บันทึกประเทศไทย
LAMPANG
“¹ÒÂÊÒÁÒö ÅÍ¿‡Ò” ¼ÙŒÇ‹ÒÃÒª¡ÒèѧËÇÑ´
“ÅÓ»Ò§àÁ×ͧ¹‹ÒÍÂÙ‹ ¹¤ÃáË‹§¤ÇÒÁÊØ¢” ͧ¤ ¡ÒúÃÔËÒÃʋǹ ¨Ñ§ËÇÑ´ÅÓ»Ò§
“ͧ¤ ¡ÃáË‹§¡ÒþѲ¹Ò & ºÃÔ¡ÒÃÊÒ¸ÒóÐÏ”
¹Ò¨ÓÅÑ¡É ¡Ñ¹à¾çªÃ ·ŒÍ§¶Ô蹨ѧËÇÑ´
“์¹ËÅÑ¡¤Ø³¸ÃÃÁ & ¨ÔµÊÒ¸ÒóД
Vol.6 Issue 39/2016
â»Ã»˜ ¡&â»Ã໇... ᨡᨧÊÔ觷Õè ¹Ñ¡¡ÍÅ ¿¤ÇÃÃÙŒ
เดอะแฮปปี้เนส ลักซ์ชัวรี่ คอนโดมิเนียม
ความสุข สงบ ท่ามกลางความศิวิไลซ์ สถานที่ตั้ง 106/9 ถ.ซุปเปอร์ไฮเวย์ลำ�ปาง-งาว ต.พระบาท อ.เมือง จ.ลำ�ปาง ตรงข้ามบิ๊กซี ลำ�ปาง ติดต่อ Facebook The Happiness Condominium เบอร์โทร 054-017317 เบอร์มือถีอ 090-6919198
ภัคร์ฑิลา ไทย เฮอร์เบิล
...ชาสมุนไพรออร์แกนิคเพื่อคุณ “เราดูแลตั้งแต่การเพาะปลูก จนถึงกระบวนการแปรรูปผลิตภัณฑ์” คือหัวใจส�ำคัญของชาสมุนไพรออร์แกนิค ภัคร์ฑิลา ไทย เฮอร์เบิล ผู้รังสรรค์รสชาติและสรรพคุณของสมุนไพรไทยไว้ได้อย่างลงตัว จนกลาย เป็นเอกลักษณ์เฉพาะของภัคร์ฑิลา ไทย เฮอร์เบิล ทั้งชาตะไคร้ ชาใบเตย ชาดอกค�ำฝอย ชาตะไคร้ใบเตย ชาขิง ชาข้าวหอมนิลผสมใบเตย และชา ข้าวหอมนิลผสมข้าวก�่ำ ภายใต้กระบวนการผลิตที่ได้มาตรฐานการจัดการ ด้านสิ่งแวดล้อม ISO 14001 : 2015
ชาสมุนไพรธรรมดา ที่ไม่ธรรมดา
จากประสบการณ์ ความรู้ และความเชี่ยวชาญด้านการดูแลสุขภาพ ที่สั่งสมมาอย่างยาวนาน หจก.ภัคร์ฑิลา ไทย เฮอร์เบิล จึงถือก�ำเนิดขึ้นเมื่อ วันที่ 31 มีนาคม 2554 โดยมีปณิธานที่นอกเหนือจากการท�ำธุรกิจในสาย งานที่รักคือ สามารถสร้างงาน และกระจายรายได้ให้คนในชุมชนได้อย่าง ยั่งยืน ผู้บริหาร หจก.ภัคร์ฑิลา ไทย เฮอร์เบิล ได้กล่าวถึงความมุ่งมั่นตั้งใจ ในการผลิตและจ�ำหน่ายชาสมุนไพร ว่า “ปั จ จุ บั น มี ก ลุ ่ ม คนรั ก สุ ข ภาพมากขึ้ น จึ ง มี ค วามคิ ด ที่ ส ร้ า ง แบรนด์สินค้าสุขภาพเป็นของตัวเอง โดยใช้สมุนไพรใกล้ตัวคือตะไคร้ ท�ำเป็นชาตะไคร้สูตรเฉพาะ ซึ่งเราศึกษาขั้นตอนและวิธีการในการผลิต ชาตะไคร้ที่มีคุณภาพ ศึกษาตั้งแต่พันธุ์ตะไคร้ วิธีการปลูก ศึกษาแนว โน้ ม ทางการตลาด ทั้ ง ในประเทศและส่ ง ออก ทั้ ง ชาสมุ น ไพรและการ จ�ำหน่ายสมุนไพรสด หลายคนบอกเราว่า ตะไคร้มีอยู่ทั่วไปจะจ�ำหน่าย ได้เหรอ แต่เราจะท�ำสิ่งที่ธรรมดาให้เป็นความไม่ธรรมดา โดยดึงสิ่งง่าย ๆ รอบตัวมาท�ำให้เกิดมูลค่าเกิดประโยชน์ และสิ่งเหล่านี้สามารถสร้าง งาน สร้างรายได้ในชุมชนได้อย่างยั่งยืน เพราะความตั้งใจของเราคือ การท�ำคอนแทรคฟาร์ม เพื่อให้ชุมชนได้มีส่วนร่วมในการเพาะปลูก” จากแนวคิดดังกล่าว ผนวกกับเรียนรู้และการพัฒนาศักยภาพอย่าง ไม่หยุดยั้ง ท�ำให้ ภัคร์ฑิลา ไทย เฮอร์เบิล ก้าวมาอยู่ในระดับแนวหน้าของ ชาสมุนไพรออร์แกนิคของไทยได้อย่างภาคภูมิใจ ดังที่ผู้บริหารของ หจก. ภัคร์ฑิลา ไทย เฮอร์เบิล ได้กล่าวทิ้งท้ายว่า
“หากเราหยุดเดิน ทีมงานที่รออยู่ จะเดินพร้อมกับเราได้อย่างไร”
ชาตะไคร้
ชาขิง
สมุนไพรที่มีความเผ็ดร้อน มี ประโยชน์ต่อสุขภาพรสชาติลงตัว จากวัตถุดิบที่มีคุณภาพ
รสชาติเข้มข้นของตะไคร้จากฟาร์มออร์แกนิค สรรพคุณ ลดไขมันในเลือด ล้างไต กระษัยเส้น เบาหวาน ปวดเมื่อยตาม ร่างกาย ไขข้อ ขัดเบา มือชา เท้าชา
สรรพคุณ ช่วยลดน�้ำตาลใน เลือด ท�ำให้ร่างกายเผาผลาญ พลังงานได้ดีขึ้น ช่วยในเรื่อง ขับถ่าย สามารถช่วยขับลม ลด อาการท้องอืดและบรรเทาอาการ คลื่นไส้ได้
ชาใบเตย
จากความหอมที่เป็นเอกลักษณ์ของ สมุนไพรไทย มาเป็นชาใบเตยที่คงเสน่ห์ ความหอมของใบเตยไว้ ดื่มแล้วสดชื่น ดับกระหาย คลายร้อน สรรพคุณ ช่วยบ�ำรุงประสาท ช่วยบ�ำรุง หัวใจ แก้อาการอ่อนเพลีย มีฤทธิ์ลด ระดับน�้ำตาลในเลือด
ชาข้าวหอมนิล ผสมใบเตย
ชาดอกค�ำฝอย สมุนไพรที่มีเอกลักษณ์ในเรื่องของ สรรพคุณ เราจึงคัดสรรวัตถุดิบที่ มีคุณภาพจนได้ชาดอกค�ำฝอยที่มี รสชาติลงตัว สรรพคุณ ช่วยบ�ำรุงหัวใจ ลดไขมัน บ�ำรุงโลหิต บ�ำรุงประสาท แก้ปวด ประจ�ำเดือน
รังสรรค์ข้าวคุณภาพและสมุนไพรที่มีความหอมอย่างมีเอกลักษณ์ จนได้ชาข้าวหอมนิลผสมใบเตย ที่มีความหอมอย่างมีเอกลักษณ์ สรรพคุณ แก้อาการอ่อนเพลีย ดับกระหาย คลายร้อน ช่วยลดระดับน�้ำตาลในเส้นเลือด ช่วยขับปัสสาวะ ขับเหงื่อ ช่วยบ�ำรุงประสาท และระบบกล้ามเนื้อ บ�ำรุงสายตา บ�ำรุงหัวใจ บ�ำรุงเส้นผม
ชาข้าวหอมนิลผสมข้าวก�่ำ ผสมผสานความลงตัวของข้าวทั้ง สองชนิด จนได้ชารสชาติหอมกรุ่นมี เอกลักษณ์ สรรพคุณ ช่วยในการท�ำงานของระบบ ประสาทและระบบกล้ามเนื้อ บ�ำรุง สายตา บ�ำรุงโลหิต บ�ำรุงเส้นผม รวม ทั้งช่วยการไหลเวียนของเส้นเลือดฝอย และช่วยลดไขมันอุดตันในเส้นเลือด
ชาตะไคร้ใบเตย
ผสานความลงตัวของสมุนไพร 2 ชนิด จนได้ชารสชาติกลมกล่อมดื่ม แล้วสดชื่น สรรพคุณ มีส่วนช่วยในการขับเหงื่อ ดับ กระหาย คลายร้อน ช่วยควบคุมระดับ น�้ำตาลในเส้นเลือด รักษาสมดุลในร่างกาย และบรรเทาอาการวิงเวียนศีรษะ
หจก.ภัคร์ฑิลา ไทย เฮอร์เบิล
มีความตระหนักถึงความส�ำคัญการจัดการด้านสิ่งแวดล้อมก้าวสู่ระบบ ISO 14001 : 2015
“เราดูแลตั้งแต่การเพาะปลูก จนถึงกระบวนการแปรรูปผลิตภัณฑ์”
ตระหนักถึงสิ่งแวดล้อมเป็นส�ำคัญ นอกจากสินค้าของเรา แบรนด์ ภัคร์ฑิลา เรายังรับผลิดชาสมุนไพรในแบรนด์ของลูกค้า พร้อมขึ้นทะเบียน อย. และออกแบบบรรจุภัณฑ์ตามความต้องการของลูกค้า โดยทีมงานที่มีคุณภาพ รับอบแห้งสมุนไพรทุกชนิด เราจ�ำหน่ายวัตถุดิบสมุนไพรที่มีคุณภาพและต้นพันธุ์สมุนไพร จากฟาร์มของเราส่งตรงถึงโรงงานลูกค้า
โครงการจิตต์อารีวิลล์ 1-5
ติดต่อสอบถาม : โทร 081-530-3334, 081-021-1222, 081-885-9995 www.facebook.com/JitareevillProperty Email : Jitareevill@hotmail.com
คณะที่ปรึกษา ศ.ดร.กฤช เพิ่มทันจิตต์, ดร.นิเวศน์ กันไทยราษฎร์ ดร.วัลลภ อารีรบ, ดร.สุมิท แช่มประสิทธิ์ ดร.พิชัย ทรัพย์เกิด, ดร.ไอศูรย์ ดีรัตน์ ดร.ประยุทธ คงเฉลิมวัฒน์, ดร.สุเทพ จันทรุกขา ฝ่ายกฎหมาย สมคิด หวังเชิดชูวงศ์, ทวิช อมรนิมิตร บรรณาธิการอํานวยการ ศุภกิจ ศิลปรังสรรค์ บรรณาธิการบริหารสายงานบุคคล พงษ์ศักดิ์ พรณัฐวุฒิกุล บรรณาธิการการบริหารสายงานการตลาด อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์, วนัสกฤษณ์ ศิลปรังสรรค์ กองบรรณาธิการ ธัญญรัศม์ สวาสดิ์พรรค ช่างภาพ กร พงศ์ไพบูลย์เวชย์, ชัยวิชญ์ แสงใส, ฐกร วรจุฑาวงศ์ กราฟิคดีไซน์ สามารถ ทองเสือ วิไลลักษณ์ ธานจันทร์ ผู้อํานวยการฝ่ายบริหารโฆษณา กชกร รัฐวร ผู้จัดการประสานงานโครงการภาคเอกชน กิตติชัย ศรีสมุทร, รุ่งโรจน์ เสาร์ปา, ไพรัตน์ กลัดสุขใส ผู้จัดการประสานงานโครงการภาครัฐ คชฤทธิ ชุ่มอูป, อัครพล ไชยยาว, กิตติทัศน์ จินประเสริฐ ฝ่าย IT และประสานงาน ธัญญรัศม์ สวาสดิ์พรรค ฝ่ายการเงิน-การบัญชี อรพรรณ มะณี, อุสา แก้วเพชร, วรลักษณ์ ปุณขันธุ์ บริษัท สมาร์ท บิซิเนส ไลน์ จํากัด 9/4-8 ถ.รามอินทรา แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพฯ 10220 โทร. 0-2522-7171 แฟกซ์. 0-2971-7747 www.smart-sbl.com E-mail : sbl2553@gmail.com
EDITOR’S TALK จังหวัดล�ำปาง เป็นจังหวัดทีม่ คี วามส�ำคัญทางประวัตศิ าสตร์มาแล้วไม่นอ้ ยกว่า 1,300 ปี ประกอบกับมีสภาพภูมปิ ระเทศทีเ่ ป็นป่าเขา ท�ำให้ล�ำปางมีแหล่งท่องเทีย่ ว มากมาย ทัง้ แหล่งท่องเทีย่ วทางธรรม แหล่งท่องเทีย่ วทางธรรมชาติ และแหล่ง ท่องเทีย่ วทางประวัตศิ าสตร์ ไม่เพียงเท่านัน้ จังหวัดล�ำปางยังมีทรัพยากรธรรมชาติ ที่มีคุณค่า ซึ่งก่อให้เกิดอุตสาหกรรมที่สร้างชื่อเสียงให้จังหวัดมายาวนาน อาทิ อุตสาหกรรมการผลิตไฟฟ้าจากลิกไนต์ อุตสาหกรรมเซรามิกจากดินขาว อุตสาหกรรม ผลิตเฟอร์นเิ จอร์และของใช้จากไม้ เป็นต้น นิตยสาร SBL ฉบับจังหวัดล�ำปาง น�ำเสนอ “โครงการพระราชด�ำริฯ บ้านทุง่ จี”้ ใน สมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ติ ฯิ์ โครงการป้องกันและปราบปรามการลักลอบตัดไม้ ท�ำลายป่า ควบคูก่ บั การส่งเสริมศิลปาชีพ ทีร่ เิ ริม่ มาเมือ่ 20 กว่าปีทแี่ ล้ว ซึง่ น่าจะเป็น แบบอย่างให้กบั หลาย ๆ พืน้ ทีท่ ปี่ ระสบปัญหาการรุกป่า, ท่านผูว้ า่ ราชการจังหวัดล�ำปาง “นายสามารถ ลอยฟ้า” กับแนวทางการขับเคลือ่ นล�ำปางไปสู.่ ..นครแห่งความสุข และสุจริต, “นายจ�ำลักษ์ กันเพ็ชร์” ท้องถิน่ จังหวัดล�ำปาง เปิดมิตกิ ารบริหารงาน ยุคใหม่ให้เหมาะกับคนยุคดิจติ อล, ท่านอุตสาหกรรมจังหวัดล�ำปาง “นายสมศักดิ์ หวลกสิน” โชว์ศกั ยภาพอุตสาหกรรมทีเ่ ป็นจุดแข็งในเวทีอาเซียน, องค์การบริหาร ส่วนจังหวัดล�ำปาง และอปท. ชวนช็อปสินค้า OTOP และชวนเทีย่ วทัว่ ล�ำปาง, ไปสักการะพระพุทธสิกขีปฏิมากรทองค�ำ พุทธลักษณะลังกานอก ณ วัดถ�ำ้ ขุมทรัพย์ จามเทวี อ�ำเภอเกาะคา และชมประเพณีเดินขึน้ ดอยไปสักการะพระธาตุดอยพระฌาน อ�ำเภอแม่ทะ ฯลฯ กระผมในนามของนิตยสาร SBL ขอขอบพระคุณท่านผูว้ า่ ราชการจังหวัดล�ำปาง “นายสามารถ ลอยฟ้า” ตลอดจนหน่วยงานราชการ องค์กร และบริษทั -ห้างร้าน ต่าง ๆ ทีใ่ ห้การสนับสนุนการจัดพิมพ์นติ ยสารจนส�ำเร็จลุลว่ งด้วยดี จึงขอถือโอกาส นีอ้ าราธนาสิง่ ศักดิส์ ทิ ธิใ์ นสากลโลก โปรดประธานพรให้ทกุ ๆ ท่าน ประสบแต่ความ สุขความเจริญยิง่ ๆ ขึน้ ไป และหากมีสงิ่ ใดขาดตกบกพร่อง ทีมงานนิตยสาร SBL พร้อมรับฟังค�ำชีแ้ นะและจะน�ำไปปรับปรุงให้ดยี งิ่ ๆ ขึน้ ไปครับ
ติดต่อ คุณศุภกิจ ศิลปรังสรรค์ โทรศัพท์ 081-442-4445, 084-874-3861 E- mail : supakit.s@live.com
(นายศุภกิจ ศิลปรังสรรค์) บรรณาธิการอำ�นวยการ
Contents
Lampang 70 เส้นทางท่องเที่ยว
25
เส้นทางพบผู้ว่าราชการจังหวัดลำ�ปาง
93 40
เส้นทางพบท้องถิ่นจังหวัดลำ�ปาง 20 25 40 46 52 56 58 60 61 62
52
เส้นทางพบองค์การบริหาร ส่วนจังหวัดลำ�ปาง
เส้นทางพบอุตสาหกรรม จังหวัดลำ�ปาง
ใต้ร่มพระบารมี เส้นทางพบผู้ว่าราชการจังหวัดลำ�ปาง เส้นทางพบท้องถิ่นจังหวัดลำ�ปาง เส้นทางพบองค์การบริหารส่วนจังหวัดลำ�ปาง เส้นทางพบอุตสาหกรรมจังหวัดลำ�ปาง เส้นทางพบพลังงานจังหวัดลำ�ปาง เส้นทางพบสนง.ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จ.ลำ�ปาง เส้นทางพบสนง.แขวงทางหลวงชนบท เส้นทางพบสนง.พัฒนาชุมชน จ.ลำ�ปาง เส้นทางการศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฎลำ�ปาง
70 86 93 94 96 100 102 104 106 107
เส้นทางท่องเที่ยว เส้นทางความเป็นมา เทศบาลเมืองพิชัย ทต.บ่อแฮ้ว อบต.บ้านเสด็จ อบต.ทุ่งฝาย วัดพระธาตุเสด็จ วัดจำ�ค่าวนาราม วัดดำ�รงธรรม ทต.ปงยางคก
46
Contents 112 วัดถ้�ำ ขุมทรัพย์จามเทวี
Lampang 129 วัดดงนั่งคีรีชัย
124 วัดพระบาทปู่ผาแดง
160 วัดพระธาตุดอยพรฌาน 108 อบต.เวียงตาล 112 วัดถ้ำ�ขุมทรัพย์จามเทวี 120 ทต.แจ้ห่ม 123 ทต.ทุ่งผึ้ง 124 วัดพระบาทปู่ผาแดง 129 วัดดงนั่งคีรีชัย 132 ทต.ลำ�ปางหลวง 135 ทต.เกาะคา 136 อบต.ใหม่พัฒนา 138 วัดสันตินิคม 140 อบต.แม่ตีบ 142 อบต.บ้านหวด 144 อบต.บ้านแหง 146 อบต.บ้านอ้อน
154 155 156 157 159 160 166 168 170 172 174 176 177 178 180 182 185 194
อบต.หัวเมือง อบต.หัวเมือง อบต.หัวเมือง เส้นทาง AEC ทต.ป่าตันนาครัว วัดพระธาตุดอยพระฌาน วัดเวฬุวนาราม วัดดอนไฟ วัดสันฐาน ทต.พระบาทวังตวง อบต.แม่พริก อบต.ร่องเคาะ อบต.ร่องเคาะ วัดถ้ำาผางาม ทต.แม่เมาะ อบต.นาโป่ง เทศบาลเมืองล้อมแรด เส้นทางสุขภาพ
เส้นทางพบ
สมาคมเครื่องปั้นดินเผา
ลดมลภาวะ จนกระทัง่ สามารถส่งออกไปขายยังต่างประเทศได้ใน รูปแบบลายคราม ซึง่ นอกจากชมรมฯ จะทำ�หน้าทีเ่ ป็นศูนย์กลาง ของบรรดาสมาชิกต่างๆ แล้วยังมีบทบาทสามารถช่วยให้สมาชิก ของชมรมฯประหยัดค่าใช้จ่ายลง ด้วยการเป็นผู้จัดซื้อแก๊สให้แก่ สมาชิกในราคาที่ถูกกว่าท้องตลาดถึง10 เปอร์เซ็นต์ ณ ขณะนั้น (พ.ศ. 2526) การดำ � เนิ น กิ จ กรรมของชมรมฯ กระทำ � กั น อย่ า ง สร้างสรรค์และมีความเป็นปึกแผ่น จึงทำ�ให้จำ�นวนสมาชิกเพิ่ม มากขึ้นเรื่อยๆ กระทั่งชมรมเครื่องปั้นดินเผาลำ�ปางได้รับการส่ง เสริมจากภาครัฐให้ปรับเปลีย่ นมาเป็น “สมาคมเครือ่ งปัน้ ดินเผา ลำ�ปาง” ในปีพ.ศ.2532 ทำ�ให้ชมรมฯมีประธานคนสุดท้ายคือ นายนิทัศน์ กิตติโรจนา (โรงงานกิตติโรจน์เซรามิก) ก่อนที่จะ ส่งไม้ต่อให้นายสุวิชนภาวรรณ (บริษัท อินทราเซรามิค จำ�กัด) เป็นนายกสมาคมฯคนแรก โดยสมาคมฯมีวัตถุประสงค์เพื่อทำ� หน้าที่ประสานงานระหว่างภาครัฐกับสมาชิกสมาคมฯ และเพื่อ ให้การประกอบกิจการเป็นไปอย่างราบรืน่ รวมทัง้ จัดให้มกี จิ กรรม ต่างๆ เพื่อเผยแพร่อุตสาหกรรมเซรามิกของลำ�ปางให้เป็นที่รู้จัก กันอย่างกว้างขวางมากยิ่งขึ้น
สมาคมฯกับการก่อตั้ง “เซราคลัสเตอร์”
นายชัยณรงค์ จุมภู นายกสมาคมเครื่องปั้นดินเผาลำ�ปาง เป็ น ที่ ท ราบกั น ดี ว่ า อุ ต สาหกรรมเซรามิ ก ของจั ง หวั ด ลำ�ปางนั้น สร้างชื่อเสียงให้กับประเทศไทยมาช้านาน ปัจจุบันผู้ ประกอบการอุตสาหกรรมได้มีการรวมตัวกันก่อตั้งเป็น สมาคม เครือ่ งปัน้ ดินเผาลำ�ปางโดยมี “นายชัยณรงค์ จุมภู” ดำ�รงตำ�แหน่ง นายกสมาคมเครื่องปั้นดินเผาลำ�ปางซึ่งท่านได้ให้เกียรติสัมภาษณ์ ถึงบทบาทของสมาคมฯต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมเซรามิกในลำ�ปาง ผลดีของการก่อตั้ง “เซราคลัสเตอร์” และแนวโน้มตลาดเซรามิกใน AEC ดังนี้
จุดกำ�เนิด “สมาคมเครื่องปั้นดินเผาลำ�ปาง”
ก่อนที่ “สมาคมเครื่องปั้นดินเผาลำ�ปาง” จะถือกำ�เนิด ขึ้นนั้น นายชาญ ลิมป์ไพบูลย์ (โรงงานไทยเจริญ) เป็นผู้เริ่มก่อตั้ง “ชมรมเครื ่ อ งปั ้ น ดิ น เผาลำ � ปาง”ขึ ้ นในปี พ.ศ. 2516 โดยมี นายสุวฒ ั น์ เต็งสกุล (โรงงานเสถียรภาพลำ�ปาง) เป็นประธานชมรม คนแรก และมีสมาชิกเริ่มแรกรวม 18 โรงงาน โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อผลักดันราคาถ้วยชามตราไก่ให้มีมาตรฐาน และไม่ให้มีการตัด ราคากันเอง ทำ�ให้ราคาชามไก่ที่เคยขายกันเพียงใบละ 58 สตางค์ ขายได้ราคาสูงถึง 1.10 บาท ความรุ่งโรจน์ของอุตสาหกรรมเซรามิกลำ�ปางมีมาอย่าง ต่อเนื่อง เนื่องจากมีการปรับปรุงและนำ�เทคโนโลยีใหม่ๆมาใช้ เช่น ในปี พ.ศ.2519 เริ่มมีการปรับเปลี่ยนระบบเชื้อเพลิง จากการใช้ ไม้ฟืนมาเป็นใช้แก๊สแอลพีจี (เตาเผาเซรามิกแบบชัตเติ้ล) โดยเริ่ม ที่โรงงานแสงอรุณ และโรงงานกิตติโรจน์ก่อน ซึ่งต่อมาได้มีการ ปรับแก้จนใช้งานได้ดี และเป็นที่นิยมแพร่หลาย ทำ�ให้ผลิตภัณฑ์มี คุณภาพดีขึ้นอย่างเห็นได้ชัด อีกทั้งยังช่วยประหยัดเชื้อเพลิง และ 14
นอกจากสมาคมฯจะเป็นตัวประสานระหว่างภาครัฐ องค์กรเอกชน และผู้ประกอบการในการหาแหล่งเงินทุน ความ รูท้ างด้านวิชาการ ความร่วมมือทางด้านการผลิต และการตลาด เพือ่ พัฒนาอุตสาหกรรมเซรามิกให้มคี วามก้าวหน้าและยัง่ ยืนแล้ว ล่าสุดมีการก่อตัง้ “เซราคลัสเตอร์” ขึน้ จะทำ�ให้มกี ารเปิดตลาด ใหม่ๆ โดยใช้เซราคลัสเตอร์เป็นแนวร่วม และยังเป็นการสร้าง เครือข่ายให้ผปู้ ระกอบการทีเ่ ข้าร่วมกลุม่ เซราคลัสเตอร์ได้มโี อกาส ทำ�ความรูจ้ กั กับผูป้ ระกอบการธุรกิจอืน่ ๆ ทีอ่ ยูใ่ นส่วนของต้นน้�ำ กลางน้�ำ และปลายน้ำ�
แนวโน้มตลาดเซรามิกใน AEC
เนือ่ งจากประเทศไทยเข้าสู่ AEC การพัฒนาผลิตภัณฑ์ จึงมีความสำ�คัญมากขึ้น ผู้ประกอบการจะต้องมีการพัฒนา คุณภาพของตนเองในทุกๆด้าน ทัง้ ในด้านการผลิต การออกแบบ ที่ทันสมัย สามารถตอบโจทย์กับกลุ่มลูกค้าที่กว้างขึ้น ที่สำ�คัญ คือต้องมีการพัฒนาด้านนวัตกรรม เพื่อเป็นการเพิ่มมูลค่าสินค้า มีการพัฒนารูปแบบสินค้าไทย ใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม่ เพิ่มมากขึ้น
ฝากถึงผู้อ่านและนักท่องเที่ยว
ทางสมาคมฯได้จัด“งานลำ�ปางเซรามิกแฟร์” ขึ้นเป็นประจำ�ทุก ปี ในช่วงวันที่ 1-10 ธันวาคม และได้บรรจุอยู่ในปฏิทินการท่อง เทีย่ ว ซึง่ เป็นงานทีย่ งิ่ ใหญ่ระดับประเทศ มีผคู้ นเข้ามาเยีย่ มชน และเลือกซือ้ สินค้าเป็นจำ�นวนมาก จึงขอเชิญชวนทุกท่านเข้ามา เยี่ยมชม “งานลำ�ปางเซรามิกแฟร์” ท่านจะได้พบกับสินค้าเซรา มิกคุณภาพดี ราคาถูกจากผู้ผลิตโดยตรง และยังมีเซรามิคหลาก หลายประเภท ซึ่งเหมาะกับการใช้งานในชีวิตประจำ�วันอีกด้วย
àÃÒ¢Í໚¹Ê‹Ç¹Ë¹Ö觢ͧ¤ÇÒÁÀÒ¤ÀÙÁÔ㨢ͧªÒÇÅÓ»Ò§ ·ÕèÁÕâç俿‡Ò¾Åѧ§Ò¹áʧÍҷԵ ¼ÅԵ俿‡Ò¾Åѧ§Ò¹ÊÐÍÒ´¨Ò¡¸ÃÃÁªÒµÔ ´ŒÇÂà·¤â¹âÅÂÕ·Õè·Ñ¹ÊÁÑ áÅÐÁÕ»ÃÐÊÔ·¸ÔÀÒ¾·ÕèÊØ´ã¹àÍàªÕµÐÇѹÍÍ¡à©Õ§㵌
“สะดวก สะอาด บรรยากาศแสนสบาย” สะอาด สงบ สบาย ด้วยสิ่งอ�ำนวยความสะดวกครบครัน ทั้งเครื่องปรับอากาศ ทีวี ตู้เย็น เครื่องท�ำน�้ำอุ่น ฯลฯ
ท�ำเลสะดวกต่อการเดินทาง มีเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย 24 ชม. ตั้งอยู่ถนนหลักสายล�ำปาง-เชียงใหม่ เดินทางเพียง 5 นาที ถึงแหล่งขายของฝาก และเดินทาง 10 นาทีถึงตัวเมืองล�ำปาง เลขที่ 99 หมู่ 6 ถนนล�ำปาง-เชียงใหม่ (กม.14) ต�ำบลห้างฉัตร อ�ำเภอห้างฉัตร จังหวัดล�ำปาง 52190
ติดต่อ 054-269219, 086-9211521 www.satakantaresort.com เฟสบุ๊ค : ที่พักล�ำปาง โรงแรมศตกันตา สถานที่ท่องเที่ยวใกล้เคียง
ศูนย์อนุรักษ์ช้างไทย, ตลาดทุ่งเกวียน, เอาท์เลทเซรามิกล�ำปาง, วัดปงยางคก, วัดพระธาตุล�ำปางหลวง, วัดไหล่หิน, น�้ำพุร้อนไหล่หิน, สวนสาธารณะหนองกระทิง, ชมรมรักษ์สมุนไพรล�ำปาง
กฟผ.แม่เมาะ
แหล่งเรียนรู้พลังงาน...สถานที่ท่องเที่ยวสุดชิค คุณเคยจินตนาการถึงโรงไฟฟ้าและเหมืองถ่านหินกันไว้อย่างไร วันนีภ้ ายในพืน้ ที่ ของ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) แม่เมาะ อ.แม่เมาะ จ.ลำ�ปาง จะเปลี่ยนจินตนาการของคุณให้ต่างออกไป กฟผ.แม่เมาะเปิดบ้าน เบิกบานทั้ง ครอบครัว
กฟผ.แม่เมาะ ได้เปิดบ้านต้อนรับนักท่องเทีย่ ว ให้เข้ามาสัมผัสโรงไฟฟ้า และเหมืองถ่านหิน ลิกไนต์ทมี่ ที ศั นียภาพทีส่ วยงาม รายล้อมไปด้วย ต้นไม้ ดอกไม้นานาพรรณ ให้ผมู้ าเยือนสามารถ สูดอากาศบริสุทธิ์ได้อย่างเต็มปอด และยังได้ ความรูด้ า้ นธรณีวทิ ยาไปพร้อมๆ กัน หากมีโอกาส ได้มาเทีย่ วจังหวัดลำ�ปาง กฟผ.แม่เมาะ จึงเป็น อีกหนึ่งสถานที่ที่นักท่องเที่ยวไม่ควรพลาด เส้นทางทีท่ อดตัวสูอ่ าณาเขต กฟผ.แม่เมาะ มีทวิ ต้นสนเรียงตัวตัดกับภูเขาหินปูน และท้องฟ้า สีคราม คล้ายภาพวาดทีธ่ รรมชาติสร้างสรรค์ขนึ้ อย่างลงตัว เมือ่ เข้าสูภ่ ายใน กฟผ.แม่เมาะ พันธุไ์ ม้ หลากสีสนั บนพืน้ ทีก่ ว่า 500 ไร่ ของสวนเฉลิม พระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ฯ เนือ่ ง ในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนม พรรษา 7 รอบ จะแย้มบานสะพรั่ง เชิญชวน เหล่านักท่องเที่ยวและผู้มาเยือนลงมาสูดอากาศ บริสุทธิ์ พร้อมเพลิดเพลินกับการถ่ายภาพวิว ทิวทัศน์ของโรงไฟฟ้าและเหมือง ตลอดจน 18
ซึมซับความรูด้ า้ นชีววิทยา และธรณีวทิ ยา ขณะ เดินชมสวนฯ ไปพร้อมๆ กัน นอกจากนัน้ กฟผ.แม่เมาะ ยังมีพพิ ธิ ภัณฑ์ ศูนย์ถา่ นหินลิกไนต์ศกึ ษา (เหมืองแม่เมาะ) เฉลิม พระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่รวบรวมความรู้ด้านธรณีศาสตร์ การกำ�เนิด ของโลก การกำ�เนิดของถ่านหิน ให้ผเู้ ข้าเยีย่ มชม ได้ตื่นตาตื่นใจในรูปแบบภาพยนตร์สี่มิติ และ เรียนรูโ้ ลกดึกดำ�บรรพ์ผา่ นสือ่ มัลติมเี ดีย ทัง้ บอก เล่าเรือ่ งราวการอยูร่ ว่ มกันฉันกัลยาณมิตรระหว่าง กฟผ.แม่เมาะ และชุมชน ไม่เพียงแต่เป็นแหล่งความรูเ้ ท่านัน้ กฟผ. แม่เมาะ ยังมีสไลเดอร์ลานหญ้าเขียวขจี บริเวณ สวนพฤกษชาติ ทีจ่ ะทำ�ให้ใบหน้าของทัง้ เด็กและ ผูใ้ หญ่ยามทีส่ มั ผัสตามผืนหญ้าลงไป เปือ้ นด้วย รอยยิม้ และเสียงหัวเราะแห่งความสุข และอีกจุดหนึง่ ภายใน กฟผ.แม่เมาะ ทีพ่ ลาดไม่ได้เลยคือ สนาม กอล์ฟ กฟผ.แม่เมาะ ซึง่ เป็นสนามกอล์ฟ 18 หลุม พาร์ 72 และสนามไดร์ฟภายในพืน้ ทีเ่ ดียวกัน โดยมี หลุม 10 เป็น signature hole ทีต่ อ้ งทีออฟจากเนิน เขา สร้างความท้าทายให้กบั เหล่านักกอล์ฟได้ไม่นอ้ ย
รางวัลแห่งความภาคภูมิใจ TQC Thailand Quality Class รางวัลการบริหารสู่ ความเป็นเลิศ ได้รับใน ปี 2556 และ 2558
ASEAN ENERGY AWARDS
กฟผ.แม่เมาะ กับ 2 กิจกรรมเด่น ประจ�ำปี
นอกเหนือจากแหล่งท่องเทีย่ วภายในพืน้ ที่ แล้ว กฟผ.แม่เมาะ ยังมีกจิ กรรมทีจ่ ดั ขึน้ เป็นประจำ� ทุกปี คือ งานเดิน-วิ่งเฉลิมพระเกียรติสมเด็จ พระนางเจ้าสิรกิ ติ ิ์ พระบรมราชินนี าถ แม่เมาะ ฮาล์ฟมาราธอน (Mae Moh Half Marathon) ซึง่ ในปีนจี้ ะจัดขึน้ วันที่ 14 สิงหาคม 2559 โดย ในแต่ละปีจะมีเหล่านักวิ่งทั้งชาวไทยและชาว ต่างชาติหลายพันคน เข้าร่วมการแข่งขัน ด้วย เส้นทางวิ่งที่ท้าทาย ประกอบกับทัศนียภาพที่ สวยงามและอากาศที่เย็นสบาย จึงทำ�ให้งาน เดิน-วิง่ ฯ ของ กฟผ.แม่เมาะ ได้รบั ความนิยมใน หมู่นักวิ่งไม่น้อยกว่าที่อื่นๆ ส่วนอีกหนึง่ กิจกรรมทีน่ า่ สนใจไม่แพ้กนั คือ เทศกาลท่องเทีย่ วแม่เมาะ (Mae Moh Festival) จัดขึน้ ในช่วงเดือนพฤศจิกายน ทีด่ อกบัวตองบาน สะพรั่ง ในงานมีบริการนั่งรถรางชมบ่อเหมือง แม่เมาะ และชมสวนดอกไม้นานาพรรณ พร้อม การแสดงนิทรรศการต่างๆ รวมถึงการแสดง คอนเสิร์ตจากศิลปินดาราชื่อดัง การจำ�หน่ายสินค้า
และอาหารจากชุมชนอำ�เภอแม่เมาะ และยังมี กิจกรรมที่น่าสนใจอีกมากมาย
กฟผ.แม่เมาะ กับการมุง่ สู่ National Pride
โรงไฟฟ้าแม่เมาะเป็นโรงไฟฟ้าแห่งแรกใน ประเทศไทย ทีไ่ ด้รบั รางวัลการบริหารสูค่ วามเป็น เลิศ : Thailand Quality Class (TQC) ประจำ�ปี 2556 และปี 2558 จากสำ�นักงานรางวัลคุณภาพ แห่งชาติ ซึ่งกรอบบริหารตามเกณฑ์รางวัลนี้ ได้รับการยอมรับจากองค์กรต่างๆ กว่า 90 ประเทศทั่วโลก เหมืองแม่เมาะได้รบั รางวัล “รักษามาตรฐาน เหมืองแร่สเี ขียว ประจำ�ปี 2558 : Green Mining Continuous Award 2015” จากกรมอุตสาหกรรม พื้นฐานและการเหมืองแร่ ซึ่งเป็นรางวัลที่ การันตีวา่ เหมืองแม่เมาะเป็นเหมืองแร่ทมี่ รี ะบบ การจัดการที่ดีทุกด้าน และมีมาตรฐานเป็นที่ ยอมรับในระดับสากล กฟผ.แม่เมาะ ในวันนีจ้ งึ เป็นแหล่งเรียนรู้ ด้านพลังงานทีร่ ายล้อมไปด้วยแหล่งท่องเทีย่ ว
ทางธรรมชาติ พร้อมต้อนรับนักท่องเทีย่ วทุกวัย ให้มาเยี่ยมชมแหล่งผลิตไฟฟ้าจากถ่านหิน ลิกไนต์อย่างใกล้ชดิ ต้องมาลองสักครัง้ แล้วคุณ จะหลงรักแม่เมาะ
รูจ้ กั กฟผ.แม่เมาะ ล�ำปางโรงไฟฟ้า ถ่านหินใหญ่ทสี่ ดุ ในเอเชียอาคเนย์
กฟผ.แม่เมาะ ตั้งอยู่ที่ตำ�บลแม่เมาะ อ.แม่เมาะ จ.ลำ�ปาง ห่างจากตัวเมืองลำ�ปาง ระยะทางประมาณ 26 กิโลเมตร เป็นแหล่ง ผลิตไฟฟ้าขนาดใหญ่ที่ใช้ถ่านหินลิกไนต์เป็น เชือ้ เพลิง มีเหมืองแม่เมาะทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ในภาค พืน้ เอเชียอาคเนย์ ทีส่ ง่ ถ่านหินลิกไนต์เป็นเชือ้ เพลิงผลิตกระแสไฟฟ้าให้โรงไฟฟ้าแม่เมาะ จำ�นวน 10 เครือ่ ง สามารถผลิตกระแสไฟฟ้าได้ 2,400 เมกะวัตต์ หรือประมาณ 18,684 ล้าน หน่วยต่อปี อยากรูเ้ รือ่ งราว กฟผ.แม่เมาะ เพิม่ เติม ติดต่อได้ที่ โทรศัพท์ : 0 5425 2739 (แผนก ประชาสัมพันธ์โรงไฟฟ้าแม่เมาะ) Website : http://maemoh.egat.com/ Facebook : กฟผ.แม่เมาะ Lampang 19
ใต้ร่มพระบารมี
โครงการพระราชดำ�ริฯ
บ้านทุ่งจี้...คืนลมหายใจให้สรรพชีวิต จังหวัดลำ�ปาง กว่า 20 ปีมาแล้วที่ โครงการพัฒนาพื้นที่รอยต่อ อ.เมือง อ.เมืองปาน และ อ.แจ้ห่ม อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ ในสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ หรือที่เรียกสั้น ๆ ว่า “โครงการพระราชด�ำริฯ บ้านทุ่งจี้” ซึ่งมีที่ตั้งโครงการอยู่ ทีห่ มูบ่ า้ นทุง่ จี้ ต�ำบลทุง่ กว๋าว อ�ำเภอเมืองปาน จังหวัดล�ำปาง ได้ดำ� เนินการป้องกันและปราบปรามการลักลอบตัดไม้ทำ� ลายป่า พัฒนาคุณชีวิต และส่งเสริมศิลปาชีพ ณ ปัจจุบัน ปี พ.ศ.2559 ซึ่งประเทศไทยก�ำลังประสบปัญหาการรุกพื้นที่ป่า เพื่อปลูกพืชเชิงเดี่ยวกันอย่างกว้างขวาง จนภูเขาหลายลูกกลายเป็นเขาหัวโล้น ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมและคุณภาพชีวิตของผู้คนมากมาย จนหลาย ฝ่ายเริ่มตื่นตัวที่จะป้องกันการรุกป่าเพิ่มและเร่งปลูกป่าทดแทน ดังนั้น “ใต้ร่มพระบารมี” ฉบับนี้ จึงขอหยิบยก “โครงการ พระราชด�ำริฯ บ้านทุ่งจี้” มาน�ำเสนอ เพื่อเป็นแนวทางในการอนุรักษ์ผืนป่า ควบคู่กับการพัฒนาคุณภาพชีวิตราษฎรในพื้นที่ เพื่อให้พวกเขามีรายได้เลี้ยงตนเองและครอบครัวได้อย่างยั่งยืน 20
ประวัติความเป็นมา วันที่ 13 เมษายน พ.ศ. 2539 สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ได้เสด็จฯไปทรงเยี่ยมราษฎรที่บ้านใหม่ พัฒนา ต�ำบลแจ้ซ้อน อ�ำเภอเมืองปาน จังหวัดล�ำปาง และ มีราษฎรบ้านทุ่งจี้ หมู่ที่ 8 ต�ำบลทุ่งกว๋าว อ�ำเภอเมืองปาน จังหวัดล�ำปาง กราบบังคมทูลเกี่ยวกับการลักลอบตัดไม้ท�ำลาย ป่าในพืน้ ทีเ่ ขตรอยต่อระหว่างอ�ำเภอเมือง อ�ำเภอเมืองปาน และ อ�ำเภอแจ้หม่ จังหวัดล�ำปาง และได้ขอพระราชทานการส่งเสริม อาชีพแก่ราษฎรเพื่อเพิ่มรายได้ให้กับราษฎร ในโอกาสนั้น สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงมีพระราชเสาวนียก์ บั แม่ทพั ภาคที่ 3 (พล.ท.ถนอม วัชรพุทธ) และผู ้ ว ่ า ราชการจั ง หวั ด ล� ำ ปาง (นายสหั ส พิ น ทุ เ สนี ย ์ ) ให้ก�ำหนดมาตรการแก้ไขปัญหาการลักลอบตัดไม้ท�ำลายป่าใน พืน้ รอยต่อฯ 3 อ�ำเภอ ดังกล่าว ดังนัน้ กองทัพภาคที่ 3 ร่วมกับ จังหวัดล�ำปาง และส่วนราชการทีเ่ กีย่ วข้อง ได้กำ� หนดมาตรการ ในการแก้ไขปัญหา โดยด�ำเนินการเป็น 2 ระยะ คือ
การแก้ไขปัญหาระยะสัน้ : กองทัพภาคที่ 3 ร่วมกับจังหวัด ล�ำปาง และส่วนราชการทีเ่ กีย่ วข้อง จัดก�ำลังเคลือ่ นไหวในพืน้ ที่ เช่น การจัดตัง้ จุดตรวจ, จุดสกัด, การเฝ้าตรวจ การลาดตระเวน ป้องปราบ ตลอดจนมาตรการเสริมต่าง ๆ เป็นผลท�ำให้การ ลักลอบตัดไม้ ในพื้นที่หยุดชะงักลง การแก้ไขปัญหาระยะยาว : จัดตั้งโครงการพัฒนาพื้นที่ รอยต่อ อ.เมือง อ.เมืองปาน และ อ.แจ้หม่ จ.ล�ำปาง อันเนือ่ งมา จากพระราชด�ำริ โดยเรียกชือ่ สัน้ ๆ ว่า “ โครงการพระราชด�ำริฯ บ้านทุ่งจี้” นอกจากนัน้ เมือ่ วันที่ 26 เมษายน พ.ศ. 2539 สมเด็จพระ นางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ได้พระราชทานพระราชทรัพย์ จ�ำนวน 5 ล้านบาท ให้จัดสร้างโรงฝึกอบรมทอผ้าศิลปาชีพ ใน พื้นที่ภาคเหนือจ�ำนวน 10 แห่ง โดยกองทัพภาคที่ 3 ได้มอบ ให้ทางจังหวัดล�ำปาง รับผิดชอบด�ำเนินการก่อสร้างโรงฝึกอบรม ทอผ้าศิลปาชีพ ในพื้นที่ อ.เมืองปาน จ�ำนวน 4 แห่ง ด้วยงบ ประมาณ 2 ล้านบาท คือ - บ้านทุ่งจี้ หมู่ที่ 8 ต.ทุ่งกว๋าว อ.เมืองปาน จ.ล�ำปาง - บ้านศรีดอนมูล หมูท่ ี่ 2 ต. แจ้ซอ้ น อ . เมืองปาน จ . ล�ำปาง - บ้านกล้วย หมู่ที่ 2 ต . หัวเมือง อ . เมืองปาน จ . ล�ำปาง - บ้านมูเซอร์บา้ นไร่ หมูท่ ี่ 4 ต . หัวเมือง อ . เมืองปาน จ . ล�ำปาง การด�ำเนินการก่อสร้างดังกล่าว ได้เริม่ ตัง้ แต่เดือนเมษายน พ.ศ. 2539 แล้วเสร็จ และได้เปิดท�ำการ เมือ่ วันที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2539 ต่อมาในปีงบประมาณ 2540 ได้รบั พระราชทานเงินส�ำหรับ ก่อสร้างโรงฝึกอบรมทอผ้าศิลปาชีพ เพิม่ เติมอีก 1 แห่ง คือ บ้าน ป่าคาสันติสุข หมู่ที่ 1 ต.แจ้ซ้อน อ.เมืองปาน จ.ล�ำปาง และได้ ด�ำเนินการก่อสร้างแล้วเสร็จ เมือ่ วันที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2540 และเมือ่ วันที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2540 สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ได้เสด็จฯ ไปทรงเยี่ยมเพื่อติดตามความ ก้าวหน้าการด�ำเนินงานของโครงการฯ เป็นครั้งแรก และทรง มีพระราชด�ำริฯ กับผู้ว่าราชการจังหวัดล�ำปาง ให้จัดตั้งโรงงาน เครื่องปั้นดินเผาขึ้น เพื่อผลิตของที่ระลึกประจ�ำพื้นที่ โดย โรงงานนี้ตั้งอยู่ที่หมู่บ้านทุ่งจี้ ซึ่ง ณ ปัจจุบันได้เป็นแหล่งผลิต เซรามิกที่สวยงาม และมีคุณภาพอีกแห่งหนึ่งของเมืองล�ำปาง LAMPANG 21
วัตถุประสงค์ 1. เพือ่ สนองพระราชด�ำริ สมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินนี าถ ในการแก้ไขปัญหาการลักลอบตัดไม้ท�ำลายป่าในพื้นที่ 2. เพื่อให้ทุกส่วนราชการที่มีหน้าที่รับผิดชอบ ร่วมกันแก้ไขปัญหา การท�ำลายทรัพยากรป่าไม้ ให้บรรลุผลส�ำเร็จเป็นรูปธรรม และให้มหี น่วย งานรับผิดชอบด�ำเนินการอย่างต่อเนื่อง 3. เพือ่ เป็นการช่วยเหลือราษฎรในพืน้ ทีใ่ ห้มคี ณ ุ ภาพชีวติ ทีด่ ขี นึ้ ด้วย การส่งเสริมอาชีพ ให้มีรายได้เพิ่มขึ้น โดยด�ำเนินงานโครงการศิลปาชีพ 4. เพื่อเป็นการสร้างองค์กรมวลชนในพื้นที่ ให้เข้ามามีบทบาทใน การดูแลรักษาทรัพยากรป่าไม้ พื้นที่เป้าหมาย 1. พืน้ ทีป่ า่ อนุรกั ษ์บริเวณรอยต่อ อ.เมือง อ.เมืองปาน และอ.แจ้หม่ จ.ล�ำปาง มีพื้นที่โดยประมาณ 60 ตารางกิโลเมตร ซึ่งประกอบไปด้วย ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่ตุ๋ยฝั่งซ้าย และป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่ทรายค�ำ (บางส่วน) 2. หมู่บ้านเป้าหมาย จ�ำนวน 11 หมู่บ้าน ได้แก่ - บ้านสบค่อม หมู่ที่ 1 ต.บ้านค่า อ.เมือง จ.ล�ำปาง - บ้านห้วยเป้ง หมู่ที่ 5 ต.บ้านค่า อ.เมือง จ.ล�ำปาง - บ้านทุ่งฝาง หมู่ที่ 6 ต.บ้านค่า อ.เมือง จ.ล�ำปาง - บ้านจ๋ง หมู่ที่ 4 ต.ทุ่งกว๋าว อ.เมืองปาน จ.ล�ำปาง - บ้านทุ่งกว๋าว หมู่ที่ 5 ต.ทุ่งกว๋าว อ.เมืองปาน จ.ล�ำปาง - บ้านทุ่งปง หมู่ที่ 6 ต.ทุ่งกว๋าว อ.เมืองปาน จ.ล�ำปาง - บ้านทุ่งจี้ หมู่ที่ 8 ต.ทุ่งกว๋าว อ.เมืองปาน จ.ล�ำปาง - บ้านป่าคาสันติสุข หมู่ที่ 1 ต.แจ้ซ้อน อ.เมืองปาน จ.ล�ำปาง - บ้านศรีดอนมูล หมู่ที่ 2 ต.แจ้ซ้อน อ.เมืองปาน จ.ล�ำปาง - บ้านกล้วย หมู่ที่ 2 ต.หัวเมือง อ.เมืองปาน จ.ล�ำปาง - บ้านมูเซอร์บ้านไร่ หมู่ที่ 4 ต.หัวเมือง อ.เมืองปาน จ.ล�ำปาง 22
ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. จะสามารถแก้ไขปัญหาการลักลอบตัดไม้ท�ำลายป่า ให้ลดน้อยและหมดไปในอนาคต 2. จะสามารถฟื้นฟูสภาพป่าไม้ ให้มีความอุดมสมบูรณ์ ตามธรรมชาติ และเป็นแหล่งต้นน�้ำ ล�ำธารต่อไป 3. จะสามารถช่วยเหลือราษฎรในพื้นที่เป้าหมาย ให้มี คุณภาพชีวิตที่ดีข้ึน มีรายได้เพิ่มขึ้นเพียงพอต่อการด�ำรงชีวิต ไม่ต้องบุกรุกพื้นที่และท�ำลายป่าต่อไป 4. จะมีองค์กรมวลชนร่วมในการดูแลรักษาป่าไม้ ตลอด จนราษฎรในพื้นที่ได้มีจิตส�ำนึกและหวงแหนทรัพยากรป่าไม้ ของชาติ และร่วมกันดูแลรักษาป่าให้คงอยู่ตลอดไป 5. จะท� ำ ให้ ร าษฎรในพื้ น ที่ มี ค วามส� ำ นึ ก ในพระมหา กรุณาธิคุณ มีความจงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ มีความหวงแหนในแผ่นดิน ซึง่ จะท�ำให้บคุ คลเหล่านี้ เป็นก�ำลัง ส�ำคัญในการพัฒนาประเทศชาติต่อไป การด�ำเนินการ กองทัพบก โดยกองทัพภาคที่ 3 มอบหมายให้มณฑล ทหารบกที่ 32 ค่ายสุรศักดิ์มนตรี จ.ล�ำปาง เป็นหน่วยงาน รับผิดชอบด�ำเนินงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ ในพื้นที่ จ.ล�ำปาง โดยประสานการปฏิบัติร่วมกับหน่วยงาน/ ส่วนราชการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง เข้าด�ำเนินงานตามแผนงาน โครงการ 4 แผนงานดังนี้ 1. แผนงานอ�ำนวยการและประสานงาน 2. แผนงานป้องกันดูแลรักษาสภาพป่า 3. แผนงานพัฒนาคุณภาพชีวติ และยกระดับความเป็นอยู่ ของราษฎร 4. แผนงานส่งเสริมการมีส่วนร่วมขององค์กรเอกชน กลุ่มมวลชนในการป้องกันดูแลรักษาป่าไม้
ผลการด�ำเนินโครงการฯที่โดดเด่น ปัจจุบัน โรงงานเครื่องปั้นดินเผา โครงการพระราชด�ำริฯ บ้านทุ่งจี้ มีสมาชิกกลุ่มเครื่องปั้นดินเผารวม 53 คน ซึ่งได้ สร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์เซรามิกทีม่ สี สี นั สดใสทีเ่ ป็นทีช่ นื่ ชอบของ นักท่องเที่ยว ที่เข้ามาเยี่ยมชมผลิตภัณฑ์ของโครงการฯอย่าง ต่อเนื่อง ท�ำให้ราษฎรในหมู่บ้านทุ่งจี้มีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น มีอาชีพและมีรายได้เสริมเลี้ยงครอบครัว เฉลี่ยครอบครัวละ 30,000 – 35,000 บาท/ปี จากเดิมที่มีรายได้ราวปีละหนึ่ง หมืน่ บาทต้น ๆ เท่านัน้ ประการส�ำคัญคือ โครงการดังกล่าวยัง สามารถช่วยรักษาผืนป่าอันเป็นแหล่งต้นน�ำ้ ล�ำธาร และแหล่ง ที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่าได้อย่างยั่งยืน จึงนับได้ว่า “โครงการพระราชด�ำริฯ บ้านทุ่งจี้” เป็น โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ ซึ่งไม่เพียงแต่จะช่วย ต่อลมหายใจให้ผืนป่าเท่านั้น แต่ยังช่วยต่อลมหายใจให้กับ ราษฎรในพื้นที่ และชาวไทยทั้งประเทศด้วย นับเป็นพระ มหากรุณาธิคุณที่ทรงมีต่อพสกนิกรของพระองค์อย่างหาที่ เปรียบมิได้ ขอขอบคุณ : โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ จังหวัดล�ำปาง โดยส�ำนักงานจังหวัดล�ำปาง LAMPANG 23
เอสซีจี ปูนล�ำปาง อุตสาหกรรมสีเขียว ระดับสูงสุด
“รายแรกของไทย” ทั้งในส่วนของโรงงาน และส่วนเหมืองแร่หินปูน
บริษัทปูนซีเมนต์ไทย (ล�ำปาง) จ�ำกัด ใส่ใจสิ่งแวดล้อม เพื่อลูกหลานชาว�ำปาง
สารผู้ว่าราชการ
จังหวัดลำ�ปาง “ถ่านหินลือชา รถม้าลือลัน่ เครือ่ งปัน้ ลือนาม งามพระธาตุลือไกล ฝึกช้างใช้ลือโลก” จังหวัดล�ำปางไม่เพียงแต่จะมีความลือเลื่อง ดังค�ำขวัญข้างต้นเท่านั้น แต่จังหวัดล�ำปางยังเป็น ผู้นำ� กระแสในหลายๆ ด้าน อาทิ ล�ำปางเป็นเมือง แห่งพลังงานทางเลือก เนื่องจากเป็นที่ตั้งของ โซลาร์ฟาร์มที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในอาเซียน และมี หมู ่ บ ้ า นต้ น แบบวิ ส าหกิ จ พลั ง งานชุ ม ชนจั ด การ สุขภาพยั่งยืน ด้วยการน�ำเศษวัสดุเหลือใช้มาผลิต กระแสไฟฟ้าทีโ่ รงไฟฟ้าชีวมวล (มูลนิธพิ ฒ ั นาชุมชน ผาปัง) อ�ำเภอแม่พริก ล�ำปางมีถนนจักรยาน หรือ Bike lane ทีม่ ที งั้ ความปลอดภัย สะดวกสบาย และมี ทิวทัศน์สวยงามตลอดเส้นทางกว่า 11 กิโลเมตร และ ล�ำปางเป็น 1 ใน 12 เมืองต้องห้ามพลาด ทีไ่ ด้รบั การคั ด เลื อ กจากการท่ อ งเที่ ย วแห่ ง ประทศไทย โดยเฉพาะอย่างยิง่ อ�ำเภองาวยังติด 1 ใน 15 อ�ำเภอ ที่สงบและน่าเที่ยวทั่วประเทศไทย ซึ่งส�ำรวจโดย เว็บไซต์ www.paiduaykan.com ล่าสุดเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2559 กรมป่าไม้ ประกาศให้ล�ำปางมีพื้นที่ป่าชุมชนเป็นอันดับ 1 ของ ประเทศไทย คือมีพนื้ ทีก่ ว่า 400,000 ไร่ ครอบคลุม 283 หมู่บ้าน ตามนโยบาย “หนึ่งหมู่บ้าน หนึ่งป่า ชุมชน” ซึง่ เป้าหมายในปี 2559 ก�ำหนดไว้ที่ 450 ป่า (หมู่บ้าน) และที่น่าจับตามองอย่างยิ่งก็คือ ล�ำปาง เป็นจุดศูนย์กลางในการเชื่อมโยงการคมนาคม ทางบก ทั้งในเขตภาคเหนือตอนบน ในกลุ่มอนุภูมิภาค ลุ่มแม่น�้ำโขง (GMS) และในประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน (AEC) ในนามของผู้ว่าราชการจังหวัดล�ำปาง ขอ ขอบคุณนิตยสาร SBL ทีช่ ว่ ยประชาสัมพันธ์ศกั ยภาพ ของจังหวัดล�ำปางให้ปรากฏแก่สาธารณชน และ ขอถือโอกาสนี้กล่าวขอบคุณหน่วยงานต่างๆ ทั้ง ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม ซึ่งเป็น กลไกส� ำ คั ญ ในการขั บ เคลื่ อ นจั ง หวั ด ล� ำ ปางให้ เจริญก้าวหน้า เป็นเมืองน่าอยู่ และเป็นนครแห่ง ความสุขอย่างแท้จริง
.................................... (นายสามารถ ลอยฟ้า) ผู้ว่าราชการจังหวัดลำ�ปาง LAMPANG 25
เส้ น ทางพบ ผู้ว่าราชการจังหวัด
นายสามารถ ลอยฟ้ า ผู้ว่าราชการจังหวัดลำ�ปาง คือหลักการบริหารราชการที่สำ�คัญของ “นายสามารถ ลอยฟ้า” ผูว้ า่ ราชการจังหวัดลำ�ปาง ซึง่ ผลจากการบริหารราชการทีม่ งุ่ มัน่ และทุม่ เท ไม่วา่ ท่านจะอยูใ่ นตำ�แหน่งหน้าทีใ่ ด ส่งผลให้ทา่ น ได้รับรางวัลเชิดชูเกียรติมากมาย อาทิ รางวัล นายอำ�เภอแหวนเพชร 2 ครัง้ รางวัลความเป็นเลิศ ด้านการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม ระดับ ดีเยี่ยม รางวัลผู้มีผลงานดีเด่นในการป้องกัน และปราบปรามยาเสพติด รางวัลผลงานดีเด่น ด้านส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม เป็นต้น นิตยสาร SBL ได้รบั เกียรติอย่างสูงจากท่าน ผู้ว่าราชการจังหวัดลำ�ปาง ให้สัมภาษณ์แบบ เจาะลึกในหลากหลายประเด็น อันจะช่วยให้ ท่านผู้อ่านได้รับทราบถึงจุดแข็งและศักยภาพ ทีโ่ ดดเด่นของจังหวัดลำ�ปาง ผลการดำ�เนินการ โครงการสำ�คัญต่างๆ ตลอดจนทิศทางในการ พัฒนาจังหวัดลำ�ปางไปสู่ “ลำ�ปางเมืองน่าอยู่ นครแห่งความนสุข” ดังรายละเอียดต่อไปนี้
ภาพรวมและยุทธศาสตร์การพัฒนา
จังหวัดลำ�ปางเป็นเมืองเก่าแก่ มีความสำ�คัญ ทางประวัตศิ าสตร์ไม่นอ้ ยกว่า 1,335 ปี มีคำ�ขวัญว่า “ถ่านหินลือชา รถม้าลือลัน่ เครือ่ งปัน้ ลือนาม งามพระธาตุลอื ไกล ฝึกช้างใช้ลอื โลก” ซึง่ คำ�ขวัญ ชีใ้ ห้เห็นว่า จังหวัดลำ�ปางเป็นเมืองอุตสาหกรรม และเป็นแหล่งท่องเที่ยวทางโบราณสถานและ ธรรมชาติ ตัง้ อยูใ่ นเขตภาคเหนือตอนบนมีพนื้ ที่ ประมาณ 12,533.961 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 7,833,726 ไร่ ทำ�เลทีต่ งั้ อยูก่ งึ่ กลางของภาคเหนือ เชือ่ มโยงกับอีก 16 จังหวัด การคมนาคมสะดวก ทัง้ ทางรถยนต์ รถไฟและเครือ่ งบิน สภาพภูมปิ ระเทศ เหมาะสำ�หรับด้านการเกษตร เช่น ข้าว ข้าวโพด เลี้ยงสัตว์ ถั่วลิสง ถั่วเหลือง สับปะรด โคเนื้อ เป็นต้น และยังเป็นแหล่งผลิตอุตสาหกรรมเซรามิก ที่มีชื่อเสียงเป็นอันดับ 1 ของประเทศ 26
โดยได้ กำ�หนดวิ สั ย ทั ศ น์ ข องจั ง หวั ด ว่ า “ลำ�ปางเมืองน่าอยู่ นครแห่งความสุข” และ กำ�หนดประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนาไว้ 7 ด้าน ได้แก่ 1. การพัฒนาเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ 2. การสร้างเสริมและพัฒนาจังหวัดลำ�ปาง ให้ มี ค วามพร้ อ มรองรั บ การเป็ น ศู น ย์ ก ลาง โลจิสติกส์ 3. การส่งเสริมและพัฒนาสินค้าเกษตร ปลอดภัย และได้มาตรฐานแบบครบวงจร 4. การเสริมสร้างและพัฒนาคุณภาพชีวิต ของประชาชนและสังคมลำ�ปางให้เป็นสังคม แห่งการเรียนรู้ มีความเข้มแข็งมีภูมิคุ้มกัน สามารถดำ�รงชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง 5. การรักษาความมั่นคง การจัดระเบียบ สังคม และความร่วมมือในการรักษาความสงบ เรียบร้อย 6. การส่งเสริมการบริหารจัดการทรัพยากร ธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ มอย่ า งสมดุ ล และ ยั่งยืน 7. การบริหารกิจการบ้านเมืองทีด่ ดี ว้ ยหลัก ธรรมาภิบาล นอกจากนี้ จังหวัดลำ�ปางยังได้กำ�หนด ตำ�แหน่ ง การพั ฒ นาให้ เ ป็ น เมื อ งศู น ย์ ก ลาง โลจิสติกส์ของภาคเหนือตอนบนเชื่อมโยงกับ อนุภมู ภิ าค โดยเน้นการพัฒนาด้านอุตสาหกรรม ผลิตภัณฑ์เกษตร การท่องเทีย่ ว และโครงสร้าง พื้นฐาน
ศักยภาพที่โดดเด่นของล�ำปาง
จากการวิ เ คราะห์ ศั ก ยภาพด้ า นสภาพ แวดล้อมของจังหวัดลำ�ปาง พบว่า จุดแข็งคือ เป็นพื้นที่ยุทธศาสตร์ เนื่องจากตั้งอยู่กึ่งกลาง ของภาคเหนื อ ซึ่ ง เป็ น จุ ด ศู น ย์ ก ลางในการ เชื่อมโยงด้านโลจิสติกส์คมนาคมทางบก เป็น
LAMPANG 27
แหล่งผลิตและจำ�หน่ายสินค้าเซรามิก และ หัตถอุตสาหกรรมคุณภาพดี เป็นที่ยอมรับทั้ง ภายในและนอกประเทศ โดยที่ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ มวลรวมของจังหวัดในห้วงปี 2558 ที่ผ่านมา ปรากฏว่า ผลผลิตภาคเกษตรมีการขยายตัว ร้อยละ 100 ภาคอุตสาหกรรมขยายตัวร้อยละ 26.8 สำ�หรับด้านการท่องเที่ยวเป็นเอกลักษณ์ และหลากหลาย มีศักยภาพและความพร้อม ทางการท่องเที่ยวสูง และที่สำ�คัญเว็บไซต์ www.paiduaykan.com ได้มกี ารสำ�รวจอำ�เภอ ทีส่ งบและน่าเทีย่ วทัว่ ประเทศ ปรากฏว่าอำ�เภอ งาวของจังหวัดลำ�ปาง ติด 1 ใน 15 อำ�เภอทัว่ ประเทศทีส่ งบและน่าเทีย่ ว ทำ�ให้เกิดการกระตุน้ ด้านการท่องเทีย่ วของจังหวัดลำ�ปางมากยิง่ ขึน้ สำ�หรับทรัพยากรธรรมชาติของจังหวัด ลำ�ปางมีความสมบูรณ์ มีพื้นที่ป่าเหลืออยู่มาก เป็นอันดับ 3 ของประเทศ รองจากจังหวัด แม่ฮอ่ งสอนและตาก เป็นแหล่งแร่ธาตุขนาดใหญ่ ทีเ่ ป็นวัตถุดบิ ในภาคอุตสาหกรรมต่างๆ นอกจากนี้ ยังเป็นศูนย์กลางการผลิตและส่งไฟฟ้าของ ภาคเหนือ และผลิตพลังงานทดแทนอื่นๆ ที่สำ�คัญของประเทศ อีกด้วย ซึ่งในปี 2557 จังหวัดลำ�ปางมีมูลค่า ผลิตภัณฑ์มวลรวม จำ�นวน 64,750 ล้านบาท อยู่ในอันดับ 39 ของประเทศ และอยู่ใน อันดับ 8 ของภาคเหนือ โดยสาขาการทำ� เหมืองแร่และเหมืองหิน เป็นสาขาที่มีมูลค่า สูงสุดถึง 13,422 ล้านบาท เพราะจังหวัด ลำ�ปางเป็ น ที่ ตั้ ง ของโรงไฟฟ้ า ถ่ า นหิ น ของ
28
กฟผ.แม่เมาะ รองลงมาคือสาขาเกษตรกรรม การล่าสัตว์และการป่าไม้ มีมลู ค่า 7,315 ล้านบาท จังหวัดลำ�ปางมีรายได้ต่อหัวต่อคน จำ�นวน 87,440 บาท อยูใ่ นอันดับ 46 ของประเทศ และ อยู่ในอันดับ 8 ของภาคเหนือ
ล�ำปาง...เมืองที่ไม่หมุนตามกาลเวลา
จังหวัดล�ำปางเป็น 1 ใน 12 เมืองต้องห้าม พลาด ที่การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยได้เปิดตัว 12 จังหวัด ที่กระจายอยู่ในทุกภูมิภาคของ ประเทศ ภายใต้โครงการ “เมืองต้องห้าม... พลาด” เพื่อส่งเสริม การท่องเที่ยวได้ตลอดปี “ล�ำปาง...เมืองทีไ่ ม่หมุนตามกาลเวลา” ต่อให้ เวลาหมุนเปลีย่ นไป คนจะก้าวเร็วแค่ไหน เมือ่ มาถึงล�ำปางคล้ายจะกลายเป็นคนเดินช้า ที่ อยากจะค่อยๆ ซึมซับและสัมผัสความสวยงาม ของเมืองทีไ่ ม่หมุนตามกาลเวลาแห่งนี้ เพราะมี หลายสิง่ หลายอย่างที่ “ต้องห้ามพลาด” จึงท�ำให้ อยากจะซึมซับเพื่อดูทุกอย่างให้ครบจนจุใจ
จังหวัดลำ�ปางได้กำ�หนด ตำ�แหน่งการพัฒนาให้เป็น เมืองศูนย์กลางโลจิสติกส์ ของภาคเหนือตอนบน เชื่อมโยงกับอนุภูมิภาค หลากหลายโครงการพัฒนาล�ำปาง
1. โครงการตามมาตรการกระตุน้ เศรษฐกิจ ของรัฐบาล ถือว่าเป็นนโยบายทีส่ ำ� คัญของรัฐบาล ทีต่ อ้ งการให้เศรษฐกิจทัว่ ประเทศดีขนึ้ โดยเฉพาะ ในพื้นที่ของทุกจังหวัดทั่วประเทศท�ำให้มีเงิน หมุนเวียน มีการจับจ่ายใช้สอยของประชาชน เป็นการช่วยเหลือเกษตรกรเน้นการใช้แรงงาน ในพืน้ ทีเ่ พือ่ ให้ประชาชนมีรายได้ในช่วงฤดูแล้ง ซึ่งจังหวัดล�ำปางได้รับงบประมาณเพื่อด�ำเนิน การโครงการตามมาตรการส่ ง เสริ ม ความ เป็นอยู่ระดับต�ำบล จ�ำนวน 483,699,600 บาท 1,596 โครงการ มีการ เบิกจ่าย งบประมาณแล้ว 156,457,396.21 บาท คิดเป็นร้อยละ 32.35 2. โครงการรณรงค์สวมหมวก นิรภัย 100 % เนื่องจากจังหวัดล�ำปางเป็นเมืองใหญ่ และมีเส้นทางคมนาคมเชือ่ มโยงกับ หลายจังหวัด มีการจราจรหนาแน่น โดยเฉพาะในชัว่ โมงเร่งด่วน ปรากฏว่า จากสถิ ติ อุ บั ติ เ หตุ จ ราจรส่ ว นใหญ่ เกิดจากรถจักรยานยนต์ และประชาชน ยังขาดวินยั จราจร ไม่สวมหมวกนิรภัยขณะขับขี่ และซ้อนท้ายรถจักรยานยนต์ เมือ่ เกิดอุบตั เิ หตุ ท�ำให้เสียชีวิตและบาดเจ็บสาหัส จึงต้องมีการ รณรงค์และหามาตรการในการให้ข้าราชการ ประชาชนทัว่ ไป นักเรียน นักศึกษา ได้ตระหนัก ถึงการรักษาวินัย และมีจิตส�ำนึกในการสวม หมวกนิรภัยในการขับขี่รถจักรยานยนต์ ซึ่งได้ เริม่ ด�ำเนินการมาตัง้ แต่วนั ที่ 1 มกราคม 2559 เป็นต้นมา 3. การขับเคลื่อนการพัฒนาปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงในภาคการเกษตรและชนบท ใน 272 หมูบ่ า้ นของจังหวัดล�ำปาง หรือร้อยละ 25 ของหมูบ่ า้ นทัง้ หมดของจังหวัดล�ำปาง ตาม เป้าหมายของประเทศ ภายใต้ยุทธศาสตร์ เศรษฐกิจพอเพียง 2557 – 2560 โดยจังหวัด LAMPANG 29
เว็บไซต์ www.paiduaykan.com ได้มีการสำ�รวจอำ�เภอที่สงบ และน่าเที่ยวทั่วประเทศ ปรากฏว่าอำ�เภองาวของ จังหวัดลำ�ปาง ติด 1 ใน 15 อำ�เภอทั่วประเทศที่สงบ และน่าเที่ยว
ล�ำปางได้ใช้แนวทางของโครงการปิดทองหลัง พระ สืบสานแนวพระราชด�ำริ มาเป็นแนวทาง ในการด�ำเนินงาน ซึ่งเริ่มด�ำเนินการมาเป็น จังหวัดแรก ตั้งแต่ปี 2557 เพื่อให้หมู่บ้าน เป้าหมายทั้ง 272 หมู่บ้าน เป็นหมู่บ้านที่จะ เห็นผลเป็นรูปธรรมในเรือ่ งของการด�ำเนินงาน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง พร้อม กับจะมีการท�ำหมูบ่ า้ นต้นแบบในแต่ละปี อ�ำเภอ ละ 1 หมู่บ้าน ให้ต่อเนื่องต่อไป นอกจากนี้จังหวัดล�ำปางยังได้เร่งด�ำเนิน โครงการต่างๆ เพื่อแก้ไขปัญหาภายในจังหวัด อย่างยัง่ ยืน อาทิ โครงการก่อสร้างฝายใต้ทราย แกนดินเหนียว เนือ่ งจากจังหวัดล�ำปางประสบ ภั ย แล้ ง ในพื้ น ที่ ห ลายอ� ำ เภอ ซึ่ ง โครงการ ดังกล่าวจะช่วยแก้ไขปัญหาภัยแล้งได้อีกทาง หนึ่ง ในการด�ำเนินการใช้งบประมาณไม่สูง สามารถใช้แรงงานราษฎรในพืน้ ที่ หรือใช้เครือ่ ง จักรกลก็ได้ขึ้นอยู่กับสภาพพื้นที่
30
AEC กับความเปลี่ยนแปลงของ ล�ำปาง
จังหวัดลำ�ปางมีการเตรียมความพร้อมใน การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ซึ่งคาดว่าสิ่งต่างๆ ที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น และมี ผ ลกระทบทั้ ง ผลดี ผ ลเสี ย ตั้งแต่ระดับประเทศลงมาจนถึงระดับจังหวัด สำ�หรับจังหวัดลำ�ปางนัน้ ถือว่าได้มกี ารเตรียมความ พร้อมไว้แล้วตามแนวทางที่ได้วางยุทธศาสตร์ การพัฒนาจังหวัดไว้ มีแผนงานโครงการต่างๆ รองรับไว้ในทุกมิติ ซึง่ บางส่วนอาจจะเกีย่ วข้อง กับอาเซียนโดยอ้อม หรือไปมีผลกระทบใน บางส่วน แต่กถ็ อื ว่าการพัฒนาทุกอย่างเป็นการ พัฒนาไปในลักษณะขององค์รวม แต่ยังคงมี ประเด็นหลักๆ ที่รองรับในการเข้าสู่ประชาคม อาเซียนไว้ ยกตัวอย่างทีเ่ ห็นได้อย่างชัดเจน คือ เรื่อ งของการพัฒนาด้านการท่องเที่ยว ซึ่ง สำ�นักงานการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ได้ กำ�หนดให้จงั หวัดลำ�ปางเป็น 1 ใน 12 เมืองทีต่ อ้ ง
ห้ามพลาดทีจ่ ะมาเทีย่ ว เป็นเมืองทีไ่ ม่หมุนตาม กาลเวลา มีเสน่หท์ างวัฒนธรรม ซึง่ เรือ่ งท่องเทีย่ ว เป็นประเด็นหลักที่ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพหลัก ในกลุ่มอาเซียน กิจกรรมต่างๆ ที่จังหวัดลำ�ปางได้เตรียม พัฒนาเพือ่ รองรับแก่ผมู้ าเยือน ทัง้ ด้านโครงสร้าง พื้นฐาน การพัฒนาสิ่งอำ�นวยความสะดวกใน แหล่งต่างๆ โดยเฉพาะแหล่งท่องเที่ยว การ พัฒนาห้องสุขาให้สะอาด สวยงาม เป็นต้น ด้านบุคลากรที่จะต้องให้การต้อนรับผู้มาเยือน การพัฒนาความรู้ด้านภาษาแก่ผู้ประกอบการ บุคลากรที่เกี่ยวข้อง เป็นต้น ในเรื่องของโครง สร้างพืน้ ฐาน การพัฒนาระบบขนส่งโลจิสติกส์ ซึ่ ง จั ง หวั ด ลำ�ปางเป็ น จั ง หวั ด ศู น ย์ ก ลางของ ภาคเหนือในการขนถ่ายกระจายสินค้าไปยัง แหล่ ง ต่ า งๆ โดยได้ มี ก ารดำ�เนิ น การตาม แนวทางที่ได้วางไว้ในแผนพัฒนาจังหวัดตาม ตามลำ�ดับ การเปลี่ยนแปลงหรือผลกระทบในการที่ จะมีผูค้ นทีม่ าจากชาติอาเซียนเข้ามาในจังหวัด ก็ ต้ อ งมี ก ารสื่ อ สารให้ ป ระชาชนได้ รั บ ทราบ รับรู้หลายๆ สิ่งที่จะต้องมีการปรับเปลี่ยน ทั้ง ด้านความมั่นคง เศรษฐกิจ และสังคม ภายใน จังหวัดต้องมีแผนรองรับในทุกด้าน LAMPANG 31
นอกจากนี้ จังหวัดลำ�ปางได้มีการประชุม สัมมนาเพื่อรับฟังความคิดเห็นตามโครงการ จังหวัดก้า วไกลสู่อ าเซียน ในเรื่อ งของการ จัดเตรียมความพร้อมของจังหวัดในการเข้าสู่ ประชาคมอาเซียน และการรับฟังความคิดเห็น จากภาคีภาคส่วนต่างๆ ในพื้นที่จังหวัดลำ�ปาง เมื่อวันที่ 4 สิงหาคม 2558 ณ ห้องเวียงแก้ว โรงแรมลำ�ปางเวียงทอง ก็ได้มีความเห็นข้อ เสนอแนะที่หลากหลายประการถึงผลกระทบ ที่จะเกิดขึ้น ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของ 1. เป็นตลาดเดียวและฐานการผลิตร่วม การเคลื่ อ นย้ า ยสิ น ค้ า เสรี การเคลื่ อ นย้ า ย บริการเสรี การเคลื่อนย้ายการลงทุนเสรี การ เคลือ่ นย้ายการเงินเสรี การเคลือ่ นย้ายแรงงาน เสรี ความร่วมมือด้านอาหาร การเกษตร และ ป่าไม้ 2. ขีดความสามารถในการแข่งขันทาง เศรษฐกิ จ และการคุ้ ม ครองผู้ บ ริ โ ภค การ แข่งขัน การคุ้มครองผู้บริโภค การคุ้มครอง ทรัพย์สินทางปัญญา การพัฒนาโครงสร้าง พืน้ ฐาน เทคโนโลยีและการสือ่ สาร และพลังงาน 32
3. การพัฒนาเศรษฐกิจในภาพรวม การ พัฒนาธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมอย่าง เหมาะสมตามความหลากหลายของกลุ่ ม ประเทศอาเซียน และการพัฒนาเศรษฐกิจ ระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน 4. ประชาสังคมและวัฒนธรรม ด้านการ พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ด้านความยุตธิ รรมและ สิทธิ การส่งเสริมความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม การสร้างอัตลักษณ์อาเซียน การลดช่องว่างทาง การพัฒนา และการคุม้ ครองการประกันสังคม และสวัสดิการสังคม
ข้าราชการต้องทำ�งานด้วย จิตวิญญาณยิ้มแย้มแจ่มใส เต็มใจบริการ มีบริการที่ ยอดเยี่ยม “ไม่วางท่า หน้าไม่งอ รอไม่นาน บริการดี วจีไพเราะ”
4 ข้อได้เปรียบของล�ำปางใน AEC
จังหวัดลำ�ปางมีจุดเด่นที่เป็นข้อได้เปรียบ ในประชาคมอาเซียน และได้วางแนวทางการ ที่จะพัฒนาขับเคลื่อนด้านต่างๆ ดังนี้ 1. ศูนย์กลางการรวบรวมและกระจายสินค้า ของภาคเหนือ ด้วยความได้เปรียบด้านภูมิประเทศของ จังหวัดลำ�ปาง ประกอบกับแนวโน้มการเติบโต ทางเศรษฐกิจที่มีความเข้มแข็งของจังหวัด ซึ่ง สามารถรองรับการขยายตัวของระบบโลจิสติกส์ ที่รองรับการผลิต การค้า การบริโภค และการ ผลิต ในเขตภาคเหนือตอนบน และการค้าการ ลงทุนระหว่างประเทศ ซึง่ มีโน้มเชิงบวก ไม่วา่ จะเป็ น การรวมกลุ่ ม ของกลุ่ ม อนุ ภู มิ ภ าคลุ่ ม แม่น้ำ�โขง (GMS) และประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน (AEC) ล้วนเป็นปัจจัยบวก ส่งเสริม จุดแข็งของจังหวัดลำ�ปางที่มีศักยภาพในการเป็น ศูนย์กลางโลจิสติกส์ เชือ่ มโยงสินค้าและบริการ ทางบกของภาคเหนือ ตามยุทธศาสตร์ Northern Landport ของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน LAMPANG 33
2. สนามบินนานาชาติลำ�ปางเพือ่ เป็นศูนย์กลาง การบินนานาชาติในภาคเหนือ จากข้อมูลจากบริษัท ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน) ระบุวา่ ท่าอากาศยานนานาชาติ เชียงใหม่ปี พ.ศ.2557 มีจำ�นวนเที่ยวบินกว่า 52,642 เทีย่ วบิน มีปริมาณผูโ้ ดยสาร 6,630,624 คน และมีอตั ราเติบโตเพิม่ ขึน้ 28.18 % ซึง่ จาก การคาดการณ์โครงสร้างพืน้ ฐานของท่าอากาศ ยานนานาชาติเชียงใหม่ จะสามารถรองรับ นักท่องเทีย่ วได้อย่างเพียงพอในอีก 3 ปีขา้ งหน้า เท่านั้น จากข้ อ จำ�กั ด ของพื้ น ที่ ทำ�ให้ ไม่ส ามารถ ขยายความยาวของทางวิ่ง (Runway) และ อาคารผูโ้ ดยสาร (Passenger Terminal) เพือ่ รองรั บ อั ต ราการเจริ ญ เติ บโตของผู้ โ ดยสาร นักท่องเที่ยว และอากาศยานที่มีแนวโน้มเติบโต อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง จึ ง เกิ ด แนวความคิ ดในการ ก่อสร้างท่าอากาศยานเชียงใหม่แห่งที่ 2 ขึ้น โดยมีทางเลือก 2 แห่งคือ (1) ในเขตพืน้ ทีอ่ ำ�เภอ สันกำ�แพงและอำ�เภอแม่ออน จังหวัดเชียงใหม่ หรือ (2) ในเขตพื้นที่อำ�เภอดอยหล่อ จังหวัด เชียงใหม่ แต่ทางเลือกทัง้ 2 แห่งล้วนมีขอ้ จำ�กัด ในการพัฒนาเพือ่ ให้เกิดประโยชน์สงู สุด ต่อการ 34
พัฒนาเมืองเชียงใหม่และกลุ่มจังหวัดภาคเหนือ ตอนบน โดยเฉพาะจังหวัดลำ�ปางและจังหวัด ลำ�พูน ซึ่งมีศักยภาพในการพัฒนาด้านเศรษฐกิจ และการลงทุนในอนาคต จังหวัดลำ�ปาง ในฐานะโลจิสติกส์ฮับของ กลุม่ จังหวัดภาคเหนือ และในฐานะหนึง่ ในเมือง เศรษฐกิจแฝดสาม (Triplet Town) ที่มีการ พัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคม ร่วมกับจังหวัด เชียงใหม่และลำ�พูน นำ�เสนอพืน้ ทีท่ างเลือกใน การก่อสร้างท่าอากาศยานนานาชาติห้างฉัตร เพื่อเป็นท่าอากาศยานขนาดใหญ่ รองรับการ ขยายตัวทางเศรษฐกิจและการท่องเที่ยวใน อนาคตของกลุม่ จังหวัดภาคเหนือ พืน้ ทีท่ างเลือก ที่อำ�เภอห้างฉัตร จังหวัดลำ�ปาง ซึ่งเป็นพื้นที่ ราบโล่ง ขนาดมากกว่า 3,000 ไร่ บนทางหลวง หมายเลข 11 ห่างจากตัวเมืองจังหวัดลำ�ปาง น้อยกว่า 30 กิโลเมตร ทางตะวันตก และห่างจาก ตัวเมืองจังหวัดเชียงใหม่ น้อยกว่า 70 กิโลเมตร ทำ�ให้มีศักยภาพในการเชื่อมโยงกิจกรรมทาง เศรษฐกิจและการท่องเที่ยวของจังหวัดเชียงใหม่ ลำ�พูน ลำ�ปาง และจังหวัดอื่นในภาคเหนือ ตอนบนได้ อ ย่ า งสะดวก นอกจากนี้ พื้ น ที่ ศักยภาพ ยังสามารถสร้างโครงสร้างพื้นฐาน
จังหวัดลำ�ปางได้ลงนาม ความสัมพันธ์กับเมือง จิ่งเต๋อเจิ้น ซึ่งเป็นเมืองเซรามิก ที่สำ�คัญของจีน ซึ่งทั้งสองจังหวัด มีความเห็นร่วมกันที่จะ ร่วมกันพัฒนาเซรามิก
สำ�หรับการเป็นท่าอากาศยานพาณิชย์ขนาดใหญ่ ที่สามารถรองรับทางวิ่งขนาดยาวกว่า 4,000 เมตร และสามารถรองรับอากาศยานขนาดใหญ่ ที่มีพิสัยบินไกลได้ 3. ด้านการเกษตร ข้าวปลอดภัยได้มาตรฐาน อย่างครบวงจร ครัวเรือนเกษตรกรผูป้ ลูกข้าว 135,234 คน พันธุข์ า้ วทีป่ ลูกได้แก่ สันป่าตอง 1 (ข้าวเหนียว) กข 6 (ข้าวเหนียว) ข้าวขาวดอกมะลิ 105 (ข้าวจ้าว) อัตราเฉลี่ยผลผลิตข้าวต่อไร่ 555 กิโลกรัม/ไร่ มีจำ�นวนโรงสีขา้ ว ทัง้ สิน้ 28 แห่ง และมีเครือข่าย
สหกรณ์ จำ�นวน 25 สหกรณ์ (จำ�แนกเป็น สหกรณ์ : เมล็ดพันธุ์ 2 สหกรณ์, การปลูก 10 สหกรณ์, การรวบรวม 10 สหกรณ์, การแปรรูป 1 สหกรณ์, การจัดจำ�หน่าย 2 สหกรณ์) แต่ ที่ ผ่ า นมาเกษตรกรจั ง หวั ด ลำ�ปาง ประสบปัญหาต้นทุนการผลิตสูงและราคาผลผลิต ตกต่ำ� ซึง่ จังหวัดลำ�ปางได้เล็งเห็นความสำ�คัญของ การแก้ปญ ั หาดังกล่าว โดยมุง่ พัฒนาประสิทธิภาพ การผลิตข้าวปลอดภัยได้มาตรฐานอย่างครบ วงจร เพื่อ • ลดต้นทุนการผลิต การลดการใช้สารเคมี หันมาใช้ปุย๋ อินทรียแ์ ทนปุย๋ เคมี และใช้สารชีวภัณฑ์
แทนการใช้ยาปราบศัตรูพืช เพื่อทำ�ให้ข้าวปลอดภัย และพัฒนาต่อยอดเป็นข้าวอินทรีย์ในที่สุด • การเพิม่ ผลผลิต การเลือกใช้เมล็ดพันธุ์ ที่ดีมีคุณภาพ นอกจากนี้จะต้องมีการนำ�เอา เทคโนโลยีทางการเกษตรมาใช้ในกระบวนการผลิต •การเพิ่มมูลค่าข้าว มี 3 ส่วนหลักๆ คือ 1. การปลูกข้าวที่มีคุณค่า เช่น กลุ่มข้าวสี เนือ่ งจากข้าวสีจะมีราคาจำ�หน่ายสูงกว่าข้าวขาว ธรรมดากว่า 2 เท่า 2. การสีและบรรจุภัณฑ์ที่ได้มาตรฐาน รวมทัง้ การสร้างแบรนด์ขา้ ว สร้างเรือ่ งราวของ ข้าวเพือ่ เพิม่ มูลค่า เช่น การนำ�ผลการวิจยั ทีร่ ะบุ
LAMPANG 35
ว่าข้าวที่ปลูกในพื้นที่ที่มีสายน้ำ�แร่ไหลผ่าน มี คุณค่าทางโภชนาการสูงกว่าข้าวทั่วไป มีสาร ต้านอนุมลู อิสระ ช่วยลดความเสีย่ งในการเป็น โรคมะเร็ง โรคหัวใจ และโรคหลอดเลือด เหมาะ แก่การลด/ควบคุมน้ำ�ตาลในอาหาร 3. การวิจยั และพัฒนาเพือ่ แปรรูปข้าวเป็น ผลิตภัณฑ์อื่นๆ เช่น เครื่องสำ�อาง กลยุทธ์และการดำ�เนินการที่ผ่านมาเพื่อ ขับเคลือ่ นการพัฒนาข้าวปลอดภัยได้มาตรฐาน ทีส่ ำ�คัญ คือ 1) โครงการโรงเรียนข้าวและชาวนา และ 2) ความร่วมมือกับสถาบันการศึกษาเพือ่ พัฒนาข้าวให้เป็นสินค้าปลอดภัยได้มาตรฐาน โครงการโรงเรียนข้าวและชาวนา จังหวัดลำ�ปางได้จัดตั้งโรงเรียนข้าวและ ชาวนาขึ้น จำ�นวน 2 แห่ง คือ โรงเรียนข้าว และชาวนา-สบปราบ และโรงเรียนข้าวและชาวนา เมืองปาน โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ พัฒนาทักษะ องค์ความรู้และยกระดับคุณภาพข้าวพร้อม สร้างสัญลักษณ์ข้าวให้แก่เกษตรและเยาวชน ทีเ่ ป็นทายาทเกษตรกร ซึง่ ผูท้ ีเ่ ข้าเรียนจะได้รบั 36
การพัฒนาองค์ความรู้และฝึกปฏิบัติจริง เพื่อ เตรียมความพร้อมให้เกษตรกรเป็นเกษตรกร ผู้ผลิตข้าวคุณภาพ วางแผนการผลิตและดำ�เนิน การผลิตข้าวอย่างครบวงจร อันเป็นการแก้ไข ปั ญ หาความเดื อ ดร้ อ นของประชาชนตั้ ง แต่ ต้นน้ำ� กลางน้ำ�และปลายน้ำ� 4. นครลำ�ปางเมืองเซรามิก เมื่อพูดถึงลำ�ปาง อีกสิ่งหนึ่งที่คนมักจะ นึกถึงก็คอื เซรามิก อันเป็นสินค้าคูเ่ มืองลำ�ปาง มาช้านาน ด้วยลำ�ปางเป็นแหล่งวัตถุดบิ ดินขาว ทีส่ ำ�คัญ แต่ในช่วงทีผ่ า่ นมาธุรกิจเซรามิกมีการ ชะลอตัวลงจากภาวะเศรษฐกิจ การเพิม่ สูงขึน้ ของราคาแก๊ส ซึ่งเป็นต้นทุนสำ�คัญในการผลิต ทำ�ให้ผู้ประกอบการบางรายมีปัญหาทางธุรกิจ อย่างไรก็ดีจังหวัดลำ�ปางได้พยายามส่งเสริม และสนับสนุนผู้ประกอบการเซรามิกในหลาก หลายรูปแบบ ทั้งการหาสูตรดิน และสูตรน้ำ� เคลือบที่ดีและเหมาะสม เพื่อลดค่าใช้จ่ายใน การสัง่ ดินจากนอกจังหวัดเข้ามาใช้เป็นวัตถุดบิ ในการผลิต รวมทัง้ การส่งเสริมให้มกี ารออกแบบ
จังหวัดลำ�ปางได้นำ�เสนอ พื้นที่ทางเลือกในการ ก่อสร้างท่าอากาศยาน นานาชาติห้างฉัตร เพื่อรองรับการขยายตัว ทางเศรษฐกิจและ การท่องเที่ยวในอนาคต ของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือ
และพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้มีความสวยงามเป็น เอกลักษณ์ของลำ�ปาง กอปรกั บ จั ง หวั ด ลำ�ปางได้ ล งนามความ สั ม พั น ธ์ กั บ เมื อ งจิ่ ง เต๋ อ เจิ้ น มณฑลเจี ย งซี สาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งเป็นเมืองเซรามิก ที่สำ�คัญของจีน ซึ่งทั้งสองจังหวัดมีความเห็น ร่วมกันที่จะร่วมกันพัฒนาเซรามิก ทั้งในมิติ การพัฒนาการผลิต ซึ่งทางจิ่งเต๋อเจิ้นยินดีที่ จะถ่ายทอดและแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ในการ ผลิตเซรามิกให้กับลำ�ปาง มิติการแลกเปลี่ยน นักเรียนและบุคลากรการศึกษาระหว่างกัน มิติด้านการค้าการลงทุน ซึ่งผู้ประกอบการ จิ่ ง เต๋ อ เจิ้ น ก็ มี ค วามประสงค์ ม าลงทุ น ทำ� โรงงานเซรามิกร่วมกับชาวลำ�ปาง จากการ ดำ�เนินการดังกล่าว จะช่วยทำ�ให้การผลิตเซรามิก ของลำ�ปางได้พัฒนาไปอีกขั้นหนึ่ง อันจะช่วย ทำ�ให้ผู้ประกอบการเซรามิกของลำ�ปางสามารถ เพิ่มศักยภาพ และขีดความสามารถในการ ผลิตงานที่มีคุณภาพในระดับมาตรฐานสากล และสามารถประกาศความเป็นเมืองเซรามิก ของนครลำ�ปางในเวทีโลก รวมทั้งเพิ่มรายได้ จากอุตสาหกรรมเซรามิกให้มากขึ้น ในประเด็นหลักๆ ทีไ่ ด้กล่าวมานี้ เป็นประเด็น หรือโอกาสทีจ่ ะทำ�ให้จงั หวัดลำ�ปางได้รบั ประโยชน์ จากการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนเป็นอย่างมาก
ผลการบริหารราชการที่ภาคภูมิใจ
1. การแก้ไขปัญหายาเสพติด ย้ำ�ให้ทกุ ส่วน ทีเ่ กีย่ วข้องเข้าถึงกำ�นัน ผูใ้ หญ่บา้ น ผูช้ ว่ ยแพทย์ สารวัตร และคณะกรรมการหมู่บ้าน เร่งเก็บ รวบรวมข้อมูลเชิงลึกในเรื่องของผู้ค้า/ผู้เสพ ในชุมชน ทำ�การเอ็กซเรย์หาหลักฐานควบคุม ตัว เพือ่ จะได้ดำ�เนินการตามกฎหมาย รวมทัง้ เพื่อคัดแยก นำ�กลุ่มผู้เสพเข้าสู่กระบวนการ บำ�บัดต่อไป 2. การรณรงค์สวมหมวกนิรภัย 100% ซึง่ ได้เริม่ ดำ�เนินการมาตัง้ แต่วนั ที่ 1 มกราคม 2559 เป็นต้นมา และเนือ่ งจากมีประชาชน ได้แจ้งผ่านทางรายการผูว้ า่ ฯพบประชาชน ว่ า อยากได้ ห มวกนิ ร ภั ย จั ด จำ�หน่ า ยใน ราคาถูก ผูว้ า่ ราชการจังหวัดลำ�ปางจึงได้ มอบหมายให้ สำ � นั ก งานป้ อ งกั น และ บรรเทาสาธารณภั ย จั ง หวั ด ลำ�ปาง ประสานไปยั ง บริ ษั ท คุ้ ม ครองผู้ ป ระสบภั ย จากรถ จำ�กัด สั่งทำ�หมวกนิรภัยที่มีคุณภาพ ราคาประหยัด จำ�นวน 15,000 ใบ ซึง่ จะจำ�หน่าย ให้กับผู้ที่ต้องการและสั่งจอง ในราคาใบละ 99 บาท เท่านั้น 3. การแก้ไขปัญหาทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดล้อม ได้กำ�ชับให้นายอำ�เภอ ผูบ้ ริหาร องค์กรปกครองท้องถิน่ เจ้าหน้าทีฝ่ า่ ยปกครอง
ป่าไม้ ตำ�รวจ ทหาร และหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง เข้าถึงพื้นที่ ประสานความร่วมมือกับผู้นำ�ใน แต่ละท้องที่ชุมชน สอดส่องดูแลรักษาผืนป่า ในพืน้ ที่ ห้ามมิให้มกี ารตัดไม้ทำ�ลายป่า และให้ ทุกหมู่บ้านที่พอจะมีแปลงที่ดินได้จัดเตรียม พื้นที่ไว้เพื่อใช้สำ�หรับทำ�การปลูกป่าในพื้นที่ของ แต่ละชุมชนเป็น “หนึง่ หมูบ่ า้ น หนึง่ ป่าชุมชน”
LAMPANG 37
ไม่มีใครรู้ปัญหาดีเท่าคน ในพืน้ ที่ จึงเป็นทีม่ าของคำ�ว่า “มังกรต่างถิ่น หรือจะสู้.... งูดินลำ�ปาง” เป้าหมายในปี 2559 กำ�หนดไว้ 450 ป่า (หมูบ่ า้ น) โดยให้เน้นมาตรการการมีส่วนร่วมจากชุมชน ใช้ช่วงวิกฤติภัยแล้งให้เป็นโอกาส รณรงค์ให้ ชาวบ้านช่วยกันปลูกป่าและทำ�ฝายชะลอน้ำ� และให้หวั หน้าส่วนราชการ หน่วยงานในแต่ละ กระทรวง ร่วมกิจกรรมดังกล่าวกับทุกหมู่บ้าน ที่มีป่าชุมชน ในลักษณะ “ประชารัฐ” 4. พัฒนาปรับปรุงคุณภาพส้วม 13 ประเภท ตามสถานที่สำ�คัญต่างๆ ภายในจังหวัด เช่น สถานที่ราชการ ที่ว่าการอำ�เภอ โรงพยาบาล สถานี ข นส่ ง ผู้ โ ดยสาร สถานี บ ริ ก ารน้ำ� มั น เชื้อเพลิง วัด สวนสาธารณะ ตลาดสด ฯลฯ ต้ อ งผ่ า นเกณฑ์ ม าตรฐานของกรมอนามั ย กระทรวงสาธารณสุข คือ สะอาด มีเพียงพอ และปลอดภัย เพื่อสร้างบรรยากาศให้ลำ�ปาง เป็นเมืองน่าอยู่ และสราé งภาพลักษณ์ทดี่ ตี อ่ การ 38
ท่องเที่ยว โดยเน้นให้เป็น “ส้วมยอดเยี่ยม” 5. ข้าราชการต้องทำ�งานด้วยจิตวิญญาณ ยิม้ แย้มแจ่มใส เต็มใจบริการ มีบริการทีย่ อดเยีย่ ม “ไม่วางท่า หน้าไม่งอ รอไม่นาน บริการดี วจีไพเราะ” 6. ให้ทุกหน่วยงานเร่งดำ�เนินงานโครงการ เบิ ก จ่ า ยงบประมาณให้ ไ ด้ ต ามเป้ า หมายที่ กำ�หนดไว้ เพือ่ ให้เกิดการหมุนเวียนทางการเงิน ซึ่งจะส่งผลดีต่อระบบเศรษฐกิจในภาพรวม
จากใจผูว้ า่ ฯ เพือ่ “ล�ำปาง...นครแห่ง ความสุข”
การพัฒนาและแก้ไขปัญหาในพื้นที่ของ จังหวัดลำ�ปาง อยากให้ทั้งภาคราชการและ พี่น้องประชาชนชาวลำ�ปาง ร่วมด้วยช่วยกัน พัฒนาและแก้ไขปัญหา โดยสามารถแจ้งความ เดือดร้อนและเบาะแสต่า ๆ ในพืน้ ที่ เพราะไม่มี ใครรูป้ ญ ั หาดีเท่าคนในพืน้ ที่ จึงเป็นทีม่ าของคำ�ว่า “มังกรต่างถิ่น หรือจะสู้....งูดินลำ�ปาง”
ประวัติการศึกษา
ปริญญาตรี : ศิลปศาสตรบัณฑิต (รัฐศาสตร์) มหาวิทยาลัยรามคำ�แหง (รุ่นที่ 2) ปริญญาโท : พัฒนบริหารศาสตรมหาบัณฑิ (รัฐประศาสนศาสตร์) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (ลำ�ปาง รุ่นที่ 1)
ประวัติการรับราชการ (โดยย่อ)
นายสามารถ ลอยฟ้า ผู้ว่าราชการจังหวัดลำ�ปาง
2521 : เจ้าหน้าทีพ่ ฒ ั นาชุมชน 3 (พัฒนากร) อำ�เภอบ้านตาก จังหวัดตาก 2524 : พัฒนาการอำ�เภออุ้มผาง จังหวัดตาก 2528 : พัฒนาการอำ�เภอเมืองตาก จังหวัด ตาก 2534 : ปลัดอำ�เภอหัวหน้าฝ่ายปกครองและพัฒนา อำ�เภอสามเงา จังหวัดตาก 2535 : นายอำ�เภอเมืองปาน จังหวัดลำ�ปาง 2539 : นายอำ�เภอสบปราบ จังหวัดลำ�ปาง 2540 : นายอำ�เภอเกาะคา จังหวัดลำ�ปาง 2543 : นายอำ�เภอแม่สอด จังหวัดตาก 2546 : ปลัดจังหวัดแพร่ 2549 : รองผู้ว่าราชการจังหวัดอำ�นาจเจริญ 2550 : รองผู้ว่าราชการจังหวัดลำ�ปาง 2552 : ผู้ว่าราชการจังหวัดตาก 2555 : ผู้ตรวจราชการกระทรวงมหาดไทย 2 มิถุนายน 2557 : ผู้ว่าราชการจังหวัดจันทบุรี 1 ตุลาคม 2558 : ผู้ว่าราชการจังหวัดลำ�ปาง
ผลงานดีเด่น และความภาคภูมิใจ
1. ได้รับรางวัลจากสื่อมวลชลจังหวัดลำ�ปาง “ให้เป็นผู้มีความมุ่งมั่นในการส่งเสริมอาชีพ และพัฒนาท้องถิ่นดีเด่น” ขณะดำ�รงตำ�แหน่ง นายอำ�เภอเมืองปาน จังหวัดลำ�ปาง 2. ได้รับรางวัล นายอำ�เภอผู้มีผลงานดีเด่นภาคเหนือ ประจำ�ปี 2542 “นายอำ�เภอแหวนเพชร” ขณะดำ�รงตำ�แหน่ง นายอำ�เภอเกาะคา จังหวัดลำ�ปาง 3. ได้รับรางวัลจาก ป.ป.ส. “เป็นผู้มีผลงานดีเด่นในการป้องกัน และปราบปรามยาเสพติด ประจำ�ปี 2543” 4. ได้รับรางวัลจากชมรมนักหนังสือพิมพ์ภูมิภาคแห่งประเทศไทยจังหวัดตาก “เป็นนักปกครองพัฒนาสังคมดีเด่น ปี 2545” 5. ได้รับรางวัลจากชมรมสื่อมวลชนและนักประชาสัมพันธ์จังหวัดตาก “เป็นบุคคลดีเด่นด้านต้นแบบ ประชาคมหมู่บ้านต้านยาเสพติด ที่มีผลงานระดับประเทศ ปี 2546” 6. รับรางวัล นายอำ�เภอผู้มีผลงานดีเด่นภาคเหนือ ประจำ�ปี 2546 “นายอำ�เภอแหวนเพชร” ตามโครงการนายอำ�เภอของประชาชน ขณะดำ�รงตำ�แหน่ง นายอำ�เภอแม่สอด จังหวัดตาก 7. ได้รบั รางวัลจาก ป.ป.ส. เป็นผูม้ ผี ลงานยอดเยีย่ มด้านพัฒนานโยบาย ในการดำ�เนินงานป้องกันและ แก้ไขปัญหายาเสพติด ประจำ�ปี 2551 8. ได้รับรางวัลโล่เชิดชูเกียรติ บุคลคลต้นแบบที่มีผลงานดีเด่นด้านส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม จากกรมอนามัย กระทรวง สาธารณสุขวันที่ 17 สิงหาคม 2555 9. ได้รบั โล่จาก กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข โล่เชิดชูเกียรติ ให้แด่ศาลากลางจังหวัดตาก ชนะเลิศสุดยอดส้วมแห่งปี 2553 ประเภท สถานที่ราชการ 10. ได้รับรางวัล “ความเป็นเลิศด้านการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม ระดับดีเยี่ยม พ.ศ. 2555” จังหวัดตาก จาก ก.พ.ร. สำ�นักงาน คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ 11. สำ�นักงาน ป.ป.ส. ได้มอบเกียรติบัตรเพื่อแสดงว่า ศูนย์ปฏิบัติการต่อสู้เพื่อเอาชนะยาเสพติดจังหวัดตาก ได้รับคัดเลือกเป็นหน่วยงาน/ องค์กรพื้นที่ที่มีประสบการณ์ดีเด่นในการปฏิบัติตาม “ปฏิบัติการประเทศไทยเข้มแข็ง เอาชนะยาเสพติดยั่งยืนภายใต้ยุทธศาสตร์ 5 รั้วป้องกัน ระยะที่ 3” พ.ศ. 2555 ANG THONG 37
เส้นทางพบ
ท้องถิ่นจังหวัด
2
นายจำ�ลักษ์ กันเพ็ชร์ ท้องถิ่นจังหวัดลำ�ปาง
ท้องถิน่ จังหวัดหนุม่ รุน่ ใหม่ไฟแรงท่านนี้ เป็นชาวนครสวรรค์ทไี่ ปคว้า เกียรตินยิ ม ด้านรัฐศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อันเป็นใบเบิกทาง สูเ่ ส้นทางการเป็นนักปกครอง ซึง่ มีหวั ใจทีเ่ ต็มเปีย่ มด้วยความมุง่ มัน่ อย่าง แรงกล้าที่จะพัฒนาประเทศชาติให้มีความเจริญรุ่งเรืองต่อไป นิยตสาร SBL ได้รบั เกียรติจากท่านจำ�ลักษ์ กันเพ็ชร์ ท้องถิน่ จังหวัด ลำ�ปาง ให้ข้อมูลที่น่าสนใจเกี่ยวกับจุดเด่นขององค์กรปกครองท้องถิ่นใน จังหวัดลำ�ปาง การส่งเสริมให้องค์กรปกครองท้องถิ่นทำ�งานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ รวดเร็ว ประหยัด โปร่งใส และมีจิตสาธารณะ
สำ�นักงานส่งเสริมการ ปกครองท้องถิ่นจะเป็น ตัวเชื่อมและคอยแก้ไข ปัญหาที่เกิดขึ้น เพื่อให้องค์กรปกครอง ท้องถิ่นบริหารงานได้อย่าง มีประสิทธิภาพมากขึ้น จากปลัดอ�ำเภอ-ท้องถิ่นจังหวัด
ผมเป็นคนจังหวัดนครสวรรค์ เรียนอยู่ที่ โรงเรียนนครสวรรค์ จบมาก็ไปสอบเอนทรานซ์ได้ จบการศึกษาระดับปริญญาตรีจากมหาวิทยาลัย เชียงใหม่ คณะรัฐศาสตร์ ได้เกียรตินิยม จากนัน้ ก็มาสอบเป็นปลัดอำ�เภอ ได้ไปเป็น ปลัดอำ�เภออยู่แถวโซนอีสาน ตั้งแต่จังหวัด อุบลราชธานี ศรีสะเกษ บุรีรัมย์ จนกระทั่งมี การแบ่งแยกกรมก็ได้ย้ายมาอยู่กรมส่งเสริม
การปกครองท้องถิ่น การรับราชการก็มีความ เจริญรุ่งเรืองเรื่อยมา จนได้รับการแต่งตั้งไป เป็นท้องถิ่นจังหวัดแม่ฮ่อนสอน และย้ายมา เป็นท้องถิน่ จังหวัดกำ�แพงเพชร ตำ�แหน่งปัจจุบนั คือ ท้องถิ่นจังหวัดลำ�ปาง
อปท.ล�ำปาง เข้มแข็ง-สามัคคี
จังหวัดลำ�ปางมีองค์กรปกครองท้องถิ่น 104 แห่ง ประกอบด้วย องค์การบริหารส่วน
จังหวัดลำ�ปาง เทศบาลนคร เทศบาลเมือง เทศบาลตำ�บล และองค์การบริหารส่วนตำ�บล งบประมาณทั้งจังหวัดประมาณ 5 พันกว่า ล้านบาท รวมองค์กรปกครองท้องถิน่ ขนาดใหญ่ อย่างเช่น อบจ. ก็มงี บประมาณปีละ 800 ล้าน กว่าบาท จุ ด เด่ น ของจั ง หวั ด ลำ � ปางก็ คื อ ความ เข้ ม แข็ ง ขององค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น โดยเฉพาะในส่วนของผู้บริหารจะมีการรวมกลุ่ม Lampang 41
เราประหยัดค่าใช้จ่าย ในเรื่องการบริหารงาน ลงไปได้ปีละหลาย แสนบาท ในขณะเดียวกัน ประสิทธิผลของการทำ�งาน เช่นว่าการรับรู้ข้อมูล ข่าวสาร การรีพอร์ตต่างๆ จะรวดเร็วขึ้น เพื่ อ ส่ ง เสริ ม การทำ � หน้ า ที่ ไ ด้ อ ย่ า งเข้ ม แข็ ง และในส่วนของพนักงานจะมีองค์กรที่ตั้งเป็น สมาคม ในด้านของการทำ�งานไม่ค่อยจะพบ ปัญหาอุปสรรคใดๆ เพราะว่ามีลักษณะของ ความเป็นชนบทค่อนข้างสูง
สถจ. ต้องแก้ไข ไม่ใช่สร้างปัญหา
สำ � นั ก งานส่ ง เสริ ม การปกครองท้ อ งถิ่ น จังหวัดลำ�ปาง เราปฏิบัติหน้าที่ตามวิสัยทัศน์ ของกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น คือทำ� หน้าทีส่ ง่ เสริมและสนับสนุนให้องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นปฏิบัติหน้าที่ตามกฎหมาย เพื่อ ส่งเสริมความเป็นอยู่ของชุมชน โดยยึดหลัก ของธรรมาภิบาล ซึง่ หน้าทีห่ ลักๆ คือเราต้องการ ไปแก้ปัญหาให้เขา เป็นคนแก้ปัญหาไม่ใช่คน สร้างปัญหา เพราะฉะนั้นที่เขาติดๆ ขัดๆ ทำ� หน้าที่ในการจัดบริการสาธารณะไม่ได้ ทาง สำ�นักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจะเป็น ตัวเชื่อมและคอยแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น เพื่อให้ องค์กรปกครองท้องถิ่นบริหารงานได้อย่างมี ประสิทธิภาพมากขึ้น
เน้นประสิทธิภาพ รวดเร็ว ประหยัด
ในด้านของการบริหารงาน ตั้งแต่ผมมา อยู่ที่นี่ประมาณ 1 ปีกว่าๆ ก็พบว่าจุดอ่อน ของการทำ�งานที่นี่ คือว่าเป็นการทำ�งานที่ใช้ ระบบการทำ�งานแบบเก่า การติดต่อสื่อสาร ต่างๆ ยังล่าช้า เพราะว่าใช้ระบบแมนนวล คือใช้ระบบการส่งจดหมาย ใช้ระบบการส่ง 42
หนังสือทำ�ให้การประสานงานต่างๆ ล่าช้ามาก เอกสารต่างๆ ก็ส่งทางรังนกกระจอก ส่งทาง กล่อง อาทิตย์หรือสองอาทิตย์กม็ าเก็บที ทำ�ให้ การบริหารงานล่าช้า ไม่ทนั ความต้องการ ดังนัน้ แนวทางแก้ปญ ั หาตรงนีค้ อื เราไปพัฒนาระบบ การติดต่อสือ่ สารใหม่ มีการนำ�ระบบเทคโนโลยี เข้ามาใช้ อย่างเช่นระบบสารบัญอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่ ง นอกจากจะเป็ น การส่ ง เสริ ม ให้ ท้ อ งถิ่ น ประหยัดค่าใช้จา่ ยแล้ว การติดต่อประสานงาน ก็ท�ำ ได้อย่างรวดเร็ว ผลทีไ่ ด้คอื วันนีเ้ ราประหยัด ค่าใช้จ่ายในเรื่องการบริหารงาน อย่างเช่น ค่ากระดาษ และก็ค่าหมึกพิมพ์ต่างๆ ลงไปได้ ปีละหลายแสนบาท ในขณะเดียวกันประสิทธิผล ของการทำ�งาน เช่นว่าการรับรู้ข้อมูลข่าวสาร การรีพอร์ตต่างๆ จะรวดเร็วขึ้น การทำ�งาน ก็ไม่จำ�เป็นที่จะต้องใช้คนมากนักเพียงแต่จะ ใช้ระบบเทคโนโลยีสื่อสารให้มากขึ้น มีระบบ ของการประชุมต่างๆ ซึ่งทางกรมก็จัดสรรมา คือเป็นการประชุม ระบบวี ดี โ อ คอนเฟอร์เรนซ์ ซึ่ ง ลดค่ า ใช้จ่า ยในการ เดิ น ทาง
จุดเด่นของจังหวัดลำ�ปาง ก็คือ ความเข้มแข็งของ องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น โดยเฉพาะในส่วน ของผู้บริหาร จะมีการ รวมกลุ่มเพื่อส่งเสริมการ ทำ�หน้าที่ได้อย่างเข้มแข็ง
มากขึน้ สิง่ ต่างๆ นีเ้ ป็นประเด็นปัญหาทีเ่ ราแก้ไข ได้ลลุ ว่ งสำ�เร็จ แล้วช่วยลดค่าใช้จา่ ย ลดขัน้ ตอน ในการทำ�งานลงไปได้มาก
2 ผลงานรูปธรรมที่ภาคภูมิใจ
งานแรกคือ เราทำ�หน้าที่ส่งเสริมท้องถิ่น ให้ มี ก ารจั ด ระบบการจั ด เก็ บ รายได้ ที่ สู ง ขึ้ น นอกจากระบบในเรื่องของการทำ�ระบบแผนที่ ภาษีมาใช้แล้ว เรายังส่งเสริมให้ท้องถิ่นใช้ ระบบการจั ด เก็ บ ภาษี ผ่ า นระบบธนาคาร เพราะฉะนั้นหมายความว่าการเก็บภาษีต่างๆ นั้ น ผู้ เ สี ย ภาษี จ ะต้ อ งมายื่ น เสี ย ภาษี เ องที่ องค์ ก รปกครองท้ อ งถิ่ น ยกตั ว อย่ า งง่ า ยๆ บางคนมี ที่ ดิ น อยู่ ที่ ลำ � ปาง แต่ บ้ า นอยู่ ท าง ร้อยเอ็ด หรือทางปักษ์ใต้ การมาเสียภาษีกท็ �ำ ให้ เกิดความล่าช้า แล้วองค์การปกครองท้องถิ่น ก็เก็บภาษีไม่ครบถ้วน วันนี้เราได้นำ�ระบบของ Lampang 43
หลักสำ�คัญคือ ขอให้มีคุณธรรม และมีจิตบริการ สาธารณะที่ดี จะได้ช่วย ส่งเสริมประเทศชาติ ให้มีความเจริญ รุ่งเรืองต่อไป
44
วันนี้เราได้นำ�ระบบของ การเสียภาษีผ่านระบบ ธนาคารมาใช้ ไม่วา่ จะอยู่ ที่ไหนก็ตาม ก็สามารถ เสียภาษีที่ธนาคาร ใกล้บ้านได้ตลอด การเสียภาษีผ่านระบบธนาคารมาใช้ ไม่ว่าจะ อยูท่ ไี่ หนก็ตาม ก็สามารถเสียภาษีทธี่ นาคารใกล้ บ้านได้ตลอด ซึ่งระบบนี้เอามาทำ�ทั้งจังหวัด ลำ�ปาง แล้วส่งผลให้มียอดการจัดเก็บภาษีได้ มากขึ้น มีภาษีติดค้างน้อยมาก เกิดการบริการ ที่ประชาชนภาคภูมิใจ และรู้สึกว่าเป็นระบบที่ เอื้อต่อการเปลี่ยนแปลงทันสมัยกับไลฟ์สไตล์ ของคนปัจจุบันมากขึ้น นอกจากนัน้ ในระบบการบริหารสำ�นักงาน ในสำ�นักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัด เราพบว่ามีรถยนต์ที่ใช้ในการทำ�งานของท้องถิ่น 4 คัน แต่เราไม่สามารถควบคุมระบบการจ่าย น้�ำ มันได้ วันนีเ้ ราได้ใช้ระบบเทคโนโลยีใหม่ ก็คือ เอาเรื่องระบบฟีดการ์ดของธนาคาร มาใช้ วันนีเ้ ราสามารถควบคุมค่าใช้จา่ ยใน การบริหารงานได้มาก จากเดิมทีเ่ ราเสียค่า ใช้จ่ายค่าน้ำ�มันไปเยอะก็ลดลงกว่าครึ่ง ทำ�ให้การบริหารงานมีความโปร่งใสขึ้น และเกิดประโยชน์กับรัฐมากขึ้น อันนี้ เป็ น ผลงานที่ ทำ �ให้ เ ห็ น เป็ น รู ป ธรรม อย่างชัดเจน
จากใจท้องถิ่นจังหวัด ถึง อปท. ต่างๆ
ผมมี ค วามต้ อ งการให้ ท้ อ งถิ่ น เน้ น ในเรื่ อ งของคุ ณ ธรรมและความโปร่ ง ใสในการ ทำ�งาน เพราะว่าลักษณะการทำ�งานทุกวันนี้เราถูกตรวจสอบจากหน่วยงาน ต่างๆ เยอะ ไม่วา่ จะภาครัฐด้วยกัน หรือภาคประชาชนด้วยกัน เพราะฉะนัน้ การทำ�งานต่างๆ จะต้องยึดระเบียบและความถูกต้องของประชาชนเป็นหลัก อย่าไปยึดผลประโยชน์สว่ นตน การทำ�งานต่างๆ ต้องยึดผลประโยชน์ของชาติและประชาชนเป็นส่วนรวม หลักสำ�คัญคือ ขอให้มีคุณธรรม และมีจิตบริการสาธารณะที่ดี จะได้ช่วยส่งเสริมประเทศชาติให้มีความ เจริญรุ่งเรืองต่อไป
Lampang 45
เส้นทางพบ
องค์การบริหารส่วนจังหวัดลำ�ปาง
องค์กรแห่งการพัฒนา และบริการสาธารณะ แบบบูรณาการ คือวิสัยทัศน์ขององค์การบริหารส่วนจังหวัดลำ�ปาง ซึ่งมีความหมายครอบคลุมประเด็นต่างๆ ดังนี้ องค์กรแห่งการพัฒนา หมายความว่า องค์การบริหารส่วนจังหวัดเป็นองค์กรทีม่ คี ณ ุ ภาพ บุคลากรมีความรู้ ความสามารถ มีระเบียบวินยั มีความรับผิดชอบ มีขวัญและกำ�ลังใจในการ ปฏิบตั งิ าน มีความเชือ่ มัน่ มีความจงรักภักดีและ ความภาคภูมใิ จในองค์กร ยอมรับการเปลีย่ นแปลง มี ค วามพร้ อ มที่ จ ะปฏิ บั ติ ง านอยู่ เ สมอ การ ทำ�งานและการบริหารงบประมาณมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล ประชาชนมีความพึงพอใจใน การปฏิบัติงาน บริการสาธารณะแบบบูรณาการ หมายความ ว่า การให้บริการสาธารณะเพื่อแก้ไขปัญหา ตอบสนองต่ อ ความต้ อ งการของประชาชน จังหวัดลำ�ปาง มีการเชือ่ มโยงแผนงานโครงการ การประสานข้อมูล ประสานงบประมาณ และ ประสานการทำ�งานด้านอืน่ ๆ กับหน่วยงานและ องค์กรต่างๆ เพือ่ ก่อให้เกิดประโยชน์ตอ่ ประชาชน จังหวัดลำ�ปาง
โครงสร้างองค์กร/บุคลากร
นางสุนี สมมี นายกองค์การบริหารส่วน จังหวัดลำ�ปาง ปัจจุบนั นายเกรียงเดช สุทธภักติ รองนายก องค์การบริหารส่วนจังหวัด รักษาราชการแทน นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดลำ�ปาง นายทองดี จอมวงค์ ปลัดองค์การบริหาร ส่วนจังหวัดลำ�ปาง และมีรองปลัดฯ 3 คน ได้แก่ นายทักษิณ อัครวิชยั ,นายบุญเรือง จิตตา และ นางสุพรรณี สุขสันต์รุ่งเรือง มี ส มาชิ ก องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นจั ง หวั ด ลำ�ปาง จำ�นวน 30 คน (ปัจจุบนั มี 29 คน เนือ่ งจาก เสียชีวติ 1) โดย นายพิษณุพล ประสาน ประธาน สภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดลำ�ปาง นายวสันต์ อุณหเลขจิตร เป็นรองประธานสภาคนที่ 1 นายวัฒนา สิทธิวงั เป็นรองประธานสภาคนที่ 2 46
โดยองค์การบริหารส่วนจังหวัดลำ�ปาง แบ่งการบริหารงานภายในออกเป็น 7 กอง 1 หน่วย ได้แก่ 1. สำ�นักปลัด อบจ. 2. กองกิจการสภา 3. กองแผนและงบประมาณ 4. กองคลัง 5. กองช่าง 6. กองการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 7. กองพัสดุและทรัพย์สิน และ หน่วย ตรวจสอบภายใน มีขา้ ราชการ 149 คน ลูกจ้าง 29 คน พนักงาน จ้าง 99 คน และครูในสังกัดโรงเรียนวอแก้ววิทยา 11 คน รวมบุคลากรทั้งสิ้น 288 คน
15 พันธกิจของ อบจ.ล�ำปาง
1. ก่อสร้าง พัฒนาถนน สะพาน และบำ�รุง รักษาสายทางอืน่ ให้ประชาชนสามารถเดินทาง ไปมาได้สะดวก สามารถเชื่อมโยงเส้นทาง การจราจรระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ จังหวัดลำ�ปาง 2. ก่อสร้าง พัฒนา ปรับปรุงแหล่งน้�ำ เพื่อ การเกษตร เพือ่ ประกอบอาชีพ และน้�ำ เพือ่ ใช้ใน ชีวิตประจำ�วันของประชาชนจังหวัดลำ�ปาง 3. ส่งเสริมและพัฒนาระบบผังเมือง โดย ประสานการทำ�งานกับส่วนราชการ และองค์กร ปกครองส่วนท้องถิน่ เพือ่ สร้างความเข้าใจร่วม กันในการจัดระบบผังเมืองให้ถูกต้องตามข้อ ระเบียบ/กฎหมาย 4. อนุรกั ษ์ บำ�รุง รักษาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม เพื่อคงไว้ซึ่งความสมดุลของ ระบบนิเวศน์ทมี่ ผี ลกระทบต่อการดำ�รงชีพของ ประชาชนจังหวัดลำ�ปาง 5. พัฒนาระบบการจัดการมลพิษ และการ จัดการปัญหาขยะ ให้เกิดผลชัดเจนอย่างเป็น
รูปธรรม โดยเน้นการบูรณาการ เชื่อมโยงการ ดำ�เนินการร่วมกับส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ องค์กร ภาคเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ องค์กรภาคประชาชน 6. ส่งเสริม สนับสนุน และให้การสังคม สงเคราะห์เพือ่ สร้างคุณภาพชีวติ ทีด่ ใี ห้แก่ เด็ก สตรี คนชรา ผูพ้ กิ าร และผูด้ อ้ ยโอกาสให้ได้รบั การบริการสาธารณะทีเ่ หมาะสม โดยการประสาน การทำ�งานร่วมกับส่วนราชการ องค์กรภาคเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และองค์กรภาค ประชาชน 7. ส่งเสริม สนับสนุนและสร้างโอกาสให้ ประชาชนเข้าถึงการบริการสาธารณสุขมูลฐาน
เพือ่ ให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจและความ ตระหนักในเรื่องการดูแลสุขภาพอย่างถูกวิธี โดยดำ�เนินการร่วมกับส่วนราชการ และอาสา สมัครสาธารณสุขประจำ�หมู่บ้าน 8. ส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชน เล่นกีฬา การออกกำ�ลังกาย หรือกิจกรรมอื่น เพื่อให้ประชาชนใช้เวลาให้เกิดประโยชน์ และ ห่างไกลยาเสพติด 9. ส่งเสริมให้ประชาชนสืบทอด สืบสาน ศิลปวัฒนธรรม ประเพณี และภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่ ตามบริบททีห่ ลากหลาย และอัตลักษณ์ของแต่ละ ท้องถิ่น ให้คงอยู่คู่กับจังหวัดลำ�ปางตลอดไป 10. ส่งเสริมและพัฒนาการศึกษาให้เกิด Lampang 47
13. ส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนบน วิถีแห่งเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อสร้างสรรค์และ ส่งเสริม ให้ประชาชนมีรายได้จนุ เจือครอบครัว โดยอาศัยภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่ และเทคนิควิธกี าร ร่วมสมัย ในการสร้างอาชีพให้กับประชาชน จังหวัดลำ�ปาง ตลอดจนถึงการเพิม่ ช่องทางการ จำ�หน่ายสินค้าให้กับประชาชนจังหวัดลำ�ปาง 14. ส่งเสริมและสนับสนุนการพาณิชย์ การ ลงทุน เพื่อผลิตและจำ�หน่ายสินค้าบนพื้นฐาน องค์ความรู้เชิงสร้างสรรค์ สอดคล้องกับความ ต้องการของตลาดทั้งภายในและภายนอก 15. ช่วยเหลือ สนับสนุนส่วนราชการ องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น โดยองค์การบริหารส่วน จังหวัดลำ�ปาง เป็นหน่วยงานหลักในการดำ�เนิน การเพื่อประสานแผนการทำ�งาน ประสานงบ ประมาณ และประสานงานด้านอืน่ ๆ เพือ่ แก้ไข ปัญหาและพัฒนางานในระดับพื้นที่
กลุ่มอาชีพขององค์การบริหารส่วน จังหวัดล�ำปาง
สัมฤทธิผลตามเกณฑ์ที่กำ�หนดไว้ รวมถึงการ พัฒนาและการให้บริการการศึกษาตามอัธยาศัย ของประชาชน โดยดำ�เนินการร่วมกับส่วนราชการ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 11. เสริ ม สร้ า งการป้ อ งกั น บรรเทา สาธารณภัยให้กับประชาชนจังหวัดลำ�ปางให้ รวดเร็ว ทัว่ ถึง และทันเวลา ตลอดจนสนับสนุน การรักษาความสงบเรียบร้อยเพื่อป้องกันชีวิต และทรัพย์สินให้กับประชาชนจังหวัดลำ�ปาง 12. มุ่งสร้างและพัฒนาชุมชน สังคมให้ เข็มแข็ง โดยอาศัยกระบวนการมีสว่ นร่วม การ ส่งเสริมระบอบประชาธิปไตย การตระหนักรูถ้ งึ หน้าที่ สิทธิ และจิตสำ�นึกของการเป็นพลเมือง ที่ดี โดยดำ�เนินการร่วมกับส่วนราชการ และ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 48
สรุปจำ�นวนสมาชิกเครือข่ายกลุ่มอาชีพขององค์การบริหารส่วนจังหวัดลำ�ปาง จำ�นวน(กลุ่ม) อ.เมือง อ.เกาะ อ.งาว ประเภทงาน ลำ�ปาง คา 1. อาหาร 36 9 3 2. เครื่องดื่ม 3 1 3. ผ้าและเครื่องแต่งกาย 31 11 8 4. ของใช้และเครื่องประดับ 23 3 10 5. สมุนไพรที่ไม่ใช่อาหาร 1 2 2 6. งานเกษตร 2 1 รวม 94 27 25
อ.แจ้ ห่ม 5 8 5 1 19
อง อ.แม่ อ.เถิน อ.เมื ปาน ทะ 5 2 1 2 3 1 1 5 1 1 2 9 9 6
อ.แม่ พริก 3 2 1 6
อ.แม่ เมาะ 1 3 1 5
อ.วัง เหนือ 3 11 4 18
อ.สบ อ.เสริม อ.ห้าง ปราบ งาม ฉัตร 1 5 1 2 6 2 1 6 2 2 1 1 2 11 17
รวม 73 6 88 61 13 7 248
อบจ.ล�ำปาง ชวนเที่ยวทั่วล�ำปาง
จังหวัดลำ�ปาง ประกอบด้วย 13 อำ�เภอ ซึง่ แต่ละอำ�เภอต่างก็มีสถานที่ท่องเที่ยวโดดเด่น และน่าสนใจมากมาย อาทิ สัมผัสชีวิตแบบสโลว์ไลฟ์ บนรถม้าเมือง ลำ�ปาง ในสมัยของเจ้าบุญวาทย์วงศ์มานิต ซึง่ ตรงกับสมัยรัชกาลที่ 5 รถม้าเป็นพาหนะชนิด เดียวที่ได้รับความนิยมในการเดินทางสูงสุด โดยรถม้าคันแรกได้ถกู ซือ้ มาจากกรุงเทพฯ เมือ่ กรุงเทพฯ มีรถยนต์ใช้มากขึน้ บทบาทของรถม้า จึงลดลง แต่รถม้าที่นครลำ�ปางยังมีให้เห็นอยู่ ตราบจนกระทั่งวันนี้ เป็นบริการนั่งรถม้าชม เมืองลำ�ปาง โดยสมาคมรถม้าลำ�ปางกำ�หนด ค่าโดยสารไว้ 3 อัตรา คือ รอบเมืองเล็ก 150 บาท รอบเมืองใหญ่ 200 บาท หรือเช่าเหมาชั่วโมง ละ 300 บาท คิวจอดรถม้าอยูท่ หี่ น้าศาลากลาง หลังเก่า บริการระหว่างเวลา 05.00-20.00 น. ส่วนบริเวณหน้าตลาดอัศวิน โรงแรมเวียงลคอร และโรงแรมลำ�ปางเวียงทอง บริการระหว่าง เวลา 05.00-21.00 น. ไปนับเสาบ้านโบราณล้านนา-พม่า ทีบ่ า้ น เสานัก ตั้งอยู่ที่ 6 ถนนป่าไม้ เป็นบ้านทรงไทย สถาปัตยกรรมล้านนาผสมพม่า สร้างเมือ่ พ.ศ. 2438 เดิมสร้างด้วยไม้สักทั้งหลัง ที่เรียกว่า บ้านเสานัก เพราะว่ามีเสาทั้งหมด 116 ต้น (นัก แปลว่า มาก) แต่เดิมใช้เป็นสถานทีต่ อ้ นรับ แขกบ้านแขกเมือง และเป็นทีต่ งั้ แสดงเครือ่ งใช้ โบราณทัง้ ของไทยและของพม่า ปัจจุบนั เปิดให้ เข้าชมทุกวัน ระหว่างเวลา 10.00 - 17.00 น. ค่า เข้าชมพร้อมเครื่องดื่ม 30 บาท/ท่าน และมี บริการรับจัดอาหารกลางวัน/อาหารเย็นสำ�หรับ หมู่คณะ นอกจากนี้ยังรับจัดขันโตกและงาน พิธีมงคล ช็อป ชิม ชิล ทีก่ าดกองต้า หรือ ตลาดจีน ย่านการค้าที่เคยรุ่งเรืองในอดีต ปัจจุบันมีการ อนุรักษ์สภาพอาคาร ร้านค้าที่ทรงคุณค่าทาง สถาปัตยกรรม และวัฒนธรรมตามสมัยนิยมใน อดีตที่ผ่านมา และจัดเป็นถนนคนเดินในวันเสาร์ และอาทิตย์ ตัง้ แต่เวลา 17.00 - 22.00 น. ระยะทาง ราว 1 กม. มีสนิ ค้าหลากหลายชนิด เช่น อาหาร Lampang 49
สินค้าพืน้ เมือง ของเล่นไม้ ฯลฯ สามารถเดินเลือกซือ้ สินค้า และชมความงามของสถาปัตยกรรมไปด้วย สักการะพระเกศาธาตุ ณ วัดพระแก้วดอนเต้า ตั้งอยู่ที่ถนนสุชาดา ต.เวียงเหนือ อ.เมือง เป็น วัดเก่าแก่และสวยงาม มีอายุนบั พันปี เคยเป็น ที่ประดิษฐานพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร (พระแก้วมรกต) ตัง้ แต่ ปี พ.ศ. 1979 เป็นเวลา นานถึง 32 ปี ปูชนียสถานทีส่ �ำ คัญ ได้แก่ องค์พระ บรมธาตุของดอนเต้า พระเจดียอ์ งค์ใหญ่ ซึง่ บรรจุ พระเกศาธาตุของพระพุทธเจ้า วิหารหลวงที่ ประดิษฐานพระพุทธไสยาสน์ที่มีอายุเก่าแก่ พอๆ กับวัดนี้ นอกจากนี้ยังมีวิหารหลวงเป็นที่ ประดิษฐานพระพุทธรูปปางมารวิชยั วิหารพระเจ้า ทองทิพย์สร้างศิลปะสมัยเชียงแสน มณฑปหรือ พญาธาตุศิลปะแบบพม่า วิหารลายคำ�สุชาดา รวมฝีมอื ช่างเชียงแสน ภายในมีจติ รกรรมฝาผนัง โดยมีลวดลายทองประดับตามส่วนต่างๆ งดงาม เป็นทีป่ ระดิษฐานพระพุทธรูปเชียงแสน และยัง มีพพิ ธิ ภัณฑสถานแห่งล้านนา อันเป็นแหล่งรวบ รวมศิลปวัตถุแบบล้านนา เช่น สัตตภัณฑ์ เครือ่ ง ถ้วย กระเบื้อง พระพุทธรูป เป็นต้น ศึกษาธรรมชาติ ณ อุทยานแห่งชาติถ�้ำ ผาไท อ.งาว ถ้�ำ ขนาดใหญ่ มีบนั ได 283 ขัน้ ก่อนเข้าถ้�ำ ภายในถ้ำ�เป็นโถงขนาดใหญ่ มีทางเดินลึกจาก ปากถ้�ำ เข้าไปราว 1,150 เมตร มีหนิ งอกหินย้อย รูปทรงแปลกตามากมาย และมีพระพุทธรูปองค์ ใหญ่ภายในถ้�ำ ซึง่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 7 เคยเสด็จประพาสเมื่อ พ.ศ. 2469 ดังปรากฏหลักฐานพระปรมาภิไธยย่อ ปปร.ภายใน ถ้�ำ มีคา้ งคาวจำ�นวนมากได้อาศัยอยู่ บริเวณใกล้
50
เคียงมีถ�้ำ โจรและถ้�ำ เสือทีม่ ปี ระวัตเิ ก่าแก่ บริเวณ โดยรอบเป็นป่าทีอ่ ดุ มสมบูรณ์ จึงมีนกมากกว่า 50 ชนิด เช่น นกปีกลายสก๊อต นกเขาเขียว นกเขาเปล้าธรรมดา นกเขาเปล้าหางเข็มทาง ภาคเหนือ เหยี่ยวขาว ฯลฯ มีแมลงหลากชนิด เช่น ผีเสื้อกลางวัน ด้วงหนวดยาว กว่างดาว ด้วงดิน เป็นต้น อุทยานฯ มีพนื้ ทีก่ างเต็นท์และ บ้านพักรับรอง 2 หลัง สำ�หรับนักท่องเทีย่ วประมาณ 25 คน แต่ตอ้ งเตรียมอาหารและเครือ่ งนอนไปเอง ติดต่อได้ที่ หมู่ 3 ต.บ้านหวด อ.งาว จ.ลำ�ปาง 52110 โทร.08 3203 7330 , 08 6914 798 ดูกงิ้ ก่าบินได้ ณ อุทยานแห่งชาติแม่วะ เป็น ต้นกำ�เนิดของน้�ำ ตกแม่วะ มีพนื้ ที่ 368,125 ไร่ ครอบคลุมพืน้ ทีต่ �ำ บลต่างๆ ใน อ.เถิน อ.แม่พริก จ.ลำ�ปาง อ.สามเงา อ.บ้านตาก จ.ตาก ภูมปิ ระเทศ เป็นเทือกเขาสูงติดต่อกัน โดยมีดอยตาจีเ่ ป็นยอด เขาสูงสุด มีความสูงประมาณ 1,027 เมตร จาก ระดับน้ำ�ทะเล สภาพป่าแตกต่างกันไปตามระดับ ความสูงของพืน้ ที่ และมีสตั ว์ตา่ งๆ อาศัยอยูห่ ลาย ชนิด แต่ทนี่ า่ สนใจ คือกิง้ ก่าบิน ซึง่ ปัจจุบนั จะพบ เห็นได้ยาก ระหว่างเดือนสค.-พย. จะเป็นช่วงที่ ป่างามมากทีส่ ดุ เต็มไปด้วยสีสนั ของดอกไม้ปา่ กล้วยไม้นานาชนิด ยอดเขาจะมีหมอกปกคลุม น้ำ�ตกและลำ�ห้วยจะมีน้ำ�ไหลแรงนักท่องเที่ยว นิยมมาผักผ่อนในช่วงเดือนนี้ อุทยานฯที่พัก สถานที่กางเต็นท์ และสิ่งอำ�นวยความสะดวก สำ�หรับนักท่องเทีย่ ว ติดต่อได้ที่ อุทยานแห่งชาติ แม่วะ โทร. 0 5429 2510 หรือติดต่อกรมอุทยาน แห่งชาติสตั ว์ปา่ และพันธุพ์ ชื โทร.0 2562 0760 พักโฮมสเตย์บ้านสามขา อาสาทำ�ฝาย
ชะลอน้�ำ บ้านสามขาเป็นหมูบ่ า้ นเล็กๆ ในเขต อ.แม่ทะ ชาวบ้านมีวถิ ชี วี ติ ทีเ่ รียบง่าย เป็นหมูบ่ า้ น ปลอดยาเสพติด และมีระบบการจัดการแก้ไข หนี้สินภายในชุมชนที่ดี คนในชุมชนมีความ สามัคคีร่วมแรงร่วมใจในการพัฒนาหมู่บ้าน มีการรักษาสิ่งแวดล้อมภายในชุมชนอย่างดีเยี่ยม โดยมีการสร้างฝายชะลอน้�ำ กว่า 3,500 ฝาย ภายใน ชุมชนมีบ้านพักแบบโฮมสเตย์จำ�นวน 14 หลัง รองรับนักท่องเที่ยวหรือนักศึกษาที่สนใจอยาก ไปศึกษาชีวิตความเป็นอยู่ในชุมชน หรืออยาก มีสว่ นร่วมในการสร้างฝายชะลอน้�ำ ซึง่ สิง่ เหล่านี้ ได้บง่ บอกถึงความมีศกั ยภาพและความเข้มแข็ง ของชุมชนเป็นเลิศ เรียนรูก้ ารแกะไม้ ทีห่ มูบ่ า้ นแกะสลักบ้าน หลุก ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นหลุก ต.นาครัว อ.แม่ทะ สัมผัส กับอีกหนึง่ ประสบการณ์เรียนรูก้ ารแกะสลักไม้ ทีม่ คี วามโดดเด่นในการสร้างสรรค์รปู สัตว์ตา่ งๆ ซึ่งเป็นงานศิลปหัตถกรรมที่มีการสืบทอดมานาน ด้วยฝีมอื อันประณีตงดงาม และมีรปู แบบทีท่ นั สมัยจึงได้รับความนิยมจากนักท่องเที่ยว หินงอกหินย้อยตระการตา ณ ถ้�ำ น้�ำ ผ่าผางาม ตัง้ อยูร่ มิ ถนนทางหลวงหมายเลข 1 (ซุปเปอร์ไฮเวย์ เชียงใหม่-กรุงเทพ) กิโลเมตรที่ 496 อ.แม่พริก เป็นถ้�ำ หินปูนลึก 300 เมตร ภายในถ้�ำ มีหนิ งอก หินย้อยสวยงามตลอดระยะทางทีเ่ ย็นสบาย เงียบ สงบเหมาะสำ�หรับวิปัสสนากรรมฐาน ปัจจุบัน นอกถ้�ำ มีส�ำ นักสงฆ์ทสี่ วยงาม มีพทุ ธศาสนิกชน มาร่วมธรรมบุญเป็นจำ�นวนมาก นมัสการรอยพระพุทธบาทศักดิ์สิทธิ์ ณ วัดพุทธบาทวังตวง ต.พระบาทวังตวง อ.แม่พริก
วัดพุทธบาทวังตวง เป็นวัดคูบ่ า้ นคูเ่ มืองของอำ�เภอ แม่พริก ที่มีรอยพระพุทธบาทศักดิ์สิทธิ์ 2 รอย คือรอยของพระพุทธเจ้าและรอยพระบาทของ พระอานนท์ ซึง่ ทางวัดได้จดั เทศกาลสรงน้�ำ ขึน้ ในช่วงปลายเดือนเมษายนของทุกปี สักการะพระธาตุบนดอยหนอก เทือกเขา ผีปันน้ำ� อยู่ในเขตอุทยานแห่งชาติดอยหลวง ต.วังทอง อ.วังเหนือ ดอยหนอกเป็นภูเขาหินหัวโล้น ขนาดใหญ่ลกั ษณะนูนขึน้ มาคล้ายโหนกวัว เป็น ดอยสูงสุดบนสันดอยหลวงของเทือกเขาผีปันน้ำ� สามารถเดินทางขึ้นดอยหนอกจากบ้านปงถ้ำ� ต.วังทอง อ.วังเหนือ ด้วยการจ้างรถอีแต๊กของ ชาวบ้านซึง่ มีทางวิง่ ได้ขนึ้ 4 กม. และต้องเดินต่อ อีก 4 กม. ไปสักการะพระธาตุเพือ่ ความเป็นสิริ มงคล บนยอดดอยดูทิวทัศน์ได้ถึง 360 องศา ชมฟ้ามุย่ สีสดแปลกตา ณ อุทยานแห่งชาติ ดอยจง ตัง้ อยูใ่ นเขต อ.สบปราบ มียอดดอยจง เป็นดอยทีส่ งู สุด เป็นทีร่ าบกว้างซึง่ มีปา่ สนเขา ขึ้นกระจายเป็นกลุ่มๆ และมีหน้าผาเป็นจุดชม ทิวทัศน์อยูห่ ลายแห่ง สามารถชมทิวทัศน์และชม พระอาทิตย์ขึ้นและลับขอบฟ้าได้ ในช่วงเดือน ตค.-มค. จะพบกล้วยไม้โดยเฉพาะฟ้ามุย่ ซึง่ มีสี งดงามแปลกกว่าฟ้ามุ่ยในพื้นที่อื่น ตรงข้ามที่ ทำ�การอุทยานฯ เป็นภูเขาลูกเล็กๆ ริมอ่างเก็บน้�ำ ห้วยแม่ยอง เรียกว่า ผาช้าง เป็นจุดชมวิวทีส่ วย งาม นอกจากนีย้ งั มีถ�้ำ และน้�ำ ตกอืน่ ๆ ทีเ่ พิง่ จะ สำ�รวจพบ เช่น น้�ำ ตกห้วยค่าง ผายอง ถ้�ำ ห้วยแดง ถ้ำ�ก้นหอย และถ้ำ�แม่เก่ง ผู้สนใจต้องติดต่อ เจ้าหน้าทีช่ ว่ ยนำ�ทาง และต้องเตรียมเสบียง เต็นท์ ถุงนอน และสัมภาระส่วนตัวไปเอง ศูนย์อนุรกั ษ์ชา้ งไทยและสวนป่าทุง่ เกวียน ตั้งอยู่ที่บ้านทุ่งเกวียน ต.เวียงตาล อ.ห้างฉัตร แต่เดิมเป็นศูนย์ฝึกลูกช้างซึ่งเป็นแห่งแรกและ แห่งเดียวในโลก โดยเริ่มดำ�เนินการมาตั้งแต่ พ.ศ.2512 เพื่อฝึกลูกช้างให้เชื่อฟังคำ�สั่งและมี ความชำ�นาญในการชักลากไม้ เมือ่ มีนโยบายปิดป่า ศูนย์ฝึกลูกช้างจึงถูกปรับมาโรงพยาบาลช้าง เพือ่ ดูแลช้างแก่และเจ็บป่วย และจัดกิจกรรมเพือ่ การท่องเทีย่ วได้แก่ การแสดงของช้าง มีบริการ นัง่ ช้างรอบสวนป่า บริการอาหารเครือ่ งดืม่ และ ร้านขายของทีร่ ะลึก การแสดงของลูกช้างทุกวัน ลอดอุโมงค์รถไฟยาวทีส่ ดุ ณ อุทยานแห่ง ชาติดอยขุนตาล เป็นเทือกเขากัน้ เขตแดนระหว่าง จังหวัดลำ�พูน ทีอ่ �ำ เภอแม่ทา และจังหวัดลำ�ปาง ที่อำ�เภอห้างฉัตร มีอุโมงค์รถไฟยาวที่สุดใน ประเทศไทย เป็นระยะทาง 1,352 เมตร รถไฟ ใช้เวลาวิง่ ผ่านประมาณ 5 นาที อุโมงค์ขนุ ตาล มีวศิ วกรชาวเยอรมันมาสำ�รวจการเจาะอุโมงค์ ซึง่ เป็นหินแกรนิต เมือ่ ปี พ.ศ. 2450 ในสมัยรัชกาล ที่ 5 ปัจจุบนั ทางอุทยานฯให้บริการทีพ่ กั และสิง่ อำ�นวยความสะดวก ติดต่อได้ทกี่ รมอุทยานแห่ง
ชาติและพันธุพ์ ชื โทร. 0 2562 0760 หรืออุทยาน แห่งชาติดอยขุนตาล โทร.0 5351 9216 ช็อปปิ้งสินค้าหัตถกรรม ณ ศูนย์ศิลปชีพ แม่ต�๋ำ ตัง้ อยูท่ อี่ �ำ เภอเสริมงาม เป็นโครงการใน พระราชดำ�ริ ซึง่ มีกจิ กรรมหลัก 3 อย่างคือ กิจกรรม ปลูกป่าและป้องกันรักษาพันธุส์ ตั ว์ปา่ กิจกรรม ด้านเกษตรกรรม มีแปลงสาธิตการเกษตรให้ ราษฎรได้ดเู ป็นตัวอย่าง และกิจกรรมส่งเสริมอาชีพ ได้แก่ เครือ่ งปัน้ ดินเผา ทอผ้าทัง้ ผ้าฝ้ายและผ้าไหม แกะสลัก ปลูกหม่อนเลีย้ งไหม เมือ่ ผลิตภัณฑ์ตา่ งๆ สำ�เร็จเป็นรูปร่าง ก็จะนำ�ผลิตภัณฑ์เหล่านี้มา จำ�หน่ายในราคาถูก เป็นรายได้เสริมอีกส่วนหนึง่ ด้วย ศึกษาแหล่งกำ�เนิดไฟฟ้า ณ เหมืองลิกไนต์ เป็นแหล่งถ่านหินลิกไนต์ทมี่ ปี ริมาณถึง 630 ล้านตัน และมีอายุประมาณ 40 ล้านปี โดยการไฟฟ้าฝ่าย ผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ได้สร้างโรงไฟฟ้า แม่เมาะเพือ่ ผลิตกระแสไฟฟ้าจากถ่านหินส่งไป ใช้งานทัง้ ภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออก เฉียงเหนือ ปัจจุบนั กฟผ. ได้จดั ทำ�จุดชมวิวเป็น สวนหย่อมปลูกไม้ดอกไม้ประดับต่างๆ อย่าง สวยงาม และมีบา้ นพักรับรองของ กฟผ. สนาม กอล์ฟ และสโมสร สอบถามรายละเอียดได้ที่ ฝ่ายประชาสัมพันธ์โรงไฟฟ้าแม่เมาะ โทร. 0 5425 2730-1 , 0 5402 5272
ไปแชะไปแชร์ ทีท่ งุ่ ดอกบัวตอง ตัง้ อยูบ่ น บริเวณที่ทิ้งดินด้านตะวันออกของบ่อเหมือง อ.แม่เมาะ ดอกบัวตองจะบานสะพรัง่ เหลืองอร่าม สวยงามสะดุดตา บนพืน้ ทีก่ ว่า 500 ไร่ ในช่วง เดือนพย.-ธค.ของทุกปี และเป็นจุดชมวิวทิวทัศน์ รอบๆ กฟผ.แม่เมาะ โดยในเวลาช่วงเช้าของฤดู หนาวจะมองเห็นทะเลหมอกปกคลุมไปทัว่ บริเวณ เป็นภาพที่ตื่นตาตื่นใจแก่นักท่องเที่ยว ชมดอกเสีย้ วบาน ณ บ้านป่าเหมีย้ ง ตัง้ อยูท่ ี่ ต.แจ้ซอ้ น อ.เมืองปาน จ.ลำ�ปาง โดยตัง้ บนภูเขาสูง มีทรัพยากรธรรมชาติทสี่ มบูรณ์ มีอากาศหนาว เย็นตลอดปี ทำ�ให้มตี น้ ชาหรือต้นเหมีย้ งขึน้ ชุกชุม จุดเด่นของบ้านป่าเหมีย้ งคือจะมีดอกเสีย้ วหรือ ดอกชงโคสีขาวบานสะพรั่ง ในเดือนมค.-กพ. ของทุกปี ซึ่งเป็นแห่งเดียวในจังหวัดลำ�ปาง
หมายเหตุ
ติดตามข้อมูลสถานทีท่ อ่ งเทีย่ วสำ�คัญๆ อาทิ วัดพระเจดียซ์ าวหลัง, เขือ่ นกิว่ ลม (อ.เมือง) วัด พระธาตุล�ำ ปางหลวง, วัดเสลารัตนปัพพตาราม หรือวัดไหล่หนิ (อ.เกาะคา) วัดเฉลิมพระเกียรติ พระจอมเกล้าราชานุสรณ์ (อ.แจ้หม่ ) น้�ำ ตกวังแก้ว (อ.วังเหนือ) อุทยานแห่งชาติแจ้ซอ้ น (อ. เมืองปาน) ได้ในคอลัมน์ “เส้นทางท่องเที่ยว” Lampang 51
เส้นทางพบ
อุตสาหกรรมจังหวัด
52
นายสมศักดิ์ หวลกสิน อุตสาหกรรมจังหวัดลำ�ปาง
ลำ�ปางเป็นจังหวัดทีม่ ที รัพยากรธรรมชาติทที่ รงคุณค่าและมีความหลากหลาย อันเป็นต้นทุน ในภาคอุตสาหกรรมทีม่ คี วามสำ�คัญระดับประเทศเลยทีเดียว “นายสมศักดิ์ หวลกสิน” อุตสาหกรรมจังหวัดลำ�ปาง กรุณาให้ข้อมูลเกี่ยวกับภาคอุตสาหกรรมที่โดดเด่นของ จังหวัดลำ�ปางไว้อย่างน่าสนใจ ตลอดจนกล่าวถึงวิสัยทัศน์ นโยบาย ยุทธศาสตร์และ แนวทางการพัฒนา และผลการดำ�เนินงานที่โดดเด่น ดังนี้ ภาพรวมด้านอุตสาหกรรมของจังหวัด ล�ำปาง
จังหวัดลำ�ปาง มีสถานประกอบการภาค อุตสาหกรรมจำ�นวนมากทีม่ ศี กั ยภาพ ประกอบ ด้วย 2 ส่วนหลัก ซึง่ มีบทบาทสำ�คัญในการพัฒนา ด้านเศรษฐกิจของจังหวัด ดังนี้ 1) อุตสาหกรรมการทำ�เหมืองแร่และ เหมืองหิน ได้แก่ 1.1 อุตสาหกรรมการทำ�เหมืองถ่านหิน (เกรดลิกไนต์) ของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่ง ประเทศไทย (กฟผ.) เพือ่ ใช้ไปในการผลิตกระแส ไฟฟ้าและสนับสนุนภาคอุตสาหกรรมอืน่ ๆ ซึง่ มี มูลค่าผลิตภัณฑ์ประมาณ 5,600 ล้านบาท/ปี การจ้างแรงงานจำ�นวน 2,624 คน 1.2 อุตสาหกรรมเหมืองแร่และเหมืองหิน ได้แก่ อุตสาหกรรมการทำ�หินปูนเพือ่ อุตสาหกรรม ซีเมนต์, การทำ�เหมืองหินปูนเพื่ออุตสาหกรรม ก่อสร้าง, การทำ�เหมืองแร่ดนิ ขาว บอลเคลย์ และ ถ่านหิน ซึง่ มีจ�ำ นวนประทานบัตร 32 ราย 127 แปลงมูลค่าการผลิตประมาณ 260 ล้านบาท/ปี การจ้างแรงงานจำ�นวน 2,428 คน 2) โรงงานอุตสาหกรรม มีทั้งสิ้นจำ�นวน 1,660 โรงงาน เงินลงทุนจำ�นวน 77,030.24 ล้าน บาท มีการจ้างแรงงานจำ�นวน 29,694 คน โดยมี กลุ่มอุตสาหกรรมที่สำ�คัญ ดังนี้ 2.1 กลุม่ อุตสาหกรรมอโลหะ มีทงั้ สิน้ จำ�นวน 282 โรงงาน เงินลงทุนจำ�นวน 8,731.84 ล้าน บาท การจ้างแรงงานจำ�นวน 10,381 คน ได้แก่ อุตสาหกรรมผลิตปูนซีเมนต์ อุตสาหกรรมทำ� เครือ่ งเคลือบดินเผาหรือเซรามิก ซึง่ เป็นอุตสาหกรรม ดัง้ เดิมมีชอื่ เสียงควบคูก่ บั จังหวัดลำ�ปางมาเป็น ระยะเวลานาน จนเป็นเอกลักษณ์ในนาม “ถ้วยชาม ตราไก่” นอกจากนีย้ งั พบว่ามีผปู้ ระกอบการรายย่อย จำ�นวนมาก ทีไ่ ด้มกี ารทำ�อุตสาหกรรมเครือ่ งเคลือบ ดินเผาในหมู่บ้าน/ชุมชน ซึ่งประกอบกิจการ ในลักษณะหัตถอุตสาหกรรม จัดตั้งเป็นกลุ่ม วิ ส าหกิ จ ชุ ม ชน หรื อ เป็ น อุ ต สาหกรรมใน ครัวเรือน
2.2 กลุม่ อุตสาหกรรมอาหาร เครือ่ งดืม่ และ แปรรูปการเกษตร มีทงั้ สิน้ จำ�นวน 749 โรงงาน เงินลงทุนจำ�นวน 7,627.77 ล้านบาท การจ้าง แรงงานจำ�นวน 3,081 คน ที่สำ�คัญๆ ได้แก่ อุตสาหกรรมแปรรูปผักและผลไม้บรรจุกระป๋อง อุตสาหกรรมห้องเย็นและแช่แข็งเพื่อเก็บพืชผัก และผลไม้ อุตสาหกรรมผลิตแป้งข้าวจ้าวและ ข้าวเหนียว อุตสาหกรรมปรับปรุงสภาพเม็ดพันธุ์ พืชไร่ อุตสาหกรรมผลิตครัง่ เม็ด นอกจากนีย้ งั มี อุตสาหกรรมผลิตน้�ำ อัดลม ซึง่ รวมมูลค่าผลิตภัณฑ์ ในกลุ่มอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่มและ แปรรูปการเกษตรทัง้ สิน้ ประมาณ 3,000 ล้านบาท/ปี 2.3 กลุม่ อุตสาหกรรมแปรรูปไม้และผลิตภัณฑ์ จากไม้ มีทงั้ สิน้ จำ�นวน 312 โรงงาน เงินลงทุน จำ�นวน 1,849.93 ล้านบาท การจ้างแรงงานจำ�นวน 6,218 คน ที่สำ�คัญๆ ได้แก่ อุตสาหกรรมผลิต เครือ่ งเรือน อุตสาหกรรมเลือ่ ยไม้ อุตสาหกรรม แกะสลักทำ�ผลิตภัณฑ์ และอืน่ ๆ จากไม้ โดยเฉพาะ อุตสาหกรรมการแกะสลักไม้และผลิตภัณฑ์จาก ไม้ไผ่ ถือเป็นงานหัตถอุตสาหกรรมทีม่ คี วามเป็น อัตลักษณ์ของจังหวัดลำ�ปางมาอย่างยาวนาน 2.4 กลุม่ อุตสาหกรรมพลังงานไฟฟ้า จังหวัด ลำ�ปางนัน้ เป็นทีท่ ราบกันดีวา่ เป็นแหล่งอุตสาหกรรม ผลิ ตไฟฟ้ า จากพลั งงานถ่ า นหิ น ที่ สำ � คั ญของ ประเทศไทย ในนามโรงไฟฟ้าแม่เมาะ ของการ ไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ซึง่ มีการ ลงทุนเป็นเงิน จำ�นวน 41,128.12 ล้านบาท การ จ้างแรงงาน จำ�นวน 2,624 คน มีก�ำ ลังการผลิต ไฟฟ้าขนาด 2,400 เมกะวัตต์ นอกจากนี้ยังมี อุตสาหกรรมผลิตไฟฟ้าจากพลังงานอืน่ ๆ ได้แก่ อุตสาหกรรมผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ มีจ�ำ นวน 18 โรงงาน เงินลงทุนจำ�นวน 9,355.92 ล้านบาท การจ้างแรงงาน จำ�นวน 87 คน มีก�ำ ลัง การผลิตไฟฟ้ารวมประมาณ 115 เมกกะวัตต์ อุตสาหกรรมผลิตไฟฟ้าจากพลังงานชีวมวล จำ�นวน 1 โรงงาน เงินลงทุน จำ�นวน 577.52 ล้านบาท การจ้างแรงงาน 28 คน และยังมีการผลิตไฟฟ้า จากพลังงานน้�ำ อีก 2 แห่ง ได้แก่ จากเขือ่ นกิว่ ลม Lampang 53
และเขือ่ นกิว่ คอหมา รวมกำ�ลังการผลิต จำ�นวน 5.53 เมกะวัตต์
วิสัยทัศน์ และนโยบายส�ำคัญของ สอจ.ล�ำปาง
วิสยั ทัศน์ ของ สอจ.ลำ�ปาง ปี 2560-2563 คือ “พัฒนาอุตสาหกรรม นำ�เศรษฐกิจสูค่ วาม ยั่งยืน” โดยการนำ�แนวคิดและนโยบายของ กระทรวงอุตสาหกรรมมาประยุกต์ใช้ คือ การ เป็นทีพ่ งึ่ แก่ผปู้ ระกอบการและประชาชนอย่าง แท้จริง พร้อมทัง้ การน้อมนำ�แนวทางการพัฒนา ทีไ่ ด้รบั พระราชทานมาใช้ ได้แก่ “เข้าใจ เข้าถึง และพัฒนา” ซึง่ นโยบายสำ�คัญของ สอจ.ลำ�ปาง มุ่งเน้น 4 ด้าน ได้แก่ 1. การส่งเสริมพัฒนาอุตสาหกรรมขนาดกลาง และขนาดย่อม (SMEs) ให้มขี ดี ความสามารถ ในการแข่งขัน อาทิ การเพิม่ ผลผลิต มาตรฐาน ผลิตภัณฑ์ รูปแบบผลิตภัณฑ์ การสร้างนวัตกรรม และด้านระบบการบริหารจัดการธุรกิจ 2. การกำ�กั บ ดู แ ลตามกฎหมายอย่ า ง เคร่งครัด ในเรื่องความปลอดภัย การป้องกัน และแก้ไขปัญหามลพิษสิ่งแวดล้อมจากการ ประกอบกิจการโรงงาน การนำ�กากอุตสาหกรรม จากการประกอบการเข้าสูร่ ะบบการกำ�จัด หรือ การใช้ประโยชน์ที่ถูกต้อง รวมถึงส่งเสริมให้ ผูป้ ระกอบการเข้าสูอ่ ตุ สาหกรรมสีเขียว มุง่ พัฒนา สู่การเป็นเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ 3. การขับเคลือ่ นงานตามนโยบายเร่งด่วน ของรัฐบาล เพือ่ ตอบสนองในเชิงพืน้ ที่ ได้แก่ การ 54
เพิม่ ศักยภาพทางเศรษฐกิจของประเทศ ด้วยการ พัฒนาผู้ประกอบการให้มีขีดความสามารถใน การแข่งขัน เพือ่ ให้เกิดการจ้างงาน การกระจาย รายได้ การพัฒนาและส่งเสริมการใช้ประโยชน์ จากการวิจยั และพัฒนา และนวัตกรรม ควบคูไ่ ป กับการปฏิบัติราชการด้วยการยึดหลักธรรมาภิบาล การป้องกันปราบปรามการทุจริตและประพฤติ มิชอบในภาครัฐ 4. การพัฒนาองค์กร ได้แก่ การปรับปรุง กระบวนการทำ�งาน ทัศนคติการทำ�งานของ เจ้าหน้าที่ให้ทำ�งานด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต โปร่งใส่ รวมถึงการพัฒนาสมรรถนะบุคลากร ให้มีความรู้เท่าทันต่อการเปลี่ยนแปลง และมี ความสามารถให้ค�ำ ปรึกษา แนะนำ�แก่ผปู้ ระกอบการ ได้อย่างถูกต้อง
จัดการ สร้างและพัฒนาเครือข่ายผูป้ ระกอบการ อุตสาหกรรมและหัตถอุตสาหกรรม ยุทธศาสตร์ที่ 4 : การพัฒนาสมรรถนะของ องค์กร สำ�หรับแนวทางการพัฒนาภาคอุตสาหกรรม นั้น สำ�นักงานอุตสาหกรรมจังหวัดลำ�ปางมุ่งเน้น การพัฒนาในเชิงความคิดสร้างสรรค์ นวัตกรรม การเพิ่มมูลค่า และการบริหารจัดการข้อมูล สารสนเทศ เพื่อสนับสนุนการพัฒนาของภาค อุตสาหกรรม การเชือ่ มโยงบูรณาการการทำ�งาน ทัง้ ระบบ ตัง้ แต่ตน้ น้�ำ กลางน้�ำ ปลายน้�ำ รวมถึงการประกอบ การภาคอุตสาหกรรมที่เป็น มิตรกับสิ่งแวดล้อม
ประกอบด้วย ยุ ท ธศาสตร์ ที่ 1 : เพิ่ ม ศั ก ยภาพของผู้ ประกอบการอุตสาหกรรมและหัตถอุตสาหกรรม ให้มีความสามารถในการแข่งขันทั้งในประเทศ และต่างประเทศ ยุทธศาสตร์ที่ 2 : ส่งเสริมและสนับสนุน สถานประกอบการอุตสาหกรรมสูอ่ ตุ สาหกรรม สีเขียว และมีการบริหารจัดการเชิงเศรษฐกิจ สร้างสรรค์ และการมีสว่ นร่วมช่วยเหลือชุมชน และสังคม ยุทธศาสตร์ที่ 3 : เพิม่ ประสิทธิภาพการบริหาร
จังหวัดลำ�ปาง มี อุ ต สาหกรรม เซรามิ ก เป็ น จำ�นวนมาก ซึง่ ถือเป็นจุดแข็ง ของจั ง หวั ด เนือ่ งจากมีแหล่ง ดิ นขาวที่ สำ � คั ญใน พื้ น ที่ ที่ มี คุ ณ ภาพ มี การพัฒนานวัตกรรม ในการผลิ ต มาอย่ า ง
อุตสาหกรรมเซรามิก... ยุทธศาสตร์ & แนวทางการพัฒนา จุดแข็งในเวที ยุทธศาสตร์การพัฒนาภาคอุตสาหกรรม อาเซียน
ANG THONG 4
ต่อเนื่อง ทั้งจากการส่งเสริมสนับสนุนการ ประกอบการจากภาครัฐ โดยเฉพาะมีการจัดตัง้ ศูนย์พฒ ั นาอุตสาหกรรมเซรามิกจังหวัดลำ�ปาง โดยกรมส่ ง เสริ ม อุ ต สาหกรรม กระทรวง อุตสาหกรรม เมือ่ ปี 2535 และภาคเอกชนเอง ที่มีการรวมกลุ่มของผู้ประกอบการกันอย่าง เข้มแข็ง ประกอบกับจังหวัดลำ�ปางเองก็ได้ให้ ความสำ�คัญกับการเป็นนครลำ�ปางเมืองเซรามิก อันเป็นผลิตภัณฑ์คเู่ มืองลำ�ปางมาอย่างช้านาน จนเป็นที่รู้จักกันอย่างกว้างขวางทั่วประเทศ และกำ�ลังจะขยายไปสู่อาเซียนต่อไป
โครงการเพื่อ SMEs เข้มแข็ง
กระทรวงอุตสาหกรรม และสำ�นักงาน ส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.) ได้ด�ำ เนินโครงการปรับแผนธุรกิจและเพิม่ ขีดความสามารถ SMEs จำ�นวน 7,000 กิจการ ทั่วประเทศ ซึ่งสำ�นักงานอุตสาหกรรมจังหวัด ลำ�ปางได้ดำ�เนินการประชาสัมพันธ์ เชิญชวน ผูป้ ระกอบการ SMEs ในภาคการผลิตทีป่ ระสบ ปัญหาในการดำ�เนินธุรกิจเข้าร่วมโครงการฯ เพื่อให้สามารถประกอบธุรกิจได้อย่างต่อเนื่อง ในภาวะเศรษฐกิจชะลอตัว ด้วยการพัฒนาจัดการ ธุรกิจทีเ่ ป็นระบบ สามารถจัดทำ�แผนพัฒนาและ ฟืน้ ฟูธรุ กิจ และต่อยอดการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใน เชิงนวัตกรรม และสามารถกลับมาดำ�เนินธุรกิจ เจริญเติบโตต่อไปได้ โดยมีผปู้ ระกอบการเข้าร่วม โครงการของจังหวัดลำ�ปาง จำ�นวน 70 กิจการ นอกจากนี้ ยังได้บูรณาการการทำ�งานกับ
หน่วยงานในสังกัดกระทรวงอุตสาหกรรม เพือ่ ให้ความช่วยเหลือผูป้ ระกอบการในจังหวัดลำ�ปาง ในด้านต่างๆ อีกหลายหน่วยงาน อาทิ กรมส่งเสริม อุตสาหกรรม , สถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิง่ ทอ และกับหน่วยงานอื่นๆ เช่น สำ�นักงานพัฒนา ชุมชน , สำ�นักงานพาณิชย์จงั หวัด และหน่วยงาน จากกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อย่าง สม่ำ�เสมอทุกปี
10 ผลงานเด่นตามนโยบายรัฐบาล
สำ�นักงานอุตสาหกรรมจังหวัดลำ�ปาง มี โครงการทีด่ �ำ เนินงานในปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 ซึง่ สอดรับกับนโยบายของรัฐบาลในเรือ่ ง การลด ความเหลื่อมล้ำ�ของสังคมสร้างโอกาสการเข้าถึง บริการของรัฐ , การเพิม่ ศักยภาพทางเศรษฐกิจของ ประเทศ การพัฒนาและส่งเสริมการใช้ประโยชน์ จากวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจยั และพัฒนา และนวัตกรรม อยู่หลายโครงการ ได้แก่ 1. โครงการส่งเสริมและพัฒนาอุตสาหกรรม ขนาดกลางและขนาดย่อม และวิสาหกิจชุมชน ในภูมภิ าค ในปี 2559 2. โครงการพัฒนาขีดความ สามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรมแปรรูป การเกษตรในภูมภิ าค 3. โครงการในการบริหาร จัดการลุม่ น้�ำ และวางระบบธรรมาภิบาลสิง่ แวดล้อม 4. โครงการการสร้างและพัฒนาเครือข่าย อุตสาหกรรมรักษ์สงิ่ แวดล้อม 5. โครงการส่งเสริม และพัฒนาสถานประกอบการสู่อุตสาหกรรม สีเขียว 6. โครงการดำ�เนินงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์ ชุมชน ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 7. โครงการ
ส่งเสริมการใช้ภาชนะเซรามิกในจังหวัดลำ�ปาง 8. โครงการพัฒนาคุณภาพผ้าทอมือด้วยเส้นใย สับปะรด (ต่อเนือ่ ง) 9. โครงการพีเ่ ลีย้ งน้อง และ 10. โครงการยกระดับผลิตภัณฑ์ชุมชนด้วย ผลิตภัณฑ์สีเขียว (Green Product)
ฝากถึงผูป้ ระกอบการเพือ่ อุตสาหกรรม ยั่งยืน
ขอให้ผปู้ ระกอบการอุตสาหกรรมได้ตระหนัก ในเรือ่ งความรับผิดชอบต่อสังคม และการพัฒนา ที่ ยั่ ง ยื น โดยการประกอบกิ จ การที่ ใ ส่ ใ จต่ อ สิง่ แวดล้อม ใช้การบริหารจัดการเชิงป้องกันปัญหา ที่จะเกิดขึ้น และสามารถอยู่ร่วมกับชุมชนได้ ขอให้อยูร่ ว่ มกับชุมชนรอบๆ สถานประกอบการ เสมือนหนึง่ เป็นคนในครอบครัวเดียวกัน สร้าง กิจกรรมที่เกิดประโยชน์ต่อชุมชนอย่างสม่ำ�เสมอ โดยขอให้ตระหนักอยูต่ ลอดเวลาว่า ผู้ที่อยูร่ ่วม กับสถานประกอบการตลอดชีวิตของอายุโรงงาน ที่แท้จริง คือประชาชนในชุมชนรอบๆ สถาน ประกอบการ มิใช่ผอู้ นื่ จึงสมควรอย่างยิง่ ทีต่ อ้ ง เอาใจใส่ก่อนผู้อื่นอยู่เสมออย่างจริงใจ Lampang 55
พลังงานจังหวัดล�ำปาง วิศวกรผู้ทุ่มเท ชีวิตพอเพียง เพื่อพลังงานเพียงพอ ภายใต้แนวคิด “เศรษฐกิจพอเพียง” ซึง่ ประกอบด้วยยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศทีใ่ ห้ความส�ำคัญกับการพัฒนาคุณภาพคน สังคมไทยไปสู่สังคมภูมิปัญญา และการเรียนรู้ การใช้พลังงานในอดีต แต่เดิมมนุษย์มีเพียงอาหารเท่านั้นที่เป็นแหล่งพลังงาน ต่อมามนุษย์เริ่มรู้จักไฟ โดยมีการใช้ไฟท�ำให้อาหารสุก และเริ่มใช้ไม้เป็นเชื้อเพลิงให้ ความร้อน ในการท�ำกิจกรรมต่าง ๆ การด�ำรงชีวติ มนุษย์มคี วามต้องการใช้พลังงานตลอด เวลา ไม่วา่ จะเป็นการใช้พลังงานเพือ่ ตอบสนองต่อความต้องการขัน้ พืน้ ฐาน มนุษย์ยงั ใช้ พลังงานเพือ่ ให้การด�ำรงชีวติ มีความสะดวกสบาย จึงอาจกล่าวได้วา่ มนุษย์ไม่สามารถ ด�ำรงชีวิตอยู่ได้หากปราศจากพลังงาน การพัฒนาเศรษฐกิจและเทคโนโลยี ท�ำให้ความต้องการใช้พลังงานเพิม่ มากขึน้ ในขณะที่แหล่งพลังงานหลักของโลกมีปริมาณจ�ำกัด และมีแนวโน้มลดลงเรื่อย ๆ ในส่วนของประเทศไทย ถึงแม้จะมีแหล่งพลังงานของตนเอง แต่ยังคงไม่เพียงพอกับ ความต้องการ ท�ำให้ต้องพึ่งพาพลังงานน�ำเข้าจากต่างประเทศมาโดยตลอด โดยเฉพาะ ความต้องการใช้ก๊าซหุงต้ม หรือ ก๊าซแอลพีจี (LPG) ที่เพิ่มสูงขึ้นอย่างมาก ท�ำให้จาก เดิมที่ไทยเคยเป็นประเทศผู้ส่งออก กลับต้องเป็นผู้นำ� เข้า ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2551 เป็นต้น มา ท่ามกลางวิกฤตด้านพลังงานเช่นนี้ ทางรอดที่ดีและยั่งยืนที่สุด คือ การพึ่งพาตนเอง ด้วยพลังงานทดแทน ซึ่งหากจะว่ากันในเรื่องของก๊าซหุงต้มแล้ว เทคโนโลยีที่ช่วยแก้ ปัญหาได้อย่างตรงจุดที่สุดก็คงหนีไม่พ้น “บ่อหมักก๊าซชีวภาพ” เพื่อทดแทนก๊าซหุงต้ม LPG ในครัวเรือน
โครงการส่งเสริมการผลิตพลังงานชีวภาพจากมูลสัตว์ในระดับครัวเรือนเพื่อ ใช้ทดแทนก๊าซ LPG โดยส�ำนักงานพลังงานงานจังหวัดล�ำปางได้ผลักดันโครงการ จากการใช้บอ่ แก๊สชีวภาพทีผ่ ลิตจากมูลสัตว์ เมือ่ น�ำไปใช้ในครัวเรือน ปรากฏว่าเกิดการ ลดการใช้ก๊าซหุงต้ม LPG จากครัวเรือนละประมาณ 15 ถัง (ถังละ 15 กิโลกรัม) ต่อปี ถังละ 400 บาท ประหยัดเงินได้ประมาณครัวเรือนละ 6,000 บาทต่อปี ลดการปล่อย ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ Co2 จ�ำนวน 1,232.10 กิโลกรัมต่อปี และยังได้ประโยชน์ จากมูลสัตว์ที่ล้นออกมาทางบ่อล้น สามารถน�ำไปเป็นปุ๋ยส�ำหรับต้นไม้ และยังช่วยด้าน การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม และการพัฒนาคุณภาพชีวิต จังหวัดล�ำปาง จะเป็นต้นแบบหมู่บ้านการใช้พลังงานทดแทน ลดการพึ่งพา พลังงานเชิงพาณิชย์ และเป็นศูนย์รวมแหล่งพลังงานสะอาด สามารถพึง่ พาตนเองได้จาก การลดรายจ่าย เพิม่ รายได้ สร้างอาชีพ สร้างความสุข ผสมผสานกับต้นทุนทีม่ อี ยูใ่ นชุมชน ภูมิปัญญาดั้งเดิม และการแสวงหาความรู้ใหม่ ๆ น�ำมาบูรณาการร่วมกัน เราสามารถ สร้างพลังงานทดแทนต้นทุนต�ำ่ ได้ นับเป็นก้าวแรกทีน่ ำ� ไปสูอ่ นาคตของการพึง่ พาตนเอง ด้านพลังงานได้อย่างยั่งยืน “มีพลังงาน มีความสุข” ใน “ล�ำปาง นครแห่งความสุข”
“นางสายธาร ประสงค์ความดี” วิศวกรสาวเก่งและแกร่ง กับบทบาท “พลังงานจังหวัดล�ำปาง” ในด้านการก�ำกับดูแล และส่งเสริมการด�ำเนินงาน ด้านความปลอดภัย และ สิ่งแวดล้อมของกิจการน�ำ้ มันเชื้อเพลิง และก๊าซปิโตรเลียมเหลวในระดับพื้นที่ ซึ่งมีคลัง น�้ำมัน 4 แห่ง คลังก๊าซปิโตรเลียมเหลว 4 แห่ง โดยมีมาตรฐานความปลอดภัยในการ ควบคุมดูแล ตามหลักเกณฑ์ และเงื่อนไขในการอนุญาตเกี่ยวกับการประกอบกิจการ เชื้อเพลิง ให้เป็นไปตาม พ.ร.บ.ควบคุมน�ำ้ มันเชื้อเพลิง พ.ศ. 2542
“มั่นใจ ปลอดภัย สิ่งแวดล้อมดี”
เส้นทางพบ
สำ�นักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดลำ�ปาง
มุ่งมั่น ในการอำ�นวยการและประสานงานการบริหารจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพื่อการสงวน อนุรักษ์ ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยการส่งเสริมการมี ส่วนร่วมแบบบูรณาการเชิงพื้นที่
คือวิสัยทัศน์ของสำ�นักงานทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมจังหวัดลำ�ปาง ซึ่งเป็นส่วนราชการในภูมิภาคของ สำ�นักงานปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยสำ�นักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมจังหวัดลำ�ปาง มีพนั ธกิจในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม ในพื้นที่จังหวัดลำ�ปาง
ข้อมูลทั่วไป
จังหวัดลำ�ปาง ตั้งอยู่ในภาคเหนือตอนบน มีสภาพ ภูมิประเทศเป็นขุนเขาทอดยาวจากเหนือจรดใต้ ตอนกลางของ จังหวัดเป็นแอ่งทีร่ าบลุม่ ลำ�น้�ำ วัง มีเนือ้ ทีท่ ง้ั หมด 7,805,190.87 ไร่ ประกอบด้วยป่าสงวนแห่งชาติจำ�นวน 33 ป่า มีเนื้อที่ตามท้าย กฎกระทรวงจำ�นวน 5,634,346.50 ไร่ ป่าอนุรกั ษ์ จำ�นวน 16 แห่ง เนื้อที่จำ�นวน 2,430,879.77 ไร่
อำ�นาจหน้าที่
สำ�นักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จังหวัดลำ�ปาง มีอำ�นาจหน้าที่ ดังนี้ 1. จัดทำ�แผนจัดการสิ่งแวดล้อมของจังหวัด และแผน ปฏิบัติการเพื่อการจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมในระดับจังหวัด รวมทั้ ง ติ ด ตาม ประเมิ น ผล และตรวจสอบสถานการณ์ สิ่ ง แวดล้อมของจังหวัด 2. ดำ�เนินการตามกฎหมายว่าด้วยป่าไม้ กฎหมายว่า ด้วยป่าสงวนแห่งชาติ กฎหมายว่าด้วยสวนป่า กฎหมายว่าด้วย เลือ่ ยโซ่ยนต์ กฎหมายว่าด้วยการสงวนและคุม้ ครองสัตว์ปา่ และ กฎหมายอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ตามที่ได้รับมอบหมาย 58
3. เฝ้าระวัง ตรวจสอบ กำ�กับดูแล ส่งเสริม เผยแพร่ และบำ�รุงรักษาระบบเตือนภัยเกี่ยวกับทรัพยากรน้�ำ ในระดับจังหวัด รวมทั้งประสานการจัดทำ�แผนปฏิบัติการ และติดตามประเมินผล การดำ�เนินงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 4. กำ�กับดูแลการประกอบกิจการน้ำ�บาดาลตามกฎหมาย ว่าด้วยน้ำ�บาดาล และกิจการประปา 5. ส่ ง เสริ ม เผยแพร่ และสร้ า งการมี ส่ ว นร่ ว มของ ประชาชน ในการสงวน อนุรกั ษ์ และฟืน้ ฟูทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมของจังหวัด 6. ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของ หน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง หรือที่ได้รับมอบหมาย โดยดำ�เนินการสนับสนุนการปฏิบัติตามแผนแม่บท แก้ไข ปัญหาการทำ�ลายทรัพยากรป่าไม้ การบุกรุกที่ดินของรัฐ และการ บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน มีการบูรณาการร่วม กับจังหวัดลำ�ปาง สำ�นักจัดการทรัพยากรป่าไม้ท่ี 3 (ลำ�ปาง) กรมป่าไม้ สำ�นักบริหารพืน้ ทีอ่ นุรกั ษ์ท่ี 13 (สาขาลำ�ปาง) กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ปา่ และพันธุพ์ ชื รวมทัง้ ภาคเอกชน เช่น การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่ง ประเทศไทย และบริษัทเอสซีจี ซิเมนต์ จำ�กัด เพื่อดำ�เนินภารกิจให้ เป็นไปตามเป้าหมายในการป้องกัน อนุรกั ษ์และฟืน้ ฟูพนื้ ทีป่ า่ ไม้ เพือ่ คงพื้นที่ป่าไม้ที่มีอยู่ร้อยละ 70.84 ของพื้นที่จังหวัดไว้ ทัง้ นี้ เพือ่ ให้ทรัพยากรป่าไม้ท้ ถี่ กู บุกรุกทำ�ลาย กลับฟืน้ คืนสู่ สภาพทีส่ มบูรณ์ รักษาความหลากหลายทางชีวภาพ ความสมดุลของ ระบบนิเวศน์และสิง่ แวดล้อม อย่างมีประสิทธิภาพและเป็นรูปธรรม เพือ่ “คงความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรป่าไม้และสิง่ แวดล้อมให้ กับประเทศชาติ เพื่อความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืนของประชาชน และประเทศไทย” lampang 59
เส้นทางพบ
ทางหลวงชนบทลำ�ปาง
นายยุทธศักดิ์ ต่อโชติ ผู้อ�ำนวยการแขวงทางหลวงชนบทล�ำปาง
ที่อยู่แขวงทางหลวงชนบทล�ำปาง 669 หมู่ 15 ต�ำบลบ่อแฮ้ว อ�ำเภอเมือง จังหวัดล�ำปาง 52100 Tel.054-218848 Fax.054-228652 วิสัยทัศน์ :
“ให้พัสมบูฒนารณ์เพิอย่่มคุาณงพอเพี ค่า เติมต่อโครงข่ายทาง ยงและยั่งยื”นเพื่อ ประโยชน์สุขของประชาชน
พันธกิจ : “พัฒนาและยกระดับมาตรฐานทางหลวงชนบท เพือ่ สนับสนุน การคมนาคมขนส่ง การท่องเทีย่ ว การพัฒนาการเมืองอย่างบูรณา การและยั่งยืน แก้ไขปัญหาการจราจร โดยการสร้างทางเชื่อม (Mising Link ) ทางเลี่ยง (By Pass) ทางลัด (Short Cut) รวม ทัง้ สนับสนุน และส่งเสริมการพัฒนาทางหลวงท้องถิน่ ให้แก่องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น ตลอดจนพัฒนาองค์กรตามยุทธศาสตร์การ พัฒนาระบบราชการไทย” นายวรวิทย์ ขัตติโย : ผู้อำ� นวยการกลุ่มวิชาการ นายชาตรี แขนงแก้ว : ผูอ้ ำ� นวยการส่วนปฏิบัติการ นางวิไลวรรณ เครือปาละ : ผูอ้ �ำนวยการส่วนอ�ำนวยการ
เส้นทางพัฒนาชุมชน โดย พัฒนาการจังหวัดลำ�ปาง นายอภิวัฒน์ ธีระวาสน์ กลุ่มกาแฟสดเขลางค์นครจากไร่ปางมะโอ 58 หมู่ 8 ต�ำบลวังเงิน อ�ำเภอแม่ทะ จังหวัดล�ำปาง 52150 ติดต่อ : นายพันธ์ศักดิ์ ศรีวงษ์ โทร : 08-1492-7745
กลุ่มสมุนไพรพรรณทิพย์ 179/1 หมู่ที่ 2 ต�ำบลเมืองยาว อ�ำเภอห้างฉัตร จังหวัดล�ำปาง 52190 ติดต่อ : นางรุจิรัตน์ กาวิชัย โทร : 081-5305083, 054 343234
กระเป๋าใบบัว กลุ่มผลิตภัณฑ์ศิรดา (Sirada) 156 หมู่ที่ 5 บ้านเกาะคา ต�ำบลเกาะคา อ�ำเภอเกาะคา จังหวัดล�ำปาง 52130 ติดต่อ : คุณสมศักดิ์ หงษ์วิเศษ โทร : 054 284881, 081 846 8938 เว็บไซต์ : www.thaitambon.com/sirada
Lampang 61
เส้นทางการศึกษา
มหาวิทยาลัยราชภัฏลำ�ปาง มหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ประวัติมหาวิทยาลัยราชภัฏล�ำปาง
มหาวิทยาลัยราชภัฏลำ�ปาง มีชื่อเดิมว่า “วิทยาลัยครูลำ�ปาง” ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 9 มิถุนายน 2514 เริ่มเปิดการเรียนการสอน เมื่อ ปี พ.ศ. 2515 ในระดับหลักสูตรประกาศนียบัตร วิชาการศึกษา ใน พ.ศ.2516 เริ่มเปิดสอนใน ระดับหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาการศึกษา ชั้นสูง มีการประกาศใช้ “พระราชบัญญัติ วิทยาลัยครู พ.ศ.2518” ส่งผลให้วทิ ยาลัยครู สามารถเปิดสอนในระดับปริญญาตรีได้ ในปี พ.ศ. 2519 วิทยาลัยครูล�ำ ปาง จึงได้เปิดสอน ในระดับปริญญาตรี สาขาวิชาการศึกษา ต่อมาเมื่อมีการประกาศใช้ “พระราช บัญญัตวิ ทิ ยาลัยครู (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2527” กฎหมายกำ�หนดให้วิทยาลัยครูสามารถผลิต บัณฑิตสาขาวิชาชีพอื่นนอกเหนือจากสาขา วิชาการศึกษา ดังนัน้ ในปีพ.ศ. 2529 วิทยาลัยครู ลำ�ปางจึงได้เปิดสอนในระดับปริญญาตรีสาขา ศิลปศาสตร์ และสาขาวิทยาศาสตร์ ซึง่ ในขณะที่ สถาบันราชภัฏลำ�ปางยังใช้ชอื่ วิทยาลัยครูล�ำ ปางนัน้ ได้มีการประสานการดำ�เนินงานร่วมกับวิทยาลัย ครูอนื่ ๆ โดยรวมกันเป็นกลุม่ วิทยาลัยครู วิทยาลัย ครูลำ�ปางซึ่ งตั้ งอยู่ ใ นกลุ่ มภาคเหนื อ ตอนบน ได้ร่วมกับวิทยาลัยครูเชียงใหม่ วิทยาลัยครู เชียงราย และวิทยาลัยครูอุตรดิตถ์ เป็นกลุ่ม วิทยาลัยครูภาคเหนือตอนบน ได้พัฒนาเป็น “สหวิทยาลัยล้านนา” ตามข้อบังคับของสภาการ ฝึกหัดครูวา่ ด้วยกลุม่ วิทยาลัยครู พ.ศ. 2528 และ วิทยาลัยครูลำ�ปางได้รับเลือกให้เป็นที่ตั้งสำ�นักงาน คณะกรรมการสหวิทยาลัยล้านนา วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2535 พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยูห่ วั ภูมพิ ลอดุลยเดช ได้พระราชทาน นามวิทยาลัยครูใหม่วา่ “สถาบันราชภัฏ” วิทยาลัย ครูล�ำ ปางจึงได้เปลีย่ นชือ่ เป็น “สถาบันราชภัฏ 62
ลำ�ปาง” ตามพระราชบัญญัติสถาบันราชภัฏ พ.ศ.2538 เป็นต้นมา หลังจากมีการประกาศใช้ พระราชบัญญัตสิ ถาบันราชภัฏ พ.ศ. 2538 ส่งผล ให้สถาบันเกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายด้าน และสามารถเปิดสอนในระดับสูงกว่าปริญญาตรี ในปี พ.ศ.2542 สถาบันราชภัฏลำ�ปาง ได้ เปิ ด สอนระดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษา ในหลั ก สู ต ร ปริญญาโท ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา การบริหารการศึกษา ปี พ.ศ. 2543ได้เปิดสอน ในหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู จนถึงปัจจุบนั ต่อมา ปี พ.ศ. 2547 ได้เปิดสอน หลักสูตรปริญญาโท ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์ศกึ ษา สาขาหลักสูตรและการ สอน สาขายุทธศาสตร์การพัฒนา ปีพ.ศ.2548 เปิดสาขาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชา การจัดการ และปี พ.ศ.2549 เปิดสาขาวัด ประเมินและวิจัยทางการศึกษา และหลักสูตร รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต ด้านการจัดการศึกษาร่วมกับสถาบันอืน่ นัน้ ในปี พ.ศ.2536 ได้รบั วิทยาลัยพลศึกษา จังหวัด ลำ�ปางเข้าร่วมโครงการสมทบในสถาบันราชภัฏ ลำ�ปาง ระหว่างปี พ.ศ. 2534-2539 ได้รว่ มมือ กับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เปิดสอนหลักสูตร ปริญญาโท สาขาการเมืองการปกครองสำ�หรับ นักบริหาร ในปี พ.ศ.2543 ร่วมมือกับวิทยาลัย เทคนิคลำ�พูนเปิดโครงการจัดการศึกษาสำ�หรับ บุคลากรประจำ�การ ณ วิทยาลัยเทคนิคลำ�พูน ต่อมาในวันที่ 14 มิถนุ ายน พ.ศ.2547 ได้มี การประกาศใช้ “พระราชบัญญัตมิ หาวิทยาลัย ราชภัฏ พ.ศ.2547” ทำ�ให้สถาบันราชภัฏลำ�ปาง ปรับเปลี่ยนฐานะเป็น “มหาวิทยาลัยราชภัฏ ลำ�ปาง” ในสังกัดสำ�นักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษากระทรวงศึกษาธิการ
หลักสูตรและสาขาวิชาที่เปิดสอน
ปัจจุบนั มหาวิทยาลัยราชภัฏลำ�ปาง จัดการ ศึกษาระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก โดยมีหลักสูตรที่เปิดสอนในระดับปริญญาตรี ได้แก่ หลักสูตรครุศาสตรบบัณฑิต หลักสูตร บริหารธุรกิจบัณฑิต หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต หลักสูตรนิตศิ าสตรบัณฑิต หลักสูตรบัญชีบณ ั ฑิต หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต และหลักสูตร เทคโนโลยีบัณฑิต หลักสูตรที่เปิดสอนในระดับปริญญาโท ได้แก่ หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชา การจัดการ หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหา บัณฑิต สาขาวิชาการบริหารและพัฒนาประชาคม เมืองและชนบท และหลักสูตรบัญชีมหาบัณฑิต หลักสูตรที่เปิดสอนในระดับปริญญาเอก คือ หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบณ ั ฑิต สาขาวิชาการ จัดการ
การจัดการเรียนการสอน
มหาวิทยาลัยราชภัฏลำ�ปาง แบ่งการเรียน การสอนออกเป็น 6 คณะ คือ คณะครุศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คณะ วิทยาการจัดการ คณะวิทยาศาสตร์ คณะเทคโนโลยี การเกษตร และคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม และมีบางส่วนราชการทีม่ ฐี านะเทียบเท่าคณะ ทำ�หน้าที่สนับสนุนการจัดการศึกษา จำ�นวน
4 ส่วนราชการ ได้แก่ สำ�นักงานอธิการบดี สำ�นัก วิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ สถาบันวิจยั และพัฒนา และสำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม
มุง่ สูป่ ณิธาน “มหาวิทยาลัยเพือ่ การ พัฒนาท้องถิ่น”
มหาวิทยาลัยราชภัฏลำ�ปาง มีปณิธานและ ความมุ่งหวังที่จะเป็นสถาบันอุดมศึกษาชั้นนำ� ของภูมิภาค เป็นที่พึ่งทางปัญญาของปวงชน โดยมีภาระหน้าที่ตามมาตรา 8 แห่งพระราช บัญญัตมิ หาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ.2547 โดยสรุป คือมุ่งพัฒนาการจัดการศึกษาวิชาการ และ วิ ช าชี พ ชั้ น สู ง ดำ � เนิ น การวิ จั ย การสร้ า งและ พัฒนาองค์ความรู้ ให้เป็นองค์กรแห่งการเรียน รู้ของสังคม ให้บริการทางวิชาการแก่สังคม ส่งเสริมวิชาชีพครู คณาจารย์ และบุคลากรทาง การศึกษา ทำ�นุบ�ำ รุงศาสนาและศิลปวัฒนธรรม ศึกษา ส่งเสริม สืบสานโครงการอันเนือ่ งมาจาก แนวพระราชดำ�ริ สนับสนุนการบริหารการ จัดการสิง่ แวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติ เพือ่ ให้สมดังปณิธานที่ว่า
มหาวิทยาลัยราชภัฏลำ�ปาง มหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น อย่างแท้จริง
Lampang 63
พบกับบรรยากาศ ที่น่าพักผ่อน รับประทานอาหาร ตกปลา จากเมนูปลาสดๆ เครื่องดื่ม และอาหารตามสั่ง ด้วยกุ๊กฝีมือดี
ร้านปลาสด ฟิชชิ่งปาร์ค รับจัดงานเลี้ยงรุ่น ฉลองรับต�ำแหน่ง เกษียณอายุ ฉลองวันเกิด ราคาเป็นกันเอง ห่างจาก ม.ราชภัฏ 3.5 กม. (ด้านหลัง)
เปิดทุกวัน เวลา 08.30 – 18.30 น. ส�ำรองโต๊ะได้ที่
095-9512493, 095-7156911 มงคลศิลป์ ปลาสดฟิชชิ่ง ปาร์ค
at home
Boutique Lampang
At Home Boutique Lampang ไม่ใช่โรงแรมหรือรีสอร์ท ในลักษณะที่หลายๆท่านเคยพบ At Home Boutique Lampang เป็นที่พักสไตล์ อพาร์ทเมนท์บูทีค ที่ให้ความรู้สึกเหมือนการพักผ่อนเหมือนอยู่ที่บ้าน ภายในตกแต่งสไตล์ Lanna Contemporary อย่างเรียบง่าย สบายตาด้วยโทนสีขาวและปูน เปลือย พร้อมให้คุณสัมผัสท่ามกลางบรรยากาศอันเงียบสงบ ที่แวดล้อมไป ด้วยต้นไม้เขียวชะอุ่มและบรรยากาศร่มรื่น เราให้บริการห้องพักทั้งแบบรายวันและรายเดือนด้วยราคารวมถึงการบริการ ที่ อบอุ่นและเป็นกันเอง บนทำ�เลที่ดีที่สุดเดินทางสะดวก แวดล้อมไปด้วย ศูนย์กลางธุรกิจ ไม่ว่าจะเป็น Central Plaza ,Makro ,Tesco Lotus ,Homepro และ Big c * เรามีบริการจักรยาน ฟรี !!! และมีบริการเรียก รถ Taxi และรถโดยสารประจำ�ทาง ( รถสองแถว )
สำ�รองจองห้อง (Booking & Information) 054-317398-9, 081 5957223 ที่อยู่ 171/1 ซ.9 ถ.สุขสวัสดิ์1 ต.พระบาท อ.เมือง จ.ลำ�ปาง 52000 โทร. 054-317398-9
โรงแรมคิมซิ ตี้...สะอาด สงบ สบาย ใกล้แหล่งท่องเที่ยว โรงแรมคิมซิ ตี้ จังหวัดล�ำปำง เป็นที่รู้จักกันดีในหมู ่นักท่องเที่ยว และนักธุ รกิจชั้นน�ำ จำกสถำนที่ตงั้ ซึ่ งอยู ่ใจกลำงเมืองล�ำปำง จึงสะดวกสบำยต่อกำรเดินทำงไปยังสถำนที่ต่ำงๆ ให้บริกำรห้องพักที่สะอำด สงบ สบำย ในรำคำประหยัดที่มำพร้อมควำมประทับใจ พร้อม บริกำรห้องจัดเลี้ยง-สัมมนำ และที่จอดรถยนต์ส่วนตัว (Free Parking) ประมำณ 40 คัน และจอดรถบัสได้ถึง 6 คัน
บริการประทับใจ โรงแรมคิมซิ ตี้ ให้บริกำรห้องพักปรับอำกำศที่ กว้ำงขวำง สะอำด สงบ สบำย กว่ำ 60 ห้องพร้อม บริกำรเคเบิลทีวี / ทีวีดำวเทียม (ดูฟรี) เครื่องท�ำ น�้ำอุ ่น ฟรี WIFI พร้อมห้องประชุ ม-สัมมนำซึ่ งรองรับ ได้ 120-200 คน บริกำรอำหำรเช้ำและรับจัดเลี้ยง บริกำรซั ก-อบ-รีด และบริกำรซั กแห้ง มีลิฟท์ พร้อม ระบบรักษำควำมปลอดภัยตลอด 24 ชั่ วโมง การเดินทางสะดวกสบาย โรงแรมคิ ม ซิ ตี้ ตั้ ง อยู ่ ศู น ย์ ก ลำงของกำร คมนำคมภำยในจังหวัดล�ำปำง สนำมบินนำนำชำติ / สนำมบินในประเทศ ผ่ำน ถนนหมำยเลข 1 ระยะทำง 3.1 กิโลเมตร ใช้เวลำใน กำรเดินทำงประมำณ 7 นำที เดินเท้ำใช้เวลำประมำณ 39 นำที สถำนีรถไฟ ผ่ำนถนนฉัตรไชยและถนนประสำน ไมตรี ระยะทำง 1.9 กิโลเมตร ใช้เวลำในกำรเดินทำง ประมำณ 4 นำที เดินเท้ำใช้เวลำประมำณ 23 นำที สถำนีขนส่ง ผ่ำนถนนฉัตรไชย ระยะทำง 1.3 กิโลเมตร ใช้เวลำเดินทำงประมำณ 3 นำที เดินเท้ำใช้ เวลำประมำณ 15 นำที เพื่อควำมสะดวกสบำย โรงแรมคิมซิ ตี้ ได้จัด รถบริกำรรับ-ส่ง ไปยังจุ ดต่ำง ๆ อำทิ โรงแรมสนำมบิน ค่ำบริกำร 100 บำท / ท่ำน โรงแรม-สถำนี รถไฟ ค่ำบริกำร 50 บำท / ท่ำน โรงแรม-สถำนี ขนส่ง ค่ำบริกำร 50 บำท / ท่ำน ใกล้ศูนย์กลางเศรษฐกิจ โรงแรมคิ ม ซิ ตี้ ตั้ ง อยู ่ ติ ด กั บ ธนำคำรไทย พำณิชย์ ใกล้โรงเรียนประชำวิทย์ รำยล้อมด้วยห้ำง สรรพสินค้ำ โรงภำพยนตร์ ร้ำนอำหำร-ภัตตำคำรชื่ อ ดัง โรงพยำบำล อำทิ ห้ำงบิ๊กซี ผ่ำนถนนฉัตรไชย ระยะทำง 1.7 กิโลเมตร ใช้เวลำเดินทำงประมำณ 4 นำที เดินเท้ำใช้ เวลำประมำณ 20 นำที ห้ำงสรรพสินค้ำเซ็นทรัลล�ำปำง ผ่ำนถนนดวง รัตน์และทำงคู่ขนำน ถนนพหลโยธิน ระยะทำง 1.3 กิโลเมตร ใช้เวลำเดินทำงประมำณ 3 นำที เดินเท้ำใช้ เวลำประมำณ 16 นำที ห้องอำหำรฉอเลำะ ผ่ำนถนนฉัตรไชย ระยะทำง 500 เมตร ใช้เวลำเดินทำงประมำณ 2 นำที เดินเท้ำ ใช้เวลำประมำณ 5 นำที ภัตตำคำรนอร์ทซี ซีฟูด๊ ผ่ำนถนนฉัตรไชย ระยะ ทำง 210 เมตร ใช้เวลำเดินเท้ำประมำณ 3 นำที โรงพยำบำลศูนย์ล�ำปำง ผ่ำนถนนดวงรัตน์ ระยะทำง 2.6 กิโลเมตร ใช้เวลำเดินทำงประมำณ 7 นำที โรงพยำบำลเขลำงค์นคร-รำม ผ่ำนถนนดวง รัตน์ระยะทำง 850 เมตร ใช้เวลำเดินทำงประมำณ 3 นำที เดินเท้ำใช้เวลำประมำณ 10 นำที
ใกล้แหล่งท่องเที่ยว โรงแรมคิมซิ้ ตี้ ตัง้ อยู ่กลำงใจเมืองล�ำปำง จึง สะดวกต่อกำรเดินทำงไปยังแหล่งท่องเที่ยวส�ำคัญ มำกมำย อำทิ ข่วงนคร ผ่ำนถนนฉัตรไชย ระยะทำง 750 เมตร ใช้เวลำเดินทำงประมำณ 2 นำที เดินเท้ำใช้เวลำ ประมำณ 9 นำที ตลำดอัศวิน ผ่ำนถนนเวียงละกอนและถนนท่ำ ครำวน้อย ระยะทำง 650 เมตร ใช้เวลำเดินทำง ประมำณ 2 นำที เดินเท้ำใช้เวลำประมำณ 8 นำที กำดกองต้ำ ผ่ำนถนนฉัตรไชยและถนนบุ ญ วำทย์ ระยะทำง 1.8 กิโลเมตร ใช้เวลำเดินทำงประมำณ 5 นำที เดินเท้ำใช้เวลำประมำณ 20 นำที วัดศรีรองเมือง ผ่ำนถนนเวียงละกอนและถนน ท่ำครำวน้อย ระยะทำง 950 เมตร ใช้เวลำเดินทำง 3
นำที เดินเท้ำใช้เวลำประมำณ 11 นำที วั ด ศรี ชุ ม ผ่ ำ นถนนดวงรั ต น์ ระยะทำง 2.2 กิโลเมตร ใช้เวลำเดินทำงประมำณ 5 นำที วัดปงสนุกเหนือ ผ่ำยถนนปงสนุก ระยะทำง 2.4 กิโลเมตร ใช้เวลำเดินทำงประมำณ 6 นำที บ้ ำนเสำนั ก ผ่ำ นถนนบุ ญวำทย์ ระยะทำง 3.3 กิโลเมตร ใช้เวลำเดินทำงประมำณ 9 นำที กำดวัฒนธรรม ถนนสำยวัฒนธรรม ผ่ำน ถนนบุ ญวำทย์ ระยะทำง 2.9 กิโลเมตร ใช้เวลำเดิน ทำงประมำณ 8 นำที วัดท่ำมะโอ ผ่ำนถนนหมำยเลข 1039 ระยะทำง 3.1 กิโลเมตร ใช้เวลำเดินทำงประมำณ 7 นำที หลวงพ่อเกษม ผ่ำนถนนหมำยเลข 1035 ระยะ ทำง 8.0 กิโลเมตร ใช้เวลำเดินทำงประมำณ 13 นำที
ส�ำรองห้องพัก โรงแรมคิมซิ ตี้ ล�ำปำง 274 / 1 ถนนฉัตรไชย ต�ำบลสบตุ๋ย อ�ำเภอเมือง จังหวัดล�ำปำง 52100
โทรศัพท์ 091 412 9094, 0 5431 0031, 0 5431 0238 Fax: 0 5422 6635 https://www.facebook/kimcity.chalada.5, E-mail:lampanghotelkimcity@hotmail.com
โรงแรมสันติสุข
โรงแรมหนึ่งเดียวในอ�ำเภอที่มีใบอนุญาตประกอบธุรกิจโรงแรม
สะอาด สะดวก ปลอดภัย ใกล้ปากทางเข้า วัดเฉลิมพระเกียรติพระจอมเกล้าราชานุสรณ์ 204 ม.6 ต.วิเชตนคร อ.แจ้ห่ม จ.ล�ำปาง 52120
Tel - 0851921167,
054271290
โรงแรมอินโดจีน ล�ำปาง โรงแรมหรู มีระดับ แห่งใหม่ ในล�ำปาง
ห้องพักหรู สะอาด ทัศนียภาพดี พร้อมสิ่งอ�ำนวยความสะดวก , Free WIFI ทุกห้อง เดินทางสะดวก ใกล้ห้าง Big C, ห้าง Lotus, ห้างเซ็นทรัลล�ำปาง ฯลฯ ฟรี อินเตอร์เน็ต Free WIFI ทุกห้อง • บริการ กาแฟ, โอวัลติน
ติดต่อส�ำรองห้องพัก
โทร. 054-325818-9, 098-7536499 Fax. 054-325820 เลขที่ 149/13 ถนนพหลโยธิน ต�ำบลชมพู อ�ำเภอเมือง จังหวัดล�ำปาง 52100 email : indojinhotel@outlook.com
เส้นทางท่องเที่ยว
ลำ�ปาง.......
ไปชาร์จพลังแห่งความสุข ณ เมืองรถม้า ลำ�ปาง
พูดถึงจังหวัดลำ�ปาง เป็นต้องนึกถึงรถม้าที่พานักท่องเที่ยวชมเมือง ชมวัดวาอารามเก่าแก่ ทั้งวัดที่ดูยิ่งใหญ่อลังการไปเลย กับวัดที่มีขนาดย่อม ๆ แต่แฝงด้วยเรื่องราวความขรึมขลังน่าชม ยิ่งนัก ซึ่งระหว่างทางยังได้ชมถนนสายวัฒนธรรมที่งดงามด้วยตึกรามแต่ครั้งอดีต และวิถีชีวิตของ ชาวเมืองลำ�ปางที่ถูกเปรียบเปรยว่า...เหมือนหยุดเวลาไว้ ด้วยเหตุนี้เองจังหวัดลำ�ปางจึงเป็น 1 ใน 12 เมืองดาวรุ่ง ของกระทรวงการท่องเที่ยวและ กีฬา และยังถูกจัดให้เป็น “เมืองต้องห้าม...พลาด”ของการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.)ด้วย อย่ามัวรอช้าเลย รีบไปชาร์จพลังแห่งความสุข ณ เมืองรถม้ากันดีกว่าค่ะ 70
lumpang lampang 71
ชาร์จพลังใจในแหล่งท่องเที่ยวทางธรรม วัดพระธาตุลำ�ปางหลวง ตั้งอยู่ที่ตำ�บลลำ�ปางหลวง อำ�เภอเกาะคา จังหวัดลำ�ปาง เป็นวัดคูบ่ า้ นคูเ่ มืองลำ�ปางมาแต่โบราณ ตามตำ�นานกล่าวว่ามีมาตั้งแต่สมัยพระนางจามเทวี ราวปลาย พุทธศตวรรษที่ 20 เป็นวัดไม้ที่สมบูรณ์ที่สุดแห่งหนึ่งของไทย และงดงามด้วยสถาปัตยกรรมโบราณมากมาย อาทิ
72
พระธาตุลำ�ปางหลวง เป็นพระธาตุประจำ�ปีเกิดของคน ปีฉลู วิหารหลวง เป็นวิหารเปิดโล่งขนาดใหญ่มซี มุ้ ปราสาททองเป็น ทีป่ ระดิษฐานพระเจ้าล้านทอง วิหารพระพุทธ อายุไม่ต�ำ่ กว่า 700 ปี ภายในประดิ ษ ฐานพระพุทธรูป ปางมารวิช ัย ศิลปะเชี ย งแสน พระประธานขนาดใหญ่เต็มอาคารที่มหัศจรรย์คือปรากฏเงาพระ ธาตุภายในวิหารด้วยวิหารน้ำ�แต้ม มีภาพจิตรกรรมศิลปะล้านนา บนแผงไม้คอสองที่เก่าแก่ที่สุด และหลงเหลือเพียงแห่งเดียวใน เมืองไทย อายุราวพุทธศตวรรษที่ 21 ลงมาซุ้มพระบาท สร้าง ครอบพระพุทธบาทไว้ ภายในมองเห็นแสงหักเห ปรากฏเป็นเงา พระธาตุและพระวิหารในด้านมุมกลับ แต่มีข้อห้ามไม่ให้ผู้หญิงขึ้น กุฏิพระแก้ว เป็นที่ประดิษฐาน“พระแก้วดอนเต้า” หรือ พระแก้ว มรกต พระพุทธรูปคูบ่ า้ นคูเ่ มืองของจังหวัดลำ�ปางวิหารพระเจ้าศิลา เป็นที่ประดิษฐานพระเจ้าศิลาซึ่งเป็นพระพุทธรูปที่เก่าแก่ที่สุดใน กรุงละโว้ ซึง่ พระบิดาของพระนางจามเทวีมอบให้ประดิษฐานไว้ ณ ที่นี้พิพิธภัณฑ์จัดแสดงศิลปวัตถุจากที่ตา่ ง ๆ ที่หาชมได้ยาก เช่น สังเค็ด ธรรมาสน์ คานหาบ ตู้พระไตรปิฎก เป็นต้น วัดพระธาตุล�ำ ปางหลวงเปิดทุกวัน เวลา 07.30-17.00 น. การเดินทาง ใช้ถนนสายลำ�ปาง-เถิน ถึงหลักกิโลเมตรที่ 586 เลี้ยวเข้าไปจนถึงที่ว่าการอำ�เภอเกาะคา จากนั้นเลี้ยวขวาไปอีก 2 กิโลเมตร ถึงทางแยกเข้าไปอีก 1 กิโลเมตร หรือ นั่งรถสองแถว สีฟ้าที่ถนนรอบเวียง รวมระยะทางจากตัวเมืองลำ�ปางประมาณ 18 กิโลเมตร
lampang 73
วัดปงสนุก
วัดปงสนุก หรือวัดปงสนุกเหนือ ตัง้ อยูใ่ นเขตตำ�บลเวียง เหนือ อำ�เภอเมือง จังหวัดลำ�ปาง เป็นวัดสำ�คัญคูก่ บั จังหวัดลำ�ปาง มาช้านาน โดยสันนิษฐานว่าสร้างขึน้ ในสมัยทีเ่ จ้าอนันตยศ ราชบุตร ของพระนางจามเทวีแห่งหริภญ ุ ไชย (ลำ�พูน) เสด็จมาสร้างเขลาง ค์นคร (ลำ�ปาง) เมื่อ พ.ศ.1223 วัดนี้เคยเป็นศูนย์กลางของเวียง ละกอนและเป็นสถานทีแ่ ข่งขันดำ�น้�ำ เพือ่ แย่งชิงเมือง ระหว่างเจ้า ฟ้าชายแก้ว และท้าวลิน้ ก่าน ต่อมาในสมัยรัตนโกสินทร์ วัดแห่งนี้ เคยเป็นทีต่ งั้ ของเสาหลักเมืองหลักแรกของเมืองนครลำ�ปาง ก่อน จะย้ายไปรวมกับเสาหลักเมืองหลักอื่นที่ศาลหลักเมืองในปัจจุบัน ประการสำ�คัญคือ วัดปงสนุกยังเป็นแหล่งรวมงานพุทธศิลป์ มากมาย อาทิ พระพุทธรูปไม้ เสาหงส์ ซุม้ ประตูโขง ภาพพระบฏ เรือ่ งพระเวสสันดร ทีเ่ ขียนบนผ้าและกระดาษสา หีบธรรมโบราณ และธงช้างเผือกขนาดใหญ่ ในสมัยรัชกาลที่ 6 ซึ่งปัจจุบันทาง วัดรวบรวมนำ�มาจัดแสดงไว้เป็นพิพิธภัณฑ์งานพุทธศิลป์ อีกทั้ง 74
ยังได้บูรณะศาสนสถานสำ�คัญ อาทิพระธาตุศรีจอมไคล วิหารพระ นอน วิหารพระเจ้าพันองค์ วิหารโถงทรงจัตุรมุขที่มีรูปแบบงดงาม ซึง่ เป็นสถาปัตยกรรมระหว่างลานนาไทย พม่า และจีน ทีย่ งั คงหลง เหลืออยู่เพียงแห่งเดียวของไทย จากการที่ทางวัดปงสนุกเหนือและกรมศิลปากรได้ใช้วัตถุ เดิมในการบูรณะซ่อมแซมเกือบทั้งหมด ทำ�ให้“โครงการอนุรักษ์ มรดกทางศิลปกรรม สถาปัตยกรรมวิหารพระเจ้าพันองค์” ได้รับ คัดเลือกจาก 45 โครงการ ใน 13 ประเทศ ให้ได้รับรางวัล Award of Merit จากโครงการ 2008 Asia-Pacific Heritage Award for Cultural Heritage Conservation องค์การ UNESCOนำ�มาซึ่ง ความภาคภูมิใจให้กับชาวลำ�ปางเป็นอย่างยิ่ง
วัดไหล่หิน
วัดไหล่หินหรือวัดไหล่หินแก้วช้างยืน หรือชื่ออย่างเป็น ทางการคือวัดเสลารัตนปัพพตาราม ตั้งหมู่ที่ 2 ตำ�บลไหล่หิน อำ�เภอเกาะคา จังหวัดลำ�ปาง เป็นวัดทีม่ ศี าสนสถานขนาดกะทัดรัด แต่ความเก่าแก่ขรึมขลังของสถาปัตยกรรมทำ�ให้วัดแห่งนี้มีเสน่ห์ ดึงดูดให้นักท่องเที่ยวมาเยือนไม่ขาดสาย ตามประวัติการสร้างวัดที่จารึกบนแป้นไม้บนขื่อวิหารวัด ไหล่หิน ถอดความได้ว่า เจ้าฟ้าเมืองเชียงตุงทรงมีความศรัทธาใน พระมหาเกสระปัญโญหรือครูบามหาป่าเจ้าพระนักปฏิบตั ทิ อี่ าศัยอยู่ บนเนินเขาบ้านไหล่หิน เมืองเขลางค์นคร ซึ่งขณะนั้นมีเพียงพระ ธาตุเจดีย์หนึ่งองค์บรรจุพระบรมสารีริกธาตุขององค์สมเด็จพระ สัมมาสัมพุทธเจ้า เจ้าฟ้าเมืองเชียงตุงจึงได้สร้างวิหารขึ้นเพื่อเป็น อนุสรณ์ ในปีพ.ศ.2226
วิหารดังกล่าวสร้างโดยฝีมอื ช่างเชียงตุง ตามแบบศิลปะ ล้านนา ประดับลวดลายงดงามอ่อนช้อยทั้งหลัง โดยเฉพาะส่วน หน้าบันและซุ้มประตูประดับรูปปั้นสัตว์ในตำ�นาน อาทิ ตัวมอม นาค หงส์เป็นต้น ส่วนอุโบสถหลังเล็กซึ่งสร้างโดยเจ้าบุญวาทย์ วงศ์มานิตย์ เจ้าผูค้ รองนครลำ�ปางองค์สดุ ท้ายนัน้ ก็มคี วามงดงาม ไม่แพ้กัน เพราะประดับไม้ฉลุลวดลายสวยงามและแก้วสีต่าง ๆ นอกจากนี้ ภายในวัดยังมีพพิ ธิ ภัณฑ์วดั ไหล่หนิ จัดเก็บหอพระแก้ว ซุ้มพระพิมพ์ อาวุธโบราณ ที่หอธรรมมีใบลานเก่าแก่ของล้านนา ไทย ซึ่งพระมหาเกสระปัญโญได้จารไว้เมื่อ 300 ปีที่แล้ว เมื่อวันที่ 14 ตุลาคม พ.ศ.2523กรมศิลปากรได้ขึ้น ทะเบียนวัดไหล่หนิ เป็นโบราณสถานสิง่ ทีข่ น้ึ ทะเบียนเป็นโบราณสถาน ได้แก่ วิหารทรงล้านนา พระธาตุเจดีย์ พระอุโบสถ ซุ้มประตู กำ�แพงแก้ว และหอธรรม นอกจากนี้ในปี พ.ศ.2550 วัดไหล่หิน ยังเป็นอาคารอนุรักษ์จากสมาคมสถาปนิกสยาม
lumpang lampang 75
วัดพระเจดีย์ซาวหลัง
วัดพระเจดีย์ซาวหลังตั้งอยู่ที่ตำ�บลต้นธงชัย ห่างจาก ตัวเมือง 1.5 กิโลเมตร ตามถนนสายลำ�ปาง-แจ้ห่ม เหตุที่ชื่อว่า วัดพระเจดีย์ซาวหลังเพราะเป็นวัดที่มีเจดีย์ 20 องค์โดยมีเจดีย์ องค์ใหญ่สุดเป็นประธานอยู่ตรงกลาง แวดล้อมด้วยเจดีย์อีกสิบ เก้าองค์ ซึง่ ชาวล้านนามีความเชื่อที่สืบทอดต่อกันมาว่า หากใคร นับองค์พระเจดีย์ได้ครบ 20 องค์ ถือว่าเป็นคนมีบุญ วัดนี้เป็นศิลปะแบบล้านนาผสมศิลปะพม่า จากหลัก ฐานการขุดที่องค์พระเจดีย์ พบพระเครื่องสมัยหริภุญไชย ทำ�ให้ สันนิษฐานได้ว่าวัดนี้สร้างมานานกว่าพันปี ที่ด้านข้างหมู่พระ เจดีย์มีวิหารเก่าแก่หลังเล็กประดิษฐานพระพุทธรูปสำ�ริดปาง สมาธิศิลปะเชียงแสน ชาวบ้านเรียกว่า “พระเจ้าทันใจ”ตาม ความเชือ่ ความศรัทธาทีว่ า่ หากขอพรสิง่ ใดจากท่าน มักจะประสบ ผลสำ�เร็จรวดเร็วทันใจ นอกจากนี้ที่พระอุโบสถหลังใหญ่ยัง ประดิษฐานพระประธาน เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัยที่มีพุทธ ลักษณะงดงาม และที่บานประตูทั้งสามเป็นของโบราณ เขียน ลวดลายรดน้�ำ ทีล่ ะเอียดและประณีตงดงาม เสาซุม้ ประตูหน้าต่าง ประดับลวดลายกระจกสีเป็นลักษณะศิลปะสมัยใหม่ ส่วนศาลา การเปรียญเป็นเรือนไม้ชั้นเดียว
76
ด้านหลังพระอุโบสถเป็นพิพิธภัณฑ์สถานเขลางค์นคร จั ด แสดงโบราณวั ต ถุ ท ี ่ ชาวบ้า นนำ � มาถวาย เมื ่ อ ปี พ.ศ. 2526 ชาวบ้านได้ขุดพบพระพุทธรูปทองคำ�บริสุทธิ์หนัก 100 บาทสลึง แล้วนำ�มามอบให้แก่ทางวัด ซึ่งพระพุทธรูปองค์นี้ชื่อว่า “พระแสน แช่ ทองคำ � ” เป็ นพระพุ ท ธรู ป ปางมารวิ ชั ย ศิ ล ปะสมัยล้านนา อายุราวพุทธศตวรรษที่ 21 ขนาดหน้าตักกว้าง 9 นิว้ ครึง่ สูง 15 นิว้ เป็นพระพุทธรูปทองคำ�องค์แรกทีข่ น้ึ ทะเบียนเป็นโบราณวัตถุแห่งชาติ
วัดเฉลิมพระเกียรติพระจอมเกล้าราชานุสรณ์
วั ด เฉลิ ม พระเกี ย รติ พ ระจอมเกล้ า ราชานุ ส รณ์ ห รื อ “วัดพระพุทธบาทปู่ผาแดง” ตั้งอยู่ที่หมู่บา้ นทุ่งทอง หมู่ที่ 7 ตำ�บล วิเชตนคร อำ�เภอแจ้หม่ จังหวัดลำ�ปาง อยูใ่ นพืน้ ทีเ่ ขตห้ามล่าสัตว์ปา่ ดอยพระบาท เป็นวัดทีต่ ง้ั อยูบ่ นยอดเขาสูง มีเจดียส์ ขี าวมากกว่า 10 องค์ มีรอยพระพุทธบาทซึ่งเป็นที่เคารพบูชาของชาว อ.แจ้ห่ม มาอย่าง ยาวนาน ประดิษฐานอยูบ่ ริเวณหน้าผาและเป็นจุดชมวิว 360 องศา ที่สวยงามมาก จนเป็นที่หมายปองของนักท่องเที่ยว นักแสวงบุญ และนักถ่ายภาพ จนได้รับการยกย่องให้เป็น Unseen Thailand ในอดีตบนยอดเขาแห่งนี้ไม่มีถนนหนทางขึ้นเหมือนเช่น ปัจจุบัน พุทธศาสนิกชนที่ต้องการสักการะรอยพระพุทธบาทบน ยอดเขาแห่งนี้ ต้องเดินเท้าผ่านป่าทึบและหน้าผาสูงขึ้นไป เรียกว่า ต้องอาศัยศรัทธาอย่างแรงกล้าจริง ๆ ส่วนประวัตกิ ารสร้างวัดเฉลิม พระเกียรติพระจอมเกล้าราชานุสรณ์นนั้ หลวงพ่อไพบูลย์ สุมงั คโล (พระเทพวิสทุ ธิญาณ) เจ้าอาวาสวัดอนาลโยทิพยาราม จังหวัดพะเยา ได้เดินทางมาสักการะรอยพระพุทธบาทโดยการเดินเท้า ด้วยพลัง ศรัทธาของท่านจึงเป็นที่มาของการสร้างวัดขึ้น ประกอบกับช่วง นัน้ เป็นในโอกาสมหามงคลทีพ่ ระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั (รั ช กาลที ่ 4) พระราชสมภพครบ 200 ปี เมื่อ วัน ที ่ 18 ต.ค. พ.ศ.2547 ทางคณะสงฆ์จึงมีมติให้สร้างวัดเฉลิมพระเกียรติแด่ พระองค์ท่าน เพื่อน้อมรำ�ลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณที่พระองค์ทรง มีตอ่ ปวงชนชาวไทย และให้ชอ่ื วัดว่า “วัดพระจอมเกล้าราชานุสรณ์ (เฉลิมพระเกียรติ ครบ 200 ปี)” ต่อมาจึงเรียกกันว่า “วัดเฉลิม พระเกียรติพระจอมเกล้าราชานุสรณ์” lampang 77
ปัจจุบนั วัดนีไ้ ด้กลายเป็นแหล่งท่องเทีย่ วทางธรรม และ แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติที่สำ�คัญของจังหวัดลำ�ปาง พื้นที่ บริเวณวัดด้านล่างมีพระเจดียอ์ งค์ใหญ่ อุโบสถ กุฏสิ งฆ์ โรงครัว ศาลาชมวิว และเรือนพักรับรองที่หลวงพ่อไพบูลย์ สุมังคโล ได้ออกแบบให้กลมกลืนกับธรรมชาติ ส่วนพื้นที่ด้านบนของดอย ภูผาหมอก มีศาลาพระแม่กวนอิม ศาลาพระพุทธรูปอู่ทองอุดม ทรัพย์ ศาลานั่งคอย กุฏิพักของหลวงพ่อไพบูลย์ ถัดจากกุฏิพัก มีรอยพระพุทธบาทขนาดใหญ่ 3 รอย การเดินทาง เนื่องจากเส้นทางขึ้นวัดลาดชันมาก จึง ต้องใช้รถขับเคลื่อนสี่ล้อเพื่อความปลอดภัย และต้องจอดรถบน ดอยภูผาหมอก หากต้องการขึ้นไปชมดอยภูผาโชค ต้องเดินเท้า ขึ้นเขาไปอีก 1 กิโลเมตร 78
ล่องแพชมวิวชิล ๆ เขื่อนกิ่วลม
เขื่อนกิ่วลม ตั้งอยู่ในพื้นที่อุทยานแห่งชาติถ้ำ�ผาไทแต่อยู่ ภายใต้การดูแลของกรมชลประทาน โดยอยู่หา่ งจากตัวเมืองลำ�ปาง ไป 38 กิโลเมตร ตามเส้นทางสายลำ�ปาง -งาว โดยแยกซ้ายตรง หลัก กิโลเมตรที่ 623-624 เข้าไปอีก 14 กิโลเมตร ที่นี่เป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่หนุ่มสาวไม่ว่ายุคสมัยไหนต่าง รู้จักกันดี เพราะบริเวณเหนือเขื่อนเป็นอ่างเก็บน้ำ�มีทัศนียภาพ สวยงามเป็นธรรมชาติ และมีความสงบเงียบ เหมาะกับการพักผ่อน กินลมชมวิวจากการล่องเรือหรือการล่องแพ ซึง่ การล่องแพนัน้ มีผใู้ ห้ บริการอาหาร-เครื่องดื่ม และมีบริการที่พักด้วย แต่ถา้ ไม่ค้างคืนจะ ต้องใช้เวลาอย่างน้อยครึ่งวัน เนื่องจากบริเวณเขื่อนมีจุดที่น่าสนใจ หลายแห่ง อาทิ แหลมชาวเขือ่ นเกาะวังแก้ว ซึง่ มีรสี อร์ทไว้ตอ้ นรับ นักท่องเที่ยวที่ต้องการพักค้างคืนด้วย ผางาม ผาเกี๋ยง ถ้ำ�สมบัติ ทะเลสาบกิ่วลม หมู่บ้านสา ฯลฯ
ภาพเขียนสีโบราณค่ายประตูผา
ภาพเขียนสีโบราณค่ายประตูผา เป็นแหล่งภาพเขียนสี ในยุคก่อนประวัติศาสตร์ ซึ่งปรากฏอยู่ตรงบริเวณหน้าผาที่หลัง ศาลเจ้าพ่อประตูผา บริเวณกิโลเมตรที่ 48 เส้นทางลำ�ปาง - งาว สันนิษฐานว่ามีอายุระหว่าง 3,000 - 5,000 ปี เป็นภาพเขียนสี ที่ยาวที่สุดในภาคเหนือยาว 300 เมตร ลักษณะเป็นภาพเขียนสีที่ทำ�ด้วยเทคนิควิธีที่แตกต่าง กันมากกว่า 1,872 ภาพ จำ�แนกได้เป็น7 กลุ่ม ทั้งภาพบุคคล ชายหญิงแสดงท่าทางต่างกัน, ภาพสัตว์, พืช, ภาพเชิงสัญลักษณ์ และพิธกี รรมต่าง ๆ นอกจากนีย้ งั มีหลุมฝังศพ โครงกระดูกมนุษย์ ภาชนะดินเผาในวัฒนธรรมหริภุญชัย และชิ้นส่วนเครื่องถ้วย สันกำ�แพงจำ�นวนมาก ซึ่งล้วนแต่เป็นมรดกทางประวัติศาสตร์ ที่สำ�คัญของชาติ ที่ทุกคนควรร่วมกันหวงแหนและอนุรักษ์ไว้ให้ อนุชนรุ่นหลังได้ศึกษาสืบไป lampang 79
80
สะพานรัษฎาภิเศก lumpang lampang 81
ต้นกำ�เนิดชามตราไก่ ณ
พิพิธภัณฑ์เซรามิคธนบดี พิพิธภัณฑ์เซรามิคธนบดี ก่อตั้งโดยบริษัทพิพิธภัณฑ์ เซรามิกธนบดี ลำ�ปาง เพือ่ ให้ประชาชนทีส่ นใจการเรียนรูก้ ารทำ� เซรามิกได้ทราบถึงขัน้ ตอนการทำ�จนสำ�เร็จออกมาเป็นผลิตภัณฑ์ เซรามิกหนึ่งชิ้น และเพื่อเผยแพร่เกียรติประวัติของ อาปาอี้ (ซิมหยู แซ่ฉิน) ผู้ก่อตั้งโรงงานเซรามิกแห่งแรกในจังหวัดลำ�ปาง จนปัจจุบนั อุตสาหกรรมเซรามิกของจังหวัดลำ�ปางมีชอื่ เสียงโด่งดัง ไปทั่วโลก นำ�มาซึ่งความภาคภูมิใจให้ชาวลำ�ปาง ภายในพิพธิ ภัณฑ์ได้รวบรวมเรือ่ งราวและตำ�นานชามไก่ ต้นกำ�เนิดเซรามิคของเมืองลำ�ปาง และสาธิตการผลิตชามไก่แบบ โบราณ รวมถึงสามารถชมกระบวนการผลิตเซรามิคสมัยใหม่ได้ อย่างใกล้ชดิ นอกจากนีย้ งั จัดแสดงประวัตกิ ารก่อตัง้ โรงงานเซรา มิกแห่งแรก และประวัติของบริษัทในเครือธนบดีด้วย
ถนนสายวัฒนธรรม ย่านชุมชนเก่า
ถนนสายวั ฒ นธรรม เป็ น แหล่ ง เรี ย นรู้ วิ ถี ชี วิ ต และ วัฒนธรรมของชาวลำ�ปางในย่านเมืองเก่าทีเ่ คยรุง่ เรืองในอดีต ซึง่ เทศบาลนครลำ�ปางริเริ่มจัดเป็นถนนสายวัฒนธรรมขึ้น
82
เพื่อให้สังเกตง่าย เรามาเริ่มต้นเดินกันตั้งแต่วัดประตู ป่อง ตรงถนนป่าไม้ ซึ่งมีวิหารล้านนาที่ได้รับการประดับตกแต่ง อย่างวิจิตรตระการตา และงดงามที่สุดแห่งหนึ่งในจังหวัดลำ�ปาง เมื่อชมความงามของโบราณสถานวัดประตูป่องแล้ว สามารถเดิน ทะลุผา่ นวัดไปออกตรงถนนวังเหนือ ซึ่งในอดีตถนนสายนี้เป็นแนว กำ�แพงเมืองปัจจุบันเป็นย่านชุมชนเก่าที่ได้รับการอนุรักษ์ไว้ซึ่งทุก เย็นวันศุกร์ตั้งแต่สี่โมงครึ่งถึงสองทุ่มครึ่ง ชาวชุมชนจะพร้อมใจกัน จัดถนนคนเดิน มีกิจกรรมการแสดงศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้าน กาด หมั้วคัวแลง (ตลาดเย็น) ซึ่งพ่อค้าแม่ค้าในละแวกนั้นจะนำ�ผัก ผลไม้ อาหารพื้นเมือง รวมไปถึงสินค้าต่างๆ มาจำ�หน่าย ส่วนใน ช่วงเช้าวันอาทิตย์ จะมีการชักชวนให้ผู้คนแต่งตัวด้วยเสื้อผ้าพื้น เมืองออกมาตักบาตรข้าวเหนียว และมีกาดหมัว้ คัวงาย (ตลาดเช้า) จำ�หน่ายข้าวของเรียงรายไปตามถนน ท่ามกลางบรรยากาศทีร่ ม่ รืน่ เย็นสบาย และอัธยาศัยที่น่ารักของเจ้าบ้าน ในบริเวณใกล้กัน ยังมีจุดให้แวะชมอดีตแห่งเมืองลำ�ปาง ที่ยังมีชีวิต อาทิ บ้าน 113 ปีป่าไม้ จัดแสดงภาพเก่าของลำ�ปาง บ้าน Louis ซึ่งเคยเป็นบริษัททำ�สัมปทานไม้ สมาคมรถม้าลำ�ปาง ซึ่งเป็นที่จัดเก็บรถม้าทรงโบราณ พร้อมจำ�หน่ายรถม้าจิ๋วเป็นของที่ ระลึกในราคาย่อมเยา
แอ่วถนนคนเดินกาดกองต้า
ถนนคนเดินกาดกองต้า ตั้งอยู่ที่ถนนตลาดเก่า ริมแม่น้ำ� วัง อำ�เภอเมืองลำ�ปาง แต่เดิมที่นี่เป็นชุมชนตลาดจีนซึ่งเป็นแหล่ง ศูนย์กลางการค้าทางเรือเมื่อกว่า 100 ปีที่แล้ว หลัง พ.ศ. 2459 ตลาดแห่งนี้เริ่มซบเซา เพราะมีการตัดเส้นทางรถไฟสายเหนือมา ถึงลำ�ปาง ผู้คนจึงขยายถิ่นฐานไปตั้งอยู่รอบ ๆ สถานีรถไฟแทน ถึงแม้ว่ากาลเวลาจะผ่านไปนานเท่าใดก็ตาม แต่ความ เจริญรุง่ เรืองในอดีตทีฉ่ ายผ่านตึกรามบ้านช่องทีม่ คี วามหลากหลาย ทางสถาปัตยกรรมอันงดงามมีเอกลักษณ์ ทัง้ ของตะวันตก พม่า-ไท ใหญ่ และจีน ยังเป็นเสน่ห์ที่ดึงดูดทุกสายตาไว้ได้ และปัจจุบัน ชุมชนแห่งนี้ได้ฟื้นคืนชีพมาเป็นย่านการค้าที่สำ�คัญอีกครั้งหนึ่ง ใน ชื่อ “ถนนคนเดินกาดกองต้า” ชนิดที่ใครไปลำ�ปางแล้วไม่ได้ไปกา ดกองต้า ถือว่าเป็นความผิดพลาดอย่างไม่นา่ ให้อภัยทีเดียว ถนนคนเดินกาดกองต้าเปิดทุกวันเสาร์-อาทิตย์ ตัง้ แต่เวลา ห้าโมงเย็นจนถึงสี่ทุ่ม นักท่องเที่ยวสามารถเลือกซื้อสินค้าพื้นเมือง สินค้าทำ�มือ ของที่ระลึกของแต่งบ้าน เสื้อผ้า อาหารและผัก-ผล ไม้พื้นบ้าน
รำ�ลึกร้อยปี สถานีรถไฟลำ�ปาง
สถานีรถไฟลำ�ปางเป็นสถานีรถไฟรุ่นแรกๆ ที่สร้างขึ้น ในประเทศไทยและยังคงเหลืออยู่ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 ออกแบบโดยวิศวกรชาวเยอรมันเปิดใช้งานเมื่อวันที่1 เมษายน 2459 การสร้างสถานีรถไฟแห่งนี้ได้นำ�ความเจริญก้าวหน้ามาสู่ จังหวัดลำ�ปางก่อนเชียงใหม่หลายปีเนือ่ งจากการเจาะอุโมงค์ทถี่ �้ำ ขุนตานยังไม่แล้วเสร็จ พ.ศ. 2506 การรถไฟแห่งประเทศไทยได้จัดส่งหัว รถจักรไอน้ำ�มาแสดงไว้ที่สถานีรถไฟลำ�ปาง พร้อมกำ�หนดให้ เป็นสถานีประวัติศาสตร์ และได้อนุรักษ์รูปแบบสถาปัตยกรรม แบบอาณานิคม ที่มีจุดเด่นด้วยการใช้โค้ง (arch) การประดับ ตกแต่งด้วยไม้ฉลุ และปูนปัน้ จนอาคารนีไ้ ด้รบั คัดเลือกจากคณะ กรรมการอนุรกั ษ์ สถาปัตยกรรมแห่งสมาคมสถาปนิกสยามฯ ให้ เป็น “อาคารอนุรกั ษ์ดเี ด่น ประเภทอาคารสถาบันและสาธารณะ” ในปี พ.ศ. 2536 ขอขอบคุณข้อมูลจาก : การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย และ สำ�นักงานจังหวัดลำ�ปาง lampang 83
84
อุทยานแจ้ซ้อน lumpang lampang 85
เส้นทางความเป็นมา
ลำ�ปาง... นครแห่งความสุขทุกยุคสมัย จังหวัดลำ�ปางในอดีตนั้น มีชื่อเรียกหลากหลายตามยุคสมัย อาทิ เมืองเขลางค์ เมืองละกอน เมืองลคอร และเมืองนครลำ�ปาง โดยเป็นเมืองทีม่ คี วามสำ�คัญทางประวัตศิ าสตร์มาตัง้ แต่ชว่ งต้น พุทธศตวรรษที่ 13 ตำ�นานชินกาลมาลีปกรณ์ ได้กล่าวถึง ประวัติการสร้างเมืองลำ�ปางในยุคแรก ๆ ไว้ดังนี้
86
ความเป็นมาก่อนสร้างเขลางค์นคร
ในราว พ.ศ.1200 พระสุ เ ทวฤษี ซึ ่ ง อาศั ย อยู ่ ท ี ่ ดอยสุเทพ ได้เชิญชวนให้พระสุกทันตฤษี แห่งละโว้ มาช่วยกัน สร้างนครหริภญ ุ ชัย (จังหวัดลำ�พูนในปัจจุบนั ) เมือ่ สร้างแล้วเสร็จ จึงไปทูลขอผูป้ กครองจากพระเจ้านพราช กษัตริยแ์ ห่งละโว้ (ลพบุร)ี ซึ่งเป็นราชสำ�นักที่เจริญรุ่งเรืองที่สุดแห่งหนึ่งในสุวรรณภูมิเวลา นัน้ พระองค์ได้ประทานพระนางจามเทวี พระราชธิดา (ซึง่ อภิเษก กับเจ้าชายรามราช แห่งเมืองรามบุรี ) ให้มาเป็นผู้ปกครอง นครหริภุญชัย พร้อมกับนำ�พระภิกษุสงฆ์ผู้รอบรู้ในพระไตรปิฎก พรามณ์โหรา นักปราชญ์ราชบัณฑิต แพทย์ ช่างฝีมือ เศรษฐี คหบดี อย่างละ 500 คน ให้รว่ มเดินทางกับพระนางเพื่อไปสร้าง บ้านแปงเมืองแห่งใหม่ให้มั่นคงยิ่งขึ้น ขณะนั้นพระนางทรงครรภ์ เมื่อมาถึงนครหริภุญชัย ได้ราว 3 เดือน ได้ประสูติพระโอรสฝาแฝด ผู้พี่ทรงพระนามว่า “เจ้ามหันตยศกุมาร” ส่วนผู้น้องทรงพระนามว่า “เจ้าอนันตยศ กุมาร” เมือ่ พระโอรสทัง้ 2 ทรงเจริญวัยขึน้ ประกอบกับพระนาง ทรงชราภาพมากแล้ว จึงได้ท�ำ พิธรี าชาภิเษกให้เจ้ามหันตยศกุมาร ขึ้นเป็นกษัตริย์ครองนครหริภุญชัย ส่วนเจ้าอนันตยศกุมารทรง ดำ�รงตำ�แหน่ง พระอุปราช
ยุคก่อร่างสร้างเขลางค์นคร
หลังจากเจ้ามหันตยศกุมารขึ้นเป็นกษัตริย์ครองนคร หริภุญชัยแล้ว ฝ่ายเจ้าอนันตยศกุมารทรงปรารถนาจะไปครอง เมืองแห่งใหม่ จึงนำ�ความขึ้นกราบบังคมทูลให้พระมารดาได้ทรง ทราบ พระนางทรงแนะนำ�ให้ไปพบฤษีวาสุเทพ เพื่อขอให้สร้าง เมืองถวาย แต่ฤษีวาสุเทพจึงแนะนำ�ให้ไปหาพรานเขลางค์ ซึง่ อยู่ ที่ภูเขาบรรพต เมื่อพบพรานเขลางค์แล้วทรงขอให้นำ�ไปพบพระ สุพรหมฤษีบนดอยงาม หรือภูเขาสองยอด แล้วขออาราธนาให้ ช่วยสร้างบ้านเมือง พระสุพรหมฤษีจึงขึ้นไปยังเขลางค์บรรพต เพื่อมองหาชัยภูมิสร้างเมือง เมื่อมองไปทางยังทิศตะวันตกของ แม่น้ำ�วังกนที ( ปัจจุบันคือตำ�บลเวียงเหนือ อำ�เภอเมืองลำ�ปาง จังหวัดลำ�ปาง) ได้เห็นสถานทีแ่ ห่งหนึ่งเป็นชัยภูมทิ เี่ หมาะสม จึง ได้สร้างเมืองขึ้นในราว พ.ศ. 1223 โดยกำ�หนดให้กว้างยาวด้าน ละ 500 วา แล้วเอาศิลาบาตรก้อนหนึ่งมาตั้งเป็นหลักเมืองเรียก ว่า “ผาบ่อง” เมื่อสร้างแล้วเสร็จ จึงขนานนามตามชือ่ ของพราน ผู้นำ�ทางและมีส่วนร่วมในการช่วยสร้างเมืองว่า “เขลางค์นคร” และยังมีชอื่ เรียกในตำ�นานกุกตุ นครว่า “ศิรนิ ครชัย” อีกนามหนึง่ ภายหลังสร้างเมืองแล้วเสร็จ พระเจ้าอนันตยศได้ทรง ราชาภิเษกเป็นกษัตริย์ พระนามว่า “พระเจ้าอินทรเกิงการ” พระองค์ทรงครองเมืองเขลางค์อยู่ได้ไม่นาน ทรงมีความรำ�ลึก
ถึงพระราชมารดา จึงได้ทูลเชิญเสด็จพระนางจามเทวี พร้อมทั้ง สมณะ ชี พราหมณ์ มายังเมืองเขลางค์นคร ทรงสร้างเมืองให้ พระราชมารดาประทับอยู่เบื้องปัจฉิมทิศแห่งเขลางค์นคร ให้ชื่อ ว่า “อาลัมพางค์นคร”
เขลางค์นครในยุคเริ่มแรก
เขลางค์ น คร เป็ น เมื อ งคู่ แ ฝดของเมื อ งหริ ภุ ญ ชั ย ผังเมืองมีลักษณะคล้ายรูปหอยสังข์ (สมุทรสังขปัตตสัณฐาน) กำ�แพงเมืองชั้นบนเป็นอิฐ ชั้นล่างเป็นคันดิน 3 ชั้น สันนิษฐาน ว่ากำ�แพงอิฐที่สร้างบนกำ�แพงดินเป็นการต่อเติมในสมัยหลัง มี ความยาววัดโดยรอบ 4,400 เมตร สร้างในพืน้ ทีป่ ระมาณ 600 ไร่ มีประตูเมืองสำ�คัญ ๆ ได้แก่ ประตูมา้ ประตูผาป่อง ประตูทา่ นาง ประตูต้นผึ้ง ประตูป่อง ประตูนกกดและประตูตาล ปูชนียสถานที่สำ�คัญ ได้แก่ วัดพระแก้วดอนเต้า ซึ่ง ครั้งหนึ่งเคยเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร (พระแก้วมรกต) ระหว่าง พ.ศ. 1979 - 2011 นอกจากนี้ยัง มีโบราณสถานสำ�คัญอีกหลายแห่ง ได้แก่ วัดอุโมงค์ ซึ่งเป็นวัด ร้างอยูบ่ ริเวณประตูตาล ส่วนวัดทีอ่ ยูน่ อกกำ�แพงเมือง ได้แก่ วัด ป่าพร้าว อยู่ทางด้านเหนือ วัดพันเชิง วัดกู่ขาวหรือเสตกุฎาราม ซึ่งเคยเป็นที่ประดิษฐานพระสิกขีปฏิมากร ในสมัยพระนางจาม เทวี วัดกู่แดง วัดกู่คำ� อยู่ทางทิศตะวันตก ในปัจจุบันนี้ บริเวณ วัดพันเชิงและวัดกู่แดง ถูกทำ�ลายจนไม่เหลือสภาพของโบราณ สถานอยู่อีกต่อไป ระหว่างวัดกู่ขาวมายังเมืองเขลางค์มีแนว ถนนโบราณ ทอดเข้าสูต่ วั เมืองทางประตูตาล สันนิษฐานว่าสร้าง มาตัง้ แต่สมัยพระนางจามเทวี ขณะมาประทับอยูใ่ นเขลางค์นคร แนวถนนโบราณนี้ยังใช้เป็นคันกั้นน้ำ�ป่าเพื่อทดน้ำ�เข้าสู่คูเมือง และแบ่งเข้าไปใช้ในตัวเมืองด้วย ระดับคูน�้ำ จะสูงกว่าแม่น้ำ�สาย ใหญ่ เมืองในยุคนี้มีการเก็บน้ำ�ไว้ในคูรอบทิศ โดยให้มีระดับสูง กว่าแม่น�้ำ สายใหญ่ทไี่ หลผ่านบริเวณใกล้เคียง ซึง่ เป็นแบบเฉพาะ เมืองรูปหอยสังข์ยุคนี้เท่านั้น ภายหลังจากสมัยพระเจ้าอนันตยศแล้ว สภาพของเมือง ฝาแฝดกับนครหริภุญชัยก็หมดไป สันนิษฐานว่า เขลางค์นคร มีเจ้าผู้ครองต่อมาอีกประมาณ 500 ปี แต่ไม่ปรากฏพระนามใน หลักฐานหรือเอกสารใด ๆ จนกระทั่งถึง พ.ศ. 1755 ได้ปรากฏ ชื่อของเจ้านายเมืองเขลางค์พระองค์หนึ่ง มีพระนามว่า เจ้าไทย อำ�มาตย์แห่งเขลางค์ ได้แย่งชิงอำ�นาจจากพระยาพิณไทย เจ้าเมืองลำ�พูน แล้วสถาปนาพระองค์ปกครองนครหริภุญชัยสืบ ต่อกันมาถึง 10 รัชกาล จนกระทั่งถึงสมัยพระยายีบา ก็สูญเสีย อำ�นาจให้แก่พญามังราย ใน พ.ศ. 1844 lampang 87
เขลางค์นครในสมัยล้านนาไทย
เมืองเขลางค์ในยุคที่ 2 เป็นเมืองทีส่ ร้างขึน้ ในสมัยล้าน นาไทย มีเนื้อที่ประมาณ 180 ไร่ กำ�แพงยาว 1,100 เมตร ตั้ง อยูฝ่ งั่ ตะวันตกของแม่น�้ำ วัง ในเขตตำ�บลเวียงเหนือ ซึง่ อยูถ่ ดั จาก เมืองเขลางค์ยุคแรกลงมาทางใต้ ทั้งนี้ได้รวมเอาเมืองเขลางค์ยุค แรกกับเมืองเขลางค์ยุคใหม่เข้าด้วยกัน โดยมีชื่อเรียกกันอย่าง แพร่หลายในตำ�นานต่าง ๆ ของทางเหนือว่า “เมืองละกอน” หรือ “เมืองลคอร” ลักษณะเป็นเมืองทีก่ อ่ กำ�แพงด้วยอิฐ ประตูเมืองทีม่ ชี อื่ ปรากฏคือ ประตูเชียงใหม่ ประตูนาสร้อย ประตูปลายนา อันเป็น ประตูที่อยู่ร่วมสมัยกับประตูนกกต ตอนท่อนหัวสังข์ของตัวเมือง เก่าและประตูป่อง ที่ประตูป่องยังคงมีซากหอรบรุ่นเดียวกับสมัย เจ้าคำ�โสม ครองเมืองลำ�ปาง ซึง่ ได้ใช้เป็นปราการต่อสูก้ บั พม่าครัง้ สำ�คัญ ในปี พ.ศ. 2330 ซึ่งพม่าล้อมเมืองอยู่เป็นเวลานาน จน กระทั่งกองทัพทางกรุงเทพฯ ยกขึ้นมาช่วยขับไล่พม่าแตกพ่ายไป โบราณสถานสำ�คัญในเมืองเขลางค์ยุคที่ 2 ได้แก่ วัด ปลายนา ซึง่ เป็นวัดร้าง และวัดเชียงภูมิ หรือวัดปงสนุกในปัจจุบนั ซึง่ เป็นทีต่ งั้ ของศาลเจ้าพ่อลิน้ ก่าน ซึง่ ดำ�น้�ำ ชิงเมืองแข่งกับเจ้าฟ้า หลวงชายแก้ว (บิดาของเจ้าเจ็ดตน) แต่เจ้าลิน้ ก่านแพ้จงึ ถูกพม่า ประหารชีวติ สันนิษฐานว่าพระเจ้าลิน้ ก่านคงจะเป็นเจ้าสกุลล้าน นาไทยองค์สุดท้าย ที่อยู่ในเมืองเขลางค์
เขลางค์นครในสมัยราชวงศ์มงั ราย (พ.ศ.1839 - 2101)
เมื่อพญามังรายทรงสร้างเมืองเชียงใหม่เป็นราชธานี ในปี พ.ศ.1839 แล้ว ทรงแผ่ขยายอิทธิพลมาครอบครองลำ�พูน และเมืองลคอร (เขลางค์นคร) กล่าวคือ ในพ.ศ. 1844 พญามัง รายโปรดเกล้าฯให้ขุนคราม พระราชโอรส ยกกองทัพไปตีเมือง ลำ�พูน พระยายีบาสู้ไม่ได้ จึงอพยพหนีมาพึ่งพระยาเบิก พระ อนุชาที่เมืองลคอร กองทัพของพญามังรายซึ่งมีขุนครามเป็น แม่ทัพ ได้ยกติดตามมาปะทะกับกองทัพของพระยาเบิกที่ริมน้ำ� แม่ตาล ปรากฏว่าพระยาเบิกเสียชีวิตในการสู้รบ ส่วนพระยา ยีบาเจ้าเมืองลำ�พูน ได้พาครอบครัวหนีไปพึ่งเจ้าเมืองสองแคว (พิษณุโลก) และประทับอยู่ที่นั่นจนสิ้นพระชนม์ จึงสิ้นวงศ์เจ้าผู้ ครองเขลางค์ในยุคแรก ในตำ�นานชินกาลมาลีปกรณ์ ได้กล่าวเพิ่มเติมต่อไปอีก ว่า ภายหลังจากทีพ่ ญามังรายได้รบั ชัยชนะต่อพระยาเบิกแล้ว ได้ แต่งตัง้ ชาวมิลกั ขะเป็นเจ้าเมืองแทน เจ้าเมืองคนใหม่ได้พยายาม ชักชวนชาวเมืองเขลางค์สร้างเมืองใหม่ ซึง่ กลายเป็นเมืองเขลาง ค์ยุคที่ 3 หลังจากนี้ก็มีเจ้าผู้ครองนคร ซึ่งมียศเป็นหมื่นปกครอง
88
สืบต่อกันมาเป็นเวลานาน จนกระทั่งสิ้นราชวงศ์มังราย พม่าก็แผ่ อิทธิพลเข้ามาแทนที่ในสมัยพระเจ้าบุเรงนอง
เขลางค์นครในยุคประเทศราชของพม่า
เขลางค์นครเป็นหัวเมืองสำ�คัญของอาณาจักรล้านนา จน กระทั่งถึงสมัยพระเจ้าบุเรงนอง กษัตริย์พม่าแห่งกรุงหงสาวดี ได้ แผ่อำ�นาจเข้าครอบครองอาณาจักรล้านนา ในปี พ.ศ. 2101 ซึ่ง สัญลักษณ์แห่งอำ�นาจของบุเรงนอง ยังปรากฏอยู่ทั่วไป ได้แก่ ไม้ แกะสลักรูปหงส์ประจำ�วัดต่าง ๆ (หมายถึงหงสาวดี) นับตัง้ แต่นนั้ มา เขลางค์นครได้ตกอยูภ่ ายใต้อ�ำ นาจของพม่า เป็นเวลานานกว่า 200 ปีเศษ (พ.ศ.2101 - 2317) และบางครั้งก็อยู่ภายใต้การปกครอง ของกรุงศรีอยุธยาบ้าง เช่น สมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช และ สมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช เป็นต้น
ในสมัยรัชกาลที่ 1 แห่งราชวงศ์จักรี เชื้อสายราชวงศ์เจ้าเจ็ดตน จึงได้ครองนครลำ�ปาง จนถึง พ.ศ. 2465 ในสมัยเจ้าบุญวาทย์วงศ์ มานิต ซึง่ เป็นเจ้าผูค้ รองนครลำ�ปางทีม่ คี ณ ุ ปู การต่อจังหวัดลำ�ปาง อย่างใหญ่หลวง เป็นผู้บริจาคและสร้างสิ่งสาธารณประโยชน์ จำ�นวนมาก อาทิ สร้างโรงเรียนบุญวาทย์วทิ ยาลัย โรงทหาร โรง พยาบาลทหาร ทีท่ �ำ การไปรษณีย์ อุทศิ ทีด่ นิ เพือ่ สร้างทีท่ �ำ การศาล และเรือนจำ�กลางลำ�ปาง เป็นต้น
จาก “เมืองละกอน” สู่ “จังหวัดลำ�ปาง”
เขลางค์นครในสมัยธนบุรีและรัตนโกสินทร์
ตลอดระยะเวลาที่พม่าได้ครอบครองอาณาจักรล้านนานั้น ได้กดขี่ ข่มเหงชาวบ้านอย่างมากมาย จนเกิดกบฏหลายครั้ง กระทั่งหนาน ทิพย์ช้าง ต้นตระกูลเจ้าเจ็ดตน สามารกำ�จัดท้าวมหายศ เจ้าเมือง ลำ�พูน (ซึ่งตกอยู่ใต้อำ�นาจของพม่า และเข้ามาสร้างความเดือด ร้อนแก่ชาวเมืองละกอนเสมอ) ชาวเมืองจึงพร้อมใจสถาปนาหนาน ทิพย์ชา้ งเป็น “พระญาสุลวะฤๅไชยสงคราม” ปกครองเมืองละกอน ตั้งแต่ ปี พ.ศ.2275 และเป็นยุคเริ่มต้นยุคราชวงศ์ทิพย์จักร (หรือ ราชวงศ์เจ้าเจ็ดตน) ต่อมาลูกหลานของพระญาสุลวะฤๅไชยได้ให้ความร่วมมือ กับกรุงธนบุรแี ละกรุงรัตนโกสินทร์ ในการขจัดอิทธิพลพม่าออกจาก อาณาจักรล้านนาได้ทั้งหมด จนสิ้นสุดยุคประเทศราชของพม่า
คำ�ว่า “ละกอน” หรือ “ลคอร” (นคร) เป็นชื่อสามัญ ของเมืองเขลางค์ ที่นิยมเรียกกันอย่างแพร่หลาย ทั้งในตำ�นาน และภาษาพูดโดยทั่วไป แม้แต่จังหวัดใกล้เคียง เช่น แพร่ น่าน เชียงราย ลำ�พูน เชียงใหม่ มักจะเรียกชาวลำ�ปางว่า “จาวละ กอน” ซึ่งหมายถึง “ชาวนคร” จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ได้แก่ ศิลาจารึก เลขทะเบียน ลป.1 จารึกเจ้าหมื่นคำ�เพชร เมื่อ พ.ศ.2019 และศิลาจารึกเลขทะเบียน ลป.2 จารึกเจ้าหาญสีทัต ได้จารึกชื่อเมืองนี้ว่า “ลคอร” ส่วนคำ�ว่า “ลำ�ปาง” เป็นชื่อที่ปรากฏหลักฐานอย่าง ชัดเจนในตำ�นานพระธาตุล�ำ ปางหลวง ซึ่งมีชื่อเรียกเป็นภาษา บาลีว่า “ลัมภกัปปนคร” ซึ่งอยู่ห่างจากตัวเมืองลำ�ปางไปทางทิศ ใต้ตามแม่น้ำ�วัง ประมาณ 16 กิโลเมตร ซึ่งเป็นที่ตั้งของวัดพระ ธาตุลำ�ปางหลวง อำ�เภอเกาะคา จังหวัดลำ�ปาง ในปัจจุบัน นอกจากนีแ้ ล้ว ในตำ�นานชินกาลมาลีปกรณ์ ตำ�นานพืน้ เมืองเชียงใหม่ ตำ�นานเมืองเชียงแสน ตลอดจนพงศาวดารของ ทางฝ่ายเหนือ ล้วนแล้วแต่เรียกชือ่ ว่า “เมืองนครลำ�ปาง” แม้แต่ เอกสารทางราชการในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ก็เรียกเจ้าเมือง ว่า “พระยานครลำ�ปาง” อีกทัง้ จารึกบนประตูพระอุโบสถ วัดบุญ วาทย์วหิ าร ยังมีขอ้ ความตอนหนึง่ จารึกว่า “เมืองนครลำ�ปาง” แต่ เมือ่ มีการปฏิรปู บ้านเมือง จากมณฑลเทศาภิบาลเป็นจังหวัด ตาม คำ�สัง่ ของกระทรวงมหาดไทย ลงวันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2459 ปรากฏว่าชื่อของ “เมืองนครลำ�ปาง” ได้กลายมาเป็น “จังหวัด ลำ�ปาง” มาจนกระทั่งทุกวันนี้
ขอขอบคุณข้อมูลจาก : “ประวัติศาสตร์จังหวัดลำ�ปาง” โดยกลุม่ งานข้อมูลสารสนเทศและการสือ่ สาร สำ�นักงานจังหวัด ลำ�ปาง
lampang 89
โรงแรมบุษย์น�้ำทอง
เดินทางสะดวก ที่จอดรถกว้างขวาง สะอาด ปลอดภัย มีบริการห้องพัก • ห้องจัดประชุมสัมมนา • ห้องจัดงานเลี้ยงสังสรรค์, งานมงคลสมรส
โรงแรมบุษย์น�้ำทอง
ต�ำบลชมพู อ�ำเภอเมือง จังหวัดล�ำปาง 52100 เบอร์โทรศัพท์ 054-352714 เบอร์โทรสาร 054-352715 อีเมลล์ butnamtong99@yahoo.com เฟสบุ๊ค โรงแรมบุษย์น�้ำทองล�ำปาง
ไอซ์ & อิงซ์ รีสอร์ท
ถนนเกาะคา เสริมงาม ต�ำบลนาแก้ว อ�ำเภอเกาะคา จังหวัดล�ำปาง
ฟรี WIFI และเครื่องท�ำน�้ำอุ่น โทร. 054-209701 088-9035152 คุณภาพ 087-5078895 คุณนิด
Line: SST2524
Facebook : ice-inresort@hotmail.com
โรงแรมล�ำปางเวียงทอง Lampang Wiengthong Hotel
We are proud to offer you the exclusive facilities of a luxury hotel. Facilities : 223 Exquisitely appointed guest rooms. Wiengthip Coffeeshop. Swimming Pool เรา...ภูมิใจที่จะเสนอสิ่งอ�ำนวยความสะดวกในรูปแบบต่างๆ ให้ท่านได้เลือกใช้บริการ อาทิ... • ห้องพักที่ทันสมัย สะดวกสบายถึง 223 ห้อง • ห้องพักที่หรูหราใน 4 ระดับของความภูมิฐาน • ห้องประชุม และห้องจัดเลี้ยงขนาดใหญ่ ห้องเวียงพนา, • ห้องเวียงแก้ว, ห้องเวียงค�ำ, ห้องทรัพย์ทอง, ห้องเวียงเงิน • ห้องอาหารเวียงทิพย์, สระว่ายน�้ำ INTERNET ZONE * โปรโมชั่นพิเศษสุดส�ำหรับฉลองวันวิวาห์ ด้วยแพคเก็จสุดคุ้ม 10 รายการ บริการจัดแบบมืออาชีพ เพื่อสนองจินตนาการของคู่บ่าวสาวทุกคู่
138/109 ถนนพหลโยธิน ต�ำบลสบตุ๋ย อ�ำเภอเมือง จังหวัดล�ำปาง
138/109 Phaholyothin Rd. T.Suandok A.Maung Lampang 52100 * สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ โทร. 054-225801-2 ต่อฝ่ายขาย แฟกซ์ 054-225803 หรือชมห้องตัวอย่างได้ที่เว็บไซด์ www.LampangWiengthong.co.th
เส้นทางพบเทศบาลเมืองพิชัย สืบสานตำ�นานหม้อดิน ถิ่นปั้นหม้อทำ�มือ บ้านม่อนเขาแก้ว
บ้านม่อนเขาแก้ว หมู่ที่ 3 ต.พิชัย อ.เมือง จ.ลำ�ปาง อยู่ในเขตการ ปกครองของเทศบาลเมืองพิชัย เป็นแหล่งอุตสาหกรรมพื้นบ้านที่มีชื่อเสียง มายาวนานของอำ�เภอเมืองลำ�ปาง และยังเป็นหมูบ่ า้ นท่องเทีย่ ว OTOP ของ จังหวัดลำ�ปาง ที่โดดเด่นด้านหัตถกรรมเครื่องปั้นดินเผา ประวัติความเป็นมา การทำ�เครื่องปั้นดินเผาบ้านม่อนเขาแก้ว เป็นอาชีพเก่าแก่ที่มีมา ตัง้ แต่บรรพบุรษุ หลายชัว่ อายุคน จนกระทัง่ สืบทอดมาถึงรุน่ ลูกรุน่ หลาน โดย ผลิตภัณฑ์ในอดีตส่วนมากจะเป็นเครื่องใช้สอยในครัวเรือนประเภทหม้อน้ำ� หม้อแกง หม้อต่อม หม้อสาว และหม้อนึ่ง และในปัจจุบัน บ้านม่อนเขา แก้ว ได้มีการรวมกลุ่มกันชื่อว่า “กลุ่มหม้อดินปั้นมือ” โดยกลุ่มยังคงอนุรักษ์ การปั้นเครื่องปั้นดินเผาประเภทหม้อต่างๆ ที่มีมาในอดีตไว้อยู่ แต่ก็มีการปั้น ผลิตภัณฑ์เครือ่ งปัน้ ดินเผาสมัยใหม่ ประเภทของชำ�ร่วย ของทีร่ ะลึก กระถาง ต้นไม้ ตุ๊กตาตกแต่งสวน ชุดน้ำ�ตก อ่างปลา หม้ออบไก่ ฯลฯ ซึ่งปัจจุบันยัง คงลักษณะการเครือ่ งปัน้ ด้วยวิธโี บราณใช้แท่นหมุนด้วยมือ และการเผานัน้ ก็ ยังคงเป็นการเผาแบบโบราณ โดยใช้ฟาง ฟื้น แกลบ หม้ออบดินเผาไฟฟ้า นวัตกรรมจากภูมิปัญญา สินค้าที่มีความโดดเด่นและเป็นนวัตกรรมที่ชาวบ้านม่อนเขาแก้ว คิดค้นขึน้ มาเอง คือ“หม้ออบไก่/หมูไฟฟ้า”ซึง่ เป็นการประยุกต์เอาภูมปิ ญ ั ญา ชาวบ้ า น และเทคโนโลยี ส มั ยใหม่ ม าผสมผสานกั น จนเป็ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ เครื่องปั้นดินเผาที่ใช้สำ�หรับอบอาหารประเภท ไก่ หมู หรือ ปลา ในหม้อดิน โดยมีการนำ�ขดลวดไฟฟ้ามาประยุกต์ใช้รว่ มกัน และยังได้ใบรับรองมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์ชมุ ชนจากสำ�นักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม ประเภทของ ประดับตกแต่งและของใช้ เทศบาลเมืองพิชัยกับการส่งเสริมดินเผาบ้านม่อนเขาแก้ว ปัจจุบนั กลุม่ เครือ่ งปัน้ ดินเผาบ้านม่อนเขาแก้ว มีสมาชิกประมาณ 80 ราย (ครัวเรือน) มีรายได้โดยเฉลี่ย 4,000 บาท/ราย/เดือน หรือรายได้ โดยเฉลี่ยของกลุ่ม ประมาณ 320,000 บาท/เดือน หรือ3,840,000 บาท/ปี แต่เนื่องจากกระบวนการเผาส่วนใหญ่เป็นแบบโบราณ ซึ่งก่อให้เกิดควันจาก การเผา ซึ่งเทศบาลเมืองพิชัยได้คำ�นึงถึงปัญหามลภาวะทางอากาศ และ ปัญหาหมอกควัน ที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของชาวบ้าน จึงได้ร่วมกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนาลำ�ปาง ทำ�เตาเผา เครื่องปั้นดินเผา จำ�นวน 2 ประเภท คือ เตาดักเขม่าควัน จำ�นวน 2 เตา และเตาเผาฟืนลมร้อนลงร่วมกับศูนย์พัฒนาอุตสาหกรรมเซรามิกลำ�ปาง
จำ�นวน 2 เตา โดยเตาทั้ง 2 ประเภทนั้น เป็นเตาที่ลดปริมาณ ควันจากการเผาไหม้ของเครื่องปั้นดินเผา ลดการเกิดภาวะ Air pollution ปลอดภัยต่อสุขภาพของชาวบ้าน และนอกจากนี้ยัง สามารถเผาเครือ่ งปัน้ ดินเผาได้ในปริมาณทีม่ ากขึน้ และลดความ เสียหายของเครื่องปั้นดินเผาในระหว่างเผาได้มากขึ้น รางวัลแห่งความภาคภูมิใจ หมู่บ้านม่อนเขาแก้วได้รับรางวัลต่าง ๆ ดังนี้ 1. รางวัลชนะเลิศ นวัตกรรม การประกวดนวัตกรรม ท้องถิน่ ไทย ครัง้ ที่ 1 จาก สำ�นักงานคณะกรรมการกระจายอำ�นาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ สำ�นักปลัดสำ�นักนายกรัฐมนตรี ประเภทโครงการส่งเสริมอาชีพและอนุรกั ษ์ภมู ปิ ญ ั ญาท้องถิน่ 2. รางวัลหมู่บ้านหัตถกรรมดีเด่น จาก มูลนิธิอนุสรณ์ หม่อมงามจิตต์บรู ฉัตร โดยรับพระราชทานโล่รางวัลจาก พระเจ้า วรวงศ์เธอพระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัตดามาตุ 3. หมูบ่ า้ นท่องเทีย่ วโอท็อป ด้านหัตถกรรมเครือ่ งปัน้ ดินเผา ของจังหวัดลำ�ปาง ซึ่งภายในหมู่บ้านม่อนเขาแก้วมีการจำ�หน่าย ผลิตภัณฑ์ตามจุดต่างๆ ภายในหมูบ่ า้ น ตามประเภทของผลิตภัณฑ์ ทัง้ นีเ้ พือ่ เป็นการลดการแข่งขันกันเองภายในกลุม่ เพือ่ เพิม่ อำ�นาจการ ต่อรองและเพิม่ มูลค่าของสินค้า เทศบาลเมืองพิชยั ชวนเทีย่ ว เทศบาลเมืองพิชัยและชาวบ้านม่อนเขาแก้ว ขอเชิญ ชวนนักท่องเทีย่ วทัง้ ชาวไทยและชาวต่างประเทศ ได้เข้ามาสัมผัส การท่องเทีย่ วทีท่ า่ นจะประทับใจไม่รลู้ มื เรียนรูว้ ถิ ชี วี ติ เกษตรกรรม วิถีชีวิตชุมชนจากภูมิปัญญาท้องถิ่นที่มีแห่งเดียวไม่เหมือนใคร การเดินทางสะดวกสบาย เพราะอยู่ห่างจากตัวเมืองลำ�ปางเพียง 4 กิโลเมตรเท่านั้น ท่านสามารถสอบถามข้อมูลการท่องเทีย่ วหมูบ่ า้ น OTOP บ้านม่อนเขาแก้วได้ท่ี สำ�นักงานเทศบาลเมืองพิชัย หรือติดต่อ สอบถามข้อมูลได้ท่ี 0 5433 5538 หรือ 0 5438 2774 และหาก สนใจผลิตภัณฑ์เครือ่ งปัน้ ดินเผา สามารถติดต่อสอบถามข้อมูลได้ท่ี คุณวันดี แปลกประหลาด ประธานกลุม่ หม้อดินปัน้ มือบ้านม่อนเขา แก้ว โทร 08 1387 6129 ผลิตภัณฑ์หม้ออบไก่
lampang 93
เส้เทศบาลตำ นทางพบ �บล
ประวัติเทศบาลตำ�บลบ่อแฮ้ว
เทศบาลตำ�บลบ่อแฮ้ว เดิมมีฐานะเป็นสุขาภิบาล ต่อมา วันที่ 25 พฤษภาคม 2542 ได้ยกฐานะขึน้ เป็น เทศบาลตำ�บลบ่อแฮ้ว ตามพระราชบัญญัตเิ ปลีย่ นแปลง ฐานะจากสุขาภิบาลเป็นเทศบาล พ.ศ.2542
ข้อมูลทั่วไป
นายสมพร วะเท
นายกเทศมนตรีต�ำบลบ่อแฮ้ว
เทศบาลตำ�บลบ่อแฮ้ว เทศบาลตำ�บลบ่อแฮ้ว เขียวขจี สะอาด สวยงาม ตามด้วยคุณภาพชีวิตที่ดีมีส่วนร่วม ของประชาชน ทุกคนได้รับการศึกษา อนุรักษ์ วัฒนธรรมท้องถิ่น และสิ่งแวดล้อม คือวิสัยทัศน์ของเทศบาลตำ�บลบ่อแฮ้วเลขที่ 99/9 หมู่ที่ 13 ตำ�บลบ่อแฮ้วอำ�เภอเมืองลำ�ปาง จังหวัดลำ�ปางโดย อยู่ ห่ า งจากที่ ว่ า การอำ � เภอเมื อ งลำ � ปางไปทางทิ ศ ตะวั น ตก ประมาณ 5 กิโลเมตรปัจจุบันมี นายสมพร วะเทดำ�รงตำ�แหน่ง นายกเทศมนตรีตำ�บลบ่อแฮ้ว 94
เทศบาลตำ�บลบ่อแฮ้วมีพนื้ ที่ 8.83 ตารางกิโลเมตร สภาพ พื้นที่โดยทั่วไปเป็นที่ราบลุ่ม มีแม่น้ำ�ตุ๋ยไหลผ่านมีหมู่บ้านในเขต เทศบาลตำ�บลบ่อแฮ้วเต็มพื้นที่ จำ�นวน 6 หมู่บา้ น ได้แก่หมู่ที่ 2 บ้านบ่อแฮ้ว, หมู่ที่3 บ้านทุ่งโค้ง, หมู่ที่8 บ้านทับหมาก, หมู่ที่ 11 บ้านป่ายะ, หมู่ที่13 บ้านน้ำ�โท้งอุดมพร และหมู่ที่14 บ้านม่วงแงว มีหมู่บา้ นในเขตเทศบาลตำ�บลบ่อแฮ้วบางส่วน จำ�นวน 5 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ที่ 4 บ้านท่าขัว, หมู่ที่ 5 บ้านน้ำ�โท้ง, หมู่ท ี่ 6 บ้านดง ม่อนกระทิง, หมู่ที่ 9 บ้านท่าล้อ และ หมู่ที่ 12 บ้านเขลางค์ทอง มีประชากรรวมทัง้ สิน้ 8,791 คนครัวเรือน จำ�นวน 3,752 ครัวเรือนประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม คิดเป็นร้อย ละ 80 บางส่วนทำ�อาชีพรับจ้างและเป็นลูกจ้าง คิดเป็นร้อยละ 15 และอาชีพอื่นๆ คิดเป็นร้อยละ 5 มีกลุ่มอาชีพที่สำ�คัญ ได้แก่ กลุ่มทอผ้าบ้านบ่อแฮ้วซึ่งชาวบ้านได้รวมกลุ่มกันเพื่อผลิตสินค้า ผ้าทอมือ เป็นสร้างงานสร้างรายได้ให้แก่ชาวบ้านโทร. 054356381, 054-356108, 087-3012511 ชมรมรักษ์สมุนไพรลำ�ปาง มีผลิตภัณฑ์สมุนไพรมากกว่า 150 ขนาน ใช้พืชสมุนไพรมากกว่า 90 ชนิด โทร. 054-313128, 054-313918, 054-350787ผลิตภัณฑ์ กระดาษสาบ้านท่าล้อ เป็นการแปรรูปกระดาษสาเป็นของใช้ของ ฝากของชำ�ร่วยและกล่องบรรจุภัณฑ์ต่างๆ นอกจากนีใ้ นเขตเทศบาลตำ�บลบ่อแฮ้วยังมีอตุ สาหกรรมที่ สำ�คัญ ได้แก่อุตสาหกรรมเครื่องปั้นดินเผาอุตสาหกรรมทำ�ผ้าหม้อ ฮ้อมผลิตภัณฑ์คอนกรีต ฯลฯซึ่งส่วนมากเป็นอุตสาหกรรมในครัว เรือน ใช้แรงงานสมาชิกในครอบครัว กิจกรรมด้านอุตสาหกรรม ได้มีการขยายตัวเพิ่มมากขึ้น เพราะมีปัจจัยส่งเสริมให้มีการลงทุน คือ วัตถุดิบสำ�หรับการผลิตในพื้นที่อำ�เภอเมืองลำ�ปาง และอำ�เภอ ใกล้เคียงเป็นจำ�นวนมาก และมีการคมนาคมขนส่งทีส่ ะดวกรวดเร็ว
กิจกรรมสำ�คัญของทต.บ่อแฮ้ว
ปลูกต้นไม้ถวายแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เทศบาลตำ�บลบ่อแฮ้ว โดยการนำ�ของนายสมพร วะเท นายกเทศมนตรีตำ�บลบ่อแฮ้ว คณะผู้บริหาร สมาชิกสภาเทศบาล ข้าราชการ ลูกจ้างประจำ� พนักงาน และประชาชน ร่วมการปลูก ต้นไม้ เพื่อถวายแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาส มหามงคลเสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติ 70 ปี ในวันที่ 9 มิถุนายน ณ สนามกีฬาต้านยาเสพติดหมู่บา้ นน้ำ�โท้งอุดมพร หมู่ที่ 13
งานบวงสรวงพระพรหม และไหว้ศาลพ่อปู่(เจ้ากู่) เทศบาลตำ�บลบ่อแฮ้วจัดงานบวงสรวงพระพรหม ไหว้ ศาลพ่อปู่(เจ้ากู่) และทำ�บุญเทศบาลตำ�บลบ่อแฮ้ว เนื่องในวัน เทศบาล 24 เมษายน 59 ณ สำ�นักงานเทศบาลตำ�บลบ่อแฮ้ว งานประเพณีรดน้ำ�ดำ�หัวผู้สูงอายุ เทศบาลตำ�บลบ่อแฮ้ว ได้จัดประเพณีรดน้ำ�ดำ�หัวผู้สูง อายุ เนื่องในวันสงกรานต์(ประเพณีปี๋ใหม่เมือง) ประจำ�ปี 2559 เมื่อวันที่ 16 เมษายน 2559 ณ ท่าน้ำ�หลังวันน้ำ�โท้ง ต.บ่อแฮ้ว อ.เมือง จ.ลำ�ปาง กิจกรรม / โครงการสำ�คัญ งานประเพณี “ตามรอยศรัทธา ไหว้สาอริยสงฆ์เจ้า หลวงพ่อเกษม เขมฺโก”เป็นประจำ�ทุกปี เพื่อเป็นการส่งเสริม ประเพณี ศาสนา วัฒนธรรม โดยการตกแต่งรถแห่เครือ่ งพุทธศิลป์ เครื่องสักการะแบบล้านนา แห่ครัวตานเพื่อนำ�ไปสักการะหลวง พ่อเกษม เขมฺโก ซึ่งเป็นอดีตพระอริยสงฆ์ที่ศิษยานุศิษย์ทั้งใน จังหวัดลำ�ปาง และประชาชนทั่วประเทศให้ความเคารพนับถือ โครงการ ๕ ธันวา วันพ่อแห่งชาติ เทศบาลตำ�บลบ่อแฮ้ว ได้จัดงานเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่อง ในวโรกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๕ ธันวาคม ของทุกปี ณ บริเวณลานกิจกรรมหน้าสำ�นักงานเทศบาลตำ�บลบ่อแฮ้ว โดย มีพิธีจุดเทียนชัยถวายพระพร การมอบโล่รางวัลพ่อดีเด่นแห่งปี เทศบาลตำ�บลบ่อแฮ้วและประชาชนตำ�บลบ่อแฮ้ว ได้น้อมถวาย ความจงรักภักดี ร่วมปกป้อง และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัริย์ และนำ�มาซึ่งความรัก ความสมานสามัคคีของคนในชาติสืบไป กลุ่มอาชีพที่โดดเด่น กลุ่มทอผ้า บ้านบ่อแฮ้ว เป็นการรวมกลุ่มกันของชาวบ้าน ตำ�บลบ่อแฮ้ว เพื่อผลิตสินค้าผ้าทอ ฝีมือชาวบ้าน เป็นการสร้าง รายได้ให้แก่ชาวบ้าน สามารถติดต่อทางหมายเลขโทรศัพท์ 054-356381, 085-356108, 087-3012511
lampang 95
เส้นทางพบ
องค์การบริหารส่วนตำ�บล
นายมานพ ปัญญายืน องค์การบริหารส่วนต�ำบลบ้านเสด็จ
องค์การบริหารส่วนตำ�บลบ้านเสด็จ สังคมแห่งการเรียนรู้ เคียงคู่คุณธรรม น้อมนำ� ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ลือเลื่องวัฒนธรรม สร้างสรรค์คุณภาพชีวิต เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม คือวิสัยทัศน์ขององค์การบริหารส่วนตำ�บลบ้านเสด็จ อำ�เภอเมืองลำ�ปาง จังหวัดลำ�ปาง โดยอยูห่ า่ งจากทีว่ า่ การอำ�เภอ เมืองลำ�ปางไปทางทิศเหนือประมาณ 18 กิโลเมตร องค์การบริหารส่วนตำ�บลบ้านเสด็จ เป็นอบต.ขนาดใหญ่ มีเนื้อที่ประมาณ 96 ตารางกิโลเมตร มีหมู่บ้าน 17 หมู่บ้าน มีประชากรรวมทัง้ สิน้ 10,796 คน ปัจจุบนั มี นายมานพ ปัญญายืน ดำ�รงตำ�แหน่ง นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลบ้านเสด็จ
96
พันธกิจ 1. พัฒนาคุณภาพชีวิต การศึกษา สุขภาพอนามัยของ ประชาชน ตลอดจนเสริมสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชน อนุรักษ์ สืบทอดศิลปะ จารีตประเพณี วัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นให้ คงอยู่ตลอดไป 2. บริหารระบบการใช้บริการงานป้องกันและบรรเทา สาธารณภั ย เพื่ อ ตอบสนองและบรรเทาความเดื อ ดร้ อ นของ ประชาชน 3. ส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียง และส่งเสริมให้ผผู้ ลิตปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย 4. พัฒนาปรับปรุงบำ�รุงรักษาระบบคมนาคม ระบบ สาธารณูปโภค สาธารณูปการให้เพียงพอต่อความต้องการของ ประชาชน 5. อนุ รั ก ษ์ ฟื้ น ฟู จั ด การทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้อม จัดให้มีการบำ�รุงรักษาแหล่งน้ำ� เพื่ออุปโภคบริโภคและ ใช้ในการเกษตร 6. มุ่งบริการประชาชนอย่างมีประสิทธิภาพ ภายใต้หลัก ธรรมาภิบาล ศักยภาพในการส่งเสริมการท่องเที่ยว 1. อยู่ในเขตอำ�เภอเมือง มีเส้นทางคมนาคมเชื่อมต่อ สะดวกโดยทางรถยนต์มาถึงแหล่งท่องเที่ยวของตำ�บล 2. สามารถเชือ่ มโยงกับแหล่งท่องเทีย่ วจากเขตอำ�เภอเมือง และตำ�บลใกล้เคียง 3. สามารถเที่ยวชมได้ทุกแห่งภายในหนึ่งวัน 4.สามารถรองรั บ การท่ อ งเที่ ย วด้ ว ยรถจั ก รยานและ จักรยานยนต์ได้ 5. สามารถเพิม่ แหล่งท่องเทีย่ วในเขตอำ�เภอเมืองลำ�ปางได้ อีก 9 แห่ง 9 ที่เที่ยวเด็ด ณ ตำ�บลบ้านเสด็จ 1. ไม้กลายเป็นหิน อยูต่ ดิ ทีพ่ กั สงฆ์ดอยน้อย หมูท่ ี่ 9 ตำ�บล บ้านเสด็จ เส้นทางเข้าอยู่ถนนเลียบคันคลองชลประทาน ห่างจาก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ประมาณ 3 กิโลเมตร จุดเด่นคือ เป็นสถานที่มีภูมิประเทศเป็นเนินและมีการกัดเซาะของ น้ำ�ฝน จนเป็นรูปร่างแปลกตาคล้ายแพะเมืองผี มรร่องรอยของแร่ ธาตุตา่ ง ๆ ในดินเป็นสีตา่ งๆ และเห็นการทับถมของซากพืชโบราณ อายุกว่าหนึ่งแสนห้าหมื่นปี จนกลายเป็นหิน
ไม้กลายเป็นหิน
วัดพระธาตุคว่ำ�หม้อ
2. วัดพระธาตุคว่ำ�หม้อ ตัง้ อยูท่ บ่ี า้ นห้วยน้ำ�เค็ม หมูท่ ่ี 7 ตำ�บลบ้านเสด็จ เส้นทางเข้าอยู่ติดถนนสาย ลำ�ปาง – งาว ฝั่ง ทางเข้าเมืองลำ�ปาง เป็นวัดที่มีตำ�นานเก่าแก่เชื่อมโยงกับวัดพระ ธาตุเสด็จ ว่ากันว่าก่อสร้างคู่กับวัดพระธาตุเสด็จ เนื่องจากขบวน เกวียนบรรทุกมวลสารที่จะนำ�มาก่อสร้างวัดพระธาตุเสด็จ มาคว่ำ� บริเวณวัดพระธาตุคว่ำ�หม้อ จึงเชื่อว่าสิ่งศักดิ์สิทธิ์ผู้รักษาวัดพระ ธาตุเสด็จประสงค์ให้สร้างวัดอีกแห่งหนึ่ง ณ ที่แห่งนี้ จึงตั้งชื่อวัด ตามเหตุการณ์ทถี่ กู บันดาลให้เกิดว่า “วัดพระธาตุคว่ำ�หม้อ” โดยทุก ปีจะมีงานประเพณีสำ�คัญประจำ�ปีคอื “ประเพณีแปดเป็ง” ตรงกับ วันวิสาขบูชา ซึ่งจะมีการสรงน้ำ�พระธาตุ 12 ราศี, ตักบาตร และ การแข่งขันบั้งไฟด้วย 3. วัดพระธาตุเสด็จ ตัง้ อยูท่ บ่ี า้ นเสด็จ หมู่ 5 ตำ�บลบ้าน เสด็จ เส้นทางเข้าอยูต่ ดิ ถนนสายลำ�ปาง – งาว ฝัง่ ทางไปอำ�เภองาว – พะเยา เป็นวัดทีม่ ชี อ่ื เสียงอีกแห่งในตำ�นานวัดสำ�คัญของจังหวัด ลำ�ปาง มีสง่ิ ก่อสร้างเก่าแก่วจิ ติ รงดงามและได้รบั การขึน้ ทะเบียนเป็น โบราณสถาน ของกรมศิลปากร ประเพณีประจำ�ปีสำ�คัญได้แก่ งาน ทำ�บุญสรงน้ำ�พระธาตุเสด็จ ซึง่ จัดขึน้ ในเดือนกุมภาพันธ์ของทุกปี รวม ทัง้ งานเทศกาลสำ�คัญทีเ่ ชือ่ มโยงกับพระพุทธศาสนา ได้แก่ ประเพณี งานวันสงกรานต์, งานวันลอยกระทง ทีส่ าธุชนและประชาชนใน ตำ�บลบ้านเสด็จทุกหมูบ่ า้ นจะพร้อมใจกันมาทำ�บุญทีว่ ดั พระธาตุเสด็จ
วัดพระธาตุเสด็จ 4. รอยพระพุทธบาทห้วยฝ้า อยูท่ บ่ี า้ นปงอ้อม – ร่องหอย หมูท่ ่ี 4 ตำ�บลบ้านเสด็จ เส้นทางเข้าจะอยูต่ ดิ ถนนสายลำ�ปาง – งาว ฝั่งทางเข้าเมืองลำ�ปาง เป็นแผ่นหินธรรมชาติที่มีรอยถูกกัดเซาะ จนมีรูปรอยเท้าคนและสัตว์เดินย่ำ�จนเป็นรอย สอดคล้องกับ ตำ�นานความเชือ่ เรือ่ งรอยพระพุทธบาท ทางขึน้ เป็นถนนคอนกรีต ค่อนข้างสูงชัน เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่อิงความเชื่อทางพระพุทธ ศาสนาซึง่ ไม่เป็นทีร่ จู้ กั ของคนทัว่ ไปมากนัก แต่คมุ้ ค่าทีจ่ ะแวะมา ชม และระหว่างทางขึ้นเขาสามารถชมวิวภูมิประเทศตำ�บลบ้าน เสด็จได้เช่นกัน 5. วัดพระพุทธรูปหยก หรือ วัดปงอ้อม ตั้งอยู่หมู่ที่ 4 ตำ�บลบ้านเสด็จ เส้นทางเข้าอยู่ถนนเลียบคลองชลประทานฝั่ง ถนนสาย ลำ�ปาง – งาว, พะเยา เป็นวัดที่เคยร้างและถูกบูรณะ ขึ้นใหม่โดยพลังศรัทธาของชาวบ้าน มีโบสถ์ที่ประดับตกแต่ง อย่างวิจิตรสวยงามอีกแห่งหนึ่งของอำ�เภอเมืองลำ�ปาง ภายใน lampang 97
วัดพระพุทธรูปหยก
รอยพระพุทธบาทห้วยฝ้า
เป็นประติมากรรมฝาผนังแบบตัวนูนสามมิติ เป็นที่ประดิษฐาน ของพระพุทธรูปหยกที่ใหญ่ที่สุดในภาคเหนือ โดยแกะสลักจาก หินหยกชิ้นเดียว เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย เป็นที่สักการบูชา และเป็นความภูมิใจของประชาชนตำ�บลบ้านเสด็จอีกแห่งหนึ่ง 6. วัดจำ�ค่าวนาราม ตั้งอยู่ที่บ้านจำ�ค่า หมู่ที่ 2 ตำ�บล บ้านเสด็จ อยูต่ ิดถนนสายลำ�ปาง – งาว ,พะเยา เป็นวัดที่มีเจดีย์ นาคล้อมซึ่งหาดูได้ยาก หากมาเที่ยวชมช่วงเวลาเช้าจะเห็นภาพ เงาสะท้อนเจดียก์ บั ผนังโบสถ์ เสมือนว่ามีเจดียค์ แู่ ฝด ซึง่ เป็นภาพ ที่ต้องมาชมให้ถูกช่วงเวลาจึงจะเห็นและถ่ายภาพได้ 7. ต้นมะม่วงป่าอายุกว่าร้อยปี อยู่ที่บ้านจำ�ค่า หมู่ที่ 2 ตำ�บลบ้านเสด็จ ทางเข้าอยูถ่ นนติดกับวัดจำ�ค่าวนาราม จากถนน สายลำ�ปาง –งาว ฝั่งทางไปอำ�เภองาว – จังหวัดพะเยา เข้าไป ในหมู่บ้านและผ่านไร่สับปะรดจนถึงดอย จะพบต้นมะม่วงป่า 2 ต้น ซึ่งชาวบ้านให้ข้อมูลว่าน่าจะมีอายุกว่าร้อยปีขึ้นไป เป็น พืชพรรณธรรมชาติที่เติบโตอยู่รอดมาได้ ยากที่จะพบเห็นทั่วไป ลำ�ต้นมีเปลือกตาไม้และรูปทรงที่แปลกตาตามอายุ มีความสูง และขนาดลำ�ต้นที่ใหญ่มาก 8. วัดพระเจ้าไม้ซ้อ ตั้งอยู่ที่บ้านเมาะพัฒนา หมู่ที่ 12 ตำ�บลบ้านเสด็จ ทางเข้าอยู่ติดถนนลำ�ปาง – งาว, พะเยา เข้าไป 98
วัดจำ�ค่าวนาราม
ต้นมะม่วงป่าอายุกว่าร้อยปี
วัดพระเจ้าไม้ซ้อ
ในหมู่บ้านเมาะพัฒนา จุดเด่นอยู่ที่โบสถ์ซึ่งมีความสวยงามและ เป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปที่แกะสลักจากไม้ซ้อ มีอายุเก่าแก่ โดยมี เรื่องเล่าจากคนเก่าแก่ว่า เมื่อมีการอพยพย้ายถิ่นฐานของ คนจากแม่เมาะมาอยูต่ ำ�บลบ้านเสด็จ ได้มกี ารคลืน่ ย้ายองค์พระเจ้า ไม้ซอ้ มาด้วย ข้อมูลทีม่ าขององค์พระเจ้าไม้ซอ้ ยังไม่ปรากฏแน่ชดั ว่าใครเป็นผู้สลักขึ้น แต่ต้นไม้ซ้อนั้นเป็นต้นไม้ที่คนภาคเหนือสมัย ก่อนเชื่อว่า เป็นต้นไม้ที่มีรุกขเทวดาสถิตอยู่และมีความศักดิ์สิทธิ์ 9. วัดทรายมูล ตั้งอยู่ที่บ้านทรายมูล หมู่ที่ 1 ตำ�บลบ้าน เสด็จ ทางเข้าอยู่ถนนสายคลองชลประทาน เส้นทะลุไปทางเข้า เขือ่ นกิง่ ลม เป็นทีป่ ระดิษฐานพระเจ้าทองทิพย์องค์อนิ ทร์ พระพุทธ รูปเป็นปางมารวิชัย มีความศักดิ์สิทธิ์เป็นที่เคารพสักการะของ ชาวบ้านในตำ�บลบ้านเสด็จ โดยมีตำ�นานว่า มีเทวดาจำ�แลงร่าง เป็นเณรน้อยมาเททองหล่อพระพุทธรูป ซึ่งขณะหล่อพระพุทธ รูปเททองเท่าใดก็ไม่เต็มเบ้าหลอม จนมีผู้พบเห็นว่ามีเณรน้อยมา เททองได้จนเต็มเบ้าหล่อ จากนั้นเณรรูปดังกล่าวก็หายไปไม่มีใคร พบเห็น องค์ ทุก ๆ ปีในเทศกาลปี๋ใหม่เมืองของชาวลำ�ปาง จะมี การอันเชิญพระเจ้าทองทิพย์องค์อนิ ทร์ประดิษฐานบนรถขบวนแห่ ให้ประชาชนชาวจังหวัดลำ�ปางได้สรงน้ำ� เพื่อความเป็นสิริมงคล นอกจากนี้ยังมีงานประเพณีประจำ�ปี คือ งานสรงน้ำ�พระเจ้าทอง ทิพย์องค์อินทร์ ในวันขึ้นแปดค่ำ� เดือน 8 เหนือ
วัดทรายมูล lampang 99
เส้นทางพบ
องค์การบริหารส่วนตำ�บล
คณะบริหารนายเรวัตร ยศเสนา นายพีรวัช มีทรัพย์ รองนายกฯนายสายันต์ แก้ววรรณรัตน์ เลขาฯนายก
นายสมศักดิ์ ตะนะเกต
นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลทุ่งฝาย
องค์การบริหารส่วนตำ�บลทุ่งฝาย ทุ่งฝายถิ่นเกษตรกรรม ล้�ำ เลิศภูมิปัญญาท้องถิ่น งานศิลป์ขิมสักทองชั้นดี อบอุ่นด้วยไมตรีจิต พัฒนาชีวิตอย่างยั่งยืน
คือคำ�ขวัญของตำ�บลทุ่งฝาย ซึ่งอยู่ในความดูแลของ องค์การบริหารส่วนตำ�บลทุ่งฝาย เลขที่ 140/1 หมู่ที่ 3 บ้าน แพะหนองแดง ตำ�บลทุ่งฝาย อำ�เภอเมือง จังหวัดลำ�ปาง โดย อยู่ห่างจากที่ว่าการอำ�เภอเมือง ประมาณ 12 กิโลเมตร มีเนื้อที่ ทั้งหมดประมาณ 20 ตารางกิโลเมตร (8,666 ไร่) ปัจจุบันมี นายสมศักดิ์ ตะนะเกต เป็น นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลทุง่ ฝาย 100
ประวัติต�ำ บลทุ่งฝาย
ในอดีตที่ตั้งของตำ�บลทุ่งฝาย คือ “บ้านไฮ่” (บ้านไร่) เนื่องจากมีสภาพเป็นป่าเป็นดงและมีราษฎรจากหมู่บ้านต่าง ๆ พา กันมาทำ�ไร่ ปลูกข้าว และพืชผักต่าง ๆ เลีย้ งชีพ ราวปีพ.ศ. 2400 มีผู้นำ�หมู่บ้านแห่งหนึ่งรวบรวมชาวบ้านไร่และหมู่บ้านใกล้เคียง ให้ ช่วยกันสร้างฝายกัน้ น้�ำ แม่วงั ขึน้ ทีท่ า้ ยทุง่ ฝาย พร้อมกับขุดลำ�เหมือง ชักน้�ำ เข้าสูท่ นี่ า และเรียกฝายนัน้ ว่า “ฝายปูล่ า้ นเป๊าะ” เพราะการ สร้างฝายนั้นกว่าจะเสร็จสมบูรณ์ต้องใช้หิน ดิน ทราย เป็นจำ�นวน มากถึงล้านเป๊าะ ( เป๊าะคือกระบุงหรือบุง้ กีท๋ ใ่ี ช้ขนหิน ดิน ทราย ) ซึ่งแนวลำ�เหมืองเดิมยังปรากฏให้เห็นอยู่เป็นบางแห่งตั้งแต่บ้านต้น ยางถึงบ้านนาป้อ
วิสัยทัศน์การพัฒนา
เป็นองค์การบริหารส่วนตำ�บลที่มุ่งส่งเสริมระบบของการ มีสว่ นร่วมในทุกภาคส่วนของท้องถิน่ ชุมชน และยึดถือธรรมาภิบาล ในการบริหารงานเป็นสำ�คัญ และสร้างผลงานการพัฒนาท้องถิน่ ให้ เป็นที่ประจักษ์ในระดับประเทศ
นิยามแห่งการพัฒนา
มุ่งมั่นสู่การเป็นตำ�บลที่ประชาชนร่วมดำ�เนินการ เพื่อ พัฒนาตำ�บลที่อยู่ และทำ�งานร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำ�บล ตัง้ แต่การร่วมคิด ร่วมสร้าง และร่วมรับผลประโยชน์ ซึง่ ถือว่าเป็นก ระบวนการทีจ่ ะสร้างเศรษฐกิจสังคมทีด่ แี ละยัง่ ยืนของชุมชน โดยผู้ บริหาร พนักงานทุกคนยึดหลักความโปร่งใสตรวจสอบได้ และถือ การรับใช้ประชาชนในชุมชนเป็นหน้าที่หลัก
ยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนา
ยุ ท ธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาด้านโครงสร้ างพื้ นฐาน แนวทางการพัฒนา ได้แก่ การก่อสร้าง ปรับปรุง บำ�รุงรักษา ถนน สะพาน, การพัฒนาด้านสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ, การ ไฟฟ้าสาธารณะ, การวางผังเมือง ยุทธศาสตร์ที่ 2 การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ง แวดล้อม แนวทางการพัฒนา ได้แก่ การสร้างจิตสำ�นึกและความ ตระหนักในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, การ บำ�บัดฟืน้ ฟู การเฝ้าระวัง และการป้องกันรักษาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาสังคมชุมชน และการรักษา ความสงบเรียบร้อย แนวทางการพัฒนา ได้แก่ การพัฒนาคุณภาพ ชีวิตเด็ก สตรี คนชรา และผู้ด้อยโอกาส, การศึกษา, การส่งเสริม ศิลปวัฒนธรรม ประเพณี และภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่ , การป้องกันรักษา และส่งเสริมสุขภาพอนามัยของประชาชน, การส่งเสริมความเข้ม แข็งของชุมชน ยุทธศาสตร์ท่ี 4 การพัฒนาด้านเศรษฐกิจ แนวทางการ พัฒนา ได้แก่ การส่งเสริมอาชีพและเพิม่ รายได้ให้แก่ประชาชน, การ ส่งเสริมการตลาดและการใช้สนิ ค้าท้องถิน่ , การส่งเสริมการท่องเทีย่ ว
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อบต.ทุ่งฝาย ได้จัดกิจกรรมงาน วันเด็กแห่งชาติ ประจำ�ปี พ.ศ. 25่59 ขึ้น เมือวันพฤหัสบดีที่ 7 มกราคม 2559 โดยท่านรองนายก อบต.ทุ่งฝาย นายพีรวัช มี ทรัพย์ ได้ให้เกียรติมาเป็นประธานเปิดงานวันเด็กของศูนย์พฒ ั นา เด็กเล็ก อบต.ทุ่งฝาย ซึ่งการจัดกิจกรรมในครั้งนี้มุ่งให้ความ สนุกสนานและสร้างความตระหนักให้แก่เด็ก ตลอดจนเป็นการ พบปะ แลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการเลี้ยงดูเด็กเล็กระหว่าง ครูผู้ดูแลเด็กและกลุ่มผู้ปกครอง ยุทธศาสตร์ที่ 5 การพัฒนาด้านการเมืองการบริหาร แนวทางการพัฒนา ได้แก่ การพัฒนาบุคลากร, การปรับปรุง การพัฒนาเครื่องมือ-เครื่องใช้ และสถานที่ปฏิบัติงาน
10 โครงการเด่นในรอบปี 2558
1. โครงการรณรงค์แก้ปัญหายาเสพติด ครู D.A.R.E 2. ส่งเจ้าหน้าที่เข้าร่วมโครงการฝึกอบรมทบทวนการกู้ชีพช่วย เหลือผู้ประสบภัย 3. โครงการอบรมและพัฒนาการคัดแยกขยะภายในตำ�บลทุง่ ฝาย 4. ส่งเสริมกิจกรรมถวายเทียนพรรษา 5. โครงการพาน้องเข้าวัดในวันสำ�คัญทางพระพุทธศาสนา 6. โครงการส่งเสริมพหุพาคีในการพัฒนาชุมชนอย่างยั่งยืน 7. โครงการผู้สูงวัย ใส่ใจธรรมะ 8. โครงการพัฒนาชนบทเชิงพื้นที่ประยุกต์ตามแนวพระราชดำ�ริ 9. โครงการอนุรกั ษ์สบื สานประเพณีปใ๋ี หม่เมือง (รดน้�ำ ดำ�หัวผูส้ งู อายุ) 10. โครงการแข่งขันกีฬาสัมพันธ์ตำ�บลทุ่งฝายต้านภัยยาเสพติด lampang 101
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
พระครูโสภิตพัฒนานุยุต เจ้าอาวาสวัดพระธาตุเสด็จ
วัดพระธาตุเสด็จ
วัดพระธาตุเสด็จ ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 638 หมูท่ ี่ 5 ต�ำบลเสด็จ อ�ำเภอเมือง จังหวัดล�ำปาง ห่าง จากตัวเมืองล�ำปางไปตามทางหลวงแผนดินหมายเลข ช่วงล�ำปาง-งาว ประมาณ 17 กิโลเมตร ปัจจุบันมี พระครูโสภิตพัฒนานุยุต เป็นเจ้าอาวาสวัด 102
ความส�ำคัญของวัดพระธาตุเสด็จ
หลักฐานทางประวัติศาสตร์ของวัดพระธาตุเสด็จ ซึ่งปรากฏ ในต�ำนานพระธาตุนครล�ำปาง เล่าว่า วัดในล�ำปางที่เชื่อว่าเป็นที่ ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า มีอยู่ 2 วัด คือ วัดพระธาตุล�ำปางหลวง และวัดพระธาตุเสด็จ ดังนั้นวัดพระธาตุเสด็จจึงเป็นวัดที่ส�ำคัญของเมืองล�ำปางนับ แต่อดีต โดยได้รับการอุปถัมภ์จากเจ้านาย ราชสกุลเจ้าหลวงเมือง ล�ำปาง พระเถระส�ำคัญ ตลอดจนคหบดี และชาวเมืองล�ำปาง คอย บ�ำรุงอุปถัมภ์ก่อสร้างศาสนสถาน และท�ำบุญถวายสิ่งของต่าง ๆ ไว้กบั วัดอยูไ่ ม่ขาด วัดพระธาตุเสด็จจึงมีทงั้ ศาสนสถานและโบราณ วัตถุสำ� คัญจ�ำนวนมาก กรมศิลปากรจึงขึน้ ทะเบียนวัดพระธาตุเสด็จ เป็นโบราณสถาน ตามประกาศลงในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 52 ตอนที่ 75 วันที่ 8 มีนาคม 2478 ประกาศก�ำหนดขอบเขตในราช กิจจานุเบกษา เล่มที่ 97 ตอนที่ 41 ลง วันที่ 14 มีนาคม 2523
โบราณสถานส�ำคัญ
1. พระเจดีย์พระธาตุเสด็จ ลักษณะเป็นเจดีย์ทรงกลมฐาน สี่เหลี่ยม ปรากฏรูปแบบศิลปะแบบบัวถลาแบบสุโขทัย กว้าง 7 วา สูง 15 วา 2. วิหาสุวรรณโคมค�ำ หรือวิหารพระพุทธ เป็นวิหารพืน้ เมือง เครือ่ งไม้ศลิ ปะลานนาไทย สร้างในสมัยพระเจ้าหอค�ำดวงทิพย์ เจ้า ผู้ครองนครล�ำปาง ล�ำดับที่ 3 ในปี พ.ศ. 2366 บูรณะครั้งใหญ่ใน ปี พ.ศ. 2500 3. วิหารจามเทวี หลังเดิมสร้างเมื่อใดไม่ปรากฏชัด หลัง ปัจจุบันเป็นวิหารศิลปะรุ่นตระกูลสล่า บูรณะในปี พ.ศ.2476 4. วิหารหลวง (หลังปัจจุบัน) สร้างขึ้นบนพื้นที่ของวิหารหลัง เดิมที่รื้อทิ้งไปในปี พ.ศ.2475 วิหารหลวงหลังปัจจุบัน มีลักษณะ เป็นอาคารคอนกรีตแบบศิลปะรัตนโกสินทร์ชว่ งปลายพุทธศตวรรษ ที่ 25 ภายในประดิษฐานพระพุทธรูปปางลีลาขนาดใหญ่เป็นพระ ประธานของวิหาร
โบราณวัตถุขึ้นทะเบียนกับกรมศิลปากร
1. พระพุทธรูปปางลีลา ศิลปะสมัยสุโขทัย ท�ำด้วยทองสัมฤทธิ์ สูงจากฐาน 421 เซนติเมตร ฐานสูง 39 เซนติเมตร สร้างราว พุทธศตวรรษที่ 20- 21 เป็นพระประธานในวิหารหลวง วัดพระ ธาตุเสด็จ 2. พระพุทธรูปประธานวิหารจามเทวี เป็นพระพุทธรูปศิลปะ ล้านนา ปางมารวิชัย ประทับนั่งขัดสมาธิราบ ขนาดหน้าตักกว้าง 60 นิ้ว ส่วนสูงตั้งแต่พระวรกายถึงพระรัศมี 71 นิ้ว นอกจากนี้ ยั ง มี พ ระพุ ท ธรู ป ปางลี ล าส�ำ ริ ด ตาก เมื อ งน่ า น พระพุทธรูปปางมารวิชัย วัดพระธาตุเสด็จ และพระแก้วหยก ซึ่งเป็นพระพุทธรูปปางสมาธิราบ พุทธลักษณะสมัยเชียงแสนตอน ปลาย หน้าตักกว้าง 47.9 เซนติเมตร สูง 65.9 เซนติเมตร สร้าง ด้วยหยกสีเขียว โดยพระแก้วหยกจะถูกอัญเชิญมาให้ประชาชน สักการบูชาและปิดทองบูชา ในช่วงงานประเพณีเดือนห้า ซึ่งเป็น งานประจ�ำปีของวัดพระธาตุเสด็จ
พิพิธภัณฑ์วัดพระธาตุเสด็จ
วัดพระธาตุเสด็จ เป็นวัดส�ำคัญของเมืองล�ำปางนับแต่ อดีต ซึง่ มีทงั้ ศาสนสถานและโบราณวัตถุสำ� คัญจ�ำนวนมาก อาทิ องค์พระธาตุเสด็จ วิหาโคมค�ำ (วิหารพระพุทธ) วิหารจามเทวี หลวง พ่อพระธาตุเสด็จในวิหารพระพุทธ พระพุทธรูปส�ำริดปางลีลา ศิลปะสุโขทัยในวิหารหลวง พระเชียงแสนศากยมุนใี นวิหารจามเทวี พระเจ้าฝนแสนห่าแก้วโคมค�ำ พระแก้วหยก จองเบิก เครื่องสูง พระบฏ อาสนะ หีบธรรม ขันโตก ฯลฯ กระทั่งเมื่อปี พ.ศ.2552 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ ล�ำปาง และ สถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้เข้ามาส�ำรวจและเล็งเห็นศักยภาพของวัดและชุมชน ในเรื่อง งานอนุรักษ์และงานพิพิธภัณฑ์ ผลจากการเข้าไปท�ำงานกับวัด และชุมชน การลงพื้นที่ที่อย่างต่อเนื่องของนักวิจัยสถาบันไทย คดีศกึ ษา ร่วมกับ ผูป้ ระสานงานมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ ล�ำปาง จึงเป็นที่มาของโครงการการท�ำนุบ�ำรุงศิลปวัฒนธรรม “โครงการจัดตั้งพิพิธภัณฑ์วัดพระธาตุเสด็จ”
LAMPANG 103
วัดจำ�ค่าวนาราม
ที่อยู่ : ถนนพหลโยธิน ตำ�บลบ้านเสด็จ อำ�เภอเมืองลำ�ปาง จังหวัดลำ�ปาง เจ้าอาวาส : พระปลัด(ครูบา)สรยุทธ สรัญโญ
นิโรธสมาบัติ
(อ่านว่า นิโรดสะมาบัด, นิโรดทะ- ) แปลว่า การเข้านิโรธ, การเข้าถึงความดับ หมายถึงการ เข้าถึงความดับสัญญา (ความจ�ำ) และเวทนา (ความรับอารมณ์) ทัง้ หมด ซึง่ สามารถดับได้ถงึ 7 วัน เรียกว่าเข้านิโรธสมาบัติ เรียกย่อว่า เข้า นิโรธ เรียกเต็มว่า เข้าสัญญาเวทยิตนิโรธ นิโรธสมาบัติ ต้องเป็นพระอรหันต์และ พระอนาคามีผไู้ ด้สมาบัติ 8 จึงจะสามารถเข้าได้ ถื อ กั น มาว่ า ผู ้ ไ ด้ ถ วายอาหารแด่ พ ระสงฆ์ ผู ้ ออกจากนิโรธสมาบัติมื้อแรกจะได้รับอานิสงส์ ในปัจจุบันทันตา ทั้งนี้เพราะเป็นอาหารมื้อ ส�ำคัญหลังจากที่ท่านอดมาถึง 7 วัน ร่างกาย จึงต้องการอาหารมากเป็นพิเศษ
104
Lampang 105
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดดำ�รงธรรม พระครูปลัดวรวุฒิ สิริภัทรเมธี เป็นเจ้าอาวาสด�ำรงธรรม
วัดด�ำรงธรรมหรือที่ชาวบ้านมักเรียกว่า “วัดไทยใต้” ตั้งอยู่เลขที่ 246 ถนนวังขวา ต�ำบลสบตุ๋ย อ�ำเภอเมือง จังหวัดล�ำปาง สังกัดสงฆ์ มหานิกาย ปัจจุบันมีพระครูปลัดวรวุฒิ สิริภัทรเมธีเป็นเจ้าอาวาสด�ำรงธรรม
ประวัติความเป็นมาของวัด
วัดด�ำรงธรรม สร้างขึน้ ในราวปี พ.ศ.2419 ผูส้ ร้างคือ คุณก๋ง ฟอง ฟองอาภาซึ่งเป็นพ่อค้าไม้ ได้พาคุณยายทองอยู่พร้อมด้วย ครอบครัวอพยพจากภาคกลางขึ้นมาตั้งรกรากอยู่ที่จังหวัดล�ำปาง ต่อมาเมื่อคุณยายทองอยู่เสียชีวิตไป คุณก๋งฟอง จึงได้จัดการขอ แบ่งและขอซื้อที่ดินจากผู้มีชื่อหลายคน ได้เนื้อที่ประมาณ 3 ไร่ เศษ แล้วสร้าง “วัดไทยใต้” ขึ้นเพื่อเป็นอนุสรณ์ให้คุณยายทอง อยู่ผู้ล่วงลับ ตามปณิธานที่ท่านต้องการให้มีวัดของชาวไทยภาค กลาง เพื่อให้คนจากภาคกลางได้บวชเรียนและได้มาท�ำบุญ ฟัง เทศน์ฟังธรรมได้อย่างเข้าใจ ทั้งนี้เพราะผู้ที่จะบวชเป็นพระใน ภาคเหนือต้องบวชเรียนเขียนอ่านเป็นอักษรพื้นเมืองและเทศน์ 106
เป็นภาษาค�ำเมืองต่อมาได้เปลีย่ นชือ่ วัดไทยใต้เป็น “วัดด�ำรงธรรม” เมื่อประมาณ พ.ศ.2492 ครั้งมหาอุ่นเป็นเจ้าอาวาส วัดนี้มีความส�ำคัญในประวัติศาสตร์และสังคม คือเป็นที่พัก ทหาร เมื่อครั้งสงครามอินโดจีน ครั้งที่ 2 เป็นสถานที่เก็บศพไม่มี ญาติ เป็นสถานที่ทางราชการใช้เป็นหน่วยเลือกตั้ง ส.ส. ,ส.ท,ส.ว ทุกครัง้ ทีม่ กี ารเลือกตัง้ และเป็นสถานทีป่ ระชุมของพุทธศาสนิกชน ทั่วไป ตลอดถึงการบ�ำเพ็ญกรณียกิจต่างๆ ทางศาสนาด้วย
ปูชนียวัตถุที่ส�ำคัญภายในวัด
พระเจ้าทองติ๊บ อายุประมาณ 100 กว่าปีเศษ, พระพุทธวชิร ด�ำรง (พระประธานในอุโบสถ์) อายุประมาณ 100 กว่าปีเศษ,
พระเจ้าทันใจมิ่งมงคลยอดเศรษฐีมหาเงินล้าน ประดิษฐานใน เจดีย์, หลวงพ่อใหญ่ทันใจหรือพระพุทธเมตตาปรารถนาทันใจ และ เทพพระเจ้ากวนอู 1 เดียวในจังหวัดล�ำปาง
ประวัติเจ้าอาวาสวัดด�ำรงธรรม
“พระครูนกั พัฒนาอายุนอ้ ยทีส่ ดุ ในจังหวัดล�ำปาง หรือเรียก ว่าพระหนุ่มรุ่นใหม่ไฟแรง” หากการพูดถึงวงการสงฆ์ถอื ได้วา่ มีนอ้ ยมากหรือแทบจะไม่มี เลยก็ว่าได้ที่จะมีพระครูปลัดตั้งแต่อายุน้อยแค่ 20 ปีเศษๆ แต่ เจ้าอาวาสวัดด�ำรงธรรม ด�ำรงสมณศักดิ์เป็นถึงพระครูปลัดซึ่ง ถือว่ามีอายุน้อยที่สุดในจังหวัดล�ำปาง พระครูปลัดวรวุฒิ สิริภัทรเมธี เจ้าอาวาสด�ำรงธรรมเปิด เผยว่า ท่านเป็นคนล�ำปางโดยก�ำเนิดมารักษาการต�ำแหน่งเจ้า อาวาสได้เป็นปีที่ 3 แล้ว หลังจากวัดแห่งนี้เป็นวัดปิดมานาน กว่า 20 ปี เพราะไม่มคี ณะศรัทธามาท�ำบุญ เนือ่ งจากเกิดวิกฤต ปัญหาภายในวัด ซึ่งตัวพระครูวรวุฒิเองได้รับความเมตตาจาก พระเดชพระคุณเจ้าพระราชจินดา เจ้าคณะจังหวัดล�ำปาง เจ้า คณะอ�ำเภอเมืองล�ำปาง เจ้าคณะต�ำบลสบตุ๋ยให้โอกาสท่านได้ เข้ามาฟื้นฟูเพื่อพัฒนาวัดด�ำรงธรรมแห่งนี้ ซึง่ ก่อนทีจ่ ะมารักษาการเจ้าอาวาสแห่งนี้ พระครูวรวุฒเิ ป็น สามเณรอยู่ที่วัดท่าคราวน้อย บวชมาตั้งแต่ปี 2549 จนเป็นพระ ภิกษุสงฆ์ เมื่อเดือนมิถุนายนปี 2556 และวันที่ 1 กรกฎาคม ปีเดียวกัน ก็ได้รับฐานานุกรมเป็นพระครูปลัดของพระราชา คณะชั้นราช ถือว่าเป็นพระครูที่ด�ำรงฐานานุกรมมีอายุน้อยใน ประวัติศาสตร์ โดยขณะนั้นมีอายุเพียง 19 ปี 6 เดือน เท่านั้น และได้ด�ำรงต�ำแหน่งผู้ช่วยเจ้าอาวาส เป็นเลขาฯเจ้าคณะต�ำบล เป็ น รองผู ้ อ� ำ นวยการการศึ ก ษาพระพุ ท ธศาสนาวั น อาทิ ต ย์ อาจารย์สอนศีลธรรมส่วนผลงานในด้านเผยแพร่พุทธศาสนาได้ เป็นพระวิทยากรในการอบรมพระพุทธศาสนา
“การฟื้นฟูเข้ามารับต�ำแหน่ง ต้องท�ำด้วยความศรัทธา เพราะว่าวัดด�ำรงธรรมเป็นวัดทีด่ อ้ ยโอกาส เนือ่ งจากเป็นวัดทีไ่ ม่มี ชุมชน ไม่มศี รัทธาอุปถัมภ์ จึงจ�ำเป็นใช้ความศรัทธาจากตัวพระ ครูวรวุฒเิ อง ถึงจะดึงศรัทธาญาติโยมเข้าวัดได้ และต้องขอบคุณ คณะกรรมการชุดปัจจุบัน ที่เข้ามาช่วยกันท�ำงานเพื่อวัดถึงแม้ จะมีน้อยแต่ก็ใช้ความสมานสามัคคีกัน เพราะว่าศรัทธาแต่ละ คนที่มาร่วมพัฒนาวัดอยู่คนละที่คนละทางและส่วนใหญ่เป็น ศรัทธาของตัวพระครูวรวุฒิที่ให้การอุปถัมภ์มาโดยตลอด ตั้งแต่ เข้ามาก็เริ่มพัฒนาทันที โดยมีการวางแผนเน้นความสะอาดจัด ระเบียบภายในวัด ที่ส�ำคัญคือระบบการปกครอง เพราะภายใน วัดขาดความสมานสามัคคี ขาดความศรัทธา ท�ำให้ไม่สามารถ ดึงให้ศรัทธาญาติโยมเข้ามาท�ำบุญทีว่ ดั ได้ จึงจ�ำเป็นต้องสร้างสิง่ เหล่านีข้ นึ้ มาใหม่ ถือว่าเป็นมิตใิ หม่ของวัดซึง่ ผลปรากฏว่ามีเสียง สะท้อนกลับในการเข้าพัฒนาวัดกว่า 95 % ถือว่าเป็นสัญญาณทีด่ ี มีคำ� ชืน่ ชมว่าวัดด�ำรงธรรมมีการพัฒนาไปได้เร็วมากในช่วงระยะ เวลา 2 ปี กิจกรรมทางด้านพระพุทธศาสนาไม่เคยขาดเพราะ ว่าวัดด�ำรงธรรมมีกิจกรรมตลอด เช่น สวดมนต์ทุกวันพระเปิด โอกาสให้คณะศรัทธาทั่วไปเข้ามาสวดมนต์ถือศีล ปฏิบัติธรรม ประชาสัมพันธ์ทางสื่อและทางเฟซบุค เพื่อให้คนภายนอกรู้ว่า วัดด�ำรงธรรมแห่งนี้ มีการเปลีย่ นแปลงและเปิดโอกาสให้ศรัทธา เข้ามาท�ำบุญได้ ซึ่งทั้งหมดนี้ท�ำให้เห็นถึงการพัฒนาวัดจนได้รับ ความเมตตาจากพระเดชพระคุณพระราชจินดานายกเจ้าคณะ จังหวัดล�ำปาง ส่งประวัติเพื่อรับรางวัลประทานหงส์ทองค�ำ บุคคลตัวอย่างในสาขาผูพ้ ฒ ั นาและท�ำคุณประโยชน์ดา้ นพระพุทธ ศาสนาและจริยธรรมตัวอย่าง (ฝ่ายสงฆ์) เป็นตัวแทนของคณะ สงฆ์จังหวัดล�ำปาง และเดินทางเข้ารับรางวัลที่กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 23 เมษายน 2559 ที่ผา่ นมา โดยมีผู้ประทานรางวัล คือหม่อมราชวงศ์สมลาภ กิติยากร เลขานุการในพระเจ้าวรวงศ์ เธอ พะองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ คุณสมบัติใน การได้รับเลือกเข้ารางวัล คือการพัฒนาภายในวัดด้านกิจกรรม ด้านกิจกรรม ด้านเผยแผ่พุทธศาสนาโดยจะเน้นการเผยแผ่ พระพุทธศาสนา”
LAMPANG 107
เส้นทางพบ
องค์การบริหารส่วนตำ�บล
ข้อมูลทั่วไป
ตำ�บลเวียงตาลมีพน้ื ทีป่ ระมาณ 107.186 ตร.ม.(66,991 ไร่ 1 งาน) มีเขตการปกครอง 11 หมูบ่ า้ น ประชากรรวมทัง้ สิน้ 8,771 คน เป็นชาย 4,306 คน หญิง 4,465 คน จำ�นวนครัวเรือน 3,042 ครัวเรือน ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม โดยอาศัยน้ำ�ฝน ตามฤดูกาลและแหล่งน้ำ�จากสระน้ำ� อ่างเก็บน้ำ� ทีภ่ าครัฐได้พฒ ั นา ขึ้นเพื่อใช้ในฤดูแล้ง รองลงมาได้แก่ รับจ้างและค้าขาย ลักษณะ ภูมิประเทศ 1 ใน 3 เป็นพื้นที่ภูเขาสลับซับซ้อนอยู่ในเขตป่าสงวน แห่งชาติ เป็นแหล่งต้นน้ำ�ลำ�ธาร ส่วนพื้นที่ที่อยู่อาศัยและที่ดิน ทำ�กินจะตั้งขนานไปตามแนวลำ�น้ำ�และลำ�ห้วย สภาพภูมิอากาศ แบ่งเป็นช่วงฤดูอย่างชัดเจน ในช่วงฤดูฝนจะมีปริมาณฝนตกค่อน ข้างมาก ฤดูหนาวมีอุณหภูมิอากาศหนาวเย็น และในช่วงฤดูรอ้ นจะ ประสบปัญหาจากสถานการณ์ภยั แล้ง
นายนิวัฒน์ ปะระมา
นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลเวียงตาล
องค์การบริหารส่วนตำ�บลเวียงตาล เวียงตาลน่าอยู่ ชุมชนเข้มแข็ง เศรษฐกิจมั่นคง สิ่งแวดล้อมยั่งยืน คือวิสัยทัศน์ในการพัฒนาที่ว่า “องค์การบริหารส่วน ตำ�บลเวียงตาล พัฒนาไปสู่ความเป็นเมืองน่าอยู่ สถานที่น่าท่อง เทีย่ ว ครอบครัวมีความอบอุน่ และสงบสุข ชุมชนมีความเข้มแข็ง เศรษฐกิจชุมชนพึ่งตนเองและการพัฒนาอย่างยั่งยืน ด้วยการ บริหารจัดการที่ดี โดยความร่วมมือจากทุกภาคส่วน” องค์การบริหารส่วนตำ�บลเวียงตาลตั้งอยู่ทางทิศเหนือ ของอำ�เภอห้างฉัตร ห่างจากตัวเมืองจังหวัดลำ�ปาง ประมาณ 25 กิโลเมตร ตามเส้นทางถนนทางหลวงหมายเลข 11 (ลำ�ปางเชียงใหม่) ปัจจุบันมีนายนิวัฒน์ ปะระมา ดำ�รงตำ�แหน่งนายก องค์การบริหารส่วนตำ�บลเวียงตาล และนายวุฒิพล มณฑาทอง เป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตำ�บลเวียงตาล 108
กิจกรรม/โครงการพัฒนาที่โดดเด่น
ประเพณีบวงสรวงเจ้าพ่อขุนตาน : “ฮีตฮอยแห่งศรัทธา ไหว้สาพญาเบิก นำ�สิริ สามัคคี” เพื่อการสืบสานประเพณีล้านนา ฟื้นคุณค่าสู่ชุมชน และ เสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม วันที่ 12 พฤษภาคมของทุกปี กำ�หนดจัดพิธีบวงสรวงเจ้าพ่อขุนตานของประชาชนทุกหมู่เหล่า ร่วมกันถวายเครื่องบวงสรวงสักการะ รำ�ลึกพระเกียรติคุณใน วีรกรรมของบรรพชนผู้กล้าในอดีต นามเจ้าขุนตาน(พญาเบิก) ผูเ้ ป็นเจ้าเมืองเขลางค์นคร และ เมืองเวียงต้าน ราชบุตรของพญายีบา ุ ชัยในราชวงศ์จามเทวี ได้สะสมไพร่พลเพือ่ รักษาเมือง เจ้านครหริภญ จากการรุกรานของกองทัพพญามังรายมหาราช เจ้าเมืองเชียงราย และเมืองฝาง เพื่อต้านศึกในบริเวณพื้นที่แห่งหนึ่งใกล้ทิวเขาใหญ่ ซึ่งหากผู้ใดมาสักการะจะเป็นสิริมงคลแก่ตนเองและครอบครัว พิพิธภัณฑ์ศาสตราวุธโบราณลำ�ปาง (วัดเหล่าดอนไชย) : หมูบ่ า้ นหัตถกรรมมีดดาบล้านนา สิง่ ทีอ่ ยูค่ กู่ บั แผ่นดินกว่า 1,300 ปี ที่เหล่านักรบแห่งล้านนากับการต่อสู้เพื่อแผ่นดินแห่งเมืองเขลางค์ นครล้วนแลกมาด้วยความกล้าหาญ ภูมิปัญญาที่สืบทอดมาได้ถึง ปัจจุบนั คือศาสตราวุธโบราณล้านนา ด้วยศิลปะเฉพาะ การตีใบดาบ ใบหอก ใบง้าว การเหลาฝักดาบ การถักหวายตอกตะวา กระบังดาบ สายมัดดาบ กุบละแอ ฯลฯ และตกแต่งตัวดาบให้สมบูรณ์สวยงาม ยังคงอยูท่ ห่ี มูบ่ า้ นหัตกรรมมีดดาบล้านนา บ้านขามแดง บ้านสันทราย บ้านเหล่า บ้านใหม่แม่ปาง ของจังหวัดลำ�ปาง เพียงแห่งเดียวใน ประเทศไทย และรวบรวมไว้ ณ ที่แห่งนี้ ศูนย์สง่ เสริมและพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียงตำ�บลเวียงตาล เป็นศูนย์การเรียนรู้และพัฒนาตามแนวหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอ เพียงให้แก่ราษฎรในพื้นที่ เพื่อให้ความรู้ด้านการเกษตรวิถีพอเพียง สร้างอาชีพเสริม ลดรายจ่ายเพิ่มรายได้ โดยขอใช้พื้นที่ของนิคม สหกรณ์ห้างฉัตร (ด้านหลัง อบต.เวียงตาล) ประมาณ 80 กว่าไร่ เพื่อเป็นที่ตั้งศูนย์ฯ จัดสรรให้แก่สมาชิกกลุ่มเกษตรกรปลูกพืชผัก ปลอดสารพิษเป็นพื้นที่เพาะปลูก ให้สมาชิกกลุ่มฯ เป็นวิทยากร ถ่ายทอดความรู้ที่ได้จากการปฏิบัติจริง ขยายผลแก่เกษตรกรหรือ ชุมชนอื่นที่สนใจ
การอนุ รั ก ษ์ แ ละฟื้ น ฟู พื้ น ที่ ต้ น น้ำ � : แม่ ต าลน้ อ ย หมูบ่ า้ นอยูด่ มี สี ขุ ชุมชนบ้านแม่ตาลน้อยเดิมมีวถิ ชี วี ติ อยูร่ ว่ มกับ ป่า ต่อมาป่าต้นน้ำ�ถูกทำ�ลาย ป่าไม้ถูกตัด สัตว์ป่าลดลง พื้นดิน ไม่อุ้มน้ำ� ยามฝนตกหนักเกิดน้ำ�ป่าไหลหลาก ตะกอนทรายไหล สู่เบื้องล่าง ที่ทำ�กินที่อยู่อาศัยเสียหาย น้ำ�กินน้ำ�ใช้ขาดแคลน ลำ�น้ำ�ตานตืน้ เขิน เพือ่ แก้ปญ ั หาทีใ่ กล้ตวั ชุมชนเริม่ เข้าใจ แกนนำ� ทีเ่ ข้มแข็ง นำ�ไปสูก่ ารอนุรกั ษ์พนื้ ฟูปา่ ต้นน้ำ� สร้างฝายดักตะกอน ปลูกไม้เสริมป่า จัดการการใช้น้ำ�ของคนในชุมชนร่วมกับองค์กร ภาครัฐ เอกชนและมูลนิธิโคคาโคล่า มูลนิธิอุทกพัฒน์ ปัจจุบัน เป็นแหล่งการเรียนรู้ในการอนุรักษ์และพื้นฟูพื้นที่ต้นน้ำ�บ้านแม่ ตาลน้อย ใน ต.เวียงตาล และเป็นพื้นที่ทำ�กิจกรรมประโยชน์ เพื่อสังคม (CSR) พื้นที่หนึ่ง
lampang 109
อุ ท ยานแห่ ง ชาติ ด อยขุ น ตาล เป็ น เทื อ กเขากั้นเขต จ.ลำ�พูนที่ อ.แม่ทาและ จ.ลำ�ปางที่ อ.ห้างฉัตร พื้นที่ประมาณ 159,556 ไร่ มีอโุ มงค์รถไฟยาวทีส่ ดุ ในประเทศไทย ระยะทาง 1,352 ม. ใช้เวลาวิ่งผ่านประมาณ 5 นาที ดอยขุนตาลประกอบด้วยป่าดงดิบ ป่ า สน มี 4 ยอดเขาจากเชิ งดอย ถึ งยอดสู งสุ ด ประมาณ 7 สามารถแวะชมทั ศ นี ย ์ ภ าพ ซื ้ อ สิ นค้ า พื ้ นบ้ า นระหว่างทางได้ ถ้าเข้าทาง อ.แม่ทา จ.ลำ�พูน กม. 46-47 แล้วตรงไปอีก 18 กม. ทางรถไฟลงที่สถานีขุนตานแล้วเดินเท้าขึ้นไปอีกราว 1.3 กม.
ดอยขุนตาล
สถานที่ท่องเที่ยวสำ�คัญ
อุทยานประวัติศาสตร์เจ้าขุนตาน (พญาเบิก) ที่ตั้ง อนุสาวรีย์เจ้าพ่อขุนตาน (พญาเบิก) เจ้าเมืองเวียงต้าน เป็น เวียงโบราณตามประวัติศาสตร์ เมื่อสมัยพญามังรายรวบรวม อาณาจักรล้านนา (พ.ศ.1814) พญาเบิกใช้ซ่องสุมผู้มีฝีมือ เพื่อป้องกันเมือง ช่วยพญายีบาผู้เป็นพระบิดา แม้ว่าจะต้อง สิ้นพระชนม์ในการรบด้วยความกล้าหาญ ปัจจุบันยังคงปรากฏ เหลือร่องรอยของคูเมือง (คือเมือง) ค่อนข้างสมบูรณ์ และ กำ�แพงเมือง ออกเป็น 3 ส่วน มีบ่อน้ำ�ก่ออิฐดินเผาเป็นวงกลม ซากอิฐเก่าขนาดใหญ่เรียงซ้อนกันเป็นแนวฐานกำ�แพงอาคาร กระจายตัวอยู่หลายแห่ง ปัจจุบันคงเหลือพื้นที่เวียงโบราณ ประมาณ 200 กว่าไร่ อยู่ที่บ้านหัววัง ห่างจากสถานีตำ�รวจ ห้างฉัตรประมาณ 3 ก.ม. พระธาตุดอยน้อย ภายในบรรจุพระธาตุเจ้าองค์คำ� (พระบรมสารีริกธาตุ) ณ วัดดอยน้อย บ้านสันทราย โบสถ์มี ประตูเข้าออกทางเดียว (โบสถ์มหาอุด) ห้ามผูห้ ญิงเข้า มีโบราณ วัตถุ ศิลปะเก่าแก่ ขึ้นทะเบียนโบราณสถานจากกรมศิลปากร 110
ศูนย์อนุรักษ์ช้างไทย
กาดทุ่งเกวียน
เทศบาลตำ�บลปงยางคก คำ�ขวัญตำ�บลปงยางคก ถิ่นก�ำเนิดหนานทิพย์ชา้ ง
งามสล้างวิหารจามเทวี ต้นประเพณีตานก๋วยสลาก หลายหลากสินค้าหัตถกรรม ศูนย์ปฏิบัติธรรมบ�ำบัดอัมพฤกษ์อัมพาต
วิสัยทัศน์
สังคมน่าอยู่ สู่คุณภาพชีวิตที่ดี สืบสานประเพณีวัฒนธรรม ก้าวน�ำเศรษฐกิจ ปลอดมลพิษทุกชุมชน เป็นต�ำบลแห่งการมีส่วนร่วม
ประวัตคิ วามเป็นมาของตำ�บลปงยางคก
ต�ำบลปงยางคก เดิมเป็นหมูบ่ า้ นเก่าแก่ของ จังหวัดล�ำปาง ซึง่ มีความส�ำคัญทางประวัตศิ าสตร์ ของล้านนาเป็นอย่างมาก ชือ่ เดิมเรียกว่า “บ้าน ปงจ๊างนบ” ก่อนทีจ่ ะยกฐานะเป็นต�ำบลในปัจจุบนั ตามต�ำนานได้ กล่าวไว้วา่ เมือ่ ประมาณปี พ.ศ. 1206 พระนางจามเทวี ราชธิดากรุงละโว้ (ลพบุร)ี ได้ยก กองทัพขึน้ มาครองเมืองหริภญ ุ ไชย (ล�ำพูน) และ ราว พ.ศ. 1224 ได้ให้ มหันตยศ ราชบุตรองค์ทหี่ นึง่ ครองเมืองหริภุญไชยแทนและให้ราชบุตรองค์ที่ สอง คือ อนันตยศ มาสร้างและครองเมืองเขลางค์นคร (ล�ำปาง) ราว พ.ศ. 1243 พระนางจามเทวีได้เสด็จ พระราชด�ำเนินจากหริภุญไชย(ล�ำพูน) เพื่อมา เยีย่ มพระอนันตยศ ผูเ้ ป็นราชบุตร ผูค้ รองเมือง เขลางค์ โดยทรงช้างพระทีน่ งั่ เดินไปตามเส้นทาง เมือ่ เสด็จมาถึงหมูบ่ า้ นแห่งหนึง่ (บ้านปงยางคกใน ปัจจุบนั ) ปรากฏอัศจรรย์ ช้างพระทีน่ งั่ ทรุดเข่า ลงหมอบคู้ชูงวงในท่าคารวะ พระนางจามเทวี เห็นเป็นอัศจรรย์ จึงพักพล ณ ทีน่ นั้ หนึง่ คืน เมือ่ ถึงเวลากลางคืน จึงอธิษฐานหาก ณ ที่นี้มีสิ่ง ศักดิ์สิทธิ์ ก็ขอให้ปรากฏ ปาฏิหาริย์ขึ้น สิ้นค�ำ พระด�ำรัสของพระนางจามเทวี ก็ปรากฏแสง ฉับพรรณรังสีแห่งพระบรมสารีริกธาตุพวยพุ่ง ขึน้ ณ ทีจ่ อมปลวกแห่งหนึง่ จึงทรงให้ปลูกวิหาร จามเทวีรอบจอมปลวกไว้ด้วยมณฑปปราสาท ตลอดจนสร้างรูปจ๊างนบไว้บริเวณหน้าวิหาร
เป็นรูปช้างทรุดเข่าลงหมอบคูช้ งู วงขึน้ เหนือหัว ในท่าคารวะและปลูกต้นไม้ศรี มหาโพธิ์ ซึ่งได้ พันธุ์มาจากลังกาทวีปไว้พร้อมสรรพต่อมา ณ ที่แห่งนี้จึงเรียกว่า บ้านปงจ๊างนบ ต่อมาเป็น เวลาหลายร้อยปี นามนีก้ ไ็ ด้เพีย้ นไปเป็น บ้าน ปงยางคก อันเป็นชือ่ เรียกขาน ต�ำบลปงยางคก จนถึงปัจจุบัน
ศาสนาสถานสำ�คัญของตำ�บลปงยางคก
วัดปงยางคก วัดปงยางคกตัง้ อยูท่ ี่ หมูท่ ี่ 9 บ้านปงยางคก ต�ำบลปงยางคก อ�ำเภอห้างฉัตร จังหวัดล�ำปาง ภายในวัดมีโบราณสถานที่ส�ำคัญ คือ วิหาร พระแม่เจ้าจามเทวี ซึง่ สร้างขึน้ เมือ่ ราว พ.ศ.1243 วัดปงยางคกนีม้ คี วามส�ำคัญทางประวัตศิ าสตร์ อันยาวนาน เพราะเป็นถิน่ ก�ำเนิดของเจ้าหนาน ติบ๊ จ๊าง (เจ้าพระยาสุรวฤาชัยสงคราม) วีระบุรษุ แห่งเขลางค์นคร ผู้กอบกู้อิสระภาพจากพม่า ข้าศึก อันเป็นต้นตระกูลของเจ้าผูค้ รองนครใน ภาคเหนือมาแต่อดีต อีกประการหนึง่ ก่อนทีเ่ จ้า หนานติ๊บจ๊างจะได้ปราบดาภิเษกเป็นเจ้าพระยา สุ ร วฤาชั ย สงครามขึ้ น ปกครองเขลางค์ น คร ล�ำปาง พระองค์กไ็ ด้ศกึ ษาเล่าเรียนพระธรรมวินยั และบวชเป็นพระภิกษุอยู่ ณ วัดปงยางคกนีม้ าก่อน จึงถือว่าเป็นวัดประวัตศิ าสตร์ของลานนาไทยเรา ที่มีความส�ำคัญยิ่งทีเดียว LAMPANG 111
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
อตฺตทีโป ภิกฺขุ ตุ๊เจ้า ลัมภางค์
วัดถ้ำ�ขุมทรัพย์จามเทวี วัดถ�้ำขุมทรัพย์จามเทวี ตั้งอยู่เลขที่ 119 หมู่ที่ 6 ต�ำบลใหม่พัฒนา อ�ำเภอเกาะคา จังหวัดล�ำปาง สัง กัดคณะสงฆ์ธ รรมยุตนิกาย มีเ นื้อที่ 54 ไร่ ปัจจุบันมี อตฺตทีโป ภิกฺขุ – ตุ๊เจ้า ลัมภางค์ ทายาทเจ้านายฝ่ายเหนือสายราชตระกูล ณ ล�ำปาง วิศวกรรมศาสตร์มหาบัณฑิต เป็นเจ้าอาวาส มีพระสงฆ์ 5 รูป และสามเณร 8 รูป 112
พระพุทธสิกขีปฏิมากรทองคำ�
ภายในถ้�ำ ขุมทรัพย์
ประวัติวัดถ้ำ�ขุมทรัพย์จามเทวี
วัดถ้ำ�ขุมทรัพย์จามเทวี แต่เดิมเป็นหอทรงธรรมของพระนาง จามเทวี เมื่อครั้งเสด็จมาประทับ ณ เวียงรมย์มณีที่พระเจ้าอนันตยศ พระราชโอรสสร้างถวาย เมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 13 จากนั้นถูกทิ้งร้างไป ตามกาลเวลา มีตำ�นานเล่าขานว่า พุทธศักราช 1223 พระนางเจ้าจามเทวี แห่งนครหริภุญไชยทรงพระกรุณาโปรดให้พระเจ้าอนันตยศพระราชโอรส แฝดพระองค์เล็ก มาขอให้สพุ รหมฤษีชว่ ยสร้างเมือง โดยมีนายพรานเขลางค์ เป็นผู้นำ�พาพระเจ้าอนันตยศเข้าพบสุพรหมฤษี เมื่อสุพรหมฤษีช่วยสร้าง เมืองรูปสมุทรสังขปัตตสัณฐาน ณ ริมฝั่งแม่น้ำ�วังเป็นที่เรียบร้อยแล้ว จึง ให้ชื่อเมืองที่สร้างขึ้นใหม่นี้ว่า “นครเขลางค์” ตามชื่อของนายพรานผู้น�ำ ทางแก่พระเจ้าอนันตยศนั่นเอง พระเจ้าอนันตยศทรงปฐมบรมราชาภิเษก เป็นกษัตริยพ์ ระองค์แรกแห่งนครเขลางค์ เฉลิมพระนามว่า “พระเจ้าอินทร เกิงกร” ครั้งนั้นพระนางเจ้าจามเทวีพระราชมารดา ทรงพระราชทาน พระพุทธสิกขีปฏิมากรทองคำ� พุทธลักษณะลังกานอก ซึง่ พระเจ้านดวงมย่าห์ (Nadaungmya) หรือพระเจ้าทีโลมีนโล (Htilominlo) กษัตริย์ราชวงศ์ พุกามแห่งพม่าได้ถวายแด่พระนาง ให้แก่พระเจ้าอนันตยศอัญเชิญมา ประดิษฐานไว้เป็นมงคลเมือง ณ นครเขลางค์ สำ�รับหนึ่ง โดยอัญเชิญ ประดิษฐานไว้ ณ วัดเสตกุฎาราม นครเขลางค์ พระเจ้าอนันตยศทรง ครองนครเขลางค์อยูไ่ ด้ระยะเวลาหนึง่ ก็ทรงมีความรำ�ลึกถึงพระนางเจ้าจาม เทวีพระราชมารดา จึงทูลเชิญเสด็จพระนางเจ้าจามเทวีพร้อมทั้งสมณะชี พราหมณ์ จากนครหริภุญไชยมายังนครเขลางค์ ทรงโปรดให้สร้างพระราช มณเฑียรแห่งหนึง่ ถวายแด่พระราชมารดาไว้เป็นทีป่ ระทับอยูเ่ บือ้ งปัจฉิมทิศ แห่งนครเขลางค์ เมือ่ พระนางเจ้าจามเทวีได้เสด็จพระราชดำ�เนินมาประทับ ทรง มีพระราชปรารภว่า ที่ประทับแห่งนี้มีความรื่นรมย์ต้องพระราชหฤทัยยิ่ง นัก พระนางจึงโปรดให้ชอื่ พระราชมณเฑียรสถานแห่งนีว้ า่ “เวียงรมย์มณี” พร้อมทรงดำ�ริให้สร้างหอทรงธรรมขึ้น เพื่อเป็นที่สวดมนต์ สดับพระธรรม เทศนา เจริญพระกรรมฐาน และบำ�เพ็ญบุญ ปัจจุบันเวียงรมย์มณีอันเป็น พระราชมณเฑียรสถานทีป่ ระทับแห่งพระนางเจ้าจามเทวี มีพนื้ ทีค่ รอบคลุม บริเวณวัดถ้�ำ ขุมทรัพย์จามเทวี และท้องทีใ่ นตำ�บลเวียงตาล อำ�เภอห้างฉัตร จังหวัดลำ�ปาง พุทธศักราช 2058 ยุคสมัยพระเมืองแพ่สร้อยเป็นเจ้าผู้ครอง นครเขลางค์ สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 แห่งกรุงศรีอยุธยาได้ยกทัพมาตี นครเขลางค์ ตามตำ�นานเล่าว่า “ครั้งนั้นเมื่อการศึกสงครามเสร็จสิ้นทรง ตีเอาเมืองนครเขลางค์ไว้ได้ สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 แห่งกรุงศรีอยุธยา
พระนางเจ้าจามเทวี
พระเจ้าทิพยจักรสุลวฤาไชยสงคราม
ได้อัญเชิญเอาพระพุทธสิกขีปฏิมากรทองคำ�จากนครเขลางค์กลับไปยังกรุง ศรีอยุธยาด้วย” แต่ในตำ�นานฝ่ายล้านนาเล่าว่า“พระเจ้าอยูห่ วั กรุงศรีอยุธยายกทัพ หลวงมานครเขลางค์ ชาวบ้านชาวเมืองแตกตื่นเป็นที่โกลาหล พระเมืองแพ่ สร้อยรู้ชะตาว่าคงไม่อาจต้านทานทัพหลวงเอาไว้ได้ จึงให้ข้ารับใช้ผู้เป็นเฒ่า แก่และเป็นที่ไว้วางใจลักลอบอัญเชิญเอาพระเจ้าสิกขีองค์ทองคำ�สำ�รับหนึ่ง กับทั้งข้าวของเงินคำ�ใส่ล้อเกวียนออกเวียงไปทางประตูเชียงใหม่ นำ�ไปเก็บ ซ่อนไว้ยังหลืบถ้ำ�หอธัมม์เวียงรมย์มณีเก่าร้าง ก็มีหั้นแลฯ” หอทรงธรรมพระนางเจ้าจามเทวีที่เวียงรมย์มณีได้ถูกทิ้งร้างไว้เนิ่น นาน กาลเวลาที่ผันผ่านมานานนับพันปีสถานที่แห่งนี้จึงกลายสภาพเป็นสถาน ที่อันรกร้าง ว่างเปล่า เต็มไปด้วยแผ่นศิลาแลงขนาดใหญ่น้อยจำ�นวนมาก ลุถงึ พุทธศักราช 2275 เมือ่ นายหนานทิพจักร นายแคว้นปงช้างนบ ได้เป็นผูน้ �ำ ชาวนครเขลางค์ เข้าต่อสูข้ บั ไล่ทพั พม่าทีม่ าตัง้ ค่ายมัน่ ณ วัดพระธาตุ ลำ�ปางหลวงจนแตกล่าถอยหนีไปได้ส�ำ เร็จ จนเป็นทีย่ อมรับของชาวนครเขลางค์ จึงได้ปราบดาภิเษกขึน้ เป็น พระเจ้าทิพยจักรสุลวฤาไชยสงคราม หรือเจ้าทิพย์ชา้ ง เจ้าผู้ครองนครเขลางค์ และสถาปนาพระราชวงศ์ทิพยจักราธิวงศ์ อันเป็น พระราชวงศ์แห่งเจ้านายฝ่ายเหนือ ต้นราชตระกูล ณ ลำ�ปาง ณ ลำ�พูน ณ เชียงใหม่ และเชือ้ เจ็ดตน พร้อมทัง้ ตัง้ เวียงคอกงัวขึน้ เป็นหอคำ�ราชสัณฐาน ณ สถานที่แห่งนี้ กาลต่อมา เมื่อเวลาผันผ่านมานานหลายกว่า 200 ปี ราวปี พุทธศักราช 2510 พื้นที่แห่งนี้ถูกจัดสรรให้ชาวบ้านเข้ามาจับจองโดยกรมส่ง เสริมสหกรณ์ ซึ่งพื้นที่ในส่วนของวัดจำ�นวน 54 ไร่นั้น ไม่ปรากฏว่ามีชาวบ้าน รายใดเข้ามาจับจอง เนื่องจากสถานที่แห่งนี้มีร่องรอยแห่งอารยธรรม LAMPANG 113
อันเก่าแก่โบราณ มีต�ำ นานเล่าขานสืบมาจากบรรพชนในพืน้ ที่ ถึงความเข้มขลัง ความศักดิส์ ทิ ธิ์ และความเร้นลับ ทีค่ นในท้องถิน่ ต่างรูส้ กึ มีความเคารพยำ�เกรง ต่อสถานที่แห่งนี้ สืบต่อกันมาหลายชั่วอายุคน สถานที่นี้ ต่อมาได้กลายมาเป็น ปูชนียสถานในพระพุทธศาสนา ชื่อว่า“วัดถ้�ำ ขุมทรัพย์จามเทวี” พุทธศักราช 2531 พระทันศักดิ์ สิริปุญโญ อดีตข้าราชการ สาธารณสุขจังหวัด เกษียณอายุราชการมาบวชและได้นำ�ความรู้ที่มีมาเปิด วัดเป็นที่รับบำ�บัดรักษาผู้ติดยาเสพติดและดูแลผู้ป่วยเอดส์ในระยะสุดท้ายเมื่อ ประมาณปีพุทธศักราช 2542 และได้ดำ�เนินการยกวัดถ้ำ�ขุมทรัพย์ร้างแห่งนี้ ขึ้นเป็นวัดที่มีพระสงฆ์อยู่จำ�พรรษา เมื่อปีพุทธศักราช 2548 จากนั้นท่านก็ได้ อาพาธ และมรณภาพลง ปูชนียวัตถุสำ�คัญ พระพุทธสิกขีปฏิมากรพระพุทธรูปทองคำ� พุทธลักษณะลังกานอก จำ�นวน 2 องค์ ขนาดหน้าตัก 7 นิว้ น้�ำ าหนัก 2.8 กิโลกรัม และขนาด 9 นิว้ น้ำ�หนัก 4.6 กิโลกรัม ประดิษฐาน ณ วัดถ้�ำ ขุมทรัพย์จามเทวี ส่วนอีกสำ�รับ หนึ่งที่ประดิษฐาน ณ วัดเสตกุฎาราม สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 ได้อัญเชิญ กลับสูก่ รุงศรีอยุธยา ปัจจุบนั ประดิษฐานอยูท่ พี่ พิ ธิ ภัณฑ์เจ้าสามพระยาหนึง่ องค์ และประดิษฐาน ณ วัดแม่สาร จังหวัดลำ�พูนหนึ่งองค์ พระพุทธบาทรอยคูว่ ดั ถ้�ำ ขุมทรัพย์จามเทวี ตามตำ�นานกล่าวว่า ใน สมัยพุทธกาล สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพร้อมด้วยพระเถระสามองค์ได้เสด็จ จาริกไปตามบ้านเมืองต่างๆ จนถึงหมู่บ้านลัมภะการีวัน (บ้านลำ�ปางหลวง) พระองค์ได้ประทับเหนือดอยม่อนน้อยได้มชี าวลัวะผูห้ นึง่ ชือ่ ลัวะอ้ายกอน เกิด ศรัทธาปสาทะนำ�น้ำ�ผึ้งบรรจุกระบอกไม้ป้าง มะพร้าว มะตูมอย่างละสี่ผลมา ถวายแด่พระพุทธองค์ ครั้นเมื่อพระพุทธองค์ได้ฉันน้�ำ ผึ้งแล้วได้ทิ้งกระบอกไม้ ป้างไปทางทิศตะวันออกแล้วทรงมีพุทธพยากรณ์ว่า “สถานที่แห่งนี้ต่อไปจะมี ผู้มาสร้างบ้านแปงเมืองชื่อว่า ลัมพกัปปะนคร” แล้วทรงลูบพระเศียรได้พระ เกศามาหนึ่งเส้นมอบให้แก่ลัวะอ้ายกอนผู้นั้น ลัวะอ้ายกอนได้นำ�พระเกศานั้น บรรจุผอบทองคำ�และใส่ลงในอุโมงค์พร้อมกับถวาย แก้ว แหวน เงิน ทอง เป็น เครื่องบูชา แล้วแต่งยนต์ผัด (ยนต์หมุน) รักษาไว้ และถมดินให้เรียบเสมอกัน จากนั้นก็ก่อเป็นพระเจดีย์สูงเจ็ดศอกเหนืออุโมงค์นั้น ในสมัยต่อมาก็ได้มีกษัตริย์เจ้าผู้ครองนครเขลางค์หลายพระองค์ มาก่อสร้างและบูรณะซ่อมแซมพระมหาชิณธาตุเจ้าลำ�ปางหลวงพระนางเจ้า จามเทวีทรงเป็นพระองค์หนึ่งในเหล่าบรรดาบูรพกษัตริย์ล้านนาที่ทรงมาบูรณ ปฏิสังขรณ์พระธาตุลำ�ปางหลวงนี้ พระนางทรงโปรดให้สลักรอยพระพุทธบาท ลงบนแผ่นศิลาแลงผืนใหญ่คู่หนึ่งเป็นเจติยสถานบริโภคเจดีย์ เพื่อถวายเป็น พุทธบูชาแด่องค์สมเด็จสัมมาสัมพุทธเจ้าที่ได้เคยทรงเสด็จมาโปรดในดินแดน แถบนี้ไว้ ณ หอทรงธรรมเวียงรมย์มณีี แห่งนี้ 114
พระพุทธบาทรอยคู่วัดถ้ำ�ขุมทรัพย์แห่งนี้มีต�ำ นาน และการเล่า ขานสืบทอดมาแต่ครั้งบรรพชน ว่าที่วัดแห่งนี้มี “ฮอยตี๋นพระเจ้า” หรือมี รอยพระพุทธบาทแต่ทว่าไม่มใี ครเคยพบเห็นมาตลอดระยะเวลานับร้อยๆปี โดยมีแต่ค�ำ บอกเล่าที่เล่าสืบต่อกันมาตามลำ�ดับช่วงอายุคนเท่านั้น หากแต่ ไม่มีผู้ใดในยุคปัจจุบันได้พบเห็น เจ้าอาวาสรูปแรกจึงได้ให้ชาวบ้านร่วมกัน สร้างพระพุทธบาทจำ�ลองไว้องค์หนึ่งขนาด 21 x 45 นิ้ว ตราบเมือ่ ปีพทุ ธศักราช 2555 จึงได้มกี ารค้นพบรอยพระพุทธบาท คูน่ ป้ี รากฏอยูบ่ นแผ่นหินศิลาแลงโดยบังเอิญ จึงได้แจ้งประสานไปยังสำ�นัก ศิลปากรที่ 7 จังหวัดน่านให้เข้ามาตรวจสอบตามขั้นตอนพร้อมระบุว่าเป็น รอยพระพุทธบาทจริง มีลกั ษณะทีค่ รบสมบูรณ์ คือ นิว้ พระบาท ข้อพระบาท ส้นพระบาท ในพระบาทจะมีการแกะสลักเป็นรูปก้นหอยไว้ทน่ี ว้ิ พระบาทด้วย
ส่วนทีส่ ามารถบ่งบอกได้วา่ เป็นรอยพระพุทธบาทก็คอื ส่วนตรง กลางพระบาทที่มีการแกะสลักเป็นรูปพระธรรมจักร ซึง่ ดูการแกะสลักแล้ว มีความเก่าแก่มากมีอายุราว 900 ถึง 1,200 ปี คาดว่าสร้างขึ้นในราวต้น พุทธศตวรรษที่ 13 และมีการบูรณปฏิสงั ขรณ์อกี ครัง้ หนึง่ ด้วยปูนทีม่ กี ารนำ� มาฉาบด้านบน พบว่าไม่ใช่ปูนซีเมนต์ แต่เป็นปูนตำ�ซึ่งเป็นกรรมวิธีในสมัย ล้านนาทีม่ กั จะนำ�หินปูนมาตำ�แล้วนำ�มาปูฉาบซึง่ เจ้าหน้าทีจ่ ากกรมศิลปากร ที่มีความเชี่ยวชาญด้านจิตรกรรม สถาปัตยกรรม เข้ามาตรวจสอบอายุปูน ที่ฉาบทับอีกครั้งและระบุอายุของปูนพบว่า น่าจะมีการบูรณะด้วยปูนตำ�ใน สมัยล้านนาราว 400 ปีก่อนอีกด้วย พระเจ้าทองทิพย์ หล่อด้วยเงินผสม 9.25% ขนาด 33 นิ้ว โดยคุณพรชัย สกุลเลิศมงคล คหบดีชาวชลบุรี พร้อมครอบครัว สร้าง ถวายเป็นพระประธาน พระบรมรูปพระนางเจ้าจามเทวี พระบรมรูปองค์นี้ทรงเครื่อง กษัตริยส์ ดุ ท้ายหลังพระแม่จามเทวีสวรรคต ลักษณะประทับยืนมีมวยผมต่�ำ ลงท้ายทอย ขนาดคาวมสูงราว 80 เซนติเมตร ซึ่งขุดค้นพบในถ้�ำ ใต้รอย พระพุทธบาท ความสำ�คัญและบทบาทของวัดถ้ำ�ขุมทรัพย์จามเทวี วัดถ้�ำ ขุมทรัพย์จามเทวีเป็นวัดฝ่ายอรัญวาสี (วัดป่าธรรมยุติ) ที่ มุง่ เน้นการปฏิบตั เิ พือ่ การหลุดพ้น ตามรอยปฏิปทาของพ่อแม่ครูบาอาจารย์ สายวัดป่ากรรมฐาน อาทิ หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต หลวงปู่แหวน สุจิณโณ หลวงปู่สิม พุทธจาโร พระอาจารย์จวน กุลเชษโฐ หลวงปู่แว่น ธนปาโล และหลวงปู่หลวง กตปุญโญ เป็นต้น มีพระวิปัสสนาจารย์ให้การอบรม เจริญจิตภาวนาแก่ผใู้ ฝ่ธรรม และมีพระธรรมวิทยากรให้การอบรมคุณธรรม จริยธรรมแก่เยาวชน นักเรียน นักศึกษา และในอดีตหลวงปูแ่ หวน สุจณ ิ โณ หลวงปู่สิม พุทธจาโร พระอาจารย์จวน กุลเชษโฐ เคยได้ธุดงค์ผ่านมาปัก กลดที่นี่ด้วย พุทธศักราช 2556 อตฺตทีโป ภิกฺขฺ-ตุ๊เจ้า ลัมภางค์ และคณะผู้ มีจติ ศรัทธาได้เริม่ พัฒนาวัดอย่างจริงจังตัง้ แต่เดือนมิถนุ ายน โดยเริม่ สร้าง ศาลาปฏิบัติธรรมบำ�เพ็ญบุญชั่วคราว สร้างพระประธานประจำ�ศาลาและ พัฒนาส่วนอื่นๆ ตามกำ�ลังบุญ และกำ�ลังศรัทธาจากญาติโยม วัดถ้�ำ ขุมทรัพย์จามเทวีมปี ระเพณีส�ำ คัญประจำ�ปีได้แก่ ประเพณี กินข้าวสลาก (สลากภัต) กำ�หนดจัดขึ้นก่อนวันออกพรรษา 9 วัน และ ประเพณีอฏั ฐมีบชู า ถวายพระเพลิงพระพุทธสรีระสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ซึ่งกำ�หนดจัดขึ้นในวันแรม 8 ค่ำ�เดือน 6 เป็นงานประเพณีประจำ�ทุกปี วัดถ้�ำ ขุมทรัพย์จามเทวี ตั้งอยู่ห่างจากวัดพระธาตุล�ำ ปางหลวง ราว 7 กิโลเมตร ไปทางจังหวัดเชียงใหม่ LAMPANG 115
Wat Tham Khum Sup Cham Dhavi Wat Tham Khum Sup Cham Dhavi is located at 119 Village No. 6 Mai Patthana Sub-district, Koh Kha District, Lampang Province. It is under Dhamma Yhut Nighai Order which its area is 54 Rai (around 213.3 acres) area. Presently, Buddhist monk “At Ta Thee Po” – Tu Chao LamPhang (which means Lampang Buddhist Monk) the descendant of northern royal family, branch “Na Lampang” is an abbot of this temple and it has 5 Buddhist monks and 8 Buddhist novices for now. Wat Tham Khum Sup Cham Dhavi history Formerly, Wat Tham Khum Sup Cham Dhavi used to be “SongTham Hall” where Queen Cham Dhavi listened to sermon when Her Majesty went to “Viang Rom Nee” which is the palace build for Her Majesty by Her son “Prince AnantaYod” around 13 Buddhist Century. Viang Rom Nee’s area is an inclusive of Wat Tham Khum Sup Cham Dhavi and local area in Viang Tarn Sub-district, Hang Chat District, Lampang Province currently. An area around SongTham Hall at Viang Rom Nee was abandoned along the flow of time, 116
until 2510 B.E. it was allocated to local people by “Cooperative Promotion Department” which 54 Rai area of this temple, there was no any local tried to own this area because there are traces of an ancient civilization that local deeply respect in this land. After that, this land became “Wat Tham Khum Sup Cham Dhavi”. In 2531 B.E. Phra Thunsak Siriphoonyo former public health civil servant who is retired then ordained to be Buddhist monk and used his
knowledge to build a temple to cure any drug addict, together with, taking care of anyone who is in Terminal stage of AIDS. After that, in 2542 B.E. he had developed the deserted Wat Tham Khum Sup to temple where monk can stay during the Buddhist Lent. Lastly, in 2548 B.E. he was ill and passed away recpectively. Important Sacred Object Phra Buddha Sicki Patimakorn - Golden Buddha statue in Lanka Norg Buddhist style, there are 2 Buddha statues which measure of both statues are as follows: Na Tak 7 inches, weight 5.8 Kilograms and Na Tak 9 inches with weight 8.2 Kilograms respectively. These statues are enshrined at Wat Tham Khum Sup Cham Dhavi. Pair of Buddha’s Footprint - Queen Cham Dhavi gave an order to sculpt pair of Buddha’s footprint on the large laterite to be the place they dedicate an offerings to Lord Buddha whom once travelled across this land, so called “Bor ri pok pagoda”. Its structure is a perfect footprint, in other words, there are toes, ankles, and heels. Moreover, they had sculpted spiral on the toes and Dhammachakra in the middle of the feet. The age of these footprint was assumed that it is approximately 900-1200 years and build around 13 Buddhist Century. Phra Chao Thong Thip - casted by mixed silver, Na Tak 33 inches. Queen Cham Dhavi Monument – decorated with Royal clothing, casted by bronze.
Important and role of Wat Tham Khum Sup Cham Dhavi Wat Tham Khum Sup Cham Dhavi is a part of Aran wa cee (Wat Pa Dhammayut) which practice by focus on extrication, follow the footstep of elderly monk whom mastered in meditation faction. In the past, Luang Pu Wand Sujinno, Luang Pu Sim BuddhaCharo, Phra Ajarn Juon Kulchestha were travelled here to proceeded Buddhist priesthood. Nowadays, there is introspection monk that train mental improving, meditation for those who pursuing Dhamma and Dhamma expert who will teach about moral and ethics for children, student and collegian. This temple has the important annual tradition as following: Firstly. “Kin Kao Salak Tradition” (Salak Pat) it held on 9 days before The End Of Buddhist Lent Day. Then, Attamee Puja Day (Buddha’s Cremation day) it held on the 8th day of the 6th waning moon. *Na Tak is long measure of the Buddha statue in the posture of meditation. LAMPANG 117
เจ้าฟ้านางหลวงศรีอโนชา ขัตติยราชนารี พระอัครชายา เจ้าครอกฟ้าสิริรจจา เจ้าฟ้านางหลวงศรีอโนชา นครลำ � ปางเป็ น จั ง หวั ด หนึ่ ง ที่ มี ประวัติศาสตร์ในอดีตสืบมายาวนาน เหล่ า บู ร พกษั ต ริ ย์ ล้ า นนาทรงสร้ า ง วีรกรรมอันดีงามปกป้องบ้านเมืองไว้ ไม่ ใ ห้ ข้ า ศึ ก มารุ ก รานยึ ด บ้ า นเมื อ ง ดังนั้น ลูกหลานชาวนครลำ�ปาง จึง ควรรำ�ลึกนึกถึงคุณงามความดีในพระ กรุณาธิคุณของเหล่าเจ้านายในพระ ราชวงศ์ทิพยจักราธิวงศ์ อันเป็นพระราชวงศ์ที่มีต้นกำ�เนิด ณ นครลำ�ปาง และเป็นพระราชวงศ์สุดท้ายของล้านนาประเทศ ด้วยความภาคภูมิใจในบรรพชนของชาวนครลำ�ปาง โดยหนึ่งใน บรรดาเชื้อพระวงศ์ทค่ี วรภาคภูมใิ จอีกพระองค์หนึง่ นัน้ คือ เจ้าฟ้า นางหลวงศรีอโนชา
จุดกำ�เนิดพระราชวงศ์“ทิพย์จักราธิวงศ์”
พ.ศ.2274 ในช่วงปลายรัชสมัยสมเด็จพระภูมนิ ทรมหา ราชาบรมโกศ(สมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั บรมโกศ) หรือ สมเด็จพระบรม ราชาธิราชที่ 3 พระมหากษัตริยพ์ ระองค์ท่ี 31 แห่งกรุงศรีอยุธยา นครเชียงใหม่และอาณาจักรล้านนาเป็นเมืองขึน้ ของพม่า แต่นคร ลำ�ปางเป็นนครรัฐอิสระ กระทัง่ ท้าวหนานมหายศ เจ้าเมืองลำ�พูน ยกทัพมาตีชนะเมืองนครลำ�ปาง และตั้งศูนย์บัญชาการที่วัดพระ ธาตุล�ำ ปางหลวง แล้วจึงมีบญ ั ชาให้ทหารออกไปเรียกเก็บเงินภาษี ชาวบ้าน บังคับเอาข้าวของทรัพย์สินเงินทองเสบียงอาหาร เพื่อ นำ�ไปบำ�รุงกองทัพ สร้างความเดือดร้อนต่างๆ ให้แก่ราษฎร ต่อมามีพระมหาเถระวัดพระแก้วชมพู มองเห็นว่า “หนานทิพย์ชา้ ง”นายแคว้นบ้านปงยางคกซึง่ มีอาชีพเป็นพรานป่า เป็นผู้มีปัญญาเฉลียวฉลาด กล้าหาญ มีกำ�ลังฝีมือเข้มแข็ง ทั้งชำ�นาญในการใช้อาวุธปืน พอจะเป็นผู้นำ�กำ�ลังเข้าต่อสู้พม่า ได้ จึงขอให้หนานทิพย์ช้างนำ�กำ�ลังคนชาวนครลำ�ปาง 300 คน ไปล้อมทัพท้าวมหายศที่วัดพระธาตุล�ำ ปางหลวง ในเวลาดึกสงัด หนานทิพย์ชา้ งจึงลักลอบคลานเข้าทาง ท่อระบายน้ำ�ทิศตะวันตกของวัดพระธาตุล�ำ ปางหลวง ปลอมตัว เป็นผูถ้ อื หนังสือจากเมืองลำ�พูนว่าเป็นหนังสือของชายาท้าวมหา ยศ ขณะนั้นท้าวมหายศ และทหารคนสนิทกำ�ลังเล่นหมากรุกที่ วิหารหลวง ในวัดพระธาตุล�ำ ปางหลวงหนานทิพย์ช้างจึงทำ�ทียื่น หนังสือให้แล้วถอยออกมาพอได้ระยะจึงใช้ปนื ยิงท้าวมหายศตาย คาวงหมากรุก ทัพท้าวมหายศแตกกระจัดกระจาย ทหารถูกฆ่า ตายเป็นจำ�นวนมาก จนแตกพ่ายหนีไป พระมหาเถรวัดพระแก้วชมพู พร้อมด้วยชาวเมือง นครลำ�ปาง (เมืองลคอร) ได้พร้อมใจกันตั้งพิธีสรงน้�ำ มุรธาภิเษก 118
สถาปนาหนานทิพย์ชา้ ง ขึน้ เป็นเจ้าผูค้ รองนครลำ�ปาง ใน พ.ศ.2275 (จ.ศ.1094) มีพระนามว่า พระเจ้าทิพย์จกั รสุลวฤาชัยสงคราม (ทิพย์ช้าง) ทรงสถาปนาพระราชวงศ์“ทิพย์จักราธิวงศ์”ขึ้นและตั้ง เวียงคอกงัวเป็นหอคำ�ราชสัณฐานพระราชมณเฑียร ณ บริเวณเวียง เก่ารมณีย์ ทรงครองเมืองนครลำ�ปางได้นาน 27 ปี ครัน้ พ.ศ. 2302 (จุลศักราช 1121) ก็สวรรคตสิรริ วมพระชนมายุได้ 85 พรรษาทรงมีพระ ราชโอรส พระราชธิดากับพระมหาเทวีแม่เจ้าปิมปา รวม 6 พระองค์ พระราชโอรสพระองค์ที่สองคือ เจ้าฟ้าหลวงจายแก้วได้ครองราชย์ ต่อจากพระเจ้าทิพย์จกั รสุลวฤาชัยสงคราม ทรงพระนามว่า เจ้าฟ้า สิ งหราชธานี หลวงจายแก้ ว ทรงมี พ ระราชโอรส 7 พระองค์ พระราชธิดา 3 พระองค์ ร่วมกับพระมหาเทวีแม่เจ้าจันตา ได้แก่ 1. พระเจ้าบรมราชาธิบดีกาวิละ ทรงเป็นต้นราชตระกูลเจ้านายฝ่ายเหนือณ เชียงใหม่ 2. พระเจ้าลครคำ�สม ทรงเป็นต้นราชตระกูลเจ้านายฝ่ายเหนือ ณ ลำ�ปาง 3. พระเจ้าหลวงธรรมลังกา สืบราชตระกูล ณ เชียงใหม่ 4. พระเจ้าหอคำ�ดวงทิพย์ สืบราชตระกูล ณ ลำ�ปาง 5. เจ้าฟ้านางหลวงศรีอโนชา ทรงเป็นพระอัครชายาในสมเด็จกรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท 6. เจ้าฟ้านางหลวงศรีวรรณา 7. เจ้าอุปราชหมูลา่ สิน้ พระชนม์ ณ กรุงศรีอยุธยา 8. พระเจ้าหลวงเศรษฐีคำ�ฝั้นสืบราชตระกูล ณ เชียงใหม่ 9. เจ้าฟ้านางหลวงศรีบุญตัน 10. พระเจ้านครลำ�พูนบุญมา ทรงเป็นต้นราชตระกูลเจ้านายฝ่ายเหนือ ณ ลำ�พูน
เจ้าฟ้าสิงหราชธานีหลวงจายแก้ว ทรงปกครองเมืองนคร ลำ�ปางตลอดมา โดยมีพระราชโอรสทั้ง 7 พระองค์สืบทอดเป็นเจ้า ผู้ครองเมืองนครต่างๆ ในล้านนาประเทศ เรียกกันอย่างลำ�ลองว่า “ราชวงศ์เจ้าเจ็ดตน”
พระราชประวัติ “เจ้าฟ้านางหลวงศรีอโนชา”
เจ้าฟ้านางหลวงศรีอโนชา หรือเจ้าหญิงศรีอโนชา ประสูติ เมือ่ ปีมะเมีย พ.ศ.2293 เป็นพระราชธิดาพระองค์ท่ี 5 ในเจ้าฟ้า สิงหราชธานีหลวงจายแก้ว เจ้าฟ้านางหลวงศรีอโนชาทรงเป็น ประดุจโซ่ทองคล้องสายสัมพันธ์ระหว่างราชสำ�นักล้านนากับกรุง รัตนโกสินทร์ ทรงมีบทบาทอย่างสำ�คัญในการเสริมสร้างพระบารมี กับการสถาปนาพระบรมราชจักรีวงศ์ และพระเกียรติยศแห่งพระ พระบรมราชจักรีวงศ์ ดังปรากฏในเอกสารทางประวัตศิ าสตร์กล่าวว่า พ.ศ.2317 เมื่อพระญากาวิละพร้อมด้วยพระญาจ่าบ้าน ได้คบคิดกันต่อต้าน พม่าที่ปกครองเมืองนครเชียงใหม่ โดยได้รับความช่วยเหลือจาก กองทัพของสมเด็จพระเจ้าตากสิน ซึ่งมีเจ้าพระยาจักรี และ เจ้าพระยาสุรสีห์ เป็นแม่ทพั จนสามารถขับไล่พม่าออกไปจากเมือง นครเชียงใหม่ได้ ครั้งนั้น เจ้าพระยาสุรสีห์ มีใจปฏิพัทธ์รักใคร่เจ้า ฟ้านางหลวงศรีอโนชา เจ้าฟ้าสิงหราชธานีหลวงจายแก้วพร้อมพระมหาเทวีแม่ เจ้าจันตา เห็นว่าจะเป็นการเชื่อมสัมพันธไมตรีอันดีต่อไปในภาย หน้าจึงได้โปรดพระราชทานเจ้าฟ้านางหลวงศรีอโนชาให้เป็นภรรยา เจ้าพระยาสุรสีห์
เจ้าฟ้านางหลวงศรีอโนชา ขัตติยราชนารีแห่งล้านนา
พ.ศ.2324 เกิดเหตุจลาจลที่กรุงธนบุรี โดยพระยาสิงห์ และพระยาสรรค์คดิ ก่อการกบฏ ต่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าตากสิน หวังจะขึ้นเป็นกษัตริย์ ได้ยุยงขุนอนุรักษ์มนตรียกพวกเข้าปล้นบ้าน พระยาสุริยอภัยผู้ซึ่งเจ้าพระยาจักรี กับเจ้าพระยาสุรสีห์ มอบ หมายให้รักษาราชการที่กรุงธนบุรี ในระหว่างที่เจ้าพระยาทั้งสอง ไปราชการสงครามที่ญวนและเขมร ท่านผู้หญิงเจ้าศรีอโนชา หรือสิริรจจา ซึ่งพำ�นักอยู่ที่บ้าน ปากคลองบางลำ�ภู รูข้ า่ ว จึงโปรดให้พระยาเจ่ง พระยาราม นายกอง มอญ แต่งทัพเรือนำ�กำ�ลังไปต่อสูก้ บั พวกกบฏ สามารถจับตัวพระยาสิงห์ พระยาสรรค์เอาไว้ได้ เหตุการณ์ก็สงบลง ต่อมาเจ้าพระยาจักรี และเจ้าพระยาสุรสีห์ จึงได้กลับมา จากราชการสงครามทีเ่ ขมร และเจ้าพระยาจักรีได้ปราบดาภิเษกขึน้ เป็นพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก รัชกาลที่ 1 แห่งกรุง รัตนโกสินทร์ และได้สถาปนาพระบรมราชจักรีวงศ์ขน้ึ ณ ปี พ.ศ. 2325 จึงได้สถาปนาเจ้าพระยาสุรสีห์ ผูเ้ ป็นพระอนุชามีพระอิสริยยศ เป็นเจ้าฟ้า กรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท มหาอุปราชวังหน้า ในขณะที่ท่านผู้หญิงเจ้าศรีอโนชา สุรสีห์พิษณุวาธิราช ก็ได้รับ
สถาปนาเป็นพระอัครชายา เจ้าครอกฟ้าศรีอโนชา (เจ้าครอก หมายถึงผู้เป็นเจ้าโดยกำ�เนิด) เจ้าครอกฟ้าศรีอโนชา ทรงมีพระราชธิดา 1 พระองค์ คือ เจ้าฟ้าหญิงพิกุลทอง ซึ่งนับเป็นพระราชธิดาพระองค์แรก ในสมเด็จกรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท ที่ทรงมีศักดิ์เป็น “เจ้าฟ้า” เพราะพระราชมารดาเป็นพระราชธิดาของกษัตริยแ์ ห่ง ล้านนาประเทศ ต่อมารัชกาลที่ 1 ได้ทรงสถาปนาเป็นสมเด็จ พระเจ้าหลานเธอเจ้าฟ้าพิกุลทอง กรมขุนศรีสุนทร เจ้าฟ้านางหลวงศรีอโนชา หรือเจ้าครอกฟ้าศรีอโนชา นับเป็นขัตติยราชนารีแห่งพระราชวงศ์ลา้ นนาอีกพระองค์หนึง่ ที่ ทรงมีสว่ นสำ�คัญในการสถาปนาพระบรมราชจักรีวงศ์ และทรง เชื่อมความสัมพันธ์อันดีระหว่างราชสำ�นักล้านนากับราชสำ�นัก กรุงรัตนโกสินทร์เมือ่ พระราชสวามี และพระราชธิดาสิน้ พระชนม์ จากไปทั้งสองพระองค์แล้ว เจ้าฟ้านางหลวงศรีอโนชา หรือ เจ้าครอกฟ้าศรีอโนชา ทรงดำ�รงพระชนม์ชีพประทับอยู่ ณ พระตำ�หนักในพระราชวังบวรสถานตราบสิ้นพระชนม์ ทายาทเหล่าบูรพกษัตริยล์ า้ นนา ในพระราชวงศ์ทพิ ย์จกั ราธิวงศ์ อันเป็นพระราชวงศ์สุดท้ายแห่งล้านนาประเทศ ได้รับ การยกย่องจากมหาชนชาวล้านนาโดยทัว่ ไปว่าเป็น “เจ้านายฝ่าย เหนือ” ผู้สืบเชื้อสายในราชตระกูล ณ ลำ�ปาง ณ ลำ�พูน และ ณ เชียงใหม่ โดยมีคำ�นำ�หน้านามตามประเพณีนิยมว่า “เจ้า” สืบมา เพื่อบ่งบอกถึงรากเหง้าแห่งพระราชวงศ์ล้านนาที่นับวัน จะเลือนหายไปกับสายลมและกาลเวลา ปัจจุบนั พระราชานุสาวรีย์ พระอัครชายาเจ้าครอกฟ้า ศรีอโนชา และกูอ่ นุสรณ์สถาน ประดิษฐานอยู่ ณ วัดถ้�ำ ขุมทรัพย์ จามเทวี ตำ�บลปงยางคก อำ�เภอห้างฉัตร จังหวัดนครลำ�ปาง อันเคยเป็นพื้นที่ตั้งของเวียงคอกงัวหอคำ�ราชสัณฐาน แห่งพระ ราชวงศ์ทพิ ย์จกั ราธิวงศ์ พระราชวงศ์สดุ ท้ายของล้านนาประเทศ นอกจากนี้ยังมีกู่บรรจุพระบรมอัฐิของพระองค์ท่าน ประดิษฐาน อยู่ทางทิศใต้ติดกับกำ�แพงด้านนอกของวัดพระธาตุลำ�ปางหลวง อีกด้วย
LAMPANG 119
เส้เทศบาลตำ นทางพบ �บล
นางประภาศรี พยัคฆบุตร นายกเทศมนตรีต�ำบลแจ้ห่ม
เทศบาลตำ�บลแจ้ห่ม
สิ่งแวดล้อมเขียวสะอาด ชุมชนเข้มแข็ง เชิดชูคุณธรรม ประชาชนมีคุณภาพ
คือวิสัยทัศน์การพัฒนาของเทศบาลต�ำบลแจ้ห่ม อ�ำเภอ แจ้ห่ม จังหวัดล�ำปาง ปัจจุบันมี นางประภาศรี พยัคฆบุตร เป็น นายกเทศมนตรีตำ� บลแจ้หม่ และนายจักรพงษ์ อินต๊ะนนท์ เป็น ปลัดเทศบาลต�ำบลแจ้ห่ม
ข้อมูลทั่วไป
เทศบาลต�ำบลแจ้หม่ มีเนือ้ ที่ ประมาณ 2.7 ตารางกิโลเมตร แบ่งเขตปกครองเป็น 5 หมูบ่ า้ น ได้แก่ หมูท่ ี่ 1 บ้านหลวง หมูท่ ี่ 2 บ้านป่าแดด หมูท่ ี่ 3 บ้านเชียงหมัน้ หมูท่ ี่ 8 บ้านเด่นหนองนาว และหมูท่ ี่ 9 บ้านศรีหลวงเหนือ มีประชากรรวมทัง้ สิน้ 3,791 คน จ�ำนวนบ้าน 1,627 หลัง ประชากรมีรายได้เฉลีย่ 36,161 บาท/คน (ข้อมูล ณ เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559) 120
โครงการดี-กิจกรรมเด่น
ประเพณีลอยกระทง เทศบาลต�ำบลแจ้หม่ เพือ่ ให้ประชาชน เห็นความส�ำคัญและรักษาไว้ซึ่งศิลปะ ประเพณีและวัฒนธรรมอัน ดีงามของท้องถิน่ ให้คงไว้สบื ต่อไป เพือ่ ส่งเสริมการท่องเทีย่ วในท้อง ถิ่น และส่งเสริมการสร้างอาชีพสร้างรายได้ให้กับประชาชน ประเพณีสงกรานต์เทศบาลต�ำบลแจ้หม่ เพือ่ ส่งเสริมกิจกรรม การอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมประเพณีอันดีงามของท้องถิ่น ส่งเสริม ให้ประชาชนได้สกั การะสรงน�ำ้ พระพุทธรูปคูบ่ า้ นคูเ่ มือง เพือ่ ให้เกิด เป็นสิริมงคล และส่งเสริมการท่องเที่ยว โครงการส่งเสริมท�ำนุบำ� รุงพุทธศาสนาเนือ่ งในวันเข้าพรรษา เทศบาลต�ำบลแจ้ห่มได้ส่งเสริมและท�ำนุบ�ำรุงพระพุทธศาสนา เนื่องในวันเข้าพรรษา เพื่อสืบทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นและอนุรักษ์ วัฒนธรรมประเพณีอันดีงามของท้องถิ่น ส่งเสริมให้เด็ก นักเรียน เยาวชนและประชาชนในพื้นที่ เห็นความส�ำคัญในการรักษาไว้ซึ่ง ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณีอันดีงามของท้องถิ่น โดยมีส่วนร่วม ในกิจกรรมหล่อเทียนเข้าพรรษา และการถวายเทียนเข้าพรรษา
แหล่งท่องเที่ยวส�ำคัญ
วัดศรีหลวง ตั้งอยู่เลขที่ 436 หมู่ที่ 1 ต.แจ้ห่ม อ.แจ้ห่ม จ.ล�ำปาง ตั้งอยู่บนฝั่งซ้ายของแม่น�้ำสอย ก่อตั้งก่อน พ.ศ. 2232 มีการค้นพบธรรมใบลานจารด้วยอักษรล้านนาของวัดศรีหลวง และแผ่นไม้แกะสลักด้วยอักษรล้านนา มีพระพุทธรูปส�ำคัญ คือ พระเจ้าทองทิพย์ อันเป็นที่เคารพและสักการระของชาวแจ้ห่ม สวนสาธารณะเทศบาลต�ำบลแจ้ห่ม ตั้งอยู่หมู่ที่ 1 ต.แจ้ห่ม อ.แจ้ห่ม จ.ล�ำปาง สวนสาธารณะหนองน�้ำฝั่งหมิ่น ตั้งอยู่หมู่ที่ 9 ต.แจ้ห่ม อ.แจ้ห่ม จ.ล�ำปาง หมู่บ้านท่องเที่ยวหนึ่งต�ำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ ตั้งอยู่หมู่ที่ 8 ต.แจ้ห่ม อ.แจ้ห่ม จ.ล�ำปาง ตลาดนัดชุมชนศรีหลวง (ทุกวันพฤหัสบดี) ณ บริเวณสะพาน ทางเข้าบ้านหลุก ตรงข้ามวัดศรีหลวง ต.แจ้ห่ม อ.แจ้ห่ม จ.ล�ำปาง
สินค้า OTOP โดดเด่น
น�้ำปู โดยกลุ่มวิสาหกิจชุมชนน�้ำปู-น�้ำผัก บ้านหนองนาว ตัง้ อยูบ่ า้ นเลขที่ 252 หมูท่ ี่ 8 ต�ำบลแจ้หม่ อ�ำเภอแจ้หม่ จังหวัดล�ำปาง โทร. 081-602-7939 น�้ำผัก โดยกลุ่มวิสาหกิจชุมชนน�้ำปู-น�้ำผัก บ้านหนองนาว ตั้งอยู่บ้านเลขที่ 223 หมู่ที่ 8 ต�ำบลแจ้ห่ม อ�ำเภอแจ้ห่ม จังหวัด ล�ำปาง เครื่องประดับตกแต่งบ้านเรือนจากไม้ โดย กลุ่มภูมิปัญญา บ่าเก่าตั้งอยู่บ้านเลขที่ 37 หมู่ที่ 3 บ้านเชียงหมั้น ต�ำบลแจ้ห่ม อ�ำเภอแจ้ห่ม จังหวัด ล�ำปาง โทร .084-496-6770
ผลิตภัณฑ์เครื่องหนัง โดย กลุ่มติ๊กเครื่องหนังตั้งอยู่ เลขที่ 86 หมู่ที่ 1 ต�ำบลแจ้ห่ม อ�ำเภอแจ้ห่ม จังหวัดล�ำปาง โทรศัพท์มือถือ 097-931-3382 ผักกาดเค็มแห้ง-ข้าวเกรียบสมุนไพร โดย กลุ่มแม่บ้าน เกษตรกรเพือ่ การผลิตเชียงหมัน้ ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 59 หมูท่ ี่ 3 ต�ำบล แจ้หม่ อ�ำเภอแจ้หม่ จังหวัดล�ำปาง โทร. 093-544-4792 ผลิตภัณฑ์ผา้ ถักโครเชท์ โดย กลุม่ ผ้าถักโครเชท์ไก่ฟา้ พญาลือ ตั้งอยู่เลขที่ 252 บ้านหนองนาว หมู่ 8 ต�ำบลแจ้ห่ม อ�ำเภอ แจ้ห่ม จังหวัดล�ำปาง โทร. 085-694-4899 ผลิตภัณฑ์เสือ้ ถักโครเชท์ โดยกลุม่ สตรีสหกรณ์เครดิตยูเนีย่ น สหราษฎร์ออมทรัพย์ ตั้งอยู่เลขที่ 232 หมู่ที่ 8 ต�ำบล แจ้ห่ม อ�ำเภอ แจ้ห่ม จังหวัด ล�ำปาง โทร. 054-271-721 พวงหรีดและพุ่มดอกไม้จากกระดาษสา โดยกลุ่มดอกไม้ ประดิษฐ์จากกระดาษสา ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 111 บ้านหนองนาว หมู ่ 8 ต�ำบลแจ้ห่ม อ�ำเภอแจ้ห่ม จังหวัดล�ำปาง lampang 121
ผลิตภัณฑ์อาหาร ป้าปี๋
หลากหลายความอร่อย-คู่ครัวคุณ
ที่อยู่ 103 บ้านร้อง หมู่ 12 ต.ชมพู อ.เมือง จ.ล�ำปาง 52100
โทร.
054-324-477, 081-993-6608, 081-472-8278 • fax 054 -325-498
เส้เทศบาลตำ นทางพบ �บล
นายถวิล กุญชร นายกเทศมนตรีตำ�บลทุ่งผึ้ง
เทศบาลตำ�บลทุ่งผึ้ง โครงสร้างพื้นฐานดี มีเศรษฐกิจชุมชนเข้มแข็ง แหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ตระหนักการศึกษา พัฒนาคุณภาพชีวิต คือวิสัยทัศน์ (Vision) ของเทศบาลตำ�บลทุ่งผึ้ง ซึ่ง มีสำ�นักงานเทศบาลตั้งอยู่หมู่ที่ 2 ตำ�บลทุ่งผึ้ง อำ�เภอแจ้ห่ม จังหวัดลำ�ปาง โดยอยูห่ า่ งจากทีว่ า่ การอำ�เภอแจ้หม่ ประมาณ 35 กิโลเมตร ปัจจุบันมีนายถวิล กุญชร เป็นนายกเทศมนตรีตำ�บล ทุ่งผึ้ง และมีว่าที่ร้อยเอกชัยทัศน์ ศรีนันชัย เป็นปลัดเทศบาล ตำ�บลทุ่งผึ้ง
ข้อมูลทั่วไป
เทศบาลตำ�บลทุ่งผึ้ง มีพื้นที่ 193 ตารางกิโลเมตร หรือ ประมาณ 120,625 ไร่ สภาพภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นภูเขา มีป่า ไม้ลอ้ มรอบ มีทลี่ าดเชิงเขา และมีทรี่ าบลุม่ ใกล้แม่น�้ำ บางส่วน แบ่ง เขตการปกครองเป็น 6 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ที่ 1 บ้านทุ่งฮ้าง หมู่ ที่ 2 บ้านแจ้คอนหมู่ที่ 3 บ้านหัวฝายหมู่ที่ 4 บ้านทุ่งผึ้งหมู่ที่ 5 บ้านแม่ช่อฟ้า หมู่ที่ 6 บ้านแจ้คอน มีจำ�นวน 1,579 หลังคาเรือน ประชากรทั้งหมด 4,124 คน(ข้อมูลจากงานทะเบียน อำ�เภอแจ้ห่ม เดือนมกราคม 2559)
“โครงการโดดเด่น ปี 2559” โครงการก่อสร้างฝายแกนดิน เหนียวตำ�บลทุ่งผึ้ง ได้ด�ำ เนินการ จำ�นวน 4 โครงการดังนี้
1. โครงการก่อสร้างฝายแกนดินเหนียวแม่น�ำ้ วัง บ้านแจ้คอน หมูท่ ่ี 2 2. โครงการก่อสร้างฝายแกนดินเหนียวลำ�ห้วยแม่ตาก บ้านหัวฝาย หมูท่ ่ี 3 3. โครงการก่อสร้างฝายแกนดินเหนียวลำ�ห้วยแม่ตากจุดทุง่ ปันเหล้า บ้านแจ้คอน หมู่ที่ 2 4. โครงการก่อสร้างฝายแกนดินเหนียวลำ�ห้วยแม่ตาก บ้านแจ้คอน หมูท่ ่ ี 6 เพื่อแก้ไขปัญหาภัยแล้ง เก็บกักน้ำ�ใต้ดินชั้นบนและเพื่อชะลอน้ำ�ที่ ไหลไปตามผิวดิน ในพื้นที่ตำ�บลทุ่งผึ้ง lampang 123
วัดพุทธบาทสุทธาวาส (ปู่ผาแดง)
มหัศจรรย์แห่งศรัทธา บนเทือกเขาหินปูน (วัดพุทธบาทสุทธาวาส) กว่า 2600 ปีที่ศาสนาของพระสมณโดดมสัมมาสัมพุทธเจ้าประดิษฐานอยู่บน โลกใบนี้ และด้วยกาลเวลาที่ยาวนานประกอบกับการเดินทางที่ผ่านภูมิประเทศต่างๆ ผ่านชนชาติต่างๆที่มีอยู่บนโลกใบนี้ย่อมเป็นธรรมดาที่ความสั่นคลอนในพระ สัทธรรมและในศรัทธาที่มีต่อพระศาสนาย่อมมีการเปลี่ยนแปลงไปไม่มากก็น้อย นี่แหละที่พระองค์ทรงตรัสไว้ว่าทุกสรรพสิ่งล้วนไม่เที่ยงไม่ยั่งยืน
แต่ทว่า ณ สถานที่แห่งนี้ ต.วิเชตนคร อ.แจ้ห่ม จ.ล�ำปาง บนเทือกเขาหินปูนที่ตั้ง ตระหง่านสูงใหญ่แห่งนี้ยังคงยืนยันได้ถึงศรัทธา ที่ มั่ น คงแข็ ง แกร่ ง เชื่ อ มั่ น ในค� ำ สอนของ พระตถาคตเจ้ า ภายใต้ ก ารน� ำ ของพระเทพ วิสุทธิญาณหรือที่รู้จักกันโดยทั่วไปว่าหลวงพ่อ ไพบู ล ย์ สุ มั ง คโล พระเถระอี ก รู ป หนึ่ ง ใน แผ่นดินไทยที่เปี่ยมด้วยเมตตากรุณา ได้น�ำพา ทั้งคนในชุมชนรอบขุนเขาและผู้คนจากแดน ไกลที่มีศรัทธาในพุทธศาสนาและเชื่อมั่นใน คุณธรรมขององค์หลวงพ่อร่วมแรงร่วมใจท�ำสิง่ มหัศจรรย์ทยี่ ากจะเป็นไปได้ในด้านการก่อสร้าง ศาสนวัตถุตามความเชือ่ ในหลักศาสนา นัน่ ก็คอื บรรดา เจดียส์ ขี าวทีต่ งั้ อยูเ่ รียงรายตามยอดเขา และหน้าผาทีส่ งู ชัน อีกทัง้ ศาลาใหญ่นอ้ ยทีต่ งั้ อยู่ บนยอดเขาแห่งนี้
126
และที่น่าทึ่งที่สุดในด้านการวิศวกรรมคือ องค์หลวงพ่อไพบูลย์ เป็นผู้ออกแบบโดยใช้ เพียงการชี้บอกว่าต้องเสียบเหล็กอย่างนี้ ตั้ง อย่างนี้...ไม่มีการเขียนแบบใดๆทั้งวัสดุที่ต้อง ใช้การล�ำเลียงขึ้นไปแบบกองทัพมดทั้งความ กล้าหาญของบรรดาช่างก่อสร้างของหลวงพ่อ ซึ่งเชื่อมั่นในบุญบารมีของหลวงพ่อ พวกช่าง ทุกคนของท่านต่างต้องแบก เสี่ยงภัยในการ ก่อสร้างศาสนวัตถุตา่ งๆ ตามหน้าผาสูงชัน โดย ปราศจากเทคโนโลยีราคาแพงทันสมัยใดๆ และ ตลอดเวลา 10 กว่าปี ทีใ่ ช้เวลาสร้างสิง่ มหัศจรรย์ นี้ไม่เคยมีช่างคนใดได้รับบาดเจ็บ เพราะการ ก่อสร้างเลยแม้แต่คนเดียว บนเทือกเขาแห่งนี้ยังเป็นที่ประดิษฐาน รอยพระพุทธบาท รอยพระหัตถ์ ตามความเชือ่ ของชาวพุทธทัว่ ไป หรือนับเป็นจุดเริม่ ต้นซึง่ เป็น ที่มาของศาสนวัตถุที่ถูกรังสรรค์ขึ้นอย่างน่า อัศจรรย์ ป ั จ จุ บั น ได้ เ ป็ น ที่ รู ้ จั ก กั น อย่ า งกั น อย่ า ง กว้างขวาง น�ำพาผูค้ นจากทัว่ ทุกสารทิศ ไม่เว้น แม้ชาวต่างชาติที่ต่างกันมาเยี่ยมชม และได้ ทดสอบก�ำลังกายก�ำลังใจของตน เพราะทาง รถยนต์ที่จัดบริการไว้นั้นขึ้นไปได้เพียงครึ่งทาง อีกครึง่ ต้องใช้การเดินขึน้ ไปตามทางบันไดเหล็ก ซึง่ ลัดเลาะไปตามหน้าผาบ้าง โขดหินบ้าง จึงจะ ขึ้นไปถึงจุดสูงสุดได้
LAMPANG 127
แ ละหากใครต้ อ งการจะมาพั ก อาศั ย ปฏิบตั ธิ รรม หรือค้างแรมเพือ่ ชมธรรมชาติทพี่ กั ที่ ก างเต็ น ท์ และสาธารณู ป โภคก็ จั ด ได้ ว ่ า เหมาะสม สะดวกสบายเลยทีเดียวให้พักได้ เฉพาะผู้ที่มาปฏิบัติธรรมเท่านั้น พระครูสังวรศีลคุณ (ครูบาค�ำปอน) เป็น เจ้าอาวาส ผูไ้ ด้รบั ความไว้วางใจจากหลวงพ่อ ไพบูลย์ ให้เป็นผู้ดูแลสถานที่แห่งนี้นั้นยังเป็น พระทีอ่ บอุน่ เมตตา เป็นกันเอง คอยดูแลให้ความ เอื้อเฟื้อ ทั้งพระที่อาศัยและศรัทธาญาติโยม ที่ ม าเที่ ย วและมาท� ำ บุ ญ อย่ า งน่ า ประทั บ ใจ มิรู้ลืม
128
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
พระครูวินิตวรการ เจ้าอาวาสวัดดงนั่ง
วัดพระธาตุดงนั่ง
พระธาตุ ด งนั่ ง เป็ น พระธาตุ เ ก่ า แก่ ที่ มี ลั ก ษณะสถาปั ต ยกรรมแบบล้ า นนา ประดิษฐานอยู่ที่วัดดงนั่งคีรีชัย ต�ำบลวิเชตนคร อ�ำเภอแจ้ห่ม จังหวัดล�ำปาง ปัจจุบันมี พระครูวินิตวรการ เจ้าอาวาสวัดดงนั่งคีรีชัย เจ้าคณะอ�ำเภอแจ้ห่ม LAMPANG 129
ประวัติพระธาตุดงนั่ง
คัมภีร์พุทธจารีต คัมภีร์เทวดาสูตร และต�ำนานพระเจ้าเลียบ โลก (จารด้วยตัวอักษรล้านนาลงในใบลาน ซึง่ มีอยูห่ ลายวัดในภาค เหนือตอนบน) กล่าวไว้วา่ เมือ่ สมัยพุทธกาล องค์สมเด็จพระสัมมา สัมพุทธเจ้า พร้อมด้วยพระอรหันต์สาวก ได้เสด็จจาริกมาเผยแผ่ พระธรรมค�ำสั่งสอนในแคว้นล้านนานี้ ครั้ น เสด็ จ มาถึ ง เขตเมื อ งลั ว ะและเมื อ งอาราวี ได้ มี ส อง ตายายชาวเมืองลัวะ และฤาษีตนหนึ่งชื่อ สิทธะสี คอยติดตาม อุปถาก กาลครั้งนั้นพระพุทธเจ้าได้พาพระอรหันต์ขึ้นมาประทับนั่ง พักผ่อนพระอิริยาบถบนเขาแห่งหนึ่งทางทิศเหนือเมืองลัวะ แล้ว ทรงตรัสแก่พระอานนท์ว่า เมื่ออดีตชาติตถาคตเคยจุติมาเกิดเป็น เต่าค�ำชาติหนึง่ และจุตมิ าเป็นนกกระทาป่าสองชาติ เพือ่ มาบ�ำเพ็ญ บารมีบนเขาแห่งนี้ และทรงท�ำนายว่ากาลข้างหน้าสถานที่แห่งนี้ จะเจริญไปด้วยพระธรรมค�ำสั่งสอนของพระพุทธศาสนา และทรง รับสั่งต่อไปว่าหากตถาคตปรินิพพานไปแล้ว ให้น�ำเอาพระอัฐิธาตุ ส่วนที่เป็นข้อมือข้างซ้ายมาบรรจุบนเขาแห่งนี้ เพื่อให้เป็นพุทธานุ สติของเหล่ามนุษย์และเทวดาทั้งหลาย จะได้กราบไหว้สักการบูชา จากนั้นพระพุทธเจ้าพร้อมด้วยพระอรหันต์ผู้ติดตาม ได้ออกจาริก เผยแผ่พระพุทธศาสนาในที่ต่าง ๆ ต่อไป บนเขาทีพ่ ระพุทธเจ้าได้พาพระอรหันต์มาประทับนัง่ แห่งนี้ คน ทั่วไปจึงเรียกขานกันว่า “ดอยดงนั่ง” ต่อมาเมื่อองค์สมเด็จพระ สัมมาสัมพุทธเจ้า ได้เสด็จดับขันธ์ปรินิพพานล่วงไปได้ 4 ปี พระ อานนท์ผเู้ ป็นพุทธอุปถาก และเป็นผูจ้ ำ� พุทธบัญชาของพระพุทธเจ้า ได้ จึงขอแบ่งพระบรมสารีรกิ ธาตุบางส่วนจากกรุงกบิลพัสดุ์ พร้อม ด้วยพระกัสสปะ เถระ พระโสภิตะและพระอรหันต์อกี หลายรูป ได้ อาราธนาพระบรมสารีริกธาตุไปบรรจุไว้ในที่ต่าง ๆ ตามที่พระองค์ ได้ทรงรับสั่ง เมื่อมาถึงดอนดงนั่ง คณะของพระอรหันต์จึงไห้อุบาสกท่าน หนึ่ง ไปกราบทูลพญาอาราวีและพญาลัวะให้ทราบความ เจ้าเมือง ทัง้ สองจึงได้นำ� ศรัทธาประชาชนมาสักการบูชา จัดพิธฉี ลองสมโภช ครบ 7 วันแล้วน�ำไหใบหนึง่ ทีบ่ รรจุพระสารีรกิ ธาตุ ฝังลงไปในหลุม ลึกใต้ดิน ลึก 8 ศอก กว้าง 8 ศอกกับ 1 คืบ แล้วน�ำแผ่นแก้วผลึก ลงปูชนั้ แรก น�ำแผ่นเงินลงปูเป็นชัน้ ทีส่ อง แล้วน�ำแก้วแหวงเงินทอง ของมีค่าต่าง ๆ ที่ชาวเมืองน�ำมาบูชาบรรจุลงในไหดังกล่าว มีค่า เท่ากับ 1,809,000 (ในต�ำนานไม่ได้ระบุวา่ เป็นบาทหรือต�ำลึง) เสร็จ แล้วก่ออิฐเป็นวงกลม 2 ชั้น ท�ำเป็นประตู 4 ทิศ ถมเสร็จแล้วก่อ อิฐสูงขึ้นมาบนดิน 14 ศอก เมื่อทุกอย่างเสร็จบริบูรณ์ คณะพระอรหันต์สาวก ได้แสดงพระธรรมเทศนาสัง่ สอนให้ชาว เมืองทัง้ หลายตัง้ อยูใ่ นพระธรรมค�ำสัง่ สอน ให้ชาวเมืองทัง้ สองมีหริ ิ โอตัปปะ เกรงกลัวต่อบาปกรรม มีศลี มีธรรม อยูเ่ ย็นเป็นสุขตลอดไป จากนั้นคณะของพระอรหันต์พร้อมด้วยผู้ติดตาม ได้จาริกน�ำ เอาพระบรมสารีรกิ ธาตุไปบรรจุไว้ในทีส่ ำ� คัญต่าง ๆ ตามพุทธบัญชา แล้วกลับไปยังวัดป่าเชตวันอาราม ในชมพูทวีปประเทศอินเดีย เพือ่ สืบต่ออายุพระพุทธศาสนาให้เจริญรุ่งเรืองต่อไปในภายภาคหน้า เมื่อกาลเวลาได้ผ่านไปนับเป็นพันปี ชาวบ้านแถวนี้ถูกข้าศึก รุ ก รานจึ ง ได้ พ ากั น อพยพหนี ไ ปอยู ่ ที่ อื่ น ชาวไทยลั ว ะยั ง มี อ ยู ่ 130
กระจัดกระจายทั่วภาคเหนือ ที่เมืองลัวะแห่งนี้ เหลือแต่ซาก คูเมืองเก่า กว้างประมาณ 6 เมตร ส่วนลึกประมาณ 3- 4 เมตร อยู่ห่างจากวัดดงนั่งไปทางทิศใต้ 2 ก.ม. ปัจจุบันยังมีสภาพดีอยู่ และสถูปบนเขาแห่งนี้ก็ได้ชำ� รุดไปตามอายุกาล เหลือโผล่ขึ้นมา บนดินประมาณ 1 เมตร ชาวบ้านแถวนี้เรียกว่า “ม่อนกู่ดงนั่ง” เป็นทีย่ ำ� แกรงของคนทัว่ ไป ใครมาขุดค้นหาสมบัตมิ กั จะมีอนั เป็น ไปต่าง ๆ นานา วันดีคืนดีชาวบ้านบริเวณนี้จะได้ยินเสียงสวด มนต์ และดวงไฟสว่างสุกใสออกมาให้เห็นเสมอ ครัน้ พุทธศาสนายุกาลล่วงเลยมาถึงปี พ.ศ.2466 ต้นคิมหันตฤดู ครูบาเจ้าศรีวิไชย นักบุญแห่งล้านนาจากบ้านปาง อ�ำเภอลี้ จังหวัดล�ำพูน ได้นำ� พุทธศาสนิกชนจากที่ต่าง ๆ จาริกมาสร้าง เจดีย์ตามสถานที่ส�ำคัญ ๆ หลายแห่ง ตามบัตรถา (ลายแทง) ที่ออกในต�ำนานพระเจ้าเลียบโลก เมื่อมาถึงม่อนกู่ดงนั่ง ท่านให้ ชาวบ้านช่วยกันขุดดินลงไปประมาณ 1 เมตร เพื่อปรับพื้นที่ให้ เรียบและกว้างขึน้ ชาวบ้านได้ขดุ พบวัตถุโบราณหลายอย่าง เช่น เครื่องปั้นดินเผา เครื่องมือขุดเจาะ อาวุธโบราณ ลูกแก้ว ลูกปัด และของประดับหลายชิน้ เมือ่ ขุดดินได้ทแี่ ล้วท่านครูบาก็ได้สร้าง
เจดีย์ครอบสถูปที่บรรจุพระสารีริกธาตุไว้ เพื่อให้พุทธศาสนิกชนทั้ง หลายได้กราบไหว้บูชาสักการะต่อไป ล่วงมาถึงปี พ.ศ.2467 ท่านครูบาก็ได้สร้างเสนาสนะต่าง ๆ ขึ้น โดยให้พระกัณชนะภิกขุ ผูเ้ ป็นช่างทีต่ ดิ ตามครูบามา ได้นำ� ชาวบ้านปงคอบ ในสมัยนัน้ ซึง่ มีนายค�ำ กล้าแข็ง เป็นผูใ้ หญ่บา้ น ได้รว่ มกันสร้างวิหาร ขนาดกว้าง 8 เมตร ยาว 14 เมตร หลังคาเทคอนกรีตเสริมเหล็ก และได้ ส ร้ า งศาลา กุ ฏิ เสนาสนะต่าง ๆ ได้ตั้ง ขึ้น เป็น วั ด ชื่ อ ว่ า “วัด พระธาตุดงนั่ง” โดยมี พระกัณชนะภิกขุ เป็นเจ้าอาวาสรูปแรก ขึน้ ทะเบียนเป็นวัดตัง้ แต่ปี พ.ศ.2467 เป็นต้นมา “ต่อมาได้เปลีย่ นชือ่ เป็น วัดดงนั่งคีรีชัย” พระธาตุดงนั่ง ได้รับการบูรณะเมื่อปี พ.ศ. 2538 เพราะปูนขาว หมดอายุและยอดฉัตรช�ำรุด โดยได้รักษารูปแบบเดิมไว้ ทางวัดจัดให้ มีงานประเพณีสรงน�้ำพระธาตุดงนั่ง ตรงกับเดือน 7 เหนือ ขึ้น 8 ค�่ำ ของทุกปี หลักฐานทางโบราณคดีอื่น ๆ 1. รอยพระพุทธบาท บนยอดเขาทางทิศตะวันตกของวัด (จากรอยเท้า คนที่เหยียบขึ้นไปสักการะจนก้นหินสึกกร่อน ต้องใช้เวลาหลายพันปี) 2. ผาตูบ ก้อนหินขนาดใหญ่ซ้อนกัน ข้างล่างเป็นเหมือนกระท่อม เป็นที่บ�ำเพ็ญตบะของสิทธะสีฤาษี 3. บ่อน�ำ้ ทิพย์ เป็นน�ำ้ ในโพรงหินบนหน้าผาสมารถเอือ้ มตักได้ อยูใ่ กล้ ผาตูบที่สิทธะสีฤาษี บ�ำเพ็ญบารมี 4. คูเมืองลัวะ เป็นคูเมืองโบราณ (ชาวบ้านเรียกคูลัวะ) มีบริเวณ กว้างและยาวหลายร้อยเมตร อยู่ห่างจากวัดดงนั่งคีรีชัย ประมาณ2 กิโลเมตร ขอขอบคุณที่มาของข้อมูล 1. ต�ำนานพระเจ้าเรียบโลก (จารด้วยอักษรพื้นเมือง มีอยู่หลายวัด ในล้านนา) 2. คัมภีร์พุทธตารีต หรือเทวดาสูตร (คัมภีร์ใบลาน มีอยู่หลายวัด) 3. ต�ำนานเมืองแจ้ห่ม (คัมภีร์ใบลานเก่าแก่ของวัดศรีหลวง) 4. ต�ำราดูพระธาตุ (หนังสือเก่าพิมพ์เป็นภาษาไทย ของหลวงวิจิตร วาทการ) 5. ค�ำบอกเล่าของผู้เฒ่าผู้แก่ ที่เล่าสืบกันมา LAMPANG 131
เส้เทศบาลตำ นทางพบ �บล
วิสัยทัศน์การพัฒนา
พั ฒ นาโครงสร้ า งพื้ น ฐานส� ำ หรั บ การด� ำ รงชี วิ ต ส่ ง เสริ ม เศรษฐกิจและความเป็นอยู่ทางสังคม แก้ไขปัญหาความยากจน สนับสนุนเงินทุนส�ำหรับในการประกอบอาชีพ พัฒนาแหล่งน�้ำ ใช้ในการเกษตรและการอุปโภคบริโภค ส่งเสริมคุณภาพชีวิตของ ประชาชนให้มสี ขุ ภาพแข็งแรง ลดการแพร่ระบาดของโรค ส่งเสริม การศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ให้ประชาชนใช้ชีวิตอย่างสงบ สุขตามแนวพระราชด�ำริ การบริหารจัดการทีด่ ตี ามหลักธรรมาภิบาล ปฏิบตั ติ ามนโยบายของรัฐอย่างเป็นรูปธรรม และพัฒนาท้องถิน่ ตาม ความต้องการของประชาชน
ข้อมูลทั่วไป นายอดุลย์ กันธิดา นายกเทศมนตรีต�ำบลล�ำปางหลวง
เทศบาลตำ�บลลำ�ปางหลวง
เทศบาลต�ำบลล�ำปางหลวง มีพื้นที่ประมาณ 28 ตาราง กิโลเมตร มีอาณาเขตติดต่อ ดังนี้ ทิศเหนือติดต่อกับอ�ำเภอห้างฉัตร ทิศใต้ตดิ ต่อกับต�ำบลท่าผา ทิศตะวันออกติดต่อกับต�ำบลเกาะคา ทิศ ตะวันตกติดต่อกับต�ำบลไหล่หินและต�ำบลใหม่พัฒนา การปกครอง แบ่งเป็น 13 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ 1 บ้านล�ำปาง หลวง หมู่ 2 บ้านล�ำปางหลวงใต้ หมู่ 3 บ้านป่าเหียง หมู่ 4 บ้าน นางเหลียว หมู่ 5 บ้านจู้ดหลวง หมู่ 6 บ้านม้าเหนือ หมู่ 7 บ้าน ลอมศรีป้อ หมู่ 8 บ้านกองหาญ หมู่ 9 บ้านม้าใต้ หมู่ 10 บ้าน จู้ดทุ่ง หมู่ 11 บ้านจามเทวี หมู่ 12 บ้านปงป่าม่วง และหมู่ 13 บ้านม้ากลาง
แหล่งท่องเที่ยวในต�ำบลล�ำปางหลวง พระธาตุศักดิ์สิทธิ์ แหล่งผลิตหัตถกรรมจักสาน ตลาดนัดไก่โคกระบืองาม นามล�ำปางหลวงลือไกล
คือค�ำขวัญประจ�ำเทศบาลต�ำบลล�ำปางหลวง ซึง่ ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 385 หมู่ 11 ต�ำบลล�ำปางหลวง อ�ำเภอเกาะคา จังหวัดล�ำปาง ห่างจากทีว่ า่ การอ�ำเภอเกาะคาไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1034 (ถนนสายเกาะคา-ห้างฉัตร) เป็นระยะทางประมาณ 5 กม. ปัจจุบันมี นายอดุลย์ กันธิดา ด�ำรงต�ำแหน่ง นายกเทศมนตรี ต�ำบลล�ำปางหลวง 132
วัดพระธาตุลำ� ปางหลวง เป็นวัดเก่าแก่คบู่ า้ นคูเ่ มืองของจังหวัด ล�ำปางมานาน และเป็นที่เคารพสักการะของประชาชนทั้งชาวไทย และต่างชาติ นอกจากนีว้ ดั พระธาตุลำ� ปางหลวงยังเป็นทีป่ ระดิษฐาน พระแก้วมรกต ซึ่งเป็นพระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมืองล�ำปางมาช้านาน วัดจู้ดทุ่ง (ไชยทุ่งล้อม) ซึ่งเป็นวัดที่มีสถาปัตยกรรมและ ศิลปกรรมเป็นแบบพม่า สร้างขึ้นประมาณปี พ.ศ.2440 เป็นวัดที่ มีลกั ษณะทีค่ ล้ายคลึงกับวัดศรีชมุ ในอ�ำเภอเมืองล�ำปาง ปูชนียวัตถุ ส�ำคัญ ได้แก่ พระประธาน เป็นพระพุทธรูปเป็นศิลปะพม่า ประดิษฐานภายในอุโบสถซึ่งมีประดับลวดลายงดงามและหาชมได้ ยากยิง่ ลักษณะเด่นของวัดจูด้ ทุง่ คือจะสร้างด้วยไม้สกั และได้มกี าร บูรณะขึ้นในบางส่วน แต่ยังคงสถาปัตยกรรมแบบเดิมไว้ให้เห็นอยู่
บ่อน�้ำเลี้ยงพระนางเจ้าจามเทวี ตั้งอยู่หมู่ 11 บ้านจามเทวี ต�ำบลล�ำปางหลวง เป็นสถานที่เคารพสักการะของหมู่บ้าน จาก ค�ำบอกเล่าของผู้เฒ่าผู้แก่ว่า เมื่อประมาณปี พ.ศ. 1215 พระนาง จามเทวีเสด็จจากเมืองละโว้ (ลพบุรี) จะไปสร้างเมืองหริภุญชัย (ล�ำพูน) พระนางได้แวะมานมัสการพระธาตุล�ำปางหลวง เมื่อชาว บ้านได้ขา่ วจึงเข้าเฝ้าเพื่อให้พระนางหาแหล่งน�้ำให้ เพราะสมัยนั้น ชาวบ้านต้องหาแหล่งน�้ำไกล ดังนั้นพระนางจึงได้อธิษฐานต่อหน้า พระธาตุล�ำปางหลวงว่า “ถ้าที่ใดมีสายน�้ำผ่าน ขอดลบันดาลให้ ชาวบ้านขุดเจอน�้ำด้วยเถิด” ทันใดนั้นมีหมูตัวหนึ่งมาคุ้ยบริเวณที่ เป็นบ่อน�้ำที่เห็นในปัจจุบันนี้ และได้มีสายน�้ำผุดออกมา ชาวบ้าน และทหารทีต่ ามเสด็จมาช่วยกันขุด และกลายมาเป็นบ่อน�ำ้ เลีย้ งมา จนถึงปัจจุบันนี้ และได้มีการบูรณะ เมื่อปี พ.ศ.2474 ในวันที่ 13 เมษายน ของทุกปี ชาวบ้านจะช่วยกันตักน�้ำบ่อน�้ำเลี้ยงนี้ ไปถวาย เพื่อใช้เป็นน�้ำสรงพระธาตุและองค์พระแก้วมรกต เมื่อมีงานพระ ราชพิธีส�ำคัญของกรุงเทพ ฯ จะน�ำน�้ำจากบ่อนี้ไปท�ำน�้ำพระพุทธ มนต์ และชาวบ้านทั่วไปก็ใช้ท�ำน�้ำพระพุทธมนต์ในพิธีตา่ ง ๆ LAMPANG 133
การอนุรักษ์สืบสานประเพณี-วัฒนธรรมท้องถิ่น งานประเพณียี่เป็ง ไหว้สาพระธาตุเจ้าล�ำปางหลวง ประเพณีแห่ครัวตาน ประเพณีรดน�้ำด�ำหัวผู้สูงอายุ
กิจกรรม/โครงการเด่น ทต.ล�ำปางหลวง
- ร่วมงานถวายพระพรพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว 5 ธันวามหาราช - ร่วมงานถวายพระพรสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรม ราชินีนาถ 12 สิงหามหาราชินี - ปลูกป่าเฉลิมพระเกียรติ เนื่องในวันแม่แห่งชาติ - โครงการบ้านเมืองน่าอยู่ - โครงการ ทู บี นัมเบอร์วัน - โครงการเดินณรงค์ต่อต้านยาเสพติด - โครงการสร้างเสริมพลังผู้สูงวัย - โครงการวันเด็กแห่งชาติ 134
เส้นทางพบ เทศบาลตำ�บล
การพัฒนาเมืองต้นแบบสิง่ แวดล้อมอย่างยัง่ ยืน โดย เทศบาลตำ�บลเกาะคา อำ�เภอเกาะคา จังหวัดลำ�ปาง “เมืองต้นแบบสิ่งแวดล้อมยั่งยืน”
จากวิสัยทัศน์ดังกล่าวข้างต้น เทศบาล ต�ำบลเกาะคา จึงได้พฒ ั นาเมือง จนได้เป็นเมือง ต้นแบบด้านสิง่ แวดล้อมอย่างยัง่ ยืน เพือ่ มุง่ สูก่ าร เป็นสังคมสีเขียวแบบมีสว่ นร่วม เป็นแบบอย่าง การปฏิบตั ทิ ดี่ คี อื เป็นเมืองทีด่ แู ลสิง่ แวดล้อมที่ สร้างขึ้น เช่น สวนสาธารณะ สถาปัตยกรรม ประเพณีวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ให้ สอดคล้องเหมาะสมกับบริบทเมือง ดูแลรักษา ทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทาง ชีวภาพ ให้คงไว้ซงึ่ ระบบนิเวศทีด่ ี มีการจัดการ ของเสียและมลพิษได้ถูกต้องเหมาะสม ค�ำนึง ถึงการใช้ทรัพยากรอย่างประหยัดคุ้มค่าและ ส่งเสริมการใช้วถิ ชี วี ติ ทีเ่ ป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม และเป็นเมืองแห่งการเรียนรู้ในการบริหาร จัดการที่ดี
กลไกที่เป็นกระบวนการน�ำพาให้เทศบาล ต�ำบลเกาะคาไปสูค่ วามส�ำเร็จในครัง้ นี้ คือ การ ใช้เวทีทมี่ ชี อื่ ว่า “เวทีขว่ งผญ๋า เพือ่ ฮอมก�ำกึด๊ ” ซึ่งหมายถึง พื้นที่แห่งปัญญาที่รวบรวมความ คิดเห็นของคนในสังคม โดยเปิดโอกาสให้ทกุ คน ได้รว่ มแสดงความคิดเห็นและมีสว่ นร่วมในการ จัดการสิ่งแวดล้อมภายในครัวเรือนและชุมชน อั น น� ำ ไปสู ่ เ มื อ งน่ า อยู ่ โ ดยทุ ก คนมี จิ ต ส� ำ นึ ก สาธารณะร่วมกัน จากความส�ำเร็จในครั้งนี้ เทศบาลต�ำบล เกาะคา ได้รับการคัดเลือกให้เป็นแหล่งเรียนรู้ ของประชาคมอาเซียนด้านสิ่งแวดล้อม ซึ่งได้ ถอดบทเรียนออกมาเป็นโมเดลที่จะถ่ายทอด ให้กบั ประชาคมอาเซียน ทีจ่ ะมาศึกษาและแลก เปลี่ยนเรียนรู้ ดังต่อไปนี้
“Koh-Kha Model” The Collaborative City for Balanced Happiness in ASEAN Community เมืองแห่งความร่วมมือเพื่อความสุขอย่าง สมดุลในเวทีประชาคมอาเซียน เป็นเป้าหมาย การด�ำเนินงานเพื่อมุ่งสู่การพัฒนาเมืองต้นแบบ สิง่ แวดล้อมของเทศบาลต�ำบลเกาะคา โดยสร้าง ความร่วมมือในการพัฒนา ระบบสังคม ระบบ เศรษฐกิจและระบบสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุล หลั ก ความร่ ว มมื อ ที่ ใ ห้ ทุ ก ภาคส่ ว นเข้ า มามี ส่วนร่วมในการบริหารจัดการ นอกจากจะท�ำให้ การด�ำเนินงานทุกอย่างประสบผลส�ำเร็จแล้ว ยังก่อให้เกิดความรัก ความสามัคคี และเอือ้ อาทร ของคนในชุมชน ซึ่งเทศบาลต�ำบลเกาะคาได้ การเตรียมความพร้อมอยูต่ ลอดเวลา ทีจ่ ะรับมือ กับความเปลี่ยนแปลงต่อการด�ำรงชีพในบริบท ของเวทีประชาคมอาเซียนได้อย่างกลมกลืน
โดยการใช้แนวคิดนี้ปลูกฝังให้ประชาชนรัก ชุมชนของตนเอง สร้างการมีจิตอาสาในการ จัดการสิ่งแวดล้อมเพิ่มขึ้น และขยายแนวคิด การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมไปสู่เด็กและเยาวชน โดยมุ่งเน้นการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนเพื่อ การแก้ปญ ั หาในระยะยาว ทีเ่ ริม่ จากกระบวนการ มีสว่ นร่วม จนก่อให้เกิดการจัดการสิง่ แวดล้อม ในชุมชนที่มีความหลากหลาย เป็นเมืองน่าอยู่ สู่สังคมสีเขียวด้วยการมีส่วนร่วมของทุกฝ่าย อย่างแท้จริง Lampang 135
เส้นทางพบ
องค์การบริหารส่วนตำ�บล
ข้อมูลทั่วไป
องค์การบริหารส่วนต�ำบลใหม่พัฒนา มีเนื้อที่จ�ำนวน 54.44 ตารางกิโลเมตร (34,025 ไร่) ด้านตะวันออกเป็นพื้นที่ราบลุ่ม เหมาะแก่การเพาะปลูก ส่วนด้านตะวันตกเป็นพื้นที่สูงตัดกับแนว เขตป่าสงวนแห่งชาติปา่ แม่ยาว มีนำ�้ แม่ปาง และน�ำ้ แม่ยาวไหลผ่าน ตอนกลาง องค์การบริหารส่วนต�ำบลใหม่พัฒนา มีหมู่บ้านในเขตพื้นที่ รับผิดชอบ 9 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ที่ 1 บ้านโป่งร้อน หมู่ที่ 2 บ้าน สันป่าสัก หมู่ที่ 3 บ้านแม่ปุ้มหลวง หมู่ที่ 4 บ้านแม่ปาง หมู่ที่ 5 บ้านต้นผึ้ง หมู่ที่ 6 บ้านทุ่งขาม หมู่ที่ 7 บ้านนาโป่งหาญ หมู่ที่ 8 บ้านแม่ปุ้มสันติสุข และหมู่ที่ 9 บ้านทุ่งขามใต้ มีประชากรทั้งสิ้น 5,195 คน มีจ�ำนวนครัวเรือน 1,698 ครัวเรือน นายเจริญ สิทธิวัง นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลใหม่พัฒนา
องค์การบริหารส่วนตำ�บลใหม่พัฒนา ต�ำบลใหม่พัฒนาน่าอยู่ มุ่งสู่คุณภาพชีวิต เน้นเศรษฐกิจพอเพียง คือวิสัยทัศน์การพัฒนาขององค์การบริหารส่วนต�ำบลใหม่ พัฒนา ตั้งอยู่ที่ 209 หมู่ที่ 9 บ้านทุ่งขามใต้ ต�ำบลใหม่พัฒนา อ�ำเภอเกาะคา จังหวัดล�ำปาง โดยตั้งอยู่ทางทิศตะวันออก เฉียงเหนือห่างจากอ�ำเภอเกาะคา เป็นระยะทางประมาณ 14 กิโลเมตร ปัจจุบันมี นายเจริญ สิทธิวัง ด�ำรงต�ำแหน่ง นายก องค์การบริหารส่วนต�ำบลใหม่พัฒนา
ประวัติความเป็นมา
องค์การบริหารส่วนต�ำบลใหม่พัฒนา ได้รับการจัดตั้งเป็น องค์การบริหารส่วนต�ำบล ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรือ่ ง การจัดตัง้ องค์การบริหารส่วนต�ำบล ลงวันที ่ 16 ธันวาคม 2539 อยูใ่ นการก�ำกับดูแลของนายอ�ำเภอเกาะคา ผูว้ า่ ราชการจังหวัด ล�ำปาง และกระทรวงมหาดไทย มีภารกิจอ�ำนาจหน้าที่ภายใต้ ระเบียบ กฎหมาย ข้อบังคับและมติคณะรัฐมนตรีทเี่ กีย่ วข้อง 136
สถานที่ท่องเที่ยวส�ำคัญ
1. วัดสันตินคิ ม เดิมชือ่ “วัดสันตินคิ มสามัคคีธรรม” เริม่ ก่อตัง้ เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2525 ในที่ดินของสหกรณ์นิคม ห้างฉัตร มีเนื้อที่ 15 ไร่ 85 ตารางวา โดยเริ่มก่อสร้างเป็น ส�ำนักสงฆ์ขนึ้ มาก่อน ประวัตกิ ารก่อสร้างวัดทีจ่ ดั ท�ำขึน้ นี้ เป็นการ บันทึกและปรับปรุงให้ถูกต้อง และได้รับความอนุเคราะห์เป็นค�ำ บอกเล่าจาก พระครูกิตติธีรคุณ (กิตติภพ สุมังฺคโล) เจ้าอาวาส วัดในปัจจุบัน (พ.ศ. 2559), หลวงปู่สอาด กุสลจิตโต และนาย จันทร์แก้ว (คุณตาค�ำ) จ�ำปาวัน ซึ่งเป็นผู้ที่ได้ริเริ่มการสร้างวัด ตั้งแต่แรกเริ่ม พร้อมกับชาวบ้านในหมู่บ้าน ภายใต้การน�ำของพ่อ หลวง(ผู้ใหญ่)อ้าย ค�ำแสง และคุณตาค�ำ
กิจกรรม/โครงการของ อบต.ใหม่พัฒนา
1. โครงการจัดงานประเพณีสงกรานต์ปี๋ใหม่เมือง เป็น กิจกรรมทีจ่ ดั ขึน้ ณ สวนสาธารณะโป่งร้อน ในวันที่ 16 เมษายน ของทุก ๆ ปี โดยมีกจิ กรรมการประกวดขบวนของแต่ละหมูบ่ า้ น ในต�ำบลใหม่พฒ ั นา ประกวดนางสงกรานต์ การแข่งขันมวยทะเล และแข่งขันพายเรือ เพื่อเป็นการอนุรักษ์และสืบสานวัฒนธรรม
2. สวนสาธารณะโป่งร้อน ประวัติความเป็นมา จากการ ถามผู้เฒ่าสืบกันมา หมู่บ้านโป่งร้อนก่อตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ.2535 โดย บรรพบุรุษได้อพยพมาจากประเทศลาว ได้แก่ ต้นตระกูลจ�ำปาวัน มาจากเมืองจ�ำปานคร ต้นตระกูลจันทร์ใหม่ มาจากเมืองจันทร์ และ ต้นตระกูลปาระมี มาจากเมือง ปาราณศรี โดยเข้ามาตั้งหมู่บ้าน ครั้งแรกอยู่ที่ชายป่าเหนือหมู่บ้าน คือ โต้งบ้านห่างและโต้งบ้าน สันป่าตอง โดยมีอารามอยู่ในดง ซึ่งตอนนั้นเป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ ของหมู่บ้าน ทุกคนมีกิจกรรมอะไรก็จะเข้าไปในดงเพื่อบอกให้เจ้า นายดงทราบ ต่อมาได้มกี ารเปลีย่ นแปลงการปกครองหมูบ่ า้ น จึงเปลีย่ นแปลง ชื่อหมู่บ้านจาก “บ้านสันป่าตอง” เป็น “บ้านโป่งร้อน” ซึ่งชาวบ้าน ก็เห็นว่าชื่อนี้เหมาะสม เนื่องจากมีน�้ำพุร้อนผุดออกมาตามหาด ทรายเลาะริมแม่น�้ำ จากนั้นชาวบ้านได้พากันย้ายหมู่บ้านจากทิศ ตะวันตกของแม่น�้ำมาอยู่ทางทิศตะวันออกของแม่น�้ำแม่แก้ และ ย้ายอารามหรือวัด มาอยู่ที่หลงเก๊ากอก ซึ่งเป็นชื่อที่ชาวบ้านเรียก สวนสาธารณะโป่งร้อน
2. โครงการลานวัฒนธรรมลานภูมิปัญญา เป็นกิจกรรมที่ จัดขึ้น ณ วัดสันตินิคม บ้านสันป่าสัก ต�ำบลใหม่พัฒนา เพื่อ เป็นการส่งเสริมให้ประชาชนตระหนักถึงความส�ำคัญ และ คุณค่าของวัฒนธรรมที่เป็นเอกลักษณ์ของชุมชน และอนุรักษ์ ฟื้นฟูวัฒนธรรม และวิถีชีวิตของท้องถิ่นตั้งแต่สมัยอดีตให้ได้ รับการสืบทอด และเป็นโอกาสที่จะได้แสดงความสามารถและ ภูมิปัญญาของผู้สูงอายุ ซึ่งเป็นผู้บุกเบิกและเป็นผู้ทรงคุณค่า ควรแก่การให้เกียรติและเคารพ จึงได้มีแนวคิดจัดกิจกรรมลาน วัฒนธรรมลานภูมิปัญญา ในงานจะมีการแสดงและการแข่งขัน วัฒนธรรม และภูมิปัญญาของท้องถิ่นทั้ง 9 หมู่บ้าน LAMPANG 137
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
พระครูกิตติธีรคุณ (กิตติภพ สุมังคโล) เจ้าอาวาสวัด /ที่ปรึกษาเจ้าคณะตำ�บลไหล่หิน (ธ)
วัดสันตินิคม
หลวงปู่สอาด กุสลจิตโต ประธานอุปถัมภ์มูลนิธิกุสลจิตโต
วัดสันตินคิ ม เลขที่ 142 หมู่ 2 บ้านสันป่าสัก ต�ำบลใหม่พฒ ั นา อ�ำเภอเกาะคา จังหวัดล�ำปาง เป็นส�ำนักปฏิบัติธรรมประจ�ำจังหวัดล�ำปาง แห่งที่ 1 (ธ) ปัจจุบันมีท่านพระครูกิตติธีรคุณ (กิตติภพ สุมังฺคโล) เป็นเจ้าอาวาสวัด/ที่ปรึกษาเจ้าคณะต�ำบลไหล่หิน (ธ)
ประวัติและความเป็นมาของวัดสันตินิคม
วัดสันตินคิ ม เดิมชือ่ “วัดสันตินคิ มสามัคคีธรรม” เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์ธรรมยุตนิกาย เริ่มก่อตั้งเมื่อวันที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2525 ในทีด่ นิ ของสหกรณ์นคิ มห้างฉัตร มีเนือ้ ทีท่ งั้ สิน้ 15 ไร่ 85 ตารางวา เดิมวัดสันตินคิ มเป็นเพียงส�ำนักสงฆ์ ต่อมาท่านเจ้าคุณ พระพิศษิ ฏ์ธรรมภาณ (สมาน รามธมฺโม) อดีตเจ้าอาวาสวัดเชตะวัน 138
และเจ้าคณะจังหวัดล�ำปาง-เชียงราย-พะเยา-แพร่-น่าน ในสมัยนั้น ได้ทราบเรื่องแล้วจึงได้เห็นชอบให้ก่อสร้างเป็นวัดและรับเป็นองค์ ประธานด�ำเนินการฝ่ายสงฆ์ และได้มอบหมายให้ หลวงพ่อพยุง อนาลโย มาเป็นเจ้าส�ำนักสงฆ์รปู แรกเพือ่ บริหารจัดการด้านก่อสร้าง ถาวรวัตถุและศาสนสถานต่อไป
ล�ำดับเหตุการณ์ส�ำคัญและการพัฒนาวัด
ในปี พ.ศ. 2526 หลวงพ่อพยุง อนาลโย ได้มอบหมายงานการ ก่อสร้างส�ำนักสงฆ์และมอบต�ำแหน่งเจ้าส�ำนัก(รักษาการ)ให้กับ พระเจริญ สุมงั คโล (นายเจริญ มีสตั ย์) หรือ ท่านพระครูกติ ติธรี คุณ เจ้าอาวาสวัดรูปปัจจุบนั โดยได้อาศัยความศรัทธาของคุณตาจันทร์ แก้ว (ค�ำ) จ�ำปาวัน และ ผู้ใหญ่อ้าย ค�ำแสง พร้อมทั้งชาวบ้าน ร่วมแรงร่วมใจกันสร้างเสนาสนะ ได้แก่ กุฏิและศาลาการเปรียญ เพื่อใช้บ�ำเพ็ญกุศล ประกอบกับได้รับความเมตตานุเคราะห์จาก หลวงปู่แว่น ธนปาโล และ หลวงปู่หลวง กตปุญโญ พระอริยสงฆ์ แห่งวัดป่าส�ำราญนิวาส อ�ำเภอเกาะคา จังหวัดล�ำปาง ผู้ใหญ่อ้าย และคุณตาจันทร์แก้ว ได้เดินทางไปพบ หลวงปูแ่ ว่น ธนปาโล และ หลวงปู่หลวง กตปุญโญ พระอริยสงฆ์แห่งวัดป่าส�ำราญนิวาส ใน ตัวอ�ำเภอเกาะคา จังหวัดล�ำปาง ได้แจ้งความประสงค์ของการสร้าง วัดให้ทราบและได้นิมนต์พระอาจารย์ทั้งสองเดินทางมาดูสถานที่ และเพือ่ ขอบารมีของหลวงปูไ่ ด้ชว่ ยพิจารณาการสร้างวัดในครัง้ นีว้ า่ จะท�ำส�ำเร็จหรือไม่ หลวงปู่หลวงได้เมตตานั่งสมาธิตรวจดูให้เป็น กรณีพิเศษ จึงได้ค�ำตอบว่า การสร้างวัดในครั้งนี้จะส�ำเร็จหรือไม่ ส�ำเร็จก็อยู่ที่เรา ตามค�ำบอกเล่าจากคุณตาจันทร์แก้วที่สนทนากับ หลวงปู่หลวง ว่า “ผมว่าการสร้างวัดในครั้งนี้จะส�ำเร็จก็อยู่ที่ผม ไม่สำ� เร็จก็อยู่ที่ผม ถึงไม่มีเงิน แต่ผมมีแรงศรัทธา” หลวงปู่หลวงจึงได้ให้โอวาท ว่า “การท�ำงานร่วมกันนั้น อันว่าเราโกรธกันเสียในระหว่างการก่อสร้างก็ไม่มที างส�ำเร็จลงได้ ถ้าเรามีเจตนาอันดีไม่มคี วามโกรธซึง่ กันและกัน มีความรักสามัคคี กันร่วมแรงร่วมใจกันมันก็ส�ำเร็จได้เร็ววัน” ในการก่อสร้างครัง้ แรกนัน้ ท่านเจ้าคุณพระพิศษิ ฎ์ธรรมภาณ ได้เป็นองค์ประธานในการก่อสร้างศาลาท�ำบุญเอนกประสงค์ขนึ้ มา หนึง่ หลัง เป็นศาลาไม้ทมี่ หี อ้ งพักพระภิกษุและสามเณร 2 ห้องติดกัน และสร้างกุฏิขึ้นอีก 3 หลัง ห้องน�้ำ 1 หลัง ปี พ.ศ. 2535 สร้างพระอุโบสถ แต่ยงั ไม่แล้วเสร็จก็ถกู พายุ ฤดูรอ้ นพัดจนพังถล่มลงมาเสียก่อน จึงหยุดการก่อสร้างไว้ชวั่ คราว แต่กลับเป็นที่น่าอัศจรรย์ใจที่พระประธานในพระอุโบสถมิได้ถูก หลังคาพังลงมาทับองค์พระเลยแม้แต่น้อย เป็นเสมือนปาฏิหาริย์ แห่งองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า และเป็นแรงผลักดันให้เกิด พลังศรัทธาก่อสร้างวัดให้สำ� เร็จตามเจตนารมณ์ได้ ในปีเดียวกันนั้นเอง อาจารย์สอาด จ�ำปาวัน ซึ่งปัจจุบันคือ หลวงปู่สอาด กุสลจิตโต พร้อมทั้งคณะศิษย์ได้มีความประสงค์จะ สร้างลานพระประจ�ำวันเกิด เพื่อใช้เป็นสถานที่กราบไหว้บูชาและ สวดมนต์ไหว้พระรัตนตรัย จึงได้นำ� พระพุทธรูปทัง้ 9 พระองค์ มา ประดิษฐานยังซุม้ พระประจ�ำวันเกิดต่าง ๆ และยังได้นำ� พระอรหันต์ ปูนปัน้ มาประจ�ำทัง้ 8 ทิศ ตามวิชาพุทธศาสตร์และโหรศาสตร์มหา ทักษา พร้อมด้วยท้าวมหาราชเทพประจ�ำทิศทั้ง 4 ที่ยังมีให้เห็นใน ปัจจุบัน หลังจากปีทพี่ ระอุโบสถของวัดได้พงั ทลายลงมา อาจารย์สอาด ใช้เวลาในการบูรณะและก่อสร้างทั้งสิ้น 6 ปี จึงแล้วเสร็จสมบูรณ์ และในปีเดียวกันนั้นได้มีคณะครูอาจารย์จากวิทยาลัยครูล�ำปาง พร้อมทัง้ คณะศิษย์ได้รว่ มกันสร้างลานพระโพธิสตั ว์กวนอิม และได้ น�ำรูปปัน้ ทองเหลืองผสมโลหะมาประดิษฐาน เพือ่ ถวายเป็นพระราช กุศลเนือ่ งในวันแม่แห่งชาติ 12 สิงหาคม 2538 แด่สมเด็จพระนาง เจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ปีเดียวกันหลังจากสร้างวิหารพระโพธิสตั ว์แล้วเสร็จ อาจารย์สอาด พร้อมคณะศิษย์ได้พร้อมใจกันสร้างวิหารพระพุทธเจ้า 5 พระองค์ ขึน้ มาอีก 1 หลัง พร้อมทัง้ กุฏสิ งฆ์ อีก 1 หลัง โดยอาจารย์สอาดยัง
ตัง้ สัจจะอธิษฐานขึน้ ว่า “ถ้าหากสร้างวิหารพระเจ้า 5 พระองค์ หลังนี้พร้อมกับกุฏิอีก 1 หลัง แล้วเสร็จเมื่อไร ก็จะขอลาบวช เมือ่ นัน้ ” การก่อสร้างด�ำเนินไปอย่างต่อเนือ่ งจนแล้วเสร็จทัง้ หมด ในปี พ.ศ. 2540 และได้รับอนุญาตให้สร้างวัดได้ เมื่อวัน ที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2540 ในปีนั้นเอง อาจารย์สอาด จึงได้ ตัดสินใจลาออกจากอาชีพข้าราชการครู และเข้ารับการบรรพชา อุปสมบทเป็นพระภิกษุสงฆ์ในบวรพระพุทธศาสนา เมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2540 ณ พระอุโบสถวัดบ้านจ�ำทรายมูล ต�ำบล ปงยางคก อ�ำเภอห้างฉัตร จังหวัดล�ำปาง ได้รบั ฉายา “กุสลจิตโต” หลังจากบวชแล้วหลวงปูส่ อาด กุสลจิตโต ได้รว่ มพัฒนาวัดสันตินคิ ม มาอย่างต่อเนือ่ ง ด้วยเจตนารมณ์ของพระนักพัฒนามาโดยตลอด ปี พ.ศ. 2542 ได้รับตราตั้งเป็นวัด ปีเดียวกันนั้น พระเจริญ สุมังคโล ได้รับการพิจารณาแต่งตั้งให้ดำ� รงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส ปกครองดูแลวัดสันตินิคม เมื่อวันที่ 17 ตุลาคม 2542 ใน ราชทินนาม “พระปลัดกิติภพ (เจริญ สุมังคโล)” ปี พ.ศ. 2543 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา ลงเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2543 ท�ำพิธีผูกพัทธสีมาฝังลูกนิมิต เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2545 ปี พ.ศ. 2551 เป็นแหล่งอุทยานการศึกษาภายในวัดสันตินคิ ม แบ่งได้ดงั นี้ 1. อุทยานการศึกษาด้านพระพุทธศาสนา 2. อุทยาน การศึกษาด้านภูมิปัญญาท้องถิ่น 3. อุทยานการศึกษาด้านศิลป วัฒนธรรมและประเพณีพื้นบ้าน 4. อุทยานการศึกษาสวน สมุนไพร (สวนพฤกษศาสตร์) 5. อุทยานการศึกษาพิพธิ ภัณฑ์พนื้ บ้าน 6. อุทยานการศึกษาห้องสมุดเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา และ 7. ศูนย์ปฏิบัติการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ชุมชนต�ำบลใหม่พัฒนา (ICT)
ยุคแห่งการพัฒนาวัดอย่างถึงที่สุด
ในระหว่าง ปี พ.ศ. 2540 – พ.ศ. 2559 ภายใต้การบริหารงาน และการปกครองดูแลวัดสันตินิคม ของท่านพระครูกิตติธีรคุณ (กิตติภพ สุมงั คโล) เจ้าอาวาสวัด/ทีป่ รึกษาเจ้าคณะต�ำบลไหล่หนิ (ธ) และหลวงปู่สอาด กุสลจิตโต ผู้เป็นประธานฝ่ายจัดกิจกรรม การศึกษาและปฏิบัติธรรมของวัด ที่ได้ร่วมกันพัฒนาวัด บูรณ ปฏิสังขรณ์เสนาสนะ ถาวรวัตถุและศาสนสถานอย่างต่อเนื่อง ท�ำให้ผทู้ เี่ ข้ามาท�ำบุญในวัดเกิดจิตศรัทธาอันแรงกล้าในการถวาย ปัจจัยร่วมท�ำบุญอย่างไม่ขาดสาย อีกทัง้ ยังเป็นพระนักพัฒนาและ พระวิปัสสนาจารย์ ผู้ถือในข้อวัตรปฏิบัติ ปฏิปทาในการด�ำรงตน ให้อยูใ่ นศีลและพระธรรมวินยั อย่างเคร่งครัดจริงจัง รวมทัง้ การ ถือข้อวัตรปฏิบัติธรรมอันมีภูมิจิตและภูมิธรรมที่มีศีลาจารวัตร งดงามไม่ด่างพร้อย เป็นเนื้อนาบุญอันส�ำคัญในบวรพระพุทธ ศาสนา เพือ่ เผยแผ่หลักธรรมค�ำสัง่ สอนขององค์สมเด็จพระสัมมา สัมพุทธเจ้า ให้พุทธศาสนิกชนทั้งหลายได้เข้ามาพึ่งบารมีธรรม อย่างต่อเนื่อง ตลอดเวลาของการพัฒนาวัดสันตินิคมแห่งนี้ จึง มีการพัฒนาจนถึงที่สุดในปัจจุบันนี้
ร่วมสร้างเส้นทางบุญ
ร่วมสร้างเส้นทางบุญกับทางวัดสันตินคิ ม ติดต่อได้ที่ หลวงปู่ สอาด กุสลจิตโต โทร 0819522857 บัญชีออมทรัพย์ ธนาคาร เพือ่ การเกษตรและสหกรณ์การเกษตร สาขาเกาะคา เลขทีบ่ ญ ั ชี 017298493270 ชื่อบัญชี พระธาตุจุฬามณี www.watsantinikom.com LAMPANG 139
เส้นทางพบ
องค์การบริหารส่วนตำ�บล
ข้อมูลทั่วไป นายชนชาย ใจหล้า
องค์การบริหารส่วนต�ำบลแม่ตีบ
องค์การบริหารส่วนตำ�บลแม่ตีบ
องค์การบริหารส่วนตำ�บลแม่ตบี จัดตัง้ เป็นองค์การบริหาร ส่วนตำ�บลเมื่อ 19 ธันวาคม 2539 มีพื้นที่รวมทั้งหมด 357.98 ตารางกิโลเมตรหรือคิดเป็น 223,737 ไร่ 2 งาน แบ่งเขตการ ปกครองออกเป็น 5 หมู่บ้านประกอบด้วย หมูท่ ่ี 1บ้านดอกคำ�ใต้ หมู่ ที่ 2 บ้านแม่ตบี หลวง หมูท่ ่ี 3 บ้านน้ำ�หลง หมู่ที่ 4 บ้านงิ้วงามและ หมู่ที่ 5 บ้านแม่งาวมีจำ�นวนประชากรทั้งหมดรวม 4,388 คน แบ่ง เป็นประชากรชาย 2,152 คน ประชากรหญิง 2,236 คน (ข้อมูล จากสำ�นักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง ตรวจสอบประชากร จากทะเบียนบ้านทีท่ �ำ การปกครองอำ�เภองาว ณ เดือนเมษายน 2558)
อบต.แม่ตีบชวนเที่ยว องค์การบริหารส่วนตำ�บลแม่ตีบมีสำ�นักงานตั้งอยู่ ที่บ้านดอกคำ�ใต้ หมู่ 1 ตำ�บลแม่ตีบ อำ�เภองาว จังหวัดลำ�ปาง โดยตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ห่างจากอำ�เภองาวประมาณ 20 กิโลเมตร (บนเส้นทางหลวงหมายเลข 103 สายร้องกวาง - งาว กิโลเมตรที่ 42) ปัจจุบันมี นายชนชาย ใจหล้า ดำ�รงตำ�แหน่ง นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลแม่ตีบ 140
วัดพระธาตุม่อนทรายเหงา ตั้งอยู่บนหุบเขา หมู่ที่ 3 ต.แม่ตีบ อ.งาวจ.ลำ�ปางวัด ศักดิส์ ทิ ธิท์ ชี่ าวตำ�บลแม่ตบี ให้ความเคารพสักการะมาช้านาน โดยมี ตำ�นานคู่กับวัดพระธาตุม่อนทรายนอน ต.หลวงใต้ อ.งาว พระธาตุ องค์ปัจจุบันได้สร้างทับสร้างครอบองค์เก่าไว้ บรรยากาศภายในวัด สงบร่มรื่นเหมาะแก่การปฏิบัติธรรม
โป่งน้ำ�ร้อนแม่ตีบ (PONG NUM RON MAETEEP) เดิมชื่อ “ห้วยน้ำ�ร้อน” เป็นจุดกำ�เนิดบ่อน้ำ�ร้อนบ้านแม่ งาว ตัง้ อยูห่ มูท่ ี่ 5 บ้านแม่งาวต.แม่ตบี อ.งาวจ.ลำ�ปาง (เขตอุทยาน แห่งชาติแม่ยม) อยู่ห่างจากที่ทำ�การองค์การบริหารส่วนตำ�บลแม่ ตีบ รวมระยะทาง ไป–กลับ ประมาณ 9 กิโลเมตร ลักษณะเป็น น้ำ�พุร้อนโผล่ให้เห็นอยู่ในห้วยโป่งน้ำ�ร้อน ริมเนินเขาหินปูน พบ สาหร่ายสีด�ำ แกมเขียว มีก๊าซผุดขึ้นมากับน้ำ�พุร้อนไม่มากนัก ไม่มี กลิ่นกำ�มะถัน อุณหภูมิเฉลี่ย 50-70 องศาเซลเซียส
สินค้า OTOP ตำ�บลแม่ตีบ
1.ผลิตภัณฑ์ไม้กวาดดอกหญ้าจัดทำ�โดย นายมูล กันทิพย เลขที่ 105 หมู่ 2 ต.แม่ตบี อ.งาวจ.ลำ�ปาง 2. ผลิตภัณฑ์แชมพูสระผม(มะกรูด)จัดทำ�โดย กลุม่ แม่บา้ น บ้านน้�ำ หลงเลขที่ 31/2 หมู่ 3 บ้านน้�ำ หลง ต.แม่ตบี อ.งาว จ.ลำ�ปาง
3. ผลิตภัณฑ์น�้ำ พริกลาบจัดทำ�โดย กลุม่ แม่บา้ นบ้านน้�ำ หลงเลขที่ 31/2 หมู่ 3 บ้านน้�ำ หลง ต.แม่ตีบ อ.งาว จ.ลำ�ปาง ประธานกลุ่มคือ นางผ่าน อุชชินโทร. 0844872850 4. ผลิตภัณฑ์กระเป๋าสานจัดทำ�โดย กลุ่มสตรีต�ำ บลแม่ ตีบ เลขที่ 31/2 หมู่ 3 บ้านน้�ำ หลง ต.แม่ตีบ อ.งาว จ.ลำ�ปาง ประธานกลุ่มคือนางผ่าน อุชชินโทร. 0844872850 5. ผลิตภัณฑ์กระเป๋าผ้าด้นมือจัดทำ�โดย กลุ่มแม่บ้าน บ้านน้�ำ หลงเลขที่ 31/2 หมู่ 3 บ้านน้ำ�หลง ต.แม่ตีบ อ.งาว จ.ลำ�ปางประธานกลุ่มคือ นางผ่าน อุชชินโทร. 0844872850 6. ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยหมักอินทรีย์ชีวภาพจัดทำ�โดย กลุ่มปุ๋ย หมักอินทรีย์ชีวภาพ เลขที่ 38/5 หมู่ 2 ต.แม่ตีบ อ.งาวจ.ลำ�ปาง ประธานกลุ่มคือ นายนพ อักษร 7. ผลิตประดิษฐ์ดอกไม้แห้งและพวงหรีดจัดทำ�โดย กลุม่ แม่บ้านบ้านแม่ตีบหลวงเลขที่ 5 หมู่ 2 ต.แม่ตีบ อ.งาวจ.ลำ�ปาง ประธานกลุ่มคือ นางยุพิน อักษร
การให้บริการรถกู้ชีพ ฉุกเฉินบริการตลอด 24 ชัว่ โมง lampang 141
เส้นทางพบ
องค์การบริหารส่วนตำ�บล
นายเทพรัตน สิทธิวงค์
องค์การบริหารส่วนต�ำบลบ้านหวด
องค์การบริหารส่วนตำ�บลบ้านหวด องค์การบริหารส่วนตำ�บลบ้านหวดชวนเที่ยว องค์การบริหารส่วนตำ�บลบ้านหวด ตำ�บลบ้านหวด อำ�เภองาว จังหวัดลำ� ปาง ขอแนะนำ �สถานที ่ ท ่ องเที ่ ยวที ่ น ่า สนใจสำ �หรั บทุ ก คน ในครอบครัว ดังนี้
1. อุทยานแห่งชาติถำ�้ ผาไท
ถ้ำ�ผาไท ตัง้ อยูบ่ นเส้นทางจากตัวจังหวัดลำ�ปาง-พะเยา-เชียงราย ห่างจากตัวจังหวัดลำ�ปางมาทางจังหวัดพะเยา ประมาณ 65 กิโลเมตร อยู่บริเวณหลักกิโลเมตรที่ 665-666 จะเห็นป้ายอุทยานแห่งชาติถ้ำ�ผาไท ต่อจากนัน้ เลีย้ วเข้าปากทางประมาณ 300 เมตร ก็ถงึ ทีท่ �ำ การอุทยานแห่งชาติ หรือ จะเดินทางโดยใช้เส้นทางสายจังหวัดแพร่ อำ�เภองาว จังหวัดเชียงราย ก่อนถึงอำ�เภองาว แยกซ้ายสู่จังหวัดลำ�ปาง ประมาณ 15 กิโลเมตร ถึงที่ ทำ�การอุทยานแห่งชาติถ้ำ�ผาไท รถโดยสารประจำ�ทาง เดินทางด้วยรถ โดยสารสายลำ�ปาง-เชียงราย หรือรถตู้จังหวัดลำ�ปาง-อำ�เภองาว แล้วลง ตรงบริเวณหลักกิโลเมตรที่ 665-666 จะเห็นป้ายอุทยานแห่งชาติถ้ำ�ผาไท จากปากทางเดินเท้า ต่ออีกประมาณ 300 เมตร ก็ถึงที่ทำ�การอุทยานแห่ง 142
ชาติถ้ำ�ผาไท สถานที่ติดต่ออุทยานแห่งชาติถ้ำ�ผาไท หมู่ที่ 3 ตำ�บลบ้านหวด อำ�เภองาว จังหวัดลำ�ปาง 52110 โทรศัพท์ 0 5422 0364
2. แหล่งภาพเขียนสีโบราณ “ประตูผา”
จัดเป็นแหล่งภาพเขียนสีที่มีจำ�นวนมาก และมีความยาวต่อเนื่อง มากที่สุดในภาคเหนือ ทำ�ให้ทางจังหวัดลำ�ปางได้ผลักดันให้พื้นที่ภาพเขียนสี โบราณ เป็นแหล่งท่องเทีย่ วทางประวัตศิ าสตร์และวัฒนธรรม ทีค่ วรค่าแก่การ อนุรักษ์ไว้ให้คนรุ่นหลังได้ใช้เป็นแหล่งศึกษาเรียนรู้ควบคู่ไปกับการท่องเที่ยว ภาพเขียนสีประตูผา ปัจจุบันอยู่ในความดูแลของค่ายประตูผา ตั้ง อยูท่ า่ มกลางธรรมชาติทสี่ วยงามของหน้าผาสูงชันและป่าไม้อนั เขียวขจี ใกล้ ๆ กับศาลเจ้าพ่อประตูผาซึง่ เป็นสถานทีท่ นี่ กั ท่องเทีย่ วและชาวบ้านทีใ่ ช้เส้นทางนี้ นิยมมาแวะกราบไหว้ขอพร
3. ศาลเจ้าพ่อประตูผา
อยู่ห่างจากตัวจังหวัดลำ�ปางตามเส้นทางสายลำ�ปาง-งาวประมาณ 50 กิโลเมตร ระหว่างหลักกิโลเมตรที่ 649-650 ศาลตั้งอยู่ริมถนนใหญ่ดา้ น ขวามือ เป็นศาลเล็ก ๆ ก่ออิฐถือปูน ภายในมีรปู ปัน้ เจ้าพ่อประตูผา และเครือ่ ง บูชามากมาย บริเวณใกล้เคียงมีศาลพระภูมิเล็ก ๆ มากมายเรียงรายอยู่ ศาลเจ้าพ่อประตูผานีเ้ ป็นสถานทีศ่ กั ดิส์ ทิ ธิ์ ผูท้ สี่ ญ ั จรไปมาบนเส้นทางนีม้ กั แวะ นมัสการและจุดประทัดถวาย เจ้าพ่อประตูผา เดิมชื่อ “พญาข้อมือเหล็ก” เป็นผู้อยู่ยงคงกระพัน และเป็นทหารเอก ของเจ้าผู้ครองนครลำ�ปาง ครั้งหนึ่งได้ทำ�การต่อสู้กับพม่าที่ ช่องประตู จนกระทัง่ ถูกรุมแทงตายในลักษณะถือดาบคูย่ นื พิงเชิงเขาทหารพม่า กลัวจึงไม่กล้าบุกเข้าไปตีนครลำ�ปาง ด้วยเหตุนี้เอง ชาวบ้านจึงเกิดศรัทธาและ เคารพสักการะ โดยตั้งศาลขึ้นบูชาเป็นที่นับถือ บริเวณศาลเจ้าพ่อประตูผา มี ร้านค้าสมุนไพรของชาวเขา จำ�หน่ายสมุนไพรหลากหลายชนิด รวมทัง้ มีพชื ผักผลไม้ และของที่ระลึกขาย
คุ้มให้ดักผีเสื้อให้เข้ามาเอง ซึ่งทางคุ้มผีเสื้อต้องการให้คนที่มาชมมีความรู้ เกี่ยวกับผีเสื้อที่หลากหลาย จึงมีการจับผีเสื้อพันธุ์ต่าง ๆ มาเพิ่ม เพื่อให้ มีความหลากหลายมากขึ้นไปอีก พร้อมกันนี้ได้จัดวิทยากรมาบรรยายและ สอนการดูผีเสื้อด้วย
4. ศูนย์วิจัยกีฏวิทยาป่าไม้ที่ 1
ปี พ.ศ. 2545 รัฐบาลมีนโยบายในการปฏิรูประบบราชการ ได้มี พระราชกฤษฎีกาให้จัดตั้งกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช สังกัด กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2545 มีภารกิจเกี่ยวกับ การอนุรกั ษ์สง่ เสริมและฟืน้ ฟูทรัพยากรป่าไม้ สัตว์ปา่ และพันธุพ์ ชื ในเขตพืน้ ทีป่ า่ เพือ่ การอนุรกั ษ์ โดยการควบคุมป้องกันพืน้ ทีป่ า่ อนุรกั ษ์เดิมทีม่ อี ยู่ และฟืน้ ฟูปา่ เสื่อมโทรมให้กลับสมบูรณ์ด้วยกลยุทธ์การส่งเสริม กระตุ้น และปลูกจิตสำ�นึก ให้ชมุ ชนมีความรูส้ กึ หวงแหน และการมีสว่ นร่วมในการดูแลทรัพยากรท้องถิน่ เพือ่ การรักษาสมดุลของระบบนิเวศและสิง่ แวดล้อม ตลอดจนความหลากหลาย ทางชีวภาพสำ�หรับเป็นแหล่งต้นน้�ำ ลำ�ธาร แหล่งทีอ่ ยูอ่ าศัยของสัตว์ปา่ แหล่ง อาหาร แหล่งนันทนาการ และการท่องเที่ยวทางธรรมชาติของประชาชน ศูนย์วิจัยแมลงและควบคุมศัตรูพืชป่าไม้ที่ 1 ได้ถูกกำ�หนดให้สังกัด กลุ่มวิจัยแมลงและจุลชีววิทยาป่าไม้ ฝ่ายวนวัฒนวิจัยและพฤกษศาสตร์ กรม อุทยานแห่งชาติ สัตว์ปา่ และพันธุ์พืช โดยมีหน้าที่และภารกิจเปลี่ยนจากเดิม และเปลี่ยนชื่อศูนย์เป็น “ศูนย์วิจัยแมลงและจุลชีววิทยาป่าไม้ที่ 1” ต่อมาใน ปี พ.ศ. 2548 ได้เปลี่ยนชื่อเป็น “ศูนย์วิจัยกีฏวิทยาป่าไม้ที่ 1”
5. คุ้มผีเสื้อ
คือสวนผีเสือ้ ทีท่ างศูนย์ฯได้ดดั แปลงจากกรงทดลองผสมพันธุผ์ เี สือ้ ถุงทองที่สิ้นสุดโครงการไปแล้ว ในช่วงฤดูร้อน-ฝน แทบทุกวันจะมีผีเสื้อตาม ธรรมชาติมากกว่าวันละ 15 ชนิดแวะเวียนกันเข้ามา เนื่องจากมีการออกแบบ
6. วัดจองคำ� พระอารามหลวง
วัดจองคำ�เป็นวัดเก่าแก่แห่งหนึง่ ในจังหวัดลำ�ปาง สถาปัตยกรรม ก่อสร้างโดดเด่นเป็นสง่าเป็นศิลปะแบบไทยใหญ่ เป็นวัดที่สำ�คัญแห่งหนึ่ง ของจังหวัดลำ�ปาง ไม่ปรากฏหลักฐานการสร้างทีแ่ น่ชดั ตัววิหารชัยภูมศิ ลิ ปะ แบบไทยใหญ่หลังเดิมถูกรือ้ ย้ายมาไว้ ณ เมืองโบราณ จ.สมุทรปราการหลัง ที่เห็นปัจจุบันเป็นศิลปะที่สร้างขึ้นมาใหม่ สืบเนื่องจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงครองสิริราช สมบัติครบ 60 ปี ในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2549 ได้มีการยกวัดราษฎร์ขึ้น เป็นพระอารามหลวง วัดจองคำ�จึงได้รบั การยกเป็นพระอารามหลวงแห่งใหม่ ในจังหวัดลำ�ปาง และเป็นโรงเรียนสอนพระปริยัติธรรมแผนกบาลีประจำ� จังหวัดลำ�ปาง ซึง่ แต่ละปีจะมีนกั เรียนปริยตั ธิ รรมสามารถสอบเปรียญธรรม บาลีได้หลายประโยคจนถึง ป.ธ.9 ได้รบั พระราชทานอุปสมบทเป็นนาคหลวง จำ�นวนมาก เจ้าอาวาสและเจ้าสำ�นักได้รบั พระราชทานสมณศักดิเ์ ป็นพระ ราชาคณะชั้นเทพ ในราชทินนามว่า “พระเทพปริยัติมงคล” ปูชนียสถานสำ�คัญของวัดจองคำ�คือ พุทธคยา เป็นพุทธสังเวช นียสถานที่สำ�คัญที่สุด 1 ใน 4 สังเวชนียสถาน และถือว่าเป็นสถานที่ ศักดิส์ ทิ ธิท์ สี่ ดุ ของชาวพุทธทัว่ โลก เพราะเป็นจุดเริม่ ต้นของพระพุทธศาสนา เป็นสถานที่เจ้าชายสิทธัตถะได้ตรัสรู้พระอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณเป็น สมเด็จพระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า เป็นเวลากว่าสองพันห้าร้อยปี ทีส่ ถานทีแ่ ห่งนีเ้ ป็นศูนย์รวมและเป็นจุดหมายในการแสวงบุญของชาวพุทธ ผู้มีศรัทธาทั่วโลก lampang 143
เส้นทางพบ
องค์การบริหารส่วนตำ�บล
นายวัชรินทร์ ชาตะโชติ
องค์การบริหารส่วนตำ�บลบ้านแหง ภายในปี พ.ศ.2562 องค์การบริหารส่วนต�ำบลบ้านแหง จะพัฒนาคุณภาพชีวิตของราษฎรให้มั่นคง ภายใต้การบริหารงาน ลงทุน การประกอบอาชีพของเกษตรกร โดยจะดำ�เนินการปรับปรุงเส้นทาง คมนาคม ถนนสายหลักให้ได้มาตรฐานและปรับปรุงถนนสายรองและ ตามหลักธรรมาภิบาล และเน้นปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ซอยต่างๆ ให้สามารถเชือ่ มโยงถึงกันได้และใช้การได้โดยสะดวก ก่อสร้าง และปรับปรุงระบบระบายน้ำ� ให้ควบคู่ไปกับการปรับปรุงถนนสายหลัก ถนนสายรองและถนนในหมู่บ้านในเขตองค์การบริหารส่วนตำ�บลบ้านแหง เพื่อให้สามารถระบายน้ำ�ได้อย่างรวดเร็ว ป้องกันการเกิดน้�ำ ท่วม ติดตั้ง และขยายเขตไฟฟ้าสาธารณะให้ทวั่ ถึงทุกชุมชน เพือ่ สร้างความปลอดภัย นโยบายผู้บริหารเพื่อชาวบ้านแหง ช่วงระยะเวลาต่อจากนี้ 4 ปี จะต้องเป็นระยะเวลาทีก่ ระผมจะต้อง ในชีวติ และทรัพย์สนิ ของประชาชน และผูใ้ ช้เส้นทางสัญจรไป-มา ปรับปรุง ปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปตามเจตนารมณ์ที่ประชาชนได้มอบความไว้วางใจ สาธารณูปโภคที่อยู่ในความรับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำ�บลให้ ให้กระผมปฏิบัติหน้าที่ในครั้งนี้ กระผมพร้อมที่จะปฏิบัติหน้าที่ตาม เพียงพอกับความต้องการของประชาชน สร้างหรือปรับปรุงแหล่งน้�ำ เพือ่ การ เจตนารมณ์ของประชาชน โดยยึดหลักธรรมาภิบาล 6 ประการในการปฏิบตั ิ ประปาไว้ใช้ในชีวติ ประจำ�วันและแหล่งน้�ำ เพือ่ การเกษตรอย่างเพียงพอ 2. นโยบายเศรษฐกิจชุมชนเข้มแข็ง เป้าหมายของการพัฒนาคือ หน้าที ่ คือ 1.หลักคุณธรรม 2. หลักนิตธิ รรม 3. หลักความโปร่งใส 4. หลักความ ให้ประชาชนมีการรวมตัวกัน เพือ่ เรียนรู้ พัฒนาทักษะในการประกอบอาชีพ มีส่วนร่วม 5. หลักความรับผิดชอบ และ 6. หลักความคุ้มค่า กระผมได้กำ�หนดนโยบายและการบริหารงานองค์การบริหารส่วน ตลอดจนเทคโนโลยี วิชาการต่างๆ เพือ่ ปรับปรุงและแปรรูปผลผลิต รวมทัง้ ตำ�บลบ้านแหง โดยมีเจตคติที่จะบริหารงานองค์การบริหารส่วนตำ�บล การเพิม่ มูลค่าสินค้า ซึง่ ก่อให้เกิดการผลิต การบริการ การหมุนเวียนของเงิน บ้านแหงให้มเี สถียรภาพเกิดความมัน่ คง โดยสอดคล้องกับแผนพัฒนาของ และสร้างงาน ตามแนวทาง “เศรษฐกิจพอเพียง” โดยสามารถพึง่ ตนเอง และดำ�รงอยูอ่ ย่างมัน่ คงและมัง่ คัง่ ถึงแม้จะมีการเปลีย่ นแปลงจากภายนอก องค์การบริหารส่วนตำ�บลบ้านแหงไว้ดังนี้ 1. นโยบายการพัฒนาระบบสาธารณูปโภค เป้าหมายของการ และภายใน องค์การบริหารส่วนตำ�บลจะดำ�เนินการเสริมสร้างขบวนการ พัฒนาคือเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับการขยายตัวของชุมชนการ ชุมชนเข้มแข็งสนับสนุนกลุ่มอาชีพต่างๆ ให้สามารถใช้ประโยชน์จาก คือวิสยั ทัศน์ (Vision) ขององค์การบริหารส่วนตำ�บลบ้านแหง ตัง้ อยู่ หมู่ที่ 3 บ้านร่องเห็ด ตำ�บลบ้านแหง อำ�เภองาว จังหวัดลำ�ปาง
144
สินทรัพย์และทรัพยากรในท้องถิ่นอย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน รวมทั้ง อำ�นวยความสะดวกให้คำ�แนะนำ� บริการต่างๆ เสริมสร้างทักษะในการ ประกอบอาชีพแก่กลุ่มอาชีพและสนับสนุนการจำ�หน่ายสินค้า 3. นโยบายพัฒนาคุณภาพชีวิตและคุณค่าทางสังคม เป้าหมาย ของการพัฒนาคือให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีมีคุณธรรม จริยธรรม สามารถสืบทอดวัฒนธรรม และภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่ มีศาสนาเป็นเครือ่ งชีน้ �ำ ชุมชนและสังคม ตลอดจนจัดการระบบการศึกษา ให้สอดคล้องกับการ พัฒนาและเหมาะสมกับสภาพท้องถิน่ สามารถดูแลตัวเองในขัน้ พืน้ ฐาน และได้รับบริการด้านสวัสดิการสังคม และสาธารณสุขอย่างทั่วถึงและ เท่าเทียมกัน คนในสังคมจะต้องมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นตำ � บลจะพั ฒ นาและยกระดั บ คุ ณ ภาพชี วิ ต ของ ประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนตำ�บลให้มีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น มีสุขภาพพลานามัยที่แข็งแรงสมบูรณ์ ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ บริการ ความรู้ด้านสาธารณสุขแก่ประชาชนและช่วยเหลือชีวิตในยามฉุกเฉิน โดยจัดหาวัสดุ อุปกรณ์หรือยานพาหนะแก่ผปู้ ว่ ย เน้นการปฏิบตั งิ านแบบมี ส่วนร่วมกับ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำ�ตำ�บลและสาธารณสุข มูลฐานหมูบ่ า้ นเป็นสำ�คัญ สนับสนุนงบประมาณให้กองทุนสุขภาพประจำ� ตำ�บลให้เพียงพอ สนับสนุนและส่งเสริมให้ประชาชน เยาวชนมีโอกาส ออกกำ�ลังกาย โดยการเล่นกีฬาเพือ่ เสริมสร้างสวัสดิการสังคมแก่เด็ก สตรี เยาวชน ผูส้ งู อายุ และผูพ้ กิ ารอย่างทัว่ ถึงและเท่าเทียมกัน อาจจะขยาย และปรับปรุงการศึกษาทั้งที่รับผิดชอบคือศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียน ในพืน้ ที่ ให้มปี ระสิทธิภาพและเพียงพอแก่ความต้องการ มีสติปญ ั ญาและ ทัศนคติทดี่ งี ามและมีคณ ุ ธรรม ฟืน้ ฟูและส่งเสริมศิลปะ วัฒนธรรม ขนบ ธรรมเนียม ประเพณี และเอกลักษณ์ของท้องถิน่ ให้อยูส่ บื ไป ยกระดับการ ปฏิบตั หิ น้าทีข่ องอาสาสมัครป้องภัยฝ่ายพลเรือน (อปพร.) ให้มปี ระสิทธิภาพ ส่งเสริมและสนับสนุนการป้องกันและรักษาความปลอดภัยในชีวิตและ ทรัพย์สนิ ของประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนตำ�บล ตลอดจนป้องกัน ปัญหาอาชญากรรมและระงับการเกิดอัคคีภัย และภัยธรรมชาติต่างๆ 4. นโยบายบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม เป้าหมาย ของการพัฒนาคือจัดการให้เป็นเมืองน่าอยู่ ปราศจากมลพิษ มีลำ�คลอง ใสสะอาด ชุมชน สังคมมีสว่ นร่วมในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิง่ แวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำ�บลจะส่งเสริมการมีสว่ นร่วมขององค์กร
ประชาชนองค์กรเอกชน ในการอนุรกั ษ์ ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อย่างยัง่ ยืน ให้ประชาชนมีสว่ นร่วมใน การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมอย่างมีประสิทธิภาพ มุ่งส่งเสริมและ รักษาสภาพแวดล้อมให้สวยงาม น่าอยูอ่ าศัย มีความเป็นระเบียบเรียบร้อย รักษาความสะอาดของถนนหรือทางเดิน และจัดการขยะมูลฝอย สิง่ ปฏิกลู และน้ำ�เสียตามหลักสุขาภิบาลอย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ 5. นโยบายด้านการบริหารจัดการ และการบริการประชาชน เป้าหมาย ของการพัฒนาคือให้ประชาชนมีสว่ นร่วมในการพัฒนาท้องถิน่ และมีสว่ น ร่วมทางการพัฒนาของท้องถิน่ อย่างต่อเนือ่ งทุกขัน้ ตอน เพิม่ ประสิทธิภาพ ในการบริหารจัดการ การประสานงานภาครัฐ ภาคเอกชน อย่างมีศกั ยภาพ องค์การบริหารส่วนตำ�บลจะบริหารจัดการบนพื้นฐานการบริหาร กิจการบ้านเมืองที่ดี โดยเฉพาะตามหลักธรรมาภิบาล และพัฒนางาน ขององค์การบริหารส่วนตำ�บลให้สามารถบริการแก่ประชาชนให้ ได้รับ ความสะดวก รวดเร็ว และเป็นธรรม ส่งเสริมการมีสว่ นร่วมของประชาชน ในการพัฒนาท้องถิน่ จัดหาซือ้ เครือ่ งมือ วัสดุ อุปกรณ์ และการเสริมสร้าง และพัฒนาบุคลากรขององค์การบริหารส่วนตำ�บล ให้มีความรู้ความ สามารถในการปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพ
OTOP ขึ้นชื่อต�ำบลบ้านแหง
ข้าวเกรียบฟักทอง ผลิตโดยกลุ่มข้าวเกรียบฟักทอง 79 หมู่ 1 บ้านแหงเหนือ โทร. 08 1026 4048 น้ำ�พริกลาบ ผลิตโดยกลุ่มน้ำ�พริกลาบ 23 หมู่ 1 บ้านแหงเหนือ โทร. 08 6197 8633 ไม้แกะสลัก ผลิตโดยกลุม่ ไม้แกะสลัก 41/1 หมู่ 2 บ้านแหงใต้ ตำ�บลบ้านแหง ปุย๋ หมักจุลนิ ทรียอ์ เี อ็ม ผลิตโดยกลุม่ ก้าวหน้าพัฒนาอาชีพ 3 หมู่ 2 บ้านแหงใต้ โทร. 0 5426 1354 ผ้าทอพืน้ เมือง ผลิตโดยกลุม่ ผ้าทอพืน้ เมือง 233 หมู่ 3 บ้านร่องเห็ด โทร. 08 1033 3466 จักสานใบลาน ผลิตโดยกลุ่มจักสานใบลาน 68 หมู่ 6 บ้านทุ่งโป่ง โทร. 08 6182 4908 Lampang 145
เส้นทางพบ
องค์การบริหารส่วนตำ�บล
นายประสงค์ สันติวชั รากร ปลัด อบต. ปฏิบตั หิ น้าที ่ นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลบ้านอ้อน
องค์การบริหารส่วนตำ�บลบ้านอ้อน งามตระการหล่มภูเขียว แหล่งท่องเที่ยวน�ำ้ ตก หน่อไม้หกเสริมเศรษฐกิจ ศักดิ์สิทธิ์เจ้าพ่อกังสดาล ภาพเขียนสีโบราณแม่แก้ งามแท้ถำ�้ ราชคฤห์ คือค�ำขวัญต�ำบลบ้านอ้อน ซึง่ อยูใ่ นความดูแลขององค์การ บริหารส่วนต�ำบลบ้านอ้อน ต�ำบลบ้านอ้อน อ�ำเภองาว จังหวัดล�ำปาง โดยตัง้ อยูท่ ศิ ตะวันตกห่างจากทีว่ า่ การอ�ำเภองาว ประมาณ 13 กิโลเมตร ปัจจุบนั มี นายประสงค์ สันติวชั รากร ปลัด อบต. ปฏิบตั หิ น้าที่ นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลบ้านอ้อน
ข้อมูลทั่วไป
องค์การบริหารส่วนต�ำบลบ้านอ้อน มีพนื้ ทีท่ งั้ หมด 157.025 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 98,140.625 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 8.65 ของพืน้ ทีอ่ ำ� เภองาว สภาพพืน้ ทีเ่ ป็นทีร่ าบเชิงเขา มีความ ลาดเอียงสูง และพืน้ ทีร่ าบสลับภูเขา 146
การปกครอง แบ่งเป็น 8 หมูบ่ า้ น - หมูท่ ่ี 1 บ้านแม่กวัก - หมูท่ ี่ 2 บ้านอ้อนใต้ - หมูท่ ่ี 3 บ้านอ้อนเหนือ - หมูท่ ี่ 4 บ้านปงมะโอ - หมูท่ ่ี 5 บ้านห้วยหก - หมูท่ ี่ 6 บ้านอ้อนหัวทุง่ - หมูท่ ่ี 7 บ้านแม่กวักดอนแก้ว - หมูท่ ี่ 8 บ้านขุนอ้อนพัฒนา ประชากร มีประชากรรวมทัง้ สิน้ 4,667 คน ชาย 2,367 คน หญิง 2,300 คน มีจำ� นวนหลังคาเรือน 1,541 หลังคาเรือน (ข้อมูล จากส�ำนักทะเบียนอ�ำเภองาว ณ เดือนพฤษภาคม 2559)
แหล่งท่องเที่ยวต�ำบลบ้านอ้อน
องค์การบริหารส่วนต�ำบลบ้านอ้อน ขอแนะน�ำแหล่งท่องเทีย่ ว ทีโ่ ดดเด่นของต�ำบลบ้านอ้อน ได้แก่
“หล่มภูเขียว” เป็นแหล่งท่องเทีย่ วทางธรรมชาติ ตัง้ อยูพ่ นื้ ทีค่ าบเกีย่ วของหมู่ ที่ 6, 3 และ 2 ต�ำบลบ้านอ้อน อ�ำเภองาว จังหวัดล�ำปาง โดยอยู่ ห่างจากที่ท�ำการองค์การบริหารส่วนต�ำบลบ้านอ้อน มาทางทิศ ตะวันตกเป็นระยะทาง 6 กิโลเมตร ลักษณะเป็นแหล่งน�ำ้ ขนาดใหญ่ มีความลึกมากจนเป็นสีเขียว และไม่สามารถระบุความลึกได้ ประวัตคิ วามเป็นมาสถานทีศ่ กั ดิส์ ทิ ธิ์ “หล่มภูเขียว” หล่มภูเขียวสันนิษฐานว่าเกิดจากการยุบตัวของเปลือกโลกในสมัย ดึกด�ำบรรพ์ เมือ่ 280 ล้านปีกอ่ น มีพนื้ ทีก่ ว้างใหญ่ราว 3 งานเศษ มีนำ�้ ไหลมารวมกันจนกลายเป็นแอ่งน�ำ้ ใสเย็นตลอดปี แต่ไม่อาจทราบ ได้วา่ มาจากแหล่งใด ผูเ้ ฒ่าผูแ้ ก่เล่าว่าถ้าเอาร�ำข้าวโรยทีแ่ อ่งน�ำ้ หล่ม ภูเขียว ร�ำข้าวนัน้ จะไหลทะลุถงึ บ่อน�ำ้ บริเวณหน้าศาลเจ้าพ่อกังสดาล บริเวณหน้าโรงเรียนบ้านอ้อน อ�ำเภองาว จังหวัดล�ำปาง ในสมัยก่อนชาวบ้านได้เดินป่าเข้ามาค้นพบแหล่งน�้ำสีเขียว มรกตอยูภ่ ายใต้หบุ เขาดังกล่าว จึงเรียกชือ่ ว่า “หล่มภูเขียว” และ มีหบุ เขาอีกแห่งทีอ่ ยูต่ รงข้ามกัน แต่ไม่มนี ำ �้ จึง เรียกว่า “หล่มแล้ง” ชาวบ้านเชือ่ ว่าหล่มภูเขียว เป็นแหล่งน�้ำศักดิ์สิทธิ์และมีพญางูใหญ่อาศัย อยู ่ จึงได้จดั ท�ำพิธบี ชู าน�ำ้ เป็นประจ�ำทุกปี โดย มีเรื่องเล่าจากผู้เฒ่าผู้แก่ว่า สมัยก่อนชาวบ้าน จะน�ำขันข้าวพร้อมดอกไม้ธูปเทียนมาบูชา โดย น�ำไปวางบนขอนไม้และปล่อยลอยไปกลางล�ำน�ำ้ เพื่อบูชาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ และได้เกิดปรากฏการณ์ อั ศ จรรย์ ว ่ า ขอนไม้ ไ ด้ จ มลงไปใต้ น�้ ำ แล้ ว ก็ลอยขึ้นมาอีก โดยที่เทียนยังไม่ดับ ท�ำให้ชาว บ้านยิง่ มีความเชือ่ ความศรัทธามากขึน้ ว่า แหล่ง น�ำ้ นีเ้ ป็นน�ำ้ ศักดิส์ ทิ ธิ์ ชาวบ้านจึงน�ำน�ำ้ จากหล่ม ภูเขียวมาใช้ดมื่ กิน และอธิษฐานให้หายจากโรคภัย ไข้เจ็บต่าง ๆ และน�ำน�ำ้ ไปใช้ในการประกอบพิธี อันศักดิส์ ทิ ธิข์ องชาวบ้าน ตามความเชือ่ ทีส่ บื ทอด กันมาจนถึงปัจจุบนั เทีย่ วหล่มภูเขียวอย่างถูกต้อง เนือ่ งจากหล่มภูเขียวเป็นแหล่งน�ำ้ ศักดิส์ ทิ ธิต์ าม ความเชือ่ ความศรัทธาของชาวบ้าน นักท่องเทีย่ ว จึงควรให้ความเคารพสถานที่ และช่วยกันรักษา สภาพสิง่ แวดล้อม ด้วยการไม่แช่เท้าลงในน�ำ ้ ไม่ ให้อาหารปลา ไม่สง่ เสียงดัง และไม่ทงิ้ สิง่ ปฏิกลู ใด ๆ ลงในน�ำ้
“น�ำ้ ตกแม่แก้” น�ำ้ ตกแม่แก้เป็นน�ำ้ ตกขนาดเล็ก มีนำ�้ ทีใ่ สสะอาด เย็นสบาย บรรยากาศเป็นธรรมชาติ บริเวณน�ำ้ ตกล้อมรอบไปด้วยสวนลิน้ จี ่ และมีศาลาพักร้อนให้บริการส�ำหรับผูไ้ ปเยีย่ มชมด้วย ประวัตคิ วามเป็นมาน�ำ้ ตกแม่แก้ เดิมทีพนื้ ทีบ่ า้ นแม่แก้แห่งนี้ เป็นป่าลึกล้อมรอบไปด้วยภูเขา ใหญ่นอ้ ย เป็นทีอ่ าศัยของสัตว์ปา่ นานาชนิด ต่อมามีชาวเขาเผ่าเย้า เดินทางไปหาของป่า ซึง่ ป่าบริเวณนีม้ ที งั้ ทีร่ าบสูง และทีร่ าบอุดม สมบูรณ์ มีนำ�้ ดี เหมาะทีจ่ ะท�ำไร่ ท�ำสวน ชาวเขาเผ่าเย้าจึงได้พา กันอพยพผูค้ นมาอาศัยสร้างบ้านเรือน ต่อมาราวปี พ.ศ 2515 ชาว บ้านทีอ่ าศัยอยูใ่ นบริเวณนี้ ได้ไปหาของป่าและได้คน้ พบน�ำ้ ตกแห่ง หนึง่ ชาวบ้านจึงพากันแผ้วถางบริเวณน�ำ้ ตก ซึง่ มีตน้ น�ำ้ คือล�ำห้วย แม่แก้ทไี่ หลออกมาจากตาน�ำ้ ในถ�ำ้ ราชคฤห์ LAMPANG 147
เส้นทางพบ
องค์การบริหารส่วนตำ�บล
นายวิทยา ชัยค�ำ
นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลนาแก
องค์การบริหารส่วนตำ�บลนาแก เป็นตำ�บลน่าอยู่ สิ่งแวดล้อมดี เกษตรกรรม ก้าวหน้า ชุมชนเข้มแข็ง ประชาชนอยู่ดีกินดี คือวิสยั ทัศน์การพัฒนาขององค์การบริหารส่วนตำ�บลนาแก หมูท่ ี่ 2 ตำ�บลนาแก อำ�เภองาว จังหวัดลำ�ปาง ปัจจุบันมี นายวิทยา ชัยคำ� เป็น นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลนาแก และ นางศศิร์รัช ตั้งตัว เป็น ปลัด องค์การบริหารส่วนตำ�บลนาแก ประวัติตำ�บลนาแก ตำ�บลนาแกเป็นตำ�บลเก่าแก่ แต่ชื่อนาแกเป็นชื่อตั้งใหม่ในสมัย กรุงรัตนโกสินทร์ทมี่ กี ารตัง้ ตำ�บล โดยคนทีอ่ าศัยในเขตนีเ้ ห็นว่าหัวไร่ปลายนา มีต้นสะแกมากที่สุด จึงเอาคำ�มาว่า “นา” กับ “ต้นสะแก” มารวมกันเป็น “นาแก” สืบมาตราบเท่าทุกวันนี้ ข้อมูลทั่วไป ตำ�บลนาแกจัดตั้งเป็นองค์การบริหารส่วนตำ�บล ตามประกาศลง วันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2539 มีพื้นที่ทั้งหมด 73,973.750 ไร่ หรือ 118.358 ตารางกิโลเมตร แบ่งเขตการปกครองเป็น 6 หมูบ่ า้ น มีประชากรรวมจำ�นวน 148
3,665 คน มีจ�ำ นวน1,148 ครัวเรือน ประชากรส่วนใหญ่มอี าชีพเกษตรกรรม พืชที่สำ�คัญได้แก่ ข้าวไร่ ข้าวโพด และการปลูกพืชในที่นา ได้แก่ ข้าวนาปี ตามด้วยข้าวโพดหรือกระเทียม ผักกาดเขียวปลี ถั่วเหลือง ยาสูบ ถั่วแขก ถั่วฝักยาว และการปลูกไม้ผลสวนผสมตลอดปี สินค้า OTOP ขึ้นชื่อ ผ้าพื้นเมืองทอมือ โดย กลุ่มผ้าทอมือบ้านแม่ฮ่าง หมู่ 4 และ บ้านสันติสุข หมู่ 6, ดอกไม้จันทน์และพิมเสนน้ำ� โดยบ้านทุ่งศาลา หมู่ 1, ผลิตภัณฑ์แปรรูปจากไผ่ โดย กลุ่มแปรรูปไม้ไผ่ บ้านแม่ฮ่าง หมู่ 4, ผลิตภัณฑ์จักสาน โดยกลุ่มจักสานบ้านป่ากล้วย หมู่ 6 ฯลฯ วัฒนธรรมและเพณีสำ�คัญ งานประเพณีบุญเลี้ยงผี ฟ้อนผีมด ผีเม็ง ภายในเดือนมกราคม ของทุกปี, งานประเพณีปีใหม่ของชาวเขาเผ่ากระเหรี่ยง ภายในเดือน ธันวาคมของทุกปี, งานประเพณีปีใหม่ของชาวเขาเผ่าต่างๆ ภายในเดือน กุมภาพันธ์ของทุกปี, งานประเพณีสงกรานต์ ภายในเดือนเมษายนของทุก ปี, งานประเพณีบุญสลากภัตร ภายในเดือนกันยายน-เดือนตุลาคม, งาน ประเพณีลอยกระทง/งานยี่เป็ง ภายในเดือนตุลาคม-เดือนพฤศจิกายน, งา นวันคริสมาสต์ ภายในเดือนธันวาคม แหล่งท่องเที่ยวสำ�คัญ 1. น้ำ�ตกห้วยโล่ง 2. น้ำ�ตกห้วยต้นงุ้น 3. หมู่บ้านชาวเขา(เผ่าปากาญอ บ้านแม่ฮ่าง หมู่ 4, บ้าน สันติสุข,เผ่าอาข่าบ้านป่ากล้วย หมู่ 6)
เส้ นทางพบ องค์การบริหารส่วนตำ�บล
องค์การบริหารส่วนตำ�บลบ้านโป่ง
สถานที่ท่องเที่ยวส�ำคัญ
ดอยผาพลึง บึงบัวงาม แหล่งน�้ำผุด สุดมหัศจรรย์ถ�้ำเหียง งามลือเลื่องป่าเขียวขจี คือค�ำขวัญต�ำบลบ้านโป่ง ซึ่งอยู่ในความดูแลขององค์การ บริหารส่วนต�ำบลบ้านโป่ง อ�ำเภองาว จังหวัดล�ำปาง ปัจจุบันมี นายนิพัฒน์พล แก้วปัญญา ด�ำรงต�ำแหน่ง นายกองค์การบริหาร ส่วนต�ำบลบ้านโป่ง
วิสัยทัศน์การพัฒนาองค์การบริหารส่วนต�ำบลบ้านโป่ง
“เป็นองค์กรมุ่งพัฒนาท้องถิ่น น�ำพาประโยชน์สุขสู่ชุมชน”
พันธกิจ
1. จัดให้มีและบ�ำรุงรักษาทางบก และทางน�้ำ 2. ก�ำจัดมูลฝอย สิ่งปฏิกูล น�้ำเสียและฟื้นฟูสิ่งแวดล้อม 3. ป้ อ งกั น โรคติ ด ต่ อ และไม่ ติ ด ต่ อ เสริ ม สร้ า งสุ ข ภาพ ประชาชน ชุมชนห่างไกลยาเสพติด 4. พัฒนาแหล่งน�้ำ 5. บ�ำรุงและส่งเสริมการประกอบอาชีพของประชาชน 6. ส่งเสริมการศึกษา และพัฒนาคนให้ทนั เหตุการณ์บา้ นเมือง และเทคโนโลยี รักษาวิถีชุมชน
จุดมุ่งหมาย
1. การคมนาคมทัง้ ทางบกและทางน�ำ้ มีความสะดวกรวดเร็ว 2. สิ่งแวดล้อมไม่เป็นมลพิษ 3. ประชาชนมีความเป็นอยูด่ ขี นึ้ สังคมสงบสุขและปลอดภัย จากโรคต่าง ๆ และห่างไกลยาเสพติด 4. พัฒนาแหล่งน�้ำให้ดีขึ้นมีใช้ตลอดปี 5. ประชาชนมีอาชีพและมีรายได้พอเพียง 6. ช่องทางการรับข้อมูลข่าวสารทีท่ นั สมัยของประชาชนมีเพิม่ ขึน้
น�้ำออกรู เป็นแหล่งน�้ำที่มีต้นก�ำเนิดจากตาน�้ำในบริเวณที่มีป่าอุดม สมบู ร ณ์ เ ท่ า นั้ น น�้ ำ ออกรู ที่ อ อกมาจึ ง ใสสะอาด หลายคน มี ค วามเชื่ อ ว่ า เป็ น น�้ ำ ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ชาวต� ำ บลบ้ า นโป่ ง ให้ ค วาม เคารพนั บ ถื อ ตลอดมา และเชื่ อ ว่ า เป็ น เพราะบุ ญ บารมี ข อง เจ้าพ่อผาพลึงที่ปกปักรักษาให้แหล่งน�้ำออกรูช่วยหล่อเลี้ยงให้เกิด ความอุดมสมบูรณ์ จึงได้มีการก�ำหนดจัดกิจกรรม “สืบชะตาน�้ำ และสักการะด�ำหัวเจ้าพ่อผาพลึง” ขึ้นทุกวันที่ 16 เมษายน ของทุกปีเป็นประเพณีสืบมาจนปัจจุบัน พระธาตุศรีโป่งแก้ว พระธาตุมอี ายุเก่าแก่ประมาณ 200 ปี ประดิ ษ ฐานอยู ่ ที่ วัดศรีโป่งแก้วบ้านโป่งพัฒนา หมูท่ ี่ 9 ต�ำบลบ้านโป่ง อ�ำเภองาว จังหวัดล�ำปาง
LAMPANG 149
เส้เทศบาลตำ นทางพบ �บล
ความเป็นมา
นายศรีทน นิวันติ
นายกเทศมนตรีต�ำบลเมืองปาน
เทศบาลตำ�บลเมืองปาน ต�ำบลเมืองปาน เที่ยวส�ำราญถ�ำ้ ใหญ่ ไหว้พระธาตุ วงตา พาชมดอยปู่ยักษ์ พักน�้ำตกแม่ปาน นมัสการ พ่อขุนจเรปาน สุขใจ คือคำ�ขวัญของตำ�บลเมืองปาน ซึ่งอยู่ในความดูแล ของ เทศบาลตำ�บลเมืองปาน เลขที่ 446 หมู่ที่ 4 บ้านแพะ ตำ�บลเมืองปาน อำ�เภอเมืองปาน จังหวัดลำ�ปาง โดยอยู่หา่ งจาก ที่ว่าการอำ�เภอเมืองปานประมาณ 3 กิโลเมตร ตั้งอยู่ริมถนน ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1287 ปัจจุบันมี นายศรีทน นิวันติ เป็น นายกเทศมนตรีตำ�บลเมืองปาน
150
เทศบาลตำ�บลเมืองปาน เป็นตำ�บลที่ตั้งของที่ว่าการ อำ�เภอเมืองปาน เดิมเคยเป็นองค์การบริหารส่วนตำ�บลเมืองปาน ปัจจุบันกระทรวงมหาดไทยได้ประกาศ จัดตั้งองค์การบริหารส่วน ตำ�บลเมืองปาน อำ�เภอเมืองปาน จังหวัดลำ�ปาง เป็นเทศบาลตำ�บล เมืองปาน เมื่อวันที่ 27 ตุลาคม 2552
ข้อมูลทั่วไป
เทศบาลตำ�บลเมืองปาน มีพนื้ ทีป่ ระมาณ 75,000 ไร่ หรือ ประมาณ 120 ตารางกิโลเมตร พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นป่าเบญจพรรณ รองลงมาเป็นพืน้ ทีท่ �ำ การเกษตร ประมาณ 6,500 ไร่ หรือประมาณ 10.40 ตารางกิโลเมตร และพื้นที่ปศุสัตว์ 5,308 ตารางกิโลเมตร ภูมปิ ระเทศ ลักษณะพืน้ ทีส่ ว่ นใหญ่เป็นภูเขา มีความลาด ชันสลับพื้นที่ราบ ที่ใช้ในการเกษตรและเลี้ยงสัตว์ พื้นที่เป็นที่ราบ ได้แก่ หมู่ที่ 1, 3, 4, 7, 8, 9 หมู่ที่บ้านอยู่ที่ลาดริมเขาได้แก่ หมู่ที่ 2, 5, 6 มีแม่น้ำ�ตามธรรมชาติที่ไหลผ่านจำ�นวน 4 สายคือ แม่น้ำ� แม่ปาน, แม่น้ำ�แม่ก๋วม, แม่น้ำ�แม่แมะ และแม่น้ำ�แม่มอญ เขตการปกครอง เทศบาลตำ�บลเมืองปาน แบ่งเขตการ ปกครองเป็น 9 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ 1 บ้านทุ่งโป่ง, หมู่ 2 บ้าน ดอนแก้ว, หมู่ 3 บ้านน้ำ�จำ�, หมู่ 4 บ้านแพะ, หมู่ 5 บ้านปางอ่าย,
หมู่ 6 บ้านดอนไชย, หมู่ 7 บ้านสบปาน, หมู่ 8 บ้านน้ำ�โจ้ และ หมู่ 9 บ้านหลวงเมืองปาน
สถานที่ท่องเที่ยวสำ�คัญ
น้ำ�ตกแม่ปาน เป็นน้ำ�ตกขนาดเล็ก อยู่ในเขตรับผิดชอบของอุทยาน แห่งชาติแจ้ซอ้ น มีถนนคอนกรีตเข้าถึงบริเวณน้�ำ ตก และเดินทาง เข้าไปอีกประมาณ 300 เมตรก็จะถึงตัวน้ำ�ตกแม่ปาน บรรยากาศ บริเวณน้�ำ ตกแม่ปานร่มรืน่ เย็นสบาย เหมาะแก่การพักผ่อนสำ�หรับ ผู้ที่ชอบความสงบและต้องการสัมผัสกับธรรมชาติ
สินค้า OTOP ขึ้นชื่อ
ข้าวไรซ์เบอรี่และข้าวเหนียวลืมผัว ข้าวไรซ์เบอรี่ เป็นข้าวเจ้าสีมว่ งเข้ม รูปร่างเมล็ดเรียวยาว ข้าวกล้องมีความนุ่มนวลมาก ข้าวเหนียวลืมผัว เป็นข้าวเหนียวที่ มีเยื่อหุ้มเมล็ดข้าวกล้องสีดำ� มีกลิ่นหอมชวนรับประทาน ผลิตโดย วิสาหกิจชุมชนศูนย์ผลิตข้าวชุมชนบ้านดอนแก้ว เลขที่ 258 หมู่ที่ 2 ต.เมืองปาน อ.เมืองปาน จ.ลำ�ปาง ตะกร้าทางมะพร้าว ผลิตโดย กลุ่มผู้สูงอายุตำ�บล เมืองปานเลขที่ 42 หมู่ที่ 7 ต.เมืองปาน อ.เมืองปาน จ.ลำ�ปาง
lampang 151
เส้เทศบาลเมื นทางพบ อง
นายไพฑูรย์ โพธิ์ทอง นายกเทศมนตรีเมืองเขลางค์นคร
เทศบาลเมืองเขลางค์นคร
ปัจจุบันเทศบาลเมืองเขลางค์นครมี นายไพฑูรย์ โพธิ์ทอง ด�ำรงต�ำแหน่ง นายกเทศมนตรีเมืองเขลางค์นคร บริหารเทศบาล ทีม่ สี ภาพพืน้ ทีก่ งึ่ เมืองกึง่ ชนบท ด้วยยุทธศาสตร์การพัฒนา 6 ด้าน ประกอบด้วย 1. ยุทธศาสตร์พฒ ั นาโครงสร้างพืน้ ฐาน การบริการสาธารณะ และพัฒนาระบบผังเมือง 2. ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต อย่างยั่งยืน 3. ยุทธศาตร์เสริมสร้างความเข้มแข็งการบริหารจัดการองค์กร และชุมชน เพื่อความมั่นคง และเป็นธรรมในสังคม 4. ยุทธศาสตร์ดา้ นการสนับสนุน ส่งเสริม และสร้างความเข้มแข็ง ของภาคการเกษตร โดยการเพิ่มประสิทธิภาพและสร้างมูลค่าเพิ่ม ให้สินค้าเกษตร 5. ยุทธศาสตร์การพัฒนาสังคม คุณภาพชีวติ และความเข้มแข็ง ของชุมชน 6. ยุ ท ธศาสตร์ ก ารอนุ รั ก ษ์ ฟ ื ้ น ฟู ท รั พ ยากรธรรมชาติ แ ละ สิ่งแวดล้อม
กิจกรรมดี โครงการเด่น ของปีงบประมาณ 2559
เมืองแห่งคุณภาพ คุณภาพคน คุณภาพชีวิต คุณภาพการบริหารจัดการ
คือ วิสัยทัศน์การพัฒนาเทศบาลเมืองเขลางค์นคร ซึ่งเป็น เทศบาลขนาดใหญ่ มีพื้นที่รับผิดชอบในเมืองล�ำปาง 195.49 ตารางกิโลเมตร ปัจจุบนั อาคารส�ำนักงานใหม่มลู ค่า 200 ล้านบาท ยังอยู่ระหว่างการด�ำเนินการก่อสร้าง โดยมีส�ำนักงานกลาง ชั่วคราวตั้งอยู่ที่ ถนนบุญโยง ต�ำบลเวียงเหนือ อ�ำเภอเมือง จังหวัดล�ำปาง (ภายในบริเวณพื้นที่ของบริษัท ทีโอที จ�ำกัด) 152
“โครงการปัน่ จักรยานตามวิถที อ่ งเทีย่ วเชิงอนุรกั ษ์ วิถสี ขุ ภาพ และวิถีวัฒนธรรม” ด�ำเนินการภายใต้วัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริม ให้ประชาชนในเขตเทศบาลเมืองเขลางค์นครตระหนักถึงการดูแล สุขภาพ ควบคู่ไปกับการแนะน�ำเส้นทางท่องเที่ยวในเขตเทศบาล เมืองเขลางค์นคร ที่มีประวัติความเป็นมาอย่างยาวนาน และ การรณรงค์ให้ประชาชนร่วมรักษาสิ่งแวดล้อม โดยการร่วมกัน ปลูกต้นไม้เพื่อเพิ่มพื้นที่สีเขียวในชุมชน โครงการนี้ได้รับความ อนุเคราะห์จากนายสามารถ ลอยฟ้า ผู้ว่าราชการจังหวัดล�ำปาง เป็นประธานและน�ำขบวนปั่นจักรยานไปตามเส้นทางในชุมชน ต่าง ๆ ในเขตเทศบาลเมืองเขลางค์นคร ระยะทางประมาณ 18 กิโลเมตร โดยเริม่ ต้นทีว่ ดั ปงแสนทอง และสิน้ สุดทีว่ ดั ป่าตันกุมเมือง โดยมีนายสามารถ ลอยฟ้า ผูว้ า่ ราชการจังหวัดล�ำปาง เป็นประธาน ในพิธีเปิด และร่วมปั่นกับนักปั่นที่มาร่วมกิจกรรมกว่า 300 คน
นอกจากนั้นยังมีกิจกรรมการเสวนาการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ตามวิถีชีวิตคนเมืองอย่างยั่งยืนภายใต้สโลแกน “ปั่นจักรยานตาม วิถีท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ วิถีสุขภาพ และวิถีวัฒนธรรม” เพื่อเปิด เวทีชาวบ้าน ค้นหาภูมิปัญญาจากปราชญ์ชาวบ้านและแลกเปลี่ยน เรียนรู้ รวมทั้งรับฟังข้อเสนอแนะการพัฒนาศักยภาพด้านการ ท่องเที่ยวของเทศบาลเมืองเขลางค์นคร โดยมีผู้ทรงคุณวุฒิร่วม เวทีเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และให้ข้อเสนอแนะจ�ำนวน 5 ท่าน ได้แก่ นายประดิษฐ์ สรรพช่าง รองประธานสภาวัฒนธรรมจังหวัด ล�ำปาง, นายจรัส ศรีจันทร์ ประธานผู้สูงวัยต�ำบลปงแสนทอง, นางกาญจนา ประชาพิพฒ ั (ณ ล�ำปาง) ตัวแทนชุมชนบ้านป่าตันกุม เมือง, นางพรทิพย์ ว่องเชิงค้า สมาชิกสภาเทศบาลเมืองเขลางค์นคร และนายประสงค์ เรือนสอน รองปลัดเทศบาล รักษาราชการแทน ปลัดเทศบาลเมืองเขลางค์นคร โดยมีนางสกาวเดือน เกตุแก้ว หัวหน้าฝ่ายบริการและเผยแพร่วิชาการ เป็นผู้ด�ำเนินการเสวนา ท�ำให้เทศบาลเมืองเขลางค์นครได้รับรู้ข้อมูลทางประวัติศาสตร์ ท้องถิ่น ตลอดจนข้อมูล ข้อเสนอแนะและมุมมองที่หลากหลาย เกีย่ วกับการพัฒนาด้านการท่องเทีย่ วของเทศบาลเมืองเขลางค์นคร LAMPANG 153
เส้นทางพบ
องค์การบริหารส่วนตำ�บล
ข้อมูลทั่วไป
องค์การบริหารส่วนตำ�บลหัวเมือง มีพื้นที่ 174.9 ตารางกิโลเมตร หรือ109,313 ไร่ แบ่งเขตการปกครองเป็น 8 หมูบ่ า้ น มีประชากรทัง้ สิน้ 4,073 คน แยกเป็น ชาย 2,079 คน หญิง 1,994 คนรวมทัง้ สิน้ 1,281 ครัวเรือน (ข้อมูล ณ วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2559) ประชาชนร้อยละ 70 ประกอบอาชีพ เกษตรกรรม รองลงมาคือรับจ้างทั่วไป ค้าขาย และอาชีพอื่นๆ
ศักยภาพของชุมชนและพื้นที่
องค์การบริหารส่วนตำ�บลหัวเมือง มีพื้นที่ส่วนใหญ่ เป็นภูเขาสลับกับพื้นราบอยู่ในเขตป่าไม้ที่อุดมสมบูรณ์ ติดต่อ กับเขตอุทยานแห่งชาติแจ้ซอ้ น จึงมีแหล่งต้นน้�ำ ลำ�ธารหลายสาย เพียงพอสำ�หรับทำ�การเกษตรตลอดเวลาประชากรส่วนใหญ่ ทำ�การเกษตรแบบอาศัยธรรมชาติ สามารถดำ�รงชีวิตอยู่กับ ภูมิปัญญาท้องถิ่นได้อย่างกลมกลืน
ขับเคลื่อนสู่ตำ�บลจัดการตนเอง/ตำ�บลสุขภาวะ
นายทรงไชย ไม้รัง
นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลหัวเมือง
องค์การบริหารส่วนตำ�บลหัวเมือง เศรษฐกิจดี มีความรู้คู่คุณธรรม สร้างสังคมเข็มแข็ง แหล่งอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ไร้ถนิ่ ทุรกันดาร บริหาร จัดการบ้านเมืองและองค์กรอย่างยั่งยืน คือวิสัยทัศน์ขององค์การบริหารส่วนตำ�บลหัวเมือง ซึ่งมี สำ�นักงานตั้งอยู่เลขที่ 199 หมู่ที่ 2 ตำ�บลหัวเมืองอำ�เภอเมืองปาน จังหวัดลำ�ปาง โดยอยู่ห่างจากที่ว่าการอำ�เภอเมืองปานประมาณ 25 กิโลเมตร และห่างจากจังหวัดลำ�ปาง 95 กิโลเมตร ตัง้ อยูท่ พ่ี กิ ดั NA 554972 ปัจจุบันมี นายทรงไชย ไม้รัง ดำ�รงตำ�แหน่ง นายก องค์การบริหารส่วนตำ�บลหัวเมือง และว่าที่ ร.ต.กูเ้ กียรติ วงศ์ฟกั ดำ�รงตำ�แหน่ง ปลัดองค์การบริหารส่วนตำ�บลหัวเมือง 154
ในการขับเคลื่อนงานระดับตำ�บลมีการตกลงร่วมกัน ว่าจะผลักดันและหนุนเสริมการทำ�งานในตำ�บลหัวเมือง ให้เกิด เป็นตำ�บลจัดการตนเองและก้าวไปสูต่ �ำ บลสุขภาวะได้อย่างยัง่ ยืน ได้แก่ ประเด็นที่ 1 คือ การบริหารจัดการท้องถิ่นแบบมีส่วนร่วม การบริหารจัดการของตำ�บลหัวเมืองมุง่ เน้นกระบวนการ มีสว่ นร่วม ภายใต้การสร้างความร่วมมือกับองค์กรภาคี มุง่ เน้นการ อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ การศึกษาและพัฒนาคุณภาพชีวิต ของประชาชนในพืน้ ทีส่ ร้างความร่วมมือในการพัฒนา โดยเชือ่ ว่า “การพัฒนาต้องมีพลังจากหลาย ภาคส่วน” จึงจะทำ�ให้เกิด ประสิทธิภาพและยั่งยืน โดยองค์การบริหารส่วนตำ�บลเป็นกลไก พัฒนา สนับสนุนและเชื่อมโยงการทำ�งาน ภายใต้ทุนศักยภาพ สถานการณ์และความต้องการของพี่น้องประชาชนเป็นฐานใน การออกแบบการพัฒนาที่เหมาะสมกับพื้นที่ มุ่งเน้นการจัดการ ตนเอง โดยการสร้างวิธีคิดร่วม 3 ระดับได้แก่ ในระดับบุคคล (เจ้าหน้าที่) มีการแบ่งบทบาทหน้าที่อย่างชัดเจน ระดับกลุ่ม องค์กรทั้งภาครัฐและภาคเอกชน เกิดความเข้าใจและสามารถ ทำ�งานร่วมกันอย่างเป็นระบบระดับชุมชน (ท้องที)่ มีสว่ นร่วมใน การพัฒนาควบคู่ไปกับชุมชนท้องถิ่น ใช้กระบวนการ มีส่วนร่วม เป็นเครื่องมือในการพัฒนา ประเด็นที่ 2 คือ การดูแลสุขภาพชุมชนโดยชุมชน จากการสำ�รวจข้อมูลตำ�บล TCNAP ตำ�บลหัวเมือง พบว่า ปัญหาสุขภาพโดยเฉพาะปัญหาโรคเรือ้ รัง เช่น ปัญหาโรค ความดันสูง โรคไขข้อ ข้อเสื่อมและโรคเบาหวาน ทำ�ให้องค์การ บริหารส่วนตำ�บลหัวเมืองได้ตระหนักถึงปัญหาด้านสุขภาพ ที่จะ ตามมาในอนาคตของชุมชน จึ งได้ ม ี ก ารดำ � เนิ น งานเกี ่ ย วกั บ
สุ ข ภาพร่ ว มกั บโรงพยาบาลส่ ง เสริ ม สุ ข ภาพตำ � บลบ้ า นขาม โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำ�บลบ้านต้นงุ้น และกลุ่ม อสม. ในพืน้ ที่ เพือ่ ส่งเสริมและเกือ้ หนุนให้บคุ คลได้พฒ ั นาศักยภาพของ ตนเอง ครอบครัว และชุมชนในทุกด้านแบบองค์รวมอย่างเป็น ระบบ โดยใช้กลยุทธ์การถ่ายโอนอำ�นาจจากรัฐมาสูป่ ระชาชน ให้ มีพลังอำ�นาจที่จะดูแลสุขภาพ และจัดการกับชุมชนของตนเอง อย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ และความเป็นไป ได้ในแต่ละท้องถิ่น โดยคำ�นึงถึงระบบสังคม วัฒนธรรม และ เศรษฐกิจ ที่แตกต่างกันของชุมชน และเน้นการทำ�งานร่วมกัน ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชนอย่างเต็มที่ ประเด็นที่ 3 คือ เกษตรกรรมยั่งยืน ระบบเกษตรกรรมยั่งยืน งานขับเคลื่อนเกษตรกรรม ยั่งยืนสู่อาหารเพื่อสุขภาวะเกี่ยวข้องกับความเป็นอยู่ของชุมชน หลายระดับ ตั้งแต่ครัวเรือนชุมชนนำ�ไปสู่การลดปัจจัยเสี่ยง ด้านสุขภาพอนามัย เนื่องมาจากกระบวนการผลิต การบริโภค อาหารที่ไม่ปลอดภัย ไม่ถูกสุขลักษณะ และสร้างผลกระทบต่อ การลดปัจจัยเสีย่ งด้านสุขภาพประเด็นอืน่ ๆ โดยมีองค์การบริหาร ส่วนตำ�บลหัวเมืองเป็นกลไกสำ�คัญในการขับเคลื่อน โดยนำ�หลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นตัวแนวคิดในการขับเคลื่อนสู่ การพึ่งพาตนเอง ส่งเสริมการผลิตอาหารปลอดภัยในชุมชนเพื่อ เป็นการลดรายจ่ายในครัวเรือน และส่งเสริมสุขภาพ ให้ห่าง ไกลปัญหาสุขภาพ โรคเรือ้ รังทีพ่ บมากในชุมชนและมีการพัฒนา ต่อยอดให้เกิดแหล่งเรียนรู้ ทำ�ให้มีแหล่งเรียนรู้และผลิตอาหาร ที่ปลอดภัย โดยองค์การบริหารส่วนตำ�บลหัวเมืองสนับสนุนงบ ประมาณจัดระบบพืน้ ที่ เช่น ศูนย์เรียนรูก้ ลุม่ ปลูกผักปลอดสารพิษ เป็นต้น
แหล่งท่องเที่ยวสำ�คัญ
1. น้ำ�ตกแม่ปาย ตั้งอยู่ในพื้นที่เขตป่าอนุรักษ์แม่ปาย บ้านขาม หมู่ที่ 1 ตำ�บลหัวเมือง อำ�เภอเมืองปาน จังหวัดลำ�ปาง อยูห่ า่ งจาก อบต.หัวเมือง 6 กม. เป็นน้�ำ ตกทีม่ คี วามสวยงาม มี 2 ชัน้ และ มีน้ำ�ไหลตลอดทั้งปี จุดเด่นคือมีบอ่ น้�ำ พุร้อนประมาณ 40-60 องศาเซลเซียส สภาพโดยรอบเป็นพื้นที่ป่าที่มีความอุดม สมบูรณ์ มีพันธุ์ไม้ที่หายากเป็นเขตอนุรักษ์พันธุ์สัตว์นำ้�-สัตว์ป่า เช่น เต่าปูลู ปลาปุง งูเหลือมและมีเส้นทางศึกษาธรรมชาติ จึง เหมาะแก่การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ 2. ต้นผึ้งร้อยรัง ตั้งอยู่ในพื้นที่เขตป่าอนุรักษ์แม่ปาย บ้านขาม หมู่ที่ 1 ตำ�บลหัวเมือง อำ�เภอเมืองปาน จังหวัดลำ�ปาง อยู่ห่างจาก อบต.หัวเมือง 6.8 กม. เมื่อถึงน้ำ�ตกแม่ปายสามารถ ใช้เส้นทางเดินเท้าเข้าไปอีกประมาณ 800 เมตรจุดทีน่ า่ สนใจคือ มีต้นไม้ใหญ่ที่มีผึ้งมาทำ�รังขนาดใหญ่กว่า 100 รัง และมีจำ�นวน หลายต้นผึ้งอยู่ในพื้นที่ใกล้เคียงกัน จึงเป็นเขตป่าอนุรักษ์ผึ้งห้าม ล่าสัตว์ ห้ามหาของป่า และยังมีต้นยางรักซึ่งเป็นพันธุ์ไม้หายาก ที่มีอยู่ไม่กี่แห่งในประเทศไทย lampang 155
3. สามต้นสักใหญ่ เป็นต้นสักที่มีอายุมากกว่า 500 ปี ตั้งอยู่พื้นที่บ้านหัวเมือง หมู่ที่ 5 ตำ�บลหัวเมือง อำ�เภอเมืองปาน จังหวัดลำ�ปางอยู่ห่างจาก อบต.หัวเมืองประมาณ 7 กิโลเมตรตั้ง อยู่ทางทิศตะวันออกของบ้านหัวเมือง ห่างจากหมู่บ้านประมาณ 2 กิโลเมตร จุดที่น่าสนใจคือมีต้นไม้สักทอง 3 ต้นขนาด 7 คนโอบ ขึน้ อยูห่ า่ งกันประมาณ100 เมตร เป็นเขตป่าอนุรกั ษ์จงึ มีความอุดม สมบูรณ์เหมาะสำ�หรับการศึกษาธรรมชาติ ซึ่งระหว่างการเดินทาง จะมีต้นไม้และพันธุ์ไม้ที่หายาก และมีสัตว์ป่าให้ศึกษามากมาย 4. ชุมชนบ้านแม่หมี เป็นชุมชนปะกาเกอญอ(กะเหรี่ยง) ที่ตั้งมากกว่า 100 ปี อยู่ห่างจาก อบต.หัวเมือง 13 กิโลเมตร จุดที่น่าสนใจคือ เป็นหมู่บ้านเกษตรพอเพียง มีการทำ�นาแบบ ขัน้ บันใดปลูกพืชโดยไม่ใช้สารเคมีและมีผลิตภัณฑ์ผา้ ย้อมสีธรรมชาติ จึ ง เหมาะแก่ ก ารศึ ก ษาวิ ถี ชี วิ ต ชุ ม ชนของชนเผ่ า ปะกาเกอญอ นอกจากนี้ยังเป็นหมู่บ้านต้นแบบการจัดการแนวเขตป่าชุมชนและ แนวเขตที่ดินทำ�กินเป็นหมู่บ้านที่มีการอนุรักษ์ ฟื้นฟู ทรัพยากร ลุม่ น้�ำ อย่างต่อเนือ่ ง เช่น การทำ�แนวกันไฟรอบหมูบ่ า้ น การจัดทำ�แนว เขตอนุรักษ์พันธุ์ปลา การสืบชะตาแม่น้ำ� สืบชะตาป่า เป็นหมู่บ้าน ที่ได้รับรางวัลลูกโลกสีเขียว ในปี 2552 5. ชุมชนบ้านแม่ต๋อม ตั้งอยู่หมู่ที่ 8 ตำ�บลหัวเมือง อำ�เภอเมืองปาน จังหวัดลำ�ปาง เป็นหมูบ่ า้ นปะกาเกอญอ(กะเหรีย่ ง) ระยะห่างจาก อบต.หัวเมือง 10 กิโลเมตร จุดที่น่าสนใจคือ เป็น หมู่บ้านเกษตรพอเพียง มีการทำ�นาแบบขั้นบันใด และปลูกพืชโดย ไม่ใช้สารเคมีเป็นหมูบ่ า้ นการจัดการป่าไม้ภายในหมูบ่ า้ นจึงมีอากาศ เย็นสบายตลอดทั้งปี เหมาะแก่การศึกษาวิถีชีวิตชุมชนของชนเผ่า ปะกาเกอะญอ จัดทำ�โดย: องค์การบริหารส่วนตำ�บลหัวเมือง อำ�เภอเมืองปาน จังหวัดลำ�ปาง โทร. 054-019722 www.humuanglocal.com
156
เส้นทางสู่ AEC
กสอ. ดัน 8 ย่านแฟชั่นไทยสุดชิค สู่ที่สุดในเอเชีย กระทรวงอุตสาหกรรม โดยกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม (กสอ.) เผยย่ า นแฟชั่ น ที่ มี ศั ก ยภาพของประเทศไทยจำ � นวน 8 ย่าน พร้อมวางเป้าหมายสูงสุดในการทำ�ให้อุตสาหกรรมแฟชั่น ของประเทศไทยมีความสมบูรณ์ที่สุดในเอเชีย โดยตั้งเป้าเพิ่ม มูลค่าสินค้าในอุตสาหกรรมแฟชั่น ให้ขยายตัวมากกว่า 1 ล้าน ล้านบาท ภายในปี 2560 ดร.อรรชกา สี บุ ญ เรื อ ง รั ฐ มนตรี ว่ า การกระทรวง อุตสาหกรรม กล่าวว่า กระทรวงอุตสาหกรรม มีการดำ�เนิน โครงการพั ฒ นาศั ก ยภาพอุ ต สาหกรรมแฟชั่ น ไทย Thailand Fashion Cluster 2016 ขึ้น ภายใต้แนวคิด การสร้างความ เข้มแข็งกลุ่มเครือข่ายธุรกิจแฟชั่น ทำ�ให้ปัจจุบันประเทศไทย มีย่านแฟชั่นที่มีความสมบูรณ์แบบ จำ�นวน 8 ย่าน ได้แก่ ย่าน การค้าผ้าไหม ปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมา ย่านการค้ามีนบุรี ย่านศูนย์การค้าเทอมินลั 21 ย่านตลาดนัด สวนจตุจกั ร ย่านการค้า สำ�เพ็ง ย่านสยามสแควร์ ย่านคริสตัล วิรันด้า ย่านการค้าจังหวัด สกลนคร โดยในแต่ละย่านนั้นมีอัตลักษณ์ที่ชัดเจน และมีความ แตกต่างกันในแต่ละพื้นที่ อาทิ ย่านคริสตัล วิรันด้า (ศูนย์การค้า เดอะคริสตัล ช้อปปิ้งมอลล์ ถนนประดิษฐ์มนูธรรม) นั้นเป็นย่าน ที่มีความโดดเด่นด้วยแบรนด์แฟชั่น จากกลุ่มดีไซน์เนอร์ ไทย ที่สร้างผลงาน ซึ่งแสดงออกถึงความเป็นลักซ์ชัวรี่แบรนด์ และ ย่านการค้าจังหวัดสกลนคร ที่เป็นย่านแฟชั่นผ้าคราม ซึ่งเป็น ผ้ า แห่ ง ภู มิ ปั ญ ญาไทยที่ มี อั ต ลั ก ษณ์ ท้ อ งถิ่ น ที่ ชั ด เจนทั้ ง สี สั น และรูปแบบ เป็นต้น โดยที่ผ่านมาได้มีนโยบายในการสนับสนุน ผ่านการดำ�เนิน งานพัฒนาอุตสาหกรรมแฟชั่น 4 สาขาเป้าหมาย ประกอบด้วย (1) อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม (2) อุตสาหกรรมเครื่อง หนังและรองเท้า (3) อุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับ (4) ธุรกิจสินค้าเกี่ยวกับวัตถุดิบ และ accessory แฟชั่น เพื่อ ให้เกิดการสร้างความร่วมมือและเชื่อมโยงระหว่างเครือข่ายของ ย่ า นแฟชั่ น ที่ มี อั ต ลั ก ษณ์ ห รื อ เอกลั ก ษณ์ เ ฉพาะ และรวบรวม ข้อมูลด้านสินค้าและบริการ เพื่อเผยแพร่ผลักดันเครือข่ายธุรกิจ ย่านแฟชั่นให้เป็นที่รจู้ ักและยอมรับของตลาดอุตสาหกรรมแฟชัน่
ดร.สมชาย หาญหิรัญ อธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กล่าวว่า กสอ. ได้เล็งเห็นถึงความจำ�เป็นในการเพิ่มประสิทธิภาพ และผลิ ต ภาพการผลิ ต (Productivity) ของ SMEs ด้ ว ย กระบวนการและเครื่องมือต่าง ๆ เช่น การสร้างระบบบริหาร จัดการสากล การยกระดับมาตรฐานการบริหารจัดการธุรกิจ การ พัฒนาประสิทธิภาพ การผลิต การจัดการด้านพลังงาน การยก ระดับระบบการผลิตสูก่ ารผลิตบนฐานนวัตกรรม การพัฒนาระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศ ตลอดจนการส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาการ รวมกลุ่มอุตสาหกรรมในลักษณะเครือข่ายวิสาหกิจ (Cluster) ซึง่ ล้วนเป็นเครื่องมือสำ�คัญในการพัฒนาเพื่อเพิม่ ขีดความสามารถ ทางธุรกิจ รวมถึงสร้างความเชื่อมโยงการผลิตภาคอุตสาหกรรม ขนาดใหญ่ที่ใช้เทคโนโลยีขนั้ สูงกับ SMEs เพื่อให้เกิดการถ่ายทอด เทคโนโลยีอันจะนำ�ไปสู่โอกาสการบูรณาการให้ภาคอุตสาหกรรม ไทยสามารถแข่งขันได้ ในระดับสากล จึงได้มอบหมายให้ สถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อม (ISMED) สถาบันเครือข่าย ของกระทรวง อุตสาหกรรม เป็นที่ปรึกษากิจกรรมสร้างเครือข่ายย่านแฟชั่น เพื่ อ สนั บ สนุ น ภารกิ จ ในการส่ ง เสริ ม SMEs ด้ า นการพั ฒ นา อุตสาหกรรมแฟชั่น เชื่อมโยงสมาชิกทั้งในและนอกเครือข่าย ย่านการค้าแฟชั่น บูรณาการด้าน การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์ สู่การเป็นอุตสาหกรรมแฟชั่นสร้างสรรค์ ที่มีเอกลักษณ์ โดดเด่น และยั่งยืน สร้างรายได้ ให้กับแรงงานภายในประเทศและสร้าง มูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าแฟชั่นไทย
LAMPANG 157
เทสโก้โลตัส สาขาลำ�ปาง
ทำ�กิจกรรมโครงการพัฒนาโรงเรียนต้อนรับเปิดเทอม (kinetic) มอบแทงค์น้ำ�เพื่อเป็นสาธารณะประโยชน์ของโรงเรียน และทาสีรั้วโรงเรียนพระบาท อ.เมือง จ.ลำ�ปาง มูลค่า 10,000 บาท
เทศบาลตำ�บลป่าตันนาครัว อำ�เภอแม่ทะ จังหวัดลำ�ปาง ยึดหลักธรรมาภิบาล เน้นการศึกษาและเทคโนโลยี ส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่ดีของชาวประชา รักษาสิ่งแวดล้อม น้อมนำ�ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
แหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม วัดป่าตันหลวง
นายสุพจน์ ศรีแกวงศ์
นายกเทศมนตรีตำ�บลป่าตันนาครัว วัดนาคตหลวง ตัง้ อยู่ ณ บ้านนาคตพัฒนา หมูท่ ี่ 9 ต�ำบล ป่าตัน อ�ำเภอแม่ทะ จังหวัดล�ำปาง สร้างขึน้ ประมาณปี พ.ศ.2359 โดยได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 2 เดือน กันยายน พ.ศ.2480 มีโบราณสถาน ทีส่ ำ� คัญ คือ วิหารโบราณ 1 หลัง สร้างเมือ่ พ.ศ 2401 บูรณะครัง้ ใหญ่เมือ่ พ.ศ.2472 โดยมี รู ป ทรงพื้ น เมื อ ง มี แ บบแผนทางสถาปั ต ยกรรม ของล้านนา ได้รบั การประกาศขึน้ ทะเบียนและก�ำหนดเขต ในราชกิจจานุเษกษา เล่มที่ 97 ตอนที่ 163 ลงวันที่ 21 เดือนตุลาคม พ.ศ.2523
วัดพระธาตุดอยพระฌาน
วัดป่าตันหลวง ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นป่าตัน ต�ำบลป่าตัน อ�ำเภอแม่ทะ จังหวัดล�ำปาง เป็น วัดเก่าแก่สร้างขึน้ ในสมัยเจ้าแม่จามเทวี โดยมีพระพุทธรูป เจ้าไม้แก่นจันทน์ เป็นพระ คูบ่ า้ นคูเ่ มือง ประดิษฐาน ณ มณฑปปราสาท วัดป่าตันหลวง เป็นพระพุทธรูปทีเ่ ก่าแก่ มีประวัตคิ วามเป็นมาอันยาวนานนับพันปี ซึง่ เป็นทีเ่ คารพสักการะบูชาของชาวอ�ำเภอ แม่ทะและชาวล�ำปาง นอกจากนี้ ยังมีโบราณวัตถุโบราณสถานอันล�ำ้ ค่ามากมาย อาทิเช่น แผ่นศิลาจารึก พระธาตุ ซุม้ ประตูโขงทีม่ บี านประตูแกะสลักโบราณมีลกั ษณะคล้ายกับ ประตูทางเข้าพระวิหารวัดพระธาตุลำ� ปางหลวง
วัดนาคตหลวง
วัดพระธาตุดอยพระฌาน ตั้งอยู่บริเวณแนวภูเขาทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของ เทศบาลต�ำบลป่าตันนาครัว อยู่ในเขตพื้นที่ หมู่ 5 ต�ำบลป่าตัน อ�ำเภอแม่ทะ จังหวัด ล�ำปาง ซึง่ มีเขตติดต่อระหว่าง อ�ำเภอแม่ทะ อ�ำเภอเกาะคา และ อ�ำเภอสบปราบ บริเวณ โดยรอบมีทศั นียภาพทีส่ วยงามสงบร่มเย็น ซึง่ แต่ละปีจะจัดให้มงี านประเพณี สรงน�ำ้ พระธาตุดอยพระฌาน ตรงกับวันขึน้ 8 ค�ำ่ เดือน 7 (ประมาณเดือนมิถนุ ายน ของทุกปี) https://www.facebook.com/Wat Doi Prajhana
Lampang 159
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
2
วัดพระธาตุดอยพระฌาน ตั้งอยู่หมู่ที่ 5 ตำ�บลป่าตัน อำ�เภอแม่ทะ จังหวัดลำ�ปาง ปัจจุบันมี พระอาจารย์พรชัย อคฺควํโส เป็นเจ้าอาวาส ประวัติความเป็นมา
วัดพระธาตุดอยพระฌาน เป็นวัดทีส่ วยงาม และสงบเงียบ ตั้งอยู่บนยอดดอยพระฌาน ล้อมรอบด้วยทัศนียภาพที่สวยงามกว้างไกล อาณาบริ เ วณวั ดติ ดกั บชุ มชมโดยรอบหลาย หมูบ่ า้ น ได้แก่ บ้านป่าตัน บ้านสบทะ และบ้าน นาคต ตามบันทึกโบราณกล่าวว่า แต่เดิมเป็น ซากอิ ฐ เก่ า ปรั ก หั ก พั ง กองอยู ่ ม านานหลาย ชัว่ อายุคน ก่อนทีจ่ ะสร้างเป็นองค์พระธาตุในปี พ.ศ.2445 ซึ่งดอยพระฌานเป็นดอยเก่าแก่ที่ เต็มไปด้วยเรือ่ งราวลีล้ บั ตามค�ำบอกเล่าของคน ในท้องถิ่น จึงเป็นที่ย�ำเกรงของชาวบ้าน และ เป็นสถานทีศ่ กั ดิส์ ทิ ธิแ์ ห่งหนึง่ ทีช่ าวต�ำบลป่าตัน ให้ความเคารพนับถือตลอดระยะเวลาทีผ่ า่ นมา จนกระทั่งเมื่อ พ.ศ2496 พระครูปัญญา วุ ฒิ คุ ณ (หลวงพ่ อ ปั ญ ญา คนฺ ธิ โ ย) อดี ต เจ้าอาวาสวัดนาคตหลวง เป็นผู้น�ำพระสงฆ์ สามเณร และพุทธศาสนิกชน ขึ้นมาบูรณะ องค์พระธาตุ รวมทัง้ ได้ปรับปรุงสถานทีโ่ ดยรอบ
ให้ ส ะดวกแก่ ก ารประกอบพิ ธี บู ช าพระธาตุ แต่หลังจากการบูรณปฏิสังขรณ์ครั้งแรกแล้ว ก็ยังไม่มีพระรูปใดมาจ�ำพรรษาและก่อสร้าง สิ่งใดเพิ่มเติม มีเพียงหลวงพ่อปัญญา น�ำ ชาวบ้ า นในชุ ม ชนต� ำ บลป่ า ตั น ขึ้ น มาดู แ ล ปรับปรุงสถานที่และประกอบพิธีบูชาพระธาตุ ปีละครัง้ จนเกิดเป็นประเพณีขนึ้ ดอยพระฌาน ตลอดช่วงระยะเวลาที่ท่านมีชีวิตอยู่จนท่านได้ ละสังขารไป โดยท่านได้บอกแก่ชาวบ้านนาคตไว้ว่า “ท่านไม่ใช่เจ้าของดอยพระฌาน ท่านท�ำได้ แค่ นี้ แ ต่ ต ่ อ ไปในภายหน้ า เจ้ า ของเขาจะมา บูรณะก่อสร้างให้เจริญรุง่ เรือง” ซึง่ ค�ำบอกเล่า นีก้ เ็ ป็นทีป่ ระจักษ์แก่ชาวบ้านนาคตแล้ว เนือ่ งจาก ในปี พ.ศ.2552 พระอาจารย์พรชัย อคฺควํโส เจ้าอาวาสรูปปัจจุบนั ได้มาพ�ำนักบนดอยพระฌาน เมื่อวันที่ 5 มีนาคม พ.ศ.2552 พร้อมกับ พระภิกษุสหธรรมิกชาวบ้านนาคตคือ พระอาจารย์ ปิยพงษ์ ธมฺมวํโส
LAMPANG 161
พระอาจารย์พรชัย เล่าว่า...ก่อนที่จะรู้จัก ดอยพระฌาน ได้มนี มิ ติ บอกให้ทา่ นมาอยูท่ แี่ ห่ง หนึ่ง เป็นดอยที่มีพระธาตุองค์สีขาว อยู่ไม่ไกล จากบ้านพระอาจารย์ปยิ พงษ์ โดยในนิมติ ได้บอกว่า “ขอให้มาช่วยสร้างวัดให้หน่อย ต่อไปในภายหน้า คนจะขึ้นเยอะ ที่นี่จะพาคนไปสวรรค์ได้มาก” พระอาจารย์ปิยพงษ์จึงคาดว่า จะเป็น ดอยพระฌานที่มองเห็นได้จากหน้าบ้านท่าน ตัวท่านเคยได้ยนิ ชือ่ แต่ไม่เคยขึน้ ไป จึงได้นดั หมาย กันเดินทางขึน้ มาส�ำรวจครัง้ แรก ในปี พ.ศ.2551 พบว่า เป็นพระธาตุเก่า สีขาว ยอดพระธาตุบแุ ผ่น ทองจังโก้ มีบอ่ น�ำ้ และศาลาบ�ำเพ็ญกุศลหลังเล็ก สองหลัง สภาพป่าโดยรอบเป็นป่าผลัดใบ เป็น ภูเขาสลับซับซ้อน ณ เวลาทีไ่ ปส�ำรวจนัน้ เต็มไป ด้วยซากขีเ้ ถ้าและกองไม้ทเ่ี พิง่ ไหม้ไฟ เนือ่ งจาก การเผาป่าและต้นไม้สว่ นใหญ่กย็ งั โตไม่มากนัก เนื่องจากก่อนหน้านี้ดอยพระฌาน เคยกลาย เป็นเขาหัวโล้นจากการตัดไม้ท�ำลายจนเป็น ป่าเสื่อมโทรมมาก่อน
การบูรณปฏิสังขรณ์
ตั้งแต่ปี พ.ศ.2552 เป็นต้นมา งานบูรณะ ก่อสร้างวัดพระธาตุดอยพระฌานก็ได้เริ่มขึ้น อีกครั้ง ซึ่งบนดอยยังไม่มีแหล่งน�ำ้ และไฟฟ้า 162
ถนนขึ้นดอยก็แคบ ในสามปีแรกจึงเป็นงาน จัดหาแหล่งน�้ำ ไฟฟ้า ปรับปรุงถนน ได้สร้าง อาคารอเนกประสงค์ (ทองดี) สร้างบันไดส�ำหรับ เดินขึน้ ดอย และยังได้คน้ พบรอยพระพุทธบาท ที่ช่วงกลางทางเดินลงดอย ในปี พ.ศ. 2555 ได้เริม่ สร้างวิหารพระพุทธเจ้า องค์ปฐม โดยได้ทำ� พิธหี ล่อพระพุทธรูป สมเด็จ องค์ปฐม ขึ้นเมื่อวันอาทิตย์ที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2555 เสร็จแล้วถวายนามว่า “สมเด็จ พระพุทธสิกขีทศพลญาณ พิชติ มารวิกรม ปฐม สั ม มาสั ม โพธิ ญ าณ ศรี พ ระฌานบรรพต” และได้อญ ั เชิญขึน้ ประดิษฐานในวิหาร เมือ่ วันที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556 ซึง่ วิหารมีกำ� หนดแล้ว เสร็จ ในปีพ.ศ. 2559 ระหว่างนัน้ ยังได้สร้างศาลา เฉลิมพระเกียรติ ศาลาพระเจ้าห้าพระองค์ บูรณะซ่อมแซมพระธาตุ สร้างหอระฆัง และ ปรับภูมิทัศน์พื้นที่บนดอยให้สวยงาม ร่มรื่น เป็นต้น ปัจจุบนั ยังได้ทำ� การสร้างศาลาปฏิบตั ธิ รรม เริ่มงานสร้างอุโบสถ เจดีย์ กุฏิที่พักบนพื้นที่ เชิงดอย เป็นที่เจริญศรัทธาแก่การเดินทางมา วัดพระธาตุดอยพระฌาน
LAMPANG 163
164
ประเพณีขึ้นดอยพระฌาน
วัดพระธาตุดอยพระฌาน ได้จัดประเพณีขึ้นดอยพระฌาน ในวันขึ้น 8 ค�่ำ เดือน 7 ของทุกปี (เดือน 9 ของทางเหนือ) โดยพุทธศาสนิกชนชาวต�ำบลป่าตันและต�ำบลใกล้เคียง จะพร้อมใจ กันเดินขึ้นดอยเพื่อไปสักการะพระธาตุดอยพระฌาน ด้วยการท�ำพิธีสรงน�้ำพระธาตุ นับเป็น ประเพณีส�ำคัญที่สืบทอดมาจนถึงปัจจุบันนี้
ร่วมสร้างเส้นทางบุญ
ในปี พ.ศ. 2556 พระอาจารย์พรชัย ได้นิมิตเห็น หลวงพ่อโต (ไดบุทสึ) วัดโคโตกุอิน เมือง คามาคุระ ประเทศญี่ปุ่น ในนิมิตหลวงพ่อโตฯมาประดิษฐานอยู่บนยอดดอยพระฌาน พร้อมกับ มีเสียงกล่าวว่า “สร้างให้หน่อยอยากมาอยู่ด้วย” พระอาจารย์พรชัย จึงได้เริ่มโครงการสร้าง หลวงพ่อโต วัดพระธาตุดอยพระฌานขึ้น ซึ่งมีกำ� หนดการแล้วเสร็จภายในปี พ.ศ. 2561 ผู้มีจิตศรัทธา สามารถร่วมท�ำบุญสร้างองค์หลวงพ่อโต โดยติดต่อที่วัด พระธาตุดอยพระฌานได้โดยตรง
การเดินทาง
จากเมืองล�ำปาง มาตามทางหลวงหมายเลข 1 ช่วงกิโลเมตรที่ 696 ตรงสามแยกบ้านฟ่อน ให้เลีย้ วเข้าถนนหมายเลข 1036 ไปอ�ำเภอแม่ทะ เมือ่ เข้าสูเ่ ขตต�ำบลป่าตันแล้ว จะสามารถมองเห็นดอยพระฌานได้แต่ไกล
ANG THONG 7
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
พระมหาวิชัย อัคคเตโช เจ้าอาวาสวัดเวฬุวนาราม
วัดเวฬุวนาราม
วัดเวฬุวนาราม เลขที่ 389 ม.8 ต.แม่ทะ (ถนนล�ำปาง – เด่นชัย) อ.แม่ทะ จ.ล�ำปาง เป็นวัดทีม่ ชี อื่ เสียงโด่งดังมาหลายปีแล้ว จากการทีพ่ ระมหาวิชยั อัคคเตโช เจ้าอาวาสวัด ได้ให้ ความเมตตาอุปการะสัตว์เลีย้ งอย่างสุนขั และแมว ทีถ่ กู คนเลีย้ งผลักภาระน�ำมาทิง้ ไว้ทวี่ ดั จ�ำนวน หลายร้อยตัว ซึง่ ปัจจุบนั ทางวัดต้องแบกภาระค่าใช้จา่ ยในการดูแลวันละหลายพันบาทเลยทีเดียว 166
อานิสงส์จากการให้ทานสัตว์
การให้ทานอาหารสุนัขและแมวจรจัด ไม่เพียงแต่จะช่วย บรรเทาความหิวโหยของพวกเขาเท่านั้น แต่ผู้ที่ให้ด้วยเมตตาจิต และความกรุณา โดยไม่ได้หวังผลอะไรจากสัตว์เหล่านั้น เป็นการ ท�ำทานที่บริสุทธิ์ใจ อันจะก่อให้เกิดอานิสงส์ผลบุญอย่างมหาศาล ดังเรือ่ งราวในสมัยพระผูม้ พี ระภาคเจ้าพระนามว่า “กัสสปะ” เรือ่ ง โดยย่อมีอยู่ว่า มีพ่อค้าจากชนบทผู้หนึ่ง เดินทางรอนแรมขายผงมโนศิลา (ผงก�ำมะถันสีแดง) ตามหมู่บ้านต่าง ๆ วันหนึ่งเขาเดินขายผงมโน ศิลาตั้งแต่เช้าโดยที่ยังไม่มีอาหารตกถึงท้องเลยเขาจึงเกิดความ หิวโหยอย่างมาก เมื่อมีหญิงสาวคนหนึ่งเรียกเขาเข้าไปในบ้านเพื่อ จะซือ้ ของ พ่อค้าจึงถือโอกาสขอข้าวจากหญิงคนนัน้ ด้วยใจทีเ่ มตตา นางได้นำ� ข้าวสาลีกบั แกงเนือ้ และน�ำ้ มันเนยหอมให้เขากิน ในขณะ ที่เขาก�ำลังกินด้วยความหิวกระหายนั้น ก็มีสุนัขจรจัดหิวโซตัวหนึ่ง เดินตรงเข้ามาหาเขา เขาจึงแบ่งข้าวที่ก�ำลังกินอยู่ให้กับสุนัขกิน ด้วยความสงสาร พอกินเสร็จมันก็ท�ำท่าทางดีใจ ยืนกระดิกหาง อยู่ตรงหน้าเขา พ่อค้าเห็นสุนัขดีใจ ก็รู้สึกเบิกบานใจไปด้วย จึง ตั้งจิตอธิษฐานว่า “ด้วยบุญนี้ หากข้าพเจ้าเกิดภพใดชาติใด ขอให้ได้ข้าวสาลีอัน สะอาดอย่างดี คลุกด้วยเนื้อมีรสอร่อยและน�้ำมันเนย อีกทั้งขอจง เป็นปัจจัยให้ข้าพเจ้าได้บรรลุมรรคผลนิพพานด้วยเทอญ” ด้วยผลบุญนั้นเอง เมื่อพ่อค้าตายไป เขาได้ไปเกิดในเทวโลก เสวยทิพยสมบัติอันยิ่งใหญ่สิ้นพุทธันดรหนึ่ง ครั้นจุติจากอัตภาพ นั้นแล้วได้มาเกิดในมนุษยโลกอีก 500 ชาติ
ร่วมสร้างเส้นทางบุญ
ปัจจุบนั วัดเวฬุวนารามต้องการปัจจัยในการซือ้ อาหาร และ ยารักษาโรคแก่สุนัขและแมวในวัดอีกจ�ำนวนมาก พระมหาวิชัย อัคคเตโช จึงได้จัด “โครงการ 150 บาท... บอกต่อ” โดยเชิญ ชวนผู้มีจิตศรัทธาบริจาคเงินเดือนละ 150 บาท อย่างต่อเนื่อง เพื่อเป็นเสบียงบุญช่วยเหลือสุนัขและแมวให้มีอาหารกินและมี ยารักษาโรค หรือผูม้ จี ติ ศรัทธาท่านใดประสงค์จะบริจาคเป็นสิง่ ของ อาทิ อาหารสุนขั และแมว ยารักษาโรค และเสือ้ ผ้าเก่าส�ำหรับกันหนาว หรือปัจจัยตามจิตศรัทธา สามารถบริจาคได้ที่ บัญชี พระมหาวิชยั อัคคเตโช บริจาคช่วยเหลือสุนขั ธนาคารไทยพาณิชย์ บัญชีออมทรัพย์ เลขที่ 502-2634-398 หรือติดต่อได้ที่ พระมหาวิชัย อัคคเตโช เจ้าอาวาสวัดเวฬุวนาราม โทร. 08 1998 4518 LAMPANG 167
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดดอนไฟ พระมหาธนบุญชัย ทตฺตสิริ เจ้าอาวาสวัดดอนไฟ
ประวัติวัดดอนไฟ
วัดดอนไฟ ตั้งอยู่เลขที่ 103 บ้านดอนไฟ หมู่ที่ 7 ต.ดอนไฟ อ.แม่ทะ จ.ล�ำปาง สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ปัจจุบันมีพระมหาธนบุญชัย ทตฺตสิริ เป็นเจ้าอาวาสวัดดอนไฟ
วัดดอนไฟ เริ่มสร้างขึ้นในราว พ.ศ. 1674 จ.ศ. 493 (สคาตเมือง 493 ตัวปี) โดยมีพระสุตตะสมเป็นผู้เริ่มสร้างเป็น องค์แรกซึ่งเดิมทีนั้นย้ายมาจากวัดม่อนดอนขวาง (วัดกลางทุ่ง) มาสร้างใหม่มชี อ่ื ว่า “วัดดอนไฟ” ทีด่ นิ ตัง้ วัดมีเนือ้ ที่ 1 ไร่ 1 งาน 50 ตารางวาทีธ่ รณีสงฆ์ จำ�นวน 1 แปลง เนือ้ ที่ 3 ไร่ 3 งาน 75 ตารางวาอาคารเสนาสนะ ประกอบด้วย วิหาร ศาลาการเปรียญ และกุฏิ ปูชนียวัตถุส�ำ คัญคือ พระเจ้าทันใจ ฯลฯ และด้วยความ งามเก่าแก่ของวัดดอนไฟ ซึ่งสร้างขึ้นมาเป็นเวลาแปดร้อยกว่า ปีแล้วการปกครองนับตั้งแต่อดีตมาจนถึงปัจจุบันนี้ มีเจ้าอาวาส ดำ�รงตำ�แหน่งแล้วถึง 41 รูป
168
รอยพระพุทธบาท
ตำ�นานองค์พระพันปี พระเจ้าทันใจสามพี่น้อง วัดดอนไฟ (ฉบับย่อ)
อมตะองค์พระพุทธ สุดยอดองค์พระพันปี ของดีที่อยู่ คูเ่ มืองเขลางค์นครมาช้านานกล่าวกันว่า พระเจ้าทันใจ นัน้ หมาย ถึง ขออะไรจะต้องได้ทนั ใจ ปรารถนาสิง่ ใดๆ ก็จะได้สมใจปรารถนา แบบทันใจ และจะต้องสร้างให้เสร็จแล้ว ในวันเดียวเท่านั้น คัมภีร์ใบลานได้บันทึกไว้ว่า อดีตกาลผ่านมาประมาณราว หนึง่ พันสามร้อยปีเศษ ได้มเี ศรษฐีชาวลัว๊ ะสามพีน่ อ้ ง พากันอพยพ ครอบครัวและบริวารโยกย้ายหมู่บ้านมาจากทางเหนือ แล้วมาตั้ง ถิ่นฐานบ้านเรือนบริเวณใกล้เคียงกัน แยกออกเป็น 3 หมู่บ้านคือ 1.หมูบ่ า้ นปงม่อนจ๋อมแจ้ง 2.หมูบ่ า้ นม่อนดอนกลาง และ 3.หมูบ่ า้ น ม่อนดอนเปียง ตามลำ�ดับ ยุคสมัยนัน้ ยังมีฤาษีสองพีน่ อ้ งได้บ�ำ เพ็ญ พรตอยูบ่ นภูเขาใกล้ๆกับหมูบ่ า้ น (ปัจจุบนั เรียกว่าดอยกิว่ พระฤาษี) วันหนึ่งได้พากันออกแสวงหาภักษาหารบริเวณหมู่บ้านของเศรษฐี
ทั้งสามคน เศรษฐีทั้งสามท่านครั้นทราบข่าวเช่นนั้นยินดียิ่งนัก จึง พากันจัดแจงแต่งอาหารหวานคาว น้อมถวายแด่ฤาษีสองพีน่ อ้ งด้วย ความศรัทธายินดียงิ่ ด้วยความศรัทธาในองค์ฤาษีสองพีน่ อ้ งเป็นเหตุ ต่อมาเศรษฐีทั้งสามได้ปรึกษาหารือกัน และได้ตกลงกันว่าสมควร แล้วที่เราทั้งหลายจะสร้างพระพุทธรูปขึ้น เพื่อถวายเป็นพุทธบูชา ไว้ในบวรพระพุทธศาสนา และเพื่อเป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจ แต่ก็จน ปัญญาเพราะไม่รู้ว่าจะเสาะแสวงหานายช่างหล่อพระพุทธรูปได้ อย่างไรวันหนึ่งนายพรานต่างถิ่นผู้คุ้นเคยอัธยาศัยไมตรีของเศรษฐี ทั้งสามท่านผ่านมาในหมู่บ้าน จึงได้เรียกนายพรานป่ามาปรึกษาให้ ไปตามหานายช่างทองมาทำ�การหล่อพระพุทธรูป ครั้นทราบความ ประสงค์ของเศรษฐีทั้งสามแล้ว ได้แจ้งแก่เศรษฐีว่าทางหัวเมืองใต้ นามว่าพิจิกคต (ปัจจุบันคือเมืองพิจิตร) มีนายช่างหล่อพระพุทธรูป ขึ้นชื่อนัก พร้อมอาสาเดินทางไปเชิญนายช่างหล่อพระพุทธรูปตาม ความประสงค์ของเศรษฐีทั้งสาม เมื่อนายช่างหล่อพระพุทธรูปจาก เมืองพิจิกคตเดินทางมาถึง ตรงกันวันจันทร์ขึ้น 1 ค่ำ� เดือน 8 ตาม ปฏิทนิ ของชาวเหนือ ในราวประมาณพุทธศักราช 1,500 ต่อมานาย ช่างหล่อพระพุทธรูปได้ขึ้นรูปปั้นเบ้าแบบพิมพ์พระพุทธรูป 3 องค์ ดังนี้ องค์ท่ี 1 (เศรษฐีบา้ นม่อนจ่อมแจ้งเป็นผูส้ ร้าง)องค์ท่ี 2 (เศรษฐี บ้านม่อนดอนกลางเป็นผูส้ ร้าง) องค์ ที่ 3 (เศรษฐีบา้ นม่อนดอนเปียง เป็นผูส้ ร้าง)นอกจากนัน้ นายช่างยังหล่อรูปพญาคางคก สูง 5 นิว้ ครึง่ กว้าง 5 นิ้ว ยาว 8 นิ้ว เพื่อเป็นบริวารติดตามด้วย ครั้นนายช่าง ได้ขนึ้ รูปปัน้ เบ้าแบบพิมพ์เสร็จแล้ว ก็ท�ำ การหล่อพระพุทธรูป ซึง่ ตรง กับวันพฤหัสบดีขน้ึ 4 ค่�ำ เดือน 8 ตามปฏิทนิ ของชาวเหนือ ปรากฏ ว่าพระพุทธรูปงดงามตามพุทธลักษณะทุกประการ แต่สว่ นพระโมลี ขาดหายไป เพราะทองที่เศรษฐีทั้งสามจัดเตรียมไว้ก็มีไม่เพียงพอ ประกอบกับจะต้องสร้างให้ส�ำ เร็จภายในวันเดียวเท่านัน้ จำ�ต้องส่ง บริวารออกป่าวประกาศตามหมู่บ้านน้อยใหญ่ใกล้เคียงในที่สุดก็หา ทองมาไม่ได้ มีหญิงแม่ม่ายคนหนึ่งนามว่าย่าเท็ก เป็นคนจน อาศัย เก็บฟืนในป่าขายประทัง้ ชีวติ อาศัยอยูบ่ ริเวณตำ�บลหัวเสือ เมือ่ นาง ได้ทราบข่าวจากการป่าวประกาศก็ปีติยินดียิ่งนัก ปรารถนาจะร่วม ทำ�บุญร่วมกับเศรษฐีทั้งสาม แต่ก็จนใจเพราะลำ�พังการเป็นอยู่ก็ อัตคัดขัดสนยิ่งนัก จึงตั้งจิตอธิษฐานขออำ�นาจสิ่งศักดิ์สิทธิ์ให้ช่วย เหลือเกื้อกูล ปาฏิหาริย์เกิดขึ้นทันใจ ดังคำ�ขอ องค์พระอินทร์ทรง ประทานทองอันเป็นทิพย์มาให้นาง ดังปรารถนา ครั้นหญิงแม่ม่าย ได้รบั ทองทิพย์จากพระอินทร์แล้วได้น�ำ ไปมอบให้เศรษฐีทงั้ สาม เพือ่ ทำ�การหล่อพระโมลี จนสำ�เร็จตามความประสงค์ของเศรษฐีทงั้ สาม กล่าวกันว่า เมือ่ แกะเบ้าพิมพ์ออกมาพระโมลีของพระพุทธรูปแต่ละ องค์ คดงอไปคนละทิศคนละทาง ครั้นหล่อพระพุทธรูปสำ�เร็จเสร็จ สิน้ แล้ว เศรษฐีทง้ั สามได้จดั งามเฉลิมฉลองอย่างยิง่ ใหญ่ 7 วัน 7 คืน
คราวนัน้ พระอรหันต์นามว่าพระโสณเถระและพระอุตตรเถระ ได้ อัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุมาจากเมืองกุสินารา มามอบให้แก่ เศรษฐีทงั้ สามเพือ่ บันจุในองค์พระพุทธรูปเจ้าทัง้ สามพระองค์ดว้ ย นับตั้งแต่นั้นมา ผู้คนที่เคารพกราบไหว้ศรัทธาในองค์ พระพุทธรูป ต่างก็ไปกราบไหว้ ขออะไรก็ได้แบบทันใจ จึงได้เรียก กันว่า พระเจ้าตันใจ (พระเจ้าทันใจ) สืบกันมา พร้อมแนะนำ�ให้ เศรษฐีทั้งสามสร้างวิหารเพื่อประดิษฐานพระเจ้าทันใจ สำ�หรับ เป็นบุณยสถานเพื่อสักการะกราบกรานของผู้คนสืบไป ปาฏิหาริย์ขององค์พระพันปี เกิดขึ้นแล้วหลายครั้ง ในกาลสมัยนั้น คราวใดบ้านเมืองแห้งแล้งฟ้าฝนไม่ตกต้องตาม ฤดูกาล เจ้าหลวงนครลำ�ปาง ก็จะใช้ให้บริวารมาหามเอาพระพุทธ รูปเจ้าทันใจทั้งสามองค์ ไปในเมืองโดยไม่ได้ทูลอาราธนาอัญเชิญ แต่อย่างใด และบ่อยครั้งเข้า พระพุทธรูปเจ้าทันใจองค์พี่ใหญ่จึง แสดงปาฏิหาริยใ์ ห้ราวกับว่ามีรอยช้างมาเหยียบแบนทัง้ องค์ หลัง จากนั้นมาอีกหลายปีเกิดสงครามพม่า ผู้คนชาวบ้านพากันหลบ ซ่อนตัวหนีภัยสงครามออกไปอยู่ตามป่าตามเขาหมดมีพลเมืองดี ห่วงใยโบราณวัตถุ เกรงว่าจะถูกทำ�ลายและสูญหายได้ จึงช่วยกัน นำ�เอาพระพุทธรูปเจ้าทันใจทั้งสามพระองค์ และของโบราณอีก หลายชนิดนำ�ไปเก็บรักษาไว้ในถ้�ำ ย่าเท็ก ทีต่ �ำ บลหัวเสือในปัจจุบนั ชาวบ้านเล่าลือกันว่า หากปีใดฝนไม่ตกต้องตามฤดูกาล หากมีการ อัญเชิญพระพุทธรูปสององค์ ออกมาแห่ขอฝนๆ จะตกต้องตาม ฤดูกาลเสมอไปจนกลายมาเป็นประเพณีสบื มาถึงปัจจุบนั ยุคสมัย ต่อมาท่านครูบาวงศ์เห็นว่าโจรผูร้ า้ ยชุกชุมอาจเป็นภัยต่อพระพุทธ รูปเจ้าทันใจทั้งสามพระองค์ ได้ จึงได้อัญเชิญนำ�มาประดิษฐาน ไว้ที่วัดดอนไฟ พร้อมพอกปูนรอบองค์เพื่อไม่ให้ใครทราบว่าเป็น ทองทิพย์ และก็มีการเก็บรักษาสืบทอดกันมาจากอดีตถึงปัจจุบัน นี้โดยมีอดีตเจ้าอาวาสตามที่บันทึกไว้ ณ พุทธศักราช 2559 มี จำ�นวนถึง 41 สิบรูปที่ได้ช่วยกันดูแลรักษาสืบต่อกันมา จากนั้น จึงได้ดำ�เนินการสร้างหอมณฑปสำ�หรับประดิษฐานพระพุทธรูป เจ้าทันใจทั้งสามพระองค์ ในต้นปี พ.ศ. 2559 ท่านผู้ว่าราชการ จังหวัดลำ�ปาง และนายอำ�เภอแม่ทะ พร้อมคณะได้ร่วมกันจัด ผ้าป่าสามัคคีขึ้น เพื่อจัดหาทุนบูรณะพระพุทธรูปเจ้าทันใจองค์ ที่ชำ�รุดขึ้น เมื่อบูรณะเสร็จแล้ว และได้ประกอบพิธีสมโภชน์อีก ครั้ง ในวันที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ.2559 เพื่อให้ผู้มีจิตศรัทธาได้ มากราบสักการะต่อไป. ณ ปัจจุบนั นีไ้ ด้มผี มู้ จี ติ ศรัทธา ทัง้ ทีเ่ ป็นข้าราชการ ชัน้ เจ้า นายผูใ้ หญ่ นักร้อง นักแสดง ผูม้ ชี อ่ื เสียงทางสังคม พ่อค้า ประชาชน ต่างมากราบขอพร มาบนบานสารกล่าวกันมากมายไม่เว้นแต่ละวัน ต่างก็จะพูดเป็นเสียงเดียวกันว่า ทันใจ สมคำ�ล่�ำ ลือ.ขอเชิญไปกราบ นมัสการสักการะบูชาได้ทกุ วัน ตัง้ แต่เวลา 08.00 น. ถึง 17.00 น. โทร.ติดต่อ 085-261-9681 , 054-828-604
อุโบสถวัดกลางดอนไฟ (วัดพระเจ้าทันใจ) LAMPANG 169
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
สามเณรนักเรียนโรงเรียนแม่ทะปริยัติศึกษา
พระประธานวิหารโบราณ
พระครูปริยัติสุนทร เจ้าอาวาสวัดสันฐาน
วัดสันฐาน
“ไหว้พระวัดสันฐาน ฐานะหลักฐานมั่นคง ” วัดสันฐานตั้งอยู่เลขที่1บ้านดอกสะบันงา หมู่ที่ 8 ต�ำบลป่าตัน อ�ำเภอแม่ทะ จังหวัดล�ำปาง ก่อ ตั้งเมื่อประมาณปี พ.ศ.2460 จะมีอายุครบ 100 ปี ในปี 2560 ปัจจุบันมีพระครู ปริยัติสุนทร รองเจ้าคณะอ�ำเภอแม่ทะ เป็นเจ้าอาวาส 170
วิหารโบราณที่กำ�ลังบูรณะ
นักเรียนโรงเรียนผดุงรัตน์วัดสันฐาน
อาคารโรงเรียนแม่ทะปริยัติศึกษา
ความส�ำคัญของวัดสันฐาน
1. เป็นที่ตั้งของส�ำนักปฏิบัติธรรมประจ�ำจังหวัดล�ำปาง แห่งที่ 9 2. เป็นทีต่ งั้ ของโรงเรียนแม่ทะปริยตั ศิ กึ ษา(ปริยตั ธิ รรม แผนกสามัญ ศึกษา) โรงเรียนในโครงการตามพระราชด�ำริสมเด็จพระเทพรัตน ราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี(ม.1-ม.6) 3. เป็นที่ตั้งของโรงเรียนผดุงรัตน์วัดสันฐาน (โรงเรียนการกุศล ของวัดในพระพุทธศาสนา) ส�ำนักงานการศึกษาเอกชน (เด็กเล็กอนุบาล-ประถมศึกษา) 4. เป็นทีต่ งั้ สถานีวทิ ยุการกระจายเสียงวัดสันฐาน (ประเภทชุมชน) คลื่น 88.25 MHz
พระมหาธาตุ และพระธาตุ 12 ราศีกำ�ลังก่อสร้าง
ร่วมสร้างเส้นทางบุญ
“วัดสันฐานสร้างคน ให้เป็นที่พึ่งของคนและสัตว์” ขอเชิญสาธุชนร่วมท�ำบุญโดยการเช่าบูชาพระผงครูบาขาล อภิชโย อดีตเจ้าอาวาสวัดสันฐาน องค์ละ 199 บาท เพื่อสมทบทุนสร้าง พระธาตุเจดีย์พระธาตุ 12 ราศี และสมทบทุนบูรณะวิหารโบราณ ทุนการศึกษาพระภิกษุสามเณรและเด็กในโรงเรียนของวัดสันฐาน (โรงเรียนผดุงรัตน์วัดสันฐาน, แม่ทะปริยัติศึกษา) ติดต่อได้ที่ พระครูเกษมธุราทร โทร 081-7465767
โรงเรียนผดุงรัตน์วัดสันฐาน
LAMPANG 171
เส้เทศบาลตำ นทางพบ �บล
นายผจญ ธิลือชัย
นายกเทศมนตรีตำ� บลพระบาทวังตวง
เทศบาลตำ�บลพระบาทวังตวง เทศบาลตำ�บลพระบาทวั ง ตวง ตั ้ ง อยู ่ เ ลขที ่ 65 หมู่ที่ 5 ถนนพหลโยธิน ตำ�บลพระบาทวังตวง อำ�เภอแม่พริก จังหวัดลำ�ปาง โดยตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกห่างจากอำ�เภอแม่พริก ประมาณ 1 กิโลเมตร และตั้งอยู่ทางทิศใต้ของจังหวัดลำ�ปาง อยู่ห่างจากศูนย์ราชการจังหวัดลำ�ปาง ประมาณ 125 กิโลเมตร ปัจจุบนั มี นายผจญ ธิลอื ชัย เป็นนายกเทศมนตรีตำ�บล พระบาทวังตวง และมีว่าที่ร้อยตรีกิตติ เรืองฤทธิ์ เป็นปลัด เทศบาลตำ�บลพระบาทวังตวง
172
ข้อมูลทั่วไป
เทศบาลตำ�บลพระบาทวั ง ตวง มี พ ื ้ น ที ่ ร ั บ ผิ ด ชอบ 141.20 ตารางกิโลเมตร หรือ 88,250 ไร่ มีสภาพพื้นที่เป็นภูเขา และที่ราบลุ่มแม่น้ำ�วัง เขตการปกครอง มี ห มู ่ บ ้ า นในเขตพื ้ น ที ่ ร ั บ ผิ ด ชอบ จำ�นวน 8 หมู่บ้าน ประกอบด้วย หมู่ที่ 1 บ้านเกาะหัวช้าง หมู่ที่ 2 บ้านท่าชุม หมู่ที่ 3 บ้านแม่ตั๋ง หมู่ที่ 4 บ้านแม่เชียงรายบน หมู่ที่ 5 บ้านพระบาท หมู่ที่ 6 บ้านน้ำ�ลัด หมู่ที่ 7 บ้านดอยคำ� หมู่ที่ 8 บ้านแม่เชียงรายบน ประชากร มีประชากรรวมทั้งสิ้น 3,868 คน เป็นชาย 1,910 คน เป็นหญิง 1,958 คน จำ�นวนครัวเรือน 1,188 หลังคา (ข้อมูล ณ เดือน เมษายน 2559) สภาพเศรษฐกิจ ประชากรส่วนใหญ่ประมาณ 80% ประกอบอาชีพเกษตรกรรม เช่น การทำ�นา ทำ�สวน ทำ�ไร่ และ ประมาณ 20% ประกอบอาชีพรับจ้าง ค้าขาย และอื่น ๆ
สภาพทางสังคม
การศึกษา มีโรงเรียนประถมศึกษา 2 แห่ง โรงเรียน มัธยมศึกษา 2 แห่ง ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 2 แห่ง และที่อ่าน หนังสือพิมพ์ประจำ�หมู่บ้าน 8 แห่ง สถาบันและองค์กรทางศาสนา มีวัด 4 แห่ง สำ�นักสงฆ์ 1 แห่ง ได้แก่ วัดเกาะหัวช้าง หมู่ที่ 1 วัดแม่ตั๋ง หมู่ที่ 3 วัดแม่ เชียงรายบน หมูท่ ี่ 4 วัดพระพุทธบาทวังตวง หมูท่ ี่ 5 และสำ�นักสงฆ์ ถ้ำ�น้ำ�ผ่าผางาม หมู่ที่ 2
ขนบธรรมเนียมประเพณี และพิธีกรรม
ส่วนใหญ่จะมีความคล้ายคลึงกันทั้งหมด เช่น งานบวช งานแต่งงาน งานศพ งานทำ�บุญขึ้นบ้านใหม่ เป็นต้น ส่วนงาน ประเพณีทสี่ ำ�คัญ ๆ ได้แก่ งานประเพณีสงกรานต์ ประเพณีท�ำ บุญ เข้าพรรษา ออกพรรษา ประเพณีลอยกระทง ประเพณีท�ำ บุญสลาก ภัตร ประเพณีสรงน้�ำ รอยพระพุทธบาทวังตวง ประเพณีสืบชะตา ต่าง ๆ เป็นต้น
สถานที่ท่องเที่ยวสำ�คัญ
ตำ�บลพระบาทวังตวงมีสถานที่ท่องเที่ยวที่ส�ำ คัญ ได้แก่ 1. น้ำ�ตกแม่ตั๋ง หมู่ที่ 3 บ้านแม่ตั๋ง 2. ถ้ำ�น้ำ�ผ่าผางาม หมู่ที่ 2 บ้านท่าชุม 3. วัดพระพุทธบาทวังตวง หมู่ที่ 5 บ้านพระบาท 4. อ่างเก็บน้ำ�บ้านแม่เชียงรายบน หมู่ที่ 8 บ้านแม่ เชียงรายบน 5. หมู่บ้านท่องเที่ยว OTOP หมู่ที่ 1 บ้านเกาะหัวช้าง
lampang 173
เส้นทางพบ
องค์การบริหารส่วนตำ�บล
นายถนอมชัย ทิชัย
นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลแม่พริก
องค์การบริหารส่วนตำ�บลแม่พริก ประชาชนอยู่ดี กินดี มีความสุข ยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง คือวิสยั ทัศน์การพัฒนาท้องถิน่ ขององค์การบริหารส่วน ตำ�บลแม่พริกเลขที่ 422/1 หมู่ 1 ต.แม่พริก อ.แม่พริก จ.ลำ�ปาง ปัจจุบันมี นายถนอมชัย ทิชัย เป็น นายกองค์การบริหารส่วน ตำ�บลแม่พริก ติดต่อสอบถามข้อมูลเพิม่ เิม โทรศัพท์ 054-299-682 เบอร์นายก 061-2676665 www.maephrik.net e-mail :maepriksao@hotmail.com
ประวัติความเป็นมาตำ�บลแม่พริก
ตามตำ�นานเล่าว่า สมัยพระพุทธเจ้าเสวยพระชาติโค อยู่นั้น ได้พ�ำ นักอยู่ที่ม่อนงัวนอน(วัดดอยป่าตาล อำ�เภอเถิน อยู่ ห่างจากอำ�เภอแม่พริก 26 กิโลเมตรเมือ่ ได้ตรัสรูเ้ ป็นอนุตรสัมมา สัมพุทธเจ้าในชาติปางหลัง ทรงรำ�ลึกชาติได้จงึ พาสาวก 500 รูป รวมทัง้ พระอานนท์ เสด็จไปโปรดเวไนยสัตว์จนมาถึงม่อนงัวนอน 174
(วัดดอยป่าตาล) แล้วพระราชทานเกศาไว้ 3 เส้น บรรจุที่พระธาตุ วัดอุ้มลองเส้นหนึ่ง พระธาตุวัดเวียงเส้นหนึ่ง และพระธาตุวัดดอย ป่าตาลเส้นหนึ่ง และได้เสด็จสู่ดอยที่เคยพักในสมัยเสวยพระชาติ เป็นโค (ดอยพระพุทธบาทวังตวง) จากนั้นเสด็จข้ามแม่น�้ำ วังที่ท่า ด่านถึงบริเวณป่าแดงที่มีบ้านของชาวลัวะๆ จึงขอเกศาธาตุจาก พระพุทธองค์ แต่พระองค์ทรงเกรงว่าจะรักษาไว้ไม่ได้ จึงประทับ รอยพระพุทธบาทไว้บนเนินหิน 2 รอย (ไปและกลับ) จากนั้นได้พา สาวกเสด็จกลับ (ซึ่งในภาษาคำ�เมืองคือ “ปิ๊ก” ตรงกับภาษากลาง คือ “พลิก” แปลว่า “กลับ”) เข้าสูเ่ มืองหริภญ ุ ชัย (ลำ�พูน) ซึง่ สถานที่ ที่ทรงประทับรอยพระพุทธบาทนั้นใกล้กับต้นน้�ำ ลำ�ห้วยสายหนึ่ง ต่อมาจึงเรียกชื่อห้วยนั้นว่า “ห้วยแม่ปิ๊ก” ต่อมาเพี้ยนเป็น “ห้วยแม่พริก”
ข้อมูลทั่วไป
องค์การบริหารส่วนตำ�บลแม่พริก ได้รบั การยกฐานะจาก สภาตำ�บลแม่พริก เมือ่ วันที่ 23 เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2540มีเนือ้ ที่ จำ�นวน 469 ตารางกิโลเมตรรับผิดชอบพืน้ ที่ 2 ตำ�บล ได้แก่ ตำ�บล แม่พริก 387 ตารางกิโลเมตร และตำ�บลผาปัง 82 ตารางกิโลเมตร มีหมู่บ้านรับผิดชอบจำ�นวน 13 หมู่บ้าน มีประชากรทั้งสิ้น 5,780 คน แยกเป็นชาย 2,888 คน หญิง 2,892 คน จำ�นวนครัวเรือน 1,850 ครัวเรือน
คำ�ขวัญ
อบต.แม่พริก – ผาปังรวมใจตามรายวิถีพอเพียงเคียงคู่สองตำ�บล ...หนึง่ นัน้ คนตำ�บลแม่พริก...ดินแดนแห่งชนรักษ์ปา่ เด่นสง่าอ่างผาวิ่งชู้อยู่คู่รอยพระบาทเก่าแก่อึ่งแย้เห็ดโคนรสเลิศ ล้วน นา นา ...สองนั้นไซร้ ใช่น้อยหน้างามสง่าสิบสองเจดีย์ศรีผาปังมุ่งหวังวิสาหกิจชุมชนเพื่อมวลชนคนตำ�บลผาปัง...
แหล่งเรียนรู้-สถานที่สำ�คัญ
ป่าชุมชนบ้านแม่เชียงรายลุ่ม บ้านแม่เชียงรายลุ่ม เป็นพื้นที่อุดมสมบูรณ์ไปด้วยป่าไม้ และสัตว์นานาชนิด มีหนองน้ำ�ที่สำ�คัญ 4 แห่ง ประกอบด้วย หนองกระทุ่มโป่ง หนองน้อย หนองต๊ะใจ หนองจิก ทำ�ให้บริเวณ นี้เป็นแหล่งหากินของผู้คนและตั้งถิ่นฐานในที่สุด และได้มีการกัน เขตป่าชุมชนเพื่อใช้เป็นแหล่งอาหารของหมู่บ้านโดยมีการตั้งคณะ กรรมการป่าชุมชน นายเท็น แก้วแสนตอ เป็นประธานป่าชุมชน โดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดำ�รัสพระบาท สมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ห ัวฯ ปลูก ป่า 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่ า ง เพื่อรักษาระบบนิเวศน์ของป่าไม้เพื่อให้ชุมชนได้ใช้ประโยชน์อย่าง คุม้ ค่า และเกิดประโยชน์สงู สุด ทำ�ให้เป็นแหล่งอาหารทีส่ �ำ คัญของ หมู่บ้าน ได้แก่ ผักหวาน เห็ดต่างๆ อึ่ง แย้ ไข่มดแดง ไก่ป่า ฯลฯ ซึ่งมีพื้นที่ประมาณ 24,000 ไร่ แบ่งเป็นป่าใช้สอย 500 ไร่ เขต อนุรักษ์พันธุ์อึ่ง 50 ไร่ โดยมีกิจกรรมดังนี้ คือ กิจกรรมอยู่เวรยาม เฝ้าระวังไฟป่า เริ่มวันที่ 1 มกราคม ของทุกปี, เฝ้าระวังบุคคล ภายนอกเข้ามาหาของป่า เริ่ม 1 กันยายน ของทุกปี, ก่อสร้าง ฝายชะลอน้ำ�ในลำ�ห้วยต่างๆทำ�แนวกันไฟป่า, กิจกรรมปลูกป่า บวชป่า สืบชะตาป่า, ปลูกจิตสำ�นึกรักษ์ป่าชุมชน และจัดทำ�เส้น ทางศึกษาธรรมชาติ อ่างเก็บน้ำ�แม่พริก(ผาวิ่งชู้) ก่ อ สร้ า งโดยกรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ ตั้งอยู่ประมาณเส้นรุ้งที่ 17 ํ 29’ 57” N เส้นแวงที่ 9 ํ 0’ 30”E (47Q NV 077-346 ระวาง 4843 IV) โดยก่อสร้าง ทำ�นบดินปิดลำ�ห้วยแม่พริก บริเวณช่องเขาระหว่างหัวภูหนอง ม่วง เขตอนุรักษ์แม่พริก บริเวณบ้านสันขี้เหล็ก หมู่ที่ 10 ตำ�บล แม่พริก อำ�เภอแม่พริก สร้างเสร็จเมื่อ ปี 2554 ความจุของอ่าง 36,480,000 ลบ.ม. เป็ น อ่ า งเก็ บ น้ำ � ขนาดกลาง(โครงการอั น เนื่ อ งมาจาก พระราชดำ�ริ) ที่มีปริมาณน้ำ�ต้นทุนมาก ซึ่งสามารถแก้ไขปัญหา ขาดแคลนน้ำ� โดยเฉพาะชุมชนที่อยู่ห่างไกลจากแหล่งน้ำ� และมี ศักยภาพที่จะพัฒนาระบบชลประทานโดยการก่อสร้างคลองส่งน้ำ� พร้อมอาคารประกอบให้สามารถส่งน้ำ�เข้าสู่แปลงเพาะปลูกของ ราษฎรได้เต็มศักยภาพของพื้นที่ชลประทาน 18,000 ไร่ ในฤดูฝน และ 4,000 ไร่ ในฤดูแล้ง และมีถนนบนคันคลองชลประทาน ใช้เป็นเส้นทางสัญจรขนย้ายพืชผลทางการเกษตรออกสู่ตลาดได้ สะดวกครอบคลุมพื้นที่ 5 หมู่บ้าน 1,011 ครัวเรือน เกษตรกร
สามารถลดต้นทุนการผลิตด้านการใช้น้ำ�และสามารถตอบสนอง ความต้องการใช้น�้ำ ของพืช เกษตรกรสามารถวางแผนและเพาะ ปลูกให้ได้ผลผลิตเพิม่ ขึน้ ทัง้ คุณภาพและปริมาณ เป็นผลให้มรี ายได้ เพิ่มขึ้นทำ�ให้คุณภาพชีวิตดีขึ้น ยังสามารถป้องกันและบรรเทา อุทกภัยในเขตชุมชนและพื้นที่การเกษตรด้านท้ายน้ำ�ให้มีความ ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน และสามารถเพิ่มการจ้างงานใน ท้องถิ่น มีการกระจายรายได้ลงสู่ชุมชน ลดการอพยพไปหางาน ทำ�ต่างถิ่น ราษฎรมีทางเลือกในการประกอบอาชีพมากขึ้น และ ยังเป็นสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ เหมาะแก่การตกปลา ล่องแพ ซึง่ อยูท่ า่ มกลางหุบเขาจะเห็นวิวทิวทัศน์ของแนวสันเขาทีท่ อดยาว อย่างสวยงาม
วิสาหกิจชุมชนตำ�บลผาปัง
ตำ�บลผาปังเป็นตำ�บลขนาดเล็กและมีประชากรน้อยไม่ สามารถจัดตัง้ เป็นองค์การบริหารส่วนตำ�บลผาปังได้ จึงมีการยุบ รวมกับองค์การบริหารส่วนตำ�บลแม่พริก ด้วยเหตุนี้เองจึงเป็น จุดเริ่มต้นกระบวนการมีส่วนร่วมของ กำ�นัน/ผู้ใหญ่บ้าน/ครู/ อาจารย์/พระสงฆ์/เด็กและเยาวชนตำ�บลผาปัง(บ.ว.ร.ส.) ทีร่ วมตัว กันจัดตัง้ วิสาหกิจชุมชนตำ�บลผาปังขึน้ เพือ่ สร้างเศรษฐกิจชุมชน ที่ยืนด้วยลำ�แข้งของตนเอง เป็นชุมชนที่สามารถพึ่งพาตนเอง ตามแนวพระราชดำ�ริปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยมีกิจกรรม กลุ่มต่างๆ ดังนี้ คือวิสาหกิจผลิตปุ๋ยชีวภาพ(ไผ่) วิสาหกิจอัดฟาง ก้อน วิสาหกิจถ่านอัดแท่ง วิสาหกิจผลิตถ่านไผ่ประสิทธิภาพสูง วิสาหกิจแปรรูปเยือ่ ไผ่ วิสาหกิจครัวพลังงานชุมชน วิสาหกิจผลิต ข้าวกล้อง วิสาหกิจผักปลอดสารพิษ วิสาหกิจกล้วยอบพลังงาน สะอาด วิสาหกิจปลูกสมุนไพรพืน้ บ้าน วิสาหกิจชุมชนเวชสำ�อาง ซึ่งเป็นการสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน สร้างรายได้ให้กับ ชุมชน ปัจจุบันเป็นต้นแบบแหล่งเรียนรู้ให้กับชุมชนที่สนใจโดย มีส�ำ นักงานตั้งอยู่ที่2/1 วัดผาปังกลาง(บริเวณดอยพระบรมธาตุ เจดีย์หลวง 12 นักษัตร) บ้านผาปังกลาง หมู่ที่ 3 ตำ�บลผาปัง อำ�เภอแม่พริก จังหวัดลำ�ปาง lampang 175
เส้นทางพบ
องค์การบริหารส่วนตำ�บล
ข้อมูลทั่วไป
ตำ�บลร่องเคาะมีพื้นที่ประมาณ 246.17 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 153,823 ไร่ สภาพพื้นที่ทั่วไปเป็นที่ราบระหว่าง หุบเขา มีภเู ขาล้อมรอบ มีแม่น้ำ�วังเป็นแม่น้ำ�สายหลักไหลผ่านตำ�บล และมีพื้นที่ป่าขนานเป็นแนวยาว ทั้งเป็นพื้นที่ป่าชุมชน พื้นที่ป่าใน เขตป่าสงวนแห่งชาติ และพืน้ ทีป่ า่ ในเขตอุทยานแห่งชาติดอยขุนวัง และอุทยานแห่งชาติแจ้ซอ้ น โดยในช่วงเดือนธันวาคม-มกราคมของ ทุกปี จะมีอากาศหนาวเย็น เหมาะแก่การท่องเทีย่ ว ตำ�บลร่องเคาะ แบ่งการปกครองเป็น 17 หมูบ่ า้ น มีครัวเรือนจำ�นวน 3,369 หลังคา มีประชากรรวมทั้งสิ้น 10,164 คน แบ่งเป็น ชาย 5,135 คน หญิง 5,029 คน
สถานที่ท่องเที่ยวสำ�คัญ
นายชัยรัตน์ ทองใบ
องค์การบริหารส่วนต�ำบลร่องเคาะ
องค์การบริหารส่วนตำ�บลร่องเคาะ พระธาตุจอมแจ้งเป็นศรี ประเพณีรอยพระบาท ภาพวาดในวิหาร ถ้�ำ ธารน้ำ�ไหล พ่อเมืองใจ๋หนุนค้ำ� งามล้ำ�ผ้าปักด้วยมือ นามนี้คือ ตำ�บลร่องเคาะ คือคำ�ขวัญตำ�บลร่องเคาะ ซึ่งอยู่ในความดูแลของ องค์การบริหารส่วนตำ�บลร่องเคาะ อำ�เภอวังเหนือ จังหวัดลำ�ปาง โดยอยู่ห่างจากที่ว่าการอำ�เภอวังเหนือประมาณ 18 กิโลเมตร ปัจจุบันมี นายชัยรัตน์ ทองใบ เป็นนายกองค์การบริหารส่วน ตำ�บลร่องเคาะ
วิสัยทัศน์การพัฒนา
“ดีพร้อมโครงสร้างพืน้ ฐาน บริหารตามหลักธรรมาภิบาล การศึกษาก้าวไกล ใส่ใจสิง่ แวดล้อมให้นา่ อยู่ เคียงคูพ่ ฒ ั นาคุณภาพชีวติ ภายใต้เศรษฐกิจพอกินและยั่งยืน”
176
วัดสบลืน ถือว่าเป็นวัดและโบราณสถานที่เก่าแก่อีกแห่ง หนึ่งของจังหวัดลำ�ปาง ปัจจุบันพบว่ามีโบราณสถานและร่องรอย ของอารยธรรมของพระพุทธศาสนา และการดำ�รงชีพของประชาชน ในอดีตจำ�นวนหลายแห่ง ตลอดจนร่องรอยสำ�คัญ ๆ ทางพระพุทธ ศาสนา ซึง่ ปรากฏหลักฐานและสันนิษฐานว่า สร้างมาในสมัย 500 กว่าปี เนื่องจากมีประชาชนได้ขุดพบวัตถุโบราณหลายอย่าง เช่น เครื่องลายคราม เครื่องราง เครื่องมือของมนุษย์โบราณ ตลอดจน เตาเผาเครื่องปั้นดินเผาของคนในสมัยโบราณ ซึ่งปัจจุบันทางวัดได้ เก็บสิ่งของมีค่าเหล่านี้ไว้ และสร้างเป็นพิพิธภัณฑ์เก็บรักษาไว้เพื่อ เป็นแหล่งศึกษาและบูชาของประชาชนทั่วไป นอกจากนี้ บนดอยพระบาทเหนือวัดขึ้นไปอีกประมาณ 500 เมตร ซึ่งตั้งอยู่เหนือระดับน้ำ�ทะเลปานกลาง 1,200 เมตร ยังค้นพบรอยพระพุทธบาทขององค์สัมมาสัมพุทธเจ้า 2 แห่ง คือ รอยพระบาทขนาดใหญ่ มีขนาดกว้าง 1 เมตร ยาว 2 เมตร ประดิษฐานอยู่บนชะโงกหินสีชมพู ส่วนนิ้วพระบาทชำ�รุดหมดแล้ว ส่วนรอยพระบาทเล็ก มี 2 รอย คือรอยซ้ายและขวาบนชะโงก หินสีชมพูสูงจากพื้นดิน 1 เมตร ขนาดกว้าง 3 นิ้ว ยาว 5 นิ้ว หรือรอยเท้าเด็ก อายุ 7-8 ขวบ บริเวณโดยรอบมีแหล่งท่องเที่ยว ธรรมชาติของผืนป่าอนุรักษ์กว่าหมื่นไร่ และยังมีหน้าผาที่สวยงาม สามารถมองเห็นอำ�เภอแจ้ห่มและอำ�เภอวังเหนือ โดยในช่วงฤดู หนาวจะปกคลุมด้วยทะเลหมอกที่สวยงาม
วัฒนธรรม-งานประเพณีน่าเที่ยว วัดพระธาตุม่อนจอม ตั้งอยู่บนถนนสายลำ�ปาง-แจ้ห่มวังเหนือ ก.ม.ที่ 90 (ก่อนถึงอำ�เภอวังเหนือ 18 กม.) เป็นวัดที่ มีพระธาตุบรรจุพระบรมสารีริกธาตุอยู่บนส่วนยอดของพระธาตุ (เจดีย์) เหตุที่เรียกว่า “ม่อน” ซึ่งเป็นภาษาของคนเหนือหมายถึง ดอยเล็ก ๆ (ไม่ถึงขนาดเป็นภูเขา) ที่มีชื่อเรียกว่า “จอมแจ้ง” ก็ เพราะตัง้ อยูโ่ ดดเด่นกลางแจ้ง จึงตัง้ ชือ่ เรียกตามลักษณะภูมปิ ระเทศ ตามธรรมชาติ อายุของวัดนัน้ ได้พสิ จู น์จากซากเจดียแ์ ละซากโบสถ์ เก่า คาดว่าสร้างในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย ระหว่างปี พ.ศ. 2290-2320 และได้พบจารึกที่ติดฐานเจดีย์ว่า ได้มีการบูรณะครั้ง แรกเมื่อปี พ.ศ. 2417 สมัยรัชกาลที่ 5 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ลักษณะโดยทั่วไปของวัด ทิศตะวันตกจะติดกับแม่นำ�้ วัง ส่วนทิศใต้จะมีนำ�้ แม่ลืนสายเล็ก ๆ ไหลมาบรรจบกับแม่น้ำ�วังตรง กลางบันไดนาค ด้วยเหตุที่อยู่ใกล้กับแม่นำ�้ ถึงสองสายนี้เอง ถือได้ ว่าเป็นแหล่งทีม่ คี วามอุดมสมบูรณ์ จึงมีฤาษีนกั พรตรุน่ เก่า ๆ มาใช้ เป็นสถานที่สำ�หรับบำ�เพ็ญบารมีสืบทอดมา จนถึงปัจจุบันนี้วัดแห่ง นี้ก็ยังจะเป็นที่สำ�หรับปฏิบัติธรรมของสมณะ-ชี-พราหมณ์
นักท่องเทีย่ วสามารถมาท่องเทีย่ วเชิงวัฒนธรรมในพืน้ ที่ ตำ�บลร่องเคาะได้ตลอดทัง้ ปี ไม่วา่ จะเป็นงานประเพณีสรงน้ำ�และ นมัสการพระธาตุในพื้นที่ เช่น พระธาตุต้นผึ้ง(ป่าคา) ช่วงแรม แปดค่ำ�เดือนสาม วัดพระธาตุจำ�ตอง ช่วงขึ้นสิบห้าค่ำ�เดือนสี่ พระธาตุสบแสด ช่วงขึ้นสิบห้าค่ำ�เดือนห้าพระธาตุแม่ลืน ช่วง ขึ้นสิบห้าค่ำ�เดือนหก เป็นต้น นอกจากนีย้ งั สามารถเยีย่ มชมภาพวาดในวิหารวัดทุง่ ฝูง ซึ่งมีอายุมากกว่า 400 ปี โดยเฉพาะในช่วงเดือนมกราคมกุมภาพันธ์ หรือช่วงตรุษจีน สามารถมาศึกษาเรียนรู้วิถีชีวิต ประเพณีและวัฒนธรรมในหมูบ่ า้ นวังใหม่ ซึง่ เป็นหมูบ่ า้ นชนเผ่าที่ ย้ายมาอยู่ในพื้นที่ ประกอบด้วย เผ่าเย้า เผ่าลีซอ เผ่าลั้วะ และ เผ่ามูเซอ อันจะทำ�ให้เห็นถึงความแตกต่างของวิถชี วี ติ และความ หลากหลายของวัฒนธรรมได้อย่างชัดเจนและน่าสนใจ
OTOP ขึ้นชื่อของตำ�บลร่องเคาะ
ผ้าปักด้วยมือชาวเขา อยู่บ้านวังใหม่ หมู่ที่ 12 ชาวเขา ปักผ้าด้วยมือทีม่ ชี อื่ เสียงของตำ�บลร่องเคาะ โดยส่งให้ศนู ย์ศลิ ปา ชีพบางไทร เพื่อนำ�ไปแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เช่น เสื้อผ้า บุรุษ สตรี กระเป๋า ผ้าคลุมไหล่ lampang 177
178
LAMPANG 179
เส้เทศบาลตำ นทางพบ �บล
ศาลหลักเมืองแม่เมาะ
นายชูชีพ บุนนาค นายกเทศมนตรีต�ำบลแม่เมาะ
เทศบาลตำ�บลแม่เมาะ ของดีเทศบาลตำ�บลแม่เมาะ เทศบาลตำ�บลแม่เมาะ ตั้งอยู่เลขที่ 390 หมู่บ้าน
นาแขมพัฒนา หมู่ที่ 11 (ริมถนนสายเข้าการไฟฟ้าฝ่ายผลิต แห่งประเทศไทย) ตำ�บลแม่เมาะ อำ�เภอแม่เมาะ จังหวัดลำ�ปาง ปัจจุบนั มี นายชูชพี บุนนาค เป็น นายกเทศมนตรีต�ำ บลแม่เมาะ เทศบาลตำ�บลแม่เมาะ ขอแนะนำ�ให้ทา่ นรูจ้ กั กับของดี ที่เป็นเอกลักษณ์ของตำ�บลแม่เมาะ และของดีบางอย่างนั้นก็มี เพียงแห่งเดียวในจังหวัดลำ�ปางด้วย ของดีที่ว่านี้มีอะไรบ้าง ไปชมกันครับ
180
มีการสันนิษฐานว่า “เสาหลักเมืองแม่เมาะ” เกิดขึ้นราว ปี พ.ศ. 1257 พร้อมกับการสร้างวัดเมาะหลวง ซึ่งในขณะนั้น มีผู้คนอาศัยอยู่ร่วมกันจำ�นวนมากจนกลายเป็นชุมชนขนาดใหญ่ คนในชุมชนจึงร่วมกันจัดสร้างเสาเมืองประจำ�ทิศต่างๆ รวมทั้ง เสาหลักเมืองกลางหมู่บ้านด้วย เพื่อความเป็นสิริมงคลและเป็นที่ ยึดเหนี่ยวจิตใจของชาวบ้าน จากเรื่องราวต่างๆ ในอดีตสู่ปัจจุบัน มีหลักฐานและ เหตุการณ์ที่น่าจะเชื่อได้ว่า บริเวณนี้เคยเป็นเมืองโบราณมาก่อน เรียกชื่อว่า “ เมืองเมาะ” จึงมีเสาหลักเมืองเกิดขึ้น ซึ่งเป็นที่มา ของศาลเจ้าพ่อหลักเมืองแม่เมาะ อันเป็นสถานที่สำ�คัญซึ่งชาว แม่เมาะให้ความศรัทธาและเคารพบูชามาโดยตลอด และที่นี่ยัง เป็นแหล่งเรียนรู้ที่ช่วยปูพื้นฐานด้านขนบธรรมเนียมและประเพณี ที่ดีงามของ ชาวเมืองแม่เมาะมาจนถึงทุกวันนี้ นับตั้งแต่ชาวอำ�เภอแม่เมาะได้ร่วมกันบูรณปฏิสังขรณ์ ศาลหลักเมืองแม่เมาะ ขึ้นเป็นครั้งที่ 7 ในปี พ.ศ. 2539 จนสร้าง แล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2540 ชาวอำ�เภอแม่เมาะจึงร่วมใจกันจัดพิธี บวงสรวงศาลหลักเมืองแม่เมาะขึ้น และยึดถือเป็นประเพณีที่ จั ด สื บ ทอดต่ อ กั นมาทุ ก ปี โดยถื อ ปฏิ บ ั ต ิ ก ั นในเดื อนแรกของปี (นับแบบพื้นเมือง) คือเริ่มต้นเดือนเมษายน
ภูเขาไฟจำ�ป่าแดด...สิ้นพลังแต่ไม่สิ้นแรงศรัทธา
ภูเขาไฟดอยผาคอกจำ�ป่าแดด มีขนาดพื้นที่ประมาณ 1 ตารางกิโลเมตร มีความสูงจากระดับน้ำ�ทะเล ปานกลาง 530 เมตร ปากปล่องภูเขาไฟมีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 150 เมตร ขอบปล่องด้านเหนือและด้านตะวันตกเฉียงใต้เปิดออก ทำ�ให้ลาวา ไหลออกคลุมพืน้ ทีบ่ ริเวณห้วยจำ�ห้า ห้วยแม่ทะ และพืน้ ราบ เห็นได้ จากหินบะซอลต์ทคี่ ลุมบริเวณดังกล่าว ความชันของเนินเขาด้านใต้ จะมีมมุ เอียงเทมากกว่าด้านเหนือ รูปร่างภูเขาไฟมองเห็นไม่ชดั เจน
เพราะเกิดชิดกับเทือกเขาหินปูน ซึง่ เป็นเทือกทีข่ วางกัน้ ระหว่างแอ่ง ลำ�ปางกับแอ่งแม่เมาะ และบริเวณขอบปล่องภูเขาไฟได้ประดิษฐาน องค์พระพุทธรูปปางนาคปรก เพื่อให้ประชาชนและนักท่องเที่ยวที่ ขึน้ เยีย่ มชมปากปล่องภูเขาไฟได้บชู าและกราบไหว้เพือ่ เป็นสิรมิ งคล แก่ชีวิต ทั้งนี้การชมปล่องภูเขาไฟ จะต้องใช้จินตนาการค่อนข้าง สูง เพราะปล่องภูเขาไฟมีขนาดกว้างมากกว่าสายตาจะเก็บภาพได้ หมด ทั้งยังมีต้นไม้สูงใหญ่ปกคลุมอยู่หนาแน่น ทำ�ให้มองเหมือน ไหล่เขาชันทั่วๆ ไป ซึ่งภาพของปล่องภูเขาไฟ เมื่อมองจากด้านล่าง จะเห็นเป็นเทือกเขายอดเว้า แต่ถ้ามองจากภาพถ่ายทางอากาศจะ เห็นยอดเป็นแอ่งรูปกลม เมื่อขึ้นไปที่ปากปล่องจะเห็นสันเขาเป็น แนวยาว ล้อมรอบเป็นวง การเดินทาง ใช้เส้นทางสายลำ�ปาง – เด่นชัย ประมาณ 16 กิโลเมตร เลีย้ วซ้ายไปยังอำ�เภอแม่เมาะจนไปถึงสำ�นักงานป่าไม้ อำ�เภอ จะมีปา้ ยบอกสถานทีว่ า่ ภูเขาไฟจำ�ปาแดดเลีย้ วซ้ายเข้าไปราว 2 กิโลเมตร ก็จะถึงบริเวณเชิงเขาซึง่ จะต้องเดินเท้าขึน้ ไป ส่วนมาก นิยมขึ้นในช่วงปลายฤดูหนาว แผ่นดินหวิดบ้านปงชัย...กับงานบุญบั้งไฟล้านนา แผ่นดินหวิด คือ ภูมิประเทศที่ถูกทางน้�ำ หรือสายน้ำ�กัด เซาะเป็นร่องลึกหรือกันเซาะจนเป็นหน้าผาชัน ทำ�ให้แนวดินขาด ออกจากกัน จึงเรียกเป็นคำ�พื้นเมืองภาคเหนือว่า “แผ่นดินหวิด” การกัดเซาะหินชนิดต่าง ๆ ที่ไม่สม่�ำ เสมอกัน ทำ�ให้เกิดแก่งหินรูป ทรงแปลก เช่น รูปทรงคล้ายพระธาตุ เจดีย์ หรือคล้ายรูปสัตว์ตา่ ง ๆ ประวัติความเป็นมา เนื่องจากบริเวณแผ่นดินหวิด ซึ่งตั้งอยู่ที่หมู่บ้านปงชัย หมู่ที่ 5 และหมู่บ้านใกล้เคียงของตำ�บลแม่เมาะนั้น ในอดีตมี ประชากรซึ่งอพยพมาจากเมืองอื่นมาอาศัยอยู่ โดยมีเรื่องเล่าว่า ประชาชนบางส่วนอพยพมาจากจังหวัดแพร่ จึงได้นำ�ดินแดงที่ แพะเมืองผีมาโรยไว้ที่บริเวณแผ่นดินหวิด ทำ�ให้พื้นดินชั้นบน เป็น ดินแดง ซึ่งมิใช่เป็นลาวาจากภูเขาไฟ ส่วนกลุม่ ผูอ้ พยพทีเ่ ป็นชาวไทยลาว มีความเชือ่ ความศรัทธา ว่ารูปทรงของแท่งหินแท่งหนึง่ ทีอ่ ยูใ่ กล้หน้าผา มีลกั ษณะคล้ายพระธาตุ ซึ่งอาจมีการสร้างพระธาตุไว้นานแล้วในเวลาต่อมาพระธาตุได้ พังทลายเพราะกระแสน้�ำ กัดเซาะ เหลือเพียงต้นไม้ใหญ่ จึงทำ�ให้เกิด
ประเพณีการทำ�บุญบูชาพระธาตุ และการจุดบั้งไฟเพื่อขอฝนให้ เกิดความอุดมสมบูรณ์ก่อนเข้าสู่ฤดูฝน โดยกำ�หนดวันทำ�พิธีคือ วันแรม 15 ค่�ำ เดือน 8 เหนือ ซึ่งอยู่ในช่วงเดือนพฤษภาคม ถึงเดือนมิถุนายน งานประเพณีดังกล่าวจะมีการทำ�บุญเลี้ยง พระสงฆ์ในภาคเช้า ฟังธรรมและมีการแสดงมหรสพแบบพืน้ บ้าน ตลอดจนมีการจุดบัง้ ไฟในภาคบ่าย ปัจจุบนั มีการจัดพิธกี รรมใหญ่โต มีการออกร้านจำ�หน่ายสินค้า การชกมวย ดนตรีพื้นเมือง ประเพณีแห่ช้างผ้า...หนึ่งเดียวในจังหวัดลำ�ปาง ประวัติความเป็นมา ประเพณีแห่ชา้ งผ้าเป็นประเพณีของชาวไทยใหญ่ หรือ ชาวเงีย้ วทีอ่ พยพมาสร้างบ้านเรือนริมน้�ำ แม่เมาะ ซึง่ เป็นกลุม่ คน ที่มีอาชีพเลี้ยงช้างเพื่อลากซุง จึงมีประเพณีการแห่ช้างผ้าขึ้น ซึง่ ปัจจุบนั ชาวไทยใหญ่ทอี่ าศัยในชุมชนบ้านเมาะหลวงยังสืบทอด ประเพณีดังกล่าวจนถึงทุกวันนี้ การทำ�ช้างผ้า เป็นงานหัตถกรรมที่มีขั้นตอนซับซ้อน ผู้ทำ�จะต้องมีความชำ�นาญ เรียกว่า “สล่าช้าง” ซึ่งสล่าช้าง จะจําลองช้างขนาดเท่าตัวจริงหรือเล็กกว่าเล็กน้อย มีงวง งา หูหางกระดิกได้ทําจากไม้แล้วหุ้มด้วยผ้า ซึ่งในวันแห่ช้างผ้าจะมี ขบวนแห่อย่างสนุกสนานไปตลอดทาง โดยมีชาวบ้าน 4 คน ช่วย กันแบกช้างผ้าเพือ่ นำ�ไปถวายวัดในช่วงเทศกาลปีใหม่ลา้ นนา ได้แก่ วันที่ 15 เมษายน ถวาย ณ วัดทุง่ กล้วยโพธาราม บ้านม่อนทุง่ กล้วย และในวันที่ 16 เมษายน ถวาย ณ วัดเมาะหลวง บ้านเมาะหลวง ทั้งนี้ประเพณีแห่ช้างผ้าของชาวบ้านเมาะหลวง ตำ�บลแม่เมาะ นับเป็นประเพณีที่มีเพียงหนึ่งเดียวในจังหวัดลำ�ปางเท่านั้น
lampang 181
เส้นทางพบ
องค์การบริหารส่วนตำ�บล
นายสมยศ วงศ์เศรษฐี นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลนาโป่ง
ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงนาโป่ง แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร
ฐานเรียนรู้การเลี้ยงหมูหลุม
ฐานเรียนรู้การเลี้ยงปลาในบ่อีเมนต์
ฐานเรียนรู้การเลี้ยงไก่พื้นเมือง
ฐานเรียนรู้การเพาะเห็ด
ฐานเรียนรู้การเลี้ยงไก่ไข่
องค์การบริหารส่วนตำ�บลนาโป่ง องค์การบริหารส่วนตำ�บลนาโป่ง หมูท่ ่ี 2 ตำ�บลนาโป่ง อำ�เภอเถิน จังหวัดลำ�ปาง อยู่ห่างจากที่ว่าการอำ�เภอเถินทางทิศ ตะวันตก ประมาณ 12 กิโลเมตร ปัจจุบนั มีนายสมยศ วงศ์เศรษฐี เป็นนายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลนาโป่ง
ข้อมูลทั่วไป
ตำ�บลนาโป่งมีเนื้อที่ประมาณ 146 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 91,250 ไร่ จำ�นวนหมู่บ้านในเขตองค์การบริหาร ส่วนตำ�บลนาโป่ง เต็มทั้งหมู่บ้าน 12 หมู่บ้าน มีประชากรทั้งสิ้น 5,733 คน แยกเป็น ชาย 2,915 คน หญิง 2,818 คน จำ�นวน ครัวเรือน 1,705 ครัวเรือน (ข้อมูล ณ เดือน กุมภาพันธ์ 2558 จากสำ�นักบริหารการทะเบียน อ.เถิน)
182
ประชากรในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำ�บลนาโป่ง ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ส่วนใหญ่มกี ารเพาะปลูกและการเลีย้ ง สัตว์ พืชที่ปลูกได้แก่ ข้าว, มะม่วง, มะขาม, ถั่วลิสง, ลำ�ไย ส่วน สัตว์เลี้ยง คือ โคเนื้อ กระบือ สุกร ไก่ ปลา ซึ่งการประกอบอาชีพ เกษตรกรรมของประชากรในตำ�บลอาศัยแรงงานในครัวเรือนและ แรงงานในท้องถิ่น สำ�หรับแรงงานที่ว่างงานจากภาคเกษตรกรรม บางส่วนหันไปประกอบอาชีพรับจ้างทั่วไปในท้องถิ่น และต่าง จังหวัด ต่างประเทศ
แหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมตำ�บลนาโป่ง
สันวัดบนบ้านห้วยเกี๋ยง สันวัดบนเป็นวัดที่เก่าแต่ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่บ้านห้วยเกี๋ยง หมูท่ ่ี 9 ตำ�บลนาโป่ง อำ�เภอเถิน จังหวัดลำ�ปาง อยูท่ างทิศตะวันตก ของหมู่บ้าน มีเนื้อที่ประมาณ 10 ไร่ ห่างจากหมู่บ้าน 500 เมตร สันวัดบนสร้างเมื่อปี พ.ศ.ใดไม่มีปรากฏ ตามคำ�บอกเล่าคงสร้าง ก่อนปี พ.ศ. 2021 โดยกล่าวถึงมีประชาชนที่มีเชื้อสายเป็นชาว มอญและชาวพม่าอพยพหนีภยั สงครามจากทางภาคเหนือ มาพักพิง ทางหมูบ่ า้ นห้วยเกีย๋ งในปัจจุบนั โดยสร้างบ้านเรือนทีอ่ ยูอ่ าศัยและ ทำ�มาหากินในถิน่ ฐานนี้ และได้สร้างวัดขึน้ ไว้เป็นทีท่ ำ�พิธที างศาสนา ภายในวัดอาณาบริเวณวัดประกอบด้วย วิหาร โบสถ์ กุฏสิ งฆ์ สร้างด้วยไม้สกั และอิฐมอญทีช่ าวบ้านทำ�ขึน้ เองมีลวดลาย ดอกไม้คล้ายของพม่าแบบโบราณ ภายในอุโบสถประกอบด้วย พระพุทธรูปแกะสลักทำ�จากไม้และดิน มีธรรมมาศที่แสดงธรรม ทีส่ วยงาม ทางทิศใต้ของวัดมีบอ่ น้ำ�ทีห่ น้าโบสถ์ เรียกว่า บ่อน้ำ�ทิพย์ ถ้าผู ้ใดที ่เดินหลงป่าและพักค้างแรมจะพบเจอบ่อน้ ำ�ที ่ม ีขนาด ไม่ใหญ่มาก มีนำ�้ ใสสะอาด แต่ถ้าไม่ได้หลงป่าตั้งใจไปหาจะไม่พบ บ่อน้ำ�ที่ว่าดังกล่าว
สินค้า OTOP นาโป่ง
lampang 183
โรงแรม ห้องพักเถิน 5 ดาว “ห้องพักสะอาด ราคาถูก”
แอร์เริ่มต้นที่ 400 บาท ฟรี WiFi ที่อยู่ 163/9 หมู่2 บ้านหนองเชียงราน ตำ�บลล้อมแรด อำ�เภอเถิน จังหวัดลำ�ปาง 52160
ติดต่อ คุณอำ�พร อุ่นนวลสกุล
โทร.084-8080440
เส้เทศบาลตำ นทางพบ �บล
เมื่อพูดถึงล้อมแรด
ล้อมแรด เป็นตำ�บลหนึง่ ใน 8 ตำ�บลทีอ่ ยูใ่ นเขตอำ�เภอเถิน ประกอบด้วย 14 หมู่บา้ นที่ทอดยาวเกือบ 2 ฝั่งแม่น้ำ�วังตลอด ระยะทาง 11 กิโลเมตร เป็นชุมทางที่เชื่อมต่ออำ�เภอลี้ จังหวัด ลำ�พูน อำ�เภอทุง่ เสลีย่ ม จังหวัดสุโขทัย อำ�เภอวังชิน้ จังหวัดแพร่ เรียกได้ว่าเป็นศูนย์กลางการคมนาคมที่สำ�คัญ อีกแห่งหนึ่งของ จังหวัดลำ�ปางจนได้รับการขนานนามว่า “ประตูสู่ล้านนา” ตำ�บลล้อมแรด ตั้งอยู่ใจกลางอำ�เภอเถินที่ประกอบ ด้วยหน่วยงานทัง้ ภาครัฐและเอกชน ตลอดจนเป็นศูนย์กลางย่าน ธุรกิจของอำ�เภอเถิน ถึงแม้วา่ การพัฒนาบ้านเมืองในปัจจุบันจะ นำ�ความเจริญและวิวัฒนาการเข้าสู่ชุมชนตำ�บลล้อมแรด แต่ก็ ไม่ได้ทำ�ให้คนในตำ�บลล้อมแรดเปลี่ยนไป รอยยิ้มและความสุข ความสามัคคีของคนล้อมแรดยังคงอยู่และสืบทอดส่งต่อคุณค่า ทางวัฒนธรรมจากรุ่นสู่รุ่นด้วยความภาคภูมิในบ้านเกิดจนเป็น ชุมชนเมืองที่ได้ถูกขนานนามว่า ล้อมแรดเมือง “ฮอมสุข” ล้อมแรด เป็นอีกหนึ่งเส้นทาง ที่นักท่องเที่ยวมาเยือน ในเส้นทางสายวัฒนธรรม วัดและโบราณสถานในตำ�บลล้อมแรด
เป็นศิลปะแบบล้านนาทีย่ งั คงเอกลักษณ์ และมีเรือ่ งเล่า เป็นตำ�นาน ทีน่ า่ ติดตามและค้นหาต้นตอแห่งประวัตศิ าสตร์ อาทิ วัดเวียงซึง่ เป็น หน้าด่านในสมัยโบราณ ทีแ่ ฝงด้วยภูมปิ ญ ั ญาอันล้�ำ ค่า วัดล้อมแรด หรือ วัดหลวงลอมแรต เป็นที่มาของบรรพบุรุษของคนล้อมแรด และยัง มีอีกหลายวัดที่มีตำ�นานเล่าขานเชื่อมโยงกัน เป็นเส้นทางของสาย วัฒนธรรมตามแบบล้านนาที่น่าสนใจ และด้วยรอยยิ้มแห่งไมตรี ของคนล้อมแรดจึงทำ�ให้ตำ�บลล้อมแรดเป็นอีกหนึ่งความประทับใจ ที่ไม่ควรพลาดที่จะมาเยือน นอกจากเส้นทางสายวัฒนธรรมที่ทรง คุณค่ายิ่งแล้วการได้ลิ้มชิมรสผลไม้ขึ้นชื่อของตำ�บลล้อมแรด ก็เป็นอีกหนึ่งทางเลือกที่นักชิมต้องมาลองสักครั้ง ด้วยภูมิประเทศและอากาศที่เป็นใจ จึงทำ�ให้สม้ เกลีย้ งของตำ�บล ล้ อ มแรดอร่ อ ยเป็ น ที่รำ่� ลื อ เมื่ อ มาถึ ง ล้ อ มแรดแล้วก็ไม่ ควรพลาดทีจ่ ะได้ ลิม้ ลองรสชาติ ของส้มเกลีย้ งทีล่ อ้ มแรด
lampang 185
โรงแรมนครเถิน
และห้องอาหารส้มเกลี้ยง
NAKORNTHOEN HOTEL &SOMKLIANG RESTAURANT
ยินดีต้อนรับสู่..โรงแรมนครเถิน “Welcome to Nakornthoen Hotel” 187/5 ถนนสายเอเชีย หมู่ 7 ต�ำบลร้อมแรด อ�ำเภอเถิน จังหวัดล�ำปาง 52160
โทรศัพท์ 054-291370-1, 081-8837701, 081-8824130 แฟกซ์ 054-291371
ID Line : 0818837701 • Facebook : โรงแรมนครเถิน บ้านส้มเกลี้ยง • IG : Nakornthoen_
www.nakornthoenhotel.com
รีสอร์ทเล็กๆ ราคาถูกในเมืองล�ำปาง สวยงาม เงียบสงบ ห้องพักหลายรูปแบบทั้งห้องพักเตียงเดี่ยว ห้องพักเตียงคู่ มีจ�ำนวน 39 ห้อง สิ่งอ�ำนวยความสะดวก เช่น เครื่องปรับอากาศ ฟรีสัญญาณอินเตอร์เน็ตไร้สาย ทีวี ตู้เย็น เครื่องท�ำน�้ำอุ่น ห้องอาหาร สวนหย่อม ที่จอดรถฟรี แม่วังรีสอร์ทมีบริการ ที่นอนรองรับสัตว์เลี้ยง 250 บาทต่อตัว (สุนัข ขนาดไม่ใหญ่) แม่วังรีสอร์ทอยู่ใกล้สถานที่ท่องเที่ยว อีกมากมาย เช่น พระธาตุล�ำปางหลวง สถานีรถไฟล�ำปาง ศูนย์เซรามิกส์ และอื่นๆ ลานจอดรถที่สะดวกสบาย เหมาะส�ำหรับวันหยุดยาวหรือช่วงเทศกาลของจังหวัดล�ำปาง
Fanpage facebook : Maewangresort 532 หมู่ 10 ต�ำบลชมพู อ�ำเภอเมืองฯ จังหวัดล�ำปาง 52000 https://goo.gl/maps/hsAy9aqKCPG2
โทร.
054-325001
ร้านกาแฟสดถิ่นไทย 130 ม.1 ต.วังเงิน อ.แม่ทะ จ.ล�ำปาง 52150
โทร. 054-828125, 089-6352821 Thin Thai Coffee ถิ่นไทยกาแฟสด
กาแฟสด บ้านริมน�้ำ ล�ำปาง เปิดบริการทุกวัน เวลา 07.30 น.-18.00 น. ที่อยู่ ทางหลวงหมายเลข 11 กม. 24 ถนน. วชิรวุธด�ำเนิน (ล�ำปาง-เด่นชัย) ติดสะพานข้ามแม่น�้ำจาง โทร.
089-7551315, 081-8851793 Facebook : กาแฟสด บ้านริมน�้ำ ล�ำปาง Fanpage : กาแฟสดบ้านริมน�้ำ ล�ำปาง
รุ่งนภาเกสเฮ้าส์
รุ่งนภาเกสเฮ้าส์ อัตราค่าที่พัก 500 บาท/คืน
ชั่วโมงแรก 200 บาท • ชั่วโมงต่อไป 100 บาท บริการ Wi-Fi Free รหัส 085-6209129
ติดต่อ โทร. 091-6281365, 084-6132358, 085-6209129
ก๋วยเตี๋ยวไทยโบราณ ร้านก๋วยเตี๋ยวไทยโบราณมีอาหารหลากหลายไว้บริการท่าน เช่นก๋วยเตี๋ยวหมู, ไก่ต้มย�ำรสเด็ด, ก๋วยเตี๋ยวผัดไท, ข้าวซอย, ขนมจีนน�้ำเงี้ยว, ข้าวคลุกกะปิ, ก๋วยเตี๋ยวผัดซีอิ๊ว, ก๋วยเตี๋ยวราดหน้า, อาหารตามสั่ง, ขนมถ้วย, ขนมสอดใส้, กาแฟสด, ชา, ชาเขียวและเครื่องดื่มสมุนไพรฯ
ตั้งอยู่ริมถนนซูเปอร์ไฮเวย์ส่ายล�ำปาง-เชียงใหม่(ทางหลวงหมายเลข 11) ที่กม.470 อยู่ห่างจากสี่แยกห้าเชียง (แยกกม.ยักษ์) 7กม.กับอีก400เมตร ร้านอยู่ฝั่งซ้ายของถนนถ้าขึ้นเชียงใหม่
บริษัท ก้าวเครน แอนด์ แมชชีนเนอรี่ จ�ำกัด ให้บริการด้านงานเช่ารถเครนและเครื่องจักรกลหนัก รถเครน 10-80 ตัน • รถบรรทุกติดเครน 5 ตัน รถเทเลอร์ • รถแบ็คโฮ • รถโฟร์คลิพท์ • รถกระเช้า
ติดต่อ โทรศัพท์ : 054-316308, มือถือ : 083-0837070, 088-2537567 Line ID : gowcrane E mail : gowcrane_lp@live.com www.gowgroup-lp.com
ร่ROMMAIGREENPARK มไม้กรีนพาร์ค
โรงแรมร่มไม้กรีนพาร์ค บูทีค รีสอร์ท ล�ำปาง ยินดีต้อนรับเข้าสู่ โรงแรมร่มไม้บูทีค รีสอร์ท ล�ำปาง บูทีครีสอร์ท ที่แวดล้อมไปด้วยแมกไม้นานาพันธุ์ ผ่อนคลายไปกับบรรยากาศอันร่มรื่นและอบอุ่น ห้องพักสะอาด ราคาประหยัด พร้อมทั้งสิ่งอ�ำนวยความสะดวกครบครัน ที่จอดรถกว้างขวาง พร้อมให้บริการลูกค้าทุกท่าน ตลอด 24 ชั่วโมง ทุกวัน
ส�ำรองที่พักได้ที่ 054-316599, 080-1337398 www.rommaigreenpark.com
เส้นทางความงาม
ผิวดีได้ 10 ผัก-ผลไม้-สมุนไพร ไม่จำ�กัดเพศ เพื่อผิวสวยใส ทุกวันนี้เราจะเห็นโฆษณาผลิตภัณฑ์เกี่ยวกับผิวที่มักจะแยกว่า เป็นของคุณผู้ชายโดยเฉพาะ บางครั้งคุณแม่บ้านหวังดีเจียดเงินซื้อ ให้คุณพ่อบ้านใช้ แต่กลับไม่ยอมแตะเลย ยิ่งเสียดายเงิน...จริงไหมคะ เรามาดูข้อมูลบางอย่างที่อาจช่วยให้เราประหยัดสตางค์ได้มากขึ้นค่ะ ความแตกต่างทางสรีระและฮอร์โมน ท�ำให้ผู้หญิงมีผิวหนัง บางและละเอียดกว่า แต่กลับมีชั้นไขมันใต้ผิวหนังหนากว่า แต่ผิว จะเหี่ยวแก่ได้เร็วกว่าเพราะคอลลาเจนซึ่งเป็นตัวช่วยให้ผิวหนัง ยืดหยุ่นและเต่งตึงจะค่อย ๆ บางลง และจะเสื่อมอย่างรวดเร็วใน ช่วงวัยทอง อายุ 45 ปีขึ้นไป เนื่องจากฮอร์โมนเอสโตรเจนลดลง นอกจากนี้ผิวหนังจะสูญเสียความชุ่มชื้น เนื่องจากการหลั่งไขมัน จากต่อมไขมันลดลงด้วย ส่วนคุณผู้ชายผิวหนังจะหนาและหยาบ กว่า แต่คอลลาเจนในผู้ชายจะเสื่อมช้ากว่า และมีไปจนถึงอายุ 90 ปี ผิวจึงดูเต่งตึงกว่า และผิวยังดูชมุ่ ชืน้ กว่าเพราะต่อมไขมันหลัง่ ไข มันออกมามากกว่า ตั้งแต่วัยรุ่นจนถึงอายุประมาณ 69 ปี จะเห็นได้วา่ คุณผูช้ ายดูจะได้เปรียบกว่าคุณผูห้ ญิงหลายขุม ดังนั้นบรรดาผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ที่คุณผู้หญิงใช้ได้ คุณผู้ชายก็ ใช้ได้เช่นกันค่ะ แบ่ง ๆ กันใช้ จะได้ดูดีทั้งคู่นะคะ
192
1. ว่านหางจระเข้ ช่วยให้ผวิ ชุม่ ชืน้ เรียบเนียน ต้านการอักเสบ ป้องกันแสงอัลตราไวโอเลต 2. มะเขือเทศสุก ป้องกันผิวจากอนุมูลอิสระ ท�ำให้หน้าขาวใส ขึ้นเพราะมีฤทธิ์เป็นกรดอ่อน ๆ 3. ฝรั่ง เพิ่มความชุ่มชื้น ช่วยสมานผิวท�ำให้เซลล์แข็งแรง ป้องกันผิวจากอนุมูลอิสระ 4. แตงกวา เพิ่มความยืดหยุ่น และท�ำให้ผิวหนังสดชื่น สดใส ช่วยฟื้นฟูผิวที่ไหม้เกรียมจากแดดได้ดี 5. บัวบก กระตุน้ การสร้างคอลลาเจนและอีลาสทิน ซึง่ เป็นส่วน ประกอบของผิวหนัง ท�ำให้เซลล์แข็งแรง 6. แครอต ท�ำให้ผิวหนังเรียบลื่น ควบคุมการสร้างไขมันของ ต่อมไขมัน ท�ำให้เซลล์แข็งแรง ป้องกันผิวจากอนุมูลอิสระ ท�ำให้ หน้าขาวขึ้น 7. สับปะรด ช่วยย่อยเซลล์ผิวหนังที่ตายแล้วให้หลุดออกมา แก้ปัญหาสิวหัวด�ำอุดตัน ท�ำให้ผิวพรรณสดใสขึ้น ป้องกันผิวจาก อนุมูลอิสระ ลดการอักเสบ 8. มะขาม ลดริ้วรอยและจุดด่างด�ำจากกระหรือฝ้า เพิ่ม ความชุ่มชื้น ป้องกันผิวจากอนุมูลอิสระ ท�ำให้ผิวหน้าเรียบลื่น 9. กล้วย เพิม่ ความชุม่ ชืน้ ลบรอยเหีย่ วย่น ท�ำให้ผวิ หนังสดชืน่ ป้องกันผิวจากอนุมูลอิสระ 10. มะนาว ลดความมันบนใบหน้า เพิ่มความชุ่มชื้น เพิ่มการ ไหลเวียนของเลือด ป้องกันผิวจากอนุมูลอิสระ
Tel : 094-0598527
LINE : saimork resort Facebook : Saimork Resort Lampang Email : saimonk.resort@gmail.com
เส้นทางสุขภาพ
6 อภินิหารผักฆ่าไขมัน ภญ.อาสาฬา เชาวน์เจริญ โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร เผยแพร่ บทความเรื่อง “6 อภินิหารผักฆ่าไขมัน” โดยได้กล่าวถึงผัก ผลไม้ และสมุนไพรไทย ๆ ที่ช่วยลดระดับไขมันในเลือดสูงไว้ดังนี้ ขิง มีการศึกษาหนึ่งของต่างประเทศพบว่า การรับประทานขิง แคปซูล วันละ 3 กรัมต่อวัน โดยแบ่งให้วนั ละ 3 เวลา เป็นเวลา 45 วัน สามารถลดระดับไขมันโคเลสเตอรอล ไตรกลีเซอไรด์ นอกจาก นีข้ งิ ยังมีปอ้ งกันการเกาะกลุม่ ของเกล็ดเลือด ป้องกันการอุดตันของ หลอดเลือดได้อีกด้วย กระเทียม นอกจากจะลดความดันได้แล้ว ยังมีผลลดไขมัน ในเลือดได้ โดยมีการศึกษาพบว่า เพียงการรับประทานกระเทียม วันละ 1-2 กลีบ หรือในรูปแบบผงกระเทียม 600-900 มิลลิกรัม ต่อกรัม เป็นเวลา 2 เดือนขึ้นไป จะมีผลลดไขมันโคเลสเตอรอล และไตรกลีเซอไรด์ โดยมีการศึกษาหนึ่งพบว่าหากทานเป็นเวลา 16 สัปดาห์ สามารถลดไขมันโคเลสเตอรอลได้ 12% ลดไขมัน ไตรกลีเซอไรด์ได้ 17% ควรระวังการทานกระเทียมและขิงในรูปแบบสารสกัด หรือการ รับประทานในปริมาณมากในผู้ป่วยที่มีการทานยาละลายลิ่มเลือด ร่วมด้วย เพราะกระเทียมและขิง อาจมีผลเพิ่มฤทธิ์ยาละลายลิ่ม เลือด กระเจี๊ยบแดง มีสารออกฤทธิ์ส�ำคัญคือ แอนโทไซยานิน ซึ่ง พบว่ามีผลลดระดับไขมันชนิดไตรกลีเซอไรด์ได้ดมี าก ลดไขมันชนิด ร้าย (LDL) ลดโคเลสเตอรอล อีกทั้งยังมีผลช่วยเพิ่มระดับไขมันดี (HDL) โดยเห็นผลเมื่อดื่มชาชงกระเจี๊ยบวันละ 2 เวลา เป็นเวลา ติดต่อกันอย่างน้อย 1 เดือน
194
ตรี ผ ลา ต� ำ รั บ สมุ น ไพรที่ ป ระกอบขึ้ น ด้ ว ยผลไม้ ส ามอย่ า ง คือ สมอไทย สมอพิเภกและมะขามป้อม มีผลลดระดับไขมัน โคเลสเตอรอลและไตรกลีเซอไรด์ได้ โดยอาจทานต่อเนื่องอย่าง น้อยคืนละ 1 แก้ว ต่อเนื่องทุกคืน นอกจากจะลดไขมันในเลือดได้ แล้ว ตรีผลายังมีส่วนช่วยในการรักษาภาวะไขมันพอกตับอีกด้วย (fatty liver) ดอกค�ำฝอย มีสารสีเหลืองส้ม คนโบราณใช้ในการแต่งสีอาหาร โดยการน�ำกลีบดอกมาแช่น�้ำร้อน ซึ่งสารนั้นมีชื่อว่า Carthamin และ Sufflower yellow อีกทัง้ ในเมล็ดดอกค�ำฝอยยังมีนำ�้ มันระเหย ยาก เรียกว่าน�ำ้ มันเมล็ดดอกค�ำฝอย มีสว่ นประกอบของกรดไขมัน ชนิดไม่อมิ่ ตัวหลายชนิด มีผลลดระดับโคเลสเตอรอลและไขมันตัว ร้าย (LDL) และป้องกันการอุดตันของไขมันในเลือด รวมทั้งมีผล ในการป้องกันโรคหัวใจได้ด้วย โดยอาจทานในรูปแบบชาชงวันละ 1 ครั้ง ครั้งละ 1 ซอง ตอนเย็นหรือก่อนนอน นอกจากนีย้ งั พบว่าการรับประทานหอมเล็กหอมใหญ่เป็นประจ�ำ ก็จะมีส่วนช่วยในการควบคุมระดับไขมันในเลือดได้ โดยกินเป็น ประจ�ำทุกวัน อย่างน้อยวันละ 1 หัว การรักษาแผนปัจจุบนั เหมือนกับการใช้ยาสมุนไพรในการรักษา ตรงทีย่ าไม่ได้มผี ลลดไขมันได้ 100% จ�ำเป็นต้องอาศัยการควบคุม อาหาร หมั่นอออกก�ำลังกาย ครั้งละ 30-40 นาทีอย่างน้อยสัปดาห์ ละ 4 วัน และในคนที่สูบบุหรี่ พบว่าหากหยุดสูบบุหรี่ จะท�ำให้ไข มันชนิดดีไม่ลดต�ำ่ ลงได้ และยังลดความเสีย่ งต่อการเป็นโรคหลอด เลือดและหัวใจอีกด้วย ขอขอบคุณข้อมูลจาก http://www.abhaiherb.com/
(โปรเป้) อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์
(โปรปั๊ก) วนัสกฤษณ์ ศลิปรังสรรค์
โปรประจíำ นิตยสาร sbl magazine โปรประจíำ Phothalai Golf Academy ทีส่ นามไดร์ฟกอล์ฟโพธาลัย เลเชอร์ ปาร์ค (สนามไดร์ฟกอล์ฟอันดับ1ในเอเชีย) Thai PGA Professional Tour Player Trackman Trained Instructor Swing Catalyst Certified Instructor Golf Swing Analysis Expert Facebook: pae akkarapong golfpro Page: Golf Swing by Pro Pae Tel. 088-046-4444
โปรประจ�ำ นิตยสาร Sbl Magazine PGA Thailand TOURING Professional โปรประจ�ำ โรงเรียนกอล์ฟในร่ม Shane Wilding Golf สาขาทองหล่อ 11 SNAG trained instructor SWING Catalyst Certified Instructor All Square Swing Trained Instructor vanaskrit.s@gmail.com Tel. 083-018-9138 LAMPANG 23
24
การระเบิดทรายลูกจม (ลูกไข่ดาว)
การระเบิดทรายลูกจมเป็น 1 ในลูกที่เล่นได้ยากกว่าลูกทั่วไป และมีความ แตกต่างจากการระเบิดทรายแบบปกติอยู่มาก นักกอล์ฟที่มีปัญหากับลูกนี้ ส่วนใหญ่เกิดขึ้นจากการใช้เทคนิกในการเล่นแบบเดียวกันการระเบิดทราย ปกติซึ่งจะทำ�ให้ตีไปที่หลังลูกค่อนข้างมาและไม่มีแรงส่งพอให้ลูกกอล์ฟ ลอยพ้นจากบ่อทรายไปได้ เรามาดูวิธีการพื้นฐานในการเล่นช็อตนี้กันครับ
ขอขอบคุณสถานที่ : สนามไดร์ฟกอล์ฟโพธาลัย เลเชอร์ ปาร์ค (สนามไดร์ฟกอล์ฟอันANG ดับ 1THONG ในเอเชี25ย)
Setup • • • • • • •
198
ยืนกว้างเหมือนระเบิดทรายทั่วไป น้ำ�หนักตัวอยู่ค่อยไปทางเท้าซ้าย ย่อมากกว่าปกติเล็กน้อย น้ำ�หนักตัวอยู่ที่ส้นเท้าซ้าย ยืนขนานกับเป้าหมาย จรดไม้ตามองศาของไม้ ไม่ต้องเปิดหน้าไม้ มือนำ�หน้าไม้เล็กน้อย leading edge ชี้ลงพื้น
การตี • • • • • •
ปักน้ำ�หนักไว้ทางด้านซ้ายตลอดการสวิง ขึ้นไม้ในลักษณะหักข้อมือกว่าปกติ ลงไม้มาในมุมที่ชัน ใช้ leading edge เป็นมุมแหลมสามารถผ่านทะลุทรายได้ดีกว่า bounce ทำ�ให้เสียแรงในการตีน้อยกว่า ตีในลักษณะ กดลง ประมาณ 1 นิว้ หลังจากลูกกอล์ฟให้หน้าไม้ทำ�งานและยกลูกบอลขึน้ ไปตามมุมของไม้ ไม่จำ�เป็นต้องช่วยตักลูก พยายามรักษามุมของร่างกายให้ทำ�มุมลงพื้นไว้ตลอด เพื่อป้องกันการดักลูก
เทคนิก • • • •
เพราะการใช้ leading edge ในการตีทำ�ให้ไม้ผา่ นทรายได้อย่างง่ายดาย ไม่จำ�เป็นต้องดีแรงมาก เป็นปกติที่การเล่นจากไลน์นี้จะทำ�ให้ลูกกอล์ฟสปินน้อยมากๆ ต้องเผื่อการกลิ้งมากกว่าปกติ ไม่วา่ จะมีเนินทราย หรือ รอยเท้า หรือไข่ดาว ไม่จำ�เป็นต้องเผื่อหลังลูกมากขึ้นให้ตีไปที่หลังลูก 1 นิ้วเสมอ การพยายามงัดให้ลูกโด่งในไลน์ลักษณะนี้ทำ�ให้ลูกยิ่งต่ำ�ลง ให้ใช้ไม้ ที่องศามากขึ้นแต่ตีในลักษณะกอลงในมุมเช่นเดิม LAMPANG 199
SYNCHRONIZE
การออกแรงร่วมกัน ระหว่างมือและลำ�ตัว
ขอขอบคุณสถานที่ : สนามไดร์ฟกอล์ฟโพธาลัย เลเชอร์ ปาร์ค (สนามไดร์ฟกอล์ฟอันดับ 1 ในเอเชีย)
1 200
2
3
SYNCHRONIZE
4
การจะท�ำวงสวิงให้มีพลังและสม�ำ่ เสมอ จะต้องใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่ในการ สวิง ซึ่งกล้ามเนื้อที่พูดถึงนั้นคือล�ำตัว นักกอล์ฟหลายคนมีปญ ั หาในการควบคุมให้ตวั หมุน ตีทไี รก็กลายเป็นใช้แรง จากแขนและมือในการออกแรงตลอด อาการนี้ท�ำให้ตีได้ไม่ไกล ไม่ว่าจะ ออกแรงมากแค่ไหนก็ตาม ในทางกลับกัน ถ้าหมุนตัวได้ถูกต้อง กล้ามเนื้อมัดใหญ่จะเป็นตัออกแรง ซึ่งมีพลังที่มาก จึงท�ำให้ตีได้ระยะที่ไกล นอกจากนี้ยังได้ความแม่นลูก มากขึ้นด้วย เนื่องจากการตีที่เบาจะท�ำให้มีความแม่นลูกตามไปด้วย วิธีง่ายๆ คือหาอะไรก็ได้มาหนีบไว้ใต้รักแร้ แล้วสวิงโดยไม่ให้ของชิ้น นั้นร่วง (ผมใช้ cover ไม้กอล์ฟ) จะท�ำให้การสวิงออกแรงจากล�ำตัว ได้งา่ ยๆ เพราะตราบใดทีแ่ ขนยังติดกับล�ำตัว ก็จะไม่มกี ารออกแรงจาก แขนและมือมากเกินไปอย่างแน่นอนครับ LAMPANG 201