บริษัท ผลิตไฟฟ้าขนอม จ�ำกัด
KHANOM ELECTRICITY GENERATING COMPANY LIMITED ตลอดระยะเวลาการด�ำเนินธุรกิจ โรงไฟฟ้าขนอมมุ่งมั่นพัฒนาการด�ำเนินงาน ควบคู่ไปกับการดูแลชุมชนและสิ่งแวดล้อม สมดังปณิธาน “ ผู้สร้างสรรค์พลังงาน...เพื่อชีวิต ”
บริษัท ผลิตไฟฟ้าขนอม จ�ำกัด หรือ บฟข. เป็นบริษัทที่ถือหุ้นโดย บริษัท ผลิตไฟฟ้า จ�ำกัด (มหาชน) หรื อ EGCO Group ร้ อ ยละ 100 มีภารกิจในการผลิตพลังงานไฟฟ้า จ�ำหน่ายให้ การไฟฟ้ า ฝ่ า ยผลิ ต แห่ ง ประเทศไทย (กฟผ.) ตั้ ง อยู ่ บ นพื้ น ที่ ป ระมาณ 250 ไร่ ในเขตพื้ น ที่ หมู่ 8 บริเวณปากน�้ำขนอม ต.ท้องเนียน อ.ขนอม จ.นครศรีธรรมราช
ประวัติความเป็นมา
บฟข. ก่อตั้งเมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2538 ด้วยทุนจดทะเบียนเริ่มแรก 100 ล้านบาท โดยบริษัท ผลิตไฟฟ้า จ�ำกัด (มหาชน) หรือ เอ็กโก รับซื้อ โรงไฟฟ้าขนอมจากการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) มาด�ำเนินการเมื่อวันที่ 19 มิถุนายน 2539 บฟข. มีโรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วม จ�ำนวน 2 หน่วย (unit) ก�ำลังผลิตหน่วยละ 485 เมกะวัตต์ (MW) ประกอบด้วย เครื่องผลิตไฟฟ้ากังหันก๊าซ 2 เครื่อง ก�ำลังผลิตเครื่องละ 323.33 เมกะวัตต์ (MW) และเครื่องผลิตไฟฟ้ากังหันไอน�้ำ 2 เครื่อง ก�ำลังผลิตเครื่องละ 161.67 เมกะวัตต์ (MW) โดยมีก�ำลังผลิตรวม 2 หน่วย 970 เมกะวัตต์ (MW) ใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิงหลัก และเป็นโรงไฟฟ้าที่มีก�ำลังผลิตประมาณ ร้อยละ 37 ของ ความต้องการใช้ไฟฟ้าในภาคใต้ 2 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 2
8/1/2561 03:10:20 PM
บฟข. ให้ความส�ำคัญกับการด�ำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ มีธรรมาภิบาล โปร่งใส ตรวจสอบได้ และให้ความส�ำคัญกับการพัฒนาการด�ำเนินงาน อยู่เสมอ เพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล โดยเฉพาะด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อม ตลอดจนให้ความส�ำคัญกับการอยู่ร่วมกับ ชุมชนอย่างเกื้อกูล โดยร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐในท้องถิ่นและชุมชน ด�ำเนินโครงการเพื่อชุมชนอย่างต่อเนื่องเสมอมา ซึ่งมีโครงการที่ส�ำคัญ ดังนี้ ด้านการส่งเสริมสุขอนามัย โครงการตรวจสุขภาพประชาชนประจ�ำปี โครงการมอบแว่นสายตายาวให้ประชาชนประจ�ำปี โครงการส่งเสริมคุณภาพภาคประชาชน บางแพง ม.8 ด้านการพัฒนาศักยภาพเยาวชน โครงการทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา แบบต่อเนื่อง โครงการมอบทุนการศึกษาประจ�ำปี โครงการอบรมต้นกล้าคุณธรรม โครงการค่ายเยาวชนเอ็กโกไทยรักษ์ป่า ด้านการพัฒนาทักษะที่เป็นประโยชน์ต่อการประกอบ อาชีพ โครงการศูนย์เรียนรู้เกษตรอินทรีย์เพื่อการสาธิต โครงการส่ ง เสริ ม อาชี พ การท� ำ เกษตรกรรมตาม เเนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โครงการเพิ่มพันธุ์สัตว์นำ�้ ในธรรมชาติ ปีละ 2 ครั้ง โครงการเพิม่ ประชากรสัตว์นำ�้ จืดและพัฒนาแหล่งน�ำ้ ผุด โครงการปลูกป่าชายเลน บ้านท่า-บ่อโก ม.7 ต.ท้องเนียน โครงการสร้างและปรับปรุงซ่อมแซมฝาย อ�ำเภอขนอม โครงการจัดท�ำปุ๋ยหมักเพื่อใช้แทนปุ๋ยเคมี จากความมุง่ มัน่ ดังกล่าว บฟข. ได้รบั การยอมรับจากหน่วยงานต่างๆ ดังนี้ ด้านธรรมาภิบาล ได้รับรางวัลธรรมาภิบาลธุรกิจดีเด่น (DBD Corporate Governance Awards : DBD CG AWARDS) ของกรมพัฒนาธุรกิจการค้า ที่มุ่งเน้น ให้ธุรกิจมีการเจริญเติบโตอย่างมีเสถียรภาพและยั่งยืน
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน (Thailand Labour Management Excellence Award) ได้รบั รางวัลสถานประกอบการทีป่ ฏิบตั ติ ามมาตรการในรายงานการวิเคราะห์ ผลกระทบสิ่ ง แวดล้ อ มและมี ก ารจั ด การสภาพแวดล้ อ มดี เ ด่ น หรื อ EIA Monitoring Awards
ด้านระบบคุณภาพ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อม ได้รบั การรับรองระบบงาน ISO 9001 , ISO 14001 , OHSAS 8001 และ TIS 8001 ได้ รั บ รางวั ล สถานประกอบการต้ น แบบดี เ ด่ น ด้ า นความปลอดภั ย
ด้านความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม (CSR : Corporate Social Responsibility) ได้รับรางวัลในโครงการพัฒนาโรงงานอุตสาหกรรมให้มีความรับผิดชอบ ต่อสังคมอย่างมีส่วนร่วม หรือ CSR - DIW Continuous Award
บริษัท ผลิตไฟฟ้าขนอม จ�ำกัด | KHANOM ELECTRICITY GENERATING COMPANY LIMITED โทรศัพท์ 07-5529-173 โทรสาร 07-5529-179 เว็บไซต์ www.khanom.egco.com หรือ www.egco.com
NAKHONSITHAMMARAT 3
.indd 3
8/1/2561 03:10:29 PM
บันทึกเส้นทางพักผ่อน
โรงแรม ทวินโลตัส Twin Lotus Hotel ดีท็อกกาย - จิต โรงแรมสุดคลาสสิกใจกลางเมืองนคร
พิเศษสุด! ส�ำหรับการจัดงานมงคลสมรส
กับโปรโมชัน่ สวีทสุดโรแมนติก...ทีท่ วินโลตัส เตรียมมอบให้กบั คูบ่ า่ วสาว ตัง้ อยู ่ในใจกลางนครศรีธรรมราช ห่างจากวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร 2.5 กม. และศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา 2.6 กม. ตลาดสดเทศบาล และค่ายวชิ ราวุ ธ อยู ่ห่างจากโรงแรมไปไม่เกิน 15 กม. โรงแรม 4 ดาว พร้อมสิ่งอ�ำนวยความสะดวกโดนใจ บริการสปาครบวงจร สระว่ายน�้ำกลางแจ้ง บริการ WiFi ฟรีในพืน้ ที่สาธารณะ นวด สปา ที่จอดรถฟรี มีฟิตเนสออกก�ำลังกายให้บริการ พร้อมBeer&Wine และ Lobby Bar ส�ำหรับพักผ่อนใจกับเสียงเพลงสบายๆ ยามค�่ำ
4 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 4
8/1/2561 03:17:31 PM
Superior Room
Deluxe Room
Junior Suite Room
Executive Suite Room
ครบครัน! สิ่งอ�ำนวยความสะดวก มีอ่างอาบน�้ำแบบแช่ ตัว WiFi ฟรี โทรศัพท์ เคเบิ้ลทีวี ตู้เย็นมินิบาร์ รู มเซอร์วิส เครื่องปรับอากาศ น�้ำดื่มบรรจุ ขวดฟรี
บริการท�ำความสะอาดทุกวัน ห้องน�้ำส่วนตัว ของใช้ในห้องน�้ำฟรี ไดร์เป่ าผม โต๊ะท�ำงานนั่งสบาย เสือ้ คลุมอาบน�ำ้ และรองเท้า ตู้เซฟ
สิ่งอ�ำนวยความสะดวกในโรงแรม ฝ่ ายต้อนรับ 24 ชั่วโมง พนักงานเปิดประตู/ยกกระเป๋ า บริการซักรีด/ซักแห้ง บริการคอมพิวเตอร์
ศูนย์ธุรกิจ บริการรถรับส่งจาก สนามบิน-โรงแรม (สนามบิน นครศรีธรรมราช)
โรงแรมทวินโลตัสมีห้องประชุ มสัมมนาขนาดใหญ่ท่ีสามารถบรรจุ คน ได้ถงึ 2,000 คน ในรูปแบบเธียเตอร์ หรือที่เรียกว่าห้องบงกชรัตน์แกรนด์ นอกจากนี้ยังมีฟังก์ช่ั นห้องพักขนาดกลางและขนาดเล็กเหมาะส�ำหรับ การจัดประชุ มสัมนา 20-300 คน โรงแรมทวินโลตัสมีความหลากหลายของภาพ เสียง และอุ ปกรณ์ รวมทั้งเจ้าหน้าที่ด้านเทคนิคที่ผ่านการฝึ กอบรมและทีมงานจัดเลี้ยง ที่มีประสบการณ์พร้อมที่จะตอบสนองทุกความต้องการของคุณ
ส�ำรองที่พักได้ตลอด 24 ชั่ วโมง
ตัง้ อยู ่ท่ี 6 ถนนพัฒนาการคูขวาง อ�ำเภอเมืองนครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช 80000 TEL | 66 75 323 777 (60 คู่สาย) FAX | 66 75 323 821 WEBSITE | www.thetwinlotushotel.com EMAIL | tlnsales@twinlotushotel.com info@twinlotushotel.com
NAKHONSITHAMMARAT 5 .indd 5
8/1/2561 03:17:43 PM
ส�ำเพ็งเมืองคอน
ศูนย์รวมสินค้าขายส่งราคาถูก มากมาย เช่น ของกิ๊ฟช๊อฟ เสื้อผ้า รองเท้า ของเล่นเด็ก อุปกรณ์ การเรี ย น ดอกไม้ แ ห้ ง ฯลฯ ซึ่ ง ลั ก ษณะของ ศู น ย์ ก ารค้ า แห่ ง นี้ จะเป็ น สองชั้ น มี ล านกว้ า ง อยู ่ ต รงกลาง และมี ล็ อ กเป็ น ห้ อ งๆ ทั้ ง สองฝั ่ ง และ มีที่จอดรถอยู่ด้านหน้าของศูนย์การค้า
OPEN 08.00 - 17.30 น.
เลขที่ 58/5 ถนนพัฒนาการคูขวาง ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช 80000
.indd 6
8/1/2561 03:58:15 PM
สะดวก สะอาด สบาย พร้อมสิ่งอ�ำนวยความสะดวกครบครัน พร้อมอินเตอร์เน็ตใยเเก้วความเร็วสูงรองรับทุกการเชื่อมต่อของคุณ สะดวกต่อการเดินทาง เงียบสงบ ใกล้เมือง ใกล้สถานที่ราชการ เเละสถานที่ส�ำคัญต่างๆ ในนครศรีธรรมราช
ติดต่อส�ำรองห้องพัก 075-466715, 091-0389888
49/9 ม.1 ถ.นครศรีฯ-ร่อนพิบูลย์ ต.ช้างซ้าย อ.พระพรหม จ.นครศรีธรรมราช FACEBOOK | พร้อมใจการ์เด้นท์ & รีสอร์ท LINE | promjai2
VOUCHER พิเศษ
ส�ำหรับแฟนๆ นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย
โรงแรมพร้อมใจการ์เด้นท์ มอบส่วนลดห้องพัก 10%
แจ้งพนักงานเคาน์เตอร์โรงแรม
NAKHONSITHAMMARAT 7 .indd 7
8/1/2561 04:01:55 PM
บันทึกเส้นทางพักผ่อน
ผึ้ ง หลวงรี ส อร์ ท P u n gl u a n g R e sort
สะดวก สะอาด ปลอดภั ย พร้ อ มให้ บ ริ ก าร
8 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 8
8/1/2561 02:17:20 PM
ตั้ ง อยู ่ 151 หมู ่ ที่ 3 ถนน นครศรี - สงขลา ต� ำ บลสวนหลวง อ� ำ เภอเฉลิ ม พระเกี ย รติ จั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช 80190
เบอร์ ติ ด ต่ อ | 080-5513765, 089-9274975 NAKHONSITHAMMARAT 9 .indd 9
8/1/2561 02:17:25 PM
Editor’s คณะที่ปรึกษา
ศ.ดร.กฤช เพิ่มทันจิตต์, ดร.นิเวศน์ กันไทยราษฎร์, ดร.วัลลภ อารีรบ, ดร.สุมทิ แช่มประสิทธิ,์ ดร.พิชยั ทรัพย์เกิด, ดร.ไอศูรย์ ดีรตั น์, ดร.ประยุทธ คงเฉลิมวัฒน์, ดร.สุเทษณ์ จันทรุกขา
ฝ่ายกฎหมาย
สมคิด หวังเชิดชูวงศ์, ทวิช อมรนิมิตร
บรรณาธิการอ�ำนวยการ ศุภกิจ ศิลปรังสรรค์
บรรณาธิการบริหารสายงานบุคคล
พงษ์ศักดิ์ พรณัฐวุฒิกุล
บรรณาธิการบริหารสายงานการตลาด
อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์, วนัสกฤษณ์ ศิลปรังสรรค์
กองบรรณาธิการ นันท์ธนาดา พลพวก ศุภญา บุญช่วยชีพ วาสนา จ�ำนงค์ผล
ฝ่ายประสานงาน ผู้อำ� นวยการฝ่ายกิจกรรมพิเศษ กชกร รัฐวร
นักเขียน
โครงการภาครัฐและภาคเอกชน
ศิลปกรรม
อัครกฤษ หวานวงศ์, ธนวรรษ เชวงพจน์
ฐิติรัตน์ สุวรรณโรจน์ ผู้จัดการฝ่ายศิลป์
พัชรา ค�ำมี
กราฟิกดี ไซน์
พิมพ์พิสุทธิ์ พังจูนันท์ วรเชษฐ สมประสงค์ สินีนาถ เฉลยสมัย ช่างภาพ
ชัยวิชญ์ แสงใส ปณต ปิติจารุวิศาล กิติวัฒน์ ทิศมั่ง โปรดักชั่น
สิรพงศ์ุ เกียรติเสริมขจร ศุทธนะ นนทะเปาระยะ
บริษัท สมาร์ท บิซิเนส ไลน์ จ�ำกัด
ผู้จัดการฝ่ายประสานงาน โครงการภาครัฐ
ฝ่ายประสานงานโครงการภาครัฐ
ถาวร เวปุละ, ณัฏฐพัฒน์ แจ่มจันทร์, กิตติเมศร์ ชมชื่น ผู้จัดการฝ่ายประสานงาน โครงการภาคเอกชน
ทวัชร์ ศรีธามาศ
ฝ่ายประสานงานโครงการภาคเอกชน
กิตติชัย ศรีสมุทร, ไพรัตน์ กลัดสุขใส, มินทร์มันตรา จิรฐาคุณานนท์, กษิดิส ไทยธรรม
SBL บั น ทึ ก ประเทศไทย มีความภูมิใจที่ได้เป็นส่วนหนึ่ง ของจังหวัดนครศรีธรรมราช เรา ได้รบั การต้อนรับอย่างอบอุน่ เสมอ โดยเฉพาะจากท่านผูว้ า่ ราชการ จังหวัดนครศรีธรรมราช และ หน่วยงานทัง้ ภาครัฐและเอกชน รวมถึ ง พี่ น ้ อ งเมื อ งคอนที่ ใ ห้ ความเป็นกันเองมาโดยตลอด จั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราชในปั จ จุ บั น นั้ น รุ ่ ม รวยไปด้ ว ย ศิลปวัฒนธรรมจากรากฐานอันมั่นคงทางศาสนามาเป็นพันๆ ปี ก่อเกิดประเพณีที่หล่อหลอมเป็นอัตลักษณ์ชาวนครฯ ที่โดดเด่น ซึ่งเป็นฐานรากอันส�ำคัญไปสู่อนาคตที่ก้าวไกล ซึ่งจะเป็นแหล่ง ท่ อ งเที่ ย วหลั ก ทางใต้ ที่ จ ะท� ำ ให้ เ ม็ ด เงิ น สะพั ด ขึ้ น เศรษฐกิ จ ก็จะขยายตัวมากขึ้น ในนามของ SBL บันทึกประเทศไทย ผมขอถือโอกาสนี้ กล่าวขอบพระคุณท่านผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช นายจ�ำเริญ ทิพญพงศ์ธาดา ท่านรองผูว้ า่ ราชการจังหวัดทัง้ สองท่าน นายขจรเกียรติ รักพานิชมณี และ นายวิรัตน์ รักษ์พันธ์ ตลอด จนผูบ้ ริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ต่างๆ ศาสนสถาน บริษทั ห้างร้าน ฯลฯ ซึ่งกรุณาสนับสนุนให้ทีมงานด� ำเนินการจัดท�ำ นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย ฉบับจังหวัดนครศรีธรรมราช ส�ำเร็จลุล่วงด้วยดี ท้ายนี้ ผมขออาราธนาคุณพระศรีรัตนตรัย และสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ทั้งหลายที่ท่านศรัทธา โปรดคุ้มครองทุกท่าน ให้ประสบแต่ ความสุขความเจริญทั้งทางโลกและทางธรรมอันจะน�ำความสุข สงบทางใจตลอดปีและตลอดไปครับ
ฝ่ายบัญชี/การเงิน
ปัฐมาภรณ์ แสงบุราณ, กรรณิการ์ มัน่ วงศ์, สุจิตรา แดนแก้วนิต
9/4-6 ถนนรามอินทรา แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพฯ 10220 โทร. 0-2522-7171 แฟกซ์. 0-2971-7747 Facebook : SBL บันทึกประเทศไทย E-mail : sbl2553@gmail.com www.sbl.co.th
Editor’s Talk.indd 10
Talk
ติดต่อ คุณศุภกิจ ศิลปรังสรรค์
โทรศัพท์ 081-442-4445, 084-874-3861 E-mail : supakit.s@live.com Facebook : Supakit Sillaparungsan
(นายศุภกิจ ศิลปรังสรรค์) บรรณาธิการอ�ำนวยการ
8/1/2561 04:11:55 PM
บ้านหลังที่ 2 ของท่าน
โรงแรม
มหาราชแกรนด์ @ นครศรีธรรมราช
ห้องพักสวยหรู พร้อมสิ่งอ�ำนวยความสะดวกครบครัน แอร์ ทีวี เครื่องท�ำน�้ำอุ่นWiFi ฟรี สะอาด สะดวก สบาย ปลอดภัยทั้งคืน การเดินทางสะดวก ใกล้แหล่งท่องเที่ยว มีบริการทั้งรายวัน และรายเดือน
สถานที่ท่องเที่ยวใกล้เคียง - - - -
075-340868, 098-7418684
เซ็นทรัล @ นครศรีธรรมราช ( ห่าง 700 เมตร ) วัดพระศรีมหาธาตุ ( เดินทาง 15 นาที ) โรงพยาบาลมหาราช ( ห่าง 50 เมตร ) มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง ( เดินทาง 20 นาที )
8686 ซอยโพธิย์ ายรถตะวันตก ถ.พัฒนาการทุง่ ปรัง ต.ในเมือง อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช
FACEBOOK | maharaj grand hotel LINE | maharaj8686 EMAIL | netnapit.pong@gmail.com NAKHONSITHAMMARAT 11 .indd 11
8/1/2561 04:19:08 PM
CONTENTS ผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช
66 82 86 100 104 106 108 110 116 118 124
27 ใต้ร่มพระบารมี บันทึกเส้นทางพบผู้ว่าราชการจังหวัด “นายจ�ำเริญ ทิพญพงศ์ธาดา” บันทึกเส้นทางพบรองผู้ว่าราชการจังหวัด “นายขจรเกียรติ รักพานิชมณี” บันทึกเส้นทางพบรองผู้ว่าราชการจังหวัด “นายวิรัตน์ รักษ์พันธ์” บันทึกเส้นทางพบท้องถิ่นจังหวัด “นายวิญญ์ สิทธิเชนทร์” บันทึกเส้นทางพบส�ำนักงานพระพุทธศาสนา “นายจรัญ มารัตน์” บันทึกเส้นทางพบเจ้าคณะจังหวัด “พระศรีปริยัติบดี” คนเมืองเพชร รักขนอม ชวนเที่ยวเมืองคอนฯ “นายมาโนช อมรนิมิตร”
134 136
สภาอุตสาหกรรมจังหวัด บันทึกเส้นทางความเป็นมา บันทึกเส้นทางท่องเที่ยว อบจ.นครศรีธรรมราช ทม.ปากพูน วัดมเหยงคณ์ วัดท้าวโครต วัดธาราวดี วัดหน้าพระบรมธาตุ วัดสวนป่าน อบต.ท่าศาลา อบต.หนองหงส์ วัดท่าสูง
22 27 44 48
ทะเลหมอกกรุงชิง หรือ จุดชมวิวเขาเหล็ก
52 56 60 62
ประตูระบายน�้ำอุทกวิภาชประสิทธิ
Content Nakhon si thammarat.indd 12
เส้นทางท่องเที่ยว
บ้านคีรีวง อ�ำเภอลานสกา
11/1/2561 09:59:49 AM
NAKHON
เข้าถึงง่ายเพียงแค่คลิก ด้วยทุกช่องทางการน�ำเสนอ ผ่านโลกโซเชียลมีเดีย ตอกย�ำ้ ภาพลักษณ์องค์กร ของท่านให้ทันสมัย
SI THAMMARAT
www.sbl.co.th
อ�ำเภอปากพนัง ทต.เขาชุมทอง อบต.เสาธง วัดสุวรรณรังษี วัดร่อนนา วัดสามัคยาราม (สามร้อยกล้า) วัดเทพนมเชือด วัดควนเกย วัดคูหาสันตยาราม (วัดถ�้ำเขาแดง) วัดเจริญธรรมาราม วัดควนยูง วัดประดิษฐาราม
142 144 148 151 154 160 166 172 174 177 180 182
วัดธาตุน้อย พ่อท่านคล้าย วาจาสิทธิ์
214 217 222 226 228 230 236 238 240 242
น�ำ้ ตกกรุงชิง
246
ก�ำแพงเมืองเก่า
อ�ำเภอหัวไทร วัดโคกพิกุล วัดพัทธสีมา วัดป่าตอ วัดท้ายส�ำเภา อบต.ลานสกา อบต.ท่าดี อบต.ก�ำโลน วัดลานสกาใน
วัดทุ่งเฟื้อ วัดธาตุน้อย วัดสวนขัน อบต.ควนหนองคว้า อบต.สามต�ำบล วัดสมควร วัดวังฆ้อง วัดโพธิวงศาราม (ทุ่งโพธิ์) วัดเขาขุนพนม วัดพรหมโลก วัดกระดังงา
186 188 190 191 192 196 200 204 206
ศาลหลักเมืองนครศรีธรรมราช
Content Nakhon si thammarat.indd 13
11/1/2561 09:59:56 AM
บันทึกเส้นทางพักผ่อน
กันตา ฮิลล์ รีสอร์ท Kanta Hill Resort
มา ณ คอนต้ อ งนอนลานสกา
พักผ่อนท่ามกลางธรรมชาติ บรรยากาศร่มรื่นกลางสวนผลไม้ สัมผัสกับความสงบเหมาะกับการพักผ่อน อย่างแท้จริง เดินทางสะดวกสบาย รีสอร์ทติดริมเทือกเขา ห้องพักกว้างขวาง พร้อมเครื่องอ�ำนวยความสะดวกครบครัน ฟรี WiFi นอกจากนี้เรายังมี ร้านอาหาร และ ร้านกาแฟสด ไว้คอยบริการ
ร และ ด้วย
กันตา ฮิลล์ รีสอร์ท ประตูสู่ อ.ลานสกา ตั้งอยู่ในลานสกา ใกล้ชุมชนคีรีวง วัดธาตุนอ้ ย วัดพระมหาธาตุวรวิหาร วัดเจดีย์ และเป็นทีพ่ กั อันเหมาะเจาะลงตัว ส�ำหรับผูท้ ตี่ อ้ งการเทีย่ วชมนครศรีธรรมราช และแหล่งท่องเทีย่ วในบริเวณใกล้เคียง
มา ณ คอนต้ อ งนอนลานสกา
เบอร์โทร 089-8146558, 086-8966025
ท
แฟ
14 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 14
10/1/2561 05:52:46 PM
น่าอยู่อพาร์ทเมนท์ & รีสอร์ท Nayu Apartment & Resort
9/1 ซ.ศรีธรรมโศก1 ถนนพัฒนาการคูขวาง ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช 80000
โทร : 075-341-929, 084-845-7629
บริการห้องพัก รายวัน - รายเดือน
ห้องพักสะอาด พร้อม เฟอร์นิเจอร์ครบครัน มีแอร์ทุกห้อง พื้นที่กว้างขวาง มีลานจอดรถบริการ
NAKHON SI THAMMARAT 15 15-16.indd 15
8/1/2561 04:49:27 PM
ชญาวัลย์ อพาร์ทเม้นท์ Chayawa Apartment
SP อพาร์ทเมนท์
บริการห้องพักรายเดือน
โทร 075-466 489, 093-795 2780 ที่อยู ่ 333/28 ถ.หลังวิทยาลัยเทคนิค ต.ท่าวัง อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช 80000
บริการห้องพักรายเดือน มีพัดลม และ เครื่องปรับอากาศ เฟอร์นิเจอร์ครบครัน WiFi Free พร้อม Key Gard ห้ า งหุ้ น ส่ ว นจ� ำ กั ด นคร เอส พี อพาร์ ท เมนท์ (ส�ำนักงานใหญ่) เลขที่ 266/93 ถ.ราชด�ำเนิน ต.ท่าวัง อ.เมืองนครศรีธรรมราช จ.นครศรีธรรมราช 80000 โทร. 075312494, 085-795 6614 แฟ็ กซ์ 075313494
16 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย 15-16.indd 16
8/1/2561 04:49:36 PM
าง วมช่ าง ป..รรวมช่ หจก..ป
ศูนย์รวมบริการให้เช่าเครื่องจักร บริการงานก่อสร้าง รับถมดิน ทั่วราชอาณาจักร 10/11 หมู่ 3 ต.นาเคียน อ.นครศรีธรรมราช จ.นครศรีธรรมราช 80000 โทร : 075-765-088 โทรสาร : 075-765-091, 089-289-1234, 081-787-3457 Email : p.ruamchang@hotmail.com
NAKHON SI THAMMARAT 17 17.indd 17
9/1/2561 02:19:22 PM
เรือนผักกูด
www.ruanpakgood.com
อุ ท ยานอาหารผั ก พื้ น บ้ า น บ้ า นอิ ง แอบธรรมชาติ รีสอร์ทเล็กๆ และร้านอาหารเพื่อสุขภาพ ในเมืองที่อากาศดีที่สุดในประเทศไทย โอบล้อมด้วยขุนเขาและธารน�ำ้ ตก อนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ตามแนวพระราชด�ำริ เศรษฐกิจพอเพียง นอกจากมาเล่นน�้ำ ยังมีพื้นที่ 17 ไร่ ส�ำหรับเดินเล่น ชมสวนสมุนไพร สวนสมรม และบ่อขยะเที่ยวได้
การสร้างเศรษฐกิจชุมชน 1 แชมพูอัญชัน 2 สบู่มะเฟือง 3 น�้ำยาล้างจานมะนาว 4 น�้ำยาซักผ้ามะนาว สระว่ายน�้ำธรรมชาติ
สำ�หรับเด็ก มีระบบ UV และ Ozone
18 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 18
8/1/2561 05:10:10 PM
ที่อยู่ | 23/1 หมู่ที่ 14 ถนนนครฯ-จันดี(4015) หลักกิโลเมตรที่ 27 ต�ำบลช้างกลาง อ�ำเภอช้างกลาง จังหวัดนครศรีธรรมราช 80250 โทรศัพท์ | 081-124-3214 LINE | ruanpakgood FACEBOOK | เรือนผักกูด รีสอร์ท แอนด์ เรสเทอรอง WEBSITE | www.ruanpakgood.com EMAIL | ruanpakgood@hotmail.com
NAKHONSITHAMMARAT 19 .indd 19
8/1/2561 05:10:31 PM
โรงแรม
นิราคนธ์ NIRAKON HOTEL
จินตนาการแห่งความสุข ที่คุณสัมผัสได้ชั่วข้ามคืน อบอุ่นใจ พักสบาย ใน...นิราคนธ์ โรงแรมหรู ราคามิตรภาพ กลางใจเมือง ห้องพักสุดหรู พร้อมสิง่ อ�ำนวยความสะดวกครบครัน เฟอร์นเิ จอร์อย่างดี บริการ ทีวี ตู้เย็น เครื่องท�ำน�้ำอุ่น และ ระบบรักษาความปลอดภัย ฟรี อินเตอร์เน็ต ฟรี กาแฟ
20 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย 3.indd 20
17/1/2561 03:12:29 PM
ที่พักท�ำเลดี ส�ำหรับครอบครัวที่มีเด็กๆ มาด้วย เรามี ไดโนเสาร์ต้อนรับอยู่ด้านหน้า สร้างเสริมจินตนาการให้โลดแล่น และได้เรียนรู้อย่างมีความสุข พร้อมห้องพักที่เน้นความสะอาด โล่ง โปร่ง สบาย อยู่ใจกลางเมือง เดินทางสะดวก ที่จอดรถ กว้างขวาง สามารถจอดรถได้หลายคันรวมทั้งรถทัวร์
โรงแรม ตั้งอยู่ท ี่ โทร โทรสาร
3.indd 21
นิราคนธ์ NIRAKON HOTEL อาคารนิรามัย 265 ซ.รามราชท้ายน�ำ้ 48 ถ.พัฒนาการคูขวาง ต.ในเมือง อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช 075-347 190-1, 062-679 1907 075-343 343
NAKHON SI THAMMARAT 21 17/1/2561 03:12:42 PM
โครงการพัฒนาพื้นที่ลุ่มน�้ำปากพนัง อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ
พื้นที่ลุ่มน�้ำปากพนังมีความส�ำคัญมาก เป็นแหล่งปลูกข้าวขนาดใหญ่ แต่กลับประสบปัญหา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในหลวงรัชกาลที่ ๙ พระราชทานพระราชด�ำริจัดตั้งโครงการพัฒนา พื้นที่ลุ่มน�้ำปากพนัง เพื่อช่วยเหลือราษฎรให้มีพื้นที่ท�ำมาหากินดังเดิม
22 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 22
8/1/2561 05:27:08 PM
จังหวัดนครศรีธรรมราช อดีตของลุ่มน�้ำปากพนัง เคยเป็นพื้นที่ลุ่ม ที่มีความอุดมสมบูรณ์ ประชาชนส่วนใหญ่ ประกอบอาชีพเพาะปลูก มีการท�ำนามากทีส่ ดุ โดยอาศัยน�้ำจากแม่น�้ำปากพนังซึ่งเป็นแม่น�้ำ สายส�ำคัญของลุ่มน�้ำปากพนัง จึงเป็นแหล่ง ปลูกข้าวของภาคใต้ รวมทั้งเป็นศูนย์กลาง แห่งความเจริญรุง่ เรืองทุกๆ ด้าน จนเป็นทีร่ จู้ กั กัน ของผู้คนอย่างกว้างขวาง ในนาม “เมืองแห่ง อู่ขา้ วอู่น�้ำ” เมือ่ เวลาผ่านไป “ลุม่ น�ำ้ ปากพนัง” ทีเ่ คย อุดมสมบูรณ์กลับมีปัญหาจากสภาพแวดล้อม ที่เปลี่ยนไป จ�ำนวนประชากรที่เพิ่มมากขึ้น ความต้องการใช้น�้ำย่อมมีปริมาณมากขึ้นด้วย แต่ป่าไม้ต้นน�้ำล�ำธารกลับลดลงอย่างรวดเร็ว ท�ำให้ปริมาณน�้ำจืดที่เคยดูดซับไว้แล้วทยอย ปล่ อ ยลงในแม่ น�้ ำ ปากพนั ง และล� ำ น�้ ำ สาขา ในช่วงฤดูแล้งลดลงด้วย น�้ำจืดที่เคยมีใช้ปีละ 8-9 เดือน ลดลงเหลือปีละ 3 เดือนเท่านัน้ และ
เนื่องจากลักษณะของแม่น�้ำปากพนังมีระดับ ท้องน�้ำอยู่ต�่ำกว่าระดับน�้ำทะเลและมีความ ลาดชั น น้ อ ย เมื่ อ น�้ ำ จื ด ทางด้ า นต้ น น�้ ำ มี ปริมาณน้อย ท�ำให้น�้ำเค็มสามารถรุกล�้ำเข้าไป ในแม่นำ�้ ปากพนังและล�ำน�ำ้ สาขาเป็นระยะทาง เกือบ 100 กิโลเมตร มีน�้ำท่วมขังตลอดปี มีสารไพไรท์ (Pyrite) อยู่ในชั้นดิน ท�ำให้ดิน มีสภาพเป็นกรด และมีปญ ั หาน�ำ้ เปรีย้ ว ราษฎร ไม่ ส ามารถใช้ ป ระโยชน์ เ พื่ อ การเกษตรได้ รวมทั้ ง น�้ ำ เน่ า เสี ย จากการท� ำ นากุ ้ ง ได้ ไ หล ลงในล�ำน�้ำต่างๆ จนไม่สามารถน�ำไปใช้เพื่อ การเพาะปลูกได้ กลายเป็นปัญหาข้อขัดแย้ง ระหว่างชาวนาข้าวและชาวนากุ้งอีกด้วย นอกจากนี้ ยั ง มี ป ั ญ หาอุ ท กภั ย ในช่ ว ง ฤดูฝนเนื่องจากมีปริมาณฝนตกมาก แต่พื้นที่ ลุม่ น�ำ้ เป็นพืน้ ทีล่ มุ่ ราบแบน มีความลาดชันน้อย อุ ท กภั ย มั ก จะเกิ ด ในช่ ว งน�้ ำ ทะเลหนุ น สู ง
ระบายน�ำ้ ออกสูท่ ะเลได้ยาก จึงท�ำความเสียหาย ให้แก่พนื้ ทีเ่ พาะปลูกและพืน้ ทีช่ มุ ชนเมืองเป็น บริเวณกว้าง น�้ำจืดขาดแคลน-น�้ำเค็ม-น�้ำเปรี้ยวและ น�้ำเสีย จึงเป็นปัญหาที่ชาวลุ่มน�้ำปากพนัง ต้ อ งเผชิ ญ การท� ำ นาไม่ ไ ด้ ผ ล ผลผลิ ต ต�่ ำ ราษฎรมีฐานะยากจน การพัฒนาพื้นที่ลุ่มน�้ำ ปากพนังตามแนวพระราชด�ำริจงึ เป็นหนทางหนึง่ ทีจ่ ะช่วยพลิกฟืน้ ความอุดมสมบูรณ์ให้กลับคืน สู่ลุ่มน�้ำปากพนังดังเช่นในอดีต ลุ่มน�้ำปากพนัง ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของ จังหวัดนครศรีธรรมราช ครอบคลุมพื้นที่รวม 13 อ�ำเภอ คือ พืน้ ทีท่ งั้ หมดของอ�ำเภอปากพนัง อ� ำ เภอเชี ย รใหญ่ อ� ำ เภอหั ว ไทร อ� ำ เภอ เฉลิ ม พระเกี ย รติ อ� ำ เภอชะอวด อ� ำ เภอ ร่อนพิบูลย์ อ�ำเภอจุฬาภรณ์ พื้นที่บางส่วน ของอ�ำเภอลานสกา อ�ำเภอพระพรหม และอ�ำเภอ เมืองนครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช รวมทั้ ง พื้ น ที่ บ างส่ ว นของอ� ำ เภอควนขนุ น อ�ำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง และอ�ำเภอ ระโนด จังหวัดสงขลา รวมพื้นที่ประมาณ 1.9 ล้ า นไร่ เป็ น พื้ น ที่ น ากว่ า 500,000 ไร่ มีประชากรประมาณ 600,000 คน NAKHON SI THAMMARAT 23
.indd 23
8/1/2561 05:27:10 PM
พระราชด�ำริ
พระราชด�ำริ
พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ฯ ได้ พระราชทานพระราชด�ำริเกี่ยวกับการแก้ไข ปั ญ หาและการพั ฒ นาพื้ น ที่ ลุ ่ ม น�้ ำ ปากพนั ง เพื่อช่วยเหลือราษฎรหลายครั้ง ครั้งแรก เมื่อเดือนธันวาคม 2531 หลัง จากเกิดน�้ำท่วมใหญ่เมื่อเดือนพฤศจิกายน ครั้งต่อมา เมื่อวันที่ 9 และ 11 ตุลาคม 2535 ณ สถานีสูบน�้ำโคกกูแว ต�ำบลพร่อน อ�ำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส และสถานี สูบน�ำ้ บ้านตอหลัง อ�ำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทาน พระราชด� ำ ริ ให้ ก รมชลประทานพิ จ ารณา ก่อสร้างประตูระบายน�้ำปากพนัง ที่อ�ำเภอ ปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช เพือ่ ป้องกัน น�้ำเค็มรุกล�้ำและเก็บกักน�้ำจืด พร้อมกับการ ก่อสร้ างระบบคลองระบายน�้ำเพื่อบรรเทา ปั ญ หาน�้ ำ ท่ ว ม และระบบกระจายน�้ ำ เพื่ อ การเพาะปลูกในพื้นที่ลุ่มน�้ำปากพนัง ครัง้ ส�ำคัญทีส่ ดุ เมือ่ วันที่ 2 ตุลาคม 2536 ได้ พ ระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้ คณะกรรมการบริหารโครงการพัฒนาลุ่มน�้ำ ปากพนังอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ เข้าเฝ้าฯ ณ พระต�ำหนักทักษิณราชนิเวศน์ ได้พระราชทาน พระราชด�ำริเพิ่มเติมความว่า
ท� ำ ประตู น�้ ำ ที่ ป ากแม่ น�้ ำ ห่ า งจากตั ว อ� ำ เภอปากพนั ง ประมาณ 3 กิ โ ลเมตร ก็ พิ จ ารณาว่ า จะแก้ ป ั ญ หาทั้ ง หมด ซึ่ ง หมายความว่ า เป็ น กุ ญ แจส� ำ คั ญ ของ โครงการฯ จะแก้ ไ ขปั ญ หาตั้ ง แต่ น�้ ำ แล้ ง น�้ำท่วม น�้ำเค็มและสามารถที่จะให้ประชาชน มีน�้ำบริโภคและน�้ ำท�ำการเกษตร... แม้ว่า ประตูน�้ำอันเดียวนี้จะไม่แก้ ไขปัญหาทั้งหมด ซึ่ ง จะต้ อ งสร้ า งหรื อ ท� ำ โครงการต่ อ เนื่ อ ง หากแต่ว่าเป็นจุดเริ่มต้นของการแก้ ไขปัญหา ทั้งหมด จากอันนี้จะท�ำอะไรๆ ได้ทุกอย่าง และแยกออกมาเป็นโครงการฯ
24 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 24
8/1/2561 05:27:13 PM
ที่ตั้งของโครงการ
ตัง้ อยูท่ หี่ มู่ 5 ต�ำบลหูลอ่ ง อ�ำเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช ครอบคลุมไปด้วยพืน้ ที่ ของอ� ำ เภอที่ ตั้ ง อยู ่ ท างตอนใต้ ข องจั ง หวั ด นครศรีธรรมราช ซึ่งมีทั้งหมด 7 อ�ำเภอคือ อ�ำเภอชะอวด อ�ำเภอร่อนพิบลู ย์ อ�ำเภอเชียรใหญ่ อ�ำเภอหัวไทร อ�ำเภอปากพนัง พื้นที่บางส่วน ของอ� ำ เภอลานสกา อ� ำ เภอเมื อ ง จั ง หวั ด นครศรีธรรมราช นอกจากนีย้ งั มีพนื้ ทีบ่ างส่วน ของอ�ำเภอระโนด จังหวัดสงขลา และอ�ำเภอ ป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง
วัตถุประสงค์โครงการ
1. เพื่ อ ใช้ เ ป็ น แหล่ ง กั ก เก็ บ น�้ ำ ส� ำ หรั บ ช่วยเหลือการเพาะปลูกของราษฎรทีอ่ าศัยอยู่ ในเขตโครงการ 2. เพื่อใช้เป็นแหล่งน�้ำส�ำหรับอุปโภคบริโภค และเลี้ยงสัตว์ในฤดูแล้ง 3. เป็นแหล่งเพาะพันธุส์ ตั ว์นำ�้ ให้ประชาชน ไว้ใช้บริโภค
หน่วยงานผู้ด�ำเนินงาน / หน่วยงาน ทีเ่ กีย่ วข้อง : กรมชลประทาน กระทรวงเกษตร
ความส�ำเร็จของโครงการ :
1. สามารถแก้ ไขปั ญ หาการขาดแคลน น�ำ้ จืด ส�ำหรับการเกษตรและการอุปโภคบริโภคได้ เนือ่ งจากได้กอ่ สร้างประตูระบายน�ำ้ ปากพนัง เพื่อใช้กักเก็บน�้ำจืดไว้ในล�ำน�้ำสาขาปากพนัง สามารถรักษาระดับน�้ำในแม่น�้ำปากพนัง เพื่อ ป้องกันน�ำ้ เค็มรุกล�ำ้ และ ยังช่วยในการควบคุม การเกิดน�้ำเปรี้ยว ดินเปรี้ยวในพื้นที่ 2. สามารถแก้ไขปัญหาน�้ำท่วมในพื้นที่ ท�ำกินของราษฎร เนื่องจากได้มีการก่อสร้าง ระบบระบายน�้ำ และขุดลอกขยายคลองเดิม ท�ำให้สามารถระบายน�ำ้ ออกจากพืน้ ทีไ่ ด้เร็วยิง่ ขึน้ เป็นการบรรเทาอุทกภัย คลองทีข่ ดุ ลอกและขยาย ได้แก่ คลองชะอวด-แพรกเมือง คลองปากพนัง คลองบางโด-ท่าพญา คลองระบายน�้ำฉุกเฉิน 3. ก� ำ หนดแนวเขตแยกน�้ ำ จื ด น�้ ำ เค็ ม ออกจากกันป้องกันการรุกตัวของน�้ำเค็ม โดย ให้ทศิ ตะวันออกของคลองปากพนัง และแม่นำ้� ปากพนั ง เป็ น พื้ น ที่ เ ค็ ม พร้ อ มกั บ จั ด ระบบ
ชลประทานน�้ ำ เค็ ม ส่ ว นพื้ น ที่ เ ทื อ กเขาสู ง ทางตะวันตกของลุ่มน�้ำปากพนัง จะจัดท�ำ อ่างเก็บน�้ำและฝายทดน�้ำเพื่อเก็บน�้ำจืดมาใช้ ในการอุปโภคบริโภคและกิจกรรมอื่น 4. ส่ ง เสริ ม การพั ฒ นาประสิ ท ธิ ภ าพ การผลิตข้าวและการเกษตรในพื้นที่โครงการ ให้เป็นแหล่งผลิตพันธุ์พืช ธัญญาหาร เช่น ทีเ่ คยเป็นมาในอดีตทีเ่ คยเป็นอูข่ า้ วอูน่ ำ�้ ทีส่ ำ� คัญ ของภาคใต้ให้กลับคืนมาสูป่ ระชาชนอีกครัง้ หนึง่ โดยการปรับปรุงระบบ ชลประทาน โดยแบ่งเป็น ระบบส่งน�้ำแบบสูบน�้ำโดยกรมชลประทาน และระบบสูบน�้ำโดยประชาชน 5. เกษตรกรผูเ้ ข้าร่วมโครงการการส่งเสริม การเกษตรในเขตพืน้ ทีล่ มุ่ น�ำ้ ปากพนัง มีรายได้ เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 46 เกษตรกรมีการ เปลีย่ นแปลง การเพาะปลูก หันมาปลูกไม้ผล ผัก ไม้เศรษฐกิจ พืชไร่ เลีย้ งปลา เลีย้ งกุง้ ท�ำไร่นาสวนผสม และ สร้างสวนผลไม้
และสหกรณ์
ผู้ ได้รับประโยชน์ : เกษตรกรในเขต โครงการทั้งสิ้น 83,983 ครัวเรือน
NAKHON SI THAMMARAT 25 .indd 25
8/1/2561 05:27:14 PM
เอสซีจี แบรนด์วัสดุก่อสร้างคุณภาพ นวัตกรรมเพื่อ ชีวิตและความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น
อุ ดมการณ์ 4 SCG ตั้งมั่นในความเป็นธรรม มุ่งมั่นในความเป็นเลิศ เชื่อมั่นในคุณค่าของคน ถือมั่นในความรับผิดชอบต่อสังคม
ปูนซีเมนต์ส�ำเร็จรูป QR Code สินค้า SCG www.scg.com
ปูนซีเมนต์ โครงสร้าง
่ าย ได้คอนกรีตคุณภาพ สังง่
่ สัง...ซี แพค
โฮมมาร์ท ( HOME MART ) 26 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย SCG
.indd 26
รู้จริงเรื่องวัสดุก่อสร้าง
8/1/2561 05:28:54 PM
สารจากผู้ว่าราชการ
จังหวัดนครศรีธรรมราช
นายจ�ำเริญ ทิพญพงศ์ธาดา ผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช
จั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช เป็นจังหวัดส�ำคัญของภาคใต้
เป็นเมืองเก่าแก่ที่มีประวัติศาสตร์ยาวนานกว่า 1,800 ปี และมี ความส�ำคัญทั้งทางด้านเศรษฐกิจ และสังคม ทั้งในเชิงท�ำเลที่ตั้ง และในบริบทของศักยภาพด้านทรัพยากร การค้าและการท่องเทีย่ ว “นครศรีธรรมราช” หมายถึง นครอันงามสง่าแห่งพระราชา ผู้ทรงธรรม มีแหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ โบราณสถาน โบราณวัตถุมากมาย สถานที่ท่องเที่ยวทางธรรมชาติ โครงการ พัฒนาพืน้ ทีล่ มุ่ น�ำ้ ปากพนังอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ ผลิตภัณฑ์ หนึ่ ง ต� ำ บลที่ ไ ด้ รั บ การคั ด เลื อ กสุ ด ยอดผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ ด่ น คื อ เครื่องถมเมืองนคร จักสานย่านลิเภา ผ้ายกเมืองนคร และ ภาพแกะสลักรูปหนังตะลุง นครศรีธรรมราชมีประชากรมากทีส่ ดุ ของภาคใต้ มีความหลากหลายทางศาสนา ที่อยู่ร่วมกันอย่าง เอื้ออาทร มีพระบรมธาตุเจดีย์ เป็นแหล่งอารยธรรมแต่ในอดีต สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของจังหวัด
“นครแห่งอารยธรรม น่าอยู่ น่าเทีย่ ว การเกษตร และ อุตสาหกรรมยั่งยืน” นครศรีธรรมราช เป็นเมืองภาคเกษตรเป็นหลัก มียาง ปาล์ม ผลไม้ ที่ เ ป็ น รายได้ ห ลั ก ในส่ ว นต่ า งๆ ที่ ส ามารถจะท� ำ ให้ นครศรีธรรมราชเติบโตทางด้านเศรษฐกิจได้มากขึ้นไปกว่านี้ก็คือ ภาคการท่องเทีย่ ว ตัง้ แต่ผมมารับต�ำแหน่งเป็นผูว้ า่ ราชการจังหวัด นครศรีธรรมราช ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2559 ก็ได้ต่อยอดจาก ของเดิมเป็นดีกว่าเดิม โดยเฉพาะเรื่องของการเชื่อมโครงข่าย คมนาคมของจังหวัด ในแหล่งท่องเทีย่ ว พืน้ ทีข่ นอม สิชล ท่าศาลา และการพัฒนาเรื่องของท่าอากาศยานให้เป็นสนามบินนานาชาติ ซึ่งจะเริ่มในปี 2562
ฉะนัน้ ปีนตี้ อ่ เนือ่ งปีหน้า โครงข่ายคมนาคมทีเ่ ชือ่ มแนวชายทะเลก็จะแล้วเสร็จ ซึ่งจะท�ำให้เปิดพื้นที่การท่องเที่ยวระหว่างขนอม สิชล ท่าศาลา ได้สั้นลง ย่นระยะทางไปได้รว่ ม 40 กม. และเป็นเส้นทางทีส่ วยงาม ขณะนีอ้ ยูใ่ นขัน้ ตอน ด�ำเนินการ รวมถึงการไปเปิดตลาดทัง้ ในประเทศและนอกประเทศ ด้านการ ท่องเทีย่ ว ก็เป็นสิง่ ทีแ่ ตกต่างไปจากเดิม เราชูความเป็นเมืองแห่งอารยธรรม แห่งธรรมชาติ ของนครศรีธรรมราชไปสู่สายตาของพี่น้องชาวไทยและ ชาวต่างประเทศมากขึ้น เป้าหมายคือ เราอยากยกฐานะให้นครศรีธรรมราช ไม่ใช่เป็นแค่เมือง ต้องห้ามพลาด แต่ต้องเป็นเมืองท่องเที่ยวหลักของภาคใต้ฝั่งอ่าวไทยให้ได้ ผมว่าจะท�ำให้เม็ดเงินสะพัดขึ้น เศรษฐกิจมันก็จะขยายตัวมากขึ้น มีการ ใช้เทคโนโลยีให้เหมาะสมมากขึน้ และคงเสน่หข์ องเมืองคอนไว้ให้คนรุน่ หลังได้ ศึกษาเรียนรูแ้ ละสืบสานการพัฒนาต่อไป
ก� ำ แพงเมื อ งเก่า
ต� ำบลคลั ง อ� ำเภอเมื องนครศรีธรรมราช
.indd 27
(นายจ�ำเริญ ทิพญพงศ์ธาดา) ผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช
11/1/2561 09:18:11 AM
นายจ�ำเริญ ทิพญพงศ์ธาดา ผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช
เราอยากยกฐานะให้ นครศรี ธ รรมราช ไม่ ใช่ เป็ นแค่ เมื อ ง ต้อ งห้ามพลาด แต่ ต ้ อ งเป็ นเมื อ งท่ อ งเที่ ย วหลั ก ของภาคใต้ฝั่งอ่ า วไทย ซึ่ ง จะท�ำ เม็ ดเงิ นสะพั ดขึ้ น เศรษฐกิ จ ก็ จ ะขยายตั ว มากขึ้ น
28 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 28
11/1/2561 09:18:13 AM
NAKHON SI THAMMARAT 29 .indd 29
11/1/2561 09:18:15 AM
วัยเยาว์ วัยแห่งการค้นหา
ผมเป็นคนปักษ์ใต้ เกิดที่สงขลา โตที่ภูเก็ต เมื่อ มัธยมปลายกลับไปเรียนทีส่ งขลา ในวัยเด็กก็ลำ� บากบ้าง สบายบ้าง ตามสภาพ แต่เป็นคนทีม่ คี วามตัง้ ใจเรียน เป็นเด็กเรียนดี อยู่ในระดับดีของโรงเรียน เคยเป็น ตัวแทนของสถาบัน เช่นการได้รบั คัดเลือกไปร่วมงาน ชุมนุมลูกเสือโลก ท�ำให้ผมได้โอกาสฝึกความเป็นผูน้ ำ� และการทีเ่ ราได้รจู้ กั ลูกเสือทัว่ โลก ในสมัยเรียนมัธยม เป็นเหตุการณ์หนึ่งที่ท�ำให้มีความประทับใจ เรามี ความตั้งใจใฝ่เรียนและประพฤติตนอยู่ในกรอบของ ความดีงามมากกว่า เพราะผมไม่เคยไปยุ่งเกี่ยวกับ สิง่ เสพติด สูบบุหรี่ กินเหล้า หรือไปเทีย่ วเตร่ เหมือน เด็กทั่วไปๆ นี้เอง ที่เป็นต้นทุนท�ำให้ผมมีวันนี้ ปกติที่บ้านก็ไม่ได้ให้แนวคิดอะไร แล้วแต่ลูก จะชอบแบบไหน อย่างไร ให้ไขว่คว้าเอง ผมได้อยูใ่ น สถาบันการเรียนทีด่ ี อย่างโรงเรียนมหาวชิราวุธ เป็นต้น ผมได้เปรียบตรงนี้ เกิดสงขลา ใช้ชีวิตที่ภูเก็ต สงขลาเมืองการศึกษา ภูเก็ตเป็นเมืองเศรษฐกิจ การศึกษาและเศรษฐกิจ จึงไปได้ด้วยกันได้ดี
แรงบันดาลใจในชี วิต
วัยเด็ก ทีบ่ า้ นผม คุณพ่อเป็นเพือ่ นกับสมาชิกสภา ผูแ้ ทนราษฎร ผมจึงเห็นนักการเมืองสมัยก่อน ก็ดเู ขา มาหาเสียงกัน พูดถึงบ้านเมือง บ้านเราต้องพัฒนา ในด้านไหน หรือแม้แต่เราดูหนังตะลุง สมัยเด็กๆ ไม่มีหนังกลางแปลง การดูหนังตะลุง ก็เป็นต้นแบบ โตขึ้นอยากจะเป็นอะไร อยากจะมีอาชีพที่มั่นคง ตอนนั้นแนวคิดก็อยากเป็นข้าราชการ แต่การเรียน ก็ตอ้ งหลายทีท่ เี่ ราต้องเดินไป การสัง่ สมประสบการณ์ การเรียนรู้สังคม ก็เป็นหนึ่งในแรงบันดาลใจ ถามว่าความใฝ่ฝัน ในวัยผมเริ่มต้นมันก็สับสน อยากเป็นหมอ เราชอบไหม เป็นหมอก็ดดู เี วลา ญาติ พี่น้อง ป่วย เราก็วิ่งไปตามหมอ เราก็มองดู เออ เป็นหมอก็ดีนะ และเคยใฝ่ฝันอยากจะเป็นนักบิน เราจะต้องเรียนเตรียมทหารเพื่อที่จะเป็นนักบิน แต่ เรามาเรี ย นมั ธ ยมปลาย แล้ ว เราจะมาท� ำ อะไร เรามาดูหนังตะลุง ดูฝ่ายการเมือง เป็นนายอ�ำเภอ ก็อยากเป็นนายอ�ำเภอ ได้มาดูแลบ้านเมืองดูแล พี่น้องประชาชน ก็เป็นจุดหนึ่งที่ไปเรียนรัฐศาสตร์ แล้วก็มาสอบปลัดอ�ำเภอ 30 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 30
11/1/2561 09:18:18 AM
ต้นแบบในการท�ำงาน
ต้นแบบของผม ก็คือ ผู้บังคับบัญชาของผมในอดีต ท่านเป็น ผู้ว่าราชการหลายจังหวัด ล่าสุดก็เป็นผู้ว่าราชการจังหวัดบุรีรัมย์ ท่าน กล่อมเกลาผมในการท�ำงาน ในการบริหารงาน ถือว่าผมได้ใช้ทั้งวิธีคิด วิธีการท�ำงาน การวางยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ ตัวชี้วัด มีมาตั้งแต่ 30 กว่าปี ทีแ่ ล้ว ถือเป็นต้นแบบ ผมเป็นเลขานุการ 4 ปีเต็ม จนท่านเกษียณราชการ จากนัน้ ก็เป็นเรือ่ งทีน่ ำ� ต้นทุนประสบการณ์ทมี่ มี าปรับใช้ และท�ำให้ตวั เรา เจริญเติบโตก้าวหน้ามาจนถึงทุกวันนี้
ข้อคิด คติพจน์
หลักการท�ำงานของผม คือ มุง่ ไปสูค่ วามส�ำเร็จของงาน บนพืน้ ฐาน ของการประสานคน ประสานใจ ประสานงาน หลักก็คอื เมตตาเป็นฐาน เอาธรรมเป็นอ�ำนาจ เพราะฉะนั้น ถ้าเรามีหลักความเมตตากับเพื่อน ร่วมงานไม่ว่าระดับไหนก็จะท�ำให้งานราบรื่นและตัวเราเองต้องมีภูมิรู้ คิดวิเคราะห์เป็น ต้องใช้หลักเหตุและผล และมุง่ มัน่ กับความส�ำเร็จของงาน เป็นเรื่องส�ำคัญ ถ้าเราขาดความมุ่งมั่นของความส�ำเร็จ เราก็จะไปเรื่อยๆ ไม่มีจุดหมายปลายทาง เพราะฉะนั้น หลักการ ในการท�ำงานของผม คือ พูดจริงท�ำจริงและรับผิดชอบในการท�ำงาน
ความมุ่งมัน่ เด็ดเดี่ยว และกล้าตัดสินใจ
ผมท�ำเรื่องใหญ่ๆ ระดับชาติมาเยอะ ได้รางวัลพอสมควร เป็นข้าราชาการดีเด่นด้วย คือในวัยท�ำงาน ผมเชื่อว่าได้ท�ำงานเหมาะสมกับต�ำแหน่งงาน ที่ได้รับผิดชอบ คือ ได้รับความไว้วางใจจากผู้บังคับบัญชา เพราะเนื่องจากผมท�ำงานปีแรก ไม่มีปีไหนที่ผมไม่ได้สองขั้น เพราะว่าการท�ำงานครั้งแรก ถ้าเรามุ่งมั่นในการท�ำงานที่ได้รับผิดชอบไม่ว่าจะเปลี่ยนใครมาเป็นผู้ว่าเราก็ได้สองขั้น เป็นเพราะมุ่งมั่นในการท�ำงาน เพราะฉะนั้นความส�ำเร็จจะเอาหลักการหรือผลงาน ถ้าเอาเฉพาะที่ผมเป็นรองผู้ว่าฯ และขึ้นมาเป็นต�ำแหน่งผู้ว่าฯ ผมก็เป็นรองผู้ว่าฯ อยู่ภูเก็ต และเป็นรองผูว้ า่ ฯ มาหลายจังหวัด เช่น ศรีสะเกษ ภูเก็ต นครปฐม ก็มผี ลงานทัง้ นัน้ แต่ทปี่ ระทับใจทีส่ ดุ คือการกลับมาเป็นรองผูว้ า่ จ.ภูเก็ต ทีบ่ า้ นตัวเอง
ผลงานที่ประทับใจ ได้แก่
1. น�ำเสนอ คณะรัฐมนตรีสร้างศูนย์ราชการที่ภูเก็ต 2. สร้างศาลหลักเมือง 3. ขจัดการบุกรุกชายหาดทั้งเกาะ อาคาร ร้านค้า เตียงผ้าใบ 4. ขจัดเรื่องของยาเสพติด บารากุ ทั้งภูเก็ตให้สิ้นซากไม่เหลือไว้ท�ำพันธุ์ ถ้าไม่ส�ำเร็จผมไม่เลิก มีกลยุทธ์ วิธีที่ชัดเจน และที่ส�ำคัญ ผมกล้าตัดสินใจและ รับผิดชอบในสิ่งที่ผมท�ำ NAKHON SI THAMMARAT 31 .indd 31
11/1/2561 09:18:20 AM
แหลมตะลุมพุ ก
ต�ำบลแหลมตะลุมพุ ก อ� ำเภอปากพนั ง
ยุ ทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด วิสัยทัศน์ (Vision) “นครแห่งอารยธรรม น่าอยู่น่าเที่ยว การเกษตรและอุตสาหกรรมยั่งยืน” โดยมีทิศทางการพัฒนายุทธศาสตร์ในภาพรวมของจังหวัดนครศรีธรรมราช 3 ประเด็น ดังนี้ 1.เมืองสืบสานศิลปวัฒนธรรม สงบสุข น่าเที่ยว 2.เมืองเกษตรนวัตกรรม และอุตสาหกรรมสีเขียว 3 ศูนย์กลางการคมนาคมขนส่ง และกระจายสินค้าของภาคใต้ วัตถุประสงค์ (Objective) 1. เพิ่มรายได้จากการเกษตร อุตสาหกรรมและการท่องเที่ยว ยกระดับมาตรฐานคุณภาพ 2. ศิลปวัฒนธรรม และประเพณีมีการสืบสานอย่างต่อเนื่อง 3. ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้รับการจัดการอย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน 4. ประชาชนยึดหลักธรรมะในการด�ำเนินชีวิต และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ยุทธศาสตร์ (Strategic Issue) 1. การบริหารจัดการเกษตรและอุตสาหกรรมสู่มาตรฐานครบวงจรและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 2. การพัฒนาการท่องเที่ยวบนพื้นฐานธรรมะ ธรรมชาติ และศิลปวัฒนธรรม 3. การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน 4. การพัฒนาคน ชุมชน และสังคมให้น่าอยู่ เข้มแข็ง มั่นคงตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
32 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 32
11/1/2561 09:18:25 AM
ผลักดัน และเปลี่ยนแปลง
เรามียุทธศาสตร์หลักอยู่แล้ว ยุทธศาสตร์ที่ท�ำโดยพี่น้อง ประชาชน และภาคส่วนทีเ่ กีย่ วข้องกับจังหวัดก็เข้ามาร่วมวางแผน จัดท�ำยุทธศาสตร์จังหวัด ผมก็มาเดินต่อ แล้วท�ำยุทธศาสตร์นั้น ปรากฏเป็นจริง และเติมเต็มในแง่ของสิ่งที่คิดว่ามีโอกาสผลักดัน และขับเคลื่อนได้ นครศรีธรรมราชถือว่าเป็นเมืองภาคเกษตร อุตสาหกรรมบ้าง บริการไม่มาก ส่วนใหญ่ มาจากภาคเกษตร มียาง ปาล์ม ผลไม้ ที่เป็นรายได้ ประมงก็ถดถอยไปเยอะ ในส่วนต่างๆ ที่สามารถ จะท�ำให้นครศรีธรรมราชเติบโตทางเศรษฐกิจได้มากขึ้นไปกว่านี้ ก็คือ ภาคการท่องเที่ยว ซึ่งผมมาท�ำนครศรีฯ ก็คือ ได้ต่อยอด จากของเดิมเป็นดีกว่าเดิม โดยเฉพาะเรื่องของการเชื่อมโยงสร้าง โครงข่ายคมนาคมของจังหวัด ในแหล่งท่องเทีย่ ว พืน้ ทีข่ นอม สิชล ท่าศาลา และการพัฒนาเรื่องของท่าอากาศยานให้เป็นสนามบิน นานาชาติ ซึ่งจะเริ่มในปี 2562 ฉะนั้ น ปี นี้ ต ่ อ เนื่ อ งปี ห น้ า โครงข่ า ยคมนาคมที่ เชื่ อ ม แนวชายทะเลก็จะแล้วเสร็จ อันนี้จะท�ำให้เปิดพื้นที่การท่องเที่ยว ระหว่างขนอม สิชล และ ท่าศาลา ได้สั้นลง ย่นระยะการเดินทาง ไปได้ร่วม 40 กม. และเป็นเส้นทางที่สวยงาม ขณะนี้อยู่ในขั้นตอนด�ำเนินการ รวมถึงการไปเปิดตลาดทั้งในประเทศและนอกประเทศ ด้านการท่องเที่ยว อันนี้ก็เป็นสิ่งที่แตกต่างไปจากเดิม เราก็ขายความเป็นเมืองแห่งอารยธรรม แห่งธรรมชาติ ของนครศรีธรรมราชไปสูส่ ายตาของพีน่ อ้ งชาวไทยและชาวต่าง ประเทศมากขึ้น จะเห็นได้ว่าเราเน้นเรื่องของการประชาสัมพันธ์ในรูปแบบ ต่างๆ ทัง้ ในทีวี สือ่ สิง่ พิมพ์ และในโลกของ social ทีท่ ำ� เป็นสกูป๊ ข่าวเป็นตอนๆ ออกไป ผมว่าเราท�ำไปเยอะมาก และก็ไม่ได้แพ้จังหวัดท่องเที่ยวหลัก เป้าหมายคือ เราอยากยกฐานะให้นครศรีธรรมราช ไม่ใช่เป็นแค่เมือง ต้องห้ามพลาดแต่ต้องเป็นเมืองท่องเที่ยวหลักของภาคใต้ฝั่งอ่าวไทยให้ได้ ผมว่าจะท�ำให้เม็ดเงินสะพัดขึ้น เศรษฐกิจมันก็จะขยายตัวมากขึ้น ตัวชี้วัดที่ เห็นได้ชัดขณะนี้กลุ่มโรงแรม 5 ดาว เริ่มเข้ามาลงทุนด�ำเนินการในพื้นที่ นครศรีธรรมราช อีกอย่างหนึ่งอยากให้เห็นว่า นครศรีธรรมราชสามารถที่จะ เป็น MICE ได้ เป็นเมืองที่สามารถเป็นศูนย์กลางการจัดการประชุมได้ เพราะ สะดวก มีแหล่งอาหารการกิน มีแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติมากมาย ทั้งทาง ทะเล ภูเขา ถ�้ำ น�้ำตก น�้ำพุร้อน การผจญภัยกับสายน�้ำ โครงการพระราชด�ำริ ลุ่มน�้ำปากพนัง เยอะแยะมากเลย ต้นทุนเรามี “เขา ป่า นา เล” เรามีหมด เพราะฉะนั้นเราจะยกระดับศักยภาพที่มีอยู่แล้วให้สร้างเป็นมูลค่าให้ได้ อย่างไร ก็อยู่ในแนวทางของการพัฒนาจังหวัดเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ต่อไปในอนาคต ภายใต้กรอบของแผนยุทธศาสตร์จังหวัดที่มีอยู่
NAKHON SI THAMMARAT 33 .indd 33
11/1/2561 09:18:35 AM
กลไกประชารัฐ กับศักยภาพในการขับเคลื่อน ประชารัฐเป็นจุดเริม่ ต้น เป็นบันไดขัน้ แรก ผมก็คิดว่ายังจะต้องด�ำเนินการต่อไป เพื่อ ให้เห็นผลงานเชิงรูปธรรมมากขึ้น มีแนวคิด ใหม่ๆ ในการน�ำตัวสินค้าทีม่ อี ยูแ่ ล้วในจังหวัด มาพัฒนา ส่งเสริมการตลาด เรื่องของความรู้ ทางด้านนวัตกรรมใหม่ๆ เรือ่ งของบรรจุภณ ั ฑ์ และหี บ ห่ อ เรื่ อ งของการประชาสั ม พั น ธ์ การเพิ่ ม ตั ว มู ล ค่ า ของสิ น ค้ า เองทั้ ง ระบบ เราต้องท�ำงานหนักมากขึ้น แต่ก็ถือว่าทุกคน พยายามที่จะร่วมมือกัน ผู้ว่าราชการจังหวัด เองก็พยายามที่จะผลักดันที่จะให้ประชารัฐ เดินให้เร็วขึ้นกว่าเดิม ด้วยเมืองคอนถือว่ามีประชากรมากทีส่ ดุ และขนาดพื้นที่ใหญ่อันดับ 2 ของภาคใต้ วั น นี้ ผ มพยายามดึ ง ทุ ก ภาคส่ ว นเข้ า มา ร่วมงานกัน มาแชร์ความคิดกัน ทัง้ ภาคเอกชน
ภาควิชาการ มหาวิทยาลัย วิทยาลัย สถาบัน การศึกษา ชาวบ้าน ผู้รู้ แล้วทางจังหวัดเองก็ พยายามหลอมรวมให้คนเอานครศรีธรรมราช เป็นตัวตั้ง เราต้องการปรับวิธีคิด สร้างพลังของ ความร่วมมือ พยายามดึงทัง้ สภาอุตสาหกรรม หอการค้า สมาคม ส่งเสริมการท่องเที่ยว ธุ ร กิ จ ท่ อ งเที่ ย วเข้ า มาร่ ว มด้ ว ย หรื อ กลุ ่ ม Gen-Y, Gen-Z ถ้ามี เราพยายามสร้างคน เหล่านี้ให้เข้ามามีส่วนร่วมในการคิด อ่าน ขับเคลื่อน เช่นว่า ถ้าท่านคิดว่าเรื่องนี้น่าท�ำ เราจะร่ ว มมื อ กั น ท� ำ ยั ง ไง ไม่ ใช่ ร อฝ่ า ยรั ฐ อย่างเดียว ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม ก็สามารถจะเข้ามาร่วมมือ มาคิดร่วมกันท�ำ ร่วมกันได้ มันจะต้องก้าวข้ามความขัดแย้ง เดิมๆ ให้ได้ ถึงจะก้าวไปข้างหน้าได้ดีกว่านี้
ไม่ใช่วา่ ปัจจุบนั ไม่ดนี ะ มันก็ดี แต่เราสามารถ ท�ำให้ดีกว่าเดิมได้ ที่ผมบอกนครศรีฯ นี่ดี นครศรีฯ ต้องดีกว่าเดิม จะดีกว่าเดิมได้มัน ต้ อ งมี พื้ น ฐานหลั ก ของทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ อย่างอื่นมีครบหมดแล้ว คือ เรามีธรรมชาติ อารยธรรม ศิลปกรรม วัฒนธรรม ก็ถอื ว่าเป็น จุ ด เริ่ ม ต้ น จุ ด ก� ำ เนิ ด ศาสนาก็ ตั้ ง ต้ น ที่ นี่ มีความยิ่งใหญ่อยู่ที่นี่ มีพระบรมธาตุ มีวัด 600 - 700 วัด แต่เราจะกล่อมเกลาจิตใจ พี่น้องประชาชนให้มุ่งมั่นเป็นสุจริตชน แล้ว ก็ ม องเห็ น อนาคตของเมื อ งต้ อ งดี ก ว่ า เดิ ม ต้องท�ำอย่างไร แน่นอนที่สุดทุกคนจะต้อง หันหน้าเข้าหากัน มาคิดร่วมกัน คือคิดร่วมกัน ไม่ ใช่ ว ่ า ต้ อ งคิ ด เหมื อ นกั น นะ มี แ ตกต่ า ง คิดแตกต่างได้แต่มองไปที่เป้าหมายเดียวกัน
34 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 34
11/1/2561 09:18:38 AM
วิสัยทัศน์ และทิศทางการเจริญเติบโต
เมื อ งนครยั ง ต้ อ งเป็ น เมื อ งนคร มี อั ต ลั ก ษณ์ เอกลักษณ์ ของความเป็นเมืองเก่า เพราะฉะนั้น รูปแบบของการพัฒนาเมือง มันจะต้องดูต�ำแหน่ง ให้ดี ระหว่างเมืองเก่ากับเมืองใหม่ การพัฒนาเมืองใหม่ การวางผังเมือง โดยเฉพาะเรื่องของระบบการจราจร ระบบการคมนาคม ระบบการระบายน�้ำ ระบบของ การดูแลเรื่องสุขาภิบาล สิ่งแวดล้อม ขยะ น�้ำเน่าเสีย เหล่านี้เป็นโจทย์ที่รอการปฏิวัติทั้งสิ้น ขณะนี้ผมก็พยายามเคลื่อนไปในทุกมิติ ก็เชื่อว่า อนาคตของการพัฒนาของนครก็คือ เรายังคงด�ำรง ความเป็นนครแห่งธรรมให้สมกับชื่อ แล้วก็พี่น้อง ประชาชนมีธรรมในหัวใจมันก็จะเกิดความสงบสุข เราจะรักษาเรือ่ งของศิลปกรรม วัฒนธรรม ทรัพยากร ธรรมชาติของเราไว้ให้ยั่งยืนได้ยังไง ไม่ใช่ใช้กันจน ร่อยหรอไปเสียหมดเลย สุดท้ายก็คือท�ำลายตัวเอง อย่างนี้ไม่ใช่การพัฒนา การพัฒนาจะต้องส่งผลไปถึง ระดับหมู่บ้านชุมชนได้อย่างไร โจทย์นี่ยาก จะให้
ห่วงโซ่ของอุปสงค์และอุปทาน มันสมดุลไปถึงพี่น้อง ประชาชนชาวบ้านได้ยงั ไง ได้อานิสงส์นดี้ ว้ ย มันไม่ใช่ การพัฒนาแล้วท�ำให้เกิดช่องว่างเกิดความเหลื่อมล�้ำ อย่างนี้ไม่ถูก ที่ผมวางยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวไว้ ผมเน้นในการท่องเที่ยวชุมชนเป็นหลัก เพื่อให้พี่น้อง ประชาชนได้รบั รูร้ บั ทราบรวมกลุม่ กัน สร้างมาตรฐาน การบริหาร การจัดการการท่องเที่ยว โดยชุมชน ท�ำยังไง และพี่น้องมีสินค้ามีอะไรดีมาขาย ตามวิถี ของเรา เราไม่จ�ำเป็นต้อง Modern เราใช้วิถีของเรา เป็นเสน่หท์ คี่ นข้างนอกเขาอยากเห็นภาพ ไม่ใช่วา่ เรา ต้องมีตึกสูงๆ มีอะไรที่แสง สี เสียง เต็มบ้านเต็มเมือง ไม่ใช่ เราก็อยู่ตามสภาพที่เรามีความสุขเราขายตรงนี้ คื อ ท� ำ อย่ า งไรให้ น ครศรี ธ รรมราชเป็ น เมื อ ง แห่งความสุข ทีใ่ ครมาก็มคี วามสุข เพราะว่ามาถึงก็ได้ ยินเสียงพระสวดมนต์ เสียงธรรม ตืน่ เช้ามามีพระสงฆ์ มีคนใส่บาตร มีวถิ ขี องตนเอง ทีไ่ ม่รบี ร้อนเกินไป ไม่ใช่ พัฒนาเมืองแล้วเป็นกรุงเทพฯ 2 อย่างนี้ไม่ใช่ แต่วา่ มีความสุขสบาย ทันสมัยกับโลกที่เปลี่ยนไป ผมก็ มุ่งหวังแบบนี้ NAKHON SI THAMMARAT 35 .indd 35
11/1/2561 09:18:43 AM
ก้าวไป ไทยแลนด์ 4.0
4.0 จริงๆ ก็อยู่กับเรา อยู่รอบตัวเราอยู่แล้ว พูดถึงเทคโนโลยี และการใช้นวัตกรรมองค์ความรู้มาพัฒนาทั้งบุคคลตัวทรัพยากร มนุษย์เอง คือต้องพัฒนาตัวคนก่อน แล้วก็ไปพัฒนากายภาพแวดล้อม ก็รวมถึงการท�ำมาหากิน ก็ให้มีซึ่งเศรษฐกิจและความสุข สุดท้าย คือต้องตอบโจทย์ท�ำแล้วว่ามีความสุข ใช่ไหมครับ สุขก็คอื ว่า ชีวติ ไม่ตดิ ขัด ชีวติ มันลืน่ ไหล เงินก็ไม่ตดิ ขัด เดินทาง ก็ไม่ตดิ ขัด การสือ่ สารก็ไม่ตดิ ขัด การดูแลรักษาสุขภาพ สิง่ แวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติก็ไม่ติดขัด ทุกคนรู้เข้าใจ นี่คือการใช้ 4.0 ในความหมายของ 4.0 คือนวัตกรรมและเทคโนโลยีเอามาใช้ ให้เกิดประโยชน์อย่างไร วันนีเ้ ราตัง้ องค์คณะขึน้ เรือ่ งของ Smart City ซึ่ ง ก็ จ ะไปโยงกั บ 4.0 อยู่ในขั้นตอนการขับเคลื่อน จั ด ระบบ กรอบความคิด กิจกรรมที่จะท�ำ การใช้ระบบการสื่อสาร เครื่องมือ ที่เป็นเทคโนโยลีต่างๆ ไม่จะเป็นเรื่องของโปรแกรม แอพพลิเคชั่น หรือองค์ความรู้ที่สามารถไปท�ำให้เกิดผลผลิต ผลิตภาพที่ดีขึ้น ได้อย่างไร และสนองต่อความต้องการพี่น้องประชาชน ท�ำให้เกิด ความสะดวกสบาย ความรวดเร็ว และก็สมประโยชน์กบั ความต้องการ ของคนในสังคมมีอะไรบ้าง กิจกรรมแบบไหนบ้าง ไม่วา่ เรือ่ งการศึกษา สาธารณสุข แรงงาน เรื่องของทรัพยากรธรรมชาติ เรื่องของ การบ�ำบัดทุกข์บ�ำรุงสุขครบ 360 องศา ก็ท�ำยังไงให้เป็นแบบ 4.0 เป็นโจทย์ตามนโยบายของรัฐบาล ทีผ่ วู้ า่ ฯ ต้องมาขับเคลือ่ นร่วมกัน คือประชารัฐทุกภาคส่วนช่วยคิดกัน ไม่ว่าจะเป็นเรื่องการศึกษา เราจะให้นักเรียน ลูกหลานเรา มีคุณภาพการศึกษาอย่างไร ที่เป็น ตัวของตัวเอง เป็นผูน้ ำ� ความจริงแล้ว เรามีตน้ ทุนดีขนาดนี้ เราอาจจะ 5.0 แล้วก็ได้นะ ถ้าทักษะเทคโนโลยี ทักษะด้านภาษา ทักษะของ การใช้ชวี ติ ทักษะของการเชือ่ มเราเข้ากับโลก การดูแลสภาพแวดล้อม สังคมของเรา ท�ำอย่างไรให้นำ� เทคโนโลยีมาใช้ในการสร้างความเป็นธรรม ในสังคม ดูแลเรือ่ งความมัน่ คงปลอดภัย การเดินทาง ในแต่ละภาคส่วน เรามีแรงขับเคลือ่ นได้แค่ไหน ท�ำได้อย่างไร เราจะหยิบอะไรมาท�ำก่อน อะไรที่ท�ำได้ท�ำเลย อะไรที่ยังต้องพัฒนาก็ว่ากันไปตามล�ำดับ อะไรที่เห็นแล้วเป็นจุดเด่น โดดเด่น ก็ท�ำเลย มีศักยภาพท�ำได้ เหมือนระบบการดูแลสุขภาพท�ำยังไงให้เป็น 4.0 ชาวบ้านจะรูไ้ ด้ไหม มีแอพพลิเคชั่น ดูแลสุขภาพตัวเองเป็นอย่างไร การเต้นของหัวใจ ความดัน ระดับน�้ำตาลในเลือด ออกก�ำลังกายวันนี้พอหรือยัง มีไขมันสะสมไหม นี่คือการน�ำเทคโนโลยีมาปรับใช้อย่างเหมาะสม กับชีวิตประจ�ำวัน ถามว่าถ้าเรารู้ เราไม่จ�ำเป็นต้องไปหาหมอ เอาเทคโนโลยีมาให้เกิดกับเรา ท่านต้องมีองค์ความรู้ แล้วก็เลือกใช้ เทคโนโลยีทเี่ หมาะสม เราสร้างเทคโนโลยีเอง สร้างคนของเราขึน้ มา เพื่อจะให้ยืนด้วยขาตัวเองในจังหวัดท�ำได้ไหม การดูแลเรื่องของ พืชผักผลไม้ พืชต่างๆ ต้นยาง ต้นปาล์ม เอาเทคโนโลยีมาท�ำอย่างไร ให้ได้ผลผลิตมากขึ้น ตรงความต้องการของตลาด นี่เป็นเรื่องที่เรา ก็จะต้องไปแบ่งงานกัน ขณะนี้ก็จะขับเคลื่อนโดยคณะท�ำงาน ที่จังหวัด ไปสู่ความเป็น Smart City
สุขก็คือ ชีวิตไม่ติดขัด
ชีวิตมันลื่นไหล เงินก็ ไม่ติดขัด เดินทางก็ ไม่ติดขัด การสื่อสารก็ ไม่ติดขัด การดูแลรักษาสุขภาพสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติก็ ไม่ติดขัด ทุกคนรู้เข้าใจ นี่คือการใช้ 4.0
36 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 36
11/1/2561 09:18:44 AM
NAKHON SI THAMMARAT 37 .indd 37
11/1/2561 09:18:46 AM
อุ ปสรรคและการก้าวข้าม
เราท�ำอะไรก็ตาม ไม่มีหรอกครับว่า ไม่มีอุปสรรค เป็นเรื่อง ปกติ อุปสรรคมีไว้พงุ่ ชน วันนีถ้ ามว่า ถ้าเราเอา 4M ( 4 M หมาย ถึง คน (Man) เงิน (Money) วัสดุหรือวัตถุดิบ (Material) และ วิธปี ฏิบตั งิ าน (Method) ซึง่ การปฏิบตั งิ านในแต่ละขัน้ ตอนของ การด�ำเนินธุรกิจ ควรมีการวางแผน และควบคุม ให้การปฏิบัติ งานนัน้ มีประสิทธิภาพ ) มาจับเบือ้ งต้นมันก็เป็นอุปสรรคได้ทงั้ นัน้ อยู่ที่วา่ เราจะมีมุมมองแบบไหน เรื่องการบริหารงาน การวางโครงสร้างถ้าวางไม่ดีก็เป็น อุปสรรค เรื่องคน ถามว่าผู้ว่าราชการจังหวัดจะเลือกคนเอง ได้หมดเลยไหม ไม่ได้ ภายใต้กลไกกรอบการบริหารที่โครงสร้าง ของประเทศวางไว้แบบนี้วา่ ไม่สามารถเลือกใคร ผมเอาคนนั้น คนนีม้ าท�ำงาน ก็ผสมผสานรวมอยูแ่ ล้วทุกกระทรวง ทบวง กรม ว่าเราวางเข็มทิศแล้ว เราพูดสร้างความเข้าใจ เชิญชวน ขอร้อง ให้มาร่วมมือกัน เพราะเราเป้าหมายเดียวกัน ส�ำคัญที่สุดก็อยู่ที่ตัวคน อย่างอื่นผมมองว่า วันนี้เรารอได้ บางเรื่อง งบประมาณเรารอได้ กว่าเราจะเตรียมโครงการ กว่า เราจะขับเคลื่อน แต่ว่าบางทีถ้าเราไม่สามารถสร้างความเข้าใจ
ให้กับพี่น้องประชาชนที่มีส่วนเกี่ยวข้อง หรือไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง มั น ก็ เ ป็ น อุ ป สรรคเหมื อ นกั น เช่ น เราจะสร้ า งอ่ า งเก็ บ น�้ ำ ตามโครงการพระราชด�ำริ ถามว่ายังค้างอยูต่ งั้ หลายตัวทีท่ ำ� ไม่ได้ เพราะอะไร มีอุปสรรคไหม มี เพราะพี่น้องประชาชนบางกลุ่ม ยังไม่เข้าใจ เราจะท�ำยังไงให้เขาเข้าใจ ก็ต้องสร้างความเข้าใจ จนกว่าท่านจะเข้าใจ จนถึงจุดหนึ่งบอกพี่น้อง 1,560,000 คน บอกว่า ท่านต้องมาพูดเป็นเสียงเดียวว่า คน 20,30,50 คน ต้อง เข้าใจนะ ถ้าไม่มอี ะไรเลยเราจะตายหมู่ เราไม่มที เี่ ก็บน�ำ้ วันนีน้ ำ�้ มาเยอะเก็บน�้ำไม่ได้ พอไม่มีฝนมาก็แล้ง ถ้าถามว่าท่านจะแก้ ปัญหายังไง ตอบว่าไม่รู้ได้ไหม ไม่ได้ แต่เวลาเราท�ำอะไรแล้ว มันมีผล 2 ด้านเสมอ เหมือนเหรียญมีส่วนที่ได้กับส่วนที่เสีย คน ส่วนใหญ่อาจจะได้ คนส่วนน้อยที่เสีย คนที่เสียเราจะดูแลเขา อย่างไร อย่างเป็นธรรม เหมาะสมแล้วเป็นธรรม ตรงนีเ้ ป็นหัวใจ สิ่งที่พูดมาผมว่าหลักๆ ก็คือ เรื่องคน ถ้าเราสามารถที่จะสร้าง พลังในคนให้เข้าใจ ตามหลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (รัชกาลที่ 9) “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” เมื่อเข้าใจ เข้าถึง การพัฒนามันก็จะเกิด แต่เมื่อไหร่ ไม่เข้าใจ ถ้าไม่เข้าใจตัวเองเป็นอย่างแรก อย่างอืน่ ก็เป็นอุปสรรค
38 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 38
11/1/2561 09:18:50 AM
ขอบพระคุณเมืองคอน
ผมไม่เคยคิดว่านครศรีธรรมราชจะอุดมสมบูรณ์ขนาดนี้ และไม่คิดว่ามันจะมีสิ่งที่ มีคุณค่าอีกมากมายที่เราไม่เคยรู้จัก นี่เป็นความประทับใจ เราอาจจะรู้จักเมืองนครศรีฯ แค่พระบรมธาตุ แต่จริงๆ มีมากกว่านั้น เป็นสิ่งส�ำคัญที่สุดอยู่แล้ว ผมเองเมื่อมานครศรีฯ อย่างน้อยที่สุดก็มีความตั้งใจว่า ได้มาท�ำบุญใหญ่และ เพราะว่าอยู่ในขั้นตอนที่ผมต้องมา ท�ำเรือ่ งบูรณะองค์พระบรมธาตุให้เสร็จ ซึง่ คาดว่าปีหน้าจะเสร็จสมบูรณ์ รวมถึงการบูรณะ ยอดทองค�ำ ถือว่าเป็นโอกาสของเราทีไ่ ด้มาสร้างบุญในชีวติ หนึง่ เขาบอกว่า เกิดมาหนึง่ ชาติ ขอให้ได้มากราบพระบรมธาตุเมืองคอน ผมก็กราบไปหลายรอบแล้ว ก็ถือว่าก็ได้บุญมาก เป็นความประทับใจ ซึ่งพอเอาเข้าจริงมีสิ่งดีๆ มากมายที่เราไม่รู้ ทรัพยากรธรรมชาติ ทางป่าไม้ ขุนเขา อากาศที่ดีที่สุด สายน�้ำที่ดีที่สุด อย่างเช่นเขารามโรมซึ่งมีอากาศเย็น ตลอดปี ผมเข้าไปตรวจเยี่ยมภูมิประเทศในพื้นที่ มีสิ่งที่เราไม่เห็นอยู่เยอะ ผมเชื่อว่า จังหวัดที่ไหนก็ยังไม่เท่าเมืองนครศรีฯ เพราะที่นี่เรามีครบทุกอย่าง ถ้าปิดเมืองกันนี่ นครนีอ่ ยูไ่ ด้สบาย มีโรงไฟฟ้า มีทะเล มีนาข้าว มีถนน มีมะพร้าว ยาง ปาล์ม มีผลไม้ พืชผัก มีแม่นำ�้ มีทไี่ หนครบแบบนครศรีฯ ไม่มี ทีน่ มี่ คี รบหมดเลย ครบเครือ่ ง เรื่องเมืองนครศรีฯ เรามีภูมิรู้มาจากบรรพชน กว่า 1,800 ปี ใครจะเหมือนเรา เกิดก่อน สยามประเทศที่นี่คือแดนที่ศักดิ์สิทธิ์มาก เหลือแต่ว่าสิ่งที่เรามีต้นทุนเราจะพัฒนาให้เป็น แผ่นดินธรรม แผ่นดินทองได้ยังไง อันนี้เป็นโจทย์ที่ทา้ ทาย
NAKHON SI THAMMARAT 39 .indd 39
11/1/2561 09:18:54 AM
40 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 40
11/1/2561 09:18:56 AM
จากใจผู ้ว่าฯ เมื่อได้รับการแต่งตัง้
คือจังหวัดนครศรีธรรมราชเป็นจังหวัดที่ใครๆ เขาก็กลัว คือ ทุกคน รูว้ า่ เป็นจังหวัดทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ เพราะมีอำ� เภอมากทีส่ ดุ มีประชากรมากทีส่ ดุ พื้นที่ใหญ่เป็นอันดับ 2 รองจาก จังหวัดสุราษฎร์ธานี จะพู ด ถึ ง ความเป็ น นครศรี ธ รรมราชมั นไม่ง่า ย เพราะว่าพี่น้อง ประชาชนทีอ่ ยูท่ นี่ มี่ ปี ระวัตศิ าสตร์ความเป็นมานับ 1,000 ปี มีอารยธรรม มีวัฒนธรรม มีวิธีคิด มีเอกลักษณ์เฉพาะของพื้นที่ ของพี่น้องที่อยู่ที่นี่ เพราะฉะนั้ น ผู ้ ว ่ า ราชการจั ง หวั ด ก็ จ ะเป็ น ที่ ค าดหวั ง ว่ า จะมาเป็ น ส่วนส�ำคัญในการทีจ่ ะขับเคลือ่ น จ.นครศรีธรรมราช ได้อย่างไร เราจะมา ท�ำงานทีน่ ี่ สนองตอบต่อความต้องการพีน่ อ้ งประชาชนได้อย่างไร เพราะ มันกว้างใหญ่ไพศาลมาก เป็นทีม่ าว่าผมต้องศึกษาข้อมูลเอกสารทัง้ หมดก่อน แล้วก็มาเตรียมทีม และลงพื้นที่ เพื่อที่จะรู้พื้นที่ทั้งหมด ซึ่งผมไปมาครบ 23 อ�ำเภอแล้ว ก็มองเห็นภาพทั้งหมด เดินวางต�ำแหน่งจากศักยภาพของผม และ จากประสบการณ์ ความรู้ ของผมเอง ก็มาช่วยนครให้เป็นไปได้ ซึง่ วันนีก้ ถ็ อื ว่า ไม่หนักใจเหมือนตอนมาแรกๆ แต่ก็ยังจะต้องท�ำงานหนักต่อไปให้ดีที่สุด
ฝากใจไว้กับชาวนครฯ
วันนีพ้ นี่ อ้ งต้องเปิดใจรับรูก้ ารเปลีย่ นแปลงของโลก เปิดใจรับรูข้ อ้ มูลจริง ว่านครศรีธรรมราชเราจ�ำเป็นจะต้องแก้ไขปัญหาและพัฒนาเรือ่ งอะไรด้วย กัน เช่น น�ำ้ ผมให้ความส�ำคัญอันดับ 1 การพัฒนาเรือ่ งน�ำ้ ทัง้ ระบบ ตามศาสตร์ พระราชาหรือโครงการพระราชด�ำริที่ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา ภูมิพลอดุลยเดช (รัชกาลที่ 9) ทรงวางไว้แล้ว วันนี้ยังท�ำไม่จบ จะร่วมมือ ยังไง 2 ระบบโครงข่ายคมนาคม 3 เรื่องของการพัฒนาด้านเศรษฐกิจ ฐานราก สร้างเงินสร้างรายได้ให้กับพี่น้องจากศักยภาพที่มีอยู่ยังไง พวกเราทุกคนต้องมาร่วมคิดกัน ที่พูดกันไปแล้วว่า จะเอาเทคโนโลยี มาใช้จะเอาภูมิรู้ภูมิปัญญามาใช้ท่านท�ำอย่างไร ทุกคนต้องอัตตาหิ อัตตโนนาโถ ตนเป็นทีพ่ งึ่ แห่งตน ถ้าขาดซึง่ ความอดทน ความเพียร ความมานะ พยายามก็จบ ซึง่ ผมอยากเรียกร้องให้พนี่ อ้ งชาวนครออกมาร่วมสร้างบ้าน แปงเมืองด้วยกัน แล้วฐานส�ำคัญที่สุด ก็คือการยกระดับคุณภาพชีวิต ของคน ทัง้ ทางด้านสุขภาพ และการศึกษา ถ้าสุขภาพไม่ดี ก็มแี ต่คนป่วย ทัง้ เมือง ท�ำอะไรไม่ได้ แล้วก็ตอ้ งติดอาวุธทางปัญญาให้ได้ อาวุธทางปัญญา เกิดพร้อมรึยงั ทีจ่ ะออกมาเป็นก�ำลังส�ำคัญในการพัฒนาบ้านเมือง เพราะ คนนครสถาบันการศึกษาเยอะมีมากทีส่ ดุ ของภาคใต้ มหาวิทยาลัย วิทยาลัย ใหญ่ๆ อยูท่ นี่ ี่ เรามีตน้ ทุนทีด่ อี ยู่ เหลือเปิดใจร่วมมือกันแล้วก็รรู้ กั สามัคคี เป็นหัวใจส�ำคัญทีส่ ดุ ถ้าเป็นเมืองทีร่ รู้ กั สามัคคีผมว่าเราจะเร่งได้เร็วกว่านี้ NAKHON SI THAMMARAT 41 .indd 41
11/1/2561 09:18:58 AM
ประวัตโิ ดยย่อ นายจ�ำเริญ ทิพญพงศ์ธาดา ผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช โทรศัพท์ 089-2030428
วัน เดือน ปีเกิด 4 ตุลาคม 2505 อายุ 54 ปี ภูมิลำ� เนา จังหวัดภูเก็ต การศึกษา ปริญญาตรี ศศ.บ. (รัฐศาสตร์) มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง ปริญญาโท พบ.ม. สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ อายุราชการ รับราชการปี 2527 อายุราชการ 32 ปี การฝึกอบรม นักปกครองระดับสูง (นปส.) รุ่นที่ 45 (พ.ศ.2547) วิทยาลัยการป้องกันราชอาณาจักร ภาครัฐร่วมเอกชน ปรอ.รุ่นที่ 23 (พ.ศ.2553) นักบริหารการยุติธรรมทางปกครองระดับสูง (บยป.) รุ่นที่ 3 (พ.ศ.2554) ผู้บริหารกระบวนการยุติธรรมระดับสูง (บยส.) รุ่นที่ 17 (พ.ศ.2555) ประวัติการรับราชการ ปัจจุบัน (2559) พ.ศ.2558-2559 พ.ศ.2557-2558 พ.ศ.2555-2557 พ.ศ.2552-2555 พ.ศ.2550-2552 พ.ศ.2547-2550 พ.ศ.2546-2547
ผู้วา่ ราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช ผู้วา่ ราชการจังหวัดภูเก็ต รองผู้ว่าราชการจังหวัดนครปฐม รองผู้ว่าราชการจังหวัดภูเก็ต รองผู้ว่าราชการจังหวัดศรีสะเกษ หัวหน้าส�ำนักงานจังหวัดระนอง หัวหน้าส�ำนักงานจังหวัดพังงา หัวหน้าส�ำนักงานจังหวัดยะลา
42 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 42
11/1/2561 09:19:00 AM
NAKHON SI THAMMARAT 43 .indd 43
11/1/2561 09:19:02 AM
เป็นโอกาสดีท่จี ะท�ำให้นครศรีธรรมราช เจริญเติบโตจากฐานรากเกษตรกรรม ในชุ มชนที่ม่ันคงไปสู่ภาคธุ รกิจการเกษตร นานาชาติ ซึ่ งเป็นปั จจัยพื้นฐานส�ำคัญ ของโลกด้วย
นายขจรเกียรติ รักพานิชมณี รองผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช
44 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 44
9/1/2561 02:41:52 PM
นายขจรเกียรติ รักพานิชมณี รองผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช
นายขจรเกียรติ รักพานิชมณี รองผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช ท่านเคยเป็นรองผู้ว่าราชการจังหวัดภูเก็ตมาก่อน และ ยังได้ท�ำงานอย่างใกล้ชิดกับท่านผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช มาแล้วถึงสองจังหวัดด้วยกัน SBL บันทึกประเทศไทย มีความภูมิใจที่ได้สนทนากับท่านอย่างเป็นกันเองในหลากหลายมุมของการท�ำงานเป็นทีมเพื่อพัฒนา จังหวัดนครศรีธรรมราช จากฐานรากที่มั่นคงของประชาชนในทุกภาคส่วนให้ก้าวไปด้วยกันอย่างยั่งยืน
ต้นแบบแห่งแรงบันดาลใจในการท�ำงาน ส�ำหรับผม บุคคลทีเ่ ป็นต้นแบบคือ นายจ�ำเริญ ทิพญพงศ์ธาดา ผูว้ า่ ราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นบุคคลหนึง่ ทีผ่ มศรัทธา เพราะท่านมีประสบการณ์ มีความรูค้ วามสามารถ มีความเจริญเติบโตในหน้าที่ การท�ำงานตามล�ำดับ การท�ำงานของท่านมีหลักการ เป็นหัวหน้าส�ำนักงานจังหวัด 5-6 ปี รองผู้ว่าฯ ก็ประมาณ 5-6ปี กว่าจะได้เป็นผูว้ า่ ราชการจังหวัด ประสบการณ์ทผี่ มได้มโี อกาสร่วมงานกับท่าน ในสองจังหวัดในต�ำแหน่งรองผู้วา่ ราชการจังหวัด ในขณะทีท่ า่ นปฏิบตั หิ น้าทีเ่ ป็นผูว้ า่ ราชการจังหวัด ทีภ่ เู ก็ตปีนงึ ผมได้ความรูป้ ระสบการณ์ในมิตหิ นึง่ เพราะภู เ ก็ ต เป็ น เมื อ งการท� ำ งานในเรื่ อ งของ การท่ อ งเที่ ย ว นานาชาติ และการแก้ ป ั ญ หา การด�ำเนินโครงการพัฒนา
ปี นี้ ไ ด้ ติ ด ตามท่ า นมาท� ำ งานที่ จั ง หวั ด นครศรีธรรมราช เป็นรองผู้ว่าราชการจังหวัด ที่นครศรีธรรมราช โดยมีท่านจ�ำเริญ ทิพญพงศ์ ธาดา เป็นผู้ว่าราชการอีกเหมือนกัน ก็เป็นอีกมิติ หนึง่ ของนครศรีธรรมราช ซึง่ เป็นเมืองเกษตร และ เป็ น เมื อ งท่ อ งเที่ ย วระดั บ ชุ ม ชนไม่ ถึ ง ระดั บ นานาชาติเหมือนภูเก็ต ซึง่ เป็นโอกาสดีทที่ า่ นจะน�ำ แนวคิดและวิสัยทัศน์ที่จะท�ำให้นครศรีธรรมราช เจริญเติบโต จากฐานรากเกษตรกรรม ท่องเที่ยวใน ชุมชน ไปสูภ่ าคธุรกิจการเกษตรนานาชาติ ซึง่ เป็น ปัจจัยพืน้ ฐานส�ำคัญของโลกด้วย ส�ำหรับเรือ่ งการท่องเทีย่ วชุมชนก็จะยกระดับ ให้เป็นระดับนานาชาติเช่นกัน ดังทีท่ า่ นพูดไว้วา่ มี แผนโครงการที่จะท�ำและเป็นไปได้ด้วย
NAKHON SI THAMMARAT 45 .indd 45
9/1/2561 02:41:55 PM
แก้ปัญหาตรงจุ ดคือ
ความภาคภูมิใจ ส่วนใหญ่กเ็ ป็นเรือ่ งของนโยบายทีท่ า่ นผูว้ ่าฯ สั่งการลงมา จังหวัดนครศรีธรรมราชเป็นเมือง ท่องเที่ยวระดับชุมชน จะต้องมีแหล่งท่องเที่ยว หรือโครงสร้างพื้นฐานอะไรต่างๆ โครงการถนน คนเดินก็เป็นโครงการหนึ่ง ที่ท่านผู้ว่าฯ คิดริเริ่ม และมอบหมายให้ผมร่วมกับภาคเอกชนโดยเฉพาะ ทางหอการค้า และส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง ทาง พาณิชย์จงั หวัด ทางการท่องเทีย่ วและกีฬาจังหวัด ได้แต่งตัง้ คณะท�ำงานร่วมกันวางแผนและด�ำเนินการ อย่างเป็นระบบ เพราะเราทราบว่ามีนักท่องเที่ยว ในพื้ น ที่ และต่ า งพื้ น ที่ ม าเที่ ย วหนึ่ ง หมื่ น คน ในแต่ละสัปดาห์ จึงจัดถนนคนเดินทุกวันเสาร์ เพือ่ เป็นการขับเคลือ่ นเศรษฐกิจผ่านอาหารการกิน ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นอีกทางหนึ่ง ซึ่งท่านผู้ว่าฯ มีโครงการผู้ว่าเดินดิน กินข้าวแกง แหลงใต้ รับใช้ฅนคอน ท่านลงไปกินไปนอนพืน้ ทีท่ งั้ 23 อ�ำเภอ อ�ำเภอละ 2 วัน ไปกินไปนอนทัง้ ทีว่ ดั และทีโ่ รงเรียน ได้คุยกับพี่น้องประชาชนในพื้นที่ ทั้งผู้น�ำท้องถิ่น ทั้ ง ก� ำ นั น ผู ้ ใ หญ่ บ ้ า น สะท้ อ นปั ญ หากลั บ มา โครงการหลายโครงการจึ ง ได้ รั บ ดู แ ลจาก ผูว้ า่ ราชการจังหวัดและบรรจุอยูใ่ นแผนพัฒนาจังหวัด และได้รับการจัดสรรงบประมาณเป็นอย่างดี เมื่อปีที่แล้วราวเดือนตุลาคม 2559 ฝนตก หนักมากอย่างต่อเนือ่ งจนเกิดอุทกภัยน�ำ้ ท่วมใหญ่ ช่วงเดือนธันวาคม ต่อเนื่องมาถึงมกราคม 2560 โครงการที่ท่านผู้ว่าฯ ลงไปได้รับการร้องขอจาก พีน่ อ้ งประชาชน เรือ่ งถนนก็ดี เรือ่ งแหล่งน�ำ้ ต่างๆ ก็ดี ก็ได้รบั การจัดสรรมาอย่างตรงกับความต้องการ ของคนในพื้นที่ สองวันก่อนผมได้มีโอกาสได้ไปเป็นตัวแทน ผูว้ า่ ราชการจังหวัดไปเปิดถนนสายนาลึก (เกาะทวด) - โรงเรียนโศภนคณาภรณ์ ต.เกาะทวด อ.ปากพนัง ซึ่งตอนนั้นน�้ำท่วมพี่น้องประชาชนเดินทางไปมา ไม่ ไ ด้ นั ก เรี ย นไปโรงเรี ย นก็ ไ ม่ ส ะดวก พื ช ผล ทางการเกษตรก็ขนส่งออกมาล�ำบาก เมือ่ เห็นปัญหา ก็ได้รับการแก้ไขโดยการก่อสร้างอย่างเร่งด่วน ได้รบั การจัดสรรงบประมาณ 11 ล้าน 7 แสน 8 หมืน่ ก็ดำ� เนินการเสร็จแล้ว และได้เชิญท่านผูว้ า่ ราชการ จังหวัดไปเปิด แต่เนือ่ งจากท่านผูว้ า่ ราชการจังหวัด ติดภารกิจส�ำคัญ เลยมอบหมายให้ผมไป ซึง่ พีน่ อ้ ง ประชาชนก็มคี วามสุขได้รบั การแก้ไขปัญหาและหา ทางออกได้อย่างรวดเร็วทันใจเป็นประโยชน์ในวงกว้าง 46 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 46
9/1/2561 02:41:57 PM
บันทึกเส้นทางพบรองผู้ว่าราชการจังหวัด
งบประมาณโปร่งใส ท่านผู้ว่าฯ ให้ผมดูในเรื่องของเศรษฐกิจ ซึง่ ต้องเกีย่ วข้องกับส่วนราชการก็คอื กระทรวง พาณิชย์ กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ส�ำหรับการบริหารเงินงบประมาณ ท่านผู้ว่าฯ มีแนวความคิดในเรื่องการติดตามโครงการ ผ่านระบบงบประมาณ ของส่วนราชการ ซึง่ ได้ จัดสรรงบประมาณจากรัฐบาลในแต่ละปีมา ได้จำ� นวนเท่าไร ก็มาดูแลการเบิกจ่ายให้เป็นไป ตามกรอบทีร่ ฐั บาลตัง้ เป้าไว้ และท่านให้ตดิ ตาม การท�ำงานอย่างใกล้ชิด หมายความว่า ถ้า งบประมาณมีการเบิกจ่ายก็แสดงว่ามีเนื้องาน เกิ ด ขึ้ น มี โ ครงการงบประมาณมาท� ำ ถนน ขุดคลอง สร้างอาชีพ มีการเบิกจ่ายเป็นระยะ ซึ่งเกิดขึ้นตามแผนตามกรอบที่ก�ำหนดไว้ ก็ แสดงว่าพีน่ อ้ งประชาชนได้รบั ประโยชน์ มีถนนใช้ ได้รับการส่งเสริมอาชีพ ช่วยเหลือในเรื่องของ การพัฒนาแหล่งน�้ำต่างๆ ก็จะเกิดขึ้นตามมา
พัฒนาก้าวไกล...ไปด้วยกัน ทุ ก ภาคส่ ว นในจั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช เราท� ำ งานกั น เป็ น ที ม กั บ การท� ำ งานของ ผู้ว่าราชการจังหวัด อาจกล่าวได้วา ่ ทั้งภาครัฐ เอกชนได้รับความร่วมไม้ร่วมมือจากผู้บริหาร และผู้ปฎิบัติเจ้าหน้าที่ ผู้ว่าราชการจังหวัด ท่านให้ความส�ำคัญเป็นอย่างยิ่ง เพราะท่าน ท�ำเองคนเดียวไม่ได้ ท่านคิดคนเดียวมันก็คง เดินไปไม่ได้ หลายๆ งานทีเ่ กิดขึน้ เกิดจากส่วน ราชการจั ง หวั ด ก� ำ นั น ผู ้ ใ หญ่ บ ้ า นในพื้ น ที่ นายกองค์การบริหารส่วนท้องถิ่นรับนโยบาย ของท่าน และน�ำไปปฏิบตั ิ ก็ทำ� ให้งานทีเ่ ราร่วมกัน ท� ำ ตามแนวคิ ด ของท่ า นในทุ ก โครงการ ทุกกิจกรรมทีไ่ ด้ทา่ นผูว้ า่ ฯ สัง่ การไป ท่านก็จะหา งบประมาณก็ดี หาวิธีการที่จะท�ำให้โครงการ เดินต่อไปได้ก็ดี ท่านรับฟังทุกโครงการ ดังนั้น ทุกกิจกรรมที่สั่งการไปก็มีปัญหาบ้างเล็กๆ น้อยๆ ให้เราเรียนรู้ หรือปัญหาใหญ่ ท่านก็ให้ ขึ้นมาคุยกันและถามแนวทางการแก้ปัญหา ร่วมกัน NAKHON SI THAMMARAT 47 .indd 47
9/1/2561 02:41:58 PM
ผมได้นอ้ มน�ำหลักยุ ทธศาสตร์ ของพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ที่พระราชทาน ให้กับปวงชนชาวไทยว่า “ เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา ” มาปฏิบัติโดยตลอด
นายวิรัตน์ รักษ์พันธ์
รองผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช
48 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 48
9/1/2561 02:42:11 PM
นายวิรัตน์ รักษ์พันธ์
รองผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช นั่นจึงเป็นจุดเริ่มต้นใหม่ของการเปลี่ยนผ่านอย่างมั่นคงก้าวหน้า และสานต่องานอย่างเป็นระบบของ นายวิรัตน์ รักษ์พันธ์ รองผู้ว่าจังหวัดนครศรีธรรมราช ณ วินาทีนี้ SBL บันทึกประเทศไทย มีความภูมิใจที่ได้สนทนากับท่านอย่างอบอุ่น จากศาสตร์พระราชาที่ประยุกต์ ใช้ ในชีวิตการท�ำงาน เพื่อพัฒนาจังหวัดนครศรีธรรมราชอย่างเข้าใจ เข้าถึง และพัฒนา
่ การเปลี่ยนผ่านอย่างมันคง ผมเพิ่งย้ายจากรองผู้ว่าฯ จังหวัดระนอง มาด�ำรงต�ำแหน่งรองผู้ว่าฯ จังหวัดนครศรีธรรมราช ผมเป็นคนพืน้ เพเดิมจังหวัดพัทลุง รับราชการอยูท่ างภาคใต้หลายจังหวัด ได้แก่ พัทลุง กระบี่ พังงา ระนอง และก็มาอยู่ ที่นครศรีธรรมราช พื้นที่ภาคใต้ทั้งภูมิประเทศ ภูมิสังคม ขนบธรรมเนียม ประเพณีของประชาชนชาวใต้ ผมคุ้นเคยเป็นอย่างดี และที่จังหวัดนครศรีธรรมราชก็เช่นกัน การท�ำงานจึงสามารถขับเคลื่อนงานตามนโยบาย ของจังหวัด นโยบายของรัฐบาลได้ทันที ไม่มี ความหนักใจแต่ประการใด
หลักการท�ำงาน
“เข้าใจ เข้าถึง และพัฒนา”
ในการปฏิบตั หิ น้าทีร่ าชการทุกต�ำแหน่ง ไม่วา่ จะเป็นผูป้ ฏิบตั ิ และผูบ้ ริหาร ต�ำแหน่งหัวหน้าส�ำนักงานจังหวัด รองผูว้ า่ ราชการจังหวัด ผมได้นอ้ มน�ำ หลักยุทธศาสตร์ ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช ทีพ่ ระองค์ทา่ นได้พระราชทาน ให้กบั ปวงชนชาวไทยทีว่ า่ “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” มาปฏิบตั ิ โดยตลอด ผมถือว่ายุทธศาสตร์นใี้ ช้ได้กบั ทุกสถานการณ์ ทุกพืน้ ที่ ทุกหน่วยงาน เพราะค�ำว่า “เข้าใจ” คือเข้าใจปัญหา เข้าใจพื้นที่ เข้าใจประชาชน เข้าใจงานที่ปฏิบัติ และเข้าใจงานที่เกี่ยวข้อง ค�ำว่า “เข้าถึง” ก็คือ เข้าถึงพื้นที่ เข้าถึงจิตใจ ของพี่น้องประชาชน เข้าถึงผู้ร่วมงาน เมื่อเราเข้าใจและ เข้าถึง ก็ต้องพัฒนาไปด้วยกัน ค�ำว่า “พัฒนา” จึงเข้าไปสู่การจัดท�ำแผนงาน โครงการต่างๆ ในทุกด้านควบคูก่ นั ไป โดยก�ำหนดแผนปฏิบตั กิ ารและเป้าหมายให้ชดั เจน พัฒนาให้เป็นระบบ รวมถึงการพัฒนาจิตใจด้วย พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระองค์ท่านคือแรงบันดาลใจ ของผม พระองค์ท่าน เป็นนักคิด นักพัฒนา ตัวอย่างของผู้ดูแลทุกข์สุขของพี่น้องประชาชน ที่แท้จริง ผมเป็นคนที่คิดบวก และมองถึงผลส�ำเร็จของงานเป็นหลัก ยึดความถูกต้อง ความเป็นธรรม ยึดประโยชน์ของส่วนรวมเป็นหลัก และผมยังยึด วิธีการท�ำงาน “ท�ำเรื่องยาก ให้เป็นเรื่องง่าย ท�ำเรื่องใหญ่ ให้เป็นเรื่องเล็ก ท�ำเรื่องเล็ก ให้หมดไป และอย่า ท�ำเรื่องไม่เป็นเรื่อง ให้เป็นเรื่อง” NAKHON SI THAMMARAT 49 .indd 49
9/1/2561 02:42:13 PM
ความภาคภูมิใจ งานที่ได้รับมอบหมายจาก
ท่านผู ้ว่าราชการจังหวัด ผมมารั บ ราชการในต� ำ แหน่ ง รองผู ้ ว ่ า ราชการ จังหวัดนครศรีธรรมราช ตั้งแต่ วันที่ 1 ตุลาคม 2560 จังหวัดนี้ใหญ่กว่าจังหวัดที่ผมเคยอยู่มา ท่านผูว้ า่ ราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช ได้มอบหมาย งานให้รองผู้ว่าฯ ซึ่งมีอยู่ 3 ท่าน แบ่งมอบภารกิจกัน โดยท่ า นแรกดู แ ลด้ า นความมั่ น คง ท่ า นที่ ส องดู แ ล ด้ า นเศรษฐกิ จ ส่ ว นผมได้ รั บ มอบหมายให้ ดู แ ลงาน ด้านคุณภาพชีวิตและสังคม ซึ่งเกี่ยวข้องกับงานด้านการ สาธารณสุ ข ด้ า นการพั ฒ นาความมั่ น คงของมนุ ษ ย์ ประเพณี ศิ ล ปวั ฒ นธรรม การศึ ก ษา การศาสนา การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ในส่วน ของการดูแลพื้นที่นั้น เนื่องจากจังหวัดนครศรีธรรมราช
เราชาวนครฯ อยู่เมืองพระ มั่นอยู่ในสัจจะ ศีลธรรม กอปรกรรมดี มีมานะ พากเพียร ไม่เบียดเบียน ท�ำอันตรายผู้ใด
มีทั้งหมด 23 อ�ำเภอ รองผู้ว่าราชการจังหวัด มี 3 ท่าน ได้แบ่งความรับผิดชอบกัน โดยท่านผู้ว่าราชการจังหวัด มอบให้ ผ มดู แ ลรั บ ผิ ด ชอบอ� ำ เภอที่ อ ยู ่ โซนเขาป่ า มี 8 อ�ำเภอ คือ อ.ทุ่งสง อ.บางขัน อ.นาบอน อ.ทุ่งใหญ่ อ.ถ�้ำพรรณรา อ.พิปูน อ.ฉวาง อ.ช้างกลาง ค�ำว่า ดูแลพื้นที่ ก็คือการดูแลทุกข์สขุ พีน่ อ้ งประชาชน ก�ำกับดูแล ส่วนราชการ และประสานงานกั บ องค์ ก รเอกชนต่ า งๆ ในพื้นที่ ประสานงานกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในพื้นที่ ซึ่งมีเทศบาล องค์การบริหารส่วนต�ำบล ผมตั้ ง ใจขับ เคลื่อนงานต่างๆ ให้เป็น ไปตามหลั ก การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี หรือหลักธรรมาภิบาล ตามนโยบายของผูว้ า่ ราชการจังหวัด และผมให้ความส�ำคัญ กับการติดตามงานและการลงพื้นที่ เพราะการลงพื้นที่ นอกจากเป็นการติดตามงานแล้ว ยังเป็นการเยี่ยมเยือน สร้างขวัญและก�ำลังใจ ให้คำ� แนะน�ำกับเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติ ไปพบปะพูดคุยกับประชาชน การลงพืน้ ทีเ่ ป็นการแสวงหา ความร่วมมือสร้างความใกล้ชิด สร้างความสัมพันธ์ที่ดี ระหว่างข้าราชการ และพี่น้องประชาชนอีกด้วย 50 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 50
9/1/2561 02:42:16 PM
บันทึกเส้นทางพบรองผู้ว่าราชการจังหวัด
ภารกิจเร่งด่วน
ที่ได้รับมอบหมาย ท่านผู้ว่าราชการจังหวัด มอบหมายให้ ด�ำเนินการอย่างเร่งด่วน คือการก�ำกับดูแล การด�ำเนินงานพระราชพิธี ถวายพระเพลิง พระบรมศพ พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช และการก�ำกับดูแลงาน ตามสายงานทีไ่ ด้รบั มอบหมายอย่างใกล้ชดิ และ การดูแลทุกข์ สุข ของพีน่ อ้ งประชาชนในพืน้ ที่
จากวิสัยทัศน์
สู่การพัฒนาที่ยัง่ ยืน ผมมีความภาคภูมิใจ ที่ได้มารับใช้พี่น้องประชาชนชาวจังหวัดนครศรีธรรมราช ซึ่งเป็นเมือง ทีถ่ อื ว่าทีส่ ดุ ของภาคใต้ ไม่วา่ ด้านประชากร พืน้ ทีก่ ารปกครอง ความสลับซับซ้อนของสภาพปัญหา ความหลากหลาย ของทรัพยากรธรรมชาติ และทรัพยากรมนุษย์ มีประวัติศาสตร์ การสืบทอด ประเพณีวัฒนธรรมมาอย่างยาวนาน จังหวัดนครศรีธรรมราช มีวสิ ยั ทัศน์ คือ นครแห่งอารยธรรม น่าอยู่ น่าเทีย่ ว การเกษตรและ อุตสาหกรรมยั่งยืน และจังหวัดก�ำหนดจุดยืนของการพัฒนาไว้ 3 ประเด็น เพื่อให้จังหวัดเป็น 1. เมืองสืบสานศิลปวัฒนธรรม สงบสุข น่าเที่ยว 2. เมืองเกษตร นวัตกรรม และอุตสาหกรรมสีเขียว 3. ศูนย์กลางการคมนาคมขนส่ง และกระจายสินค้าภาคใต้ ซึ่งเป็นวิสัยทัศน์และจุดยืน ที่เกิดจากการประชาคมของทุกภาคส่วนในจังหวัด ผมจะเป็น ตัวช่วย ของท่านผูว้ า่ ราชการจังหวัด ร่วมกับทุกภาคส่วนในลักษณะของประชารัฐ ช่วยกันขับเคลือ่ น ช่วยกันคิด ช่วยกันท�ำ ช่วยกันสร้างบ้าน สร้างเมืองนครศรีธรรมราช สูเ่ ป้าหมาย วิสยั ทัศน์ ทีท่ างจังหวัด และคนนครฯ ก�ำหนดไว้
ผมมีความตัง้ ใจ และภูมิใจที่ได้ร่วมกับทุกภาคส่วนภายใน จังหวัดนครศรีธรรมราช ขับเคลื่อนงานต่างๆ ไปสู่เป้าหมายที่ก�ำหนดไว้
NAKHON SI THAMMARAT 51 .indd 51
9/1/2561 02:42:17 PM
อปท. ทัง้ หมดของนครศรีฯ ได้ท�ำทุกภารกิจ ที่พึงกระท�ำแล้ว แต่อย่างไรก็ตาม การบ�ำบัดทุกข์ และบ�ำรุ งสุขให้แก่ประชาชน หรือการให้บริการ สาธารณะที่ อปท. ต้องด�ำเนินการนัน้ มีไม่สิ้นสุด
นายวิญญ์ สิทธิเชนทร์ ท้องถิ่นจังหวัดนครศรีธรรมราช
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดนครศรีธรรมราช
นายวิญญ์ สิทธิเชนทร์ ท้องถิ่นจังหวัดนครศรีธรรมราช
ความส�ำเร็จของงานใดๆ ก็ตาม คือ ความส�ำเร็จและความภาคภูมิใจรวมกันของ “ ทีมท้องถิ่นนครศรีฯ ” 52 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 52
9/1/2561 02:45:15 PM
จุดเด่นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดนครศรีธรรมราช
องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นเทศบาล อบต. 184 แห่ง และ อบจ. 1 แห่ง มีจดุ เด่นทีส่ ำ� คัญ คือ การตืน่ ตัวและการมีสว่ นร่วม ของประชาชนในการบริหารจัดการตัวเอง ซึ่งท�ำให้กระบวนการวางแผนพัฒนากิจกรรมศิลปวัฒนธรรม กิจกรรมสวัสดิการสังคมของ อปท. ภายใน จังหวัดนครศรีธรรมราชมีความโดดเด่นกว่าของหลายจังหวัด จุดเด่นดังกล่าวส่งผลให้การประเมินคุณธรรมความโปร่งใสในการด�ำเนินงานของ อปท. ทีด่ ำ� เนินการโดยมหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช เมือ่ เดือนเมษายน 2559 มีคา่ ดัชนีความปลอดภัยจากการทุจริตในการปฏิบตั งิ านคะแนน 91.09 ตัวเลขดังกล่าวสามารถสะท้อนถึงความเชือ่ มัน่ ความไว้วางใจ และภาพลักษณ์ของ อปท. ซึ่งเห็นว่าทางกายภาพแล้วทรัพยากรธรรมชาติ ผลผลิตภาคการเกษตร อุตสาหกรรมแปรรูปสินค้าการเกษตรและธุรกิจ บริการซึ่งกระจายตัวเต็มพื้นที่จังหวัดจะเป็นต้นทุนในการพัฒนานายกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนได้อย่างทั่วถึง ครอบคลุมทั้ง 184 อปท.
หลักการส�ำคัญที่ใช้ในการท�ำงาน
ส�ำนักงานท้องถิน่ จังหวัด อ�ำเภอ กับ อปท. เราเป็นทีมเดียวกัน คือ “ทีมท้องถิน่ นครศรีฯ” แต่แบ่งหน้าที่กันท�ำงาน เพราะโดยหลักแล้ว งานของ อปท. มีผู้สั่งงานอยู่ 2 กลุ่ม คือ 1. กลุม่ ผูบ้ งั คับบัญชา ผูก้ ำ� กับดูแล อปท. ตาม กฎหมาย ตั้งแต่รัฐบาล กระทรวงมหาดไทย กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น และผู้ว่า ราชการจังหวัด และ 2. กลุ่มประชาชนใน ความรับผิดชอบของ อปท. หน่วยงานทัง้ ภาครัฐ และเอกชนที่เกี่ยวข้องกับ อปท. ทั้ง 2 กลุ่มนี้ มีเป้าหมายในภาพร่วมกัน คือ ต้องการให้ อปท. สนองตอบต่อการร้องขอหรือสัง่ การของตนเอง ให้สมบูรณ์ที่สุดในทุกมิติ
เราจึงมีกติกาของทีมท้องถิ่นว่า ถ้าสั่งลงมา จากข้างบน อปท.ต้องเป็นส่วนหน้าให้สำ� นักงาน ท้องถิน่ จังหวัด ถ้าได้รบั การร้องขอจากข้างล่าง หรือข้างเคียงส�ำนักงานท้องถิน่ จังหวัดต้องเป็น ส่วนหน้าให้ อปท. เมื่อด�ำเนินการทุกอย่างได้ แล้วเสร็จ ความส�ำเร็จของงานใดๆ ก็ตาม คือ ความส�ำเร็จและความภาคภูมิใจรวมกันของ “ทีมท้องถิ่นนครศรีฯ” ดังนั้น ขั้นตอนการติดต่อสื่อสารระหว่าง จังหวัด และ อปท. ต้องสั้นและกระชับ เน้น ผลงานเป็นหลัก เช่น การติดต่องานทางธุรการ แทนที่จะมีหนังสือถึงอ�ำเภอแล้วให้อ�ำเภอท�ำ หนังสือถึง อปท. อีกทอดหนึ่ง ก็สั่งการลงไป ในฉบับเดียวกันเลย นายอ�ำเภอก็รับทราบ
ว่าอปท. ต้องท�ำอะไร อปท. ก็ปฏิบัติตาม หนังสือสั่งการได้เลย เพียงแต่การรายงานผล การปฏิบัติของอปท. ให้จังหวัดทราบต้องผ่าน นายอ�ำเภอเพือ่ ตรวจทานความถูกต้องสมบูรณ์ ของผลการปฏิบตั กิ อ่ นรายงานผูว้ า่ ราชการจังหวัด และหน่วยเหนือต่อไป โดยมีมาตรการเสริม คือ มอบหมายให้ ท ้ อ งถิ่นอ�ำเภอทุกอ� ำเภอเป็น ผู ้ แ ทนท้ อ งถิ่ น จั ง หวั ด ในการให้ ค� ำ ปรึ ก ษา แนะน�ำและเร่งรัดจาก อปท. ในลักษณะพีเ่ ลีย้ ง เครือข่ายอปท.ระดับอ�ำเภอ ผลสัมฤทธิ์ของ หลักการดังกล่าว คือ ความส�ำเร็จและความ รวดเร็วของแต่ละชิน้ งานมีมากขึน้ เมือ่ เทียบกับ ปีที่ผ่านมา NAKHONSITHAMMARAT 53
.indd 53
9/1/2561 02:45:16 PM
ความภาคภูมิใจ
ผลการด�ำเนินงานที่โดดเด่นในรอบปีที่ผ่านมา
เราได้ท�ำโครงการสร้างรายได้ให้ผู้ประสบอุทกภัยเมื่อ ต้นปี 2560 ที่มาของโครงการคือ ช่วงปลายเดือนธันวาคม 2559 เดือนมกราคม 2560 ได้เกิดอุทกภัยอย่างรุนแรงในพื้นที่จังหวัดนครศรีฯ แม้การช่วยเหลือราษฎรทั้งขณะเกิดภัยและเมื่อภัยยุติแล้วโดยส่วนราชการต่างๆ เป็นไปอย่าง ต่อเนื่อง แต่การช่วยเหลือดังกล่าวเป็นเพียงการบรรเทาความเดือดร้อนในการอุปโภคและบริโภคของแต่ละครอบครัวเท่านั้น แต่ภาระค่าใช้จ่ายอื่นๆ ในชีวิตประจ�ำวันผู้ประสบภัยไม่สามารถหารายได้มาใช้สอยในครอบครัวได้ โดนเฉพาะแรงงานภาคการเกษตรและแรงงานรับจ้างทั่วไปรายวัน ส�ำนักงานท้องถิ่นจังหวัดจึงจัดท�ำโครงการให้ อปท. ใช้จ่ายจ่ายงบประมาณของแต่ละ อปท.มาจ้างแรงงานวันละ 300 บาท เพื่อให้แรงงานกลุ่ม ดังกล่าวได้ทำ� งานฟืน้ ฟู ปรับปรุง ซ่อมแซม สิง่ สาธารณะประโยชน์ในความรับผิดชอบของ อปท. เช่น การเก็บขยะ ปรับปรุงภูมทิ ศั น์สาธารณสถาน ฯลฯ โดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จ�ำนวน 66 แห่ง ใช้จ่ายเงิน งบประมาณรวม 3,317,877 บาท มีผู้ประสบภัยได้รับเงินตามโครงการดังกล่าว จ�ำนวน 1,810 คน แม้โครงการดังกล่าวผูไ้ ด้รบั ประโยชน์มจี ำ� นวนไม่มากนักแต่เป็นกลุม่ ทีเ่ ดือดร้อนจริงๆ และเป็นโครงการทีส่ ำ� นักงานท้องถิน่ จังหวัดจัดท�ำขึน้ เอง โดยมิได้เป็นนโยบายจากราชการส่วนกลางแต่อย่างใด จึงเป็นความภาคภูมใิ จทีไ่ ด้ทำ� หน้าทีส่ ง่ เสริมให้ อปท. มีนวัตกรรมในการบรรเทาความเดือนร้อน ได้ตรงกับความต้องการของประชาชนจริงๆ อีกความภาคภูมใิ จหนึง่ คือ ส�ำนักงานท้องถิน่ จังหวัดนครศรีฯ ได้รบั การประเมินจากกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิน่ ให้เป็น “ส�ำนักงานท้องถิน่ ดีเด่น” รองชนะเลิศอันดับ 1 ซึ่งเป็นความภาคภูมิใจของบุคลากรของส�ำนักงานตนเองและเครือข่าย “ทีมท้องถิ่นนครศรีฯ” 54 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 54
9/1/2561 02:45:18 PM
แผนพัฒนา อปท. ของจังหวัดนครศรีฯ
ในปี นี้ มี จุ ด เน้ น ในเรื่ อ งส� ำ คั ญ ดั ง ต่ อ ไปนี้ คื อ 1.การพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียงท้องถิ่นตามแนวทาง ศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตเกษตร มีกจิ กรรมทีส่ ำ� คัญ คือ การรวมกลุม่ เกษตรมีกจิ กรรม ทีส่ ำ� คัญ คือ การรวมกลุม่ เกษตรกรการปรับปรุงแหล่งน�ำ้ เพือ่ การอุปโภคบริโภคและเกษตรกรรม โดยมีเป้าหมาย 2 อปท. 1.แปลงเกษตรพอเพียง 2.แผนการจัดการ ตนเอง “อปท. สะอาด” ตามนโยบายจังหวัดสะอาด กระทรวงมหาดไทย มีการรณรงค์ลดปริมาณขยะจาก ครัวเรือน การรักษาความสะอาดถนนหนทางทีส่ าธารณะ และการแปลงขยะเป็นทุนส�ำหรับเด็กและเยาวชน ในสถานศึกษา และ 3. แผนพัฒนาการมีส่วนร่วม ของประชาชนในลักษณะจิตอาสาพัฒนาท้องถิ่น ตามนโยบายรัฐบาล มีกจิ กรรมทีส่ ำ� คัญ คือ ส่งเสริมให้ อปท. พัฒนาศักยภาพของจิตอาสาทัว่ ไป เป็นจิตอาสา เฉพาะด้าน เช่น การจัดการภัยพิบัติ การดูแลผู้ด้อย โอกาสประเภทต่างๆ การถ่ายทอดภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่ ให้กับเด็กและเยาวชน ฯลฯ การท�ำงานในฐานะที่ อปท. เป็นองค์กรภาครัฐ ที่อยู่ใกล้ชิดกับประชาชนในพื้นที่มากที่สุด ผมคิดว่า อปท. ทั้งหมดของนครศรีฯ ได้ท�ำ ทุกภารกิจทีพ่ งึ กระท�ำแล้ว อย่างไรก็ตาม การบ�ำบัดทุกข์ และบ�ำรุงสุขให้แก่ประชาชน หรือการให้บริการ สาธารณะที่ อปท. ต้องด�ำเนินการนั้นมีไม่สิ้นสุด แต่รูปแบบและวิธีการอาจจะเปลี่ยนแปลงไปตาม สถานการณ์ที่เหมาะสม บุคลากรของ อปท. ต้อง ตระหนักอยู่ตลอดเวลา ว่าเราเป็นส่วนราชการของ ประชาชน รูปแบบวิธกี ารปฏิบตั งิ านของเรามีลกั ษณะ พิเศษกว่าราชการของประชาชน ทัง้ ในส่วนกลางและ ส่วนภูมภิ าค คือ เรามีฝา่ ยนิตบิ ญ ั ญัติ (ฝ่ายสภาฯ) ทีม่ ี ส่วนร่วมในความส�ำเร็จของงานและเป็นกระจกสะท้อน ความพึงพอใจของประชาชน ดังนัน้ การท�ำงานของเรา ต้องรวดเร็วมีค�ำตอบให้กับประชาชนได้ทุกขณะว่า เรื่องต่างๆ ได้ท�ำอะไรไปบ้างแล้ว จะเสร็จเมื่อใด เพราะอะไร ใคร/หน่วยข้างเคียงหรือหน่วยใดบ้าง ทีต่ อ้ งเข้ามาเกีย่ วข้อง เพราะถ้าเราตอบค�ำถามเหล่านีไ้ ด้ ภาพลั ก ษณ์ ข องบุ ค ลากรทุ ก คนใน อปท. หรื อ ภาพลักษณ์องค์กร อปท. คือ องค์กรที่นั่งอยู่ในใจ ประชาชนตลอดไป ทัง้ นี้ ขอเน้นย�ำ้ ว่า กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิน่ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น คือ ทีมเดียวกัน “ทีมท้องถิ่นไทย” NAKHONSITHAMMARAT 55 .indd 55
9/1/2561 02:45:20 PM
ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดนครศรีธรรมราช
นายจรัญ มารัตน์ ผู ้อ�ำนวยการ ส�ำนักงานพระพุ ทธศาสนา จังหวัดนครศรีธรรมราช
พระพุ ทธศาสนายิ่งยืนนาน พระพุ ทธธรรมแผ่ไพศาลธ�ำรง พระสงฆ์มุ่งสืบปณิธานพระพุ ทธศาสดา ปวงประชามีศีลธรรมน�ำสุขสันต์ เทิดสถาบันชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ยิ่งสถาพร ชาวนครพร้อมน�ำพระบรมธาตุสู่มรดกโลก 56 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 56
9/1/2561 03:13:01 PM
ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดนครศรีธรรมราช
ตั้งอยู่เลขที่ 840 ถนนราชด�ำเนิน ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง นครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช มีบุคลากรส�ำนักงาน/ ข้าราชการ 15 คน พนักงานศาสนการ 1 คน บุคลากรจ้างเหมา 4 คน รวม 20 คน พันธกิจ : ให้การอุปถัมภ์คุ้มครองพระพุทธศาสนา ส่งเสริมการเผยแผ่ หลักธรรมให้ประชาชนน�ำไปใช้ปฏิบัติให้เกิดประโยชน์ได้จริง เป้าประสงค์รวม : พระพุทธศาสนามีความมั่นคง พุทธศาสนิกชนน�ำ หลักพุทธธรรมไปปฏิบัติในวิถีชีวิต ค่ า นิ ย ม : ส่ ง เสริ ม พุ ท ธธรรมน� ำ ชี วิ ต มุ ่ ง ผลสั ม ฤทธิ์ ข องงาน มีจิตบริการ ประสานสามัคคี
กิจกรรมสวดมนต์ข้ามปี บู ชาพระบรมธาตุ
ภาพโครงการอุ ปสมบทหมู่เฉลิมพระเกียรติฯ
ยุทธศาสตร์การพัฒนา
1. พัฒนาวัดเป็นศูนย์กลางของชุมชน เพื่อให้วัดมีความเข้มแข็งในด้านการบริหาร จัดการที่ดี เป็นศูนย์กลางของชุมชน โดยมี กลยุทธ์คือ พัฒนาวัดให้มีความเข้มแข็งในการ บริหารจัดการพัฒนาบุคลากรทางพระพุทธศาสนา และสนองงานคณะสงฆ์อย่างมีประสิทธิภาพ 2. ส่ ง เสริ ม การศึ ก ษาพระปริ ยั ติ ธ รรม และเผยแผ่พระพุทธศาสนาอย่างเป็นระบบ เพื่อให้พระภิกษุสามเณรและประชาชนได้รับ การศึกษาพระปริยตั ธิ รรม น�ำธรรมไปใช้ในชีวติ
เยี่ยมสนามสอบธรรมศึกษาชั้ นตรี-โท-เอก
เป็ น พุ ท ธศาสนิ ก ชนที่ ดี โดยมี ก ลยุ ท ธ์ คื อ ส่ ง เสริ ม การจั ด การศึ ก ษาพระปริ ยั ติ ธ รรม ส่งเสริมการเผยแผ่พระพุทธศาสนาและ ปลูก จิตส�ำนึกด้านคุณธรรม จริยธรรมตามหลักธรรม ทางพระพุทธศาสนา 3. จัดประโยชน์ศาสนสมบัตกิ ลาง วัดร้าง และวัดมีพระสงฆ์ให้มีคุณภาพ 4. การพัฒนาองค์กรและบริหารกิจการ บ้ า นเมื อ งที่ ดี เพื่ อ การจั ด การภาครั ฐ ของ ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดนครศรีธฯ มี
ตรวจเยี่ยมและให้คำ� แนะน�ำการจัดท�ำบัญชี รายรับ-รายจ่ายของโรงเรียนพระปริยัติธรรม
คุณภาพและทันสมัย ให้การบริหารงานของ ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดนครศรีฯ โปร่งใส เป็นธรรม ตรวจสอบได้ ประชาชน พระภิกษุสามเณร มีความพึงพอใจในการบริการ ของส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดนครศรีฯ โดยมีกลยุทธ์คือ น�ำหลักการบริหารกิจการ บ้านเมืองทีด่ มี าใช้ในการบริหารงานส�ำนักงาน พระพุ ท ธศาสนาจั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช พั ฒ นาบุ ค ลากรให้ ส อดคล้ อ งกั บ ประเด็ น ยุทธศาสตร์ และ ด�ำเนินการตามมาตรการ การป้องกันและปราบปรามการทุจริต
ชี้ แนวเขตที่ดินของวัดร้างในจังหวัด
NAKHONSITHAMMARAT 57 .indd 57
9/1/2561 03:13:05 PM
ความภาคภูมิใจ การด�ำเนินงานที่ภาคภูมิใจ
กิจกรรมพิธเี ฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั มหาวชิราลงกรณบดินทรเทพยวรางกูร ทรงราชย์ ณ พระวิหารหลวง วัดพระมหาธาตุ วรมหาวิหาร อ�ำเภอเมืองนครศรีธรรมราช วันที่ 1ธันวาคม 2559
ภาพพิธีการวางดอกไม้จันทน์ของข้าราชการและประชาชน
พิธีเจริญชัยมงคลคาถาและ ย�่ำระฆังเนื่องในพระราชพิธีสถาปนาสมเด็จพระสังฆราช ณ พระวิหารหลวง วัดพระมหาธาตุ วรมหาวิหาร อ�ำเภอเมือง นครศรีธรรมราช วันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2560 โครงการอุปสมบทถวายเป็นพระราชกุศล แด่พระบาท สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ในโอกาสครบปัญญาสมวาร (50 วัน) กิจกรรม ระหว่างวันที่ 29 ตุลาคม - 12 ธันวาคม รวมทัง้ สิน้ จ�ำนวน 6 วัด แบ่งเป็น พระภิกษุ จ�ำนวน 184 รูป สามเณร จ�ำนวน 390 รูป และเนกขัมมะ 19 คน โครงการอุปสมบทถวายเป็นพระราชกุศล แด่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ในโอกาสครบสตสมวาร (100 วัน) ระหว่าง วันที่ 15 - 25 มกราคม 2560 รวมทั้งสิ้นจ�ำนวน 3 วัด แบ่งเป็น พระภิกษุ จ�ำนวน 105 รูป สามเณร จ�ำนวน 49 รูป จัดพิธีบ�ำเพ็ญกุศลสวดพระอภิธรรมเพื่อถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ณ พระวิหารหลวง วัดพระมหาธาตุ วรมหาวิหาร อ�ำเภอเมืองนครศรีธรรมราช เป็นเวลา 100 วัน ตั้งแต่วันที่ 14 ตุลาคม 2559 - 23 มกราคม 2560 โครงการสวดมนต์ข้ามปีบูชาพระบรมธาตุเจดีย์ ณ วัดพระมหาธาตุ วรมหาวิหารเป็นศูนย์กลางในการจัดกิจกรรมของจังหวัด พุทธศาสนิกชน เข้าร่วมกิจกรรมประมาณ 25,000รูป/คน กิจกรรมประกอบด้วย การสวดมนต์ข้ามปี บุญให้ทานไฟ และท�ำบุญตักบาตรวันปีใหม่ มีพุทธศาสนิกชน เข้าร่วมกิจกรรมจ�ำนวน 95,929 รูป/คน จากวัดในจังหวัด 619 วัด
การประชุมสวดมนต์ข้ามปี
ภาพสวดพระอภิธรรม ร.9
58 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 58
9/1/2561 03:13:07 PM
กิจกรรมมาฆบูชาแห่ผ้าขึ้นธาตุ ประจ�ำปี 2560 ณ วั ด พระมหาธาตุ วรมหาวิหาร อ� ำ เภอเมื องนครศรี ธ รรมราช และ สนามหน้าเมือง อ�ำเภอเมืองนครศรีธรรมราช โครงการหนึ่งใจ ให้ธรรมะ ได้ด�ำเนินการจัดฝึกอบรมพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม โครงการครอบครัวอบอุ่นด้วยพระธรรมเฉลิมพระเกียรติ โครงการสัปดาห์ส่งเสริมพระพุทธศาสนาเนื่องในเทศกาล วิสาขบูชา วันส�ำคัญสากลของโลก ประจ�ำปี 2560 โครงการสร้ า งความปรองดองสมานฉั น ท์ โ ดยใช้ ห ลั ก ธรรมทาง พระพุทธศาสนา “หมู่บ้านรักษาศีล 5” โครงการจัด งานสัป ดาห์ส่งเสริม พระพุทธศาสนาเนื่ อ งในเทศกาล วันอาสาฬหบูชาและวันเข้าพรรษา ประจ�ำปี 2560 เยี่ยมสนามสอบธรรมสนามหลวง ประจ�ำปี การศึกษา 2560
ภาพสวดพระอภิธรรม ร.9
สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายกเสด็จ เป็นประธานในพิธีเจริญพระพุ ทธมนต์สมโภชวัดท่าโพธิ์วรวิหาร
พิธีอัญเชิ ญผ้าพระบฎพระราชทาน วันมาฆบู ชา
มาฆบู ชาแห่ผ้าขึ้นธาตุ
ติดต่อ ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดนครศรีธรรมราช โทรศัพท์ | 0-7535-7800, 0-7535-7856
.indd 59
โทรสาร | 0-7535- 7800
อีเมล | nrt@onab.go.th NAKHONSITHAMMARAT 59 9/1/2561 03:13:10 PM
บันทึกเส้นทางพบส�ำนักงาน
เจ้าคณะจังหวัดนครศรีธรรมราช พระศรีปริยัติบดี เจ้าคณะจังหวัดนครศรีธรรมราช 60 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 60
9/1/2561 03:27:25 PM
การบริหารจัดการคณะสงฆ์ จัดในรูปทีมงาน เรียกว่า กองงานคณะสงฆ์ แต่ก่อน การสนองงานอาศัยเลขานุการรูปเดียว ปัจจุบันใช้คณะท�ำงาน เรียกว่า กองงานคณะสงฆ์ เช่น กองงานคณะสงฆ์จังหวัด ประกอบด้วย เลขาเจ้าคณะอ�ำเภอทุกเขตท�ำงานร่วมกัน เรื่องเดียวกันใช้เวลาเดียวกัน ข้อมูลต้องตรงกัน มีกิจกรรมใดๆ อาศัยกองงาน งานเสร็จ รวดเร็ว ทันเวลาอย่างมีคณ ุ ภาพ เช่น กองงานคณะสงฆ์อำ� เภอ กองงานรวบรวม ฐานข้อมูล บุคลากร วัด เริม่ บรรจุขอ้ มูลเข้าเว็บไซต์คณะสงฆ์นครศรีธรรมราช สามารถบริการข้อมูลกิจการคณะสงฆ์ ข้อมูลธรรมะ หรือเหตุการณ์ใดๆ เกี่ยวศาสนาและคณะสงฆ์ที่เกิดความสับสนเพื่อแก้ความสงสัยในสังคม ได้อย่างรวดเร็ว เหมือนมีโฆษกของคณะสงฆ์จังหวัด โดยมีระเบียบการ สาธารณูปการคณะสงฆ์จังหวัดนครศรีธรรมราช พ.ศ.2558 ดังนี้
เพื่ อ ให้ ก ารด� ำ เนิ น การเกี่ ย วกั บ การสาธารณู ป การ ได้ เ ป็ น ไป ด้วยความเรียบร้อย เกิดประโยชน์สงู สุดในการใช้ทรัพยากรซึง่ ประชาชน ได้มีศรัทธาบริจาคบ�ำรุงพระพุทธศาสนา เป็นที่ตั้งแห่งความศรัทธา เลื่อมใสของประชาชนยิ่งๆ ขึ้นไป อาศัยอ�ำนาจตามความ ในข้อ 15 (1) (2) (4) (5) แห่งกฎหมายมหาเถรสมาคม ฉบับที่ 23 (พ.ศ.2541) ว่าด้วยระเบียบการปกครองคณะสงฆ์ ออกตามความในพระราชบัญญัติ คณะสงฆ์ พ.ศ.2505 แก้ ไขเพิ่ ม เติ ม โดยพระราชบั ญ ญั ติ ค ณะสงฆ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2535 และ โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสงฆ์ จั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช เจ้ า คณะจั ง หวั ด นครศรีธรรมราช จึงออก ประกาศเพื่อให้เจ้าอาวาสทุกวัด ถือปฏิบัติดังต่อไปนี้
1. ให้วัดทุกวัด จัดท�ำแผนผังแม่บทของวัด โดยแสดงเขตพื้นที่เป็น เขตพุทธาวาส เขตสังฆาวาส เขตจัดประโยชน์ เขตฌาปนสถาน หรือ เขตใดๆ ที่จัดได้ พร้อมทั้งพิกัดที่ตั้งของอาคารต่างๆ ให้ชัดเจน 2. ให้วัดทุกวัด จัดแสดงแผนที่ตั้งของวัด โดยแสดงพิกัดเส้นทาง คมนาคม ว่าจะเข้าถึงวัดได้ โดยทางใดบ้าง แล้วรวบรวมส่งเก็บไว้ ที่ส�ำนักงานคณะสงฆ์อ�ำเภอ และส�ำนักงานคณะสงฆ์จังหวัด 3. ให้อนุรักษ์อาคารหรือสิ่งปลูกสร้าง ซึ่งมีมานาน โดยการบูรณ ปฏิสังขรณ์ ให้สมบูรณ์แข็งแรงใช้ประโยชน์ ได้ 4. การรื้อถอนอาคาร หรือสิ่งปลูกสร้าง ต้องแจ้งเจ้าคณะต�ำบล เจ้าคณะอ�ำเภอให้ความเห็นชอบ โดยให้เจ้าคณะชัน้ ต้นส�ำรวจประชามติ ให้ ได้ว่า สมควรจะรื้อถอนหรือไม่ 5. การตัดโค่นต้นไม้ยืนต้น ที่มีขนาดใหญ่และอายุมาก ต้องแจ้ง เจ้าคณะต�ำบล เจ้าคณะอ�ำเภอให้ความเห็นชอบ โดยให้เจ้าคณะชั้นต้น ส�ำรวจประชามติให้ ได้ว่า สมควรจะตัดโค่นหรือไม่ 6. การก่อสร้างอาคาร หรือสิ่งปลูกสร้างใหม่ๆ ให้เป็นไปตามแผน แม่บทในข้อ 1 ถ้าต้องใช้งบประมาณในการด�ำเนินการจ�ำนวนมาก
ให้ขอความเห็นชอบต่อเจ้าคณะผู้บังคับบัญชา ตามล�ำดับดังนี้ 6.1 ใช้งบประมาณด�ำเนินการไม่เกินหนึง่ ล้านบาท ขอความเห็น ชอบเจ้าคณะต�ำบล พร้อมทัง้ แสดงแบบแปลนสิง่ ปลูกสร้าง และสัญญา ในการจัดจ้าง 6.2 ใช้งบประมาณด�ำเนินการ เกินหนึ่งล้านบาท แต่ไม่เกิน สามล้านบาท ขอความเห็นชอบเจ้าคณะอ�ำเภอ พร้อมทั้งแสดง แบบแปลนสิ่งปลูกสร้าง และสัญญาในการจัดจ้าง 6.3 ใช้งบประมาณด�ำเนินการ เกินสามล้านขึน้ ไป ขอความเห็น ชอบต่ อ คณะกรรมการสงฆ์ จั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช พร้ อ มทั้ ง แสดงแบบแปลนสิ่งปลูกสร้าง และสัญญาในการจัดจ้าง 6.4 เมื่ อ ได้ ด� ำ เนิ น การตามขั้ น ตอน และได้ รั บ อนุ ญ าตให้ ด� ำ เนิ น การเป็ น หนั ง สื อ จากเจ้ า คณะหรื อ คณะกรรมการสงฆ์ จังหวัดแล้ว จึงจะด�ำเนินการต่อได้ 7. เจ้าอาวาสในฐานะพระสังฆาธิการ ผู้ฝ่าฝืนประกาศนี้ ย่อมมี ความผิด ฐานละเมิดจริยาพระสังฆาธิการ
ประกาศ ณ วันที่ ๒๗ เดือน ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๕๘ NAKHON SI THAMMARAT 61
.indd 61
9/1/2561 03:27:31 PM
นายมาโนช อมรนิ มิ ต ร เมื่ อ คนเมื อ งเพชร รั ก ขนอม ชวนเที่ ย วเมื อ งคอนฯ
62 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย 2.indd 62
9/1/2561 03:58:23 PM
ความประทับใจแรกจนถึงวันนี้ สภาพแวดล้อม ภูมิอากาศ ของสถานที่ท�ำงานดีมากๆ ที่ส�ำคัญ ความมีอัธยาศัยไมตรีของเพื่อนร่วมงาน และชาวบ้าน ซึ่งให้การ ต้อนรับ ให้เกียรติ เป็นกันเอง และช่วยเหลือซึง่ กันและกันดีมาก รวมทัง้ แหล่งท่องเทีย่ วซึง่ ยังคงเป็นธรรมชาติ ทัง้ ป่าเขา ทะเล ถ�ำ ้ น�ำ้ ตก ป่าชาย เลน อาหารการกิน สมบูรณ์พร้อม สมกับค�ำขวัญอ�ำเภอขนอมที่ว่า “ ขนอมพร้อมมูล เทิดทูลคุณธรรม ถ�้ำสวย รวยชายหาด น�้ำตกหินลาด พระธาตุปะการัง ป่าเขาทะเล คือเสน่ห์ของขนอม ”
อ�ำเภอขนอมมีด้วยกัน 3 ต�ำบล ได้แก่ ต�ำบลขนอม ต�ำบลท้อง เนียน และต�ำบลควนทอง ในต�ำบลขนอมมีหาดทรายทีส่ วยงามยืน่ และ ทอดยาวต่อเนื่องไปตามแนวชายทะเล ระยะทางเป็นสิบกิโลเมตร มี โรงแรมและรีสอร์ทรองรับนักท่องเทีย่ วไปตลอดแนว ชาดหาดทีท่ อ่ งเทีย่ ว หลัก เช่น หาดคอเขา หาดหน้าด่าน หาดในเภา เป็นต้น นอกจากนี้ยัง มีนำ�้ ตกหินลาด และเนินเทวดา เนินนางฟ้า ซึ่งได้ปรับปรุงเป็นแหล่ง ท่องเที่ยวเพิ่มเพื่อชมวิวโดยรอบ
ส�ำหรับต�ำบลท้องเนียน เป็นที่ตั้งโรงไฟฟ้าขนอม และ โรงแยกก๊าซธรรมชาติ (ปตท.) ซึ่งเป็นแหล่งผลิตพลังงานส�ำคัญของภาคใต้ ยังมี ชายหาดทรายสวยงามที่ไม่ยาวมากนักมีลักษณะเป็นอ่าว เช่น อ่าวท้องชิง แขวงเภา ท้องโหนด แหลมประทับ เป็นต้น อ่าวต่างๆ ที่กล่าวมานี้ มีท่าเรือที่นักท่องเที่ยวใช้ลงเรือออกไปชมปลาโลมาสีชมพู ซึ่งมีชื่อเสียงเป็นอันดับหนึ่งของอ�ำเภอขนอม เมื่อนั่งเรือออกไป ยังแหล่งที่ปลาโลมาสีชมพูอาศัยอยู่ เรือที่น�ำไปจะแวะให้ขึ้นนมัสการหลวงปู่ทวดบนเกาะนุ้ย ซึ่งบริเวณที่ฐานของเกาะนี้มีบ่อน�้ำขนาดกว้าง ยาว 2 ฟุต โดยประมาณ มีน�้ำจืดไหลออกมาอยู่ตลอดเวลา ตามต�ำนานเล่าขานกันว่าในอดีตกาล หลวงปู่ทวดได้เดินทางโดยเรือผ่านมา และได้ประทับรอยเท้าไว้ ที่ฐานเกาะแห่งนี้ ท�ำให้น�้ำทะเลในบ่อนี้กลายเป็นน�้ำจืดเป็นต้นมา เพื่อให้ชาวประมง หรือผู้เดินทางผ่านมาได้ใช้ดื่มกินแก้กระหายน�้ำ เชื่อกันว่าเป็น อภินิหารของหลวงปู่ทวดเหยียบน�้ำทะเลจืด อีกแหล่งท่องเทีย่ วหนึง่ ทีจ่ ะขาดไม่ได้คอื การได้ขนึ้ ไปนมัสการเจดียป์ ะการัง(วัดจันทน์ธาตุทาราม) เป็นเจดียท์ ำ� ขึน้ จากหินปะการังทัง้ องค์เจดีย์ เป็น องค์เดียวในประเทศไทย อายุประมาณเกือบพันปี ต�ำบลควนทองเป็นต�ำบลที่ไม่มีพื้นที่ติดทะเล ที่ดินอุดมสมบูรณ์ ชาวบ้านส่วนใหญ่ประกอบอาชีพท�ำสวนยาง และสวนผลไม้ตา่ งๆ จะขอแนะน�ำ แหล่งท่องเที่ยวคือ ถ�้ำเขาวังทอง ที่ถ�้ำนี้จะมีหินงอก หินย้อยสวยงามมาก NAKHON SI THAMMARAT 63 2.indd 63
9/1/2561 03:58:25 PM
เลิศรสอาหารพื้นบ้าน
กุ้ ง เคย อ� ำ เภอขนอม
น�้ำพริกกะปิเลยครับ เพราะกะปิอ�ำเภอขนอม ของแท้ท�ำจากกุ้งเคยที่จับได้จากบริเวณชายหาด ทะเลอ�ำเภอขนอมโดยไม่ปนอย่างอืน่ รสชาติจงึ อร่อยมาก แต่เนื่องจากกุ้งเคยเข้าปีละ 1-2 ครั้ง จึงหาได้ใน ปริ ม าณไม่ ม ากนั ก ใช้ บ ริ โ ภคตลอดปี ภ ายใน อ�ำเภอขนอมก็ไม่คอ่ ยจะเพียงพอ จึงไม่ได้ผลักดันเป็น สินค้า OTOP จึงขอแนะน�ำยอดผักคราม ซึ่งเป็นผัก พื้นบ้านที่ขึ้นบริเวณป่าชายเลนอ่าวท้องเนียน น�ำมา ลวกจิม้ กินกับน�ำ้ พริกกะปิ แล้วก็ยงั มีแกงคัว่ กะทิปเู ปรีย้ ว แกงหอยจุ๊บแจง ซึ่งมีรสชาติเข้มข้น จัดจ้านสไตล์ อาหารปักษ์ใต้ อร่อยมากๆ
ขนอมในความทรงจ�ำ
หอยจุ ๊ บ แจง
Photo by Wongnai
วัดประจ�ำใจ
วัดจันทน์ธาตุทาราม เป็นวัดที่ตั้งเจดีย์ ปะการั ง ซึ่ ง เป็ น สิ่ ง ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ที่ ช าวขนอม สักการบูชา อีกทั้งอดีตเจ้าอาวาสวัดจันทน์ฯ ซึง่ เป็นเจ้าคณะอ�ำเภอขนอม “พระครูไพโรจน์ คณาภิบาล” ท่านเป็นพระนักพัฒนานอกจาก พัฒนาวัดให้เจริญรุง่ เรืองแล้ว ท่านยังได้พฒ ั นา ด้านอืน่ ๆ เช่น ก่อสร้างส�ำนักสงฆ์ วัด ปรับปรุง ท�ำถนนในพืน้ ทีต่ ำ� บลท้องเนียนเพือ่ ให้ชาวบ้าน ทั่วไปได้ใช้สัญจรอย่างสะดวกสบาย ก่อตั้ง โรงเรียนวัดท่าจันทน์ โรงเรียนท้องเนียนคณาภิบาล มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคลศรี วิ ชั ย เป็นต้น ท่านเป็นทีเ่ คารพนับถือของประชาชนชาว อ�ำเภอขนอมเป็นอย่างมาก อีกทั้งท่านได้ให้ ความเมตตาท� ำพิธีต ่างๆ ให้ก ระผมมาโดย ตลอด ตั้งแต่งานมงคลสมรส งานท�ำบุญขึ้น บ้านใหม่ เจิมบ้าน เจิมรถ และอื่นๆ เป็นต้น อีกทั้งยังได้ไว้ว างใจมอบหมายให้ช่วยคณะ กรรมการดูแลด้านงบประมาณการเงินของวัด ซึ่งปัจจุบันท่านมรณภาพไปแล้ว แต่คุณงาม ความดีของท่านยังอยูใ่ นใจของชาวขนอมเสมอ
เมื่อตอนที่มาถึงปี พ.ศ.2524 อ�ำเภอขนอมเป็นอ�ำเภอเล็กๆ และเป็นเมืองปิดไม่ใช่ทาง ผ่าน ต้องตั้งใจที่จะเดินทางเข้ามาจริงๆ โดยระยะทางแยกจากถนน สายสุราษฎร์ธานีนครศรีธรรมราช เข้ามาถึงตัวอ�ำเภอประมาณ 17 กิโลเมตร ประชากรยังไม่มาก สภาพแวดล้อม และการด�ำรงชีพยังคงเป็นธรรมชาติ โทรศัพท์บ้านก็ยังไม่มี ส่วนไฟฟ้าและน�้ำประปา ก็ยัง กระจายไปไม่ทั่วถึงทุกหมู่บ้าน หลายหมู่บ้านยังคงใช้ตะเกียงน�้ำมันก๊าด เพื่อเป็นแสงสว่างใน ยามค�ำ่ คืน ไม่นา่ เชือ่ ว่าจะมีแหล่งผลิตพลังงานขนาดใหญ่ในภาคใต้ตงั้ อยู่ และรายได้ประชากร ต่อหัวในปัจจุบันสูงเป็นอันดับต้นๆ ของจังหวัดนครศรีธรรมราช วั ด จั น ทร์ ธ าตุ ท าราม
Photo by Wikimedia
ครอบครัวและการงานอันเป็นที่รักยิ่ง ผมสมรสกับภรรยาซึ่งเป็นคนขนอมโดยก�ำเนิด ก่อสร้างบ้านพักอาศัยอย่างถาวร และได้ รับความไว้วางใจเป็นที่ยอมรับนับถือจากญาติพี่น้องและชาวบ้านในพื้นที่ ด้วยหน้าที่การงานในหน่วยงานที่ถือว่ามีชื่อเสียงและมั่นคง ผลตอบแทนการท�ำงานทั้ง เงินเดือนและสวัสดิการถือได้วา่ ดีมาก ผมสามารถอยูป่ ฏิบตั งิ านไปได้ตลอดจนเกษียณอายุ การ ที่ได้อยู่ปฏิบัติงานใช้ชีวิตประจ�ำวันทั้งส่วนตัว และความรับผิดชอบครอบครอบครัวมานาน ประมาณ 36 ปี ซึ่งมากกว่าภูมิล�ำเนาเกิดอีก จึงกลายเป็นความผูกพันที่จะต้องอยู่ที่ขนอมนี้ ต่อไป อย่างไรก็ตามยังคิดถึงบ้านเกิดและเพื่อนๆ จังหวัดเพชรบุรีเสมอ
64 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย 2.indd 64
9/1/2561 03:58:29 PM
เกษียณอย่างมีความสุข ในส่วนตัวของผมเมื่อเกษียณแล้ว ก็ต้อง เกษียณจริงๆ หยุดท�ำงานไม่ยุ่งเกี่ยวอีกต่อไป โดยต้ อ งจั ด สรรและมี วิ นั ย การใช้ จ ่ า ย อย่างเคร่งครัด โดยการแบ่งรายได้ ทรัพย์สิน ทีม่ อี ยูเ่ ป็นส่วนๆ เพือ่ เป็นรายจ่าย เช่นรายจ่าย ในชีวิตประจ�ำเดือน ค่ารักษาพยาบาล พบปะ สังสรรค์เพื่อน ท่องเที่ยว เป็นต้น นอกจากการจัดท�ำประกันภัยชีวิต และ สุ ข ภาพไว้ ส ่ ว นหนึ่ ง แล้ ว ต้ อ งสั ง เกตความ เปลี่ยนแปลงของร่างกาย และอาการผิดปกติ ไปพบปรึ ก ษาตามที่ ห มอนั ด เป็ น ประจ� ำ ออกก�ำลังกายตามความเหมาะสม ทีส่ ำ� คัญคือ ท�ำจิตใจให้รา่ เริงแจ่มใสอยู่ตลอด ใช้ ชี วิ ต สงบเรี ย บง่ า ยอยู ่ กั บ บ้ า นและ ครอบครัว เข้าวัดท�ำบุญตามอัตภาพ พบปะ สังสรรค์เพื่อนๆ เป็นประจ�ำ หวังว่าจะได้ไป ท่ อ งเที่ ย วครบทุ ก จั ง หวั ด ในประเทศไทย สุ ด ท้ า ยที่ ห วั ง คื อ ไม่ มี โรคภั ย ไข้ เจ็ บ ร้ า ยแรง จนกระทั่งต้องเป็นคนไข้ติดเตียง
การท� ำ งานนั้ น จะต้ อ งรู ้ สิ ท ธิ และหน้าที่ พร้อมตั้งใจปฏิบัติ ให้บรรลุในหน้าที่การงานนั้นๆ ด้ ว ยความถู ก ต้ อ ง และด้ ว ย ความซื่ อ สั ต ย์ สุจ ริ ต
NAKHON SI THAMMARAT 65 2.indd 65
9/1/2561 03:58:31 PM
สภาอุตสาหกรรม จังหวัดนครศรีธรรมราช พัฒนาอุตสาหกรรม เพิ่มมูลค่าการผลิต เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม อย่างยั่งยืน ตั้งอยู่ | ณ บ้านเลขที่ 87 หมู่ที่ 9 ต�ำบลนาเคียน อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช สภาอุตสาหกรรมจังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นองค์กรไม่แสวงหา ผลก�ำไร สถาปนาเป็นสภาอุตสาหกรรมจังหวัดฯ ตัง้ แต่วนั ที่ 16 กันยายน 2538 ตามพระราชบัญญัตสิ ภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย พ.ศ.2530 ซึง่ เป็นนโยบายของรัฐทีต่ อ้ งการพัฒนาสถาบันธุรกิจภาคเอกชนของไทย ให้แข็งแกร่ง อันจะท�ำให้กลไกการพัฒนาในภาคอุตสาหกรรมเป็นไปอย่าง ต่อเนือ่ ง สามารถประสานกับการพัฒนาเศรษฐกิจของจังหวัด และพิทกั ษ์ ผลประโยชน์ของชาติในวงการเศรษฐกิจโลก การให้ บ ริ ก ารแก่ ส มาชิ ก และผู ้ ป ระกอบการ ออกใบรั บ รอง แหล่งก�ำเนิดสินค้าออนไลน์ (E-C/O) ออกรหัสบาร์โค้ด หรือรหัสแท่ง จัดอบรม/ สัมมนา เกีย่ วกับกฎหมายทีบ่ งั คับใช้สำ� หรับสถานประกอบการ เพื่อให้ด�ำเนินการอย่างถูกกฎหมาย มีบทบาทที่ทุกระดับเชื่อถือ ได้รับ การยอมรับทัว่ ไป ในฐานะตัวแทน ภาคอุตสาหกรรม ท�ำหน้าทีป่ ระสานงาน ระหว่างภาคเอกชนและภาครัฐบาล บทบาทที่สำ� คัญ อาทิ ร่วมเป็นกรรมการในคณะกรรมการร่วมภาค รัฐบาลและเอกชนเพื่อแก้ไขปัญหาทางเศรษฐกิจ หรือ กรอ., มีส่วนร่วม
นายสุทิน พรชัยสุรีย์ ประธานสภาอุตสาหกรรมจังหวัดนครศรีธรรมราช วาระปี 2559 - 2561
ดูแลส่งเสริมและวางแผน รวมทั้งน�ำเสนอปัญหาและแนวทางแก้ไข ทีส่ อดคล้องเหมาะสม ต่อภาครัฐบาล อันจะน�ำสูก่ ารก�ำหนดนโยบาย หรือ การปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย ระเบียบวิธกี ารปฏิบตั ติ า่ งๆ ให้มปี ระสิทธิภาพ และเอื้อประโยชน์ต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมและเศรษฐกิจโดยรวมของ จังหวัด ปัจจุบนั มีสมาชิก ประกอบด้วยกลุม่ อุตสาหกรรมหลักๆ มากมาย
66 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 66
9/1/2561 04:02:57 PM
บริษัท เขามหาชัยพาราวู้ด จ�ำกัด
KHAOMAHACHAI PARAWOOD CO., LTD.
บริษัท เขามหาชัยพาราวู้ด จ�ำกัด
KHAOMAHACHAI PARAWOOD CO., LTD.
เลขที่ 13/3 ม.5 ต.นาทราย อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช 80280 TEL | (6675)-377507-8 FAX | (6675)-377511-2 Website | www.woodkmp.com ผลิต&จ�ำหน่าย ไม้ยางพาราแปรรูปอบแห้ง We are Manufacture of :
A. B. C. D.
ROUGH SAWN KILN DRIED TIMBER RUBBER WOOD (THAILAND) SEMI - FURNISHED LAMINATION BOARDS (FINGER / BUTT JOINT) JAPANESE SEMI - FURNISHED PRODUCTS FOR BUILDING MATERIALS. NAC - WOOD (NON - ADDITION CHEMICAL WOOD)
NAKHONSITHAMMARAT 67 .indd 67
9/1/2561 04:06:26 PM
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช “ เรียนรู้แบบมีชีวิตชีวา เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน ”
68 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 68
9/1/2561 05:54:42 PM
NAKHON SI THAMMARAT 69 .indd 69
9/1/2561 05:54:43 PM
มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ นครศรี ธ รรมราช คื อ สถาบั น อุ ด มศึ ก ษาที่ เ ป็ น รากฐานส� ำ คั ญ ในการผลิ ต ทรัพยากรบุคคลให้มีคุณภาพ เพื่อเป้าหมายในการพัฒนาท้องถิ่นและประเทศชาติอย่างยั่งยืน และเป็น สถาบันอุดมศึกษาที่มีชื่อเสียงมานานกว่า 60 ปี ปัจจุบันเปิดสอนทั้งในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก รวม 6 คณะวิชา กว่า 57 สาขาวิชา
60 ปี แห่งความมุ่งมั่น มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ นครศรี ธ รรมราช เป็ น สถาบันอุดมศึกษาที่ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ.2500 แรกเริ่ม มีฐานะเป็น “โรงเรียนฝึกหัดครู” ครั้น พ.ศ. 2547 มีฐานะเป็น “มหาวิทยาลัย” ท�ำหน้าทีผ่ ลิตก�ำลังคน ออกสูส่ งั คม และเป็นก�ำลังส�ำคัญในการพัฒนาประเทศ ในบทบาทการเป็น “สถาบันอุดมศึกษาเพื่อการ พัฒนาท้องถิน่ ” ซึง่ มีบทบาทหลักคือการผลิตบัณฑิต ทั้งระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก ควบคูก่ บั การวิจยั สร้างองค์ความรู้ การบริการวิชาการ และการท�ำนุบ�ำรุงศิลปวัฒนธรรมของท้องถิ่นและ ของชาติ ปั จ จุ บั น มหาวิ ท ยาลั ย สามารถรองรั บ การเรียนการสอน และการบริหารจัดการได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ด้วยหลากหลายสาขาวิชาที่โดดเด่น ทุกหลักสูตรการศึกษาเรียนรู้แบบมีชีวิตชีวา มุ่งเน้น การปฏิบตั จิ ริง สูก่ ารพัฒนาอย่างยัง่ ยืน น�ำคุณก้าวสู่ ความส�ำเร็จด้วยอาจารย์ทที่ รงคุณวุฒทิ เี่ ปีย่ มไปด้วย ประสบการณ์และองค์ความรู้ ตลอดจนบุคลากร ที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน 70 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 70
9/1/2561 05:54:43 PM
6 คณะ 57 สาขาวิชา
เพื่อพัฒนาสังคม
คณะวิชาทีร่ บั ผิดชอบในการสร้างก�ำลังคนออกรับใช้ และพัฒนาสังคมมี 6 คณะ ประกอบด้วย 1. คณะครุศาสตร์ เน้นการผลิตก�ำลังคน ด้านวิชาชีพครู เป็นศูนย์การเรียนรูว้ ชิ าการศึกษา และเป็นผูน้ ำ� การพัฒนาทางด้านการศึกษา เปิดสอน ทัง้ ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท และระดับ ปริญญาเอก จ�ำนวน 17 สาขาวิชา 2. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ เน้น การผลิตก�ำลังคนสูป่ ระชาคมแห่งการเรียนรู้ เป็นเลิศ ทางศิลปวัฒนธรรม สร้างสรรค์องค์ความรูม้ งุ่ สูช่ มุ ชน บนพืน้ ฐานแห่งภูมปิ ญ ั ญา เพือ่ การพัฒนาทีย่ งั่ ยืน ปัจจุบันเปิดสอนระดับปริญญาตรี จ�ำนวน 13 สาขาวิชา 3. คณะวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี เน้ น การผลิ ต ก� ำ ลั ง คนด้ า นวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ วิทยาศาสตร์ประยุกต์ที่มีคุณภาพตามมาตรฐาน วิ ช าการและวิ ช าชี พ เรี ย นรู ้ แ ละปฏิ บั ติ จ ริ ง ด้วยเครื่องมืออันทันสมัย ปัจจุบันเปิดสอนระดับ ปริญญาตรี และระดับปริญญาโท จ�ำนวน 12 สาขาวิชา 4. คณะวิทยาการจัดการ เน้นการผลิตก�ำลังคน ให้เป็นผู้น�ำทางด้านการบริหารจัดการที่มีความรู้ และคุณธรรม ปัจจุบันเปิดสอนระดับปริญญาตรี และระดับปริญญาโท จ�ำนวน 9 สาขาวิชา 5. คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม เน้นการ ผลิตก�ำลังคนเป็นนักปฏิบัติที่มีคุณภาพคุณธรรม เป็นผูน้ ำ� ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม และเป็นศูนย์กลางแห่งการเรียนรู้แห่งภูมิภาค ปัจจุบันเปิดสอนระดับปริญญาตรี และระดับ ปริญญาโท จ�ำนวน 6 สาขาวิชา 6. บัณฑิตวิทยาลัยเน้นการผลิตมหาบัณฑิต และดุษฎีบัณฑิตหลายสาขาวิชา โดยใช้บุคลากร ผูท้ รงคุณวุฒจิ ากสถาบันการศึกษาทีม่ ชี อื่ เสียง มา ร่ ว มกั น ผลิ ต กั บ คณาจารย์ ป ริ ญ ญาเอกที่ มี ประสบการณ์การผลิตก�ำลังคนมาแล้วหลายรุ่น ขณะเดียวกัน มหาวิทยาลัยได้มีการจัดตั้ง “โรงเรียนสาธิต” เปิดสอนตั้งแต่ระดับบริบาล ระดับอนุบาล ระดับประถมศึกษา โดยผู้บริหาร และครูผม้ ู ปี ระสบการณ์มายาวนานกว่าสามทศวรรษ โรงเรียนนีย้ งั เป็นทัง้ ทางเลือกของผูป้ กครอง และ เป็นแหล่งฝึกประสบการณ์วชิ าชีพครูของนักศึกษา คณะครุศาสตร์ที่สมบูรณ์แบบ NAKHON SI THAMMARAT 71 .indd 71
9/1/2561 05:54:45 PM
โอกาสแห่งการเรียนรู้ที่ไม่สิ้นสุด นอกจากการจั ด การเรี ย นการสอนที่ มี คุ ณ ภาพ และเป็ น ไปตามเกณฑ์ ม าตรฐานแล้ ว มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ นครศรี ธ รรมราช ยั ง ให้ ค วามส� ำคั ญถึ ง การสร้ า งโอกาสทางการศึกษา แก่นกั ศึกษาทีข่ าดทุนทรัพย์ ด้วยการสนับสนุนทุนการศึกษา ด้วยสภาพแวดล้อมทางกายภาพและ ทรัพยากรแห่งการเรียนรูท้ คี่ รบครัน มีสงิ่ อ�ำนวยความสะดวก เช่น หอสมุดทีเ่ ป็นเสมือนแหล่งรวม ความรูใ้ นศาสตร์ตา่ งๆ ห้องปฏิบตั กิ ารคอมพิวเตอร์ทพี่ ร้อมให้บริการ ห้องปฏิบตั กิ ารเพือ่ ฝึกทักษะ ทางวิชาชีพตามศาสตร์ รวมทัง้ บุคลากรทีม่ คี วามเชีย่ วชาญในแต่ละสาขา พร้อมทีจ่ ะเสริมสร้างความรู้ ประสบการณ์และหล่อหลอมให้นักศึกษามีความรู้ความเชี่ยวชาญทั้งด้านความรู้และเทคโนโลยี เรียงร้อยทุกความต้องการไว้ในหนึ่งเดียวที่มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
โอกาสแห่งการเรียนรู้ที่ ไม่สิ้นสุด 72 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 72
9/1/2561 05:54:49 PM
ส่งเสริม “ ศาสน์และศิลป์ ” เพื่อสันติสุข การท�ำนุบ�ำรุงศิลปวัฒนธรรม ถือเป็นพันธกิจส�ำคัญประการหนึ่งของสถาบันอุดมศึกษา ด้วยการเป็นทีพ่ งึ่ และชีน้ ำ� สังคมด้านการศึกษา ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม และประวัตศิ าสตร์ทอ้ งถิน่ บทบาทนี้เป็นบทบาทที่โดดเด่นของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราชตั้งแต่เมื่อครั้งยังเป็น วิทยาลัยครูจวบจนปัจจุบันอย่างต่อเนื่องและมุ่งมั่น จนกลายเป็นจุดเด่นซึ่งได้รับการยอมรับ จากสังคม ถือเป็นผู้น�ำในระดับท้องถิ่น ระดับภาค และระดับประเทศตลอดมา ใน พ.ศ. 2555 ตรงกับวาระพุทธชยันดี 2,600 ปีแห่งการตรัสรู้ของพระพุทธองค์ ด้วยความ ตระหนักในคุณค่าและความส�ำคัญของการท�ำนุบำ� รุงพระพุทธศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรมเช่นนี้ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราชจึงจัดสร้าง “พระพุทธสิหงิ ค์” ขนาดใหญ่ทสี่ ดุ ในประเทศไว้ เพื่อเป็นปูชนียสถาน ขณะเดียวกันมหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราชก็ได้เป็นก�ำลังส�ำคัญ ในการน�ำเสนอวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร จังหวัดนครศรีธรรมราช ร่วมกับจังหวัดนครศรีธรรมราช และกรมศิลปากร เพือ่ ขึน้ บัญชีเป็น “มรดกโลก” เมือ่ พ.ศ. 2555 ซึง่ ในทีส่ ดุ องค์การศึกษาวิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) ในคราวประชุมครัง้ ที่ 37 เมือ่ เดือนมิถนุ ายน 2556 ก็มีมติรับวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหารขึ้นบัญชีเบื้องต้น (Tentative List) เป็นมรดกโลก ทางวัฒนธรรมแล้ว
การสร้างพระพุทธสิหิงค์มิ่งมหาชัย ก็ดี การน�ำวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร เข้ า สู ่ บั ญ ชี ม รดกโลกก็ ดี ล้ ว นเป็ น สิ่งที่สะท้อนถึงเจตนารมณ์หลักของ มหาวิทยาลัยทีจ่ ะเสริมส่งให้นกั ศึกษา และคณาจารย์ ตลอดถึงพุทธศาสนิกชน ตระหนั ก ถึ ง วิ ถี ชี วิ ต การอยู ่ ร ่ ว มกั น อย่างมีความสุข สันติสขุ ตามวัฒนธรรม ของมนุษย์ และวิถีทาง วิถีธรรมของ พระพุทธศาสนา ให้พร้อมทีจ่ ะเลือกสรร รูปแบบชีวิตและสังคม ซึ่งมีพลวัต ตลอดเวลา ให้รเู้ ท่าทันการเปลีย่ นแปลง อย่างมีปญ ั ญา ดัง่ ค�ำสอนพระพุทธองค์ ผู้ทรงอันประเสริฐสืบไปชั่วชีวิต
2015
รางวัลแห่งความภาคภูมิใจ
2016
ทีม NSTRU ECO-RACING จากมหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช คว้ารางวัลชนะเลิศสองปีซ้อน ในการแข่งขัน เชลล์อีโค่-มาราธอน เอเชีย ที่ประเทศฟิลิฟปินส์ ประเภทรถยนต์ต้นแบบแห่งอนาคต ด้วยเชื้อเพลิงแบตเตอรรี่ และรางวัลการออกแบบรถยนต์ยอดเยี่ยมประจ�ำปี 2016 ซึ่งเป็นครั้งแรกที่ประเทศไทยที่ได้รับรางวัลนี้ NAKHON SI THAMMARAT 73 .indd 73
9/1/2561 05:54:54 PM
โรงเรียนนครพัฒนาบริบาล คุณธรรมน�ำวิชาการ สู่การดูแลด้วยหัวใจ มิใช่
แค่เรียนในห้องเรียนทีพ่ ร้อมด้วยอุปกรณ์จริง เพียงเท่านั้น น้องๆ นักศึกษายังได้ออกดูงานในสถานที่จริง เช่น ศูนย์พึ่งพิง รพ.ศูนย์แม่และเด็ก โรงพยาบาลนครพัฒน์ ต่างๆ อีกด้วย โรงเรียนนครพัฒนาบริบาล สอนโดยอาจารย์ผู้สอนที่มี ประสบการณ์ทงั้ อดีตอาจารย์พยาบาลและหัวหน้าพยาบาล อดี ต พยาบาลวิ ช าชี พ ช� ำ นาญการพิ เ ศษ รพ.มหาราช นครศรีธรรมราช, หัวหน้าพยาบาล รพ.นครพัฒน์ และ ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางอีกหลายท่าน
74 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 74
10/1/2561 17:11:29
อยูใ่ นความควบคุมของกระทรวงศึกษาธิการ ตัง้ อยูท่ ี่ ซอยไทย สมบูรณ์ ถ.พัฒนาการคูขวาง บริหารงานโดย ดร. เครือมาศ เพชรชู อดีตอาจารย์พยาบาล ผู้มีประสบการณ์ด้านการเรียนการสอน เฉพาะทางสาขาพยาบาลนานาชาติ ผู้ป่วยวิกฤติ ผู้เชี่ยวชาญ การดูแลเด็กและผู้สูงอายุมานานกว่า 30 ปี นอกจากนี้ยังมีที่ ปรึกษาผู้ที่มีความรู้ความสามารถ เช่น นพ. อิสระ หัสดินทร์ ประธานกรรมการบริหาร รพ.นครพัฒน์ นพ. พรชัย ลีลานิพนธ์ ผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลนครพัฒน์ และรองประธานหอการค้า จังหวัดนครศรีธรรมราช โรงเรียนนครพัฒนาการบริบาล เปิดท�ำการเรียนการสอน เข้าสูป่ ที ี่ 3 มีหลักสูตรต่างๆ มากมาย เช่น หลักสูตรการดูแลผูส้ งู อายุ และเด็ ก เล็ ก ระยะสั้ น 6 เดื อ น และหลั ก สู ต รผู ้ ช ่ ว ยงานใน โรงพยาบาล สามารถท�ำงานในโรงพยาบาลรัฐ เอกชน คลินิก สถานเสริมความงาม ผูช้ ว่ ยเภสัชฯ หลักสูตรการดูแลผูส้ งู อายุ,หลักสูตร การดูแลเด็กเล็ก ภาคทฤษฎี 3 เดือน ภาคปฏิบัติ 3 เดือน ติดต่อ โทร 075-809-789,081-891-6625 www.npcare2016.com facebook : นครพัฒนาการบริบาลนครศรีธรรมราช จบแล้วมีงานท�ำแน่นอน ในโรงพยาบาลของรัฐและเอกชน ทั่วประเทศ
NAKHONSITHAMMARAT 75 .indd 75
10/1/2561 17:11:49
เปิดแล้ว
โรงเรียนสอนการอาชีพเรือส�ำราญและ การโรงแรมนครศรีธรรมราช รายได้ดี เที่ยวฟรีทั่วโลก รับสมัคร นักเรียนหรือบุคคลทั่วไปเข้าเป็นนักเรียน เพื่อไปท�ำงานด้านบริการ บนเรือส�ำราญระดับโลก เราจะดูแลคุณจนกว่าคุณจะได้งานไม่ว่าจะ เป็นงานบนเรือส�ำราญหรืองานในโรงแรมระดับ 4-5 ดาว จ่ายเพียง 59,000.- บาท
พร้ อ ม
สวัสดิการฟรีมากมาย อาทิ ชุดเรียนฟรี (เสื้อขาวกรมการท่าฯ , เสื้อโปโล ขาว , เสื้อโปโล ด�ำ , เสื้อสูทสีเทา) หอพักฟรี ตลอดการเรียน (แยกชายหญิง) หนังสือเรียน พร้อมอุปกรณ์ ห้ อ งเรี ย นแบบปฏิ บั ติ ก ารที่ ทั น สมั ย Wifi ฟรี 24 ชั่ ว โมง (ฟรี ) คอร์สเรียนภาษาอังกฤษ (ฟรี) คอร์สเรียนบุคลิกภาพ (ฟรี) กิจกรรม ทั ศ นศึ ก ษาดู ง านโรงแรมระดั บ 5 ดาว ท่ อ งเที่ ย ว ทั ศ นศึ ก ษา (เลี้ยงจบอ�ำเภอขนอม 3 วัน 2 คืน) (ฟรี) และอื่นๆ อีกมากมาย คุณสมบัตกิ ารสมัคร ; ส�ำเร็จการศึกษาระดัยมัธยมศึกษาชัน้ ปีที่ 6 / ปวช./ ปวส./ ปริญญาตรี หรือเทียบเท่า ไม่จำ� กัดสาขาวิชา มีความสูง หญิง ไม่ตำ�่ กว่า 150 เซนติเมตร ชาย ไม่ตำ�่ กว่า 155 เซนติเมตร มีอายุ ระหว่าง 19 – 33 ปี เป็นผูม้ คี วามประพฤติดี ไม่เป็นโรคติดต่อร้ายแรง ไม่มรี อยสักนอกร่มผ้า (เสือ้ แขนสัน้ ,กางเกงขาสัน้ ) เอกสารในการสมัคร : ส�ำเนาบัตรประชาชน จ�ำนวน 2 ฉบับ ส�ำเนาทะเบียนบ้าน จ�ำนวน 2 ฉบับ ส�ำเนาวุฒกิ ารศึกษา จ�ำนวน 2 ฉบับ รูปถ่าย 2” พื้นหลังสีขาวเปิดหู จ�ำนวน 2 รูป ส�ำเนาบัตรประชาชน บิดา มารดา จ�ำนวน 2 ฉบับ ส�ำเนาทะเบียนบ้าน บิดา มารดา จ�ำนวน 2 ฉบับ โรงแรมที่รองรับฝึกงาน (หากท�ำงานดีรับเข้าท�ำงานเลย) อาทิ โรงแรมเซ็นธารา แกรนด์ โรงแรมดุสิตธานี โรงแรมโนโวเทล โรงแรม ราชาคีรี รีสอร์ท อ.ขนอม และโรงแรมชั้นน�ำ อื่นๆ ในจังหวัดที่เป็น แหล่งท่องเที่ยว ติดต่อสอบถามได้ที่ โทร. 075-809-789 , 081-891-6625 เงื่อนไขในการจ่ายค่าเล่าเรียน : เริ่มต้น จ่ายเพียง 9,000.- บาท เพื่อตัดชุดสูท , เครื่องแบบการเรียน ,หนังสือเรียน และวัสดุอุปกรณ์ อืน่ ๆ สามารถผ่อนจ่ายได้ทงั้ หมด 3 งวด ให้ครบตามจ�ำนวน - สามารถ กูย้ มื เงินเพือ่ การศึกษากับ ธนาคารเพือ่ การเกษตร และธนาคารกรุงไทย (ผู้ปกครองมีคุณสมบัติตรงตามเงื่อนไข)
76 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 76
ยกข้อความนี้ไปหน้า 17
10/1/2561 17:11:49
โอกาสมาถึงคุณแล้ว หากคุณมีใจรักในงานบริการ ท�ำงานไปด้วย พร้อมท่องเที่ยวต่างประเทศไปด้วย มีรายได้ต่อเดือน 40,000 ไม่รวมค่าเซอร์วิสชาร์ต ได้รับการยกเว้นการเก็บภาษี รับเงินเต็มๆ ประมาณ 120,000- 150,000.- บาท/เดือน เปิดประสบการณ์ การท�ำงาน บนเรือส�ำราญและการโรงแรม ท่องเที่ยวทั่วโลกตามเส้นทางทัวร์ของ เรือส�ำราญระดับโลก ณ โรงเรียนสอนการอาชีพเรือส�ำราญและการโรงแรม สนใจติดต่อ 075-809789, 062-7798462 Line ID : guttokorat
จากใจ พลเอก. ประยุทธ์. จันทรโอชา. นายกรัฐมนตรี. การศึกษาทางเลือกเพื่อชีวิตที่ดีกว่า
“การเรียนอาชีวะต่างหากที่จะท�ำให้มีงานท�ำสามารถใช้เทคโนโลยีได้ หาเลี้ยงชีพด้วยตนเองได้และมีความสอดคล้องกับความต้องการ ของประเทศ” พลเอก ประยุทธ์ จันทรโอชา นายกรัฐมนตรี ประธานในพิธีเปิดงานวันแรงงานแห่งชาติ กล่าวไว้เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม 2560 การศึกษาทางเลือกเพื่ออาชีพเป็นการจัดการศึกษาที่มีเป้าหมายเพื่อเตรียมคน ให้มีความตระหนักรู้เกี่ยวกับความถนัดและศักยภาพ ของตัวเองสามารถมองเห็นอนาคต เกี่ยวกับอาชีพของตนเองได้ ( A- chieve ) เช่น เกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชย์กรรม หรืองาน บริการด้านต่างๆ ฯลฯ ให้มคี วามสามารถและทักษะเฉพาะด้าน และมีทกั ษะการใช้ภาษาเพือ่ การสือ่ สารเฉพาะอาชีพ และความรูส้ มรรถนะ ทางวิชาชีพ ดังนั้น โรงเรียนสอนการอาชีพเรือส�ำราญและการโรงแรม และโรงเรียนนครพัฒนาการบริบาล ซึ่งเป็นโรงเรียนเอกชนนอกระบบ ในความควบคุมของกระทรวงศึกษาธิการ มีเป้าหมายในการสอนหลักสูตรการอาชีพเพื่อการมีงานท�ำที่ดีและมั่นคง มุ่งให้ผู้เรียนมีทักษะ อาชีพด้านการบริบาลและบริการอย่างมีคณ ุ ภาพ พร้อมทัง้ มีทกั ษะชีวติ ซึง่ จะสอดคล้องและตอบโจทย์นโยบายของรัฐบาลและความต้องการ ของผู้ปกครองอย่างแท้จริงในยุคปัจจุบัน Thailand 4. 0 NAKHONSITHAMMARAT 77 .indd 77
10/1/2561 17:11:50
พีพี
แมนชั่น
99 ซ.โพธิ์ยายรถตะวันออก (ติด รพ.มหาราช) ถ.ราชด�ำเนิน อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช 80000
โทร | 075-356-756
78 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 78
9/1/2561 05:58:01 PM
พีพี
แมนชั่น
ณ เมืองทุง่ สง
บริการห้องพักรายวัน - รายเดือน ห้องพักติดแอร์พร้อมเฟอร์นิเจอร์ครบชุด มีที่จอดรถสะดวกสบาย ฟรี WiFi พร้อมลิฟท์ และ ระบบรักษาความปลอดภัย
130/4 ถนนนครศรีฯ-ทุ่งสง ต.ปากแพรก อ.ทุ่งสง จ.นครศรีธรรมราช 80110
โทร | 075-355169 , 075-355448
NAKHONSITHAMMARAT 79 .indd 79
9/1/2561 05:58:11 PM
จ�ำหน่าย วัสดุส�ำนักงาน เครื่องเขียน แบบเรียน หนังสือห้องสมุด วัสดุสื่อการเรียนการสอน
วัสดุประจ�ำศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก วัสดุกีฬา วัสดุประจ�ำห้องวิทยาศาสตร์ ครุภัณฑ์การศึกษาและ ครุภัณฑ์ส�ำนักงานทุกชนิด
130 ถ.ราชด�ำเนิน ต.ในเมือง อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช 80000 โทร | 075-356490 , 075-324452 , 075-344268 โทรสาร | 075-324453
พัฒนาพานิช
80 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 80
9/1/2561 05:58:19 PM
บริษัท อีซูซุนครมอเตอร์เซลส์ (1991) จ�ำกัด สาขาอ้อมค่าย “ มุ่ง สร้างความพึงพอใจสูงสุดให้แก่ลูกค้า และ การรับใช้สังคมให้ ได้อย่างยั่งยืนตลอดไป ”
ที่อยู่ 69 ถ.อ้อมค่าย-วชิราวุธ ต.ท่าวัง อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช โทร 075-313003-5, 075-313002-5 ติดต่อผู้จัดการ คุณอัครเดช ดิษฐมุณี LINE | vit42994599 โทร 081-9793261
บริการของเรา
ฝ่ายขาย ฝ่ายอะไหล่ ฝ่ายบริการ นัดหมายล่วงหน้า Technology lSUZU Insight พร้อมด้วยศูนย์เคาะพ่นสีมาตรฐานอีซูซุ
.indd 81
9/1/2561 06:01:42 PM
บัน ทึกเส้ น ทางความเป็นมาของจังหวัดนครศรีธรรมราช
นครศรีธรรมราช ดินแดนแห่งประวัติศาสตร์ และพระพุทธศาสนา
เมืองคอน....
เมืองพุทธธรรมของพระราชา
ผู้ยิ่งใหญ่แห่งพระพุทธศาสนา
ดินแดนแถบนี้มีชื่อเรียกมากมาย เช่น ในคัมภีร์มหานิเทศของอินเดีย ที่เขียนขึ้น ราวพุทธศตวรรษที่ 7-8 เรียกว่า อาณาจักรตามพรลิงก์ บันทึกโบราณของเมืองจีนเรียก เซี้ยะ-โท้ว (ถู-กวั่ว) รักตะมฤติกา (จารึกภาษา สันสกฤต) ซึ่งล้วนหมายถึง ดินแดนที่มีดินสีแดง ซึ่งชาวตะวันตกนิยมเรียกกันมา จนกระทั่งต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 คือ “ลิกอร์” สันนิษฐานว่าชาวโปรตุเกสที่เข้ามา ติดต่อค้าขายในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้นเป็นผู้เรียก โดยเพี้ยนมาจากค�ำว่า นคร ส่วนชื่อ “นครศรีธรรมราช” มาจากพระนามของกษัตริย์ผู้ครองนครในอดีต มีพระนามว่า พระเจ้าศรีธรรมาโศกราช (ราชวงศ์ศรีธรรมาโศกราช) มีความหมายว่า นครอันเป็นสง่าแห่งพระราชาผู้ทรงธรรม หรือ เมืองแห่งพุทธธรรมของพระราชา ผู้ยิ่งใหญ่ ธรรมของราชาแห่งนครนี้ ก็คือ ธรรมแห่งพระพุทธศาสนา นั่นเอง NAKHON SI THAMMARAT 83
ในสมัยกรุงศรีอยุธยา เป็นราชธานี เมืองนครศรีธรรมราชมีฐานะเป็นหัวเมืองชั้นเอกคู่กับเมืองพิษณุโลก มีขุนนาง
ชั้นผู้ ใหญ่ระดับเจ้าพระยาเป็นเจ้าเมือง มีบรรดาศักดิ์ตามพระไอยการต�ำแหน่งนาพลเรือน นาทหารหัวเมืองว่า เจ้าพระยา ศรีธรรมราชชาติเดโชไชยมไหยสุริยาธิบดีอภัยพิรียบรากรมภาหุ นครศรีธรรมราช เป็นเมืองโบราณที่มีความส�ำคัญทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง และศาสนามาก ที่สุดเมืองหนึ่ง ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันอย่างกว้างขวางไม่น้อยกว่า 1800 ปีมาแล้ว มีก�ำเนิด มาแล้วตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 7 เป็นอย่างน้อย มีภูมิหลังอันยาวนานนับตั้งแต่ยุคหินกลาง ในราว 8,350-11,000 ปีที่ล่วงมา จากหลักฐานมีการพบเครื่องหิน ที่มีตัวขวานยาวใหญ่ (บางคนเรียกว่าระนาดหิน) ที่อ�ำเภอท่า ศาลา ในยุคโลหะ พบกลอง มโหระทึกส�ำริด 2 ใบ ที่บ้านเกตุ กาย ต�ำบลท่าเรือ อ�ำเภอเมือง และที่คลองคุดด้วน อ�ำเภอฉวาง และในอ�ำเภอสิชลปัจจุบัน มีร่องรอยโบราณสถาน และโบราณวัตถุเกี่ยวเนื่องในศาสนาพราหมณ์ ซึ่งมีอายุเก่าแก่ที่สุดใน นครศรีธรรมราช เช่น พระพุทธ รูปส�ำริด ศิลปแบบอมราวดีของอินเดีย และเศียรพระพุทธรูปศิลปแบบคุปตะอินเดีย เป็นต้น ในพุทธศตวรรษที่ 17-19 เป็นช่วงที่นครศรีธรรมราชมีความ
เจริญรุง่ เรืองสูงสุด ภายใต้การปกครองของราชวงศ์ศรีธรรมาโศกราช เนือ่ งมากจากการเป็นสถานีการค้าส�ำคัญของคาบสมุทรไทยเป็นจุด พักถ่าย ซือ้ สินค้าระหว่าง ตะวันออกกับตะวันตกทีด่ ที สี่ ดุ ในเวลานัน้ ประกอบกับบริเวณหาดทรายแก้วอันเป็นศูนย์ กลางของชุมชน เป็น ที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุของ พระพุทธองค์ ซึ่งเป็นความ ศรัทธาและ ความเลือ่ มใสในบวรพุทธศาสนา จึงเป็นปัจจัยชักน�ำให้ ผู้คน จากทุกสารทิศในภาคใต้เข้ามา ตั้งถิ่นฐานในนครศรีธรรมราช อย่างหนาแน่น ในราว พ.ศ. 1700 เศษ ราชวงศ์ศรีธรรมาโศกราช ก็สามารถจัดการปกครอง หัวเมืองรายรอบ ได้ส�ำเร็จถึง 12 เมือง เรียกว่า เมืองสิบสองนักษัตร คือ เมืองสายบุรี ตราหนู, เมือง 84 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย
ปัตตานี ตราวัว, เมืองกลันตัน ตราเสือ, เมืองปาหัง ตรากระต่าย, เมืองไทรบุรี ตรางูใหญ่, เมืองพัทลุง ตรางูเล็ก, เมืองตรัง ตราม้า, เมืองชุมพร ตราแพะ, เมืองปันทายสมอ (กระบี)่ ตราลิง, เมืองสะอุเลา (สงขลา) ตราไก่, เมืองตะกัว่ ป่า (ถลาง) ตราหมา, เมืองกระบุรี ตราหมู จากหลักฐานต�ำนานเมืองนครศรีธรรมราช ต�ำนานพระบรมธาตุ นครศรีธรรมราช ตลอดถึงวรรณกรรมเรื่องพระนิพพานสูตรทุก ส�ำนวน ต่างยืนยันให้เห็นอย่างชัดเจน ถึงความ รุ่งเรืองไพศาลของ นครศรีธรรมราช ในยุคดังกล่าวและสามารถควบคุมหัวเมือง อื่นๆ ได้ทั่ว ถึงคาบสมุทร มีแสนยานุภาพเกรียงไกรถึงขนาดกรีธาทัพไป ตีลังกาถึงสองครั้ง
เมืองนครศรีธรรมราช ครั้นทราบว่ากรุงศรีอยุธยาเสียกรุง แก่พม่า ไม่มเี จ้านายปกครองประเทศ หลวงสิทธิ จึงตัง้ ตัวเป็นเจ้าผูค้ รองเมือง นครศรีธรรมราช เป็นอิสระอยู่ก๊กหนึ่ง ในปี พ.ศ. 2312 พระเจ้ากรุงธนบุรี หรือสมเด็จพระเจ้า กรุงธนบุรี ยาตรากองทัพไปปราบ และ จับตัวเจ้านคร (หนู) ได้ และ มีพระราชด�ำริว่า เจ้านครมิได้มีใจกบฏคิดร้ายต่อประเทศ แต่ตั้งตัว ขึ้นเนื่องจากบ้านเมืองเป็นจลาจล จึงโปรดเกล้าฯ ให้มารับราชการ อยูท่ กี่ รุงธนบุรี หรือ อาณาจักรธนบุรี และให้ เจ้านราสุรยิ วงศ์หลาน เธอ ออกไปครองเมืองนครศรีธรรมราช และต่อมาได้รบั สถาปนาขึน้ เป็น พระเจ้านครศรีธรรมราช เจ้าขันธสีมา (หนู) เมื่อวันอาทิตย์ เดือน 11 ขึ้น 3 ค�ำ่ จุลศักราช 1138 (พ.ศ. 2319) ปีวอกอัฐศก ต่อมา พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก (รัชกาลที่ 1) มีพระราชด�ำริว่า พระเจ้านครศรีธรรมราช มีความชราทุพพลภาพ ไม่ส ามารถปกครองบ้านเมืองได้ จึงโปรดให้ออกจากต�ำแหน่ ง กลับเข้ามาอยู่ในกรุงเทพฯ และโปรดให้เจ้าอุปราช (พัฒน์) บุตรเขย เจ้านคร ขึน้ เป็นผูส้ ำ� เร็จราชการเมืองนครศรีธรรมราช เมือ่ วันอังคาร เดือน 8 แรม 11 ค�่ำ จุลศักราช 1146 (พ.ศ. 2327) ปีมะโรงศก แต่ โปรดให้มียศเพียงเจ้าพระยาตามประเพณีแต่เดิม เมื่อครั้งกรุงศรี อยุธยาเป็นราชธานี เมืองนครศรีธรรมราช จึงเป็นเมืองทีเ่ คยมีกษัตริยป์ กครอง และ มีฐานะเป็นประเทศราช 8 ปี เหนือสิ่งอื่นใด ราชวงศ์ศรีธรรมาโศกราช ได้สถาปนาพระพุทธ ศาสนา ลัทธิลังกาวงศ์ ขึ้นอย่างมั่นคงในนครศรีธรรมราช มีการ บูรณะพระเจดีย์เดิม ให้เป็นทรงระฆังคว�ำ่ อันเป็น ศิลปะลังกา จน นครศรีธรรมราชกลายเป็นศูนย์กลางวัฒนธรรม เป็นเมืองแม่แห่ง วัฒนธรรม ทีไ่ ด้ถา่ ยทอด ศิลปวัฒนธรรมไปยัง หัวเมืองอืน่ ๆ รวมทัง้ สุโขทัยซึ่งในเวลานั้นเพิ่งเริ่ม ก่อตัวขึ้นเป็นราช ธานีทาง ภาคเหนือ ตอนล่างใหม่ๆ เมื่อเสียกรุงศรีอยุธยา ครั้งที่ 2 ในปี พ.ศ. 2310 ต�ำแหน่ง เจ้าพระยานครศรีธรรมราช ว่างอยู่ หลวงสิทธิ นายเวรมหาดเล็ก (หนู) ซึ่งออกไปรับราชการ ต�ำแหน่งปลัดเมือง เป็นผู้รักษาราชการ
ปัจจุบัน...
นครศรีธรรมราช เป็นจังหวัดในประเทศไทย มีประชากรมาก ทีส่ ดุ ในภาคใต้และมีขนาดพืน้ ทีใ่ หญ่เป็นอันดับ 2 ของภาคใต้ (รองจาก สุราษฎร์ธานี) ห่างจากกรุงเทพมหานคร ประมาณ 780 กิโลเมตร มีจงั หวัดทีอ่ ยูต่ ดิ กันได้แก่ สงขลา พัทลุง ตรัง กระบี่ และสุราษฎร์ธานี ปัจจุบัน การปกครองแบ่งออกเป็น 23 อ�ำเภอ 165 ต�ำบล 1,428 หมู่บ้าน โดยมี วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร พระบรมธาตุเจดีย์ เป็นที่ บรรจุพระบรมสารีริกธาตุของพระพุทธเจ้า ซึ่งเป็นปูชนียสถานที่ ส�ำคัญทีส่ ดุ แห่งหนึง่ ของจังหวัดนครศรีธรรมราช และภาคใต้ทงั้ หมด NAKHON SI THAMMARAT 85
บัน ทึก เส้ น ทางท่ อ งเที่ ย วของจังหวัดนครศรีธรรมราช
เที่ยวเมืองคอน
ย้อนรอยอดีตด้วยเรื่องราวปัจจุบัน
86 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย
NAKHON SI THAMMARAT 87
วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร ชาวนครเรียกว่า วัดพระธาตุ โบราณสถาน สถานที่ศักดิ์สิทธิ์ สัญลักษณ์ ของจังหวัด และเป็นมิ่งขวัญ ชาวเมืองนครศรีธรรมราช ตลอดจนพุทธศาสนิกชน พระบรมธาตุเจดีย์ เป็นทีบ่ รรจุ พระบรมสารี ริ กธาตุ ของพระพุทธเจ้า ปัจจุบัน กรมศิลปากรได้ประกาศ จดทะเบียนวัดพระมหาธาตุ เป็ น โบราณสถาน นับเป็นปูชนียสถานที่ส�ำคัญ ที่สุดแห่งหนึ่งของภาคใต้
พระบรมธาตุ นครศรีธรรมราช มรดกไทย มรดกโลก 88 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย
บ้านขุนรัฐวุฒิวิจารณ์
ตั้งอยู่ถนนราชด�ำเนิน ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช ใกล้กับวัดพระธาตุ อยู่ในพื้นที่เดียว กับร้านกาแฟไทชิ อาคารเรือนปั้นหยาอายุกว่า 108 ปี โดยทายาทของขุนรัฐวุฒิ วิจารณ์ได้ด�ำเนินการบูรณะปรับปรุงบ้านหลังนี้อีกครั้ง ฟื้นฟูสู่สภาพที่สวยงามพร้อมกับเปิดเป็น สถานที่ท่องเที่ยว เพื่อให้คนรุ่นหลังได้เยี่ยมชม โดยบ้านขุนรัฐวุฒิได้รางวัล อาคารอนุรักษ์ศิลปะ สถาปัตยกรรม ดีเด่น ปี 2556 โดยสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์
ก�ำแพงเมืองเก่า
อี ก หนึ่ ง โบราณสถานที่ ส� ำ คั ญ ของจั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช ก�ำแพงเมืองที่เคยปกป้องเมืองนครศรีธรรมราชจากข้าศึก สะท้อน ถึงความแข็งแกร่ง ความเจริญรุง่ เรือง และประวัตศิ าสตร์อนั ยาวนาน ปัจจุบนั ได้รบั การบูรณะใหม่ให้แข็งแรงและสวยงาม เพือ่ พัฒนาเป็น อีก 1 สถานที่ท่องเที่ยวที่น่าเดินเล่นและซึมซับบรรยากาศใน ประวัตศิ าสตร์อนั ทรงคุณค่า มีลกั ษณะเป็นสีเ่ หลีย่ มผืนผ้า มีทตี่ งั้ อยู่ หลายจุดด้วยกัน แต่ที่เหลือให้ชม คือ ก�ำแพงเมืองด้านทิศเหนือ อยู่ริมคลอง หน้าเมือง ถนนมุมป้อม
ศาลหลักเมืองนคร
สิ่งศักดิ์สิทธิ์คู่บ้านคู่เมืองที่คอยปกป้องรักษาบ้านเมืองให้พ้น จากภั ย อั น ตรายต่ า งๆ อาคารสี ข าวที่ อ อกแบบได้ อ ย่ างงดงาม ประกอบด้วยอาคารทัง้ หมด 4 หลัง หลังกลางเป็นทีป่ ระดิษฐานของ ศาลหลักเมือง ออกแบบให้มลี กั ษณะคล้ายศิลปะศรีวชิ ยั เรียกว่าทรง เหมราชลีลา ส่วนอาคารเล็กทั้งสี่หลัง ถือเป็นบริวารสี่ทิศ เรียกว่า ศาลจตุโลกเทพ ประกอบด้วยพระเสื้อเมือง ศาลพระทรงเมือง ศาล พระพรหมเมืองและศาลพรบันดาลเมือง
NAKHON SI THAMMARAT 89
พระต�ำหนักเมืองนคร
ตั้งอยู่ในบริเวณสวนผลไม้เก่าแก่ของตระกูลทองสมัครซึ่งเป็น ผู้สร้างเรือนรับรองถวายในนามของชาวเมืองนครศรีธรรมราช เพื่อเป็นที่ประทับทรงงานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และ พระบรมวงศานุวงศ์ ในคราวทีเ่ สด็จมาทรงงานทีเ่ มืองนครศรีธรรมราช บริเวณโดยรอบแวดล้อมร่มรืน่ ด้วยไม้ผลและไม้ประดับ เปิดให้เข้าชม ได้ทุกวันเวลา 08.00-17.00 น. เว้นวันพุธและเวลาที่พระราชวงศ์ เสด็จประทับ
หอพระอิศวร หอพระนารายณ์
หอพระอิศวรและเสาชิงช้า อยูร่ มิ ถนนราชด�ำเนิน เป็นโบราณสถาน ในศาสนาฮินดู เป็นทีป่ ระดิษฐานศิวลึงค์ ซึง่ ถือเป็นสัญลักษณ์ของพระอิศวร และ ฐานโยนิ รวมทั้งเทวรูปส�ำริดอีกหลายองค์ อาทิ เทวรูปศิวนาฎราช พระอุ ม าและพระพิ ฆ เนศ ซึ่ ง จ� ำ ลองจากองค์ จ ริ ง ที่ เ ก็ บ รั ก ษาไว้ ที่ พิพิธภัณฑสถานแห่ง ชาตินครศรีธรรมราช หอพระนารายณ์ ตั้งอยู่ตรงข้ามกับหอพระอิศวร อาคารหอพระ นารายณ์เดิน ไม่สามารถสืบทราบรูปแบบได้ สิ่งส�ำคัญที่พบภายในหอ พระนารายณ์ ได้แก่ เทวรูปพระนารายณ์สลักจากหินทรายสีเทาทรงมาลา รูปกระบอก ปลายสอบและพระหัตถ์ขวาทรงสังข์ ก�ำหนดอายุราวพุทธ ศตวรรษที่ 10-11 ปัจจุบันเก็บรักษาไว้ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ นครศรีธรรมราช
บ้านหนังตะลุงสุชาติ
บ้านหนังตะลุงสุชาติ ทรัพย์สิน เป็นศิลปินหนังตะลุงและช่างท�ำรูป หนังตะลุงฝีมือดีเยี่ยมของเมือง นครศรีธรรมราช ทีร่ เิ ริม่ และสืบทอดวัฒนธรรมการ ท�ำตัว หนังตะลุง รวมไปถึงการเชิดหนังตะลุงจนเป็น ที่ยอมรับในระดับชาติ ภายในบ้านนอกจากมีการเชิดหนังสาทิตแล้ว ยังเป็นพิพิธภัณฑ์แสดงเครื่องมือ เครื่องใช้พื้นบ้าน และพิพิธภัณฑ์หนังตะลุงนานาชาติอีกด้วย 90 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย
ประตูระบายน�้ำอุทกวิภาชประสิทธิ อ�ำเภอปากพนัง
เป็นส่วนหนึง่ ของโครงการพัฒนา พืน้ ทีล่ มุ่ น�ำ้ ปากพนังอันเนือ่ งมาจาก พระราชด�ำริของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เพือ่ ช่วยเหลือบรรเทา ความทุกข์ยากเดือดร้อนของประชาชนในพืน้ ทีล่ มุ่ น�ำ้ ปากพนัง มีสะพานข้ามฝั่งแม่น�้ำเพื่อให้คนในพื้นที่ได้สัญจรข้ามไปมา ยังอีกฝัง่ และได้จดั ท�ำเป็นสวนสาธารณะทีร่ ม่ รืน่ เหมาะส�ำหรับมาพักผ่อน ชมวิว จึงกลายเป็น สถานที่ท่องเที่ยวไฮไลท์ ที่น่าสนใจอีกแห่ง หนึ่งของ อ�ำเภอปากพนัง
น�้ำตกพรหมโลก อุทยานแห่งชาติเขาหลวง
น�้ำตกพรหมโลกเป็นน�้ำตกที่มีเกาะแก่งและ แอ่งน�้ำที่เล่นน�้ำได้เป็นหลายช่วง เป็นน�้ำตกที่รถ เข้ า ถึ ง ตั ว น�้ ำ ตกเลย เป็ น น�้ ำ ตกขนาดใหญ่ ที่ มี จ�ำนวนชั้นทั้งหมดถึง 50 ชั้น แต่เปิดให้ท่องเที่ยว ได้แค่ 4 ชั้นคือ หนานบ่อน�้ำวน หนานวังไม้ปัก หนานวังหัวบัว และหนานวังอ้ายแลสามารถเดิน เล่นชมทิวทัศน์ได้ง่าย ไม่ชันจนเกินไป เล่นน�ำ้ ได้ ในชั้นล่างๆ ที่เป็นล�ำธาร
จุดชมวิวเขาธง ตั้งอยู่บ้านเขาธง อ�ำเภอลานสกา จังหวัด นครศรีธรรมราช ไม่ไกลจากหมู่บ้านคีรีวง เป็น แหล่งท่องเที่ยวใหม่ของจังหวัดนครศรีธรรมราช มีววิ ทิวทัศน์ทสี่ วยงาม และเป็นสถานทีส่ ดู อากาศ ที่บริสุทธิ์ เป็นอีกหนึ่งจุดชมวิวที่มีป้ายเขียนว่า อากาศดี ที่ สุ ด ในประเทศไทย มี ร ้ า นกาแฟ บรรยากาศแบบท้องถิ่น น่านั่งจิบกาแฟดื่มด�ำ่ ไปกับเสียงทักทายของธรรมชาติ NAKHON SI THAMMARAT 91
92 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย
บ้านคีรีวง อ�ำเภอลานสกา
มานครแล้วพลาดไม่ได้จริงๆ ทีจ่ ะไปแวะพักทีบ่ า้ นคีรวี ง ชุมชนต้นแบบในการจัดการธุรกิจท่องเทีย่ ว เชิงนิเวศที่มีวิถีชีวิตแบบชาวสวนอยู่กับธรรมชาติ ท่ามกลางเทือกเขา ป่าไม้และสายน�ำ้ ในหมู่บ้านคีรีวง มีที่พักแบบโฮมสเตย์ ปั่นจักรยานชมวิวสูดอากาศบริสุทธิ์ เที่ยวน�้ำตก หมู่บ้านคีรีวง เป็นชุมชนเก่าแก่ที่อพยพไปอาศัยอยู่ เชิงเขาหลวง ต�ำบลก�ำโลนอันเป็นเส้นทางเดิน ขึ้นสู่ยอดเขาหลวง ชาวบ้านที่นี่ยังคงใช้ชีวิตในแบบชาวบ้านชนบท เรียบง่าย อาชีพหลัก คือการท�ำ กสิกรรม การท�ำสวนผลไม้แบบผสมผสาน แล้วน�ำมาแปรรูป จัดท�ำเป็นสินค้าโอทอปเลื่องชื่อ อาทิ กลุ่ม มัดย้อม กลุ่มสมุนไพร กลุ่มจักสานกะลามะพร้าว กลุ่มแปรรูปน�ำ้ ผลไม้ กลุ่มไวน์ และกลุ่มทุเรียนกวน ความเข้มแข้งของชุมชนที่อนุรักษ์และใช้ชีวิตแบบบรรพชนเป็นเอกลักษณ์ที่โดดเด่น ท�ำให้นักท่องเที่ยว มุ่งหน้ามาเที่ยวที่นี่เป็นจ�ำนวนมาก ตั้งอยู่ ต�ำบลก�ำโลน อ�ำเภอลานสกา จังหวัดนครศรีธรรมราช
NAKHON SI THAMMARAT 93
อ�ำเภอขนอม
อ�ำเภอขนอมเป็นอ�ำเภอทีม่ ชี ายหาดทีส่ วยงามและชายหาดยาวทีส่ ดุ ในจังหวัดนครศรีธรรมราช ชายหาดทีม่ ชี อื่ เสียงมาก ในปัจจุบันคือหาดในเพลา ลักษณะหาดเป็นแนวยาวโค้ง มีภูเขาล้อมรอบ หาดนี้จะมีนักท่องเที่ยวต่างประเทศมาเที่ยว รวมถึงมาซื้อบ้าน (เช่าระยะยาว) มากที่สุด ถึงจะมีการพัฒนาไปมากแต่ก็ถือว่าเงียบสงบกว่าที่ท่องเที่ยวอื่นๆ เช่น เกาะสมุย และมีหาดทีส่ วยงามและเงียบสงบอีกหลายหาดทีไ่ ด้รบั การพัฒนาจนเป็นทีน่ ยิ มของนักท่องเทีย่ ว เช่น หาดท้องหยี หาดหน้าด่าน หาดขนอม หาดคอเขา หาดบ้านเปร็ต เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีวัดเก่าแก่ คือวัดกระดังงา ไม่ไกลจากวัดกระดังงา ก็มีน�้ำตกเสม็ดชุนและเขาพระเป็นจุดชมทิวทัศน์ มองเห็นอ�ำเภอและทะเลอ่าวขนอม ห่างจากหาด 4 กิโลเมตร เป็นที่ส่วนตัว แต่สามารถขออนุญาตเจ้าของพื้นที่ขึ้นไปชมได้ ปัจจุบัน มีสงิ่ หนึง่ ทีด่ งึ ดูดใจนักท่องเทีย่ วก็คอื การทีไ่ ด้มาดู โลมาสีชมพู ทีม่ าหาอาหารให้ได้เห็นกันในหลายพืน้ ทีข่ อง อ่าวอ�ำเภอขนอม โดยมีจุดลงเรือชมโลมาที่บ้านแหลมประทับ และยังมีกะปิ รสชาติอร่อย ชาวบ้านท�ำเอง จ�ำหน่ายในราคา ไม่แพง 94 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย
ตลาดย้อนยุคปากพนัง
อีกหนึ่งสถานที่ท่องเที่ยวที่พลาดไม่ได้หากแวะ มาเที่ยวเมืองปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช ตลาดแห่ ง นี้ ตั้ ง อยู ่ ส อง ริมฝั่ง คลองบางฉลากซึ่ง เชื่อมต่อกับแม่น�้ำปากพนัง ขนานไปกับล�ำคลอง อีกฝั่งเป็นตลาดที่ติดเลียบก�ำแพงของเรือนจ�ำ ส่วน อีกจะเป็นบ้านที่อยู่อาศัยที่เปิดเป็นร้านขายของ ต่างๆ ตลาดย้อนยุคปากพนังถือเป็นสถานทีท่ อ่ งเทีย่ ว ที่น่าสนใจเป็นอย่างมาก
NAKHON SI THAMMARAT 95
96 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย
น�้ำตกกรุงชิง น�้ำตกที่มีอยู่ ใน ธนบัตร 1 พันบาท ระยะทางเริ่มเดินจนสิ้นสุด ก็จะประมาณ 3.7 กิโลเมตร การเข้าไปชมน�้ำตกกรุงชิง จะต้องเดินทางด้วยเท้า จากที่ท�ำการหน่วยอุทยาน เดินเข้าไปในป่า ตามเส้นทางเดิน ที่เตรียมเอาใว้ จะมีป้ายบอก เส้นทางและสิ่งที่น่าสนใจ ระหว่างทางเป็นระยะๆ ทางเดินเป็นทางลาดชันและ ขรุขระเล็กน้อย สามารถเดิน ได้ ไม่ค่อยล�ำบาก แต่มีทาก ควรเตรียมอุปกรณ์มาให้พร้อม
NAKHON SI THAMMARAT 97
Unseen
ทะเลหมอกที่กรุงชิง
แว้ะน�ำตกกรุงชิง อ�ำเภอนบพิต�ำ กรุงชิง เป็นชุมชนเล็กๆ ที่โอบล้อมด้วยภูเขาสลับซับซ้อน โดยมีใจกลางเป็นที่ราบแอ่งกระทะ หากคุณเป็นคนหนึ่งที่รัก การผจญภัย หลงใหลในความเงียบสงบและธรรมชาติทสี่ วยงาม ของผืนป่า เขียวขจี กรุงชิง ชุมชนเล็ก ในพื้นที่ อ.นบพิต�ำ จ.นครศรีธรรมราช มีสถานทีท่ อ่ งเทีย่ วให้คณ ุ ได้สนุกหลากหลาย รู ปแบบไม่ ว่ า จะเป็น ถ�้ำ น�้ำ ตก ล่องแก่ง ภูเขา ทะเลหมอก โดยเฉพาะ น�้ ำ ตกกรุ ง ชิ ง ต.กรุ ง ชิ ง กิ่ ง อ� ำ เภอนบพิ ต� ำ จ.นครศรีธรรมราช เป็นน�้ำตกที่มีความสวยงามและมีชื่อเสียง มากเป็นอันดับต้นๆของจังหวัดนครศรีธรรมราช ตั้งอยู่ในเขต พื้นที่ของอุทยานแห่งชาติเขาหลวง อุทยานแห่งชาติที่ตั้งอยู่ใน ต�ำบลกรุงชิง “กรุงชิง” มาจากค�ำว่า “ต้นชิง” ซึ่งเป็นพันธุ์ไม้ตระกูล ปาล์มชนิดหนึ่งที่มีอยู่มาก ตัวน�้ำตกมีเจ็ดชั้นสวยงามมีน�้ำไหล ตลอดปี ทะเลหมอกกรุงชิง หรือ จุดชมวิวเขาเหล็ก อยู่ในพื้นที่ของ บ้านบางนบ ต�ำบลกรุงชิง อ�ำเภอนบพิตำ� ทะเลหมอกทีน่ สี่ ามารถ ชมได้ตลอดทัง้ ปี ในบริเวณใกล้เคียงยังอยูต่ ดิ กับอุทยานแห่งชาติ เขาหลวง และอุทยานแห่งชาติเขานัน
ขอขอบพระคุณ เจ้าหน้าที่อุทยานทุกท่านที่ให้ความร่วมมือ และอ�ำนวยความสะดวกในการถ่ายท�ำ
98 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย
NAKHON SI THAMMARAT 99
องค์การบริหารส่วนจังหวัดนครศรีธรรมราช งานด้านการศึกษา ศิลปวัฒนธรรม นั้น คือ งานสร้างสรรค์ความเจริญทางปัญญา และทางจิตใจ ซึ่งเป็นทั้งต้นเหตุ ทั้งองค์ประกอบ ที่ขาดไม่ได้ของความเจริญ ด้านอื่นๆ ทั้งหมด และเป็นปัจจัยที่จะช่วยให้เรา รักษาและด�ำรงความเป็นไทยได้สืบไป เมืองนครศรีธรรมราช เป็นเมืองพหุวัฒนธรรม เพราะมีประชากรที่ประกอบด้วยคนไทยที่นับถือศาสนาพุทธ พราหมณ์ มุสลิม และคนไทย
เชือ้ สายจีน ความแตกต่างทางความเชือ่ ของบุคคลต่างศาสนาต่างชาติพนั ธ์ ท�ำให้เมืองนครศรีธรรมราช มีอตั ลักษณ์และมีศลิ ปวัฒนธรรมทีโ่ ดดเด่น เช่น มีวดั พระมหาธาตุทเี่ ป็นศูนย์กลางพุทธศาสนาของพุทธศาสนิกชนในภาคใต้ มีโบสถ์พราหมณ์ และโบราณสถานทีเ่ กีย่ วกับศาสนาอินดูทสี่ ำ� คัญหลายแห่ง เช่น หอพระนารายณ์ หอพระอิศวร แหล่งโบราณตุมปัง และแหล่งโบราณเขาคาเป็นต้น เมืองนครศรีธรรมราชจึงเป็นเมืองอารยธรรมที่สำ� คัญและ โดดเด่นที่สุดในภาคใต้ หนังตะลุง โนรา เพลงบอก และ ดิเกร์ฮูลู เป็นศิลปะการแสดงที่เป็นที่ยอมรับกันว่าเป็นมรดกภูมิปัญญาด้านการแสดงของชาวใต้เป็นมหรสพที่ให้ ความบันเทิง ต่อคนในสังคมมายาวนานนับร้อยปี แต่ด้วยสภาพทางสังคมเปลี่ยนไปเยาวชนรุ่นใหม่ๆ หนีไปสนใจสิ่งบันเทิงอื่น เช่น ภาพยนตร์ ดนตรี โทรศัพท์ สื่อออนไลน์ ฯลฯ สิ่งเหล่านี้นับวันจะเข้ามาท�ำลายวิถีชีวิตและศิลปวัฒนธรรมของท้องถิ่น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เล็งเห็นความส�ำคัญของศาสนา ประเพณี ศิลปวัฒนธรรม อันเป็นภูมิปัญญาของบรรพชนไว้ หน้าที่ของเราคือการส่งเสริม ทํานุบํารุงศาสนา การอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมและประเพณีท้องถิ่น เพราะเป็นหน่วยงานราชการที่ใกล้ชิดกับประชาชนในท้องถิ่นมากที่สุด อบรมพัฒนาทักษะกีฬา องค์การบริหารส่วนจังหวัดนครศรีธรรมราช ประจ�ำปี 2560
สนับสนุนเครื่องจักรกลที่ใช้ในการปรับปรุง คันสระเก็บน�้ำบ้านไสโก องค์การบริหารส่วนจังหวัดนครศรีธรรมราช ให้การสนับสนุน เครื่องจักรกลที่ใช้ในการปรับปรุงคันสระเก็บน�้ำบ้านไสโก หมู่ที่ 4 ต�ำบลท่าขึ้น อ�ำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช ได้ความกว้าง ขอบสระน�้ำ 4 เมตร ความยาว 440 เมตร ความสูง 2.5 เมตร เพื่อ ใช้กักเก็บน�ำ้ ไว้ใช้ในหน้าแล้ง
ปรับปรุ งผิวจราจรถนนลาดยางแอสฟั ลท์ติกคอนกรีต สายปากพนัง - แหลมตะลุมพุ ก (อบจ.นศ.2110) ต� ำ บลปากพนั ง ฝั ่ ง ตะวั น ออก และต� ำ บลแหลมตะลุ ม พุ ก อ�ำเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช และโครงการปรับปรุงซ่อมแซม อาคารอเนกประสงค์ เ ฉลิ ม พระเกี ย รติ 80 พรรษา มหาราชาราช ประชานุเคราะห์ (ศูนย์หลบภัย) ต�ำบลแหลมตะลุมพุก อ�ำเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช
100 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 100
9/1/2561 06:04:05 PM
องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นจั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช
ในฐานะองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ขนาดใหญ่ระดับจังหวัด ได้ ต ระหนั ก ถึ ง ภารกิ จ อ� ำ นาจหน้ า ที่ ต ามกฎหมายให้ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในด้านการส่งเสริมศาสนา ศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณีท้องถิ่น และตามพระบรม ราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ในตอนหนึง่ ว่า “งานด้านการศึกษา ศิลปวัฒนธรรม นัน้ คือ งานสร้างสรรค์ความเจริญทางปัญญา และทางจิตใจ ซึง่ เป็นทัง้ ต้นเหตุ ทัง้ องค์ประกอบทีข่ าดไม่ได้ ของความเจริญ ด้านอืน่ ๆ ทัง้ หมด และเป็นปัจจัยทีจ่ ะช่วยให้เรารักษาและ ด� ำ รงความเป็ น ไทยได้ สื บ ไป” ดั ง นั้ น เพื่ อ ให้ เ ยาวชน ในจั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช ได้ มี โ อกาสศึ ก ษาเรี ย นรู ้ ฝึกทักษะ และฝึกปฏิบัติด้านศิลปะการแสดงของท้องถิ่น จึ ง ได้ คิ ด จั ด ท� ำ โครงการ “สื บ สานภู มิ ป ั ญ ญาศิ ล ปะ การแสดงท้องถิ่น ภาคใต้” ขึ้น
อบรมและสืบสานภูมิปัญญา ศิลปะการแสดงท้องถิ่นภาคใต้
ประเพณีบุญสารทเดือนสิบจังหวัดนครศรีธรรมราช
“สานฝั น ปั นน�้ำใจ สายใย อบจ.นศ.”
NAKHONSITHAMMARAT 101 .indd 101
9/1/2561 06:04:13 PM
ความภาคภูมิใจ เดิน - วิ่งข้ามปี ราตรีเมืองนคร
อบรมสร้างอาชี พเสริมให้แก่เกษตรกรชาวสวนยางพารา หลักสูตร การเลี้ยงไก่พื้นเมืองสายพันธ์ศรีวิชัย องค์การบริหารส่วนจังหวัดนครศรีธรรมราช มีหน้าทีจ่ ะต้องดูแลช่วยเหลือชาวสวนยางพาราเพือ่ บรรเทาความเดือนร้อนให้แก่เกษตรกรชาวสวนยาง ในเบื้องต้น และส่งเสริมเกษตรกรชาวสวนยางให้มีรายได้เพิ่มขึ้นเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของเกษตรให้ดีขึ้น จึงได้ด�ำเนินงานตามโครงการฝึกอบรม สร้างอาชีพเสริมให้แก่เกษตรกรชาวสวนยางพารา หลักสูตร การเลี้ยงไก่พื้นเมืองสายพันธ์ศรีวิชัย ซึ่งเป็นพันธ์ที่ได้รับการปรับปรุงสายพันธ์จาก ไก่พนื้ เมือง (คอล่อน) โดยสถานีวจิ ยั ทดสอบพันธ์สตั ว์นครศรีธรรมราช เป็นไก่ทเี่ ลีย้ งง่าย โตเร็ว ต้นทุนต�ำ่ เหมาะส�ำหรับให้เกษตรกรเลีย้ งตามธรรมชาติ เป็นการเสริมรายได้ให้แก่เกษตรกร
วางปะการังเทียม
102 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 102
9/1/2561 06:04:18 PM
บันทึกเส้นทางพบรองผู้ว่าราชการจังหวัด
ค่ายเยาวชน เรียนรู้จากภูสู่ทะเล
บริหารจัดการของเสียอันตรายจากชุมชน จังหวัดนครศรีธรรมราช ประจ�ำปี งบประมาณ 2560
อบรมซ่ อมและผลิตรถเข็นรถสามล้อโยกของคนพิการ จังหวัดนครศรีธรรมราช
ในปัจจุบันกระแสความตื่นตัวในเรื่องสิทธิมนุษยชน ตลอดจนการตระหนักถึงคุณค่าของคนพิการในฐานะทรัพยากรมนุษย์กลุ่มหนึ่งของประเทศ ได้เป็นแรงผลักดันที่ส�ำคัญให้เกิดการปรับเปลี่ยนแนวคิดและวิธีการด�ำเนินงานด้านคนพิการ จากเดิมที่มุ่งเป็นการสงเคราะห์เพื่อบรรเทาความล�ำบาก เดื อ นร้ อ นและการแก้ ไขปั ญ หาเฉพาะหน้ า มาเป็ น การส่ ง เสริ ม สนั บ สนุ น การฟื ้ น ฟู ส มรรถภาพ พั ฒ นาศั ก ยภาพในด้ า นต่ า งๆ เช่ น การศึกษา อาชีพ เป็นต้น เพื่อให้คนพิการได้เกิดความเข้มแข็ง พึ่งพาตนเองได้และมีความพร้อมในการแก้ปัญหาและมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆของ สังคม ทั้งที่เป็นผู้รับผลประโยชน์และเป็นผู้ปฏิบัติหน้าที่หรือการร่วมกันพัฒนาสังคม องค์การบริหารส่วนจังหวัดนครศรีธรรมราช มีนโยบายด้านการส่งเสริมพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนในจังหวัด โดยการประสานงาน กับหน่วยงานและองค์กรที่เกี่ยวข้องจัดการฝึกอบรมให้ตรงกับความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย ได้ตระหนักและเห็นความส�ำคัญถึงคุณค่าของ คนพิการ ดังนั้นจึงได้ท�ำโครงการฝึกอบรมซ่อมและผลิตรถเข็นรถสามล้อโยกของคนพิการ จังหวัดนครศรีธรรมราชขึ้น เพื่อฝึกอบรมให้คนพิการได้ มีความรู้ ความเข้าใจและเกิดทักษะในการซ่อมและผลิตรถเข็น รถสามล้อโยกและได้มีช่องทางในการหาผลประโยชน์มาพัฒนาคุณภาพชีวิต ที่ดีขึ้นของตนเองและครอบครัว เปลี่ยนจากการเป็นภาระของครอบครัวและสังคมมาเป็นพลังขับเคลื่อนที่สามารถร่วมสร้างประโยชน์และ พัฒนาครอบครัว ชุมชน สังคม สู่ความเข้มแข็งต่อไป NAKHONSITHAMMARAT 103 .indd 103
9/1/2561 06:04:28 PM
บันทึกเส้นทางพบเทศบาลเมือง
เทศบาลเมือง
ปากพูน
นายฤทธิชัย ศรีเมือง รองนายกเทศมนตรี
นายแมน พิกุลจร รองนายกเทศมนตรี
นายประยุทธ ไกรคุ้ม รองนายกเทศมนตรี
“ปากพูนเมืองธรรมาภิบาล สืบสานประเพณีวัฒนธรรม น้อมน�ำเศรษฐกิจพอเพียง ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ น�้ำสะอาด ไฟสว่าง ทางสะดวก”
นายเฉลิม ศรีเมือง
นายกเทศมนตรีเมืองปากพูน
นายจีระศักดิ์ ทองพัว เลขานุการ
นายธนะพัฒธ์ ศรีชาเยศ นายสมนึก อ่อนเกตุพล เลขานุการ ที่ปรึกษา
วัดท่าแพ
สัมผัสเรื่องเล่าของหลวงปู่ทวด พระเกจิอาจารย์ในต�ำนานสมัยอยุธยา ที่ผู้คน ให้ความเคารพ ความศรัทธามาจนถึงปัจจุบัน ความเกี่ยวพันของวัดท่าแพ กับ หลวงปู่ทวด นั่นก็คือ สายน�้ำท่าแพแห่งนี้เป็นที่อุปสมบทของหลวงปู่ ซึ่งเป็น การอุปสมบททีอ่ โุ บสถกลางน�ำ ้ ในกาลต่อมาจึงมีการจัดตัง้ วัดขึน้ ณ ทีแ่ ห่งนี้ ให้ชอื่ ว่า “วัดท่าแพ” ปัจจุบันได้สร้างรูปหล่อหลวงปู่ทวด ประดิษฐานไว้ ณ ศาลากลางน�้ำ เพื่อให้ประชาชน ได้สักการบูชาเพื่อความเป็นสิริมงคลแก่ตัวเองและครอบครัว 104 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 104
9/1/2561 06:10:04 PM
วัดไพศาลสถิต
โบสถ์เก่า วัดไพศาลสถิต จัดเป็นหนึ่งใน Unseen นครศรี ธ รรมราชที่ นั ก ท่ อ งเที่ ย ว ไม่ควรพลาดทีจ่ ะมาสักการะ พระพุทธรูปเก่าแก่ และสัมผัสความมหัศจรรย์ของธรรมชาติทโี่ อบอุม้ พุทธะให้คงอยู่ มีรากของต้นโพธิต์ น้ ไทรโอบอุม้ ไว้อย่างสวยงามและน่าพิศวง ภายในโบสถ์ มีศาลาชัว่ คราว ซึง่ ประดิษฐานพระพุทธรูป 3 องค์ โดยเชื่อว่า พระพุทธรูปปางมารวิชัยองค์ใหญ่ (พระประธาน) แทนองค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า สาวกซ้ายขวาแทน พระโมคคัลลานะ และ พระสารีบตุ ร ชาวบ้านใกล้ไกลเชือ่ ว่าพระพุทธรูป ที่นี่ มีความเมตตา มีความศักดิ์สิทธิ์ อย่างมาก ใครมาบนบานขอพรในสิ่ ง ใดที่ ไ ม่ ผิ ด จารี ต มักได้อย่างที่ขอเสมอ
อนุสาวรีย์วีรไทย
อนุสาวรีย์วีรไทย หล่อด้วยทองแดงรมด�ำ เป็นรูปทหารจับปืนติดดาบเตรียมแทง เรียกว่า “จ่าด�ำ” หรือ “เจ้าพ่อด�ำ” สร้างเพื่อเป็น อนุ ส รณ์ ข องทหารไทยในภาคใต้ ที่ เ สี ย ชี วิ ต ในการปะทะกับทหารญีป่ นุ่ ในสงครามมหาเอเชีย บูรพา เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2484 ตั้งอยู่บน ถนนราชด�ำเนิน ในค่ายวชิราวุธ อันเป็นที่ตั้ง ของกองทัพภาคที่ 4 ปัจจุบัน
ล่องคลอง ท่องปากน�้ำปากพูน
ปากน�้ ำ ปากพู น สายน�้ ำ ที่ เชื่ อ มต่ อ ทะเลอ่ า วไทย กั บ คลองท่าแพ เป็นสายน�้ำแห่งประวัติศาสตร์ ของประเทศไทย จากเหตุการณ์ “สงครามมหาเอเชียบูรพา” ในปี พ.ศ.2482 ซึ่ง ทหารญีป่ นุ่ ได้ใช้เส้นทางน�ำ้ สายนีย้ กพลขึน้ บก ในวันที่ 8 ธันวาคม 2482 ปัจจุบนั ส�ำหรับผูท้ รี่ กั การเทีย่ วแบบ Eco ไม่ควรพลาด โปรแกรม ล่องเรือปากน�้ำปากพูน สัมผัสกับธรรมชาติที่ยังสมบูรณ์ที่สุด ป่าโกงกาง เขียวขจี ชมฝูงนกกาน�ำ้ ฝูงใหญ่ทปี่ ากอ่าว ชมประภาคาร ดูการดักลอบปูแบบพื้นถิ่น ตีผึ้งแบบดั้งเดิมในป่าโกงกาง ล่องเรือ ชมหิง่ ห้อยในยามค�ำ่ คืน แล้วกลับมาพักผ่อน เตรียมพร้อมในยามเช้า กับอาหารจานพิเศษ ตลอดเส้นทางนักท่องเทีย่ วยังสามารถซือ้ กุง้ หอย ปู ปลา สดๆ จากชาวประมงในพื้นที่ ติดไม้ติดมือกลับบ้านได้อีกด้วย นอกจากนักท่องเที่ยวจะได้ล่องเรือ ศึกษาประวัติศาสตร์ ชมธรรมชาติแบบผ่อนคลายแล้ว เส้นทางน�ำ้ สายนี้ ยังมีกจิ กรรมดีๆ รอให้คณ ุ ได้มาสัมผัส แบบผจญภัยและอนุรกั ษ์ธรรมชาติไปพร้อมๆ กัน ด้วยการปลูกป่าชายเลน และ สปาโคลนธรรมชาติ เป็นกิจกรรม ที่จะท�ำให้คุณมีความสุขสนุกสานอย่างไม่รู้ลืม ทีป่ ากน�้ำปากพูน NAKHON SI THAMMARAT 105 .indd 105
9/1/2561 06:10:13 PM
บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดมเหยงคณ์ Wat Ma Hae Yong พระพิศิษฎ์วินัยการ (เสรี ิตปญฺโ) เป็นเจ้าอาวาส
วัดมเหยงคณ์ ตั้งอยู่เลขที่ 1145 ถนนราชด�ำเนิน ต�ำบลคลัง อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช สังกัดคณะสงฆ์ ธรรมยุต 106 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 106
9/1/2561 06:16:18 PM
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
จังหวัดหนองบัวล�ำภู
ประวัติความเป็นมา
วัดมเหยงคณ์ เดิมชื่อว่า วัดเสมาทอง เป็นวัดเก่าแก่ที่มีประวัติ ความเป็นมายาวนาน ตามหลักฐานทางประวัตศิ าสตร์ คือพบหลักศิลาจารึก หลักที่ 27 สลักด้วยหินปูนด�ำ อักษรปัลลวะ ภาษาสันสกฤต มีความ สวยงาม สภาพช�ำรุด สันนิฐานว่าศิลาหลักนี้ก่อนหน้านั้นน่าจะประดับ ด้วยทอง วัดนี้จึงได้ชื่อว่าเสมาทองวนต้นและปลายหักหายไป คงเหลือ แต่เพียงส่วนกลาง มีอายุในราวพุทธศตวรรษที่ 12 ในสมัยพระเจ้าศรีธรรมาโศกราช ได้รบั พุทธศาสนาเถรวาท แบบลังกาวงศ์ มาจากประเทศศรีลังกา พระองค์ได้บวชโพธะกุมาร ผู้เป็นหลานแล้ว บูรณะวัดท่าช้างรวมกับวัดเสมาทองอารามหลวง เพือ่ ให้พระผูเ้ ป็นหลาน ศึ ก ษาและปฏิ บั ติ ธ รรมกรรมฐาน ซึ่ ง ต่ อ มาคื อ พระครู ป ลั ด สมเด็ จ พระเจ้าโพธิสมภาร เป็นเจ้าอาวาสวัดเสมาทอง ภายหลังเปลี่ยนชื่อเป็น วัดมเหยงคณ์ ตามชื่อของพระผู้ใหญ่ในคณะ (พระลังกา) ตรงกับชื่อ วัดมหิยังคณ์ ในประเทศศรีลังกา วัดนี้อยู่ในความอุปถัมภ์ของเจ้าเมืองนครศรีธรรมราชมา จนกระทั่ง ถึงตระกูล “ณ นคร” จนถึงสมัยเจ้าพระยาสุธรรมมนตรี (พร้อม ณ นคร) ในสมัยรัชกาลที่ 5 ท่านเจ้าจอมสว่าง สร้างกุฏิสงฆ์หลังใหญ่ 1 หลัง พลเอกเจ้ า พระยาบดินทรเดชานุชิต (แย้ม ณ นคร) สร้างศาลา การเปรียญ 1 หลัง
ล�ำดับเจ้าอาวาสวัดมเหยงคณ์
พระพิศิษฎ์วินัยการ (เสรี ิตปญฺโ)
สันนิฐานว่าเจ้าอาวาสวัดมเหยงคณ์ รูปแรก คือ พระครูการาม และผูเ้ ป็นเจ้าคณะฝ่ายอุดร พระบรมธาตุ ดูแลวัดต่างๆ ทางทิศเหนือ แต่กอ่ นหน้านัน้ มีบนั ทึกไว้วา่ ประมาณต้นรัชกาลที่ 5 พ.ศ.2414 สามเณรม่วง (พระรัตนธัชมุนีศรีธรรมราช) ได้ย้ายมาศึกษา เล่าเรียนปริยตั ธิ รรมอยูว่ ดั มเหยงคณ์ อ�ำเภอเมือง ขณะอายุได้ 17 ปี ซึ่งมีพระครูการาม (จู เปรียญ 4 ประโยค) เป็นอาจารย์ และสันนิ ฐานว่ า พระครู ก ารามเป็ น เจ้ า อาวาสในขณะนั้ น ต่ อ จากนั้ น พ.ศ.2417 ได้อุปสมบทโดยพระครูการาม (จู) และย้ายไปอยู่ วัดท่าโพธิ์ เมื่อพระครูการาม มรณภาพ พ.ศ.2427 หลังจากนั้น อี ก 36 ปี (ยั ง หาหลั ก ฐานไม่ พ บ) จนถึ ง พ.ศ.2463-2470 พระรัตนธัชมุนศี รีธรรมราช (แบน คญฺาภรโณ) เป็นเจ้าอาวาส ขณะด� ำ รงต� ำ แหน่ ง พระครู เ หมเจติ ย านุ รั ก ษ์ (ต่ อ มาย้ า ยไป ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดพระธาตุฯ) พ.ศ.2471-2499 พระราชไพศาลมุนี (ย้อย มหาสาโล) เริ่ม ด�ำรงต�ำแหน่งขณะเป็นพระครูไพศาลศีลวาท (ต่อมาย้ายไป ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดท่าโพธิ์ พ.ศ.2500-2527 พระธรรมจักรเจติยาภิบาล (อ�่ำ ปภากโร) พ.ศ.2529-ปัจจุบัน พระพิศิษฎ์วินัยการ (เสรี ตปญฺโ) NAKHON SI THAMMARAT 107
.indd 107
9/1/2561 06:16:24 PM
บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วั ด ท้ า วโคตร Wat Thao Kot พระครูวรวิริยคุณ (ปราโมทย์ ปสุโต) เป็นเจ้าอาวาส (อีเมล : klpramote@hotmail.com)
ประวัติความเป็นมา วั ด ท้ า วโคตร ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 513 ติ ด กั บ ถนนราชด� ำ เนิ น ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช สังกัดคณะสงฆ์ มหานิกาย สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ.1861 มีเนื้อที่ 19 ไร่ 2 งาน 53 ตารางวา ภายในวัดมีหลักฐานทางประวัติศาสตร์และโบราณสถานที่ส�ำคัญคือ ซากเจดี ย์ โบราณ สูงประมาณ 11 เมตร ฐานเจดี ย์ มี ลั กษณะเป็ น รูปสี่เหลียมผืนผ้า เจดีย์สร้างด้วยอิฐและดินเหนียว และหินปะการัง ในบางส่วน
วัดท้าวโคตรเป็นวัดที่ตั้งอยู่ทางด้านทิศใต้ของประตูชัยสิทธิ์หรือ ประตูชัยใต้ ซึ่งเป็นประตูเมืองนครศรีธรรมราชโบราณ วัดนี้พระเจ้า ศรีธรรมาโศกราชทรงสร้างไว้ทางด้านทิศใต้ของตัวเมือง ปัจจุบันตั้งอยู่ ในเขตเทศบาลนครนครศรีธรรมราช สร้างขึน้ เพือ่ ให้พระภิกษุอยูจ่ ำ� พรรษา และเฝ้าดูแลรักษาพระบรมธาตุเจดีย์ และเป็นที่พักของคนเดินทาง เมื่อประตูเมืองปิดก็จะได้แวะพักที่วัดนี้ ในบริเวณวัดท้าวโคตรเคยเป็นเทวสถานของพราหมณ์มาก่อน ต่อมาเมื่อพระพุทธศาสนาจากประเทศอินเดีย ศรีลังกา เข้ามาก็เกิด วัดเล็กๆ เกิดขึ้นอยู่โดยรอบ ได้แก่ วัดประตูทอง วัดธาราวดี วัดวา และ วัดศรภเดิม
108 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 108
9/1/2561 06:17:36 PM
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
จังหวัดหนองบัวล�ำภู
วัดในประวัติศาสตร์ที่มีความเก่าแก่คู่บ้านคู่เมืองนครมีอายุกว่าเจ็ดร้อยปี กับต�ำนานพระมเหสีของพ่อขุนรามค�ำแหงผู้สร้างวัดและท�ำนุบ�ำรุง พระพุทธศาสนาให้เจริญรุ่งเรือง
เมื่อปี พ.ศ.2453 (ร.ศ. 128) พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ขณะด�ำรงพระราชอิสริยยศเป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชได้เสด็จประภาส เมืองนครศรีธรรมราช เพือ่ นมัสการพระบรมธาตุเจดียแ์ ละเสด็จทอดพระเนตร เทวาลัย (สถูปวัดท้าวโคตร) และวัดเล็กๆ ในบริเวณนั้น ต่อมารับสั่งให้รวม วัดเหล่านัน้ เข้าเป็นวัดเดียวกันกับวัดท้าวโคตร เพือ่ สะดวกแก่การปฏิบตั ศิ าสนกิจ และการปกครองคณะสงฆ์ จึงเรียกว่า “วัดท้าวโคตร” นับแต่นั้นมา วัดท้าวโคตรเป็นวัดทางประวัตศิ าสตร์ทมี่ คี วามเก่าแก่คเู่ มืองนครศรีธรรมราช ซึ่งมีอายุ 701 ปี หลักฐานทางประวัติศาสตร์กล่าวกันว่า ในบริเวณนี้มี ตาปะขาว (พราหมณ์) ชื่อว่า “ตาท้าวโคตร” ได้ฝังหลักเมืองสร้างเทวสถาน เพื่อประกอบศาสนกิจตามลัทธิศาสนาพราหมณ์ เมื่อครั้งพ่อขุนรามค�ำแหง เสด็จเมืองนครศรีธรรมราช พระเจ้าศรีธรรมาโศกราชทรงยกนางเมืองชื่อว่า “ท้ า วโคตมี ลิ ติ ” หรื อ “พระนางพลิ ติ ” ถวายให้ เ ป็ น พระมเหสี ข อง พ่ อ ขุ น รามค� ำ แหง พระนางท้ า วโคตรมี ลิ ติ กั บ พ่ อ ขุ น รามค� ำ แหงได้ ส ร้ า ง วัดท้าวโคตรและสร้างพระพุทธรูปไว้ พระครู ว รวิ ริ ย คุ ณ ได้ พั ฒ นาวั ด ท้ า วโคตรให้ เ ป็ น วั ด ส่ ง เสริ ม การศึกษาพระพุทธศาสนา พัฒนาความรู้และวิชาการ และอนุรักษ์ ประเพณีวฒ ั นธรรมท้องถิน่ เมืองนครศรีธรรมราช เนือ่ งจากความเจริญ รุ่งเรื่องของพระพุทธศาสนาลังกาวงศ์ในอดีตจึงท�ำให้เกิดประเพณี ท้องถิ่นที่ส�ำคัญและมีคุณค่าต่อชุมชน สังคม ประเทศชาติ และ พระพุทธศาสนา อันเป็นมรดกทางวัฒนธรรมของบรรพชนในอดีต ท่านจึงได้จัดกิจกรรมส่งเสริมประเพณีท้องถิ่น ได้แก่ ประเพณีแห่ผ้า ขึ้นธาตุ (ขึ้น 15 ค�ำ่ เดือน 3) ประเพณีกวนข้าวมธุปายาสยาโค (ขึ้น 15 ค�ำ่ เดือน 3) ประเพณีบญ ุ สารทเดือนสิบ (แรม 1-14 ค�ำ่ เดือน 10) ประเพณีการให้ทานไฟ (ปลายเดือนธันวาคมและต้นเดือนมกราคม) และประเพณี พิธีกรรมที่เกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนา เป็นต้น และเรื่องเล่าอีกเรื่องหนึ่งว่า เศรษฐี 3 พี่น้อง คือ ท้าวโคตรคีรีเศรษฐี ท้าวราช และท้าวศรี เดินทางมาจากเมืองมอญเพื่อน�ำทองค�ำมาหุ้มยอด พระบรมธาตุเจดียเ์ มืองนครศรีธรรมราช ท้าวโคตรคีรเี ศรษฐีผเู้ ป็นพีข่ อสถานที่ จากพระเจ้าศรีธรรมาโศกราชสร้างบ้านเรือนและขอสร้างวัด ในจ�ำนวนวัดเหล่านัน้ วัดท้าวโคตรเป็นวัดหนึง่ ทีส่ ร้างและได้รบั การอุปถัมภ์จากพระเจ้าศรีธรรมาโศกราช โบราณสถานและโบราณวัตถุที่ส�ำคัญและเก่าแก่ของวัดท้าวโคตร ซึ่งได้ ขึน้ ทะเบียนเป็นสมบัตขิ องชาติ ได้แก่ อุโบสถมหาอุด, ใบเสมาหินทรายแดง, ภาพเขียนสีชาดก, พระสัพพัญญุตญาณมุนี (หลวงพ่อองค์ใหญ่), หลวงศรภเดิม และสถูปเจดีย์ NAKHON SI THAMMARAT 109 .indd 109
9/1/2561 06:17:41 PM
บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัWatดธาราวดี Tarawadee พระมหาวิทวัส ถิรญาณทสฺสี เจ้าอาวาส
มีชื่อเสียงขจรขจายในนาม วัดพ่อท่านจบรักษากระดูก
ประวัติความเป็นมา
วัดธาราวดี เดิมชื่อว่า วัดบางจาก(บน) ปัจจุบันตั้งอยู่ เลขที่ 182 หมู่ที่ 3 ต�ำบลบางจาก อ�ำเภอเมืองนครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช มีเนื้อที่ 43 ไร่ 2 งาน สังกัดมหานิกาย ทิ ศ ตะวั น ออกติ ด คลองบางจาก ทิ ศ ใต้ ติ ด ถนนหลั ง วั ด ทิศตะวันตกติดถนน รพช.(บางจาก-บางใหญ่) ทิศเหนือ ติดถนน หน้ า วั ด ซึ่ ง ก่ อ นหน้ า นี้ ใ นอดี ต ประมาณ 220 ปี วัดตั้งอยู่ ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือห่างจากสถานทีป่ จั จุบนั ไปประมาณ 500 เมตร สมัยนัน้ ยังไม่มถี นน ยังใช้การคมนาคมทางเรือ ท�ำให้ ไม่สะดวกในการเดินทาง ต่อมาชาวบ้านได้ถวายที่ดิน เพื่อ ให้สะดวกต่อการเดินทางซึง่ ติดกับคลองบางจาก ซึง่ เป็นทีต่ งั้ อยู่ ในปัจจุบันนี้
110 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 110
9/1/2561 06:18:51 PM
พระครูวิมลนวการ (พ่อท่านเผ้ง) อดีตเจ้าอาวาสวัดธาราวดี
พระครูสุขันติธารารักษ์ (ท่านใหม่ ปริยวงศ์กร)
ล�ำดับเจ้าอาวาส (เท่าที่มีบันทึกไว้)
1. พ่อท่านมี 2. พ่อท่านเลื้อม 3. พ่อท่านเผ้ง (พระครูวิมลนวการ) 4. พ่อท่านจบ (พระครูธรรมธราธิคุณ) 5. ท่านใหม่ (พระครูสุขันติธารารักษ์) 6. พระมหาวิทวัส ถิรญาณทสฺสี รูปปัจจุบัน
พิธีไหว้ครูหมอกระดูก/ปลุกเสกน�ำ้ มันมนต์
NAKHON SI THAMMARAT 111 .indd 111
9/1/2561 06:18:53 PM
ประวัติเจ้าอาวาส
พระมหาวิ ท วั ส ฉายา ถิ ร ญาณทสฺ สี นามสกุล หมื่นแก้วทอง อายุ 27 ปี พรรษา 7 การศึกษาทางธรรม : เปรียญธรรม 4 ประโยค นักธรรม ชั้นเอก การศึกษาทางโลก : ปริญญาตรี รัฐประศาสนศาสตร์บณ ั ฑิต มหาวิทยาลัย ราชภั ฏ สวนสุ นั น ทา ปริ ญ ญาโท รั ฐ ประศาสนศาสตร์ ม หาบั ณ ฑิ ต มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง เสนาสนะภายในวัด ประกอบด้วย อุโบสถ ศาลาการเปรียญ ครัว ศาลาเมรุ กุฏิที่พักสงฆ์ 8 หลัง ศาลาพ่อท่านคล้าย 1 หลัง ศาลาทรงไทย โบราณ 1 หลัง และห้องน�้ำ 20 ห้อง โบราณวัตถุ พระพุทธรูป(ปางอุ้มบาตร) ชาวบ้านเรียกว่า พระลาก อายุ 249 ปี พระประธานในอุโบสถ เป็นพระพุทธชินราช ขนาดหน้าตัก 59 นิว้ พระประธานในศาลาการเปรียญ พระพุทธสิหิงค์ ขนาดหน้าตัก 59 นิ้ว 112 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 112
9/1/2561 06:18:55 PM
ประวัติพ่อท่านจบ - วัดธาราวดี
ในบรรดาหมอกระดูก พื้นบ้านเมืองนครศรีธรรมราช ชื่อของ “พ่อท่านจบ” เป็นทีร่ จู้ กั กันทัว่ ไป เพราะเป็นหมอมาเกือบ 50 ปี มีฝมี อื ในการรักษา มีเมตตาธรรม ต่อผู้ป่วยไม่เลือกหน้า จนยกย่องกันว่าเป็นหมอใจบุญ “พ่อท่านจบ” มีชื่อเดิมว่า บรรจบ วิเศษธาร เกิดเมื่อวันพุธ แรม 1 ค�่ำ ปีมะเมีย ตรงกับวันที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ.2461 ที่บ้านบางจาก ต�ำบลบางจาก อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช บิดาชื่อ นายชื่น มีอาชีพเป็นทนายความ มารดาชื่อ ขวิด มีอาชีพท�ำนา พ่อท่านจบได้เรียนหนังสือจบชั้นประถมปีที่ 4 จาก โรงเรียนประชาบาล ครั้นอายุ 20 ปี คือ เมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ.2485 ได้อุปสมบท ณ วัดบางจาก (วัดธาราวดี ในปัจจุบัน) โดยมีพระครูกาแก้ว เป็น พระอุปัชฌาย์ ท่านใฝ่ใจศึกษาทางธรรมจนสอบได้นักธรรมเอก และจ�ำพรรษาอยู่ ณ วัดบางจากตลอดมา รวมอายุพรรษาถึง พ.ศ. 2549 ได้ 88 ปี 67 พรรษา ด�ำรง สมณศักดิ์เป็น พระครูธรรมธราธิคุณ เจ้าอาวาสวัดธาราวดี หรือวัดบางจากเดิม (ท่านมรณภาพเมื่อ วันพุธ ที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2549 เวลา 10.50 น. โรงเรียน กรุงเทพ หาดใหญ่)
งานเผยแผ่พระพุทธศาสนา
ทางวัดได้จัดกิจกรรมอบรมค่ายศีลธรรมแก่เยาวชนเป็นประจ�ำทุกปี จัดปฏิบัติธรรมเจริญภาวนากัมมัฏฐานเป็นประจ�ำทุกปี จัดกิจกรรมเพือ่ ส่งเสริมและอนุรกั ษ์ประเพณี เช่น การให้ทานไฟ, การชักพระฯลฯ
ภาพจิตรกรรมฝาผนังในอุโบสถฤาษีดัดตน 108 ท่า 1 เดียวในเมือง
พระพุทธสิหิงค์ และพระหยกโบราณในวิหาร
NAKHON SI THAMMARAT 113 .indd 113
9/1/2561 06:19:00 PM
ธรรมโอสถ จากท่านพ่อจบ
เนือ่ งจากพ่อท่านจบ ท่านได้ศกึ ษาเกีย่ วกับการรักษาโรคทีเ่ กีย่ วกับกระดูก และ เส้นเอ็นโดยใช้นำ�้ มันผสมสมุนไพรและเสกพุทธคุณ จึงท�ำให้วัดธาราวดีเป็น ที่รู้จักกันทั่วไปในนามวัดพ่อท่านจบรักษากระดูก ตั้งแต่ที่พ่อท่านจบ ยังมีชีวิตอยู่ ซึ่งได้ละสังขารไปแล้วเป็นเวลา 12 ปี มาถึงปัจจุบันนี้ ก็ยัง มีคณะศิษยานุศษิ ย์ ท�ำการรักษากระดูก ต่อกระดูกมาตลอด พร้อมกันนี้ ทางวัดยังมีการท�ำน�้ำมนต์ สูตรของพ่อท่านจบ โดยการผ่านพิธีไหว้ครู ให้ญาติโยมได้น�ำไปทารักษากระดูก เส้นเอ็น จนถึงปัจจุบัน
หมอพล บุญทอง
หมอใหญ่ ปริยวงศ์กร
หมอฉ้าย
114 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 114
9/1/2561 06:19:06 PM
พระอุปคุต
พระสิวลี
พระลาก
อธิษฐานจิต รักษาศีล 5 กับพระลาก
พระลาก (เป็นพระพุทธรูปปางอุ้มบาตร คู่กับวัดธาราวดี สร้าง เมื่อ ปี 2324) ชาวบ้านมีความศรัทธามาก มาอธิษฐานจิต ตั้งใจบ�ำเพ็ญ คุณงามความดี รักษาศีล 5 ชีวติ จะรุง่ เรืองยิง่ ขึน้ ๆ เพราะศีลเปรียบเสมือน รั้วป้องกันภัยของชีวิต การรั ก ษาศีล 5 เป็นคุณ ธรรมของมนุษย์ หากรั ก ษาได้ อย่างมัน่ คงก็จะเป็นประตูสพู่ ระนิพพาน เบือ้ งต้น เลยทีเดียว 1. ไม่ฆ่าสัตว์ตัดชีวิต รวมไปถึงการไม่เบียดเบียน ผู้อื่นทั้งทางกาย วาจา และใจ ให้ได้รับความล�ำบาก เดือดร้อน เจ็บปวด ทุกข์ทรมาน ทั้งทางกาย และจิตใจ ตลอดจนการฆ่าด้วยสายตา คือ การมองผูอ้ นื่ ด้วยสายตา ทีด่ ูแคลนนั้น ไม่ควรท�ำ 2. ไม่ลักทรัพย์ ไม่ฉ้อโกง ยักยอก เบียดบัง คอรัปชั่น เอาสมบัติของผู้อื่นมาเป็นของตน ตลอดจน การถ่ายเทสมบัติ ของผู้อื่น หรือของส่วนรวมมาเป็นของตน 3. ไม่ประพฤติผิดในกาม ไม่ผิดลูกเมียคนอื่น รักเดียวใจเดียว ให้ระลึกอยู่เสมอว่า ครอบครัวใครๆ ก็รัก อย่าท�ำร้ายผู้ที่มีครอบครัวแล้ว
พระสังกัจจาย
ให้ชำ�้ ใจ เจ็บปวดใจ ตลอดจนการค้าประเวณี และการท�ำตน ให้เกิดการยัว่ ยุ ทางเพศเป็นสิ่งไม่สมควรอย่างยิ่ง 4. ไม่โกหกหลอกลวง ปลิ้นปล้อน มีเล่ห์เหลี่ยม สร้างเรื่องเท็จ หลอกลวงผูอ้ นื่ ให้หลงเชือ่ โดยทีต่ นเองไม่มคี ณ ุ สมบัตเิ ช่นนัน้ อยูใ่ นตน หรือ ใช้ภาษาโน้มน้าวฝูงชน ให้เกิดความคิดเห็นไปในทางไม่ถกู ต้องชอบธรรม เพือ่ ประโยชน์แก่ตนเอง แก่พวกพ้องบริวาร หรือประโยชน์ทไี่ ม่ถกู ต้อง 5. ไม่เสพสิ่งเสพติด เครื่องดองของมึนเมา ตลอดจน ไม่สนับสนุน ส่งเสริม ประชาสัมพันธ์ เชิญชวนให้ผู้คน เกิดความเห็นคล้อยตาม จนเกิดความนิยมสิง่ ของมึนเมา ศีล 5 ข้อนีเ้ องทีจ่ ะเป็นประดุจรัว้ ป้องกันภัยให้กบั ชีวติ ครอบครัวและสังคมเป็นอย่างดี เมื่อคนในครอบครัว ในสังคมท�ำได้ ก็ไม่มีภยันตรายเกิดขึ้น ของก็ไม่มีหาย คดี ค วามก็ ไ ม่ มี ชี วิ ต ก็ ป ลอดภั ย ทรั พ ย์ สิ น ก็ ป ลอดภั ย ครอบครัวเป็นสุข สังคมสันติ เป็นปาฏิหาริย์ที่เกิดขึ้นได้จริงทุกวัน โดยไม่ต้องร้องขอ
NAKHON SI THAMMARAT 115 .indd 115
9/1/2561 06:19:11 PM
บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัด หน้า พระบรมธาตุ
ส�ำนักเรียนบาลีแห่งแรกของปักษ์ ใต้ พระครูอดิสัยธรรมศาสก์ (ชอบ อติเมโธ) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส พระอุปชั ฌาย์ และ รองเจ้าคณะ อ�ำเภอเมืองนครศรีธรรมราช ประวัติความเป็นมา
วัดหน้าพระบรมธาตุ หรือวัดหน้าพระธาตุ ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมืองนครศรีธรรมราช เป็นวัดเก่าแก่วดั หนึง่ ในจังหวัด ไม่มหี ลักฐานปรากฏว่าใครเป็นผูส้ ร้าง แต่มหี ลักฐานว่าสร้างขึน้ เมื่ อ ประมาณ พ.ศ.1800 คราวเดี ย วกั บ การสร้ า งวั ด พระมหาธาตุ และได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมาเมือ่ พ.ศ. 2470 มี บั น ทึ ก ในหนั ง สื อ ต� ำ นานพระธาตุ ว ่ า พระบาทสมเด็ จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 5 เสด็จพระราชด�ำเนิน วัดหน้าพระบรมธาตุ เมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ.2441 เพื่อ ทอดพระเนตรที่พักพระครูเทพมุนี (ปาน) พระเถระผู้น�ำ การบูรณปฏิสังขรณ์พระบรมธาตุเจดีย์นครศรีธรรมราช เมื่อปี 2520 สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จ พระสังฆราช (วาสน์ วาสโน) เสด็จวัดหน้าพระบรมธาตุ เพื่อทรงสรงน�้ำศพ พระครูวิมลนวการ (เผ้ง ทิฏฺฐธมฺโม) อดีตเจ้าอาวาส 116 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 116
10/1/2561 09:18:34 AM
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
มหาราช
ความส�ำคัญของ วัดหน้าพระบรมธาตุ
วัดหน้าพระบรมธาตุ เป็นส�ำนักเรียนภาษาบาลี
แห่งแรกของปักษ์ใต้ โดยพระศรีธรรมราชมุนี (หมุ่น) เปิด โรงเรียนสอนภาษาบาลีขนึ้ เมือ่ วันที่ 22 สิงหาคม พ.ศ.2467 จนถึงปี 2470 ได้ผลิตมหาเปรียญชาวปักษ์ใต้ ได้สำ� เร็จ 3 รูป แล้วผลิตต่อเรื่อยมาอีกจนได้หลายร้อยรูป พระมหาเปรียญ 3 รูปแรก ของวัดหน้าพระบรมธาตุ คือ พระมหาหมุ่น พระมหาวรรณ และสามเณรชื่น ทัง้ สามท่านสอบจนได้ 6 ประโยค พระมหาวรรณ ลาสิกขา ไปเป็นครู จนได้เลื่อนชั้นขึ้นเป็นครูใหญ่ พระมหาชื่น ลาสิกขา รับราชการจนเป็น นายอ�ำเภอ ภายหลังเป็น ผู้แทนราษฎร จังหวัดสุราษฎร์ธานี ส่วนพระมหาหมุ่น ภายหลังได้รับพระราชทานสมณศักดิ์เป็น พระครูกาแก้ว แล้วได้เลื่อนเป็นพระราชาคณะที่ พระปริยัติวโรปการ
เป็ น ที่ พ� ำ นั ก ของพระภิ ก ษุ ส ามเณรที่ เ ดิ น ทาง มาศึกษาบาลีจนถึงปัจจุบนั อีกทัง้ เป็นสถานทีอ่ ำ� นวย ความสะดวกแก่ ป ระชาชนผู ้ เ ดิ น ทางมาสั ก การะ พระบรมธาตุเจดีย์ใช้เป็นที่พักเพื่อรอร่วมขบวนแห่ผ้า ขึ้นห่มองค์พระบรมธาตุในวันมาฆบูชาเป็นประจ�ำทุกปี ที่ส�ำคัญคือเป็นสถานที่ให้การบรรพชาอุปสมบทแก่กุลบุตรทั้ง ในจังหวัดนครศรีธรรมราช ต่างจังหวัด และต่างประเทศโดยเฉพาะ ชาวมาเลเซียเชื้อสายไทย พ.ศ. 2542 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชด�ำเนินวัดหน้าพระบรมธาตุ ในการพระราชทานเพลิงศพ นายเห้ง โสภาพงศ์ ศิลปินแห่งชาติ ประจ�ำปี 2529 สาขาทัศนศิลป์ (เครือ่ งถม) พ.ศ. 2551 เป็นสถานทีเ่ ผาดอกไม้จนั ทน์ของจังหวัดในพระราชพิธี พระราชทานเพลิง พระศพสมเด็จพระเจ้าพีน่ างเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวฒ ั นา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ พ.ศ. 2555 เป็นสถานทีถ่ วายและเผาดอกไม้จนั ทน์ของจังหวัด ในพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี
ปูชนียวัตถุภายในวัด
พระลากแม่ศรีนวล พระบรมรูปสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช และ รูปเหมือนอดีตเจ้าอาวาส NAKHON SI THAMMARAT 117 .indd 117
10/1/2561 09:18:38 AM
บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดสวนป่าน Wat Suan Pan
พระศรีธรรมประสาธน์ (ไมตรี ปภารตโน ป.ธ.4 นธ.เอก) เจ้าคณะจังหวัดนครศรีธรรมราช ธรรมยุต (รักษาการแทนเจ้าอาวาส) วัดสวนป่าน ตั้งอยู่ที่ถนนราชด�ำเนิน (สายใน) ใกล้สามแยกหอนาฬิกา ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมืองนครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช 118 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 118
10/1/2561 09:23:31 AM
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
จังหวัดหนองบัวล�ำภู
ประวัติวัดสวนป่าน
วัดสวนป่าน เป็นวัดธรรมยุต สร้างเมื่อปี พ.ศ.2442 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อเดือนกันยายน พ.ศ.2525 ในอดีตบริเวณที่ตั้งวัดสวนป่าน เป็นสถานทีเ่ ลีย้ งช้างหลวง ต่อมาท่านเจ้าคุณพระรัตนธัชมุนี (ม่วง เปรียญ) ในสมัยรัชกาลที่ 5 เห็นว่าทีด่ นิ บริเวณโรงเลีย้ งช้างหลวงเป็นทีร่ กร้าง และ อยู่ใกล้กับศาลากลางจังหวัด ท่านเจ้าคุณพระรัตนธัชมุนีจึงจัดตั้งวัดขึ้น เป็นวัดของธรรมยุตนิกาย หลังจากที่เจ้าคุณพระรัตนธัชมุนี (ม่วง เปรียญ) ผู้ก่อตั้งวัดสวนป่านได้ถึงแก่มรณภาพไปเมื่อปี พ.ศ.2477 แล้ว ศิษยานุศิษย์ของท่านเจ้าคุณฯ ได้สร้างเจดีย์แบบลังกาย่อส่วนขึ้นไว้เป็นที่ระลึกถึงท่านเจ้าคุณ ด้วยความกตัญญูกตเวทีและให้เป็นอนุสรณ์
เสนาสนะส�ำคัญของวัด
ภายในวัดสวนป่านมีสถานที่สำ� คัญปรากฏเด่นเป็นสง่าอยู่ 2 อย่างคือ 1. ศาลาการเปรียญ (ศาลาพระหมิด) ตั้งอยู่ทางทิศเหนือ ภายใน มีพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์คู่วัด คือ “พระหมิด” เป็นพระพุทธรูปส�ำริด ปางประทับยืนทีช่ าวบ้านแถบวัดสวนป่านทัง้ ใกล้ไกลเคารพนับถือมานาน ร่วม 100 ปี สังเกตจากทองค�ำเปลวที่ปิดทับซ้อนกันมาชั้นแล้วชั้นเล่า ปกติศาลาการเปรียญจะเปิดให้เข้าชมพร้อมฟังเทศน์ทุกวันพระ และ ตลอดช่วงเข้าพรรษา 2. อุโบสถ ตัง้ อยูท่ างทิศใต้ เป็นศาสนสถานทีว่ จิ ติ รแห่งหนึง่ ในตัวเมือง ภายในมีภาพจิตรกรรมฝาผนังอันงดงาม เป็นภาพเกี่ยวกับพุทธประวัติ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ภาพประวัติเรื่องราวแสดงถึงความเป็นอยู่ ของชาวเมืองนครศรีธรรมราชในสมัยนั้น โดยเฉพาะภาพที่รัชกาลที่ 5 เสด็จฯ มาประทับทีว่ ดั สวนป่าน เมือ่ ครัง้ เสด็จกลับจากประเทศอินโดนิเซีย เมื่อปี พ.ศ.2441 โดยภาพจิตรกรรมดังกล่าวเป็นผลงานของนายแนบ ทิชินพงศ์ ผู้มีผลงานดีเด่นด้านศิลปะของนครศรีธรรมราช วาดเสร็จ ตั้งแต่ปี พ.ศ.2525
NAKHON SI THAMMARAT 119 .indd 119
10/1/2561 09:23:36 AM
บ้านไม้รีสอร์ท & ร้านต้นไม้กับกาแฟ ท
บ้านไม้รีสอร์ท บริการบ้านพักเป็นหลังสไตล์บ้านสวน
แฟ
บรรยากาศดี มีบริการ กาแฟสด และ เบเกอร์รี่ ส�ำหรับลูกค้าที่ชอบทานกาแฟ ท่ามกลางสวนร่มรื่น
120 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย 2.indd 120
10/1/2561 09:25:39 AM
ราคาห้องพัก
ห้องเตียงเดี่ยว 5 ฟุต 500 / วัน
ติดต่อส�ำรองห้องพัก
092-8160118 คุณวรรณา, 096-5615826 คุณแอ๋ม
71/1 ม.3 ถ.ชลประทาน ต.โพธิ์เสด็จ อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช FACEBOOK | บ้านไม้รีสอร์ท & ร้านต้นไม้กับกาแฟ NAKHON SI THAMMARAT 121 2.indd 121
10/1/2561 09:25:46 AM
บันทึกเส้นทางพักผ่อน
อุน่ ใจ หลับสบาย ใกล้ตวั เมืองทุง่ สง อาคารสูง 9 ชั้น เด่นเป็นสง่า บริการห้องพัก 130 ห้อง พร้อมอุปกรณ์ อ�ำนวยความสะดวกที่ ได้มาตรฐาน มีที่จอดรถกว้างขวางและปลอดภัย ต้อนรับท่านทุกเวลาด้วยมิตรภาพ บริการดูแลจัดให้อย่างอบอุน่ ประทับใจ เป็นกันเอง ส�ำหรับทุกงานฉลอง พิธีหมั้น-แต่งงาน งานฉลองมงคลสมรส งานเลี้ยงสังสรรค์ งานประชุมสัมมนา และสถานบริการ Grand Pub บริการท่านด้วยอาหารจากครัวดุสิตา ห้องครัวมาตรฐาน GMP โรงแรมตั้งอยู่บริเวณสี่แยกหนองหว้าตรงทางแยกเข้าอ�ำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช ใกล้กับศูนย์ธุรกิจและหน่วยงานราชการหลัก ของอ�ำเภอทุ่งสง สะดวกต่อการเดินทางและการติดต่อธุรกิจ
ส�ำรองที่พัก โรงแรมแกรนด์เซาเทิร์น Grandsouthern Hotel Breakfast buffet 555 หมู่ 1 ต�ำบลชะมาย อ�ำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช 80110 โทร | 075-412101, 075-412038 LINE | 0824199702 FACEBOOK | Grandsouthern Hotel
www.grandsouthernhotel.com
OPEN 6.30 - 10.00 am. Free Internet WiFi
GrandPub
OPEN 21.00 - 02.00 น.
122 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 122
10/1/2561 09:27:18 AM
บันทึกเส้นทางพักผ่อน
โรงแรมลอยชาเลท์ Loy Chalet Resort Loy Chalet Resort ล้อมรอบด้วยธรรมชาติอันเขียวขจี ห่างจากน�ำ้ ตกกรุงชิง และจุดชมวิวลานสกา เพียง 5 นาทีหากเดินทาง ด้วยรถยนต์ โรงแรมมีสวนขนาดใหญ่ ให้บริการห้องพักปลอดบุหรี่ พร้อมอินเทอร์เน็ตไร้สาย (Wi-Fi) ฟรี ห้องพักปรับอากาศมีระเบียง ทีวีดาวเทียมระบบช่องสัญญาณดาวเทียม ตู้เย็น พื้นที่นั่งเล่น โต๊ะ เครือ่ งท�ำน�ำ้ อุน่ ในห้องน�ำ้ ในตัว บริการห้องจัดเลีย้ ง ส�ำหรับ 200-250 คน ห้องประชุมสัมนารองรับได้ 50 คน
ติดต่อส�ำรองห้องพัก
075-845133, 081-8951970
21/2 ม.4 ต.เขาแก้ว อ.ลานสกา จ.นครศรีธรรมราช
บริการอาหารพื้นบ้าน
เปิดบริการทุกวัน08:00 น. - 20:00 น ห่างจากอ�ำเภอลานสกา เพียง 7 กิโลเมตร ติดถนนใหญ่ ใกล้น�้ำตกกะโรม เพียง 1 กิโลเมตร เที่ยวชม บ่อน�้ำศักดิ์สิทธิ์บ่อที่ 6 ของจังหวัดนครศรีฯ (บ่อนาคราช) FACEBOOK Loy Chalet Loy Chalet
.indd 123
10/1/2561 09:29:23 AM
บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล วิสัยทัศน์
องค์การบริหารส่วนต�ำบลท่าศาลา
“ ชุมชนแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต พิชิตโรคมีอนามัย ใส่ใจพัฒนาคุณภาพชีวิต”
ตั้งอยู่ถนนท่าศาลา - นบพิต�ำ ต�ำบลท่าศาลา อ�ำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช 80160
องค์การบริหารส่วนต�ำบล
ท่าศาลา
นายอภินันท์ เชาวลิต
นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลท่าศาลา
“ท่าศาลา” เป็นต�ำบลหนึ่งของอ�ำเภอท่าศาลา พื้นที่ทั้งหมดตั้งอยู่ ริมชายฝั่งทะเล มีความยาวไปตามแนวชายฝั่งจากเหนือจรดใต้ ประมาณ 12 กิโลเมตร มีเนื้อที่โดยประมาณ 21,875 ไร่ (35 ตารางกิโลเมตร) เป็นพื้นที่ราบชายฝั่งทะเล ชายฝั่งเป็นหาดทรายสลับกับป่าชายเลน ประเภทป่าโกงกาง ป่าแสม เป็นแหล่งท่องเที่ยว การท�ำประมงชายฝั่ง การเพาะเลี้ยงสัตว์น�้ำที่ราบใช้ท�ำสวนมะพร้าว และเลี้ยงสัตว์ ลักษณะภูมปิ ระเทศ สภาพพืน้ ทีเ่ ป็นทีร่ าบชายฝัง่ ทะเลเป็นหาดทราย สลับกับป่าชายเลน มีความยาวไปตามแนวชายฝั่งทะเลจากเหนือจรดใต้ ตั้งแต่ หมู่ที่ 10 หมู่ที่ 4 หมู่ที่ 5 หมู่ที่ 6 หมู่ที่ 9 และ มีลักษณะเป็นดินเลน ทับถมในหมูท่ ี่ 7,14 และ หมูท่ ี่ 8 ส่วนทางทิศตะวันตกมีลกั ษณะเป็นทีร่ าบลุม่ เหมาะแก่การท�ำนาในพื้นที่ หมู่ที่ 1 และหมู่ที่ 3
เขตการปกครอง ในต�ำบลท่าศาลา จะมีทั้งหมด 15 หมู่บ้าน โดยมีหมูบ่ า้ นในเขตองค์การบริหารส่วนต�ำบลท่าศาลาเต็มทัง้ หมูบ่ า้ น 14 หมู่บา้ น ได้แก่ หมู่ที่ 2 บ้านเตาหม้อ หมู่ที่ 3 บ้านท่าสูง,นางตรา หมู่ที่ 4 บ้านท่าสูงบน หมู่ที่ 5 บ้านในถุ้ง หมู่ที่ 6 บ้านสระบัว หมู่ที่ 7 บ้านหน้าทับ หมู่ที่ 8 บ้านปากน�้ำใหม่ หมู่ที่ 9 บ้านด่านภาษี หมู่ที่ 10 บ้านบ่อนนท์ หมู่ที่ 11 บ้านฝายท่า หมู่ที่ 12 บ้านในไร่ หมู่ที่ 13 บ้านในไร่ หมู่ที่ 14 บ้านแหลม หมู่ที่ 15 บ้านบางตง และหมูบ่ า้ นในเขตองค์การบริหารส่วนต�ำบลท่าศาลาบางส่วน 1 หมูบ่ า้ น ได้แก่ หมู่ที่ 1 บ้านท่าศาลา ประชากร ต�ำบลท่าศาลามีจำ� นวนประชากรทัง้ หมด 30,034 คน จ�ำนวนหลังคาเรือน 9,607 หลังคาเรือน (ที่มา : ข้อมูลทะเบียนราษฏร์ อ�ำเภอท่าศาลา ณ ธันวาคม 2560)
124 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย 2.indd 124
12/1/2561 05:15:57 PM
ฝ่ายบริหารองค์การบริหารส่วนต�ำบลท่าศาลา
1. นายอภินันท์ เชาวลิต 2. นายพิศาล พิมเสน 3. นายทินพล สุนทร 4. นายวิสูตร อะหลี
นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลท่าศาลา รองนายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลท่าศาลา รองนายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลท่าศาลา เลขานุการนายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลท่าศาลา NAKHON SI THAMMARAT 125
2.indd 125
12/1/2561 05:15:59 PM
เล่าขานต�ำนาน พระนางตรา ประวัติความเป็นมาของวัดนางตรา
วั ด นางตรา ตั้ ง อยู ่ ที่ ห มู ่ ที่ 3 ต� ำ บลท่ า ศาลา แต่ เ ดิ ม ชื่ อ ว่ า วัดพระนางสุพัตราเป็นวัดที่สร้างมานานประมาณ 1,800 ปี โดย ต�ำนานได้กล่าวไว้ว่า พระเจ้าศรีธรรมโศกได้น�ำพระสารีริกธาตุของ พระพุธเจ้ามาจากชมพูทวีปและได้มาสร้างเจดียท์ จี่ งั หวัดนครศรีธรรมราช เพื่อบรรจุพระสารีริกธาตุ ข่าวการสร้างเจดีย์ได้แพร่ถึงอาณาจักร ศรี วิ ชั ย ในเกาะสุ ม าตรา ซึ่ ง มี เจ้ า หญิ ง องค์ ห นึ่ ง ทรงพระนามว่ า พระสุมาตราทรงเลื่อมใสในพระพุธศาสนามากและปรารถนาที่จะได้ ร่วมสร้างพระเจดียด์ ว้ ย จึงได้จดั เรือส�ำเภา 300 ล�ำ พร้อมทรัพย์สมบัติ ข้าทาสบริวารเดินทางจากเกาะสุมาตราสูน่ ครศรีธรรมราช ขณะเดินทาง ใกล้ถึงก็เกิดอุบัติเหตุเรือพระที่นั่งล่ม ประกอบกับการสร้างพระเจดีย์ ได้เสร็จเรียบร้อยแล้ว พระนางเห็นว่าชัยภูมใิ กล้ๆ นัน้ เหมาะทีจ่ ะสร้างวัด จึงได้สร้างและตัง้ ชือ่ ไว้วา่ วัดพระนางสุพตั รา เรียกกันสัน้ ๆ เหลือเพียง วัดนางตรา จากสิง่ ก่อสร้างซึง่ ปรักหักพังทีห่ ลงเหลือให้เห็นในปัจจุบนั แสดงถึงความเจริญรุ่งเรืองในอดีต เช่น โบสถ์ พระเจดีย์
พระกรุนางตรา (พิมพ์ ไพ่ตอง) พิมพ์ ใหญ่ (พิมพ์นิยม) กรุวัดนางตรา อ�ำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช
พระพุทธคุณแห่งพระนางตรา
พระกรุนางตราทีแ่ ตกกรุออกมา มีพทุ ธศิลปะแบบศรีวชิ ยั ยุคกลาง มีอายุ ประมาณปี พ.ศ.1,500 - 1,600 สร้างก่อนอาณาจักรละโว้หรือลพบุรี เป็น พระเนื้อดินเผาผสมว่านยา สีออกน�้ำตาลแก่ ด�ำอมเทา หรือเหลืองมันปู ทีเ่ ป็นเนือ้ ชินมีนอ้ ยมาก และมีมากมายหลายพิมพ์ทรง เช่น พิมพ์สามเหลีย่ ม ปาฏิหาริย์ พิมพ์ซมุ้ ปรางค์ พิมพ์ยนื ประทานพร ฯลฯ แต่ทเี่ ป็น “พิมพ์นยิ ม” และเป็นพระพิมพ์ที่มีชื่อเสียงโด่งดังของภาคใต้ก็คือ พิมพ์นาคปรกใหญ่ เป็นพระทรงสี่เหลี่ยม พระประธานประทับนั่งสมาธิ แสดงปางนาคปรก มี ลักษณะพิเศษที่ใต้ฐานนาคจะมีพระองค์เล็กประทับอยู่อีกหนึ่งองค์พระกรุ นางตรา มีพุทธคุณปรากฏด้านเมตตาและแคล้วคลาดคงกระพันเป็นเลิศ พลต�ำรวจตรีขุนพันธรักษ์ราชเดช ซึ่งเป็นนายพลต�ำรวจมือปราบและ เป็นทีเ่ กรงกลัวของโจรร้ายในอดีต เป็นผูม้ คี วามรูด้ า้ นคาถาอาคม มีพระนางตรา อยูใ่ นครอบครองหลายพิมพ์ เช่น พิมพ์นาคปรก พระไถ วงเขนและพิมพ์พระรอด ซึ่งเป็นพิมพ์ที่หายาก ท่านขุนพันธ์ฯ เล่าว่าจะแขวนพระนางตราเป็น พระประจ�ำตัว เมื่อออกพื้นที่ปราบปรามโจรผู้รา้ ย ทั้งนี้ได้รับประสบการณ์ ตราหลายครัง้ จนเชือ่ ว่า เป็นพระทีค่ มุ้ ครองให้ปลอดภัยและอยูย่ งคงกระพัน 126 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย 2.indd 126
12/1/2561 05:16:02 PM
บ้านแหลมโฮมสเตย์
กินปู ดูเล สปาโคลน เรียนรู้วิถีชีวิตชุมชน ความประทับใจ เกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ดังเช่น เรื่องราวของ ชุ ม ชนเล็ ก ๆ ทางตอนใต้ของประเทศไทย ที่ถือ เป็ น ชุ มชนน้ อ งใหม่ ในเรื่องการท่องเที่ยวโดยชุมชน อาจเพราะเป็นน้องใหม่ ชุมชนนี้เลยหา ลู่ทาง และพัฒนาตัวเองอยู่เสมอ ที่นี่ “บ้านแหลม” กับสโลแกนที่ว่า
“Baan Leam ... Nothing here บ้านแหลม ... ไม่มีอะไร”
อาจท� ำ ให้ นั ก ท่ อ งเที่ ย วเอะใจ หนึ่ ง ในผู ้ น� ำ พั ฒ นาชุ ม ชนเล่ า ว่ า ที่ นี่ ขายความไม่มีอะไร เพราะเรามีวิถีชีวิต ความเป็นอยู่ปกติธรรมดา เหมือนชุมชนอืน่ ทัว่ ไป และเพราะสโลแกน ความไม่มอี ะไรนีเ่ อง คือสิง่ หนึง่ ที่สร้างความประทับใจให้กับนักท่องเที่ยวได้ เพราะคนที่นี่ด้วยความ ไม่มีอะไร แต่กลับซ่อนอะไรไว้มากมาย ความธรรมดาที่ไม่ธรรมดา นั่นคือสิ่งที่นักพัฒนาในชุมชนชวนเชิญ...“บ้านแหลม” เป็นชุมชน ทีต่ งั้ อยูใ่ นหมูท่ ี่ 14 ต�ำบลท่าศาลา อ�ำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช คนในชุมชน ร้อยละ 99 นับถือศาสนาอิสลาม ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ ประมงพื้นบ้าน ใช้ภาษาใต้ เป็นภาษาถิ่นในการพูดคุย ติดต่อสื่อสาร ที่นี่เริ่มด�ำเนินการเรื่องการท่องเที่ยวมาแล้ว 3 ปี แต่ก็ยังถือว่าเป็นชุมชน น้องใหม่อยู่ ส�ำหรับการท่องเทีย่ วโดยชุมชน ซึง่ เป็นการท่องเทีย่ วแนวใหม่ การท่องเที่ยวโดยชุมชน หมายถึง การท่องเที่ยวที่ให้ชุมชน และ คนในชุมชนเป็นคนบริหารจัดการกันเอง เป็นการท่องเที่ยวที่เกิดขึ้น ในชุมชน ทุกอย่างขึ้นอยู่กับศักยภาพ ความพร้อมของชุมชน อย่างที่บ้านแหลม คนในชุมชนจะประกอบอาชีพประมง ท�ำสวน การท่องเทีย่ วทีเ่ กิดขึน้ ในชุมชนถือเป็นเพียงรายได้เสริมทีม่ าช่วยสนับสนุน รายได้หลัก การท่องเทีย่ วโดยชุมชนที่เกิดขึ้น จึงไม่ท�ำให้อตั ลักษณ์ วิถชี วี ติ ของชุมชน และคนในชุมชนหาย หรือเปลี่ยนไป
NAKHON SI THAMMARAT 127 2.indd 127
12/1/2561 05:16:06 PM
พระอาทิตย์ขึ้นที่หาดบ้านท่าสูงบน
สัมผัสความอบอุ่น ณ ชายหาดท่าศาลา จุดหมายปลายทางของครอบครัวในวันหยุด
128 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย 2.indd 128
12/1/2561 05:16:07 PM
ต�ำบลท่าศาลา เป็นเมืองเล็กๆ ที่ยอดเยี่ยมส�ำหรับการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมที่น่าหลงใหลของจังหวัดนครศรีธรรมราช รอบเมือง มีสถานที่ท่องเที่ยวที่น่าสนใจหลายแห่ง รวมถึง หาดบ้านท่าสูงบน ให้ความรู้สึกอบอุ่นแสนสบาย จึงเหมาะส�ำหรับการเป็นจุดหมายปลาย ทางในวันหยุดพักผ่อนหลังจากสัปดาห์ท�ำงานที่แสนยาวนาน หาดบ้านท่าสูงบน เป็นหาดทรายที่สวยงามมากแห่งหนึ่งในอ�ำเภอท่าศาลา นักท่องเที่ยวสามารถนั่งชมพระอาทิตย์ขึ้น เล่นน�้ำทะเล รับประทานอาหารทะเลสดๆ อร่อยได้ที่ร้านอาหารทะเลจ�ำนวนมากมาย และถึงแม้ว่าหาดทรายชายทะเลแห่งนี้จะไม่เป็นที่รู้จักมากนัก แต่เป็นที่พักผ่อนที่สงบ ร่มรื่น สวยงามตามแบบชายฝั่งทะเลตะวันออก ด้วยตลอดแนวหาดทรายยาวที่มีทิวสนและดงมะพร้าวเป็นฉาก หลัง เป็นความสุขที่หาได้ในราคาไม่แพงเลย ต�ำบลท่าศาลา กับหาดทรายขาวยาวกว่า 12 กิโลเมตร เป็นที่พักผ่อนหย่อนใจของประชาชนในพื้นที่และใกล้เคียง นอกจากนั้นยังมี ร้านอาหารทะเลอร่อยๆ ไว้บริการ
NAKHON SI THAMMARAT 129 2.indd 129
12/1/2561 05:16:08 PM
สัมผัสวิถีประมง
คนบ้านหน้าทับ ถักทอ “หางอวน” จากยอดใบลาน หนึ่งเดียวในไทย สืบทอดกันมาอย่างต่อเนื่องส�ำหรับภูมิปัญญาชาวบ้าน ที่มีการน�ำ “หางอวน” หรือ ยอดใบลาน ที่มีอยู่ในท้องถิ่นมาท�ำเป็นเส้นตากแห้ง และ ทอเพื่อใช้เป็นอุปกรณ์ในการหาปลา โดยใช้ติดที่ปลายอวน แต่ปัจจุบันใช้เชือกไนลอนแทน ท�ำให้หางอวนเริ่มถูกลืมเลือน ชาวบ้านจึงรวมกลุ่มเป็น “กลุ่มทอหางอวนบ้านหน้าทับ” จังหวัดนครศรีธรรมราช น�ำมาต่อยอดเป็นผลิตภัณฑ์หนึ่งเดียวในไทย ค�ำว่า “หางอวน” ส�ำหรับคนภาคกลาง อาจจะไม่คุ้นเคย ซึ่งไม่แปลกเพราะหางอวน ในอดีตนั้นเคยเป็นส่วนหนึ่งของอาชีพประมงพื้นบ้าน ที่จะน�ำยอดใบลานที่มีอยู่ในท้องถิ่นมาท�ำเป็นเส้น แล้วตากแดดให้แห้ง จากนั้นก็น�ำมาทอและม้วนคล้ายกรวย เพื่อท�ำเป็นอุปกรณ์ในการหาปลาขนาดเล็ก โดยน�ำไปติดไว้ที่ปลายอวน จึงเรียกติดปาก กันว่าหางอวน “ ในอดีตบ้านหน้าทับ จ.นครศรีธรรมราช เป็นหมู่บ้านที่ติดกับชายทะเล ชาวบ้านส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม ยึดอาชีพประมงเป็นหลัก และมีการท�ำหางอวนขึ้น ติดไว้ที่ปลายอวน เพื่อใช้ดักจับลูกปลา ลูกกุ้งตัวเล็กๆ รวมถึงกุ้งเคยส�ำหรับท�ำกะปิ ซึ่งผู้หญิงจะเป็นผู้ท�ำหางอวน เป็นหลัก แต่เมื่อมีการใช้งานหางอวนน้อยลง ชาวบ้านจึงน�ำมาทอเป็นผ้าผืน พร้อมน�ำผ้ามัดย้อม สินค้าขึ้นชื่อของ ชุมชนคีรีวง มาผสมผสาน เพื่อเพิ่มมูลค่า และสร้างสีสันให้แก่ผลิตภัณฑ์ ” นางจินดา เลาหวิวัฒน์ ประธานกลุ่มหางอวนบ้านหน้าทับ จังหวัดนครศรีธรรมราช เห็นความส�ำคัญ และเกรงว่าหางอวนจะถูกลืมเลือนไป คนรุน่ ใหม่จะไม่รจู้ กั จึงเกิดความคิดสร้างสรรค์ น�ำเส้นหางอวนมาทอคล้ายผ้าผืน แล้วน�ำมาต่อยอดเป็นผลิตภัณฑ์ทใี่ ช้ชวี ติ ประจ�ำวัน อย่างหมวก กระเป๋า พวงกุญแจ กล่องทิชชู และกล่องใส่ของอเนกประสงค์ เป็นต้น จากคุณสมบัติของเส้นหางอวนที่มีความแข็งแรง คงทน เหนียว ไม่เปื่อยยุ่ยง่าย และ ไม่เป็นเชื้อรา ท�ำให้ได้รับความนิยมของผู้คนเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ต่อมาคุณนกเล็ก (ปาริชาติ์ ตันติเสวี) หนึ่งในสมาชิกกลุ่มกลุ่มหางอวนบ้านหน้าทับ ที่เธอชอบงานถักเป็นชีวิตจิตใจ เกิดความคิดสร้างสรรค์อีก ได้น�ำเส้นหางอวนมาถัก ซึ่งยังไม่เคยมีใครท�ำมาก่อน เพราะที่ผ่านมาจะน�ำมาทอเป็นผ้าผืน แล้วจึงน�ำไปต่อยอดเป็นผลิตภัณฑ์ ซึ่งเธอก็ได้ทดลอง ถักหางอวนขึน้ เป็นหมวกส�ำหรับใช้เอง ไม่ได้คดิ ท�ำขาย แต่ดว้ ยอาชีพหลักคือการเป็นมักคุเทศก์ น�ำเทีย่ วทัง้ ในและต่างประเทศ จึงเป็นการประชาสัมพันธ์ หมวกหางอวนไปในตัว รวมถึงเพื่อนๆ ต่างชื่นชอบและให้ถักให้บ้าง ซึ่งหมวกหางอวนท�ำมาจากธรรมชาติล้วนๆ ในที่สุดก็เกิดความนิยม 130 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย 2.indd 130
12/1/2561 05:16:09 PM
เมือ่ กระแสตอบรับดีขนึ้ อย่างต่อเนือ่ ง เธอตัดสินใจเปิดรับการสัง่ จองอย่างจริงจัง โดยรับซือ้ เส้นหางอวนจากคุณจินดา มาในกิโลกรัมละ 1,800 บาท ท�ำหมวก และพวงกุญแจขาย ล่าสุดได้ส่งออกยังประเทศญี่ปุ่น ตอบโจทย์กลุ่มลูกค้าที่รักในผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ ปราศจาการเคมีเจือปน และ ยังเป็นงานฝีมือล้วนๆ ซึ่งเธอขายในราคาตั้งแต่ 250 ถึงหลักพันบาท นับเป็นผลงานที่ควรค่าแก่การอนุรักษ์ให้รุ่นลูกรุ่นหลานสืบไป เพราะเป็น ความภาคภูมิใจของคนในชุมชน ที่ไม่ต้องการให้ค�ำว่า “หางอวน” เลือนหายไปจากวิถีท้องถิ่นชาวประมงเมืองคอน
ส่ ว นท่ า นใดที่ ต ้ อ งการไปสั ม ผั ส ผลิ ต ภั ณ ฑ์ จากหางอวน แบบใกล้ชิดก็ไปได้ที่
บ้านเลขที่ 251 หมู่ 15 ต�ำบลท่าศาลา อ�ำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช
NAKHON SI THAMMARAT 131 2.indd 131
12/1/2561 05:16:18 PM
ป่าชายเลน
บ้านที่มั่นคงของสัตว์น�้ำและการประมง ด้วยหาดทราย กลายเป็นหาดโคลน ในพืน้ ที่ 3,000 ไร่ จากหลายปีที่ผ่านมาชุมชนจึงเร่งปลูก ป่าชายเลนเพือ่ หวังสร้างเป็นบ้านทีม่ นั่ คงแก่สตั ว์นำ�้ เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ แหล่งอนุบาล และแหล่งอาศัย ของสัตว์นำ�้ จากการทีช่ มุ ชนมองเห็นคุณค่าของการ ปลู ก ป่ า ชายเลนและเกิ ด การรวมกลุ ่ ม กั น ของ ชาวประมงพืน้ บ้านในการอนุรกั ษ์ปา่ ชายเลนและ พันธุ์สัตว์น�้ำเพื่อให้มีแหล่งอาหาร แหล่งรายได้ ให้ ค งอยู ่ ต ่ อ ไปยั ง รุ ่ น ลู ก รุ ่ น หลานรวมทั้ ง มี ก าร ส่งเสริมและสนับสนุนให้เด็กและเยาวชนมีความรัก ความหวงแหน ถิ่น ฐานบ้านเกิด และร่ว มกัน อนุ รั ก ษ์ ท รั พ ยากรธรรมชาติ โดยมี กิ จ กรรม การปลูกป่าชายเลนและการศึกษาธรรมชาติใน ป่าชายเลนและชายฝั่ง มาอย่างต่อเนื่องและ มีบริการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ตลอดทั้งปี 132 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย 2.indd 132
12/1/2561 05:16:22 PM
อ่าวทองค�ำ...ท่าศาลา ชุมชนอ่าวท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช ชุมชนอันร�่ำรวยด้วยทรัพยากรธรรมชาติ และ วัฒนธรรมของชาวพุทธและมุสลิม ที่อาศัย อยูร่ ว่ มกันมาอย่างยาวนาน ด้วยลักษณะพิเศษ ทางภู มิ ป ระเทศ พื้ น ที่ ท ะเลอ่ า วท่ า ศาลา อุดมสมบูรณ์ไปด้วยพันธุ์สัตว์น�้ำ การประมง จึ ง เป็ น หนึ่ ง ในเศรษฐกิ จ หลั ก ของที่ นี่ หรื อ ที่เรียกว่า เศรษฐกิจสีฟ้า (Blue Economy) ชาวมุสลิมทีน่ สี่ ว่ นใหญ่ทำ� อาชีพประมงพืน้ บ้าน ส่วนชาวพุทธ มักมีอาชีพท�ำสวนผลไม้หรือ สวนยางพาราบนพื้นที่เชิงเขา
20 ปีกบั การรักษาทะเล เริม่ ขึน้ ตัง้ แต่ตอ่ สู้ กับการท�ำประมงแบบท�ำลายล้างน่านน�้ำเพื่อ การปกป้องทรัพยากรธรรมชาติ การสร้างชุมชน ให้เข้มแข็ง รูจ้ กั จุดอ่อน จุดแข็งของชุมชน รูจ้ กั สร้างภูมิคุ้มกันชุมชนจากภัยคุกคาม ที่จะมา ท� ำ ลายเศรษฐกิ จ สี ฟ ้ า แหล่ ง อาหาร และ ท้องทะเลอันเป็นชีวติ จิตวิญญาณของชาวประมง พืน้ บ้าน และการก�ำหนดอนาคตตนเอง ก�ำหนด บทบาทของตนเอง มีหน้าที่เป็นผู้ผลิตอาหาร ให้ กั บ เพื่ อ นมนุ ษ ย์ รวมทั้ ง มี ก ารจั ด ท� ำ การ ประเมิ น ผลกระทบด้ า นสุ ข ภาพของชุ ม ชน
เพื่ อ แสดงให้ เ ห็ น ทรั พ ยากรทางทะเลอั น อุดมสมบูรณ์ของอ่าวท่าศาลา ใช้เป็นเหตุผล สนับสนุนการตัดสินใจของชาวบ้านว่า ต้องการ รักษาทะเลอ่าวท่าศาลา ให้เป็นแหล่งอาหาร ของชาวไทย พวกเขาขนานนามอ่าวท่าศาลา ว่าเป็น “อ่าวทองค�ำ” อันเป็นแหล่งอาหาร แหล่ ง อาชี พ แหล่งเศรษฐกิจที่ท�ำ เงินเลี้ยง คนในชุมชนได้เป็นอย่างดี ทะเลอ่าวท่าศาลา เป็นทุกสิ่งทุกอย่างที่ท�ำให้ชุมชนด�ำรงอยู่ได้
NAKHON SI THAMMARAT 133 2.indd 133
12/1/2561 05:16:29 PM
บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล
องค์การบริหารส่วนต�ำบล
หนองหงส์
“ชุมชนแห่งการเรียนรู้ ต�ำบลน่าอยู่ ผู้คนมีคุณภาพชีวิตเศรษฐกิจพัฒนาอย่างยั่งยืน”
นายหัตถชัย เมืองจีน
นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองหงส์
องค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองหงส์
จั ด ตั้ ง เมื่ อ ปี พ.ศ.2539 ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 1/1 หมู ่ ที่ 2 ต�ำบลหนองหงส์ อ�ำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช อยู่ทางทิศเหนือจาก อ�ำเภอทุ่งสง ประมาณ 4 กิโลเมตร ตามถนนสายเอเชีย 41 ทุ่งสง - สุราษฎร์ ปัจจุบันมีบุคลากรจ�ำนวน 106 คน
ลักษณะทางภูมิศาสตร์
ต�ำบลหนองหงส์ มีเนือ้ ทีท่ งั้ หมด 40.12 ตารางกิโลเมตร หรื อ ประมาณ 25,074 ไร่ สภาพพื้ น ที่ โ ดยทั่ ว ไปของ ต�ำบลหนองหงส์ ส่วนใหญ่เป็นที่ราบสลับเนินประกอบด้วย ภูเขาเตี้ย และป่าไม้พื้นที่บางส่วน
พระพุทธศรีธรรมราชคงคาเจริญ
เป็นวัดเก่าแก่มีอายุไม่น้อยกว่า 200 ปี เดิมมีชื่อว่า “วัดจอด” ส่วนชื่อวัดคงคาเจริญนั้น เจ้าคณะจังหวัดนครศรีธรรมราช พระศรีธรรมประศาสน์ เป็นผู้ตั้ง และเป็นที่ประดิษฐานของพระพุทธศรีธรรมราชคงคาเจริญ ซึ่งเป็นพระพุทธรูปหนึ่งในสององค์ที่มีอยู่ในประเทศไทย เป็นพระพุทธรูป แบบสุโขทัย ความสูงจากฐานถึงรัศมี 3.14 เมตร ความสูงจากองค์พระถึงรัศมี 12.90 เมตร น�้ำหนัก 900 กิโลกรัม สภากาชาดไทยได้จัดสร้างขึ้น และ ได้ขอพระราชทานชื่อจากสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก 134 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 134
10/1/2561 09:40:52 AM
พันธกิจการพัฒนา
1. ส่งเสริมการพัฒนาอาชีพกลุม่ อาชีพเพิม่ รายได้ ให้แก่ชุมชน 2. ส่งเสริมสุขภาพอนามัยของประชาชน 3. ส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมด้านการป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัย 4. พัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐาน 5. อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 6. ส่งเสริมการมีสว่ นร่วมของประชาชนในท้องถิน่ 7. ใช้หลักธรรมาภิบาลการบริหารกิจการบ้านเมืองทีด่ ี
คณะผู้บริหาร อบต.หนองหงส์ นายหัตถชัย เมืองจีน นายปรีชา ทรงทอง นายคนึง รัตนมณี นายชลิน รัตนคม
นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองหงส์ รองนายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองหงส์ รองนายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองหงส์ เลขานุการนายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองหงส์
สังคม การศึกษา และสาธารณสุข
เขตการปกครอง
มีหมู่บ้านทั้งหมด 14 หมู่บ้าน ได้แก่ 1.บ้านทุ่งน้อย 2.บ้านจอด 3.บ้านทางข้าม 4.บ้านนาป่า 5.บ้านนาเกิดผล 6.บ้านเหนือ 7.บ้านนาไม้ดัก
มีโรงเรียนประถมศึกษา 6 แห่ง โรงเรียนมัธยมศึกษา 1 แห่ง อาชีวศึกษา 1 แห่ง และ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 3 แห่ง และมีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบล จ�ำนวน 3 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านหนองหงส์ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านทางข้าม สถานีกาชาดสิรินธร
8.บ้านควนไม้แดง 9.บ้านแสว 10.บ้านโล๊ะ 11.บ้านนาโต๊ะแถม 12.บ้านนาใหญ่ 13.บ้านหนองนูด 14.บ้านยวนไม้ขาว
มีประชากรทั้งหมด 10,918 คน จ�ำนวนครัวเรือน 4,232 ครัวเรือน (ข้อมูล ณ เดือนตุลาคม 2560 จากฐานข้อมูลทะเบียนราษฎร์)
ประชากรประกอบอาชี พ ทางด้ า นเกษตรกรรม ร้อยละ 80 อาชีพรับจ้างทั่วไป ร้อยละ 10 ค้าขาย รับราชการ และอาชีพอื่นๆ ร้อยละ 10
“ แกงขมิ้น ” ของกลุ่มแม่บ้านบ้านเหนือ
กลุ่มแม่บา้ นบ้านเหนือ ตั้งอยู่ที่ 10 หมู่ 6 ต.หนองหงส์ อ.ทุ่งสง จ.นครศรีธรรมราช ติดต่อ : นางเพ็ญศรี รัตนพันธ์ โทร : 075-421589 NAKHON SI THAMMARAT 135 .indd 135
10/1/2561 09:40:53 AM
บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วั ดท่า สูง Wat Thasung
พระครูปัญญากิตตยาธร ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส วัดท่าสูง ตั้งอยู่เลขที่ 155 หมู่ 3 ต�ำบลท่าศาลา อ�ำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช 80160
ติดต่อวัดท่าสูง โทร.085-8863886
136 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 136
10/1/2561 09:44:30 AM
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
บันทึกจดหมายเหตุแห่งธรรม
พระพุทธศาสนาจะเจริญมัน่ คงอยูไ่ ด้นานแสนนาน มิใช่เพียงแต่ศาสนธรรมอย่างเดียว จะต้องมีประกอบกันหลายๆ อย่าง เช่น ศาสนบุคคล ศาสนพิธี ศาสนธรรม ศาสนสถาน และ ศาสนวัตถุ ซึ่งสิ่งดังกล่าว ผู้ที่นับถือศาสนาพุทธ หรือ ผู้ที่บวชเข้ามาสืบอายุพระพุทธศาสนา จะต้องศึกษาให้เข้าใจ ถ้าหากว่าเจอค�ำถามของเด็กๆ รุ่นหลังถามว่า (ค�ำว่าศาสนพิธี ศาสนบุคคล เหล่านี้เป็นต้น หมายความว่าอย่างไร) ถ้าหากเราไม่ศึกษาไว้บ้าง จะเอาอะไรอธิบายให้เด็กๆ หรือคนรุ่นหลังๆ ได้มีความรู้จากเราบ้าง นี่คือวิทยาทานหรือธรรมทานส่วนหนึ่ง วัดท่าสูง เป็นวัดพัทธสีมาถูกต้องตามกฎหมายพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ.2505 ตามหลักฐาน ส.ค.1 เลขที่ 281 วัดสูง นับอายุสองร้อยปีเศษ มีเนื้อที่ดินเป็นศาสนสมบัติของวัดจ�ำนวน 76 ไร่ - งาน 30 ตารางวา พ.ศ.2498 เป็นวัดที่มีพระภิกษุสงฆ์อยู่จ�ำพรรษาตลอดมาไม่ขาดประมาณ 159 ปี ปัจจุบันเมื่อมาพิจารณาดูตามหลักฐานที่มีปรากฏที่ฝาผนังอุโบสถ วัดท่าสูงเป็นวัดพัทธสีมา มีอุโบสถเรียบร้อย ที่ฝาผนังอุโบสถมีตัวหนังสือเขียนเป็น หนังสือโบราณลบเลือนไปตามกาลเวลา ปฏิสังขรณ์มาเมื่อปี พ.ศ.2380 ตามค�ำบอกเล่าของคนเฒ่าคนแก่สบื ทอด ต่อกันมาว่า เป็นวัดเก่าแก่มาแต่โบราณ ประมาณ สามร้อยปีเศษมาแล้ว เดิมเรียกชือ่ ว่าวัดท่าสูงนอก กับ วัดท่าสูงใน หรือวัดพระนอก - วัดพระใน หรือชาวบ้านสมัยก่อนเรียกว่า วัดพี่ วัดน้อง เดิมทีนั้นมีพี่น้องสองคน คนพี่เป็นผู้หญิง ชื่อเอียด หรือยายเอียด (ชื่อจริงคือ เจ้าหญิง สุวรรณีมหาเทวี) คนน้องเป็นผู้ชาย ชื่อเลา หรือ ตาขรัวเลา (ชือ่ จริงคือ เจ้าชายนสิโรดม) ทั้งสองคนพี่น้องนี้ เป็นเชื้อสายปลายกษัตริย์ เป็นลูกของนางสนมเอก ที่ 8 ในสมัยพระเจ้าอูท่ อง (พระรามาธิบดีที่ 1) เป็นโอรสของพระเจ้าวิชยั ศรี กับพระชายา แคว้นสุพรรณบุรี สมภพเมื่อ พ.ศ.1857 ปฐมกษั ต ริ ย ์ ข องกรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา พ.ศ.1893 สร้างกรุงศรีอยุธยาขึ้นเป็นราชธานี และ พ.ศ.1912 ได้รวบรวมอาณาจักรต่างๆ ขึน้ รวมหัวเมือง สุโขทัย ลพบุรี ราชบุรี เพชรบุรี นครศรีธรรมราช จันทบุรี ตะนาวศรี มะละกา รวมเข้าไว้ในอาณาจักรกรุงศรีอยุธยา ทัง้ สององค์ เป็นลูกของนางสนมเอก ในสมัยพระเจ้าอู่ทอง ปกครองอยู่ ถึงเมืองนครศรีธรรมราช และ ทัง้ สององค์นยี้ งั ไม่มคี รอบครัว เพราะท่านทัง้ สอง ไม่ได้แต่งงานกับใคร เมื่อทั้งสององค์ได้รับอสังหาริมทรัพย์คือที่ดินที่เป็น มรดกสืบมา คือที่ดินที่ตั้งวัดท่าสูงนี้เอง ทั้งสององค์จึงได้อุทิศถวายที่ดิน ของตนสร้างวัดร่วมกัน แล้วอุทิศตนเป็นนักบวช พี่สาวบวชเป็น แม่ชี น้องชายบวชเป็นพระ ส่วนที่ดินที่สร้างวัดนั้นแบ่งกัน สร้าง ส่วนทางทิศเหนือเป็นของแม่ชีเอียด พี่สาว เรียก ว่าวัดท่าสูงนอก ส่วนทางทิศใต้เป็นของพระเลา หรือ ตาขรั ว เลาน้ อ งชาย เรี ย กว่ า วั ด ท่ า สู ง ใน เป็ น วัดพัทธสีมา มีอุโบสถพระประธานสมบูรณ์ทั้งสองวัด ตามหลักฐานสร้างแบบสมัยพระเจ้าอูท่ อง วัดท่าสูงนอก พระประธานผันพระพักตร์ไปทางทิศตะวันตก วัดท่าสูงใน
พระพักตร์ไปทางทิศตะวันออก ตามหลักฐานให้ปรากฏอยู่ เป็นวัดเก่าแก่ โบราณประมาณหกร้อยปีเศษมาแล้ว ต่อมาวัดท่าสูงในได้หมดสภาพลง เมื่อกรุงศรีอยุธยาแตก ปี พ.ศ.2310 และต่อมาวัดท่าสูงก็ได้บูรณะ ขึ้นมาอีกเมื่อปี พ.ศ.2380 วัดท่าสูงนอกได้ขึ้นทะเบียนเป็นวัดร้าง มีเนื้อที่ดิน 56 ไร่ - งาน 56 ตารางวา ส่วนวัดท่าสูงใน หรือ วัดปัจจุบนั นี้ ขึ้นทะเบียนเป็นวัดมีพระสงฆ์ปกครอง และมีพระสงฆ์ อยูจ่ ำ� พรรษาตลอดมาไม่เคยขาด (พรรษาหนึง่ ๆ ไม่ตำ�่ กว่า 20 รูป) NAKHON SI THAMMARAT 137
.indd 137
10/1/2561 09:44:34 AM
ล�ำดับเจ้าอาวาส
1. พระอธิการขาว เป็นเจ้าอาวาสรูปแรก 2. พระอธิการขัน 3. พระอธิการทอง 4. พระอธิการเฉย 5. พระครูอาทรสังฆกิจ 6. พระครูประสิทธิถาวรการ 7. พระครูไพศาลชัยธรรม 8. พระอธิการสวัสดิ์ ปสนฺโน ตั้งแต่ วันที่ 18 ธันวาคม 2546 ถึงวันที่ 23 ธันวาคม 2552 9. พระครูปัญญากิตตยาธร ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2553 จนถึงปัจจุบัน 138 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 138
10/1/2561 09:44:36 AM
หลวงพ่อแดง
NAKHON SI THAMMARAT 139 .indd 139
10/1/2561 09:44:37 AM
อุปสมบท วันที่ 4 มีนาคม พ.ศ.2549 ณ วัดท่าสูง ต�ำบลท่าศาลา พระครูปัญญากิตตยาธร ฉายา กิตติปญฺโญ อายุ 32 พรรษา 13 อ�ำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยมี พระครูสุวรรณสารธารี วิทยฐานะ น.ธ. เอก ม.6 ปัจจุบันด�ำรงต�ำแหน่ง เจ้าอาวาสวัดท่าสูง เจ้าอาวาสวัดพระอาสน์ เจ้าคณะต�ำบลกิตติมศักดิ์ อ�ำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นพระอุปัชฌาย์ เจ้าคณะต�ำบลสระแก้ว เดิมชือ่ ธวัชชัย เมืองแก้ว เกิดวันจันทร์ ขึน้ 13 ค�ำ ่ เดือน 8 ปีฉลู วันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2528 บิดาชื่อ นายสุวิทย์ โทมณี พระครู ว รดิ ต ถานุ รั ก ษ์ รองเจ้ า อาวาสวั ด พระอาสน์ เจ้ า คณะ มารดาชือ่ นางชือ่ นางเล็ก บุญจักร บ้านเลขที่ 122/3 หมูท่ ี่ 3 ต�ำบลท่าศาลา อ�ำเภอท่าศาลา - นบพิต�ำ อ�ำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นพระกรรมวาจาจารย์ อ�ำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช บรรพชา วันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ.2542 อายุ 14 ปี ณ วัดท่าสูง พระอธิการสวัสดิ์ ปสนฺโน เจ้าอาวาสวัดท่าสูง อ�ำเภอท่าศาลา ต�ำบลท่าศาลา อ�ำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช โดย พระครู จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นพระอนุสาวนาจารย์ ไพศาลชัยธรรม เจ้าคณะต�ำบลท่าศาลา เจ้าอาวาสวัดท่าสูง เป็นพระอุปชั ฌาย์
ประวัติเจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน
งานปกครอง
พ.ศ.2550 เป็นเลขานุการเจ้าคณะต�ำบลท่าศาลา พ.ศ.2550 เป็นผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาสวัดท่าสูง ครั้งแรก พ.ศ.2552 เป็นผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาสวัดท่าสูง ครั้งที่สอง พ.ศ.2553 เป็นเจ้าอาวาสวัดท่าสูง พ.ศ.2553 เป็นเลขานุการเจ้าคณะอ�ำเภอท่าศาลา-นบพิตำ� พ.ศ.2559 เป็นรักษาการเจ้าคณะต�ำบลนบพิต�ำ พ.ศ.2560 เป็นเจ้าคณะต�ำบลสระแก้ว
สมณะศักดิ์
พ.ศ.2552 เป็นฐานาที่ พระครูวินัยธร พ.ศ.2557 เป็นฐานาที่ พระปลัด พ.ศ.2558 ได้รบั พระราชทานสมณศักดิ์ เป็น พระครูปญ ั ญากิตตยาธร เจ้าอาวาสวัดราชชั้นโท
งานก่อสร้างและงานบูรณะ วัดท่าสูง
ตั้งแต่ พ.ศ.2550 - 2560 เป็นเงินกว่า 25 ล้านบาท
140 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 140
10/1/2561 09:44:39 AM
การปฏิบัติสมณกิจ ศาสนกิจ ตั้งแต่เริ่มบวชจนถึงปัจจุบัน
พระครูไพศาลชัยธรรม ได้เข้าบรรพชาอุปสมบท ณ พัทธสีมาวัดท่าสูง ในพระครูอาทรสังฆกิจ พระอุปชั ฌาย์ให้ชอื่ ฉายาว่า พระสงวน ชยธมฺโม เมื่อปี พ.ศ.2495 ได้รับการแต่งตั้งเป็น พระสมุห์สงวน ฐานานุกรมของ พระครูอาทรสังฆกิจ เมือ่ พ.ศ.2499 ต่อมาได้รบั การแต่งตัง้ เป็น พระปลัด สงวน ชยธมฺโม ฐานานุกรมของพระครูอาทรสังฆกิจ เมื่อ พ.ศ.2501 ได้รับการแต่งตั้งเป็นเลขานุการเจ้าคณะอ�ำเภอท่าศาลา ในพระครู อาทรสังฆกิจ เจ้าคณะอ�ำเถอ เริม่ ปฏิบตั หิ น้าทีเ่ ลขาฯ มาตัง้ แต่ พ.ศ.2507 - 2509 ต่อมาได้เปลี่ยนเจ้าคณะอ�ำเภอรูปใหม่ โดยมีพระครูชินวงศาชร เป็นเจ้าคณะอ�ำเภอ ได้รับหน้าที่เลขาฯ ต่อมาตั้งแต่ พ.ศ.2509 - 2524 เป็นเวลา 18 ปี พ.ศ.2522 ได้รบั การแต่งตัง้ เป็นเจ้าอาวาสวัดท่าสูง สืบต่อจากพระครู ประสิทธ์ถาวรการ ต่อมา พ.ศ.2523 ได้รับการแต่งตั้งเป็นเจ้าคณะต�ำบล หัวตะพาน อ�ำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช และในปีเดียวกัน ได้รับพระราชทานสมณะศักดิ์เป็นพระครูสัญญาบัตร ขั้นตรี ที่ พระครู ไพศาลชัยธรรม พ.ศ.2525 ได้รบั การแต่งตัง้ เป็นพระอุปชั ฌาย์ ในต�ำแหน่งเจ้าคณะต�ำบล พ.ศ. 2529 ได้รับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์ เป็นพระครูสัญญาบัตร ขั้นโท ในพระราชทินนามเดิม ต่อมาอีก 5 ปี ปรากฏว่าเจ้าคณะต�ำบล ท่าศาลาได้สละเพศสมณะ เป็นเหตุให้ต�ำแหน่งเจ้าคณะต�ำบลว่างลง พระครูไพศาลชัยธรรม จึงได้รับการแต่งตั้งเป็นเจ้าคณะต�ำบลท่าศาลา ตั้งแต่ปี พ.ศ.2534 สืบมาจนถึงปัจจุบัน วัดท่าสูงนี้เป็นที่เคารพสักการะ ของประชาชนทั่วไปตลอดมาจนทุกวันนี้ NAKHON SI THAMMARAT 141 .indd 141
10/1/2561 09:44:43 AM
อ�ำเภอปากพนัง ประวัติความเป็ นมา
ในสมัยรัชกาลที่ 5 ได้พระกรุณาโปรดเกล้า ให้ จั ด การปกครองท้ อ งที่ ให้ มี ม ณฑล เทศาภิบาล ใน ร.ศ. 114 อ�ำเภอปากพนังมีชื่อ ว่า “อ�ำเภอเบีย้ ซัด” หมายความว่า ทีซ่ งึ่ คลืน่ ซัด เอาเปลือกหอย หรือเบีย้ หอยจากท้องทะเลขึน้ ตรงนั้น เบี้ยในสมัยโบราณ เราใช้เป็นเงินตรา คือเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนสินค้า แต่ เบีย้ ทีซ่ ดั ขึน้ มาจากทะเลเป็นเปลือกหอยทะเล ชนิดหนึ่งที่ดีทนทานและสวยงามนั้นหาไม่ได้ ง่ายนัก ผู้คนจึงน�ำไปใช้เป็นเงินตราได้มากขึ้น ทีเ่ รียกว่า “ทีเ่ บีย้ ซัด” จึงเรียกตามนามอ�ำเภอ ว่า “อ�ำเภอเบี้ยซัด” วันที่ 22 มีนาคม 2445 ได้มพี ระบรมราชโองการให้เปลีย่ นชือ่ “อ�ำเภอ เบีย้ ซัด” เป็น “อ�ำเภอปากพนัง” มาจนกระทัง่ ปัจจุบันนี้ มีเนื้อที่ 459.91 ตารางกิโลเมตร หรือ 287,443.75 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 4.52 ของ พื้ น ที่ จั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช มี ป ระชากร 99,384 คน ชาย 49,5909 คน และ หญิง 49,0475 คน
รั ง นกเลื่ อ งชื่ อ ร�่ ำ ลื อ ขนมลา โอชาไข่ ป ลากระบอก ส่ ง ออกกุ ้ ง กุ ล า ออกพรรษาไหว้ พ ระลาก นิ ย มมากแข่ ง เรื อ เพรี ย ว ค�ำขวัญอ�ำเภอ
นายเกรียงศักดิ์ รักษ์ศรีทอง นายอ�ำเภอปากพนัง
142 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 142
10/1/2561 09:47:04 AM
อาณาเขต : ทิศเหนือ ติดต่อกับอ่าวไทย ทิศตะวันออก ติดต่อกับอ่าวไทย ทิศใต้ ติดต่อกับอ�ำเภอหัวไทรและ อ�ำเภอเชียรใหญ่ ทิศตะวันตก ติดต่อกับ อ�ำเภอเมืองนครศรีธรรมราช และ อ�ำเภอเฉลิมพระเกียรติ การปกครอง : แบ่งออกเป็น 17 ต�ำบล 141 หมู่บ้าน 1 เทศบาลเมือง 3 เทศบาลต�ำบล 12 องค์การบริหารส่วนต�ำบล
เศรษฐกิจและการอาชี พ
การเพาะปลูก : มีพื้นที่เกษตร 170,534 ไร่ ครอบครัวเกษตร 9,647 ครอบครัว ประกอบอาชีพ การท�ำนา ท�ำสวนผลไม้ สวนผัก โดยเฉพาะ ส้มโอแสงวิมาน ต�ำบล คลองน้อย มีชื่อเสียงโด่งดังแพร่หลาย การประมง : มีทั้งการประมง ทะเลน�้ำลึก ประมงชายฝั่งขนาดเล็ก ประมงน�้ำจืด และการเพาะเลี้ยงกุ้งกุลาด�ำ การพาณิชยกรรม : ขนาดใหญ่ส่วนมากตั้งอยู่ในเขตเทศบาลเมือง ปากพนัง ส่วนในต�ำบลหมูบ่ า้ นมักเป็นร้านค้าย่อยจ�ำนวนสินค้าเล็กๆ น้อยๆ การธนาคาร : ปากพนังมีธนาคารถึง 7 ธนาคาร คือ ธนาคารออมสิน ธนาคารกรุงไทย จ�ำกัด ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ธนาคารกรุงเทพ จ�ำกัด ธนาคารไทยพาณิชย์ จ�ำกัด และธนคารธนชาติ การศึกษา : ปากพนัง จัดการศึกษาตั้งแต่ระดับก่อนประถมศึกษา ถึงระดับอนุปริญญา แต่ละปีการศึกษามีจ�ำนวนนักเรียน นักศึกษาเข้าเรียน ไม่น้อยกว่า 15,000 คน มีสถาบันการศึกษาที่สังกัดเขตพื้นที่การศึกษา นครศรีธรรมราช เขต 3 แหล่งท่องเที่ยวที่ส�ำคัญ : ได้แก่ แหลมตะลุมพุก แม่น�้ำปากพนัง เกาะกระและเกาะบริวาร วัดต่างๆ และเกจิอาจารย์ ประตูระบายน�้ำ อุทกวิภาชประสิทธิ พระต�ำหนักประทับแรมปากพนัง เป็นต้น
แหลมตะลุมพุ ก
ประตูระบายน�้ำอุ ทกวิภาชประสิทธิ
ศาลหลักเมือง
NAKHON SI THAMMARAT 143 .indd 143
10/1/2561 09:47:05 AM
บันทึกเส้นทางพบเทศบาลต�ำบล วิสัยทัศน์
เทศบาลต�ำบลเขาชุ มทอง
“ เขาชุมทองเศรษฐกิจก้าวหน้า ประชาใฝ่เรียนรู้ ชุมชนน่าอยู่ เคียงคู่คุณธรรม น้อมน�ำประเพณี ประชาชีอยู่ดีมีสุข ”
ตั้งอยู่ในเขตต�ำบลควนเกย อ�ำเภอร่อนพิบูลย์ จังหวัดนครศรีธรรมราช
เทศบาลต�ำบล
เขาชุมทอง
นายไพโรจน์ อ�ำนักมณี นายกเทศมนตรีเขาชุมทอง เทศบาลต�ำบลเขาชุมทอง
ยกฐานะมาจากสุ ข าภิ บ าลเขาชุ ม ทอง เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2542 โดยมี นายสนั่ น บุ ญ เมื อ ง เป็ น นายกเทศมนตรี คนแรก และเดิมสุขาภิบาลเขาชุมทอง ได้ประกาศ จัดตั้ง เมื่อวันที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2512 สมัยนายเชิญ ตราชู เป็นนายอ�ำเภอร่อนพิบลู ย์ และเป็นนายอ�ำเภอคนที่ 19 ของร่อนพิบูลย์ ปัจจบันมีนายไพโรจน์ อ�ำนักมณี ด�ำรงต�ำแหน่ง นายกเทศมนตรี
ประวัติความเป็นมา
คณะผู้บริหาร
สมาชิกสภาเทศบาล
ค�ำว่า “ควนเกย” ตามต�ำนานกล่าวไว้วา ่ มีเรือส�ำเภาใหญ่บรรทุกเงินทองมาเพื่อสร้าง พระบรมธาตุ ในขณะแล่ น เรื อ มาดั ง กล่ า ว ได้เกิดอุบัติเหตุ ส่วนหัวของเรือไปเกยควน ท�ำให้อับปางลง ส่วนท้ายของเรือหักสะบั้น เรียกว่า “ท้ายส�ำเภา” ซึ่งขณะนี้เป็นต�ำบล หนึง่ ใน อ�ำเภอพระพรหม ส่วนตรงกลางล�ำเรือ ก็หักเช่นกัน ชาวบ้านเรียกว่า “บ้านล�ำหัก” ตั้งอยู่ในหมู่ที่ 8 ต�ำบลควนชุม ปัจจุบันส่วนหัว ของเรือมาเกยอยู่ที่ควน เรียกกว่า “ควนเกย” ส่วนเงินทองทีบ่ รรทุกมากับเรือส�ำเภาดังกล่าว ถูกผูค้ นน�ำไปกองไว้ทภี่ เู ขาเรียกว่า “เขาชุมทอง” ซึ่งอยู่ในเขตต�ำบลควนเกย อ�ำเภอร่อนพิบูลย์ จั ง หวั ด นครนครศรี ธ รรมราช ในปั จ จุ บั น นี้ ได้ดำ� เนินการจัดตัง้ ส่วนหนึง่ ของต�ำบลควนเกย เป็นสุขาภิบาลต�ำบลเขาชุมทอง เมื่อวันที่ 26 สิงหาคม 2512 และเปลี่ยนแปลงฐานะเป็น เทศบาลต� ำ บลเขาชุ ม ทอง เมื่ อ วั น ที่ 25 พฤษภาคม 2542
144 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 144
12/1/2561 10:53:56 AM
พนักงานเทศบาล
พันธกิจ
1. ปรับปรุง และพัฒนาระบบสาธารณูปโภคให้ได้มาตรฐาน และเพียงพอต่อความต้องการของประชาชนเพื่อรองรับการขยายตัวของชุมชน ในอนาคตและเศรษฐกิจของท้องถิ่น 2. ส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนาและเสริมสร้างความเข้มแข็งของระบบเศรษฐกิจชุมชน ให้ประชาชน มีความเป็นอยูด่ ขี นึ้ ตามแนวทางพระราชด�ำริ ของรัชกาลที่ 9 “ปรัชญาความพอเพียง” 3. สนับสนุนส่งเสริมการศึกษา, การสาธารณสุข, ศาสนา ตลอดจนอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณีอันดีงามและภูมิปัญญาท้องถิ่นให้คงอยู่สืบไป 4. ส่งเสริมการพัฒนาคนและความเข้มแข็งของชุมชนให้มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาของชุมชน ตลอดจนพัฒนาการบริหารจัดการภายในองค์กร นอกองค์กรให้มีความมั่นคงปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ของประชาชน 5. ส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมและความร่วมมือของประชาชน กลุ่มองค์กรต่างๆ เพื่อพัฒนาเทศบาลต�ำบลเขาชุมทองที่ยั่งยืน 6. อนุรักษ์ ฟื้นฟู ดูแลรักษา จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้คงอยู่ตลอดไปอย่างยั่งยืนสู่ลูกหลาน
แหล่งท่องเที่ยว | ชุมทางรถไฟเขาชุมทอง ประเภทสถานที่ท่องเที่ยว | วิถีชีวิต สถานที่ตั้ง | หมู่ที่ 5 ต.ควนเกย อ.ร่อนพิบูลย์ จ.นครศรีธรรมราช รายละเอียด | ชมวิถชี วี ติ การด�ำรงชีวติ ของประชาชน ความเป็นอยู่ ของชุมชนในอดีต ชมบ้านเรือนแบบโบราณ ตลาดเก่าแก่ การเดินทาง | ห่างจากจังหวัดนครศรีธรรมราชประมาณ 45กิโลเมตร หางจากอ�ำเภอร่อนพิบูลย์ประมาณ 5 กิโลเมตร NAKHON SI THAMMARAT 145 .indd 145
12/1/2561 10:53:57 AM
วัตถุประสงค์ ในการจัดตั้งเทศบาล
เพื่อเป็นการเข้ามาแก้ไขปัญหาของชุมชนเมือง ชุมชนหนาแน่น เข้าด�ำเนินการก่อสร้าง ปรังปรุงระบบ สาธารณูปโภค, เพือ่ เป็นการเข้าด�ำเนินการแก้ไขปัญหา และป้องกัน ด้านสังคม ด้านการป้องกันสาธารณภัย ต่างๆ เพื่อเข้าด�ำเนินการในการก�ำจัด ขยะมูลฝอย สิ่งปฏิกูลต่างๆ จัดระบบ ระเบียบ ตลาด และอื่นๆ เพื่อให้ประชาชนสามารถเลือกตั้งตัวแทนประชาชน มาท�ำหน้าที่ ด้านนิตบิ ญ ั ญัติ แทนประชาชนทีเ่ รียกว่า สมาชิกสภาเทศบาล มีนายกเทศมนตรีที่มาจากการ เลือกตั้งท�ำหน้าที่บริหารงานเทศบาล ด�ำเนินงาน เป็นนิติบุคคล ชุมชนในเขตเทศบาลเขาชุมทอง เป็นชุมชน ค้าขาย เป็นชุมชนทีอ่ ยูร่ ว่ มกันประกอบอาชีพค้าขาย เป็นหลักเป็นจุดศูนย์รวมด้านการขนส่งทางรถไฟ ซึ่งมีความเจริญรุ่งเรืองมากตั้งแต่ปี 2500 - 2530 ประชาชน จากอ�ำเภอชะอวด, อ�ำเภอจุฬาภรณ์ อ�ำเภอ พระพรหม, อ�ำเภอเมือง นัง่ รถไฟมาจับจ่ายซือ้ สินค้า มากมายท�ำให้ชมุ ชนเติบโตขึน้ มาตามล�ำดับ และหลัง จากปี 2530 การคมนาคมทางถนนเริ่มเจริญ มีการ ตั ด ถนนสายเอเชี ย ผ่ า นต� ำ บลร่ อ นพิ บู ล ย์ ผ ่ า น ต�ำบลควนเกย ไปพัทลุง จากประชาชนที่เดินทาง โดยสารด้านรถไฟ ก็เปลี่ยนเป็นเดินทางด้วยรถยนต์ รถประจ�ำทางมากขึน้ เพราะสะดวกและรวดเร็วกว่า จึงจุดหมายปลายทางได้รวดเร็ว ชุมชนตลาดเขาชุมทอง ก็เริ่มที่จะซบเซาลง ประชาชนที่เคยประกอบอาชีพ ค้ า ขายส่ ว นหนึ่ ง ก็ ย ้ า ยถิ่ น ฐานไปประกอบอาชี พ ยังแหล่งอื่น บ้างก็เปลี่ยนอาชีพไปท�ำสวนยางพารา และอาชีพอื่นๆ
ศูนย์อ�ำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
โครงการช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติฉุกเฉิน กรณีอุทกภัยน�้ำท่วม
มอบรถเข็นคนพิการ ประจ�ำปี 2560
ศูนย์อ�ำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
ร้านค้าที่ยังด�ำเนินกิจการอยู่ในปัจจุบัน และ เปลี่ ย นมื อ ไปสู ่ รุ ่ น ลู ก รุ ่ น หลาน เหลื อ ประมาณ 10 ร้านที่สืบทอดกิจการต่อ และชุมชนก็เริ่มที่จะ ขยายตัวออกไปตามแนวถนนสาย 4018 ทัง้ 2 ข้างทาง ซึ่งจะสังเกตได้ว่ามีบา้ นเรือนที่ก่อสร้างขึ้นใหม่หลาย หลังมีทั้งที่เป็นอาคารพาณิชย์ เพื่อการอยู่อาศัยและ การค้าขาย และอาชีพอืน่ ๆ ซึง่ คาดว่าอนาคต เศรษฐกิจ เทศบาลต�ำบลเขาชุมทองจะเติบโตแบบค่อยเป็นค่อยไป เป็นไปตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ซึง่ โดยสภาพพืน้ ที่ และการประกอบอาชี พ ของประชาชนเป็ น แบบ เกษตรกรรม ท�ำสวน พื้นที่ส่วนใหญ่เป็น สวนยาง และที่นา ไร่นา สวนผสม สวนผลไม้แต่การปลูกแบบ ผสมกลมกลืน หรือเรียกว่า สวนสมรมมากขึ้น
146 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 146
12/1/2561 10:53:59 AM
SBL บันทึกประเทศไทย
Website : www.sbl.co.th
Ad-SBL Magazine Online Chumphon.indd 147
10/1/2561 04:33:20 PM
บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล ค�ำขวัญ
องค์การบริหารส่วนต�ำบลเสาธง
“ เสาธงถิ่นอารยธรรมเก่า มะนาวผลใหญ่ คลองน�้ำใส ทรายก่อสร้างปลาดุกย่างอร่อยแสน ดินแดนโคบาล ”
ตั้ ง อยู ่ ห มู ่ ที่ 2 ต.เสาธง อ.ร่ อ นพิ บู ล ย์ จ.นครศรี ธ รรมราช โดยอยู่ห่างจากอ�ำเภอร่อนพิบูลย์ประมาณ 12 กิโลเมตร
องค์การบริหารส่วนต�ำบล
เสาธง
จ่าสิบเอกธรรมนูญ มูณีเกิด นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลเสาธง
วิสัยทัศน์การพัฒนา
เสาธงน่าอยู่ ควบคู่พัฒนาคุณภาพชีวิต น้อมน�ำทฤษฎี เศรษฐกิจพอเพียง
องค์การบริหารส่วนต�ำบลเสาธง
ต�ำบลเสาธงเป็นชุมชนที่มีการตั้งถิ่นฐานมาเป็นเวลาหลายร้อยปี (จากหลักฐานโบราณคดี วัดสระเหรียง หมู่ที่ 3) โดยเริ่มแรกนั้นมีการตั้งชุมชน ริมคลองเสาธง ซึง่ เป็นเส้นทางคมนาคมหลักและเป็นแหล่งทรัพยากรทีส่ ำ� คัญในการท�ำเกษตรในสมัยนัน้ โดยมีตลาดเสาธงเป็นตลาดกลางทีม่ กี ารแลกเปลีย่ น สินค้าระหว่างชาวเหนือ (ชาวอ�ำเภอพรหมคีรี ลานสกา ฉวาง) ซึง่ ได้นำ� สินค้ามาซือ้ ขายแลกเปลีย่ นกับชาวนอก (ชาวอ�ำเภอปากพนัง เชียรใหญ่ หัวไทร) โดยมีผลผลิตทางการเกษตรที่ส�ำคัญ ได้แก่ ผลไม้ ข้าว และของป่า นอกจากนี้ยังมีพ่อค้าชาวจีนน�ำสินค้าจ�ำพวกถ้วยชามกระเบื้องต่างๆ มาขายทางเรือ โดยจะแวะขายของมาตามล�ำคลองซึ่งผ่านคลองเสาธงด้วย ต่อมาเรือบรรทุกสินค้าดังกล่าวได้ล่มลง ท�ำให้เรือจมตลอดล�ำเรือ เหลือแค่เพียงยอดเสาธง ท�ำให้ชาวละแวกใกล้เคียงเรียกหมู่บ้านต�ำบลนี้ ว่า ่ “คลองเสาธง” เรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน “บ้านเสาธง” ตั้งอยู่หมู่ที่ 2 ต�ำบลเสาธง และเรียกคลองนี้วา
148 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 148
10/1/2561 11:22:42 AM
ข้อมูลทั่วไป
ต� ำ บลเสาธง มี เ นื้ อ ที่ ป ระมาณ 44.42 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 27,700 ไร่ ลักษณะภูมปิ ระเทศส่วนใหญ่เป็นทีร่ าบเชิงเขา ทางทิศตะวันตก ส่วนทิศตะวันออกเป็นทีร่ าบลุม่ ในฤดู ฝ นมี น�้ ำ ท่ ว มขั ง มี ค ลองเสาธงเป็ น ล� ำ คลองสายหลั ก ที่ ใช้ น�้ ำ ในการประกอบ การเกษตร ท�ำนา ท�ำสวนและท�ำการประมง
นโยบายเร่งด่วน
1. ตลาดชุมชน เพื่อให้คนในพื้นที่น�ำผลผลิต มาขายเพื่อสร้างรายได้ 2. จัดท�ำสวนสาธารณะและลานออกก�ำลังกาย เพื่อให้คนในต�ำบลมีสุขภาพที่แข็งแรง
ยุทธศาสตร์การพัฒนา
ยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาด้านคนและสังคม แนวทางการพัฒนา อาทิ การส่งเสริมคุณภาพชีวิตของเยาวชนประชาชนผู้สูงอายุ ผู้ด้อยโอกาสและคนพิการ สนับสนุนการจัดการศึกษาทั้งระบบและ นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ส่งเสริมด้านประเพณีศาสนาและวัฒนธรรมรวมถึงภูมิปัญญาท้องถิ่น สนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชน ในการป้องกันระงับและบรรเทาอุบตั ภิ ยั สาธารณภัยต่าง ๆส่งเสริมและสนับสนุนประชาชนด้านการกีฬาและนันทนาการ การสาธารณสุขและการพยาบาล ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาด้านเศรษฐกิจ แนวทางการพัฒนา อาทิ การส่งเสริมสนับสนุนการประกอบอาชีพ และสนับสนุนผลิตภัณฑ์ชุมชน ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐานที่ทันสมัย แนวทางการพัฒนา อาทิ ก่อสร้างบุกเบิก ปรับปรุง ซ่อมแซม และบ�ำรุงรักษาเส้นทางคมนาคม ก่อสร้างปรับปรุงขยายเขตซ่อมแซม และบ�ำรุงรักษา สาธารณูปโภค ขุดลอกคูคลองการก่อสร้าง การวางท่อ พัฒนาด้านความปลอดภัยระบบคมนาคมและการขนส่ง ยุทธศาสตร์ที่ 4 การพัฒนาด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมโดยประชาชนมีส่วนร่วม แนวทางการพัฒนา อาทิ การสร้างจิตส�ำนึกในการอนุรักษ์และรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พัฒนาปรับปรุงเมืองน่าอยู่ ยุทธศาสตร์ที่ 5 การพัฒนาศักยภาพขององค์กรและการบริหารจัดการที่ดีตามหลักธรรมาภิบาล แนวทางการพัฒนา อาทิ ส่งเสริมความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการบริหาร และการให้บริการประชาชน พัฒนาความรู้ความสามารถของบุคลากรและ ผู้น�ำชุมชน พัฒนาอาคารสถานที่ตลอดจนการจัดหาวัสดุครุภัณฑ์ เพื่อให้การบริหารองค์กรมีประสิทธิภาพ NAKHON SI THAMMARAT 149 .indd 149
10/1/2561 11:22:49 AM
เป้าประสงค์การพัฒนา
1. เพื่อให้ประชาชนผู้ด้อยโอกาสผู้พิการ ผู้สูงอายุ ได้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ทั้งด้านร่างกายจิตใจ 2. เพื่อให้ประชาชนได้มีเส้นทางเพื่อการคมนาคมขนส่งที่รวดเร็วและได้มาตรฐาน 3. เพื่อประชาชนได้มีน�้ำเพื่อการอุปโภค บริโภคอย่างทั่วถึง 4. เพื่อให้ประชาชนได้เข้าร่วมทางด้านศาสนา ประเพณี วัฒนธรรม อย่างทั่วถึง 5. เพื่อให้ประชาชนปลอดภัยจากโรค 6. เพื่อให้ประชาชนมีอาชีพหลักและอาชีพเสริมเพิ่มขึ้น และมีรายได้เพิ่มขึ้น 7. เพื่อให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 8. เพื่อส่งเสริม สนับสนุนให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมในการบริหารการพัฒนาท้องถิ่น
TOP PRODUCT สิขององค์ นค้กาารบริขึ้นหารส่ชืว่อนต�ำบลเสาธง - ปลาดุกย่าง + น�ำ้ จิ้มรสเด็ด - ไข่ปิ้ง 150 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 150
10/1/2561 11:23:03 AM
วัดสุวรรณรังษี
Wat Suwan Rangsi พระสมุห์สิทธิเดช สิทธิเตโช ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
NAKHON SI THAMMARAT 151 .indd 151
11/1/2561 10:22:07 AM
8 เมตร คารไม้ 2 หลัง
นพิบูลย์
นมัสการพระใหญ่ในพระอุโบสถ ซึ่งเป็นพระที่เก่าแก่อายุกว่า 200 ปี และเรียนรู้ประวัติความเป็นมาของพระพุทธศาสนา ในพิพิธภัณฑ์กุฏิ 100 ปี เป็นที่เก็บสะสมของเก่าแก่ของวัด ที่ท�ำให้นักท่องเที่ยวและผู้ปฏิบัติธรรมเห็นสัจธรรมความเป็นจริง ของไตรลักษณ์ ที่มีเกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไปเป็นธรรมดาโลก วัดสุวรรณรังษี ตั้งอยู่ เลขที่ 120/1 หมู่ที่ 10 ต�ำบลร่อนพิบูลย์ อ�ำเภอร่อนพิบูลย์ จังหวัดนครศรีธรรมราช
ประวัติความเป็นมา
วัดสุวรรณรังษี หรือ วัดใหม่ควนแดง เรียกอีกชือ่ หนึง่ ว่า วัดโคกยาง ได้ยา้ ยมาจากวัดควนแดงล่าง เล่าต่อๆ กันมาว่า (ปัจจุบนั คือวัดควนแดงบน) เมื่อประมาณ 200 ปีกว่ามาแล้ว ยังมีพ่อท่านเทพและพ่อท่านทอง สองพีน่ อ้ งได้สร้างวัดขึน้ มารูปละ 1 วัด ซึง่ มีอาณาเขตติดต่อกันเรียกว่า วัดควนแดงบน และ วัดควนแดงล่าง แต่ครั้นท่านทั้งสองสิ้นบุญไปแล้ว ก็ได้มกี ารรวบรวมเข้ามาเป็นวัดเดียวกันแล้วเรียกว่า “วัดใหม่ควนแดง” ครั้นอยู่มาได้ระยะเวลาหนึ่ง สันนิษฐานว่า ได้ย้ายมาหาที่ตั้งใหม่ ปัจจุบันนี้ เพราะเกิดความแห้งแล้งขาดแคลนน�ำ้ ใช้ จึงย้ายมาหาพื้นที่ อันอุดมสมบูรณ์กว่า ตั้งอยู่กลางชุมชนเหมาะต่อการบิณฑบาตของ พระภิกษุและการประกอบศาสนกิจ โดยเรียกชือ่ ว่า “วัดใหม่ควนแดง” บริเวณวัดตั้งในที่ดินของสายสกุล ประสงค์สุข รวมกัน 9 คนพี่-น้อง ได้แก่ ทวดหนู(หญิง) ประสงค์สุข, ทวดข�ำ โกศัยพัฒน์ ผู้เป็นสามี ทวดขวด ประสงค์สขุ ฯลฯ รวมกันแล้วบริจาคให้ตงั้ วัด โดยมีพอ่ ท่านนุน่ ไม่ทราบฉายาและนามสกุล เป็นเจ้าอาวาสรูปแรก แต่ทา่ นอยูไ่ ด้ไม่นาน ท่ านก็สิ้น บุญ จึงสืบทอดตกถึงพ่อท่านอิน ทร์ ไม่ท ราบฉายาและ นามสกุล เป็นเจ้าอาวาสรูปต่อมาจวบจนปี พ.ศ. 2396 ท่านก็สิ้นบุญ
ต่อมาพ่อท่านเอียด (พระสุวรรโณ จุลภักดิ์ พรรษา 80 ปี : จารึก รูปปัน้ พ่อท่านเอียด) ได้เป็นเจ้าอาวาส และในยุคทีท่ า่ นเป็นเจ้าอาวาส สันนิษฐานว่าได้เปลี่ยนชื่อเป็น “วัดสุวรรณรังษี” และ ตั้งโรงเรียน วัดสุวรรณรังสีขนึ้ เพือ่ เกือ้ กูลชาวบ้าน ท่านได้ปกครองวัดมาจนกระทัง่ ละสังขาร เมื่อประมาณปี พ.ศ. 2476 จากนัน้ พระครูสขุ มุ พรหมคุณ หรือ พ่อท่านปลอด ยโสธโร (ชูวเิ ชียร์) รับต�ำแหน่งเจ้าอาวาส ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2476 - 2527 มีผลงานที่ประจักษ์ คือกุฏไิ ม้รอ้ ยปี อุโบสถหลังปัจจุบนั และเจดีย์ รวมสิรพิ รรษา 51 พรรษา พระครูสุวรรณธรรมรัตน์ หรือ พระนิคม ฐิตปุญโญ (ธานีรัตน์) หรือ ท่านนุ้ย รับต�ำแหน่งเจ้าอาวาส และต่อมารับต�ำแหน่ง เจ้าคณะต�ำบล ร่อนพิบูลย์ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2527 - 2557 ผลงานที่ประจักษ์ ได้แก่ กุฏิสังฆาธิการ ฌาปนสถาน พร้อมศาลาธรรมสังเวช ศาลาโรงฉันท์ กุฏยิ าว 13 ห้อง และศาลาการเปรียญ เป็นต้น รวมสิรพิ รรษา 30 พรรษา ต่อจากนั้นพระสมุห์สิทธิเดช สิทธิเตโช หรือ พ่อท่านเอก สิทธิเตโช (ยอดระบ�ำ) เป็นเจ้าอาวาสวัดสุวรรณรังษี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2557 ถึง ปัจจุบัน
(หลักฐาน : มีรูปปั้นองค์สีดำ� ประดิษฐานอยู่ในอุโบสถปัจจุบัน)
152 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 152
11/1/2561 10:22:11 AM
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
จังหวัดหนองบัวล�ำภู
สิ่งสักการบูชาของวัดที่ชาวบ้านเคารพนับถือ
นมัสการพระใหญ่ในพระอุโบสถ ซึ่งเป็นพระที่เก่าแก่อายุกว่า 200 ปี และเรียนรูป้ ระวัตคิ วามเป็นมาของพระพุทธศาสนาในพิพธิ ภัณฑ์กฏุ ิ 100 ปี เป็นทีเ่ ก็บสะสมของเก่าแก่ของวัด ทีท่ ำ� ให้นกั ท่องเทีย่ วและผูป้ ฏิบตั ธิ รรม เห็นสัจธรรมความเป็นจริงของไตรลักษณ์ ที่มีเกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ตามเหตุและปัจจัย เพือ่ ด�ำรงตนไม่ประมาทตามรอยบาทพระบรมศาสดา
NAKHON SI THAMMARAT 153 .indd 153
11/1/2561 10:22:21 AM
บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วั ด ร่ อนนา Wat Ron Na
พระมหายุทธศักดิ์ ฐานากโร ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
ส�ำนักศาสนศึกษาวัดร่อนนา เป็นส�ำนักเรียนดีเด่น 1 ใน 10 ส�ำนัก ทั่วทั้งหนใต้(ภาคใต้) ตั้งอยู่ หมู่ที่ 2 ต�ำบลร่อนพิบูลย์ อ�ำเภอร่อนพิบูลย์ จังหวัดนครศรีธรรมราช ปัจจุบัน พระมหายุทธศักดิ์ ฐานากโร เป็นเจ้าอาวาส
ถ้าคิดใหญ่ ชีวิตก็จะใหญ่ ถ้าคิดเล็ก ชีวิตก็จะเล็ก ชีวิตจะใหญ่ หรือจะเล็ก ขึ้นอยู่กับขนาดของความคิด ถ้าเราเปลี่ยนความคิด ชีวิตก็จะเปลี่ยน จงมองโลก ในแง่ดี ชีวิตนี้ก็จะมีแต่ความสุข
พระมหายุทธศักดิ์ ฐานากโร หลักธรรมน้อมน�ำจิต ชีวิตจะรุ่งเรืองทั้งทางโลกและทางธรรม
ประวัติความเป็นมา
วัดร่อนนา เป็นวัดโบราณวัดหนึ่งในยุคกรุงศรีอยุธยา เพราะยังคงเหลือ สิง่ ปรักหักพังปัจจุบนั อีกทัง้ เป็นวัดทีเ่ จริญรุง่ เรืองมาแล้วในอดีต ด้วยหลักฐาน พอที่จะยืนยันได้ก็คือ พระพุทธรูปพระร่วงอุ้มบาตร ทั้งมีความสูงประมาณ 1.70 เมตร จัดได้วา่ เป็นพระพุทธรูปปางอุม้ บาตรทีส่ วยงามมาก ซึง่ พระพุทธรูป พระร่วงองค์นเี้ ป็นทีส่ กั การะกราบไหว้ของชาวร่อนพิบลู ย์ ชาวจังหวัดนครศรีธรรมราช และจังหวัดใกล้เคียง
154 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 154
10/1/2561 11:42:30 AM
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
หลักธรรม และปาฏิหาริย์ พระแม่เศรษฐี พระที่พึ่งของวัดร่อนนา พระคู่บ้านคู่เมือง ของชาวร่อนพิบูลย์
NAKHON SI THAMMARAT 155 .indd 155
10/1/2561 11:42:31 AM
ประวัติการสร้างพระพุทธรูปปางพระร่วงอุ้มบาตร
จากประวัตทิ เี่ ล่าสืบต่อกันมาของพระแม่เศรษฐีวดั ร่อนนา พระคูบ่ า้ น คู่เมืองของอ�ำเภอร่อนพิบูลย์ นับย้อนรอยไป 700 - 800 ปีมาแล้ว เป็นยุคของการเผยแพร่ของพระพุทธศาสนาและมหาสงครามของ ประเทศเพือ่ นบ้าน เป็นยุคมหาสงครามไทยสยามได้กบั พวกชวากะ (สลัดขวา) โจรแขกที่บุกเข้ามาโจมตีจับเอาทรัพย์สินและชาวเมือง ไปเป็นเชลยต่างผลัดกันรบชนะและแพ้สลับกันไป ราษฎรต้องพากัน อพยพหลบหนีภยั สงครามทีย่ กมาโจมตีบรรดาเมืองต่างๆ แตก พร้อมกับ ต้อนชาวเมืองเป็นเชลยศึก ส่วนที่พากันหลบหนีเข้าไปในป่าพากัน ซ่องสุมรวมตัวต่อสู้ศัตรู บ้างก็พาลูกเมียข้าทาสบริวารหลบหนีไป หลบซ่อนอยู่ในดินแดนภาคใต้ ในจ�ำนวนนีม้ เี ศรษฐีกรุงมาศน�ำภรรยาและข้าบริวารหลบหนีภยั สงครามไปตัง้ รากฐานสร้างเมืองอยูบ่ นภูเขาร่อนนา (หรือในพืน้ ทีก่ รุงมาศ) ปัจจุบันเป็นพื้นที่กั้นน�้ำท�ำนบสองของเหมืองแร่หนองเป็ด ซึ่งตั้งอยู่ ในพื้นที่หมู่ที่ 2 ต�ำบลร่อนพิบูลย์ อ�ำเภอร่อนพิบูลย์ในปัจจุบัน เมื่อ ท่านเศรษฐีกรุงมาศได้สร้างบ้านเรือนขึน้ มา มีชาวบ้านทีห่ นีภยั สงคราม ในครั้งนั้นมาตั้งบ้านเรือน จนกลายเป็นชุมชนขนาดใหญ่ขึ้น หลายปีต่อมาท่านเศรษฐีแห่งหมู่บ้านกรุงมาศก็ได้บุตรีจาก ภรรยาคนหนึง่ และเมือ่ กุมารีเจริญเติบโตขึน้ มีผวิ พรรณเหมือนทองค�ำ ท่านเศรษฐีกรุงมาศผูเ้ ป็นบิดาแลมารดา ตลอดจนข้าทาสบริวารต่างรักใคร่ ท่านเศรษฐีผเู้ ป็นพ่อและแม่ตา่ งทะนุถนอมเลีย้ งดูบตุ รดังแก้วตา ดวงใจ จนกุมารีเจริญวัยได้ 16 ปี วันหนึง่ ชวนพีเ่ ลีย้ งไปเล่นน�ำ้ ทีโ่ ดน (คือฐานน�้ำตกบนภูเขา) ในขณะนั้นที่บุตรีท่านเศรษฐีกับพี่เลี้ยง เล่นน�ำ้ กันอย่างสนุกสนานก็เกิดเหตุการณ์ไม่คาดฝัน เมือ่ บุตรีทา่ นเศรษฐี กับพี่เลี้ยงได้ลื่นเสียหลักตกจากหน้าผาน�้ำตก ปรากฏว่า ทั้งสอง หายสาบสูญไปกับกระแสน�้ำอันเชี่ยวกราก เมือ่ ถึงเวลาตะวันใกล้คำ�่ ท่านเศรษฐีกรุงมาศผูเ้ ป็นพ่อและภรรยา ไม่เห็นหน้าบุตรีและพี่เลี้ยง บังเกิดความเป็นห่วงและสังหรณ์ใจ เลยน� ำ บ่ า วไพร่ อ อกติ ด ตามค้ น หาและพบเสื้ อ ผ้ า เครื่ อ งประดั บ แต่งกายของบุตรีและพี่เลี้ยงกองอยู่บริเวณนั้น ท่านเศรษฐีผู้เป็นพ่อและภรรยาต่างโศกเศร้าเสียใจและสลดใจ ในการจากไปของบุตรสาวเป็นอย่างมาก และคิดว่าศพของบุตรสาว และพี่เลี้ยงคงถูกกระแสน�้ำพัดจมอยู่ในโดน (วังน�้ำตก) นี้เป็นแน่ ท่านเศรษฐีจึงตั้งรางวัลด้วยทองค�ำแท่งหลายร้อยชั่ง ใครก็ตามที่ สามารถงมศพบุตรสาวและพีเ่ ลีย้ งเจอจะมอบทองค�ำแท่งให้เป็นรางวัล ชาวบ้านและข้าทาสบริวารต่างพากันงมศพค้นหา ก็ไม่มีใคร พบศพบุตรสาวของท่านเศรษฐีและพีเ่ ลีย้ งเลย ยิง่ เพิม่ ความเศร้าโศก เสียใจแก่ท่านเศรษฐีผู้เป็นพ่อและแม่ ตลอดจนข้าทาสบริวารยิ่งนัก ท่านเศรษฐีกรุงมาศจึงคิดปั้นรูปต่างตัวบุตรสาวและพี่เลี้ยง จึง ได้ประกาศให้บรรดาผู้ที่มีความสามารถปั้นรูปเหมือนของบุตรและ พีเ่ ลีย้ ง แต่ปรากฏว่าบรรดาช่างจากสถานทีต่ า่ งๆ ทราบข่าวต่างพากัน เดินทางมาสมัครปั้นรูปเหมือนบุตรี จะปั้นให้เหมือนรูปบุตรีและ พีเ่ ลีย้ งได้ คือปัน้ แล้วปรากฏว่าไม่เหมือนเลยเพราะช่างเหล่านัน้ ขาด ความช�ำนาญ เลยพากันไม่ได้เรื่องได้ราว
ประเพณีลากพระ เป็นเรือพระที่เดียวในประเทศไทยที่ไม่มีล้อ
ประเพณีลากพระ เป็นเรือพระที่เดียวในประเทศไทยที่ไม่มีล้อ
กิจกรรมปฏิบัติธรรมวันอาทิตย์ นั่งสมาธิ เดินจงกรม ฟังธรรม
ประเพณีตักบาตรเทโวโรหณวันออกพรรษา
156 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 156
10/1/2561 11:42:34 AM
เรือ่ งนีจ้ งึ ถึงองค์อมั รินทร์จอมเทพสรวงสวรรค์ (พระอินทร์) ทรงตรัสเรียกพระวิษณุกรรม และมอบหมายหน้าทีใ่ นการสร้าง พระรูปเหมือนบุตรีและพี่เลี้ยงตามเจตนารมณ์ของท่านเศรษฐี กรุงมาศซึ่งได้ทำ� การอธิษฐานองค์อัมรินทร์ไว้ พระวิษณุกรรมเมื่อรับบัญชาจากพระอินทร์ผู้เป็นใหญ่ แห่งสรวงสวรรค์แล้ว ได้แปลงกายเป็นพราหมณ์เฒ่าเข้าไปรับอาสา จากท่านเศรษฐีกรุงมาศสร้างรูปเหมือนบุตรสาวและพี่เลี้ยงให้ โดยพราหมณ์เฒ่าได้ท�ำเบ้าหล่อรูปเหมือนแล้วเคี่ยวหลอม ละลายทรัพย์สนิ เหล่านัน้ เทลงในเบ้าและเมือ่ แกะออกมาปรากฏว่า เป็นพระพุทธรูปสวยงามมาก เป็นที่สบอารมณ์ชื่นชอบของ ท่านเศรษฐีผเู้ ป็นพ่อ ตลอดจนข้าทาสบริวารเป็นยิง่ นักทีร่ ปู หล่อ บุตรีดูเหมือนมีชีวิตจริงๆ ฝ่ายพราหมณ์เฒ่าเมื่อหล่อรูปเหมือนบุตรีและพี่เลี้ยงเสร็จ ก็หายตัวไปเฉยๆ ท่านเศรษฐีกรุงมาศกับภรรยาเมือ่ ได้หล่อรูปเหมือนบุตรสาว กับพีเ่ ลีย้ งคล้ายทองค�ำสวยไม่มที ตี่ แิ ล้ว ท่านเศรษฐีผเู้ ป็นบิดากับ ภรรยาผู้เป็นมารดาได้น�ำพระพุทธรูป องค์ นั้ น ไปที่ วั ง น�้ ำ โตนที่ บุ ต รี กั บ พี่เลี้ยงเสียชีวิตพร้อมกับอธิฐาน ว่าถ้าหากว่าบุตรสาวที่เสียชีวิต พร้อมกับพี่เลี้ยงได้ไปเกิดในที่ แห่งหนต�ำบลใดก็ขอพระพุทธ รูปองค์นี้ได้ไปอยู่ที่นั้น แล้วท่าน เศรษฐี ก รุ ง มาศกั บ ภรรยาได้ ทิ้ ง
พระพุทธรูปทั้งองค์ลงในวังน�้ำตกโตนแห่งนั้นและต่อมาปรากฏ ว่าพระพุทธรูปองค์นั้นได้มาผุดที่วัดคีรีวงศ์ (หนองตะเคียน) หรือ วัดร่อนนา ปัจจุบัน จนกระทัง่ ได้มเี ด็กเลีย้ งควายได้นำ� ควายไปเลีย้ งและเอาเชือก ไปล่ามไว้กับพระเกศของพระพุทธรูป ซึ่งเข้าใจว่าเป็นตอไม้ ตกกลางคืนเด็กคนนั้นจึงเจ็บท้องและฝัน จึงเล่าเรื่องที่ตนฝัน พร้อมกับปวดท้องให้พ่อแม่ฟัง รุ่งเช้าพ่อแม่พร้อมด้วยชาวบ้านในหมู่บ้านนั้นได้พากันไป สู่ทุ่งร้างที่เด็กเลี้ยงควายน�ำเชือกควายไปผูก แล้วพ่อแม่ของเด็ก และชาวบ้านพากันขุดพบเกศพระ ลึกลงไปพบองค์พระแต่ไม่ สามารถขุดเอาพระพุทธรูปขึน้ มาได้ จูๆ่ ขณะทีช่ าวบ้านก�ำลังขุด พระพุทธรูปอยูน่ นั้ เด็กเลีย้ งควายก็สนั่ ขึน้ พร้อมกับมีเสียงพูดเป็น เสียงผู้ใหญ่ว่า ต้องการนิมนต์พระพุทธรูปขึ้นไปประดิษฐานไว้ เป็ น ที่ สั ก การบู ช า ให้ จั ด พิ ธี ก รรมอั ญ เชิ ญ พระสงฆ์ ส วด พุ ท ธมนต์ โ ดยชาวบ้ า นได้ ช ่ ว ยกั น จั บ ด้ า ย 7 สี ดึ ง เบาๆ พระพุทธรูปองค์นั้นก็เคลื่อนขึ้นมาจากพื้นดินอย่างอัศจรรย์ ท่ามกลางพระสงฆ์สวดพระพุทธมนต์ กล่าวว่านับเป็นเหตุมหัศจรรย์ท้องฟ้าเดือน 5 เปลวแดด ร้อนจ้ากลับเกิดปรากฏการณ์ท้องฟ้ามืดครึ้มแล้วฝนก็ตกลงมา เมือ่ องค์พระพ้นจากพืน้ ดินฝนได้ชำ� ระล้างดินทีอ่ งค์พระพุทธรูป จนสะอาดฝนจึงหยุดและแสงแดดก็ส่องจ้าอันเป็นที่น่าอัศจรรย์ ยิ่งนัก ชาวบ้านได้พากันกราบไหว้ ท�ำพิธีอัญเชิญพระแม่เศรษฐี ตามร่างทรงได้บอกเล่าความเป็นมาของพระพุทธรูปองค์นี้ NAKHON SI THAMMARAT 157
.indd 157
10/1/2561 11:42:35 AM
พระที่พึ่ง ของชาวอ�ำเภอร่อนพิบูลย์
พระแม่เศรษฐีที่ได้รับอัญเชิญจากชาวบ้านให้มาเป็นที่พึ่งของชาวบ้าน ณ วัดร่อนนา จึงเป็นพระทีพ่ งึ่ ของชาวอ�ำเภอร่อนพิบลู ย์และจังหวัดนครศรีธรรมราช ตลอดมาจนถึงทุกวันนี้ แต่ละวันจะมีประชาชนทั้งใกล้และไกลเดินทาง มากราบไหว้บนบานต่อพระแม่เศรษฐีซงึ่ ส�ำเร็จไปทุกวัน เมือ่ ประสบความส�ำเร็จ ที่บนบานไว้ ชาวบ้านจะน�ำดอกไม้ธูปเทียนปิดทองค�ำเปลวและจุดลูกประทัด แก้บนจนเสียงดังสนัน่ จนเป็นกิจวัตรประจ�ำวันไปเสียแล้ว ด้วยพระแม่เศรษฐี วัดร่อนนา ท่านเป็นพระคู่บ้านคู่เมือง เป็นพระพุทธรูปอันศักดิ์สิทธิ์ เมื่อมีงานประเพณีต่างๆ ท่านจะถูกนิมนต์ไปเป็นองค์ประธานทุกครั้งไป ด้วยพระพุทธรูปศักดิส์ ทิ ธิม์ พี ระพักตร์งดงาม ซึง่ พีน่ อ้ งชาวใต้ให้ความเคารพมาก และพระแม่เศรษฐี โด่งดังจนมีงานประเพณียิ่งใหญ่ ซึ่งภายในงานมีชาวใต้ กว่า 2,000 คน ช่วยกันชักพระแม่เศรษฐี ประดิษฐานบนบุษบกไม่มีล้อ แล้วชักดึงให้พระแม่เศรษฐี แห่ไปทั่วเมืองร่อนพิบูลย์ เป็นสิริมงคลให้ฝนฟ้า ตกต้องตามฤดูกาล ข้าวยางพารา พืชไร่อดุ มสมบูรณ์ ปศุสตั ว์อว้ นท้วนแข็งแรง
สักการะ พระแม่เศรษฐี ขอโชคลาภ ขอให้พระแม่เศรษฐี ปัดเป่าทุกข์ โศกให้มลายสิ้น ขอให้ครอบครัวปรองดอง สามีภรรยากลับมาคืนดีกัน
158 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 158
10/1/2561 11:42:38 AM
ไหว้ พ ระธาตุเ มือ งนคร ชิ ม อาหารอร่อ ย สั ก การะพระแม่เ ศรษฐี ที่ วั ด ร่อ นนา
NAKHON SI THAMMARAT 159 .indd 159
10/1/2561 11:42:39 AM
บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดสามั ค ยาราม (สามร้ อยกล้ า )
Wat Samakkhayaram (Sam Roi Kla) พระครูประทีปสุตากร (คณพศ บุญล้อม) น.ธ.เอก ป.ธ.3 ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส และ เจ้าคณะต�ำบลควนชุม วัดสามัคยาราม (สามร้อยกล้า) ตั้งอยู่เลขที่ 217 หมู่ที่ 7ต�ำบลหินตก อ�ำเภอร่อนพิบูลย์ จังหวัดนครศรีธรรมราช สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย
ชาวพุทธส่วนใหญ่รจู้ กั “อังคุลมิ าลปริตร” ซึง่ มีอานุภาพในการช่วยให้ มีสขุ ภาพแข็งแรง หายจากโรคภัยไข้เจ็บ และคลอดบุตรง่าย ซึง่ เป็นบทสัน้ ๆ ดังนี้ ยะโตหัง ภะคินิ อะริยายะ ชาติยา ชาโต นาภิชานามิ สัญูจิจจะ ปาณัง ชีวติ า โวโรเปตา เตนะ สัจเจนะ โสตถิ เต โหตุ โสตถิ คัพภัสสะฯ น้องหญิง ตั้งแต่อาตมาเกิดในอริยชาติ* แล้ว มิได้มีเจตนาจะท�ำลาย ชีวติ สัตว์เลย ด้วยความสัตย์จริงนัน้ ขอความสวัสดีจงมีแก่เธอ ขอความสวัสดี จงมีแก่บุตรในครรภ์ของเธอด้วยฯ
*เกิดในอริยชาติ หมายถึง ก่อนที่จะบวชเป็นพระ แม้พระองคุลิมาลเถระเคยฆ่าคนมาก็จริง แต่หลังจากวันที่พระองคุลิมาลเถระได้บวชในพระศาสนา แล้วนั้น ท่านก็ไม่มีจิตคิดฆ่าสัตว์ตัดชีวิตอีกต่อไป พระองคุลิมาลน้อมเอาความจริงข้อนี้มาตั้งสัตยาธิษฐาน จึงท�ำให้พุทธมนต์เกิดพุทธานุภาพ
160 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 160
10/1/2561 11:51:38 AM
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
ประวัติความเป็นมา
สร้างเมื่อวันพุธที่ 17 มิถุนายน พ.ศ.2486 ตรงกับวันขึ้น 6 ค�่ำ เดือน 8 ปีมะเส็ง โดยคณะพุทธบริษัทได้ไปนิมนต์พระครูอนุศาสน์สุตคุณ (เสถียร เขมจารี) จากวัดหน้าพระบรมธาตุ อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช มาช่วยสร้างวัดและเป็นเจ้าอาวาสรูปแรก เมื่อปี พ.ศ.2498 ท่านได้ ร่วมกับคณะพุทธบริษัทพัฒนาและขยายพื้นที่ซึ่งเดิมมีอยู่เพียง 6 ไร่ จนปัจจุบันเป็น 42 ไร่เศษ ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อปี พ.ศ.2506 เปิดส�ำนักเรียนพระปริยัติธรรมมาจนถึงปัจจุบัน เมื่อปี พ.ศ.2520 สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (วาสน์ วาสโน) วัดราชบพิตรสถิตมหาสีมาราม เสด็จมาเยี่ยม วัดสามัคยาราม (สามร้อยกล้า)
โครงการระยะยาวของวัดที่วางไว้ 4 ประการคือ
1. สร้างคน เพื่อให้เกิดอุตสาหะและมีคุณค่า 2. สร้างหนังสือ เพื่อเป็นอุปกรณ์ในการสร้างคน 3. สร้างต้นไม้ เพื่อความร่มรื่นและช่วยเหลือวัด 4. สร้างเสนาสนะ เพื่อได้พักอาศัย
ล�ำดับเจ้าอาวาส
1. พระครูอนุศาสน์สตุ คุณ (เสถียร เขมจารี) ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2496 - 2546 2. พระอธิการสหัส ปิยธโร ตั้งแต่ปี พ.ศ.2546 - 2548 3. พระครูประทีปสุตากร (คณพศ บุญล้อม) ตัง้ แต่ปี พ.ศ.2549 - ปัจจุบนั
เจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน
พระครูประทีปสุตากร (คณพศ บุญล้อม) น.ธ.เอก ป.ธ.3 เจ้าคณะต�ำบลควนชุม พระอุปัชฌาย์ โทร 075-441-484, 086-940-6353 NAKHON SI THAMMARAT 161 .indd 161
10/1/2561 11:51:44 AM
162 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 162
10/1/2561 11:51:45 AM
NAKHON SI THAMMARAT 163 .indd 163
10/1/2561 11:51:46 AM
ส�ำหรับที่วัดสามัคยาราม พระครูอนุศาสน์สุตคุณ (เสถียร เขมจารี) อดีตเจ้าอาวาสและเจ้าอาวาส รูปแรกท่านได้สร้างปรากฏการณ์อันน่าทึ่งให้กับวงการแพทย์แผนโบราณอย่างหนึ่ง นั่นคือการค้นคว้า และวิจยั ตัวยาทีส่ ามารถช่วยเหลือคูส่ ามีภรรยาทีส่ ามารถมีบตุ รได้หรือมีบตุ รยากให้ประสบความส�ำเร็จ มากมายรวบรวมได้มาจนปัจจุบันนี้ไม่น้อยกว่า 5,000 คู่ ให้มีบุตรได้สมความปรารถนา นับเด็กที่เกิด ได้ด้วยวิธีการนี้ไม้น้อยกว่าหมื่นคน พระครู อ นุ ศ าสน์ สุ ต คุ ณ ท่ า นได้ รั บ การถ่ า ยทอดวิ ช าส� ำ คั ญ นี้ จ ากพระอาจารย์ ข องท่ า นคื อ พระศรี ธ รรมราชมุ นี (หมุ ่ น อิ สฺ ส โร) อดี ต เจ้ า อาวาสวั ด หน้ า พระบรมธาตุ แ ละอดี ต เจ้ า คณะ จังหวัดนครศรีธรรมราชซึ่งท่านได้ใช้วิชานี้ช่วยเหลือผู้ที่มีบุตรยากอยู่ก่อนแล้วในอดีตเป็นที่ทราบอยู่ โดยทั่วไปในจังหวัดนครศรีธรรมราชและใกล้เคียง หลวงปู่เสถียร ได้เล็งเห็นความส�ำคัญของวิชานี้ว่ามีคุณค่ามหาศาลหากปล่อยให้ดับสูญไปก็เป็น สิง่ ทีน่ า่ เสียดายยิง่ นัก ท่านจึงได้เข้าไปกราบขอตัวยานีจ้ ากพระศรีธรรมราชมุนี ซึง่ ท่านก็ยนิ ดีถา่ ยทอดให้ อย่างไม่มีการปิดบังพร้อมประสิทธิ์ประสาทวิธีรักษาให้และอวยพรให้รักษาวิธีวิชานี้ต่อไปเพื่อช่วยเหลือ ชาวโลกผู้อาภัพให้สมปรารถนาต่อไป จากนัน้ พระครูอนุศาสน์สตุ คุณ พยายามศึกษาค้นคว้าวิจยั ตัวยานีใ้ ห้มปี ระสิทธิภาพยิง่ ขึน้ จนได้รบั การยืนยันจากวงการแพทย์ในปัจจุบนั ว่าตัวยานี้ สามารถช่วยให้ผู้ที่มีปัญหาเรื่องมีบุตรยากให้สำ� เร็จถึง 80% และสิ่งส�ำคัญที่ท่านต้องศึกษาเพิ่มเติมให้วิชานี้มีความส�ำเร็จเพิ่มขึ้นอีก 4 อย่าง คือ 1. ธรรมะ ส�ำหรับคู่สามีภรรยาที่ต้องการมีบุตรจะต้องมีศีลธรรม เป็นพ่อแม่ที่ดีของบุตรที่จะมาเกิด 2. จิตวิทยา เพื่อสร้างศรัทธาและความเชื่อมั่นให้กับคู่สามีภรรยา โดยมีพระพุทธรูปโบราณอายุเกือบ 200 ปี ชื่อ หลวงพ่อศักดิ์สิทธิ์ ที่ท่าน ได้รับมอบมาจากอาจารย์ของท่านเพื่อช่วยเหลือผู้ที่มีความปรารถนาให้ประสบความส�ำเร็จ 3. โหราศาสตร์ เพื่อน�ำมาตรวจดวงชะตาของสามีภรรยาว่าตามดวงชะตามีบุตรหรือไม่และมีได้กี่คน 4. ไสยศาสตร์ คู่สามีภรรยา มีปัญหาเพราะมีเรื่องเกี่ยวกับไสยศาสตร์จำ� เป็นต้องใช้เวทมนต์คาถาเข้าช่วยด้วย หลักสีป่ ระการนีเ้ ป็นองค์ประกอบส�ำคัญในการช่วยเหลือผูท้ มี่ ปี ญ ั หาในเรือ่ งการมีบตุ รยากจนส�ำเร็จ และเมือ่ มีบตุ รแล้ว ก็ใช่วา่ จะประสบความส�ำเร็จ อย่างแท้จริง การเลี้ยงบุตรให้เติบโตเป็นคนดีในสังคม มีคุณธรรมประจ�ำใจ จ�ำเป็นที่จะต้องมีในตนของผู้เป็นพ่อแม่ก่อน ในการเลี้ยงลูก จนกระทั่ง ลูกเติบโตเป็นคนดี กตัญญู ซื่อสัตย์สุจริต นั่นจึงเป็นสิ่งที่พ่อแม่ต้องการ และเรียกว่าประสบความส�ำเร็จอย่างแท้จริง จากนั้นพระครูอนุศาสน์สุตคุณ ก็ได้ถ่ายทอดวิชานี้ทั้งหมดให้กับเจ้าอาวาสรูปปัจจุบันคือพระครูประทีปสุตากร ไว้ส�ำหรับช่วยเหลืออนุเคราะห์ มนุษย์โลกผู้ได้รับความทุกข์ เรื่องการไม่มีบุตรหรือมีบุตรยาก ปัจจุบันก็มีผู้มาขอความเมตตาอนุเคราะห์ตลอดเกือบทุกวัน
164 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 164
10/1/2561 11:51:52 AM
พระพุทธรูปส�ำคัญประจ�ำวัด
พระพุ ท ธรู ป หลวงพ่ อ ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ สร้างเมือ่ ปีพ.ศ.2438 อธิษฐานขอพร ให้ประสบความส�ำเร็จในเรือ่ งของ การมีบุตร และเรื่องอื่นๆ พระประธานประจ� ำ ศาลา ธรรมทาน เสถียรธรรม สร้างเมือ่ ปี พ.ศ.2502 พ่อท่านคล้าย วาจาสิ ท ธิ์ เป็ น ประธาน สร้างถวาย
เสนาสนะ
1. อุโบสถ กว้าง 7 เมตร ยาว 23 เมตร 1 หลัง (รอการบูรณะ) 2. ศาลาธรรมทาน กว้าง 18 เมตร ยาว 24 เมตร 1 หลัง (ศาลาธรรมทาน เสถียรธรรม) 3. หอฉัน กว้าง 12 เมตร ยาว 25 เมตร 1 หลัง (ศาลาธรรมประทีป) 4. มณฑปประดิษฐาน รูปหล่อ หลวงปูท่ วด - พ่อท่านคล้าย-พ่อท่านเสถียร 5. ศาลากลางน�ำ้ 1 หลัง 6. กุฏิสงฆ์ 8 หลัง 7. เมรุ ศาลคู่เมรุ 1 หลัง 8. ห้องน�ำ้ 15 ห้อง NAKHON SI THAMMARAT 165
.indd 165
10/1/2561 11:52:01 AM
วัดเทพนมเชือด Wat Thep Nom Cheod
อมตะพระราหู พ่อท่านภู่คุ้มภัย ฆ้องชัยก้องกังวาล โบราณสถานถ�้ำพระพุทธ สวยแปลกสุดอุโบสถ ศักดิ์สิทธิ์ปรากฏพระลาก แน่นแฟ้นมากความสามัคคี คนดีวัดเทพนมเชือด
166 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย v3.indd 166
NAKHONSITHAMMARAT11/1/2561 PB 10:28:26 AM
สวยแปลกสุดอุโบสถ ประวัติความเป็นมา
วัดเทพนมเชือด เดิมชื่อว่า วัดเขาพนมเชือก นามที่ใช้เรียกขาน นามของวัดในปัจจุบัน น่าจะเพี้ยนมาจากการเขียนค�ำว่า “เขา” เพืย้ นเป็น “เทพ” เมือ่ มาอยูต่ ดิ กับค�ำว่า “พนม” แล้ว “พ” หายไปตัวหนึง่ จึงกลายเป็น “เทพนม” และ ค�ำว่า “เชือก” เพีย้ นมาเป็น “เชือด” ดังนี้ วั ด เทพนมเชือด เป็น วัด เก่าแก่ เพราะมีพ ระพุ ท ธรู ปในถ�้ ำ เป็นศิลปะท้องถิ่น สันนิษฐานว่าสร้างพร้อมๆ กับพระบรมธาตุ จังหวัดนครศรีธรรมราช ราวปี 1800-1900 ทางด้านทิศตะวันตก ของวัดซึ่งอยู่ในอาณาเขตของวัดที่มีต�ำนานเกี่ยวกับการสร้างผูกโยง กับการสร้างเมืองนครศรีธรรมราชที่หาดทรายแก้วปัจจุบัน วัดเทพนมเชือด ยังมีตำ� นานทีเ่ กีย่ วข้องกับเมืองนครอีกหลายครัง้ โดยเฉพาะในสมัย “ท้าวพังพกาฬ” ขุนทหารเอกของเมืองนคร เล่ากันว่า ท้าวพังกาฬนี้ มาเอาเชือกที่เขานมเชือกเพื่อไปจับช้าง ถวายเจ้าเมืองนครที่บ้านช้างกลาง ช้างซ้าย ช้างขวา เมื่อจับช้าง เสร็จเรียบร้อยแล้วก็น�ำเชือกที่จับช้างนั้นมาไว้ที่ใต้ฐานพระราหู ในถ�้ำพระราหูวัดเทพนมเชือด NAKHON SI THAMMARAT 167 v3.indd 167
11/1/2561 10:28:31 AM
อมตะพระราหู การดัดแปลงหน้าพระโบราณเดิม (เหลือไว้องค์เดียว-คือองค์ที่ 8) ทีเ่ พิงผา “วัดเทพนมเชือด” ก็ได้กระท�ำในครัง้ นีด้ ว้ ย ทัง้ นีต้ ามค�ำแนะน�ำ ของพราหมณ์ปโุ รหิตและพระภิกษุสงฆ์ชนั้ ผูใ้ หญ่ เพือ่ ดัดแปลงหน้าพระ ที่ช�ำรุดทรุดโทรมในขณะนั้น ให้เป็นหน้าพระราหู หรือหน้ายักษ์ เพื่อ อาศัยบารมี “พระราหู” ขับไล่โรคห่า ซึ่งเป็นความเชื่อในยุคนั้นว่า
“พระราหูมีฤทธิ์ มีอำ� นาจ มีพลังในการขับไล่ อมนุษย์ เสนียดจัญไร และขจัดความทุกข์ยากทั้งปวงได้” อนึง่ พระพุทธรูปบูชาในเพิงผาถ�ำ้ แห่ง “วัดเทพนมเชือด” ทัง้ 10 องค์ โบราณนี้ มีฐานบัลลังก์เหมือนกันทุกๆ องค์ แต่มเี พียงองค์เดียวทีค่ วาม เป็นพุทธศิลป์แปลกออกไป คือ มีเค้าพระพักตร์(วงหน้า) เป็นศิลปะ อินเดีย “สกุลช่างปัลละวะ” พระพักตร์ค่อนข้างกลมมน แย้ม พระสรวล ดูอมิ่ เอิบเป็นประกายรัศมี พิศมองลึกซึง้ พระเนตร เปีย่ มเมตตา ยามเข้าใกล้ฉำ�่ เย็นซาบซึง้ เป็นสุข มีมนต์เสน่ห์ อย่างน่าประหลาด ล�ำดับการนัง่ ประทับเป็นองค์ที่ 8 แฝงนัย ปริศนา เห็นเป็นเค้าพระพักตร์เดิมขององค์พระทั้งหมด ณ เพิงผาถ�้ำแห่งนี้ ในทางโบราณคดี พระพุทธรูปทีน่ ี่ เดิมเป็นพระพุทธรูปโบราณ เป็นหินศิลาแดงเช่นเดียวกับพระที่วัดเวียงสระ(ชุมชนสระอุเลา โบราณ จีนเรียก อาณาจักรเชี้ยโท้) และเป็นพระปูนปั้น (ปูนเพชร โบราณ) เช่นเดียวกับพระในแหล่งโบราณคดี “คูบัว” ราชบุรีแต่ได้มา ถูกดัดแปลงซ่อมแซมในสมัย “พระเจ้าศรีธรรมาโศกราช” องค์ที่ได้ หลบหนี “ไข้ห่า” อพยพไพร่พล ราษฎร และข้าราชส�ำนัก มาอาศัย พึ่งเพิงผาถ�้ำ ในอาณาบริเวณนี้ตรงกับสมัยของ “สมเด็จพระนเรศวร มหาราช” ระหว่างปี 2133 - 2148
พระประธาน
พระพุทธรูปโบราณ
168 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย v3.indd 168
11/1/2561 10:28:34 AM
พ่อท่านภู่คุ้มภัย
มีหลักฐานบันทึกไว้วา่ เจ้าอาวาสปกครองมาแล้ว 7 รูป หนึง่ ในนัน้ ก็คือ “พ่อท่านภู่” อดีตเจ้าอาวาสรูปที่ 5 ซึ่งเป็นที่เคารพศรัทธา ของชาวบ้านเป็นอย่างมาก จึงได้มีการหล่อรูปเหมือนเท่าองค์จริงไว้ เพื่อให้เป็นที่กราบสักการบูชาของชาวบ้านในละแวก อ.ร่อนพิบูลย์ ประดิษฐานอยูภ่ ายในศาลาหลังเก่า ซึง่ ปัจจุบนั นีไ้ ด้ผพุ งั ไปตามกาลเวลา
พระครูวิเศษพิบูลกิจ (พ่อท่านภู่)
ล�ำดับเจ้าอาวาส
1. ไม่ปรากฏนามก่อน 2. พระอาจารย์ลับ พิบูลย์ 3. พระอาจารย์เอียด 4. พระมหาเผื่อ (รักษาการแทน) 5. พระภู่ รติวฑุตโณ (พระครูวิเศษพิบูลกิจ) 6. พระศรีปริยัติบดี (รักษาการแทน) 7. พระปลัดณรงค์ อภิวณฺโณ (พระครูสิริวัณณาภรณ์)
พ.ศ.2434 พ.ศ.2450 พ.ศ.2465 - 2472 พ.ศ.2472 พ.ศ.2473 - 2545 พ.ศ.2545 - 2546 พ.ศ.2547 - ปัจจุบัน
พระครูปลัดณรงค์ อภิวัณโณ เจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน จึงได้ จัดสร้างวัตถุมงคลเพื่อน�ำมาเป็นทุนในการก่อสร้างมณฑปหลังใหม่ เพื่อประดิษฐานรูปเหมือนพ่อท่านภู่ ซึ่งได้รับความเมตตาจาก พระอาจารย์ประสูติ ปิยธัมโม วัดในเตา จ.ตรัง รับเป็นประธานด�ำเนิน การจัดสร้าง ซึ่งท่านมีความเคารพศรัทธาในองค์พ่อท่านภู่ เป็น อย่างมาก วัตถุมงคลที่จัดสร้าง รูปแบบเหรียญหล่อรุ่นแรก สอง อมตะเถราจารย์ “หลวงปู ่ ท วด - พ่ อ ท่ า นคล้ า ย วาจาสิ ท ธิ์ รุ่นสร้างมณฑป มหาบารมี” NAKHON SI THAMMARAT 169
v3.indd 169
11/1/2561 10:28:39 AM
ฆ้องชัยก้องกังวาล ฆ้อง เป็นเสนาสนะทีใ่ ช้ในวัดพระพุทธศาสนา ใช้ในการรบทัพจับศึก ถือว่าเป็นมงคล เช่น ตอนสมเด็จพระนเรศวรมหาราชยกกองทัพออกไป รบกับกองทัพพม่า มีกลอนกล่าวไว้ว่า
“ลั่นฆ้องศึกกระหึ่มก้องท้องธานินท์ องค์นรินทร์ยกออกสู้ศัตรูพาล” ฆ้องใช้ตีบอกเวลาโมงยาม ฆ้องใช้เป็นเครื่องมีอประกอบดนตรี ฆ้องยิ่งใช้ประดับห้องพระและห้องรับแขกดูสง่างามน่าเกรงขามยิ่งนัก
โบราณสถานถ�้ำพระพุทธ วั ด เทพนมเชือ ด ชื่อเดิม “วัด ป่าเทพนมเชือ ก” คณะศรัทธา สร้างไว้เมื่อสมัยกรุงศรีอยุธยา สร้างแล้วไม่นานก็เป็นวัดร้าง จนมีคน มาพบเมื่อปี พ.ศ.2310 ภายในวัดมีถ�้ำพระราหู เป็นถ�้ำหินปูนลักษณะ เหมือนปากราหู มีหยดน�้ำไหลออกมาจากผนังถ�้ำ จึงมีการท�ำบ่อน�้ำ เพื่อรองรับน�้ำที่ไหลออกมาไปท�ำเป็นน�้ำพระพุทธมนต์
ถ�้ำพระราหู มี 2 ถ�้ำ ถ�้ำที่ 1 มีขนาดใหญ่ ภายในถ�้ำประดิษฐาน พระพุทธรูปปูนปั้นศิลปะท้องถิ่น จ�ำนวน 10 องค์ ซึ่งสันนิษฐานว่าสร้าง พร้อมกันในสมัยที่สร้างพระบรมธาตุ จังหวัดนครศรีธรรมราช ราว พุทธศตวรรษที่ 18 ถ�้ำที่ 2 จะมีขนาดเล็กกว่าถ�้ำที่ 1 สันนิษฐานว่าถ�้ำ พระราหูจะเป็นที่พักแรมของคนสมัยก่อนตอนเดินทาง เพราะอยู่ใน เส้นทางเดินโบราณและมีหลักฐานปรากฏอยู่
170 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย v3.indd 170
11/1/2561 10:28:43 AM
พิธีบวงสรวงพระราหู ประจ�ำวัดเทพนมเชือด ปฏิบัติสืบทอดตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
เรือพระลาก
พระลาก
ร่วมสืบสานประเพณีท�ำบุญให้ทานไฟ ทุกวันที่ 17 มกราคม ของทุกปี
เหรียญพ่อท่านภู่ วัดเทพนมเชือด v3.indd 171
วัดเทพนมเชือด ตั้งอยู่ เลขที่ 313 หมู่ 7 ต.ร่อนพิบูลย์ อ.ร่อนพิบูลย์ จ.นครศรีธรรมราช ปัจจุบัน พระครูสิริวัณณาภรณ์ (ณรงค์ อภิวณฺโณ) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส FACEBOOK Narong Massuwan ร่วมสร้างเส้นทางบุญ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร สาขาร่อนพิบูลย์ เลขที่บัญชี 019152767284 โทรศัพท์ 086-0853344, 085-8853671
NAKHON SI THAMMARAT 171 11/1/2561 10:28:45 AM
บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัด ควนเกย Wat Kuan Kaey
พระมหาสนิท ปุญญกาโม ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส วัดควนเกย ตั้งอยู่เลขที่ 91 หมู่ที่ 1 ถนนร่อนพิบูลย์-เขาชุมทองชะอวด ต�ำบลควนเกยอ�ำเภอร่อนพิบูลย์ จังหวัดนครศรีธรรมราช
ประวัติวัดควนเกย
วัดควนเกย เป็นวัดราษฎร์ สังกัดเขตปกครองคณะสงฆ์อำ� เภอร่อนพิบลู ย์ จังหวัดนครศรีธรรมราช ภาค 16 ได้รบั อนุญาตให้สร้างวัด เมือ่ พ.ศ.1731 ได้ รั บ อนุ ญ าตตั้ ง เป็ น วั ด เมื่ อ ปี พ.ศ.1733 และได้ รั บ พระราชทาน วิสุงคามสีมาในปีเดียวกัน มีพื้นที่ตั้งวัดจ�ำนวน 91 ไร่ 37 ตารางวา มีทธี่ รณีสงฆ์ จ�ำนวน 2 แปลง 20 ไร่ 2 งาน 43 ตารางวา มีเขตวิสงุ คามสีมา กว้าง 15 เมตร ยาว 28 เมตร 172 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 172
10/1/2561 11:57:56 AM
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
จังหวัดหนองบัวล�ำภู
เสนาสนะส�ำคัญของวัด
อุโบสถ ขนาด 7 x 21 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2523 ศาลาการเปรียญ ขนาด 14 x 28 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2505 เมรุถาวร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2534 พร้อมศาลาเมรุ 3 หลัง หอฉันถาวร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2534 กุฏิ 16 หลัง, ศาลาพระ 4 หลัง, ศาลาที่พักญาติโยม 2 หลัง ศาลาอนุสาวรีย์พ่อท่าน 1 หลัง โรงเก็บเรือพระ 1 หลังและ ภายในวัดมีโรงเรียนระดับประถม 1 โรงและ โรงเรียนระดับมัธยม 1 โรง
ลิ้นพระพุทธเจ้า
วัดควนเกย ตั้งอยู่ในชุมชนที่ชาวบ้านส่วนใหญ่มีอาชีพท�ำนา ท�ำสวน และค้าขาย และเป็นชุมชนที่เคร่งครัดในทางศีลทางธรรม สภาพชุมชน โดยรอบมีฐานะร�ำ่ รวยบ้าง มีฐานะปานกลางจ�ำนวนมาก และยากจนน้อย ประชาชนมาบ�ำรุงวัดประจ�ำประมาณ 150 คน และมาเป็นครั้งคราว ประมาณ 2,000 คน
ร่วมสร้างเส้นทางบุญ
เนื่องจากวัดควนเกยเป็นวัดโบราณ เสนาสนะ ต่างๆ ได้ทรุดโทรมไปตามกาลเวลา จึงขอเชิญชวน ท่านสาธุชนผู้มีจิตศรัทธาร่วมบูรณปฏิสังขรณ์วัด โดยติดต่อได้ที่ พระมหาสนิท ปุญญากาโม เจ้าอาวาสวัดควนเกย NAKHON SI THAMMARAT 173 .indd 173
10/1/2561 11:58:04 AM
บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วั ด คูหาสัน ตยาราม (วัดถ�้ ำเขาแดง) Wat Khuha Santayaram (WAT Tham Khao Daeng) พระอนันต์ ปิยวณฺโณ (รักษาการ) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส ตั้งวัดเมื่อ พ.ศ.2450 ตั้งอยู่ หมู่ที่ 9 ต�ำบลหินตก อ�ำเภอร่อนพิบูลย์ จังหวัดนครศรีธรรมราช ได้รับวิสุงคามสีมา พ.ศ.2516
พระอนันต์ ปิยวณฺโณ
(รักษาการ) เจ้าอาวาส ในปัจจุบัน 174 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 174
11/1/2561 11:38:59 AM
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
จังหวัดหนองบัวล�ำภู
ประวัติความเป็นมา
วัดถ�ำ้ เขาแดง มีมาตัง้ แต่โบราณแล้ว ไม่มีใครทราบประวัติในสมัยก่อน และ กลายเป็นวัดร้างอยูน่ านจนมาถึง รุน่ ของ พ่อท่านคล้าย รัตนมุณี ท่านเป็นชาว กะปางได้ บ วชและเดิ น ธุ ด งค์ ม าตาม ริมภูเขาจากกะปาง มาจนกระทั่งเจอ วั ด ถ�้ ำ เขาแดงที่ ยั ง เป็ น วั ด ร้ า งอยู ่ พ่อท่านคล้ายได้สร้างกุฏิไว้ 1 หลัง เพื่ออยู่อาศัย ต่อมาพ่อท่านคล้ายก็ได้ พัฒนาวัดขึน้ มาใหม่และได้ขนึ้ ทะเบียน ตั้งวัดขึ้นใน พ.ศ.2450 เป็นต้นมา พ่อท่านคล้ายได้พัฒนาวัดเรื่อยมา มีพระภิกษุสงฆ์มาจ�ำพรรษาอยูห่ ลายรูป และมีพ่อท่านน�ำได้ย้ายมาจากพัทลุง มาอยู่ที่วัดถ�้ำเขาแดงด้วย ต่อมาพ่อ ท่านคล้าย รัตนมุณไี ด้มรณภาพลงและ ได้ตั้งพ่อท่านน�ำเป็นเจ้าอาวาส ต่อมาก็มพี ระอธิการถาวร ปัญญาวุโธ เป็นเจ้าอาวาสต่ออยู่หลายปีจนกระทั่ง ท่านได้ปว่ ยเป็นมะเร็งตับและได้มรณภาพ ในปี 2557 ต่อจากนั้นได้แต่งตั้งให้ พระอนันต์ ปิยวณฺโณ เป็นรักษาการแทน เจ้าอาวาสอยู่จนถึงปัจจุบันนี้
เทวดาเขาแดง
ในปี พ .ศ.834 นางเหมชาลาและทนกุ ม ารน� ำ พระ บรมสารีรกิ ธาตุ (กระดูกพระพุทธเจ้า) มาฝังไว้บนหาดทรายแก้ว ต่อมาได้มีการสร้างสถูปใหม่ครอบพระธาตุ ต่อมาในพ.ศ. 1061 มีพราหมณ์ชาวอินเดีย เดิมชื่อ “พราหมณ์มาลี” จากราชส�ำนักอโศกได้อพยพ พวกลงเรือส�ำเภาหลายร้อยล�ำ จากอินเดียมาขึ้นบกที่บ้านทุ่งตึก ใกล้เมืองตะกั่วป่า ฝั่งทะเล ตะวันตก แต่พบโรคห่าจึงจ�ำเป็นต้องอพยพหาชัยภูมิใหม่ ต่อมาพราหมณ์มาลี ได้ตั้งเมืองใหม่ที่ท่าเรือคือ เมือง นครศรีธรรมราช นามว่า พระเจ้าศรีธรรมาโศก และท่าน ได้แต่งตัง้ พราหมณ์ทเี่ ดินทางมาด้วยกัน ผูม้ วี ชิ าในหลายอย่าง เป็นพระบรมครูพราหมณ์ประจ�ำราชส�ำนัก ต่อในปี พ.ศ. 1125 พระเจ้าธรรมโศกราชเสด็จสวรรคต องค์เทวดาเขาแดง จึงได้ออกจากราชส�ำนักมาบ�ำเพ็ญภาวนาอยู่ที่ถ�้ำเขาแดง ตลอดมาเป็นทีเ่ คารพบูชาของชาวอ�ำเภอร่อนพิบลู ย์ตลอดมา NAKHON SI THAMMARAT 175 .indd 175
11/1/2561 11:39:11 AM
วัดคูหาสันตยาราม หรือวัดถ�้ำเขาแดง ตั้งอยู่เชิงเขาเป็นแนวเดียวกับวัดคีรีรัตนาราม บรรยากาศภายในวัดมีความร่มรื่น สงบเงียบ เหมาะส�ำหรับมากราบไหว้พระพุทธรูปที่ตั้งอยู่ที่เพิงผาและศึกษาธรรมชาติ อีกทั้งยังเป็นแหล่งพืชพันธ์ุไม้ หลากหลายชนิด และมีฝูงลิงให้นักท่องเที่ยวเข้าชม
176 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 176
11/1/2561 11:39:24 AM
จังหวัดหนองบัวล�ำภู
บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดเจริญธรรมาราม Wat Charoen Thammaram พระครูพิบูลย์ธรรมสถิต ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส วัดเจริญธรรมาราม ตั้งอยู่ หมู่ที่ 6 ต�ำบลเสาธง อ�ำเภอร่อนพิบูลย์ จั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช 80350 คนในท้ อ งถิ่ น เรี ย กว่ า “วั ด ท่ า มุ ด ” เพราะตั้งอยู่ริมคลอง ในอดีตผู้คนสัญจรทางน�้ำเป็นหลัก เมื่อมีท่าน�้ำ ผู้คนมักตั้งชื่อตามสถานที่ที่มีความเกี่ยวเนื่องกับท้องถิ่น เช่น ท่าข้าม ใช้เรียกท่านี้เพราะว่าเป็นที่ข้ามฟากของคนในชุมชนนั้นๆ ค�ำว่า ท่ามุดนัน้ มาจากบริเวณท่านีม้ กี ารน�ำเอาผลของลูกละมุดมาขึน้ ทีท่ า่ นี้ ละมุดในที่นี้หมายถึงผลไม้ประเภทมะม่วงชนิดหนึ่งที่มีมากในแถบนี้ ต่อมา มีโยมผูเ้ ป็นเจ้าของทีด่ นิ ยกถวายให้เป็นทีข่ องวัด จึงมีการเรียกขานกันติดปาก มาจนถึงปัจจุบันว่า “วัดท่ามุด” กระทั่งเมื่อปี 2416 ได้รับการจดทะเบียน ในชื่อของวัดว่า “วัดเจริญธรรมาราม” ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา NAKHON SI THAMMARAT 177 .indd 177
10/1/2561 12:02:22 PM
วัดเจริญธรรมาราม
แม้วดั มีขนาดเล็ก แต่กม็ ญ ี าติโยมพุทธบริษทั ทีม่ คี วามศรัทธาแน่นแฟ้นในพระรัตนตรัยเข้ามาปฏิบตั ศิ าสนกิจกันอย่างเข้มแข็งเรือ่ ยมา ทัง้ ๆ ทีบ่ ริเวณ ใกล้เคียงเป็นเขตทีม่ มี สุ ลิมอยูม่ ากรายรอบวัด และมีวดั ใหญ่ๆ อยูใ่ นบริเวณใกล้เคียงในต�ำบลเดียวกันประมาณห้าถึงหกวัด แต่วดั นีก้ ย็ งั คงปฏิบตั เิ จริญสติ สมาธิ ปัญญา และรักษาสภาพวัดมาได้ตลอดร้อยกว่าปีที่ผา่ นมา อนึ่ง วัดเจริญธรรมารามนี้เคยผ่านการเป็นคณะสงฆ์มาแล้วทั้งฝ่ายมหานิกายและธรรมยุตนิกายตามยุคตามสมัย แล้วแต่ว่าผู้ที่มาเป็นเจ้าอาวาส ในสมัยนั้นๆ เป็นนิกายไหน และมีเจ้าอาวาสมาแล้ว 5 รูป แต่ละรูปก็เป็นเจ้าอาวาสที่ชาวบ้านจัดตั้งขึ้นมาตามความเคารพ โดยท่านมาเป็นผู้น�ำให้ รูปทีห่ นึง่ ถึงรูปทีส่ องอยูใ่ นฝ่ายมหานิกาย แล้วก็ร้างไปประมาณห้าถึงหกปีกว่าจะมาเป็นธรรมยุตนิกาย เจ้าอาวาสองค์ทสี่ ามถึงทีห่ ้าเป็นธรรมยุตนิกาย เจ้าอาวาสที่ปรากฏชื่อดังนี้ 1.หลวงปู่ขาบ 2.หลวงปู่เขียน 3.พ่อท่านแจ้ง 4.พ่อท่านก้าน 5.พ่อท่านแสง ซึ่งรูปที่5 นี้เป็นพระอาจารย์ของเจ้าอาวาส รูปปัจจุบัน ซึ่งเป็นเจ้าอาวาสรูปแรกที่ได้รับการแต่งตั้งอย่างถูกต้องอย่างเป็นทางการตามกฎหมาย
178 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 178
10/1/2561 12:02:27 PM
ประวัติของเจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน
พระครูพิบูลย์ธรรมสถิต ชื่อเดิม สุภาพ ยังบุญสุข ฉายา ฐิตสุโข อายุ 55 ปี พรรษา 14 การศึกษาทางธรรม นักธรรมชั้นเอก การศึกษา ทางโลก ปริญญาโทรัฐศาสตร์มหาบัณฑิตมหาวิทยาลัยมหามกุฏราช วิทยาลัย วิทยาเขตศรีธรรมาโศกราช
รายละเอียดของวัสดุมีดังนี้
เสาลายปูนปั้น 10 เสา เสาละ 15,000 บาท พญานาคราวบันได 2 ตัว ทางเข้าพระอุโบสถสองด้านด้านละสอง ตัว เป็น 6 ตัว ตัวละ 25,000 บาท พญาครุฑแบกฐานโบสถ์ 52 ตัว ตัวละ 2,000 บาท นางกินรีรอบซุ้มก�ำแพงแก้ว 42 ตัว ตัวละ 2,000 บาท คันทวยรูปหงส์ คันละ 1,500 บาท จ�ำนวน 14 คัน เทพพนมตามต้นเสา องค์ละ 1,500 บาท จ�ำนวน 14 องค์ ซุ้มเรือนแก้วครอบลูกนิมิต ซุ้มละ 10,000 บาท จ�ำนวนแปดซุ้ม ขณะนี้ ท างวั ด ก� ำ ลั ง รอการพิ จ ารณาช่ ว ยเหลื อ จากทางพุ ท ธบริ ษั ท ที่มีจิตศรัทธาตามที่เห็นสมควรต่อไป
ปัจจุบันวัดด�ำเนินก่อสร้างพระอุโบสถมหาอุดขึ้นมาหนึ่งหลังโดย ยึดแบบแนวคิดแบบเรื่องไตรภูมิ ตามแนวคิดแบบช่างอยุธยา ซึ่งขณะนี้ แล้วเสร็จไปแล้วประมาณเก้าสิบห้าเปอร์เซ็นต์ ซึ่งด�ำเนินการก่อสร้าง มาแล้วตั้งแต่ปี 2555 จนถึงปัจจุบัน เป็นเวลา 5 ปีแล้ว เนื่องด้วยเป็น วัดบ้านนอกห่างไกลความเจริญ และเป็นวัดขนาดเล็ก การหาปัจจัย เข้าวัดจึงถือเป็นเรื่องล�ำบากมาก แต่ก็อาศัยการทอดกฐินทอดผ้าป่า ปีละ 2 ครั้งก็สามารถที่จะหาปัจจัยมาสร้างต่อได้ ขณะนี้ทางวัดมีค่าวัสดุก่อสร้างที่ยังคงค้างจ่ายอยู่ประมาณสองแสน บาทเศษและต้ อ งการหาเจ้ า ภาพช่ ว ยจองเป็ น เจ้ า ของรายการวั ส ดุ ในการตกแต่งพระอุโบสถตามก�ำลังศรัทธา ส�ำหรับท่ านที่บริจาคจองเป็นเจ้ าของรูปลายปูนปั้นตามรายการ ดังต่อไปนี้ ทางวัดจะสลักนามผู้บริจาคไว้เป็นอนุสรณ์ที่หินอ่อนเป็น เกียรติประวัติของท่านให้แก่อนุชนรุ่นหลังถืิอเป็นแบบอย่างต่อไป
ทางวัดจะขอน้อมพระคุณแห่งพระศรีรัตนตรัยอันเป็นสรณะ อันประเสริฐ อันยิ่งใหญ่กว่าสรณะอื่นใดในโลกนี้ จงอภิบาล อ�ำนวยอวยชัยให้แก่ท่านผู้มีจิตเป็นกุศลเมตตาร่วมบริจาคจอง เป็นเจ้าของวัสดุดังกล่าวทุกท่านจงประสบแต่ความสุขสวัสดิ์ มงคลสมบูรณ์พูนผลด้วยจตุพิศพรชัยทั้งสี่ประการ คือ อายุ วรรณะ สุขะ พละ ตลอดจนมีปฏิภานธนสารสมบัตสิ มบูรณ์พร้อม แด่ทุกคนทุกท่านเทอญ วัดเจริญธรรมาราม วัดน้อยในป่าใหญ่วดั สวนป่าสมุนไพรซึง่ ทาง วัดได้ปลูกไว้หลายสิบชนิดและมีโครงการจัดเป็นอุทยานศึกษา สมุนไพรตลอดจนในอนาคตจะพัฒนาเป็นศูนย์เรียนรู้อุทยาน พุทธศาสตร์
NAKHON SI THAMMARAT 179 .indd 179
10/1/2561 12:02:35 PM
บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดควนยูง
Wat Kuenyung พระครูบัณฑิตธรรมรัต (มานิตย์ ปณฺฑิโต) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส วัดควนยูง ตั้งอยู่เลขที่ 86 หมู่ที่ 9 ต�ำบลนาแว อ�ำเภอฉวาง จังหวัดนครศรีธรรมราช ได้ประกาศตั้งวัดประมาณ พ.ศ.2480 โดย มีผู้บริจาคที่ดินสร้างวัดคือ นายชุ่ม สาริขา และ นายเริ่ม รินรส ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 16 ตุลาคม พ.ศ.2528 ซึ่งเจ้าคณะผู้ปกครองได้ปกครองดูแลตลอดมาตั้งแต่ปี พ.ศ.2551 จนถึงปัจจุบัน
นามพระภิกษุที่ได้เข้ามาปกครองดูแลวัดดังนี้ 1. พระชม อุปลา (ไม่ทราบฉายา) 2. พระทิน (ไม่ทราบฉายา) 3. พระฉ�่ำ (ไม่ทราบฉายา) 4. พระสัมฤทธิ์ (ไม่ทราบฉายา) 5. พระจรัส จนฺทวณฺโณ 6. พระสวาท ปญฺญาทีโป 7. พระแจ้ง ญาวุฑโท 8. พระใบฎีกาสุนทร จนฺทวณฺโณ 9. พระครูบัณฑิตธรรมรัต
อยู่ประมาณ พ.ศ. 2486 อยู่ประมาณ พ.ศ. 2487 อยู่ประมาณ พ.ศ. 2488 อยู่ประมาณ พ.ศ. 2493 อยู่ประมาณ พ.ศ. 2498 อยู่ประมาณ พ.ศ. 2503 อยู่ประมาณ พ.ศ. 2505 พ.ศ. 2513 - พ.ศ. 2551 พ.ศ. 2551 - ปัจจุบัน
180 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 180
10/1/2561 12:06:10 PM
จังหวัดหนองบัวล�ำภู
บ้านควนยูง เดิมเรียกกันว่า “บ้านในตรอก” ท่ามกลางทุ่งนากว้างของต�ำบลนาแวง หรือนาแว มีเนินควนอยู่แห่งหนึ่ง ซึ่งมีไม้ยูง ขึ้นอยู่มาก ชาวบ้านจึงเรียกเนินควนนี้ว่า “ควนยูง” กาลต่อมา พ่อท่านคล้าย วาจาสิทธิ์ ได้ชักชวนชาวบ้านท�ำถนนจากบ้านช่องกบ (อ�ำเภอพิปนู ในปัจจุบนั ) ผ่านบ้านควนสวรรค์ ตัดสูท่ งุ่ ทานพอ ข้ามแม่นำ�้ ตาปี สูต่ ลาดทานพอ ท�ำให้ชาวบ้านมีโอกาสได้ไปมาติดต่อกัน สะดวกมากขึ้น จากนั้น พ่อท่านคล้าย วาจาสิทธิ์ ได้ชักชวนชาวบ้านสร้างเจดีย์ ไว้บนเนินควนสวรรค์ วัดควนยูงมีพระอยูจ่ ำ� พรรษามากรูปตลอดปี และได้เป็นวัดทีถ่ กู ต้องตามกฎหมายบ้านเมือง มีเจ้าอาวาสเป็นพระอุปชั ฌาย์ ต�ำแหน่ง ปกครองคณะสงฆ์ เป็นเจ้าคณะอ�ำเภอฉวาง เป็นพระครูสัญญาบัตรในราชทินนามที่ “พระครูบัณฑิตธรรมรัต” (มานิตย์ ปณฺฑิโต) ปูชนียวัตถุและเสนาสนะในวัด
อาทิ พระพุทธรูปประจ�ำลานวัด พระพุทธรูปประจ�ำศาลาโรงธรรม ศาลาประดิษฐานหลวงปู่ทวด เหยียบน�้ำทะเลจืด สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) พ่อท่านคล้าย วาจาสิทธิ์ ศาลาเอนกประสงค์ หอระฆัง กุ ฎิ เ จ้ า อาวาสวั ด ควนยู ง และกุ ฎิ รั บ รองพระอาคั น ตุ ก ะวั ด ควนยู ง อนุสรณ์ผู้ใหญ่ชุ่ม สาริกขา ผู้บริจาคที่ดินสร้างวัดควนยูงและโรงเรียน วัดควนยูง และเมรุเผาศพ
ประวัติท่านเจ้าอาวาส
พระครูบัณฑิตธรรมรัต ฉายา ปณฺฑิโต อายุ 50 ปี พรรษา 27 วิ ท ยฐานะ ประโยค 1-2 น.ธ.เอก, สส.บ วั ด ควนยู ง ต� ำ บลนาแว อ�ำเภอฉวาง จังหวัดนครศรีธรรมราช สถานะเดิมชื่อ มานิตย์ นามสกุล บัณฑิศักดิ์ เกิดวันอังคาร เดือน 6 แรม 14 ค�่ำ ปีมะแม ตรงกับวันที่ 6 มิ ถุ น ายน พ.ศ.2510 บิ ด าชื่ อ นายประยู ร บั ณ ฑิ ศั ก ดิ์ ม ารดาชื่ อ นางสมบุญ รอดเจริญ อยูบ่ า้ นเลขที่ 36 หมูท่ ี่ 10 ต�ำบลนาแว อ�ำเภอฉวาง จังหวัดนครศรีธรรมราช อุปสมบท วันจันทร์ที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2534 ณ วั ด ควนยู ง ต� ำ บลนาแว อ� ำ เภอฉวาง จั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช พระอุปชั ฌาย์ พระครูโสภณคณาภิวฒ ั น์ วัดหาดสูง จังหวัดนครศรีธรรมราช พระกรรมวาจาจารย์ พระสมุห์แจ้ง สมวํโส วัดห้วยทรายขาว จังหวัด นครศรีธรรมราช พระอนุสาวนาจารย์ พระใบฎิกาสุนทร จนฺทวณฺโณ วัดควนยูง จังหวัดนครศรีธรรมราช
วิ ท ยฐานะ พ.ศ.2536 สอบได้ นั ก ธรรมชั้ น เอก ส� ำ นั ก เรี ย น วัดมะนาวหวาน อ�ำเภอช้างกลาง จังหวัดนครศรีธรรมราช พ.ศ.2537 สอบได้ประโยค 1-2 ส�ำนักเรียนวัดมะนาวหวาน อ�ำเภอช้างกลาง จังหวัดนครศรีธรรมราช พ.ศ.2541 ส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาส่งเสริมเกษตรและสหกรณ์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช งานปกครอง พ.ศ.2544 เป็นเจ้าคณะต�ำบลนาแว อ�ำเภอฉวาง พ.ศ.2548 เป็ น เลขานุ ก ารเจ้ า คณะอ� ำ เภอฉวาง พ.ศ.2550 เป็ น รองเจ้าคณะอ�ำเภอฉวาง พ.ศ.2551 เป็นเจ้าอาวาสวัดควนยูง พ.ศ.2552 เป็นพระอุปัชฌาย์ พ.ศ.2552 ได้รับการแต่งตั้งเป็นพระครูสัญญาบัตร ในพระราชทินนาม “พระครูบัณฑิตธรรมรัต” เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ.2552 พ.ศ.2555 เป็นเจ้าคณะอ�ำเภอฉวาง ได้รับแต่งตั้ง เมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ.2555
NAKHON SI THAMMARAT 181 .indd 181
10/1/2561 12:06:28 PM
บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดประดิษฐาราม Wat Pradittharam
พระธาตุเจดีย์ทันใจ พ่อท่านนวล ปริสุทฺโธ
Phra That Chedi Thanci Phor Than Nuan Bpri Sut Toh
วั ด ประดิ ษ ฐาราม หมู ่ ที่ 1 ต� ำ บลบางรู ป อ� ำ เภอทุ ่ ง ใหญ่ จังหวัดนครศรีธรรมราช
ความส�ำคัญของวัดประดิษฐาราม
วัดประดิษฐาราม เป็นวัดที่พระครูวิสุทธิบุญดิตถ์ (พ่อท่านนวล ปริสุทฺโธ) อดีตเจ้าอาวาส ซึ่งเป็นพระเกจิอาจารย์ที่มีชื่อเสียงโด่งดัง และเป็นที่เคารพศรัทธาแก่ศิษยานุศิษย์ ได้พัฒนาวัดให้มีความเจริญ รุง่ เรืองหลายประการ ไม่วา่ จะเป็นการก่อสร้างเสนาสนะต่างๆ ภายในวัด การพั ฒ นาสาธารณู ป โภค และการศึ ก ษา โดยเริ่ ม ก่ อ ตั้ ง โรงเรี ย น วัดประดิษฐาราม เมื่อปี พ.ศ.2501 บนที่ดินของวัดจ�ำนวน 12 ไร่
182 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย v2.indd 182
10/1/2561 12:11:44 PM
จังหวัดหนองบัวล�ำภู
สิ่งส�ำคัญภายในวัด
พระธาตุเจดีย์ทันใจ จัดสร้างขึ้นเพื่อประดิษฐานสรีระสังขารของ พ่อท่านนวล ปริสุทโธ โดยพระธาตุเจดีย์ทันใจนี้ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ เสด็จมาทรงวางศิลาฤกษ์ เมือ่ วันพุธที่ 3 เมษายน พ.ศ.2556 และทรงร่วมถวายปัจจัยสร้างพระธาตุ
ประวัติพ่อท่านนวล ปริสุทฺโธ
พระครูวสิ ทุ ธิบญ ุ ดิตถ์ (พ่อท่านนวล ปริสทุ โฺ ธ) อุปสมบทเมือ่ วันที่ 28 พฤษภาคม พ.ศ.2485 ณ วัดภูเขาหลัก ต.ทุง่ สัง อ.ทุง่ ใหญ่ จ.นครศรีธรรมราช โดยมีพระครูถาวรบุญรัตน์ วัดท่ายาง อ.ทุ่งใหญ่ เป็นพระอุปัชฌาย์ พระครูวสิ ทุ ธิบญ ุ ดิตถ์ มีนามเรียกขานทัว่ ไปว่า “พ่อท่านวาจาสิทธิ”์ แห่งลุม่ แม่นำ�้ ตาปี ท่านเป็นพระเกจิอาจารย์ของภาคใต้ เป็นทีเ่ คารพบูชา และกล่าวขานของคนเกือบทุกจังหวัดของประเทศไทย ด้วยจริยาวัตรและ วัตรปฏิบตั อิ นั งดงามทีห่ าผูอ้ นื่ เปรียบได้ยาก มีอารมณ์ดี วจีไพเราะ พูดน้อย มีจิตโอบอ้อมอารี เปี่ยมด้วยพรหมวิหารสี่ มีความเคร่งครัดในการดูแล ปกครองหมูส่ งฆ์ให้ตงั้ อยูใ่ นพระธรรมวินยั ทัง้ ยังขยันต่อการปฏิบตั ศิ าสนกิจ อย่างต่อเนื่อง มีขันติธรรมแม้ร่างกายของท่านจะอ่อนล้าหรืออาพาธ ท่านก็ไม่ยอ่ หย่อน ท่านปฏิบตั ติ อ่ ทุกคนด้วยความเสมอภาค ชอบสงเคราะห์ ช่วยเหลือสาธารณประโยชน์ และส่งเสริมพัฒนาคณะสงฆ์ให้เจริญรุง่ เรือง ทุกด้าน ยังผลให้พระศาสนาเจริญรุ่งเรืองและมั่งคง พ่อท่านนวล ปริสุทฺโธ มรณภาพเมื่อวันที่ 11 พ.ค. 2555 สิริรวมอายุ ได้ 91 ปี พรรษาที่ 69 ปัจจุบันบรรดาศิษยานุศิษย์ทั้งใกล้ไกลยังคง เดินทางมากราบสักการะสรีระสังขารของท่านอยู่เป็นนิจ
NAKHON SI THAMMARAT 183 v2.indd 183
10/1/2561 12:11:46 PM
ประวัติ พระครูพิสิฐปุญญากร (จต.ชท.)(พธ.ม) (ลาภมหานนท์) Phrakrupisitpoonyatorn (Lapmahanon) เกิดเมื่อ : อุปสมบท : การศึกษา : ต�ำแหน่ง : เบอร์โทรศัพท์ : เพจวัด :
วันที่ 5 เดือนมีนาคม พ.ศ.2518 ณ บ้านเลขที่ 9 ต�ำบลบางแพรก อ�ำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช เมื่อวันที่ 4 กรกฏาคม พ.ศ. 2541 วัดประดิษฐาราม พ.ศ. 2545 จบนักธรรมเอก ส�ำนักเรียนคณะจังหวันครศรีธรรมราช พ.ศ. 2558 จบปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต (พธ.ม) เจ้าคณะต�ำบลบางรูป เจ้าอาวาสวัดประดิษฐาราม พระอุปัชฌาย์ 086-2820793 วัดประดิษฐาราม-พ่อท่านนวล ปริสุทฺโธ
184 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย v2.indd 184
10/1/2561 12:11:56 PM
พระครูวิสุทธิบุญดิตถ์ (พ่อท่านนวล ปริสุทฺโธ)
คาถาบูชาพระบรมสารีริกธาตุ (นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ 3 ครั้ง) อะหังวันทามิ ทูระโต อะหังวันทามิ ธาตุโย อะหังวันทามิ สัพพะโส ตัสสานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เม. อิ ติ ปิ โส วิ เส เส อิ เส เส พุทธ นาเม อิ อิ เมนา พุทธะ ตัง โส อิ อิ โส ตัง พุทธะ ปิ ติ อิ 18 จบ ดังปรารถนา
ข้าพเจ้าขอนอบน้อมนมัสการพระบรมสารีกธาตุ และพระอรหันตธาตุที่สถิตในที่ใกล้ ในที่ไกล และในจักรวาลทั้งหลาย ข้าพเจ้าขอนอบน้อมนมัสการพระสัมมาสัมพุทธเจ้า และพระอรหันตสาวกทั้งหลายทั้งปวง ด้วยอานุภาพแห่งการน้อมนมัสการนั้น ขอความสวัสดีจงบังเกิดแก่ข้าพเจ้าในกาลทุกเมื่อ เทอญฯ
ปฏิทินงานบุญประจ�ำปี
ก�ำหนดการปฏิบัติธรรมสติปัฎฐาน ณ วัดประดิษฐาราม
01 ม.ค. ตักบาตรขึ้นปีใหม่ 02-11 เม.ย. อบรมปฏิบัติธรรม สรงน�้ำรูปเหมือน พ่อท่านนวล ปริสุทฺโธ 11 พ.ค. ครบรอบวันมรณภาพ พ่อท่านนวล ปริสุทฺโธ 13 ก.ค. งานชาตกาล พ่อท่านนวล ปริสุทฺโธ แรม 13-15 ค�ำ่ เดือน 10 ประเพณีวันสารทเดือนสิบ แรม 1 ค�ำ่ เดือน 10 ตักบาตรเทโรโวหณะ ขึ้น 12 ค�ำ่ เดือน 12 ทอดกฐินสามัคคี ขึ้น 15 ค�ำ่ เดือน 12 ประเพณีลอยกระทง
เวลา 04.00 น. เวลา 05.00 - 07.30 น. เวลา 07.30 - 08.30 น. เวลา 08.30 - 11.30 น. เวลา 11.30 - 12.30 น. เวลา 13.00 - 16.00 น. เวลา 17.30 น. เวลา 18.00 น เวลา 21.00 น.
สัญญาณระฆัง ท�ำวัตรเช้า - ภาคปฎิบัติ รับประทานอาหารเช้า ท�ำธุระส่วนตัว ภาคปฏิบัติ รับประทานอาหารกลางวัน ภาคปฏิบัติช่วงบ่าย สัญญาณระฆัง ท�ำวัตรเย็น พักผ่อน ปิดไฟนอน
โครงการสวดมนต์รักษาศีล ปฏิบัติธรรมวันหยุด ทุกวันหยุดเสาร์ - อาทิตย์ เริ่มพิธี 09.30 น. เป็นต้นไป
NAKHON SI THAMMARAT 185
v2.indd 185
10/1/2561 12:12:00 PM
เมื อ งนากุ ้ ง ทุ ่ ง นาข้ า ว จ้ า วทะเล เสน่ ห ์ ห าดทราย มากหลายศิ ล ปิ น ค�ำขวัญอ�ำเภอ
อ�ำเภอหัวไทร “ เมืองการเกษตร น่ากินน่าอยู่น่าเที่ยว ด้วยวิถีชีวิตแห่งภูมิปัญญา ตามรอยพ่ออย่างยั่งยืน ” วิสัยทัศน์ของอ�ำเภอ
ประวัติความเป็ นมา
อ�ำเภอหัวไทรตัง้ ขึน้ ครัง้ แรกเมือ่ ปี พ.ศ.2447 หมู่ที่ 1 ต�ำบลเขาพังไกร ชื่อ “อ�ำเภอพังไกร” ต่อมาในปี พ.ศ.2460 ทางราชการได้ย้ายไป ตั้งอยู่ ณ หมู่ที่ 1 ต�ำบลหัวไทร เปลี่ยนชื่อเป็น “ อ�ำเภอหัวไทร” ครัน้ ถึงปี พ.ศ.2467 ทางราชการลดฐานะลง เป็นกิ่งอ�ำเภอแล้วให้ขึ้นต่ออ�ำเภอปากพนัง และได้ย้ายมาตั้งอยู่ หมู่ที่ 8 ต�ำบลหัวไทร ต่อมาในปี พ.ศ.2480 ยกฐานะเป็น “อ�ำเภอ หั ว ไทร” อี ก ครั้ ง หนึ่ ง ต่ อ มาปี พ.ศ.2546 ได้ย้ายที่ว่าการอ�ำเภอหัวไทร มาตั้ง ณ เลขที่ 195 หมู่ที่ 11 ต�ำบลหัวไทร อ�ำเภอหัวไทร จังหวัดนครศรีธรรมราช เมือ่ วันที่ 31 กรกฎาคม 2546 ปัจจุบันอ�ำเภอหัวไทรเป็นอ�ำเภอชั้น 1 ห่างจากศาลากลางจังหวัดตามระยะทางหลวง แผ่ น ดิ น สายนครศรี ธ รรมราช - สงขลา 66 กิโลเมตร ติดชายฝั่งทะเลอ่าวไทย มีเนื้อที่ ทั้งหมดประมาณ 470.690 ตารางกิโลเมตร
จุ ดยืนการพัฒนา
1. เมืองสืบสานศิลปวัฒนธรรม และวิถีชีวิตน่าอยู่ น่าเที่ยว 2. เมืองเกษตรพอเพียงตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และพลังสะอาด 3. ศูนย์กลางตลาดริมคลองหัวไทร เชือ่ มโยงวิถชี วี ติ ระโนด หัวไทร ปากพนัง
186 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 186
10/1/2561 01:25:43 PM
พื้นที่อ�ำเภอหัวไทร โดยทั่วไปเป็นที่ราบลุ่มแม่น�้ำและที่ราบลุ่ม ริมฝัง่ ทะเล มีแม่นำ�้ สายหลักเปรียบเสมือนเส้นเลือดใหญ่ของอ�ำเภอหัวไทร คือคลองหัวไทร ซึง่ เป็นสาขาหนึง่ ของแม่นำ�้ ปากพนัง ต้นน�ำ้ เกิดจากเทือกเขา นครศรีธรรมราช ในเขตต�ำบลวังอ่าง อ�ำเภอชะอวด การปกครองทั้งหมด 11 ต�ำบล 99 หมู่บ้าน เป็นหมู่บ้านปกติ 62 หมูบ่ า้ น หมูบ่ า้ นอาสาพัฒนาและป้องกันตนเอง 37 หมูบ่ า้ น มีการบริหาร ราชการส่วนท้องถิ่น 12 แห่ง ประกอบด้วยเทศบาลต�ำบล 3 แห่ง และ องค์การบริหารส่วนต�ำบล 9 แห่ง มีประชากรทั้งสิ้น 66,445 คน
แยกเป็นชาย 32,165 คน เป็นหญิง 33,292 คน มีความหนาแน่นเฉลี่ยต่อพื้นที่ประมาณ 169 คน/ตารางกิโลเมตร ต่อจ�ำนวนครัวเรือน 14,394 ครัวเรือน มีรายได้เฉลีย่ 64,067 บาท/คน/ปี ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ประมาณ 80 เปอร์เซ็นต์ ศาสนาอื่นๆ ประมาณ 20 เปอร์เซ็นต์ มีศิลปวัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณี คือ วันสงกรานต์ ประเพณี วั น สารทเดื อ นสิ บ งานชั ก พระ ประเพณี วั น ลอยกระทง วันขึน้ ปีใหม่ และ ประเพณีทำ� ขวัญข้าว
สถานที่ท่องเที่ยว
1. เขาพังไกร ตั้งอยู่ที่ต�ำบลเขาพังไกร มีวัดคีรีอัศจรรย์ บนยอดเขา มีเจดีย์ศาสนาและรอยพระพุทธบาทจ�ำลอง 2. เขาควนชะลิก เป็นภูเขาลูกเล็ก ตัง้ อยูท่ ตี่ ำ� บลควนชะลิก บนยอดเขา มีเจดียโ์ บราณมีทปี่ ระดิษฐานรอยพระพุทธบาทจ�ำลอง เป็นจุดชมทิวทัศน์ อันสวยงาม โดยเฉพาะทะเลสาบสงขลาในตอนเย็น 3. วัดบ่อโพงและวัดก�ำแพงยาว ตั้งอยู่ต�ำบลบ้านราม ซึ่งมีโบราณ สถานและโบราณวัตถุมากมาย 4. วัดพัทธสีมา ตัง้ อยูต่ ำ� บลท่าซอม มีพระแก้วมรกตประดิษฐานอยู่ และมีหอไตรอายุประมาณ 100 ปีเศษ สร้างด้วยไม้อยู่กลางสระน�้ำ 5. หาดแพรกเมือง ตัง้ อยูห่ มูท่ ี่ 3, 9 ต�ำบลหน้าสตน และหาดจันทร์แจ้ง 6. อ่างเก็บน�้ำทุ่งทับใน ตั้งอยู่หมู่ที่ 7 ต�ำบลแหลม 7. ตลาดน�้ำคลองแดน ตั้งอยู่หมู่ที่ 1 ต�ำบลรามแก้ว 8. ตลาดน�้ำหัวไทร ตั้งอยู่หมู่ที่ 1 ต�ำบลหัวไทร 9. หาดจันทร์แจ้ง ตั้งอยู่หมู่ที่ 2 ต�ำบลหน้าสตน 10. วัดคลองแดน ตัง้ อยูห่ มูท่ ี่ 1 ต�ำบลรามแก้ว เป็นวัดโบราณเก่าแก่ ที่ มี พ ระพุ ท ธรู ป สร้ า งด้ ว ยทองค� ำ ทั้งองค์ประดิษฐานอยู่ในมณฑปแก้ว NAKHON SI THAMMARAT 187 .indd 187
10/1/2561 01:25:48 PM
บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดโคกพิกุล Wat Kogpikul
พระปลัดเชื่อธรรม (เลื่อน ) ฉนฺทกโร เจ้าอาวาส วัดโคกพิกุล ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อ พ.ศ.2500 ตั้งอยู่ ในหมู่ที่ 8 ต�ำบลทรายขาว อ�ำเภอหัวไทร จังหวัดนครศรีธรรมราช
ประวัติ พระครูเขมาวงศาจารย์
เดิมชือ่ จันทร์ หนูคง นามฉายา เขมวโส เกิดเมือ่ วันที่ 13 มิถนุ ายน 2442 ตรงกับวันจันทร์ แรม 2 ค�ำ ่ เดือน 7 ปีกนุ ณ บ้านเลขที่ 11 ต.แหลม อ.หัวไทร จ.นครศรีธรรมราช บรรพชา อุปสมบท เมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม 2459
ขณะมีอายุได้ 17 ปี ได้รับแต่งตั้งให้เป็นเจ้าอาวาสวัดโคกพิกุล เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2490 และในวันที่ 25 มิถุนายน ปี เดียวกัน ได้รับแต่งตั้งให้เป็นพระอุปัชฌาย์ ประจ�ำต�ำบลแหลม และต�ำบล เขาพังไกร อ�ำเภอหัวไทร จังหวัดนครศรีธรรมราชวันที่ 30 ตุลาคม 2494 ในปี 2498 ได้ รั บ สมณศั ก ดิ์ เป็ น พระครู สั ญ ญาบั ต รชั้ น ตรี มีราชทินนามว่า พระครูเขมวงศาจารย์ ปี 2507 ได้เลือ่ นเป็นพระครู สั ญ ญาบั ต ร ชั้ น โท ในราชทิ น นามเดิ ม พระครู เขมวงศาจารย์ ด�ำรงต�ำแหน่งเป็นเจ้าอาวาส เจ้าคณะต�ำบล และเป็นพระอุปัชฌาย์ มาเป็ น เวลานาน บ� ำ เพ็ ญ ศาสนกิ จ ในการปกครองวั ด คณะสงฆ์ การศึกษาและการสาธารณูปการ ตลอดจนการให้บรรพชาอุปสมบท แก่กลุ บุตรเป็นจ�ำนวนมาก เป็นประโยชน์เกือ้ กูลแก่พระศาสนา และ แก่ ป ระชาชน ท่ า นเป็ น ผู ้ มี ค วามเสี ย สละ อุ ทิ ศ ชี วิ ต ร่ า งกาย เพื่อพระพุทธศาสนาโดยแท้ จนชราและถึงแก่มรณภาพด้วยโรคชรา อย่างสงบเมื่อเวลา 21.00 นาฬิกา คืนวันที่ 6 มิถุนายน 2528 ปี ณ โรงธรรม วัดโคกพิกุล ต.ทรายขาว อ.หัวไทร จ.นครศรีธรรมราช สิริรวมอายุได้ 86 ปี หย่อน 7 วัน พรรษา 65
188 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 188
10/1/2561 01:33:19 PM
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
จังหวัดหนองบัวล�ำภู
ประวัติวัดโคกพิกุล
นายจันทร์แก้ว นางทองทรัพย์ แก้วจันทร์ทอง เป็นผู้สร้าง โดยยกที่ดินส่วนของตน เนื้อที่ ประมาณ 30 ไร่ และตัง้ ชือ่ วัดว่า “วัดโคกพิกลุ ” เหตุที่ชื่อเช่นนี้เพราะบริเวณดังกล่าวเป็นป่า มีตน้ พิกลุ อยูเ่ ป็นจ�ำนวนมาก จึงถือเอาชือ่ พิกลุ อันมีดอกหอม เป็นชือ่ ของวัด วัดนีจ้ งึ มีชอื่ เสียง หอมหวล เป็นที่รู้จักของคนทั่วไป ผู ้ ป กครองวั ด พระอาจารย์ ท อง ได้ รั บ อาราธนามาเป็นเจ้าอาวาสรูปแรก ท่านอยู่ จ� ำ พรรษาปกครองดู แ ลวั ด และพระภิ ก ษุ สามเณร 10 ปีเศษ ก็ลาสิกขา ต่อมา พระภิกษุชว่ ย หรื อ อาจารย์ ช ่ ว ย เป็ น เจ้ า อาวาสรู ป ที่ 2 ปกครองวัดและพระภิกษุสามเณรอยูป่ ระมาณ 10 ปี ก็ลาสิกขาออกไปเช่นเดียวกัน จากนั้นชาวบ้านวัดโคกพิกุล ได้อาราธนา นิ ม นต์ พ ระครู นิ โ ครธจรรยานุ ยุ ต ต์ หรื อ พระพรหมแก้ ว เป็ น เจ้ า อาวาสรู ป ที่ 3 สันนิษฐานว่าคงจะมาเป็นเจ้าอาวาส ระหว่าง พ.ศ.2450 - 2456 หลังจากที่ท่านมรณภาพ พระปลัดจันทร์ เขมว์โส ผูเ้ ป็นศิษย์ได้รบั แต่งตัง้ ให้เป็นเจ้าอาวาสใน ปี พ.ศ.2490 เป็นเจ้าอาวาส รูปที่ 4 ต่อมาพระปลัดจันทร์ ได้รับต�ำแหน่ง เป็นพระอุปัชฌาย์ เป็นเจ้าคณะต�ำบล และ ได้รับสมณศักดิ์เป็นพระครูมีนามว่า พระครู เขมวงศาจารย์ เป็นเจ้าอาวาสอยู่ 38 ปี ท่านก็ มรณภาพ พระปลัดเชือ่ ธรรม (เลือ่ น ) ฉนฺทกโร ได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาสรูปที่ 5 ซึ่งท่านได้ ด�ำรงต�ำแหน่งอยู่ในปัจจุบัน
การศึกษาทางโลกและทางธรรม
พระพรหมแก้ว หรือพระครูนิโครธจรรยานุยุตต์ เจ้าอาวาสรูปที่ 3 เห็นความส�ำคัญของการศึกษา เล่ า เรี ย นของเด็ ก และเยาวชน และการศึ ก ษา พระธรรมวินัยของพระภิกษุสามเณรโดยเฉพาะ ได้อาราธนาให้พระภิกษุสงฆ์ ผูด้ ำ� รงต�ำแหน่งตัง้ แต่ เจ้ า คณะใหญ่ เจ้ า คณะต� ำ บล เจ้ า คณะเมื อ ง เจ้าคณะแขวงและเจ้าอาวาส รับเป็นภารธุระจัดตัง้ โรงเรียนประถมศึกษาขึ้นในวัดโคกพิกุล ส�ำหรับการศึกษาพระปริยตั ธิ รรมของพระภิกษุ สามเณรนั้น เริ่มต้นในปี 2464 โดยมีพระเผ้ง เป็นครูสอนนักธรรมในชัน้ แรก และพระพรหมแก้ว เจ้าอาวาส สอนด้วยตนเองด้วย จากนั้นการศึกษา พระปริยัติธรรมมีเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน NAKHON SI THAMMARAT 189 .indd 189
10/1/2561 01:33:25 PM
บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัWatด พัPhatthasima ท ธสี ม า พระครูสิริธรรมาภิรักษ์ (จ�ำเริญ สิริธมฺโม) เป็นเจ้าอาวาส
ตั้งอยู่ที่ ต�ำบลท่าซอม อ�ำเภอหัวไทร จังหวัดนครศรีธรรมราช
วัดพัทธสีมาอดีตเป็นวัดหลวง สร้างมาตั้งแต่ สมัยกรุงศรีอยุธยานับเป็นเวลาหลายร้อยปี โบราณสถานส�ำคัญ
อาคารโบราณสถานส�ำคัญคือ หอพระไตรปิฎก (หอไตรกลางน�้ำ)
ล�ำดับเจ้าอาวาส
เจ้าอาวาส มีหลักฐานชัดเจน มีรายนาม ดังต่อไปนี้ 1.พระอธิการเนียม (ท่านขรัวเนียม) พ.ศ.2265 - 2293 2.พระอธิการคง (ท่านขรัวคง) พ.ศ.2293 - 2324 3.พระอธิการจุ้ย (ท่านขรัวจุ้ย) พ.ศ.2324 - 2352 4.พระอธิการเบี้ยว (ท่านขรัวเบี้ยว) พ.ศ.2352 - 2381 5.พระอธิการหนู (ท่านขรัวหนู) (พ่อท่านเฒ่า) พ.ศ.2381 - 2428 6.พระอธิการชู พนฺธนโม (พ่อท่านชูเฒ่า) พ.ศ.2381 - 2470 7.พระอธิการเอียด อินทรตนะ พ.ศ.2470 - 2478 8.พระอธิการโรย พทฺธสโร (พทฺธสโร โรย) พ.ศ.2478 - 2487 9.พระใบฎีกาพ่วน ยโสธโร พ.ศ.2487 - 2494 10.พระครูปราโมทย์ธรรมวุฒิ (เพิ่ม ฉนฺทธนโม) พ.ศ.2494 - 2512 11.พระครูสิริธรรมาภิรักษ์ (จ�ำเริญ สิริธมฺโม) พ.ศ.2512 - ปัจจุบัน
190 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 190
10/1/2561 01:43:15 PM
บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัWat ด ป่Pator า ตอ
กราบพระโต ที่วัดป่าตอ จังหวัดนครศรีธรรมราช
ตัง้ อยูห่ มูท่ ี่ 5 ต�ำบลท้ายส�ำเภา อ�ำเภอพระพรหม จังหวัดนครศรีธรรมราช วัดป่าตอ เป็นวัดเก่าเเก่สมัยปลายกรุงศรีอยุธยา ประมาณ ปี พ .ศ.2305 โดยเป็ น ที่ จ� ำ พรรษาของ สมเด็ จ พระ อริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช(ศรี) สมเด็จพระสังฆราช 2 เเผ่นดิน คือกรุงธนบุรี เเละ กรุงรัตนโกสินทร์ พระองค์ทรงด�ำรงรักษาพระพุทธศาสนา โดยมิได้อาลัย แก่ร่างกายและชีวิต ควรค่าแก่การนับถือเคารพสักการบูชา พระองค์ ท รงเป็ น ก� ำ ลั ง ส� ำ คั ญ ในการช� ำ ระและฟื ้ น ฟู พระพุทธศาสนา ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธ ยอดฟ้าจุฬาโลก ทั้งในด้านความประพฤติปฏิบัติของ ภิกษุสามเณร การบูรณปฏิสังขรณ์พุทธสถาน การช�ำระ ตรวจสอบพระไตรปิฎก ตลอดจนการประพฤติปฏิบัติของ พุทธศาสนิกชนโดยทั่วไป
ตามประวัติศาสตร์กล่าวกันว่า ครั้งเมื่อกรุงศรีอยุธยาเป็น ราชธานี “พระศรี” หรือสมเด็จพระสังฆราช (ศรี) นั้น ทรงจ�ำพรรษาอยูว่ ดั พนัญเชิง จังหวัดอยุธยา เเต่ในปี 2305 พระองค์ทรงเห็นความผิดปกติของบ้านเมืองเรือ่ งภัยสงคราม ทางพม่าเลยเสด็จมายังเมืองนครศรีธรรมราชอันเป็นบ้านเกิด และพ�ำนักจ�ำพรรษาอยู่ ณ วัดป่าตอเป็นเวลาหลายปี ท�ำให้ พระองค์ทรงนึกถึงพระโตครัน้ เมือ่ ยังจ�ำพรรษาอยูว่ ดั พนัญเชิง ด้วยเหตุนี้พระองค์ทรงสร้างพระโตอีกองค์หนึ่งด้วย ปูนเพชรในสมัยนัน้ พร้อมทัง้ ผูกพัทธสีมาท�ำจากเปลือกหอย เป็นเขตพุทธาวาสไว้เป็นอนุสรณ์ประวัตศิ าสตร์จนมาถึงปัจจุบนั ติดตามข้อมูลข่าวสารการท�ำบุญปฏิบัติธรรมได้ที่ FACEBOOK | วัดป่าตอ นครศรีธรรมราช NAKHON SI THAMMARAT 191
.indd 191
10/1/2561 01:45:18 PM
พระลากทรงเครื่อง ลือเลื่องกรรมฐาน อุทยานการศึกษา ภูมปิ ญ ั ญาแพทย์แผนไทย ศูนย์รวมใจของคนดี ประเพณีกวนข้าวทิพย์
192 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 192
10/1/2561 01:48:38 PM
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
วัด ท้ายส� ำเภา Wat Thaisamphao พระครูวิจิตรพรหมคุณ (นิคม นิคโม) เจ้าคณะต�ำบลนาพรุ เจ้าอาวาส
วัดท้ายส�ำเภา ตั้งอยู่ริมถนนนครศรีธรรมราช - ทุ่งสง เลขที่ 136 หมู่ที่ 9 ต�ำบลท้ายส�ำเภา อ�ำเภอพระพรหม จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นวัดฝ่ายมหานิกาย มีเนื้อที่ 29 ไร่ 2 งาน 10 ตารางวา โฉนดที่ดิน เลขที่ 20079
ประวัติความเป็นมา
เหตุทเี่ รียกว่า “ท้ายส�ำเภา” นัน้ มาจากในสมัยก่อนมีเรือส�ำเภาของชาวจีน ทีท่ ำ� การค้ากับเมืองต่างๆ ในแถบเขตเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เมือ่ มีพายุลมพัดแรง ท�ำให้เรือส�ำเภาทีบ่ รรทุกสินค้าล่ม ชิน้ ส่วนของท้ายเรือส�ำเภาถูกน�ำ้ พัดลอยมา ตามกระแสคลื่นซัดเข้าริมฝั่งริมเกาะบนชายหาด อันเป็นที่ตั้งของวัดส�ำเภา ในปัจจุบัน สภาพทางภูมิศาสตร์ที่ตั้งของวัดในปัจจุบันมีล�ำห้วยสาธารณะล้อมรอบ และมีที่ราบลุ่มทุ่งนาทุกด้าน เมื่อพันกว่าปีก่อนน่าจะเป็นเกาะอยู่ในทะเล
NAKHON SI THAMMARAT 193 .indd 193
10/1/2561 01:48:40 PM
การสร้างวัด
ยังไม่มีหลักฐานใดๆ ระบุว่าสร้างขึ้นในปีใด แต่ตามบันทึกของอดีต เจ้าอาวาส และข้อมูลทางโบราณวัตถุสร้างขึน้ เมือ่ ประมาณ ปีพทุ ธศักราช 2248 ตามข้อมูลจากส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ได้ขึ้นทะเบียน ตั้งเป็นวัดเมื่อปี พ.ศ. 2435 ได้รับพระราชทานวิคุงคามสีมา เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2494 เนื้อที่กว้าง 20 เมตร ยาว 34 เมตร สันนิษฐานในเบือ้ งต้น ว่าเป็นวัดทีม่ พี ระภิกษุสงฆ์จำ� พรรษาในสมัยอยุธยา ซึ่งมีอายุประมาณ 300 กว่าปีแล้ว เป็นวัดที่มีประชาชนหลายฝ่าย ทั้งคหบดี คหปตานี ที่เป็นบุคคลส�ำคัญในด้านทุนทรัพย์อยู่บ้าง ร่วมกัน สร้างขึน้ เพือ่ ประกอบศาสนกิจทางพุทธศาสนา แต่ไม่เป็นหลักฐานยืนยัน ชี้ชัดว่าเป็นวัดเก่ามากเท่าใด
พระพุทธรูปส�ำคัญ
พระพุทธเศรษฐีศรีสวุ รรณ (พระส�ำเภาทอง) พระลากทรงเครือ่ งใหญ่ ปางอุม้ บาตร ศิลปะอยุธยาตอนปลาย สกุลช่างนครศรีธรรมราช พระพุทธ มุนีศรีธรรมราชา พระพุทธรูปทรงเครื่องเล็ก ศิลปะอยุธยาตอนปลาย สกุลช่างนครศรีธรรมราช พระพุทธอุตรภาสประสิทธิมงคล(พระลาก) พระพุทธรูปทรงเครือ่ งจักรพรรดิ ศิลปะรัตนโกสินทร์ พระพุทธโสธร(จ�ำลอง) พระพุทธชินราช(จ�ำลอง) พระพุทธเมตตา พระพุทธรูปปางห้ามญาติ พระประธานศาลาเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษามหาราช พระพุทธมงคล อุดมไพศาล พระพุทธรูปปางมารวิชยั พระประธานอุทยานธรรมเฉลิมพระเกียรติ 84 พรรษามหาราช พระพุทธสุโขทัย พระประธานศาลาบูรพาจารย์ อดีตเจ้าอาวาส พระครูพทิ กั ษ์ธรรมวิจติ ร (พระหมอยาไทยแห่งท้ายส�ำเภา) พระพุทธมงคลเจริญ พระประธานประจ�ำโรงฉัน พระพุทธรูปปางสมาธิ
สิ่งก่อสร้างและปูชนียวัตถุ
อุโบสถ : สร้างเมื่อ พ.ศ. 2494 ศาลาโรงธรรม : เป็นศาลาทรงไทย แบบท้องถิน่ สร้างเมือ่ ปี พ.ศ. 2468 เป็นศาลาอเนกประสงค์สถานประกอบ พิธกี รรมทางศาสนา ประชุมของส่วนราชการ ประชาชนในชุมชน ฝึกอบรม ศีลธรรมแก่นกั เรียน เยาวชน การปฏิบตั ธิ รรมกรรมฐาน เป็นต้น ซึง่ ทีเ่ สาศาลา มีการรวบรวมภาพวาดรูปตัวตัวตลกหนังตะลุง
194 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 194
10/1/2561 01:48:46 PM
ล�ำดับเจ้าอาวาส พอมีหลักฐานเท่าที่ทราบนาม คือ
1. พ่อท่านขว่าย (ไม่ทราบปีการเป็นสมภาร) 2. พ่อท่านช่วย (ไม่ทราบปีการเป็นสมภาร) 3. พระอุปัชฌาย์แพ พรฺหฺมสโร พ.ศ. 2428 - 2466 4. พระอธิการพรหม เขมาภิรโต (ชุมลักษณ์) พ.ศ.2476 - 2484 5. พระอธิการชื่น วิริโย (พิชญพิทักษ์) พ.ศ. 2485 - 2505 6. พระครูพิทักษ์ธรรมวิจิตร (เนือม พุทฺธรกฺขิโต/วัฒนสุนทร) พ.ศ.2506 - 2545 7. พระครูวิจิตรพรหมคุณ (นิคม นิคโม) นามสกุล สงวนชีพ เจ้าคณะต�ำบลนาพรุ พ.ศ. 2545 - ปัจจุบัน
ประวัติพระครูวิจิตรพรหมคุณ (นิคม นิคโม)
ไวยาวัจกร : นายแฉล้ม ทักษิณวัฒนานนท์ พระครูวิจิตรพรหมคุณ (นิคม นิคโม) เจ้าคณะต�ำบลนาพรุ / เจ้าอาวาสวัดท้ายส�ำเภา น.ธ. เอก, พธ.บ. การบริหารการศึกษา, ศน.ม. สังคมวิทยา สถานะเดิม : ชื่อ นิคม นามสกุล สงวนชีพ เกิดวันพฤหัสบดี ที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2509 ตรงกับขึ้น 13 ค�่ำ เดือน 8 ปีมะเมีย บิดา นายจินดา สงวนชีพ มารดา นางผิน สงวนชีพ เกิดที่บ้านทุ่งนางแวก บ้านเลขที่ 19 หมู่ที่ 1 ต�ำบลท้ายส�ำเภา อ�ำเภอพระพรหม จังหวัดนครศรีธรรมราช บรรพชา : วันที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2522 ตรงกับวันพฤหัสบดี ขึ้น 13 ค�่ำ เดือน 7 ปีมะเมีย ณ วัดท้ายส�ำเภา ต�ำบลท้ายส�ำเภา อ�ำเภอพระพรหม จังหวัดนครศรีธรรมราช พระอุปัชฌาย์ : พระครูการาม (นาค จิตฺตกาโร) วัดหน้าพระลาน ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมืองนครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช อุปสมบท : วันที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ.2529 ตรงกับวันเสาร์ ขึ้น 13 ค�่ำ เดือน 7 ปีขาล ณ วัดวิเศษการ แขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร พระอุปัชฌาย์ : พระเทพญาณเวที (ละมูล สุตาคโม) วัดระฆังโฆสิตาราม วรมหาวิหาร แขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร พระกรรมวาจาจารย์ : พระราชศิริธรรมเมธี (สัมพันธ์ สุจิณฺโณ) วัดวิเศษก แขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร ศาสนพิธีกรประจ�ำวัด : นายเหลี่ยม เกิดสมกาล และ นางกรอุไร ชั่งเชื้อ ปัจจุบนั วัดท้ายส�ำเภา ได้รบั ยกฐานะเป็นวัดทีจ่ ดั อุทยานการศึกษาในวัด พ.ศ. 2539 โครงการลานวัด ลานใจ ลานกีฬา และหน่วยอบรมประชาชน ประจ�ำต�ำบลท้ายส�ำเภา จากส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ตลอดถึงการจัดการศึกษา โรงเรียนพระปริยตั ธิ รรมแผนกธรรม เปิดสอนเมือ่ พ.ศ. 2482 จึงได้มีการจัดอาณาบริเวณวัด เป็นแหล่งศึกษา เรียนรู้ตามอัธยาศัยของประชาชน นอกจากนี้ยังมีศูนย์แปรรูปสมุนไพรพระครูพิทักษ์ธรรมวิจิตร อุทยานธรรมเฉลิมพระเกียรติ 84 พรรษา มหาราช ท�ำให้อาณาบริเวณวัดร่มรื่น ร่มเย็น สวยงาม สมเป็นอารามพักกาย พักใจ รวมทั้งการจัดกิจกรมปฏิบัติธรรมกรรมฐาน ส่งเสริมศีลธรรมแก่เยาวชน ประชาชน NAKHON SI THAMMARAT 195 .indd 195
10/1/2561 01:48:54 PM
บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล วิสัยทัศน์
องค์การบริหารส่วนต�ำบลลานสกา
“ ลานสกาน่าอยู่ ประชาชนใฝ่เรียนรู้ สู่เศรษฐกิจพอเพียง การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ เน้นหนักคุณธรรม น�ำชุมชนเข้มแข็ง ”
ตั้งอยู่ ต�ำบลลานสกา อ�ำเภอลานสกา จังหวัดนครศรีธรรมราช โทรศัพท์ / โทรสาร 0-7539-1160
องค์การบริหารส่วนต�ำบล
ลานสกา
นายเจริญ อิฏฐผล นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลลานสกา
ประวัติความเป็นมา
ตามต�ำนานและค�ำบอกเล่า ของผูเ้ ฒ่าในสมัยก่อนเล่าว่า พระยาศรีธรรมโศกราชพร้อมด้วยพระอนุชา ได้อพยพ ไพร่พลหนีไข้ห่ามาพักบริเวณใต้ต้นอินทร์ - จันทร์ ชาวบ้าน จึงใช้ชื่อเรียกว่าสถานที่นี้ว่าบ้านลานสกาตั้งแต่นั้นมา องค์ ก ารบริหารส่ว นต� ำบลลานสกา มีพื้น ที่ทั้ ง หมด 40,934 ไร่ หรือ 65.5 ตารางกิโลเมตร สภาพภูมิประเทศ เป็นภูเขาสลับซับซ้อน และที่ราบหุบเขา เหมาะแก่การท�ำ เกษตรกรรม ต�ำบลลานสกาเป็นต�ำบลหนึง่ ในจ�ำนวน 5 ต�ำบล อ�ำเภอลานสกา ห่างจากทีว่ า่ การอ�ำเภอลานสกา 5 กม. ต�ำบลลานสกา มีหมู่บ้านทั้งหมด 7 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ที่ 1 บ้านวัดเจดีย์ หมู่ที่ 2 บ้านสายเงิน หมู่ที่ 3 บ้านน�้ำรอบ หมูท่ ี่ 4 บ้านต้นมะม่วง หมูท่ ี่ 5 บ้านในปุด หมูท่ ี่ 6 บ้านนอกนา และหมู่ที่ 7 บ้านในไร่
196 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 196
10/1/2561 01:58:26 PM
ภารกิจหลัก
1. ด้านการปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐาน 2. ด้านการส่งเสริมคุณภาพชีวิต 3. ด้านการจัดระเบียบชุมชน สังคม และการรักษาความสงบเรียบร้อย 4. ด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 5. ด้านการพัฒนาการเมืองและการบริหาร 6. ด้านการส่งเสริมการศึกษา 7. ด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
1. การฟื้นฟูวัฒนธรรมและส่งเสริมประเพณี 2. การสนับสนุนและส่งเสริมศักยภาพกลุ่มอาชีพ 3. การส่งเสริมการเกษตรและการประกอบอาชีพทางการเกษตร 4. ด้านการวางแผน การส่งเสริมการลงทุน
ภารกิจรอง
พันธกิจขององค์การบริหารส่วนต�ำบลลานสกา
นางพิ ไลพร คงเกิด
ปลัดองค์การบริหารส่วนต�ำบลลานสกา
1. พัฒนาอาชีพด้านการเกษตร ส่งเสริมอาชีพเสริม พัฒนาเศรษฐกิจพอเพียงและแหล่งท่องเทีย่ วเชิงอนุรกั ษ์ 2. พัฒนาสูส่ งั คมเข้มแข็ง ทัง้ ระบบการศึกษา กีฬา สังคมปลอดยาเสพติด ผูส้ งู อายุ ผูพ้ กิ าร ผูป้ ว่ ยโรคเอดส์ และผูด้ อ้ ยโอกาสได้มคี ณ ุ ภาพชีวติ ทีด่ ี รวมทัง้ เสริมสร้าง ปลูกฝัง คุณธรรมและจริยธรรม พร้อมกับอนุรกั ษ์ วัฒนธรรมประเพณี ที่ดีงามของท้องถิ่น 3. พัฒนาแหล่งกักเก็บน�้ำส�ำหรับใช้ท�ำการเกษตรที่เพียงพอ มีระบบป้องกันน�้ำท่วมที่ดี และ มีประสิทธิภาพ มีระบบประปาที่สามารถให้บริการแก่ประชาชนอย่างทั่วถึง 4. พัฒนาสู่เมืองน่าอยู่ สร้างระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการ ถนนและขนส่ง ไฟฟ้า รวมถึง สิ่งอ�ำนวยความสะดวกในการติดต่อสื่อสาร 5. พัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารและบริการ ส่งเสริมการมีส่วนร่วม เพื่อการบริหาร จัดการบ้านเมืองที่ดี 6. ด�ำรงไว้ซึ่งทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่ รวมถึงการเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการสิ่งแวดล้อม NAKHON SI THAMMARAT 197
.indd 197
10/1/2561 01:58:27 PM
แหล่งท่องเที่ยวต�ำบลลานสกา
น�ำ้ ตกวังไทร เป็นน�ำ้ ตกหนานหินขนาดใหญ่สลับกับโขดหิน มีความสวยงาม ซึง่ เป็นทีน่ ยิ มของนักท่องเทีย่ ว
น�้ำตกหนานฝน
ลักษณะน�ำ้ ตกหนานฝนสายน�ำ้ ทีต่ กลงมา จากหน้าผาสูงชัน 100 กว่าเมตร ขนาดความกว้าง ของเส้นน�้ำตก 1-4 เมตร ตกลงมากระทบกับ หนานหินทีล่ าดชันและลงสูว่ งั ทีก่ ว้าง ใต้ผาน�ำ้ ตก ที่เป็นเพิงหินใต้น�้ำตกมีประกายระยิบระยับ
ถ�้ำวังระฆังทอง
ภายในถ�้ำมีหินงอกหินย้อยสวยงามมาก บ้างก็คลายเจดีย์ทรงจีนบ้างก็เป็นน�้ำตกคล้าย คันนาบนภูเขา มองดูบนเพดานกว้างใหญ่สดุ ตา เต็มไปด้วยค้างคาว ห้องโถงกว้างเกือบ 80 เมตร ความลึกของถ�ำ้ ราว 400 เมตร เมือ่ เคาะทีผ่ นังถ�ำ้ จะมีเสียงดังคล้ายระฆังและระนาด ดังกังวาน อย่างน่าอัศจรรย์
น�้ำตกหนานโจน
มีวงั น�ำ้ น้อยใหญ่หลายวัง มีวงั น�ำ้ กว้างใหญ่ สวยงาม น�ำ้ ลึก 1-3 เมตร ผาหินสูงชัน 100 เมตร เป็นที่อาศัยของปลาทุกกังด�ำพันธ์ปลาหายาก
น�ำ้ ตกวังไอ้กลิ้ง
เป็นน�ำ้ ตกทีม่ คี วามสวยงาม อยูห่ า่ ง จากน�ำ้ ตกวังไทร ประมาณ 1 กิโลเมตร น�ำ้ ตกจะเป็นน�ำ้ ทีต่ กจากผาสูง 30 เมตร ด้านล่างมีวงั รองรับน�ำ ้ 10X20 เมตร น�ำ้ จะมีสขี าวเนือ่ งจากความลึกของน�ำ ้ 3 เมตร
198 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 198
10/1/2561 01:58:28 PM
วังโบราณ อ�ำเภอลานสกา ในสมัยพระเจ้าศรีธรรมโศกราช ได้เกิดไข้ห่าระบาดหนัก หลายๆ ครั้งพระองค์ต้องอพยพราชบริพารและผู้คนจ�ำนวนหนึ่งเพื่อหนีไข้ห่า ตามหลักฐานปรากฏว่า ได้เสด็จทีล่ านสกา และสถานทีป่ ระทับคือวังโบราณลานสกา แห่งนีห้ ลังจากไข้หา่ หมดไป พระองค์จงึ เสด็จกลับไปประทับทีเ่ มืองนครศรีธรรมราช เป็นการถาวร วังโบราณลานสกาอยู่ใกล้สถานที่ท่องเที่ยวอื่นๆ ของต�ำบลลานสกา มาพักที่วังโบราณสามารถท่องเที่ยวได้ทั่วทั้งต�ำบล มีคลองลานสกาไหลผ่านน�้ำใส ไหลเย็น เป็นสถานที่ที่เงียบสงบ
NAKHON SI THAMMARAT 199 .indd 199
10/1/2561 01:58:31 PM
บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล วิสัยทัศน์
องค์การบริหารส่วนต�ำบลท่าดี
“ ยกระดับคุณภาพชีวิต เพิ่มผลผลิตการเกษตร ยึดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง คู่เคียงหลักธรรมาภิบาล ”
ตั้ ง อยู ่ เลขที่ 126 ม.5 ต� ำ บลท่ า ดี อ� ำ เภอลานสกา จังหวัดนครศรีธรรมราช
องค์การบริหารส่วนต�ำบล
ท่าดี
นายปรารถนา พจน์จ�ำเนียร นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลท่าดี
ประวัติความเป็นมา
เดิมต�ำบลท่าดี มีเส้นทางเดินทางติดต่อกับต�ำบลอื่น โดยใช้การสัญจรทางน�้ำ โดยมีล�ำคลองท่าดีเป็นหลัก และ มีท่าเทียบเรือที่สวยงามจึงมีชื่อเรียก “ท่าดี” จนเป็นชื่อของ ต�ำบลต่อมา ราษฏรของต�ำบลมีอาชีพท�ำสวนผลไม้ และ สวนยางพาราเป็นหลัก “ท่าดี” เป็นชือ่ ต�ำบลและหมูบ่ า้ นเก่าแก่ในอ�ำเภอลานสกา จังหวัดนครศรีธรรมราช ประกอบด้วย 7 หมูบ่ า้ น คือ บ้านไสขิง วัดวอ ดินดอน มะม่วงทอง บนโพธิ์ เสมา และบ้านสันยูง แม้จะเป็นต�ำบลเล็กๆ แต่มีความสมบูรณ์ด้วยผลไม้และ ป่ า ไม้ เชิ ง ภู เขาเช่ น เดี ย วกั บ ต� ำ บลเขาแก้ ว และก� ำ โลน ชาวบ้านท�ำมาหากินด้วยความสงบสุข ท่ามกลางบรรยากาศ อันร่มรื่นของพันธุ์ไม้ แต่ละหมู่บ้านมีประวัติความเป็นมา ที่น่าสนใจโดยเฉพาะบ้านไสขิงและวัดปะ
200 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 200
11/1/2561 11:30:22 AM
ยุทธศาสตร์
1. การพัฒนาด้านสังคมและคุณภาพชีวิต 2. การพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐาน 3. การพัฒนาด้านเศรษฐกิจ 4. การพัฒนาด้านการศึกษา ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่นและกีฬานันทนาการ 5. การพัฒนาด้านการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 6. การพัฒนาด้านการเมืองการปกครองการบริหารงาน
1. เพื่ออนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2. เพื่อบริหารจัดการแหล่งน�้ำเพื่ออุปโภค บริโภค และท�ำการเกษตร 3. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี 4. ทุกครัวเรือนมีไฟฟ้าใช้อย่างทั่วถึง 5. เพื่อให้การบริหารจัดการมีประสิทธิภาพตามหลักการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี 6. เพื่อให้การบริหารจัดการมีประสิทธิภาพตามหลักการบริหารจัดการ 7. เพื่อสืบทอดประเพณีท้องถิ่นให้คงอยู่สืบไป 8. เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพแข็งแรง 9. เพื่อพัฒนาด้านการศึกษาของประชาชนได้มีโอกาสได้เรียนรู้ตลอดชีพ 10. เพื่อช่วยให้ประชาชนได้รับการสงเคราะห์และพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น 11. ส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาอาชีพ ฝึกอบรมอาชีพเพื่อน�ำไปสู่หลักปรัชญาเศรษฐกิจ 12. ปรับภูมิทัศน์สถานที่ท่องเที่ยว
เป้าประสงค์
โบราณสถานที่เป็นสถานที่ท่องเที่ยว
1. พระลากวัดพัทธเสมา หมู่ที่ 5 ต.ท่าดี 2. โบสถ์มหาอุตม์ วัดปะธรรมาราม หมู่ที่ 2 3. อนุสาวรีย์ พ่อท่านคล้ายวาจาสิทธิ์ หมู่ที่ 7 บ้านสันยูง ต.ท่าดี
กลุ่มผักกูดบ้านเสมา
สถานที่ หมู ่ท่ี 6 ต�ำบลท่าดี อ�ำเภอลานสกา จังหวัดนครศรีธรรมราช ต้นผักกูด จัดเป็นเฟิรน์ ขนาดใหญ่ ทีม่ เี หง้าตัง้ ตรง และมีความสูงมากกว่า 1 เมตร ขึ้นไป เหง้าปกคลุมไปด้วยใบเกล็ด เกล็ดมีขนาดกว้างประมาณ 1 มิลลิเมตร และยาว ประมาณ 1 เซนติเมตร เกล็ดมีสีน�้ำตาลเข้มถึงสีด�ำ ขอบใบเกล็ดหยักเป็นซี่ โดยเฟิร์น ชนิดนีม้ กั จะขึน้ หนาแน่นตามชายป่าทีม่ แี ดดส่องถึง ในบริเวณทีล่ มุ่ ชุม่ น�ำ้ ตามริมล�ำธาร บริเวณต้นน�้ำ หนองบึง ชายคลอง ในที่ที่มีน�้ำขังแฉะและมีอากาศเย็น รวมไปถึง ในพื้นที่เปิดโล่ง หรือในที่ที่มีร่มเงาบ้าง และจะเจริญเติบโตได้ดีบริเวณที่ชื้นแฉะ มีความชื้นสูง เติบโตในช่วงฤดูฝน ขยายพันธุ์ด้วยวิธีการใช้เหง้า ใช้สปอร์ หรือไหล
ลวกกะทิ
ทอดมันกุ้งผักกูด
ย�ำผักกูด
ผักปลอดสารเคมี
NAKHON SI THAMMARAT 201 .indd 201
11/1/2561 11:30:23 AM
ประวัติพระลากและประเพณี ชักพระทางน�ำ้ วัดพัทธเสมา หมู่ 5 ต.ท่าดี
พระลากวัดพัทธเสมา เป็นพระพุทธรูปปางอุ้มบาตร เนื้อทองค�ำรมด�ำ ความสูงจากฐานถึงยอด 190 ซ.ม. สร้างขึ้นในสมัยอยุธยาตอนต้น รัชสมัย พระนเรศวรมหาราช เมื่อครั้งประกาศอิสรภาพจากพม่า มีอายุประมาณ 400 กว่าปี ตามต�ำนานและค�ำบอกเล่าของคนเฒ่าคนแก่ มีอยู่ 2 ต�ำนาน ยังไม่แน่ชัด บางต�ำนานเล่าว่าเมื่อเกิดอุทกภัยใหญ่ในเมืองนครศรีธรรมราช ได้มีพระพุทธรูปลอยทวนกระแสน�้ำมาในครั้งนั้นจ�ำนวน 5 องค์ 2 องค์แรก ได้จมหายไปในน�้ำ องค์ที่ 3 ได้ลอยไปติดท่าน�้ำวัดหอไตร (ปัจจุบันร้างไปแล้ว) องค์ที่ 4 ลอยน�้ำมาติดท่าน�้ำวัดสวนหลวง ปัจจุบันประดิษฐานอยู่ที่ วัดสวนหลวง ชื่อว่า สมเด็จพระเจ้าลาวทอง องค์สุดท้ายลอยทวนกระแสน�้ำมาติดที่วัดพัทธเสมา ชาวบ้านได้มาพบเห็นด้วยความมหัศจรรย์ยิ่ง จึงได้ น�ำมาประดิษฐานไว้ที่วัดพัทธเสมา หมู่ที่ 5 ต�ำบลท่าดี อ�ำเภอลานสกา จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นพระพุทธรูปศักดิสิทธิ์คู่บ้านคู่เมืองของชาว อ�ำเภอลานสกา จังหวัดนครศรีธรรมราช ใครบนบานศาลกล่าวปรารถนาสิ่งหนึ่งสิ่งใดจะได้สมตามความปรารถนา
ด้วยความศรัทธาของชาวบ้านในพืน้ ที่ จึงจัดประกอบ พิธสี รงน�ำ้ เปลีย่ นเครือ่ งทรง และสมโภชพระลากครัง้ แรก ในวันขึน้ 15 ค�ำ่ เดือน 6 ครัง้ ที่ 2 วันขึน้ 15 ค�ำ่ เดือน 11 ในแรม 1 ค�่ำ เดือน 11 ชาวบ้านได้มาร่วมในพิธีตักบาตร เทโวโรหณะ มีประชาชนมาร่วมกันมากมาย พิธเี ริม่ ตัง้ แต่ เวลา 05.00 น. เช้ามืดของวันแรม 1 ค�ำ่ เดือน 11 จะได้ยนิ เสียงกลอง โพน ฆ้อง ระฆัง ดังก้องกังวานไปทั้งวัด เป็น สัญญาณบ่งบอกว่าขณะนี้ก�ำลังอัญเชิญพระลาก ขึ้นไป ประดิษฐานบนนมพระ (นมพระ หมายถึงพนมพระ ที่เป็นพาหนะที่ใช้บรรทุกพระลาก นิยมท�ำ 2 แบบ คือ ลากพระทางบก เรียกว่า นมพระ ลากพระทางน�ำ้ เรียกว่า “เรือพระ”) 202 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 202
11/1/2561 11:30:27 AM
ส่วนประกอบของเรือพระท�ำด้วยไม้ซงุ 2 ต้น มีหัวเรือและล�ำเรือ 2 ล�ำ ท�ำแบบเรือโบราณ ปักธงริ้วหลากสี ประดับไปด้วยสิ่งธรรมชาติ กิ่งไม้ไผ่ยอดนมแกะสลักเป็นลายไทยอย่าง สวยงาม เมื่อได้เวลาผู้คนมากมายเริ่มออกัน เข้ามาเพื่อจับเชือกเส้นใหญ่ ลากไปด้วยแรง ศรัทธาของชาวบ้านนับร้อยๆ คัน ลากไปจนถึง
ที่ตั้ง (ประตูแดง) หลังจากนั้นชาวบ้านร่วมกัน ร�ำวงอย่างสนุกสนานจนฟ้าสาง แล้วได้เริ่ม ประกอบพิธีทางศาสนา ตักบาตรบนนมพระ และพระสงฆ์แขวนขนมต้มตามขนบธรรมเนียม ประเพณีของการชักพระเดือน 11 ของชาวใต้ เวลาชั ก พระเริ่ ม ประมาณ 08.00 น. ประชาชนร่ ว มกั น ชั ก พระไปตามเส้ น ทาง
บนบกและในน�้ ำ (คลองท่ า ดี ) ระยะทาง ยาวประมาณ 1 กิ โ ลเมตร ตลอดทั้ ง วั น กลับถึงที่ตั้งวัดพัทธเสมา เวลา 18.00 น. กิจกรรมประเพณีชักพระ และทอดกฐิน เป็ น พระเพณี ป ระจ� ำ ปี ค วบคู ่ กั น ไปพี่ น ้ อ ง บ้ า นชาวเสมา พี่ น ้ อ งชาวท่ า ดี แ ละต� ำ บล ใกล้เคียงในอ�ำเภอลานสกา
“ ยกระดับคุณภาพชีวิต เพิ่มผลผลิตการเกษตรยึดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง คู่เคียงหลักธรรมาภิบาล ”
NAKHON SI THAMMARAT 203 .indd 203
11/1/2561 11:30:31 AM
บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล วิสัยทัศน์
องค์การบริหารส่วนต�ำบลก�ำโลน
“ เป็นต�ำบลที่มุ่งมั่นการพัฒนาแบบมีส่วนร่วมด้วยความสมดุล และยั่งยืน เพื่อประโยชน์สุขของประชาชน ”
ตั้งอยู่เลขที่ 107 หมู่ที่ 7 ต�ำบลก�ำโลน อ�ำเภอลานสกา จังหวัดนครศรีธรรมราช
องค์การบริหารส่วนต�ำบล
ก�ำโลน
นายประยงค์ จุลรัตน์
นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลก�ำโลน
ประวัติความเป็นมา
องค์การบริหารส่วนต�ำบลก�ำโลน เดิมก่อนหน้านี้เป็น สภาต�ำบลก�ำโลน ตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติสภาต�ำบลและ องค์การบริหารส่วนต�ำบล พ.ศ. 2537 ได้รบั การประกาศจัดตัง้ เป็นองค์การบริหารส่วนต�ำบลจากกระทรวงมหาดไทย เมือ่ เดือน มีนาคม พ.ศ. 2539 ตัง้ อยู่ หมูท่ ี่ 5 ต�ำบลก�ำโลน อ�ำเภอลานสกา จั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช ต่ อ มาได้ ย ้ า ยมาที่ ท� ำ การใหม่ เป็นอาคาร 2 ชั้น ตั้งอยู่ที่ เลขที่ 107 หมู่ที่ 7 ต�ำบลก�ำโลน อ�ำเภอลานสกา จังหวัดนครศรีธรรมราช มีเนื้อที่ทั้งหมด ประมาณ 56,400 ไร่ หรือประมาณ 90.24 ตร.กม. 204 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 204
10/1/2561 02:02:27 PM
พันธกิจการพัฒนา
1. ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพในครัวเรือนและกลุม่ อาชีพโดยยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 2. พัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐานและการสาธารณูปโภคให้ครอบคลุมทั่วถึง 3. พัฒนาสังคม ส่งเสริมครอบครัว ให้มีคุณธรรม จริยธรรม มีความรู้ สุขภาพอนามัยและ คุณภาพชีวิตที่ดี 4. พัฒนาและส่งเสริมการศึกษา กีฬา ศาสนาและวัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่น 5. ส่งเสริมการสาธารณสุข และพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน 6. คุ้มครอง ดูแลและบ�ำรุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม 7. การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 8. ส่งเสริม ช่วยเหลือ พัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ คนพิการและผู้ด้อยโอกาส 9. การรักษาความสงบเรียบร้อยในชุมชนและปลอดจากยาเสพติด 10. พัฒนาองค์กรให้มีระบบการบริหารจัดการที่ดีมีประสิทธิภาพ และส่งเสริมการมีส่วนร่วม ของประชาชนในการพัฒนาท้องถิ่น
นโยบายการพั ฒ นาของผู ้ บ ริ ห าร องค์การบริหารส่วนต�ำบลก�ำโลน
14 ด้านดังนี้ 1. นโยบายด้านการเมืองและการบริหาร 2. นโยบายการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน 3. นโยบายการพัฒนาสังคม 4. นโยบายการจัดระเบียบชุมชน 5. นโยบายการพั ฒ นาสาธารณสุ ข และ ส่งเสริมคุณภาพชีวิต 6. นโยบายการพัฒนาทางเศรษฐกิจ 7. นโยบายการพัฒนาด้านการศึกษา กีฬา ศาสนา และวัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่น 8. นโยบายการพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม 9. นโยบายเกี่ ย วกั บ เบี้ ย ยั ง ชี พ ผู ้ สู ง อายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาส 10. นโยบายพัฒนา ปัญหาเร่งด่วน เช่น ถนน ไฟฟ้า น�ำ้ ประปา อืน่ ๆ ทีต่ อ้ งรับด�ำเนินการ แก้ไขทันตามเหตุการณ์ 11. นโยบายสนับ สนุนงานด้า นส่งเสริม สุขภาพ อนามัยกับหน่วยงานสาธารณสุข การรักษาสิ่งแวดล้อม ความสะอาด ก�ำจัดขยะมูลฝอย และงานป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัย 12. นโยบายเกี่ ย วกั บ การ แก้ปญ ั หายาเสพติดภายในชุมชน 13. นโยบายด้านการท่องเทีย่ ว 14. นโยบายด้านการพัฒนา องค์กร ข้าราชการ/พนักงาน และ ลูกจ้าง
ชวนเที่ยว! ต�ำบลก�ำโลน
หมู่บ้า
มีสถานที่ท่องเที่ยวทั้งทางธรรมชาติ และประวัติศาสตร์ ศาสนสถานจ�ำนวนมาก อาทิ หมู่บ้านคีรีวง, อุทยานแห่งชาติเขาหลวง, หนานหินท่าหา เป็นลานหินแกรนิต บริเวณริมคลองท่า เป็นตลาดกลางซือ้ ขายผลไม้ของชุมชน, น�ำ้ ตกวังไม้ปกั , น�ำ้ ตกสอยดาว, น�ำ้ ตกกินรี, น�ำ้ ตกคลองล�ำงา, ถ�ำ้ ภูผาสวรรค์ เป็นสถานที่เหมาะส�ำหรับการเดินป่าศึกษาเส้นทางธรรมชาติ และสถานฝึกปฏิบัติธรรม นอกจากนี้ยังมีโบราณสถาน ศาสนสถาน ให้นักท่องเที่ยวเข้ามากราบไหว้บูชา และปฏิบัติธรรม เช่น พระลากวัดจันทร์, พ่อท่านเอียดวัดสมอ, พ่อท่านเอียดวัดวังไทร และ พ่อท่านเถื่อนวัดคีรีวง เป็นต้น NAKHON SI THAMMARAT 205 .indd 205
10/1/2561 02:02:33 PM
บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วั ดลานสกา(ใน) Wat Lan Saka Nai พระอธิการต้นบูรณ์ ผลธมฺโม(ปลอดทอง) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
วัดลานสกา(ใน) ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 194/1 หมูท่ ี่ 3 ต�ำบลลานสกา อ�ำเภอลานสกา จังหวัดนครศรีธรรมราช มีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ 37 ไร่ 85 ตารางวา
ประวัติความเป็นมา
วัดลานสกา(ใน) ก่อตัง้ ขึน้ ในสมัยต้นอาณาจักรตามพรลิงค์ มีอายุประมาณ 1,200 กว่าปี พระเจ้าศรีธรรมาโศกราช เป็นผูก้ อ่ ตัง้ หลังจากสร้างพระบรมธาตุ ทีห่ าดทรายแก้วเสร็จ ใช้ชอื่ ว่า “วัดโคกพูน” โดยมีพระมหาเถรพุทธค�ำเพรียน ซึง่ เดินทางมาจากประเทศศรีลงั กา เป็นประธานสงฆ์หรือเจ้าอาวาสเป็นรูปแรก จากนั้นวัดโคกพูนก็มีการเสื่อมลงและเจริญขึ้นสลับกันเป็นยุคๆ มาถึงสมัย อาณาจักรศรีวชิ ยั เปลีย่ นชือ่ จากโคกพูนเป็น “วัดลานสกา” ตามชือ่ ของหมูบ่ า้ น เมื่อ พ.ศ.2502 พ่อท่านขาบ ฐิตสํวโร ได้ทำ� การบูรณะวัดขึ้นอีก ครั้งใน ปีพ.ศ.2518 เกิดอุทกภัยครั้งใหญ่วัดจึงรกร้างอีกครั้ง และเมื่อ พ.ศ.2525 พ่อท่านวิน จิตฺตคุโณ ได้บูรณะวัดขึ้นอีกครั้ง และได้รับการยกฐานะเป็นวัด ทีส่ มบูรณ์แบบ เมือ่ วันที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ.2546 โดยใช้ชอื่ “วัดลานสกา (ใน)” จนถึงปัจจุบัน
206 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 206
10/1/2561 02:08:44 PM
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
NAKHON SI THAMMARAT 207 .indd 207
10/1/2561 02:08:45 PM
สิ่งศักดิ์สิทธิ์ภายในวัด
พระพุทธรูปสมัยตามพรลิงค์ ประดิษฐาน ในพระอุโบสถเก่า พระศรีธรรมาโศกราช พระพุทธรูปจ�ำลอง องค์พระเจ้าศรีธรรมาโศกราช เพือ่ เตือนใจว่า ที่วัดนี้เคยเป็นที่ประทับของพระองค์ เมื่อ ครั้งที่เกิดโรคห่าระบาดและพระองค์จ�ำเป็น ต้ อ งอพยพประชากรหนี โรคภั ย ออกจาก เมืองนครศรีธรรมราช มาอาศัยที่ลานสกา และกล่าวกันต่อมาว่าพระเจ้า ศรีธรรมาโศกราช นัน้ ได้สร้าง หั ว นะโม (วั ต ถุ ท รงกลม มีตัวอักษรประทับด้านบน) ด้วยพิธีกรรมอันสูงส่งของพราหมณ์ โดยอัญเชิญ เทพเจ้าทัง้ สามคือ พระศิวะ พระวิษณุ และพระพรหม มาสถิตในหัวนะโม แล้วน�ำไปฝังหว่านรอบเมือง นครศรีธรรมราช เพื่อป้องกันโรคห่าระบาด ซึง่ ต่อมาในปี 2518 เกิดอุทกภัย ท�ำให้พระพุทธรูป องค์นี้ได้สูญหายไป องค์พระได้มาเข้าฝันชาวบ้าน บอกว่าจมอยู่ในน�้ำนานแล้วให้ช่วยเอาขึ้นมาด้วย แต่ชาวบ้านช่วยกันขุดหาไม่เจอ ในปีพ.ศ. 2546 ได้ทำ� พิธบี วงสรวงสิง่ ศักดิส์ ทิ ธิแ์ ละท�ำการขุดอีกครัง้ จึงสามารถค้นพบองค์พระได้
208 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 208
10/1/2561 02:08:52 PM
รูปเหมือนของพ่อท่านวิน จิตฺตคุโณ และสรีระที่ไม่เน่าเปื่อย บรรจุในโลงแก้ว ประดิษฐานในมณฑป
NAKHON SI THAMMARAT 209 .indd 209
10/1/2561 02:08:58 PM
เสนาสนะภายในวัด
อุโบสถเก่า 1 หลัง กว้าง 4.50 เมตร ยาว 12 เมตร อุโบสถใหม่ 1 หลัง กว้าง 4.50 เมตร ยาว 18 เมตร ศาลาการเปรียญ 1 หลัง กว้าง 11 เมตร ยาว18 เมตร มณฑป 1 หลัง หอระฆัง 1 หลัง กุฏิสงฆ์และแม่ชี 23 หลัง โรงครัว 1 หลัง กว้าง 8 เมตร ยาว 12 เมตร ห้องน�้ำ-ห้องสุขา 6 หลัง 34 ห้อง
ล�ำดับเจ้าอาวาส
1. พ่อท่านพุทธค�ำเพรียน 2. พ่อท่านพุทธสาคร 3. พ่อท่านอ่อนแก้ว 4. พ่อท่านอ่อนจันทร์ 5. พ่อท่านทองเพชร 6. พ่อท่านรอด 7. พ่อท่านขาบ ฐิตสํวโร พ.ศ.2502-2518 8. พ่อท่านวิน จิตฺตคุโณ พ.ศ.2525-2551 9. พระสุเทวา อัคฺควโร พ.ศ.2552-2557 10. พระอธิการต้นบูรณ์ ผลธมฺโม (ปลอดทอง) พ.ศ.2558-ปัจจุบัน
210 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 210
10/1/2561 02:09:04 PM
ตารางงานบุญ - ปฏิบัติธรรมวัดลานสกา วันที่ 1-30 เมษายน ของทุกปี วันวิสาขบูชา ของทุกปี วันที่ 12 สิงหาคม (วันแม่แห่งชาติ) ของทุกปี วันที่ 10-19 มิถุนายน ของทุกปี วันที่ 22-23 ตุลาคม ของทุกปี ขึ้น 1-10 ค�่ำ เดือน 12 ของทุกปี
งานบรรพชาอุปสมบทพระภิกษุ-สามเณรภาคฤดูร้อน เทิดพระเกียรติ แด่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี บวชเนกขัมมะศีลจาริณี บวชเนกขัมมะศีลจาริณี ปฏิบัติธรรมในงานปริวาสกรรม งานท�ำบุญทักษิณานุปทาน พ่อท่านวิน จิตฺตคุโณ ปฏิบัติธรรมในงานปริวาสกรรม
วัดลานสกา(ใน) ขอเรียนเชิญท่านสาธุชนผู้มีจิตศรัทธาทั้งหลาย มาร่วมงานบุญและปฏิบัติธรรมที่วัดได้ตามวันและเวลาที่สะดวก หรือ
สนใจจะร่วมเป็นเจ้าภาพจัดงาน หรือประสงค์จะร่วมบูรณปฏิสงั ขรณ์วดั ลานสกา(ใน) ขอเชิญติดต่อได้ทพี่ ระอธิการต้นบูรณ์ ผลธมฺโม เจ้าอาวาส
NAKHON SI THAMMARAT 211 .indd 211
10/1/2561 02:09:05 PM
บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดทุ่งเฟื้อ Wat Thungfua
พระครูสทุ ธิเขตตานุรกั ษ์ ปริสทุ โธ (ดร.ทวี จันทร์สอ่ งแสง) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส วัดทุง่ เฟือ้ เจ้าคณะต�ำบลดอนตรอ พระอุปัชฌาย์ วัดทุ่งเฟื้อ ตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2360 เรียกว่าเป็นวัดที่เก่าแก่ เดิมวัดทุ่งเฟื้อ ต� ำ บลควนชุ ม อ� ำ เภอร่ อ นพิ บู ณ แยกมาเป็ น ต� ำ บลสวนหลวง อ�ำเภอ เชียรใหญ่ เมือ พ.ศ.2543 ปัจจุบัน ตั้งอยู่เลขที่ 199 หมู่ที่ 5 ต�ำบลสวนหลวง อ�ำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนครศรีธรรมราช
ท�ำเนียบเจ้าอาวาส ที่พอมีบันทึกไว้
1. เจ้าอธิการตุกติก 5. เจ้าอธิการจันทร์ 2. เจ้าอธิการคง 6. เจ้าอธิการพิง 3. เจ้าอธิการทิม 7. เจ้าอธิการอั้น 4. เจ้าอธิการไข 8. เจ้าอธิการถนอม 214 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 214
10/1/2561 02:23:08 PM
จังหวัดหนองบัวล�ำภู
วัดทุ่งเฟื้อกับพระภิกษุสงฆ์ผู้มีบทบาทในการสงเคราะห์ประชาชน ด้วยสมุนไพร ด้วยพืชผักสมุนไพร เป็นขุมทรัพย์จากธรรมชาติ เป็น ภู มิ ป ั ญ ญาไทยได้ รั บ การสนั บ สนุ น จากรั ฐ บาล และได้ บั ญ ญั ติ ไว้ ใ น รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540 เกี่ยวกับการสนับสนุน ภูมิปัญญาไทย ดังนั้นเรื่องการรักษาแบบดั้งเดิม หรือแบบแผนโบราณ ด้วยสมุนไพรไทย โดยการใช้รักษาโรคต่างๆ ซึ่งมีพระภิกษุสงฆ์เป็น ผู้มีบทบาทในการสงเคราะห์ประชาชน ด้วยการรักษาสมุนไพร ดังนั้น พระสงฆ์ ป ฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ร ่ ว มกั บ ชุ ม ชนมาตลอด ตั้ ง แต่ อ ดี ต มาจนถึ ง ปัจจุบัน รัฐบาลจึงให้การคุ้มครองพระพุทธศาสนา ดังนั้นพระสงฆ์ ย่ อ มมี ค วามรู ้ เรื่ อ งสมุ น ไพรไทย และมี บ ทบาทในการสงเคราะห์ ประชาชน ด้วยสมุนไพรตามวิถีภูมิปัญญาไทยแบบดั้งเดิม อุปัชฌาย์ดี เป็นศรีพระศาสนา การเป็นพระอุปัชฌาย์มีหน้าที่เป็น ประธานรับผิดชอบ มี 2 ประเภท 1.พระอุปัชฌาย์ สามัญ ได้แก่ พระอุปัชฌาย์ ที่ได้รับแต่งตั้งจาก เจ้าคณะใหญ่ 2.พระอุปัชฌาย์ วิสามัญ ได้แก่ พระอุปฌาย์ ที่ได้รับแต่งตั้งจาก สมเด็จพระสังฆราช
ปฏิปทาหลวงปู่จันทร์ มีนามว่า หนูจันทร์ นามสกุล ทองแก้ว
ท่านเกิดที่บ้านน�้ำบ่อตรงเตียง อ�ำเภอหัวไทร จังหวัดนครศรีธรรมราช เมื่อวันพฤหัสบดี ที่ 18 ตรงกับขึ้น 15 ค�่ำ เดือน 6 ปีชวด พ.ศ.2443 ท่านมีความต้องการเป็นนักบวช ต้องการหาความสงบ เมื่อ อายุ 15 ปี บรรพชา เป็นสามเณร ที่วัดศาลาแก้ว เมื่อ พ.ศ. 2485 อุปสมบท เมื่ออายุ 20 ปี พ.ศ.2463 ได้เรียนวิชาในเรื่องวิปัสสนา ท่านฝึกจิต ได้ขั้นสูง เพื่อให้เกิดปัญญารู้แจ้งเห็นจริงในสัจธรรม และภาวะทั้งปวง เป็นการก�ำจัดกิเลส และท�ำลายอวิชชาให้หมดไป ในปลายปี พ.ศ. 2463 ท่านได้จารึกธุดงค์ข้ามแดนไปจ�ำพรรษาในประเทศอินเดีย 3 ปี หลังจากนั้นท่านได้เดินทางกลับไปยัง วัดโคกพิกุล เป็นเวลาเดียวกัน ที่วัดทุ่งเฟื้อว่างเจ้าอาวาส ญาติโยมและชาวบ้านไปนิมนต์ท่านให้มา จ�ำพรรษา ที่วัดทุ่งเฟื้อ ตามความต้องการของชาวพุทธบริษัทของวัด นั่นเอง ท่านเป็นผู้มีวิชาอาคมที่แก่กล้ามากจนเป็นที่ร�่ำลือจนกระทั่ง ท่านได้สังขารเมื่อ พ.ศ.2532 NAKHON SI THAMMARAT 215 .indd 215
10/1/2561 02:23:13 PM
ประวัติเจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน
พระครูสุทธิเขตตานุรักษ์ ฉายา ปริสุทโธ นามสกุล จันทร์ส่องแสง เดิมชื่อ ทวี จันทร์ส่องแสง เกิด วันพฤหัสบดี ที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2509 บ้านเลขที่ 123 บ้านการะเกด ต�ำบลการะเกด อ�ำเภอเชียรใหญ่ จังหวัดนครศรีธรรมราช บุตร นายวิลาศ - นางเลียบ จันทร์ส่องแสง (สุขสวัสดิ์) เป็นบุตรล�ำดับที่ 9 ในบรรดาพี่น้องทั้งหมด 11 คน การศึกษา ปริญญาตรี สาขาสาธารณสุขศาสตร์ และ สาขาครุศาสตร์ เอกปฐม มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ปริญญาโท สาขาการจัดการบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกริก ปริญญาเอก สังคมศาสตร์ ปี พ.ศ.2555 (PhD) สาขาสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมคธ เมืองพุทธยา รัฐพิหาร ประเทศอินเดีย ปัจจุบันปกครองคณะสงฆ์ เจ้าคณะต�ำบลดอนตรอ อ�ำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนครศรีธรรมราช จ�ำนวน 8 วัด 3 ที่พักสงฆ์ ท่านปฎิบัติหน้าที่ ทางด้านการปกครอง จ�ำนวน 6 ด้าน เอาใจใส่ใฝ่ธุระ ในเขตปกครอง ท่านเป็นครูสอนปริยัติธรรม แผนกธรรม พระนวกะ และนักธรรมชั้นตรี ประจ�ำปี 2537 ณ ส�ำนักเรียนวัดชะลอน จังหวัดสงขลา อบรมประชาชนเป็นประจ�ำในวันธรรมสวนะ (วันพระ) ในเทศกาลเข้าพรรษา ประธานจัดงาน เทศกาลตามประเพณีในวันส�ำคัญทางพระพุทธศาสนาทุกปี เช่น วันมาฆบูชา วันอาสาฬหบูชา วันเข้าพรรษา วันออกพรรษา เป็นผู้น�ำภิกษุสามเณร และประชาชนพุทธบริษัทร่วมสวดมนต์ไหว้พระ และแสดงพระธรรมเทศนาเป็นประจ�ำ ทั้งในเทศกาลเข้าพรรษา และออกพรรษา โดยสนับสนุน ให้พุทธบริษัทรับศีล 8 หรือ ศีลอุโบสถ
การสังคมสงเคราะห์
ร่วมบริจาคทุนสนับสนุนการศึกษา วิทยาลัยสงฆ์ภาคทักษิณ วัดแจ้ง อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช ร่วมสนับสนุนทุนการศึกษานักเรียน ทีเ่ รียนดี ปีการศึกษา 2536 ณ โรงเรียนชุมชนวัดท่าลิพง อ�ำเภอเชียรใหญ่ จั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช ร่ ว มก่ อ ตั้ ง ทุ น สงเคราะห์ พ ระสงฆ์ อ าพาต ตึ ก สงฆ์ อ าพาต โรงพยาบาลเชี ย รใหญ่ และโรงพยาบาลมหาราช จังหวัดนครศรีธรรมราช ร่วมกับพุทธบริษัทแจกอุปกรณ์การศึกษา แก่ นักเรียนโรงเรียนชุมชนวัดท่าลิพง อ�ำเภอเชียรใหญ่ จังหวัดนครศรีธรรมราช ผู้สนับสนุนให้นักเรียนเยาวชน และประชาชนทั่วไป สนับสนุนจัดตั้ง ห้ อ งสมุ ด ประชาชน เพื่ อ รวบรวมวั ส ดุ ท างการศึ ก ษาสนั บ สนุ น กองทุ น การศึ ก ษา โรงเรี ย นวั ด ทุ ่ ง เฟื ้ อ และมอบทุ น บาลี ค ณะสงฆ์ จังหวัดนครศรีธรรมราชทุกปี 216 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 216
10/1/2561 02:23:16 PM
บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
จังหวัดหนองบัวล�ำภู
วัดธาตุน้อย Wat Tadnoi พระครูสมุห์เริงศักดิ์ ถาวโร ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
วัดนี้ตั้งขึ้นโดยความประสงค์ของพ่อท่านคล้าย (พระครูพิศิษฐ์อรรถการ) บนที่ดินของผู้ ใหญ่กลับ งามพร้อม ได้ถวายที่ดินผืนนี้ ให้พ่อท่าน เมื่อวันที่ 17 สิงหาคม 2483 มีเนื้อที่ทั้งหมด 46 ไร่เศษ โดยเมื่อประมาณปี พ.ศ.2502 พ่อท่านได้รับกิจนิมนต์ ไปที่กว้านพะเยา จังหวัดพะเยา ในงานมี นายประคอง ช่วยพันธุ์ ชาวกว้านพะเยา ได้น�ำผอบ (ตลับ) ทองค�ำมาถวาย พ่อท่านรับผอบแล้ว พ่อท่านรับแต่พระธาตุ อย่ า งเดี ย ว ส่ ว นผอบคื น ให้ น ายประคองไป เมื่ อ พ่ อ ท่ า นได้ พ ระธาตุ แ ล้ ว จึ ง สร้ า งเจดี ย ์ ขึ้ น ในที่ ดิ น แปลงนี้ ได้ ล งฤกษ์ ส ร้ า งเมื่ อ วั น ที่ 14 มกราคม 2505 ตรงกับวันอังคาร ขึ้น 9 ค�่ำ ปีขาล เป็นเจดีย์สูง 35 วา ฐานสี่เหลี่ยมยาวด้านละ 75 เมตร นับปล่องไฉนได้ 43 ปล่อง พระเจดีย์องค์นี้สร้างจ�ำลองแบบพระบรมธาตุ วัดมหาธาตุ จังหวัดนครศรีธรรมราช ทุ น ที่ ใ ช้ ใ นการก่ อ สร้ า ง มาจากแรงศรั ท ธาของพ่ อ ค้ า คฤหบดี ข้ า ราชการ และประชาชน ฝ่ า ยพระสงฆ์ มี พ ระใบฎี ก าครื้ น โสภโณ เจ้าอาวาสวัดจันดีในสมัยนั้นเป็นผู้อ�ำนวยการสร้าง ฝ่ายฆราวาสมี พ.ต.ต.ขุนพันธรักษ์ ราชเดช เป็นประธาน NAKHON SI THAMMARAT 217 .indd 217
10/1/2561 02:24:14 PM
ต่อมาเถ้าแก่ก้วง ชาวอ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ได้ท�ำ ยอดพระธาตุท�ำด้วยทองค�ำใช้ทองค�ำน�้ำหนักประมาณ 450 บาท มาถวายพ่ อ ท่ า น และน� ำ ไปบรรจุ ใ นพระธาตุ ส วมยอดทองค� ำ ไว้เรียบร้อย เจดีย์ไม่ทันเสร็จสมบูรณ์ พ่อท่านก็มรณภาพ เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม 2513 เวลา 23.25 น. ที่โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า กรุงเทพฯ สถานที่นี้จึงเป็นเจดีย์อนุสรณ์สถานพ่อท่านคล้าย ด้วย ประการฉะนี้ วั ด ธาตุ น ้ อ ยได้ รั บ อนุ ญ าตให้ ส ร้ า งตามหนั ง สื อ ของอธิ บ ดี กรมศาสนา เมื่อวันที่ 14 มิถุนายน 2520 และได้รับอนุญาตให้ตั้ง วัดได้เมื่อวันที่ 18 สิงหาคม 2520 โดยนายภิญโญ สาระ รัฐมนตรี ว่ า การกระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร ผู ้ รั บ สนองพระบรมราชโองการให้ ชื่อวัดว่า วัดธาตุน้อย (รองมาจากพระธาตุเมืองนครศรีธรรมราช) ในปีเดียวกันได้ขอพระราชวิสงุ คามสีมา และได้รบั พระบรมราชานุญาต เมื่อวันที่ 6 กันยายน 2522 (ประกาศในพระราชกิจจานุเบกษา ลง วันที่ 6 กันยายน 2522) อนุสรณ์สถาน “พระเจดีย์ธาตุน้อย” เป็นผลงานอันใหญ่หลวง ของพ่อท่านคล้าย วาจาสิทธิ์ พระสงฆ์ผู้มีพลังปาฏิหาริย์ แห่งแผ่น ดิ น แดนใต้ ไว้ ใ ห้ ป ระชาชนทุ ก คนได้ ก ราบไหว้ บู ช าตลอดไป โดย สร้างตามรูปแบบพระธาตุเจดีย์ทั่วไปมี
1. เจดีย์ พุทธนิพพาน 2. พระพุทธไสยาสน์ พระพุทธเจ้าตอนปรินิพาน 3. เจดีย์บริวาร เปรียบเสมือนพระอรหันต์ 4. พระด้านเปรียบพระอรหันต์ ที่ 1,250 องค์ ฐานสี่เหลี่ยม หมายถึง แผ่นดิน ส่วนทรงกลมของพระธาตุ คือ ท้องฟ้า จุดยอดบนสุดคือ ความหลุดพ้นหรือโลกุตระ เป้าหมาย สูงสุดของผู้ปฏิบัติธรรมไม่ว่าฆราวาส หรือพระภิกษุ จากเจตนา ของพ่ อ ท่ า นคล้ า ย ที่ ต ้ อ งการสร้ า งเจดี ย ์ นี้ ขึ้ น มาไว้ เ พื่ อ บรรจุ พระบรมสารีริกธาตุในครั้งนี้ อาจารย์ชาลี ศิลปะรัศมี นักประวัตศิ าสตร์ทอ้ งถิน่ ชาวอ�ำเภอฉวาง ได้เขียนบทความทางวิชาการไว้ว่า พ่อท่านคล้ายมีความหวังและ เชื่อมั่นอย่างแรงกล้าว่าจะได้พบกับพระบรมสารีริกธาตุ หากพบแล้ว ครัง้ นีจ้ ะต้องสร้างเจดียแ์ บบพระบรมธาตุเมืองนครให้ได้ เพือ่ บรรลุถงึ “พระนฤพาน” อั น เป็ น เป้ า หมายสู ง สุ ด ของพุ ท ธสาวกทั้ ง หลาย ท้ายทีส่ ดุ ก็เป็นจริงด้วยบุญบารมีทไี่ ด้สร้างมาอย่างต่อเนือ่ งถึง 66 ปีเต็ม ส่งผลให้พอ่ ท่านคล้ายไปรับเสด็จ พระบรมสารีรกิ ธาตุไกลถึงจังหวัดพะเยา ดังนัน้ วัตถุประสงค์ของพ่อท่านคล้ายในการสร้างพระเจดียพ์ ระธาตุนอ้ ย ให้ เ ป็ น ที่ เ คารพกราบไหว้ ข องบุ ค คลทั่ ว ไปทั้ ง ใกล้ ไ กลจึ ง เป็ น การ บรรลุธรรมะวิเศษยิ่งแล้วในโลกมนุษย์ของพระอริยสงฆ์รูปหนึ่งที่ บ�ำเพ็ญธรรมบารมีมาชั่วชีวิต
218 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 218
10/1/2561 02:24:15 PM
NAKHON SI THAMMARAT 219 .indd 219
10/1/2561 02:24:16 PM
ชีวประวัติ พ่อท่านคล้าย วาจาสิทธิ์
พ่อท่านคล้าย วาจาสิทธิ์ หรือ พระครูพิศิษฐ์อรรถการ ชื่อเดิมคือ นายคล้าย สีนิล เกิดที่ ต�ำบลช้างกลาง อ�ำเภอฉวาง จังหวัดนครศรีธรรมราช (ปัจจุบัน คือ ต�ำบลหลักช้าง อ�ำเภอช้างกลาง) บิดาชื่อ นายอินทร์ มารดา ชื่อ นางเนี่ยว (เป็นบุตรคนเดียว ของหมืน่ บรรจงภาค) ท่านมีพเี่ พียงคนเดียว คือ นางเพ็ง บิดาของท่านเป็นคนมาจาก เมืองปกาสัย (จังหวัดกระบีใ่ นปัจจุบนั ) พ่อท่านคล้ายจึง มีญาติทางบิดาอยู่ที่นั้นมาก
สรุปผลงานของพ่อท่านคล้าย
ท่านได้สร้างถนนกว่า 20 สาย สร้างสะพานกว่า 15 สะพาน สร้ า งพระพุ ท ธปฏิ ม ากร เป็ น พระประธานในพระอุ โ บสถ ร่ ว มกั บ ท่านพระครูกลาย สร้างพระประธาน ในพระอุโบสถวัดหาดสูง(ทานพอ), สร้ า งพระประธานในพระอุ โ บสถวั ด ยางค้ อ ม, สร้ า งพระประธาน ในพระอุโบสถวัดเขาปด, สร้างพระประธานในพระอุโบสถวัดสวนขัน, สร้ า งพระประธานในพระอุ โ บสถวั ด หลั ก ช้ า ง, สร้ า งพระประธาน ในพระอุ โ บสถวั ด สามั ค คี นุ กู ล , สร้ า งพระประธานในพระอุ โ บสถ วัดคงคาเลียบ, สร้างพระประธานในพระอุโบสถวัดอัมพวัน, สร้าง พระบรรทมที่ วั ด ชั ย มั ง คลาราม ปี นั ง และ สร้ า งพระประธานใน พระอุโบสถวัดมัชฌิมภูผา อ�ำเภอร่อนพิบูลย์ จังหวัดนครศรีธรรมราช สร้างโรงพระอุโบสถ 15 หลัง ช่วยจัดการเป็นประธานในการผูกพัทธสีมา ฝังลูกนิมิตในวัดต่างๆ กว่า 14 วัด ช่วยซ่อมแซมปูชนียสถานต่างๆ สร้างวัดมะปรางหวาน, วัดโบราณาราม (วัดเก่า), วัดพิศิษฐ์อรรถการาม (นาบอน) และ วัดปลายแนะ ฯลฯ 220 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 220
10/1/2561 02:24:21 PM
พ่อท่านคล้ายได้รบั ความเคารพศรัทธาในปฏิปทา จริยวัตรปาฏิหาริย์ ของทุกชนชั้น ตั้งแต่สามัญจนถึงพระมหากษัตริย์ และเป็นมิ่งขวัญ ของศิษยานุศิษย์และศาสนิกชนทั่วไป พ่ อ ท่ า นคล้ า ยเป็ น พระอรหั น ต์ ยุ ค กึ่ ง พุ ท ธกาลแห่ ง แดนใต้ มีสัจจะวาจาศักดิ์สิทธิ์ มีอิทธิฤทธิ์ปากพระร่วง เมื่อกล่าวสิ่งใดออกไป แล้วจะเป็นไปตามนั้นทุกประการซึ่งทุกอย่างที่เกี่ยวข้องกับท่านล้วน ศักดิ์สิทธิ์และเกิดปาฏิหาริย์ให้ผู้คนได้ประจักษ์มาแล้วทั้งสิ้น พ่อท่านเป็นนักบ�ำเพ็ญประโยชน์ยิ่งใหญ่ผู้หนึ่ง ชั่วชีวิตของท่าน ดูเหมือนจะไม่มีเวลาว่างจากการบ�ำเพ็ญประโยชน์เลยซึ่งไม่อาจระบุ ลงไปได้อย่างชัดเจนครบถ้วนว่าพ่อท่านได้ท�ำอะไรไว้ที่ไหน เมื่อไร เหมือนว่าจะไม่มีถนนสายไหน โรงเรียนหลังไหนสะพานใดและวัดใด ในเขตอ�ำเภอฉวาง ตลอดถึงต่างอ�ำเภอต่างจังหวัดและต่างประเทศ ที่ มี ผู ้ ข อความช่ ว ยเหลื อ อาราธนา พ่ อ ท่ า นก็ ไ ด้ จ าริ ก ไปช่ ว ยเหลื อ บ�ำเพ็ญประโยชน์ให้อย่างทั่วถึง
วัตถุมงคลพ่อท่านคล้าย พ่อท่านคล้าย วาจาสิทธิ์ รุ่นเลื่อนสมณศักดิ์ วัดธาตุน้อย เนื้อทองค�ำ
พ่อท่านคล้าย วาจาสิทธิ์ รุ่นเลื่อนสมณศักดิ์ วัดธาตุน้อย เนื้อเงิน
อาศัยการบ�ำเพ็ญสาธารณประโยชน์อย่างยิง่ ใหญ่นเี้ อง พ่อท่านจึงได้รบั พระมหากรุณาธิคณ ุ จากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 9 พระราชทานสมณศักดิ์ เป็นพระครูสญ ั ญาบัตรชัน้ ตรี มีราชทินนามว่า พระครูพศิ ษิ ฐ์อรรถการ ในวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2492 และต่อมา ในวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2500 เลือ่ นสมณศักดิเ์ ป็นพระครูชนั้ พิเศษในราชทินนามเดิม พระครูพศิ ษิ ฐ์อรรถการ (พ่อท่านคล้าย วาจาสิทธิ)์ NAKHON SI THAMMARAT 221 .indd 221
10/1/2561 02:24:26 PM
บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
แดนดินกลิ่นไอใต้ร่มบารมี พ่อท่านคล้ายวาจาสิทธิ์ “ วัดสวนขัน ”
วัWatดสวนขั น Suankan พระครูกิตติวิมล ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส วัดสวนขันเป็นวัดราษฎร ตัง้ อยูท่ หี่ มูท่ ี่ 1 ต�ำบลสวนขัน อ�ำเภอช้างกลาง จังหวัดนครศรีธรรมราช
ประวัติวัดสวนขัน
เนือ้ ทีท่ งั้ หมด 33.3 ไร่ แบ่งออกเป็น 3 เขต คือ 1 ทีต่ งั้ วัด มีเนือ้ ที่ 24.1 ไร่ 2 ที่ธรณีสงฆ์ 3 ไร่ และ 3 สถานที่จัดท�ำประโยชน์แก่สาธารณะ 6 ไร่ สร้างขึ้นตั้งแต่ปีพ.ศ. ใดไม่ทราบชัดเจน เพราะแต่ก่อนไม่มีการบันทึก
เรื่องราวการสร้างวัดไว้ เพียงแต่มีประวัติเล่าสืบต่อกันมาตามปรากฏ ในค�ำบอกเล่า กล่าวว่า ได้มเี จ้าอาวาสปกครองดูแลพืน้ ทีน่ ไี้ ว้มาเป็นล�ำดับ ถึงปัจจุบัน รวม 7 รูป ที่สำ� คัญในสมัยพ่อท่านคล้าย จนฺทสุวณฺโณ ได้ มีการจดบันทึกเป็นเจ้าอาวาสล�ำดับที่ 5 ในปี พ.ศ.2448 - 2513 รวมเวลา 65 ปี ต่อมาได้มีพระครูสมุห์เดช ฐิตจาโร พ.ศ.2514 - 2535 เป็น เจ้าอาวาสรูปที่ 6 และพระครูกิตติวิมล เจ้าอาวาสล�ำดับที่ 7 รูปปัจจุบัน 2535 - ปัจจุบัน วัดสวนขันเป็นวัดเก่าแก่วัดหนึ่ง มีอายุร่วม 200 ปี เดิมทีเรียกว่า “วัดคุดด้วน” เพราะมีต้นมังคุดต้นใหญ่ยอดด้วน เมื่อประสบอุทกภัย ครั้งใหญ่ ต้นมังคุดดังกล่าวก็ถูกน�้ำพัดพาไป เหลือแต่ไม้ขัน จึงได้เปลี่ยน นามวัดเสียใหม่ว่า “วัดสวนขัน” ตั้งแต่ที่พ่อท่านคล้ายเป็นเจ้าอาวาส แม้ชอื่ ของหมูบ่ า้ น ชือ่ ล�ำคลอง ชือ่ ต�ำบล ก็เปลีย่ นไปด้วย โดยเปลีย่ นเป็น ชือ่ สวนขันทัง้ หมด ประกอบกับในหมูบ่ า้ นแห่งนีไ้ ด้มคี วามเจริญมากขึน้ ด้วย ได้อาศัยบารมีพอ่ ท่านคล้ายเป็นหลัก ใครๆ ต่างขนานนามดินแดนแห่งนีว้ า่ “แดนดินกลิ่นไอใต้ร่มบารมีพ่อท่านคล้ายวาจาสิทธิ์วัดสวนขัน” ชื่อนี้ ขจรกระจายไปกว้างไกลนัก หรือใครๆ ก็รู้จัก พ่อท่านคล้ายวาจาสิทธิ์ วัดสวนขันตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
222 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 222
10/1/2561 02:20:06 PM
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
จังหวัดหนองบัวล�ำภู
สิ่งที่ส�ำคัญของวัดสวนขัน
1
1. พระลากเกศทอง ซึง่ เป็นพระคูบ่ ารมีกบั วัดสวนขัน มาตั้งแต่สมัยพ่อท่านคล้ายจนถึงปัจจุบัน 2. พระอุเชนท์ (พระพิฆเนศ ปางถือบวช) ตามที่ กรมศิลปากรจัดเป็นวัตถุโบราณได้รบั รองว่า มีอายุ 1600 ปีเศษ 3. เครือ่ งอัฐบริขาร และสิง่ ของเครือ่ งใช้ของพ่อท่านคล้าย ปัจจุบนั ทางบริษทั Quint Coorperation ได้บริจาคเงิน จ�ำนวน 442,700 บาท เพือ่ สร้างตูโ้ ชว์ แสดงเครือ่ งอัฐบริขาร ของพ่ อ ท่ า นคล้ า ย เพื่ อ ให้ ศ รั ท ธาศาสนิ ก ชนได้ ดู ช ม ตามอัธยาศัยได้ทุกวันไม่เว้นวันหยุด
2
3 วั ด สวนขั น ได้ พ ยายามสื บ สานเจตนารมณ์ ข องพ่ อ ท่ า นคล้ า ย นัน่ หมายถึงว่า ต้องสร้างวัดให้เป็นวัดทีร่ ม่ รืน่ และเหมาะแก่การปฏิบตั ธิ รรม โดยมีชาวบ้านได้ร่วมกันปลูกต้นไม้และจัดลานวัดให้ร่มรื่น ที่ส�ำคัญคือ ได้ชว่ ยกันอนุรกั ษ์ตน้ ไม้ขนั เอาไว้ให้คงอยูก่ บั วัดตลอดไปเพือ่ ให้สมกับนามว่า “วัดสวนขัน”
ท้ายนี้ขออัญเชิญปริศนาธรรมค�ำสอน ของพ่อท่านคล้ายวาจาสิทธิ์ ไว้วา่
พุทโธ อย่าๆ สี่เขี้ยวสองตา อย่าๆ พุทโธ นโม พุทธายะ
เกิดเป็นคนจงมุ่งเอาชนะตน อย่าเอาชนะคนอื่น อายุวัณโณ สุขัง พลัง NAKHON SI THAMMARAT 223 .indd 223
10/1/2561 02:20:17 PM
กฟภ. เป็ นองค์กรชั้ นน�ำที่ทันสมัยในระดับภูมิภาค มุ ่งมั่นให้บริการพลังงานไฟฟ้า และธุ รกิจ เกี่ยวเนื่องอย่างมีประสิทธิภาพ เชื่ อถือได้ เพื่อพัฒนาคุณภาพชี วติ เศรษฐกิจและสังคมอย่างยั่งยืน
การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค เขต 2 (ภาคใต้) จังหวัดนครศรีธรรมราช การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค มีภารกิจ (Mission) หลักคือ จัดหา ให้บริการพลังงานไฟฟ้า และด�ำเนินธุรกิจอื่นที่เกี่ยวเนื่องเพื่อตอบสนองความต้องการ ของลูกค้า ให้เกิดความพึงพอใจทั้งด้านคุณภาพและบริการ โดยการพัฒนาองค์กรอย่างต่อเนื่อง มีความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม ซึ่งด�ำเนินการโดยยึดมั่นในค่านิยม (Core Value) ขององค์กรที่ว่า “ ทันโลก บริการดี มีคุณธรรม ” การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค เขต 2 (ภาคใต้) จังหวัดนครศรีธรรมราช รับผิดชอบการจ่ายกระแสไฟฟ้าให้กบั ประชาชนในพื้นที่ภาคใต้ 6 จังหวัด คือ นครศรีธรรมราช สุราษฎร์ธานี ตรัง กระบี่ พังงา และภูเก็ต
นโยบายการบริหารและพัฒนา กฟภ. นายภาณุมาศ ลิ้มสุวรรณ
ผูอ้ ำ� นวยการการไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค เขต 2 (ภาคใต้) จังหวัดนครศรีธรรมราช
มุ่งมั่นสู่ความเป็นองค์กรทันสมัย ยึดหลักธรรมาภิบาล มีขีดสมรรถนะสูง สร้างความสุขให้แก่พนักงานและ ลูกค้าอย่างยั่งยืน The Electric Utility of the Future Good Governance, Operation Excellence, RE & EE Focus, Role Model of SOE, and Sustainability
ทั้งนี้ นโยบายการบริหารและพัฒนา กฟภ. ประกอบด้วยหลัก “4S” และ “12 Strategies” ดังนี้ Strengthening เสริมสร้างความมั่นคง - Capability Building สร้าง กฟภ.ให้เป็นองค์กรที่มีขีดสมรรถนะสูง ( High Performance Organization ) - Strong Grid มุ่งเน้นการเสริมสร้างระบบไฟฟ้าให้มีความมั่นคงมีประสิทธิภาพ - Renewable Energy and Energy Efficiency Partnership (REEP) ส่งเสริม สนับสนุน และลงทุนด้านพลังงานทดแทนและการอนุรักษ์พลังงาน Standardising สร้างมาตรฐานที่เป็นเลิศ - PEA Standard มีมาตรฐานด้านระบบจ�ำหน่ายไฟฟ้าที่ได้รับการยอมรับในระดับภูมิภาค - Safety Excellence มุ่งสู่ Safety Performance ที่เป็นเลิศ - Operational Excellence มุ่งเน้นการเพิ่มประสิทธิภาพและพัฒนากระบวนการท�ำงานอย่างต่อเนื่อง Smart มุ่งสู่ความทันสมัย - Service Excellence มีการบริการลูกค้าที่เป็นเลิศและครบวงจร - Grid Modernization พัฒนาระบบไฟฟ้าให้ทันสมัยเป็น Smart Grid - Smart Organization พัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการด�ำเนินการขององค์กร Sustainable เติบโตอย่างยั่งยืน - Excellence in Governance มีการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีตามหลักธรรมาภิบาล - Towards Sustainable CSR เติบโตอย่างยั่งยืนร่วมกับชุมชน สังคม สิ่งแวดล้อมและเศรษฐกิจของประเทศ ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง - Enhancing Human Capital ส่งเสริมการพัฒนาทุนมนุษย์เพื่อการพัฒนาองค์กรอย่างยั่งยืน 224 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 224
10/1/2561 02:39:56 PM
นโยบายด้าน CSR ของ กฟภ.
ด้วยความตระหนักถึงความส� ำคัญของ การเป็นองค์กรแห่งความยั่งยืน ที่มีการแสดง ความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คมและสิ่ ง แวดล้ อ ม เป็นพืน้ ฐานของการด�ำเนินงานตามภารกิจ กฟภ. จึงมุง่ พัฒนาการด�ำเนินงานด้านความรับผิดชอบ ต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม (Corporate Social Responsibility : CSR) ของ กฟภ. ให้มี มาตรฐานเทียบเท่ากับกรอบหลักการสากล ของ International Organization for Standardization หรือ ISO 26000 ซึ่งที่ผ่านมา กฟภ.ได้ด�ำเนิน โครงการเพือ่ สังคมและสิง่ แวดล้อมมากมาย อาทิ โครงการ PEA ใส่ใจทุกชีวิตบริจาคโลหิต 10 ล้านซีซี โดยการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค เขต 2 (ภาคใต้) จังหวัดนครศรีธรรมราช สามารถรับ บริจาคโลหิตตั้งเดือนเมษายน - พฤศจิกายน 2560 ได้ทั้งสิ้น 2,341,650 ซีซี โครงการ 74 ชุมชนปลอดภัยใช้ไฟ PEA เพื่อส่งเสริมและ ปลูกจิตส�ำนึกประชาชน ให้ใช้พลังงานไฟฟ้า อย่างถูกต้อง ปลอดภัย และประหยัด ลดอุบตั ภิ ยั จากการใช้ไฟฟ้า โครงการ PEA ห่วงใย ใส่ใจ สุขภาพ มอบอุปกรณ์การแพทย์แก่โรงพยาบาล สมเด็จพระยุพราช 2 แห่ง รวมมูลค่า 100,000 บาท โครงการปลูกหญ้าแฝก ก�ำแพงดินธรรมชาติ เพื่อป้องกันการพังทลายของหน้าดิน ป้องกัน ดิ น ถล่ ม น�้ ำ ท่ ว มฉั บ พลั น ในบริ เวณสายหรื อ แนวเสาไฟฟ้ า ของการไฟฟ้ า ส่ ว นภู มิ ภ าค โครงการคนพันธุ์ PEA ฟืน้ ฟูทะเลไทย เพือ่ ฟืน้ ฟู ทรัพยากรทางทะเลให้มีความอุดมสมบูรณ์ อาทิ ปลูกหญ้าทะเล สนับสนุนถังเพาะพันธุห์ มึก สนับสนุนการก่อสร้างอาคารศูนย์การเรียนรู้ ณ หาดหยงหล�ำ ชุมชนบ้านน�ำ้ ราบ ต�ำบลบางสัก อ�ำเภอกันตัง จังหวัดตรัง โครงการ 1 ต�ำบล 1 ช่างไฟฟ้า โดยร่วมกับสถาบันพัฒนาฝีมือ แรงงานจัดอบรมทางวิชาชีพช่างไฟฟ้าภายใน อาคารระดับ 1 เพื่อให้ความรู้ สร้างอาชีพ ช่างไฟฟ้า สร้างเครือข่ายระหว่างครอบครัว และชุมชนให้เข้มแข็ง
โครงการเพื่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
ของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค เขต 2 (ภาคใต้) จังหวัดนครศรีธรรมราช
โครงการ PEA ใส่ใจทุกชีวิตบริจาคโลหิต 10 ล้านซีซี
โครงการ 74 ชุมชนปลอดภัยใช้ไฟ PEA
โครงการ PEA ห่วงใย ใส่ใจสุขภาพ
โครงการ 1 ต�ำบล 1 ช่างไฟฟ้า
โครงการ ปลูกหญ้าแฝก ก�ำแพงดินธรรมชาติ
โครงการคนพันธุ์ PEA ฟื้นฟูทะเลไทย
NAKHON SI THAMMARAT 225 .indd 225
10/1/2561 02:40:00 PM
บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล วิสัยทัศน์
“ มุ่งเน้นสาธารณูปโภคพื้นฐาน สืบสานขนบธรรมเนียมประเพณี อนุรักษ์วิถีแห่งภูมิปัญญา บ�ำรุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม เตรียมพร้อมด้านการศึกษา ป้องกันปัญหายาเสพติด ส่งเสริมปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ”
องค์การบริหารส่วนต�ำบลควนหนองคว้า อ� ำ เภอจุ ฬ าภรณ์ จั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช โดยอยู ่ ห ่ า งจาก ที่ว่าการอ�ำเภอจุฬาภรณ์ ประมาณ 13 กิโลเมตร Tel. 075-803843 Fax 075-803842 WEBSITE www.khuannongkhwa.go.th FACEBOOK อบต.ควนหนองคว้า อ.จุฬาภรณ์
องค์การบริหารส่วนต�ำบล
ควนหนองคว้า
นายสุภาส แป้นชาตรี
นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลควนหนองคว้า
ประวัติความเป็นมา
ต�ำบลควนหนองคว้า เดิมเป็นหมู่ที่ 6 ต�ำบลควนเกย หมู ่ ที่ 5 ต� ำ บลควนพั ง และหมู ่ ที่ 8 ต� ำ บลควนชุ ม อ�ำเภอร่อนพิบลู ย์ จังหวัดนครศรีธรรมราช ต่อมาเมือ่ วันที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2537 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ล อดุลยเดช ทรงมีพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ ให้ตรา พระราชกฤษฎีกา ตั้งต�ำบล เพื่อประโยชน์แก่การปกครอง และความสะดวกของประชาชน โดยมีพระบรมราชานุญาต ให้ใช้พระนามศาสตราจารย์ ดร.สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณ์วลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี เป็นชื่ออ�ำเภอ ต�ำบลควนหนองคว้าจึงได้แยกพืน้ ทีม่ าจากอ�ำเภอร่อนพิบลู ย์ จั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช มาเป็ น ต� ำ บลหนึ่ ง ในหกของ อ�ำเภอจุฬาภรณ์ จังหวัดนครศรีธรรมราช
ข้อมูลทั่วไป
สถานีรถไฟควนหนองคว้า
ต�ำบลควนหนองคว้า มีเนื้อที่ทั้งสิ้นประมาณ 11,970 ไร่ หรือ 19,152 ตาราง กิโลเมตร สภาพพื้นที่เป็นที่ราบและที่ราบเอียง โดยมีพื้นที่ราบคิดเป็นร้อยละ 90 และพื้นที่ราบเอียงคิดเป็นร้อยละ 10 ของพื้นที่ทั้งหมด ประชากร มีประชากรรวมทั้งสิ้น 3,294 คน มีครัวเรือนจ�ำนวน 961 หลังคาเรือน (ทีม่ า : กรมการปกครอง ณ เดือนมีนาคม พ.ศ. 2559) ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ ทางด้านการเกษตร ได้แก่ ท�ำสวนยางพารา ท�ำนา ท�ำไร่ ปลูกผัก เลี้ยงสัตว์
วัดสมควน ( พ่อท่านเปลี่ยน )
วัดดอนทราย
รพ.สต.บ้านสมควน
226 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 226
10/1/2561 02:41:22 PM
โครงการเด่น อบต.ควนหนองคว้า การบริหารจัดการน�้ำ
“หนองหาน” คือแหล่งน�ำ้ ส�ำคัญในการด�ำรงชีวติ แหล่งเพาะพันธ์สัตว์น�้ำ และการผลิตน�้ำประปาเพื่อ อุปโภคของประชาชนในพืน้ ที่ “ฝ่ายกัน้ น�ำ้ เหลียกตาลี” เก็ บ กั ก น�้ ำ ไว้ ใ ห้ เ กษตรกรในพื้ น ที่ ไ ด้ ใช้ น�้ ำ ในการ ท�ำการเกษตรในฤดูแล้ง
ฝายกัน้ น�้ำเหลียกตาลี
คลองหนองหาน
เดินตามรอยพ่อ
การด�ำรงชีวิตของประชาชนในหมู่บ้าน กินอยู่ อย่ า งพอเพี ย ง ตามรอยใต้ เ บื้ อ งพระยุ ค ลบาท ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 จึงได้ มีการจัดตั้ง “ศูนย์การเรียนรู้ปรัชญาเศรษฐกิจพอ เพียงอ�ำเภอจุฬาภรณ์” ซึง่ เป็นแหล่งเรียนรูแ้ นวทาง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชด�ำริของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 และ ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรในท้องถิ่นและภูมิปัญญา ท้องถิน่ ส�ำหรับเด็ก เยาวชน ประชาชนในพืน้ ทีต่ ำ� บล ควนหนองคว้า และผูท้ สี่ นใจทีจ่ ะเรียนรูเ้ รือ่ งของการ ด�ำรงชีวติ แบบพอเพียงจากกิจกรรมทีท่ ำ� ภายในศูนย์ฯ
จากใจ! นายก
อบต.ควนหนองคว้า โรงเรียนบ้านล�ำหัก
ประเพณีลอยกระทง
โรงเรียนวัดสมควน
ประเพณีชักพระ
โรงเรียนบ้านดอนทราย
วันกตัญญู
ข้าพเจ้า นายสุภาส แป้นชาตรี นายก องค์การบริหารส่วนต�ำบลควนหนองคว้ า และคณะผูบ้ ริหาร สมาชิกสภาองค์การบริหาร ส่วนต�ำบลควนหนองคว้าทุกท่าน ขอขอบคุณ พ่อแม่พี่น้องประชาชนทุกท่านที่ได้ไว้วางใจ ให้ ม าท� ำ หน้ า ที่ ใ นการพั ฒ นาต� ำ บลและ การแก้ไขปัญหาในด้านต่างๆ ในการพัฒนาต�ำบล จะส�ำเร็จได้มิใช่เพียงผมคนเดียว จะต้องได้รับ ความร่วมมือ ค�ำแนะน�ำ และการยอมรับจาก สมาชิ ก สภาองค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บล ควนหนองคว้า ก�ำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้น�ำชุมชน ส่ ว นราชการต่ า งๆ หน่ ว ยงานของรั ฐ หรื อ รัฐวิสาหกิจ องค์กรต่างๆ พนักงานองค์การบริหาร ส่วนต�ำบลควนหนองคว้า และทีส่ ำ� คัญอย่างยิง่ คือ จากประชาชนต�ำบลควนหนองคว้าในการ ร่วมกันคิด ร่วมแรง ร่วมใจ เพื่อขับเคลื่อน ต�ำบลควนหนองคว้าไปสู่การพัฒนาอย่างมี ประสิทธิภาพและก้าวหน้าต่อไป NAKHON SI THAMMARAT 227
.indd 227
10/1/2561 02:41:38 PM
บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล ค�ำขวัญ
องค์การบริหารส่วนต�ำบลสามต�ำบล
“ ถิ่นคนดี มากมีคนดัง วังเจ้าพระยา เทวดาศักดิ์สิทธ์ ”
ตั้งอยู่หมู่ที่ 3 ต�ำบลสามต�ำบล อ�ำเภอจุฬาภรณ์ จังหวัดนครศรีธรรมราช 80130
องค์การบริหารส่วนต�ำบล
สามต�ำบล
นายสุรศักดิ์ ไชยรักษา นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลสามต�ำบล
ประวัติความเป็นมา
ต� ำ บลสามต� ำ บลเป็ น ต� ำ นานเล่ า สื บ ทอดกั น มาว่ า ในสมัยเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2 ได้มีการอพยพผู้คนลงมา ทางใต้ แ ละมาตั้ ง ที่ พั ก อยู ่ ที่ วั ด วั ง ฆ้ อ ง ในขณะนั้ น มี หม่อมเณรใหญ่และหม่อมเณรน้อยเป็นผู้อพยพมาด้วย จึงได้ตั้งที่พักอยู่ที่คลองวังฆ้อง (วัดวังฆ้องปัจจุบัน) ในการ อพยพมาครั้งนั้นได้มีผู้คนมาอยู่กันจ�ำนวนมากจึงได้ออกไป หาทีท่ ำ� กินและตัง้ ทีท่ ำ� กินใหม่อกี คือวังใส (หมูท่ ี่ 1 ในปัจจุบนั ) และอีกกลุ่มหนึ่งก็ได้ออกไปหาที่ท�ำกินและตั้งที่ท�ำกินใหม่ อีกคือ นาหมอบุญ (ต.นาหมอบุญปัจจุบัน) ขณะที่ผู้คน ที่ อ พยพมาออกไปท� ำ มาหากิ น ในสถานที่ ดั ง กล่ า วแล้ ว ในการประชุมหรือพบปะกันแต่ละครั้งก็ใช้ ฆ้องตี เป็นการ บอกให้ราษฎรทุกพื้นที่มาประชุมพร้อมกัน และครั้งต่อมา เมื่อบ้านเมืองสงบลงราษฎรที่อพยพก็กลับไปอยู่ส่วนกลาง ตามเดิมซึ่งที่วังใสเลยเรียกว่า บ้านวังใส และทีว่ งั ฆ้องเรียก บ้านวังฆ้อง ทีน่ าหมอบุญเรียกว่า บ้านนาหมอบุญ ทั้งสามแห่ง มารวมกันเลยเรียกว่า สามต�ำบล ต่อมาในปี พ.ศ.2537 ได้ มีพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งอ�ำเภอขึ้นใหม่ได้มีการแยกต�ำบล ใหม่โดยแยกต�ำบลนาหมอบุญออกจากต�ำบลสามต�ำบล ปัจจุบันต�ำบลสามต�ำบลประกอบด้วย 6 หมู่บ้าน
เครื่องแกงสามต�ำบล คัดเลือก
วัตถุดบิ อย่างดีและสะอาดมาผลิตเครือ่ ง แกงส้ม แกงกะทิ แกงคั่วกลิ้งสามต�ำบล เพื่อผู้บริโภคได้รับประทานเครื่องแกง ที่สะอาด ปลอดภัย "เครื่องแกงอร่อย เครือ่ งแกงสามต�ำบล" โดย อบต.สามต�ำบล และกลุม่ เครือ่ งแกงสามต�ำบล (สามต�ำบล ต�ำบลแห่งอาชีพ)
ผลิตภัณฑ์ประจ�ำต�ำบล
ไข่เค็มบ้านวังใส
แกงคั่วกลิ้งทากแรกสามต�ำบล
กลุม่ อาชีพเครือ่ งแกงต�ำบลสามต�ำบล กลุ่มไข่เค็มบ้ านวังใส, ผลิตภัณฑ์ ใบยางพารา และงานจักสาน สนใจส่งซือ้ หรือเป็นตัวแทนจ�ำหน่าย ติดต่อ อบต.สามต�ำบล โทร. 0-7530-8503
228 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 228
ลิเกป่า คณะป้าดวง
10/1/2561 11:19:02 AM
ส�ำนักขันชื่อนี้ ส�ำคัญไฉน
หลวงพ่อทองด้วง วัดส�ำนักขัน
ส�ำนัก คือ ที่พัก, ที่อาศัย, แหล่ง ขัน คือพืชชนิดหนึ่ง ที่ให้ร่มเงาและน�้ำมัน ขัน คือภาชนะรองรับน�้ำ ขัน คือเสียงร้องของไก่ หรือนกชนิดหนึ่ง ขัน คือน่าหัวเราะ ขัน คือท�ำให้ตึง ส�ำนักขันของเราจึงหมายถึง ที่พักอันร่มรื่น มันวาว เป็นภาชนะรองรับ - ปลูกให้ตื่นอยู่เสมอ มีความสนุกสนาน - กวดขันเอาจริง เพื่อทุกท่านที่มาพัก
หนังตะลุงน้อมน้อย
ด้วยแรงแห่งศรัทธา
ต�ำบลสามต�ำบล มีหลวงพ่อทองด้วง วัดส�ำนักขัน เป็นที่ศรัทธาของชาวบ้าน สืบเนื่องตั้งแต่ก่อนปี พ.ศ. 2375 มี เจ้ า อาวาสรู ป หนึ่ ง ชื่ อ ว่ า ทองด้ ว ง ได้ ชั ก ชวน ประชาชน พุทธบริษทั ในชุมชนวัดส�ำนักขัน และใกล้เคียง เพือ่ ก่อพระพุทธรูปทีท่ ำ� ด้วยปูนปัน้ ทีม่ ขี นาดใหญ่ในสมัยนัน้ และเมือ่ สร้างเสร็จแล้ว ประชาชน และพุทธบริษทั ได้ตงั้ ชือ่ ว่าหลวงพ่อทองด้วง ซึ่งเป็นชื่อของเจ้าอาวาสในสมัยนั้น เพื่อเป็นการยกย่อง ในฐานะที่ท่านเจ้าอาวาสเป็นผู้ที่ ชักชวนประชาชน พุทธบริษัทจัดสร้างขึ้นมาได้ส�ำเร็จ บางคนจึ ง เรี ย กชื่ อ หลวงพ่ อ ทองด้ ว งว่ า “พระใหญ่ ” เพราะเป็นพระองค์ใหญ่ที่สุดในสมัยนั้น ซึ่ ง ในสมั ย นั้ น ปู น หิ น ทราย นั้ น หายาก ต้ อ งน� ำ ประชาชนเดินไปหาบ หาม เอามาจากที่อื่น เช่น ทราย ต้องไปเอาที่คลองเทพมงคล เป็นต้น กระทั่งเมื่อประมาณ ปีพ.ศ. 2475 พ่อท่านคล้าย วาจาสิทธิ์ เดินทางผ่านมาที่ วัดส�ำนักขัน เห็นว่าองค์หลวงพ่อทองด้วง นั้นได้รับความ เสียหายจากการเสื่อมสภาพของปูนปั้น พ่อท่านคล้าย วาจาสิทธิ์ ได้บูรณะปั้นองค์หลวงพ่อทองด้วงที่ได้รับความ เสียหายด้วยตนเอง เป็นเวลา 2 เดือน โดยพ่อท่านคล้าย วาจาสิทธิ์ ได้พักอยู่ที่วัดส�ำนักขัน (หมอบุญส่ง เพชรบูรณ์ เป็นผู้จ�ำเหตุการณ์มาเล่า) วัดส�ำนักขัน เบื้องต้นผู้เรียบเรียง คือพระครูประโชติ สุตกิจ นามเดิมชื่อ บุญช่วง นามสกุล ไชโย หรือ ไชยโย มีบิดาชื่อ ชู ไชยโย หรือ ไชโย มารดา ชื่อ นางชุม นามสกุล ตัวชื่อ เทพธานี เกิดเมื่อวันที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2472 อุปสมบทเป็น พระบุญช่วง จิตฺตกาโร เมื่อ พ.ศ. 2493 ตั้ ง แต่ ป ี พ.ศ. 2534 เป็ น เจ้ า อาวาสวั ด ส� ำ นั ก ขั น เมื่อ พ.ศ. 2498 เป็นเจ้าคณะต�ำบล สามต�ำบล และเมื่อ พ.ศ.2546 เป็นรักษาการเจ้าคณะอ�ำเภอจุฬาภรณ์ จังหวัด นครศรีธรรมราช
ตักบาตรตอนเช้า ตลาดวัฒนธรรมสามต�ำบล
ตักบาตรตอนเช้า
มโนราห์ นักเรียนประถม
ลิเกป่า คณะป้าดวง สามต�ำบล NAKHON SI THAMMARAT 229
.indd 229
10/1/2561 11:19:03 AM
บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วั ด สมควร Wat Somkuan พระปลัดส�ำราญ ธมฺมวโร เจ้าอาวาส
วัดสมควร ตั้งอยู่ เลขที่ 102/1 หมู่ที่ 1 ต�ำบลควนหนองคว้า อ�ำเภอจุฬาภรณ์ จังหวัดนครศรีธรรมราช
ประวัติความเป็นมา
วัดสมควรก่อตั้งในสมัยใดไม่มหี ลักฐานแน่ชดั แต่สนั นิษฐานจากการ ก่อสร้างอุโบสถหลังเก่า และมีเจดียท์ รงระฆังคว�ำ ่ (แบบลังกา เช่นเดียวกับ พระบรมธาตุนครศรีธรรมราช) ซึ่งมีลักษณะก้อนอิฐที่สกัดจากหินทราย ประมาณอายุวา่ น่าจะประมาณ 300 - 400 ปี นอกจากนัน้ ยังมีพระพุทธรูป สมัยโบราณที่ท�ำจากเงินยวง (ใช้เป็นพระประธานเรือพนมพระ) เครื่อง ถ้วยชาม เป็นลายเถาแบบจีน พระพุทธรูปปูนปัน้ ในอุโบสถ พระพุทธรูปไม้ เมื่อประมาณ พ.ศ. 2498 ทางอ�ำเภอร่อนพิบูลย์ได้ท�ำการรังวัด ที่ดินออก นส.3 ก.ได้บันทึกเป็นหลักฐานไว้ว่าน่าจะสร้างมาประมาณ 300 - 400 ปี จึงน่าสันนิษฐานได้ว่า สร้างขึ้นเมื่อประมาณ พ.ศ. 2198
230 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 230
10/1/2561 02:48:13 PM
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
“ ททํ มิตฺตานิ คนฺถต ” ผู้ ให้ ย่อมผูกไมตรีไว้ ได้ “ ททมาโน ปิโย โหติ ” ผู้ ให้ย่อมเป็นที่รัก “ เสฏฐนฺทโท เสฏฐมุเปติ ฐานํ ” ผู้ ให้สิ่งประเสริฐ ย่อมถึงฐานะที่ประเสริฐ “ ปุพฺเพ ทานาทิกํ ทตฺวา อิทานิ ลภตี สุขํ มูเลว สิญฺจิตํ โหติ อคฺเค จ ผลทายกํ ” ให้ทานเป็นต้นก่อน จึงได้สุขบัดนี้ เหมือนรดน�้ำที่โคนให้ผลที่ปลาย
ยุคทองของวัดสมควร
ในสมัยที่พระครูวิสุทธิพิบูลเขตต์ (เปลี่ยน ชูสว่าง) นักธรรมเอก เป็น เจ้าอาวาสรูปที่ 5 เป็นสมัยทีไ่ ด้มกี ารริเริม่ งานด้านการบ�ำรุงพระพุทธศาสนา การศึกษา การคมนาคม การจัดตั้งโรงเรียนพระปริยัติธรรม การบูรณ ปฏิสงั ขรณ์เสนาสนะของวัดในเขตการปกครองอ�ำเภอร่อนพิบลู ย์ - ชะอวด จนได้รับการยกย่องจาก พระศรีธรรมประสาธน์(แบน คนฺถาภรโณ) เจ้าคณะจังหวัดนครศรีธรรมราช พระศรีธรรมราชมุนี (หมุ่น อิสฺสโร) วัดหน้าพระบรมธาตุ และ สมเด็จพระวันรัต(ปลด กิตตฺ โิ สภโณ มหาเถระ)
ท�ำเนียบเจ้าอาวาส
1. พ่อท่านปลอด 2. พ่อท่านอิน 3. พ่อท่านจัน 4. พระปลัดชู อินฺทมุนี 5. พระครูวิสุทธิพิบูลเขตต์ (เปลี่ยน ชูสว่าง) 6. พระครูสุทธิสุตคุณ 7. พระอธิการสมยศ กิตฺติสาโร 8. พระครูโพธยานุรักษ์ (จอ.จุฬาภรณ์) รักษาการ 9. พระปลัดส�ำราญ ธมฺมวโร พ.ศ. 2559 – ปัจจุบัน
NAKHON SI THAMMARAT 231 .indd 231
10/1/2561 02:48:14 PM
วิสุทธิฯเจดีย์
เป็นเจดีย์รูปทรงระฆังคว�่ำแบบลังกา สร้างขึ้นเพื่อ 1. เป็นพุทธบูชา (บรรจุพระบรมสารีรกิ ธาตุ บนยอดเจดีย์) 2. เป็นเครื่องแสดงความกตัญญูกตเวที ของคณะศิษย์ ลูกหลาน และผู้เลื่อมใสศรัทธา พ่อท่านเปลี่ยน และพ่อท่านปลัดชู พระครูโพธยานุรักษ์(สาธุ สารานุรกฺโข) เจ้าคณะอ�ำเภอจุฬาภรณ์ (ศิษย์พอ่ ท่านเปลีย่ น รู ป สุ ด ท้ า ย), คุ ณ คุ ้ ม เพ็ ง จั น ทร์ , คุ ณ ศรั ญ เณรานนท์, คุณประพล เพ็งจันทร์(หลาน) และเครือญาติธรรมทั้งคณะพุทธ บริ ษั ท ที่ เ ลื่ อ มใสศรั ท ธาใน พ่อท่านทั้งสององค์ วาง ศิ ล าฤกษ์ ใ นวั น ที่ 21 มกราคม 2559 โดย พระช่วน พฺรหฺมโชโต อดีตเจ้าอาวาสวัดควน วัดใหม่(มรณภาพแล้ว) สร้างเสร็จ และสมโภชใน วันที่ 1 ตุลาคม 2559 รวม เวลาสร้าง 8 เดือน 10 วัน ด้วย งบประมาณ 1.3 ล้านบาท
วิสุทธิฯเจดีย์ เป็นจุดเด่นของวัดสมควร
อุโบสถ
เป็นโบราณสถานที่เก่าแก่ที่สุดของวัด อายุประมาณ 300 ปี สร้างด้วยไม้ทั้งหลัง โดย ไม่ใช้ตะปูหรือน็อต (เสา ขือ่ เป็นแบบเจาะ แล้ว ใช้ ไ ม้ แ ทนน็ อ ตในการยึ ด ตรึ ง ) เสาเป็ น ไม้ ก่ออิฐฉาบปูนทับ ไม่มีฝาผนัง ประตู หน้าต่าง ประดิ ษ ฐานพระใหญ่ ฝ ี มื อ ช่ า งโบราณแบบ ปู น ปั ้ น ซึ่ ง ถื อว่ าเป็น พระพุทธรูป ศัก ดิ์สิทธิ์ คู่วัดสมควร ปัจจุบันมีการบูรณปฏิสังขรณ์ แต่ยังไม่แล้วเสร็จ
เจดีย์โบราณ
สันนิษฐานว่า น่าจะสร้างพร้อมกับอุโบสถ เนื่องจากอิฐที่ใช้เป็นศิลาแลงสกัดให้เป็นรูป โค้งตามลักษณะที่เป็นทรงระฆังคว�ำ ่ ความสูง ประมาณ 5 เมตร ภายในบรรจุโบราณวัตถุ เช่น พระพุทธรูป เครื่องถ้วยชาม ปัจจุบันช�ำรุด แต่ทางวัดมีนโยบายที่จะบูรณปฏิสังขรณ์ใหม่ 232 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 232
10/1/2561 02:48:18 PM
NAKHON SI THAMMARAT 233 .indd 233
10/1/2561 02:48:19 PM
ศรัทธาและความเชื่อ พ่อตาครกใหญ่
จากต�ำนานเล่าว่าเป็นบุคคลที่มีรูปร่างสูงใหญ่ แข็งแรงตั้งแต่เด็ก กินข้าวมื้อละ 2 - 3 หม้อ ครั้นเติบโตขึ้นก็ช่วยพ่อแม่ถางป่า ท�ำไรท�ำนา โดยใช้มดี พก(มีดเหน็บสะเอวของภาคใต้) ซึง่ มีขนาดยาวประมาณ 2 - 3 ศอก ใช้ในการถางป่า และอาวุธประจ�ำตัว ชาวบ้านศรัทธา และถือเป็น ทวดศักดิ์สิทธิ์ บนบานสิ่งต่างๆ เช่น สัตว์ป่วย หรือสูญหาย ก็ได้คืน หรือ ไม่ให้ติดเกณฑ์ทหาร แก้บนด้วย การต้มเปียก(ข้าวต้ม) เหล้าขาว หรือ ลูกประทัด
บ่อสรงน�้ำพ่อท่านเปลี่ยน
เป็นบ่อน�ำ้ ทีเ่ กิดจากการกัดเซาะของน�ำ้ ทีไ่ หลมาจากควน (เนินเขาเตีย้ ๆ) ด้วยภูมิประเทศที่ดินของวัดส่วนหนึ่งเป็นควน ซึ่งมีป่าไม้ ไม้ผลขึ้นอย่าง หนาแน่น เมือ่ ย่างเข้าเดือนพฤษภาคม(ฤดูฝน) จะมีนำ�้ ไหลมาจากยอดควน กัดเซาะจนเป็นร่องลึก น�้ำเย็น มีน�้ำขังตลอดปี ประมาณ พ.ศ. 2510 พ่อท่านเปลี่ยนด�ำริจะท�ำน�้ำประปามาใช้ในวัดและโรงเรียน(อยู่หน้าวัด) เหตุเพราะพระภิกษุสามเณรใช้บ่อน�้ำหน้าวัดร่วมกับชาวบ้านดูแล้ว ไม่เหมาะสม จึงด�ำเนินการขุด ตกแต่ง โดยใช้อิฐมอญท�ำเป็นขอบบ่อเพื่อ เก็บกักน�ำ้ ไว้ และต่อท่อประปาลงมาใช้ภายในวัด และโรงเรียน ซึง่ ชาวบ้าน นับถือกันว่าเป็น “บ่อน�้ำศักดิ์สิทธิ์” ที่เกิดขึ้นในสมัยโบราณ น�้ำดังกล่าว ก็สามารถน�ำมาอาบ หรือดื่มกินได้ เพื่อความเป็นสิริมงคล บางรายหาย จากโรคภัยไข้เจ็บด้วย
234 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 234
10/1/2561 02:48:25 PM
พระเครื่องประจ�ำวัด เหรียญพ่อท่านเปลี่ยน รุ่น 1 สร้างเมื่อพ่อท่านอายุครบ 72 พรรษา พ.ศ. 2520 เชื่อกันว่า มีอทิ ธิฤทธิป์ าฏิหาริยม์ ากมาย อยู่ในท�ำเนียบพระเครื่องดัง ของภาคใต้ ปัจจุบันหายาก
พระลอยองค์พอ่ ท่านเปลีย่ น และเหรี ย ญ รุ ่ น สมโภช วิสุทธิเจดีย์ พ.ศ. 2559
อานิสงส์แห่งการให้ทาน 5 ประการ
1. ผู้ให้ทาน ย่อมเป็นที่รัก ที่ชอบใจของชนหมู่มาก 2. สัปปบุรุษผู้สงบ ย่อมคบหาผู้ให้ทาน 3. กิตติศัพท์อันงามของผู้ให้ทาน ย่อมขจรทั่วไป 4. ผู้ให้ทาน ย่อมไม่ห่างเหินจากธรรมของคฤหัสถ์ 5. ผู้ให้ทาน เมื่อตายไปแล้ว ย่อมเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์
ผู้ให้ของที่พอใจ ผู้ให้ของที่เลิศ ผู้ให้ของที่ดี ผู้ให้ของที่ประเสริฐ
มนาปทยีสูตร
ย่อมได้รับของที่พอใจ ย่อมได้รับของที่เลิศ ย่อมได้รับของที่ดี ย่อมได้รับของที่ประเสริฐ
งานประจ�ำปี
1. ฉลองวิสุทธิฯเจดีย์ แรม 15 ค�่ำ เดือนสิบทุกปี 2. สงกรานต์ 3. แห่ผ้าบูชาครู วันมาฆบูชา
การติดต่อเพื่อร่วมบุญ
1. พระปลัดส�ำราญ ธมฺมวโร เจ้าอาวาส 085-688-6363 2. อาจารย์อุดมศักดิ์ แสงอรุณ 085-798-0821 ไวยาวัจกร 3. ธนาคาร ธกส. สาขา จุฬาภรณ์ “วัดสมควร” 018172833310 4. ธนาคารออมสิน สาขาร่อนพิบลู ย์ “วัดสมควร” 020184307633 และเบอร์โทรของวัด 085-688-6363 NAKHON SI THAMMARAT 235 .indd 235
10/1/2561 02:48:33 PM
บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัWatดวัWangkong งฆ้อง พระครูบัณฑิตธรรมรัต (มานิตย์ ปณฺฑิโต) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส วัดวังฆ้อง ต.สามต�ำบล อ.จุฬาภรณ์ จ.นครศรีธรรมราช เป็นวัดเก่าแก่ สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ท่านผู้รู้กล่าวต่อๆ กันมาพอที่จะปรารภได้ว่า เมื่อปี พ.ศ.2310 ไทยเสียกรุงแก่พม่า มีบุคคลกลุ่มหนึ่งมีเชื้อสายเจ้า มีศักดิ์เป็นหม่อมสองพี่น้อง ชื่อเดิมไม่ทราบ แต่มีคนเรียกว่า หม่อมเณรใหญ่ - น้อย 236 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 236
10/1/2561 02:52:01 PM
จังหวัดหนองบัวล�ำภู
ปัจจุบันวัดวังฆ้องมีเจ้าอาวาสกี่รูปยังหาหลักฐานไม่ได้ อาจารย์ ไสว วังปรีชา ผู้บันทึกไว้เท่าที่มีผู้รู้ ได้ค้นคว้ามามีดังนี้ 1. พ่อท่านแก่นจันทร์ 8. พระมะเน็จ 2. พ่อท่านยอดทอง 9. พระใบฎีการัตน์ 3. พ่อท่านอาจารย์เดช 10. พระครูพิบูลย์วิริยคุณ 4. พ่อท่านอาจารย์ชู ฆงฺสโร 11. พระครูศาสนกิจพิบูลย์ 5. พระช่วย 12. พระมหาบุญช่วย ปคุโณ 6. พระแก้ว 13. พระมหาสมพล 7. พระเพ็จ 14. พระปลีดศุภัฑฒกร ปสุโต
หม่อมเณรใหญ่ ซึ่งเป็นตระกูลชัยพลบาล มีโอรส 1 องค์ คือ หม่อมชัยพลบาล ได้น�ำพลทั้งหมดประมาณ 200 คน หนีพม่าลงมา ทางใต้ จนกระทั่งวันหนึ่งใกล้ค�่ำ หม่อมเณรทั้งสอง สั่งให้บริวารท�ำเพิง ที่ ห ลั บ นอน เสร็ จ ค�่ ำ พอดี ฝ่ า ยผู ้ ห ญิ ง ที่ ติ ด มาด้ ว ยไม่ ไ ด้ หุ ง ข้ า วดั ง ที่ ปฏิบัติมา เพราะไม่มีน�้ำ จึงต้องนอนอดข้าวจนถึงเวลาดึก กลุ่มที่มา ได้ยินเสียง กง ร้องอยู่ทางทิศใต้ของที่พัก หม่อมเณรทั้งสอง สั่งให้ บ่าวไพร่ออกไปหาตามเสียงร้องของกง พบล�ำน�ำ้ ใหญ่นำ�้ ใส (คลองวังฆ้อง) จึงใช้น�้ำท�ำกับข้าวกินกันในคืนนั้น พอรุ ่ ง เช้ า หม่ อ มเณรให้ ไ ปส� ำ รวจรอบๆ ที่ พั ก และล� ำ ธารใหญ่ เห็นเหมาะสม จึงสั่งให้ทหารจัดปลูกสร้างที่พักอย่างถาวรขึ้น เพื่อ เป็นการยกเจ้านาย คนทั้งหลายเรียกที่พักว่า “วัง” เรียบร้อยแล้ว
หม่อมเณรจึงสั่งให้ลูกทั้งสามน�ำทหารไปส�ำรวจที่ไกลออกไปเพื่อหา ที่เบิกท�ำนา หม่อมไพนารถ ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ปัจจุบัน (วังใส) หม่อมบุญไปทิศออกเฉียงใต้บุกเบิกที่ท�ำนา (ปัจจุบันชื่อบ้านใน วัง จ.ควนหนองหงส์) หม่อมชันพลบาลไปทิศตะวันออกอยูต่ รงกลางพีท่ งั้ สอง ส่วนหม่อมกลับมาพักในวัง เวลามีการประชุมจึงใช้ฆ้องใบใหญ่ตี คนจึงเรียกวังนี้ว่า “วังฆ้อง” เมื่ อ ปี พ.ศ. 2314 พระเจ้ า ตากได้ ย กทั พ มาปราบเมื อ งนคร หม่อมเณรทั้ง 2 ทราบ จึงขอเฝ้า ขอพึ่งบารมี และขออยู่กินแบบสามัญ พระเจ้ า ตากอนุ ญ าต และต่ อ มาได้ เ สี ย ชี วิ ต ลู ก ได้ ท� ำ ตามประเพณี ที่กลางวัดฆ้อง เก็บอัฐิไว้เรียบร้อย หม่อมทั้ง 3 ได้อุทิศวังของบิดา ให้เป็นวัด นิมนต์พระมาอยู่ และให้ใช้ชื่อว่า “วัดวังฆ้อง” ถึงปัจจุบัน
NAKHON SI THAMMARAT 237 .indd 237
10/1/2561 02:52:10 PM
บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดโพธิวงศาราม (ทุ่งโพธิ์)
Wat Phothiwongsaram (Thung Pho) พระครูโพธยานุรักษ์ เจ้าคณะอ�ำเภอจุฬาภรณ์ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
วั ด โพธิ ว งศาราม (ทุ ่ ง โพธิ์ ) ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 136/1 บ้ า นทุ ่ ง โพธิ์ หมู่ที่ 3 ต�ำบลทุ่งโพธิ์ อ�ำเภอจุฬาภรณ์ จังหวัดนครศรีธรรมราช ตั้งเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม 2517 เดิมเรียกวัดทุ่งโพธิ์ ตามสถานที่ตั้งวัด เนื่ อ งจากมี ต ้ น โพธิ์ ขึ้ น อยู ่ ม าก และปั จ จุ บั น เปลี่ ย นชื่ อ วั ด เป็ น “วั ด โพธิ ว งศาราม” ได้ รั บ พระราชทานวิ สุ ง คามสี ม า เมื่ อ วั น ที่ 24 มิถุนายน 2522
การพัฒนาประเทศชาติที่เป็นบุญเป็นกุศลยิ่งใหญ่ที่สุด คือ การพัฒนาคน
วั ด โพธิ ว งศาราม (ทุ ่ ง โพธิ์ ) เป็ น วั ด พั ฒ นาคน เริ่ ม โครงการ พัฒนาคนเมื่อปี พ.ศ.2525 ปีฉลองสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี จนถึงปัจจุบัน ร่วม 35 รุ่นที่ผ่านมา โดยมุ่งเน้นเยาวชนที่ด้อยโอกาส ทางสังคมเพื่อการศึกษาทางเลือกในโรงเรียนพระปริยัติธรรมสามัญ และ บาลี 238 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย (
).indd 238
10/1/2561 02:55:21 PM
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
จังหวัดหนองบัวล�ำภู
การศึกษาและกิจกรรมภายในวัด
วัดโพธิวงศาราม (ทุ่งโพธิ์) เป็นวัดเล็กๆ ในชนบท ที่จ�ำเป็นต้องยืนด้วยตัวเอง มาตลอดเวลา 35 ปี ที่ผ่านมา จะท�ำอย่างไรให้คนไทยสืบทอดอายุพระพุทธศาสนา เห็นความส�ำคัญในการพัฒนาคนให้มากกว่านี้ เพือ่ น�ำประเทศชาติให้สงบ รุง่ เรือง และ สมบูรณ์ด้วยสันติภาพ สันติสุขที่แท้จริงได้ การพัฒนาประเทศชาติที่เป็นบุญเป็นกุศล ยิง่ ใหญ่ทสี่ ดุ คือ การพัฒนาคน โดยเริม่ จากเด็กและเยาวชนลูกหลานของเรา โดยเฉพาะ คนที่ด้อยโอกาส ที่ถูกทอดทิ้งแถวชนบท ซึ่งยากที่จะให้สังคมส่วนใหญ่ที่เขามี ความสมบูรณ์ในทุกด้าน เข้าใจและคิดว่านี่คือปัญหาที่ต้องช่วยกันแก้ไขอย่างจริงใจ และพร้อมยืน่ มือเข้ามาช่วยเหลือด้วยความจริงใจ อย่างเป็นรูปธรรมทีต่ อ่ เนือ่ ง ขอเชิญชวน ท่านทั้งหลายที่มีบารมี มีทรัพย์ มีศรัทธา ได้เข้ามาอาสารับตั้งทุนตามโครงการ แบบถาวร เพื่อประกันความมั่นคงเพื่ออนาคตต่อไป
ในแต่ละปีทางวัดได้จัดท�ำโครงการเพื่อเยาวชน ในช่วงปิดภาคเรียน ตามโครงการ “ปิดเทอม ฝากลูก ฝากหลานไว้กบั วัด” เพือ่ เข้าบรรพชา เป็นเวลา 1 เดือน โดยมุ ่ ง ประชาสั ม พั น ธ์ เ ยาวชน 2 ความประสงค์ ในโครงการเดียวกันในแต่ละรุ่น คือ เยาวชนส่วนหนึ่ง เข้ า โครงการบรรพชาการเพี ย ง 1 เดื อ น ในช่ ว ง ปิดภาคเรียน เยาวชนส่วนหนึ่งประสงค์บรรพชาเพื่อ การศึ ก ษาในระดั บ สู ง ขึ้ น ไปโดยไม่ จ� ำ กั ด เวลา ซึ่ ง แต่ละรุ่น (ปี) จะมีเยาวชนเข้าร่วมโครงการประมาณ 80 - 100 คน ที่คงเหลืออยู่เมื่อจบโครงการ ส่วนที่มี ความประสงค์ศึกษาต่อที่วัดอีกประมาณ 30 - 40 รูป ซึ่งทางวัดก็ดูแล อบรม ส่งเสริม สนับสนุน ให้ได้รับ การศึกษาตามความประสงค์ เป็นระยะเวลาอย่างต่อเนือ่ ง 35 ปี แล้ว ที่ต้องใช้ทุนด�ำเนินการแต่ละรุ่นประมาณ 300,000 บาท
เพือ่ ให้เป็นไปตามพระราชด�ำรัส พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช รั ช กาลที่ 9 สร้ า งพระเณร สื บ ทอดพระพุ ท ธศาสนา แก้ ป ั ญ หาเยาวชน ดั ง พระราชด�ำรัส เมื่อวันที่ 13 เมษายน 2516 ตอนหนึ่งว่า
จากการท� ำ งานพั ฒ นาคนที่ ต ่ อ เนื่ อ ง พบว่ า ประเทศไทยในฐานะนับถือพุทธศาสนาเป็นส่วนใหญ่ มาช้านาน แต่ความเข้าใจในการบ�ำรุงพระศาสนา มักเน้นหนักเพียงด้านเดียว คือ เน้นแต่พัฒนาวัตถุ เสียส่วนใหญ่ เราต่างมีศรัทธาแต่มกั ขาดปัญญา ทีม่ งุ่ หวัง ตรงต่อการสืบทอดอายุพระพุทธศาสนาทีแ่ ท้จริง วัดต่างๆ ในประเทศไทย ทีม่ งุ่ เน้นงานพัฒนาคนเป็นหลักส�ำคัญ จึงขาดศรัทธาที่จะมาร่วมกันสนับสนุนงานดังกล่าว ส่วนวัดต่างๆ ที่มุ่งงานก่อสร้างวัตถุสามารถระดม ปัจจัยศรัทธาได้เป็นหลายสิบล้านในเวลาไม่นานนัก ในขณะทีว่ ดั ต่างๆ ทีม่ งุ่ เน้นงานพัฒนาคนเป็นงานหลัก ทุนปัจจัยศรัทธาหาได้ยากมาก ที่จะน�ำมาต่อยอด ในแต่ ล ะรุ ่ น การด� ำ รงอยู ่ ข องสามเณรที่ เข้ า มาสู ่ การศึกษาทางเลือกนีจ้ งึ ขาดการสนับสนุนอย่างต่อเนือ่ ง วัดโพธิพงศาราม (ทุ่งโพธิ์) พบปัญหานี้มาโดยตลอด เวลาที่ด�ำเนินงานด้านนี้
การแก้ปัญหาเยาวชน...จะท�ำได้อย่างดี ควรจะได้แก่การปลูกฝังความคิด จิตใจทีส่ จุ ริต และส่งเสริมความประพฤติทดี่ งี ามต่างๆ ในการนีม้ จี ดุ ส�ำคัญทีเ่ ป็น หลักปฏิบัติอยู่ ที่จะต้องพิสูจน์ว่า การท�ำสิ่งที่ดีงามนั้นไม่ใช่ของที่พ้นสมัยหรือ ทีน่ า่ กระดากอาย หากเป็นของทีท่ กุ คนท�ำได้ไม่ยาก และให้ผลตอบแทนอย่างคุม้ ค่า เพราะความดีนนั้ ทรงค่าและทรงผลดีอยูต่ ลอดกาลมิได้เปลีย่ นแปลง มีแต่คา่ นิยม ในความดีเท่านัน้ ทีเ่ ปลีย่ นแปลงไปท่านทัง้ หลายควรส�ำรวจความคิดความเข้าใจ ของท่านในเรือ่ งเหล่านี้ ด้วยความสุจริตใจให้กระจ่าง แล้วหาทางอธิบายแก่ผอู้ นื่ ด้วยเหตุผลอย่างเหมาะสม ทั้งต้องเพียรพยายามท�ำอยู่ตลอดไปโดยไม่ท้อถอย เชื่อว่า ถ้าได้ร่วมมือพร้อมเพรียงกันจริงๆ แล้ว จะสามารถแก้ปัญหาน่าวิตก ได้อย่างมากที่สุด
สามารถติดตาม www.watthungpho.com และร่วมสนับสนุนโครงการสร้างคน เพื่อคนสร้างชาติ ได้ที่ ชื่อบัญชี วัดโพธิวงศาราม ธนาคารกรุงเทพฯ สาขาร่อนพิบูลย์ เลขบัญชี 448-027378-0 โทร 061-695-8682
NAKHON SI THAMMARAT 239
(
).indd 239
10/1/2561 02:55:25 PM
บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดเขาขุนพนม Wat Khao Khun Phanom พระครูปิยคุณาธาร ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส ปูชนียวัตถุ - สถานที่ส�ำคัญ ตั้งอยู่ที่ต�ำบลบ้านเกาะ อ�ำเภอพรหมคีรี จังหวัดนครศรีธรรมราช (ห่างจากตัวเมือง 24 กิโลเมตร) มีเนื้อที่ 35 ไร่
ประวัติวัดเขาขุนพนม
สถานที่แห่งนี้มีเรื่องราว และร่องรอยความส�ำคัญทางประวัติศาสตร์ โดยเฉพาะความเกี่ยวเนื่องต่อชีวิตบั้นปลายของสมเด็จพระเจ้าตากสิน มหาราช จากหลักฐานทีค่ น้ พบ มีความเป็นไปได้วา่ สมเด็จพระเจ้าตากสิน มหาราช ไม่ได้ถูกประหารชีวิตด้วยท่อนจันทร์หรือมีจิตวิปลาส หากแต่ พระองค์ทรงครองเพศบรรพชิตเป็น “พระภิกษุสิน” และได้ปฏิบัติธรรม เจริญวิปัสสนากรรมฐาน ที่วัดเขาขุนพนม หรือชื่อเดิมคือ “วัดคุมพนม” ซึง่ สร้างขึน้ (ผูกพัทธสีมา) เมือ่ ปี พ.ศ. 2330 ได้รบั วิสงุ คามสีมา เมือ่ ปี พ.ศ.2360
สระน�้ำโบราณ หรือ “สระนางเลือดขาว” อยู่ติดกับประตูทางเข้าวัด ตามต�ำนานกล่าวว่า สระน�ำ้ แห่งนี้สร้างไว้ ส�ำหรับบาทบริจา นางสนมกรมใน หรือที่ชาวบ้านเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “แม่ชดุ ขาว” (หญิงทีต่ ามเสด็จพระเจ้าตากสิน) ใช้ชำ� ระกายกัน และเชือ่ ว่า “นางเลือดขาว” คือ “หม่อมปราง” นัน่ เอง ทีเ่ รียกเช่นนัน้ เพราะมีผวิ ขาวด้วย มีเชื้อสายจีนฝ่ายมารดา ต้นน�้ำถูกปล่อยลงมาทางเชิงเขาขุนพนมนั่นเอง ต�ำหนักสมเด็จพระสังฆราช องค์ที่ ๑๙ พระญาณสังวร สกลสังฆมหาปรินายก สร้างขึน้ เมือ่ ปี พ.ศ.2540 - 2542 เป็นเรือนรับรองพระราชาคณะ และ พระเถระชัน้ ผูใ้ หญ่ สมเด็จพระสังฆราชองค์ปจั จุบนั เคยเสด็จมาประทับทีน่ ี่ ถึงสองครั้งแล้ว
240 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 240
10/1/2561 02:58:16 PM
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
จังหวัดหนองบัวล�ำภู
ถ�้ำพระเจ้าตาก (ถ�้ำเขาขุนพนม) เป็นเพิงผาขนาดใหญ่ ปากถ�ำ้ หันไปทางทิศตะวันออก มีบนั ไดพญานาค เป็นทางขึน้ ถ�ำ้ ทัง้ หมด 245 ขัน้ พืน้ ทีบ่ ริเวณเพิงผาปัจจุบนั ได้ปรับปรุงเป็น ทีว่ ปิ สั สนากรรมฐาน
พระบรมอนุสาวรีย์สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช วั ด เขาขุ น พนมพร้ อ มด้ ว ยประชาชนผู ้ มี จิ ต ศรั ท ธาต่ อ องค์ ส มเด็ จ พระเจ้าตากสินมหาราชได้รว่ มกันจัดสร้างไว้ทวี่ ดั เขาขุนพนม และก�ำหนดให้ ทุกวันที่ 28 ธันวาคม ของทุกปี เป็นวันถวายพวงมาลาสักการะองค์สมเด็จ พระเจ้าตากสินมหาราช ท�ำพิธีสักการะสิ่งศักดิ์สิทธ์พร้อมกับท�ำบุญอุทิศ ถวายให้อดีตเจ้าอาวาสของวัดเขาขุนพนมที่ผ่านมา พระต�ำหนักสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ตัง้ อยูบ่ ริเวณชะง่อนหินใกล้เชิงเขา บริเวณแห่งนีเ้ ชือ่ กันว่าเป็นทีป่ ระทับขณะทรงผนวชอยู่ แต่กฏุ หิ ลังเดิมหักพังจนไม่สามารถสันนิษฐานสภาพเดิมได้ ปีพ.ศ.2538 ทางวัดได้ก่อสร้างพระต�ำหนักใหม่เป็นศาลาโถงภายในประดิษฐานพระบรมสาทิสลักษณ์สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชเพื่อระลึกบูชา โบสถ์มหาอุต เป็นอาคารก่ออิฐถือปูน หลังคามุงกระเบื้อง ดินเผา มีขนาดเล็ก ฐานโบสถ์กว้าง 5.30 เมตร ยาว 11.20 เมตร ยกพืน้ สูง 1.75 เมตร หลังคาจัว่ ไม่มีช่อฟ้าใบระกาและหางหงส์ประดับ มีบันได ทางขึน้ และประตูอยูท่ างด้านทิศตะวันออกเพียง ด้านเดียว ส่วนผนังด้านทิศใต้เป็นผนังทึบ ไม่มี หน้าต่าง เชือ่ ได้วา่ สร้างเพือ่ ประกอบกิจทางศาสนา และเก็บพระบรมศพของสมเด็จพระเจ้าตากสิน ในปี พ.ศ. 2330
มณฑปพ่อท่านกลาย วิปูโล (พระครูวิบูลย์พนมรักษ์) พ่อท่านกลายเป็นผูเ้ ข้ามาบูรณปฏิสงั ขรณ์วดั เขาขุนพนม ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2498 หลังจากทีว่ ดั ร้างมาหลายปี เป็นผูค้ น้ พบพระพุทธรูปจากถ�ำ้ ต่างๆ ในเขาขุนพนมมากมาย ทัง้ ทีเ่ ป็นพระพุทธรูป ทองค�ำและพระพุทธรูปเงินยวง ในปี พ.ศ. 2502 พ่อท่านกลายได้เดินเท้าเพื่อไปรับเสด็จ สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดชทีน่ ำ�้ ตกพรหมโลก และได้ถวายพระพุทธรูปเงินยวง ที่พ่อท่านกลายได้รับนิมิตจากเทวดาให้ไปน�ำมาเพื่อถวายแด่กษัตริย์ผู้ซึ่งมีบารมีสูงสุด พ่อท่านกลายได้มรณภาพ เมื่อปี พ.ศ. 2536 รวมสิริอายุได้ 94 พรรษา มณฑปพ่อท่านกลาย สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2548 เป็นที่เก็บรักษาสรีระของพ่อท่านกลาย ซึ่งบรรจุอยู่ในโลงแก้ว
.indd 241
NAKHON SI THAMMARAT 241 10/1/2561 02:58:28 PM
บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วั ด พรหมโลก Wat Prom Lok
พระครูบรรหารวุฒิชัย (พ่อท่านณรงค์ชัย ปญฺญาวุฑฺโฒ) เจ้าอาวาสวัดพรหมโลก และเจ้าคณะอ�ำเภอพรหมคีรี
วัดพรหมโลก มีพื้นที่ประมาณ 17 ไร่ ทิศเหนือ ติดต่อกับ ถนนสายน�้ำตกพรหมโลก บ้านนอกท่า ทิศใต้ ติดต่อกับ ถนนสายบ้านปลายอวน ทิศตะวันออก ติดต่อกับ โรงเรียนวัดพรหมโลก ทิศตะวันตก ติดต่อกับ โรงพยาบาลพรหมคีรี ตั้ ง อยู ่ ที่ บ ้ า นนอกท่ า หมู ่ ที่ 1 ต� ำ บลพรหมโลก อ�ำเภอพรหมคีรี จังหวัดนครศรีธรรมราช
ธรรมโอสถ สยบพิษงู
เผยแพร่ธรรมะ ชี้ทางสว่าง ส�ำหรับผู้ที่ต้องการที่พึ่งทางใจ เสียงสวดมนต์ที่นี่ ไม่เคยจางหาย ทั้งเช้าและเย็น 242 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 242
10/1/2561 03:08:25 PM
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
ประวัติความเป็นมา
ในสมั ย สงคราม 9 ทั พ ภายใน ตั ว เมื อ งจั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช มี พ ระสงฆ์ รู ป หนึ่ ง ชื่ อ ขรั ว สี ท อง อยู่วัดพระสูง ในปัจจุบันวัดพระสูง เหลือเพียงพระสูงริมสนามหน้าเมือง พระภิกษุขรัวสีทองได้รวบรวมพรรคพวก หนีความวุ่นวายมาตั้งหลักแหล่งบริเวณ วัดพรหมโลกในปัจจุบนั อันเนือ่ งมาจากเนือ้ ที่ ในอาณาบริเวณทั้ง 4 เป็นทุ่งนา จึงได้ตั้งชื่อ วัดนี้ว่า “วัดหัวทุ่ง” ต่อมาวัดหัวทุ่งได้ร้าง ไประยะหนึ่ง จึงมีการบูรณะวัดขึ้นมาใหม่ เรียกว่า วัดพรหมโลก สร้างเมื่อปีพ.ศ. 2325 ภายในวัดมีภาพจิต กรรมฝาผนังตั้งแต่เริ่มสร้างวัด มีรูปปูนปั้น หลวงปูพ่ รหมโลกศักดิส์ ทิ ธิ์ ซึง่ เป็นพระพุทธรูป เก่าแก่ทผี่ คู้ นเคารพนับถือ ภายในวัดมีการให้ พยาบาลผู้ถูกงูพิษกัด โดยการใช้ยาสมุนไพร วัดพรหมโลก ก็เป็นเฉกเช่นวัดอื่นๆ ที่ท�ำ หน้าที่เผยแพร่ธรรมะและชี้ทางสว่างให้กับ ผู้ที่ต้องการที่พึ่งทางใจ เสียงสวดมนต์ไม่เคย จางหายทั้งเช้าและเย็น ท่ามกลางวิถีแห่งวัด ที่ ด� ำ เนิ น ไปตามปกติ ที่ นี่ ก ลั บ มี ลุ ง สมนึ ก จันทรประสูตร หมอรักษาพิษวัยชรา คอยตอบ ค�ำถามผู้คนที่สงสัยว่าท�ำไมไม่ขึ้นไปท�ำบุญ บนศาลาบ้าง แม้จะไม่มปี ริญญาแพทย์ศาสตร์ บัณฑิต ไม่มแี ม้ใบประกาศหลักสูตรวิชาชีพใด ๆ แต่สิ่งที่ลุงสมนึกท�ำมาตลอด 20 ปีที่ผ่านมา คือการศึกษาค้นคว้าต�ำรับต�ำรายาสมุนไพร รักษาผู้ที่ถูกงูกัดแบบไม่มีวันหยุด ลุ ง สมนึ ก เรี ย นรู ้ วิ ธี ก ารรั ก ษาผู ้ ถู ก งู กั ด มาจากพี่ ช าย คื อ พระครู วุ ฑ ฒิ ธ รรมสาร อดีตเจ้าอาวาสวัดพรหมโลก เมือ่ ปี 2530 ทัง้ ช่วย เก็บสมุนไพร ปรุงยา สังเกตอาการ และรักษา ผู้ที่ถูกงูกัด จนเกิดความช�ำนาญจนกระทั่ง พระพี่ชายมรณภาพ จึงรับหน้าที่หมอรักษา พิษงูเต็มตัว ลุ ง สมนึ ก เชี่ ย วชาญด้ า นการรั ก ษาแผล ทีเ่ น่าเปือ่ ยจากพิษของงูกะปะ คนไข้หลายราย ไม่ต้องกลายเป็นคนพิการเพราะภูมิปัญญา การใช้สมุนไพรของลุง ถึงใช้สมุนไพรในการรักษา แต่ ลุ ง สมนึ ก ก็ ไ ม่ เ คยต่ อ ต้ า นการฉี ด เซรุ ่ ม เพราะหมองูแห่งบ้านพรหมโลกเชือ่ ว่าวิธรี กั ษา ไม่ส�ำคัญเท่าการได้ช่วยชีวิตคน วิธีไหนก็ได้ ขอให้คนไข้รอดตายก็พอ NAKHON SI THAMMARAT 243 .indd 243
10/1/2561 03:08:33 PM
อาคารเสนาสนะ ที่ส�ำคัญ
อุโบสถของวัด เป็นอุโบสถประดับแก้วสีฟา้ และขาว วิจติ ร งดงามมาก ส�ำนักรักษาพิษงู ด้วยยาสมุนไพร มีหมอสมนึก จันทรประสูตร เป็นผู้รักษาโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ชื่อเสียงโด่งดังจนมีสารคดีและรายการ คนค้นคนมาท�ำเป็นสารคดี พระประธานในอุโบสถของวัด องค์ทปี่ ระดิษฐานบนบุษบก เป็นเนือ้ หิน แม่นำ�้ โขงแกะสลัก ส่วนพระพุทธรูปบนโต๊ะหมูม่ อี งค์หนึง่ ทีม่ เี พียงครึง่ องค์ เท่านั้น หลักฐานทางประวัติศาสตร์และโบราณคดี โยนิ สลักด้วยหินปูน เป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ขนาดกว้างด้านละ 54.50 เซนติเมตร ตรงกลาง สลักเป็นช่องรูปทรงกลมรี เพื่อการประดิษฐานศิวลึงค์ ที่ขอบของโยนิ ทุกด้านสลักเป็นขอบนูนขึน้ มา โดยขอบนีไ้ ด้เชือ่ มต่อกับร่องน�ำ ้ ซึง่ แตกหัก สูญหายไปจากรูปแบบทางศิลปะอาจจะสันนิษฐานได้วา่ โบราณวัตถุชนิ้ นี้ มีอายุอยู่ในราวพุทธศตวรรษที่ 12-14
ศาลาอดีตเจ้าอาวาสวัดพรหมโลก ได้จดั สร้างไว้อย่างสวยงาม เหมาะแก่การเคารพ บูชา ซึ่งมีการปั้นรูปเหมือนอดีตเจ้าอาวาส 3 รูป คือ 1. พ่อท่านขรัวสีทอง ปฐมเจ้าอาวาส ซึ่งตามหลักฐานระบุว่าอยู่ในช่วงปี พ.ศ. 2325 - 2345 2. พ่อท่านพระสมุห์เกลื่อน ฐิตเตโช เจ้าอาวาสในช่วงปี พ.ศ. 2423 - 2495 3. พ่อท่านพระครูวุฑฒิธรรมสาร (สมปอง) เจ้าอาวาสในช่วงปี พ.ศ. 2498 - 2536
การเดินทาง
วัดพรหมโลก ตัง้ อยูใ่ กล้กบั อ�ำเภอพรหมคีรี อยูห่ า่ งจากตัวจังหวัด นครศรีธรรมราช ไปทางทิศเหนือ ตามถนนสายนครศรีธรรมราชนบพิตำ � ประมาณ 22 กิโลเมตร เมือ่ มาถึงสีแ่ ยกบ้านนอกท่าเลีย้ วซ้าย ตามถนนสายบ้านนอกท่า น�ำ้ ตกพรหมโลกเข้าไปประมาณ 500 เมตร ก็จะถึงวัดพรหมโลกซึ่งจะอยู่ทางซ้าย
หลักฐานด้านสถาปัตยกรรมที่ส�ำคัญ พระอุโบสถ ตั้งอยู่บริเวณ ด้านหลังโรงธรรมของวัดมีขนาดกว้างประมาณ 6 เมตร ยาวประมาณ 18 เมตร สูงประมาณ 10 เมตร รอบๆ มีใบเสมาปักแสดงเขตพัทธสีมา ของวัด กุฏิ สร้างแบบทรงปั้นหยาตามแบบสถาปัตยกรรมทางภาคใต้ และ ยังมีกุฏิที่พักสงฆ์ซึ่งสร้างตามแบบสมัยปัจจุบันอีกหลายหลัง สถานรักษาผู้ถูกงูพิษกัด ได้มาสร้างเพื่อใช้เป็นที่รักษาผู้ถูกงูกัด ในวัดนีเ้ มือ่ ก่อนเจ้าอาวาสรูปก่อนคือพระครูวฑุ ฒิธรรมสาร หรือทีช่ าวบ้าน เรียกกันว่าอาจารย์สมปอง เป็นผู้เชี่ยวชาญการใช้ยาสมุนไพรรักษา ผูบ้ าดเจ็บจากการถูกงูกดั มา ซึง่ จะมีผปู้ ว่ ยนอนพักรักษาอยูเ่ ป็นจ�ำนวนมาก โรงธรรม ส�ำหรับประกอบศาสนพิธที สี่ ำ� คัญของวัดและเป็นทีป่ ระชุม ต่างๆ ของชาวบ้านใกล้เคียงและภายในมีภาพเขียนเรื่องราวประวัติ ความเป็นมาของวัดในอดีต ซุ้มประตูวัด สร้างด้วยปูนปั้นประดับแก้วสีต่างๆ 244 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 244
10/1/2561 03:08:36 PM
NAKHON SI THAMMARAT 245 .indd 245
10/1/2561 03:08:37 PM
บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดกระดังงา Wat Kradungnga
พระครูพิพัฒนสีลานุกูล เจ้าคณะอ�ำเภอขนอม ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส วัดกระดังงา สามารถเดินทางจากทางหลวงสาย 401 (สุราษฎร์ฯนครศรีฯ) ถึงแยกคลองเหลง (มีรูปปั้นปลาโลมา) เลี้ยวซ้ายเข้าทางหลวง หมายเลข 4014 ซึ่งเป็นเส้นทางเข้าสู่เมืองขนอม ประมาณ 14 กิโลเมตร ถึงตลาดสี่แยกขนอม ให้เลี้ยวขวาเพื่อไปยังทางเข้าวัดกระดังงา มีป้าย บอกชัดเจน ตรงไปประมาณ 400 เมตรก็จะถึงวัดกระดังงา
246 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 246
11/1/2561 12:03:07 PM
วัดกระดังงา ต�ำบลขนอม อ�ำเภอขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นวัดที่อยู่คู่เมืองขนอมมานาน เชื่อกันว่าสร้างมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา มีพระประธานเป็นพระพุทธรูปสมัยอยุธยาประดิษฐานอยู่ภายในอุโบสถ มีภาพเขียนพุทธประวัติฝีมือวิจิตรบรรจงตกแต่งในอุโบสถอย่างสวยงาม และมีโบราณวัตถุที่น่าสนใจมากมาย โดยเฉพาะเครื่องถ้วยชาม เป็นต้น
พระเกจิอาจารย์ชอื่ ดัง คือ พระครูกนั ตสีลาภิวฒ ั น์ เปีย้ น กันตสีโล อดีตเจ้าอาวาส เป็นประธานในการสร้างพระอุโบสถ และให้ศิลปิน ภาพวาดพุทธประวัติตั้งแต่ประสูติ ตรัสรู้อนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ ในวันเพ็ญ เดือน 6 ขณะมีพระชนมายุ 35 พรรษา ในระหว่างเวลา 45 ปี แห่งการบ�ำเพ็ญพุทธกิจ จวบจนทรงดับขันธปรินิพานเมื่อพระชนมายุ 80 พรรษานั้น พระพุทธเจ้าได้เสด็จไปประทับจ�ำพรรษา ณ สถานที่ ต่างๆ ซึ่งได้ประมวล พร้อมทั้งเหตุการณ์ส�ำคัญบางอย่างอันควรสังเกต เพื่ อ เป็ น อนุ ส ติ ส� ำ หรั บ ผู ้ ที่ เ ดิ น ทางมาเที่ ย วชมวั ด และปฏิ บั ติ ธ รรม ดังเช่น พรรษาที่ 1 ภายหลังจากพระองค์ตรัสรูอ้ นุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ แล้วพระองค์ทรงประทับเสวยวิมุตติสุข คือสุขอันเกิดแต่ความหลุดพ้น จากกิเลส อาสวะ และปวงทุกข์ ณ ริมฝั่งแม่น�้ำเนรัญชรา เป็นเวลา 7 สัปดาห์ จากนั้นพระพุทธเจ้าเสด็จด�ำเนินไปยังป่าอิสิปต้นมฤคทายวัน
เพื่อแสดงปฐมเทศนา “ธัมมจักรกัปปนวัตตนสูตร” พระสูตรที่อธิบาย ให้กับปัญจวัคคีย์ทั้ง 5 เกี่ยวกับทางสายกลางที่น�ำไปสู่ความพ้นทุกข์ คื อ อริ ย มรรคมี อ งค์ แ ปดประการ ท� ำ ให้ เ กิ ด มี ป ฐมสาวกและ พระอริยบุคคลคือ พระอัญญาโกณฑัญญะ เกิดสังฆรัตนะ ครบองค์ พระรัตนตรัย มีพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ โดยบริบูรณ์ ในวันเพ็ญ เดือน 8 อันเป็นที่มาของวัน “อาสฬบูชา” ในพรรษาที่ 5 พระพุทธเจ้าทรงจ�ำพรรษาที่กูฏาคาร ณ ป่ามหาวัน นครเวสาลี (ไพศาลี) ในกาลนี้พระองค์ทรงเสด็จจากกูฏาคารไปโปรด พระพุทธบิดาที่กรุงกบิลพัสดุ์ และโปรดพระญาติทั้งฝ่ายศากยวงศ์ และโกลิยวงศ์ ที่วิวาทเรื่องแย่งน�้ำในแม่น�้ำโรหิณีเพื่อการเกษตรกรรม โดยประทั บ ที่ นิ โ ครธารามอั น เป็ น พระอารามที่ พ ระญาติ ท รงสร้ า ง ถวายอยู่ใกล้กรุงกบิลพัสดุ์ NAKHON SI THAMMARAT 247
.indd 247
11/1/2561 12:03:09 PM
กระทัง่ ถึงพรรษาสุดท้าย ก่อนปรินพิ พาน พระพุทธเจ้า ได้ ป ระทานโอวาทแก่ ภิ ก ษุ ทั้ ง หลายว่ า “อานนท์ เมื่ อ ตถาคตปริ นิ พ านและหากจะมี ภิ ก ษุ บ างรู ป ด� ำ ริ ว ่ า พระศาสนาของเราปรินิพพานแล้ว อานนท์ท่านทั้งหลาย ไม่ควรด�ำริอย่างนัน้ ไม่ควรเห็นอย่างนัน้ แท้จริง วินยั ทีเ่ รา ได้บัญญัติแก่ท่านทั้งหลายก็ดี เมื่อเราล่วงไป ธรรมและ วินัยนั้นๆ แลจักเป็นศาสดาของท่านทั้งหลาย” ต่อมา พระบรมศาสดาได้ประทานปัจฉิมโอวาทความว่า “ภิกษุทั้งหลาย บัดนี้เราขอเตือนท่านทั้งหลาย สังขาร ทั้งหลายมีความเสื่อมสิ้นไปเป็นธรรมดา ท่านทั้งหลาย จงบ�ำเพ็ญไตรสิกขาคือ ศีล สมาธิ ปัญญา ให้บริบูรณ์ ด้วยความไม่ประมาทเถิด” เมื่อพระพุทธเจ้าตรัสพระโอวาทประทานเป็นวาระ สุ ด ท้ า ยเพี ย งเท่ า นี้ แ ล้ ว ก็ ห ยุ ด มิ ไ ด้ ต รั ส อะไรอี ก เลย เสด็จปรินิพาน ณ ปัจฉิมยามแห่งราตรีเพ็ญ เดือน 6 มหามงคลสมัย ครั้นพระบรมศาสดาเสด็จปรินิพพาน แล้วก็บงั เกิดมหัศจรรย์แผ่นดินไหวสัน่ กลองทิพย์บนั ลือลัน่ กึ ก ก้ อ งสนั่ น ในอากาศเป็ น มหาโกลาหลในปั จ ฉิ ม กาล ดอกไม้ ทิ พ ย์ ม ณฑารพ ดอกไม้ ในเมื อ งสวรรค์ ต ก โปรยปรายละลิว่ ลงมาจากฟากฟ้า ดารดาษทัว่ นครกุสนิ ารา พร้อมกับขณะเวลาปรินิพพานของพระพุทธเจ้า ผู้เป็น นาถะของโลก นอกจากภาพวาดพุทธประวัตอิ นั ทรงพลังแล้ว พระครู กันตสีลาภิวฒ ั น์ อดีตเจ้าอาวาส ยังได้สร้างศาลาการเปรียญ หอฉัน กุฏิเจ้าอาวาส หอพักสงฆ์หลังใหญ่และเล็ก เมรุ ศาลา ซุ้มประตู้ก�ำแพง และซื้อที่ดินเพิ่มอีกประมาณยี่สิบ กว่าไร และได้เก็บรวบรวมเครือ่ งถ้วย เครือ่ งใช้ ของโบราณ อีกมากมาย จัดตัง้ เป็นพิพธิ ภัณฑ์ ให้ผมู้ าเยีย่ มชมได้ศกึ ษา เรียนรู้ประวัติศาสตร์ โลกไปพร้อมๆ กับ ประวัติศาสตร์ พระพุทธศาสนา
248 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 248
11/1/2561 12:03:14 PM
ลํ�าสมัยไม่ตกเทรน คุณภาพคับเล่ม
WWW.SBL.CO.TH
www.ookbee.com/Magazine/SBLMAGAZINE www.issuu.com/sblmagazine SBL บันทึกประเทศไทย
Ad-SBL Magazine Computer.indd 249
10/1/2561 05:38:03 PM