ฉบับที่ 63 จังหวัดกาฬสินธุ์ พ.ศ. 2561
Magazine
KALASIN กาฬสินธุ์...เมืองเปี่ยมเสน่ห์ มุ่งพัฒนา
กาฬสินธุ์อย่าง “ยั่งยืน” ผู้ว่าราชการจังหวัดกาฬสินธุ์ นายไกรสร กองฉลาด
โชว์ศักยภาพ
โครงการ กิจกรรม ท้องถิ่นจังหวัดกาฬสินธุ์ นายโชคชัย ศรีหิรัญรัตน์
9
th
ANNIVERSARY ISSUE Vol.8 Issue 63/2018
www.sbl.co.th
ก้ า วเข้ า สู ่ ป ี ท่ี 9 SBL บั น ทึ ก ประเทศไทย ชมวิวสะดุดตา ณ สะพานเทพสุดา สะพานข้ามน�้ำจืดที่ยาวที่สุดในประเทศไทย
The Room
... ห้องพักระดับพรีเมียมเพื่อคุณ
จะดีแค่ ไหน ถ้าได้อยู่ ในสิ่งแวดล้อมที่ดีที่สุด ใจกลางเมืองกาฬสินธุ์
เพียงแค่เปิดประตูห้อง คุณก็จะได้สัมผัสกับคุณภาพ ชีวิตระดับพรีเมียม ที่ The Room คัดสรรสิ่งอ�ำนวยความ สะดวกครบครันและจ�ำเป็นส�ำหรับคนรุ่นใหม่ สัมผัสบรรยากาศทีพ่ กั ร่วมสมัย ด้วยรูปลักษณ์อาคาร และห้องพักที่แฝงด้วยความเรียบ เท่ แต่ทันสมัย เหมาะกับไลฟ์สไตล์ของคนรุ่นใหม่ ที่ต้องการใช้ชีวิต อย่างสมดุล ทั้งการพักผ่อน ออกก�ำลังกาย และการท�ำงาน เพราะตัง้ อยูใ่ จกลางเมืองกาฬสินธุ์ ใกล้กบั สวนสาธารณะกุด น�้ำกิน จึงให้คุณได้จ๊อคกิ้งได้บ่อยที่สุดเท่าที่ต้องการ สะดวกสบายและปลอดภัย ด้วยบริการห้องพักทั้ง แบบรายวันและรายเดือน ทีจ่ อดรถกว้างขวาง พร้อมเจ้าหน้าที่ รักษาความปลอดภัยตลอด 24 ชั่วโมง แล้วพบกันที่ The Room นะคะ
ส�ำรองห้องพักได้ที่ : The Room
โทรศัพท์ : 098-489-8900, 0825661455 ที่อยู่ : 72/10 อ�ำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์ 46000 อยู่หลังโชว์รูมฮอนด้ากาฬสินธุ์ 2 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย Ad-The room 2
.indd 2
9/2/2561 11:31:59
James Resort KALASIN 3 Ad-The room 2
.indd 3
9/2/2561 11:32:16
ทีน่ ไี่ ม่เพียงแต่จะขึน้ ชือ่ เรือ่ งรสชาติและความสดใหม่ของอาหารอีสาน เช่น ลาบเป็ด, ต้มไก่บ้าน, ส้มต�ำ, ลาบปลา ฯลฯ อาหารพื้นบ้านจากวัตถุดิบตาม ฤดูกาล เช่น ไข่มดแดง, หน่อไม้, หนูนา, หวาย, กบ ฯลฯ อาหารไทย เช่น ต้มย�ำปลาคัง, ผัดผงกะหรี,่ ผัดฉ่า, แกงส้มชะอมกุง้ ฯลฯ ก็ไม่ทำ� ให้ ผิดหวังเลย โดยเฉพาะเมนูแนะน�ำคือ ต้มไก่บ้านใส่พวงไข่, ทับทิมลุยสวน, ต้มย�ำรวมน�้ำข้น, ผงกะหรี่หมึก, ปลานิลแดด เดียว, ปลาช่อนลุยสวน, ผัดฉ่าหมูป่า และลาบหมูทอด ต้องบอกว่าห้ามพลาด ที่ส�ำคัญยังรับประทานได้อย่าง สบายใจเพราะทางร้านปลูกผักไว้ใช้ในร้าน ไม่วา่ จะเป็น ตะไคร้ ข่า ต้นหอม ผักชีจนี ฯลฯ นอกจากนี้ ท างร้ า นยั ง สร้างสรรค์บรรยากาศให้ลูกค้า เลือกถึง 3 แบบ คือ บริเวณ หน้ า ร้ า น,แบบกระท่ อ มใน สวนหย่อมข้างร้าน และแบบ ห้ อ งแอร์ พ ร้ อ มคาราโอเกะ 3 ห้องใหญ่ ที่รองรับลูกค้าได้ถึง อิ่มอร่อยทวีคูณที่... 25-30 คน ห้องกลาง 12-15 คน ห้ อ งเล็ ก 6-8 คน พิ เ ศษสุ ด ! ส�ำหรับลูกค้าที่มาเป็นกรุ๊ปใหญ่ ทางร้านสามารถรองรับลูกค้าได้ มาเยือนกาฬสินธุท์ งั้ ที ถ้าไม่ได้ไปชิมอาหารอีสานรสแซบถึงใจ มากกว่า 100 คนขึ้นไป พร้อม ที่ “สวนอาหารทวีโชค” หรือที่ลูกค้าเรียกกันติดปาก “ร้านต้มไก่ ความบันเทิงครบชุดทัง้ เวที เครือ่ ง บ้าน” ที่มีรูปปั้นไก่ตัวใหญ่ ๆ สองตัวอยู่หน้าร้าน ก็เหมือนมาไม่ ดนตรีและเครื่องเสียง ถึงกาฬสินธุ์
สวนอาหารทวีโชค
ด้วยความใส่ใจในบริการ หากลูกค้าไม่สะดวกมารับประทานที่ร้าน เรามีบริการส่งอาหารพร้อมบริการถ้วยจานชามและอุปกรณ์ตา่ งๆ ในส่วน ของห้องสุขา เราได้จดั เตรียมไว้บริการทัง้ หมด 7 ห้อง และมีหอ้ งน�ำ้ ส�ำหรับ ผู้พิการด้วย และเพื่ออ�ำนวยความสะดวกแก่ท่าน เรามีสถานที่จอดรถ กว้างขวาง ทั้งบริเวณข้างหน้าร้านและในร้าน
ส ว น อ า ห า ร ท วี โช ค เ ล ข ที่ 1 5 9 ห มู ่ ที่ 2 บ้านพานสุวรรณ ต�ำบลห้วยเม็ก อ�ำเภอห้วยเม็ก กาฬสินธุ์ (ริมถนนสายฮองฮี- กระนวน บริเวณสามแยกทางไป อ.หนองกุงศรี) ร้านเปิดบริการ 09.00-20.00 น. ทุกวัน จันทร์-เสาร์ (หยุดวันอาทิตย์) ติดต่อสอบถามหรือส�ำรอง โต๊ะได้ที่ โทรศัพท์ : 082 306 5799, 088 024 7004 เฟซบุ๊ก : สวนอาหารทวีโชค 4 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย Ad-
1
.indd 4
14/2/2561 11:48:48
โรงแรมริมปาว
Rimpao Hotel
หรูหราสง่างาม ครบครันงานบริการ
โรงแรมริมปาว โรงแรมมาตรฐานแห่งแรก และแห่งเดียวของจังหวัดกาฬสินธุ์ เราให้บริการห้องพักที่ได้มาตรฐานบน อาคารสูง 9 ชั้น พรั่งพร้อมด้วยสิ่งอ�ำนวย ความสะดวกสบายมากมาย เพียบพร้อม ด้วยการต้อนรับทีอ่ บอุน่ เป็นกันเอง และการ บริการที่อบอวลด้วยไมตรีจิต และรอยยิ้ม พร้อมที่จะดูแลให้คุณมีความสุขตลอดเวลา ที่พักอยู่กับเรา ด้วยปณิธานที่ว่า
“ความสุขและความประทับใจของท่าน คืองานบริการของเรา”
นอกจากคุณจะได้พบกับบริการที่อบอุ่น และห้องพักที่ได้มาตรฐาน จ�ำนวน 140 ห้อง ประกอบด้วย
ห้องดีลักซ์ ห้องจูเนียร์สวีท และห้องเพรสซิเด้นท์สวีท ที่ได้รับการออกแบบตกแต่งอย่างสวยงามแล้ว เรายังมีห้องประชุมสัมมนา-จัดเลี้ยง ที่สามารถรองรับลูกค้าได้ตั้งแต่ 50 – 1,000 ท่าน ครบครันด้วย อุ ป กรณ์ ป ระกอบการประชุ ม พร้ อ มเพลิ ด เพลิ น กั บ ความบั น เทิ ง อาทิ คาราโอเกะ ค็ อ กเท็ ล เลาจน์ สนุกเกอร์คลับ นวดแผนโบราณ พร้อมสระว่ายน�้ำขนาดใหญ่
ส�ำรองห้องพักติดต่อ
โทรศัพท์ 0-4381-3631-9 แฟกซ์ 0-4381-3630 ที่ อ ยู ่ : 71/2 ถนนกุ ด ยางสามั ค คี ต� ำ บลกาฬสิ น ธุ ์ อ� ำ เภอเมื อ งกาฬสิ น ธุ ์ กาฬสินธุ์ 46000 E-mail : rimpaohotel@hotmail.com
KALASIN 5 1
.indd 5
9/2/2561 13:52:48
เวชรักษ์รีสอร์ท
Vejcharak Resort
พักอย่างมีคุณภาพที่....เวชรักษ์รีสอร์ท & ศูนย์สุขภาพ เวชรักษ์รีสอร์ท เราไม่ได้เป็นเพียงรีสอร์ทซึ่งตั้งอยู่
ใจกลางอ�ำเภอยางตลาด และห่างจากสนามบินขอนแก่น ไม่ถึง 1 ชั่วโมง มีบรรยากาศเงียบสงบ สะอาดบริการ เป็ น กั น เองดุ จ ญาติ มิ ต ร เท่ า นั้ น เรายั ง มี ศู น ย์ สุ ข ภาพ เพื่อมอบการบริการแด่ท่านที่รักสุขภาพและคนที่ท่านรัก อาทิ การนวดรักษาแก้อาการ การอบ-ประคบสมุนไพร สปาตัวและหน้า พร้อมสระว่ายน�้ำระบบเกลือ
ห้องพักหรู เพียบพร้อมด้วยสิ่งอ�ำนวยความสะดวก มากมาย อาทิ ฟรี Wifi TV แอร์ และน�้ำอุ่น
เวชรั ก ษ์ รี ส อร์ ท &ศู น ย์ สุ ข ภาพครบวงจร
บริ ห ารงานโดย นายแพทย์ แ ผนไทยและเภสั ช กรจุ ฬ าฯ ผู ้ ที่ มี ค วามช� ำ นาญ และประสบการณ์ ใ นการรั ก ษา ดูแลผู้สูงอายุ และผู้มีอาการโรคทั่วไป มาอย่างยาวนาน ท่านจึงมั่นใจได้ว่า เมื่อเข้ามาใช้บริการแล้ว จะได้ทั้งความสุข และสุขภาพที่ดีกลับไปทุกครั้ง ติดต่อได้ที่ โทร.089-909-4567, 086-368-1275 Facebook: โรงแรมเวชรักษ์รีสอร์ท 6 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย 2
.indd 6
14/2/2561 11:23:25
เปลี่ยนเป็นสีชมพู อ่อนกว่าบรรทัดบนเล้กน้อยค่ะ
บ.ศูนย์เรียนรู้สุขภาพองค์รวมเวชรักษ์ วิสาหกิจเพื่อสังคม จ�ำกัด (ซอยศาลเจ้ายางตลาด ตรงข้ามไปรษณียย์ างตลาด เข้ามา 100 เมตรขวามือ อยูด่ า้ นใน เวชรักษ์รสี อร์ท) โทร. 089 909 4567
ศูนย์สุขภาพองค์รวม และคลินิกการแพทย์แผนไทยเวชรักษ์ สาขายางตลาด ให้บริการตรวจรักษาวิเคราะห์โรค พร้อมทั้ง การนวดรักษา แก้อาการ อบ-ประคบสมุนไพร นวดน�้ำมัน สปาตัวและหน้า และคอร์สสุขภาพ สระว่ายน�้ำในร่ม ระบบเกลือ พร้อมจากุซซี่ในตัว เพื่อให้ท่านสามารถออกก�ำลังกายในน�้ำ ได้อย่างมีความสุข และไม่เกิด การระคายเคืองต่อผิวหนังเหมือนในสระคลอรีนทั่วไป และมีผู้คอยดูแล และสาธิตการออกก�ำลังกาย แบบวารีบ�ำบัด Aqua Aerobic ห้องอาหารเพื่อสุขภาพ เราได้คัดสรรเมนูและวัตถุดิบที่มีคุณภาพ ถูกสุขลักษณะ เพื่อให้บริการอาหารและเครื่องดื่ม ที่มีประโยชน์ ต่อสุขภาพ ส่วนท่านที่โปรดปรานการดื่มกาแฟสด เราก็มีกาแฟรสชาติเข้มข้นหอมกรุ่น ให้บริการริมสระอีกด้วย
เวชรักษ์รีสอร์ท ศูนย์เรียนรู้เพื่อสุขภาพองค์รวม Holistic Learning Center & Long Term Care ที่อยู่ 437 หมู่ 2 ซอยข้างศาลเจ้ายางตลาด (ตรงข้าม ไปรษณีย์ยางตลาด จากถนนใหญ่เข้ามาเพียง 100 เมตร ขวามื อ ) อ� ำ เภอยางตลาด จั ง หวั ด กาฬสิ น ธุ ์ 46120 โทรศัพท์ 089 909 4567 และ 086 368 1275
Vejcharak Resort : Natural place , stay for retreat , relax and healthy by Holistic Health Care Program. Special Offer : Tel. 089 909 4567 (Dr. Komson) Facebook: Vejcharak Resort www.vrthaimassage.com
SARABURI 7
2
.indd 7
14/2/2561 11:23:27
.Cafe de’ Supak ดื่มด�่ำความสุขในเมืองสงบ
Cafe de’ Supak ร้านอาหาร-กาแฟบรรยากาศ คลาสสิ ค ในอาคารโค้ ง อั น เป็ น สถาปั ต ยกรรมที่ สวยงามคลาสสิคของ Supak Hotel โรงแรมที่อยู่คู่ กับจังหวัดกาฬสินธุ์มาตั้งแต่ปี 1982 เริ่มต้นเติมพลัง เติมความสุขที่ cafe de supak ณ กิโลเมตรที่ 0 ของจั ง หวั ด ก่ อ นออกเดิ น ทางพบประสบการณ์ ทีห่ ลากหลาย Cafe de supak บริการ อาหาร เครื่องดื่ม และ เบเกอร์รี่ โดยเฉพาะเมนู ชาเขียวมะกรูด ที่เป็นเครื่อง ดื่มเพื่อสุขภาพสูตรเฉพาะของทางร้าน Cafe de’ Supak เปิดให้บริการทุกวัน พร้อมที่ จอดรถสะดวกสบาย
Cafe de’ Supak ( ในอาคารโรงแรม Supak Hotel ) เลขที่ : 81/8 ถ.เสน่หา อ.เมือง จ.กาฬสินธุ์ 46000 โทรศัพท์ : 043-811051 กด 229 มือถือ : 088-5526796 Email : supakgroup@gmail.com Facebook : cafedesupak Line id : cafedesupak Instagram : cafedesupak
8 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย Ad-Cafe de Supak 1
.indd 8
9/2/2561 11:42:40
...โรงแรมคลาสสิคที่ทันสมัย S u p a k H o t e l โ ร ง แ ร ม ที่ อ บ อ ว ล ด ้ ว ย ก ลิ่ น อ า ย แห่งสถาปัตยกรรมคลาสสิคที่ผู้คนยุคนี้โหยหา เพราะก่อตั้งมา ตั้งแต่ปี 1982 แต่ได้รับการปรับปรุงในส่วนห้องพักให้ทันสมัย ในปี 2014 เพื่อเหมาะกับวิถีชีวิตของคนรุ่นใหม่มากขึ้น โดดเด่นด้วยท�ำเลที่ตั้ง ซึ่งอยู่กลางเมือง (กิโลเมตรที่ 0) ติดกับจวนผู้ว่าราชการจังหวัดกาฬสินธุ์ และธนาคารออมสิน อยูห่ า่ งจากสถานีขนส่งจังหวัดกาฬสินธุ์ 200 เมตร ห่างตลาดสด เทศบาลเมืองกาฬสินธุ์ 600 เมตร และ 700 เมตรจากโรงพยาบาล กาฬสินธุ์ ใช้เวลาเดินทางไปยังสนามบินร้อยเอ็ด ประมาณ 30 นาที และ 60 นาทีไปยังสนามบินขอนแก่น ห้องพักสะอาด คุ้มค่าราคาที่เข้าพัก บริการห้องพักทั้งแบบ ห้องปรับอากาศและห้องพัดลม เคเบิลทีวีท้องถิ่น ห้องน�้ำในตัว และเครื่องใช้ ในห้องน�้ำ ฟรีอินเทอร์เน็ตไร้สาย (Wi-Fi) ที่จอดรถ กว้างขวาง บริ ก ารมาตรฐานสากล มี ห ้ อ งจั ด ประชุ ม -สั ม มนาขนาดเล็ ก ให้บริการทุกวัน
ม า เ ยื อ น ก า ฬ สิ น ธุ ์ ค รั้ ง ใ ด ให้ Supak Hotel บริการคุณนะคะ
ติดต่อส�ำรองห้องพักได้ที่ Supak Hotel : 81/7 ถ.เสน่หา อ.เมือง จ.กาฬสินธุ์ 46000 โทรศัพท์ : 043-811051, 043- 811595 มือถือ : 096-397-6478 , 088-552-6796 Facebook : supakhotel Line id : cafedesupak Website : www.supak-hotel.com Email : supakgroup@gmail.com
KALASIN 9 Ad-SUPAK HOTEL 1
.indd 9
9/2/2561 11:46:09
Editor’s Talk คณะที่ปรึกษา
ศ.ดร.กฤช เพิ่มทันจิตต์, ดร.นิเวศน์ กันไทยราษฎร์, ดร.วัลลภ อารีรบ, ดร.สุมทิ แช่มประสิทธิ,์ ดร.พิชยั ทรัพย์เกิด, ดร.ไอศูรย์ ดีรตั น์, ดร.ประยุทธ คงเฉลิมวัฒน์, ดร.สุเทษณ์ จันทรุกขา
ฝ่ายกฎหมาย
สมคิด หวังเชิดชูวงศ์, ทวิช อมรนิมิตร
บรรณาธิการอ�ำนวยการ ศุภกิจ ศิลปรังสรรค์
บรรณาธิการบริหารสายงานบุคคล
พงษ์ศักดิ์ พรณัฐวุฒิกุล
บรรณาธิการบริหารสายงานการตลาด
อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์, วนัสกฤษณ์ ศิลปรังสรรค์
กองบรรณาธิการ
ผู้อ�ำนวยการฝ่ายกิจกรรมพิเศษ
กชกร รัฐวร
ผู้จัดการฝ่ายกองบรรณาธิการ
นันท์ธนาดา พลพวก กองบรรณาธิการ
ศุภญา บุญช่วยชีพ วาสนา จ�ำนงค์ผล
นักเขียน
ฐิติรัตน์ สุวรรณโรจน์
ศิลปกรรม
ผู้จัดการฝ่ายศิลป์
พัชรา ค�ำมี
กราฟิกดี ไซน์
พิมพ์พิสุทธิ์ พังจูนันท์ วรเชษฐ สมประสงค์ จักรพันธ์ สิงห์ดี ช่างภาพ
ชัยวิชญ์ แสงใส ปณต ปิติจารุวิศาล กิติวัฒน์ ทิศมั่ง โปรดักชั่น
ศุทธนะ นนทะเปาระยะ
บริษัท สมาร์ท บิซิเนส ไลน์ จ�ำกัด
โครงการภาครัฐและภาคเอกชน ผู้จัดการฝ่ายประสานงาน โครงการภาครัฐและภาคเอกชน
กิตติชัย ศรีสมุทร อัครกฤษ หวานวงศ์ ธนวรรษ เชวงพจน์ ทวัชร์ ศรีธามาศ
ฝ่ายประสานงาน โครงการภาครัฐและภาคเอกชน
ถาวร เวปุละ กิตติเมศร์ ชมชื่น ไพรัตน์ กลัดสุขใส กษิดิส ไทยธรรม มินทร์มันตรา จิรฐาคุณานนท์ เฉลิมชัย จิระพรสิรภิ ทั ร รุง่ โรจน์ เสาร์ปา ณัฏฐพัฒน์ แจ่มจันทร
ฝ่ายบัญชี/การเงิน
ผู้จัดการฝ่ายบัญชี/การเงิน
กรรณิการ์ มั่นวงศ์ ฝ่ายบัญชี/การเงิน
ปัฐมาภรณ์ แสงบุราณ สุจิตรา แดนแก้วนิต ณภัทร ชื่นสกุล
9/4-6 ถนนรามอินทรา แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพฯ 10220 โทร. 0-2522-7171 แฟกซ์. 0-2971-7747 Facebook : SBL บันทึกประเทศไทย E-mail : sbl2553@gmail.com www.sbl.co.th
Editor’s Talk.indd 10
ขอต้อนรับทุกท่านสูศ่ กั ราชใหม่ แห่งปี 2561 และศักราชแห่งการ ก้ า วขึ้ น สู ่ ป ี ที่ 9 ของนิ ต ยสาร SBL บันทึกประเทศไทย ซึ่งหาก ท่านติดตามเฟซบุ๊กแฟนเพจของ เรานั้น จะพบว่ามีกระแสตอบรับ อย่างดีจากทุกท่าน โดยมียอดการ กดไลค์กดติดตามมากกว่าสามแสน สองหมืน่ กว่าไลค์ภายในระยะเวลาไม่กเี่ ดือนเท่านัน้ ซึง่ นับเป็นบทพิสจู น์ ถึ ง ความมุ ่ ง มั่ น ตั้ ง ใจของที ม งานมาตลอด 8 ปี เ ต็ ม ที่ ต ้ อ งการให้ SBL บันทึกประเทศไทย เข้าถึงกลุ่มผู้อ่านทุกจังหวัดทั่วประเทศไทย SBL ฉบับจังหวัดกาฬสินธุ์นี้ อัดแน่นด้วยเรื่องราวที่น่าสนใจ มากมาย ไม่ว่าจะเป็นบทสัมภาษณ์ท่านผู้ว่าฯ หนุ่มรุ่นใหม่ไฟแรง นายไกรสร กองฉลาด ที่มีผลงานโดดเด่นหลายๆ ด้าน และเป็นหนึ่ง ในจ�ำนวนผู้ว่าฯ ไม่กี่ท่านในประเทศไทย ที่ขึ้นด�ำรงต�ำแหน่งนี้ด้วย วัยเพียงห้าสิบต้นๆ เท่านัน้ รวมถึงการพูดคุยกับ นายโชคชัย ศรีหริ ญ ั รัตน์ ท่านท้องถิ่นจังหวัดกาฬสินธุ์ ที่น�ำเสนอศักยภาพและความเข้มแข็งของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ผ่านกิจกรรมหรือโครงการพัฒนาทัง้ 8 ด้าน และนายศุภเดช การถัก ผูอ้ ำ� นวยการ ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัด กาฬสินธุ์ ซึง่ กรุณาให้ขอ้ มูลทีน่ า่ สนใจเกีย่ วกับภารกิจของ พศจ.กาฬสินธุ์ และที่ขาดไม่ได้คือ บันทึกเส้นทางท่องเที่ยว ที่จะชวนท่านผู้อ่าน ไปสักการะขอพรในโอกาสขึ้นปีใหม่จาก “ พระพรหมภูมิปาโล ” พระพุทธรูปองค์ใหญ่ทมี่ พี ระลักษณะงดงามทีส่ ดุ องค์หนึง่ ในประเทศไทย ซึ่งพระนามของท่านนั้นมีความหมายว่า “ พระผู้ยิ่งใหญ่และเปี่ยมล้น ด้วยพรหมวิหารธรรม ทีค่ อยให้ความพิทกั ษ์คม้ ุ ครองสถานทัว่ ปริมณฑล ” ไปชม - ช็อปทีห่ มูบ่ า้ น OTOP หม่อนไหมแพรวาสินค้าขึน้ ชือ่ ของกาฬสินธุ์ และไปม่วนซื่นกันที่โปงลางสตรีท หรือถนนคนเดินกาฬสินธุ์ ท้ายนี้ ผมขออาราธนาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลายในสากลโลก โปรด ประทานพรให้ทุกท่านประสบแต่ความสุขความเจริญในอาชีพการงาน การศึกษา คิดหวังสิ่งใดขอให้สมความมุ่งมาดปรารถนา และมีสุขภาพ พลานามัยสมบูรณ์แข็งแรงทุกท่าน...เทอญ ติดต่อ คุณศุภกิจ ศิลปรังสรรค์
โทรศัพท์ 081-442-4445, 084-874-3861 E-mail : supakit.s@live.com Facebook : Supakit Sillaparungsan
(นายศุภกิจ ศิลปรังสรรค์) บรรณาธิการอ�ำนวยการ
09/02/61 02:24:50 PM
บุหงานคร วิลเลจ
Bunganakorn Village โรงแรมใหม่ ทันสมัยใจกลางกาฬสินธุ์
หากคุณก�ำลังมองหาที่พักที่ดดู ี มีสไตล์ สะอาด และบรรยากาศดีละก็ โรงแรมบุหงานคร วิลเลจ คือค�ำตอบที่ ใช่ส�ำหรับคุณ
พิถีพิถันกับการออกแบบ ทันสมัยเหมาะกับไลฟ์สไตล์ของคนรุ่นใหม่ ที่ต้องการความหรูหรา อยู่สบาย และที่ส�ำคัญคือระบบการ รักษาความปลอดภัย ด้วยคียเ์ ทคและคียก์ าร์ด ป้องกันบุคคลภายนอกรบกวน พร้อมเจ้าหน้าทีร่ กั ษาความปลอดภัยตลอด 24 ชัว่ โมง ครบครันด้วยสิ่งอ�ำนวยความสะดวกภายในห้องพัก อาทิ WiFi 200 M เร็วและแรงสุด ๆ นุ่มสบายกับเตียงนอนความหนา 9 นิ้ว ที่เหมาะส�ำหรับการผ่อนคลายอย่างแท้จริง เย็นฉ�่ำด้วยเครื่องปรับอากาศ ฝักบัวเรนเชาว์เวอร์ที่ให้ความรู้สึกสดชื่นอย่างแตกต่าง และ ที่ส�ำคัญคุณจะไม่พลาดชมบอลทุกลีก ด้วยระบบเคเบิ้ลทีวีที่คมชัดทั้งภาพและเสียง ใส่ใจด้วยการบริการ ห้องพักทัง้ แบบรายวัน-รายเดือน พร้อมทีจ่ อดรถกว้างขวาง สะดวกสบาย ใกล้ยา่ นธุรกิจใจกลางเมืองกาฬสินธุ์
ติดต่อส�ำรองห้องพักได้ที่ โรงแรมบุหงานคร วิลเลจ เลขที่ 118/11 ถ.มาประณีต (ตรงข้ามเทศบาลเมืองกาฬสินธุ์) อ.เมือง จ.กาฬสินธุ์ โทร 0-4381-5929 facebook @bunganakornvillage KALASIN 11 1
.indd 11
9/2/2561 14:00:47
Contents
KALASIN
ฉบั บ ที่ 63 จั ง หวั ด กาฬสิ น ธุ ์ พ.ศ. 2561 ใต้ร่มพระบารมี
โครงการขยายผล เกษตรทฤษฎีใหม่ฯ บันทึกเส้นทาง ผู้ว่าราชการจังหวัดกาฬสินธุ์
22 27
นายไกรสร กองฉลาด
บันทึกเส้นทาง ท้องถิ่นจังหวัดกาฬสินธุ์
42
บันทึกเส้นทาง ผอ.พศจ.กาฬสินธุ์
46
นายโชคชัย ศรีหิรัญรัตน์
บันทึกเส้นทาง
นายศุภเดช การถัก
มหาวิ ท ยาลั ย กาฬสิ น ธุ์ โรงเรี ย นกาฬสิ น ธุ ์ พิท ยาสรรพ์ สหกรณ์ อ อมทรั พ ย์ ค รู กาฬสิ น ธุ ์ จ� ำ กั ด
50 52 54
บันทึกเส้นทางความเป็นมา บันทึกเส้นทางท่องเที่ยว ของจังหวัดกาฬสินธุ์
64
องค์ ก ารบริ หารส่ วน จั ง หวั ด กาฬสิ น ธุ ์ เทศบาลเมื อ งกาฬสิ น ธุ์ เทศบาลต� ำ บลเหนื อ เทศบาลต� ำ บลภู ป อ วั ด ป่ า โคกกลาง เทศบาลต� ำ บลโพนทอง อ� ำ เภอห้ ว ยเม็ ก อ� ำ เภอกุ ฉิน ารายณ์ เทศบาลเมื อ งบั วขาว เทศบาลต� ำ บลเหล่ า ใหญ่ 12 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย
27
ผู้ว่าราชการจังหวัดกาฬสินธุ์ นายไกรสร กองฉลาด
80 84 88 90 92 94 95 96 98 102
22
ใต้ร่มพระบารมี ก้าวขึ้นสู่ปีที่ 9 ของนิตยสาร
SBL บันทึกประเทศไทย ซึง่ หากท่านติดตามเฟซบุก๊ แฟนเพจของเรานั้น จะพบว่ามีกระแสตอบรับอย่างดี จากทุกท่าน โดยมียอดการกดไลค์กดติดตามมากกว่า สามแสนสองหมื่นกว่าไลค์ภายในระยะเวลาไม่กี่เดือน เท่านั้น ซึ่งนับเป็นบทพิสูจน์ถึงความมุ่งมั่นตั้งใจของ ทีมงานมาตลอด 8 ปีเต็ม
77
บันทึกเส้นทางท่องเที่ยว ใต้ร่มพระบารมี
“เขาวงโมเดล” เป็นต้นแบบในการต่อยอดเกษตร ทฤษฎีใหม่ฯ นำ�ไปสู่การรวมกลุ่มและสร้างเครือข่าย องค์กรแห่งเรียนรู้ที่เข้มแข็ง ภายใต้แนวคิด “พึ่งตนเอง พึ่งพากันเอง” ได้อย่างเป็นรูปธรรม โครงการขยายผลเกษตรทฤษฎีใหม่ อันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ
“พิพิธภัณฑ์สิรินธร” หรือ “พิพิธภัณฑ์ไดโนเสาร์ภูกุ้มข้าว”
เป็นแหล่งเรียนรู้เกี่ยวกับไดโนเสาร์และ ซากฟอสซิลสัตว์ต่างๆ และเป็น พิพิธภัณฑ์ไดโนเสาร์ที่ดีที่สุดในอาเซียนแล้ว
74
ระวัง! ไดโนเสาร์ข้ามถนน
76
รอยเท้าไดโนเสาร์
วั ด ปิ ยะมงคล เทศบาลต� ำ บลจุ ม จั ง ทต.กุ ด หว้ า อบต.กุ ด หว้ า อบต.สมสะอาด อบต.บั ว ขาว อบต.สามขา ทต.อิ ตื้ อ (อ.ยางตลาด) ทต.ยางตลาด ทต.บั ว บาน ทต.เขาพระนอน อบต.หั ว งั ว อบต.นาดี อบต.หนองตอกแป้ น อบต.ดอนสมบู ร ณ์ ทต.ภู สิงห์ ( อ.สหั ส ขั น ธ์) อบต.สหั ส ขั น ธ์ อบต.โนนแหลมทอง ทต.ค� ำ ม่ ว ง(อ.ค� ำ ม่ ว ง) อบต.เนิ น ยาง อบต.นาบอน ทต.กมลาไสย(อ.กมลาไสย) อบต.โคกสมบู ร ณ์ วั ด ปฐมเกษาราม ทต.แซงบาดาล(อ.สมเด็จ) อบต.ศรี ส มเด็ จ อบต.สมเด็ จ ทต.กุ ด สิ ม (อ.เขาวง) วั ด หนองแสง ทต.ท่ า คั น โท(อ.ท่ า คั น โท) ทต.หนองกุ งศรี (อ.หนองกุ งศรี ) อบต.โคกเครื อ วั ด มณี น พรั ต น์ ( อ.ดอนจาน) วั ด อนุ เ ขตตาราม
105 106 108 110 112 114 116 118 124 126 128 129 130 132 134 136 138 140 142 144 146 148 150 152 154 156 160 162 164 166 168 170 171 172
KALASIN 13
ผู้น�ำด้านการจัดเลี้ยง-สัมมนา-ห้องพัก โรงแรมชาร์-ลอง บูทรีค เราคือผู้น�ำด้าน การบริการห้องพัก ห้องประชุม สัมมนา จัดเลี้ยง จัดโต๊ะจีน ทั้งในและนอกสถานที่ ด้วยทีมงานมืออาชีพที่จะสรรค์สร้าง รอยยิ้ม ความสุขและ ความประทับใจ ให้กับคุณ
14 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย Ad
-
2
.indd 14
9/2/2561 11:53:42
หรูหรา สะดวกสบาย ด้วยการบริการห้องพัก จ�ำนวน 50 ห้อง ทั้งเตียงคู่-เตียงเดี่ยว พร้อมสิ่งอ�ำนวย ความสะดวกครบครัน อาทิ เครื่องปรับอากาศ เครื่องท�ำน�้ำอุ่น ทีวี ตู้เย็น มินิบาร์ Internet Wifi Hotspot พร้อม ลานจอดรถสะดวกสบาย ในราคาเริ่มต้นที่ 800-1,000 บาท
ใกล้ ส ถานที่ ส� ำ คั ญ -แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย ว อาทิ พระธาตุ ย าคู ศูนย์การเรียนรู้วัฒนธรรมชาวภูไท เขื่อนล�ำปาว พิพิธภัณฑ์สิรินธร (พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ไ ดโนเสาร์ ภู กุ ่ ม ข้ า ว) แหล่ ง ช็ อ ปปิ ้ ง ผ้ า ไหมแพรวา ที่การอ�ำเภอค�ำม่วง ฯลฯ ครบครันด้านความบันเทิง อาทิ คาราโอเกะ บริการนวดแผนไทย และห้องอาหารที่ได้ รับการกล่าวขานถึงคุณภาพของวัตถุดิบและรสชาติที่ลงตัว อบอุ่น-มั่นใจ ด้วยระบบรักษาความปลอดภัย อาทิ กล้องวงจรปิด คีย์การ์ด พนักงาน รปภ. ดูแลตลอด 24 ชั่วโมง
“พักผ่อน-จัดเลี้ยง-สัมมนาครั้งใด วางใจให้โรงแรมชาร์-ลอง บูทรีค บริการคุณนะคะ”
ติดต่อส�ำรองห้องพัก/สอบถามเพิม่ เติมได้ที่ โรงแรมชาร์-ลอง บูทรีค โทร.0- 4381-6789, 0-4381-1789 E-MAIL: Focharong@gmail.com ทีอ่ ยู่ 88/46 ถ.สนามบิน (ตรงข้ามสนามกีฬา กลางจังหวัดกาฬสินธุ์) ต.กาฬสินธุ์ อ.เมือง จ.กาฬสินธุ์
Ad
-
2
.indd 15
KALASIN 15 9/2/2561 11:54:03
คงจะดีไม่น้อย ถ้าการเดินทางท่อง เที่ยวพักผ่อนของคุณ จะมีที่พักซึ่งมอบความสุขจาก ธรรมชาติให้คุณได้รื่นรมย์อย่างแท้จริง
Farisa Garden Hotel
ฟาริสา การ์เด้น โฮเทล
ฟาริสา การ์เด้น โฮเทล โอบล้อมด้วย มวลหมู่ไม้ดอกและไม้ใบ เพื่อให้คุณได้สัมผัสกับ พลั ง แห่ ง ความสดชื่ น รื่ น รมย์ ข องธรรมชาติ ทั้ ง ภายในและภายนอกอาคาร ซึ่ ง ได้ รั บ การ ออกแบบและตกแต่งอย่างพิถพี ถิ นั จากสถาปนิก ชั้นน�ำผู้มีประสบการณ์ด้านการออกแบบและ ก่อสร้างที่พักอาศัยมาอย่างยาวนาน
ใส่ใจกับทุกรายละเอียด เพื่อให้คุณได้ รั บ ความสะดวกสบาย ด้ ว ยสิ่ ง อ� ำ นวยความ สะดวกภายในห้องพักครบครัน และพื้นที่ใช้สอย ที่กว้างขวางถึง 32 ตารางเมตร พร้อมพื้นที่ สันทนาการเพื่อการพักผ่อนหย่อนใจในระเบียง อาคารทุกชั้น
คุณภาพคุม้ เกินราคา ด้วยบริการห้องพัก
ทั้ ง แบบรายวั น และรายเดื อ น ในราคาสบาย กระเป๋ า พร้ อ มต้ อ นรั บ ทุ ก ท่ า นด้ ว ยที ม งาน คุณภาพ เพื่อให้ท่านได้รับความสะดวกสบาย และความปลอดภัยตลอดการเข้าพัก
สนใจส�ำรองทีพ ่ กั ติดต่อได้ที่ : ฟาริสา การ์เด้น โฮเทล โทรศัพท์ : 08-8563-2044, 08-1380-9590, 08-0763-5150 ที่อยู่ : 76 ถนนบายพาสทุ่งมน ต.กาฬสินธุ์ อ.เมือง จ.กาฬสินธุ์ 46000 ID-Line : Fufuufoo
16 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย Ad-
1
.indd 16
9/2/2561 11:57:12
Rasa Garden สวนรสา...ประทับใจในเมนูเลิศรส - ของฝากล�้ำค่า
สวนรสา ร้ า นอาหารและของฝากที่ ตั้ ง อยู ่ ในบริเวณ “ฟาริสา การ์เด้น โฮเทล” เพือ่ ให้บริการ ลูกค้าได้อย่างครบวงจร ทั้งที่พักแสนสบายและ ร้านอาหารแสนอร่อย เปิ ดให้บริการทุกวัน ตัง้ แต่ 07.00-21.00 น.
สนใจส�ำรองที่น่ังติดต่อได้ท่ี
088-5632044, 081-3809590, 080-7635150 76 ถนนบายพาสทุ ่ ง มน ต� ำ บลกาฬสิ น ธุ ์ อ�ำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์ 46000 Fufuufoo
อร่อยเด็ด! กับเมนูเลิศรส อาทิ ปลากระพงทอดน�้ ำ ปลา ปู นิ่ ม ผั ด ผงกะหรี่ ทะเลผั ด ฉ่ า ย�ำปลาแซลมอน ซี่โครงหมูอบน�้ำผึ้ง ต้มแซบซี่โครง แกงเลียงกุ้งสด แกงอ่อม ส้มต�ำ พร้อมทัง้ ขนมหวานและเครือ่ งดืม่ นานาชนิด เช่น ฮันนีโ่ ทส โรตีนูเทลล่า กาแฟสด ชาเขียว นมสด และอีกหลากหลายเมนู
เลือกสรร!
ของฝากถูกใจ
เพือ่ คนพิเศษของคุณด้วย “ผ้าไหมแพรวา ราชินไี หมไทย” ผลิตภัณฑ์ เลื่องชื่อของจังหวัดกาฬสินธุ์ พิเศษสุดหนึ่งเดียวในไทย “คุกกี้อายุยืน” หอมอร่อยและสดใหม่ในบรรจุภัณฑ์สุดแสนจะน่ารัก เหมาะกับการเป็น ของฝากของก�ำนัลที่จะประทับใจผู้รับไปนานแสนนาน
KALASIN 17 .indd 17
09/02/61 02:10:27 PM
คิดถึงกุ้งเผาต้องยกให้เรา...สวนอาหารกาฬสินธุ์กุ้งเผา สวนอาหารกาฬสินธุ์กุ้งเผา เราคัดเฉพาะกุ้งแม่น�้ำสดๆ ตัวโตๆ มาปรุงเป็นสารพัดเมนูเลิศรส ให้คุณได้ลิ้มลองในราคาสบายกระเป๋า
อิม่ อร่อยกับเมนูเด็ดประจ�ำร้าน อาทิ กุง้ เผาสดๆ ปลาพุงแตก ปลาสองใจ แกงส้มแป๊ะซะ ปลาช่อน เพลิดเพลินกับบรรยากาศธรรมชาติสบายๆ สไตล์สวนอาหารกาฬสินธุ์กุ้งเผา ที่พร้อมให้ บริการทั้งแบบห้องอาหารรวม ห้องจัดเลี้ยงส่วนตัว และแบบซุ้มริมน�้ำ บริการจัดเลี้ยงสังสรรค์ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นงานเกษียณ งานประชุม-สัมมนา ของกลุ่ม ส�ำนักงาน บริษัท เพื่อนฝูง ครอบครัว และคู่รัก สวนอาหารกาฬสินธุ์กุ้งเผา เปิดบริการทุกวัน ตั้งแต่ 10.00-22.00 น. สังเกต สัญลักษณ์กุ้งแม่น�้ำสีแดงตัวใหญ่หน้าร้าน
ส�ำรองที่นั่งได้ที่ โทรศัพท์ : 099-890-8495, 065-257-3053, 098-139-9519 ที่อยู่ : 86 หมู่ 5 ต�ำบลอุ่มเม่า อ�ำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ นานนท์ ้องกับร้าน KC Facebook : kalasinkungpao 18อยู่ตSBLิดถนนถี Magazine บันทึเยื กประเทศไทย Ad-
1
.indd 18
9/2/2561 12:02:05
กลิ่นล�ำดวนกุ้งเผา
อิม่ อร่อยรสเด็ด แซ่บซีด๊ ถึงใจ
สวนอาหารกลิ่นล�ำดวนกุ้งเผา เราให้บริการอาหารเลิศรส สดใหม่ ท่ามกลางบรรยากาศธรรมชาติ
พลาดไม่ได้กับเมนูเด็ด : ข้าวผัดปู ต้มย�ำรวมทะเล ต้มย�ำปลากะพง ปลาทับทิมลุยสวน เอ็นไก่ทอด ปากเป็ดทอดกรอบรสละมุ น ฯลฯ เพลิดเพลินสองบรรยากาศ : โซนศาลาริมน�้ำให้ความเป็นกันเองและใกล้ชิดธรรมชาติหรือ
จะสนุกสนานเป็นส่วนตัวกับหมู ่คณะในห้องวีไอพีแอร์เย็นฉ�่ำ เพียบพร้อมด้วยบริการจัดเลี้ยงสังสรรค์ : ด้วยห้องวีไอพีขนาดใหญ่ รับรองได้ 30 ท่าน และห้องวีไอพีขนาดย่อม รับรองได้ 25 ท่าน
ส�ำรองที่นั่งได้ที่ คุณล�ำดวน 089-2853247
เปิ ดให้บริการทุกวัน เวลา 10.00-20.00 น. ต� ำ บลนาเชื อก อ� ำ เภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ (ใกล้โรงเรียนอนุบาลล�ำปาว วัดประชาเหรียญส�ำราญ และปั้ มน�้ำมันพีพ)ี
19 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 19
KALASIN 19 09/02/61 02:16:12 PM
Amuse Cafe’ สีสันของความอร่อยที่ลงตัว
Amuse Cafe’ ร้านอาหารเก๋ไก๋เข้ากับไลฟ์สไตล์คนรุ่นใหม่ กับเมนูที่เป็น เอกลักษณ์ไม่เหมือนใคร ประทับใจกับอาหารแนว “ฟิวชั่นฟูดส์” ที่น�ำเอกลักษณ์ อันโดดเด่นของอาหารแต่ละสัญชาติ มาผสมผสานกันอย่างลงตัว ให้สีสันและรสชาติ ความอร่อยที่ไม่เหมือนใคร พร้อมพบกับเมนูใหม่ๆ ที่สร้างสรรค์ด้วยเชฟมืออาชีพ ผ่อนคลายกับบรรยากาศสบายๆ ด้วยสไตล์การตกแต่งเก๋ๆ ให้คุณเลือกผ่อนคลาย ในหลากหลายมุม คุณจะรู้สึกสดชื่นเมื่อได้มาสัมผัสกับธรรมชาติของไม้ประดับที่ ตกแต่งภายในร้าน
Amuse Cafe’
เปิดบริการตั้งแต่เวลา 10.00 - 22.00 น. (หยุดบริการทุกวันพุธ)
Amuse Cafe.indd 20
09/02/61 01:47:55 PM
สอบถามเพิ่มเติมได้ที่
101 ถ.ถีนานนท์ ต�ำบลกาฬสินธุ์ อ�ำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์ 46000 087-822-2247, 087-822-2274 amusecafek
เมนูแนะน�ำ อาหารฟิวชั่น ไก่ทอดซอสพะแนงมันม่วง น่องไก่ติดสะโพก ชิ้ น โตๆ เลาะกระดู ก เพื่ อ ให้ ท านง่ า ย ทอดจนกรอบนอก นุ ่ ม ใน เสิ ร ์ ฟ พร้ อ มซอสพะแนงกั บ มั น ม่ ว งบดอย่ า งดี สเต็กสันคอหมูซอสบาร์บิคิว ใช้หมูส่วนสันคอหมัก จนนุ ่ ม เสิ ร ์ ฟ คู ่ กั บ เฟรนช์ ฟ รายด์ แ ละสลั ด ผั ก ซอสบาร์บิคิวสูตรของทางร้านท�ำเอง ได้ชิมแล้ว จะติดใจ พิซซ่า สารพัดหน้าให้เลือก เอกลักษณ์ อยูท่ แี่ ป้งพิซซ่าบางกรอบกรุบกรับ เสิรฟ์ ร้อนๆ อร่อยจนยัง้ ใจไม่อยู่ ซุบมันม่วง มันม่วงหวาน ของญี่ ปุ ่ น มาปรุ ง เป็ น ซุ ป รสชาติ เข้ ม ข้ น ทั้งหอม หวาน มัน สีสันก็ยั่วตายวนใจ ให้ลิ้มรส เบเกอรี่ เค้ ก เผื อ ก เค้ ก ฝอยทอง เค้กคัสตาร์ดอัลมอนด์ ช็อคโกแลตนูเทลล่าเค้ก ช็อคโกแลตบราวนี่เค้กฯลฯ เครื่องดื่ม Bloody marry, Matcha cheese whip, Apple tea cheese whip, Peach tea cheese whip, Chocolate cheese whip, Pink milk cheese whip, Taro milk cheese whip, Passion fruit cheese whip KALASIN 21 Amuse Cafe.indd 21
09/02/61 01:48:07 PM
โครงการขยายผลเกษตรทฤษฎีใหม่ฯ อ�ำเภอเขาวง จังหวัดกาฬสินธุ์ 25
กว่า ปีที่แล้ว ที่โครงการขยายผลเกษตรทฤษฎีใหม่อันเนื่องมาจาก พระราชด�ำริ ถือก�ำเนิดขึ้น ณ บ้านแดนสามัคคี อ�ำเภอเขาวง จังหวัดกาฬสินธุ์ ได้สร้างความเปลี่ยนแปลงให้กับราษฎรในวงกว้าง จนเกิดเป็น “เขาวงโมเดล” ซึ่งเป็นต้นแบบในการต่อยอดเกษตรทฤษฎีใหม่ฯ น�ำไปสู่การรวมกลุ่มและสร้าง เครือข่ายองค์กรแห่งเรียนรู้ที่เข้มแข็ง ภายใต้แนวคิด “พึ่งตนเอง พึ่งพากันเอง” ได้อย่างเป็นรูปธรรม
ความเป็นมาของโครงการฯ เมือ่ วันที่ 25 พฤศจิกายน 2535 พระบาท สมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช บรมนาถบพิตร ได้พระราชทานพระราชด�ำริ ให้พิจารณาจัดหาน�้ำเพื่อสนับสนุนการเพาะ ปลูกของราษฎร โดยขุดสระกักเก็บน�้ำตาม แนวทฤษฎี ใ หม่ ในบริ เวณพื้ น ที่ ที่ ร าษฎร น้อมเกล้าฯ ถวาย จ�ำนวน 13 ไร่ 3 งาน อยู่ ที่บ้านแดนสามัคคี ต�ำบลคุ้มเก่า อ�ำเภอเขาวง จังหวัดกาฬสินธุ์
22 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 22
12/2/2561 8:39:20
ใต้ร่มพระบารมี
เมือ่ วันที่ 30 พฤศจิกายน 2536 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้เสด็จฯ ไปทอดพระเนตรพื้นที่โครงการดังกล่าว และได้มีพระราชกระแสให้ขยายผลการด�ำเนินงานของ โครงการไปสู่ราษฎรในบริเวณใกล้เคียง เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน 2538 ได้พระราชทานพระราชด�ำริให้ ก่อสร้างขยายระบบส่งน�้ำ พร้อมทั้งพิจารณาขุดสระน�้ำประจ�ำไร่นา ให้พิจารณาผันน�้ำจากอ่างเก็บน�้ำห้วยไผ่ซึ่งอยู่ทางฟาก จังหวัดมุกดาหาร มาเติมให้แก่อ่างเก็บน�้ำล�ำพะยัง เพื่อพิจารณาการขยายพื้นที่รับน�้ำชลประทาน ได้มากขึน้ และด�ำเนินการปลูกป่าโดยท�ำเป็นอุทยานเล็กๆเพือ่ ทดแทนผลกระทบทีจ่ ะเกิดขึน้ กับป่าไม้ เมื่อวันที่ 22 มิถุนายน พ.ศ.2542 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรม นาถบพิตร ได้พระราชทานพระราชด�ำริให้พจิ ารณายกระดับการกักเก็บน�ำ้ ของอ่างเก็บน�ำ้ ล�ำพะยัง จากเดิม 3,500,000 ลูกบาศก์เมตร ให้สามารถเก็บกักน�้ำได้มากขึ้นถึง 4,000,000 ลูกบาศก์เมตร เพื่อจะได้มีน�้ำช่วยเหลือพื้นที่ท�ำการเกษตรของราษฎรให้มากขึ้น พร้อมทั้งให้รีบพิจารณาดูพื้นที่ ด�ำเนินการผันน�ำ้ จากอ่างเก็บน�ำ้ ห้วยไผ่มายังพืน้ ทีโ่ ครงการอ่างเก็บน�ำ้ ล�ำพะยัง ทีจ่ ะส่งน�ำ้ ออกจาก อุโมงค์ว่ามีพื้นที่ว่างหรือไม่ ให้ด�ำเนินการปลูกป่าโดยท�ำเป็นอุทยานเล็กๆ เพื่อทดแทนผลกระทบ ที่จะเกิดกับป่าไม้ เพราะหากไม่ด�ำเนินการช่วยเหลือราษฎรในพื้นที่น้ันราษฎรก็จะบุกรุกป่าและ ท�ำลายพื้นที่ลุ่มน�้ำ 1 เอ จนหมด และน�้ำที่ออกมากให้พิจารณาว่าจะน�ำไปช่วยพื้นที่ลุ่มน�้ำ 1 เอ ในการบ�ำรุงรักษาป่าให้เกิดความชุ่มชื้นได้มากเพียงใด ผลการด�ำเนินการ ปี 2537-2540 ในช่วงแรกของการด�ำเนินโครงการ น�ำการขุดสระเก็บกักน�้ำตามทฤษฎีใหม่ เพื่อให้ราษฎรใน พืน้ ทีม่ นี ำ�้ ใช้สำ� หรับอุปโภค-บริโภค และท�ำการเกษตรได้ตลอดปี และมีโครงการสาธิตเกษตรทฤษฎีใหม่ ในพืน้ ทีบ่ า้ นแดนสามัคคี อ�ำเภอเขาวง โดยขุดสระเก็บกักน�ำ้ ประจ�ำไร่นาตามทฤษฎีใหม่ จ�ำนวน 3 ไร่ สามารถเก็บกักน�้ำได้ประมาณ 12,000 ลูกบาศก์เมตร พื้นที่ท�ำนา ประมาณ 3 ไร่ มีการศึกษา ทดลองปลูกข้าว และพืชไร่หลังนา พื้นที่ปลูกไม้ผล พืชไร่ และพืชผัก ประมาณ 6 ไร่ พื้นที่อยู่อาศัย ถนนและสิ่งก่อสร้างต่างๆ ประมาณ 1 ไร่ 3 งาน บริเวณขอบสระท�ำโรงเลี้ยงหมูเหมยซาน และ ในสระน�้ำมีการเลี้ยงปลา ส่งผลให้ราษฎรเจ้าของสระน�้ำมีความเป็นอยู่ดีขึ้น มีรายได้ที่มั่นคงอย่าง เห็นได้ชัด ต่อมาจึงมีการขยายผลในพื้นที่อ�ำเภอเขาวง จังหวัดกาฬสินธุ์ เป็นจ�ำนวนสระ 223 สระ ตลอดจนขยายผลสู่พื้นที่อ�ำเภอปทุมรัตน์ จังหวัดร้อยเอ็ด อ�ำเภอภูสิงห์ จังหวัดศรีสะเกษ จังหวัดสกลนคร และจังหวัดมหาสารคาม
KARASIN 23 .indd 23
12/2/2561 8:39:27
ผลการด�ำเนินการ ปี 2541-2550 ส� ำ นั ก งาน กปร. ประสานหน่ ว ยงาน ราชการต่างๆ ร่วมกันพิจารณาด�ำเนินการ พัฒนาพื้นที่ เพื่อเป็นโครงการศึกษา ทดลอง และสาธิตให้ราษฎรได้เห็นผลการพัฒนาการ เกษตรกรรมตามแนวพระราชด�ำริดังกล่าว โดยการขุดสระน�้ำขนาดพื้นที่ 1 ไร่ เก็บน�้ำ ได้ ป ระมาณ 4,800 ลู ก บาศก์ เ มตร ให้ เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ จ�ำนวน 358 ราย การสนั บ สนุ น พั น ธุ ์ พื ช -พั น ธุ ์ สั ต ว์ ส� ำ หรั บ ประกอบกิจกรรมต่างๆ ในที่ดินของตนเอง ตลอดจนน�ำราษฎรเข้ารับการอบรม ดูงาน เพื่อเสริมสร้างความรู้เกี่ยวกับการเพาะปลูก เลี้ยงสัตว์ การจัดท�ำบัญชีฟาร์ม และการใช้ เทคโนโลยีเพิ่มผลผลิต ข้าวเปลือกเพิ่มขึ้นเป็น 50-70 ถังต่อไร่ ท�ำให้เกษตรกรมีการประกอบ อาชีพที่หลากหลาย และมีรายได้ที่มั่นคงโดย เฉลี่ย 80,000 บาท/ครัวเรือน/ปี ต่อมาในปี 2550 ได้จัดตั้งโรงสีข้าวชุมชน เพือ่ แปรรูปข้าวเหนียวเขาวง เป็นการรวมกลุม่ เกษตรกรทฤษฎีใหม่ อยู่ในพื้นที่ขององค์การ บริหารส่วนต�ำบลสงเปลือย อ�ำเภอเขาวง ท�ำให้ เกษตรกรมีความเป็นอยู่ดีขึ้น มีการให้บริการ โรงสีข้าวขนาดใหญ่ในรูปสหกรณ์ด้วยตนเอง ท�ำให้เกิดการสร้างงาน สร้างรายได้ในชุมชน อย่างต่อเนื่อง เป็นการพัฒนาคุณภาพชีวิตดี ขึ้น และคณะท�ำงานฯได้ร่วมกับหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องจัดท�ำ “โครงการขุดสระน�้ำราษฎร รัฐ เอกชน ร่วมใจขยายผลเกษตรกรทฤษฎี ใหม่ 80 สระ 80 พรรษา เฉลิมพระเกียรติ” เนื่ อ งในโอกาสเฉลิ ม พระชนมพรรษา 80 พรรษา 5 ธันวาคม พ.ศ. 2550 โดยการขุดสระ น�ำ้ ในไร่นาแก่เกษตรกรในพืน้ ทีร่ บั น�ำ้ อุโมงค์ผนั น�้ำจากห้วยไผ่ลงสู่พื้นที่อ�ำเภอเขาวง
ผลการด�ำเนินงานปี 2551-2559 จากการทีค่ ณะท�ำงานฯได้รบั การอบรมและทัศนศึกษาดูงานเกษตรกรทฤษฎีใหม่ ท�ำให้สามารถ ถ่ายทอดความรู้ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ ให้แก่ราษฎรในพื้นที่โครงการฯ ได้อย่างถูกต้อง จนสามารถน�ำไปปฏิบตั ใิ นพืน้ ทีข่ องตนเองได้ทำ� ให้ราษฎรมีความรูใ้ นการประกอบ อาชีพ สามารถพัฒนาตนเองและชุมชนอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน และจัดตั้งศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจ พอเพียงชุมชน(เกษตรกรแกนน�ำ)พัฒนาตราสินค้าและบรรจุภณ ั ฑ์ของโรงสีชมุ ชน ต�ำบลสงเปลือย และฝึกอบรมกรรมการโรงสีข้าวชุมชนต�ำบลสงเปลือยหลักสูตรการบริหารจัดการโรงสีเชิงเทคนิค และการบริหารจัดการโรงสีเชิงธุรกิจ ซึ่งแนวทางการด�ำเนินงานในปี 2552 ส�ำนักงาน กปร. จังหวัดกาฬสินธุ์ได้เน้นการให้องค์ มีความรูเ้ พิม่ ทักษะด้านการเกษตร พร้อมทัง้ ขับเคลือ่ นให้ราษฎรเกิดการรวมกลุม่ อาชีพ เพือ่ พัฒนา ไปสู่การท�ำการเกษตรทฤษฎีใหม่ ขั้นที่ 2 ตามแนวพระราชด�ำริต่อไป โดยในปีงบประมาณ 2553 อ�ำเภอเขาวงสามารถขยายผลเกษตรทฤษฏีใหม่ ในเรื่อง “1 ไร่ ไม่ยากไม่จน” จากสมาชิก 163 คน เพิ่มขึ้นเป็น 697 คน คิดเป็นร้อยละ 328 และยังมีการขยาย ตัวอย่างต่อเนื่องมีการท�ำงานเชิงบูรณาการระหว่างภาครัฐ ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ท้องถิ่น และ ภาคประชาชนในพื้นที่อย่างแท้จริง มีเกณฑ์การประเมินผลที่ชัดเจนและเป็นรูปธรรม ส่งเสริมให้ เกิดการพัฒนาที่มาจากความต้องการของประชาชนอย่างแท้จริง เกิดผู้น�ำและขยายเครือข่ายตาม ธรรมชาติ “เครือข่ายฮักแพงแบ่งปันอ�ำเภอเขาวง” พร้อมทั้งพัฒนาตลาดนัดสีเขียวทุกเย็นวันศุกร์ จากผลิตภัณฑ์สนิ ค้าเกษตรปลอดภัยจากแปลง 1 ไร่ไม่ยากไม่จนโดยความร่วมมือจากทุกภาคส่วน ในปีงบประมาณ 2554 ด�ำเนินการขยายผลการด�ำเนินงานเกษตรทฤษฎีใหม่ ในเรื่อง “1 ไร่ ไม่ยากไม่จน” ในเครือข่ายฮักแพง-แบ่งปัน อ�ำเภอเขาวง จ�ำนวนสมาชิก 697 ราย เพิม่ ขึน้ เป็น 720 ราย มีการจัดเวทีชมุ ชน/ศึกษาดูงาน/แลกเปลีย่ นเรียนรูแ้ นวความคิดเพือ่ ให้เกิดการบูรณาการการ ท�ำงานทั้งเรื่องงาน เงิน และคน มีการเชื่อมโยงข้อมูลเพื่อให้เกิดการส่งเสริมการผลิตที่ยั่งยืนสร้าง ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง 6 ต�ำบล เพื่อเป็นศูนย์เรียนรู้สร้างความเข้มแข็งให้กับคนในชุมชน สร้างเกษตรกรประณีต จาก 1 ไร่ ไม่ยากไม่จน เป็น 1 ไร่ 1 แสน โดยมีวิธีการลดรายจ่าย-เพิ่มราย ได้-สร้างโอกาส(สร้างองค์ความรู้ - เกษตรปลอดภัยสารพิษ - ระบบคุณธรรมคู่ปัญญา) สร้างยุว เกษตรกร “เด็กไทยหัวใจเกษตร” ในโครงการ “My Little farm” บ้านกุดปลาค้าว จากผลการด�ำเนินการดังกล่าวข้างต้น จังหวัดกาฬสินธุ์ โดยส�ำนักงานเกษตรและสหกรณ์ จั ง หวั ด กาฬสิ น ธุ ์ ไ ด้ ส ่ ง “โครงการขยายผลเกษตรทฤษฏี ใ หม่ อั น เนื่ อ งมาจากพระราชด� ำ ริ อ�ำเภอเขาวง จังหวัดกาฬสินธุ์” เข้ารับการประเมินเพื่อรับรางวัลความเป็นเลิศด้านการบริหาร ราชการแบบมีสว่ นร่วมระดับจังหวัด ประจ�ำปี 2553 ผลการประเมินโครงการขยายผลเกษตรทฤษฎี ใหม่ฯ ได้รับรางวัลความเป็นเลิศด้านการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วมระดับดีเยี่ยม
24 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 24
12/2/2561 8:39:34
ในปี 2555 ได้ด�ำเนินการขยายผลการด�ำเนินงานเกษตรทฤษฎีใหม่ ได้แก่ งานส่งเสริม การเกษตร (เกษตรประณีต 1 ไร่ ไม่ยาก ไม่จน) ขั้นที่ 1 พึ่งพาตนเอง โดยการท�ำหลุมพอเพียง ประกอบด้วยพืช 4 ชนิดในหลุมเดียวกัน ได้แก่ 1) พืชพี่เลี้ยง คือ กล้วย 2) พืชปัญญาอ่อน คือ พริก มะเขือ คะน้า 3) พืชฉลาด คือ มะละกอ และ 4) ไม้ยืนต้นที่มีอายุ 10 ปีขึ้นไป เช่น มะนาว มะพร้าว สะเดา ยางนา ปัจจุบันมีสมาชิกเครือข่ายใน อ�ำเภอกว่า 700 คน จึงได้ต่อยอดจากเกษตรประณีต 1 ไร่ ไม่ยาก ไม่จน ให้เป็น “เกษตรประณีต 1 ไร่ ได้ 1 แสน” ขั้นที่ 2 พึ่งพากันเอง เมื่อคนที่พึ่งพาตนเองได้มีจ�ำนวนมากขึ้น ของกินของใช้ก็จะเริ่มมีมาก ขึ้น ประกอบกับภาครัฐให้การสนับสนุนปัจจัยการผลิตแบบให้ขาด เช่น พันธุ์หมู พันธุ์ปลา คนใน เครือข่ายก็น�ำมาท�ำเป็นรูปแบบธนาคาร เกิดการขยายผลอย่างมาก จนกลายเป็นธนาคารหมู ธนาคารปลา ฯลฯ ขั้นที่ 3 เครือข่าย เมื่อคนในหมู่บ้าน ต�ำบล มีของมากก็เกิดการแลกเปลี่ยนระหว่างกลุ่มและ กระจายไปยังบุคคลภายนอก ทั้งในรูปแบบการแลกเปลี่ยนและการซื้อขายในตลาด โดยในระยะ อันใกล้นี้กลุ่มราษฎรในพื้นที่โครงการจะตั้ง“ร้านฮักแพง-แบ่งปัน” เพื่อขายอาหารปลอดสารพิษ โดยเฉพาะ ขั้นที่ 4 อ�ำเภอแห่งการเรียนรู้ จากการด�ำเนินกิจกรรมดังกล่าวท�ำให้ยิ่งเกิดความมั่นใจใน แนวคิดทฤษฎีมากขึ้น และเริ่มมีการถ่ายทอดองค์ความรู้และประสบการณ์ไปสู่คนรุ่นใหม่อย่าง กว้างขวางทั้งในและนอกระบบการศึกษา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้พระราชทานเครือ่ งสีขา้ วขนาดเล็กให้แก่ ราษฎรในพืน้ ทีอ่ ำ� เภอเขาวงน�ำไปใช้ประโยชน์ โดยวันที่ 4 กันยายน 2555 เจ้าหน้าทีแ่ ละราษฎรใน พืน้ ทีโ่ ครงการ ขยายผลเกษตรทฤษฎีใหม่อนั เนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ อ�ำเภอเขาวง จังหวัดกาฬสินธุ์ จ�ำนวน 27 คน ได้เดินทางมารับเครื่องสีข้าวขนาดเล็กพระราชทานดังกล่าว ณ ส�ำนักงาน กปร. และได้จัดพิธีส่งมอบขึ้นเมื่อวันที่ 12 กันยายน 2555 ผลการด�ำเนินงาน ปี 2556 จังหวัดกาฬสินธุ์และเครือข่ายภาคประชาชน ได้มีโอกาสทูลเกล้า ฯ ถวาย ข้าวเหนียวเขาวงอินทรีย์ ข้าวเหนียวที่ดี ที่สุดของอ�ำเภอเขาวงแด่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และในงานมหกรรมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ระดับนานาชาติ ภายใต้แนวคิด หลักจากนโยบายสูก่ ารขับเคลือ่ น : คุณค่าจากท้องถิน่ ต่อยอดสูส่ ากล เมือ่ วันที่ 26-27 มีนาคม 2556 ณ โรงแรมเซ็นทารา แกรนด์ ไฮแอท เซ็นทรัลเวิลด์ รวมทั้งได้น�ำไปวางจ�ำหน่ายในห้างสรรพสินค้าชั้นน�ำ เช่น เดอะมอลล์ เซ็นทรัลเวิลด์ และสยามพารากอน ในปีเดียวกันนี้ ยังได้ด�ำเนินโครงการอบรมยุวเกษตร (Mini Smart Farmer) หลักสูตร “แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง” รวมทั้งได้มีโครงการขยายผล การเพิ่มศักยภาพระบบงานเกษตร ภายใต้แผนพัฒนาเด็ก และเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร ตามพระราชด�ำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรม ราชกุมารี ในพื้นที่เขตตรวจราชการเขต 10 และเขต 12 และจังหวัดสระแก้ว จ�ำนวน 34 โรงเรียน และได้วางแนวทางการด�ำเนินงานต่อไป 1. มุ่งพัฒนาให้เป็นจังหวัดแห่งการเรียนรู้ “กาฬสินธุ์โมเดล” และ “Organic city” โดยจะ เน้นการบริหารจัดการทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจ�ำกัดให้เกิดประโยชน์สูงสุด 2. การพัฒนาศักยภาพของเกษตรกรไปสู่ Smart Farmer ต้นแบบ เพื่อให้ประชาชนมีความ กินดี อยู่ดี 3. ก�ำหนดแผนงาน/มาตรการในการพัฒนากลุม่ เกษตรทีอ่ ยูใ่ นเกรด C ให้มกี ารพัฒนาในระดับ ที่สูงขึ้น ส่วนผลการด�ำเนินการในปี 2559 มีการรวมกลุ่มและสร้างเครือข่ายเพื่อสร้างกระบวนการ เรียนรู้ พัฒนากลุ่มให้เกิดความเข้มแข็ง มีการรวมกลุ่มจัดตั้งเป็นกลุ่มฮักแพง-แบ่งปัน อ�ำเภอเขาวง มีสมาชิกประมาณ 700 ราย โดยสมาชิกทุกคนจะต้องเข้ารับการอบรมเพื่อปรับเปลี่ยนความคิด ของเกษตรกร โดยมียุทธศาสตร์ที่ส�ำคัญ คือ พึ่งตนเอง พึ่งพากันเอง สร้างภาคีเครือข่าย และเป็น องค์กรแห่งการเรียนรู้ ปัจจุบันยังคงมีกระบวนการขับเคลื่อนเครือข่ายอย่างเป็นรูปธรรม ขอขอบคุณที่มา : ส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจาก พระราชด�ำริ (ส�ำนักงาน กปร.) KARASIN 25 .indd 25
12/2/2561 8:39:52
Amsco.indd 26
09/02/61 02:06:18 PM
สารจากผู้ว่าราชการ
นายไกรสร กองฉลาด
จังหวัดกาฬสินธุ์
ผู้ว่าราชการจังหวัดกาฬสินธุ์
การที่ข้าราชการพลเรือนสายปกครองส่วนภูมิภาค จะก้าวขึ้นสู่ต�ำแหน่ง “ผู้ว่าราชการจังหวัด” ต้อง ผ่านการปฏิบัติหน้าที่ในหลายต�ำแหน่งหลายหน้าที่ ซึ่ ง กว่ า จะก้ า วขึ้ น มาเป็ น ผู ้ ว ่ า ราชการจั ง หวั ด ได้ นั้ น ส่วนใหญ่มักจะมีอายุราว 55 ปีขึ้นไป และข้าราชการ จ� ำ นวนไม่ น ้ อ ยที่ เ กษี ย ณอายุ ร าชการในต� ำ แหน่ ง นายอ�ำเภอหรือปลัดจังหวัดก็มี “นายไกรสร กองฉลาด” ได้มีพระราชโองการ โปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้ด�ำรงต�ำแหน่ง “ผู้ว่าราชการ จังหวัดกาฬสินธุ”์ เมือ่ เดือนตุลาคม พ.ศ. 2560 จึงนับได้วา่ ท่านเป็นหนึ่งในจ�ำนวนไม่กี่คนเท่านั้น ที่ได้ขึ้นสู่ต�ำแหน่ง อันทรงเกียรตินี้ในช่วงวัยเพียงห้าสิบต้นๆ ด้วยผลงาน การด� ำ เนิ น งานที่ โ ดดเด่ น แบบผู ้ บ ริ ห ารมื อ อาชี พ ที่ มี ความซื่อสัตย์สุจริตเป็นที่ตั้ง ซึ่งเป็นแนวนโยบายใหม่ ในการคัดสรรผู้ว่าราชการจังหวัดของรัฐบาล ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา
นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย มีความยินดีและรูส้ กึ เป็นเกียรติ อย่างยิ่ง ที่จะน�ำท่านผู้อ่านไปรู้จักท่านไกรสร กองฉลาด ผู้ว่าราชการ จังหวัดกาฬสินธุ์ หนุม่ รุน่ ใหม่ไฟแรงทีพ่ ร้อมขับเคลือ่ นจังหวัดกาฬสินธุ์ ไปสู่วิสัยทัศน์ที่ว่า
“ กาฬสินธุ์เมืองอาหารปลอดภัย ภูมิปัญญาวิถีถิ่นไทย น่าอาศัย ท่องเที่ยว และลงทุน ”
ศาลหลักเมือง อ� ำ เภอเมืองกาฬสินธุ์
.indd 27
( นายไกรสร กองฉลาด ) ผู้ว่าราชการจังหวัดกาฬสินธุ์
12/02/61 04:43:29 PM
นายไกรสร กองฉลาด ผู้ว่าราชการจังหวัดกาฬสินธุ์ กาฬสิน ธุ์เป็นเมืองเล็กๆ ที่สงบ แฝงไปด้วยประเพณี วัฒนธรรมที่ยังเด่น ชัดอยู่ 28 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 28
12/02/61 04:43:31 PM
KALASIN 29 .indd 29
12/02/61 04:43:32 PM
พัฒนาก้าวไกล...ไปด้วยกัน
เส้นทาง...สู่ผู้ว่าราชการจังหวัดกาฬสินธุ ์ นายไกรสร กองฉลาด ส�ำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษา จากโรงเรี ย นสวนกุ ห ลาบวิ ท ยาลั ย จากนั้ น ได้ เข้ า ศึ ก ษาต่ อ ในระดับตรีที่คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ ส�ำเร็จหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (สังคมวิทยาการพัฒนา) จากมหาวิทยาลัยขอนแก่น ท่านรับราชการครั้งแรกในต�ำแหน่งปลัดอ�ำเภอโพนพิสัย จังหวัดหนองคาย เมือ่ ปี 2532 อีก 12 ปีตอ่ มา ได้ขนึ้ เป็นป้องกัน จั ง หวั ด ขอนแก่ น (เจ้ า พนั ก งานปกครอง 7) และได้ เ ป็ น ปลัดอ�ำเภอหัวหน้ากลุ่มงานบริหารงานปกครอง (เจ้าพนักงาน ปกครอง 8ว.) อ�ำเภอบ้านไผ่ จังหวัดขอนแก่น ในปี พ.ศ. 2547 ถัดมาหนึ่งปี ท่านได้ย้ายไปเป็นป้องกันจังหวัดมหาสารคาม (เจ้าพนักงานปกครอง 8ว.)
ชีวิตราชการของท่านก้าวหน้ามาโดยตลอด จนกระทั่งปี พ.ศ. 2550 ก็ได้ รับการแต่งตั้งเป็นนายอ�ำเภอซ�ำสูง (ผู้อ�ำนวยการระดับต้น) จังหวัดขอนแก่น ท่านทุ่มเทให้กับการปฏิบัติหน้าที่ให้บริการประชาชนอย่างเต็มที่ จนกระทั่ง ได้รบั รางวัลข้าราชการพลเรือนดีเด่น ประจ�ำปี 2551 (ครุฑทองค�ำ) จาก ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี (นายอภิสทิ ธิ์ เวชชาชีวะ) พร้อมด้วยรางวัลการันตีผลการท�ำงาน อีกมากมาย จากนัน้ อีกสีป่ ตี อ่ มาท่านก็ได้ไปเป็นนายอ�ำเภอกระนวน (ผูอ้ ำ� นวยการ สูงสุด) จังหวัดขอนแก่น เส้นทางสู่การเป็นผู้ว่าราชการจังหวัดของท่านเริ่มแจ่มชัดขึ้น เมื่อท่าน ได้ขึ้นด�ำรงต�ำแหน่งปลัดจังหวัดเพชรบูรณ์ ในปี พ.ศ. 2556 และย้ายไปเป็น ปลัดจังหวัดร้อยเอ็ด ในปี พ.ศ.2557 ปีเดียวกันนี้ ท่านได้รับการแต่งตั้งเป็น รองผูว้ า่ ราชการจังหวัดมหาสารคาม และรองผูว้ า่ ราชการจังหวัดเพชรบูรณ์ ใน ปี พ.ศ.2558 กระทั่งมีพระราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งเป็นผู้ว่าราชการ จังหวัดกาฬสินธุ์ เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2560 จนถึงปัจจุบัน 30 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 30
12/02/61 04:43:35 PM
อยู ่ครบทุกจังหวัด
“ ร้อยแก่นสารสินธุ์ ” ตั้งแต่ปฏิบัติราชการมา ผมก็อยู่ทางภาคอีสาน มาตลอด จังหวัดกาฬสินธุ์นี่เป็นหนึ่งในกลุ่มจังหวัด ภาคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ ตอนกลาง ที่ เรี ย กว่ า “ร้อยแก่นสารสินธุ์” ร้อย คือ ร้อยเอ็ด แก่น คือ ขอนแก่น สาร คือ มหาสารคาม สินธุ์ คือ กาฬสินธุ์ ซึ่งในกลุ่มจังหวัดพวกนี้ผมอยู่มาหมดแล้วยกเว้น กาฬสิ น ธุ ์ ที่ ร ้ อ ยเอ็ ด นี่ เ ป็ น ปลั ด จั ง หวั ด 1 ปี มหาสารคามอยู่ 2 รอบ เป็นป้องกันจังหวัด 2 ปี และเป็นรองผูว้ า่ ฯ มหาสารคาม 1 ปี ขอนแก่นนีอ่ ยูน่ าน ประมาณ 20 ปี แล้วครอบครัวก็อยู่ที่นั่นด้วย เมื่อทราบว่าจะได้มาด�ำรงต�ำแหน่งผู้ว่าฯ ที่ จังหวัดกาฬสินธุ์ สิง่ แรกเลยคิดว่าจังหวัดกาฬสินธุน์ ี้ ใกล้บา้ น แล้วประเด็นส�ำคัญคือ ผมคิดว่ากลุม่ จังหวัด เหล่านี้ผมอยู่มาหมดแล้วยกเว้นกาฬสินธุ์ ซึ่งเคย มาประชุมในวาระต่างๆ ฉะนั้นเรื่องความแตกต่าง ของผู้คนไม่น่าจะมี ทั้งความแตกต่างด้านความคิด ความเชื่อ วัฒนธรรม ก็ไม่น่าจะต่างกันมากในกลุ่ม จังหวัดที่ผมอยู่ ฉะนั้นก็คิดว่าผมสามารถที่จะมา ท�ำงานได้อยู่แล้ว
KALASIN 31 .indd 31
12/02/61 04:43:37 PM
กาฬสินธุ ์...เมืองเปี่ ยมเสน่ห์ จั ง หวั ด กาฬสิ น ธุ ์ เ ป็ น เมื อ งที่ มี เ สน่ ห ์ แ ละมี อัตลักษณ์ที่ชัดเจน โดยเฉพาะวิถีชีวิตของคนภูไท หรือผู้ไทที่มีเอกลักษณ์ ซึ่งเป็นต้นทุนทางสังคมที่ มี ค ่ า และหาได้ ย าก ถ้ า เที ย บกั บ ภาคเหนื อ ก็ คื อ ล�ำพูน แพร่ น่าน กาฬสินธุ์เป็นเมืองเล็กๆ ที่สงบ แฝงไปด้วย ประเพณี วัฒนธรรมทีย่ งั เด่นชัดอยูไ่ ม่ใช่วา่ เราฉาบฉวย แต่ประเพณีและวัฒนธรรมเหล่านั้นยังอยู่ในใจของ ผู้คน แล้วก็ยังปฏิบัติกันอยู่จนถึงปัจจุบันทุกวันนี้ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องเครื่องแต่งกาย ภาษาพูด ซึ่งถือว่า มี จุ ด เด่ น และเป็ น จุ ด ขายนะครั บ เพราะเราคง ไม่สามารถไปแข่งกับเมืองใหญ่ๆ ได้ในเรื่องของ โครงสร้างพื้นฐาน แต่ผมว่าเรื่องวัฒนธรรมเราเป็น จุดแข็ง เราเชือ่ ว่าอะไรทีม่ นั มีรากฐานทางวัฒนธรรม มันจะยัง่ ยืนกว่าไม่ใช่เป็นแค่เรือ่ งแฟชัน่ มาแล้วก็ไป
นอกจากนี้ กาฬสินธุ์ยังเป็นจังหวัดไม่กี่จังหวัด ที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร รวมถึงสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระ บรมราชิ นี น าถ และพระบรมวงศานุ ว งศ์ เสด็ จ พระราชด�ำเนินมาในโอกาสต่างๆ หลายครั้ง จังหวัด กาฬสินธุ์จึงมีเรื่องราวที่เกี่ยวกับพระราชกรณียกิจ ที่น่าประทับใจค่อนข้างมากและหลายเรื่องด้วยกัน ซึ่งผมมองว่าสิ่งเหล่านี้ท�ำให้จังหวัดกาฬสินธุ์มีเสน่ห์ ในตัวเองที่น่าค้นหา เพียงแต่ว่าเราจะเติมเสน่ห์อะไร ลงไปเพิ่ ม บ้ า ง เราจะขั บ เคลื่ อ นด้ า นไหนออกมา ให้สาธารณะหรือให้ผู้คนในแผ่นดินนี้ ได้รู้ ได้เห็น 32 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 32
12/02/61 04:43:39 PM
เราได้รับการอบรมสั่งสอน จากอดีตผู้บังคับบัญชา หรือ แม้แต่กระทั่งชาวบ้ า น ก็สอนผมไว้เยอะเหมือนกั นนะ นายไกรสร กองฉลาด ผู้ว่าราชการจังหวัดกาฬสินธุ์
KALASIN 33 .indd 33
12/02/61 04:43:40 PM
หลักการบริหารราชการ
การเป็นผูว้ า่ ราชการจังหวัดกาฬสินธุ์ มีหน้าทีเ่ ชือ่ มโยงระหว่าง ส่วนกลางลงมา แล้วก็สื่อความต้องการของข้างล่างขึ้นไปหา ส่วนกลาง ซึง่ ผมจะถนัดท�ำงานในพืน้ ทีม่ าก เพราะว่าด้วยความทีอ่ ยู่ ในภูธรมานาน ไม่เคยไปอยู่ส่วนกลางนานๆ เคยไปอยู่แค่ปีเดียว สมัยเป็นเด็ก นอกนั้นก็อยู่ภูธรมาตลอด ฉะนั้นเรื่องการเข้าหา ชาวบ้าน เรือ่ งการสือ่ สารกับชาวบ้าน จะไม่คอ่ ยมีปญ ั หา จะเข้าใจกัน สามารถทีจ่ ะแลกเปลีย่ นเรียนรูซ้ งึ่ กันและกันได้ เมือ่ เขามอบอ�ำนาจ มาให้เราท�ำหน้าที่ผู้ว่าราชการจังหวัด สิ่งไหนที่สามารถจบลง ในพื้นที่ได้ เราก็ต้องท�ำ แต่ถ้าไม่สามารถจบได้ เพราะเร่งด่วน หรือเกินก�ำลัง ก็ต้องพึ่งพาส่วนกลางด้วย
เรื่องการเข้าหาชาวบ้ า น... จะไม่ ค ่ อ ยมี ปั ญ หา จะเข้ า ใจกั น สามารถที่จะแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู ้ ซึ่ง กั นและกั นได้ นายไกรสร กองฉลาด ผู้ว่าราชการจังหวัดกาฬสินธุ์
34 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 34
12/02/61 04:43:46 PM
มุ่งสู่วิสัยทัศน์เมืองอาหารปลอดภัย
วิสัยทัศน์เรื่องแรกของจังหวัด คือ เรื่องของอาหารปลอดภัย ถือว่าผมก็มีประสบการณ์มาพอสมควรในสมัยที่อยู่เพชรบูรณ์ ไม่ว่าจะเป็นการท�ำ โมเดิร์นเทรดหรือการท�ำแบรนด์ท�ำอะไร ผมมองว่าเราสามารถที่จะน�ำประสบการณ์ น�ำความรู้ที่เราได้มานั้น มาใช้ที่นี่ได้ ซึ่งก็ต้องยอมรับว่าประชาชน ส่วนใหญ่ก็เป็นเกษตรกร ถ้าเราไม่ท�ำเรื่องเกษตร เราจะไปท�ำอย่างอื่นมันคงไม่ได้ เราต้องเริ่มจากสิ่งที่เรามีก่อน แต่ประเด็นก็คือว่า เราจะท�ำอย่างไรเพื่อให้พี่น้องเกษตรกรเข้าใจว่าเราจะท�ำอะไร แล้วเข้าใจว่าท�ำไมเราต้องท�ำอย่างนี้ แล้วเราจะสามารถเข้าไป ถึงจิตใจเขาได้อย่างไร เพื่อที่จะชักชวนให้เขามาเดินตามเรา แล้วในที่สุดเมื่อเราเข้าใจบริบทต่างๆ แล้ว เราจะสามารถเข้าถึงจิตใจ สามารถแนะน�ำเขา ได้ ก็จะก่อให้เกิดการพัฒนา เหมือนวิทยาศาสตร์พื้นฐาน คือ เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา
พร้อ
จ การเต กับผู้อ แ แค่ช่ว แล้วม KALASIN 35 .indd 35
12/02/61 04:43:47 PM
พร้อมรับสนองพระราชโองการ
จริงๆ แล้ว การเตรียมตัวมารับต�ำแหน่งจะมาเตรียมตัวในช่วง ค�ำสัง่ ออก หรือมีพระราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตัง้ ให้ได้รบั ต�ำแหน่งนี้ ....มันคงไม่ใช่ การเตรียมตัวของผมหมายถึงการสั่งสมประสบการณ์ ตลอดชีวิตการรับราชการ ว่าเราได้มีการท�ำงานกับหน่วยเหนืออย่างไร กับเพื่อนร่วมงานอย่างไร กับผู้อยู่ในบังคับบัญชาอย่างไร และที่ส�ำคัญประสบการณ์ท�ำงานนี้ มันสะสมมาตั้งแต่ผมเป็น ปลั ด อ� ำ เภอ เป็ น นายอ� ำ เภอ เรื่ อ ยมาจนถึ ง เป็ น รองผู ้ ว ่ า ฯ สะสม มาเรื่อยๆ มันคงไม่เกิดขึ้นแค่ช่วงข้ามวันข้ามคืน...มันไม่ใช่ แต่เป็น เรื่องที่เราได้รับการอบรมสั่งสอนจากอดีตผู้บังคับบัญชา หรือแม้แต่ กระทั่งชาวบ้านก็สอนผมไว้เยอะเหมือนกัน แล้วมันก็ตกผลึกรวมกัน แล้วหลอมรวมเป็นแนวคิดเมื่อเวลาที่เราเจอปัญหา
ผมว่าคนไทยเราโชคดี ที่ พระบาทสมเด็จ พระปรมิ นทรมหา ภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิ ต ร รัช กาลที่ 9 ท่านทรงน� ำ เรื่อ งทฤษฎี ใหม่มาขยายผล นายไกรสร กองฉลาด ผู้ว่าราชการจังหวัดกาฬสินธุ์
36 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 36
12/02/61 04:43:49 PM
แต่ทางที่ ใ นหลวงรัชกาลที่ 9 ได้พ ระราชทาน คือ ยั่งยืน ว่า ท�ำอย่า งไรเราจะประนีประนอมให้ ความเป็นอยู่ของเรากับสิ่งแวดล้อม มันไปกันได้ นายไกรสร กองฉลาด ผู้ว่าราชการจังหวัดกาฬสินธุ์
ปั ญหา! ของชาวกาฬสินธุ์และแนวทางแก้ไข แน่นอนว่าปัญหาส่วนใหญ่ตอนนี้ก็คือ ปัญหาผลผลิตทางการเกษตรเป็นอย่างแรก ปัญหาทีส่ องคือเรือ่ งอุทกภัย ซึง่ ช่วงทีผ่ มมาอยู่ เป็นช่วงพระราชพิธีถวายเพลิงพระบรมศพ ก็ต้องทุ่มเทก�ำลังทั้งหมดเพื่อสนองพระเดช พระคุณถวายงาน ผมต้องโฟกัสไปตรงนัน้ ก่อน ตอนนี้ เ ท่ า ที่ อ อกไปสั ม ผั ส พู ด คุ ย กั บ ชาวบ้าน เราก�ำลังจะหาทางแก้ไขในเรื่อง ของราคาผลผลิตตกต�่ำ เรื่องของการตลาด ชาวบ้านถามว่า...ปลูกแล้วจะไปขายที่ไหน ตรงนี้มันต้องมีค�ำตอบ มันไม่ใช่ข้าราชการ
ยุคโบราณ ที่ไปบอกให้เขาไปปลูก แล้วเขา ถามว่ า จะไปขายที่ ไ หนแล้ ว เราตอบไม่ ไ ด้ มันต้องมีแหล่งที่เขาจะขายได้ แล้วก็มนั มีอกี หลายแนวทาง เช่น อาจจะ ต้องปรับหรือชีใ้ ห้ชาวบ้านเห็นว่า พืชเชิงเดีย่ ว ที่คุณท�ำกันมา...กี่ปีแล้ว แล้วค�ำตอบที่ได้มา คืออะไร มันใช่หรือเปล่า ลองมาท�ำแบบนีไ้ หม ผมว่าคนไทยเราโชคดีที่เรานั้นมี พระบาท สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร รัชกาลที่ 9 ท่านทรงน�ำ เรื่องเกษตรทฤษฎีใหม่มาขยายผล ผมจึง
เกิดแนวความคิดที่ว่าเราจะมาต่อยอดจาก สิง่ ทีพ่ ระองค์ทา่ นได้พระราชทานให้กบั ชาวไทย ซึ่งถือว่าเป็นมรดกที่ล�้ำค่าที่สุด เป็นมรดก ในเรื่องของความคิด เป็นแนวปฏิบัติที่ทรงชี้ ทางออกให้กับสังคมไทยว่า...ถ้าคุณจะอยู่ได้ คุณต้องมาแนวนี้แนวทฤษฎีใหม่ เป็นการ กระจายความเสี่ยงในการประกอบอาชีพ ไม่ใช่ว่าคุณท�ำแต่พืชเชิงเดี่ยว พอถึงเวลา คุณขายไม่ได้ ก็ตอ้ งถึงมือรัฐบาลๆ ก็ตอ้ งจ่าย เงินชดเชยกัน เป็นการแก้ปญ ั หาแบบพายเรือ ในอ่างแบบนี้...มันไม่จบ
KALASIN 37 .indd 37
12/02/61 04:43:53 PM
จากใจผู ้ว่าราชการจังหวัด ่ น เพื่อความก้าวหน้ายังยื
ตอนนีป้ ระเทศไทยเรามาถึงทาง 2 แพร่ง คือ ย่อยยับ กับยั่งยืน ย่อยยับคือ การท�ำเกษตรเชิงเดี่ยว ใช้สารเคมี แล้วก็ท�ำแบบไม่มีการกระจายความเสี่ยง ท�ำแบบเดิมๆ ในที่ สุ ด เราไปเน้ น เรื่ อ งรายได้ ขายข้ า วจะได้ เ ท่ า ไร ขายอ้อยขายมันจะได้เท่าไร แต่คุณไม่ได้สะท้อนต้นทุน ของดิน น�้ำ ป่า ที่มันเสียไป ถามว่ามันคุ้มไหมกับสิ่ง ที่มันเสียไป เราสามารถส่งมอบเป็นมรดกให้กับคน รุ่นต่อไปได้หรือเปล่า หรือคุณกินอิ่มแค่ยุคคุณ เด็กๆ รุ ่ น ลู ก หลานคุณต่อไปข้างหน้า คุณไม่ต ้องแคร์ แล้ ว อันนั้นผมว่าก็ไม่ใช่ พากันไปลงเหวแล้ว นั่นคือย่อยยับ แต่ทางที่ในหลวงรัชกาลที่ 9 ได้พระราชทานชี้แนะ คือ ยั่งยืน ก็คือท�ำอย่างไรเราจะประนีประนอมให้ความ เป็นอยูข่ องเรากับสิง่ แวดล้อม มันไปกันได้ สามารถส่งต่อ ให้ประเทศไทย ให้ลกู ให้หลานได้ในอนาคต และทีส่ ำ� คัญ มันไม่เป็นการฆ่าตัวตาย ฆ่าตัวตายด้วยการใช้สารเคมี เอาตัวเงินเป็นตัวตั้ง พอถึงเวลาก็เอาเงินไปรักษาตัว แล้วสิ่งแวดล้อมตายหมด เรื่องสิ่งแวดล้อมนี่คือเราเอามาจากฝรั่ง ฝรั่งคิดว่า ตัวเองเป็นศูนย์กลาง พยายามที่จะเอาชนะธรรมชาติ แต่ก็ไม่เคยเอาชนะธรรมชาติได้ทั้งหมด เพราะความคิด ของมนุษย์มันไม่ถ้วนทั่ว อาจจะแก้ปัญหานี้ได้ แต่มัน จะน�ำมาซึง่ ผลกระทบอีกหลายอย่างเยอะแยะไปหมดเลย อย่างเอาน�้ำมันมาใช้แก้ปัญหาเรื่องพลังงานได้ แต่สิ่ง ทีต่ ามมาคือ มลภาวะ สุขภาพคน เรือ่ งเสียง เกิดมลภาวะ ด้านเสียง แต่ เรานั บ ถื อ ศาสนาพุ ท ธ ศาสนาพุ ท ธสอนโดย ยกตัวอย่างจากสิ่งแวดล้อมในธรรมชาติ เพราะเราเป็น ส่วนหนึง่ ของธรรมชาติ ดิน น�ำ้ ป่า ทีย่ งิ่ ใหญ่ทสี่ ดุ ธรรมะ คือธรรมชาติที่สุด ไม่ใช่เทพสูงสุด ถ้าเราปรับวิธีคิดได้ ความยั่งยืนจะเกิด แต่ที่ผ่านมาเราเดินตามฝรั่ง ฝรั่งเขา มีจิตใจมุ่งมั่นเอาชนะ แต่จริงๆ ไม่ใช่ มนุษย์ไม่เคย เอาชนะธรรมชาติได้
38 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 38
12/02/61 04:43:54 PM
คือ ย่อยยั บกั บยั่ ง ยื น
อ�ำเภอเมือง KALASIN 39 .indd 39
12/02/61 04:43:55 PM
ประวัติ โดยย่อ
นายไกรสร กองฉลาด
ผู้ว่าราชการจังหวัดกาฬสินธุ์
เกิดวันที่ 22 มีนาคม 2508 การศึกษา รัฐศาสตรบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (สังคมวิทยาการพัฒนา) มหาวิทยาลัยขอนแก่น การเข้าอบรมหลักสูตร พ.ศ. 2544 จบการศึกษาอบรมหลัดสูตรนายอ�ำเภอ รุ่นที่ 49 พ.ศ. 2553 อบรมศึกษาหลักสูตรนักปกครองระดับสูง (นปส.) รุ่นที่ 55 การรับราชการ พ.ศ. 2532 ปลัดอ�ำเภอโพนพิสัย จังหวัดหนองคาย พ.ศ. 2544 ป้องกันจังหวัดขอนแก่น (เจ้าพนักงานปกครอง 7) พ.ศ. 2547 ปลัดอ�ำเภอหัวหน้ากลุ่มงานบริหารงานปกครอง (เจ้าพนักงานปกครอง 8ว.) อ�ำเภอบ้านไผ่ จังหวัดขอนแก่น พ.ศ. 2548 ป้องกันจังหวัดมหาสารคาม (เจ้าพนักงานปกครอง 8ว.) พ.ศ. 2550 นายอ�ำเภอซ�ำสูง (ผู้อ�ำนวยการระดับต้น) จังหวัดขอนแก่น พ.ศ. 2555 นายอ�ำเภอกระนวน (ผู้อ�ำนวยการสูง) จังหวัดขอนแก่น พ.ศ. 2556 ปลัดจังหวัดเพชรบูรณ์ พ.ศ. 2557 ปลัดจังหวัดร้อยเอ็ด พ.ศ. 2557 รองผู้ว่าราชการจังหวัดมหาสารคาม 1 ต.ค. 2558 รองผู้ว่าราชการจังหวัดเพชรบูรณ์ 1 ต.ค. 2560 - จนถึงปัจจุบัน ผู้ว่าราชการจังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานส�ำคัญ พ.ศ. 2551 รางวัลระดับเขต เป็นอ�ำเภอที่มีการจัดที่ว่าการอ�ำเภอเพื่อการบริการประชาชนดีเด่น (อ�ำเภอซ�ำสูง จังหวัดขอนแก่น) จากกรมการปกครองกระทรวงมหาดไทย พ.ศ. 2551 รางวัลอ�ำเภอปลอดลูกน�้ำยุงลายดีเด่น เขต 12 (ขอนแก่น มหาสารคาม ร้อยเอ็ด) กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2551 รางวัลข้าราชการพลเรือนดีเด่น ประจ�ำปี 2551 (ครุฑทองค�ำ) จาก ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี (นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ) พ.ศ. 2552 รางวัลระดับภาค แผนยุทธศาสตร์พัฒนาอ�ำเภอดีเด่น อ�ำเภอซ�ำสูง จังหวัดขอนแก่น จากกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. 2552 รางวัลระดับเขต นายอ�ำเภอของประชาชน อ�ำเภอซ�ำสูง จังหวัดขอนแก่น จากกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. 2553 รางวัลระดับดี ความเป็นเลิศด้านการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วมในระดับจังหวัด จากส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) กรณี อ�ำเภอซ�ำสูง จังหวัดขอนแก่น ประสบการณ์ทางวิชาการ วิทยากรพิเศษบรรยายหัวข้อวิชา ประสบการณ์นกั ปกครองแก่ผเู้ ข้าอบรม หลักสูตรนายอ�ำเภอทบทวน รุน่ ที่ 11 และรุน่ ที่ 12 วิทยาลัยการปกครอง เกียรติคุณพิเศษ พ.ศ. 2554 ศิษย์เก่าดีเด่น ระดับบัณฑิตศึกษาด้านบริหารประจ�ำปี 2554 บัณฑิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2559 คนดีศรีสวน ประจ�ำปี 2559 สมาคมศิษย์เก่าสวนกุหลาบวิทยาลัย 40 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 40
12/02/61 04:44:01 PM
ศาสนาพุ ทธสอนโดยยกตัวอย่าง จากสิ่ ง แวดล้ อ มในธรรมชาติ เพราะเราเป็ นส่วนหนึ่ง ของธรรมชาติ นายไกรสร กองฉลาด ผู้ว่าราชการจังหวัดกาฬสินธุ์
KALASIN 41 .indd 41
12/02/61 04:44:04 PM
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
จังหวัดกาฬสินธุ์
นายโชคชัย ศรีหิรัญรัตน์ ท้องถิ่นจังหวัดกาฬสินธุ์
จังหวัดกาฬสินธุ์ มีจ�ำนวนองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ มากถึง 151 แห่ง ใน 18 อ�ำเภอ โดย อยู่ในการก�ำกับดูแลของส�ำนักงานส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดกาฬสินธุ์ ในปัจจุบันมี “ นายโชคชัย ศรีหิรัญรัตน์ ” ด�ำรงต�ำแหน่ง ท้องถิ่นจังหวัดกาฬสินธุ์
พ.จ.ต.ส�ำเนียง หวังเจริญ ผู้อ�ำนวยการกลุ่มงานส่งเสริมและ พัฒนาท้องถิ่น เป็นผู้ช่วย
42 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 42
09/02/61 02:33:49 PM
โครงการและกิจกรรม
จังหวัดกาฬสินธุ์ มีโครงการและกิจกรรม ที่โดดเด่น Best Practices ดังนี้
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่จังหวัดกาฬสินธุ์ มีโครงการและกิจกรรมที่โดดเด่น Best Practices ดังนี้ ด้านสิ่งแวดล้อม
อ�ำเภอกมลาไสย อบต.ธัญญา โครงการรักน�ำ ้ รักป่า รักษาแผ่นดิน อบต.โคกสมบูรณ์ โครงการ ชุมชนประชาชนร่วมอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ป่าสงวนแห่งชาติ (ป่าดงนามน) อ�ำเภอกุฉินารายณ์ ทม.บัวขาว โครงการ หมู่บ้านสุขสันต์ ร่วมใจกันรักษ์สิ่งแวดล้อม ปี 2 ร่ ว มใจ เทิ ด ไท้ องค์ ร าชั น เนื่ อ งโอกาสเฉลิ ม พระชนมพรรษา 87 พรรษา เทศบาลเมืองบัวขาว ประจ�ำปี 2558 เทศบาลต�ำบลเหล่าใหญ่ โครงการ ขยะเป็ น เงิ น เป็ น ทอง ปี 2 อบต.หนองห้ า ง โครงการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ (ป่าชุมชน โคกป่าซี) อบต.เหล่าไฮงาม โครงการถนนสะอาด หน้าบ้านหน้ามอง เพื่อสร้างเสริมสุขภาพชุมชน อบต.แจนแลน โครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วม ของชุมชนในการคัดแยกขยะทีต่ น้ ทาง อบต.กุดค้าว โครงการหมู่บ้านสุขสันต์ ร่วมใจรักษ์สิ่งแวดล้อม ปี 2 ร่วมใจ เทิดไท้องค์ราชัน เนื่องในโอกาสเฉลิม พระชนมพรรษา 87 พรรษา อ�ำเภอฆ้องชัย ทต.ฆ้องชัยพัฒนา โครงการ บ้านสะอาด ชุมชนปลอดโรคอนามัยดี ชีวมี สี ขุ ปี 2559 อ�ำเภอท่าคันโท ทต.ดงสมบูรณ์ โครงการ รณรงค์สง่ เสริมให้ประชาชนดูแลและรักษาทีอ่ ยูอ่ าศัย และชุมชนให้ถูกสุขลักษณะ อ� ำ เภอนาคู ทต.นาคู โครงการบรรเทา สาธารณภัยและภัยแล้ง ประจ�ำปี 2559 อ�ำเภอเมืองกาฬสินธุ์ ทม.กาฬสินธุ์ การบริหาร จัดการขยะแบบมีส่วนร่วม อ� ำ เภอยางตลาด ทต.บั ว บาน โครงการ ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการคัดแยก ขยะที่ต้นทาง อ� ำ เภอสหั ส ขั น ธ์ ทต.โนนบุ รี โครงการ ก่ อ สร้ า งและปรั บ สภาพบ้ า นให้ ค นพิ ก ารเพื่ อ ท� ำ ความดี ถ วายเป็ น พระราชกุ ศ ลแด่ พ ระบาท สมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช เทศบาลต� ำ บลนามะเขื อ โครงการประชาชน ร่วมใจ ส่งเสริมการลดและคัดแยกขยะ อ�ำเภอสามชัย อบต.ส�ำราญใต้ รักน�้ำ รักป่า รักษาแผ่นดิน อ� ำ เภอห้ ว ยเม็ ก ทต.ห้ ว ยเม็ ก โครงการ ลดขยะในชุมขนโดยการคัดแยกขยะ ปี2559
Best Practices
ด้านการศึกษา
อ�ำเภอห้วยเม็ก ทต.ท่าลาดดงยาง โครงการกิจกรรมวันเด็กแห่งชาติ อ�ำเภอเมืองกาฬสินธุ์ ทต.นาจารย์ โครงการศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่ เพื่อใช้พัฒนาคุณภาพ การศึกษาของสถานศึกษา ในมาตรฐานที่ 5 อ�ำเภอยางตลาด อบต.หนองตอกแป้น โครงการลดความเหลือ่ มล�ำ้ ด้วยการศึกษาปฐมวัย ที่มีคุณภาพ (Reducing Inequality through Childhood Education : RIECE Thailand) อ�ำเภอสหัสขันธ์ ทต.นิคม การด�ำเนินการบริหารด้านการจัดการศึกษาเทศบาลต�ำบลนิคม อ� ำ เภอยางตลาด อบต.หั ว งั ว โครงการมหกรรมการจั ด การศึกษาท้องถิ่น ระดับ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ครั้งที่ 24 ประจ�ำปี 2559 แข่งเดินตัวหนอน
คณะผู้บริหาร
ด้านการพัฒนาและส่งเสริมอาชีพ
อ�ำเภอกุฉินารายณ์ อบต.บัวขาว โครงการเพิ่มศักยภาพผู้สูงอายุในชุมชน (การสาน ตะกร้าพลาสติก) อ�ำเภอนาคู อบต.สายนาวัง โครงการกระจายชุมชนสู่ไร่นา อบต.โนนนาจาน โครงการ ส่งเสริมอาชีพให้แก่กลุ่มแม่บ้าน และผู้ว่างงาน โดยการท�ำลายปักเสื้อเย็บมือ อ�ำเภอนามน อบต.หลักเหลี่ยม โครงการปลูกหม่อนเลี้ยงไหมพื้นบ้าน อ�ำเภอเมืองกาฬสินธุ์ ทต.ภูดิน โครงการฝึกอบรมอาชีพหลักสูตรการสานตะกร้า เส้นพลาสติก ทต.กลางหมื่น โครงการสร้างพลังชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่มุ่งสู่ความยั่งยืน อ�ำเภอยางตลาด ทต.โคกศรี โครงการพัฒนาตลาดสดน่าซื้อเทศบาลต�ำบลโคกศรี อ�ำเภอห้วยเม็ก อบต.บึงนาเรียง โครงการส่งเสริมการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ต�ำบลบึงนาเรียง อบต.พิมูล โครงการฝึกอบรมกลุ่มอาชีพ ประจ�ำปี 2559 หลักสูตรการฝึกปฏิบัติการท�ำ ผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่ KARASIN 43
.indd 43
09/02/61 02:33:49 PM
ด้านการส่งเสริมศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณีท้องถิ่น อ�ำเภอกมลาไสย อบต.โพนงาม โครงการ ลานวัฒนธรรมชุมชน ทต.หนองแปน โครงการ สรงน�้ ำ พระธาตุ ย าคู เมื อ งฟ้ า แดดสงยาง จังหวัดกาฬสินธุ์ ทต.หลัก เมือ ง โครงการ จั ด งานประเพณี แข่ ง เรื อ ยาวเล็ ก และงาน ลอยกระทง ประจ� ำ ปี ง บประมาณ 2558 ทต.ธั ญ ญา การจั ด งานประเพณี บุ ญ บั้ ง ไฟ ประจ�ำปี 2558 อบต.ธัญญา โครงการอบรม จริยธรรม คุณธรรม เยาวชน พนักงานส่วนต�ำบล พนักงานจ้าง ผู้บริหารท้องถิ่น สมาชิกสภา องค์การบริหารส่วนต�ำบล ประจ�ำปี 2559 อ�ำเภอกุฉนิ ารายณ์ ทม.บัวขาว โครงการ ส่ ง เสริ ม และอนุ รั ก ษ์ วั ฒ นธรรมพื้ น เมื อ ง สูป่ ระชาคมอาเซียน(AEC) ทต.กุดหว้า โครงการ งานประเพณีวฒ ั นธรรมผูไ้ ทบุญบัง้ ไฟตะไลล้าน (ปลอดเหล้า ปลอดภัย ปลอดการพนัน) อ�ำเภอเขาวง ทต.สงเปลือย โครงการ สืบสานงานประเพณีวัฒนธรรมผู้ไท บุญบั้งไฟ
อบต.คุ้มเก่า โครงการแห่เทียนเข้าพรรษา ทต.กุดสิม โครงการจัดงานประเพณีแห่เทียน พรรษา ประจ�ำปี 2559 อ�ำเภอค�ำม่วง ทต.โพน โครงการจัดงาน ประเพณีบุญบั้งไฟแพรวากาฬสินธุ์ ประจ�ำปี 2560 อ� ำ เภอฆ้ อ งชั ย อบต.โนนศิ ล าเลิ ง โครงการส่ ง เสริ ม งานประเพณี บุ ญ คู ณ ลาน ประจ� ำ ปี 2560 อบต.ล� ำ ชี โครงการงาน ประเพณีวันลอยกระทง อ�ำเภอท่าคันโท ทต.นาตาล โครงการ สรงน�้ำภูพระสักการะพระพุทธอนันตชินคีรี อ� ำ เภอเมื อ งกาฬสิ น ธุ ์ ทต.ภู ป อ โครงการสรงน�้ำ - ปิดทอง พระพุทธไสยาสน์ ภูปอ เนื่องในวันวิสาขบูชา ประจ�ำปี 2559 ทต.บึ ง วิ ชั ย โครงการประเพณี บุ ญ บั้ ง ไฟ ทต.ไผ่ โครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม เพือ่ พัฒนาคุณภาพชีวติ ประชาชน ทต.ล�ำพาน
โครงการถนนสายบุญ ทต.โพนทอง ถนน สายบุญเทศบาลต�ำบลโพนทอง อ� ำ เภอยางตลาด อบต.ยางตลาด โครงการประกวดขับร้องท�ำนองสรภัญญะ ชิ ง ถ้ ว ยพระราชทาน สมเด็ จ พระเทพรั ต น ราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี อ�ำเภอสหัสขันธ์ อบต.โนนแหลมทอง โครงการวันสงกรานต์และผู้สูงอายุ ปี 2559 อ�ำเภอหนองกุงศรี ทต.ค�ำก้าว โครงการ อนุ รั ก ษ์ ป ระเพณี ถ วายเที ย นพรรษา และ ผ้ า อาบน�้ ำ ฝน ทต.หนองบั ว โครงการ ประเพณีทอดเทียนกลุ่ม 2560, โครงการ ถนนสายบุญประจ�ำปี 2560 อ� ำ เภอห้ ว ยเม็ ก อบต.โนนสะอาด โครงการจัดงานประเพณีบุญบั้งไฟ ประจ�ำปี 2559 ทต.ค�ำใหญ่ โครงการประเพณีสงกรานต์ ประสานใจ 2560 ทต.ห้วยเม็ก โครงการ ประเพณีบุญบั้งไฟ
ด้านเศรษฐกิจพอเพียง
ด้านนวัตกรรมการบริหารจัดการและการให้บริการประชาชน
อ�ำเภอเมืองกาฬสินธุ์ อบจ.กาฬสินธุ์ โครงการจัดตั้งกองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพที่จ�ำเป็น ต่อสุขภาพจังหวัดกาฬสินธุ์ ปี 2559 เทศบาลต�ำบลห้วยโพธิ์ โครงการจัดตั้งจุดตรวจจุดบริการ ประชาชนในช่วงเทศกาลสงกรานต์ ประจ�ำปี 2558 เทศบาลต�ำบลล�ำคลอง โครงการจัดตั้ง ศูนย์อ�ำนวยความสะดวกทางจราจรในเทศกาลสงกรานต์ อ�ำเภอสหัสขันธ์ อบต.สหัสขันธ์ โครงการ ปรับปรุงฐานข้อมูลภาษี
อ�ำเภอกมลาไสย อบต.โพนงาม โครงการ สนั บ สนุ น หมู ่ บ ้ า นเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง บ้ า น โพนงาม ประจ�ำปี 2559 อ�ำเภอเมืองกาฬสินธุ์ ทต.ขมิน้ โครงการ แปรรูปผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรตามนโยบาย เศรษฐกิจพอเพียง ประจ�ำปี 2559 อ� ำ เภอสมเด็ จ อบต.หมู ม ่ น โรงเรียน เกษตรตามรอยพ่อ อบต.หมูม่น การผลิต ปุ๋ยอินทรีย์ อ� ำ เภอหนองกุ ง ศรี ทต.หนองสรวง โครงการส่ ง เสริ มศู นย์การเรียนรู้เศรษฐกิจ พอเพียงต�ำบลหนองสรวง อ�ำเภอห้วยเม็ก อบต.ค�ำใหญ่ โครงการ ส่งเสริมการปลูกพืชผักสวนครัว
44 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 44
09/02/61 02:33:50 PM
ด้านธรรมาภิบาล
อ� ำ เภอกมลาไสย อบต.โพนงาม โครงการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น อ�ำเภอยางตลาด อบต.นาดี โครงการ จัดตั้งศูนย์ยุติธรรมชุมชนต�ำบลนาดี
ด้านการส่งเสริมการท่องเทีย่ ว
อ�ำเภอฆ้องชัย อบต.โคกสะอาด โครงการ ภูมิปัญญาท้องถิ่น อ�ำเภอยางตลาด ทต.หัวนาค�ำ โครงการ ส่ ง เสริ ม การท่ อ งเที่ ย วทุ ่ ง ทานตะวั น สี ท อง หนองทึง ทต.ยางตลาด ตลาดถนนคนเดิน เทศบาลต�ำบล อ� ำ เภอสหั ส ขั น ธ์ ทต.โนนน�้ ำ เกลี้ ย ง โครงการยกระดับการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
ต�ำบลโนนน�้ำเกลี้ยง ทต.โนนบุรี โครงการ ส่งเสริมการท่องเที่ยวถนนสายบุญสหัสขันธ์ ไดโนโรด (สานฝัน ท�ำความดี ตามรอยพ่อ) เพื่ อ ถวายเป็ น พระราชกุ ศ ลแด่ พ ระบาท สมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ย เดช รัชกาลที่ 9 อ� ำ เภอหนองกุ ง ศรี ทต.หนองหิ น โครงการจั ด งานเทศกาลมะม่ ว งมหาชนก ของดีอ�ำเภอหนองกุงศรี ประจ�ำปี 2559
ปราสาทรวงข้าว
ด้านสาธารณสุข อ�ำเภอกมลาไสย อบต.ธัญญา โครงการ ชาวกาฬสินธุค์ นดี สุขภาพดี รายได้ดี ประจ�ำปี 2558 อบต.เจ้าท่า โครงการส่งเสริมสุขภาพ ลดใช้ ส ารเคมี บู ร ณาการแบบองค์ ร วม อบต.กมลาไสย โครงการส่งเสริมความรู้เกี่ยว กับการดูแลสุขภาพให้ปลอดภัยจากการจมน�ำ้ อ�ำเภอกุฉินารายณ์ ทต.จุมจัง โครงการ ธารน�้ำใจ แบ่งปันสายใยรัก (โครงการพัฒนา ระบบการจัดสวัสดิการสังคมในระดับต�ำบล) อบต.นาโก โครงการโรงเรียนร่มโพธิ์ร่มไทร (ผู ้ สู ง อายุ ) อบต.กุ ด หว้ า โรงเรี ย นผู ้ สู ง วั ย ใฝ่เรียนรู้ อบต.สามขา โครงการโรงเรียนผูส้ งู อายุ อ�ำเภอเขาวง ทต.สูงเปลือย โครงการ ส่งเสริมการจัดค่ายกลางวันเด็กต้านยาเสพติด ประจ�ำปี 2559 อ�ำเภอค�ำม่วง ทต.ค�ำม่วง โครงการจัดตัง้ โรงเรียนผู้สูงอายุ อบต.นาบอน โครงการ จัดตั้งโรงเรียนผู้สูงอายุ อบต.โพน โครงการ พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ อบต.เนินยาง โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุผู้พิการ ประจ�ำปี 2560 อ�ำเภอฆ้องชัย อบต.เหล่ากลาง โครงการ งานประเพณีรดน�้ำด�ำหัวผู้สูงอายุ
อ�ำเภอท่าคันโท ทต.กุงเก่า โครงการ จัดกิจกรรมโรงเรียนผู้สูงอายุต�ำบลกุงเก่า อ�ำเภอนาคู ทต.นาคู โครงการอบรม ส่งเสริมอาชีพผูส้ งู อายุ ผูพ้ กิ าร และผูป้ ว่ ยเอดส์ การฝึกอาชีพหลักสูตร การประดิษฐ์ดอกไม้จนั ทน์ ประจ�ำปี 2560 ทต.ภูแล่นช้าง โครงการ โรงเรียนผู้สูงอายุเมืองภูแล่นช้าง อ�ำเภอนามน อบต.ยอดแกง โครงการ บริการฟื้นฟูสมรรถภาพที่จ�ำเป็นต่อสุขภาพ ในชุ ม ชนของศู น ย์ โ ฮมสุ ข อบต.หนองบั ว โครงการการขับเคลือ่ นและพัฒนาการควบคุม การบริ โ ภคเครื่ อ งดื่ ม แอลกอฮอล์ แ ละ ลดอุบัติเหตุจาจรโดยใช้พื้นที่เป็นฐาน อ�ำเภอเมืองกาฬสินธุ์ ทม.กาฬสินธุ์ การจัด บริการรองรับสังคมผู้สูงอายุเขตเทศบาลเมือง กาฬสินธุ์ ทต.หลุบ โครงการป้องกันการจมน�ำ ้ อบต.หนองกุง โรงเรียนผู้สูงอายุประจ�ำต�ำบล หนองกุง อ�ำเภอยางตลาด ทต.หัวนาค�ำ โรงเรียน ผู ้ สู ง อายุ เ ทศบาลต� ำ บลหั ว นาค� ำ อบต. คลองขาม โครงการมหาดไทยห่วงใย ใส่ใจ ผูส้ งู อายุ สืบสานวัฒนธรรมประเพณีสงกรานต์ อบต.ดอนสมบูรณ์ โครงการชมรมผู้สูงอายุ
จิตแจ่มใส ร่างกายแข็งแรง อ�ำเภอร่องค�ำ อบต.สามัคคี โครงการ อาสาสมัครดูแลคนพิการ อบต.เหล่า อ้อ ย โครงการส่งเสริมกิจกรรมฟื้นฟูสมรรถภาพ ผู ้ สู ง อายุ ค นพิ ก าร ทต.ร่ อ งค� ำ โครงการ หน่วยบริการการแพทย์ฉุกเฉิน (Emergency Medical Services (EMS)) อ�ำเภอสหัสขันธ์ ทต.โนนศิลา โครงการ แข่งขันกีฬานักเรียน เยาวชน และประชาชน โนนศิลาเกมส์ ครั้งที่ 37 ประจ�ำปี 2559 ทต.ภูสิงห์ โครงการแข่งขันกีฬาเยาวชนและ ประชาชนต้านยาเสพติดต�ำบลภูสิงห์ ประจ�ำ ปี 2559 อ�ำเภอสามชัย อบต.ส�ำราญ โครงการ วันผู้สูงอายุ (สืบสานประเพณีวันสงกรานต์) ประจ�ำปี 2558 อ�ำเภอห้วยผึ้ง อบต.ไค้นุ่น โครงการ โรงเรียนผู้สูงอายุต�ำบลไค้นุ่น อ�ำเภอห้วยเม็ก อบต.หัวหิน โครงการ สายใยรัก สายสัมพันธ์ คนในครอบครัวร่วมใจ กั น ท� ำ ความดี เพื่ อ พ่ อ หลวงของแผ่ น ดิ น ประจ�ำปี 2560
KARASIN 45 .indd 45
09/02/61 02:33:53 PM
ส�ำนักงานพระพุทธศาสนา
จังหวัดกาฬสินธุ์ นายศุภเดช การถัก
ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดกาฬสินธุ์
เจ้าคณะผู้ปกครองสงฆ์ พระเทพปัญญาเมธี เจ้าคณะจังหวัดกาฬสินธุ์ พระเทพสารเมธี เจ้าคณะจังหวัดกาฬสินธุ์ ( ธ )
วิสัยทัศน์
“พุทธธรรมน�ำสังคม”
46 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย 4
.indd 46
9/2/2561 14:09:49
ใต้ร่มพระบารมี
พันธกิจ
1. สนองงานคณะสงฆ์ ประสานส่งเสริม กิจการและการบริหารปกครองคณะสงฆ์ 2. สนับสนุนส่งเสริม อุปถัมภ์และคุม้ ครอง พระพุทธศาสนา 3. ส่ ง เสริ ม และท� ำ นุ บ� ำ รุ ง ศาสนสถาน ศาสนวัตถุ และศาสนสมบัติกลางพระพุทธ ศาสนา 4. พัฒนาบุคลากรทางพระพุทธศาสนาให้ มีความรูค้ วามสามารถในการเผยแผ่หลักธรรม 5. เป็ น ศู น ย์ ร วมการพั ฒ นาคุ ณ ธรรม จริยธรรม ส่งเสริมให้วัดเป็นศูนย์กลางชุมชน 6. ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยในการพัฒนา ระบบงาน
ยุทธศาสตร์ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ 20 ปี (ระยะที่ 1 : 2560 – 2564)
B : Buddhist Education U : Understanding D : Distinguished center D : Distinction Oganization H : Help A : Asset
“BUDDHA”
พัฒนาระบบการศึกษาของคณะสงฆ์ ปลูกฝังความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับพระพุทธศาสนา เพิ่ ม ศั ก ยภาพพุ ท ธมณฑลในการเป็ น ศู น ย์ ก ลาง พระพุทธศาสนาโลก พัฒนาสู่องค์กรที่โดดเด่น ส่งเสริมงานสาธารณสงเคราะห์ เพิ่มความคุ้มค่าให้สาธารณูปการ
KARASIN 47 4
.indd 47
9/2/2561 14:09:51
แนวทางบรรลุสู่วิสัยทัศน์
การศึกษาและปฏิบัติตามพระพุทธธรรม ย่ อ มสามารถคุ ้ ม ครองรั ก ษาบุ ค คลรั ก ษา หมูบ่ า้ น หรือสังคมส่วนรวม ให้มชี วี ติ ทีส่ งบสุข พระพุ ท ธศาสนาจะด�ำรงอยู่ไ ด้นั้น จะต้อง ส่งเสริมเผยแพร่ สัมมาปฏิบัติ อย่าปล่อยให้ เสือ่ มถอย พุทธบริษทั 4 จะต้องร่วมมือช่วยกัน เสริมสร้างให้ทวีเพิ่มพูนและมั่นคงหนักแน่น พระสงฆ์จะต้องมีการศึกษาทั้งทางโลกและ ทางธรรม ให้มีภูมิรู้ ภูมิธรรม สามารถที่จะ สอนธรรมน�ำปฏิบัติแก่พุทธศาสนิกชน เพื่อ ให้การปฏิบัติตามหลักธรรมค�ำสอนขององค์ สัมมาสัมพุทธเจ้าได้อย่างถูกต้อง เมือ่ ชาวพุทธ เข้ า ใจและปฏิ บั ติ ต ามพุ ท ธธรรม ศี ล ธรรม จริยธรรม ก็จะเจริญขึ้น ส่งผลให้สังคมโดย รวมมีแต่ความผาสุขร่มเย็น พระพุทธศาสนา ก็จะมีความมั่นคงยั่งยืน ส่งผลให้เกิดความ เจริญรุง่ เรืองทางสังคม ชาติบา้ นเมืองในทุกมิติ จะต้ อ งมี ธ รรมน� ำ สั ง คมก่ อ นเสมอ จึ ง จะ เป็นการพัฒนาที่สมบูรณ์และยั่งยืน ปั จ จุ บั น คณะสงฆ์ ร่ ว มกั บ ส� ำ นั ก งาน พระพุ ท ธศาสนาจั ง หวั ด กาฬสิ น ธุ ์ ได้ ร ่ ว ม จัดท�ำแผนยุทธศาสตร์ เพื่อให้การขับเคลื่อน งานของคณะสงฆ์ เชือ่ มต่อการพัฒนายุคโลกา ภิวตั น์ ซึง่ จะท�ำให้พระพุทธศาสนาเป็นหลักใน การสนับสนุนส่งเสริมให้สังคมมีความสงบสุข ร่มเย็น ด้วยหลักพุทธธรรมอย่างแท้จริง
ศักยภาพปัจจุบันของพระพุทธศาสนาจังหวัดกาฬสินธุ์
จังหวัดกาฬสินธุ์เป็นจังหวัดขนาดกลาง แบ่งการปกครองเป็น 18 อ�ำเภอ 135 ต�ำบล 1,584 หมู่บ้าน ประชากรประมาณ 985,580 คน มีวัดที่ ตั้งโดยถูกต้อง จ�ำนวน 897 สัด ประชาชนร้อยละ 98 นับถือพระพุทธศาสนา วิถีชีวิตของประชาชนมีความแนบแน่น ตามแนววิถีพุทธ ถือวัฒนธรรม ประเพณียึดเหนี่ยวกับพระพุทธศาสนา ตามฮีต 12 คอง 14 ตามโบราณกาล ถึงแม้ว่าเทคโนโลยีสมัยใหม่จะมีผลกระทบบ้างตามยุคสมัยใหม่ แต่วัดและพระสงฆ์ยังเป็นที่ยึดเหนียวจิตใจของชาวพุทธอย่างเหนียวแน่นตลอดมา ดังนั้นจังหวัดกาฬสินธุ์ จึงมุ่งที่จะพัฒนาวัดให้เป็นศูนย์กลางของ หมู่บ้าน ดังนี้ 1. พัฒนาวัดให้ชุมชนมีความรู้สึกว่าเป็นของตน มีความรู้สึกหวงแหน และช่วยกันดูแลรักษา 2. วัดต้องสะอาด สงบ ร่มรื่น มีกิจกรรมเพื่อชุมชนตลอดปี 3. วัดต้องมีความพร้อมที่จะให้ประชาชนในท้องถิ่นเข้าวัดเพื่อบ�ำเพ็ญกุศล ศึกษาปฏิบัติธรรมตามโอกาสอันควร 4. ประชาชนเห็นคุณค่า และความส�ำคัญของวัดในการเป็นสถานที่พัฒนาจิตใจ ให้การยอมรับตลอดไปว่าวัดกับชุมชนนั้นๆ เป็นเดียวกัน ให้ความ ช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกัน 5. เป็นสถานศึกษาทางด้านศีลธรรม 6. เป็นสถานสงเคราะห์คนยากจน / เป็นที่พักคนเดินทาง 7. เป็นที่ไกล่เกลี่ยข้อพิพาทของชุมชน โดยมีเจ้าอาวาสเป็นที่ปรึกษา 8. เป็นสถานที่ประกอบพิธีกรรมต่างๆ ที่ผูกพันกับวิถีชีวิตชุมชน 48 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย 4
.indd 48
9/2/2561 14:09:51
งานที่ก�ำลังด�ำเนินการ
การจั ด หาทุ น สร้ า งองค์ พ ระประธานประจ� ำ พุ ท ธมณฑล จังหวัดกาฬสินธุ์ สถิต ณ พุทธมณฑลจังหวัดกาฬสินธุ์ (แก่งดอนกลาง) อ�ำเภอเมืองกาฬสินธุ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ เพื่อเป็นศูนย์กลางพระพุทธ ศาสนาจังหวัด เป็นศูนย์กลางการจัดกิจกรรมทางพระพุทธศาสนา เป็น ศูนย์กลางปฏิบัติธรรมตลอดปี เป็นแหล่งท่องเที่ยว สถานที่พักผ่อน หย่อนใจ และออกก�ำลังกาย ของจังหวัดกาฬสินธุ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ มีวัดที่ส�ำคัญและเป็นสถานที่ท่องเที่ยวเชิงพุทธ ดังนี้ 1. วัดกลาง พระอารามหลวง เป็นวัดที่ประดิษฐานพระพุทธรูป ส�ำคัญคูบ่ า้ นคูเ่ มือง คือ พระพุทธสัมฤทธิน์ ริ โรคันตราย (หลวงพ่อองค์ดำ� ) 2. วัดอินทรประทานพร ต�ำบลภูปอ อ�ำเภอเมืองกาฬสินธุ์ เป็นที่ ประดิษฐาน พระพุทธไสยาสน์ภูปอ สมัยทวารวดี 3. วัดภูค่าว ต�ำบลสหัสขันธ์ อ�ำเภอสหัสขันธ์ เป็นที่ประดิษฐาน พระพุทธไสยาสน์ภคู า่ ว สมัยทวารวดี และมีอโุ บสถ ทีท่ ำ� จากไม้ใต้เขือ่ น ล�ำปาว ที่สวยงาม 4. วัดสักกะวัน ต�ำบลสหัสขันธ์ อ�ำเภอสหัสขันธ์ เป็นวัดที่ค้นพบ ซากไดโนเสาร์ และใกล้เคียงกับวัด มีพิพิธภัณฑ์สิรินธร เป็นพิพิธภัณฑ์ ไดโนเสาร์ที่สมบูรณ์ที่สุดในเอเชีย 5. วัดภูสิงห์ ต�ำบลสหัสขันธ์ อ�ำเภอสหัสขันธ์ เป็นที่ประดิษฐาน พระพรหมภูมิปโล บนภูสิงห์ที่สวยงาม KARASIN 49 4
.indd 49
9/2/2561 14:09:52
บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล
มหาวิ ท ยาลั ย กาฬสิ น ธุ ์
“ความรูส้ ร้างคุณค่า ภูมปิ ญ ั ญาสร้างสังคม”
มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ จัดตัง้ ขึน้ ตามพระราชบัญญัตมิ หาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ พ.ศ. 2558 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 132 ตอนที่ 86 ก เมื่อวันที่ 8 กั น ยายน 2558 ให้ ร วมมหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ กาฬสิ น ธุ ์ ตามกฎหมายว่าด้วยมหาวิทยาลัยราชภัฏและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลอีสาน วิทยาเขตกาฬสินธุ์ ตามกฎหมายว่าด้วยมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคล มาจัดตั้งเป็น “มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์” ตาม พระราชบัญญัตินี้ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์มีฐานะเป็นนิติบุคคลและเป็น ส่วนราชการตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณในสังกัดส�ำนักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา ความในมาตรา 6 ให้มหาวิทยาลัยเป็น สถาบันทางวิชาการทีใ่ ห้ความรูแ้ ละความช�ำนาญในการปฏิบตั ทิ เี่ กีย่ วข้อง กับวิชาชีพและวิชาชีพชัน้ สูง มีวตั ถุประสงค์เพือ่ ให้การศึกษาและส่งเสริม งานวิจัยเพื่อสร้างและพัฒนาองค์ความรู้และเทคโนโลยี ให้บริการทาง วิชาการแก่ท้องถิ่นและสังคม ให้โอกาสทางการศึกษาแก่ประชาชน ทะนุบำ� รุงศาสนา ศิลปวัฒนธรรม และการกีฬา รวมทัง้ สนับสนุนกิจกรรม ของรั ฐ และท้ อ งถิ่ น และมี ส ่ ว นร่ ว มในการพั ฒ นาชุ ม ชนและอนุ รั ก ษ์ สิ่งแวดล้อม
50 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย 2
.indd 50
9/2/2561 14:10:56
สลับกับรูปที่ 3(วันมหิดล)
ปัจจุบนั มหาวิทยาลัยกาฬสินธุอ์ ยูภ่ ายใต้การน�ำของ รองศาสตราจารย์ จิ ร ะพั น ธ์ ห้ ว ยแสน อธิ ก ารบดี ม หาวิ ท ยาลั ย กาฬสิ น ธุ ์ โดยมี ทิศทางการขับเคลือ่ นมหาวิทยาลัยตามวิสยั ทัศน์คอื “มหาวิทยาลัยแห่ง การพัฒนาท้องถิน่ ชุมชน บนฐานความรูด้ า้ นวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อพัฒนาศักยภาพการผลิตและบริการที่สามารถ แข่งขันได้” และมีเป้าประสงค์เพื่อสร้างบัณฑิตมีคุณธรรมจริยธรรม มี ทั ก ษะในการปฏิ บั ติ และสามารถบู ร ณาการความรู ้ วิ ท ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมทีส่ อดคล้องกับการเปลีย่ นแปลงพลวัตโลก เน้น พันธกิจที่ส�ำคัญในการพัฒนาและลงพื้นที่ตามจุดเน้นโครงการส�ำคัญใน ระดับจังหวัด ซึ่งเป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัย ตอบสนองยุทธศาสตร์ของ จังหวัด ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร ด้านวิจัยและพัฒนา นวัตกรรมเพื่อการเกษตร และด้านการท่องเที่ยวเชิงนิเวศและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ มีพนื้ ทีห่ ลักในความรับผิดชอบ จ�ำนวนทัง้ สิน้ 4 พื้นที่ รวมเนื้อที่จ�ำนวนทั้งสิ้น 3,800 ไร่ 2 งาน 92.5 ตารางวา ได้แก่ พื้นที่ในเมือง พื้นที่นามน ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมภูสิงห์ และพื้นที่ในเขต อ�ำเภอกมลาไสย มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ เลือกเปิดสอนในคณะทีม่ คี วามจ�ำเป็นส�ำหรับ การพัฒนาประเทศทั้งนี้เพื่อให้ประเทศมีความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ซึ่งประกอบไปด้วย 9 คณะ ได้แก่ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมเกษตร คณะเทคโนโลยีสังคม คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ คณะครุศาสตร์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คณะ รัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจ และคณะอุตสาหกรรม สร้างสรรค์ โดยมีนกั ศึกษาเดินทางมาจากในประเทศและต่างประเทศ เพือ่ ศึกษาใน 63 หลักสูตร ประกอบด้วย 3 ระดับ คือ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นสูง (ปวส.) ปริญญาตรีและปริญญาโท ซึ่งบัณฑิตที่ผลิตได้ล้วนเป็นผู้ที่ “อดทน สู้งาน เชี่ยวชาญวิชาชีพ” ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์มีการพัฒนาอย่าง ต่อเนือ่ ง ทัง้ นีเ้ พือ่ ท�ำให้มหาวิทยาลัยกาฬสินธุเ์ ป็นศูนย์กลางแห่งการเรียนรู้ เป็ น แหล่ ง บริ ก ารวิ ช าการและวิ ช าชี พ ผลิ ต สิ่ ง ประดิ ษ ฐ์ นวั ต กรรม งานวิจยั ถ่ายทอดเทคโนโลยีทสี่ อดคล้องกับความต้องการของชุมชนท้องถิน่ และประเทศ ดั ง ปรั ช ญามหาวิ ท ยาลั ย ที่ ว ่ า “ความรู ้ ส ร้ า งคุ ณ ค่ า ภูมปิ ญ ั ญาสร้างสังคม” และยังมุง่ ผลิตบัณฑิตให้เป็นตามปณิธานของเรา คือ “สร้างคนดี มีงานท�ำ ชี้น�ำสังคม” ส�ำหรับผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ สามารถ ติดต่อได้ที่ กลุ่มงานส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน มหาวิทยาลัย กาฬสินธุ์ (นามน) โทร. 043-602-053 และแผนกงานส่งเสริมวิชาการ และงานทะเบียน มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ (ในเมือง) โทร. 086-458-4365 และ 043-812-877 หรือที่ www.ksu.ac.th
KALASIN 51 2
.indd 51
9/2/2561 14:11:13
บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล
สถานศึกษารางวัลพระราชทาน ปีการศึกษา 2559 เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พเิ ศษ สังกัดส�ำนักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 24 จัดการเรียนรูต้ ามหลักสูตรการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 ตัง้ อยู่ เลขที่ 66 ถนนอรรถเปศล ต�ำบลกาฬสินธุ์ อ�ำเภอเมืองกาฬสินธุ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ บนเนือ้ ที่ 41 ไร่ 1 งาน 32 ตารางวา
ดร.เสน่ห์ ค�ำสมหมาย ผู้อ�ำนวยการเชี่ยวชาญ โรงเรียนกาฬสินธุ์พิทยาสรรพ์
โรงเรียนกาฬสินธุพ์ ทิ ยาสรรพ์ ก่อตัง้ ในปี พ.ศ. 2456 โดยเจ้าประคุณสมเด็จพระมหาวีระวงศ์ (อ้วน ติสโส) ในปีการศึกษาแรกโรงเรียนกาฬสินธุพ์ ทิ ยาสรรพ์ได้เปิดสอนในระดับชัน้ ประถมศึกษา ปีที่ 1 ถึงปีที่ 3 มีนักเรียนทั้งสิ้น จ�ำนวน 50 คน โดยมี นายบุญถม ชนะกานนท์ เป็น ผู้บริหารโรงเรียนในขณะนั้น และมีครู จ�ำนวน 2 คน ปัจจุบันโรงเรียนกาฬสินธุ์พิทยาสรรพ์ มีนักเรียนจ�ำนวน 3,722 คน ครู และบุคลากร จ�ำนวน 276 คน (ข้อมูล 10 มิ.ย. 2560) ภายใต้ การบริหารสถานศึกษาโดย ดร.เสน่ห์ ค�ำสมหมาย ด�ำรงต�ำแหน่งผู้อ�ำนวยการโรงเรียนกาฬสินธุ์ พิทยาสรรพ์ ตั้งแต่ พ.ศ.2551 จนถึงปัจจุบัน ปรัชญาของโรงเรียน : การศึกษาคือชีวิต คติพจน์ : ประพฤติดี มีวินัย ตั้งใจเรียน ค่านิยม : เป็นคนดี มีศีลธรรม ใผ่เรียนรู้มุ่งสู่คุณภาพตามมาตรฐานสากล สีประจ�ำโรงเรียน : สีเขียว-เหลือง ต้นไม้ประจ�ำโรงเรียน : ต้นขี้เหล็ก อักษรย่อ : ก.พ.ส. วิสัยทัศน์ : เป็นผู้น�ำทางวิชาการ มีคุณธรรม น�ำ ICT มาใช้ด�ำรงตน บนพื้นฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและมีคุณภาพตามมาตรฐานสากล อัตลักษณ์ : ส่งเสริมความเป็นเลิศ เปิดโลก ICT มีศิลปะ ดนตรี กีฬา โรงเรี ย นกาฬสิ น ธุ ์ พิ ท ยาสรรพ์ เ ป็ น โรงเรี ย นมาตรฐานสากล World-Class Standard School จัดการศึกษาตามหลักสูตรเทียบเคียง มาตรฐานสากลของส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน และมี เครือข่ายความร่วมมือด้านวิชาการระดับนานาชาติ มีการลงนามสัญญา ความร่วมมือโรงเรียนคูพ่ ฒ ั นากับสถาบันการศึกษาต่างๆ ได้แก่ Auckland Girls’Grammar School ประเทศนิ ว ซี แ ลนด์ , โรงเรี ย นจี๋ เ หม่ , มหาวิทยาลัยจี๋เหม่ และมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์โย่วเจียง สาธารณรัฐ ประชาชนจีน,โรงเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นเหงี่ยนตรีเฟือง และโรงเรียน มัธยมศึกษาตอนปลายกว๊ากฮ็อก สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม และ Kyung Hee University และ Je Mul Po High School สาธารณรัฐเกาหลี นอกจากนีย้ งั มีการเข้าร่วมประชุมสร้างเครือข่ายความร่วมมือกับโรงเรียน สมาชิกซีมีโอ (SEAMEO) จาก 11 ประเทศอาเซียน (+จีน) โรงเรียน กาฬสินธุ์พิทยาสรรพ์เข้าร่วมสนองงานโครงการพระราชด�ำริสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี โครงการโรงเรียนพี-่ โรงเรียนน้อง กิจกรรม ณ โรงเรียน ตชด.บ้านแก่งศรีโคตร อ�ำเภอสิรินธร และโรงเรียน ตชด.บ้านปากลา อ�ำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี
52 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย (2
).indd 52
9/2/2561 14:13:01
“โรงเรี ย นกาฬสิ น ธุ ์ พิ ท ยาสรรพ์ มี แ หล่ ง เรี ย นรู ้ ที่ ห ลากหลาย เพื่อพัฒนาทักษะและองค์ความรุู้ให้แก่นักเรียน มีห้องสมุดดิจิตอลท่ี่ใช้ ระบบไอซีทีในการสืบค้นข้อมูลเพ่ื่อรองรับต่อการเรียนรุู้สู่โลกกว้าง โดย ได้รบั พระราชานุญาตจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ให้เชิญอักษรพระนามาภิไธย “ส.ธ.” ประดับป้ายชื่อห้องสมุด และ พระราชทานนามห้องสมุดว่า “ห้องสมุดพิทยาสรรพ์” ความหมายว่า “ห้ อ งสมุ ด อั น เป็ น แหล่ ง รวมความรู ้ ” นอกจากนี้ ยั ง ได้ รั บ พระมหากรุณาธิคุณเป็นล้นพ้นเสด็จพระราชด�ำเนินมาทรงเปิดอาคาร เฉลิมพระเกียรติ 7 รอบ พระชนมพรรษา และห้องสมุดพิทยาสรรพ์ เม่ื่อวันท่ี 19 มีนาคม 2557”
ชมรม TO BE NUMBER 1 ต้นแบบระดับประเทศ
โรงเรียนดีเด่น ด้านคุณธรรมและ จริยธรรม ระดับประเทศ ปี 2559
รางวัลสถานศึกษาคุณภาพมาตรฐานสากล OBECQA ปี 2558
นอกจากนี้ วงดนตรีพนื้ บ้านโปงลางโรงเรียนกาฬสินธุพ์ ทิ ยาสรรพ์ได้ รับคัดเลือกจากกระทรวงวัฒนธรรมให้เป็นตัวแทนประเทศไทยไปเผยแพร่ ศิ ล ปวั ฒ นธรรมภู มิ ป ั ญ ญาด้ า นการแสดงพื้ น เมื อ งในต่ า งประเทศ ณ ประเทศฮั ง การี , สาธารณรั ฐ ประชาชนจี น ,สาธารณรั ฐ โปรตุ เ กส, สาธารณรั ฐ ตุ ร กี , สาธารณรั ฐ เกาหลี , นิ ว ซี แ ลนด์ , สาธารณรั ฐ อิ ต าลี , สาธารณรัฐฝรัง่ เศส และสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม ผลงานทีป่ รากฏ สถานศึกษา และนักเรียนได้รับรางวัลต่างๆ รวมทั้งรางวัลพระราชทาน อันทรงเกียรติสูงสุด เป็นสถานศึกษาที่อยู่คู่จังหวัดกาฬสินธุ์เพื่อพัฒนา ลูกหลานสร้างเยาวชนให้เป็นก�ำลังในการพัฒนาสังคมโลกต่อไป
รางวัลเชิดชูเกียรติ “วัฒนคุณาธร” ผู้ท�ำคุณประโยชน์ต่อกระทรวง วัฒนธรรม ประจ�ำปี 2559 ประเภทบุคคล ดร.เสน่ห์ ค�ำสมหมาย, ประเภทเด็กและเยาวชน น.ส.กนกพร เนื้อมั่น และประเภทกลุ่ม บุคคล วงดนตรีพื้นบ้านโปงลางโรงเรียนกาฬสินธุ์พิทยาสรรพ์
วอลเลย์บอลชายหาด แชมป์เอเชีย ปี 2017 KALASIN 53
(2
).indd 53
9/2/2561 14:13:04
สหกรณ์ออมทรัพย์ครูกาฬสินธุ์ จ�ำกัด “สหกรณ์มนั่ คง สมาชิกมัน่ ใจ บริหารโปร่งใสทันสมัยด้วยเทคโนโลยี” คือ วิสยั ทัศน์ (Vison ) ของสหกรณ์ออมทรัพย์ครูกาฬสินธุ์ จ�ำกัด เลขที่ 8/1 ถนนสนามบิน ต�ำบลกาฬสินธุ์ อ�ำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์
ประวัติการก่อตั้ง
สหกรณ์ออมทรัพย์ครูกาฬสินธุ์ จ�ำกัด ได้จดทะเบียนก่อตั้งตาม พระราชบัญญัติสหกรณ์ เมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน 2500 สมาชิกแรก ตั้งจ�ำนวน 253 ราย ทุนเรือนหุ้น 7,430 บาท ตั้งอยู่บริเวณหลังที่ว่าการ อ�ำเภอเมืองกาฬสินธุ์ ในปี 2535 ได้ยา้ ยมาส�ำนักงานหลังใหม่ เป็นอาคาร 3 ชัน้ บนเนือ้ ที่ 9 ไร่ 72.5 ตารางวา ตัง้ อยูบ่ นถนนสายกาฬสินธุ–์ ร้อยเอ็ด มีเจ้าหน้าที่ทั้งหมด 47 คน โดยมี นายสมมัคร สุวรรณชาติ เป็นผู้จัดการ นางสุวคนธ์ ผ่านส�ำแดง เป็นประธานกรรมการ
พันธกิจ (Mission)
1. สร้างศรัทธา เชื่อใจ เชื่อมือ เชื่อถือ และเชื่อมั่น 2. ยึดมั่นในหลักธรรมาภิบาล 3. ประสานความร่วมมือกับทุกฝ่าย 4. ยึดผลประโยชน์ขององค์กรมวลสมาชิก 5. ใช้เทคโนโลยีในการบริหาร
54 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย 2
.indd 54
14/2/2561 11:03:10
การบริหารงาน
คณะกรรมการบริหารงาน 14 คน ดังนี้ 1. นางสุวคนธ์ ผ่านส�ำแดง ประธานกรรมการ 2.นายจอม แคล่วคล่อง รองประธานกรรมการ 3. นายสนอง ภูตะลุน รองประธานกรรมการ 4. นายวิฑูรย์ เพลินลาภ รองประธานกรรมการ 5. นายท�ำนอง ภูเกิดพิมพ์ รองประธานกรรมการ 6. นายเทอดเกียรติ ขูรูรักษ์ กรรมการ 7. นายมนตรี แสงฤทธิ์ กรรมการ 8. นายบุญช่วย กั้วศรี กรรมการ 9.นายบุญสืบ ประจ�ำตน กรรมการ 10.นายชาติชาย ยี่สารพัฒน์ กรรมการ 11.นายเจนณรงค์ เวียงวะลัย กรรมการ 12. นายนรากร เสนฤทธิ์ กรรมการและเลขานุการ 13. นายเพิ่มพูน ผ่านส�ำแดง กรรมการและผช.เลขานุการ 14. นายประดิษฐ์ ซองศิริ กรรมการและผช.เลขานุการ คณะผู้ตรวจสอบกิจการ 5 คน ดังนี้ 1.นายอดุลศักดิ์ ศรีปัญญา ประธานผู้ตรวจสอบฯ 2.นายสุนทร นาคะเสงี่ยม รองประธานผู้ตรวจสอบฯ 3.นายสมพร เพียรสร้าง รองประธานผู้ตรวจสอบฯ 4. นายธวัชชัย ส�ำราญวงศ์ ผู้ตรวจสอบฯ 5. นายสมพงษ์ ม่วงกล�่ำ เลขานุการผู้ตรวจสอบฯ ผู้จัดการ 1 คน คือ 1. นายสมมัคร สุวรรณชาติ ผู้จัดการ รองผู้จัดการ 3 คน คือ 1. นางชูสิน วิชัยโย รองผู้จัดการ 2. นางกรชวัล อาระลา รองผู้จัดการ 3. นายสุพรรณ โนนสินชัย รองผู้จัดการ การบริหารงานแบ่งออกเป็น 9 ฝ่าย ดังนี้. 1. ฝ่ายติดตามหนี้สิน 2. ฝ่ายการเงิน 3. ฝ่ายบัญชี 4. ฝ่ายสวัสดิการและประชาสัมพันธ์ 5. ฝ่ายธุรการ 6. ฝ่ายอาคารสถานที่ 7. ฝ่ายการเงิน 8. ฝ่ายควบคุมสินเชื่อ 9. ฝ่ายรับฝากเงิน
รางวัลแห่งความภาคภูมิใจ
ปี 2548 : สหกรณ์ดเี ด่นระดับภาค ปี 2549 : สหกรณ์ต้นแบบ ปี 2550-2551 : สหกรณ์ที่ได้มาตรฐานสหกรณ์ ปี 2552 : สหกรณ์ดีเด่นแห่งชาติ อันดับ 2 ปี 2552 : สหกรณ์คุณธรรมแห่งชาติ ปี 2553 : สหกรณ์ดีเด่นแห่งชาติ ปี 2560 : ผลการจัดระดับมาตรฐานสหกรณ์ ผ่านระดับดีเลิศ
สวัสดิการทีส่ มาชิกจะได้รบั จากสหกรณ์ ( สหกรณ์จดั ให้ฟรี) ที่
รายการ
ที่
รายการ
1 ทุนช่วยเหลือสมาชิกเกษียณอายุ ราชการ
7 สนับสนุนกิจกรรมวันครู
2 ทุนการศึกษาบุตรสมาชิก
8 สนับสนุนกิจกรรมวันเด็ก
3 สงเคราะห์ศพสมาชิก/คู่สมรส
9 สนับสนุนกีฬากลุ่ม
4 สวัสดิการช่วยเหลือครอบครัว สมาชิก
10 ประกันชีวิตหมู่สมาชิก
5 สงเคราะห์ผู้ประสบภัยพิบัติ/ อุบัติเหตุ
11 สวัสดิการวันเกิด
6 สนับสนุนสถาบันและกิจกรรม ทางการศึกษา
สวัสดิการทีส่ มาชิกมีสว่ นร่วม ที่
สมาชิกมีส่วนร่วม
ที่
สมาชิกมีส่วนร่วม
1 สมาคมฌาปนกิจสงเคราะห์ สมาชิก (ส.ค.ส.)
4 ชุมนุมสหกรณ์ฯ (สส.ชสอ.)
2 ประกันสินเชื่อสมาชิก
5 ประกันชีวิตภาคสมัครใจ 1,2
3 ครูไทย (สสอค.)
KALASIN 55 2
.indd 55
14/2/2561 11:03:16
บ้านโฮมสวนอาหาร & รีสอร์ท... ใกล้ชิดธรรมชาติบรรยากาศชายทุ่ง
“หากคุณเป็นท่านหนึ่งที่ชื่นชอบการพักผ่อนในบรรยากาศชายทุ่ง บ้านโฮมสวนอาหาร & รีสอร์ท คือจุดหมายในฝันของคุณ” สดใสรับวันใหม่ ด้วยทางวิ่ง-ปั่นจักรยานรอบสระน�้ำ สะดวกสบาย ด้ วยสิ่ ง อ� ำ นวยความสะดวกภายใน โรงแรมครบครัน พร้อมทีจ่ อดรถกว้างขวางและปลอดภัย ใกล้กับห้องพัก และอยู่ติดสวนอาหารบ้านโฮม บ้านโฮมสวนอาหาร & รีสอร์ท เปิดให้บริการทุกวัน ตั้งแต่ 11.00-23.00 น. ด้วยราคามิตรภาพ - ห้อง A ราคา 790 บาท/คืน - ห้อง B ราคา 590 บาท/คืน
ส�ำรองห้องพักติดต่อ
บ้านโฮมสวนอาหาร & รีสอร์ท โทรศัพท์ 09-8342-5545 ทีต่ งั้ 141 หมู่ 2 ต�ำบลคลองขาม อ�ำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ 46120 Facebook : บ้านโฮมสวนอาหาร & รีสอร์ท ยางตลาด YouTube : สวนอาหารบ้านโฮม
56 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย Ad-
&
1
.indd 56
9/2/2561 14:48:49
สวนอาหารบ้านโฮม อบอุ่นเหมือนบ้าน บนลานน�้ำตก
คงจะเพลินไม่น้อย หากช่วงเวลาแห่งการพัก ผ่อนยามเย็นของคุณ ได้นงั่ สบายๆ บนลานน�ำ้ ตก พร้ อ มรั บ ประทานอาหารพื้ น บ้ า นอี ส านรสแซบ ท่ามกลางเสียงดนตรีโฟล์คซองแสดงสดขับกล่อม อิม่ อร่อยสวนอาหารบ้านโฮม...รังสรรค์บรรยากาศแห่งความ สุขนีใ้ ห้คณ ุ ได้สมั ผัสทุกวันตัง้ แต่ 11.00-23.00 น. พร้อมบริการห้อง จัดเลี้ยง ห้องประชุม-สัมมนา รวมถึงห้องคาราโอเกะพร้อมด้วย เครือ่ งเสียงคุณภาพ ให้บริการท่านทีช่ นื่ ชอบความบันเทิงจากการ ร้องเพลง เพื่อให้งานเลี้ยงของท่านสนุกสนานและประทับใจ
พิเศษสุด ! ส�ำหรับท่านที่มาเป็นครอบครัว ขอ เชิญร่วมสนุกกับกิจกรรมมากมาย ซึ่งพนักงานของสวนอาหาร บ้านโฮมจัดไว้บริการแก่สมาชิกในครอบครัวที่ท่านรัก
สนใจติดต่อได้ที่ : สวนอาหารบ้านโฮม โทรศัพท์ 09-8342-5545 ที่ตั้ง 141 หมู่ 2 ต�ำบลคลองขาม อ�ำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ 46120 Facebook : บ้านโฮมสวนอาหาร & รีสอร์ท ยางตลาด YouTube : สวนอาหารบ้านโฮม KALASIN 57 Ad-
1
.indd 57
12/2/2561 17:14:45
PRATTHANA RESORT
ปรารถนา รีสอร์ท
ความสุขของการพักผ่อนอย่างแท้จริง
สะดวกสบาย เราให้บริการห้องพักปรับอากาศเย็นสบายทุกห้อง พร้อมด้วยทีวี Wi-Fi เครื่องท�ำน�้ำอุ่น พิเศษสุด ! ท่านสามารถน�ำสัตว์เลี้ยงเข้าพักได้ ใกล้ชิดธรรมชาติ ในบรรยากาศที่เรียบง่ายให้ความรู้สึกผ่อนคลาย จึงเหมาะกับการพักผ่อนอย่างแท้จริง สบายกระเป๋า ด้วยค่าบริการเพียงคืนละ 400-500 บาท (ส�ำหรับ 2 ท่าน) และค่าบริการเตียงเสริม 100 บาท ปรารถนา รีสอร์ท พร้อมให้บริการด้วยมิตรภาพและรอยยิ้ม ตลอด 24 ชั่วโมง ติดต่อส�ำรองห้องพักได้ที่ ปรารถนา รีสอร์ท โทรศัพท์ 08-3125-4724 ที่อยู่ : 45 ต�ำบลโนนบุรี อ�ำเภอสหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ 46140 * ช่วงเทศกาลกรุณาส�ำรองห้องพักล่วงหน้า 1-2 วัน *
บริหารงานโดย คุณอานนท์ เทพศรีหา 58 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย Ad-
1
.indd 58
9/2/2561 14:50:03
ไอยรารีสอร์ท กาฬสินธุ์
บริหารด้วยใจ ใส่ ใจความสะอาด บรรยากาศดี
หากคุณก�ำลังมองหาที่พักซึ่งได้รับความนิยมสูงสุดในย่านอ�ำเภอสหัสขันธ์ ไอยรารีสอร์ท คือค�ำตอบที่ ใช่ส�ำหรับคุณ
เพราะเราพิถีพิถันในการออกแบบเพื่อวันพักผ่อนอย่างแท้จริง ด้วยบริการห้องพักตลอด 24 ชั่วโมง พร้อมสิ่งอ�ำนวยความสะดวกครบครัน ในราคาเพียง 400 บาท / คืน และทีส่ ำ� คัญคือ ไอยรารีสอร์ทตัง้ อยูห่ า่ งจากสวนไดโนเสาร์เพียงแค่ 2 กิโลเมตร และอยูห่ า่ งจากพิพธิ ภัณฑ์สริ นิ ธร (พิพิธภัณฑ์ไดโนเสาร์ภูกุ้มข้าว) เพียงแค่ 5 กิโลเมตร เท่านั้น
ส�ำรองห้องพักติดต่อ โทรศัพท์ : 09-8661-4929 ทีอ่ ยู่ : 112 ม.8 ต.โนนน�ำ้ เกลีย้ ง อ.สหัสขันธ์ จ.กาฬสินธุ์ 46140 Fanpage : ไอยรารีสอร์ท กาฬสินธุ์ Iyara Resort Kalasin KALASIN 59 1
.indd 59
9/2/2561 14:08:44
เกื้อพรรณโฮเต็ล
Kueapun Hotel
สะดวก สบาย บรรยากาศดี ต้องพักที่...เกื้อพรรณโฮเต็ล “ไม่วา่ คุณจะเดินทางมาท่องเทีย่ ว หรือติดต่อธุรกิจการงาน เกือ้ พรรณโฮเต็ล คือทีพ่ กั ใจกลางเมืองกาฬสินธุ์ ตัง้ อยู่ ใกล้หน่วยงานราชการส�ำคัญ และใกล้กับสวนสาธารณะกุดน�้ำกิน จึงสะดวกสบายในการเดินทาง”
ปรับแ
เพียบพร้อมด้วยบริการห้องพัก ที่สะอาด สะดวก สบาย ปลอดภัยและเงียบสงบเป็นส่วนตัว จ�ำนวน 46 ห้อง พรั่ ง พร้ อ มด้ ว ยสิ่ ง อ� ำ นวยความสะดวกมากมาย อาทิ เฟอร์นิเจอร์ครบชุด เครื่องปรับอากาศ เครื่องท�ำน�้ำอุ่น ตู้เย็น ทีวี ฟรีเคเบิ้ล และ Wi-Fi Internet สนนราคาถูกใจ ห้องพักประเภทเตียงเดีย่ วราคา 400 บาท/คืน เตียงคู่ราคา 450 บาท/คืน สนใจส�ำรองห้องพักติดต่อ เลขทีMagazine ่ 72/6, ถนนหนองไชยวาน ต�ำบลกาฬสินธุ์ อ�ำเภอเมืองกาฬสินธุ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ 46000 โทรศัพท์: 043811921,0935264000 60 SBL บันทึกประเทศไทย Ad-
1
.indd 60
9/2/2561 14:06:39
คุณวัลลิยา ภูนาขาว (ผู ้จัดการ) Phone (+66)08-7223-1883, (+66)09-0840-1950
www.eidi-homestay.com E-mail | walliyap@yahoo.com
ใช้เวลาวันหยุ ดอย่างคุ้มค่า ต้องมาที่ ไอ.ดี.โฮมสเตย์ เลขที่ 77 หมู่ 11 บ้านดงมูล ต�ำบลดงมูล อ�ำเภอหนองกุงศรี จังหวัดกาฬสินธุ์
EIDI HOMESTAY ไอ.ดี.โฮมสเตย์ ให้บริการห้องพักที่เรียบหรู สะอาด ในบรรยากาศที่สงบ ร่มรื่น อบอวลด้วย แมกไม้นานาชนิด พร้อมด้วยบริการห้องพักตลอด 24 ชั่วโมง ที่แสนประทับใจในราคาห้องพัก ที่เป็นกันเอง ท�ำให้ทุกๆ วันพักผ่อนของคุณเป็นวันพิเศษอย่างแท้จริง นอกจากนี้ เรายังมี ไอ.ดี.ฟาร์ม ซึ่งได้น้อมน�ำพระราชด�ำริ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 มาพัฒนาและจัดท�ำเป็นสวนเกษตรผสมผสาน ซึ่งเปิดบริการให้ทุกท่านได้เข้ามาเยี่ยมชม แปลงเกษตร และพักผ่อนหย่อนใจภายใต้บรรยากาศร่มรื่น เป็นกันเองสไตล์ลูกทุ่งบ้านนา พร้อม ซื้อหาผลิตภัณฑ์ปลอดสารพิษที่สดใหม่จากฟาร์มทุกวัน
ไอ.ดี.โฮมสเตย์ - ไอ.ดี.ฟาร์ม อยู่ติดถนนใหญ่สายหนองกุงศรี-หนองหิน ห่างจากอ�ำเภอหนองกุงศรี 17 กม. ตั้งอยู่ไม่ไกลจากสะพานเทพสุดา และสถานที่ท่องเที่ยวในจังหวัดกาฬสินธุ์ และสามารถเดินทางไปยังอ�ำเภอสหัสขันธ์ อ�ำเภอสามหมอ อ�ำเภอท่าคันโท จังหวัดอุดรธานี และ จังหวัดสกลนครด้วยความสะดวกสบาย KALASIN 61 .
.
.indd 61
09/02/61 02:19:30 PM
SHARK GYM & Café
SHARK GYM & Café Free wifi มีโซนอาหารและเครื่องดื่ม ห้องน�้ำ ห้องกิจกรรม คลาสโยคะ มวยไทย และเครื่องเล่นครบทุกส่วนของร่างกาย รวมทั้งเครื่องคาร์ดิโอ ส่วนเมนูอาหาร และเครื่องดื่ม ที่อยากแนะน�ำ ชาเขียวปั่น โกโก้ปั่น บราวนี่ ฮันนี่โทส
SHARK GYM & Café เปิดบริการตั้งแต่ 6.00 น. - 24.00 น. ตั้งอยู่เลขที่ 378-382 ถนนภิรมย์ ต�ำบลกาฬสินธุ์ อ�ำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์ ตรงข้ามโรงเรียนอนุกูลนารี
080-190-0311
SHARK GYM.indd 62
sangdara
SHARK GYM & Cafe’
09/02/61 02:08:19 PM
ตามหาอาหารอีสานรสนัว ต้องไปที่
ร้านนัวอีหลี ร้านนัวอีหลี ครบเครื่องเรื่องอาหารอีสาน ไม่ว่าจะเป็นส้มต�ำ-ต้ม-ทอด-ย�ำ-ย่างลาบ-ก้อย-อ่อม รสชาติอีสานแท้ๆ ทั้งแซบทั้งนัวถูกใจ โดยเฉพาะ “ ปลาร้า ” ที่เป็นสูตรเด็ดลับเฉพาะของทางร้าน ที่สืบสอดกันมา รุ่นต่อรุ่น ท�ำให้ส้มต�ำทุกครกที่เสิร์ฟนั้น ทั้งแซบทั้งนัวจนหยุดไม่ได้ ทีเด็ดของเราอยู่ที่ เมนูอาหารซึ่งทางร้านคิดขึ้นเองหลากหลายเมนู และหาทานได้ที่ร้านนัวอีหลีเท่านั้น ที่ส�ำคัญเราคัดสรรแต่วัตถุดิบอย่างดีในการปรุง โดยเฉพาะอาหารทะเลที่ต้องการ ความสดจริงๆ เช่น ปูม้า จะส่งตรงจากทะเลเพื่อให้ลูกค้าได้ทานของที่สด ใหม่ และ สะอาดถูกหลักอนามัย จึงท�ำให้อาหารที่ร้านนัวอีหลี อร่อยจนหยุดไม่อยู่เช่นกัน
หอยโข่งตกครก
ต�ำแสบหอย
ส�ำรองที่นั่งติดต่อ
โทร | 088-552-2023 ที่อยู่ | 310/1 ถนนอนรรฆนาค ต�ำบลกาฬสินธุ์ อ�ำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์ 46000 Facebook | นัวอีหลี Email | nuaelee168@gmail.com .indd 63
ต�ำขนมจีนโคตรซีฟู้ด แมงกะพรุนตกครก
ต�ำลาวตีนไก่
ร้านนัวอีหลี เปิดให้บริการตั้งแต่เวลา 11.00-22.00 น. จุดสังเกตร้านอยู่ข้างซอยโรงกลึงช่างนายหากมาจากวงเวียน ไดโนเสาร์จะอยู่ซ้ายมือก่อนถึงวัดหอไตร สามารถค้นหาเส้นทางใน google map โดยพิมพ์ว่า “ ร้านนัวอีหลี ” หรือ โทรสอบถามสถานที่อีกครั้ง
09/02/61 02:09:01 PM
บัน ทึก เส้ น ทางความเป็นมาของจังหวัดกาฬสินธุ์
ผู้(ภู)ไท
จากชาวเมืองฟ้า สู่กาฬสินธุ์ Tai-Kadai Language Family “ผู้ ไท” หรือ “ภูไท” เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ ที่พูดภาษาตระกูลไท-กะได (Tai-Kadai Language Family) ซึ่งมีการสันนิษฐานว่า ถิ่นเดิมของชาวผู้ ไทนั้น ตั้งอยู่บริเวณ ตอนกลางของมณฑลยูนานในประเทศ สาธารณรัฐประชาชนจีน ต่อมาจึงได้อพยพ เข้าไปตั้งถิ่นฐานยังแคว้นสิบสองจุไท ซึ่งปรากฏชื่อตามพงศาวดารล้านช้างว่า “เมืองนาน้อยอ้อยหนู” หรือ “เมืองแถน” ค�ำว่า แถน หรือ แถง ตรงกับค�ำว่า ถิ่น ในภาษากวางตุ้ง และตรงกับค�ำว่า เทียน ในภาษาแต้จิ๋ว แปลว่า ฟ้า เมืองแถน จึงหมายถึง “เมืองฟ้า”
เมื อ งแถน ซึ่ ง เป็ น เมืองหลวงของสิบสอง จุไทนั้นอยู่ใกล้กับลาว ชาวผู ้ ไ ทเมื อ งแถน จึงถือธรรมเนียมตาม แบบลาว เรียกตนเองว่า “ผู้ไทด�ำ” ส่วนชาวผู้ไท เมืองไล ซึ่งตั้งอยู่ติดไป ทางจีน ก็ถือธรรมเนียม แบบจีน เรียกตนเองว่า “ผู้ไทขาว” ซึ่งต่างก็ พูดภาษาเดียวกัน แต่ต่างกันเพียงสีของ เครื่องแต่งกายที่ใช้ แต่ ง ไปในงานศพ ซึ่ ง ผู ้ ไ ทด� ำ จะแต่ ง ชุดสีด�ำ ส่วนผู้ไทขาว จะแต่ ง ชุ ด สี ข าว
ต�ำนาน “ก�ำเนิดชาวผู้ ไท”
ชาวผู้ไทมีต�ำนานที่เล่าสืบต่อกันมา เกี่ยวกับ การก�ำเนิดของชาวผู้ไทว่า เกิดจากเทพสามี แ ละ ภรรยา 5 คู่ ซึ่งเป็นพี่น้องกัน เมื่อหมดอายุขัยบน สวรรค์แล้ว จึงอธิษฐานจิตเนรมิตน�ำ้ เต้าขึน้ มา เทพทัง้ 5 คู่ได้เข้าไปอยู่ในน�้ำเต้า ทันใดนั้นน�้ำเต้าได้ลอยจาก สวรรค์มาตกลงมาบนภูเขาเมื่อน�้ำเต้าแตกออก ก็มี เทพออกมาจากน�้ำเต้าทีละคู่ตามล�ำดับ คือ ข่าแจะ ผู้ไท ลาวพุงขาว ฮ่อ(จีน) และแกว(ญวน) ซึ่งเป็นต้น ก�ำเนิดของมนุษย์ 5 เผ่าพันธุ์ในปัจจุบันนี้
จากผู้ ไทเมืองฟ้า สู่แดนสยาม
การอพยพของชาวผู้ไทเข้าสู่ราชอาณาจักรไทย มี 3 ครั้งใหญ่ ๆ ด้วยกันคือ
ครั้งที่ 1 ในสมัยธนบุรี
ระหว่าง พ.ศ. 2321-2322
พระเจ้ากรุงธนบุรี โปรดเกล้าฯ ให้เจ้าพระยา มหากษัตริย์ศึก (รัชกาลที่ 1) กับเจ้าพระยาสุรสีห์ (บุญมา) น�ำกองทัพไทยสองหมื่นคนไปตีอาณาจักร ล้านช้าง ตั้งแต่จ�ำปาศักดิ์ถึงเวียงจันทน์ เมืองหลวง พระบางซึ่งไม่ถูกกับเวียงจันทน์มาก่อน ก็น�ำก�ำลังมา ช่วยตีเวียงจันทน์ด้วย แม่ทัพไทยได้ให้กองทัพหลวง พระบางไปตีเมืองทันต์ (ญวนเรียก ซือหวี) เมืองมวย ซึ่งเป็นเมืองของชาวผู้ไทด�ำได้ทั้งสองเมือง แล้วกวาด ต้อนชาวผู้ไทด�ำ(ลาวทรงด�ำ) เป็นจ�ำนวนมากมาตั้ง ถิ่นฐานที่เมืองเพชรบุรี นับเป็นชาวผู้ไทรุ่นแรกที่มา ตั้งถิ่นฐานในประเทศไทย 64 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย
“เมื อ งฟ้ า แดดสงยาง โปงลางเลิ ศ ล�้ ำ วั ฒ นธรรมผู ้ ไ ทย ผ้ า ไหมแพรวา ผาเสวยภู พ าน มหาธารล� ำ ปาว ไดโนเสาร์ สั ต ว์ โ ลกล้ า นปี ” ค� ำ ขวั ญ จั ง หวั ด “กาฬสิ น ธุ ์ ”
ขอขอบคุ ณ สถานที่ : วั ด วั ง ค� ำ บ้ า นนาวี ต� ำ บลสงเปลื อ ย อ� ำ เภอเขาวง จั ง หวั ด กาฬสิ น ธุ ์ ขอขอบคุ ณ : จริ ย า สารจั น ทร์
KALASIN 65
หลังการปราบกบฏเจ้าอนุวงศ์เวียงจันทน์แล้ว เมื่อ จุลศักราช 1203 (พ.ศ.2384) พระมหาสงคราม แม่ทัพกรุงเทพ และเจ้าอุปราชเมืองเวียงจันทน์ ยก กองทัพไปตีเมืองวังแตก
ครั้งที่ 2 สมัยรัชกาลที่ 1 ใน พ.ศ. 2335
กองทัพเวียงจันทน์ตีหลวงพระบางแตก และจับ กษัตริย์หลวงพระบางส่งกรุงเทพฯ ใน พ.ศ.23352338 กองทัพเวียงจันทน์ได้ตเี มืองแถง และเมืองพวน ซึ่งแข็งข้อต่อเวียงจันทน์ กวาดต้อนชาวผู้ไทด�ำและ ลาวพวนเป็นเชลยส่งมากรุงเทพฯ รัชกาลที่ 1 ทรงมี รับสั่งให้ชาวผู้ไทด�ำประมาณ 4,000 คนไปตั้งถิ่นฐาน ที่เพชรบุรีเช่นเดียวกับชาวผู้ไทด�ำรุ่นแรก
ครั้งที่ 3 สมัยรัชกาลที่ 3
เป็นการอพยพประชากรครั้งใหญ่ที่สุด จากฝั่งซ้ายแม่น�้ำโขงเข้ามาอยู่ในประเทศไทย โดยมีเหตุการณ์ส�ำคัญซึ่งเป็นเหตุแห่งการอพยพ คือหนึ่ง เกิดกบฏเจ้าอนุวงศ์ ในพ.ศ. 2369-2371
ซึ่งตรงกับสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้า อยูห่ วั รัชกาลที่ 3 ทีเ่ มืองวังมีความวุน่ วาย เกิดขัดแย้ง ภายในของกลุ่มผู้ไทที่มีเมืองวังเป็นเมืองหลัก ได้มี ไทครัวผู้ไทกลุ่มหนึ่งอพยพมาตั้งบ้านเรือนในฝั่งขวา แม่นำ�้ โขง มีนายไพร่รวม 2,648 คน ต่อมาได้ตงั้ บ้านเรือน อยูท่ บี่ า้ นบุง่ หวาย ในปี พ.ศ.2373 พระสุนทรราชวงษา เจ้าเมืองยโสธร ว่าราชการอยู่เมืองนครพนมได้มี ใบบอกขอตั้งบ้านดงหวายเป็นเมือง “เรณูนคร” 66 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย
พระบาทสมเด็จ พระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ยกบ้าน บุ่งหวาย ขึ้นเป็น เมืองเรณูนคร และ ตั้งให้ท้าวสาย หัวหน้า ไทครัวผู้ไทเป็น พระแก้วโกมล เจ้าเมือง เรณูนครคนแรก ขึ้นเมืองนครพนม (ในปี พ.ศ. 2387) ซึ่งคือท้องที่อ�ำเภอ เรณูนคร จังหวัด นครพนมในปัจจุบัน ชาวผู้ไทเรณูนคร จึงนับเป็นชาวผู้ไท กลุ่มแรกที่อพยพ มาอยู่ในเขตฝั่งขวา แม่น�้ำโขง
เจ้าเมือง อุปฮาด ราชวงศ์ ราชบุตร และท้าว เพี้ยราษฎรพาครอบครัวหนีกองทัพไทยระส�่ำระสาย พระมหาสงครามแม่ทัพ ได้จัดให้ท้าวสายท้าวเพี้ย เมืองวังไปเกลีย้ กล่อมได้ราชวงศ์(กอ) บางฉบับว่าชือ่ วอ และท้าวคองบุตรเจ้าเมือง ท้าวตัว้ บุตรอุปฮาดเมืองวัง เข้ามาสวามิภักดิ์พาครอบครัวข้ามมาฝั่งโขงตะวันตก จ�ำวน 3,003 คน ตั้งอยู่บ้านกุดฉิมนารายณ์ ขึ้นเมือง กาฬสินธุ์
จนถึงจุลศักราช 1207 (พ.ศ.2388)
พระบาทสมเด็จพระนัง่ เกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 3 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ยกบ้านกุดฉิมนารายณ์ ซึ่งตั้งอยู่ริมโบสถ์นารายณ์เก่าขึ้นเป็นเมืองกุดฉิม นารายณ์ และโปรดเกล้าฯ ให้ราชวงศ์(กอ) เมืองวัง เป็นพระธิเบศร์วงศาเจ้าเมือง ให้ท้าวคองเป็นอุปฮาด ท้าวตั้วเป็นราชวงศ์ ท้าวเนตรบุตรพระธิเบศร์วงศา (กอ) เป็นราชบุตร
สอง เกิดสงครามระหว่างไทยกับเวียดนาม
อัตลักษณ์ของชาวผู้ ไท
ซึ่ ง ทั้ ง ฝ่ า ยไทยและเวี ย ดนามต่ า งกวาดต้ อ น ประชากรจากดินแดนลาวมาไว้ในประเทศของตน ซึ่งประชากรที่ถูกไทยกวาดต้อนมามีทั้ง ชาวผู้ไท กะเลิง โซ่ ญ้อ แสก โย้ย ข่า ซึ่งส่วนใหญ่จะถูก กวาดต้อนมาไว้ในภาคอีสาน ส่วนลาวพวน ลาวเวียง กวาดต้ อ นให้ ม าตั้ ง ถิ่ น ฐานทั้ ง ในภาคอี ส านและ ภาคกลางของประเทศไทย แถบฉะเชิงเทรา ชลบุรี นครนายก ปราจีนบุรี สระบุรี ลพบุรี สุพรรณบุรี เพชรบุรี ราชบุรี นครปฐม เป็นต้น ส่วนชาวผู้ไทที่ถูกกวาดต้อนมาในระลอกที่ 3 จะแยกเป็น 8 กลุ่มด้วยกัน และได้ขยายจ�ำนวน ออกไปตั้งถิ่นฐานในพื้นที่ต่างๆ ของภาคอีสาน รวม 9 จังหวัด 33 อ�ำเภอ 494 หมู่บ้าน ซึ่งชาวผู้ไทใน จังหวัดกาฬสินธุ์ มีทั้งหมด 63 หมู่บ้าน 5 อ�ำเภอ ได้ แ ก่ อ� ำ เภอเขาวง อ� ำ เภอกุ ฉิ น ารายณ์ อ� ำ เภอ ค�ำม่วง อ�ำเภอสมเด็จ อ�ำเภอสหัสขันธ์
กตัญญู ขยันขันแข็ง มัธยัสถ์ ท�ำงานได้หลายอาชีพ เช่น ท�ำนา ท�ำไร่ ค้าวัว ค้าควาย ซึ่งในอดีตมีการน�ำ กองเกวี ย นบรรทุ ก สิ น ค้ า ไปขายต่ า งถิ่ น เรี ย กว่ า “นายฮ้อย” นอกจากนี้สตรีชาวผู้ไทยังมีผิวพรรณ หน้าตาดี กริยามารยาทงาม บ้านเรือน บ้านของชาวผู้ไทจะมีลักษณะเด่นคือ มีปอ่ งเอีย้ มเป็นช่องลม มีประตูปอ่ ง หน้าต่างยาวจรดพืน้ มีห้องภายในเรือนเป็นห้อง ๆ ที่เรียกว่า “ห้องส่วม” และมีผ้าลายใช้เป็นผ้ากั้นห้อง ประเพณี ชาวผู้ไทมีประเพณีซึ่งถือปฏิบัติกันมา แต่โบราณ ได้แก่ การลงข่วง พิธีแต่งงาน การท�ำมา หากิน การถือผี และการเลี้ยงผี ภาษา ภาษาที่ชาวผู้ไทใช้อยู่ในปัจจุบันมีเพียง ภาษาพูดเท่านั้น ส่วนตัวอักษรที่ปรากฏใช้ในชุมชน พบเพียงหลักฐานคัมภีรใ์ บลานทีม่ เี ป็นจ�ำนวนมากใน หมู่บ้านต่างๆ ซึ่งมีการจารด้วย อักษรตัวธรรมอีสาน อักษรตัวไทน้อย และอักษรตัวขอม
ในระหว่างปี พ.ศ.2376-2490
วิถีชีวิต ชาวผู้ไทเป็นกลุ่มคนที่มีจิตใจรักสงบ
การไปหาผี หรือจิตวิญญาณ ที่ ไ ม่ สู ง นั ก มาเลี้ยงเพื่อช่วงใช้ ปกติคนไทยโบราณ จะเลี้ยงผีอย่างแรก คือ ผีบรรพบุรุษ เพราะหาง่ า ย ไม่ต้องล�ำบาก ญาติที่ตายไปยังห่วง เราอยู่ก็จะอยู่ให้เรา เลี้ยงดูและช่วยเหลือ เราต่อไป ประเพณี การถือผี และการเลี้ยงผี
KALASIN 67
เครื่ อ งแต่ ง กาย จะสวมเสื้ อ แขนกระบอก สี ด� ำ แนวปกคอเสื้ อ และแนวกระดุ ม ตกแต่ ง ด้ ว ยผ้ า แถบลายแพรวา สี แ ดง กุ ๊ น ขอบลายผ้ า ด้วยผ้ากุ๊นสีเหลืองและขาว ประดั บ ด้ ว ยกระดุ ม เงิ น ห่ ม ผ้ า สไบไหมแพรวา สี แ ดง นุ ่ ง ผ้ า ซิ่ น มั ด หมี่ ภู ไ ทมี ตี น ซิ่ น ยาวคลุ ม เข่ า ผมเกล้ า มวยมั ด มวยผม ด้ ว ยผ้ า แพรมน หรื อ ผ้ า แพรฟอย และสวม เครื่ อ งประดั บ เงิ น
ท่ามาลัยแก้ว ฯลฯ ซึ่งผู้ฟ้อนจะเป็นผู้หญิงทั้งหมด ท่าฟ้อนของชาวภูไทได้ถูกรวบรวมโดย นายมณฑา ดุลณี ร่วมกับกลุ่มแม่บ้านชาวภูไทบ้านโพน อ�ำเภอ ค�ำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์ เป็นผู้คิดประดิษฐ์ท่าฟ้อน ภู ไ ทให้ เ ป็ น ระเบี ย บ 4 ท่ า หลั ก ส่ ว นท่ า อื่ น ๆนั้ น คณะครูหมวดนาฏศิลป์พื้นบ้าน วิทยาลัยนาฏศิลป์ กาฬสินธุ์ เป็นผู้คิดประดิษฐ์โดยได้น�ำเอาการฟ้อน ของชาวภู ไ ทในจั ง หวั ด กาฬสิ น ธุ ์ อาศั ย อยู ่ ใ นเขต อ�ำเภอเขาวง อ�ำเภอกุฉินารายณ์ และอ�ำเภอค�ำม่วง รวบรวมเอาไว้ด้วยกัน ซึ่งเมื่อเสร็จเรียบร้อย จึงได้ ท�ำการแสดงครัง้ แรกเมือ่ ปี พ.ศ. 2537 ณ พระต�ำหนัก ภูพานราชนิเวศน์ จังหวัดสกลนคร เครือ่ งดนตรีทใ่ี ช้แบบดัง้ เดิม ได้แก่ แคน กลองกิง่ กลองตุ้ม กลองแตะ กลองยาว ฆ้องโหม่ง พังฮาด ไม้ กั๊บแก๊บ ส�ำหรับวงโปงลาง ใช้เครื่องดนตรีครบชุด ของวงโปงลาง ลายเพลง ใช้ลายภูไทน้อย
เครื่องแต่งกาย หญิง สวมเสื้อแขนกระบอกสีด�ำ แนวปกคอเสื้อ
และแนวกระดุมตกแต่งด้วยผ้าแถบลายแพรวาสีแดง กุ๊นขอบลายผ้าด้วยผ้ากุ๊นสีเหลืองและขาว ประดับ ด้วยกระดุมเงิน ห่มผ้าสไบไหมแพรวาสีแดง นุง่ ผ้าซิน่ มัดหมี่สีด�ำมีตีนซิ่น ผมเกล้ามวยมัดมวยผมด้วยฝ้าย ภูไท หรือผ้าแพรฟอย และสวมเครื่องประดับเงิน ชาย สวมเสื้ อ สี ด� ำ มี ก ารตกแต่ ง เสื้ อ ด้ ว ยแถบ ผ้าลายแพรวา นุ่งกางเกงขาก๊วย ใช้ผ้าแพรวาแดงมัด เอว ฟ้อนผู้ ไท การฟ้อนภูไทกาฬสินธุ์ เป็นการฟ้อน ประกอบท�ำนองหมอล�ำภูไท ซึ่งเป็นท�ำนองพื้นเมือง ประจ�ำชาชาติพนั ธุภ์ ไู ท ซึง่ ปกติแล้วการแสดงหมอล�ำ ภูไท มักจะมีการฟ้อนร�ำประกอบกันไปอยู่แล้ว ซึ่ง ท� ำ ให้ ก ารฟ้ อ นภู ไ ทกาฬสิ น ธุ ์ ใ นแต่ ล ะอ� ำ เภอหรื อ หมู่บ้าน จะมีท่าฟ้อนที่แตกต่างกัน การฟ้อนภูไทกาฬสินธุ์ เป็นการฟ้อนที่ได้การ ปรับปรุงท่ามาจากท่าฟ้อนภูไท ท่าฟ้อนในเซิ้งบั้งไฟ และท่าฟ้อนดอนตาล ประกอบด้วยท่าฟ้อนไหว้ครู ท่าเดิน ท่าช่อม่วง ท่ามโนราห์ ท่าดอกบัวบาน ท่ามยุรี 68 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย
ขอขอบคุ ณ ที่ ม า : ส� ำ นั ก งานจั ง หวั ด กาฬสิ น ธุ ์ ศู น ย์ ภู ไ ทศึ ก ษา มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฎ กาฬสิ น ธุ ์ ชมรมศิ ล ปวั ฒ นธรรมอี ส าน จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย ขอขอบคุ ณ รู ป ภาพ : Torpong Tankamhaeng
จากผู ้ ไ ทกาฬสิ น ธุ ์ สู ่ ผู้ ไ ทนานาชาติ
ปั จ จุ บั น มี ช าวผู ้ ไ ทอาศั ย อยู ่ ใ นหลายจั ง หวั ด ของ ประเทศไทย และในหลายประเทศทั่วโลก แต่ไม่ว่าชาว ผู้ไทจะไปก่อร่างสร้างตัวที่ประเทศใดก็ตาม พวกเขายัง มีความรู้สึกผูกพันในความเป็นชาติพันธุ์เดียวกันอย่าง เหนียวแน่น โดยมีการก�ำหนดให้วนั ที่ 13 เมษายนของทุกปี เป็นวัน “วันผู้ไทโลก” ซึ่งเป็นวันที่ชาวผู้ไทจะเดินทาง กลับมาเยี่ยมบ้านเกิดของตน ส่วนที่จังหวัดกาฬสินธุ์ ซึ่งมีชาวผู้ไทอาศัยอยู่ใน 5 อ�ำเภอ ได้รวมตัวกันจัดวาน “เทศกาลผู้ไทยนานาชาติ เขาวง” ขึ้นที่บริเวณสวนเฉลิมพระเกีย รติ 80 พรรษา อ่ า งเก็ บ น�้ ำ ห้ ว ยสายนาเวี ย ง หน้ า ตลาด อ.เขาวง จ.กาฬสินธุ์ ซึ่งจัดต่อเนื่องมาเป็นปีที่ 4 แล้ว โดยในปี 2560 มีชาวผู้ไทจากจังหวัดต่างๆ ทั่วไทย จากสสป.ลาว และเวียดนาม พร้อมใจกันแต่งกายด้วยชุดประจ�ำถิ่นมา ร่วมงานกว่าหมื่นคน การจั ด งาน “เทศกาลผู ้ ไ ทนานาชาติ เขาวง”มี วัตถุประสงค์เพื่อฟื้นฟูขนบธรรมเนียมกลุ่มชาติพันธุ์ผู้ไท ในจังหวัดต่างๆ และนานาชาติ เพือ่ ยกระดับการท่องเทีย่ ว เชิ ง วั ฒ นธรรมรู ป แบบใหม่ และเพื่ อ น้ อ มร� ำลึ ก ในพระ มหากรุณาธิคุณพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดช รัชกาลที่ 9 และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรม ราชินีนาถ ที่ทรงมีพระมหากรุณาธิคุณอย่างล้นพ้นหา ที่สุดมิได้ ต่อพสกนิกรชาว อ.เขาวง ทั้งโครงการอุโมงค์ ผันน�้ำละพังภูมิพัฒน์ เกษตรทฤษฎีใหม่ และโครงการ อั น เนื่ อ งมาจากพระราชด� ำ ริ ห ลายโครงการ และเพื่ อ ฟื้นฟูขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปวัฒนธรรมของกลุ่ม ชาติพันธุ์ผู้ไทดั้งเดิม ให้คนรุ่นใหม่ได้สืบสานและร่วมกัน อนุรักษ์ เป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิถีชีวิตความเป็นอยู่ ของชาวผู้ไทยในจังหวัดต่างๆ และนานาชาติ อันจะน�ำมา ซึ่งความร่วมมือในการสืบสานวัฒนธรรมประเพณีอันดี งามจากระดับจังหวัด สู่ภูมิภาคและนานาชาติ สนับสนุน ให้เกิดการมีส่วนร่วมทั้งภาครัฐ เอกชนและท้องถิ่น ใน การส่งเสริมการท่องเที่ยว และยกระดับการท่องเที่ยวเชิง วัฒนธรรมรูปแบบใหม่ จากระดับท้องถิ่นสู่สากล น�ำไปสู่ การเพิ่มรายได้จากการท่องเที่ยวมากยิ่งขึ้น
KALASIN 69
มาเที่ยวถิ่นอีสานทั้งที ถ้าไม่ได้มากราบขอพร พระประจ�ำจังหวัด เพื่อขอให้บารมีท่าน ช่วยปกป้องคุ้มครอง หรือให้พานพบแต่สิ่งดีๆ ตลอดการเดินทาง ก็ดูจะกระไรอยู่นะคะ
จังหวัดกาฬสินธุ์ได้มีการจัดสร้างองค์พระพรหมภูมิปาโล และมี การบรรจุพระบรมสารีริกธาตุยังเบื้องพระนลาฏองค์พระพุทธปฏิมากร ด้ ว ย ทั้ ง นี้ เ พื่ อ ให้ เ ป็ น สิ่ ง ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ยึ ด เหนี่ ย วจิ ต ใจแก่ ช าวจั ง หวั ด กาฬสินธุ์ เป็นมิ่งมงคลแก่บ้านเมือง และผู้ที่มากราบสักการะขอพร จากท่าน พระพรหมภูมปิ าโล เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชยั ขนาดใหญ่ หน้าตัก กว้าง 10.50 เมตร สูง 17.80 เมตร ประดิษฐานอยู่ที่พ�ำนักสงฆ์ พุทธาวาส บนยอดเขาภูสิงห์ อ�ำเภอสหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ ซึ่ง พระนามขององค์พระ หมายถึง พระผู้ยิ่งใหญ่และเปี่ยมล้นด้วยพรหม วิหารธรรม ที่คอยให้ความพิทักษ์คุ้มครองสถานทั่วปริมณฑล และ นับเป็นพระพุทธรูปองค์ใหญ่ที่มีพระลักษณะงดงามที่สุดองค์หนึ่งใน ประเทศไทย โดยมีพระวรกายสง่างาม พระพักตร์อิ่มเอิบ พระเนตร ทั้งสองสดใสเปี่ยมล้นด้วยเมตตาธรรม ผู้ใดพบเห็นก็จะรู้สึกสุขสบายใจ และอิ่มเอิบใจทุกครั้งที่ได้ขอพรจากท่าน
การเดิ น ทาง พุทธสถานภูสิงห์ตั้งอยู่บนยอดเขาภูสิงห์
อ�ำเภอสหัสขันธ์ ใกล้ตลาดสหัสขันธ์ และอยู่ห่างจากจังหวัด 34 กม. สามารถขึ้นไปยังองค์พระพรหมภูมิปาโล ได้ทั้งทางรถยนต์ และบันไดที่ไม่สูงมากค่ะ แค่ 417 ขั้นเท่านั้นเอง แต่ด้วยแรงศรัทธา ต่อองค์พระ เชื่อว่าทุก ๆ ท่านเดินกันสบายอยู่แล้ว 70 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย
สักการะ
พระพรหมภูมิปาโล
KALASIN 71
ชมวิวสะดุดตาที่
สะพานเทพสุดา สะพานเทพสุดา เป็นสะพานข้ามเขื่อนล�ำปาว ซึ่งเชื่อมระหว่างอ�ำเภอสหัสขันธ์ ไปอ�ำเภอหนองกุงศรี นับเป็นสะพานข้ามน�้ำจืดยาวที่สุดแห่งหนึ่งของเมืองไทย เพราะมีความยาวถึง 2,100 เมตร โดยได้รับ พระราชทานชื่อสะพานจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เขื่อนล�ำปาวนั้น พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงมีพระราชด�ำริพระราชทานให้กรมชลประทาน ด�ำเนินการสร้างขึ้น ในปี 2513 จนสามารถแก้ ไขปัญหาความแห้งแล้งและน�้ำท่วมให้แก่ชาวกาฬสินธุ์ ได้ ด้วยความยาวของสะพานเทพสุดานี้เอง จึงมีจุดชมวิวที่สวยงามหลายแห่ง เช่น บริเวณแหลมโนนวิเศษ ฝั่งอ�ำเภอสหัสขันธ์ และเกาะมหาราช ฝั่งอ�ำเภอหนองกุงศรี และสะพานแห่งนี้นอกจากจะเป็นแลนด์มาร์ก ส�ำคัญของจังหวัดกาฬสินธุ์แล้ว ยังใช้เป็นสถานที่จัดงานส�ำคัญๆ อีกด้วย
72 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย
สะพานเทพสุดา เป็นโครงข่ายเชื่อมเส้นทางคมนาคมขนส่งจาก จังหวัดหนองคาย อุดรธานี ผ่านจังหวัดกาฬสินธุ์ ไปยังจังหวัดมุกดาหาร ซึ่งเป็นประตูสู่อินโดจีนหรืออีสต์เวสต์อีโคโนมิก คอริดอร์ KALASIN 73
สวนไดโนเสาร์ ถือเป็นแลนด์มาร์คอีกแห่งหนึ่ง ซึ่งอบจ.กาฬสินธุ์จัดสร้างขึ้น เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยว ในจังหวัดที่ได้ชื่อว่าเป็นแหล่งไดโนเสาร์ชื่อดัง ครอบครัวที่มีลูกเล็กเด็กแดงไม่ควรพลาดนะคะ เพราะที่นี่จะมี หุ่นจ�ำลองไดโนเสาร์หลากหลายสายพันธุ์ และหลายขนาดเท่าของจริงจัดแสดงในท่วงท่าเหมือนก�ำลังเดิน อย่างมีความสุข ชวนให้จินตนาการว่าได้เข้าไปเดินอยู่ในฉากหนังจูราสสิคพาร์คกันเลยทีเดียว 74 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย
อย่าตกใจ! ถ้าคุณจะเจอป้ายประกาศเตือนว่า
ระวัง!
ไดโนเสาร์ข้ามถนน ไปเดินเล่นกันที่สวนไดโนเสาร์ เพราะที่จังหวัดกาฬสินธุ์ถิ่นเก่าของเจ้าไดโนเสาร์ นอกจากจะมี “พิพิธภัณฑ์สิรินธร” หรือ “พิพิธภัณฑ์ ไดโนเสาร์ภูกุ้มข้าว” เป็นแหล่งเรียนรู้เกี่ยวกับไดโนเสาร์และซากฟอสซิลสัตว์ต่างๆ และเป็นพิพิธภัณฑ์ ไดโนเสาร์ที่ดีที่สุดในอาเซียนแล้ว ก็ยังมี “สวนไดโนเสาร์” ที่ต้ังอยู่ริมถนนสายกาฬสินธุ์-สหัสขันธ์ค�ำม่วง ก่อนที่จะถึงพิพิธภัณฑ์ ไดโนเสาร์ 3 กิโลเมตร
KALASIN 75
รอยเท้าไดโนเสาร์
อายุประมาณ 140 ล้านปี ปัจจุบันนั้นเห็นชัดเจนเพียง 4 รอย
วนอุทยานภูแฝก
(แหล่งรอยเท้าไดโนเสาร์) 76 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย
ตระการตาทุ่งทานตะวัน สีทองหนองทึง
ดอกไม้สวยๆ อย่างทานตะวัน ที่บานเต็มทุ่ง ไม่ว่าจะมี ที่จังหวัดไหน ก็เป็นที่ดึงดูดใจ สาวๆ ใหเข้าไปโพสต์ท่า ถ่ายภาพสวยๆ อัพเฟซกัน
ทุ่งทานตะวันแห่งแรกของจังหวัดกาฬสินธุ์นี้ มีชื่อว่า ทุ่งทานตะวัน สี ทองหนองทึ ง อยู่ต รงข้ามสวนสาธารณะหนองทึ ง ติ ดถนนสาย กาฬสินธุ์-ขอนแก่น ต�ำบลหัวนาค�ำ อ�ำเภอยางตลาด ซึ่งเทศบาลต�ำบล หัวนาค�ำได้ ใช้พื้นที่สาธารณประโยชน์กว่า 20 ไร่ ปลูกทานตะวันเพื่อให้ เป็นแหล่งท่องเที่ยวแห่งใหม่ของจังหวัด และมีการจัดสร้างมุมส�ำหรับ การถ่ายภาพไว้หลายจุด ซึ่งช่วงที่ทานตะวันพร้อมใจกันบานสะพรั่ง เหลืองอร่ามเต็มทุ่งในเดือนธันวาคมนั้น ทางเทศบาลฯ ได้จัดให้มี “เทศกาลหนาวลมห่มรัก” เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยว และเสริมสร้าง รายได้ ให้กับชาวต�ำบลหัวนาค�ำด้วย KALASIN 77
ชม-ช็อปที่หมู่บ้าน OTOP หม่อนไหมแพรวา
ที่นี่สาวๆ ต้องไม่พลาดนะคะ เพราะนอกจากคุณจะได้รู้ว่า กว่า จะเป็ น ผ้ า ไหมแพรวาสวยๆ สั ก หนึ่ ง ผื น ต้ อ งผ่ า นกระบวนการ อะไรบ้ า งแล้ ว เราเชื่ อ ว่ า คุ ณ จะ อดใจช็อปปิ้งไม่ได้จริง ๆ
78 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย
หมู ่ บ ้ า นหม่ อ นไหมแพรวา ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นหนองช้าง ต.หนองช้าง อ.สมาชัย จ.กาฬสินธุ์ นับได้ว ่า เป็นหมู่บ้านตัวอย่างในการพัฒนา ด้ ว ย 4 ภาคี คื อ ภาคราชการ (อ� ำ เภอ อบต. กรมหม่ อ นไหม) ภาควิชาการ (มทร.อีสาน กาฬสินธุ)์ ภาคประชาชน (กลุ่มผู้ปลูกหม่อน เลี้ยงไหม) และ ภาคเอกชน (บ.จุล ไหมไทย) ทีต่ า่ งรวมพลังกันผลักดัน ให้ภูมิปัญญาด้านการทอผ้าไหม แพรวาของชาวภูไทได้คงอยู่สืบไป ชั่วลูกหลาน
ผลจากการผนึ ก พลั ง นี้ เ อง ท�ำให้ผลิตภัณฑ์ของหมู่บ้านหนอง ช้ า งได้ รั บ การประกั น คุ ณ ภาพ ผ้ า ไหม ด้ ว ยตรา “นกยู ง ทอง” และได้รับ OTOP ระดับ 4 ดาว อีกด้วย
รูอ้ ย่างนีแ้ ล้ว เชือ่ ว่าสาวๆ จะอดใจควักเงิน ในกระเป๋ามาช็อปไม่ได้แ น่ๆ ขอกระซิบว่า นอกจากคุณจะได้ผา้ สวยๆ ไว้ใช้แล้ว เงินของคุณ ยังช่วยให้ชาวบ้านไม่ต้องทิ้งบ้านไปหางาน ในท�ำเมืองใหญ่ด้วย โอ้ว...ดีงามอะไรเช่นนี้คะ
ขอขอบคุณข้อมูลจาก การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย เทศบาลต�ำบลหัวนาค�ำ www.khaowongshop.com/ KALASIN 79
คุณภาพชี วิตดี วิถีพอเพียง เคียงคู่วัฒนธรรม มุ ่งน�ำการศึกษา พัฒนาแหล่งท่องเที่ยว ไม่ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด
นายยงยุทธ หล่อตระกูล นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดกาฬสินธุ์
ยุ ท ธศาสตร์ ก ารพั ฒ นาจั ง หวั ด กาฬสิ น ธุ ์ ใน 6 ด้าน การพั ฒ นาโครงสร้ า งพื้ น ฐาน รวมถึ ง การพั ฒ นาความมั่ น คง คื อ การพั ฒ นาคนและสั ง คมที่ มี คุ ณ ภาพ การพั ฒ นาเศรษฐกิ จ และ ส่ ง เสริ ม การท่ อ งเที่ ย ว ส่ ง เสริ ม พั ฒ นาด้ า นเกษตรกรรมและ ภูมิปัญญาท้องถิ่น การพัฒนาองค์กรการพัฒนาการศึกษาท้องถิ่น
การบริ ห ารองค์ ก รตามหลั ก ธรรมาภิ บ าล อั น จะน� ำ ไปสู ่ คุ ณ ภาพ ชีวิตที่ดี วิถีพอเพียง มีความผาสุกของประชาชนชาวจังหวัดกาฬสินธุ์
80 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 80
12/02/61 04:53:26 PM
กองทุนฟื้ นฟู สมรรถภาพ ที่จ�ำเป็นต่อจังหวัดกาฬสินธุ ์
องค์การบริหารส่วนจังหวัดกาฬสินธุ์ ร่วมกับ ส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 7 จังหวัดขอนแก่น จัดตั้งกองทุนฟื้นฟู สมรรถภาพทีจ่ ำ� เป็นต่อสุขภาพจังหวัดกาฬสินธุ์ ขึ้นในปีพ.ศ.2554 ภายใต้การบริหารจัดการ ของคณะกรรมการบริ ห ารกองทุ น ฯ คณะ อนุกรรมการฝ่ายต่างๆ ตลอดจนความร่วมมือ ของส่วนราชการภาคีเครือข่าย เช่น ส�ำนักงาน สาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์ ส�ำนักงานพัฒนา สังคมและความมัน่ คงของมนุษย์จงั หวัดกาฬสินธุ์ องค์กรชมรมคนพิการ ผู้สูงอายุและองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นภายในจังหวัดกาฬสินธุ์ โดยมีกลุม่ เป้าหมาย คือ คนพิการ ผูส้ งู อายุ และผู ้ ป ่ ว ยในระยะเฝ้ า ระวั ง ที่ จ� ำ เป็ น ต้ อ ง ได้ รั บ การฟื ้ น ฟู ส มรรถภาพด้ า นการแพทย์ ให้ได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพ ได้รับบริการ ขั้ น พื้ น ฐานให้ ส ามารถด� ำ รงชี วิ ต ประจ� ำ วั น ได้อย่างอิสระ พัฒนาศักยภาพและความเข้มแข็ง ขององค์กร ผู้สูงอายุ และองค์กรอื่นๆ อย่าง ทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ
การจัดตัง้ ศูนย์โฮมสุข เป็นศูนย์ประสานงาน บริ ก ารฟื ้ น ฟู แ ละอ� ำ นวยความสะดวกแก่ คนพิการ เป็นศูนย์ข้อมูลส่งต่อการดูแลรักษา ทางด้านสาธารณสุข ให้บริการยืมกายอุปกรณ์ เป็ น ศู น ย์ ร วมกลุ ่ ม และจั ด กิ จ กรรมของ คนพิ ก าร และยั ง เป็ น ศู น ย์ ป ระชาสั ม พั น ธ์ ประสานรับเรื่องร้องทุกข์ ร้องเรียนพิทักษ์ สิทธิคนพิการและผู้สูงอายุ ภายใต้สโลแกน “โดยชุมชน เพื่อชุมชน ดูแลกันเอง” ซึ่ง ในแต่ละศูนย์ฯ จะมีอาสาสมัครที่ผ่านการฝึก อบรมตามหลักสูตรอาสาสมัครฟืน้ ฟูสมรรถภาพ ที่จ�ำเป็นต่อสุขภาพในชุมชน ตามหลักสูตร ของส� ำ นั ก งานสาธารณสุ ข จั ง หวั ด กาฬสิ น ธุ ์ และประธานกรรมการบริหารกองทุนขึน้ ทะเบียน เป็นอาสาสมัครศูนย์โฮมสุข เป็นผู้ท�ำหน้าที่ ให้บริการฟืน้ ฟูสมรรถภาพทีจ่ ำ� เป็นต่อสุขภาพ ในชุมชน เป็นผู้ช่วยนักกายภาพบ�ำบัดและ ทีมสหวิชาชีพในการชักประวัติ ตรวจร่างกาย และจั ด ท� ำ ทะเบี ย นข้ อ มู ล กลุ ่ ม เป้ า หมาย โดยได้รับค่าตอบแทนจากกองทุนฯ
ปัจจุบันศูนย์โอมสุขได้ขยายออกไปตั้งอยู่ ในทุกอ�ำเภอ ณ ต�ำบลที่มีความพร้อม บาง ศูนย์ฯ ตั้งอยู่ในส�ำนักงานองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจ�ำ ต�ำบล ศาลากลางบ้าน หรือสถานทีท่ เี่ หมาะสม เป็นจุดศูนย์รวมของหมู่บ้านต�ำบล ปัจจุบัน มีจ�ำนวน 56 ศูนย์ และอนาคตจะได้ขยาย ออกไปให้ครอบคลุมอย่างทั่วถึง นอกจากนี้ ยังมีผลงาน ให้บริการฟื้นฟู สรรถภาพทีจ่ ำ� เป็นต่อสุขภาพกับกลุม่ เป้าหมาย คือ ปรับสภาพที่อยู่อาศัยให้กับผู้พิการ ผู้สูง อายุทมี่ ปี ญ ั หาด้านความเคลือ่ นไหว มีศกั ยภาพ และสมรรถนะทีด่ ขี นึ้ เช่นห้องน�ำ้ ราวจับเดิน พืน้ ประตู บันใด และทางลาด ทางเดินรอบบ้าน เป็นต้น
KARASIN 81 .indd 81
12/02/61 04:53:31 PM
อบรมอาสาสมัครสาธารณสุข(อสม.) จังหวัดกาฬสินธุ ์ อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) เป็นบุคคล ที่ส�ำคัญในหมู่บ้าน ชุมชน ในการแจ้งข่าวร้าย กระจายข่าวดี ชี้บริการสาธารณสุข บ�ำบัดทุกข์ ประชาชน รักษาพยาบาลเบื้องต้นให้กับคน ในหมูบ่ า้ นและชุมชน และเป็นผูน้ ำ� การเปลีย่ นแปลง พฤติกรรมสุขภาพของประชาชน องค์การบริหารส่วนจังหวัดกาฬสินธุ์ ร่วมกับ ส�ำนักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์ จัดอบรม อาสาสมัครสาธารณสุขในจังหวัดกาฬสินธุ์ เพือ่ ทีจ่ ะสร้างองค์ความรู้ ความเชีย่ วชาญ ประสบการณ์ และเกิดทักษะเกี่ยวกับการบริการด้านสุขภาพ และการถ่ายทอดความรู้สู่ประชาชนในหมู่บ้าน ชุมชน ให้ความรอบรูด้ า้ นสุขภาพ สามารถดูแล ตนเองและคนในครอบครั ว มี อ นามั ย ที่ ดี ไ ด้ น�ำไปสูก่ ารอยูด่ ี มีอายุยนื โดยฝึกอบรมเกีย่ วกับ เรื่องอาหารปลอดภัยส�ำหรับชุมชน การพัฒนา เด็กสมวัย การป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก
การป้องกันควบคุมโรคอุจาระร่วง สุขาภิบาล โลหิตสูง หัวใจหลอดเลือด และหลักการสือ่ สาร ครัวเรือน การป้องกันพยาธิใบไม้ในตับ และ ประชาสั ม พั น ธ์ อาสาสมั ค รสาธารณสุ ข ลดมะเร็งท่อน�้ำดี ดูแลสุขภาพผู้พิการและ ยุคไทยแลนด์ 4.0 ผู้สูงอายุ ลดปัญหาโรคเบาหวาน ความดัน
โครงการพัฒนาโดยเครื่องจักรกล องค์การบริหารส่วนจังหวัดกาฬสินธุ ์ องค์การบริหารส่วนจังหวัดกาฬสินธุ์ มี ภารกิจในด้านการพัฒนาพืน้ ทีท่ างด้านโครงสร้าง พื้นฐานในหลายๆ ด้าน อาทิ การก่อสร้าง ซ่ อ มแซมถนนลาดยาง ถนนลู ก รั ง ที่ อ ยู ่ ใ น ความรั บ ผิ ด ชอบ และให้ ก ารสนั บ สนุ น ส่วนราชการ สถานศึกษา และกลุ่มเกษตรกร
ภายในจังหวัดกาฬสินธุ์ ในการขุดเจาะบ่อ น�ำ้ บาดาล เครือ่ งสูบน�ำ้ ช่วยภัยแล้งและอุทกภัย พร้อมทัง้ ให้การช่วยเหลือประชาชนทีป่ ระสบกับ ภัยพิบตั ติ า่ งๆ โดยใช้เครือ่ งจักรกลขององค์การ บริหารส่วนจังหวัดกาฬสินธุ์ เข้าไปด�ำเนินการ ในช่วงระหว่างปี 2555 - 2561 ดังนี้
การก่อสร้างถนนดินใหม่พัฒนาชนบท จ�ำนวน 7 เส้นทาง ระยะทาง 16 กิโลเมตร ปรับเกรดผิวจราจรลูกรัง จ�ำนวน 698 เส้นทาง ระยะทาง 2,443 กิโลเมตร การซ่อมแซมถนนลาดยางจ�ำนวน 126 เส้นทาง ระยะทาง 838.23 กิโลเมตร
ขุดเจาะบ่อน�้ำบาดาลขนาด 6 นิ้ว จ�ำนวน 500 บ่อ น�ำเครือ่ งสูบน�ำ้ ออกช่วยเหลือประชาชนทีป่ ระสบปัญหากับภัยแล้งและอุทกภัย ตามทีอ่ งค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดกาฬสินธุ์ขอรับการสนับสนุน จ�ำนวน 108 แห่ง จ�ำนวน 204 ท่าสูบ พื้นที่รับประโยชน์ จ�ำนวน 32,100 ไร่ ผู้ได้รับประโยชน์ จ�ำนวน 1,625 ครัวเรือน ปรับสภาพพืน้ ทีส่ ถานทีร่ าชการและทีส่ าธารณะทีป่ ระชาชนใช้ประโยชน์รว่ มกัน จ�ำนวน 25 ไร่
82 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 82
12/02/61 04:53:35 PM
ภาษาจีนโรงเรียนสังกัด องค์การบริหารส่วนจังหวัดกาฬสินธุ ์ องค์การบริหารส่วนจังหวัด กาฬสินธุ์ได้รับโอนโรงเรียนระดับ มัธยมศึกษาเข้ามาอยูใ่ นสังกัดจ�ำนวน 12 โรงเรี ย น ปั จ จุ บั น มี บุ ค ลากร ทางการศึกษาทั้งสิ้น 420 คน และ นั ก เรี ย น 7,000 กว่ า คน โดย ผูบ้ ริหารองค์การบริหารส่วนจังหวัด กาฬสินธุ์ มีนโยบายในการพัฒนา การศึ ก ษาให้ กั บ นั ก เรี ย นในสั ง กั ด เนือ่ งจากเห็นว่าประเทศสาธารณรัฐ ประชาชนจี น เป็ น มหาอ� ำ นาจ ทางเศรษฐกิจ ที่แผ่ขยายไปทั่วโลก และอาจจะเป็ น มหาอ� ำ นาจใน ด้านความมั่นคงของโลกในอนาคต
ในปี 2555 องค์การบริหารส่วนจังหวัด กาฬสินธุ์ ได้จัดท�ำข้อตกลงความร่วมมือกับ สถาบันขงจือ้ แห่งมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ในการแลกเปลี่ยนความร่วมมือทางวิชาการ ครู นั ก เรี ย น ในด้า นการส่ ง เสริ ม การเรี ย น ภาษาจี น ทั้ ง ในและต่ า งประเทศ ด้ า นศิ ล ป วัฒนธรรม ดนตรี สารสนเทศศาสตร์ และ กิ จ กรรมอื่ น ๆ เพื่ อ ให้ เ กิ ด ผลเป็ น รู ป ธรรม จึ ง ได้ ป ระสานกั บ สถาบั น ขงจื้ อ เพื่ อ ขอรั บ อาสาสมั ค รครู จี น มาท� ำ การสอนโรงเรี ย น ในสังกัด ทั้ง 12 โรงเรียน โดยองค์การบริหาร ส่วนจังหวัดกาฬสินธุ์ จ่ายค่าตอบแทนให้กับ อาสาสมัครครูจีน จากนั้น มีคณะกรรมการ ออกติ ด ตามประเมิ น ผลการเรี ย นการสอน ภาษาจีน ปรากฏว่านักเรียนที่เรียนภาษาจีน สามารถที่ จ ะพู ด อ่ า นและเขี ย นภาษาจี น ได้เป็นอย่างดีในทุกโรงเรียน
ในปี 2557 ผู ้ บ ริ ห ารองค์ ก ารบริ ห าร ส่ ว นจั ง หวั ด กาฬสิ น ธุ ์ ได้ จั ด ให้ มี โ ครงการ แลกเปลี่ ย นครู นั ก เรี ย นไทยจี น ขึ้ น มี ก าร คัดเลือกครูและนักเรียนทีพ่ ดู อ่านเขียนภาษาจีน ได้เป็นอย่างดี ทั้ง 12 โรงเรียน เป็นครู 4 คน นักเรียนโรงเรียนละ 2 คน และบุคลากรทาง
การศึกษา 2 คน เดินทางไปศึกษาตามโครงการ แลกเปลี่ยน ณ มหาวิทยาลัยชนชาติกว่างซี สาธารณรัฐประชาชนจีน โดยองค์การบริหาร ส่วนจังหวัดกาฬสินธุเ์ ป็นผูส้ นับสนุนงบประมาณ ในการด�ำเนินการ ตั้งแต่เริ่มโครงการจนถึง ปัจจุบัน องค์การบริหารส่วนจังหวัดกาฬสินธุ์
ได้ด�ำเนินการจัดส่งไปแล้ว จ�ำนวน 5 รุ่นๆ ละ 30 คน เพื่ อ ให้ ทุ ก คนที่ เข้ า ร่ ว มโครงการ น�ำความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ ที่ได้รับมาพัฒนาบ้านเกิดและประเทศไทย ของเรา ให้ ก ้ า วทั น กั บ โลกในปั จ จุ บั น และ โลกอนาคตต่อไป KARASIN 83
.indd 83
12/02/61 04:53:37 PM
บันทึกเส้นทางพบเทศบาลเมือง
เทศบาลเมือง
กาฬสินธุ์ นายจารุวัฒน์ บุญเพิ่ม นายกเทศมนตรีเมืองกาฬสินธุ์
เทศบาลเมื อ งกาฬสิ น ธุ ์ เป็ น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประเภทเทศบาลเมือง ตั้งอยู่ที่อ�ำเภอเมืองกาฬสินธุ์ จังหวัด กาฬสินธุ์ มีพนื้ ทีค่ รอบคลุมต�ำบลกาฬสินธุท์ งั้ ต�ำบล ภายในเขต เทศบาลเป็นทีต่ งั้ ของหน่วยงานการบริหาร สถานศึกษา สถาน พยาบาลและสาธารณสุข ตลอดจนเป็นศูนย์กลางการคมนาคม ของจังหวัดกาฬสินธุ์
คณะผู้บริหาร
โครงการปรับปรุงอาคารพิพิธภัณฑ์เมืองกาฬสินธุ์ 84 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 84
เกียรติภูมิท
09/02/61 03:11:56 PM
เทศบาลเมืองกาฬสินธุ์ ได้รับพิจารณาคัดเลือกให้เป็น “องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ทีม่ คี วามโดดเด่นด้านเสริมสร้าง เครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม ประจ�ำปี 2560” จากสถาบันพระปกเกล้า ซึ่งเป็นปีที่ 3 ติดต่อกัน โดยมีพิธี มอบโล่รางวัลพระปกเกล้า ประจ�ำปี 2560 ในวันอาทิตย์ ที่ 12 พฤศจิกายน 2560 ณ ศูนย์ประชุมสหประชาชาติ ถนนราชด�ำเนินนอก กรุงเทพมหานคร จึงท�ำให้เทศบาลเมือง กาฬสินธุม์ โี อกาสเข้าชิงรางวัลพระปกเกล้าทองค�ำ ในปี 2561 ต่อไป โดยก่อนหน้านี้ เทศบาลฯได้รบั รางวัลพระปกเกล้าด้าน ความโปร่งใสและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน 3 ปี จนส่งผลให้ได้รับ “รางวัลพระปกเกล้าทองค�ำ” ในปี 2557 เทศบาลเมืองกาฬสินธุ์ ขอขอบพระคุณภาคีเครือข่าย ทุกภาคส่วน ที่ได้ส่งเสริมและสนับสนุน ให้เทศบาลเมือง กาฬสินธุ์ได้รับรางวัล มา ณ โอกาสนี้
รางวัลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประจ�ำปี 2560 ที่มีการบริหารจัดการที่ดี
นายจารุวัฒน์ บุญเพิ่ม นายกเทศมนตรีเมืองกาฬสินธุ์ เข้ารับโล่รางวัลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีการบริหาร จัดการที่ดี ประจ�ำปี 2560 ประเภทโดดเด่น ระดับชมเชย พร้อมเงินรางวัล 4,000,000 บาท (สี่ล้านบาทถ้วน) จาก นายวิษณุ เครืองาม รองนายกรัฐมนตรี ณ หอประชุม รักตะกนิษฐ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ถนนราชสีมา เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร (27 กันยายน 2560)
แหล
รางวัลอาเซียนด้านสิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืน ประเภทจัดการขยะและพื้นที่สีเขียว ประจ�ำปี 2560 กลุ่มประเทศอาเซียนได้ร่วมกันจัดท�ำกรอบการด�ำเนินงาน ภายใต้แผนประชาคมอาเซียน พ.ศ.2560 (ASEAN 2025: Forging Ahead Together) ที่ส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมุ่งสู่เมืองสะอาด เมืองสีเขียว มีคุณภาพน�้ำและอากาศที่ดี ตลอดจนมีการจัดการของเสียตามหลักสุขาภิบาล เพื่อยกระดับ คุณภาพสิ่งแวดล้อม และคุณภาพชีวิตของประชาชน มุ่งสู่การพัฒนาอย่างยืน เมื่อวันที่ 12 กันยายน 2560 ณ Serami Suluh Hall,Pusat Latihan Kesenian Dan Pertukangan Tangan Brunei เมืองเนการา ประเทศบรูไนดารุสซาลาม โดย นายจารุวัฒน์ บุญเพิ่ม นายกเทศมนตรีเมืองกาฬสินธุ์ เป็ น ตั ว แทนพี่ น ้ อ งชาวเทศบาลเมื อ งกาฬสิ น ธุ ์ เข้ า รั บ โล่ ร างวั ล อาเซี ย นด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ มเมื อ งที่ ยั่ ง ยื น ประเภทจั ด การขยะและพื้ น ที่ สี เขี ย ว ประจ�ำปี 2560 (Asean Certificate of Recognition 2017) ในงานประชุมรัฐมนตรีอาเซียนด้านสิ่งแวดล้อม ครั้งที่ 14 จาก Dato Seri Setia Awang Haji Bahrin Bin Abdullah รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพัฒนา ประเทศบรูไนดารุสซาลาม
KALASIN 85 เกียรติภูมิท้องถิ่น รางวั ลแห่งเกียรติยศ และความภาคภูมิใจของชาวกาฬสินธุ์ .indd 85
09/02/61 03:12:00 PM
โดยม เมตร เด่นข สภาพ กระด ไดโน ที่เคย ภูเวีย ไว้เป็น ในวัน จุฬาล และเ 5 รอ สุดาฯ เป็นก ย่อส่ว ปัจจุบ รักษา เรียน
รางวัลอาเซียนด้านสิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืน ประเภทจัดการขยะและพื้นที่สีเขียว ประจ�ำปี 2560
รางวัลส�ำนักทะเบียนดีเด่น ประจ�ำปี 2560
ส�ำนักทะเบียนท้องถิ่นเทศบาลเมืองกาฬสินธุ์ ได้เปิดเพื่อให้บริการ ประชาชนด้านการทะเบียน และบัตรประจ�ำตัวประชาชน แก่พี่น้อง ประชาชนในเขตเทศบาล และประชาชนทั่วไปตามกฎหมาย ด้วยความ มุ่งมั่นที่จะสร้างความพึงพอใจแก่ประชาชนผู้รับบริการมาโดยตลอด และ ได้ยกระดับมาตรฐานการให้บริการมาเป็นล�ำดับ มีการลดขั้นตอนในการ บริการเพือ่ อ�ำนวยความสะดวกแก่พนี่ อ้ งประชาชน และออกบริการเชิงรุก ถึงบ้านแก่ประชาชนผูป้ ระสงค์ขอรับบริการทางทะเบียน และบัตรประจ�ำตัว
ประชาชน ในการออกใบมรณะบัตร การจัดท�ำบัตรประจ�ำตัวประชาชน ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และทุพพลภาพ การสอบสวนและมอบสถานะความเป็น คนไทยตามกฎหมาย แก่ผู้ไร้สถานะความเป็นคนสัญชาติไทย ท�ำให้พี่น้อง ประชาชนผูร้ บั บริการมีความพึงพอใจต่อการปฏิบตั งิ านของส�ำนักทะเบียน ท้องถิ่นเทศบาลเมืองกาฬสินธุ์เป็นอย่างมาก จากการด�ำเนินการปรับปรุง พั ฒ นาการบริ ก ารอย่ า งต่ อ เนื่ อ งและมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ จนท� ำ ให้ ไ ด้ รั บ การคัดเลือกให้เป็นส�ำนักทะเบียนดีเด่น ประจ�ำปี 2560 ในการคัดเลือก ของกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย
ส� ำ หรั บ ส� ำ นั ก ทะเบี ย นท้ อ งถิ่ น เทศบาลเมื อ งที่ มี จ� ำ นวนราษฎรตั้ ง แต่ 30,001 - 70,000 คน ของกระทรวงมหาดไทย ทั้งนี้ รางวัลที่ส�ำนักทะเบียนท้องถิ่นเทศบาลเมืองกาฬสินธุ์ เคยได้รับ ได้แก่ 1. ปี 2547 รางวัลรองชนะเลิศ อันดับ 3 ส�ำนักทะเบียนดีเด่น ประจ�ำปี 2547 2. ปี 2548 รางวัลรองชนะเลิศ อันดับ 2 ส�ำนักทะเบียนดีเด่น ประจ�ำปี 2548 3. ปี 2550 รางวัลรองชนะเลิศ อันดับ 3 ส�ำนักทะเบียนดีเด่น ประจ�ำปี 2550 4. ปี 2551 รางวัลรองชนะเลิศ อันดับ 3 ส�ำนักทะเบียนดีเด่น ประจ�ำปี 2551 5. ปี 2560 รางวัลรองชนะเลิศ อันดับ 1 ส�ำนักทะเบียนดีเด่น ประจ�ำปี 2560 นับเป็นความส�ำเร็จหนึ่งของงานบริการที่เทศบาลเมืองกาฬสินธุ์ โดยการน�ำ ของ นายจารุวัฒน์ บุญเพิ่ม นายกเทศมนตรีเมืองกาฬสินธุ์ ที่ได้บริหารจัดการ และเอาใจใส่ต่อพี่น้องประชาชนชาวเมืองกาฬสินธุ์มาโดยตลอด
“ เราขอมอบรางวัลนี้แก่ พี่น้องประชาชนชาวเมืองกาฬสินธุ์ทุกคน ”
86 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 86
09/02/61 03:12:01 PM
ไส้กรอกปลากาฬสินธุ์...ไส้กรอกสัญชาติ ไทยอร่อยสไตล์เยอรมัน ปลาน�ำ้ จืดไทยๆ เมือ่ ผ่านการคิดสร้างสรรค์ ในมุมใหม่ ก็กลายเป็นไส้กรอกรมควันอร่อยๆ สไตล์เยอรมันได้ วันนีเ้ ราจะพาไปรูจ้ กั กับ ห้างหุน้ ส่วนจ�ำกัด กาฬสินธุ์ผลิตภัณฑ์อาหาร ผู้ผลิตไส้กรอกปลา กาฬสินธุ์ (Kakasin Fish Sausage) ภายใต้ การบริหารของ “คุณเมธี อถิวัฒน์” หุ้นส่วน ผูจ้ ดั การ “โรงงานของเราเริม่ จดทะเบียนการค้า ในปี พ.ศ.2541 เราผลิตไส้กรอกปลากาฬสินธุ์ เป็นไส้กรอกรมควันที่มีลักษณะคล้ายคลึงกับ ไส้กรอกแฟรงค์เฟอร์เตอร์ของประเทศเยอรมนี แต่ เ ป็ น การคิ ด ค้ น น� ำ เอาเนื้ อ ปลาน�้ ำ จื ด ใน ตระกู ล ปลาหนั ง มี ห นวด(Cat fish) มา ทดแทนเนื้อวัว เนื้อหมู เนื้อไก่ หรือเนื้อสัตว์ อื่นๆ โดยใช้ไขมันปลาและไขมันจากพืชใน อัตราส่วนไม่เกิน 15 เปอร์เซ็นต์โดยน�้ำหนัก ไม่ผสมแป้ง ไม่ใส่สารกันเสีย บรรจุในไส้ สังเคราะห์(คอลลาเจน) ซึง่ ตอนนีม้ ี 3 รสชาติ คือ รสดัง้ เดิม รสพริกไทยด�ำ และ รสพริกไทยสด โดยมี รศ.จิ ร ะพั น ธ์ ห้ ว ยแสน อธิ ก ารบดี มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์เป็นผู้คิดค้น” ในปี พ.ศ.2543 ศูนย์พันธุวิศวกรรมและ เทคโนโลยีชวี ภาพแห่งชาติ จึงได้ให้การสนับสนุน ทุนวิจัยและพัฒนาวิศวกรรมกับ รศ.จิระพันธ์ ห้วยแสน เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์อย่างต่อเนื่อง เพื่ อ ให้ เ ป็ น ไปตามหลั ก วิ ช าการและเกณฑ์ ของกฎหมายอาหารทุกประการ ท�ำให้ หจก. กาฬสินธุ์ผลิตภัณฑ์อาหาร ได้รับรางวัลและ การการันตีคุณภาพมากมาย อาทิ 1. ได้ ผ ่ านการตรวจประเมิน มาตรฐาน การผลิตอาหารตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข
(ฉบั บ ที่ 1 93) พ.ศ.2543 เรื่ อ งวิ ธี ก ารผลิ ต เครื่องมือเครื่องใช้ในการผลิต และการเก็บ รักษาอาหารตามโครงการสถานที่ผลิตอาหาร มาตรฐาน GMP ปี พ.ศ.2549 จากส�ำนักงาน คณะกรรมการอาหารและยากระทรวงสาธารณสุข 2. รางวัลสถานประกอบการดีเด่นด้าน การคุ้มครองผู้บริโภค ปี 2546 จัดประกวดโดย ส�ำนักงานคณะอนุกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค ประจ�ำจังหวัดกาฬสินธุ์ 3. รางวัลนายกรัฐมนตรี ประกาศเกียรติคณ ุ อุ ต สาหกรรมดี เ ด่ น ประเภทการบริ ห าร อุ ต สาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่ อ ม ปี 2548 จัดโดยกระทรวงอุตสาหกรรม 4. ได้รับการคัดสรรเป็นผลิตภัณฑ์ระดับ ห้าดาว ปี 2549 ตามโครงการคัดสรรสุดยอด หนึง่ ต�ำบล หนึง่ ผลิตภัณฑ์ไทย (OTOP Product Champion) จัดประกวดโดยกระทรวงมหาดไทย 5. ได้ รั บ การรั บ รอบมาตรฐานระบบ HACCP จากสถานบันอาหาร เมื่อปีพ.ศ. 2558 6. ได้รับการรับรองหลักสุขลักษณะทั่วไป
(GMP) มาตรฐาน Codex จากสถานบันอาหาร เมื่อปี 2559 7. ได้ด�ำเนินการตามกรรมวิธีอย่างถูกต้อง ตามหลักศาสนาอิสลาม คณะกรรมการกลาง อิ ส ลามแห่ ง ประเทศไทยจึ ง ให้ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ดังกล่าวใช้เครื่องหมายรับรอง“ฮาลาล”เมื่อปี พ.ศ.2552 8. ได้ตระหนักถึงความส�ำคัญกับสิง่ แวดล้อม โดยผ่ า นการประเมิ น ค่ า Co2 (Carbon Footprint) จาก TGO (THAILAND GREEHOUSE GAS MANAGENT ORGANIZATION) เมื่อปี 2558 ไส้ ก รอกปลากาฬสิ น ธุ ์ มี ว างจ� ำ หน่ า ย ทั่ ว ประเทศแล้ ว ในเขตภาคกลาง ภาคใต้ ภาคตะวันออก และภาคเหนือตอนล่าง คือ คุณเมธี อภิวัฒน์ (081-473-5063) ส�ำหรับ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ทางหจก.ฯ เป็น ผู ้ ดู แ ลรั บ ผิ ด ชอบ โดยให้ ตั ว แทนจ� ำ หน่ า ย รับสินค้าโดยตรงจากโรงงาน
สนใจผลิตภัณฑ์ติดต่อ 043-815255
ผลิตภัณฑ์ที่ดีต่อสุขภาพ แถมคุณภาพและรสชาติระดับสากลอย่างนี้ ไม่อุดหนุนไส้กรอกปลากาฬสินธุ์นี่ถือว่าพลาดนะคะ KALASIN 87 .indd 87
09/02/61 03:12:15 PM
บันทึกเส้นทางพบเทศบาลต�ำบล
เทศบาลต�ำบล
เหนือ
หลวงพ่อใหญ่ศักดิ์สิทธิ์ แหล่งหมอนขิดผ้าไหมงาม เรืองนามปราสาทรวงข้าวบุญคูนลาน ถิ่นต�ำนานวัฒนธรรม งามเลิศล�้ำแหล่งท่องเที่ยว
คือค�ำขวัญของต�ำบลเหนือ ซึ่งอยู่ในความดูแลของเทศบาล ต�ำบลเหนือ ตั้งอยู่หมู่ที่ 7 บ้านต้อนใต้ ต�ำบลเหนือ อ.เมือง จ.กาฬสินธุ์ โทรศัพท์ 0-4384-0812 โทรสาร 0-4384-0813 โดยตั้ ง อยู ่ ห ่ า งจากอ� ำ เภอเมื อ งกาฬสิ น ธุ ์ ไ ปทางทิ ศ ตะวั น ออก เฉียงเหนือ ประมาณ 5 กิโลเมตร ปัจจุบันมี นายพัสกร มูลศรี เป็นนายกเทศมนตรีต�ำบลเหนือ ซึ่งบริหารงานให้บรรลุวิสัยทัศน์ที่ว่า “ชุมชนเข้มแข็ง แหล่งเกษตรกรรมล�้ำค่า ปวงประชาสุข สันต์” เทศบาลต�ำบลเหนือ มีเนื้อที่ 33.77 ตารางกิโลเมตร พื้นที่ ส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่มผสมที่ดอน และอยู่ในเขตชลประทานจึง เหมาะกับการท�ำเกษตรกรรม
นายพัสกร มูลศรี นายกเทศมนตรีต�ำบลเหนือ
กิจกรรมเด่นของ ทต.เหนือ
1. งานประเพณีบุญคูนลานสู่ขวัญข้าว 2. กิ จ กรรมการแข่ ง ขั น เรื อ ชิ ง ถ้ ว ยพระราชทาน สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี 3. กิ จ กรรมจั ด แสดงนิ ท รรศการนานาชาติ 2560 ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทคบางนา กรุงเทพฯ 4. กิจกรรมโรงเรียนผู้สูงอายุเทศบาลต�ำบลเหนือ
รางวัลแห่งความภาคภูมิใจ
ระดับประเทศ ได้รับรางวัลวัฒนคุณาธร ด้านส่งเสริมงาน ศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรม ประเภท องค์กร ระดับจังหวัด ได้รับรางวัลเครือข่ายอาสาสมัครพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดล้อมดีเด่นปราสาทรวงข้าว บายศรีสขู่ วัญข้าวคูนลาน จ.กาฬสินธุ์ 88 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย 2
(2).indd 88
9/2/2561 14:44:50
ปราสาทรวงข้าว เป็นศิลปะจากวิถศี รัทธาและพลังสามัคคีของ ชาวต�ำบลเหนือ อ�ำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์ ซึ่งสร้างขึ้นเพื่อ ประกอบพิธบี ญ ุ บายศรีสขู่ วัญข้าวคูนลาน หรือบุญคูนลานตามวิถฮี ตี สิ บ สองของชาวอี ส าน ซึ่ ง จะประกอบพิ ธี ห ลั ง ฤดู ก าลเก็ บ เกี่ ย ว เพือ่ ระลึกถึงบุญคุณของพระแม่โพสพ และแสดงออกถึงความกตัญญู ต่อแผ่นดินที่ให้ผลผลิตเพื่อการยังชีพ ให้เกิดสิริมงคลแก่ชีวิตและ การเพาะปลูก ตลอดจนเพื่อท�ำนุบ�ำรุงพระพุทธศาสนา และสืบสาน วัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่น ปราสาทรวงข้าวในประเพณีบุญบายศรี สูข่ วัญข้าวคูนลาน มีจดุ เริม่ ต้นการสร้างในปี พ.ศ.2537 โดยขณะนัน้ มีนายสมนึก บัวแพ พัฒนาการอ�ำเภอเมืองกาฬสินธุ์ ได้ออกตรวจ เยีย่ มหมูบ่ า้ นชุมชนและได้เห็นงานประเพณีวฒ ั นธรรมอันทรงคุณค่า ทางภูมิปัญญาท้องถิ่น โดยชาวบ้านน�ำข้าวมาร่วมท�ำบุญคูนลาน บางครอบครั ว น� ำ ข้ า วที่ น วดเสร็ จ แล้ ว มากองรวมกั น และ บางครอบครัวทีย่ งั นวดข้าวไม่แล้วเสร็จ จะน�ำฟ่อนข้าวมาร่วมท�ำบุญ ด้วย จึงมีความคิดสร้างสรรค์โดยชักชวนให้ชาวบ้านที่มาท�ำบุญคูน ลาน ริเริ่มท�ำรูปแบบปราสาทรวงข้าวขึ้นส�ำหรับข้าวที่ยังไม่ได้นวด ฟ่อนข้าว และพัฒนารูปแบบมาอย่างต่อเนื่อง เมือ่ ปี พ.ศ.2540 นายพัสกร มูลศรี นายกเทศมนตรีตำ� บลเหนือ (ขณะด�ำรงต�ำแหน่ง ก�ำนันต�ำบลเหนือ) ได้ร่วมกับชาวบ้านต�ำบล เหนือทัง้ 12 หมูบ่ า้ น จัดสร้างปราสาทรวงข้าวขนาดใหญ่เป็นทีแ่ ปลก ตาของผู้คนที่มาเยี่ยมชม และพัฒนารูปแบบจนมีความสวยงาม ดังเช่นปัจจุบัน การเตรียมการสร้างปราสาทรวงข้าวเพื่อใช้ในการประกอบพิธี บุญบายศรีสู่ขวัญข้าวคูนลานนั้น อาศัยแรงศรัทธาและพลังความ สามัคคีจากชาวบ้านในการร่วมกันก่อสร้างปราสาท พร้อมท�ำการคัด และมัดรวงข้าวที่สมบูรณ์ ซึ่งได้จากศรัทธาของชาวบ้านที่น�ำมา รวบรวมกันไว้ที่วัด แล้วน�ำมาประดับตกแต่งเป็นปราสาทรวงข้าว ขนาดใหญ่ที่ประณีตงดงาม โดยใช้ระยะเวลาราว 3 เดือน ในการจัด สร้างปราสาทรวงข้าว นับจากวันเริ่มต้นจนส�ำเร็จสมบูรณ์พร้อม ส�ำหรับการประกอบพิธีบุญบายศรีสู่ขวัญข้าวคูนลาน จึงเป็นศิลปะ ที่สะท้อนถึงพลังแห่งศรัทธาและความสามัคคีของชาวบ้านชุมชนได้ เป็นอย่างดี ส�ำหรับงานประเพณีบญ ุ บายศรีสขู่ วัญข้าวคูนลานของต�ำบลเหนือ ได้ ถู ก บรรจุ ล งในปฎิ ทิ น การท่ อ งเที่ ย วของการท่ อ งเที่ ย วแห่ ง ประเทศไทย ก�ำหนดจัดเป็นงานประจ�ำปี ระหว่าง วันที่ 9-12 กุมภาพันธ์ ของทุกปี
KALASIN 89 2
(2).indd 89
9/2/2561 14:44:57
บันทึกเส้นทางพบเทศบาลต�ำบล
เทศบาลต�ำบล
ภูปอ
พระพุทธไสยาสน์ภูปอสมัยทวารวดี ข้าวหอมอินทรีย์ขึ้นชื่อ เลื่องลือนามผ้าฝ้ายลายยางกล้วย พรั่งพร้อมด้วยแหล่งเกษตรอินทรีย์
เทศบาลต�ำบลภูปอ ต�ำบลภูปอ อ�ำเภอเมืองกาฬสินธุ์ จังหวัด กาฬสินธุ์ เป็นเทศบาลต�ำบลขนาดกลาง ที่มีพื้นที่ 46.16 ตารางกิโลเมตร มีหมู่บ้านในเขตรับผิดชอบ 7 หมู่บ้าน ที่น�ำโดยนายสุริยา ส�ำราญรื่น นายกเทศมนตรีเทศบาลต�ำบลภูปอ และมีนายปรเมศวร์ อิ่มแมน ปลัด เทศบาลต�ำบลภูปอ เป็นหัวหน้าพนักงาน ต�ำบลภูปอมีความโดดเด่น ของแหล่งท่องเทีย่ ว พระพุทธไสยาสน์ภปู อ ซึ่งเป็นโบราณสถานที่กรมศิลปากรได้ประกาศขึ้นทะเบียนให้เป็นโบราณ สถานของชาติ อยู่ในความดูแลรักษาของหน่วยศิลปกรที่ 10 จังหวัด ร้อยเอ็ด โดยมีสงิ่ ทีน่ า่ สนใจคือ พระพุทธไสยาสน์ภปู อ 2 องค์ ซึง่ ประดิษฐาน อยูท่ วี่ ดั อินทรประทานพร บ้านโนนสวรรค์ ต�ำบลภูปอ พระพุทธไสยาสน์ภปู อ เป็นพระพุทธรูปสลักอยู่บนผาหินต่างระดับกัน เป็นศิลปะสมัยทวารวดี อายุประมาณ 1,500 ปี องค์แรกประดิษฐานอยู่บนผนังหิน ใต้เพิงผาเชิง เขาสูงจากพื้นดินประมาณ 12 เมตร องค์ที่สองประดิษฐานอยู่บนเพิงฝา ใกล้ยอดเขาซึ่งสามารถเดินขึ้นบันไดประมาณ 426 ขั้น ไปนมัสการได้ โดยมีเรื่องเล่าสืบต่อกันมาว่า พระพุทธไสยาสน์ภูปอทั้ง 2 องค์ นั้น เกิดจากแรงศรัทธาของกลุ่มชาวบ้านที่ตั้งใจจะขนสมบัติเพื่อไปร่วม ก่อสร้างพระธาตุพนม เมือ่ เดินทางมาถึงภูปอจึงหยุดพักและทราบข่าวว่า พระธาตุพนมได้สร้างและสมโภชเสร็จเรียบร้อยแล้ว ชาวบ้านกลุ่มนั้นจึง ได้ตกลงกันว่าให้ฝงั สมบัตทิ พ่ี ากันขนมาไว้ทภี่ ปู อ และมีดำ� ริทจี่ ะสร้างสิง่ ที่ เป็นที่ระลึก และเป็นพุทธบูชา จึงได้พากันแกะสลักหินเป็นพระพุทธรูป ปางไสยาสน์ที่ ทรงดับขันธปรินพิ พานแล้ว และได้สลักค�ำปริศนาธรรมไว้วา่ “พระหลงหมู่อยู่ ถ�้ำภูบก แสงตาตกมีเงินเจ็ดแสน ไผหาได้กินทานหาแหน่ เหลือจากหั่น กินเสี้ยงบ่หลอ” ทัง้ นี้ เทศบาลต�ำบลภูปอและวัดอินทรประทานพร ได้รว่ มจัดประเพณี การสรงน�ำ้ -ปิดทองพระพุทธไสยาสน์ภปู อ และพิธบี วงสรวง ในวันขึน้ 15 คํา่ เดือน 6 หรือวันวิสาขบูชาของทุกปี
นายสุริยา ส�ำราญรื่น นายกเทศมนตรีเทศบาลต�ำบลภูปอ
นายปรเมศวร์ อิ่มแมน ปลัดเทศบาลต�ำบลภูปอ
เพือ่ เป็นการยกย่อง เชิดชู ธ�ำรงไว้ซงึ่ เกียรติศกั ดิ์ เกียรติยศ พระพุทธคุณ และพระบารมีอันยิ่งใหญ่อันหาที่เปรียบมิได้ ขององค์สมเด็จพระสัมมา สัมพุทธเจ้า สมกับทีอ่ งค์การสหประชาชาติได้ยกย่อง ให้วนั วิสาขบูชาเป็น วันส�ำคัญของโลก เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้พุทธศาสนิกชน ได้น้อมน�ำเอาหลักธรรม ค�ำสอนในพระพุทธศาสนา มาประพฤติปฏิบัติในชีวิตประจ�ำวันจนเป็น กิจวัตรและเกิดภูมิคุ้มกัน เพื่อให้เป็นคนดี มีความสุขและเป็นผู้สืบทอด พระพุทธศาสนาสู่อนุชนรุ่นหลังได้อย่างต่อเนื่อง โดยใช้กุศโลบายในการ จัดงานเนื่องในวันวิสาขบูชา เพื่อเป็นการส่งเสริมแหล่งท่องเที่ยวพระพุทธไสยาสน์ภูปอ ให้เป็นที่ รู้จักอย่างแพร่หลาย และส่งเสริมให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวประจ�ำจังหวัด กาฬสินธุ์อีกแห่งหนึ่ง สถานที่จัดกิจกรรม ณ วัดอินทรประทานพร
90 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย 2
.indd 90
12/2/2561 15:43:00
แหล่งเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชนต�ำบลภูปอ (ฟาร์มเทพ สถิตย์)
แหล่งเรียนรูเ้ ศรษฐกิจชุมชนต�ำบลภูปอ หรือฟาร์มเทพสถิตย์ เป็นการ ขยายผลมาจาก ศูนย์เรียนรูเ้ ศรษฐกิจชุมชนต�ำบลภูปอ หรือสวนจารุวรรณ ซึง่ ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นเลขที่ 168 ม.8 ต.ภูปอ อ.เมืองกาฬสินธุ์ จ.กาฬสินธุ์ แหล่งเรียนรูเ้ ศรษฐกิจพอเพียงชุมชนต�ำบลภูปอ หรือฟาร์มเทพสถิตย์ ตัง้ อยูท่ ี่ ม.5 ต.ภูปอ อ.เมืองกาฬสินธุ์ จ.กาฬสินธุ์ มีพนื้ ทีท่ งั้ หมด 7 ไร่ แหล่ง เรียนรูด้ งั กล่าวมีจดุ เด่นเรือ่ งการท�ำเกษตรแบบผสมผสาน โดยอาจารย์นยิ ม สารปรัง อดีตครูชำ� นาญการ ผูซ้ งึ่ เกษียณตัวเอง เพือ่ หันมาท�ำในสิง่ ทีร่ กั ตัง้ แต่ สมัยเป็นเด็กคือการท�ำเกษตรแบบผสมผสาน โดยยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง ของในหลวงรัชกาลที่ 9 โดยมีวสิ ยั ทัศน์คอื เกษตรคือรากเหง้า ต้อง ดุแลและใส่ใจ ให้พฒ ั นาอย่างยิง่ ยืน และได้พฒ ั นาจนกลายเป็นแหล่งเรียน รูเ้ ศรษฐกิจพอเพียงในชุมชนและพืน้ ทีใ่ กล้เคียง ในปัจจุบนั มีหลายหน่วยงาน สนใจเข้ามาเรียนรูท้ แี่ หล่งเรียนรูท้ แ่ี หล่งเรียนรูเ้ ป็นจ�ำนวนมากผูท้ สี่ นใจเข้า เยีย่ มชมแหล่งเรียนรูฯ้ สามารถติดต่อได้ที่ โทร.08-8571-2681
ผลิตภัณฑ์ชุมชนขึ้นชื่อของ ทต.ภูปอ
ผ้าฝ้ายลายก้านกล้วย “ผ้าฝ้ายลายก้านกล้วย” ผลิตโดยประชาชนบ้านหนองเหนือ ม.5 และ บ้านหนองใหญ่ ม.8 ซึง่ ได้แนวคิดมาจากการสังเกตน�ำ้ ยางจากต้นกล้วยที่ ติดเสือ้ ผ้าแล้วไม่สามารถซักออกได้ จึงน�ำน�ำ้ ยางนีม้ าท�ำเป็นลายเสือ้ โดยผ้า ทีใ่ ช้คอื ผ้าฝ้ายทีท่ อมือโดยคนในท้องถิน่ น�ำมาเพิม่ มูลค่าด้วยการท�ำลวดลาย ด้วยประชาชนบ้านหนองเหนือ ม.5 และบ้านหนองใหญ่ ม.8 ผ้าฝ้ายทอมือ จากการทอผ้าฝ้ายเพือ่ พิมพ์ลายจากน�ำ้ ยางกล้วย แล้วผูผ้ ลิตได้มกี าร พัฒนาการ ทอผ้าฝ้ายให้มคี วามหลากหลายมากขึน้ ทัง้ สีและลาย โดยน�ำ เส้นด้ายมาเข้ากี่ ผ่านเครื่องมือที่เรียกว่า ฟืม แล้วทอออกมาเป็นผืน ขอขอบคุณข้อมูลพุทธสถานภูปอจาก คุณอนันต์ จ�ำเริญเจือ จากวัดอินทรประทานพร (ภูปอ) วันที่ 8 ธันวาคม 2552 เรียบเรียงโดย พระครูอินทพัฒนคุณ เจ้าอาวาสวัดอินทรประทานพร KALASIN 91 2
.indd 91
12/2/2561 15:43:22
บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดป่าโคกกลาง
วั ด ป่ า โคกกลาง ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 285 หมู ่ ที่ 3 บ้ า นโคกกลาง ต�ำบลหลุบ อ�ำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์
ประวัติวัดป่าโคกกลาง
วัดป่าโคกกลาง สังกัดคณะสงฆ์ธรรมยุตกิ นิกาย เดิมเป็นป่าช้าประจ�ำ หมู่บ้านโคกกลาง พระอาจารย์แว่นได้น�ำคณะญาติโยมและศิษยานุศิษย์ ซือ้ ทีด่ นิ เพิม่ และได้ขออนุญาตสร้างและตัง้ วัด เสร็จสิน้ เป็นวัดถูกต้องเมือ่ วันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ.2557 โดยมี พระครูโสตถิธรรมโสภณ (พระอาจารย์แว่น) เป็นเจ้าอาวาสรูปแรก
ปูชนียวัตถุส�ำคัญ
พระบรมธาตุพุทธบูชามหามงคล เป็นพระธาตุเจดียแ์ บบไทยประยุกต์ มีขนาดกว้าง 5 เมตร สูง 19 เมตร เพื่อประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ พระอรหันตธาตุ พระพุทธรูป พระเครื่องต่างๆ เพื่อเป็นที่กราบไหว้สักการะของพุทธบริษัทสืบไป และ เพื่อสืบต่ออายุพระพุทธศาสนาให้มั่นคงถาวร รูปเหมือนแม่สุวรรณประภา แม่สวุ รรณประภา เป็นพระพีเ่ ลีย้ งของแม่นางฟ้าหยาด พระธิดาของ เจ้าเมืองฟ้าแดดสงยาง สมัยทวารวดี อายุ 1,500 ปี อีกทั้งท่านยังเป็น แม่สื่อแม่ชักให้แม่นางฟ้าหยาดมีสัมพันธ์รักกันกับท้าวเชียงโสม (ผิดผี) ท�ำให้เจ้าเมืองฟ้าแดดพิโรธ จึงได้สืบหาต้นตอว่าเกิดจากใครเป็นต้นเหตุ จึงได้ประหารชีวิตแม่สุวรรณประภา ตัดหัวเอาถ่วงน�้ำ ตัดแขน ตัดขา แยกชิ้นส่วน ฝังไว้สี่มุมเมือง และท�ำการสะกดวิญญาณให้รักษาเมือง เมื่อกาลเวลาผ่านไป จนถึงเวลาที่ท่านจะหมดกรรม ท่านได้มาเข้า นิมติ พระอาจารย์แว่น เพือ่ ขอสร้างบุญสร้างกุศลก่อนจะไปเกิดในภพภูมใิ หม่ ท่ า นจึ ง ขออยู ่ ช ่ ว ยพระอาจารย์ แว่ น สร้ า งวั ด ให้ เจริ ญ ต่ อ ไป จากนั้ น พระอาจารย์แว่นและคณะผู้ศรัทธาจึงได้สร้างรูปเหมือนของท่าน และ สร้างหอแก้วเพือ่ ประดิษฐานรูปเหมือนท่าน และเพือ่ ให้ผคู้ นมากราบไหว้ขอพร
ร่วมสร้างเส้นทางบุญ
เนื่องด้วยวัดป่าโคกกลางก�ำลังด�ำเนินการก่อสร้างพระบรมธาตุพุทธ บูชามหามงคล ทว่ายังขาดปัจจัยในการก่อสร้างอีกจ�ำนวนมาก จึงขอบอก บุญมายังท่านทีม่ จี ติ ศรัทธาร่วมท�ำบุญบริจาคได้โดยตรงทีว่ ดั ป่าโคกกลาง โทร.08-3289-0649 92 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย (1
).indd 92
9/2/2561 14:46:58
SBL บันทึกประเทศไทย
Website : www.sbl.co.th
Ad-SBL Magazine Online Khon Kaen.indd 6
24/10/60 10:54:58 AM
บันทึกเส้นทางพบเทศบาลต�ำบล
เทศบาลต�ำบล
โพนทอง
วิสัยทัศน์เทศบาลต�ำบลโพนทอง
ชุมชนน่าอยู่ มุ่งสู่เศรษฐกิจดี เทคโนโลยีก้าวไกล โปร่งใสธรรมาภิบาล เทศบาลต�ำบลโพนทอง ตัง้ อยู่ เลขที1่ 51 หมูท่ ี่ 8 บ้าน มอดินแดง ต.โพนทอง อ.เมืองกาฬสินธุ์ จ.กาฬสินธุ 46000 โทรศัพท์ 0-4381-0500 ปัจจุบันมี นายมงคล ส�ำราญเนตร ด�ำรงต�ำแหน่ง นายกเทศมนตรีต�ำบลโพนทอง และ นายเมธี สาธิตธรรมชาติ ด�ำรงต�ำแหน่ง ปลัดเทศบาลต�ำบลโพนทอง เทศบาลต�ำบลโพนทอง ตั้งอยู่ทางทิศเหนือของจังหวัดกาฬสินธุ์ ห่างจาก ทีว่ า่ การอ�ำเภอเมืองกาฬสินธุ์ 7 กิโลเมตร มีเนือ้ ทีท่ งั้ หมด 26.28 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 16,423 ไร่ ซึ่งเทศบาลต�ำบลโพนทอง โดดเด่นในด้านต่างๆ ดังนี้
ด้านศิลปวัฒธรรม
ต�ำบลโพนทอง เป็นถิน่ ก�ำเนิดศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีพื้นบ้าน) เป็น ผู ้ คิ ด ค้ น เครื่ องดนตรีโปงลาง ซึ่งถือว่าเป็น ศิ ล ปิ น ที่ ส ร้ า งชื่ อ เสี ย งให้ แ ก่ ช าวจั ง หวั ด กาฬสินธุ์ นัน่ ก็คอื คุณพ่อเปลือ้ ง ฉายรัศมี เป็น ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ดนตรี พืน้ บ้าน) เดิมอาศัยอยูบ่ า้ นเลขที่ 157 หมูที่ 13 ต� ำ บลเหนื อ บ้ า นโพนทอง อ� ำ เภอเมื อ ง กาฬสินธุ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ คุณพ่อเปลื้อง เป็นผู้ที่มีความสามารถ พิเศษทางด้านดนตรีพื้นบ้านอีสาน สามารถ เล่นสอนและถ่ายทอดเครื่องดนตรีได้หลาย ชนิด ทั้งพิณ แคน ซอ โปงลาง รวมถึงเครื่อง ดนตรีอนื่ แทบทุกชนิดในภาคอีสาน โดยเฉพาะ โปงลาง เพราะเป็นผูท้ คี่ ดิ ค้นเครือ่ งดนตรีชนิด นีข้ นึ้ มา จนท�ำให้ครูเปลือ้ ง ฉายรัศมี ได้พฒ ั นา เครื่องดนตรีโปงลางมากกว่า 40 ปี จนท�ำให้ เกราะลอ ซึ่งแต่เดิมเป็นเพียงสิ่งที่ไล่ตีนกกา ตามไล่นา ได้ววิ ฒ ั นาการมาเป็นโปงลาง ซึง่ เป็น เครื่องดนตรีที่มีเสียงไพเราะกังวาน และให้ ความรูส้ กึ เป็นดนตรีพนื้ บ้านอีสานอย่างแท้จริง จนเป็นที่นิยมแพร่หลายควบคู่ไปกับ “แคน” ที่ มี อ ยู ่ ก ่ อ นแล้ ว ด้ ว ยความสามารถ อั น โดดเด่ น นี้ เ องท� ำ ให้ ค รู เ ปลื้ อ ง ฉายรั ศ มี ได้รับรางวัลศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการ แสดง (นาฎศิลป์ไทย) สาขาย่อยดนตรีพนื้ ฐาน ปี พ.ศ.2529 94 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย 1
(2).indd 94
นายมงคล ส�ำราญเนตร นายกเทศมนตรีต�ำบลโพนทอง
ด้านการส่งเสริมอาชีพ ต�ำบลโพนทอง มีกลุ่มวิสาหกิจชุมชนผู้ผลิตหญ้าอาหารสัตว์ และเลี้ยงโค โดยเป็นการปลูก หญ้าสดขาย และจ�ำหน่ายท่อนพันธุ,์ เลีย้ งโคเนือ้ และจ�ำหน่ายมูลโค โดยมีนางสาวอรณี ส�ำราญรืน่ เป็นประธานกลุ่ม ซึ่งได้รับรางวัลชนะเลิศ ด้านอาหารสัตว์ดีเด่นระดับเขต ปะจ�ำปี 2557 และได้ รับรางวัลดีเด่นอันดับที่ 1 ในการคัดเลือกเครือข่ายสัตว์พันธุ์ดี กรมปศุสัตว์ ดีเด่นระดับเขต ประจ�ำ ปี 2558 ถือได้ว่าเป็นการสร้างชื่อเสียงให้แก่ชาวต�ำบลโพนทอง เพราะสามารถเป็นศูนย์เรียนรู้ และ เป็นแหล่งถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรให้กบั เกษตรกร นิสติ นักศึกษา ตลอดจนผูส้ นใจทีม่ า เยี่ยมชม จนเป็นที่โด่งดังและควบคู่ไปกับการพัฒนาชุมชน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตทาง การเกษตร ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงต่อไป
12/2/2561 17:11:50
บันทึกเส้นทางพบนายอ�ำเภอ
พระธาตุพนมจ�ำลองห้วยเม็ก
ที่ว
ค�ำขวัญอ�ำเภอห้วยเม็ก
พระธาตุพนมจ�ำลองคู่เมือง ล�ำธารห้วยสายบาตร อ่างน�้ำวังลิ้นฟ้า แหล่งอนุรักษ์เต่าเพ็กเหลือง
เลื่องลือกกจักรสาน ตลาดโสกหินขาวลานค้า สวนป่าดงระแนง เมืองธรรมปัญญา
อ�ำเภอห้วยเม็ก จังหวัดกาฬสินธุ์ ตัง้ เป็นกิง่ อ�ำเภอ เมือ่ วันที่ 1 พฤศจิกายน 2513 ต่อมายกฐานะเป็นอ�ำเภอเมือ่ วันที่ 13 เมษายน 2520 แบ่งการปกครอง ออกเป็น 9 ต�ำบล 84 หมู่บ้าน มีประชากรทั้งสิ้น 51,344 คน นายอ�ำเภอ ห้วยเม็กคนปัจจุบนั คือ นายสุเทพ ชัยวัฒน์ ด�ำรงต�ำแหน่งนายอ�ำเภอห้วยเม็ก คนที่ 24 อ�ำเภอห้วยเม็ก มีพระธาตุพนมจ�ำลองห้วยเม็ก เป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์คู่บ้านคู่ เมือง และเป็นศูนย์รวมจิตใจของชาวห้วยเม็ก องค์พระธาตุฯ ตั้งอยู่ที่วัดธรรม พิทักษ์ บ้านธาตุ หมู่ที่ 15 ต�ำบลห้วยเม็ก อ�ำเภอห้วยเม็ก จังหวัดกาฬสินธุ์ มี ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 5 เมตร สูง 32 เมตร กองสถาปัตยกรรม กรมศิลปากร เป็นผูอ้ อกแบบ เริม่ ก่อสร้างโดยการวางศิลาฤกษ์ เมือ่ วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2524 ตรงกับวันขึน้ 6 ค�ำ่ เดือน 3 ดังนัน้ ชาวอ�ำเภอห้วยเม็ก จึงได้รว่ มกันถือเอาวัน ขึน้ 6 ค�ำ่ เดือน 3 เป็นวันจัดงานจัดงานนมัสการพระธาตุพนมจ�ำลองห้วยเม็ก เป็นประจ�ำทุกปี เพื่อสมโภชเฉลิมฉลององค์พระธาตุ พร้อมจัดกิจกรรมบวชชี พราหมณ์ และสืบสานวัฒนธรรมประเพณีอีสาน “บุญกุ้มข้าวใหญ่” จนถึง ปัจจุบัน
.indd 95
นายสุเทพ ชัยวัฒน์ นายอ�ำ เภอห้ วยเม็ ก
พระธาตุพนมจ�ำลองห้วยเม็กองค์นี้ สร้างขึน้ ด้วยการเสีย่ งทาย ในที่ประชุมสงฆ์ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เมื่อครั้งองค์พระธาตุพนม ณ วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร อ�ำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม ได้ พังทลายลง เมื่อวันที่ 11 สิงหาคม 2518 เพื่อเป็นที่กราบไหว้สักกา ระของพุทธศาสนิกชน โดยน�ำเศษซากปรักหักพังของพระธาตุพนม และพระอุรังคธาตุ มาบรรจุไว้ในพระธาตุพนมจ�ำลองห้วยเม็กแห่งนี้ KALASIN 95 9/2/2561 14:24:29
งาน กวัน ปี
ปกครองส่วนท้องถิ่น
อ�ำเภอกุฉินารายณ์
นายพิชัย ส่งสุขเลิศสันติ
นายอ�ำเภอกุฉินารายณ์
จุดเด่นของอ�ำเภอกุฉินารายณ์ มิ่ ง มงคลหลวงพ่ อ องค์ ด� ำ ตระการตาผ้ า ทอมื อ ก้ า วไกลพลั ง งานทดแทน ค�ำขวัญอ�ำเภอ
พระพุ ท ธสิ ม มาบุ ษ ราคั ม ล�้ ำ ค่ า เลื่ อ งลื อ วั ฒ นธรรมผู ้ ไทย ดิ น แดนสั ต ว์ โ ลกล้ า นปี
อ� ำ เภอกุ ฉิ น ารายณ์ มี จุ ด เด่ น ด้ า นการท่ อ งเที่ ย ว โดยมีทั้งแหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม โบราณสถาน โบราณวัตถุ และแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติรวมอยู่ใน พื้ น ที่ ซึ่ ง ในแต่ ล ะปี จ ะมี นั ก ท่ อ งเที่ ย วมาชมประมาณ 60,000 คน และมีแนวโน้มที่จะเดินทางมาเที่ยวที่อ�ำเภอ กุฉินารายณ์มากขึ้นทุกปี เพราะได้มีการส่งเสริมด้าน การท่องเที่ยว โดยเฉพาะศิลปวัฒนธรรมของชนเผ่าผู้ไท ควบคู่ไปกับการพัฒนาด้านการเกษตร ดังวิสัยทัศน์ของ อ�ำเภอที่ว่า “ กุฉินารายณ์ เมืองน่าอยู่ เป็นแหล่งผลิต พืชผลทางการเกษตรแบบยั่งยืน ”
เทศกาลส�ำคัญ
งานสมโภชเจ้ า พ่ อ ปู ่ บั ว ขาว และ งานกาชาด อ� ำ เภอกุ ฉิ น ารายณ์ จั ด ขึ้ น ในทุ ก วั น ที่ 11-16 ของ เดือนธันวาคมของทุกปี
ประเพณีที่โดดเด่น
1. ประเพณีบุญบั้งไฟตะไลล้าน ต�ำบลกุดหว้า จัดขึ้นในทุกวันเสาร์ - อาทิตย์ ในสัปดาห์ที่ 3 ของเดือนพฤษภาคม ของทุกปี มีสื่อทั้งในประเทศและ ต่างประเทศเข้ามาถ่ายท�ำรายการ เช่น ทีวโี ตเกียวจากประเทศญีป่ นุ่ , ทีวไี ต้หวัน, ทีวอี อสเตรเลีย, ทีวอี เมริกา, ช่อง 7, ช่อง 5 และเคเบิลทีวใี นเขตกรุงเทพฯ 2. ประเพณีบุญพวงมาลัย จัดในช่วงบุญข้าวประดับดิน (เดือน 9) ต�ำบลกุดหว้า 3. ประเพณีลอยกระทง (เดือน 12) ต�ำบลบัวขาว 96 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 96
09/02/61 02:48:23 PM
สถานที่ท่องเที่ยววิถี ไทยอีสาน
1. แหล่งโบราณสถาน โบราณวัตถุ จ�ำนวน 4 แห่ง ได้แก่ พิพิธภัณฑ์วัดสิมนาโก และพระพุทธรัตนสิมมาบุษราคัมมิ่งมงคล (พระแก้วบุษราคัม) พระประธานในอุโบสถ วัดสิมนาโก ต�ำบลนาโก แหล่งซากดึกด�ำบรรพ์ปลาภูนำ�้ จัน้ (ปลากลายเป็นหิน) ต�ำบลเหล่าใหญ่ ได้รับการขึ้นทะเบียนจากกรมทรัพยากรธรณี วัดโพธิ์ชัยหนองห้าง ต�ำบลหนองห้าง ได้รับการขึ้นทะเบียนจาก กรมศิลปากร ใบเสมาเก่า วัดสามัคคีธรรมบัวขาว ต�ำบลบัวขาว
2. หมู่บ้านท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม จ�ำนวน 3 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่บ้านวัฒนธรรมผู้ไทบ้านโคกโก่ง ต�ำบลกุดหว้า ได้รับการคัดเลือก จากจังหวัดกาฬสินธุ์ให้เป็นหมู่บ้านน�ำร่องในด้านการท่องเที่ยวอนุรักษ์ วั ฒ นธรรมชาวผู ้ ไ ท ซึ่ ง นั ก ท่ อ งเที่ ย วสามารถพั ก แรมแบบโฮมสเตย์ เพื่อสัมผัสวิถีชีวิตและประเพณีของชาวบ้าน หมู่บ้านวัฒนธรรมบ้านเหล่าใหญ่ ต�ำบลเหล่าใหญ่ มีกิจกรรมเด่น คือการพักแรมแบบโฮมเสตย์และการจ�ำหน่ายเสื้อเย็บปักถักด้วยมือ หมู่บ้านวัฒนธรรมผู้ไทหนองห้าง (Home Stay) ต�ำบลหนองห้าง
OTOP - ของฝากขึ้นชื่ อ กลุ่มแม่บ้านทอผ้า-เย็บ กลุม่ ทอผ้าพืน้ เมืองบัวขาว กลุ ่ ม พั ฒ นาอาชี พ สตรี กลุ ่ ม วิ ส าหกิ จ ชุ ม ชน กลุ่มจักสานไม้ไผ่ลายขิด เสื้อด้วยมือ บ้านเหล่าใหญ่ บ้ า นบั ว ขาว หมู ่ ที่ 12 บ้านกุดหว้า บ้านกุดหว้า ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ส มุ น ไพรเดชา บ้านหนองสระพัง หมู่ที่ 3 หมู่ที่ 1 ต�ำบลเหล่าใหญ่ ต�ำบลบัวขาว หมู่ที่ 8 ต�ำบลกุดหว้า สมงาม บ้านชาด หมู่ที่ 8 ต�ำบลหนองห้าง ต�ำบลนาโก
โทร.093-599-9146
โทร.089-462-9828
โทร.081-080-8908
โทร.087-061-4078
โทร.087-954-9185
กลุ ่ ม คนอนุ รั ก ษ์ ศิ ล ป กลุ่มพัฒนาอาชีพทอผ้า กลุ่มแม่บ้านเกษตรรวง กลุ ่ ม ท� ำ สบู ่ จ ากรั ง ไหม กลุ่มคลึงกาย สบายตัว หั ต ถกรรมมาลั ย ไม้ ไ ผ่ วายกลัดเต่า บ้านหนองแวงศรี ทองกุดหว้า บ้านกุดหว้า บ้านโคกโก่ง หมู่ที่ 5 ต�ำบล ด้วยท่อนไม้ หมู่ที่ 1 ต�ำบล บ้ า นกุ ด หว้ า หมู ่ ที่ 11 หมู่ที่ 1 ต�ำบลสามขา หมู่ที่ 11 ต�ำบลกุดหว้า กุดหว้า บัวขาว ต�ำบลกุดหว้า
โทร.081-308-1997
โทร.081-974-3793
โทร.086-242-2729
โทร.087-098-6589
โทร.084-389-1635
KARASIN 97 .indd 97
09/02/61 02:48:29 PM
บันทึกเส้นทางพบเทศบาลเมือง
เทศบาลเมือง
บัวขาว นายธนเสฏฐ์ ชัยสงครามธนทัต นายกเทศมนตรีเมืองบัวขาว อ่างเลิงซิวคู่บ้าน ศาลเจ้าปู่คู่เมือง ลือเลื่องบุญประเพณี ถนนสวยดีแผ่นดินธรรม ไม่กล�้ำกรายยาเสพติด เศรษฐกิจฟื้นฟู ประตูสู่ประชาคมอาเซียน
คือค�ำขวัญเทศบาลเมืองบัวขาว ซึ่งมีส�ำนักงานตั้งอยู่เลขที่ 2/1 หมู่ 13 ต�ำบลบัวขาว อ�ำเภอกุฉินารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ ปั จ จุ บั น มีน ายธนเสฏฐ์ ชั ย สงครามธนทั ต ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง นายกเทศมนตรีเมืองบัวขาว
คณะผู้บริหารเทศบาลเมืองบัวขาว
นายธนเสฏฐ์ ชัยสงครามธนทัต นายกเทศมนตรี เ มื อ ง บัวขาว นายบุญจันทร์ ไชยทองศรี รองนายกเทศมนตรี นายอนุพงษ์ ภูริพันธุ์ภิญโญ รองนายกเทศมนตรี นายฉวี โภยอ่อนตา รองนายกเทศมนตรี นายทรงศักดิ์ ธรรมศิล ที่ปรึกษานายกเทศมนตรี นายเสถียร กุลศิริ เลขานุการนายกเทศมนตรี นายอภิชาติ พลอยวิเลิศ เลขานุการนายกเทศมนตรี นายเฉลียว พลกุล ประธานสภาเทศบาล
98 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย (4
).indd 98
12/2/2561 15:41:35
จากใจนายกเทศมนตรีเมืองบัวขาว
ด้วยความมุง่ มัน่ ตัง้ ใจในการสานต่อนโยบายการพัฒนาบ้านเมืองให้เจริญก้าวหน้าอย่าง ต่อเนื่อง ตลอดระยะเวลา 4 ปีที่ผ่านมา กับภารกิจหน้าที่ภายใต้ต�ำแหน่งนายกเทศมนตรี เมืองบัวขาว ผมปลาบปลื้มใจเป็นอย่างยิ่ง ที่ได้ร่วมท�ำงานกับทีมผู้บริหาร คณะสมาชิกสภา เทศบาล ข้าราชการ และพนักงานเทศบาลเมืองบัวขาวทุกๆ คน เพื่อขับเคลื่อนสร้างสรรค์ งานสร้างเมืองบัวขาวให้วิวัฒน์พัฒนายิ่งๆ ขึ้นไป จนมาบรรจบครบรอบปีอกี ครัง้ หนึง่ ด้วยความเรียบร้อยนัน้ ถือได้วา่ เทศบาลเมืองบัวขาว ได้ผ่านพ้นภารกิจอันส�ำคัญแห่งการพัฒนาท้องถิ่นอย่างเป็นรูปธรรม อาทิ การพัฒนาด้าน โครงสร้างพื้นฐาน ยกระดับคุณภาพชีวิตประชาชน การส่งเสริมอาชีพโดยยึดหลักเศรษฐกิจ พอเพี ย ง สนั บ สนุ น และส่ ง เสริ ม การศึ ก ษาให้ มี คุ ณ ภาพมาตรฐาน การบริ ห ารจั ด การ สิ่งแวดล้อมภายในชุมชน พร้อมทั้งส่งเสริมและอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณีอันดีงาม สุดท้ายนี้ ผมและคณะผู้บริหารเทศบาลเมืองบัวขาว ต้องขอขอบคุณทุกความร่วมมือ ร่วมใจจากทุกภาคส่วน ทั้งภาครัฐและเอกชน ที่ร่วมผลักดันให้เมืองบัวขาวเดินหน้าสู่ความ ส�ำเร็จ และพร้อมเคียงข้างพี่น้องประชาชนชาวเทศบาลเมืองบัวขาวเสมอมา
โครงการส่งเสริม พัฒนา และยกระดับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
กิจกรรมต่างๆ
ประเพณีวัฒนธรรมอันดีงาม
KALASIN 99 (4
).indd 99
12/2/2561 15:41:38
หลวงพ่อองค์ด�ำ-สิมกลางน�้ำ
หลวงพ่อองค์ด�ำ เป็นพระพุทธรูปคู่เมือง ตามประวัตกิ ล่าวไว้วา ่ เมือ่ ประมาณ 200 กว่าปี มาแล้ว มีชนกลุ่มหนึ่งตั้งบ้านเรือนอยู่ฝั่งซ้าย แม่น�้ำโขง เรียกชื่อตนเองว่า “ภูไท” ชนกลุ่มนี้ ได้อพยพข้ามแม่นำ�้ โขงขึน้ เทือกเขาภูพาน แล้ว ลงมาตั้งเมืองกุดสิมนารายณ์ (ปัจจุบันคือบ้าน คุ้มเก่าอ�ำเภอเขาวง จังหวัดกาฬสินธุ์) ต่อมาเข้าสู่ปี พ.ศ. 2384 (จ.ศ. 1203) สมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3 ไทยกับเวียดนามมีการสูร้ บกันตาม แนวเขตชายแดน เจ้าเมืองวังคือ ท้าวกอจึงได้ อพยพข้ า มแม่ น�้ ำ โขงมาสู ่ แ ดนไทย ต่ อ มา ท้าวกอ(ราชวงค์กอ) กับพรรคพวกได้มาตั้ง เมืองที่มีหนองน�้ำ (ผู้ไทเรียกว่า “กุด”) และมี สิมไม้ (โบสถ์)อยู่กลางหนองน�้ำ และสิมนั้นมี รู ป นารายณ์ พ ร้ อ มเสมาหิ น แกะสลั ก เป็ น ลวดลายตัง้ อยูร่ อบๆ บริเวณนัน้ จึงเรียกชือ่ บ้าน ว่า “กุดสิมนารายณ์” ต่อมา ปี พ.ศ.2388 บ้านกุดสิมนารายณ์ ได้ยกฐานะขึ้นเป็นเมือง กุ ด สิ ม นารายณ์ มี เ จ้ า เมื อ งราชวงค์ ก อ พระธิเบศร์วงศา(กอ)เป็นผู้ปกครอง จนถึงปี พ.ศ.2405 ก็ถึงแก่กรรม อุปราชด้วง จึงได้ ปกครองเมืองกุดสิมนารายณ์เป็นคนที่ 2 ในปี พ.ศ.2409 พระบาทสมเด็ จ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ราชกาลที่ 4 แห่ง ราชวงค์จักรีได้มีพระราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งอุปราชด้วง เป็นพระธิเบศร์วงศา(ด้วง) จนถึงปี พ.ศ.2423 ก็ถึงแก่กรรม ท้าวกินรี จึงได้ปกครองเมืองกุดสิมนารายณ์เป็นคนที่ 3 ใ น ป ี พ . ศ . 2 4 2 6 พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 แห่ง ราชวงศ์จักรี ได้มีพระราชโองการโปรดเกล้า แต่งตั้ง ท้าวกินรี เป็นพระธิเบศร์วงศา(กินรี) ต่อมา เมือ่ พ.ศ.2451 เมืองกุดสิมนารายณ์ ถูกยุบลงเป็น อ�ำเภอกุดสิมนารายณ์ พระธิเบศร์ วงศา(กินรี) ได้รบั การแต่งตัง้ ให้เป็นนายอ�ำเภอ กุดสิมนารายณ์ จนถึง ปี พ.ศ.2454 ก็ถึงแก่ อนิจกรรม ต่อมาปี พ.ศ.2454 ทางราชการได้ แต่งตัง้ หลวงประเวศน์ อุทรขันธ์ (ลี มัธยมนันท์) มาด�ำรงต�ำแหน่งนายอ�ำเภอ พอถึ ง ปี พ.ศ.2456 ราวกลางเดื อ น มีนาคม หลวงประเวศน์ อุทรขันธ์ ได้ย้าย ที่ ว ่ า การอ� ำ เภอกุ ด สิ ม นารายณ์ ไปตั้ ง อยู ่ ที่ 100 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย (4
).indd 100
บ้านบัวขาว ตั้งชื่ออ�ำเภอเป็น “อ�ำเภอกุฉินารายณ์” โดยได้อัญเชิญพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์คู่บ้าน คู่เมืองมาประดิษฐานไว้ ณ ที่ว่าการอ�ำเภอกุฉินารายณ์ มาจนถึงทุกวันนี้เป็นเวลา 100 ปี ซึ่ง ชาวบ้านเรียกพระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมืององค์นี้ว่า “หลวงพ่อองค์ด�ำ” เทศบาลเมืองบัวขาว จึงได้ จัดสร้างสิมกลางน�้ำ เพื่ออันเชิญ “หลวงพ่อองค์ด�ำ” ประดิษฐาน ณ สิมกลางน�้ำอ่างเลิงซิว เพื่อให้ ประชาชนได้ ก ราบไหว้ สั ก การะบู ช าเป็ น ที่ ยึ ด เหนี่ ย วจิ ต ใจของชาวเทศบาลเมื อ งบั ว ขาว อ�ำเภอกุฉินารายณ์ และนักท่องเที่ยวที่มาเยี่ยมชมเมืองบัวขาว
12/2/2561 15:41:38
เทศบาลเมืองบัวขาวชวนเที่ยว
เทศบาลเมืองบัวขาว ถึงแม้จะเป็นเมืองเล็กๆ แต่มีพื้นที่ กว้างใหญ่และมีสิ่งที่น่าสนใจหลายแห่ง โดยเทศบาลเล็งเห็นถึง การพัฒนาท้องถิน่ จึงสร้างหอนาฬิกาและเกาะกลางอ่างเลิงซิว ขึน้ เพือ่ ให้เป็นสถานทีท่ อ่ งเทีย่ วเชิงวิชาการและวัฒนธรรม และ เป็นแลนด์มาร์คที่สวยงามโดดเด่นท�ำให้กลุ่มบัณฑิตที่ก�ำลัง เตรียมรับปริญญานิยมมาใช้เป็นสถานที่ถ่ายภาพที่สวยงาม อีก ทั้งยังเป็นที่สนใจส�ำหรับนักท่องเที่ยวที่มาเยือนเทศบาลเมือง บัวขาวด้วย หอนาฬิกาและเกาะกลางอ่างเลิงซิว ตั้งอยู่ ม.13 ถนนบัวขาว-สมเด็จ หน้าธนาคารออมสิน สาขากุฉินารายณ์
KALASIN 101 (4
).indd 101
12/2/2561 15:41:40
บันทึกเส้นทางพบเทศบาลต�ำบล
เทศบาลต�ำบล
เหล่าใหญ่ ค�ำขวัญ
เมืองภูดินถิ่นผักหวาน ดินแดนภักษาหารหวายขม อุดมอู่ข้าวลุ่มน�้ำล�ำพะยัง จากเมืองวังบรรพชนคนภูไท
วิสัยทัศน์ “ ดินแดนน่าอยู่ เชิดชูวัฒนธรรม ภูน�้ำจั้นแหล่งปลาโบราณ จักสานทอผ้า ภูมิปัญญาท้องถิ่น ”
นายพงศักดิ์ แสบงบาล นายกเทศมนตรีต�ำบลเหล่าใหญ่
คณะผู้บริหารและพนักงาน
แนวคิดการบริหารงาน
เทศบาลต�ำบลเหล่าใหญ่ บริหารงานโดย นายพงศักดิ์ แสบงบาล นายกเทศมนตรีต�ำบล เหล่าใหญ่ บริหารงานตามภารกิจขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น และมีแนวคิดจัดระบบ สวัสดิการช่วยเหลือเกื้อกูลกันทุกเรื่องในต�ำบล โดยการเชือ่ มโยงงานขององค์กรปกครองส่วนท้อง ถิ่นกับทุนและศักยภาพของคนต�ำบลเหล่าใหญ่ ได้แก่ กองทุนสวัสดิการต�ำบลเหล่าใหญ่ ให้อย่างมี คุณค่า รับอย่างมีศักดิ์ศรี ส่งเสริมการออมบุญ ของสมาชิกเทศบาลต�ำบลเหล่าใหญ่สบทบทุน เพื่อจัดสวัสดิการตั้งแต่เกิดจนเสียชีวิต การส่ง เสริมคุณภาพชีวิตเด็กแรกเกิด ผู้พิการ ผู้ด้อย โอกาส และผู้สูงอายุ โดยมีภาคีเครือข่ายร่วม
ท� ำ งาน คื อ กองทุ น หลั ก ประกั น สุ ข ภาพของ ต�ำบลเหล่าใหญ่ พัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนุ ษ ย์ จั ง หวั ด กาฬสิ น ธุ ์ ประสานงานโดย งานพั ฒ นาชุ ม ชน การสั ญ จรรั บ ลงทะเบี ย น ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ทั้ง 12 หมู่บ้าน เพื่อให้ทุกคน เข้าถึงสวัสดิการของตนเอง การได้รับบริการ ด้านสุขภาพจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ต�ำบลบ้านเหล่าใหญ่ และโรงพยาบาลส่งเสริม สุขภาพต�ำบลบ้านกุดฝั่งแดง ส่งเสริมกิจกรรม ของโรงเรียนผูส้ งู อายุตำ� บลเหล่าใหญ่ การส่งเสริม การจ้างงานผูพ้ กิ ารสร้างความภาคภูมใิ จในตนเอง และเป็นแรงบันดาลใจให้กับผู้พิการ การพัฒนา ศักยภาพการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น เน้นการมีส่วนร่วมของ 4 องค์กรหลัก
การส่งเสริมให้ต�ำบลเหล่าใหญ่เป็นแหล่ง ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมภูไท ต�ำบลเหล่าใหญ่ มีภูน�้ำจั้นซากปลาโบราณ ที่พัฒนาเป็นแหล่ง เรียนรูป้ ระวัตศิ าสตร์ธรณีวทิ ยา และความเป็นมา ของต�ำบลเหล่าใหญ่ การส่งเสริมกิจกรรม และ พั ฒ นาศั ก ยภาพของกลุ ่ ม อาชี พ การพั ฒ นา คุณภาพผลิตภัณฑ์ให้เหมาะสมกับการท�ำเป็น ของฝาก และจ�ำหน่ายสร้างรายได้ให้กบั ประชาชน ในพื้นที่ การอนุรักษ์วัฒนธรรมผู้ไทโดยมีสภา วัฒนธรรมเป็นแกนน�ำในการสืบสานประเพณี และวัฒนธรรม เช่น ประเพณีลงข่วงเข็นฝ้าย บุญเดือนสี่ บุญข้าวประดับดิน แห่เทียนออก พรรษา ดนตรีพื้นบ้านเด็กและเยาวชน เป็นต้น
102 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 102
09/02/61 03:16:42 PM
ถิ่นปลาโบราณ...ภูน�้ำจั้น
แหล่งปลาโบราณภูน�้ำจั้น ตั้งอยู่บริเวณ ป่ า สงวนแห่ ง ชาติ ภู โ หล่ ย เขตบ้ า นดงเหนื อ ต�ำบลเหล่าใหญ่ อ�ำเภอกุฉนิ ารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ เมือ่ ปี พ.ศ.2541 ชาวบ้านในพืน้ ทีต่ ำ� บลเหล่าใหญ่ และใกล้เคียงได้พบชิน้ ส่วนวัตถุลกั ษณะเป็นเกล็ด บริเวณภูนำ�้ จัน้ และพืน้ ทีใ่ กล้เคียง และเชือ่ กันว่า เป็นเกล็ดงูขนาดใหญ่ ชาวบ้านน�ำเกล็ดเหล่านัน้ ไปถวายไว้ที่วัดโพนพิมานและมีพระครูจินดา รัตนาภรณ์ (ศักดา ธัมมรโต) ประกอบพิธีการ เปิดหลุมส�ำรวจเพือ่ เป็นการสร้างขวัญก�ำลังใจให้ กับทีมส�ำรวจ กรมทรัพยากรธรณีพบหลักฐานว่า ปลาโบราณภูน�้ำจั้นเป็นปลาเลปิเทสที่อาศัยอยู่ ในน�ำ้ จืดและได้ตายไปกลายเป็นซากดึกด�ำบรรพ์
วิถีชีวิตของคนภูไท....ลงข่วงเข็ญฝ้าย
การลงข่วงเข็นฝ้ายเป็นวิถีชีวิต เป็นการ ได้มาซึง่ ครอบครัว คุณค่าดัง่ เดิมทีค่ นภูไทรักและ หวงแหน เป็นกิจกรรมทีส่ ะท้อนความสุขความมี ชี วิ ต ชี ว าของคนภู ไ ทในอดี ต มี ก ารแต่ ง กาย ที่สวยงามมีเอกลักษณ์ เป็นการสื่อขบวนการ แปรรูปจากฝ้ายเป็นเส้นฝ้ายแล้วน�ำมาทักทอ เป็นผืนผ้ากระบวนการที่ละเอียดประณีตคิดค้น
ด้วยภูมิปัญญาดั่งเดิม ฤดูหนาวของทุกปีในช่วง กลางคืนชาวบ้านจะมานัง่ รวมกันบริเวณลานบ้าน ในสมัยก่อนสาวๆ จะพากันออกไปหาฟืน เรียกว่า ไปเอาหลัวเอาฟืน ก่อกองไฟนัง่ รอบท�ำงานไปคุยไป สาวบ้านไหนไม่มาลงข่วงเข็ญฝ้ายหนุ่มๆ ก็ถือ โอกาสมาเกี้ยวพาราสี เล่นดนตรีโต้ตอบกันเป็น กลอน พื้นบ้าน ที่เรียกว่า ผญามีการต้อยผญา
เกี้ยวพาราสีกันหรือจ่ายผญาจีบกันตามความ สามารถของแต่ละคน ซึ่งหนุ่มๆ ก็จะถือโอกาส ช่วงนี้ หรือใครถนัดเครื่องดนตรีประเภทไหน เช่น พิณ แคน โหวต ปี่ ก็จะน�ำเครื่องดนตรีมา ด้วยและยังได้แสดงออกทางด้านดนตรีดว้ ย เป็น ทีส่ นุกสนานจนค่อนคืนหรือง่วงแล้วก็เลิกรากันไป
KALASIN 103 .indd 103
09/02/61 03:16:43 PM
วัฒนธรรมภูไทและผลิตภัณฑ์ ผ้าลายขิดเก็บจก ชาวภูไทเหล่าใหญ่มีการสืบสาน วัฒนธรรมด้านการทอผ้ามาจากบรรพบุรุษ มีการอนุรักษ์ ภูมิปัญญาท้องถิ่น จึงรวมกลุ่มกันจัดท�ำกลุ่มสตรีหมู่ 7 การทอผ้ามีหลายลาย เช่น ลายจก คือจก เป็น เทคนิคการ ท�ำลวดลายบนผืนผ้า ด้วยวิธีการเพิ่มด้ายพุ่งพิเศษเข้าไป เป็นช่วงๆ ไม่ตดิ ต่อกันตลอดหน้ากว้างของผ้า โดยใช้ไม้หรือ ขนเม่นหรือนิ้วมือยกหรือจกด้ายเส้นยืนขึ้น แล้วสอดด้าย พุ่งพิเศษเข้าไป ท�ำให้สามารถออกแบบลวดลายและสีสัน ของผ้าจกได้ซบั ซ้อน และเพิม่ สีสนั ในลวดลายได้หลากหลาย ตลอดหน้ากว้างของผ้า แตกต่างจากผ้าลายขิดทีม่ ขี อ้ จ�ำกัด ในการเพิ่มสีสันของเส้นพุ่งพิเศษตลอดหน้ากว้างของผ้า ได้เพียงสีเดียว การทอผ้าลายขิด คือ การทอผ้าที่ทอแบบ “เก็บขิด” หรือ “เก็บดอก” เหมือนผ้าที่มีการปักดอกการ ทอผ้าดอกนี้ชาวอีสานเรียกกันว่า “การทอผ้าเก็บขิด” ลวดลายของขิดแต่ละลายจะมีรูปแบบที่สวยงาม มันวาว นูนลอยออกมาบนผืนผ้า ชาวอีสานโดยทัว่ ไปนิยมทอผ้าขิด เพื่อท�ำเป็นหมอน หรือผ้าสไบ สามารถน�ำไปเป็นของฝาก หรือจ�ำหน่ายเป็นอาชีพเสริมเพิ่มรายได้ในครัวเรือน เสื้ อ เย็ บ มื อ การท� ำ เสื้ อ เย็ บ มื อ มี ม าช้ า นานตั้ ง แต่ สมัยโบราณ วัสดุอปุ กรณ์ทใี่ ช้ในการเย็บคือเข็มกับด้าย โดย ส่วนใหญ่เป็นการเย็บไว้ใช้ในครัวเรือนเท่านั้น กลุ่มแม่บ้าน
การแต่งกายของชาวภูไท
ร่ ว มกั น พั ฒ นา พื้ น ฟู ง านศิ ล ปะในฟื ้ น ผ้ า โดยได้ มี ก าร ออกแบบลวดลายสีสันจนเป็นที่นิยมของตลาด พร้อมกับ ได้รบั การสนับสนุนจากหน่วยงานภาครัฐ เช่น จัดฝึกอบรม การออกแบบและตัดเย็บเสื้อเย็บมือให้สมาชิกกลุ่ม จน ในปัจจุบันเสื้อเย็บมือถือเป็นเอกลักษณ์อย่างหนึ่งของคน ในพืน้ ทีต่ ำ� บลเหล่าใหญ่ อ�ำเภอกุฉนิ ารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ เช่น ทุกโรงเรียนในพื้นที่นักเรียนทุกคนต้องใส่ชุดพื้นเมือง หรือเสื้อเย็บมือการถ่ายทอดความรู้ไปสู่ผู้อื่น ผ้าพื้นเมือง การทอผ้าด้วยมือจากภูมิปัญญาท้องถิ่น คงทน เนื้อผ้าดี สีไม่ตก รีดเรียบง่าย ใส่สบายไม่ร้อน มีสี หลากหลายสีให้เลือก เพือ่ ให้ลกู ค้าเลือกซือ้ ได้ตามความต้องการ จักสาน ผูส้ งู อายุชายรวมกลุม่ สร้างสังคมการช่วยเหลือ กันเองให้มีอาชีพ มีรายได้ สืบทอดภูมิความรู้ และสร้าง สิ่งแวดล้อมที่ดีให้กับสังคม โดยเมื่อปี 2549 ชาวต�ำบล เหล่าใหญ่มีวิถีชีวิตแบบภูไทดั้งเดิม มีการน�ำไม้ไผ่จักสาน ประดิ ษ ฐ์ เ ป็ น เครื่ อ งมื อ ใช้ ใ นการประกอบอาชี พ และ เป็นเครือ่ งใช้ครัวเรือนสืบทอดกันมายาวนาน เช่น กระติบ๊ ข้าว หวดนึ่งข้าวเหนียว ฯลฯ นอกจากใช้ในครัวเรือนสามารถ ขายเสริมรายได้ให้กบั ครอบครัว เกิดการช่วยเหลือเกือ้ กูลกัน ผูส้ งู อายุได้รบั การยอมรับ อยูอ่ ย่างมีศกั ดิศ์ รี ท�ำให้คณ ุ ภาพ ชีวิตดีขึ้น 104 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 104
09/02/61 03:16:44 PM
บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดปิยะมงคล
เลขที่ 151 หมู่ที่ 12 บ้านไค้นุ่น ต�ำบลไค้นุ่น อ�ำเภอห้วยผึ้ง จังหวัดกาฬสินธุ์ 46240 สังกัดมหานิกาย ปัจจุบันมี พระปลัดสุพจน์ สุเมโธ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
ประวัติวัดปิยะมงคล
ตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2450 เดิมชาวบ้านเรียกว่า วัดไค้นุ่นเหนือ ได้รับ พระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อปี พ.ศ. 2452 มีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ 21 ไร่ มีที่ธรณีสงฆ์ จ�ำนวน 1 แปลง เนื้อที่ 36 ไร่ เดิมมีอุโบสถไม้ทั้งหลัง ในการประกอบพิธกี รรมของสงฆ์ ต่อมาเกิดช�ำรุดทรุดโทรมได้สร้างอุโบสถ หลังใหม่ครอบหลังเดิมเอาไว้จนถึงปัจจุบัน ปัจจุบันมีอาคารเสนาสนะประกอบด้วย อุโบสถ ศาลาการเปรียญ วิหาร กุฎีสงฆ์ จ�ำนวน 7 หลัง โรงครัว ห้องน�้ำ และหอพระ 1 หลัง เมื่อวันที่ 2 พ.ย. 2560 วัดปิยะมงคลได้รับประทานอนุญาตจาก เจ้าประคุณสมเด็จพระวันรัต เจ้าอาวาสวัดบวรนิเวศวิหาร กรรมการ มหาเถรสมาคม ให้จัดสร้าง พระรูปเหมือน สมเด็จพระญาณสังวร (เจริญ สุวฑฺฒโน) สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก สมเด็จพระสังฆราช องค์ที่ 19 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ขนาดเท่าองค์จริง ให้ประดิษฐาน ณ วัดปิยะมงคล ต�ำบลไค้นุ่น อ�ำเภอห้วยผึ้ง จังหวัดกาฬสินธุ์ เพื่อให้ พุทธศาสนิกชนได้กราบสักการะบูชา
ประวัติรายนามเจ้าอาวาส
1. พระสอน (พ.ศ.2450–2459) 2. พระท�ำ (พ.ศ.2460–2474) 3. พระหัน (พ.ศ.2475–2479) 4. พระหล�่ำ (พ.ศ.2480–2488) 5. พระใย จนฺทโชโต (พ.ศ.2489–2494) 6. พระสุปัน เรวโต (พ.ศ.2495–2500) 7. พระทน (พ.ศ.2500–2503) 8. พระโสม ญาณวโร (พ.ศ.2508–2510) 9. พระสร้อย โชติโก (พ.ศ.2510-2521) 10. พระแอ่ง โชติโก (พ.ศ.2521-2530) 11. พระเพชร กิตฺติภทฺโท (2530-2533) 12. พระครูปิยะมงคลกิจ สิงห์ ยโสธโร (2534-2552) 13. พระอธิการถ่อง สุเมโธ (2553-2554) 14. พระอธิการยินดี คุตฺตจิตฺโต (2555-2557) 15. พระปลัดสุพจน์ สุเมโธ (พ.ศ. 2559 จนถึงปัจจุบัน)
KALASIN 105 1
.indd 105
14/2/2561 13:52:04
บันทึกเส้นทางพบเทศบาลต�ำบล
เทศบาลต�ำบล
จุมจัง
หลุมพอเพียงคนกล่าวขาน สืบสานบุญเข้าปริวาสกรรม ร�ำ่ รวยอ้อย ยางพารา ตระการตาปราสาทผึง้ สวยสุดซึง้ ห้วยจุมจัง ผลผลิตดัง น�ำ้ อ้อยก้อน งามสะออนบุญมหาสงกรานต์
คือค�ำขวัญเทศบาลต�ำบลจุมจัง ซึง่ มีสำ� นักงานเทศบาลตัง้ อยู่ เลขที่ 78 หมู่ที่ 14 ต�ำบลจุมจัง อ�ำเภอกุฉินารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ ปัจจุบันมี นายวิวฒ ั น์ หาญสินธุ์ ด�ำรงต�ำแหน่งนายกเทศมนตรีต�ำบลจุมจัง และ นายอภิศกั ดิ์ สังฆะวัน ด�ำรงต�ำแหน่งปลัดเทศบาลต�ำบลจุมจัง
ปณิธาน
“งานสัมฤทธิ์ผล ทุกคนมีความสุข”
วิสัยทัศน์
“ดินแดนเกษตรก้าวหน้า การศึกษาก้าวไกล สังคมน่าอยู่ ฟื้นฟูประเพณีวัฒนธรรม น�ำประชาสู่อาเซียน”
นายวิวัฒน์ หาญสินธุ์ นายกเทศมนตรีต�ำบลจุมจัง
หลุมพอเพียงผลิต อาหารปลอดภัยจาก ครัวเรือนสู่เพื่อนบ้าน 106 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย 2
.indd 106
หลุมพอเพียง เป็นเครื่องมือหนึ่งที่ชาวต�ำบลจุมจังน�ำมาใช้แก้ไข ปัญหาความยากจนในพื้นที่ โดยภาคีความร่วมมือในต�ำบล ได้ร่วมกัน ด�ำเนินการมาตั้งแต่ปี 2542 ภายใต้กิจกรรม “1 ไร่ ไม่ยากไม่จน” หลุมพอเพียง เป็นการน�ำเอาพืชหลายๆ ชนิดมาปลูกรวมกันในพืน้ ที่ 2×2 เมตรใน 1 ไร่จะท�ำได้ 100 หลุม ในแต่ละหลุมจะมีพชื 4 ชนิด ดังนี้ 1. ไม้พเี่ ลีย้ ง หมายถึง ให้ปลูกพืชพีเ่ ลีย้ งเป็นร่มเงาและให้ความชุม่ ชืน้ มี 2 ชนิดคือ กล้วย และ ตะขบ 2. ยืนต้น หมายถึง ให้ปลูกพืชยืนต้นเอาไว้ทั้ง 4 มุม โดย 3 มุมจะต้องเป็นไม้ใช้สอย เช่น ยางนา ไม้สัก ประดู่ ฯลฯ และอีก 1 มุม ให้ปลูกไม้ผล เช่น ขนุน เงาะ ทุเรียน ฯลฯ 3. ฉลาด หมายถึง ให้ปลูกพืชที่เลี้ยงตัวเองได้ ไม่ต้องคอยดูแลอะไรมากมายก็อยู่ได้ ถึงแม้จะมีอายุไม่ยืน แต่อย่างน้อยต้อง 5 -10 ปี เช่น มะละกอ 4. ปัญญาอ่อน หมายถึง ให้ปลูกพืชผักทีด่ แู ลตัวเองไม่ได้ ตัง้ แต่เกิดจนตายเราต้องดูแลรดน�ำ้ ใส่ปุ๋ยให้มันตลอด เช่น พริก มะเขือ คะน้า ผักกาด ผักชี โดยรวมแล้ ว การท� ำ หลุ ม พอเพี ย ง คื อ การใช้ พื้ น ที่ ใ ห้ เ กิ ด ประโยชน์ สู ง สุ ด ปลูกพืชหลายระดับเพื่อให้เกื้อกูลกัน เมื่อรดน�้ำดูแลพืชในหลุม ก็จะทั่วถึงกันทั้งหมด
12/2/2561 15:53:47
วั ด ป่ า นาค� ำ เป็ น วั ด ที่ เ ป็ น ศู น ย์ ก ลางของการพั ฒ นา
ด้ า นการเกษตรตามแนวทางของปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง โดยมี พระอาจารย์มหาสุภ าพพุทธวิริโย เจ้า อาวาส ผู้ ซึ่ง เป็ น พระนั ก พั ฒ นาที่ ไ ด้ น ้ อ มน� ำ พระราชด� ำ ริ ใ นพระบาทสมเด็ จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร มาขยายผล อย่างเป็นรูปธรรม เช่นด้านเกษตรผสมผสานโดยใช้ นวัตกรรมหลุม พอเพียง ด้านแหล่งน�ำ ้ โดยการใช้ฝายมีชวี ติ ในการกักเก็บน�ำ ้ และ เป็นแหล่งเรียนรู้ด้านการเกษตรที่ครบวงจร
ผลิตภัณฑ์ชุมชน
น�ำ้ อ้อยก้อน ซึง่ เคีย่ วจากสวนสดๆ ด้วยกระบวนการผลิตจาก ธรรมชาติ คุ ณ ภาพดี และมี บ รรจุ ภั ณ ฑ์ จ ากธรรมชาติ เ ป็ น เอกลักษณ์เฉพาะ เหมาะทีจ่ ะเป็นของฝากได้ทกุ ครัวเรือน เพือ่ เพิม่ ความหวานหอมกลมกล่อม และใช้ปรุงรสได้ทั้งอาหารคาวหวาน KALASIN 107 2
.indd 107
12/2/2561 15:53:48
บันทึกเส้นทางพบเทศบาลต�ำบล
เทศบาลต�ำบล
กุดหว้า เทศบาลต�ำบลกุดหว้า เมืองน่าอยู่ มุ่งสู่ แหล่งท่องเที่ยววิถีอีสาน คือวิสัยทัศน์ของเทศบาลต�ำบลกุดหว้า ซึ่งมีส�ำนกงานเทศบาล ตั้งอยู่152 หมู่ที่ 13 ต�ำบลกุดหว้า อ�ำเภอกุฉินารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ ปัจจุบนั มี นายสาริกา อุทรักษ์ ด�ำรงต�ำแหน่งนายกเทศมนตรีตำ� บลกุดหว้า
พันธกิจ
1. พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนให้ดีขึ้น 2. สร้างชุมชนในเขตเทศบาลให้เป็นชุมชนเข้มแข็ง 3. พัฒนาส่งเสริมผลิตภัณฑ์พื้นเมือง 4. ส่งเสริมงานประเพณีวัฒนธรรมท้องถิ่น 5. พัฒนา ส่งเสริมให้การสนับสนุนการศึกษาและการวิจยั ภูมปิ ญ ั ญา ท้องถิ่น 6. พัฒนาเทศบาลให้เป็นเมืองน่าอยู่ 7. ส่งเสริมสนับสนุนระบอบประชาธิปไตยในชุมชน 8. ส่งเสริม สนับสนุนให้ประชาชนได้เล่นกีฬาและออกก�ำลังกายอย่าง ต่อเนื่อง
รางวัลที่ภาคภูมิใจ
- ปี พ.ศ.2559 เทศบาลต�ำบลกุดหว้า ได้รับเชิดชูเกียรติ เป็นองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีความเป็นเลิศด้านการสร้างความร่วมมือในการ บริหารจัดการท้องถิ่นในภาคอีสาน - ปี พ.ศ.2560 เทศบาลต�ำบลกุดหว้า ในฐานะที่เป็นพื้นที่ต้นแบบ การคัดแยกขยะต้นทาง ได้รบั มอบ “รางวัลดาวรุง่ ” พืน้ ทีล่ มุ่ น�ำ้ ชีตอนบน จากส� ำ นั ก งานสิ่ ง แวดล้ อ มภาคที่ 10 ส� ำ นั ก ปลั ด กระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ร่วมกับกองทุนสิ่งแวดล้อม
นายสาริกา อุทรักษ์
นายกเทศมนตรีเทศบาลต�ำบลกุดหว้า
108 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .
2
.indd 108
14/2/2561 10:50:38
นายกฯ ชวนเที่ยว
ในเขตพื้นที่เทศบาลต�ำบลกุดหว้ามีวัดและสถานที่ส�ำคัญหลายแห่ง อาทิ วัดกกต้องกุดหว้า วัดป่ากุดหว้า วัดบ้านกุดหว้าเก่า หอเจ้าปู่ และ หลักบ้าน ซึง่ ตัง้ อยูท่ ใี่ จกลางหมูบ่ า้ นกุดหว้า หมูท่ ี่ 8 บริเวณสวนสาธารณะ หนองพ่อตาด�ำ นอกจากนี้ เทศบาลต�ำบลกุดหว้า และชาวต�ำบลกุดหว้า ยังคงสืบสาน วัฒนธรรมและประเพณีทแี่ สดงถึงอัตลักษณ์ทโี่ ดดเด่นของชุมชนได้อย่างดี โดยมีประเพณีที่ส�ำคัญ ได้แก่ ประเพณีบุญบั้งไฟ เทศบาลต�ำบลกุดหว้า ได้จดั “งานประเพณีวฒ ั นธรรมผูไ้ ทบุญบัง้ ไฟ ตะไลล้าน” ขึ้นเป็นประจ�ำทุกปี ในวันเสาร์ – อาทิตย์สัปดาห์ที่สามของ เดือนพฤษภาคม ณ เทศบาลต�ำบลกุดหว้า ซึง่ งานประเพณีดงั กล่าวแสดง ถึงเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมของต�ำบลกุดหว้า และเป็นแห่งแรกที่จัดท�ำ บั้งไฟตะไลล้านขึ้น ประเพณีบุญพวงมาลัย เป็ น ประเพณี ข องชาวผู ้ ไ ทยต� ำ บลกุ ด หว้ า อ� ำ เภอกุ ฉิ น ารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ ซึ่งมีเอกลักษณ์เฉพาะทางวัฒนธรรมอันโดดเด่น โดย จัดขึ้นปีละ 2 ครั้งเป็นประจ�ำทุกปี ในวันแรม 13–14 ค�่ำเดือน 9 และวัน ขึ้น 14–15 ค�่ำเดือน 10 ซึ่งเป็นช่วงเวลาของบุญข้าวประดับดินและ บุญข้าวสาก ส�ำหรับปี พ.ศ.2561 นี้ ประเพณีบญ ุ พวงมาลัยช่วงที่ 1 ตรงกับ วันที่ 8-9 กันยายน 2561 และ ช่วงที่ 2 ตรงกับวันที่ 23-24 กันยายน 2561 เทศบาลต�ำบลกุดหว้าจึงขอเรียนเชิญนักท่องเที่ยวและประชาชน ทั่วไป มาสัมผัสและร่วมสืบสานประเพณีอันงดงามและเป็นเอกลักษณ์ ของชาวผู้ไทยที่หาชมได้ยากยิ่ง
KALASIN 109 .
2
.indd 109
14/2/2561 10:50:43
บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล
องค์การบริหารส่วนต�ำบล
กุดหว้า
โคกโก่งโฮมสเตย์ ตะไลล้านตระการตา ไดโนเสาร์เลื่องลือ รวยน�้ำเลี้ยงชีพอ่างวังมน
มนต์เสน่ห์สาวผู้ ไท ศูนย์ปัญญาพระใหญ่ เสื้อเย็บมือสุดสวย ผู้คนอ่อนน้อมอยู่เย็น
ค�ำขวัญขององค์การบริหารส่วนต�ำบลกุดหว้า ซึ่งมีส�ำนักงานตั้งอยู่เลขที่ 367 หมู่ที่ 13 ต�ำบลกุดหว้า อ�ำเภอกุฉินารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ วิสัยทัศน์ อบต.กุ ด หว้ า เป็ น องค์ ก รพั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต สมบู ร ณ์ เพิ่มพูนความรู้ เชิดชูคุณธรรม น้อมน�ำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอ เพียง น�ำชื่อเสียงสู่สากล
นายภิรมณ์ อุทรักษ์
นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลกุดหว้า
คณะผู้บริหารและพนักงาน
คณะผู้บริหาร
110 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 110
09/02/61 02:40:43 PM
อบต.กุดหว้าชวนเที่ยว!
แหล่งไดโนเสาร์ภูผาวัว
พลเอก ธวัช สุกปลั่ง อดีตแม่ทัพภาคที่ 2 เปิดอาคารศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนต�ำบลกุดหว้า
พลเอกวิชัย แชจอหอ อดีตแม่ทัพภาคที่ 2 เปิดโครงการหยุดภัยแล้งด้วยแสงอาทิตย์
โครการปั้นโอ่งใหญ่แก้ภัยแล้ง
แหล โคกโก่งโฮมสเตย์ (หมู่บ้านวัฒนธรรมภูไท)
บ้านโคกโก่ง อยูห่ า่ งจากจังหวัดกาฬสินธุไ์ ปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ประมาณ 90 กิโลเมตร เป็นหมู่บ้านขนาดเล็ก จ�ำนวน 117 หลังคาเรือน ประชากร 466 คน สภาพภูมอิ ากาศค่อนข้างเย็น อาชีพหลัก คือ เกษตรกรรม ท�ำนา ท�ำสวน ท�ำไร่ และเลี้ยงสัตว์ เดิมชาวผู้ไทโคกโก่งเป็นชนกลุ่มหนึ่ง ที่อพยพมาจากประเทศจีนตอนใต้ เคลื่อนลงมาผ่านเวียดนามและลาว ข้ามฝัง่ แม่นำ�้ โขงเข้ามาตัง้ หลักแหล่งอยูท่ างภาคอีสานของไทย โดยทัว่ ไปแล้ว ชาวผู้ไทชอบอาศัยอยู่ใกล้ภูเขาเนื่องจากต้องพึ่งพาอาศัยธรรมชาติ มาใช้ ในชีวิตประจ�ำวันอยู่เสมอ เช่น กระติ๊บ ตะกร้า และเครื่องใช้อื่นๆ ชาวโคกโก่ง ซึ่งยังคงด�ำรงรักษาวัฒนธรรมวัฒนธรรมผู้ไทโคกโก่ง ดัง้ เดิมไว้ กลายเป็นเอกลักษณ์ทอ้ งถิน่ ทีส่ อื่ ผ่านทางภาษาพูด การแต่งกาย ดนตรี งานพื้นบ้านและหัตถกรรมต่างๆ และเมื่อรวมเข้ากับวิถีชีวิต ที่พึ่งพิงธารน�้ำตกธรรมชาติ คือ มนต์เสน่ห์แห่งโคกโก่งผู้ไท
KALASIN 111 .indd 111
09/02/61 02:40:57 PM
โดยม เมตร เด่นข สภาพ กระด ไดโน ที่เคย ภูเวีย ไว้เป็น ในวัน จุฬาล และเ 5 รอ สุดาฯ เป็นก ย่อส่ว ปัจจุบ รักษา เรียน
บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล
องค์การบริหารส่วนต�ำบล
สมสะอาด
องค์การบริหารส่วนต�ำบลสมสะอาด ตั้งอยู่เลขที่ 170 หมู่ที่ 7 ต�ำบลสมสะอาด อ�ำเภอกุฉนิ ารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ โดยตัง้ อยูท่ ศิ ตะวัน ออกเฉียงเหนือห่างจากจังหวัดกาฬสินธุ์ ประมาณ 80 กิโลเมตร และอยู่ ห่างจากอ�ำเภอกุฉินรายณ์ไปทางทิศใต้ 9 กิโลเมตร
นามผู้บริหาร อบต.สมสะอาด
1. นายบรรจง กุลอาจศรี 2. นายสยาม นาเมืองรักษ์ 3. นายสันต์ สังวรจิตร 4. นายบัวรี พิมแสง
นายก อบต.สมสะอาด รองนายก อบต.สมสะอาด รองนายก อบต.สมสะอาด เลขานุการนายก อบต.สมสะอาด
นายบรรจง กุลอาจศรีนายก นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลสมสะอาด
นามสมาชิกสภา อบต.สมสะอาด
1. นายนุย ทนาวัน 2. นายวิชัย ชมปากเกลี้ยง 3. นายสวง เลาสูงเนิน 4. นายสายจิตร์ สีบรรดิษฐ 5. นายชุมพล ชมละกา 6. นายปิยะชาติ จ�ำญาติ 7. นายเรวัตร พันธุภา 8. นางปาล ภูมิรัง 9. นางสายใจ ปัชชาแปลง 10. นายวิรัตน์ แพงโสดา 11. นายเกสร กองอุดม 12. นางขวัญตา อนันตภูมิ 13. นายประสิทธิ์ สมมูล
ประธานสภา อบต.สมสะอาด รองประธานสภา อบต.สมสะอาด สมาชิกสภา หมู่ที่ 1 สมาชิกสภา หมู่ที่ 2 สมาชิกสภา หมู่ที่ 2 สมาชิกสภา หมู่ที่ 3 สมาชิกสภา หมู่ที่ 4 สมาชิกสภา หมู่ที่ 4 สมาชิกสภา หมู่ที่ 5 สมาชิกสภา หมู่ที่ 6 สมาชิกสภา หมู่ที่ 6 สมาชิกสภา หมู่ที่ 7 สมาชิกสภา หมู่ที่ 7
112 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .
2
.indd 112
9/2/2561 14:42:17
ข้อมูลทั่วไป
ต� ำ บลสมสะอาด มี เ นื้ อ ที่ 37 ตาราง กิโลเมตร หรือประมาณ 14,241 ไร่ สภาพพืน้ ที่ เป็นที่ราบลุ่ม มีล�ำห้วยหลายสาย และมีแม่น�้ำ สายส�ำคัญไหลผ่าน คือ ล�ำน�ำ้ ยังพืน้ ที่ ส่วนใหญ่ ใช้ส�ำหรับการเกษตรกรรมและเลี้ยงสัตว์ การปกครอง ต�ำบลสมสะอาดได้รับการ ยกฐานะจากสภาต�ำบลสมสะอาด ได้รับการ ยกฐานะเป็ น องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บล ตามพระราชบัญญัติสภาต�ำบลและองค์การ บริหารส่วนต�ำบล พ.ศ.2537 เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2540 ครอบคลุมพื้นที่ทั้งหมด 7 หมู่บ้าน มีก�ำนัน 1 คน ผู้ใหญ่บ้าน 6 คน ประชากร จากสถิตขิ องส�ำนักงานทะเบียน ราษฎร์ ที่ว่าการอ�ำเภอกุฉินารายณ์ ต�ำบล สมสะอาดมีประชากร จ�ำนวนทัง้ สิน้ 4,344 คน แยกเป็น ชาย 2,168 คน และหญิง 2,136 คน จ�ำนวน 1,202 ครัวเรือน สภาพสังคม การศึกษา ประชาชนชาวต�ำบลสมสะอาด ได้รับการศึกษากันทุกถ้วนหน้า เพราะมีสถาน ศึ ก ษาในเขตพื้ น ที่ ส ามารถให้ ก ารศึ ก ษาแก่ ประชาชนในชุมชนอย่างทั่วถึง และองค์การ บริหารส่วนต�ำบลสมสะอาดได้รับการถ่ายโอน ภารกิจด้านการศึกษา ดังนี้ 1. การศึกษาก่อนปฐมวัย มีศูนย์พัฒนา เด็กเล็ก จ�ำนวน 1 แห่ง และศูนย์อบรมเด็กก่อน เกณฑ์ในวัด 2 แห่ง 2. การศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน มี โ รงเรี ย น สมสะอาดพิทยาสรรพ์ (ขยายโอกาส) โรงเรียน บ้านหนองบัวทอง และโรงเรียนบ้านดงมัน การศาสนา ประชากรส่วนใหญ่ของต�ำบล สมสะอาด นั บ ถื อ ศาสนาพุ ท ธ จึ ง มี วั ด และ ส�ำนักสงฆ์ ในพุทธศาสนากระจายทั่วไปในเขต พื้นที่ จ�ำนวน 6 แห่ง การสาธารณสุข มีสถานีอนามัย จ�ำนวน 1 แห่ง มีบคุ ลากรทางสาธารณสุข จ�ำนวน 3 คน มุ ่ ง เน้ น งานปฐมพยาบาลเบื้ อ งต้ น การ สุขาภิบาล การป้องกันและส่งเสริมสุขภาพ พร้อมกันไปกับการสาธารณสุขมูลฐาน
สภาพทางเศรษฐกิจ ต�ำบลสมสะอาด มีผลผลิตภาคเกษตรกรรม เป็นเศรษฐกิจหลัก (มีพนื้ ทีท่ ำ� การเกษตรทัง้ สิน้ 11,392 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 80 ของพื้นที่ทั้ง ต�ำบล ) ทีส่ ามารถน�ำเงินมาสูช่ มุ ชนได้เป็นอย่างดี โดยเฉพาะข้าว อ้อย มันส�ำปะหลัง ถัว่ ลิสง และ ผลิตภัณฑ์พื้นเมือง คือ ผ้าทอพื้นเมือง โดยมี การรวมกลุ่มอาชีพต่างๆ กลุ่มเกษตรกร กลุ่ม หัตถกรรม ร้านค้าชุมชน และกองทุนหมู่บ้าน เป็ น ต้ น ในพื้ น ที่ ต� ำ บลสมสะอาดมี โรงงาน อุตสาหกรรม 3 แห่ง คือ โรงงานน�ำ้ ตาลมิตรผล กาฬสินธุ์ บริษัท มิตรผลไบโอฟูเอล จ�ำกัด และ บริษัท มิตรผลไบโอพาวเวอร์กาฬสินธุ์ จ�ำกัด
อบต.สมสะอาดชวนเที่ยวงานแห่ดอกไม้
องค์การบริหารส่วนต�ำบลสมสะอาด ก�ำลัง พั ฒ นาสถานที่ ส� ำ คั ญ หลายแห่ ง ให้ เ ป็ น แหล่ ง ท่องเที่ยว และได้มีการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริม การท่ อ งเที่ ย วในระดั บ ต� ำ บล คื อ ประเพณี แห่ดอกไม้ เทศกาลสงกรานต์ โดยจัดขึ้นทุกปี และมี ป ระชาชนมาท่ อ งเที่ ย วชมงานโดย ประมาณ 1,500 คน ทุ ก ปี นอกจากนี้ ยั ง มี กิจกรรมด้านสืบสานประเพณีวัฒนธรรมอย่าง ต่อเนือ่ ง เช่น งานแห่เทียนเข้าพรรษา งานบุญบัง้ ไฟ งานลอยกระทง เป็นต้น KALASIN 113
.
2
.indd 113
9/2/2561 14:42:19
บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล
องค์การบริหารส่วนต�ำบล
บัวขาว
บัวขาวเมืองน่าอยู่ ควบคู่แหล่งน�้ำ น�ำเกษตรวิสากิจ เพริศพิศวัฒนธรรม วิสยั ทัศน์การพัฒนาขององค์การบริหารส่วนต�ำบลบัวขาว ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 134 หมู่ 14 บ้านโนนส�ำราญ อ�ำเภอกุฉินารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์
นางพรพรรณ จันทรเจริญ คณะผู้บริหารและพนักงาน
ประวัติต�ำบลบัวขาว
ต�ำบลบัวขาว เดิมมีชื่อว่า “บ้านบัวขาว” เนื่องจากพื้นที่ส่วนใหญ่ มีหนองน�้ำ และมีดอกบัวขึ้นตามหนองน�้ำเป็นจ�ำนวนมาก จึงเรียกว่า “ต�ำบลบัวขาว” มาจนถึงทุกวันนี้ ต่อมาได้มีการปรับปรุงบูรณะให้เป็น หนองชลประทานกลางเมืองบัวขาว ปัจจุบันเป็นสถานที่ท่องเที่ยวและ พักผ่อนหย่อนใจ และเรียกชื่อใหม่ว่า “อ่างเลิ้งชิว”
นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลบัวขาว
ข้อมูลทั่วไป
องค์การบริหารส่วนต�ำบลบัวขาว จัดเป็น อบต.ขนาดกลาง มีเนื้อที่ 67 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 41,875 ไร่ รับผิดชอบเขตพื้นที่ การปกครองภายในต�ำบลบัวขาว จ�ำนวน 16 หมู่บ้าน มีสินค้า OTOP และพืชเศรษฐกิจ ได้แก่ กล้วยแปรรูป เครื่องจักสาน ผ้าภูไท โรงท�ำ เส้นขนมจีน ผักปลอดสารพิษ ไร่ข้าวโพด ฟาร์มเห็ด
แนวทางการพัฒนาตามวิสัยทัศน์
“บัวขาวเมืองน่าอยู่ ควบคู่แหล่งน�้ำ” หมายถึง การส่งเสริม ให้ประชาชนมีสุขภาพ พลานามัยร่างกายสมบูรณ์แข็งแรง ฟื้นฟูสุขภาพ ของประชาชนให้ได้มาตรฐาน และพัฒนาโรงพยาบาลต�ำบล มุ่งพัฒนา โครงสร้างพื้นฐานและแหล่งน�้ำ สาธารณูปโภค สาธารณูปโภคการ การศึกษาให้ทั่วถึงและมีประสิทธิภาพอย่างยั่งยืน “น�ำเกษตรวิสาหกิจ” หมายถึง ให้การสนับสนุนและส่งเสริม การเกษตรแบบผสมผสานให้ ก ารสนั บ สนุ น และส่ ง เสริ ม การแปรรู ป สินค้าด้านการเกษตร เพื่อพัฒนาด้านเศรษฐกิจอุตสาหกรรมในครัวเรือน และหัตถกรรมในครัวเรือนในต�ำบลบัวขาวให้ดียิ่งขึ้น “เพริศพิศวัฒนธรรม” หมายถึง การส่งเสริมอนุรักษ์วัฒนธรรม ประเพณีท้องถิ่น โดยการส่งเสริม อนุรักษ์ “ฮีตสิบสอง ครองสิบสี่” และภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อให้อนุชนรุ่นหลังได้ศึกษาหาความรู้ 114 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 114
09/02/61 02:39:18 PM
พันธกิจ
1. เสริมสร้างรากฐานของเศรษฐกิจและสังคมไปสู่เมืองน่าอยู่ 2. พัฒนา ปรับปรุงแหล่งน�้ำให้เพียงพอและมีประสิทธิภาพ 3. การเพิ่มขีดความสามารถในการเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร เสริมสร้างทักษะในการผลิตและการตลาด 4. สนับสนุนต่อยอดภูมิปัญญาท้องถิ่น เพิ่มประสิทธิภาพในด้านการผลิต 5. ส่งเสริม สนับสนุน วัฒนธรรม ประเพณีท้องถิ่นอย่างยั่งยืน 6. เสริมสร้างการเพิม่ ประสิทธิภาพการบริหารจัดการพัฒนาแบบบูรณาการ
ผลการด�ำเนินงานส�ำคัญ
นางพรพรรณ จันทรเจริญ นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลบัวขาว ได้รับรางวัล “องค์กรปกครองท้องถิ่นดีเด่น ปี2559 ครั้งที่ 16” ด้ า นการบริ ก ารสาธารณะ ในวั น ที่ 25-26 กุ ม ภาพั น ธ์ 2559 ณ ห้องประชุม กองทัพอากาศ กรุงเทพมหานคร โครงการปั่นจักรยานเพื่อสุขภาพและลดโลกร้อน และ โครงการ ออกก�ำลังกาย ปั่นเพื่อสุขภาพห่างไกลโรค ประจ�ำปี 2559 ณ องค์การ บริหารส่วนต�ำบลบัวขาว โครงการครอบครัว ไทย รู้ รัก สามัคคี งานฉลองครอบครั ว รับพรนานาศาสนาเพื่อสันติภาพ ณ เกาะกลางอ่างเลิ้งชิว กิจกรรมวันเด็กแห่งชาติ ประจ�ำปี 2559 ณ องค์การบริหาร ส่วนต�ำบลบัวขาว
ติดต่ออบต.บัวขาว .indd 115
www.buakhaotambol.go.th
โครงการอบรมส่งเสริม การออกก�ำลังกายเพือ่ สุขภาพ แอโรบิค บาสโลบ และร�ำวงย้อนยุค เขตองค์การบริหารส่วนต�ำบลบัวขาว ประจ�ำปีงบประมาณ 2559 ประเพณีลอยกระทง ประจ�ำปี 2558 ระหว่างวันที่ 23 - 25 พฤศจิกายน 2558 องค์การบริหารส่วนต�ำบลบัวขาวได้เข้าร่วมกิจกรรม แข่งขันเต้นแอโรบิค เต้นบาสโลบ และร�ำวงย้อนยุค โครงการร่วมใจอาสาบริจาคโลหิต เฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ณ องค์การบริหาร ส่วนต�ำบลบัวขาว โครงการชุมชนสะอาดปราศจากพาหะน�ำโรค และ มหกรรม ประกวดคุ้มชุมชนสีเขียว (บ้านกกตาล) โครงการฝึกอบรมอาชีพอิสระคนพิการ โดย อบต.บัวขาวและ ชมรมคนพิการทางการเคลื่อนไหว เทศบาลต�ำบลไผ่
KALASIN 115 www.facebook.com/องค์การบริหารส่วนต� ำบลบัวขาว 09/02/61 02:39:20 PM
บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล
องค์การบริหารส่วนต�ำบล
สามขา
ค�ำขวัญต�ำบลสามขา “สามขาถิ่นวัฒนธรรม น�ำผ้าลายเกล็ดเต่า เล่าลือเจ้าพ่อปู่ น่าดูล�ำพะยัง พรั่งพร้อมด้วยแหล่งน�้ำธรรมชาติ บ้านเมืองสะอาดน่าอยู่ เชิดชูคุณธรรม งามเลิศล�้ำงานแข่งเรือ”
องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บลสามขา ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 91 หมู ่ 17 ต�ำบลสามขา อ�ำเภอกุฉินารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ มีพื้นที่จ�ำนวน 55 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ 18 หมู่บ้าน มีจ�ำนวนประชากร 8,301 คน(ข้อมูลความจ�ำเป็นพื้นฐาน ปี 2559) แยกเป็น ชาย 4,096 คน หญิง 4,205 องค์การบริหารส่วนต�ำบลสามขามีรายได้ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 จ�ำนวน 55,439,473.32 บาท
ผลงานประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ.2560-2561
1. โครงการรับตรวจเยีย่ มและติดตามการด�ำเนินงานป้องกันการบาดเจ็บ จากอุบัติเหตุทางถนน DHS-RTI ระดับประเทศในพื้นที่เขตสุขภาพที่ 7 (ด่านชุมชน) โดยองค์การบริหารส่วนต�ำบลสามขาอ�ำเภอกุฉินารายณ์ จังหวัด กาฬสินธุ์ กรมควบคุมโรคมีนโยบายขับเคลื่อนการด�ำเนินงานป้องกัน การบาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนนระดับอ�ำเภอ ซึ่งเป็นหน่วยจัดการที่มี ประสิทธิภาพและประเมินผลได้ดีที่สุด โดยประยุกต์ใช้ระบบสุขภาพ อ�ำเภอหรืออ�ำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยัง่ ยืน มุง่ เน้นให้เกิดการด�ำเนินงาน ผ่านกลไกการควบคุมป้องกันโรคระดับอ�ำเภอ เชื่อมโยงกับศูนย์ปฏิบัติ การความปลอดภัยทางถนนในระดับอ�ำเภอ (ศปถ.อ�ำเภอ) และการมี ส่วนร่วมของเครือข่ายระดับอ�ำเภอและท้องถิ่น
นายประพาส ตาลพันธุ์ นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลสามขา
2. โครงการจั ด กิ จ กรรมเฉลิ ม พระเกี ย รติ ส มเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว มหาวชิ ร าลงกรณ บดิ น ทรเทพยวรางกู ร เนื่ อ งในโอกาสวั น เฉลิ ม พระชนมพรรษา 65 พรรษา 28 กรกฎาคม 2560 โดยจัดกิจกรรมก�ำจัด ผักตบชวา บริเวณหนองพันคาน หมู่ที่ 2 บ้านสุขแสงทอง ต�ำบลสามขา 3. โครงการสายใยรักและผูกพัน(วันแม่แห่งชาติ) ประจ�ำปีการศึกษา 25620 เพื่อส่งเสริมความสัมพันธ์อันดี เปิดโอกาสให้นักเรียนได้แสดง ความกตัญญูต่อคุณแม่ผู้ให้ก�ำเนิด
116 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .
2
.indd 116
9/2/2561 14:41:20
4. โครงการสื บ สานประเพณี แ ห่ เ ที ย น ประจ�ำปี 2560 “เหมิดทีบ่ ญุ คน เฒ่าสกุลวงศ์ตกต�ำ ่ สมัยใหม่ มาปล�้ำสกุลเฒ่าแตกกระเด็น คือบ่ตามครอง เฒ่าโบราณเฮามันล�ำบาก มันสิทุกข์ยากย้อน ทอนท้ออยู่บ่ดี” สุภาษิตอีสานบทนี้ มีความ หมายว่า “สิ่งดีงามที่ชุมชนถือปฏิบัติร่วมกัน เป็นวัฒนธรรมทีด่ มี าแต่อดีต หากไม่รกั ษาไว้ให้ คงอยู่ ปล่อยให้วฒ ั นธรรมสมัยใหม่เข้ามาแทนที่ ชุมชนของเราจะอยู่เป็นสุขได้อย่างไร” องค์การบริหารส่วนต�ำบลสามขา จึงได้จดั โครงการสื บ สานประเพณี แ ห่ เ ที ย นพรรษา ประจ�ำปี 2560 จัดท�ำขึน้ เพือ่ ส่งเสริมและบ�ำรุง พระพุ ท ธศาสนา และสื บ ทอดวั ฒ นธรรม ประเพณีท้องถิ่นให้คงอยู่สืบไป และเพื่อเสริม สร้างความสามัคคีให้กับพี่น้องประชาชนด้วย 5. โครงการรณรงค์ป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ.2560 องค์การบริหารส่วนต�ำบลสามขา ร่วมกับ ส�ำนักงานปศุสัตว์อ�ำเภอกุฉินารายณ์ จัดโครง การฯขึน้ เพือ่ ให้ประชาชนในเขตองค์การบริหาร ส่วนต�ำบลสามขา มีจติ ส�ำนึกในความรับผิดชอบ ต่อสุนัขและแมวที่เลี้ยง โดยพาไปรับการฉีด วัคซีนให้ครบ เพื่อให้เกิดภูมิคุ้มกันต่อโรคพิษ สุนขั บ้า ซึง่ เป็นการลดความเสีย่ งของประชาชน จากโรคพิษสุนัขบ้า
6. โครงการออกบริการตรวจสอบสถานะของผู้รับเงินเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ ผู้รับเงินเบี้ย ความพิการและผู้รับเงินสงเคราะห์เพื่อการยังชีพผู้ป่วยเอดส์ เพื่อยืนยันสิทธิของผู้รับเงินเบี้ย ยังชีพ ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 KALASIN 117 .
2
.indd 117
9/2/2561 14:41:24
บันทึกเส้นทางพบเทศบาลต�ำบล
เทศบาลต�ำบล หลวงพ่อองค์ด�ำเลื่องลือ เขียวเห็นไกล ป่าสงวนดงระแนง สวยเฟื่องฟ้านามหนองทุ่ม เห็ดปลอดภัยสินค้าดี
อิตื้อ
ต�ำบลอิตื้อวัดจอมธาตุเจดีย์ ใหญ่ แหล่งเพาะช�ำกล้าไม้หนองหญ้าม้า กลุ่มจักสาน หวาย ไม้ ไผ่ ประชาสามัคคีมีควมสุข
คือค�ำขวัญเทศบาลต�ำบลอิตอื้ อ�ำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ โดย ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกห่างจังหวัดกาฬสินธุ์ ประมาณ 31 กิโลเมตร และ ห่างจากอ�ำเภอยางตลาดประมาณ 18 กิโลเมตร
วิสัยทัศน์ (Vision)
เทศบาลต�ำบลอิตอื้ จะเป็นองค์กรทีม่ กี ารบริหารอย่างมีประสิทธิภาพ มุ่งสร้างสรรค์สังคมให้มีคุณธรรม จริยธรรม และวัฒนธรรมอันดีงาม ประชาชนมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ และเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร บุคลากรมี ความรู้ความสามารถ เต็มใจให้บริการเพื่อประชาชน
พันธกิจ (Mission)
1. พัฒนาระบบบริหารจัดการอย่างมี ประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาล 2. ส่ ง เสริ ม การพั ฒ นาสั ง คมที่ มี คุณภาพ จริยธรรมและสมานฉันท์ 3. ส่งเสริมประชาธิปไตย และการมี ส่วนร่วมของประชาชน 4. รักษาขนบธรรมเนียม ประเพณี อันดีงาม และวัฒนธรรมไทย 5. พัฒนาเทคโนโลยี สารสนเทศและ บริการ Internet ต�ำบล 6. ส่งเสริมการพัฒนาพัฒนาบุคลากร ให้มีความรู้ความสามารถ
นายประเทือง บุตรวงค์ นายกเทศมนตรีต�ำบลอิตื้อ
นางชลนิภา รัตตะเวทิน ปลัดเทศบาลต�ำบลอิตื้อ
ประวัติโดยสังเขป
เทศบาลต�ำบลอิตอื้ ได้รบั การยกฐานะจากองค์การบริหารส่วน ต�ำบลอิตื้อ เมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม 2551 ตามประกาศกระทรวง มหาดไทย เรื่องการจัดตั้งองค์การบริหารส่วนต�ำบลอิตื้อ อ�ำเภอ ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ เป็นเทศบาลต�ำบลอิตอื้ อ�ำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ มีพื้นที่โดยประมาณ 31 ตารางกิโลเมตร 118 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย 6
.indd 118
12/2/2561 9:41:09
การปกครอง เทศบาลต�ำบลอิตื้อ แบ่งเขตการปกครองเป็น 12 หมู่บ้าน ดังต่อไปนี้ หมู่ที่ 1 บ้านแก นางทองค�ำ ภูครองหิน ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 2 บ้านแก นายณรงค์ ภูครองหิน ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 3 บ้านแก นายณรงค์ ภูจัตตุณรุจ ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 4 บ้านแก นายสมพงษ์ ภูครองหิน ก�ำนันต�ำบลอิตื้อ หมู่ที่ 5 บ้านดอนขี นายประจักร ตะภา ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 6 บ้านดอนสวรรค์ นายประมูล สีไตรเฮือง ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 7 บ้านยางค�ำ นายคมทวน ปลูกชาลี ผู้ใหญ่บ้าน หมูท่ ี่ 8 บ้านหนองแวงบ่อแก้ว นายวิชติ สิทธิจนั ทร์ ผูใ้ หญ่บา้ น หมู่ที่ 9 บ้านดอนล�ำดวน นายอุรา เหมกุล ผู้ใหญ่บ้าน หมูท่ ี่ 10 บ้านหนองแวงใต้ นายทองดี ภูครองทุง่ ผูใ้ หญ่บา้ น หมู่ที่ 11 บ้านค�ำขอนแก่น นายทองค�ำ เหมกุล ผู้ใหญ่บ้าน หมูท่ ี่ 12 บ้านยางค�ำเหนือ นายสมเมือง กุลชนะรงค์ ผูใ้ หญ่บา้ น
5. นายสุปัน พิณพงษ์ สมาชิกสภาเทศบาลต�ำบลอิตื้อ 6. นายอาทิตย์ ภูชมชื่น สมาชิกสภาเทศบาลต�ำบลอิตื้อ 7. นายสุริยันต์ ฆารเลิศ สมาชิกสภาเทศบาลต�ำบลอิตื้อ 8. นายเฉลียว ภูครองนาค สมาชิกสภาเทศบาลต�ำบลอิตื้อ 9. นายสุรัตน์ นารินทร์ สมาชิกสภาเทศบาลต�ำบลอิตื้อ 10. นายเลียง กุลชนะรงค์ สมาชิกสภาเทศบาลต�ำบลอิตื้อ
ประชากร มี จ� ำ นวนประชากรทั้ ง สิ้ น 8,969 คน แยกเป็ น ชาย 4,425 คน หญิง 4,536 คน มีความหนาแน่นเฉลี่ย 289.32 คน/ ตารางกิโลเมตร (ข้อมูล ณ เดือนพฤศจิกายน พ.ศ.2560) รายชื่อสมาชิกสภา 1. นายเฉลิม ภูครองนาค ประธานสภาเทศบาลต�ำบลอิตื้อ 2. นายวรศักดิ์ สีจันดี รองประธานสภาเทศบาลต�ำบลอิตื้อ 3. นายสมเกียรติ ภูครองแถว เลขานุการสภาเทศบาลต�ำบลอิตื้อ 4. นายสุรชัย ศรีสาร สมาชิกสภาเทศบาลต�ำบลอิตื้อ KALASIN 119 6
.indd 119
12/2/2561 9:41:18
กลุ่มเรียนรู้ที่โดนเด่นของ ทต.อิตื้อ
กลุม่ เพาะเห็ดบ้านดอนล�ำดวน หมูท่ ี่ 9 และหมูท่ ี่ 11 เกิดจากการรวมกลุม่ กันขึน้ ในชุมชนและหมูบ่ า้ น โดยน้ อ มน� ำ หลั ก ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย งของ พระบาทสมเด็ จพระปรมิน ทรมหาภูมิพลอดุยเดช มาปรับใช้ให้เหมาะกับชุมชน ซึ่งมีสมาชิก 120 คน ท�ำการเพาะเห็ดนางฟ้า เห็ดขาว และเห็ดบด จะเห็น ได้ว่าชาวบ้านไม่ว่าเด็กหรือวัยชราก็มีส่วนร่วมท�ำงาน ในทุกขั้นตอน และได้น�ำนวัตกรรมมาช่วยผ่อนแรง และเพิ่มก�ำลังการผลิตมาใช้ เพื่อสร้างรายได้ให้กับ ประชาชนในรูปแบบสหกรณ์มีเงินทุนหมุนเวียนให้ใช้ กันเองในชุมชม โดยจัดตั้งเป็น “กลุ่มออมทรัพย์เพื่อ การผลิต” ซึ่งหลังจากด�ำเนินการมาตั้งแต่ปี 2544 ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต และมีวินัยทางการเงินของ ชาวบ้าน ท�ำให้การเงินมัน่ คง ไม่ขดั สน และได้รบั เลือก เป็นหมูบ่ า้ นเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ เป็นตัวอย่างทีด่ ี จากการเดินตามแนวทางพระราชด�ำรัส โดยรูจ้ กั พอเพียง รู้จักเก็บออมเงินในครัวเรือนและรู้จักรักสามัคคี
หัวหน้ากลุม่ บ้านดอนล�ำดวน หมูท่ ี่ 9 นายอุรา เหมกุล เบอร์โทรศัพท์ 09-0710-0370 หัวหน้ากลุ่มบ้านค�ำขอนแว่น หมู่ที่ 11 นายทองค�ำ เหมกุล เบอร์โทรศัพท์ 08-9710-0370 กลุ่มจักสาน หวาย ไม้ไผ่ บ้านดอนขี หมู่ที่ 5 บ้านดอนสวรรค์ หมู่ที่ 6 บ้านหนองแวง บ่อแก้ว หมู่ที่ 10
เกิดจากกลุ่มกันขึ้นในชุมชนและหมูบ้าน โดยน�ำเอาภูมิปัญญาด้านการจักสานที่มี ตั้งแต่บรรพบุรุษ มาถ่ายทอดให้ลูกหลานได้ฝึกฝนเรียนรู้ร่วมกัน และร่วมกันพัฒนาการ ผลิตวัสดุทใี่ ช้คอื หวาย และไม้ไผ่ น�ำมาจักสานผลิตเป็นของฝาก ของทีร่ ะลึกประจ�ำหมูบ่ า้ น เพือ่ เป็นการขยายเครือข่าย และท�ำให้มรี ายได้มาสูค่ รอบครัวและชุมชน 120 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย 6
.indd 120
12/2/2561 9:41:35
สนใจสั่งซื้อผลิตภัณฑ์ติดต่อ
จั ก สานไม่ ไ ผ่ หมู ่ ที่ 6 หั ว หน้ า กุ ล ่ ม นายประมู ล สี ไ ตรเฮื อ ง เบอร์โทรศัพท์ 08-8511-3352 จักสานหวาย หมูท่ ี่ 10 หัวหน้ากลุม่ นายทองดี ภูครองทุง่ เบอร์โทรศัพท์ 08-7492-1913 กลุ่มเลี้ยงโค กระบือ ด้วยปัญหาความยากจนอันเนือ่ งมาจากความแห้งแล้งของสภาพพืน้ ที่ ท�ำให้ผลผลิตเสียหายอย่างต่อเนื่อง การท�ำเกษตรไม่ได้ผลเท่าที่ควร ประชาชนในพื้นที่เทศบาลต�ำบลอิตื้อจึงตั้งกลุ่มเลี้ยงโค กระบือขึ้น โดยมี กิจกรรมการเลี้ยงโคพื้นเมือง กระบือ มีการอัดฟางข้าว การผลิตเสบียง อาหารสัตว์ การปลูกหญ้าเพื่อเป็นแหล่งอาหารสัตว์ โดยเทศบาลต�ำบลอิ ตือ้ ได้ให้การสนับสนุนงบประมาณอย่างต่อเนือ่ งในเรือ่ งยารักษาโรค และ ให้สัตวแพทย์มาให้ค�ำแนะน�ำในการดูแล หัวหน้ากลุม่ นายบุญนาค ภูจกั รเพชร เบอร์โทรศัพท์ 08-6234-4654 ชมรมผู้สูงอายุต�ำบลอิตื้อ โครงการชมรมผูส้ งู อายุตำ� บลอิตอื้ ริเริม่ โดยได้รบั ขอการสนับสนุนงบ ประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลต�ำบลอิตื้อ เพื่อให้สูง อายุในหมู่บ้านมีสถานที่เรียนรู้กิจกรรมร่วมกัน และส่งเสริมให้ผู้สูงอายุ กลุ่มติดเตียงได้รับการดูแลจากเพื่อนวัยเดียวกัน
กลุ่มจักสานไม้ ไผ่
กลุ่มจักสานหวาย KALASIN 121
6
.indd 121
12/2/2561 9:41:52
โครงการถนนสายบุญ ประจ�ำปี 2560
โครงการศึกษาดูงานด้านการบริหารจัดการขยะมูลฝอยระดับชุมชน ประจ�ำปี 2560
โครงการออกประชาคมการบริหารจัดการขยะมูลฝอยในชุมชน โดยใช้หลักการ3Rs 122 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย 6
.indd 122
12/2/2561 9:41:55
แหล่งท่องเที่ยวที่ส�ำคัญ
วั ด จอมธาตุ หมู ที่ 3 เป็ น วั ด ที่ มี พระบรมสารี ริ ก ธาตุ นั บ เป็ น วั ต ถุ ม งคล สู ง สุ ด ส� ำ หรั บ ให้ พุ ท ธศาสนิ ก ชนได้ ยึ ด เหนี่ยวเป็นที่พึ่ง ที่ระลึก และสักการบูชา น้อมน�ำสู่สัมมาปฏิบัติอันเป็นวิถีทางแห่ง สวรรค์ และมีความเชื่อว่าหากผู้ใดได้กราบ สักการบูชาพระบรมสารีรกิ ธาตุ ผูน้ นั้ ถือว่า เป็นผู้มีบุญบารมี หนองหญ้าม้า หมูท่ ี่ 4 เป็นอ่างเก็บน�ำ้ ขนาดกลางใช้กักเก็บน�้ำเพื่อเกษตร และ เป็นแหล่งประมงน�้ำจืดที่ส�ำคัญ เป็นแหล่ง น�ำ้ เพือ่ การเพาะช�ำกล้าไม้ให้แก่สถานีเพาะ ช�ำกล้าไม้จังหวัดกาฬสินธุ์ และแจกจ่ายให้ ประชาชนมี ก ล้ า ไม้ ไ ว้ ป ลู ก ตามหั ว ไร่ ปลายนาและการปลูกป่า ศูนย์เพาะช�ำกล้าไม้ เป็นสถานีแหล่ง ช�ำกล้าไม้ของจังหวัดกาฬสินธุ์ และเป็น สถานเพาะช� ำ กล้ า ไม้ เ พื่ อ แจกจ่ า ยให้ ประชาชนมี ก ล้ า ไม้ ไ ว้ ป ลู ก ตามหั ว ไร่ ปลายนา และการปลูกป่า KALASIN 123 6
.indd 123
12/2/2561 9:42:04
บันทึกเส้นทางพบเทศบาลต�ำบล
เทศบาลต�ำบล
ยางตลาด การบริการสาธารณะ คือ หัวใจของท้องถิ่น จากกระแสแนวคิดในการปฏิรูปองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อ ให้เกิดการกระจายอ�ำนาจ ภายใต้การบริหารงานด้วยความโปร่งใส เปิดเผยและมีส่วนร่วมนั้น ถือเป็นหัวใจหลักส�ำคัญอย่างยิ่งต่อการ จัดท�ำบริการสาธารณะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เทศบาลต�ำบลยางตลาด ซึ่งน�ำโดย ดร.เกรียงไกร ภูมิเหล่าแจ้ง นายกเทศมนตรี ต� ำ บลยางตลาด และนายกสมาคมเทศบาลจั ง หวั ด กาฬสินธุ์ (อดีตนายกสมาคมสันนิบาตเทศบาลแห่งประเทศไทย คนที่ 29) ได้น�ำหลักการที่เป็นหัวใจหลักส�ำคัญในการจัดท�ำบริการสาธารณะ มา บูรณาการภายใต้แนวคิดในการพัฒนา “เทศบาลเมืองน่าอยู่ เมืองคนดี เมืองมีความสุข” โดยได้มีการด�ำเนินกิจกรรมหรือโครงการที่เป็นหัวใจ หลักที่ส่งเสริมให้คนในชุมชนมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนภารกิจส�ำคัญ 3 ด้าน คือ 1. ด้านคุณภาพชีวติ 2. ด้านการส่งเสริมการมีสว่ นร่วม 3. ด้าน สังคมและเศรษฐกิจ ประกอบด้วย 1. โครงการตลาดถนนคนเดิน โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ ส่งเสริมให้คนใน ชุมชนมีรายได้เพิ่มขึ้น มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น 2. โครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการคัดแยกขยะที่ ต้นทาง (ธนาคารขยะ) โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ ส่งเสริมให้ชมุ ชนก�ำจัดขยะ มูลฝอยให้ถกู ต้องตามหลักวิชาการตามขัน้ ตอนดังนี้ 1.การลดและคัดแยก ณ แหล่งก�ำเนิด 2.การเก็บรวบรวม 3.การเก็บกัก 4.การขนส่ง 5.การแปรสภาพ 6.การก�ำจัดหรือท�ำลายด้วยวิธีที่ถูกต้องเหมาะสมตามหลักสุขาภิบาล ซึง่ จะท�ำให้สขุ อนามัยของคนในชุมชนดีขนึ้ ไม่สง่ ผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม
ดร.เกรียงไกร ภูมิเหล่าแจ้ง นายกเทศมนตรีต�ำบลยางตลาด
3. โครงการส่งเสริมความรู้แก่ผู้สูงวัย หรือกิจกรรมโรงเรียนปริญญา ชีวิตเทศบาลต�ำบลยางตลาด โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้ ภาคสังคมมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนในการด�ำเนินกิจกรรมในรูปแบบ นักเรียนผู้สูงวัยแต่หัวใจวัยหนุ่มสาว ซึ่งเป็นกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้กลุ่ม ผู้สูงอายุได้มีเวทีในการด�ำเนินกิจกรรมในรูปแบบต่างๆ เช่น การแสดง การเรียนรู้ทางวิชาการ การฝึกอาชีพ การดูแลรักษาสุขภาพ เป็นต้น จะเห็นได้วา่ ทัง้ 3 โครงการนีถ้ อื เป็นค�ำตอบในการจัดท�ำบริการสาธารณะ ที่เทศบาลจะต้องมีการต่อยอดขับเคลื่อนต่อไป ฉะนั้นแล้ว การด�ำเนินกิจกรรมของเทศบาลต�ำบลยางตลาดล้วนแต่ ด�ำเนินการภายใต้หลักการส�ำคัญทีเ่ ป็นหัวใจหลัก ทีจ่ ะท�ำให้ประชาชนใน ชุมชนได้รับการบริการสาธารณะจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอย่าง เท่าเทียม จุดนี้ถือเป็นหลักส�ำคัญยิ่งที่จะตอบโจทย์ในการปฏิรูปองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น ว่าหลักการกระจายอ�ำนาจแท้จริงแล้วควรจะเป็น อย่างไร ซึง่ ผมเห็นว่า “จะต้องเกิดผลในทางปฏิบตั แิ ละคนในชุมชนต้อง มีส่วนร่วม” ถึงจะท�ำให้เกิดการจัดบริการสาธารณะที่ดีต่อคนในชุมชน ดังเช่นโครงการที่กล่าว
124 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .
2
.indd 124
14/2/2561 10:39:54
โครงการตลาดประชารัฐคนไทยยิ้มได้ (ถนนคนเดิน) เทศบาล ต�ำบลยางตลาด (Yangtalad Walking Street) ถนนคนเดินเทศบาลต�ำบลยางตลาด เกิดขึ้นจากแนวนโยบายการ พัฒนาเทศบาลต�ำบลยางตลาดให้เป็น “เมืองน่าอยู่ เมืองคนดี เมืองมี ความสุข” ของ ดร.เกรียงไกร ภูมิเหล่าแจ้ง นายกเทศมนตรีต�ำบล ยางตลาด เพื่อส่งเสริมให้พื้นที่ได้มีแหล่งท่องเที่ยว ประชาชนในพื้นที่มี อาชีพเสริม เพิ่มรายได้สู่ครัวเรือน โดยใช้พื้นที่ถนนเวียงเพิ่ม(ข้างบ้านพัก นายอ�ำเภอ) เป็นพื้นที่ตลาดใช้แนวคิด Walking Street เป็นจุดขาย ปี 2556-2557 ตลาดผ่านการประเมินมาตรฐานเป็นตลาดนัดต้นแบบ มาตรฐานกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข เพียงแห่งเดียวในจังหวัด กาฬสินธุ์ ปัจจุบันได้ยกระดับเป็น ตลาดประชารัฐคนไทยยิ้มได้(ถนนคน เดิน)เทศบาลต�ำบลยางตลาด ตามแนวนโยบายรัฐบาล
โรงเรียนปริญญาชีวิตเทศบาลต�ำบลยางตลาด (โครงการส่ง เสริมความรู้แก่ผู้สูงวัย) โรงเรียนปริญญาชีวิต หรือโครงการส่งเสริมความรู้แก่ผู้สูงวัยเป็น นโยบายการพัฒนาส่งเสริมคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ เพื่อเตรียมรับมือกับ สังคมผูส้ งู อายุทจี่ ะมีมากขึน้ เรือ่ ย โดยใช้รปู แบบ “โรงเรียนปริญญาชีวติ ” เป็นกุศโลบายเพือ่ ส่งเสริมการเรียนรูต้ ลอดชีวติ การพัฒนาทักษะเพือ่ การ พึ่งพาตนเอง ขณะเดียวกันก็เป็นพื้นที่ของผู้สูงอายุจะได้แสดงศักยภาพ โดยการถ่ายทอดภูมคิ วามรู้ ประสบการณ์ทสี่ งั่ สมแก่บคุ คลอืน่ เพือ่ สืบสาน ภูมิปัญญาให้คงคุณค่าคู่ชุมชนต่อไป
โครงการส่งเสริมการมีสว่ นร่วมของชุมชนในการคัดแยกขยะที่ ต้นทาง ของเทศบาลต�ำบลยางตลาด
ปัญหาขยะเป็นปัญหาที่ประเทศชาติให้ความส�ำคัญซึ่งทั้งหน่วยงาน ภาครัฐและเอกชนต่างต้องร่วมมือกันแก้ไข ดร.เกรียงไกร ภูมิเหล่าแจ้ง นายกเทศมนตรีต�ำบลยางตลาด จึงไม่นิ่งนอนใจที่จะสร้างนวัตกรรมการ มีส่วนร่วมให้กับชุมชน ด้วยการให้ชุมชนมีจิตส�ำนึกในการทิ้งขยะและ การคัดแยกขยะก่อนทิง้ เพือ่ เป็นแนวทางในการก�ำจัดขยะให้ถกู ต้องอย่าง เหมาะสมและรักษาสิง่ แวดล้อม กระทัง่ เทศบาลฯ ได้รบั รางวัลโล่ประกาศ เกียรติคุณระดับดีเยี่ยม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้นแบบที่มีรูปแบบ การจัดการขยะทีเ่ หมาะสมระดับภาค, โล่ประกาศเกียรติคณ ุ และประกาศ เกียรติบัตรต่างๆ อีกมากมาย KALASIN 125 .
2
.indd 125
14/2/2561 10:40:05
บันทึกเส้นทางพบเทศบาลต�ำบล
เทศบาลต�ำบล
บัวบาน
โครงการแหล่งท่องเที่ยวบึงบัวบาน
หลักการและเหตุผล บึงบัวบานเป็นบึงธรรมชาติขนาดใหญ่ มีพื้นที่จ�ำนวน 154 ไร่ ตั้งอยู่ กึ่งกลางของพื้นที่ต�ำบล มีหมู่บ้านล้อมรอบทั้งหมด 5 หมู่บ้าน ประกอบ ด้วยบ้านตูม หมู่ที่ 4, บ้านเหล่า หมู่ที่ 5, บ้านแดง หมู่ที่ 3, บ้านเว่อ หมู่ที่ 2, บ้านร่มเย็น หมู่ที่ 15 ปั จ จุ บั น ได้ รั บ งบประมาณจากจั ง หวั ด กาฬสิ น ธุ ์ มาขุ ด ลอกเพื่ อ ประโยชน์ในการกักเก็บน�้ำทั้งในด้านการเกษตรและการประมงพื้นบ้าน ท�ำให้บึงบัวบานมีพื้นที่เก็บน�้ำมากขึ้น มีถนนล้อมรอบประชาชนสามารถ ใช้สัญจร และขนพืชผลทางการเกษตรได้โดยสะดวก รวมทั้งเป็นสถานที่ ออกก�ำลังกาย นอกจากนี้เทศบาลต�ำบลบัวบานยังใช้เป็นสถานที่จัด กิจกรรมต่างๆ เช่น การแข่งเรือ ประเพณีลอยกระทง เป็นต้น และใน ปัจจุบนั บริเวณเกาะกลางของบึงแห่งนีย้ งั เป็นสถานทีต่ งั้ ของ พระพุทธบัวบาน มิ่งมงคล ขนาดฐานขององค์พระสูง 4.5 เมตร องค์พระสูง 11.5 เมตร รวมความสูง 16 เมตร ตั้งสูงเด่นเป็นที่เหลื่อมใส เคารพกราบไหว้ของ ประชาชนในเขตเทศบาลต�ำบลบัวบาน และพุทธศาสนิกชนโดยทั่วไป เทศบาลต�ำบลบัวบาน ได้ตงั้ เจตจ�ำนงค์ทจี่ ะพัฒนาบึงบัวบานให้เป็น แหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ให้แก่ประชาชนในเขตต�ำบล และผู้สนใจโดย ทั่วไป ซึ่งสอดรับกับนโยบายของรัฐบาลที่ต้องการให้แต่ละท้องถิ่นมีจุด เด่นด้านการท่องเทีย่ วซึง่ จะส่งผลดีทงั้ ทางด้านจิตใจ และรายได้ นอกจาก นี้หากบึงบัวบานมีดอกบัวบานสะพรั่งเต็มน�้ำก็จะเหมาะสมกับชื่อต�ำบล ที่ได้กล่าวขานว่า ต�ำบลบัวบาน
นายสุพรรณ ภูบุญเติม นายกเทศมนตรีเทศบาลต�ำบลบัวบาน
126 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย 2
.indd 126
14/2/2561 10:47:05
ข้อมูลทั่วไป เทศบาลต�ำบลบัวบานยกฐานะเป็นเทศบาลต�ำบลเมื่อ วันที่ 18 กรกฏาคม 2551 มีหมู่บ้านในเขตปกครองจ�ำนวน 23 หมู่บ้าน มีพื้นที่ โดยประมาณ 82 ตารางกิโลเมตร ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของจังหวัด กาฬสินธุ์ห่างจากที่ว่าการอ�ำเภอยางตลาดประมาณ 11 กิโลเมตร ประกอบด้วยครัวเรือน 3,743 ครอบครัว จ�ำนวนประชากร 13,154 คน เป็นต�ำบลที่มีขนาดใหญ่ที่สุดของอ�ำเภอยางตลาด ก�ำนันต�ำบลบัวบาน คนแรก ชื่อ นายขุน ชินฤทธิ์ เหตุที่ตั้งชื่อต�ำบลว่า “บัวบาน” เพราะมี บึงบัวบานขนาดใหญ่อยูบ่ ริเวณพืน้ ทีต่ รงกลางต�ำบล ส�ำนักงานเทศบาล ตั้งอยู่บนที่สาธารณะประโยชน์บ้านโคกใหญ่ หมู่ที่ 1 ติดถนนสายเข้า ปากทางเขื่อนล�ำปาว สภาพภูมิประเทศ เทศบาลต�ำบลบัวบานมีภูมิประเทศเป็นที่ราบลุ่ม พื้นที่ทั้งหมดอยู่ ใต้เขือ่ นล�ำปาวจึงสามารถรับน�ำ้ จากระบบชลประทานได้ตลอดปีเหมาะ แก่การปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์ การประกอบอาชีพ ประชากรร้อยละ 90 ประกอบอาชีพด้านการเกษตรด้วยการท�ำนา เป็นหลัก รองลงมาคือ เลีย้ งกุง้ ก้ามกราม และประกอบอาชีพเสริมอืน่ ๆ เช่นปลูกไม้ผล ปศุสัตว์ และปลูกผักกะเฉดน�้ำ เป็นต้น การเลี้ยงกุ้ง ก้ามกรามเป็นอาชีพที่สร้างรายได้และชื่อเสียงให้กับต�ำบลบัวบานเป็น อย่างมาก เพราะเป็นแหล่งเลีย้ งกุง้ ก้ามกรามมากทีส่ ดุ ในภาคตะวันออก เฉียงเหนือ ปัจจุบันมีพื้นที่เลี้ยงกุ้งก้ามกรามทั้งหมดประมาณ 6,000 ไร่
แหล่งกุ้งก้ามกราม
โครงการส่งเสริมการมีสว่ นร่วมของชุมชนในการคัดแยกขยะ หลักการและเหตุผล ลักษณะทางเป็นพื้นที่เกษตรกรรม ส่วนใหญ่ประชาชนประกอบ อาชีพเกษตรกรรมมีบางส่วนทีป่ ระกอบอาชีพค้าขาย ลักษณะชุมชนส่วน ใหญ่เป็นชุมชนชนบท แหล่งก�ำเนิดขยะมูลฝอยที่ส�ำคัญคือบ้านเรือน และร้านค้าในชุมชน การส่งเสริมการจัดการขยะมูลฝอยให้ได้ผลดีและ เกิดประโยชน์สูงสุดนั้น การมีส่วนร่วมของชุมชนในการลดปริมาณขยะ โดยการคัดแยกขยะมูลฝอยประเภทต่างๆ เช่น ขยะรีไซเคิล,ขยะอินทรีย,์ ขยะอันตราย,ขยะทั่วไป เพื่อให้ประชาชนรู้จักประโยชน์และมูลค่าของ ขยะ ตั้งแต่ในระดับครัวเรือน จึงเป็นการแก้ไขปัญหาที่แท้จริงและมี ความยั่งยืนมากที่สุด
การคัดแยกขยะ KALASIN 127
2
.indd 127
12/2/2561 9:40:16
บันทึกเส้นทางพบเทศบาลต�ำบล
เทศบาลน่าอยู่ เชิดชูคุณธรรม น้อมน�ำเศรษฐกิจพอเพียง เทศบาลต�ำบล
เขาพระนอน อ.ยางตลาด จ.กาฬสินธุ์ พันธกิจ
1. พัฒนาการเกษตรและอุตสาหกรรม 2. พัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อสร้างอาชีพและรายได้ 3. พัฒนาการศึกษา ศาสนาวัฒนธรรมและนันทนาการ 4. อนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 5. พัฒนาเมืองและชนบทอย่างยั่งยืน
ข้อมูลทั่วไป
ต� ำ บลเขาพระนอนอยู ่ ท างทิ ศ เหนื อ ของอ� ำ เภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ อยู่ห่างจากอ�ำเภอ 26 กิโลเมตร มีสภาพภูมิประเทศ เป็นที่ราบสูงมีป่าดงระแนงเป็นที่กั้นอาณาเขตทางทิศใต้ พื้นที่ส่วนใหญ่ ใช้ท�ำการเกษตรมีประชากรทั้งสิ้น 6,015 คน 1,708 ครัวเรือน มีพื้นที่ ทั้งหมด 32.149 ตารางกิโลเมตร
จุดเด่นของพื้นที่
พื้ น ที่ ข องเทศบาลต� ำ บลเขาพระนอนส่ ว นใหญ่ ป ระกอบอาชี พ หลากหลายเช่น ไร่ออ้ ย ไร่มนั ส�ำปะหลัง ยางพารา นาข้าว เลีย้ งกุง้ ก้ามกราม
กิจกรรมเด่นในปี๖๐ กิจกรรมสร้างฝายมีชีวิต และกิจกรรมปลูกป่า ณ ป่าสงวนแห่งชาติดงระแนง 128 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 128
9/2/2561 14:38:08
บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล
องค์การบริหารส่วนต�ำบล
หัวงัว
การศึกษาดี มีงานท�ำ เป็นผู้น�ำด้านเศรษฐกิจ ผลิตภัณฑ์ก้าวหน้า พัฒนาเกษตร สาธารณสุข ปลูกฝังคุณธรรม ล�้ำเลิศเทคโนโลยี คือวิสัยทัศน์การพัฒนาขององค์การบริหารส่วนต�ำบลหัวงัว อ�ำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ปัจจุบันมี นายสมโภชน์ ภูหมั่นเพียร ด�ำรงต�ำแหน่ง นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลหัวงัว / นายโกศรี ภูวิภาค รองนายก อบต.หัวงัว / นายสุวิทย์ ภูดินทราย รองนายก อบต.หัวงัว / นางอรทัย ภูสมิ า ต�ำแหน่งเลขานุการนายก อบต.หัวงัว และ นายค�ำนึง พรสีมา ปลัดองค์การบริหาร ส่วนต�ำบลหัวงัว
เป้าหมายการพัฒนา
การบริหารราชการขององค์การบริหารส่วนต�ำบลหัวงัว สามารถบรรลุถึงเป้าหมายภารกิจ อย่างมีประสิทธิภาพ และสอดคล้องเชือ่ มโยงกับทิศทางการพัฒนาประเทศชาติ เพือ่ ต้องการเห็นสังคมไทย เป็นสังคมอยู่เย็นเป็นสุข คนไทยมีคุณธรรม น�ำความรู้ รู้ทันโลก ครอบครัวอบอุ่น ชุมชนเข้มแข็ง สั ง คมสั น ติ สุ ข เศรษฐกิ จ มี คุ ณ ธรรม เสถี ย รภาพ และเป็ น ธรรม สิ่ ง แวดล้ อ มมี คุ ณ ภาพและ ทรัพยากรธรรมชาติยงั่ ยืน อยูภ่ ายใต้ธรรมาภิบาล ด�ำรงไว้ซงึ่ ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ เป็นประมุข และอยู่ภายใต้ประชาคมโลกอย่างเสรี ประการส�ำคัญ คือ การน้อมน�ำเอาแนวพระราช ด�ำรัสเกีย่ วกับเศรษฐกิจพอเพียง มาประยุกต์ใช้เป็นแนวทางในการจัดท�ำแผนพัฒนาต�ำบลให้มากทีส่ ดุ และเพิ่มเติมในส่วนที่เห็นว่าเป็นเรื่องที่สอดคล้องกับสภาพปัญหา สถานการณ์จริงที่เกิดขึ้นในท้องถิ่น
นายสมโภชน์ ภูหมั่นเพียร นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลหัวงัว
โครงการเด่น ปี 2560
โครงการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดตามนโยบายของรัฐบาล ประจ�ำปี 2560 และโครงการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ผู้พิการต�ำบลหัวงัว ประจ�ำปีงบประมาณ 2560
จากใจนายก อบต.หัวงัว
ในฐานะผู้อาสาเข้ามาเพื่อรับใช้พี่น้องประชาชนชาวต�ำบลหัวงัว ด้วย ความตั้งใจจริงที่จะช่วยกันพัฒนาบ้านของเราให้มีความเจริญก้าวหน้า เกิดการพัฒนาทีย่ งั่ ยืน ด้วยความพร้อม และจะขอท�ำหน้าทีใ่ ห้ดที สี่ ดุ ด้วย ความซื่อสัตย์ สุจริต เที่ยงธรรม และมุ่งเน้นการท�ำงานที่มีคุณภาพและ ประสิทธิภาพ ตามสโลแกนที่ว่า “พัฒนาก้าวไกล ทันใจ ประชาชน” KALASIN 129 .
1
.indd 129
9/2/2561 14:39:32
บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล
องค์การบริหารส่วนต�ำบล
นาดี
น�้ำคือชีวิต : ศาสตร์พระราชาสู่แปลงเกษตรผสมผสานประชารัฐ “หลักส�ำคัญว่าต้องมีน�้ำบริโภค น�้ำใช้ น�้ำเพื่อการเพาะปลูก เพราะว่าชีวติ อยูท่ นี่ นั่ ถ้ามีนำ�้ คนอยูไ่ ด้ ถ้าไม่มนี ำ�้ คนอยูไ่ ม่ได้ ไม่มไี ฟฟ้า คนอยู่ได้ แต่ถ้ามีไฟฟ้าไม่มีน�้ำคนอยู่ไม่ได้” การน�ำศาสตร์พระราชามา ปรับใช้ให้เกิดประโยชน์ สู่วิถีชีวิตของประชาชนทั้งในภาคเกษตรกรรม สร้างผลผลิตที่หลากหลาย ลดความเหลื่อมล�้ำทางสังคม สามารถลดราย จ่ายและสร้างรายได้อย่างต่อเนื่องสร้างโอกาสให้คนยากจน ซึ่งการท�ำ เกษตรผสมผสานเป็นการประยุกต์ใช้ด้วยการพึ่งตนเอง โดยยึดหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพือ่ การบริโภคเป็นส�ำคัญส่วนทีเ่ หลือน�ำมาแบ่ง ปันและรวมกลุม่ ขายออกสูต่ ลาดให้ประชาชนเกิดภูมคิ มุ้ กันสร้างความเข้ม แข็งให้แก่ชุมชน สามารถด�ำรงชีวิตอยู่ได้อย่างมีคุณภาพท่ามกลางการ เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นรอบด้าน เพื่อเป็นการเฉลิมพระเกียรติพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรากูร เนื่องใน วโรกาสทรงเจริญพระชนมพรรษา 65 พรรษา วันที่ 28 กรกฎาคม 2560 สถานที่ด�ำเนินการ บริเวณสวนสาธารณะข้างหนองนาดี บ้านนาดี หมู่ที่ 8,9 ต�ำบลนาดี อ�ำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผู้รับผิดชอบโครงการ ส�ำนักปลัดองค์การบริหารส่วนต�ำบลนาดี อ�ำเภอยางตลาด จังหวัด กาฬสินธุ์
นายศุภชัย ภูดอนม่วง นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลนาดี
130 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย V.2
.
2.indd 130
9/2/2561 14:40:27
โครงการกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุต�ำบลนาดี ประจ�ำปี 2561 องค์การบริหารส่วนต�ำบลนาดี ร่วมกับ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ต�ำบลบ้านปอแดง และชมรมผูส้ งู อายุตำ� บลนาดี ได้จดั ตัง้ โรงเรียนผูส้ งู อายุ ต�ำบลนาดี จ�ำนวน 2 โรงเรียนขึ้น เพื่อตระหนักถึงความส�ำคัญในการ ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ และให้สมาชิกในชมรมผู้สูงอายุได้ท�ำกิจกรรม ร่วมกัน ส่งเสริมการเรียนรู้ การดูแลสุขภาพร่างกายและจิตใจ ให้แข็งแรง มีความสุข มีรอยยิ้ม มีก�ำลังใจไม่เป็นโรคซึมเศร้า ผู้สูงอายุห่วงใยไม่ทอด ทิง้ กันมีการรวมกลุม่ ช่วยเหลือกันและกันในสังคมพร้อมกับการออกก�ำลัง กายทั้งด้านสุขภาพ กาย สุขภาพจิต และถ่ายทอดภูมิปัญญาชาวบ้าน เศรษฐกิจ สังคม ปัญหาเกีย่ วกับครอบครัว ปัญหาค่านิยมทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป ผู ้ สู ง อายุ เ ป็ น บุ ค คล ที่ ส ถาบั น ครอบครั ว ไทยให้ ก ารเคารพยกย่ อ ง มากที่สุด เพราะเป็นบุคคลที่มีประสบการณ์ในชีวิตสูงความสามารถ ถ่ายทอดภูมิปัญญาชาวบ้าน ประเพณีวัฒนธรรมและค�้ำจุนจิตใจ ให้แก่ บุคคลในครอบครัว ชุมชน และสังคม ได้อย่างต่อเนื่องมาโดยตลอด สถานที่ด�ำเนินการ - วัดกลางสีมาราม หมูที่ 9 ต�ำบลนาดี อ�ำเภอยางตลาด จังหวัด กาฬสินธุ์ (เรียนทุกวันพุธ) - วัดสว่างชัยศรี หมูที่ 4 ต�ำบลนาดี อ�ำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ (เรียนทุกวันศุกร์) หน่วยงานที่รับผิดชอบ องค์การบริหารส่วนต�ำบลนาดี อ�ำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ โครงการตรวจสอบสถานะแสดงการด�ำรงชีวิตอยู่และออกเยี่ยมยาม ถามไถ่ผู้สูงอายุ, ผู้พิการ และผู้ป่วยเอดส์ ขององค์การบริหารส่วน ต�ำบลนาดี ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 (นอกสถานที่) ตามที่กระทรวงมหาดไทยได้แจ้งแนวทางปฏิบัติให้องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นถือปฏิบัติตามระเบียบ โดยได้ก�ำหนดให้ภายในเดือนตุลาคม ของทุกปี ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ด�ำเนินการตรวจสอบสถานะของ ผูร้ บั เบีย้ ยังชีพผูส้ งู อายุ ผูพ้ กิ าร และผูป้ ว่ ยเอดส์ ให้แสดงการด�ำรงชีวติ อยู่ ในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั้ง 9 หมู่บ้าน ที่ตนรับเบี้ยยังชีพ โดยจะ แสดงด้วยตนเองหรือมีการรับรองของนายทะเบียนอ�ำเภอหรือนาย ทะเบียนท้องถิ่นก็ได้ หรือให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตรวจสอบการ ด�ำรงชีวิตอยู่ จากฐานข้อมูลทะเบียนราษฎร หรือหลักฐานอื่นที่สามารถ ตรวจสอบได้ เพื่อรับทราบถึงปัญหา ข้อเสนอแนะในการดูแลผู้มีปัญหา ด้านสุขภาพ ด้านร่างกาย จิตใจ สังคมและให้การช่วยเหลือ องค์การ บริหารส่วนต�ำบลนาดี จึงเล็งเห็นความส�ำคัญในการให้บริการประชาชน เพื่ออ�ำนวยความสะดวกและออกเยี่ยมยามถามไถ่ ให้ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผูป้ ว่ ยเอดส์ ได้รบั บริการจากหน่วยงานของรัฐอย่างทัว่ ถึง และลดขัน้ ตอนการปฏิบัติงานในการใช้บริการของประชาชนที่อยู่พื้นที่ห่างไกลจาก องค์การบริหารส่วนต�ำบลนาดี สถานที่ด�ำเนินการ ทีท่ ำ� การ องค์การบริหารส่วนต�ำบลนาดี และศาลากลางบ้านทุกหมูบ่ า้ น หน่วยงานที่รับผิดชอบ งานสวัสดิการสังคมและพัฒนาชุมชน ส�ำนักปลัดองค์การบริหาร ส่วนต�ำบลนาดี อ�ำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ KALASIN 131 V.2
.
2.indd 131
9/2/2561 14:40:31
บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล
องค์การบริหารส่วนต�ำบล
หนองตอกแป้น
องค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองตอกแป้น ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 259 หมูท่ ี่ 5 ต�ำบลหนองตอกแป้น อ�ำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ตั้งอยู่บริเวณ ทิศตะวันออกเฉียงใต้ของอ�ำเภอยางตลาด ห่างจากอ�ำเภอยางตลาด ประมาณ 11 กิโลเมตร ห่างจากจังหวัดกาฬสินธุ์ประมาณ 20 กิโลเมตร มีพื้นที่ 21.14 ตามรางกิโลเมตร หรือประมาณ 13,213 ไร่ สภาพพื้นที่ ทั่วไปเป็นที่ราบสูง ไม่มีคลองชลประทานไหลผ่าน ท�ำการเกษตรต้องรอ น�้ำฝน มีเฉพาะแหล่งน�้ำที่สร้างขึ้น เช่น หนองน�้ำสาธารณะ
ต�ำบลหนองตอกแป้น ได้จดั ตัง้ เป็นต�ำบล ลงวันที่ 21 สิงหาคม 2538 ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย ลงวันที่ 21 สิงหาคม 2538 และได้ยก ฐานะเป็นองค์การบริหารส่วนต�ำบล เมื่อวันที่ 11 สิงหาคม 2542 โดยมี เขตการปกครอง 9 หมู่บ้าน และได้มีการแยกเขตการปกครองเพิ่มอีก 1 หมู่บ้าน เมื่อ พ.ศ. 2543 รวมมีเขตการปกครอง 10 หมู่บ้าน
ทรงเกียรติ ล้านพลแสน
นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองตอกแป้น
132 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .
2
.indd 132
9/2/2561 14:31:22
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กต�ำบลหนองตอกแป้น
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กต�ำบลหนองตอกแป้น ได้รับถ่ายโอน จากกรมศาสนา เมือ่ วันที่ 5 มิถนุ ายน 2551 ปัจจุบนั ได้รว่ มมือ กับมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย,มหาวิทยาลัยมหาสารคามจัดท�ำ “โครงการลดความเหลื่ อ มล�้ ำ ด้ ว ยการศึ ก ษาปฐมวั ย ที่ มี คุณภาพ (Reducing Inequality through Childhood Education : RIECE Thailand)” จัดการเรียนการสอนผ่าน หลักสูตรไฮสโคป (HighScope) ที่เน้นขั้นตอนส�ำคัญ 3 ขั้น ตอนคือ วางแผน(Plan) การลงมือปฏิบัติ (Do) และการ น�ำเสนอ (Review) และเป็นศูนย์ฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการใน สถานที่จริง (On-Site Training)
ชมรมผู้สูงอายุต�ำบลหนองตอกแป้น
นายบุญเรือง ภูเขียวข�ำ ที่ปรึกษา ดังนี้ พระครูอุทัย ธรรมประโชติ นายทรงเกียรติ ล้านพลแสน นาจุฑามณี ค�ำแหงพล ปัจจุบันมีสมาชิกชมรม จ�ำนวน 501 คน กิจกรรมชมรมคือ การสมทบทุนเพื่อจ่ายเป็นค่าฌาปนกิจให้กับสมาชิก ชมรมผู้สูงอายุต�ำบลหนองตอกแป้น ได้ก่อตั้งโรงเรียน ผู้สูงอายุต�ำบลหนองตอกแป้น เมื่อวันที่ 7 มกราคม 2559 จัดกิจกรรมทุกวันพุธ
เศรษฐกิจพอเพียง
องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บลหนองตอกแป้ น ได้ เ ห็ น ความส�ำคัญในด้านสุขภาพของประชาชนจึงจัดท�ำโครงการ ส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษ/ผักกางมุง้ เพือ่ ให้ประชาชน ได้บริโภคผักปลอดสารพิษ และเพื่อน้อมน�ำหลักปรัชญา เศรษฐกิ จ พอเพี ย งของพระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทร มหาภูมิพลอดุลยเดช มาใช้เป็นแนวทางในการด�ำรงชีวิต ของประชาชน เพื่อส่งเสริมให้เกิดความเข้มแข็งในระดับ ฐานรากของสังคม
KALASIN 133 .
2
.indd 133
9/2/2561 14:31:33
บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล
องค์การบริหารส่วนต�ำบล
ดอนสมบูรณ์ วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรที่มุ่งบริหารงานโดยยึดหลักธรรมาภิบาล พัฒนาคน พัฒนางาน พัฒนาองค์กร เพื่อประโยชน์สุขของประชาชน
ข้อมูลทั่วไป
องค์การบริหารส่วนต�ำบลดอนสมบูรณ์ ตั้งอยู่ หมู่ที่ 1 บ้าน ดอนยางนาง ต�ำบลดอนสมบูรณ์ อ�ำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ อยู่ทางทิศตะวันตกของจังหวัดกาฬสินธุ์ ห่างจากศาลากลาง 8 กิโลเมตร อยู่ห่างจากอ�ำเภอยางตลาดทางทิศตะวันออก 12 กิโลเมตร มีพื้นที่ ประมาณ 16,327 ไร่ หรือ26.124 ตารางกิโลเมตร คิดเป็นร้อยละ 4.20 ของพื้นที่ทั้งอ�ำเภอมีพื้นที่ 16,000 ไร่ พื้นที่น�้ำ 327 ไร่ แบ่งการปกครอง ออกเป็น 14 หมูบ่ า้ น มีสมาชิกสภาองค์การบริการส่วนต�ำบล จ�ำนวน 26 คน
นายบรรจบ ภูมิ่งเดือน
นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลดอนสมบูรณ์ คณะผู้บริหารอบต.ดอนสมบูรณ์
คณะผู้บริหาร และ สมาชิกสภา
นายบรรจบ ภูมิ่งเดือน นายประยงค์ สรสันต์ นายดนัย ภูยิ่ง นายนวน ภูถาดลาย
นายก อบต.ดอนสมบูรณ์ รองนายก อบต.ดอนสมบูรณ์ รองนายก อบต.ดอนสมบูรณ์ เลขานุการนายก อบต.ดอนสมบูรณ์
คณะผู้บริหาร สมาชิกสภา และ พนักงาน 134 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 134
09/02/61 02:45:20 PM
จุดเด่นของต�ำบลดอนสมบูรณ์
ต�ำบลดอนสมบูรณ์มีผลผลิตที่มีชื่อเสียงคือ แตงโม ซึ่งเป็นผลผลิต ที่สร้างรายได้ให้กับ ประชาชนเป็นอย่างมาก ซึ่งในแต่ละปีนั้นจะมี เงินหมุนเวียนในภาคการผลิตประมาณ ไม่ต�่ำกว่า 200-300 ล้านบาท/ปี โดยมีเกษตรกรที่ท�ำการเกษตรดังกล่าวจ�ำนวนทั้งสิ้น 415 ครอบครัว ส�ำหรับ การตลาดนั้น องค์การบริหารส่วนต�ำบลดอนสมบูรณ์ได้ จัดตั้งตลาดขึ้น ถือเป็นตลาดกระจายสินค้าประเภทแตงโมที่ใหญ่ที่สุด ของภูมิภาค
สินค้าโอท็อปผลิตภัณฑ์สานด้วยพลาสติก
อุโบสถหลังเก่า (โบราณวัตถุ) วัดดอนยานาง
งานประเพณีบุญบั้งไฟ
ร�ำกลองยาว โดยชาวบ้าน บ้านหนองขาม
นโยบายเร่งด่วนของ อบต.ดอนสมบูรณ์
1. เร่งสร้างระบบประปารองรับการขยายตัวของชุมชนทุกหมู่บ้าน 2. เร่งขยายเขตไฟฟ้า เพิ่มไฟส่องสว่างตามจุดเสี่ยง และไฟฟ้าเพื่อการเกษตรทุกหมู่บ้าน 3. เร่งสร้างถนนภายในหมู่บ้านและถนนเพื่อการล�ำเลียงการเกษตรทุกหมู่บ้าน 4. จัดให้มีตลาดนัดในชุมชนอย่างน้อยสัปดาห์ละ 2 ครั้ง 5. สร้างภูมิคุ้มกันยาเสพติดให้แก่เด็กและเยาวชน 6. สนับสนุนให้มีครูสอนภาษาต่างประเทศทุกโรงเรียนในเขตต�ำบลดอนสมบูรณ์ 7. ส่งเสริมพุทธศาสนา อนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม และประเพณีอันดีงามในท้องถิ่น 8. จัดให้มีสวัสดิการในชุมชนแก่พี่น้องในต�ำบลดอนสมบูรณ์ ถ้ามีผู้เสียชีวิต องค์การบริหารส่วนต�ำบลจะต้องเข้าไปช่วยเหลือทุกหมู่บ้าน 9. มีการระดมทุนเพื่อเกษตรกรทุกหมู่บ้าน จัดจ�ำหน่ายเมล็ดพันธุ์ข้าวนาปี นาปรัง จัดจ�ำหน่ายปุ๋ยและเครื่องมือการเกษตรแก่เกษตรกรในราคาต้นทุน
สถานที่ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์
KALASIN 135 .indd 135
09/02/61 02:45:35 PM
บันทึกเส้นทางพบเทศบาลต�ำบล
เทศบาลต�ำบล
ภูสิงห์
พระพรหมภูสิงห์ สวยยิ่งเขื่อนล�ำปาว หาดทรายขาวห้วยแคน แสนสะออนสาวทอผ้าไหม ชิมไวน์หมากเม่ารสเด็ด สูตรส�ำเร็จไส้อั่วปลา งามโสภาสาวทอเสื่อกก “เป้าหมายการท�ำงาน เพือ่ ประโยชน์สงู สุดของประชาชน เกิดผลสัมฤทธิต์ อ่ ภารกิจของรัฐ มีประสิทธิภาพและคุณภาพของงานที่ปฏิบัติ เกิดความคุ้มค่าในการปฏิบัติงาน” คือนโยบายของผู้บริหารเทศบาลต�ำบล ภูสิงห์ อ�ำเภอสหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ ซึ่ง ปั จ จุ บั น มี นายอดิ ศั ก ดิ์ สมคะเณย์ ด�ำรง ต�ำแหน่ง นายกเทศมนตรีต�ำบลภูสิงห์ และ วิสาหกิจชุมชนกลุ่มเลี้ยงโค-กระบือ นายวั ช ระ บุ ญ ยบุ ต ร ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง ปลัดเทศบาลต�ำบลภูสิงห์
นายอดิศักดิ์ สมคะเณย์(ขวา) นายกเทศมนตรีต�ำบลภูสิงห์
น�้ ำ คื อ ชี วิ ต
เทศบาลต� ำ บลภู สิ ง ห์ ใส่ใจพัฒนา สาธารณูปโภค โดยมีบริการน�้ำ เพื่อการเกษตรให้กับประชาชนภายในพื้นที่ ต� ำ บลภู สิ ง ห์ ผ่ า นชลประธานระบบท่ อ ซึ่ ง เทศบาลต� ำ บลภู สิ ง ห์ ไ ด้ จั ด เจ้ า หน้ า ที่ รับผิดชอบเพือ่ สามารถบริการสูบน�ำ้ ให้ทนั ตาม ความต้องการของประชาชน โดยมีสถานีโรง สู บ น�้ ำ ด้ ว ยระบบไฟฟ้ า บ้ า นโนนสมบู ร ณ์ ม.1 และ สถานี บ้านดงน้อย ม.4 ซึ่งปัจจุบัน ครอบคลุ ม พื้ น ที่ ก ารเกษตรของประชาชน ประมาณร้อยละ 80 ของพื้นที่ทั้งหมด
นายวัชระ บุญยบุตร(ซ้าย) ปลัดเทศบาลต�ำบลภูสิงห์
เปิดชุมชนไร้ถังขยะชูสร้างจิตส�ำนึกเพื่อ จัดการขยะในครัวเรือนด้วยตนเอง เทศบาลต� ำ บลภู สิ ง ห์ เปิ ด โครงการ บริหารจัดการขยะมูลฝอย ต�ำบลภูสงิ ห์ เริม่ ต้น จากการเรี ย นรู ้ ท ฤษฎี ส ร้ า งความเข้ า ใจสู ่ การปฏิบตั จิ ริงของคนในชุมชน ภายใต้ความ ร่วมมือระหว่างเทศบาลต�ำบลภูสิงห์และ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ โดยมีเป้าหมายให้ เป็นต้นแบบชุมชนน�ำร่องการจัดการขยะ ภายในครอบครัว ลดการท�ำลายขยะทีผ่ ดิ วิธี และน�ำไปสู่การสร้างรายได้อีกหนึ่งทางจาก ขยะที่ยังมีประโยชน์
V.2
2
.indd 136
12/2/2561 17:11:05
จากอดีตจนถึงปัจจุบัน พื้นที่ต�ำบลภูสิงห์ สามารถยืนยันได้อย่างชัดเจนว่า ชุมชนที่อยู่ ร่วมกันประมาณ 500 กว่าครัวเรือนไม่เคยมีถงั ขยะมาตั้งในพื้นที่อย่างแน่นอน ซึ่งเป็นแนว นโยบายของคณะผูบ้ ริหาร น�ำโดย นายอดิศกั ดิ์ สมคะเณย์ นายกเทศมนตรี ในการมองอนาคต และคาดการณ์สถานการณ์ขยะในอนาคตได้ อย่างถูกต้อง โดยเน้นการสร้างจิตส�ำนึกให้กับ ประชาชนในชุมชนได้มสี ว่ นร่วมในการจัดการ ขยะในครัวเรือนด้วยตนเอง อีกทั้งยังมองว่า ชุมชนยังไม่มีความจ�ำเป็นที่จะต้องจัดสรรเงิน งบประมาณมาใช้จัดการขยะเป็นจ�ำนวนมาก ดังเช่นชุมชนอื่นๆ แม้จะถูกร้องขอจากบาง ชุมชนในเวทีประชาคมต่างๆ เพือ่ จัดซือ้ รถขยะ ถังขยะ จ้างพนักงานเพื่อด�ำเนินการโดยตรง ซึ่งคณะผู้บริหารมองว่าเป็นงบประมาณโดย ไม่มคี วามจ�ำเป็น ทัง้ ๆทีใ่ นอดีตชุมชนก็สามารถ ท�ำลายขยะได้ดว้ ยตนเอง เพียงแต่ยงั ขาดความรู้ ทางวิชาการ วิธีจัดการที่ถูกต้องเท่านั้นเอง เทศบาลต�ำบลภูสงิ ห์ จึงได้จดั โครงการขึน้ เพือ่ สร้างจิตส�ำนึกทีด่ ี สร้างความรู้ ความเข้าใจใน หลักวิธกี ารจัดการขยะทีถ่ กู ต้อง จึงได้รว่ มมือกับ มหาวิทยากาฬสินธุเ์ พือ่ แลกเปลีย่ น เรียนรูใ้ นการ ปฎิบตั ใิ ห้ถกู ต้อง โดยมีเป้าหมายเพือ่ เป็น 1 ใน 3 ชุมชนต้นแบบภาคอีสาน และเป็นอันดับ 1 ของ จังหวัดกาฬสินธุ์ ทีไ่ ม่มขี ยะ ไม่มถี งั ขยะ ไม่มรี ถ เก็บขยะ เพือ่ ด�ำรงวิถชี มุ ชนจัดการตนเองสืบต่อไป แผนงานสร้ า งรายได้ แ ละอาชี พ เทศบาลต�ำบลภูสิงห์ได้น�ำเสนออาชีพเสริม ต่างๆ ให้กับคนในชุมชน โดยการฝึกอบรม ให้ความรู้ด้านอาชีพต่างๆ และต่อยอดจน เป็นกลุ่มอาชีพวิสาหกิจชุมชน จ�ำนวนหลาย กลุ่มด้วยกัน เช่น กลุ่มวิสาหกิจชุมชนผู้เลี้ยง โค – กระบื อ กลุ ่ ม วิ ส าหกิ จ ชุ ม ชนแปรรู ป อาหารจากปลา กลุ ่ ม วิ ส าหกิ จ ชุ ม ชนผลิ ต ไวน์หมากเม่า กลุ่มวิสาหกิจชุมชนทอเสื่อกก กลุ่มวิสาหกิจชุมชนผู้จ�ำหน่ายเนื้อโค กลุ่ม วิสาหกิจชุมชนผู้เลี้ยงปลาในกระชัง เป็นต้น
กลุ่มผู้เลี้ยงปลากระชัง
V.2
2
.indd 137
กิ จ กรรมลานคนภู เพื่อสร้างความสุข และคืนความสุขสนุกสนานให้คนในชุมชน ตลอด จนการกระตุน้ เศรษฐกิจภายในชุมชนด้วยการ จ�ำหน่ายสินค้าต่างๆ
สถานที่ท่องเที่ยวส�ำคัญ
พุทธสถานภูสิงห์ เป็นที่ประดิษฐาน พระพรหมภูมิปาโล พระพุทธรูปปางมาร วิชัย หน้าตักกว้าง 10.5 เมตร มีพระ วรกายสง่างาม และมีขนาดใหญ่ที่สุดใน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2511 ตัง้ อยูบ่ นยอดเขาภูสงิ ห์ มีทาง ขึ้น 2 ทาง คือ ทางลาดยางและทางเดิน เท้าเป็นบันได 401 ขัน้ ทางทิศตะวันออก เป็ น สถานพั ก ผ่ อ นที่ ร ่ ม รื่ น มองเห็ น ทิวทัศน์ทุ่งนาและน�้ำในเขื่อนล�ำปาว โครงการ/กิจกรรม “ลานคนภู”ณ สนามกีฬากลางเทศบาลต�ำบลภูสงิ ห์ (บ้านโนนสมบูรณ์) ต.ภูสิงห์ อ.สหัสขันธ์ จ.กาฬสินธุ์
ฟอสซิ ล หอยมี อ ายุ หลายร้อยปี
พืชเศรฐกิจต�ำบลภูสิงห์
ปลาร้าแม่ฝ้าย กลุ่มแปรรูปผลิตภัณฑ์ชุมชน บ้านโนนปลาขาว หมู่ที่ 8
ผลิตภัณฑ์ชุมชน กลุ่มไวน์ผลไม้ ไวน์หมากเม่า ไวน์สัปปะรด / กลุ่มปลาส้มแม่แดง
การท�ำประมงพื้นบ้านเพื่อเป็นอาชีพเสริม ความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรสัตว์น�้ำ
แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร (กลุ่มเลี้ยงกุ้งก้ามกรามต�ำบลภูสิงห์)
ผลิตภัณฑ์ชุมชน
ของดีเทศบาลต�ำบลภูสงิ ห์ สินค้าOTOP ที่ โดดเด่นจากแม่แดงปลาส้ม ปลาส้มชิน้ ปลาส้มตัว ปลาตะเพียน แหนมปลา ไส้อวั่ ปลา หม�ำ่ ไข่ปลา คัดสรรปลาสดอรรถรสของความอร่อยได้ที่ 089-007-6122 บ้านท่าเรือภูสงิ ห์ หมู่ 9 ต.ภูสงิ ห์ อ.สหัสขันธ์ จ.กาฬสินธุ์ และยังมีผลิตภัณฑ์เครือ่ ง แต่งกายเสือ้ สตรีจากการถักโคเชต์ ซึง่ เกิดจากการ รวมกลุ่มชุมชนที่มีความรู้ด้านการตัดเย็บปัก ถักร้อย สนใจงานฝีมอื ติดต่อที่ คุณอ�ำนวย พันธ์พพิ 086-240-6312 สถานที่จัดจ�ำหน่ายกลุ่มถัก โคเชต์ 22 หมู่ 5 บ้านหนองฝาย ต�ำบลภูสงิ ห์ อ�ำเภอสหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ 46140 KALASIN 137 12/2/2561 17:11:07
บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล
องค์การบริหารส่วนต�ำบล
สหัสขันธ์
พระนอนลือนาม โบสถ์ไม้งามวัดภูค่าว เขื่อนล�ำปาวแหล่งปลา งามสง่าพระมหาธาตุเจดีย์ คื อ ค� ำ ขวั ญ ต� ำ บลสหั ส ขั น ธ์ ซึ่ ง อยู ่ ใ นความดู แ ลของ องค์การบริหารส่วนต�ำบลสหัสขันธ์ ตั้งอยู่เลขที่ 122 หมู่ที่ 1 บ้ า นค� ำ ลื อ ชา ต� ำ บลสหั ส ขั น ธ์ อ� ำ เภอสหั ส ขั น ธ์ จั ง หวั ด กาฬสินธุ์ อยู่บนฝั่งซ้ายของเขื่อนล�ำปาว ติดกับทางหลวง หมายเลข 227 มีระยะห่างจากอ�ำเภอสหัสขันธ์ ประมาณ 7 กิโลเมตร และห่างจากจังหวัดกาฬสินธุ์ ประมาณ 37 กิโลเมตร ปัจจุบันมี นายอัครเดช ภูตรี นายกองค์การบริหารส่วน ต�ำบลสหัสขันธ์ ซึ่งบริหารงานให้บรรลุวิสัยทัศน์การพัฒนา ที่ว่า
“องค์การบริหารส่วนต�ำบลสหัสขันธ์ เป็นต�ำบลที่น่าอยู่
ประชาชนมี คุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ ดี วิ ถี เ ศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ปลอดยาเสพติด แหล่งท่องเทีย่ วทางพุทธศาสนา”
นายอัครเดช ภูตรี
นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลสหัสขันธ์ ยุทธศาสตร์การพัฒนา
คื อ ภารกิ จ การบริ ห ารส่ ว นต� ำ บลสหั ส ขั น ธ์ ที่ ต ้ อ งด� ำ เนิ น การ มี 6 ภารกิจ ประกอบด้วย 1. การพัฒนาศักยภาพของคน ให้มคี วามรู้ มีคณ ุ ธรรม มีสขุ ภาพกาย สุขภาพใจที่ดี ไม่ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติดและอบายมุขต่างๆ เพื่อพัฒนาไปสู่ ชุมชนเข้มแข็ง และเมืองน่าอยู่ 2. การส่งเสริมอาชีพให้กับประชาชน สร้างรายได้และกระจาย รายได้อย่างทั่วถึง รวมถึงการส่งเสริมให้มีผลผลิตทางการเกษตร สินค้า การบริการที่มีคุณภาพตรงกับความต้องการของตลาด 3. การส่งเสริม สนับสนุน ท�ำนุบ�ำรุงศิลปวัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่นอันดีงามของท้องถิ่น 4. การส่งเสริมการอนุรกั ษ์/พืน้ ฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม 5. การส่งเสริมระบบการบริหารจัดการ การบริการให้ดีมีคุณภาพ มี ป ระสิ ท ธิ ผ ลโดยยึ ด หลั ก การบริ ห ารจั ด การบ้ า นเมื อ งที่ ดี เพื่ อ ให้ เกิดประโยชน์สูงสุดของประชาชน 6. ปรับปรุงและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ระบบสาธารณูปโภคให้ได้ มาตรฐาน และเพียงพอต่อความต้องการของประชาชน 138 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย 2
(2).indd 138
12/2/2561 9:38:15
แหล่งท่องเทีย่ วส�ำคัญในต�ำบลสหัสขันธ์
วัดพุทธนิมิต (ภูค่าว) มีจุดที่ส�ำคัญ 5 จุด ดังต่อไปนี้ พระไสยาสน์ตะแคงซ้าย มีความยาว 2 เมตร กว้าง 50 เซนติเมตร และที่แปลกคือ พระไสยาสน์องค์นตี้ ะแคงซ้าย และไม่มเี กตุมาลา ผู ้ รู ้ ไ ด้ สั น นิ ษ ฐานว่ า เป็ น สั ญ ลั ก ษณ์ ข อง “พระมหาโมคคัลลานะเถรเจ้า” พระอัครสาวก เบื้องซ้ายขององค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า อุโบสถไม้ใต้เขื่อนล�ำปาว เป็นอุโบสถไม้ เนื้อแข็งทั้งหลัง โดยการน�ำเอาสถาปัตยกรรม ทางภาคกลางและภาคเหนือมาผสมผสานและ ประยุกต์เข้าด้วยกัน ภายในเป็นไม้แกะสลัก ภาพพุทธประวัติ วิหารสังฆนิมิต วิหารที่สร้างเพื่อเป็นพิพิธภัณฑ์เก็บรวบรวมพระพุทธรูปและพระพิมพ์ เพื่อมุ่ง หวังว่าสิง่ ทีบ่ รรพบุรษุ สร้างไว้ จะเป็นประโยชน์แก่เยาวชนรุน่ หลังได้ศกึ ษาหาความรูใ้ นภายภาคหน้า พระมหาธาตุเจดีย์ สร้างขึน้ เพือ่ บรรจุพระบรมสารีรกิ ธาตุของพระพุทธเจ้า ซึง่ อัญเชิญมาจากประเทศ อินเดียและประเทศศรีลงั กา ประเทศละ 2 องค์ และพระสารีรกิ ธาตุของพระอรหันต์สาวก รวมถึงพระครู บาอาจารย์ทา่ นต่างๆ ทีบ่ รรลุธรรม ลักษณะขององค์พระมหาธาตุแฝงด้วยความหมาย ดังนี้ องค์พระมหาธาตุเจดีย์ มีความสูง 80 เมตร เท่ากับอายุของพระพุทธเจ้า 80 พรรษา ประตูทางเข้า 4 ทิศ หมายถึง ธาตุ ทั้ง 4 ได้แก่ ดิน น�้ำ ลม ไฟ รูปทรงเจดีย์ 8 เหลี่ยม หมายถึง มรรค 8 ยอดพระมหาธาตุ เ จดี ย ์ เ ป็ น ทองค�ำหนัก 30 กิโลกรัม หมายถึง บารมี 30 ทัศ พระใหญ่ 4 อิรยิ บถ ประกอบด้วย ปางสมาธิ ปางห้ามญาติ ปางเปิดโลก และปางปรินิพพาน วัดพุทธนิมติ (ภูคา่ ว) จะจัดให้มี งานสรงน�ำ้ พระพุทธรูปไสยาสน์ ในวัน ที่ 19 เมษายน ของทุกปี จึงขอเชิญ ชวนพุทธศาสนิกมาร่วมในพิธดี งั กล่าว เพื่อเป็นสิริมงคลแก่ชีวิตในโอกาสวัน ขึ้นปีใหม่ไทย
ของดีศรีต�ำบลสหัสขันธ์
กลุม่ อาชีพทอผ้าพืน้ เมือง(ผ้าลาย ขิดไดโนเสาร์) บ้านสิงห์สะอาด ม.6 KALASIN 139 2
(2).indd 139
12/2/2561 9:38:25
บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล
องค์การบริหารส่วนต�ำบล
โนนแหลมทอง โนนแหลมทองถิ่นคนดี มากมีผ้าพื้นเมือง ลือเลื่องผ้าเกล็ดเต่า แกะสลักไม้ ไดโนเสาร์ เจ้าเก่าแพรวา ปลาร้านัวผักหอม งามพร้อมถิ่นภูไท ฝายใหญ่จระเข้ คือค�ำขวัญประจ�ำต�ำบลโนนแหลมทอง ซึ่งอยู่ในความดูแลของ องค์การบริหารส่วนต�ำบลโนนแหลมทอง ตั้งอยู่ที่บ้านค�ำแหลม หมู่ที่ 11 ต� ำบลโนนแหลมทอง อ�ำเภอสหัสขัน ธ์ จังหวัด กาฬสิ น ธุ ์ ปั จ จุ บัน มี นายประเวช การสอน นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลโนนแหลมทอง บริหารงานภายใต้วิสัยทัศน์การพัฒนาที่ว่า “โนนแหลมทองเป็นชุมชนน่าอยู่ เศรษฐกิจดี มีความรู้ทันสมัย บริการประทับใจ”
ข้อมูลทั่วไป
องค์การบริหารส่วนต�ำบลโนนแหลมทอง มีพ้ืนที่ 17,515.625 ไร่ คิดเป็น 28.025 ตารางกิโลเมตร ประกอบด้วย 12 ชุมชน มีประชากรทั้ง สิ้นจ�ำนวน 5,468 คน แยกเป็น ชาย 2,651 คน หญิง 2,817 คน จ�ำนวน ครัวเรือนทั้งสิ้น 1,395 ครัวเรือน
ยุทธศาสตร์การพัฒนา
ยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านสาธารสุขและสิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์ที่ 3 ยุทธศาสตร์ด้านการศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณีท้องถิ่น และการกีฬา ยุ ท ธศาสตร์ ที่ 4 ยุ ท ธศาสตร์ ด ้ า นการจั ด สวั ส ดิ ก ารชุ ม ชนและ สังคมสงเคราะห์ ยุทธศาสตร์ที่ 5 ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาองค์กรและชุมชน ยุทธศาสตร์ที่ 6 ยุทธศาสตร์ดา้ นความปลอดภัยในชีวติ และทรัพย์สนิ การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
นายประเวช การสอน
นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลโนนแหลมทอง
เทศกาล-งานประเพณีส�ำคัญ องค์การบริหารส่วนต�ำบลโนนแหลมทอง ตระหนักถึงความส�ำคัญ ของการอนุรกั ษ์และสืบสานศิลปวัฒนธรรม ประเพณี และเทศกาลส�ำคัญ ของชาติ จึงจัดกิจกรรมเนื่องในวันส�ำคัญๆ ดังนี้ 1. งานวันขึ้นปีใหม่ จัดให้มีขึ้นในเดือนมกราคมของทุกปี 2. งานบุญมหาชาติ จัดให้มีขึ้นในเดือนมีนาคม-เมษายน 3. งานวันสงกรานต์ จัดให้มีขึ้นใน เดือนเมษายน 140 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .
(2
).indd 140
9/2/2561 14:36:06
4. งานบุญบั้งไฟ จัดให้มีขึ้นในเดือน พฤษภาคม – มิถุนายน 5. งานวันเข้าพรรษา จัดให้มีขึ้นในวันเข้าพรรษา 6. งานบุญกฐิน จัดให้มีขึ้นในช่วงออกพรรษา
10 กิจกรรม/โครงการเด่น ปี 2560
1. โครงการน้อมน�ำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ไปสู่การ ปฏิบัติจนเป็นวิถีชีวิต (Way of life) ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ.2560 2. โครงการ “พยุ ง ธรรม ค�้ ำ ไทย ถวายองค์ ร าชิ นี ” เพื่ อ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ติ ิ์ พระบรมราชินนี าถ ในรัชการที่ 9 เนื่ อ งในโอกาสมหามงคล ทรงเจริ ญ พระชนมพรรษา 85 พรรษา 12 สิงหาคม 2560 และเพือ่ เพิม่ พืน้ ทีส่ เี ขียว ความร่มรืน่ และความสวยงาม ให้กับชุมชนในพื้นที่ 3. งานประเพณีทำ� บุญตักบาตรเทโวโลหะณะ สักการะพระประชาชน บาล ประจ�ำปี 2560 ณ บริเวณลานธรรมเชิงเขาภูสิงห์ อ�ำเภอสหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ 4. โครงการส่งเสริมกีฬาเพือ่ มวลชน (กิจกรรมส่งเสริมออกก�ำลังกาย เพื่อมวลชน) ณ ลานกิจกรรมองค์การบริหารส่วนต�ำบลโนนแหลมทอง 5. โครงการบริหารจัดการขยะ ประจ�ำปี 2560 ซึง่ เป็นการคัดแยกขยะ ตามหลัก 3 R (Reduce Reuse Recycle) โดยให้สมาชิกหรือประชาชน ในหมูบ่ า้ นค�ำเชียงวันน�ำขยะทีไ่ ด้ผา่ นการคัดแยกแล้วมาขายเพือ่ เพิม่ รายได้ และลดขยะในชุมชน 6. โครงการปรั บ สภาพแวดล้ อ มของผู ้ สู ง อายุ ใ ห้ เ หมาะสมและ ปลอดภัย 7. กิจกรรมบ�ำรุงรักษาต้นไม้ ภายใต้โครงการวันรักต้นไม้ประจ�ำปี ของชาติ 8. โครงการรณรงค์ปลูกหญ้าแฝกอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ ประจ�ำปี 2560 เพือ่ ตอบสนองแนวพระราชด�ำริของพระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช ในการอนุรักษ์ดินและน�้ำ ป้องกันการชะล้าง พังทลายของดิน และปรับสภาพแวดล้อมให้ดีขึ้น
รั บ เสด็ จ ทู ล กระหม่ อ มหญิ ง อุ บ ลรั ต นราชกั ญ ญา สิ ริ วั ฒ นา พรรณวดี ในฐานะชุ ม ชนโนน แหลมทองได้ เ ป็ น ตั ว แทนของ ชุ ม ชนระดั บ จั ง หวั ด กาฬสิ น ธุ ์ จัดบูธแสดงผลงานตามโครงการ TO BE NUMBER ONE ณ วิทยาลัย เทคนิคกาฬสินธุ์ วันที่ 22 ธันวาคม 2560
9. กิจกรรมกีฬาต้านยาเสพติดต�ำบลโนนแหลมทอง ประจ�ำปี 2560 ฟุตซอลพี่เพื่อน้อง 10. โครงการฝึกอบรมอาสาสมัครป้องกันไฟป่า ประจ�ำปี 2560 KALASIN 141 .
(2
).indd 141
9/2/2561 14:36:12
บันทึกเส้นทางพบเทศบาลต�ำบล
เทศบาลต�ำบล
ค�ำม่วง “สร้างเมืองน่าอยู่ มุ่งสู่การบริหารงานยุคใหม่ ใส่ ใจการศึกษา พัฒนาวิสาหกิจชุมชน พนักงานทุกคนเป็นเลิศด้านบริการ” คือวิสยั ทัศน์ของเทศบาลต�ำบลค�ำม่วง ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 225 หมู่ 10 ต�ำบล ทุง่ คลอง อ�ำเภอค�ำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์ ปัจจุบนั มี นายเชีย่ วชาญ เทียบจันทึก ด�ำรงต�ำแหน่ง นายกเทศมนตรีต�ำบลค�ำม่วง
นายเชี่ยวชาญ เทียบจันทึก นายกเทศมนตรีต�ำบลค�ำม่วง
ข้อมูลทั่วไป
เทศบาลต�ำบลค�ำม่วง เดิมเรียกว่าสุขาภิบาลค�ำม่วง จัดตั้งตาม ประกาศกระทรวงมหาดไทยประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 98 ตอนที่ 42 ลงวันที่ 12 มกราคม 2524 ต่อมาได้มีการเปลี่ยนแปลงฐานะ จากสุขาภิบาลเป็นเทศบาลพร้อมกันทั่วประเทศ ในวันที่ 25 พฤษภาคม 2542 มีพนื้ ที่ 5.6 ตร.กม. รวม 6 หมูบ่ า้ น 13 ชุมชน ประชากรรวม 3,946 คน จ�ำนวน 1,623 ครัวเรือน
142 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย 2
(2).indd 142
12/2/2561 17:12:59
โครงการ/กิจกรรมเด่น
- ก่อสร้างถังกรองน�้ำเพิ่มเติม การประปา เทศบาลต� ำ บลค� ำ ม่ ว ง ได้ รั บ การถ่ า ยโอนจาก กรมโยธาธิการ ตัง้ แต่ปี พ.ศ.2544 ปัจจุบนั เทศบาลฯ ได้ก่อสร้างถังกรองน�้ำเพิ่มเติม โดยมีการประปา นครหลวงให้ค�ำปรึกษา พร้อมส่งบุคลากรมาให้ค�ำ แนะน�ำแก่ผู้ควบคุมการดูแลระบบ เพื่อให้ผลิตน�้ำ ประปาได้มาตรฐาน ตลอดจนปรับปรุงภูมทิ ศั น์ตาม รอยพ่ อ หลวงเศรษฐกิ จ พอเพี ย งพร้ อ มเปิ ด ให้ ประชาชนเข้ามาเยี่ยมชมกิจการ - จัดตัง้ โรงเรียนผูส้ งู อายุสวนหลวงรืน่ รมย์ และ ได้มกี ารจัดการเรียนการสอนทุกวันพุธร่วมกับส่วน ราชการ อาทิ กศน. รพ. ต�ำรวจ แพทย์แผนไทย ฯลฯ ได้มกี ารท�ำผลิตภัณฑ์ใช้ในครัวเรือน เช่น น�ำ้ ยาล้างจาน ยาหม่องน�้ำ น�้ำตะไคร้ไล่ยุง ฯลฯ - ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 2 ศูนย์ ประกอบด้วย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กวัดบูรพาสีหราษฎร์และศูนย์ พัฒนาเด็กเล็กวัดอุทัยทิพพาวาส มีอาคารสถานที่ มั่นคง แข็งแรงและได้มาตรฐาน สภาพแวดล้อม ภายนอกและภายในเอื้อต่อการเรียนรู้ สมวัย โดย ยึดบริบทของสังคม เช่น แปลงนาสาธิต - โครงการส่งเสริมกิจกรรมของสภาเด็กและ เยาวชนเทศบาลต�ำบลค�ำม่วง โดยตัวแทนสภาเด็ก และเยาวชนร่วมกิจกรรมและชนะเลิศระดับจังหวัด ในการแข่งขันกล่าวสุนทรพจน์ “ลานคนสามวัย” - โครงการคลินิกฟุตบอล ชมรมฟุตบอลสภา เด็กและเยาวชนเทศบาลต�ำบลค�ำม่วง - โครงการส่งเสริมสุขภาพ เทศบาลต�ำบล ค�ำม่วง จัดให้มีการออกก�ำลังกาย “กิจกรรมเข้า จังหวะ” ร่วมกันทุกวันพุธ ซึ่งนอกจากจะช่วยให้ สุขภาพแข็งแรงแล้ว ยังก่อให้เกิดความสมัครสมาน สามัคคี - โครงการส่งเสริมและสืบสานงานประเพณี วัฒนธรรมไทย โดยจัดให้มีกิจกรรมในเทศกาล ส�ำคัญ วันส�ำคัญทางศาสนา และวันส�ำคัญของชาติ
KALASIN 143 2
(2).indd 143
12/2/2561 17:13:00
บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล
องค์การบริหารส่วนต�ำบล
เนินยาง
วัดโพธิ์พิพัฒนารามคู่บ้าน ใบเสมาโบราณเด่นตระการ ผ้าไหมมัดหมี่งามเลอค่า เครื่องจักสานฝีมือเลื่องลือไกล
สิมเก่าโบราณประดิษฐาน อลังการวัฒนธรรมภูไท ผ้าแพรวาลวดลายชวนหลงใหล ผลไม้ประจ�ำถิ่นล้วนมากมี
คือค�ำขวัญต�ำบลเนินยาง ซึง่ อยูใ่ นความดูแลขององค์การบริหารส่วน ต�ำบลเนินยาง หมู่ที่ 5 ต�ำบลเนินยาง อ�ำเภอค�ำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์ ซึ่ง นายมานะ ยวงวิภกั ดิ์ นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลเนินยาง ได้กำ� หนด วิสัยทัศน์และพันธกิจ 12 ประการ ดังนี้
วิสัยทัศน์องค์การบริหารส่วนต�ำบลเนินยาง
“สาธารณูปโภคเพียบพร้อม พัฒนาสิ่งแวดล้อมและสาธารณสุข สังคมดีมีคุณธรรม เศรษฐกิจชุมชนก้าวน�ำ สืบสานวัฒนธรรม พร้อม น�ำการศึกษา”
นายมานะ ยวงวิภักดิ์
นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลเนินยาง
พันธกิจ
1. พัฒนาสาธารณูปโภค สาธารณูปการ ให้ได้มาตรฐาน 2. ส่งเสริมและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 3. ส่งเสริมและพัฒนาระบบบริการสาธารณสุขเสริมสร้างสุขอนามัย 4. พัฒนาระบบการบริหารจัดการในองค์กร ตามหลักการบริหาร กิจการบ้านเมืองที่ดี 5. สนับสนุนเสริมสร้างชุมชนให้เข้มแข็ง 6. ส่งเสริมการจัดสวัสดิการด้านต่าง ๆ 7. ส่งเสริมการเล่นกีฬาและออกก�ำลังกาย 8. ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ สร้างงานสร้างรายได้ สร้างความมัน่ คง ทางเศรษฐกิจให้แก่ประชาชน
9. ส่งเสริม สนับสนุนการจัดกิจกรรมประเพณีท้องถิ่น 10. สนับสนุนส่งเสริมคุณภาพการศึกษาของประชาชนทุกระดับให้ มีคุณภาพ 11. ส่งเสริมสนับสนุนให้เด็กในต�ำบลมีโภชนาการที่เหมาะสม 12. ส่งเสริมกิจกรรมของเด็ก ให้มีพัฒนาการเรียนรู้ที่เหมาะสม
144 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .
2
.indd 144
9/2/2561 14:33:05
ผลิตภัณฑ์ขึ้นชื่อและของดีในต�ำบล
ผ้าไหมแพรวาและผลิตภัณฑ์จากผ้าไหมแพรวา ของกลุ่มทอผ้าบ้านหนองยางค�ำ ตั้งอยู่ที่บ้านเลขที่ 65 หมู่ที่ 7 ต�ำบลเนินยาง อ�ำเภอค�ำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์ นางสวาท ติชาวัน ประธานกลุ่ม โทรศัพท์ 087-9542044 สินค้าที่ผลิตขึ้นในกลุ่ม จะเป็นสินค้าที่ผลิตจากเส้นไหมทอลวดลายวิจิตร สวยงาม ได้แก่ ผ้าเบี่ยงหรือผ้าสไบ ผ้าซิ่น ผ้าไหมแพรวา ผ้าโพกหัว ผ้าพันคอ และยังตัดเย็บเป็นผลิตภัณฑ์อื่นๆ เช่น กระเป๋ารูปทรงต่างๆ เป็นต้น กลุ่มผู้ปลูกหม่อนเลี้ยงไหม ตั้งอยู่ที่บ้านโคก หมู่ท่ี 6 ต�ำบลเนินยาง การด�ำเนินงานของกลุม่ เน้นในเรือ่ งการผลิตเส้นไหม เพื่อจ�ำหน่าย เคยได้รับรางวัลนกยูงเงิน นกยูงทอง และเส้นไหม IG นอกจากนั้นยังแปรรูปผลิตภัณฑ์จากหม่อนไหมเพื่อจ�ำหน่าย เช่น ชาใบหม่อน เยลลี่ลูกหม่อน สบู่รังไหม เป็นต้น ผลไม้พื้นบ้าน มะแงวและมะไฟหวานเป็นผลไม้ที่ปัจจุบันหาได้ยากและ ไม่คอ่ ยมีแล้ว แต่ทตี่ ำ� บลเนินยางนี้ มะแงวมะไฟหวานถือเป็นผลไม้ประจ�ำถิน่ ของทีน่ ี่ โดยจะให้ผลผลิตปีละครั้ง ประมาณช่วงเดือนเมษายนถึงเดือนมิถุนายน นอกจาก นี้ยังมีผลไม้พื้นบ้านอีกหลายชนิดที่สร้างรายได้ให้กับคนในต�ำบล เช่น หมากเม่า ขนุน มะละกอ กล้วย กระท้อน เป็นต้น กิจกรรมเด่น อบต.เนินยาง ประเพณีสาวไหมโบราณ เป็นกิจกรรมทีอ่ นุรกั ษ์ประเพณีวฒ ั นธรรมการสาวไหม แบบดั้งเดิม โดยใช้อุปกรณ์ในการสาวไหมแบบโบราณ เพื่อให้คนรุ่นหลังได้เรียนรู้ ถึงกรรมวิธีและตระหนักถึงคุณค่าการผลิตเส้นไหม
KALASIN 145 .
2
.indd 145
9/2/2561 14:33:07
บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล
องค์การบริหารส่วนต�ำบล
นาบอน
องค์การบริหารส่วนต�ำบลนาบอน อ�ำเภอค�ำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์ มี “ศูนย์ปราชญ์ชุมชน” ที่สามารถถ่ายทอดองค์ความรู้เรื่องการน�ำแนว พระราชด�ำริในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช อาทิ เศรษฐกิจพอเพียง, ป่า 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง ฯลฯ มาปรับใช้จนเป็น หมู่บ้านที่มีความเข้มแข็ง ยั่งยืน และมีความสมดุลทางธรรมชาติ
หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ตั้ ง อยู ่ ที่ บ ้ า นสะพานหิน หมู่ที่ 3 ต�ำบลนาบอน อ� ำ เภอค� ำ ม่ ว ง จังหวัดกาฬสินธุ์ เป็นหมู่บ้านแห่งการเรียนรู้ด้านเศรษฐกิจพอเพียงที่ได้ รับ รางวัลชนะเลิศ หมูบ่ า้ นเศรษฐกิจพอเพียง “อยูเ่ ย็น เป็นสุข” ดีเด่น จังหวัดกาฬสินธุ์ ประจ�ำปี 2560 หมู่บ้านสะพานหิน เป็นหมู่บ้านต้นแบบในการด�ำรงวิถีชีวิตแบบ พอเพียง โดยมีศูนย์เรียนรู้และฐานการเรียนรู้ภายในหมู่บ้าน 6 ฐานการ เรียนรู้ มีกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลาย มีนักจัดการความรู้ชุมชน และ วิทยากรชุมชน ทีส่ ามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ มีระบบการบริหารจัดการ หมู่บ้านที่เข้มแข็ง ด้วยการกระจายอ�ำนาจลงสู่ระดับคุ้ม (คุ้มต้นแบบ) กระบวนการจัดท�ำแผนชุมชน ความเข้มแข็งของภาคประชาชน มีต้นทุน ทางสังคมสูงในด้านความสามัคคี การบริหารจัดการทุนในชุมชนเพือ่ การ พัฒนาชุมชน และมีครัวเรือนรับรองส�ำหรับคณะผูม้ าศึกษาดูงานและเรียน รู้กิจกรรมด้านเศรษฐกิจพอเพียง จ�ำนวน 30 ครัวเรือนติดต่อสอบถาม เพิ่มเติมได้ที่ 097-3529388, 089-3958434
นางสาวเนาวรัตน์ จิตรเหิม ปลัดองค์การบริหารส่วนต�ำบล ปฏิบัติหน้าที่นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลนาบอน
146 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .
2
.indd 146
12/2/2561 9:31:57
บุคคลต้นแบบ “ด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม” “มีสติ เปลี่ยนแนวคิด หาความรู้ พึ่งพาตนเอง” คือแนวคิดส�ำคัญของปราชญ์ชุมชน “นางเกสร ผมเพ็ชร” อายุ 54 ปี อาชีพเกษตรกรรม ผูท้ มี่ บี ทบาทส�ำคัญในการปลูกจิต ส� ำ นึ ก ให้ กั บ เด็ ก และเยาวชน ให้ หั น มาช่ ว ยกั น อนุ รั ก ษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยมีผลงานอันเป็นที่ ประจักษ์แก่สังคมในวงกว้าง ได้แก่ - จุดเรียนรูป้ ลูกป่า 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง เรียนรูก้ ารปลูก ป่ า แบบผสมผสาน และปลู ก ป่ า ชุ ม ชนเพื่ อ การอนุ รั ก ษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน - ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ อ� ำเภอค�ำม่ว ง จังหวัด กาฬสินธุ์ ซึ่งสามารถใช้เ ป็ นสถานที่ ฝึกอบรมศึกษาดูงานหลักสูตรเศรษฐกิจพอเพียงได้อย่างครบ วงจร โดยมีทั้งหน่วยงานราชการ บริษัทเอกชนมากมายเข้ามา ร่วมศึกษาดูงาน - กลุ่มคืนป่าให้แผ่นดิน ด�ำเนินการขยายผลแปลงปลูกป่า 1 ไร่ ประณีตได้ 100 ไร่ พร้อมกันนี้ท่านยังริเริ่มปลูกจิตส�ำนึกด้าน การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้กับเด็กและ เยาวชน ผ่านการเป็นวิทยากรปราชญ์ชมุ ชน และการจัดกิจกรรม การเรียนรู้ - พัฒนางานให้แก่ศูนย์ปราชญ์ชุมชน ต�ำบลนาบอน ท่านใดสนใจติดต่อได้ที่ นางเกสร ผมเพ็ชร ที่อยู่ 90 หมู่ที่ 11 ต�ำบลนาบอน อ�ำเภอค�ำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์ โทรศัพท์ 093-530-7411
.
2
.indd 147
บ้านพักโฮมสเตย์ บ้านพักโฮมสเตย์ 40 หลัง รองรับนักท่องเทีย่ วได้มากกว่า 100 คน แต่กอ่ นต�ำบลนาบอน เคยเป็นทีต่ งั้ ของชุมชนโบราณ ซึง่ เป็นถิน่ ทีอ่ ยูข่ องชนเผ่าข่าหรือขอม โดยมีการค้นพบวัตถุ โบราณ เช่น ไห ถ้วย ชาม และพระพุทธรูป ในอดีตเคยเป็น ผืนป่า มีตน้ ไม้นอ้ ยใหญ่ขนึ้ หนาทึบ มีสตั ว์ปา่ นานาชนิดอาศัย มีลำ� ห้วยทีน่ ำ�้ ไหลผ่านตลอดปี คนส่วนใหญ่เป็นชาวไทยลาว มี ชนเผ่าญ้อ ภูไท โช่ กะเลิง กระจัดกระจายอยูต่ ามชุมชนต่างๆ หมู่บ้านโฮมสเตย์ต�ำบลนาบอน ชุมชนท่องเที่ยวเชิง สุขภาพแห่งแรกของจังหวัดกาฬสินธุ์ ให้บริการผู้ที่สนใจ ดูแลสุขภาพ และกลุม่ ทีต่ อ้ งการมาเรียนรูก้ ารใช้วถิ ธี รรมชาติ บนวิถคี วามเป็นอยูอ่ ย่างพอเพียง รับประทานอาหารปลอด สารพิษ นวด อบ สปา ดีท็อกซ์หรือล้างสารพิษ และท่อง เทีย่ วเชิงนิเวศแหล่งฟอสซิลไม้กลายเป็นหินเชือ่ มกับเส้นทาง ท่องเที่ยวผ้าไหมแพรวา อัตราค่าบริการ • บ้านพักโฮมสเตย์ 200 บาท/คน/คืน • ค่าอาหารพื้นบ้าน แกงผักหวาน อ่อมหวาย ก้อยไข่ มดแดง ฯลฯ 100 บาท/คน/มื้อ • ค่าอาหารว่าง 30 บาท/มื้อ/คน • ค่าฐานเรียนรู้ 500 บาท/สาธิต 1,000 บาท • ค่าบ�ำรุงศูนย์เรียนรูต้ ำ� บลนาบอน 1,000 บาท (รวมโสต ทัศนูปกรณ์) • ค่ามัคคุเทศก์ท้องถิ่น ชั่วโมงละ 100 บาท • ค่ากิจกรรมวัฒนธรรมท้องถิ่น 2,000 บาท ติดต่อสอบถามเพิ่มเติมได้ที่ คุณฉลวย โสภีพันธุ์ โทร.089-3958434 คุณบุญเรือง วาดสีดา โทร.087-2254468 KALASIN 147 12/2/2561 9:32:14
บันทึกเส้นทางพบเทศบาลต�ำบล
เทศบาลต�ำบล
กมลาไสย
เทศบาลต� ำ บลกมลาไสย อ� ำ เภอกมลาไสย จั ง หวั ด กาฬสิ น ธุ ์ เป็นเทศบาลขนาดกลาง ห่างจากจังหวัดกาฬสินธุ์ ประมาณ 13 กิโลเมตร ห่างจากกรุงเทพมหานครประมาณ 525 กิโลเมตร มีเนื้อที่ทั้งหมด ประมาณ 15.025 ตารางกิโลเมตรหรือประมาณ 9,390.62 ไร่ ประกอบ ด้วย 2 ต�ำบล (12 ชุมชน)
ผลงานเด่นของ ทต.กมลาไสย
การจัดการแข่งขันเรือยาวประเพณี จังหวัดกาฬสินธุ์
“ประเพณีแข่งเรือยาว อู่ข้าวเหลืองสิบเอ็ด ถิ่นเกษตรอุตสาหกรรม วัฒนธรรมเส็งกลองกิ่ง ใบเสมางามยิ่ง เมืองฟ้าแดดสงยาง”
เป็นค�ำขวัญของเมืองกมลาไสย ซึ่งบ่งบอกถึงวิถีชีวิตความเป็นอยู่ ขนบธรรมเนียม ประเพณีและวัฒนธรรมของชาวอ�ำเภอกมลาไสย ส�ำหรับ ประเพณีการแข่งขันเรือยาว หรือที่ชาวบ้านเรียกติดปากว่า “ส่วงเฮือ” ถือเป็นมรดกทางวัฒนธรรมอันล�้ำค่าที่สืบทอดจากบรรพบุรุษสู่ลูกหลาน เป็นเวลาเกือบร้อยปีมาแล้ว
นายณรงค์ คูธนพิทักษ์กุล นายกเทศมนตรีต�ำบลกมลาไสย
เทศบาลต�ำบลกมลาไสย น�ำโดย นายณรงค์ คูธนพิทักษ์กุล นายก เทศมนตรีต�ำบลกมลาไสย ร่วมกับ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ห้างร้าน บริษทั พ่อค้าประชาชนในเขตอ�ำเภอกมลาไสย ได้เล็งเห็นความส�ำคัญของ วัฒนธรรมทางสายน�้ำนี้ จึงร่วมสืบสานและอนุรักษ์ไว้โดยได้ส่งเสริมให้ จัดการแข่งขันเรือยาวขึน้ ทุกปี ในช่วงเดือนกันยายน หรือก่อนออกพรรษา เล็กน้อย โดยเรือยาวที่เข้าร่วมการแข่งขันได้เชิญมาจากต่างจังหวัด ซึ่ง ล้วนแต่เป็นแชมป์ของสนามต่างๆ ในภาคอีสานและทั่วประเทศไทย โดย จะมีการแบ่งระดับของเรือออกเป็นหลายประเภท เพื่อ เปิดโอกาสให้พี่ น้องประชาชนได้มีส่วนร่วมในการแข่งขัน ซึ่งเรือที่เข้าร่วมการแข่งขันทุก ประเภท ต้องเป็นเรือที่ท�ำมาจากไม้เท่านั้น แบ่งการแข่งขันเรือเป็น 4 ประเภท ดังนี้ 1.ประเภทเรือยาวใหญ่ (48-55 ฝีพาย) 2.ประเภทเรือยาวกลางทั่วไป (31-40 ฝีพาย) 3.ประเภทเรือยาวกลางท้องถิ่น (31-40ฝีพาย) 4.ประเภทเรือเล็กทั่วไป (8-10 ฝีพาย) ในอนาคตนายณรงค์ คูธนพิทกั ษ์กลุ นายกเทศมนตรีตำ� บลกมลาไสย ร่วมกับพี่น้องประชาชนชาวอ�ำเภอกมลาไสย จะปรับปรุงสนามแข่งเรือ ยาวแห่ ง นี้ ใ ห้ ไ ด้ ม าตรฐาน เป็ น ที่ ย อมรั บ ของสมาคมเรื อ ยาวแห่ ง ประเทศไทย เพือ่ ให้การแข่งขันเรือยาวประเพณีให้เป็นเอกลักษณ์ของชาว อ�ำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์ต่อไป 148 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .
2
.indd 148
12/2/2561 9:30:09
“ตลาดต้องชม” เพื่อเศรษฐกิจมั่งคั่ง ยั่งยืน ของเทศต�ำบลกมลาไสย นายณรงค์ คู ธ นพิ ทั ก ษ์ กุ ล นายก เทศมนตรีต�ำบลกมลาไสย เน้นนโยบายการ ยกระดับรายได้ให้กับประชาชน จึงด�ำเนิน การพัฒนาตลาดโต้รงุ่ เทศบาลต�ำบลกมลาไสย ภายใต้ชอื่ “ตลาดต้องชม” โดยการบริหาร จัดการเพิ่มพื้นที่ในตลาดที่มีอยู่เดิม เพื่อให้ เกษตรกร ผู้มีรายได้น้อย รวมทั้งผู้ประกอบ การที่เดือดร้อนจากการไม่มีสถานที่ค้าขาย ได้มีพ้ืนที่ในการค้าขาย เพื่อเป็นการพัฒนา เศรษฐกิจท้องถิ่นให้เจริญก้าวหน้า มั่งคั่ง ยั่ ง ยื น และน� ำ ความสุ ข สบายมาสู ่ พี่ น ้ อ ง ประชาชน สามารถท�ำให้ประชาชนมีรายได้ เพียงพอแก่การด�ำรงชีวิต มีการงาน อาชีพ ที่สุจริต มีการผลิตและตลาดสินค้าบริการที่ เกี่ ย วเนื่ อ งพึ่ ง พาสนั บ สนุ น ซึ่ ง กั น และกั น อย่างสมดุล
KALASIN 149 .
2
.indd 149
12/2/2561 9:30:13
บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล
องค์การบริหารส่วนต�ำบล
โคกสมบูรณ์
โคกสมบูรณ์ชุมชนเก่าแก่ รักแท้แนวป่า อาสาพิทักษ์ถิ่น ดินอุดมโคกสมบูรณ์ เกื้อกูลศาสนา กษัตริย์ตราเทิดไว้ รักชาติ ไทยยิ่งชีวี
ค�ำขวัญต�ำบลโคกสมบูรณ์ ซึ่งอยู่ในความดูแลขององค์การบริหาร ส่วนต�ำบลโคกสมบูรณ์ ต�ำบลโคกสมบูรณ์ อ�ำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์
วิสัยทัศน์การพัฒนา
โคกสมบูรณ์ชมุ ชนเขียวขจี มัง่ มีทรัพยากรป่าไม้ กระจายข้อมูลข่าวสาร ลานวิสาหกิจชุมชน พึ่งพาเกษตรผสมผสาน พัฒนางานพัฒนากลุ่ม สนับสนุนการศึกษา
นายสายัน กมลมูล
นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลโคกสมบูรณ์ พันธกิจการพัฒนา
นายค�ำพอง โพธิกมล ประธานสภา อบต.โคกสมบูรณ์
1. สนับสนุนและเสริมสร้างความเข้มแข็งในภาคการเกษตร และ เพิ่มมูลค่าผลผลิตทางการเกษตร 2. พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน สาธารณูปโภคและสาธารณูปการ 3. ส่งเสริมคุณภาพชีวิต และการแก้ไขปัญหาสังคม 4. การรักษาความสงบเรียบร้อยและการป้องกันบรรเทาสาธารณภัย 5. ส่งเสริมอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดล้อมให้เป็นเมืองน่าอยู่ 6. การพัฒนาองค์กรและการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี 7. ส่งเสริมการศึกษา การท่องเที่ยว ศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม และ ภูมิปัญญาท้องถิ่น 8. ส่งเสริมการด�ำเนินงานตามแนวของเศรษฐกิจพอเพียง
คณะผู้บริหารและพนักงาน 150 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 150
12/02/61 05:51:13 PM
ล
ปู่บ ุ
หลวง
นาม
จุดมุ่งหมายเพื่อการพัฒนา
คน
ร ร ม วั ด ส ร ะ แ ธ ญ
1. พัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐานให้ได้มาตรฐานและทั่วถึง 2. ส่ ง เสริ ม และสนั บ สนุ น การประกอบอาชี พ เพื่ อ ให้ ป ระชาชน มีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น 3. ส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนมีสุขภาพดีถ้วนหน้า 4. สร้ า งจิ ต ส� ำ นึ ก และความตระหนั ก ในการอนุ รั ก ษ์ ท รั พ ยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 5. ส่งเสริมและพัฒนาสู่ชุมชนเข้มแข็ง 6. ส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนได้รับการศึกษาทั้งในระบบ และนอกระบบ 7. สร้างจิตส�ำนึกและความตระหนักในการอนุรกั ษ์ ฟืน้ ฟู ศิลปวัฒนธรรม และประเพณีท้องถิ่น 8. ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรอินทรีย์ 9. พั ฒ นาระบบบริ ห ารจั ด การองค์ ก รและส่ ง เสริ ม การปกครอง ในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
เป้าประสงค์ โดยรวม
1. เพิ่ ม ประสิทธิภ าพระบบการผลิต จากการเกษตรในชุ มชน ให้ มีความเข้มแข็งและพึ่งตนเองได้ 2. โครงสร้างพื้นฐาน สาธารณูปโภค และสาธารณูปการได้มาตรฐาน 3. การพัฒนาคุณภาพชีวิตแก่เด็ก สตรี คนชรา ผู้ด้อยโอกาส และ การสงเคราะห์ต่างๆ เพื่อให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
KALASIN 151 .indd 151
12/02/61 05:51:22 PM
บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดปฐมเกษาราม วัดปฐมเกษาราม วัดพัฒนาตัวอย่างทีม่ ผี ลงานดีเด่น พ.ศ. 2559 และเป็นศูนย์ศกึ ษาพระพุทธศาสนาประจ�ำวันวันอาทิตย์ ตั้งอยู่ที่ต�ำบลหลักเมือง อ�ำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์
ประวัติวัดปฐมเกษาราม(วัดกลาง)
วัดปฐมเกษาราม ตั้งอยู่ระหว่างหมู่ที่ 1 กับหมู่ที่ 2 ต�ำบลหลักเมือง อ�ำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์ โดยตั้งอยู่ ริมล�ำน�้ำปาวทางทิศใต้ ปัจจุบันวัดนี้มีเนื้อที่วัดทั้งหมด 10 ไร่ 1 งาน 15 ตารางวา ทิศตะวันตก จดถนนอุปฮาดบ�ำรุง จดริมฝั่งน�้ำปาว 3 เส้น 10 วา ทิศตะวันออก จดกับถนนอุทัย ยาว 3 เส้น 10 วา ทิศเหนือ จดริมฝั่งน�้ำปาว ยาว เส้น 3 เส้น 10 วา ทิศใต้ จดขอบถนนบ้านคุ้มใต้ ยาว 3 เส้น วัดปฐมเกษาราม สร้างขึ้นเมื่อราว พ.ศ. 2410 โดย พระราษฎรบริหาร(ท้าวเกษ) เจ้าเมืองกมลาไสย ซึ่งได้อุทิศ ที่ดินของท่านเพื่อก่อตั้งวัด จากนั้นพ.ศ.2414 ได้สร้างอุโบสถ ขึน้ หลังหนึง่ แบบทรงโบราณ ต่อมาช�ำรุดโทรมมาก พ.ศ.2492 พระครูพรหมสรคุณ พร้อมทายกทายิกาชาวเมืองกมลาไสย สร้างอุโบสถหลังใหม่ขึ้น ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อ พ.ศ.2500 และผูกพัทธสีมาเสร็จ พ.ศ.2501 ขนาด พระอุโบสถหลังใหม่ กว้าง 7 เมตร ยาว 14 เมตร 152 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย 2
(2).indd 152
12/2/2561 16:30:11
ประวัติพระเจ้าใหญ่ พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ คู่เมืองกมลาไสย
พระราษฎรบริหาร (แยกออกจากเมืองกาฬสินธุ์) มาตั้งเมืองกมลาไสยขึ้นที่ “ดงขามเฒ่า” เป็นเมืองขึ้น ตรงต่อกรุงเทพฯ ราว พ.ศ.2405-2406 แล้วสร้างวัด ปฐมเกษารามเพื่ อ เป็ น อนุ ส รณ์ ป ระจ� ำ ตระกู ล และ ประจ� ำ เมื อ งกมลาไสย เมื่ อ สร้ า งวั ด ขึ้ น แล้ ว เสร็ จ จึ ง สร้ า ง “พระเจ้ า ใหญ่ ” พระพุ ท ธรู ป องค์ ใ หญ่ ขนาดหน้าตักกว้าง 1.50 เมตร สูง 2 เมตร เพื่อให้เป็น ปูชนียวัตถุของวัด โดยก่อด้วยดินเหนียวขึ้นกลางวัด แล้วสร้างศาลาการเปรียญหลังใหญ่ครอบเป็นมณฑป พระเจ้าใหญ่ และให้เป็นที่ประชุมบ�ำเพ็ญกุศลของ ประชาชน และให้เป็นทีถ่ อื น�ำ้ พิพฒ ั นสัตยาของเจ้านาย ในสมัยนั้นเป็นประเพณีประจ�ำปี
พระมหาธีรภัทร์ ปภสฺสโร อายุ 43 พรรษา 18
วิทยฐานะ น.ธ.เอก ,ป.ธ.4,.ศน.บ.,ปบ.ส ต�ำแหน่งทางการปกครอง.เจ้าอาวาสวัดปฐมเกษาราม และ เจ้าคณะต�ำบลหลักเมือง เขต 1 KALASIN 153 2
(2).indd 153
12/2/2561 16:30:24
บันทึกเส้นทางพบเทศบาลต�ำบล
เทศบาลต�ำบล
แซงบาดาล
ถิ่นเมืองเก่าเผ่าไทย้อ แหล่งถักทอผ้ามัดหมี่ มันข้าวดีมีอ้อยหวาน สัตว์ โบราณไดโนเสาร์ อ่างหุบเขาห้วยสังเคียบ เพียบพร้อมวัฒนธรรม กระทรวงมหาดไทยได้ประกาศจัดตั้งองค์การบริหารส่วนต�ำบล แซงบาดาล เป็นเทศบาลต�ำบลแซงบาดาล เมือ่ วันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2556
ดาล ดาล งบาดาล ซงบาดาล
นายวัชพงษ์ นามนิตย์ นายกเทศมนตรีต�ำบลแซงบาดาล
ประวัติเมืองแซงบาดาล
“จากบ้านบึงกระดาน เป็น เมือง แซงบาดาล” ในปี พ.ศ.2336 ในสมั ย รั ช กาลที่ 1 ได้ ส ถาปนาเมื อ ง กาฬสินธุ์ขึ้น และในรัชกาลที่ 3 พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้า อยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ยกบ้านบึงกระดานเป็นเมือง แซงบาดาล (พ.ศ.2379 ครั ว พระค�ำแดงจ�ำนวน 933 คน) ในปี พ.ศ.2388 ให้อุปฮาด (ค�ำแดง) เมืองค�ำม่วน เป็นพระศรี สุวรรณ 1 (พระค�ำแดง) เจ้าเมือง แซงบาดาล ราชวงศ์(จารย์จ�ำปา) เป็นอุปฮาด ท้าวขุติยะ(พก) เป็น 154 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .
2
.indd 154
ราชวงศ์ ท้าวสุริยะ(จารย์โท) เป็นราชบุตร ในปี พ.ศ.2391 พระศรีสุวรรณ 2 คือ จารย์จ�ำปา อุปฮาด คือ ท้าวขัติยะ(พก) ในปี พ.ศ.2404 พระศรีสุวรรณ 3 คือ ท้าวขัติยะ(พก) อุปฮาด คือ ท้าวบุญบุตรพระศรีสวุ รรณ(จ�ำปา) ท้าวขีบตุ รพระศรีสวุ รรณ(พระค�ำแดง) เป็นราชวงศ์ ท้าวพรหม บุตรพระศรี ราชบุตร รักษาบัญชาราชการเมือง แซงบาดาล ในปี พ.ศ.2425 พระศรีสุวรรณ 4 คือ ท้าวขี(บุตรพระศรีสุวรรณ 1 (พระค�ำแดง) อุปฮาด คือ ท้าวพรหม ในปี พ.ศ.2427 พระศรีสุวรรณ 5 คือ ท้าวโคตร(บุตรอุปฮาดพรหม) อุปฮาด คือ เจ้าเชียงทุม ในปี พ.ศ.2440 ในสมัยรัชกาลที่ 5 ได้ยกเลิกต�ำแหน่งระบบการ ปกครองเดิม โดยพระศรสุวรรณ 5 (โคตร)ได้เป็นผูว้ า่ ราชการเมือง(2442) ในปี พ.ศ. 2449 จึงเริม่ มีอำ� เภอเกิดขึน้ อ�ำเภอแซงบาดาล มีขนุ บาดาล นิคมเขต(ฮวด)เป็นนายอ�ำเภอ
12/2/2561 9:23:24
ในปี พ.ศ.2451 นายข�ำ เป็นนายอ�ำเภอ ในปี พ.ศ.2454 การจัดการปกครองแบบหัวเมืองได้ถูกยกเลิก ในระหว่างที่จัดตั้งเป็นจังหวัดต�ำแหน่งข้าราชการเมืองกาฬสินธุ์ก็เปลี่ยน ไปด้วย ในปี พ .ศ.2455 รั ช กาลที่ 6 โปรดเกล้ า ฯให้ ตั้ ง มณฑลร้ อ ยเอ็ ด แยกออกจากมณฑลอีสาน อ�ำเภออุทัยร้อยเอ็ด ที่ตั้งอยู่ในเมืองร้อยเอ็ด ให้ออกมาตั้งใหม่ย่านศูนย์การปกครองที่อ�ำเภอดินแดง ในปีพ.ศ.2456 อ�ำเภออุทัยร้อยเอ็ดจึงเปลี่ยน เรียกเป็นอ�ำเภอ แซงบาดาลเพื่อเป็นอนุสรณ์ที่เมืองแซงบาดาลถูกยุบเป็นต�ำบล เมืองแซงบาดาล ปัจจุบันคือ บ้านแซงบาดาล หมู่ที่ 1 ต�ำบลแซงบาดาล อ�ำเภอสมเด็จ จังหวัดกาฬสินธุ์ ที่มา : จากหนังสืออนุสรณ์เนื่องในพิธีเปิดห้องแสดงประวัติเจ้าเมือง กาฬสินธุ์ วันที่ 22 กรกฎาคม 2544 ส�ำนักงานศึกษาธิการอ�ำเภอสมเด็จ จังหวัดกาฬสินธุ์
ข้อมูลทั่วไป
ต�ำบลแซงบาดาล มีพื้นที่ทั้งหมด 103 ตารางกิโลเมตร มีจ�ำนวน 15 หมู่บ้าน และมีประชากร 7,623 คน จ�ำนวนครัวเรือน 2,030 ครัวเรือน ข้อมูล ณ เดือนตุลาคม 2560 ประชากรในต�ำบลแซงบาดาลส่วนใหญ่ ประกอบอาชี พ ท� ำ นา ท� ำ สวน เช่ น สวนมั น ส� ำ ปะหลั ง สวนอ้ อ ย สวนยางพารา และรับจ้าง
ความภาคภูมิใจของ ทต.แซงบาดาล
เทศบาลต�ำบลแซงบาดาลได้รับมอบหมายจากอ�ำเภอสมเด็จ ให้จัด เตรียมสถานทีเ่ พือ่ น�ำเถ้าดอกไม้จนั ทน์ ในงานพระราชพิธถี วายพระเพลิง พระบรมศพพระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช บรมนาถบพิตร และประกอบพิธีลอยเถ้าดอกไม้จันทน์ลงในอ่างเก็บน�้ำ ห้วยสังเคียบ เมื่อวันที่ 27 ตุลาคม 2560
KALASIN 155 .
2
.indd 155
12/2/2561 9:23:29
บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล
องค์การบริหารส่วนต�ำบล
ศรีสมเด็จ
ชุมชนน่าอยู่ สู่เศรษฐกิจพอเพียง พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและ การศึกษา ฟื้นฟูประเพณีวัฒนธรรมภูมิปัญญา สุขภาพดีถ้วน หน้า อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
คือวิสัยทัศน์การพัฒนา (vision) ขององค์การบริหารส่วนต�ำบล ศรีสมเด็จ หมู่ที่ 7 ต�ำบลศรีสมเด็จ อ�ำเภอสมเด็จ จังหวัดกาฬสินธุ์ ซึ่งตั้ง อยูท่ างทิศเหนือห่างจากจังหวัดกาฬสินธุ์ ประมาณ 45 กิโลเมตร ปัจจุบนั มี นายเตียง บุญสิงห์ ด�ำรงต�ำแหน่ง นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลศรีสมเด็จ
ข้อมูลทั่วไป
“ศรี ส มเด็ จ ดิ น แดนหมอล� ำ ซิ่ ง สวยงามยิ่งหนองแสงใหญ่ ม่วนซื่นบุญบั้งไฟ เศรษฐกิจ สดใสปลูกเห็ดฟาง” คือค�ำขวัญต�ำบลศรีสมเด็จ ซึ่ง มี พื้ น ที่ โ ดยประมาณ 35 ตาราง กิโลเมตร หรือประมาณ 21,875 ไร่ มีภูมิประเทศเป็นที่ราบลุ่มและมี ลักษณะเป็นทีด่ อนในบางพืน้ ที่ แบ่ง เขตการปกครองออกเป็น 8 หมูบ่ า้ น ได้แก่ หมู่ 1 บ้านหลุบเปือย หมู่ 2 บ้านหนองแสง หมู่ 3 บ้านโนนสะอาด หมู่ 4 บ้านค�ำกั้ง หมู่ 5 บ้านค�ำกุง หมู ่ 6 บ้ า นหนองอี ดุ ม หมู ่ 7 บ้านหลุบเปือย หมู่ 8 บ้านหนองแสง ประชากรส่ ว นใหญ่ มี อ าชี พ หลัก ได้แก่ ท�ำนา ท�ำสวน ท�ำไร่ และปลูกเห็ดฟาง อาชีพเสริม คือ เลี้ยงสัตว์ โดยมีการรวมกลุ่มเพื่อ ประกอบอาชีพทีส่ ำ� คัญ ได้แก่ กลุม่ ไหม สมเด็จ และกลุ่มเพาะปลูกเห็ดฟาง เพื่ อ ผลิ ต และจ� ำ หน่ า ยเป็ น สิ น ค้ า OTOP
นายเตียง บุญสิงห์
นายพรหมมินทร์ ฉิรินัง
ปลัดองค์การบริหารส่วนต�ำบลศรีสมเด็จ
นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลศรีสมเด็จ
156 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .
3
.indd 156
9/2/2561 13:49:33
ยุทธศาสตร์การพัฒนา ( Mission)
1. ยุทธศาสตร์ด้านการบริหารการปกครองความมั่นคงของ มนุษย์ - ส่งเสริมให้บคุ ลากรได้เข้ารับการฝึกอบรม เพือ่ ทบทวนความรู้ และสามารถปฏิบัติงานในหน้าที่ของตน เพื่อให้บริการประชาชน ในพื้ น ที่ ไ ด้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและทั น ต่ อ เหตุ ก ารณ์ แ ละ สถานการณ์ในปัจจุบัน - มีการพัฒนาด้านสถานที่และอุปกรณ์ต่างๆ ที่จ�ำเป็นในการ ปฏิ บั ติ ง าน เพื่ อ ให้ เ กิ ด ประสิ ท ธิ ภ าพในการปฏิ บั ติ ง านของ ข้าราชการและเจ้าหน้าที่ - มีการพัฒนาและส่งเสริมการป้องกัน บรรเทาสาธารณภัย ยาเสพติดและอาชญากรรม - มีการจัดซือ้ รถกูช้ พี กูภ้ ยั และรถดับเพลิงแบบมีกระเช้ายกสูง ให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติในกรณีฉุกเฉินและผู้ประสบ สาธารณภัยต่างๆ โดยมีการให้ความช่วยเหลือผูป้ ระสบภัยในกรณี ฉุกเฉินและสาธารณภัยต่างๆ เช่น ไฟไหม้ น�้ำท่วม ภัยที่เกิดจาก พายุ ภัยหนาว เป็นต้น - มีการป้องกัน ป้องปรามอาชญากรรมและอุบัติเหตุในพื้นที่ โดยมีการจัดตั้งศูนย์ อปพร.อบต.ศรีสมเด็จ การรณรงค์ป้องกัน อุบัติเหตุในช่วงเทศกาลส�ำคัญ เช่น ปีใหม่ สงกรานต์ และเทศกาล งานบุญประจ�ำปี บุญเดือนสี่ การควบคุมและป้องกันการก่อเหตุ อาชญากรรมในพื้นที่โดยมีการเฝ้าระวังปัญหาด้านยาเสพติด การเฝ้าระวังลดปัญหาการทะเลาะวิวาทในงานประเพณีต่างๆ
2. ยุทธศาสตร์ด้านทรัพยากรมนุษย์ อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม - มีการสนับสนุนการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ คนพิการ ผู้ป่วยติดเชื้อ ผู้ยากไร้ผู้ด้อยโอกาสในพื้นที่ โดยการจ่ายเบี้ยยังชีพตาม นโยบายของรัฐบาล การประสานงานกับหน่วยงานต่างๆ เพื่อให้ความ ช่วยเหลือทั้งในด้านการด�ำรงชีวิต การฝึกอาชีพ การให้ความช่วยเหลือ ด้านที่อยู่อาศัยและการส่งเสริมการจัดตั้งชมรมผู้สูงอายุ ชมรมคนพิการ เพื่อให้เกิดการรวมกลุ่มเพื่อด�ำเนินกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ส�ำหรับ ผู้สูงอายุและคนพิการในพื้นที่
KALASIN 157 .
3
.indd 157
9/2/2561 13:49:44
- มีการด�ำเนินการด้านการรักษาสิ่งแวดล้อมการป้องกันควบคุม โรคระบาดจากสัตว์ และการรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่ การรณรงค์การป้องกันและก�ำจัดโรคพิษสุนัขบ้า การรณรงค์ ก�ำจัดลูกน�ำ้ ยุงลาย เพือ่ ป้องกันโรคไข้เลือดออก การปรับปรุงภูมทิ ศั น์และ การรักษาทรัพยากรทีเ่ ป็นของสาธารณะ เพือ่ ให้เกิดการใช้ประโยชน์รว่ มกัน ในพื้นที่ - มีการสนับสนุนการด�ำเนินงานด้านสวัสดิการชุมชนในพื้นที่ เช่น การสนับสนุนกองทุนออมวันละบาท การสนับสนุนกองทุนหลักประกัน สุขภาพแห่งชาติ การสนับสนุนสุขศาลาของแต่ละหมู่บ้านในเขตต�ำบล 3. ยุทธศาสตร์ด้านผังเมืองและการใช้ที่ดินเพื่อการเกษตร - มีการพัฒนาด้านผังเมือง จัดท�ำแผนทีภ่ าษี มีการบริหารจัดการทีด่ นิ - ส่งเสริมสนับสนุน และพัฒนาแหล่งน�้ำตามธรรมชาติ และพัฒนา แหล่งน�ำ้ ทีก่ อ่ สร้างขึน้ ใหม่ เช่น ฝายน�ำ้ ล้น ขุดจ�ำบ่อบาดาลเพือ่ การเกษตร - มีการส่งเสริมและสนับสนุนการเกษตรแบบบูรณาการโดยยึดหลัก เศรษฐกิจพอเพียง 4. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการสร้างความเข้มแข็งของชุมชนและ การพัฒนาที่ยั่งยืน - มีการก่อสร้าง / ซ่อมแซม / ปรับปรุงถนนคอนกรีต ถนนลูกรังและ ถนนดินภายในเขตพื้นที่ต�ำบลศรีสมเด็จให้มีสภาพพร้อมใช้งานสะดวก ปลอดภัยส�ำหรับประชาชนที่ใช้สัญจรไปมาหรือขนส่งสินค้าการเกษตร - มีการพัฒนาแหล่งน�้ำสาธารณะ เช่น ขุดลอกล�ำห้วย ก่อสร้างฝาย ขุดลอกหนองน�้ำสาธารณะเพื่อเป็นแหล่งกักเก็บน�้ำไว้ส�ำหรับอุปโภค บริโภค และเป็นแหล่งอาหารของประชาชนในพื้นที่ - มีการอุดหนุนงบประมาณเพื่อขยายเขตไฟฟ้าส่องสว่าง และไฟฟ้า เพื่อการเกษตรในพื้นที่ - มีการสนับสนุนงบประมาณเพือ่ ซ่อมแซมหอกระจายข่าวทุกหมูบ่ า้ น เพื่อให้ประชาชนได้รับข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ ที่ทันสมัยและเป็นประโยชน์ ต่อประชาชนในพื้นที่ 5. ยุทธศาสตร์ด้านเศรษฐกิจฐานราก - มีการส่งเสริมสนับสนุนและพัฒนาอาชีพให้แก่ประชาชนในพื้นที่ - มีการส่งเสริมสนับสนุน พัฒนา และจัดตั้งระบบสถาบันการเงิน ในชุมชนให้ยั่งยืน 6. ยุทธศาสตร์ด้านการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม - มีการสนับสนุนด้านการศึกษาทุกระดับ โดยการจัดตั้งศูนย์พัฒนา เด็กเล็กเพื่อลดภาระของผู้ปกครอง และเพื่อเตรียมความพร้อมให้แก่เด็ก ก่อนวัยเรียน การสนับสนุนด้านการจัดซือ้ อาหารเสริมนม อาหารกลางวัน และการศึกษาด้านอื่นๆ ของประชาชนและเยาวชนในพื้นที่ - มีการสนับสนุนส่งเสริมและพัฒนาด้านการกีฬา โดยมีการจัดการ แข่งขันกีฬาพ่อบ้านแม่บ้าน และเยาวชนต้านยาเสพติด เป็นประจ�ำทุกปี - มีการสนับสนุนและอนุรกั ษ์ประเพณี วัฒนธรรมและภูมปิ ญั ญาท้องถิน่ ในพื้ น ที่ โดยมี ก ารจั ด โครงการสื บ สานประเพณี วั น สงกรานต์ แ ละ วันผูส้ งู อายุ ประเพณีบญ ุ บัง้ ไฟและประเพณีวฒ ั นธรรม รวมทัง้ ภูมปิ ญ ั ญา ท้องถิ่นอื่นๆ ในพื้นที่ 158 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .
3
.indd 158
9/2/2561 13:49:45
0 . 4 D N A L I A TH ก
พ.ธีระเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป์ อดีตรมช.กระทรวงศึกษาธิการ กล่ า วปาฐกถาพิ เ ศษ เรื่ อ ง “Education Reform & Entrance 4.0” ภายในงานมหกรรมการศึกษา Think Beyond 4.0 โดยมีใจความส�ำคัญว่า “การศึกษาในยุค Thailand 4.0” มีความ หมายมากกว่าการเตรียมความพร้อมของคน หรือให้ความรู้กับคนเท่านั้น แต่เป็นการเตรียม มนุษย์ให้เป็นมนุษย์ กล่าวคือ นอกจากให้ความรู้ แล้ว ต้องท�ำให้เขาเป็นคนที่รักที่จะเรียน มี คุณธรรม และสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้ด้วย นัน่ ก็คอื การสร้างคนให้มที กั ษะในศตวรรษที่ 21 โดยเน้นทักษะในการคิดวิเคราะห์เป็นหลัก ดังนั้น การศึกษาจึงต้องเร่งด�ำเนินการ ปฏิรูปการเรียนรู้ให้กับเด็กไทย ได้เข้าก้าวสู่ Thailand 4.0 อย่างเป็นรูปธรรมในหลายด้าน เช่น การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ เป็นหัวใจ ส�ำคัญในการสื่อสารกับนานาชาติ ทั้งเพื่อการ ติ ด ต่ อ สื่ อ สาร การแลกเปลี่ ย นความรู ้ การ ประสานความร่วมมือ และการค้าขาย ซึง่ ทีผ่ า่ นมา กระทรวงศึกษาธิการได้ด�ำเนินการยกระดับ ภาษาอังกฤษของประเทศผ่านโครงการส�ำคัญ ต่างๆ อาทิ การพัฒนาครูภาษาอังกฤษผ่าน กระบวนการ Boot Camp, จัดท�ำแอพพลิเคชัน่ Echo Hybrid, Echo English เป็นต้น การส่ ง เสริ ม การเรี ย นการสอน วิ ช า คณิ ต ศาสตร์ และ วิ ท ยาศาสตร์ ซึ่ ง จะได้ เ ป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของ สะเต็ ม ศึ ก ษา (STEM Education) เพื่อ ใ ห ้ เ ด็ ก มี ความ
4.0 AEC.indd 159
0 . 4 ค ุ ย น ใ ย ท ไ า ษ ารศึก
เข้าใจเกีย่ วกับศาสตร์ทวี่ า่ ด้วยเรือ่ งของโลกและ วั ต ถุ ต ่ า งๆ ในขณะเดี ย วกั น เด็ ก ไทย ในอนาคตก็ต้องคงไว้ซึ่งวัฒนธรรมของไทยที่ ดีงาม ควบคู่กับการเรียนรู้ศาสตร์ใหม่ๆ ที่มี ความทันสมัยด้วยเช่นกัน การพั ฒ นาทั ก ษะการคิ ด วิ เ คราะห์ สิ่งส�ำคัญหนึ่งที่มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ค้นพบ เกีย่ วกับ Communication Thinking Skill คือ การสอนเรื่องการคิดวิเคราะห์ ไม่สามารถแยก วิชาสอนต่างหากได้ แต่จะต้องมีการเรียนวิชาการ แต่ละเรื่องอย่างลึกซึ้งเสียก่อน หลังจากนั้น การคิดวิเคราะห์จะตามมาเอง เช่นเดียวกับ การเรี ย นภาษาอั ง กฤษ ต้ อ งมี ค วามรู ้ เรื่ อ ง ไวยากรณ์ควบคูก่ บั การอ่าน จนมีความ รู้เรื่องค�ำและเรื่องภาษาจริงๆ เมือ่ นัน้ เราก็จะสามารถสือ่ สาร ภาษาอั ง กฤษได้ รวมทั้ ง สามารถน�ำความรูไ้ ปใช้งานต่อ ได้ด้วย ขณะนี้ ก ระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร ก� ำ ลั ง ป รั บ ป รุ ง หลักสูตรใหม่ เพื่อ น� ำ มาใช้ ใ นปี ก าร ศึกษา 2561 จากเดิม เรียน 8 กลุ่มสาระการ เรี ย นรู ้ อาจจะปรั บ ให้ เรียนเป็นรายวิชาเฉพาะ เช่ น ในอดี ต โดยเนื้ อ หา หลั ก สู ต รจะเปลี่ ย นไป ต า ม อ ง ค ์ ค ว า ม รู ้ ในโลกยุคใหม่ พร้อม กั บ การเรี ย นเฉพาะ เรื่ อ งที่ ส� ำ คั ญ ๆ และ
เรียนให้รู้อย่างลึกซึ้ง ทั้งนี้อาจเกิดวิชาใหม่ๆ เช่น Computing ที่จะเป็นการเรียนเกี่ยวกับ โปรแกรม ทีใ่ ช้ควบคุมการท�ำงานของเครือ่ งจักร เครือ่ งกล เพือ่ ให้เด็กสร้างนวัตกรรมและรูเ้ ท่าทัน เทคโนโลยี, ความรู้เรื่องวิศวกรรมศาสตร์และ วิ ท ยาศาสตร์ ใ หม่ ๆ ที่ จ ะน� ำ ไปสู ่ ก ารสร้ า ง นวัตกรรมได้ในทีส่ ดุ รวมทัง้ อาจจะน�ำวิชาเดิมๆ กลับมาสอนอีก เช่น วิชาภูมิศาสตร์ เพื่อให้เกิด การเรี ย นรู ้ เรื่ อ งของโลก เกี่ ย วโยงไปสู ่ วิ ช า วิทยาศาสตร์และเกษตรกรรม คือความเข้าใจ การเกิดของมนุษย์ เข้าใจพื้นที่ เป็นต้น อย่างไรก็ตาม ในอนาคตเร็วๆ นี้ ระบบ การสอบจะเกิดความเปลีย่ นแปลงอย่างแน่นอน โดยแนวโน้มคือการสอบจะต้องน้อยลง เพือ่ ให้เด็กได้เรียนจนครบหลักสูตร และไม่ ต้องกังวลกับการเตรียมสอบต่างๆ มาก จนเกินไป ที่มา กระทรวงศึกษาธิการ www.moe.go.th
09/02/61 02:37:01 PM
บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล
องค์การบริหารส่วนต�ำบล
สมเด็จ
เกษตรผสมผสาน ลานวิสาหกิจ ชุมชนน่าอยู่ ปราชญ์ภูมิปัญญา การศึกษาท้องถิ่น ศูนย์ข้อมูลเทคโนโลยีข่าวสาร
คือวิสยั ทัศน์การพัฒนาขององค์การบริหารส่วนต�ำบลสมเด็จ หมูท่ ี่ 7 ต�ำบลสมเด็จ อ�ำเภอสมเด็จ จังหวัดกาฬสินธุ์ โดยตั้งอยู่เขตรอบนอกของ เทศบาลต�ำบลสมเด็จ และอยู่ทางทิศเหนือห่างจากจังหวัดกาฬสินธุ์ ประมาณ 40 กิโลเมตร
ข้อมูลทั่วไป
องค์การบริหารส่วนต�ำบลสมเด็จ มีพื้นที่โดยประมาณ 26 ตาราง กิโลเมตร หรือประมาณ 16,500 ไร่ โดยพืน้ ทีท่ งั้ หมดมีสภาพเป็นทีร่ าบสูง นาดอน การปกครอง แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 12 หมู่บ้าน ดังนี้ - หมูบ่ า้ นอยูใ่ นเขต อบต.สมเด็จ ทัง้ หมด ได้แก่ หมูท่ ี่ 1 บ้านหนองบัวโดน, หมูท่ ี่ 7 บ้านหนองบัวโดน, หมูท่ ี่ 8 บ้านหนองกุง, หมูท่ ี่ 9 บ้านโนนสวรรค์, หมู ่ ที่ 11 บ้ า นหนองบั ว โดน, หมู ่ ที่ 12 บ้ า นหนองบั ว โดน และ หมู่ที่ 13 บ้านหนองกุง - หมู่บ้านอยู่นอกเขต อบต.สมเด็จทั้งหมด ได้แก่ หมู่ที่ 2 - หมู่บ้านอยู่ในเขต อบต.สมเด็จบางส่วน ได้แก่ หมู่ที่ 3 บ้านสี่แยก, หมู่ที่ 4 บ้านสี่แยก, หมู่ที่ 5 บ้านสี่แยก, หมู่ที่ 6 บ้านสี่แยก และหมู่ที่ 10 บ้านสี่แยก
นายทองจันทร์ เหล่าลุมพุก นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลสมเด็จ
160 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .
2
.indd 160
9/2/2561 13:56:35
ประชากร มีจ�ำนวนประชากรทั้งหมด 6,052 คน แยกเป็น ชาย 2,987 คนหญิง 3,065 คน จ�ำนวนครัวเรือน 1,611 ครัวเรือน สภาพเศรษฐกิจ อาชีพหลัก ได้แก่ การท�ำนา รองลงมาคือ ท�ำไร่มนั ส�ำปะหลัง ปลูกไม้ยนื ต้น-ไม้ผล พืชผักสวนครัว เลีย้ งสัตว์ และค้าขาย โดยในเขตพื้นที่ของ อบต.สมเด็จ ยังมีการลงทุนด้าน อุตสาหกรรมทางการเกษตรจ�ำนวนมาก สภาพสังคม - ด้านการศึกษา มีทั้งโรงเรียนประถมศึกษา, โรงเรียนของ เอกชนจัดการ, โรงเรียนมัธยมโรงเรียนอาชีวศึกษา โรงเรียน/ สถาบันชั้นสูง, ที่อ่านหนังสือพิมพ์ประจ�ำหมู่บ้าน, ห้องสมุด ประชาชน, ศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียน, ศูนย์พัฒนาเด็ก เล็กของอบต. - การสาธารณสุข โรงพยาบาลของรัฐบาล 50 เตียง 1 แห่ง (ในเขตเทศบาลต� ำ บลสมเด็ จ ) โรงพยาบาลส่ ง เสริ ม สุ ข ภาพ ต�ำบลสมเด็จ 1 แห่ง สุขศาลา 4 แห่ง
พันธกิจ
- พัฒนาพื้นที่การเกษตรที่มีอยู่อย่างจ�ำกัด มุ่ง สู่เ กษตร พอเพียงและผสมผสาน - พัฒนาแหล่งเศรษฐกิจวิสาหกิจชุมชน - เสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน สร้างความสัมพันธ์ชมุ ชน - บริหารจัดการพัฒนาประสิทธิภาพบุคลากรในท้องถิ่น - จัดการศึกษาและวิจัยภูมิปัญญาท้องถิ่น - จัดระบบข้อมูลข่าวสารระดับต�ำบล ยุทธศาสตร์การพัฒนา - การพัฒนาบริหารการปกครอง ความมั่นคง การอ�ำนวย ความยุติธรรม - การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และสิ่งแวดล้อม - การพัฒนาผังเมืองและการใช้ที่ดินเพื่อการเกษตร - การพัฒนาสร้างความเข้มแข็งของชุมชนและการพัฒนา ที่ยั่งยืน - การพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก - การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน เทคโนโลยีสารสนเทศและ การศึกษา
คณะผู้บริหาร อบต.สมเด็จ
นายทองจันทร์ เหล่าลุมพุก ต�ำบลสมเด็จ นายทองมี บัวค�ำภู ต�ำบลสมเด็จ นายบรรจง อรัญมิตร ต�ำบลสมเด็จ นายสุดใจ หัดรัดชัย ต�ำบลสมเด็จ
นายกองค์ ก ารบริ ห ารส่ ว น รองนายกองค์การบริหารส่วน รองนายกองค์การบริหารส่วน เลขานายกองค์การบริหารส่วน KALASIN 161
.
2
.indd 161
9/2/2561 13:56:35
บันทึกเส้นทางพบเทศบาลต�ำบล
เทศบาลต�ำบล
กุดสิม
25 พฤศจิกายน 2535 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ ัวทรงเสด็จเยี่ยม ราษฎรอ�ำเภอเขาวง นายวิชยั กว้างสวาสดิ์ ก�ำนันต�ำบลคุม้ เก่า (ในสมัยนัน้ ) ได้เข้าเฝ้าถวายรายงานสภาพพื้นที่การเกษตรของอ�ำเภอเขาวง วิสัยทัศน์ พันธกิจ
“เมืองวัฒนธรรมผู้ ไท ที่น่าอยู่ อย่างยั่งยืน” “พัฒนาศักยภาพเทศบาลต�ำบลกุดสิม ให้เป็นเมืองวัฒนธรรมผู้ ไทที่น่าอยู่”
ดร.วิ ช ั ย กว้ า งสวาสดิ ์ นายกเทศมนตรีต�ำบลกุดสิม
วิสัยทัศน์การพัฒนาเทศบาลต�ำบลกุดสิม “เมืองวัฒนธรรมผู้ ไท ที่น่าอยู่ อย่างยั่งยืน” ประวัติความเป็นมา เทศบาลต�ำบลกุดสิม ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ของอ�ำเภอเขาวง จังหวัด กาฬสินธุ์ ได้รบั การจัดตัง้ เป็นสุขาภิบาลกุดสิม เมือ่ วันที่ 11 กันยายน 2515 ตามประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 89 ตอนที่ 159 ลงวันที่ 24 ตุลาคม 2515 อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา 5 แห่งพระราชบัญญัตสิ ขุ าภิบาล พ.ศ.2495 ได้ยกฐานะท้องถิ่นบางส่วนของต�ำบลคุ้มเก่า กิ่งอ�ำเภอเขาวง และบางส่วนของต�ำบลสงเปลือย อ�ำเภอกุฉินารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ มีพื้นที่ 7.5 ตารางกิโลเมตร และได้รับการยกฐานะจากสุขาภิบาลเป็น เทศบาล เมื่อ พ.ศ.2542 ซึ่งได้รับประกาศตามราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 116 ตอนที่ 3 ลงวันที่ 20 กุมภาพันธ์ มีผลท�ำให้เปลี่ยนแปลงจาก สุขาภิบาลกุดสิมเป็นเทศบาลกุดสิม เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ.2542 และวันที่ 24 เมษายน ของทุกปีเป็น “วันเทศบาล” 162 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย 2
(2).indd 162
12/2/2561 9:10:18
งานผู้ ไทนานาชาติ งานผู ้ ไ ทนานาชาติ จะมี ช าวผู ้ ไ ทจาก 3 ประเทศเข้ า ร่ ว มทั้ ง ประเทศเวี ย ดนาม สาธารณรั ฐ ประชาธิ ป ไตยประชาชนลาว และ ประเทศไทย งานผู้ไทนานาชาติ เป็นงานเชิงวิชาการรวมกับการแสดง วิถีชีวิตของชาวผู้ไท ในงานมีจัดการสัมมนาให้ความรู้ เพื่อฟื้นฟู สืบสาน อนุรกั ษ์ศลิ ปวัฒนธรรมอันเป็นอัตลักษณ์ และการแสดงดนตรีพนื้ เมืองของ ชาวผู้ไท ให้เป็นที่รู้จักอย่างแพร่หลาย เป็นการยกระดับการส่งเสริมและ พัฒนาการท่องเทีย่ วเชิงวัฒนธรรมรูปแบบใหม่ จากระดับท้องถิน่ สูร่ ะดับ สากล โดยมีชาวผูไ้ ทจากประเทศลาว เวียดนาม และไทย นับหมืน่ คนร่วม งานจากนั้นชาวผู้ไท จ�ำนวน 3,500 คน
พันธกิจ พัฒนาศักยภาพเทศบาลต�ำบลกุดสิมให้เป็นเมืองวัฒนธรรมผู้ไทที่น่าอยู่ 1. พัฒนาโรงสร้างพื้นและสิ่งแวดล้อมให้เป็นเมืองที่น่าอยู่ 2. พัฒนาคุณภาพชีวิตและสุขภาพให้พร้อมต่อการพัฒนา 3. ส่งเสริมการศึกษาและวัฒนธรรมท้องถิน่ 4. พัฒนาเศรษฐกิจและชุมชน 5. พัฒนาบริหารจัดการองค์กร
KALASIN 163 2
(2).indd 163
12/2/2561 9:10:22
ด่น พ.ศ. อาทิตย์ สินธุ์
บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วั ด หนองแสง
วัดหนองแสง ตั้งอยู่บ้านหนองแสง(บ้านโชคชัย) บ้านเลขที่ 1 หมู่ที่ 12 ต�ำบลสงเปลือย อ�ำเภอเขาวง จังหวัดกาฬสินธุ์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย
วัดหนองแสง สร้างเมือ่ พ.ศ.2440 โดย อัญญาคูปตั ิ เขมโก ในปี พ.ศ. 2498 ได้สร้างศาลาการเปรียญขึน้ 1 หลัง และได้เปิดสอนพระปริยตั ธิ รรม แผนกธรรม ต่อมาได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 15 มกราคม 2524 และได้ผูกพัทธสีมาฝังลูกนิมิต เมื่อปี พ.ศ.2525 ต่อมาในปี พ.ศ. 2527 ได้ขอยกฐานะวัด เป็นวัดพัฒนาตัวอย่างประจ�ำอ�ำเภอเขาวง ตาม โครงการพัฒนาวัดให้เป็นศูนย์กลางของชุมชน ของกรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ กระทั่งปี พ.ศ.2529 ได้รับพัดพัฒนาและประกาศ เกียรติคุณเป็น วัดพัฒนาดีเด่น ประจ�ำปี 2529 ปัจจุบันวัดหนองแสงมีที่ตั้งวัดเนื้อที่ 10 ไร่ 2 งาน 65 ตารางวา ตรงข้ามวัดมีที่สงฆ์ของวัด เนื้อที่ 1 ไร่ 3 งาน 4 ตารางวา พ.ศ.2514 คุณชิน-คุณอัจฉรา ชินเศรษฐวงค์ กรุงเทพมหานคร ได้ถวายที่ดินแก่ วัดหนองแสง(เป็นทีธ่ งณีสงฆ์) 27 ไร่ 12 ตารางวา รวมมีทธี่ รณีสงฆ์ 4 แปลง รวมเนื้อที่ประมาณ 31 ไร่ นามเจ้าอาวาสปกครองวัด วัดหนองแสง มีรายนามเจ้าอาวาส ดังนี้ 1. อัญญาดูปัติ เขมโก 2. อัญญาคูลอด นราสโก 3. อัญญาคูป้อง ปญฺญาวโร 4. พระเมย ปคุโณ 5. พระแจ ธมฺมกาโม 6. พระสมุห์เคือน จนฺทว์โส 7. พระลี ติกฺขปญฺโญ 8. เจ้าอธิการจ�ำรัส ธมฺมทินฺโน 9. เจ้าอธิการเฉย สิริปญฺโญ 10. พระครูญาณประสิทธิ์ (ปัจจุบัน) 164 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย 2
(2).indd 164
9/2/2561 13:43:34
สิ่งก่อสร้างภายในวัด
พระค�ำม่วง ญาณเตโช สร้างพระพุทธรูปก่ออิฐถือปูน 1 องค์ หน้ากว้าง 3 เมตร สูง 5 เมตร เมื่อ พ.ศ.2512 พระอธิการเฉย สิริปญฺโญ เจ้าอาวาสและเป็นเจ้าคณะต�ำบล สร้างศาลาการเปรียญ เมื่อปี พ.ศ.2512 ต่อมาปี พ.ศ.2517 พระค�ำม่วง ญาณเตโช สร้างเจดีย์ขึ้น 1 องค์ บรรจุคัมภีร์ทาง พระพุทธศาสนา ปี พ.ศ.219 พระพิชิต อริยธโช และคุณบุญช่วย กิจเจริญผล ได้ให้การสนับสนุนในการพัฒนาวัด ตัดถนน ปลูกต้นไม้ ภายในวัด และสร้างห้องสมุด ปี พ.ศ.2520 ได้สร้างซุ้มประตูที่วัด หนองแสง ทางด้านทิศเหนือ เมือ่ ปี พ.ศ.2522 ได้วางศิลาฤกษ์สร้าง อุโบสถ โดยมีพระครูพิศาลศิลปะยุต เป็นประธานวางศิลาฤกษ์ ปี พ.ศ.2532 สร้างวิหารพระ 1 หลัง
ประวัติโดยย่อพระครูญาณประสิทธิ์
วิทยฐานะ พ.ศ.2499 ส�ำเร็จวิชาสามัญชัน้ สุงสุด ป.4 จากโรงเรียนหนองแสง ถวิลราษฎร์ เขาวง-กาฬสินธุ์ พ.ศ.2511 สอบนักธรรมเอกได้ ในสนามหลวง ส�ำนักเรียน วัดหนองแสง ต�ำบลสงเปลือย อ�ำเภอเขาวง จังหวัดกาฬสินธุ์ สมศักดิ์ ได้รับพระราชทานสมศักดิ์พัดยศ เจ้าคณะอ�ำเภอนาคูชั้นเอก ที่ พระครูญาณประสิทธิ์(จอ.ชอ.) โดยมีงานฉลองวันที่ 25-26 มกราคม 2556 การปกครอง พ.ศ.2518 รองเจ้าอาวาสวัดหนองแสง พ.ศ.2520 เจ้าอาวาสวัดหนองแสง พ.ศ.2526 เจ้าคณะต�ำบลสงเปลือย พ.ศ.2545 รองเจ้าคณะอ�ำเภอเขาวง พ.ศ.2551 เจ้าคณะอ�ำเภอนาคู พ.ศ.2559 เจ้าคณะอ�ำเภอชั้นพิเศษ พ.ศ.2559 เจ้าคณะอ�ำเภอเขาวง ผลงาน พ.ศ.2512 สร้างพระประธานด้วยอิฐถือปูนในวิหาร พ.ศ.2518 สร้างเจดีย์บรรจุพระธาตุ พ.ศ.2520 สร้างซุ้มประตูที่วัดหนองแสง ด้านทิศเหนือ พ.ศ.2522 สร้างอูโบสถ พ.ศ.2530 สร้างหอพระ, บูรณะกุฏสิ งฆ์, สร้างหอระฆัง, สร้างเมรุ พ.ศ.2548 สร้างศาลาการเปรียญขึน้ ใหม่ 1 หลัง สิน้ เงิน 7,500,000 บาท เป็นวัดพัฒนาตัวอย่าง, ได้รับพัดวัดพัฒนาดีเด่น, ตั้งศูนย์เด็กก่อน เกณฑ์ในวัด, ตั้งศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์
สถานะเดิม ชื่อ ค�ำม่วง หาศิริ เกิดวันที่ 28 มีนาคม พ.ศ.2487 ตรงกับวันอังคาร ขึ้น 5 ค�่ำ เดือน 5 บิดาชื่อ นายสา หาศิริ มารดา ชื่อ นางเชียง หาศิริ บ้านเลขที 125 หมู่ที่ 2 บ้านหนองแสง ต�ำบลสงเปลือย อ�ำเภอเขาวง จังหวัดกาฬสินธุ์ บรรพชา เมือ่ ปีจอ วันที่ 13 พฤษภาคม 2501 ณ วัดบรูพาคุม้ ใหม่ ต�ำบลสงเปลือย อ�ำเภอเขาวง จังหวัดกาฬสินธุ์ อุปสมบท เมื่อปีมะโรง วันที่ 29 มีน่คม 2507 ณ วัดสิมนาโก ต�ำบลนาโก อ�ำเภอกุฉินารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ พระอุปัชฌาย์ชื่อ พระครูพศิ าลศิลปยุต วัดสิมนาโก พระกรรมวาจารย์ชอื่ พระครูศลี าภินนั้ ท์ วั ด กลางอุ ด มวารี พระอนุ ส าวนาจารย์ ชื่ อ พระเนี ย ม อหิ ส โก วัดสิมนาโก
KALASIN 165 2
(2).indd 165
9/2/2561 13:43:46
บันทึกเส้นทางพบเทศบาลต�ำบล
เทศบาลต�ำบล
ท่าคันโท “ท่าคันโทเมืองน่าอยู่อย่างยั่งยืน คืนสู่วิถีธรรมชาติ ความสะอาด สุขภาวะ สิ่งแวดล้อม การศึกษาเป็นเลิศ เกิดอัตลักษณ์วัฒนธรรมองค์กร น้อมค�ำสอนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สองเมืองพลเมืองมีสุข ท่าคันโท-ศรีธาตุ” คือวิสัยทัศน์เทศบาลต�ำบลท่าคันโท ต�ำบลนาตาล อ�ำเภอ ท่าคันโท จังหวัดกาฬสินธุ์ โดยตัง้ อยูท่ างทิศตะวันตกเฉียงเหนือห่าง จากจังหวัดกาฬสินธุ์ ประมาณ 109 กิโลเมตร
ข้อมูลทั่วไป
เทศบาลต�ำบลท่าคันโท มีพื้นที่ทั้งหมด 5,937.41 ไร่ ประกอบ ด้วย หมู่ที่ 1, หมู่ที่ 2, หมู่ที่ 3,หมู่ที่ 4, หมู่ที่ 5, หมู่ที่ 6, หมู่ที่ 7, หมูท่ ี่ 8 และหมูท่ ี่ 9 ของต�ำบลท่าคันโท และหมูท่ ี่ 1, หมูท่ ี่ 2, หมูท่ ี่ 3 และหมู่ที่ 12 ของต�ำบลนาตาล พื้ น ที่ ใ นเขตเทศบาลต� ำ บลท่ า คั น โท มี ค วามสวยงามเป็ น ธรรมชาติ โดยพืน้ ทีด่ า้ นทิศใต้เป็นภูเขา ทิศเหนือเป็นแม่นำ �้ (อ่างท่าคันโท มีพื้นที่ 900 ไร่ ) มีคันคูรอบอ่าง มีความยาวประมาณ 8 กิโลเมตร มีหาดคันโทที่สวยงาม เหมาะส�ำหรับการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
นายธีระพล ยันตะบุศย์ นายกเทศมนตรีต�ำบลท่าคันโท
คณะผู้บริหาร ทต.ท่าคันโท
นายธีระพล ยันตะบุศย์ ดาบต�ำรวจทวี นาเมืองรักษ์ นายมนัสไชย นิกรแสน นายบุญส้วน นาเมืองรักษ์ นายสวาท นิกรแสน
นายกเทศมนตรี รองนายกเทศมนตรี รองนายกเทศมนตรี ที่ปรึกษานายกเทศมนตรี เลขานุการนายกเทศมนตรี
166 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย 2
(2).indd 166
12/2/2561 9:18:18
โครงการ/กิจกรรมส�ำคัญ
LTC “ดูแลสุขภาพผู้สูงวัย ด้วยหัวใจ แบบ ไร้รอยต่อ” ปี พ.ศ 2559 เทศบาลต�ำบลท่าคันโทได้จดั ระบบการดูแลระยะยาวแก่ผู้สูงอายุที่มีภาวะ พึ่ ง พิ ง (LTC) ผ่ า นทางกองทุ น หลั ก ประกั น สุขภาพ โดยมีการจัดตัง้ อนุกรรมการสนับสนุน การจั ด การบริ ห ารดู แ ลระยะยาวส� ำ หรั บ ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ท�ำให้ผู้สูงอายุที่มี สภาวะพึ่ ง พิ ง ในเขเทศบาลต� ำ บลท่ า คั น โท จ�ำนวน 105 คน ได้รบั การดูแลอย่างมีคณ ุ ภาพ โดยความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายอย่างไร้ รอยต่อ คือโรงพยาบาลท่าคันโท ทีร่ ว่ มมือร่วมใจ ท�ำงานด้วยหัวใจ จนท�ำให้งานส�ำเร็จลุล่วง สัมฤทธิผ์ ลด้วยดี นอกจากนัน้ ยังมีการต่อยอด ด้วยการจัดตั้ง “ศูนย์โฮมสุข” อีก 3 ศูนย์ เพือ่ ดูแลคนพิการ และผูส้ งู อายุทชี่ ว่ ยเหลือตัว เองล�ำบากหรืออาจเป็นภาระกับคนอืน่ พัฒนาเด็กเล็กและเยาวชนต้นแบบ เทศบาลต�ำบลท่าคันโทร่วมกับสภาเด็ก และเยาวชน เทศบาลต�ำบลท่าคันโท และสถาน ศึกษาทุกแห่งในเขตเทศบาลต�ำบลท่าคันโท จัดให้มีกิจกรรมของเด็กและเยาวชนที่หลาก หลาย เพือ่ ส่งเสริมพัฒนาและคุม้ ครองเด็ก และ เยาวชนในพืน้ ที่ โดยมีองค์กรภาคีเครือข่าย เช่น ชมรมฟุ ต บอลเทศบาลต� ำ บลท่ า คั น โท, ศูนย์เรียนรู้ เศรษฐกิจพอเพียง ของสภาเด็กและ เยาวชน, คณะกรรมการคุ ้ ม ครองเด็ ก และ เยาวชนของเทศบาลต�ำบลท่าคันโท และศูนย์ พัฒนาครอบครัวเทศบาลต�ำบลท่าคันโท
ประเพณีงานแห่บุญบั้งไฟล้าน เทศบาลต�ำบลท่าคันโท ร่วมกับชุมชน จ�ำนวน 13 ชุมชน จัดงาน “ประเพณีแห่บญ ุ บั้งไฟล้าน” โดยจัดในวันเสาร์แรกของเดือน มิถุนายน ของทุกปี งานประเพณีดังกล่าว มีขบวนแห่ของชุมชนจ�ำนวน 13 ขบวน และ มีขบวนของหน่วยงานต่างๆ ร่วมสมทบอีก มากมาย ซึง่ ขบวนแห่แต่ละขบวนได้แสดงให้ เห็นความหลากหลายในทางด�ำเนินวิถีชีวิต ของชาวท่าคันโทในอดีตที่ผ่านมา และยังมี ความสวยงามอลังการของบัง้ ไฟแต่ละชุมชน ซึ่งส่วนใหญ่ได้จัดสร้างหรือจัดหาเอง และ ต่อยอดด้วยการรับจ้างในงานแห่บงั้ ไฟในต่าง อ�ำเภอ/จังหวัดต่างๆ จนเกิด “กลุม่ วิสาหกิจ บัง้ ไฟสวยงาม” น�ำรายได้มาสูช่ มุ ชนอีกทาง หนึ่ง
โรงเรียนเทศบาลท่าคันโท(ท.ท.ท.) ได้จดั ตัง้ “โรงเรียนเทศบาลท่าคันโท(ท.ท.ท)” เมือ่ ปีพ.ศ. 2558 โดยจัดการเรียนการสอนใน ระดับปฐมวัย (3-5 ปี) และระดับการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน(ป.1-ป.6) โดยรับนักเรียนจากศูนย์พฒ ั นาเด็ก เทศบาลต�ำบลท่าคันโท ปัจจุบนั มีนกั เรียนระดับชัน้ อนุบาล 1 จ�ำนวน 60 คน เรียนเสริมตามแนวคิด มอนเตสเซอรี/่ อนุบาล 2 จ�ำนวน 45 คน อนุบาล 3 จ�ำนวน 35 คน เรียนตามหลักสูตรจุฬาลักษณ์ ตามต้นแบบเทศบาลเมืองร้อยเอ็ด ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 1 จ�ำนวน 18 คน ซึง่ เทศบาลต�ำบลท่าคันโท ได้ดำ� เนินการด้านการศึกษาโดยมีวสิ ยั ทัศน์วา่ “พัฒนาคุณภาพทางการศึกษาสูค่ วามเป็นเลิศ โดย ส่งเสริมพัฒนาอัจฉริยภาพตามความถนัดของผูเ้ รียน มุง่ สูอ่ าชีพอย่างยัง่ ยืน คืนความสุขสูช่ มุ ชน” KALASIN 167 2
(2).indd 167
12/2/2561 9:18:35
บันทึกเส้นทางพบเทศบาลต�ำบล
เทศบาลต�ำบล
หนองกุงศรี เมืองน่าอยู่ มุ่งสู่ศูนย์กลางทางการค้า การศึกษาเป็นเลิศ เชิดชูวิถีชุมชน ผู้คนมีสุข คือวิสยั ทัศน์การพัฒนาของเทศบาลต�ำบลหนองกุงศรี อ�ำเภอหนองกุงศรี จังหวัดกาฬสินธุ์ ซึ่งอยู่ห่างจากจังหวัดกาฬสินธุ์ประมาณ 62 กิโลเมตร ผู้บริหารปัจจุบัน ร้อยต�ำรวจตรี วีระ ภูทองนาค ด�ำรงต�ำแหน่ง นายกเทศมนตรี ต�ำบลหนองกุงศรี นายวิโรจน์ ทุงจันทร์ ด�ำรงต�ำแหน่ง รองนายกเทศมนตรี ต�ำบลหนองกุงศรี นายสุรศักดิ์ ภูพันเว่อ ด�ำรงต�ำแหน่ง รองนายกเทศมนตรี นายนิคม อรรคเศษฐัง ด�ำรงต�ำแหน่ง เลขานุการนายกเทศมนตรี นายเทอดศักดิ์ บุญโต ด�ำรงต�ำแหน่ง ที่ปรึกษานายกเทศมนตรี
รายชื่อหัวหน้าส่วนราชการ นายทศพร บุญเรือง นายมานพ เวฬุวณารักษ์ นายธนา บุตรสา นางอังคณา สาระขันธ์ สิ่งแวดล้อม นางจงกลณี กุลชนะรงค์ นางสาวพวงเพ็ชร มาตรา นายประวิทย์ พงษ์อุดทา นายธนธรณ์ ภูสดสูง นางดารณี มนตรีบุตร
ปลัดเทศบาลต�ำบลหนองกุงศรี รองปลัดเทศบาลต�ำบลหนองกุงศรี หัวหน้าส�ำนักปลัดเทศบาล ผู ้ อ� ำ นวยการกองสาธารณสุ ข และ ผู้อ�ำนวยการกองคลัง ผูอ้ ำ� นวยการกองวิชาการและแผนงาน ผู้อ�ำนวยการกองช่าง รก.ผอ.กองสวัสดิการสังคม รก.ผอ.กองการศึกษา
สมาชิกสภาเทศบาล นายสุริยา พิมพะสาลี นายไตรภพ ค�ำตู้ นายนิยม พานพิมพ์ นายอุทัย วรหาญ นายศุภชัย อุปจันโท นายชาตรี นนท์มุลตรี นายพงศพัฒ ตุมอญ นายประเสริฐ เทพบาท นายฤทธิ์ เสริฐศรี นายส�ำราญ ภูโทถ�้ำ นายทองเดือน ไชยเพชร นายสุวรรณ บุษดี 168 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย V.2
2
.indd 168
9/2/2561 13:40:40
พันธกิจ 1. มุ่งพัฒนาให้ครอบคลุมทุกด้าน 2. มุ่งเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ 3. มุ่งพัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมสวัสดิการสังคม 4. มุ่งพัฒนาเมืองให้น่าอยู่อย่างยั่งยืน 5. มุ่งฟื้นฟูภูมิทัศน์และสิ่งแวดล้อม 6. มุ่งฟื้นฟูเศรษฐกิจชุมชนและการค้า 7. มุ่งส่งเสริมการศึกษา และเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ 8. มุ่งฟื้นฟูงานประเพณี วัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น 9. มุ่งแก้ไขปัญหายาเสพติดและการจัดระเบียบสังคมทุกรูปแบบ ผลงานดีเด่นของเทศบาลต�ำบลหนองกุงศรีประจ�ำปี 2560 วันที่ 3 ธันวาคม 2560 เครือข่าย ทสม. สืบพระราชปณิธาน “สานใจรักสิ่งแวดล้อม” ซึ่งได้รับรางวันดีเด่น และ ทสม.ดีเด่น ระดับ จังหวัด จังหวัดกาฬสินธุ์ ร่วมเติมเต็มองค์ความรู้ด้านการบริหารจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม ดิน น�ำ้ ป่า ขยะ เพือ่ พัฒนาเครือข่าย ต่อไป กองสาธารณสุข ได้รับมอบโล่รางวัล ในวัน 2 มิถุนายน 2560 ณ หน้าขอนแก่นฮอลล์ ชั้น 5 ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซ่า ขอนแก่น จัดโดย ส�ำนักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ 10 ร่วมกับจังหวัดขอนแก่น และ ส�ำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมจังหวัดขอนแก่น กาฬสินธุ์ ชัยภูมิ มหาสารคาม และ หนองบัวล�ำภู
โครงการที่ผ่านมาในปี 2560 - มอบเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส - มอบบ้านประชารัฐ - โครงการเปิดตลาดประชารัฐ - เปิดถนนเทศบาลต�ำบลหนองกุงศรี - กลุ่มอาชีพขายของออนไลน์ ฯลฯ KALASIN 169 V.2
2
.indd 169
9/2/2561 13:40:46
บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล
องค์การบริหารส่วนต�ำบล
โคกเครือ
องค์การบริหารส่วนต�ำบลโคกเครือ เป็นเขตการปกครองของอ�ำเภอหนองกุงศรี จังหวัดกาฬสินธุ์ ตั้งอยู่เขตรอบนอกของเทศบาลต�ำบลหนองกุงศรี โดยตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือห่างจาก จังหวัดกาฬสินธุ์ ประมาณ 70 กิโลเมตร มีพื้นที่ 160.33 ตารางกิโลเมตร
คณะผู้บริหารของ อบต.โคกเครือ
นายอลิชา ชารีด�ำรงต�ำแหน่งนายกองค์การบริหารส่วนต�ำบล นายฉลอง จุนัน ด�ำรงต�ำแหน่งรองนายกองค์การบริหารส่วนต�ำบล นายไพบูลย์ สืบสุนทร ด�ำรงต�ำแหน่งรองนายกองค์การบริหารส่วนต�ำบล นายสนัด อัศพันธ์ ด�ำรงต�ำแหน่งเลขานุการนายกองค์การบริหารส่วนต�ำบล
ศักยภาพด้านเศรษฐกิจ อบต.โคกเครือ
นายอลิชา ชารี
ประชากรในเขตพืน้ ทีส่ ว่ นใหญ่ ประกอบอาชีพท�ำการเกษตร มีการเพาะปลูกพืชหลายชนิด ได้แก่ ข้าว อ้อย มันส�ำปะหลัง ยางพารา ข้าวโพด ถั่วลิสง ฯลฯ การปศุสัตว์ ประชากรส่วนใหญ่เลี้ยงในครัว เป็นอาชีพเสริม เช่น การเลี้ยงไก่พื้นบ้าน ไก่พันธุ์ไข่ ปลาดุก สุกร โค กระบือ ฯลฯ การบริการ มีสถาน ที่รับซื้อผลผลิตทางการเกษตร 8 แห่ง รับซื้อทั้งมันและอ้อย 5 แห่ง ตั้งอยู่หมู่ที่ 3, 5, 7, 12 และ 14 รับซื้อมัน 1 แห่ง ตั้งอยู่หมู่ที่ 5 (ล.ส.) รับซื้ออ้อย 2 แห่ง ตั้งอยู่หมู่ที่ 9 และ 11อุตสาหกรรม เป็น อุตสาหกรรมในครัวเรือนหรือขนาดย่อม เช่น ทอผ้า, จักสาน ฯลฯ การพาณิชย์และกลุ่มอาชีพ กลุ่มสตรีทอเสื่อกก หมู่ที่ 2 กลุ่มทอผ้าเกล็ดเต่า หมู่ที่ 2 กลุ่มทอเสื่อกกลายขิตเครือด้าย หมู่ที่ 1 กลุ่ม ทอเสื่อกกลายขิต หมู่ที่ 9 (กลุ่ม 1) กลุ่มปลูกเห็ด หมู่ที่ 14 กลุ่มทอเสื่อกกลายขิต หมู่ที่ 9 (กลุ่ม 2) กลุม่ ผลิตดอกไม้ประดิษฐ์จากดินไทย หมูท่ ี่ 5 กลุม่ สตรีทอเสือ่ กก หมูท่ ี่ 10 กลุม่ สานตะกร้าพลาสติก หมูท่ ี่ 8
นายกองค์การบริหารส่วนโคกเครือ
จากภูมิปัญญาท้องถิ่นสู่สินค้าขึ้นชื่อ
องค์การบริหารส่วนต�ำบลโคกเครือ ใช้ภาษาอิสาน เป็นภาษาท้องถิน่ ร้อยละ 98 และได้อนุรกั ษ์ภมู ปิ ญ ั ญา ท้ อ งถิ่ น โดยผลิ ต สิ น ค้ า พื้ น เมื อ งขึ้ น ใช้ ใ นครั ว เรื อ น หากเหลือใช้น�ำไปจ�ำหน่ายเป็นสินค้าพื้นเมืองและ ของทีร่ ะลึก ได้แก่ เสือ่ กก เสือ่ กกลายขิต ทอผ้าเกล็ดเต่า 170 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .
1
.indd 170
9/2/2561 13:32:21
วัดมณีนพรัตน์ วัดมณีนพรัตน์ (บ้านกุดครอง) ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นกุดครอง หมูท่ ี่ 7 ต�ำบลคอนจาน อ�ำเภอเมืองกาฬสินธุ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ สังกัดคณะ สงฆ์มหานิกาย ที่ดินตั้งวัดมีเนื้อหาที่ 4 ไร่ 2 งาน 12 ตารางวา มีที่ธรณีสงฆ์จ�ำนวน 3 แปลง เนื้อที่ 122 ไร่ 3 งาน 11 ตารางวา
ประวัติวัดมณีนพรัตน์
วัดมณีนพรัตน์ ตัง้ เมือ่ พ.ศ.2470 ชือ่ เดิม “วัดบ้านกุดครอง” เปลี่ยนชื่อวัดเมื่อ พ.ศ.2490 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 24 ตุลาคม 2521 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 20 เมตร ยาว 40 เมตร
อาคารเสนสนะ
ประกอบด้วยอุโบสถ กว้าง 6 เมตร ยาว 13 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2525 ศาลาการเปรียญ กว้าง 16 เมตร ยาว 35 เมตร สร้างเมือ่ พ.ศ. 2532 กุฏสิ งฆ์ จ�ำนวน 1 หลัง สร้างเมือ่ พ.ศ. 2504 หอระฆัง โรงครัว 1 หลัง
ปูชนียวัตถุส�ำคัญ
“หลวงปู่ใหญ่” พระประธานในอุโบสถ และพระพุทธรูป
การบริหารและการปกครอง
วัดมณีนพรัตน์ มีเจ้าอาวาสเท่าทีท่ ราบนาม คือ รูปที่ 1 พระชิน รูปที่ 2 พระเพ็ง รูปที่ 3 พระด�ำ รูปที่ 4 พระบุญ ถาวโร รูปที่ 5 พระค�ำพันธุ์ รูปที่ 6 พระศรทา รูปที่ 7 พระสวง รูปที่ 8 พระชาลี รูปที่ 9 พระอธิการบุญ รูปที่ 10 พระอธิการภู ธมฺมธโร รูปที่ 11 พระอธิการหนู ธมฺมโก
ร่วมสร้างเส้นทางบุญ
วัดมณีนพรัตน์ เปิดรับสมัครเด็กและเยาวชนชาย อายุระหว่าง 10-16 ปี เข้ารับการบรรพชาสามเณรภาคฤดูร้อน ระหว่างวันที่ 27 มีนาคม- 5 เมษายน พ.ศ.2561 โดยไม่เสียค่าใช้จา่ ยใดๆ ทัง้ สิน้ โดยท่านสาธุชนสามารถร่วมเป็นเจ้าภาพผ้าไตรจีวรชุดละ 1,000 บาท หรือเจ้าภาพภัตตาหารเช้ามือ้ ละ 3,000 บาท หรือร่วมบริจาค ตามก�ำลังศรัทธาได้ทพี่ ระครูกมลรัตนคุณ วัดมณีนพรัตน์ หรือติดต่อ Email: bonla2515@gmail.com / Facebook: วัดมณีนพรัตน์ พระครูกมลรัตนคุณ KALASIN 171 1
.indd 171
9/2/2561 13:27:56
บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วั ด อนุ เ ขตตาราม วัดอนุเขตตาราม เป็นวัดโบราณในเขตการปกครองของคณะสงฆ์ มหานิกาย ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 223 หมูบ่ า้ นนาน้อย ต�ำบลม่วงนา อ�ำเภอดอนจาน จังหวัดกาฬสินธุ์ บนทางหลวงชนบท สายค�ำเม็ก- ดอนจาน
พระมหาวัฒนวงศ์ อาภสฺสรเมธี เลขานุการเจ้าคณะอ�ำเภอดอนจาน เป็นเจ้าอาวาสรูปปัจจุบนั วิสัยทัศน์
ท�ำวัดให้เป็นวัดทีม่ กี ารบริหารจัดการด้วยระบบงานทีม่ คี ณ ุ ภาพและทันสมัย
ประวัติและแผนพัฒนาวัด วัดอนุเขตตาราม เป็นวัดทีเ่ ก่าแก่ ได้รบั การรับรองตัง้ แต่ ปี พ.ศ.2460
และได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา เมือ่ วันที่ 22 สิงหาคม พ.ศ.2557 โดยมี พระมหาวัฒนวงศ์ อาภสฺสรเมธี เลขานุการเจ้าคณะอ�ำเภอดอนจาน เป็น เจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน วัดอนุเขตตารามได้เล็งเห็นถึงความส�ำคัญการพัฒนาวัดในหลายด้าน เพื่อสามารถรองรับการเปลี่ยนแปลงของคณะสงฆ์ หมู่บ้าน ต�ำบล และ จังหวัด ตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบับที่ 11 คณะสงฆ์ กรรมการวัด ทายก ทายิกา สัปบุรษุ ประชา สังคม และปราชญ์ชุมชน จึงร่วมกันก�ำหนดนโยบาย วิสัยทัศน์และ ยุทธศาสตร์การพัฒนาวัดอนุเขตตารามให้สอดคล้องกับศักยภาพของวัด พร้ อ มก� ำ หนดเป้ า หมายที่ ก ่ อ ให้ เ กิ ด ประโยชน์ ต ่ อ ส่ ว นรวมอย่ า งมี ประสิทธิภาพและยัง่ ยืน โดยมีการจัดท�ำแผนพัฒนาวัด (พ.ศ.2560-2564) นโยบาย วัดอนุเขตตาราม รวมใจศรัทธา ศูนย์การเรียนรู้ น�ำธรรมสูเ่ ยาวชน บริการชุมชน แหล่งรวมภูมิปัญญาและวัฒนธรรม 172 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย 2
.indd 172
9/2/2561 12:04:28
พันธกิจ
1. พัฒนาบุคลกรให้มีความทันสมัย และให้มีความเป็นมืออาชีพ ในการบริหารจัดการ 2. น� ำ นวั ต กรรมมาใช้ แ ละพั ฒ นาระบบฐานข้ อ มู ล สารสนเทศ ในการบริหารจัดการ 3. สร้างการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ 4. ให้ค�ำแนะน�ำปรึกษา ประสานงาน และสนับสนุนการบริหาร จัดการและการให้บริการสาธารณะของวัด ให้สามารถปฏิบัติงานตาม อ� ำ นาจหน้ า ที่ ไ ด้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพภายใต้ ห ลั ก ธรรมาภิ บ าลและ พระธรรมวินัย 5. จัดรูปแบบการเผยแผ่พระพุทธศาสนาให้มีประสิทธิภาพ 6. บูรณะ พัฒนา และสร้างศาสนวัตถุอย่างเหมาะสม
กรอบการพัฒนางานของคณะสงฆ์
การสาธารณูปการ การบริหารจัดการดูแลศาสนสมบัติของวัด สามารถบริหารจัดการ อย่างเป็นระบบ และการด�ำเนินการปรับปรุงพัฒนาบริเวณวัด ดูแลรักษา สิ่งแวดล้อมและภูมิทัศน์ต่างๆ ให้เหมาะสมเป็นรมณียสถาน จัดที่นั่งพัก ผ่อนสงบร่มเย็น อาคารเสนาสนะต่างๆ มีความแข็งแรง มั่นคงปลอดภัย เพียงพอต่อการใช้ประโยชน์ หรือด�ำเนินกิจกรรมต่างๆ ในบริเวณวัด ด้านการปกครอง การบริหารจัดการการพัฒนาและสวัสดิการ น�ำระบบ IT เป็นรูปธรรม ด้านการปกครองการจัดท�ำระเบียบปฏิบตั ิ เพือ่ เป็นแนวทางปฏิบตั สิ ำ� หรับ บุคลากร พระภิกษุสามเณร ศิษย์วดั ผูอ้ าศัยในวัด และบุคคลทีเ่ ข้ามาร่วม จัดกิจกรรมต่าง ๆ มีการประชุมคณะกรรมการวัดสม�่ำเสมอเพื่อวางแผน การด�ำเนินงานวัดอย่างต่อเนื่อง ด้านการศาสนศึกษา ส่งเสริมการศึกษาให้พระภิกษุสามเณรศึกษาพระปริยัติธรรม จัดให้ มีโครงการปฏิบตั ธิ รรมแก่พระภิกษุสามเณรและบุคลากร จัดห้องสมุดทาง พระพุทธศาสนา จัดสอนธรรมศึกษาให้แก่นักเรียน นักศึกษา และ ประชาชนในวัด จัดการศึกษาต่อระดับอุดมศึกษา ให้ศิษย์วัดได้รับ การศึกษาอย่างต่อเนือ่ ง และจัดพระภิกษุไปสอนธรรมศึกษาในสถานศึกษา
ด้านการศึกษาสงเคราะห์ ส่งเสริมด้านการศึกษา การประกอบอาชีพ ด�ำเนินการจัดตัง้ โรงเรียน ศูนย์อบรม ชมรมต่างๆ ภายในวัด ศูนย์เรียนรูศ้ ลี ธรรม ศูนย์ฝกึ อาชีพ ศูนย์ อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ และชมรมต่างๆ ให้แก่เด็กยากจนหรือผูด้ อ้ ยโอกาส เพื่อเป็นประโยชน์ต่อชุมชน ด้านการเผยแผ่ วั น ส� ำ คั ญ ของสถาบั น พระมหากษั ต ริ ย ์ การจั ด กิ จ กรรมท� ำ บุ ญ ตักบาตร แสดงธรรมเทศนา จัดปฏิบัติธรรม เวียนเทียน จัดนิทรรศการ ภายในวัดมีมุมเรียนรู้ มีการจัดโครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม แก่เยาวชนและประชาชนทั่วไป การท�ำหน้าที่อบรมส่งเสริมศีลธรรมของ พระภิกษุสามเณร และบุคลากรของวัด ท�ำหน้าที่เผยแผ่พระพุทธศาสนา ด้านการสาธารณสงเคราะห์ การให้ความช่วยเหลือ แก่ประชาชน การสงเคราะห์ผยู้ ากไร้ ช่วยเหลือ ผู้ประสบภัยต่างๆ การระงับข้อพิพาทข้อขัดแย้งของชาวบ้าน และ การด�ำเนินการร่วมสนับสนุนด้านการสาธารณสงเคราะห์ อ�ำนวยความ สะดวกในการให้ใช้สถานที่ของวัดจัดกิจกรรมต่างๆ การจัดตั้งมูลนิธิ/ กองทุนเพื่อการกุศล มีส่วนร่วมในการส่งเสริมอาชีพของประชาชน ให้ความร่วมมือกับทางราชการเพือ่ เผยแพร่ขอ้ มูลข่าวสาร วัดสร้างเครือข่าย การด�ำเนินงานด้านสาธารณะกับองค์กรต่างๆ ส่งเสริมให้มีจิตอาสาเพื่อ เผยแผ่พระพุทธศาสนา และพิทักษ์พระพุทธศาสนา โดยประชาชน/ ราชการเป็นศูนย์กลางการด�ำเนินกิจกรรมต่างๆ
กิจกรรมส�ำคัญของวัด
- โครงการอบรมคุณธรรมและจริยธรรมให้แก่เด็กและเยาวชน พร้อมทั้งหน่วยงานต่างๆ - โครงการบรรพชาสามเณรภาคฤดูร้อน
พระมหาวัฒนวงศ์ อาภสฺสรเมธี
KALASIN 173 2
.indd 173
9/2/2561 12:04:37
0 . 4 D N A AIL
TH
่ ืน ย ั ง ่ ย ่ ั ง ค ่มันคง มงั
hailand 4.0 เป็นวิสัยทัศน์เชิงนโยบายของรัฐบาลที่จะเปลี่ยนระบบ เศรษฐกิจของประเทศไทยจากรูปแบบเดิม ไปสู่รูปแบบใหม่ โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อให้ประเทศไทยก้าวข้ามกับดักรายได้ปานกลาง เป็น ประเทศทีม่ รี ายได้สงู และกระจายไปสูท่ กุ ภาคส่วน โดยเปลีย่ นโมเดลเศรษฐกิจเป็น “ท�ำน้อย ได้มาก” ทีข่ บั เคลือ่ นด้วยนวัตกรรม มุง่ สร้างสังคมคุณภาพ และมุง่ สูก่ าร เป็นประเทศที่มีความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน รัฐบาลซึ่งน�ำโดยพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ได้ก�ำหนด วิสยั ทัศน์ประเทศไทย เพือ่ เปลีย่ นประเทศไปสูย่ คุ Thailand 4.0 ท�ำให้ประเทศไทย เป็นประเทศเศรษฐกิจใหม่ (New Engines of Growth) เป็นประเทศที่มีรายได้ สูงขึน้ โดยเปลีย่ นจากการผลิตสินค้าโภคภัณฑ์ไปสูส่ นิ ค้านวัตกรรม เปลีย่ นจากการ ขับเคลื่อนประเทศด้วยภาคอุตสาหกรรมไปสู่การขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยี ความ คิดสร้างสรรค์ และนวัตกรรม เปลี่ยนจากการเกษตรแบบดั้งเดิมไปสู่การเกษตร แบบสมัยใหม่ เน้นเรื่องการบริหารจัดการและการน�ำเทคโนโลยีมาใช้ (Smart Farming) เพื่อให้เกษตรกรมีรายได้มากยิ่งขึ้น ผู้ประกอบการก็เปลี่ยนจาก SMEs แบบเดิมไปสู่ Smart Enterprises และ Startup ทีม่ ศี กั ยภาพสูง ในขณะทีแ่ รงงาน ก็จะเปลีย่ นจากแรงงานทักษะต�ำ่ ไปสูแ่ รงงานทีม่ คี วามรู้ ความเชีย่ วชาญและทักษะทีส่ งู ขึน้ แนวทางการขับเคลื่อนนโยบาย Thailand 4.0 การขับเคลือ่ นนโยบาย Thailand 4.0 ได้มงุ่ เน้นการใช้แนวทางพลังประชารัฐ คือ การมีส่วนร่วมของภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาชน ชุมชน จังหวัด สถาบัน การศึกษา และสถาบันวิจยั ต่างๆ รวมทัง้ ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและ ศาสตร์ของพระราชาเป็นพืน้ ฐานในการพัฒนา และใช้ความได้เปรียบของประเทศไทย
174 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย 4.0 AEC.indd 174
09/02/61 02:36:40 PM
ในความหลากหลายเชิ ง ชี ว ภาพ และความ หลากหลายเชิงวัฒนธรรม เป็นปัจจัยส�ำคัญ ที่จะน�ำไปสู่ความส�ำเร็จ ตลอดจนยึดหลักการ สร้างความเข้มแข็งจากภายใน และเชื่อมไทย สู่ประชาคมโลก ยุ ทธศาสตร์ชาติ 20 ปี กรอบการพัฒนาชาติ 6 ด้าน รัฐบาลได้มีการจัดท�ำ “ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี” เพื่อใช้เป็นกรอบในการพัฒนาประเทศ ระยะยาวอย่างต่อเนื่อง โดยมีกรอบแนวทาง ทีส่ ำ� คัญในยุทธศาสตร์ชาติ 6 ด้าน ประกอบด้วย ด้านความมัน่ คง ด้านการสร้างความสามารถ ในการแข่งขัน ด้านการพัฒนาและเสริมสร้าง ศักยภาพคน ด้านการสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมกันทางสังคม ด้านการ สร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวติ ทีเ่ ป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม และด้าน การปรับสมดุลและ พัฒนาระบบบริหารจัดการภาครัฐ อย่างไรก็ตามการขับเคลือ่ นนโยบาย Thailand 4.0 จะต้องไม่ทงิ้ ใครไว้ขา้ งหลัง เแต่ทกุ กลุม่ คือ 1.0, 2.0 และ 3.0 จะต้องจับมือกัน เพือ่ ก้าวไปสู่ Thailand 4.0 พร้อมกัน รวมทัง้ ต้องอาศัยความร่วมมือ ร่วมใจของคนไทยทุกภาค ส่วน
4.0 AEC.indd 175
ในการด�ำเนินงาน และส่งเสริมหรือสนับสนุนไปสู่ เป้าหมาย ไม่วา่ จะเป็นในภาคส่วนของเศรษฐกิจ ภาคการศึกษา ภาคการเมือง ประชาสังคม และ ภาคประชาชน โดยเฉพาะในส่ ว นของงาน ด้านการศึกษา ถือว่าเป็นปัจจัยทีม่ คี วามส�ำคัญทีส่ ดุ เพราะเป้าหมายของ Thailand 4.0 นอกจาก เศรษฐกิจ 4.0 แล้ว ยังมีสังคม 4.0 คือการที่ สังคมไทยเป็นสังคมทีม่ คี ณ ุ ภาพ (มีความเป็นธรรม เข้มแข็ง มีความเหลือ่ มล�ำ้ น้อย มีคณ ุ ภาพชีวติ ทีด่ ี สามารถผนึกก�ำลังเพื่อพัฒนาประเทศร่วมกัน) และคนไทย 4.0 คือคนไทยเป็นมนุษย์ทสี่ มบูรณ์ ในศตวรรษที่ 21 (มีความรู้ ทักษะ ความสามารถสูง มีจติ สาธารณะ รับผิดชอบต่อสังคม เป็น Digital Thai และเป็นคนไทยสากล (Global-Thai) ด้วย อุ ตสาหกรรมเป้าหมายในยุ ค Thailand 4.0
รั ฐบาลได้ ก�ำ หนดแบ่ ง กลุ ่ มเทคโนโลยี / อุตสาหกรรมเป้าหมายที่ต้องการพัฒนาขึ้นใน ประเทศ ออกเป็น 5 กลุ่ม ประกอบด้วย 1. กลุ่มเกษตรและอาหารใช้เทคโนโลยี ชีวภาพ (Food & Agriculture - Biotech) 2. กลุ่มสุขภาพใช้เทคโนโลยีชีวการแพทย์ (Health & Wellness – Biomedical) 3. กลุ่มเครื่องมืออัจฉริยะและหุ่นยนต์
ใช้เทคโนโลยีเมคาทรอนิกส์ (Smart Devices & Robotics– Mechatronics) 4. กลุ่มดิจิทัลและอินเทอร์เน็ตออฟติง ใช้เทคโนโลยีสมองกลฝังตัว (Digital & IOT Embedded Technology) 5. กลุ ่ ม สร้ า งสรรค์ และวั ฒ นธรรมใช้ Service Design ในการสร้างมูลค่า (Creative & Culture - High Value Services) ซึง่ ทัง้ หมด ก�ำลังเดินหน้าด�ำเนินการโดยความรับผิดชอบ ของหน่วยงานต่างๆ อย่างไรก็ตาม การขับเคลื่อน นโยบาย “Thailand 4.0” ซึ่งเป็นเป้าหมายของคนไทย และประเทศไทยในศตวรรษที่ 21 จะต้องอาศัย ความร่วมมือกับพลังทุกภาคส่วนในการร่วมกัน พัฒนาไปสู่ Thailand 4.0 อันจะท�ำให้ประเทศ มีความมั่นคง มั่นคั่งและยั่งยืนต่อไป ขอขอบคุณข้อมูลจาก ปาฐกถาพิ เ ศษโดย พลเอก ประยุ ท ธ์ จั น ทร์ โ อชา นายกรัฐมนตรี เรื่อง “การขับเคลื่อน Thailand 4.0 ในภาคใต้” วันที่ 24 พ.ค.60 เวลา 10.30 น. ณ ศูนย์ประชุมนานาชาติฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ที่มา http://www.thaigov.go.th
09/02/61 02:36:40 PM
บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล
เอฟดับบลิวดี ประกันชีวิต
“FWD อยากให้คุณใช้ชีวิตอย่างเต็มที่ เราจึงพร้อมคุม้ ครองคุณ ตัง้ แต่วนั นี้ และตลอดไป” “FWD ประกันชีวิต บริษัทประกันชีวิตที่ ไม่เหมือนใคร พร้อมส�ำหรับทุกอย่างในการใช้ชวี ติ ” และยินดีให้คำ� ปรึกษาด้านประกันชีวติ ประกัน สุขภาพ ประกันอุบตั เิ หตุ คุม้ ครองชีวติ ออมเงิน ลดหย่อนภาษี เพือ่ คุณและคนทีค่ ณ ุ รัก FWD เรา เป็นมืออาชีพอย่างแท้จริง มอบความรักความห่วงใยให้คนที่คุณรัก ด้วย FWD ประกันชีวิต FWD ยินดีให้คำ� ปรึกษา โทร: 043-891133-4, 091-0161696 แฟกซ์: 043-891135 บริ ษั ท เอฟดั บ บลิ ว ดี ประกั น ชี วิ ต จ� ำ กั ด (มหาชน) สาขากาฬสินธุ์ เลขที่ 441 หมู่ 1 ถ.ถีนานนท์ ต.ยางตลาด จ.กาฬสินธุ์ 46120(ส�ำนักงานอยู่เยื้องกับที่ ว่าการอ�ำเภอยางตลาด)
บุณยะพรเพลส มหาสารคาม
บุณยะพรเพลส ให้บริการห้องพักทีต่ อบโจทย์ทงั้ การท่องเทีย่ ว การท�ำงาน และการใช้ชวี ติ อย่าง มีคุณภาพ พึงพอใจในค่าบริการ ห้องพักรายวัน เริ่มต้นที่ 370 บาท และรายเดือนเริ่มต้นที่ 2,600 บาท เพียบพร้อมด้วยสิง่ อ�ำนวยความสะดวก อินเตอร์เน็ตความเร็วสูง แอร์ ทีวี ตูเ้ ย็น น�ำ้ อุน่ โทรศัพท์ภายใน เฟอร์นเิ จอร์ครบครัน สวนหย่อมทีช่ ว่ ยเพิม่ ความสดชืน่ มัน่ ใจในความปลอดภัย ระบบคียก์ าร์ดเข้า-ออก พร้อมกล้องวงจรปิดกว่า 40 จุด และพนักงาน รปภ. บริการเสริมเพิ่มความสบาย อาทิ เครื่องซักผ้าหยอดเหรียญ แม่บ้าน ร้านซัก-รีด ราย ก.ก./ รายเดือน ตู้เติมน�้ำมันอัตโนมัติ บริการ 24 ชม. ขั้นต�่ำ 10 บาท รับได้ทั้งเหรียญและธนบัตร ที่จอด ในร่มส�ำหรับรถยนต์ รถมอเตอร์ไซค์ และจักรยาน บริการตู้เติมเงินมือถือทุกระบบ เกมออนไลน์ หน้าจอสัมผัส รับได้ทั้งธนบัตรและเหรียญ ส�ำรองห้องพักติดต่อ บุณยะพรเพลส 437 หมู่ที่ 1, ต.ท่าขอนยาง อ.กันทรวิชัย จ.มหาสารคาม 44150 โทร: 043 970 380,091-0161696 Line ID: boonyapornplace facebook: บุณยะพรเพลส มหาสารคาม E-mail: paj2548@hotmail.com
176 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย Ad-FWD&
(1
).indd 176
9/2/2561 12:03:20
9/4-6 ถนนรามอินทรา แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุ งเทพฯ 10220 0-2522-7171 0-2971-7747 088-5790364 (คุณแอน)
Ad 2
.indd 174
23/3/2561 18:11:13
ก้าวเข้าสู่ปีที่ 9
บั น ทึ ก ประเทศไทย ถือเป็นแหล่งข้อ มู ล อ้ า งอิ งได้ อ ย่ า งสมบู ร ณ์ โดยให้ ร ายละเอี ยดข้ อมู ลอย่ า งครบถ้ ว น สมบู ร ณ์ และถู กต้ อง พร้อมรู ป ภาพจากสถานที่จริ ง ณ ปั จจุ บัน ล้ ว นได้ ถูกบั นทึ กเอาไว้ แ ล้ ว ในหนั ง สื อเล่ มนี้ !
Ad 2
.indd 175
9
th
ANNIVERSARY ISSUE
23/3/2561 18:11:35
ลํ�าสมัยไม่ตกเทรน คุณภาพคับเล่ม
WWW.SBL.CO.TH
บันทึกเสนทาง ท่องเท่ียวของจังหวัดขอนแก่น
ขอนแกน ดินแดนแหงเสียงแคน ดอกคูน
ถนนสายดอกคูนจะบานในช่วงฤดูร้อน ต้ังแต่เดือนมีนาคม-พฤษภาคม โดยดอกคูน สีเหลืองพวงระย าจะบานเต็มสองข างถนนบริเวณมหาวิทยาลัยขอนแก น (ถนนกัลปพฤกษ ) จนถึงศูนย ประชุมอเนกประสงค กาญจนาภิเษก ด านหน าศูนย ราชการจังหวัดขอนแก น เกิดเป็นถนนท่ีมีสีสันและน่าหลงใหลไปในพริบตา
www.ookbee.com/Magazine/SBLMAGAZINE www.issuu.com/sblmagazine SBL บันทึกประเทศไทย
Ad-SBL Magazine Computer.indd 180
12/02/61 05:48:05 PM