Phayao

Page 1

|z×¥ p { × s ¥ jp | ¢ pj ® ~j ® ¡Ó ¢t p L@YHMF 3G@HK@MC


บริษัท เอก-ชัย ดีสทริบิวชั่น ซิสเทม จำ�กัด ( เทสโก้ โลตัส ส�ข�พะเย� )

ร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการช่วยเหลือชุมชนและสังคม à¾×èͪ‹ÇÂãËŒªØÁª¹¢Í§àÃÒ´ÕÂÔ觢Öé¹ àª‹¹

การมอบทุนการศึกษาให้กับนักเรียนในชุมชนใกล้เคียง จำานวน 10 ทุน ในวันเด็กแห่งชาติของทุกปี การมอบสิ่งของให้กับสภากาชาดไทย จ.พะเยา ในงานกาชาดประจำาปี ของทุกๆปี การร่วมบริจาคเงิน สิ่งของและ อุปกรณ์ต่างๆ ให้กับหน่วยงานราชการ โรงเรียน วัด ในชุมชนต่างๆ



สกุลกา รีสอร์ท

“คิดถึงที่พ พั​ักครัง้ ใด...รับความประทับใจที่ สกุลการีสอร์ท”

สกุลการีสอร์ท ภูซาง...นอนหลับสบาย ใกล้ทีเ่ ทีย่ ว

สกุลการีสอร์ท ภูซาง ให้บริการที่พักสะอาด ในบรรยากาศล้านนาที่สงบเงียบ เย็นสบาย จอดรถสะดวก พร้อมสิ่งอ�านวยความสะดวกครบครัน อาทิ Wi-Fi (ฟรี) ทีวี แอร์ เครื่องท�าน�้าอุ ่น

ส�ำรองห้องพักติดต่อ :

สกุลการีสอร์ท เลขที่ 109 ม.11 ต�าบลสบบง อ�าเภอภูซาง จังหวัดพะเยา โทร. 0 5444 5723, 08 8404 4971, 08 7176 3056, 08 4369 6291


สกุลกา รีสอร์ท 2

คิดถึงที่พักครัง้ ใด...รับความประทับใจที่ สกุลการีสอร์ท 2

มาเชี ยงค�าครัง้ ใด รับความประทับใจที่ สกุลการีสอร์ท 2

สกุลการีสอร์ท 2 ตัง้ อยู ่ในเมืองเชี ยงค�า จังหวัดพะเยา ใกล้แหล่งท่องเที่ยวและย่ ยวและย่านเศรษฐกิจ อาทิ วัดนันตาราม 1 ใน 10 วัดที่สวยที่สุสดุ ในประเทศไทย ห้างเทสโก้โลตัส เซเว่น-อีเลฟเว่น ตลาดสด ฯลฯ เรายินดีให้บริการห้องพักคลาสสิกหลากหลายสไตล์ สะดวก สะอาด ปลอดภัย พร้อมสิ่งอ�านวยความ สะดวกครบครัน อาทิ บริการฟรี Wi-Fi ทีวี แอร์ เครื่องท�าน�้าอุ ่น

ส�ำรองห้องพักติดต่อ :

สกุลการีสอร์ท เลขที่ 108/1 ม.5 ต�าบลหย่วน อ�าเภอเชี ยงค�า จังหวัดพะเยา โทร. 0 5445 4141, 08 8404 6272, 08 7176 3056, 08 4369 6291


คณะที่ปรึกษา ศ.ดร.กฤช เพิ่มทันจิตต์, ดร.นิเวศน์ กันไทยราษฎร์ ดร.วัลลภ อารีรบ, ดร.สุมิท แช่มประสิทธิ์ ดร.พิชัย ทรัพย์เกิด, ดร.ไอศูรย์ ดีรัตน์ ดร.ประยุทธ คงเฉลิมวัฒน์, ดร.สุเทษณ์ จันทรุกขา ฝ่ายกฎหมาย สมคิด หวังเชิดชูวงศ์, ทวิช อมรนิมิตร บรรณาธิการอํานวยการ ศุภกิจ ศิลปรังสรรค์ บรรณาธิการบริหารสายงานบุคคล พงษ์ศักดิ์ พรณัฐวุฒิกุล บรรณาธิการการบริหารสายงานการตลาด อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์, วนัสกฤษณ์ ศิลปรังสรรค์ กองบรรณาธิการ ธัญญรัศม์ สวาสดิ์พรรค, ศุภญา บุญช่วยชีพ, จันทร์ทิพย์ พลพวก, อุสา แก้วเพชร, วรลักษณ์ ปุณขันธ์, ฐกร วรจุฑาวงศ์ ช่างภาพ ชัยวิชญ์ แสงใส, กร พงศ์ไพบูลย์เวชย์ กราฟิคดีไซน์ สามารถ ทองเสือ ผู้อํานวยการฝ่ายบริหาร กชกร รัฐวร ผู้จัดการประสานงานโครงการภาคเอกชน ไพรัตน์ กลัดสุขใส, กิตติเมศร์ ชมชื่น ผู้จัดการประสานงานโครงการภาครัฐ ศศิธร เลิศชนะ ฝ่าย IT และประสานงาน ธัญญรัศม์ สวาสดิ์พรรค, ศุภญา บุญช่วยชีพ, ฐกร วรจุฑาวงศ์ ฝ่ายการเงิน-การบัญชี อุสา แก้วเพชร, วรลักษณ์ ปุณขันธ์, อรพรรณ มะณี บริษัท สมาร์ท บิซิเนส ไลน์ จํากัด 9/4-8 ถ.รามอินทรา แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพฯ 10220 โทร. 0-2522-7171 แฟกซ์. 0-2971-7747 www.smart-sbl.com Facebook : SBL Magazine E-mail : sbl2553@gmail.com

Editor’s Talk จังหวัดพะเยา แม้จะก่อตั้งเป็นจังหวัดมาได้ 39 ปี แต่เป็นจังหวัดที่มี ศักยภาพในหลาย ๆ ด้าน ไม่ว่าจะเป็นทําเลที่ตั้ง ซึ่งตั้งอยู่ส่วนกลางของกลุ่ม ภาคเหนือตอนบน 2 (เชียงราย แพร่ น่าน พะเยา) สามารถเชื่อมต่อระบบ โลจิสติกส์กบั ประเทศเมียนมาร์ ลาว กัมพูชา เวียดนาม และจีนตอนใต้ ซึง่ จะ เอื้อประโยชน์ในการค้า การลงทุน และการท่องเที่ยว ในภาพรวมของจังหวัด มีแหล่งนํ้าจืดขนาดใหญ่ คือ กว๊านพะเยา ซึ่งมีพื้นที่มากเป็นอันดับหนึ่งของ ภาคเหนือตอนบน และเป็นอันดับสามของประเทศ ทีเ่ อือ้ ประโยชน์ตอ่ วิถชี วี ติ วัฒนธรรมท้องถิน่ และการพัฒนาด้านการประมง การเกษตรกรรม และการ ท่องเที่ยวของจังหวัด นอกเหนือจากนี้ จังหวัดพะเยายังมีต้นทุนมากมายทั้งโบราณสถาน ศาสนสถาน ตลอดจนทรัพยากรธรรมชาติ ทีเ่ อือ้ ให้เกิดกิจกรรมการท่องเทีย่ ว ที่โดดเด่น อาทิ แหล่งเรียนรู้ประวัติศาสตร์เมืองพะเยา ได้แก่ หอวัฒนธรรม นิทัศน์ วัดศรีโคมคํา พิพิธภัณฑ์เวียงพยาว (วัดลี), สถานที่ท่องเที่ยวทาง ศาสนา ได้แก่ วัดศรีโคมคํา หรือวัดพระเจ้าตนหลวง ที่ประดิษฐานพระพุทธ รูปใหญ่ทสี่ ดุ และเก่าแก่ทสี่ ดุ ในแผ่นดินล้านนา วัดติโลกอาราม ซึง่ มีประเพณี เวียนเทียนรอบพระธาตุเจดีย์กลางกว๊านพะเยาที่มีแห่งเดียวในโลก ฯลฯ และ แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ ได้แก่ นํ้าตกภูซาง-นํ้าตกที่มีนํ้าอุ่นเพียงแห่ง เดียวในประเทศไทย ภูลังกา -จุดชมวิวและทะเลหมอกที่สวยงามที่สุดของ จังหวัดพะเยา ผาเทวดา-กับกิจกรรมท้าทายความกล้าโรยตัวจากหน้าผาสูง กว่าร้อยเมตร ตื่นตาตื่นใจกับซากฟอสซิลไดโนเสาร์แก่งหลวง ฯลฯ นิตยสาร SBL ขอขอบคุณท่านศุภชัย เอี่ยมสุวรรณ ผู้ว่าราชการ จังหวัดพะเยา และท่านวรวิทย์ บุรณศิริ นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด พะเยา หน่วยงานราชการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ศาสนสถาน ตลอด จนบริษัทห้างร้านต่าง ๆ ที่ให้การต้อนรับทีมงาน และสนับสนุนข้อมูลใน การประชาสัมพันธ์จงั หวัดพะเยาอย่างดียงิ่ และผมขอถือโอกาสนีอ้ าราธนาสิง่ ศักดิส์ ทิ ธิไ์ ด้โปรดประทานพรให้ทกุ ๆ ท่าน ประสบแต่สง่ิ ทีด่ งี าม และคุม้ ครอง ให้ทุก ๆ ท่าน แคล้วคลาดจากภยันตรายทั้งปวงเทอญ

ติดต่อ คุณศุภกิจ ศิลปรังสรรค์ โทรศัพท์ 081-442-4445, 084-874-3861 E- mail : supakit.s@live.com

(นายศุภกิจ ศิลปรังสรรค์) บรรณาธิการอํานวยการ


พี.เอม.เพลส

ทีอ่ ยู่ 99-799 หมู่ 1 ถ.พหลโยธิน ต.แม่กา อ.เมือง จ.พะเยา 5 000

เบอร์ตดิ ต่อ 054-46665 ,054-466288 ,054-46628


Contents

Phayao

21

74 เส้นทางพบผู้ว่าราชการจังหวัดลำาปาง

36

52

ขัวบุญ

เส้นทางพบท้องถิ่นจังหวัดลำาปาง 14

ใต้ร่มพระบารมี

74

รำาลึกสมเด็จย่า ณ พระตำาหนักกว๊านพะเยา

18

39 ปีจังหวัดพะเยา ก้าวไกลสู่อาเซียน

78

เส้นทางความเป็นมา

21

เส้นทางพบผู้ว่าฯ “นายศุภชัย เอี่ยมสุวรรณ”

82

เทศบาลเมืองพะเยา (อ.เมืองพะเยา)

36

เส้นทางพบนายก อบจ.“นายวรวิทย์ บุรณศิริ”

84

ทต.ท่าจำาปี

38

เส้นทางพบโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด

86

อบต.แม่ใส

40

มหาวิทยาลัยพะเยา...ขุมปัญญาเพื่อชุมชนเข้มแข็ง

88

วัดศรีโคมคำา

46

ศูนย์อุตสาหกรรมอัญมณี...เจียระไนความสุขเพื่อชาวพะเยา

90

เส้นทางพบอำาเภอภูซาง

52

เส้นทางท่องเที่ยว

92

อบต.ภูซาง


Contents

Phayao 82

147

136 96 นําตกภูซาง 96

อบต.ป่าสัก

98

อบต.ทุ่งกล้วย

118

อบต.นาปรัง

102

เส้นทางพบอำาเภอจุน

120

อบต.งิม

104

อบต.พระธาตุขิงแกง

122

อบต.สระ (อำาเภอเชียงม่วน)

108

อบต.ห้วยยางขาม

124

อบต.แม่สุก (อำาเภอแม่ใจ)

110

อบต.แม่ลาว (อำาเภอเชียงคำา)

126

“บ้านฮวก” หุบเขาในฝัน สู่ด่านชายแดนถาวร

113

วัดบุญเกิด (อำาเภอดอกคำาใต้)

136

ไทลื้อ...มรดกชาติพันธุ์จากสิบสองปันนาสู่เชียงคำา

114

อบต.ออย (อำาเภอปง)

147

กอล์ฟคลินิก


ครัว

ออโรร่า ( ) ร้านอาหารท่ามกลางบรรยากาศสวนสวย ริมกวาน พะเยา ให้ความรู ้สึกสดชื่ นและ ่อนคลาย เพื่อความสุนทรีย์ในการรับประทานอาหารอย่างแท้จริง ท่านสามารถดื่มด�่ากับบรรยากาศสุดแสนโรแมนติกยามพระอาทิตย์ลับ อบฟ้า หรือจะเดินกินลม ชมวิวชิ ล เหนือดอยหนอก ดอยที่ ึ้นชื่ อเรื่องความงดงามราวกั องความงดงามราวกับภาพ ั นเหนือกวานพะเยา พร้อมฟั ง เพลงสบาย ในอ้อมกอด องสายลมเย็น ที่จะชวนให้ จะชวนให้คุ จะหลงรักพะเยา...สวิตเซอร์แลนด์เมืองไทย ครัวออโรร่า เราบรรจงคัดสรรวัตถุดิบที่มีคุ ภาพและสดใหม่ ทุก เช้าเราจะเก็บ ักสดที่เราปลู เราปลูก ่ ่ เองจากสวน ไม่ว่าจะเปน ักสลัด และพืช ักสวนครัวต่าง มาใช้ทีร้าน ซึ งเราพิ งเราพิถีพิถันในการปลูกด้วย ใจ เพื่อให้ทุกท่านได้รับประทาน ักที่สด สะอาด และปลอดภัย นอกจากนี้เรายังสร้างสรรค์หลากหลายเมนูอาหารที่มีเอกลักษ ์ เพื่อให้ท่านได้ล้ิมลองรสชาติท่ีแสน เอร็ดอร่อยและประทับใจ ไม่วา่ จะเปนเมนูอาหารจากปลาม้า และปลาเนือ้ อ่อน ซึ่ งเปนปลาที่น้า� จืดที่มคี วามอร่อย และหาทานได้ยาก พร้อมสารพัดเมนูจากกุ้ง อย และปลาส้มซึ่ งเปนอาหารที่ ึ้นชื่ อ องเมืองพะเยา และที่พลาด ไม่ได้คือ อาหารพื้นเมืองเหนือ อาทิ ไส้อ่วั น�้าพริกหนุ่ม แคบหมู แกง ังเล แกงเห็ดถอบ ฯลฯ พร้อมตบท้าย มื้ออร่อยด้วยไอศกรีมโ มเมด และเค้กหลากหลายชนิด


Aurora

แ ส ง เ ห นื อ เ จิ ด จ รั ส ริ ม ก ว า น พ ะ เ ย า

เยือนพะเยาครั้งใด ให้ “ออโรร่า” (Aurora Restaurant & Aurora House) Restaurant ต้อนรับคุณนะคะ

เพื่อให้คุ ได้สมั สั กับบรรยากาศสวิตเซอร์แลนด์เมืองไทย ริมกวานพะเยาได้อย่างอิ่มเอม เรายังมี โ ม ่ สเตย์เล็ก ให้บริการด้วยความอบอุ น่ และเปนกันเอง เพือให้ความ รู ้สึกอุ ่นใจและ ่อนคลายคล้ายกับพักอยู ่ท่ีบ้าน องคุ เอง

ครัวออโรร่า 2 ถ.พหลโย ิน ต.เวียง อ.เมืองพะเยา จ.พะเยา 000 เบอร์โทร 0931366655 F ครัวออโรร่า F โ มสเตย์


ตร่มพระบารมี

โครงการอ่างเก็บน�้าห้วยไฟ อันเน่องมาจากพระราชด�าร ในภาวะที่ประเทศไทยก�าลังประสบปั หาภัยแล้งอยู น่ ี้ ท�าให้หลายคนนึกถึงการแก้ปั หาเ พาะหน้า อย่างเร่งด่วน ใต้ร่มพระบารมี บับนี้ อแนะน�า “โครงการอ่างเก็บน�้าห้วยไฟ อันเนื่องมาจากพระ ราชด�าริพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู ่หัวฯ” ซึ่ งตัง้ อยู ่ท่บี ้านทุ่งกระเทียม หมู ่ท่ี 11 ต�าบลภูซาง อ�าเภอภู ซาง จังหวัดพะเยา เพราะเปนโครงการฯที่ได้รบั รางวัลชนะเลิศ ในเ ตภาคเหนือ ด้านบริหารจัดการน�้า โครงการพั นาแหล่งน�้าอันเนื่องมาจากพระราชด�าริ จากการประกวดคัดเลือก ลงานการ ยาย โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�าริ เพื่อเปนการเ ลิม ลองปี ท่พ ี ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู ่หัวฯ ทรง ครองสิริราชสมบัติครบ 0 ปี ในปี พ.ศ. 2 ความเ นมาของโครงการ

เมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2523 พระบาทสมเดจพระเจ้าอยู่หัวฯ เสดจพระราชดําเนินทอดพระเนตรอ่างเกบนํ้าร่องส้าน แล้วทรง มีพระราชดําริเกี่ยวกับงานชลประทาน ดังต่อไปนี้ ควรพิจารณา วางโครงการก่อสร้างอ่างเกบนํ้าขนาดเลกและ ายทดนํ้าตามลํานํ้าสาขาของแม่ลาว เพื่อจัดหานํ้าให้ราษฎรหมู่บ้านต่าง ๆ ในเขตอําเภอเชียงคํา จังหวัดพะเยา สามารถทําการเพาะปลูกได้ทั้งฤดู นและฤดูแล้ง และมีนํ้าเพื่อการอุปโภค บริโภคตลอดปีด้วย และในระหว่างการเสดจฯ มีราษฎรยื่นถวายฎีกาเพื่อขอความช่วยเหลือ เนื่องจากได้รับความเดือนร้อนจากปญหาการใช้นํ้า คือในช่วง ฤดู นจะเกิดนํ้าท่วมในที่ลุ่มริมนํ้า และเกิดปญหาการขาดแคลนนํ้าในช่วงฤดูแล้ง ทั้งนํ้าอุปโภค บริโภค และนํ้าเพื่อการเกษตร ทําให้ เกษตรกรบางกลุ่มต้องอพยพไปยังจังหวัดน่านและเชียงราย


หน่วยงานรับ ดชอบ

กรมชลประทาน โดยโครงการชลประทานพะเยา สํานักงานชลประทานที่ 2 จึงได้พิจารณาวางแผนการก่อสร้างอ่างเกบนํ้าห้วยไฟตาม พระราชดําริขนึ้ ซึง่ เป็นโครงการทีม่ ลี าํ ดับความสําคัญเป็นอันดับแรก โดยใช้เงินงบประมาณชลประทานขนาดเลก ในปีงบประมาณ 2525 เพือ่ สนองพระราชดําริในการพัฒนาแหล่งนํ้าต่อไป โดยมีลักษณะเป็นอ่างเกบนํ้าขนาดเลก จุดประสงค์ที่สร้างขึ้นเพื่อช่วยเหลือการเพาะปลูกทั้ง ในฤดู นและฤดูแล้ง และเพื่อการอุปโภคบริโภค อ่างเกบนํ้าห้วยไฟอันเนื่องมาจากพระราชดําริ ก่อสร้างเสรจเมื่อปีพ.ศ. 2525 เป็นเขื่อน ดินสูง 14 เมตร ความจุเกบกักนํ้า 700,000 ลูกบาศก์เมตร ผลประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ พื้นที่นา 1,840 ไร่ พืชไร่ 00 ไร่ จํานวน ประชากร 3,200 คน 2 ตําบล 8 หมู่บ้าน 1,200 ครัวเรือน

รางวัลชนะเล ดานบรหารจัดการน�า

ด้วยข้อจํากัดของงบประมาณซึ่งทําให้กรมชลประทานดําเนินการก่อสร้างได้เฉพาะอ่างเกบนํ้าเท่านั้น ดังนั้น ในปีพ.ศ. 2528 เกษตรกร ผู้ใช้นํ้าจึงแบ่งเวรกันมาขุดคลองส่งนํ้า (สายเหมืองดาดคอนกรีตในปจจุบัน) เพื่อนํานํ้าไปใช้ แต่มักประสบปญหาการพังทลายของลําเหมือง และมีตะกอนที่ต้องขุดลอกออกจํานวนมากทุกปี ต่อมาทางโครงการชลประทานพะเยา ร่วมกับ ายส่งเสริมกิจกรรมต่อเนื่องและกิจกรรม พิเศษ สํานักชลประทานที่ 2 ได้เข้ามาจัดตั้งกลุ่มผู้ใช้นํ้า และรูปแบบการบริหารจัดการนํ้าชลประทาน จึงมีกลุ่มผู้ใช้นํ้าอ่างเกบนํ้าห้วยไฟฯ จํานวน 18 กลุ่ม มีสมาชิก จํานวน 401 ราย ซึ่งแต่ละกลุ่มจะมีการบริหารจัดการนํ้าร่วมกัน โดยกลุ่มผู้ใช้นํ้าจัดให้มีการเกบเงินสมทบจาก สมาชิกทีท่ าํ การเกษตร เพือ่ เป็นกองทุนสําหรับการบริหารและพัฒนาต่อไป และมีการประสานงานกับเจ้าหน้าทีห่ น่วยต่าง ๆ เพือ่ มาให้ความ รู้แก่เกษตรกรสมาชิก รวมถึงมีร้านค้าในรูปแบบของสหกรณ์ซึ่งจะมีการปนผลกําไรคืนให้สมาชิกทุกปี และที่สําคัญคือมีโครงการปรับปรุง อ่างเกบนํ้าให้เป็นสถานที่ท่องเที่ยว ในปี พ.ศ. 2549 สํานักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ (สํานักงาน กปร.) ได้จัดทํา โครงการประกวดคัดเลือกผลงานการขยายโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ เพื่อเป็นการเฉลิมฉลองปีที่พระบาทสมเดจพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงครองราชย์ครบ 0 ปี และกลุ่มผู้ใช้นํ้าอ่างเกบนํ้าห้วยไฟ อันเนื่องมาจากพระราชดําริ ได้มีโอกาสเข้าร่วมการแข่งขัน ปราก ว่าได้รับ รางวัลชนะเลิศ ในเขตภาคเหนือ ด้านบริหารจัดการนํา้ โครงการพัฒนาแหล่งนํา้ อันเนือ่ งมาจากพระราชดําริ และได้เข้ารับพระราชทานรางวัล จาก สมเดจพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในวันที่ 7 กรกฎาคม 2549 ณ ศูนย์ประชุมแห่งชาติสิริกิติ์


ต่อยอดเ น ูนย์เรียนรูการพั นาเก ตร

ในโอกาสดังกล่าว สมเดจพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงมีพระราชป ิสันถารกับผู้ใหญ่บ้านบ้านทุ่งกระเทียม จึงทรง ทราบว่า ชาวบ้านทุ่งกระเทียมประสบปญหาราคากระเทียมตกตํ่า จึงพระราชทานพระราชกระแสให้สํานักงานมูลนิธิชัยพัฒนา ดําเนินงาน โครงการช่วยเหลือปญหาราคากระเทียม ตกตํ่าให้กับราษฎร มูลนิธิชัยพัฒนาได้สนองพระราชดําริและเริ่มเข้ามาดําเนินการเพื่อหาแนวทาง การแก้ไขปญหา ให้แก่เกษตรกรผู้ใช้นํ้าอ่างเกบนํ้าห้วยไฟ ตั้งแต่วันที่ 27 พฤศจิกายน 2549 โดยมีนายลลิต ถนอมสิงห์ ตําแหน่งผู้ช่วย เลขาธิการสํานักงานมูลนิธิชัยพัฒนา และ ม.ร.ว.ศรีเฉลิม กาญจนภู ผู้อํานวยการสํานักบริหาร โครงการ 2 สํานักงานมูลนิธิชัยพัฒนา ประชุมร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และกลุ่มผู้ใช้นํ้าอ่างเกบนํ้าห้วยไฟ เกี่ยวกับแนวทางการแก้ไขปญหาราคากระเทียมตกตํ่า เช่น การ แปรรูปกระเทียม การตลาด การลดต้นทุนการผลิต การรวบรวมผลผลิตเพื่อจําหน่ายตรงกับตลาดกลาง แต่ที่ประชุมยังไม่มีข้อสรุปถึง แนวทางการแก้ปญหา เนื่องจากกระบวนการดําเนินการเกี่ยวข้องกับหลาย าย และมีการเชื่อมโยงกัน ซึ่งผลสําเรจจะต้องมีการบูรณา การ ร่วมกับทุกภาคส่วนอย่างเป็นระบบเพื่อให้เกิดความยั่งยืน หลังจากนั้นกได้เข้ามาประชุมเพื่อหาแนวทางในการดําเนินการอีกหลายครั้ง จนสรุปว่าจะ ดําเนินการจัดตั้งกลุ่มผู้ปลูกพืชหลังนาขึ้นมา โดยมีเกษตรกรเข้าเป็นสมาชิกในเบื้องต้น 27 ราย โดยให้แต่ละรายปลูกกระเทียม รายละ 2 ไร่ เพื่อเป็นการนําร่องก่อน ในปีพ.ศ. 2550 แต่ตอ่ มาทางมูลนิธชิ ยั พัฒนาได้สรุปรายละเอียด และนําเรียนท่านผูว้ า่ ราชการจังหวัดพะเยา จึงเกิดแนวคิดในการจัดตัง้ ศูนย์การเรียนรูพ้ ฒ ั นา เกษตร อ่างเกบนํ้าห้วยไฟ จังหวัดพะเยา นางสาวเรืองวรรณ บัวนุช ผู้ว่าราชการจังหวัดพะเยา (ขณะนั้น) ร่วมกับ สํานักงานมูลนิธิชัยพัฒนา และส่วนราชการที่เกี่ยวข้องได้ร่วม กันจัดตั้ง ศูนย์เรียนรู้การพัฒนาเกษตรอ่างเกบนํ้าห้วย ไฟอันเนื่องมาจากพระราชดําริ มีการจัดตั้งคณะอํานวยการ คณะทํางานในพื้นที่ ของโครงการ โดยมีผู้ว่าราชการ จังหวัดพะเยาเป็นประธานในการดําเนินงาน วัตถุประสงค์เพื่อเป็นศูนย์เรียนรู้การเกษตรแบบพอเพียงให้ แก่หน่วยงานราชการ เอกชน และประชาชนทั่วไปในพื้นที่จังหวัด และต่างจังหวัดที่สนใจและศึกษาดูงาน

ลที่ ดรับจากโครงการอ่างเกบน�าหวย

1.ด้านการบริหารจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม 1.1 ส่วนด้านต้นนํ้าของอ่างเกบนํ้าห้วยไฟ เกิดความยั่งยืนของต้นนํ้า ด้วยการปลูกปา ปลูกแ ก และก่อสร้าง ายชะลอนํ้า ทําให้เกิด ความชุ่มชื่นแก่ปา มีนํ้าไหลตลอดทั้งปี และมีสัตว์ปากลับเข้ามาในพื้นที่ดังกล่าวด้วย


1.2 ส่วนด้านกลางนํ้าของอ่างเกบนํ้าห้วยไฟ เกิดการพัฒนาการ บริหารจัดการนํ้าอย่างเป็นระบบ ด้วยการบูรณาการร่วมกันระหว่าง ชุมชน กลุ่มผู้ใช้นํ้า และส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง มีการส่งเสริมการ พัฒนาอาชีพในด้านต่าง ๆ เพิ่มมากขึ้น เช่น การเลี้ยงปลา การสาธิต และศึกษาการปลูกพืชหลังนา และการส่งเสริมการเพาะเหด ส่งเสริม ชุมชนในการบริหารจัดการด้านการเกษตรเป็นระบบ โดยยึดหลัก ผลิตได้ขายเป็น เน้นคุณภาพ 1.3 ส่วนด้านท้ายนํ้าของอ่างเกบนํ้าห้วยไฟ เดิมเกษตรกรและ พืน้ ทีไ่ ม่มกี ารเพาะปลูก และไม่มนี าํ้ ในการอุปโภค - บริโภค ณ ปจจุบนั พื้นที่มีการเพาะปลูก มีนํ้าใช้ และเกษตรกรเข้ามามีส่วนร่วมในการ บริหารจัดการ ในการ ร่วมคิด ร่วมทํา ร่วมรับประโยชน์ 2. กระบวนการมีส่วนร่วม ทําให้ชุมชนเกิดความเข้มแขง เกิดการมีส่วนร่วมระหว่างชุมชน เกษตรกร และ ส่วนราชการ โดยยึดหลัก เศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งใน ปจจุบันมีกลุ่มต่าง ๆ จํานวน 17 กลุ่ม สามารถบริหารจัดการกลุ่มของตนเองได้ โดยนําผลผลิตที่ได้มาเลี้ยงชีพและจําหน่ายเป็นรายได้เสริม และนําผลิตภัณฑ์และหัตถกรรมที่เกิดจากภูมิปญญาท้องถิ่นมาจําหน่ายให้แก่หน่วยงานราชการ เอกชน และประชาชนทั่วไปที่มาศึกษาดู งาน ณ พื้นที่โครงการฯ จะเหนได้ว่า โครงการอ่างเกบนํ้าห้วยไฟ อันเนื่องมาจากพระราชดําริ พระบาทสมเดจพระเจ้าอยู่หัว นี้ ไม่เพียงแต่จะเอื้อประโยชน์ ให้เกษตรกรและราษฎรในพืน้ ทีม่ คี ณ ุ ภาพชีวติ ทีด่ ขี นึ้ จากการมีแหล่งนํา้ เพือ่ การอุปโภค บริโภค และเพือ่ การเกษตรเท่านัน้ แต่ประการสําคัญ คือ โครงการดังกล่าวยังก่อให้เกิดรักใคร่ ปรองดอง และความสมัครสมานสามัคคีของราษฎรในพื้นที่ได้เป็นอย่างดี อ อบคุณ ้อมูลจากบทความ ศูนย์เรียนรู้การพัฒนาอ่างเกบนํ้าห้วยไฟ : ผลผลิตแห่งการพัฒนา โดย จังหวัดพะเยา


39

จังหวัดพะเยา ี กาว กลสู่อาเซี ยน

หล่ง ลตเก ตร ลอดภัย สังคมเขม ขง พรอมสู่ ระชาคมอาเซี ยน

คือวิสยั ทัศน์ของจังหวัดพะเยา จังหวัด ที่ 72 ของประเทศไทย ซึง่ ตัง้ ขึน้ เมือ่ วันที่ 28 สิงหาคม 2520 โดยพระบาทสมเดจ พระเจ้าอยูห่ วั ทรงมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้ตั้งจังหวัดพะเยา ตาม พระราชบัญญัติเรื่องตั้งจังหวัดพะเยา พ.ศ. 2520 ให้ไว้ ณ วันที่ 20 กรกฎาคม 2520

44



20


สารผู ้ว่าราชการ

จังหวัดพะเยา เมื่อเอ่ยถึงจังหวัดพะเยา หลายท่านคงนึกถึงกว๊าน พะเยาด้วยเสมอ เพราะกว๊านพะเยาไม่เพียงแต่จะเป็น แลนด์มาร์คสําคัญของจังหวัดเท่านัน้ แต่ยงั เอือ้ ประโยชน์ ต่อวิถีชีวิต วัฒนธรรมของท้องถิ่น และส่งผลให้เกิดการ พัฒนาด้านการประมง การเกษตรกรรม และการท่องเทีย่ ว โดยเฉพาะประเพณีเวียนเทียนไหว้พระกลางกว๊านพะเยา ที่มีเพียงแห่งเดียวในโลก ซึ่ง ททท.ได้บรรจุไว้ในป ิทิน 12 เดือน 7 ดาว 9 ตะวัน นอกจากนี้ จังหวัดพะเยายัง มีชายแดนติดกับแขวงไชยบุรี สาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว ซึ่งจะเอื้อต่อการส่งเสริมการค้า การลงทุน และการท่องเที่ยวได้เป็นอย่างดี เมือ่ กระผมมีโอกาสมาป บิ ตั ริ าชการในตําแหน่งผูว้ า่ ราชการจังหวัดพะเยา ได้ตั้งปณิธานไว้ว่า จะทําให้พะเยา เป็นเมืองแห่งความสุขและสุจริต ควบคู่กับการพัฒนา เศรษฐกิจโดยรวมของจังหวัด และแก้ไขปญหาความ ยากจน โดยเสริมสร้างความเข้มแขงของเศรษฐกิจในระดับ ฐานราก และส่งเสริมให้ชุมชนเข้มแขง สามารถพึ่งตนเอง ได้ ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงซึง่ พระบาทสมเดจ พระเจ้าอยู่หัว พระราชทานให้แก่ปวงชนชาวไทย ในนามของผู้ว่าราชการจังหวัดพะเยา กระผมขอถือ โอกาสนี้กล่าวขอบคุณทุกภาคส่วน ไม่ว่าเป็นส่วนราชการ ภาคเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ และประชาชนใน ทุกหมูบ่ า้ นทุกชุมชน ทีผ่ นึกกําลังทํางานร่วมกันในลักษณะ ประชารัฐทีด่ เี ยีย่ ม ส่งผลให้การพัฒนาและแก้ไข้ปญหาใน พื้นที่ในทุก ๆ ด้าน ประสบความสําเรจอย่างดียิ่ง และขอ ขอบคุณทีมงานนิตยสาร SBL ที่เหนความสําคัญในการ ประชาสัมพันธ์จังหวัดพะเยา ให้เป็นที่รู้จักแก่สาธารณชน มากยิ่งขึ้นในทุกแง่มุม

นายศุภชัย เอี่ยมสุวรรณ ผู้ว่าราชการจังหวัดพะเยา PHAYAO 21


เสนทางพบ

ู้ว่าราชการจังหวัด

นายศุภชัย เอี่ยมสุวรรณ ผู ้ว่าราชการจังหวัดพะเยา

ด้วยความคุ้นเคยกับสภาพพื้นที่ วิถีชีวิตของผู้คน ตลอดจนถึงสภาพปัญหาที่พบโดยมาก ในระหว่างการปฏิบัติราชการ ในต�าแหน่งรองผู้ว่าราชการจังหวัดเพชรบูรณ์ ล�าปาง ล�าพูน และเชียงใหม่ (ตามล�าดับ) จึงท�าให้ “นายศุภชัย เอี่ยมสุวรรณ” ผู้ว่าราชการจังหวัดพะเยา สามารถวิเคราะห์สภาพปัญหา และบริหารจัดการได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ พร้อม กับมีปณิธานในการขับเคลื่อนจังหวัดพะเยา ให้เป็น “เมืองแห่งความสุข และสุจริต” ภายใต้ แนวพระราชด�าริเศรษฐกิจพอเพียง นิตยสาร SBL ได้รับเกียรติจากท่านผู้ว่าราชการจังหวัดพะเยา ให้สัมภาษณ์ในหลากหลาย ประเดน ดังนี้ เก ตรกรรม หัว จหลักของจังหวัดพะเยา จังหวัดพะเยาเป็นจังหวัดทางภาคเหนือของประเทศไทย มีพื้นที่จาํ นวน 3.9 ล้านไร่เศษ มี อาณาเขตติดต่อกับจังหวัดเชียงราย จังหวัดน่าน จังหวัดลําปาง จังหวัดแพร่ และติดต่อกับแขวง ไชยบุรี สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ระยะทางเขตแดน 44 กิโลเมตร แบ่งการปกครอง ออกเป็น 9 อําเภอ 8 ตําบล 780 หมู่บ้าน มีจํานวนประชากร 4.8 แสนคนเศษ ประชากรส่วน ใหญ่ประกอบอาชีพในภาคเกษตรกรรม โดยมีพื้นที่ประกอบเกษตรกรรมรวมกว่าร้อยละ 38.9 ของพื้นที่จังหวัด ในปี 2557 จังหวัดพะเยามีมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด ( ) เท่ากับ 32,738 ล้านบาท (ลําดับที่ 0 ของประเทศ ลําดับที่ 13 ของ 17 จังหวัดภาคเหนือ) ประชากรรายได้เฉลี่ยต่อหัว เท่ากับ 4,2 3 บาท /คน /ปี ซึ่งสาขาที่เป็นตัวขับเคลื่อนเศรษฐกิจของจังหวัด 4 ลําดับแรก ได้แก่ 1. สาขาเกษตรกรรม การล่าสัตว์ และการปาไม้ 2. สาขาการขายส่ง การขายปลีก การซ่อมแซมยานยนต์ จักรยานยนต์ 3. สาขาการศึกษา 4. สาขาการบริหารราชการและการปองกันประเทศ ถ้ามองถึงรายได้เฉลีย่ ประมาณ 4,000 กว่าบาท/คน/ปี ถือว่าอยูใ่ นระดับกลาง ๆ แต่เนือ่ งจาก ประชาชนส่วนใหญ่อยู่ในภาคเกษตรกรรม เพราะฉะนั้นรายได้กจะอยู่ในระดับกลาง ๆ ซึ่งผมว่า ดี เพราะเป็นรายได้ของชาวบ้านล้วน ๆ ไม่มีอุตสาหกรรมใหญ่ ๆ ที่มาทําให้ตัวเลขเบี่ยงเบนได้

22


PHAYAO 23


ู ว่าราชการจังหวัด ู บรหาร หัวหนา หน่วยงาน จะตองเ น บบอย่างที่ดี เพ่อน�า สู่ความเ น เมองสุจรต

ักยภาพที่โดดเด่นของจังหวัดพะเยา จังหวัดพะเยามีศักยภาพในหลาย ๆ ด้าน เช่น 1 ด้านที่ตัง จังหวัดพะเยาตัง้ อยูใ่ นทําเลทีเ่ ชือ่ มโยงกลุม่ จังหวัดภาคเหนือตอนบนได้ดี จะไปน่าน ไปแพร่ ไปเชียงราย กไปได้สะดวก เพราะพะเยาเป็น ศูนย์กลางของภาคเหนือตอนบนในกลุ่ม 2 แล้ว เรายังมีพนื้ ทีต่ ดิ ชายแดนด้านอําเภอภูซาง ซึง่ จะ 24

เอื้อต่อการเสริมสร้างความร่วมมือกับประเทศ เพือ่ นบ้าน เอือ้ ต่อการส่งเสริมการค้า การลงทุน การท่องเทีย่ ว เพือ่ นบ้านของเรากคือสาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว แล้วยังมีโอกาส เชื่อมไปยังเดียนเบียนฟูของเวียดนาม และทาง จีนที่สิบสองปนนาได้ 2 มีแหล่งนําจด นาด หญ่ กว๊านพะเยา เป็นแหล่งนํ้าจืดขนาดใหญ่ ซึ่งมีพื้นที่เป็นอันดับหนึ่งของภาคเหนือตอนบน

และเป็นอันดับสามของประเทศ ทีเ่ อือ้ ประโยชน์ ต่อวิถีชีวิต วัฒนธรรม ท้องถิ่น และส่งผลให้ เกิ ด การพั ฒ นาด้ า นการประมง การเกษตร กรรม และการท่องเทีย่ วของจังหวัด โดยเฉพาะ ประเพณีเวียนเทียนไหว้พระกลางกว๊านพะเยา ทีม่ เี พียงแห่งเดียวในโลก ซึง่ ททท.ได้บรรจุไว้ใน ป ิทิน 12 เดือน 7 ดาว 9 ตะวัน เป็นที่ดึงดูด ใจของนักท่องเที่ยว รวมทั้งสร้างภาพลักษณ์ที่ โดดเด่นของจังหวัด สร้างงาน อาชีพ และ ราย ได้แก่คนในพื้นที่ 3 ด้านเกษตรกรรม เกษตรกรรมถือเป็นหัวใจหลักของจังหวัด พะเยา เพราะว่าอาชีพส่วนใหญ่ของประชากร เป็นอาชีพเกษตรกรรม พะเยาจึงเป็นแหล่ง ผลิตที่มีศักยภาพ สามารถพัฒนาไปสู่เกษตร อุตสาหกรรม และเกษตรปลอดภัย สามารถ สร้ า งรายได้ แ ละเพิ่ ม มู ล ค่ า ผลิ ต ผลทางการ เกษตรได้ พืชเกษตรหลักที่สําคัญคือ ข้าวหอม มะลิที่เหนียวนุ่มหอมนาน รสชาติอร่อย เป็น ข้าวที่คุณภาพสูงมากและขายได้ราคาดี ตอนนี้ หลายพื้นที่ปลูกข้าวในแนวของเกษตรอินทรีย์ ซึง่ เป็นจุดเด่นของข้าวหอมมะลิพะเยา นอกจาก นี้เรายังมีพื้นที่ปลูกยางพาราประมาณแสนกว่า ไร่ มีผลผลิตออกมาเป็นอันดับหนึ่งของภาค เหนือ และเป็นที่ตั้งของโรงงานยางแผ่นรมควัน ที่สามารถแปรรูปเพื่อเพิ่มมูลค่ายางแผ่นทําให้ เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้น 4 ด้านประวัติศาสตร์ วั นธรรม พะเยาเป็นเมืองประวัติศาสตร์ เดิมมีชื่อว่า เมืองภูกามยาว หรือ พยาว โดยมีวิวัฒนาการ อย่างยาวนานและต่อเนื่อง จนถึงปจจุบัน 919 ปี โบราณสถานและโบราณวัตถุที่สําคัญ ได้แก่ จารึกเก่าแก่ 113 หลัก วัดพระเจ้าตนหลวง วัด ลีโบราณสถานเวียงลอ วัดติโลกอาราม ฯลฯ ซึ่ ง สามารถนํ า มาเป็ น แหล่ ง เรี ย นรู ้ ท างศิ ล ป วัฒนธรรมล้านนา นอกจากนี้ยังมีวัฒนธรรม และประเพณีของชนกลุ่มชาติพันธุ์ถึง 7 กลุ่ม เช่น ม้ง กะเหรี่ยง มูเซอ เย้า(เมี่ยน) ไทใหญ่ ไทลือ้ โดยเฉพาะกลุม่ ชาวไทลือ้ ทีอ่ าํ เภอเชียงคํา


ที่นั่นจะเป็นศูนย์กลางประสานงานวัฒนธรรม ไทลื้อ ซึ่งเป็นต้นทุนในการส่งเสริม อนุรักษ์ วัฒนธรรม ประเพณี และโครงข่าย กิจกรรม การ ท่องเที่ยวของจังหวัด และเป็นจุดเชื่อมโยง กลุ่มไทลื้อของภาคเหนือได้อย่างดี 5 ด้านการท่องเที่ยว พะเยามี ส ถานที่ ท ่ อ งเที่ ย วที่ เ ป็ น วั ด วา อารามที่มีชื่อเสียงคือ วัดศรีโคมคํา ซึ่งเป็นที่ ประดิษฐานพระเจ้าตนหลวง พระพุทธรูปล้าน นาที่องค์ใหญ่ที่สุด และเป็นที่เคารพสักการะ ของชาวพะเยามาก และเป็นจุดสําคัญด้านการ ท่องเทีย่ ว นอกจากนีเ้ รายังมีแหล่งท่องเทีย่ วทาง ธรรมชาติทโี่ ดดเด่น เช่น กว๊านพะเยา นํา้ ตกนํา้ อุน่ ภูซาง ภูลงั กา ผาเทวดา ฯลฯ ซึง่ สามารถท่อง เที่ยวในแนวอนุรักษ์ แนวนิเวศวิทยา บวกกับ เรียนรู้วิถีชีวิตของชุมชนวัฒนธรรมที่ดีงามของ กลุ่มชาติพันธุ์ โดยในปี 2557 จังหวัดพะเยา มีรายได้จากนักท่องเที่ยว 1,018.91 ล้านบาท 6 ด้านการศึกษา จังหวัดพะเยาเป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัย PHAYAO 25


พะเยา ซึ่งเป็นมหาวิทยาลัยที่เติบโตเรวมาก เปดสอนตั้งแต่ระดับปริญญาตรีถึงปริญญาเอก และมีคณะซึ่งเป็นที่นิยมของนักเรียนนักศึกษา เช่น คณะแพทยศาสตร์ ทันตแพทยศาสตร์ เภสัชศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ ฯลฯ และเป็น สถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาที่มีงานวิจัย และงานบริการวิชาการเพือ่ พัฒนาความเข้มแขง ของชุมชนโดยตรง นพั นาจังหวัดพะเยา 4 ี 2561 2564 วิสัยทัศน์ แหล่งผลิตเกษตรปลอดภัย สั ง คมเ ้ ม แ ง ภาย ต้ ก ารเปนประชาคม อาเซียน ยุทธศาสตร์การพั นา 1.ส่งเสริมเกษตรปลอดภัยและการค้าการ ลงทุนเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน 2.ส่ ง เสริ ม และพั ฒ นาการท่ อ งเที่ ย วเชิ ง อนุรักษ์ เรียนรู้วิถีชุมชนในแนวทางเศรษฐกิจ สร้างสรรค์ 3.พัฒนาเมืองและโครงสร้างพืน้ ฐานและสิง่ แวดล้อมอย่างยั่งยืน 4.สร้ า งคุ ณ ค่ า และพั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต ประชาชน 5. พัฒนาและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน . ส่งเสริมความมั่นคงภายในและตาม แนวชายแดน ตํ า แหน่ ง การพั นา จังหวัดพะเยา 1. เมืองแห่งความสุขและสุจริต ( a ao appiness) 2. เมืองเกษตรปลอดภัย 3.เมืองแห่งการเรียนรู้วิถีชุมชนเชื่อมโยง วั ฒ นธรรมและการท่ อ งเที่ ย วในแนวทาง เศรษฐกิจสร้างสรรค์ 4. พะเยา reen it

26

ในส่วนของ ositioning ของจังหวัดพะเยา ทีว่ า่ เป็นเมืองทีเ่ กษตรปลอดภัย และเป็นเมืองที่ สังคมน่าอยู่ ในแนวคิดของผมคือจังหวัดพะเยา ไม่ต้องใหญ่โตอย่างเชียงใหม่ หรือเชียงราย แต่ เป็นเมืองทีอ่ ยูก่ บั วัฒนธรรม อยูก่ บั วิถชี วี ติ ชุมชน ทีน่ า่ อยู่ แล้วสิง่ นีก้ จะไปเสริมด้านการท่องเทีย่ ว ซึ่งจังหวัดพะเยาได้กําหนดวิสัยทัศน์การท่อง เที่ยว ( 25 1 25 4) ไว้ว่า...จังหวัดพะเยา เป็นเมืองท่องเที่ยวเชิงอนรัก ์ เรียนรู้วิ ีชีวิต ชมชน ในแนวทางเศร กิจสร้างสรรค์ ดังนั้นรูปแบบการท่องเที่ยวของพะเยาจะ เป็นการท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ และเรียนรู้วิถี ชุมชน ในแนวทาง เศรษฐกิจสร้างสรรค์ หมายถึงการใช้เทคโนโลยีมาเพิ่มมูลค่าการค้า การลงทุนด้านการท่องเทีย่ ว เดียวนีไ้ ปแหล่งท่อง เที่ยวต้องใช้คิวอาร์โค๊ด ไม่ต้องมีไกด์ยังได้เลย หรือใช้สอื่ ข้อความต่าง ๆ เรือ่ งการท่องเทีย่ วกจะ ประมาณนี้ แต่ทงั้ นีท้ งั้ นัน้ ผมไม่ได้มองว่าทําแล้ว จะต้องได้เงินอย่างเดียว แต่จะต้องได้ทั้ง 2 ทาง คือทําแล้วต้องเกิดคุณค่าทางเศรษฐกิจ ขณะ เดียวกต้องเกิดคุณค่าทางสังคม พูดเป็นภาษา อังกฤษกคือ alue or Mone กับ alue or Societ หมายถึงเศรษฐกิจดีแล้ว สังคมกต้องดี ภายใต้การจัดการสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม และ ดีต่อยอดไปเรื่อย ๆ นี่คือแนวคิดเกี่ยวกับการ พัฒนาที่ผมมอง ู ว่า ขับเคล่อนพะเยา สู่เมอง ห่งความสุขสุจรต กลยุทธ์และแนวทางดําเนินงานของผม เพือ่ ให้จังหวัดพะเยา เป็นเมืองแห่งความสุขและ สุจริต ประกอบด้วย 1 การ ับเคล่อนสู่เมองแห่งความสุ สิ่งสําคัญประการแรก คือ การตรวจสอบ และรับฟงปญหาของประชาชน โดยผ่านกลไก การดํ า เนิ น งานตั้ ง แต่ ร ะดั บ ชุ ม ชน/หมู ่ บ ้ า น อําเภอ และจังหวัด เพื่อให้ได้ปญหาที่แท้จริง

และนําไปสู่การแก้ไข พร้อมทั้งกําหนดกลยุทธ์ แนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และบริหาร จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม และ ภารกิจการเสริมสร้างความมั่นคงในระดับพื้นที่ โดยประสานความร่วมมือจากทุก ายทีเ่ กีย่ วข้อง เพื่อความเข้าใจร่วมกัน 1.1 ด้านการบริหารจัดการ ยึดหลักธรรมภิ บาลและบูรณาการการทํางานร่วมกันทุกภาค ส่วน โดยยึดหลักพื้นที่ ( rea pproac ) และ มองการพัฒนาแบบองค์รวม ซึ่งต้องพิจารณา ถึงความซํ้าซ้อน เชื่อมโยงของปญหาต่าง ๆ ที่ เกี่ยวข้องและส่งผลถึงกัน ด้วยการทํางานเชิง รุก การให้ทุก ายได้มีโอกาสเข้ามาร่วมคิด กําหนดยุทธศาสตร์และเปาหมายการทํางาน ร่วมกัน โดยใช้เครื่องมือการบริหารจัดการที่มี ประสิทธิภาพ โดยเฉพาะการจัดทําระบบข้อมูล ทั้งระบบ M S และ S ในแผนที่ภาพถ่าย ดาวเทียม ตั้งแต่ระดับจังหวัดลงไปจนถึงระดับ หมู่บ้าน ชุมชน และครัวเรือน เพื่อชี้เปาหมาย การทํางานให้ชดั เจน ซึง่ จะทําให้การแก้ไขปญหา และการพัฒนาเกิดผลสัมฤทธิ์ และสามารถวัด ประเมินผลได้ 1.2 การพัฒนาเศรษฐกิจและการแก้ไข ปญหาความยากจน จะมุ่งพัฒนาเสริมสร้าง ความเข้มแขงเศรษฐกิจในระดับฐานราก ที่ยึด หลักเศรษฐกิจพอเพียง และการส่งเสริมให้ ชุมชนเข้มแขง สามารถพึ่งตนเองได้ ควบคู่การ

การพั นาอุ ตสาหกรรมดาน ลตภั ์ อาหาร ละ บโอเทค ตามตัว บบ 4.0 สอดคลองกับ ยุ ท าสตร์การพั นาจังหวัดพะเยา ดานเก ตร ลอดภัย


พั ฒ นาเศรษฐกิ จ โดยรวมของจั ง หวั ด ทั้ ง ภาค เกษตร อุตสาหกรรม การค้าการลงทุน และภาค บริการ โดยเฉพาะการแก้ไขปญหาปากท้องของ ประชาชน การแก้ไขปญหาผลผลิตการเกษตร ตกตํ่า การสร้างรายได้จากการท่องเที่ยว จาก ศักยภาพและโอกาสทีจ่ งั หวัดมีอยู่ และการเสริม สร้างขีดความสามารถในการแข่งขันทั้งระบบ ตั้งแต่ต้นนํ้า กลางนํ้า และปลายนํ้า โดยการ พัฒนาบุคลากร ตลอดจนการสร้างเครือข่าย ความร่วมมือทั้งในระดับจังหวัด กลุ่มจังหวัด และความร่วมมือระหว่างพื้นที่จังหวัด ( rea) กับกระทรวง กรม (Function) เพื่อให้เกิดพลัง ต่อการขับเคลื่อน 1.3 การพั ฒ นาและแก้ ไ ขปญหาสั ง คม การขจั ด ปญหาความขั ด แย้ ง และสร้ า งความ สมานฉั น ท์ ใ นสั ง คม มี แ นวทางที่ สํ า คั ญ คื อ การอํานวยความเป็นธรรมในสังคม เพื่อขจัด ปญหาที่ จ ะเป็ น เหตุ อั น นํ า ไปสู ่ ค วามขั ด แย้ ง ความแตกแยกของคนในสั ง คม รวมทั้ ง การ ส่ ง เสริ ม กิ จ กรรมเพื่ อ สร้ า งความปรองดอง สมานฉันท์ ความรัก ความสามัคคี โดยใช้ กิจกรรมสาธารณประโยชน์ กี า วัฒนธรรม ประเพณีและศาสนา หรือกิจกรรมความร่วม

มือในรูปแบบต่าง ๆ โดยดําเนินการตัง้ แต่ระดับ ชุมชน/หมู่บ้าน จนถึงระดับอําเภอและจังหวัด 1.4 การเสริมสร้างความมั่นคง ปลอดภัย แก่ประชาชน 1.5 การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม เป็นภารกิจสําคัญที่จะต้อง อนุรักษ์ฟ นฟูทรัพยากรธรรมชาติไว้ไม่ให้ถูก ทําลาย พร้อมกับการบริหารจัดการอย่างเหมาะ สมในการดูแลรักษา และการใช้ประโยชน์ ซึ่ง ต้องพิจารณาในส่วนทีเ่ กีย่ วข้องทัง้ ด้านเศรษฐกิจ สังคม และการจัดการสิ่งแวดล้อม ตั้งแต่ต้นนํ้า จนถึงปลายนํ้า ด้วยมาตรการการปองกัน การ สร้างความตระหนัก การให้ความรู้ ความเข้าใจ การปราบปรามจับกุมผูก้ ระทําผิดและการฟนฟู โดยใช้กลไกการมีส่วนร่วม การสร้างเครือข่าย การสนธิความร่วมมือจากทุกภาคส่วน โดย เฉพาะจากประชาชนในพื้นที่ นอกจากนี้ปญหา สิง่ แวดล้อมอืน่ ๆ จะพิจารณาดําเนินการไปด้วย เช่นกัน ทั้งปญหาเรื่องขยะ นํ้าเสีย อากาศ และ สารปนเปอนในแหล่งนํ้าธรรมชาติ ฯลฯ โดย เฉพาะการแก้ไขปญหาขยะ ต้องสร้างความ เข้าใจทั้งในระดับครัวเรือนและชุมชน เพื่อลด ปริมาณขยะ การคัดแยกขยะ และการกําจัดขยะ

โดยใช้วิธีการหรือเทคโนโลยีที่เหมาะสมและมี การประสิทธิภาพภายใต้ความคิดและความเหน ร่วมของชุมชน 1. การพัฒนาและขับเคลื่อนศูนย์ดํารง ธรรม ในการทําหน้าที่ในการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ ให้บริการข้อมูลข่าวสาร ให้คําปรึกษา รับเรื่องปญหาความต้องการและข้อเสนอแนะ ของประชาชน และทําหน้าทีเ่ ป็นศูนย์บริการร่วม ในลักษณะศูนย์บริการแบบเบดเสรจที่สามารถ ให้บริการข้อมูลด้านการลงทุน และขั้นตอนใน การอํานวยความสะดวกแก่ประชาชนในบริการ ของหน่วยงานของรัฐ ซึ่งนอกจากส่งผลในการ บริการและอํานวยความเป็นธรรมแก่ประชาชน แล้ว ยังส่งผลต่อการพัฒนาจังหวัดด้วย 2 การปองกันและปราบปรามการทุจริต และประพ ติมิชอบ เป็นนโยบายสําคัญที่จะต้องนํามาสู่การ ป ิ บั ติ และดํ า เนิ น การให้ เ กิ ด ผลอย่ า งเป็ น รูปธรรม และจริงจัง ด้วยมาตรการการสร้าง จิตสํานึกการปองกันและปราบปราม สร้างความ รูส้ กึ ให้ทกุ คนเหนความสําคัญทีจ่ ะเข้ามาช่วยกัน แก้ไขปญหา ซึง่ นอกจากตัวบุคคลทีเ่ กีย่ วข้อง ทัง้ ข้าราชการ เจ้าหน้าที่ที่ป ิบัติ ผู้ประกอบการ PHAYAO 27


ภาคเอกชน ผู้สนับสนุนและประชาชน ตลอด จนนักเรียน นักศึกษาแล้ว การออกแบบและ วางระบบการบริหารจัดการ ขั้นตอน และวิธี การทํางาน กจะเป็นส่วนสําคัญในการปองกัน และแก้ไขปญหาการทุจริต พร้อมกับการจัดให้มี กลไกการขับเคลือ่ นการดําเนินงานให้ไปสูจ่ ดุ มุง่ หมายเดียวกัน โดยให้ทุก ายเหนว่า เป็นเรื่อง สําคัญที่ทุก ๆ คน จะต้องมีจิตสํานึกและความ รับผิดชอบร่วมกัน ทั้งนี้ ผู้ว่าราชการจังหวัด ผู้ บริหาร หัวหน้าหน่วยงาน จะต้องเป็นแบบอย่าง ที่ดี เพื่อนําไปสู่ความเป็น เมืองสุจริต การบูรณาการความร่วมมือจากทุกภาค ส่วน และการสร้างทีมงาน เพื่อผนึกกําลังการ ทํางานร่วมกัน และการเสริมสร้างชุมชนเข้ม แขง จะเป็นส่วนสําคัญต่อการพัฒนาและแก้ไข้ ปญหาในพื้นที่ในทุก ๆ ด้าน ด้วยความมุ่งมั่น ตัง้ ใจทีจ่ ะทํางานโดยยึดหลักการบูรณาการ และ จะขับเคลื่อนนโยบายและยุทธศาสตร์ในระดับ พื้นที่ ( rea Base ) จึงเชื่อมั่นว่าจะนําไปสู่ ประโยชน์สขุ ของประเทศชาติและประชาชน อัน เป็นเปาหมายสําคัญ การพั นาที่สอดคลองกับ 4.0 Mo el ailan 4.0 เป็นตัวแบบการ พัฒนาประเทศไทยทีส่ อดรับกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี เพื่อป ิรูปโครงสร้างเศรษฐกิจ การวิจัย และพัฒนา และการศึกษาของประเทศ โดย 28

การผนึกกาลังของทุกภาคส่วน ภายใต้แนวคิด ประชารัฐ เพื่อขับเคลื่อนประเทศไทย ด้วย นวัตกรรม ไปสู่การเป็นประเทศที่มีรายได้สูง และเป็นประเทศที่มีความมั่นคง มั่งคั่ง และ ยั่งยืน โดยตัวแบบ ailan 4.0 นั้น มุ่งเน้น การส่งเสริมอุตสาหกรรมเปาหมาย ซึ่งเป็น กลไกขับเคลื่อนเศรษฐกิจเพื่ออนาคต ( ew Engine o rowt ) ซึ่งจุดเน้นที่สอดคล้อง

กับจังหวัดพะเยา ประกอบไปด้วย การพัฒนา อุตสาหกรรมเปาหมายด้านผลิตภัณฑ์อาหาร และไบโอเทค (Foo ro uct an Bio-tec ), การพัฒนาอุตสาหกรรมด้านสุขภาพ ( ealt an ellness), และการใช้กลไก So t ower ได้แก่ การพัฒนาอุตสาหกรรมด้านบริการที่มี ความสร้างสรรค์ ด้านวัฒนธรรม และบริการ ที่มีคุณค่าสูง ( reative, ulture, ig alue Services) การพั ฒ นาอุ ต สาหกรรมด้ า นผลิ ต ภั ณ ฑ์ อาหารและไบโอเทค ตามตัวแบบ ailan 4.0 สอดคล้ อ งกั บ ยุ ท ธศาสตร์ ก ารพั ฒ นา จั ง หวั ด พะเยาด้ า นเกษตรปลอดภั ย โดย ผลิตภัณฑ์อาหารและผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร ทีเ่ ป็นจุดเด่นของจังหวัดพะเยา ประกอบไปด้วย ผลิตภัณฑ์อาหารสด และผลิตภัณฑ์อาหาร แปรรูป ได้แก่ ข้าว ปลานิล กาแฟ โคเนื้อ โคนม และสมุนไพรสกัดแปรรูป เป็นต้น ซึ่ง ผลิตภัณฑ์เหล่านี้ ได้จากการเพาะปลูกหรือ เลี้ยงในพื้นที่จังหวัดพะเยา ซึ่งมีสภาพแวดล้อม และธรรมชาติที่ยังคงมีความสมบูรณ์ มีดินที่ดี และอุดมสมบูรณ์ไปด้วยแร่ธาตุ ตลอดจนการ มีนนํ้าสะอาด และอากาศบริสุทธิ์ ทําให้เป็น ผลิตภัณฑ์อาหารและผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร ของจังหวัดพะเยาที่มีคุณภาพ และเหมาะสมที่ จะเป็นอาหารเพื่อสุขภาพ และส่งเสริมคุณภาพ ชีวิตที่ดี สอดคล้องกับข้อเสนอของภาคเอกชน


ส่งส�าคั ระการ รก คอ การตรวจ สอบ ละรับ ั ง ั หาของ ระชาชน โดย ่านกล กการด�าเนนงานตัง ต่ ระดับชุมชน/หมู่บาน อ�าเภอ ละจังหวัด เพ่อ ห ด ั หาที่ ทจรง

PHAYAO 29


จังหวัดพะเยายังมีโบรา ส าน เมองโบรา ละพนที่ เมองเก่าพะเยา ซ่ งจังหวัดพะเยาสามาร ส่งเสรมบรการ ละการท่องเที่ยวเชง วลหาอดีต

จังหวัดพะเยา ในการส่งเสริมการจัดทําโครงการ Foo alle จังหวัดพะเยา ในด้านการพัฒนาอุตสาหกรรมสุขภาพนั้น จังหวัดพะเยามีจุดเด่นเรื่องธรรมชาติ อากาศ บริสุทธิ์ และการมีกว๊านพะเยาอยู่ใจกลางเมือง ดังนั้น จึงเหมาะสมจะส่งเสริมอุตสาหกรรม สุขภาพ เช่น การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ โดยการ เป็นสถานทีพ่ กั ตากอากาศบริสทุ ธิ์ รวมถึงเป็นที่ ตั้งของสถานพักฟนผู้ปวย สถานบริบาล สถาน พยาบาลผูส้ งู อายุ ทีพ่ กั แบบ Long-Sta สําหรับ กลุ่มผู้เกษียณอายุจากการทํางาน เป็นต้น เพื่อ การดูแลส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่ดีทั้งกายและใจ ในส่วนของการพัฒนาอุตสาหกรรมด้าน บริการที่มีความสร้างสรรค์ ด้านวัฒนธรรม และบริการที่มีคุณค่าสูงนั้น จังหวัดพะเยาเป็น จังหวัดที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรม ซึ่ง วัฒนธรรมประเพณีในจังหวัดพะเยา ประกอบ ไปด้วยวัฒนธรรมทั่วไปของชาวล้านนา และ วั ฒ นธรรมเฉพาะของกลุ ่ ม ชาติ พั น ธุ ์ ต ่ า ง ๆ นอกจากนีจ้ งั หวัดพะเยายังมีโบราณสถาน เมือง โบราณ แหล่งอารยธรรมเวียงลอ และพื้นที่ เมืองเก่าพะเยา ซึ่งจังหวัดพะเยาสามารถส่ง เสริมบริการและการท่องเที่ยวเชิงถวิลหาอดีต ( ostalgia ourism) ได้ วก ตภัย ลง...งานทาทายของ ู ว่า คน หม่ 30

ตั้งแต่ผมมารับราชการที่นี่ เมื่อ 1 ตุลาคม 2558 ผมกมานั่งถามว่าปญหาของชาวพะเยา คืออะไร พบว่าปญหาอันดับแรกกคือ ปญหา ภัยแล้ง ผมกเลยมาศึกษาว่าทําไมถึงแล้ง ปญหา ของพะเยากคือนํ้าที่ผ่านมาแล้วเราไม่สามารถ กักเกบไว้ได้ โจทย์ที่ผมต้องทําคือจะทําอย่างไร ให้จังหวัดพะเยารักษานํ้าให้ได้มากที่สุด จังหวัดพะเยามีแหล่งนํ้าสําคัญคือ กว๊าน พะเยาซึ่งเกบได้ประมาณ 33 ล้านลบ.ม. ซึ่ง นํ้าที่ลงไหลผ่านจังหวัดพะเยา และอ่างเกบนํ้า อื่นๆ เช่น อ่างเกบนํ้าแม่ตํา อ่างเกบนํ้าแม่ปม และหนองเลงทราย ฯลฯ ในเขตพื้นที่ลุ่มน้าอิง ปีละประมาณ 2 พันกว่าล้านลบ.ม. แต่เราเกบ ได้แค่ 219 ล้าน หรือ 10 โดยเฉพาะ เพราะ นํ้าจากกว๊านพะเยาจะไหลเป็นแม่นํ้าอิงมาออก ทางเชียงของ จังหวัดเชียงราย ลงแม่นาํ้ โขงหมด เลย ส่วนลุ่มนํ้ายมซึ่งมีแหล่งกําเนิดอยู่ที่ภูลังกา ปริมาณนํ้าประมาณ 900 กว่าล้านลบ.ม. แต่ เกบได้ 19 ล้านลบ.ม. เพราะฉะนั้นปริมาณนํ้า นกับนํ้าที่ผ่านมา 2 พันกว่าล้านลบ.ม. เกบได้ เพียง 238 คิดเป็นร้อยละ 10 เท่านั้นเอง นี่คือ ทําให้มีปญหาภัยแล้ง พอเรารูป้ ญหาแล้วว่าเราเกบนํา้ ได้นอ้ ย แล้ว จะทําอย่างไรให้เกบได้เยอะ จังหวัดพะเยาก ต้องบริหารจัดการนํ้า ผมกตั้งโจทย์ว่าประการ

แรกสิ่งที่เราช่วยตัวเองได้มากที่สุดคือ 1. ปลูก ปาเพราะปาจะเป็นตัวซับนํ้าไว้ 2. ชุมชนต้อง บริหารจัดการนํ้าอย่างมีคุณภาพ 3. พัฒนาอ่าง เกบนํ้าที่มีอยู่ โดยทําประตูกั้นนํ้าเป็นช่วง ๆ ไว้ ปีนี้กได้ประตูกั้นนํ้ามา 1 ตัว ราคา 90 กว่าล้าน บาท และปีหน้ากอยู่ในแผนงาน จะได้ประตูกั้น นํา้ มาอีก 1 ตัว เพราะฉะนัน้ ถ้าเผือ่ นํา้ ลงมาผ่าน กว๊านพะเยาแล้วจะไหลกลับ เรากจะมีประตูกนั้ นํา้ อย่างน้อย 2 ตัว นํา้ กจะขังอยูใ่ นแหล่งนํา้ พวก นี้ แล้วสามารถดึงมาใช้ได้ตลอดปี นีค่ อื แนวทาง พัฒนาลุ่มนํ้าอิง ส่วนลุ่มนํ้ายม เนื่องจากเป็นต้นนํ้า ขณะ นี้กกําลังศึกษาการใช้ประโยชน์จากนํ้ายม และ ทางมหาวิทยาลัยนเรศวรกได้มาศึกษาในพื้นที่ กมีความคิดร่วมกันว่าอาจจะต้องทําโครงการ แหล่งนํ้าขนาดเลก ๆ ที่ชาวบ้านยอมรับได้หลาย ๆ จุด เหมือนขนมครกและขณะเดียวกันกจะ มีอ่างเกบนํ้าขนาดใหญ่ที่กรมชลประทานวาง ไว้แล้วประมาณ 5 แห่ง เป็นอ่างเกบนํ้าขนาด กลาง แล้วขณะนี้มี 1 ตัวได้รับอนุมัติแล้วโดย มติ ครม. เขาเรียกว่าอ่างเกบนํ้าปี จะเกบกัก นํา้ ได้ประมาณ 90 ล้านลบ.ม. กใช้เงินประมาณ 4 พันล้านบาท เริ่มปีนี้จะเสรจกประมาณปี 2 ถ้านํา้ ปีสร้างเสรจกจะเป็นแหล่งนํา้ ทีด่ แู ลอําเภอ เชี ย งม่ ว นได้ ทั้ ง อํ า เภอและพื้ น ที่ อื่ น บางส่ ว น


นหลวงพระราชทาน นว รัช า เ ร กจพอเพียงมา หเรา จนท่าน ด รับความยกย่องทั่วโลก... ลวเราคน ทยเองท�า ม ม่น�า รัช าเ ร กจพอ เพียงของท่านมา ช เพราะฉะนัน้ ในพืน้ ทีล่ มุ่ นํา้ ยมคือพัฒนาอ่างเกบ นํ้าที่ชลประทานวางแผนไว้ประมาณ 5 แห่ง ส่ ว นเรื่ อ งการบริ ห ารจั ด การนํ้ า ในกว๊ า น พะเยา แผนแรกคือผมเริ่มใช้มาตรการควบคุม การใช้นํ้าโดยลดแรงดันนํ้า เพื่อที่จะมีนํ้าใช้ได้ จนถึงเดือนพฤษภาคม ตอนนั้นกว๊านพะเยา เหลือนํ้าอยู่ประมาณ 11.5 ล้านลบ.ม. เราใช้นํ้า เฉลีย่ เดือนละ 1.5 - 2 ล้านลบ.ม. กน่าจะมีนาํ้ ใช้ จนถึงเดือนพฤษภาคมได้ ผมมัน่ ใจ แต่ปราก ว่า มันมีตัวแปร เนื่องจากกว๊านพะเยาใช้ประโยชน์ 2 อย่าง 1. ใช้บริโภค 2. ใช้ในการเกษตร เราก ขอความร่วมมือกับชุมชนแถวนีซ้ งึ่ เขาทําบ่อปลา ว่า ถ้าจับปลาหมดแล้วอย่าเพิ่งเลี้ยงปลาลอต

ใหม่ ให้รอสัก 2 เดือน เดียวจะหาอาชีพอื่น เติมให้เขา เราต้องพยายามทําความเข้าใจตรง นี้ บวกกับอากาศที่ร้อนส่งผลให้นํ้าระเหยมาก เฉลี่ยแล้ววันหนึ่งประมาณ 7-8 หมื่นลบ.ม. นั่น คือการบ้านหนัก ผมกคิดว่าทําอย่างไรเพื่อให้ เกิดความมั่นคงเรื่องแหล่งนํ้า ดังนั้นแผนสองก คือ เราตกลงขอนํ้าจากตําบลแม่ตํามา 2 ล้าน ลบ.ม. รวมเป็น 13.5 ล้านลบ.ม. ประกอบกับ ที่อําเภอดอกคําใต้เราไปทําแหล่งนํ้าแห่งหนึ่ง คือ แหล่งนํ้าหนองขวาง เป็นแหล่งนํ้าที่ดีมาก นํ้าเยอะมาก เรากขอความร่วมมือกับทางการ ประปาส่วนภูมิภาคให้มาทําประปาชั่วคราวให้ ที่นี่ เพื่อผลิตนํ้าประปาชั่วคราวจากหนองขวาง

เพื่อมาดูแลทางอําเภอดอกคําใต้ ส่วนแผน 3 คือการบริหารจัดการนํา้ ประปา เพือ่ ให้เกิดความมัน่ คงในอนาคต เวลาทํางานผม ไม่สามารถมองแค่วนั นีไ้ ด้ แต่จะมองเผือ่ อนาคต ที่อําเภอภูกามยาวเราได้งบประมาณมา 158 ล้านบาทจากการประปาส่วนภูมิภาค ซึ่งด้าน หลังอําเภอจะมีหนองนํา้ ทีเ่ รียกว่าร่องติว้ เพราะ ฉะนั้นสิ้นปีนี้เงิน 158 ล้านบาท จะทําทั้งขุด ลอก ทัง้ ระบบประปาทีร่ อ่ งติว้ เมือ่ เสรจแล้วกจะ บริการนํ้าให้ที่อําเภอภูกามยาว เพราะฉะนั้นใน อนาคตกว๊านพะเยากสามารถตัดพืน้ ทีก่ ารใช้นาํ้ ในอําเภอดอกคําใต้ไปหนึง่ ตัดอําเภอภูกามยาว ไปหนึง่ กจะเหลือเฉพาะทีเ่ ขตตัวเมืองและชุมชน ตําบลแม่กา รอบมหาวิทยาลัยพะเยา และถ้า ศึกษาความเหมาะสมแล้ว และสามารถยกระดับ สันอ่างเกบนํ้าแม่ตําให้ขึ้นไปอีกสัก 1 เมตรก จะ เกบนํ้าเพิ่มเติมได้อีก 9 ล้าน ลบ.ม. แล้วก ผลิตนํา้ เพือ่ มาบริการแถวตําบลแม่กาซัก 3,000 ครัวเรือน รวมถึงมหาวิทยาลัยพะเยาด้วย กว๊าน พะเยากไม่ต้องไปดูแลที่ตําบลแม่กาซึ่งอยู่รอบ เมือง ดังนั้นนํ้าจากกว๊านพะเยากจะดูแลเฉพาะ แค่ในเขตตัวเมือง ประปาของพะเยากจะมีความ PHAYAO 31


มั่นคงในอนาคตอย่างน้อย 20 ปี สิ่งเหล่านี้คือการบริหารจัดการเรื่องนํ้าใน ฐานะผู้ว่าฯ พะเยา เพื่อให้เกิดการพัฒนาการ บริหารจัดการนํา้ อย่างยัง่ ยืน และให้ทกุ คนมีสว่ น ร่วม และทีส่ าํ คัญกคือสามารถบริหารจัดการนํา้ ได้ทั้งนํ้าเพื่อการเกษตรและนํ้าเพื่อการบริโภค อย่างมั่นคง โครงการส�าคั น ี 2559 วาระจังหวัดพะเยา การ บั เคล่อนการ สร้างความเ ม้ แ ง องเศรษฐกิจฐานรากตาม แนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ในปี 2559 จังหวัดพะเยาได้กําหนดวาระ จังหวัด ในการดําเนินโครงการแนวทางการ ับเคล่อนการสร้างความเ ้มแ งเศรษฐกิจ ฐานรากตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จังหวัดพะเยา เพื่อแก้ไขปญหาความยากจน และลดความเหลื่อมลํ้าในสังคม โดยเฉพาะการ ลดผลกระทบจากปญหาภัยแล้ง โดยมุ่งเน้นการทํางานแบบ ประชารัฐ ร่วมกับส่วนราชการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ภาคเอกชน และประชาชนในทุกหมู่บ้านชุมชน เป็นการทํางานในระดับพื้นที่ ( rea Base ) และใช้หลักการพัฒนาแบบบูรณาการทุกภาค ส่วนในพืน้ ที่ ( ntegrate rea evelopment) ตามกําลังความสามารถ เพื่อแก้ไขปญหาปาก ท้องของประชาชนจังหวัดพะเยา ให้มีอาชีพ มี รายได้ และชุมชนเกิดความเข้มแขง สามารถ พึ่งตนเองได้ และเป็นการวางรากฐานความเข้ม แขงของเศรษฐกิจฐานรากจังหวัดพะเยาสู่การ พัฒนาที่ยั่งยืน 32

เรามีเปาหมายการดําเนินการขับเคลือ่ นใน ทุกอําเภอ รวม 779 หมู่บ้าน โดยนําแกนนํา การพัฒนา หมู่บ้านละ 3 คน ซึ่งคัดเลือกจาก คณะกรรมการหมู่บ้าน ผู้นําตามธรรมชาติใน พื้นที่ และกํานันผู้ใหญ่บ้าน เข้ารับการอบรม ให้ความรู้ ความเข้าใจ เพื่อนําไปขยายผลขับ เคลื่อนในระดับหมู่บ้านและชุมชน ขยายผล สร้างเครือข่ายเพิ่มหมู่บ้านชุมชนละอย่างน้อย 30 คน นอกจากนี้ ยังส่งเสริมให้ทุกหมู่บ้าน อย่างน้อยร้อยละ 10 ของจํานวนครัวเรือน ทั้งหมด รู้จักการผลิต การบริโภคของที่ตนเอง จัดทําได้ เช่น ปลูกผักสวนครัว รั้วกินได้ การ เลี้ยงปลาในบ่อดินขนาดเลกปูพลาสติก และ การเลี้ยงไก่ ฯลฯ อย่างน้อยพออยู่พอกิน หาก เหลื อ กนํ า ไปทํ า มาค้ า ขาย เกิ ด ตลาดชุ ม ชน หรือขายในตลาดภายนอกชุมชน และให้ทุก หมู่บ้านมีการพัฒนาส่งเสริมกลุ่มอาชีพ อย่าง น้อย 2 กลุ่มอาชีพที่สอดคล้องกับผลการจัดทํา บัญชีรายรับรายจ่ายครัวเรือนของหมู่บ้าน ที่จะ บอกให้รู้ว่าแต่ละหมู่บ้านควรจะรวมตัวกันผลิต อะไร ทําอะไร เพื่อลดรายจ่าย หรือเพิ่มราย ได้ให้แก่ชุมชนในหมู่บ้าน ซึ่งจังหวัดเชื่อมั่นว่า หากดําเนินการดังกล่าวนี้ จะเป็นการดําเนิน การในแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงอย่าง เป็นรูปธรรม ทั้งเพื่อการแก้ไขปญหาปากท้อง และเป็นภูมิคุ้มกันแก่ประชาชน ไม่ว่าในวันข้าง หน้าอาจต้องเผชิญกับภัยแล้งหรือสถานการณ์ ใด ชาวพะเยาจะมีความเข้มแขง และสามารถ พึ่งตนเองได้ ในแนวทางการพัฒนาแบบประชา รัฐ พะเยาโมเดล

นอกจากนี้ ในแต่ละหมู่บ้านชุมชน ต้องมี การสร้างกลุ่มอาชีพ อย่างน้อย 2 กลุ่ม โดย เป็นการสร้างกลุ่มอาชีพใหม่ หรือการยกระดับ ปรับปรุงกลุม่ อาชีพ กลุม่ องค์กรเศรษฐกิจชุมชน เดิม ทีส่ อดคล้องกับการทําบัญชีรายรับรายจ่าย ครัวเรือน และ/หรือตามศักยภาพของหมู่บ้าน ชุมชน ซึง่ การจัดเกบข้อมูลบัญชีรายรับรายจ่าย ครัวเรือน จะทําให้ทราบถึงอาชีพทีส่ อดคล้องกับ วิถีชีวิตของคนในหมู่บ้านชุมชนที่ควรได้รับการ ส่งเสริม หากทุกหมู่บ้านทํากันตามศักยภาพ และกําลังความสามารถในแนวทางนี้ การพั นาสารสนเทศภูมิศาสตร์ IS จังหวัดพะเยา เพ่อสนับสนุนการบริหารงาน จังหวัดแบบบูรณาการ ผมคิดว่ารากฐานสําคัญคือ เรื่องเกี่ยวกับ ระบบ S ย่อมาจาก eograp ic n ormation S stem คือระบบภูมิศาสตร์สารสนเทศ อาทิ ระบบฐานข้อมูลหลังคาเรือน ระบบฐานข้อมูล ผู้สูงอายุ ระบบฐานข้อมูลผู้ด้อยโอกาส ระบบ ฐานข้อมูลไข้เลือดออก ระบบบริหารจัดการนํ้า เพื่อการอุปโภคบริโภค จังหวัดพะเยา ระบบ บริหารจัดการโครงการพระราชดําริ จังหวัด พะเยา เป็นต้น จากเดิมเวลามีป ญหาอะไรเกิดขึ้น กจะ มองที่ศาลากลางจังหวัด แล้วมองที่ตัวผู้ว่าฯคน เดียว แต่ผมอยากให้ทกุ คนมองย้อนจากข้างล่าง ขึ้นข้างบน ขณะเดียวกันกจากบนลงล่าง ผม ต้องทําให้ทุกคนมีส่วนร่วม ขณะเดียวกันต้องมี ระบบข้อมูลที่ชัดเจน คือ เราจะแก้ปญหา เรา ต้องรู้ข้อมูล พวกที่เชื่อว่า คาดว่า เหนว่า พวกนี้ ไม่รู้จริง ซึ่งผมกได้แนวทางการทําข้อมูลมาจาก อดีตผู้ว่าฯ ลําปาง ท่านพีระ มานะทัศนที่เป็น ครูบาอาจารย์ในสมัยทีผ่ มเคยรับราชการอยูก่ บั ท่าน ทุกครัวเรือนในจังหวัดพะเยา ผมจะระบุ พิกัด หรือที่เรียกว่า S ถ้าบ้านท่านอยู่ที่ พะเยาบ้านเลขทีเ่ ท่าไหร่ ผมจะรูเ้ ลยว่าบ้านท่าน อยูต่ รงไหน แต่เป็นข้อมูลเฉพาะจังหวัดตอนนีไ้ ม่ ได้เปดเผยอะไร ถ้าวันหนึ่งเราอยากจะรู้ว่าคน แก่อยู่ที่ไหนเรากจะใส่ข้อมูลไป คนปวยที่ช่วย ตัวเองไม่ได้อยูท่ ไี่ หนกใส่ไป แม้แต่บา้ นไหนเป็น ไข้เลือดออกรัศมีประมาณ 100 เมตร จะต้อง ควบคุมในนี้กจะบอกเลยว่าจะต้องไปฉีดยาตรง ไหน เพราะฉะนัน้ คนพิการทีช่ ว่ ยตัวเองไม่ได้อยู่ ตรงไหน คนจนอยู่ที่ไหน แม้แต่เรื่องที่เราอยาก รู้ข้อมูล เช่น การช่วยเหลือผู้ประสบภัย มีช่วย ใครแล้วบ้าง เราดูได้


ส่งหน่งที่ มตัง จคอว่าจะท�าอย่าง ร หพะเยาเ นเมอง ห่งความสุข ละ สุจรต นี่เ น ระจ�าตัว ม โอกาสทองของพะเยาเม่อเขาสู่ จังหวัดพะเยามีโอกาสในการพัฒนาตัวเอง ค่อนข้างเยอะ เรามีเกษตรปลอดภัยหรือเกษตร อินทรีย์ ที่จะสร้างมูลค่าเพิ่มให้ชาวบ้านมีราย ได้มากขึ้น เป็นโอกาสจากฐานการเกษตร แต่ เรามาเพิ่มเรื่องของวิธีการจัดการให้มีคุณภาพ มีประสิทธิภาพ และดูแลระวังในเรื่องเกี่ยวกับ ความปลอดภัย ถ้าไปในทิศทางเกษตรอินทรีย์ ได้เมื่อไหร่ กจะช่วยให้ชาวบ้านมีรายได้ที่มั่นคง และที่สําคัญโอกาสของจังหวัดพะเยากคือ ว่า จุดชายแดนที่อําเภอภูซาง ซึ่งจะมีบ้าน วกเป็น จุดผ่านแดนชั่วคราว แต่ขณะนี้มติ ครม.เมื่อปี 2555 ได้มอบหมายให้กระทรวงมหาดไทยและ กระทรวงต่างประเทศ สนับสนุนให้จุดนี้เป็นจุด ผ่านแดนถาวร จังหวัดพะเยากกําลังเดินหน้าให้ เป็นด่านถาวร ซึง่ จะเป็นโอกาสในการทําการค้า เพราะสถิตกิ ารค้าชายแดนไทย ลาว ปี 2558 ซึ่งเป็นปีที่ประเทศสมาชิกอาเซียนดําเนินการ ต่าง ๆ เพื่อเข้าสู่ความเป็นประชาคมอาเซียน จังหวัดพะเยามีมูลค่าการค้าระหว่างประเทศ รวมเท่ากับ 35 .0 ล้านบาท อาจจะยังไม่ มาก แต่เราซื้อเขามานิดเดียว ส่วนใหญ่เป็นพืช ผลการเกษตร แต่จุดนี้จะเป็นโอกาสในด้านการท่องเที่ยว ในเขตของภาคเหนือตอนบน เช่น จากกรุงเทพฯ มาเชียงใหม่ จากเชียงใหม่อยากไปหลวงพระ บาง กมาผ่านพะเยา จากด่านไปหลวงพระบาง ใช้เวลาประมาณ ชั่วโมง ระยะทางประมาณ 200 300 กิโลเมตร แล้วเที่ยวไปไกลหน่อยก ไปได้ถงึ เดียนเบียนฟู ประเทศเวียดนาม หรือไป ไกลหน่อยกไปถึงสิบสองปนนาที่จีนได้ ทั้งหมด นี้คือใช้โอกาสที่เรามีจุดผ่านด่านชั่วคราวที่บ้าน วก ซึ่งจะยกระดับเป็นด่านถาวรในอนาคต เป็นโอกาสที่จะส่งเสริมให้เกิดการค้าการลงทุน ในพื้นที่ชายแดน และเชื่อมโยงการท่องเที่ยว ในประเทศอนุภูมิภาคลุ่มนํ้าโขงได้เป็นอย่างดี สอดคล้องกับยุทธศาสตร์เ ตพั นาการท่อง เที่ยวอารยธรรมล้านนา พ ศ 255 2563 PHAYAO 33


ที่ได้กําหนดวิสัยทัศน์ไว้ว่า “การท่องเที่ยวทาง วัฒนธรรมและ มู ปิ ญญาล้านนาเชิงสร้างสรรค์ เชื่อม ยงอน ูมิ าคล่มน�้า ขง” ระชารั คลัสเตอร์ ดจตอล คอหัว จการ บรหารงาน จังหวัดพะเยามีกระบวนแก้ไขปญหาและ พัฒนาชุมชน โดยการมีส่วนร่วมในลักษณะ ประชารัฐที่ชัดเจนดีมาก คือ ภาครัฐ เอกชน และท้องถิน่ ทัง้ นีเ้ พราะเรามองว่า จังหวัดพะเยา เหมือนทีมฟุตบอลสักทีมหนึ่ง มีผู้ว่าฯเป็นผู้ จัดการทีม หัวหน้าส่วนราชการกเป็นกองหลัง คอยสนับสนุนกองกลางคืออําเภอ อําเภอกช่วย สนับสนุนกองหน้า คือท้องที่กับท้องถิ่น อบจ. เทศบาล ท้องที่กคือกํานันกับผู้ใหญ่บ้าน ส่วน ท้องถิ่นกคือทต. หรือ อบต.ต่าง ๆ เพราะว่า ท้องถิ่นเขาอยู่ใกล้ชิดประชาชน เขาจะรู้ปญหา แก้ปญหาได้ดี เพราะเขายิงประตู ผู้ว่าฯเป็นผู้ จัดการทีม กเอากองหลังช่วยกองกลาง กอง กลางช่วยกองหน้าเพื่อยิงประตู แต่บางครั้งก อาจเอากองหน้ามาช่วยกองหลังบ้าง หรือเอา กองหลังมาช่วยกองหน้าบ้างอะไรแบบนี้ คือจะ บริหารการจัดการแบบองค์รวมที่ทุกคนมีความ สัมพันธ์กัน และทีส่ าํ คัญกคือ เวลาบริหารจัดการเราจะ ปรับรูปแบบให้เป็นการบริหารงานสมัยใหม่ คือ เน้นกระบวนการมีสว่ นร่วม เป็นการทํางานแบบ 34

ประชารัฐ เราจะจัดคลัสเตอร์เป็น กลุ่มภารกิจ ต่าง ๆ เช่น เศรษฐกิจ สังคม ความมั่นคง การบริหารจัดการและทรัพยากรสิ่งแวดล้อม ประมาณ 4-5 คลัสเตอร์ แล้วในแต่ละคลัสเตอร์ กจะมีหวั หน้าส่วนราชการ ผูแ้ ทนท้องถิน่ ผูแ้ ทน เอกชน รวมทั้งใครกแล้วแต่ที่อยากทํางานมา รวมอยูใ่ นนี้ แต่ทงั้ หมดจะมาประสานกันอยูภ่ าย ใต้คณะกรรมการบริการจัดการแบบบูรณาการ เรียกว่า กบจ. ทีนี้โครงสร้างกลงไปถึงระดับอําเภอ เรา อยากเปดเวทีให้มีส่วนร่วมต่อการบริหารดูแล บ้านเมือง ประชาชนกมาร่วมได้ และเพือ่ ให้การ บริหารงานมีคณ ุ ภาพ ซึง่ ขณะนีพ้ ะเยากําลังเดิน หน้าการบริหารจัดการด้วยระบบดิจิตอล เพื่อ รองรับกับการขับเคลื่อนประเทศไปสู่ดิจิตอล ตามนโยบายของรัฐบาล จังหวัดพะเยากทําให้ เป็นดิจิตอลคือ เราใช้ข้อมูลระดับครัวเรือน ซึ่ง พะเยามีประมาณ 180,000 ครัวเรือน เราจะทํา S และลงพิกัดครัวเรือนไว้ในแผนที่ภาพถ่าย ดาวเทียม เป็นการใช้ระบบบริหารจัดการที่มี ส่วนร่วม โดยจังหวัดออกแบบระบบแล้วท้อง ถิ่นเป็นคนคีย์ระบบ แล้วกให้ส่วนราชการต่าง ๆ เอาข้อมูลไปใส่เพื่อบริหารงานร่วมกันอย่างนี้ จะทําให้การบริหารจัดการมีคุณภาพ ู ว่า พะเยากับ านที่ตัง ว เมื่อผมมาดํารงตําแหน่งที่นี่ สิ่งหนึ่งที่ผม

ตัง้ ใจคือว่าจะทําอย่างไร ให้พะเยาเป็นเมืองแห่ง ความสุขและสุจริต นี่เป็น Motto ประจําตัวผม เป็นสองคีย์เวิร์ดหลักที่เป็นเปาหมายสุดท้าย แต่ที่สําคัญคือว่าไม่ว่าท่านผู้ว่าท่านเดิมหรือ ใครกแล้วแต่ ได้วางยุทธศาสตร์อย่างไร ผมก จะเดินอย่างนั้นไม่ได้ไปเปลี่ยน เพราะว่าเรามา ต่อเขา เราไม่เปลี่ยนสิ่งที่ทํามาแล้ว เรามาเติม เตม แต่ทกุ อย่างต้องเป็นไปตามยุทธศาสตร์หรือ แผนการที่เขาวางไว้ แต่ สิ่ ง ที่ ผ มในฐานะผู ้ ว ่ า ราชการจั ง หวั ด พะเยาให้ ค วามสํ า คั ญ เป็ น พิ เ ศษ คื อ เรื่ อ ง เศรษฐกิจพอเพียง ซึง่ ในหลวงพระราชทานแนว ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาให้เรา จนพระองค์ ท่านได้รบั ความยกย่องทัว่ โลก ยูเนสโก้มอบรางวัล ให้พระองค์ท่าน แล้วเราคนไทยเองทําไมไม่นํา ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระองค์มาใช้ หรือ แม้แต่โครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชดําริ ใน พระบาทสมเดจพระเจ้าอยูห่ วั กดี โครงการฯ ในสมเดจพระนางเจ้าสิรกิ ติ ิ พระบรมราชินนี า กดี หรือโครงการฯในสมเดจพระศรีนครินทราบ รมราชชนนี กดี ซึ่งพระองค์ท่านได้เสดจฯมา ทีพ่ ะเยา จนมีโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราช ดําริฯ เกิดขึน้ 58 โครงการ แล้วกมีโครงการ ต่างๆทีส่ ง่ ผลต่อการพัฒนาในมิตขิ องสังคม มิติ ของการเกษตร คุณภาพชีวติ สิง่ แวดล้อมซึง่ เป็น ประโยชน์อย่างยิง่ ต่อจังหวัดพะเยา


ระวัตย่อ นาย ุภชั ย เอี่ยมสุวรร ู ว่าราชการจังหวัดพะเยา

วัน เดอน ปเกิด คู่สมรส วุ ิการศึกษา

31 ตุลาคม พ ศ 2501 นางปทมา เอี่ยมสุวรรณ ปริญญาตรี รัฐศาสตร์มหาวิทยาลัยรามคําแหง ปริญญาโท พั นบริหารศาสตร์มหาบัณ ิต I

ระวัตการท�างาน การอบรม

ประวัติการทํางาน

หลักสูตรการพั นาผู้บริหารระดับ 8 กระทรวงมหาดไทย หลักสูตรนักปกครองระดับสูง รุ่นที่ 44 ส าบันดํารงราชานุภาพ กระทรวงมหาดไทย วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร วปอ รุ่นที่ 55 หัวหน้าสํานักงานจังหวัดลําปาง พ ศ 2543-2546 หัวหน้าสํานักงานจังหวัดเชียง หม่ พ ศ 2546-254 ผู้อํานวยการสํานักพั นาและส่งเสริมการบริหารราชการจังหวัด สํานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย พ ศ 254 -2555 รองผู้ว่าราชการจังหวัดเพชรบูรณ์ พ ศ 2555 รองผู้ว่าราชการจังหวัดลําปาง พ ศ 2555-2557 รองผู้ว่าราชการจังหวัดลําพูน ตุลาคม พ ศ 2557-พ ศจิกายน พ ศ 2557 รองผู้ว่าราชการจังหวัดเชียง หม่ 1 ธันวาคม 2557- 30 กันยายน 2558 1 ต ค 2558 30 กันยายน 255 ผู้ว่าราชการจังหวัดพะเยา PHAYAO 35


เสนทางพบ

องค์การบริหารส่วนจังหวัด

นายวรวิทย์ บุรณศิริ นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดพะเยา

องค์การบรหารส่วนจังหวัดพะเยา องค์การบริหารส่วนจังหวัดพะเยา เป็นองค์กรหนึ่งที่มุ่งเน้นที่ จะทําให้จังหวัดพะเยาเป็น “เมืองน่าอยู่ ชุมชนเข้มแข็ง ประชาชน มีคุณภาพชีวิตที่ดี มีองค์ความรู้ พร้อมสู่ประชาคมอาเ ียน” ให้ ได้ตามวิสัยทัศน์ที่ตั้งไว้ขององค์กร นายวรวิทย์ บุรณศิริ นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดพะเยา ผู้ซึ่งมุ่งมั่นตั้งใจทํางานเพื่อให้จังหวัดพะเยาเป็นดั่งวิสัยทัศน์ที่ตั้งไว้ และดําเนินการตามนโยบายที่ได้แถลงไว้ต่อสภาองค์การบริหารส่วน จังหวัดพะเยา เมื่อครั้งเข้ารับหน้าที่นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด พะเยา ตั้งแต่วันที่ 9 ธันวาคม 2554 เป็นต้นมา โดยมีการดําเนิน โครงการและกิจกรรมต่าง ๆ มากมาย ในด้านการส่งเสริมอาชีพและ สร้างความเข้มแขงให้แก่กลุม่ เกษตรกร ด้านการส่งเสริมการท่องเทีย่ ว และกี า ด้านการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ด้านการพัฒนาคุณภาพ ชีวิตและสาธารณสุข เป็นต้น โครงการจัดงานม่อนทานตะวันเพอ่ การท่องเทีย่ วสู่ ระตูอาเซี ยน เป็นโครงการหนึง่ ทีด่ าํ เนินตามนโยบายในด้านการส่งเสริมอาชีพ และสร้างความเข้มแขงให้แก่กลุ่มเกษตรกร โดยได้เกิดจากแนวคิด ของ นายวรวิทย์ บุรณศิริ นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดพะเยา มีความตัง้ ใจทีจ่ ะทําให้ประชาชนชาวพะเยามีความสุขให้มากทีส่ ดุ โดย เลงเหนว่า ถนนสายแม่ตํา-ดอกคําใต้-เชียงคํา-ภูซาง หรือที่เรียกว่า 36

ถนนส่วนขยาย 3 หรือ 3E ที่ต่อจากสะพานข้ามแม่นํ้าโขงแห่งที่ 4 ที่ อ.เชียงของ จ.เชียงราย เป็นถนนสายท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยว ทีจ่ ะเดินทางไปสัมผัสทะเลหมอกทีภ่ ชู ฟี้ า และภูลงั กา ในแต่ละปีมรี ถ นักท่องเที่ยวและรถขนส่งสินค้าผ่านไปมาเป็นจํานวนมาก จึงมีความคิดทีว่ า่ จะทําอย่างไรให้นกั ท่องเทีย่ วได้มแี หล่งท่องเทีย่ ว แห่งใหม่ในจังหวัดพะเยานอกจาก กว๊านพะเยา ที่มีอยู่ในปจจุบัน ประกอบกับได้พบว่าพื้นที่บริเวณหนึ่ง ของ ต.ปาซาง อ.ดอกคําใต้ จ.พะเยา ซึง่ อยูบ่ นถนนสายนีม้ คี วามพร้อมในด้านภูมทิ ศั น์ทสี่ วยงาม เหมาะแก่การสร้างทุ่งทานตะวัน ซึ่งเดิมเกษตรกรในพื้นที่นั้นเพาะ ปลูกพืชรอบสอง เป็นถั่วดํา ถั่วเขียว ซึ่งประสบปญหาเกี่ยวกับราคา และปริมาณของผลผลิตตลอดมา และด้วยความร่วมมือระหว่าง อบจ.พะเยา, อ.ดอกคําใต้, สวนปา ดอกคําใต้, อบต.ปาซาง, กํานันผู้ใหญ่บ้านและผู้ทรงคุณวุฒิในตําบล รวบรวมเกษตรกรในพื้นที่ ที่มีความสมัครใจ เข้าร่วมโครงการกว่า 100 ราย รวมกลุ่มกันปลูกต้นทานตะวันในพื้นที่ของตนเอง ทําให้มี พืน้ ทีใ่ นโครงการเกือบ 1,000 ไร่ และร่วมกันดําเนินการโครงการนีจ้ น ประสบผลสําเรจ ส่งผลให้เกษตรกรในกลุม่ มีรายได้จากการให้บริการ นักท่องเทีย่ วทีม่ าเทีย่ วชมทุง่ ทานตะวัน และจากการจําหน่ายผลผลิต จากเมลดทานตะวัน ซึ่งให้ผลตอบแทนที่ดีกว่าเดิมอีกด้วย ขัวบุ วัดตโลกอาราม การก่อสร้าง ัวบุญ วัดติโลกอาราม นี้ เป็นกิจกรรมหนึ่ง ที่ดําเนินตามนโยบายในด้านการส่งเสริมการท่องเที่ยว ได้เกิดจาก การที่ นายวรวิทย์ บุรณศิริ นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดพะเยา มีความคิดพลิกวิกฤตให้เป็นโอกาส อีกทัง้ ต้องการทําให้จงั หวัดพะเยา


มีรายได้จากการท่องเทีย่ ว และเพือ่ ให้ประชาชนชาวพะเยามีความสุข ให้มากที่สุด สืบเนื่องจากกิจกรรม เวียนเทียนทางนํา กลางกวานพะเยา หนึ่งเดียวในโลก เป็นกิจกรรมที่จังหวัดพะเยาจัดทําขึ้นในวันสําคัญ ทางพุทธศาสนาเป็นประจําอย่างต่อเนื่อง โดยเป็นการพายเรือออก ไปเวียนเทียนรอบ วัดติโลกอาราม วัดกลางนํ้าในกว๊านพะเยา ซึ่ง ประดิษฐาน หลวงพ่อศิลา พระพุทธรูปหินทราย อายุกว่า 500 ปี แต่ด้วยภาวะภัยแล้งรุนแรงในปี 2559 ทําให้ปริมาณนํ้าในกว๊าน พะเยาแห้งลงมาก จนไม่สามารถพายเรือไปยังวัดติโลกอาราม กลาง กว๊านพะเยาได้ จังหวัดพะเยา จึงร่วมกับ อบจ.พะเยา ชาวบ้านชุมชนวัดติโลก อาราม ชมรมเรือพายพื้นบ้าน พ่อค้า ประชาชนและผู้มีจิตศรัทธา โดยทัว่ ไป ร่วมกันบริจาคทุนทรัพย์และแรงงาน ก่อสร้างสะพานไม้ไผ่ ลอยบนผิวนํา้ ขึน้ เพือ่ เป็นทางเดินเชือ่ มจากท่าเรือไปยังวัดติโลกอาราม เพือ่ ให้ประชาชนโดยทัว่ ไปรวมถึงนักท่องเทีย่ วต่าง ๆ สามารถเดินทาง เข้าไปเวียนเทียนกลางนํ้าหนึ่งเดียวในโลกได้ ซึ่งนับจากที่มีการเริ่มก่อสร้าง ัวบุญ วัดติโลกอาราม แห่งนี้ขึ้น จนถึงก่อสร้างแล้วเสรจและเปดใช้งาน ได้รับความสนใจ จากพุทธศาสนิกชน และนักท่องเที่ยวจากทั่วทุกสารทิศ ทั้งชาวไทย และต่างประเทศ สนใจและมาท่องเที่ยวที่จังหวัดพะเยา เพื่อมาข้าม ขัวบุญเป็นจํานวนมาก ส่งผลให้รายได้เศรษฐกิจและการท่องเที่ยว ในจังหวัดพะเยาดีขึ้น มีรายได้จากนักท่องเที่ยวที่มาจับจ่ายใช้สอยใน จังหวัดพะเยา และจังหวัดพะเยาได้เป็นทีร่ จู้ กั ไปทัว่ โลก จากการโพสต์ รูปภาพในมุมมองต่าง ๆ ที่สวยงามน่าประทับใจของ วั บุญ วัดติ โลกอาราม ไปในโลกโซเชียลมีเดีย กองทุน น ู สมรร ภาพที่จ�าเ นต่อสุขภาพจังหวัดพะเยา การจัดตัง้ กองทุนฟนฟูสมรร ภาพทีจ่ าํ เปนต่อสุ ภาพจังหวัด พะเยา ขึ้น เป็นหนึ่งในการดําเนินตามนโยบายในด้านการพัฒนา คุณภาพชีวิตและสาธารณสุข ของ นายวรวิทย์ บุรณศิริ นายก องค์การบริหารส่วนจังหวัดพะเยา ที่ได้ตระหนักถึงความสําคัญของ

การฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ ผู้สูงอายุ และผู้ที่อยู่ในระยะที่จําเป็น ต้องได้รับการฟนฟูสมรรถภาพ ในพื้นที่จังหวัดพะเยา เป็นการช่วย เหลือกลุ่มบุคคลดังกล่าว ให้ได้รับการบริการด้านการแพทย์ที่จําเป็น อย่างทั่วถึง และได้มีการพัฒนารูปแบบการช่วยเหลือ สนับสนุนให้ กลุ่มเปาหมาย สามารถดํารงชีวิตประจําวันได้อย่างอิสระ

PHAYAO 37


เสนทางพบ

โย า ิการและ ังเมืองจังหวัด

นางพิมลพร เพียรเส ียรกุล โยธาธิการและผังเมองจังหวัดพะเยา กรมโยธาธิการและผังเมอง กระทรวงมหาดไทย มีภารกิจ เกีย่ วกับงานด้านการผังเมืองระดับต่าง ๆ โดยมีสาํ นักงานโยธาธิการ และผังเมองจังหวัด เป็นตัวแทนของกรมในส่วนภูมิภาค ซึ่งมีหน้าที่ รับผิดชอบในการวางและจัดทําผังต่าง ๆ ตามที่กรมโยธาธิการและ ผังเมืองมอบหมายหรือตามที่จังหวัด หรือ ท้องถิ่น ร้องขอ ปจจุบัน สํานักงานโยธาธิการและผังเมองจังหวัดพะเยา มี นางพิมลพร เพียรเส ียรกุล เป็น โยธาธิการและผังเมองจังหวัดพะเยา ังเมองรวมเมองพะเยากับการรัก ากวานพะเยา ผังเมืองรวมเมืองพะเยา ปรับปรุงครั้งที่ 2 ครอบคลุมพื้นที่ 322. ตารางกิโลเมตร หรือ 201, 2.5 ไร่ ประกอบด้วย พื้นที่ ทั้งหมดของตําบลท่าวังทอง ตําบลบ้านต๊ํา ตําบลบ้านตอม ตําบลสัน ปาม่วง ตําบลเวียง ตําบลบ้านสาง ตําบลบ้านตุ่น ตําบลแม่ตํา พื้นที่ บางส่วนของตําบลแม่ใส พืน้ ทีบ่ างส่วนของตําบลจําปาหวาย พืน้ ทีบ่ าง ส่วนของตําบลแม่กา อําเภอเมืองพะเยา และพื้นที่บางส่วนของตําบล ดอกคําใต้ อําเภอดอกคําใต้ จังหวัดพะเยา 38

โดยมีแนวคิดในการแนวคิดหลักในการวางผังเมืองรวมเมือง พะเยา คือการอนุรักษ์พื้นที่กว๊านพะเยา และบริเวณโดยรอบอย่าง เหมาะสมและยั่งยืน โดยการจัดทําแผนกายภาพ ออกแบบภูมิทัศน์ บริเวณโดยรอบกว๊านพะเยา และในบริเวณใกล้เคียงพื้นที่ชุ่มน้ําที่มี ความสําคัญระดับนานาชาติและระดับชาติ ทั้งในระยะสั้นและระยะ ยาว เพื่ออนุรักษ์และฟนฟูพื้นที่ดังกล่าวทั้งระบบ สอดคล้องกับพัฒนา ให้เมืองพะเยาเป็นศูนย์กลางการพัฒนาของจังหวัดพะเยาอนุรกั ษ์พนื้ ที่ เมืองเก่า และพื้นที่โบราณสถานอย่างเหมาะสมกับการพัฒนาเมือง พะเยา และการตอบรับยุทธศาสตร์การพัฒนาพะเยาในอนาคต

โดยแนวคิดการจัดทําแผนกายภาพ ออกแบบภูมทิ ศั น์บริเวณ โดยรอบกว๊านพะเยา สามารถสร้างเป็นโครงการพัฒนาเพื่อการท่อง เที่ยวตามกรอบการวางผังเมือง เช่น การวางแผนแม่บทการพัฒนา พื้นที่โบราณสถาน อุทยานธรรมอาศรมนิเวศกว๊านพะเยาแห่งล้านนา ตะวันออกจังหวัดพะเยา


งั เมองกับการอนุรัก ์ส า ั ตยกรรมทอง ่น โครงการรักษาเอกลักษณ์สถาปตยกรรมท้องถิ่น และภูมิทัศน์วัฒนธรรม ของเมืองเก่าพะเยา เพื่อเพิ่มมูลค่าทางวัฒนธรรม การวางผังเมือง และ การท่องเที่ยว

ส านที่ตัง สํานักงานโยธาธิการและผังเมองจังหวัดพะเยา เลขที่ 589 หมู่ 14 ถนนราชทัณฑ์ ตําบลบ้านตอม อําเภอเมือง จังหวัดพะเยา 5 000 โทร. 0 5488 7074- โทรสาร. 0 5488 7074 E-mail : a ao@ pt.go.t

PHAYAO 39


178


มหาวทยาลัยพะเยา ุมปั

าเพื่อชุ มชนเ ้มแ ็ง

มหาวทยาลัยพะเยา เดิมนัน้ คือมหาวทยาลัยนเร วร พะเยา โดยได้รับการจัดตัง้ เปน มหาวิทยาลัยในก�ากับ องรัฐ เมื่อ ปี ท่ี ่านมานี้ แต่เปนสถาบันอุ ดมศึกษาที่มีคุ ภาพ ลิตบั ิตและมหาบั ิตออกมารับใช้สังคมและประเทศชาติอย่างมากมาย

NAKHONPHANOM 179


ความเ นมาของมหาวทยาลัยพะเยา

ศาสตราจารย์พเิ ศษ ดร มณ ล สงวนเสริมศรี อธิการบดีมหาวิทยาลัยพะเยา (อดีตอธิการบดี มหาวิทยาลัยนเรศวร 2 วาระ พ.ศ. 2544 - 2552 และอธิการบดีมหาวิทยาลัยพะเยาคนแรก พ.ศ. 2553) กล่าวถึงความเป็นมาของมหาวิทยาลัย พะเยาว่า ก่อนที่จะได้รับการยกฐานะเป็น มหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐ มหาวิทยาลัยพะเยา อยู่ภายใต้การดูแลของมหาวิทยาลัยนเรศวร ซึง่ ได้ตระหนักถึงความสําคัญของการกระจาย โอกาสและการสร้างความเสมอภาคทางการ ศึกษา ประกอบกับมหาวิทยาลัยได้พิจารณา ร่วมกับผูว้ า่ ราชการจังหวัด และสมาชิกผูแ้ ทน ราษฎรจังหวัดพะเยา รวมทัง้ ผูแ้ ทนจากภาครัฐและ เอกชน ในการแก้ปญหาเรือ่ งรายได้และการศึกษา ของประชากรในจังหวัดพะเยา โดยเฉลีย่ อยูใ่ น ระดับตํา่ จึงได้จดั โครงการกระจายโอกาสทาง การศึกษาสู่จังหวัดพะเยาขึ้น เพื่อตอบสนอง นโยบายของทบวงมหาวิทยาลัย ทีส่ นับสนุนให้ มหาวิทยาลัยขยายเขตการศึกษาออกสู่ภูมิภาค ทบวงมหาวิทยาลัยจึงได้พิจารณานําเสนอ คณะรัฐมนตรีพจิ ารณาให้ความเหนชอบ และได้ มีมติให้ใช้ชอื่ ว่า วิทยาเขตสารสนเทศพะเยา การจัดการเรียนการสอนระยะเริม่ แรกได้ใช้อาคาร ของโรงเรียนพะเยาพิทยาคมเป็นการชัว่ คราว สําหรับสถานทีต่ งั้ ถาวร มหาวิทยาลัยนเรศวร ได้รว่ มกับทางจังหวัดพะเยาจัดหาสถานทีต่ งั้ ณ บริเวณ ตําบลแม่กา อําเภอเมือง จังหวัดพะเยา ประกอบ

ด้วยทีด่ นิ จํานวน 5,727 ไร่ เมือ่ การก่อสร้างได้ แล้วเสรจ จึงได้ยา้ ยมาสถานทีต่ งั้ ถาวรและเปด การเรียนการสอนตั้งแต่ปี 2542 เป็นต้นมา ต่อมา เมือ่ วันที่ 21 กรกฎาคม 2550 ใน คราวประชุมครัง้ ที่ 13 (4/2550) สภามหาวิทยาลัย นเรศวร ได้มีมติให้เปลี่ยนชื่อ มหาวิทยาลัย นเรศวร วิทยาเขตสารสนเทศพะเยา เป็น มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา

เตรียมพรอมสู่ มหาวทยาลัยพะเยา

ภายใต้การบริหารงานมหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา ศาสตราจารย์พิเศษ ดร มณ ล สงวนเสริมศรี ได้จดั ทําแผนแม่บทเพือ่ รองรับ การเป็นมหาวิทยาลัยเอกเทศในอนาคต ทําให้ มีความพร้อมด้านอาคารสถานทีแ่ ละครุภณ ั ฑ์ ต่างๆ รองรับบุคลากรและนิสติ ประกอบด้วย


อาคาร สํ า นั ก ง า น อธิการบดี อาคารเรียนรวม กลุม่ อาคารวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อาคาร ป บิ ตั กิ าร อาคารหอพักนิสติ อาคารหอพักอาจารย์ อ่างเกบนํ้า สนามกี ากลางแจ้ง กลุ่มอาคาร เรียนรวมสํานักหอสมุด กลุม่ อาคารวิทยาศาสตร์ ประยุกต์ อาคารเรียนและป บิ ตั กิ ารวิจยั ด้านภาษา และเทคโนโลยีสารสนเทศ สถานีไฟฟาย่อย และอาคารศูนย์บริการวิชาการจังหวัดเชียงราย นอกจากนัน้ มหาวิทยาลัยได้สร้างอาคารสถาบัน ศึกษาและสืบสานศิลปวัฒนธรรม สถาปตยกรรม ล้านนา(ไต) ขึน้ ด้วยงบประมาณ 183,700,000 บาท ได้รบั การออกแบบโดยอาจารย์จลุ ทัศน์ กิตบิ ตุ ร ศิลปินแห่งชาติสา าส าปตยกรรไทยร่วมสมัย แบ่งพื้นที่ใช้สอยออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่ ห้อง ประชุมขนาด 2,800 ทีน่ งั่ ลานอเนกประสงค์ และห้องสํานักงาน รูปทรงของอาคารเป็นแนว ศิลปะล้านนาร่วมสมัย ซึง่ นําเอาเอกลักษณ์ที่ โดดเด่นของศิลปกรรมล้านนามาปรับประยุกต์ ให้เข้ากับอาคารสมัยใหม่ได้อย่างลงตัว และอาคาร สถาบั น ศึ ก ษาและสื บ สานศิ ล ปวั ฒ นธรรม สถาปตยกรรมล้านนา(ไต)แห่งนี้ จะเป็นสถานที่ ที่ใช้สําหรับรับพระราชทานปริญญาบัตร ให้ กับนิสิตมหาวิทยาลัยพะเยา ในอนาคต เมือ่ วันที่ 12 กรกฎาคม 2553 พระบาท สมเดจพระเจ้าอยูห่ วั ได้มพี ระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัตมิ หาวิทยาลัย พะเยา พ.ศ. 2553 ขึน้ และ เมือ่ วันที่ 1 กรกฎาคม 2553 มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา ได้รบั การ จัดตัง้ เป็น มหาวิทยาลัยพะเยา ตามประกาศราชกิจจานุเบกษา PHAYAO 43


ค ะที่เ ดสอน

มหาวิทยาลัยพะเยา เปดการเรียนการสอน ครอบคลุมทุกสาขาวิชา ทัง้ ทางด้านวิทยาศาสตร์ สุขภาพ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และด้าน สังคมศาสตร์และมนุษย์ศาสตร์ ได้แก่คณะ เกษตรศาสตร์ แ ละทรั พ ยากรธรรมชาติ , คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร, คณะนิตศิ าสตร์, คณะพยาบาลศาสตร์, คณะ แพทยศาสตร์, คณะเภสัชศาสตร์, คณะรัฐศาสตร์, คณะวิทยาศาสตร์, คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์, คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์, คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์, คณะ สถาปตยกรรมศาสตร์และศิลปกรรมศาสตร์, คณะสหเวชศาสตร์, วิทยาลัยการศึกษา, วิทยาลัย พลังงานและสิ่งแวดล้อม

นโยบายมหาวทยาลั ย พะเยา พ. .2558 2561

ปรัชญา ดํารงชีวติ ด้วย ปญญา ประเสริฐทีส่ ดุ หรือ ป ญาชีวี เส ฐชีวี นาม หรือ Li e o is om s t e Most on rous o ll ปณิธาน ปญญาเพือ่ ความเข้มแขงของชุมชน หรือ is om or ommunit Empowerment วิสยั ทัศน์ มหาวิทยาลัยพะเยา มุ่งเน้นการพัฒนาไปสู่การเป็นมหาวิทยาลัย สมบูรณ์แบบ ( ompre ensive niversit ) ทีร่ บั ใช้สงั คม ( ommunit Engagement) มุง่ ป ิบัติภารกิจด้านการผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ 44


และได้มาตรฐานสากลสู่ประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน ( SE Economic ommunit ) และพั ฒ นาองค์ ค วามรู ้ สู ่ ชุ ม ชนให้ เ ข้ ม แขง และสังคม เป็นสุข จะเป็นรากฐานทีส่ าํ คัญของ การพัฒนาประเทศ ให้นําไปสู่การแข่งขันได้ แบบยั่งยืนในประชาคมโลก พันธกิจ มหาวิทยาลัยพะเยา มุ่งกระจายโอกาสและสร้างความเสมอภาค ทางการศึกษา ให้กบั ประชาชนในเขตภาคเหนือ ตอนบน 7 จังหวัด ได้แก่ พะเยา แพร่ น่าน ลําปาง ลําพูน เชียงราย แม่ อ่ งสอน และภูมภิ าค อืน่ ด้วย โดยจัดการเรียนการสอนในสาขาวิชา ที่เป็นความต้องการของท้องถิ่น ภูมิภาคและ ประเทศ เพือ่ ให้ผสู้ าํ เรจการศึกษามีงานทํา ทัง้ กลุ่มสาขาทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลุ่มสาขาทางด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ และ กลุ่มสาขาทางด้านสังคมศาสตร์ ปจจุบนั มหาวิทยาลัยพะเยา เปดการเรียน การสอนมากกว่า 74 สาขาวิชา ทั้งในระดับ หลักสูตรปริญญาตรี มากกว่า 80 หลักสูตร ปริญญาโท 19 หลักสูตร และปริญญาเอก 5 หลักสูตร โดยในปีการศึกษา 2559 รับนักศึกษา จํานวนกว่า ,000 คน นับได้ว่ามหาวิทยาลัยพะเยาคอ ุมทรัพย์ แห่งปญญา ทีน่ กั ศึกษาจะได้เกบเกีย่ วความรู้ เพ่อการพั นาตนเอง ครอบครัว สังคม ประเทศ ชาติ ห้เจริญก้าวหน้าสบไป สมดังปณิธานทีว่ า่ ปญญาเพ่อความเ ้มแ ง องชุมชน อ อบคุณ อ้ มูลจาก มหาวิทยาลัยพะเยา

NAKHONPHANOM 179


ศูนย์อุตสาหกรรมอัญมณี... เจียระไนความสุขเพื่อชาวพะเยา ศูนย์อุตสาหกรรมอัญมณีจังหวัดพะเยา ถนนพหลโยธิน หลัก กิโลเมตรที่ 723 ตําบลแม่กา อําเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา จัด ตั้งขึ้นโดยกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม ร่วมกับ จังหวัดพะเยา มูลนิธพิ ฒ ั นาเยาวสตรีภาคเหนือในพระอุปถัมภ์ สมเดจ พระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟากัลยาณิวั นา กรมหลวงนราธิวาสราช นครินทร์ การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และสมาคมผู้ค้า อัญมณีไทยและเครื่องประดับ

เจียระ นความสุข หชาวพะเยา

ศูนย์อตุ สาหกรรมอัญมณีจงั หวัดพะเยา ได้รบั การจัดตัง้ ขึน้ เพือ่ ให้เป็นศูนย์กลางการอบรมอาชีพด้านอุตสาหกรรม สาขาอัญมณีและ เครื่องประดับ ให้แก่เยาวชนและราษฎรในจังหวัดพะเยาและจังหวัด ใกล้เคียง ซึ่งมีอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก เพื่อช่วยส่งเสริมการหา รายได้จากอาชีพเสริม เพือ่ ให้ประชาชนมีคณ ุ ภาพชีวติ ทีด่ ขี นึ้ เพือ่ เป็น ศูนย์กลางธุรกิจด้านอัญมณีและเครื่องประดับเขตภาคเหนือ ศูนย์อตุ สาหกรรมอัญมณีจงั หวัดพะเยา ได้รบั พระมหากรุณาธิคณ ุ จากสมเดจพระนางเจ้า พระบรมราชินีนา เสดจฯ เป็นองค์ ประธานในพิธีเปดศูนย์อุตสาหกรรมอัญมณี เมื่อวันที่ 11 มีนาคม 2543 และเปด กอบรมการเจียระไนอัญมณี ตั้งแต่เดือนมกราคม พ.ศ.254 โดยเปดรับเป็นรุน่ ๆ ละ 50 คน ในหลักสูตรการเจียระไน พลอยรูปแบบเพชร และการเจียระไนพลอย ซึ่งผู้สมัครต้องมีอายุ 46


ระหว่าง 15-30 ปี ไม่จาํ กัดเพศและความรู้ เป็นผูท้ เี่ คยผ่านการ ก อบรมหรือผ่านการทํางานด้านการเจียระไนอัญมณี และเป็นผูว้ า่ ง งาน ทั้งนี้ผู้ที่ผ่านการ กอบรมแล้วสามารถเข้าทํางานในโรงงาน อุตสาหกรรม หรือประกอบอาชีพในลักษณะของอุตสาหกรรม ในครอบครัวได้

ภาคเอกชนร่วมเจียระ นดวย จ

ศูนย์อุตสาหกรรมอัญมณีจังหวัดพะเยา เป็นความ ร่วมมือของกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม ร่วมกับสมาคมผู้ค้าอัญมณีไทยและเครื่องประดับ และบริษัท ซึ่งเปนสมาชิก องสมาคม ตามโครงการสนับสนุนการพัฒนา อุตสาหกรรมชนบท(สอช.) กับกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ในปี 2543-2545 โดยภาคเอกชนที่ได้จัดการ กอบรมการเจียระไนอัญมณี ประเภทต่าง ๆ รวมทั้งการกระจายงานไปตามชุมชน ตั้งแต่ ปี 2543 ได้แก่ บริษัท สุป ิ จํากัด (ด้านการเจียระไนเพชร) บริษทั ยูหลิม จํากัด (ด้านการเจียระไนพลอย) บริษทั ไทยจิวเวล รี่ แมนูแฟคเจอร์เรอร์ จํากัด (ด้านการทําเครือ่ งประดับเงิน) และ บริษัท พลอยประกายเพชร จํากัด (ด้านการเจียระไนพลอยรูป แบบเพชร) ปจจุบันมีบริษัทเข้าร่วมโครงการอีก 2 บริษัท คือ บริษัท ยูหลิม จํากัด และบริษัท ประกายพลอย จํากัด PHAYAO 47


เ ดโลกอั ม ี

ของดีพะเยา

นอกจากเหนือจากภารกิจด้านการ กอบรมการเจียระไน อัญมณีแล้ว ทางศูนย์ฯยังให้บริการข้อมูลเกี่ยวกับอุตสาหกรรม อัญมณี เป็นสถานที่ศึกษาดูงานการเจียระไนพลอย การทําเครื่อง ประดับเงิน การจัดแสดงและจําหน่ายอัญมณี เครื่องประดับ รวม ทั้งสินค้าหัตถกรรมโอทอปของดีเมืองพะเยา อันจะเป็นส่งเสริม ภาคการท่องเที่ยวในจังหวัดพะเยาอีกทางหนึ่งด้วย ซึง่ ในปีนี้ ศูนย์อตุ สาหกรรมอัญมณีจงั หวัดพะเยา กองพัฒนา อุตสาหกรรมรายสาขา 1 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ได้จัดงาน นิทรรศการ เปิดโลกอุตสาหกรรม S T ก้าวไกล สู่ตลาดอาเซียน ประจําปีงบประมาณ 2559 ในวันศุกร์ที่ 2 สิงหาคม 2559 ณ ศูนย์อตุ สาหกรรมอัญมณีจงั หวัดพะเยา โดยมี นายศุภชัย เอีย่ มสุวรรณ ผูว้ า่ ราชการจังหวัดพะเยา เป็นประธาน ในพิธีเปด พร้อมดัวยผู้อํานวยการกองพั นาอุตสาหกรรมราย สา า 1 นางเพญศรี ทองนพคุณ และหัวหน้าส่วนราชการทุก ภาคส่วนในจังหวัด อาจกล่าวได้ว่า ศูนย์อตสาหกรรมอัญม ีจังหวัดพะเยา คือ อีกหนึ่ง นเ องที่จะหมนให้จังหวัดพะเยา ขับเคลื่อนไปสู่ความ เป็น “เมืองแห่งความสข และสจริต” ายใต้แนวพระราชด�าริ เศร กิจพอเพียง 48


ูนย์บรการมาตร าน พนักงานเ นมตร กลชดลูกคา • ่ ายขาย • ่ ายอะ หล่ • ูนย์บรการ

เวลาเ ดท�าการ วันจันทร์ วันเสาร์ เวลา 08 00น. 17 00 น. เช ตดต่อสอบ าม ละทดลองขับร ยนต์อีซูซุ ดี มคซ์ 1.9 นวัตกรรมเ ลี่ยนโลก ดที่โชว์รูมตามวัน ละเวลาท�าการ

บริษัท อีซูซุลําปาง จํากัด สา าพะเยา

1/18 ถนนซุปเปอร์ไ เวย์ ตําบลเวียง อําเภอเมือง จังหวัดพะเยา 5 000 โทรศัพท์ 054-484777 โทรสาร 054-431 9

บริษัท อีซูซุลําปาง จํากัด สา าเชียงคํา

114 หมู่ 7 ตําบลหย่วน อําเภอเชียงคํา จังหวัดพะเยา โทรศัพท์ 054-454222-3 โทรสาร 054-454224

¢ŒÒÇËÍÁÁÐÅÔ รา ะเยา าวสวรรค

ห มะลิ % ข้าวด มีคุณภาพ ปร สิ่งเจือปน

บริษัทแม่ใจธนะโชติวัฒน์ จำ�กัด เลขที่ 239 ม. 9 ต. ศรีถ้อย อ.แม่ใจ จ.พะเย� เบอร์โทร 054-499222แฟกซ์ 054-499233

าวหอมมะล าว มคุ า »ÃÒȨҡÊÔè§à¨×Í»¹ ÁÒµÃҰҹʋ§ ออก ่างประเ านแลวคุ ะ ใ ¨¹µŒÍ§¶ÒÁÇ‹Ò ÁÕ¢ŒÒÇẺ¹ÕéÍÕ¡äËÁ


วลีกาญจน์ รีสอร์ท มอบความสุ แห่งการพัก ่อนเพื่อคุ


“เรามีความยินดีในการบริการอันประทับใจไม่รู้ลืม เพื่อให้ท่านได้รับความสุขตลอดช่วงเวลาแห่งการพักผ่อนที่แสนมีค่า”

วลีกา จน์ รีสอร์ท ที่พักหรู ท่ามกลางบรรยากาศ รรมชาติอันเงียบสงบ เหมาะส�าหรับการพัก ่อน และการท�างานที่เปนส่วนตัว เรามีห้องพักหลากสไตล์ เพียบ พร้อมด้วยสิ่งอ�านวยความสะดวกต่าง อย่างครบครัน มีพนักงาน บริการที่จะคอยต้อนรับท่านด้วยน�้าใจ อบอุ ่น และเปนกันเอง วลีกา จน์ รีสอร์ท อยู ่ติดถนนให ่ใกล้กับสถานที่ท่องเที่ยว ต่าง มากมาย เช่ น กวานพะเยา วัดศรีโคมค�า อนุสาวรีย์พ่อ ุ น ง�าเมือง ดอยบุ ษราคัม ที่ส�าคั ใกล้กับมหาวิทยาลัยพะเยา Contact us : Reservation : Call. 0 5444 5065, 08 6430 1896 Address : 104 Mae Ka District Amphur Muang, Phayao Province 56000 www.waleekarnresort.com


àÊŒ¹·Ò§·‹Í§à·ÕèÂÇ

เที่ยวสนุกสุข ดทุก ดูกาล

เมองกวานพะเยา

พะเยา...แม้จะเป็นจังหวัดที่แยกตัวออกจากจังหวัดเชียงรายได้ไม่นานนัก

แต่ถ้าใครได้ไปสัมผัสแล้ว รับรองว่าจะต้องหลงรักพะเยาแน่ ๆ เพราะพะเยาเป็น จังหวัดที่มีประวัติความเป็นมาไม่ตํ่ากว่า 900 ปี ทําให้มีวัดเก่าแก่ แหล่งเรียนรู้ สถานที่เที่ยวทางธรรมชาติที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว และมีกิจกรรมท่องเที่ยวหลาก รูปแบบ ที่เหมาะกับทุกคนในครอบครัว อีกทั้งยังมีงานประเพณีที่เป็นเอกลักษณ์ หนึ่งเดียวในโลกด้วย ไปเที่ยวพะเยาพร้อม ๆ กันนะคะ

อ อบคุณ ้อมูลภาพจาก ชมรมพะเยาโฟโต้คลับ วัดศรีโคมคํา 52

PHAYAO 53


àÊŒ¹·Ò§·‹Í§à·ÕèÂÇ

เที่ยวสนุกสุข ดทุก ดูกาล

เมองกวานพะเยา

พะเยา...แม้จะเป็นจังหวัดที่แยกตัวออกจากจังหวัดเชียงรายได้ไม่นานนัก

แต่ถ้าใครได้ไปสัมผัสแล้ว รับรองว่าจะต้องหลงรักพะเยาแน่ ๆ เพราะพะเยาเป็น จังหวัดที่มีประวัติความเป็นมาไม่ตํ่ากว่า 900 ปี ทําให้มีวัดเก่าแก่ แหล่งเรียนรู้ สถานที่เที่ยวทางธรรมชาติที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว และมีกิจกรรมท่องเที่ยวหลาก รูปแบบ ที่เหมาะกับทุกคนในครอบครัว อีกทั้งยังมีงานประเพณีที่เป็นเอกลักษณ์ หนึ่งเดียวในโลกด้วย ไปเที่ยวพะเยาพร้อม ๆ กันนะคะ

อ อบคุณ ้อมูลภาพจาก ชมรมพะเยาโฟโต้คลับ วัดศรีโคมคํา 52

PHAYAO 53


สบคนตนเคาเมองกวานพะเยา

พิพิธภัณ ์เวียงพยาว บอกเล่าความเปนมา พิพธิ ภัณฑ์เวียงพยาว ซึง่ ตัง้ อยูภ่ ายในวัดลี อําเภอเมืองพะเยานี้ เกิ ด จากแรงบั น ดาลใจและความสํ า นึ ก รั ก ถิ่ น เกิ ด ของพระครู อนุรกั ษ์บรุ านันท์ เจ้าคณะอําเภอเมืองพะเยา และเจ้าอาวาสวัดลี ซึง่ เลงเหนคุณค่าของโบราณวัตถุอันเป็นสมบัติลํ้าค่าของชาติจํานวน มาก แต่กลับถูกทอดทิง้ อย่างไร้คา่ อยูต่ ามวัดต่าง ๆ ในพืน้ ทีจ่ งั หวัด พะเยา ท่านจึงตระเวนนํามาอนุรกั ษ์และเกบรักษาไว้ทวี่ ดั ลี โดยเกบ อย่างต่อเนื่องนานกว่า 50 ปี กระทั่งโบราณวัตถุมีมากขึ้นเรื่อย ๆ ท่านจึงดําริจัดตั้งเป็นพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นขึ้นภายในวัดลี เพื่อให้เป็น แหล่งรวบรวมวัตถุโบราณ และเป็นแหล่งเรียนรูด้ า้ นประวัตศิ าสตร์ โบราณคดี ศิลปวัฒนธรรมของเมืองพะเยาไว้ ต่อมาในปี 2549 นายธนเษก อัศวานุวัตร ผู้ว่าราชการ จังหวัดในขณะนั้น ได้ผลักดันโครงการจัดตั้งพิพิธภัณฑ์วัดลีอย่าง เป็นทางการ โดยได้รับความร่วมมือจากภาครัฐ ภาคเอกชน และ คนในชุมชนวัดลี ร่วมใจกันสนับสนุนจนสําเรจในปี 2550 ลอง ไปชมดูนะคะ แล้วคุณจะพบว่าเมืองพะเยานั้นมีหลักฐานทาง โบราณคดี ที่แสดงถึงความเป็นเมืองประวัติศาสตร์มากมายเกิน คาดจริง ๆ 54

ชมช้างเอราวัณ 4 เศียร ณ หอวั นธรรมนิทัศน์ หอวัฒนธรรมนิทัศน์ ตั้งอยู่ภายในวัดศรีโคมคํา อําเภอเมือง พะเยา เป็นสถานที่จัดแสดงวัตถุโบราณ รวมถึงเอกสารสําคัญ ทางประวัติศาสตร์ด้านวรรณกรรม ภูมิปญญาท้องถิ่น วัฒนธรรม ประเพณี และวิถีความเป็นอยู่ของชาวพะเยาในอดีต ซึ่งหลวงพ่อ พระอุบาลีคุณูปมาจารย์ เจ้าอาวาสวัดศรีโคมคํา ได้ดําเนินการ ด้วยความวิรยิ ะอุตสาหะในการสืบเสาะและเกบรักษาอย่างต่อเนือ่ ง หลายสิบปี โบราณวัตถุทโี่ ดดเด่นประกอบด้วยซากปรักหักพังและ ประติมากรรมในยุคหินทรายของเมืองพะเยา (พุทธศตวรรษที่ 20-22) อาทิ ส่วนเศียรและส่วนองค์พระพุทธรูปที่แตกหัก ช้าง เอราวัณ 4 เศียร ดอกบัวหินทราย ถ้วยชามเวียงกาหลง ฯลฯ นับเป็นอีกหนึ่งแหล่งเรียนรู้ที่น่าสนใจซึ่งไม่ควรพลาดชมอย่างยิ่ง

ทัวร์ท�าบุ หวพระ สุข จ ดกุ ล

สักการะ พระธาตุจอมทอง พระธาตุจอมทอง วัดศรีโคมคํา เป็นพระธาตุที่ประดิษฐาน พระเกศาธาตุ ข องพระพุ ท ธเจ้ า รู ป ทรงของพระธาตุ เ ป็ น ทรง เดียวกันกับพระธาตุจอมทอง อําเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ และพระธาตุที่วัดพระธาตุหริภุญชัย จังหวัดลําพูน ศิลปะซึ่งเป็น ที่นิยมของช่างสกุลครูบาเจ้าศรีวิชัย นักบุญแห่งล้านนาไทยที่เคย มาเป็นประธานบูรณะพระธาตุดังกล่าวแล้ว PHAYAO 55


สบคนตนเคาเมองกวานพะเยา

พิพิธภัณ ์เวียงพยาว บอกเล่าความเปนมา พิพธิ ภัณฑ์เวียงพยาว ซึง่ ตัง้ อยูภ่ ายในวัดลี อําเภอเมืองพะเยานี้ เกิ ด จากแรงบั น ดาลใจและความสํ า นึ ก รั ก ถิ่ น เกิ ด ของพระครู อนุรกั ษ์บรุ านันท์ เจ้าคณะอําเภอเมืองพะเยา และเจ้าอาวาสวัดลี ซึง่ เลงเหนคุณค่าของโบราณวัตถุอันเป็นสมบัติลํ้าค่าของชาติจํานวน มาก แต่กลับถูกทอดทิง้ อย่างไร้คา่ อยูต่ ามวัดต่าง ๆ ในพืน้ ทีจ่ งั หวัด พะเยา ท่านจึงตระเวนนํามาอนุรกั ษ์และเกบรักษาไว้ทวี่ ดั ลี โดยเกบ อย่างต่อเนื่องนานกว่า 50 ปี กระทั่งโบราณวัตถุมีมากขึ้นเรื่อย ๆ ท่านจึงดําริจัดตั้งเป็นพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นขึ้นภายในวัดลี เพื่อให้เป็น แหล่งรวบรวมวัตถุโบราณ และเป็นแหล่งเรียนรูด้ า้ นประวัตศิ าสตร์ โบราณคดี ศิลปวัฒนธรรมของเมืองพะเยาไว้ ต่อมาในปี 2549 นายธนเษก อัศวานุวัตร ผู้ว่าราชการ จังหวัดในขณะนั้น ได้ผลักดันโครงการจัดตั้งพิพิธภัณฑ์วัดลีอย่าง เป็นทางการ โดยได้รับความร่วมมือจากภาครัฐ ภาคเอกชน และ คนในชุมชนวัดลี ร่วมใจกันสนับสนุนจนสําเรจในปี 2550 ลอง ไปชมดูนะคะ แล้วคุณจะพบว่าเมืองพะเยานั้นมีหลักฐานทาง โบราณคดี ที่แสดงถึงความเป็นเมืองประวัติศาสตร์มากมายเกิน คาดจริง ๆ 54

ชมช้างเอราวัณ 4 เศียร ณ หอวั นธรรมนิทัศน์ หอวัฒนธรรมนิทัศน์ ตั้งอยู่ภายในวัดศรีโคมคํา อําเภอเมือง พะเยา เป็นสถานที่จัดแสดงวัตถุโบราณ รวมถึงเอกสารสําคัญ ทางประวัติศาสตร์ด้านวรรณกรรม ภูมิปญญาท้องถิ่น วัฒนธรรม ประเพณี และวิถีความเป็นอยู่ของชาวพะเยาในอดีต ซึ่งหลวงพ่อ พระอุบาลีคุณูปมาจารย์ เจ้าอาวาสวัดศรีโคมคํา ได้ดําเนินการ ด้วยความวิรยิ ะอุตสาหะในการสืบเสาะและเกบรักษาอย่างต่อเนือ่ ง หลายสิบปี โบราณวัตถุทโี่ ดดเด่นประกอบด้วยซากปรักหักพังและ ประติมากรรมในยุคหินทรายของเมืองพะเยา (พุทธศตวรรษที่ 20-22) อาทิ ส่วนเศียรและส่วนองค์พระพุทธรูปที่แตกหัก ช้าง เอราวัณ 4 เศียร ดอกบัวหินทราย ถ้วยชามเวียงกาหลง ฯลฯ นับเป็นอีกหนึ่งแหล่งเรียนรู้ที่น่าสนใจซึ่งไม่ควรพลาดชมอย่างยิ่ง

ทัวร์ท�าบุ หวพระ สุข จ ดกุ ล

สักการะ พระธาตุจอมทอง พระธาตุจอมทอง วัดศรีโคมคํา เป็นพระธาตุที่ประดิษฐาน พระเกศาธาตุ ข องพระพุ ท ธเจ้ า รู ป ทรงของพระธาตุ เ ป็ น ทรง เดียวกันกับพระธาตุจอมทอง อําเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ และพระธาตุที่วัดพระธาตุหริภุญชัย จังหวัดลําพูน ศิลปะซึ่งเป็น ที่นิยมของช่างสกุลครูบาเจ้าศรีวิชัย นักบุญแห่งล้านนาไทยที่เคย มาเป็นประธานบูรณะพระธาตุดังกล่าวแล้ว PHAYAO 55


กวานพะเยา 56

PHAYAO 57


กวานพะเยา 56

PHAYAO 57


องค์พระธาตุจอมทอง วัดศรีโคมคํา มีฐานกว้าง 20 เมตร สูง 30 เมตร ด้านหน้าเป็นพระวิหารขนาดกว้าง 8 เมตร ยาว ประมาณ 20 เมตร ผนังด้านข้างโล่งเรียบ ไม่มีประตู หน้าต่าง ภายในมีพระพุทธรูปหินทราย ตัง้ อยูบ่ นฐานชุกชีเป็นพระประธาน และมีพระหินทรายขนาดกลางอีกหลายองค์ประทับเรียงราย รอบ บริเวณพระธาตุและพระวิหารล้อมรอบด้วยศาลาราย ซึง่ เคยเป็นที่ จําวัด เจริญสมาธิภาวนาของครูบาเจ้าศรีวิชัย เมื่อครั้งท่านมาเป็น ประธานบูรณะพระวิหารวัดพระเจ้าตนหลวง มีตาํ นานเล่าถึงประวัตพิ ระธาตุจอมทองว่า บนเขาแห่งนี้ องค์ สมเดจพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเคยเสดจมาเผยแผ่พระพุทธศาสนา ที่เมืองภูกามยาว ในขณะที่ประทับอยู่นั้นมีคหบดีครอบครัวหนึ่ง ได้นําภัตตาหารมาถวายพระพุทธเจ้า พระองค์จึงให้พระเกศาธาตุ เพื่อจะได้บรรจุลงในพระธาตุที่จะสร้างไว้แห่งนี้ พระธาตุจอมทองตัง้ อยูบ่ นเนินเขาทางทิศเหนือของวัดศรีโคม คํา ประชาชนสามารถขึ้นไปมนัสการได้สามเส้นทาง คือเดินขึ้น บันไดนาคด้านทิศใต้ หรือจะขับรถขึ้นเวียนทั้งด้านหน้าและด้าน หลังของวัดศรีโคมคํา นมัสการ พระเจ้าตนหลวง ณ วัดศรีโคมคํา นอกจากองค์ พ ระธาตุ จ อมทองซึ่ ง เป็ น ที่ สั ก การบู ช าของ พุทธศาสนิกชนแล้ว ที่วัดศรีโคมคํายังประดิษฐานพระพุทธรูป ศักดิ์สิทธิ์องค์ใหญ่ที่สุด และเก่าแก่ที่สุดในแผ่นดินล้านนาไทย ขนาดหน้าตักกว้าง 14 เมตร สูง 1 เมตร จนเป็นที่มาของชื่อ 58

วัดพระเจ้าองค์หลวง หรือ วัดพระเจ้าตนหลวง นั่นเอง ซึ่งประวัติของการสร้างพระเจ้าตนหลวงนั้น ในตํานานพระธาตุ จอมทอง ได้กล่าวไว้ว่า เมื่อพระพุทธเจ้าฉันภัตตาหารเสรจแล้ว ให้ พระอานนท์ลงมาตักนํ้าเพื่อเสวย ที่หนองนํ้าข้างล่างใกล้ๆ กับเชิง เขา ซึ่งมีชื่อว่าหนองเอี้ยง (กว๊านพะเยา) หนองนํ้านั้นมีพญานาค ชื่อ ธุมะสักขี เ ารักษาอยู่ไม่ยอมให้นํ้า ความทราบถึงพระพุทธเจ้า พระองค์ทรงลงมาโปรดพญานาคโดยแสดงอิทธิฤทธิ์ปา ิหาริย์ โดย เนรมิตพระวรกายสูงใหญ่ ถึง 32 ศอก พญานาคเหนดังนั้นจึงเกิด ความเลือ่ มใสศรัทธายอมเป็นผูน้ บั ถือพระพุทธศาสนา พระพุทธองค์ ทรงมอบทองคําให้พญานาคไว้เป็นทุนเพื่อก่อสร้างพระพุทธรูปองค์ ใหญ่ สูง 32 ศอก เพื่อเป็นการเผยแพร่พระศาสนาต่อไป ยังมีประวัติกล่าวเพิ่มเติมอีกว่า เมื่อพญานาคได้ทองคําแล้ว ได้ นํามาให้ตายายคู่หนึ่งที่ตั้งบ้านอยู่ริมหนองเอี้ยง เพื่อให้ตายายสร้าง พระพุทธรูปองค์นี้ โดยทั้งคู่นใี้ ช้เวลาในการสร้างองค์พระนานถึง 33 ปี ระหว่าง พ.ศ.2034-20 7 เวลาต่อมาจึงขนานพระนามว่า พระเจ้า องค์หลวง หรือ พระเจ้าตนหลวง นั่นเอง ปจจุบันพระเจ้าตนหลวงไม่เพียงแต่จะเป็นพระพุทธรูปคู่บ้านคู่ เมืองพะเยาเท่านั้น แต่ยังเป็นพระพุทธรูปคู่อาณาจักรล้านนาด้วย โดยทางวัดศรีโคมคําได้กําหนดจัดงาน ประเพณีนมัสการพระเจ้า องค์หลวงเดือนแปดเป็ง ขึน้ ในเดือนพฤษภาคมของทุกปี นอกจาก นี้วัดศรีโคมคํายังเป็นสถานที่ท่องเที่ยวสําคัญที่อยู่คู่กับกว๊านพะเยา มาช้านานด้วย

เวียนเทียนกลางนํา ณ วัดติโลกอาราม วัดติโลกอาราม เป็นวัดเก่าแก่มีอายุกว่า 500 ปี และตั้งอยู่ กลางกว๊านพะเยา จึงมีประเพณีเวียนเทียนกลางนํ้าที่มีเพียงแห่ง เดียวในโลก จากหลักฐานทีเ่ ป็นจารึกของวัดทําให้ทราบว่า พระเจ้าติโลกราช ผู้ครองเมืองเชียงใหม่ โปรดเกล้าฯให้พระยายุทธิษถิระ เจ้าเมือง พะเยา สร้างวัดติโลกอารามขึ้น เมื่อประมาณ พ.ศ.2019-2029 วัด จึงเป็นจุดศูนย์กลางของชุมชนในบริเวณกว๊านพะเยา ทว่าในปี พ.ศ. 2482 กรมประมงได้สร้างประตูกั้นนํ้าเพื่อกักเกบนํ้าในกว๊านพะเยา ทําให้วัดและชุมชนโบราณตลอดจนวัดอีกจํานวนมากต้องจมนํ้านาน กว่า 8 ปี กระทั่งปี พ.ศ. 252 ในช่วงนํ้าลดได้มีการค้นพบ หลวงพ่อ ศิลา หรือ พระเจ้ากว๊าน พระพุทธรูปหินทราย ปางมารวิชัย อายุ เก่าแก่กว่า 500 ปี ชาวบ้านจึงอัญเชิญมาประดิษฐานที่วัดศรีอุโมงค์ คํา ต่อมาในปี พ.ศ. 2550 หลังการบูรณะ วัดติโลกอาราม แล้ว เสรจ จังหวัดพะเยาจึงได้อัญเชิญหลวงพ่อศิลามาประดิษฐานไว้ ณ ใจกลางกว๊านพะเยาเช่นเดิม เพือ่ ให้ชาวพะเยาตลอดจนนักท่องเทีย่ ว ได้กราบนมัสการ PHAYAO 59


องค์พระธาตุจอมทอง วัดศรีโคมคํา มีฐานกว้าง 20 เมตร สูง 30 เมตร ด้านหน้าเป็นพระวิหารขนาดกว้าง 8 เมตร ยาว ประมาณ 20 เมตร ผนังด้านข้างโล่งเรียบ ไม่มีประตู หน้าต่าง ภายในมีพระพุทธรูปหินทราย ตัง้ อยูบ่ นฐานชุกชีเป็นพระประธาน และมีพระหินทรายขนาดกลางอีกหลายองค์ประทับเรียงราย รอบ บริเวณพระธาตุและพระวิหารล้อมรอบด้วยศาลาราย ซึง่ เคยเป็นที่ จําวัด เจริญสมาธิภาวนาของครูบาเจ้าศรีวิชัย เมื่อครั้งท่านมาเป็น ประธานบูรณะพระวิหารวัดพระเจ้าตนหลวง มีตาํ นานเล่าถึงประวัตพิ ระธาตุจอมทองว่า บนเขาแห่งนี้ องค์ สมเดจพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเคยเสดจมาเผยแผ่พระพุทธศาสนา ที่เมืองภูกามยาว ในขณะที่ประทับอยู่นั้นมีคหบดีครอบครัวหนึ่ง ได้นําภัตตาหารมาถวายพระพุทธเจ้า พระองค์จึงให้พระเกศาธาตุ เพื่อจะได้บรรจุลงในพระธาตุที่จะสร้างไว้แห่งนี้ พระธาตุจอมทองตัง้ อยูบ่ นเนินเขาทางทิศเหนือของวัดศรีโคม คํา ประชาชนสามารถขึ้นไปมนัสการได้สามเส้นทาง คือเดินขึ้น บันไดนาคด้านทิศใต้ หรือจะขับรถขึ้นเวียนทั้งด้านหน้าและด้าน หลังของวัดศรีโคมคํา นมัสการ พระเจ้าตนหลวง ณ วัดศรีโคมคํา นอกจากองค์ พ ระธาตุ จ อมทองซึ่ ง เป็ น ที่ สั ก การบู ช าของ พุทธศาสนิกชนแล้ว ที่วัดศรีโคมคํายังประดิษฐานพระพุทธรูป ศักดิ์สิทธิ์องค์ใหญ่ที่สุด และเก่าแก่ที่สุดในแผ่นดินล้านนาไทย ขนาดหน้าตักกว้าง 14 เมตร สูง 1 เมตร จนเป็นที่มาของชื่อ 58

วัดพระเจ้าองค์หลวง หรือ วัดพระเจ้าตนหลวง นั่นเอง ซึ่งประวัติของการสร้างพระเจ้าตนหลวงนั้น ในตํานานพระธาตุ จอมทอง ได้กล่าวไว้ว่า เมื่อพระพุทธเจ้าฉันภัตตาหารเสรจแล้ว ให้ พระอานนท์ลงมาตักนํ้าเพื่อเสวย ที่หนองนํ้าข้างล่างใกล้ๆ กับเชิง เขา ซึ่งมีชื่อว่าหนองเอี้ยง (กว๊านพะเยา) หนองนํ้านั้นมีพญานาค ชื่อ ธุมะสักขี เ ารักษาอยู่ไม่ยอมให้นํ้า ความทราบถึงพระพุทธเจ้า พระองค์ทรงลงมาโปรดพญานาคโดยแสดงอิทธิฤทธิ์ปา ิหาริย์ โดย เนรมิตพระวรกายสูงใหญ่ ถึง 32 ศอก พญานาคเหนดังนั้นจึงเกิด ความเลือ่ มใสศรัทธายอมเป็นผูน้ บั ถือพระพุทธศาสนา พระพุทธองค์ ทรงมอบทองคําให้พญานาคไว้เป็นทุนเพื่อก่อสร้างพระพุทธรูปองค์ ใหญ่ สูง 32 ศอก เพื่อเป็นการเผยแพร่พระศาสนาต่อไป ยังมีประวัติกล่าวเพิ่มเติมอีกว่า เมื่อพญานาคได้ทองคําแล้ว ได้ นํามาให้ตายายคู่หนึ่งที่ตั้งบ้านอยู่ริมหนองเอี้ยง เพื่อให้ตายายสร้าง พระพุทธรูปองค์นี้ โดยทั้งคู่นใี้ ช้เวลาในการสร้างองค์พระนานถึง 33 ปี ระหว่าง พ.ศ.2034-20 7 เวลาต่อมาจึงขนานพระนามว่า พระเจ้า องค์หลวง หรือ พระเจ้าตนหลวง นั่นเอง ปจจุบันพระเจ้าตนหลวงไม่เพียงแต่จะเป็นพระพุทธรูปคู่บ้านคู่ เมืองพะเยาเท่านั้น แต่ยังเป็นพระพุทธรูปคู่อาณาจักรล้านนาด้วย โดยทางวัดศรีโคมคําได้กําหนดจัดงาน ประเพณีนมัสการพระเจ้า องค์หลวงเดือนแปดเป็ง ขึน้ ในเดือนพฤษภาคมของทุกปี นอกจาก นี้วัดศรีโคมคํายังเป็นสถานที่ท่องเที่ยวสําคัญที่อยู่คู่กับกว๊านพะเยา มาช้านานด้วย

เวียนเทียนกลางนํา ณ วัดติโลกอาราม วัดติโลกอาราม เป็นวัดเก่าแก่มีอายุกว่า 500 ปี และตั้งอยู่ กลางกว๊านพะเยา จึงมีประเพณีเวียนเทียนกลางนํ้าที่มีเพียงแห่ง เดียวในโลก จากหลักฐานทีเ่ ป็นจารึกของวัดทําให้ทราบว่า พระเจ้าติโลกราช ผู้ครองเมืองเชียงใหม่ โปรดเกล้าฯให้พระยายุทธิษถิระ เจ้าเมือง พะเยา สร้างวัดติโลกอารามขึ้น เมื่อประมาณ พ.ศ.2019-2029 วัด จึงเป็นจุดศูนย์กลางของชุมชนในบริเวณกว๊านพะเยา ทว่าในปี พ.ศ. 2482 กรมประมงได้สร้างประตูกั้นนํ้าเพื่อกักเกบนํ้าในกว๊านพะเยา ทําให้วัดและชุมชนโบราณตลอดจนวัดอีกจํานวนมากต้องจมนํ้านาน กว่า 8 ปี กระทั่งปี พ.ศ. 252 ในช่วงนํ้าลดได้มีการค้นพบ หลวงพ่อ ศิลา หรือ พระเจ้ากว๊าน พระพุทธรูปหินทราย ปางมารวิชัย อายุ เก่าแก่กว่า 500 ปี ชาวบ้านจึงอัญเชิญมาประดิษฐานที่วัดศรีอุโมงค์ คํา ต่อมาในปี พ.ศ. 2550 หลังการบูรณะ วัดติโลกอาราม แล้ว เสรจ จังหวัดพะเยาจึงได้อัญเชิญหลวงพ่อศิลามาประดิษฐานไว้ ณ ใจกลางกว๊านพะเยาเช่นเดิม เพือ่ ให้ชาวพะเยาตลอดจนนักท่องเทีย่ ว ได้กราบนมัสการ PHAYAO 59


60

PHAYAO 61


60

PHAYAO 61


ทั้งนี้จังหวัดพะเยาจัดให้มีประเพณีเวียนเทียนกลางนํ้ารอบ พระธาตุเจดีย์วัดติโลกอาราม ในวันสําคัญทางพระพุทธศาสนา ได้แก่ วันมา บูชา วันวิสาขบูชา และวันอาสา หบูชา ซึง่ ในอดีต นัน้ จะต้องล่องเรือพายเวียนเทียนรอบวัด นําขบวนโดยเรือของพระ ภิกษุสง ์ แต่ปจจุบันทางจังหวัดได้จัดสร้างสะพานไม้ไผ่ที่แขง แรงและสวยงามทอดยาวไปจนถึงบริเวณที่ตั้งวัดกลางนํ้า เพื่อให้ ประชนชนเดินทางไปเวียนเทียนได้สะดวกสบายยิ่งขึ้น ซึ่งถือได้ ว่าเป็นประเพณีเวียนเทียนกลางนํา้ หนึง่ เดียวในโลก ทําให้การท่อง เที่ยวแห่งประเทศไทย(ททท.) บรรจุไว้ในโปรแกรมส่งเสริมการ ท่องเที่ยวตามโครงการ 12 เดือน 7 ดาว 9 ตะวัน อุทยานพระพุทธศาสนา วัดอนาลโยทิพยาราม สร้างโดยพระปญญาพิศาลเถร (พระอาจารย์ไพบูลย์ฯ) เป็น อุทยานพระพุทธศาสนาทีม่ ศี าสนสถานทีส่ วยงาม ได้แก่ พระพุทธ รูปศิลปะสุโขทัยองค์ใหญ่ พระพุทธรูปปางต่าง ๆ พระพุทธลีลา พุทธคยา เกงจีนประดิษฐานเจ้าแม่กวนอิม หอพระแก้วมรกต จําลองทําด้วยทองคํา ฯลฯ นอกจากนี้ภายในวัดยังมีบรรยากาศ ร่มรื่น พื้นที่กว้างขวาง แวดล้อมไปด้วยทรัพยากรปาไม้จากยอด ดอย นักท่องเที่ยวสามารถชมทัศนียภาพที่สวยงามของกว๊าน พะเยา และตัวเมืองของพะเยาได้ วัดอนาลโยทิพยาราม ตั้งอยู่บนดอยบุษราคัม บ้านสันปา ม่วง หมู่ที่ ต.สันปาม่วง จังหวัดพะเยา จากตัวเมืองไปเส้นทาง พะเยา - เชียงราย ประมาณ 7 กม.แยกซ้ายไปตามทางหลวง หมายเลข 1127 ประมาณ 9 กิโลเมตร กราบ พระเจ้าล้านตอ ณ วัดศรีอุโมงค์คํา พระเจ้าล้านตื้อ หรือ พระเจ้าแสนแซ่ เป็นพระพุทธรูป ที่งดงามที่สุดและมีชื่อเสียงมากในล้านนา ประดิษฐานในพระ อุโบสถวัดศรีอโุ มงค์คาํ วัดโบราณทีส่ ร้างขึน้ ประมาณ พ.ศ. 2389 ตั้งอยู่เลขที่ 3 ถนนท่ากว๊าน ตําบลเวียง อําเภอเมือง จังหวัด พะเยา ส่วนนามของพระเจ้าล้านตื้อนั้น ตั้งขึ้นจากการคํานวณนํ้า หนักของพระพุทธรูปองค์นี้เนื่องจากมีนํ้าหนักเป็นล้าน ๆๆ คําว่า ตือ้ เป็นจํานวนนับทางล้านนา ทีเ่ ริม่ จากหลักหน่วย สิบ ร้อย พัน หมื่น แสน ล้าน โก ิ และ ตื้อ ส่วนอีกนามหนึ่งที่เรียกว่าพระเจ้า แสนแซ่นั้น เนื่องจากการสร้างพระพุทธรูปซึ่งทําจากสัมฤทธิ์องค์ นี้ ต้องนําส่วนต่าง ๆ ขององค์พระ มาประกอบเข้ากันด้วยสลัก ซึ่งชาวเหนือเรียกว่า แซ่ นั่นเอง นอกจากนี้ ภายในอุโบสถยังมี พระเจ้าแข้งคม เป็น พระพุทธรูปหินทรายโบราณ ที่ได้เกบรักษาลงรักปดทองไว้ สาเหตุที่ได้นามนี้เพราะเป็นพระพุทธรูปที่มีหน้าแข้งเป็นเหลี่ยม ซึ่งในเมืองพะเยาจะพบพระพุทธรูปแบบนี้ไม่มากนัก แต่พบที่วัด ศรีเกิด จังหวัดเชียงใหม่ ด้านหลังพระอุโบสถมีพระเจดีย์ฐานสี่เหลี่ยมขนาดใหญ่ กว้างยาวเกือบ 30 เมตร เป็นเจดีย์ศิลปะล้านนาอีกสมัยหนึ่ง เรียกว่าเจดีย์หน้าไม้สิบสอง มีซุ้มจรนําทั้งสี่ทิศ มีพระพุทธรูป ปางต่าง ๆ ประดิษฐานอยู่ในซุ้ม เจดีย์องค์นี้ได้รับการบูรณะ ซ่อมแซมมาหลายครั้ง เพราะเคยถูกฟาผ่าหักโค่น สมัยหนึ่งมี 62

การบูรณะขึ้นมาใหม่ ส่ ว นล่ า งของฐานพระอุ โ บสถและเจดี ย ์ ยั ง มี วิ ห ารซึ่ ง เป็ น ที่ ประดิษฐานพระพุทธรูปสําคัญ คือ พระเจ้าทันใจ พระพุทธรูป หินทรายที่เชื่อกันว่ามีความศักดิ์สิทธิ์ ชาวบ้านมักจะมาขอพรและ มักจะสมหวังดังที่ตั้งอธิษฐานจิตเสมอ พระพุทธรูปที่สําคัญอีกองค์ กคือ พระพุทธรูปหินทรายกว๊านพระเยา พระพุทธรูปองค์นมี้ พี ทุ ธ ลักษณะทีง่ ดงาม ชาวบ้านขุดพบได้ทเี่ จดียเ์ ก่ากลางกว๊านพะเยา แล้ว นําประดิษฐานไว้ที่วัดศรีอุโมงค์คํา อพรพระโบราณ ณ วัดพระนั่งดิน ตามตํานานกล่าวว่า พระเจ้านั่งดิน เป็นพระพุทธรูปที่สร้าง ขึ้นมาตั้งแต่ครั้งสมเดจพระสัมมาสัมพุทธเจ้ายังทรงพระชนม์อยู่ จึง

สันนิษฐานว่าองค์พระเจ้านั่งดิน น่าจะมีอายุไม่ตํ่ากว่า 2500 ปี และตามประวัติยังได้กล่าวอีกว่า ในการสร้างพระพุทธรูปองค์นี้ ใช้เวลา 1 เดือน 7 วัน จึงแล้วเสรจ เมื่อสร้างแล้วได้ประดิษฐาน องค์พระไว้บนพื้นราบ โดยไม่มีฐานชุกชีรองรับดังพระพุทธรูป ประธานองค์อื่น ๆ กาลต่อมาได้มีผู้สร้างฐานชุกชีขึ้น เพื่ออัญเชิญพระประธาน องค์ขึ้นประดิษฐาน แต่ปราก เรื่องปา ิหาริย์ว่า ไม่มีใครสามารถ ยกองค์พระประธานขึ้นได้เลย แม้จะพยายามยกด้วยวิธีการใด ๆ กไม่สามารถยกขึน้ ได้ ราษฎรจึงถวายนามสืบต่อกันมาว่า พระเจ้า นั่งดิน จวบจนปจจุบัน PHAYAO 63


ทั้งนี้จังหวัดพะเยาจัดให้มีประเพณีเวียนเทียนกลางนํ้ารอบ พระธาตุเจดีย์วัดติโลกอาราม ในวันสําคัญทางพระพุทธศาสนา ได้แก่ วันมา บูชา วันวิสาขบูชา และวันอาสา หบูชา ซึง่ ในอดีต นัน้ จะต้องล่องเรือพายเวียนเทียนรอบวัด นําขบวนโดยเรือของพระ ภิกษุสง ์ แต่ปจจุบันทางจังหวัดได้จัดสร้างสะพานไม้ไผ่ที่แขง แรงและสวยงามทอดยาวไปจนถึงบริเวณที่ตั้งวัดกลางนํ้า เพื่อให้ ประชนชนเดินทางไปเวียนเทียนได้สะดวกสบายยิ่งขึ้น ซึ่งถือได้ ว่าเป็นประเพณีเวียนเทียนกลางนํา้ หนึง่ เดียวในโลก ทําให้การท่อง เที่ยวแห่งประเทศไทย(ททท.) บรรจุไว้ในโปรแกรมส่งเสริมการ ท่องเที่ยวตามโครงการ 12 เดือน 7 ดาว 9 ตะวัน อุทยานพระพุทธศาสนา วัดอนาลโยทิพยาราม สร้างโดยพระปญญาพิศาลเถร (พระอาจารย์ไพบูลย์ฯ) เป็น อุทยานพระพุทธศาสนาทีม่ ศี าสนสถานทีส่ วยงาม ได้แก่ พระพุทธ รูปศิลปะสุโขทัยองค์ใหญ่ พระพุทธรูปปางต่าง ๆ พระพุทธลีลา พุทธคยา เกงจีนประดิษฐานเจ้าแม่กวนอิม หอพระแก้วมรกต จําลองทําด้วยทองคํา ฯลฯ นอกจากนี้ภายในวัดยังมีบรรยากาศ ร่มรื่น พื้นที่กว้างขวาง แวดล้อมไปด้วยทรัพยากรปาไม้จากยอด ดอย นักท่องเที่ยวสามารถชมทัศนียภาพที่สวยงามของกว๊าน พะเยา และตัวเมืองของพะเยาได้ วัดอนาลโยทิพยาราม ตั้งอยู่บนดอยบุษราคัม บ้านสันปา ม่วง หมู่ที่ ต.สันปาม่วง จังหวัดพะเยา จากตัวเมืองไปเส้นทาง พะเยา - เชียงราย ประมาณ 7 กม.แยกซ้ายไปตามทางหลวง หมายเลข 1127 ประมาณ 9 กิโลเมตร กราบ พระเจ้าล้านตอ ณ วัดศรีอุโมงค์คํา พระเจ้าล้านตื้อ หรือ พระเจ้าแสนแซ่ เป็นพระพุทธรูป ที่งดงามที่สุดและมีชื่อเสียงมากในล้านนา ประดิษฐานในพระ อุโบสถวัดศรีอโุ มงค์คาํ วัดโบราณทีส่ ร้างขึน้ ประมาณ พ.ศ. 2389 ตั้งอยู่เลขที่ 3 ถนนท่ากว๊าน ตําบลเวียง อําเภอเมือง จังหวัด พะเยา ส่วนนามของพระเจ้าล้านตื้อนั้น ตั้งขึ้นจากการคํานวณนํ้า หนักของพระพุทธรูปองค์นี้เนื่องจากมีนํ้าหนักเป็นล้าน ๆๆ คําว่า ตือ้ เป็นจํานวนนับทางล้านนา ทีเ่ ริม่ จากหลักหน่วย สิบ ร้อย พัน หมื่น แสน ล้าน โก ิ และ ตื้อ ส่วนอีกนามหนึ่งที่เรียกว่าพระเจ้า แสนแซ่นั้น เนื่องจากการสร้างพระพุทธรูปซึ่งทําจากสัมฤทธิ์องค์ นี้ ต้องนําส่วนต่าง ๆ ขององค์พระ มาประกอบเข้ากันด้วยสลัก ซึ่งชาวเหนือเรียกว่า แซ่ นั่นเอง นอกจากนี้ ภายในอุโบสถยังมี พระเจ้าแข้งคม เป็น พระพุทธรูปหินทรายโบราณ ที่ได้เกบรักษาลงรักปดทองไว้ สาเหตุที่ได้นามนี้เพราะเป็นพระพุทธรูปที่มีหน้าแข้งเป็นเหลี่ยม ซึ่งในเมืองพะเยาจะพบพระพุทธรูปแบบนี้ไม่มากนัก แต่พบที่วัด ศรีเกิด จังหวัดเชียงใหม่ ด้านหลังพระอุโบสถมีพระเจดีย์ฐานสี่เหลี่ยมขนาดใหญ่ กว้างยาวเกือบ 30 เมตร เป็นเจดีย์ศิลปะล้านนาอีกสมัยหนึ่ง เรียกว่าเจดีย์หน้าไม้สิบสอง มีซุ้มจรนําทั้งสี่ทิศ มีพระพุทธรูป ปางต่าง ๆ ประดิษฐานอยู่ในซุ้ม เจดีย์องค์นี้ได้รับการบูรณะ ซ่อมแซมมาหลายครั้ง เพราะเคยถูกฟาผ่าหักโค่น สมัยหนึ่งมี 62

การบูรณะขึ้นมาใหม่ ส่ ว นล่ า งของฐานพระอุ โ บสถและเจดี ย ์ ยั ง มี วิ ห ารซึ่ ง เป็ น ที่ ประดิษฐานพระพุทธรูปสําคัญ คือ พระเจ้าทันใจ พระพุทธรูป หินทรายที่เชื่อกันว่ามีความศักดิ์สิทธิ์ ชาวบ้านมักจะมาขอพรและ มักจะสมหวังดังที่ตั้งอธิษฐานจิตเสมอ พระพุทธรูปที่สําคัญอีกองค์ กคือ พระพุทธรูปหินทรายกว๊านพระเยา พระพุทธรูปองค์นมี้ พี ทุ ธ ลักษณะทีง่ ดงาม ชาวบ้านขุดพบได้ทเี่ จดียเ์ ก่ากลางกว๊านพะเยา แล้ว นําประดิษฐานไว้ที่วัดศรีอุโมงค์คํา อพรพระโบราณ ณ วัดพระนั่งดิน ตามตํานานกล่าวว่า พระเจ้านั่งดิน เป็นพระพุทธรูปที่สร้าง ขึ้นมาตั้งแต่ครั้งสมเดจพระสัมมาสัมพุทธเจ้ายังทรงพระชนม์อยู่ จึง

สันนิษฐานว่าองค์พระเจ้านั่งดิน น่าจะมีอายุไม่ตํ่ากว่า 2500 ปี และตามประวัติยังได้กล่าวอีกว่า ในการสร้างพระพุทธรูปองค์นี้ ใช้เวลา 1 เดือน 7 วัน จึงแล้วเสรจ เมื่อสร้างแล้วได้ประดิษฐาน องค์พระไว้บนพื้นราบ โดยไม่มีฐานชุกชีรองรับดังพระพุทธรูป ประธานองค์อื่น ๆ กาลต่อมาได้มีผู้สร้างฐานชุกชีขึ้น เพื่ออัญเชิญพระประธาน องค์ขึ้นประดิษฐาน แต่ปราก เรื่องปา ิหาริย์ว่า ไม่มีใครสามารถ ยกองค์พระประธานขึ้นได้เลย แม้จะพยายามยกด้วยวิธีการใด ๆ กไม่สามารถยกขึน้ ได้ ราษฎรจึงถวายนามสืบต่อกันมาว่า พระเจ้า นั่งดิน จวบจนปจจุบัน PHAYAO 63


64

PHAYAO 65


64

PHAYAO 65


สดช่ น ทาทาย นเสนทาง รรมชาต

กว๊านพะเยา อู่นํ้าอู่ข้าวของชาวพะเยา กว๊านพะเยา เป็นแลนด์มาร์คสําคัญที่เปรียบเสมือนเส้นเลือด หล่อเลีย้ งชีวติ ของชาวพะเยา เพราะเป็นทัง้ แหล่งนํา้ เพือ่ การอุปโภค บริโภค และการเกษตร เป็นแหล่งประมงนํ้าจืดที่สําคัญที่สุดของ ภาคเหนือตอนบน และเป็นสถานทีท่ อ่ งเทีย่ วห้ามพลาดของจังหวัด พะเยาเลยทีเดียว กว๊านพะเยาเกิดจากการยุบตัวของเปลือกโลกเมือ่ ประมาณ 70 ล้านปีมาแล้ว มีหนองเอี้ยงเป็นหนองนํ้าขนาดใหญ่ และหนองอื่น ๆในบริเวณที่ลุ่มแม่นํ้าอิง และเป็นที่ตั้งของวัดและชุมชนมากมาย ต่อมาในปี พ.ศ. 2478 กรมประมงได้ตงั้ สถานีประมงนํา้ จืดจังหวัด พะเยาขึ้นบริเวณต้นแม่นํ้าอิง และสร้าง ายกั้นนํ้าขึ้น ในปี 2482 ทําให้เกิดเป็นทะเลสาบขนาดใหญ่ มีความลึกเฉลี่ย 1.5 เมตร มี เนือ้ ทีป่ ระมาณ 12,831 ไร่ โอบล้อมดอยแม่ใจซึง่ เป็นทิวเขาสูงและ ทอดตัวยาว ก่อเกิดทัศนียภาพโดยรอบที่สวยงาม ร่มรื่น สบายตา ปจจุบนั กว๊านพะเยาได้กลายเป็นสถานทีพ่ กั ผ่อนหย่อนใจยาม เยนของชาวพะเยา และนักท่องเที่ยวด้วย เพราะบริเวณริมกว๊านมี ร้านอาหารมากมายให้เลือกกินดืม่ ได้ตามสะดวก มีสวนสาธารณะ ให้ได้เดินเล่น ออกกําลังกายสูดอากาศสดชื่น มีจุดชมพระอาทิตย์ ตกที่สวยงามโรแมนติกอีกแห่งหนึ่งของไทย เพราะมีเทือกเขาผี ปนนํ้าที่ทอดตัวยาวเป็นฉากหลัง นอกจากนี้ทางจังหวัดพะเยายัง 66

ได้สร้างพญานาคคู่สีขาวหันหน้าเข้าหาพระธาตุจอมทององค์จําลอง ณ ริม งนํ้าตรงข้ามกับลานพ่อขุนงําเมือง เพื่อให้นักท่องเที่ยวได้ เกบภาพเป็นที่ระลึกคู่กับทัศนียภาพที่สวยงามทุกโมงยามของกว๊าน พะเยาด้วย กิจกรรมท่องเที่ยวของกว๊านพะเยาคือ นักท่องเที่ยวสามารถ ล่องเรือพายไปชมทัศนียภาพทีส่ งบงามกว้างไกลสุดสายตาของกว๊าน พะเยา พร้อมไปนมัสการหลวงพ่อศิลา วัดติโลกอารามได้ โดยชมรม เรือพายแจวจังหวัดพะเยาจะให้บริการเรือพาย และจักรยานนํ้าที่ ท่าเรือกว๊านพะเยา โดยเปดบริการตั้งแต่เวลาเจดโมงเช้าถึงหนึ่งทุ่ม ทุกวัน ติดต่อสอบถามค่าบริการได้ที่ ชมรมเรือพายแจวกว๊านพะเยา โทรศัพท์ 08 9433 7311 เล่นนําตกอุ่น ณ นําตกภูซาง นํา้ ตกภูซางถือเป็นเอกลักษณ์สาํ คัญของอําเภอภูซางและอุทยาน แห่งชาติภซู าง มีพนื้ ทีป่ ระมาณ 285 ตารางกิโลเมตร (178,050 ไร่) อยู่ในเขตพื้นที่ อ.เทิง จ.เชียงราย อ.เชียงคํา และ อ.ภูซาง จังหวัด พะเยา มีพื้นที่เป็นเทือกเขาสลับซับซ้อนมีอาณาเขตติดต่อกับ สปป. ลาว ยาวประมาณ 30 กม. นํ้าตกภูซางเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สําคัญ แห่งหนึง่ ของภาคเหนือ และเป็นสถานทีท่ อ่ งเทีย่ วทีม่ นี กั ท่องเทีย่ วมา มากที่สุดของ จ.พะเยา ลักษณะเด่นของนํ้าตกภูซางคือ เป็นนํ้าตกที่เป็นกระแสนํ้าอุ่น เพียงแห่งเดียวที่พบในประเทศไทย มีอุณหภูมิประมาณ 35 องศา เซลเซียส และปราศจากกลิ่นกํามะถัน สายนํ้าตกไหลมาจากผา หินปูนสูง 25 เมตร ลงสู่แอ่งนํ้าสีเขียวมรกตที่ใสราวกับกระจก จึง เหมาะสําหรับการลงแช่นํ้าให้อบอุ่น พร้อมกันนี้ยังมีเส้นทางศึกษา ธรรมชาติ เพราะมีพันธุ์ไม้นานาชนิดที่หาดูได้ยาก จุดเด่นพิเศษ

อยู่ที่บ่อซับนํ้าอุ่นและปาพรุนํ้าจืด ซึ่งเป็นต้นนํ้ากําเนิดของนํ้าตกภูซาง การเดินทาง นํ้าตกภูซางอยู่ใกล้กับที่ทําการอุทยานแห่งชาติภูซาง เป็นนํ้าตกที่อยู่ติดทางหลวงแผ่นดิน 1093 และเป็นเส้นทางไปสู่ภูชี้ฟา จ.เชียงราย ซึ่งห่างจากอุทยานฯประมาณ 42 กม. ชมทะเลหมอกงาม ณ ภูลังกา วนอุทยานภูลงั กา อยูใ่ นอําเภอเชียงคําและอําเภอปง จังหวัดพะเยา เป็นเขาสูงชันอยู่ในเทือกเขาสันปนนํ้า สูงจากระดับนํ้าทะเลปานกลาง ประมาณ 900-1,720 เมตร พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นปาดงดิบเขาและดงดิบ ริมห้วย ประมาณ 3 มีพันธุ์ไม้เด่น ได้แก่ ไม้ในวงศ์ไม้ก่อ เช่น ก่อ เดือย ก่อใบเลื่อม ก่อแปน ก่อลิ้มและก่อหรั่ง ทะโล้ กํายาน นางพญา เสือโคร่ง และกําลังเสือโคร่ง เป็นต้น ปาโปร่ง ประมาณ 21 มีพันธุ์ ไม้เด่นที่พบ ได้แก่ ทะโล้ ไม้ก่อ ค่าหด ช้าแปน ปอเลียง าย กางหลวง และเป็นทุ่งหญ้า ประมาณ 1 มีพันธุ์ไม้จําพวกหญ้าคา เลา หญ้า พง แขม และสาบแล้งสาบกา เป็นต้น สัตว์ปาที่พบ ได้แก่ เก้ง หมูปา เลียงผา อ้นเลก กระจงเลก กระแตใหญ่เหนือ กระรอก เสือโคร่ง เสือ ดาว หมี ชะมด อีเหน สัตว์จําพวกนก และสัตว์เลื้อยคลานต่าง ๆ แหล่งท่องเทีย่ วทีน่ า่ สนใจของวนอุทยานภูลงั กามีหลายแห่ง อาทิ ภู เทวดา เป็นยอดดอยที่สูงที่สุดในเทือกเขาสันปนนํ้า สูงถึง 1,720 เมตร จากระดับนํ้าทะเลปานกลาง จึงเป็นจุดที่เหมาะสําหรับการชมทะเลา หมอกยามเช้าท่ามกลางแสงเรื่อเรืองของดวงอาทิตย์ จึงเป็นจุดชมวิว และทะเลหมอกที่สวยงามที่สุดของจังหวัดพะเยา ยิ่งถ้ามาช่วงปลาย น ต้นหนาวกจะมีดอกไม้ปาสีสวยพร้อมใจกันชูชอ่ อวดสายตานักท่องเทีย่ ว ด้วย นอกจากนี้ยังมี ดอยภูนม ซึ่งเป็นสันเขาแคบ ๆ ที่ทอดตัวลดหลั่น จากดอยลังกา เนือ่ งจากเป็นดอยหัวโล้นจึงทําให้มองเหนทัศนียภาพโดย รอบได้กว้างไกล สวยงามไปอีกแบบ และดอยภูลงั กา เป็นอีกหนึง่ จุดชม PHAYAO 67


สดช่ น ทาทาย นเสนทาง รรมชาต

กว๊านพะเยา อู่นํ้าอู่ข้าวของชาวพะเยา กว๊านพะเยา เป็นแลนด์มาร์คสําคัญที่เปรียบเสมือนเส้นเลือด หล่อเลีย้ งชีวติ ของชาวพะเยา เพราะเป็นทัง้ แหล่งนํา้ เพือ่ การอุปโภค บริโภค และการเกษตร เป็นแหล่งประมงนํ้าจืดที่สําคัญที่สุดของ ภาคเหนือตอนบน และเป็นสถานทีท่ อ่ งเทีย่ วห้ามพลาดของจังหวัด พะเยาเลยทีเดียว กว๊านพะเยาเกิดจากการยุบตัวของเปลือกโลกเมือ่ ประมาณ 70 ล้านปีมาแล้ว มีหนองเอี้ยงเป็นหนองนํ้าขนาดใหญ่ และหนองอื่น ๆในบริเวณที่ลุ่มแม่นํ้าอิง และเป็นที่ตั้งของวัดและชุมชนมากมาย ต่อมาในปี พ.ศ. 2478 กรมประมงได้ตงั้ สถานีประมงนํา้ จืดจังหวัด พะเยาขึ้นบริเวณต้นแม่นํ้าอิง และสร้าง ายกั้นนํ้าขึ้น ในปี 2482 ทําให้เกิดเป็นทะเลสาบขนาดใหญ่ มีความลึกเฉลี่ย 1.5 เมตร มี เนือ้ ทีป่ ระมาณ 12,831 ไร่ โอบล้อมดอยแม่ใจซึง่ เป็นทิวเขาสูงและ ทอดตัวยาว ก่อเกิดทัศนียภาพโดยรอบที่สวยงาม ร่มรื่น สบายตา ปจจุบนั กว๊านพะเยาได้กลายเป็นสถานทีพ่ กั ผ่อนหย่อนใจยาม เยนของชาวพะเยา และนักท่องเที่ยวด้วย เพราะบริเวณริมกว๊านมี ร้านอาหารมากมายให้เลือกกินดืม่ ได้ตามสะดวก มีสวนสาธารณะ ให้ได้เดินเล่น ออกกําลังกายสูดอากาศสดชื่น มีจุดชมพระอาทิตย์ ตกที่สวยงามโรแมนติกอีกแห่งหนึ่งของไทย เพราะมีเทือกเขาผี ปนนํ้าที่ทอดตัวยาวเป็นฉากหลัง นอกจากนี้ทางจังหวัดพะเยายัง 66

ได้สร้างพญานาคคู่สีขาวหันหน้าเข้าหาพระธาตุจอมทององค์จําลอง ณ ริม งนํ้าตรงข้ามกับลานพ่อขุนงําเมือง เพื่อให้นักท่องเที่ยวได้ เกบภาพเป็นที่ระลึกคู่กับทัศนียภาพที่สวยงามทุกโมงยามของกว๊าน พะเยาด้วย กิจกรรมท่องเที่ยวของกว๊านพะเยาคือ นักท่องเที่ยวสามารถ ล่องเรือพายไปชมทัศนียภาพทีส่ งบงามกว้างไกลสุดสายตาของกว๊าน พะเยา พร้อมไปนมัสการหลวงพ่อศิลา วัดติโลกอารามได้ โดยชมรม เรือพายแจวจังหวัดพะเยาจะให้บริการเรือพาย และจักรยานนํ้าที่ ท่าเรือกว๊านพะเยา โดยเปดบริการตั้งแต่เวลาเจดโมงเช้าถึงหนึ่งทุ่ม ทุกวัน ติดต่อสอบถามค่าบริการได้ที่ ชมรมเรือพายแจวกว๊านพะเยา โทรศัพท์ 08 9433 7311 เล่นนําตกอุ่น ณ นําตกภูซาง นํา้ ตกภูซางถือเป็นเอกลักษณ์สาํ คัญของอําเภอภูซางและอุทยาน แห่งชาติภซู าง มีพนื้ ทีป่ ระมาณ 285 ตารางกิโลเมตร (178,050 ไร่) อยู่ในเขตพื้นที่ อ.เทิง จ.เชียงราย อ.เชียงคํา และ อ.ภูซาง จังหวัด พะเยา มีพื้นที่เป็นเทือกเขาสลับซับซ้อนมีอาณาเขตติดต่อกับ สปป. ลาว ยาวประมาณ 30 กม. นํ้าตกภูซางเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สําคัญ แห่งหนึง่ ของภาคเหนือ และเป็นสถานทีท่ อ่ งเทีย่ วทีม่ นี กั ท่องเทีย่ วมา มากที่สุดของ จ.พะเยา ลักษณะเด่นของนํ้าตกภูซางคือ เป็นนํ้าตกที่เป็นกระแสนํ้าอุ่น เพียงแห่งเดียวที่พบในประเทศไทย มีอุณหภูมิประมาณ 35 องศา เซลเซียส และปราศจากกลิ่นกํามะถัน สายนํ้าตกไหลมาจากผา หินปูนสูง 25 เมตร ลงสู่แอ่งนํ้าสีเขียวมรกตที่ใสราวกับกระจก จึง เหมาะสําหรับการลงแช่นํ้าให้อบอุ่น พร้อมกันนี้ยังมีเส้นทางศึกษา ธรรมชาติ เพราะมีพันธุ์ไม้นานาชนิดที่หาดูได้ยาก จุดเด่นพิเศษ

อยู่ที่บ่อซับนํ้าอุ่นและปาพรุนํ้าจืด ซึ่งเป็นต้นนํ้ากําเนิดของนํ้าตกภูซาง การเดินทาง นํ้าตกภูซางอยู่ใกล้กับที่ทําการอุทยานแห่งชาติภูซาง เป็นนํ้าตกที่อยู่ติดทางหลวงแผ่นดิน 1093 และเป็นเส้นทางไปสู่ภูชี้ฟา จ.เชียงราย ซึ่งห่างจากอุทยานฯประมาณ 42 กม. ชมทะเลหมอกงาม ณ ภูลังกา วนอุทยานภูลงั กา อยูใ่ นอําเภอเชียงคําและอําเภอปง จังหวัดพะเยา เป็นเขาสูงชันอยู่ในเทือกเขาสันปนนํ้า สูงจากระดับนํ้าทะเลปานกลาง ประมาณ 900-1,720 เมตร พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นปาดงดิบเขาและดงดิบ ริมห้วย ประมาณ 3 มีพันธุ์ไม้เด่น ได้แก่ ไม้ในวงศ์ไม้ก่อ เช่น ก่อ เดือย ก่อใบเลื่อม ก่อแปน ก่อลิ้มและก่อหรั่ง ทะโล้ กํายาน นางพญา เสือโคร่ง และกําลังเสือโคร่ง เป็นต้น ปาโปร่ง ประมาณ 21 มีพันธุ์ ไม้เด่นที่พบ ได้แก่ ทะโล้ ไม้ก่อ ค่าหด ช้าแปน ปอเลียง าย กางหลวง และเป็นทุ่งหญ้า ประมาณ 1 มีพันธุ์ไม้จําพวกหญ้าคา เลา หญ้า พง แขม และสาบแล้งสาบกา เป็นต้น สัตว์ปาที่พบ ได้แก่ เก้ง หมูปา เลียงผา อ้นเลก กระจงเลก กระแตใหญ่เหนือ กระรอก เสือโคร่ง เสือ ดาว หมี ชะมด อีเหน สัตว์จําพวกนก และสัตว์เลื้อยคลานต่าง ๆ แหล่งท่องเทีย่ วทีน่ า่ สนใจของวนอุทยานภูลงั กามีหลายแห่ง อาทิ ภู เทวดา เป็นยอดดอยที่สูงที่สุดในเทือกเขาสันปนนํ้า สูงถึง 1,720 เมตร จากระดับนํ้าทะเลปานกลาง จึงเป็นจุดที่เหมาะสําหรับการชมทะเลา หมอกยามเช้าท่ามกลางแสงเรื่อเรืองของดวงอาทิตย์ จึงเป็นจุดชมวิว และทะเลหมอกที่สวยงามที่สุดของจังหวัดพะเยา ยิ่งถ้ามาช่วงปลาย น ต้นหนาวกจะมีดอกไม้ปาสีสวยพร้อมใจกันชูชอ่ อวดสายตานักท่องเทีย่ ว ด้วย นอกจากนี้ยังมี ดอยภูนม ซึ่งเป็นสันเขาแคบ ๆ ที่ทอดตัวลดหลั่น จากดอยลังกา เนือ่ งจากเป็นดอยหัวโล้นจึงทําให้มองเหนทัศนียภาพโดย รอบได้กว้างไกล สวยงามไปอีกแบบ และดอยภูลงั กา เป็นอีกหนึง่ จุดชม PHAYAO 67


พระอาทิตย์ขนึ้ และชมทะเลหมอกยามเช้าได้สวยงามไม่แพ้กนั จากจุด นี้สามารถมองเหน งลาวประเทศเพื่อนบ้านของเราได้ด้วย การเดินทาง จากจังหวัดพะเยาผ่านอําเภอปงถึงแยกทางเข้า อําเภอเชียงคําตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1092 ระยะทาง 104 กิโลเมตร แล้วเดินทางต่ออีก 3 กิโลเมตร ตามทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 1148 เลี้ยวซ้ายไปทางทิศเหนือถึงวนฯ 12 กิโลเมตร รวม ระยะทาง 119 กิโลเมตร ปนผา-โรยตัวท้าทายความกล้า ณ ผาเทวดา อ่างเกบนํา้ ห้วยชมพู- ผาเทวดา อยูใ่ นเขตพืน้ ทีเ่ ขตรักษาพันธุส์ ตั ว์ ปาเวียงลอ อบต.สันโค้ง ทีน่ มี่ กี จิ กรรมและแหล่งท่องเทีย่ วหลายอย่าง อาทิ ชมทุ่งทานตะวันบานท่ามกลางขุนเขารายรอบ ของบริเวณตําบล สันโค้ง ซึง่ เป็นทีน่ ยิ มของนักท่องเทีย่ วตัง้ แต่เดือนพฤศจิกายนถึงเดือน กุมภาพันธ์ นอกจากนี้ยังมีเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่รับรองว่าต้องถูกใจ คนรักความท้าทายกับการผจญภัยยิ่งนัก เพราะมีกิจกรรมปีนหน้าผา และโรยตัวจากหน้าผาสูงกว่าร้อยเมตร เดิมหน้าผาที่นี่เรียกว่า หน้าผากิ่งปาแดด แต่ภายหลังเรียกว่า หน้าผาเทวดา บริเวณนีม้ ถี าํ้ น้อยใหญ่อยูส่ บิ กว่าแห่ง ซึง่ นักท่องเทีย่ ว ที่จะไปปีนผาหรือโรยตัวควรแวะพักเตรียมความพร้อมของร่างกายที่ โ มสเตย์บา้ นสันโค้ง เพือ่ วันรุง่ ขึน้ จะได้ออกเดินปาเพือ่ ไปปีนผาเทวดา แต่สําหรับการโรยตัวนั้นต้องนั่งรถโฟร์วีลไปจนสุดถนน และต้องเดิน เท้าผ่านเส้นทางทีท่ า้ ทายความอึดอีกราว 3 ชัว่ โมง กับเส้นทางประมาณ 3 กิโลเมตร ลองนึกภาพดูนะคะว่าเส้นทางจะโหดขนาดไหน แต่เดียว ก่อน...อย่าเพิง่ ถอดใจนะคะ เพราะระหว่างทางไปและกลับจะต้องผ่าน ถํา้ นแสนห่า ซึง่ เป็นถํา้ ทีม่ นี าํ้ ตกไหลลงมาอย่างกับสาย น จนแทบจะ อดใจกระโจนเข้าใส่ไม่ได้เลยทีเดียว และถ้าไปช่วงปลาย นต้นหนาว อาจโชคดีได้พบนกยูงออกกรีดกรายล่อตา ท่ามกลางดงดอกไม้ปาแสน สวยที่ขึ้นอยู่บริเวณนํ้าตกห้วยชมพูด้วย ทั้งนี้ มือใหม่ที่อยากทดสอบกําลังใจด้วยการโรยตัวจากหน้าผา เทวดา ทางอบต.สันโค้งจัดเตรียมอุปกรณ์สาํ หรับการโรยตัว เช่น ถุงมือ หมวก ตะขอเหลกลอค ฯลฯ ไว้บริการครบครัน พร้อมมีเจ้าหน้าทีค่ อย แนะนําการโรยตัวและดูแลความปลอดภัยอย่างใกล้ชิด ซึ่งจุดโรยตัวมี ความสูง 3 ระดับให้เลือก ตามระดับความเก่งและความกล้าของแต่ละ คน คือ 25 เมตร 50 เมตร และ 100 เมตร ดังนั้นทริปนี้ใครที่รัก การปีนปายหรือโรยตัวบนหน้าผาสูง...ต้องห้ามพลาดเดดขาด สนใจ ติดต่อได้ที่อบต.สันโค้ง โทร. 0 5441 9107 การเดินทาง อ่างเกบนํ้าห้วยชมพู-ผาเทวดา อยู่ห่างจากอําเภอ ดอกคําใต้ 12 กิโลเมตร โดยใช้เส้นทางดอกคําใต้-จุน ไปตามทางหลวง หมายเลข 1021 ให้แยกเข้าบ้านจําไก่ทางขวามือ กิโลเมตรที่ 2 ห่าง จากอําเภอดอกคําใต้ ถนนผ่านทุ่งนาเป็นระยะทาง กิโลเมตร จนถึง สี่แยกบ้านจําไก่ จากนั้นให้ตรงขึ้นไปอีก 4 กิโลเมตร จะถึงบริเวณอ่าง เกบนํ้าที่เป็นที่ตั้งศูนย์บริการท่องเที่ยวเชิงเกษตร ต่นตาต่น จ ไดโนเสาร์แก่งหลวง มาพะเยาทัง้ ที ถ้าไม่ได้ไปชมซากฟอสซิลไดโนเสาร์ ทีม่ กี ารค้นพบ ครัง้ แรกในภาคเหนือของประเทศไทย ในเขตท้องทีบ่ า้ นหนองกลาง หมู่ 7 ตําบลบ้านมาง อําเภอเชียงม่วน จังหวัดพะเยา กนับว่าเสียโอกาสใน การเรียนรู้เรื่องราวของสัตว์โลกดึกดําบรรพ์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งหากมี 68

ลูกหลานเลก ๆ ไปด้วยยิ่งห้ามพลาดค่ะ ในเดือนสิงหาคม ปี 2545 มีชาวบ้านหนองกลางไปหาเหด ในปาแก่งหลวง และพบซากฟอสซิลของสัตว์ขนาดใหญ่แต่ยังไม่ ทราบว่าเป็นสัตว์อะไร จนเมื่อปลายปีนั้นเอง คณาจารย์ที่เชี่ยวชาญ ด้านไดโนเสาร์ระบุว่าเป็นซากฟอสซิลไดโนเสาร์ซอโรพอด ซึ่งเป็น ไดโนเสาร์กินพืชขนาดใหญ่ ที่มีลําคอและหางยาว มีขนาดตั้งแต่ 15 เมตรขึ้นไป นํ้าหนักมากกว่า 100 ตัน สูงมากกว่า 100 ฟุต จาก การประมาณอายุจากชั้นหินทรายสีแดงที่ค้นพบ คาดว่าจะมีอายุไม่ ตํ่ากว่า 130 ล้านปี ปจจุบนั ซากไดโนเสาร์ดกึ ดําบรรพ์อยูใ่ นความดูแลของวนอุทยาน ไดโนเสาร์แก่งหลวง ซึ่งได้สร้างอาคารเพื่อจัดแสดงซากโครงกระดูก ไดโนเสาร์จําลองขนาดเท่าตัวจริงให้ชมอย่างตื่นตาตื่นใจ แสดง นิทรรศการการขุดค้นพบ และจัดแสดงซากฟอสซิลส่วนสะโพกของ ไดโนเสาร์ที่ค้นพบด้วย ใครที่แวะมาเที่ยวชมไดโนเสาร์แก่งหลวงแล้ว อย่าลืมแวะไป

สัมผัสธรรมชาติบริสุทธิ์ของผืนปาแก่งหลวงที่อุดมสมบูรณ์ ซึ่งอยู่ใน บริเวณเขตปาสงวนแห่งชาติปาแม่ยม ซึ่งจะมีแม่นํ้ายมไหลผ่านเกาะ แก่งหินที่สวยงาม เหมาะแก่การเดินปาศึกษาธรรมชาติ การล่องเรือ และลงเล่นนํ้า เพราะมีนํ้าไหลตลอดทั้งปี นอกจากนี้ยังมีชะง่อนหิน ตาดห้วยหกที่สวยงาม บริเวณกลางลําห้วยหกที่ไหลพาดผ่านใกล้กับ จุดที่ค้นพบซากดึกดําบรรพ์ไดโนเสาร์ ซึ่งหากโชคดีอาจได้พบ ูงนก ยูง ลิง หมูปา เก้ง เป็นต้น การเดินทาง จากจังหวัดพะเยา ไปทางอําเภอจุน อําเภอปง ถึง ทางแยกเข้าอําเภอเชียงม่วน ให้เลี้ยวขวา และเลี้ยวซ้ายไปตามเส้น ทางไปจังหวัดแพร่ ประมาณ 3 กิโลเมตร กถึงปากทางเข้าวนอุทยาน ไดโนเสาร์แก่งหลวง ระยะทางรวมประมาณ 121 กิโลเมตร ขอขอบคุณข้อมูลจาก บรรยายสรุปจังหวัดพะเยา ปี 2559 (การท่องเที่ยว), สํานักงาน พระพุทธศาสนาจังหวัดพะเยา, กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ปา และพันธุ์ พืช และการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย PHAYAO 69


พระอาทิตย์ขนึ้ และชมทะเลหมอกยามเช้าได้สวยงามไม่แพ้กนั จากจุด นี้สามารถมองเหน งลาวประเทศเพื่อนบ้านของเราได้ด้วย การเดินทาง จากจังหวัดพะเยาผ่านอําเภอปงถึงแยกทางเข้า อําเภอเชียงคําตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1092 ระยะทาง 104 กิโลเมตร แล้วเดินทางต่ออีก 3 กิโลเมตร ตามทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 1148 เลี้ยวซ้ายไปทางทิศเหนือถึงวนฯ 12 กิโลเมตร รวม ระยะทาง 119 กิโลเมตร ปนผา-โรยตัวท้าทายความกล้า ณ ผาเทวดา อ่างเกบนํา้ ห้วยชมพู- ผาเทวดา อยูใ่ นเขตพืน้ ทีเ่ ขตรักษาพันธุส์ ตั ว์ ปาเวียงลอ อบต.สันโค้ง ทีน่ มี่ กี จิ กรรมและแหล่งท่องเทีย่ วหลายอย่าง อาทิ ชมทุ่งทานตะวันบานท่ามกลางขุนเขารายรอบ ของบริเวณตําบล สันโค้ง ซึง่ เป็นทีน่ ยิ มของนักท่องเทีย่ วตัง้ แต่เดือนพฤศจิกายนถึงเดือน กุมภาพันธ์ นอกจากนี้ยังมีเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่รับรองว่าต้องถูกใจ คนรักความท้าทายกับการผจญภัยยิ่งนัก เพราะมีกิจกรรมปีนหน้าผา และโรยตัวจากหน้าผาสูงกว่าร้อยเมตร เดิมหน้าผาที่นี่เรียกว่า หน้าผากิ่งปาแดด แต่ภายหลังเรียกว่า หน้าผาเทวดา บริเวณนีม้ ถี าํ้ น้อยใหญ่อยูส่ บิ กว่าแห่ง ซึง่ นักท่องเทีย่ ว ที่จะไปปีนผาหรือโรยตัวควรแวะพักเตรียมความพร้อมของร่างกายที่ โ มสเตย์บา้ นสันโค้ง เพือ่ วันรุง่ ขึน้ จะได้ออกเดินปาเพือ่ ไปปีนผาเทวดา แต่สําหรับการโรยตัวนั้นต้องนั่งรถโฟร์วีลไปจนสุดถนน และต้องเดิน เท้าผ่านเส้นทางทีท่ า้ ทายความอึดอีกราว 3 ชัว่ โมง กับเส้นทางประมาณ 3 กิโลเมตร ลองนึกภาพดูนะคะว่าเส้นทางจะโหดขนาดไหน แต่เดียว ก่อน...อย่าเพิง่ ถอดใจนะคะ เพราะระหว่างทางไปและกลับจะต้องผ่าน ถํา้ นแสนห่า ซึง่ เป็นถํา้ ทีม่ นี าํ้ ตกไหลลงมาอย่างกับสาย น จนแทบจะ อดใจกระโจนเข้าใส่ไม่ได้เลยทีเดียว และถ้าไปช่วงปลาย นต้นหนาว อาจโชคดีได้พบนกยูงออกกรีดกรายล่อตา ท่ามกลางดงดอกไม้ปาแสน สวยที่ขึ้นอยู่บริเวณนํ้าตกห้วยชมพูด้วย ทั้งนี้ มือใหม่ที่อยากทดสอบกําลังใจด้วยการโรยตัวจากหน้าผา เทวดา ทางอบต.สันโค้งจัดเตรียมอุปกรณ์สาํ หรับการโรยตัว เช่น ถุงมือ หมวก ตะขอเหลกลอค ฯลฯ ไว้บริการครบครัน พร้อมมีเจ้าหน้าทีค่ อย แนะนําการโรยตัวและดูแลความปลอดภัยอย่างใกล้ชิด ซึ่งจุดโรยตัวมี ความสูง 3 ระดับให้เลือก ตามระดับความเก่งและความกล้าของแต่ละ คน คือ 25 เมตร 50 เมตร และ 100 เมตร ดังนั้นทริปนี้ใครที่รัก การปีนปายหรือโรยตัวบนหน้าผาสูง...ต้องห้ามพลาดเดดขาด สนใจ ติดต่อได้ที่อบต.สันโค้ง โทร. 0 5441 9107 การเดินทาง อ่างเกบนํ้าห้วยชมพู-ผาเทวดา อยู่ห่างจากอําเภอ ดอกคําใต้ 12 กิโลเมตร โดยใช้เส้นทางดอกคําใต้-จุน ไปตามทางหลวง หมายเลข 1021 ให้แยกเข้าบ้านจําไก่ทางขวามือ กิโลเมตรที่ 2 ห่าง จากอําเภอดอกคําใต้ ถนนผ่านทุ่งนาเป็นระยะทาง กิโลเมตร จนถึง สี่แยกบ้านจําไก่ จากนั้นให้ตรงขึ้นไปอีก 4 กิโลเมตร จะถึงบริเวณอ่าง เกบนํ้าที่เป็นที่ตั้งศูนย์บริการท่องเที่ยวเชิงเกษตร ต่นตาต่น จ ไดโนเสาร์แก่งหลวง มาพะเยาทัง้ ที ถ้าไม่ได้ไปชมซากฟอสซิลไดโนเสาร์ ทีม่ กี ารค้นพบ ครัง้ แรกในภาคเหนือของประเทศไทย ในเขตท้องทีบ่ า้ นหนองกลาง หมู่ 7 ตําบลบ้านมาง อําเภอเชียงม่วน จังหวัดพะเยา กนับว่าเสียโอกาสใน การเรียนรู้เรื่องราวของสัตว์โลกดึกดําบรรพ์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งหากมี 68

ลูกหลานเลก ๆ ไปด้วยยิ่งห้ามพลาดค่ะ ในเดือนสิงหาคม ปี 2545 มีชาวบ้านหนองกลางไปหาเหด ในปาแก่งหลวง และพบซากฟอสซิลของสัตว์ขนาดใหญ่แต่ยังไม่ ทราบว่าเป็นสัตว์อะไร จนเมื่อปลายปีนั้นเอง คณาจารย์ที่เชี่ยวชาญ ด้านไดโนเสาร์ระบุว่าเป็นซากฟอสซิลไดโนเสาร์ซอโรพอด ซึ่งเป็น ไดโนเสาร์กินพืชขนาดใหญ่ ที่มีลําคอและหางยาว มีขนาดตั้งแต่ 15 เมตรขึ้นไป นํ้าหนักมากกว่า 100 ตัน สูงมากกว่า 100 ฟุต จาก การประมาณอายุจากชั้นหินทรายสีแดงที่ค้นพบ คาดว่าจะมีอายุไม่ ตํ่ากว่า 130 ล้านปี ปจจุบนั ซากไดโนเสาร์ดกึ ดําบรรพ์อยูใ่ นความดูแลของวนอุทยาน ไดโนเสาร์แก่งหลวง ซึ่งได้สร้างอาคารเพื่อจัดแสดงซากโครงกระดูก ไดโนเสาร์จําลองขนาดเท่าตัวจริงให้ชมอย่างตื่นตาตื่นใจ แสดง นิทรรศการการขุดค้นพบ และจัดแสดงซากฟอสซิลส่วนสะโพกของ ไดโนเสาร์ที่ค้นพบด้วย ใครที่แวะมาเที่ยวชมไดโนเสาร์แก่งหลวงแล้ว อย่าลืมแวะไป

สัมผัสธรรมชาติบริสุทธิ์ของผืนปาแก่งหลวงที่อุดมสมบูรณ์ ซึ่งอยู่ใน บริเวณเขตปาสงวนแห่งชาติปาแม่ยม ซึ่งจะมีแม่นํ้ายมไหลผ่านเกาะ แก่งหินที่สวยงาม เหมาะแก่การเดินปาศึกษาธรรมชาติ การล่องเรือ และลงเล่นนํ้า เพราะมีนํ้าไหลตลอดทั้งปี นอกจากนี้ยังมีชะง่อนหิน ตาดห้วยหกที่สวยงาม บริเวณกลางลําห้วยหกที่ไหลพาดผ่านใกล้กับ จุดที่ค้นพบซากดึกดําบรรพ์ไดโนเสาร์ ซึ่งหากโชคดีอาจได้พบ ูงนก ยูง ลิง หมูปา เก้ง เป็นต้น การเดินทาง จากจังหวัดพะเยา ไปทางอําเภอจุน อําเภอปง ถึง ทางแยกเข้าอําเภอเชียงม่วน ให้เลี้ยวขวา และเลี้ยวซ้ายไปตามเส้น ทางไปจังหวัดแพร่ ประมาณ 3 กิโลเมตร กถึงปากทางเข้าวนอุทยาน ไดโนเสาร์แก่งหลวง ระยะทางรวมประมาณ 121 กิโลเมตร ขอขอบคุณข้อมูลจาก บรรยายสรุปจังหวัดพะเยา ปี 2559 (การท่องเที่ยว), สํานักงาน พระพุทธศาสนาจังหวัดพะเยา, กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ปา และพันธุ์ พืช และการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย PHAYAO 69


ทะเลหมอกงาม ณ ภูลังกา 70

PHAYAO 71


ทะเลหมอกงาม ณ ภูลังกา 70

PHAYAO 71


อุทยานแห่งชาติภูลังกา 72

PHAYAO 73


อุทยานแห่งชาติภูลังกา 72

PHAYAO 73


66


นําตกภูซาง PHAYAO 67


74


ร�าลกสมเดจย่า

พระต�าหนักกวานพะเยา

พระตําหนักกวานพะเยา ตั้งอยู่ภายในศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงนํ้าจืดพะเยา สร้างขึ้นใน ปี พ.ศ. 2514 โดยกรมประมงกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป็นพระตําหนักซึ่งสมเดจพระศรี นครินทราบรมราชชนนี เสดจฯมาประทับ ณ พระตําหนักหลังนี้เป็นเวลา 7 ปี หมูพ่ ระตําหนักประกอบด้วย พระตําหนักกวานพะเยา ลักษณะเป็นพระตําหนัก 2 ชัน้ ทาสี ฟา เป็นทีป่ ระทับของสมเดจพระศรีนครินทราบรมราชชนนี พระตําหนักหลังที่ 2 เป็นพระตําหนัก หมู่เรือนไทยยกพื้นสูง เป็นที่ประทับของสมเดจพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟากัลยาณิวัฒนา กรมหลวง นราธิวาสราชนครินทร์ พระตําหนักหลังที่ 3 เป็นพระตําหนักที่กรมชลประทาน และกรมประมง สร้างถวายในปี พ.ศ. 2525 สร้างเสรจเมื่อ พ.ศ. 252 เป็นพระตําหนักชั้นเดียว โดยโปรดเกล้าฯ

PHAYAO 75


ให้ใช้สําหรับประชาชนทุกหมู่เหล่าเข้าเ า ในขณะทีท่ รงประทับยังพระตําหนักกว๊านพะเยา นอก เหนือจากพระราชกรณียกิจต่าง ๆ ในพื้นที่จังหวัดพะเยา แล้ว ยังทรงชักชวนข้าราชการ พ่อค้า ประชาชน เกบ ผักตบชวาบริเวณริมกว๊านพะเยา บางครั้งทรงประทับหัว เรือตรวจจับของสถานีประมงนํ้าจืดพะเยาเพื่อทรงเกบผัก ตบชวาด้วยพระองค์เอง และบ่อยครั้งที่ทรงร่วมเกบผักตบ ชวากับประชาชนด้วย นับเป็นพระมหากรุณาธิคุณที่ทรงมี ต่อชาวจังหวัดพะเยาอย่างหาที่สุดมิได้ และเมือ่ ทรงว่างจากพระราชกรณียกิจดังกล่าวแล้ว จะ ทรงเล่นกี าเปตองกับข้าราชบริพาร และข้าราชการชั้น ผู้ใหญ่ในจังหวัดพะเยา ที่สนามกี าหน้าพระตําหนักหลัง ที่ 1 และหลังที่ 3 เป็นประจํา จนทําให้กี าเปตองเป็นที่ นิยมของประชาชนชาวจังหวัดพะเยานับแต่นั้นเป็นต้นมา เพื่อรําลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณของสมเดจย่าที่ทรง มีต่อพสกนิกรชาวจังหวัดพะเยาและชาวไทย ทางศูนย์ฯได้ จัดสร้างพระบรมราชานุสาวรียส์ มเดจย่า เมือ่ ปี พ.ศ.2544 โดยวันที่ 21 ตุลาคมของทุกปี ทางศูนย์ฯได้จดั งานวันคล้าย วันพระราชสมภพ โดยมีผวู้ า่ ราชการจังหวัดพะเยา หัวหน้า ส่วนราชการ ภาคเอกชน และประชาชนทุกหมู่เหล่า เข้า ร่วมถวายเครื่องราชสักการะเป็นจํานวนมาก ปจจุบันศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงนํ้าจืดฯ เปดให้เข้า ชมพระตําหนักกว๊านพะเยา และอาคารอื่น ๆ ในศูนย์ฯซึ่ง จัดเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ทรัพยากรประมง ที่ให้ 76


ทั้งความเพลิดเพลินควบคู่กับการเรียนรู้ด้านการอนุรักษ์ และปลูกจิตสํานึกในการรักษาทรัพยากรประมงนํ้าจืดให้ ยั่งยืน อาทิ อาคารแสดงพันธุ์ปลานํ้าจืด ( uarium) ภายใน อาคารจัดแสดงพันธุ์ปลานํ้าจืดที่หาดูยากในพื้นที่จังหวัด พะเยา โดยรวบรวมพันธุ์ปลาจากกว๊านพะเยา แม่นํ้าอิง และลํานํา้ สาขา ประมาณ 9 ชนิด และได้มกี ารนําปลา จํานวน ชนิด มาเลี้ยงเพิ่ม พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ป ลาบึ ก ที่ จั ด แสดงเกี่ ย วกั บ ปลาบึ ก วิวัฒนาการการเพาะพันธุ์ปลาบึกครั้งแรกของโลกจนถึง ปจจุบัน และจัดแสดงอุปกรณ์ประมงพื้นบ้านหลายชนิด ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชนด้านประมงนํ้าจืด มีจุดสาธิตให้ความรู้เรื่องการเพาะเลี้ยงสัตว์นํ้า ตลอดจน สัตว์ต่าง ๆ เพื่อเป็นแนวทางในการประกอบอาชีพอย่าง ยั่งยืนของประชาชน อาทิ การเลี้ยงกบในกระชัง การเลี้ยง กบคอนโด การเลี้ยงไก่สายพันธุ์ต่าง ๆ เป็นต้น อาคารรูปปลาบึก ภายในมีอุโมงค์ใต้นํ้าแสดงปลาบึก ขนาดใหญ่เป็นที่ตื่นตาตื่นใจแก่ผู้เข้าชม สนใจเยีย่ มชมพระตําหนักกว๊านพะเยา และแหล่งเรียน รู้เชิงอนุรักษ์ประมงนํ้าจืด ณ ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมง นํ้าจืดพะเยา ได้ทุกวัน ตั้งแต่เวลา 08.30-1 .30 น. สนใจ สอบถามได้ที่ โทร. 0 5443 1251 ขอบคุณข้อมูลจาก : ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงนํ้า จืดพะเยา PHAYAO 77


เสน างความเปนมา

ภูกามยาว...จุ ดก�าเนด ระวัต าสตร์เมองพะเยา

78


จังหวัดพะเยา เดิมมีชื่อว่า เมืองภูกามยาว หรือ พยาว เป็น เมืองที่มีประวัติศาสตร์ยาวนานกว่า 900 ปี ปกครองโดยกษัตริย์ หลายพระองค์ ทว่าบางช่วงผู้ปกครองอ่อนแอจึงตกเป็นเมืองขึ้นของ หัวเมืองใหญ่ บางช่วงผู้คนถูกกวาดต้อนไปจนกลายเป็นบ้านเมืองร้าง ทําให้ประวัติศาสตร์เมืองพะเยาบางช่วงขาดหายไป หนังสือประวัติ มหาดไทยส่วนภูมิภาคจังหวัดพะเยา ได้กล่าวถึงประวัติความเป็นมา ของจังหวัดพะเยาไว้ดังนี้ พะเยาสมัยสร้างบ้านแปงเมือง ขุนจอมธรรม...กษัตริย์ผู้เปียมด้วยทศพิธราชธรรม ปี พ.ศ. 1 02 (จุลศักราช 421) ขุนเงิน (ลาวเงิน) กษัตริย์ผู้ ครองนครเงินยางเชียงแสนซึ่งมีโอรส 2 องค์ ดําริให้ขุนชินโอรสองค์ แรก ปกครองนครเงินยางเชียงแสน และให้ขุนจอมธรรมโอรสองค์ที่ 2 ปกครองเมืองภูกามยาว ซึ่งเป็นหัวเมือง ายใต้ ขุนจอมธรรมพร้อม ข้าราชการบริวาร ได้นําพระราชทรัพย์บรรทุกม้า พร้อมพลช้าง พล ม้า ตามเสดจถึงเมืองภูกามยาว แล้วตั้งเมืองใหม่ ณ เมืองสีหราช ซึ่ง เป็นเมืองโบราณทีม่ ชี ยั ภูมทิ ดี่ คี อื มีแม่นาํ้ สายตาหรือแม่นาํ้ อิงอยูท่ างใต้ ของเมือง และไหลไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ มีหนองเอีย้ ง (กว๊าน พะเยาในปจจุบัน) อยู่ทางทิศตะวันตก มีทําเลที่ตั้งบนเชิงเขาชมพู ขุนจอมธรรมรวมไพร่พลหัวเมืองต่าง ๆ ได้ 80,000 คน จัดแบ่ง ได้ 3 พันนา นาละ 500 คน มีเมืองในปกครอง คือ เมืองงาว เมือง กาว สะเอียบ เชียงม่วน เมืองเทิง เมืองสระ เมืองออย สะสาว เมือ งดอบ เชียงคํา เมืองลอ เมืองเชียงแลง เมืองหงาว แซ่เหียง แซ่ลุล ปากบ่อง เมืองปาเปา เมืองวัง แซ่ซ้อง เมืองปราบ แซ่ห่ม ขุนจอม ธรรมเป็นกษัตริย์ที่ตั้งอยู่ในทศพิธราชธรรม และยึดมั่นในบวรพุทธ ศาสนา บ้านเมืองเจริญรุ่งเรืองด้วยโภคสมบัติ ไพร่ฟาข้าแผ่นดินตั้งอยู่ ในศีลธรรมอันดี ไม่มีสงคราม เจ้าประเทศราชต่าง ๆ มีสัมพันธไมตรี อันดีต่อกัน ทรงสั่งสอนไพร่ฟาข้าแผ่นดินด้วยหลักธรรม 2 ประการ คือ อปริหานิยธรรม ไม่เป็นที่ตั้งแห่งความเสื่อมหนึ่ง ประเพณีธรรม ขนบธรรมเนียมอันเป็นระเบียบแบบแผนอันดีงามของครอบครัวหนึ่ง ขุนจอมธรรมครองเมืองภูกามยาวได้ 2 ปี ทรงมีโอรสพระนามว่า ขุนเจือง ประสูติเมื่อปีพ.ศ. 1 41 โหรถวายคําพยากรณ์ว่า ราชบุตร องค์นจี้ ะเป็นจักรพรรดิปราบชมพูทวีป มีบญ ุ ญาธิการมากเวลาประสูติ มีของทิพย์เกิดขึน้ 3 อย่าง คือ แส้ทพิ ย์ พระแสงทิพย์ และคณโฑทิพย์ ต่อมาอีก 3 ปี มีโอรสอีกหนึ่งองค์ พระนามว่า ขุนจอง ขุนจอมธรรมปกครองเมืองพะเยาได้ 24 ปี เมือ่ พระชนมายุได้ 49 พรรษา กสิ้นพระชนม์ ขุนเจืองจึงได้ครองราชย์สืบแทน พญาเจืองธรรมมิกราช...กษัตริย์ผู้อาจหาญชาญชัย พญาเจืองธรรมมิกราช หรือ ขุนเจือง เมื่อเจริญวัยขึ้นทรงศึกษา วิชายุทธศาสตร์ เช่น วิชาดาบ มวยปลํ้า เพลงชัย จับช้าง จับม้า และ เพลงอาวุธต่าง ๆ เมื่อพระชนมายุได้ 1 ปี ทรงพาบริวารไปคล้องช้าง ทีเ่ มืองน่าน เจ้าผูค้ รองเมืองน่านทรงพอพระทัย ยกธิดาชือ่ จันทร์เทวี ให้เป็นชายาขุนเจือง เมื่อพระชนมายุได้ 17 ปี พาบริวารไปคล้องช้าง ที่เมืองแพร่ เจ้าผู้ครองเมืองแพร่พอพระทัย จึงยกธิดาชื่อ นางแก้ว กษัตริย์ ให้เป็นชายา และพระราชทานช้าง 200 เชือก

PHAYAO 79


เมื่อพระชนมายุ 24 ปี ขุนเจืองครองราชย์สืบแทนขุนจอมธรรม ทรงครองเมืองได้ ปี กมีข้าศึกแกว (ญวน) ยก ทัพมาประชิดเมืองนครเงินยางเชียงแสน ขุนชินผู้เป็นลุงได้ส่งสาสน์ขอให้ส่งไพร่พลไปช่วย ขุนเจืองได้รวบรวบรี้พลยกไป ชุมนุมกันที่สนามดอนไชยหนองหลวง และเคลื่อนทัพเข้าตีข้าศึกแตกกระจัดกระจายไป เมื่อขุนชินทราบเรื่องกเลื่อมใส โสมนัสยิง่ นัก ทรงยกธิดาชือ่ พระนางอัวคําคอน ให้ และสละราชสมบัตนิ ครเงินยางเชียงแสนให้ขนุ เจืองครองเมืองแทน ทรงมีพระนามว่า พญาเจืองธรรมมิกราช ทรงมีโอรส 3 พระองค์คือ ท้าวจอมผาเรือง ท้าวคําห้าว และท้าวสามชุมแสง ทรงยกราชสมบัตเิ มืองพะเยาให้ทา้ วผาเรือง ดําริให้ทา้ วคําห้าวไปครองเมืองล้านช้าง และให้ทา้ วสามชุมแสงไปครองเมือง น่าน ต่อมาทรงโยธาทัพเข้าตีเมืองต่าง ๆ ที่ยังไม่ยอมสวามิภักดิ์ ทรงชนช้างกับศัตรูจนเสียทีข้าศึกเพราะชราภาพ จึง ถูกฟนพระศอขาดและสิ้นพระชนม์บนหลังช้าง พวกทหารจึงนําพระเศียรไปบรรจุไว้ที่พระเจดีย์เมืองเหรัญนครเชียงแสน พญาเจืองธรรมมิกราช ครองแค้วนล้านนาได้ 24 ปี ครองเมืองแกวได้ 17 ปี รวมพระชนมายุได้ 7 ปี ในยุคนี้ อาณาจักรล้านนาและล้านช้างเป็นปกแผ่นเดียวกัน และมีความมั่นคงมากที่สุดยุคหนึ่ง จนกล่าวได้ว่า พญาเจืองธรรมมิ กราช ทรงเป็นมหาราชอีกพระองค์หนึ่ง ที่มีความเก่งกล้าสามารถ จนเกิดตํานานท้าว ุ่ง ท้าวเจือง ซึ่งเป็นวรรณกรรม พื้นบ้านของอีสาน ายท้าวจอมผาเรืองราชบุตรของพญาเจืองธรรมมิกราช ได้ราชธิดาแกวมาเป็นพระชายา นามว่า นางอู่แก้ว ขึ้น ครองราชสมบัติเมืองพะเยาได้ 14 ปี กถึงแก่พิราลัย ขุนแพงโอรสจึงครองราชย์แทน ได้ 7 ปี ขุนซองซึ่งมีศักดิ์เป็นน้า แย่งราชสมบัติ และได้ครองราชย์เมืองพะเยาต่อมาเป็นเวลา 20 ปี และมีผู้ขึ้นครองราชย์สืบต่อมา พ่อขุนงําเมือง...กษัตริย์ผู้ปราดเปรื่องและรักสงบ พ่อขุนงําเมือง หรือ พญางําเมือง เป็นกษัตริย์เมืองพะเยาองค์ที่ 9 นับจากขุนจอมธรรม ประสูติเมื่อ พ.ศ.1781 เป็น ราชบุตรของพ่อขุนมิ่งเมือง ซึ่งสืบเชื้อสายมาจากท้าวจอมผาเรือง เมือ่ พ่อขุนงําเมืองทรงมีพระชนมายุ 14 ปี พระราชบิดาส่งไปศึกษาเล่าเรียนศิลปะศาสตร์เทพในสํานักเทพอิสติ น อยู่ ภูเขาดอยด้วน 2 ปี เมื่อพระชนมายุได้ 1 ปี ขอถวายตัวอยู่ในสํานักสุกันตฤาษี ณ กรุงละโว้ (ลพบุรี) จึงได้รู้จักคุ้นเคย กับพระร่วงเจ้า แห่งกรุงสุโขทัย ทรงสนิทสนมผูกไมตรีต่อกันอย่างแน่นแฟน ศึกษาศิลปศาสตร์ร่วมครูอาจารย์เดียวกัน จึงเป็นสหายกันตั้งแต่นั้นมา และทรงเป็นผู้ทรงอิทธิฤทธิ์เช่นเดียวกับพระร่วงเจ้า เมื่อเรียนจบได้เสดจกลับเมืองพะเยา ครั้นปี พ.ศ. 1310 พระราชบิดาสิ้นพระชนม์ พ่อขุนงําเมืองจึงครองราชย์สืบแทน ตํานานกล่าวถึงพ่อขุนงําเมืองไว้ตอนหนึง่ ว่า ทรงศรัทธาเลือ่ มใสในพระพุทธศาสนา ทรงอุปถัมภ์บาํ รุงพระธาตุจอมทอง สถานทีศ่ กั ดิส์ ทิ ธิค์ เู่ มืองพะเยา ทรงปกครองบ้านเมืองด้วยความเทีย่ งธรรม ชอบผูกไมตรีจติ ต่อประเทศราชและเพือ่ นบ้าน ครั้งหนึ่งพญามังรายแห่งหิรัญนครเงินยางเชียงแสนยกทัพหมายจะตีเมืองพะเยา พ่อขุนงําเมืองล่วงรู้เหตุการณ์ก่อนทรง สั่งไพร่พลให้อยู่ในความสงบ ให้เสนาอํามาตย์ออกต้อนรับและเชิญพญามังรายเสวยพระกระยาหารและเลี้ยงกองทัพให้ อิ่มหนํา พญามังรายจึงล้มเลิกการทําสงคราม พ่อขุนงําเมืองได้ยกเมืองชายแดน ซึ่งได้แก่ เมืองพาน เมืองเชียงเคี่ยน เมืองเทิง และเมืองเชียงของ ให้แก่พญามังราย และให้ป ิญาณว่าจะเป็นมิตรต่อกันตลอดไป ายพระร่วงเจ้าซึ่งเป็นสหายคนสนิทของพ่อขุนงําเมือง ได้มีโอกาสรู้จักพญามังราย กษัตริย์ทั้ง 3 พระองค์ทรงพอ พระทัยในมิตรไมตรีที่มีต่อกัน จึงกระทําสัจป ิญาณด้วยพระอิริยาบถทรงยืนอิงพระปฤษฎางค์ (หลัง) ณ ริม งแม่นํ้า สายตา ว่าจะไม่ผูกเวรแก่กัน จะเป็นมิตรสหายกัน ทรงกรีดพระโลหิตใส่ขันผสมนํ้า แล้วทรงดื่มพร้อมกัน (ภายหลัง แม่นํ้านี้ได้ชื่อว่า แม่นํ้าอิง) พ่อขุนงําเมืองสิ้นพระชนม์ เมื่อปี พ.ศ. 181 โอรส คือ ขุนคําแดง สืบราชสมบัติแทน ขุนคําแดงมีโอรสชื่อ ขุนคํา ลือ ซึ่งครองราชย์สมบัติสืบต่อมา พะเยาสมัยผนวกรวมกับอาณาจักรล้านนา ในสมัยกรุงศรีอยุธยานี้ เมืองพะเยาถูกผนวกเข้าเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรล้านนา ในช่วงปลายพุทธศตวรรษที่ 19 (หลัง พ.ศ. 1800 ) ตามตํานานกล่าวว่า ในสมัยพญาคําฤา บุตรพญาคําแดง (สุวรรณสามราช) เป็นเจ้าเมืองครองเมือง พะเยา ลําดับที่ 14 ตั้งแต่ขุนจอมธรรมเป็นต้นมา และเป็นลําดับที่ 3 ตั้งแต่พ่อขุนงําเมือง พญาคําฟูแห่งเมืองเชียงแสน คบคิดกับเจ้าเมืองน่านทําศึกขนาบเมืองพะเยา เข้าสมทบกองทัพกันไปรบเมืองพะเยา ครั้งนั้นกองทัพพญาคําฟูเข้าเมือง พะเยาได้ก่อน ได้ผู้คนช้างม้าและทรัพย์สิ่งของ เป็นอันมาก แต่มิได้แบ่งปนให้พญากาวน่าน ๆ ขัดใจจึงยกกองทัพเข้า

80


รบกับพญาคําฟู ๆ เสียที ล่าทัพหนีกลับมาเมืองเชียงแสน กองทัพน่านยกเลยไปตีปล้นเอาเมือง างได้ พญาคําฟูกยก กองทัพใหญ่ไปตีกองทัพน่านยังเมือง าง กองทัพเมืองน่านสู้กําลังไม่ได้กเลิกถอยกลับไปเมืองน่าน พญาคําฟูกเลิกทัพ กลับมาเมืองเชียงแสน นับแต่นั้นมา เมืองพะเยากถูกผนวกเข้าเป็นส่วนหนึ่งของล้านนา แล้วถูกลดฐานะเป็นเมืองเลก ๆ ที่ขึ้นอยู่กับเมืองเชียงราย เมืองพะเยา ภายใต้การปกครองของอาณาจักรล้านนา มีความเจริญรุ่งเรืองสูงสุดทางศิลปะและวิทยาการ ในช่วง เวลาประมาณ 100 ปี คือ ระหว่างพุทธศตวรรษที่ 21 (หรือหลัง พ.ศ. 2000) ถึงต้นพุทธศตวรรษที่ 22 (หรือหลัง พ.ศ. 2100) หรือในสมัยทีพ่ ระยายุทธิษฐิระเป็นเจ้าครองเมือง แล้วสิน้ สุดลงก่อนทีอ่ าณาจักรล้านนาจะถูกพม่ายึดครอง เมื่อ พ.ศ. 2101 ซึ่งพม่าเข้าครอบครองเมืองเชียงใหม่และดินแดนล้านนาทั้งหมด พร้อมกวาดต้อนผู้คนไปด้วย ทําให้ บ้านเมืองต่าง ๆ ร่วงโรยลง เมื่อพระเจ้าบุเรงนองสิ้นพระชนม์ อํานาจของพม่าซึ่งปกครองที่เมืองเชียงใหม่อ่อนแอลง และบางครั้งกถูกกองทัพจากกรุงศรีอยุธยายกมารบกวนซํ้าอีก ทําให้บ้านเมืองต่าง ๆ ในดินแดนล้านนา คิดตั้งตัวเป็น อิสระแล้วแย่งชิงความกันเป็นใหญ่ จนเกิดความวุ่นวายทั่วไป ด้วยเหตุนี้เอง ฐานะและความสําคัญของเมืองพะเยา จึง หายจากดินแดนล้านนาราวกับร้างผู้คนไป พะเยาสมัยกรุงธนบุรี ปี พ.ศ. 2317 สมเดจพระเจ้ากรุงธนบุรี ยึดเมืองเชียงใหม่สําเรจ และโปรดเกล้าฯให้พระเจ้ากาวิละ เป็นเจ้าเมือง ลําปาง ซึ่งเป็นฐานที่มั่นของ ายไทย เพื่อต่อต้านพม่าที่ยังยึดครองดินแดนล้านนาบางส่วน พะเยาสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ปี พ.ศ. 2330 ในรัชสมัยพระบาทสมเดจพระพุทธยอดฟาจุ าโลกมหาราช (รัชกาลที่ 1) พม่ายกกองทัพเข้าตีหัว เมือง ายเหนือ เดินทางผ่านเมือง าง เชียงราย เชียงแสน และพะเยา เจ้าเมืองและชาวบ้าน ายล้านนาต่างพากันลี้ภัย อพยพไปอยู่ลําปาง ทําให้เมืองพะเยาร้างไป ปี พ.ศ. 238 ในรัชสมัยพระบาทสมเดจพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 3) พระยาน้อยอินทร์ ผู้ครองนคร ลําปาง กับ พระยาอุปราชมหาวงศ์ ผูค้ รองเมืองเชียงใหม่ ทูลขอตัง้ เมืองเชียงรายเป็นเมืองขึน้ ของเชียงใหม่ และตัง้ เมือง งาว เมืองพะเยา เป็นเมืองขึ้นของนครลําปาง ต่อมาทรงโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้ เจ้าหลวงวงศ์ (หรือ พุทธวงศ์) น้อง ชายของพระยาน้อยอินทร์ เป็น พระยาประเทศอุดรทิศ ผู้ครองเมืองพะเยา เจ้าหลวงยศ (หรือ มหายศ) เป็นพระยา อุปราชเมืองพะเยา เจ้าบุรีรัตนะ (หรือ แก้ว) เป็นพระยาราชวงศ์เมืองพะเยา เจ้าหลวงวงศ์นําชาวเมืองพะเยามาจาก เมืองลําปาง แล้วฟนฟูเมืองพะเยาขึ้นใหม่ เจ้าผู้ครองเมืองพะเยา ทั้งสิ้น 7 องค์ ระหว่างปี พ.ศ. 2437 ถึง พ.ศ.2449 พระบาทสมเดจพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 โปรดเกล้าฯให้ป ิรูป การปกครองจากแบบเดิมเป็น มณฑลเทศาภิบาล มีการบริหารงานเป็นกระทรวง มณฑล จังหวัด อําเภอ ผู้บริหาร ระดับกระทรวงเรียกว่าเสนาบดี ผู้บริหารระดับมณฑลเรียกว่าสมุหเทศาภิบาล ผู้บริหารระดับจังหวัดเรียกว่าข้าหลวง ประจําจังหวัด ผู้บริหารระดับอําเภอเรียกว่านายอําเภอ เมืองพะเยาถูกปรับเปลี่ยนฐานะจาก เมือง เป็น จังหวัด เรียกว่า จังหวัดบริเวณพะเยา เป็นส่วนหนึ่งของมณฑลลาวเฉียง ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็นมณฑลพายัพ มีที่ว่าการมณฑล อยู่เชียงใหม่ ในปี พ.ศ.2448 จังหวัดบริเวณพะเยา ถูกยุบให้มฐี านะเป็น อําเภอเมืองพะเยา แล้วให้เจ้าอุปราชมหาชัย ศีตสิ าร รักษาการในตําแหน่งเจ้าเมืองพะเยาองค์สดุ ท้าย ต่อมาในปี พ.ศ. 2457 ให้ยบุ อําเภอเมืองพะเยา เป็น อําเภอพะเยา อยูใ่ นอํานาจ การปกครองจังหวัดเชียงรายจากอําเภอพะเยา สู่จังหวัดพะเยา วันที่ 28 กรกฎาคม 2520 พระบาทสมเดจพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดช ฯ มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ตั้งจังหวัดพะเยา ตามพระราชบัญญัติเรื่องตั้งจังหวัดพะเยา พ.ศ. 2520 ให้ไว้ ณ วันที่ 20 กรกฎาคม 2520 จังหวัดพะเยา ตั้งขึ้นในวันที่ 28 สิงหาคม 2520 ประกอบด้วยอําเภอ 7 อําเภอ ได้แก่ อําเภอเมืองพะเยา อําเภอ จุน อําเภอเชียงคํา อําเภอเชียงม่วน อําเภอดอกคําใต้ อําเภอปง และอําเภอแม่ใจ และมีนายสัญญา ปาลวัฒน์วิไชย เป็นผู้ว่าราชการจังหวัดพะเยาคนแรก ขอขอบคุณข้อมูลจาก : ประวัติความเป็นมาและเหตุการณ์สําคัญ โดย สํานักงานจังหวัดพะเยา

PHAYAO 81


เส้นทางพบ

เทศบาลเมืองพะเยา

นายกฯชวนเที่ยวทั่วเมืองพะเยา

จังหวัดพะเยามีแหล่งท่องเที่ยวมากมาย ทั้งแหล่งท่องเที่ยวทาง ศาสนา แหล่งท่องเที่ยววิถีชุมชน-วัฒนธรรม และแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ อาทิ กว๊านพะเยา, พระเจ้าตนหลวงวัดศรีโคมคํา (พระอารามหลวง), พระธาตุดอยจอมทอง, หอวัฒนธรรมนิทัศน์, พิพิธภัณฑ์เวียงพยาว วัดลี, อนุสาวรีย์พญางําเมือง, ครูบาอินโต เกจิเมืองพะเยา วัดบุญยืน, วัดติโลกอาราม กลางกว๊านพะเยา, พระเจ้าล้านตื้อ วัดศรีอุโมงค์คํา , วิหารล้านนา วัดหลวงราชสัณฐาน, เจดีย์ศิลปะไทใหญ่ วัดศรีจอมเรือง, ศาลเจ้าพ่อเสือ, ศาลเจ้าแม่ทับทิม, พระตําหนักกว๊านพะเยา, ศูนย์ปกผ้า เสื้อพะเยา วัดศรีอุโมงค์คํา, ศูนย์ทอผ้าพื้นเมืองวัดอินทร์ฐาน

ผลงานดีเด่นและรางวัลที่ได้รับ

นางสาวจุ าสินี พรหมเผ่า นายกเทศมนตรีเมองพะเยา

เทศบาลเมืองพะเยา “เทศบาลยุ คใหม่ ร่วมใจพัฒนา เศรษฐกิจก้าวหน้า พร้อมสู่ประชาคมอาเซี ยน” คือวิสัยทัศน์การพัฒนาของเทศบาลเมองพะเยา ซึ่งตั้งอยู่เลข ที่ 58 ถนนท่ากว๊าน ตําบลเวียง อําเภอเมือง จังหวัดพะเยา ปจจุบัน มี นางสาวจุ าสินี พรหมเผ่า ดํารงตําแหน่ง นายกเทศมนตรีเมอง พะเยา (สําเรจการศึกษาระดับปริญญาโท สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร)

ข้อมูลทั่วไป

เทศบาลเมืองพะเยา มีพื้นที่ 5, 25 ไร่ (ประมาณ 9 ตารางกิโลเมตร) ประกอบด้วย 2 ตําบล คือ ตําบลเวียงและตําบลแม่ตํ่า ประกอบไปด้วย ชุมชน 14 ชุมชน จํานวนประชากร 17,585 คน จํานวนบ้าน 7,754 หลังคาเรือน 82

จัดตั้ง ศูนย์ส่งเสริมศิลปวั นธรรม เทศบาลเมองพะเยา เพื่อ สืบทอด สร้างสรรค์ และส่งเสริม ตลอดจนดําเนินการกิจกรรมด้านศิลป วัฒนธรรมที่ดีงามของชุมชนในทุกมิติ จนได้รับ รางวัลองค์กรปกครอง ส่วนท้อง ิ่นดีเด่นด้านวั นธรรม ประจําป 2557 และ รางวัลวั น คุณาธร ผูท้ าํ คุณประโยชน์ทางด้านศาสนาและศิลปวั นธรรม ประจํา ป 2558 จากกระทรวงวั นธรรม จัดตั้ง ศูนย์ปกผ้าโรงเรียนพินิตประสาธน์ เทศบาลเมองพะเยา เพื่อเป็นแหล่ง กอาชีพแก่นักเรียนและกลุ่มสตรีแม่บ้าน โดยผลิต เสื้อ พะเยา อันเป็นเสือ้ พืน้ เมืองทีเ่ ป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวของคนพะเยา เป็น ที่ยอมรับในสังคมเมืองพะเยาอย่างกว้างขวาง จัดตัง้ ศูนย์พั นาและบริหารจัดการกวานพะเยา (ศพบก.) โดย ภาคประชาชน จัดทําแผนป บิ ตั กิ ารพัฒนากว๊านพะเยา 2557-25 1 โดย มีมลู นิธอิ ทุ กพัฒน์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นทีป่ รึกษา ได้รบั งบประมาณ พัฒนากว๊านพะเยาในปีงบประมาณ 2557-2558 จํานวนกว่า 250 ล้าน บาท (ดําเนินการโดยกองทัพบก) ริเริ่มจัดงาน เทศกาลพลุสวย ดอกไม้งาม ริมกวานพะเยา ครั้ง ที่ 1-2 งบประมาณโครงการกว่า 10 ล้านบาท โดยได้รับสนับสนุนงบ ประมาณจากมูลนิธิธรรมนัส พรหมเผ่า และภาคเอกชน ภายในงานได้ ฟนฟูการประกวด นางสาวพะเยา หลังจากเลิกประกวดไปนานกว่า 10 ปี ริเริ่มจัดงาน แต่งครัวเมอง หย้องซิ่นบ้วง แอ่ว ่วงวั นธรรม ครั้งที่ 1-2 ซึ่งเป็นหนึ่งในโครงการที่ทําให้ได้รับรางวัล อปท.ดีเด่นด้าน


วัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม ซึ่งได้รับสนับสนุนงบประมาณจาก สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ริเริ่มเทศกาลอาหารปลอดภัย ปลอดโฟม 100 ในงานเทศกาล กินปลาที่กวานพะเยา ที่จัดขึ้นในช่วงระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ของทุก ปี โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจและส่งเสริมการท่องเที่ยว จังหวัดพะเยา ซึ่งได้รับ รางวัลองค์กร ับเคล่อนงานงดเหล้าดีเด่น แห่งทศวรรษ ประจําป 2558 จาก สํานักงานองค์กรงดเหล้า ร่วมกับ สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) นอกจากนี้ยัง ได้รับ รางวัลองค์กรปลอดภาชนะโฟมบรรจุอาหาร 100 จาก กรม อนามัย กระทรวงสาธารณสุ ประจําป 2558 และ 255 โครงการโ งเ ียนผู้สูงอายุ โรงเรียนผู้สูงอายุ ซึ่งเป็นโครงการ ที่จัดขึ้นเพื่อส่งเสริมความรู้ด้านสุขภาพ และพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุ ด้านต่าง ๆ เพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถดํารงชีวิตอย่างเป็นสุขในชุมชน โดย ไม่เป็นภาระแก่ครอบครัว ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 2 ระดับ ประเทศ รับเงินรางวัล 500,000 บาท ตามนโยบายโครงการพัฒนาเมือง สํานักงานกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ กระทรวงมหาดไทย ร่วมกับ สํานักนายกรัฐมนตรี และออกอากาศ นรายการร้อยมอสร้าง เมอง ทางส านีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ทีวี

PHAYAO 83


เส้นทางพบ เทศบาลตําบล

นายพิจิตร อ้อยลี นายกเทศมนตรีตําบลท่าจําป

เทศบาลตําบลท่าจําปี ท่าจําปี หอมกรุ่น ร่วมทําบุ ญประเพณีผีขุนนํ้า ธรรมชาติ งดงามห้วยแม่ตุ้ม แหล่งชุมนุมผลิตภัณฑ์การจักสาน คือคํา วัญ องตําบลท่าจําป ซึ่งอยู่ในความดูแลของ เทศบาลตําบลท่าจําป เลขที่ 199 หมู่ที่ 3 ตําบลท่าจําปี อําเภอ เมืองพะเยา จังหวัดพะเยา โดยตั้งอยู่ห่างจากศูนย์ราชการจังหวัด พะเยา ประมาณ 12 กิโลเมตร ปจจุบันมี นายพิจิตร อ้อยลี ดํารงตําแหน่ง นายกเทศมนตรีตําบลท่าจําป

84

้อมูลทั่วไป

ตําบลท่าจําปมีพนื้ ทีท่ งั้ หมดประมาณ 24, 34 ไร่ หรือ ประมาณ 39.40 ตารางกิโลเมตร สภาพโดยทั่วไปของตําบลท่าจําปีเป็นพื้นที่ปาไม้ และมีภเู ขาล้อมรอบ โดยเฉพาะทางทิศตะวันตก ส่วนทางทิศเหนือและทิศ ใต้เป็นทีร่ าบสูงสลับกับภูเขา แหล่งนํา้ ทีส่ าํ คัญคืออ่างเกบนํา้ ห้วยแม่ตมุ้ หมู่ ที่ ซึ่งใช้เป็นแหล่งนํ้าเพื่อการเกษตรและการอุปโภคที่สําคัญของตําบล ท่าจําปี ประชากร เทศบาลตําบลท่าจําปี มีจาํ นวนประชากร 3,940 คน เป็นชาย 1,930 คน หญิง 2,010 คน ความหนาแน่นโดยเฉลี่ยประมาณ 100 คน / ตร.กม.

พันธกิจ

1. แก้ไขปญหาหนี้สินและความยากจน โดยการมีส่วนร่วม จากทุกภาคส่วนตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 2. เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน พัฒนาแหล่งเรียนรู้ ศิลปวัฒนธรรมล้านนา พัฒนาภาคเกษตรและการท่องเที่ยว 3. ส่งเสริมให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี มีความมั่นคง ชุมชนเข้มแขง และอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข 4. อนุรักษ์ ฟนฟู และบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน 5. พัฒนาระบบและประสิทธิภาพการป ิบัติราชการ


สินค้า OTOP

สินค้า OTOP

กิจกรรมเด่น อง ทต ท่าจําป

ทต ท่าจําป ชวนเที่ยว อ่างเกบนําห้วยแม่ตุ้ม มีพื้นที่ประมาณ 200 ไร่ สามารถจุน้ําได้ 3,200,000 ลบ.ม. อยู่ห่างจากสํานักงานเทศบาลตําบลท่าจําปี ประมาณ 9 กิโลเมตร อ่างเกบน้าํ ห้วยแม่ตมุ้ เป็นแหล่งน้าํ ทีส่ าํ คัญทีส่ ดุ ของตําบล ท่าจําปี เพราะนอกจากจะเป็นแหล่งประมงน้ําจืดที่สําคัญที่สุดแล้ว ยังเป็นสถานที่ท่องเที่ยวด้วย เพราะในช่วงเทศกาลสงกรานต์จะมี ประชาชนมาเทีย่ วพักผ่อนหย่อนใจ และเล่นน้าํ สงกรานต์เป็นจํานวนมาก

สินค้า T

ตําบลท่าจําป

1. ชาบัว สนใจติดต่อ 08 -91 9433 2. ผลิตภัณฑ์จากเศษผ้า สนใจติดต่อ 089-75 707 3. สินค้าชุมชน ประเภทเครือ่ งจักสาน สนใจติดต่อ 081-95213

1 ปลูกต้นสตรอว์เบอรี่ที่แปลงสาธิต โดยเทศบาลตําบล ท่าจําปีร่วมกับนักเรียนโรงเรียนพะเยาประสาธน์วิทย์ ปลูกต้น สตรอว์เบอรี่ที่แปลงสาธิต ณ อ่างเกบนํ้าห้วยแม่ตุ้ม 2 ประเพณีแห่เทียนเ ้าพรรษา นําทีมโดยท่านนายก เทศมนตรีตําบลท่าจําปี ณ วัดบ้านตําเหล่า ตําบลท่าจําปี อําเภอเมือง พะเยา 3 B ปนเพ่อพ่อ เพื่อถวายความจงรัก ภักดีและสํานึกในพระมหากรุณาธิคุณ ในองค์พระบาทสมเดจ พระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสเฉลิมพระชนมพรรษา 5 ธันวาคม 2558 4 วันพ่อแห่งชาติ 5 ธันวามหาราช ซึ่งมีพิธีการกล่าว คําถวายพระพรแด่องค์พระบาทสมเดจพระเจ้าอยูห่ วั พิธจี ดุ เทียน ชัยพระพร และมอบรางวัลพ่อดีเด่นในตําบลท่าจําปี PHAYAO 85


เส้นทางพบ

องค์การบริหารส่วนตําบล

ประวัติตําบลแม่ใส

นายสันติ สารเรว นายกองค์การบริหารส่วนตําบลแม่ ส

องค์การบริหารส่วนตําบลแม่ใส “ การคมนาคมสะดวก มีแหล่งนํ้าพอเพียงตลอดปี ประชาชนมีรายได้สูงขึ้น สุขภาพกายและสุขภาพใจดี ได้รับสวัสดิการทั่วถึง มีความรู้ก้าวหน้า ทันสมัย ใส่ใจสิ่งแวดล้อม อนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมไทยล้านนา ชุมชนมีความเข้มแข็งน่าอยู ่ ” คือวิสัยทัศน์ ( ision) ขององค์การบริหารส่วนตําบลแม่ใส ตั้ง อยู่ ณ เลขที่ 198 หมู่ที่ 12 บ้านแม่ใสเหล่าใต้ ตําบลแม่ใส อําเภอเมือง พะเยา จังหวัดพะเยา โดยอยู่ห่างจากตัวอําเภอเมืองพะเยาไปทางทิศใต้ ประมาณ 10 กิโลเมตร ปจจุบันมี นายสันติ สารเรว เป็น นายกองค์การ บริหารส่วนตําบลแม่ใส 86

หมู่บ้านแม่ใส เดิมชื่อ บ้านนางเหลียว ประชาชนส่วนใหญ่ ย้ายมาจากบ้านทุ่งปายะ และบ้านทุ่งโค้ง อําเภอเมืองลําปาง จังหวัด ลําปาง เมื่อประมาณปี พ.ศ. 2299 มีประชาชนประมาณ 12 หลังคา เรือน มาก่อสร้างบ้านเรือนติดกับสายนํา้ แม่ใส ซึง่ ไหลมาจากบ้านร่องคํา น้อย โดยมี พระวงศ์ ธมมวโส เป็นผู้นํา และได้จัดตั้งวัดขึ้นเป็นครั้งแรก ชื่อว่า วัดนางเหลียว มีนายหลาน นาแพร่ เป็นกํานันคนแรก ขึ้นกับ ตําบลบ่อแ ้ว อําเภอพะเยา จังหวัดเชียงราย ปีพ.ศ. 24 9 มีนายอินทร์ สารเรว เป็นกํานันและได้เปลี่ยนมาเป็นตําบลแม่นาเรือ พร้อมกับแยก หมู่บ้านแม่ใส เป็นหมู่ที่ 2, หมู่ที่ 3 และหมู่ที่ 4 ในปีพ.ศ. 2515 ได้ แยกจากตําบลแม่นาเรือเป็นตําบลแม่ใส อําเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา (ปีพ.ศ. 2520 พะเยายกฐานะเป็นจังหวัด) ปจจุบันมีนายพายัพ ยาเยน เป็นกํานันตําบลแม่ใส ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2555

ข้อมูลทั่วไป

ตําบลแม่ใส มีเนื้อที่ประมาณ 21.3 ตารางกิโลเมตร หรือ ประมาณ 13,275 ไร่ มีลกั ษณะพืน้ ทีเ่ ป็นทีร่ าบลุม่ ติดกับกว๊านพะเยา มีแม่นาํ้ แม่ใสเป็นแม่นาํ้ สายหลักทีไ่ หลผ่านตําบลลงสูก่ ว๊านพะเยา ซึง่ เป็น ที่มาของชื่อบ้านแม่ใส ตําบลแม่ใส แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 12 หมู่บ้าน ดังนี้ หมู่ที่ 1 บ้านร่องไ , หมู่ที่ 2 บ้านแม่ใสกลาง, หมู่ที่ 3 บ้านแม่ใสทุ่ง แดง, หมู่ที่ 4 บ้านแม่ใสเหล่า, หมู่ที่ 5 บ้านบ่อแ ้ว, หมู่ที่ บ้านสัน ปาถ่อน, หมู่ที่ 7 บ้านสันช้างหิน, หมู่ที่ 8 บ้านแม่ใสหัวขัว, หมู่ที่ 9 บ้านแม่ใสเหนือ, หมู่ที่ 10 บ้านสันปาถ่อน, หมู่ที่ 11 บ้านร่องไ , หมู่ที่ 12 บ้านแม่ใสเหล่าใต้ มีประชากรรวมทั้งสิ้น ,358คน มีจํานวน 2,145 หลังคาเรือน


2. ชุมชนมีรายได้เพียงพอและใช้จ่ายเท่าที่จําเป็น 3. ชุมชนสามัคคีและมีความเข้มแขง ประชาชนมีคุณภาพชีวิตดีขึ้น 4. ประชาชนเหนความสําคัญของการศึกษา ศาสนาวัฒนธรรม ประเพณี และภูมิปญญาท้องถิ่น 5. สิ่งแวดล้อมชุมชนดี มีภูมิทัศน์สวยงาม . บุคลากรมีความรูค้ วามเข้าใจในการป บิ ตั งิ าน และมีการบริหารจัดการทีด่ ี 7. ชุมชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน

รางวัลแห่งความภาคภูมิใจของ อบต.แม่ใส

- ศูนย์พฒ ั นาเดกเลก อบต.แม่ใส ได้รบั รางวัลศูนย์พฒ ั นาเดกเลก ปลอดโรคดีเด่น ระดับเขต ปี 255 จากกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข - อบต.แม่ใส ได้รับรางวัลสุดยอดส้วมแห่งปี 255 ระดับเขต ประเภทส้วมในสถานที่ราชการ จากศูนย์อนามัยที่ 10 จังหวัดเชียงใหม่ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข - ได้รับคัดเลือกเป็นกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น/ พื้นที่ เพื่อเป็นต้นแบบ/ศูนย์เรียนรู้ จังหวัดพะเยา ประจําปี 2557

ได้รับรางวัลศูนย์พัฒนาเด็กเล็กปลอดโรคดีเด่น ระดับเขต

พันธกิจ (Missions) 1. ปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐาน และพัฒนาแหล่งนํ้า 2. สนับสนุนการรวมกลุ่มอาชีพในชุมชน และทุนประกอบอาชีพ 3.จัดกิจกรรมเสริมสร้างความสามัคคีในชุมชน และช่วยเหลือผูด้ อ้ ยโอกาส 4. ส่งเสริมการศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณีและภูมิปญญาท้องถิ่น 5. กําจัดขยะมูล อย สิ่งป ิกูล นํ้าเสีย และปรับสภาพแวดล้อมในตําบล . สนับสนุนการอบรมเพื่อพัฒนาบุคลากรด้านการเมือง และการบริหาร 7. ส่งเสริมการรักษาคุ้มครองความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน จุดมุ่งหมายเพ่อการพั นา 1. ชุมชนมีโครงสร้างพื้นฐานครบถ้วน

ได้รับรางวัลสุดยอดส้วมแห่งปี 2556

PHAYAO 87


àÊŒ¹·Ò§¸ÃÃÁ ˹ع¹íÒªÕÇÔµ

วัด รีโคมค�า

ลําดับที่ 13 แห่งราชวงค์มังรายของเชียงใหม่ ) ต่อมาในสมัยพระยา อุปราชเจ้าบุรีย์รัตน์ ได้ทําการก่อสร้างพระวิหาร ,เสนาสนะต่าง ๆ และลําดับต่อมากได้ตง้ั เป็นวัดขึน้ ในสมัยของพระยาเมืองตู้ ครองเมือง พะเยา การบูร

วัดศรีโคมคํา ตั้งอยู่เลขที่ 92 ถ.พหลโยธิน หมู่ที่ 1 ต.เวียง อ.เมือง จ.พะเยา มีเนื้อที่ 74 ไร่ 8 ตารางวา ระวัตความเ นมา วัดศรีโคมคํา หรือที่ชาวบ้านโดยทั่วไปเรียกตามชื่อเดิม ว่า วัดพระเจ้าตนหลวง หรือ วัดทุ่งเอี้ยง เนื่องจากมีพระพุทธ รูปขนาดใหญ่ ที่เรียกติดปากกันว่า พระเจ้าตนหลวง เป็นประธาน ของวัด ที่มีตํานานเกี่ยวข้องกับการเสดจมาของพระพุทธเจ้า รวมถึง การแสดงพุทธทํานายเกี่ยวกับการสร้างพระเจ้าตนหลวงในบริเวณที่ เป็นหนองเอี้ยง มีการสันนิษฐานว่าวัดศรีโคมคําสร้างราวพ.ศ. 20 7 ภาย หลังจากที่มีการสร้างพระเจ้าตนหลวง เป็นพระพุทธรูปก่ออิฐถือปูน ปางมารวิชัยหน้าตักกว้าง 14 1 เมตร ปจจุบันประดิษฐานเป็นพระ ประธานในวิหารหลวงสันนิษฐานว่าสร้างขึ้นราวปีพ.ศ.2034 ในสมัย พระยาเมืองยี่ครองเมืองพะเยา (สมัยพระยอดเชียงราย กษัตริย์ 88

สังขร ์พระวหารหลวง

วัดศรีโคมคํา มีการบูรณป ิสังขรณ์อีกหลายครั้งในสมัย หลัง เช่น สมัยเจ้าหลวงอินทะชมพู,เจ้าหลวงขัติยะ, เจ้าหลวงชัย วงศ์ และสมัยพระยาประเทศอุดรทิศ ซึ่งบ้านเมืองอยู่ในช่วงของการ เปลี่ยนแปลงการปกครอง พะเยาเป็นส่วนหนึ่งของมณฑลพายัพขึ้น อยู่กับจังหวัดเชียงราย สมัยนั้นมีรองอํามาตย์โทหลวงสิทธิประศาสน์ (คลาย บุษยบรรณ) เป็นนายอําเภอ พระยาประเทศอุดรทิศและ นายคลาย ได้ตระหนักถึงพระวิหารหลวงที่กําลังชํารุดทรุดโทรม ทั้ง สองทราบถึงกิตติศัพท์ว่าครูบาศรีวิชัยว่าเป็นพระสง ์ท่มี ีบารมีธรรม สูง ทําการก่อสร้างและบูรณป สิ งั ขรณ์วดั วาอารามทีแ่ ห่งใด กสําเรจ ลุลว่ งไปด้วยดี มีศรัทธาประชาชนเลือ่ มใสจํานวนมาก จึงได้ปรึกษากับ พระครูศรีวริ าชวชิรปญญา เจ้าคณะแขวงเมืองพะเยา รวมถึงคหบดี และประชาชนต่าง ๆ โดยเหนพ้องกันว่าควรไปอาราธนานิมนต์ครูบา ศรีวชิ ยั มาเป็นประธานในการก่อสร้าง พระวิหารหลวงดังกล่าว ตามบันทึกของพระครูศรีวิราชวชิรปญญา กล่าวว่าท่านได้ อาราธนานิมนต์ครูบาศรีวิชัยถึง 3 ครั้ง แต่ในขณะนั้นครูบาศรีวิชัย ท่านยังคงสร้างงานอยู่ที่วัดพระธาตุหริภุญชัย จ.ลําพูน ในบันทึกได้


กล่าวว่า ท่านได้มีจดหมายติดต่อกับพระครูวชิรปญญาอีกหลายครั้ง ซึ่ง ในเนือ้ ความเป็นเรือ่ งของการสอบถามถึงรูปแบบของวิหาร ขนาดของวิหาร รูปทรง รวมถึงการจัดเตรียมวัสดุก่อสร้างต่าง ๆ จนกระทั่งวันที่ 25 ธันวาคม 24 4 ท่านจึงได้ออกเดินทางไป เมืองพะเยา ในครั้งนั้นมีผู้ติดตามทั้งที่เป็นศรัทธาญาติโยมและลูกศิษย์ ลูกหาจํานวนมากมาย การเดินทางนันครูบาศรีวิชัยจะ นั่งบนเสลี่ยง โดยมีลูกศิษย์ผลัดเปลี่ยนกันหาม ซึ่งเปน บวน องนักจาริกแสวงบุญ ที่ยิ่ง หญ่ที่สุดครังหนึ่ง ในระหว่างทางนั้น เมื่อผ่านหมู่บ้านต่าง ๆ เขา เหล่านั้นจะประดับตกแต่งทําเป็นปรําพิธีขัดราชวัตรปกต้นกล้วยไว้คอยรับ เมื่อแวะพักที่ไหนกจะมีผู้มาร่วมทําบุญกับท่าน และบางครั้งกมีการนําเอา ลูกหลานมาขอบวช ทางด้านเมืองพะเยาเมื่อทราบข่าวว่า ครูบาศรีวิชัยได้ตัดสินใจ เดินทางมาเป็นประธานแน่นอนแล้ว ประชาชนกได้ร่วมใจกันสร้างกุ ิให้ ท่านจํา ทางด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ของพระวิหาร (ปจจุบันเป็นที่ตั้ง ของวิหารอนุสาวรีย์ครูบาศรีวิชัย ภายในบรรจุอัฐิธาตุของท่าน) นอกจาก นั้นได้เตรียมสร้างปางและปนอิฐเตรียมไว้เป็นจํานวนมาก ส่วนประชาชน ที่ทราบข่าว กได้หลั่งไหลมาร่วมทําบุญกับท่าน ไม่เว้นแม้กระทั่ง จังหวัด ที่ห่างไกลออกไป เช่น ลําปาง แพร่ น่าน และเมื่อถึงพะเยาท่านกได้สั่งให้ รื้อพระวิหารหลังเดิมออกไป ใช้เวลา 8 วันจึงสําเรจ จนกระทั่งถึงวันพุธที่ 17 มกราคม 24 ท่านจึงได้ลงมือวาง ศิลาฤกษ์ โดยมีลูกศิษย์คนสําคัญคือ ครูบาขาวปี ซึ่งเป็นผู้ที่มีความรู้ ความชํานาญทางด้านการก่อสร้าง เป็นผู้ควบคุมงานก่อสร้างทั้งหมด การสร้างวิหารพระเจ้าตนหลวงหลังนี อเปนงาน หญ่ และต้อง ช้เงิน และกําลังคน เปนจํานวนมาก อย่างไรกตามกมีผู้เล่อม สศรัทธามา ร่วมสร้างบารมีกับท่านอย่างต่อเน่อง ช้เวลา นการสร้างงานเพียงป เศษกสําเรจ ตามบันทึกกล่าวว่าสิ้นเงินทั้งสิ้น 100,9 3 รูปี มีผู้บริจาค เงินถึง 5 ปีบ ใช้ทราย 700 หลา ปูนซีเมนต์ 00 ถัง ทองคําเปลว 272, 35 แผ่น ประกอบไปด้วยช่างที่ติดตามมากับครูบาศรีวิชัยมาแต่ ลําพูน ช่างในพื้นที่เมืองพะเยาและใกล้เคียง ช่างชาวจีนที่จ้างเหมา รวม ไปถึงแรงงานจากชาวบ้าน

ลัก

ะของวหารพระเจาตนหลวง

สําหรับลักษณะวิหารหลังนี้ เป็นวิหารขนาดใหญ่ที่สร้าง ครอบพระพุทธรูปองค์ใหญ่ มีขนาด 8 ห้องเสา ผังพื้นเป็นรูป สี่เหลี่ยมผืนผ้าทรงยาวไม่ยกเกจ ปจจุบันระดับพื้นภายนอกยก สูงกว่าภายในสาเหตุมาจากการทรุดตัวของพื้นดินในคราวที่มีน้ํา ท่วมใหญ่ในปี 251 มีระเบียงมุข ทั้งทางด้านหน้าและด้านหลัง ตัวอาคารวางในแนวตะวันออก-ตะวันตก ล้อมรอบด้วยระเบียง คต ซึ่งสร้างในคราวเดียวกัน มีประตูทางเข้าด้านหน้า 3 ประตู และทางด้านข้างอีกข้างละ 1 ประตูโครงสร้างประกอบไปด้วย คอนกรีตเสริมเหลก ในส่วนของเสาและโครงสร้างหลักส่วนบน รูปทรงของวิหารค่อนข้างใหญ่แต่กพยายามทําให้อ่อนช้อยตาม แบบวิหารทรงล้านนา เพียงแต่ความงามทางด้านสุนทรียภาพ แบบมาตรฐานของวิหารแบบล้านนาได้หายไปบ้าง เนื่องจาก การใช้วัสดุสมัยใหม่ หน้าบันของวิหารหลังนี้ เป็นแบบโครง กรอบหน้าจั่วอิทธิพลภาคกลาง ใช้เทคนิคการสลักไม้ปดทองร่อง กระจกทั้งด้านหน้าและด้านหลัง มีลักษณะ ีมือใกล้เคียงกับที่ วัดพระธาตุหริภุญชัย ซึ่งสันนิษฐานว่าน่าจะเป็นช่างกลุ่มเดียวกัน ลวดลายที่ ช้ประกอบไปด้วยลวดลายเครอเ าสลับกับลวดลาย สัตว์ต่าง เช่น ลิง นาค และเสอ ซึ่ง อว่าเปนประติมากรรม ประดับส าปตยกรรมที่งดงามที่สุดแห่งหนึ่ง ส่วนองค์ประกอบตกแต่งอื่น ๆ ได้แก่ ซุ้มประตูหน้าต่าง แบบ รั่ง ลวดลายทองบริเวณประตูหน้าต่าง ซึ่งหากสังเกตให้ดี มักจะมีรูปเสือ และคําจารึกกล่าวถึงครูบาศรีวิชัยประดับอยู่แทบ ทุกบานนอกเหนือจากผลงานการสร้างวิหารหลังนีแ้ ล้ว ครูบาศรีวชิ ยั ยังสร้างงานสถาปตยกรรมอื่น ๆ ในคราวเดียวกันนี้ด้วย ได้แก่ พระอุโบสถขนาดเลกทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของวิหาร, วิหารครอบ รอยพระพุทธบาททางด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือของวิหาร, ศาลา บาตรพร้อมด้วยกําแพงล้อมรอบพระวิหาร และประติมากรรมรูปเสือ บริเวณทางเข้าทิศตะวันออก งานต่างๆ เหล่านีย้ งั คงเหลือหลักฐานให้ เหนจวบจนถึงปจจุบนั PHAYAO 89


เส้นทางพบ นายอําเภอ

“ประตูสู่หลวงพระบาง ยางพาราชั้นเลิศ แหล่งกําเนิด นํ้าตกอุ ่น หวานละมุนนํ้าอ้อยสบบง สูงส่งถิ่นพระธาตุ ตลาดการค้าชายแดนไทย – ลาว”

นายวราดิศร อ่อนนุช นายอําเภอภูซาง ชมเต่าปู ลู สัตว์ป่าคุ้มครอง

อําเภอภูซาง คือคําขวัญของอําเภอภูซาง จังหวัดพะเยา ซึ่งบ่งบอกว่า เป็นอําเภอที่มีแหล่งท่องเที่ยวที่หลากหลาย ทั้งแหล่งท่องเที่ยวทาง ประวัติศาสตร์ ธรรมชาติ วิถีชีวิต และวัฒนธรรม อาทิ

วัดพระธาตุภูซาง

ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นธาตุภซู าง ม.10 ต.ภูซาง พระธาตุภซู างเป็นพระ ธาตุคบู่ า้ นคูเ่ มืองภูซาง โบราณสถานมีอายุประมาณ 500 ปี และเป็น พระธาตุคู่กับพระธาตุปลวก เมืองคอบ แขวงไชยบุลี สปป.ลาว เป็น ศิลปะล้านนาประยุกต์ ซึ่งมีการวางผังทางสถาปตยกรรมที่สวยงาม เป็นเอกลักษณ์เฉพาะโดยช่างเชียงใหม่ ซึ่งคณาจารย์ทางสถาปตย์ ได้กล่าวว่า ผังคล้ายโบสถ์ในนครวาติกัน

นํ้าตกอุ ่นภูซาง

นํ้าตกอุ่นภูซางเป็นเอกลักษณ์สําคัญของอําเภอภูซาง และ เป็นนํา้ ตกนํา้ อุน่ หนึง่ เดียวในเมืองไทย มีอณ ุ หภูมปิ ระมาณ 35 องศา เซลเซียส มีเส้นทางศึกษาธรรมชาติ มีจุดเด่นพิเศษอยู่ที่บ่อซับนํ้า อุ่นและปาพรุนํ้าจืด ซึ่งเป็นต้นนํ้ากําเนิดของนํ้าตกภูซาง มีลักษณะ เป็นธารนํ้าอุ่นผุดจากใต้ดินและมีสภาพโดยรอบๆเป็นปาพรุนํ้าจืด ประกอบไปด้วยพรรณไม้นานาชนิดที่หาดูได้ยาก 90

หน่วยพิทกั ษ์อทุ ยานแห่งชาติที่ ภซ 4 (บ้าน วก) เป็นสถาน ทีเ่ พาะเลีย้ งอนุรกั ษ์ เต่าปูลู ซึง่ เป็นสัตว์ปาคุม้ ครองทีม่ ลี กั ษณะเฉพาะ คือตัวเตีย้ กระดองสีเขียวเข้ม หางเป็นปล้องเรียวยาวกว่ากระดอง หด หัว ขาและหางเข้าในกระดองไม่ได้ สามารถปีนปายต้นไม้ได้เก่งโดย อาศัยเลบช่วยยัน เต่าปูลูออกหากินกุ้ง หอย ปู ปลา ในเวลากลาง คืน ส่วนกลางวันมักหลบอยู่ตามซอกหิน หน้าหนาวจําศีล วางไข่ช่วง ประมาณเดือนเมษายน ครั้งละ 3 4 ฟอง มักจะถูกมนุษย์ล่าเพราะ เชื่อว่าเป็นยาชูกําลังทางเพศ

ดอยชมดาว

ตัง้ อยูบ่ นเส้นทางภูซาง-ภูชฟี้ า มีความสูง 1,532 เมตร สามารถ ชมพระอาทิตย์ขนึ้ และตก ชมทะเลหมอกพรมแดนไทย-ลาว สภาพปาดิบ เขามีพรรณไม้นานาชนิดและยังพบเหนนกอีกหลายชนิด

เฮินไทลื้อ

ตั้งอยู่ที่บ้านสถาน หมู่ที่ 5 ต.ภูซาง ชาวไทลื้อใน อ.ภูซาง มี ความเข้มแขง มีการรวมตัวทํางานเพือ่ ส่วนรวมโดยตลอด และได้รว่ ม กันก่อสร้างเ นิ ไทลือ้ เพือ่ สืบสานวัฒนธรรมและสถาปตยกรรมของที่ อยู่อาศัยไทลื้อ ให้เป็นที่เผยแพร่และถ่ายทอดสู่สังคมและคนรุ่นหลัง ต่อไป เ ินไทลื้อ หรือในภาษากลางว่า เรือนไทลื้อ เป็นบ้านที่สร้าง ตามแนวสถาปตยกรรมของชาวไทลื้อ มีพื้นที่ประกอบกิจกรรมใต้ถุน บ้าน โดยทางกลุ่มชาวไทลื้อ อ.ภูซาง ได้นําที่ทอผ้ามาไว้ พร้อมด้วย


ตลาดการค้าชายแดน บ้านฮวก ตั้งอยู่ที่บ้าน วก หมู่ที่ 12 ต.ภูซาง บ้าน วกเป็นหมู่บ้าน ที่อยู่ชายแดนติดกับ สปป.ลาว เป็นที่พักผ่อนท่ามกลางบรรยากาศ ธรรมชาติ มีนํ้าตกอุ่นของอุทยานแห่งชาติภูซางและรีสอร์ทในบริเวณ ใกล้เคียง รวมทั้งที่พักแบบโ มสเตย์ของบ้าน วก นักท่องเที่ยวที่พัก ผ่อนในพื้นที่อําเภอภูซางสามารถเพลิดเพลินกับกิจกรรมที่ตลาดการ ค้าชายแดนบ้าน วกที่จัดขึ้นในทุกวันศุกร์และเสาร์สุดสัปดาห์

เทศกาลตักบาตรสองแผ่นดิน

เป็นกิจกรรมที่ทุกภาคส่วนในอําเภอภูซาง จังหวัดพะเยา และเมืองคอบ แขวงไชยบุลี สปป.ลาว ร่วมกันจัดขึ้น ณ ช่องทางกิ่ว หก บริเวณพรมแดนไทย ลาว ตั้งแต่วันที่ 2 30 ธันวาคมของ ทุกปี โดยมีคณะสง ์และประชาชน เจ้าหน้าที่ของรัฐทั้งสองประเทศ ตลอดจนนักท่องเที่ยวมาร่วมงานจํานวนมาก

งานนํ้าอ้อยหวานสบบง

นํ้าอ้อยสบบง ถือเป็นเอกลักษณ์หนึ่งของอําเภอภูซาง โดย ประชาชนและท้องที่ท้องถิ่นของตําบลสบบง รวมทั้งอําเภอภูซาง ได้ ริเริ่มให้มีการจัดงานนํ้าอ้อยหวานสบบงขึ้นทุกปี ในวันแห่งความรัก 14 กุมภาพันธ์ ภายในงานมีการจําหน่ายสินค้าพื้นเมือง การ แสดงต่าง ๆมากมาย จุดถ่ายรูปที่ระลึก การบริการจดทะเบียนสมรส นอกสถานที่ด้วย การสาธิตของกลุม่ ผูส้ งู อายุ และด้านบนบ้านมีสว่ นทีเ่ ป็นห้องครัวและ ห้องนอนรวมทั้งระเบียงบ้าน นอกจากนี้ด้านล่างยังมีจุดจัดทําขนม กาละแมดอกซ้อ และในช่วงเทศกาลท่องเที่ยวมีการปรุงอาหารไทลื้อ ซึ่งเป็นอาหารรสชาติอร่อยและมีคุณค่าทางอาหารให้จําหน่ายอีกด้วย

ศูนย์เรียนรู ้พัฒนาการเกษตรอ่างเก็บนํ้าห้วยไฟ อันเนื่อง มาจากพระราชดําริ

ศูนย์เรียนรู้การพัฒนาเกษตรอ่างเกบนํ้าห้วยไฟ อันเนื่อง มาจากพระราชดําริฯ ได้ก่อสร้างขึ้นเพื่อเป็นแหล่งศึกษาเรียนรู้ด้าน เกษตร การบริการจัดการนํ้า การอนุรักษ์ทรัพยากรนํ้า รวมทั้งการ แปรรูปผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรและการตลาด ให้แก่เกษตรกรและ ผู้สนใจในพื้นที่จังหวัดพะเยาและจังหวัดใกล้เคียง ซึ่งเป็นผลมาจาก พระราชดําริในการแก้ไขปญหาให้กับพี่น้องประชาชนในพื้นที่ นอกจากนี้ เ ป็ น สถานที่ ท ่ อ งเที่ ย วเชิ ง ประวั ติ ศ าสตร์ ข อง สงครามการต่ อ สู ้ ท างความคิ ด (สงครามรั ฐ บาลกั บ ผู ้ ก ่ อ การร้ า ย คอมมิวนิสต์) เนื่องจากเคยเป็นฐานที่ตั้งของกองร้อยชาวเขาอาสา สมัคร (ชขส.) ที่รัฐบาลจัดตั้งเพื่อต่อสู้กับ ายตรงข้าม พระบาท สมเดจพระเจ้าอยู่หัวและสมเดจพระนางเจ้า พระบรมราชินีนา ได้เสดจฯเยี่ยมเมื่อ พ.ศ.2512 และหลังสงคราม พระองค์ท่านได้ทรง พระราชทานโครงการอ่างเกบนํ้าห้วยไฟฯ และต่อมาสมเดจพระเทพ พระรัตนราชสุดา ได้ทรงพระราชทานความช่วยเหลือจัดตั้งศูนย์ เรียนรู้ฯ ในโครงการต่าง ๆ มากมาย ซึ่งได้ดําเนินการสืบเนื่องมาถึง ปจจุบัน PHAYAO 91


เสนทางพบ

องค์การบริหารส่วนต�าบล

นายประสงค์ สะสมวั นกูล นายกองค์การบริหารส่วนตําบลภูซาง

องค์การบรหารส่วนต�าบลภูซาง องค์การบรหารส่วนต�าบลภูซาง มุ่งเสรมสราง ห ระชาชน น ต�าบลภูซางมีคุ ภาพชี วตที่ดี โดยว ี ห่งความพอเพียง คือวิสัยทัศน์ ององค์การบริหารส่วนตําบลภูซาง ซึ่งมีสํานักงาน ตั้งอยู่เลขที่ 1 หมู่ บ้านทุ่งติ้ว ตําบลภูซาง อําเภอภูซาง จังหวัด พะเยา โดยอยูห่ า่ งจากอําเภอภูซางไปทางด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ประมาณ กิโลเมตร และอยู่ห่างจากจังหวัดพะเยาประมาณ 97 กิโลเมตร ปจจุบันมี นายประสงค์ สะสมวั นกูล เป็น นายกองค์การ บริหารส่วนตําบลภูซาง ระวัตความเ นมา ตําบลภูซาง ก่อตั้งเมื่อวันที่ 1 สิงหาคม 2513 ตามประกาศ กระทรวงมหาดไทย โดยแยกออกจากตําบลเชียงแรง อําเภอเชียงคํา จังหวัดเชียงราย เดิมมีเขตการปกครองรวม 12 หมู่บ้าน ต่อมา วัน ที่ 28 สิงหาคม พ.ศ. 2520 อําเภอพะเยาได้ยกฐานะขึ้นเป็น จังหวัด 92

พะเยา โดยโอนอําเภอพะเยา อําเภอแม่ใจ อําเภอดอกคําใต้ อําเภอจุน อําเภอปง อําเภอเชียงม่วน และอําเภอเชียงคํา รวม 7 อําเภอ จัดตั้งเป็น จังหวัดพะเยา นับเป็นจังหวัดที่ 72 ของประเทศไทย ในปี พ.ศ. 2537 ตําบลภูซาง ได้จัดตั้ง สภาตําบลภูซาง ปีถัดมา ได้มีการแยกพื้นที่การปกครองตําบลภูซาง ออกเป็น 2 ตําบล คือ ตําบล ปาสักและตําบลภูซาง ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย ณ วันที่ 14 กรกฎาคม 2538 โดยตําบลปาสักมีเขตปกครองรวม 7 หมู่บ้าน ตําบล ภูซางมีเขตการปกครองรวม 9 หมู่บ้าน ปี พ.ศ. 2539 สภาตําบลภูซาง อําเภอเชียงคํา จังหวัดพะเยา ได้รับ การจัดตั้งเป็น องค์การบริหารส่วนตําบลภูซาง ตามประกาศกระทรวง มหาดไทย เมือ่ วันที่ 19 มกราคม 2539 และประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 113 ตอนที่ 9 ลงวันที่ 30 มกราคม 2539 ภายหลังมีการจัดตั้ง หมู่บ้านเพิ่ม รวมเป็น 13 หมู่บ้าน จนถึงปจจุบัน ความส�าคั ของต�าบลภูซาง ตําบลภูซางเป็นตําบลที่มีวัฒนธรรมเก่าแก่ ประชากรอยู่หนาแน่น เป็นเส้นทางเชื่อมเข้าสู่สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว มาหลาย ชั่วอายุคน มีแหล่งท่องเที่ยวที่สําคัญ คือ วนอุทยานแห่งชาติภูซาง นํ้าตก ภูซาง และมีชายแดนด้านทิศตะวันออกติดต่อสาธารณประชาธิปไตย ประชาชนลาว และเป็นเส้นทางผ่านขึ้นภูชี้ฟา ซึ่งเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่ สําคัญแห่งหนึ่งของประเทศไทย


ขอมูลทั่ว ตําบลภูซางมีเนื้อที่ทั้งหมดประมาณ 97 ตารางกิโลเมตร หรือ ประมาณ 0,095 ไร่ มีพื้นที่อยู่อาศัยโดยประมาณ ,000 ไร่ พื้นที่ ทําการเกษตรโดยประมาณ 20,000 ไร่ พื้นที่ปาและภูเขาโดยประมาณ 34,000 ไร่ เ ตการปกครอง มีจาํ นวนหมูบ่ า้ นในเขต อบต.ภูซาง เตมทัง้ หมูบ่ า้ น 13 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ที่ 1 บ้านสถาน 2 หมู่ที่ 2 บ้านนาหนุน หมู่ที่ 3 บ้าน วก หมู่ที่ 4 บ้านห้วยส้าน หมู่ที่ 5 บ้านสถาน หมู่ที่ บ้านทุ่งติ้ว หมู่ที่ 7 บ้านผาลาด หมู่ที่ 8 บ้านหนองเลา หมู่ที่ 9 บ้านทุ่งแขม หมู่ที่ 10 บ้านธาตุภูซาง หมู่ที่ 11 บ้านทุ่งกระเทียม หมู่ที่ 12 บ้าน วก หมู่ที่ 13 บ้านห้วยไฟวัฒนา ประชากร มีประชากรทั้งสิ้น ,392 คน แยกเป็นชาย 3,239 คน หญิง 3,153 คน มีครัวเรือนในตําบลทั้งสิ้น 2,2 3 ครัวเรือน ประชาชน ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทําการเกษตร ทํานา ทําสวน ปลูกกระเทียมหอมแดง ปลูกยางพารา ทอผ้า เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีประชาชนบาง ส่วนทํางานรับราชการ บริษัท ค้าขาย รับจ้างทั่วไป กลุ่มชาตพัน ุ์โดดเด่น นต�าบลภูซาง 1. ชาวไทลอ หรือ ไตลอ เป็นชาวไทกลุ่มหนึ่งมีถิ่นฐานเดิมอยู่ใน แถบสิบสองปนนาของจีน หมู่บ้านไทลื้อตําบลภูซาง มีจํานวน 5 หมู่บ้าน ได้แก่ บ้านสถาน 2 หมู่ 1, บ้านสถาน หมู่ 5, บ้านหนองเลา หมู่ 8, บ้านธาตุภูซาง หมู่ 10 และบ้านห้วยไฟวัฒนา หมู่ 13 ชาวไทลื้อมีเอกลักษณ์ที่โดดเด่น คือการใช้ภาษาไทลื้อ และยังมี วัฒนธรรมอันเป็นเอกลักษณ์อนื่ ๆ เช่น การแต่งกาย ศิลปะ และประเพณี ต่าง ๆ ชาวไทลื้อมีชีวิตที่คล้ายคลึงกับชาวไทยหรือชนเผ่าอื่น ๆ ทางภาค เหนือ คือมีการสร้างบ้านเรือนเป็นบ้านไม้ มีใต้ถุนสูง มีครัวไฟบนบ้าน ใต้ถุนเลี้ยงสัตว์ แต่ในปจจุบันวิถีชีวิตได้เปลี่ยนไป การสร้างบ้านเรือนก เปลี่ยนแปลงไปด้วย บ้านที่ยังคงสภาพเป็นเรือนไม้แบบเดิมยังพอจะมีให้ เหนบ้างในบางชุมชน ชาวไทลื้อส่วนใหญ่เป็นพุทธศาสนิกชนที่เคร่งครัด นิยมสร้างวัดในชุมชน ทั้งยังตกแต่งด้วยศิลปะและสถาปตยกรรมที่เป็น เอกลักษณ์งดงาม ศิลปะที่โดดเด่นของชาวไทลื้อ ได้แก่ งานผ้าทอไทลื้อ นิยมใช้ผ้า าย ทอลวดลายที่เรียกว่า ลายนํ้าไหล 2. ชาวเมี่ยน หรือ เย้า เป็นชนชาติเชื้อสายจีนเดิม ชนเผ่านี้เรียก ตัวเองว่า เมี่ยน ซึ่งแปลว่า มนุษย์ มีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า เย้า หมู่บ้าน เมี่ยนหรือเย้าตําบลภูซาง มีจํานวน 1 หมู่บ้าน ได้แก่ บ้านทุ่งกระเทียม หมู่ 11 การแต่งกายของชาวเมีย่ น ผูห้ ญิงนุง่ กางเกงด้วยผ้าสีนาํ้ เงินปนดํา ด้านหน้าจะปกลวดลาย ใส่เสื้อคลุมสีดํายาวถึงข้อเท้า ผ่าด้านหน้าตลอด ติดไหมพรมสีแดงที่อกเสื้อรอบคอลงมาถึงหน้าท้อง ผ่าด้านข้าง อกเสื้อ กลัดติดด้วยแผ่นเงินสี่เหลี่ยม ทาผมด้วยขี้ผึ้ง พันด้วยผ้าสีแดง และพัน ทับด้วยผ้าสีนํ้าเงินปนดํา ส่วนผู้ชายนุ่งกางเกงสีดําขายาว ขลิบขอบขา กางเกงด้วยไหมสีแดง สวมเสื้อดํา อกไขว้แบบเสื้อคนจีน ติดกระดุมคอ และรักแร้เป็นแนวลงไปถึงเอว เสือ้ ยาวคลุมเอว อาวุธของชาวเมีย่ น ได้แก่ ปนคาบศิลา ทําเอง ใช้คันร่มเป็นลํากล้องปน

เท กาล งาน ระเพ ีส�าคั ตําบลภูซาง มีงานประเพณีคล้ายกับท้องที่อื่น ๆ ในภาคเหนือ ทว่ามีงานประเพณี-เทศกาล ที่จัดขึ้นเป็นเอกลักษณ์เฉพาะในตําบลภู ซาง 2 งานใหญ่ ได้แก่ 1. งาน ่วงผญา ปาเวณี ีต อยมะเก่าจาวภูซาง จัดขึ้นในเดือน พฤษภาคมของทุกปี เพื่ออนุรักษ์และเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมและ ประเพณีอนั ดีงาม การแสดงภูมปิ ญญาพืน้ บ้าน การแสดงดนตรีพนื้ เมือง การแข่งขัน ดข้าว ยิงหน้าไม้ และสานไพคา การแข่งขันจ้อย ซอ การ แลกเปลีย่ นเรียนรูต้ ามข่วงต่าง ๆ ได้แก่ ข่วงรําวงย้อนยุค เป็นการแสดง รําวงแบบดั้งเดิมของผู้สูงอายุ, ข่วงตัวเมือง จัดแสดงภูมิปญญาความรู้ การเขียนตัวอักษร ภาษาล้านนา, ข่วงสงเคราะห์ แสดงพิธกี รรมสะเดาะ เคราะห์, ช่วงผ่อเมือ่ เป็นการสาธิตศาสตร์ความรูส้ มัยเก่าในการทํานาย PHAYAO 93


โชคชะต , ข่วงข้าวควบ ข้าวแคบ สาธิตการทําอาหารว่ โชคชะตา, รว่างพื้นเมือง นอกจากนี้มีข่วงอื่นๆ อีกมากมาย อาทิ ข่วงทําเทียนสะเดาะเคราะห์, ข่วงตีเหลก, ข่วงยิงกงกอนหน้าไม้, ช่วงเลี้ยงเจ้าที่, ข่วงประเพณีเผ่า เมี้ยน, ข่วงม้าเข้าคอก ข่วงสู่ขวัญควาย, ข่วงโม่ ึ่ง ่อนข้าว, ช่วงผ่อ ลายมือ, ข่วงสะล้อ ซอ ซึง 2. ประเพณีตกั บาตรสองแผ่นดิน ณ บริเวณเขตรอยต่อชายแดน ไทย - ลาว บ้าน วก(กิว่ หก) หมูท่ ี่ 12 ต.ภูซาง จัดขึน้ ในเดือนธันวาคม ของทุกปี เพือ่ สืบสานและส่งเสริมขนบธรรมเนียมประเพณีการตักบาตร ให้คงคู่พุทธศาสนา ประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์พื้นบ้านและแหล่งท่อง เที่ยว ส่งเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างประเทศ การสานสัมพันธ์ที่ ดีต่อกันให้แน่นแฟน และเป็นสิริมงคลในช่วงเทศกาลปีใหม่ อบต.ภูซางชวนเที่ยว 1. นําตกภูซาง ตั้งอยู่ในเขตบ้านธาตุภูซาง หมู่ 10 เป็นนํ้าตกที่มี นํ้าอุ่นเพียงแห่งเดียวที่พบในประเทศไทย อุณหภูมิ 35 องศาเซลเซียส และปราศจากกลิ่นกํามะถัน ไหลลงผาหินปูนสูง 25 เมตร เหนือนํ้าตก ภูซางมีเส้นทางชมปาต้นนํา้ ซึง่ เป็นปาดงดิบ อยูห่ า่ งจากทีท่ าํ การอุทยาน แห่งชาติ 1 กิโลเมตร 94

2. พระธาตุภูซาง เป็นพระธาตุเก่าแก่ตั้งอยู่บนดอยในเขตบ้านธาตุภู ซาง หมู่ 10 ก่อนถึงนํา้ ตกภูซางประมาณ 1 กิโลเมตร มีพระเจ้าเก้าตือ้ เป็น พระประธานในวิหาร เป็นพระธาตุทเี่ คารพสักการะของประชาชนอําเภอภู ซาง อําเภอเชียงคําและพุทธศาสนิกชนทั่วไป 3. นําตกห้วยโป่งผา ตั้งอยู่ในเขตบ้าน วก หมู่ 3 เป็นนํ้าตกที่ใส มี นํ้าไหลตลอดปี มีทั้งหมด 19 ชั้น และมีลําห้วยแยกออกเป็นนํ้าตกอีก 2 สาย มีความสวยงามทางธรรมชาติและยังเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของ เต่า ปูลู ซึ่งเป็นเต่าหายากและใกล้สูญพันธุ์ เป็นสัตว์ปาคุ้มครอง ตามพระ ราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ปา พุทธศักราช 2535 4. ตลาดนัดชายแดนไทย-ลาว ตั้งอยู่ในเขตบ้าน วก หมู่ 12 เป็น ตลาดค้าขายสินค้าของปา ผ้าทอลายนํา้ ไหล เครือ่ งครัวเรือน เสือ้ ผ้า ของใช้ จําเป็น เปดทุกวันที่ 10 และ 30 ของทุกเดือน 5. โ มสเตย์ ตั้งอยู่ที่หมู่ 12 บ้าน วก มีบ้านพักรับรองนักท่องเที่ยว จํานวน 2 หลัง พร้อมสิ่งอํานวยความสะดวกครบครันไว้คอยบริการนัก ท่องเที่ยวและผู้มาเยือน เหมาะสําหรับผู้ที่ต้องการสัมผัสกับธรรมชาติ อย่างใกล้ชิด . ประตูสู่อินโดจีน ตั้งอยู่ในเขตบ้าน วก หมู่ 12 เป็นด่านบ้าน วก อยู่ใกล้กับตลาดชายแดนไทย-ลาว 7. เ ินไทลอ ตั้งอยู่ที่บ้านสถาน หมู่ที่ 5 ตําบลภูซาง อําเภอภูซาง จังหวัดพะเยา ลักษณะเ ินไทลื้อ เป็นบ้านไม้ยกพื้นสูง ครอบครัวไทลื้อ เป็นครอบครัวใหญ่ ดังนั้นบ้านจึงต้องสร้างเป็นบ้านหลังใหญ่ เ ินหรือบ้าน ที่สร้างตามสถาปตยกรรมไทลื้อแบบดั้งเดิมนั้น มีหลังคาสูงมุงด้วยหญ้าคา ใต้ถุนสูง เข้าไม้ด้วยวิธีเจาะรูแล้วใช้ลิ่ม ประกอบเป็นโครงสร้าง เสากต้อง เจาะรูใส่แวง เป็นต้น แต่เ ินลื้อที่มีให้เหนในปจจุบันมีอยู่น้อยมาก



เส้นทางพบ

องค์การบริหารส่วนตําบล

ประวัติองค์การบริหารส่วนตําบลป่าสัก

องค์การบริหารส่วนตําบลป่าสัก เดิมเคยเป็นที่ตั้งของ เมืองเก่าแก่ของลานนาไทย มีชื่อเดิมเรียกว่า เมืองเชียงแรง โดยได้ แยกตัวจากตําบลภูซาง เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม 2538 ซึ่งกระทรวง มหาดไทยได้ประกาศตั้งและกําหนดเขตตําบลในท้องที่ขึ้นใหม่มีชื่อ ว่า ตําบลปาสัก โดยมีผลตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม 2538 เป็นต้น มา และได้รับการยกฐานะจากสภาตําบลปาสักเป็น องค์การบริหาร ส่วนตําบลปาสัก ตามประกาศของกระทรวงมหาดไทย เมื่อวัน ที่ 14 ธันวาคม 2542

้อมูลทั่วไป

นายบุญส่ง เ ียว จ นายกองค์การบริหารส่วนตําบลป่าสัก

องค์การบริหารส่วนตําบลป่ าสัก องค์การบริหารส่วนตําบลป่าสัก มีที่ทําการตั้งอยู่ที่เลข ที่ 99 บ้านข่วงแก้ว หมู่ที่ 9 ตําบลปาสัก อําเภอภูซาง จังหวัด พะเยา ปจจุบันเป็นที่ตั้งของที่ว่าการอําเภอภูซาง และมีนาย บุญส่ง เ ียว จ ดํารงตําแหน่ง นายกองค์การบริหารส่วนตําบลป่า สัก 96

องค์การบริหารส่วนตําบลป่าสัก มีพื้นที่รวมทั้งหมด ประมาณ 29 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 18,000 ไร่ สภาพ พื้นที่ส่วนใหญ่ขององค์การบริหารส่วนตําบลปาสักเป็นพื้นที่ราบลุ่ม ประมาณร้อยละ 95 และมีพื้นที่สูงประมาณร้อยละ 5 ของพื้นที่ ทั้งหมด มีแม่น้ําเปอย ลําห้วยช้างโค้ง ลําห้วยหัวเวียง และลําห้วย เหลกไหลผ่าน เ ตการปกครอง ปจจุบันมีจํานวนหมู่บ้าน 10 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ที่ 1 บ้านแก หมู่ที่ 2 บ้านแก หมู่ที่ 3 บ้านต้นผึ้ง หมู่ ที่ 4 บ้านปาสัก หมู่ที่ 5 บ้านม่วงชุม หมู่ที่ บ้านแกใหม่ หมู่ที่ 7 บ้านปาสัก 2 หมู่ที่ 8 บ้านม่วงใหม่สมบูรณ์ หมู่ที่ 9 บ้านข่วงแก้ว และหมู่ที่ 10 บ้านเวียงแก ประชากร มีประชากรทั้งสิ้น 4,145 คน แยกเป็นชาย 2,081 คน หญิง 2,0 4 คน จํานวนครัวเรือน 1,505 ครัวเรือน ประชากรส่วนใหญ่ร้อยละ 90 ประกอบอาชีพทางการเกษตร ทํานา ทําไร่ ทําสวน พืชที่ปลูก ได้แก่ ข้าว ข้าวโพด ถั่วลิสง หอมแดง กระเทียม ยางพารา สําหรับไม้ผลส่วนใหญ่นิยมปลูก ได้แก่ ลําไย มะขามหวาน การเลี้ยงสัตว์ส่วนใหญ่จะเลี้ยงสุกร โค กระบือ โดย เลี้ยงไว้ขายและบริโภค ด้านอุตสาหกรรมในครัวเรือน ได้แก่ การตัด เยบเสื้อผ้าสําเรจรูป และการถักผ้า


แหล่งท่องเที่ยวสําคัญ

วัดบ้านแก หมู่ที่ 1, วัดบ้านแกใหม่ หมู่ที่ , วัดบ้านปาสัก หมู่ที่ 4, วัดปาสักธรรมพิทักษ์มงคล หมู่ที่ 7, วัดบ้านม่วงชุม หมู่ที่ 5 และสํานักสง ์ หมู่ที่ 8

ผลิตภัณ ์ T

องตําบลป่าสัก

ตะกร้า กระด้ง สุ่มไก่ กระติบข้าว เข่ง หมวก กระบวยตักน้ําไม้กวาด ก้านมะพร้าว ไม้กวาดดอกหญ้า สวิง กระเปาผ้า ดอกไม้จันทน์ฯลฯ ทั้งนี้สมาชิกกลุ่มจะหมุนเวียนกันมาทําหน้าที่ขายผลิตภัณฑ์ทุกวัน โดยมีกลุ่มต่าง ๆ ดังนี้ 1. กลุ่มจักสานผู้สูงอายุบ้านแก หมู่ที่ 1, กลุ่มดอกไม้จันทน์ หมู่ที่ 1 2. กลุ่มจักสานผู้สูงอายุบ้านแก หมู่ที่ 2 3. กลุ่มจักสานผู้สูงอายุบ้านต้นผึ้ง หมู่ที่ 3 4. กลุ่มจักสานผู้สูงอายุบ้านปาสัก หมู่ที่ 4 5. กลุ่มจักสานผู้สูงอายุบ้านแกใหม่ หมู่ที่ . กลุ่มจักสานผู้สูงอายุบ้านม่วงใหม่สมบูรณ์ หมู่ที่ 8, กลุ่มจักสานหมวกจากไม้ไผ่ หมู่ที่ 8 9. กลุ่มจักสานผู้สูงอายุบ้านข่วงแก้ว หมู่ที่ 9 10. กลุ่มจักสานผู้สูงอายุบ้านเวียงแก หมู่ที่ 10, กลุ่มตัด เยบผ้าสตรี หมู่ที่ 10

ผลิตภัณ ์หญ้าแฝก โดยใช้หญ้าแ กมาจักสานเป็น ผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ต่าง ๆ เช่น กระเปาหญ้าแ ก ที่ใส่ขวดไวน์ ตะกร้า ผ้าปูโต๊ะ/ผ้ารองจาน ซึ่งเป็นการสานหญ้าแ กผสมกับผ้า ายพื้นเมืองเป็นที่รองจาน/ที่ปูโต๊ะ เป็นต้น สถานที่จําหน่าย กลุ่มผลิตภัณฑ์หญ้าแ กบ้านแกใหม่ 143 หมู่ที่ บ้านแกใหม่ ถนนสบบง-บ้าน วก ตําบลปาสัก อําเภอ ภูซาง จังหวัดพะเยา 5 110 ติดต่อ : นางเขมทอง ค้ําจุน โทร : 08 9835 3828 อีเมล: cdphayao@hotmail.com ผลิตภัณ ์จากกลุ่มต่าง นตําบลป่าสัก สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : องค์การบริหารส่วนตําบลป่าสัก อําเภอภูซาง จังหวัดพะเยาโทรศัพท์ 0 5446 5342 ต่อ 103 ปจจุบันในเขตอบต.ปาสัก มีการรวมกลุ่มอาชีพของผู้สูง โทรสาร 0 5446 5342 ต่อ 108 อีเมลล์ admin@tambonpasak.go.th อายุ เพื่อสืบสานภูมิปญญาอันทรงคุณค่า และเสริมร้างรายได้ให้กับ ผู้สูงอายุ โดยการผลิตและจําหน่ายผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ของกลุ่ม เช่น

PHAYAO 97


เส้นทางพบ

องค์การบริหารส่วนตําบล

ข้อมูลทั่วไป องค์การบริหารส่วนตําบลทุง่ กล้วย มีพน้ ื ทีท่ ง้ ั หมด 8,750 ไร่ หรือ 110 ตารางกิโลเมตร มีประชากร จํานวน 8,083 คน โดยแบ่ง การปกครองออกเป็น 12 หมู่ คือ หมู่ 1 บ้านก๊อน้อย หมู่ 7 บ้านหัวนา หมู่ 2 บ้านก๊อหลวง หมู่ 8 บ้านปงใหม่ หมู่ 3 บ้านทุ่งกวาว หมู่ 9 บ้านงุ้น หมู่ 4 บ้านทุ่งกล้วย หมู่ 10 บ้านคอดยาว หมู่ 5 บ้านทุ่งกล้วย หมู่ 11 บ้านก๊อซาว หมู่ บ้านสา หมู่ 12 บ้านใหม่รุ่งทวี ร้อยตรีเกรียงไกร อุทธิยา นายกองค์การบริหารส่วนตําบลทุ่งกล้วย

อบต.ทุ่งกล้วยชวนเที่ยว

พระธาตุ นุ บง ตั้งอยู่ที่บ้านสา หมู่ ตําบลทุ่งกล้วย อําเภอภูซาง จังหวัด พะเยา ตามคําบอกเล่าของพ่ออุ้ยมา ตันคํามูล อายุ 7 ปี บอกว่า เดิมทีวัดพระธาตุขุนบง มีชื่อเรียกกันว่า พระธาตุห้วยบง (เพราะแถว ๆ นัน้ จะมีลาํ ห้วย) ในอดีตมีพระชาวขอม (ผูเ้ คยบุกเบิกสร้างพระธาตุดอยคํา บ้านสบสา ต.ร่มเยน อ.เชียงคํา จ.พะเยา มาก่อน) เดินทางมาสร้างพระ ธาตุห้วยบง และได้ทําพิธีบรรจุสิ่งศักดิ์สิทธิ์ และของมีค่าต่าง ๆ มากมาย ทีค่ ณะศรัทธาทัว่ ทัง้ ตําบลได้นาํ มาบริจาค แล้วร่วมแรงร่วมใจสร้างเป็นองค์ “พระธาตุสูงส่ง อ่างขุนบงแหล่งชี วิต พระเจดีย์ เศรษฐกิจยางพารา ศาสนาวัฒนธรรมรุ่งเรือง” ต่อมาพระภิกษุรปู นัน้ ได้มรณภาพลงด้วยโรคชรา พระธาตุแห่งนีก้ ร้าง ไประยะหนึ่ง และมีคนขโมยขุดเอาของมีค่าในพระธาตุไป ข่าวนี้ไปถึงเจ้า องค์การบริหารส่วนตําบลทุ่งกล้วย ตั้งอยู่ เลขที่ 128 หัวเมือง ๆ กได้ทําการบูรณะซ่อมแซมขึ้นมาใหม่ และพระธาตุแห่งนี้ได้ หมู่ 9 ตําบลทุ่งกล้วย อําเภอภูซาง จังหวัดพะเยา ปจจุบันมี ร้อยตรี เกิดปา หิ าริยข์ นึ้ ทุกครัง้ ในคืนก่อนวันขึน้ 15 คํา่ คือ จะมีปราก การณ์ เกรียงไกร อุทธิยา ดํารงตําแหน่ง นายกองค์การบริหารส่วนตําบล แสงสว่างเหมือนลูกแก้วแผ่รศั มีสวยงาม เคลือ่ นทีข่ นึ้ ลง ๆ ทีต่ น้ เปาข้าง ๆ พระธาตุ และจะหยุดหายไปตรงพระธาตุดอยคําเสมอ เป็นทีน่ า่ มหัศจรรย์ ทุ่งกล้วย ซึ่งบริหารงานให้บรรลุวิสัยทัศน์ที่ว่า ชุมชนเ ้มแ ง สาธารณูปโภคทั่ว ึง เศรษฐกิจพอเพียง ของผู้เฒ่าผู้แก่ในสมัยนั้นเป็นอย่างยิ่ง ต่อมาครูบาคําหล้า สังวโร ได้เหนปา ิหาริย์ เช่นนี้อยู่เสมอพระ พร้อมสู่ประชาคมอาเซียน อาจารย์ครูบาคําหล้า สังวโร จึงได้เดินทางจากพระธาตุดอยคํามาป ิบัติ

องค์การบริหารส่วนตําบลทุ่งกล้วย

98


ธรรมอยู่ที่พระธาตุขุนบง โดยเริ่มแรกที่พระอาจารย์ครูบาคําหล้า สังว โร ได้ให้คณะศรัทธาแผ้วถางบริเวณพระธาตุใหม่ และชาวบ้านกได้ไป เจอพระพุทธรูปองค์หนึ่งขนาด 2 นิ้ว จึงได้นําไปให้ท่านพระ หลังจาก นัน้ พระอาจารย์ครูบาคําหล้าจึงได้ทาํ พิธบี รรจุพระพุทธรูปองค์นนั้ พร้อม สิ่งของที่ถือว่าศักดิ์สิทธิ์ สิ่งของอันมีค่าที่คณะศรัทธาได้ร่วมกันเอามาลง ในบริเวณที่สร้างพระธาตุใหม่ โดยห่างจากพระเจดีย์เดิมประมาณ 2 ศอกแล้ว พระอาจารย์ครูบาคําหล้า สังวโร บูรณป ิสังขรณ์พระธาตุนี้ ขึ้นมาใหม่ โดยให้ชื่อว่า พระธาตุจอมทอง ในปี พ.ศ. 2500 หลังจาก นั้นมากเป็นที่ศรัทธาของคนทั้งอําเภอเชียงคํา และอําเภอใกล้เคียง พระ อาจารย์ครูบาคําหล้า สังวโร เหนว่าพระธาตุแห่งนี้มีพระภิกษุสามเณร อยู่ติดต่อกันมาตลอดทุกปี จึงได้ธุดงค์ไปป ิบัติธรรมสํานักป ิบัติธรรม ต่อไปจนมรณภาพ ต่อมาในปี พ.ศ. 2537 มีพระอาจารย์กิ่ง ชวนปญโญ รักษา การศาสนสถานแห่งนี้ และได้บูรณะพระธาตุ สร้างเสนาสนะเพิ่มเติม แล้วมีพระภิกษุสามเณรอยู่จําพรรษาในสํานักสง ์แห่งนี้มาตลอด โดย ท่านจัดให้มีพิธีสรงนํ้าพระธาตุในวันสงกรานต์ของทุกปี ต่อมาท่านได้ มรณภาพเมือ่ วันที่ 17 ธันวาคม 2543 จนมาถึงวันที่ 23 ธันวาคม 2544 พระอาจารย์ธงชัย วิจักขะโณ ได้มาป ิบัติธรรมอยู่บนวัดพระธาตุขุน บงแห่งนี้จนถึงปจจุบัน วัดกอซาว สร้างเมื่อ พ.ศ. 2225 เรียกอีกชื่อว่า วัดก๊อหลวง ตั้ง อยู่เลขที่ 223 บ้านก๊อซาว หมู่ที่ 11 ตําบลทุ่งกล้วย อําเภอภูซาง จังหวัดพะเยา สังกัดคณะสง ์มหานิกาย ที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ 5 ไร่ 3 งาน 8 ตารางวา อ่างเกบนําห้วยบง ตั้งอยู่ที่บ้านสา หมู่ ต.ทุ่งกล้วย เป็นอ่างเกบนํ้าขนาดใหญ่ สร้างโดยงบประมาณกรมชลประทาน เมือ่ ปี พ.ศ.2530 เพือ่ ให้เกษตรกร ในพื้นที่ตําบลทุ่งกล้วย และพื้นที่ใกล้เคียงได้ใช้ประโยชน์ทางการเกษตร และยังเป็นสถานที่พักผ่อนหย่อนใจของชาวตําบลทุ่งกล้วย และบุคคล ทั่วไป การเดินทาง ใช้ทางหลวงหมายเลข 1093 ถนนสบบง- บ้าน วก ตําบลทุ่งกล้วย อําเภอภูซาง จังหวัดพะเยา PHAYAO 99


กลุ่มวิสาหกิจ / สินค้า OTOP ของตําบล

กลุ่มผ้าทอมือไทลื้อ บ้านทุ่งกล้วย หมู่ที่ 5 กลุ่มสตรีสหกรณ์ผลิตภัณฑ์หญ้าแ ก บ้านก๊อซาว หมู่ที่ 11 กลุ่มสตรีสหกรณ์แปรรูปอาหาร บ้านก๊อหลวง หมู่ที่ 2 กลุ่มข้าวกล้อง บ้านปงใหม่ หมู่ที่ 8 กลุ่มปน าย บ้านทุ่งกวาว หมู่ที่ 3 กลุ่มผ้าปกม้ง บ้านคอดยาว หมู่ที่ 10 กลุ่มผ้าปกม้ง บ้านใหม่รุ่งทวี หมู่ที่ 12 ฟาร์มเหดสุขใจ หมู่ที่ 8 กิจกรรมสําคัญและงานบุญประเพณี ประเพณีสรงนํ้าพระธาตุขุนบง (แปดเป็ง) ประเพณีสลากภัตรวัดพระธาตุขุนบง

100


àÊŒ¹·Ò§ AEC

เ ดหมู่บานอุ ตสาหกรรม ท่องเที่ยวรับ AEC

กรมส่งเสรมอุ ตสาหกรรม กสอ. เ ดตัว หมู่บานอุ ตสาหกรรมเพ่อการท่องเที่ยว โอทอ อนด์ คัลเจอร์ วลเลจ สรางความเก กภาย ต อัตลัก ์เดมของหมู่บาน หวังดงนักท่องเที่ยวกว่า 10 ลานคน ดร สมชาย หาญหิรญ ั อธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กล่าวว่า รัฐบาลมีแนวทางในการส่งเสริมการสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์จากภูมิปญญา ท้องถิ่น ผ่านการส่งเสริมอุตสาหกรรมชนบท ควบคู่ไปกับการพัฒนา การท่องเทีย่ ว เพือ่ สร้างรายได้ให้กบั ชุมชน รวมทัง้ ผลักดันให้เกิดการพัฒนา ผลิตภัณฑ์ควบคูไ่ ปกับการพัฒนาการท่องเทีย่ ว ซึง่ เชือ่ มโยงกับหลาย หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง อาทิ การท่องเทีย่ วแห่งประเทศไทย องค์การบริหาร การพัฒนาพืน้ ทีพ่ เิ ศษเพือ่ การท่องเทีย่ วอย่างยัง่ ยืน (องค์การมหาชน) โดย กสอ. ได้นาํ ร่องพัฒนา หมูบ่ า้ น ได้แก่ บ้านเชียง จ.อุดรธานี ซึง่ เป็นพืน้ ทีม่ รดกโลกทางวัฒนธรรม และเป็นแหล่งผลิตเครือ่ งปนดินเผา และผ้าทอมือ บ้านนาตีน จ.กระบี่ ซึง่ เป็นศูนย์กลางการท่องเทีย่ วทีม่ ี ชือ่ เสียง และมีผลิตภัณฑ์จากกะลามะพร้าว ผ้าบาติก สมุนไพรพืน้ บ้าน เพือ่ สุขภาพ บ้านนาต้นจัน่ จ.สุโขทัย แหล่งมรดกโลกด้านอารยธรรม มีสนิ ค้าโอทอปขึน้ ชือ่ ได้แก่ ผลิตภัณฑ์จากผ้าหมักโคลน เครือ่ งถมเงิน บ้านโพธิกอง จ.สุรินทร์ ซึ่งมีสินค้าทางวัฒนธรรมที่หลากหลาย เช่น ผ้าไหมมัดหมี่ เสือ่ กก เครือ่ งจักสาน เครือ่ งประดับของสตรี กําไล เขมขัด นํา้ พริกปนปลาช่อน บ้านนาตาโพ จ.อุทยั ธานี มีสนิ ค้าทีโ่ ดดเด่นคือผ้า ทอลายโบราณบ้านนาตาโพ ซึง่ นํามาทําเป็นผลิตภัณฑ์ตา่ งๆ อาทิ ผ้าซิน่ จก ผ้าซิน่ ตีนจก ผ้าขาวม้า ผ้ารองจาน และบ้านคีรวี ง จ.นครศรีธรรมราช ซึง่ มีสนิ ค้าโอทอประดับ 4 และ 5 ดาว จํานวน ผลิตภัณฑ์ อาทิ สบูด่ อกไม้ เสื้อผ้าบาติก เครื่องประดับจากลูกไม้ ซึ่งคาดว่าโครงการนี้จะสามารถสร้างเมดเงินกระจายสู่ชุมชนนําร่อง หมูบ่ า้ นได้กว่า 20 ล้านบาทต่อปี และคาดว่าจะมีนกั ท่องเทีย่ วเข้ามา ในจังหวัดดังกล่าวเพิม่ ขึน้ กว่า 10-15 จากจํานวนนักท่องเทีย่ วปจจุบนั รวมกว่า 8.4 ล้านคนต่อปี ทั้งนี้จากสถิติโดยภาพรวมของ ประเทศไทย ในปี 2558 มีผลิตภัณฑ์โอทอปกว่า 1 แสน รายการ มีผปู้ ระกอบการวิสาหกิจชุมชนรวม 31,741 ราย มูลค่าอุตสาหกรรมกว่า 9 หมื่นล้านบาท และมีการ ขยายตัวร้อยละ 10 เมื่อเทียบกับปี 2557 ทัง้ นี้ กสอ. มีแนวทางในการส่งเสริมหมูบ่ า้ น ต่างๆ ให้เป็น หมู่บ้านอุตสาหกรรมเพ่อ การท่องเทีย่ ว โอทอป แอนด์ คัลเจอร์ วิลเลจ ผ่าน 5 กลยุทธ์ ได้แก่ 1 ค้นหา ST โดยคัดเลือก หมูบ่ า้ นนําร่องมาเป็นตัวอย่าง ในการพั ฒ นาสิ น ค้ า ชุมชน โดยคัดเลือก

จาก ชุ ม ช น วิถไี ทยดัง้ เดิม ที่คงเอกลักษณ์ วัฒนธรรมไทย และ มี ค วามคิ ด สร้ า งสรรค์ ในการผลิ ต สิ น ค้ า จากภู มิ ปญญา 2 สร้าง I โดยการ ค้ น หาความโดดเด่ น จากผลิ ต ภั ณ ฑ์ ต้องมีความหลากหลายและสามารถหา เอกลักษณ์จากสินค้านั้น ๆได้ เพื่อให้ตรงกับ ความต้องการของผู้บริโภคมากที่สุด 3 ปรับ I การส่งเสริมในด้านการออกแบบ บรรจุภัณฑ์ รวมไปถึงการพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์ให้มี ความทันสมัย สร้างความน่าเชือ่ ถือให้กบั ผูบ้ ริโภค และสามารถ เพิ่มมูลค่าให้กับสินค้านั้นๆได้ 4 ส่ I ผ่านการ กอบรมและศึกษาดูงานชุมชน ต้นแบบให้กบั ผูท้ ไี่ ด้รบั เลือกเข้าโครงการฯ เพือ่ ให้ความรูใ้ นการผลิตสินค้า ให้ออกมาดี และมีคณ ุ ภาพมากทีส่ ดุ เพือ่ ยกระดับมาตรฐานของสินค้าโอทอป ให้สามารถส่งออกจําหน่ายทั้งในประเทศและต่างประเทศได้ 5 เช่อม T การบริหารจัดการในการเชือ่ มโยง สินค้าจากชุมชนสู่ตลาดทั้งในประเทศและต่างประเทศ โดย กสอ. มี แนวทางการจับคูธ่ รุ กิจ ตลอดจนเปดตลาดใหม่ๆ ให้กบั ผูป้ ระกอบการ โอทอป โดยประเทศทีม่ คี วามนิยมสินค้าโอทอปของไทย เช่น ประเทศ จีน ญี่ปุน เป็นต้น สําหรับกลุ่มสินค้าที่มีโอกาสเติบโตในตลาดต่าง ประเทศ เช่น ผลไม้แปรรูป อาหารแปรรูป ผลิตภัณฑ์สิ่งทอ ทังนี กสอ ตังเปาหมายทีจ่ ะพั นาหมูบ่ า้ นอุตสาหกรรมเพ่อการ ท่องเทีย่ ว ห้ได้อย่างน้อย จังหวัดละ 1 หมูบ่ า้ น โดยมีกาํ หนดเปิดตัว ทั่วประเทศ นเดอนสิงหาคมนี PHAYAO 101


เส้นทางพบ นายอําเภอ

นายศักดิชัย โชติมานนท์ นายอําเภอจุน ปกครองกระทรวงมหาดไทย ตําบลลอ ตําบลจุน อยู่ในเขตปกครองของ อําเภอเชียงคํา จังหวัดเชียงราย ต่อมาได้ยกฐานะขึน้ เป็นกิง่ อําเภอจุนและ ขยายอาณาเขตมาอยูท่ ตี่ าํ บลห้วยข้าวกํา่ ตามแนวความคิดวางผังเมืองของ ขุนไชยสถานมงคล เมื่อวันที่ 24 มกราคม พ.ศ. 250 และวันที่ 28 “พระธาตุขิงแกง แหล่งปลาค้าว ค่าวหงส์หิน กรกฎาคม พ.ศ.2508 ได้ยกฐานะเป็นอําเภอจุน จังหวัดเชียงราย ต่อมา ่ถินเวียงลอ พืชผลเกษตรเพียงพอ ข้าวกํ่างาม” ได้มีการแยกจังหวัดใหม่คือจังหวัดพะเยา อําเภอจุนจึงได้อยู่ในเขตการ ปกครองของจังหวัดพะเยา ตั้งแต่วันที่ 28 สิงหาคม พ.ศ. 2520 จนถึง คือคําขวัญอําเภอจุน ซึ่งมีที่ว่าการอําเภอตั้งอยู่เลขที่ 3 1 หมู่ ปจจุบันนี้ ที่ 1 ตําบลห้วยข้าวกํ่า อําเภอจุน จังหวัดพะเยา โดยตั้งอยู่ทางทิศตะวัน ออกเฉียงเหนือห่างจากจังหวัดพะเยา ประมาณ 48 กิโลเมตร ปจจุบันมี ความสําคัญของอําเภอจุ น นายศักดิชัย โชติมานนท์ เป็น นายอําเภอจุน อําเภอจุนเคยมีการเสดจฯเยือนพื้นที่ของพระมหากษัตริย์และ พระบรมวงศานุวงศ์ ดังนี้ ประวัติความเป็นมา - วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 253 สมเดจพระเทพรัตนราชสุดา อําเภอจุน เดิมชื่อ เวียงลอ เป็นเมืองที่มีอารยธรรมรุ่งเรือง สยามบรมราชกุมารี ทรงเป็นองค์ประธานในการเปดห้องสมุดประชาชน มานานร่วมสมัยกับเมืองพะเยา ซึ่งเป็นอาณาจักรหนึ่งของล้านนาไทย เฉลิมราชกุมารี ตําบลห้วยข้าวกํ่า อําเภอจุน จังหวัดพะเยา พงศาวดารฉบับหอสมุดแห่งชาติ เขียนไว้ว่า พญาเจอง หรือขุนเจิง(พ.ศ. - วันที่ 25 ตุลาคม พ.ศ.2537 สมเดจพระเทพรัตนราชสุดา 1 25 1705) ได้เกณฑ์ผู้คนจากเวียงลอไปช่วยรบกับพวกแกวที่มาตีเมือง สยามบรมราชกุมารี เสดจฯทรงเยี่ยมโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 24 เงินยาง โดยใช้วิธีตีกลองนีนทะเภรี ปาวลี้พลเมืองพะเยา เมืองละ พ.ศ. อําเภอจุน จังหวัดพะเยา 1770 พวก ่อแมนตาตอกยกทัพมาตีอาณาจักรล้านนากตีเอาเมืองลอด้วย - วันที่ 2 กุมภาพันธ์ 255 สมเดจพระเทพรัตนราชสุดา แต่ยกเว้นเมืองน่าน สยามบรมราชกุมารี เสดจฯทรงเยีย่ มโรงเรียนห้วยข้าวกํา่ วิทยา พระปริยตั ิ จากพงศาวดารจึงพอสันนิษฐานได้วา่ เวียงลอ เป็นเมืองโบราณ ธรรมแผนกสามัญศึกษา ตําบลห้วยข้าวกํ่า อําเภอจุน จังหวัดพะเยา ที่มีอายุไม่ตํ่ากว่า 900 ปีมาแล้ว ต่อมามีการเปลี่ยนแปลงการจัดการ

อําเภอจุ น

102


ข้อมูลทั่วไป อําเภอจุน มีพื้นที่ 4 0 ตร.กม. หรือประมาณ 357,019 ไร่ ลักษณะภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นที่ราบสูงและภูเขา โดยมีพื้นที่เป็นที่ราบ สําหรับทีอ่ ยูอ่ าศัยและเพาะปลูก ประมาณร้อยละ 70 ของพืน้ ที่ เป็นภูเขา และปาไม้ประมาณร้อยละ 30 ปาไม้สว่ นใหญ่เป็นปาไม้เบญจพรรณ ได้แก่ ไม้เปา(รัง) ไม้แงะ(เตง) ไม้ปวย ไม้สัก และไม้ประดู่ ด้านเกษตรกรรม อําเภอจุนมีพืชเศรษฐกิจที่สําคัญ ได้แก่ ข้าว ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ลําไย แก้วมังกร ยางพารา มันสําปะหลัง และปาล์มนํ้ามัน

สถานที่ท่องเที่ยวสําคัญ

แหล่งท่องเที่ยวด้านโบราณส าน 1 โบราณส านเวียงลอ ตั้งอยู่บ้านเวียงลอ หมู่ท่ี 11 ต.ลอ เมืองเวียงลอนัน้ ถือเป็นเมืองหน้าด่านของอาณาจักรพะเยาโบราณทีม่ อี ายุ มากกว่า 900 ปีมาแล้ว และเคยเข้าร่วมในทัพของขุนเจือง วีรบุรุษแห่ง ลุ่มแม่นํ้าโขงในการรบกับอาณาจักรต่าง ๆ ต่อมาในสมัยล้านนา กลาย เป็นดินแดนกันชนของล้านนาและสุโขทัย ดังนั้นรูปทรงของวัดวาอาราม ที่เมืองเวียงลอแห่งนี้ จึงมีลักษณะร่วมของศิลปะ 2 อาณาจักร ต่อมา เมื่ออาณาจักรล้านนาตกเป็นของพม่า เมืองเวียงลอจึงได้กลายเป็นแหล่ง ซ่องสุมไพร่พลของพม่า จนกระทั่ง พ.ศ. 2322 จึงถูกพระเจ้ากาวิละ กวาดต้อนไป และตัง้ มัน่ ขึน้ ใหม่ในสมัยรัชกาลที่ 5 โดยชาวเมืองน่าน แพร่ และพะเยา อําเภอจุน ได้จัดงานประเพณี ปูจาพญาลอ ช่วงเดือนเมษายน เป็นประจําทุกปี 2. วัดพระธาตุขิงแกง ตั้งอยูบ่ ้านธาตุขิงแกงบน หมู่ที่ 5 ต.พระ ธาตุขิงแกง ห่างจากอําเภอจุน ประมาณ 10 กิโลเมตร ตัววัดตั้งอยู่บน เนินเขาธาตุขิงแกง ซึ่งสามารถมองเหนทัศนียภาพของหมู่บ้านขิงแกงได้ อย่างชัดเจน องค์พระธาตุเป็นศิลปะแบบล้านนา ประเพณีสําคัญของวัด เช่น ประเพณีทานสลากภัตร ประเพณีสรงนํ้าพระธาตุขิงแกง (ประเพณี เดือน 7 เป็ง) ซึ่งพระธาตุขิงแกงนั้นได้บรรจุพระบรมสารีริกธาตุไว้

แหล่งท่องเที่ยวตามธรรมชาติ 1. เขตรักษาพันธุ์สัตว์ปาเวียงลอ ตั้งอยู่บ้านเซียะ หมู่ที่ 4 ต.จุน อยูห่ า่ งจากอําเภอจุน 5 กิโลเมตร มีเนือ้ ทีค่ รอบคลุม 4 อําเภอ อ.ดอกคําใต้ อ.จุน อ.เชียงคํา และ อ.ปง เนื้อที่ทั้งหมด 231,875 ไร่ สภาพภูมิประเทศ เป็นปาดงดิบ ปาต้นนํา้ อุดมสมบูรณ์ เป็นแหล่งอาศัยของสัตว์ปาหายาก เช่น เลียงผา กวาง นกยูง เนื้อทราย ละอง ละมั่ง ไก่ฟาหลังขาว นกแว่นสีเทา เป็นแหล่งต้นนํ้าสําคัญ 2 สาย คือ แม่นํ้ายมและแม่นํ้าอิง เป็นแหล่งอาศัย ของนกอพยพในช่วงฤดูหนาวเดือนพฤศจิกายน-มกราคม กิจกรรมท่องเทีย่ วทางธรรมชาติทนี่ า่ สนใจคือ ช่วงเดือนมีนาคมถึงเมษายน มีกิจกรรมตามรอยละมั่ง ณ ที่แห่งนี้มีนกยูงอาศัยอยู่เยอะมาก ชาวบ้านที่ อยู่รอบ ๆ จึงมีรายได้พิเศษจากการดูแลนกยูงซึ่งเป็นการอนุรักษ์อีกทาง หนึ่งด้วย 2.อ่างเกบนํ้าจุน ตั้งอยู่บ้านเซียะ หมู่ที่ 4 ต.จุน เป็นโครงการ ตามพระราชดําริของพระบาทสมเดจพระเจ้าอยู่หัวฯ เพื่อจัดหาแหล่งนํ้าให้ แก่ชาวอําเภอจุน ได้มีนํ้าใช้ในการอุปโภค บริโภค และการเกษตร โดย การก่อสร้างอ่างเกบนํ้านํ้าจุน เมื่อวันที่ 21 เดือน มีนาคม พ.ศ.2532 3. ปาใหญ่ตะเคียนงาม ตั้งอยู่บ้านแม่ทะลาย หมู่ที่ 2 ต.พระ ธาตุขิงแกง เป็นปาธรรมชาติที่มีบรรยากาศร่มรื่น มีพันธุ์ไม้ต่าง ๆ โดย เฉพาะมีต้นตะเคียนทองขนาดใหญ่จํานวนมาก และมีขนาดสูงใหญ่ราว 5 - คนโอบ โดยมีเส้นทางเดินเท้าเข้าชมประมาณ 2 กม. PHAYAO 103


เส้นทางพบ

องค์การบริหารส่วนตําบล

2. นายสุบิน โพธิสาร รองนายกองค์การบริหารส่วนตําบล 3. นายศรีจันทร์ ศรีธนะ รองนายกองค์การบริหารส่วนตําบล 4. นางนวลจันทร์ กุดปอง ปลัดองค์การบริหารส่วนตําบล 5. นายประสิทธิ์ ทวีจันทร์ กํานันตําบลพระธาตุขิงแกง . นายสมพร สะสาง ประธานสภาองค์การบริหารส่วนตําบล ซึ่งผู้นําชุมชนทุกท่านต่างร่วมใจกันพัฒนาตําบลพระธาตุขิงแกง ตามวิสัยทัศน์ที่ว่า สาธารณูปโภคครบครัน ยึดมั่นหลักธรรมาภิบาล ใส่ใจบริการ ประชาชน สร้างชุมชนเข้มแขง นายจันทร์ ทองเอก นายกองค์การบริหารส่วนตําบลพระธาตุ ิงแกง

องค์การบริหารส่วนตําบลพระธาตุขิงแกง “ ศักดิ์สิทธิ์พระธาตุขิงแกง แหล่งวัฒนธรรมลํ้าค่า อนุรักษ์ป่า ตะเคียนงาม มะขามหวานฉํ่า ทําการเกษตรพอเพียง” คือคําขวัญตําบลพระธาตุ งิ แกง ซึง่ อยูใ่ นความดูแลขององค์การ บริหารส่วนตําบลพระธาตุขิงแกง เลขที่ 1 บ้านสันทุ่งใต้ หมู่ที่ 3 ตําบล พระธาตุขิงแกง อําเภอจุน จังหวัดพะเยา โดยอยู่ห่างจากอําเภอจุน ประมาณ 9 กิโลเมตร และอยู่ห่างจากอําเภอเมืองพะเยา ประมาณ 54 กิโลเมตร ปจจุบันตําบลพระธาตุขิงแกง มีผู้นําชุมชนที่สําคัญ ประกอบด้วย 1. นายจันทร์ ทองเอก นายกองค์การบริหารส่วนตําบล 104

ประวัติตําบลพระธาตุขิงแกง เมื่อประมาณปี พ.ศ. 2395 มีชาวบ้านอพยพมาจากบ้านเมืองหม้อ จังหวัดแพร่ ประกอบด้วยนายปุลิน-นางมูล-นางหน้า พระบาลี สามพี่น้อง ทีไ่ ด้อพยพมาตัง้ ถิน่ ฐานอยูท่ บี่ า้ นธาตุขงิ แกง และนอกจากนัน้ ยังมีครอบครัว ที่อพยพมาเพิ่ม คือ ตระกูลธนะวงศ์ ตระกูลบุญสิงมา และตระกูลไชย สถาน ซึ่งอพยพมาจากบ้านกองแล อําเภอปง จังหวัดพะเยา มีทั้งหมด 4 ตระกูล 7 ครอบครัว จนกลายเป็นหมู่บ้านพระธาตุขิงแกง ซึ่งอยู่ในความ ปกครองของเขตตําบลจุน ต่อมาเมือ่ มีราษฎรเพิม่ มากขึน้ จึงได้แยกหมูบ่ า้ น ออกจากตําบลจุน ตั้งเป็นตําบลพระธาตุขิงแกง เมื่อปี พ.ศ. 253 โดย มี นายดี ศรีธนะ เป็นกํานันตําบลพระธาตุขิงแกงคนแรก ข้อมูลทั่วไป ตําบลพระธาตุขิงแกง มีเนื้อที่โดยประมาณ 78 ตารางกิโลเมตร หรือ 48,750 ไร่ ลักษณะภูมิประเทศตั้งอยู่บนพื้นที่ราบขนาบด้วยลําห้วย สลับภูเขา เป็นแหล่งต้นนํ้าลําธารที่สําคัญ 2 สาย ได้แก่ ลําห้วยแม่วังช้าง และลําห้วยแม่ทะลาย ซึ่งเป็นสายนํ้าหล่อเลี้ยงชีวิตผู้คนมาช้านาน องค์การบริหารส่วนตําบลพระธาตุขิงแกง มีเขตพื้นที่รับผิดชอบ ครอบคลุมหมู่บ้าน จํานวน 9 หมู่บ้าน ประกอบด้วย หมู่ที่ 1 บ้านแม่วัง ช้าง หมู่ที่ 2 บ้านแม่ทะลาย หมู่ที่ 3 บ้านธาตุสันติธรรม หมู่ที่ 4 บ้าน


ธาตุขิงแกงล่าง หมู่ที่ 5 บ้านธาตุขิงแกงบน หมู่ที่ บ้านธาตุสันทุ่งใต้ หมู่ ที่ 7 บ้านธาตุสันดงทอง หมู่ที่ 8 บ้านธาตุสันติสุข และหมู่ที่ 9 บ้านธาตุ ขิงแกงใหม่ มีจํานวนประชากรประมาณ 5,081 คน ประชาชนส่วนมาก เป็นชาวล้านนา หรือคนพื้นเมืองเหนือ แหล่งท่องเที่ยวสําคัญ วัดพระธาตุขิงแกง ตั้งอยู่ที่บ้านธาตุขิงแกงบน หมู่ที่ 5 เป็นวัดเก่าแก่ ทีม่ คี วามสําคัญกับอําเภอจุนมาช้านาน ภายในวัดมีพระธาตุขงิ แกงทรงล้าน นา มีขนาดใหญ่ ฐานกว้าง 15 เมตร สูง 20 เมตร ภายในบรรจุพระเกศา ธาตุและพระธาตุกระดูกเท้าข้างขวาของพระพุทธเจ้า รอบๆพระธาตุฯ ทั้ง 4 ด้านจะมีซุ้มเรือนแก้วภายในประดิษฐานพระพุทธรูป ซึ่งทางวัดจัดให้มี ประเพณีต่าง ๆ ตามแบบล้านนา เช่น ประเพณีทานสลากภัตร, ประเพณี เดือน 7 (การสรงนํ้าพระธาตุขิงแกง) ฯลฯ ปาตะเคียนงาม ตัง้ อยูใ่ นเขตพืน้ ทีห่ มูท่ ี่ 2 บ้านแม่ทะลาย เป็นปาต้นนํา้ ทีอ่ ดุ มสมบูรณ์ซงึ่ ได้รบั การอนุรกั ษ์และปกปองผืนปาจากจังหวัดพะเยาและ ชาวพระธาตุขงิ แกง โดยจัดให้มพี ธิ บี วชปา การจัดทํา ายชะลอนํา้ และเส้น ทางเดินศึกษาธรรมชาติเพื่อปลูกจิตสํานึกรักษ์ปา เป็นต้น อ่างเกบนํ้าบ้านแม่ทะลาย หมู่ที่ 2 บ้านแม่ทะลาย เป็นอ่างเกบนํ้า ขนาดเลกตัง้ อยูท่ า่ มกลางธรรมชาติของปาเขา โดยอยูก่ อ่ นถึงทางทีจ่ ะเข้าไป ในปาใหญ่ตะเคียนงาม เหมาะสําหรับเป็นแหล่งพักผ่อนหย่อนใจ และตกปลา

PHAYAO 105


สินค้า OTOP ตําบลพระธาตุขิงแกง ผ้าทอตีนจก บ้านแม่วังช้าง หมู่ที่ 1 แชมพูสมุนไพร บ้านธาตุขิงแกงล่าง หมู่ที่ 4 เครื่องจักสาน บ้านธาตุขิงแกงบน หมู่ที่ 5 นํ้าพริกข่า บ้านธาตุสันดงทอง หมู่ที่ 7 องค์การบริหารส่วนตําบลพระธาตุขิงแกง โทรศัพท์ 0-5442-1707 www.ptkg.go.t

106


àÊŒ¹·Ò§ AEC

ูนย์บรการส่งออก บบเบดเสรจ

ทางลัดเพ่อการส่งออก

หลังจากได้เพิ่มศักยภาพ อง กันจนมั่นใจแล้วว่าจะเริ่มส่ง ลิตภั ออกสู่ตลาดต่างประเทศบ้าง ปั จจุ บันนี้คุ สามารถด�าเนินการเรื่อง การส่งออกได้อย่างง่ายดายและรวดเร็ว จุ ดเดียวที่ “ศูนย์บริการ ส่งออกแบบเบ็ดเสร็จ” มาดูกันว่าศูนย์ฯนี้ให้บริการอะไรบ้าง และ ู ้ส่งออกจะได้รับสิท ิประโยชน์ด้านใดบ้างค่ะ บทบาทของ ูนย์บรการส่งออก บบเบดเสรจ

ศูนย์บริการส่งออกแบบเบดเสรจ กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ เป็นหน่วยงานทีเ่ สริมสร้างศักยภาพการแข่งขันด้าน การส่งออก และส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจอย่างยัง่ ยืน และเป็นหน่วย งานที่อํานวยความสะดวกให้แก่ผู้ส่งออกในการออกเอกสารรับรองต่างๆ และใบอนุญาตทีใ่ ช้ในการส่งออก ตลอดจนให้คาํ ปรึกษาและแนะนําใน ด้านเอกสารส่งออกในเชิงลึก มาไว้ ณ จุดเดียวกันภายในศูนย์บริการ ส่งออกแบบเบดเสรจ โดยได้รวมหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการส่งออก ทั้งภาครัฐและภาคเอกชนจํานวน 17 หน่วยงาน ดังนี้

หน่วยงาน หบรการออก บรับรอง/ บอนุ าตการ ส่งออก

1 กรมการค้าต่างประเทศ (ใบรับรองถิน่ กําเนิดสินค้า ( erti cate o rigin: / ) , Form , Form , Form E ( ina) , S , F โดยกรมการค้าต่างประเทศ) 2 กรมพั นาธุรกิจการค้า (ใบรับรองการจดทะเบียน ธุรกิจ , การขอจดทะเบียนธุรกิจ) 3 กรมปศุสัตว์ (ใบรับรองด้านสุขอนามัย สินค้าปศุสัตว์) 4 หอการค้าไทย (ใบรับรองถิน่ กําเนิด สิ น ค้ า และการรั บ รองเอกสารทั่ ว ไป ทางการค้า) 5 สํานักงานคณะกรรมการ กลางอิสลามแห่งประเทศ ไทย (ใบรับรองอาหาร าลาล)

หน่วยงาน หค�า รก า

1. ศูนย์บริการร่วมกระทรวงพาณิชย์ (ให้บริการข้อมูล/ข่าวสาร) 2. กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ (ให้คาํ ปรึกษาเกีย่ วกับข้อมูล การเจรจาการค้า และสิทธิประโยชน์ทางการค้าจากการมีขอ้ ตกลง F ) 3. กรมทรัพย์สนิ ทางปญญา (ให้คาํ ปรึกษาแนะนําด้านทรัพย์สนิ ทางปญญา) 4. กรมการค้าภายใน 5. กรมวิชาการเกษตร . กรมประมง 7. กรมการกงสุล 8. กรมศุลกากร (ให้บริการแนะนําด้าน พิกดั ศุลกากร อัตราศุลกากร พิธีการศุลกากร กฎว่าด้วยแหล่งกําเนิดสิทธิประโยชน์) 9. กรมควบคุมโรค 10. สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (ให้บริการให้คาํ แนะนํา เกี่ยวกับการนําเข้าและส่งออก อาหารและยา เครื่องมือแพทย์และ เครื่องสําอาง) 11. ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SME Bank) (ให้บริการด้านการเงินการธนาคาร) 12. สมาคมตัวแทนขนส่งสินค้าทางอากาศไทย 13. สมาคมผู้รับจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ

สท ระโยชน์

1. ผูส้ ง่ ออกได้รบั ความสะดวกสบายในการติดต่อกับหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการส่งออกสินค้าและบริการทุกกระบวน ณ แห่งเดียว 2. ผูส้ ง่ ออกสามารถประหยัดระยะเวลาในการเดินทางติดต่อขอรับ เอกสารการส่งออก ใบรับรองและใบอนุญาตจากหลายหน่วยงาน อันเป็น ผลมาจากการรวมหน่วยงานและกระบวนการดําเนินการไว้ ณ แห่งเดียว 3. ผูส้ ง่ ออกสามารถประหยัดค่าใช้จา่ ยในการเดินทาง และลดปญหา ซํา้ ซ้อนทีอ่ าจเกิดขึน้ กับผูส้ ง่ ออก จากการประสานงานติดต่อกับหน่วยงาน หลายแห่ง 4. ผูส้ ง่ ออกได้รบั คําแนะนํา ตลอดจนการแก้ไขปญหาอุปสรรคใน การส่งออกจากหน่วยงานตรงที่กํากับดูแล อันเป็นการส่งเสริมธุรกิจ การส่งออกให้ขยายตัวเพิ่มขึ้น

ตดต่อสอบ าม ดที่

ศูนย์บริการส่งออกแบบเบดเสรจ กระทรวงพาณิชย์ 22/77 ถนนรัชดาภิเษก เขตจตุจกั ร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ 0 2512 0123 โทรสาร 0 2512 3055 PHAYAO 107


เส้นทางพบ

องค์การบริหารส่วนต�าบล

ว่าที่ร้อยตรีเส ียร เวียงลอ นายกองค์การบริหารส่วนตําบลห้วยยาง าม

องค์การบริหารส่วนตําบลห้วยยางขาม “ม่อนหินเขียวลือเลื่อง เรืองนามลําไยหวาน พระธาตุสาม ดวงคู่บ้าน ตําหนักธรรมคู่เมือง รุ่งเรืองเกษตรกรรม” คือคํา วัญ องตําบลห้วยยาง าม ซึง่ อยูใ่ นความดูแลขององค์การ บริหารส่วนตําบลห้วยยางขาม มีสาํ นักงานตัง้ อยูเ่ ลขที่ หมู่ ตําบล ห้วยยางขาม อําเภอจุน จังหวัดพะเยา ปจจุบันมี ว่าที่ร้อยตรีเส ียร เวียงลอ ดํารงตําแหน่ง นายกองค์การบริหารส่วนตําบลห้วยยาง าม บริหารงานภายใต้วิสัยทัศน์การพัฒนาที่ว่า ท้อง ิ่นน่าอยู่ ชุมชนเ ้มแ ง แหล่งเกษตรปลอดภัย ก้าวไกล สู่อาเซียน ประวัติความเป็นมา องค์การบริหารส่วนตําบลห้วยยาง าม ได้รับการจัดตั้ง เป็น องค์การบริหารส่วนตําบลห้วยยางขาม ตามประกาศของกระทรวง 108

มหาดไทย ว่าด้วยเรื่อง ประกาศจัดตั้งให้เป็นองค์การบริหารส่วนตําบล ตั้งแต่วันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2540 ข้อมูลทั่วไป ตําบลห้วยยาง าม เป็นพื้นที่ที่มีถนน 3 ตัดผ่าน พื้นที่ส่วนใหญ่ เป็นพืน้ ทีร่ าบ ทุง่ นา มีพนื้ ทีส่ งู เนินเขาและภูเขาสูง มีพนื้ ทีท่ งั้ หมดประมาณ 52 ตารางกิโลเมตร หรือ 32,500 ไร่ เป็นพื้นที่เพื่อการเกษตร 15,7 1 ไร่ และเป็นพื้นที่สําหรับอยู่อาศัย 2,551 ไร่ (ที่เหลือเป็นพื้นที่ปาไม้) องค์การบริหารส่วนตําบลห้วยยาง าม แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 11 หมูบ่ า้ น อยูใ่ นเขต อบต. เตมทัง้ 11 หมูบ่ า้ น มีประชากรรวม 5,734 คน มีจํานวนหลังคาเรือนรวมทั้งสิ้น 2,240 หลัง ประชากรส่วนใหญ่ประกอบ อาชีพเกษตรกรรม ได้แก่ ทํานา ทําสวนผลไม้ สวนผัก ทําไร่ เลี้ยงสัตว์ ผลผลิตที่สําคัญจึงได้แก่ ข้าว หอม กระเทียม ลําไย แก้วมังกร อาชีพนอก ภาคเกษตรกรรม ได้แก่ การทําหัตถกรรมทอผ้า และรับจ้างแรงงาน เป็นต้น ผลิตภัณฑ์ ได้แก่ แหนมหมู แหนมเนื้อ หมู่ที่ 1 และ หมู่ที่ 7 กิจกรรมสําคัญ องค์การบริหารส่วนตําบลห้วยยาง าม ดําเนินกิจกรรมที่เกี่ยวกับ โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ คือการสร้าง ายชะลอนํ้า ปาต้นนํ้า ในเขตตําบลห้วยยางขาม อบต.ห้วยยางขาม ชวนเที่ยว 1 โบราณส านพระธาตุตําหนักธรรม พระธาตุตําหนักธรรมเป็นพระธาตุประจําตําบลห้วยยางขาม ตั้งอยู่ บ้านห้วยยางขามเหนือ หมู่ที่ 4 เป็นโบราณสถานที่สร้างขึ้นร่วมสมัยกับ เมืองลอ และเมืองโบราณในหลาย ๆ แห่งในจังหวัดพะเยา เดิมลักษณะ ขององค์พระธาตุเจดีย์จะเป็นรูปทรงแบบศิลปะของเชียงแสน และองค์ พระพุทธรูปที่เป็นแบบหินทรายศิลปะช่างพะเยา อันได้รับอิทธิพลจาก ศิลปะอินเดีย ส่วนองค์พระธาตุปจจุบันนี้ มีการจัดรูปแบบอันงดงามตาม แบบโบราณล้านนา ซึ่งพระครูสุจิณรัตนคุณ ได้ดําริสร้างองค์พระธาตุขึ้น มาใหม่จนถึงทุกวันนี้ 2 โบราณส านวัดพระธาตุสามดวง วัดพระธาตุสามดวง เดิมชือ่ พระเจดียส์ ามองค์ ตัง้ อยูบ่ า้ นดงเคียน หมู่ ที่ 3 เดิมเป็นสถานที่ร้าง พบซากเจดีย์ที่ก่อด้วยอิฐโบราณจํานวนสามองค์ และพระพุทธรูปที่แกะสลักจากหินศิลาแลง ลักษณะชํารุดทรุดโทรมปรัก หักพังอยู่เป็นจํานวนมาก สันนิษฐานว่ามีอายุไม่ตํ่ากว่า 700 ปี ขึ้นไป ต่อ มาได้มกี ารบูรณองค์พระธาตุขนึ้ มาใหม่ และได้รบั การเสนอชือ่ จากกรมการ ศาสนาให้ตงั้ เป็น วัดเฉลิมพระเกียรติ เนือ่ งในวโรกาสครบรอบ 72 พรรษา ของพระบาทสมเดจพระเจ้าอยู่หัวฯ 3 ม่อนหินเ ียว ตั้งอยู่ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ปาเวียงลอ ซึ่งในบริเวณนี้พบหินสีเขียว มรกตอยู่เป็นจํานวนมากทั่วทั้งม่อนเขา เคยมีผู้ลักลอบนําหินไปแกะสลัก เป็นพระพุทธรูปเป็นจํานวนมาก ต่อมาเขตรักษาพันธุ์สัตว์ปาเวียงลอได้สั่ง ห้ามขุดตามกฎหมาย 4 จุดชมวิวผากากซาก ตัง้ อยูใ่ นเขตรักษาพันธุส์ ตั ว์ปาเวียงลอ เป็นชะง่อนผาหิน มีจดุ ชมวิว ที่ สามารถเหนวิวทิวทัศน์ของตําบลห้วยยางขาม และตําบลใกล้เคียงได้เป็นอย่างดี


5 อ่างเกบนําห้วยยาง าม ตัง้ อยูบ่ า้ นดงเคียน หมูท่ ี่ 3 เป็นอ่างเกบนํา้ จืดเพือ่ การเกษตร ซึง่ ในช่วง เดือนเมษายนจะเปดให้บริการท่องเที่ยวพักผ่อนคลายร้อน โดยมีกิจกรรม ต่าง ๆ เช่น ซุ้ม แพ พายเรือ ขี่ม้า ปนจักรยานรอบอ่าง เป็นต้น 6 ไหว้พระพุทธรูป 1,000 องค์ วัดบุญเรอง พระครูสุจิณรัตนคุณ เจ้าอาวาสวัดบุญเรือง ได้ให้ข้อมูลเกี่ยวกับวัด ว่า อุโบสถวัดบุญเรืองก่อสร้างตามแบบสถาปตยกรรมล้านนา ประกอบ ด้วยพระธาตุเก้ายอดทรงล้านนา ประดับด้วยซุ้มปราสาทเครื่อง ซุ้มพระ พิ เณศ นาค ยักษ์ เทวดา ยักษ์ สิงห์ เป็นต้น ภายในประดิษฐานพระ ประธานเป็นพระพุทธรูปทรงเครือ่ งล้านนา ปางมารวิชยั แสดงพุทธานุภาพ ต่อพญาชมพูบดี เบื้องหลังกับเบื้องซ้ายและขวาของพระประธาน ประกอบ ด้วยซุ้มพระพุทธรูปหินเขียว ซึ่งแกะสลักจากหินเขียวมรกต จากม่อนหิน เขียวตําบลห้วยยางขาม จํานวน รวม 1,000 องค์ ซึง่ ได้ผา่ นพิธพี ทุ ธาภิเษก เบิกเนตร ไปเมื่อวันที่ 10-11 มิถุนายน 2559 สน จสอบ าม ้อมูลติดต่อ อบต ห้วยยาง าม เล ที่ 666 หมู่ 6 ต ห้วยยาง าม อ จุน จ พะเยา 56150 โทร โทรสาร 0 5442 0676 หรอ และ องค์การบริหาร ส่วนตําบลห้วยยาง าม PHAYAO 109


เสนทางพบ

องค์การบริหารส่วนต�าบล

องค์การบรหารส่วนต�าบล ม่ลาว ระชาชนมีสุขภาพดี วนหนา พั นาคุ ภาพชี วต เพ่มขีดความสามาร สรางโอกาสสู่ ระชาคมอาเซี ยน

นายชัยวั น์ กิตติศักดิกําจร นายกองค์การบริหารส่วนตําบลแม่ลาว

110

คอวิสัยทัศน์ องค์การบริหารส่วนตําบลแม่ลาว ซึ่งตั้ง อยู่เลขที่ 87 หมู่ 12 ตําบลแม่ลาว อําเภอเชียงคํา จังหวัดพะเยา มีระยะ ห่างจากอําเภอเชียงคํา 12 กิโลเมตร และห่างจากศูนย์ราชการจังหวัด พะเยา 80 กิโลเมตร ปจจุบันมี นายชัยวั น์ กิตติศักดิกําจร เปน นายกองค์การบริหารส่วนตําบลแม่ลาว และนายวัชรพงษ์ บุญนะ เป็น ปลัดองค์การบริหารส่วนตําบลแม่ลาว ขอมูลทั่ว องค์การบริหารส่วนตําบลแม่ลาว ได้รบั จัดตัง้ ตามประกาศกระทรวง มหาดไทย เมื่อวันที่ 19 เดือน มกราคม พ.ศ. 2539 มีพื้นที่ประมาณ 112 ตารางกิโลเมตรหรือ ประมาณ 70,000 ไร่ ครอบคลุมพื้นที่ทั้งหมด จํานวน 14 หมู่บ้าน จํานวนหลังคาเรือน 1,133 หลังคาเรือน มีประชากร ทั้งสิ้น ,477 คน แยกเป็น ชาย 3,2 3 คน หญิง 3,214 คน (ข้อมูล จากทะเบียนราษฎร์อําเภอเชียงคํา ณ เมษายน 2558) ักยภาพของชุมชน ละพนที่ สภาพของชุมชนในตําบลแม่ลาว มีการรวมกลุ่มของราษฎรหลาย กลุ่มที่เอื้อต่อการพัฒนาตําบล เช่น กลุ่มเกษตรกรตําบล กลุ่มแม่บ้าน กลุ่มเยาวชน กลุ่มผู้สูงอายุ เป็นต้น ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ ด้านการเกษตร ประมาณ 75 สภาพพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นเทือกเขาสูง


และปาไม้ เป็นทีร่ าบเชิงเขา บางส่วนเป็นทีร่ าบลุม่ นํา้ ท่วมถึง และมีแม่นาํ้ สําคัญ 1 สาย ไหลผ่าน คือ แม่นํ้าลาว เหมาะแก่การทําเกษตรกรรม และที่ตั้งของหมู่บ้านมีระยะทางไม่ห่างไกลกันมากนัก ทําให้มีความ สามัคคีและง่ายต่อการประสานงาน ซึ่งพื้นที่ตําบลแม่ลาวมีจุดเด่นคือ เป็นพื้นที่ต้นนํ้า จึงมีแหล่งนํ้าอุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การพัฒนาทางด้าน เกษตรกรรมและแหล่งท่องเที่ยว ซึ่งมีนํ้าตกคะแนง นํ้าตกขุนลาวและ วนอุทยานนํา้ ตกนํา้ มิน ทีข่ นึ้ ชือ่ ในอําเภอเชียงคํา รวมถึงการปลูกยางพารา ซึ่งเป็นพืชเศรษฐกิจ ในอําเภอเชียงคํา พัน กจ 1. ปรับปรุงและพัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐานให้ครอบคลุมและได้ มาตรฐาน 2. ส่งเสริมการศึกษา และการเรียนรู้ตลอดชีวิต พร้อมรองรับการ เข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 3. อนุรกั ษ์ ฟนฟู ศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณีและภูมปิ ญญา ท้องถิ่น 4. ส่งเสริมสุขภาพอนามัยของประชาชน 5. พัฒนาสังคม สร้างความมั่นคงและความปลอดภัยในชีวิตและ ทรัพย์สินของประชาชน . พัฒนาขีดความสามารถในการผลิต และคุณภาพผลผลิต เพื่อ เพิ่มรายได้ ลดรายจ่ายและพัฒนากลุ่มอาชีพต่าง ๆ 7. อนุรักษ์ ฟนฟู และบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ง แวดล้อม 8. พั ฒ นาระบบการบริ ห าร และการบริ ก าร ที่ มี คุ ณ ภาพและ ประสิทธิภาพ

จุ ดมุ่งหมายเพ่อการพั นาทอง ่น 1. มีโครงสร้างพื้นฐานที่ได้มาตรฐาน สะดวก และปลอดภัยใน การดํารงชีวิต 2. ประชาชนได้รบั การศึกษาทัง้ ในระบบและนอกระบบอย่างทัว่ ถึง เสมอภาค และมีคุณภาพ และสามารถปรับตัวเข้าสู่ประชาคมอาเซียน 3. ศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี และภูมิปญญาท้องถิ่นได้ รับการอนุรักษ์ และบํารุงรักษาให้คงอยู่สืบไป 4. ประชาชนมีสุขภาพอนามัยที่ดี 5. ประชาชนสามารถดํารงชีวิตอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข เป็น ธรรม เสมอภาค และมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน . ประชาชนมีคุณภาพชีวิตดีขึ้น 7. ทรัพยากรธรรมชาติได้รับการอนุรักษ์ ฟนฟู และมีการบริหาร จัดการอย่างมีประสิทธิภาพ 8. สร้ า งความพึ ง พอใจแก่ ป ระชาชนผู ้ รั บ บริ ก าร และเพิ่ ม ประสิทธิภาพการป ิบัติงาน นโยบายส�าคั ของ ู บรหาร 1. บริหารจัดการศูนย์พัฒนาเดกเลก 2. ประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยวในตําบลแม่ลาว ให้เป็นที่รู้จักใน วงกว้าง ได้แก่ สะพาน ายคู่ ( ายหัด- ายปุย) บ้านวังถํา้ หมู่ 4 ต.แม่ ลาว, นํ้าตกนํ้ามิน, นํ้าตกคะแนง และนํ้าตกขุนลาว 3. เนื่องจากพื้นที่ตําบลแม่ลาว อยู่ในพื้นที่เสี่ยงที่จะเกิดภัยพิบัติ จากธรรมชาติ อาทิ อุทกภัย ดินโคลนถล่ม ไฟปา ทางอบต.แม่ลาว จึง มีการเตรียมความพร้อมด้านบุคลากร และอุปกรณ์ต่าง ๆ เพื่อรับมือ กับภัยพิบัติดังกล่าวอย่างทันท่วงที PAYAO 111


อบต. ม่ลาวชวนเที่ยว นําตก ุนลาว ตั้งอยู่บ้านคะแนง หมู่ที่ 10 ต.แม่ลาว อ.เชียงคํา จ.พะเยา ยังไม่เป็นที่รู้จักของนักท่องเที่ยวมากนัก สภาพนํ้าตกมี ประมาณ 15 ชั้น แต่ละชั้นประมาณ 2 - 3 เมตร ไหลตกจากหน้าผา มายังแอ่งนํ้าที่ใสเยนและร่มรื่น บรรยากาศสงบ ทางขึ้นต้องเดินตาม สายนํ้าและไหล่เขา ซึ่งชั้นที่มีความสูงที่สุด สูงถึง 10 เมตร นํ้าไหล ตลอดปี มีความอุดมสมบูรณ์และสวยงามมาก มีทางเดินปาไปยังนํา้ ตก มีทิวทัศน์ธรรมชาติที่สวยงาม เป็นสถานที่พักผ่อนหย่อนใจได้ และยัง คงความสมบูรณ์ตามธรรมชาติอยู่ตลอด เป็นนํ้าตกที่เหมาะสําหรับลง เล่นนํ้าได้ การเดินทาง เส้นทางสายพะเยา - น่าน ระยะทางจากอําเภอเชียงคํา ถึงบ้านคะแนง หมู่ 10 ต.แม่ลาว ประมาณ 30 กิโลเมตร และเดิน ทางจากหมู่บ้านคะแนง ไปสู่นํ้าตกโดยประมาณ 5 กิโลเมตร และเดิน ทางเท้าประมาณ 2 กิโลเมตร กจะถึงนํ้าตกขุนลาว นําตกคะแนง ตั้งอยู่ที่บ้านคะแนง หมู่ที่ 10 ต.แม่ลาว อ.เชียงคํา จ.พะเยา ระยะทางจากอําเภอถึงบ้านคะแนง ประมาณ 30 กิโลเมตร และเดินทางจากหมู่บ้านคะแนงไปสู่นํ้าตกประมาณ 8 กิโลเมตร (การ เดินทางไปนํ้าตกคะแนงต้องเดินขึ้นไปเท่านั้น รถยนต์ไม่สามารถผ่าน เข้าไปได้ ) เป็นถนนลูกรัง นําตกนํามิน เป็นนํ้าตกขนาดกลาง สูงประมาณ 50 เมตร ซึ่งอยู่ บ้านนํ้ามินเหนือ หมู่ 13 ต.แม่ลาว อ.เชียงคํา จ.พะเยา ระยะห่างจาก อําเภอถึงนํ้าตกประมาณ 28 กิโลเมตร การเดินทางสะดวก เพราะเป็น ถนนลาดยางไปถึงนํา้ ตก มีหอ้ งนํา้ สาธารณะรองรับนักท่องเทีย่ ว ซึง่ ทาง องค์การบริหารส่วนตําบลแม่ลาวได้สร้างไว้

112


àÊŒ¹·Ò§¸ÃÃÁ ˹ع¹íÒªÕÇÔµ

พระพุทธเจ้า 28 พระองค์

วัดบุ เกด พระมงคลวั น์ กลยาณธมโม

วัดบุญเกิด ตั้งอยู่เลขที่ 53 หมู่ที่ 4 ตําบลบุญเกิด อําเภอดอกตําใต้ จังหวัดพะเยา ปจจุบันมีพระมงคลวั น์ เปนเจ้าอาวาส ระวัตวัดบุ เกด วัดบุญเกิด สร้างเมื่อ พ.ศ. 2443 โดยได้รับบริจาคที่ดินจากนาย บุญ จึงได้ตั้งชื่อวัดเพื่อเป็นอนุสรณ์ว่า วัดบุญเกิด เริ่มแรกตั้งวัดมีเนื้อที่ ไม่เกิน 2 ไร่ ได้ผูกเป็นพัทธสีมา เมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2493 และได้รับ การทะนุบํารุงมาโดยตลอด ต่อมาในปี พ.ศ. 2539 พระเดชพระคุณหลวงปูพระมงคลวัฒน์ เจ้า อาวาสรูปปจจุบนั มีความคิดทีจ่ ะพัฒนาและส่งเสริมทางด้านการศึกษาให้ เดกและเยาวชนที่ด้อยโอกาส ซึ่งในขณะนั้นวัดบุญเกิดมีเพียงโรงเรียน ปริยัติธรรมสําหรับสามเณรเท่านั้น เดกทั่วไปเรียนร่วมไม่ได้ หลวงปูจึง ขอซื้อที่ดินที่เป็นทุ่งนาใกล้กับหมู่บ้าน รวมมีพื้นที่ทั้งสิ้นประมาณ 9 ไร่ และได้จัดตั้งศูนย์เดกเลก และโรงเรียนอนุบาลแสงส่องหล้าวิทยา สมดัง ความตั้งใจและความปรารถนา ปจจุบันการศึกษาเล่าเรียนของวัดบุญเกิด ภายใต้การอุปถัมภ์ของ รัฐบาลและหลวงปู ได้เปดทําการเรียนการสอนตั้งแต่การพัฒนาเดกเลก ระดับชัน้ อนุบาล 1-3 ระดับชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 1- (ในปีการศึกษา 2555 มีนักเรียนทั้งสิ้น 558 คน) และการเรียนพระปริยัติธรรม (นักธรรมบาลี) พร้อมกับมัธยมศึกษาปีที่ 1- (มีจํานวนนักเรียนทั้งสิ้น 178 รูป) ระวัตพระมงคลวั น์ ชื่อ พระมงคลวั น์ (กํ้า) ฉายา กลยาณธมโม วิทยฐานะ น.ธ.เอก วุฒิ วิชาครูพิเศษมัธยม (พ.ม.) และปริญญาพุทธศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต สาขาจริยศึกษา จากมหาวิทยาลัยมหาจุ าลงกรณราชวิทยาลัย ปจจุบัน

ดํารงตําแหน่งเจ้าอาวาสวัดบุญเกิด ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดพะเยา และ เป็นพระอุปช าย์พระภิกษุสามเณร อําเภอดอกคําใต้ จังหวัดพะเยา งานตังทุนการศึกษา พ.ศ. 2547 เป็นประธานจัดตัง้ ทุนสงเคราะห์นกั เรียนชัน้ ประถมศึกษา (มัธยม, อุดม) วัดบุญเกิด ปจจุบันมีเงินทุน ากธนาคารออมสิน สาขา ดอกคําใต้ บัญชีเลขที่ 05-4205-2004-22 2-2 บัญชีเงิน ากประเภท เผื่อเลือก เงินทุนจํานวน 120,088.93 บาท (หนึ่งแสนสองหมื่นแปดสิบ แปดบาทเก้าสิบสามสตางค์) พ.ศ.2554 เพิ่มทุนการศึกษาโดย ากธนาคารกรุงเทพจํากัด สาขา ดอกคําใต้บัญชีเลขที่ 553-2020 1- บัญชีชื่อพระมงคลวัฒน์ จํานวน 100,000 บาท (หนึ่งแสนบาทถ้วน) เกียรติคุณที่ได้รับ พ.ศ. 253 รางวัลเสมาธรรมจักรทองคําในการจัดสร้างศูนย์อบรม เดกก่อนเกณฑ์ในวัด จากสมเดจพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราช กุมารี พ.ศ. 2537 พัดและประกาศนียบัตรวัดพั นาตัวอย่าง ที่มีผลงาน ดีเด่นจากสมเดจพระสัง ราช พ.ศ. 2540 ได้รับโล่และเ มทองคํารางวัลชนะเลิศ 4 ป ใน โครงการปลูกปาถาวรเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเดจพระเจ้าอยูห่ วั เนือ่ ง ในโอกาสทรงครองราชย์ปีที่ 50 ระยะที่ 2 จากสมเดจพระนางเจ้า พระบรมราชินีนา พ.ศ. 2541 โล่รางวัลดีเด่น เปดศูนย์พุทธศาสนาวันอาทิตย์จาก สมเดจพระสัง ราช พ.ศ. 2542 โล่รางวัลศูนย์การเรียนชุมชนเ ลิมพระเกียรติ ร่วมเทิด พระเกียรติในโอกาสพระราชพิธมี หามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา รอบ จากกรมการศึกษานอกโรงเรียน พ.ศ. 2550 โล่และเกียรติบัตร ยกย่องให้เป็นคนดีศรีดอกคํา ต้ PHAYAO 113


เสนทางพบ

องค์การบริหารส่วนต�าบล

นายอนุรักษ์ โปร่งสุยา นายกองค์การบริหารส่วนตําบลออย

องค์การบรหารส่วนต�าบลออย เมองออยเขม ขง หล่ง ลตเก ตรกาวหนา ละ ลอดภัย กาว กลสู่อาเซี ยน

ออยเป็นภูเขา มีพื้นที่การเกษตรในที่ราบเชิงเขาและระหว่างหุบเขาและ ที่ราบนํ้าท่วมถึง มีแม่นํ้าที่สําคัญไหลผ่าน 4 สาย คือ แม่นํ้างิม แม่นํ้า เงิน แม่นํ้าทายและแม่นํ้าสต๊อด จํานวนหมู่บ้าน ประชากร องค์การบริหารส่วนตําบลออย แบ่ง การปกครองเป็น 14 หมู่บ้าน ประกอบด้วยประชากรชาย 3,4 7 คน ประชาการหญิง 3,55 คน รวม 7,023 คน จํานวนครัวเรือน 2,379 ครัวเรือน ประชาชนส่วนใหญ่ในพื้นที่ตําบลออยประกอบอาชีพ ทําไร่ ทํา นา ทําสวน โดยมีพืชเศรษฐกิจสําคัญ ได้แก่ กะหลํ่าปี ผักกาด ถั่วแระ ญี่ปุน และยาสูบ เป็นต้น

ักยภาพของชุมชน ละพนที่

1 การรวมกลุ่ม องประชาชน ชุมชนตําบลออย มีการรวมกลุ่มของราษฎรหลายกลุ่มที่เอื้อต่อ การพัฒนาตําบล เช่น กลุ่มเกษตรกรตําบล กลุ่มแม่บ้าน กลุ่มเยาวชน กลุ่มผู้สูงอายุ เป็นต้น ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพด้านการเกษตร ประมาณ 80 สภาพพืน้ ทีส่ ว่ นใหญ่เป็นเทือกเขาสูงและปาไม้ เป็นทีร่ าบ เชิงเขา บางส่วนเป็นที่ราบลุ่มนํ้าท่วมถึง และมีแม่นํ้าสําคัญ 4 สาย ไหล ผ่าน คือ แม่นํ้างิม แม่นํ้านํ้าเงิน แม่นํ้าทายและแม่นํ้าสต๊อด เหมาะแก่ ่ การทําเกษตรกรรม โดยเฉพาะการเกษตรไร่นาสวนผสม ตามแนวพระ ขอมูลทัว องค์การบริหารส่วนตําบลออย จัดตั้งเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2539 ราชดําริเกษตรทฤษ ีใหม่ รวมทั้งการเลี้ยงสัตว์และการประมง ที่ตั้งของ เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ขนาดกลาง มีเนือ้ ทีป่ ระมาณ 211 ตาราง หมู่บ้านมีระยะทางไม่ห่างไกลกันมากนัก ทําให้มีความสามัคคีและง่าย กิโลเมตร หรือประมาณ 131,875 ไร่ สภาพพื้นที่ส่วนใหญ่ของตําบล ต่อการประสานงาน คือวิสยั ทัศน์ขององค์การบริหารส่วนตําบลออย ซึง่ มีสาํ นักงานตัง้ อยู่ เลขที่ 13 หมู่ 12 ตําบลออย อําเภอปง จังหวัดพะเยา โดยอยู่ห่างจาก ศูนย์ราชการจังหวัดพะเยา ประมาณ 79 กิโลเมตร ปจจุบนั มีนายอนุรกั ษ์ โปร่งสุยา ดํารงตําแหน่งนายกองค์การบริหารส่วนตําบลออย จ่าสิบ ตํารวจหญิงวรรณพร สมวรรณ เป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตําบลออย และนายอนันต์ จุมพิตร เป็นประธานสภาองค์การบริหารส่วนตําบล

114


2 จุดเด่น องพนที่ พื้นที่ตําบลออยเป็นพื้นที่เหมาะสําหรับการเพาะปลูกพืชทางการ เกษตร เช่น ผักกาดเขียวปลี, ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์, ข้าวโพด กอ่อน, ยาสูบพื้นบ้าน, ยาสูบเวอร์จีเนีย, ถั่วเหลือง, ถั่วแระญี่ปุนหรือถั่วเหลือง กสด และยังมีกลุ่มส่งเสริมอาชีพที่ทํารายได้ให้แก่ตําบล เช่น กลุ่มตัด เยบเสื้อผ้า บ้านดอนไชยปาแขม, กลุ่มนํ้ายาเอนกประสงค์ บ้านหล่าย , กลุม่ จักสาน บ้านดอนไชยปาแขม และมีแหล่งอนุรกั ษ์พนั ธุป์ ลา บ้านดอน เงิน ซึ่งเป็นแหล่งท่องเที่ยวในตําบลออยอีกด้วย

กจกรรมเด่นของ อบต.ออย

องค์การบริหารส่วนตําบลออย ดําเนินโครงการพัฒนาต่าง ๆ ซึ่ง สามารถแบ่งออกเป็น ด้าน ดังต่อไปนี้ 1.ด้านโครงสร้างพื้นฐาน อาทิ การก่อสร้างระบบประปาหมู่บ้าน เพื่อแก้ไขปญหาภัยแล้ง, การก่อสร้างถนนเข้าสู่พื้นที่การเกษตรและการ คมนาคม, การก่อสร้างอาคารศูนย์พฒ ั นาเดกเลกและการพัฒนาแหล่งนํา้ 2. ด้านการศึกษา อาทิ การเปดศูนย์ประสานงานการศึกษาเพื่อ ชุมชน, จัดการแข่งขันกี าศูนย์พัฒนาเดกเลก, จัดการแข่งขันกี าเดก และเยาวชน เมืองออยเกมส์ และการเปดศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจ พอเพียงในชุมชน 3. ด้านการส่งเสริมอาชีพ อาทิ กลุ่มผักปลอดสารพิษ, กลุ่มเพาะ เหดบ้านดอนเงิน, กลุ่มทอผ้า, กลุ่มปลูกสตรอว์เบอรี่, กลุ่มตัดเยบบ้าน ดอนไชยปาแขม, กลุ่มข้าวแตนบ้านหล่าย และกลุ่มสมุนไพรพื้นบ้าน กลุ่มผู้สูงอายุตําบลออย 4. ด้านประเพณี อาทิ ประเพณีสงกรานต์, ประเพณีสรงนํ้าพระ ธาตุกู่กั้ง, ประเพณีรดนํ้าดําหัว, ประเพณีปีใหม่เมี่ยน, ประเพณีถวาย เทียนพรรษา, ประเพณีปล่อยโคมลอย, ประเพณีรําผีมด และประเพณี ตานสลากภัตร 5. ด้านการส่งเสริมการท่องเที่ยว อาทิ วัดพระธาตุกู่กั้ง, วัด บ้านหลวง, ายมีชีวิต, วังปลาวัดดอนเงิน และอ่างเกบนํ้าห้วยแก่น . ด้านการมีส่วนร่วมของกลุ่มภาคีเครือข่าย อาทิ โรงพยาบาลส่ง เสริมสุขภาพตําบลออย และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบล บ้าน าย แก้ว ร่วมกับ อสม.ในเขตพืน้ ทีต่ าํ บลออย, กลุม่ ผูน้ าํ ในท้องถิน่ ต่าง ๆ, การ ศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.) และผู้อํานวยการ สถานศึกษาในเขตพื้นที่ตําบลออย

จ.ส.ต.หญิงวรรณพร สมวรรณ ปลัดองค์การบริหารส่วนตําบลออย PHAYAO 115


รางวัลแห่งความภาคภูมิใจ 1. รางวัลชมเชยองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ทีม่ คี วามพยายามในการ จัดเกบภาษี ประจําปี 2547 2. รางวัลชมเชยองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ทีม่ คี วามพยายามในการ จัดเกบภาษี ประจําปี 2548 3. รางวัลการบริหารจัดการที่ดี ประจําปีงบประมาณ พ.ศ.2549 4. รางวัลองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ทีม่ กี ารบริหารจัดการทีด่ ี ประจํา ปี 2550 5. รางวัลชมเชยประเภทองค์การบริหารส่วนตําบลขนาดเลกทีม่ คี วาม พยายามในการจัดเกบภาษี ประจําปี 2550 . รางวัลชมเชยองค์การบริหารส่วนตําบลที่มีการบริหารจัดการที่ดี ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 (ภาคเหนือ) 7. รางวัลองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ดีเด่น ด้านการปองกันการทุจริต ประจําปี 2559

116


àÊŒ¹·Ò§ AEC

ข่าวดีส�าหรับ ู ระกอบการ

SME

ในโอกาสที่ไทยเพิ่งเ ้าสู่ สด ร้อน นี้ เชื่ อว่า ู ้ประกอบการวิสาหกิจ นาดกลางและ นาดย่อม ( ) หรือบรรดา อาจมีความต้องการ น�าสินค้าหรือบริการ องท่านออกแ ่ง ันในเวทีอาเซี ยนและเวทีโลก แต่หลาย ท่าน อาจยังไม่ม่นั ใจ หรือไม่ทราบว่าจะเริ่มต้นอย่างไร เรามี ่าวดีมาเล่าสู่กันฟั งค่ะ เมือ่ ไม่นานมานี้ กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ร่วมกับสภา หอการค้าแห่งประเทศไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และ สภาผูส้ ง่ สินค้าทางเรอแห่งประเทศไทย ดําเนินโครงการส่งเสริมและ เพิม่ ศักยภาพ องวิสาหกิจ นาดกลางและ นาดย่อม S ซึ่งเป็นโครงการต่อเนื่อง 3 ปี (ปีงบประมาณ 2559 - 25 1)

วัต ุ ระสงค์โครงการ

เพือ่ ส่งเสริมและเพิม่ ศักยภาพของ SME โดยเฉพาะผูป้ ระกอบการ ขนาดเลก ให้สามารถขยายตลาดในต่างประเทศ ซึง่ โครงการฯ เปดโอกาส ให้ SME ได้เรียนรูถ้ งึ การทําธุรกิจในต่างประเทศจากประสบการณ์ตรง ได้รู้จักและสร้างความคุ้นเคยกับกระบวนการการส่งออก ได้ทราบ ข้อมูลการตลาดและแนวโน้มการดําเนินธุรกิจ ได้สํารวจพฤติกรรม และความต้องการของผู้ซื้อหรือผู้บริโภค สามารถใช้ เป็นฐานแนวคิดในการพัฒนาผลิตภัณฑ์หรือบริการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งได้พบกับนักธุรกิจ ผู้นําเข้า bu er และสร้างเครือข่ายทางการค้า จนเกิด การเจรจาธุรกิจซื้อขายระหว่างกัน และ ในทีส่ ดุ SME ไทยสามารถขยายช่อง ทางการทําธุรกิจระหว่างประเทศ และเข้าสู่ระบบการค้าอย่าง มืออาชีพได้

กจกรรมที่ หการสนับสนุน

ภายใต้โครงการฯ ดังกล่าว มีกจิ กรรมทีใ่ ห้การ สนับสนุน SME ประกอบด้วย 2 กิจกรรมหลัก ได้แก่ 1) การเข้าร่วมงานแสดงสินค้าระดับนานาชาติใน ต่างประเทศที่มีศักยภาพ โดยผู้ประกอบการสามารถสมัคร เข้าร่วมงานด้วยตนเอง ในลักษณะเชิงรุกตามกลยุทธ์การตลาดและควา มต้องการของแต่ละบริษทั หรือเลือกเข้าร่วมงานทีส่ อดคล้องกับประเภท ธุรกิจหรือสินค้าของตนเองได้ 2) การจัดคณะผูแ้ ทนการค้าไปเจรจาธุรกิจกับคูค่ า้ ในต่างประเทศ กรณีที่ไม่มีงานแสดงสินค้าที่เหมาะสม หรือตรงกับประเภทสินค้า และบริการของ SME มากนัก การจัดคณะผู้แทนฯ เป็นอีกช่องทางที่ จะช่วยให้ SME ได้พบกับลูกค้าโดยตรงได้มากขึ้น สําหรับผูป้ ระกอบการทีส่ น จ สามาร สมัครเ า้ ร่วมโครงการ ได้ทสี่ ภาทีท่ า่ นเปนสมาชิก สภาหอการค้า สภา อุตสาหกรรม สภา ผู้ส่งสินค้าทางเรอ ตังแต่วันนีเปนต้นไป

ตดต่อสอบ ามเพ่มเตม ดที่

กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ (เลขานุการ โครงการ SMEs ro-active)โทร. 0 2507 778 -87, 0 2507 7783 E-mail : spa. itp@gmail.com ebsite : www. itp.go.t สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (สถาบันวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อม อุตสาหกรรมการผลิต) (SM ) โทรศัพท์: 0 2345 1243 Fa : 0 2345 1108 E-Mail : Sunisapr@o . ti.or.t , vanitai@o . ti.or.t ebsite : www.smi.or.t หอการค้าไทยและ สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย โทรศัพท์: 0 2018 977, 0 2018 888 ต่อ 2 Fa . : 0 2 22 1881 E-Mail : rungnapa. @t aic amber.org ebsite : www.t aic amber.org สภาผูส้ ง่ สินค้าทางเรอแห่งประเทศไทย โทรศัพท์: 0 2 79 7555 ต่อ 500 Fa . : 0 2 79 7500-1 E-Mail : ma ee@tnsc.com ebsite : www.tnsc.com


เส้นทางพบ

องค์การบริหารส่วนตําบล

ความเปนมา

องค์การบริหารส่วนตําบลนาปรัง เป็นองค์การปกครอง ส่วนท้องถิ่นที่ตั้งขึ้นตามนโยบายการกระจายอํานาจการปกครอง สู่หน่วยการปกครองขั้นพื้นฐานของรัฐบาล ตามพระราชบัญญัติ สภาตําบลและองค์การบริหารส่วนตําบล พ.ศ.2537 โดยได้รับการ ประกาศจัดตั้งยกฐานะจากสภาตําบลเป็นองค์การบริหารส่วนตําบล นาปรัง เมื่อวันที่ 21 เดือน สิงหาคม พ.ศ 2542

้อมูลทั่วไป

นายศิรสิทธิ กองอิ่น นายกองค์การบริหารส่วนตําบลนาปรัง

องค์การบริหารส่วนตําบลนาปรัง

ตําบลนาปรัง มีเนื้อที่ 21,875 ไร่ หรือ ประมาณ 3 ตารางกิโลเมตร แบ่งการปกครองออกเป็น หมู่บ้าน มีจํานวน ประชากรทั้งสิ้น 2,4 8 คน แยกเป็น ชาย 1,248 คน หญิง 1,220 คน จํานวน 787 ครัวเรือน ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ เกษตรกรรม เช่น การทํานา ทําไร่ แบบปลูกพืชหมุนเวียนและปลูก พืชตามฤดูกาล สภาพทางสังคม สถาบันการศึกษา - โรงเรียนประถมศึกษา จํานวน 3 แห่ง ได้แก่ โรงเรียน บ้านหนองท่าควาย โรงเรียนบ้านห้วยแม่แดง และโรงเรียนบ้านหมุ้น - โรงเรียนมัธยมศึกษา-อาชีวะศึกษา จํานวน 1 แห่ง ได้แก่ วิทยาลัยเทคโนโลยีและการจัดการปง - ศูนย์พัฒนาเดกเลก จํานวน 3 แห่ง ได้แก่ ศูนย์พัฒนา เดกเลกบ้านหมุ้น ศูนย์พัฒนาเดกเลกบ้านหนองท่าควาย และศูนย์ พัฒนาเดกเลกบ้านห้วยคอกหมู - ที่อ่านหนังสือพิมพ์ประจําหมู่บ้าน จํานวน 5 แห่ง สถาบันและองค์กรทางศาสนาและศิลปวัฒนธรรม - วัด/สํานักสง ์ จํานวน 3 แห่ง ได้แก่ วัดห้วยแม่แดง วัด สังคหะราษฎร์ วัดสงเคราะห์ราษฎร์ สาธารณสุข - โรงพยาบาลของรัฐ จํานวน 1 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลปง - สาธารณสุขชุมชน จํานวน 1 แห่ง ได้แก่ สาธารณสุข ห้วยคอกหมู - สาธารณสุขมูลฐานชุมชนประจําหมู่บ้าน จํานวน 3 แห่ง - อัตราการมีและการใช้ส้วมราดน้ํา 100 เปอร์เซนต์ ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน - ตูย้ ามตํารวจ จํานวน 1 แห่ง บริเวณสามแยก อบต.นาปรัง

องค์การบริหารส่วนตําบลนาปรัง ตั้งอยู่เลขที่ 39 ตําบล นาปรัง อําเภอปง จังหวัดพะเยา โดยอยู่องค์การบริหารส่วนตําบล นาปรังไปทางทิศเหนือ ประมาณ 3 กิโลเมตร และอยู่ห่างจากศูนย์ ราชการจังหวัดพะเยา ประมาณ 7 กิโลเมตร ปจจุบันมี นายศิร สิทธิ กองอิ่น เป็น นายกองค์การบริหารส่วนตําบลนาปรัง และ จุดเด่น องพนที่ นางสาวพิมพ์ณิชา สมนึก เป็น ปลัดองค์การบริหารส่วนตําบล เนื่องจากสภาพภูมิประเทศโดยทั่วไปของตําบลนาปรังเป็น นาปรัง ที่ราบข้างเนินเขา ที่ราบระหว่างหุบเขา และที่ราบลุ่มแม่น้ํายม ทําให้ มีวิวทิวทัศน์ที่สวยงาม และมีลําน้ําไหลผ่านพื้นที่ตําบลนาปรังจํานวน 4 สาย คือ 1. ลําน้ํางิม 2. ลําน้ําห้วยแพะ 3. ลําน้ําห้วยเสี้ยว 4. ลําน้ํา 118


ห้วยแปง นอกจากนี้ยังมีพื้นที่ปาไม้ประมาณ 15 ตารางกิโลเมตร หรือ 9,375 ไร่ ไม้ทส่ี าํ คัญได้แก่ ไม้สกั ไม้เตง ไม้รงั และปาไผ่ เป็นต้น โดยมีปาชุมชนบ้านหนองท่าควายที่เป็นปาธรรมชาติที่สวยงาม และ เหมาะสําหรับพัฒนาเป็นสถานที่ท่องเที่ยวของประชาชนในท้องถิ่น

แหล่งท่องเที่ยวสําคัญ

- ปาชุมชนบ้านหนองท่าควาย หมู่ที่ 7 - อ่างเกบน้ําห้วยแพะ หมู่ที่ 1

ผลิตภัณ ์โอทอป

- ผลิตภัณฑ์กลุ่มตีเหลก บ้านห้วยแม่แดง - ผลิตภัณฑ์ผ้าปกชาวเขา บ้านห้วยคอกหมู - กลุ่มจักสาน บ้านหนองท่าควาย

PHAYAO 119


เส้นทางพบ

องค์การบริหารส่วนตําบล

ประวัติองค์การบริหารส่วนตําบลงิม สภาตําบลงิม อําเภอปง จังหวัดพะเยา ได้ยกฐานะเป็น องค์การบริหารส่วนตําบลงิม ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เมื่อ วันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2540 และได้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภา องค์การบริหารส่วนตําบลงิม ครั้งแรก เมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2540

้อมูลทั่วไป องค์การบริหารส่วนตําบลงิม มีพื้นที่รวมทั้งหมดประมาณ 8 .42 ตารางกิโลเมตร พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นภูเขาในเขตพื้นที่ปา สงวนแห่งชาติ และปาอนุรักษ์ การตั้งบ้านเรือนราษฎรส่วนใหญ่ตั้ง อยู่ในที่ราบระหว่างหุบเขา มีหมู่บ้าน จํานวน 10 หมู่บ้าน หมู่บ้าน ในเขต อบต. เตมทั้งหมู่บ้าน จํานวน 9 หมู่บ้าน คือ หมู่ที่ 1, , 7, 11, 12, 13, 14, 1 , 19 จํานวนหมู่บ้านในเขต อบต.บางส่วน 1 หมู่บ้าน ได้แก่บ้านเลี้ยว หมู่ที่ 10 หมู่บ้านที่ไกลจากอําเภอมากที่สุด คือบ้านน้ํา าก หมู่ที่ 1

ส านที่สําคัญตําบลงิม

นายผ่อง สุทธวงค์ นายกองค์การบริหารส่วนตําบลงิม

องค์การบริหารส่วนตําบลงิม “ส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียง รุ่งเรืองวัฒนธรรมท้องถิ่น สิ่งแวดล้อมธรรมชาติสมบู รณ์ ชุมชนแหล่งเรียนรู้ คุณภาพชี วิตประชากรดี” คือวิสัยทัศน์องค์การบริหารส่วนตําบลงิม ตั้งอยู่เลขที่ 184 บ้านปวดอย หมู่ที่ 13 ตําบลงิม อําเภอปง จังหวัดพะเยา ห่างจาก ที่ว่าการอําเภอปงไปทางทิศเหนือประมาณ 15 กิโลเมตร ปจจุบันมี นายผ่อง สุทธวงค์ เป็น นายกองค์การบริหารส่วนตําบลงิม และ นายชัชวาลย์ พหุธนพล เป็น ปลัดองค์การบริหารส่วนตําบลงิม 120

ศูนย์ส่งเสริมและผลิตเมลดพันธ์ ้าว ชุมชนบ้านปว กลุม่ ผลิตเมลดพันธุข์ า้ วบ้านปวเป็นการรวมตัวของเกษตรกร ผูผ้ ลิตข้าว เพือ่ ผลิตเมลดพันธุข์ า้ วใช้เองและเพือ่ จําหน่ายให้กบั เกษตรกร ในหมูบ่ า้ น โดยไม่ตอ้ งไปพึง่ พาเมลดพันธุจ์ ากแหล่งอืน่ หรือตามท้องตลาด ทัว่ ไป โดยมีหน่วยงานจากทางราชการและเอกชนให้การสนับสนุน ด้านวิชาการ อาทิ เกษตรอําเภอปง พัฒนาชุมชนอําเภอปง ธนาคาร เพื่อการเกษตรและสหกรณ์อําเภอปงและศูนย์ผลิตเมลดพันธุ์ข้าว พะเยา เป็นต้น ปจจุบันทางกลุ่มยังมีการให้ยืมเงินทุนเพื่อไปใช้หมุนเวียน ด้วย โดยเป็นเงินที่สมาชิกลงหุ้นกันเอง และที่ภาคภูมิใจที่สุดคือ ทางกลุ่มได้สนองตอบต่อแนวพระราชดําริเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อให้เกษตรกรมีการดํารงชีวิตที่พอดี พออยู่พอกิน ให้สมกับที่ เป็นหมู่บ้านต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียง

อบต งิม ชวนเที่ยว

1 พระธาตุสม้ ป่อย วัดปวดอย หมูท่ ่ี 13 ตําบลงิม อําเภอปง จังหวัดพะเยา ตามประวัติคือ มีพญาเจ้าเมืองจ่ําเป็นผู้สร้างพระธาตุ ขึ้น โดยใช้เชลยศึกซึ่งเป็นพวกยางหรือพวกขมุ เมื่อสร้างเสรจแล้วได้ ตั้งชื่อว่า พระธาตุศรีบางมล และได้มอบหมายให้พญาช้างขาวไป อัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุ ( กระดูกนิ้วมือซ้าย ) ของพระพุทธเจ้า ขนาดเท่า กส้มปอย มาจากถ้ําเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ แล้วนํามา ประดิษฐานไว้ในพระธาตุแห่งนี้ และได้มีการจัดงานเฉลิมฉลองขึ้น ในวันเพญขึ้น 15 ค่ํา เดือน ( แปดเป็งเหนือ ) โดยได้อัญเชิญ หมู่เจ้าทั้งหลายมาร่วมเฉลิมฉลอง ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา พอถึงวันเพญ ขึ้น 15 ค่ํา เดือน ชาวบ้านจะร่วมใจกันจัดงานสรงน้ําพระธาตุขึ้น เป็นประจําทุกปี ต่อมาภายหลังได้เปลี่ยนชื่อเป็น พระธาตุส้มปอย ตามขนาดพระบรมสารีริกธาตุ และมีการสร้างวัดปวดอยขึ้นมาใน


บริเวณเดียวกัน จนถึงปจจุบัน ปูชนียวัตถุสําคัญได้แก่ พระธาตุ ส้มปอย, พระพุทธแสงเพชรจินดามณี, หอเจ้าที่ (ท่านท้าวขากาน) และหลวงพ่ออินปน 2 นําต้ ก าํ บ้ อ่ แร่ ตัง้ อยูห่ มู่ 19 ตําบลงิม อําเภอปง จังหวัด พะเยา เป็นแหล่งน้ําแร่ธรรมชาติที่ใสสะอาดใช้อุปโภค บริโภคของ ชาวตําบลงิมทัง้ ตําบล บริเวณน้าํ ตกยังมีถาํ้ ทีเ่ ป็นแหล่อาศัยของค้างคาว น้ําตกแห่งนี้ไม่สูงมากนัก และเมื่อเดินเข้าไปภายในน้ําตกจะพบว่าใน น้ําตกนั้นยังมีหน้าผา และชั้นของน้ําตกที่สวยงามอีกหลายชั้นที่ซ่อน ตัวอยู่ภายในน้ําตก มีต้นไม้น้อยใหญ่ให้ความร่มรื่น น้ําเยนและใส จนเหนเมดทรายในน้ํามีปลาเลกปลาใหญ่ และที่สําคัญคือเป็นแหล่ง กําเนิดของแม่น้ํายมที่อุดมสมบูรณ์ ช่วงที่เหมาะกับการท่องเที่ยวคือ เดือนกุมภาพันธ์เพราะเป็นช่วงทีน่ าํ้ ตกสวยทีส่ ดุ น้าํ ไม่มากไม่นอ้ ยเกินไป 3 วังมัจ า วัดบ้านปวลุม่ ตัง้ อยูห่ มูท่ ่ ี ตําบลงิม อําเภอปง จังหวัดพะเยา เป็นแหล่งศึกษาพันธุ์ปลาต่าง ๆ เพราะมีเหล่าปลา มากมายอาศัยอยู่ ซึ่งพระครูสุนันทบริรักษ์ ได้เลี้ยงไว้ตั้งแต่เมื่อครั้ง อดีต หลังจากท่านมรณภาพไป มีบางคนไปจับปลานั้นมากิน แต่ต่อ มาไม่นานผลกรรมกตามทัน โดยคนที่จับปลาตายอย่างไร้สาเหตุ (แหล่งข้อมูล - ผู้ใหญ่บ้าน บ้านปวลุ่ม ต.งิม อ.ปง จ.พะเยา)

PHAYAO 121


เส้นทางพบ

องค์การบริหารส่วนตําบล

ข้อมูลทั่วไป

นายสังคม สบแสน นายกองค์การบริหารส่วนตําบลสระ

องค์การบริหารส่วนตําบลสระ “ประชาชนคุณภาพชี วิตดีมีความสุข ชุมชนน่าอยู ่ ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชี วิต มีวิถีเศรษฐกิจพอเพียง”

องค์การบริหารส่วนตําบลสระ เป็น อบต. ขนาดกลาง โดยได้ รับการจัดตั้งตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เมื่อวันที่ 30 มีนาคม 2539 มีเนื้อที่ประมาณ 354 ตารางกิโลเมตร ตั้งอยู่ที่ราบสูงกว่าระดับ นํ้าทะเล 300 เมตร สภาพเป็นพื้นที่ราบระหว่างหุบเขา มีเทือกเขา ล้อมรอบ มีพื้นที่บางส่วนเป็นเนินเขาสูง บางส่วนเป็นที่ราบเชิงเขา มี ลํานํ้ายมไหลผ่านและเป็นแหล่งอู่ข้าวอู่นํ้าหล่อเลี้ยงชีวิต มีสภาพอากาศ หนาวเยนตลอดปี องค์การบริหารส่วนตําบลสระ แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 13 หมู่บ้าน ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม บางส่วนประกอบอาชีพ รับจ้างทํางานในภาคการเกษตรตามฤดูกาล โดยมีผลผลิตทางการเกษตร ที่สําคัญคือ ข้าวโพด ยาสูบ กะหลํ่าปลี และขิง มีการแปรรูปทางการ เกษตรที่สําคัญคือ โรงบ่มใบยาสูบ ตั้งอยู่ที่หมู่บ้านทุ่งหนอง หมู่ที่ 5 และในเขตชุมชนชาวไทลื้อ 5 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ที่ 1, 2, , 7 และ 11 มีการประกอบอาชีพเสริมคือการทอผ้าลายไทลื้อ ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ ผ้าทอพื้นเมืองของชาวไทลื้อ มีการแปรรูปผ้าทอเป็นผลิตภัณฑ์อื่น เช่น ผ้าเชดหน้า ตุงพื้นเมือง นอกจากนี้ ยังมีการทําหัตถกรรมอื่น ๆ ได้แก่ การทํากระดาษสา การทําไม้กวาดดอกแก้ว การจักสาน

จุ ดเด่นที่เอื้อต่อการพัฒนา

พื้นที่เขตองค์การบริหารส่วนตําบลสระ เป็นพื้นที่ราบระหว่างหุบเขามี เทือกเขาล้อมรอบ บางส่วนเป็นเนินสูง บางส่วนเป็นที่ราบลาดเอียงเขา มีทรัพยากรทางธรรมชาติและสภาพพืน้ ทีท่ เี่ หมาะสมแก่การประกอบอาชีพ เพาะปลูกหลายชนิด รวมถึงมีแหล่งท่องเทีย่ วทีเ่ หมาะสําหรับพัฒนาให้เป็น คือวิสัยทัศน์ขององค์การบริหารส่วนตําบลสระ ตั้งอยู่เลขที่ 1 1 แหล่งท่องเที่ยวของตําบลสระต่อไปในอนาคต เช่น นํ้าตกนาบัว นํ้าตก หมู่ที่ 4 ตําบลสระ ถนนเชียงม่วน-พะเยา อําเภอเชียงม่วน จังหวัดพะเยา ห้วยต้นผึ้ง นอกจากนี้ ยังมีชุมชนเผ่าไทลื้อ และโบราณสถานวัดท่าฟา ห่างจากอําเภอเชียงม่วนประมาณ 12 กิโลเมตร ปจจุบันมี นายสังคม ใต้ ที่เป็นแหล่งท่องเที่ยวสําคัญในท้องถิ่น ซึ่งถือได้ว่าเป็นจุดเด่นและเป็น สืบแสน เป็น นายกองค์การบริหารส่วนตําบลสระ เอกลักษณ์ของตําบลสระ 122


รูปงาช้าง

ประเพณี-วัฒนธรรมสําคัญ 1. ประเพณีวนั สงกรานต์ จัดขึน้ ในเดือนเมษายนของทุกปี มีการประกวด นางงามสงกรานต์ พิธีรดนํ้าดําหัวบิดามารดา ปูย่าตายาย และผู้สูงอายุ ในชุมชน และมีการทําบุญเลีย้ งพระ สรงนํา้ พระพุทธรูป ทําบุญตักบาตร มีการละเล่นพื้นเมืองต่าง ๆ 2. พิธีบวงสรวงแท่นพระปา ตรงกับวันขึ้น 15 คํ่า เดือน ซึ่งเป็นวัน วิสาขบูชาของทุกปี ประกอบด้วยกิจกรรมบวงสรวงแท่นพระปา แข่งขัน บั้งไฟ ทําบุญตักบาตร และกิจกรรมนันทนาการรื่นเริงต่าง ๆ 3. พิธีบวงสรวงพระธาตุโปงเกลือ ตรงกับวันขึ้น 15 คํ่า เดือน 7 ของทุกปี มีพิธีทําบุญตักบาตร กิจกรรมบวงสรวง การแข่งขันบั้งไฟ และกิจกรรมรื่นเริงนันทนาการต่าง ๆ 4. ประเพณีทําบุญเข้าพรรษา ประมาณเดือนกรกฎาคม หรือสิงหาคม ของทุกปี กิจกรรมมีการทําบุญแห่เทียนพรรษาไปถวายวัดต่าง ๆ ใน พื้นที่ และทําบุญตักบาตร 5. ประเพณีออกพรรษา ประมาณเดือนตุลาคมของทุกปี มีกิจกรรม ทําบุญตักบาตรและฟงธรรม . ประเพณีตานกวยสลากภัตร ประมาณเดือนตุลาคมของทุกปี กิจกร รมทํากวยสลาก ไปถวายตามวัดต่าง ๆ 7. ประเพณีลอยกระทง ประมาณเดือนพฤศจิกายนของทุกปี กิจกรรม ทําบุญตักบาตร และมีการลอยกระทง ประกวดนางนพมาศ มีการละ เล่นต่าง ๆ 8. ประเพณีวันตรุษจีน มีการประกอบกิจกรรมไหว้บรรพบุรุษ ตาม ความเชื่อของชาวไทยภูเขาเผ่าเมี่ยน

รูปเต่าหับ

อบต.สระ ชวนเที่ยว ในเขตพืน้ ทีต่ าํ บลสระมีสถานทีท่ อ่ งเทีย่ วทีม่ คี วามสวยงาม และมีเอกลักษณ์ ที่โดดเด่นหลายแห่ง ดังนี้ 1. โบราณสถานไทลื้อวัดท่าฟาใต้ ตั้งอยู่ในเขตบ้านท่าฟาใต้ หมู่ที่ 2 ลักษณะตัวอุโบสถเป็นรูปทรงปนหยาศิลปะไทลือ้ สร้างเมือ่ ปี พ.ศ. 2311 โดยครูบาธรรมเสนา พร้อมด้วยพ่อเฒ่าแสนอิฐ กลุ่มผู้นําชาวไทลื้อซึ่ง อพยพมาจากเมืองสิบสองปนนา มณฑลยูนาน ตอนใต้ของประเทศจีน 2. นํ้าตกนาบัว ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่บ้านนาบัว หมู่ที่ 9 3. นํ้าตกห้วยต้นผึ้ง ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่บ้านเหล่าพัฒนา หมู่ที่ 10 เป็น นํา้ ตกหินปูนขนาดเลก ตกลงมาจากหน้าผาสูง มีนาํ้ ไหลตลอดปี ระหว่าง เดินทางไปนํ้าตกจะพบนํ้าตกเลกน้อยที่สวยงามมาก มีทั้งหมดถึง 7 ชั้น 4. บ่อเหมืองแร่เชียงม่วน ซึ่งเคยได้รับสัมปทานทําเหมืองแร่ลิกไนต์ แต่ ปจจุบนั ได้ยกเลิกสัมปทานแล้ว จึงเป็นแหล่งท่องเทีย่ วทางธรรมชาติอกี แห่ง หนึง่ ของตําบลสระ มีประวัตคิ วามเป็นมาทีน่ า่ ศึกษาค้นคว้าจากการขุดพบ ซากฟอสซิล ของสัตว์ดึกดําบรรพ์ต่าง ๆ PHAYAO 123


เส้นทางพบ

องค์การบริหารส่วนตําบล

ประวัติตําบลแม่สุก

นายจตุรงค์ สุวรรณะ นายกองค์การบริหารส่วนตําบลแม่สุก

องค์การบริหารส่วนตําบลแม่สุก “สภาพแวดล้อมสมบู รณ์ เพิ่มพู นรายได้ ใส่ใจสุขภาพถ้วนหน้า การศึกษาดีมีคุณธรรม วัฒนธรรมประเพณีล้าํ ค่า สู่การพึ่งพาตนเองอย่างยั่งยืน” คือวิสัยทัศน์ขององค์การบริหารส่วนตําบลแม่สุก ซึ่งตั้งอยู่เลขที่ 289 บ้านแม่สุกนํ้าล้อม หมู่ 10 ตําบลแม่สุก อําเภอ แม่ใจ จังหวัดพะเยา โดยตั้งอยู่ทางทิศใต้ห่างจากที่ว่าการอําเภอแม่ใจ ประมาณ 9 กิ โ ลเมตร และอยู ่ ห ่ า งจากตั ว จั ง หวั ด พะเยาไปทางทิ ศ เหนือ ประมาณ 22 กิโลเมตรปจจุบันมี นายจตุรงค์ สุวรรณะ ดํารงตําแหน่ง นายกองค์การบริหารส่วนตําบลแม่สุก 124

เมื่อ จ.ศ. 1209 (พ.ศ. 2390) มีพระภิกษุเป็นผู้นําชาวบ้านจาก บ้านหัวช้าง เมืองปาน(ปจจุบัน อ.เมืองปาน จ.ลําปาง) มาตั้งหมู่บ้านใน บริเวณที่ราบเชิงเขา รวม 3 หมู่บ้าน ได้แก่ บ้านแม่สุก บ้านแม่จว้า บ้าน แม่จว้าใต้ รวมกันเป็นหนึ่งตําบลแม่สุก เนื่องจากบ้านแม่สุกได้จัดตั้งขึ้น ก่อน ชื่อ แม่สุก มาจากบริเวณหมู่บ้านมีต้นสีสุก (อโศกอินเดียสีทอง) ขึ้นตามลําห้วย เวลาออกดอกจะทําให้หอมไปทั่วชาวบ้านเลยตั้งชื่อว่าบ้าน สีสุก ต่อมาเลยเปลี่ยนเป็นบ้าน แม่สุก จนถึงทุกวันนี้ องค์การบริหารส่วนตําบลแม่สกุ ได้รบั การยกฐานะจากสภาตําบล แม่สุก เป็นองค์การบริหารส่วนตําบลแม่สุก เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2540

ข้อมูลทั่วไป

องค์การบริหารส่วนตําบลแม่สุก เนื้อที่ทั้งหมด 41.4 ตาราง กิโลเมตร หรือประมาณ 22, 25 ไร่ มีพื้นที่เป็นที่ราบลุ่ม โดยทั่วไปมี เทือกเขาเป็นแนวยาวจากทิศเหนือลงไปทางทิศใต้ ทําให้มีพื้นที่ลาดเอียง จากทิศตะวันตกไปทางทิศตะวันออก สภาพทั่วไปเป็นทุ่งนา มีลํานํ้าแม่ สุกและลํานํ้าแม่จว้าไหลผ่าน เขตการปกครอง องค์การบริหารส่วนตําบลแม่สุก มีจํานวน หมู่บ้าน 10 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ 1 บ้านแม่สุกเหนือ หมู่ บ้านแม่สุกกลาง หมู่ 2 บ้านแม่สุก หมู่ 7 บ้านแม่จว้าปนเจิง หมู่ 3 บ้านแม่จว้าเหนือ หมู่ 8 บ้านแม่จว้า หมู่ 4 บ้านแม่จว้ากลาง หมู่ 9 บ้านแม่สุกดอย หมู่ 5 บ้านแม่จว้าใต้ หมู่ 10 บ้านแม่สุกนํ้าล้อม


อบต.แม่สุกชวนเที่ยว

นําตกแม่สุก เป็นนํ้าตกที่มีความสูง ชั้น เป็นแหล่งท่องเที่ยวใหม่ เหมาะ สํ า หรั บ นั ก ท่ อ งเที่ ย วที่ ช อบเดิ น ปาศึ ก ษาธรรมชาติ โดยตั้ ง อยู ่ เ ขต พื้นที่บ้านแม่สุกเหนือ หมู่ 1 อยู่ห่างจากที่ว่าการอําเภอแม่ใจ (ใหม่) ประมาณ 13 กิโลเมตร ใช้เวลาเดินทางประมาณ 45นาที แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร อาทิ 1. กลุ่มไร่นาสวนผสม เลขที่ 71 หมู่ 5 ต.แม่สุก อ.แม่ใจ จ.พะเยา โทรศัพท์ 08 9952 904 2. กลุ่มผู้ปลูกลิ้นจี่ตําบลแม่สุก อ.แม่ใจ จ.พะเยา โทรศัพท์ 08 9954 4734 3. กลุ่มเกษตรผสมผสานบ้านแม่สุก เลขที่ 221 หมู่ 2 ต.แม่สุก อ.แม่ใจ จ.พะเยา โทรศัพท์ 08 7181 0 88

สินค้า OTOP ตําบลแม่สุก

แหนม, ผลิตภัณฑ์จักสานไม้ไผ่,การแปรรูปผลผลิตการเกษตร, ไข่เคม, นํ้าพริก ฯลฯ

PHAYAO 125


บทความพเ

บ้�น วก บเข� น นสด�นช�ย ดน �วร

126


บาน วก หุบเขา น ั น สู่ด่านชาย ดน าวร

จั ง หวั ด พะเยา มี แ นวเขตติ ด ต่ อ กั บ สาธารณรั ฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว (สปป.ลาว) ตั้งแต่บริเวณบ้าน วก หมู่ที่ 3 ตําบลภูซาง อําเภอภูซาง ถึงบ้านต้นผึ้ง หมู่ ที่ 1 ตําบลร่มเยน อําเภอเชียงคํา เป็นระยะทางประมาณ 3 กิโลเมตร โดยมีช่องทางกิ่วหก ( B 5027 3) เป็นช่อง ทางที่ติดต่อระหว่างบ้าน วก หมู่ที่ 12 ตําบลภูซาง อําเภอภู ซาง จังหวัดพะเยา กับบ้านปางมอญ เมืองคอบ แขวงไชยะ บุรี สปป.ลาว และเป็นที่ตั้งจุดผ่อนปรนชายแดนไทย-สปป ลาว บ้าน วก ซึ่งก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 25 มีนาคม 253 จุดผ่อนปรนชายแดนไทย-สปป.ลาว บ้าน วก จึงเป็น ช่องทางที่ราษฎรของทั้งสองประเทศ สามารถเดินทางติดต่อ ค้าขายกันได้ทุกวัน ตั้งแต่เวลา 0 .00 18.00 น. ของทุก วัน โดยไม่มกี ารหยุดพักเทีย่ ง และจัดตลาดนัดทุกวันที่ 10 และ 30 ของทุกเดือน ณ บริเวณตลาดบ้าน วก โดยมีที่ทําการ ปกครองอําเภอภูซาง จังหวัดพะเยา ซึ่งมีนายอําเภอภูซางเป็น ผู้ดูแลรับผิดชอบ และเจ้าหน้าที่จากด่านศุลกากร ควบคุมดูแล การนําเข้าสินค้าผ่านเข้า-ออก บริเวณจุดผ่านแดน เพื่อให้เกิด การติดต่อค้าขายระหว่างประเทศ เป็นไปตามข้อตกลงของคณะ

จุ ด ่อน รนก่วหก เ นพนที่ทางยุ ท าสตร์ ที่ มี ั ก ยภาพ นการขยายการคาการลงทุ น การท่องเที่ยวเชงอนุรัก ์ตาม นวชาย ดน การพั นาการเก ตร อุ ตสาหกรรม ละโลจสตกส์ กรรมการรักษาความสงบเรียบร้อยตามแนวชายแดนไทย-ลาว จังหวัดพะเยา, ลาว-ไทย แขวงไชยะบุรี ปจจุบนั จังหวัดพะเยากําลังเร่งดําเนินการยกระดับจุดผ่อน ปรนชายแดนไทย-สปป.ลาว บ้าน วก ให้เป็นด่านถาวร ภาย หลังจากมีมติ ครม.เมื่อปี 2555 ซึ่งหากดําเนินสําเรจจะเป็น โอกาสสําคัญของจังหวัดพะเยา ไม่เฉพาะแต่โอกาสด้านการค้า ชายแดนไทย ลาว ที่นับวันจะมีมูลค่าการค้าเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง ทุกปี โอกาสที่จะส่งเสริมให้เกิดการลงทุนด้านการเกษตรและ อุตสาหกรรมเกษตรร่วมกันระหว่างจังหวัดพะเยาและแขวง ไชยะบุรี ซึ่งจะผลักดันให้พะเยาเป็นแหล่งอาหารของโลกใน อนาคตได้ โอกาสในการเป็นเส้นทางโลจิสติกส์เชื่อมโยงกลุ่ม ประเทศอนุ ภู มิ ภ าคลุ ่ ม นํ้ า โขง และที่ สํ า คั ญ คื อ โอกาสด้ า น PHAYAO 127


การท่องเที่ยวในเขตของภาคเหนือตอนบน เชื่อมโยงกับกลุ่ม ประเทศอนุภูมิภาคลุ่มนํ้าโขงได้เป็นอย่างดี ซึ่งสอดคล้องกับ ยุทธศาสตร์เ ตพั นาการท่องเที่ยวอารยธรรมล้านนา พ.ศ. 2559 25 3 ที่ได้กําหนดวิสัยทัศน์ไว้ว่า การท่องเที่ยวทางวั นธรรมและภูมิปญญาล้านนาเชิง สร้างสรรค์ เช่อมโยงอนุภูมิภาคลุ่มนําโ ง กรรณิกา พิมลศรี (คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศ ศาสตร์ สาขาวิชาการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยพะเยา อ.เมือง จ.พะเยา ) และอดิศร เรือลม (สํานักงานโยธาและผังเมือง จังหวัดพะเยา อ.เมือง จ.พะเยา) ได้ทําการวิจัยเชิงคุณภาพ ในประเดน ศักยภาพทางการท่องเที่ยวเมืองชายแดนภูซาง จังหวัดพะเยา ในการเชือ่ มโยงกับประเทศเพือ่ นบ้านอนุภมู ภิ าค ลุ ่ ม แม่ นํ้ า โขง ซึ่ ง ตี พิ ม พ์ ใ นวารสารการพั ฒ นาชุ ม ชนและ คุณภาพชีวิต (255 ) โดยมีเนื้อหาการวิจัยที่น่าสนใจและเป็น ประโยชน์อย่างยิง่ สําหรับนักลงทุน ผูป้ ระกอบการด้านการท่อง เทีย่ ว ประชาชนในพืน้ ทีต่ าํ บลภูซาง อําเภอภูซาง และใกล้เคียง ตลอดจนนักท่องเที่ยวทั่วไป ซึ่ง นิตยสาร SBL ขอหยิบยกมา นําเสนอในบางประเดน ดังนี้ คํานํา เมืองชายแดนภูซาง หรือ ชุมชนบ้าน วกเป็นหมู่บ้านที่อยู่ ในเขตการปกครองของ ตําบลภูซาง อําเภอภูซาง จังหวัดพะเยา เป็นชุมชนทีม่ วี ฒ ั นธรรมเก่าแก่ โดยได้มกี ารจัดตัง้ เป็นหมูบ่ า้ น

128

และตําบลขึน้ ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2445 อีกทัง้ มีทรัพยากรธรรมชาติที่ อุดมสมบูรณ์อนั เป็นสิง่ ดึงดูดใจทางการท่องเทีย่ วได้แก่ อุทยาน แห่งชาติภูซาง นํ้าตกอุ่น นํ้าตกโปงผา ภูชี้ฟา ถํ้านํ้าลอด พระ ธาตุภูซาง นอกจากนี้ ด ้ ว ยที่ ตั้ ง ของชุ ม ชนติ ด ต่ อ กั บ สาธารณรั ฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว จึงทําให้ชุมชนแห่งนี้เป็นจุดผ่อน ปรนหนึ่งที่สามารถเชื่อมโยงอนุภูมิภาคลุ่มแม่นํ้าโขง ( reater Mekong Sub-region: MS) ได้เป็นอย่างดี และสามารถ พัฒนาเป็นเส้นทางการค้าการลงทุน การท่องเที่ยวระหว่าง ไทยสู่ สปป.ลาวผ่านไปยังจีนตอนใต้และเวียดนามได้ รวมทั้ง การเชือ่ มโยงวัฒนธรรมของผูค้ น โดยมีการติดต่อไปมาหาสูม่ า ตั้งแต่อดีตจนถึงในปจจุบัน เหนได้จากตลาดนัดชายแดน และ งานตักบาตรสองแผ่นดินทีผ่ คู้ นทัง้ สองประเทศร่วมใจกันจัดขึน้ เป็นประจําทุกปี ด้วยจุดเด่นเหล่านี้จึงทําให้ชุมชนท้องถิ่น ผู้นํา ชุมชน หน่วยงานภาครัฐและเอกชนทีเ่ กีย่ วข้องกับการท่องเทีย่ ว ในพื้นที่และระดับจังหวัด มีนโยบายและสร้างความร่วมมือกัน ในการส่งเสริมและพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวในพื้นที่ดังกล่าว ให้ เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สําคัญของจังหวัด (สํานักงานการท่อง เที่ยวและกี าจังหวัดพะเยา, 2553) นอกจากนีก้ ระแสการพัฒนาการท่องเทีย่ วตามกรอบความ ร่วมมืออนุภูมิภาคลุ่มนํ้าโขง อันเป็นยุทธศาสตร์การพัฒนา พื้นที่เศรษฐกิจ (economic corri or) ซึ่งมีความร่วมมือใน


1.1 ตําแหน่งที่ตั้งของด่านชายแดนบ้าน วก สามารถ เชือ่ มโยงพืน้ ทีป่ ระเทศไทยเข้าสูต่ อนเหนือของลาว ตอนใต้ของ สาธารณรัฐประชาชนจีน และตอนเหนือของเวียดนาม ด้วย ตําแหน่งทางทําเลทีต่ งั้ ของจุดผ่อนปรนชัว่ คราวกิว่ หก ทีส่ ามารถ เดินทางสูเ่ มืองสําคัญในประเทศ และในแขวงไชยะบุรขี องสปป. ลาว เมื่อเปรียบเทียบทําเลที่ตั้งและความเชื่อมโยงระหว่าง เชียงใหม่ ซึง่ เป็นศูนย์กลางการพัฒนาในภูมภิ าค ด่านชายแดน เชียงของ จ.เชียงรายระยะทาง 320 กิโลเมตร ด่านชายแดน

การพัฒนาการท่องเที่ยวเชื่อมโยงระหว่างกัน รวมทั้งกรอบ การพัฒนาในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟก จะเน้นการเพิ่มโอกาส ทางการค้าระหว่างอาเซียนและพันธมิตรทางเศรษฐกิจ โดย ในปี พ.ศ. 2558 ผลการวิจัย การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพเป็นหลัก โดยมี การผสมผสานกับการวิจัยเชิงปริมาณ สรุปศักยภาพทางการ ท่องเที่ยวเมืองชายแดนภูซาง จังหวัดพะเยา ในการเชื่อมโยง กับประเทศเพื่อนบ้านอนุภูมิภาคลุ่มแม่นํ้าโขง จําแนกเป็น 5 หัวข้อหลัก ได้แก่ 1 ศักยภาพด้านกายภาพ ตําแหน่งที่ตัง องชุมชน น การท่องเที่ยวเช่อมโยงประเทศ นอนุภูมิภาคลุ่มแม่นําโ ง เมืองชายแดนภูซางเป็นชุมชนที่มีอาณาเขตติดกับ สปป. ลาว ซึ่งเป็นจุดผ่อนปรนชั่วคราวกิ่วหก หรือที่เรียกว่าด่านชาย แดนบ้าน วก เป็นจุดยุทธศาสตร์ที่สําคัญของจังหวัดพะเยา และแขวงไชยะบุรีในด้านการติดต่อการค้าขาย และการท่อง เที่ยวในพื้นที่เนื่องจากจุดผ่อนปรนตั้งอยู่ในร่องเขา ทําให้ การเดินทางเข้าออกเป็นไปด้วยความสะดวก ด้วยลักษณะ ภูมิประเทศและทําเลที่ตั้งที่สามารถพัฒนาการเชื่อมต่อทางโล จิสติกส์ในกลุ่มประเทศอนุภูมิภาคลุ่มแม่นํ้าโขงระหว่างเมือง ที่สําคัญในสปป.ลาว คือ เมืองไชยะบุรี เมืองอุดมไชย เมือง หลวงพระบาง ด้วยระยะทางไม่เกิน 200 กิโลเมตร และยัง สามารถเชื่อมไปยังเมืองสําคัญในอนุภูมิภาคลุ่มแม่นํ้าโขง คือ เชียงรุง้ คุนหมิง เดียนเบียนฟูและ านอยได้ ทําให้จดุ ผ่อนปรน กิว่ หก (ด่านชายแดนบ้าน วก) จึงเป็นพืน้ ทีท่ างยุทธศาสตร์ทมี่ ี ศักยภาพ ในการขยายการค้าการลงทุนและเชื่อมโยงวงจรการ ท่องเทีย่ วเชิงอนุรกั ษ์ตามแนวชายแดน และเป็นพืน้ ฐานสําหรับ การพัฒนาการเกษตร อุตสาหกรรม และโลจิสติกส์ของภูมภิ าค นี้ ซึ่งมีรายละเอียดโดยสรุป ดังนี้

ั จจุ บั น สภาพทางการท่ อ งเที่ ย ว นชุ ม ชน บาน วก ละ หล่งท่องเที่ยว นอ�าเภอภูซาง จังหวัดพะเยา อเ นพนที่สา� คั ที่มี กั ยภาพ ทางดานการท่องเที่ยว

ห้วยโกน จ.น่าน ระยะทาง 450 กิโลเมตร และจุดผ่อนปรน ชัว่ คราวกิว่ หก จ.พะเยา ระยะทาง 250 กิโลเมตร อันเป็นระยะ ทางที่ใกล้ที่สุด ซึ่งอยู่ในกลุ่มล้านนาตะวันออกเหมือนกัน และ เมือ่ เปรียบเทียบทําเลทีต่ งั้ และความเชือ่ มโยงระหว่างกรุงเทพฯ ซึ่งเป็นศูนย์กลางการพัฒนาระดับประเทศ จุดผ่อนปรนกิ่วหก (บ้าน วก) มีข้อได้เปรียบในด้านระยะทางที่สะดวกและใกล้ กว่า ด้วยระยะทาง 793 กิโลเมตร ด่านชายแดนเชียงของ จ.เชียงราย ระยะทาง 930 กิโลเมตร ด่านชายแดนห้วยโกน จ.น่าน ระยะทาง 80 กิโลเมตร จะเหนถึงความได้เปรียบ ในด้านการคมนาคม ระยะเวลาในการเดินทาง และลักษณะ ภูมิประเทศที่เป็นที่ราบเป็นส่วนใหญ่ซึ่งสะดวกต่อการเดินทาง ส่งผลต่อความคุ้มค่าในการเดินทางทั้งด้านการขนส่ง การค้า และการท่องเที่ยว ในด้านความประหยัดเวลาและต้นทุนค่าใช้ จ่าย ทําให้แนวทางการพัฒนาด้านโลจิสติกส์ทง้ั ในพืน้ ที่ ระหว่าง พื้นที่ในประเทศและเชื่อมโยงกับประเทศเพื่อนบ้าน คือ สปป. ลาว เวียดนาม และจีนตอนใต้ การขยายการค้าการลงทุน การ เชื่อมโยงวงจรการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ตามแนวชายแดน และ การพัฒนาร่วมกับกลุ่มประเทศอนุภูมิภาคลุ่มนํ้า โขงซึ่งมีการ พัฒนาไปมาก หากมีการยกฐานะการเป็นด่านชายแดนถาวร 1.2. การเปดประตูบ้าน วก เป็นการเชื่อมโยงพื้นที่ตาม กรอบความร่วมมือยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจ ของ อนุ ภู มิ ภ าคลุ ่ ม นํ้ า โขงที่ มี ก ารพั ฒ นาการเชื่ อ มโยงพื้ น ที่ จ าก เวียดนามตอนเหนือสู่ท่าเรือนํ้าลึกกะเลก๊วก ( alegauk) ที่ เมืองเย ในเขตจังหวัดมะละแหม่ง และท่าเรือนํ้าลึกทวาย ของ PHAYAO 129


ประเทศเมียนมาร์ การเปดจุดผ่อนปรนทางการค้าและจุดผ่าน แดนถาวรกิ่วหก (บ้าน วก) จะเป็นโอกาสขยายการค้า การ ลงทุน และเชือ่ มโยงการท่องเทีย่ วเชิงอนุรกั ษ์ตามแนวชายแดน และเป็นพื้นฐานสําหรับการพัฒนาการเกษตร ระหว่างแขวง ไชยะบุรีของประเทศลาว กับจังหวัดพะเยา และกลุ่มล้านนา ตะวันออก การสร้างความเชื่อมโยงระหว่างประเทศในกลุ่มอนุ ภูมิภาคลุ่มนํ้าโขง โดยเฉพาะประเดนพัฒนาอนุภูมิภาคนี้ ให้ เป็นแหล่งผลิตอาหาร เพือ่ สร้างความมัน่ คงทางอาหาร โดยการ มุง่ เน้นการขยายฐานการผลิตด้านอุตสาหกรรมและเกษตร ใน แขวงไชยะบุรี สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ทีย่ งั คง มีพื้นที่อีกมากพอที่จะขยายพื้นที่เพื่อการเกษตร ควบคู่กับการ ปรับเปลี่ยนการผลิตในประเทศ เช่น การพัฒนาข้าวพันธุ์ดีที่มี ราคาในตลาดโลกสูง หรือการทําการเกษตรชนิดอื่นที่ไม่แย่ง ตลาดกันเองในกลุ่มประเทศ การพัฒนาตามกรอบความร่วมมืออนุภูมิภาคลุ่มแม่นํ้า โขง สําหรับความเป็นไปได้ของการพัฒนาเส้นทางการค้าและ การท่องเที่ยวจากจีนตอนใต้ และเวียดนาม ลงสู่ท่าเรือนํ้าลึก ในประเทศเมียนมาร์ จะทําให้เกิดการพัฒนาระบบโลจิสติกส์ ของกลุ่มอนุภูมิภาคลุ่มแม่นํ้าโขง โดยการผ่านเส้นทางบ้าน วก พะเยา ลงสู่ด่านชายแดนแม่สอดมีความเป็นไปได้สูง ด้วย 130

เสนทางจากจังหวัดพะเยา ่านด่านชาย ด นบาน วก เมองคอบ ากทา ส .ลาว เขา นน 3 สู่จีนตอน ต สาเหตุของการพัฒนาระบบโครงข่ายคมนาคมในแขวงไชยะบุรี ที่ดําเนินการพัฒนาเส้นทางคมนาคม โดยได้รับเงินสนับสนุน จากธนาคารแห่งเอเชีย ( B) ในการพัฒนาเส้นทางบ้าน วก เมืองคอบ ปากคอบ ปากทา - ถนน 3 สู่ห้วย ทราย เชียง ่อน เมืองคอบ ซึ่งโครงการดังกล่าวสามารถ สร้างโครงข่ายคมนาคมเชือ่ มโยง แขวงไชยะบุรสี แู่ ขวงอุดมไชย แขวงหลวงพระบาง และแขวงบ่อแก้ว ซึ่งเป็นพื้นที่เศรษฐกิจที่ สําคัญของ สปป.ลาว ผลของการยกระดับจุดผ่อนปรนชั่วคราว กิว่ หกเป็นด่านชายแดนนัน้ จะส่งผลให้เกิดเส้นทางการเชือ่ มโยง ระบบการค้า การลงทุน และการท่องเทีย่ วจากจีนตอนใต้ สปป. ลาว ตอนเหนือ และเวียดนามตอนเหนือลงสู่พื้นที่เศรษฐกิจที่ สําคัญทางตอนใต้ และตะวันตกของอนุภูมิภาคลุ่มแม่นํ้าโขง ได้แก่ กรุงเทพมหานครแหลมฉบัง มาเลเซีย ท่าเรือสิงคโปร์


และท่าเรือทวายของประเทศเมียนมาร์ ซึ่งจะทําให้พะเยา และ ด่านชายแดนบ้าน วก เป็นจุดเชือ่ มต่อของพืน้ ทีพ่ ฒ ั นาตามกรอบ การค้า MS ได้อย่างดี นอกจากนัน้ แขวงไชยะบุรี ของ สปป.ลาว ยังจะกลายเป็นพืน้ ทีส่ าํ คัญทางยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการค้า ด้วยระบบโครงข่ายคมนาคมทีพ่ ฒ ั นาขึน้ มาใหม่ และการเชือ่ มต่อ เข้ายังประเทศไทยที่ด่านชายแดนกิ่วหก (บ้าน วก) สรุปผลการวิจัย 1 ศักยภาพด้านทําเลที่ตัง และแนวโน้มเส้นทางการท่อง เที่ยวเช่อมโยงวั นธรรมลุ่มแม่นําโ งสาย หม่ ในประเดน การพัฒนาความเชื่อมโยงด้านการท่องเที่ยว จังหวัดพะเยาจะ สามารถพัฒนาเส้นทางความเชือ่ มโยงการท่องเทีย่ วใหม่เชิงนิเวศ วัฒนธรรมสายใหม่ 3 เส้นทาง คือ 1) เส้นทางจากจังหวัดพะเยา ผ่านด่านชายแดนบ้าน วก เมืองคอบ ปากทา สปป.ลาว เข้าถนน 3 สู่จีนตอนใต้ 2) เส้นทางจากพะเยา บ้าน วก เมืองคอบ หงสา สู่หลวง พระบางเมืองมรดกโลก และการเดินทางไปสู่ปากคอบ ล่องนํ้า โขงสู่หลวงพระบาง 3) เส้นทางจากพะเยา บ้าน วก ปากคอบ ปากแบ่ง อุดมไชย สู่เวียดนามตอนเหนือ ผ่านเดียนเบียนฟู เข้าสู่ านอย หากมีการพัฒนาเส้นทางท่องเทีย่ วดังกล่าว จะเป็นการพัฒนา ขีดความสามารถและศักยภาพด้านการท่องเที่ยวของจังหวัด พะเยาอย่างมาก และที่สําคัญการยกระดับจุดผ่อนปรนกิ่วหกนั้น จะทําให้การพัฒนาการเกษตรในภูมภิ าค พัฒนารูปแบบการผลิต ทางการเกษตรในลักษณะการลงทุนร่วมกันระหว่างจังหวัดพะเยา และแขวงไชยะบุรี ซึ่งทําให้ปริมาณผลผลิตทางการเกษตร และ การลงทุนในพื้นที่จากภาวะความต้องการอาหารของโลก การ ผลักดันให้พะเยาเป็นแหล่งอาหารของโลกมีศกั ยภาพสูงขึน้ กลาย

หากมีการยกระดับ หเ นด่าน าวร จะเ น เสนทางท่องเที่ยวสาย หม่ มีขอ ดเ รียบทาง ระยะทาง ละมีส่งดงดูด จ โดยเ พาะนักท่อง เที่ยวชาวต่าง ระเท ที่นยมว ีความเ นอยู ่ บบดังเดม เป็นส่วนสําคัญในการพัฒนาขีดความสามารถการแข่งขันในอนุ ภูมิภาคลุ่มนํ้าโขงได้ 2 ศักยภาพด้านทรัพยากรทางการท่องเที่ยว องชุม ชนบ้าน วกและอําเภอภูซาง การพัฒนายกระดับด่านกิ่วหก (บ้าน วก) จะทําให้การท่องเทีย่ วในพืน้ ทีม่ ศี กั ยภาพเพิม่ ขึน้ จาก เดิม คือ การเป็นเมืองท่องเทีย่ วชายแดนสูป่ ระเทศเพือ่ นบ้านใน ระดับสากล ปจจุบันสภาพทางการท่องเที่ยวในชุมชนบ้าน วก และแหล่งท่องเที่ยวในอําเภอภูซาง จังหวัดพะเยา ถือเป็นพื้นที่ สําคัญที่มีศักยภาพทางด้านการท่องเที่ยว ผลการศึกษาของประกอบศิริ และกรรณิกา (2554) ได้ รายงานว่า ชุมชนเมืองชายแดนภูซางมีศักยภาพทางด้านการ ท่องเที่ยวในระดับสูง ด้วยบรรยากาศที่มีภูเขาล้อมรอบ อุดม สมบูรณ์ด้วยทรัพยากรธรรมชาติ วัฒนธรรม ชาติพันธุ์ และ ความสัมพันธ์ระหว่างชนชาติไทย ลาว อันมีการไปมาหาสู่กัน มายาวนาน จนได้สมญานามสําหรับพื้นที่แห่งนี้คือ หุบเ า แห่งสายสัมพันธ์สองแผ่นดิน และในช่วงฤดูกาลท่องเที่ยว กมีนักเดินทางเข้ามาเยือนอยู่เป็นจํานวนมาก เนื่องจากเป็น จุดเชื่อมโยงระหว่างแหล่งท่องเที่ยวสําคัญ คือ ภูชี้ฟา และ PHAYAO 131


โ มสเตย์บาน วกกับการสัม ัสว ีชุมชนนัก ท่องเที่ยว ดสัม สั กับว ชี ุมชนซ่ งส่วน ห เ่ กด ความ ระทับ จ ลวน�า ระชาสัมพัน ์กัน าก ต่อ ากโดยเ พาะ นสังคมออน ลน์

นํ้าตกภูซาง ซึ่งเป็นนํ้าตกอุ่นถือเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่มีความ มหัศจรรย์ตามโครงการ mazing ailan โดยการท่องเทีย่ ว แห่งประเทศไทย 3 ศักยภาพด้านการบริการ จัดการการท่องเที่ยวและ ความพร้อม องประชาชนต่อการพั นาการท่องเที่ยว ผล การศึกษาโดยสรุป พบว่า 1) การมีส่วนร่วมในการพัฒนาการท่องเที่ยวของชุมชนใน บ้าน วก ในภาพรวมทัง้ หมดจัดอยูใ่ นระดับทีด่ ี เมือ่ จําแนกการ มีสว่ นร่วมในแต่ละด้าน พบว่าการมีสว่ นร่วมทีจ่ ดั อยูใ่ นระดับที่ ดีนั้น ได้แก่ การมีส่วนร่วมในการช่วยประชาสัมพันธ์การท่อง เที่ยวของชุมชน รองลงมาตามลําดับ คือ การมีส่วนร่วมรับรู้ ได้แก่ การรับรู้ รับทราบการดําเนินการโครงการพัฒนาด้านการ 132

ท่องเทีย่ วต่าง ๆ การมีสว่ นร่วมในการทําให้ชมุ ชนน่าอยูม่ ากขึน้ กว่าเดิม เช่น ชุมชนมีการจัดภูมิทัศน์ให้สวยงาม การปรับปรุง สาธารณูปโภค การช่วยพัฒนาการท่องเทีย่ ว เช่น การปรับปรุง ตกแต่งคุ้มบ้าน และการมีส่วนร่วมด้านอื่น ๆ 2) ความคิดเหนทีม่ ตี อ่ การพัฒนากิจกรรมและการบริการ ด้านการท่องเที่ยวในชุมชน พบว่าชุมชนให้ความสําคัญและ ต้องการให้มกี จิ กรรมท่องเทีย่ ว คือ การเช่าจักรยานชมหมูบ่ า้ น การจัดทําพิพิธภัณฑ์มีชีวิต หรือการเปดบ้านขายผลิตภัณฑ์ ชุมชน ตลาดนัดชายแดนไทย ลาว ถนนคนเดิน กาด โบราณ งานทํามือของชุมชน การเยี่ยมชม สักการบูชา วัด บ้าน วก รับประทานอาหารพื้นบ้าน / อาหารปลอดสารพิษ ของชุมชน การเรียนรู้เรื่องสมุนไพร กับหมอเมือง (หมอพื้น บ้าน) การนวดแผนโบราณ การชมและเรียนรู้การทอผ้า และ การพัฒนาที่พัก บ้าน วกโ มสเตย์ ม่อนผาหม่น การพาเที่ยว นํ้าตกโปงผา การตั้งแคมปในหมู่บ้าน การเรียนรู้วิถีเกษตรกับ ชุมชน การเรียนรูง้ านหัตถกรรม จักสาน การนัง่ ล้อวัว(เกวียน) ชมวิถีชีวิตชุมชน การเล่นนํ้าในลําธาร /อ่างเกบนํ้า การแสดง ดนตรี ฟอนรําของหมู่บ้าน การเยี่ยมชม สักการบูชา วัดพระ ธาตุภซู าง การเชือ่ มโยงแหล่งท่องเทีย่ วใกล้เคียงในอําเภอภูซาง ด้านบริการด้านการท่องเที่ยวอื่น ๆ ในชุมชนบ้าน วก


พบว่าชุมชนต้องการให้มีการพัฒนาด้านสื่อประชาสัมพันธ์ต่าง ๆ เช่น ปาย แผ่นพับ ฯลฯ ของที่ระลึกที่เป็นสัญลักษณ์ของท้อง ถิ่น ด้านงานเทศกาล-ประเพณี ณ เมืองชายแดนภูซาง พบว่า ชุมชนให้ความสําคัญต่อการจัดงานตักบาตรสองแผ่นดิน (29-30 ธันวาคม) สําหรับการพัฒนาการท่องเที่ยวเชื่อมโยงไปยังเมือง คอบ สปป.ลาว นั้น พบว่าชุมชนท้องถิ่นให้ความสําคัญต่อการ เยี่ยมชมแม่นํ้าโขง ณ งเมืองคอบสปป.ลาว รองลงมา คือ การ ไปเยือนเมืองหลวงพระบาง การข้ามพรมแดนไปเยือนแผ่นดิน สปป.ลาว (ไป-กลับในวันเดียว) การเยี่ยมชมภูชี้ฟากลางแม่นํ้า โขงใน งสปป.ลาว การเยีย่ มชมวิถชี วี ติ ชุมชนใน งสปป.ลาว การ เข้าไปพักค้างคืนใน สปป.ลาว ชมธรรมชาติในเมืองคอบ สปป. ลาว การไปเยือนเมืองไชยบุรี และชมงานบุญประเพณี ณ ง เมืองคอบ สปป.ลาว... 4 ศักยภาพทางการตลาดและพ ติกรรมนักท่องเทีย่ ว หาก มีการยกระดับด่านกิ่วหก (บ้าน วก) ให้เป็นด่านถาวรจะเกิด ประโยชน์ทงั้ งไทย และ สปป.ลาว อย่างยิง่ เนือ่ งจากจะเป็นเส้น ทางท่องเทีย่ วสายใหม่ มีขอ้ ได้เปรียบทางระยะทางและมีสงิ่ ดึงดูด ใจ โดยเฉพาะนักท่องเทีย่ วชาวต่างประเทศทีน่ ยิ มวิถคี วามเป็นอยู่ แบบดั้งเดิม ความอุดมสมบูรณ์ของธรรมชาติ ซึ่ง สปป.ลาว กได้ มีการวางภาพลักษณ์ของเมืองคอบให้เป็น เมืองแห่งขุนเขา วิถี เกษตรอินทรีย์ ดังนั้น เส้นทางนี้จะเป็นจุดที่ทําให้นักท่องเที่ยว สนใจเข้ามาเยือน และเป็นจุดเชือ่ มต่อการท่องเทีย่ วจากเชียงใหม่ ไปยังหลวงพระบาง เมืองอุดมไชย และเมืองเชียงรุง้ ซึง่ คาดการณ์ ว่าจะมีจาํ นวนนักท่องเทีย่ วชาวต่างประเทศทีจ่ ะเลือกใช้เส้นทางนี้ สูงถึง 50 จากจํานวนที่เข้าออกเมืองเชียงของ คิดเป็นจํานวน

หุบเขา ห่งสายสัมพัน ส์ อง น่ ดน การเช่ อม โยงเสนทางท่องเที่ยวเลาะเลียบตะเขบลานนา ตะวันออกภูซาง หล่งวั น รรม ห่งชนชาต สอง ่นดน ขาเข้าประมาณ 1 ,000 คน ส่วนขาออกจํานวนประมาณ 30,000 คน ส่วนนักท่องเที่ยวชาวไทยน่าจะเลือกใช้เส้นทาง นี้ประมาณ 20 คิดเป็นจํานวนขาเข้าประมาณ 10,000 คน ส่วนขาออกจํานวนประมาณ 10,000 คน ในภาพรวมจะมีนัก ท่องเที่ยวที่จะเข้าออกเมืองโดยผ่านบ้าน วก จํานวนประมาณ ,000 คน เป็นอย่างน้อย (ยังไม่ได้คํานวณจํานวนนักท่อง เที่ยวที่มีสัญชาติลาว) และหากมีการพักค้างคืนที่บ้าน วก หรือจังหวัดพะเยา 1 คืน คาดว่าจะมีมูลค่าทางการท่องเที่ยว จากการใช้จา่ ยของนักท่องเทีย่ ว ไม่ตาํ่ กว่า ,000,000 บาท ต่อปี และหากมีการพัฒนาศักยภาพทางการท่องเทีย่ วของพืน้ ที่ เพิ่มขึ้น กจะสามารถดึงดูดใจให้นักท่องเที่ยวเข้ามาใช้เส้นทาง นี้ และพักค้างคืนเพิม่ ขึน้ ก่อให้เกิดมูลค่าทางการท่องเทีย่ วทีเ่ อือ้ ประโยชน์ต่อเศรษฐกิจของจังหวัดพะเยา และภูมิภาคล้านนา ตะวันออกที่ดีต่อไป ด้านสิ่งดึงดูดใจที่ทําให้นักท่องเที่ยวมีความต้องการมา เยือน และเมื่อได้มาสัมผัสแล้วเกิดความประทับใจมากมาย PHAYAO 133


หลายประการ คือ 1) ตลาดนัดชายแดนไทย- สปป.ลาว ซึ่งมีบรรยากาศของ การแลกเปลีย่ นสินค้าระหว่างคนสองแผ่นดิน การจําหน่ายของ ปา ของพื้นเมือง ของแปลกที่หายากในเมืองใหญ่ 2) วิถีชีวิตของผู้คนชนบท การสัมผัสได้ถึงวิถีชีวิตแบบ ชนบทไทยที่ยังคงมีอัตลักษณ์แบบดั้งเดิม 3) ความเป็นมิตรไมตรีจากเจ้าบ้าน ผู้คนในชุมชนบ้าน วกและพื้นที่ใกล้เคียงยังคงมีความเอื้อเฟอเผื่อแผ่ เป็นมิตร กับผู้มาเยือนด้วยความจริงใจ สร้างความประทับใจต่อผู้ที่ได้ มาสัมผัสอย่างยิ่ง 4) โ มสเตย์บา้ น วกกับการสัมผัสวิถชี มุ ชน นักท่องเทีย่ ว ได้สัมผัสกับวิถีชุมชนซึ่งส่วนใหญ่เกิดความประทับใจแล้วนํา ประชาสัมพันธ์กันปากต่อปาก โดยเฉพาะในสังคมออนไลน์ท่ี นิยมแลกเปลี่ยนประสบการณ์ทางการท่องเที่ยวผ่านเวบบอร์ด ต่าง ๆ 5) งานตั ก บาตรสองแผ่ น ดิ น และการสั ม ผั ส ดิ น แดน ประเทศเพื่อนบ้าน ) งานหัตถกรรม ผ้าทอและของที่ระลึกแบบพื้นเมือง ประจําถิ่น สําหรับการพัฒนาการท่องเทีย่ วเชือ่ มโยงกับประเทศเพือ่ น บ้านโดยเฉพาะสปป.ลาว นั้นผู้มาเยือนส่วนใหญ่มีความสนใจ ในแหล่งท่องเที่ยว/กิจกรรมและบริการทางการท่องเที่ยว การ เยี่ยมชมแม่นํ้าโขง ณ งเมืองคอบ สปป.ลาว การไปเยือน 134

เมืองไชยบุรี การเยี่ยมชมวิถีชีวิตชุมชนใน ง สปป.ลาว และการ ไปเยือนเมืองหลวงพระบางโดยผ่านด่านชายแดนบ้าน วก 5 แนวทางการพั นาด้านการท่องเที่ยวเมองชายแดน ภูซาง จังหวัดพะเยา โดยสรุปแนวทางการพัฒนา ดังนี้ 5.1 ควรมีการเตรียมความพร้อมของชุมชนท้องถิ่น ในการ รองรับการพัฒนาโดยอยูบ่ นพืน้ ฐานของการท่องเทีย่ วอย่างยัง่ ยืน เพื่อให้การท่องเที่ยวเป็นเครื่องมือที่ใช้ส่งเสริมให้เกิดการอนุรักษ์ ทรัพยากรทั้งทางธรรมชาติ วัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม รวมทั้ง เป็นการส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชน 5.2 การพัฒนาจุดแขงของทรัพยากรการท่องเทีย่ วให้โดดเด่น ชัดเจน โดยสร้างความโดดเด่นของทรัพยากรซึง่ มีศกั ยภาพสูง โดย เฉพาะการเป็นเมืองชายแดนอันสงบสุข เชื่อมโยงกับประเทศ


เพื่อนบ้าน การเป็นแหล่งธรรมชาติทั้งพืชพันธุ์ สัตว์ปา และ วัฒนธรรมที่หลากหลาย เพื่อให้เกิด หุบเขาแห่งสายสัมพันธ์ สองแผ่นดิน การเชื่อมโยงเส้นทางท่องเที่ยวเลาะเลียบตะเขบ ล้านนาตะวันออก ภูซางแหล่งวัฒนธรรมแห่งชนชาติสองแผ่นดิน 5.3 ส่งเสริมความเข้มแขงและศักยภาพของผู้ประกอบการ ในพื้นที่ การสร้างเครือข่ายภาคธุรกิจบริการ และการท่องเที่ยว ในทุกระดับ เสริมสร้างพัฒนาศักยภาพความพร้อมในผลิตภัณฑ์ การบริการและการรองรับนักท่องเทีย่ วของภาคธุรกิจบริการ การ พัฒนามาตรฐาน ควบคุมและตรวจสอบการบริการ 5.4 การส่งเสริมตลาดและประชาสัมพันธ์เชิงรุก เพื่อให้ มีการผลักดันการยกระดับด่านกิ่วหก (บ้าน วก) ให้เป็นด่าน ถาวร ทั้งในระดับชุมชน จังหวัดพะเยา ภูมิภาคล้านนาตะวัน ออก และระดับประเทศ รวมทั้งการผลักดันในระดับความร่วม มือกับ สปป.ลาว 5.5 การผลักดันในระดับนโยบายแบบเชิงรุก ให้มีการยก ระดับด่านกิ่วหก (บ้าน วก)ให้เป็นด่านถาวร รวมทั้งการสร้าง ความร่วมมือกับ สปป.ลาว ในด้านต่าง ๆ เพือ่ สร้างความสัมพันธ์ อันดีต่อประเทศเพื่อนบ้าน 5. การปรับเปลีย่ นภายในระบบบริหารจัดการการท่องเทีย่ ว โดยการส่งเสริมให้งานด้านการท่องเทีย่ วได้รบั การบรรจุไว้ในแผน ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดแบบบูรณาการ เสริมสร้างความ ร่วมมือทางด้านการท่องเที่ยวสองแผ่นดินกับประเทศเพื่อนบ้าน

(ลาว) การพัฒนาระบบสาธารณูปโภค การคมนาคมขนส่ง ระบบความปลอดภัย และระบบการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม ปองกันมลภาวะในพื้นที่ และส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพ ด้านการบริหารจัดการการท่องเที่ยวแก่บุคลากรที่เกี่ยวกับกับ การพัฒนาการท่องเทีย่ ว ทัง้ ภาครัฐ เอกชน และชุมชนท้องถิน่ อ อบคุณ บทความวิจัยเรื่อง ศักยภาพทางการท่องเที่ยวเมอง ชายแดนภูซาง จังหวัดพะเยา นการเช่อมโยงกับประเทศ เพ่อนบ้านอนุภูมิภาคลุ่มแม่นําโ ง โดย กรรณิกา พิมลศรี (คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ สาขาวิชาการ ท่ อ งเที่ ย ว มหาวิ ทยาลั ย พะเยา อ.เมื อ ง จ.พะเยา ) และ อดิศร เรอลม (สํานักงานโยธาและผังเมืองจังหวัดพะเยา อ.เมือง จ.พะเยา)

PHAYAO 135


บทความพเ

136


ไทลื้อ...มรดกชาติพันธุ์จากสิบสองปันนาสู่เชียงค�า

PHAYAO 137


จังหวัดพะเยามีความหลากหลายของกลุม่ ชาติพนั ธุ์ ถึง 10 กลุ่ม ได้แก่ ลีซู จีน มูเซอ อาข่า เมี่ยน ม้ง ลื้อ ลัวะ กะเหรี่ยง และไทยที่สูง แต่กลุ่มชาติพันธุ์ที่มีการรวมตัวกันอย่างเหนียว แน่น มีอัตลักษณ์ด้านวิถีชีวิต ขนบธรรมเนียม และประเพณี ทีโ่ ดดเด่น มีการก่อตัง้ เป็นสมาคม และดําเนินกิจกรรมสืบสาน ศิลปวัฒนธรรมของกลุม่ ชาติพนั ธุอ์ ย่างต่อเนือ่ งมาเป็นเวลากว่า ยี่สิบปีแล้ว กคือ กลุ่มชาติพันธุ์ไทลื้อ (ไตลื้อ) ทลอคอ คร ไทลื้อ หรือ ไตลื้อ คือกลุ่มชาติพันธุ์ที่พูดภาษาตระกูล ไท มีภูมิลําเนาอยู่หลายประเทศในเอเชียอาคเนย์ เช่น เมือง ยอง เมืองยู้ เมืองหลวย เมืองเชียงลาบ เมืองไร เมืองพะยาก เมืองโก เมืองโตน เมืองเลน เมืองเชียงตุง ของสหภาพเมีย นมาร์ บางส่วนตัง้ ถิน่ ฐานอยูท่ างตอนเหนือของ สปป.ลาว แถบ เมืองสิงห์ เมืองหลวงพูคา เมืองลองในแขวงหลวงนํา้ ทา เมืองอู เหนือ อูใต้ บุนเหนือ บุนใต้ งายเหนือ งายใต้ ในแขวงพงสาลี เมืองแบง เมืองไซ เมือง ุก เมืองหงสาในแขวงอุดมไซ เมือง เงิน เมืองเชียง ่อน เชียงลม และเมืองหงสาในแขวงไชยะบุรี และรอบเมืองหลวงพระบาง แถบลุม่ นํา้ โขง ลุม่ นํา้ อู และลุม่ นํา้ งาวในแขวงบ่อแก้ว ในเวียดนามมีไทลื้ออยู่ที่เมืองบินลูห์ เมือง แถน และบริเวณ งตะวันตกของแม่น้ําดําตามพรมแดนที่ต่อ ต่อกับจีนด้วย 138

นอกจากนี้ยังมีกลุ่มไทลื้อที่อยู่อาศัยในแคว้นสิบสองปนนา ทางตอนใต้ของมณฑลยูนนาน ประเทศสาธารณรัฐประชาชน จีน ซึง่ มีเมืองเชียงรุง่ เป็นเมืองหลวง มีพระเจ้าแผ่นดินเรียกว่า เจ้า แสนหวีฟา ปกครองสืบต่อกันมา ตั้งแต่สมัยพระยาเจิงจนถึงเจ้า หม่อมคําลือ รวมทัง้ สิน้ 44 พระองค์ (พ.ศ. 1723 - พ.ศ.2494) จาก สบสอง ั นนา สู่ เชี ยงค�า พะเยา ในอดีตเมื่อหลายร้อยปีมาแล้ว ชาวไทลื้อจากแคว้นสิบสอง ปนนาได้อพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานในบริเวณภาคเหนือของไทยใน หลายจังหวัด เช่น เชียงใหม่ เชียงราย พะเยา แพร่ น่าน ลําพูน ลําปาง ด้วยเหตุผลหลายประการด้วยกัน เช่น เพื่อหาที่อยู่อาศัย และที่ทํากินที่อุดมสมบูรณ์ เหตุผลทางการเมืองทั้งในประเทศ และระหว่างประเทศ เหตุผลจากการศึกสงคราม เหตุผลจากการ อพยพตามญาติพี่น้องที่มาตั้งถิ่นฐานอยู่ก่อนแล้ว เป็นต้น จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ทําให้ทราบว่า ในช่วงต้นยุค รัตนโกสินทร์มีการเข้ามาของไทลื้อครั้งสําคัญ เนื่องจากเหตุผล ทางการเมืองระหว่างรัฐ ตามนโยบาย เกบผักใส่ซ้า เกบข้าเข้า เมือง โดยเฉพาะในปี พ.ศ. 2347 พระเจ้ากาวิละแห่งนคร เชียงใหม่ ได้ให้เจ้าอุปราชยกทัพไปตีหัวเมืองทางตอนเหนือ ซึ่ง เป็นที่อยู่ของชาวไทลื้อ ไทเขิน ไทใหญ่ แล้วการกวาดต้อนผู้คน เข้ามาใช้เป็นแรงงานสําคัญในการฟนฟูบา้ นเมืองหลังศึกสงคราม กับพม่า ในปี พ.ศ. 2348 เจ้าเมืองน่านยกทัพไปตีสิบสองปนนา


PHAYAO 139


แล้วนําเจ้านาย ขุนนาง และเครื่องบรรณาการของชาวไทลื้อ ส่งไปกรุงเทพ ฯ ปีพ.ศ. 2355 มีการกวาดต้อนผู้คนจากเมือง ล้า เมืองพง เมืองแขวง เมืองหลวงภูคา เมืองสิงห์ เมืองมาง ในปี พ.ศ. 2399 เจ้าอนันตวร ทธิเดช เจ้านครน่านยก ทัพไปตีหัวเมืองสิบสองปนนาอีกครั้ง แล้วกวาดต้อนเทครัวไท ลือ้ กลุม่ หนึง่ มาไว้ทเี่ มืองเชียงม่วนใกล้ลาํ นํา้ ปี และต่อมาในสมัย พระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดช เจ้านครน่านองค์ต่อมาได้ยกทัพไป ตีหัวเมืองไทลื้อ เช่น เมืองพง เมืองหย่วน เมืองมาง เมืองล้า กวาดต้อนเทครัวมาไว้ที่ท่าวังผ่า และเมืองเชียงม่วน ปจจุบันจังหวัดพะเยามีชาวไทลื้ออาศัยอยู่มากในอําเภอ เชียงคํา อําเภอเชียงม่วน และอําเภอปง โดยเฉพาะที่ตําบล หย่วน อําเภอเชียงคํา เป็นตําบลที่มีชาวไทลื้อได้เข้ามาตั้ง ถิ่นฐานมากที่สุดในจังหวัดพะเยา มีหมู่บ้านชาวไทลื้อหลาย หมู่บ้าน คือ บ้านหย่วน บ้านธาตุสบแวน บ้านแดนเมือง บ้า นมาง บ้านดอนไชย บ้านแช่แห้ง บ้านใหม่ อัตลัก ์โดดเด่นของ ทลอ แม้วา่ ชาวไทลือ้ จากสิบสองปนนาจะเข้ามาอาศัยในแผ่นดิน ไทยนานกว่า 200 ปีแล้ว ทว่าพี่น้องชาวไทลื้อ ยังคงรักษาอัต ลักษณ์อันโดดเด่นของชาติพันธุ์ไว้ได้อย่างดี ไม่ว่าจะเป็นเรื่อง ของการแต่งกาย ภาษา วรรณกรรม สถาปตยกรรม ประเพณี และความเชื่อทางศาสนา ฯลฯ 140

ภาษา ชาวไทลื้อมีภาษาพูดและภาษาเขียนเป็นของตัวเอง เช่น เดียวกับกลุ่มชาติพันธุ์อื่น ๆ ภาษาไทลื้อจัดอยู่ในกลุ่มภาษา ตระกูลไท(ไต) ลักษณะเด่นของภาษาไทลือ้ คือการเปลีย่ นแปลง เสียงสระภายในคํา โดยการเปลี่ยนระดับของลิ้น ภาษาไทลื้อ แบ่งสําเนียงภาษาการพูดออกเป็นสองกลุ่มใหญ่ โดยอาศัย สภาพทางภูมิศาสตร์ของแม่นํ้าล้านจ้าง(โขง) เป็นตัวแบ่ง 1. สําเนียงเชียงรุ่ง หรือ สําเนียงคนยอง เป็นสําเนียงที่พูด ช้าและฟงดูสุภาพ มักมีคําว่า เจ้า ต่อท้ายเหมือนคนล้านนา สําเนียงนี้เป็นสําเนียงที่ใช้ในบริเวณสิบสองปนนาตอนกลาง และตะวันตกของสิบสองปนนา ครอบคลุ่มถึงรัฐฉาน ประเทศ พม่า เลยมาถึงประเทศลาว ภาษาชาวไทลื้อกลุ่มนี้พูดกันมาก ในจังหวัดลําพูน เชียงใหม่ ลําปางแพร่ เชียงราย น่าน (นับ แต่ ตําบลยม อําเภอท่าวังผา, อําเภอปว ขึ้นไปจนถึงเมืองเงิน และหลวงพระบาง, เมืองสิงห์ ของประเทศลาว) 2. สําเนียงภาษาไทลือ้ กลุม่ เมืองล้า ได้รบั อิทธิพลสําเนียงมา จากภาษาลาว หรือภาษาพวน การผันสําเนียงขึน้ ลงค่อนข้างเรว แต่ตา่ งกันทีส่ าํ เนียงพูดยังคงเป็นภาษาลือ้ ทีไ่ ม่มี สระ อัว อัวะ เอีย ในประเทศไทยสําเนียงภาษากลุม่ นีจ้ ะพูดในอําเภอเชียงม่วน อําเภอ เชียงคํา จังหวัดพะเยา, อําเภอสองแคว อําเภอท่าวังผา (เฉพาะ ตําบลปาคา และตําบลยอด อําเภอสองแคว) จังหวัดน่าน


การแต่งกาย 1. การแต่งกายของสตรีไทลือ้ นิยมสวมเสือ้ ปด หรือเสือ้ ปาย (เป็นเสือ้ แขนยาว ไม่มกี ระดุม แต่จะปายเฉียงมาผูกไว้ทเี่ อวด้าน ข้าง ชายเสื้อยกลอยขึ้นทั้งสองข้าง) นุ่งผ้าซิ่นที่เรียกว่า ซิ่นตา ซึ่งเป็นผ้าซิ่นที่มี 2 ตะเขบ ผ้าซิ่นหนึ่งผืนมี 3 ส่วน คือ หัวซิ่นสี แดง ตัวซิ่นหรือส่วนกลางจะเป็นลายขวางหลากสีสดใส ส่วนตีน ซิน่ เป็นสีดาํ อัตลักษณ์โดดเด่นคือลวดลายส่วนกลางซิน่ ทีท่ อด้วย เทคนิคขิด จก เกาะหรือล้วง เป็นลายรูปสัตว์ในวรรณคดี ลาย พันธุ์พฤกษา และลายเรขาคณิต (ลายนํ้าไหล) ซึ่งเป็นเทคนิค ที่มีความยุ่งยากซับซ้อน แต่ทําให้เกิดลวดลายและสีสันที่งดงาม แปลกตา นอกจากนี้ สตรีไทลื้อยังนิยมโพกศีรษะด้วยผ้าสีขาว และสีชมพู 2. เครื่องแต่งกายผู้ชายไทลื้อ นิยมสวมเสื้อขาวแขนยาวสี ดําหรือสีคราม บางตัวอาจมีเอวลอย แขนเสื้อขลิบด้วยแถบผ้าสี ต่าง ๆ มีผืนผ้าต่อจากสายหน้าปายมาติดกระดุมเงินบริเวณใกล้ รักแร้และเอว กางเกงเป็นกางเกงหม้อห้อมก้นลึก ต่อหัวกางเกง ด้วยผ้าสีขาว เรียกว่า เตี่ยวหัวขาว นิยมโพกศีรษะด้วยผ้าสีขาว สีนํ้าตาล และสีดํา สะพายถุงย่าม และมีผ้าเชดหรือผ้าพาดไหล่ เพื่อความสง่างาม ที่อยู่อาศัย เ ินไทลื้อ หรือเรือนไทลื้อ จะเป็นเรือนไต้ถุนสูง สร้างเกาะ

กลุม่ กัน หันสันหลังคาไปทิศทางเดียวกัน มีหลังคาคลุมตัวบ้าน เรียกหลังคาปีกนก มีโถงโล่งกว้าง ไม่มีหน้าต่าง เนื่องจากมี อากาศหนาวเยน แต่มีช่องเลก ๆไว้สอดส่อง แต่เมื่อย้ายเข้า มาในไทยกยังคงปลูกเรือนคล้ายเดิม ความเช่ อ าสนา ระเพ ี ชาวไทลื้อมีความเชื่อเรื่องผี โดยเฉพาะผีบ้านผีเรือน ผีเจ้า นาย ผีอารักษ์ จึงมีเลี้ยงผีอารักษ์ เรียกว่า เข้ากํา หรือ เข้า กรรม มีตั้งแต่กําเ ือน หรือกรรมเรือน ไปจนถึงกําเมืองหรือ กรรมเมือง ซึ่งเป็นความเชื่อดั้งเดิมก่อนการนับถือพุทธศาสนา ต่อมาได้ผสมผสานความเชือ่ ระหว่างพุทธศาสนาและการนับถือ ผี เช่นเดียวกับกลุ่มชาติพันธุ์อื่นในล้านนา อาทิ ความเชื่อ เกี่ยวกับภพภูมิโลกหน้า ซึ่งก่อให้เกิดประเพณีการตานหรือ อุทิศปราสาท มณฑก สิ่งของเครื่องใช้ ตลอดจนอาหาร ไว้ สําหรับภพภูมิหน้า มีทั้งการตานเพื่อตนเองและผู้ล่วงลับ โดย เฉพาะการตานตุงไทลือ้ ตามตํานานและความเชือ่ ทางพระพุทธ ศาสนาว่า ผูท้ ไี่ ด้ตานตุงจะทําให้ไม่ตกนรก เพราะอานิสงส์ของ การตานตุงจะช่วยให้รอดพ้น ซึง่ การตานตุงได้มกี ารสืบทอดต่อ กันมายาวนานถึงทุกวันนี้ นอกจากนี้ชาวไทลื้อยังมีวัฒนธรรมและประเพณีที่สืทอด มาจนปจจุบัน อาทิ บวชลูกแก้ว ตานธรรม ตานกวยสลาก ้อ งขวัญควาย แ กนา เลี้ยงผีเมือง เตวดาเ ือน (เทวดาเรือน)

PHAYAO 141


ผีหม้อนึ่ง เตาไฟ ผิดผีสาว การเรียกขวัญ การส่งเคราะห์ การ สืบชะตา สืบชะตาหลวง กินแขก ประเพณีปีใหม่เมือง การ ดําหัวผู้เฒ่าผู้แก่ เป็นต้น ศิลปะการแสดง ฟอนดาบ ฟอนเจิง ตบมะพาบ ฟอนนก ฟอนปอยบั้งไฟ ขับเปาปี ขับปาหาโหล (เข้าปาหาฟน) ขับโลงนํ้า โลงหนอง (ลงนํ้า ..ขับเกี้ยวบ่าว-สาว) ทลอจังหวัดพะเยา ชาวไทลื้อในจังหวัดพะเยา สามารถแยกได้เป็น 2 กลุ่มใหญ่ คือ ไทลื้อเชียงคํา และไทลื้อเชียงม่วน ซึ่งแต่ละกลุ่ม มีที่มาดังนี้ 1 ไทลอเชียงคํา อําเภอเชียงคํา มีบรรพบุรุษที่อพยพ มาจากเมืองปว มาตั้งถิ่นฐานในอําเภอเชียงคํา โดยเลือกเอา บริเวณที่ห้วยแม่ตําไหลบรรจบกันกับแม่นํ้าแวน (ปจจุบันคือ บ้านหมู่ที่ 1) หลังจากนั้นกมีการขยายชุมชนออกไปตั้งอยู่อีก ฟากหนึ่งของห้วยแม่ตํา (ปจจุบันคือหมู่บ้านแวนหมู่ที่ 2) และ การขยายตัวครัง้ สุดท้ายเมือ่ ประมาณ พ.ศ. 24 0 ไปตัง้ อยูอ่ กี ากหนึ่งของแม่นํ้าแวน ซึ่งปจจุบันคือ บ้านแวนพัฒนา หมู่ 5 ตําบลเชียงบาน ไทลื้อกลุ่มนี้จะเป็นกลุ่มเดียวกับที่ถูกกวาดต้อนมาจากสิบ สองปนนา ในสมัยพระเจ้ากาวิละ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ 142

และพระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดช เจ้าผู้ครองนครน่าน บ้านแวนทั้ง 3 หมูบ่ า้ น ยังมีความสัมพันธ์ทางเครือญาติกบั กลุม่ ไทลือ้ ในอําเภอ ท่าวังผา โดยเฉพาะอย่างยิง่ ความสัมพันธ์เครือญาติระหว่างบ้าน แวนพัฒนา หมู่ 5 กับบ้านหนองบัว ดูจะแน่นแฟน เพราะใน พ.ศ. 2495 มีครอบครัวไทลื้อจากบ้านหนองบัวมาตั้งรกรากอยู่ที่บ้าน แวนพัฒนาโดยตรงประมาณ 20 ครอบครัว นอกจากนี้ กลุม่ ไทลือ้ เชือ้ สายเมืองล้า (บ้านหนองบัว ต้น า่ ง ดอนมูล รวมถึงบ้านแวนทั้ง 3 และบ้านล้า) มีความสัมพันธ์ทาง เครือญาติกับไทลื้อที่เมืองคอบ ซึ่งอยู่ในเขตประเทศลาวปจจุบัน ซึ่งต่างกนับถือเทวดาเจ้าหลวงเมืองล้าเป็นเทวดาเมืองเหมือนกัน และทุกปีเมือ่ มีพธิ กี รรมเมือง เลีย้ งเทวดาเจ้าหลวงเมืองล้า จะมี เครือญาติจากบ้านแวนและบ้านหนองบัวไปร่วมพิธดี ว้ ยทุกครัง้ ถ้า ไปไม่ได้จะมีการเกบเงินไปบริจาคร่วมในการจัดซือ้ ควายมาสังเวย 2 ไทลอเชียงม่วน หมู่บ้านไทลื้อเมืองเชียงม่วน ตั้งหมู่บ้าน ริมแม่นํ้าปี และแม่นํ้ายม นับตั้งแต่บ้านหลวง (บริเวณที่ว่าการ อําเภอเชียงม่วน ปจจุบันเป็นบ้านหลวง) บ้านร่องอ้อ (หนองอ้อ) บ้านแพทย์ บ้านนํา้ ล้อม(ริม งยมใกล้บา้ นหนองหมูปจจุบนั ) บ้าน ห้วยทราย(บ้านแขนเหนือ) บ้านทุ่งมอก บ้านบ่อตอง บ้านหนอง (ทุง่ หนองเก่า) บ้านท่าฟา ส่วนบ้านปงสนุก น่าจะเป็นหมูบ่ า้ นของ แพทย์ บรรพบุรษุ รุน่ แรกน่าจะมาจากเมืองปง (พง) ในสิบสองปน นา เมื่อมาตั้งถิ่นฐานลุ่มนํ้าปีแล้ว ได้รับความสะดวกสบาย ปลูก


ผักทําการเกษตรได้ผลสมบูรณ์ดีไม่ต้องเดือดร้อน ชาวไทลื้อจาก สิบสองปนนาจึงเติมคําว่า สนุก ต่อท้ายภายหลัง มีนิทานเล่าขานสืบต่อกันมาว่า พระยานุ่นแห่งเมืองน่าน เป็นผู้สร้างเมืองเชียงม่วน โดยเสดจออกล่าช้างปา และทราบ ว่าช้างปาตัวนั้นเป็นช้างเผือกคู่บารมีของพระมหากษัตริย์ ออก หากินในปาระหว่างแดนเมืองน่าน และเมืองพะเยา พระยานุ่น ได้ติดตามช้างเผือก เข้าไปถึงเขตแดนเมืองปง ซึ่งเป็นหัวเมือง ขึ้นต่อจังหวัดน่าน และจับช้างเผือกเชือกนั้นได้ พระยานุ่นจัดงานเฉลิมฉลองอย่าง ประชาชนที่มาร่วมงาน ต่างรู้สึกพอใจสนุกสนานยิ่งนัก และเพื่อเป็นการระลึกถึงการ ฉลองช้างในครั้งนี้ พระยานุ่นจึงให้สร้างเมืองขึ้นมา แล้วให้ชื่อว่า เมืองเชียงม่วน ซึ่งแปลว่า เมืองสนุก เมื่อชาวไทลื้อในเมืองเชียงม่วนเพิ่มมากขึ้น ทําให้ที่ทํากิน มีจํากัด และมักประสบอุทกภัยบ่อยครั้ง ทําให้ความเป็นอยู่ไม่ อุดมสมบูรณ์ตามเดิม จนมีคําพูดประชดประชันว่า เมืองเซี้ยง ม่วน คําว่า เซี้ยง ภาษาเมืองเหนือ หมายความว่าหมดสิ้น แล้ว ต่อมาพญาคําและพญาธนะ ได้นําไทลื้อจํานวนหนึ่งไปอยู่ เมืองเชียงคํา โดยสร้างหมู่บ้านใหม่ชื่อ บ้านมาง (ตามชื่อบ้า นมาง แห่งเมืองเชียงม่วน)

ปจจุบันมีหมู่บ้านของชาวไทลื้อในเชียงคํา ได้แก่ บ้าน หย่วน บ้านธาตุสบแวน บ้านทุ่งมอก บ้านแพด บ้านเชียง บาน บ้านแวน บ้านแดนเมือง บ้านดอนไชย บ้านหนองลือ้ บ้านทราย บ้านห้วยไฟ บ้านหนองเลา บ้านหล้าไชยพรม บ้าน กิ่วชมพู บ้านปางวัว บ้านเชียงคาน บ้านแ ะ บ้าน วก และ บ้านสบบง เป็นต้น ประกอบกับขณะนั้น มีชาวไทลื้อจํานวนหนึ่งในสิบสอง ปนนา โยกย้ายถิ่นฐานมาอาศัยในเขตเมืองเชียงคํา เช่น กลุ่ม พญาโพธิสัตว์(พญานาย ้อย) จากเมืองหย่วน มาสร้างบ้าน หย่วน กลุ่มเจ้านางมะทรุดจากเมืองโลง เพราะได้ข่าวว่า เมิง ไท ดินดํา นํ้าจุ่ม ปจจุบัน ชาวไทยเชื้อสายลื้อไม่ว่าจะอาศัยอยู่ ณ หมู่บ้าน ตําบล อําเภอ หรือจังหวัดใดกตาม ได้มีการก่อตั้งเครือข่าย อาทิ การจัดตัง้ สมาคมไตลือ้ แห่งประไทย การจัดตัง้ พิพธิ ภัณฑ์ ชาวไทลื้อ ฯลฯ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสืบสานมรดกทาง วัฒนธรรม และประเพณีอนั ทรงคุณค่าของชาวไทลือ้ ไว้ให้อนุชน รุ่นหลัง ซึ่งในปจจุบันมรดกทางวัฒนธรรมและภูมิปญญาด้าน การแต่งกาย ศิลปะการแสดง ตลอดจนประเพณีของชาวไทยลือ้ PHAYAO 143


144


กลายเป็นจุดดึงดูดนักท่องเที่ยวทั้งไทยและเทศ ให้เข้ามาสัมผัส เรียนรู้วิถีชีวิตของชาวไทลื้อได้เป็นอย่างดี ูนย์วั น รรมเ ลมราชพพ ภั ์พนบานวัด สนเมองมา ศูนย์วัฒนธรรมเฉลิมราชพิพิธภัณฑ์พื้นบ้านวัดแสนเมือง มา ตั้งอยู่ในตําบลหย่วน อําเภอเชียงคํา จังหวัดพะเยา เดิม คือ พิพิธภัณฑ์พื้นบ้านวัดแสนเมืองมา สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2534 และได้เข้าร่วมโครงการศูนย์วัฒนธรรมเฉลิมราช ในปี 2557 มี วัตถุประสงค์เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเดจพระเจ้าอยู่หัว และพัฒนาพืน้ ทีท่ างวัฒนธรรมของชุมชนให้เป็นแหล่งเรียนรูข้ อง ชุมชนและบุคคลภายนอก ที่ส่งเสริมให้ท้องถิ่นรวมตัวกันสร้าง สังคมแห่งการเรียนรูใ้ ห้กบั คนในชุมชน เพือ่ ปลูก งค่านิยมความ เป็นไทยและวิถีชีวิตที่เหมาะสม เพิ่มมูลค่าทางวัฒนธรรม ตลอด จนสามารถนําไปพัฒนาผลผลิตของชุมชน เน้นให้ประชาชนใน พื้นที่มีส่วนร่วมทั้งกระบวนการความคิดและการป ิบัติ ส่งผล ให้เกิดการพัฒนาจนสามารถยกระดับ เป็นศูนย์วัฒนธรรมเฉลิม ราชแห่งที่ 12 ของกรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม ภายในศูนย์วัฒนธรรมฯ ผู้เข้าชมจะได้เรียนรู้รากวัฒนธรรม ของชุมชน ที่จัดแสดงเนื้อหาเป็น 3 ส่วน ประกอบด้วย 1. จัดแสดงภาพพระราชกรณียกิจพระบาทสมเดจพระเจ้าอยู่หัว เสดจพระราชดําเนิน ในพื้นที่จังหวัดพะเยา 2. จัดนิทรรศการ แสดงองค์ความรู้มรดกภูมิป ญญาทางวัฒนธรรมท้องถิ่น เป็น นิทรรศการหมุนเวียนที่จัดแสดงตามวันสําคัญ จํานวน เรื่อง คือ ประวัติชุมชนและชาติพันธุ์ พิธีเลี้ยงเทวดาหลวงเมืองมาง หอผ้าไทลื้อ เรือนไทลื้อ ภาพเก่าเล่าอดีต และภาพพระราช กรณียกิจพระบรมวงศานุวงศ์ที่เสดจพระราชดําเนินในพื้นที่ 3. เผยแพร่ขอ้ มูลสารสนเทศ สืบสาน ถ่ายทอดมรดกภูมปิ ญญาทาง วัฒนธรรม โดยพัฒนาการต่อยอดภูมิปญญา สร้างคุณค่าและ สร้างสรรค์ให้เป็นสินค้าเกิดมูลค่าแก่ชุมชน สมาคม ตลอ ห่ง ระเท ทย สมาคมไตลือ้ แห่งประเทศไทย เป็นการรวมตัวของคนไทยเชือ้ สายลื้อ ที่อาศัยอยู่ใน 7 จังหวัดของภาคเหนือ ได้แก่ เชียงใหม่ เชียงราย ลําปาง ลําพูน แพร่ น่าน และพะเยา โดยมีสาขาย่อย ประจําในจังหวัดนั้น ๆ ซึ่งทางสมาคมฯก่อตั้งขึ้นเมื่อราว 20 กว่า ปีทผี่ า่ นมา โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ การส่งเสริม อนุรกั ษ์ ฟนฟูศลิ ป วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม และประเพณีของชาวไทลือ้ เพือ่ ปลุก จิตสํานึกในการร่วมสืบสานวัฒนธรรมไทลือ้ ให้เป็นมรดกตกทอด แก่อนุชนรุน่ หลังสืบไป เพือ่ แสดงพลังความรัก ความสามัคคีของ คนในชุมชนไทลื้อ ปจจุบันสมาคมไตลื้อแห่งประเทศไทย มีนางลดาวัลลิ์ วงศ์ ศรีวงศ์ เป็นนายกสมาคมฯ ส่วนสมาคมไทลื้อจังหวัดพะเยา มี นายสวัสดิ์ หอมนาน รองนายกองค์การบริหารจังหวัดพะเยา

เป็นนายกสมาคมไทลือ้ จังหวัดพะเยา ซึง่ ทางสมาคมไตลือ้ แห่ง ประเทศไทย จะเป็นผูป้ ระสานให้เกิดการจัดงานสืบสานตํานาน ไทลือ้ ในสาขาจังหวัดต่าง ๆ ซึง่ ทุกครัง้ ทีจ่ ดั งานดังกล่าวขึน้ ชาว ไทลื้อจาก 7 จังหวัด จะไปร่วมงานอย่างพร้อมเพรียงกันเสมอ การจัดงานสืบสานตํานานไทลื้อ ครั้งที่ 1 ณ วัดพระธาตุ สบแวน อ.เชียงคํา จ. พะเยา เมื่อวันที่ 18-20 เดือนมีนาคม 2559 ภายใต้ชื่องาน ไทลื้อ อดีตสู่ปจจุบัน เปดม่านพรมแดน สู่อาเซียน ( E ) โดย สํานักงานท่องเที่ยวและกี าจังหวัด พะเยา ร่วมกับ อําเภอเชียงคํา สมาคมไทลื้อจังหวัดพะเยา เทศบาลตําบลเชียงคํา ร่วมกันจัดงานครั้งนี้ขึ้น เพื่อส่งเสริม การท่องเทีย่ วทางวัฒนธรรมไทลือ้ จังหวัดพะเยาสูส่ ากล โดยใช้ กิจกรรมทางวัฒนธรรมและวิถชี วี ติ เป็นสือ่ กลางในการท่องเทีย่ ว การเรียนรู้ และแลกเปลีย่ นทางวัฒนธรรม ตลอดจนเพือ่ ให้เกิด กิจกรรมสร้างสรรค์ เป็นการกระตุน้ เศรษฐกิจในจังหวัดพะเยา ภายในงานมีกจิ กรรมมากมาย อาทิ การแสดงแสง สี เสียง ชุดไทลือ้ อดีตสูป่ จจุบนั เปดม่านพรมแดนสูอ่ าเซียน ( E ) กา รแสดงศิลปวัฒนธรรมไทลื้อจากสิบสองปนนาและชุมชนไท ลื้อ อําเภอเชียงคํา การประกวดชุดแต่งกายไทลื้อ การแสดง วิถีชีวิต เครื่องนุ่งห่ม อาหาร ที่อยู่อาศัย ยารักษาโรค กาดไท ลื้อ การสาธิตการทําอาหารคาวหวานไทลื้อ เช่น ข้าวควบ ข้าว แคบ แกงขนุน แกงแคขนมเส้นแห้ง นํ้าพริกนํ้าผัก เป็นต้น อาจกล่าวได้วา่ “งานสืบสานต�านานไทลือ้ ” เป็นงานวัฒนธรรม ประจ�าปีทนี่ า่ สนใจอีกงานหนึง่ ของจังหวัดพะเยา ทีจ่ ดั ได้อย่างยิง่ ใหญ่ อลังการ น่าประทับใจ บรรยากาศของงานอบอวลไปด้วยความรัก ความผูกพัน ความเป็นพีเ่ ป็นน้อง ทีก่ าลเวลาและเส้นพรมแดนมิอาจ แบ่งแยกสายสัมพันธ์ของชาวไทลือ้ ให้สะบัน้ จากกันได้เลย

อ อบคุณ ้อมูลและภาพจาก โครงการพิพธิ ภัณฑ์วฒ ั นธรรมและชาติพนั ธุล์ า้ นนา และ ศูนย์เรียนรู้ชาติพันธุ์ไทยในล้านนา สถาบันวิจัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ กรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม สํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดพะเยา สํานักงานท่องเที่ยวและกี าจังหวัดพะเยา

PHAYAO 145



โพธาลัย กอล์ฟปาร์ค (สนามไดร์ฟกอล์ฟอันดับ 1 ในเอเชีย)

(โปรเป้) อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์ â»Ã»ÃШíÒ ¹ÔµÂÊÒà sbl magazine â»Ã»ÃШíÓ Phothalai Golf Academy ทีส่ นำมไดร์ฟกอล์ฟโพธำลัย เลเชอร์ ปำร์ค (สนำมไดร์ฟกอล์ฟอันดับ1ในเอเชีย) Thai PGA Professional Tour Player Trackman Trained Instructor Swing Catalyst Certified Instructor Golf Swing Analysis Expert Facebook: pae akkarapong golfpro Page: Golf Swing by Pro Pae Tel. 088-046-4444

(โปรปั๊ก) วนัสกฤษณ์ ศลิปรังสรรค์ â»Ã»ÃШíÒ ¹ÔµÂÊÒà Sbl Magazine PGA Thailand TOURING Professional โปรประจ�ำ โรงเรียนกอล์ฟในร่ม Shane Wilding Golf สำขำทองหล่อ 11 SNAG trained instructor SWING Catalyst Certified Instructor All Square Swing Trained Instructor vanaskrit.s@gmail.com Tel. 083-018-9138



การระเบดทราย ั งขอบหนาสูง

การระเบิดทรายโดยปกติเป็นชอตทีเ่ ล่นได้ยากอยูแ่ ล้วในกี ากอล์ฟ ไลน์ทไี่ ม่ ปกติในบ่อทรายยิง่ ทําให้เป็นเรือ่ งยากขึน้ ไปอีก การระเบิดทราย งขอบแบบนีเ้ ทคนิค ที่ดีมีความจําเป็นอย่างมาก ในการเล่นครั้งนี้เราจะใช้เวจน์ 0 องศา ลูกแบบนี้ควร เลือกใช้ไม้ที่มี lo t มากเข้าไว้ บทเรียนนี้จะทําให้การเล่นชอตนี้ง่ายลงอย่างมากเลย ทีเดียวครับ


Setup

การยืนในการระเบิดทรายทุกรูปแบบจะเน้นความมัน่ คงเป็นหลัก ในไลน์ ไม่ปกติยังคงเป็นเรื่องสําคัญที่นํ้าหนักตัวต้องยืนอยู่อย่างมั่นคงที่สุด - หาที่ยืนที่มั่นคงลูกบอลอยู่กลางที่สุดเท่าที่ไลน์อํานวย - นํ้าหนักตัวอยู่ทางเท้าซ้ายเป็นหลัก - ไหล่ทั้งสองข้างอยู่ระดับเดียวกัน - ยืนเปดเลกน้อยและแนวไหล่ขนานกับแนวของเปาหมาย - แกนของร่างกายค่อนข้างตรง - มือนําหน้าลูกบอลเลกน้อย เพือ่ ให้ lea ing e ge ของเวจน์ทาํ มุมลงพืน้


การตี

ลูกนี้จําเป็นต้องเข้าปะทะในมุมชัน เพื่อให้ lea ing e ge ลงผ่านทรายเข้าปะทะลูกกอล์ฟได้ดีที่สุด ซึ่งตรงกันข้ามกับความคิดที่ต้องตักลูกกอล์ฟขึ้นให้โด่งที่สุด ซึ้งจะทําให้ตีหลังลูกเกินความจําเป็น

ขึ้นไม้ชันโดยการหักข้อมือเรวกว่าชอตปกติ รักษาแรงกดบนเท้าซ้ายให้หนักกว่าเท้าขวาตลอดการสวิง เข้าปะทะในมุมชันให้ lea ing e ge ของไม้ปะทะทราย รูส้ กึ ตีแบบกดลงมากกว่าทีจ่ ะพยายามเสยลูกกอล์ฟขึน้ ส่งไม้ผ่านทรายให้ได้ทุกครั้งอย่าทิ้งไม้ไว้จมทราย



CLEAR YOUR HIPS THROUGH THE IMPACT หมุนสะโพกผ่านตอนกระทบลูก

จากที่นักกอล์ฟหลายๆคนเข้าใจ ว่าการตีได้อย่างมีประสิทธิภาพนั้น จะต้องมีการหมุนสะโพกในช่วงการตีผา่ นลูก แต่การหมุนสะโพกนัน้ ไม่ใช่เรื่องที่ทุกคนจะทําได้อย่างธรรมชาติ ปญหาที่พบบ่อยคือ นักกอล์ฟที่พยายามจะหมุนสะโพก แต่ไม่ สามารถทําได้ วงสวิงจะดูเป็นกระโดดแทน และไม่มีคุณภาพที่ดี ซึ่งปญหาการกระโดดนี้ มาจากการเลื่อนของสะโพกไปข้างหน้ามาก เกินไปในตอนตีลูก ทําให้กล้ามเนื้อไม่สามารถควบคุมการหมุนได้ ปญหานี้ปรับได้ง่ายๆ เพียงรักษาแนวของสะโพกไม่ให้ล้ําไปทางเปา หมาย เพียงเท่านี้กสามารถควบคุมการหมุนของสะโพกได้แล้ว


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.