60 ชุมพร

Page 1


SBL บันทึกประเทศไทย

Website : www.sbl.co.th

Ad-SBL Magazine Online Nongbualamphu.indd 2

16/12/2560 03:51:40 PM


บริษทั โตโยต้าชุมพร ผูจ้ ำ� หน่ายโตโยต้า จ�ำกัด 123/4 หมู่ 9 ถ.ชุมพร-วังไผ่ ต.ตากแดด อ.เมือง จ.ชุมพร 86000 ส�ำนักงานใหญ่ 077-979999 สาขาแยกปฐมพร 077-534534 สาขาท่าแซะ 077-584296 สาขาสวี 077-532123 สาขาหลังสวน 077-541888 Call center 077-506333

รถใหม่ป้ายแดง รับซื้อขายรถมือ2 ศูนย์บริการมาตรฐาน รับต่อประกันภัย ทะเบียน ศูนย์บริการตัวถังและสี

.indd 3

15/12/2560 17:45:51


โรงแรม เซาท์เกท เรสสิเดนซ์ ชุมพร SOUTHGATE RESIDENCE HOTEL CHUMPHON

บริการห้องพักจ�ำนวน 72 ห้อง ที่ออกแบบและดีไซน์ อย่างสวยหรู ได้มาตรฐาน ในราคาสุดประหยัด พร้อม ห้องประชุม สัมมนา รองรับได้ 150 ท่าน มีสระว่ายน�้ำกลางแจ้งขนาด 10x25 เมตร รวมอ่าง จากุชชี่ไว้ ให้บริการ สถานที่จอดรถกว้างขวาง อยู่ท่ามกลางบรรยากาศธรรมชาติ เดินทางสะดวก ใกล้ศูนย์ราชการจังหวัดชุมพร ทางเลือกทีด่ ที สี่ ดุ ส�ำหรับการพักผ่อนระหว่างการเดินทาง หรือติดต่อธุรกิจ

(2

).indd 4

15/12/2560 17:42:37


ระยะทางและเวลาเดินทางจากโรงแรม ไปสถานที่ ส�ำคัญต่างๆ ในจังหวัดชุมพร ห้างสรรพสินค้าในตัวเมือง ระยะทาง 2 กม. ใช้เวลาเดินทาง 4 นาที วัดสามแก้ว ระยะทาง 2 กม. ใช้เวลาเดินทาง 4 นาที ศู น ย์ ร าชการจั ง หวั ด ชุ ม พร ระยะทาง 2.5 กม. ใช้ เ วลา เดินทาง 6 นาที วัดเจ้าฟ้าศาลาลอย ระยะทาง 5.8 กม. ใช้เวลาเดินทาง 8 นาที หาดคาบาน่า (ทุง่ วัวแล่น) ระยะทาง 11 กม. ใช้เวลาเดินทาง 16 นาที หาดทรายรี (ศาลกรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ)์ ระยะทาง 25 กม. ใช้เวลาเดินทาง 32 นาที อุทยานแห่งชาติหมูเ่ กาะชุมพร ระยะทาง 27 กม. ใช้เวลาเดินทาง 34 นาที ท่าเรือลมพระยา (เกาะเต่า-เกาะนางยวน) ระยะทาง 29 กม. ใช้เวลาเดินทาง 36 นาที สนามบินชุมพร ระยะทาง 34 กม. ใช้เวลาเดินทาง 40 นาที ตลาดใต้เคีย่ ม ระยะทาง 97 กม. ใช้เวลาเดินทาง 1.28 ชัว่ โมง บริการรถรับ - ส่งสนามบิน ท่าเรือลมพระยา (คิดค่าบริการ) บริการรถเช่า ทัง้ รถยนต์สว่ นบุคคลและรถมอเตอร์ไซด์ บริการตัว๋ เรือท่องเทีย่ ว ตัว๋ เรือทริปด�ำน�ำ้ ชมปะการัง โรงแรม เซาท์เกท เรสสิเดนซ์ ชุมพร 155 ม.6 ถ.ไตรรัตน์ ต.นาทุง่ อ.เมืองชุมพร จ.ชุมพร 86000 ส�ำรองห้องพัก โทร. 093-5750988 , 077-630577 E–mail : southgateresidence59@gmail.com Facebook : เซาท์เกท เรสสิเดนซ์ ชุมพร Facebook Fan Page : Southgate Residence Hotel Chumphon Line : ID 0935750988

(2

).indd 5

15/12/2560 17:42:55


The Ozone Resort @Chumphon

ดิ โอโซน รี ส อร์ ท 47/29 ถนนอุทมุ พร ต�ำบลนาทุง่ อ�ำเภอเมือง จังหวัดชุมพร 86000 : theozonechumphon : followwedreams : 077-642555 ทีวี แอร์ ระบบคียก์ าร์ด ฟรี Wifi

บริ ก ารห้ อ งพั ก ห้ อ งประชุ ม สถานที่ จั ด เลี้ ย ง สั ม มนา งานแต่ ง พร้ อ มบริ ก ารอาหารงานจั ด เลี้ ย ง

(2

) v.2.indd 6

15/12/2560 17:47:28


สถานที ท่ ่ อ งเที ย่ ว

ถนนกรมหลวงชุมพรแหล่งของกิน ยามค�่ ำคื น สวนสาธารณะชุมพร โครงการหนองใหญ่( แก้มลิง) ชายทะเลปากหาด ท่ า เรื อ ไปเกาะเต่า ทะเลปากน�้ ำชุมพร หาดทรายรี หาดทุ ่ ง วั ว แล่น

(2

) v.2.indd 7

600 m. 400 m. 3 km. 3 km. 6 km. 12 km. 18 km. 15 km.

15/12/2560 17:47:39


.indd 8

15/12/2560 17:50:06


.

-

.indd 9

15/12/2560 17:52:02


กลุ่มเกษตรกรทำ�สวนเขาทะลุ รสชาติเข้มแท้ กาแฟเขาทะลุ

สุดยอดหนึ่งต�ำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ ไทย ระดับ 5 ดาว

กาแฟคั่วเข้ม

กาแฟคั่วกลาง

กาแฟคั่วอ่อน

การคั่วเมล็ดกาแฟ เมื่อผ่าน การคัดขนาดเรียบร้อยแล้วเมล็ดกาแฟ จะถูกส่งจากถังป้อนเข้าสูเ่ ครือ่ งคัว่ เมล็ด ซึ่งการคั่วเข้ม จะคั่วอยู่ที่อุณหภูมิ 190 องศา ใช้เวลาประมาณ 30 นาที ในการคัว่ เมือ่ กาแฟคัว่ เสร็จแล้ว จะถูกน�ำส่งไปยัง ถาดระบายความร้อน จากนัน้ ก็นำ� กาแฟคัว่ เข้าสู่กระบวนการบรรจุ

การคั่วเมล็ดกาแฟ เมื่อผ่าน การคัดขนาดเรียบร้อยแล้วเมล็ดกาแฟ จะถูกส่งจากถังป้อนเข้าสูเ่ ครือ่ งคัว่ เมล็ด ซึง่ การคัว่ กลาง จะคัว่ อยูท่ อี่ ณ ุ หภูมิ 180 องศา ใช้เวลาประมาณ 25 นาที ในการคัว่ เมือ่ กาแฟคัว่ เสร็จแล้ว จะถูกน�ำส่งไปยัง ถาดระบายความร้อน จากนัน้ ก็นำ� กาแฟคัว่ เข้าสู่กระบวนการบรรจุ

การคั่วเมล็ดกาแฟ เมื่อผ่าน การคัดขนาดเรียบร้อยแล้วเมล็ดกาแฟ จะถูกส่งจากถังป้อนเข้าสูเ่ ครือ่ งคัว่ เมล็ด ซึ่งการคั่วอ่อน จะคั่วอยู่ที่อุณหภูมิ 75 องศา ใช้เวลาประมาณ 20 นาที ในการคัว่ เมือ่ กาแฟคัว่ เสร็จแล้ว จะถูกน�ำส่งไปยัง ถาดระบายความร้อน จากนัน้ ก็นำ� กาแฟคัว่ เข้าสู่กระบวนการบรรจุ

(Dark roasted coffee)

.indd 10

(Medium roasted coffee)

(Light roasted coffee)

15/12/2560 05:43:18 PM


กาแฟเกล็ด (Instant) เป็นกาแฟ ที่นำ�มาผ่านกระบวนการสเปรย์ดรายน์ (Spray Dryer) จากต้นสู่ถ้วย

กาแฟเขาทะลุ สูตรกลมกล่อม

กาแฟ 3 in 1 สูตร 1 ขนาดบรรจุ 28 ซอง กลิ่นหอมรสชาติกลมกล่อม 1 ซอง ต่อ น�้ ำ 1 แก้ ว ถึ ง รสชาติ ก าแฟแท้ ก าแฟ พันธุ์โรบัสต้า 100 %

กาแฟเขาทะลุ สูตร Special

กาแฟ 3 in 1 สูตร 2 ขนาดบรรจุ 30 ซอง กลิ่ น หอมรสชาติ เ ข้ ม ข้ น เพิ่ ม กาแฟ ลดน�ำ้ ตาล 1 ซอง ต่อน�ำ้ 1 แก้ว ถึงรสชาติ กาแฟแท้ กาแฟพันธุ์โรบัสต้า 100 %

กาแฟเขาทะลุ สูตรดับเบิ้ล-ชอท

กาแฟเข้ ม ข้ น สู ต รดั บ เบิ้ ล -ชอท (Double-shot) ขนาดบรรจุ 25 ซอง เข้มถึงใจ ถูกใจคอกาแฟ

กลุ่มเกษตรกรทำ�สวนเขาทะลุ 14/1 หมู่ 5 ต�ำบลเขาทะลุ อ�ำเภอสวี จังหวัดชุมพร 86130 โทร. 077-620-009-12, 077-620123, 093-6763606 โทรสาร. 077-620-009-17 LINE | 062-2365272 EMAIL | coffeekhaothalu4u@gmail.com

.indd 11

สถานที่จำ�หน่าย เฟรนไชส์กาแฟเขาทะลุ ชุมนุมสหกรณ์จังหวัดชุมพร จ�ำกัด ธกส. ทั่วประเทศ สหกรณ์ทั่วประเทศ บริษัท ไปรษณีย์ไทย จ�ำกัด ทั่วประเทศ

15/12/2560 05:43:33 PM


ด ั ก ำ � ร จ พ ม ุ ช ์ ฑ ณ ั ภ ร พ ุ ส ุ ซ ู ซ ี ท ั อ ษ ิ บร

บริษัท อีซูซุสุพรภัณฑ์ชุมพร จ�ำกัด

ส�ำนักงานใหญ่ สาขาท่าแซะ สาขาสวี สาขาหลังสวน สาขาเมืองชุมพร สาขาละแม

.indd 12

077-576057-8 077-979961-2 077-512444 077-979992-3 077-574999 077-979989

15/12/2560 17:53:28


TAMSABAI RESORT

ตามสบายรีสอร์ท ชุมพร

สิ่งอ�ำนวยความสะดวก WI-FI ในพื้นที่สาธารณะ ฟรี WI-FI ทุกห้อง กีฬาทางน�้ำ คาราโอเกะ สวน Coffee Shop Bar ห้องอาหาร รูมเซอร์วิส (24 ชั่วโมง) ตู้นิรภัย บริการซักรีดพื้นที่ สูบบุหรี่ น�ำสัตว์เลี้ยงเข้าพักได้ เครื่องปรับอากาศ ระเบียง/ ชานเรือน มินิบาร์ TV สัญญาณดาวเทียม สถานที่ท่องเที่ยว ส�ำหรับนักท่องเที่ยวที่ต้องการดื่มด�่ำกับ สี สั น ของชุ ม พรอย่ า งเต็ ม ที่ มี ค วามเป็ น ส่ ว นตั ว มี ค วามเป็ น ธรรมชาติสูง บริเวณใกล้เคียงถ�้ำสิงห์ กาแฟคุณภาพดีที่ขึ้นชื่อ ที่สุดของชุมพร ลูกค้าสามารถเข้าชมได้อย่างสะดวก มีสถานที่ เล่นกีฬา สนามกอล์ฟ ในระยะทางแค่ 2 กิโลเมตร ช่วยให้ท่านมี ความรื่นรมย์ เนื่องจากที่พักตั้งอยู่ห่างจากใจกลางเมืองเพียง 16.3 km และห่างจากสนามบินเพียง 56 km

ตามสบายรีสอร์ท ชุมพร ออกแบบและตกแต่งห้องพัก ในสไตล์ที่ไม่ซ�้ำกัน มีทั้งบ้านไม้สไตล์คลาสสิค บ้านปูนที่มี ความทันสมัย ให้ความรูส้ กึ ทีเ่ รียบง่ายชวนให้พกั ผ่อน มีกจิ กรรม พายเรือคายัค ตกปลา ตามสบายรีสอร์ท มี “ออแกนิคฟาร์ม” ตอบโจทย์คนรัก สุ ข ภาพและรั ก ธรรมชาติ ห ลบความวุ ่ น วายจากสั ง คมเมื อ ง มาใช้ชีวิตแบบสบายๆ กับนิยามค�ำว่า

“นอน 1 คืน อายุยืน 1 ปี”

ตามสบายรีสอร์ท ชุมพร

18 ม.2 ต.วังใหม่ อ.เมือง จ.ชุมพร 86190 โทร 077-510706 , 094-580-5666 Facebook ตามสบายรีสอร์ท ชุมพร Tamsabai Resort https://www.facebook.com/tamsabairesort/

(1

).indd 13

15/12/2560 17:55:05


Editor’s Talk

คณะที่ปรึกษา

ศ.ดร.กฤช เพิ่มทันจิตต์, ดร.นิเวศน์ กันไทยราษฎร์, ดร.วัลลภ อารีรบ, ดร.สุมทิ แช่มประสิทธิ,์ ดร.พิชยั ทรัพย์เกิด, ดร.ไอศูรย์ ดีรตั น์, ดร.ประยุทธ คงเฉลิมวัฒน์, ดร.สุเทษณ์ จันทรุกขา

ฝ่ายกฎหมาย

สมคิด หวังเชิดชูวงศ์, ทวิช อมรนิมิตร

บรรณาธิการอ�ำนวยการ

ศุภกิจ ศิลปรังสรรค์

บรรณาธิการบริหารสายงานบุคคล

พงษ์ศักดิ์ พรณัฐวุฒิกุล

บรรณาธิการบริหารสายงานการตลาด

อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์, วนัสกฤษณ์ ศิลปรังสรรค์

ผู้อ�ำนวยการฝ่ายกิจกรรมพิเศษ กชกร รัฐวร

กองบรรณาธิการ

นันท์ธนาดา พลพวก ศุภญา บุญช่วยชีพ ศรีอ�ำไพ อักษรเชิดชู

นักเขียน

ฐิติรัตน์ สุวรรณโรจน์

ศิลปกรรม

ฝ่ายประสานงาน โครงการภาครัฐและภาคเอกชน ผู้จัดการฝ่ายประสานงาน โครงการภาครัฐ

อัครพล ไชยยาว อัครกฤษ หวานวงศ์

ฝ่ายประสานงานโครงการภาครัฐ

ธนวรรษ เชวงพจน์, ถาวร เวปุละ กิตติทัศน์ จินประเสริฐ กิตติเมศร์ ชมชื่น

ผู้จัดการฝ่ายศิลป์

ผู้จัดการฝ่ายประสานงาน โครงการภาคเอกชน

กราฟิกดี ไซน์

ฝ่ายประสานงานโครงการภาคเอกชน

พัชรา ค�ำมี

พิมพ์พิสุทธิ์ พังจูนันท์ วรเชษฐ สมประสงค์ สุนทรี ไพริน ช่างภาพ

ชัยวิชญ์ แสงใส ปณต ปิติจารุวิศาล กิติวัฒน์ ทิศมั่ง

บริษัท สมาร์ท บิซิเนส ไลน์ จ�ำกัด

ทวัชร์ ศรีธามาศ

กิตติชัย ศรีสมุทร, ไพรัตน์ กลัดสุขใส, มินทร์มันตรา จิรฐาคุณานนท์, กษิดิส ไทยธรรม

ฝ่ายบัญชี/การเงิน

ปัฐมาภรณ์ แสงบุราณ, อุสา แก้วเพชร, กรรณิการ์ มั่นวงศ์, กัญญารัตน์ ภักดิ์สอน

9/4-6 ถนนรามอินทรา แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพฯ 10220 โทร. 0-2522-7171 แฟกซ์. 0-2971-7747 Facebook : SBL บันทึกประเทศไทย E-mail : sbl2553@gmail.com www.sbl.co.th

Editor’s Talk.indd 14

มีหลายคนกล่าวว่าจังหวัดชุมพร คือประตูสู่ภาคใต้ ซึ่งก็เป็นเรื่อง ที่ ถู ก ต้ อ ง เพราะหากท่ า นใด ต้องเดินทางไปแถบจังหวัดแถว ภาคใต้ดว้ ยรถยนต์ ย่อมต้องผ่าน จั ง หวั ด ชุ ม พรอย่ า งเลี่ ย งไม่ ไ ด้ แถมขากลับ ยังไม่พลาดทีจ่ ะแวะ ซื้อของดีอย่างกล้วยเล็บมือนาง มาเป็นของฝากกลับบ้านตลอด ปัจจุบนั จังหวัดชุมพรไม่ได้มผี ลไม้ขนึ้ ชือ่ แค่กล้วยเล็บมือนาง ทุเรียนนอกฤดูออร์แกนิค หรือกาแฟโรบัสต้า นับว่าเป็นของดี ของขึ้นชื่อของจังหวัดชุมพร ที่มีความโดดเด่น ไม่แพ้หาดทรายรี สถานที่ท่องเที่ยวของจังหวัดชุมพร จนได้รับฉายา “หาดทราย ยาวสี่ร้อยลี้” นอกเหนือจากการส่งเสริมด้านการเกษตร เศรษฐกิจ และ การท่องเที่ยวให้กับพี่น้องประชาชนชาวชุมพรแล้ว ท่านณรงค์ พลละเอียด ผูว้ า่ ราชการจังหวัดชุมพร ยังมีแนวคิดในการผลักดัน ให้ชุมพรเป็นศูนย์กลางการแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหารฮาลาล เพื่อ ส่งไปจ�ำหน่ายให้แก่ประเทศแถบตะวันออกกลาง รวมถึงการเปิด ประตูเชื่อมต่อระหว่างประเทศในอาเซียนและประชาคมโลก ในด้านการค้าการลุงทุนต่างๆ ที่จะสร้างรายได้ให้กับชาวชุมพร เพิ่มมากขึ้น พร้อมกันนีท้ า่ นผูว้ า่ ฯ ยังสืบสานปณิธานของพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดช บรมนาถบพิตร พัฒนาศูนย์ การศึกษาศาสตร์พระราชา โครงการพัฒนาพื้นที่หนองใหญ่ ตามพระราชด�ำริ เพือ่ น้อมร�ำลึกในพระมหากรุณาธิคณ ุ อันหาทีส่ ดุ ไม่ได้ เพราะ “ด้วยพระเมตตาบารมี ชุมพรวันนี้ถึงร่มเย็น” ผมขอขอบพระคุณท่านผู้ว่าราชการจังหวัดชุมพร และ หน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน ที่มอบโอกาสให้นติ ยสาร SBL บันทึกประเทศไทย ได้บนั ทึกและรวบรวมเรือ่ งราวทีน่ า่ ประทับใจ ต่างๆ ของจังหวัดชุมพร หากมีข้อผิดพลาดประการใด ทีมงาน ขอน้อมรับค�ำติชมจากทุกท่านด้วยความเคารพ ไว้ ณ โอกาสนีค้ รับ

ติดต่อ คุณศุภกิจ ศิลปรังสรรค์

โทรศัพท์ 081-442-4445, 084-874-3861 E-mail : supakit.s@live.com Facebook : Supakit Sillaparungsan

(นายศุภกิจ ศิลปรังสรรค์) บรรณาธิการอ�ำนวยการ

15/12/2560 05:51:14 PM


Ä ' . Ä¢ ´ ¥·¬¯¥q ¶Ö§àÁ×ͧªØÁ¾Ã ÁͧËÒ·Õè¾Ñ¡áʹʺÒ ÍÒËÒÃÍËÍ ¸ ¸ Ä ' . Ä¢ ´ ¥·¬¯¥q ² ² K A I /A69/ý# &/@ >/9>7>/J1<7ú9 *= J6%6&>. */ú9-6@ Q 9V>%3. 3>-6< 3 /& /=% 9>#@ J9/ý !EIú .P% #A3A I /CQ9 #V>%VR>9Dù% 9@%I!9/ýI%P! 6">%#AQ#ù9 I#AQ.3L 1úI A. >.#<I1'> %VR> D-*/ 7> #/>./A K « ² K, %> /A69/ý# 7-Eù !V>&1#ù>.> 9V>I,9I-C9 = 73= D-*/ K#/4=*#ý

D.K.

&

(1

).indd 15

15/12/2560 17:56:40


CONTENTS ผู้ว่าราชการจังหวัดชุมพร

85 86 88 92 94 96 98 100 104 107

33 ใต้ร่มพระบารมี บันทึกเส้นทางพบผู้ว่าราชการจังหวัด “นายณรงค์ พลละเอียด” บันทึกเส้นทางพบอดีตท้องถิ่นจังหวัด “นายสมชาย รุ่งเรือง” บันทึกเส้นทางพบส�ำนักงานพระพุทธศาสนา “นางสาวสุวรรณี แก้วมณี” บันทึกเส้นทางความเป็นมา บันทึกเส้นทางท่องเที่ยว บันทึกเส้นทางพบนายอ�ำเภอ “นายนักรบ ณ ถลาง” ทต.วังใหม่ ทต.ขุนกระทิง อบต.ปากน�้ำ

108 114 116 123

อบต.ทุ่งคา อบต.วิสัยเหนือ อบต.สลุย ทต.มาบอ�ำมฤต ทต.นาโพธิ์ อบต.สวี อบต.เขาทะลุ ทต.ทุ่งตะไคร อบต.ตะโก วัดโพธิการาม วัดราชบุรณะ (วัดนอก) พระอารามหลวง วัดชุมพรรังสรรค์ พระอารามหลวง วัดถ�ำ้ สิงห์ วัดท่ามะปริง

เส้นทางท่องเที่ยว

20 33 52 56 60

หาดทรายรี

64 76 79 80 82

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติชุมพร

Content Chumphon.indd 16

16/12/2560 02:34:49 PM


เข้าถึงง่ายเพียงแค่คลิก

CHUMPHON

ด้วยทุกช่องทางการน�ำเสนอ ผ่านโลกโซเชียลมีเดีย ตอกย�้ำภาพลักษณ์องค์กร ของท่านให้ทันสมัย

www.sbl.co.th

วัดปากน�้ำชุมพร วัดปากคลอง วัดพรุใหญ่ วัดเขากล้วย วัดหัวถนน วัดสุวรรณคูหาวารีวงค์ (ถ�้ำโพงพาง) วัดเขตอุดมศักดิ์วนาราม วัดถ�้ำพรุตะเคียน วัดศรีสุเทพ วัดบางแหวน

124 130 132 138 140 142 144 146 152 154

วัดถ�ำ้ ทะเลทรัพย์

190 192 194 196 202 204 206 208 210 212

น�ำ้ ตกคลองเพรา

วัดดอนยาง วัดมาบอ�ำมฤต วัดพระธาตุบ่อทอง (บ่อส�ำโรง) วัดถ�้ำทะเลทรัพย์ วัดนาทิการาม วัดขันเงิน วัดโสมสิริวัฒนาราม วัดบ้านโหมง วัดพระรักษ์ วัดปังหวาน

Content Chumphon.indd 17

วัดควนดอกไม้ วัดจันทราวาส วัดช่องรอ วัดพระบรมธาตุสวี วัดนาสัก วัดถ�ำ้ เขาล้าน วัดควนตะโก (ควนเสาธง) วัดท่าสุธาราม วัดชลธีพฤกษาราม วัดถ�ำ้ เขาม้ายัง

วัดถ�้ำพรุตะเคียน

156 158 164 170 176 178 180 182 184 188

ถ�้ำเขาเกรียบ

16/12/2560 02:35:00 PM

ถ�้ำเข


“บริการด้วยใจ แบบเป็นกันเอง”

อรัญญา รีสอร์ท บริการห้องพัก พร้อมสิ่งอ�ำนวยความสะดวก เครื่องท�ำน�้ำอุ่น แอร์ ตู้เย็น ทีวี Wifi กล้องวงจรปิด บริการซักรีด และอาหารตามสั่ ง อยู ่ ห ่ า งจากศาลกรมหลวงชุ ม พรเขตอุ ดมศั ก ดิ์ 1 km สถานีรถไฟ 15.5 km ห้างสรรพสินค้า โอเชี่ยน ชุมพร 16.1 km สถานที่ใกล้เคียง กรมหลวงชุมพร เขตอุดมศักดิ์ จุดชมวิวเขามัทรี เขาเจ้าเมือง

(2

).indd 18

15/12/2560 17:57:49


อรัญญา รีสอร์ท 36/1 หมู่ 7 ต.หาดทรายรี อ.เมือง จ.ชุมพร 86120 โทร. 081-8971856 , 095-0199990 Facebook : อรัญญา รีสอร์ท

(2

).indd 19

15/12/2560 17:58:03


โครงการพัฒนาพื้นที่หนองใหญ่ ตามพระราชด�ำริ บ้านเขาแรด หมู่ที่ 2 ต�ำบลบางลึก อ�ำเภอเมือง จังหวัดชุมพร

20 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 20

15/12/2560 05:52:47 PM


พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช ทรงมีพระราชด�ำริให้สร้างประตูระบายน�ำ้ เส้นทางเดินน�ำ้ สถานทีพ่ กั น�ำ้ ไว้ในแก้มลิง เพือ่ บรรเทาปัญหาอุทกภัยในเมืองชุมพรทีเ่ กิดขึน้ อยูบ่ อ่ ยครัง้ นอกจากนีย้ งั เป็นแหล่งน�ำ้ ส�ำรองส�ำหรับการเกษตรและผลิตน�ำ้ ประปาส�ำหรับชุมชน เพือ่ ประโยชน์ แก่ราษฎรในพื้นที่โดยรอบโครงการ โครงการพั ฒ นาพื้ น ที่ ห นองใหญ่ ตามพระราชด� ำ ริ จั ง หวั ด ชุ ม พร หรือที่เรียกกันว่า “แก้ ม ลิ ง หนองใหญ่ ” ปัจจุบันกลายเป็นศูนย์การเรียนรู้ตามศาสตร์พระราชาและปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง ตามพระราชด�ำริในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช โดยมี ผู้สนใจทั่วประเทศ เดินทางมาศึกษาดูงานอย่างต่อเนื่อง

ลักษณะโครงการ

ขุดคลองล้อมรอบพื้นที่หนองน�้ำ แบบไม่มีคันคลองทั้งสองด้าน ขุดคลองเชื่อมระหว่างคลองล้อมรอบหนองน�้ำและคลองท่าดินแดงซึ่งอยู่ทางตอนเหนือ ของโครงการแบบไม่มีคันคลองทั้งสองด้าน ขุดลอกคูน�้ำริมคันคลองชลประทาน ก่อสร้างประตูระบายน�้ำ จ�ำนวน 2 แห่ง ให้ระบายน�้ำออกจากพื้นที่

การด�ำเนินงาน

บริเวณพืน้ รับน�ำ้ หนองใหญ่ ประกอบด้วยคลองสาขา คือ คลองกรูด คลองขีน้ าค และคลองละมุ ซึ่งรับน�้ำบ่าและผันน�้ำจากคลองท่าแซะ ไหลลงหนองใหญ่ การควบคุมเก็บกักและระบายน�้ำ ของหนองใหญ่นั้นจะมีประตูระบายน�้ำราชประชานุเคราะห์ 1 2 3 หลักการท�ำงานของแก้มลิง หนองใหญ่ คือ รับน�ำ้ จากคลองสาขามาเก็บไว้ในหนองใหญ่แล้วค่อยๆ ปล่อย โดยประตูระบายน�ำ้ ราชประชานุเคราะห์ 1 2 3 เข้าสู่คลองหัววัง - พนังตัก เพื่อระบายน�ำ้ ออกสู่ทะเล หากไม่มีฝนตก ในลุ่มน�้ำคลองสาขาหนองใหญ่และไม่มีน�้ำจากคลองท่าแซะ แต่มีฝนตกในลุ่มน�้ำคลองรับร่อ เมื่อระบายน�้ำเข้าสู่คลองหัววัง - พนังตัก สามารถเปิดประตูระบายน�้ำราชประชานุเคราะห์ และ ทรบ.หนองใหญ่น�ำน�้ำเข้าไปเก็บไว้ในหนองใหญ่ เมื่อสภาพแวดล้อมเหมาะสมสามารถระบายน�้ำ ที่เก็บไว้ในหนองใหญ่ออกสู่คลองหัววัง - พนังตัก ให้ระบายออกสู่ทะเลต่อไป NAKHON SI THAMMARAT 21 .indd 21

15/12/2560 05:52:58 PM


พระราชด�ำริ

ความส�ำเร็จของโครงการ

จากความส�ำเร็จของโครงการพัฒนาพื้นที่หนองใหญ่ ตามพระราชด�ำริ จังหวัดชุมพรเห็นว่าการพัฒนาขยายผลโครงการเพื่อก่อให้เกิดการเรียนรู้ ถึงพระมหากรุณาธิคณ ุ ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช ทีม่ ตี อ่ พสกนิกรชาวชุมพร จึงควรน้อมน�ำแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มาขยายผล และจัดตั้งเป็นศูนย์เรียนรู้ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยแบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ

ส่วนที่หนึ่ง

เป็นเกาะชมนกชมไม้ โดยในพื้นที่จะมี การปลูกต้นไม้ที่ให้ผลเป็นอาหารของนกได้ ส่ ว นที่ เ ป็ น พื้ น ที่ ป ระกอบอาชี พ จริ ง มี ก าร ปรั บ พื้ น ที่ เ พื่ อ ปลู ก ปาล์ ม น�้ ำ มั น โดยใช้ ปุ ๋ ย พืชสดและปุ๋ยคอกจากหมูลาน และจุดแสดง องค์ความรู้การท�ำการเกษตรตามภูมิปัญญา แบบท้องถิ่นของชาวชุมพร

ส่วนที่สอง

การจ�ำลองการด�ำเนินงานของหน่วยงาน ด้ า นการอนุ รั ก ษ์ แ ละจั ด การต้ น น�้ ำ พะโต๊ ะ มีการบริการโฮมสเตย์

ส่วนที่สาม

การผลิตของชาวชุมชนแบบดั้งเดิม เช่น แปลงนาสาธิต โดยใช้ข้าวพันธุ์เหลืองปะทิว มาปลูก ซึ่งเป็นพันธุ์ดั้งเดิมของจังหวัดชุมพร การใช้อุปกรณ์ท�ำนาแบบโบราณ เครื่องสีข้าว โบราณและสมัยใหม่ไว้ให้ผู้ที่เดินทางเข้ามา ศึกษาได้เรียนรู้แบบเชิงเปรียบเทียบ และให้ ได้เห็นถึงพัฒนาการของการผลิตข้าวของชุมชน ชุมพรอย่างครบวงจร

22 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 22

15/12/2560 05:53:01 PM


ซึ่ ง ทั้ ง หมดเพื่ อ เป็ น การน� ำ ความรู ้ แ ละ ความส�ำเร็จจากการปฏิบัติตามหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง มาเสนอในรูปแบบของ พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติที่มีชีวิต ในแต่ละอ�ำเภอ ของจังหวัดชุมพรซึ่งได้แก่ อ�ำเภอพะโต๊ะ เป็นการอนุรักษ์ป่าต้นน�้ำ ในรูปแบบคนอยู่ป่ายัง ซึ่งเป็นการดูแลรักษา ป่ า ต้ น น�้ ำ ของชุ ม ชนร่ ว มกั บ ภาครั ฐ โดยมี กฎระเบียบของชุมชนว่าจะต้องไม่มกี ารบุกรุกป่า เพิ่มเติม และช่วยกันปลูกป่าเพื่อเพิ่มความ มั่งคั่งยั่งยืน และจัดสรรทรัพยากรน�้ำให้เกิด ประโยชน์สูงสุด อ�ำเภอหลังสวน ด�ำเนินการตามปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงแบบครบวงจร เป็นการปฏิบตั ิ และเปรียบเทียบวิธีคิด วิธีท�ำ ให้ลดต้นทุน

ด้วยตัวเอง ด้วยการใช้วัสดุธรรมชาติที่มีอยู่ ในพื้นที่ เป็นตัวขับเคลื่อน อ�ำเภอทุ่งตะโก การท�ำการเกษตรแบบ ผสมผสาน เน้นการใช้พื้นที่ในแปลงเกษตร ให้เกิดประโยชน์อย่างคุ้มค่าสูงสุด การปลูก พืชหลักและพืชแซม และกับเลีย้ งสัตว์ ช่วยเพิม่ รายได้และลดรายจ่ายในครัวเรือน อ�ำ เภอปะทิ ว การส่งเสริมให้คนชุมพร ท�ำนาปลูกข้าวเองเพื่อการบริโภค โดยเฉพาะ ข้าวเหลืองปะทิว ซึ่งเป็นพันธุ์ข้าวพื้นเมือง ของจังหวัด ซึง่ สามารถปลูกได้ในพืน้ ทีท่ มี่ นี ำ�้ น้อย ทนต่อโรค และเพื่อเป็นการรักษาพันธุ์ข้าว พื้นเมืองของจังหวัดชุมพร จึงมีการปลูกไว้ที่ หนองใหญ่ ตั้งแต่เปิดศูนย์เรียนรู้ตามปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง

ด้วยพระมหากรุณาธิคุณของ พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ล อดุลยเดช ท�ำให้ราษฎรในพื้นที่มีอาชีพ มีรายได้ สร้างเนื้อสร้างตัว ลืมตาอ้าปาก มี ค วามเป็ น อยู ่ ที่ ดี อ ย่ า งยั่ ง ยื น และยั ง เป็ น แรงบันดาลใจให้กับเกษตรกรรุ่นใหม่ ที่ทรง พระราชทานแนวทางเกษตรทฤษฎี ใ หม่ ที่อยากเป็นเกษตรกรที่ประสบความส�ำเร็จ ในอนาคต

NAKHON SI THAMMARAT 23 .indd 23

15/12/2560 05:53:05 PM


สวนหินน�้ำรีสอร์ท Suan Hin Nam Resort จากสี่แยกปฐมพรเข้าเมืองชุมพร 1 กิโลเมตร

ห้องพักหรู บรรยากาศสบาย สไตล์รีสอร์ท สะดวกปลอดภัย สิ่งอ�ำนวยความสะดวก แอร์ ทีวี ตู้เย็น น�้ำอุ่น อินเตอร์เน็ต ที่จอดรถกว้างขวาง ราคาห้องพักเริ่มต้น 300, 500, 700 บาท สวนหินน�้ำรีสอร์ท 37 หมู่ 7 ต�ำบลวังไผ่ อ�ำเภอเมือง จังหวัดชุมพร โทร. 077-658755, 081-3700061, 081-8930398 Facebook : สวนหินน�้ำรีสอร์ท จังหวัดชุมพร www.suanhinnamresort.blogspot.com

6000

(1

).indd 24

15/12/2560 17:59:29


“โรงแรมใหม่ ใจกลางเมือง สะอาด สงบ ครบทุกสิ่งที่คุณควรได้รับ”

ทีพ ่ กั สบาย พร้อมสิง่ อ�ำนวยความสะดวกครบครัน สัญญาณ Wireless อินเตอร์เน็ต แอร์ เคเบิลทีวีจอแบนแอลอีดี 32 นิ้ว ตู้เย็น เครื่องท�ำน�้ำอุ่น เตียงแบบซอคเก็ตสปริงหนา 9.5 นิ้ว หมอนสุขภาพ อุปกรณ์จับควันไฟ อาหารเช้า แบบบุฟเฟ่ บนชั้น 6 เวลา 7.00 - 9.00 น. (ท่านละ 80 บาท)

ค่าห้องเพียง 590 บาท

อยู่ใกล้ห้างโอเชี่ยน 400 เมตร สถานีรถไฟ 700 เมตร

โรงแรมยูโรบูติค 73/3 ถ.กรมหลวงชุมพร ต.ท่าตะเภา อ.เมือง จ.ชุมพร 86000 เบอร์โทร 077-502300 , 082-6196145 Facebook : Euro Boutique Hotel E-mail : eurohotel.chumphon@gmail.com www.euroboutique-hotel.com

(1

).indd 24

15/12/2560 18:02:00


โรงแรมดาหลา Dala Hotel

เปิดให้บริการห้องพัก 2 รูปแบบ ได้แก่ ห้องพักเตียงเดี่ยว ในราคาสุดประหยัด 400 บาท สามารถเข้าพักสูงสุด 2 คน และ ห้องพักเตียงคู่ ราคา 650 บาท เข้าพักสูงสุดได้ไม่เกิน 2 คน Free Wifi zone และ บริการอาหารเช้า ฟรี ติดต่อห้องพัก โรงแรมดาหลา 89/3 หมู่ 4 ต�ำบลนาโพธิ์ อ�ำเภอสวี จังหวัดชุมพร โทรศัพท์ 077-532154

(1

).indd 26

15/12/2560 18:03:15


.indd 27

15/12/2560 05:46:07 PM


้รานบ้านสุพัตรา อิ่มอร่อยกับอาหารเช้า หลากหลายเมนู ที่คัดสรรมาเพื่อคุณ

เพราะอาหารเช้าเป็นมื้อส�ำคัญ ให้ ร ้ า นบ้ า นสุ พั ต ราดู แ ลมื้ อ ส� ำ คั ญ ของคุณนะคะ (1

).indd 28

ร้านบ้านสุพัตรา ร้านอาหารเอเชียแบบฟิวชัน เช่น ซาลาเปา ติม่ ซาํ อาหารเช้า โจ๊กหมู ปลา กุง้ อาหารตามสัง่ เครื่องดื่ม กาแฟ และน�้ำผลไม้ชนิดต่างๆ ร้านบ้านสุพัตรา 98/39-40 หมู่ 4 ต�ำบลสวี อ�ำเภอสวี จังหวัดชุมพร โทรศัพท์ 077- 510788 Facebook : บ้านสุพตั รา ซาลาเปา ติม่ ซ�ำ อาหารเช้า อาหารตามสัง่

15/12/2560 18:04:49


บริการห้องพัก 24 ชั่วโมง มีความเป็นส่วนตัว บรรยากาศธรรมชาติ

ราคาพิเศษเพียง 550.-

พร้อมอาหารเช้า

ติดต่อสอบถาม ทีอ่ ยู่ 98 หมู่ 4 ต�ำบลสวี อ�ำเภอสวี จังหวัดชุมพร โทร. 077-557221, 081-0929649 Facebook : เคียงจันทร์ รีสอร์ท

1

.indd 29

เคียงจันทร์ รีสอร์ท 15/12/2560 18:06:13


.

.indd 30

15/12/2560 18:07:17


ห้างหุ้นส่วนจ�ำกัด

า ล ิ ศ ร า ก ล ผ เจริญ (โรงโม่หิน)

119 หมู่ 10 ต�ำบลสะพลี อ�ำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร 86230 โทร. 077-560226 (

) v.2.indd 31

15/12/2560 18:08:30


บริษัท ชุมพรการศิลา จ�ำกัด

ที่ตั้ง ส�ำนักงานใหญ่ 55 หมู่ 7 ต�ำบลวังไผ่ อ�ำเภอเมือง จังหวัด ชุมพร 86000 สาขา 141 หมู่ 4 ต�ำบลขุนกระทิง อ�ำเภอเมือง จังหวัดชุมพร 86190 โทร. 077-576316-9, 077-630238 (ฝ่ายขาย) แฟกซ์. 077-576318 ประกอบธุรกิจ : ประกอบกิจการการท�ำเหมืองหินชนิ ด หิ น ปู น เพื่ออุตสาหกรรมการก่อสร้าง

บริษทั ชุมพรคอนกรีต จ�ำกัด

หินฝุ่น

หิน 3/8

0.25

.indd 32

หิน 2 เล็ก

หิน 3/4

ที่ตั้ง ส�ำนักงานใหญ่ 55 หมู่ 7 ต�ำบลวังไผ่ อ�ำเภอเมือง จังหวัด ชุมพร 86000 สาขา 56/5 หมู่ 7 ต�ำบล ตากแดด อ�ำเภอเมือง จังหวัดชุมพร 86000 โทร 077-534444 077-534712 Fax.077-534488 ประกอบทุระกิจ : ประเภทก่อสร้าง และ โครงสร้าง

- คอนกรีตผสมเสร็จ - ท่อระบายน�ำ้ - บ่อพัก - รางยู - I-GIRDER - BOX-GIRDER - เสาเข็มสีเ่ หลีย่ มตัน - อิฐแปดเหลีย่ ม - เสาเข็มไอ

- อิฐตัว I - อิฐคชกฤช - อิฐสีเ่ หลีย่ มใหญ่ - อิฐทางเท้า - อิฐปูหญ้า - อิฐทางเท้าลายสเปน - อิฐทีเ่ หลีย่ มลูกเต๋า - ขอบคันหิน - แผ่นพืน้

16/12/2560 11:30:53


สารจากผู้ว่าราชการ

จังหวัดชุมพร

“ ชุ ม พ ร ” เ ป ็ น จั ง ห วั ด ข น า ด ก ล า ง ข อ ง ภ า ค ใ ต ้ มี ป ระชากรประมาณ 5 แสนคนเศษ มี พื้ น ที่ 3.75 ล้ า นไร่ บนแหลมมาลายู มีท้องทะเลอ่าวไทยด้านตะวันออก ผืนป่าที่ ยังคงความสมบูรณ์และเทือกเขาตะนาวศรีทางด้านตะวันตก พื้ น ที่ ส ่ ว นกลางเป็ น ที่ ลุ ่ ม สลั บ เนิ น เขาที่ อุ ด มสมบู ร ณ์ มี ช ายแดนติ ด ต่ อ กั บ ประเทศเมี ย นมา ที่ ส ามารถพั ฒ นา เป็นช่องทางติดต่อทางบกเพื่อค้าขายหรือท่องเที่ยวระหว่างกัน และกันได้ พื้นที่ฝั่งตะวันออกติดกับทะเลอ่าวไทยมีชายหาดที่สวยงาม ยาว 222 กิโลเมตร จนได้รับฉายา “หาดทรายสวยสี่ร้อยลี้” ที่มี ความส�ำคัญในการท่องเทีย่ วเชิงอนุรกั ษ์ โดยเฉพาะความสวยงาม ของชายหาด เกาะแก่งต่างๆ กว่า 40 เกาะของอุทยานแห่งชาติ หมู ่ เ กาะชุ ม พร กิ จ กรรมที่ ส� ำ คั ญ คื อ การด� ำ น�้ ำ ตื้ น ด� ำ น�้ ำ ลึ ก ชมปะการัง ดอกไม้ทะเล กัลปังหา ฝูงปลาสวยงาม และยักษ์ใหญ่ ใจดีคือฉลามวาฬที่แวะเวียนมาทักทายนักท่องเที่ยวอยู่เนืองๆ ส่วนพื้นที่ลุ่มเชิงเขาตอนกลางอุดมสมบูรณ์ด้วยผลไม้นานาชนิด ได้แก่ ทุเรียน มังคุด กล้วยเล็บมือนาง กล้วยหอมทอง ส้มโชกุน ชมพู่ สละ ลองกอง ฯลฯ ซึง่ ท�ำรายได้ให้กบั เกษตรกรชาวชุมพรปีละ กว่าหมื่นล้านบาท นอกจากนี้ชุมพร ยังเป็นจังหวัดที่สามารถผลิต กาแฟพันธุ์ “โรบัสต้า” ได้มากที่สุดของประเทศ สร้างรายได้แก่ ชาวชุมพรปีละประมาณ 900 ล้านบาท ในจ�ำนวนนีย้ งั ไม่รวมกาแฟ ปรุงส�ำเร็จ ซึง่ จ�ำหน่ายทัง้ ภายในและต่างประเทศมากกว่า 10 แบรนด์ เช่น กาแฟเขาทะลุ กาแฟเขาค่าย กาแฟถ�้ำสิงห์ กาแฟพันวาล เอสทีกาแฟ กาแฟลุงเหนอ และกาแฟขี้ชะมด เป็นต้น ซึ่งบาง แบรนด์ได้ผ่านการรับรองมาตรฐาน GI แล้ว สามารถสร้างรายได้ แก่เกษตรกรและผู้ประกอบการท้องถิ่น มูลค่าไม่น้อยกว่า 200 ล้านบาทต่อปี

หาดทุ ่ งวั ว แล่ น จั งหวั ดชุ มพร

นายณรงค์ พลละเอียด ผู้ว่าราชการจังหวัดชุมพร

ด้ ว ยสภาพภู มิ ป ระเทศที่ มี ค วามสมบู ร ณ์ แ บบเกื อ บจะทุ ก ด้ า น ท� ำ ให้ จั ง หวั ด ชุ ม พรมี ค วามโดดเด่ น และศั ก ยภาพที่ ห ลากหลาย มีแหล่งท่องเที่ยวที่เน้นสัมผัสกับธรรมชาติที่งดงาม ทั้งภูเขา ป่าไม้ สวนผลไม้ แม่ น�้ ำ ล� ำ คลอง มี วิ ถี ชี วิ ต ชุ ม ชนและศิ ล ปวั ฒ นธรรม ประเพณี ท ้ อ งถิ่ น ที่ ส ร้ า งความประทั บ ใจแก่ นั ก ท่ อ งเที่ ย วและ ผู้มาเยือน ซึ่งเป็นการส่งเสริมและพัฒนาให้ประชาชนมีชีวิตความเป็นอยู่ ที่ดีและพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน ผมขอขอบคุณทุกหน่วยงาน ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และพี่น้อง ประชาชนทุ ก ท่ า นที่ ไ ด้ ร ่ ว มมื อ กั น พั ฒ นาจั ง หวั ด ชุ ม พรของเราให้ มี ความเจริ ญ รุ ่ ง เรื อ ง เข้ ม แข็ ง และก้ า วหน้ า ยิ่ ง ๆ ขึ้ น ไป ในโอกาสนี้ ขอขอบคุณนิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย ที่ท�ำหน้าที่ถ่ายทอด องคาพยพของจังหวัดชุมพรในหลากหลายมุมมอง ให้ผู้ที่สนใจได้รับรู้ อย่างกว้างขวาง หวังเป็นอย่างยิ่งว่าจังหวัดชุมพรจะได้มีโอกาสต้อนรับ นักท่องเที่ยวหรือผู้ไปเยี่ยมเยือนทุกท่านในโอกาสต่อๆ ไป

...................................................... (นายณรงค์ พลละเอียด ) ผู้ว่าราชการจังหวัดชุมพร CHUMPHON 33 V.4

(

) 17

.indd 33

16/1/2561 16:05:03


นายณรงค์ พลละเอียด ผู้ว่าราชการจังหวัดชุมพร

ย่างเข้าสู่วัยเกษียณ หลายคนคงคิดว่า ถึงเวลาที่ต้อง พั ก ผ่ อ นจากการตรากตร� ำ ท� ำ งานหนั ก กั น สั ก ที ใ ช่ ไ หม แต่ ส� ำ หรั บท่ า นณรงค์ พลละเอี ย ด ผู ้ ว ่ า ราชการจั ง หวั ด ชุมพร แม้วันนี้จะย่างเข้าสู่วัยเกษียณแล้ว แต่ยังคงปฏิบัติ หน้าที่เป็นข้าราชการของพระราชาและของประชาชนอย่าง เข้ ม แข็ ง ฝ่ า ฟั น อุ ป สรรคนานั ป การ เพื่ อ ดู แ ลทุ ก ข์ สุ ข ของ พี่น้องประชาชนมาตลอดระยะเวลา 37 ปี จนได้รับรางวัล เกียรติคุณมากมาย อาทิ รางวัลครุฑทองค� ำ ข้าราชการ พลเรือนดีเด่น ปี 2535 รางวัลบุคคลดีเด่นในการป้องกัน และปราบปรามยาเสพติด ปี 2544 และรางวั ล พระกิ นรี ฯ “คนดี คิ ด ดี ท� ำ ดี ตามรอยพระยุ ค ลบาท” ปี 2555 เป็นต้น นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย กราบขอบพระคุณ ท่ า นณรงค์ พลละเอี ย ด ผู ้ ว ่ า ราชการจั ง หวั ด ชุ ม พร ที่ ใ ห้ เ กี ย รติ ที ม งาน สั ม ภาษณ์ แ นวทางการพั ฒ นาจั ง หวั ด วิ สั ย ทั ศ น์ และยุ ท ธศาสตร์ ก ารพั ฒ นาจั ง หวั ด ชุ ม พร ในด้ า นต่ า งๆ ทั้ ง ด้ า นเศรษฐกิ จ การส่ ง เสริ ม ท่ อ งเที่ ย ว และโครงการส�ำคัญๆ เพื่อให้จังหวัดชุมพรก้าวไปสู่ “ชุมพร เมืองน่าอยู่ บนพื้นฐานการพัฒนาการเกษตรกรรมและ การท่องเที่ยวคุณภาพ และเชื่อมโยงการพัฒนาสองฝั่ง ทะเล” โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้

หลายคนมองว่ า เมื อ งชุ ม พรเป็ น แค่ เ มื อ งผ่ า น จากนี้ ไ ป ชุ ม พรจะไม่ ใ ช่ เ มื อ งผ่ า น แต่ จ ะเป็ น ศู น ย์ ก ลางของการท่ อ งเที่ ย วภาคใต้ แ ห่ ง ใหม่ นายณรงค์ พลละเอี ย ด

ผู ้ ว ่ า ราชการจั ง หวั ด ชุ ม พร

34 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย V.4

(

) 17

.indd 34

16/1/2561 16:05:09


บันทึกเส้นทางผู้ว่าราชการจังหวัดชุมพร

CHUMPHON 35 V.4

(

) 17

.indd 35

16/1/2561 16:05:11


จุดเด่นและศักยภาพของจังหวัดชุมพร ด้านการท่องเที่ยว

จังหวัดชุมพร มีแหล่งท่องเที่ยวที่หลากหลายทั้งแหล่งท่องเที่ยวที่เป็นธรรมชาติ วัฒนธรรมประเพณี เดินป่าศึกษาธรรมชาติ ท่องเที่ยวเชิง เกษตรและวิถีชีวิตชุมชนทางทะเล สร้างรายได้ให้แก่จังหวัดชุมพรมากกว่า 6,000 ล้านบาทต่อปี และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น มีนักท่องเที่ยวชาวต่าง ประเทศเพิ่มมากขึ้นทุกปี เนื่องจากชุมพรเป็นเส้นทางที่สามารถเชื่อมโยงการท่องเที่ยวทางน�้ ำระหว่างจังหวัดใกล้เคียง นักท่องเที่ยวจะนิยมไป ด�ำน�ำ้ ทีช่ มุ พร ชมปะการังและความงามของธรรมชาติ รับประทานอาหารสดอร่อยจากท้องทะเล และสามารถเดินทางต่อไปยัง เกาะเต่า-เกาะนางยวน เกาะพงัน รวมทั้งเกาะสมุย ได้โดยใช้เวลาเดินทางไม่มากนัก

ด้านประมง

เนื่ อ งจากเป็ น จั ง หวั ด ที่ มี พื้ น ที่ 6 อ� ำ เภอติ ด กั บ ทะเล ฝั ่ ง อ่ า วไทย อาชี พ ที่ ส� ำ คั ญ อี ก อย่ า งหนึ่ ง โดยเฉพาะพี่ น ้ อ ง ประชาชนที่อยู่บริเวณชายฝั่งทะเล จะประกอบอาชีพประมง ทั้งเป็นประมงพื้นบ้านที่เป็นของประชาชนตามแนวชายฝั่ง และประมงพาณิชย์ สร้างรายได้ต่อปี ประมาณ 3.5 พันล้าน บาทเศษ อย่างไรก็ตามจังหวัดชุมพรเป็นแหล่งผลิตสัตว์น�้ำเค็ม ได้มากเป็นอันดับ 2 ในกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย รองจาก จังหวัดสงขลา นอกจากเป็นแหล่งผลิตแล้ว จังหวัดชุมพรยังมี นโยบายในการอนุรกั ษ์สตั ว์นำ�้ เค็มให้คงอยูค่ อู่ า่ วไทยอย่างยัง่ ยืน ต่อไป โดยได้ริเริ่มจัดท�ำ “ธนาคารปูม้า” เพื่ออนุรักษ์ไว้ให้ ลูกหลานมากว่า 10 ปีแล้ว และก�ำลังด�ำเนินโครงการขยายพันธุ์ ปลาทูสู่อ่าวไทยอีกด้วย 36 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย V.4

(

) 17

.indd 36

16/1/2561 16:05:12


“ขณะนี้ ที่ ชุ ม พรของเรา มี ก ารปลู ก ทุ เ รี ย นนอก ฤดู กาลกั น แล้ ว โดยเน้ น การปลู ก ที่ ไ ม่ ใ ช้ ส ารเคมี เป็ น ทุ เ รี ย นอิ น ทรี ย ์ ทุ เ รี ย นออร์ แ กนิ ค ” นายณรงค์ พลละเอี ย ด

ผู ้ ว ่ า ราชการจั ง หวั ด ชุ ม พร

CHUMPHON 37 V.4

(

) 17

.indd 37

16/1/2561 16:05:13


นอกจากจั ง หวั ด ชุ ม พรจะเป็ น ประตู สู ่ ภ าคใต้ แ ล้ ว ด้ ว ยศั ก ยภาพที่ ส มบู ร ณ์ ข องจั ง หวั ด ชุ ม พรยั ง เป็ น ประตู ที่ เ ชื่ อ มสู ่ ป ระเทศอาเซี ย นได้

เปิดประตูสู่อาเซียน

ผมเรียนว่า นอกจากจังหวัดชุมพรจะเป็นประตูสู่ภาคใต้แล้ว ด้วยศักยภาพที่สมบูรณ์ของจังหวัด ชุมพรยังเป็นประตูที่เชื่อมสู่ ประเทศอาเซียนได้ โดยเฉพาะประเทศเมียนมา ที่สามารถผ่าน จังหวัดชุมพรไปยังจังหวัดระนอง 130 กิโลเมตร หรือผ่านโดยตรง บริเวณเนิน 491 ที่อำ� เภอท่าแซะก็ได้เช่นกัน นอกจากเส้นทางคมนาคมทางบก ขณะนีจ้ งั หวัดชุมพรของเรา มีสนามบินรองรับการเดินทางทางอากาศที่จะช่วยสนับสนุนเรื่อง การท่องเที่ยว ถึงจะยังไม่เป็นสนามบินขนาดใหญ่ แต่ก็มีการขยาย รันเวย์เพิ่มขึ้น เพื่อรองรับเครื่องบินขนาดใหญ่ให้สามารถลงจอดที่ สนามบินชุมพรได้ ซึ่ง ณ ขณะนี้มีเครื่องบินโบอิง 737 ลงจอดได้ ส�ำหรับเส้นทางทางรถไฟ พบว่าในช่วงเวลา 3.00 – 4.00 น. ของทุกวันจะมีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติเดินทางมาลงที่จังหวัด ชุมพรจ�ำนวนมากโดยเฉพาะวันเสาร์ – วันอาทิตย์ เพื่อมาลงเรือ และเดินทางต่อไปยัง เกาะสมุย เกาะพะงัน เกาะเต่า เพราะการ เดินทางมาลงเรือที่ชุมพรนักท่องเที่ยวจะใช้เวลาเพียง 1 ชั่วโมง 40 นาที ซึ่งจะช่วยประหยัดเวลาในการเดินเป็นอย่างมาก นอกจากนี้ทางฝั่งตะวันตก สามารถเชื่อมไปยังท่าเรือน�้ำลึก ทีจ่ งั หวัดระนอง สามารถเดินทางไปสูท่ ะเลอันดามันได้ และเชือ่ มโยง กับกลุ่มประเทศ BIMSTEC (หมายถึง ความริเริ่มแห่งอ่าวเบงกอล ว่าด้วยความร่วมมือหลากหลายสาขาทางเทคนิคและเศรษฐกิจ ในโครงการความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างบังคลาเทศ ภูฏาน อินเดีย เมียนมา เนปาล ศรีลังกา และไทย) ซึ่งสามารถส่งสินค้า ไปค้าขายได้โดยไม่ต้องไปอ้อมแหลมมลายู สิงค์โปร เป็นการช่วย ย่นระยะทางได้เป็นอย่างดี ทั้งหมดที่ผมกล่าวมานี้ ถึงแม้ว่าจะท�ำให้ชีวิตความเป็นอยู่ ของพี่น้องประชาชนชาวชุมพรไม่ได้ร�่ำรวยมากนัก แต่ก็ท�ำให้พวก เขามีความเป็นอยู่ที่ดี มีความสุข สามารถพึ่งพาตนเองได้อย่าง ไม่เดือดร้อน

38 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย V.4

(

) 17

.indd 38

16/1/2561 16:05:17


CHUMPHON 39 V.4

(

) 17

.indd 39

16/1/2561 16:05:18


กว่ า 30 ปี ที่ จั ง หวั ด ชุ ม พร เกิ ด วาตภั ย และอุ ท กภั ย ทรงมี พ ระราชด� ำ ริ ขุ ด คลองระบายน�้ ำ หลั ง จากโครงการนี้ แ ล้ ว เสร็ จ น�้ ำ ไม่ ท ่ ว มเมื อ งชุ ม พรอี ก เลย “ ด้ ว ยพระเมตตาบารมี ชุ ม พรวั น นี้ สุ ข ร่ ม เย็ น “

ภั ย

อี ก เลย “

สถานที่ท่องเที่ยวส�ำคัญ 1. โครงการพัฒนาพื้นที่หนองใหญ่ตามพระราชด�ำริ โครงการพัฒนาพื้นที่หนองใหญ่ตามพระราชด�ำริ หรือหนองใหญ่(แก้มลิง) ซึ่งพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร พระราชทานให้กับพี่น้องชาวชุมพร เพื่อช่วยแก้ปัญหาอุทกภัยในเขตเมืองชุมพรและแก้ไขปัญหาภัยแล้ง ย้อนไปเมื่อประมาณ 30 ปีก่อน จังหวัดชุมพร เกิดวาตภัยและอุทกภัย เกือบจะทุกปี เริ่มตั้งแต่พายุไต้ฝุ่นเกย์ เมื่อปี พ.ศ. 2532 ซึ่งท�ำให้จังหวัด ชุมพรเกิดความเสียหายเป็นอย่างมาก หลังจากนั้นก็มีพายุขึ้นฝั่งบ่อยครั้ง ท�ำให้ฝนตกหนักมากจนเกิดน�้ำท่วมเกือบทุกปี ล่าสุดเมื่อต้นปี 2540 เกิดพายุซีต้า ท�ำให้เกิดอุทกภัยครั้งใหญ่ในตัวเมืองชุมพร ส่งผลให้ทรัพย์สินของประชาชน เสียหายมูลค่ากว่า 5,000 ล้านบาท พระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ ทรงมีพระราชด�ำริให้แก้ไขปัญหาดังกล่าว โดยขุดคลองระบายน�้ำ “คลองหัววัง-พนังตัก” โดยเร่งด่วนภายใน 1 เดือน ซึ่งสามารถด�ำเนินการได้เสร็จเรียบร้อยก่อนที่พายุลินดาจะเข้าฝั่งชุมพรเพียง 1 วัน ท�ำให้สามารถผันน�้ำลงทะเลให้เร็วโดยไม่ต้องผ่านเข้า ตัวเมืองชุมพร และให้ขุดลอกพื้นที่หนองใหญ่ (แก้มลิง) เป็นพื้นที่รับน�้ำเพิ่มขึ้นอีกเป็น 3 ล้านลูกบาศก์เมตร และใช้เป็นพื้นที่เก็บน�้ำไว้ใช้ในฤดูแล้ง พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ ได้เสด็จเปิดโครงการฯ เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2541 หลังจากโครงการนี้แล้วเสร็จ น�้ำไม่ท่วม เมืองชุมพรอีกเลย นับถึงปัจจุบันเกือบ 20 ปีแล้ว นับเป็นพระมหากรุณาธิคุณเป็นล้นพ้นต่อพี่น้องชาวจังหวัดชุมพร ดังวลีที่ชาวชุมพรกล่าวถึง พระมหากรุณาธิคุณของพระองค์ด้วยความซาบซึ้งที่ว่า “ด้วยพระเมตตาบารมี ชุมพรวันนี้สุขร่มเย็น” ปัจจุบันได้มีการพัฒนาต่อยอดโครงการให้เป็นแหล่งเรียนรู้ศาสตร์พระราชา แบ่งพื้นที่การพัฒนาเป็น 3 ส่วน ส่ ว นแรก พื้ น ที่ เ กาะหมายเลข 9 เนื้ อ ที่ 12 ไร่ น� ำ เสนอผลส� ำ เร็ จ การน้ อ มน� ำ ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง สู ่ ก ารปฏิ บั ติ ที่ เ ป็ น รูปธรรมจาก 8 อ�ำเภอ 8 เรื่องราว ซึ่งน�ำเสนอการขยายผลแนวคิดศาสตร์พระราชาสู่การปฏิบัติ เพื่อประชาชนน�ำไปใช้ในชีวิตประจ�ำวัน จนเป็นวิถีชีวิต การปลูกป่า 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง การจัดการพื้นที่เพื่อการเกษตรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ส่ ว นที่ 2 พื้ น ที่ เ กาะ เนื้ อ ที่ 5 ไร่ พั ฒ นาเป็ น เกาะชมนกชมไม้ โดยปลู ก ต้ น ไม้ ที่ มี ผ ลเป็ น อาหารนก สื่ อ การเรี ย นรู ้ แ ละจั ด ท� ำ เส้นทางเดินเท้าเพื่อศึกษาธรรมชาติระยะทาง 700 เมตร ส่วนที่ 3 พื้นที่ประกอบอาชีพ เนื้อที่ 57 ไร่ ด�ำเนินกิจกรรมศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง นอกจากนี้ยังมีพื้นที่อาคารต่างๆ พื้นที่จัดงานพิธีส�ำคัญ พื้นที่ป่าพรุและพื้นน�้ำ (แก้มลิง) รวมประมาณ 1,800 ไร่ 40 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย V.4

(

) 17

.indd 40

16/1/2561 16:05:22


2. ศาลเสด็จในกรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ เมื่อ 95 ปี ที่ผ่านมา พลเรือเอกพระเจ้าบรมวงศ์เธอพระองค์ เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ ได้เลือกชายทะเล หาดทรายรี เป็นสถานที่ทรงงานและพักผ่อน ต่อมาได้ประชวรและ สิ้นพระชนม์ ณ ชายทะเลหาดทรายรี จึงได้มีการสร้างพระต�ำหนัก “เสด็จเตี่ย” ขึ้นในบริเวณแห่งนี้ทั้งบริเวณเชิงเขา (ศาลบน) และบริเวณ ริมหาดทราย (ศาลล่าง) เพื่อเป็นอนุสรณ์สถาน ซึ่งเป็นที่เคารพสักการะ ของชาวชุมพรและชาวไทยตลอดมาจนถึงปัจจุบนั ซึง่ ในวันที่ 19 ธันวาคม ของทุกปี เป็นวันคล้ายวันประสูติ พี่น้องประชาชนชาวชุมพรจ�ำนวน มากร่วมใจกันจัดงานเทิดพระเกียรติกรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ และ งานกาชาดประจ�ำปี อย่างยิ่งใหญ่และสวยงามตระการตา

4. หาดทุ่งวัวแล่น หาดทุ่งวัวแล่น ซึ่งถือว่าเป็นเอกลักษณ์สำ� คัญของจังหวัดชุมพร โดย เฉพาะหาดทรายขาวสะอาด มีแนวโค้งของหาดทรายที่งดงาม ท�ำให้ นักท่องเที่ยวนิยมมาเล่นน�้ำทะเลกันเป็นจ�ำนวนมาก

3. พระบรมธาตุสวี ศูนย์รวมจิตใจของชาวอ�ำเภอสวีและประชาชนในพื้นที่ใกล้เคียง โดยสั น นิ ษ ฐานว่ า สร้ า งขึ้ น มาตั้ ง แต่ ส มั ย กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา มี ลั ก ษณะ รูปแบบสถาปัตยกรรมเลียนแบบ พระบรมธาตุเจดีย์นครศรีธรรมราช อย่างไรก็ตาม มีเรื่องเล่าสืบต่อกันมาว่า พระเจ้าศรีธรรมาโศกราช ได้เสด็จยกทัพมาพักรี้พลอยู่ในเขตอ�ำเภอสวี แล้วพบกับเหตุการณ์ ประหลาด กล่าวคือ มีกาเผือกและกาอื่นๆ จับกลุ่มส่งเสียงร้องเหนือ กองอิ ฐ ปรั ก หั ก พั ง จึ ง รั บ สั่ ง ให้ รื้ อ กองอิ ฐ ที่ ทั บ ถมกั น ออก ก็ ไ ด้ พ บ ฐานเจดีย์ใหญ่ เมื่อขุดลึกลงไป ได้เจอผอบบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ พระองค์จึงโปรดฯ ให้สร้างเจดีย์ขึ้นใหม่ ซึ่งพระบรมธาตุองค์นี้ผ่าน การบูรณะซ่อมแซมเรือ่ ยมา ส่วนภาคพืน้ น�ำ้ ขอเชิญเยีย่ มแหล่งท่องเทีย่ ว ชุมชนที่บ้านท้องตมใหญ่ จะได้สัมผัสธรรมชาติที่งดงามบนบก ป่าชาย เลนที่ยังคงความสมบูรณ์ทางนิเวศวิทยา และความสวยงามใต้ท้องทะเล และ “ม้าน�ำ้ ” จ�ำนวนมากในพื้นที่แห่งนี้ พร้อมลิ้มรสอาหารทะเลสดๆ

5. สันทรายบางเบิด สันทรายธรรมชาติขนาดใหญ่ ทรายละเอียดขาวสะอาดจ�ำนวน มหาศาลทอดตัวยาวขนานกับชายฝัง่ ทะเล ตัง้ แต่ชมุ ชนบ้านถ�้ำธงไปจนถึง ชุมชนบ้านบางเบิด มีความยาวประมาณ 9 กิโลเมตร การก่อตัวของสันทราย ชายฝัง่ ทะเล เป็นปรากฏการณ์ทเี่ กิดขึน้ ได้ยากถือเป็น Unseen Chumphon เพราะต้องอาศัยปัจจัยและเงื่อนไขหลายประการ อาทิ สันทรายจะเกิด ขึ้นได้เมื่อหน้าหาดมีระยะน�้ำขึ้นน�้ำลงที่กว้างขวางพอ เพื่อให้ทรายได้ ตากแดดตากลมจนเม็ดทรายแห้ง เม็ดทรายต้องละเอียดพอที่สายลมจะ พัดให้ปลิวไปได้ กระแสลมต้องพัดในทิศทางเดียวกันอย่างสม�ำ่ เสมอและ มีความเร็วมากกว่า 15 ไมล์ตอ่ ชัว่ โมง ถึงจะหอบเม็ดทรายไปได้ และไม่เร็ว ไปกว่านั้นมากนัก ซึ่งจะกลายเป็นพายุพัดท�ำลายเนินทรายจนไม่ก่อเป็น สันสูงๆ ได้ การเกิดขึน้ ของสันทรายชายหาดนัน้ อาจใช้เวลาเป็นร้อยๆ หรือ เป็นพันปี จากผลการศึกษาในต่างประเทศพบว่าสันทรายบางแห่งมีอายุ ถึง 18,000 ปีทีเดียว CHUMPHON 41 V.4

(

) 17

.indd 41

16/1/2561 16:05:30


6. เกาะพิทักษ์ แหล่งท่องเที่ยวชุมชนแบบ “โฮมสเตย์” ที่นี่มีความพร้อมบริการนักท่องเที่ยวไม่น้อยกว่าปีละประมาณ 58,000 คน และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ทุกปี บนเกาะมีกิจกรรมต่างๆ รองรับนักท่องเที่ยว ไม่ว่าจะเป็นที่พักแบบโฮมสเตย์ที่สะอาด อาหารทะเลสดๆ อร่อย ราคามิตรภาพ ท้ายเกาะ เป็นแหล่งด�ำน�ำ้ ชมปะการัง ทีส่ วยงามอีกแห่งหนึง่ ศึกษาวิถชี วี ติ ชุมชนท้องถิน่ และการบริหารจัดการเกาะให้ประชาชนสามารถอยูร่ ว่ มกัน โดยสร้างรายได้ ให้เกิดขึ้นกับชุมชนภายใต้ทรัพยากรท้องถิ่นอย่างลงตัว ทุกปีจะมีเทศกาลวิ่งแหวกทะเลไปเกาะพิทักษ์ สามารถเดินวิ่งด้วยเท้าจากฝั่งผ่านทะเล ไปถึงเกาะได้ ซึ่งได้รับความสนใจจากประชาชนมาร่วมวิ่งกันเป็นจ�ำนวนมากทุกปี 7. ล่องแพ ล่องแก่ง เดินป่าต้นน�้ำพะโต๊ะ รื่นรมย์กับวิถีชีวิตและธรรมชาติ แพล�ำยาวลอยไปตาม ล�ำคลองพะโต๊ะและมองเห็นน�้ำใสสะอาด สองฝั่งร่มรื่นด้วย ธรรมชาติของแมกไม้ ในบางช่วงยังสามารถพบเห็นชาวบ้าน นัง่ อาบน�ำ้ บริเวณท่าน�ำ้ เด็กๆ ด�ำผุดด�ำว่ายกันอย่างสนุกสนาน การล่องแพสามารถเที่ยวได้ทุกฤดูกาล หน้าแล้ง น�ำ้ ในคลอง ลดลงจนเห็นหาดทรายและกรวดเป็นระยะ สามารถแวะพัก และเล่นน�ำ้ ได้ พอถึงช่วงน�้ำหลากในหน้าฝน สายน�้ำจะเปลีย่ น เป็นสีนำ�้ ตาลแดงขุน่ เข้ม ไหลแรง แต่ไม่อนั ตรายเพราะแพแข็ง แรงและมั่นคง ในล�ำน�้ำไม่มีแก่งใหญ่ๆ เพียงแต่น�้ำไม่สะอาด ส�ำหรับท่านทีต่ อ้ งการตืน่ เต้นให้ไปทีแ่ ก่งบกไฟ แก่งเหวบัวทอง แก่งเหวตาวัน แก่งเหวตาอัน แก่งเขือ่ นน�ำ้ วน แก่งหัวกะโหลก และแก่งหินช้าง ระยะทางประมาณ 11 กิโลเมตร ส�ำหรับการ เที่ยวป่าพะโต๊ะ ส่วนมากจะพักแรมในป่าหรือพักกับชาวบ้าน รูปแบบโฮมสเตย์ 8. ผาเปิดใจ บ้ า นพั น วาล อ� ำ เภอท่ า แซะ ท่ า นจะได้ สั ม ผั ส ธรรมชาติ ที่ ง ดงาม มี ก ลิ่ น หอมอ่ อ น ๆ ของดอกกาแฟ สี ข าวบานสะพรั่ ง สุ ด สายตา อากาศยามเช้ า ที่ สั ม ผั ส ได้ ถึ ง ความสดชื่ น และบริ สุ ท ธิ์ แสงแดดอ่ อ นๆ ส่ อ งผ่ า นปุ ย หมอกที่ ป กคลุ ม หุ บ เขา “จิ บ กาแฟ รสขาติ แ ท้ ๆ ” ท่ า นจะได้ ช มวิ ถี ชี วิ ต ชุ ม ชน การผลิ ต กาแฟ ตั้ ง แต่ ก ารเพาะต้ น กล้ า กาแฟ การปลู ก การดู แ ลบ� ำ รุ ง รั ก ษา การเก็ บ เมล็ ด กาแฟ การคั่ว การชงกาแฟรสชาติ “กาแฟแท้” และการใช้ประโยชน์จากกาแฟอย่างครบวงจร 9. เขามัทรี ต.ปากน�้ำ อ.เมืองชุมพร เพี ย งขึ้ น เขาระยะทางแค่ 1 กิ โ ลเมตร ท่ า นจะได้ พ บกั บ ความ สวยงามของทะเลชุ ม พร ชุ ม ชนปากน�้ ำ ชุ ม พร ความสวยงามของ ชายหาดในแบบ 360 องศา ด้านบนเขามัทรียังเป็นที่ตั้งของรูปปั้น เจ้ า แม่ ก วนอิ ม พระโพธิ สั ต ว์ อ วโลกิ เ ตศวรปางมหาราชลี ล า ร้านจ�ำหน่ายรังนก และกาแฟคุณภาพดีอีกด้วย 10. กิจกรรมด�ำน�้ำชมความสวยงามใต้ท้องทะเล เกาะแก่งกว่า 40 เกาะของอุทยานแห่งชาติ เหมาะสมส�ำหรับ กิจกรรมการด�ำน�ำ้ ลึก ได้แก่ เกาะง่ามใหญ่ ง่ามน้อย เกาะทะลุ เกาะกุลา เกาะหลักแรด เกาะละวะ เป็นต้น ส่วนพืน้ ทีเ่ หมาะสมส�ำหรับด�ำน�ำ้ ตืน้ ได้แก่ เกาะมัตรา เกาะลังกาจิว เป็นต้น 42 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย V.4

(

) 17

.indd 42

16/1/2561 16:05:33


11. ตลาดใต้เคี่ยม ตั้งอยู่ที่หมู่ 1 ต�ำบลละแม อ�ำเภอละแม ท่ามกลางสวนต้นเคี่ยมอันร่มรื่นกว่า 7 ไร่ โดย มีการตกแต่งซุ้มร้านค้าด้วยวัสดุธรรมชาติที่มี อยู่ในท้องถิ่น ท�ำให้ทั่วทั้งตลาดมีบรรยากาศที่ ผ่อนคลายและเป็นกันเอง โดยสินค้าส่วนใหญ่ จะเป็นสินค้าทีช่ าวบ้านในพืน้ ทีน่ ำ� มาขาย ไม่วา่ จะเป็นสินค้าทางการเกษตร สมุนไพร อาหาร ทะเลสดๆ ผัก-ผลไม้ปลอดสารพิษ อาหารพืน้ เมือง ขนมพื้นบ้านที่หาทานได้ยาก เครื่องดื่ม รวม ไปถึงสินค้าแฮนด์เมดหลากหลายแบบ โดย ชาวบ้ า นจะใส่ อ าหารและขนมในภาชนะที่ ท�ำมาจากธรรมชาติเพื่อเป็นการลดขยะ และ ยังน�ำไปย่อยสลายได้ง่ายกว่าพลาสติก อีก ทั้งราคาของสินค้ายังไม่แพง เหมาะส�ำหรับ นั ก ท่ อ งเที่ ย วที่ จ ะซื้ อ ของฝากติ ด ไม้ ติ ด มื อ กลั บ บ้ า น ปั จ จุ บั น ตลาดใต้ เ คี่ ย ม หรื อ “หลาดใต้เคี่ยม” เป็นตลาดประชารัฐต้องชม เปิดทุกวันอาทิตย์ มีนักท่องเที่ยวไปเที่ยวชม จับจ่ายซือ้ ของเป็นจ�ำนวนมาก ท�ำรายได้เดือน ละประมาณ 3 ล้านบาท เปิดจ�ำหน่ายสินค้า ชุมชนมาแล้ว 1 ปี สร้างรายได้ให้ประชาชน กว่า 300 ครอบครัว ประมาณ 36 ล้านบาท

สอบถามเพิ่มเติม - ส� ำ นั ก งาน ททท.ส� ำ นั ก งานชุ ม พร โทร. 0-7750-1831, 0-7750-2775 - ศูนย์บริการข้อมูลท่องเที่ยวจังหวัด ชุมพร โทร. 0-7750-4834

หาดทรายสวยสี่ ร ้ อ ยลี้ ความสวยงามของชายหาดเชิ ง อนุ รั ก ษ์ ฝู ง ปลาสวยงามและฉลามวาฬใจดี พร้ อ มต้ อ นรั บ นั ก ท่ อ งเที่ ย ว นายณรงค์ พลละเอี ย ด

ผู ้ ว ่ า ราชการจั ง หวั ด ชุ ม พร

ของฝากเมืองชุมพร - กาแฟปรุงส�ำเร็จรูป ทุเรียน กาแฟสด มะพร้าว สละ สับปะรดสวี กล้วยหอมทอง กล้วยเล็บมือนาง ส้มโชกุน ชมพู่ อาหารพื้นบ้านรสชาติอร่อย อาหารทะเลตากแห้ง และสินค้า แปรรูปหลากหลายในรูปแบบสินค้าประชารัฐ หรือโอทอปในจังหวัดชุมพร ซึง่ สามารถหาซือ้ ได้ ทัว่ ไป ทัง้ แผงขายของริมถนนเพชรเกษม สวนนายด�ำ สวนนิลเขียว ตลาดพ่อตาหินช้าง ศูนย์โอทอป บริษัทประชารัฐรักสามัคคีชุมพร (วิสาหกิจเพื่อสังคม) จ�ำกัด ในตัวเมืองชุมพร CHUMPHON 43

V.4

(

) 17

.indd 43

16/1/2561 16:05:36


ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด

ด้ า นเศรษฐกิ จ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ม วลรวมจั ง หวั ด (GPP) มี มู ล ค่ า 73,616 ล้ า นบาท ร้ อ ยละ 45 เป็ น ผลผลิ ต ภาคเกษตรกรรม รองลงมาได้แก่ ด้านการท่องเที่ยวและอุตสาหกรรม คิดเป็นร้อยละ 19 และ 13 ตามล�ำ ดั บ อั ต ราการเจริ ญ เติ บ โตทางเศรษฐกิ จ เฉลี่ ย ระยะ 5 ปี ร้ อ ยละ 3.14 พื ช เศรษฐกิ จ ที่ ส� ำ คั ญ 5 ชนิ ด ได้ แ ก่ ปาล์ ม น�้ ำ มั น ยางพารา กาแฟ ทุ เรี ย น และมั ง คุ ด ด้ ว ยศั ก ยภาพ ด้ า นทรั พ ยากรการท่ อ งเที่ ย วที่ ห ลากหลายทั้ ง ทางธรรมชาติ ศิ ล ปวั ฒ นธรรม และแหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วชุ ม ชน ซึ่ ง มี วิ ถี ชี วิ ต ท้ อ งถิ่ น ที่ น่าสนใจ นักท่องเที่ยวมาเยี่ยมเยือนจังหวัดชุมพรเพิ่มมากขึ้นทุกปี ด้านสังคม เริ่มเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ปัจจุบันมีผู้สูงอายุ ร้อยละ 15.62 และมี แ นวโน้ ม เพิ่ ม ขึ้ น มี ป ระชากรวั ย แรงงานร้ อ ยละ 66 มี แ นวโน้ ม ลดลงอย่ า งช้ า ๆ อั ต ราการว่ า งงานอยู ่ ใ นระดั บ ร้ อ ยละ 0.40-0.68 ต�่ ำ กว่ า กลุ ่ ม อ่ า วไทยและภาคใต้ จ� ำ นวนแรงงาน ต่ า งด้ า วประมาณ 30,000 – 40,000 คน และมี แ นวโน้ ม เพิ่ ม ขึ้ น ส่วนอัตราอาชญากรรมมีแนวโน้มลดลง ปีการศึกษาของประชาชน เฉลี่ ย 8.72 ปี ด้ า นสุ ข ภาพ มี สั ด ส่ ว นการเข้ า ถึ ง บริ ก ารทางการ แพทย์ สั ด ส่ ว นแพทย์ ต ่ อ ประชากร เท่ า กั บ 1 ต่ อ 4.254 คน ในช่ ว งระยะ 5 ปี (2555-2559) อั ต ราการเจ็ บ ป่ ว ยจาก สารเคมี ก� ำ จั ด ศั ต รู พื ช ของประชาชนมี แ นวโน้ ม เพิ่ ม ขึ้ น จากอั ต รา ร้ อ ยละ 20 เป็ น ร้ อ ยละ 24 ในระยะ 3 ปี ที่ ผ ่ า นมา (ปี 25582560) ข้ อ มู ล รายจ่ า ยภาคครั ว เรื อ นเพิ่ ม ขึ้ น จั ง หวั ด ชุ ม พรมี ครัวเรือนยากจน ปี 2560 ร้อยละ 0.20 ส�ำหรับปัญหายาเสพติด ยังคง เป็นปัญหาการแพร่ระบาดที่ต้องเฝ้าระวัง ทุกพื้นที่ ด้ า นทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ ม จั ง หวั ด มี ป ริ ม าณ น�้ ำ ฝนเฉลี่ ย 1,824 ล้ า น ลู ก บาศก์ เ มตร/ปี ปริ ม าณน�้ ำ ท่ า 7,714 ล้านลูกบาศก์เมตร ปริมาณน�้ำกักเก็บได้ 3,225 ล้านลูกบาศก์เมตร ความต้ อ งการน�้ ำ เพื่ อ บริ โ ภค 341 ล้ า นลู ก บาศก์ เ มตร/ปี น�ำ้ เพือ่ การเกษตร 1,026 ล้านลูกบาศก์เมตร ส่วนน�ำ้ เพือ่ การอุตสาหกรรม ไม่มกี ารจัดเก็บข้อมูล นอกจากนีแ้ หล่งน�ำ้ อืน่ ๆ เช่น ฝาย สระ หนองบึง คูคลอง กระจายอยูใ่ นพืน้ ทีท่ กุ อ�ำเภอ รวม 309 แห่ง (เฉพาะของกรมชลประทาน) โดยภาพรวมยังคงมีปัญหาเรื่องน�้ำท่วม น�้ำแล้งในบางพื้นที่ เนื่องจาก จังหวัดชุมพรมีแม่นำ�้ สายสัน้ ๆและตืน้ เขิน ไม่มแี หล่งกักเก็บน�ำ้ ขนาดใหญ่ การกั ก เก็ บ น�้ ำ ยั ง ไม่ เ พี ย งพอครอบคลุ ม ทุ ก พื้ น ที่ ใ นฤดู แ ล้ ง ส� ำ หรั บ ทรัพยากรป่าไม้ปัจจุบันจังหวัดมีป่าไม้ ร้อยละ 21 ของพื้นที่ ปัญหาขยะ มูลฝอยและการบ�ำบัดน�้ำเสียอยู่ระหว่างการแก้ไขและปรับปรุงระบบที่ ถูกหลักสุขาภิบาล และให้ได้มาตรฐาน รวมทั้งปัญหาการกัดเซาะชายฝั่ง ยังมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น ด้านความมั่นคง อ�ำเภอท่าแซะจังหวัดชุมพร มีพื้นที่ติดชายแดน พม่า จ�ำนวน 4 ต�ำบล 13 หมู่บ้าน ได้แก่ ต�ำบลหงษ์เจริญ ต�ำบลรับร่อ ต�ำบลสลุย และต�ำบลสองพี่น้อง ปัจจุบันไม่มีปัญหาการเคลื่อนไหวของ ชุมชนกลุ่มน้อยตามแนวชายแดน แต่ยังคงมีชุดเฝ้าระวัง ตชด.ที่41 และ ชุด ฉก.ร. 25 เฝ้าระวังพื้นที่ 44 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย V.4

(

) 17

.indd 44

16/1/2561 16:05:37


ทิศทางพัฒนาจังหวัดชุมพร (ปี 2561-2564)

จากศักยภาพของจังหวัดชุมพรข้างต้น ในระยะ 4 ปี จังหวัดชุมพรจึงก�ำหนดเป้าหมายการพัฒนาจังหวัดไปสูเ่ มือง “ชุมพรเมืองน่าอยู่ บนพืน้ ฐาน การพัฒนาเกษตรกรรมและการท่องเที่ยวคุณภาพ เชื่อมโยงการพัฒนาสองฝั่งทะเล” “เมื อ งน่ า อยู ่ ” หมายถึ ง จั ง หวั ด ชุ ม พร เป็ น เมื อ งที่ ทุ ก คนอยู ่ แ ล้ ว มี ค วามสุ ข ซึ่ ง องค์ ก รอนามั ย โลกได้ ก� ำ หนดลั ก ษณะของเมื อ ง น่าอยู่ไว้ 11 ประการ คือ 1. การรักษาความสะอาดด้านกายภาพและสิ่งแวดล้อมที่มีคุณภาพ 2. ระบบนิเวศที่ยึดโยงการอยู่ร่วมกันระหว่างพืช สัตว์และสิ่งแวดล้อมที่สมดุล 3. ชุมชนมีความเกื้อกูลและไม่เอารัดเอาเปรียบซึ่งกันและกัน 4. การมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารงานจังหวัด 5. การสนองตอบความจ�ำเป็นพื้นฐาน (อาหาร, น�้ำ, ที่พักอาศัย, รายได้, ความปลอดภัย และการมีงานท�ำ) 6. มีกลไกการระดมความคิด ประสบการณ์ และทรัพยากร จากการท�ำงานร่วมกับชุมชน 7. มีระบบเศรษฐกิจที่หลากหลาย มีชีวิตชีวา และมีนวัตกรรมอยู่เสมอ 8. มีการสืบทอดมรดกทางวัฒนธรรมและสภาพทางชีวภาพอันดีงามรวมทั้งเอกลักษณ์ของกลุ่มชนต่างๆ 9. สามารถขับเคลื่อนการท�ำงานให้บรรลุเป้าหมายโดยใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงสุด 10. มีระบบการให้บริการดูแลความเจ็บป่วยที่เหมาะสมส�ำหรับประชาชน 11. ประชาชนสุขภาพอนามัยในระดับสูง และมีอัตรา การเจ็บป่วยในระดับต�่ำ “บนพื้ น ฐานการพั ฒ นาเกษตรกรรมและการท่ อ งเที่ ย วคุ ณ ภาพ” หมายถึ ง วิ ถี ชี วิ ต ของชาวจั ง หวั ด ชุ ม พร ส่ ว นใหญ่ มี พื้ น ฐาน ด้ า นการเกษตรกรรม ซึ่ ง เป็ น จุ ด แข็ ง ของจั ง หวั ด ที่ มี ศั ก ยภาพสู ง ด้ า นเกษตรกรรม หลากหลายชนิ ด พื ช เกษตรกรสามารถท� ำ เกษตรกรรม แบบผสมผสานตามแนวพระราชด� ำ ริ ฯ สร้ า งรายได้ อ ย่ า งมี ภู มิ คุ ้ ม กั น ควบคู ่ กั บ การอนุ รั ก ษ์ ท รั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ ม สร้างรายได้ให้แก่ประชาชนในพื้นที่อย่างยั่งยืนต่อไป “เชื่ อ มโยงการพั ฒ นาสองฝั ่ ง ทะเล” หมายถึ ง ด้ ว ยสภาพภู มิ ศ าสตร์ ข องจั ง หวั ด ซึ่ ง ตั้ ง อยู ่ ต อนบนสุ ด ของภาคใต้ จึ ง เป็ น พื้ น ที่ ซึ่งสามารถเชื่อมต่อไปยังภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย และภาคใต้ฝั่งอันดามัน เหมาะสมในการพัฒนาเป็นศูนย์รวมและกระจายสินค้า CHUMPHON 45 V.4

(

) 17

.indd 45

16/1/2561 16:05:39


โครงการส�ำคัญๆ ของจังหวัด

1. โครงการพัฒนาพื้นที่หนองใหญ่ต ามรอยพระราชด� ำริ เป็นโครงการที่ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ ทรงพระราชทานให้ชาวชุมพรเพือ่ แก้ไขปัญหาน�ำ้ ท่วมเมืองชุมพร นับตัง้ แต่ปี 2541 ถึงปัจจุบนั เกือบ 20 แล้ว น�ำ้ ไม่ทว่ มเมืองชุมพรอีกเลย นับเป็น พระมหากรุณาธิคณ ุ แก่ชาวชุมพรเป็นล้นพ้นอย่างหาทีส่ ดุ มิได้ ด้วยค�ำกล่าวทีต่ ดิ ปากชาวชุมพรว่า “ด้วยพระเมตตาบารมี ชุมพรวันนีส้ ขุ ร่มเย็น” จังหวัดมีแนวนโยบายจะด�ำเนินการพัฒนาพื้นที่ภายในโครงการหนองใหญ่ ให้เป็นสถานที่จัดกิจกรรม “ศาสตร์พระราชาต้นแบบ” ในพื้นที่ภาคใต้ตอนบน เป็นสถานที่ส�ำหรับประชาชน นักเรียน นักศึกษา หรือผู้สนใจ ได้ศึกษาเรียนรู้ โดยได้เริ่มพัฒนาพื้นที่ภายใน 3 ส่วน กล่าวคือ พื้นที่ส่วนที่ 1 จัดท�ำเป็นพื้นที่ศูนย์เรียนรู้ศาสตร์พระราชา พื้นที่ส่วนที่ 2 เป็นพื้นที่อนุรักษ์พันธุ์ไม้และสัตว์ป่า และพื้นที่ส่วนที่ 3 เป็น พื้นที่ส�ำหรับประกอบอาชีพจริง 2. โครงการเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพความปลอดภั ย ในชี วิ ต และทรั พ ย์ สิ น ของประชาชน รองรั บ นโยบาย Thailand 4.0 ของรัฐบาล โดยสิ่งที่ได้เริ่มด�ำเนินการไปแล้วคือ ด้านการรักษาความปลอดภัยแก่ประชาชนและนักท่องเที่ยว จัดให้มีศูนย์บัญชาการ ความปลอดภัยโดยใช้กล้อง CCTV เป็นเครื่องมือในการสอดส่องดูแลความปลอดภัยในจุดเสี่ยงต่างๆ ที่ได้ติดตั้งไว้ในพื้นที่แล้ว จัดให้มี เจ้าหน้าที่ประจ�ำศูนย์ตลอด 24 ชั่วโมง คาดว่าจะสามารถด�ำเนินการได้เสร็จสมบูรณ์ภายในกลางปี พ.ศ. 2561

46 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย V.4

(

) 17

.indd 46

16/1/2561 16:05:41


3. โครงการศูนย์ข้อมูลกลางจังหวัดชุมพร ก�ำหนด แล้วเสร็จภายในปี 2561 มีวัตถุประสงค์ 3.1 เป็ น เครื่ อ งมื อ ในการบริ ห ารจั ด การ องค์ความรู้ ภายใต้แนวคิดการบริหารจัดการ เพื่อให้ คนที่ต้องการใช้ความรู้ได้รับความรู้ที่ต้องการ ในเวลาที่ ต้องการ (Right Knowledge, Right People, Right Time) ประชาชนทั่วไปสามารถสมัครใช้งาน และเข้า ถึงข้อมูลองค์ความรูท้ ถี่ กู จัดเก็บไว้ได้ผา่ นทางแอพพลิเคชัน่ ออนไลน์ รวมถึงสามารถมีสว่ นร่วมในการเสนอความคิดเห็น เพื่อผู้ที่เกี่ยวข้องจะน�ำข้อเสนอไปพัฒนาเนื้อหาความรู้ ใหม่ๆ เข้ามาใส่ไว้ในระบบ เป็นการสร้างและปรับปรุง ให้ฐานข้อมูลมีเนื้อหาที่ทันสมัยอยู่เสมอ อีกทั้งยังเป็น การรักษาองค์ความรู้ตลอดไป รวมถึงมีข้อมูลสนับสนุน ส�ำหรับผู้บริหารในการวางแผนและพัฒนาต่อยอดองค์ ความรู้ที่มีอยู่เดิม มุ่งสู่การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ 3 . 2 พั ฒ นา ร ะ บบ ฐานข้ อ มู ล กล างให ้ นักท่องเทีย่ วเข้าถึงข้อมูล ผ่านแอปพลิเคชัน่ บนมือถือ และ รองรับการเรียกดูข้อมูลในระดับพื้นที่ ผ่านอุปกรณ์แบบ Internet of Things (IoT) 3.3 พั ฒ นาระบบบริห ารจัดการองค์ค วามรู้ ยกตัวอย่างเช่น เทคนิคทางด้านการเกษตร,เทคนิคงาน ฝีมอื พืน้ เมือง หรืออาจจะอยูใ่ นรูปแบบของปัญหาทีเ่ คยเจอ และวิธีการแก้ไขปัญหานั้นแบบเป็นขั้นเป็นตอน เป็นต้น 3.4 พัฒนา ระบบการประชาสัมพันธ์ขอ้ มูล และ เก็บข้อมูลคุณภาพชีวิตของประชน ในระดับพื้นที่ทั้ง 8 อ�ำเภอ ผ่านมือถือ ด้วยการเชื่อมต่อ ข้อมูลในระดับพื้นที่ บนอุปกรณ์ทรี่ องรับเทคโนโลยี Internet of Things (IoT)

CHUMPHON 47 V.4

(

) 17

.indd 47

16/1/2561 16:05:45


“ประตูภาคใต้ ไหว้เสด็จในกรม ชมไร่กาแฟ แลหาดทรายรี ดีกล้วยเล็บมือ ขึ้นชื่อรังนก”

นายณรงค์ พลละเอียด

ผู้ว่าราชการจังหวัดชุมพร

48 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย V.4

(

) 17

.indd 48

16/1/2561 16:05:47


CHUMPHON 49 V.4

(

) 17

.indd 49

16/1/2561 16:05:48


ห้างสรรพสินค้าโอเชี่ยนช้อปปิ้งมอลล์ชุมพร ศูนย์การค้าแบบครบวงจร แห่งแรกในจังหวัดชุมพร ชุ ม พรโอเชี่ ย น กรุ ๊ ป เริ่ ม ด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ มาตัง้ แต่ปี พ.ศ.2526 ในรูปแบบของธุรกิจค้าปลีก คือ “ห้างสรรพสินค้าโอเชี่ยนช้อปปิ้งมอลล์ ชุ ม พร” บนพื้ น ที่ ก ว่า 30,000 ตรม. ตั้ ง อยู ่ ใจกลางเมื อ ง บนถนนเส้ น หลั ก เศรษฐกิ จ ของจั ง หวั ด ชุ ม พร และ “บิ๊ ก วั น ” มิ นิ ม าร์ ท ที่ ก ระจายอยู ่ ต ามแหล่ ง ชุ ม ชนส� ำ คั ญ ต่ า งๆ ของทุกอ�ำเภอในจังหวัดชุมพรกว่า 15 สาขา ภายใต้ ก ารบริ ห ารงานของ คุ ณ อาทิ ต ย์ ลิม้ อุดมพร ประธานกรรมการ และคุณทัศนียา ลิ้มอุดมพร รองประธานกรรมการ

.

(2

).indd 50

15/12/2560 18:12:57


โอเชี่ยนช้อปปิ้งมอลล์ชุมพร เริ่มจากการ ข า ย สิ น ค ้ า อุ ป โ ภ ค บ ริ โ ภ ค ใ น รู ป แ บ บ ซุปเปอร์มาร์เก็ตในอาคารชั้นเดียวบนพื้นที่เพียง 1,200 ตรม. และเป็นการบริหารงานในรูปแบบ ธุ ร กิ จ ครอบครั ว จนสามารถขยายพื้ น ที่ เ ป็ น อาคาร 3 ชั้น เพิ่มพื้นที่การขายเป็น 5,000 ตรม. และเพิ่มในส่วนสินค้าทั่วไปและสินค้าแฟชั่นน�ำเข้า พร้อมแบ่งสินค้าเป็นสัดส่วนในเป็นแผนกต่างๆ ในรูปแบบ “ดีพาร์ทเม้นท์สโตร์” ปัจจุบัน โอเชี่ยนฯ ยังคงความเป็นผู้น�ำด้าน สินค้าที่มีพร้อมให้ชาวชุมพร ได้เลือกสรรอย่าง พร้อมสรรพ ส�ำหรับทุกท่าน อีกทั้งสะดวกใน การเดิ น ทางเพื่ อ เลื อ กซื้ อ สิ น ค้ า ใช้ เ วลาใน การท�ำธุรกรรมต่างๆ เป็นจุดพบปะของสมาชิก ในครอบครัว และเพื่อนๆ ในช่วงหลังเลิกงานและ วันหยุดสุดสัปดาห์ ในอนาคตอันใกล้นี้ ห้างสรรพสินค้าโอเชี่ยน ช้ อ ปปิ ้ ง มอลล์ ชุ ม พร ก� ำ ลั ง จะกลายเป็ น ศูนย์การค้าแบบครบวงจร แห่งแรกในจังหวัด ชุมพร โดยจะมีโรงภาพยนตร์เมเจอร์ซินีเพล็กซ์ และอิ น เตอร์ เ นชั่ น แนลแบรนด์ ชั้ น น� ำ ต่ า งๆ ทั้ ง สิ น ค้ า ไลฟ์ ส ไตล์ อาหาร เครื่ อ งดื่ ม และ เทคโนโลยีทันสมัยเข้ามา เพื่อรองรับการขยาย พื้นที่โอเชี่ยนช้อปปิ้งมอลล์ชุมพร โครงการ 2 ในคอนเซ็ ป “Entertainment Complex” ในปลายปี พ.ศ.2561 นี้

.

(2

).indd 51

คุณอาทิตย์ ลิ้มอุดมพร

คุณศศิวิมล ลิ้มอุดมพร

คุณทัศนียา ลิ้มอุดมพร

คุณกนกกาญจน์ ลิ้มอุดมพร

15/12/2560 18:13:03


บันทึกเส้นทางพบท้องถิ่นจังหวัด

นายสมชาย รุ่งเรือง อดีตท้องถิ่นจังหวัดชุมพร

หากจะเปรียบเทียบจังหวัดต่างๆ ในประเทศไทยกับบ้าน จังหวัดชุมพร เปรียบเสมือนประตูบานแรก ที่จะเปิดรับแขกผู้มาเยือนสู่ปักษ์ ใต้ ประตูบานนี้มีโครงสร้างด้านการ อาชีพเกษตรกรรมและการประมงที่ แข็งแกร่ง มีระเบียงเป็นท้องทะเล แหล่งท่องเที่ยวที่งดงาม การสร้างความเชือ่ มัน่ และศรัทธาให้กบั พีน่ อ้ งประชาชน ทีน่ ายสมชาย รุง่ เรือง อดีตท้องถิน่ จังหวัดชุมพร เปรียบให้เป็นดัง่ บ้านหลังเล็กทีต่ อ้ งคอย ดูแล นอกจากจะต้องมีความรู้ความสามารถ มีคุณธรรม จริยธรรม ตลอด จนต้องติดตามข้อมูลข่าวสาร และเทคโนโลยีใหม่ๆมาส่งเสริม สนับสนุน ให้กบั พีน่ อ้ งประชาชนทีอ่ ยูใ่ นความดูแลมีความเข้มแข็งและสามารถพึง่ พา ตนเองได้อย่างยั่งยืนแล้ว ความจริงใจต่อพี่น้องประชาชน คือสิ่งที่จะเพิ่ม ความเชื่อมั่นและศรัทธา

โอกาสนี้ นิ ต ยสาร SBL บั น ทึ ก ประเทศไทย ได้ รั บ เกี ย รติ จ าก นายสมชาย รุ ่ ง เรื อ ง อดี ต ท้ อ งถิ่ น จั ง หวั ด ชุ ม พร มาบอกเล่ า ถึ ง ประสบการณ์การดูแลพีน่ อ้ งประชาชนหรือบ้านหลังเล็กผ่านวิสยั ทัศน์การ ปฏิบตั หิ น้าที่ ในฐานะของคนบ้านหลังใหญ่ แม้จะอยูก่ นั คนละชายคา แต่อยู่ ภายใต้รั้วเดียวกัน 52 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย 4

.indd 52

15/12/2560 18:14:22


ส�ำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัดชุมพร เป็น บ้านหลังใหญ่ทที่ ำ� หน้าทีใ่ นการส่งเสริม แนะน�ำ สนับสนุนให้การ บริหารงานขององค์กรปกครองท้องถิน่ ในพืน้ ทีห่ รือบ้านหลังเล็ก ซึง่ เป็นองค์กรทีใ่ กล้ชดิ กับประชาชนมากทีส่ ดุ โดยมีแนวนโยบาย ในการปฏิบัติงานด้วยหลัก “สร้างความศรัทธา ทันต่อเวลา การเปลี่ยนแปลง ด้วยการบริหารงานอย่างมืออาชีพ” หน้าที่ของท้องถิ่นจังหวัดชุมพร เจ้าหน้าทีข่ องส�ำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิน่ จังหวัด ชุมพร เปรียบเสมือนเจ้าของบ้านหลังใหญ่ ดังนัน้ เจ้าของบ้านจะ ต้องเป็นผู้ที่มีความรู้ความสามารถ คุณธรรมจริยธรรมที่จะ ส่งเสริม แนะน�ำ สนับสนุนองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ให้ปฏิบตั ิ งานได้อย่างถูกต้องมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล นอกจากนี้ จะต้องเป็นผูท้ ตี่ ดิ ตามข้อมูลข่าวสาร และสามารถน�ำเทคโนโลยี สมัยใหม่มาประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติหน้าที่อย่างเหมาะสม ตามสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน ด้วยการบริหารงาน อย่างมืออาชีพครบถ้วนรอบด้าน หากท้องถิ่นจังหวัด และ บุคลากรในสังกัดสามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ตามหลักข้างต้น ก็จะ ท�ำให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ส่วนราชการต่างๆ ตลอดจน ผู้บังคับบัญชา เชื่อมั่นและศรัทธา CHUMPHON 53 4

.indd 53

15/12/2560 18:14:23


นโยบายและการบริหารจัดการ บ้ า นหลั ง เล็ ก ของเรามี ลู ก บ้ า นก็ คื อ ประชาชนที่ ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ประมง และท่องเทีย่ วเป็นหลัก องค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น เป็ น เสมื อ นฟั น เฟื อ ง ขับเคลือ่ นการบริหารจัดการให้แก่ลกู บ้านในด้านต่างๆ ดังนี้ ด้านเกษตรกรรม เช่น วิสาหกิจชุมชนกลุ่มกาแฟ บ้านถ�ำ้ สิงห์ ภายใต้การบริหารงานโดยนายนิคม ศิลปศร นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลถ�้ำสิงห์ ด้านการท่องเที่ยว เช่น กิจกรรมวิ่งแหวกทะเลสู่ เกาะพิทกั ษ์ ทีอ่ งค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ในพืน้ ทีอ่ ำ� เภอ หลังสวนร่วมกันจัดขึ้นในช่วงเดือนมิถุนายนของทุกปี ด้านสืบสานประเพณีวฒ ั นธรรม เช่น ประเพณีขนึ้ โขนชิงธง แห่พระแข่งเรือจังหวัดชุมพร เป็นการบูรณาการ การด�ำเนินงานโดยจังหวัดชุมพร องค์การบริหารส่วน จังหวัดชุมพร และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขต อ�ำเภอหลังสวน ในช่วงเดือนตุลาคมของทุกปี แผนและเป้าหมายด�ำเนินงาน ส�ำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิน่ จังหวัดชุมพร มีแผนงานและเป้าหมายจะส่งเสริมให้องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นเกิดความเข้มแข็ง พึ่งพาตนเองได้ เนื่องจาก มีข้อจ�ำกัดในเรื่องงบประมาณ จึงสนับสนุนให้องค์กร ปกครองส่วนท้องถิน่ ร่วมกัน และเปิดโอกาสให้ประชาชน มีส่วนร่วมในการจัดท�ำบริการสาธารณะมากยิ่งขึ้น เช่น ด้านโครงสร้างพื้นฐาน ที่องค์การบริหารส่วนต�ำบล เขาไชยราช อ�ำเภอปะทิว ได้ริเริ่มจัดท�ำโดยการก่อสร้าง ถนนลาดยางพึ่ ง ตนเอง ท� ำ ให้ ส ามารถประหยั ด งบ ประมาณ เกิ ด การมีส่ว นร่ว มของประชาชน ถนนมี คุณภาพ และอายุการใช้งานนาน เป็นที่ยอมรับของ ส�ำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน เป็นแหล่งเรียนรู้ ศึกษา ดูงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่นๆ ทั้งในเขต จังหวัดชุมพร และนอกเขตจังหวัดชุมพร การเตรียมความพร้อมเข้าสู่ AEC อี ก หนึ่ ง เรื่ อ งของการพั ฒ นาคื อ การเตรี ย ม ความพร้อมในการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ชุมพรเป็นจังหวัดหนึ่งที่รัฐบาลมีแผนลงทุนเพื่อสร้าง เส้ น ทางคมนาคมไปสู ่ ป ระเทศเพื่ อ นบ้ า นในอนาคต ดังนัน้ องค์ปกครองส่วนท้องถิน่ จะต้องปรับตัวเพือ่ รองรับ การเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น ทั้งการปรับตัวขององค์กร และบุคลากรซึง่ จะต้องมีความรูใ้ นเรือ่ งภาษาทีจ่ ะต้องใช้ สือ่ สารกับประเทศเพือ่ นบ้าน โดยการจัดฝึกอบรมให้กบั ผูบ้ ริหาร ข้าราชการ เจ้าหน้าที่ ตลอดจนเด็กและเยาวชน 54 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย 4

.indd 54

15/12/2560 18:14:24


ผลงานที่ภาคภูมิใจ ตลอดระยะเวลา 8 เดือน ที่มีโอกาสมาปฏิบัติงาน ที่ จั ง หวั ด ชุ ม พร ได้ ว างระบบการบริ ห ารจั ด การ จัดท�ำฐานข้อมูล รวบรวมผลงานกิจกรรม เกี่ยวกับ การลด คัดแยกขยะ ตามนโยบาย ประเทศไทยไร้ขยะ 3RS ประชารัฐ ส่งผลให้จังหวัดชุมพรได้รับรางวัลการ บริหารจัดการขยะ “จังหวัดสะอาด” โดยมีจังหวัดที่ ได้ รั บ รางวั ล เพี ย ง 19 จั ง หวั ด ซึ่ ง ท่ า นณรงค์ พลละเอียด ผู้ว่าราชการจังหวัดชุมพร ได้เดินทางเข้า รับรางวัลจาก ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา ณ ท�ำเนียบรัฐบาล เมือ่ วันที่ 9 ตุลาคม 2560 บทสรุป อยากให้ บ ้ า นหลั ง ใหญ่ แ ละบ้ า นหลั ง เล็ ก ในรั้ ว เดียวกัน ผูด้ แู ลบ้านโดยเฉพาะผูบ้ ริหารองค์กรปกครอง ส่ ว นท้ อ งถิ่น ได้น�ำ นโยบายของรัฐ บาล กระทรวง มหาดไทย กรมส่ ง เสริ ม การปกครองท้ อ งถิ่ น และนโยบายของผูว้ า่ ราชการจังหวัดชุมพร ตลอดจนที่ ได้ก�ำหนดไว้ตามบริบทของแต่ละแห่ง ไปสู่การปฏิบัติ โดยการเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีสว่ นร่วม ตัง้ แต่ ขัน้ ตอนการวางแผน จนถึงขัน้ ตอนการปฏิบตั ิ ตามหลัก การประชารัฐ “ร่วมคิด ร่วมท�ำ ร่วมรับประโยชน์” CHUMPHON 55 4

.indd 55

15/12/2560 18:14:24


บันทึกเส้นทางพบส�ำนักงานพระพุทธศาสนา

นางสาวสุวรรณี แก้วมณี

ผู้อ� ำนวยการส�ำ นักงานพระพุทธศาสนาจัง หวัดชุมพร

คราวที่เกิดอุทกภัยเมื่อปลายปี 2559 – ต้นปี 2560 วัดได้อนุเคราะห์ ให้ใ​ช้ ศาลา อาคารต่างๆ เป็นที่พักอาศัย ของประชาชนที่บ้านเรือนถูกน�้ำท่วม และเป็นศูนย์ช่วยเหลือประชาชน สังคมในจังหวัดชุมพรนั้น พระสงฆ์และวัด มีบทบาท ส�ำคัญ มีความใกล้ชิดชุมชนและ มีผลต่อการด�ำรงชีวิต ประจ�ำวันของประชาชน โดยนับวัดเป็นศูนย์กลางจิตใจของ ประชาชน และเป็ น สถานที่ ป ระกอบพิ ธี ท างศาสนาใน วันส�ำคัญทางพระพุทธศาสนา โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการท�ำ กิจกรรมสวดมนต์ขา้ มปี เพือ่ ความเป็นสิรมิ งคลแก่ชวี ติ เนือ่ ง ในวันขึ้นปีใหม่ ทุกวัดและประชาชนทุกช่วงวัยจะเข้ามาร่วม กิ จ กรรมเป็ น จ� ำ นวนมาก และร่ ว มท� ำ บุ ญ ในโอกาส วันส�ำคัญต่างๆ

จากบทบาทของวัดและพระพุทธศาสนา ทีม่ คี วามส�ำคัญและเป็นเหมือนศูนย์รวม จิตใจของชาวจังหวัดชุมพร โอกาสนี้ นางสาวสุวรรณี แก้วมณี ผู้อำ� นวยการส�ำนักงาน พระพุทธศาสนา จังหวัดชุมพร ให้เกียรติกับนิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย สั ม ภาษณ์ พิ เ ศษ เกี่ ย วกั บ บทบาทหน้ า ที่ ส� ำ คั ญ ของส� ำ นั ก งานฯ ในการส่ ง เสริ ม พระพุทธศาสนา เพือ่ ให้ประชาชนในจังหวัดได้นำ� ไปเป็นหลักในการด�ำเนินชีวติ ประจ�ำวัน อย่างยั่งยืน 56 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย 4

.indd 56

15/12/2560 18:19:46


ปัจจุบันข้อมูลจ�ำนวนวัดและพระสงฆ์ทั้งหมดในจังหวัดชุมพรมีจ�ำนวน 233 วัด แยกเป็นวัดสังกัดมหานิกาย จ�ำนวน 200 วัด และสังกัดธรรมยุต จ�ำนวน 33 วัดมีพระภิกษุจ�ำนวน 2,757 รูป สามเณรจ�ำนวน 343 รูป ครั้งที่เกิดอุทกภัยเมื่อเดือนธันวาคม 2559 และเดือนมกราคม 2560 หลายอ�ำเภอของจังหวัดชุมพร มีวัดและประชาชนได้รับความเสียหายเป็น จ�ำนวนมาก ในส่วนของคณะสงฆ์จงั หวัดชุมพร เป็นส่วนหนึง่ ทีส่ ำ� คัญในการให้ความช่วยเหลือประชาชน น�ำโดยพระเทพมงคลกวี เจ้าคณะจังหวัดชุมพร (ธรรมยุต) เจ้าอาวาสวัดโพธิการาม ต�ำบลนาทุง่ อ�ำเภอเมืองชุมพร และพระราชวิจติ รปฏิภาณ เจ้าคณะจังหวัดชุมพร (มหานิกาย) เจ้าอาวาสวัดราชบูรณะ (พระอารามหลวง) ต�ำบลท่ามะพลา อ�ำเภอหลังสวน ตลอดจนเจ้าอาวาสวัดต่างๆ ได้ให้ใช้อาคารของวัดเป็นทีอ่ าศัยแก่ประชาชนทีบ่ า้ นเรือนถูกน�้ำท่วม มีการจัดตั้งเป็นศูนย์ช่วยเหลือประชาชน มีประชาชนมาช่วยกันประกอบอาหาร และน�ำอาหารสด เครื่องอุปโภคบริโภค ไปช่วยเหลือประชาชน อย่างทันที วัดต่างๆ ได้ช่วยเหลือเยาวชน ในการมอบทุนการศึกษาให้แก่นักเรียนที่เรียนดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ และการให้ใช้วัดเป็นสถานที่ ในการจัดกิจกรรมต่างของส่วนราชการและชุมชน มาโดยตลอด

CHUMPHON 57 4

.indd 57

15/12/2560 18:19:49


บทบาทหลักของส�ำนักพระพุทธศาสนาจังหวัดชุมพร ส่งเสริม ดูแล รักษา และท�ำนุบำ� รุงศาสนสถาน และศาสนวัตถุ ทางพระพุทธศาสนา รวมทั้งจัดการวัดร้างและศาสนสมบัติกลาง ในจังหวัด ส่งเสริมและสนับสนุนให้วัดเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้และ แหล่งภูมิปัญญาของชุมชน ประสานงานด้ า นการเผยแพร่ พ ระพุ ท ธศาสนาและด้ า น พุทธศาสนศึกษา รั บ สนองงาน ประสานงาน และสนั บ สนุ น กิ จ การและ การบริหารการปกครองคณะสงฆ์ ส่งเสริมและประสานการด�ำเนินงานในการปฏิบัติศาสนพิธี และกิจกรรมในวันส�ำคัญทางพระพุทธศาสนา ปฏิบตั งิ านร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบตั งิ านของหน่วยงาน อืน่ ทีเ่ กีย่ วข้อง หรือตามทีไ่ ด้รบั มอบหมาย นอกจากการปฏิบตั งิ าน ตามอ�ำนาจหน้าที่ข้างต้นแล้ว ยังได้รับความไว้วางใจจาก ผู้บังคับ บัญชาในพืน้ ที่ ให้ปฏิบตั งิ านส�ำคัญๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับพระพุทธศาสนา ตามนโยบายของจังหวัดชุมพร

58 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย 4

.indd 58

15/12/2560 18:20:00


นโยบายหลักในการพัฒนาพระพุทธศาสนา การส่งเสริมให้พุทธศาสนิกชนน�ำหลักธรรมไปพัฒนา คุณภาพชีวิตอย่างยั่งยืน เพื่อให้เกิดสันติสุข จังหวัดชุมพร มีนโยบายการพัฒนาด้านสังคม โดยมุ่งหวังให้เยาวชนและ ประชาชนมี คุ ณ ธรรม จริ ย ธรรม เพื่ อ สร้ า งสั ง คมคุ ณ ภาพ ในปี ง บประมาณ 2559 จั ง หวั ด ชุ ม พรโดยส� ำ นั ก งาน พระพุทธศาสนาจังหวัดชุมพร ได้จัดโครงการเช่น โครงการชุมพรน�ำศีล 5 พัฒนาคนสูส่ งั คมเป็นสุขและยัง่ ยืน โครงการผู้ว่าฯชุมพร น�ำศีล 5 พาเข้าวัดในวันธรรมสวนะ โครงการสร้างความปรองดองสมานฉันท์ โดยใช้หลักธรรม ทาง พระพุทธศาสนา “หมู่บ้านรักษา ศีล 5” จังหวัดชุมพร โครงการครอบครัวอบอุ่นด้วยพระธรรม และอีกหลายๆ โครงการเป็นต้น ผลงานที่โดดเด่นและภาคภูมิใจ ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดชุมพร มีความภาคภูมใิ จ ที่ มี โ อกาสได้ ป ฏิ บั ติ ร าชการในหน้ า ที่ แ ละส� ำ นึ ก ใน พระมหากรุณาธิคณ ุ แด่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ล อดุยเดช บรมนาถบพิตร โดยหน่วยงานได้รบั มอบหมายให้เป็น หน่ ว ยงานหลั ก ในพิ ธี ต ่ า งๆ เพื่ อ ถวายเป็ น พระราชกุ ศ ล แด่พระองค์ เช่น พิ ธี บ� ำ เพ็ ญ กุ ศ ลสวดพระอภิ ธ รรมถวายพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุยเดช บรมนาถ บพิตร 100 วัน พิธีอุปสมบทเพื่อถวายเป็นพระราชกุศลปัญญาสมวาร (50 วัน) และสตมวาร (100 วัน) จัดโครงการบรรพชาอุปสมบทหมู่เพื่อถวายเป็นพระราช กุศล ในวันถวายพระเพลิงพระบรมศพ พระบรมศพพระบาท สมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ย เดช บรมนาถบพิ ต ร ระหว่างวันที่ 15 – 30 ตุลาคม 2560 มีวัดร่วมโครงการ 12 วัด พระภิกษุเข้าร่วมโครงการฯ จ�ำนวน 224 รูป ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดชุมพร มุ่งหวังส่งเสริม และสนับสนุนทุกกิจการของคณะสงฆ์จังหวัดชุมพรให้บรรลุ ผลสั ม ฤทธิ์ ประชาชนสามารถน� ำหลักธรรมทางพระพุ ท ธ ศาสนาไปปรับใช้ในการด�ำรงชีวิตประจ�ำวัน ซึ่งที่ผ่านมานั้น ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดชุมพรได้รบั ความร่วมมือ และ ได้รับการสนับสนุนจากทุกหน่วยงานเป็นอย่างดียิ่ง ท�ำให้ทุก ภารกิจบรรลุผลส�ำเร็จเป็นอย่างดี นอกจากนี้ยังมีหลายๆ หน่วยงาน ทัง้ ภาครัฐ และเอกชนทีเ่ ห็นความส�ำคัญและให้การ สนับสนุนวัด มาโดยตลอด จึงขอขอบคุณ ทุกท่าน ทุกหน่วย งานที่ให้การสนับสนุนมา ณ โอกาสนี้ด้วย และหวังว่าทุกภาค ส่วนจะได้เข้ามามีสว่ นร่วมในการพัฒนากิจการพระพุทธศาสนา ของจังหวัดชุมพรเช่นนีต้ ลอดไป เพือ่ น�ำพาสูส่ งั คมทีม่ คี วามสุข อย่างยั่งยืน CHUMPHON 59 4

.indd 59

15/12/2560 18:20:06


บั น ทึ ก เส้ น ทางความเป็นมาของจังหวัดชุมพร

จังหวัดชุมพรนับว่าเป็น “ประตูสภู่ าคใต้” โดยมีพนื้ ทีท่ ศิ เหนือติดกับอ�ำเภอบางสะพานน้อย จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ทิศตะวันออกติดชายฝั่งอ่าวไทย ทิศใต้ติดกับอ�ำเภอท่าชนะ จังหวัด สุ ร าษฎร์ ธ านี และทิ ศ ตะวั น ตกติ ด กั บ อ� ำ เภอกระบุ รี จั ง หวั ด ระนอง พื้ น ที่ บ างส่ ว นติ ด กั บ ประเทศเมียนมา

ชุมพร... เมืองประชุมพล

60 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 60

16/12/2560 8:57:01


หนึ่งในเมืองสิบสองนักษัตร จังหวัดชุมพร หรือเมืองชุมพร นับว่าเป็นเมืองที่ส�ำคัญทางยุทธศาสตร์ มาตั้งแต่สมัย โบราณ มีชื่อเมืองชุมพรปรากฏมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 1098 โดยใน ต�ำนานพระธาตุเมืองนครศรีธรรมราช ฉบับของหอสมุดแห่งชาติ กล่าวว่า เมืองชุมพรมีฐานะเป็นเมืองสิบสองนักษัตรของนครศรีธรรมราช มีรูปแพะเป็น ตราสัญลักษณ์เมือง เมืองชุมพรเป็นเมืองหน้าด่านฝ่ายเหนือ เนื่องจากอยู่ทาง ตอนบนของภาคใต้ การเดินทางโดยทางบกจ�ำเป็นต้องผ่านเมืองชุมพร และ ในแผ่ น ดิ น สมเด็ จ พระบรมไตรโลกนาถ พ.ศ.1997 มี ป รากฏในกฎหมาย ตราสามดวงว่าเมืองชุมพรเป็นเมืองตรีในอาณาจักรฝ่ายใต้ของกรุงศรีอยุธยา

CHUMPHON 61 .indd 61

16/12/2560 8:57:02


ค�ำว่า “ชุมพร” ตามอักษรแยกได้เป็น 2 ค�ำ คือ ค�ำว่า “ชุม” ซึ่งมีความหมายว่า รวม ชุกมาก รวมกันอยู่ และค�ำว่า “พร” มีความหมายว่า ของดี ของที่เลือกเอา ของประเสริฐ ดังนั้นค�ำว่าชุมพร แปลตามตัวอักษร จึงความหมายว่า “เป็นที่รวบรวม ของประเสริฐ” แต่จริงๆแล้วทีม่ าของชือ่ เมืองชุมพรนัน้ เชือ่ กันว่ามาจากค�ำว่า “ประชุมพล” หรือ “ชุมนุมพล” ซึง่ หมายถึง “รวมก�ำลัง” เนื่องจากในสมัยก่อนชุมพรเป็นเมืองหน้าด่านส�ำคัญของทางภาคใต้ กองทัพต่างๆมักจะมาตั้งค่ายอยู่ที่เมืองเมืองชุมพร ไม่ว่าจะเป็นการรบกับพม่าหรือปราบกบฏภายในราชอาณาจักร เมื่อมีการยกทัพหลวงมาคราใด เมืองชุมพรจึงเป็นที่ชุมนุมพล หรือชุมนุมกองทัพเสมอ ค�ำว่าชุมพร อาจเป็นไปได้ว่าเกิดจากการเรียกเพี้ยนมาจากค�ำว่าประชุมพล เพราะคนไทยภาคใต้ มักจะพูดเร็วและใช้ค�ำสั้นๆ อาจตัดค�ำว่าประออก แล้วเหลือแค่ “ชุมพล” ส่วนค�ำว่า “พล” ก็เพี้ยนมาเป็น “พร” ซึ่งโดยปกติ แล้วชื่อเมืองหรือต�ำบลมักจะถูกเรียกเพี้ยนไปจากเดิม ดังนั้นจากค�ำว่าประชุมพล จึงมีความหมายตรงกับประวัติศาสตร์ของ เมืองที่ว่า “เป็นเมืองส�ำคัญทางยุทธศาสตร์” นอกจากนี้ ก ารเดิ น ทางไปท� ำ ศึ ก สงครามของแม่ทัพนายกองในสมัยโบราณ นั้ น ก่ อ นที่ จ ะเคลื่ อ นพลออกท� ำ การศึ ก จะต้ อ งท� ำ พิ ธี ส ่ ง ทั พ ด้ ว ยการบวงสรวง สิ่งศักดิ์สิทธิ์เพื่อขอให้ได้รับชัยชนะในการ สู้รบแต่ละครั้ง อีกทั้งเป็นการบ�ำรุงขวัญ ก� ำ ลั ง ใจให้ กั บ ทหารในกองทั พ ดั ง นั้ น

สถานที่ ชุ ม นุ ม เพื่ อ รั บ พร หรื อ เรี ย กว่ า ที่ “ชุมนุมพร” หรือ “ประชุมพร” ทั้งสอง ค�ำนี้อาจเป็นที่มาของค�ำว่า “ชุมพร” ด้วย เช่นกัน อีกประการหนึ่ง เนื่องจากที่ตั้งเมือง ชุมพรเดิมอยู่ทางฝั่งขวาของคลองชุมพร ซึ่งมีต้นไม้ชนิดหนึ่งที่เรียกกันว่า “มะเดื่อ

ชุมพร” ขึน้ อยู่ ซึง่ เดิมคลองนีย้ งั ไม่มชี อื่ เรียก ภายหลั ง จึ ง ถู ก เรี ย กว่ า คลองชุ ม พรตาม ชื่อต้นไม้ ปกติการตั้งชื่อตามสถานที่หรือ แม่น�้ำล�ำคลองมักจะตั้งตามชื่อต้นไม้ หรือ สิ่งใดสิ่งหนึ่งที่ปรากฏอยู ่ ณ บริ เวณนั้ น เช่นเดียวกับชื่อเมืองชุมพร ที่อาจเรียกตาม คลองหรือต้นไม้ ดังนั้นค�ำว่า “ชุมพร” จึง

62 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 62

16/12/2560 8:57:05


สมัยกรุงศรีอยุธยา

ขณะที่อาณาจักรกรุงศรีอยุธยาเรืองอ�ำนาจ ในแผ่นดินสมเด็จ พระบรมไตรโลกนาถ ได้แผ่ขยายอาณานิคมลงมาถึงทางตอนใต้ มีชาว จามมาอยู่ที่เมืองชุมพร เดิมชาวจามนับถือ ศาสนาพราหมณ์ - ฮิ น ดู พ.ศ. 1400 นับถือศาสนาพุทธมหายาน และเมื่อค้าขายกับอาหรับ ก็นับถือ ศาสนาอิสลาม แต่ชาวจามที่มาอยู่เมืองชุมพร ต่อมานับถือ ศาสนาพุทธ มีวัฒนธรรม ประเพณี เหมือนกัน แต่เมื่อเวลาผ่านไป กว่า 500-600 ปี ที่ชาวจามเข้าปกครองเมืองชุมพร และดินแดนแถบนี้ แทบจะไม่เหลือวัฒนธรรมเดิมเลย เนือ่ งจากชาวจาม มีความสามารถหลายด้าน ทัง้ การค้า การเดินเรือ และการรบ ซึง่ เห็นได้จากทหารอาสาจาม เป็นทหารชัน้ ดี ทีร่ บั ใช้ราชส�ำนัก ตั้งแต่กรุงศรีอยุธยา โดยทหารอาสาเหล่านี้มีความสามารถการรบ และ การเดินเรือ อย่างเชี่ยวชาญ ตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมาท�ำให้เมืองชุมพร ต้องขึ้นต่ออาณาจักร กรุงศรีอยุธยา ในฐานะเมืองอาณานิคม และเป็นเมืองหน้าด่านฝ่ายใต้ และเป็นเมืองท่าการค้าส�ำคัญ ของอาณาจักร เมืองชุมพรจึงมีบทบาท เป็นเมืองหน้าด่าน มาแต่โบราณในอาณาจักรนครศรีธรรมราช และ อาณาจักรกรุงศรีอยุธยา ดังนั้นชาวชุมพรจึงเป็นลูกหลานนักรบอย่าง แท้จริง จึงได้รบั สมญานามบรรพบุรษุ ว่า “วีรบุรษุ นักรบแห่งคอคอดกระ ดินแดนสองฝัง่ ทะเล” จากการท�ำศึกสงครามมาอย่างต่อเนือ่ งในแต่ละยุค แต่ละสมัย

สมัยกรุงธนบุรี

ในสมั ย กรุ ง ธนบุ รี เมื อ งชุ ม พรไม่ ค ่ อ ยมี บ ทบาทส� ำ คั ญ มากนั ก เพราะอยู่ในภาวะสงครามของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ขณะ เดียวกันก�ำลังพล ทั้งกองทัพบก กองทัพเรื อ ของเมื อ งชุ ม พร โดย พระชุมพร (พวย) เกิดการสูญเสียก�ำลังพลประมาณ 800 คน จากการ เข้าไปช่วยรักษาพระนครศรีอยุธยา ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2305-2308 ก่อนที่ กรุงศรีอยุธยาจะแตกผ่ายที่ค่ายบางกุ้ง และการเข้าร่วมรบเพื่อตีเมือง นครศรีธรรมราช จึงท�ำให้เกิดความอ่อนล้าของชาวเมืองชุมพร

สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ มีผู้สันนิษฐานว่าน่าจะมีที่มาหลายทาง และต้นมะเดื่อชุมพร ก็เป็นสัญลักษณ์ส่วนหนึ่งของ ตราประจ�ำจังหวัดชุมพร

สมัยกรุงสุโขทัย

เมืองชุมพรในสมัยสุโขทัย เป็นเมืองขึ้นของอาณาจักร นครศรี ธ รรมราช ในฐานะเมื อ งอาณานิ ค ม และเป็ น เมื อ ง หน้าด่านฝ่ายเหนือ หรือเมืองปีมะแม ถือตราแพะ ซึง่ เป็น 1 ในเมือง 12 นั กษั ต ร ของอาณาจัก รนครศรีธรรมราช ที่มีเจ้าเมือง ปกครองมายาวนาน

สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ตัง้ แต่แผ่นดินพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้า จุ ฬ าโลก รั ช กาลที่ 1 พระบาทสมเด็ จ พระพุ ท ธเลิ ศ หล้ า นภาลั ย รัชกาลที่ 2 พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3 และ แผ่นดินพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 เมือง ชุมพรเป็นเมืองท่าเพื่อการค้าขายที่สำ� คัญ ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ชาวจามยังมีบทบาทในดินแดนแทบนี้ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว จึงโปรดเกล้าฯ ให้จัดตั้งเป็น มณฑลชุมพร ต่อมามีการยุบ การปกครองแบบมณฑลเทศาภิบาลเป็นจังหวัด ชุมพรจึงมีฐานะเป็น จังหวัด CHUMPHON 63

.indd 63

16/12/2560 8:57:14


บั น ทึ กเส้ น ทางท่องเที่ย วของจังหวัดชุมพร

64 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 64

16/12/2560 8:57:16


CHUMPHON มหัศจรรย์ หาดทรายขาว 400 ลี้

ชุมพร จังหวัดเล็กๆ แต่เป็นจังหวัดที่อยู่ริมอ่าวไทย

มีห าดทรายยาวที่สุดจัง หวัดหนึ่ง ของประเทศไทย จนได้ รับฉายาว่าเมืองหาดทรายยาวสี่ร้อยลี้ ถ้าถามว่ามาเที่ยว เมื อ งชุ ม พรควรไปที่ ไ หนดี ตอบแบบไม่ ต ้ อ งประมวลผล ซั บ ซ้ อ น คงหนี ไ ม่ พ ้ น ทะเลสวยๆ น�้ ำ ใสๆ แต่ จ ริ ง ๆ แล้ ว จั ง หวั ด ชุ ม พรยั ง มี แ หล่ ง ท่ อ งเที่ ย วทั้ ง ในด้านประวัติศาสตร์ วัฒนธรรมชุมชน และการผจญภัยที่น่าสนใจหลบซ่อนอยู่มากมาย พร้อม ให้ทุก ท่านเดิน ทางมาค้นหา

CHUMPHON 65 .indd 65

16/12/2560 8:57:17


ศาลกรมหลวงชุมพร เขตอุดมศักดิ์

กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ หรือศาลเสด็จเตี่ย ที่ชาวชุมพรให้ ความเคารพรักและอยู่ในใจเสมอมา ตั้งอยู่ที่บริเวณหาดทรายรี อ�ำเภอ เมื อ งชุ ม พร เป็ น อี ก หนึ่ ง สถานที่ ท่องเที่ยวส�ำคัญของจังหวัดชุมพร ถ้าใครได้มาต้องไม่พลาดทีจ่ ะเดินทาง แวะเวี ย นมากราบสั ก การะ เพื่ อ ขอพรหรือแม้กระทัง่ มาแก้บน แสดง ให้ เ ห็ น ถึ ง พลั ง แรงศรั ท ธาที่ มี ต ่ อ เสด็จเตี่ยอย่างไม่เสื่อมคลาย โดย ศาลสร้ า งเป็ น เรื อ รบจ� ำ ลองจั ก รี นฤเบศร มีขนาดกว้าง 29 เมตร ยาว 79 เมตร สูง 6 เมตร หันหน้าออก ทะเล ซึง่ เกิดจากแรงพลังศรัทธาของ ชาวปากน�้ำหลังสวน ที่ร่วมกันสละ ทรัพย์สนิ ส่วนตัวและแรงงาน ในการ ก่ อ สร้ า งเรื อ จ� ำ ลองล� ำ นี้ ขึ้ น มา นอกจากนี้ในบริเวณใกล้เคียงยังมี อาคารพิพิธภัณฑ์และเรือรบหลวง ให้ได้ศึกษาค้นคว้าและเที่ยวชม

หาดทุ่งวัวแล่น ตัง้ อยูท่ ี่ หมู่ 8 ต�ำบลสะพลี อ�ำเภอปะทิว ว่ากันว่าเป็นชายหาดทีม่ เี ม็ดทรายสีขาวนวลละเอียด หาดทุ่งวัวแล่น จุดเด่นคือเป็นหาดทรายที่ทอดยาวสุดลูกหูลูกตา ลักษณะเป็นชายหาดน�้ำตื้น จึงเหมาะส�ำหรับการลงเล่นน�้ำทะเล เป็นที่นิยมของนักท่องเที่ยวที่ต้องการความเป็นส่วนตัว มีรีสอร์ทที่พักเรียงรายตามแนวชายหาด รวมถึงร้านอาหารหลากหลายสไตล์ไว้คอยให้บริการ แก่นักท่องเที่ยวทุกวัน

66 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 66

16/12/2560 8:57:22


น�้ำตก

คลองเพรา

ใช้ทางหลวงหมายเลข 41 (ทุ่งตะโก-หลังสวน) ถึง กม.ที่ 57-58 ก่อนถึง อ.หลังสวน มีทางแยกขวามือ เข้าไปยังบ้านเหมืองในหูด เป็นทางลาดยางประมาณ 12 กม. จากนั้นจะเป็นทางลูกรังเข้าไป ถึงหน่วยพิทักษ์ อีก 3 กม.

CHUMPHON 67 .indd 67

16/12/2560 8:57:24


68 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 68

16/12/2560 8:57:25


ปากน�้ำชุมพร ปากน�้ำชุมพร ที่ตั้งอยู่ต�ำ บลปากน�้ำ อ�ำเภอเมือง จังหวัดชุมพรอยู ่ ห ่ า งจากตั ว เมื อ ง ตามถนนหมายเลข 4119 และ 4098 ประมาณ 13 กม. เป็นท่าเทียบเรือที่มีความส�ำคัญ และมีทัศนียภาพที่สวยงาม เหมาะแก่การมาพักผ่อนและชิมอาหารทะเล เพราะที่นี่มีอาหาร ทะเลจ�ำหน่ายจ�ำนวนมาก บริเวณริมหาดมีสวนสาธารณะส�ำหรับประชาชนที่มาใช้บริการ ริมทะเลมีรา้ นอาหาร มีทพี่ กั อีกมากมายไว้รองรับนักท่องเทีย่ ว ส�ำหรับผูท้ ตี่ อ้ งการมาพักค้างคืน ที่ปากน�้ำชุมพร บริเวณริมหาดมีที่อาบน�้ำจืดส�ำหรับบริการนักท่องเที่ยวที่มาเล่นน�้ำบริเวณ ชายหาด และภายในตลาดปากน�้ำชุมพร มีสินค้าจ�ำหน่ายมากมายโดยเฉพาะอาหารทะเล ผักผลไม้ชนิดต่างๆ

CHUMPHON 69 .indd 69

16/12/2560 8:57:27


หาดทรายรี หาดทรายรี ตัง้ อยูท่ ตี่ ำ� บลท่าหิน อ�ำเภอสวี นับว่า เป็นหาดทรายทีส่ วยงามทีส่ ดุ แห่งหนึง่ ของอ�ำเภอสวี ลักษณะเป็นชายหาดขนาดใหญ่ที่ทอดขนานไปกับ ทิวต้นมะพร้าวที่เรียงรายเป็นแนวยาวสุดลูกหูลูกตา บรรยากาศเงียบสงบ เหมาะส�ำหรับการพักผ่อน หย่อนใจ และชมภาพวิถีชีวิตชาวประมงที่เรียบง่าย บริเวณหมู่บ้านใกล้เคียง การเดินทางใช้ทางหลวงหมายเลข 41 สาย ชุมพร-สวี เลี้ยวเข้าอ�ำเภอสวี จากนั้นใช้เส้นทางสาย 4003 สวี-บ่อคา ระยะทางประมาณ 6 กิโลเมตร เลี้ ย วขวาไปตามถนนบางเกร็ ง -อ่ า วมะนาว อี ก ประมาณ 7 กิโลเมตร 70 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 70

16/12/2560 8:57:39


เขามัทรี เขามัทรี อยู่ห่างจากตัวเมือง ชุมพรมาเพียง 14 กิโลเมตร จะมี ทางแยกไปหาดภราดรภาพ กับ ขึ้นเขามัทรี ทางขึ้นเขาเล็กชัน ประมาณ 1 กิโลเมตร มีลาน จอดรถบนยอดเขา ด้านบนเขา มั ท รี สามารถมองเห็ น วิ ว ทิวทัศน์ปากน�้ำชุมพร และมอง เห็นหาดภราดรภาพที่สวยงาม ของชุมพรในฝังตะวันออก เป็น จุ ด ชมวิ ว ที่ ส วยที่ สุ ด ของเมื อ ง ชุมพรทีน่ กั ท่องเทีย่ วไม่ควรพลาด นอกจากวิวที่สวยงาม ยังมี ร้านกาแฟชุมชน บ้านถ�ำ้ สิงห์ ให้ นั่งจิบชมความงามของทิวทัศน์ แบบชิวๆ อีกด้วย

วนอุทยานน�้ำตกกะเปาะ ตั้งอยู่ที่บ้านยายไท ต�ำบลหงส์เจริญ อ�ำเภอท่าแซะ เดินทางไปตามทางหลวง สายเพชรเกษม ประมาณ 13 กิโลเมตร อยู่ระหว่างหลักกิโลเมตรที่ 467-468 หรื อ จากสี่ แ ยกปฐมพรไปตามถนน เพชรเกษม ประมาณ 30 กิโลเมตร อยูร่ มิ ถนนด้านขวาก่อนถึงตัวเมืองชุมพร วนอุทยานน�้ำตกกะเปาะ มีเนื้อที่ ประมาณ 7,010 ไร่ เป็นสวนป่าขนาดใหญ่ ที่ ร ่ ม รื่ น นอกจากนี้ ยั ง มี ส ายน�้ ำ จาก

ล�ำธาร หรือน�้ำตกกระเปาะ เป็นน�้ำตก ขนาดเล็กที่เกิดจากต้นน�้ำเขากะเปาะ มีลักษณะคล้ายฝายโค้ง เป็นน�ำ้ ตกขนาด เล็กที่มีความสวยงามและมีเอกลักษณ์ เฉพาะตัวไม่เหมือนใคร มีนำ�้ ไหลให้ชมุ่ ฉ�ำ่ ตลอดทัง้ จึงเหมาะส�ำหรับการมาพักผ่อน หย่ อ นใจ ซึ ม ซั บ บรรยากาศและสู ด โอนโซนบริสุทธิ์ได้อย่างเต็มปอด พร้อม กั น นี้ ยั ง มี ศ าลาพั ก ร้ อ นและสถานที่ ส�ำหรับกางเต็นท์พกั แรม โดยจะมีเจ้าหน้าที่ ภายในวนอุทยานคอยให้ค�ำแนะน�ำ

CHUMPHON 71 .indd 71

16/12/2560 8:57:43


72 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 72

16/12/2560 8:57:45


อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะชุมพร ตั้งอยู่ที่หมู่ 5 ต�ำบลหาดทรายรี อ�ำเภอเมืองชุมพร ครอบคลุมพื้นที่ชายฝั่งอ่าวไทยตอนกลาง มีทั้ง ป่าชายเลน ภูเขา ชายหาด ท้องทะเล และหมู่เกาะน้อยใหญ่ ทะเลชุมพรนั้ น ชื่ อ ว่ า งดงามยิ่ ง จึงเหมาะส�ำหรับนักท่องเที่ยวที่ชื่นชอบการด�ำน�้ำชมฝูงปลาและปะการัง พายเรือคายัค ชมสภาพ ป่าชายเลน หรือพักผ่อนริมชายหาดทรายขาวละเอียด บริเวณที่ท�ำการอุทยานตั้งอยู่กลางป่าชายเลน มีอาคารศูน ย์บริการนักท่องเที่ยวเชื่อมด้ว ยสะพานไม้ทอดยาวสวยงาม จึงมี กิ จ กรรมมากมายให้ นักท่องเที่ยวได้เลือกท�ำ ส�ำหรับแหล่งท่องเที่ยวที่น่าสนใจของอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะชุมพร เช่น “เกาะมาตรา” เป็นเกาะที่นักท่องเที่ยวนิยมเดินทางมาด�ำน�้ำดูปะการัง หรือ “เกาะทะลุ” เกาะหินปูน ขนาดเล็ก มีโพรงถ�้ำขนาดใหญ่หลายถ�้ำ สามารถมองลอดทะเลหรือว่ายน�้ำไปยังฝั่งตรงข้ามได้ และ ยัง เป็นแหล่งด�ำน�้ำดูปะการัง หรือดอกไม้ทะเลรอบเกาะ โดยในช่ว งเดือนมี น าคม-เมษายนจะมี นกนางนวลมาวางไข่เป็นจ�ำนวนมาก CHUMPHON 73 .indd 73

16/12/2560 8:57:46


เขาดินสอ เขาดินสอ เป็นหนึ่งในยอดเขาสูงสุด ในเขตอ�ำเภอปะทิว เหมาะส�ำหรับผู้ที่ ชืน่ ชอบการเดินป่าผจญภัย โดยนักท่องเทีย่ ว จะต้องเดินขึ้นยอดเขาที่สูงจากระดับน�้ำ ทะเล 400 เมตร ใช้เวลาประมาณ 2 ชั่วโมง ขณะเดียวกันก็จะได้ชื่นชมกับ ธรรมชาติ แ ละพรรณไม้เ ฉพาะถิ่นของ ภาคใต้ตลอดเส้นทาง และเมื่อเดินขึ้นไป ถึงยอดเขา จะพบกับความงดงามของวิว ทิ ว ทั ศ น์ ต ่ า งๆ เช่ น สวนผลไม้ สวน ยางพารา รวมถึ ง ความสวยงามของ ธรรมชาติที่เกิดจากแนวเทือกเขาสลับ ซั บ ซ้ อนที่ เรี ย งตัวกันอย่างงดงามจาก

ฝั่งประเทศเมียนมา รามถึงสามารถมอง เห็นท้องทะเลและชายหาดทุ่งวัวแล่น ที่ ส วยงามของประเทศไทย ส� ำ หรั บ นักท่องเที่ยวที่ชอบอิงแอบแนบชิดกับ ธรรมชาติแบบนีก้ ส็ ามารถกางเต็นท์พกั แรม ได้บนยอดเขา ในช่วงเดือนตุลาคมของทุกปีจะมี นกเหยี่ยวนานาชนิดบินอพยพ มาอาศัย อยู่บริเวณเขาดินสอแห่งนี้ บ่งบอกถึง ความอุดมสมบูรณ์ของทางธรรมชาติ การเดินทางจากตัวเมืองชุมพร ใช้ ทางหลวงหมายเลข 3180 แล้วแยกขวา บริเวณบ้านต้นมะพร้าว เข้าถนนสายสามสี -ปะทิว ระยะทางประมาณ 20 กิโลเมตร

ถ�้ ำ เขาเกรี ย บ ตัง้ อยูท่ หี่ มู่ 4 ต�ำบลบ้านควน ต า ม เ ส ้ น ท า ง ส า ย ชุ ม พ ร หลังสวน ประมาณ 80 กิโลเมตร หรือประมาณ 10 กิโลเมตรจาก อ�ำเภอหลังสวน ถ�้ำเขาเกรียบ เป็นถ�้ำที่มีชื่อเสียงอีกแห่งหนึ่ง การไปยั ง ถ�้ ำ เขาเกรี ย บต้ อ ง บริหารขากันเล็กน้อย เพราะ ต้องเดินขึ้นบันไดไปยังปากถ�้ำ ถึง 370 ขั้น เมื่อเดินขึ้นไปถึง แล้ ว นั ก ท่ อ งเที่ ย วจะสามารถ มองเห็นทิวทัศน์ที่สวยงามและ เขี ย วขจี ข องอ� ำ เภอหลั ง สวน แบบสุ ด ลู ก หู ลู ก ตา ส� ำ หรั บ ภายในถ�้ ำ สามารถชมความ งดงามของหิ น งอกหิ น ย้ อ ย ที่ห้อยระย้าอยู่ทั่วไปภายในถ�้ำ เป็ น ความงดงามแปลกตา ที่ ธรรมชาติเป็นผู้รังสรรค์ขึ้นมา นั่นเอง

74 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 74

16/12/2560 8:57:52


สวนส้มนายด�ำ สวนส้มนายด�ำ เปิดเป็นแหล่งท่องเทีย่ วเชิงเกษตรทุกวัน ตัง้ แต่ 08.00-16.30 น. ตั้งอยู่ที่ หมู่ 7 ต�ำบลตะโก อ�ำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร ริมถนนหมายเลข 41 ห่างจากตัวเมืองประมาณ 54 กม. สวนส้มนายด�ำ นอกจากจะมีส้มโชกุน ที่มี ชือ่ เสียงระดับจังหวัดแล้ว ยังเป็นแหล่งปลูกผลไม้คณ ุ ภาพ อาทิ มะละกอท่าตะโก แก้วมังกร มะยงชิด เป็นสินค้าคุณภาพสูงส่งออกไปยังต่างประเทศ ปัจจุบนั สวน ส้มนายด�ำจึงเป็นจุดแวะพักของนักท่องเทีย่ วและนักเดินทาง ทีแ่ วะเวียนมาเลือก ซื้อสิ้นค้าของทางสวนและศูนย์รวมของฝากขึ้นชื่อของจังหวัดชุมพร นี่เป็นเพียงน�้ำจิ้มเรียกน�้ำย่อยที่เราน�ำมาฝากกัน ยังมีสถานที่ท่องเที่ยวที่ น่าสนใจในจังหวัดชุมพรอีกมากมายทีไ่ ม่ได้กล่าวถึง ก�ำลังรอนักเดินทางทุกท่าน ไปสัมผัสและค้นหาที่เมืองชุมพร

ขอขอบคุณข้อมูล

ส�ำนักงานจังหวัดชุมพร และการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย CHUMPHON 75 .indd 75

16/12/2560 8:57:56


บันทึกเส้นทางพบนายอ�ำเภอ

ที่ว่าการอ�ำเภอเมืองชุมพร ค�ำขวัญอ�ำเภอเมืองชุมพร

“เชิดชูกรมหลวงชุมพร อนุสรณ์ยุวชนทหาร โครงการแก้มลิงหนองใหญ่ ระบือไกลปะการัง ชื่อดังรังนกนางแอ่น” วิสัยทัศน์

“เมืองศูนย์กลางการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ และส่งเสริมการเกษตรและประมงที่ยั่งยืน”

ประวัติความเป็นมา

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ ได้ทรงเรียบเรียงไว้ใน ต�ำนานเมืองระนอง ความตอนหนึง่ ว่า “เมืองชุมพรประหลาดผิดกับเมืองอืน่ ในแหลมมลายู เมืองที่ ตั้งมาแต่โบราณ เช่น เมืองไชยา เมืองนครศรีธรรมราช เป็นต้น ล้วนมีโบราณวัตถุและมีตัวเมืองปรากฏอยู่บ้างรู้ได้ ว่าเป็นเมืองมาแต่โบราณ แต่เมืองชุมพรยังไม่ได้พบโบราณ สถานวัตถุเป็นส�ำคัญแต่อย่างใด อาจจะเป็นด้วยเหตุ 2 ประการ คือ มีทนี่ าไม่พอกับคนประการหนึง่ อีกประการหนึง่ อยู่ตรงคอคอดแหลมมลายู มักเป็นสมรภูมิรบพุ่ง จึงไม่สร้าง เมืองถาวรไว้ แต่ก็ต้องรักษาไว้เป็นเมืองด่าน” นอกจาก เหตุผล 2 ประการดังกล่าวแล้ว พิจารณาจากสภาพตาม ธรรมชาติแล้วยังมีเหตุผลอีกอย่างหนึง่ คือ ทีท่ อ้ งทีต่ งั้ จังหวัด ชุมพรเป็นที่ราบต�่ำน�้ำท่วม บ้านเรือนราษฎร เรือกสวนไร่นา เสียหายอยู่เสมอ บางปีนำ�้ ท่วมถึง 2 - 3 ครั้ง ภัยจากน�ำ้ ท่วม อาจเป็นเหตุหนึ่ง ที่ทำ� ให้ไม่นิยมสร้างถาวรวัตถุไว้ให้ปรากฏ แก่ชนรุน่ หลังก็ได้ แม้แต่บา้ นเรือนราษฎรในเมืองก็ไม่ปรากฏ ว่าได้ก่อสร้างอาคารถาวรเป็นเรือนตึกหรือคอนกรีต เพิ่งจะ มีตึกขึ้นเป็นครั้งแรกในตลาดชุมพร เมื่อ พ.ศ.2491 นี้เอง

นายนักรบ ณ ถลาง นายอ�ำ เภอเมือ งชุมพร

หลังจาก พ.ศ. 2433 (ร.ศ.109) แล้ว พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัวทรงจัดการปกครองท้องที่ใหม่ โดยแบ่งการปกครองออกเป็นเมือง อ�ำเภอ ต�ำบล และหมูบ่ า้ น หลายเมืองรวมเป็นมณฑลเทศาภิบาล ในปีพทุ ธศักราช 2439(ร.ศ.115)ได้ ตั้งมณฑลชุมพรขึ้น ตั้งศาลารัฐบาล ณ จังหวัดชุมพร ปรากฏ หลักฐานว่าตัวเมืองชุมพรได้ย้ายที่ท�ำการมาตั้งอยู่ ริมคลองท่าตะเภา คือที่ปลูก บ้านพักนายอ�ำเภอเมืองชุมพรอยูใ่ กล้จวนผูว้ า่ ราชการจังหวัดในปัจจุบนั เหตุผลที่ 76 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย (3

).indd 76

15/12/2560 18:21:36


จ�ำเป็นต้องย้ายเมืองจากบ้านประเดิมและต�ำบลท่ายางมาอยู่ที่คลองท่า ตะเภาไม่พบหลักฐาน ณ ที่ใด แต่เท่าที่ค้นคว้าน่าจะเป็นเพราะเหตุสอง ประการดังต่อไปนี้ คือ 1. คลองชุมพรอันเป็นที่ตั้งเมืองมาแต่เดิม เคยใช้เป็นทางเรือส�ำเภา ใหญ่ๆสัญจรและบรรทุกสินค้า ไปมากับจังหวัดใกล้เคียงและต่างประเทศ มีระยะไกลจากปากอ่าว ประกอบกับคลองท่าตะเภาเป็นท่าเรืออยู่ก่อน แล้ว ความเจริญก็มมี าก ท�ำเลการท�ำมาหากินก็ดขี นึ้ ประกอบกับขณะนัน้ ประชาชน ณ เมืองชุมพรเดิมคงจะถูกพม่า รุกรานจึงเที่ยวหลบซ่อนหาที่ ตั้งบ้านเรือนใหม่ จึงได้อพยพกันมาตั้งบ้านเรือนท�ำมาหากินที่บ้านท่า ตะเภามากขึ้น กลายเป็นท้องที่ที่ประชาชนหนาแน่น จึงเป็นเหตุหนึ่งให้ ย้ายเมืองชุมพรไปจากบ้านประเดิม 2. ปรากฏตามพระราชพงศาวดารว่า เมืองชุมพรถูกพม่ายกทัพมา ย�่ำยีหลายครั้งที่ส�ำคัญมี 2 ครั้ง ในสมัยนี้บ้านเมืองก็คงจะร่วงโรย มีผู้คน เหลือน้อย ต่างกระจัดกระจาย กันไปเช่นเดียวกับเมืองระนอง เมื่อเมือง ชุมพรได้มาตัง้ อยูค่ ลองท่าตะเภาแล้วทีต่ รงนัน้ อยูร่ มิ น�ำ้ ตกถูกน�ำ้ เซาะ ตลิง่ พัง จึงได้ยา้ ยทีท่ ำ� การมาอยูใ่ นสถานทีซ่ งึ่ เป็นบริเวณหน้าศาลจังหวัดชุมพรใน สมัยนั้น เป็นสมัยที่พระส�ำเริง นฤปการเป็นเจ้าเมือง ในปีพ.ศ. 2460 พระยาคงคาธราธิ บ ดี สมุ ห เทศาภิ บ าลมณฑลสุ ร าษฎรได้ ข อเงิ น งบประมาณเพื่ อ สร้ า งศาลากลางจั ง หวั ด ขึ้ น ใหม่ ที่ ต� ำ บลท่ า ตะเภา คือ บริเวณเทศบาลเมืองชุมพร และส�ำนักงานตรวจเงินแผ่นดินจังหวัดชุมพร ในปัจจุบัน ก่อสร้างเสร็จเปิดท�ำงาน ณ ศาลากลางจังหวัดหลังใหม่ (ที่ว่าการอ�ำเภอเมืองปัจจุบัน) เมื่อ 3 เมษายน 2462 เวลา 08.00 น. ในสมัยอ�ำมาตย์ตรีพระชุมพรศรีสมุทรเขต(บัว) เป็นผู้ว่าราชการจังหวัด ด้วยเหตุนที้ างราชการ จึงถือว่า วันที่ 3 เมษายน เป็นวันทีร่ ะลึกของจังหวัดชุมพร

CHUMPHON 77 (3

).indd 77

15/12/2560 18:21:37


เมืองชุมพรได้เป็นที่ศาลารัฐบาลมณฑลชุมพรด้วย เมื่อเริ่มตั้งเป็น มณฑลขึน้ แล้ว ในปี พ.ศ. 2437 มีเมืองขึน้ กับมณฑลนี้ 3 เมือง คือ เมือง สุราษฎร์ธานี เมืองชุมพร และเมืองหลังสวน ต่อมาในพ.ศ. 2448 (ร.ศ. 124) ได้ยา้ ยศาลาเทศบาลมณฑลชุมพรไปอยูท่ บี่ า้ นดอน ซึง่ เป็นจังหวัด สุราษฎร์ธานีให้ตรงกับท้องที่ที่ตั้งมณฑล ในปี พ.ศ. 2468 ได้ประกาศ ยกเลิกมณฑลสุราษฎร์ธานี และโอนการปกครอง 3 จังหวัด รวมทั้ง จังหวัดชุมพร ไปขึน้ กับมณฑลนครศรีธรรมราช หลังจากยกเลิกมณฑล เทศาภิบาลทุกมณฑล ในปี พ.ศ. 2476 เป็นเหตุให้ยกเลิกมณฑล นครศรี ธ รรมราชไปด้ ว ย จั ง หวั ด ชุ ม พร จึ ง เป็ น จั ง หวั ด หนึ่ ง ของ ประเทศไทยมาจนถึงวันนี้

สถานที่ส�ำคัญ

สถานที่ส�ำคัญทางประวัติศาสตร์ - พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ - ศาลกรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ - อนุสาวรีย์ยุวชนทหาร - วนอุทยานเขาพาง - วัดเจ้าฟ้าศาลาลอย สถานที่ท่องเที่ยวทางทะเล - เขามัทรี - หาดผาแดง - หาดทรายรี - อ่าวทุ่งมะขาม - อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะชุมพร - เขาเจ้าเมือง

78 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย (3

).indd 78

15/12/2560 18:21:38


บันทึกเส้นทางพบเทศบาลต�ำบล เทศบาลวังใหม่ เลขที่ 5/5 หมู่ที่ 5 ต�ำบลวังใหม่ อ�ำเภอเมืองชุมพร จังหวัดชุมพร 86190 โทรสาร : 0-7752-0832 อีเมล์ : info@wangmaicity.go.th

เทศบาลต�ำบล วิสัยทัศน์

วังใหม่

“ชุมชนเข้มแข็ง ห่างไกลยาเสพติด พัฒนาคุณภาพชีวิต ส่งเสริม เศรษฐกิจพอเพียง พัฒนาคุณภาพการศึกษา สืบสานศิลปวัฒนธรรม อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม”

สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐาน

ต�ำบลวังใหม่ เป็นต�ำบลหนึง่ ซึง่ ตัง้ อยูท่ างทิศตะวันตกของอ�ำเภอเมือง จั ง หวั ด ชุ ม พร ซึ่ ง แยกออกมาจากต� ำ บลวั ง ไผ่ เมื่ อ ปี พ.ศ. 2518 มีพื้นที่ทั้งหมด 81.81 ตารางกิโลเมตร (ปัจจุบันเทศบาลต�ำบลวังใหม่ มีพื้นที่ทั้งสิ้น 93.44 ตารางกิโลเมตร) เนื่องจากต�ำบลวังไผ่ มีพื้นที่กว้างมาก แบ่งการปกครองออกเป็น 14 หมู่บ้าน จึงยากต่อการปกครองในสมัยนั้น นายเบ่ง อนิวัฒน์ ซึ่งด�ำรง ต�ำแหน่งก�ำนันต�ำบลวังไผ่ พร้อมกับนายมังกร โชติคุต ด�ำรงต�ำแหน่ง ประธานสภาจังหวัดชุมพร ได้ด�ำเนินการขอแยกต�ำบล โดยแยกหมู่ที่ 4,8,11,14 ออกจากต�ำบลวังไผ่ มีการประชุมผูน้ ำ� หมูบ่ า้ นและผูท้ รงคุณวุฒิ ในการตั้งชื่อต�ำบล โดยมีมติให้ตั้งชื่อต�ำบลวังใหม่ และแบ่งการปกครอง ออกเป็น 5 หมูบ่ า้ น ต่อมาได้มกี ารแบ่งหมูบ่ า้ นเพิม่ รวมทัง้ หมด 9 หมูบ่ า้ น เทศบาลต� ำ บลวั ง ใหม่ ตั้ ง อยู ่ ใ นเขตพื้ น ที่ อ� ำ เภอเมื อ ง จั ง หวั ด ชุ ม พร ห่างจากที่ว่าการอ�ำเภอเมืองชุมพร ประมาณ 24 กิโลเมตร จัดตั้งเป็น เทศบาลตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม 2551 มีเนื้อที่ 93.44 ตารางกิโลเมตร หรือ 58,400 ไร่ ปัจจุบันมี นายพรศักดิ์ พิมาน เป็นนายกเทศมนตรีต�ำบลวังใหม่ การเพาะต้นกล้าทุเรียนและต้นกล้าพันธุ์ไม้อีกหลายชนิด ถือเป็น อาชีพเสริมที่สร้างรายได้ส่วนหนึ่งให้กับชาวต�ำบลวังใหม่

นายพรศักดิ์ พิมาน นายกเทศมนตรีต�ำบลวังใหม่

CHUMPHON 79 .

(1

).indd 79

15/12/2560 18:23:20


บันทึกเส้นทางพบเทศบาลต�ำบล เทศบาลต� ำ บลขุ น กระทิ ง เลขที่ 99 หมู ่ 8 ต�ำบลขุนกระทิง อ�ำเภอเมือง จังหวัดชุมพร 86190 โทรศัพท์ :0-7764-2950 โทรสาร :0-7764-2950 www.khunkrating.go.th

เทศบาลต�ำบล

ขุนกระทิง วิสัยทัศน์

“ส่งเสริมการมีส่วนร่วม ศูนย์รวมการให้บริการ มุ่งสู่การพัฒนาสังคมอย่างยั่งยืน”

สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐาน

เทศบาลต�ำบลขุนกระทิงได้รับการจัดตั้งเป็นองค์การบริหารส่วน ต�ำบลขนาดเล็ก เมือ่ วันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2540 ตามพระราชบัญญัติ สภาต�ำบลและองค์การบริหารส่วนต�ำบล พ.ศ. 2537 ได้ปรับขนาดเป็น องค์การบริหารส่วนต�ำบลขนาดกลางเมื่อวันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2551 และได้รับการยกฐานะจากองค์การบริหารส่วนต�ำบลขุนกระทิงเป็น เทศบาล เมื่อวันที่ 27 ตุลาคม พ.ศ. 2552 เทศบาลต�ำบลขุนกระทิง ประกอบด้วยหมู่บ้านจ�ำนวน 8 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ 1 บ้านกลางนา หมู่ 2 บ้านกลาง หมู่ 3 บ้านวังกะทะ หมู่ 4 บ้านห้วยนนท์ หมู่ 5 บ้านดอนสมอ หมู่ 6 บ้านวัดพระขวาง หมู่ 7 บ้านช่องชะอม หมู่ 8 บ้านหน้าถ�ำ้

นายอภิชัย รอดศิริ

นายกเทศมนตรีเทศบาลต�ำบลขุนกระทิง

80 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย (2

).indd 80

15/12/2560 18:24:45


วัดพระขวาง

โบราณสถานและแหล่งโบราณคดี

• วัดพระขวาง มีตำ� นานเล่ากันต่อๆ มาว่า ครัง้ หนึง่ พระพุทธรูปลอยน�ำ้ มาผุดขวาง อยูก่ ลางคลองชุมพร ซึง่ ไหลผ่านหน้าวัด ชาวบ้านเห็นช่วยกันฉุดลากขึน้ ฝั่งก็ไม่ส�ำเร็จ ต่อมาพระพุทธรูปไปเข้าฝันคนเฒ่าคนแก่ข้างวัด บอกว่า ไม่ต้องฉุดลากท่านหรอก ท่านจะเสด็จขึ้นมาเอง ขอให้สร้างที่อยู่ ให้เสร็จก่อน ชาวบ้านจึงร่วมกันก่อสร้างวิหารขึ้น รุ่งเช้าก็ปรากฏว่า ท่านเสด็จมาประทับในวิหารเรียบร้อยแล้ว ชาวบ้านจึงเรียกพระพุทธรูป นี้ว่า พ่อปู่วัดพระขวางบ้าง หลวงพ่อวัดขวางบ้าง • วัดถ�้ำเขาขุนกระทิง ก่ อ นที่ จ ะสร้ า งวั ด แห่ ง นี้ มี ภู เขาลู ก หนึ่ ง ตั้ ง อยู ่ ก ลางป่ า เปลี่ ย ว ชาวบ้านทัว่ ไปเรียกว่า “เขานามะพร้าว” เป็นภูเขาหินปูนลูกโดด รูปร่าง ภู เขาคล้ า ยวงรี มี ค วามยาวตามแนวทิ ศ เหนื อ – ทิ ศ ใต้ ป ระมาณ 1 กิโลเมตร และมีความกว้างตามแนวทิศตะวันออก – ทิศตะวันตก ประมาณ 450 เมตร ยอดสูงสุดอยู่ทางตอนใต้ของภูเขา สูงประมาณ 148 เมตรจากระดับน�ำ้ ทะเลปานกลาง มีถำ�้ ประดิษฐานพระไสยาสน์อยู่ 1 ถ�้ำ คนโบราณพูดว่าสร้างแต่ครั้งไหนไม่ปรากฏ ต่อมาเมื่อมีถนนสาย เอเชียตัดผ่านหน้าเขา จึงได้ทำ� การจับจองทีด่ นิ เนือ้ ที่ 12-3-9 ไร่ ตัง้ เป็น ส�ำนักสงฆ์อยู่หลายปี และได้รับการจดทะเบียนตั้งเป็นวัดเมื่อปี พ.ศ. 2522 ให้ชื่อว่า “วัดถ�้ำเขาขุนกระทิง” และได้รับวิสุงคามสีมาเมื่อวันที่ 2 เม.ย. 2530 ในทุกๆปีจะมีงานประเพณีขนึ้ ถ�ำ้ ตรงกับวันขึน้ 2 ค�ำ ่ เดือน 5 มีการปิดทองพระไสยาสน์ ในงานนี้มีการละเล่นที่จัดให้มีเป็นประจ�ำ คือ ควายชน

วัดถ�้ำเขาขุนกระทิง

• วัดขุนกระทิง • ส�ำนักสงฆ์ถ�้ำกระทิงทอง

วัดขุนกระทิง

ส�ำนักสงฆ์ถ�้ำกระทิงทอง

CHUMPHON 81 (2

).indd 81

15/12/2560 18:25:14


บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล องค์การบริหารส่วนต�ำบลปากน�้ำ ต�ำบลปากน�้ำชุมพร อ�ำเภอเมือง จังหวัดชุมพร 86120 โทรศัพท์ / แฟกซ์ 0-7752-1353 office@paknamchumporn.go.th WWW.PAKNAMCHUMPORN.GO.TH

องค์การบริหารส่วนต�ำบล

ปากน�้ำ

วิสัยทัศน์

มุ่งการผลิตและจ�ำหน่ายสินค้าเกษตรครบวงจร น�ำการท่องเทีย่ วเชิงคุณภาพ และเสริมสร้างเมืองน่าอยูค่ สู่ งั คมทีย่ งั่ ยืน

องค์การบริหารส่วนต�ำบลปากน�ำ ้ จัดตัง้ ขึน้ ตามมาตรา 40 แห่งพระราช บัญญัตสิ ภาต�ำบล และองค์การบริหารส่วนต�ำบล พ.ศ. 2537 โดยประกาศ กระทรวงมหาดไทย เมือ่ วันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2538 ต�ำบลปากน�ำ้ เป็นต�ำบลหนึง่ ใน 16 ต�ำบลของอ�ำเภอเมืองชุมพร ตัง้ อยู่ ห่างจากตัวเมืองชุมพร ประมาณ 13 กิโลเมตร สภาพพืน้ ทีเ่ ป็นทีร่ าบติดชายฝัง่ ทะเลอ่าวไทย ซึง่ มีพนื้ ทีร่ บั ผิดชอบในเขตขององค์การบริหารส่วนต�ำบลปากน�ำ ้ 20.30 ตารางกิโลเมตร (จ�ำนวนพืน้ ทีท่ งั้ สิน้ 13,799 ไร่) และมีเกาะซึง่ อยูใ่ น ความรับผิดชอบอยู่ 3 เกาะ คือ เกาะง่ามน้อย เกาะง่ามใหญ่ ซึง่ เป็นเกาะรังนก อีแอ่นตามธรรมชาติ และเกาะเสม็ด ซึง่ จะพัฒนาเป็นทีท่ อ่ งเทีย่ วต่อไปใน อนาคต

พันธกิจ

1. การพัฒนาเศรษฐกิจและแก้ไขปัญหาความยากจน 2. การพัฒนาทุนทางสังคม และการพัฒนาทีย่ งั่ ยืน 3. การพัฒนาระบบการเมืองการปกครอง 4. การพัฒนาระบบบริหารจัดการ

นายพงศธร เนื่องชุมพร นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลปากน�้ำ

แผนยุทธศาสตร์พัฒนา

แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา เป็นแผนระยะยาวขององค์การบริหาร ส่วนต�ำบล ที่แสดงถึงการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมขององค์การบริหาร ส่วนต�ำบล ซึง่ ก�ำหนดยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนา โดยก�ำหนดวิสยั ทัศน์ พันธกิจ และจุดมุ่งหมายเพื่อการพัฒนาในอนาคตให้สอดคล้องกับ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนการบริหารราชการแผ่นดิน ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด อ�ำเภอ และแผนชุมชน แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาจึงมีความส�ำคัญต่อองค์การบริหารส่วน ต�ำบลเป็นอย่างยิ่ง ทั้งนี้เนื่องจากแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาเป็นแผน พัฒนาที่มุ่งไปสู่สถานการณ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นในอนาคต เป็นกรอบใน การก�ำหนดทิศทางการพัฒนาขององค์การบริหารส่วนต�ำบล ให้สามารถ จัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจ�ำกัด ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 82 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .

(3

).indd 82

15/12/2560 18:26:24


วัตถุประสงค์ของการจัดท�ำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา

1. เพือ่ เป็นกรอบในการจัดท�ำแผนพัฒนาสามปี 2. เพื่อแสดงถึงความสัมพันธ์และเชื่อมโยงระหว่างแผนยุทธศาสตร์ การพัฒนา แผนพัฒนาสามปีและการจัดท�ำงบประมาณประจ�ำปี 3. เพื่อวางแผนการใช้ทรัพยากรที่มีอย่างจ�ำกัดขององค์กรให้เกิด ประโยชน์สงู สุด 4. เพือ่ ส่งเสริมการมีสว่ นร่วมของประชาชนในการพัฒนาท้องถิน่ 5. เพือ่ ให้เป็นไปตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดท�ำแผน พัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ พ.ศ.2548

แหล่งท่องเที่ยวที่สำ� คัญ

เขามัทรี พระต�ำหนักพระปิยะมหาราช (พลับพลา ร.5) หาดภราดรภาพ

องค์การบริหารส่วนต�ำบลปากน�้ำ

ต�ำบลปากน�ำ้ ชุมพร อ�ำเภอเมือง จังหวัดชุมพร 86120 โทรศัพท์ / แฟกซ์ 0-7752-1353 E-mail : office@paknamchumporn.go.th Website : WWW.PAKNAMCHUMPORN.GO.TH

CHUMPHON 83 .

(3

).indd 83

15/12/2560 18:26:29


84 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .

(3

).indd 84

15/12/2560 18:26:34


บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล

องค์การบริหารส่วนต�ำบล

ทุ่งคา

องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บลทุ ่ ง คา 65/1 หมู ่ ที่ 11 ต� ำ บลทุ ่ ง คา อ�ำเภอเมือง จังหวัดชุมพร 86100 โทรศัพท์ 077-979920 โทรสาร 077-979919 เว็บไซต์ www.thungkha.go.th

องค์การบริหารส่วนต�ำบลทุง่ คา ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 65/1 หมูท่ ี่ 11 ต�ำบลทุง่ คา อ�ำเภอเมือง จังหวัดชุมพร ต�ำบลทุง่ คาประกอบด้วยหมูบ่ า้ น จ�ำนวน 11 หมูบ่ า้ น เป็นหมูบ่ า้ นทีอ่ ยูใ่ นเขตองค์การบริหารส่วนต�ำบลทัง้ 11 หมูบ่ า้ น

นโยบายการบริหาร

ด้ า นการเมื อ งการบริ ห าร เน้นการพัฒนาความรู้ ความเข้าใจ ในการมี ส ่ ว นร่ ว มในกิ จ กรรมการเมื อ งท้ อ งถิ่ น รวมถึ ง การปรั บ ปรุ ง ประสิทธิภาพการบริหารงานขององค์การบริหารส่วนต�ำบล เพือ่ ให้บริการ ประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพและประชาชนมีความพึงพอใจ ด้านการศึกษา มุ่งส่งเสริมการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ส่งเสริม สนับสนุนหน่วยงานทางการศึกษาให้ใช้ภมู ปิ ญ ั ญาท้องถิน่ เป็นแหล่งเรียนรู้ ตลอดจนส่งเสริมการเรียนการสอนภาษาต่างประเทศ และสนับสนุน นโยบายคุณธรรมน�ำความรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ด้านศาสนาและวัฒนธรรม ส่งเสริมสถาบันทางศาสนา ด้วยการปลูกฝัง คุณธรรม จริยธรรม วัฒนธรรม ค่านิยมและภูมิปัญญาท้องถิ่น สนับสนุน ให้มกี ารสืบทอดวัฒนธรรม ประเพณีของทุกหมูบ่ า้ น เพือ่ ส่งมอบเป็นมรดก ทางสังคมให้คนรุ่นหลังต่อไป ด้านสาธารณสุข ส่งเสริมการบริการด้านสาธารณสุขในทุกหมู่บ้าน ทุกชุมชน สนับสนุนให้มสี วัสดิการทางสังคม ตลอดจนให้ความร่วมมือกับ หน่วยงานสาธารณสุขในพื้นที่ พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนให้ มีมาตรฐานสูงขึ้น ด้านสังคมและการป้องกันภัย วางมาตรการให้ความคุ้มครอง ความปลอดภัยในชีวิต และทรัพย์สินของประชาชน มุ่งเน้นการป้องกัน และปราบปราม สร้างชุมชนให้เข้มแข็งรูจ้ กั ป้องกันตนเอง ให้ประชาชนมี ความเชื่อมั่นและอบอุ่นใจ ด้านการมีสว่ นร่วมของประชาชน ส่งเสริมสนับสนุนให้ประชาชนมี ส่วนร่วมในการเมืองการปกครอง การบริหารจัดการ การพัฒนาสังคมและ สิ่งแวดล้อม กล้าที่จะเสนอความคิดเห็น และมีความรู้ความเข้าใจใน บทบาท การตรวจสอบการท�ำงานภาครัฐ ส่งเสริมให้มกี ารตัง้ กลุม่ องค์กร เอกชนเพื่อมุ่งสร้างสังคมให้เข้มแข็ง รู้รักสามัคคี ด้านการน�ำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ มุ่งเน้น การน� ำ ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย งมาเป็ น แนวทางพั ฒ นาอาชี พ และ การด� ำ รงชี วิ ต ยึ ด แนวคิ ด ใช้ ชี วิ ต แต่ พ อดี สู ่ วิ ถี ที่ พ อเพี ย ง ตามแนว พระราชด�ำริ ส่งเสริมให้ใช้ภมู ปิ ญ ั ญาท้องถิน่ ปรับเปลีย่ นวิธคี ดิ และปฏิบตั ิ ลดการใช้จ่ายที่ฟุ่มเฟือย ด้านการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน มุ่งพัฒนา โครงสร้างพื้นฐานให้ครอบคลุมทุกหมู่บ้าน เช่น ประปา ไฟฟ้า ถนน มีการตรวจสอบอย่างสม�่ำเสมอ จุดใดจ�ำเป็นต้องปรับปรุงจะด�ำเนินการ อย่างเร่งด่วน มีเป้าหมายเพื่อขจัดความเดือดร้อนของประชาชน

(1

).indd 85

นายเกียรติศักดิ์ บัวสุวรรณ นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลทุ่งคา

ด้านการดูแลทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมและการท่องเที่ยว เชิงอนุรกั ษ์ ส่งเสริมการจัดระบบก�ำจัดขยะมูลฝอย ควบคูไ่ ปกับการฟืน้ ฟู แหล่งน�้ำธรรมชาติให้ปราศจากมลพิษ ส่งเสริมการปลูกป่า การอนุรักษ์ ป่าไม้ ป่าชายเลน สร้างจิตส�ำนึกร่วมกัน ในการช่วยลดภาวะโลกร้อน เพือ่ ให้ทรัพยากรธรรมชาติในต�ำบลมีความสมบูรณ์แบบยัง่ ยืน เป็นแหล่ง เรียนรู้ของชุมชนและการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ด้านการส่งเสริมอาชีพ ส่งเสริมให้ประชาชนมีอาชีพทีม่ นั่ คง เหมาะ สมกับความรู้ความสามารถ ให้ความรู้ในการท�ำอาชีพเสริม จัดให้มีการ อบรมกลุ่มอาชีพเสริมในลักษณะหลักสูตรเร่งรัดระยะสั้นตามความ ต้องการของประชาชน เพื่อให้ประชาชนพอมี พอกิน อยู่ดี กินดี

นโยบายเร่งด่วน

- จัดให้มีการฝึกอบรมและพัฒนาบุคลากร ขององค์การบริหารส่วน ต�ำบลทุง่ คา สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนต�ำบลทุง่ คา เพือ่ ตระหนักใน หน้าที่ของตนในฐานะตัวแทนประชาชน - การประสานงานกับองค์กร หน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้องกับ การแก้ปัญหาต่างๆ ในเขต อบต.ทุ่งคา CHUMPHON 85 15/12/2560 18:28:01


บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล

องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บลวิ สั ย เหนื อ 49 ม.7 ต.วิสัยเหนือ อ.เมือง จ.ชุมพร 86100 โทรศัพท์ 0-7751-0696 โทรสาร 0-7751-0826 www.wisai-nuea.go.th

องค์การบริหารส่วนต�ำบล วิสัยทัศน์

วิสัยเหนือ

“เสริมสร้างเศรษฐกิจฐานราก เพื่อให้ประชาชนมั่นคง ชุมชนและ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเข้มแข็งและยั่งยืน” สภาพทั่วไป องค์การบริหารส่วนต�ำบลวิสัยเหนือ ตั้งอยู่เลขที่ 49 หมู่ที่ 7 ต�ำบล วิสยั เหนือ อ�ำเภอเมือง จังหวัดชุมพร ยกฐานะจากสภาต�ำบลเป็น องค์การ บริหารส่วนต�ำบล เมือ่ วันที่ 30 มีนาคม 2539 มีเนือ้ ที่ 60.25 ตารางกิโลเมตร หรือ 40,539 ไร่ โดยมีพื้นที่ครอบคลุมต�ำบลวิสัยเหนือทั้งต�ำบล หมู่บ้าน ต�ำบลวิสัยเหนือมีหมู่บ้าน จ�ำนวน 12 หมู่บ้าน 2,605 หลังคาเรือน ประชากรชาย 3,073 คน หญิง 3,290 คน รวมประชากรในหมู่บ้าน จ�ำนวน 6,363 คน

นายช�ำนิ ปิ่นลออ

นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลวิสัยเหนือ

86 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .

(2

).indd 86

15/12/2560 18:29:03


การประกอบอาชีพ ชาวบ้านส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม เนื่องจากมี สภาพดินฟ้าอากาศเหมาสมกับการท�ำการเกษตร พืชเศรษฐกิจ ทีส่ ำ� คัญ ได้แก่ ปาล์มน�ำ้ มัน ยางพารา กาแฟ ทุเรียน มังคุด ลองกอง มะพร้าว และประมงชายฝั่ง เนื่องจากพื้นที่บางส่วนติดทะเล แรงงานบางส่ ว นประกอบอาชี พ รั บ จ้ า งในงานบริ ก าร และ อุตสาหกรรมในเขตอ�ำเภอเมือง ต�ำบลทุ่งคา และอ�ำเภอสวี นอกจากนี้ หลังว่างเว้นจากการเก็บเกีย่ วผลผลิตของตนเอง ก็จะ ไปประกอบอาชีพรับจ้างทั่วไป ในเขตอ�ำเภอเมืองและอ�ำเภอสวี เป็นการชั่วคราว ทั้งงาน อุตสาหกรรมและงานบริการ สถานที่ส�ำคัญ - ส�ำนักสงฆ์เขาเจดีย์ (พระใหญ่) - น�้ำตกแก่งร้อยรู - น�้ำตกวิสัยเหนือ - สระพรุน�้ำหอม - พ่อปู่ฤๅษี สระน�้ำเขาชันโต๊ะ

CHUMPHON 87 .

(2

).indd 87

15/12/2560 18:29:17


บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล

องค์การบริหารส่วนต�ำบล

สลุย

ค�ำขวัญ

องค์การบริหารส่วนต�ำบลสลุย ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 444 “สลุยดี มีพ่อตาหินช้าง กล้วยเล็บมือนางชวนกิน หมูท่ ี่ 7 ต�ำบลสลุย อ�ำเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร 86140 แดนถิน่ ปาล์ม ยางพารา โทรศัพท์ 0-7761-1114 โทรสาร 0-7761-1113 น่าศึกษาหม่อนไหม ศูนย์รวมใจราชประชา” www.saluy.go.th

ประวัติความเป็นมา

สลุย เป็นต�ำบลหนึง่ ในอ�ำเภอท่าแซะ มีประวัตเิ ล่าขานต่อๆ กันมาว่า ในราวปี พ.ศ. 2329 เจ้าผดุงกษัตริย์พม่าได้ยกทัพมาทางปักษ์ใต้ 1 ทัพ ซึ่งมีแกงหวุ่นแมงญี อัครมหาเสนาบดีพม่า ยกทัพมาจากเมืองมะริด มาตีเมืองชุมพร เมืองไชยา และไปล้อม เมืองนครศรีธรรมราชไว้ การท�ำ สงครามครั้งนี้ท�ำให้เกิดการเล่าลือกันต่อๆ มาว่า ชาวบ้านที่ตั้งรกรากอยู่ ในพื้นที่ต�ำบลสลุยในปัจจุบัน จัดเตรียมเสบียงไว้ยามเกิดศึกสงครามและ ในช่วงฤดูแล้ง ได้นำ� ครกต�ำข้าวทิง้ คลองไม่ให้ขา้ ศึกน�ำไปเป็นเครือ่ งมือใน การท�ำเสบียงได้ คงเหลือไว้แต่สากต�ำข้าวมากมาย ชาวบ้านจึงเรียกว่า “สากกะลุย” ค�ำว่า “กะลุย” (ภาษาใต้) แปลว่า มาก ต่อมาเพี้ยนเป็น “สลุย” ในปัจจุบัน

นายปรีดา หิมทอง

นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลสลุย

กิจกรรมเด่น

โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เพื่อสร้างจิตส�ำนึกให้แก่ ประชาชน มีความรักหวงแหนทรัพยากรในท้องถิ่น มีการบริหารจัดการ และใช้ประโยชน์ทรัพยากรอย่างยั่งยืนและคุ้มค่า

วิสัยทัศน์

“พั ฒ นาการท่ อ งเที่ ย ว จั ด ระบบบริ ก าร บริ ห ารมุ ่ ง ผลสั ม ฤทธิ์ สาธารณู ป โภค สาธารณู ป การถ้ ว นทั่ ว เสริ ม สร้ า งระบบการศึ ก ษา เน้ น แนวคิ ด ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ทุ ก เสี ย งเสมอภาค จั ด การ บูรณาการ อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน” 88 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .

(2

).indd 88

15/12/2560 18:30:32


โครงการต�ำบลควบคุมโรคเข้มแข็ง เพือ่ ขับเคลือ่ นการพัฒนาศักยภาพทีมเฝ้าระวัง สอบสวน ป้องกัน ควบคุมโรค ระดับต�ำบลให้มคี วามเข้มแข็งสามารถ เป็นก�ำลังส�ำคัญให้แก่ทมี ระดับหมูบ่ า้ นในการด�ำเนินงานให้มปี ระสิทธิภาพ จนท�ำให้ตำ� บลสลุย เป็นต�ำบลปลอดโรคระบาด ประชาชนมีสขุ ภาพดีถว้ นหน้า

การแพทย์ฉุกเฉินหน่วยกู้ชีพต�ำบลสลุย เพื่อให้บริการประชาชนในการรับ – ส่ง ผู้ป่วยที่ประสบอุบัติเหตุ – เจ็บป่วยฉุกเฉินก่อนถึงโรงพยาบาล ตามระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน มีพนักงาน และอาสากู้ชีพที่สมัครใจเป็นอาสากู้ชีพซึ่งผ่านการฝึกอบรมเป็นพนักงานกู้ชีพ ให้บริการประชาชนใน พื้นที่รับผิดชอบของหน่วยกู้ชีพองค์การบริหารส่วนต�ำบลสลุยและพื้นที่ใกล้เคียง ตามที่ได้รับแจ้งจากศูนย์สั่งการ (1669)

แหล่งท่องเที่ยว

ศาลพ่อตาหินช้างและตลาดชุมชนพ่อตาหินช้าง ศาลพ่อตาหินช้าง เป็นศาลที่ประดิษฐานรูปเคารพอันศักดิ์สิทธิ์ เป็นหินที่มีรูปร่างลักษณะ เหมือนช้างมี 11 เศียร อยู่ริมเชิงเขาติดกับถนนเพชรเกษม เป็นศูนย์รวม ความศรัทธาของประชาชนต�ำบลสลุยและประชาชนทั่วไป พร้อมทั้งเป็น ตลาดชุมชนทีจ่ ำ� หน่ายกล้วยเล็บมือนางสดและแปรรูปทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ในโลก เมือ่ เดินทางเข้าสูจ่ งั หวัดทางภาคใต้ของประเทศไทย ก็จะผ่านจุดท่องเทีย่ ว ศาลพ่อตาหินช้างเป็นอันดับแรก วัดถ�ำ้ พรุตะเคียน ตัง้ อยูบ่ า้ นสะพานหิน หมูท่ ี่ 8 ต�ำบลสลุย ต�ำบลสลุย “มนต์ขลังแห่งความสงบ” โดยมีพระครูโสตกยาธิคุณ หรือหลวงโปร่ง โชติโก เจ้าอาวาส ท่านเป็นพระเกจิอาจารย์ซึ่งมีเมตตาบารมีสูง เป็นที่ ศรัทธาเลือ่ มใสของสาธุชนโดยทัว่ ไป มีถำ�้ พรุตะเคียนทีศ่ กั ดิส์ ทิ ธิแ์ ละเงียบ สงบ เป็ น ที่ ตั้ ง ของพระธาตุ รั ต นเจดี ย ์ อี ก ทั้ ง เป็ น สถานปฏิ บั ติ ธ รรม ให้สาธุชนได้เข้าถึงแก่นแท้ของศาสนาพุทธ ประเพณีรบั ส่งตายายตามสายน�ำ้ เป็นประเพณีทจี่ ดั ขึน้ ณ วัดเนินทอง หมู่ที่ 6 ต�ำบลสลุย อ�ำเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร ประเพณีเก่าแก่สืบทอด กั น มาจากบรรพชน เป็ น การสื บ ทอดและเป็ น แบบอย่ า งใน การแสดงออกซึ่งความกตัญญูต่อผู้มีพระคุณ จัดขึ้นในช่วงเทศกาล วันสารทเดือนสิบของปักษ์ใต้

ผลิตภัณฑ์แปรรูปกล้วยเล็บมือนาง “กล้วยเล็บมือนาง” อุดมไปด้วย โพแทสเซียม ซึง่ เป็นแร่ธาตุจำ� เป็นต่อการท�ำงานของกล้ามเนือ้ และประสาน ควบคุมความดัน การเต้นของหัวใจให้เป็นปกติ กล้วยเล็บมือนางทีป่ ลูกใน พืน้ ทีต่ ำ� บลสลุย มีเอกลักษณ์ประจ�ำถิน่ คือ ผลใหญ่ หอมหวาน รสชาติอร่อย เหมาะส�ำหรับทานผลสดหรือแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ได้หลากหลาย

CHUMPHON 89 .

(2

).indd 89

15/12/2560 18:30:33


9/4-6 ถนนรามอินทรา แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุ งเทพฯ 10220 0-2522-7171 0-2971-7747 088-5790364 (คุณแอน)


ไทย เวี ย ดนาม ร่วมมือต้านประมงผิดกฎหมาย ประเทศไทยและสาธารณรั ฐ สั ง คมนิ ย มเวี ย ดนาม นั บ ว่ า มีสัมพันธไมตรีที่ดีต่อกันมาอย่างยาวนาน เมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2560 ที่ ผ ่ า นมา พลเอกประยุ ท ธ์ จั น ทร์ โ อชา นายกรั ฐ มนตรี และ นายเหวียน เติด๊ ถัญ ่ (H.E. Mr. Nguyen Tat Thanh) เอกอัครราชทูต สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนามประจ�ำประเทศไทย ได้หารือในเรื่อง ความร่วมมือด้านการต่อต้านการท�ำประมงผิดกฎหมาย และหาวิธปี อ้ งกัน ไม่ให้เรือประมงลุกล�้ำน่านน�้ำของกันละกัน รวมถึงความร่วมมือระหว่าง ไทย เวียดนาม ลาว กัมพูชา และเมียนมา ซึ่งทั้งสองฝ่ายเห็นพ้องต้องกัน ในการสร้างความเชื่อมโยงทางด้านคมนาคมขนส่งระหว่างประเทศ โดยเฉพาะทางบกและทางน�้ำ เพื่อเพิ่มมูลค่าการค้า การลงทุน และ การท่องเที่ยวของทุกประเทศมากยิ่งขึ้น ส่ ว นความร่ ว มมื อ ด้ า นแรงงาน พลเอกประยุ ท ธ์ จั น ทร์ โ อชา นายกรัฐมนตรีเน้นย�ำ้ ว่า รัฐบาลไทยจะดูแลแรงงานทุกประเทศอย่างดีทสี่ ดุ และขอให้ แรงงานเวี ย ดนามลงทะเบี ย นอย่ า งถู ก ต้ อ งตามกฎหมาย เพื่อที่จะได้รับสวัสดิการต่างๆ อย่างเต็มที่

AMNAT CHAROEN 91 -

(2).indd 91

15/12/2560 18:32:02


บันทึกเส้นทางพบเทศบาลต�ำบล

ส� ำ นั ก งานเทศบาลต� ำ บลมาบอ� ำ มฤต เลขที่ 111 หมู ่ ที่ 12 ถนนวงศ์วานิช ต�ำบลดอนยาง อ�ำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร 86210 โทรศั พ ท์ : 0-7765-6289,0-7765-6290,0-7765-6292 โทรสาร : 0-7765-6289,0-7765-6290 ต่อ 105 อีเมล์ : admin@mapammarit.go.th

เทศบาลต�ำบล

มาบอ�ำมฤต

นายปานนท์ วงศ์ทิพย์พันธ์ ปลัดเทศบาลต�ำบลมาบอ�ำมฤต ปฏิบัติหน้าที่นายกเทศมนตรีต�ำบลมาบอ�ำมฤต

วิสัยทัศน์

“มาบอ�ำมฤตเมืองน่าอยู่ ประตูสู่ด้ามขวานทอง” โครงการที่ส�ำคัญ

โซล่ า เซลล์ เทศบาลต� ำ บลมาบอ� ำ มฤต ตั้ ง อยู ่ ที่ อ� ำ เภอปะทิ ว จังหวัดชุมพร ได้เข้าร่วมโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกภาคสมัครใจ ตามมาตรฐานของประเทศไทย (T-VER) โดยการด�ำเนินโครงการติดตั้ง ระบบโซล่าเซลล์ศูนย์รู้รักษ์มาบอ�ำมฤตและโรงจอดรถเทศบาลต�ำบล มาบอ�ำมฤต อ�ำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร (Solar Cell Projects atMapammarit Learning Centerand Mapammarit Sub-District Municipality Parking BuildingPatew, Chumphon) การเข้าร่วม โครงการฯ ดั ง กล่ า ว แสดงให้ เ ห็ น ว่ า เทศบาลต� ำ บลมาบอ� ำ มฤต มีเจตนารมณ์ในการมีสว่ นร่วมด�ำเนินการลดภาวะโลกร้อน ผ่านระบบการ รับรองภายใต้เครื่องหมายรับรองขององค์การบริหารจัดการก๊าซเรือน กระจก องค์การมหาชน เทศบาลต�ำบลมาบอ�ำมฤตจึงได้รับโล่โครงการ ลดก๊ า ซเรื อ นกระจกภาคสมั ค รใจตามมาตรฐานแห่ ง ประเทศไทย (Thailand Voluntary Emission Reduction : T-VER) ภายใต้ช่ือ “ร้อยดวงใจ ร่วมใจลดโลกร้อน”

ผลงานดีเด่น

โล่รางวัลหน่วยงานที่ผ่านเกณฑ์ส�ำนักงานสีเขียว (Green Office) ระดับดีมาก จากกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม ในวันที่ 29 มิถุนายน 2559 โครงการส�ำนักงานสีเขียว (Green office) เป็นโครงการส่งเสริม การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในส�ำนักงาน เพื่อลดการใช้พลังงาน ด�ำเนิน กิจกรรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เช่น ลดปริมาณขยะโดยการลดการใช้ การใช้ซ�้ำ การน�ำกลับมาใช้ใหม่ การลดและเลิกใช้สารเคมีอันตราย รวมทั้งการจัดซื้อ จัดจ้างสินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 92 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .

(2

).indd 92

โล่รางวัลซึ่งผ่านการเข้ารอบ 3 เมืองสุดท้าย กิจกรรม Earth Hour City Challenge ในวันที่ 2 เมษายน 2558 ด้วยองค์การกองทุนพิทักษ์ สัตว์ป่าสากลโลก หรือ WWF ซึ่งเป็นองค์การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมระหว่าง ประเทศ ด�ำเนินงานด้านการอนุรักษ์และส่งเสริมการอยู่ร่วมกันระหว่าง มนุษย์และธรรมชาติ ได้ริเริ่ม โครงการ “ปลุกเมืองให้โลกเปลี่ยน” หรือ Earth Hour City Challange (EHCC) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุน ให้เมืองต่างๆ ทัว่ โลก ได้มโี อกาสเผยแพร่ผลการด�ำเนินงานด้านการรักษา สภาพภูมิอากาศ และส่งเสริมให้เกิดเวทีในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ปฏิบัติ การระดับท้องถิ่น ในประเด็นดังกล่าวร่วมกัน รวมทั้งเพื่อเชิดชูและให้ ก�ำลังใจแก่เมืองที่มีผลการด�ำเนินงานในการพิทักษ์ภูมิอากาศที่โดดเด่น

15/12/2560 18:33:07


สถานที่ท่องเที่ยวส�ำคัญ

เจ้าแม่กวนอิมมูลนิธิโรงเจ พระแม่กวนอิม มาบอ�ำมฤต จังหวัดชุมพร สถานที่ตั้ง บ้านมาบอ�ำมฤต เลขที่ 421 หมูที่ 12 ต�ำบลดอนยาง อ�ำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร วัดมาบอ�ำมฤต สถานทีต่ งั้ หมูท่ ี่ 13 ต�ำบลดอนยาง อ�ำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร เป็นวัดที่อยู่คู่กับชาวบ้านมาบอ�ำมฤตมาช้านาน มีรูปปั้น อดีตเจ้าอาวาสวัดมาบอ�ำมฤต หลวงปู่เชื่อม กญฺจโน ที่ใหญ่ที่สุดในโลก หน้าตักกว้าง 9.99 เมตร ขนาดสูง 18.59 เมตร ปัจจุบนั สรีระไม่เน่าเปือ่ ยบรรจุอยูใ่ นโลงแก้ว ซึง่ เป็นทีเคารพนับถือ และศรัทธาของชาวมาบอ�ำมฤตและชุมชนใกล้เคียง ต�ำหนักกรมหลวงชุมพร พระต�ำหนักเสด็จในกรมหลวงชุมพร บ้ า นมาบอ� ำ มฤต จังหวัดชุมพร สถานที่ตั้ง บ้า นมาบอ� ำ มฤต หมู่ที่ 1 ต�ำบลดอนยาง อ�ำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร น�้ำตกมาบอ�ำมฤต (น�้ำตกเขาสีเสียด) สถานที่ตั้ง หมู่ 13 ต�ำบลดอนยาง อ�ำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร การเดินทาง ทางเข้า เป็นถนนข้างโรงเรียนมาบอ�ำมฤตวิทยา ประมาณ 2-3 กม. CHUMPHON 93 .

(2

).indd 93

15/12/2560 18:33:13


ห้บริการ น”

บันทึกเส้นทางพบเทศบาลต�ำบล ส� ำ นั ก งานเทศบาลต� ำ บลนาโพธิ์ ตั้ ง อยู ่ 93 หมู ่ ที่ 5 ต�ำบลนาโพธิ์ อ�ำเภอสวี จังหวัดชุมพร ด�ำเนินการก่อสร้าง ในปี พ.ศ. 2549

เทศบาลต�ำบล

โครงการส�ำคัญ

นาโพธิ์

เขื่อนกั้นน�้ำเซาะตลิ่ง บ้านในลุ่ม เทศบาลต�ำบลนาโพธิ์ เป็นผู้เสนอโครงการให้ชาวชุมชนบ้านในลุ่ม ที่ได้รับความเดือดร้อน จากปัญหาน�้ำเซาะตลิ่งพัง ในการสร้างเขื่อน กัน้ น�ำ้ เซาะตลิง่ และจัดท�ำเป็นทีพ่ กั ผ่อนหย่อนใจของพีน่ อ้ งประชาชนได้ใช้ ซึง่ อยูใ่ นระหว่างการก่อสร้าง คาดว่าเดือนกุมภาพันธ์พ.ศ. 2561 จะแล้วเสร็จ งบประมาณ 20,263,000บาท ประชาชนชุมชนในลุ่ม ไม่ว่าจะมาจาก ทีไ่ หนก็สามารถมาเทีย่ วชมได้ นีก่ เ็ ป็นโครงการหนึง่ ทีเ่ ทศบาลต�ำบลนาโพธิ์ ไม่ได้ใช้งบประมาณของเทศบาล จึงขอขอบพระคุณผู้ประสานงานโดย พล.ต.กลชัยฯ, ส�ำนักโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดชุมพร และผูม้ สี ว่ นร่วม ทุกๆคน จนงานประสบความส�ำเร็จ โดย โครงการที่จะด�ำเนินการต่อไป คือเขื่อนกั้นน�้ำเซาะตลิ่งพัง อีก 2 ช่วง คือ ช่วงที่ 1 หัวสะพานปูน – ถึงบ้านอิงน�ำ ้ ประมาณ 300 เมตร ช่วงที่ 2 บ้านคุณโกศล – โค้งวัดแหลมปอ ประมาณ 500 เมตร ซึ่งได้ท�ำหนังสือผ่านผู้อ�ำนวยการส�ำนักโยธาธิการ และผังเมืองจังหวัดชุมพรแล้ว ซึ่งอยู่ระหว่างการอนุมัติ

นายณัฐพล ใจสะอาด

นายกเทศมนตรีเทศบาลต�ำบลนาโพธิ์

94 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย (2

).indd 94

15/12/2560 18:34:18


ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเทศบาลต�ำบลนาโพธิ์

นายณัฐพล ใจสะอาด ได้รับเลือกตั้งจากพี่น้องประชาชนเป็น นายกเทศมนตรี สมัยที่ 3 ผมได้มีการหารือกับผู้อ�ำนวยการกองช่างว่ามี แบบส�ำหรับท�ำการก่อสร้างศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยหรือไม่ และมีประมาณการเท่าไหร่ ซึ่งมีการศึกษาดูแบบแปลน หลังจากนั้น ผู้อ�ำนวยการกองช่างได้ด�ำเนินการประมาณราคา ซึ่งราคาที่ได้ประมาณ คือ 5,500,000 กว่าบาท หลังจากนัน้ ผมได้ตดิ ต่อประสานงานไปยังกิจการการส่งเสริมเทศบาล เพือ่ ขอกูเ้ งิน โดยทางวิศวกรของทางเทศบาลด�ำเนินการประมาณราคาเพือ่ ส่ง รายการดังกล่าวให้กับทางกิจการส่งเสริมเทศบาลปรากฏว่าวิศวกรของ เทศบาลประมาณราคาเป็นจ�ำนวนเงิน 4,900,000 กว่าบาท ซึง่ มีราคาลดลง จากราคาเดิ ม ประมาณ 600,000 บาท และจั ด ส่ ง ไปให้ กิ จ การ ส่งเสริมเทศบาลซึง่ ทางกิจการส่งเสริมเทศบาลก็ได้ประมาณราคาออกมา ซึ่งเป็นจ�ำนวนเงินที่เหมือนกับประมาณราคาที่ทางวิศวกรของเทศบาล ประมาณราคาส่งให้หลังจากนั้นก็ได้ดำ� เนินการขอกู้เงินเพื่อจัดสร้างศูนย์ ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยฯ จนแล้วเสร็จทัง้ ขอกูแ้ ละก่อสร้างโดยใช้ระยะ เวลา 1 ปี เท่านั้น ซึ่งเป็นศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเทศบาล ต�ำบลนาโพธิท์ ใี่ ช้เป็นสถานทีป่ ฏิบตั งิ านในปัจจุบนั ก่อนหน้านีร้ ถดับเพลิง

นายณัฐพล ใจสะอาด นายกเทศมนตรีเทศบาลต�ำบลนาโพธิ์ ไปเป็นประธาน มอบทุนการศึกษาของนักเรียนโรงเรียนสวีวิทยา ประจ�ำปี 2560 จ�ำนวน 517 ทุน เป็นเงิน 967,000 บาท

รถน�ำ้ ทุกคัน ต้องจอดตากแดด ตากฝน ตลอด 4-5 ปี ท�ำให้รถและยางล้อรถ ทรุดโทรมเป็นอันมาก ปัจจุบันเป็นสถานที่ส�ำหรับจอดรถดับเพลิงได้ 6 คัน และเป็นที่ ส�ำหรับเก็บวัสดุอุปกรณ์อื่นๆ อีกจ�ำนวนมาก ไม่ว่าจะเป็นเรือ ที่มีไว้ ส�ำหรับช่วยอุทกภัย รวมจ�ำนวน 7 ล�ำ รถดับเพลิง จ�ำนวน 4 คัน รถบรรทุกกิ่งไม้และขยะต่างๆ 2 คัน รถกระบะอีก 3-4 คัน โดยมีที่จอด รถได้เพียงพอ เพื่อท�ำให้งานบรรลุเป้าหมาย

นายอ�ำเภอสวี นายกเทศมนตรีเทศบาลต�ำบลนาโพธิ์ หัวหน้าส่วนราชการ ร่วมเปิดตลาดประชารัฐท้องถิ่นสุขใจ CHUMPHON 95 (2

).indd 95

นายอ�ำเภอสวี นายกเทศมนตรีเทศบาลต�ำบลนาโพธิ์

15/12/2560 18:34:19


บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล องค์การบริหารส่วนต�ำบลสวี 13/2 หมู่ 4 ต�ำบลสวี อ�ำเภอสวี จังหวัดชุมพร 86130 โทรศัพท์ 077-531407 โทรสาร 077-531407 เว็บไซต์ www.sawee.go.th

องค์การบริหารส่วนต�ำบล ข้อมูลทั่วไป

สวี

ที่ท�ำการองค์การบริหารส่วนต�ำบลสวี ตั้งอยู่บริเวณศูนย์ราชการ อ�ำเภอสวี หมู่ที่ 4 ต�ำบลสวี สภาพพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ราบเหมาะสม ส�ำหรับ ท�ำการเกษตร โดยมีแม่นำ�้ สวีอยูท่ างทิศใต้เป็นแนวติดต่อกับต�ำบล นาโพธิแ์ ละมีคลองพะงุน้ อยูท่ างทิศเหนือเป็นแนวเขตติดต่อกับต�ำบลครน

กระทรวงมหาดไทยได้ ป ระกาศยกฐานะสภาต� ำ บลสวี เป็นองค์การบริหารส่วนต�ำบลสวี เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2540 และหลังจากนั้นกระทรวงมหาดไทยได้ประกาศยุบสภา ต� ำ บลปากแพรกร่ ว มกั บ องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บลสวี มีผลตั้งแต่ 9 กรกฏาคม 2547 จนถึงปัจจุบัน องค์การบริหาร ส่วนต�ำบลสวี รับผิดชอบ 2 ต�ำบล คือ ต�ำบลสวี 4 หมู่บ้าน ต�ำบลปากแพรก 6 หมู่บ้าน รวม 10 หมู่บ้าน พื้นที่ 56 ตาราง กิโลเมตร มีประชากรทั้งสิ้น 4,583 คน

นายสุรชัย แดงละอุ่น

นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลสวี

96 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .

(2

).indd 96

15/12/2560 18:35:39


ผลการพัฒนา

การด�ำเนินงานด้านเศรษฐกิจ มีการรวมกลุม่ ตามโครงการเศรษฐกิจ ชุมชนพึ่งตนเองให้กับราษฎรในหมู่บ้านเลี้ยงสัตว์น�้ำ,ท�ำสวนยางพารา, กลุ่มผูกผ้าบ้านโพธิ์ศรี, ท�ำสวนปาล์มน�้ำมัน การด�ำเนินงานด้านสังคม เน้นการพัฒนาเกีย่ วกับคุณภาพชีวติ ของ ประชาชน การพ่นหมอกควันตามหมูบ่ า้ นและชุมชนทีเ่ ห็นว่าเสีย่ งต่อการ เป็นโรคไข้เลือดออก การจัดงานวันกตัญญู ส่งเสริมการแข่งขันกีฬาอย่าง ต่อเนื่อง การด�ำเนินงานด้านโครงสร้างพื้นฐาน เน้นการพัฒนาทางด้าน กายภาพเกี่ยวกับสาธารณูปโภค สาธารณูปการต่างๆ เพื่อยกระดับ ความเป็นอยูแ่ ละอ�ำนวยความสะดวกในชุมชน เช่น ถนน ประปา ปรับปรุง ระบบไฟฟ้า เป็นต้น การด�ำเนินงานด้านพัฒนาแหล่งน�้ำ เน้นการพัฒนาแหล่งน�้ำเพื่อ การอุปโภค บริโภค โดยขยายท่อจ่ายน�้ำประปา ขุดสระน�้ำเพื่อเพิ่มก�ำลัง การผลิตประปา การด� ำ เนิ น งานด้ า นสาธารณสุ ข ส่ ง เสริ ม ให้ ร าษฎรมี สุ ข ภาพ พลานามัยที่สมบูรณ์ รณรงค์ให้ความรู้ด้านการฉีดวัคซีนเพื่อป้องกัน โรคพิษสุนขั บ้า โรคโปลิโอ ก�ำจัดแหล่งเพาะพันธุย์ งุ ลายตามสถานทีต่ า่ งๆ อุดหนุนงานด้านสาธารณสุข การด�ำเนินงานด้านการเมือง ส่งเสริมการเลือกตั้งระบบ รณรงค์ให้ ประชาชนไปใช้สิทธิเลือกตั้งทุกระดับ ตลอดจนมีส่วนร่วมในการพัฒนา ต�ำบลในรูปแบบของประชาคมต่างๆ การด�ำเนินงานด้านการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สนับสนุน และส่งเสริมการศึกษาให้กับประชาชนเยาวชนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน จัดกิจกรรมวันเด็ก ส่งเสริมการจัดงานประเพณีเก่าแก่ของท้องถิ่น เช่น งานห่มผ้าพระบรมธาตุสวี วัดพระบรมธาตุสวี การจัดงานแข่งขันเรือยาว ขึ้นโขนชิงธง วัดดอนสะท้อน วันกตัญญู วัดแหลมปอ วันรดน�้ำผู้สูงอายุ วัดเชิงคีรี การด�ำเนินงานด้านทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดล้อม การสร้าง จิตส�ำนึกในการรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม อนุรกั ษ์แหล่งน�ำ้ และป่ า ไม้ การปลู ก ต้ น ไม้ ตามแนวพระราชเสาวนี ย ์ ข องสมเด็ จ พระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ อนุรักษ์ป่าชายเลน เป็นต้น

CHUMPHON 97 .

(2

).indd 97

15/12/2560 18:35:40


o.th

บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล

องค์การบริหารส่วนต�ำบล

เขาทะลุ

นายพนม เพชรจร

งานวันผู้สูงอายุและงานสงกรานต์

นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลเขาทะลุ นายพนม เพชรจร เป็นคนเขาทะลุโดยก�ำเนิด เกิดปี พ.ศ. 2490 จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนสวนศรีวิทยา อ�ำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร และอุทศิ ตนเพือ่ สังคมในต�ำบลเขาทะลุ บ้านเกิดของตนตั้งแต่ พ.ศ. 2515 ได้ท�ำหน้าที่เป็นผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน ต่อมาปี พ.ศ. 2517 ได้รับเลือกตั้งเป็นผู้ใหญ่บ้าน พ.ศ. 2523 ได้รับ เลือกเป็นก�ำนันต�ำบลเขาทะลุ และในปี พ.ศ. 2541 ได้รับรางวัล ก�ำนันยอดเยี่ยม“ก�ำนันแหนบทอง” จนเกษียณอายุ ปี พ.ศ. 2550 ภายหลั ง เกษี ย ณอายุ ไ ด้ ร ่ ว มก่ อ ตั้ ง ชมรมผู ้ สู ง อายุ ใ นพื้ น ที่ ต�ำบลเขาทะลุ และได้รบั เลือกเป็นประธานสาขาสภาผูส้ งู อายุจงั หวัด ชุมพร เมือ่ ปี พ.ศ. 2553 ต่อมาในปี พ.ศ. 2555 ได้ลงสมัครรับเลือก ตั้ ง นายกองค์ ก ารบริหารส่ว นต�ำบล และได้รับ เลือ กเป็ น นายก องค์การบริหารส่วนต�ำบลเขาทะลุ ตั้งแต่วันที่ 14 ตุลาคม 2555 จนถึงปัจจุบนั ตลอดระยะเวลาได้อทุ ศิ ตนด้วยแรงกายและทรัพย์สนิ ส่ ว นตั ว ให้ แ ก่ สั ง คมและราชการ ที่ ส� ำ คั ญ สามารถน� ำ มาเป็ น อนุสรณ์ชีวิต ดังนี้ 1. มอบทีด่ นิ โฉนด เนือ้ ที่ 5 ไร่เศษ ให้แก่สถานีตำ� รวจภูธรนาสัก เพือ่ ใช้เป็นสถานทีก่ อ่ สร้างสถานีตำ� รวจภูธรนาสัก ซึง่ เป็นส�ำนักงานทีใ่ ช้ ในปัจจุบนั 2. มอบที่ดินโฉนด เนื้อที่ 1 งาน ให้แก่องค์การโทรศัพท์ (TOT) เพื่อใช้สำ� หรับตั้งเสาสัญญาณโทรศัพท์ปัจจุบัน 3. มอบที่ดินโฉนด เนื้อที่ 2 ไร่ 1 งาน 46 วา ให้แก่องค์การ บริหารส่วนต�ำบลเขาทะลุ เพือ่ ใช้เป็นสถานทีก่ อ่ สร้างอาคารทีท่ ำ� การ องค์การบริหารส่วนต�ำบลเขาทะลุปัจจุบัน คติธรรมน�ำชีวิต “เป็นผู้น�ำทั้งที ต้องท�ำดีให้ปรากฏ” คติธรรมด้านการเสียสละ “สิง่ ทัง้ หลายทีใ่ ห้เขา นัน่ แหละเป็น สิ่งของของเราโดยแท้”

นายพนม เพชรจร มอบโฉนดที่ดินก่อสร้างอาคาร อบต.เขาทะลุ แก่รองผู้ว่าราชการจังหวัดชุมพร

กิจกรรมปั่นเพื่อพ่อ “BIKE FOR DAD”

ก่อสร้างฝายมีชีวิต

98 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย 2

.indd 98

16/12/2560 10:45:19


ค�ำขวัญต�ำบลเขาทะลุ ภูผาสูง ทิวทัศน์สวย มากด้วยกาแฟ แลถ�้ำธารลอด สุดยอดโอทอป แหล่งค้นพบอารยธรรม วิสัยทัศน์ตำ� บลเขาทะลุ สังคมน่าอยู่ หมู่บ้านพัฒนา ประชาชนมีส่วนร่วม นายก อบต.เขาทะลุ ต้อนรับผู้ว่าราชการจังหวัดชุมพร ชุมชนน่าอยู่เขาทะลุ

ประวัติความเป็นมาของต�ำบลเขาทะลุโดยสังเขป

ต�ำบลเขาทะลุ เดิมขึน้ กับอ�ำเภอละอุน่ จังหวัดระนอง มี 3 หมูบ่ า้ น เมื่อปี พ.ศ. 2493 ได้โอนมาขึ้นอยู่กับอ�ำเภอสวี จังหวัดชุมพร ปัจจุบัน มี 11 หมูบ่ า้ นประชากรจ�ำนวน 7,340 คน ต�ำบลเขาทะลุยกฐานะจาก สภาต�ำบลเป็นองค์การบริหารส่วนต�ำบล เมื่อปี พ.ศ. 2539 เดิมใช้ ศาลาเอนกประสงค์ ข องต� ำ บล ซึ่ ง เป็ น ที่ ร าชพั ส ดุ ข องโรงเรี ย น บ้านเขาทะลุใช้เป็นทีท่ ำ� การองค์การบริหารส่วนต�ำบล ต่อมาปี พ.ศ. 2557 ได้รับอุทิศที่ดินโฉนด เนื้อที่ 2 ไร่ 1 งาน 46 วา จากนายพนม เพชรจร เพือ่ ใช้สำ� หรับก่อสร้างอาคารส�ำนักงานองค์การบริหารส่วนต�ำบลเขาทะลุ และได้ยา้ ยมายังส�ำนักงานใหม่ ตัง้ แต่เดือนเมษายน พ.ศ. 2558 จนถึง ปัจจุบัน ยามค�ำ่ คืนของเขาทะลุ

จุดชมทะเลหมอกดอยตาปัง

CHUMPHON 99 2

.indd 99

16/12/2560 10:45:20


บันทึกเส้นทางพบเทศบาลต�ำบล ส� ำนั ก งานเทศบาลต� ำบลทุ ่ ง ตะไคร หมู ่ ที่ 6 ต�ำ บลทุ่งตะไคร อ�ำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร 86220 โทรศัพท์ :077-536-700-1 โทรสาร :077-536-700-1 ต่อ 24 www.thungtakrai.go.th

เทศบาลต�ำบล

วิสัยทัศน์

ทุ่งตะไคร

“ทุ่งตะไครมุ่งพัฒนาคุณภาพชีวิตด้วยวิถีพอเพียง อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม พร้อมโครงสร้างพื้นฐานที่ดี”

ข้อมูลทั่วไป

ส�ำนักงานเทศบาลต�ำบลทุ่งตะไคร ตั้งอยู่ถนนสายเขาปีบ เขาทะลุ หมู่ที่ 6 ต�ำบลทุ่งตะไคร อ�ำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร ต�ำบลทุ่งตะไคร เป็นต�ำบลหนึง่ ในสีต่ ำ� บลของอ�ำเภอทุง่ ตะโก จังหวัดชุมพร มีพนื้ ทีท่ งั้ หมด ประมาณ 64.8064 ตารางกิ โ ลเมตร หรื อ ประมาณ 40,504 ไร่ เทศบาลต�ำบลทุง่ ตะไคร เดิมมีฐานะเป็นสภาต�ำบลชือ่ ว่า “สภาต�ำบลทุง่ ตะไคร” ต่ อ มาโดยพระราชบัญ ญัติสภาต�ำบลและองค์ก ารบริ ห ารส่ ว นต�ำ บล พ.ศ. 2537 และกระทรวงมหาดไทยได้ประกาศจัดตั้งให้เป็นองค์การ บริหารส่วนต�ำบลทุ่งตะไคร เมื่อวันที่ 19 มกราคม 2539 และได้ยกฐานะ เป็นเทศบาลต�ำบลทุ่งตะไคร เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2551

นายบุญส่ง ขาวศิริ

นายกเทศมนตรีเทศบาลต�ำบลทุ่งตะไคร

100 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .

(3

).indd 100

16/12/2560 10:43:00


โครงการส�ำคัญ

นอกเหนือจากการดูแลเรื่องสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานให้น�้ำไหล ไฟสว่าง ทางสะดวก แล้วสิ่งส�ำคัญที่สุด คือ เรื่องสุขภาพ อนามัยและ สิ่งแวดล้อม เทศบาลต�ำบลทุ่งตะไคร ได้ให้ความส�ำคัญ ไม่ว่าจะเป็นการ ดูแลเรื่องสุขภาพ โดยได้ร่วมกับอ�ำเภอทุ่งตะโก ส�ำนักงานสาธารณสุข อ�ำเภอ โรงพยาบาล โรงเรียนและวัด ท�ำโครงการ “ทุ่งตะโกโมเดล” ขึ้น โดยในปี พ.ศ. 2557 ได้รับโล่รางวัล “องค์กรต้นแบบ” ในการท�ำงาน แบบบูรณาการ จากกระทรวงสาธารณสุข นอกจากนีย้ งั มีกจิ กรรมส่งเสริม อสม.ในการดูแลผู้สูงอายุ ดูแลแม่วัยใส เพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ดูแลเด็กเล็กในศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก การดูแลเด็กปฐมวัยทัง้ การป้องกันการ จมน�้ำ การป้องกันยาเสพติด การช่วยเหลือผู้ยากไร้ในการสร้างบ้าน ซ่อมแซมบ้านโดยน�ำมาขึ้นโต๊ะในระดับอ�ำเภอและด�ำเนินการ รายการคนค้นคนได้มาถ่ายท�ำ เก้าเมืองทีพ่ อ่ สร้าง ก้าวย่างทีล่ กู ตาม ไปออกรายการเฉลิมพระเกียรติให้ในช่วงทีพ่ ระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงครองราชย์อยู่ สิ่งส� ำคัญที่ เทศบาลก�ำลังด�ำเนินการคือ โครงการคัดแยกขยะจากต้นทางเพื่อลด ปริมาณขยะ ซึ่งมีประมาณวันละ 5 ตัน โดยการส่งเสริมชุมชนต้นแบบ คัดแยกขยะในหมู่ที่ 3 และส่งเสริมให้โรงเรียนจัดการขยะ โดยจัดตั้ง ธนาคารขยะทุกโรงเรียน โดยเฉพาะโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 3 ได้น�ำไปต่อยอดในฐานะที่เป็นโรงเรียนสุขภาพระดับเพชรและโรงเรียน รางวัลพระราชทาน น�ำขยะไปผลิตเป็นน�้ำมันให้เด็กน�ำมาใช้ประโยชน์ ในส่วนของอาหารเทศบาลได้น�ำไปผลิตเป็นปุย๋ ให้ประชาชนน�ำไปใช้ตอ่ ไป CHUMPHON 101 .

(3

).indd 101

16/12/2560 10:43:06


พระพุทธรูปวัดทุ่งโพธิ์ทอง พระพุทธ รู ป ปางมารวิ ชั ย วั ด ทุ ่ ง โพธิ์ ท อง ชื่ อ พระ สุวรรณโคดม เป็นพระพุทธรูปที่ประชาชน ชาวทุ่งตะไครร่วมกันสร้างถวายในวโรกาส ครบรอบ 100 วันของการเสด็จสวรรคต ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ล อดุลยเดช บรมนาถบพิตร เริ่มก่อสร้างตั้งแต่ เริ่มพิธีสวดในอาทิตย์ที่สอง เพื่อร�ำลึกใน พระมหากรุณาธิคุณอันหาที่สุดไม่ได้ที่มีต่อ ปวงชนชาวไทยตลอด 70 ปี ที่พระองค์ ทรงเสด็ จ ขึ้ น ครองราชย์ ส มบั ติ และ ประชาชนจะร่วมเวียนเทียนรอบองค์พระใน วันส�ำคัญทางพุทธศาสนาของทุกปี

บุคคลและสถานที่ส�ำคัญ

พระมุนีสารโสภณ เป็นที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดชุมพร เป็นพระเกจิที่ประชาชนจังหวัดชุมพรให้ ความเคารพนับถือ มีความศักดิ์สิทธิ์เกี่ยวกับเรื่องอยู่ยงคงกระพัน แคล้วคลาดและความปลอดภัยจาก อุบัติเหตุทางรถยนต์ ทุกคนต่างขนานนามว่าเป็นพระที่วาจาสิทธิ์ ปัจจุบันนี้มีชื่อเสียงโด่งดังไป ทั่วประเทศ ได้รับการโปรดเกล้าฯ ให้เข้าเจริญพระพุทธมนต์ถึงในส�ำนักพระราชวังหลายครั้ง พระธาตุ มุ จ ลิ น ทร์ เป็ น พระธาตุ เ ก่ า แก่ อ ายุ รุ ่ น ราวคราวเดี ย วกั บ พระธาตุ น ครศรี ธ รรมราช และพระบรมธาตุสวี แต่มีขนาดเล็กกว่า เชื่อกันว่าเป็นที่บรรจุอัฐิของคนในพระราชวงศ์ที่ยกทัพลงมา รบทางภาคใต้สมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์ หากมีคณะมโนราห์หรือหนังตะลุงผ่านบริเวณพระธาตุ ถ้าไม่มี การร�ำถวายก่อนจะไม่สามารถไปแสดงต่อได้ และทางเทศบาลต�ำบลทุง่ ตะไครได้จดั ให้มปี ระเพณีสรงน�ำ้ พระธาตุในวันที่ 15 เมษายนของทุกปี โดยเป็นประเพณีที่มีประชาชนที่ไปอยู่ต่างจังหวัดจะต้องกลับมา ร่วมงานเพราะความศรัทธา พ่อท่านในถ�้ำเขาปีบ ก่อสร้างตั้งแต่ พ.ศ. 2453 ซึ่งเป็นช่วงที่มีการก่อสร้างทางรถไฟเกิดเจ็บป่วย จากไข้ป่าไม่สามารถสร้างทางรถไฟต่อได้ จึงได้ขอพรจากสิ่งศักดิ์สิทธิ์ว่าหากสร้างทางได้ส�ำเร็จจะสร้าง พระพุทธรูปองค์ใหญ่ถวาย และก็ส�ำเร็จจริงๆ จึงได้ท�ำการสร้างพระพุทธรูปปางมารวิชัยขนาดหน้าตัก กว้าง 8 เมตร สูง 10 เมตร ประดิษฐานไว้ในถ�ำ้ มาตั้งแต่บัดนั้น ซึ่งเชื่อกันว่ามีความศักดิ์สิทธิ์ในเรื่องการ ขอบุตร หากครอบครัวไหนไม่มีบุตรสามารถมาบนบานขอจากพ่อท่านองค์ใหญ่ถ�้ำเขาปีบได้ และทาง เทศบาลต�ำบลทุ่งตะไครได้จัดให้มีประเพณีสรงน�้ำพ่อท่านในถ�้ำ ในวันที่ 13 เมษายน ของทุกปี

พระมุนสี ารโสภณ ทีป่ รึกษาเจ้าคณะจังหวัดชุมพร (ธรรมยุต) วัดธรรมถาวร อ.ทุง่ ตะโก จ.ชุมพร

102 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .

(3

).indd 102

16/12/2560 10:43:14


ไทยจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรม ชายแดนไทย - กัมพูชา

รองประธานกลุม่ ธุรกิจ ที.เค.กรุป๊ นายสิทธิโชค จตุรเจริญคุณ กล่ า วถึ ง ลู ่ ท างในการเข้ า มาลงทุ น ธุ ร กิ จ เสื้ อ ผ้ า ในเขต อุตสาหกรรมชายแดนไทย - กัมพูชา ในพื้นที่อ�ำเภอศรีโสภณ จังหวัดบันเตียเมียนเจย ประเทศกัมพูชา ว่าเริม่ แรกได้ประกอบ ธุรกิจเสื้อผ้าในประเทศไทยมานานกว่า 30 ปี จากนั้นได้ ขยายการลงทุนมาท�ำธุรกิจด้านร้านอาหาร โรงแรม และ การท่องเที่ยวที่กรุงพนมเปญ และเสียมเรียบ ล่าสุดได้ขยาย ธุ ร กิ จ ท� ำ โรงงานผลิ ต เสื้ อ ผ้ า ในเขตอุ ต สาหกรรมชายแดน ไทย - กัมพูชา อ�ำเภอศรีโสภณ โดยรัฐบาลกัมพูชาได้สนับสนุนการลงทุนจากต่างประเทศ เป็นอย่างดี ประกอบกับมีพื้นที่ติดต่อกับจังหวัดสระแก้วของ ประเทศไทย ท�ำให้การขนส่งมีความสะดวกและรวดเร็วมากขึน้ รวมทั้งการเปิดประชาคมอาเซียน ถือว่าส่งผลดีในหลายด้าน ก่อให้เกิดความร่วมมือระหว่างประเทศอาเซียนชัดเจนมากขึ้น AMNAT CHAROEN 103 2.

.indd 103

16/12/2560 10:35:27


บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล

องค์การบริหารส่วนต�ำบลตะโก หมู่ที่ 8 ต�ำบลตะโก อ�ำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร 86220 โทรศัพท์ 077-630358 โทรสาร 077-630359 , เว็บไซต์ www.tako.go.th Facebook : องค์การบริหารส่วนต�ำบลตะโก อ�ำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร

องค์การบริหารส่วนต�ำบล

ตะโก

ข้อมูลพื้นฐาน

ที่ ท� ำ ก า ร อ ง ค ์ ก า ร บริ ห ารส่ ว นต� ำ บลตะโก ตัง้ อยูท่ ี่ หมูท่ ี่ 8 บ้านเขาเหรง ต�ำบลตะโก อ�ำเภอทุ่งตะโก จั ง หวั ด ชุ ม พร แบ่ ง การ ปกครองออกเป็ น 14 หมู ่ บ ้ า น มี เ นื้ อ ที่ ทั้ ง หมด 127 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 79,375 ไร่ มีจำ� นวนครัวเรือน 3,483 ครัวเรือน มีประชากรทั้งหมด 9,100 คน ระยะทางจากถนนสายเอเชีย 41 เข้าถึงที่ท�ำการองค์การบริหารส่วนต�ำบลตะโก ประมาณ 150 เมตร

นายสัมฤทธิ์ รุ่งช่วง

นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลตะโก

104 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .

(2

).indd 104

16/12/2560 10:41:11


สถานที่ท่องเที่ยวส�ำคัญ

ถ�้ำฉานเรน

ถ�้ำฉานเรน ตั้งอยู่หมู่ที่ 10 บ้านฉานเรน ต�ำบลตะโก อ�ำเภอทุ่งตะโก จั ง หวั ด ชุ ม พร เป็ น แหล่ ง โบราณคดี และเป็ น สถานที่ ส� ำ คั ญ ทาง ประวัติศาสตร์ยุคโบราณแห่งหนึ่งของอ�ำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร ภายในถ�้ำมีความสวยงามของหินงอก หินย้อย จากการส�ำรวจของกรม ศิลปากร พบว่า บริเวณนี้มีเศษภาชนะดินเผา กระจัดกระจายภายในถ�้ำ จ�ำนวนมาก สันนิษฐานได้ว่าอาจเป็นที่อยู่อาศัยของมนุษย์ก่อนสมัย ประวัติศาสตร์ยุคหินใหม่ ซึ่งปัจจุบันกรมศิลปากร ได้น�ำเครื่องปั้นดินเผา และโครงกระดูกมนุษย์โบราณ ไปจัดแสดงไว้ที่พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ จังหวัดชุมพร ถ�้ำฉานเรนอยู่ห่างจากถนนสายเอเชีย 41 ประมาณ 15 กิโลเมตร น�้ำตกคลองเพราหรือน�้ำตกทับช้าง ตั้งอยู่ที่หมู่ที่ 5 บ้านทับช้าง ต�ำบลตะโก อ�ำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร เป็นน�้ำตกขนาดใหญ่กลางป่า มีความสวยงามมาก มีน�้ำไหลตลอดปี มีทั้งหมด 4 ชั้น ชั้นที่ 3 เป็นชั้นที่ น�้ำโจนสูงสุดถึง 16 เมตร อีกทั้งยังสามารถน�ำเต็นท์มากางเพื่อพักผ่อน หย่อนใจในยามว่าง โดยมีเจ้าหน้าที่ของทางอุทยานแห่งชาติน�้ำตกคลอง เพราคอยอ�ำนวยความสะดวกและรักษาความปลอดภัย การเดินทางระยะ ทางจากถนนสายเอเชีย 41 ถึงน�้ำตกคลองเพรา ประมาณ 14 กิโลเมตร ป่าชายเลน ตั้งอยู่ที่หมู่ที่ 6 บ้านควนดิน และหมู่ที่ 9 บ้านควนเสา ธง ต�ำบลตะโก อ�ำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร โดยมีความยาวรวมของ ป่าชายเลน ประมาณ 1 กิโลเมตร ซึ่งมีทัศนียภาพสองฝั่งที่สมบูรณ์และ สวยงามมาก ป่าชายเลนหรือป่าโกงกางคือกลุ่มของสังคมพืชซึ่งอยู่ใน เขตน�ำ้ ลงต�ำ่ สุด และน�ำ้ ขึน้ สูงสุดบริเวณชายฝัง่ ทะเล ปากแม่นำ�้ ป่าชายเลน เป็นบริเวณทีอ่ ยูอ่ าศัยของสิง่ มีชวี ติ หลายชนิด ทัง้ พืชและสัตว์ ป่าชายเลน จึงให้ประโยชน์แก่ช าวต�ำบลตะโกมากมาย ทั้งในด้านพลังงานและ ไม้ใช้สอย ตลอดจนเป็นแหล่งผลิตอาหารโปรตีนทีส่ ำ� คัญเนือ่ งจากป่าชาย เลนเป็นที่วางไข่ แหล่งอาหารและเจริญเติบโตของสัตว์น�้ำเศรษฐกิจ นานาชนิด ระยะทางจากถนนสายเอเชีย 41 ถึงป่าชายเลนหมู่ที่ 6 และ หมู่ที่ 9 ประมาณ 6 กิโลเมตร วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีชุมพร ตั้งอยู่ที่หมู่ที่ 8 บ้านเขาเหรง ต�ำบลตะโก อ�ำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร ติดกับถนนสายเอเชีย 41 ซึ่งเป็นสถาบันการศึกษาถึงระดับปริญญาตรี เหมาะส�ำหรับการพักผ่อน หย่อนใจ มีต้นไม้ร่มรื่น มีเนื้อที่ทั้งหมด จ�ำนวน 2,400 ไร่ ประกอบกับมี สถานที่นั่งจิบกาแฟสดๆ รสชาติกลมกล่อม มีสินค้า OTOP และของฝาก ไว้จ�ำหน่ายให้กับนักท่องเที่ยว มีห้องน�้ำที่สะอาด มีฟาร์มปศุสัตว์หลาก หลายชนิดและมีพันธุ์ไม้นานาพรรณ

น�ำ้ ตกคลองเพราหรือน�ำ้ ตกทับช้าง

ป่าชายเลน

วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีชุมพร

รอยพระพุ ท ธบาทจ� ำ ลอง ตั้ ง อยู ่ ที่ ห มู ่ ที่ 9 บ้ า นควนเสาธง ต�ำบลตะโก อ�ำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร เป็นสถานที่ท่องเที่ยวอีกแห่ง หนึง่ ในต�ำบลตะโก โดยได้มกี ารจัดงานประเพณีปดิ ทอง รอยพระพุทธบาท ในวันสงกรานต์เป็นประจ�ำทุกปี CHUMPHON 105 .

(2

).indd 105

16/12/2560 10:41:16


คําขวัญวัดจังหวัดชุมพร วัดน าอยู สัญญาณหลัก กลอง - ระฆัง ตรงเวลา เช า - เย็น รักษาธรรมเนียมวันสําคัญ ไม บกพร องงานศาสนา

กุฏิน าพัก สวดมนต ดังน าศรัทธา เช า - เพล เน นพร อมหน า ช วยกันฉันพี่น อง ปลูกศรัทธาได รอบวัด

พระธรรมโกศาจารย เจ าอาวาสวัดขันเงิน

106 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 106

15/12/2560 06:27:41 PM


บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วั ด โพธิก าราม พระเทพมงคลกวี เจ้าอาวาสวัดโพธิการาม เจ้าคณะจังหวัดชุมพร (ธรรมยุต) ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นดอนหลวง ใกล้โรงพยาบาล ชุมพร ตั้งอยู่เลขที่ 112 หมู่ที่ 7 ต�ำบลนาทุ่ง อ� ำ เ ภ อ เ มื อ ง ชุ ม พ ร จั ง ห วั ด ชุ ม พ ร เริ่มก่อสร้างเมื่อปี พ.ศ. 2496 โดยนายหนู โพธารส เป็ น ผู ้ ถ วายที่ ดิ น ให้ ส ร้ า งวั ด มีเนื้อที่จ�ำนวน 12 ไร่ ภายหลังมีผู้บริจาค เพิ่มอีก 6 ไร่ 3 งาน รวมเป็น 18 ไร่ 3 งาน ได้ รั บ อนุ ญ าตให้ ส ร้ า งวั ด เมื่ อ วั น ที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2511 ได้รบั อนุญาตให้ตงั้ วัดชือ่ “วัดโพธิการาม” เมื่ อ วั น ที่ 25 กั น ยายน พ.ศ.2512 ผู ้ อุ ป ถั ม ภ์ ใ นการสร้ า งวั ด ได้ ด� ำ เนิ น การ สร้างโรงอุโบสถ ตัง้ แต่ พ.ศ. 2508 กว้าง 7 เมตร ยาว 21.15 เมตร ตามแบบ “ค” ของ ก ร ม ศิ ล ป า ก ร ไ ด ้ รั บ พ ร ะ ร า ช ท า น วิสงุ คามสีมาเมือ่ วันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2513 และประกอบพิธีผูกพัทธสีมา เมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2513

พระประธานในอุโบสถ

พระประธานในอุโบสถ ได้จ�ำลองแบบอย่างพระพุทธรูปสมัยสุโขทัย ซึ่งเป็นพระประธานในวิหารวัดมหรรณพาราม กรุงเทพมหานคร โดย พ.อ.แสง จุละจาริตต์ ขณะด�ำรงต�ำแหน่งผู้อ�ำนวยการฝ่ายการเดินรถ แห่งประเทศไทย และคุณนายอ�ำนวย จุละจาริตต์ ภรรยา เป็นผูส้ ร้างถวาย หน้าตักกว้าง 1 เมตรเศษ ได้ประกอบพิธีเททองพระพุทธรูปองค์นี้ ทีว่ ดั มหรรณพาราม โดยมีสมเด็จพระวันรัต วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม เป็นประธานพิธี เมื่อ พ.ศ. 2497 (ภายหลังได้รับสถาปนาเป็นสมเด็จ พระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช)

เจ้าอาวาส

รูปที่ 1 พระอโนมคุณมุนี (สุบิน ปิยธโร ป.ธ. 5) พ.ศ. 2513 - 2532 รูปที่ 2 พระครูปิยสีลาจารย์ (พินิจ พุทฺธสโร ป.ธ. 4) รักษาการเจ้า อาวาส พ.ศ. 2532 - 2534 ปัจจุบันเป็นพระอโนมคุณมุนี เจ้าอาวาสวัด สามแก้ว, ทีป่ รึกษาเจ้าคณะจังหวัดชุมพร ธรรมยุต,อดีตเจ้าคณะจังหวัดชุมพร ธรรมยุต) รูปที่ 3 พระเทพมงคลกวี (เสน่ห์ ฐานยุตโต ป.ธ. 4, ศน.บ.) พ.ศ. 2534 ถึงปัจจุบนั ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าคณะจังหวัดชุมพร ธรรมยุต และ ที่ปรึกษาแม่กองธรรมสนามหลวง CHUMPHON 107 (1

).indd 107

16/12/2560 13:23:44


บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัด ราชบุร ณะ (วัดนอก) พระอารามหลวง พระราชวิจิตรปฏิภาณ เจ้าอาวาสวัดราชบุรณะ เจ้าคณะจังหวัดชุมพร

ประวัติความเป็นมา

วัดราชบุรณะ เดิมชื่อว่า “วัดเขาห่อ” เรียกตามสภาพที่มีภูเขา ล้อมรอบ ปัจจุบันตั้งอยู่ที่ หมู่ 2 ต�ำบลท่าทะพลา อ�ำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร วัดเขาห่อสร้างขึ้นเมื่อประมาณ พ.ศ. 2296 มีเนื้อที่ 85 ไร่ ต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 3 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทาน วิสงุ คามสีมา เมือ่ ประมาณ พ.ศ. 2365 พร้อมทัง้ พระราชทานพระประธาน ส�ำหรับประดิษฐานในโรงอุโบสถ “พระพุทธสิงห์ฯ” และทรงพระราชทาน นามวัดเสียใหม่วา่ “วัดราชบุรณะ” โดยมีหลวงพ่อทองค�ำ (ไม่ปรากฏฉายา) ด�ำรงต�ำแหน่ง เจ้าอาวาส ท่านได้ด�ำเนินการบูรณะพัฒนาวัด เจริญมั่นคง มาตามล�ำดับ

108 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย (6

).indd 108

16/12/2560 13:26:46


ในสมัยที่อ�ำเภอหลังสวน เป็นจังหวัดหลังสวน ด้านทิศตะวันตกของ ที่ว่าการจังหวัด มีวัดอยู่เพียง 2 วัด คือ วัดหัววัง (วัดสมุหเขตตาราม) กับ วัดราษฎร์บูรณารามในปัจจุบันเท่านั้น ต่อมา ก�ำนัน ผู้ใหญ่บ้าน และ ประชาชน ได้ ตั้ ง โรงเรี ย นสอนหนั ง สื อ ไทย ชั้ น มู ล ศึ ก ษาขึ้ น ที่ ศ าลา วัดราชบุรณะ ในสมัย เจ้าคุณภัทรธรรมธาดา เจ้าคณะจังหวัดชุมพร (ธ) วัดสามแก้ว ได้ด�ำเนินการ เปลี่ยนชื่อ วัดราชบุรณะ โดยอ้างเหตุผลว่า นามนี้เป็น ราชทิ น นาม เป็น การไม่เหมาะกับ สภาพวัด ที่อ ยู ่ ใ นชนบทห่ า งไกล จึงเปลี่ยนเป็น “วัดราษฎร์บูรณาราม” ปัจจุบันสภาพของวัดนี้ มีล�ำห้วย อยูใ่ จกลางของวัด เดิมสถานทีต่ งั้ วัดอยูฝ่ ง่ั ห้วยด้านทิศเหนือต่อมาในสมัย หลวงพ่อธร จึงได้เคลื่อนย้ายสิ่งปลูกสร้าง มาสร้างฝั่งห้วยด้านทิศใต้ ชาวบ้านจึงมักจะเรียกว่า “วัดใน” “วัดนอก” เพราะวัดอยูท่ งั้ สองฝัง่ ห้วย ต่อมาในสมัย พระอธิการฝึก (ทับเคลียว) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส ท่านก็ได้เคลื่อนย้าย รื้อถอน สิ่งก่อสร้างทั้งหมด คงเหลือแต่พระอุโบสถ มาก่อสร้างฝัง่ ห้วยด้านทิศใต้ เพราะการคมนาคมทางบกเริม่ เจริญ (ในสมัย ญี่ปุ่นยกทัพผ่าน) ปรากฏว่าวัดนี้ ได้เจริญก้าวหน้าทั้งศาสนวัตถุ และการ ศึกษาอบรม มีความส�ำคัญในทางประวัติศาสตร์และสังคม เมื่อปี พ.ศ. 2524 ก�ำนัน ผู้ใหญ่บ้านและประชาชน ได้นิมนต์ พระมหาด�ำเนิน อตฺถจารี เลขานุการเจ้าคณะจังหวัดชุมพร วัดประสาทนิกร อ�ำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร มาด�ำเนินการพัฒนาในรูปแบบปัจจุบัน ในวโรกาสมหามงคลสมัยทีพ่ ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลย เดช บรมนาถบพิตร พระองค์ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ยกวัดราษฎร์ บูรณารามเป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญ วันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2551 โดยประกาศส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ และเมื่อวัน ที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2553 มหาเถรสมาคม มีมติให้เปลี่ยนกลับไปใช้ ชื่อเดิม โดยประกาศส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ เมื่อวันที่ 20 เมษายน 2553 คือ วัดราชบุรณะที่ได้รับพระราชทานนามจากพระบาท สมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 3

CHUMPHON 109 (6

).indd 109

16/12/2560 13:26:53


สิ่งส�ำคัญภายในพระอาราม

1. พระอุโบสถหลังใหม่ เป็นพระอุโบสถก�ำแพงน�้ำ พระอุโบสถหลัง เก่า ช�ำรุดทรุดโทรมสร้างมากว่า 160 ปี จึงได้สร้างพระอุโบสถขึ้นใหม่ ตามแนวพระอุโบสถวัดพระราม 9ฯ กรุงเทพมหานคร ขนาดกว้าง 14 เมตร ยาว 22 เมตร พระอุโบสถ สร้างเมื่อ พ.ศ. 2552 2. พระพุ ท ธรู ป หล่ อ ด้ ว ยทองเหลื อ ง นามว่ า พระพุ ท ธสิ ง ห์ ประดิษฐานในพระอุโบสถ 3. เจดียร์ ตั นตรัย ลักษณะก่ออิฐถือปูน ทรงระฆังคว�ำ่ ย่อมุมไม้สบิ สอง ภายในประดิษฐานพระพุทธสิหิงห์จำ� ลอง 4. ศาลาประถมกุฎี สร้างเมื่อ พ.ศ. 2475 5. ศาลาธรรมานันทาศรม สร้างเมื่อ พ.ศ. 2501 6. ศาลาเฉลิมพระเกียรติ ร.9 สร้างเมื่อ พ.ศ. 2528 7. เจดีรัตนตรัย สร้างเมื่อ พ.ศ. 2496 8. เจดีย์พ่อท่านในกุฏิ สร้างเมื่อ พ.ศ. 2265 9. โรงเรียนพระปริยัติธรรม (สามัญ) สร้างเมื่อ พ.ศ. 2536 10. หอพักประยูรทินนาวาส สร้างเมื่อ พ.ศ. 2544

ท�ำเนียบเจ้าอาวาส

1. หลวงพ่อทองค�ำ 2. หลวงพ่อนิล 3. หลวงพ่อธร ปี พ.ศ. 2460 - 2465 4. พระอธิการฝึก (ทับเคลียว) ปี พ.ศ. 2466 – 2472 5. พระวินัยธรหีต ธมฺมนนฺโท ปี พ.ศ. 2473 – 2504 6. พระครูสมุห์ป้วน ถาวโร ปี พ.ศ. 2505 – 2509 7. พระครูสมุห์ข�ำ อินฺทวโร ปี พ.ศ. 2509 – 2510 8. พระวิเชียร ด�ำรงต�ำแหน่ง ปี พ.ศ. 2511 – 2512 9. พระมหาบุญสร้าง สุทฺธจาโร ปี พ.ศ. 2512 – 2514

10. พระอธิการเจริญ กิตตฺ ปิ าโล ปี พ.ศ. 2517 – 2523 11. พระมหาด�ำเนิน อตฺถจารี (พระครูพมิ ลธรรม) ปี พ.ศ. 2524 จนถึง ปัจจุบัน ปัจจุบัน พระครูพิมลธรรมภาณี ได้รับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์ เป็นพระราชาคณะชั้นราช ในราชทินนามที่ “พระราชวิจิตรปฏิภาณ” และด�ำรงต�ำแหน่งทางปกครองคณะสงฆ์เป็นเจ้าคณะจังหวัดชุมพร

110 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย (6

).indd 110

16/12/2560 13:27:00


ด้านการศึกษามี 1. โรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกธรรม เปิดสอนเมื่อ พ.ศ. 2523 2. โรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกบาลี เปิดสอนเมื่อ พ.ศ. 2530 3. โรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญ เปิดสอนเมื่อ พ.ศ. 2534 4. ศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ในวัด เปิดสอนเมื่อ พ.ศ. 2535 ปัจจุบัน โอนให้องค์การบริหารส่วนต�ำบลท่ามะพลา ด้านวัฒนธรรม เป็นแหล่งเรียนรู้ และจัดตั้งโครงการวัฒนธรรมไทยสายใยชุมชน ต�ำบลท่ามะพลา

ประวัติเจ้าอาวาส

พระราชวิจิตรปฏิภาณ (ด�ำเนิน อตฺถจารี ป.ธ.4) ชื่อ พระราชวิจิตร ปฏิภาณ ฉายา อตฺถจารี อายุ 64 พรรษา 43 วิทยฐานะ ป.ธ.4, น.ธ.เอก วัดราชบุรณะ ต�ำบลท่าทะพลา อ�ำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร ปัจจุบัน ด� ำรงต�ำ แหน่ งในทางปกครองคณะสงฆ์เจ้าคณะจั ง หวั ด ชุ มพร และ เจ้าอาวาสวัดราชบุรณะ สถานะเดิม ชื่อ ด�ำเนิน แป้นแก้ว เกิดวันที่ 4ฯ11 ค�่ำ ปีมะเมีย วันที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2497 นามบิดา นายคล่อง นามมารดา นางป้อม แป้นแก้ว บ้านเลขที่ 9 หมู่ที่ 2 ต�ำบลท่าทะพลา อ�ำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร บรรพชา วันที่ 1ฯ7 ค�ำ่ ปีจอ วันที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2513 ณ วัดราษฎร์ บูรณาราม ต�ำบลท่าทะพลา อ�ำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร พระอุปชั ฌาย์ พระครูพิทักษ์ธรรมจารี วัดแหลมสน ต�ำบลปากน�้ำ อ�ำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร อุปสมบท วันที่ 1ฯ7 ค�่ำ ปีเถาะ วันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2518 ณ พัทธสีมาวัดราษฎร์บรู ณาราม ต�ำบลท่าทะพลา อ�ำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร พระอุปชั ฌาย์ พระราชญาณกวี วัดขันเงิน ต�ำบลวังตะกอ อ�ำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร พระกรรมวาจาจารย์ พระรัตนเวที วัดด่านประชากร อ�ำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร พระอนุสาวนาจารย์ พระมหาสร้าง สุทธจาโร วัดประสาทนิกร อ�ำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร

พระราชวิจิตรปฏิภาณ เจ้าคณะจังหวัดชุมพร เจ้าอาวาสวัดราชบุรณะ

(6

).indd 111

วิทยฐานะ พ.ศ. 2508 ส�ำเร็จการศึกษา ชั้นประถมปีที่ 4 โรงเรียนวัดราษฎร์ บูรณาราม อ�ำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร พ.ศ. 2516 สอบได้นักธรรมชั้นเอก ส�ำนักเรียนคณะจังหวัดชุมพร วัดประสาทนิกร พ.ศ. 2520 สอบได้เปรียญธรรม 4 ประโยค ส�ำนักเรียนคณะจังหวัดชุมพร วัดประสาทนิกร อ�ำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร การศึกษาพิเศษ ได้เข้ารับการศึกษาผู้ใหญ่ แบบเบ็ดเสร็จทาง ว.ปณ ความช�ำนาญ มีความช�ำนาญด้านแสดงธรรม บรรยายธรรม อภิปรายธรรม มีความช�ำนาญงานสารบรรณ และงานเขียนโครงการต่างๆ มีความช�ำนาญด้านการวางแผนงาน มีความช�ำนาญงานด้านประชาสัมพันธ์ ผลงาน พ.ศ. 2525 วัดราษฎร์บูรณาราม ได้รับประกาศนียบัตร รางวัลที่ 1 จากคณะสงฆ์จังหวัดชุมพร ในการประเมินมาตรฐานวัดในจังหวัดชุมพร พ.ศ. 2533 พระครูพิมลธรรมภาณี เจ้าอาวาสวัดราษฎร์บูรณาราม ได้รบั พระราชทานเสาเสมาธรรมจักร (ทองค�ำ) ในฐานะผูท้ ำ� คุณประโยชน์ ต่อพระพุทธศาสนาเนื่องในเทศกาลวิสาขบูชา พ.ศ. 2536 เขตการศึกษา 3 ได้ประกาศให้วัดราษฎร์บูรณารามเป็น อุทยานศึกษา พ.ศ. 2537 วัดราษฎร์บูรณาราม ได้รับโล่รางวัลการจัดอุทยาน การศึกษาดีเด่น จากกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2538 พระครูพิมลธรรมภาณี เจ้าอาวาสวัดราษฎร์บูรณาราม ได้รับเกียรติบัตร ด�ำเนินงานสนองนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ ดีเด่น พ.ศ. 2539 วัดราษฎร์บูรณาราม ได้รับการคัดเลือกให้เป็นวัดพัฒนา ดีเด่น ตามโครงการพัฒนาวัดให้เป็นศูนย์กลางของชุมชน โดยกรม การศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2541 จังหวัดชุมพร ได้คัดเลือกวัดราษฎร์บูรณาราม ให้เป็นที่ ตั้งโครงการ ลานวัด ลานใจ ลานกีฬา CHUMPHON 111 16/12/2560 13:27:03


พ.ศ. 2543 โรงเรียนพุทธรังสีพิทยาลัย วัดราษฎร์บูรณาราม อ�ำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร ได้รับคัดเลือกให้เป็นโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ตัวอย่าง สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช ทรงประทานโล่เกียรติคุณ แก่โรงเรียนพุทธรังสีพิทยาลัย พ.ศ. 2548 เจ้าคณะจังหวัดชุมพร ได้ประกาศตั้งให้วัดราษฎร์บูรณาราม เป็นโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกธรรม ประจ�ำจังหวัดชุมพร พ.ศ. 2551 วันที่ 28 กรกฎาคม 2551 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ยก วัดราษฎร์บูรณาราม ขึ้นเป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญ พ.ศ. 2553 วันที่ 20 กรกฎาคม 2553 มหาเถรสมาคม มีมติ ให้วดั ราษฎร์บรู ณาราม เปลีย่ นมาใช้นามเดิม ตามทีพ่ ระบาทสมเด็จพระนัง่ เกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 3 ได้พระราชทานนามเป็น “วัดราชบุรณะ” ในปัจจุบัน สมณศักดิ์ พ.ศ. 2528 ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ เป็นพระครูสัญญาบัตร เจ้าคณะต�ำบลชั้นโท (จต.ชท.) ในราชทินนามที่ “พระครูพิมลธรรมภาณี” พ.ศ. 2545 ได้รับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์ เป็นพระครูสัญญาบัตร เจ้าคณะอ�ำเภอชั้นโท (จอ.ชท.) ในราชทินนามเดิม พ.ศ. 2547 ได้รับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์ เป็นพระราชาคณะชั้นสามัญ ในราชทินนามที่ “พระวิจิตรธรรมนิเทศ” พ.ศ. 2559 ได้รับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์ เป็นพระราชาคณะชั้นราช ในราชทินนามที่ “พระราชวิจิตรปฏิภาณ

112 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย (6

).indd 112

16/12/2560 13:27:08


CHUMPHON 113 (6

).indd 113

16/12/2560 13:27:14


บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัด ชุมพรรัง สรรค์ พระอารามหลวง พระมงคลวราจารย์ เจ้าอาวาสวัดชุมพรรังสรรค์

วัดชุมพรรังสรรค์ พระอารามหลวง ชั้นตรี ชนิดสามัญ ตั้งอยู่หมู่ที่ 5 อ�ำเภอเมือง จังหวัดชุมพรวัด เดิมชื่อว่า “วัดราชคฤห์ดาวคนอง” สร้างเมื่อประมาณ 179 ปี พ.ศ. 2363 ผู้สร้างคือ พระยาเพชรก�ำแหงสงคราม(ชุ้ย) ในสมัยเมืองชุมพรตกอยู่ในอ�ำนาจของพม่าเข้ายึดเมือง ชุมพร ประชาชนตกอยู่ในภาวะที่ล�ำบากด้วยความทุกข์ทรมาณถูกฆ่าและท�ำโทษด้วยการลงกรรมทัณฑ์ด้วยกรรมวิธีต่างๆ ท�ำให้นายชุ้ย เกิดความเศร้าโศกเป็นอย่างยิ่งจึงได้สมทบกับพวกประมาณ 30 กว่าคน เข้าตีค่ายพม่า เมื่อพม่าแตก จึงพากันหนีข้ามไปยังภูเขา(หินของ) ถนนสายชุมพร-ระนอง (ปัจจุบันระยะทาง 120 กิโลเมตร) เมื่อศึกสงครามสงบแล้วนายชุ้ยได้รับการสถาปนาฐานันดรศักดิ์โดยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้ เป็นพระยาเพชรก�ำแพงสงคราม เป็นเจ้าเมืองชุมพร ประชาชนเรียกว่า “พระยาดับเหล็ก” เพราะมีอาคมคงกระพันชาตรี

114 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย (2

).indd 114

16/12/2560 13:29:33


ล�ำดับเจ้าอาวาส

1. พระอาจารย์นุ้ย ขนฺติพโล 2. พระวินัยธรอริโย (อ�่ำ) 3. พระปลัดเปี้ยน จนฺทสโร 4. พระธรรมวรนายก 5. พระครูพิศาลธรรมโสภณ 6. พระมงคลวราจารย์

ประวัติเจ้าอาวาส

พระมงคลวราจารย์ (จ�ำนันท์ มนาโป) นามเดิม จ�ำนันท์ บุสทิพย์ ฉายา มนาโป วัดชุมพรรังสรรค์ พระอารามหลวง ต�ำบลนาทุ่ง อ�ำเภอเมือง จังหวัดชุมพร ชาติภมู ิ บ้านเลขที่ 22 หมูท่ ี่ 4 ต�ำบลนางาม อ�ำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น ชาติกาล วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2472 ตรงกับวัน 5ฯ3 ค�่ำ ปีมะเส็ง วุฒิสามัญ พ.ศ. 2487 จบชั้นประถม ศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนบ�ำรุงเมืองวิทยา อ�ำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น วิทยฐานะ พ.ศ. 2499 สอบได้นักธรรม ชั้นเอก พ.ศ. 2500 สอบได้เปรียญธรรม 4 ประโยค ส�ำนักเรียน คณะจังหวัดขอนแก่น สมณศักดิ์ พ.ศ. 2515 เป็นพระสัญญาบัตร เจ้าคณะต�ำบลชั้นโท ในราชทินนาม “พระครูศรีธรรมนิเทศก์” พ.ศ. 2539 เป็นเจ้าคณะต�ำบล ชัน้ เอก ในราชทินนามเดิม พ.ศ. 2546 เป็นเจ้าอาวาสพระอารามหลวง ชัน้ โท ในราชทินนามเดิม พ.ศ. 2550 เป็นเจ้าอาวาสพระอารามหลวง ชัน้ เอก ในราชทินนามเดิม พ.ศ. 2559 ได้รบั พระราชทานตัง้ สมณศักดิ์ เป็นพระราชาคณะชั้น ในราชทินนามที่ พระมงคลวราจารย์

พระประธานในพระอุโบสถ

พระพุทธปฏิมากร หรือ “พระรอดสงคราม” เป็นพระพุทธรูป ปางมารวิชัย วัสดุทองสัมฤทธิ์ มีขนาดหน้าตักกว้าง 1.25 เมตร สูง 1.84 เมตร ศิลปะรัตนโกสินทร์ เป็นองค์พระพุทธรูปทีร่ อดพ้นจาก ความเสียหายอันมาจากภัยของสงครามโลกครั้งที่ 2 จึงมีชื่อเรียกอีก นามหนึ่งว่า “พระรอดสงคราม” สร้างขึ้นโดยพระอธิการเชี้ยน และทายก ชื่อทา เมื่อปีพุทธศักราช 2433 (ค.ศ. 1890) ในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5

CHUMPHON 115 (2

).indd 115

16/12/2560 13:29:48


บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วั ด ถ�้ำ สิง ห์

พระครูพิพัฒน์ประชาทร เจ้าอาวาสวัดถ�้ำสิงห์ เจ้าคณะต�ำบลทุ่งคา ประวัติความเป็นมา

วัดถ�้ำสิงห์ ตั้งอยู่ที่ ต�ำบลถ�้ำสิงห์ อ�ำเภอเมืองชุมพร จั ง หวั ด ชุ ม พร เดิ ม สร้ า งเป็ น ที่ พั ก สงฆ์ เ มื่ อ พ.ศ.2518 ยกพื้นมุงหลังคาจากบริเวณด้านหน้าทางขึ้นศาลเจ้าพ่อ ถ�้ำสิงห์เพื่อใช้เป็นสถานที่ประกอบพิธีบ�ำเพ็ญกุศลต่างๆ จากนั้ น ได้ นิ ม นต์ พ ระหี ต จากวั ด วั ง ไผ่ ม าจ� ำ พรรษา พ.ศ.2520 หลั ง จากหลวงพ่ อ ล้ อ มได้ อุ ป สมบท เห็ น ว่ า บริเวณนั้นคับแคบประกอบกับชุมชนเริ่มขยายตัวใหญ่ขึ้น ไม่ เ หมาะที่ จ ะสร้ า งวั ด บริ เ วณนั้ น และขยายสิ่ ง ปลู ก สร้ า ง ล�ำบาก จึงปรึกษาชาวบ้านแกนน�ำชุมชน ขอย้ายมาสร้าง ยังสถานที่ปัจจุบัน ซึ่งอยู่ทางด้านตะวันออกของโรงเรียน ชุ ม ชนบ้ า นถ�้ ำ สิ ง ห์ เป็ น ที่ ดิ น ของคุ ณ พ่ อ ผวน ศิ ล ปศร กันเอาไว้เพื่อสร้างวัดและโรงเรียนโดยเฉพาะ

116 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย (6

).indd 116

16/12/2560 9:31:29


พ.ศ.2521 เริ่มก่อสร้างกุฏิและเสนาสนะต่างๆ (ปัจจุบันเสนาสนะ บางส่วนถูกรื้อถอนสร้างใหม่ทดแทน) 11 กรกฎาคม 2531 หนังสือ อนุ ญ าตสร้ า งวั ด จากกรมการศาสนา กระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร 28 กุมภาพันธ์ 2532 ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรือ่ งตัง้ วัดในพระพุทธ ศาสนามีนามว่า “วัดถ�้ำสิงห์” 26 พฤศจิ ก ายน 2534 ประกาศส� ำ นั ก นายกรั ฐ มนตรี เรื่องพระราชทานวิสุงคามสีมา (งวดที่ 5 ประจ�ำปี 2534 ล�ำดับที่ 69 วัด ถ�้ำสิงห์ อ�ำเภอเมืองฯ จังหวัดชุมพร ก�ำหนดเขตกว้าง 30 เมตร ยาว 60 เมตร) ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 108 ตอนที่ 217 วันที่ 10 ธันวาคม 2534 วันอาทิตย์ที่ 17 เมษายน พ.ศ.2548 ขึ้น 9 ค�่ำ เดือน 5 เวลา 05.49 น. ตัดหวายลูกนิมิต

CHUMPHON 117 (6

).indd 117

16/12/2560 9:31:39


118 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย (6

).indd 118

16/12/2560 9:31:46


ประวัติหลวงพ่อพระครูฐาปนกิจจารักษ์

อาคารเสนาสนะภายในวัด

หมู่กุฏิทรงไทย สร้างเมื่อ ประมาณ พ.ศ.2521 ฌาปนสถานและศาลบ�ำเพ็ญกุศลศพ ประมาณ พ.ศ.2529 ศาลาการเปรียญ ประมาณ พ.ศ.2531 โรงอุโบสถ ประมาณ พ.ศ.2540 วางศิลาฤกษ์ วันพฤหัสบดีที่ 24 สิงหาคม 2540 (แรม 14 ค�่ำ เดือน 9 ปีกุน) เริ่มลงมือก่อสร้าง ตอกเสาเข็มต้นแรก 1 ตุลาคม พ.ศ.2540 พระพุ ท ธสิ ง ห์ ป ระทานพรและสิ ง โตให้ ล าภ ประมาณ พ.ศ.2547 • วันพฤหัสบดีที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2557 พิธบี วงสรวง • วันเสาร์ที่ 20 มีนาคม พ.ศ.2547 เริ่มลงมือก่อสร้าง ศาลเสด็ จ ในกรมหลวงชุ ม พรเขตุ อุ ด มศั ก ดิ์ ประมาณ พ.ศ. 2552 วิหารหลวงพ่อล้อม พ.ศ.2553 อาคารเอนกประสงค์ พ.ศ.2555 สถานีวทิ ยุชมุ ชนฅนถ�ำ้ สิงห์ FM 90.00 MHz ออก อากาศ พ.ศ.2547 - ปัจจุบนั ได้ยตุ กิ ารออกอากาศแล้ว ซุ้มประตูและก�ำแพง พ.ศ.2560

ท�ำเนียบเจ้าอาวาส

พระครู ฐ าปนกิ จ จารั ก ษ์ (ล้ อ ม ปภงฺ ก โร) ด�ำรงต�ำแหน่ง พ.ศ. 2521 - 2547 พระครูพิพัฒน์ประชาทร (ปัญญา ปญฺญาธโร) ด�ำรงต�ำแหน่ง พ.ศ. 2547 – ปัจจุบัน

ล้อม ปภงฺกโร อดีตเจ้าอาวาสวัดถ�้ำสิงห์ อ�ำเภอเมืองชุมพร จังหวัดชุมพร ชาติภูมิ ชื่อ ล้อม นามสกุล ทิมคลับ เกิดวันพฤหัสบดีที่ 13 สิงหาคม พ.ศ. 2469 ตรงกับแรม 9 ค�่ำ เดือน 9 ปี ฉลู ที่บ้านสามเรือน เลขที่ 34 หมู่ที่ 9 ต�ำบลวังตะโก อ�ำเภอเมืองเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี การศึกษาเบื้องต้น ได้ส�ำเร็จการศึกษาชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนวัดบันไดทอง อ�ำเภอเมืองเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี การประกอบอาชีพก่อนอุปสมบท เมือ่ จบการศึกษาแล้วได้ประกอบอาชีพท�ำนาและ ค้าขาย ตามจังหวัดต่างๆ จนได้แต่งงานกับนางสงวน วงษ์มีศักดิ์ จากการเป็นพ่อค้านี้เอง จึงได้มาซื้อที่ท�ำสวนที่บ้านเขาวงค์ ต�ำบลบ้านนา อ�ำเมืองชุมพร จังหวัดชุมพร ลักษณะ นิสัยท่านเป็นคนทุ่มเทการงาน ขยัน พูดจาเป็นกันเอง ชอบเป็นพ่อครัวท�ำอาหารโดย เฉพาะลาบเลือด ตามงาน งานไม่เลิกเป็นไม่กลับบ้าน ท�ำให้รู้จักกับนายผวน ศิลปศร ชวนมาอยูท่ หี่ น้าถ�ำ้ สิงห์ ด้วยเหตุทอี่ ยูใ่ กล้วดั และต้องการเลิกสุรา จึงได้ตดั สินใจอุปสมบท เมื่อ อายุได้ 50 ปี อุปสมบท วันศุกร์ที่ 9 กรกฎาคม 2519 ตรงกับขึ้น 13 ค�่ำ เดือน 8 ปีมะโรง ณ พัทธสีมาวัดชุมพรรังสรรค์ ต�ำบลนาทุ่ง อ�ำเภอเมืองชุมพร จังหวัดชุมพร ได้รับฉายา (ปภงฺกโร) โดยมีพระครูพศิ าลธรรมโสภณ วัดชุมพรรังสรรค์ พระอุปชั ฌาย์ พระกรรมวาจาจารย์ พระครูประกาศิตวุฒิคุณ วัดชุมพรรังสรรค์ ต�ำบลนาทุ่ง อ�ำเภอเมือง จังหวัดชุมพร พระอนุสาวนาจารย์ พระปลัดชนินทร์ วัดชุมพรรังสรรค์ ต�ำบลนาทุ่ง อ�ำเภอเมืองชุมพร จังหวัดชุมพร วัดที่พ�ำนัก ปีพ.ศ. 2519 - 2544 ประจ�ำอยู่ที่วัดถ�้ำสิงห์ ปี พ.ศ.2545 ประจ�ำอยู่ที่ วัดชุมพรรังสรรค์ (เพราะการรักษาสุขภาพ ป่วยหนัก) ปี พ.ศ. 2546 - 2547 ประจ�ำอยู่ วัดถ�้ำสิงห์ หน้าที่และผลงานเมื่ออุปสมบทก็ได้มาอยู่จ�ำพรรษาที่พักสงฆ์ถ�้ำสิงห์ ที่มีพระหยีด พระอ่อน ไม่ทราบฉายาอยู่จ�ำพรรษาก่อนแล้ว ต่อมาพระหยีด พระอ่อน ได้ย้ายไปปฏิบัติ ศาสนากิจทีต่ า่ งจังหวัด พระล้อม ปภงฺกโร จึงได้ชกั ชวนประชาชน ร่วมกันพัฒนา ก่อสร้าง ที่พักสงฆ์ถ�้ำสิงห์ ณ ที่ตั้งวัดปัจจุบัน สร้างกุฏิทรงไทยแฝดยกพื้น จากหลังที่ 1,2 และ หลังที่ 3 ตามล�ำดับต่อกัน ก่อสร้างตลาดนัด วัด ศาลาเอนกประสงค์ หอสวดมนต์ ห้องน�ำ ้ สุขา ศาลาฌาปนสถานคูเ่ มรุ หอกระจายข่าว หอระฆัง - กลอง โรงอุโบสถ เป็นต้น วันที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2534 กระทรวงศึกษาธิการ ประกาศตั้งเป็นวัด วันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ.2534 ได้รับพระบรมราชโองการพระราชทานวิสุงคามสีมา สมณศั ก ดิ์ พ.ศ.2527 ได้ รั บ การแต่ ง ตั้ ง เป็ น (พระใบฏี ก า) ฐานานุ ก รมของ พระครูวิศาลธรรมโสภณ วัดชุมพรรังสรรค์ อ�ำเภอเมืองชุมพร จังหวัดชุมพร พ.ศ.2537 ได้ รั บการแต่ ง ตั้ ง เป็ น (พระครู ปลั ด ) ฐานานุ ก รมของ พระราชปริยัติโ มลีเจ้า คณะ จังหวัดชุมพร วัดขันเงิน อ�ำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร พ.ศ.2538 ได้รับพระราชทาน สมณศักดิ์ เป็นพระครูสญ ั ญาบัตร เจ้าอาวาสวัดราษฎร์ชนั้ โท ราชทินนาม ทีพ่ ระครูฐาปน กิจจารักษ์ (จร.ชท.) มรณภาพ พระครูฐาปนกิจจารักษ์ เป็นพระภิกษุ ที่มีความขยันขันแข็ง แม้สูงอายุ รูปร่างเล็กแต่จติ ใจสูช้ วี ติ เวลาทีท่ า่ นอบรมสัง่ สอนพระภิกษุ สามเณร วจีทที่ า่ นกล่าวเสมอว่า “ค่าของคน อยู่ที่ผลของงาน” เมื่อหลวงพ่อมีอายุย่างเข้า 70 ปี สุขภาพท่านไม่สมบูรณ์ และป่วยเป็นโรคหอบจึงต้องมีถงั ออกซิเจน ติดรถตลอดเวลา ครัง้ เมือ่ อายุ 78 ปี 10 เดือน หลวงพ่อเข้ารักษาตัวที่โรงพยาบาลชุมพรเขตอุดมศักดิ์ เป็นเวลา 1 เดือน 10 วัน วันพฤหัสบดีที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ.2547 ได้ถงึ แก่มรณภาพด้วยโรคติดเชือ้ ทางเดินปัสสาวะ รุนแรง เวลา 09.50 น.ที่โรงพยาบาลชุมพรเขตอุดมศักดิ์ สิริรวมอายุได้ 78 ปี 11 เดือน 9 วัน พรรษา 28 CHUMPHON 119

(6

).indd 119

16/12/2560 9:31:50


ประวัติพระครูพิพัฒน์ประชาทร

ปัญญา ปญฺญาธโร เจ้าอาวาสวัดถ�ำ้ สิงห์ รูปปัจจุบนั สถานะเดิม ชือ่ ปัญญา นามสกุล เปรมปรี เกิดวันเสาร์ ขึ้น 15 ค�่ำ เดือน 6 ปีฉลู วันที่ 29 เดือน เมษายน พ.ศ.2504 นามบิดา นายประยงค์ นามมารดา นางทองชุบ เกิดที่บ้านเลขที่ 102 หมู่ที่ 1 ต�ำบลบางตะบูนออก อ�ำเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี อุปสมบท วันเสาร์ แรม 12 ค�ำ ่ เดือน 8 ปีฉลู วันที่ 13 เดือนกรกฎาคม พ.ศ.2528 ณ วัดกุฏิ ต�ำบลบางเค็ม อ�ำเภอเขาย้อย จังหวัดเพชรบุรี พระอุ ป ั ช ฌาย์ พระครู วิ จิ ต รวั ช รธรรม วั ด กุ ฏิ ต� ำ บลบางเค็ ม อ�ำเภอเขาย้อย จังหวัดเพชรบุรี พระกรรมวาจาจารย์ พระใบฎีกาเหิน อคฺคจิตโฺ ต วัดกุฏิ ต�ำบลบางเค็ม อ�ำเภอเขาย้อย จังหวัดเพชรบุรี วุฒิการศึกษา พ.ศ.2521 ส�ำเร็จการศึกษา มัธยมศึกษาปีที่ 3 จากโรงเรียนพรหมานุสรณ์ เพชรบุรี วิทยฐานะ พ.ศ.2529 สอบได้นักธรรมชั้นเอก ส�ำนักเรียนคณะ จังหวัดเพชรบุรี สมณศักดิ์ปัจจุบัน พระครูสัญญาบัตร เจ้าคณะต�ำบลชั้นเอก เจ้าอาวาสวัดถ�้ำสิงห์ เจ้าคณะต�ำบลทุ่งคา พระอุปัชฌาย์

120 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย (6

).indd 120

16/12/2560 9:32:07


CHUMPHON 121 (6

).indd 121

16/12/2560 9:32:15


กาแฟถ�้ำสิงห์ จังหวัดชุมพร : THAMSING COFFEE

เข้มอย่างสิงห์ ดื่มกาแฟถ�ำ้ สิงห์

วิสาหกิจกลุ่มกาแฟบ้านถ�ำ้ สิงห์ เกิดจากการรวมตัวของเกษตรกรต�ำบลถ�้ำสิงห์และต�ำบลใกล้เคียง

ที่ต้องการฟื้นฟูพืชกาแฟสายพันธุ์โรบัสต้า ของดีตำ� บลถ�้ำสิงห์ กาแฟพันธุ์โรบัสต้าคุณภาพ รสเข้ม หอมกลมกล่อม ตามแบบฉบับ “กาแฟถ�ำ้ สิงห์ จังหวัดชุมพร” มีให้เลือกหลากหลายสไตล์ กาแฟคั่ว-คั่วบด กาแฟดริพ (DRIP) กาแฟสำ�เร็จรูปชนิดเกล็ด กาแฟ 3 in 1 (รสเข้ม, กลมกล่อม) กาแฟ 4in1 ผสมดอกคำ�ฝอย กาแฟ 4in1 (Gold) ผสมสารสกัดดอกคำ�ฝอย ชาดอกกาแฟโรบัสต้าถ�้ำสิงห์

ศูนย์ OTOP กาแฟถ�้ำสิงห์ จังหวัดชุมพร (117 ม.6 ถ.เพชรเกษม ต.ทุ่งคา อ.เมือง จ.ชุมพร 86100)

ร้านตัง้ อยูต่ ดิ ถนนเพชรเกษม ห่างจากสีแ่ ยกปฐมพรเพียง 8 กิโลเมตร เป็นจุดจ�ำหน่ายสินค้า OTOP และของดีของ จังหวัดชุมพร มีสินค้าให้เลือกสรรมากมาย นอกจากนี้ยังมี ร้านกาแฟสดถ�ำ้ สิงห์ สไตล์โมเดิร์น ให้ลูกค้าได้สัมผัสรสชาติ เข้ม หอม กลมกล่อม ของกาแฟถ�ำ้ สิงห์ ได้อย่างเต็มที่ พร้อม กับที่นั่งพักผ่อน และจุดถ่ายรูปเช็คอินได้ตามอัธยาศัย

สอบถาม/สั่งซื้อได้ที่

FACEBOOK | ThamsingCoffee Line | @Thamsingcoffee E-mail | coffeethamsing@gmail.com Tel | 086-9421792, 089-2921919 ร้านกาแฟถ�้ำสิงห์ ณ จุดชมวิวเขามัทรี (ม.4 ต.ปากน�้ำชุมพร อ.เมือง จ.ชุมพร 86120)

ร้านตัง้ อยูบ่ นจุดชมวิวเขามัทรี ระยะทางขึน้ เขาไปประมาณ 600 เมตร จะเห็นร้านอยู่ทางขวามือ ร้านกาแฟถ�้ำสิงห์ ณ จุดชมวิวเขามัทรี แบ่งออกเป็นสองส่วน คือ Indoor และ Outdoor ให้ลกู ค้าเลือกสัมผัส บรรยากาศกลิน่ ไอทะเลชุมพรได้อย่างเต็มปอดพร้อมกับจิบกาแฟถ�ำ้ สิงห์ และเครือ่ งดืม่ ได้ในราคาเบาๆ สบายกระเป๋า ส่วนวิวไม่ตอ้ งพูดถึงราคา หลักล้านตามสโลแกน “กาแฟหลักสิบ วิวหลักล้าน” มองเห็นตั้งแต่ ชายหาดปากน�้ำชุมพร หาดภราดรภาพ หาดทรายรี ไปจนถึงหมู่เกาะ น้อยใหญ่ นอกจากนีย้ งั มีพระมหาโพธิสตั ว์อวโลกิเตศวร ปางมหาราชลีลา ไว้ให้นักท่องเที่ยวมาสักการะอีกด้วย “จุดชมวิวเขามัทรีนับเป็น หนึ่งจุดชมวิวที่สวยและต้องห้ามพลาดหากมาเที่ยวจังหวัดชุมพร” FACEBOOK | ThamsingCafe Tel | 082-4802131

.indd 122

15/12/2560 05:49:29 PM


วัพระครูดท่เวฬุวาราทรมะปริง เจ้าอาวาสวัดท่ามะปริง

วั ด ท่ า มะปริ ง เป็ น วั ด สั ง กั ด มหานิ ก าย ตั้ ง อยู ่ เลขที่ 1/9 หมูท่ ี่ 7 ต�ำบลบ้านนา อ�ำเภอเมือง จังหวัดชุมพร บนเนื้อที่ 11 ไร่ 15 ตารางวา ซึ่งได้รับบริจาคที่ดินจาก นายหนบ หลังมี เดิมทีเป็นที่พักสงฆ์มาหลายปี กระทั่ง ในปี พ.ศ. 2545 ท่านอาจารย์สมบุญ โสภโณ ได้เข้ามา บู ร ณะและชวนชาวบ้ า นร่ ว มกั น พั ฒ นา ทั้ ง ด้ า น วั ต ถุ ธ รรมและคุ ณ ธรรมจนเกิ ด ความเลื่ อ มใสศรั ท ธา ของชาวพุทธเป็นอันมาก มีพระสงฆ์มาอยู่มากขึ้นจน กระทั่ ง ได้ รั บ ประกาศจากส� ำ นั ก งานพระพุ ท ธศาสนา แห่งชาติ ให้สร้างเป็นวัดได้ เมื่อวันที่ 26 ตุลาคม 2552 และได้ แ ต่ ง ตั้ ง เจ้ า อาวาส พระครู เ วฬุ ว ราทร(สมบุ ญ ) โสภโณเป็ น เจ้ า อาวาส พระอาจารย์ ส มบุ ญ โสภโณ พร้ อ มพระลู ก วั ด และชาวบ้ า น ได้ ร ่ ว มกั น สร้ า ง ถาวรวั ต ถุ เ พื่ อ ประโยชน์ แ ละการประกอบพิ ธี ต ่ า งๆ ของพระพุ ท ธศาสนาเพื่ อ อ� ำ นวยความสะดวกให้ กั บ พุทธศาสนิกชน พ.ศ. 2545 บูรณะและจัดสร้างหอฉัน พ.ศ. 2546 – 2547 สร้างกุฏิสงฆ์ พ.ศ. 2548 สร้างวิหารพุทธนิมิต พ.ศ. 2549 ศาลาการเปรียญและพระพุทธรูปในศาลา พ.ศ. 2551 จัดสร้างหอระฆัง พ.ศ. 2552 สร้างแท้งน�ำ้ และ ห้องน�ำ ้ พ.ศ. 2555 สร้างส�ำนักงานเจ้าอาวาส ปัจจุบนั ก�ำลัง สร้างอุโบสถซึ่งถือเป็นสิ่งส�ำคัญและเป็นสัญลักษณ์ของวัด ตามพระศาสนาให้เป็นวัตถุที่สมบูรณ์ เมื่อแล้วเสร็จจะได้ ขอวิสุงคามสีมาต่อไป วัดท่ามะปริง เหมาะแก่การศึกษาธรรม ท่านพระครู เวฬุวราทร (หลวงพ่อบุญ) โสภโณ ท่านเจ้าอาวาส ซึ่งเป็น พระนั ก พั ฒ นาหวั ง ให้ ส ถานธรรมแห่ ง นี้ เ ป็ น สมบั ติ ข อง พระพุทธศาสนาและประชาชน

ร่วมสร้างเส้นทางบุญ

ปัจจุบันทางวัดท่ามะปริง ยังต้องการทุนทรัพย์ในการพัฒนาอยู่อีกหลายด้าน จึงขอบอกบุญแก่ผู้มีจิตศรัทธาได้ร่วมกันบริจาคทรัพย์เพื่อสมทบทุนในการก่อสร้าง เพื่อร่วมกันต่อสะพานบุญของตนให้มั่นคงต่อไป ด้วยอ�ำนาจคุณพระศรีรัตนตรัย และสิง่ ศักดิส์ ทิ ธิท์ งั้ หลายบันดาลให้พทุ ธศาสนิกชนทุกท่านประสบความสุขความเจริญ ด้วยจตุรพิธพรชัย อายุ วรรณะ สุขะ พละ ปฏิภาน ธนสารสมบัติ ทุกประการเทอญ ติดต่อสอบถาม พระครูเวฬุวราทร โทร. 086-9514842

CHUMPHON 123 (1

).indd 123

16/12/2560 10:21:34


บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดปากน�้ำชุมพร พระครูศรีธรรมวิเทศ เจ้าอาวาสวัดปากน�ำ้

วัดปากน�ำ้ ชุมพร ตัง้ อยูท่ ี่ 370 หมูท่ ี่ 2 ต�ำบลปากน�ำ ้ อ�ำเภอเมืองชุมพร จังหวัดชุมพร เดิมตั้งอยู่ในที่ดินซึ่งมีพระพุทธรูปโบราณประดิษฐานอยู่ และมีบริเวณติดต่อกับโรงเจรักศีลธรรม ตามประวัติเล่าว่า สมภาร รูปแรกทีส่ ร้างวัดชือ่ รืน่ เป็นชาวบ้านดอน จังหวัดสุราษฎร์ธานี ประมาณ เมื่อปลายปี พ.ศ. 2429 ช่วงแรกเป็นส�ำนักสงฆ์ มีกุฏิที่พักสงฆ์อยู่ 2 หลัง หลังคามุงจาก พืน้ ไม้กระดาน มีโบสถ์ชวั่ คราว หลังคามุงจากเช่นเดียวกัน จากค�ำบอกเล่า แม่ ชี เ อี่ ย ม เป็ น ผู ้ ส ร้ า งพระพุ ท ธรู ป ขึ้ น ปั ้ น โดยนายช่ า งซึ่ ง มาจาก วัดสุบรรณนิมิตร ต�ำบลท่าตะเภา พระพุทธรูปองค์นี้ปั้นด้วยปูนซีเมนต์ และปูนขาว มีแกนไม้อยู่ข้างในเป็นโพรง หน้าตักกว้าง 3 ศอก สูง 4 ศอก มีอายุประมาณ 87 ปี สมภารรูปที่ 2 ชือ่ สว่าง เป็นชาวบ้านกรูด จังหวัดประจวบคีรขี นั ธ์ สมภารรูปที่ 3 ชื่อ ล้อม เป็นชาวต�ำบลนาทุ่ง อ�ำเภอท่าตะเภา จังหวัดชุมพร 124 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย (6

).indd 124

16/12/2560 10:09:04


หลังจากนั้นย้ายวัดขึ้นไปอยู่ทางทิศเหนือ ห่างจากที่ตั้งเดิม 4 เส้น เนือ่ งจากทีต่ งั้ เดิมเป็นหนองน�ำ้ และอยูช่ ดิ เชิงเขาเกินไป ชาวบ้านได้ชว่ ยกัน สร้างกุฏิพระ ท�ำด้วยไม้เนื้อแข็งพื้นเมือง หลังคามุงสังกะสีบ้าง มุงด้วย กระเบื้องดินเผาแผ่นเล็กๆ บ้าง นับว่าวัดค่อยๆ เจริญขึ้นตามสภาพ มีอาณาบริเวณจรดฝั่งทะเล ชาวบ้านเรียกกันว่าท่าหน้าวัด เมื่อสมภาร ล้อม ย้ายวัดมาอยู่ใหม่ เบื้องต้นได้ใช้โบสถ์เดิมที่มุงด้วย หลังคาจาก ท�ำพิธีสังฆกรรม ต่อมา นายคูจับฮุย (เถ้าแก่ฮวย) และขุน ประชุมชลมุข (เถ้าแก่สูน) พร้อมด้วยชาวปากน�้ำชุมพร ได้มีจิตศรัทธา สร้างโบสถ์ให้ใหม่พร้อมกับสร้างเจดีย์ไว้หน้าโบสถ์ โบสถ์หลังนี้เป็น เสาไม้แก่น ผนังอิฐถือปูน มีขนาดเล็กพอเหมาะกับสมัยนั้น เพราะผู้คน มีไม่มาก มีขนาดยาว 5 วา กว้าง 6 ศอกเศษ สูง 8 ศอก นายช่างผู้สร้าง ชื่อ นายไถ่ แซ่เลี้ยว โบสถ์หลังนี้มีอายุ 64 ปี และได้ท�ำพิธีผูกพัทธสีมา เมื่อ พ.ศ. 2456 สมภารรูปที่ 4 ชื่อ หีต ไม่ปรากฏชาติภูมิ สมภารรูปที่ 5 ชื่อ โต ไม่ปรากฏชาติภูมิ สมภารรูปที่ 6 ชื่อ หีต เหมือนกัน ไม่ปรากฏชาติภูมิ สมภารรูปที่ 7 ชื่อ นา เป็นชาวต�ำบลปากน�ำ ้ อ�ำเภอเมืองชุมพร สมภารรูปที่ 8 ชื่อ โฉม เป็นชาวเมืองกุย จังหวัดประจวบคีรขี นั ธ์ และในระหว่างนีเ้ อง ทางวัดได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมาสร้างโบสถ์ขนึ้ สมภารรูปที่ 9 ชือ่ เชย ติสสโร เป็นชาวลังเคีย่ เมืองมะริดในแดน พม่าขณะนีท้ า่ นได้บวชจ�ำพรรษาอยูท่ อี่ ำ� เภอท่าแซะ และขุนผจญนรทุษฐ์ ก�ำนันต�ำบลปากน�ำ ้ สมัยนัน้ เห็นว่าวัดปากน�ำ้ ชุมพรว่างสมภาร จึงได้ไป นิมนต์ให้มาเป็นสมภารวัดปากน�ำ้ ชุมพร ต่อมาสมภาร เชย ติสสโร ได้รบั สมณศักดิเ์ ป็นพระครูชนั้ สัญญาบัตรว่า พระครูชลธีธรรมประมุข

CHUMPHON 125 (6

).indd 125

16/12/2560 10:09:12


สมัยพระครูชลธีธรรมประมุขเป็นเจ้าอาวาสนั้น ท่านได้ชักชวนชาวบ้านสร้างความเจริญให้แก่วัดหลายอย่าง เช่น สร้างกุฏิเพิ่มขึ้นอีก 2-3 หลัง เพราะมีภกิ ษุจำ� พรรษามากขึน้ สร้างหอสวดมนต์ขนึ้ หลังหนึง่ เปิดโรงเรียนพระปริยตั ธิ รรม เพือ่ ส่งเสริมการศึกษาทางธรรมแก่พระภิกษุสามเณร ตลอดจน พุทธศาสนิกชนที่ใคร่จะศึกษาธรรม โดยสนับสนุนให้สอบนักธรรมตรี โท เอก และธรรมศึกษา ตรี โท เอก แก่ฆราวาส ส่งเสริมการศึกษาประชาบาล อนุเคราะห์ให้โรงเรียนตั้งอยู่ในวัดและรับเป็นผู้อุปถัมภ์ พระครูชลธีธรรมประมุข (เชย ติสสโร) ได้ปฏิสังขรณ์วัด ซ่อมแซมโบสถ์หลังนี้และได้ขยายด้านหลังโบสถ์ให้กว้างออกไปอีก 4 ศอก ปัจจุบันโบสถ์ ทรุดโทรมมาก นอกจากนี้ท่านยังชักชวนชาวบ้านสร้างศาลาการเปรียญขึ้น 1 หลัง กว้าง 15.70 เมตร ยาว 27.50 เมตร ทรงสูง เสาคอนกรีต เครือ่ งไม้เนือ้ แข็ง พืน้ เมือง เพดานไม้จำ� ปาหลังคามุงกระเบือ้ ง ได้รบั เงินบริจาคจากผูจ้ ติ ศรัทธาในท้องทีอ่ ำ� เภอเมืองชุมพร และท่านพระครูชลธีธรรมประมุขบอกบุญจาก ศรัทธาชาวลังเคี่ย เมืองมะริด ศาลาการเปรียญหลังนี้ได้ท�ำประโยชน์แก่ชาวบ้านและวัดอย่างมากมาย นับเป็นสิ่งก่อสร้างที่ส�ำคัญอย่างหนึ่งในระยะที่ ท่านพระครูชลธีธรรมประมุข (เชย ติสสโร) เป็นเจ้าอาวาสอยู่ ท่านได้ครองสมณเพศจนมรณภาพเมื่อปี พ.ศ. 2496 สมภารรูปที่ 10 ชื่อ เทพ เป็นเครือญาติกันกับพระครูชลธีธรรม ประมุ ข ภายหลั ง ได้ เ ลื่ อ นเป็ น พระปลั ด เทพ อุ ป นั น โทและได้ รั บ พระราชทานสมณศักดิ์เป็นพระครูชลธีธรรมประมุขแทนองค์เดิม สมัยพระครูชลธีธรรมประมุข (เทพ) เป็นเจ้าอาวาส ได้สร้างกุฏพิ ระขึน้ อีก 2 หลัง และนางคล้อง จารุบุษย์ ได้จัดสร้างหอฉันท์ถวายวัดอีกหลังหนึ่ง เพื่ออุทิศส่วนกุศลให้แก่นางปุ่น จารุบุษย์ ต่อมาปี พ.ศ. 2513 พระครูชลธีธรรมประมุข (เทพ) ได้ลาออกจาก ต�ำแหน่งเจ้าอาวาส ชาวบ้านและคณะสงฆ์ได้พร้อมใจกันเป็นเอกฉันท์ นิมนต์ให้พระปลัดถ้วม วิริยาวุโธ ซึ่งเป็นพระภิกษุที่อาวุโสกว่าภิกษุ รูปอื่นๆ ในวัดเป็นเจ้าอาวาส หรือสมภารรูปที่ 11 ของวัดปากน�้ำชุมพร 126 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย (6

).indd 126

16/12/2560 10:09:19


ประวัติพระครูสุนทรวิริยานุยุต

พระครูสุนทรวิริยานุยุต (ถ้วม วิริยาวุโธ) ได้รับการแต่งตั้งให้ เป็นเจ้าอาวาสวัดปากน�้ำชุมพร เมื่อวันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2513 เดิมชือ่ ถ้วม สุทธิพงษ์ เกิดเมือ่ วันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2465 บุตร นายกลีบ นางช้อง ภูมิล�ำเนาเดิมอยู่ต�ำบลชุมโค อ�ำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร เมื่อเป็นเด็กได้มาอยู่กับพระครูชลธีธรรมประมุข (เชย ติสฺสโร) ผู้เป็นลุงและได้บรรพชาเป็นสามเณร เมื่อวันที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2481 อยู่ในเพศบรรพชิตเรื่อยมาจนอายุย่างเข้า อุปสมบท พระครูชลธีธรรมประมุข (เชย ติสฺสโร) จึงได้ทำ� การ อุปสมบทให้โดยพระครูชลธีธรรมประมุข (เชย ติสสฺ โร) เป็นอุปชั ฌาจารย์ เมือ่ วันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2484 อยูจ่ ำ� พรรษาเรือ่ ยมาจนได้รบั การ แต่งตัง้ ให้เป็นเจ้าคณะต�ำบลท่ายาง เมือ่ วันที่ 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2498 และต่อมาได้รบั การแต่งตัง้ ให้เป็นพระปลัดฐานานุกรม ของ พระปกาสิตพุทธศาสน์ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2501 ได้รับตราตั้งเป็นพระอุปัชฌาจารย์ เมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธุ์ พ.ศ. 2511 สมณศักดิค์ รัง้ สุดท้ายก่อนมรณภาพ เป็นเจ้าอาวาสวัดปากน�ำ้ ชุมพร/เป็นที่ปรึกษาเจ้าคณะอ�ำเภอปะทิว ท่านได้มรณภาพเมื่อ วันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 ปัจจุบันสรีระของท่านยังเก็บ ไว้ในโลงมุกให้ศิษยานุศิษย์ได้กราบไหว้อยู่ทุกวันที่กุฏิเจ้าอาวาส

ประวัติเจ้าอาวาส

พระครูศรีธรรมวิเทศ (ประเสริฐ ปญฺโญภาโส ป.ธ.6 น.ธ.เอก) เจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน (รับต�ำแหน่งเมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556) บรรพชา ณ วัดปากน�้ำชุมพร เมื่อวันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2527 โดยมีพระครูสุนทรวิริยานุยุต (ถ้วม วิริยาวุโธ) เป็น พระอุปัชฌาย์ อุปสมบท ณ วัดสระเกศราชวรมหาวิหาร กทม. เมื่อวันที่ 18 มีนาคม พ.ศ. 2536 โดยมีเจ้าประคุณสมเด็จ พระพุฒาจารย์ (เกีย่ ว อุปเสโณ) เป็นพระอุปชั ฌาย์ พระราชสิทธิมงคล (เสนาะ ปญฺญาวชิโร สมณศักดิ์ครั้งสุดท้าย พระพรหมสุธี) เป็น พระกรรมวาจาจารย์ พระครูสรวุฒพิ ศิ าล (จ�ำปี มุนนิ ธฺ โร สมณศักดิ์ ครัง้ สุดท้าย พระสุนทรวิหารการ เป็นพระอนุสาวนาจารย์)

CHUMPHON 127 (6

).indd 127

16/12/2560 10:09:29


กิจกรรมของวัดประจ�ำปี

มาฆบูชา วิสาขบูชา อาสาฬหบูชา วันเข้าพรรษา วันออกพรรษา ประเพณีปดิ ทองรอยพระพุทธบาทจ�ำลอง เกาะแก้ว มัตโพน ซึง่ จะจัดช่วงระหว่างก่อนถึงวันวิสาขบูชา 10 วัน ของทุกปี จัดมาร่วม 80 ปีเศษ 16 พฤศจิ ก ายน ของทุ ก ปี วั น ท� ำ บุ ญ ครบรอบ มรณภาพแห่งบูรพาจารย์ของวัด งานสวดมนต์ข้ามปีในช่วงระหว่างวันส่งท้ายปีเก่า ต้ อ นรั บ ปี ใ หม่ ข องปี ถั ด ไป ซึ่ ง จะมี ป ระชาชนมาร่ ว ม สวดมนต์กันกว่า 1,000 คน ทุกๆปี

สิ่งศักดิ์สิทธิ์ภายในวัด

พระอุโบสถ์ ซึ่งได้ขอพระบรมราชานุญาติอันเชิญ ภปร. ประจ�ำรัชกาลที่ 9 ติด ประดิษฐานไว้ทั้ง 2 ด้าน พระพุทธชินราชจ�ำลอง อันเป็นพระประธานในพระอุโบสถ (สร้างในปี พ.ศ. 2520) กะโหลกหลวงพ่อเชย ติสฺสโร (อดีตเจ้าอาวาสรูปที่ 9) พระสีวลี รอยพระพุทธบาทจ�ำลอง คุณพ่อเนื่อง แม่กัน สุวรรณเมนะ สร้างถวายเมื่อวัน ที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2492 ต้นศรีมหาโพธิแ์ ละเจดียเ์ ก่าแก่ของวัด (หลวงพ่อหยวก) สันนิษฐานว่าสร้างก่อน พ.ศ. 2429 มณฑป 3 หลวงพ่ อ คื อ หลวงพ่ อ สิ น ธิ์ ( วั ด คู ขุ ด ) หลวงพ่ อ เชย (วัดปากน�้ำชุมพร) และหลวงปู่สงฆ์(วัดเจ้าฟ้าศาลาลอย) รูปหล่อกรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ บิดาแห่งกองทัพเรือไทย สรีระสังขารพระครูสนุ ทรวิรยิ านุยตุ (อดีตเจ้าอาวาสวัดปากน�ำ้ ชุมพร รูปที่ 11) วัดปากน�้ำชุมพร ตั้งอยู่ที่ 370 หมู่ที่ 2 ต�ำบลปากน�ำ ้ อ�ำเภอเมือง จังหวัดชุมพร ติดต่อสอบถาม พระครูศรีธรรมวิเทศ โทร.086-0984661

128 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย (6

).indd 128

16/12/2560 10:09:46


CHUMPHON 129 (6

).indd 129

16/12/2560 10:09:51


บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วั ด ปากคลอง

พระครูปลัดศิริโชค สิริธมฺโม เจ้าอาวาสวัดปากคลอง เจ้าคณะต�ำบลบางหมาก

วัดปากคลอง ตั้งอยู่ที่บ้านปากคลอง ถนนนาทุ่ง – ปากคลอง หมู่ที่ 7 ต�ำบลนาทุง่ อ�ำเภอเมืองชุมพร จังหวัดชุมพร สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ทีด่ นิ ตัง้ วัดมีเนือ้ ที่ 12 ไร่ น.ส.3 ก เลขที่ 4830 อาณาเขต ทิศเหนือจดเขาไทรน้อย ทิศใต้ ทิศตะวันออกและทิศตะวันตกจดทีด่ นิ เอกชน อาคารเสนาสนะ ประกอบด้วย ศาลาการเปรียญ กว้าง 14 เมตร ยาว 22 เมตร สร้างเมือ่ พ.ศ. 2526 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็กทรงไทยชัน้ เดียว กุฏสิ งฆ์ จ�ำนวน 6 หลัง เป็นอาคารครึง่ ตึกครึง่ ไม้ 2 หลัง และตึก 4 หลัง ศาลาอเนกประสงค์ กว้าง 16 เมตร ยาว 28 เมตร สร้างเมือ่ พ.ศ. 2527 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก 2 ชัน้ นอกจากนี้มีฌาปนสถาน หอระฆัง โรงครัว และกุฏิเจ้าอาวาส ปูชนียะวัตถุ มีพระประธานประจ�ำศาลาการเปรียญปางสมาธิ ขนาดหน้าตักกว้าง 30 นิว้ สูง 57 นิว้ สร้างเมือ่ พ.ศ. 2540 รูปเหมือนหลวงปูส่ งฆ์ หลวงปูเ่ ปียก วัดปากคลอง ได้ดำ� เนินการก่อสร้างโดยการด�ำริของ พระสมุหส์ มผล เขมาภิรโต และได้ รั บ อนุ ญ าตให้ ส ร้ า งวั ด เมื่ อ วั น ที่ 27 กุ ม ภาพั น ธ์ พ.ศ. 2529 โดย นายชุ่ม สุขวิสุทธิ์ และได้ดำ� เนินการก่อสร้างเสนาสนะ ที่จำ� เป็นในการประกอบ ศาสนกิจของพระภิกษุสามเณร วันที่ 28 สิงหาคม พ.ศ. 2529 กรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ โดยความ เห็ น ชอบชองมหาเถรสมาคมประกาศตั้ ง วั ด ในพระพุ ท ธศาสนา มี น ามว่ า “วัดปากคลอง” เจ้าคณะจังหวัดชุมพร ได้พจิ ารณาแต่งตัง้ ให้ พระสมุหส์ มผล เขมาภิรโต ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง เจ้ า อาวาสวั ด ปากคลอง รู ป แรก เมื่ อ วั น ที่ 13 ธั น วาคม พ.ศ. 2529 วัดปากคลองมีเนือ้ ที่ จ�ำนวน 2 แปลง รวม 12 ไร่ 3 งาน 58 ตารางวา

130 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย (2

).indd 130

16/12/2560 10:13:13


ท�ำเนียบเจ้าอาวาสวัดปากคลอง

พระสมุหส์ มผล เขมาภิรโต (พระครูเกษม ธรรมประยุต) ด�ำรงต�ำแหน่ง พ.ศ. 2529 - 2544 พระมหาภูริณัฏฐ์ ญาณเมธี ป.ธ.9 ด�ำรง ต�ำแหน่งผูร้ กั ษาการแทนเจ้าอาวาส พ.ศ. 2544 – 2546 พระสมุหป์ ระพนธ์ ปริปณ ุ โฺ ณ ด�ำรงต�ำแหน่ง พ.ศ. 2546 – 2552 พระครูปลัดศิรโิ ชค สิรธิ มฺโม ด�ำรงต�ำแหน่ง พ.ศ. 2552 – ปัจจุบนั พระครูปลัดศิรโิ ชค สิรธิ มฺโม ปัจจุบนั อายุ 41 พรรษา 21 (2560) ปัจจุบันด�ำรงต�ำแหน่ง ปกครองคณะสงฆ์ เจ้ า อาวาสวั ด ปากคลอง เจ้าคณะต�ำบลบางหมาก และหัวหน้าพระวินยาธิ การประจ�ำอ�ำเภอเมืองชุมพร

หน่วยงานที่ตั้งอยู่ในวัด

(2

).indd 131

1. มูลนิธวิ ดั ปากคลอง 2. ส�ำนักศาสนศึกษาวัดปากคลอง 3. ส�ำนักงานเจ้าคณะต�ำบลบางหมาก 4. ศูนย์ประสานงานพระวินยาธิการประจ�ำอ�ำเภอเมืองชุมพร 5. ศูนย์ประสานงานพระสอนศีลธรรม ชุมพร เขต 1 CHUMPHON 131 16/12/2560 10:13:30


บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดพรุ ใหญ่

พระครูสถิตญาณปยุต เจ้าอาวาสวัดพรุใหญ่ ประวัติความเป็นมา

ก่อนปี พ.ศ. 2534 พื้นที่ของหมู่ที่ 6 ต�ำบลสะพลี อ�ำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร ซึง่ เป็นทีต่ งั้ ของวัดพรุใหญ่ใน ปัจจุบนั เป็นป่าช้าของหมูบ่ า้ น ในปี พ.ศ. 2534 พระอารีย์ จากวัดสามแก้ว มีความประสงค์ที่จะมาปฏิบัติธรรมที่ พื้นที่ดังกล่าว อาจารย์สมพงษ์ นาควิเชียร ซึ่งเป็น ลูกศิษย์ของท่านและเป็นอาจารย์สอนอยูท่ โี่ รงเรียนศรียาภัย จังหวัดชุมพร ได้น�ำนักเรียนจ�ำนวน 10 คน มาร่วมกัน สร้ า งกุ ฏิ ที่ พั ก เป็ น ที่ พั ก ชั่ ว คราวหลั ง เล็ ก ๆ ให้ กั บ พระอารีย์ ได้ปฏิบัติธรรม ในปี พ.ศ. 2535 อาจารย์ ส มพงษ์ นาควิ เชี ย ร ปรึ ก ษาหารื อ กั บ นายเลีย่ น สุดรอด ผูช้ ว่ ยผูใ้ หญ่บา้ น เพือ่ สร้างศาลาบ�ำเพ็ญ กุศล โดยมีนายภิญโญ พินวานิช เป็นผู้บริจาคไม้เพื่อการ ก่อสร้าง 132 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย (6

) ver.2.indd 132

16/12/2560 10:24:24


อาจารย์ ส มพงษ์ นาควิ เชี ย ร พร้ อ มด้ ว ยนั ก เรี ย น โรงเรียนศรียาภัยได้บริจาคเงินซือ้ เสาและสังกะสี และมีกลุม่ ผู้ก่อสร้างคือ นายเลี่ยน สุดรอด นายล้วน สุดรอด นายเมิน พลชะนา นายประยูร คชรินทร์ นายชัยสงค์ ประทับกอง เมือ่ สร้างศาลาเสร็จแล้วได้ตงั้ ชือ่ ว่าทีพ่ กั สงฆ์สวนป่าบ้านดอน ใหญ่ หลังจากนัน้ เป็นต้นมาชาวบ้านก็ได้รว่ มกันสร้างอาคาร เสนาสนะขึน้ มากมาย ท�ำให้วดั พรุใหญ่มศี าสนสถานครบถ้วน สามารถใช้ เป็นสถานที่บรรพชาอุปสมบทและกิจกรรม ทางศาสนา เป็ น ศู น ย์ ก ารเรี ย นรู ้ พ ระพุ ท ธศาสนาได้ อย่างสมบูรณ์

CHUMPHON 133 (6

) ver.2.indd 133

16/12/2560 10:24:30


ประวัติเจ้าอาวาส

พระครูสถิตญาณปยุต ชื่อเดิมคือ นายบุญมี ทองสง่า เป็นบุตรของนาย พิชยั และนางประสพ ทองสง่า เกิดเมือ่ วันที่ 28 กรกฎาคม 2508 ณ บ้านเลขที่ 81 ต�ำบลบางลึก อ�ำเภอเมือง จังหวัดชุมพร จบการศึกษาระดับชั้นประถมศึกษา ปีที่ 4 จากโรงเรียนบ้านศาลาลอย และได้ไปฝากตัวเป็นศิษย์หลวงปู่สงฆ์ที่วัด เจ้าฟ้าศาลาลอย อ�ำเภอเมือง จังหวัดชุมพรได้อุปสมบทเมื่อปี พ.ศ. 2538 ณ อุโบสถวัดเจ้าฟ้าศาลาลอยเป็นพระบุญมี ฐิตญาโน ปี พ.ศ. 2539 ได้รบั นิมนต์ จากชาวบ้านพรุใหญ่ให้ไปเป็นพระหัวหน้าทีพ่ กั สงฆ์บา้ นดอนใหญ่ อ�ำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร ศึกษาทางด้านธรรมะและสอบได้นักธรรมเอก ศึกษาหลักสูตร สายสามัญจนจบการศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จากการศึกษานอก ระบบ ได้ร่วมกับประชาชนในท้องถิ่นสร้างที่พักสงฆ์และศาสนสถาน และขอ พระราชทานวิสุงคามสีมาเลื่อนจากที่พักสงฆ์เป็นวัดพรุใหญ่เมื่อปี 2546 และ ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นเจ้าอาวาสวัดพรุใหญ่ ในปี พ.ศ. 2544 และได้รับ พระราชทานสมณศักดิเ์ ป็นพระครูสถิตญาณปยุต ในปี พ.ศ. 2550ได้ศกึ ษาต่อ ในระดับปริญญาตรีและจบการศึกษาสาขาการจัดการทัว่ ไปจากมหาวิทยาลัย ราชภัฏเพชรบุรี ในปี พ.ศ. 2558

พัฒนาชุมชนโดยใช้หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา จากสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารีฯ ปี พ.ศ. 2560 รางวัลหมู่บ้านรักษาศีล 5 ต้นแบบดีเด่น ระดับ จังหวัด จากสมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ พระครูสถิตญาณปยุต ได้ให้ความส�ำคัญกับภารงานทุกด้านที่ เห็นว่าสามารถช่วยชาวบ้านหรือหน่วยงานอื่นๆ ทั้งระดับหมู่บ้าน ต�ำบล อ�ำเภอและจังหวัดได้ และให้ความร่วมมือเป็นอย่างดียงิ่ กับทุก หน่วยงานที่ได้รับการร้องขอ ท�ำให้วัดพรุใหญ่เป็นที่รู้จักและได้รับ การคัดเลือกเป็นวัดตัวแทนทั้งระดับอ�ำเภอและจังหวัดอยู่เสมอ ดังเช่น งานพิธถี วายดอกไม้จนั ทน์แด่สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ล อดุลยเดช บรมนาถบพิตรเมื่อวันที่ 26 ตุลาคม 2560 วัดพรุใหญ่ได้ รับคัดเลือกให้เป็นสถานที่จัดพิธีดังกล่าวของอ�ำเภอปะทิว

หน้าที่รับผิดชอบ - เจ้าอาวาสวัดพรุใหญ่ (เป็นเจ้าอาวาสตัง้ แต่เริม่ สร้างวัดจนถึงปัจจุบนั ) - พระวิปัสสนาจารย์ - ครูสอนพระปริยัติธรรม - พระธรรมทูตประจ�ำจังหวัดชุมพร เขต 8 - รองผู้อำ� นวยการโรงเรียนพระปริยัติธรรมประจ�ำต�ำบล - ผู้อำ� นวยการศูนย์พระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ - เจ้าส�ำนักปฏิบัติธรรมประจ�ำจังหวัดแห่งที่ 4 - เจ้าส�ำนักศาสนศึกษาวัดพรุใหญ่ - คณะกรรมการเผยแผ่พระพุทธศาสนา ประจ�ำจังหวัดชุมพร - ประธานคณะกรรมการด�ำเนินงานโครงการลานธรรม ลานวิถีไทย วัดพรุใหญ่ ต�ำบลสะพลี อ�ำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร - คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนบ้านหนองเนียน โรงเรียน บ้านสะพลี(บางกอกโพสต์ศกึ ษา) โรงเรียนอนุบาลบ้านเนินส�ำลี โรงเรียนไทยรัฐ วิทยา 78 (วัดสามัคคีชยั ) ส�ำนักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาชุมพร เขต 1 - เจ้าคณะต�ำบลทะเลทรัพย์ ผลงาน เนื่ อ งจากพระครู ส ถิ ต ญาณปยุ ต เป็ น พระสงฆ์ ที่ มี เ มตตา มุ ่ ง มั่ น ใน การพัฒนาทั้งในด้านศาสนสถาน พัฒนาชุมชนและพัฒนาพระสงฆ์มาอย่าง ตั้งใจและต่อเนื่อง ท�ำให้รับรางวัลหลายรางวัล เช่น ปี พ.ศ. 2552 รับโล่เกียรติยศจากส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถม ศึกษาชุมพรเขต 1 จากการบริจาคเงิน สร้างห้องสมุดโรงเรียนบ้านหนองเนียน ปี พ.ศ. 2553 รางวัลวัดลานบุญ ลานปัญญา ต้นแบบจากกรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม ปี พ.ศ. 2554 เกียรติบัตรวัดส่งเสริมสุขภาพดีเด่น จากส�ำนักงาน สาธารณสุขจังหวัดชุมพร ปี พ.ศ. 2557 รางวัลผู้ท�ำคุณประโยชน์ ประเภทสงเคราะห์และส่งเสริม 134 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย (6

) ver.2.indd 134

16/12/2560 10:24:33


เสนาสนะส�ำคัญ

อุโบสถ สร้างเมือ่ พ.ศ. 2542 เป็นอาคารทรงไทยคอนกรีตเสริมเหล็ก ช่อฟ้าใบระกา ท�ำด้วยปูนปั้นประดับกระจก หลังคามุงกระเบื้องเคลือบ พระประธานในอุโบสถเป็นพระแก้วมรกตจ�ำลอง จ�ำนวน 1 หลัง กุฏิเจ้าอาวาส สร้างเมื่อ พ.ศ. 2547 เป็นอาคารชั้นเดียวยกพื้นสูง 80 เซนติเมตร มีสว่ นประกอบด้านหน้าเป็นลานโล่งส�ำหรับรับแขก จ�ำนวน 1 หลัง อาคารหอฉัน จ�ำนวน 1 หลัง กุฏิพระสงฆ์ ทั้งเป็นแบบเรือนแถวและเป็นหลังเล็กๆ แบบเรียบง่าย จ�ำนวน 18 ห้อง ห้องน�ำ้ – ห้องส้วม จ�ำนวน 26 ห้อง วิหารหลวงปู่สงฆ์ 1 หลัง หอระฆัง 1 หลัง ศาลาเรือนไทย 1 หลัง อาคารเรียนพระปริยัติธรรม 2 ชั้น 1 หลัง อาคารเอนกประสงค์ 2 หลัง อาคารศูนย์พระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ 1 หลัง อาคารพระพุทธเจริญพร 1 หลัง ประดิษฐานพระพุทธเจริญพร ขนาดหน้าตัก 7 เมตร สูง 14 เมตร ลานพระพุทธฤทธีศรีสนุ ทร ประดิษฐานพระพุทธฤทธีศรีสนุ ทร และ รูปเคารพ

ได้จดั กิจกรรมทางพระพุทธศาสนาในโอกาสวันส�ำคัญหรือจัดนิทรรศการ ทีใ่ ห้เรียนรูเ้ กีย่ วกับชีวติ วิถพี ทุ ธ ด้านสาธารณูปการ เน้นให้มสี ถานทีท่ เี่ อือ้ ต่อการปฏิบัติธรรมของคณะสงฆ์ และด้านสาธารณะสงเคราะห์ ได้ให้ ความช่วยเหลือสงเคราะห์ผู้ยากไร้ขาดที่พึ่ง ช่วยเหลือผู้ประสบภัยและ ประชาชนผู้ทุกข์ร้อนเบื้องต้น

แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาวัดพรุใหญ่

เมือ่ ได้สร้างศาสนสถานของวัดพรุใหญ่ให้มคี วามพร้อมพอสมควรแล้ว พระครูสถิตญาณปยุต จึงได้วางแผนในการพัฒนางานของพระศาสนาตาม ภารกิจของสงฆ์ทั้ง 6 ด้าน อันได้แก่ ด้านการปกครองที่เน้นการคัดกรอง คุณภาพของผู้เข้าอุปสมบทหรือใช้หลักธรรมอธิบายให้ผู้เข้าอุปสมบท มี ค วามตระหนั ก ในการเข้ า มาเป็ น พระสงฆ์ ที่ ต ้ อ งเป็ น แบบอย่ า ง ด้านศาสนศึกษา เน้นให้ผู้เข้าอุปสมบท ได้ศึกษาหลักธรรมะอย่างตั้งใจ จัดให้เยาวชนได้เข้าศึกษาหลักธรรม ที่โรงเรียนพระปริยัติธรรมในวัด ด้านศึกษาสงเคราะห์ ได้ให้โอกาส ทางการศึกษาแก่เยาวชนทั้งการให้ทุนการศึกษาและจัดพระภิกษุให้ไป ท�ำการสอนศีลธรรมในโรงเรียน จัดสนามสอบธรรมศึกษา ด้านการเผยแพร่ CHUMPHON 135 (6

) ver.2.indd 135

16/12/2560 10:24:36


136 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย (6

) ver.2.indd 136

16/12/2560 10:24:44


เมื่อวัดพรุใหญ่ได้ด�ำเนินการกิจการของสงฆ์เป็นพื้นฐานได้อย่างน่า พอใจในระดับหนึ่งแล้ว ตั้งแต่ปี 2550 เป็นต้นมา พระครูสถิตญาณปยุต ได้มแี นวความคิดทีจ่ ะพัฒนาชุมชนบ้านพรุใหญ่และชุมชนโดยใช้หลักการ มีส่วนร่วม ซึ่งร่วมกับองค์การบริหารส่วนต�ำบลสะพลี ผู้น�ำชุมชน ก�ำนัน ผู้ใหญ่บ้าน หน่วยงานราชการ หน่วยงานเอกชน สถานศึกษาและ ประชาชน องค์การบริหารส่วนต�ำบลสะพลีนนั้ มีแนวนโยบายด้านการพัฒนาที่ สอดคล้องกับวัดพรุใหญ่ ทัง้ นีอ้ งค์การบริหารส่วนต�ำบลสะพลีได้มนี โยบาย ในการบริหารดังนี้ ด้านโครงสร้างพืน้ ฐาน ด้านคุณภาพชีวติ ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม/ความปลอดภัย ด้านสิง่ แวดล้อม ด้านการศึกษา ด้านการท่องเทีย่ ว และกีฬา และด้านการบริหารงาน โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอ เพียงหลักการมีส่วนร่วม หลักความโปร่งใส เหตุและผลอันจะน�ำมาซึ่ง ความสุขที่ยั่งยืนของชุมชนและสังคมโดยรวม

CHUMPHON 137 (6

) ver.2.indd 137

16/12/2560 10:24:45


บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดเขากล้ ว ย ดร.พระครูวินัยธร วรรณไชย สิริวณฺโณ เจ้าอาวาสวัดเขากล้วย ประวัติความเป็นมา

วัดเขากล้วย ตัง้ อยูท่ ี่ ต�ำบลหาดพันไกร อ�ำเภอเมืองชุมพร จังหวัดชุมพร เดิมเป็นส�ำนักสงฆ์ และยกขึ้นเป็นวัด โดยใช้ชื่อว่าวัดเขากล้วย ด้วยบารมี ของหลวงปู่ สงฆ์ จันทสโร วัดเขากล้วย เริ่มก่อตั้งขึ้นเป็นวัดครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2527 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาครั้งแรก เมื่อ พ.ศ. 2545 ปัจจุบนั เจ้าอาวาสคือ พระครูวนิ ยั ธร วรรณไชย สิรวิ ณโณ ฐานานุกรมใน พระธรรมโกศาจารย์ ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดชุมพร

138 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย (2

).indd 138

16/12/2560 10:29:16


ประวัติหลวงพ่อสงฆ์

หลวงพ่อสงฆ์ จนฺทสโร ท่านมีนามเดิมว่า สง นามสกุล ถึงวิไสย เกิดเมือ่ วันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2432 ณ บ้านหนองหลวง จังหวัดชุมพร บิดาของ ท่านคือ นายแดง มารดาชือ่ นางนุย้ มีอาชีพท�ำเกษตรกรรม ต่อมาเมือ่ อายุ 18 ปี ท่านได้เข้าบรรพชาเป็นสามเณร ณ วัดสวี วัดใกล้บา้ น ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2462 ท่านได้ปฏิบตั กิ จิ ของสงฆ์อย่างเคร่งครัด และเป็น พระผูป้ ฏิบตั ดิ ี ปฏิบตั ชิ อบ และมักจะมีชาวบ้าน ญาติโยมมาขอพร หรือ ขอความช่วยเหลือจากท่าน มรณภาพ รวมสิรอิ ายุได้ 94 ปี 74 พรรษา รวมระยะเวลาในการด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสนานถึง 64 ปี

ประวัติเจ้าอาวาส

ดร.พระครูวนิ ยั ธร วรรณไชย สิรวิ ณฺโณ นามสกุล มะยงค์ พรรษา 24 นักธรรมเอก ฐานานุกรมใน พระธรรมโกษาจารย์ วุฒกิ ารศึกษา นิติศาสตร์ บัณฑิต มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช รัฐศาสตร์ มหาบัณฑิต การเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยสุโขทัย ธรรมาธิราช รัฐประศาสนศาสตร์ มหาบัณฑิต การบริหารท้องถิ่น มหาวิทยาลัย ราชภัฎเพชรบุรี พุทธศาสตร์ ดุษฏีบณ ั ฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย ประสบการท�ำงาน รับราชการต�ำรวจ 15 ปี (ปี พ.ศ. 2522 - 2537 ) บรรพชาอุปสมบท 24 พรรษา เจ้าอาวาสวัดเขากล้วย เป็นพระธรรมทูตสาย 8 จังหวัดชุมพร ผลงานทางวิชาการ งานวิจยั เรือ่ ง “ความขัดแย้งของกลุม่ นักการเมืองท้องถิน่ ในจังหวัด ชุมพร” งานวิจัยเรื่อง “การบริหารกิจการคณะสงฆ์ในจังหวัดชุมพรด้วย ทศพิธราชธรรม” บทความทางวิชาการเรื่อง “บทบาทหน้าที่และความส�ำคัญของ อนุศาสนาจารย์ตำ� รวจในประเทศไทย” งานวิจยั ปี2560 เรือ่ ง “การพัฒนาองค์ประกอบของอนุศาสนาจารย์ ในการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมต�ำรวจ”

CHUMPHON 139 (2

).indd 139

16/12/2560 10:29:29


บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัพระครูดพหัิจิตวรพัถนน ฒนานุโยค เจ้าอาวาสวัดหัวถนน ประวัติความเป็นมา

วัดหัวถนน ตัง้ อยูท่ ี่ หมู่ 7 ต�ำบลปากน�ำ้ อ�ำเภอเมือง จังหวัดชุมพร หลังจากทีค่ ณ ุ จิตร รุง่ เมทิกลุ และ คุณจงดี กุปาปุล ผูม้ จี ติ ศรัทธา บริจาค ทีด่ นิ ให้สร้างวัด จ�ำนวน 5 ไร่ 93 ตารางวา เมือ่ ปี พ.ศ. 2531 ชาวบ้านหมู่ 7 และหมู่ 9 บ้านหัวถนน จึ่งร่วมมือร่วมใจกันสร้างกุฏิขึ้นมา 1 หลัง และนิมนต์หลวงพ่อเรื่อง จากวัดหัวกรูด ต�ำบลปากน�้ำ อ�ำเภอเมือง จังหวัดชุมพร มาเป็นผูด้ แู ล โดยตัง้ ชือ่ ว่า “ทีพ ่ กั สงฆ์เทพนิมติ มงคลธรรม” และมีพระภิกษุมาร่วมจ�ำพรรษา 3 รูป ในระหว่างนีช้ าวบ้านก็รว่ มกันสร้าง หอฉันหอสวดมนต์ขนึ้ อีก 1 หลัง พร้อมกับกุฏพิ ระสงฆ์อกี 3 หลัง จนกระทัง่ ปี พ.ศ. 2533 หลวงพ่อเรือ่ ง ก็มรณภาพ

140 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย (2

).indd 140

16/12/2560 10:30:43


ต่ อ มา พ.ศ. 2534 ชาวบ้ า นได้ นิ ม นต์ ห ลวงพ่ อ เจริ ญ จากวัดปากน�ำ้ ชุมพร มาเป็นผูด้ แู ลทีพ่ กั สงฆ์เทพนิมติ มงคลธรรม ชาวบ้านก็ได้ร่วมใจกันสร้างกุฏิพระสงฆ์เพิ่มขึ้นอีก 2 หลัง สร้างห้องน�้ำ 4 ห้อง และซื้อที่ดินเพิ่มอีก 1 ไร่ 62 ตารางวา หลังจากนัน้ หลวงพ่อเจริญ ก็กลับไปจ�ำพรรษาทีว่ ดั ปากน�ำ้ ชุมพร เช่นเดิม ในช่วงปลายปี พ.ศ. 2535 ปี พ.ศ. 2535 มี ค ณะผ้ า ป่ า จากอ� ำ เภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ น�ำพระพุทธรูปปางมารวิชยั หน้าตักกว้าง 49 นิ้ว สูง 59 นิ้ว จ�ำนวน 1 องค์ มาถวายให้กับที่พักสงฆ์ หลังจากนั้นชาวบ้านได้นิมนต์พระวิสุทธิ์ วิสุทธสีโล ที่เคยมา จ�ำพรรษา ณ ทีพ่ กั สงฆ์แห่งนีเ้ มือ่ ครัง้ ทีห่ ลวงพ่อเจริญเป็นผูด้ แู ล มาเป็นหัวหน้าทีพ่ กั สงฆ์ ระหว่างนีช้ าวบ้านก็ได้รว่ มกันสร้างกุฏิ พระสงฆ์ขึ้นมาอีก 2 หลัง จนกระทั่งปลายปี พ.ศ. 2538 พระวิสุทธิ์ วิสุทธสีโล ก็เดินทางกลับวัดปากน�ำ้ ชุมพร เมื่ อ วัน ที่ 7 ธัน วาคม พ.ศ. 2538 ชาวบ้ า นได้ นิ มนต์ พระวาส จารุธมโม จากวัดปากน�้ำชุมพร มาเป็นหัวหน้าที่พัก สงฆ์ จนถึง พ.ศ. 2546 ชาวบ้านร่วมกันสร้างวัตถุถาวร ดังนี้ 1. เมรุเผาศพ จ�ำนวน 1 หลัง 2. ศาลาเทียบเมรุ จ�ำนวน 1 หลัง 3. กุฏิเจ้าอาวาส จ�ำนวน 1 หลัง 4. กุฏิพระ จ�ำนวน 1 หลัง 5. หอระฆัง จ�ำนวน 1 หลัง 6. โรงครัว จ�ำนวน 1 หลัง 7. สะพานคอนกรีตหน้ากุฏิพระ ยาว 60 เมตร พ.ศ. 2540 พระวาส จารุธมโม ได้ด�ำเนินการขอสร้างวัด ในนามของ นายไสว โชตสุวรรรณ ได้รบั อนุญาตให้สร้างวัดจาก กรมการศาสนา เมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2541 ปลายปี พ.ศ. 2541 ได้ท�ำเรื่องขอตั้งวัดและได้รับอนุญาตให้ตั้งวัดจาก กรมการศาสนา เมื่อวันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2543 โดยตั้งชื่อ วัดว่า “วัด หัวถนน” หมู่ที่ 7 ต�ำบลปากน�้ำ อ�ำเภอเมือง จังหวัดชุมพร มีพระสมุห์วาส จารุธมโม อายุ 37 ปี พรรษา 14 เป็นเจ้าอาวาสวัดหัวถนน เป็นรูปแรก เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544 หลังจากนั้น พระสมุห์วาส จารุธมโม ลาออกจากต�ำแหน่ง เจ้าอาวาส คณะกรรมการวัดจึงนิมนต์ พระไกรสร จิตตปาโล จากวัดปากน�้ำชุมพร มารักษาการแทนเจ้าอาวาส วันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2546 และได้รับการแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาส วัดหัวถนน เมื่อวันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2547 เป็นเจ้าอาวาส ล� ำ ดั บ ที่ 2 จนกระทั่ ง ถึ ง ปั จ จุ บั น และได้ รั บ พระราชทาน สมณศั ก ดิ์ เ ป็ น พระครู สั ญ ญาบั ต รเจ้ า คณะต� ำ บลชั้ น เอก ในราชทินนามที่ “พระครูพิจิตรพัฒนานุโยค” CHUMPHON 141 (2

).indd 141

16/12/2560 10:30:50


บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดสุวรรณคูหาวารีวงค์ (วัดถ�้ำโพงพาง) พระอธิการบุญมา ปภากโร เจ้าอาวาสวัดสุวรรณคูหาวารีวงค์ วัดสุวรรณคูหาวารีวงค์ ตั้งอยู่ที่บ้านโพงพาง บริเวณ อ่าวทุ่งมะขาม เลขที่ 99 ม.3 ต.หาดทรายรี อ.เมือง จ.ชุมพร ก่ อ ตั้ ง วั ด เมื่ อ ปี พ.ศ. 2458 ได้ รั บ วิ สุ ง คามสี ม า เมื่ อ ปี พ.ศ. 2460 บนเนื้ อ ที่ 12 ไร่ 2 งาน 50 ตารางวา วัดสุวรรณคูหาวารีวงค์ หรือชื่อที่ชาวบ้านเรียกกันโดยทั่วไป คือ “วัดถ�้ำโพงพาง” เนื่องจากตั้งอยู่ในบริเวณชุมชนบ้าน โพงพาง อ่าวทุ่งมะขาม ทิศเหนือจรดที่ดินชาวบ้าน, ทิศใต้ จรดเขาโพงพาง, ทิศตะวันออก จรดทะเลอ่าวไทย, ทิศตะวัน ตกจรดเขาโพงพาง(เป็นหน้าผา)

142 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย (2

).indd 142

16/12/2560 10:32:24


ประวัติเจ้าอาวาส

หลวงปูบ่ ญุ มา ปภากโร “เทพเจ้าแห่งความเมตตา” เกิดเมือ่ วันพฤหัสบดี ที่ 17 ธันวาคม 2469 ตรงกับปีขาล ขึน้ 12 ค�ำ ่ เดือน 1 ณ บ้านโคกสะบ้าหนึง่ หมูท่ ี่ 4 ต�ำบลนาบินหลา อ�ำเภอเมือง จังหวัดตรัง เมือ่ อายุได้ 15 ปี ได้เข้า บรรพชาเป็นสามเณรทีว่ ดั ใกล้บา้ น และศึกษาเล่าเรียนพระธรรมวินยั อย่าง ต่อเนือ่ งเป็นเวลา 5 ปี ในขณะทีบ่ วชเณรได้ 5 พรรษา เมือ่ อายุครบ 20 ปีบริบรู ณ์ ต้องรับราชการทหารอยู่ 2 ปี อุปสมบท เมื่ออายุ 25 ปี ที่วัดปากจ่า ต�ำบลควนโส อ�ำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา มื่อปี พ.ศ. 2494 โดยมี พระครูพทิ กั ษ์ธรรมคุณ (เลีย่ ม จันทสโร) เป็นพระอุปชั ฌาย์ พระอาจารย์พอ้ ม เป็นพระกรรมวาจาจารย์ พระอาจารย์คล้าว กตปุญโญ เป็นพระอนุสาวสนาจารย์ ได้รบั ฉายาว่า “ปภากโร” ซึง่ มีความหมายว่า “ผูท้ ำ� แสงสว่างให้เจิดจ้า” หลวงปูบ่ ญุ มาได้จำ� พรรษาและศึกษาพระธรรมวินยั อยูท่ วี่ ดั ปากจ่าจนสอบได้ นักธรรมตรี โท เอก ตามล�ำดับ และได้ฝกึ ปฏิบตั ธิ รรมกับพระอาจารย์เกลือ่ น วัดชายนา จังหวัดนครศรีธรรมราช ต่อมาได้เดินทางมาศึกษาวิชาวิปสั นา กรรมฐานทีว่ ดั มหาธาตุ กรุงเทพฯ จนถึงปี พ.ศ. 2500 ได้ตดิ ตาม พระอาจารย์ แป้น ธัมมสโร ออกธุดงควัตรเป็นเวลา 3 ปี จนมีวิชาแก่กล้าจึงขอลา พระอาจารย์แป้นเพือ่ ธุดงค์ไปตามสถานทีต่ า่ งๆ อาทิ ลงภาคใต้ ไปภาคเหนือ อีสาน และธุดงค์เข้าประเทศพม่า ลาว เขมร เป็นต้น ด้านวิชาอาคมท่านได้รบั การถ่ายทอดจาก หลวงปูส่ งฆ์ และไปฝากตัวเป็น ศิษย์ของพ่อท่านคล้าย วัดสวนขัน ส่วนการสร้างวัตถุมงคลนัน้ หลวงปูบ่ ญุ มา ได้จดั สร้างมาแล้วหลายรุน่ เป็นทีก่ ล่าวขานว่าดีทางด้านโชคลาภ เมตตา มหานิยม แคล้วคลาด ปลอดภัย คงกระพันชาตรี คุม้ ครองป้องกันภัย ค้าขาย เจริญรุง่ เรืองดีมาก

CHUMPHON 143 (2

).indd 143

16/12/2560 10:32:38


วัดเขตอุดมศักดิ์วนาราม พระครูอุดมเขตตาภิวัฒน์ เจ้าอาวาสวัดเขตอุดมศักดิ์วนาราม วัดเขตอุดมศักดิ์วนาราม ตั้งอยู่หมู่ที่ 6 ต�ำบลหาดทรายรี อ�ำเภอเมือง จังหวัดชุมพร เป็นวัดที่ตั้งขึ้นเพื่อเทิดพระเกียรติ และเป็ น ศาสนานุ ส รณ์ แด่ พ ลเรื อ เอกพระเจ้ า บรมวงศ์ เ ธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ ซึ่งพื้นที่ตั้งวัดนั้น เดิมเป็นที่ที่พระองค์ท่านได้มาจับจองไว้ เพื่อ สร้างสวนและพระต�ำหนักที่ประทับ หลังจากทรงเกษียณอายุ ราชการแล้ว ต่อมาเมื่อพระองค์ ได้สิ้นพระชนม์เมื่อปี พ.ศ.2466 ทางพระโอรสและพระธิดาก็มิได้มีการด�ำเนินการใดๆ ในพื้นที่ ปล่อยให้ชาวบ้านทั้งคนในพื้นที่เดิมและที่อพยพโยกย้ายมาจาก ที่อื่นๆ ได้เข้าจับจองท�ำกินบ้าง สร้างบ้านเรือนอยู่อาศัยบ้าง จนแทบหมด ต่ อ มานายน้ อ ม ภู มิ สุ ว รรณ ซึ่ ง เคยถวายงาน พระองค์ ท ่ า นในสมั ย เด็ ก ได้ ร ่ ว มกั บ ผู ้ ที่ มี ค วามศรั ท ธา ในพระบารมีของพระองค์ ได้ด�ำริสร้างวัดขึ้นในพื้นที่ที่เหลืออยู่ บางส่ ว น และขอซื้ อ เพิ่ ม เติ ม จากชาวบ้ า นบางส่ ว น เพื่ อ เป็ น ศาสนานุสรณ์ระลึกถึงพระองค์ โดยเริ่มสร้างอาคารเสนาสนะ กุฏิที่พักสงฆ์ และนิมนต์พระมาอยู่พักจ�ำพรรษาเพื่อให้ชาวพุทธ ในละแวกนี้ ได้มีที่บ�ำเพ็ญบุญตามประเพณี ไม่ต้องเดินทางไกล ถึงวัดปากน�้ำชุมพร ที่อยู่ห่างออกไปถึง 7 กิโลเมตร

เมื่อที่พักสงฆ์ ส�ำเร็จเป็นรูปเป็นร่างและมีความเจริญขึ้นเป็นล�ำดับ จึงได้ท�ำหนังสือขอประทานอนุญาตจากทางฝ่ายราชสกุล “อาภากร” เพื่ อ ขอตั้ ง ชื่ อ วั ด ตามพระนาม โดยได้ รั บ การประทานอนุ ญ าตจาก หม่อมเจ้าหญิงเริงจิตรแจรง อาภากร พระธิดาในพระองค์ทา่ นให้ใช้ชอื่ วัด ว่า “วัดเขตอุดมศักดิ์วนาราม” ได้รับการประกาศเป็นวัดอย่างเป็น ทางการเมื่ อวั น ที่ 30 มิ ถุ น ายน พ.ศ.2523 หลังจากนั้นเป็นต้นมา มีพระจ�ำพรรษามาตลอดมิได้ขาดและวัดก็มีความเจริญขึ้นตามล�ำดับ โดยที่ทางราชสกุล อาภากร ในพระองค์ท่านก็ยังคงให้ความอุปถัมภ์ ช่วยเหลือทางวัดมาโดยตลอด

ล�ำดับเจ้าอาวาส

รูปที่ 1 พระจวน รูปที่ 2 พระหลัด รูปที่ 3 พระครูสุนทรวิริยานุยุต รูปที่ 4 พระชื่น กิตฺติปาโล รูปที่ 5 พระมหาประมวล โกวิโท รูปที่ 6 พระครูอุดมเขตตาภิวัฒน์

พ.ศ.2502 – 2504 พ.ศ.2504 - 2505 พ.ศ.2505 - 2513 พ.ศ.2513 – 2521 พ.ศ.2521 - 2532 พ.ศ.2532 – ปัจจุบนั .

144 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย (1

).indd 144

16/12/2560 9:38:04


ยกระดับระบบโทรคมนาคมอาเซียน

Inter n e t o f thing s ส�ำนักงาน กสทช.ร่วมกับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมัลติมเี ดียแห่งมาเลเซีย ส�ำนักงานคณะกรรมการกิจการการสือ่ สารและมัลติมเี ดีย แห่งมาเลเซีย และจีเอ็สเอ็มเอ จัดฝึกอบรมระดับผู้เชี่ยวชาญด้านนโยบายและกฎระเบียบโทรคมนาคม ส�ำหรับประเทศในภูมิภาคอาเซียน พร้อมกันนีไ้ ด้รว่ มฝึกอบรมในเชิงปฏิบตั กิ าร ด้านการบริหารจัดการและการประมูลคลืน่ ความถีข่ องโครงข่ายเทคโนโลยี 5 จี ด้าน Internet of things และแลกเปลีย่ นประสบการณ์เกีย่ วกับเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั ในประเทศไทย รวมถึงกลยุทธ์และนวัตกรรมธุรกิจโทรคมนาคมในยุคเศรษฐกิจดิจทิ ลั เช่น บริการ ทางการเงินบนโทรศัพท์เคลื่อนที่ เพื่อเรียนรู้แนวคิดในการก�ำกับดูแลและการออกกฎระเบียบควบคุม เพื่อให้สอดคล้องเป็นไปตามมาตรฐาน พล.อ.อ.ธเรศ ปุณศรี ประธานกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม (กสทช.) กล่าวว่าได้เปิดโอกาสให้ผบู้ ริหาร ด้านอุตสาหกรรมโทรคมนาคมที่เกี่ยวข้องกับกิจการไอซีทีและกิจการกระจายเสียง ผู้ผลิตและจ�ำหน่ายอุปกรณ์ทางโทรคมนาคม รวมถึงนักวิชาการ จากประเทศไทยกลุ่มอาเซียนและเอเชียแปซิฟิกได้เรียนรู้และแลกเปลี่ยนทิศทางการก�ำหนดนโยบายและกฎระเบียบโทรคมนาคม รวมถึงความรู้ดา้ น การรักษาความปลอดภัยในโลกออนไลน์ CHUMPHON 145 3.

.

.indd 145

16/12/2560 14:27:29


บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วั ด ถ�้ำ พรุตะเคียน พระครูโสตถยาธิคุณ เจ้าอาวาสวัดถ�้ำพรุตะเคียน ประวัติความเป็นมา

เมื่อปี พ.ศ.2520 หลวงพ่อโปร่ง โชติโก ได้แสวงหา ที่ปฏิบัติกัมมัฏฐาน ที่จังหวัดชุมพร โดยได้ ไปจ�ำพรรษา อยู่กับหลวงพ่อเภา ที่วัดถ�้ำเขาพลู อ.ปะทิว หลังจาก ออกพรรษาท่ า นจาริ ก มาที่ ห มู ่ บ ้ า นพ่ อ ตาหิ น ช้ า ง อ.ท่าแซะ และสอบถามชาวบ้านแถวนั้นว่า มีถ�้ำบ้างไหม หลั ง จากที่ ช าวบ้ า นได้ พ าหลวงพ่ อ มาดู ท่ า นจึ ง อยู ่ ปฏิบัติกัมมัฏฐาน อยู่ที่ถ�้ำนี้ประมาณ 7 เดือน และออก ไปจ� ำ พรรษาที่ วั ด ถ�้ ำ เขาพลู กระทั่ ง ปี พ.ศ.2522 ชาวบ้านมีความศรัทธาต่อหลวงพ่อ จึงช่วยกันสร้าง กุฏิและศาลาไม้ให้หลวงพ่อ เพือ่ มาท�ำบุญและฟังธรรม และ เมื่อปี พ.ศ.2528 ท่านก็ ได้ชวนชาวบ้านให้สร้างเป็น ส�ำนักสงฆ์

146 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย (6

).indd 146

16/12/2560 10:05:55


เมือ่ ปี พ.ศ.2532 ได้เกิดพายุเกย์ ทีจ่ งั หวัดชุมพร ส่งผลให้สง่ิ ก่อสร้าง และทีอ่ ยูข่ องหลวงพ่อพังเสียหาย เหลือเพียงกุฏไิ ม้บนยอดเขา ปี พ.ศ.2533 ชาวบ้านจึงช่วยกันสร้างใหม่ คือ ศาลาไม้ ถัดมาหลวงพ่อได้ก่อสร้าง พระใหญ่พร้อมๆ กับการก่อสร้างกุฏไิ ม้ตามไหล่เขา เพิม่ ขึน้ อีกสิบกว่าหลัง ปี พ.ศ.2537 สร้างหอระฆัง ปีถัดมาสร้างแท้งน�้ำบนเขา และเริ่มก่อสร้าง พระเจดีย์บนยอดเขา เมื่อแล้วเสร็จตั้งชื่อว่า “พระธาตุรัตนะเจดีย์” โดยได้หล่อ “พระพุทธโลกวิทู” ไว้ภายในเจดีย์ และได้สร้างศาสนสถาน อีกมากมายตามล�ำดับ กระทั่งปี พ.ศ.2547 จึงได้รับการยกฐานะขึ้นเป็น วัดถ�้ำพรุตะเคียน

ประวัติเจ้าอาวาส

หลวงพ่อโปร่ง โชติกา นามเดิมว่า โปร่ง อยู่กลัด เกิดเมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2473 ทีบ่ า้ นเลขที่ 63/1 หมู่ 5 ต�ำบลตลาดขวัญ อ�ำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี บิดา - มารดา ชื่อนายเปรื่อง และนางทองหล่อ อยู่กลัด มีพนี่ อ้ งร่วมบิดา - มารดา เดียวกันทัง้ หมด 4 คน ชีวติ ในวัยเด็ก ท่านเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-3 ที่โรงเรียนวัดรางก�ำหยาด ต�ำบลบางภาษี อ�ำเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม และเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 ทีโ่ รงเรียนชมนิมติ ต�ำบลบางจาก อ�ำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ เมื่อเรียนจบจึงได้ออกมาช่วยพ่อแม่ท�ำไร่ท�ำนา ท�ำมาหาเลี้ยงชีพ ด้วยมี ฐานะยากจนไม่ มี เ งิ น เรี ย นต่ อ ในระดั บ ที่ สู ง ขึ้ น จนกระทั่ ง ได้ เข้ า พิ ธี อุปสมบทตามประเพณี เมื่อวันที่ 29 มิถุนายน พ.ศ.2494 CHUMPHON 147 (6

).indd 147

16/12/2560 10:06:04


ในช่วงพรรษาแรก หลวงพ่อโปร่งมีโอกาสศึกษากรรมฐานกับหลวงปูห่ ลิม วัดน้อย จังหวัดชลบุรี ศิษย์เอกหลวงพ่อปาน วัดมงคลโคธาวาส (บางเหีย้ ) คลองด่าน และสายพุทธาคมกับหลวงพ่อแก้ว วัดเครือวัลย์ ทีห่ ลวงปูห่ ลิม สื บ ต่ อ จากหลวงพ่ อ เจี ย ม วั ด ก� ำ แพง ผู ้ ซึ่ ง เป็ น พระอุ ป ั ช ฌาย์ และ พระอาจารย์ถัน จนหลวงพ่อโปร่งเชี่ยวชาญแตกฉานในสรรพวิชาเป็น อย่างดี จึงหวังว่าจะออกแสวงหาอาจารย์ผเู้ ชีย่ วชาญในสายพุทธาคมต่อไป แต่ด้วยภาระหน้าที่ต้องช่วยท�ำมาหาเลี้ยงครอบครัว จึงท�ำให้ท่านจ�ำต้อง ลาสึกออกมาประกอบอาชีพเป็นนายท้ายเรือตังเก จนกระทั่งแต่งงานมี ครอบครัว มีบตุ รด้วยกัน 3 คน กระทัง่ บุตรเจริญเติบโตช่วยเหลือตนเองได้ และมีฐานะความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น ท่านจึงคิดกลับมาอุปสมบทใหม่อีกครั้ง ณ วัดนาขวาง ต�ำบลกาหลง อ�ำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร ในวันที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ.2519

การอุปสมบท

ท่ า นได้ อุ ป สมบท ณ วั ด นาขวาง ต� ำ บลกาหลง อ� ำ เภอเมื อ ง จังหวัดสมุทรปราการ โดยมีพระครูสมุทรธรรมสุนทร (หลวงพ่อสุด) เป็น พระอุปัชฌาย์ พระอาจารย์น้อย เป็นพระกรรมวาจาจารย์ พระครูพยนต์ เป็นพระอนุสาวนาจารย์ หลวงพ่อโปร่งจ�ำพรรษาอยู่ที่วัดนาขวางแห่งนี้ เพือ่ ศึกษาวิชาต่างๆกับหลวงพ่อสุด เกจิอาจารย์ทชี่ าวจังหวัดสมุทรสาคร เคารพศรัทธาอย่างมาก พระอาจารย์ของตี๋ใหญ่จอมโจรชื่อดังในอดีตที่ หลวงพ่อสุดท่านได้มอบเสือเผ่น เสือหมอบและผ้ายันต์ตา่ งๆ ไว้ให้ปอ้ งกันตัว ท�ำให้รอดพ้นจากการถูกต�ำรวจนับร้อยล้อมจับและหนีเอาตัวรอดไปได้ จนมีเสียงร�่ำลือกันว่าตี๋ใหญ่มีวิชาล่องหนหายตัวได้

จากนั้นหลวงพ่อโปร่งได้ขออนุญาตพระอุปัชฌาย์ออกธุดงค์ไป แสวงหาศึกษาวิชาต่างๆ โดยช่วงแรกนั้น ท่านได้เดินธุดงค์ไปในแถว ภาคกลางตอนล่าง เช่น เพชรบุรี หัวหิน จากนั้นเดินจาริกไปเรื่อยๆ ขึ้น เหนือแล้วกลับล่องลงใต้ ค�ำ่ ที่ไหนก็ปักกลดที่นั่นไปเรื่อย จนกระทั่งมาถึง จังหวัดชุมพร ด้วยตั้งใจจะไปจ�ำพรรษากับหลวงปู่มุม แต่ด้วยหลวงปู่มุม ท่านเป็นธรรมยุต ส่วนหลวงพ่อเป็นมหานิกาย เลยไม่สามารถจ�ำพรรษา อยูก่ บั ท่านได้ จึงได้ไปจ�ำพรรษาทีว่ ดั ถ�ำ้ เขาพลู อ�ำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร กับหลวงพ่อเพรา วิสารโท ลูกศิษย์หลวงพ่อจีด ปุญญฺ สโร อดีตพระเกจิอาจารย์ ชื่อดัง โดยปักกลดจ�ำพรรษาอยู่ที่วัดถ�้ำเขาพลูนี้เป็นเวลา 4 พรรษา ตลอดเวลาที่หลวงพ่อโปร่งปักกลดจ�ำพรรษาอยู่นั้น ท่านตั้งมั่นและ เคร่งครัดในพระธรรมวินัยเป็นอย่างยิ่ง ประกอบกับมีจริยวัตรอันงดงาม ไม่โลภ ไม่จับต้องเงินทองแต่อย่างใด จนเป็นที่เลื่อมใสศรัทธาของผู้ที่ได้ พบเห็น ด้วยเหตุนจี้ งึ ท�ำให้ชาวบ้านถ�ำ้ เขาพลูรว่ มแรงร่วมใจ ช่วยกันสร้าง กุฏไิ ม้ขนึ้ ใหม่ 1 หลัง เพือ่ ให้หลวงพ่อโปร่งท่านจ�ำพรรษาและนอกจากนัน้ ยังได้สร้างศาลาฟังธรรมและเสนาสนะที่จ�ำเป็นต่างๆ เพราะกลัวว่า หลวงพ่อโปร่งท่านจะจาริกจากไป จนกระทัง่ ปี พ.ศ.2528 ได้ขอจัดตัง้ เป็น วัดส�ำเร็จและด�ำรงอยู่มาจนถึงปัจจุบัน แต่แล้วความสุขสบาย ลาภยศต่างๆ ก็ไม่อาจรั้งหลวงพ่อโปร่งให้ ยึดติดอยูไ่ ด้ ท่านออกเดินธุดงค์จากวัดถ�ำ้ เขาพลู ด้วยความมุง่ มัน่ แสวงหา วิโมกขธรรมสู่จังหวัดเชียงราย เพื่อจ�ำพรรษาบ�ำเพ็ญเพียรภาวนาอยู่กับ หลวงพ่อดาบส สุมโน ณ วัดถ�ำ้ ปลาและช่วยหลวงพ่อดาบสสร้างพระธาตุ จนแล้วเสร็จ จนกระทัง่ ปี พ.ศ.2531 ญาติโยมชาวบ้านถ�ำ้ พรุตะเคียนทีไ่ ด้ เคยกราบฝากตัวเป็นศิษย์กับท่าน พากันเดินทางขึ้นไปนิมนต์หลวงพ่อ โปร่งมาอยู่จ�ำพรรษาที่ถ�้ำพรุตะเคียนตั้งแต่นั้นมาจวบจนทุกวันนี้

148 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย (6

).indd 148

16/12/2560 10:06:09


CHUMPHON 149 (6

).indd 149

16/12/2560 10:06:15


บุญบารมีของหลวงพ่อโปร่งที่ท่านได้สะสมมาก็ยิ่งเพิ่มผลพูนทวี กระทั่งเกิดพายุไต้ฝุ่น “เกย์” ขึ้น เมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2532 กรมอุตุนิยมวิทยาประกาศเตือนจังหวัดทางภาคใต้ว่าจะมีพายุไต้ฝุ่นพัด เข้าที่จังหวัดต่างๆ ที่ตั้งอยู่ริมอ่าวไทย คาดว่าจะเป็นสุราษฎร์ธานีหรือ ชุมพร ให้ประชาชนเตรียมตัวรับสถานการณ์จากพายุลูกนี้ ซึ่งในขณะนั้น ไม่ มี ช าวบ้ า นพรุ ต ะเคี ย นคนใดสนใจกั บ ค� ำ ประกาศเตื อ นของ กรมอุตุนิยมวิทยาสักนิด เว้นเสียแต่หลวงพ่อโปร่งพร�่ำเตือนชาวบ้านถึง ความไม่ประมาท และจัดการให้พระเณรช่วยเก็บข้าวของ จีวรใส่ถุง พลาสติก มีข้าวเท่าไรให้หุงข้าวไว้ให้เต็มหม้อ ราวกับท่านรู้ด้วยอภิญญา ณ จนกระทั่งเช้าวันที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ.2532 เวลาประมาณ 8 โมงเช้า ท้องฟ้าสีแดงเข้ม หลวงพ่อโปร่งนั่งสมาธินิ่งอยู่ที่หน้ากุฏิ ท่ามกลาง บรรยากาศเงียบสงัด ใบไม้ไม่ไหวสักนิด ขณะที่นกน้อยใหญ่เริ่มส่งเสียงร้องดังลั่นเหมือนก�ำลังตกใจหนีอะไร สักอย่าง แต่ยังไม่ทันที่ใครจะได้ขยับกาย สายลมที่สงบก็เริ่มพัดทวี ความรุนแรงขึ้น ท้องฟ้าสีแดงเข้มกลับกลายเป็นด�ำมึน พร้อมกับฝนที่ กระหน�่ำตกลงมาอย่างไม่ลืมหูลืมตากิ่งไม้ลั่นหักดังเปรี๊ยะๆ อยู่บนภูเขา หลั ง คาศาลาปลิ ว ว่ อ นปะทะกั น เสี ย งดั ง โครมครามสนั่ น หู พระเณร ญาติโยมต่างวิน่ วุน่ หาทีก่ ำ� บัง เว้นแต่หลวงพ่อโปร่งรูปเดียวเท่านัน้ ทีย่ งั คง นัง่ นิง่ ประจันหน้ากับพายุอยูล่ ำ� พัง ทันใดนัน้ ท่อนซุงล�ำใหญ่พงุ่ มาจากไหน ไม่รู้ ทะลุหน้าจัว่ ของกุฏขิ า้ มผ่านเหนือศีรษะของท่านไปปะทะกับฝาผนัง ด้านหลัง พระประธานถูกลมพัดไปตกอยู่กลางลาน เมื่ อ มหาวาตภั ย พายุ เ กย์ ผ ่ า นพ้ น ไปแล้ ว พุ ท ธศาสนิ ก ชนจาก ทั่วสารทิศ ที่ศรัทธาในความศักดิ์สิทธิ์ของหลวงพ่อโปร่ง ต่างเร่งเดินทาง มาช่วยกันก่อสร้างพัฒนาส�ำนักสงฆ์ถ�้ำพรุตะเคียนแห่งนี้จนมีกุฏิปูนมาก ถึง 30 หลัง กุฏิไม้อีก 30 หลัง นอกจากนี้ผู้ศรัทธายังร่วมกันสร้างศาลา การเปรียญ หอสวดมนต์ หอระฆัง หอฉัน ศาลาอเนกประสงค์ตา่ งๆ ตลอด จนพระพุทธรูปองค์ใหญ่และอุโบสถจนครบสมบูรณ์

ผลงานของหลวงพ่อโปร่ง โชติโก

พ.ศ.2532 สร้างศาลาหลังแรก พร้อมสร้างศาสนหอฉัน โดยใช้เงิน จ�ำนวน 200,000 บาท พ.ศ.2536 สร้างพระใหญ่หน้าตัก 3 เมตร ซึง่ ชาวบ้านร่วมแรงร่วมใจ ช่ ว ยกั น สร้ า ง ลู ก ศิ ษ ย์ ท่ า แซะ จั ง หวั ด ชุ ม พร และพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ ร่วมบริจาค พ.ศ.2538 สร้างหอระฆัง โดยใช้เงินประมาณ 1 แสนบาท , ขุดสระน�ำ้ ใช้เงิน 7 แสนบาท พ.ศ.2538-2542 สร้างพระธาตุรตั นเจดีย์ เป็นจ�ำนวนเงิน 4 ล้านบาท พ.ศ.2542-2543 สร้างศาลาสวดมนต์ โดยคุณเขิมและลูกศิษย์ ร่วมกันสร้างถวาย เป็นจ�ำนวนเงิน 3 ล้านบาท พ.ศ.2543-2544 สร้างห้องสมุด โดยใช้งบประมาณ 1 ล้านบาท พ.ศ.2545-2546 สร้างศาลาหอฉันหลังใหม่ ใช้งบประมาณสร้าง จ�ำนวน 5 ล้านบาท , สร้างกุฏพิ ระริมสระน�ำ ้ 8 หลัง เป็นจ�ำนวน 1.6 ล้านบาท พ.ศ.2546-2547 สร้างกุฏิแม่ชี 1 หลัง มี 8 ห้อง ใช้เงินจ�ำนวน 1.7 ล้านบาท 150 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย (6

).indd 150

16/12/2560 10:06:23


พ.ศ.2547-2550 สร้างกุฏิพระบนภูเขา จ�ำนวน 50 หลัง เป็นเงิน จ�ำนวน 10 ล้านบาท พ.ศ.2548 สร้างโรงครัวและห้องสุขา 36 ห้อง, สร้างอาคารที่พัก ปฏิบัติธรรม 2 ชั้น 1 หลัง รวมเป็นเงิน 2 ล้านบาท พ.ศ.2550 เทพื้นถนนคอนกรีตรองเขา เป็นเงินจ�ำนวน 5 แสนบาท พ.ศ.2550-2555 สร้างพระอุโบสถและวิหารคดเป็นเงินจ�ำนวน 30 ล้านบาท, สร้างอาคารอเนกประสงค์รูปตัวแอล (L) 2 ชั้น พร้อมห้องพัก 19 ห้อง เป็นเงินจ�ำนวน 6 ล้านบาท, สร้างอาคารอเนกประสงค์พร้อม แท็งก์เก็บน�้ำข้างล่างพันตารางเมตร เป็นเงินจ�ำนวน 8 ล้านบาท พ.ศ.2555 น�ำกฐินไปทอดที่วัดดงจิก จังหวัดจันทบุรี เพื่อร่วมสร้าง อุโบสถ เป็นเงินจ�ำนวน 80,000 บาท พ.ศ.2556 สร้างศาลาฌาปนกิจพร้อมเมรุ เป็นจ�ำนวนเงิน 6 ล้านบาท บริจาคสร้างอาคารศูนย์เด็กเล็ก พร้อมห้องน�้ ำที่โรงเรียนแก่งเพกา อ�ำเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร- ซือ้ เครือ่ งเอกซเรย์ มอบให้โรงพยาบาลชุมพร เป็นเงินจ�ำนวน 1.2 ล้านบาท , บริจาคเงินให้กับโรงพยาบาลชุมพร เพือ่ สร้างอาคารผูป้ ว่ ยและซือ้ เครือ่ งมือแพทย์ เป็นเงินจ�ำนวน 2 ล้านบาท ,บริจาคเงินให้กับโรงพยาบาลท่าแซะ เพื่อสร้างอาคารผู้ป่วย เป็นเงิน จ�ำนวน 1 ล้านบาท , บริจาคเงินเพื่อสร้างที่พักคนชรา อ�ำเภอปะทิว เป็นเงินจ�ำนวน 6 แสนบาท น�ำกฐินไปทอดที่วัดดงจิก จังหวัดจันทบุรี เพือ่ ร่วมสร้างอุโบสถ , บริจาคเงินเพือ่ ซ่อมแซมโรงอาหาร โรงเรียนวัดพรุตะเคียน เป็นเงินจ�ำนวน 6.9 แสนบาท , บริจาคให้แก่หน่วยราชการ วัด โรงเรียน โรงพยาบาล และภาคเอกชนที่บ�ำเพ็ญประโยชน์อีกมากมาย พ.ศ.2556-2557 สร้างหอพระไตรปิฎกทรงไทย 3 ชัน้ เป็นเงินจ�ำนวน 10 ล้านบาท, สร้างศาลาปฏิบัติธรรม เชื่อมระหว่างศาลาสวดมนต์และ อาคารอเนกประสงค์ตัวแอล (L) เป็นเงินจ�ำนวน 10 ล้านบาท

CHUMPHON 151 (6

).indd 151

16/12/2560 10:06:29


บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วั ด ศรีสุเทพ

พระครูธรรมธรทนงศักดิ์ โกสโล เจ้าอาวาสวัดศรีสุเทพ เจ้าคณะต�ำบลท่าแซะ วัดศรีสเุ ทพ ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 93 บ้านตะโหนดการ้อง หมูท่ ี่ 6 ต�ำบลท่าแซะ อ�ำเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ที่ดินตั้งวัดมี เนื้อที่ 11 ไร่ 2 งาน 71 ตารางวา ปัจจุบันมีเนื้อที่เพิ่มเป็น 15 ไร่ 1 งาน 99 ตารางวา วัดศรีสุเทพ ตั้งเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2514 คุณแม่สาว ศรีสเุ ทพ ได้แบ่งทีด่ นิ ให้สร้างวัดเนือ้ ที่ 6 ไร่ 2 งาน 72 ตารางวา เมื่อ พ.ศ. 2492 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2522 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 24 เมตร ยาว 48 เมตร การบริหาร และการปกครอง มีเจ้าอาวาสเท่าที่ทราบนาม คือ รูปที่ 1 พระครูโอภาสธรรมรับ (แดง อุคคเสโน) พ.ศ. 2493 – 2507 รูปที่ 2 พระครูวิมลคุณาทร ( แจ่ม สุวิชาโน ) พ.ศ. 2511 – 2553 รูปที่ 3 พระครูธรรมธรทนงศักดิ์ โกสโล พ.ศ. 2554 - ปัจจุบัน การศึกษา มีโรงเรียนปริยัติธรรมแผนกธรรม เปิดสอนเมื่อ พ.ศ. 2517 ศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ เปิดสอนเมื่อ พ.ศ. 2522

152 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย (2

).indd 152

16/12/2560 10:03:37


ประวัติเจ้าอาวาส

อาคารเสนาสนะ ประกอบด้วยอุโบสถ กว้าง 8 เมตร ยาว 23 เมตร เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก สร้างเมือ่ พ.ศ. 2535 มีกฏุ สิ งฆ์จำ� นวน 11 หลัง เป็นอาคารไม้ 5 หลัง ครึ่งตึกครึ่งไม้ 5 หลัง และตึก 1 หลัง วิหารกว้าง 5 เมตร ยาว 9 เมตร เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก สร้าง เมื่อ พ.ศ. 2545 ศาลาเอนกประสงค์ กว้าง 9 เมตร ยาว 25 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2533 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก ศาลาบ�ำเพ็ญ กุศล จ�ำนวน 1 หลัง สร้างด้วยคอนกรีตเสริมเหล็ก สร้างเมื่อ พ.ศ. 2530 นอกจากนี้มี ฌาปนสถาน ปูชนียวัตถุ มีพระประธาน ประจ�ำอุโบสถปางมารวิชัย ขนาดหน้าตักกว้าง 99 นิ้ว สร้างเมื่อ พ.ศ. 2538 รูปหล่อพระครูสพุ รตประสาธน์ อดีตเจ้าคณะอ�ำเภอท่าแซะ รูปหล่อพระครูอนุกลู กิจการี (หลวงปูเ่ ปียก) อดีตเจ้าอาวาสวัดนาสร้าง พ.ศ. 2550 สร้างพระพุทธรูปองค์ใหญ่ หน้าตักกว้าง 3 เมตร ปางวารวิชยั พ.ศ. 2553 สร้างอาคารหอฉัน กว้าง 15 เมตร ยาว 32 เมตร พ.ศ. 2554 สร้างอาคารเก็บสรีระอดีตเจ้าอาวาส ขนาด กว้าง 8 ยาว 12 เมตร พ.ศ. 2555 มีสร้างถนนคอนกรีตภายในวัด กว้าง 6 เมตร ยาว 250 เมตร

พระครู ธ รรมธรทนงศั ก ดิ์ ฉายา โกสโล อายุ 39 พรรษา 13 วิทยฐานะ ป.ธ. น.ธ.เอก วุฒสิ ามัญ ม.๖ วัดศรีสุเทพ ต�ำบลท่าแซะ อ�ำเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร สถานะเดิม ชือ่ นายทนงศักดิ์ นามสกุล แจะซ้าย เกิดวัน 2 ฯ9 8 ค�ำ่ ปี ม ะเมี ย วั น จั น ทร์ ที่ 7 เดื อ น สิงหาคม พ.ศ. 2521 บิดา นายมณี มารดา นางนฤมล บ้านเลขที่ 5/2 หมูท่ ี่ 6 ต�ำบลท่าแซะ อ�ำเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร บรรพชา วัน 2 ฯ8 6 ค�่ำ ปีระกา วันจันทร์ที่ 30 เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2548 ณ พัทธสีมาวัดศรีสเุ ทพ ต�ำบลท่าแซะ อ�ำเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร พระอุปชั ฌาย์ พระครูวมิ ลคุณาทร วัดศรีสเุ ทพ ต�ำบลท่าแซะ อ�ำเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร อุปสมบท วัน 2 ฯ8 6 ค�ำ่ ปีระกา วันจันทร์ที่ 30 เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2548 ณ พัทธสีมาวัดศรีสุเทพ ต�ำบลท่าแซะ อ�ำเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร พระอุปชั ฌาย์ พระครูวมิ ลคุณาทร วัดศรีสเุ ทพ ต�ำบลท่าแซะ อ�ำเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร พระกรรมวาจาจารย์ พระอธิการบัณฑูรย์ ฐิตธมฺโม วัดปากแพรก ต�ำบลนากระตาม อ�ำเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร พระอนุสาวนาจารย์ พระผาด นรินฺโท วัดศรีสุเทพ ต�ำบลท่าแซะ อ�ำเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร วิทยฐานะ (1) พ.ศ. 2548 สอบไล่ได้ นักธรรมชัน้ ตรี ส�ำนักเรียนคณะ จั ง หวั ด ชุ ม พร ส� ำ นั ก ศาสนศึ ก ษาวั ด ศรี สุ เ ทพ อ� ำ เภอท่ า แซะ (2) พ.ศ. 2549 สอบไล่ได้นักธรรมชั้นโท ส�ำนักเรียนคณะจังหวัดชุมพร ส�ำนักศาสนศึกษาวัดศรีสุเทพ อ�ำเภอท่าแซะ (3) พ.ศ. 2550 สอบไล่ได้ นักธรรมชัน้ เอก ส�ำนักเรียนคณะจังหวัดชุมพร ส�ำนักศาสนศึกษาวัดศรีสเุ ทพ อ� ำ เภอท่ า แซะ (4) พ.ศ. 2559 ก� ำ ลั ง ศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาตรี สาขานิติศาสตร์ มหาลัยปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี ความช�ำนาญ แสดงธรรมเทศนา, บรรยายธรรม

CHUMPHON 153 (2

).indd 153

16/12/2560 10:03:53


บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วั ด บางแหวน

พระครูสถิตธรรมธร เจ้าอาวาสวัดบางแหวน เจ้าคณะต�ำบลปากคลอง วัดบางแหวน ตัง้ อยูท่ ี่ ต�ำบลปากคลอง อ�ำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร ครั้งในสมัยรัชกาลที่ 5 สมัย มีทายกชื่อ นายหญี ต เรื อ งธั ม รงค์ และภรรยาชื่ อ นางเอี้ ย ม เรืองธัมรงค์ (ทางราชการเรียก “อ�ำแดง”) ปรึกษาตกลง กั น ว่ า จะสร้ า งวั ด ใหม่ ขึ้ น โดยยกมาจากวั ด ใน ซึ่งเคยเป็นวัดเก่า ตั้งอยู่ข้างคลองบางแหวนในปัจจุบัน เพราะวั ด เดิ ม คั บ แคบมาก เมื่ อ ตกลงกั น พร้ อ มด้ ว ย ชาวบ้ า นในหมู ่ บ ้ า น ได้ ร ่ ว มใจกั น ถางป่ า แล้ ว สร้ า ง กุฏิสงฆ์หลังเล็กๆ ขึ้นมาก่อน และนิมนต์หลวงพ่อรุ่ง ทิพย์อักษร จากวัดในมาอยู่ ณ ที่สร้างใหม่แห่งนี้

154 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย (2

).indd 154

16/12/2560 9:59:56


ล�ำดับเจ้าอาวาส

หลวงปู่บัว หลวงตาน้อย เพชรรัตน์ หลวงตาผ่อง ศรีซังส้ม หลวงตาพิน บัวชลมุข ท่านน้อยทอง แสงพยัฆ และพระเลข เพชรรัตน์ สมัยนั้น ได้สร้างโรงเรียนประชาบาลขึ้น และท่านได้เป็นผู้อุปถัมภ์ต่อกัน มาตามล�ำดับ หลวงตาแจ้ง ทิพย์รัตน์ รักษาการเจ้าอาวาส หลวงตาหลิม ฐานิสสโร เจ้าอาวาส วัดบางแหวนได้เจริญขึน้ มากได้ ส ร้ า งกุ ฏิ ส งฆ์ ห ลั ง ใหญ่ และหลั ง เล็ ก ๆ อี ก หลายหลั ง ศาลาการเปรียญ โรงอุโบสถ และได้จดั งานผูกพัทธสีมาฝังลูกนิมติ ขึ้นในเดือนเมษายน พ.ศ.2503 พระอธิการปริก ได้สร้างโรงฉันขึ้น 1 หลัง ถูกวาตภัยไต้ฝุ่น เกย์พัดพัง เมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ.2532 หลวงพ่อเลข อธิปญโญ รักษาการเจ้าอาวาส ได้สร้างศาลา เอนกประสงค์ขึ้น 1 หลัง และได้สร้างเมรุเผาศพ พร้อมศาลา บ�ำเพ็ญกุศล พระใหญ่จากจังหวัดสมุทรสาครได้มาอยู่จ�ำพรรษา และได้ ด�ำเนินการก่อสร้างศาลาโรงครัว 1 หลัง ที่เห็นอยู่ในปัจจุบัน และ ท่านได้กลับไปยังสังกัดเดิม พระวันชัย ทนตจิตโต รักษาการเจ้าอาวาส ได้ดำ� เนินการจัด โครงการบรรพชาสามเณรภาคฤดูร้อนขึ้น จนถึงปี พ.ศ.2542 ได้ลาสิกขา พระสงัด ฐิตสาโร เจ้าอาวาส ได้ด�ำเนินการก่อสร้างกุฏิ เจ้าอาวาสใหม่ “กุฏิศรัทธาพัฒน์” 1 หลัง และเนินการก่อสร้าง มณฑป ประดิษฐานรูปเหมือนหลวงพ่อรุ่ง 1 หลัง พระอธิการสงัด ฐิตสาโร ได้พฒ ั นาวัดโดยการผสมงานผสานใจ ให้ เ ป็ น “บวร” คื อ บ้ า น วั ด โรงเรี ย น ท่ า นได้ เ ป็ น ครู ส อน พระปริยัติธรรมแผนกธรรมของกรมการศาสนา ได้เป็นคณะ กรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนวัดบางแหวนและได้ ท�ำการสอนวิชาจริยศึกษา และวิชาพระพุทธศาสนาในโรงเรียน วัดบางแหวนด้วย และเป็นพระธรรมทูต ประจ�ำอ�ำเภอปะทิว บรรยายธรรมอบรมประชาชนในอ�ำเภอปะทิวและใกล้เคียง

พระครูสถิตธรรมธร

ประวัติหลวงพ่อรุ่ง

ชาติภมู เิ ดิมชือ่ นายรุง่ ทิพย์อกั ษร เกิดเมือ่ ปี พ.ศ.2402 เป็นชาวบ้าน บางแหวน ต�ำบลปากคลอง อ�ำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร โดยก�ำเนิด บรรพชาอุปสมบท ได้บรรพชาเป็นสามเณรและได้เรียนหนังสือและ ภาษาขอม เมื่ออายุครบ 20 ปี ได้อุปสมบท ณ พัทธสีมาวัดบางแหวน จนได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาสในเวลาต่อมา เกี ย รติ ป ระวั ติ หลวงพ่ อ รุ ่ ง ท่ า นเป็ น พระสงฆ์ ที่ มี ค วามรู ้ ท าง ด้ า นไสยศาสตร์ แ ละยาสมุ น ไพรรั ก ษาโรค มี เ อกลั ก ษณ์ ที่ ไ ม่ เ หมื อ น พระสงฆ์ โ ดยทั่ ว ไป คื อ เคราที่ โ กนไม่ เ ข้ า มี ผู ้ ใ ห้ ฉ ายาท่ า นว่ า “หลวงพ่อรุ่งเคราเหล็ก” ท่านเป็นพระสงฆ์ที่มีคุณธรรมอันประเสริฐ เคร่งครัดในพระธรรมวินัย เปี่ยมด้วยความเมตตา มักน้อยถ่อมตน ฉันวัน ละมื้อตลอดชีวิตไม่ยอมรับสมณศักดิ์ใดๆ จึงเป็นที่เคารพเลื่อมใสศรัทธา ของคนทั่วไป ผู้ใดมีรูปท่านของท่านไว้บูชา เชื่อกันว่าจะเจริญรุ่งเรือง ก้ า วหน้ า เช่ น นามของท่ า นหลวงพ่ อ รุ ่ ง มรณภาพ เมื่ อ พ.ศ.2501 ณ วัดบางแหวนนั่นเอง ท่านเป็นพระสงฆ์ที่มีอายุยืนยาวถึง 99 ปี ร่วมสร้างเส้นทางบุญ วัดบางแหวน เริม่ สร้างโบสถ์ใหม่ เมือ่ วันที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ.2558 ธนาคารกรุงเทพ สาขามาบอ�ำมฤต ชื่อบัญชี วัดบางแหวน เลขบัญชี 492-2-07312-9

หลวงพ่ออินทอง CHUMPHON 155

(2

).indd 155

16/12/2560 10:00:23


บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัด ดอนยาง

พระอธิการด�ำรง อุตฺตมธมฺโม เจ้าอาวาสวัดดอนยาง วัดดอนยาง ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 41/4 บ้านดอนยาง หมูท่ ี่ 3 ต�ำบลดอนยาง อ�ำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ที่ดินตั้งวัด มีเนื้อที่ 8 ไร่ 3 งาน 85 ตารางวา โฉนดที่ดิน เลขที่ 182 อาณาเขต ทิศเหนือจดที่ดินเอกชน ทิศใต้จดป่าช้า ทิศตะวันออกและทิศตะวันตก จดที่ดินเอกชน อาคารเสนาสนะประกอบด้วย อุโบสถ กว้าง 7.50 เมตร ยาว 24.30 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ.2521 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก พระประธาน พระพุทธชินราช รองประธาน หลวงพ่อเก้าล้าน ศาลาการเปรียญ กว้าง 17 เมตร ยาว 30 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ.2542 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็กทรงไทย 2 ชัน้ หอสวดมนต์ กว้าง 14 เมตร ยาว 30 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ.2540 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก ทรงไทย 2 ชั้น กุฏิสงฆ์ จ�ำนวน 5 หลัง เป็นอาคารครึ่งตึกครึ่งไม้ 2 หลัง และตึ ก 3 หลั ง ศาลาบ� ำ เพ็ ญ กุ ศ ล จ� ำ นวน 1 หลั ง สร้ า งด้ ว ย คอนกรีตเสริมเหล็ก นอกจากนีม้ ฌ ี าปนสถาน หอระฆัง เรือนเก็บพัสดุและ โรงครัว ปูชนียวัตถุ มีพระประธานประจ�ำอุโบสถ ปางมารวิชยั ขนาดหน้าตัก กว้าง 59 นิ้ว สูง 50 นิ้ว สร้างเมื่อ พ.ศ.2525 พระประธานประจ�ำ ศาลาการเปรียญ ปางมารวิชัย ขนาดหน้าตักกว้าง 60 นิ้ว สูง 21 นิ้ว 156 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย (2

).indd 156

16/12/2560 9:35:05


วัดดอนยาง ตั้งเมื่อ พ.ศ.2400 เป็นวัดเก่าแก่สร้างอยู่ในที่ราบลุ่ม อุดมด้วยต้นไม้นานาชนิด ไม่ปรากฏว่าใครเป็นผู้ริเริ่มก่อสร้าง ได้รับ พระราชทานวิ สุ ง คามสี ม าเมื่ อ วั น ที่ 27 สิ ง หาคม พ.ศ.2526 เขตวิสุงคามสีมากว้าง 30 เมตร ยาว 60 เมตร การบริหารและการปกครอง มีเจ้าอาวาส คือ รูปที่ 1 พระนุ้ย รูปที่ 2 พระโสม รูปที่ 3 พระนิ่ม รูปที่ 4 พระภู่ รูปที่ 5 พระกลับ รูปที่ 6 พระอธิการประเสริฐ พ.ศ.2508-2513 รูปที่ 7 พระครูสุภัทรกิจโกศล พ.ศ.2514-2552 การศึกษา มีศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ในวัด เปิดสอน เมือ่ พ.ศ.2533 รูปที่ 8 พระอธิการด�ำรง อุตตฺ มธมฺโม พ.ศ.2558 - ปัจจุบนั

ประวัติเจ้าอาวาส

พระด�ำรง ฉายา อุตตฺ มธมฺโม ได้มารักษาการแทนเจ้าอาวาส เมือ่ ปี พ.ศ. 2554 ได้ทำ� งานเพือ่ พระพุทธศาสนาจนได้รบั แต่งตัง้ เป็นเจ้าอาวาส เมื่อวันที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2558 เป็นพระอธิการด�ำรง อุตฺตมธมฺโม อายุ 42 พรรษา 12 วิทยฐานะ นักธรรมชัน้ เอก สังกัดวัดดอนยาง ต�ำบลชุมโค อ�ำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร : ติดต่อสอบถาม โทร. 080-174-9740 กิจกรรมวัดดอนยาง 1. ปฏิบัติธรรมสวดมนต์ข้ามปีทุกปี 2. โครงการบรรพชาอุปสมบทพระภิกษุสามเณรและบวชศีลจาริณี ภาคฤดู ร ้ อ น เฉลิ ม พระเกี ย รติ ส มเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุมารี 3. ปฏิบัติธรรมอยู่ปริวาสกรรม 29 พฤษภาคม – 7 มิถุนายน ทุกปี 4. ปฏิบัติธรรมวันแม่แห่งชาติ 10-13 สิงหาคม ทุกปี 5. ปฏิบัติธรรมวันพ่อแห่งชาติ 3-6 ธันวาคม ทุกปี ที่ผ่านมา 6. ปฏิบัติธรรมถวายในหลวง รัชกาลที่ 9 ทุกปีที่ผ่านมา 7. วันส�ำคัญของทางศาสนา วันวิสาขบูชา วันมาฆบูชา วันอาสาฬหบูชา มณฑป - หลวงปู่ภู่ - หลวงพ่อสงฆ์ - พระครูสุภัทรกิจโกศล(ศิริ)

CHUMPHON 157 (2

).indd 157

16/12/2560 9:35:16


บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัด มาบอ� ำมฤต

พระมหาวิระ วชิรญาโณ เจ้าอาวาสวัดมาบอ�ำมฤต เจ้าคณะต�ำบลชุมโค

ประวัติความเป็นมา

วัดมาบอ�ำมฤต ตั้งอยู่ในเขตเทศบาลต�ำบลมาบอ�ำมฤต เลขที่ 1/2 หมูท่ ี่ 1 ต�ำบลดอนยาง อ�ำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร ห่างจากถนนเพชรเกษม ช่วงบ้านพละ – มาบอ�ำมฤต โดยถนนลาดยาง 12 กิโลเมตร ตัง้ อยูบ่ น เนินเขาเตีย้ มีเนือ้ ทีป่ ระมาณ 54 ไร่ เดิมทีด่ นิ บริเวณนีม้ สี ภาพเป็นป่า ในปี พ.ศ. 2492 ชาวบ้านโดยการน�ำ ของผูใ้ หญ่พร้อย เฉยเชือนได้กนั ทีด่ นิ แปลงนีไ้ ว้ เพือ่ สร้างส�ำนักสงฆ์อำ� มฤต ธรรมาราม หลวงพ่อเชื่อม กญฺจโณ สังกัดวัดเขาแก้ว อ�ำเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร ได้มาอยูจ่ ำ� พรรษาในปี พ.ศ. 2493 หลวงพ่อเชือ่ ม กญฺจโณ ได้อยูจ่ ำ� พรรษา ฉลองศรัทธาญาติโยม และ ได้ดำ� เนินการก่อสร้างเสนาสนะ พอเป็นทีอ่ ยูอ่ าศัยของพระภิกษุสามเณร ได้โดยสะดวกสบาย จึงได้ดำ� เนินการขออนุญาตสร้างวัด โดยนายวัชรินทร์ ปัตเมฆ ได้รบั อนุญาตให้สร้างวัด เมือ่ วันที่ 23 เมษายน พ.ศ. 2522 158 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย (6

).indd 158

16/12/2560 9:57:35


วั ด มาบอ� ำ มฤต ตั้ ง เมื่ อ วั น ที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2523 ได้รบั พระราชทาน วิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2532 เขตวิสงุ คามสีมา กว้าง 20 เมตร ยาว 40 เมตร พ.ศ. 2534เปิด ศูนย์อบรมเด็กก่อน เกณฑ์ และพ.ศ. 2535 เปิดศูนย์ศึกษา พระพุทธศาสนาวันอาทิตย์

ล�ำดับเจ้าอาวาส

• พระเชื่อม กญฺจโน • พระทิพย์ ธมฺมปาโล • พระมหาบุญสร้าง สุทฺธจาโร • พระครูประศาสน์สวีเขต (พ.ศ. 2532 - 2535) • พระมหาวิระ วชิรญาโณ (พ.ศ. 2535 – ปัจจุบัน)

CHUMPHON 159 (6

).indd 159

16/12/2560 9:57:40


สมเด็จพระโลกนาถ

เนื่ อ งในวโรกาสอั น เป็ น มงคลยิ่ ง คณะสงฆ์ วั ด สี กั น (พุ ท ธสยาม) มีพระครูธรรมรัตนวิมลเป็นเจ้าอาวาส พร้อมด้วยทายกทายิกา ข้าราชการ พ่อค้า ประชาชน ได้รว่ มกันบริจาคทรัพย์สร้างพระพุทธปฏิมากร หน้าตักขนาด 64 นิ้ว เพื่อน้อมเกล้าถวาย สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ ที่พระองค์ทรงเจริญพระชนมายุครบ 5 รอบ และสร้างน้อมเกล้าถวายสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี ที่พระองค์ทรงเจริญพระชนมายุ ครบ 3 รอบ ร่วมกันสร้างน้อมเกล้าถวาย จ�ำนวน 5 องค์ เพื่อทั้งสองพระองค์ ได้ ท รงพระราชทานไว้ ต ามภาคต่ า งๆ รวม 5 ภาค ให้ ป วงพสกนิ ก ร พุทธศาสนิกชนได้สักการบูชา กราบไหว้เป็นสิริมงคล องค์ที่ 1 สมเด็จ พระโลกนาถ องค์ที่ 2 สมเด็จพระศาสดา องค์ที่ 3 สมเด็จพระศรีสรรเพชญ์ องค์ที่ 4 สมเด็จพระศากยมุนี องค์ที่ 5 สมเด็จพระศรีชัยวัฒน์ ได้ประกอบพิธีเททองหล่อเมื่อ วันที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2535 โดย พลอากาศเอกเกษตรโรจนนิล ผูบ้ ญ ั ชาการทหารอากาศ และผูบ้ ญ ั ชาการทหาร สูงสุด เป็นประธานจัดงานเททองหล่อพระพุทธปฏิมากร ถวายเทิดพระเกียรติ ทั้ ง 5 องค์ และเป็ น ผู ้ บ ริ จ าคจตุ ป ั จ จั ย ในการก่ อ สร้ า งพระพุ ท ธปฏิ ม า ถวายเทิดพระเกียรติ

พระไพรีพินาศ

พระไพรี พิ น าศ เป็น พระพุทธรูป ศิลาปางประทานพร ประดิ ษ ฐาน ณ โรงอุโบสถ วัดมาบอ� ำมฤต เป็นพระทองเหลืองรมด� ำหน้าพระเพลา กว้าง 33 เซนติเมตร สูงตลอดพระรัศมี 53 เซนติเมตร ได้รบั ประทานจากสมเด็จ พระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช เมือ่ ปี พ.ศ. 2541 เพือ่ ให้พทุ ธศาสนิกชน ชาวบ้านมาบอ�ำมฤต ได้กราบไหว้บชู า เป็นสิรมิ งคลผ่องพ้นผองภัย

160 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย (6

).indd 160

16/12/2560 9:57:44


ประวัติหลวงปู่เชื่อม

ชาติภูมิหลวงพ่อเชื่อม กญฺจโณ หรือพระอธิการเชื่อม กญฺจโณ นามสกุล ชุม่ สนิท เกิดปีระกา พ.ศ. 2452 ณ หมูบ่ า้ นหนองไผ่ ต�ำบลนากระตาม อ�ำเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร อุปสมบท หลวงพ่อเชื่อมออกบวชอย่างเงียบๆ แม้แต่ทางครอบครัว ก็ไม่รู้มาก่อน รู้เมื่อเป็นพระแล้วบวชที่วัดเขาแก้ว เมื่อปี พ.ศ. 2483 โดยมีพระครูสุพรตประสาทธิ์ (ผิน) เป็นพระอุปัชฌาย์ พระสมุห์ผ่อง วัดหอระฆัง เป็นพระกรรมวาจาจารย์ พระใบฎีกาลัด กิมฺพิโล วัดนาสร้าง เป็นพระอนุสาวนาจารย์ หลวงพ่อเชื่อม กญฺจโณ ได้จ�ำพรรษา ณ วัดมาบอ�ำมฤต จนถึงปี พ.ศ. 2524 ท่านมรณภาพด้วยโรคชรา ในวันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2524 ณ วัดมาบอ�ำมฤต สิรอิ ายุได้ 72 ปี พรรษา 41 ถึงแม้ทา่ นมรณภาพไปโดย การแตกดับของเบญจขันธ์ แต่ความรู้สึกของประชาชน ญาติโยม ผู้ที่มี ความเคารพในท่านเหมือนกับว่าท่านยังมิได้มรณภาพ ยังคงอยูต่ ราบใดที่ ยังมีพระพุทธศาสนาเหลืออยู่ในโลก ปัจจุบนั สรีระของหลวงพ่อเชือ่ ม กญฺจโณ ยังคงประดิษฐานอยูใ่ นหีบแก้ว ในศาลาหลวงพ่อเชือ่ ม กญฺจโณ ซึง่ คณะผูม้ จี ติ ศรัทธาชาวบ้านมาบอ�ำมฤต โดยมีนายวีระศักดิ์ พันธ์สถิตวงศ์ ผูใ้ หญ่บา้ นหมูท่ ี่ 1 นายมนตรี ดีมี ผูใ้ หญ่ บ้านหมู่ที่ 13 และนายพงษ์ธร ทองเหลือ ก�ำนันต�ำบลดอนยาง ร่วมกัน เป็นประธานด�ำเนินการในการก่อสร้างอาคารหลวงพ่อเชื่อม กญฺจโณ อีกทั้งยังมีรูปปั้นหลวงพ่อเชื่อม กญฺจโณ ประดิษฐานอยู่ในศาลาทรงไทย หลังเล็กใกล้ๆ กับอาคารหลวงพ่อเชื่อม กญฺจโณ ทางวั ด มาบอ� ำ มฤตและประชาชนทุ ก กลุ ่ ม พร้ อ มใจกั น จั ด งาน มหกรรมมหากุศลปิดทองและพิธมี หามงคลเบิกเนตรรูปปัน้ หลวงพ่อเชือ่ ม กญฺจโณ เพือ่ จัดหาทุนทรัพย์สมบทในการก่อสร้างปรับปรุงภูมทิ ศั น์บริเวณ รูปปั้นในระหว่างวันที่ 30 ธันวาคม 2551 – 8 มกราคม 2552 ปลายปี พ.ศ. 2554 ได้ก่อสร้างปรับปรุงภูมิทัศน์รอบๆ องค์พระได้ แล้วเสร็จตามแผนข้างต้น ทางวัดจึงได้กำ� หนดให้วนั ที่ 30 ธันวาคม ถึงวัน ที่ 8 มกราคม ของทุกปี เป็นงานปิดทององค์รูปปั้นหลวงพ่อเชื่อมเป็น ประจ�ำทุกปี เพื่อจัดหาทุน ในการก่อสร้างศาลาการเปรียญแทนศาลหลัง เดิมที่ถูกพายุไต้ฝุ่นเกย์พังเสียหาย

ประวัติเจ้าอาวาส

พระมหาวิระ วชิรญาโณ ชื่อ – นามสกุล พระมหาวิระ พรหมขจร อายุ 50 พรรษา 30 เกิดวันที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2511 ภูมลิ ำ� เนา จังหวัดชุมพร บรรพชา วันที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2529 อุปสมบท วันที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2531

ประวัติการศึกษา

มัธยมศึกษา พ.ศ. 2528 จบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนศรียาภัย จังหวัดชุมพร พระธรรมวินัย พ.ศ. 2532 สอบได้ น.ธ.เอก ส�ำนักเรียน จังหวัดชุมพร พ.ศ. 2536 สอบได้ ป.ธ.5 ส�ำนักเรียนจังหวัดชุมพร ปริญญาตรี พ.ศ. 2556 รัฐศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยสุโขทัย ธรรมาธิราช จังหวัดนนทบุรี พ.ศ. 2558 รัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดนนทบุรี พ.ศ. 2559 ศิลปศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง กรุงเทพมหานคร ปริญญาโท พ.ศ. 2559 รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัย ปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี พ.ศ. 2560 ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต วิทยาลัย เทคโนโลยีสยาม กรุงเทพมหานคร ประสบการณ์การท�ำงาน พ.ศ. 2535 เป็นเจ้าอาวาสวัดมาบอ�ำมฤต พ.ศ. 2557 เป็นเจ้าคณะต�ำบลชุมโค

CHUMPHON 161 (6

).indd 161

16/12/2560 9:57:51


162 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย (6

).indd 162

16/12/2560 9:58:00


CHUMPHON 163 (6

).indd 163

16/12/2560 9:58:05


บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดพระธาตุบ่อทอง (บ่อส�ำโรง) พระศรีทอง วิริยธมฺโม เจ้าอาวาสวัดพระธาตุบ่อทอง (บ่อส�ำโรง) ประวัติความเป็นมา

การสร้างส�ำนักสงฆ์บ่อส�ำโรง เริ่มเมื่อประมาณปี พ.ศ. 2513 บนที่ดินของกรมป่าไม้ ด้วยแรงศรัทธาของนายนาม ศรีชล และ ความสามัคคี พร้อมใจของชาวบ้านบ่อส�ำโรง ท่ามาต ได้สร้างกุฏสิ งฆ์ ศาลาหอฉัน และได้นิมนต์พระสงฆ์มาอยู่ เพื่อท�ำบุญในวันส�ำคัญ ทางศาสนา เป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจของชาวบ้าน จึงได้มีการพัฒนา มาโดยล�ำดับ แต่ก็ยังไม่มั่นคง บางครั้งก็มีพระ บางปีก็ ไม่มีพระ จนกระทั่ ง กลายเป็ น วั ด ร้ า ง เรื่ อ ยมาจนถึ ง พ.ศ. 2527 เดือนตุลาคม ชาวบ้านบ่อส�ำโรง ท่ามาตและชาวบ้านใกล้เคียง โดยการน�ำของนายแดง ได้นิมนต์พระอาจารย์ศรีทอง ซึ่งธุดงค์ ปักกลดอยู่บนเขาล้านบ้านท่ามาตมาอยู่ หลังจากนั้นพระอาจารย์ และชาวบ้านก็เริม่ พัฒนาส�ำนักสงฆ์บอ่ ส�ำโรง ตัง้ แต่ ปี พ.ศ. 2528 เป็นต้นมา 164 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย (6

).indd 164

16/12/2560 9:46:40


โดยเริ่มสร้างศาลาหลังใหม่ สร้างกุฏิสงฆ์ และห้องน�้ำห้องส้วม โรงครั ว ปรั บ ปรุ ง พั ฒ นามาตามล� ำ ดั บ โดยตลอด จนถึ ง ปลายปี พ.ศ. 2532 ส�ำนักสงฆ์และชาวบ้านได้ประสบวาตภัยใต้ฝุ่นเกย์ สิ่งปลูกสร้างต่างๆ พังทลายเกือบหมด เช่น ศาลา 2 หลัง กุฏิสงฆ์ 10 หลัง ห้องครัว แต่พระอาจารย์และชาวบ้าน ก็ไม่ย่อท้อ ร่วมกัน สร้างและพัฒนาขึ้นมาใหม่ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2533 โดยสร้างศาลา เอนกประสงค์ 2 ชั้น สร้างกุฏิสงฆ์ ศาลาเมรุ หอระฆัง วิหารพ่อตา หินช้าง ศาลาเอนกประสงค์ 2 ชั้น ขึ้นอีกหลัง ปี พ.ศ. 2551 สร้ า งพระใหญ่ ม หาธาตุ เ จดี ย ์ จนเกิ ด ความมั่ น คง จากนั้ น พระอาจารย์ก็เริ่มด�ำเนินการขออนุญาตสร้างวัดและตั้งวัด จาก กรมป่ า ไม้ แ ละขั้ น ตอนของกฎหมาย เริ่ ม ด� ำ เนิ น การมาตั้ ง แต่ ป ี พ.ศ. 2535 จนได้รับอนุญาตสร้างวัดและตั้งวัดจากคณะรัฐมนตรี มหาเถรสมาคม ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ บนเนื้อที่ 12 ไร่ 3 งาน 38 ตารางวา เมื่อวันที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2558 และได้ชื่อวัดว่า วัดพระธาตุบ่อทอง อยู่ ณ บ้านบ่อส�ำโรง ต.ปากคลอง อ.ปะทิว จ.ชุมพร รวมเวลาที่พระอาจารย์มาอยู่ประมาณ 29 ปี 9 เดือน สร้าง ศาสนสถาน ศาสนวัตถุ ถาวรวัตถุให้กับวัดและศาสนา ตลอดถึง หมู่บ้านบ่อส�ำโรง ท่ามาต เป็นอย่างมาก CHUMPHON 165 (6

).indd 165

16/12/2560 9:46:51


166 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย (6

).indd 166

16/12/2560 9:46:55


CHUMPHON 167 (6

).indd 167

16/12/2560 9:47:01


ประวัติพระศรีทอง วิริยธมฺโม

พระอาจารย์ศรีทอง เกิดที่บ้านปากคลองบางปลากด ต.ปากคลอง บางปลากด อ.พระสมุ ท รเจดี ย ์ จ.สมุ ท รปราการ บิ ด าชื่ อ เที ย ม มารดาชื่อ ชุ่ม นามสกุล พึ่งชื่น มีพี่น้อง 7 คน พระอาจารย์เป็นคนที่ 5 พออายุได้ 7 ขวบ เข้าศึกษาที่โรงเรียนวัดใหญ่ ต.ในคลองบางปลากด อ.พระสมุทรเจดีย์ จ.สมุทรปราการ จนจบชั้นประถม 7 เรียนธรรมศึกษา ส�ำนักเรียนวัดใหญ่ สอบได้ธรรมศึกษาตรี ปีสุดท้ายของการเรียน ได้เป็น นักเรียนดีเด่นของโรงเรียนวัดใหญ่ อายุ 15 ปี บรรพชาเป็นสามเณร ณ วัดแค ต.ปากคลองบางปลากด อ.พระสมุทรเจดีย์ จ.สมุทรปราการ เพื่ อ ศึ ก ษาพระธรรม โดยมี พ ระครู สิ ริ โชติ วั ฒ น์ เจ้ า คณะต� ำ บล เป็นพระอุปัชฌาย์ จ�ำพรรษาอยู่วัดแค เรียนนักธรรมและสอบได้ตาม ล�ำดับ จนจบ น.ธ.เอก ส�ำนักเรียนวัดแค พระอาจารย์วัดแคจึงให้เป็น ครูสอนนักธรรมแทนท่านมาตลอด ขณะบวชเป็นสามเณรท่านได้เรียนพระธรรมทัง้ ภาษาไทย ภาษาขอม จากครูบาอาจารย์ต่างๆ จนเกิดความช�ำนาญ ได้ปฏิบัติธรรมกัมมัฏฐาน อยู่ประจ�ำ โดยเฉพาะวิชาธรรมกายของพระมงคลเทพมุนีอยู่ 5 ปี เมื่ออายุย่าง 21 ปี ได้ญัตติเป็นพระภิกษุ ณ พัทธสีมาวัดแค โดยมี พระครูสริ โิ ชติวฒ ั น์ เจ้าคณะอ�ำเภอเป็นพระอุปชั ฌาย์ พระครูนนั ทธรรมวุฒิ เป็นพระกรรมวาจาจารย์ พระครูโสภณสมุทรกิจ เป็นพระอนุสาวนาจารย์ จ� ำพรรษาอยู ่ วั ดแคจนออกพรรษาและได้ลาครูบ าอาจารย์ ไ ปศึ ก ษา วิปัสสนากัมมัฏฐานกับหลวงปู่เทศน์ วัดหินหมากเป้ง จ.หนองคาย ประมาณ 5 เดือน จากนั้นท่านก็ได้ธุดงค์ไปตามสถานที่ต่างๆ มาตามล�ำดับ ผ่าน จ.กาญจนบุรี, ราชบุรี จนมาถึง จ.ชุมพร ปักกลดที่บ้านท่ามาตเขาล้าน

ญาติโยมพร้อมใจกันนิมนต์มาอยู่ พระอาจารย์มาตั้งขื่อวัดใหม่เป็นวัด ชื่อ “พระธาตุบ่อทอง” แทนที่พักสงฆ์บ่อส�ำโรง จนปัจจุบันรวมเวลา 29 ปี 9 เดือน สถานะเดิม ชื่อ ศรีทอง นามสกุล พึ่งชื่น ถือก�ำเนิดเมื่อวันพุธที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2503 ปีชวด ขึ้น 8 ค�่ำ เดือน 2 ณ บ้านปากคลองบาง ปลากด เลขที่ 73/4 หมู่ 2 ต.ปากคลองบางปลากด อ.พระสมุทรเจดีย์ จ.สมุทรปราการ บิดาชื่อ เทียม มารดาชื่อ ชุ่ม นามสกุล พึ่งชื่น มีพี่น้อง 7 คน พระอาจารย์เป็นคนที่ 5 วิทยฐานะ ประถมศึกษาปีที่ 7 ธรรมศึกษาโรงเรียนวัดใหญ่ บรรพชา เมื่ อ อายุ 15 ปี ตรงกั บ วั น เสาร์ ที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2520 ขึ้น 1 ค�่ำ เดือน 8 ปีมะเส็ง โดยมีพระครูสิริโชติวัฒน์ วัดคูส่ ร้าง เป็นพระอุปชั ฌาย์ จ�ำพรรษาวัดแค อุปสมบท เมือ่ อายุยา่ ง 21 ปี ณ พัทธสีมาวัดแค ตรงกับวันเสาร์ที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2524 แรม 12 ค�ำ ่ เดือน 6 ปีระกา จ�ำพรรษาวัดแค โดยมีพระครูโชติวัฒน์ วัดคู่สร้าง เจ้าคณะอ�ำเภอ เป็นพระอุปัชฌาย์ พระครูนันทธรรมวุฒิ วัดปากบ่อ กรุงเทพฯ เป็นพระกรรมวาจาจารย์ พระครูโสภณสมุทรกิจ วัดแค เป็นพระอนุสาวนาจารย์ มาจ�ำพรรษาแรก พ.ศ. 2528 ณ ที่พักสงฆ์ บ่อส�ำโรง ต.ปากคลอง อ.ปะทิว จ.ชุมพร จนถึงปัจจุบัน ต�ำแหน่งทางพระปัจจุบนั เป็นอาจารย์ใหญ่ สถานศึกษาวัดบางแหวน ได้ รั บ การแต่ ง ตั้ ง เป็ น เจ้ า อาวาส วั ด พระธาตุ บ ่ อ ทอง เมื่ อ วั น ที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2558 รับตราตั้งเมื่อวันเสาร์ที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2558 ขึ้น 14 ค�่ำ เดือน 10 เวลา 14.39 น. จากพระราชวิจิตรปฏิภาณ เจ้าคณะจังหวัดชุมพร

168 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย (6

).indd 168

16/12/2560 9:47:06


CHUMPHON 169 (6

).indd 169

16/12/2560 9:47:10


บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดถ�้ ำทะเลทรั พ ย์

อุโบสถไม้สัก 170 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย (6

) v.3.indd 170

16/12/2560 9:50:29


CHUMPHON 171 (6

) v.3.indd 171

16/12/2560 9:50:34


ศาลาโรงทาน

ลานธรรม

172 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย (6

) v.3.indd 172

16/12/2560 9:50:41


ประวัติความเป็นมาของวัดถ�้ำทะเลทรัพย์โดยสังเขป วัดถ�้ำทะเลทรัพย์ ตั้งอยู่ที่ เลขที่ 46 หมู่ 7 ต�ำบลทะเลทรัพย์ อ�ำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร ปัจจุบันมีเนื้อที่ 20 ไร่ 3 งาน โดยประมาน โทรศัพท์ 086-895-4444, 096-895-4535 ความเป็นมา ก่อน พ.ศ. 2480 มีนักบวชชีปะขาวและพระภิกษุจาริกมาอาศัยในถ�้ำเป็นครั้งคราว เมื่อมี ประชาชนมาอาศัยในพืน้ ทีม่ ากขึน้ ตามวิสยั ของคนไทยใจพุทธ อยากให้ มีพระอยู่ประจ�ำจะได้สะดวกในการบ�ำเพ็ญบุญบ�ำเพ็ญกุศล พ.ศ. 2529 พระอาจารย์เพทาย ฐานธัมโม (ต่อมาได้รบั พระราชทาน สมณศักดิ์เป็นพระครูภัทรธรรมสาร) จากวัดสุทธิสะอาด มีนบุรี (กทม.) ได้น�ำเพื่อนสหธรรมิกหลายรูปเดินทางมาทางใต้เพื่อแสวงหาที่ส�ำหรับ บ�ำเพ็ญสมณะธรรม และได้แวะเยี่ยมโยมที่รู้จักกันมาก่อน ที่บ้านช่องมุด เดินเท้าผ่านบ้านนางเชื่อง แย้มประยูร นางเชื่อม นิมนต์ให้แวะถวายภัตตาหาร สอบถามความประสงค์ แล้วก็นมิ นต์พระทัง้ หมดให้มาทีส่ ำ� นักสงฆ์ถำ�้ ทะเลทรัพย์ ท่านเห็นว่าสถาน ทีแ่ ห่งนีเ้ หมาะแก่การปฏิบตั ธิ รรม และมีสว่ นประกอบอืน่ ๆเป็นทีส่ บั ปายะ วัดคือธรรมอุทยาน วัดถ�้ำทะเลทรัพย์ มีภูมิทัศน์สวยงาม มีภูเขา มีถ�้ำใหญ่ เล็ก เหมาะแก่ผู้แสวงหาความสงบสุขทางจิตใจ ต่อมาท่าน อาจารย์ได้ท�ำการพัฒนาด้วยการปลูกต้นไม้และสร้างเสนาสนะให้เป็นที่ สัปปายะยิ่งขึ้น วัดถ�้ำทะเลทรัพย์มีความสงบเงียบเหมาะต่อการปฏิบัติ ธรรม ท่านอาจารย์จึงได้จัดให้มีลานปฏิบัติธรรม มีอาคารสถานที่ส�ำหรับ ประชาชนทุ ก คนได้ ม าบ� ำเพ็ ญ บุ ญ บ� ำ เพ็ ญ กุ ศ ล ถื อ ศี ล ปฏิ บั ติ ธ รรม สร้างบารมี ค้นคว้า ศึกษาหาความรู้

CHUMPHON 173 (6

) v.3.indd 173

16/12/2560 9:50:50


ประวัติเจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน

พระมหาวีรวัฒน์ อิทฺธิเตโช (นามสกุล หงษ์ส�ำโรง) เกิดเมื่อวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2527 บรรพชาเป็นสามเณร ณ วัดถ�ำ้ ทะเลทรัพย์ ต.ทะเลทรัพย์ อ.ปะทิว จ.ชุมพร โดยมีพระครูวมิ ลภัทรกิจ เป็นพระอุปชั ฌาย์ วันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2541 ต่ อ มาพระครู ภั ท รธรรมสารได้ ส ่ ง ไปศึ ก ษาพระธรรมวิ นั ย ที่ วัดโพธิ์เงิน ต.บางมัญ อ.เมือง จ.สิงห์บุรี จนจบนักธรรมชั้นเอก เปรียญธรรม 5 ประโยค และได้รบั การญัตติเป็นพระภิกษุ ณ วัดโพธิเ์ งิน โดยมีพระศรีศาสนโมลี เป็ น พระอุ ป ั ช ฌาย์ พระครู โ สภณธรรมจั ก ร เป็ น พระกรรมวาจาจารย์ พระสมุหโ์ ชคชัย ทานรโต เป็นพระอนุสาวนาจารย์ ในวันที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2548 ต่อมาเมือ่ พระครูภทั รธรรมสาร มรณภาพลงในวันที่ 30 ธันวาคม พ.ศ. 2556 คณะสงฆ์จงึ แต่งตัง้ เป็นเจ้าอาวาสรูปต่อมา ในวันที่ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2557

วิหาร-มนฑป หลวงพ่อพระครูภัทรธรรมสาร 174 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย (6

) v.3.indd 174

16/12/2560 9:50:57


ถ�้ำเรือ-หลวงพ่อทันใจ กิจกรรมของวัด

วัดถ�ำ้ ทะเลทรัพย์ เป็นสถานทีป่ ฏิบตั ธิ รรมประจ�ำจังหวัดแห่งที่ 3 ของ จังหวัดชุมพร ฉะนั้นทางวัดจึงมีกิจกรรมหลักๆ คือ งานปริวาสกรรม ตั้งแต่วันที่ 4-13 พฤษภาคม ของทุกปี มีการเรียนการสอนพระธรรมวินัยให้กับพระภิกษุสามเณร ให้การ อบรมค่ายจริยธรรมแก่เยาวชนและเป็นที่ฝึกอบรม พัฒนาจิตใจของ พระภิกษุสามเณรและพุทธศาสนิกชน

CHUMPHON 175 (6

) v.3.indd 175

16/12/2560 9:51:03


บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดนาทิ ก าราม

พระครูวิจิตรกรณีย์ เจ้าอาวาสวัดนาทิการาม เจ้าคณะอ�ำเภอหลังสวน(ธ) ประวัติความเป็นมา

วัดนาทิการาม ได้รับอนุญาตตั้งวัดเป็นทางการ เมื่อ พ.ศ. 2400 ตัง้ อยูห่ มูท่ ี่ 6 ต�ำบลบางมะพร้าว อ�ำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร ชาวบ้าน นิยมเรียกว่า “วัดหัวเขาท่ากอ” ในอดีตเคยเป็นวัดร้าง ตามทีเ่ ล่าสืบกันมา นั้ น กล่ า ว วั ด หั ว เขา เดิ ม เป็ น ป่ า ดงดิ บ เมื่ อ ชาวบ้ า นได้ ม าถางป่ า เลีย้ งช้างและได้พบหลุมและพัทธสีมา ซึง้ เป็นหลักฐานของการเป็นวัดมาแต่ ก่อนนั้น บริเวณนี้อยู่บนเขาท่ากอ หลักฐานนี้พบเมื่อประมาณ 100 ปี กว่ามาแล้ว หลังจากนัน้ ก็มี พระปลัดสุข นักเทศน์มหาชาติ ได้มาปฏิบัติธรรมที่วัดนี้หลายปี หลังจากนัน้ พระปลัดสุขได้ยา้ ยไปจ�ำวัดทีอ่ นื่ วัดนีก้ ร็ า้ งอยูอ่ กี นาน ในต�ำบล บางมะพร้าวสมัยนั้นยังมีวัดตั้งอยู่ในหมู่ที่ 4 ต�ำบลบางมะพร้าว ชื่อว่า วัดบางมะพร้าว (วัดใน) อีกวัดหนึง่ ตัง้ ขึน้ ราว พ.ศ. 2464 มีหมืน่ พิทกั ษ์ธรุ กิจ ผู ้ ใ หญ่ บ ้ า นหมู ่ ที่ 3 ต� ำ บลบางมะพร้ า วร่ ว มกั บ ชาวบ้ า นสมั ย นั้ น ได้ไปขอพระสงฆ์จาก พระธรรมารามคณีสปุ รีชา (หนู อชิโต) เจ้าคณะจังหวัด หลังสวน (สมัยนัน้ อ�ำเภอหลังสวนเป็นจังหวัด) ให้พระไปจ�ำพรรษาจ�ำนวน 5 รู ป โดยมี พระธรรมธรสุ ข เป็ น หั ว หน้ า วั ด นี้ ไ ม่ มี อุ โ บสถ 176 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย (2

).indd 176

16/12/2560 10:33:34


ต้องไปท�ำสังฆกรรมบนเรือ ทีแ่ ม่นำ�้ ท่าน�ำ้ บางมะพร้าว ต่อมา พ.ศ. 2472 นายเอี่ยม ได้ยกที่ประมาณ 5 ไร่ ซึ่งตั้งอยู่ริมแม่นำ�้ บางมะพร้าว (ปัจจุบัน เป็นท่าเทียบเรือ) นัน้ พลุกพล่า ไม่เหมาะสมทีจ่ ะเป็นส�ำนักสงฆ์ เนือ่ งจาก จากชาวบ้านไปอาบน�ำ้ ทีท่ า่ น�ำ้ บางมะพร้าวมาก จึงคิดย้ายมาอยูท่ วี่ ดั ร้าง คือ บนหัวเขาท่ากอ และได้สร้างวัดหัวเขาท่ากอ ตั้งแต่นั้นมา ส่วนที่ นายเอีย่ ม ทีท่ า่ น�้ำบางมะพร้าวนัน้ คืนให้เจ้าเดิม และได้ขอตัง้ ชือ่ วัดหัวเขา ท่ากอเป็นทางการว่า “วัดนาทิการาม” เมื่อ พ.ศ. 2478 พ.ศ. 2499 ได้ก่อสร้างอุโบสถ โดยพระครูอภัยศีลวัฒน์ (แคล้ว) เป็น เจ้าอาวาส และได้ก่อสร้างพระพุทธรูปองค์ใหญ่ โดยมีนายควง อภัยวงศ์ หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ในสมัยนั้น เป็นผู้วางศิลากฤษ์ หลวงพ่อแขน ด�ำเป็นน�ำญาติโยมด�ำเนินการก่อสร้าง และหลวงพ่อน้อย พระภิกษุชาว เชียงใหม่ ได้กอ่ สร้างมณฑปรอยพระพุทธบาทจ�ำลองพระพุทธรูปปางทุก กรกิริยา พระมหากัจจายนะ พ.ศ. 2497 ได้ พ ระราชทานวิ สุ ง คามสี ม า เขตวิ สุ ง คามสี ม า กว้าง 20 เมตร ยาว 40 เมตร และได้ผูกพัทธสีมา เมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2535 พ.ศ. 2547 – 2557 พระครูวิจิตรกรณีย์ และญาติโยมพุทธบริษัทได้ ร่วมกันปรุงซ่อมแซม เช่น อุโบสถ พระพุทธรูปองค์ใหญ่ กุฏิ ศาลา เมรุ ถนนขึ้นไปกราบนมัสการพระพุทธรูปองค์ใหญ่ และก่อสร้างศาลาหอฉัน หลังใหม่

ล�ำดับเจ้าอาวาส

พระธรรมธรสุข สุนกฺขนฺโธ พระอธิการจบ ปยุตโต พระอธิการต่วน สุวโจ พระอธิการถม พระอธิการพัง พระครูอภัยศีลวัฒน์ (แคล้ว) พระอธิการวิเชียร กนฺตสีโล พระครูปลัดชนะ กิตติปญฺโญ พระครูวิจิตรกรณีย์ (สุขุม)

พ.ศ. 2474 – 2477 พ.ศ. 2477 – 2490 พ.ศ. 2490 – 2491 พ.ศ. 2491 – 2492 พ.ศ. 2492 – 2494 พ.ศ. 2494 – 2531 พ.ศ. 2531 – 2546 พ.ศ. 2546 – 2547 พ.ศ. 2547 - ปัจจุบัน

ประวัติเจ้าอาวาส

พระครูวจิ ติ รกรณีย์ นามเดิม นายสุขมุ นิลแก้ว เกิดเมือ่ วัน อังคารที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2509 ปีมะเมีย แรม 1 ค�ำ่ เดือน 88 ณ บ้านหัวเขาท่ากอ เลขที่ 31 หมู่ที่ 6 ต.บางมะพร้าว อ.หลังสวน จ.ชุมพร นามบิดา ชือ่ นายสุขเขียว นิลแก้ว มารดาชือ่ นางอ�ำพร สุวรรณภพ มีพนี่ อ้ งทัง้ หมด 9 คน เป็นบุตรคนที่ 6 เริม่ เข้าโรงเรียนครัง้ แรกเมือ่ อายุ 7 ปี ชัน้ ประถมปีที่ 1 โรงเรียนคุระบุรี อ.คุระบุรี จ.พังงา หลังจากนั้นย้ายมาเรียนชั้นประถมปี ที่ 2 โรงเรียนวัดนาทิการาม อ.หลังสวน จังหวัดชุมพร อุปสมบท 1 เมื่อ อายุ 20 ปี วันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2532 วัดโพธิการาม อ.เมือง จ.ชุมพร โดยมี พระอโนมคุณมุนี (สุบิน ปิยธโร) อดีตเจ้าคณะจังหวัดชุมพร (ธ) เจ้าอาวาสวัดโพธิการาม เป็น พระอุปชั ฌาย์ พระครูถาวรธรรมกิจ วัดนาบุญ เป็นกรรมวาจาจารย์ พระครูบวรธรรมนิวฐิ วัดทัพชัย เป็นอนุสาวนาจารย์ อุปสมบท 2 เมื่ออายุ 25 วันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2534 เวลา 14.44 น. วัดธรรมถาวร อ.ทุง่ ตะโก จ.ชุมพร โดยมี พระครูโสภณธรรมโกวิทสมัยนัน้ (พระมุนีสารโสภณ) เป็นพระอุปัชฌาย์ พระครูถาวรธรรมกิจ วัดนาบุญ เป็นกรรมวาจาจารย์ พระครูบวรธรรมนิวฐิ วัดทัพชัย เป็นอนุสาวนาจารย์ พ.ศ. 2536 สอบไล่ได้ น.ธ.เอก ส�ำนักเรียนชุมพร วัดสามแก้ว อ.เมือง จ.ชุมพร อบรมหลักสูตรฝึกหัดครูสอนพระปริยตั ธิ รรม เป็นเลขานุการเจ้า คณะอ�ำเภอหลังสวน (ธ) พ.ศ. 2540 เป็นเจ้าอาวาสวัดพะเนียด ต.ขันเงิน อ.หลังสวน จ.ชุมพร พ.ศ. 2545 วันที่ 5 ธันวาคม เป็นพระครูสญ ั ญาบัตรชัน้ โท เจ้าอาวาส วัดราษฎร์ พ.ศ. 2549 เป็นเจ้าอาวาสวัดนาทิการาม ต.บางมะพร้าว อ.หลังสวน จ.ชุมพร พ.ศ. 2551 เป็นเจ้าคณะต�ำบลหลังสวน (ธ) พ.ศ. 2553 วันที่ 5 ธันวาคม เป็นพระครูสญ ั ญาบัตรชัน้ เอก เจ้าอาวาส วัดราษฎร์ พ.ศ. 2560 วันที่ 9 เมษายน เป็นพระอุปชั ฌาย์ วันที่ 18 มิถนุ ายน ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าคณะอ�ำเภอหลังสวน(ธ) ผลงานทีช่ าวชุมพรรูจ้ กั พระครูวจิ ติ รกรณีย์ ส่งเรือพระบกประกวด ชิงถ้วยรางวัลพระราชทานของสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราช กุมาร ชนะเลิศ ติดต่อกัน 4 ปี พ.ศ. 2552-2553-2554-2555 ในงาน ประเพณีออกพรรษาแห่พระแข่งเรือ ณ อ�ำเภอหลังสวน ปี พ.ศ. 2558 ส่งเรือยาวพลายชุมพล เข้าแข่งขันประเภท OPEN ฝีพายทัว่ ประเทศไทย ชนะเลิศครองโล่พระราชทาน องค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 9 CHUMPHON 177

(2

).indd 177

16/12/2560 10:33:41


วั ดขั นเงิน (2

).indd 178

16/12/2560 9:56:39


วัดขั นเงิ น

พระธรรมโกศาจารย์ เจ้าอาวาสวัดขันเงิน ประวัติความเป็นมา

วัดขันเงิน ตัง้ อยูท่ ตี่ ำ� บลวังตะกอ อ�ำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร จากประวัตวิ ดั ทัว่ ราชอาณาจักร ที่กรมการศาสนาจัดพิมพ์ไว้ เมื่อปี พ.ศ. 2531 บันทึกไว้ว่า วัดขันเงินสร้างเป็นวัดเมื่อปี พ.ศ. 2240 แต่พระอุโบสถที่ใช้ในปัจจุบันสร้างเมื่อ พ.ศ. 2495 และได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาครั้งหลังสุด เมื่อปี พ.ศ. 2499 ตามหลักฐานจากกรมการศาสนา ส�ำหรับพัทธสีมาเก่าซึ่งถูกสวดถอนแล้ว ไม่สามารถสืบทราบได้ว่าได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาในปี พ.ศ. ไหน ปัจจุบันอุโบสถหลังเก่า ถูกรื้อออกแล้ว ส่วนพระประธานของอุโบสถเก่าได้ประดิษฐานไว้ในโบสถ์น้อย พระประธานองค์นี้ ชาวบ้านเรียกว่า “พ่อหลวงอินทร์” เป็นพระที่ท�ำด้วยอิฐดินเผาก่อและโบกด้วยปูนขาว ใช้เปลือก หอยทะเลเผาไฟต�ำให้ละเอียดผสมน�ำ้ ตาลเหลว (น�ำ้ อ้อยเคีย่ ว) มีอายุประมาณ 100 กว่าวัดขันเงินสร้าง เป็นวัดมาแล้ว กว่า 300 ปี ปัจจุบนั มีพระพุทธรูปประธานในพระอุโบสถ คือ พระพุทธชินราชจ�ำลอง

ล�ำดับเจ้าอาวาส

1. หลวงพ่ออุ 2. หลวงพ่ออินทร์ 3. หลวงพ่อชัย 4. หลวงพ่อหนู 5. พระเทพวงศาจารย์ (จันทร์ โกสโล) 6. พระราชญาณกวี (บุญชวน เขมาภิรโต) 7. พระธรรมโกศาจารย์ (องอาจ ฐิตธมฺโม) เจ้าอาวาส รูปปัจจุบนั

ประวัติเจ้าอาวาส

พระธรรมโกศาจารย์ (องอาจ ฐิตธมฺโม) เจ้าอาวาสวัดขันเงิน รูปปัจจุบัน เป็นศิษย์ของพระราชญาณกวี เกิดเมื่อวันที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2482 โยมบิดาชือ่ เขต ชุมแสง โยมมารดาชือ่ จาย ชุมแสง (นามสกุลเดิม แก้วพินจิ ) ณ บ้านทุง่ คา อ.เมืองชุมพร จังหวัดชุมพร อุปสมบทเมือ่ วันที่ 21 มิถนุ ายน พ.ศ. 2507 เวลา 16.59 น. ณ พัทธสีมาวัดนาทุง่ ต�ำบลนาทุง่ อ�ำเภอเมืองชุมพร โดยมีพระปกาสิตพุทธศาสน์ (พระราชญาณกวี) เป็นพระอุปชั ฌาย์ พระครูปญ ั ญาพิพฒ ั น์ เจ้าคณะอ�ำเภอเมืองชุมพร เป็นพระกรรมวาจาจารย์ พระพุฒ ธมฺมจาโร หัวหน้า ที่พักสงฆ์มณีสพ เป็นพระอนุสาวนาจารย์ ปลายปี พ.ศ. 2529 เป็นผูร้ กั ษาการแทนเจ้าคณะจังหวัดชุมพร เพราะพระราชญาณกวีลาพัก เนือ่ งจากอาพาธ หลังจากพระราชญาณกวี มรณภาพ ก็ได้รับแต่งตั้งให้รักษาการแทนเจ้าคณะจังหวัดชุมพรอีกครั้งหนึ่ง วันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2531 ได้รับพระบัญชาแต่งตั้งให้เป็น เจ้าคณะจังหวัดชุมพร วันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2536 ได้รับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์ “พระราชปริยัติโมลี ตรีปิฎกบัณฑิต มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี พระราชาคณะชั้นราช สถิต ณ วัดขันเงิน พระอารามหลวง” พระราชปริยัติโมลี ตอนเป็นคฤหัสถ์ ได้ศึกษาทางด้านก่อสร้างมาพอสมควร จึงได้สร้างและซ่อมแซมเสนาสนะภายในวัดขันเงินให้มั่นคงและมีระเบียบเพิ่มขึ้น และได้ตั้งชื่อ เสนาสนะนั้นๆ คล้องจองกันเพื่อจดจ�ำได้ง่าย เช่น สิรภิ าวนา ธรรมสภาภินนั ท์ สันติกนั ตาลัย ธรรมวินยั วโรภาส บรรณศาสตร์ศาลา เป็นต้น CHUMPHON 179 (2

).indd 179

16/12/2560 9:56:41


บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วั ด โสมสิ ริ วัฒนาราม พระครูวิเชียรปัญญาภรณ์ เจ้าอาวาสวัดโสมสิริวัฒนาราม

ประวัติความเป็นมา

วัดโสมสิรวิ ฒ ั นาราม เป็นวัดราษฎร์ สังกัดมหานิกาย ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 120 บ้านหัวมาด หมูท่ ี่ 5 ต�ำบลหลวง อ�ำเภอละแม จังหวัดชุมพร มีเนือ้ ทีท่ งั้ หมด 27 ไร่ 1 งาน 1 ตารางวา สร้างขึน้ เมือ่ พ.ศ. 2517 ร้อยต�ำรวจโทโสม จารุจารีต เป็นผูบ้ ริจาคทีด่ นิ สร้างวัด (และต่อมาพระครูสริ วิ ฒ ั นาภรณ์ได้ซอื้ ทีด่ นิ เพิม่ เติมอีก) เดิมทีเป็นทีพ่ กั สงฆ์ ได้รบั อนุญาตสร้างวัดเมือ่ พ.ศ. 2517 และรับหนังสือประกาศตัง้ วัด เมือ่ พ.ศ. 2518 โดยมี นายเรืองเดช ทองพิทกั ษ์ (ผู้ใหญ่บ้านสมัยนั้น) เป็นผู้เสนอขอสร้างวัดจากกรมการศาสนา และมี พระครูสริ วิ ฒ ั นาภรณ์ (พร้อม สิรวิ ณฺโณ) เป็นเจ้าอาวาสรูปแรก

180 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย (2

).indd 180

16/12/2560 9:53:22


สมัยก่อนสถานที่แห่งนี้ มีความทุรกันดาร การสัญจรมีความยาก ล�ำบาก พืน้ ทีส่ ร้างวัดเป็นป่าเบญจพรรณติดกับเนินเขา มีศาลามุงจากหลัง เล็กๆทีช่ าวบ้านช่วยกันสร้าง มีพระมาจ�ำพรรษาปีละ 1-2 รูป เรือ่ ยมาถึง สมัยที่พระครูสิริวัฒนาภรณ์ จึงเริ่มพัฒนาสร้างวัดตามล�ำดับ และได้รับ ประกาศเป็นวัดพัฒนาตัวอย่าง เมื่อ พ.ศ. 2526 เป็นวัดพัฒนาตัวอย่างที่ มีผลงานดีเด่น เมือ่ พ.ศ. 2531 โดยภายในวัด มีสงิ่ ก่อสร้างเสนาสนะวัตถุ เช่น โบสถ์สร้างเมือ่ พ.ศ. 2519 ได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา เมือ่ พ.ศ. 2519 พระประธานในอุโบสถ พุทธปฐมเทศนา ปูนปั้น สร้างเมื่อ พ.ศ. 2556 (แทนองค์เดิม) ศาลาการเปรียญ สร้างเมือ่ พ.ศ. 2518 ศาลาบ�ำเพ็ญบุญ หอฉัน หอระฆัง เมรุ กุฏสิ งฆ์ กุฏเิ จ้าอาวาส ห้องน�ำ ้ ห้องสุขา ห้องสมุด

ระยะเวลาร่วม 37 ปี ที่พระครูสิริวัฒนาภรณ์ เจ้าอาวาสรูปแรก ได้ ริเริ่มการพัฒนา ภายใต้แนวคิด “สร้างวัดต้องสร้างคนให้มีความรู้” จึง ได้จัดตั้งโรงเรียนพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ เมื่อ พ.ศ. 2521 และศูนย์ เด็กก่อนเกณฑ์ในวัด พ.ศ. 2527 รับสงเคราะห์เด็กก�ำพร้าด้อยโอกาส ให้ มีการศึกษาและมีงานท�ำ เหมือนเด็กทั่วไป จนเป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวาง พ.ศ. 2536 ได้เปิดศูนย์อบรมประชาชน นอกจากท่านเป็นเจ้าอาวาสแล้ว ยังเป็นเจ้าคณะต�ำบล และได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าคณะอ�ำเภอ เป็นต�ำแหน่ง สูงสุด ท่านได้มรณภาพ เมื่อวันที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2555 พระครูวเิ ชียรปัญญาภรณ์ (สุรนิ ทร์ วชิรปญฺโญ) เจ้าอาวาสรูปปัจจุบนั ได้ประสานงานต่อจาก พระครูสิริวัฒนาภรณ์ ได้มีการพัฒนาปรับปรุง และบูรณปฏิสังขรณ์ สิ่งก่อสร้างที่ทรุดโทรมเสื่อมสภาพ ให้สามารถกลับ มาใช้งานได้ตามปกติ และได้ก่อสร้างเจดีย์ธรรมเมกขสถูปเจดีย์จ�ำลอง บรรจุพระบรมสารีริกธาตุตั้งอยู่หน้าโรงอุโบสถ์ ทั้งยังมีการส่งเสริม การศึกษา และจัดอบรมเข้าค่ายคุณธรรมจริยธรรมนักเรียนตามโรงเรียนต่างๆ ทั้งยังมีการส่งเสริมให้มีการเรียนการสอนธรรมศึกษาตามโรงเรียนต่างๆ และได้อุปถัมภ์พระภิกษุสามเณร ให้มีการศึกษา ทั้งบาลีและสามัญ

ล�ำดับเจ้าอาวาส

พระครูสิริวัฒนาภรณ์ (พร้อม สิริวณฺโณ) พ.ศ. 2518 – 2555 พระครูวเิ ชียรปัญญาภรณ์ (สุรนิ ทร์ วชิรปญฺโญ) พ.ศ. 2555 – ปัจจุบนั

CHUMPHON 181 (2

).indd 181

16/12/2560 9:53:28


บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดบ้า นโหมง พระครูใบฎีกาประเสริฐ อคฺคธมฺโม เจ้าอาวาสวัดบ้านโหมง

วัดบ้านโหมง ตั้งอยู่เลขที่ 99 หมู่ที่ 5 ต�ำบลพระรักษ์ อ�ำเภอพะโต๊ะ จังหวัดชุมพร สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย โดยมีพระครูใบฎีกาประเสริฐ อคฺคธมฺโม เป็นเจ้าอาวาส วัดบ้านโหมง ได้รับประกาศตั้งเป็นวัดเมื่อ วันที่ 15 สิงหาคม พุทธศักราช 2533 มีเนื้อที่ทั้งหมดจ�ำนวน 16 ไร่ 2 งาน 13 ตารางวา

อาคารเสนาสนะ

อุโบสถ แบบเดียวกับวัดพระราม 9 กาญจนาภิเษก กว้าง 7 เมตร ยาว 22.10 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2555 แล้วเสร็จและได้รับพระราชทาน วิสุงคามสีมา เมื่อ วันที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2559 ศาลาการเปรียญ กว้าง 16 เมตร ยาว 32 เมตร กุฏิ 9 หลัง กว้าง 3 เมตร ยาว 4 เมตร ศาลาบ�ำเพ็ญกุศล - ฌาปนสถาน กว้าง 15 เมตร ยาว 30 เมตร ห้องน�้ำ-ห้องสุขา 12 ราศีประจ�ำปีเกิด จ�ำนวน 12 ห้อง 182 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย (2

).indd 182

16/12/2560 9:28:40


สิ่งศักดิสิทธิ์ภายในวัด

พระพุทธเมตตา พระประธานประจ�ำอุโบสถ อนุสรณ์สถานวงเวียนศักดิ์สิทธิ์ ที่ประดิษฐาน พระพุทธอุดมมงคลชัย และรูปเหมือนพระมหาเถระ ต่างๆ มณฑป หลวงปู่สงฆ์ จนฺทสโร ศาลาแม่ตะเคียนทองใหญ่ (ทีเ่ ก็บไม้ตะเคียนใหญ่) วัดรอบต้นได้ 4.90 เมตร ยาว 20 เมตร จัดบวช เนกขั ม มจารี - เนกขั ม จาริ ณี ทุ ก วั น ส� ำ คั ญ ทาง พระพุทธศาสนาและจัดกิจกรรมต่างๆ ตามที่หน่วย งานรัฐได้ขอความร่วมมือ ร่วมสร้างเส้นทางบุญ ขอเชิญร่วมงานปิดทองฝัง ลูกนิมติ 10 - 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561 สอบถามเพิม่ เติ ม โทร 093-6484499 พระปลั ด ประสิ ท ธิ์ ฐานวุฑฺโฒ

CHUMPHON 183 (2

).indd 183

16/12/2560 9:29:04


บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วั ด พระรัก ษ์

พระครูมงคลรัต (ไล่ สุเขสิโน) เจ้าอาวาสวัดพระรักษ์

วัดพระรักษ์ ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 49 บ้านพระรักษ์ ถนนหลังสวน – ราชกรูด หมู่ที่ 1 ต�ำบลพระรักษ์ อ�ำเภอพะโต๊ จังหวัดชุมพร สังกัดคณะสงฆ์ มหานิกาย ที่ดินตั้งวัดมีเนื้อที่ 16 ไร่ 3 งาน 15 ตารางวา น.ส.3 เลขที่ 825 อาณาเขต ทิศเหนือจดที่ดินเอกชน ทิศใต้จดทางหลวงสาย หลังสวน – ราชกรูด ทิศตะวันออกและทิศตะวันตกจดที่ดินเอกชน มีที่ ธรณีสงฆ์ จ�ำนวน 1 แปลง เนื้อที่ 16 ไร่ 3 งาน 15 ตารางวา อาคารเสนาสนะประกอบด้วย อุโบสถ กว้าง 7 เมตร ยาว 19 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2542 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก ศาลาการเปรียญ กว้าง 13 เมตร ยาว 18 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2521 เป็นอาคาร คอนกรีตเสริมเหล็กทรงไทยชั้นเดียว กุฏิสงฆ์ จ�ำนวน 7 หลัง เป็นอาคาร ไม้ 4 หลัง ครึ่งตึกครึ่งไม้ 3 หลัง ศาลาบ�ำเพ็ญกุศล จ�ำนวน 1 หลัง สร้าง ด้วยคอนกรีตเสริมเหล็ก สร้างเมือ่ พ.ศ. 2539 นอกจากนีม้ หี อฉันและโรง ครัว สร้างเมื่อ พ.ศ. 2534 กุฏิเจ้าอาวาส สร้างเมื่อ พ.ศ. 2535 ปูชนียะ วัตถุ มีพระประธานประจ�ำอุโบสถ ปางเรือนแก้ว ขนาดหน้าตักกว้าง 59 นิว้ สูง 48 นิว้ สร้างเมือ่ พ.ศ. 2543 พระประธานประจ�ำศาลาการเปรียญ ปางสมาธิ ขนาดหน้าตักกว้าง 30 นิว้ สูง 25 สร้างเมือ่ พ.ศ. 2524 จังหวัด ชุมพร

184 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย (4

).indd 184

16/12/2560 9:26:20


พระอุโบสถ วัดพระรักษ์

CHUMPHON 185 (4

).indd 185

16/12/2560 9:26:33


วัดพระรักษ์ ตั้งเมื่อวันที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2533 ผู้ด�ำเนินการ ก่อสร้างวัด คือ รุน่ อาทิตย์ สุขสมและนายอารมณ์ สุขสม ได้ชกั ชวนราษฎร ที่มีจิตศรัทธาร่วมบริจาคทรัพย์สร้างเสนาสนะ เพื่อใช้เป็นที่พักสงฆ์และ บ�ำเพ็ญกุศล ผู้บริจาคที่ดินให้สร้างวัดคือ นายซั้ว แซ่ลิ้ม ผู้ปกครอง ส�ำนักสงฆ์รูปแรกคือ พระว่อน ธมฺมวีโร ต่อมาราษฎรบ้านพระรักษ์ได้ บริจาคทรัพย์ซื้อที่ดินเพิ่มอีก 7 ไร่ 3 งาน 15 ตารางวา รวมที่ดินทั้งสิ้น 16 ไร่ 3 งาน 15 ตารางวา วัดพระรักษ์ได้รับการพัฒนามาโดยตลอด

รายนามเจ้าอาวาส

รูปที่ 1 พระวอน ธมฺมวีโร พ.ศ. 2535 รูปที่ 2 พระครูวเิ วกธรรมาภิรม (พระใบฎีกาสงัด จนฺทสุวณฺโณ) พ.ศ. 2536 – 2550 รูปที่ 3 พระครูมงคลรัต เป็นเจ้าอาวาส เมื่อ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2550- ปัจจุบัน

ประวัติเจ้าอาวาส

พระครูมงคลรัต สถานะเดิม ชื่อ นายไล่ อยู่ข�ำ วิทยฐานะ ป.4 บิดา นายรุย่ อยูข่ ำ � มารดา นางแหมก อยูข่ ำ � เกิดวันที่ 16 มีนาคม พ.ศ. 2477 ปี จ อ บ้ า นเลขที่ 265 หมู ่ ที่ 2 ต� ำ บลควนเกย อ� ำ เภอร่ อ นพิ บู ล ย์ จังหวัด นครศรีธรรมราช อุปสมบท ชื่อ พระไล่ ฉายา สุเขสิโน พระอุปัชฌาย์ พระครูเกษม ธรรมรังสี พระกรรมวาจาจารย์ พระครูไพโรจน์วรธรรม พระอนุสาวนา จารย์ พระสมุห์มนัส ขนฺติโก อุปสมบทเมื่ออายุ 72 ปี ณ วันที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2549 วัดวิโรจนาราม ต�ำบลปากหมาก อ�ำเภอไชยา จังหวัด สุราษฎร์ธานี สังกัดวัดพระรักษ์ ต�ำบลพระรักษ์ อ�ำเภอพะโต๊ จังหวัดชุมพร

186 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย (4

).indd 186

16/12/2560 9:26:47


CHUMPHON 187 (4

).indd 187

16/12/2560 9:26:52


บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัด ปั ง หวาน

พระครูอรรถวรากร เจ้าอาวาสวัดปังหวาน วัดปังหวาน ตัง้ อยูบ่ า้ นทอนพงษ์ ถนนหลังสวน หมูท่ ี่ 5 ต�ำบลปังหวาน อ�ำเภอพะโต๊ะ จังหวัดชุมพร สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ทีด่ นิ ตัง้ วัดมีเนือ้ ที่ 19 ไร่ 3 งาน ตารางวา โฉนดที่ดิน เลขที่ 1377 และ 1378 อาณาเขต ทิ ศ เหนื อ และทิ ศใต้จดที่ดิน เอกชน ทิศ ตะวัน ออกจดแม่ น�้ ำ หลั ง สวน ทิศตะวันตกจดที่ดินเอกชนที่มีธรณีสงฆ์ จ�ำนวน 3 แปลง เนื้อที่ 19 ไร่ 3 งาน 9 ตารางวา โฉนดที่ดิน เลขที่ 1377 และ 1378 อาคารเสนาสนะ ประกอบด้วย อุโบสถ กว้าง 12 เมตร ยาว 20 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2517 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก ศาลาการเปรียญ กว้าง 22 เมตร ยาว 32 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2538 เป็นอาคาร คอนกรีตเสริมเหล็กทรงไทยชั้นเดียว กุฏิสงฆ์ จ�ำนวน 9 หลัง เป็นครึ่งตึก ครึ่งไม้ 6 หลัง และอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 หลัง ศาลาบ�ำเพ็ญกุศล จ�ำนวน 1 หลัง เป็นอาคารครึ่งตึกครึ่งไม้ กว้าง 20 เมตร ยาว 30 เมตร นอกจากนี้มีหอระฆัง หอกลอง หอฉัน โรงครัว และกุฏิเจ้าอาวาส ปูชนียะวัตถุ มีพระประธานประจ�ำอุโบสถปางสมาธิ ขนาดหน้าตักกว้าง 32 นิ้ว สูง 52 นิ้ว สร้างเมื่อ พ.ศ. 2526 พระประธานประจ�ำศาลา การเปรียญปางมารวิชยั ขนาดหน้าตักกว้าง 30 นิว้ สูง 29 นิว้ วัดปังหวาน ตั้งเมื่อ พ.ศ. 2380 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2513 188 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย (2

).indd 188

16/12/2560 9:24:33


รายนามเจ้าอาวาส

รูปที่ 1 พระล้อม คลังมณี รูปที่ 2 พระแก้ว แก้วสุวรรณ รูปที่ 3 พระใบฎีกาชุ่ม รูปที่ 4 พระมหาสุนันท์ ถิรจิตฺโต พ.ศ. 2515 – 2524 รูปที่ 5 พระครูสังฆรักษ์ล�้ำ (คุณวุฒฺโฑ) คลังมณี พ.ศ. 2525 – 2536 รูปที่ 6 พระสมุห์ผอม (ฐานวโร) ณ พัทลุง พ.ศ. 2536 – 2540 รูปที่ 7 พระอธิการทวี ผลสมฺปนฺโน หรือปัจจุบนั พระครูอรรถวรากร พ.ศ. 2545 - ปัจจุบัน

ประวัติเจ้าอาวาส

พระครูอรรถวรากร สถานะเดิม ชือ่ นายทวี พรหมนิมติ ร วิทยฐานะ ป.5 บิดา นายสังวร พรหมนิมติ ร มารดา นางดมมาลี มหาฬา เกิดวันที่ 2 มีนาคม 2520 บ้านเลขที่ 32 หมูท่ ี่ 7 ต�ำบลปังหวาน อ�ำเภอพะโต๊ะ จังหวัดชุมพร บรรพชา ชือ่ สามเณร ทวี พรหมนิมติ ร พระอุปชั ฌาย์ พระครูสพุ ฒั นโกศล บรรพชาเมื่ออายุ 15 ปี ณ วันที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2535 วัดปังหวาน ต�ำบลปังหวาน อ�ำเภอพะโต๊ะ จังหวัดชุมพร อุปสมบท ชื่อ พระทวี ฉายา ผลสมฺปนฺโน พระอุปัชฌาย์ พระครู สุพฒ ั นโกศล พระกรรมวาจาจารย์ พระครูสเุ ทพโชติคณ ุ พระอนุสาวนาจารย์ พระอธิการบรรจง จนฺทสีโล อุปสมบทเมือ่ อายุ 20 ปี ณ วันที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2539 วัดปังหวาน ต�ำบลปังหวาน อ�ำเภอพะโต๊ะ จังหวัดชุมพร สั ง กั ด วั ด ปั ง หวาน ต� ำ บลปั ง หวาน อ� ำ เภอพะโต๊ ะ จั ง หวั ด ชุ ม พร ณ วันที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2535

CHUMPHON 189 (2

).indd 189

16/12/2560 9:24:42


บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัด ควนดอกไม้

พระมหาทัศนัย ทสฺสนีโย เจ้าอาวาสวัดควนดอกไม้

วัดควนดอกไม้ ตั้งอยู่เลขที่ 10 หมู่ 4 บ้านควน ถนนหลังสวนราชกรูด ต�ำบลพะโต๊ะ อ�ำเภอพะโต๊ะ จังหวัดชุมพร สังกัดคณะสงฆ์ มหานิกาย วัดมีเนื้อที่ 9 ไร่ 2 งาน 28 ตารางวา (นส.3เลขที่146) มีที่ธรณีสงฆ์จ�ำนวน 1 แปลง เนื้อที่ 48 ไร่ (นส.3 เลขที่ 216) วัดควนดอกไม้เป็นวัดเก่าแก่ประจ�ำอ�ำเภอพะโต๊ะ ที่สร้างมาก่อนจะ ยกฐานะเป็นอ�ำเภอ ผู้เฒ่าผู้แก่ได้เล่าต่อกันมาว่ามีหลวงพ่อรูปหนึ่งซึ่ง ธุ ด งค์ ม าจ� ำ พรรษาที่ พั ก สงฆ์ แ หลมทรายซึ่ ง อยู ่ ติ ด ริ ม ล� ำ น�้ ำ พะโต๊ ะ ช่วงออกพรรษาน�้ำหลากเกิดน�้ำท่วมที่พักสงฆ์ ท่านจึงชักชวนพระและ ญาติโยมบางส่วนอพยพหนีนำ�้ ขึ้นไปบนที่สูงที่เรียกว่า “ควน” ในภาษา ปักษ์ใต้ และสร้างวัดขึน้ ณ ทีแ่ ห่งนัน้ คือทีอ่ ยูป่ จั จุบนั ท่านเป็นพระทีช่ นื่ ชอบ การปลูกดอกไม้มาก ชวนบ้านจึงเรียกท่านว่า หลวงพ่อดอกไม้ และได้ตั้ง ชื่อวัดว่า “วัดควนดอกไม้” ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา

190 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย (2

).indd 190

16/12/2560 9:22:41


ได้รับการยกฐานะเป็นวัดเมื่อปี พ.ศ.2425 ได้รับพระราชทาน วิสุงคามสีมา เมื่อ พ.ศ.2435 มีรอยพระพุทธบาทจ�ำลอง (เนื้อโลหะ) ประจ�ำวัด เดิมประดิษฐานอยู่บนยอดเขาหลังวัด ในมณฑปที่ท�ำด้วยอิฐ โบราณและประดับด้วยถ้วยชามสังคโลก ปัจจุบันตั้งอยู่บนภูเขา มีต้นไม้ ปกคลุมทั้งหลัง ชาวบ้านจึงได้ช่วยกันขนย้ายรอยพระพุทธบาทจ�ำลอง ลงมาประดิษฐานด้านล่างในบริเวณวัดควนดอกไม้

รายนามเจ้าอาวาส

พระอธิการผ่อง เตชธมฺโม พ.ศ.2522 – 2525 พระอธิการเจริญ ภูริปญฺโญ พ.ศ.2525 – 2530 พระครูวรธรรมธาดา(พระมหาค�ำราม ถิรจิตฺโต) พ.ศ.2534 – 2555 พระมหาทัศนัย ทสฺสนีโย พ.ศ.2555 - ปัจจุบัน

อาคารเสนาสนะ

อุโบสถ มีขนาด กว้าง 12 เมตร ยาว 24 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ.2430 ศาลาการเปรียญ กว้าง 13 เมตร ยาว 20 เมตร สร้างขึน้ เมือ่ พ.ศ.2539 กุฏิสงฆ์จ�ำนวน 6 หลัง อาคารโรงเรียนพระปริยัติธรรม เป็นอาคารคอนกรีต เสริมเหล็ก

ปูชนียวัตถุ

มีพระประธาน ประจ�ำอุโบสถ พระพุทธชินราชปรางมารวิชยั ขนาด หน้าตักกว้าง 58 นิว้ สูง 90 นิว้ และพระแกะสลักหินอ่อนหน้าตักกว้าง 18 นิว้ สูง 22 นิว้ พระประธานประจ�ำศาลาการเปรียญปรางมารวิชัย กว้าง 30 นิ้ว สูง 36 นิว้ สร้างเมือ่ พ.ศ.2515 รอยพระพุทธบาทจ�ำลอง(เนือ้ โลหะ)กว้าง 24 นิว้ ยาว 60 นิว้ สร้างขึน้ ก่อนกรุงรัตนโกสินทร์ มีอายุมากกว่า 200 ปี ปัจจุบันยังมีเสนาสนะที่ก�ำลังด�ำเนินการก่อสร้าง อุโบสถหลังใหม่ วางศิลาฤกษ์เมือ่ ปี พ.ศ.2556 งบประมาณในการก่อสร้าง 7,700,000 บาท และศาลาอเนกประสงค์ เริม่ ก่อสร้างเมือ่ ปี พ.ศ.2560 งบประมาณในการ ก่อสร้าง 1,655,305 บาท การศึกษา มีโรงเรียนพระปริยตั ธิ รรม แผนกธรรม เปิดการเรียนการ สอนเมือ่ พ.ศ.2537 ส�ำนักศาสนศึกษาประจ�ำอ�ำเภอพะโต๊ะ เปิดสอนเมือ่ ปี พ.ศ.2555

CHUMPHON 191 (2

).indd 191

16/12/2560 9:22:52


บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัด จันทราวาส

พระครูสิริจันทรัต เจ้าอาวาสวัดจันทราวาส วัดจันทราวาส เดิมชื่อ “วัดบ่อผุด” เพราะมีน�้ำผุดขึ้นที่แอ่งหิน ภายในบริเวณวัด พระภิกษุสามเณรและชาวบ้านใกล้เคียง ได้อาศัย น�้ ำ ในบ่ อ แห่ ง นี้ บ ริ โ ภคใช้ ส อยมาจนปั จ จุ บั น วั ด จั น ทราวาส ตั้ ง อยู ่ เลขที่ 38 หมู่ที่ 3 ต�ำบลครน อ�ำเภอสวี จังหวัดชุมพร อยู่ห่างจาก ถนนเพชรเกษมไปทางทิ ศ ตะวั น ออกประมาณ 3 กิ โ ลเมตร เป็ น วั ด เก่ า แก่ วั ด หนึ่ ง ของอ� ำ เภอสวี มี เ นื้ อ ที่ ป ระมาณ 87 ไร่ เ ศษ มี เ จ้ า อาวาสผลั ด เปลี่ ย นกั น มาแล้ ว หลายรู ป ต่ อ มาเจ้ า อาวาสและ คณะกรรมการวัดพิจารณาเห็นว่าสมควรจะเปลี่ยนชื่อวัดเสียใหม่ เพื่ อ ให้ เ ป็ น เกี ย รติ ป ระวั ติ แ ก่ ผู้ ริ เ ริ่ ม ในการสร้ า งวั ด คื อ นายจั น ทร์ เกตเลขวั ด จึ ง ได้ ข ออนุ ญ าตจากทางราชการเปลี่ ย นชื่ อ วั ด เป็ น “วั ด จั น ทราวาส”และได้ รั บ อนุ ญ าตตามประกาศของกระทรวง ศึ ก ษาธิ ก าร ลงวั น ที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2465 จึ ง ได้ ชื่ อ ว่ า “วัดจันทราวาส” มาจนตราบเท่าทุกวันนี้

192 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย (2

).indd 192

พระพุทธสวีประชานาถ 16/12/2560 9:21:01


ประวัติเจ้าอาวาส

พระครูสิริจันทรัต ฉายา สุทธิญาโณ อายุ 40 พรรษา 20 วิทยฐานะ น.ธ.เอก ป.ธ.5 วุฒิทางโลก ม.6 สถานะเดิม ชื่อ ศรชัย เสลาคุณ เกิดวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2520 ปีมะเส็ง บรรพชา วันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2540 วัดเชิงคีรี อ�ำเภอสวี จังหวัดชุมพร พระอุปชั ฌาย์ พระครูธรรมลังกาวี วัดเชิงคีรี ต�ำบลปากแพรก อ�ำเภอสวี จังหวัดชุมพร อุปสมบท วันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2541 วัดจันทราวาส อ�ำเภอสวี จังหวัดชุมพร พระอุปัชฌาย์ พระครูศรีธรรมนิเทศก์ วัดชุมพรรังสรรค์ ต�ำบลนาทุง่ อ�ำเภอเมือง จังหวัดชุมพร พระกรรมวาจาจารย์ พระครูมงคล ศีลคุณ วัดจันทราวาส ต�ำบลครน อ�ำเภอสวี จังหวัดชุมพร วิทยฐานะ นักธรรมชั้นเอก ป.ธ.5 ปี พ.ศ. 2543 สอบไล่ได้ น.ธ.เอก ส�ำนักเรียนวัดขันเงิน จังหวัดชุมพร ปี พ.ศ. 2549 สอบไล่ได้ ป.ธ.5 ส�ำนักเรียนวัดเทพธิดารามวรวิหาร กรุงเทพฯ งานปกครอง วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2552 พระเทพญาณโมลี เจ้าคณะจังหวัดชุมพร วัดขันเงิน อ�ำเภอหลังสวน ได้แต่งตั้งให้ พระมหาศรชัย สุทธิญาโณ อายุ 31 พรรษา 11 น.ธ.เอก ป.ธ.5 วุฒิทางโลก ม.6 เป็นเจ้าอาวาส วัดจันทราวาสจนถึงปัจจุบัน และในวโรกาสพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา 5 ธันวาคม 2556 พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ทรงพระกรุ ณ าโปรดพระราชทาน ตั้งสมณศักดิ์ พระมหาศรชัย สุทฺธิญาโณ ป.ธ.5 เจ้าอาวาสวัดจันทราวาส ต�ำบลครน อ�ำเภอสวี จังหวัดชุมพร เป็นพระครูสัญญาบัตรเจ้าอาวาส วัดราษฎร์ชั้นเอก ในราชทินนามที่ “พระครูสิริจันทรัต”

พระครูสิริจันทรัต เจ้าอาวาสวัด

พระมงคลวราจารย์

CHUMPHON 193 (2

).indd 193

16/12/2560 9:21:15


บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วั ด ช่ อ งรอ

พระครูวรธรรมพิมล เจ้าอาวาสวัดช่องรอ เจ้าคณะต�ำบลวิสัยใต้ วั ด ช่ อ งรอ ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 77 หมู ่ ที่ 11 ต� ำ บลครน อ� ำ เภอสวี จังหวัดชุมพร เมื่อ พ.ศ. 2517 นายน้อย มาดี ได้ถวายที่ดินจ�ำนวน 17 ไร่ 2 งาน ให้กับพระครูศรีธรรมนิเทศ เจ้าอาวาสวัดจันทราวาส ต�ำบลครน อ�ำเภอสวี จังหวัดชุมพร โดยไม่มีเอกสารสิทธิ์ใดๆ กระทั่งปี พ.ศ. 2533 พระวิชัย อคฺควโร มาเริ่มสร้างเสนาสนะและขอเอกสาร สิทธิ์จากหน่วยงานของรัฐ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ส.ป.ก.) แล้วขออนุญาตสร้างวัด เมื่อวันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2540 และตั้งชื่อว่า “วัดช่องรอ” เมื่อวันที่ 27 เมษายน 2541 โดยมีพระปลัดวิชัย อคฺควโร ได้ รั บ การแต่ ง ตั้ ง ให้ เ ป็ น เจ้ า อาวาสวั ด ช่ อ งรอรู ป แรก เมื่ อ วั น ที่ 23 กรกฎาคม 2541 และได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าคณะต�ำบล วิสัยใต้ เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม 2546 ในวโรกาสพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร 5 ธันวามหาราช 2547 และพระปลัดวิชัย อคฺควโร ได้รับพระราชทาน สมณศักดิ์พัดยศ ในราชทินนามว่า “พระครูวรธรรมพิมล”

194 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย (2

).indd 194

16/12/2560 9:18:14


ประวัติเจ้าอาวาส

พระครูวรธรรมพิมล ฉายา อัคควโร อายุ 68 พรรษา 32 วิทยฐานะ น.ธ. เอก วัดช่องรอ บ้านเลขที่ 77 หมู่ที่ 11 ต�ำบลครน อ�ำเภอสวี จังหวัดชุมพร สถานะเดิม ชื่อ วิชัย นามสกุล สัมมากสิพงศ์ เกิดวันอาทิตย์ที่ 12 มีนาคม 2492 ปีฉลู บิดาชื่อนายจรัส มารดาชื่อนางกิมเอ็ง อุปสมบท วันอังคารที่ 1 กรกฎาคม 2529 วันแรม 10 ค�่ำปีขาล ที่พัทธสีมา วัดแจ่มราษฏร์ศรัทธาธรรม ต�ำบลคลองด่าน อ�ำเภอบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ พระอุปัชฌาย์ พระครูศรีบุญญาทร วัดแจ่มราษฏร์ ศรัทธาธรรม พระกรรมวาจาจารย์ พระเดช ปสนฺนจิตโฺ ต พระอนุสาวนาจารย์ พระถนอม อสิ ญ าโณ วั ด แจ่ ม ราษฏร์ ศ รั ท ธาธรรม จ� ำ พรรษาที่ วัดแจ่มราษฏร์ศรัทธาธรรม อยู่ 5 พรรษา จึงได้ออกเดินธุดงค์ จนมาถึง ต�ำบลครน อ�ำเภอสวี วิทยฐานะ พ.ศ. 2505 ส�ำเร็จประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนวัดหลัก หกรัตนารามฯ อ�ำเภอด�ำเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี พ.ศ. 2533 สอบไล่ ได้นักธรรมชั้นเอก ส�ำนักศาสนศึกษาวัดนาสร้าง ส�ำนักเรียนคณะจังหวัด ชุมพร ความช�ำนาญการพิเศษ การแสดงธรรม การบรรยายธรรม การพัฒนาวัด งานด้านนวกรรม งานการศึกษา พ.ศ. 2539 เป็นครูสอนปริยตั ธิ รรมแผนกธรรม ส�ำนัก ศาสนศึกษาวัดจันทราวาส ต�ำบลครน อ�ำเภอสวี จังหวัดชุมพร พ.ศ. 2541 – ปัจจุบัน เจ้าส�ำนักศาสนศึกษาวัดช่องรอ อ�ำเภอสวี จังหวัดชุมพร พ.ศ. 2542 – ปัจจุบนั กรรมการสถานศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน โรงเรียนครนพิทยาคม อ�ำเภอสวี จังหวัดชุมพร และอาจารย์สอนศีลธรรมในโรงเรียนครนพิทยาคม อ�ำเภอสวี จังหวัดชุมพร

CHUMPHON 195 (2

).indd 195

16/12/2560 9:18:29


บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัด พระบรมธาตุสวี

พระครูจันทปัญโญภาส เจ้าอาวาสวัดพระบรมธาตุสวี เจ้าคณะต�ำบลสวี ประวัติความเป็นมา “พระบรมธาตุสวี”

พระบรมธาตุสวี เป็นโบราณสถานแห่งหนึ่งที่เก่าแก่สุดของจังหวัด ชุมพร มีลกั ษณะรูปแบบพระบรมธาตุเจดียน์ ครศรีธรรมราช สันนิษฐานว่า น่าจะสร้างขึ้นในสมัยกรุงศรีอยุธยาและได้บูรณะซ่อมแซมหลายครั้ง เมือ่ ปีพทุ ธศักราช 2539 โดยกรมศิลปากร ครัง้ ล่าสุดปี พ.ศ. 2559 ด�ำเนิน การบู ร ณะครั้ ง ใหญ่ จากงบประมาณของผู ้ มี จิ ต ศรั ท ธา น� ำ โดย ท่านผูว้ า่ ราชการจังหวัดชุมพรและทุกภาคส่วน ได้รว่ มระดมทุนเพือ่ บูรณะ พระบรมธาตุสวีทั้งหมด ทั้งนี้ได้มีการเปลี่ยนแปลงหยดน�้ำค้างจากไม้สัก เป็นหยดน�้ำค้างทองค�ำ ปัจจุบันพระบรมธาตุสวีมีลักษณะเป็นเจดีย์ ทรงระฆังตั้งอยู่บนฐานสี่เหลี่ยมสองชั้น ฐานด้านล่างกว้าง 8.50 เมตร ประดับด้วย รูปช้างโผล่ศรี ษะและขาหน้าเสมือนค�ำ้ เจดียไ์ ว้ดา้ นละสามซุม้ สลับกับรูปยักษ์ถอื กระบองและประดับด้วยเสาหล่อหกต้น (เว้นต้นทิศใต้) มุ ม ทั้ ง สี่ ข องฐานเจดี ย ์ จ� ำ ลองเลี ย นแบบเจดี ย ์ ป ระธาน ฐานชั้ น บนมี 196 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย (6

).indd 196

16/12/2560 9:15:47


พระพุทธรูปปางสมาธิประทับนัง่ ในซุม้ ด้านละห้าซุม้ มุมทัง้ สีข่ องฐานเจดีย์ จ�ำลองประดับไว้เช่นเดียวกับตัวเจดีย์ เป็นทรงระฆังคว�่ำเหนือขึ้นไปเป็น เสาหารก้านฉัตร บัวเถา ปล้องฉัตรเจ็ดชั้น บนสุดเป็นปลียอดและ เม็ดน�้ำค้าง มีตำ� นานเล่าถึงประวัตกิ ารสร้างพระบรมธาตุสวีวา่ เมือ่ ครัง้ ทีพ่ ระเจ้า ศรีธรรมโศกราช แห่งนครศรีธรรมราช เสด็จยกทัพมาน�ำไพร่พลมาพักที่ วัดแห่งนี้ (ในเขตอ�ำเภอสวีในปัจจุบัน) ได้พบกาเผือกและกาฝูงหนึ่งเกาะ อยู่บนกองอิฐกระพือปีกและส่งเสียงร้อง พระองค์จึงทรงให้รื้อกองอิฐที่ กองทัพกันออกจากฐานเจดียใ์ หญ่ เมือ่ ขุดลึกลงไปพบผอบบรรจุพระบรม สารีริกธาตุ จึงให้แม่ทัพนายกอง ไพร่พลช่วยกันสร้างเจดีย์ขึ้นมาใหม่ แทนที่เดิม แล้วจัดงานสมโภชเป็นการใหญ่เป็นเวลา 7 วัน 7 คืน จากนั้น พระราชทานชื่อว่า “พระบรมธาตุกาวีปีก” (วีปีก แปลว่า กระพือปีก) ต่อมาเรียกว่าพระบรมธาตุกาวี และค�ำว่า “กาวี” ต่อมาได้เรียกตามชื่อ เมืองเป็น “พระบรมธาตุสวี”

CHUMPHON 197 (6

).indd 197

16/12/2560 9:15:52


พระบรมธาตุสวี ขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถาน

กรมศิลปากรประกาศขึน้ ทะเบียนและก�ำหนดทีด่ นิ วัดพระบรมธาตุสวีตาม ประกาศใน ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 118 ตอนที่ 127ง วันที่ 20 ธันวาคม พ.ศ.2544 เนื้อที่ประมาณ 1 ไร่ 1 งาน 30 ตารางวา ปัจจุบันคณะสงฆ์ แต่งตัง้ ให้ พระครูจนั ทปัญโญภาส (พระอาจารย์เสน่ห์ จันทปัญโญ) รับต�ำแหน่ง เป็นเจ้าอาวาสวัดพระบรมธาตุสวี พระครูจันทปัญโญภาส ท่านได้เห็นความ ส�ำคัญของโบราณสถาน จึงได้ปรับปรุงสถานที่ให้มีทัศนียภาพที่สวยงามขึ้น ท�ำให้ญาติโยมทัง้ ใกล้และไกลทีไ่ ด้พบเห็นมีจติ ศรัทธาร่วมกันท�ำบุญเพือ่ บูรณะ โบราณสถานที่สำ� คัญของชาติแห่งนี้ให้คงอยู่ชั่วลูกชั่วหลานตลอดไป

ศาลพระเสื้อเมือง

ก่อนทีพ่ ระเจ้าศรีธรรมโศกราช จะเสด็จยกทัพกลับทรงห่วงใยพระบรมธาตุ ว่าจะไม่มผี ดู้ แู ลรักษา จึงสัง่ เรียกบรรดาทหารในกองทัพทีก่ ำ� ลังนอนหลับสนิท ในขณะนั้นมีทหารคนหนึ่งชื่อเมืองขานรับ พระองค์จึงมีรับสั่งถามว่าต้องการ ดูแลรักษาพระบรมธาตุแห่งนี้ไหม นายเมืองขานรับอาสา พระองค์จึงสั่งให้ ทหารตัดศีรษะนายเมืองเซ่นบวงสรวงไว้ในศาลเพียงตา ศาลนีจ้ งึ ได้ขนานนามว่า “ศาลพระเสือ้ เมือง” อยูค่ พู่ ระบรมธาตุสวีสบื มา ปัจจุบนั ศาลแห่งนีย้ งั คงมีคน ทัว่ ไปเคารพนับถือในฐานะสิง่ ศักดิส์ ทิ ธิ์ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ชาวไทยเชือ้ สายจีน ต่ อ มาศาลพระเสื้ อ เมื อ งมี ส ภาพช� ำ รุ ด ทรุ ด โทรม ทางกรมศิ ล ปากรจึ ง ได้ ออกแบบอาคารใหม่ให้มีลักษณะสอดคล้องกับพระบรมธาตุ โดยมีอาคารไทย หลังคาจัว่ มุงกระเบือ้ งดินเผาเคลือบ ผนังก่ออิฐฉาบปูน ด้านหน้ามีราวระเบียง ลาดบัว พื้นอาคารปูด้วยกระเบื้องเคลือบ

198 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย (6

).indd 198

16/12/2560 9:15:58


ล�ำดับเจ้าอาวาส

1. พระกุ้ง 2. พระวงศ์ 3. พระครูแคล้ว (พระครูด�ำ) 4. พระยิต 5. พระเติม 6. พระมหาเริน 7. พระมหาพิศ 8. พระบุญ กตปุญฺโญ พ.ศ. 2496 – 2502 9. พระครูสุธรรมมาภรณ์ (ประเสริฐ) พ.ศ. 2502 – 2532 10. พระครูวิภัชบุญญากร (บุญสิน) พ.ศ. 2532 – 2552 11. พระครูเกษมทัศนคุณ (สมชัย) รักษาการเจ้าอาวาส พ.ศ. 2552 – 2554 12. พระครูจันทปัญโญภาส (เสน่ห์) พ.ศ. 2554 – ปัจจุบัน

ประวัติเจ้าอาวาส

พระครูจันทปัญโญภาส ชื่อเดิม พระเสน่ห์ ฉายา จนฺทปัญโญ นามสกุล ด้วงเผือก อายุ 47 ปี พรรษา 27 วุฒิการศึกษา ชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 3 นักธรรมชัน้ เอก สังกัดธรรมยุต วัดพระบรมธาตุสวี หมู่ที่ 1 ต�ำบลสวี อ�ำเภอสวี จังหวัดชุมพร หน้าที่การงานที่รับผิดชอบ พ.ศ. 2540 – ปัจจุบัน เป็นพระธรรมทูตสายต่างประเทศ พ.ศ. 2554 – ปัจจุบัน ด�ำรงต�ำแหน่ง เจ้าอาวาสวัดสวี(วัดพระบรม ธาตุสวี พ.ศ. 2556) พ.ศ. 2559 – ปัจจุบัน เป็นคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนสวีวิทยา ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 11 เป็นคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน โรงเรียนชุมชนสวี ส�ำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชุมพร เขต 2 และปฏิบัติหน้าที่งานของ คณะสงฆ์ ฝ่ายการศึกษาสงเคราะห์ พ.ศ. 2560 ด�ำรงต�ำแหน่ง เจ้าคณะต�ำบลสวี

การเดินทาง

วัดพระบรมธาตุสวี ตั้งอยู่ที่ หมู่ 1 ต�ำบลสวี อ�ำเภอสวี จังหวัดชุมพร จากสี่แยกปฐมพร เดินทางตามทางหลวงหมายเลข 41 (ถนนสายเอเชีย) สูภ่ าคใต้ตอนล่างประมาณกิโลเมตรที่ 37 กลับรถใต้สะพานข้ามแม่นำ�้ สวี ไปอีกประมาณ 200 เมตร และแยกซ้ายไปตามถนนลาดยาง เข้าไป ประมาณ 800 เมตร ก็จะถึง วัดพระบรมธาตุสวี ติ ด ต่ อ สอบถาม โทร. 081-0876539 พระครู จั น ทปั ญโญภาส (เจ้าอาวาสวัดพระบรมธาตุสวี) CHUMPHON 199 (6

).indd 199

16/12/2560 9:16:01


200 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย (6

).indd 200

16/12/2560 9:16:17


CHUMPHON 201 (6

).indd 201

16/12/2560 9:16:24


บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัด นาสัก

พระครูเมตตาธรรมจารี เจ้าอาวาสวัดนาสัก เจ้าคณะอ�ำเภอสวี วัดนาสัก ตั้งอยู่ที่ หมู่ 1 ต�ำบลนาสัก อ�ำเภอสวี จังหวัดชุมพร เป็นวัดประจ�ำต�ำบล ไม่ปรากฏ หลั ก ฐานว่ า ผู ้ ใดเป็ น ผู ้ ส ร้ า งวั ด ได้ รั บ การ จดทะเบียนขึ้นเป็นวัดเมื่อปี พ.ศ. 2300 ได้รับ วิสุงครามสีมาเมื่อ พ.ศ. 2530 เมื่อปี พ.ศ. 2493 เป็นวัดนาสักเป็น วั ด ร้ า งไม่ มี พ ระสงฆ์ จ� ำ พรรษา หลวงพ่ อ เลื่ อ น วัดสามแก้ว ได้ให้นายภู่ เกตุสถิตย์ กรรมการวัด นิมนต์หลวงพ่อมุม มาเป็นเจ้าอาวาสแทนหลวงพ่อ สอนทีม่ รณภาพลง จนกระทัง้ หลวงพ่อมุมมรณภาพ ในปี พ.ศ. 2532 นับพรรษาได้ 71 พรรษาสิริอายุ 91 พรรษา ปัจจุบนั ทางวัดได้เก็บร่างของท่านไว้ใน โลงแก้ ว เพื่ อ ให้ ศิ ษ ยานุ ศิ ษ ย์ ไ ด้ ม ากราบไหว้ โดยก�ำหนดให้ทุกวันที่ 15 เมษายน ของทุกปี เป็น วันท�ำบุญอุทิศให้หลวงพ่อมุม 202 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย (2

).indd 202

16/12/2560 9:13:40


เมื่ อ วั น ที่ 1 มิ ถุ น ายนพ.ศ. 2519 ตามประกาศกระทรวง ศึกษาธิการ ลงวันที่ 20 เมษายน 2519 เปิดโรงเรียนสอนแบบ สหศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โดย หลวงพ่อมุม โฆษโก เจ้าอาวาสวัดนาสัก ให้ใช้หอฉันท์ของวัดเป็นสถานที่เรียน และมี นายสมพงษ์ อิ น ทรสุ ว รรณ เป็ น ผู ้ บ ริ ห ารโรงเรี ย นเป็ น คนแรก ในต�ำแหน่งครูใหญ่โรงเรียนนาสักวิทยา และในปี พ.ศ. 2520 ได้ย้าย สถานที่เรียน ไปยังบริเวณโรงเรียนนาสักวิทยาในปัจจุบัน

ล�ำดับเจ้าอาวาส

หลวงพ่อศรีคง หลวงพ่อสร หลวงพ่อมุม พระครูเมตตาธรรมจารี พ.ศ. 2535 – ปัจจุบัน

ประวัติหลวงพ่อมุม

หลวงพ่อมุม มีนามเดิมว่า มุม จันทร์ประสูติ เกิดเมื่อ วันจันทร์ เดือนพฤษภาคม ปี จอ พ.ศ. 2441 ที่ต�ำบลปากมะยิง ใกล้กับวัดปากกิ้ว จ.นครศรีธรรมราช บิดาชื่อนายเฟื่อง มารดา ชื่อนางใหม่ ท่านบวชเณรที่วัดท่าโพธิ์ จ.นครศรีธรรมราช โดยมี พระรัตนธัชมุนี ศรีธรรมราช (ม่วง) หรือเจ้าคุณวัดท่าโพธิ์ เป็น อุปัชฌาย์ เมื่อบวชเณรแล้วท่านได้ไปจ�ำพรรษาที่วัดปากกิ้ว เมื่อท่านอายุครบ 20 ปี ท่านก็ออกบวชเป็นพระภิกษุโดยมี อุปัชฌาย์รปู เดิมเป็นผูบ้ วชให้รบั นามฉายา ว่า โฆสโก ซึง่ แปลว่า “ผู ้ มี เ สี ย งก้ อ ง” หมายถึ ง มี ธ รรมอั น กว้ า งใหญ่ ไ พศาล ถ้วนทั่วนั่นเอง ท่านจ�ำพรรษาอยู่จนถึง พ.ศ. 2478 หลวงพ่ อ มุ ม มรณภาพเมื่ อ วั น อั ง คารที่ 22 สิ ง หาคม พ.ศ. 2532 เวลาประมาณ 17.00 น. นับพรรษาได้ 71 พรรษา สิรอิ ายุ 91 พรรษา ปัจจุบนั ทางวัดได้เก็บร่างของท่านไว้ในโลงแก้ว เพื่อให้ผู้ที่ศิษยานุศิษย์ได้มากราบไหว้ ซึ่งได้ก�ำหนดให้ทุกวันที่ 15 เมษายน ของทุกปีเป็นวันท�ำบุญอุทิศให้หลวงพ่อมุม

การเดินทาง

เส้นทางการเดินทางไปวัดนาสัก อ�ำเภอสวี จังหวัดชุมพร ในปัจจุบนั สะดวกมาก หากเดินทางมาจาก กรุงเทพฯ. ก่อนถึง อ�ำเภอท่าตะโก ประมาณ 2 กิโลเมตร จะพบปั๊ม น�ำ้ มัน ปตท.อยูท่ างขวามือ ถัดจาก ปัม๊ น�ำ้ มัน จะมีถนนทางเข้าวัดนาสัก เป็ น ถนนลาดยางตลอดสายลึ ก ประมาณ 8 กิโลเมตร CHUMPHON 203 (2

).indd 203

16/12/2560 9:13:54


บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัด ถ�้ำ เขาล้าน

พระปลัดบุญเนาว์ รวิวํโส เจ้าอาวาสวัดถ�้ำเขาล้าน

วั ด ถ�้ ำ เขาล้ า น ตั้ ง อยู ่ บ้ า นหน้ า ถ�้ ำ หมูท่ ี่ 7 ต�ำบลด่านสวี อ�ำเภอสวี จังหวัดชุมพร มี เ นื้ อ ที่ ดิ น 19 ไร่ 1 งาน 57 ตารางวา โฉนดที่ดินเลขที่ 11539 บริเวณวัดขึ้นไปถึง ในถ�้ำบนภูเขา สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย เป็ น วั ด เก่ า แก่ อ ายุ ป ระมาณ 230 ปี ย้อนกลับไปนับร้อยๆปี ณ หมู่บ้านแห่งนี้ เมื่อมีประชาชนอพยพเข้ามาท�ำมาหากิน และค้นพบถ�้ำแห่งหนึ่ง ท�ำให้ ขุนเดช(แก้ว) หัวหน้าหมู่บ้านในขณะนั้น ชักชวนชาวบ้าน มาช่ ว ยกั น สร้ า งวั ด ขึ้ น โดยเรี ย กชื่ อ ว่ า “วั ด ถ�้ ำ คี รี ว งศ์ ” ต่ อ มาได้ ขึ้ น ทะเบี ย น เป็ น ทางราชการ ชื่ อ “วั ด ถ�้ ำ เขาล้ า น” เมื่ อ พ.ศ. 2326 มาจนถึ ง ปั จ จุ บั น สอบถามเพิม่ เติม พระปลัดบุญเนาว์ รวิวโํ ส โทร. 081-2734597 204 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย (2

).indd 204

16/12/2560 9:11:40


อาคารเสนาสนะ

อุโบสถขนาด 10 x 19 เมตร หอสวดมนต์ขนาด 12 x 15 เมตร หอระฆัง กลอง (รวมกัน) ขนาด 3.20 x 3.20 เมตร สูงถึงยอดฉัตร 20 เมตร วิหารพระประจ�ำวัน ขนาด 3 x 9 เมตร วิหารรูปหล่ออดีตเจ้าอาวาสและหลวงปูส่ งส์ จนฺทสโร (เทพเจ้าของชาวชุมพร) ขนาด 3 x 7.50 เมตร ศาลาการเปรียญ ขนาด 12.60 x 25.50 เมตร หอฉัน ขนาด 7 x 30 เมตร ศาลาสวดศพ พร้อมเตาเผาขนาด 13 x 26 เมตร

ท�ำเนียบเจ้าอาวาส

1. พระอาจารย์ขันธ์ 2. พระอาจารย์เอิบ 3. พระอาจารย์จอง 4. พระอาจารย์เกียง 5. พระอาจารย์เดว็จ 6. พระอาจารย์ช่วง 7. พระอาจารย์ด�ำ 8. พระอาจารย์สวัสดิ์ 9. พระอาจารย์แดง 10. พระอาจารย์จิตร 11. พระอาจารย์หีด เปสโล 12. พระมหามานพ กตปุญโญ 13. พระครูมงคลสุจินต์ 14. พระปลัดบุญเนาว์ รวิวโํ ส เจ้าอาวาสรูปปัจจุบนั

สิ่งศักดิ์สิทธิ์

พระพุทธรูปปูนปั้น บรรจุพระบรมสารีริกธาตุอยู่ ภายในถ�้ำ พระประธานในอุโบสถ ปางสมาธิ หน้าตักกว้าง 56 นิว้ พระประธานในศาลาการเปรียญ ปางซุ้มเรือนแก้ว หน้าตักกว้าง 80 นิ้ว

กิจกรรมการเผยแผ่

เป็นศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ ทุกวัน(ภิกษุ สามเณร) 5.00 น. ท�ำวัตรเช้า ท�ำสมาธิ 17.00 น. ท�ำวัตรเย็น สวดมนต์ ท�ำสมาธิ ทุกวัน มีการบรรยายธรรมทางวิทยุกระจายเสียง วันละ 30 นาที ทุกวันธรรมสวนะ มีการแสดงธรรม สอนกรรมฐาน แก่บุคคลทั่วไป ทุกวันจันทร์ พฤหัส ศุกร์ อบรมธรรมะแก่นักเรียน 3 โรงเรียน โรงเรียนละ 1 วัน วันละ 2 ชั่วโมง CHUMPHON 205 (2

).indd 205

16/12/2560 9:11:58


บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วั ดควนตะโก (ควนเสาธง) พระครูสุตาภินันท์ เจ้าอาวาสวัดควนตะโก

วัดควนตะโก ตั้งอยู่เลขที่ 112 ม.9 ต.ตะโก อ.ทุ่งตะโก จ.ชุมพร เป็นวัดเก่าแก่วดั หนึง่ ของอ�ำเภอทุ่งตะโก นับตั้งแต่กรุงศรีอยุธยาแตก เมื่อ พ.ศ. 2310 ประชาชนและพลเมืองในกรุงศรีอยุธยา ที่ไม่ยอมอยู่ ใต้ บั ง คั บ ปกครองของพม่ า จึ ง ได้ ร ่ ว มกลุ ่ ม กั น อพยพออกจาก กรุงศรีอยุธยา เพื่อไปหาที่อยู่อาศัยใหม่ เมื่อมาพบภูมิประเทศที่สงบ ร่ ม รื่ น เต็ ม ไปด้ ว ยทรั พ ยากรธรรมชาติ ที่ อุ ด มสมบู ร ณ์ แ ละชุ ม ชน เป็นธรรมเนียมของชาวไทยที่นับถือพุทธศาสนา เมื่ออยู่ ณ ที่ใดก็ต้อง สร้างวัดขึ้นในชุมชนหรือหมู่บ้านของตน เพื่อเป็นที่พึ่งทางใจและเป็น จุดศูนย์รวมในการจัดกิจกรรม ประเพณีท้องถิ่นด้วยเหตุนี้ จึงได้มี วัดท่าสุธาราม วัดควนตะโก และวัดหูนบ ส่วนสร้างเมือ่ ไร ใครเป็นผูส้ ร้าง ไม่สามารถหาหลักฐานที่ชัดเจนได้ ที่ปรากฏเป็นหลักฐาน ในทะเบียน วัดทีก่ รมศาสนา ระบุว่าวัดท่าสุธาราม ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อ พ.ศ. 2352 และวัดควนตะโก ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาหลัง วัดท่าสุธารามประมาณ 6 ปี วัดควนตะโก ก็ปรากฏว่ารับการผูก พั ท ธสี ม าแล้ ว ต่อมาวัดควนตะโกได้กลายเป็นวัดร้างมาเสียนาน จนกระทัง่ หลวงพ่อเรือง ได้มาจ�ำพรรษาจึงได้ท�ำการบูรณะขึ้นมาใหม่ และได้ขุดพบหลักฐานการผูกพัทธสีมาอุโบสถหลังเก่า 206 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย (

)2

.indd 206

16/12/2560 9:02:20


เขาพระบาท

หลวงพ่อพัน อินทสุวณโณ ได้มาด�ำเนินการบูรณะเขาพระบาทต่อ จากเจตนารมณ์ ของหลวงพ่อข�ำและชาวบ้านเมืองตะโกโดยการปราบ พื้นที่สร้างศาลาส�ำหรับประดิษฐานรอยพระพุทธบาทขึ้น โดยได้รับ ความร่วมมือจากชาวบ้านควนและบ้านท่าในการจัดหาวัสดุการก่อสร้าง การก่อสร้างศาลายังไม่ทันเสร็จหลวงพ่อพัน ท่านก็มรณภาพ รอยพระพุทธบาท(จ�ำลอง) เมื่อหลวงพ่อพัน อินทสุวณโณ ด�ำเนิน การบุกเบิกบนยอดเขาอยูน่ นั้ พระปาน เป็นชาวบ้านวัดใหม่บอ่ โค ต.นาขา อ.หลังสวน ได้มีจิตศรัทธาจัดสร้างรอยพระพุทธบาท(จ�ำลอง)ด้านขวามา ถวาย เพื่ อ น� ำ ไปประดิ ษ ฐานบนเขาที่ ห ลวงพ่ อ พั น ก� ำ ลั ง บุ ก เบิ ก อยู ่ พระปาน ได้น�ำรอยพระพุทธบาท(จ�ำลอง) มาถวายเมื่อ พ.ศ. 2467 และ หลวงพ่อด�ำ จนฺทสโร ได้น�ำขึ้นมาประดิษฐานบนเขาในศาลา ที่ท�ำขึ้น ชั่ ว คราวก่ อ นเพื่ อ รอศาลาหลั ง ใหม่ ที่ ด� ำ เนิ น การก่ อ สร้ า งอยู ่ จนถึ ง วั น สงกรานต์ ป ี พ.ศ. 2469 จึ ง น� ำ รอยพระพุ ท ธบาท(จ� ำ ลอง) เข้าประดิษฐาน ชาวบ้านทัง้ หลายจึงได้เรียกภูเขาลูกนัน้ ว่า “เขาพระบาท” เมือ่ วัดควนตะโกร้าง ประเพณีขนึ้ เขาพระบาทวันสงกรานต์กห็ มดไป ชาวบ้านจึงได้ยา้ ยรอยพระพุทธบาทมาฝากไว้ทวี่ ดั ท่าสุธาราม ม.2 ต.ตะโก จนถึงปี 2546 จากนัน้ ชาวบ้านควนตะโก ม.9 โดยการน�ำของ พระอธิการ สมพงษ์(ด�ำ) อภินนโท เจ้าอาวาสวัดควนตะโก ได้พร้อมใจกันบูรณ ปฏิ สั ง ขรณ์ เขาพระบาทและศาลาที่ ป ระดิ ษ ฐานรอยพระพุ ท ธบาท (จ�ำลอง) ขึ้นมาใหม่เพื่อน�ำรอยพระพุทธบาทขึ้นมาประดิษฐาน ณ ที่เดิม และหวังเป็นอย่างยิ่งว่า “รอยพระพุทธบาท(จ�ำลอง)” คงเป็นมิ่งขวัญ ชาวต�ำบลตะโก และพี่น้องชาวพุทธทั่วไปตลอดกาลนาน

ประวัติเจ้าอาวาส

พระครู สุ ต าภิ นั น ท์ นามเดิ ม นายสมพงษ์ หมวดอิ น ทอง บ้านทุ่งตะโก หมู่ที่ 3 ต�ำบลช่องไม้แก้ว อ�ำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร เกิดวันที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ.2508 การศึกษา ปฐมศึกษาประถม 6 โรงเรียนวัดธรรมถาวร มัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนทุ่งตะโกวิทยา มัธยมศึกษาปีที่ 6 การศึกษานอกโรงเรียนเมืองสุราษฎร์ธานี อุปสมบท วันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2533 พัทธสีมา วัดท่าสุธาราม หมู่ที่ 2 ต�ำบลตะโก อ�ำเภอทุง่ ตะโก จังหวัดชุมพร พระอุปชั ฌาย์ พระครูสริ ธิ รรมาภิรตั พระกรรมวาจาจารย์ พระอธิการเสริม สมานฉนฺโท พระอนุศาสนาจารย์ พระจ�ำเนียร ธมฺมปาโล ธรรมศึกษา นักธรรมชั้นตรี ปี พ.ศ. 2533 นักธรรมชัน้ โท ปี พ.ศ. 2534 นักธรรมชัน้ เอก ปี พ.ศ. 2535 อุดมศึกษา ปริญญาตรี พุทธศาสตรบัณฑิต สาขาศาสนา (พธ.บ.) จากมหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ปริญญาโท ศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาสังคมวิทยา (ศน.ม.) จากมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย CHUMPHON 207 (

)2

.indd 207

16/12/2560 9:02:33


บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัด ท่า สุธาราม วัดท่าสุธาราม ตั้งอยู่ หมู่ที่ 2 ต�ำบลตะโก อ�ำเภอทุง่ ตะโก จังหวัดชุมพร ก่อนนัน้ เรียกชือ่ ว่า “วัดหัวท่า” ตามที่ผู้เฒ่าผู้แก่ในสมัยก่อนได้เคย เล่ า ให้ ฟ ั ง ว่ า วั ด หั ว ท่ า เป็ น ท่ า จอดเรื อ ของ ชาวบ้ า นที่ สั ญ จรไปมา หรื อ น� ำ สิ น ค้ า จาก ต่างเมืองมาขายในละแวกบ้านท่า เพราะสมัยก่อน การคมนาคมที่ ส ะดวกที่ สุ ด คื อ ทางเรื อ เท่ า นั้ น เนื่องจากที่วัดท่ามีล�ำคลองที่ใหญ่และยาวที่สุด คือ “คลองเพรา” เมื่อคนต่างถิ่นที่เดินทางมาบ้าน ท่าตะโก จะต้องมาจอดเรือที่หน้าวัดท่า ต่อมาชือ่ “วัดหัวท่า” ได้เพีย้ นไปคงเหลือแต่คำ� ว่า “วัดท่า” และ ได้มาเพิม่ ชือ่ เป็น “วัดท่าสุธาราม” เมื่อ พ.ศ. 2484 วัดหัวท่า หรือวัดท่า หรือวัดท่าสุธาราม สร้างเป็น วัดขึ้นมาสมัยใดไม่มีใครอาจทราบได้แน่ชัด

208 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย (2

).indd 208

16/12/2560 8:59:57


ประวัติหลวงพ่อด�ำ

หลวงพ่อด�ำ จันทสโร อดีตเจ้าอาวาสวัดท่าสุธาราม พระอธิการด�ำ (หลวงพ่อด�ำ) จันทสโร นามเดิม ด�ำ สมขวัญ ชาติกำ� เนิด เกิดทีบ่ า้ นคลองโชน (ตะโกนอก) ในขณะนัน้ ยังเป็น หมูท่ ี่ 3 ต�ำบลตะโก อ�ำเภอสวี จังหวัดชุมพร เกิดเมือ่ วันอังคาร เดือน 5 ปีเถาะ ตรงกับวันที่ 20 เดือนเมษายน พ.ศ. 2417 ชอบในทางวิชาคาถาอาคม เมื่อเติบโตพอที่จะเข้ารับการศึกษาได้ บิดาก็ น�ำไปฝากกับพระอาจารย์ ซึง่ จ�ำพรรษาอยูท่ วี่ ดั ท่าสุธาราม(สมัยนัน้ ยังไม่มี โรงเรียนประชาบาล)ท่านพยายามศึกษาเล่าเรียนภาษาไทยจนอ่านออก เขียนได้ และสนใจศึกษาเกี่ยวกับเวทย์มนต์ ต่างๆ ในทางป้องกันตัว ชีวติ ในเพศบรรพชิต เมือ่ ท่านได้บรรพชาอุปสมบทในพระพุทธศาสนา ณ วั ด ละอุ ่ น เหนื อ แล้ ว ท่ า นก็ ไ ด้ ตั้ ง ใจศึ ก ษาเล่ า เรี ย นพระไตรปิ ฎ ก ปฏิบัติธรรมวินัย เพื่อความสงบแห่งจิตใจท่านเล่าว่าได้เคยเดินธุดงค์ข้าม ไปยังประเทศพม่าเพือ่ แสวงหาความรูเ้ พิม่ เติมและนมัสการพระบรมธาตุ ชเวดากองและจ�ำพรรษาอยูใ่ นประเทศพม่า จนท่านพูดภาษาพม่าได้อย่าง คล่องแคล่ว เมื่อท่านได้มาเป็นเจ้าอาวาสวัดท่าสุธารามท่านก็ได้ด�ำเนินการสาน ต่อในการสร้างอุโบสถส�ำเร็จลุล่วงไปด้วยดี ท่านได้พัฒนาวัดวาอาราม ให้มีความเจริญรุ่งเรืองขึ้นตามล�ำดับ ทั้งทางด้านวัตถุ และพัฒนาจิตใจ ของชาวพุทธให้มีความแจ่มแจ้งขึ้น ในสมัยที่ท่านเป็นเจ้าอาวาสวัดท่า ท่านได้รับความเคารพนับถือจากชาวบ้านทั้งใกล้และไกลเป็นอย่างมาก ส�ำหรับตัวท่านมีสัมมาปฏิบัติที่สูงส่งมีพร้อมทั้งเมตตา กรุณา และวาง อุเบกขา เพราะบุญบารมีที่ท่านบ�ำเพ็ญมาตลอดนี้เอง จึงท�ำให้ท่าน “ศักดิส์ ทิ ธิ”์ ตัง้ แต่ยงั มีชวี ติ อยู่ โดยเฉพาะความมี “วาจาสิทธิ”์ ของท่าน ท�ำให้ผู้รับฟังเคารพนับถือมาก เพราะถ้าพูดอะไรออกไป มักจะเป็นจริง ตามค�ำพูดของท่าน ในบัน้ ปลายของชีวติ ของหลวงพ่อด�ำ จันทสโร ท่านได้ปล่อยวางหมด ทุกสิง่ ทุกอย่างการบริหารภายในวัด ท่านมอบให้พระปลัดสุพยิ ์ สิรมิ งคโล (สมัยนัน้ ) เป็นผูบ้ ริหารรับภาระธุระในการพัฒนา ทัง้ ภายใน และภายนอก แม้ทา่ นมรณภาพไปนานแต่ดวงวิญญาณของท่านก็ยงั เป็นทีพ่ งึ่ ทางใจของ พวกเราชาวตะโกและคนที่ไปสักการะ กิตติศัพท์ของหลวงพ่อได้ลือ กระฉ่อนไปไกลแม้แต่เมืองฝรั่ง ยังรู้กิตติศัพท์ความศักดิ์สิทธิ์ของท่าน

CHUMPHON 209 (2

).indd 209

16/12/2560 9:00:16


บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัด ชลธีพฤกษาราม

พระครูชลธีธรรมาภรณ์ เจ้าอาวาสวัดชลธีพฤกษาราม

วัดชลธีพฤกษาราม ตัง้ อยูบ่ า้ นปากน�ำ้ ตะโก หมูท่ ี่ 1 ต�ำบลปากตะโก อ�ำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตั้งวัดเมื่อปี พ.ศ. 2400 ที่ ตั้ ง เดิ ม อยู ่ ริ ม แม่ น�้ ำ ตะโก บริ เ วณบางไชยศรี บ้านยางนกออก เป็นบริเวณที่มีสภาพเป็นป่าทึบ อุดมไปด้วยไม้ยาง ไม้ตะเคียนและไม้เคี่ยม หลวงพ่ออัต ชาวต�ำบลพ้อแดง อ�ำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร เป็นผู้เริ่มลงมือสร้าง ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมือ่ ปี พ.ศ. 2440 ตามฐานข้อมูลวัด ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ภายหลังขุนเจริญ มณีพันธ์ ได้บริจาคให้ ไว้จนได้ ใช้เป็นที่ตั้งโรงเรียน วัดชลธีพฤกษาราม ณ สนามที่ตั้งวัดชลธีพฤกษารามในปัจจุบัน เดิม ชาวบ้าน เรียกกันว่า “วัดโตนด” เนื่องจากมีต้นตาลหรือต้นโตนด ใหญ่ อ ยู ่ 3 ต้ น (อยู ่ ห ลั ง ศาลาการเปรี ย ญอั น เป็ น อาคารอนุ รั ก ษ์ ของวัดในขณะนี้) ส่วนหลวงพ่ออัต ผูร้ เิ ริม่ สร้างวัดนัน้ ได้เคยริเริม่ สร้างวัดในต�ำบลบางน�ำ้ จืด อ�ำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร มาก่อนแล้ววัดหนึ่ง ชื่อวัดชลธีนิมิตและ ภายหลังจากมาสร้างวัดชลธีพฤกษาราม แล้วได้จากไปสร้างวัดใหม่ขนึ้ อีก วัดหนึ่ง คือ วัดท้องตมใหญ่ ที่บ้านท้องตมใหญ่ ต�ำบลด่านสวี อ�ำเภอสวี จังหวัดชุมพร และหลวงพ่ออัตได้มรณภาพที่นั่น 210 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย (2

).indd 210

16/12/2560 8:49:29


ล�ำดับเจ้าอาวาส

1. หลวงพ่ออัต พ.ศ. 2540 2. หลวงพ่อวงษ์ ไม่ปรากฏปีที่ดำ� รงต�ำแหน่ง 3. หลวงพ่อว่อง โฆสโก ไม่ปรากฏปีที่ดำ� รงต�ำแหน่ง 4. หลวงพ่อบุญ โกสโส ไม่ปรากฏปีที่ดำ� รงต�ำแหน่ง 5. หลวงพ่อย้อย ไม่ปรากฏปีที่ดำ� รงต�ำแหน่ง 6. พระครูธรรมลังกาวี (หีต อํกุโร) พ.ศ. 2493 – 2506 7. พระครูนิวิฐศีลวัตร (วิจิตร วิจิตฺโต) พ.ศ. 2506 – 2539 8. พระอธิการอินทร์ คุณวิโธ พ.ศ. 2539 – 2540 9. พระครูชลธีธรรมาภรณ์ (ธีรศักดิ์ ธมฺมโฆสิโต) พ.ศ. 2540 – ปัจจุบนั

ประวัติเจ้าอาวาส

พระครูชลธีธรรมาภรณ์ ฉายา ธมฺมโฆสิโต อายุ 43 พรรษา 21 วิทยฐานะ นักธรรมชั้นเอก, มัธยมศึกษาปีที่ 3 วัดชลธีพฤกษาราม ต�ำบลปากตะโก อ�ำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร ปัจจุบันด�ำรงต�ำแหน่ง เจ้าอาวาสวัดชลธีพฤกษาราม สถานะเดิม ชื่อ นายธีรศักดิ์ สมหวัง เกิดวัน 7ฯ1 ค�่ำ ปีกุน วันเสาร์ ที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2514 บิดา นายพรหม มารดา นางอุบล บ้านเลขที่ 40 หมู่ที่ 2 ต�ำบลปากตะโก อ�ำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร อุปสมบท วัน 3ฯ8 ค�่ำ ปีจอ วันอังคารที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2537 ณ พัทธสีมาวัดชลธีพฤกษาราม ต�ำบลปากตะโก อ�ำเภอทุง่ ตะโก จังหวัดชุมพร พระอุ ป ั ช ฌาย์ พระครู สิ ริ ธ รรมภิ รั ต วั ด เทพนิ มิ ต ต� ำ บลปากตะโก อ�ำเภอทุง่ ตะโก จังหวัดชุมพร พระกรรมวาจาจารย์ พระอธิการเสริม สมานฉนฺโท วัดท่าสุธาราม ต�ำบลตะโก อ�ำเภอทุง่ ตะโก จังหวัดชุมพร พระอนุสาวนาจารย์ พระอธิการอิน คุณวีโร วัดชลธีพฤกษาราม ต�ำบลปากตะโก อ�ำเภอทุง่ ตะโก จังหวัดชุมพร สมณศักดิ์ พ.ศ. 2549 ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ เป็นพระครู สัญญาบัตร เจ้าอาวาสวัดราษฎร์ชนั้ โท (จร.ชท.) ในราชทินนามที่ “พระครู ชลธีธรรมาภรณ์” พ.ศ. 2558 ได้รับเลื่อนพระราชทานสมณศักดิ์ เป็น พระครูสัญญาบัตร เจ้าอาวาสวัดราษฎร์ชั้นเอก ในราชทินนามเดิม

CHUMPHON 211 (2

).indd 211

16/12/2560 8:49:45


บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วั ดถ�้ำเขาม้ายั ง

พระปลัดกิตติ สุขิโต เจ้าอาวาสวัดถ�้ำเขาม้ายัง ประวัติความเป็นมา

วัดถ�ำ้ เขาม้ายัง ตัง้ อยูท่ ตี่ ำ� บลบางลึก อ�ำเภอเมือง จังหวัดชุมพร ทีช่ อื่ “ถ�้ำเขาม้ายัง” นั้น สันนิษฐานว่ามาจาก เคยมีคนเห็นม้าสีทองสวยงาม มากอยู่บนเขา บางครั้งก็ได้ยินเสียงม้าร้องในวันส�ำคัญ หรือมีเหตุเภทภัย ร้ายแรงเกิดขึน้ กับบ้านเมือง ก็จะได้ยนิ เสียงม้าร้อง แต่เป็นม้าทิพย์ นานๆ จะปรากฏตัวให้คนเห็นสักครัง้ หนึง่ เป็นม้ามีขนสีทอง ขนพลิว้ ระยิบระยับ สวยงามมาก หรือบางครั้งก็มีคนฝันเห็นม้าสีทอง ชาวบ้านแถบนั้นจึงมี ความเชื่อว่า ม้ายังมีอยู่บนเขาลูกนี้ จึงเป็นที่มาของชื่อ “ถ�้ำเขาม้ายัง” บนยอดเขามีถ�้ำใหญ่อยู่ถ�้ำหนึ่ง ภายในถ�้ำมีพระพุทธรูปใหญ่เก่าแก่ และพระอันดับอีกห้าองค์ ซึ่งไม่มีใครทราบว่าสร้างขึ้นมาเมื่อใด ใครเป็น ผูส้ ร้าง ชาวบ้านเรียกท่านว่า “พ่อปูพ่ ระหลักเมือง” มีความศักดิส์ ทิ ธิม์ าก ใครที่มาบนบานส�ำเร็จทุกราย โดยในวันขึ้น 8 ค�่ำ เดือน 6 ของทุกๆปี จะ จัดงานนมัสการพ่อปู่พระหลักเมือง ประมาณปี พ.ศ. 2485 วัดหน้าถ�้ำเขาม้ายัง กลายเป็นวัดร้าง จน กระทั่งหลวงพ่อแดง วิมโล พระผู้มีความเมตตา ผู้สร้าง ผู้พัฒนา ผู้เสีย สละ ได้มาพัฒนาวัดถ�้ำเขาม้ายัง ท�ำให้วัดเริ่มเจริญรุ่งเรืองขึ้นมาอีกครั้ง จนถึงปัจจุบัน โดยท่านได้มาน�ำชาวบ้านญาติโยม มาช่วยกันสร้างศาลา หอฉัน ศาลาเมรุ บันไดขึ้นถ�้ำ และเจาะเปิดปากถ�้ำใหม่เพื่อการเดินทางที่ สะดวกมากขึ้น ต่อมามีพ่อหลวงน้อย เขมรโต ท่านได้สร้างกุฏิสงฆ์หนึ่ง หลัง พ่อหลวงเล็ก พ่อหลวงสนม ยโสธโร ท่านได้สร้าง หอระฆัง วิหาร หลวงพ่อแดง และยักษ์ 3 ตน

212 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย (1

).indd 212

16/12/2560 8:46:42


ChomPhon

ชุมพรน่าอยู่ อู้ฮู น่าเที่ยว!

The Ozone Resort

ตามสบาย รีสอร์ท

เคียงจันทร์ รีสอร์ท

ที่อยู ่ | 47/29 ต.นาทุ่ง อ.เมือง จ.ชุ มพร 86000 FACEBOOK | theozonechumphon FACEBOOK | followwedreams

ที่อยู ่ | 18 ม.2 ต.วังใหม่ อ.เมือง จ.ชุ มพร 86190 TEL | 077-510706 FACEBOOK | ตามสบายรีสอร์ท ชุมพร Tamsabai Resort FACEBOOK | tamsabairesort

ที่อยู ่ | 98 หมู ่ 4 ต.สวี อ.สวี จ.ชุ มพร TEL | 077-557221, 081-0929649 FACEBOOK | เคียงจันทร์ รีสอร์ท

โรงแรม เซาท์เกท เรสสิเดนซ์ ชุมพร

โชค D.K. โภชนา & รีสอร์ท

สวนหินน�้ำ รีสอร์ท

ที่อยู ่ | 155 ม.6 ถ.ไตรรัตน์ ต.นาทุ่ง อ.เมือง จ.ชุ มพร 86000 TEL | 093-5750988, 077-630577 EMAIL | southgateresidence59@gmail.com FACEBOOK | southgate Residence chumhon LINE | southgate 59

ที่อยู ่ | 29/5 หมู ่ 1 ต.ท่ายาง อ.เมือง จ.ชุ มพร TEL | 077-522597, 061-4235653

ที่อยู ่ | 37 หมู ่ 7 ต.วังไผ่ อ.เมือง จ.ชุ มพร TEL | 077-658755, 081-3700061, 081-8930398 FACEBOOK | สวนหินน�้ำรีสอร์ท จังหวัดชุ มพร www.suanhinnamresort.blogspot.com

6 Interesting Places in Chumphon.indd 213

16/12/2560 02:36:59 PM


ลํ�าสมัยไม่ตกเทรน คุณภาพคับเล่ม

WWW.SBL.CO.TH

NONGBUALAMPHU ภูพานน้อย

พระพุ ทธชยันตี

ศาลสมเด็จพระนเรศวรมหาราช

พิพิธภัณฑ์หอยหิน

www.ookbee.com/Magazine/SBLMAGAZINE www.issuu.com/sblmagazine SBL บันทึกประเทศไทย

Ad-SBL Magazine Computer.indd 214

16/12/2560 03:10:15 PM


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.