64 มุกดาหาร

Page 1

ฉบับที่ 64 จังหวัดมุกดาหาร พ.ศ. 2561

Magazine

เมืองขนาดใหญ่ที่มีความส�ำคัญมาก ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์

พระเจ้าใหญ่แก้วมุกดาศรี ไตรรัตน์ วัดรอยพระพุทธบาทภูมโนรมย์

EXCLUSIVE

นายไพฑูรย์ รักษ์ประเทศ

ผู้ว่าราชการจังหวัดมุกดาหาร เพื่อความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน

SPECIAL INTERVIEW

นายสิทธิลักษณ์ จิตอาคนารัตน์

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงาน พระพุทธศาสนาจังหวัดมุกดาหาร พระพุทธศาสนามีความเจริญมั่นคง พุทธศาสนิกชนมีความสุขด้วยหลัก พุทธธรรม ส่งเสริมศีลธรรมค�้ำจุนสังคม

MUKDAHAN เมืองเก่า แก้วมุกดาหาร Vol.8 Issue 64/2018

www.sbl.co.th _

.indd 5

8/3/2561 11:12:02


เจดีย์บู่ทองกิตติ

เจดีย์ศรีไตรรัตนานุสรณ์

2 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย P. 2-3.indd 2

9/3/2561 17:00:23


หลวงปู่ จาม มหาปุ ญฺ โญ วัดป่ าวิเวกวัฒนาราม MUKDAHAN 3 P. 2-3.indd 3

9/3/2561 17:00:24


วิทยาลัยการอาชีพ นวมินทราชินีมุกดาหาร

นายพิศิษฐ์ พลแก้ว

ผู ้อ�ำนวยการวิทยาลัยการอาชี พนวมินทราชิ นีมุกดาหาร

12 สาขา

2 ปี

วิ ท ยาลั ย การอาชี พ นวมิ น ทราชิ นี มุ ก ดาหาร ประกาศจั ด ตั้ ง ขึ้ น เมื่ อ วั น ที่ 16 กันยายน 2530 บนเนื้อที่ 60 ไร่ นามเดิมวิทยาลัยเทคนิคเบ็ดเสร็จมุกดาหาร และ ได้รบั พระราชทานนามเป็น “วิทยาลัยการอาชีพนวมินทราชินมี กุ ดาหาร” เมือ่ วันที่ 6 พฤศจิกายน 2535

ระดับ ปวช. และ ปวส. 1. สาขาวิชาช่างยนต์ 3. สาขาวิชาช่างเชื่อมโลหะ 5. สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์ 7. สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 9. สาขาวิชาการบัญชี 11. สาชาวิชาการตลาด / โลจิสติกส์

ระดับปริญญาตรี

2. สาขาวิชาช่างกลโรงงาน 4. สาขาวิชาช่างไฟฟ้าก�ำลัง 6. สาขาวิชาก่อสร้าง / โยธา 8. สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 10. สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ 12. สาขาวิชาการโรงแรม

(ต่อเนื่อง)

หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต (ทล.บ.)

1. สาขาเทคโนโลยียานยนต์

2. สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า

ผลงานจากการส่งนักเรียนนักศึกษา เข้าร่วมประกวดและ แข่งขันในเวทีต่างๆ อาทิเช่น รางวัลชนะเลิศระดับชาติทักษะงานเทคนิคยานยนต์ รางวัลรองชนะเลิศอันดับ1 ทักษะการจัดการโลจิส ติกส์ และห่วงโซ่อุปทาน ประจ�ำปีการศึกษา 2559 - 2560 รางวัลชนะเลิศการแข่งขันทักษะฝีมือแรงงานระดับ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ วิ ท ยาลั ย การอาชีพ นวมินทราชินีมุก ดาหาร 68 หมู่ 6 ถ. ห้าธันวามหาราช ต. มุกดาหาร อ.เมือง จ. มุกดาหาร 49000

042-612964

www.mec.ac.th

4 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 4

12/03/61 08:41:44 AM


MUKDAHAN 5 .indd 5

09/03/61 05:24:46 PM


บ้านไม้หอม รีสอร์ท Banmaihom Resort

านไม้หอม รีสอร์ท และ ร้านกาแฟสด บริ ก ารห้ อ งพั ก 24 ชั่ ว โมง พร้ อ ม สิ่ ง อ� ำนวยความสะดวกครบครั น แอร์ TV ตู้เย็น เครื่องท�ำน�้ำอุ่น FREE WIFI มีอาหารเช้า ไว้คอยบริการ และ ฟรี กาแฟ บรรยากาศดี วิวสวยงาม มีตน้ ไม้ดอกไม้สวยๆ ให้ชมกัน มีรา้ นกาแฟสดคอยบริการอยูข่ า้ งหน้า รีสอร์ท ห้องพักเริ่มต้น 350 บาท/คืน 6 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 6

09/03/61 05:30:26 PM


บันทึกเส้นทางพักผ่อน

สะอาด บรรยากาศดี ราคาถูก ติ ด ต่ อ สอบถามบ้ านไม้ ห อม

99/1 ถนนมุกดาหาร - ตอนตาล ต�ำบลศรีบญ ุ เรือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดมุกดาหาร 49000 042-615391, 094-2615599 บ้านไม้หอมรีสอร์ท

บ้านไม้หอม รีสอร์ท

MUKDAHAN 7 .indd 7

09/03/61 05:30:32 PM


สวนปาล์ม เฮลท์ตี้ รีสอร์ท Suanpalm Healthy Resort

ริการห้องพักสุดหรู สะดวก สบาย ในราคา กันเอง รูปแบบบ้านทรงไทย ทั้งบ้านเดี่ยว และ บ้านแฝด (ห้องคู่) ห้องพักบรรยากาศสไตล์รีสอร์ท สไตล์ โรงแรม พร้อมคลับเฮ้าส์ ห้องประชุมสัมนาขนาดย่อม สามารถรองรับได้ถงึ 150 ท่าน ห้องประชุมสัมนาขนาดใหญ่ สุดหรู สามารถรองรับได้ถึง 1,000 ท่าน พร้อมแล้ว ส�ำหรับงานประชุมสัมนาและจัดเลีย้ งเนือ่ งในโอกาสต่างๆ ยินดีให้บริการทัง้ หน่วยงานราชการและเอกชนทุกภาคส่วน

สวนปาล์ม เฮลท์ตี ้ รีสอร์ท ยินดีต้อนรับ 8 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 8

09/03/61 05:34:14 PM


บันทึกเส้นทางพักผ่อน

โปรดให้เราได้รับใช้ท่าน เพราะ “บริการ” คืองานของเรา ติ ด ต่ อ สอบถาม

198 หมู่ 14 บ้านสามขา ต.ค�ำป่าหลาย อ.เมือง จ.มุกดาหาร 49000 ห่างจากสะพานมิตรภาพไทย - ลาว2เพียง 7 กิโลเมตร 084-3218844, 092-2539000 SuanpalmhealthyResort ห้องพัก/รายวันและรายเดือนจัดงานเลี้ยง จัดประชุม สังสรรค์ มีห้องประชุมใหญ่ และห้องประชุมเล็ก พร้อมทั้งมีห้องคาราโอเกะไว้บริการ

Suanpalm Healthy

MUKDAHAN 9 .indd 9

09/03/61 05:34:19 PM


Editor’s Talk

คณะที่ปรึกษา

ศ.ดร.กฤช เพิ่มทันจิตต์, ดร.นิเวศน์ กันไทยราษฎร์, ดร.วัลลภ อารีรบ, ดร.สุมทิ แช่มประสิทธิ,์ ดร.พิชยั ทรัพย์เกิด, ดร.ไอศูรย์ ดีรตั น์, ดร.ประยุทธ คงเฉลิมวัฒน์, ดร.สุเทษณ์ จันทรุกขา

ฝ่ายกฎหมาย

สมคิด หวังเชิดชูวงศ์, ทวิช อมรนิมิตร

บรรณาธิการอ�ำนวยการ ศุภกิจ ศิลปรังสรรค์

บรรณาธิการบริหารสายงานบุคคล

พงษ์ศักดิ์ พรณัฐวุฒิกุล

บรรณาธิการบริหารสายงานการตลาด

อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์, วนัสกฤษณ์ ศิลปรังสรรค์

กองบรรณาธิการ

ผู้อำ� นวยการฝ่ายกิจกรรมพิเศษ

กชกร รัฐวร

ผู้จัดการฝ่ายกองบรรณาธิการ

นันท์ธนาดา พลพวก กองบรรณาธิการ

ศุภญา บุญช่วยชีพ วาสนา จ�ำนงค์ผล

นักเขียน

โครงการภาครัฐและภาคเอกชน ผู้จัดการฝ่ายประสานงาน โครงการภาครัฐและภาคเอกชน

กิตติชัย ศรีสมุทร อัครกฤษ หวานวงศ์ ธนวรรษ เชวงพจน์ ทวัชร์ ศรีธามาศ

ฝ่ายประสานงาน โครงการภาครัฐและภาคเอกชน

พิมพ์พิสุทธิ์ พังจูนันท์ วรเชษฐ สมประสงค์ จักรพันธ์ สิงห์ดี

ถาวร เวปุละ ศศิธร เลิศชนะ ไพรัตน์ กลัดสุขใส กษิดิส ไทยธรรม สุคนิ แสนโบราณ สุษฏา พรหมคีรี จิร โกมลทองทิพย์ มงคล แพร่ศริ พิ ฒ ุ พิ งศ์ รุง่ โรจน์ เสาร์ปา ณัฏฐพัฒน์ แจ่มจันทร

ช่างภาพ

ฝ่ายบัญชี/การเงิน

ฐิติรัตน์ สุวรรณโรจน์

ศิลปกรรม

ผู้จัดการฝ่ายศิลป์

พัชรา ค�ำมี

กราฟิกดี ไซน์

ชัยวิชญ์ แสงใส ปณต ปิติจารุวิศาล กิติวัฒน์ ทิศมั่ง โปรดักชั่น

ศุทธนะ นนทะเปาระยะ

บริษัท สมาร์ท บิซิเนส ไลน์ จ�ำกัด

ผู้จัดการฝ่ายบัญชี/การเงิน

กรรณิการ์ มั่นวงศ์

.indd 10

เป็นจังหวัดชายแดนภาคตะวันออก เฉี ย งเหนื อ ติ ด กั บ สาธารณรั ฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว โดย มีแม่น�้ำโขงเป็นเส้นกั้นพรมแดน ท�ำเลที่ตั้งอยู่ปลายทางตะวันออก สูงสุดของประเทศไทย เป็นจังหวัด ระเบียงเศรษฐกิจส�ำคัญของภูมภิ าค อินโดจีน จังหวัดมุกดาหาร ปัจจุบนั นับว่ามีความเจริญไปจากเดิมหลายด้าน แต่ถึงแม้จะมีการเปลี่ยนแปลงไปรวดเร็วมากขนาดไหน เรือ่ งของการ ส่งเสริมการท่องเที่ยว นายไพฑูรย์ รักษ์ประเทศ ผู้ว่าราชการ จังหวัดมุกดาหาร ยังคงต้องการส่งเริมการท่องเที่ยวเชิงคุณภาพ คือ “เที่ยวตลาด เที่ยวธรรมชาติ เที่ยววัฒนธรรม” ไว้เป็นหลักของ จังหวัดมุกดาหาร พร้อมกันนี้ท่านผู้ว่าฯ ยังด�ำเนินการขับเคลื่อน “โครงการ 36 ปีแห่งความทรงจ�ำ 36 กิจกรรม ท�ำเพื่อเธอ... มุกดาหาร” ในวาระครบรอบ 36 ปี จังหวัดมุกดาหาร เพื่อน�ำไปสู่ ความ “มัน่ คง มัง่ คัง่ และยัง่ ยืน” ของชาวจังหวัดมุกดาหารต่อไปอีกด้วย ด้านการส่งเสริมพระพุทธศาสนา นายสิทธิลกั ษณ์ จิตอาคนารัตน์ ผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักงานพระพุทธศาสนา จังหวัดมุกดาหาร เน้นย�ำ้ ให้ พุทธศาสนิกชนในจังหวัดมุกดาหาร มีความสุขด้วยหลักพุทธธรรม ร่วมกับการส่งเสริมศีลธรรมค�ำ้ จุนสังคม เพือ่ ความอยูเ่ ย็นเป็นสุขของทุกคน ในนามของนิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย ผมขอขอบพระคุณ ท่านผูว้ า่ ราชการจังหวัดมุกดาหาร และหน่วยงานต่างๆ ทัง้ ภาครัฐและ เอกชน ทีก่ รุณามอบโอกาสให้เราได้บนั ทึกและรวบรวมเรือ่ งราวต่างๆ ทีเ่ ป็นจุดสนใจส�ำคัญของจังหวัดมุกดาหาร หากมีขอ้ ผิดพลาดประการใด ขอน้อมรับค�ำติชมจากทุกท่านด้วยความเคารพไว้ ณ โอกาสนี้ครับ

ฝ่ายบัญชี/การเงิน

ปัฐมาภรณ์ แสงบุราณ สุจิตรา แดนแก้วนิต ณภัทร ชื่นสกุล

9/4-6 ถนนรามอินทรา แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพฯ 10220 โทร. 0-2522-7171 แฟกซ์. 0-2971-7747 Facebook : SBL บันทึกประเทศไทย E-mail : sbl2553@gmail.com www.sbl.co.th

Editor’s Talk

จั ง หวั ด มุ ก ดาหาร

ติดต่อ คุณศุภกิจ ศิลปรังสรรค์

โทรศัพท์ 081-442-4445, 084-874-3861 E-mail : supakit.s@live.com Facebook : Supakit Sillaparungsan

(นายศุภกิจ ศิลปรังสรรค์) บรรณาธิการอ�ำนวยการ

09/03/61 05:35:12 PM


บันทึกเส้นทางพักผ่อน

บ้านปริญดา รีสอร์ท Banparinda Resort

านปริ ญ ดา รี ส อร์ ท ห้ อ งพั ก แบ่ ง เป็นสัดส่วน อยู่ไม่ไกลจากตัวเมือง ท่ามกลางธรรมชาติ สงบเงียบ เหมาะส�ำหรับ การพักผ่อน นอกจากห้องพักแล้ว เรายังมี infinity scrub สครับผิวที่ผลิตจากส่วนผสม ธรรมชาติ ไว้จ�ำหน่ายด้วย

ตั้งอยู่เลขที่ 7/4 ซอยมโนรมย์ 4 ถ.มุกดาหาร-ดอนตาล อ.เมือง จ.มุกดาหาร 49000

ติ ด ต่ อสอบถามบ้านปริญ ดา 085-3819563, 086-3759980 บ้านปริญดา รีสอร์ท parinda231

MUKDAHAN 11 .indd 11

09/03/61 05:39:55 PM


Contents

MUKDAHAN

ฉบั บ ที่ 64 จั ง หวั ด มุ ก ดาหาร พ.ศ. 2561 ใต้ร่มพระบารมี

16

โครงการพัฒนาพื้นที่ ลุ่มน�้ำห้วยบางทรายตอนบน อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ

บันทึกเส้นทาง

21

ผู้ว่าราชการจังหวัดมุกดาหาร นายไพฑูรย์ รักษ์ประเทศ

บันทึกเส้นทาง

36

21

ท้องถิ่นจังหวัดมุกดาหาร นายธนาคม ไหลเจริญกิจ

บันทึกเส้นทาง

บันทึกเส้นทางผู้ว่าราชการจังหวัดมุกดาหาร

นายไพฑูรย์ รักษ์ประเทศ

40

ผู้อำ�นวยการสำ�นักงาน พระพุทธศาสนาจังหวัดมุกดาหาร นายสิทธิลักษณ์ จิตอาคนารัตน์ การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย สนง. การท่องเที่ยวและกีฬา สนง.พลังงานจังหวัด สภาหอการค้า ธกส.

44 46 48 50 52

บันทึกเส้นทางท่องเที่ยว จังหวัดมุกดาหาร

54

บันทึกเส้นทางความเป็นมา ของจังหวัดมุกดาหาร

76

60

บันทึกเส้นทางท่องเที่ยว ก้าวขึ้นสู่ปีที่ 9 ของนิตยสาร

SBL บันทึกประเทศไทย ซึง่ หากท่านติดตามเฟซบุก๊ แฟนเพจของเรานั้น จะพบว่ามีกระแสตอบรับอย่างดี จากทุกท่าน โดยมียอดการกดไลค์กดติดตามมากกว่า สี่แสนสี่หมื่นกว่าไลค์ภายในระยะเวลาไม่กี่เดือนเท่านั้น ซึ่งนับเป็นบทพิสูจน์ถึงความมุ่งมั่นตั้งใจของทีมงาน มาตลอด 8 ปีเต็ม

ใต้ร่มพระบารมี

ราษฎรในพื้นที่โครงการ มีความเข้มแข็งทั้งทางเศรษฐกิจและสังคม มีการรวมกลุ่มเป็นสหกรณ์ ราษฎรได้รู้จักการระดมทุนเพื่อช่วยเหลือซึ่ง กันและกัน รู้จักการอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ดูแล รักษาแหล่งต้นน้ำ�ลำ�ธารให้กลับมามีความอุดมสมบูรณ์ ได้ในระดับหนึ่ง นับ เป็นพระมหากรุณาธิคุณอันหาที่สุดมิได้ ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตความ เป็นอยู่ของราษฎร ให้อยู่อย่างยั่งยืน โครงการพัฒนาพื้นที่ลุ่มน้ำ�ห้วยบางทรายตอนบน อันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ

12 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย Contents

.indd 12

13/3/2561 8:42:28


82

สะพานมิตรภาพ ไทย-ลาว แห่งที่ 2

วัดรอยพระพุทธบาทฯ

84

วัดศรีมงคลใต้

92

วัดศรีสุมังค์วนาราม

99

วัดบรรพตมโนรมย์

102

วัดแจ้ง

104

วัดโพธิ์ไทร

106

วัดป่าศิลาวิเวก

109

อบต.หนองสูงใต้

112

วัดป่าวิเวกวัฒนาราม

116

แม่ชีแก้ว

126

ส�ำนักสงฆ์ถ�้ำหลวงปู่เสาร์

130

อบต.บ้านซ่ง

132

วัดพุทโธธมมธโร (วันดานแต้)

136

ทต.ดอนตาลผาสุก

138

อบต.โพธิ์ไทร

141

SPECIAL INTERVIEW

144

โปรเป้ อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์ อ�ำเภอหว้านใหญ่

148

วัดไตรภูมิ

150

วัดโพธิ์ศรีแก้ว

153

วัดโพนไฮพัฒนาราม

156

วัดศรีบุญเรือง

158

วัดศรีมงคล

159

วัดโพธิ์ชัย

160

วัดบุปผาราม

161

MUKDAHAN 13 Contents

.indd 13

13/3/2561 8:42:32


บันทึกเส้นทางพักผ่อน

หอแก้วเพลส Howkeawplace

อแก้ ว เพลส ให้ บ ริ ก ารห้ อ งพั ก ตลอด 24 ชั่วโมง ที่พักเลยหอแก้ว ไปทาง อ.ดอนตาล ประมาณ 50 เมตร ภายในห้องพักมีสิ่งอ�ำนวยความสะดวก ครบครัน แอร์ ทีวี ตู้เย็น น�้ำอุ่น FREE WIFI

ติ ด ต่ อ สอบถาม

91/1 ถ.มุกดาหาร - ดอนตาล ต.ศรีบญ ุ เรือง อ.เมือง จ.มุกดาหาร 49000 0-4261-3761, 080-1795209, 083-3619079 (คุณนภาพร, คุณขนิษฐา)

14 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 14

09/03/61 05:42:13 PM


ร้ า นอาหารนั ด พบริ ม โขง จ.มุ ก ดาหาร

เวลาเปิ ด - ปิ ด : 10.00 - 22.00 รับจัดเลี้ยง จัดประชุม จัดอาหาร กรุ๊ปทัวร์ มีท่ีจอดรถ รับบัตรเครดิต

089-7116063, 089-7117252 Nudpob restaurant candy_sweetz

.indd 15

91 ถ.ส�ำราญชายโขงใต้ ต.ศรีบุญเรือง อ.เมือง จ.มุ กดาหาร 49000 พิกัด : ร้านตัง้ อยู ่ทางไปหอแก้ว ถ.มุ กดาหาร-ดอนตาล เลี้ยวเข้าซอย ข้างโรงพยาบาลมุ กดาหารอินเตอร์ฯ ร้านอยู ่สุดซอย MUKDAHAN 15 09/03/61 05:46:42 PM


โครงการพัฒนาพื้นที่

ลุ่มน�้ำห้วยบางทรายตอนบน อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ

16 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 16

9/3/2561 18:58:23


พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุ ล ยเดช บรมนาถบพิ ต ร ทรงมี พระราชด� ำ ริ ให้ จั ด ท� ำ โครงการพั ฒ นา พื้นที่ลุ่มน�้ำห้วยบางทรายตอนบน คือพื้นที่ ในต� ำ บลกกตู ม อ� ำ เภอดงหลวง และ ต� ำ บลบ้ า นค้ อ อ� ำ เภอค� ำ ชะอี จั ง หวั ด มุ ก ดาหาร เพื่ อ จั ด หาแหล่ ง น�้ ำ ส� ำ หรั บ อุ ป โภค - บริ โ ภค และท� ำ การเกษตร ตลอดจนพั ฒ นาอาชี พ ด้ า นเกษตรกรรม และอาชีพ ให้กับราษฎรในพื้นที่ รวมทั้ง การพัฒนาฟื้นฟูสภาพป่าและต้นน�้ำล�ำธาร ให้มีความอุดมสมบูรณ์

วัตถุประสงค์ของโครงการ 1. พั ฒ นาแหล่ ง น�้ ำ เพื่ อ การเกษตร และอุปโภค - บริโภค ให้มีปริมาณเพียงพอ สร้ า งความเข้ ม แข็ ง ให้ แ ก่ ร าษฎรผู ้ ใช้ น�้ ำ มีส่วนร่วมในการบริหารจัดการน�้ำให้เกิด ประโยชน์สูงสุด 2. เพื่อการอนุรักษ์ฟื้นฟูสภาพผืนป่า ต้ น น�้ ำ ล� ำ ธาร ให้ อุ ด มสมบู ร ณ์ ปลู ก จิ ต ส� ำ นึ ก ให้ ร าษฎร เด็ ก และเยาวชน ในพื้ น ที่ ให้ เ กิ ด ความรั ก สามั ค คี แ ละ ห ว ง แ ท น ท รั พ ย า ก ร ธ ร ร ม ช า ติ แ ล ะ สิ่ ง แวดล้ อ ม จนตลอดร่ ว มมื อ กั น บ� ำ รุ ง รักษาผืนป่าให้กลับมามีความอุดมสมบูรณ์ สามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างยั่งยืนตลอดไป 3. เพื่อเป็นการสร้างงาน สร้างรายได้ และพั ฒ นาอาชี พ ให้ กั บ ราษฎรในพื้ น ที่ โครงการฯ 4. เพื่อช่วยเหลือเกษตรกร ให้มีพื้นที่ ท� ำ กิ น เป็ น ของตนเอง โดยด� ำ เนิ น การ ปฏิรปู ทีด่ นิ เพือ่ เกษตรกรรมทีส่ มบูรณ์แบบ และการจั ด การในรู ป แบบของสหกรณ์ การเกษตร

อ่ า งเก็ บ น�้ำ ห้ ว ยตะไถ MUKDAHAN 17 .indd 17

9/3/2561 18:58:23


อ่ า งเก็ บ น�้ ำห้วยไผ่ ลักษณะโครงการ

จั ด หาแหล่ ง น�้ ำ โดยการก่ อ สร้ า ง สระเก็บน�้ำ และอ่างเก็บน�้ำเพื่อเป็นแหล่งน�้ำ ต้ น ทุ น ส� ำ หรั บ ช่ ว ยเหลื อ พื้ น ที่ เ พาะปลู ก และการอุปโภค - บริโภค ฟื ้ น ฟู พื้ น ที่ ป ่ า เสื่ อ มโทรม ด้ ว ยการ ปลูกป่า และอนุรักษ์ป่าไม้ บ� ำ รุ ง สภาพพื้ น ดิ น ที่ เ สื่ อ มโทรม ให้เหมาะกับการเพาะปลูก โดยการส�ำรวจและ

อ่ า งเก็ บ น�้ ำห้วยทา

อ่ า งเก็ บ น�้ำ ห้ ว ยพุ อนุรักษ์ดินและน�้ำ สร้ า งงาน สร้ า งอาชี พ และรายได้ ให้กับราษฎร โดยการส่งเสริมภาคการเกษตร และอาชี พ หั ต ถกรรมในครั ว เรื อ น รวมทั้ ง พัฒนาศักยภาพกลุ่มอาชีพที่มีอยู่ให้สามารถ สร้างผลิตภัณฑ์ทมี่ คี ณ ุ ภาพและเป็นทีต่ อ้ งการ ของตลาด พัฒนาคุณภาพชีวติ ของราษฎรให้ดขี นึ้

โดยการส่งเสริมให้ความรู้ด้านสาธารณสุข ขั้นพื้นฐาน รวมทั้งการคมนาคมขนส่งและ การสื่อสาร เผยแพร่ ป ระชาสั ม พั น ธ์ โ ครงการ กิ จ กรรมอั น เนื่ อ งมาจากพระราชด� ำ ริ ใ ห้ หน่วยงานและประชาชนทั่วไป

อ่ า งเก็ บ น�้ำ ห้ ว ยพุ ง

18 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 18

9/3/2561 18:58:24


ผลการด�ำเนินงาน

ด้ า นการพั ฒ นาแหล่ ง น�้ ำ สร้ า ง อ่างเก็บน�ำ้ พร้อมระบบส่งน�ำ้ รวม 7 อ่าง ขนาด ความจุ 24,252 ล้าน ลบ.ม. ครอบคลุมพื้นที่ การเกษตร 8,900 ไร่ ขุดสระเก็บกักน�ำ้ ในไร่นา ขุดบ่อบาดาลและสร้างระบบประปาหมู่บ้าน ส�ำหรับอุปโภค - บริโภค และการเกษตรที่ ครอบคลุมทุกหมู่บ้านอย่างเพียงพอ ก่อสร้าง อุ โ มงค์ ผั น น�้ ำ จากอ่ า งเก็ บ น�้ ำ ห้ ว ยไผ่ ไ ปยั ง อ่างเก็บน�้ำล�ำพะยัง อ�ำเภอเขาวง จังหวัด กาฬสินธุ์ ส่งเสริมการใช้ และการมีส่วนร่วม ของเกษตรกรผู้ใช้น�้ำ โดยจัดตั้งกลุ่มบริหาร การใช้น�้ำ รวม 7 อ่าง เพื่อสนับสนุนการใช้น�้ำ ได้อย่างคุ้มค่าและเกิดประโยชน์สูงสุด ฝึก อบรมเสริ ม สร้ า งความเข็ ม แข็ ง แก่ ผู ้ ใช้ น�้ ำ อย่างต่อเนื่อง ด้ า นการพั ฒ นาป่ า ไม้ พัฒนาพื้น ที่ ป่าอนุรักษ์ จ�ำนวน 102,000 ไร่ ดูแลรักษา ฟื้นฟูสภาพป่าเสื่อมโทรม จ�ำนวน 52,462 ไร่ ปลูกป่าแนวกันชนระหว่างที่ท�ำกินในแปลง ปลูกป่า โดยอพยพราษฎรออกจากพื้นที่เขต อนุ รั ก ษ์ พั น ธุ ์ สั ต ว์ ป ่ า ภู สี ฐ าน มาที่ บ ้ า นศรี ถาวรพนา ชุมชนฟ้าประทาน ตามแนวทาง “คนอยู่ร่วมกับป่าเชิงอนุรักษ์และยั่งยืน” เพาะช�ำกล้าไม้ชนิดต่างๆ ส�ำหรับแจกจ่าย

ให้ราษฎรน�ำไปปลูกในพื้นที่ของโครงการฯ และบ�ำรุงป่าที่ปลูกไว้อย่างต่อเนื่อง สร้างฝาย ชะลอน�้ำ เพื่อให้ความชุ่มชื่นกับป่าอนุรักษ์ และพื้นที่ของเกษตรกร อบรมเยาวชนรักษ์ ป่าพิทักษ์แผ่นดินแม่ และราษฎรอาสาสมัคร พิทักษ์ป่า ด้ า นการพั ฒ นาที่ ดิ น ส� ำ รวจและ วางแผนการใช้ประโยชน์ทดี่ นิ ในพืน้ ทีโ่ ครงการ จ�ำนวน 102,000 ไร่ และท�ำการจัดรูปที่ดิน ให้แก่เกษตรกรใน 3 ลักษณะ ได้แก่ การจัด แปลงนาเพือ่ ท�ำการเกษตรแบบไร่นาสวนผสม ใช้ ท� ำ นาสลั บ กั บ การปลู ก พื ช ผั ก หรื อ พื ช ไร่ จัดที่ดินแบบเกษตรผสมผสาน (พืชไร่ผสม ผสาน) และจัดที่ดินแบทฤษฎีใหม่ ด้านการพัฒนาอาชีพ แบ่งเป็นด้าน การเกษตร ปศุสัตว์ การประมง อาชีพเสริม เช่ น ส่ ง เสริ ม การทอผ้ า ไหม ผ้ า ฝ้ า ย การ ตั ด เย็ บ เสื้ อ ผ้ า การแปรรู ป ผลิ ต ภั ณ ฑ์ จ าก ยางพารา การท�ำดอกไม้ประดิษฐ์ การถนอม อาหาร จักสานเส้นพลาสติก ฯลฯ ด้ า นระบบสหกรณ์ ก ารเกษตร ได้ จัดตัง้ สหกรณ์การเกษตรห้วยบางทราย จ�ำกัด โดยมีส�ำนักงานตั้งที่บ้านสานแว้ ต�ำบลกกตูม อ�ำเภอดงหลวง จังหวัดมุกดาหาร

ด้ า นการพั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต และ โครงสร้างพืน้ ฐาน พัฒนาระบบสาธารณูปโภค โดยด�ำเนินการแก้ไขปัญหาเด็กแรกเกิดจนถึง 5 ปี เพื่ อ ไม่ ใ ห้ ข าดสารอาหาร จั ด ตั้ ง ศู น ย์ พั ฒ นาเด็ ก เล็ ก เพื่ อ พั ฒ นาความพร้ อ ม ให้กับเด็ก สถานีอนามัย 4 แห่ง เพื่อพัฒนา คุณภาพชีวิตของราษฎรให้ดีขึ้น ตั้งโรงเรียน การท่าอากาศยานแห่งประเทศไทย เพื่อเป็น ศู น ย์ ก ลางการพั ฒ นาและถ่ า ยทอดความรู ้ ทางการศึกษาให้แก่เด็กในครอบครัวที่อพยพ ออกจากเขตอนุ รั ก ษ์ พั น ธุ ์ สั ต ว์ ป ่ า ภู สี ฐ าน ตัง้ ศูนย์ประสานงานโครงการพัฒนาพืน้ ทีล่ มุ่ น�ำ้ ห้วยบางทรายตอนบน อันเนื่องมาจากพระ ราชด�ำริ เพื่อประสานงานด้านอนุรักษ์และ เตรียมความพร้อมให้ราษฎรในการพัฒนาอาชีพ ส่วนด้านโครงสร้างพื้นฐาน ได้สร้าง ปรั บ ปรุ ง ถนนลู ก รั ง เข้ า แปลงเกษตรกรรม จ�ำนวน 161 สาย สร้างถนนลาดยาง ถนนลูกรัง เชื่อมต่อระหว่างหมู่บ้าน ท�ำให้ราษฎรสัญจร ไป - มา ได้สะดวกมากขึ้น สร้างสะพาน ขยาย ไฟฟ้าให้ครบคลุมทุกหมู่บ้าน ทุกครัวเรือน และขยายเครือข่ายการสื่อสาร ทั้งโทรศัพท์ สาธารณะ โทรศัพท์มือถือ และตู้รับไปรษณีย์ ให้ครอบคลุมทุกหมู่บ้าน

ประโยชน์ท่ีได้รับ อ่ า งเก็ บน�้ำห้วยหอย

อ่ า งเก็ บน�้ำห้วยสานแว้

นับตัง้ แต่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงมีพระราชด�ำริให้เปิดโครงการฯ จนถึง ปัจจุบนั ท�ำให้เกิดประโยชน์แก่ราษฎรในพืน้ ทีโ่ ครงการ รวมทัง้ มีความเข้มแข็งทั้งทางเศรษฐกิจและสังคม มีการรวมกลุ่ม เป็นสหกรณ์ ราษฎรได้รู้จักการระดมทุนเพื่อช่วยเหลือซึ่งกัน และกั น รู ้ จั ก การอนุ รั ก ษ์ ฟ ื ้ น ฟู ท รั พ ยากรธรรมชาติ แ ละ สิ่งแวดล้อม ดูแลรักษาแหล่งต้นน�้ำล�ำธารให้กลับมามีความ อุดมสมบูรณ์ได้ในระดับหนึ่ง นับเป็นพระมหากรุณาธิคุณ อั น หาที่ สุ ด มิ ไ ด้ ในการพั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต ความเป็ น อยู ่ ของราษฎร ให้อยู่อย่างยั่งยืน ขอบคุณที่มาข้อมูล : ส�ำนักงานจังหวัดมุกดาหาร

MUKDAHAN 19 .indd 19

12/3/2561 8:44:48


20 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 20

09/03/61 05:25:04 PM


สารจากผู ้ ว ่ า ราชการจังหวัด

มุกดาหาร

นายไพฑูรย์ รักษ์ประเทศ ผู้ว่าราชการจังหวัดมุกดาหาร

จั ง หวั ด มุก ดาหาร ปัจจุบันได้เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมอย่างก้าวกระโดด ค�ำว่า “เที่ยวตลาด เที่ยวธรรมชาติ เที่ยววัฒนธรรม” เราใช้เป็นหลักในการท่องเที่ยวของ จังหวัดมุกดาหาร เช่น ตลาดอินโดจีน เป็นตลาดที่มีชื่อเสียงของจังหวัด เราจึงต้องยกระดับ ให้เหนือกว่าตลาดในภูมิภาคอินโดจีนต่อไป ส่งผลให้การค้าขายของจังหวัดมุกดาหารมีอัตรา การขยายตัวเพิม่ มากขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง นอกจากนีเ้ รายังมีตลาดใหม่ๆ เช่น ตลาดไทยเจริญ และตลาดดอนตาล ทีก่ ระจายตัวอยูท่ ว่ั จังหวัดมุกดาหาร เป็นแหล่งช้อปปิง้ ควบคู่ไปกับการท่องเที่ยวทางธรรมชาติอย่างอุทยานแห่งชาติภูผาเทิบ และแก่งกะเบา โดยแหล่งท่องเทีย่ วทัง้ สองแห่งนีถ้ อื เป็นจุดขายส�ำคัญ ที่ จ ะดึ ง ดู ด ให้ นั ก ท่ อ งเที่ ย วได้ ม าพั ก ค้ า งแรมที่ จั ง หวั ด มุ ก ดาหาร ซึ่งเราได้รับรางวัลโฮมสเตย์ดีเด่นในระดับประเทศ เมื่อมาจังหวัดมุกดาหาร คุณจะพบกับการท่องเที่ยว หลากหลายมิ ติ ทั้ ง การช้ อ ปปิ ้ ง การชื่ น ชมความงาม ของธรรมชาติ การออกก�ำลังกาย การสัมผัสกับอากาศ ที่เย็นสบาย และการนั่งสมาธิปฏิบัติธรรม โอกาสนี้ นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย ได้ รับเกียรติเป็นอย่างสูง จากท่านไพฑูรย์ รักษ์ประเทศ ผู้ว่าราชการจังหวัดมุกดาหาร มาเล่าถึงยุทธศาสตร์ และแนวทางการขับเคลื่อนการพัฒนาจังหวัด เพื่อให้ ชาวมุกดาหาร มีความอยู่ดีกินดี มีความมั่นคง มั่งคั่ง และ ยัง่ ยืน ก้าวไปสูศ่ นู ย์กลางการเชือ่ มโยงทางเศรษฐกิจที่ส�ำคัญของ ประเทศในลุ่มน�้ำโขงและเอเชีย

( นายไพฑูรย์ รักษ์ประเทศ ) ผู้ว่าราชการจังหวัดมุกดาหาร

.indd 21

09/03/61 05:59:15 PM


22 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 22

09/03/61 05:59:15 PM


นายไพฑูรย์ รักษ์ประเทศ

ผู้ว่าราชการจังหวัดมุกดาหาร จังหวัด มุกดาหาร

ตั้งอยู่บนจุดกึ่งกลางตามแนวระเบียงเศรษฐกิจ ตะวันออก - ตะวันตก (EWEC) มีสะพานมิตรภาพ 2 (มุ ก ดาหาร-สะหวั น นะเขต) เป็ น จุ ดเชื่ อ มต่ อ ท�ำให้เป็นจุดเชื่อ มโยงการค้ าและวั ฒ นธรรมที่ ส� ำ คั ญ กั บ ประเทศ ในอนุ ภูมิภาคลุ ่ ม แม่ น�้ำ โขง

MUKDAHAN 23 .indd 23

09/03/61 05:59:16 PM


ศักยภาพของจังหวัดมุ กดาหาร

“มุ กดาหาร” เมืองระเบียงเศรษฐกิจ จังหวัดมุกดาหาร เป็นจังหวัดชายแดน ติดกับสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว และตั้ ง อยู ่ บ นจุ ด กึ่ ง กลางตามแนวระเบี ย ง เศรษฐกิจตะวันออก - ตะวันตก (EWEC) โดย มีสะพานมิตรภาพ 2 (มุกดาหาร - สะหวันนะเขต) เป็นจุดเชื่อมต่อ ท�ำให้เป็นจุดเชื่อมโยงการค้า และวั ฒ นธรรมที่ ส� ำ คั ญ กั บ ประเทศในอนุ ภูมิภาคลุ่มแม่น�้ำโขง ที่มีอุปสงค์ทางการค้าสูง หลายประเทศ เช่น สปป.ลาว เวียดนาม และจีน เส้นทาง EWEC มีระยะทางประมาณ 1,450 กิโลเมตร อยู่ในเขตประเทศไทยเป็น ระยะทางยาวที่สุด คือประมาณ 950 กิโลเมตร เส้นทางเริ่มจากเมืองท่าดานังของเวียดนาม

ผ่ า นเมื อ งเว้ แ ละเมื อ งลาวบาว (Lao Bao) ซึ่ ง เป็ น เขตเศรษฐกิ จ พิ เ ศษของเวี ย ดนาม ติ ด กั บ ชายแดน สปป.ลาว จากนั้นเส้นทาง หมายเลข 9 จะผ่านเข้าแขวงสะหวันนะเขต สปป.ลาว ข้ามสะพานมิตรภาพ 2 (มุกดาหาร - สะหวันนะเขต) สูป่ ระเทศไทยทีจ่ งั หวัดมุกดาหาร ผ่ า นจั ง หวั ด กาฬสินธุ์ ขอนแก่น เพชรบูรณ์ พิษณุโลก จนไปสุดทีอ่ ำ� เภอแม่สอด จังหวัดตาก และเข้ า ไปยั ง ประเทศเมี ย นมา ทะลุ ถึ ง อ่ า ว เมาะตะมะ ที่เมืองเมาะล�ำไย หรือมะละแหม่ง ซึ่งนับว่าเป็นเส้นทางบกที่เชื่อมจากทะเลจีนใต้ ไปสู่มหาสมุทรอินเดีย

ระยะทางของเส้ น ทาง EWEC จาก จังหวัดมุกดาหาร ถึงนครดานัง และท่าเรือ น�ำ้ ลึกดานัง เวียดนาม ประมาณ 527 กิโลเมตร เริ่ ม จากสะพานมิ ต รภาพ 2 (มุ ก ดาหาร สะหวันนะเขต) ข้ามไปเมืองไกสอนพมวิหาน แขวงสะหวันนะเขต ไปตามเส้นทางหมายเลข 9 ผ่ า น เขตเศรษฐกิ จ พิ เ ศษ สะหวั น - เซโน ที่ เ มื อ งอุ ทุ ม พอน เมื อ งพะลานไช เมื อ งพิ น สิน้ สุดทีบ่ า้ นแดนสะหวัน เมืองเซโปน ชายแดน ลาว - เวียดนาม ที่ด่านลาวบาว ระยะทาง ประมาณ 247 กิโลเมตร เป็นถนนลาดยาง 2 ช่องจราจร ตลอดสาย

24 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 24

09/03/61 05:59:16 PM


พอเข้าสูเ่ ส้นทางในส่วนของเวียดนาม เริม่ จากด่านลาวบาว ที่ตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษลาวบาว จังหวัดกวางตรี และไปเชื่อมต่อ กับเส้นทางหมายเลข 1 ของเวียดนาม ที่เมืองดองฮา จังหวัด กวางตรี ระยะทาง 80 กิโลเมตร สามารถเดินทางลงไปทางใต้ เพื่อต่อไปยังเมืองเว้ และท่าเรือดานัง เมืองดานัง ระยะทาง 200 กิโลเมตร เป็นถนนลาดยาง 2 ช่องจราจร ตลอดสาย นอกจากนั้นเส้นทาง EWEC ยังสามารถเชื่อมต่อไปยังเมือง ฉงจั่ว นครหนานหนิง สาธารณรัฐประชาชนจีน ระยะทางเพียง 1,340 กิ โ ลเมตร โดยนับ ระยะทางจากจังหวัด มุ ก ดาหารถึ ง เมืองดองฮา จังหวัดกวางตรี เวียดนาม ระยะทาง 327 กิโลเมตร จากเมืองดองฮา เดินทางขึ้นเหนือผ่านเมืองดงเห่ย จังหวัด กวางบินห์ จังหวัดฮาติงห์ เมืองวินห์ จังหวัดเงฮาน จังหวัดทันหัว จังหวัดนินตินห์ เข้าสู่กรุงฮานอย ระยะทาง 620 กิโลเมตร เป็น ถนนลาดยาง 2 ช่องจราจร ตลอดสาย การเดินทางจากมุกดาหาร ต้องแวะพักค้างที่เมืองวินห์ จังหวัดเงฮาน เส้นทางดังกล่าวเชื่อมโยงเข้าสู่จีนตอนใต้ โดยใช้เส้นทาง จากฮานอย ผ่านเมืองลังเซิน เมืองชายแดนของเวียดนาม ระยะทาง 165 กิโลเมตร เข้าสู่จีนที่ด่านโหยว อวี้ กวาน เข้าสู่เมืองผิงเสียง ผ่าน เมืองฉงจั่ว ไปถึงนครหนานหนิง มลฑลกวางสี ระยะทาง 230 กิโลเมตร เป็นเมืองที่มีประชากรมากกว่า 100 ล้านคน ซึ่ง จะเป็นแหล่งที่จะรองรับสินค้าขนาดใหญ่ของมุกดาหารและ ของประเทศไทย

MUKDAHAN 25 .indd 25

09/03/61 05:59:17 PM


มุ กดาหาร

“ท่าเรือบก” ประตูตะวันออกสู่อาเซี ยน+ จังหวัดมุกดาหาร ได้ร่วมกับหอการค้า จังหวัดมุกดาหาร สภาอุตสาหกรรมจังหวัด มุกดาหาร และสมาคมอุตสาหกรรมท่องเที่ยว จั ง หวั ด มุ ก ดาหาร จั ด งานประชุ ม สั ม มนา (Business Forum) เรื่ อ ง มุ ก ดาหาร : “ท่าเรือบก” ประตูตะวันออกสู่อาเซียน+ (Mukdahan : The Logistics Hub & SEZ on EWEC to ASEAN+) เมื่ อ วั น ที่ 12 มิถุนายน 2560 ณ โรงแรมรามาการ์เด้นท์ กรุงเทพมหานคร เพื่อประชาสัมพันธ์ศักยภาพ การค้า การลงทุน และเขตพัฒนาเศรษฐกิจ พิเศษมุกดาหาร ซึง่ การประชุมสัมมนาดังกล่าว

ประกอบด้ ว ยผู ้ แ ทนจากหน่ ว ยงานภาครั ฐ ภาคเอกชน จ� ำ นวน 400 คน เพื่ อ เร่ ง การ ด� ำ เนิ น โครงการก่ อ สร้ า งสนามบิ น พาณิ ช ย์ ในพื้ น ที่ จั ง หวั ด มุ ก ดาหาร เพื่ อ เสริ ม สร้ า ง ศักยภาพและความได้เปรียบทางการแข่งขัน (Competitive Advantage) กับเขตเศรษฐกิจ พิเศษของประเทศเพื่อนบ้านตามแนวระเบียง เศรษฐกิจตะวันออก - ตะวันตก (East West Economic Corridor : EWEC) ดังนั้น เพื่อเป็นการเสริมสร้างศักยภาพ และสร้างความเชื่อมั่นให้กับนักลงทุนที่จะเข้า มาลงทุนในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษมุกดาหาร

จังหวัดจึงได้เสนอแนวคิดการพัฒนาจังหวัด มุกดาหารเป็นท่าเรือบก และโครงการก่อสร้าง สนามบินพาณิชย์จงั หวัดมุกดาหารให้กระทรวง มหาดไทย ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการ เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และกระทรวง คมนาคม ผลักดันสนับสนุนในระดับนโยบาย เพื่ อ ให้ เ ป็ น ไปตามเจตนารมณ์ ข องรั ฐ บาล ที่ มุ ่ ง เน้ น การพั ฒ นาเชิ ง พื้ น ที่ เพื่ อ กระจาย ความเจริญและลดความเหลือ่ มล�ำ้ ด้านเศรษฐกิจ ในระดับภูมิภาค

26 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 26

09/03/61 05:59:20 PM


“มุ กดาหาร” เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ คณะกรรมการนโยบายเขตพั ฒ นา เศรษฐกิจพิเศษ (กนพ.) ได้ ป ระชุ ม ครั้ ง ที่ 1/2557 เมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม 2557 มีมติ เห็ น ชอบให้ จั ง หวั ด มุ ก ดาหาร เป็ น จั ง หวั ด ชายแดนที่มีศักยภาพเหมาะสมในการจัดตั้ง เป็นเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษระยะแรกของ ประเทศไทย ต่อมาเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2557 ได้มมี ติเห็นชอบขอบเขตพืน้ ทีเ่ ขตพัฒนา เศรษฐกิจพิเศษมุกดาหาร 3 อ�ำเภอ 11 ต�ำบล เนื้อที่ 361,524 ไร่ ดังนี้ อ�ำเภอเมืองมุกดาหาร ๕ ต�ำบล ได้แก่ ต�ำบลศรีบุญเรือง ต�ำบลมุกดาหาร ต�ำบลบาง ทรายใหญ่ ต�ำบลค�ำอาฮวน และต�ำบลนาสีนวน อ�ำเภอดอนตาล ๒ ต�ำบล ได้แก่ ต�ำบล ดอนตาล และ ต�ำบลโพธิ์ไทร อ�ำเภอหว้านใหญ่ ๔ ต�ำบล ได้แก่ ต�ำบล หว้านใหญ่ ต�ำบลป่งขาม ต�ำบลบางทรายน้อย และ ต�ำบลชะโนด การขับเคลื่อนเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ มุกดาหาร นับตั้งแต่ กนพ. ได้ประกาศให้จังหวัด มุ ก ดาหารเป็ น จั ง หวั ด ชายแดนที่ มี ค วาม เหมาะสมเป็ น เขตพั ฒ นาเศรษฐกิ จ พิ เ ศษ ส่ ว นราชการและภาคเอกชนในจั ง หวั ด ได้ด�ำเนินการขับเคลื่อนเขตพัฒนาเศรษฐกิจ พิเศษให้บรรลุเป้าหมายตามนโยบายของรัฐบาล ดังนี้ 1. มีค�ำสั่งที่ 1709/2557 ลงวันที่ 18 สิงหาคม 2559 แต่งตั้งคณะกรรมการและ คณะท�ำงาน จัดตั้งเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ เพื่ อ ขั บ เคลื่ อ นเขตพั ฒ นาเศรษฐกิ จ พิ เ ศษ มุกดาหารให้สอดคล้องกับศักยภาพการพัฒนา และสภาพพื้นที่ของจังหวัด รวมทั้งสอดคล้อง กับนโยบายของรัฐบาล และคณะรักษาความ สงบแห่ ง ชาติ ป ระกอบด้ ว ย 5 คณะท� ำ งาน ได้แก่ 1) คณะกรรมการอ�ำนวยการ 2) คณะท� ำ งานด้ า นสิ ท ธิ ป ระโยชน์ และศูนย์บริการเบ็ดเสร็จด้านการลงทุน

3) คณะท�ำงานศูนย์บริการเบ็ดเสร็จ ด้านแรงงาน สาธารณสุข และความมั่นคง 4) คณะท�ำงานด้านโครงสร้างพื้นฐาน และด่านศุลกากร 5) คณะท�ำงานด้านการก�ำหนดขอบเขต พืน้ ทีก่ ารลงทุน ผังเมืองและการใช้ประโยชน์ทดี่ นิ 2. จัดประชุมชี้แจงท�ำความเข้าใจเรื่อง การจัดตั้งเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษมุกดาหาร ให้กับส่วนราชการ ก�ำนัน ผู้ใหญ่บ้าน และผู้น�ำ ท้องถิ่น เมื่อวันที่ ๑ กันยายน ๒๕๕๘ ณ ศาลา กลางจังหวัดมุกดาหาร 3. จัดท�ำแผนแม่บทเขตพัฒนาเศรษฐกิจ พิเศษ (โดยส�ำนักงานแรงงานจังหวัดมุกดาหาร) 4. จัดสัมมนาเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ มุกดาหาร ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ.2559

เมือ่ วันศุกร์ที่ 22 เมษายน 2559 ณ ห้องประชุม แกรนด์คอนเวนชั่นเซ็นเตอร์ โรงแรมมุกดาหาร แกรนด์ อ�ำเภอเมืองมุกดาหาร จังหวัดมุกดาหาร โดยมี รั ฐ มนตรี ว ่ า การกระทรวงคมนาคม (นายอาคม เติ ม พิ ท ยาไพสิ ฐ ) ให้ เ กี ย รติ ปาฐกถาพิเศษ เรื่อง “นโยบายและทิศทางการ พัฒนาเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษมุกดาหาร” 5. จัดท�ำป้ายประชาสัมพันธ์ขนาดใหญ่ ติ ด ตั้ ง เผยแพร่ ป ระชาสั ม พั น ธ์ บ ริ เวณทั้ ง 4 มุมเมือง ในพื้นที่จังหวัดมุกดาหาร 6. จัดท�ำหนังสือผลการด�ำเนินงานเขต พั ฒ นาเศรษฐกิ จ พิ เ ศษมุ ก ดาหาร และคู ่ มื อ การลงทุนเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษมุกดาหาร (ฉบับภาษาไทยและภาษาอังกฤษ)

MUKDAHAN 27 .indd 27

09/03/61 05:59:21 PM


เพื่อเป็นการเสริมสร้างศักยภาพและสร้างความเชื่อมั่น ให้กับนักลงทุนที่จะเข้ามาลงทุน ในเขตพัฒนาเศรษฐกิจ พิเศษมุกดาหาร จังหวัดจึงได้เสนอแนวคิดการพัฒนา จังหวัดมุกดาหารเป็นท่าเรือบก

นายไพฑูรย์ รักษ์ประเทศ ผู้ว่าราชการจังหวัดมุกดาหาร

28 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 28

09/03/61 05:59:22 PM


MUKDAHAN 29 .indd 29

09/03/61 05:59:23 PM


เนื่องในโอกาสครบรอบ 36 ปี จังหวัดมุกดาหาร จังหวัดได้จัดท�ำ “โครงการ ขับเคลื่อนวาระจังหวัด 36 กิจกรรม 36 ปี จังหวัดมุกดาหาร” ขึ้นเพื่อให้จังหวัด มุ ก ดาหารมี ค วาม “มั่ น คง มั่ ง คั่ ง และยั่ ง ยื น ” ตามนโยบายของรั ฐ บาล ซึ่ ง มี รายละเอียดดังนี้

โครงการขับเคลื่อนวาระจังหวัด

่ “ด้านมันคง” (11 โครงการ/กิจกรรม) สภาพแวดล้อม / ความปลอดภัย ชีวิตและทรัพย์สิน

1. โครงการยกระดั บ ความปลอดภั ย บริเวณทางแยกขนาดใหญ่ ปรับปรุงถนน 4 ช่อง จราจร บริเวณสี่แยกชลประทาน ถึงสี่แยก ศูนย์หม่อนไหม 2. โครงการติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์ วงจรปิด CCTV จังหวัดมุกดาหาร ที่สามารถ ดูข้อมูลผ่าน Smart Phone 3. โครงการจัดระเบียบสายและอุปกรณ์ สือ่ สารโทรคมนาคมในเขตเทศบาลเมืองมุกดาหาร

ปัจจัยพื้นฐาน / คุณภาพชีวิต

อ�ำเภอเมืองมุกดาหาร 1. บ้านแก่นเต่า 2. บ้านหนองหญ้าไชย์ 3. บ้านบัวระภาเหนือ 4. บ้านค�ำฮี 5. บ้านโพนทราย 6. บ้านสามขา อ�ำเภอค�ำชะอี 7. บ้านห้วยตาเปอะ อ�ำเภอหว้านใหญ่ 8. บ้านสองคอน 5. โครงการ “บ้านสร้างสุข มุกดาหาร 36 ปี คุ ณ ภาพชี วิ ต ดี ผ ่ า นเกณฑ์ จปฐ.”

กิ จ กรรมซ่ อ มสร้ า งบ้ า นให้ แ ก่ ป ระชาชน ในกลุ่มเป้าหมายที่ตกเกณฑ์ จปฐ. จ�ำนวน 36 ครอบครัวๆ ละ 46,000 บาท 6. โครงการสร้ า งงานสร้ า งรายได้ แ ก่ ครัวเรือนตามเกณฑ์ จปฐ. กิจกรรมส่งเสริมอาชีพ ให้ กั บ กลุ ่ ม เป้ า หมาย/หมู ่ บ ้ า นที่ ต กเกณฑ์ จปฐ./กชช.2ค 7. โครงการตรวจ DNA รับรองสัญชาติ กิ จ กรรมการตรวจ DNA รั บ รองสั ญ ชาติ ให้กับราษฎร

4. ยกระดับคุณภาพชีวติ ครัวเรือน/หมูบ่ า้ น ให้มีความมั่นคงและยั่งยืน (ขจัดความยากจน) กิ จ ก ร ร ม พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ชี วิ ต ในครัวเรือนตามเกณฑ์ จปฐ. เป็นการยกระดับ คุณภาพชีวิตประชาชนที่มีรายได้ต�่ำ ให้ลดลง ร้อยละ 36 กิจกรรมพัฒนาหมู่บ้านตามเกณฑ์ กชช.2ค ยกระดับคุณภาพหมู่บ้าน 8 หมู่บ้าน ให้ผ่านเกณฑ์ กชช.2ค ได้แก่ 30 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 30

09/03/61 05:59:29 PM


สุขภาพ / สมรรถนะทรัพยากรมนุษย์

8. โครงการพัฒนาเมืองสมุนไพรจังหวัด มุกดาหารส่งเสริมให้เกษตรกรปลูกพืชสมุนไพร เพือ่ ผลิตยาสมุนไพรให้ได้มาตรฐาน WHO/GMP 9. โครงการ Smart Kids 36 ปี มุกดาหาร ส่ ง เสริ ม การผลิ ต ไข่ เ สริ ม ไอโอดี น ในพื้ น ที่ อ�ำเภอดงหลวง และ/หรือ อ�ำเภออื่นๆ

การบริการภาครัฐ

10. โครงการพัฒนาระบบบริการนวัตกรรม การให้บริการ

กิ จ กรรมเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการ ตรวจสภาพรถยนต์ด้วย Smart Lens กิจกรรมอ�ำนวยความสะดวกค้นหา สหกรณ์ผ่าน Application Smart Co-op กิ จ กรรมลดระยะเวลาการให้ บริการสมัครงานอ�ำนวยความสะดวกให้แก่ ประชาชนในการสมัครงาน จากเดิม 75 นาที เหลือ 45 นาที กิจกรรมขยายระยะเวลาทีใ่ ห้บริการ ประชาชน ขยายเวลาการปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ให้บริการประชาชน เวลา 08.00 - 17.00 น.

กิจกรรมผ่าตัดวันเดียวกลับ พร้อม อ�ำนวยความสะดวกให้กับผู้ป่วยด้วยการผ่าตัด วันเดียวกลับบ้าน กิจกรรมอ�ำนวยความสะดวกโอน สิ ท ธิ แ ละการตกทอดทางมรดกสิ ท ธิ ที่ ดิ น ใน เขตปฏิรูปที่ดิน ปี 2561 จ�ำนวน 300 ราย 11. โ ครงการหน่ ว ยบ� ำ บั ด ทุ ก ข์ บ� ำ รุ ง สุ ข สร้างรอยยิ้มให้ประชาชน บูรณาการร่วมกับ โครงการ พอ.สว.

MUKDAHAN 31 .indd 31

09/03/61 05:59:31 PM


โครงการขับเคลื่อนวาระจังหวัด

่ ง” ่ (21 โครงการ/กิจกรรม) “ด้านมังคั พัฒนาและยกระดับผลิตภัณฑ์

1. โครงการยกระดับและพัฒนาสินค้า สิ่ ง บ่ ง ชี้ ท างภู มิ ศ าสตร์ (GI:Geographical indications) ผ้าหมักโคลน กิจกรรมออกแบบ ฉลากสินค้าและจัดท�ำ QR Code 2. โครงการพัฒนาร้านสเต็กโคขุนหนองสูง 3. โครงการสินค้าดี 36 ปี มุกดาหาร

การพัฒนาสถานที่ท่องเที่ยว

4. โครงการปรับปรุงวัดรอยพระพุทธบาท ภู ม โนรมย์ กิ จ กรรมทาสี พ ระใหญ่ วั ด รอย พระพุ ท ธบาทภู ม โนรมย์ ปรั บ ปรุ ง ภู มิ ทั ศ น์ บริ เ วณวั ด รอยพระพุ ท ธบาทภู ม โนรมย์ กิจกรรมติดตั้งหลอดไฟ LED พระใหญ่ วัดรอย พระพุทธบาทภูมโนรมย์ 5. โครงการติ ด ตั้ ง ระบบแสงสี ส ะพาน มิ ต รภาพ 2 กิ จ กรรม “จั ง หวะแผ่ น ดิ น มุ ก ดาหาร” การแสดงศิ ล ปวั ฒ นธรรม ลุ ่ ม น�้ ำ โขง พร้ อ มเปิ ด ระบบแสงสี ที่ ส ะพาน มิตรภาพ 2 / เสาพญานาค / เสาไฮเมท 6. โครงการปรั บ ปรุ ง หอแก้ ว เฉลิ ม พระเกียรติฯ ครบรอบ 22 ปี หอแก้วมุกดาหาร

7. โครงการพัฒนาและยกระดับแหล่ง ท่องเที่ยวภูผาเทิบ 8. โครงการพัฒนาทีว่ า่ การอ�ำเภอหว้านใหญ่ (หลังเก่า) และจัดแสดงนิทรรศการ 100 ปี สมเด็จกรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ 9. โครงการบู ร ณะอุ โ บสถ ณ วั ด พระศรีมหาโพธิ์ บ้านหว้านใหญ่ 10. โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์ แก่งกะเบา 11. โครงการพัฒนาสวนสมเด็จย่า (ฐาน วรพัฒน์)

กีฬาเพื่อการท่องเที่ยว

12. โครงการวิ่งมาราธอน คนมุกดาหาร สุขภาพดี 36 ปี มุกดาหาร 13. โครงการปั่นจักรยานเพื่อสนับสนุน การท่องเที่ยว 2 ล้อ 2 น่อง ท่อง 2 แผ่นดิน (มุกดาหาร - สะหวันนะเขต)

การตลาด/ประชาสั ม พั น ธ์ ด ้ า นการ ท่องเที่ยว

14. เ คาท์ ด าวน์ 36 ปี เริ่ ม ต้ น ชี วิ ต ดี ดี ที่มุกดาหาร

15. โครงการสงกรานต์วิถีพุทธ 4 แผ่นดิน อินโดจีน 16. โ ครงการประชาสั ม พั น ธ์ ห มู ่ บ ้ า น ท่องเที่ยว 9 หมู่บ้าน 17. โครงการจุดเทียนขึ้นภูบูชาพระใหญ่ ถวายเป็นพุทธบูชา

ประเพณีและวัฒนธรรมพื้นเมือง

18. โครงการฟืน้ ฟูประเพณีและวัฒนธรรม ชนเผ่ า พื้ น เมื อ ง อ� ำ เภอดงหลวง กิ จ กรรม ประเพณีบรูไฮไทโซ่ อ�ำเภอดงหลวง (บุญเดือนสาม ออกใหม่สามค�่ำ) ประจ�ำปี 2561 19. โครงการฟืน้ ฟูประเพณีและวัฒนธรรม ชนเผ่ า พื้ น เมื อ ง อ� ำ เภอหนองสู ง กิ จ กรรม งานค�้ำคูณ ภูไทไหว้เจดียห์ ลวงปูห่ ล้า เขมปัตโต (วัดภูจอ้ ก้อ) 20. โครงการฟืน้ ฟูประเพณีและวัฒนธรรม ชนเผ่ า พื้ น เมื อ ง อ� ำ เภอหนองสู ง กิ จ กรรม โฮมเหง้า เผ่าภูไท ไหว้พระไกรสรราช 21. โครงการส่งเสริมการท่องเทีย่ วตรุษจีน เวียดนามโพ้นทะเล

32 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 32

09/03/61 05:59:35 PM


โครงการขับเคลื่อนวาระจังหวัด

่ น” (4 โครงการ/กิจกรรม) “ด้านยังยื ศาสตร์พระราชาเพื่ออนาคต

1. โครงการศาสตร์พระราชาเพื่ออนาคต และทิศทางภาคเกษตรของจังหวัดมุกดาหาร กิจกรรม Young Smart Farmer กิ จ กรรมจั ด แสดงนิ ท รรศการ โครงการอั น เนื่ อ งมาจากพระราชด� ำ ริ เศรษฐกิจพอเพียง นวัตกรรมทางการเกษตร ยุวเกษตร กิ จ กรรมปลู ก หญ้ า แฝกเพื่ อ การ อนุรกั ษ์ดนิ และน�ำ้ อ่างเก็บน�ำ้ ห้วยยาง บ้านนาค�ำ ต�ำบลผึ่งแดด อ�ำเภอเมืองมุกดาหาร จังหวัด มุกดาหาร

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

2. โครงการ 36 ปี มุกดาหาร ร่วมใจอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ด้วยการ บริหารจัดการขยะอย่างยั่งยืน กิจกรรมรณรงค์ให้ประชาชนจัดการ ขยะต้นทางให้ลดลง

การบริหารจัดการน�้ำ

3. โครงการฝายห้วยยาง และสถานีสูบน�้ำ ด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน�้ำ บ้านนาค�ำ ต�ำบล ผึ่งแดด อ�ำเภอเมืองมุกดาหาร จังหวัดมุกดาหาร / โครงก่ อ สร้ า งฝายชะลอน�้ำพรีเมียร์-สามขา ร่วมใจ (ประชารัฐ)

พลังงานทดแทน

4. โครงการสูบน�้ำพลังงานแสงอาทิตย์เพื่อ การเกษตรอย่ า งยั่ ง ยื น ติ ด ตั้ ง ระบบสู บ น�้ ำ พลั ง งานแสงอาทิ ต ย์ ส นั บ สนุ น กลุ ่ ม เกษตรกร จ�ำนวน 6 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มเกษตรอินทรีย์ปลูกผัก ปลอดสารพิษ และกลุ่มปลูกหม่อนเลี้ยงไหม

MUKDAHAN 33 .indd 33

09/03/61 05:59:40 PM


ประวัตโิ ดยย่อ นายไพฑูรย์ รักษ์ประเทศ ผู้ว่าราชการจังหวัดมุกดาหาร หมายเลขโทรศัพท์ (มือถือ) 08-9203-0464 หมายเลขโทรศัพท์ (ที่ท�ำงาน) 0-4261-1114 วัน เดือน ปี เกิด 15 เมษายน 2501 การศึกษา ศิลปศาสตรบัณฑิต (รัฐศาสตร์) รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (นโยบายสาธารณะ) ปรัญชาดุษฏีบัณฑิต (สื่อสารการเมือง)

ประวัติการรับราชการ 2522 2525 2528 2530 2537 2548 มกราคม 2550 พฤศจิกายน 2550 พฤษภาคม 2554 ธันวาคม 2554 มีนาคม 2555 มีนาคม 2556 ธันวาคม 2557 ตุลาคม 2558 ตุลาคม 2560

ปลัดอ�ำเภอห้วยเม็ก จังหวัดกาฬสินธุ์ (ระดับ 3) ปลัดอ�ำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์ (ระดับ 4) นักการข่าว กองงานความมั่นคง (ระดับ 5) ผู้ช่วยนายทะเบียน อ�ำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่ (ระดับ 6) ปลัดอ�ำเภอด�ำเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี (ระดับ 7) จ่าจังหวัดพังงา (ระดับ 8) นายอ�ำเภอพะโต๊ะ จังหวัดชุมพร (ระดับ 8) นายอ�ำเภอดอนพุด จังหวัดสระบุรี (ผู้อ�ำนวยการต้น) นายอ�ำเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี (ผู้อ�ำนวยการสูง) นายอ�ำเภอพุทไธสง จังหวัดบุรีรัมย์ นายอ�ำเภอด่านช้าง จังหวัดสุพรรณบุรี นายอ�ำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี ปลัดจังหวัดหนองคาย รองผู้ว่าราชการจังหวัดนครพนม ผู้ว่าราชการจังหวัดมุกดาหาร - ปัจจุบัน

34 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 34

09/03/61 05:59:40 PM


MUKDAHAN 35 .indd 35

09/03/61 05:59:41 PM


บันทึกเส้นทางพบท้องถิ่นจังหวัด

ท้ องถิ่ น จั ง หวั ด มุ ก ดาหาร

นายธนาคม ไหลเจริญกิจ

ผู ้อ�ำนวยการกลุ่มงานส่งเสริมและพัฒนาท้องถิ่น รักษาราชการแทนท้องถิ่นจังหวัดมุ กดาหาร

ส�ำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัดมุกดาหาร จัดการ อบรมการบริหารจัดการขยะมูลฝอย เพื่อมุ่งสู่หมู่บ้านและชุมชนต้นแบบ ปัญหาขยะมูลฝอย ไม่ว่าจะอยู่ในระดับชุมชนหรือระดับจังหวัด หากปล่อยทิ้งไว้ นับวันจะกลายเป็นปัญหาสะสมระดับประเทศที่ยาก ส� ำ หรั บ การบริ ห ารจั ด การ การแก้ ป ั ญ หาและการบริ ห ารจั ด การ ขยะมู ล ฝอยภายในชุ ม ชนหรื อ หมู ่ บ ้ า น จึ ง นั บ ว่ า เป็ น การแก้ ป ั ญ หา เบื้องต้นที่จะช่วยสร้างจิตส�ำนึกที่ดีของคนในชุมชนให้ตระหนักรู้ และ บริหารจัดการขยะภายในบ้านเรือนของตนเอง ก่อนที่จะกลายเป็น ปัญหาใหญ่ที่หาทางออกไม่ได้

โอกาสนี้นิ ตยสาร SBL บั น ทึ ก ประเทศไทย ได้รับเกียรติจาก นายธนาคม ไหลเจริ ญ กิ จ ผู ้ อ� ำ นวยการกลุ ่ ม งานส่ ง เสริ ม และ พัฒนาท้องถิ่น รักษาราชการแทนท้องถิ่นจังหวัดมุกดาหาร ให้ข้อมูล เกี่ยวกับนโยบายการส่งเสริมให้ อปท.ในจังหวัดมุกดาหาร มีการบริหาร จัดการปัญหาขยะมูลฝอย จนได้รับรางวัล การบริหารจัดการขยะดีเด่น ทั้งในระดับเขตและระดับพื้นที่ ซึ่งถือเป็นความภาคภูมิใจที่สุดของ จังหวัดมุกดาหาร

36 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 36

12/03/61 11:21:29 AM


ผลการด�ำเนินงานการบริหาร

จัดการขยะมูลฝอย ปี 2561 ส�ำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น จั ง หวั ด มุ ก ดาหาร ร่ ว มกั บ องค์ ก ารบริ ห าร ส่ ว นจั ง หวั ด มุ ก ดาหาร จั ด พิ ธี ล งนามบั น ทึ ก ข้ อ ตกลงความร่ ว มมื อ ในการรวบรวม และ น�ำขยะอันตรายชุมชนไปก�ำจัด โดยเมื่อวันที่ 22 มกราคม 2561 เวลา 10.00 น. ณ ห้องแก้ว มุกดา ศาลากลางจังหวัดมุกดาหาร มีผู้บริหาร ท้องถิ่น จ�ำนวน 55 แห่ง ร่วมลงนาม MOU และนายธนาคม ไหลเจริญกิจ ผู้อ�ำนวยการ กลุ ่ ม งานส่ ง เสริ ม และพั ฒ นาท้ อ งถิ่ น รั ก ษา ราชการแทนท้องถิน่ จังหวัดมุกดาหาร ร่วมเป็น พยานในการลงนามบันทึกข้อตกลงดังกล่าว

MUKDAHAN 37 .indd 37

12/03/61 11:21:29 AM


ส�ำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัดมุกดาหาร จัดประชุมขับเคลื่อนการด�ำเนินงานของกลุ่ม Clusters ของ อปท. นายธนาคม ไหลเจริญกิจ ผู้อ�ำนวยการกลุ่มงานส่งเสริมและ พัฒนาท้องถิน่ รักษาราชการแทนท้องถิน่ จังหวัดมุกดาหาร ลงพืน้ ที่ ประชุมขับเคลื่อนการด�ำเนินงานของกลุ่ม Clusters ทั้ง 5 กลุ่ม ดังนี้ 1. เทศบาลเมืองมุกดาหาร 2. เทศบาลต�ำบลดอนตาล 3. เทศบาลต�ำบลนิคมค�ำสร้อย 4. เทศบาลต�ำบลค�ำชะอี 5. เทศบาลต�ำบลดงหลวง ระหว่างวันที่ 1 - 7 กุมภาพันธ์ 2561 และตรวจสอบสภาพสถานที่ ก�ำจัดขยะมูลฝอยในกลุ่ม Clusters

38 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 38

12/03/61 11:21:30 AM


Big Cleaning Day

นายไพฑู ร ย์ รั ก ษ์ ป ระเทศ ผู ้ ว ่ า ราชการจั ง หวั ด มุ ก ดาหาร ประธานในการจัดกิจกรรม “Big Cleaning Day” ที่ต�ำบลโชคชัย โดยมีนายชัยวัฒน์ ชัยเวชพิสิฐ นายอ�ำเภอนิคมค�ำสร้อย นายธนาคม ไหลเจริญกิจ ผู้อ�ำนวยการกลุ่มงานส่งเสริมและพัฒนาท้องถิ่นรักษา ราชการแทนจังหวัดมุกดาหาร, ท้องถิ่นอ�ำเภอนิคมค�ำสร้อย, หัวหน้า ส่วนราชการ, นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลโชคชัย, ก�ำนัน, ผูใ้ หญ่บา้ น,

ส.อบต., อาสาสมัครท�ำความดีด้วยหัวใจอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก (อถล.) และกลุ่มมวลชนต่างๆ ให้การต้อนรับ และเข้าร่วมในการ จัดกิจกรรม โดยองค์การบริหารส่วนต�ำบลโชคชัย ได้ออกรับสมัคร เครื อ ข่ า ยอาสาสมั ค รท้ อ งถิ่ น รั ก ษ์ โ ลก (อถล.) ในกิจกรรมดังกล่า ว ซึ่งมีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจ�ำนวน 200 คน

MUKDAHAN 39 .indd 39

12/03/61 11:21:30 AM


บันทึกเส้นทางพบส�ำนักงานพระพุทธศาสนา

ส�ำนักงานพระพุ ทธศาสนาจังหวัดมุ กดาหาร

นายสิทธิลักษณ์ จิตอาคนารัตน์ ผู ้อ�ำนวยการส�ำนักงานพระพุ ทธศาสนา จังหวัดมุ กดาหาร

วิสัยทัศน์

พระพุทธศาสนามีความเจริญมั่นคง พุทธศาสนิกชนมีความสุขด้วยหลักพุทธธรรม ส่งเสริมศีลธรรมค�้ำจุนสังคม

ในอดี ต วั ด นอกจากจะเป็ น ศู น ย์ ก ลาง การประกอบกิจกรรมและพิธีกรรมทางศาสนา ของชาวบ้านแล้ว ยังเป็นสถานทีศ่ กึ ษาหาความรู้ อบรมศีลธรรม จริยธรรม เป็นสถานสงเคราะห์ ให้แก่บุตรหลานที่ยากจน เป็นสถานที่รักษา พยาบาล ผู ้ ป ่ ว ยตามแผนโบราณ เป็ น ที่ พั ก ส�ำหรับคนเดินทาง และอีกมากมาย ปั จ จุ บั น จั ง หวั ด มุ ก ดาหาร มี จ� ำ นวนวั ด

ทั้งหมด ๓๘๖ วัด แยกเป็น สังกัดคณะสงฆ์ มหานิกาย จ�ำนวน ๓๑๐ วัด สังกัดธรรมยุตกิ นิกาย จ� ำ นวน ๗๖ วั ด วั ด เป็ น ศู น ย์ ร วมจิ ต ใจของ ประชาชน ส่วนพระสงฆ์เป็นตัวแทน ของวัด ในการแสดงบทบาทต่างๆ เป็นผู้น�ำทางจิตใจ ของประชาชน เป็นศูนย์รวมแห่งความเคารพ เชื่อถือ และการร่วมมือกันให้เกิดความสามัคคี ความเป็นระเบียบเรียบร้อย นอกจากนีพ้ ระสงฆ์

ยังมีบทบาท ส�ำคัญในการควบคุมทางสังคม ในระดับประเทศ เพราะพระสงฆ์เป็นที่เคารพ และนับถือ ของบุคคล ทุกชั้นในสังคม ตั้งแต่ พระมหากษัตริย์ลงมาจนถึงประชาชนทั่วไป ปัจจัยที่เชิดชูฐานะ ของ พระสงฆ์ ใน สังคมคือ ๑) ความบริสุทธิ์ ๒) ความเสียสละบ�ำเพ็ญประโยชน์ ๓) ความเป็นผู้น�ำทางสติปัญญา

40 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 40

12/03/61 11:22:20 AM


นโยบายหลักของส�ำนักงานพระพุทธศาสนา จังหวัดมุกดาหาร ๑. ถวายการคุม้ ครอง อุปถัมภ์ และสัปปายะ ด้านต่างๆ ในการปฏิบัติศาสนกิจของพระสงฆ์ ในพื้นที่จังหวัดมุกดาหาร ๒. รั บ สนองโครงการของส� ำ นั ก งาน พระพุ ท ธศาสนาแห่งชาติ จังหวัด มุก ดาหาร และคณะสงฆ์จังหวัดมุกดาหาร ๓. ประสานนโยบายของส� ำ นั ก งาน พระพุ ท ธศาสนาแห่งชาติ จังหวัด มุก ดาหาร คณะสงฆ์จังหวัดมุกดาหารให้เป็นไปในทิศทาง เดียวกัน เกื้อกูลและส่งเสริมซึ่งกันและกัน ๔. ส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษาของ

คณะสงฆ์ ทุ ก ประเภท รวมทั้ ง สนั บ สนุ น โดย ประสานกับมหาวิทยาลัยสงฆ์เพื่อให้การศึกษา ของคณะสงฆ์ มี ค วามหลากหลายในรู ป แบบ และวิ ธี ก ารศึ ก ษา โดยไม่ ก ระทบการศึ ก ษา ดั้งเดิมของคณะสงฆ์ ๕. สนั บ สนุ น ให้ ศ าสนิ ก ชนของแต่ ล ะ ศาสนาน� ำ หลั ก หลั ก ธรรมของศาสนาที่ ต น นับถือไปใช้ในการปฏิบัติตนในชีวิตประจ�ำวัน เพื่อพัฒนาตน ชุมชน และสังคม มีความเข้าใจ ซึ่งกันและกัน มีความสมานฉันท์กับศาสนิกชน ทุกศาสนา เพื่อความสงบสุขของประเทศชาติ

๖. ส่ ง เสริ ม และสนั บ สนุ น การเผยแผ่ พระพุทธศาสนาสู่ประชาชนทุกเพศทุกวัย ๗. น�ำหลักธรรมาภิบาลมาใช้เป็นวัฒนธรรม ในการปฏิบัติงานของบุคลากร เป็นผู้น�ำในการ เปลี่ ย นแปลงและพั ฒ นาหน่ ว ยงานสู ่ ร ะบบ องค์ ก รเรี ย นรู ้ เน้ น ศั ก ยภาพของบุ ค ลากร และประสิ ท ธิ ภ าพของงาน ให้ บุ ค ลากรของ หน่วยงานปฏิบัติตนตามหลักพระพุทธศาสนา เศรษฐกิจพอเพียง เพือ่ ให้เกิดความสงบสุขในชีวติ

MUKDAHAN 41 .indd 41

12/03/61 11:22:24 AM


นโยบายหลักของส�ำนักงานพระพุทธศาสนา จังหวัดมุกดาหาร ผลการด�ำเนินงานที่โดดเด่น งานการเผยแผ่พระพุทธศาสนา สนับสนุน ส่ ง เสริ ม ให้ พุ ท ธศาสนิ ก ชนน� ำ หลั ก ธรรมของ ศาสนาที่ ต นนั บ ถื อ ไปใช้ ใ นการปฏิ บั ติ ต นใน ชีวิตประจ�ำวัน เพื่อพัฒนาตน ชุมชน และสังคม มีความเข้าใจซึ่งกันและกัน มีความสมานฉันท์ กับศาสนิกชนทุกศาสนา เพื่อความสงบสุขของ ประเทศชาติ อาทิ ๑. โครงการปฏิบัติธรรมครอบครัวอบอุ่น ด้วยพระธรรมเฉลิมพระเกียรติ ๒. โครงการ “หนึ่งใจ...ให้ธรรมะ” ๓. โครงการเสริ ม สร้ า งความปรองดอง สมานฉั น ท์ โ ดยใช้ ห ลั ก ธรรมทางพระพุ ท ธ ศาสนา “หมู่บ้านรักษาศีล ๕” ๔. โครงการพิ ธี เ จริ ญ พระพุ ท ธมนต์ เฉลิ ม พระเกี ย รติ ส มเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว มหา วชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูรและสมเด็จ พระนางเจ้ า สิ ริ กิ ติ์ พระบรมราชิ นี น าถ ใน รัชกาลที่ ๙ ประจ�ำปีงบประมาณ ๒๕๖๑

๗. โครงการอบรมไวยาวัจกร ๘. โครงการจัดสรรเงินอุดหนุนบูรณปฏิสังขรณ์วัด/ส�ำนักปฏิบัติธรรม ๙. โครงการจัดสรรเงินอุดหนุนพระสังฆาธิการ พระธรรมทูต พระบัณฑิตเผยแผ่พระ พุทธศาสนา พระเผยแผ่พระพุทธศาสนาในพื้นที่เฉพาะ พระจริยานิเทศ พระปริยัตินิเทศก์ ๑๐. โครงการจุดเทียนขึ้นภู บูชาพระใหญ่ถวายเป็นพระราชกุศล

42 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 42

12/03/61 11:22:26 AM


ได้รับรางวัลส�ำนักงานพระพุทธศาสนาดีเด่น ระดับประเทศ จากการประกวดส�ำนักงานของส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ จังหวัดมุกดาหาร มีวัดที่มีความส�ำคัญและ โดดเด่นในแง่ของการท่องเที่ยวทางพระพุทธ ศาสนากระจายอยู ่ ใ นทุ ก อ� ำ เภอ เช่ น วั ด ศรี มงคลใต้ ( พระอารามหลวง) อ� ำ เภอเมื อ ง วั ด พระศรี ม หาโพธิ์ อ� ำ เภอหว้ า นใหญ่ วั ด ป่าวิเวกวัฒนาราม อ�ำเภอค�ำชะอี วัดถ�้ำจ�ำปา กันตสีลาวาส อ�ำเภอหนองสูง วัดพุทโธธัมมธโร อ� ำ เภอนิ ค มค� ำ สร้ อ ย วั ด ป่ า ภู ผ าผึ้ ง อ� ำ เภอ ดงหลวง วัดนาทามวนาวาส อ�ำเภอดอนตาล เป็นต้น ส่วนวัดที่ขอแนะน�ำเพิ่มเติม คือ วัดถ�้ำโส้ม (ภู ผ าขาว) (มี ส ถานะเป็ น ที่ พั ก สงฆ์ ) ต� ำ บล บ้านเป้า อ�ำเภอหนองสูง ถ�้ำโส้ม เป็นภาษาผู้ไท แปลว่ า ห้ อ งนอน เป็ น สถานที่ ป ฏิ บั ติ ธ รรม ตั้งอยู่บนภูเขียว ที่มีหน้าผาอันสูงชัน อยู่ทาง ทิ ศ ตะวั น ตกของต� ำ บลบ้ า นเป้ า ส่ ว นตั ว วั ด ตั้งอยู่บนหน้าผาด้านทิศตะวันออกของภูเขา สามารถมองเห็ น ทิ ว ทั ศ น์ ห มู ่ บ ้ า นในต� ำ บล บ้ า นเป้ า อย่ า งสวยงาม บนหน้ า ผาแกะสลั ก พระพุทธรูปสีทองเหลืองอร่าม สองข้างของ พระพุทธรูป มีพระพุทธรูปเล็กรองลงมาข้าง ละสององค์ รอบๆ หน้าผามีพระพุทธรูปแกะสลัก พุทธประวัติขององค์สัมมาสัมพุทธเจ้า ตั้งแต่ ประสูติจนปรินิพพาน โดยช่างชาวกัมพูชา บริเวณสันเขาเป็นที่ราบ อุดมไปด้วยป่าไม้ อุ ด มสมบู ร ณ์ เ หมาะแก่ ก ารศึ ก ษาธรรมชาติ เป็นป่าดงดิบ ผสมป่าเบญจพรรณ ในฤดูฝน น�ำ้ จะขาว ข้าวจะเขียว หมอกจะขาวงดงามมาก การเดินทางไปวัด เนือ่ งจากเป็นภูเขาสูงชัน สามารถน�ำรถขึ้นไปได้ในบางช่วงทางฝั่งด้าน ตะวันออก คือบ้านเป้า ส่วนทางทิศตะวันตก สามารถน�ำรถขึ้นไปได้โดยขึ้นถนนสายร้อยเอ็ด ทางอ�ำเภอหนองพอก หมายเลขโทรศัพท์ติดต่อ ๐๘-๙๗๑๑๖๓๙๐, ๐๙-๔๕๐๙ ๖๖๔๐

ส�ำนักงานพระพุทธศาสนา จังหวัดมุกดาหาร เราเน้นพัฒนางานทุกด้าน ไปพร้อมๆ กัน ทั้งด้านการศึกษาสงเคราะห์ ด้านการปกครอง ด้านศาสนศึกษา ด้านการเผยแผ่ ด้านสาธารณูปการ และด้านสาธารณสงเคราะห์ งานทุกส่วน มีความสัมพันธ์กันและมีความส�ำคัญเท่ากัน จึงต้องบูรณาการงานทุกภาคส่วน ไปพร้อมๆ กัน ทั้งบ้าน วัด สถานศึกษา ส่วนราชการ เพื่อจรรโลงพระพุทธศาสนา ให้เจริญรุ่งเรืองสืบไป

MUKDAHAN 43 .indd 43

12/03/61 11:22:27 AM


ชุมชนภูไท

บ้านภูโฮมสเตย์ @ อำ�เภอหนองสูง จังหวัดมุกดาหาร

การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) สำ�นักงานนครพนม (จังหวัดสกลนคร นครพนม มุกดาหาร)

ชุมชนชาวภูไทบ้านภู

นายสุหฤทธิ์ ชาญวนังกูร

ผู้อ�ำนวยการ ททท.ส�ำนักงานนครพนม

ต�ำบลบ้านเป้า อ�ำเภอหนองสูง จังหวัดมุกดาหาร อพยพมาจากฝั่งซ้ายแม่น�้ำโขง เมื่อ พ.ศ.2387 ก่อตั้งหมู่บ้านมาได้ราว 170 ปี ตั้งอยู่ระหว่างหุบเขา เดิมมีชื่อว่า “บ้านหลุบภู” ผู้น�ำหมู่บ้านคนแรกคือ “เจ้าสุโพสมบัติ” บ้านภู มีประชากรจ�ำนวน 1,200 คน จ�ำนวน 250 ครัวเรือน ประกอบอาชีพท�ำนา และมีอาชีพเสริมคือการทอผ้า เลี้ยงสัตว์ และจักสาน สภาพภูมิทัศน์ของหมู่บ้าน มีทิวทัศน์และสิ่งแวดล้อมสวยงาม พื้ น ดิ น อุ ด มสมบู ร ณ์ เ ป็ น แหล่ ง ต้ น น�้ ำ และมี ก ารจั ด การท่ อ งเที่ ย วแบบมี ส ่ ว นร่ ว ม เป็นแหล่งวัฒนธรรมประเพณี มีการแต่งกายที่ยังคงเป็นอัตลักษณ์ (นุ่งซิ่นทิว ใส่เสื้อ เย็บมือย้อมคราม) มีพิธีบายศรีสู่ขวัญ และประเพณีปฏิบัติตามฮีต 12 ภูมิปัญญา ท้องถิ่นที่สืบสานไว้ นับเป็นศูนย์ชุมชนต้นแบบ ควรส่งเสริมพัฒนาให้เป็นแหล่ง ท่องเที่ยวที่มีศักยภาพมากขึ้น

44 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 44

09/03/61 06:37:51 PM


กิจกรรมขององค์การบริหารส่วนต�ำบลค�ำชะอี

วัฒนธรรมประเพณี

วัฒนธรรมใช้วิถีชีวิตแบบพอเพียงนิยมปลูกพืชผักสวนครัว หลังฤดู เก็บเกี่ยว และตามหลังบ้าน นิยมการแต่งกายให้เป็นอัตลักษณ์ของ ชุมชนคือ ผู้หญิงนุ่งซิ่นทิว ใส่เสื้อเย็บมือย้อมคราม แถบชายขอบแดง ห่มผ้าสไบพาดไหล่ซา้ ย คนในชุมชนพึง่ พาอาศัยซึง่ กันและกัน เด็กเคารพ เชื่อฟังผู้ใหญ่ มีกิจกรรมพ่อแม่ท�ำลูกข้าววัด ประเพณีปฏิบัติตามฮีต 12

ลักษณะภูมิประเทศ

บ้านภู มีภเู ขาล้อมรอบ เป็นหมูบ่ า้ นทีม่ ที วิ ทัศน์ สิง่ แวดล้อมสวยงาม พื้นดินอุดมสมบูรณ์เป็นแหล่งต้นน�้ำ ข้าวจึงมีคุณภาพดี ไม่มีความจ�ำเป็น ที่จะต้องพึ่งพาสารเคมี ปลูกข้าวเหนียวไว้รับประทาน ข้าวเจ้าไว้ขาย ทิศเหนือ ติดกับ ภูจ้อก้อ บ้านป่าเมิก ทิศใต้ ติดกับ ภูผาขาวสวนพฤกษศาสตร์ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ทิศตะวันออก ติดกับ ภูผาแดง บ้านนาหนองแคน และบ้านเป้า ทิศตะวันตก ติดกับ ภูหินเหล็กไฟ บ้านวังนอง

อาหาร

แกงอ่ อ มหวายใส่ ไ ก่ น า (แกงไก่ ใ ส่ กระบั้ง) ใส่น�้ำข้าวเบือใบย่านาง เป็น อาหารเมนูหลัก แจ่วซ้อมภูไท กับผักลวกปลอดสาร ตามฤดู ก าล ปลานิ ล ทอด (ปลาเลี้ ย ง จากกระชังแม่น�้ำโขง) และไก่ทอด

เส้นทางท่องเที่ยว

หมู่บ้านท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์วัฒนธรรมบ้านภู มีแหล่งท่องเที่ยวใกล้ เคียงได้แก่ วัดพุทธคีรี นมัสการพระพุทธคีรี ระยะทาง 1.3 กิโลเมตร วัดถ�้ำจ�ำปา สถานที่บรรลุธรรมของหลวงปู่เสาร์ ดนุจสีโล ระยะ ทาง 7 กิโลเมตร วัดถ�้ำโส้ม พระแกะสลักบนหน้าผาจุดชมวิวทิวทัศน์ ระยะทาง 4 กิโลเมตร เจดีย์ชัยมงคล วัดผาน�้ำทิพย์ ระยะทาง 29 กิโลเมตร ตลาดอินโดจีน เทศบาลเมืองมุกดาหาร ระยะทาง 57 กิโลเมตร

ผลิตภัณฑ์ชุมชน

ผ้าหมักโคลน เป็นผลิตภัณฑ์ผ้าคลุมไหล่ ผ้าพันคอ ผ้าตัดเสื้อ ผ้าไหม ไหมพื้นเรียบ ไหมมัดหมี่ ผลิตภัณฑ์ขา้ ว ข้าวกล้อง ข้างฮาง ข้าวงอกผง น�ำ้ ข้าวกล้องงอก

สอบถามรายละเอียด

74 หมู่ 1 บ้านภู ต.บ้านเป้า อ.หนองสูง จ.มุกดาหาร 49160 นายถวัลย์ ผิวข�ำ ประธานโฮมสเตย์บ้านภู 087-2301599 นายบุญธรรม แก้วศรีนวม รองประธาน 085-4793837 MUKDAHAN 45

.indd 45

09/03/61 06:37:52 PM


+ ตารางท่องเที่ยวมุกดาหาร (2 วัน 1 คืน)

2 วัน 1 คืน

เที่ยวSanuk

@Mukdahan

3 วัน 2 คืน

วันที่ 1

07.00 น. 07.10 น. 09.00 น. 10.30 น. 12.00 น. 14.30 น. 16.00 น. 17.00 น. 18.00 น. 21.00 น.

ผู้เข้าร่วมกิจกรรมพร้อมกัน ณ จุดนัดหมาย ออกเดินทางโดยรถตู้ ไปยังวัดสองคอน อ�ำเภอหว้านใหญ่ จังหวัดมุกดาหาร คณะเดินทางถึงโบสถ์คริตส์ วัดสองคอน จังหวัดมุกดาหาร และเข้าไปสักการะ สถานพระมารดา แห่งมรณะสักขี วัดสองคอน ที่มีความสวยงามและใหญ่ที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ชมสถาปัตยกรรมที่วัดมโนภิรมย์ ภายในประดิษฐานพระพุทธรูปปูนปั้นนาคปรก ปางมารวิชัยและมีงาช้างแกะสลักสวยงาม รับประทานอาหารกลางวัน ณ อนุสรณ์สถานบ้านท่านหนูฮัก พูมสะหวัน ชมอนุสรณ์สถานบ้านท่านหนูฮัก พูมสะหวัน ชมการแสดงวิถีชีวิตวัฒนธรรมของชุมชนบ้านชะโนดและพาลุกากรภูมิ แวะจุดชมวิวเชิงสะพานมิตรภาพไทยลาว แห่งที่ 2 (มุกดาหาร - สะหวันนะเขต) และสักการะศาลพญานาค ตามเรื่องเล่าเชื่อกันว่า บริเวณเสาต้นที่ 2 ของสะพาน เป็นถ�้ำพญานาค มีความศักดิ์สิทธิ์หากผู้ใดได้ไปสักการะและขอพรจะช่วยท�ำให้ประสบความส�ำเร็จ ตามความปรารถนา และเจริญก้าวหน้าในหน้าที่การงาน ออกเดินทางไปยังโฮมสเตย์บ้านแข้ ต�ำบลบ้านค้อ อ�ำเภอค�ำชะอี การต้อนรับของชุมชนชนบ้านแข้โฮมสเตย์ และเข้าที่พัก ร่วมกิจกรรมพาแลงและการแสดงต้อนรับของชุมชนบ้านแข้แลกเปลี่ยนวัฒนธรรมกับชุมชน เข้าที่พัก พักผ่อนตามอัธยาศัย

วันที่ 2

05.00 น. 06.30 น. 08.00 น. 08.30 น. 11.30 น. 12.00 น. 15.00 น. 16.00 น. 16.30 น. 18.00 น. 21.00 น.

ตื่นนอนท�ำภารกิจส่วนตัว ตักบาตร ท�ำบุญตักบาตร รับประทานอาหารเช้า ฟังการบรรยายสรุปการบริหารจัดการโฮมสเตย์ของชุมชนบ้านแข้ โดย ประธานโฮมสเตย์บ้านแข้ ศึกษาดูงานฐานการเรียนรู้ การท�ำหมวก ฐานเรียนรู้การท�ำเสื่อจากต้นกกสินค้า OTOP ของชุมชน แวะชมโบสถ์ที่เล็กที่สุดในประเทศไทย ซึ่งโบสถ์มีขนาด กว้าง 4 เมตร ยาว 5 เมตร ค่าก่อสร้าง เป็นเงิน 110บาท เท่านั้นเอง ณ วัดศรีษะตะพาน ต.หนองเอี่ยน อ.ค�ำชะอี เดินทางไปยังถึงชุมชนวัฒนธรรมไทยอิสานบ้านผึ่งแดด ต.ผึ่งแดด อ.เมือง รับประทานอาหารกลางวัน ณ ชุมชนวัฒนธรรมไทยอิสานบ้านผึ่งแดด ชมวิถีชีวิตและการแสดงศิลปวัฒนธรรมของชุมชน เดินทางถึงวัดรอยพระพุทธบาทภูมโนรมย์ และจุดชมวิวภูมโนรมย์ มองเห็นทัศนียภาพสองประเทศ โดยมองเห็นแขวงสะหวันนะเขต สปป.ลาว สะพานมิตรแห่งที่ 2 ได้อย่างชัดเจน และสนุกกับการถ่ายภาพ 3 มิติ สุดแดนสยาม มุกดาหารรวมทั้งได้กราบสักการะ พระใหญ่เพื่อเป็นศิริมงคลกับชีวิตและครอบครัว คณะเดินทางไปยังอุทยานแห่งชาติภูผาเทิบ ชมความสวยงามของหินรูปร่างต่างๆ ของอุทยานแห่งชาติภูผาเทิบ ร่วมกิจกรรมพาแลงและการแสดงต้อนรับของชุมชนโฮมสเตย์บ้านท่าไค้ นาแล เข้าที่พัก พักผ่อนตามอัธยาศัย

46 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 46

09/03/61 06:46:48 PM


กิจกรรมขององค์การบริหารส่วนต�ำบลค�ำชะอี

วันที่ 3

06.00 น. ตื่นนอนท�ำภารกิจส่วนตัว 07.00 น. รับประทานอาหารเช้า 09.00 น. เดินทางไปยังตลาดอินโดจีนแวะซื้อของฝากที่ระลึก ที่ตลาดอินโดจีน ที่เป็นแหล่งรวมสินค้าน�ำเข้าจากหลายประเทศ เช่น จีน เวียดนาม ลาว ส่วนมากจะเป็นเสือ้ ผ้า เครือ่ งนุง่ ห่ม เครือ่ งใช้ไฟฟ้า เป็นต้น เดินทางกลับโดยสวัสดิภาพ

เที่ยวSanuk

@Mukdahan

ภายใน 1 วัน

06.30 น. เดินทางถึงมุกดาหาร รับประทานอาหารเช้าแบบเวียดนาม 08.00 น. เดินทางไปจุดชมวิวสะพานมิตรภาพไทย-ลาว แห่งที่ 2 พร้อมไหว้ศาลพญานาค หนึ่งในเรื่องราว “ถ�้ำพญานาคมุกดาหาร” นมัสการพระธาตุภูมโนรมย์ และไหว้ขอพรองค์พระใหญ่รอยพระพุทธบาท / ถ่ายภาพ 3 มิติ / สุดแดนสยาม 11.00 น. ชมหอแก้วเฉลิมพระเกียรติ มุกดาหาร 12.00 น. รับประทานอาหาร 13.00 น. นมัสการพระเจ้าองค์หลวง วัดศรีมงคลใต้สักการะศาลเจ้าแม่สองนางพี่น้อง ช้อปปิ้งตลาดอินโดจีน 16.30 น. เดินทางไปอุทยานแห่งชาติภูผาเทิบ ชมอัศจรรย์หินธรรมชาติ 18.00 น. ช้อปปิ้งตลาดราตรี ชมวิถีชีวิตยามเย็นชาวมุกดาหารพักผ่อนตามอัธยาศัย

MUKDAHAN 47 .indd 47

09/03/61 06:47:01 PM


บันทึกเส้นทางพบส�ำนักงานพลังงานจังหวัด

ส�ำนักงานพลังงานจังหวัดมุ กดาหาร ภารกิจอ�ำนาจหน้าที่ของส�ำนักงานพลังงานจังหวัด

นายกานต์ สุวรรณพันธ์ นักวิชาการพลังงานช� ำนาญการพิเศษ รักษาราชการแทนพลังงานจังหวัดมุ กดาหาร

1. ก�ำกับดูแลและส่งเสริมการด�ำเนินงานด้านความปลอดภัยและ สิ่งแวดล้อมของกิจการน�้ำมันเชื้อเพลิงและก๊าซ 2. ก�ำกับดูแลคุณภาพ การค้า และการส�ำรองน�้ำมันเชื้อเพลิงที่มา ของโครงการสูบ 3. ส่งเสริมและพัฒนาพลังงานทดแทนและการอนุรักษ์พลังงาน 4. ประสานและอ� ำ นวยความสะดวกในการส� ำ รวจและผลิ ต เชื้อเพลิงธรรมชาติ 5. จัดท�ำ เสนอแนะ และประสานแผนพัฒนาพลังงานในระดับ จั ง หวั ด รวมทั้ ง ประสานการพั ฒ นาและประเมิ น ผลการด� ำ เนิ น งาน ตามแผนดังกล่าว 6. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมทุกภาคส่วนในงานด้านพลังงานระดับ พื้นที่ 7. ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงาน อื่นที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย

โครงการระบบสูบน�้ำพลังงานแสงอาทิตย์สู้ภัยแล้ง ส� ำ นั ก งานพลั ง งานจั ง หวั ด มุ ก ดาหาร ได้ รั บ การจั ด สรรงบประมาณจากกองทุ น ส่ ง เสริ ม เพื่ อ การอนุ รั ก ษ์ พ ลั ง งานเพื่ อ ด� ำ เนิ น โครงการสูบน�้ำพลังงานแสงอาทิตย์สู้ภัยแล้ง ประจ� ำ ปี ง บประมาณ 2559 โดยได้ รั บ การ อนุมัติโครงการจ�ำนวน 23 แห่ง แบ่งเป็นระบบ

เพื่อการเกษตร 21 แห่ง ระบบประปา 2 แห่ง หลังจากติดตั้งระบบแล้วเสร็จกลุ่มเกษตรกร ที่เข้าร่วมโครงการได้ด�ำเนินการท�ำการเกษตร ตามแผนที่ได้วางไว้ ตัวอย่าง กลุ่มผู้เกษตรกร ผู ้ ใ ช้ น�้ ำ ในเขตพื้ น ที่ ต� ำ บลกกแดงซึ่ ง ได้ รั บ โครงการจ�ำนวน 12 แห่งได้รวมตัวกันปลูกผัก

ปลอดสารพิ ษ ส่ ง ตลาดในพื้ น ที่ แ ละตลาดนั ด สี เขี ย ว ได้ รั บ การตอบรั บ จากผู ้ บ ริ โ ภคเป็ น อย่างดีสามารถสร้างงานสร้างรายได้ ให้กับ สมาชิกกลุม่ เกษตรกรผูใ้ ช้นำ�้ หลังจากฤดูการท�ำนา

ประโยชน์ที่ ได้รับจากโครงการ 1.ลดค่าใช้จ่ายด้านไฟฟ้า/น�้ำมันในการสูบน�้ำ 2.การน�ำเทคโนโลยีและพลังงานสะอาดมาช่วยกระจายน�้ำเพื่อ การเกษตรในพื้นที่ห่างไกลแหล่งต้นทุน 3.การใช้ ป ระโยชน์ จ ากพื้ น ที่ น อกฤดู ก ารท� ำ เกษตรได้ อ ย่ า งมี ประสิทธิภาพ

4.เป็นแหล่งเรียนรู้ศึกษาดูงานการประยุกต์ใช้พลังงานแสงอาทิตย์ เพื่อการเกษตรในชุมชน และชุมชนข้างเคียง 5.สร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ให้กับชุมชนได้ตลอดทั้งปี เกษตรกรไม่ย้ายถิ่นฐานในการหางานท�ำ 6.ท�ำให้ประชาชนได้บริโภคผักปลอดสารพิษ และมีคณ ุ ภาพชีวติ ทีด่ ขี นึ้

48 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 48

09/03/61 06:52:35 PM


กิจกรรมขององค์การบริหารส่วนต�ำบลค�ำชะอี

โครงการเพิ่มสมรรถณะด้านการบริหารและจัดการพลังงานครบวงจรในชุมชนและวิสาหกิจชุมชน ส�ำนักงานพลังงานจังหวัดมุกดาหาร ได้ รับการจัดสรรงบประมาณจากกระทรวงพลังงาน เพื่ อ ด� ำ เนิ น โครงการเพิ่ ม สมรรถณะด้ า นการ บริหารและจัดการพลังงานครบวงจรในชุมชน และวิสาหกิจชุมชน ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2549 - 2560 โดยมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ (อปท.) เข้าร่วมโครงการฯ ที่ผ่านมาทั้งหมด 26 อปท. และในปีงบประมาณ 2561 (ปัจจุบนั ) ส�ำนักงานฯ ได้ด�ำเนินงานโครงการฯ ในพื้นที่ 3 อปท. ดังนี้ 1. พื้ น ที่ ชุ ม ชนที่ มี OTOP/SME/และ อุตสาหกรรมในครัวเรือน (ชุมชนใหม่) ของ

องค์การบริหารส่วนต�ำบลชะโนดน้อย อ�ำเภอ ดงหลวง วัตถุประสงค์ของโครงการ เพื่อลด ต้นทุนทางกระบวนการผลิตลง ให้ได้อย่างน้อย 25% โดยการส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีพลังงาน ทดแทน 2. พื้ น ที่ ทั่ ว ไปลดใช้ พ ลั ง งานไฟฟ้ า (ชุมชนใหม่) ของขององค์การบริหารส่วนต�ำบล หนองบัว อ�ำเภอดงหลวง วัตถุประสงค์ของ โครงการเพื่อลดการใช้ไฟฟ้าในครัวเรือนให้ได้ อย่างน้อย 10% โดยการสร้างความรูค้ วามเข้าใน ที่ ถู ก ต้ อ งในการใช้ พ ลั ง งาน และส่ ง เสริ ม ให้

มีการใช้หลอดไฟฟ้าประสิทธิภาพสูง ในครัวเรือน ที่เข้าร่วมโครงการฯ 3. พื้นที่ทั่วไปลดใช้พลังงานไฟฟ้า (ชุมชน ใหม่) ปี 2560 ของเทศบาลต�ำบลดอนตาล อ�ำเภอดอนตาล วัตถุประสงค์ของโครงการ เพือ่ ต่อยอดกิจกรรมของพลังงาน ในด้านการส่งเสริม กิจกรรมพลังงานกับการสร้างอาชีพ ส่งเสริม กิ จ กรรมพลั ง งานกั บ การศึ ก ษาในท้ อ งถิ่ น ส่งเสริมให้มีการท�ำสมุดบัญชีพลังงานครัวเรือน ให้ชุมชนมีความเข้มแข็งในด้านพลังงาน ต่อไป

ประโยชน์ที่ ได้รับจากโครงการฯ

1.ลดค่าใช้จา่ ยด้านพลังงานของกลุม่ OTOP/ SME/และอุตสาหกรรมในครัวเรือน 2. สามารถเป็ น แหล่ ง เรี ย นรู ้ ท างด้ า น เทคโนโลยีพลังงานเพื่อขยายผลสู่ชุมชนอื่นได้ 3.เป็ น การสนั บ สนุ น การสร้ า งงานสร้ า ง อาชีพที่มีในชุมชนให้เกิดความยั่งยืน 4.ประชาชนได้รับความรู้เกี่ยวกับในการ ใช้พลังงานที่ถูกต้องครบถ้วน

MUKDAHAN 49 .indd 49

09/03/61 06:52:35 PM


บันทึกเส้นทางพบหอการค้าจังหวัด

วิสัยทัศน์

จรรยาบรรณคือหัวใจ สร้างเศรษฐกิจไทยให้มั่นคงแข็งแรง ประชาชนมีความมั่งคั่ง รวมถึงการให้ความรู้และข้อมูล ที่เป็นประโยชน์แก่ประชาชน

นายภมร เชาว์ศิริกุล

กรรมการสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย, ประธานคณะอนุกรรมการความร่วมมือเศรษฐกิจเพื่อนบ้าน ไทย - ลาว ประธานกรรมการบริหารหอการค้าจังหวัดมุ กดาหาร

หอการค้าจังหวัด หอการค้าจังหวัดมุกดาหาร ให้ข้อมูลข่าวสารทางด้านการค้า การลงทุน และการท่องเที่ยว เพื่อประโยชน์ของสมาชิกและประชาชน หอการค้าจังหวัดมุกดาหาร เป็นสถาบันทีบ่ คุ คลหลายคนจัดตัง้ ขึน้ เพื่อส่งเสริมการค้า ภาคอุตสาหกรรม ภาคเกษตรกรรม ภาคบริการ ข้อมูลทางการเงิน การลงทุน การท่องเที่ยว หรือเศรษฐกิจ อันมิใช่ หาผลก�ำไรหรือรายได้แบ่งปันกัน

50 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 50

09/03/61 06:56:15 PM


วัตถุประสงค์

กั บ การค้ า และเศรษฐกิ จ พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ สิ น ค้ า การจั ด งานแสดงสิ น ค้ า การเป็ น อนุ ญ าโต ตุลาการชี้ขาดข้อพิพาททางการค้า 2. รับปรึกษาและให้ข้อแนะน�ำแก่สมาชิก เกี่ยวกับการค้า อุตสาหกรรม เกษตรกรรม การเงิน หรือเศรษฐกิจ และช่วยอ�ำนวยความ สะดวกต่างๆ ในการด�ำเนินธุรกิจของสมาชิก 3. ให้ ค� ำ ปรึ ก ษาและเสนอข้ อ แนะน� ำ แก่ ห อการค้ า ไทยและรั ฐ บาลเพื่ อ พั ฒ นา เศรษฐกิจของประเทศ

4. การประสานงานในทางการค้าระหว่าง ผู้ประกอบการกับทางราชการ 5. เพื่ อ ช่ ว ยเหลื อ และส่ ง เสริ ม การกุ ศ ล และสาธารณสงเคราะห์ 6. ปฏิบตั กิ จิ การอืน่ ๆ ตามแต่จะมีกฎหมาย ระบุให้เป็นหน้าทีข่ องหอการค้าหรือตามทีท่ าง ราชการมอบหมาย 7. ไม่ประกอบกิจการค้าหรือไม่ดำ� เนินการ ทางการเมืองอย่างใดทั้งสิ้น

การด�ำเนินงาน

อุตสาหกรรม, การท่องเที่ยว เพื่อสร้างความ ได้เปรียบในเชิงการแข่งขัน 5. ช่ ว ยเสริ ม สร้ า งพั ฒ นาศั ก ยภาพของ ผู้ประกอบการที่เป็นสมาชิกหอการค้า เพื่อ ให้สามารถแข่งขันบนเวทีโลกได้อย่างยั่งยืน 6. ท�ำประชาสัมพันธ์ กิจกรรมของหอการค้า ในเชิงรุก โดยการใช้สื่อประชาสัมพันธ์ด้าน ต่างๆ เช่น Website, Social network เช่น Facebook วารสารสื่อสิ่งพิมพ์ เป็นต้น เพื่อ ความหลากหลายของช่องทางที่จะให้ข้อมูล ข่าวสารเข้าถึงสมาชิกและประชาชน 7. วางกรอบการท�ำงานขององค์กรในเชิง

โครงสร้ า งที่ ค ล่ อ งตั ว ต่ อ การท� ำ งานและ การเชิญชวนกลุ่มองค์กร ชมรม ผู้ประกอบ การค้ า ในด้ า นต่ า งๆ ให้ เข้ า มามี ส ่ ว นร่ ว ม เพื่อสร้างอ�ำนาจการต่อรอง 8. การสนั บ สนุ น ลู ก หลานของนั ก ธุ ร กิ จ ที่เป็นสมาชิกหอการค้า ซึ่งมีความสามารถ หรือศักยภาพ เข้ามาร่วมงานเพื่อวางรากฐาน ขององค์กรที่เข้มแข็งในอนาคต 9. เชื่ อ มโยงเศรษฐกิ จ การค้ า การลงทุ น ระหว่างประเทศเพื่อเตรียมรองรับ ประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน ปี 2558 (AEC)

1. ส่งเสริมวิสาหกิจต่างๆ เพื่อประโยชน์ ทางการค้า อุตสาหกรรม เกษตรกรรม การเงิน และเศรษฐกิจในเขตจังหวัดมุกดาหาร เช่น รวบรวมสถิติ เผยแพร่ข่าวสารการค้า วิจัย เกี่ยวกับการค้าและเศรษฐกิจ ส่งเสริมการ ท่ อ งเที่ ย ว การออกใบรั บ รองแหล่ ง ก� ำ เนิ ด ของสิ น ค้ า การวางมาตรฐานแห่ ง คุ ณ ภาพ ของสินค้า การตรวจสอบมาตรฐานสินค้า จัดตัง้ และด�ำเนินการสถานการศึกษาทีเ่ กีย่ วข้อง

1. รั ก ษาไว้ ซึ่ ง ผลประโยชน์ ข องสมาชิ ก หอการค้ามุกดาหารโดยรวม 2. ช่วยส่งเสริมการค้าที่เป็นธรรมและมี จรรยาบรรณ 3. หารายได้ เข้ า องค์ ก รเพื่ อ ให้ ส ามารถ ดู แ ลตั ว เองได้ แ ต่ ไ ม่ ห วั ง ผลประโยชน์ เ พื่ อ ค้าก�ำไรเพียงอย่างเดียว 4. ผลั ก ดั น นโยบาย มุ ก ดาหารเป็ น เขต เศรษฐกิจพิเศษชายแดน เพื่อดึงดูดการลงทุน เพิ่ ม อั ต ราการขยายตั ว ทางเศรษฐกิ จ ด้ า น การค้า การลงทุน ทั้งในภาคเกษตร, บริการ

MUKDAHAN 51 .indd 51

09/03/61 06:56:16 PM


ส�ำนักงาน ธ.ก.ส.

จังหวัดมุ กดาหาร และสาขาในสังกัด 7 สาขา เป็น ส�ำนักงาน ธ.ก.ส.จังหวัดฯ ที่เป็นเลิศด้านธุรกิจธนาคาร มุ่งสู่ผลลัพธ์ที่สมดุลระหว่าง ลูกค้า ธนาคาร สังคม และสิ่งแวดล้อม ส�ำนักงาน ธ.ก.ส.จังหวัดมุกดาหาร มีพื้นที่ด�ำเนินงาน ประกอบด้วย สาขา จ�ำนวน 7 สาขา และ สาขาย่อย จ�ำนวน 4 สาขา ครอบคลุมพื้นที่ 53 ต�ำบล มีลูกค้าผู้ใช้บริการสินเชื่อ จ�ำนวน 50,299 ราย ตั้งอยู่ เลขที่ 57 ถนนชยางกูร ข. ต�ำบลมุกดาหาร อ�ำเภอเมือง มุกดาหาร จังหวัดมุกดาหาร 042-614485

พันธกิจ

นายศุภกร ถาวร

เพื่ อ ก้ า วสู ่ ก ารเป็ น ธนาคารพั ฒ นาชนบทเต็ ม รู ป แบบ ส� ำ นั ก งาน ธ.ก.ส.จังหวัดมุกดาหาร ได้ก�ำหนดพันธกิจส�ำคัญไว้ 5 พันธกิจ ดังนี้ 1. สร้างชุมชนเป็นศูนย์กลางขับเคลื่อนงานพัฒนาลูกค้าเชื่อมโยง กับธุรกิจของธนาคารอย่างเป็นระบบ 2. ขยายสินเชื่อให้ครบวงจรอย่างมีคุณภาพ 3. สร้ า งฐานการออมที่ มั่ น คง เพื่ อ เสริ ม ความแข็ ง แกร่ ง ของทุ น ด�ำเนินงาน ธนาคาร 4. พัฒนาบุคลากรและระบบการจัดการ ให้มีประสิทธิภาพ 5. ด�ำเนินธุรกิจอย่างมีสัมพันธภาพที่ดีต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม เพื่อความยั่งยืน และมั่นคง

ผู ้อ�ำนวยการ ส�ำนักงาน ธ.ก.ส. จังหวัดมุ กดาหาร

52 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 52

09/03/61 06:58:13 PM


กิจกรรมขององค์การบริหารส่วนต�ำบลค�ำชะอี

โครงสร้างส�ำนักงาน ธ.ก.ส.จังหวัด มุ กดาหาร นายศุภกร ถาวร ผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักงาน ธ.ก.ส.จังหวัดมุกดาหาร

นายสมศักดิ์ สันดี ผู้ช่วยผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักงาน ธ.ก.ส.จังหวัดมุกดาหาร นายวสันต์ ยุทธนาปกรณ์ ผู้จัดการ ธ.ก.ส.สาขามุกดาหาร มีพื้นที่ด�ำเนินงานในเขต อ.เมืองมุกดาหาร จ�ำนวน 7 ต�ำบล ลูกค้าผู้ใช้บริการสินเชื่อ จ�ำนวน 9,294 ราย

นางชนัญภัค เหมะธุลิน ผู้จัดการ ธ.ก.ส.สาขาผึ่งแดด มีพื้นที่ด�ำเนินงานในเขต อ.เมืองมุกดาหาร จ�ำนวน 6 ต�ำบล ลูกค้าผู้ใช้บริการสินเชื่อ จ�ำนวน 6,484 ราย

นายสุมิตร ภูนากลม ผู้จัดการ ธ.ก.ส.สาขานิคมค�ำสร้อย มีพื้นที่ด�ำเนินงานในเขต อ.นิคมค�ำสร้อย จ�ำนวน 7 ต�ำบล ลูกค้าผู้ใช้บริการสินเชื่อ จ�ำนวน 7,212 ราย

นางพงศธร บุญมา ผู้จัดการ ธ.ก.ส.สาขาหนองสูง มีพื้นที่ด�ำเนินงานในเขต อ.หนองสูง จ�ำนวน 6 ต�ำบล ลูกค้าผู้ใช้บริการสินเชื่อ จ�ำนวน 3,252 ราย

นายเชิดชัย โคตรพัฒน์ ผู้จัดการ ธ.ก.ส.สาขาค�ำชะอี มี พื้ น ที่ ด� ำ เนิ น งานในเขต อ.ค� ำ ชะอี จ� ำ นวน 9 ต� ำ บล ลูกค้าผู้ใช้บริการสินเชื่อ จ�ำนวน 6,289 ราย

นางเสาวณี พานโฮม ผู้จัดการ ธ.ก.ส.สาขาดงหลวง มีพื้นที่ด�ำเนินงานในเขต อ.ดงหลวง และ อ.หว้านใหญ่ จ�ำนวน 11 ต�ำบล ลูกค้าผูใ้ ช้บริการสินเชือ่ จ�ำนวน 9,091 ราย

พ.จ.อ.ชัยชาญ คิดถูก ผู้จัดการ ธ.ก.ส. สาขาดอนตาล มีพื้นที่ด�ำเนินงานในเขต อ.ดอนตาล จ�ำนวน 7 ต�ำบล ลูกค้าผู้ใช้บริการสินเชื่อ จ�ำนวน 8,677 ราย

ภารกิจที่ส�ำคัญในปีบัญชี 2560

1. ด�ำเนินงานทางด้านการเงินผ่าน ผลิตภัณฑ์และบริการ เงินฝาก สินเชื่อ บริการ และเงินฝาก คุ้มครองชีวิต 2. การสนับสนุนสินเชื่อตลอดห่วงโซ่คุณค่าเพิ่มโคเนื้อคุณภาพจังหวัดมุกดาหาร โครงการ พัฒนา โคเนือ้ โคขุนคุณภาพหนองสูง เป้าหมายพัฒนาโคเนือ้ โคขุนคุณภาพอย่างน้อย 300 ตัวภายใน 31 มีนาคม 2561 3. การพัฒนาชุมชนต้นแบบตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จ�ำนวน 51 แห่ง พัฒนา ศูนย์เรียนรู้เพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ธ.ก.ส. จ�ำนวน 4 แห่ง 4. การด� ำ เนิ น โครงการด้ า นสั ง คมและสิ่ ง แวดล้ อ ม ผ่ า นโครงการ ธนาคารต้ น ไม้ 48 แห่ ง ฝายชะลอน�้ำขนาดกลาง 14 แห่ง ขนาดเล็ก 19 แห่ง

MUKDAHAN 53 .indd 53

09/03/61 06:58:14 PM


บันทึกเส้นทางท่องเที่ย วจังหวัด มุกดาหาร

“หอแก้วสูงเสียดฟ้า ภูผาเทิบแก่งกะเบา แปดเผ่าชนพื้นเมือง ลือเลื่องมะขามหวาน กลองโบราณล�้ำเลิศ ถิ่นก�ำเนิดล�ำผญา ตระการตาชายโขง เชื่อมโยงอินโดจีน”

54 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 54

12/3/2561 8:49:29


จังหวัดมุ กดาหาร เป็นจังหวัดในภาคอีสานที่มีอาณาเขตติดริมแม่นำ� ้ โขง ชายแดนสามารถเชื่อมต่อกับแขวงสะหวันนะเขต ของ สปป.ลาว ที่สามารถ เชื่อมโยงการเดินทางท่องเที่ยวไปสู่ประเทศเวียดนามได้ จึงได้ชื่อว่าเป็น “ประตูสู่อินโดจีน” และนอกเหนือจากความโดดเด่นของชนเผ่าพืน้ เมืองที่ท�ำให้ จังหวัดมุ กดาหาร มีเสน่ห์ในด้านวัฒนธรรมแล้ว จังหวัดมุ กดาหารยังมี สถานที่ท่องเที่ยวที่น่าสนใจอีกมากมาย โดยเฉพาะแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ ที่งดงามแปลกตา เหมาะส�ำหรับคนรักธรรมชาติและนักผจญภัยทัว่ ไป

Mukdahan ประตูสู่อินโดจีน MUKDAHAN 55 .indd 55

12/3/2561 8:49:30


อุทยานแห่งชาติ

ภูสระดอกบัว 56 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 56

12/3/2561 8:49:31


ส�ำหรับนักท่องเที่ยวที่ชื่นชอบการเดินป่า ซึง่ สามารถเดินเทีย่ วแบบไปกลับในวันเดียว หรือ จะกางเต็นท์พักค้างคืนกลางป่าก็ได้เช่นกัน อุทยานแห่งชาติภูสระบัว มีเส้นทางเดินเพือ่ ขึน้ ไปชมทิวทัศน์ความสวยงามบนยอดเขา เช่น ภูหมู ภูสระบัว ซึ่งระหว่างทางจะผ่าน “ภูผาแต้ม” ที่ สามารถทางเดิ น ไปชมภาพเขี ย นของมนุ ษ ย์ ยุคโบราณ ที่มียาวประมาณ 60 เมตร อายุนับ ร้อยล้านปี จากนั้นสามารถเดินลัดเลาะ ไปยังที่ จุดชมวิว “ผามะเกลือ” เป็นลานโล่งที่มองเห็น วิวทิวทัศน์ที่สวยงามได้อย่างกว้างไกล ถัดจากผามะเกลือ ไปทางทิศตะวันตก จะพบ “ภูผาแตก” ซึ่งเป็นลานหินโล่งที่มีรอยแยกของ แผ่นหิน เป็นอีกหนึ่งจุดชมวิวที่สวยงามไม่แพ้กัน หากคุณเป็นนักเดินป่าตัวยงแล้วไม่ได้ไป พิชิตยอด “ภูสระดอกบัว” ที่อุทยานแห่งชาติ ภูสระดอกบัว ถือว่ายังมาไม่ถึง อุทยานแห่งชาติ ภูสระบัว บริเวณนี้จะมีน�้ำขังตลอดปี มีบัวขึ้น อยู่จ�ำนวนมากจนเต็มสระ จึงได้ชื่อว่า “ภูสระ ดอกบัว” เมื่อบัวออกดอกบานสะพรั่งจะมีความ งดงามมาก ส่วนบริเวณใกล้เคียงจะมีถำ�้ ขนาดใหญ่ ส�ำหรับการเดินป่าในเส้นทางนี้จะมีระยะ ทางไกลพอสมควร จ�ำเป็นต้องพักค้างแรมกลางป่า ดังนัน้ นักท่องเทีย่ วจึงควรเตรียมตัวและเตรียมใจ มาให้พร้อม หรือติดต่ออุทยานแห่งชาติภูสระ ดอกบัวไว้ล่วงหน้าก่อนเดินทาง

อุทยานแห่งชาติภูสระดอกบัว ตั้งอยู่ที่บ้านหนองเม็ก ต�ำบลป่าไร่ อ�ำเภอดอนตาล จังหวัดมุกดาหาร MUKDAHAN 57 .indd 57

12/3/2561 8:49:32


ชมภาพเขียนของมนุษย์ยุคโบราณ ที่มีความยาวประมาณ 60 เมตร อายุนับร้อยล้านปี

ภูผาแตก

58 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 58

12/3/2561 8:49:33


MUKDAHAN 59 .indd 59

12/3/2561 8:49:34


60 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 60

12/3/2561 8:49:35


น�้ำตกตาดโตน อยูท่ บี่ า้ นโนนยาง หมู่ 2 ต�ำบลโนนยาง อ�ำเภอหนองสูง จังหวัดมุกดาหาร เป็นน�้ำตกขนาดใหญ่แห่งเดียวของ จังหวัดมุกดาหาร “ตาด” เป็นภาษาอีสาน มีความหมายว่า “น�้ำตก หรือ ลานหินที่มีน�้ำไหล” ส่วนค�ำว่า “โตน” หมายถึง “กระโดด” น�้ำตกตาดโตน เป็นน�้ำตกชั้นเดียว สูงประมาณ 7 เมตร กว้าง 30 เมตร เป็นน�้ำตกที่มีน�้ำไหลตลอดทั้งปี ลักษณะน�ำ้ ตกเป็นแนวยาวสวยงาม บริเวณน�ำ้ ตกมีพนื้ ที่ ส�ำหรับให้นักท่องเที่ยวได้เล่นน�้ำท่ามกลางบรรยากาศที่ ร่มรื่นด้วยแมกไม้ นักท่องเที่ยวสามารถเดินทางไปยังน�้ำตกตาดโตน ซึ่งห่างจากอ�ำเภอหนองสูง ประมาณ 3 กิโลเมตร ถนน มุกดาหาร-กุฉินารายณ์ สาย 2042 อยู่ระหว่างหลัก กิโลเมตรที่ 67- 68 มีทางแยกขวามือเข้าไปอีก 400 เมตร MUKDAHAN 61 .indd 61

12/3/2561 8:49:36


62 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 62

12/3/2561 8:49:37


ภูหมู ส� ำ หรั บ นั ก ท่ อ งเที่ ย วที่ รั ก การเดิ น ป่ า เราไม่อยากให้คุณพลาดเส้นทางพิชิตยอด “ภูหมู” ที่อยู่ในเขตของอุทยานแห่งชาติ ภูสระบัว ยอดภูหมู เป็นอีกหนึ่งจุดชมวิว ทิวทัศน์ที่มีนักท่องเที่ยวจ�ำนวนมากนิยม ขึ้นไปท่องเที่ยว เพราะที่น่ีถือว่ามีอากาศ จะเย็นสบายตลอดทัง้ ปี นอกจากนีย้ งั มีเส้นทาง พิชิตยอด “ภูผาหอม” ซึ่งเป็นจุดชมวิวที่ สวยงามของเทือกเขาภูผาแต้ม รับรองได้ ว่าดีต่อใจและต้องประทับใจกลับไปอย่าง แน่นอน

MUKDAHAN 63 .indd 63

12/3/2561 8:49:38


หอแก้วมุกดาหาร

64 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 64

12/3/2561 8:49:39


MUKDAHAN 65 .indd 65

12/3/2561 8:49:39


หอแก้วมุกดาหาร หอแก้วมุกดาหาร ตั้งอยู่บนถนนมุกดาหารดอนตาล ห่างจากอ�ำเภอเมืองมุกดาหาร 2 กิโลเมตร เป็นหอแก้วเฉลิมพระเกียรติกาญจนาภิเษก ในพระ ราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ 50 ปี ของพระบาท สมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดชบรม นาถบพิตร ในปี พ.ศ. 2539 มีความสูง 65.50 เมตร เป็นอาคารทรง 9 เหลี่ยม นอกจากจะเป็นหอที่ สามารถชมทัศนียภาพได้ 360 องศาแล้ว ภายในตัว อาคารเปิดเป็นพิพธิ ภัณฑ์ศลิ ปวัฒนธรรมของจังหวัด มุกดาหาร • ชั้นที่ 1 เป็นพิพิธภัณฑ์ศิลปะและวัฒนธรรม แสดงเครื่องมือเครื่องใช้ในการด�ำเนินชีวิตของชาว บ้าน • ชัน้ ที่ 2 เป็นการจัดนิทรรศการประวัตศิ าสตร์ และวัฒนธรรมของ 8 ชนเผ่าในจังหวัดมุกดาหาร ได้แก่ ไทยย้อ ไทยแสก ไทยข่า ไทยกะโซ่ ไทยกะเลิง ไทยกุลา ชาวผู้ไทย และชาวไทยอีสาน • ชั้นที่ 6 เป็นหอชมทัศนียภาพ 360 องศา • ชั้นที่ 7 เป็นลูกแก้วมุกดาหาร ประดิษฐาน พระพุ ท ธรู ป เนื้ อ เงิ น แท้ เรี ย กว่ า “พระพุ ท ธนว มิ่งมงคลดาหาร” และพระพุทธรูปประจ�ำวันเกิด เปิดให้เข้าชมทุกวัน เวลา 08.00-18.00 น. บัตรเข้าชม เด็กคนละ 10 บาท ผูใ้ หญ่คนละ 30 บาท

66 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 66

12/3/2561 8:49:41


MUKDAHAN 67 .indd 67

12/3/2561 8:49:42


68 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 68

12/3/2561 8:49:43


ประตูสู่อินโดจีน

MUKDAHAN 69 .indd 69

12/3/2561 8:49:44


ตลาดอินโดจีน หากมาเยือนเมืองมุกดาหาร ก่อนกลับนักท่องเที่ยวคงไม่พลาด แวะมา ช้อปปิ้งหาของฝาก ของที่ระลึก หรือของรับประทาน ที่ตลาดอินโดจีนแห่งนี้ ซึ่งตั้งอยู่บริเวณถนนส�ำราญชายโขงในตัวเมืองมุกดาหาร หน้าวัดศรีมงคลใต้ เรียกได้ว่าเป็นตลาดที่รวบรวมสินค้าน�ำเข้าจากหลายประเทศ ทั้งรัสเซีย จีน เวียดนาม และสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ที่จ�ำหน่ายทั้ง ราคาส่งและปลีก เช่นเสือ้ ผ้า เครือ่ งนุง่ ห่ม เซรามิก เครือ่ งใช้ไฟฟ้า เครือ่ งอุปโภค -บริโภคต่างๆ นอกจากนี้ยังจ�ำหน่ายสินค้าพื้นเมืองขึ้นชื่อของจังหวัดมุกดาหาร เช่น ผ้าไหม ผ้ามัดหมี่ และสินค้าท้องถิ่นอื่นๆมากมาย

70 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 70

12/3/2561 8:49:46


การเดินทางท่องเทีย่ วและพักผ่อนหย่อนใจ เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของการใช้ ชี วิ ต ให้ มี ค วามสุ ข จั ง หวั ด มุ ก ดาหารยั ง มี ส ถานที่ ท ่ อ งเที่ ย ว น่ า สนใจอี ก มากมาย รอให้ นั ก ท่ อ งเที่ ย ว ทั่วประเทศ ได้เดินทางมาสัมผัสและใช้ชีวิต อย่างมีความสุข

ขอบคุณที่มาข้อมูล

การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย

MUKDAHAN 71 .indd 71

12/3/2561 8:49:49


แก่งกระเบา ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ต�ำบลป่งขาม อ�ำเภอ หว้านใหญ่ จังหวัดมุกดาหาร แก่งกระเบา มีลกั ษณะเป็นหินทอดยาวอยูก่ ลางแม่นำ�้ โขง แก่งมีน�้ำไหลเชี่ยวในฤดูน�้ำหลากและท่วม ตัวแก่ง ส่วนในฤดูแล้งสามารถมองเห็นหิน รูปร่างแปลกตาโผล่ขึ้นเหนือน�้ำจ�ำนวนมาก เป็นทิวทัศน์ที่เกิดจากธรรมชาติที่สวยงาม ไปอีกแบบ จึงเหมาะส�ำหรับการเดินทางมา ท่องเที่ยวและพักผ่อนหย่อนใจ

72 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 72

12/3/2561 8:49:50


MUKDAHAN 73 .indd 73

12/3/2561 8:49:51


พญานาคตัวใหญ่ สีเงินสวยงามริมฝั่งโขง

แก่งกระเบา

74 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 74

12/3/2561 8:49:52


MUKDAHAN 75 .indd 75

12/3/2561 8:49:53


บันทึกเส้นทางความเป็นมาจังหวัดมุ ก ดาหาร

76 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 76

12/3/2561 8:49:54


มุกดาหาร

เมืองขนาดใหญ่ที่มีความส�ำคัญมาก ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์

MUKDAHAN 77 .indd 77

12/3/2561 8:49:55


78 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 78

12/3/2561 8:49:56


จังหวัดมุกดาหาร

สมัยกรุงศรีอยุธยา เมือ่ ครัง้ ทีเ่ จ้าจันทรสุรยิ วงษ์และพรรคพวก อาศัยอยูท่ บี่ า้ นหลวงโพนสิม ใกล้พระธาตุองิ ฮัง ทางฝั ่ ง ซ้ายแม่น�้ำโขง (ดิน แดนลาว) จนถึ ง แก่ ก รรม เจ้ า จั น ทกิ น รี ผู ้ เ ป็ น บุ ต ร จึ ง เป็ น ผูป้ กครองต่อมาจนถึง พ.ศ. 2310 ได้มนี ายพราน คนหนึง่ ข้ามโขงมาทางฝัง่ ขวาตรงปากห้วยบังมุก และมาพบกับเมืองร้าง วัดร้าง พบต้นตาล 7 ยอด อยู ่ ริ ม ฝั ่ ง โขง และเห็ น ว่ า เป็ น ท� ำ เลที่ อุ ด ม สมบูรณ์กว่าดินแดนทางฝั่งซ้ายของแม่น�้ำโขง ทีเ่ คยอาศัยอยู่ อีกทัง้ ในแม่นำ�้ โขงตรงปากห้วย บังมุกมีปลาชุกชุม จึงกลับไปรายงานให้เจ้า จันทกินรีทราบ เจ้าจันทกินรีได้พาพรรคพวก ข้ามโขงมาดูก็เห็นว่าคงเป็นที่ตั้งเมืองโบราณ มาก่อน จึงได้พากันอพยพจากบ้านหลวงโพนสิม มาตั้งบ้านเรือนอยู่ทางฝั่งขวาแม่น�้ำโขงตรง ปากห้วยบังมุก เมื่ออพยพข้ามฝั่งมาจึงเริ่มถากถางป่า ทีร่ กร้างเพือ่ สร้างเมืองขึน้ ใหม่ ขณะนัน้ พบพระ พุทธรูป 2 องค์อยู่ใต้ต้นโพธิ์ริมฝั่งโขง พระ พุทธรูปองค์ใหญ่เป็นพระพุทธรูปก่ออิฐถือปูน ส่ ว นพระพุ ท ธรู ป องค์ เ ล็ ก เป็ น พระพุ ท ธรู ป โลหะหล่อด้วยเหล็กเนือ้ ดี จึงสร้างวัดขึน้ มาใหม่ ในบริเวณวัดร้างริมฝั่งโขง และขนานนามวัด ที่สร้างขึ้นใหม่นี้ว่า “วัดศรีมุงคุณ” (ศรีมงคล) และได้ ก ่ อ สร้ า งกุ ฏิ วิ ห ารขึ้ น ในบริ เวณวั ด พร้อมกับได้อัญเชิญพระพุทธรูปทั้งสององค์ที่ อยู่ใต้ต้นโพธิ์ริมฝั่งโขง ขึ้นไปประดิษฐานบน พระวิหารของวัด ต่อมาปรากฏว่าพระพุทธ รูปโลหะ (องค์เล็ก) เกิดปาฏิหาริย์กลับลงไป ประดิษฐานอยูใ่ ต้ตน้ โพธิเ์ หมือนเดิมถึง 3-4 ครัง้

ในที่สุดพระพุทธรูปองค์เล็กนั้นก็ค่อยๆ จมหายลงใต้ดิน คงเห็นแต่ยอดพระเกศ โผล่ขนึ้ มา ให้เห็นอยูใ่ ต้ตน้ โพธิร์ มิ ฝัง่ โขง จึงได้พร้อมกันสร้างแท่นสักการบูชาครอบไว้ ในบริเวณนั้น และขนานนามพระพุทธรูป องค์นั้นว่า “พระหลุบเหล็ก” ซึ่งปัจจุบัน บริ เวณที่ พ ระหลุ บ เหล็ ก จมดิ น ได้ ถู ก กระแสน�้ ำ เซาะตลิ่ ง โขงพั ง ลงไปหมดแล้ ว (คงเหลือแต่แท่นสักการบูชาทีย่ กเข้ามาเก็บรักษาไว้หน้าพระวิหารของวัดศรีมงคลใต้ ในปัจจุบัน) ส่วนพระพุทธรูปองค์ใหญ่ที่ก่ออิฐถือปูนได้อัญเชิญขึ้นไปประดิษฐาน อยูบ่ นพระวิหารของวัดศรีมงุ คุณ ชาวเมืองได้ขนานนามว่า “พระเจ้าองค์หลวง” เป็น พระประธานของวัดศรีมุงคุณ ซึ่งต่อมาได้เปลี่ยนนามเป็นวัดศรีมงคลใต้ ตลอดมา จนถึงปัจจุบัน เป็นพระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมืองตลอดมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เมือ่ ครัง้ ทีต่ งั้ เมืองขึน้ ใหม่ ในเวลากลางคืน มีผพู้ บเห็นแก้วดวงหนึง่ สีสดใสเปล่งแสง เป็นประกายแวววาวเสด็จ (ลอย) ออกจากต้นตาล 7 ยอดริมฝั่งโขง ล่องลอยไปตาม ล�ำน�ำ้ โขงแทบทุกคืน จวบจนใกล้รงุ่ สว่างแก้วดวงนัน้ จึงเสด็จ (ลอย) กลับมาทีต่ น้ ตาล 7 ยอด เจ้าจันทกินรีจึงได้ขนานนามแก้วศุภนิมิตดวงนี้ว่า “แก้วมุกดาหาร” เพราะ ตัง้ เมืองขึน้ ริมฝัง่ โขงตรงปากห้วยบังมุก อีกทัง้ มีผพู้ บเห็นไข่มกุ อยูใ่ นหอยกาบ (หอยกี)้ ในล�ำน�ำ้ โขงอีกด้วย เจ้าจันทกินรีจงึ ให้ขนานนามเมืองทีต่ งั้ ขึน้ ใหม่นวี้ า่ “เมืองมุกดาหาร” ตัง้ แต่เดือน 4 ปีกนุ จุลศักราช 1132 (พ.ศ.2313) อาณาเขต เมืองมุกดาหารครอบคลุม ทั้งสองฝั่งแม่น�้ำโขงจนจรดแดนญวน (รวมเขตของแขวงสุวรรณเขตของดินแดนลาว)

MUKDAHAN 79 .indd 79

12/3/2561 8:49:59


จังหวัดมุกดาหาร

สมัยกรุงธนบุรี เมื่ อ พระเจ้ า ตากสิ น มหาราช ได้ แ ผ่ แสนยานุภาพขึน้ มาถึงแถบลุม่ แม่นำ�้ โขง จนถึง พ.ศ. 2321 ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ ส มเด็ จ พระยามหากษั ต ริ ย ์ ศึ ก ฯ และ เจ้าพระยาจักรี ยกกองทัพขึน้ มาตามล�ำน�ำ้ โขง เพือ่ ปราบปรามและรวบรวมหัวเมืองน้อยใหญ่ ในสองฝัง่ แม่นำ�้ โขงให้รวมอยูใ่ นข้าขอบขัณฑสีมา ของกรุงธนบุรี และได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ตัง้ ให้ เจ้าจันทกินรี เป็น พระยาจันทรศรีสรุ าช อุปราชามันธาตุราช เจ้าเมืองมุกดาหารคนแรก และได้ พ ระราชทานนามเมื อ งว่ า “เมื อ ง มุกดาหาร” อาณาเขตเมื อ งมุ ก ดาหารในตอนนั้ น มี ขนาดใหญ่ เทียบเท่ากับมลรัฐหนึ่งมีพื้นที่ของ ทั้งสองฝั่งแม่น�้ำโขงไปจนถึงเมืองญวณ รวม สุวรรณเขตด้วย อยู่ภายใต้ขอบขัณฑสีมาของ กรุงเทพมหานคร โดยมีการปกครองตามแบบ ธรรมเนียมประเพณีดั้งเดิมของล้านช้าง คือมี ต�ำแหน่ง อุปฮาด ราชวงศ์ ราชบุตร และผูช้ ว่ ย ราชการในการปกครองเมือง มีกรมการเมือง ในการว่าราชการงานต่างๆ เช่น เมืองแสน ว่าราชการฝ่ายเหนือ เมืองจันทรว่าราชการ ฝ่ายใต้ เมืองกลางว่าราชการหนังสือ เมืองขวา เมืองซ้าย คุมกองทัพ ชาเนตร เก็บรักษาหนังสือ เมื่อปี พ.ศ.2313 มีอาณาเขตครอบคลุม ทั้ ง สองฝั ่ ง แม่ น�้ ำ โขง จนจดดิ น แดนญวน ต่ อ มาได้ มี ก ลุ ่ ม ชาติ พั น ธุ ์ จ� ำ นวนมาก เช่ น ผู้ไทย ข่า กะโซ่ กะเลิง แสก ย้อ กุลา และไทย อีสาน อพยพข้ามโขงมาตั้งรกรากอยู่ในเขต เมืองมุกดาหารเพิ่มขึ้น เมืองมุกดาหารมีเจ้าเมืองปกครองต่อ ๆ กันมาถึง 7 คน เจ้าเมืองต้องส่งส่วยให้กับ กรุงเทพฯ ตามจ�ำนวนชายฉกรรจ์ที่มี และ ถวายราชบรรณาการเป็นต้นไม้ทอง สูงเก้าชัน้ หนัก 1 ต�ำลึง 3 บาท และต้นไม้เงิน สูงเก้าชั้น หนัก 1 ต�ำลึง 3 บาท ตัง้ แต่ปี พ.ศ.2409 จนถึง ปี พ.ศ.2434 จึงได้ยกเลิก

80 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 80

12/3/2561 8:50:01


จังหวัดมุกดาหาร

สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 พ.ศ. 2436 รศ. 112 ฝรั่งเศสได้บุกยึดดินแดนฝั่งโขงตะวันออกซึ่ง ตอนนั้นเป็นเขตแห่งราชอาณาจักรไทย โดย อ้างว่าดินแดนฝั่งด้านตะวันออกเป็นดินแดน ของญวณ ได้ ขั บ ไล่ ไ พล่ พ ลเมื อ งมุ ก ดาหาร ที่ด่านทางเมืองเซโปน เมืองวัง ให้ออกมาพ้น ฝั่งโขงตะวันออก ตอนนั้นเมืองมุกดาหารจึง ต้องเสียดินแดน 3 ใน 4 ส่วน ฝัง่ โขงตะวันออก ให้กับฝรั่งเศส เหลือแต่เพียงฝั่งตะวันตก เมื่อราชอาณาจักรไทยต้องเสียดินแดน ทางฝั่งตะวันออกให้แก่ฝรั่งเศสแล้ว มีสัญญา ว่าห้ามมิให้ตั้งกองทัพหรือว่าเขตของทหาร ใกล้กว่า 25 กิโลเมตรจากทางฝั่งริมโขง ทาง ฝ่ายไทยเลยมีการตั้งต�ำรวจภูธรขึ้น สามารถ ทีจ่ ะถืออาวุธเช่นเดียวกับทหาร แตกต่างไปจาก

ต�ำรวจนครบาลซึง่ ไม่ได้ถอื อาวุธ ประจ�ำการตามหัวเมืองริมฝัง่ โขง เช่น หนองคาย สกลนคร มุกดาหาร และนครพนม ท�ำให้เกิดต�ำรวจภูธรขึ้นเป็นครั้งแรก

เจ้าเมืองมุกดาหารในอดีต • • • • • • •

พระยาจัทรศรีราชอุปราชามัมธาตุ (เจ้าจันทรกินรี) พระยาจัทรสุริยวงษ์ (กิ่ง) พระยาจัทรสุริยวงษ์ (พรหม) เจ้าจันทรเทพสุริยวงศ์ด�ำรงรัฐสมามุกดาหารราธิบดี (เจ้าหนู) พระยาจัทรสุริยวงษ์ (ค�ำ) พระยาจัทรสุริยวงษ์ (บุญเฮ้า) พระยาศศิวงษ์ประวัติ (เมฆ จัทรสาขา) ต่อมามีการปฏิรปู การปกครองในสมัยรัชการที่ 5 ได้ยกเลิกธรรมเนียมประเพณีของการ ปกครองแบบดังเดิม เปลีย่ นมาเป็นการปกครองเป็นผูว้ า่ ราชการจังหวัด และมีเงินเดือน และ ได้ทรงโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้ราชวงศ์ (แสง) เป็นพระจัทรเทพสุริยวงษา เป็นผู้ว่าราชการ เมืองมุกดาหาร คนแรกและคนสุดท้าย พ.ศ. 2442-2449 หลังจากนั้นได้เปลี่ยนแปลงการ ปกครองในรูปแบบต่างๆ หลายครั้ จนถูกยุบเป็นอ�ำเภอหนึ่งของจังหวัดนครพนม กระทั่ง พ.ศ. 2525 ได้ยกให้อ�ำเภอมุกดาหาร เป็นจังหวัดมุกดาหาร จังหวัดที่ 73 ของประเทศไทย

MUKDAHAN 81 .indd 81

12/3/2561 8:50:03


82 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 82

12/3/2561 8:50:04


สะพานมิตรภาพ ไทย-ลาว แห่งที่ 2

สะพานที่เชื่อมต่อ จังหวัดมุกดาหาร เข้ากับ แขวงสุวรรณเขต

ขอบคุณที่มาข้อมูล

ส�ำนักงานจังหวัดมุกดาหาร MUKDAHAN 83 .indd 83

12/3/2561 8:50:05


บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดรอยพระพุ ทธบาทภูมโนรมย์ พระมหามงคล มงฺคลคุโณ รองเจ้าคณะจังหวัดมุกดาหาร และเจ้าอาวาสวัดรอยพระพุทธบาทภูมโนรมย์

ประวัติวัดรอยพระพุทธบาทภูมโนรมย์ วัดรอยพระพุทธบาทภูมโนรมย์ สังกัด คณะสงฆ์มหานิกาย เดิมชาวบ้านเรียกว่า “วั ด มโนรมย์ ” ตั้ ง อยู ่ บ นเขามโนรมย์ บ้านเขามโนรมย์ หมู่ที่ ๙ ต�ำบลนาสีนวน อ�ำเภอเมือง จังหวัดมุกดาหาร มีเนือ้ ที่ ๖๖ ไร่ ๓ งาน ๓๓ ตารางวา ตามที่คณะรัฐมนตรี มี ม ติ เ ห็ น ชอบให้ เ พิ ก ถอน พื้ น ที่ วั ด รอย พระพุทธบาทภูมโนรมย์ ออกจากเขตพื้นที่ อุทยานแห่งชาติภูผาเทิบแล้ว ตามราชกิจ จานุเบกษา เล่ม ๑๒๐ ตอนที่ ๖๙ ก วันที่ ๑๘ กรกฏาคม ๒๕๔๖ ตามโฉนดที่ ดิ น น.ส. ๔ จ. เลขที่ ๖๒๔๕๑ จากหลักฐานการสร้างจากแผ่นศิลา ได้ กล่าวว่า พระอาจารย์บุ นนฺทวโร เจ้าอาวาส วั ด มโนภิ ร มย์ บ้ า นชะโนด และผู ้ ส ร้ า ง

วัดลัฎฐิกวัน พร้อมด้วยคนของท่านขุนศาลา เป็นผู้สร้าง ๑. พระธาตุภูมโนรมย์ เป็นพระธาตุทรง แปดเหลี่ ย มมี เ อวเป็ น ฐานหั ก เชิ ง เป็ น รู ป แปดเหลี่ยมรัศมีประมาณ ๒.๕ เมตร เป็น รูปทรงปลีแบ่งเป็น ๓ ส่วน คือ ส่วนที่ ๑ เป็นลักษณะปริศนาธรรมตามความหมายแรก เป็นนรกภูมิ ส่วนที่ ๒ เป็นโลกภูมิ และส่วนที่ ๓ เป็นสวรรค์ภูมิ ความสูง ๔.๕ เมตร ๒. พระอั ง คารเพ็ ญ เป็ น พระพุ ท ธรู ป ขนาดเล็ ก สร้ า งพร้ อ มรอยพระพุ ท ธบาท เพื่อให้ครบ คือ พระธาตุ พระพุทธรูป และ รอยพระบาท ตามความเชื่อของผู้สร้าง ๓. แผ่ น ศิ ล าจารึ ก บั น ทึ ก ประวั ติ ก าร ก่อสร้าง จ�ำนวน ๑ แผ่น ติดอยู่ด้านหลัง

ของพระอังคารเพ็ญ ๔. รอยพระพุทธบาทจ�ำลอง เป็นรอย พระพุ ท ธบาทขนาดเล็ ก ซึ่ ง สร้ า งขึ้ น จาก หิ น ทราย มี ค วามกว้ า ง ๘๐ เซนติ เ มตร ความยาว ๑.๘ เมตร สร้างเป็นลักษณะ ลอยตัวสูงขึน้ จากพืน้ ประมาณ ๙๐ เซนติเมตร เมื่ อ ปี พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๒๕ เจ้ า คณะ จังหวัดเห็นว่าวัดดังกล่าวเป็นวัดร้าง จึงได้ มอบหมายให้ พระครูอุดมธรรมรักษ์ (ยอด ยสชาโต) เจ้าคณะอ�ำเภอเมืองมุกดาหาร ปัจจุบนั ด�ำรงสมณศักดิท์ ี่ พระราชมุกดาหารคณี ได้ขึ้นมาบูรณะบ�ำรุงรักษาและป้องกันการ ท�ำลายโบราณสถานดังกล่าว และยังมีการ สร้างพระพุทธสิงห์สองจ�ำลองประดิษฐาน ไว้เป็นที่เคารพสักการะอีกองค์หนึ่ง

84 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย Ver2.indd 84

09/03/61 04:06:11 PM


ส�ำนักงานวัดรอยพระพุทธบาทภูมโนรมย์ โทร. ๐๘-๗๙๖๕-๑๕๕๙ Email. m_tboy@hotmail.com MUKDAHAN 85 Ver2.indd 85

09/03/61 04:06:12 PM


ธรรมหนุนน�ำชีวิต

การด�ำริสร้างพญานาค “พญาสิริมุตตามหามุนีนีลปาลนาคราช” ตามต�ำนานเดิมของ วัดรอยพระพุทธบาท ภูมโนรมย์ มีถำ�้ ชือ่ ว่ามะเขือเถือ่ น ตรงทางเข้า พอลอดลงไปได้ เมื่อเข้าไป ถ�้ำจะขยายออก กว้างใหญ่ขึ้น เมื่อเดินลึกเข้าไปเรื่อยๆ จะ มี เ สี ย งน�้ ำ ไหล ไม่ มี ใ ครเดิ น เข้ า ไปจนสุ ด สันนิษฐานว่าจะทะลุถึงแม่น�้ำโขง เพราะมี คนพบเห็นเรือโบราณมาเกยตื้นในถ�้ำ จาก ค�ำบอกเล่าของคนเฒ่าคนแก่ว่าในถ�้ำคนที่ เคยเข้าไปพบพระพุทธรูปทองค�ำ หน่อไม้ ทองค�ำ แก้วแหวนเงินทองต่างๆ มีบางคน เข้าไปแล้วพบเจอก็พากันหยิบใส่สะพายย่าม พอถึงบ้านเปิดออกมามีแต่ก้อนหิน ถึงสมัย

พระราชมุกดาหารคณี (ยอด ยสชาโต) ขึน้ มา ปฏิสงั ขรณ์พฒ ั นาวัด ได้พาญาติโยมท�ำฝาย กั้นน�้ำถัดจากถ�้ำลงไป เพื่อน�ำน�้ำมาใช้ในวัด ขณะที่พากันขุดดินถมคันกั้นฝายนั้น ได้มี งูใหญ่ตัวสีด�ำนิล ขนาดยาว ประมาณ ๑๐ เมตร เรื้อยมาใกล้ๆ กับที่ชาวบ้านท�ำงาน เมื่ อ ผิ ว ถู ก แสงแดดผิ ว มั น ระยั บ ชู ค อดู ชาวบ้านท�ำงาน สร้างความตะลึงแก้ชาวบ้าน เป็นอย่างมาก แล้วงูก็ค่อยๆ เลื้อยไปดื่มน�้ำ ที่บ่อน�้ำทิพย์ แล้วเลื้อยกลับเข้าไปในถ�้ำ ตั้งแต่นั้นมาชาวบ้านก็ไม่กล้าเข้าไปในถ�้ำ อีกเลย แล้วต้นไม้หว้าต้นใหญ่ที่อยู่ปากถ�้ำ

ก็โค่นลงปิดปากถ�้ำ ท�ำให้ไม่สามารถเข้าไป ได้ อี ก เลยตั้ ง แต่ บั ด นั้ น จนต่ อ มามี ก าร ก่ อ สร้ า งพระพุ ท ธรู ป เฉลิ ม พระเกี ย รติ ฯ (พระเจ้าใหญ่แก้วมุกดาศรีไตรรัตน์) เจ้าอาวาส รู ป ปั จ จุ บั น จึ ง ด� ำ ริ ส ร้ า งพญานาคราชขึ้ น เพื่อขึ้นมาถวายการอภิบาลรักษาพระใหญ่ และเป็นที่เคารพสักการะ ขนาดความยาว ๑๒๒ เมตร เส้นผ่าศูนย์กลางล�ำตัว ๑.๕๐ เมตร ล�ำคอสูง ๒๐ เมตร และตั้งชื่อให้ว่า พญาสิริมุตตามหามุนีนีลปาลนาคราช

เทศกาลสงกรานต์ สรงน�ำ้ รอยพระพุทธบาทภูมโนรมย์ พระธาตุภมู โนรมย์ และพระอังคารเพ็ญ และพิธีมหาพุทธาภิเษก ซึ่งจัดขึ้นใน วันที่ ๙ เมษายน ของทุกปี เป็นการ สืบสานประเพณีขึ้นปีใหม่วิถีไทย รับ พรปี ใ หม่ วิ ถี พุ ท ธ ไหว้ สิ่ ง ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ เพื่ อ ความเป็ น ศิ ริ ม งคล และความ เจริ ญ รุ ่ ง เรื อ งในชี วิ ต หน้ า ที่ ก ารงาน การเริ่มต้นปีใหม่ไทยกับสิ่งที่ดีงาม 86 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย Ver2.indd 86

09/03/61 04:06:13 PM


พระเจ้าใหญ่

แก้วมุ กดาศรีไตรรัตน์ ในปีพุทธศักราช ๒๕๕๒ ทางคณะสงฆ์และจังหวัดมุกดาหาร ได้ร่วมใจกันจัดสร้าง พระพุทธรูปเฉลิมพระเกียรติฯ “พระเจ้าใหญ่ แก้ ว มุ ก ดาศรี ไ ตรรั ต น์ ” เนื่ อ งในโอกาสมหามงคลเฉลิ ม พระชนมพรรษาครบ ๗ รอบ ๘๔ พรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔ เป็น พระพุทธรูปปางมารวิชัย ขนาดหน้าตัก ๓๙.๙๙ เมตร สูง ๕๙.๙๙ เมตร ความสู ง จากฐานถึ ง ยอดเศี ย ร ๘๔ เมตร โดยได้ รั บ งบประมาณสนับสนุนจากรัฐบาล และเงินบริจาคจากพุทธศาสนิกชน ผู้มีจิตศรัทธาทั่วไป

วัดรอยพระพุทธบาทภูมโนรมย์ ตั้งอยู่ท่ามกลางธรรมชาติ ที่ยังอุดมสมบูรณ์ และเป็นศาสนสถานที่พุทธศาสนิกชนได้มากราบ ไหว้ขอพร เพื่อความเป็นศิริมงคล และเป็นแหล่งพักผ่อนหย่อนใจ ที่ อี ก แห่ ง หนึ่ ง ที่ นั ก ท่ อ งเที่ ย วต้ อ งมาเยื อ น ทั้ ง มี ก ารปรั บ ปรุ ง ภูมิทัศน์เพื่อเป็นจุดชมทิวทัศน์ของเมืองคู่แฝด คือ เมืองมุกดาหาร ประเทศไทย และแขวงสะหวันนะเขต สาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว รวมถึงหอแก้ว แม่น�้ำโขง และสะพานมิตรภาพ ไทย - ลาว ๒ (มุกดาหาร - สะหวันนะเขต) MUKDAHAN 87

Ver2.indd 87

09/03/61 04:06:13 PM


บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

รอยพระพุทธบาทใหม่ บนผลานหินวัดรอยพระพุทธบาทภูมโนรมย์ เจ้าอาวาสรูปปัจจุบนั ได้นมิ ติ เห็นรอยพระพุทธบาท ในนิมติ นัน้ ชัดเจนมาก จนรุง่ เช้าจึงได้เล่าให้พระภิกษุ สามเณรฟังหลังจากฉันภัตตาหารเสร็จก็ได้พาภิกษุ สามเณรออกเดินส�ำรวจในบริเวณวัดสองวันก็ยงั ไม่พบ จนถึงวันทีส่ ามพากันพักทีผ่ ลานหินสังเกตเห็นหลุม คล้ายรอยเท้าขนาดยาว ๒.๕๙ เมตร กว้าง ๑.๖๙ เมตร อยู่บนผลานหินเกิดความปลื้มปีติเป็นอย่างยิ่ง อาจ จะด้วยเหตุที่ตรงนี้แต่ก่อนเป็นเนินดินที่หญ้าขึ้นรก ชักมีงชู มุ จึงไม่มใี ครเดินเข้าไปใกล้ พอเอาเนินดินออก ท�ำให้เห็นเป็นร่องหินคล้ายรอยเท้าและอีกเหตุหนึง่ เมื่อรอยพระพุทธบาทปรากฏเทวดาที่รักษาอยู่ก็ ไม่อยากให้คนทีไ่ ม่รเู้ ดินข้ามไปมา เมือ่ เห็นประจักษ์ ดังนิมิตแล้ว เจ้าอาวาสจึงให้ญาติโยมจัดเครื่อง สักการะถวาย ต่อมาจึงให้ช่างมาท�ำก�ำแพงรอบ และปลู ก ต้ น โพธิ์ ที่ พ ระที่ รู ้ จั ก กั น น� ำ เมล็ ด ต้ น ศรี มหาโพธิ์มาเพราะได้ ๙ ต้น จึงแบ่งให้ต้นหนึ่งและ น�ำมาปลูกไว้ทางทิศตะวันออกของรอยพระพุทธบาท และต่อไปจะท�ำมณฑปครอบรอบพระพุทธบาทไว้

พระพุทธรูปหินแกะสลักปางประจ�ำวันเกิด เป็นพุทธรูปที่แกะสลักเข้าไปในหินหน้าผาด้านทิศตะวันตกของวัดจ�ำนวน ๘ ปาง สามารถเดินเรียบหน้าผาเข้าไปนมัสการขอพร เพื่อความ เป็นศิริมงคลได้

88 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย Ver2.indd 88

09/03/61 04:06:14 PM


พระแก้วมุ กดา เป็นพระพุทธรูปที่ศักดิ์สิทธิ์ของทางวัด แกะสลักจากหิน ใต้แม่น�้ำโขง หรือที่ชาวบ้านเรียกกันว่า “หินแก้วพญานาค” ตั้งประดิษฐานที่เกศโมลีขององค์พระใหญ่ ในหนึ่งปีจะอัญเชิญ ลงมาประดิษฐานให้พุทธศาสนิกชนได้กราบสักการะ และ สรงน�้ำขอพรในช่วงเทศกาลสงกรานต์เท่านั้น

MUKDAHAN 89 Ver2.indd 89

12/03/61 08:49:20 AM


90 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย Ver2.indd 90

09/03/61 04:06:15 PM


จุ ดชมทิวทัศน์

เมืองมุกดาหาร และแขวงสะหวันเขต สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว

MUKDAHAN 91 Ver2.indd 91

09/03/61 04:06:16 PM


บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดศรีมงคลใต้ (พระอารามหลวง) พระครูประจักษ์บุญญาทร เจ้าคณะอ�ำเภอเมืองมุกดาหาร และรักษาการแทนเจ้าอาวาส ประวัติความเป็นมา

วัดศรีมงคลใต้ (พระอารามหลวง) ตั้งอยู่ หมู่ที่ ๑ ต�ำบลมุกดาหาร อ�ำเภอเมืองมุกดาหาร จังหวัดมุกดาหาร ตั้งวัดเมื่อ พ.ศ.๒๒๘๕ อยู่ติด ถนนส�ำราญชายโขงใกล้ด่านตรวจคนเข้าเมือง จั ง หวั ด มุ ก ดาหาร หน้ า วั ด มี ต ลาดอิ น โดจี น เป็นแหล่งท�ำมาค้าขายของผูค้ นสองฟากฝัง่ แม่นำ�้ ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อ พ.ศ.๒๓๓๑ ได้รับการสถาปนาขึ้นเป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญ ในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิม พระชนมพรรษา ๖ รอบ เมื่อ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๒ 92 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 92

09/03/61 07:10:37 PM


วัดศรีมงคลใต้มีเนื้อที่เพียง ๔ ไร่เศษ มีประวัติเล่าว่า เมื่อกรุงศรีอยุธยาเสียให้ แก่พม่าครั้งที่ ๒ ผู้คนได้พากันทิ้งถิ่นฐาน อพยพครอบครัวลงมาหาทีส่ ร้างบ้านเมือง ใหม่ เจ้าจันทสุริวงศ์ ได้พาผู้คนของตน ไปตั้ ง ถิ่ น ฐานที่ ฝ ั ่ ง ซ้ า ยของแม่ น�้ ำ โขง ที่ บ ้ า นโพนสิ ม บริ เวณพระธาตุ อิ ง ฮั ง ปัจจุบันอยู่ในแขวงสะหวันนะเขต สปป. ลาว ต่อมาโอรส คือ ท้าวกินนรี พาชาว บ้ า นมาสร้ า งเมื อ งที่ ป ากห้ ว ยมุ ก ฝั ่ ง ตรงข้ า มกั บ สะหวั น นะเขต ได้ พ บ พระพุทธรูปทั้ง ๒ องค์ อยู่ใต้ต้นโพธิ์ ริมฝั่งโขง บริเวณวัดร้างใกล้ตาลเจ็ดยอด

ล�ำดับเจ้าอาวาส

ญาท่านค�ำบุ นนฺทวโร (ไม่ทราบวัน เดือน ปีที่ครองวัด) พระครูมุกดาหารมงคล (ไม่ทราบวัน เดือน ปีที่ครองวัด) พระราชมุกดาหารคณี(พร ธมฺมฉนฺโท) (ไม่ทราบวัน เดือน ปีทคี่ รองวัด) - ๑๓ กันยายน ๒๕๔๔ พระราชมุกดาหารคณี(ยอด ยสชาโต) ๒๐ สิงหาคม ๒๕๔๖ - ๑๙ มิถุนายน ๒๕๖๐ พระครูประจักษ์บุญญาทร เจ้าคณะอ�ำเภอเมืองมุกดาหาร ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดศรีมงคลใต้ พระอารามหลวง เป็นผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาส ในปัจจุบัน

MUKDAHAN 93 .indd 93

09/03/61 07:10:42 PM


บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

94 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 94

09/03/61 07:10:43 PM


พระพุทธรูป ๒ องค์ที่พบนั้นองค์ใหญ่ สร้างด้วยสัมฤทธิ์ศิลปะตระกูลพระไชยเชษฐา ธิราชแห่งล้านช้าง ส่วนองค์เล็กเป็นเหล็กผสม ท้าวกินนรีได้อัญเชิญพระพุทธรูป ทั้ ง ๒ องค์ ขึ้ น ประดิ ษ ฐานในพระวิ ห าร พระพุ ท ธรู ป องค์ ใ หญ่ เรี ย กกั น ว่ า “พระเจ้าองค์หลวง” พระเจ้าองค์หลวง เป็นพระประธานปางมารวิชัยหน้าตักกว้าง ๒ เมตร ๒๐ เซนติเมตร ความสูงจากฐาน ๓ เมตร ส่วนพระพุทธรูปองค์เล็กนั้น กลับปาฏิหาริย์ไปอยู่ใต้ต้นโพธิ์ดังเดิม เป็นเช่นนี้อยู่หลายครั้งทางวัดจึงได้ สร้างแท่นบูชาไว้ ต่อมาตลิ่งริมแม่น�้ำทรุดตัวลงพระเหล็กก็ทรุดจมลงจนเห็น แต่ส่วนพระเมาลี ชาวบ้านจึงสร้างแท่นหินครอบพระเกศนั้นไว้ เรียกกันว่า “พระหลุ บ เหล็ ก ” ภายหลั ง ได้ ถู ก น�้ ำ เซาะหายไปเหลื อ แต่ แ ท่ น หิ น เท่ า นั้ น ปัจจุบันแท่นหินตั้งอยู่ตรงทางขึ้นพระวิหาร

MUKDAHAN 95 .indd 95

09/03/61 07:10:46 PM


พระวิหารมีขนาดกว้าง ๑๒ เมตร ยาว ๑๘ เมตร ก่ออิฐถือปูน หลังคา มุงกระเบื้องซ้อน ๒ ชั้น มีแนวเสากลมขนาดใหญ่เรียงเป็นแถวรับหลังคา รูปแบบการก่อสร้างแฝงความยิง่ ใหญ่มนั่ คงเหมือนอาคารทีส่ ร้างในเมืองหลวง ไม่ใช่รูปแบบที่นิยมในท้องถิ่นน่าจะได้รับการบูรณะโดยเสนาบดีคนส�ำคัญ ในยุคต่อมา หน้าบรรณลายเทพนม ประกอบลายกนกสีทองบนพื้นสีแดง ลักษณะที่นิยมสร้างสมัยการเปลี่ยนแปลงการปกครองของไทย พระอุโบสถหรือโบสถ์น้อย มีขนาดเล็กอยู่ถัดไปด้านหลัง ใกล้กับ เขตสังฆาวาส แต่น่าแปลกที่โบสถ์หันหลังออกแม่น้�ำ จึงไม่แน่ใจว่าแต่ก่อน เคยมีล�ำน�้ำหรือทางสัญจรอื่นอีกหรือไม่ การก่อสร้างเป็นอาคารก่ออิฐ ถือปูน กว้าง ๕ เมตร ยาว ๘ เมตร หลังคามุงกระเบื้องมีช่อฟ้าใบระกา นาคสะดุ้ง รูปทรงแบบพื้นบ้านอีสาน คือ มีผนังด้านหลังพระประธานเพียง ด้านเดียว นอกนั้นเปิดโล่ง แบบศาลาหน้าบรรณแต่งลายปูนปั้นเป็น พระพุทธรูปทรงสมาธิ (Meditation) บันไดทางขึ้นโบสถ์น้อยมี ๒ ด้าน ปั้นปูนเป็นรูปสัตว์ป่าหิมพานต์ ซึ่งไม่พบในที่อื่น

96 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 96

09/03/61 07:10:55 PM


วั ด ศรี ม งคลใต้ อยู ่ ใ นท� ำ เลที่ เ ป็ น หน้ า ด่ า นของมุ ก ดาหาร เป็ น ประหนึ่งปากประตูทางออก ของประเทศกลุ่มอินโดจีน คือ ไทย ลาว จีน เวียดนาม กัมพูชาและพม่า รวม ๖ กลุ่มประเทศ มุกดาหารจึงเป็น ประดุจอัญมณีเม็ดงามริมฝั่งโขง โดยเฉพาะวัดศรีมงคลใต้เป็นจุดแรก ที่ประกาศความเป็นเมืองพุทธในริมน�้ำแถบนี้ เป็นวัดที่มีประวัติยาวนาน มีความส�ำคัญและน่าเยี่ยมชม

MUKDAHAN 97 .indd 97

09/03/61 07:11:00 PM


SBL บันทึกประเทศไทย

Website : www.sbl.co.th

Ad-SBL Magazine Online Chumphon.indd 98

09/03/61 07:15:38 PM


บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดศรีสุมังค์วนาราม พระครูสุทธิภัทรคุณ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดศรีสุมังค์วนาราม ประวัติความเป็นมา

วัดศรีสุมังค์วนาราม หรือ วัดช้าง ตั้งอยู่เลขที่ ๒๖ ต�ำบลศรีบุญเรือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดมุกดาหาร สังกัดคณะสงฆ์นิกายมหานิกาย มีเนื้อที่ ๕ ไร่ ๑ งาน ๒๕ ตารางวา สร้างเมื่อปี พ.ศ.๒๔๗๓ ภายในวัดมี “พระธาตุ ศ รี สุ ม งคล” ประดิ ษ ฐานอยู ่ ลั ก ษณะรู ป ทรงคล้ า ยองค์ พระธาตุพนมองค์เก่า สร้างเมื่อปี พ.ศ.๒๕๓๙ วัดศรีสุมังค์วนาราม ตั้งเมื่อ พ.ศ.๒๓๒๙ สมัยพระยาจันทรศรีสุราช อุปราชามันธาตุราช (เจ้าจันทกินรี) เป็นเจ้าเมืองมุกดาหาร ด้วยความ ศรัทธาของประชาชนฝั่งขวาล�ำน�้ำโขงและบริเวณกลางเมือง ได้รับ

พระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อ พ.ศ.๒๔๑๓ สมัยพระจันทรสุริยวงษ์ (ค�ำ) เป็นเจ้าเมืองมุกดาหาร

ล�ำดับเจ้าอาวาสวัด

พระครูสี พระอารย์ละออง นันทาจาร พ.ศ.๒๔๘๖ - ๒๕๑๗ พระอาจารย์สุภี พ.ศ.๒๕๑๗ - ๒๕๓๑ พระครูสุทธิภัทรคุณ พ.ศ.๒๕๓๒ - ปัจจุบัน MUKDAHAN 99

.indd 99

09/03/61 04:43:20 PM


ปูชนียวัตถุส�ำคัญ

พระพุทธรูปหลวงพ่อศิลานาคปรก พระประธานในวิหารมีพุทธลักษณะศิลปะแบบลาว วิหารสิม หรือโบสถ์หลังเดิม สร้ า งเมื่ อ พ.ศ.๒๔๗๓ ลั ก ษณะอาคารได้ รั บ อิ ท ธิ พ ลตะวั น ตก เป็นอาคารอิฐปูน ประตูและหน้าต่างเป็นรูปโค้ง หลังคาหน้าจั่วลดชั้น เดิมมุงด้วยไม้ (แป้นเกล็ด) ปัจจุบันเปลี่ยนเป็นสังกะสี โครงสร้างภายใน เป็นไม้ ด้านหน้าอาคารมีประตูทางเข้า ๓ ประตู มีหน้าต่างมีผนังด้าน ซ้ายและด้านขวาด้านละ ๓ บาน สิมมีความกว้าง ๘.๙๐ เมตร ยาว ๒๑.๗๐ เมตร ที่หน้าวิหารมีรูปช้างก่ออิฐถือปูน ยืนอยู่ทางเข้าหน้าวิหาร ข้างละ ๑ เชือก ชาวบ้านจึงพากันเรียกขานวัดศรีสุมังค์วนาราม ว่า “วัดช้าง” ภายหลังได้มีการปรับปรุงที่ราวบันไดทางขึ้นใหม่สร้างเป็น ปูนปั้นพญานาค ๗ เศียร ทั้ง ๒ ข้าง และย้ายรูปปั้นช้างไปไว้หน้า พระธาตุศรีสุมังค์ พระธาตุศรีสุมงคล สร้างคล้ายองค์พระธาตุพนมองค์เก่า พระอธิการสมบูรณ์ สิรภิ ทฺโท เจ้าอาวาสวัดศรีสุมังค์วนาราม คิดออกแบบ สร้างขึ้นเมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ.๒๕๓๙ ใช้งบประมาณสร้าง ๙ แสนบาท ซึ่งได้จากผู้มีจิตศรัทธา ชาวคุ้มศรีสุมังค์ ชาวมุกดาหารทุกหมู่เหล่า พร้อมด้วยผู้มีจิตศรัทธา ร่วมกันบริจาค องค์พระธาตุศรีสุมงคล สูง ๒๕ เมตร ตั้งอยู่บนฐาน บัวคว�่ำบัวหงาย วางเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส สูงประมาณ ๒.๖๐ เมตร ประดิษฐานพระพุทธรูประจ�ำวัน ภายในพระธาตุช้ันที่ ๒ เป็นที่เก็บ พระบรมสารีริกธาตุ พระพุทธรูเก่าแก่ของวัด “หลวงพ่อสังวาล” มีขนาดหน้าตัก ๙ นิว้ โบราณวัตถุและพระเครือ่ งต่างๆ ด้านหน้าพระธาตุ เป็นรูปช้างยืนชูงวง ก่อด้วยอิฐถือปูน อยู่ด้านซ้ายและด้านขวา ข้างละ ๑ เชือก เป็นช้างตัวใหญ่ สูง ๑.๘๕ เมตร เพื่ออนุรักษ์ชื่อวัดช้างไว้ ให้ประชาชนได้เรียกขานอยู่ตลอดไป ทั้ ง นี้ ภายในวั ด ศรี สุ มั ง ค์ ว นาราม ยั ง เป็ น ที่ ตั้ ง สถู ป บรรจุ อั ฐิ พระยาศศิวงษ์ประวัติ (เมฆ จันทรสาขา) อดีตเจ้าเมืองมุกดาหาร องค์ที่ ๗ เป็นต้นสกุลพระราชทาน จันทรสาขา แห่งจังหวัดมุกดาหาร และเป็นต้นสกุลพระราชทาน พิทักษ์พนม แห่งอ�ำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม ในภาคอีสานของประเทศไทย

100 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 100

09/03/61 04:43:25 PM


ประวัติพระครูสุทธิภัทรคุณ

(สมบูรณ์ ลาจ�ำนงค์) ชาติภูมิ เกิดเมื่อวันที่ ๒๗ กันยายน พ.ศ.๒๕๐๔ ตรงกับวันศุกร์ แรม ๓ ค�่ำ เดือน ๑๑ ปีฉลู บ้านเลขที่ ๑๔๔/๓ หมู่ ๒ ต�ำบลบ้านยาง อ�ำเภอล�ำปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย์ บรรพชาอุปสมบท วันที่ ๒๕ เมษายน พ.ศ.๒๕๒๖ ณ วัดโพธิ์ย่อย ต� ำ บลบ้ า นยาง อ� ำ เภอล� ำ ปลายมาศ จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ โดยพระครู นิวิฐธรรมาธร วัดบ้านหนองโดน เป็นพระอุปัชฌาย์ เป็นพระผู้พัฒนา ทั้งทางโลกและทางธรรมด้วยดีตลอดมา พ.ศ.๒๕๒๙ สอบได้ นั ก ธรรมชั้ น เอก จากส� ำ นั ก คณะจั ง หวั ด มหาสารคาม เป็นรองเจ้าอาวาสวัดศรีสุมังค์วนาราม พ.ศ.๒๕๓๒ เป็น เจ้าอาวาสวัดศรีสุมังค์วนาราม สอบได้ชั้นประโยค ๑ - ๒ จากส�ำนักเรียน คณะจังหวัดมุกดาหาร เป็นกรรมการตรวจสอบข้อสอบนักธรรมชั้นตรี ของคณะสงฆ์ภาค ๑๐ และเป็นกรรมการก�ำกับห้องสอบบาลีสนามหลวง ส�ำนักเรียนคณะจังหวัดมุกดาหาร เป็นพระธรรมกถึก พ.ศ.๒๕๔๓ เป็นผู้แทนแม่กองธรรมสนามหลวง ประจ�ำหน่วยสอบ เรือนจ�ำจังหวัดมุกดาหาร พ.ศ.๒๕๔๕ ได้รบั พระราชทานแต่งตัง้ สมณศักดิ์ เป็นพระครูสญ ั ญาบัตรเจ้าอาวาสวัดราษฎร์ชนั้ โท ที่ “พระครูสทุ ธิภทั รคุณ”

ทั้งได้ท�ำหน้าที่หลายด้าน อาทิ งานปกครองของวัด งานการศึกษา ส่งเสริมการศึกษา การศึกษาสงเคราะห์ การเผยแผ่พระพุทธศาสนา พ.ศ.๒๕๔๘ ส�ำเร็จปริญญาพุทธศาสตรบัณฑิต (พธ.บ.) คณะ ครุศาสตร์ สาขาสังคมศึกษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ.๒๕๕๑ ส�ำเร็จปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.) พ.ศ.๒๕๕๒ - ๒๕๕๓ บูรณปฏิสังขรณ์ศาลาการเปรียญวัดศรีสุมังค์ วนาราม

ร่วมสร้างเส้นทางบุญ

ธนาคารกรุงไทย เลขบัญชี 420-1-30558-93 โทร 098-171-5562

MUKDAHAN 101 .indd 101

09/03/61 04:43:29 PM


บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดบรรพตมโนรมย์ พระครูศิริปุญญกิจ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส และ เจ้าคณะต�ำบลในเมืองเขต ๒

ประวัติเจ้าอาวาส

พระครู ศิริปุญ ญกิจ สถานะเดิม ชื่อ อุดร จันดารักษ์ เกิดวันที่ ๒๓ เดือน มกราคม พุทธศักราช ๒๔๙๑ บ้านโพนสิม ต.สิงห์ อ.ยโสธร จ.อุบลราชธานี (ปัจจุบัน จังหวัดยโสธร) อุปสมบท พระครูศิริปุญญกิจ ฉายา ขนฺติโก อุปสมบท เมื่ออายุ ๒๑ ปี ณ วันที่ ๒๗ เดือน ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๑๑ การท�ำงาน เจ้าอาวาสวัดบรรพตมโนรมย์ เจ้าคณะต�ำบล ในเมืองเขต ๒ เจ้าส�ำนักปฏิบตั ธิ รรมประจ�ำจังหวัดมุกดาหาร แห่งที่ ๑ การศึกษา นักธรรมชั้นเอก งานพิเศษ วิทยากรอบรม คุณธรรม - จริยธรรม ส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดมุกดาหาร

102 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 102

09/03/61 07:23:31 PM


ประวัติความเป็นมา

นายเทียนชัย ไกรลาศศิริ อยู่บ้านเลขที่ ๑๘๐/๑ หมู่ ๑ ต.มุกดาหาร อ.เมือง จ.นครพนม ในขณะนั้นเป็นผู้ขออนุญาตให้สร้างวัด และ ได้รับอนุญาตให้สร้างวัด อาศัยความตามข้อ ๓ แห่งกฎกระทรวง ฉบั บ ที่ ๑ (พ.ศ.๒๕๐๗) ออกตามความในพระราชบัญ ญัติคณะสงฆ์ พ.ศ.๒๕๐๕ กรมการศาสนาด้วยความเห็นชอบ ของกระทรวงศึกษาธิการ และมหาเถรสมาคม อนุญาตให้ นายเทียนชัย ไกรลาศศิริ สร้างวัด ขึ้นที่บ้านมโนรมย์ หมู่ที่ ๕ ต.ศรี บุ ญ เรื อ ง อ.เมืองมุกดาหาร จ.นครพนม ภายในก�ำหนด ตั้งแต่วันที่ ๒๙ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๒๕ ถึงวันที่ ๒๘ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๓๐ อนุญาตให้เมื่อวันที่ ๒๖ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๒๕

ประกาศของกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง ตั้งวัดในพระพุทธศาสนา ตามที่นายเทียนชัย ไกรลาศศิ ริ ได้ รั บ อนุ ญ าตให้ ส ร้ า งวั ด ณ หมู่บ้านมโนรมย์ หมู่ที่ ๕ ต�ำบลศรีบุญเรือง อ� ำ เภอเมื อ งมุ ก ดาหาร บั ด นี้ ผู ้ รั บ อนุ ญ าต ได้สร้างเสนาสนะขึ้นสมควรเป็นพ�ำนักของ พระภิกษุสงฆ์ได้แล้ว อาศัยความตามข้อ ๔ แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ ๑ (พ.ศ. ๒๕๐๗) ออกตามความในพระราชบั ญ ญั ติ ค ณะสงฆ์ พุทธศักราช ๒๕๐๕ และด้วยความเห็นชอบ ของมหาเถรสมาคม กระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร จึงประกาศตั้งเป็นวัดขึ้นในพระพุทธศาสนา มีนามว่า “วัดบรรพตมโนรมย์” ตั้งแต่บัดนี้ เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ ๑๑ เดือน มิถนุ ายน

พุทธศักราช ๒๕๒๗ วัดบรรพตมโนรมย์ ได้รับการเสนอจัดตั้ง ให้เป็นส�ำนักปฏิบตั ธิ รรมประจ�ำจังหวัด มุกดาหาร แห่งที่ ๑ ตามมติมหาเถรสมาคม ประกาศ ณ วันที่ ๒๗ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๕๐ เมื่ อ ปี พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๕๔ ส� ำ นั ก งาน พระพุ ท ธศาสนาแห่ ง ชาติ ได้ จั ด ให้ ส� ำ นั ก ปฏิบัติธรรมประจ�ำจังหวัดมุกดาหาร แห่งที่ ๑ วั ด บรรพตมโนรมย์ เป็นส�ำนักปฏิบัติธรรม ประจ�ำจังหวัดดีเด่น ให้ไว้ ณ วันที่ ๒๖ เดือน ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๕๔

MUKDAHAN 103 .indd 103

09/03/61 07:23:40 PM


บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดแจ้ง พระครูโอภาสวีรคุณ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดแจ้ง และ เจ้าคณะต�ำบลในเมือง เขต ๑ ประวัติความเป็นมา

วัดแจ้ง ตั้งอยู่เลขที่ ๗๐๕ ชุมชนนาโปใหญ่ ถ.ส�ำราญชายโขงเหนือ ต.มุกดาหาร อ.เมือง จ.มุกดาหาร สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีเนือ้ ที่ ๒ ไร่ ๓ งาน ๕๐ ตารางวา ทิศเหนือจรดถนนประชาสามัคคี ทิศใต้จรดถนนซอยค�ำจันทร์ ทิศตะวันออกจรดถนนส�ำราญชายโขงเหนือ ทิศตะวันตกจรดที่ดินของนายขันธ์ ทองผา วัดแจ้ง สร้างเมื่อปี พ.ศ.๒๓๑๖ โดยมี คุณยายป๊อก เนาค�ำแพง เป็นผู้บริจาคที่ดิน สร้างวัดได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อปี พ.ศ.๒๔๓๕ เขตวิสุงคามสีมา กว้าง ๑๐ เมตร ยาว ๒๐ เมตร 104 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 104

13/03/61 08:51:46 AM


อาคารเสนาสนะ

อุโบสถ กว้าง ๖ เมตร ยาว ๑๒ เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ.๒๔๔๐ เป็นลักษณะทรงไทย ศาลาการเปรียญ กว้าง ๑๒ เมตร ยาว ๒๐ เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ.๒๕๓๕ เป็นลักษณะทรงไทย กุฎีสงฆ์ กว้าง ๑๒ เมตร ยาว ๒๔ เมตร เป็นลักษณะทรงไทย สามมุข สองชั้น

ศาลาหอฉัน กว้าง ๑๐ เมตร ยาว ๒๕ เมตร เป็นลักษณะ ทรงไทย ชั้นเดียว หอระฆัง กว้าง ๑๐ เมตร รอบฐานสูง ๒๐ เมตร เป็นลักษณะ ทรงไทย หอพระองค์ใหญ่ กว้าง ๔ เมตร ยาว ๘ เมตร เป็นลักษณะทรงไทย กุฎีรับรอง “โอภาสวีรคุณประชาร่วมใจ” กว้าง ๑๑ เมตร ยาว ๒๐ เมตร ลักษณะทรงไทยประยุกต์ สองชั้น

ประวัติเจ้าอาวาส

พระครูโอภาสวีรคุณ (พัฒนพงษ์ พระสว่าง) อุปสมบท เมื่อวันที่ ๒๙ มกราคม ๒๕๒๒ ณ วัดสุทธาราม บ้านวังม่วย ต�ำบลวังสามัคคี (ต�ำบลสว่าง) อ�ำเภอโพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด การศึกษา ปี พ.ศ.๒๕๒๘ จบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ปี พ.ศ.๒๕๔๔ จบการศึกษาบัณฑิต คณะครุศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ ราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์นครพนม ปี พ.ศ.๒๕๔๖ จบการศึกษา มหาบัณฑิต (การบริหารการศึกษา) จากมหาวิทยาลัยมหาสารคาม MUKDAHAN 105 .indd 105

13/03/61 08:51:54 AM


บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดโพธิ์ไทร พระครูปุณณสารวิสุทธิ์ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดโพธิ์ไทร ประวัติความเป็นมา

วัดโพธิ์ไทร ตั้งอยู่บ้านบางทรายใหญ่ หมู่ที่ ๑๓ ต�ำบลบางทรายใหญ่ อ�ำเภอเมือง จังหวัด มุกดาหาร สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ที่ดินตั้งวัด มี เ นื้ อ ที่ ๒ ไร่ ๒ งาน ๒๔ ๒/๑๐ ตารางวา อาณาเขต ทิศเหนือ จรดที่ดินนายสุข ทองมหา ทิศใต้ จรดที่ดินนางทัน สุขรี่ ทิศตะวันออก จรดแม่น�้ำโขง ทิศตะวันตก จรดถนน วัดโพธิ์ไทร สร้างเมื่อปี พ.ศ.๒๓๑๕ สร้าง อุโบสถปี พ.ศ.๒๓๕๕ และได้รับพระราชทาน วิสุงคามสีมา 106 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 106

09/03/61 07:25:13 PM


ล�ำดับเจ้าอาวาสวัด

รูปที่ ๑ พระบุพผา รูปที่ ๒ พระทองดี รูปที่ ๓ พระครูถาวรสาธุดิจ (ติด ถาวโร) รูปที่ ๔ พระครูปุณณสารวิสุทธิ์ (เบ็ง อนาลโย)

ด้านการศึกษา

พ.ศ.๒๓๓๓ - ๒๓๔๕ พ.ศ.๒๓๙๑ - ๒๓๙๓ พ.ศ.๒๔๙๕ - ๒๕๒๗ พ.ศ.๒๕๒๗ - ปัจจุบนั

เปิดการเรียนการสอนพระปริยัติธรรมแผนกธรรม นักธรรม, ธรรมศึกษา เปิดหน่วยอบรมประชาชนประจ�ำต�ำบล (อ.ป.ต.) เปิดสนามสอบธรรมสนามหลวง ธรรมศึกษา ชั้นตรี โท เอก เปิดห้องสมุด มีเครื่องคอม ๓ เครื่อง มีอินเตอร์เน็ต เปิดสนามสอบธรรมสนามหลวง ธรรมศึกษา ชั้นตรี โท เอก

พ.ศ.๒๔๙๘ พ.ศ.๒๕๒๒ พ.ศ.๒๕๕๒ - ๒๕๕๕ พ.ศ.๒๕๕๔ พ.ศ.๒๕๕๙

MUKDAHAN 107 .indd 107

09/03/61 07:25:24 PM


ลํ�าสมัยไม่ตกเทรน คุณภาพคับเล่ม

WWW.SBL.CO.TH

www.ookbee.com/Magazine/SBLMAGAZINE www.issuu.com/sblmagazine SBL บันทึกประเทศไทย

Ad-SBL Magazine Computer.indd 108

09/03/61 07:28:31 PM


บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดป่ าศิลาวิเวก เจ้าอธิการอรัญ เขมกาโร ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส เจ้าคณะต�ำบลพังแดง พระพุทธรูปส�ำคัญ หลวงพ่อศิลา เป็นพระพุทธรูปแกะสลักจากหินศิลา ขนาด หน้าตัก ๑๗ นิ้ว น่าจะเป็นแหล่งหินจากลาน “หินเรือ” เพราะเชื่อว่า มีความศักดิ์สิทธิ์ ประดิษฐานที่หอพระหลวงพ่อศิลา คัมภีโร ค�ำ ตั้งอยู่ ทิศตะวันออกของโบสถ์

พระบรมสารี ริ ก ธาตุ อ งค์ ป ระธานนี้ คื อ พระอั ง คุ ลี ธ าตุ (พระธาตุข้อพระหัตถ์) มีสัณฐานกลม วรรณะขาว ขนาดกลาง จาก วัดอะมุเหน กันทา วิมาละศาลา เมืองรัตนปุระ ประเทศศรีลังกา ซึ่ง ได้รับการอัญเชิญมาจากนครปาฏลีบุตร สมัยพระเจ้าอโศกมหาราช โดยพระมหินทเถระ พระราชโอรสของพระเจ้าอโศกมหาราช และ สมณะฑูต ประมาณ ๒๓๖ ปี หลังพุทธปรินิพพาน

MUKDAHAN 109 .indd 109

09/03/61 04:47:48 PM


ประเพณี

บุญข้าวยาคู บูชาพระบรมสารีริกธาตุ

เมื่ อ ปี พ.ศ.๒๕๔๒ พระอาจารย์ อ ารั ญ เขมกาโร ได้น�ำเอาเรื่องราวของ “ข้าวยาคู” จากพระไตรปิ ฎ ก มาคิ ด ออกแบบให้ เ ป็ น รู ป แบบของงานบุ ญ ประเพณี เอาเรื่ อ งจาก คั ม ภี ร ์ ม าสู ่ วิ ถี ชี วิ ต จริ ง โดย ให้ อิ ง อยู ่ กั บ การ บ�ำเพ็ญบุญในพระพุทธศาสนาคือทานบารมี ออกแบบส�ำเร็จ วันที่ ๒๕ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๔๒ รู ป แบบงานนั้ น มี ก ารแห่ ร อบเมื อ งด้ ว ย ขบวนเกวี ย นต่ า งๆ ตามเนื้ อ เรื่ อ งพราหมณ์ ใช้ขบวนเกวียนตามเสด็จถวายข้าวยาคู พระสงฆ์รบั บิณฑบาตร ข้าวสาร งา ถัว่ เขียว

วั ต ถุ ดิ บ ข้ า วยาคู ต ามเนื้ อ เรื่ อ งพระอานนท์ ปรุงข้าวยาคูถวายพระพุทธองค์ เรื่องส�ำคัญ คือ มีการตั้งโรงทานข้าวยาคู ประกอบด้วย ข้าว งา ถั่วชนิดต่างๆ ธัญพืช ทุกชนิด น�้ำมัน น�้ำผึ้ง น�้ำอ้อย งดเว้นเนื้อสัตว์ มี ก ารประกวดโรงทานการปรุ ง ข้ า วยาคู สูตรต่างๆ ด้วย ประกวดขบวนเกวียนข้าวยาคูของหน่วยงาน ต่ า งๆ และการแสดงทางศิ ล ปวั ฒ นธรรม การแสดงพระธรรมเทศนาตลอดคืน ภายในงาน มีการตั้งโรงทานข้าวยาคู ที่คิดค้น ปรุงแต่ง

ประยุ ก ต์ พั ฒ นาสู ต รต่ า งๆ เช่ น ข้ า วจี่ ย าคู ข้าวหลามยาคู ข้าวต้ม สูตรต่างๆ มากมาย มี บริการให้ทานฟรีตลอดงานทัง้ กลางวันกลางคืน นับว่าเป็นนิมติ หมายอันดี มีความมหัศจรรย์ และโชคดีอย่างยิ่งที่ได้รับ พระบรมสารีริกธาตุ ส่วนพระอังคุลีธาตุ (พระธาตุข้อพระหัตถ์) ของแท้ดงั้ เดิม จากสมัยที่พระเจ้าอโศกมหาราช รวบรวมไว้ ที่ น ครปาฎลี บุ ต ร (เมื อ งปั ต นะ รั ฐ พิ ห าร) แล้ ว สมณทู ต ได้ อั ญ เชิ ญ ไปที่ ประเทศศรีลังกา

110 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 110

09/03/61 04:47:51 PM


วันที่ ๑๗ มกราคม ๑๕๕๘ คณะศรัทธาจากวัดป่าศิลาวิเวก จึงได้ เข้ารับจากพระสังฆนายกแห่งประเทศศรีลังกา อัญเชิญมามุกดาหาร เพื่อให้เป็นประธานของงานบุญข้าวยาคู นักคิดชาวมุกดาหารจึงมีมติ ให้ชื่อว่า “บุญข้าวยาคู บูชาพระบรมสารีริกธาตุ” ก�ำหนดจัดงาน วัน ขึ้น ๓ ค�่ำ เดือน ๓ ตรงกับวันที่ ๒๒ มกราคม ๒๕๕๘ ในปีนั้น เป็นการจัดงาน ๓ วัน ประสบความส�ำเร็จอย่างดียิ่ง ได้รับความร่วมมือ สนั บ สนุ น จากชุ ม ชนเทศบาลจนถึ ง ผู ้ ว ่ า ราชการจั ง หวั ด ได้ ม าเป็ น ประธานเปิดงาน ฝ่ายพระสงฆ์ก็มีพระมหาเถระในจังหวัดมุกดาหาร และญาท่านมหางอน ด�ำรงบุญ รองประธาน อพส.ศูนย์กลาง (องค์การ พุทธศาสนาสัมพันธ์ลาว) ในขณะนั้นมาแสดงพระธรรมเทศนา

ประวัติความเป็นมา ของวัดป่าศิลาวิเวก วัดป่าศิลาวิเวก ตั้งอยู่เลขที่ ๒๗ หมู่ที่ ๗ ถนนด�ำรงค์มกุ ดา ต�ำบลศรีบญ ุ เรือง อ�ำเภอเมือง จั ง หวั ด มุ ก ดาหาร ตั้ ง วั ด เมื่ อ พ.ศ.๒๔๗๒ ได้ รั บ วิ สุ ง คามสี ม า พ.ศ.๒๔๙๒ เป็ น วั ด ที่ ใช้ประกอบพิธกี รรมทางศาสนา เป็นศูนย์สมาธิ สถานที่อบรม คุณธรรม จริยธรรม แก่เยาวชน นักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไป ใน พื้นที่อ�ำเภอเมือง จังหวัดมุกดาหาร เมือ่ พ.ศ.๒๔๖๙ คณะกองทัพธรรม น�ำโดย “หลวงปู่เสาร์ กนฺตสีโร” มีพระอาจารย์สิงห์ ขนฺตยาคโม พระอาจารย์มหาปิ่น ปญฺญพโล พระอาจารย์ดี ฉันโน พระอาจารย์ฝั้น อาจาโร พระอาจารย์กงมา จิรปุญฺโญ พระอาจารย์ กว่า สุมโม พระอาจารย์อ่อน ญาณสิริ

พระอาจารย์ ห ลุ ย จนฺ ท สาโร พระอาจารย์ ทอง อโสโก พระอาจารย์ ซ ามา อจุ ตฺ โ ต พระอาจารย์บุญมาก ฐิติปุญฺโญ พระอาจารย์ สีลา อิสฺสโร พระอาจารย์จันทร์ เขมิโย เป็นต้น ได้ ศึ ก ษาแนวปฏิ บั ติ ก ารธุ ด งค์ ก รรมฐาน ตามแบบหลวงปู่เสาร์ - หลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต และได้ อ อกเผยแผ่ ธ รรมเทศนา สั่ ง สอน ประชาชนให้ละมิจฉาทิฐิ เลิกจากการนับถือ ภูติผีปีศาจ ให้ตั้งอยู่ในสรณคมน์ ให้เข้าใจ หลั ก ธรรมปฏิ บั ติ ม รรคผลนิ พ พาน เผยแผ่ มาจนถึงเขตอ�ำเภอค�ำชะอี จ.นครพนม ต่อมาคณะพระธุดงค์กรรมฐานจึงได้เดิน ทางไปยั ง อ� ำ เภอธาตุ พ นม เพื่ อ สั ก การะ พระธาตุพนมเมื่อคณะเดินทางมาถึงอ�ำเภอ

มุกดาหาร ตามล�ำห้วยแข้ บริเวณทีเ่ ป็นพลานหิน ติดกับป่าช้าเห็นเป็นสถานที่วิเวกสงบร่มรื่น จึงพักบ�ำเพ็ญภาวนาในบริเวณนีท้ มี่ พี ระพุทธรูป หินศิลาแกะสลักประดิษฐานใต้โคนต้นไม้ใหญ่ ชาวบ้ า นเรี ย กว่ า “หลวงพ่ อ ศิ ล า” จนถึ ง ปัจจุบันนี้ พลานหิ น นี้ ช าวบ้ า นเรี ย กว่ า “หิ น เรื อ ” เพราะมี หิ น รู ป ลั ก ษณะคล้ า ยเรื อ ยาวขวาง กระแสน�้ำล�ำห้วยแข้ เวลาน�้ำน้อยจะไหลลอด ท้องเรือ เวลาน�้ำมากก็จะล้นข้ามเรือ จะกลาย เป็นกระแสน�้ำตก มีเสียงดังประหลาด เล่ากัน ว่าในวันพระ ๑๔ - ๑๕ ค�่ำ จะมีเสียงฆ้อง เสียง กลองดังจากบริเวณนี้

MUKDAHAN 111 .indd 111

09/03/61 04:48:02 PM


บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล

องค์การบริหารส่วนต�ำบล

หนองสูงใต้

นางทรัพย์ศิริ ชาลีพล นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองสูงใต้

ค�ำขวัญ

หนองสูงใต้ถิ่นผู้ ไทย ผ้าไหมมัดหมี่สวยล�้ำ แหล่งธรรมบรรพตคีรี เขมปัตต เจดีย์สง่างาม ผาขามเขียวยางเดี่ยวเด่น ธารใสเย็นห้วยค้อต่อกระเบียน แสงเทียนกระทงผ่องอ�ำไพ ร่วมใจสุขภาพดีที่หนองแวง

คณะผู้บริหารและพนักงาน

ผลิตภัณฑ์ชุมชนของต�ำบลหนองสูงใต้

ข้าวกล้องปลอดสารพิษ

หอยภูเขา หอยเกล็ด รสชาติอร่อย จะมีช่วงฤดูฝน

ผ้าหมักโคลน ผ้าย้อมสีธรรมชาติ และเสื้อเย็บมือ

ผักหวานป่า

112 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 112

09/03/61 07:31:43 PM


กิจกรรมเด่น ผู้ ไทยเจ๋อบุญ ค�้ำคูณศาสนา ฮักษาฮีตคอง #โครงการ ค�้ำคูณผู้ ไทย ไหว้เจดีย์หลวงปู่หล้า

กิจกรรมงานนี้จัดขึ้นเพื่อร�ำลึกถึง หลวงปู่ หล้า เขมปัตโต ที่ได้ละสังขาร เมื่อ วันที่ 19 ม.ค. 2539 ซึ้งเป็นการไหว้เจดีย์ “เขมปัตโต เจดีย์” ญาติธรรม ศิษยานุศิษย์ได้ก�ำหนดวันที่ 18-19 ม.ค. ของทุกปี จัดงานร�ำลึก โดยถือเป็น งานระดับจังหวัด ท่านผูว้ า่ ให้เกียรติเป็นประธาน นายอ�ำเภอหนองสูงเป็นประธานอ�ำนวยการ มี สาธุชนหลั่งไหลมาร่วมงานมากมาย และโรง ทานร่วมท�ำบุญ มีพิธีไหว้ แห่ผ้าห่มเจดีย์และ ขอขมาต่อองค์เจดียใ์ นงานแต่งกายชุดเผ่าภูไทย และชุดขาว โดยสถานทีจ่ ดั งาน ณ วัดบรรพตคีรี (วัดภูจ้อก้อ)

โครงการ ตักบาตรข้าวเหนียว เทียวทางสวรรค์ แบ่งปันรอยยิ้ม อิ่มบุญ อุ่นใจ

ประชาชนชาวต�ำบลหนองสูงใต้ ทุกหมู่เหล่าได้มีโอกาสร่วมท�ำบุญ ร�ำลึกถึงบุญคุณหลวงปู่หล้า ที่มีต่อชาวหนองสูงใต้ ได้มีโอกาสท�ำบุญ ตักบาตรร่วมกับประชาชนทุกเดือน เพื่อค�้ำจุนพระพุทธศาสนาและ

อนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณีของชาวผู้ไทย โดยการแต่งกายชุดผู้ไทย มา ใส่บาตรพระสงฆ์จากวัดบรรพตคีรี (วัดภูจ้อก้อ) บริเวณเชิงสะพานห้วย คล้อ บ้านแวง หมู่ที่ 6 ต�ำบลหนองสูงใต้ ในวันเสาร์ท่ีสองของทุกเดือน MUKDAHAN 113

.indd 113

09/03/61 07:31:46 PM


9/4-6 ถนนรามอินทรา แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุ งเทพฯ 10220 0-2522-7171 0-2971-7747 088-5790364 (คุณแอน)


ร้านพัฒนาอะไหล่ยนต์

จ�ำหน่าย

PATTANA AUTO PART

อะไหล่รถยนต์ รถบรรทุก กระจกรถ และเป็ นตัวแทนจ�ำหน่าย น�้ำมันเครื่องราคาถูก และแบตเตอรรี่ GS 3K จากโรงงาน

เลขที่ 1 วิวิธสุรการ ต.มุ กดาหาร อ.เมืองมุ กดาหาร จ.มุ กดาหาร 49000

042-611-083, 083-599-8855

MUKDAHAN 115 .indd 115

09/03/61 07:34:38 PM


บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดป่าวิเวกวัฒนาราม พระธมฺมธโร ครูบาแจ๋ว

พระครูสังฆวิสุทธิ์ เจ้าอาวาสวัดรูปที่ ๘ 116 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย 2

.indd 116

9/3/2561 16:56:48


MUKDAHAN 117 2

.indd 117

9/3/2561 16:56:49


พระพุทธศรีธรรมิกราช วัดป่าวิเวกวัฒนาราม ตั้งอยู่เลขที่ 3

หมู่ 9 วัดป่าวิเวกวัฒนาราม บ้านห้วยทราย ต�ำบลค�ำชะอี อ�ำเภอค�ำชะอี จังหวัดมุกดาหาร เดิ ม ตั้ ง อยู ่ ท างทิ ศ ใต้ ข องหมู ่ บ ้ า น เป็ น ที่ อ ยู ่ จ� ำ พรรษาของพระธุด งค์ก รรมฐานหมู่ใหญ่ ชื่อวัดหนองน่อง ก่อนปี พ.ศ.2464 องค์หลวง ปู่เสาร์ กันฺตสีโล พร้อมหมู่สงฆ์อยู่จ�ำพรรษา พ.ศ. 2468 องค์หลวงปูม่ นั่ ภูรทิ ตฺโต พร้อมหมูส่ งห์ อยู ่ จ� ำ พรรษา พ.ศ.2471 พระอาจารย์ ฝ ั ้ น อาจาโร พร้อมหมู่สงฆ์ อยู่จ�ำพรรษา พ.ศ. 2478 พระอาจารย์บัญชี ชินปณฺโญ ได้ย้าย ส�ำนักอยูท่ างทิศตะวันตกของหมูบ่ า้ นห้วยทราย แล้วอยู่จ�ำพรรษา พร้อมหมู่พระเณรกรรมฐาน พ.ศ.2495 พระอาจารยืมหาบัว ญาณสมฺปนฺโน พร้อมด้วยหมู่คณะมาจ�ำพรรษา จนลุขึ้นปี 2498 และได้ตั้งชื่อใหม่ จากวัดหนองน่อง เป็นวัดป่าวิเวกวัฒนาราม พ.ศ.2499 พระ อาจารย์สม โกกนุทโฺ ท พร้อมหมูเ่ ณรจ�ำพรรษา พ.ศ.2500 พระอาจารย์ สิ ง ห์ ท อง ธมฺ ม วโร

อยู ่ จ� ำ พรรษา พ.ศ.2501 พระอาจารย์ ศ รี มหาวีโร อยู่จ�ำพรรษา พ.ศ.2512 หลวงปู่จาม มหาปุ ญฺ โ ญ อยู ่ จ� ำ พรรษา จนถึ ง พ.ศ.2556 พ.ศ.2556 พระธมฺมธโร ครูบาแจ๋ว เจ้าอาวาส รูปปัจจุบันสืบวัดต่อมา ก่อนที่หลวงปู่จามจะลงมาจากเชียงใหม่ วัดป่าช้าห้วยทรายมีปัญหาเรื่องน�้ำอุปโภคบริโภค เพราะบริเวณวัดเป็นที่สูงอยู่เชิงเขา เคยขุดบ่อน�้ำหลายบ่อแต่ก็ไม่พบตาน�้ำ ในยุค ที่มีพระ และเณรมาอยู่มาก ในช่วงที่หลวงตา มหาบัว ญาณสัมปันโน ท่านมาอยู่ ก็ตอ้ งพากัน เดิ น ลงไปใช้ น�้ ำ ซึ่ ง อยู ่ ห ่ า งจากวั ด ประมาณ กิโลเมตรเศษ แต่เมือ่ ปี พ.ศ. 2514 หลวงปูจ่ าม ได้ขุดเจาะบ่อน�้ำเดิมให้ลึกลงไปถึงชั้นใต้หิน โดยใช้ ทั้ ง ดิ น ระเบิ ด ทั้ ง คนขุ ด เจาะ จนพบ ตาน�้ำไหลพุ่งออกมาจากซอกหิน ซึ่งท�ำให้ที่วัด แห่งนี้พอมีน�้ำดื่มน�้ำใช้ตั้งแต่นั้นเรื่อยมาจนถึง ปัจจุบัน

118 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย 2

.indd 118

9/3/2561 16:56:50


พระอุโบสถ

หอค�ำพิพิธภัณฑ์อัฐบริขารหลวงปู่จาม มหาปุญฺโญ MUKDAHAN 119 2

.indd 119

9/3/2561 16:56:54


พระพุทธโลกนาถ กุฏิเสาเดียว เคยได้อ่านในต�ำราว่า กษัตริย์โบราณปรารภจะสร้างปราสาทเสาเดียว แต่หาไม้ ไม่ ไ ด้ มี ไ ม้ อ ยู ่ ต ้ น หนึ่ ง ที่ เ ป็ น บ้ า นเรื อ นปราสาทวิ มานของรุ ก ขาเทพบุตร แต่ รุกขาเทพบุตรที่อาศัยอยู่นั้นก็เป็นทุกข์ใจอาลัยที่อยู่ของตนก็วุ่นวายใจอยู่ จึงไป ขอร้องรุกขเทวดา สถิตอยู่กอหญ้าแฝกมาแก้ไขให้ จนข้าราชบริพาร นายช่างไม้ เลิกล้มความตั้งใจที่จะเอาไม้ต้นนั้นไปท�ำเป็นเสาปราสาทเสาเดียวของกษัตริย์ ซึ่งเมื่อตรวจค้นจากชาดกก็พบในกุสนาฬิชาดก อันมีเรื่องราวเล่าไว้เป็นความจริง กุฏิรุ่นเก่า นับแต่ปี พ.ศ.2487 เป็นต้นมา ก็เริ่มผุพังเพราะปลวกกัดแทะ และก่อสร้างโครงด้วยเสาหลายต้น ท�ำให้การดูแลรักษาล�ำบาก หนูมันกัดผ้า กัดหมอน กัดมุ้ง ปลวกก็กัดต้นเสา เป็นอันตรายกับเสนาสนะ และเป็นภาระ พอสมควร หลวงปู่จึงได้แนวคิดในการสร้างกุฏิเสาเดียว เพื่อประโยชน์ ในการ รักษาง่าย ดูแลแต่เชิงบันได และต้นเสาเท่านั้น 120 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย 2

.indd 120

9/3/2561 16:56:57


อาคารเสนาสนะที่ส�ำคัญ ศาลาไม้หลังเก่า 2 ชั้น ชั้นล่างและบนเป็นชั้นโล่งโปร่ง โดยเฉพาะชั้นล่างเน้นการใช้สอย ให้ได้ประโยชน์มาก โดยใช้เสาเพียง 4 เสา เป็นคอนกรีตเสริมเหล็ก ศาลา กว้าง 18 X 24 เมตร ศาลาไม้หลังนี้ได้ไม้มาจากป่าเขา ทั้งในบริเวณวัดรอบวัด และภูเขาห่างไกลออกไปโดยขอ จากทางราชการ โดยมีนายอ�ำเภอและป่าไม้ ซึ่งได้รับอนุญาตในยุคนั้น บางส่วนก็เป็นไม้ ที่ถูกฟ้าผ่า ศาลาไม้หลังเดิมนัน้ ใช้ทนุ เริม่ ต้นที่ 6,000 บาท ซึง่ หลวงปูจ่ ามได้ออกแบบและลงมือท�ำเอง มีเรื่องเล่าว่า ก่อนที่จะลงมือก่อสร้างศาลา หลวงปู่จามได้นิมิต และน�ำแบบแปลนศาลา หลายๆ แบบ หลายรูปทรงมาให้เลือก แต่คิดว่างบประมาณมีอยู่น้อย จึงได้เลือกสร้างแบบ การสร้างศาลาที่เรียบง่าย ไม่ใหญ่โตจนเกินไป เป็นที่ยอมรับของวิศวกรโครงสร้างสมัยใหม่ ว่าระบบคานและการถ่ายโอนน�้ำหนักของศาลาหลังสามารถตั้งอยู่ได้

พระครูสังฆวิสุทธิ์ MUKDAHAN 121 2

.indd 121

9/3/2561 16:57:01


ศาลาผู้มากมีบุญ ประวัติหลวงปู่จาม มหาปุญฺโญ นับเป็นก�ำเนิด หลวงปู่จาม มหาปุญฺโญ เป็นชาวชนเผ่าผู้ไท(ภูไท) สกุลผิวด�ำ เกิดวันที่ พฤหัสบดี ขึ้น 10 ค�่ำ เดือน 6 ปีจอ ตรงกับ วันที่ 19 พฤษภาคม 2453 ที่บ้านห้วยทราย ต.ค� ำ ชะอี อ.ค� ำ ชะอี จ.มุ ก ดาหาร โยมบิดา ชือ่ นายกา ผิวข�ำ (ภายหลังอายุได้ 60 ปี บวชเป็นพระ 6 พรรษา จึงได้มรณภาพ) โยมมารดา ชือ่ นางมะแง้ (ภายหลังบวชชีได้ 36 พรรษ จึงถึงแก่กรรม) วัยเด็ก หลวงปู่จามเป็นลูกคนที่ 3 จาก ทั้งหมด 9 คน ท่านว่าตามคติของชาวภูไทนั้น มักให้ความส�ำคัญกับลูกชายคนโตและลูกชาย คนสุดท้อง เมื่อมาเกิดเป็นลูกคนกลางก็เลย สบาย จะไปไหนมาไหนก็ไม่มีใครห่วงหาอาลัย แต่ถึงจะไม่มีใครห่วงหา ย่ากลับเรียกหาเอา หลานคนนี้คนเดียวไปเป็นเพื่อนเข้าวัด “เราเป็นหลานของย่าคนเดียว ที่ย่ามักจะ เรียกไปด้วยเวลาทีไ่ ปส่งจังหัน ไปท�ำบุญท�ำทาน ไปรับศีล ไปฟังเทศน์ฟังธรรมเพราะจะได้ใช้ ให้ ป ระเคนของ ได้ ห ยิ บ จั บ นั่ น นี่ อี ก อย่ า ง หมู่พระครูบาอาจารย์ ก็ชอบเรียกใช้ให้ท�ำนั่น ท�ำนี่ “เพราะเข้าวัดตั้งแต่อายุ 5 ขวบ ก็เลย

ได้นิสัยมาตั้งแต่เด็ก ไม่เพียงแต่เกิดในสกุลผู้ใกล้ชิดกับพระศาสนา แต่ถิ่นที่อยู่ก็เป็นมงคลเพราะ บ้านห้วยทราย เป็นถิ่นที่พระกรรมฐานโคจรมาลงหลักปักฐาน ตั้งแต่หมู่บ้านนี้มีไม่กี่หลังคาเรือน เมื่อเด็กชายจามอายุได้ 5 ขวบ พระอาจารย์เสาร์ กนฺตสีโล บูรพาจารย์รุ่นใหญ่ของพระป่าก็มาถึง พอ 7 ขวบ พระอาจารย์ มั่ น ภู ริ ท ตฺ โ ต ก็ ต ามมา การมาของครู บาอาจารย์ทั้งสองมิได้มาแต่ องค์ท่าน เฉพาะการมาของพระอาจารย์มั่นหนนั้น มีพระธุดงค์ตามมาถึง 30-40 รูป บางคราว ก็มากถึง 60-70 รูป

122 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย 2

.indd 122

12/3/2561 8:56:35


“อายุ ข องข้ า ฯ ได้ 7 ปี ครู อ าจารย์ มั่ น (ภูริทตฺโต ) มาอยู่บ้านห้วยทรายเป็นครั้งแรก มาสอนคนให้ทิ้งผี ละผี ให้ถือไตรสรณคมณ์ ครู อ าจารย์ เ สาร์ (กนฺ ต สี โ ล) ย้ า ยจากดอน หนองน่อง ไปอยู่ถ�้ำบ้านกลาง แล้วไปอยู่บ้าน ขุมขี้ยางภูเขาทิศใต้ แต่การมาอยู่รอบแรกของ ครูอาจารย์มั่น ( ภูริทตฺโต) นี้อยู่ได้ไม่นาน แต่ อยู่ในพรรษาเท่านั้น ขึ้นเดือนอ้ายแล้วก็พา พระเณรไปทางธาตุพนม แต่ในพรรษา ก็สอน ผู้คนชาวบ้านจนหลายๆ คนละความคิดความ เห็ น แบบเก่ า แบบงมงาย มานั บ ถื อ พุ ท ธ ศาสนาได้มากจนเกือบจะหมดหมู่บ้าน” การมาถึงของพระกรรมฐานย่อมน�ำมาซึ่ง ความเปลี่ยนแปลงของหมู่บ้าน ซึ่งนับถือผี เป็นสรณะ และน�ำมาซึ่งการเปลี่ยนโลกทัศน์ ใหม่ต่อพระศาสนา เพราะแค่เด็ก 7 ขวบ ก็ยัง อัศจรรย์ใจว่าแม้พระ เณร จะมากขนาดนั้น แต่ถ้าเข้าไปในเขตวัดแล้วกลับเงียบสงัด ไม่มี เสียงคนคุยกันแม้แต่นิด เมื่อชาวบ้านมาฟังเทศน์ ฟังนิทานก้อม หรื อ นิ ท านพื้ น บ้ า นสั้ น ๆ หลวงปู ่ เ สาร์ ก็ ตั้ ง นะโม 3 จบ แล้วเทศน์เพียงว่า “ขันติ-อด ขันติ-ทน เป็นไฟเผาบาปให้มอดไหม้ไปได้“ ส่วนพระอาจารย์มนั่ นัน้ เทศน์สนั้ กว่าอีกคน คือ “อดทน” ด้วยโลกทัศน์ต่อพุทธศาสนา แบบใหม่นี้ เหล่าผู้เฒ่าที่บ้านห้วยทรายยุคนั้น จึ ง เรี ย กพระธุ ด งค์ ว่ า “พระอั ส ดง” หรื อ “พระหัสดง” หลวงปู่เสาร์ท่านได้ให้ค�ำอธิบาย ในทางที่เป็นมงคลว่า “ดีแล้ว ธุดงค์ ก็ดี อัสดง ก็ดี หัสดงก็ดี แปลว่า ผู้ท�ำความดับอยู่เสมอ ดับทุกข์อยู่เสมอ” อายุ 8 ปี ย่างเข้าปีที่ 9 ต่อปีที่ 10 ไปเรียน หนังสืออยู่บ้านค�ำชะอี วัดโพธิ์ศรี ห่างจาก บ้านห้วยทราย 2 กิโลเมตร เดินทางขีม่ า้ ไปเรียน ครู ส อนให้ ฝึก หัด เขียน เขียนไทย คัด ไทย ท่องจ�ำ ท่องสูตรคูณ ฝึกหัดท่อง อ่าน วาดรูป อาขยาน สูตรคูณให้ท่องถึงแม่ 12 บวก ลบ คูณ หาร ก็พอได้ บวชเป็นผ้าขาวน้อย อายุ 15 ปี พ.ศ. 2468 บวชเป็นผ้าขาวน้อยอยู่ 8 เดือน ที่บ้าน หนองขอน อ.หัวตะพาน จ.อ�ำนาจเจริญ “ผูข้ า้ ฯ อยู่บ้านหนองขอน อ�ำเภอหัวตะพาน แต่ก่อน เข้ า พรรา ออกพรรษา ไปแล้ ว ได้ 8 เดื อ น

ครูอาจารย์สิห์ (ขนฺตยาคดม) เป็นผู้โกนผมให้ แล้ ว ครู อ าจารย์ มั่น (ภู ริ ท ตฺ โ ต) ก็ ญัต ติ ศี ล 8 ให้เสร็จ ก็เป็นตาผ้าขาว อุปัฏฐาน ปฏิบัติรับใช้ ครูบาอาจารย์อยู่นั่น จนถึงเดือนห้าเมษายน จึ ง ได้ เ ดิ น ทางไปบวชอยู ่ ที่ วั ด สุ ทั ศ นาราม จ.อุบลราชธานี” บรรพชา ครัง้ ที่ 1 ตัง้ ใจบวชติดตามหลวงปูม่ นั่ ภูริทตฺโต เมื่ออายุ 15 ปี ที่วัดสุทัศนาราม จ.อุบลราธานี พระมหารัฐ รฐฺปาโล เป็นพระ อุ ป ั ช ฌาย์ ในปี นั้ น ตกหน้ า แล้ ง หลวงปู ่ มั่ น ภูริทตฺโต ได้เดินธุดงค์เข้ากรุงเทพฯ ได้มอบ สามเณรจามให้ อ ยู ่ ใ นความดู แ ลของพระ อาจารย์สงิ ห์ ขนฺตยาโม และพระอาจารย์มหาปิน่ ปญฺ ญ าพโล ต่ อ มาไม่ น านก็ เ คลื่ อ นย้ า ยหมู ่ คณะสงฆ์ ส ามเณรไปตั้ ง กองทั พ ธรรมอยู ่ ที่ จังหวัดขอนแก่น อุปสมบท เมื่อวันที่ 29 เมษายน 2482 บวชพระอายุ 29 ปี พระอุ ป ั ช ฌาย์ ใ ห้ ชื่ อ ว่า “มหาปุญโญ” พระอุปัชฌาย์สมัยนั้น เป็น เจ้าคุณชัน้ เทพ พระเทพกวี ชือ่ แท้ๆ ของมหาจูน (พนฺธุโล) วัดโพธิสมภรณ์ ต�ำบลหมากแข้ง อ�ำเภอเมืองอุดรธานี

พระคู่สวด 2 องค์ สวดขวา ท่านพระครู ศาสนูปกรณ์ มาจากวัดโยธานิมิต พระสวด องค์ซ้าย คือพระครูประสาทคุณากิจ องค์นี้ อยู่วัดโพธิ์ คอยจดทะเบียน พระเณร ผู้เข้า บวชเป็นเลขานุการ ของท่านเจ้าคุณฯ “องค์นี้ ถามความเป็นมาของเราแล้วก็จดบันทึกไว้ อยู่ รอท่านเอาหนังสือสุทธิก็ให้ท่านพระครูองค์นี้ ท�ำให้แล้วให้ท่านเจ้าคุณฯ ตีประทับตรา” พระอุปัชฌาย์สอนว่า “การเป็นนักบวช ให้เป็นศีลเป็นธรรม เพราะเลี้ยงชีพครองตน ด้วยแบบของภิกษุนั่นคือ ได้ปัจจัยเครื่องเลี้ยง ชีวิตด้วยความบริสุทธิ์ หาแบบภิกษุ อยู่แบบ ภิกษุ ฉันแบบภิกษุ ใช้สอยแบบภิกษุ สันโดษ มักน้อย รูจ้ กั พอดี จะอด จะอิม่ ก็ให้งาม ปากท้อง อย่าให้บาป ชีวิตนักบวชอย่าให้เป็นบาป” ย้อนไปแต่ละยุคสมัยที่เป็นเด็กน้อยฝึกหัด ปฏิ บั ติ รั บ ใช้ พ ระธุ ด งค์ ก รรมฐานอยู ่ วั ด หนองน่ อ ง มาจนสมั ย เป็ น ตาผ้ า ขาวเป็ น สามเณร เป็นพระภิกษุ หลวงปู่จามได้สังเกต เรียนรู้รับใช้ปรนนิบัติ และศึกษาธรรมะจาก พระปรมาจารย์ MUKDAHAN 123

2

.indd 123

9/3/2561 16:57:05


• องค์หลวงปู่เสาร์ กันฺตสีโล บูรพาจารย์ • องค์หลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต • พระเถระชั้นครู อาทิ • พระอาจารย์สิงห์ ขนฺตยาคโม • พระอาจารย์มหาปิ่น ปญฺญาพโล • พระอาจารย์อ่อน ญาณสิริ • พระอาจารย์ชอบ ฐานสโม • พระอาจารย์หลุย จนฺทสาโร • พระอาจารย์ขาว อนาลโย • พระอาจารย์ฝั้น อาจารโร • หลวงปู่แหวน สุจิณฺโณ • พระอาจารย์กงมา จิรปุญฺโญ • พระอาจารย์ลี ธมฺมธโร • พระอาจารย์น้อย สุภโร • พระอาจารย์ตื้อ อจลธมฺโม • พระอาจารย์สิม พุทฺธาจาโร • หลวงตาบัว ญาณสมฺปนฺโน • พระอาจารย์ชา สุภทฺโท ตลอดจนศึกษากับพระปฏิปนั โน สายเมือง เหนืออีกหลายรูป อาทิ ครูบาไชยา ครูบาแสน คุณาลงฺกาโร ครูบาพรหมจักร ครูบาอินทจักร ครูบาทิ, ครูบาขาวปี และครูบาแก้ว เป็นต้น ท�ำให้หลวงปูจ่ ามได้ซมึ ซับข้ออรรถอุบายธรรม นิสัยโกศล มาโดยล�ำดับอย่างลึกซึ้ง

ปฏิปทาเมื่ออายุยังหนุ่มพรรษายังน้อย

หลวงปูม่ นี สิ ยั ปฏิปทามักน้อย สันโดษ ชอบ แสวงหาความสงัดอยู่ตามป่า ตามเขา ชายทุ่ง เลาะริมน�้ำ ป่าช้า ป่ารก สวนป่าห่างไกลผู้คน สัตว์รบกวน ไม่ชอบคลุกคลีกับหมู่คณะหรือ แม้แต่กับญาติโยม เมื่อได้โอกาสเหมาะ ท่าน ต้องหลีกหนีให้หา่ งไกลจากหมูค่ นคณะหมูเ่ พือ่ น ภิกษุสามเณร ปฏิปทา สิง่ หนึง่ ทีท่ า่ นระมัดระวัง เคร่งครัด คือการเลือกคบหมู่ คบหมู่ได้ยาก เหตุเพราะวัยต้นๆ เริ่มออกธุดงค์นั้น หมู่เพื่อน ของท่านมีแต่ขี้กะโล่โลเลไม่เอาจริง ใจไม่ถึง จึงเป็นเหตุให้กระเทือนมาถึงตัวท่าน มีแต่พวก กลัวตายน�้ำใจฝ่อ “ไปด้วยกันแต่ 2 องค์ขึ้นไป อยูด่ ว้ ยกันแต่ 2 องค์ แล้วคนหนึง่ จะอยูค่ นหนึง่ จะไป หรืออีกคนสู้ อีกองค์ถอยมันก็ล�ำบาก

หากเป็นตายไปกับเราเองก็มนั่ คง ไม่ตอ้ งมีอะไร มาให้วิตกกังวลห่วงหน้าห่วงหลัง จะได้หมู่เดิน ธุดงค์ด้วยกันสักองค์มันหาได้ยากนัก เพราะ จะหาผู้ที่มีจิตนิสัยคล้ายกันรู้ใจกัน มีธรรมะ เสมอกันหรือผู้อาวุโสกว่า มีธรรมะพอที่จะ คุ้มครองรักษาได้นั่นหายากยิ่งนัก”

การธุดงค์ขององค์หลวงปู่

“เมืองเหนือเว้นแต่แม่ฮ่องสอน นอกนั้น ไปทุกจังหวัด ภาคกลางกรุงเทพฯ เมืองเพชร สมุ ท รปราการ ลพบุ รี นครสวรรค์ พิ จิ ต ร ก�ำแพงเพชร เพชรบูรณ์ พิษณุโลก อุตรดิตถ์ อยูน่ านทีส่ ดุ อ�ำเภอแม่แตง อ�ำเภอพร้าว วกไป วนมาเกือบทุกหมู่บ้าน อยู่ถ�้ำมะกะ ปางหนาด ปางเมีย่ ง แม่ทะ จะนับดอยไม่รกู้ สี่ บิ ลูกร้อยดอย

124 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย 2

.indd 124

9/3/2561 16:57:07


ประวัติการสร้างเจดีย์บู่ทองกิตติ

จะนับห้วยน�้ำก็ไม่รู้เท่าใด จะนับถนนหนทาง ก็นับมิได้เลย ไปแท้ไปว่าสมัยยังหนุ่มเรี่ยวแรง ก�ำลังดี เป็นพระธุดงค์ตอ้ งทราบความมุง่ หมายของ ธุดงค์ประโยชน์ ของธุดงควัตร ข้อวัตรทุกข้อ ทุกอย่าง ข้อใดปราบปรามใจอย่างใด ได้ผลได้ ประโยชน์อย่างใด ข้อใดแก้มูลกิเลสในกาลใด เวลาใด ประเภทใด

การพัฒนาวัด

หลวงปู่จาม มหาปุญฺโญ มีแนวคิดเน้นใน ธรรมชาติ สิ่งต่อเติมก่อสร้าง กุฏิ ศาลาธรรม และพระเจดีย์ ให้กลมกลืน เงียบสงบ ท้าทาย ร่มรื่น และอบอุ่น ชีวิตผลงานที่ทรงคุณค่า คุณ ความดีที่เป็นประวัติศาสตร์ นับเป็นปฏิปทา

ทีเ่ จริญตามแบบแห่งองค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทัง้ หมดล้วนเป็นสิง่ ทีน่ า่ ยกย่องเชิดชู ควรยึดไว้ ควรระลึก ควรแก่การน�ำไปประพฤติปฏิบัติ ตามยิ่งนัก

งานบุญประจ�ำปี

วันสรงน�ำ้ บูชาพระบรมสารีรกิ ธาตุ ครัง้ ที่ 1 ตรงกับวันเพ็ญเดือน 3 (ขึ้น 15 ค�่ำ เดือน 3) ครั้งที่ 2 ตรงกับวันเพ็ญเดือน 6 (ขึ้น 15 ค�่ำ เดือน 6) โปรดเปรียบเทียบกับปฏิทินปีทุกปี “พระธาตุของพระพุทธเจ้า ของพระอรหันต์ เจ้าเสด็จมาให้ได้กราบไว้ สักการบูชาให้ได้ ท�ำการระลึกถึงผู้มีคุณสูงแก่โลก ให้ตั้งใจกราบ ไหว้บูชา ได้บุญ ได้ผล จริงๆนะ”

เจดีย์บู่ทองกิตติ สร้างขึ้นโดยการปรารภ ของหลวงปู ่ จ าม มหาปุญฺโ ญ เริ่มสร้า งเมื่อ ปลายปี พ.ศ.2527 เป็นงานบุกเบิกพื้นที่ และ วางรากฐาน ใช้ศลิ ปะช่างพืน้ บ้านเป็นส่วนใหญ่ ควบคุมการก่อสร้างโดยองค์หลวงปู่จาม การ ก่อสร้างนั้นวางรากฐานคานดิน บนหินพลาน ดินดาน ลึกจากหน้าดิน 3 เมตร วางคาน เชื่ อ มตอม่ อ 3 ชั้ น ในเรื่ อ งของการรองรั บ น�้ ำ หนั ก จึ ง ไม่ มี ป ั ญ หาใช้ เวลาก่ อ สร้ า ง 3 ปี จึ ง แล้ ว เสร็ จ บริ บู ร ณ์ ใ นปี พ.ศ.2530 ใช้ ส�ำหรับเป็นที่เก็บรักษาพระบรมสารีริกธาตุ ขององค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า และพระธาตุ ของพระอรหันต์สาวกหลายองค์ อาทิ พระ โมคคัลานะ พระสารีบุตร พระสิวลี พระอุปคุต เป็นต้น พระธาตุดังกล่าวมีจ�ำนวนมากมาย กว่าทีพ่ บในทีอ่ นื่ ๆ อีกทัง้ ยังเป็นทีเ่ ก็บพระพุทธรูป หรือวัตถุของโบราณอีกจ�ำนวนมาก เหตุ ที่ ต้ั ง ชื่ อ เจดี ย ์ บู ่ ท องกิ ต ติ เพื่ อ เป็ น เกี ย รติ อ นุ ส รณ์ แ ก่ คุ ณ ยายบู ่ ท อง กิ ต ติ บุ ต ร คหบดีเมืองเชียงใหม่ ผูเ้ ป็นใหญ่ในการก่อสร้าง อีกอย่างคุณยายท่านนี้พร้อมด้วยบุตรหลาน วงศ์วานได้เคยอุปถัมภ์ค�้ำชูองค์หลวงปู่จาม มหาปุญโฺ ญ เมือ่ ครัง้ อยูเ่ มืองเหนือมาโดยตลอด นอกจากคุณยายและบุตรหลานจะสร้าง เจดีย์เอาไว้แล้ว ยังได้สร้างศาลาทรงล้านนา ประยุกต์ไว้ให้อีกหลังด้วย “เจดีย์ต้องก่อให้สูง ให้ทนทาน ผู้คนจะได้มองเห็นไกลอยากได้มัน แปลกจึงได้สร้างเป็นเจดีย์มีเสา เห็นที่อื่นมีแต่ อยู่ติดดอน” MUKDAHAN 125

2

.indd 125

9/3/2561 16:57:08


คุณแม่ชีแก้ว เสียงล�้ำ

คุณแม่ชีแก้ว

เกิ ด เมื่ อเดื อน พฤศจิก ายน พ.ศ. 2444 ที่ บ ้ า นห้ ว ยทราย อ� ำ เภอค� ำ ชะอี จั ง หวั ด มุกดาหาร มีชื่อเดิมว่า “ตาไป่” บิดา ชื่อ ขุน ธรรมรังสี (ซัน เสียงล�้ำ) มารดา ชื่อ นางธรรม รังสี (ด่อน เสียงล�้ำ) เสียชีวิตเมื่อแม่ชีแก้วอายุ ได้ 5 ขวบ และบิดาไปมีภรรยาใหม่

เมื่อแม่ชีแก้วอายุได้ 7 ขวบ สามารถระลึก ชาติได้ ว่าเกิดเป็นแม่ไก่สาย มีลูกปีละ 7 ตัว ต้ อ งแสวงหาอาหารเลี้ ย งลู ก ให้ เ ติ บ โตด้ ว ย ความยากล�ำบาก ต้องทนทุกข์ทรมานแสน ล�ำบาก ต้องคุ้ยเขี่ยหาแมลงสิ่งที่เป็นอาหาร ให้ลูกๆ กิน อดมื้อกินมื้อ และเข็ดหลาบในการ ออกไข่ กกไข่ เลี้ยงลูก ซ�้ำแล้วซ�้ำเล่า แต่เมื่อ ได้ ฟ ั ง เสี ย งสวดมนต์ เสี ย งเทศนาธรรมแล้ ว มีจติ ใจรืน่ เริงในธรรม จึงอธิษฐานจิตด้วยบุญกุศล อานิสงส์แห่งธรรมนั้น จึงสามารถหลุดพ้นจาก ภูมสัตว์ดิรัจฉานได้เกิดเป็นมนุษย์ในชาตินี้ เมื่ออายุ 17 ปี ได้แต่งงานกับชายหนุ่ม บ้านห้วยทราย แม่ชีเป็นคนขยัน แต่สามีเป็น หนุ่มเจ้าส�ำราญ ชอบยุ่งเกี่ยวกับหญิงอื่น แต่ แม่ชีก็อดทนหนักแน่นวางเฉย และรู้สึกว่า

ชีวิตการมีครอบครัวไม่มีอิสระ แม้จะไปวัด เพื่ อ บ� ำ เพ็ ญ ภาวนา สามี ก็ ห ้ า ม ให้ เ พี ย ง ตักบาตรและไหว้พระสวดมนต์ ผ่านไป 10 ปี ไม่มีบุตร ตาไป่ (แม่ชีแก้ว) จึงขอเด็กมาเลี้ยงเป็นลูก ตั้งชื่อว่า “แก้ว” ตั้งแต่นั้น ตาไป่ จึงถูกเรียกว่า “แม่แก้ว” หรือ “แม่ของแก้ว” ปี พ.ศ. 2480 แม่แก้วได้บวชชีสมปรารถนา ตามที่พระอาจารย์มั่นบอกไว้เมื่อ 20 ปี ใน พรรษาท่ า นได้ เร่ ง ท� ำ ความเพี ย รอย่ า งหนั ก ในการภาวนา ด้วยอิรยิ าบถยืน นัง่ เดิน ไม่นอน ติดต่อกัน 21 วัน ขณะท�ำความเพียรได้เห็น ผีหวั ขาด มีลกู ตาดวงเดียว นัยน์ตาแดงเป็นแสงไฟ อยู่กลางอกท่านนึกถึงค�ำสอนพระอาจารย์มั่น ว่าเห็นอะไรที่ท�ำให้กลัว ถ้าวิ่งหนีจะเป็นบ้า

126 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย 2

.indd 126

9/3/2561 16:57:10


ให้ตงั้ สติสหู้ น้า พิจารณาจนหายกลัว ท่านได้ทำ� ตามนัน้ ก็ปรากฏผลว่าความกลัวหายไปตามนัน้ จริง เมื่อครบพรรษา 3 เดือน แม่ชีแก้ว คงรักษาค�ำมั่นสัญญาจึงกลับไปบ้าน ความสะอาดบ้าน และหุงหาอาหาร ตั้งส�ำรับกับข้าวให้สามี แต่แม่ชีแก้วไม่นั่งร่วมวงรับประทานอาหารด้วย บอก สามีว่ารักษาศีลแปดอยู่ ทันใดนั้นสามีก็ลุกขึ้น หมายใจจะจับฉุดท่าน แม่ชีแก้วจึงรีบกระโดดหนี ลงจากเรือนแล้งวิง่ หนีไป ท่านรูส้ กึ ขมขืน่ ใจทุกข์ทรมานใจกับชีวติ ทางโลก จึงตัดสินใจไม่ยอมลาศีล คงด�ำรงความเป็นแม่ชีต่อไป แม่ชีแก้วด�ำรงประโยชน์ผู้อื่นด้วยการสั่งสอน แนะน�ำแนวปฏิปทาอันเป็นทางด�ำเนินจิต ภาวนา แก่ศิษยานุศิษย์ในส�ำนักชี จนกระทั่งละสังขาร เมื่อวันที่ 18 มิถุนายน พ.ศ.2534 สิริอายุ ได้ 90 ปี แม่ชีแก้วมักจะเตือนสติแก่แม่ชีที่เข้ามาเป็นศิษย์ของท่านเสมอว่า “อย่ากินแล้วนอน คือหมู คือหมา เด้อลูกเด้อ ลูกเอ๋ยให้ฟังความแม่ให้แน่ความหน่าย ให้อายความคิด ให้เปิด (เบื่อหน่าย) ความสุข (ประสาโลก) อย่าเมานั่งจุกนั่งเจ่า อย่าเฝ้าแต่กองขี้เถ้าของตน”

หลวงตามหาบัว ยกย่องสรรเสริญ “จิตของแม่ชีแก้ว มีนิสัยผาดโผนพิสดารมาก คล้ายคลึงกับท่านพระอาจารย์มั่น เมื่อฝึกอบรมถูกทางแล้ว ย่อมท�ำประโยชน์ได้ลึกซึ้ง และกว้างขวางผิดธรรมดา” “เราบริสุทธิ์เช่นไร ผู้เฒ่าแม่แก้วก็บริสุทธิ์เช่นนั้น ผู้เฒ่าแม่แก้วบริสุทธิ์เช่นไร เราก็บริสุทธิ์เช่นนั้น”

MUKDAHAN 127 2

.indd 127

9/3/2561 16:57:13


The Way of a Great Female Arahnt Ajaan Mun’s Prediction : “If you were a boy, I would have you ordain as a novice and take you with me. But since you are a girl, that would be difficult. I forbid you to meditate after I leave here. Live a worldly life for the time being. Later another teacher will come to guide you.” Luangta Maha Bua Extols Her Virtues : “Mae Chee Kaew’s mind was venturesome and dynamic by nature, much like Ajaan Mun’s. Once she had trained her mind in the right way, she was able to use her unusual abilities in profound and amazing ways.” “Mae Chee Kaew has attained the same purity of heart hat I have”

วาทะธรรม ค�ำสอนของแม่ชีแก้ว

1. หนึ่งในโลกนี้ เป็นเอกนาโถ หาทุกข์ก็ได้ หาสุขก็ได้ หาประโยชน์และมิใช่ประโยชน์ หานรกหาสวรรค์ หามรรค หาผล หานิพพาน หาอะไรก็ได้หมด 2. เรื่องของกรรมอย่าไปตั้งข้อสงสัย เกิดมา แล้วอย่าประมาทกับตนเอง เราเป็นคนให้มี เมตตากับสัตว์โลก เพราะเขาก็เป็นทุกข์ เรื่อง ของกรรม เรื่องของทุกข์ ไม่มีอะไรยิ่งหย่อน กว่ากันเลย ที่ต่างกันก็มีแต่เลวทราม หยาบ ประณีต ของกรรมดีและกรรมชั่วนี้เท่านั้น 3. ให้ พ ากั น ตั้ ง ใจภาวนา ท� ำ สมาธิ อ ย่ า ขี้คร้าน เอาขันธ์ห้าเป็นขันบูชา เอาหัวเป็น เทียนไต้ส่องทาง ให้พ้นการเกิดเป็นคน ให้อยู่ ในศีล อย่าได้หมิ่นต่อธรรม 4. เกิดมาแล้วตายเล่า เกิดเก่าตายตาม เชื้อ นามหน่อพระพุทธเจ้า อย่าเน่าเล่นเหม็นโห๋

(หัวเราะเล่น) ตายให้แท้ตายให้จริง ตายทิ้ง วางขันธ์ ตายเห้อ (ให้) ทันธรรม ตายน�ำ (ตาม) พระพุทธเจ้า ตายแล้วเข้าพระนิพพาน 5. เบิ่งดุ๊ เบิ่งจิต เบิ่งใจ อั้นล่ะ หม้อนะฮก กะอยูฮ่ นั้ สวรรค์ชนั้ ฟ้า อยูฮ่ นั้ มรรคผล กะอยูฮ่ นั้ ความหลุ ด ความพ้ น กะอยู ่ ฮั้ น (ให้ ดู ใ ห้ ดี พิจารณาให้ดี ดูจิตดูใจของตนนั้นล่ะ นรกก็อยู่ นั้น สวรรค์ก็อยู่นั้น มรรคผลก็อยู่นั่น ความพ้น จากทุกข์ก็อยู่นั่น) 6. ให้ภาวนาเบิ่งกองทุกข์ เกิดมาแล้วมัน มีแต่ทกุ ข์ อยากก็ทกุ ข์ ไม่อยากก็ทกุ ข์ อิม่ ก็ทกุ ข์ บ่อิ่มก็ทุกข์ นั่งนอนกินถ่ายก็ทุกข์อยู่ทุกข์ไจ้ๆ บ่ไลมื้อทิ่มวัน (ทุกข์ตลอดไม่ว่างเว้นวันคืน) 7. ให้ตั้งเจอ (ใจ) รักษา กาย วาจา ใจ ให้ รักษามารยาทให้เรียบร้อย อย่าเป็นคนพูดมาก เอายาก (เอาความยุ่งยาก) ใส่แต่ตัวอย่าเป็น คนลืมโต๋ โห๋ลื้นเพิ่น เว้าเห้อระวังโต๋ โห๋เห๋อระ วังคอ 8. ตั้งใจภาวนาได้ คั้นมิตั้งใจภาวนา บาด แม่ตาย จะบี่ให้หล้ามๆ อยู่ จะได้แต่ขายเพิ่น ขายโต๋ 9. ผู้ได้เกิดได้ตายทุกคนแสนทุกข์แสนยาก ความตายความเกิดมันมีอยู่ทุกหมู่สัตว์ บุคคล ตั ว ตนเราเขา ข้ า ทั้ ง หลาย ก็ มี ต ายกั บ เกิ ด

เด็กน้อยผู้ใหญ่ตายไปเสมอกัน ให้เชื่ออยู่ใน ความตาย ได้เวลาของเขาก็มาเอาไปจ้อย น้อย ใหญ่เสมอหน้า 10. ค่อยคิดค่อยแก้ ค่อยแก้ค่อยดึง ค่อยขุด ค่อยขน ค่อยค้น ค้อยค�้ำ ค่อยท�ำค่อยสร้าง ค่อยถางค่อยหว่าน 11. รักษาศีลเอาไว้ ใจเทีย่ งภาวนา สลึงเดียว กะบ่ได้หา สูเจ้าอย่าขี้คร้าน วิปัสสนาพร้อม เป็ น การไกลกิ เ ลส ละให้ ห ลุ ด ลงให้ เ สี้ ย ง ยลเที่ยงแม่นนิพพาน 12. เพิ่นว่าฮ้ายมิเห้อเคียดคุง เพิ่นว่าดีมิ เห้อโห๋หมูตา้ นทุกค�ำ่ เช้าตัง้ ต่อแต่ภาวนา วันคืน คึดต่อบุญสร้างตัว อย่าไปเที่ยวอวดอ้าง เว้า กล่าวสะหาว 13. อย่าให้เสียทีบวชเป็นชีแล้วนี้ ให้เป็น ชีแท้ๆ อย่าเอาแห้มาปน อย่าได้เป็นแม่ขาว แม่ขวิ แม่หลิว่ ตาเข้าบ้าน อย่าได้เป็นแม่ขคี้ ร้าน ขี้ความ ขี้ขอ แม่มิพอความอยาก แม่มิอยาก ความตาย แม่มอิ ายความเว้า แม่มเิ ล่าความธรรม ลูกแม่ทุกคนอย่าได้เป็นอย่างนี้ ลูกเอ๋ยหาก พอใจมาเป็นลูกแม่ แม่เว้าเห้อฟัง แม่จ่มเห้อ ว่าแม่สอน แม่คอนเห้อลูกแม่หาบ แม่ก้มขาบ เห้อลูกแม่ตาย เด้อลูกเด้อ

128 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย 2

.indd 128

9/3/2561 16:57:15


“อย่ากินแล้วนอน คือหมู คือหมา เด้อลูกเด้อ ลูกเอ๋ย ให้ฟังความแม่ให้แน่ความหน่าย ให้อายความคิด ให้เปิ ด (เบื่อหน่าย) ความสุข (ประสาโลก) อย่าเมานัง่ จุ กนัง่ เจ่า อย่าเฝ้ าแต่กองขีเ้ ถ้าของตน” แม่ชีแก้ว เสียงล�ำ้

เจดีย์ศรีไตรรัตนานุสรณ์

มณฑป แม่ชีแก้ว เสียงล�ำ้ MUKDAHAN 129

2

.indd 129

9/3/2561 16:57:17


บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดถ�้ำหลวงปู่ เสาร์ พระอาจารย์อนุชิต ถิรธมโม ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส วัดถ�้ำหลวงปู่เสาร์ ประวัติความเป็นมา

ในปี พ.ศ.๒๔๕๘ พระอาจารย์เสาร์ กนตสีโล ได้ออกธุดงค์บุกป่าฝ่าดงดิบมาอยู่จ�ำพรรษาที่ ถ�้ำภูผากูด อ.ค�ำชะอี (ปัจจุบัน จ.มุกดาหาร) หลวงปู่จาม มหาปุญโญ ขณะนั้นอายุได้ ๗ ปี เพิ่ น ครู อ าจารย์ มั่ น (ภู ริ ท ตฺ โ ต) มาอยู ่ บ ้ า น หัวยทรายเป็นครัง้ แรก มาสอนผูค้ นให้ทงิ้ ผีละผี ให้ ถื อ ไตรสรณคมน์ เพิ่ น ครู อ าจารย์ เ สาร์ (กนฺ ต สี โ ล) ย้ านจากดอนหนองน่อง ไปอยู่ ถ�ำ้ บ้านกลางแล้วไปอยูบ่ า้ นขุมขีย้ างภูเขาทิศใต้ ของบ้านนาไคร้แล้วกลับมาอยูถ่ ำ�้ จ�ำปา สภาพป่า โดยรอบๆ บริเวณภูเขาอันเป็นถ�้ำแห่งหนึ่ง

เป็นภูมิประเทศที่เป็นป่าไม้เต็ง ไม้รัง ไม้แดง ไม้มะค่า แต่ไม่เป็นดงทึบเหมือนดงอื่นๆ ณ สถานที่แห่งนี้ท่านได้อยู่นานถึง ๕ ปีเต็ม เพื่อ เจริญภาวนา ท่ามกลางสัตว์ปา่ เมือ่ พระอาจารย์ เสาร์ กนตสีโล ได้พยายามพิจารณากาย เจริญ ทุกวัน พอจวนจะถึงกาลปวารณาออกพรรษา ท่ า นก็ ไ ด้ ท ราบชั ด ถึ ง ความจริ ง ทุ ก ประการ ท่ า นจึ ง ได้ บ อกให้ พ ระอาจารย์ มั่ น ทราบว่ า เราได้เลิกการปรารถนา พระปัจเจกโพธิแล้ว และเราก็ได้เห็นธรรมตามความเป็นจริงแล้ว เมื่อพระอาจารย์ได้ยินดังนั้นแล้ว ก็เกิดปิติ

ยิง่ นัก และได้ทราบในวาระจิตว่า พระอาจารย์ ค้นพบทางวิมตุ ติแน่แล้ว หลังจากได้อยูจ่ ำ� พรรษา ที่ถ�้ำภูผากูด ได้ ๕ พรรษาแล้ว ท่านก็ได้ออก ไปพักจ�ำพรรษาในที่ต่างๆ ซึ่งไปๆ มาๆ ในเขต ท้ อ งที่ อ� ำ เภอมุ ก ดาหารและอ� ำ เภอค� ำ ชะอี หลังจากที่ท่านออกพรรษา ในปี พ.ศ.๒๔๖๙ พระอาจารย์ เ สาร์ ได้ อ อกธุ ด งค์ ไ ปกั บ พระอาจารย์มั่น และได้ปรึกษาที่จะจัดวาง ระเบี ย บในการเดิ น ธุ ด งค์ อ ยู ่ เ สนาสนะป่ า คติธรรมค�ำสอนของท่านพระอาจารย์เสาร์ กนตสีโล คือ

130 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 130

12/03/61 09:09:25 AM


“ ให้พากันละบาป และบ�ำเพ็ญบุญ อย่า ให้เสียชีวิตลมหายใจไปเปล่าที่ได้มีวาสนา เกิดเป็นมนุษย์ ” และ “ เราเกิดเป็นมนุษย์ มีความสูงศักดิ์มาก แต่อย่าน�ำเรื่องของสัตว์ มาประพฤติ มนุษย์ของเราจะต�่ำลงกว่าสัตว์ และจะเลวกว่ า สั ต ว์ อี ก มาก เวลาตกนรก จะตกหลุ ม ที่ ร ้ อ นกว่ า สั ต ว์ ม ากมายอย่ า พากันท�ำ ”

อาคารเสนาสนะ และ สิ่งปลูกสร้าง

ในปี พ.ศ.๒๕๕๒ ชาวบ้านในเขต ต.ค�ำบก ได้รว่ มแรงร่วมใจตามแรงศรัทธาก่อตัง้ ส�ำนักสงฆ์ ถ�้ ำ หลวงปู ่ เ สาร์ ขณะนี้ อ ยู ่ ร ะหว่ า งการ ขออนุญาตใช้ทดี่ นิ ของทางราชการเพือ่ สร้างวัด ในระยะเวลาในการก่อตั้งส�ำนักสงฆ์ถ�้ำหลวง ปู่เสาร์ ได้ด�ำเนินกิจกรรมต่างๆ และพัฒนา ศาสนสถานมาด้ ว ยดี เ ป็ น ล� ำ ดั บ เช่ น การ ก่อสร้างพระพุทธรูปนาคปรก ขนาดหน้าตัก

พระพุทธรูปนาคปรก ขนาดหน้าตักกว้าง ๓๒ เมตร สูง ๔๐ เมตร ชั้ น ล่ า งพื้ น ปู ด ้ ว ยกระเบื้ อ งแกรนิ ต หิ น อ่ อ น ขนาดกว้ า ง ๔๐ เมตร ยาว ๘๐ เมตร สร้างเสร็จ เมื่อปี พ.ศ.๒๕๕๗ สิ้นเงินค่าก่อสร้าง ๑๕,๐๐๐,๐๐๐ บาท ศาลาเอนกประสงค์ (ศาลาหอฉันท์) โครงสร้าง ค.ส.ล.พืน้ ปูดว้ ย กระเบือ้ ง ขนาดกว้าง ๘ เมตร ยาว ๒๐ เมตร สร้างเสร็จ เมือ่ ปี พ.ศ. ๒๕๕๓

กว้าง ๓๒ เมตร สูง ๔๐ เมตร โดยความด�ำริ ของท่านพระอาจารย์ตะวัน จันทรังสี อดีต เจ้ า อาวาส และอุ ป ถั ม ถ์ ก ารก่ อ สร้ า งโดย คุ ณ หมอดนุ ภ าส จริ ย ธี ร ะวงค์ ส ลางสิ ง ห์ พร้อมครอบครัวของท่าน และแรงศรัทธาจาก พุทธศาสนิกชนทั่วไป เป็นต้น

สิ้นเงินค่าก่อสร้าง ๒๐๐,๐๐๐ บาท โรงครั ว โครงสร้ า ง ค.ส.ล.พื้ น ปู ด ้ ว ยกระเบื้ อ ง ขนาดกว้ า ง ๑๕ เมตร ยาว ๒๐ เมตร สิ้ น เงิ น ค่ า ก่ อ สร้ า ง ๕๐๐,๐๐๐ บาท สร้างเสร็จ เมื่อปี พ.ศ.๒๕๕๕ กุ ฏิ พ ระภิ ก ษุ ส งฆ์ ขนาด ๑ ห้ อ งนอน โครงสร้ า งไม้ พื้ น สู ง จ�ำนวน ๑๐ หลัง

ร่วมสร้างเส้นทางบุญ

เนื่องจากขณะนี้ก�ำลังปรับปรุงตกแต่งใต้ฐานพระพุทธรูปนาคปรก ให้เป็นสถานที่ปฏิบัติธรรมและรูปหุ่นจ�ำลองหลวงปู่เสาร์ กนตสีโล หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ไว้ให้ศรัทธาญาติธรรมกราบไหว้ สักการบูชา วัดถ�้ำหลวงปู่เสาร์ จึงขอเชิญชวนพุทธศาสนิกชนร่วมสร้างเส้นทางบุญ ด้วยการบริจาคปัจจัยเพื่อการปรับปรุงตกแต่งให้เกิดความเรียบร้อย สวยงาม ผูม้ จี ติ ศรัทธาสามารถท�ำบุญตามก�ำลังศรัทธาได้ที่ ธนาคารกรุงไทย สาขาค� ำ ชะอี เลขบั ญชี 436-0-43537-1 หรือ ติด ต่อ สอบถาม ที่หมายเลขโทรศัพท์ 084-793-8042 MUKDAHAN 131 .indd 131

12/03/61 09:09:33 AM


บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล

องค์การบริหารส่วนต�ำบล

บ้านซ่ ง วิสัยทัศน์

ต�ำบลน่าอยู่ ควบคู่เศรษฐกิจดี มีการศึกษาเป็นเลิศ เชิดชูคุณธรรม เน้นน�ำด้านสุขภาพ

ประวัติความเป็นมา

องค์การบริหารส่วนต�ำบล บ้านซ่ง ตั้งอยู่หมู่ที่ 6 บ้านซ่ง ต� ำ บลบ้ า นซ่ ง อ� ำ เภอค� ำ ชะอี จั ง หวั ด มุ ก ดาหาร ตั้ ง เป็ น สภา ต�ำบลตาม พรบ.สภาต�ำบลและ องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บล เมื่อปี พ.ศ.2537 และได้ยกฐานะ จากสภาต� ำ บลเป็ น องค์ ก าร บริหารส่วนต�ำบล เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2540

นายนิราศ พันธ์ทอง นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลบ้านซ่ ง

ยุทธศาสตร์การพัฒนา

1. ด้านโครงสร้างพื้นฐาน 2. ด้านเศรษฐกิจ 3. ด้านสังคม 4. ด้านแหล่งน�้ำ 5. ด้านสาธารณสุข 6. ด้านการเมืองการบริหาร 7. ด้านการศึกษา ศาสนา วัฒนธรรมและการท่องเที่ยว 8. ด้านสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ

คณะผู ้ บ ริ ห ารและพนั ก งาน

นโยบาย นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลบ้านซ่ง

นายนิราศ พันธ์ทอง นายกอบต.บ้านซ่ง แถลงนโยบายต่อสภา องค์การบริหารส่วนต�ำบลบ้านซ่ง เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน 2556 ดังนี้ 1. นโยบายการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน 2. นโยบายการพัฒนาด้านเศรษฐกิจพอเพียง 3. นโยบายการพัฒนาด้านสังคม 4. นโยบายการพัฒนาด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 5. นโยบายการพัฒนาการเมืองและการบริหารจัดการ 6. นโยบายด้านอื่นๆ

132 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 132

12/03/61 09:39:21 AM


สถานที่ส�ำคัญทางธรรมชาติและแหล่งท่องเที่ยว

ถ�้ำมะนาว

บึงโพธิ์ศรี

เป็น ถ�้ ำที่เกิด ขึ้นตามธรรมชาติอยู่ใน เขตป่าชุมชนภูน้อย ทางเข้าถ�้ำลาดลึกลงไป สามารถเดินลงชมข้างในถ�้ำได้

เป็นหนองน�้ำตามธรรมชาติขนาดเล็ก อยู่ที่บ้านโพธิ์ศรี หมู่ 4 ต.บ้านซ่ง อ.ค�ำชะอี จ.มุ ก ดาหาร แต่ ก ่ อ นน�้ ำ จะตื้ น เขิ น มี กุ ้ ง หอย ปู ปลา อุดมสมบูรณ์ จะมีบัวแดงขึ้น เต็มบึงสวยงาม ริมบึงจะมีผือขึ้นหนาแน่น ซึง่ ชาวบ้านในต�ำบลตลอดจนต�ำบลข้างเคียง จะมาถอนไปทอสื่อ

ป่ าชุ มชนภูน้อย มีพื้นที่ทั้งหมด 500 กว่าไร่ เป็นป่าบน ภูนอ้ ยทีม่ คี ณะกรรมการป่าชุมชนดูแลรักษา ไม่ให้มีการบุกรุกตัดไม้ท�ำลายป่า ได้ท�ำแนว เขตป้องกันไฟป่า มีความอุดมสมบูรณ์ มีทั้ง ต้นผักหวาน ดอกกระเจียว เห็ดต่างๆ และ แมลงประกอบด้วย แมงแคน แมลงทับ จักจั่น ไข่มดแดง เป็นต้น

วัดถ�้ำพระภูน้อย

ส่างลิง

แต่กอ่ นเป็นวัดทีอ่ ยูบ่ นตีนภูนอ้ ย เล่าต่อ กันมาว่าเป็นวัดตัง้ แต่สมัยโบราณกาล ปัจจุบนั ด้ า นบนวั ด ซึ่ ง เป็ น หน้ า ผาสู ง ชั น ยั ง คงมี พระพุทธรูป พระเครื่องปรางค์ต่างๆ สร้าง จากโลหะ ไม้ เหลืออยูใ่ ห้ได้ชมและกราบไหว้ จะมีท�ำบุญประจ�ำทุกปีในช่วงเดือน 6

เป็นบ่อน�้ำหินที่เกิดตามธรรมชาติ อยู่ บนเขตป่า ชุมชนภูน้อย ในอดีตชาวบ้าน สามารถใช้ดื่มกินในยามขึ้นเขาหาเก็บของ ป่าบนภูน้อย

MUKDAHAN 133 .indd 133

12/03/61 09:39:28 AM


ประเพณีที่ส�ำคัญ ประจ�ำต�ำบลบ้านซ่ง ประเพณีแห่เทียนพรรษาต�ำบลบ้านซ่ ง เป็นประเพณีที่จัดขึ้นในช่วงเข้าพรรษา ของทุกปี โดยจัดร่วมกันระหว่าง องค์การ บริหารส่วนต�ำบลบ้านซ่ง และสภาวัฒนธรรม ต�ำบลบ้านซ่ง ประกอบด้วยขบวนแห่เทียน พรรษา จาก 7 หมู่บ้าน ได้แก่ บ้านนาสีนวล หมู่ 1 บ้านซ่ง หมู่ 2 บ้านโนนสังข์ศรี หมู่ 3 บ้านโพธิ์ศรี หมู่ 4 บ้านโนนก่อ หมู่ 5 บ้านซ่ง หมู่ 6 บ้านโนนสังข์ศรี หมู่ 7 พร้อมทัง้ เครือข่าย ด้านวัฒนธรรมต�ำบลบ้านซ่ง ประกอบด้วย โรงเรียนบ้านโนนสังข์ศรี โรงเรียนบ้านซ่ง และ วิทยาลัยการอาชีพค�ำชะอี รพ.สต.โนนสังข์ศรี กศน.ต�ำบลบ้านซ่ง เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยว ทางวั ฒ นธรรมและร่ ว มสื บ สานประเพณี ทางพระพุทธศาสนาให้คงอยู่สืบไป งานประเพณีออนซอนมู นมังชนเผ่าไทยกะเลิง ต�ำบลบ้านซ่งประกอบด้วย 7 หมู่บ้าน เป็นชนเผ่ากะเลิงทั้ง 7 หมู่บ้าน ได้แก่ ชนเผ่ากะเลิง บ้านนาสีนวน บ้านโพธิ์ศรี บ้านโนนสังข์ศรี และ บ้านโนนก่อ โดยในแต่ละปีจะมีการจัดงานประเพณีออนซอนชนเผ่าไทยกะเลิงต�ำบลบ้านซ่งขึ้น ในงานมีการสาธิต แสดงวิถีชีวิต ความเป็นอยู่ด้าน อาหารพื้นบ้าน การแต่งกายแบบกะเลิงที่สวยงาม บ้านแบบไทยกะเลิง ข้าวของเครื่องใช้ตั้งแต่อดีต ตลอดจนการแสดง การต�่ำหูก การเข็ญฝ้าย การต�ำข้าวด้วยครกมอง การละเล่นหมากโถกเถก หมากฮิ่งล้อ เป็นต้น

134 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 134

12/03/61 09:39:29 AM


พระเครื่องที่ค้นพบที่ทุ่งนาโพธิ์ บ้านซ่ง อ�ำเภอค�ำชะอี จังหวัดมุกดาหาร มีทั้งพระพุทธรูปองค์ใหญ่ องค์เล็ก และพระเครื่องอีกหลายองค์ ปัจจุบันเก็บรักษาที่โบสถ์หลังเก่าของ วัดจุฬาวิเวกบ้านซ่ง

MUKDAHAN 135 .indd 135

12/03/61 09:39:37 AM


บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดพุ ทโธธัมมธโร (ภูดานแต้) พระครูวินัยธร พยากร ปญฺญาวฑฺฒนปาโล ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส (รูปปัจจุบัน) ประวัติความเป็นมา

วั ด พุ ท โธธั ม มธโร หรื อ วั ด ภู ด านแต้ ตั้งอยู่เลขที่ ๑๓๙ หมู่ที่ ๑ บ้านชัยมงคล ต�ำบลโชคชัย อ�ำเภอนิคมค�ำสร้อย จังหวัดมุกดาหาร รหัสไปรษณีย์ ๔๙๑๓ FACEBOOK | วัด ภูดานแต้ เป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปขนาดใหญ่ ปางห้ามมาร มีธรรมจักรเปล่งรัศมีอยู่ด้านบน สามารถมองเห็นได้จากระยะไกล เพราะองค์ พระพุ ท ธรู ป สร้ า งอยู ่ บ นเนิ น เขาเล็ ก ๆ มี ประชาชนจากที่ต่างๆ เข้าไปนมัสการ และ ชมความงามของ บริเวณวัดกันอยู่เสมอ

วั ด พุ ท โธธั ม มธโร หรื อ ตามที่ ช าวบ้ า น เรียกว่า “วัดภูดานแต้” แต่เดิมเป็นเพียงที่พัก ส�ำหรับพระธุดงค์กัมมัฏฐาน สายหลวงปู่มั่น ภูรทิ ตั โต เพือ่ เดินทางไปนมัสการพระธาตุพนม เป็นที่เปลี่ยวและสงัด จึงเหมาะมากส�ำหรับ การท�ำความเพียร ต่อมาเมือ่ มีประชาชนมาอาศัย จ�ำนวนมากขึ้น ใช้พื้นที่เป็นที่ท�ำมาหากินและ เลีย้ งสัตว์ ประมาณปี พ.ศ.๒๕๑๑ พระอาจารย์ สมพงษ์ ขั น ติ โ ก ได้ ธุ ด งค์ ผ ่ า นเห็ น เป็ น ทีเ่ หมาะแก่การปฏิบตั ธิ รรมกัมมัฏฐานฐาน และ ได้อบรมธรรมแก่ประชาชน

ต่อมาภายหลังท่านได้เริม่ จัดการ การศึกษา จากวัดโรงเรียนพระปริยัติธรรม การศึกษา นอกโรงเรียน โรงเรียนประชาบาล สถานดูแล เด็กเล็ก ช่วยโรงพยาบาล ช่วยสถานีต�ำรวจ หน่วยงานราชการต่างๆ ส่งเสริมพระพุทธศาสนา ด้วยการออกเผยแผ่ธรรมทุกหมู่บ้าน ในเขต จังหวัดมุกดาหาร ออกสอนธรรมศึกษาให้แก่ โรงเรี ย นต่ า งๆ ในเขตอ� ำ เภอนิ ค มค� ำสร้ อ ย วิทยาการอาชีพนวมินทราชินูทิศอิสาน ท�ำให้ มีผู้รู้จักวัดพุทโธธัมมธโรมากขึ้น โดยส่วนใหญ่ แล้ว รู้จักในนามของ “วัดภูดานแต้”

136 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 136

12/03/61 09:48:26 AM


ประวัติพระเทพสุทธิโมลี

พระเทพสุทธิโมลี นามเดิม นายสมพงษ์ วรพันธุ์ เกิดวันจันทร์ที่ ๔ เดือนมีนาคม พ.ศ.๒๔๗๗ บ้านเลขที่ ๒๗ บ้ า นสามเหลี่ ย มรถไฟ ต.มั ก กะสั น อ.ปทุ ม วั น จ.กรุงเทพฯ บิดาชื่อ นายถวิล วรพันธุ์ มารดาชื่อ นางประไพ บางโมรา ท่านเป็นบุตรชายคนโตของครอบครัว มีน้องสาว ๑ คน เสียชีวิตตั้งแต่อายุได้เพียง ๓ ขวบ ท่านจึงเป็นบุตรเพียงคนเดียวของครอบครัว การศึ ก ษา ท่ า นส� ำ เร็ จ การศึ ก ษาหลั ก สู ต ร การบัญชีชั้นสูง ที่โรงเรียนพระนครการบัญชี เมื่อปี พ.ศ.๒๔๙๖ ในส่วนความรู้ทางธรรม สอบไล่ธรรมศึกษา ชัน้ เอก ทีส่ ำ� นักเรียนวัดอโศการาม จ.สมุทรปราการ เมือ่ ปี พ.ศ.๒๕๐๙ และยั ง มี ป ระสบการณ์ รั บ ราชการเป็ น ทหารเกณฑ์ สังกัดกองทัพอากาศเป็นพนักงานประจ�ำ ณ สถานเอกอัครราชทูตอังกฤษประจ�ำประเทศไทย

เข้าสู่ร่มกาสาวพัสตร์

เมื่ อ ปี พ.ศ.๒๕๐๐ คุ ณ แม่ ข องท่ า นได้ เข้าบวชเป็นแม่ชี ที่ส�ำนักแม่ชีวัดอโศการาม จ.สมุทรปราการ เมือ่ ท่านรูว้ า่ แม่มอี าการเจ็บป่วย อยู่ตลอดเวลา ไม่มีญาติพี่น้องที่ไหนที่จะคอย ดูแล และพ่อของท่านก็ได้เลือกเดินในเส้นทาง ใหม่แล้ว กอปรกับพระอาจารย์ประยูร ท่าน ก็ได้ชักชวนให้มาบวชอยู่ด้วยกัน เพื่อจะได้ ศึกษาธรรมะกับท่านพ่อลี ธมฺมธโร (เจ้าอาวาส วัดอโศการาม สมัยนั้น) อีกทั้งยังได้คอยดูแล

ผู้เป็นมารดา ท่านจึงได้ตัดสินใจลงมาอยู่ที่ กรุงเทพฯ และเข้าท�ำงานทีส่ ถานเอกอัครราชทูต อังกฤษประจ�ำประเทศไทย เมื่อท่านมีเวลาว่างหรือเว้นจากการท�ำงาน ก็จะมาอยู่ที่วัดเป็นประจ�ำ และช่วยเหลืองาน ในวัดด้านต่างๆ ตลอดจนได้รับการอบรมหลัก ธรรมจากท่านพ่อลี ธมฺมธโร (อดีตเจ้าอาวาส) ท่านตัดสินใจลาออกจากงานทีส่ ถานเอกอัครราชทูต อังกฤษ และบรรพชาอุปสมบทเมือ่ ปี พ.ศ.๒๕๐๖

ในวัย ๒๙ ปี ณ พัทธสีมาวัดอโศการาม ต.ท้ายบ้าน อ.เมือง จ.สมุทรปราการ โดยมีพระเทพโมลี (ส�ำรอง อุตตฺ รนคร) เป็นพระอุปชั ฌาย์ พระปลัด สิงห์ คุณสมฺปนฺโน เป็นพระกรรมวาจาจารย์ และพระครูญาณวิศษิ ฎ์ เป็นพระอนุสาวนาจารย์ ท่านได้รับฉายาว่า “ขนฺติโก” แปลว่า ผู้ที่มี ความอดทน

MUKDAHAN 137 .indd 137

12/03/61 09:48:32 AM


บันทึกเส้นทางพบเทศบาลต�ำบล

เทศบาลต�ำบล

ดอนตาลผาสุก นายเอกชั ย คุ้มหมู ่

ปลัดเทศบาลฯ ปฏิบัติหน้าที่นายกเทศมนตรีต�ำบลดอนตาลผาสุก

วิสัยทัศน์ กินอิ่ม นอนอุ่น น�้ำไหล ไฟสว่าง หนทางดี ชีวีสดใส

สถานที่ส�ำคัญ อุทยานสมเด็จย่า (ฐานปฏิบัติการวรพัฒน์) จากสถานการณ์ความไม่สงบภายในประเทศ (ตั้งแต่วันที่ 7 สิงหาคม พ.ศ.2508 ถึงวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ.2525) วันหนึง่ สมเด็จย่าพระองค์กต็ รัสรับสัง่ กับ พ.ท.เปรม ติณสูลานนท์ แม่ทพั ภาคที่ 2 ในขณะนัน้ ว่า “ฉันอยากไปดูสวิ า่ พวกเธอท�ำอะไรกันอย่างไร จะให้ฉนั ไปได้ไหม” จากพระประสงค์ ของสมเด็จย่าที่ตรัสถามถึงเหตุการณ์สู้รบภายในประเทศ และสภาพการณ์ด�ำรงอยู่ของทหาร ทีท่ ำ� หน้าทีใ่ นภาคสนามว่าเป็นอย่างไร ฐานทัพทหารมีอยูห่ ลายแห่งในภาคอีสานในทีส่ ดุ ได้เลือกเอา ชค.06 หรือชุดควบคุมทางยุทธวิธที ี่ 06 บ้านนาม่วง หมูท่ ี่ 6 ต.ดอนตาล อ.ดอนตาล จังหวัดนครพนม ขณะนัน้ สมเด็จย่าทรงประทับค้างจ�ำนวน 2 คืน 3 วัน ตั้งแต่วันที่ 5-7 มิถุนายน 2525 ยังความปีติแก่เหล่าทหารและประชาชนในพื้นที่อย่างหาที่สุดมิได้ ดังบทประพันธ์ของท่าน ป.กรุงเก่า แห่งหนังสือพิมพ์ไทยรัฐได้ถวายบทประพันธ์เพื่อเป็นราชสดุดีแด่สมเด็จย่าไว้ว่า “ด้วยบารมีสมเด็จย่าเหมือนฟ้าบรรเจิด เหตุการณ์เกิดวุ่นวายหลายสถาน มีขึ้นที่แดนดินถิ่นกันดาร บ้านดอนตาลฐานวรพัฒน์จุดนัดยิง แต่ครั้นเมื่อสมเด็จย่ามาประทับ พระองค์ดับเหตุร้ายได้ทุกสิ่ง ดุจเบ้าหลอมดวงใจได้พึ่งพิง น�้ำพระทัยเปี่ยมยิ่งด้วยเมตตา พระบุญญาบารมี ที่ท่วมท้น เหล่าปวงชนต่างแซ่ซ้องพ้องทั่วหน้า ร่วมใจกันขนานนามตามสมญา พระแม่ฟ้าของดวงใจไทยทุกคน” ฯพณฯ ท่านพลเอก เปรม ติณสูลานนท์ ประธานองคมนตรีและรัฐบุรุษ ได้กล่าวไว้เมื่อคราวเยี่ยมฐานปฏิบัติการวรพัฒน์ ในวันที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ.2538 ว่าฐานปฏิบัติการวรพัฒน์ เป็นฐานปฏิบัติการทางทหารเพียงแห่งเดียวที่สมเด็จย่าซึ่งมีพระราชโอรสเป็นพระประมุขถึงสองพระองค์เสด็จ มาประทับค้างคืนพักแรมถึง 2 คืน 3 วัน และน�ำมาซึง่ ความสงบสุขให้กบั ประเทศและประชาชนในชาติ หลังจากทีเ่ ราสูร้ บกันเองยาวนาน 17 ปี ซึง่ ต่อมา จังหวัดมุกดาหาร ได้รบั พระราชทานนามจากพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 ในปี พ.ศ.2543 เป็น “อุทยานสมเด็จย่า” ปัจจุบนั จังหวัดมุกดาหารได้ดำ� เนินการพัฒนาปรับปรุงอุทยานสมเด็จย่า (ฐานปฏิบตั กิ ารวรพัฒน์) เพือ่ พัฒนาให้เป็นสถานทีท่ อ่ งเทีย่ วของจังหวัดต่อไป 138 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 138

13/03/61 08:54:03 AM


พระอาจารย์เถือ่ น อิสสโร เจ้าอาวาสวัดมัชฌิมาวาส (วัดกลาง) ซึ่ ง เป็ น วั ด ที่ มีก ลองมโหระทึก ที่ใ หญ่ที่สุด ในประเทศไทย เป็นผูก้ อ่ ตัง้ วัดเวินไชยแห่งนีเ้ มือ่ ร้อยกว่าปีทผี่ า่ นมา ด้วยเห็นว่า สถานทีม่ คี วามน่าอัศจรรย์ คือมีใบเสมาหินหลายขนาดปรากฏ อยูท่ วั่ บริเวณมากว่าร้อยใบ ซึง่ ในปี พ.ศ.2518 กรมศิลปากร ได้มาตรวจสอบใบเสมาเหล่านีท้ ราบว่าถูกสร้างขึน้ ในยุคขอม เรืองอ�ำนาจประมาณ ศตวรรษที่ 16–17 ถือเป็นโบราณวัตถุ ทีส่ ำ� คัญอย่างยิง่ ของชาติ กรมศิลปากรได้นำ� ใบเสมาทีม่ จี ารึก จ�ำนวนหนึ่งเก็บไว้ที่พิพิธภัณฑ์แห่งชาติจังหวัดขอนแก่น และพิพิธภัณฑ์แห่งชาติกรุงเทพฯ ส่วนที่เหลือได้น�ำใบเสมา บางส่วนกระจายไปยังวัดต่างๆ ทั่วทั้งอ�ำเภอดอนตาล

วัดอุดมนที บ้านนาห้วยกอก

เจดีย์พระอาจารย์เถื่อน ด้านล่างของวัดเวินไชย ติดริมฝัง่ แม่นำ�้ โขง พระอาจารย์เถือ่ น อิสสโร ท่านพิจารณาเห็นว่าสระใบนีม้ คี วามมหัศจรรย์ เป็นสระน�ำ้ ตามธรรมชาติมีมานานนับร้อยปี ปรากฏรูน�้ำทอดยาวขึ้น ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้โผล่กลางลานดินมีความกว้างของรูนำ�้ ประมาณหนึง่ ศอก ในช่วงฤดูฝนน�ำ้ จะไหลมายังปากรูไหลทะลุ ลงพืน้ ไปโผล่ยงั สระน�ำ้ ไหลตามช่องไปยังหินแม่ชา้ ง พระอาจารย์ เถือ่ น อิสสโร ท่านสันนิษฐานว่าเป็นรูพญานาคตามความเชือ่ ของคนลุ่มแม่น�้ำโขง

วัดด่านขุมค�ำ บ้านตาลใหม่

หาดหินวัดเวินไชย เป็นหาดหินพื้นที่ประมาณ 2 ไร่ ประกอบด้วยหมู่หินหลากหลายลักษณะ ด้านเหนือสุดมีหมู่หินขนาดใหญ่อยู่ประมาณ 3–6 ก้อน ตามต�ำนานเรียกว่า “หินแม่ช้าง” เป็นจุดเด่นส�ำคัญ ส่วนลานหินเป็นสถานที่ใช้ในการจัดงาน ประเพณีไหลเรือไฟประจ�ำปี และเป็นจุดชมวิวริมฝัง่ แม่นำ�้ โขงทีส่ วยงามจุดหนึง่ อ�ำเภอดอนตาลและจังหวัดมุกดาหารได้นำ� ชือ่ หาดหินวัดเวินไชยเป็นส่วนหนึง่ ในค�ำขวัญประจ�ำอ�ำเภอดอนตาลเพราะเป็นสถานที่ประวัติศาสตร์และ ที่ท่องเที่ยวที่สวยงาม

ประเพณีแข่งเรือประจ�ำปี บ้านนาห้วยกอก MUKDAHAN 139

.indd 139

13/03/61 08:54:14 AM


กระทรวงดิจิทัลฯ ลงนาม

MOU ICT สปป.ลาว

ยกระดับโครงสร้างพื้นฐานอุ ตสาหกรรมดิจิทัล

รั ฐ มนตรี ว ่ า การกระทรวงดิ จิ ทั ล เพื่ อ เศรษฐกิจและสังคม นายพิเชฐ ดุรงคเวโรจน์ เปิ ด เผยว่ า กระทรวงฯ ได้ ล งนามบั น ทึ ก ความเข้ า ใจด้ า นไปรษณี ย ์ โทรคมนาคม เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และ เทคโนโลยี ดิ จิ ทั ล ระหว่ า งกระทรวงฯ กั บ กระทรวงกิจการไปรษณีย์ โทรคมนาคม และ การสื่อสารแห่งสปป.ลาว เพื่อส่งเสริมและ พั ฒ นาความร่ ว มมื อ ในอุ ต สาหกรรมไอซี ที

และดิ จิ ทั ล รวมไปถึ ง การหารื อ เกี่ ย วกั บ ความร่วมมือทางด้านอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง (Broadband Internet) ในอนาคต ซึ่ ง สปป.ลาว สนใจที่ จ ะด� ำ เนิ น ความร่ ว มมื อ กับไทย ส่วนรูปแบบการท�ำงานร่วมกันมุง่ วิจยั และพั ฒ นานวั ต กรรมด้ า นไปรษณี ย ์ และ เทคโนโลยีดิจิทัล อีกทั้งอ�ำนวยความสะดวก ให้ แ ก่ ธุ ร กิ จ Start up ด้ า นไอซี ที และ เทคโนโลยีดิจิทัล

ส� ำ หรั บ ความร่ ว มมื อ ภายใต้ MOU ฉบับนี้ จะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อทั้งประเทศ ไทยและสปป.ลาว ในการส่งเสริมการค้า การ ลงทุน การแลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์ ด้ า นเทคนิ ค การขยายตลาด การพั ฒ นา ทรัพยากร รวมถึงการยกระดับด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ตลอดจนการกระชับ ความสั มพั น ธ์ ที่ ดี ร ะหว่า งไทยกับ สปป.ลาว ให้มากยิ่งขึ้น

140 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย AEC

.indd 140

13/03/61 09:04:48 AM


บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล

องค์การบริหารส่วนต�ำบล

โพธิ์ไทร วิสัยทัศน์

บ้านเมืองน่าอยู่ ชุมชนมีความเข้มแข็ง การเกษตรก้าวหน้า คุณภาพชีวิตก้าวไกล ผู้คนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน

สภาพทั่วไป

องค์การบริหารส่วนต�ำบลโพธิไ์ ทร ตัง้ อยูท่ ี่ ถนนมุกดาหาร - ดอนตาล หมูท่ ี่ 2 ต�ำบลโพธิไ์ ทร อ�ำเภอดอนตาล จังหวัดมุกดาหาร เป็น 1 ใน 7 ต�ำบล ในเขตอ� ำ เภอดอนตาล จั ง หวั ด มุ ก ดาหารที่ ไ ด้ รั บ การยกฐานะจาก สภาต�ำบลเป็นองค์การบริหารส่วนต�ำบลโพธิ์ไทร มีฐานะเป็นนิติบุคคล เมือ่ วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2540 มีแนวเขตด้านทิศตะวันออกติดกับแม่นำ�้ โขง ประเทศสาธารณรั ฐ ประชาธิ ป ไตยประชาชนลาว ห่ า งจากจั ง หวั ด มุกดาหาร ไปทางทิศเหนือระยะทาง ประมาณ 23 กิโลเมตร ประชากร ส่ ว นใหญ่ มี อ าชี พ ท� ำ นาเป็ น อาชี พ หลั ก และมี อ าชี พ รองคื อ ค้ า ขาย ท�ำสวนยางพารา สวนอ้อย และมันส�ำปะหลัง

นายอัครเดช ปานะวงค์ นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลโพธิ์ไทร

คณะผู้บริหารและพนักงาน สมาชิกหมู่บ้านโอทอป บ้านหนองหล่ม เจ้าหน้าที่ แหล่งอนุรักษ์พันธุ์ ไม้น�้ำ MUKDAHAN 141

.indd 141

13/03/61 08:57:27 AM


แหล่งท่องเที่ยวส�ำคัญ

หมูบ่ า้ นโอทอป(OTOP) เพือ่ การท่องเทีย่ ว บ้ า นหนองหล่ ม หมู ่ ที่ 3 ต� ำ บลโพธิ์ ไ ทร อ�ำเภอดอนตาล จังหวัดมุกดาหาร เป็นหมู่บ้าน OTOP เพือ่ การท่องเทีย่ วของจังหวัดมุกดาหาร โดยเฉพาะวิถภี ไู ท สายน�ำ้ วัฒนธรรมสองฝัง่ โขง บรรพบุรุษบ้านหนองหล่มดั้งเดิม ตั้งถิ่นฐาน

บ้านหนองหล่ม (Bannhonglom)

ความงดงาม แห่ ง อั ต ลั ก ษณ์ ชุ ม ชน บ้านหนองหล่ม เป็นหมู่บ้านที่ติดริมฝั่งโขง มีทศั นียภาพริมฝัง่ โขงทีส่ วยงาม สามารถล่องเรือ ชมทัศนียภาพริมสองฝั่งโขงที่สวยงาม อีกทั้ง ชมการเกษตรบนเกาะแก่ ง กลางแม่ น�้ ำโขง

อยู ่ ที่ วั ง อ่ า งค� ำ สาธารณรั ฐ ประชาธิ ป ไตย ประชาชนลาว ต่อมาเกิดความแห้งแล้ง ผู้คน จึงได้อพยพมาจนพบหนองน�้ำใหญ่แห่งหนึ่ง หนองน�้ ำ ใหญ่ แ ห่ ง นี้ มี ค วามอุ ด มสมบู ร ณ์ มี น�ำ้ ไหลตลอดปี อีกทัง้ สภาพโดยรอบเต็มไปด้วย ป่าไม้ พืชพันธุ์ธัญญาหาร ที่มีดินเหมาะแก่

การท�ำนาปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์ จึงได้ตกลง ตั้ ง ถิ่ น ฐานอยู ่ ใ กล้ ห นองน�้ำขนาดใหญ่แห่งนี้ เรี ย กชื่ อ ว่ า “ห้ ว ยหนองหล่ ม ” และตั้ ง ชื่ อ ตามแหล่ ง น�้ ำ อาศั ย ว่ า “บ้ า นหนองหล่ ม ” จนกระทั่งปัจจุบัน

ชมวิถชี วี ติ ชุมชนชาวบ้านพร้อมต้อนรับทุกท่าน ด้วยอัธยาศัยอันดีงามตามวิถีภูไทที่อบอุ่น และ มี วิ ท ยากรชุ ม ชนที่ พ ร้ อ มให้ ค วามรู ้ เ กี่ ย วกั บ วิถชี วี ติ ของคนริมฝัง่ โขง และน�ำชมกิจกรรมต่างๆ การท่องเที่ยวที่น่าสนใจ ไม่ว่าจะเป็น

การล่องเรือ ส่วนกลางคืนเป็น “พิธบี ายศรีสขู่ วัญ” รับประทานอาหารพาแลง รับชมล�ำผญา รับชม การแสดงดนตรีพนื้ บ้าน มีจำ� หน่ายสินค้า OTOP และยามรุ่งเช้าร่วมท�ำบุญตักบาตร พร้อมรับ บรรยากาศริมโขงที่สดชื่น

ผ้าห่มทอมือ เสื้อเย็บมือ ข้าวกล้อง ผลิตภัณฑ์จากเส้นพลาสติก เช่น ตะกร้าพลาสติก 142 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 142

13/03/61 08:57:35 AM


วัดมุจลินทร์ พระครูมุจลินทร์ พัฒนกิจ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าคณะต�ำบลโพธิ์ไทร และเจ้าอาวาส วัดมุจลินทร์ บ้านหนองหล่ม หมูท่ ี่ 3 ต.โพธิไ์ ทร อ.ดอนตาล จ.มุ ก ดาหาร ซึ่ ง ในส่ ว นราชการ พุทธศาสนิกชน นักเรียน และนักศึกษา สามารถ มาปฏิ บั ติ ธ รรม และประกอบกิ จ กรรมทาง พระพุทธศาสนาได้ตลอดเวลา

ปูชนียวัตถุส�ำคัญ

พระมุจลินทร์ พระพุทธรูปปูนปัน้ ปางนาคปรก ขนาดหน้าตัก 4 ศอก เป็นพระพุทธรูปเก่าแก่ มีอายุราวประมาณ 700 ปี ซึ่งเป็นพระพุทธรูป ศักดิส์ ทิ ธิป์ ระจ�ำหมูบ่ า้ นในการเคารพสักการบูชา และเป็นเครื่องยึดเหยี่ยวจิตใจประจ�ำหมู่บ้าน MUKDAHAN 143 .indd 143

13/03/61 08:57:40 AM


S P ECI A L I N T E R V IE W

บทบาทใหม่

ของนักกอล์ฟมืออาชีพ โปรเป้ อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์ ผันตัวเป็น “บรรณาธิการบริหารฝ่าย สื่อโฆษณาและออนไลน์” นิตยสาร ในนาม SBL บันทึกประเทศไทย เนื่องจากโลกยุคปัจจุบัน จะต้องเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงอย่าง รุนแรง ผลที่เกิดจากความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี โลกข้อมูลข่าวสาร เทคโนโลยีด้านการสื่อสารพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว ผมจึงเข้ามาช่วยดูแล ด้านนี้ เพื่อให้ธุรกิจด�ำเนินต่อไปอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด โปรเป้ อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์ เป็นนักกอล์ฟที่เข้าร่วมการ แข่งขัน ตาม tournament กอล์ฟเยาวชน มาตั้งแต่อายุ 10 ขวบ จนได้รับการ เทิ ร ์ น โปร เมื่ อ อายุ 18 ปี ถือว่า เป็น(โปร)กอล์ฟ ที่ มีอ ายุ น ้ อ ยที่ สุ ด ของประเทศไทย หลังจากนั้นโปรเป้จึงเข้าศึกษาต่อในโครงการกอล์ฟ ที่มหาวิทยาลัยรามค�ำแหงอย่างจริงจัง Guru กอล์ฟ

โปรเป้เข้าแข่งขันกอล์ฟในระดับอาชีพในต่างประเทศอยู่ 5 ปี นอกจากจะเป็นประสบการณ์ทดี่ ขี องนักกอล์ฟมืออาชีพแล้ว ยังได้รบั การ อบรมเทคนิคต่างๆมากมาย จากประสบการณ์ดังกล่าว โปรเป้จึงผันตัว ไปเป็น Guru สอนกอล์ฟอยู่ที่สถาบัน Wilding golf ซึ่งเป็นสถาบันที่ดี ทีส่ ดุ ของประเทศไทย (ในเวลานัน้ ) เป็นสถาบันกอล์ฟทีม่ อี ปุ กรณ์ทนั สมัย ล�้ำหน้า และโปร กอล์ฟ ระดับแนวหน้าของประเทศไทย ป ั จ จุ บั น โปรเป้ สอนและเซ็ ท ระบบการเรี ย นการสอนกอล์ ฟ อยู่ที่ โพธาลัย กอล์ฟปาร์ค ซึ่งถือว่าเป็นโครงการใหญ่และดีที่สุด ในเอเชีย 144 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย 4

.indd 144

12/3/2561 11:43:10


MUKDAHAN 145 4

.indd 145

12/3/2561 11:43:11


ดูแลพัฒนาองค์ก ร ให้ กับ นิตยสาร SBL บั น ทึ กประเทศไทย

หลังจากจัดสรรเวลาการสอนกอล์ฟลงตัว ปั จ จุ บั น โปรเป้ ไ ด้ เ ข้ า มาช่ ว ยคุ ณ พ่ อ ศุ ภ กิ จ ศิลปรังสรรค์ ดูแลภาพรวมด้านการพัฒนา องค์กรให้กับนิตยสาร SBLบันทึกประเทศไทย เนือ่ งจากโลกปัจจุบนั เทคโนโลยีดา้ นการสือ่ สาร พัฒนาไปอย่างรวดเร็ว โปรเป้จงึ เข้ามาช่วยดูแล ด้ า นนี้ เพื่ อ ให้ ธุร กิ จ ด� ำ เนิ น ต่ อ ไปอย่ า งมี ประสิทธิภาพสูงสุด เช่น การพัฒนา Facebook Fan Page และ Website สื่อระบบออนไลน์ ของนิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย ให้มคี วาม สวยงาม ถ่ายท�ำ Video present (ation) น�ำเสนอภาพรวมของแต่ละจังหวัดและผู้ว่า ราชการจังหวัด ทั่วประเทศ ด้วยการสร้างทีม งานท�ำสื่อ Video ระดับมืออาชีพ เพื่อผลงานที่ มีคุณภาพและประสิทธิภาพ

นอกจากการพัฒนาระบบภายในองค์กรแล้ว โปรเป้ยงั ลงพืน้ ทีเ่ พือ่ น�ำเสนอโครงการให้กบั จังหวัด ต่างๆทั่วประเทศด้วยตัวเอง เพื่อรับทราบความต้องการ การประชาสัมพันธ์ของแต่ละจังหวัด ซึ่ง ก็ได้การตอบรับเป็นอย่างดี

146 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย 4

.indd 146

12/3/2561 11:43:14


อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์ (โปรเป้) • โปรประจ�ำนิตยสาร sbl magazine • โปรประจ�ำ Phothalai Golf Academy ที่สนามไดร์ฟกอล์ฟโพธาลัย เลเชอร์ ปาร์ค (สนามไดร์ฟกอล์ฟอันดับ1ในเอเชีย) • Thai PGA Professional Tour Player • Trackman Trained Instructor • Swing Catalyst Certified Instructor • Golf Swing Analysis Expert Facebook: Akkarapong Sil aparungson (Pro Pae) Page: Golf Swing by Pro Pae Page: Golf Coach by Pro Pae, Pro Pug โทรศัพท์ 088 - 0464444

MUKDAHAN 147 4

.indd 147

12/3/2561 11:43:15


บันทึกเส้นทางพบอ�ำเภอ

นายปิ ติณัช นิธิศธานี นายอ�ำเภอหว้านใหญ่

อ�ำเภอหว้านใหญ่

ค�ำขวัญ

แดนพระพุทธรูปงาช้าง พระปางนอนไสยาสน์ หาดมโนรมย์เพลินตา โสภาแก่งกะเบา

ประวัติความเป็นมา

เมื่อปี พ.ศ.2222 บรรพบุรุษของชาวหว้านใหญ่ ได้อพยพมาจาก เมืองมหาชัย ดินแดนลาว ข้ามแม่น�้ำโขงมาถึงต�ำบลซึ่งเคยเป็นถิ่นที่อยู่ ของชนเผ่าข่า เห็นว่ามีท�ำเลเหมาะสมจึงสร้างบ้านเรือนรอบๆ สวนว่าน ของชาวเผ่ า ข่ า เดิ ม และเรี ย กชื่ อ ว่ า “ว่ า นใหญ่ ” ตามลั ก ษณะของ สวนว่านที่มีขนาดใหญ่ มีฐานะเป็นหมู่บ้านและเป็นต�ำบลขึ้นกับเมือง มุกดาหารและต่อมา เมื่อเปลี่ยนแปลงรูปแบบการปกครองหัวเมือง จึงได้ไปขึ้นกับอ�ำเภอมุกดาหาร จังหวัดนครพนม “หว้านใหญ่” เป็น กิ่งอ�ำเภอ เมื่อวันที่ 20 กันยายน พ.ศ.2520 และยกฐานะเป็นอ�ำเภอ เมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ.2535 148 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 148

13/03/61 08:58:03 AM


สถานที่ท่องเที่ยวส�ำคัญ อาคารที่ว่าการอ�ำเภอหว้านใหญ่ หลังเดิม (อาคารเก่าทรงยุโรป 2 ชั้น) เป็นอาคารก่ออิฐถือปูน หลังใหญ่สขี าว 2 ชัน้ สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2467 แล้วเสร็จเมื่อปี พ.ศ.2470 ได้ รั บ อิ ท ธิ พ ลจากตะวั น ตก อาคารมีลักษณะซุ้มโค้ง (Arch) สวยงาม ตลอดทัง้ ชัน้ บนและชัน้ ล่าง เหนือซุม้ บางแห่ง มีปนู ปัน้ รูปเทพพนมอยูข่ า้ งบน หน้าอาคาร มีรูปสิงห์ 2 ตัวตั้งอยู่ อาคารหลังนี้เคยใช้ เป็นที่ว่าการกิ่งอ�ำเภอหว้านใหญ่ เมื่อปี พ.ศ. 2520 ดังที่ปรากฏรูปครุฑปูนปั้นอยู่ หน้าบันของอาคาร

ที่ ว่ า การอ� ำ เภอหว้ า นใหญ่ ห ลั ง เก่ า

วั ด พระศรี ม หาโพธิ์ ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 1 บ้านหว้านใหญ่ ต�ำบลหว้านใหญ่ อ�ำเภอหว้านใหญ่ จังหวัดมุกดาหาร ห่างจากทีว่ า่ การอ�ำเภอประมาณ 5 กิโลเมตร ภายในบริเวณวัดประกอบด้วย ท่าเสด็จ เมื่ อ ปี พ.ศ.2449 สมเด็ จ กรมพระยาด� ำ รง ราชานุภาพ เสด็จตรวจราชการมณฑลอีสาน ทรงประทับแรมที่หว้านใหญ่ ชาวหว้านใหญ่ จึง เรียกบริเวณดังกล่าวว่า “ท่าเสด็จ”

อนุ ส รณ์ ส ถานท่ า นหนู ฮั ก พู มสะหวั น

อนุสรณ์สถานท่านหนูฮัก พูมสะหวัน ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นพาลุกา ต�ำบลชะโนด อ�ำเภอหว้านใหญ่ จังหวัดมุกดาหาร ท่านหนูฮัก พูมสะหวัน อดีต ประธานประเทศลาว และอดีตหนึ่งในผู้ร่วม ก่อตั้งพรรคประชาชนปฏิวัติลาว ท่านเกิดที่ บ้านพาลุกา แขวงเมืองมุกดาหาร (ปัจจุบนั ขึน้ กับ ต�ำบลชะโนด อ�ำเภอหว้านใหญ่ จังหวัดมุกดาหาร) ท่านด�ำเนินชีวิตที่หว้านใหญ่ และเรียนหนังสือ จนจบการศึกษาชั้นต้นที่หว้านใหญ่ ก่อนจะ ย้ายไปตั้งถิ่นฐานที่เมืองคันธบุรี ประเทศลาว ในช่วงวัยหนุ่ม ปัจจุบันบ้านเดิมของหนูฮักที่ พาลุ ก า ยั ง คงเหลื อ เสาบ้ า นเพี ย งเสาเดี ย ว เป็นอนุสรณ์

แก่ ง กะเบา

แก่งกะเบา เป็นแก่งหินยาวเหยียดตาม ล�ำน�้ำโขง บนฝั่งก็ยังมีลานหินกว้างใหญ่เป็นที่ พักผ่อนได้อย่างดี ในฤดูแล้งน�้ำลดจนเห็นเกาะ แก่งกลางน�้ำ และหาดทรายสวยกว่าฤดูอื่นๆ บริเวณริมแก่งกระเบามีรา้ นอาหารตัง้ อยู่ อาหาร พื้นเมืองที่ขึ้นชื่อของที่น่ี คือ หมูหัน ซึ่งมีรสชาติ อร่อยตามแบบฉบับสูตรเด็ดของท้องถิ่น

อุ โ บสถ(สิ ม ) เก่ า ได้ ส ร้ า งขึ้ น เมื่ อ ปี พ.ศ.2459 เป็นแบบกึ่งโถงผสมก่อผนัง มีขนาด 5 ช่วงเสา หัวเสาเป็นปูนปั้นรูปกลีบบัว คันทวย ไม้แกะสลักรูปพญานาค องค์ประกอบของฝ้า เพดานและขื่อคานเป็นงานไม้แกะสลักลวดลาย พรรณพฤกษา ภายในมี จิ ต รกรรมฝาผนั ง (ฮูปแต้ม) เรื่องเวสสันดรชาดก ภายนอกวาด เป็ น รู ป ราหู ที่ ฝ าผนั ง ด้ า นเหนื อ และรู ป นก บนฝาผนังด้านทิศใต้ นอกจากนี้ภายในยังมี พระพุ ท ธรู ป ปางมารวิ ชั ย ตั้ ง อยู ่ บ นฐานชุ ก ชี ประดิษฐานภายในช่องเว้าของผนัง

วั ด พระศรี ม หาโพธิ์

MUKDAHAN 149 .indd 149

13/03/61 08:58:07 AM


บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดไตรภูมิ พระครูศรีอุดมวาปีคณารักษ์ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดไตรภูมิ และเจ้าคณะอ�ำเภอหนองสูง ประวัติความเป็นมา

วัดไตรภูมิ เดิมชื่อว่า “วัดเตยยะภูมิ” ตั้งอยู่ เลขที่ ๘๖ หมูท่ ี่ ๗ บ้านหนองสูง ต�ำบลหนองสูงเหนือ อ�ำเภอหนองสูง จังหวัดมุกดาหาร สังกัดคณะสงฆ์ มหานิกาย คณะสงฆ์ภาค ๑๐ วัดไตรภูมิสร้างขึ้น เมื่อประมาณปี พ.ศ.๒๓๘๗ ในยุคเดียวกันกับ การตั้งเมืองหนองสูง พระไกรสรราช (สิงห์) ผู ้ เ ป็ น เจ้ า เมื อ งองค์ แรกพร้ อ มด้ ว ย เจ้ า นาย กรมการเมืองและชาวบ้านได้พร้อมใจกันสร้างขึน้ โดยมีอัญญาคูไตย (พระไตร) เป็นผู้น�ำชาวบ้าน หั ก ร้ า งถางพงป่ า บริ เวณใกล้ กั น กั บ หนองแวง

(ปัจจุบันเรียกว่า หนองสูง) เมื่อสร้างขึ้นเป็นวัด ชาวเมืองจึงเรียกวัดนี้ว่า “วัดไตรภูมิ” และเพื่อ เป็นอนุสรณ์แด่พระไตย (พระไตร) ทีร่ เิ ริม่ สร้างวัด ดังกล่าว ภายหลังจากที่พระไตร ได้เป็นผู้น�ำในการ สร้างวัดแล้ว ก็ด�ำรงต�ำแหน่งเป็นเจ้าอาวาสวัด เรื่อยมาจนถึงกาลมรณภาพ และนับแต่สร้างวัด มามีพระภิกษุสามเณรเข้ามาอยู่จ�ำพรรษา ศึกษา เล่าเรียน ปฏิบัติธรรมไม่เคยขาดแม้พรรษาเดียว จวบจนถึงปัจจุบัน

พระครูปภากรวิโรจน์ (หลิม ปภากโร) อดีตเจ้าอาวาส

150 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 150

09/03/61 04:57:41 PM


ล�ำดับเจ้าอาวาสวัด

พระไตร พ.ศ. ๒๓๘๗ - ๒๔๔๖ พระหลักค�ำ “อัญญาคูหลักค�ำ” พ.ศ. ๒๔๖๖ - ๒๔๗๒ พระบัวค�ำ “อัญญาคูบัวค�ำ” พ.ศ. ๒๔๗๒ - ๒๔๘๒ พระพรหม “อัญญาคูพรหม” พ.ศ. ๒๔๘๒ - ๒๔๙๘ พระเถา พ.ศ. ๒๔๙๘ - ๒๕๐๐ พระเลย พ.ศ. ๒๕๐๐ - ๒๕๐๓ พระท่อน พ.ศ. ๒๕๐๓ - ๒๕๐๕ พระอธิการกล้วย ญาณวีโร พ.ศ. ๒๕๐๕ - ๒๕๑๖ พระครูปภากรณ์วิโรจน์ (หลิม ปภากโร ปัททุม) พ.ศ.๒๕๑๖ - ๒๕๔๒ และด�ำรงต�ำแหน่งเป็นเจ้าคณะอ�ำเภอหนองสูงรูปแรก พ.ศ.๒๕๓๙ - ๒๕๔๒ พระครูศรีอดุ มวาปีคณารักษ์ (พระมหาพงศกร กตปุญโฺ ญ แข็งแรง ป.ธ. ๖ น.ธ.เอก ม.๖ พระมหาอภิธรรมิกโท) เป็นเจ้าอาวาส และเจ้าคณะอ�ำเภอ รูปที่ ๒ พ.ศ.๒๕๔๓ - ปัจจุบัน พระครูศรีอุดมวาปีคณารักษ์ (พระมหาพงศกร กตปุญฺโญ) ด�ำรงต�ำแหน่งเป็นเจ้าอาวาสวัดไตรภูมิ เมื่อวันที่ ๒๙ พฤษภาคม ๒๕๔๓ และด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าคณะอ�ำเภอหนองสูง เมื่อวันที่ ๒๘ กันยายน ๒๕๔๓ - ปัจจุบัน

พระไกรสรราช เจ้าเมืองหนองสูงคนแรก

หลวงพ่อทองสูง MUKDAHAN 151

.indd 151

09/03/61 04:57:51 PM


ประวัติพระศรีอุดมวาปีคณารักษ์ ฉายา กตปุญฺโญ

(พงศกร แข็งแรง) อายุ ๕๙ พรรษา ๓๘ โทรศัพท์ ๐-๙ ๑๗๘๙ ๙๖๒๐ ชาติภูมิ เกิดเมื่อวันที่ ๑๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๐๒ บ้านเลขที่ ๑๙ บ้านส้มป่อย หมู่ที่ ๒ ต.นาสีนวน อ.เมืองมุกดาหาร จ.มุกดาหาร เป็น บุตรของ นายชู และนางพี แข็งแรง บรรพชา ๒๘ พฤษภาคม ๒๕๒๐ ที่วัดศรีบุญเรือง ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมืองมุกดาหาร จังหวัดมุกดาหาร มี พระครูอุดมธรรมรักษ์ พระราชมุกดาหารคณี อดีตเจ้าคณะจังหวัดมุกดาหาร วัดศรีมงคลใต้ พระอารามหลวง เป็นพระอุปัชฌาย์ อุปสมบท ๘ เมษายน ๒๕๒๓ ทีว่ ดั โพธิศ์ รี บ้านส้มป่อย ต�ำบลนาสีนวน อ� ำ เภอเมื อ งมุ ก ดาหาร จั ง หวั ด มุ ก ดาหาร พระครู ม งคลมุ ก ดาหาร วัดศรีมงคลใต้ (เจ้าคณะอ�ำเภอเมืองมุกดาหาร อดีตเจ้าคณะจังหวัด มุกดาหาร และที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดมุกดาหาร) เป็นพระอุปัชฌาย์ มีพระครูมงคลเกษมกิจ เป็นพระกรรมวาจาจารย์ พระอธิการบัวผัน ปสนฺนจิตฺโต เป็นพระอนุสาวนาจารย์ การศึ ก ษา นักธรรมชั้นเอก ที่วัดเขาพุทธโคดม อ�ำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี ป.ธ.๖ ที่วัดวิเศษการ แขวงบ้านช่างหล่อ เขตบางกอกน้อย กรุงเทพฯ ส�ำนักเรียนวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฏิ์ มหาอภิธรรมิกโท ที่ วัดเขาพุทธโคดม อ�ำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี ม.๖ เทียบกรมวิชาการ กรุงเทพมหานคร งานการปกครอง พ.ศ.๒๕๔๓ ได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาสวัดไตรภูมิ บ้านหนองสูง หมู่ที่ ๗ ต�ำบลหนองสูงเหนือ อ�ำเภอหนองสูง จังหวัด มุ ก ดาหาร เป็ น เจ้ า คณะต� ำ บลหนองสู ง อ� ำ เภอหนองสู ง จั ง หวั ด มุกดาหาร เป็นเจ้าคณะอ�ำเภอหนองสูง จังหวัดมุกดาหาร พ.ศ.๒๕๔๔ เป็นพระอุปัชฌาย์ ปัจจุบัน ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดไตรภูม,ิ เจ้าคณะอ�ำเภอหนองสูง และ พระอุปัชฌาย์ งานสาธารณูปการ พ.ศ.๒๕๔๔ - ๒๕๔๒ สร้างห้องน�้ำภายในวัดจ�ำนวน ๑๘ ห้อง หอระฆัง ๑ หลัง โรงครัว ๑ หลัง ศาลาบ�ำเพ็ญกุศล ๒ หลัง ห้องน�้ำห้องสุขาที่เมรุ ๖ ห้อง กุฏิรับรองพระเถระ และ ส�ำนักงานเจ้าคณะอ�ำเภอ ๑ หลัง ชุ้มประตูวัดทั้ง ๓ ด้าน ปัจจุบันก�ำลังก่อสร้างอุโบสถหลังใหม่ งานบูรณปฏิสังขรณ์ พ.ศ.๒๕๔๓ - ๒๕๖๑ บูรณะศาลาการเปรียญชั้นล่าง และชั้นบน ๑ หลัง กุฏิสงฆ์ ๒ หลัง อาคารเอนกประสงค์ ๒ หลัง ถนนคอนกรีตเสริมเหล็กรอบวัด ปรับปรุงบริเวณวัดให้ร่มรื่น 152 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 152

09/03/61 04:58:00 PM


บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดโพธิ์ศรีแก้ว พระครูสิทธิสารธรรม ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส และ เจ้าคณะอ�ำเภอชั้น (พิเศษ) ประวัติความเป็นมา

วัดโพธิ์ศรีแก้ว ตั้งอยู่เลขที่ ๒ หมู่ที่ ๕ บ้าน ก้านเหลืองดง ต�ำบลหนองแคน อ�ำเภอดงหลวง จังหวัดมุกดาหาร ก่อสร้างแล้วเสร็จเมื่อ พ.ศ. ๒๓๓๙ โดยมีท่านญาครูอรุณ จารูธัมโม และ กลุ่มขุนศรีสงคราม กลุ่มเจ้านุลี ซึ่งอพยพมา จากเมืองวัง เมืองค�ำอ้อ ประเทศสาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว เป็นผู้น�ำในการ สร้างวัด แล้วตั้งชื่อว่า “วัดอรุณสี” ในปี พ.ศ. ๒๓๕๘ ขุนศรีสงคราม ได้น�ำต้นโพธิ์มาจาก เมืองวัง ซึ่งเป็นต้นโพธิ์จากอินเดียมาปลูกที่วัด จึ ง ได้ เ ปลี่ ย นชื่ อ ของขุ น ศรี ส งครามและชื่ อ ต้นโพธิ์รวมกัน ให้ชื่อว่า “วัดโพธิ์ศรีแก้ว”

ประกาศยกให้ เ ป็ น วั ด ถู ก ต้ อ งตามกฎหมาย เมื่อ พ.ศ.๒๔๓๘ ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ ๗ ได้ มีพระบรมราชทานวิสุงคามสีมาครั้งแรกเมื่อ วั น ที่ ๒๔ สิ ง หาคม พ.ศ.๒๔๕๖ เขต วิสุงคามสีมายาว ๔ วา กว้าง ๒ วา ๑ ศอก โดยมีพระอธิการอุบาฬิ กราบบังคมทูลพระ กรุณาขอเป็นที่สุงคามสีมา ครั้งที่ ๑ ต่อมาเมื่อวันที่ ๒๗ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๔๕ ในสมัยรัชกาลที่ ๙ ได้มีพระบรมราชโองการ พระราชทานวิ สุ ง คามสี ม า ครั้ ง ที่ ๒ เขต วิสุงคามสีมา กว้าง ๓๐ เมตร ยาว ๗๐ เมตร โดยมีพระครูสิทธิสารธรรม กราบบังคมทูล

พระกรุณาขอเป็นที่สุงคามสีมา ครั้งที่ ๒ วัดโพธิ์ศรีแก้ว เป็นวัดระดับวัดชุมชน เป็น วั ด เจ้ า คณะอ� ำ เภอดงหลวง เป็นศูนย์กลาง ด�ำรงพุทธศาสนา ให้บริการชาวพุทธ เป็นสถานที่ อบรมศีลธรรมแก่เยาวชน เป็นทีพ่ กั ผ่อนหย่อนใจ ของประชาชน เป็นสถานธรรมประกอบกิจ ร่วมกันของชุมชน เป็นศูนย์รวมใจจัดเทศกาล งานต่างๆ ของชุมชน เป็นที่ประชุมชนของ หน่วยงานข้าราชการต่างๆ ส่งเสริมสืบสาน ประเพณีวัฒนธรรม และอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อม ในชุมชน

MUKDAHAN 153 .indd 153

09/03/61 05:10:55 PM


เสนาสนะส�ำคัญ

อุโบสถ ๒ หลัง เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก มีความเป็น เอกลักษณ์เฉพาะตัวคือ ทรงภูไทบ้านก้านเหลืองดง กุฏิสงฆ์ ๓ หลัง เป็นอาคารไม้ และ คอนกรีตเสริมเหล็ก ศาลาการเปรียญ สร้างเมื่อ พ.ศ.๒๕๒๒ - ๒๕๒๓ เป็นอาคาร คอนกรีตเสริมเหล็ก อาคารศูนย์การเรียนรู้ชุมชน ต�ำบลหนองแคน และมีโรงครัว จ�ำนวน ๑ หลัง ห้องน�้ำทั้งหมด ๒๐ ห้อง

ปูชนียวัตถุที่ส�ำคัญ

สิมเก่า หรือ พระอุโบสถ วัดโพธิศ์ รีแก้ว เป็นสิมเก่าแก่ศิลปะอีสาน สร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๔๓๑ กว้าง ๔ เมตร ยาว ๖ เมตร เป็นอาคาร ปูนผสมไม้แกะสลักทรงทึบผนังปูนปั้นลายนูน ประดับกระจก กระจายรอบอาคาร สิมใหม่ เขตวิสงุ คามสีมา กว้าง ๓๐ เมตร ยาว ๗๐ เมตร อาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ล�ำดับเจ้าอาวาสวัด ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗. ๘. ๙.

เอกลักษณ์เฉพาะภูไท สีขาว ประวัติการสร้าง พระอุโบสถหลังใหม่ เนื่องจากอุโบสถหลังเก่า คับแคบ ท�ำให้เกิดความล�ำบากแก่พระสงฆ์ ในการประกอบพิ ธี สั ง ฆกรรม เมื่ อ พ.ศ. ๒๕๔๓ ได้มีมหาอุโบสก ผศ.ดร.สาโรช ธีรศิลป ผู ้ เ ป็ น ทานปั จ จั ย ในการสร้ า ง ซึ่ ง มี ศ รั ท ธา อั น แรงกล้ า ในพระพุ ท ธศาสนาพร้ อ มคณะ สร้ า งตามรู ปแบบของสิ มอี ส านเพื่ อ สื บทอด

ญาทานอรุณ จารุธมฺโม ญาทานค�ำ ไม่ทราบฉายา ญาทานสีชม ไม่ทราบฉายา ญาทานบุญมี ไม่ทราบฉายา ญาครูอุปัชฌาย์ทาน ไม่ทราบฉายา พระอธิการอุบาฬี จันทูปโม พระครูพิทักษ์นวเขต (โอ เขมิโย) พระอธิการแคงมา ระตะนะโชโต พระครูสิทธิสารธรรม (บุญท้าว เตชะมโม) และด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าคณะอ�ำเภอดงหลวง

ศิลปวัฒนธรรมชาวอีสานสืบไป จึงได้ประกอบพิธีวางศิลาฤกษ์ เมื่อวันที่ ๖ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๔๓ ลงมือก่อสร้างเมื่อ ปลายปี พ.ศ.๒๕๔๓ การก่อสร้างด�ำเนินไป อย่างต่อเนือ่ ง จนแล้วเสร็จเมือ่ ต้นปีพ.ศ.๒๕๔๖ พิธีฉลองอุโบสถ ผูกสีมาฝังลูกนิมิต เมื่อวันที่ ๑๗ - ๒๓ มกราคม พ.ศ.๒๕๔๗

ด�ำรงต�ำแหน่ง พ.ศ.๒๓๓๙ - ๒๓๕๘ ด�ำรงต�ำแหน่ง พ.ศ.๒๓๕๙ - ๒๓๗๐ ด�ำรงต�ำแหน่ง พ.ศ.๒๓๗๑ - ๒๔๐๕ ด�ำรงต�ำแหน่ง พ.ศ.๒๔๐๖ - ๒๔๔๐ ด�ำรงต�ำแหน่ง พ.ศ.๒๔๔๑ - ๒๔๗๒ ด�ำรงต�ำแหน่ง พ.ศ.๒๔๗๓ - ๒๔๘๙ ด�ำรงต�ำแหน่ง พ.ศ.๒๔๙๐ - ๒๕๔๐ ด�ำรงต�ำแหน่ง พ.ศ.๒๕๔๐ - ๒๕๔๑ ด�ำรงต�ำแหน่ง พ.ศ.๒๕๔๑ - ปัจจุบัน ตั้งแต่ พ.ศ.๒๕๔๑ - ปัจจุบัน

154 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 154

09/03/61 05:11:00 PM


ประวัติเจ้าอาวาส

ชื่ อ (สมณศั ก ดิ์ ) พระครู สิ ท ธิ ส ารธรรม เจ้ า คณะอ� ำ เภอชั้ น (พิ เ ศษ) ชื่อ (เดิม) พระบุญท้าว ฉายา เตชธมฺโม นามสกุล เหง้าโอสา อายุ ๕๕ ปี พรรษา ๓๔ วุฒิการศึกษา นักธรรมเอก ทางโลก ปริญญาโท พุทธศาสตร์ มหาบัณฑิต สาขาพระพุทธศาสนา จากมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย หน้าที่การงานที่รับผิดชอบในปัจจุบัน พ.ศ.๒๕๓๗ ด�ำรงต�ำแหน่ง พระอุปัชฌาย์ พ.ศ.๒๕๔๐ ด�ำรงต�ำแหน่ง เจ้าคณะอ�ำเภอดงหลวง พ.ศ.๒๕๔๑ ด�ำรงต�ำแหน่ง เจ้าอาวาสวัดโพธิ์ศรีแก้ว พ.ศ.๒๕๕๑ ด�ำรงต�ำแหน่ง ประธานศูนย์ศกึ ษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ ผลงานรางวัล พ.ศ.๒๕๕๒ รางวัลชนะเลิศ “วัดส่งเสริมสุขภาพ” จากกรมอนามัย พ.ศ.๒๕๕๒ ประกาศเกียรติคุณ จาก ส�ำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ชนะเลิศอันดับ ๑ วัดส่งเสริมสุขภาพดีเด่น ระดับจังหวัด พ.ศ.๒๕๕๙ โล่เชิดชูเกียรติผู้ท�ำคุณประโยชน์ต่อกระทรวงวัฒนธรรม จากกระทรวง วัฒนธรรม

MUKDAHAN 155 .indd 155

09/03/61 05:11:02 PM


บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดโพนไฮพัฒนาราม ประวัติความเป็นมา

วัดโพนไฮพัฒนา เลขที่ ๑๑๓ หมู่ที่ ๓ บ้ า นโพนไฮ ต.หนองแคน อ.ดงหลวง จ.มุ ก ดาหาร สั ง กั ด คณะสงฆ์ ม หานิ ก าย มี ท่ี ดิ น ตั้ ง วั ด ๑๑ ไร่ ๓ งาน ๕๕ ตรว. อยูห่ า่ งจาก ก.ท.ม. ๖๕๐ กม.ใช้เวลาเดินทาง จากก.ท.ม.ประมาณ ๘ ชั่วโมง ๑๘ นาที อยู่ ห่างจากตัวจังหวัด ๔๖.๘ กม ใช้เวลาเดินทาง ตัวจังหวัดประมาณ ๔๘ นาที อยู่ห่างจาก ตัวอ�ำเภอ ๑๔.๓ กม. ใช้เวลาเดินทางจาก ตัวอ�ำเภอประมาณ ๑๗ นาที ได้รับประกาศ ตั้ ง วั ด ในพระพุ ท ธศาสนา วั น ที่ ๒๘ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๕๓ ได้รับพระราชทาน วิสุงคามสีมา วันที่ ๘ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ ผู ้ ริ เริ่ ม ในการสร้ า งวั ด ฝ่ า ยสงฆ์ พ ระ อาจารย์ ห ลวงพ่ อ ทองใบ จรณธมฺ โ ม วัดนาคปรก กรุงเทพฯ พระหวา ยโสธโร หัวหน้าที่พักสงฆ์ ฝ่ายคฤหัสถ์ นายสุพร วงศ์กระโซ่ อดีตผู้ใหญ่บ้านโพนไฮ พร้อม ชาวบ้านโพน ชาวกรุงเทพมหานคร และ ชาวจังหวัดนนทบุรีร่วมกันสร้างขึ้น

เสนาสนะถาวรวัตถุ

กุฏิทรงไทย ๔ หลัง ศาลาการเปรียญทรงไทย

อุโบสถทรงไท วิหารหลวงพ่อพระพุทธโสธร

พระพุทธรูปและอื่นๆ ที่ส�ำคัญในวัด

พระพุทธสินราช พระสิวลี หลวงพ่อ พระพุทธโสธร พระศุกร์ พระใส พระพุทธ ชินสีห์ พระพุทธประธานคันธาราช พระศรี ศาสดา พระพุ ท ธสิ หิ ง ค์ พระพุ ท ธชยั น ตี ศรีโพนไฮ พระอุปคุต พระพุทธรูหินอ่อน ธรรมจั ก รหิ น แกรนิ ต พระโมคคั ล ลานะ บุ ษ บกทอง บรรจุ พ ระบรมสารี ริ ก ธาตุ รู ป เหมื อ นพระ อาจารย์ ห ลวงพ่ อ ทองใบ จรณธมฺโม พระผงเหรียญพระพุทธชินศรี โพนไฮ สร้างขึ้นเนื่องในงานฉลองอุโบสถ

ศีลธรรมในโรงเรียน ผ่านการอบรม เป็น พระวิปัสสนาจารย์ ประจ�ำจังหวัดมุกดาหาร ด�ำรงต�ำแหน่งทางคณะสงฆ์ เป็น เจ้าอาวาสวัดโพนไฮพัฒนาราม และเป็น เลขานุการเจ้าคณะอ�ำเภอดงหลวง

ประวัติเจ้าอาวาส

พระอธิการอนุพงศ์ อุตฺตโม อายุ ๔๑ ปี พรรษา ๒๐ วิทยฐานะทางธรรม น.ธ.เอก วิ ท ยฐานะทางโลก ปริ ญ ญาตรี พุทธศาสตร์บัณฑิต สาขาพระพุทธศาสนา มหาวิ ท ยาลั ย จุ ฬ าลงกรณราชวิ ท ยาลั ย ปริญญาโท รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี การศึกษาพิเศษ ผ่านการอบรม เป็น พระวิทยากรกองทัพธรรมกองทัพไทยต้าน ภัยยาเสพติด, ผ่านการอบรม เป็นพระสอน

เจ้าอาวาสวัดโพนไฮพัฒนาราม

156 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 156

12/03/61 10:07:56 AM


พระศุกร์

พระใส

พระพุทธชินสีห์

พระพุทธประธานคันธาราช

ศาลาการเปรียญทรงไทย

พระศรีศาสดา

พระพุทธสิหงิ ค์

จิตรกรรมฝาผนังทศชาติชาดก

วิหารหลวงพ่อพระพุทธโสธร

ธรรมจักรหินแกรนิต

พุทธชยันตีศรีโพนไฮ หลวงพ่อทันใจ

พระอุปคุต

พระสิวลี

พระพุทธสินราช

พระพุทธรูปหินอ่อน MUKDAHAN 157

.indd 157

12/03/61 10:08:04 AM


บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

หลวงพ่อพระเจ้าใหญ่

สิมโบราณ

วัดศรีบุญเรือง เลขที่ ๔๓ หมู่ที่ ๑ บ้านชะโนด ต�ำบลชะโนดน้อย อ�ำเภอดงหลวง จังหวัดมุกดาหาร ๔๙๑๔๐

ศาลาโรงธรรม และกลุ่มชนเผ่าผู้ ไท

บุรพาจารย์ วัดศรีบุญเรือง

เจ้าอาวาสวัดศรีบุญเรือง

158 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 158

12/03/61 10:23:05 AM


บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

เจดีย์หลวงปู่ผา

วัดศรีมงคล เลขที่ ๒๕ หมู่ที่ ๑ บ้านหนองบัว ต�ำบลหนองบัว อ�ำเภอดงหลวง จังหวัดมุกดาหาร ๔๙๑๔๐

วิหารโบราณ

โปงไม้โบราณ

เจ้าอาวาสวัดศรีมงคล

หอแจก MUKDAHAN 159

.indd 159

12/03/61 10:35:42 AM


บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

บุรพาจารย์วัดโพธิ์ชัย

กุฏิโบราณ

วัดโพธิ์ชั ย เลขที่ ๑๑๖ หมูท่ ี่ ๒ บ้านหนองหนาว ต�ำบลหนองบัว อ�ำเภอดงหลวง จังหวัดมุกดาหาร ๔๙๑๔๐

พระครูโพธิชัยกิจ

โรงอุโบสถ

เจ้าคณะต�ำบลหนองบัว

160 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 160

12/03/61 10:13:41 AM


บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

อุโบสถไม้ทรงไทย

วัดบุ ปผาราม เลขที่ ๒๕ หมู่ที่ ๑ บ้านหนองบัว ต�ำบลหนองบัว อ�ำเภอดงหลวง จังหวัดมุกดาหาร ๔๙๑๔๐

ศาลาการเปรียญไม้ทรงไทย

ช้างไม้ โบราณ

พระครูสุคนธสังฆวิสุทธิ์

บุรพาจารย์แห่งวัดบุปผาราม

MUKDAHAN 161 .indd 161

12/03/61 10:15:37 AM


Ad 2

.indd 162

9/3/2561 17:44:51


ก้าวเข้าสู่ปีที่ 9

บั น ทึ ก ประเทศไทย ถือเป็นแหล่งข้อ มู ล อ้ า งอิ งได้ อ ย่ า งสมบู ร ณ์ โดยให้ ร ายละเอี ยดข้ อมู ลอย่ า งครบถ้ ว น สมบู ร ณ์ และถู กต้ อง พร้อมรู ป ภาพจากสถานที่จริ ง ณ ปั จจุ บัน ล้ ว นได้ ถูกบั นทึ กเอาไว้ แล้ ว ในหนั ง สื อเล่ มนี้ !

Ad 2

.indd 163

9

th

ANNIVERSARY ISSUE

9/3/2561 17:45:10


วัดพุ ทโธธัมมธโร (ภูดานแต้) เลขที่ ๑๓๙ หมู ่ท่ี ๑ บ้านชั ยมงคล ต�ำบลโชคชั ย อ�ำเภอนิคมค�ำสร้อย จังหวัดมุ กดาหาร

164 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย .indd 164

12/03/61 10:05:47 AM


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.