก ใหกับชาวพมาคือ นิตยสาร หนังสือที่เปน ภาษาอังกฤษและเครื่องสําอางแบรนดเนม. ขอควรระวังในการพํานักอยูใ นเมียนมาร 1.ไมควรพูดคุยเรื่องทางการเมืองของ เมียนมารกับบุคคลทั่วไปที่ไมรูจักมักคุน 2.ไมควรใสกระโปรงสั้น หรือกางเกง ขาสั้นในสถานที่สาธารณะ และในสถานที่ สําคัญทางศาสนา 3. ไมควรถายรูปในบริเวณสนามบิน สถานีรถไฟ และสถานที่ราชการกอนไดรับ อนุญาต เมื่อจะถายรูปชาวเมียนมารก็ควร ขออนุญาตเชนกัน 4. ควรมีความสํารวมในวัดและศาสน สถาน ไมสงเสียงดังรบกวนผูอื่น 5. ระมัดระวังการพูดเชิงลบเกี่ยวกับ ประเทศหรือชาวเมียนมารในที่สาธารณะ เพราะมีชาวเมียนมารจํานวนมากที่เขาใจ ภาษาไทยไดดี


6. เมี ย นมาร ไ ด เ ปลี่ ย นชื่ อ ประเทศ แลว จึงไมควรใชชื่อเดิม (Burma) กับชาว เมียนมาร 7. ผูท มี่ ปี ญ  หาสุขภาพควรจัดเตรียมยา ประจําตัวมาดวย 8. ควรระมั ด ระวั ง เลื อ กรั บ ประทาน อาหารและนํ้าดื่มจากรานที่สะอาดถูกสุข

สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม ธรรมเนียมปฏิบัติของชาวเวียดนาม 1. การแตงกายเพือ่ ไปเจรจาธุรกิจ หาก ใสเครือ่ งประดับมาก เกินไปชาวเวียดนามจะ มองวาเปนมารยาทที่ไมเหมาะสม 2. ระหวางประชุมไมควรปฏิเสธการรับ ชา กาแฟหรือของวาง เพราะตามธรรมเนียม ถือวาหยาบคาย 3. หามแสดงความคิดเห็นเรือ่ งสงคราม การเมืองกฎหมาย ศาสนา 4. เมื่อตองการนัดเจรจาธุรกิจควรนัด ลวงหนาอยางนอย 1 สัปดาห 5. ชาวเวียดนามตรงตอเวลา ขอนัดเพือ่ เจรจาธุรกิจก็ควรไปใหตรงเวลา 6. การทักทายของชาวเวียดนามบาง คนจะใช ก ารสั ม ผั ส มื อ แบบสองมื อ โดย วางมือซายไวบนขอมือขวา

7. ชาวเวียดนามจะใหความสําคัญกับ การเคารพผูอาวุโส ซึ่งคลายกับชาวไทยจึง เปนโอกาสทีน่ กั ธุรกิจไทยจะเขาถึงและสราง ความประทับใจไดมากกวานักธุรกิจทีม่ าจาก ชาติตะวันตก 8. การพบกันครั้งแรกควรมีการแลก นามบัตรกันโดยใชมือทั้ง 2 ขางยื่นนามบัตร จากนั้นไมควรเก็บใสกระเปาทันที แตควร อ า นชื่ อแบบออกเสี ยงเพื่ อแสดงถึ ง ความ ใสใจ 9. หามมอบผาเช็ดหนาเปนของขวัญให แกชาวเวียดนาม เพราะถือวาเปนสัญลักษณ ของความโศกเศรา 10. การประชุมควรเริ่มจากกลาวคํา ขอบคุณที่ใหโอกาสเขาพบ การเจรจาควร พู ด ให ต รงประเด็ น ไม อ  อ มค อ ม หากชาว เวียดนามพยักหนาในระหวางที่ดําเนินการ เจรจาไมไดมีความหมายวาจะยอมรับ

อนามัย โดยเฉพาะนํ้าดื่ม ควรดื่มนํ้าที่บรรจุ ในขวดปดผนึกเรียบรอย 9. ทางการเมียนมารอาจหามชาวตาง ชาติเดินทางไปยังบางเมืองหรือบางพื้นที่ หากประสงคที่จะเดินทางไปเมืองที่ไมใช แหลงทองเทีย่ วของเมียนมาร ควรตรวจสอบ ขอมูลกอน ขอควรระวังในการพํานักอยูใ นเวียดนาม 1. การใชเงินในเวียดนาม ใชไดทงั้ สกุล ดองของเวียดนาม และเงินยูเอสดอลลาร ดังนั้นไมจําเปนตองแลกเงินเวียดนามเยอะ มากนัก เพราะคุณจะงงและสับสนกับตัวเลข มากมายได แลกไวพอใชจายสําหรับซื้อของ เล็กๆ นอยๆ หรือตอนรับประทานอาหาร พื้นเมืองตามรานเล็กๆ สวนเงินดอลลาร ไวสําหรับจายคาโรงแรมหรือแพ็กเกจทัวร ระหวางทาง ซึ่งควรมีติดตัวไวเปนธนบัตร หลาย ๆ จํานวน 2. การบริ โ ภคอาหารและนํ้ า ดื่ ม ใน เวียดนามตองระมัดระวัง ควรซื้อนํ้าดื่มที่ บรรจุเปนขวด หรือกรองนํ้าแลวตมกอนจะ ดื่ม และการบริโภคอาหารประเภทผักผลไม ตองลางใหสะอาดกอน 3. อย า นํ า สิ่ ง ต อ งห า มเหล า นี้ เ ข า ประเทศเวียดนาม เชน อาวุธ วัตถุระเบิด อุปกรณทางการทหาร ยาเสพติด สารเคมี ประทัดและดอกไมไฟ วีดีโอเทป (สําหรับ วิดีโอเทปศุลกากรจะกักไวระยะหนึ่ง เพื่อ การตรวจสอบ) สิ่งที่ทําใหเสื่อมเสียศีลธรรม และเปนภัยตอการเมืองและความมัน่ คง สือ่ ลามกอนาจาร 4. อยาตกลงซื้อของหรือใชบริการใดๆ โดยที่ไมสอบถามราคาใหแนใจเสียกอน ไม เชนนั้นจะเสียใจภายหลังได

Phetchaburi 181


เสนทางสุขภาพ

ออกกําลังกาย

ใหเหมาะสมกับวัย

(วัยเด็ก)

ขอแนะนําในการออกกําลังกาย 1. กิจกรรมการออกกําลังกาย ควรเนนความสนุกสนาน รูปแบบ ที่งายๆ 2. ควรคํานึงถึงความปลอดภัย ไมหนักเกินไป 3. ควรจัดกิจกรรมในลักษณะคอยๆ เพิ่มระดับความหนักของ การออกกําลังกายจนถึงระดับหนักปานกลาง 4. ควรอบอุ นร างกายกอ นออกกําลัง กาย และผอนคลาย รางกายหลังการออกกําลังกายทุกครั้ง 5. การออกกําลังกายเพื่อเพิ่มความแข็งแรงของกลามเนื้อ ควรใชกิจกรรมลุกนั่ง ดันพื้น โหนบาร ยกลูกนํ้าหนักที่ไมหนักมาก

วัยเด็กเปนวัยที่อยูในชวงของการพัฒนาทางดานรางกาย จิตใจ อารมณ สังคม และสติปญญา การออกกําลังกายจะชวย สงเสริมใหระบบตางๆ ของรางกาย เชน ระบบกระดูก ระบบ กลามเนื้อ ระบบขอตอตางๆ รวมทั้งสงเสริมสุขภาพจิตของเด็ก ไดอกี ดวย มาดูกนั วาการออกกําลังกายทีเ่ หมาะสมสําหรับเด็กๆ ลูกหลานที่เรารักควรเปนอยางไรกันคะ หลักของการออกกําลังกายในวัยเด็ก 1. กิจกรรมการออกกําลังกาย ไดแก วิ่ง เลนกีฬา ตางๆ เชน ฟุตบอล บาสเกตบอล เทนนิส แบดมินตัน วายนํ้า เปนตน 2. ความหนักของการออกกําลังกาย โดยใหอตั ราการเตนของหัวใจอยูร ะหวาง 60-80% ของอัตราการเตนของหัวใจ สูงสุด 3. ความนานของการออก กําลังกาย ใชเวลา 20-60 นาที 4. ความบ อ ยของการ ออกกําลังกาย 3-5 วันตอ สัปดาห

182

ขอควรระวังในการออกกําลังกาย 1. เมื่อเด็กไมสบายมีไข ตัวรอน ไมควรออกกําลังกาย 2. หลีกเลี่ยงกิจกรรมที่มีการปะทะกระทบกระเทือนหรือใช ความอดทนมากเกินไป 3. ควรหลี ก เลี่ ย งสภาพอากาศร อ น หรือมีแสงแดดมาก และตองใหเด็กดืม่ นํา้ เปนระยะๆ

แคจัดหากิจกรรมการออกกําลัง กายใหบุตรหลานอยางเหมาะสมกับวัยและ สภาพรางกายหรือความพรอมของเด็กเอง ก็จะชวยให พวกเขามีสุขภาพสมบูรณแข็งแรง สดใส ราเริงไดคะ

ที่มา: คณะวิทยาศาสตรการกีฬาและสุขภาพ สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตชุมพร


เสนทางความงาม

สิว!

รักษาผิวไมใหเกิด

เดี๋ยวนี้มีปจจัยหลายอยางนะคะที่ทําใหเกิดสิวบนใบหนาได ไมวา จะเปนกรรมพันธุข องผิวทีอ่ าจแพงา ย หรือมีความมันไดงา ย ความสกปรก จากฝุนควันหรือเชื้อโรคตางๆ ที่เราไปสัมผัสมา สิวที่เกิดแลวไมยอม จางหายไปไหนแตจะสรางความรําคาญทุกครั้งที่สองกระจกนั้นก็คือ สิวอุดตัน ทําใหสาวๆ อาจจะตองกลบรองพื้นมากหนอยเวลาแตงหนา เพื่อลบรอยสิวดําๆ แตหารูไมยิ่งกลบก็ยิ่งจะเพิ่มความเสี่ยงที่จะเปน สิวอุดตันที่จุดอื่นๆ ของใบหนาตอไปไดอีก เรามาดูวิธีการปองกันและรักษาสิวอุดตันกันนะคะวามีอะไรที่พอ จะชวยเราไดบางคะ 1. รักษาความสะอาดของใบหนาไมใหมีคราบสกปรกหลงเหลือ ตกคางอยู ขอควรระวังคือ หากเริ่มมีสิวอุดตันบนใบหนาควรงดการ แตงหนาดวยเครื่องสําอาง เพราะจะยิ่งทําใหเกิดการอุดตันของ สิวมากยิ่งขึ้น 2. ทายารักษาสิวซึ่งสวนใหญมักจะอยูในรูปแบบของโลชั่น ครีมแตม โดยเลือกที่มีสวนประกอบของกลุมเบนซอยลเพอรออก ไซต (BP) แตควรเริ่มใชจากคาเปอรเซ็นตนอยๆ กอนนะคะ, กรด ไซลิไซลิก (BHA) และกลุมคลินดามันซิน เปนตน สวนครีมทาสิว อุดตันในกลุม Tretionoin ที่มีลักษณะเปนเจลหรือนํ้า ยิ่งมีความ เขมขนสูงก็ยิ่งละลายสิวอุดตันไดดี แตจะมีผลคางเคียงทําให ใบหนาเกิดความระคายเคืองมากขึ้นตามไปดวย 3. ยารั ก ษาสิ ว ชนิ ด รั บ ประทานในกลุ  ม Retinoids อาทิ เชน Roaccutane, Isotretionoin, โดยมีขนาดตั้งแต 10-20 mg. ใชตามลักษณะความรุนแรงของอาการ ประโยชน คือชวยลดปญหาผิวมัน โดยการลดการทํางานของตอม ไขมันในรางกาย ทําใหหนาแหงและมีความมันนอยลง

4. ยาลอกขุยและยาทําใหผิวแหง เชน Salicylic acid, Resorcinol, Sulphur, Aluminum oxide ชวยในการลอกขุย และ ทําใหสิวแหงหลุดออกมา นอกจากนีก้ ย็ งั มีการรักษาสิวอุดตันโดย การพบแพทยผูเชี่ยวชาญ ซึ่งจะมีกรรมวิธี ตั้งแตการกดสิวอุดตันใหหลุดออกมา, การ ฉายดวยแสงเลเซอรสีแดงซึ่งทําหนาที่คลาย กับยาแกอกั เสบทําลายเชือ้ แบคทีเรียทีท่ าํ ให เกิดสิว พรอมกับชวยลดการทํางานของตอม ไขมัน ทําใหสิวแหงเร็ว, การทํา Treatment เพื่อใหผิวหนังมีการผลัดเปลี่ยนผิวที่รวดเร็ว มากยิ่งขึ้น และการทํา Iontophresis จะชวย ผลักตัวยาใหเขาสูช นั้ ผิวหนังทีล่ กึ ซึง่ การทายา โดยปกติทวั่ ไปไมสามารถทําได มักจะใชรว มกับ ยาทาสิวอุดตันกลุม Tretionoin หรือ Retin-A ไมวาจะรักษาดวยวิธีใดก็ตามยอมมี ผลขางเคียงไมอยางใดก็อยางหนึ่งเสมอ ทางที่ ดี เ ราควรหาทางป อ งกั น จะดี ก ว า ปลอยใหเกิดสิวอุดตันดีกวานะคะ เชน รักษาความสะอาดของใบหนา รับประทาน ผักผลไมที่มีกากใยสูง และออกกําลังกาย เพือ่ ใหกระตุน ใหตอ มนํา้ เหลืองในรางกาย ทํางานไดดีขึ้น เชน การแกวงแขนวันละ 500-1,000 ครั้งคะ (วิธีนี้ผูเขียนทดลอง มาด ว ยตนเองแล ว ) เพราะนอกจากจะ ประหยัดสตางคมากกวาแลวยังไมเจ็บตัว ดวยคะ


AD ¹Ñ¹ÂÒ§.pdf 1 27/8/2557 16:16:34

¡ÅØ‹ÁºÃÔÉÑ· ¹Ñ¹ÂÒ§à·ç¡« ä·Å ¾Ñ¹¸¡Ô¨..mission

àÃÒÁØ‹§ÁÑè¹ÃÇÁ¾Åѧ·Ò§¸ØáԨ â´Â¡ÒÃÃǺÃÇÁ·ÃѾÂҡõ‹Ò§æ à¾×è͵ͺʹͧ¤ÇÒÁµŒÍ§¡ÒâͧÅÙ¡¤ŒÒ ·Ñ駤سÀÒ¾áÅФÇÒÁÃÇ´àÃçÇ àÃҨз؋Áà·¾ÅѧÍ‹ҧÁØ‹§ÁÑè¹ à¾×èÍÊ‹§ÁͺÊÔ¹¤ŒÒµÒÁ¡íÒ˹´ àÃÒ¨ÐäÁ‹ ËÂØ´¹Ôè§ã¹¡ÒäԴ¤Œ¹ ¾Ñ²¹Ò¼ÅÔµÀѳ± ¡Ãкǹ¡Ò÷ҧ¸ØáԨ áÅÐ ºØ¤ÅÒ¡Ã à¾×èͤÇÒÁà¨ÃÔÞàµÔºâµÍ‹ҧÁÑ蹤§¢Í§Í§¤ ¡ÒÃ

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

ÇÔÊÑ·ÑÈ ..vision

¡ÅØ‹ÁºÃÔÉÑ·¹Ñ¹ÂÒ§à·ç¡« ä·Å àÃÒ ¶×ÍÇ‹ÒÅÙ¡¤ŒÒ¤×Í ËÑÇ㨢ͧ¸ØáԨ àÃÒµÑé§ ã¨ÁÕʋǹËÇÁ㹤ÇÒÁÊíÒàÃ稷ҧ¸ØáԨ ¢Í§ÅÙ¡¤ŒÒ â´Â㪌·ÃѾÂҡ÷ء´ŒÒ¹·ÕèÁÕ »ÃСͺ¡Ñº ¤ÇÒÁ¤Ô´ ÊÌҧÊÃä â´Â·ÕÁ§Ò¹Á×ÍÍÒªÕ¾¢Í§àÃÒ ¤‹Ò¹ÔÂÁËÅÑ¡ ¨ÔµÊíÒ¹Ö¡¢Í§¤ÇÒÁÃѺ¼Ô´ªÍº¤ÇÒÁÃѺ¼Ô´ªÍº µ‹Í˹ŒÒ·Õè·Õèä´ŒÃѺÁͺËÁÒµÒÁ¤íÒÁÑè¹ÊÑÞÞÒ·Õèä´ŒãËŒäÇŒ â´Â»¯ÔºÑµÔ§Ò¹´ŒÇ¤ÇÒÁ ÁØ‹§ÁÑè¹áÅз؋Áà· à¾×èÍãËŒ§Ò¹ ºÃÃÅؼÅÊíÒàÃç¨áÅÐÃѺ¼Ô´ªÍºµ‹Í¼Å¨Ò¡¡ÒáÃзíÒ ÁØ‹§à¹Œ¹¤ÇÒÁ¾Ö§¾Í㨢ͧÅÙ¡¤ŒÒ ¡ÒÃãËŒ¤ÇÒÁÊíÒ¤ÑÞ àÍÒã¨ãʋ㹡ÒüÅÔµÊÔ¹¤ŒÒ ãËŒºÃÔ¡Òà ᡌ䢻˜ÞËÒà¾×è͵ͺʹͧµ‹Í¤ÇÒÁµŒÍ§¡Òà ¢Í§ÅÙ¡¤ŒÒÍ‹ҧ¶Ù¡µŒÍ§áÅÐÃÇ´àÃçÇ ÃÇÁ¶Ö§¡ÒþѲ¹Ò »ÃѺ»ÃاÍ‹ҧµ‹Íà¹×èͧ à¾×èÍÊÌҧÊÃä ¤ÇÒÁ¾Ö§¾Í㨠ÊÙ§ÊØ´á¡‹ÅÙ¡¤ŒÒ ºÃÔÉÑ· ¹Ñ¹ÂÒ§à·ç¡« ä·Å ¨íÒ¡Ñ´ µÑé§ÍÂÙ‹àÅ¢·Õè 185,186,189 ËÁÙ‹ 2 ¶¹¹à¾ªÃà¡ÉÁ µ.à¢ÒŒ͠Í.à¢ÒŒ͠¨.ྪúØÃÕ

ºÃÔÉÑ· ¹Ñ¹ÂҧῺÃÔ¤ ¨íÒ¡Ñ´ µÑé§ÍÂÙ‹àÅ¢·Õè 187-188 ËÁÙ‹ 2 ¶¹¹à¾ªÃà¡ÉÁ µ.à¢ÒŒ͠Í.à¢ÒŒ͠¨.ྪúØÃÕ


p09 HANA.pdf 1 16/11/2556 12:04:52

µÑÇá·¹¨íÒ˹‹Ò¨ѧËÇÑ´ÃÐÂͧ

¤Ø³¾ÅÍ (Ìҹ¾ÅÍÂÊÇ ˌҧáËÅÁ·Í§) T.087-110-4532, ¤Ø³ºÕÁ (ÌҹºÕºÕª Í» µÅÒ´¹Ñ´ÊµÒà ) T.081-055-8283, ¤Ø³áÁç¡ (·ÑºÁÒ) T.086-331-6330


AD toyota.pdf 1 23/8/2557 16:22:09

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.