ฉบับที่ 67 จังหวัดก�ำแพงเพชร พ.ศ. 2561
Magazine
เมืองท่องเที่ยวมรดกโลก
KAMPHAENG
PHET
EXCLUSIVE
นายธัชชัย สีสุวรรณ ผู้ว่าราชการจังหวัดก�ำแพงเพชร “การบริหารบ้านเมืองจะไปได้ดี ต้องอาศัยความปรองดองสมานฉันท์”
SPECIAL INTERVIEW
นายไพโรจน์ แก้วแดง รองผู้ว่าราชการ จังหวัดก�ำแพงเพชร
นายพิจิตร วัฒนศักดิ์ รองผู้ว่าราชการ จังหวัดก�ำแพงเพชร Vol.8 Issue 67/2018
ริมแม่น้ำ�ปิง www.sbl.co.th _
.indd 5
17/4/2561 9:27:16
SBL บันทึกประเทศไทย
Website : www.sbl.co.th
Ad-SBL Magazine Part 3.indd 30
24/07/60 03:22:40 PM
มาบูฮาย รีสอร ท บริการห องพักรายวัน/รายเดือน 24 ชั่วโมง สะอาด ปลอดภัย พร อมบริการแอร ทีวี เครื่องทํานํ้าอุ น
โทร : 055-799-620, 061-849-4651 65/65 หมู่ 2 ตําบลนครชุม อําเภอเมือง จังหวัดกําแพงเพชร 62000
.indd 3
10/4/2561 17:46:02
H O TEL G U ID E บันทึกเส้นทางที่พัก
รีสอร์ทลานคนเมือง
ห้องพักสะอาด สัมผัสบรรยากาศร่มรื่นธรรมชาติสงบ มีห้องพัก 12 ห้อง ในห้องมีสิ่งอ�ำนวยความสะดวก อาทิเช่น เครื่องท�ำน�้ำอุ่น แอร์ ตู้เย็น ทีวี น�้ำดื่มฟรี กาแฟ โต๊ะนั่งทานอาหาร อาหารเช้าฟรี ฟรีwifi มีห้องพัก 3 แบบ มีห้องเซอร์วิสคู่รัก มีเตียงคู่ เตียงสามแบบครอบครัว มีลานจอดรถส่วนตัว มีร้านอาหารพร้อมคาราโอเกะ
2
.indd 4
10/4/2561 17:47:59
ราคาห้องเริ่มต้น
350 บาท
เปิดตลอด 24 ช.ม.
ส�ำรองห้องพัก 055-020-141
081-182-6894
092-495-6461
รีสอร์ทลานคนเมือง 59/3 ม.1 วังยาง ต.นครชุม อ.เมือง จ.ก�ำแพงเพชร 62000
2
.indd 5
10/4/2561 17:48:04
H O TEL G U ID E บันทึกเส้นทางที่พัก
เบญจวรรณ รีสอร์ท
บรรยากาศธรรมชาติ ร่มรื่น สงบ เย็นสบาย....เต็มอิ่มกับบ้านไม้สัก ส�ำหรับลูกค้าทีม่ าพักกับเบญจวรรณรีสอร์ท ทุกท่าน ทางเราได้ จัดมุมกาแฟ โอวันติล น�้ำเต้าหู้ ไว้ให้ทานแบบบุฟเฟ่ กนั เลยค่ะ... พักกับเบญจวรรณรีสอร์ทเหมือนได้อยูบ่ า้ นของท่านเอง
คุ้มสุดๆ ในราคาเริ่มต้นเพียง คืนละ 350 บาท
.indd 6
10/4/2561 17:49:24
สไตร์บูติก 1 ห้อง ต่อ 1 หลัง ห้องน�้ำในตัว เฟอร์นิเจอร์ครบครัน ทีวี แอร์ ตู้เย็น น�้ำอุ่น Free wifi ฯลฯ โทร : 089-268-9966, 091-383-8863, 095-628-1946
เบญจวรรณรีสอร์ท 462 ม .7 ต หนองปลิง อ เมือง จังหวัดก�ำแพงเพชร
FREE WIFI
.indd 7
(อยูไ่ กล้จาก เมืองโบราณ เก่าก�ำแพงเพชร)
10/4/2561 17:49:31
H O TEL G U ID E บันทึกเส้นทางที่พัก
สบายตารี ส อร์ ท ราคาเกินคุ้มเริ่มต้นที่ 400-450 / คืน
.indd 8
17/4/2561 9:51:48
สบายตา รีสอร์ท
บริการห้องพักรายวัน รายเดือน มีทงั ้ เตียงเดีย่ ว เตียงคู่ เตียงครอบครัว ราคาเกินคุม้ เริม่ ต้นที่ 400-450 / คืน พร้อมสิง่ อ�ำนวยความสะดวกภายในห้องพัก ทีว ี ตูเ้ ย็น เฟอร์นเิ จอร์ wifi สะอาด ปลอดภัย ลานจอดรถกว้างขวาง ใกล้ชิด ธรรมชาติบ รรยากาศสบายตาติด ริม แม่น้� ำ ปิ ง เหมาะแก่ ก ารพัก ผ่ อ น พร้อ มบริก ารสนามฟุ ต บอล ห้องประชุม ร้านกาแฟ ระเบียงแซ่บแพปลา แพลอยน�้ำ ให้เช่าท�ำร้านอาหาร โดยเฉพาะตอนเย็นเรามีรา้ นแจ่ว หม้อดินนังทานบนดาดฟ้ ่ าสัมผัสเพลิดเพลินบรรยากาศ ยามค�่ำคืนริมแม่น้�ำปิ ง
ส�ำรองห้องพัก สบายตาห้องพัก-สบายตาริเวอร์คลับ โทร : 055020234, 0873120666 Facebook : สบายตาห้องพัก-สบายตาริเวอร์คลับ ทีอ่ ยู่ : 208 หมู1่ 3 ต.เทพนคร อ.เมือง จ.ก�ำแพงเพชร
.indd 9
17/4/2561 9:51:39
Editor’s Talk
ผู้บริหาร คณะที่ปรึกษา
ศ.ดร.กฤช เพิ่มทันจิตต์, พลเอกสรชัช วรปัญญา, ดร.นิเวศน์ กันไทยราษฎร์, ดร.ประยุทธ คงเฉลิมวัฒน์, ดร.ชาญ ธาระวาส, ดร.สุมิท แช่มประสิท, ดร.วัลลภ อารีรบ, ดร.พิชัย ทรัพย์เกิด, ดร.ไอศูรย์ ดีรัตน์, ดร.สุเทษณ์ จันทรุกขา, ดร.อรรถสิทธิ์ ตันติวิรัชกุล
บรรณาธิการอ�ำนวยการ ศุภกิจ ศิลปรังสรรค์
บรรณาธิการบริหาร อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์
บรรณาธิการงานบุคคล
พงษ์ศักดิ์ พรณัฐวุฒิกุล, วนัสกฤษณ์ ศิลปรังสรรค์
ฝ่ายกฎหมาย
สมคิด หวังเชิดชูวงศ์, ทวิช อมรนิมิตร
กองบรรณาธิการ ฝ่ายประสานงานโครงการภาครัฐและเอกชน
ฝ่ายศิลปกรรม
อัครกฤษ หวานวงศ์
พัชรา ค�ำมี
ผู้จัดการ
ผู้จัดการ
คณะทีมงาน
กราฟิกดี ไซน์
ฝ่ายประสานงานข้อมูล
ช่างภาพ
สุษฏา พรหมคีร,ี นายศรัญย์ ภิระบรรณ์, นายนิรจุ น์ แก้วเล็ก, ว่าที่ รต.คงเดช สมภิพงษ์ ผู้จัดการ
นันท์ธนาดา พลพวก ประสานงาน
ศุภญา บุญช่วยชีพ วาสนา จ�ำนงค์ผล นักเขียน
พิมพ์พิสุทธิ์ พังจูนันท์ วรเชษฐ สมประสงค์ จักรพันธ์ สิงห์ดี ชัยวิชญ์ แสงใส ปณต ปิติจารุวิศาล กิติวัฒน์ ทิศมั่ง โปรดักชั่น
ศุทธนะ นนทะเปาระยะ
ฐิติรัตน์ สุวรรณโรจน์
ฝ่ายการตลาด
ฝ่ายประสานงานจังหวัด
ฝ่ายบัญชี/การเงิน
กชกร รัฐวร
จันทิพย์ กันภัย บัญชี
ปัฐมาภรณ์ แสงบุราณ การเงิน
กรรณิการ์ มั่นวงศ์, สุจิตรา แดนแก้วนิต, ณภัทร ชื่นสกุล
FINAL Editor’s Talk
.indd 10
11/04/61 06:52:41 PM
ริมน้ำ�ปิง @เมืองกำ�แพงเพชร
สมศักดิ์ศรี ของจังหวัดที่ ยืนยาวมามากกว่า 700 ปี
บริษัท สมาร์ท บิซิเนส ไลน์ จ�ำกัด 9/4-6 ถนนรามอินทรา แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพฯ 10220 โทร. 0-2522-7171 แฟกซ์. 0-2971-7747 FACEBOOK : SBL บันทึกประเทศไทย EMAIL : sbl2553@gmail.com WEBSITE : www.sbl.co.th
สวัสดีครับ ท่านผูอ้ า่ นและพีน่ อ้ งชางจังหวัดก�ำแพงเพชร ทุกๆ ท่าน ไม่ว่าท่านจะท�ำงานอยู่ ณ ที่ใดก็ตาม ความเป็น ผู้ที่มีเลือดเนื้อเชื่อไขของก�ำแพงเพชรหรือเมืองชากังราว ผมมั่นใจว่าทุกท่านย่อมมีความภูมิใจเสมอ เพราะว่าก�ำแพงเพชรเป็นเมืองเก่าทีม่ อี ายุมากว่า 700 ปี ในอดีตเป็นเมืองลูกหลวงและพญานครของอาณาจักรสุโขทัย ดังรายละเอียดที่ทรงคุณค่า และน่าภาคภูมิใจซึ่งทีมงาน ของนิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย ได้นำ� เสนอไว้ครบถ้วน ทุกมุมแล้วในฉบับนี้ ผมและทีมงานก็ภมู ใิ จมากเช่นกัน ทีไ่ ด้มโี อกาสน�ำเสนอ เรื่ อ งราวของจั ง หวั ด ก� ำ แพงเพชรได้ มี โ อกาสสั ม ภาษณ์ ท่านธัชชัย สีสวุ รรณ ผูว้ า่ ราชการจังหวัดก�ำแพงเพชร และ ได้ทราบถึงความมุ่งมั่นที่ท่านมี ต่อการพัฒนาจังหวัดนี้ เพื่อ พีน่ อ้ งประชาชนได้มนั่ ใจ ว่าก�ำแพงเพชรมีของดีมากมายและ จะก้าวไปกับ Thailand 4.0 ได้ในทุกๆ ภาคส่วน รวมทั้ง เกษตรกรด้วย ผมและที ม งานนิ ต ยสาร SBL บั น ทึ ก ประเทศไทย ขอขอบคุณทุกๆ ท่านที่สนับสนุนให้ทุกๆ สิ่งอันน่าภาคภูมิใจ ได้รวมมาไว้ในหนังสือเล่มนี้ ซึง่ ผมมัน่ ใจจนไม่ลงั เลทีจ่ ะกล่าวว่า หนั ง สื อ เล่ ม นี้ เ ป็ น หนั ง สื อ ที่ ท รงคุ ณ ค่ า “สมศั ก ดิ์ ศ รี ข อง จังหวัดที่ยืนยาวมามากกว่า 700 ปี” ในนามของนิ ต ยสาร SBL บั น ทึ ก ประเทศไทย ขออาราธนาสิ่ ง ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ทั้ ง ปวงของจั ง หวั ด ก� ำ แพงเพชร และในสากลโลกทุกศาสนา โปรดประทานพรให้ ทุกๆ ท่าน ทัง้ ผูบ้ ริหาร ประชาชน ทุกสาขาอาชีพทุกภาคส่วนประสบแต่ ความสุข ความเจริญยิ่งขึ้นไปครับ
ติดต่อ คุณศุภกิจ ศิลปรังสรรค์
TEL : 081-442-4445, 084-874-3861 EMAIL : supakit.s@live.com FACEBOOK : Supakit Sillaparungsan
FINAL Editor’s Talk
.indd 11
(นายศุภกิจ ศิลปรังสรรค์) บรรณาธิการอ�ำนวยการ
11/04/61 06:52:50 PM
Contents
KAMPHAENG PHET
ฉบั บ ที่ 67 จั ง หวั ด ก� ำ แพงเพชร พ.ศ. 2561 ใต้ร่มพระบารมี
22
โครงการบ้านเล็กในป่าใหญ่
บันทึกเส้นทางพบผู้ว่าราชการ 27 จ.กำ�แพงเพชร นายธัชชัย สีสุวรรณ
บันทึกเส้นทางพบรองผู้ว่าราชการ จ.กำ�แพงเพชร
44
นายไพโรจน์ แก้วแดง
บันทึกเส้นทางพบรองผู้ว่า ราชการ จ.กำ�แพงเพชร
48
บันทึกเส้นทางผู้ว่าราชการจังหวัดก�ำแพงเพชร
นายพิจิตร วัฒนศักดิ์
บันทึกเส้นทาง พบ สถจ.กำ�แพงเพชร
27
52
นายธัชชัย สีสุวรรณ
ดร.ไอศูรย์ ดีรัตน์
บันทึกเส้นทาง พบ ผอ.พศจ.กำ�แพงเพชร
58
นางศิริพร เรืองวงษ์ อบจ.ก�ำแพงเพชร เรือนจ�ำกลางก�ำแพงเพชร ทม.ก�ำแพงเพชร ทม.หนองปลิง ทต.นครชุม ทต.เทพนคร อบต.ไตรตรึงษ์ อบต.อ่างทอง
12
Contents
62 68 70 72 74 78 80 84
126
บันทึกเส้นทางท่องเที่ยว ก้าวขึ้นสู่ปีที่ 9 ของนิตยสาร
SBL บันทึกประเทศไทย ซึง่ หากท่านติดตามเฟซบุก๊ แฟนเพจของเรานั้น จะพบว่ามีกระแสตอบรับอย่างดี จากทุกท่าน โดยมียอดการกดไลค์กดติดตามมากกว่า ห้ า แสนกว่ า ไลค์ ภ ายในระยะเวลาไม่ ก ี ่ เ ดื อ นเท่ า นั ้ น ซึ่งนับเป็นบทพิสูจน์ถึงความมุ่งมั่นตั้งใจของทีมงาน มาตลอด 8 ปีเต็ม
ใต้ร่มพระบารมี จากข้อมูลของสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่กับได้รวบรวม โครงการหลวงไว้ 32 แห่ง ซึ่งส่วนหนึ่งเป็นโครงการในจังหวัด กำ�แพงเพชรถึงหลายโครงการ หนึ่งในโครงการใต้ร่มพระบารมี ก็คือ “บ้านเล็กในป่าใหญ่” ที่อำ�เภอคลองลาน โครงการบ้านเล็กในป่าใหญ่ (โครงการคลองลาน)
SBL บันทึกประเทศไทย I KAMPHAENG PHET
.indd 12
19/4/2561 10:58:19
140
ริมแม่น�้ำปิง
อบต.ธ�ำมรงค์
86
อบต.นครชุม
88
อบต.ลานดอกไม้
90
วัดป่าชัยรังษี
93
วัดคูยาง พระอารามหลวง
94
วัดพระบรมธาตุ
102
วัดไตรตรึงษาราม
104
วัดบ่อสามแสน
106
วัดปราสาท
108
วัดประดู่ลาย
112
วัดกัลปพฤกษ์
114
วัดเชตวนาราม (น�้ำดิบ)
116
วัดบาง
118
บันทึกเส้นทางท่องเที่ยว
122
วัดสังฆานุภาพ
142
วัดสิงคาราม
150
ทต.วังยาง
152
อบต.วังไทร
154
อบต.ท่าพุทรา
156
วัดรวงผึ้งพัฒนา
158
ทต.ทุ่งทราย
162
อบต.หนองไม้กอง
164
วัดแสงสุริยา
166
ทต.บ้านพราน
168
วัดรัตนปทุม
170
อบต.บึงทับแรต
172
วัดปรือพันไถ
176
KAMPHAENG PHET I SBL บันทึกประเทศไทย
Contents
.indd 13
13
19/4/2561 10:58:24
H O TEL G U ID E บันทึกเส้นทางที่พัก
คุ้มตะวันรีสอร์ท
“ห้องพักสะอาด สะดวก ปลอดภัย ท่ามกลางธรรมชาติบริการเป็นกันเอง” คุ้มตะวันรีสอร์ท ห้องพักรายวัน
ฟรี กาแฟ, Wifi ราคาเริ่มต้น 350 บาท
48/11 ม.2 ต.นครชุ ม อ.เมื อ ง จ.ก� ำ แพงเพชร โทร. 055-799765, 090-2354951, 093-3651946
.indd 14
10/4/2561 17:51:35
หจก.โรงสีเทพประพันธภรณ
จําหนายขาวสาร ขาวเปลือก ปลายขาว รําขาว แกลบ
สนใจติดตอ Tel : 055-741-717, 086-445-9840 Facebook : หจก.โรงสีเทพประพันธภรณ
หจก.โรงสีเทพประพันธภรณ: 333 ม.5 ต.สลกบาตร อ.ขาณุวรลักษบุรี จ.กําแพงเพชร 62140
.indd 15
10/4/2561 17:52:53
.indd 16
10/4/2561 17:54:19
.indd 17
10/4/2561 17:55:10
.indd 18
10/4/2561 17:56:28
ÇѧÂÒ§ÃÔÁ» § ÃÕÊÍà ·
ห องพักติดริมแม น้ําป ง มีห องพักในแพลอยนํ้า มีห องพักทั้งหมด 38 ห อง ราคาหองพัก 390-490 บาท บรรยากาศรมรืน่ ลมพัดเย็นสบาย สิง่ อํานวยความ สะดวกครบครัน แอร, ทีวี, เครื่องทํานํ้าอุน, ฟรีไวฟาย, ฟรีอาหารเชา มีหองจัดเลี้ยง, หองสัมมนา, มีบริการ ใหเชาสถานที่จัดงานแตงงาน ขนาดเล็ก , after party ,เลี้ยงรุน ,งานเลี้ยงหนวยงานตางๆ ที่จอดรถกวางขวาง สะดวกสบาย สามารถจอดรถบัสได การเดินทางสะดวก หางจากมหาวิทยาลัยราชภัฏกําแพงเพชร เพียง 2 กม. หางจาก บขส.เพียง 1กม.
WIFI
¿ÃÕ
ʶҹ·Õ跋ͧà·ÕèÂÇã¡ÅŒà¤Õ§ÃÕÊÍà · : ÇÑ´¾ÃкÃÁ¸ÒµØ, ÍØ·ÂÒ¹»ÃÐÇѵÔÈÒʵà , µÅҴŒ͹Âؤ¹¤ÃªØÁ
055-798045 .indd 19
รีสอรท 31/3 ม.2 ต.นครชุม อ.เมือง จ.กําแพงเพชร 62000 FACEBOOK : วังยาง ริมปง โฮมสเตยรีสอรท
10/4/2561 17:59:21
9/4-6 ถนนรามอินทรา แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุ งเทพฯ 10220 0-2522-7171 0-2971-7747 088-5790364 (คุณแอน)
K-CHICK.indd 1
18/04/61 04:39:49 PM
2.indd 21
19/4/2561 10:02:43
ตั้งอยู่ที่ 68 ม.2 บ้านโคนใต้ ต.คณฑี อ.เมือง จ.ก�ำแพงเพชร ห่างจากตัวเมืองประมาณ 22 กิโลเมตร
H I S TO R Y O F U ND E R H IS G R A C I OU SN E SS บันทึกเส้นทางใต้ร่มพระบารมี
ป่าไม้และล�ำธารที่อุดมสมบูรณ์
ชาวบ้านบริเวณโดยรอบโครงการฯ
22
SBL บันทึกประเทศไทย I KAMPHAENG PHET
(
)4
.indd 22
17/4/2561 9:57:07
โครงการบ้านเล็กในป่าใหญ่ (โครงการคลองลาน)
จากข้ อ มู ล ของสถาบั น วิ จั ย และ พั ฒ นาพื้ น ที่ กั บ ได้ ร วบรวมโครงการ หลวงไว้ 32 แห่ง ซึง่ ส่วนหนึง่ เป็นโครงการ ในจังหวัดก�ำแพงเพชร ถึงหลายโครงการ หนึ่ ง ในโครงการใต้ ร ่ ม พระบารมี ก็ คื อ “บ้านเล็กในป่าใหญ่” ทีอ่ ำ� เภอคลองลาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ฯ ทรงพระกรุณา โปรดเกล้ า ให้ มู ล นิ ธิ โ ครงการหลวงเข้ า มา ช่วยเหลือ และสนับสนุนโครงการบ้านเล็กในป่าใหญ่ อ�ำเภอคลองลาน จังหวัดก�ำแพงเพชร ซึ่งเมื่อ วันที่ 24 มิถนุ ายน พ.ศ.2542 หม่อมเจ้าภีศเดช รัชนี ประธานมูลนิธิโครงการหลวง โปรดให้แม่ทัพ ภาคที่ 3 ผู ้ ว ่ า ราชการจั ง หวั ด ก� ำ แพงเพชร หัวหน้าฝ่ายแผนและพัฒนา และผู้เกี่ยวข้อง เข้าเฝ้าที่จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อรับทราบปัญหา และก� ำ หนดขอบเขตของโครงการ โดยมี เป้าหมายในปีแรก ให้ด�ำเนินการในพื้นที่บ้าน ปางมะนาว ต�ำบลปางมะค่า อ�ำเภอขาณุวรลักษบุรี และบ้านปางมะละกอ ต�ำบลปางตาไว อ�ำเภอ ปางศิลาทอง มีพื้นที่รวม 612 ไร่ จะสามารถ รองรับราษฎรชาวไทยภูเขา เข้าอยู่อาศัยและ ท� ำ กิ น ได้ 80 ครอบครั ว และในปี 2543 ให้ด�ำเนินการในพื้นที่บ้านบึงหล่ม ต�ำบลคลอง น�้ำไหล อ�ำเภอคลองลาน พื้นที่ 1,000 ไร่ และ บ้านแปลงสี่ ต�ำบลคลองลานพัฒนา อ�ำเภอ คลองลาน พื้นที่ 120 ไร่ เพื่อรองรับราษฎร ชาวไทยภูเขาจ�ำนวนที่เหลือเข้าอยู่อาศัยท�ำกิน เพือ่ การนี้ มูลนิธโิ ครงการหลวงได้ประกาศแต่งตัง้ คณะท�ำงานฯ ขึ้นเป็นการเฉพาะ ประกอบด้วย นายวิจติ ร ถนอมถิน่ ผูแ้ ทนมูลนิธโิ ครงการหลวง เป็ น ประธาน โดยให้ ไ ปปฏิ บั ติ ง านตามแนว พระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ฯ ในการจัดที่ดินท�ำกินให้ราษฎร และเพื่อน�ำเอา ผลงานและแนวทางการพัฒนาของศูนย์พัฒนา โครงการหลวง และสถานีวิจัยไปขยายผลส่ง เสริมตามความเหมาะสมของพื้นที่ โดยยึดหลัก 3 ประการ คือ ส่งเสริมอาชีพแก่ชาวไทยภูเขา ยากจนตามหลักมนุษยธรรม ลดการปลูกพืชเสพติด
ชาวบ
และอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรป่าไม้ โดยร่วมกับหน่วยงานราชการอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง และเนือ่ งจากราษฎรชาวไทยภูเขาอพยพมาจากอุทยานแห่งชาติคลองลาน จึงโปรด ให้ใช้ชื่อเรียกว่า : โครงการคลองลาน : โดยมีหมายเลขก�ำกับ และแต่งตั้งคณะ ท�ำงานฯ เพิ่มเติมเมื่อวันที่ 26 สิงหาคม 2542 ที่ประชุมคณะกรรมการอ�ำนวยการประสานงานมูลนิธิโครงการหลวง (กอป.) มี ม ติ เ ห็ น ชอบแผนปฏิ บั ติ ง านโครงการขยายผลงานโครงการหลวงเพื่ อ การ พัฒนาการเกษตรแบบยัง่ ยืน ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2545- 2549) เมือ่ วันที่ 21 กันยายน 2544 และได้มีมติคณะรัฐมนตรีอนุมัติงบประมาณในเวลาต่อมา ภายหลังได้มี การเปลี่ ย นชื่ อ โครงการเป็ น โครงการขยายผลส� ำ เร็ จ โครงการหลวงเพื่ อ การพัฒนาการเกษตรแบบยัง่ ยืนพืน้ ทีค่ ลองลาน จังหวัดก�ำแพงเพชร และโครงการ ขยายผลโครงการหลวงคลองลาน จังหวัดก�ำแพงเพชร ในปัจจุบัน พืน้ ทีโ่ ครงการพัฒนาพืน้ ทีส่ งู แบบโครงการหลวงพืน้ ทีค่ ลองลาน ตัง้ อยูใ่ นพืน้ ที่ 4 ต�ำบล 3 อ�ำเภอในจังหวัดก�ำแพงเพชรคือ ต�ำบลหินดินดาต และต�ำบลปางตาไว อ�ำเภอปางศิลาทอง ต�ำบลปางมะค่า อ�ำเภอขาณุวรลักษบุรี และต�ำบลคลองลาน พัฒนา อ�ำเภอคลองลาน อยู่ในเขตพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติคลองลานและอุทยาน แห่งชาติแม่วง มีเนื้อที่ซึ่งแบ่งตามลุ่มน�้ำย่อยประมาณ 107 ตารางกิโลเมตร หรือ 67,300 ไร่ ซึ่งได้แก่
KAMPHAENG PHET I SBL บันทึกประเทศไทย
(
)4
.indd 23
23
17/4/2561 9:57:22
1. โครงการคลองลาน 1 ตั้ ง อยู ่ ที่ บ ้ า น อุดมทรัพย์ หมู่ที่ 8 ต�ำบลหินดินตาด อ�ำเภอ ปางศิลาทอง มีความสูงจากระดับน�้ำทะเลปาน กลาง 156 เมตร ตั้งอยู่ที่พิกัด 545578 E 1771588 N ระวางแผนที่ 4841 I บ้านคลอง น�ำ้ ไหลมีพนื้ ทีท่ ำ� กินและทีอ่ ยูอ่ าศัยรวมประมาณ 220 2. โครงการคลองลาน 2 ประกอบด้วยพืน้ ที่ 2 หมู่บ้านคือ บ้านปางมะละกอ หมู่ที่ 8 ต�ำบล ปางตาไว อ�ำเภอปางศิลาทอง มีความสูงจาก ระดับน�ำ้ ทะเลปานกลาง 220 เมตร ตัง้ อยูท่ พี่ กิ ดั 544993 E 1767100 N และบ้านปางมะนาว หมูท่ ี่ 11 ต�ำบลปางมะค่า อ�ำเภอขาณุวรลักษบุรี สู ง จากระดั บน�้ ำทะเลปานกลาง 200 เมตร ตั้งอยู่ที่พิกัด 545669 E 1764956 N ระวาง แผนที่ 4840 I บ้านวังหินดาต มีพนื้ ทีท่ ำ� กินและ ที่อยู่อาศัยรวมประมาณ 403 ไร่ 3. โครงการคลองลาน 3 ประกอบด้วย 3 กลุ่มบ้าน คือ บ้านสุขสวรรค์ หมู่ที่ 13 ต�ำบล คลองลานพัฒนา อ�ำเภอคลองลาน มีความสูง จากระดับน�้ำทะเลปานกลาง 150 เมตร ตั้งอยู่ ที่พิกัด 541531 E 1784408 N ระวางแผนที่ 4841 I บ้านคลองน�้ำไหล บ้านสุขวิจิตรพัฒนา และบ้ า นน�้ ำ พระทั ย หมู ่ ที่ 14 ที่ อ ยู ่ ที่ พิ กั ด 542639 E 1781826 N ระวางแผนที่ 4841 I บ้านคลองน�ำ้ ไหล มีความสูงจากระดับน�ำ้ ทะเล ปานกลาง 140 และ 125 เมตร ตามล�ำดับ มีพนื้ ทีท่ ำ� กินและทีอ่ ยูอ่ าศัยรวมประมาณ 974 ไร่ 4. โครงการคลองลาน 4 ตั้งอยู่ที่บ้านแปลง สี่ ต�ำบลคลองลานพัฒนา อ�ำเภอคลองลาน มีความสูงจากระดับน�้ำทะเลปานกลาง 140 เมตร ตั้งอยู่ที่พิกัด 534261 E 1776314 N ระวางแผนที่ 4841 I บ้านคลองน�้ำไหล มีพื้นที่ ท�ำกินและที่อยู่อาศัยรวมประมาณ 161 ไร่ อยู่ทางทิศตะวันออกของเขาปาง 5. โครงการคลองลาน 5 ตั้ ง อยู ่ ที่ บ ้ า น สามัคคีธรรม หมู่ 16 ต�ำบลคลองน�ำ้ ไหล อ�ำเภอ คลองลาน มีความสูงจากระดับน�ำ้ ทะเลปานกลาง 150 เมตร
วัตถุประสงค์ของโครงการ 1. เพื่อฟื้นฟูสภาพป่า ซึ่งเป็นต้นน�้ำล�ำธาร ล�ำน�้ำแม่วงศ์ คลองสวนหมาก คลองวังเจ้า ให้กลับมีความสมบูรณ์ดังเดิม 2. เพือ่ ช่วยให้ราษฎรซึง่ ขาดแคลนทีด่ นิ ท�ำกิน ท�ำไร่เลือ่ นลอยได้มที ดี่ นิ เป็นหลักแหล่ง ไม่บกุ รุก แผ้วถางป่า ท�ำไร่เลื่อนลอยอีกต่อไป หน่วยงานผู้ด�ำเนินงาน/หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง : ส�ำนักงานป่าไม้จังหวัดก�ำแพงเพชร ลักษณะโครงการ : สมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินนี าถทรงมีดำ� ริ เมือ่ วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2537 กับนายผ่อง เล่งอี้ อธิบดีกรมป่าไม้ พลโทยิง่ ยส โชติมาย แม่ทพั ภาคที่ 3 นายศิวะ แสงมณี ผูว้ า่ ราชการจังหวัด ก�ำแพงเพชร ความโดยสรุป คือ 1. ให้จัดหาพื้นที่ท�ำกินให้แก่ชาวเขาบ้านแม่พืช และบ้านแปลงที่สี่ที่เคยอาศัยในเขตอุทยาน แห่งชาติคลองลาน และอุทยานแห่งชาติแม่วงศ์ โดยจัดที่ท�ำกินในครอบครัวละ 5 ไร่ 2. พัฒนาคุณภาพชีวิตความเป็นอยู่ของชาวไทยภูเขา โดยจัดอาชีพให้ผู้ชายรับจ้างปลูกป่า ผู้หญิงท�ำเครื่องเงิน เย็บปัก จักสาน 3. ส่งเสริมให้บริเวณพื้นที่ดังกล่าวเป็นสถานที่ท่องเที่ยว จะท�ำให้ขายสินค้าของที่ระลึกได้
ที่ ต้ั ง ของโครงการ : บ้ า นอุ ด มทรั พ ย์ ต� ำ บ ล หิ น ด า ต กิ่ ง อ� ำ เ ภ อ ป า ง ศิ ล า ท อ ง จังหวัดก�ำแพงเพชร 24
SBL บันทึกประเทศไทย I KAMPHAENG PHET
(
)4
.indd 24
17/4/2561 9:57:34
ผู้ได้รับประโยชน์ : ราษฎรบ้านอุดมทรัพย์ หมู่ที่ 8 ต�ำบลหินดาต กิง่ อ�ำเภอปางศิลาทอง จังหวัดก�ำแพงเพชร เพือ่ ให้ราษฎรทีข่ าดแคลนทีด่ นิ ท�ำกิน ท�ำไร่เลื่อนลอย ได้มีที่ดินท�ำกินเป็นหลักแหล่ง ส่งเสริมให้ราษฎรได้ ประกอบอาชีพทีถ่ นัด พร้อมกับช่วยฟืน้ ฟูสภาพป่าซึง่ เป็นแหล่งต้นน�ำ้ ล�ำธาร และส่งเสริมให้หมู่บ้านเป็นแหล่งท่องเที่ยว ความส�ำเร็จของโครงการ จากที่เริ่มโครงการตั้งแต่ปี 2537 ซึ่งเป็นโครงการระยะที่ 1 ได้ด�ำเนิน งานสนองพระราชด�ำริประสบผลส�ำเร็จเป็นที่น่าพอใจ มีการจัดราษฎร ชาวไทยภูเขากลุ่มเป้าหมายเข้าไปอยู่อาศัยในพื้นที่โครงการจ�ำนวน 53 ครอบครัว 279 คน รายได้เฉลี่ยนของชาวไทยภูเขาเหล่านี้เพิ่มขึ้นจากเดิม คิดเป็น 6 เท่า เมื่อเปรียบเทียบกับก่อนเข้าร่วมโครงการในปี 2537 กล่าวคือ รายได้เฉลี่ยต่อหัวต่อปีของชาวไทยภูเขาก่อนเข้าร่วมโครงการ เท่ากับ 3,347 บาท และเพิ่มขึ้นเป็น 18,729 บาท เนื่องจากได้รับการ พัฒนาและส่งเสริมอาชีพ รวมทัง้ การเป็นลูกจ้างในการด�ำเนินงานโครงการด้วย การพัฒนาพืน้ ทีโ่ ครงการทางด้านการศึกษาได้มกี ารส่งเสริมให้เด็กชาย ไทยภูเขาในโครงการเข้าศึกษาในโรงเรียนซึ่งอยู่ใกล้เคียงและนอกพื้นที่ โครงการท�ำให้ราษฎรชาวไทยภูเขาสามารถพูด อ่าน เขียนภาษาไทยได้ ประมาณร้อยละ 90 ยกเว้นผู้สูงอายุ ด้านแหล่งน�้ำ ได้มีการพัฒนาแหล่ง เก็บน�ำ้ ต่างๆ เพือ่ ใช้เลีย้ งปลาและการเกษตร ส่งเสริมและฝึกอบรมวิชาชีพ ให้กับราษฎรชาวไทยภูเขาอย่างต่อเนื่อง เช่น การท�ำเครื่องเงิน ปักผ้า แกะสลัก ตัดเย็บเสื้อผ้า ฯลฯ พร้อมกับส่งเสริมให้ราษฎรชาวไทยภูเขาใน พื้นที่โครงการเข้าร่วมปลูกป่าจ�ำนวน 2,900 ไร่ และซ่อมบ�ำรุงรักษาป่าใน พื้นที่ โดยมีการอบรมอาสาสมัครป้องกันไฟป่า ด้านบริการสาธารณสุข มีโรงพยาบาลปางศิลาทองซึง่ ตัง้ อยูใ่ กล้โครงการฯ สามารถให้ราษฎรได้รบั การรักษาพยาบาลเบื้องต้น การส่งเสริมสุขภาพ การสร้างเสริมภูมิคุ้มกัน โรค การบริการทันตกรรมเบื้องต้น อย่างสะดวกรวดเร็ว และหมู่บ้านได้รับ การประกาศเป็นหมู่บ้านสุขภาพดีถ้วนหน้า มีการสร้างสาธารณูปโภค พื้นฐานให้กับราษฎรในโครงการฯ และราษฎรในพื้นที่ใกล้เคียงก็ได้รับ ประโยชน์จากถนนและไฟฟ้าร่วมกัน จากความส�ำเร็จของการด�ำเนินงานโครงการในระยะที่ 1 ผู้ว่าราชการ จังหวัดก�ำแพงเพชร จึงได้มีหนังสือถึงราชเลขานุการในพระองค์สมเด็จ พระบรมราชินนี าถ เพือ่ กราบบังคมทราบฝ่าละอองธุลพี ระบาท เพือ่ ขยาย ผลโครงการไปยังพื้นที่โครงการระยะที่ 2 ได้ต่อไปและได้ดำ� เนินการในปี 2543 คือ พื้นที่บ้านปางมะนาว ต�ำบลปางมะค่า อ�ำเภอขาณุวรลักษณ์บุรี และบ้านปางมะละกอ ต�ำบลปางตาไว อ�ำเภอปางศิลาทอง จังหวัด ก�ำแพงเพชร โดยมีเกษตรกรเข้าร่วมโครงการ 66 ราย รวมพื้นที่ทั้งหมด 396 ไร่ ที่มาของข้อมูล - http://www.rdpb.go.th/rdpb/visit3/20-50project/ 50project_18_1.html - https://www.hrdi.or.th/public/files/Areas-Profile/ 28-kln.pdf4413 KAMPHAENG PHET I SBL บันทึกประเทศไทย
(
)4
.indd 25
25
17/4/2561 9:57:46
เรือนดอกแกว
บริการบ านพักรายวัน สไตล อบอุ น เรียบง าย บรรยากาศดีปลอดโปร งเย็นสบาย เงียบสงบรื่นร มเป นส วนตัว เป นอีกหนึ่งทางเลือกที่ให คุณพักผ อนอย างสบายใจ พร อมสิ่งอํานวย ความสะดวกครบครัน แอร , ทีวี, ตู เย็น, เครื่องทํานํ้าอุ น ฟรี Wifi
สํารองหองพัก 061-907-9218 062-034-0180 086-446-7319
เรือนดอกแกว Ruendokkaew, Kamphaengphet ruendokkaew@gmail.com
เรือนดอกแก ว: 1274 ม. 2 ต.ท ามะเขือ อ.คลองขลุง จ.กําแพงเพชร 62120
.indd 26
10/4/2561 18:03:27
บทน�ำ ผู้ว่าราชการจังหวัด
ก�ำแพงเพชร
นายธัชชัย สีสุวรรณ
ผู้ว่าราชการจังหวัดก�ำแพงเพชร “ ผมจะพยายามรักษาสถาบันผู้ว่าราชการจังหวัดไม่ให้เสื่อมเสีย และต้องรักษาสถาบันผู้ว่าราชการจังหวัดให้เป็นที่พึ่งของประชาชนได้อย่าง แท้จริง ” คือค�ำกล่าวที่ชาวจังหวัดก�ำแพงเพชรสัมผัสได้ถึงความอุ่นใจ และ มั่นใจในชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น จากการมีพ่อเมืองผู้เปี่ยมด้วยคุณธรรม จริ ย ธรรม อี ก ทั้ ง ยั ง มากด้ ว ยความรู ้ ค วามสามารถ ผู ้ มี น ามว่ า “นายธัชชัย สีสุวรรณ” ซึ่งได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่ ง ตั้ ง ให้ ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง ผู ้ ว ่ า ราชการจั ง หวั ด ก� ำ แพงเพชร เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2560 ท่านธัชชัย เคยมีประสบการณ์ท�ำงานทั้งในส่วนกลางและ ส่วนภูมิภาค ในหลายต�ำแหน่ง และหลายจังหวัด การันตีด้วย ผลงานอั น เป็ น ที่ ป ระจั ก ษ์ ใ นสมั ย ปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ใ นส� ำ นั ก งาน ปลั ด กระทรวงมหาดไทย คื อ การจั ด ท� ำ เรื่ อ งเสนอต่ อ ผู ้ บั ง คั บ บั ญ ชา ให้กรมต�ำรวจออกระเบียบว่าด้วยการประกันตัวชั่วคราว โดยใช้บัตร ข้าราชการ/บัตรเจ้าหน้าที่ของรัฐ (ซึ่งมีผลใช้บังคับทั่วประเทศจนถึงปัจจุบนั นี้ ใช้แทนเงินสด/โฉนดที่ดิน) และเป็นเจ้าหน้าที่ผู้เสนอเรื่องต่ อ ผู ้ บั ง คั บ บั ญ ชา ให้ มี ก ารโอนงานโรงแรมจากต� ำ รวจมาให้ ส� ำ นั ก งานปลั ด กระทรวงมหาดไทย และโอนมาให้กรมการปกครองในปัจจุบัน เมื่อท่านได้ย้ายไปปฏิบัติหน้าที่ในส่วน ภูมภิ าค ท่านก็ได้รบั รางวัล “คนดีศรีแผ่นดินจังหวัดสมุทรสงคราม ปี พ.ศ.2552” ในขณะที่ด�ำรงต�ำแหน่งหัวหน้าส�ำนักงานจังหวัดสมุทรสงคราม ระหว่างปี พ.ศ. 2552 - 2554 รางวัลผู้น�ำขับเคลื่อนดีเด่น “โครงการหมู่บ้านรักษาศีล 5” ปี พ.ศ.2558 และรั บ ประทานรางวั ล “เสาอโศกผู ้ น� ำ ศี ล ธรรม” จาก พระเจ้าวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าโสมสวลีพระวรราชาทินัดดามาตุ ปี พ .ศ.2559 ขณะด�ำรงต�ำแหน่งรองผู้ว่าฯ จังหวัดสุรินทร์ และรางวัลเชิดชูเกียรติบุคคลดีเด่น “คนดีศรีอีสาน” ครั้งที่ 35 ปีพ.ศ.2559 จากผลงานเมื่อครั้งด�ำรงต�ำแหน่ง รองผู้ว่าฯ จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์ , รองผู ้ ว ่ า ฯ จั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี และ รองผู ้ ว ่ า ฯ จังหวัดร้อยเอ็ด
OK.indd 27
11/04/61 05:58:05 PM
การบริหารบ้านเมืองจะไปได้ดี ต้องอาศัยความปรองดองสมานฉันท์
นายธัชชัย สีสุวรรณ ผู้ว่าราชการจังหวัดก�ำแพงเพชร จังหวัดก�ำแพงเพชรมีแหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ ซึ่ง UNESCO ได้ขึ้นทะเบียน “อุทยานประวัติศาสตร์ก�ำแพงเพชร” เป็นมรดกโลก
28
SBL บันทึกประเทศไทย I KAMPHAENG PHET
OK.indd 28
11/04/61 05:58:06 PM
KAMPHAENG PHET I SBL บันทึกประเทศไทย
OK.indd 29
29
11/04/61 05:58:07 PM
เส้นทางสู่ผู้ว่าราชการจังหวัดก�ำแพงเพชร ก่อนหน้านีผ้ มเป็นรองผูว้ า่ ราชการจังหวัด อยูห่ า้ ปีนะครับ จากหัวหน้าส�ำนักงานจังหวัดอุบลฯ มาขึ้ น เป็ น รองผู ้ ว ่ า ราชการจั ง หวั ด ร้ อ ยเอ็ ด ได้ 10 เดือน ก็ได้ทราบข่าวว่าจะต้องย้ายไปเป็น รองผู้ว่าฯ อุบล ทั้งๆ ที่ก�ำลังสนุกกับร้อยเอ็ด เพราะปีนั้นมีน�้ำท่วมใหญ่ ผมไปเป็นรองผู้ว่าฯ อุบลฯ ได้ 1 ปี 1 เดือน ก็ได้ไปเป็นรองผู้ว่าฯ สุรินทร์ อยู่ที่สุรินทร์น่ีมีความสุขมาก เพราะ ได้ร่วมงานกับท่านผู้ว่าฯ นิรันดร์ กัลยาณมิตร ท่านให้ผมท�ำงานเต็มที่ ไม่ต้องกลัวว่าผมจะไป ท�ำอะไรเกินหน้าเกินตา เพราะท่านจะเกษียณ
และสอนงานทุกอย่างให้ หลังจากท่านเกษียณ ก็มผี วู้ า่ ฯ ท่านใหม่มา ผมอยูท่ สี่ รุ นิ ทร์เกือบสองปี ก็ได้ย้ายไปเป็นรองผู้ว่าฯ ที่พิษณุโลก หลัง จากนัน้ ผมก็ได้รบั โปรดเกล้าฯ ให้เป็นผูว้ า่ ราชการ จังหวัดก�ำแพงเพชร พอมีค�ำสั่งตามมติ ครม. ออกมาปั๊บ ก็มีผู้บังคับบัญชาทั้งในอดีตและ ปัจจุบันตลอดจนเพื่อนร่วมงานโทรมาแสดง ความยินดีเป็นจ�ำนวนมาก ความรู้สึกตอนนั้นก็ดีใจครับ เพราะผม รับทราบอย่างเดียวว่าก�ำแพงเพชรเป็นเมืองพุทธ ซึง่ ถูกกับอัตลักษณ์ของผมทีป่ ฏิบตั มิ าโดยตลอด
6 ปี ที่ ผ ่ า นมาได้ ป ฏิ บั ติ ต ามหลั ก ธรรมของ พระพุทธศาสนาอย่างเคร่งครัด หลังจากนั้น ผมก็รีบศึกษาค้นคว้า ว่าเมืองก�ำแพงเพชร มีดีอย่างไร มีวิสัยทัศน์อย่างไร มีสภาพภูมิ สังคมอย่างไร ก็ได้รับความร่วมมืออย่างดียิ่ง จากหัวหน้าส�ำนักงานจังหวัด เอาแผนพัฒนา จังหวัดมาให้ดู บอกวิสัยทัศน์จังหวัดว่าเป็น แบบนัน้ แบบนี้ ผมก็รสู้ กึ ดีใจ เพราะก�ำแพงเพชร เป็นเมืองพุทธศาสนา ซึ่งตรงกับลักษณะนิสัย ของผม
โดดเด่นด้านอุ ตสาหกรรม - ท่องเที่ยว แม้ว่าก�ำแพงเพชรจะเป็นจังหวัดเล็กๆ แต่ก็เป็นจังหวัดที่มีมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวม จั ง หวั ด และรายได้ เ ฉลี่ ย ต่ อ หั ว ประชากรใน อันดับที่ดีพอสมควร โดยปี 2558 จังหวัด ก� ำ แพงเพชรมี ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ม วลรวมจั ง หวั ด (GPP) อยู่ที่ 96,237 ล้านบาท จัดเป็นล�ำดับ ที่ 3 ของภาคเหนือ รองจากเชียงใหม่และ นครสวรรค์ และเป็นล�ำดับที่ 26 ของประเทศ โดยมีมลู ค่าภาคอุตสาหกรรม 44,432 ล้านบาท หรือคิดเป็น 46.2% และมูลค่าภาคเกษตร 21,268 ล้านบาท หรือคิดเป็น 22.1% ส่วน รายได้ต่อหัวประชากรเฉลี่ยที่ 123,428 บาท/ คน/ปี จั ด เป็ น ล� ำ ดั บ ที่ 3 ของภาคเหนื อ รองจากล�ำพูนและเชียงใหม่ และเป็นล�ำดับที่ 27 ของประเทศ ก� ำ แพงเพชรมี พื ช เศรษฐกิ จ ที่ ส� ำ คั ญ ได้แก่ ข้าวนาปี พื้นที่ปลูก 1.2 ล้านไร่ ผลผลิต 30
ประมาณ 8.0 แสนตัน มูลค่าผลผลิต 6,825 ล้านบาท มันส�ำปะหลัง พื้นที่ปลูก 7 แสนไร่ ผลผลิตประมาณ 2.3 ล้านตัน (เป็นล�ำดับ 2 ของประเทศ รองจาก จว.นครราชสีมา) มูลค่า ผลผลิต 5,775 ล้านบาท อ้อยโรงงาน พืน้ ทีป่ ลูก 7.4 แสนไร่ ผลผลิต 7 ล้านตัน มูลค่าผลผลิต 5,440 ล้ า นบาท และกล้ ว ยไข่ พื้ น ที่ ป ลู ก 2,787 ไร่ ผลผลิต 10,000 ตันเศษ ทางภาคอุตสาหกรรม มีโรงงานอุตสาหกรรม จ�ำนวน 706 แห่ง ส่วนใหญ่เป็นโรงงานที่ เกี่ยวข้องกับภาคการเกษตร เช่น โรงสีข้าว โรงงานน�้ำตาลทราย โรงงานผงชูรส (อายิโนะ โมะโต๊ ะ ) โรงงานผลิ ต มั น เส้ น และแป้ ง มั น โรงงานเบียร์ช้าง นอกจากนี้ยังมีโรงโม่หิน/ หินอ่อน ที่ อ.พรานกระต่าย และแหล่งน�้ำมัน สิริกิติ์ที่ อ.ลานกระบือ ในส่วนของภาคการท่องเที่ยว อย่างที่
หลายๆ ท่านทราบกันดีวา ่ จังหวัดก�ำแพงเพชร มี แ หล่ ง ท่ อ งเที่ ย วเชิ ง ประวั ติ ศ าสตร์ ซึ่ ง UN E SCO ได ้ ขึ้ น ทะเบี ย น “ อุ ท ยาน ประวัติศาสตร์ก�ำแพงเพชร” เป็นมรดกโลก เมื่ อ 12 ธั น วาคม 2534 และกระทรวง การท่ อ งเที่ ย วและกี ฬ า ได้ จั ด ให้ จั ง หวั ด ก� ำ แพงเพชร อยู ่ ใ นเขตการท่ อ งเที่ ย ว “ก�ำแพงเพชร - สุโขทัย - ศรีสัชนาลัย” นอกจากนี้ ยั ง มี แ หล่ ง ท่ อ งเที่ ย วทาง ธรรมชาติ - เชิงนิเวศน์ - สุขภาพ เพราะ ก�ำแพงเพชรเป็นที่ตั้งอุทยานแห่งชาติ 3 แห่ง คืออุทยานฯ คลองวังเจ้า อุทยานฯ แม่วงก์ และอุทยานฯ คลองลาน และมีเขตรักษาพันธุ์ สั ต ว์ ป ่ า เขาสนามเพรี ย งอี ก 1 แห่ ง ซึ่ ง มี ทั้งน�้ำตก คลองลาน/คลองน�้ำไหล จุดชมวิว ช่องเย็น และบ่อน�้ำพุร้อนพระร่วง เป็นต้น
SBL บันทึกประเทศไทย I KAMPHAENG PHET
OK.indd 30
11/04/61 05:58:08 PM
แผนพัฒนาจังหวัดก�ำแพงเพชร ปี 2561-2564 จังหวัดฯ ได้จัดท�ำแผนพัฒนาจังหวัดก�ำแพงเพชร ปี พ.ศ.2561-2564 โดยให้ความส�ำคัญกับการเชื่อมโยงนโยบายระดับชาติ (ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี และแผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ ฉบับที่ 12) และทิศทางการพัฒนาประเทศในระดับต่างๆ สู่การจัดท�ำยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด เพื่อ ตอบสนองศักยภาพและความต้องการของประชาชนในพื้นที่ และเป้าหมายในระดับชาติ
แนวนโยบายพ�้นฐานแห งรัฐตามรัฐธรรมนูญ นโยบายรัฐบาลและแผนบร�หารราชการแผ นดิน ยุทธศาสตร ชาติระยะ 20 ป (พ.ศ. 2560-2579)
ประเทศไทย 4.0
ว�สัยทัศน ประเทศไทย 2558-2563: มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน
เศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด วยนวัตกรรม
ทิศทางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560-2564) 1.เสร�มสร างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย 2.สร างความเป นธรรมลดความเหลื่อมล้ำในสังคม 3.สร างความเข มแข็งทางเศรษฐกิจ 4.การเติบโตที่เป นมิตรกับสิ�งแวดล อม 5.ความมั่นคง
6.เพ��มประสิทธิภาพ และธรรมาภิบาลภาครัฐ 7.พัฒนาโครงสร างพ�้นฐานและระบบโลจ�สติกส 8.ว�ทยาศาสตร เทคโนโลยี ว�จัย และนวัตกรรม 9.พัฒนาภาค เมือง และพ�้นที่เศรษฐกิจ 10.การต างประเทศ ประเทศเพ�่อนบ าน และภูมิภาค
แผนยุทธศาสตร รายสาขาเฉพาะด าน ท องเที่ยว อุตสาหกรรม เกษตร บร�หารจัดการน้ำ ความมั่นคง
เขตเศรษฐกิจพ�เศษ โครงสร างพ�้นฐาน สิ�งแวดล อม ปรองดองสมานฉันท ผังเมือง
ยุทธศาสตร การพัฒนาภาคเหนือ พัฒนาภาคเหนือให เป นฐานเศรษฐกิจสร างสรรค มูลค าสูง
ยุทธศาสตร การพัฒนากลุ มจังหวัดภาคเหนือตอนล าง 2 แผนพัฒนาจังหวัดกำแพงเพชร พ.ศ. 2561-2564 แผนปฏิบัติราชการประจำป พ.ศ. 2561
แนวทางพัฒนาเชิงพ�้นที่ (จ กำแพงเพชร) - ฐานการผลิตสินค าเกษตรปลอดภัย - ยกระดับอุตสาหกรรมแปรรูปข าว พ�ชไร และพ�ชพลังงาน - แหล งผลิตพลังงานทดแทน - พัฒนาการท องเที่ยวมรดกโลก
ศักยภาพของจังหวัด ป ญหาความต องการของประชาชนในพ�้นที่ SWOT ของจังหวัด
โดยก�ำหนดต�ำแหน่งการพัฒนาจังหวัด (Positioning) ไว้ 3 ประเด็นส�ำคัญ ได้แก่ แหล่งผลิตและแปรรูปสินค้าเกษตรปลอดภัย แหล่งผลิตพืช พลังงานทดแทน และการท่องเที่ยวมรดกโลก พร้อมกันนี้ ยังก็ได้ก�ำหนดวิสัยทัศน์จังหวัดก�ำแพงเพชร ให้สอดคล้องกับ Positioning จังหวัด คือ “แหล่งผลิต แปรรูปสินค้าเกษตรปลอดภัย ฐานผลิตพืชพลังงานทดแทน และเมืองท่องเที่ยวมรดกโลก” KAMPHAENG PHET I SBL บันทึกประเทศไทย
OK.indd 31
31
11/04/61 05:58:10 PM
7 นโยบายขับเคลื่อนวาระจังหวัด ผมได้ก�ำหนดนโยบายอันเป็นวาระส�ำคัญ ในการขับเคลือ่ นการพัฒนาจังหวัดก�ำแพงเพชร เพื่อให้ทุกภาคส่วนได้น�ำไปสู่การปฏิบัติหน้าที่ ให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน และบรรลุผลส�ำเร็จ ตามเป้าหมายอย่างเป็นรูปธรรม ภายใต้กรอบ แนวนโยบาย 7 ประการ ประกอบด้วย 1. การน้อมน�ำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงมาปรับใช้ในชีวิตประจ�ำวัน ให้เป็น วิถีชีวิต เป็น Way of life 2. การสร้างคนดี รักษาศีล 5 และการ สวดมนต์ ผมลงไปทีโ่ รงเรียน กศน. มหาวิทยาลัย และสถาบันต่างๆ แม้กระทั่งในเรือนจ�ำกลางฯ เป็นการคืนคนดี สู่สังคม 3. การป้องกันและปราบปรามปัญหา ยาเสพติ ด เป็ น นโยบายเร่ ง ด่ ว นที่ ต ้ อ งท� ำ อย่างต่อเนื่อง เป็นนโยบายรัฐบาลด้วยครับ 4. การจัดการขยะมูลฝอย 5. การก�ำจัดผักตบชวา ผมท�ำต่อเนื่อง มาจากท่ า นผู ้ ว ่ า ราชการจั ง หวั ด ท่ า นเดิ ม ท่ า นธานี ธั ญ ญาโภชน์ ท่ า นแต่ ง ตั้ ง คณะ กรรมการปราบปรามผั ก ตบชวาเฉพาะกิ จ ฟังดูแล้วน่ากลัวนะครับ เพราะว่าเราไม่ตอ้ งการ ให้ ผั ก ตบชวาอยู ่ ใ นพื้ น ที่ ก็ ใ ห้ อ งค์ ก าร บริหารส่วนจังหวัดซึ่งมีเครื่องไม้เครื่องมือ มี เครือ่ งจักรกลไปด�ำเนินการ แต่ให้อำ� เภอ ท้องถิน่ ท้องที่ ก�ำนัน ผู้ใหญ่บ้านแจ้งเข้ามาว่าในเขต ต�ำบลของเรามีคูคลองตรงไหนที่ผักตบเยอะ จะได้เอาเครื่องไม้เครื่องมือลงไป อันนี้ก็จัดท�ำ เป็นระบบ 6. การรณรงค์รักษาความสะอาดของ บ้ า นเมื อ ง “หน้ า บ้ า นน่ า มอง” ซึ่ ง เรื่ อ งนี้ ในอดีตมีอยู่นะครับ แล้วก็เป็นนโยบายของ รั ฐ บาลด้ ว ย แต่ ข าดความเอาใจใส่ เพราะ ฉะนั้นพัฒนาการอ�ำเภอ พัฒนาการจังหวัด จะรับนโยบายนี้ลงไปด�ำเนินการ โดยเฉพาะ เจ้าหน้าที่ระดับอ�ำเภอ เมื่อไปสอน “สวนครัว รั้วกินได้” ปลูกผักสวยงามตามรั้วบ้าน ก็เอา นโยบายท�ำความสะอาดหน้าบ้านไปบอกกล่าว ให้ชาวบ้านออกมาดูแลหน้าบ้านของตน และ กวาดหน้าบ้านตัวเองให้สะอาดน่ามอง แต่ ไม่ใช่วา่ กวาดจากบ้านเราไปทิง้ บ้านอืน่ นะครับ 32
7. ความปลอดภัยทางถนน ตรงนี้ส�ำคัญ ขอเน้นเอาไว้ ขณะนี้เราเน้นไปยังกลุ่มสตรี กลุ ่ ม แม่ บ ้ า น และกลุ ่ ม อาสาสมั ค รต่ า งๆ โดยเฉพาะอสม. (อาสาสมั ค รสาธารณสุ ข ประจ�ำหมู่บ้าน) ว่าถ้าเห็นลูกหลานหรือใคร เริ่มเมา ให้แม่บ้านหรือกลุ่มสตรีเอากุญแจ มอเตอร์ ไซค์ ไ ปซ่ อ น เหล้ า หมดอย่ า ให้ ขั บ ออกมาหาซื้อได้ ซึ่งตรงนี้เราต้องช่วยกัน และ เรามีมาตรการทางปกครอง ก็คอื ถ้าใครเมาแล้ว
ขับมอเตอร์ไซค์ออกไป บุคคลนั้นจะถูกห้าม กูย้ มื เงินกองทุนหมูบ่ า้ นอีกต่อไป เป็นมาตรการ ทางปกครอง ถ้าประกาศแบบนี้เป็นสัญญา ประชาคมได้ คุณจะไม่กล้าออกมาเพราะคุณ กลัวจะกู้เงินไม่ได้ ต้องใช้แบบนี้ นอกจากนี้ ก็ สั่ ง การไปแล้ ว ให้ อ� ำ เภอท� ำ ป้ า ยไวนิ ล พื้ น สีเหลือง มีรูปกล้องและมีข้อความว่า “ระวัง การตรวจจับความเร็ว” ทุกคนขับมาเห็นปั๊บ ก็จะชะลอ เพราะกล้องจะอยู่ตรงไหนไม่รู้
SBL บันทึกประเทศไทย I KAMPHAENG PHET
OK.indd 32
11/04/61 05:58:11 PM
สร้างงาน - สร้างอาชี พ - สร้างรายได้ - กระตุ้นเศรษฐกิจ - กระตุ้นการบริโภค และเปิ ดช่ องทางการตลาด เพื่อชี วิตที่ดีขึ้น เมื่อผมมารับต�ำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัด ใหม่ๆ ผมรีบไปดูแหล่งน�้ำก่อนเลย เพราะเป็น ช่วงที่น�้ำท่วมพอดี พอดูแหล่งน�้ำแล้วไปถาม กลุ่มชลประทาน ถึงได้รู้ว่าเรามีแหล่งน�้ำปิด ทีเ่ ปรียบเสมือนเป็นฝาย เป็นสระน�ำ้ อะไรต่างๆ เหมือนเตาขนมครก ที่จะปล่อยน�้ำเข้ามาเป็น แก้มลิงได้ดว้ ย มีทงั้ หมด 392 แห่ง เกือบ 400 แห่ง นะครับ ซึง่ มีทงั้ ขนาดใหญ่ ขนาดกลาง ขนาดเล็ก ผมเคยเห็ น ตั ว อย่ า งจาก บางระก� ำ โมเดล ทีพ่ ษิ ณุโลก ช่วงนัน้ เราปล่อยปลา พอน�ำ้ มาปับ๊ ปลาโตพอดี ชาวบ้านก็จับปลาได้ แต่เกี่ยวข้าว ให้เสร็จเร็วหน่อยนะครับ พอเรามาที่ ก� ำ แพงเพชรมาเจอแอ่ ง น�้ ำ สระน�้ำ ก็คิดว่าเราต้องปล่อยปลา พอดีเคยอยู่ สมุทรสงครามปล่อยกุ้งแต่เป็นกุ้งก้ามกราม ไม่ใช่ปล่อยกุง้ ตัวเล็ก อายุ 18 วัน เพราะตัวเล็ก นี่ปล่อยเขาไปเป็นล้านตัว ตาย 95% รอด 5%
แต่ถา้ ปล่อยกุง้ ขนาดใหญ่ 3-5 ซม. หรือ 3-7 ซม. ตัวใหญ่ มีโอกาสรอด 95% ตาย 5% เพราะ ฉะนั้นพอปล่อยไป 3-4 เดือนมันโต ก็ตรงกับ ช่วงเมษายนมีเทศกาลสงกรานต์ คนกลับบ้าน มากินกุ้งก้ามกราม เพราะฉะนั้นผมจึงตั้งใจ จัดงาน “เทศกาลกินกุง้ ก้ามกรามก�ำแพงเพชร” ในช่วงสงกรานต์หรือในเดือน พฤษภาคม 2561 ทีนพี้ อจัดกุง้ อย่างเดียว ก็มคี นมาถามว่าเอาปลา มาได้ไหม ผมก็บอก ได้สิ เอาปลามาปิ้งมาเผา คนจะไม่ได้กินกุ้งอย่างเดียว เอาสินค้า OTOP มาขาย SME มาขาย เอาพืชผักเกษตรอินทรีย์ เกษตรปลอดภัย มาขาย อาจจะมีงานกิจกรรม อีกสักหน่อย ติดไฟแสงสี ผู้คนขับรถผ่านไปมา ก็แวะดูหน่อย ผ่านจากเหนือมาแวะก�ำแพงเพชร มาแวะกินข้าว ร้านค้า ร้านอาหาร โรงแรม รี ส อร์ ท จะได้ รั บ อานิ ส งส์ ต รงนี้ เป็ น การ เปิดเมืองก�ำแพงเพชร เราเตรียมไว้แล้วครับ
ถามนายอ� ำ เภอว่ า จั ง หวั ด เรามี แ หล่ ง ท่องเทีย่ วทีเ่ ป็นภูเขาไหม นายอ�ำเภอคลองลาน บอก มีครับ มีอุทยานฯ คลองลาน แล้วก็มี อุทยานฯ แม่วงก์ แล้วก็มีช่องเย็นอยู่ เพราะ ฉะนั้ น ตรงนี้ ม าขี่ จั ก รยานได้ เปิ ด เว็ บ ไซต์ ประชาสัมพันธ์ให้ทกุ คนมาฟรีได้ไหม ถ้าทุกคน มาเทีย่ วได้ฟรี แต่สงิ่ ทีจ่ ะได้คอื ร้านค้า ร้านอาหาร รีสอร์ทตามรายทาง เราต้องดึงคนมาเที่ยว ก�ำแพงเพชรให้ได้ เพราะฉะนั้นนี่คือนโยบาย ของผมคือ “สร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ กระตุ้นเศรษฐกิจ กระตุ้นการบริโภค และ เปิดช่องทางการตลาด” ตรงนี้เป็นการตอบ โจทย์ ผ มจะใช้ เ วลาไปพู ด ที่ ไ หน จะต้ อ ง คิ ด สร้ า งงานขึ้ น มา สร้ า งอาชี พ ใหม่ ใ ห้ เขา ให้เขามีรายได้ แล้วเปิดช่องทางการตลาด จึงเป็นที่มาของ “เทศกาลกินกุ้งก้ามกราม ก�ำแพงเพชร” ครับ KAMPHAENG PHET I SBL บันทึกประเทศไทย
OK.indd 33
33
11/04/61 05:58:12 PM
34
SBL บันทึกประเทศไทย I KAMPHAENG PHET
OK.indd 34
11/04/61 05:58:13 PM
ผมเคยไปบวชที่อินเดียอยู่ช่วงหนึ่ง เชื่อมั่นว่าบุญและบาปมีจริงๆ อีกภพอีกมิติหนึ่งมีจริงๆ ผมศรัทธาในเรื่องสวดมนต์ อานิสงส์ จากการสวดมนต์จะปกป้องคุ้มครองภัย
นายธัชชัย สีสุวรรณ
ผู้ว่าราชการจังหวัดก�ำแพงเพชร
KAMPHAENG PHET I SBL บันทึกประเทศไทย
OK.indd 35
35
11/04/61 05:58:14 PM
ตัง้ ใจสร้างคนดีมากกว่าสร้างวัตถุ เมื่อมาเป็นผู้ว่าฯ ก�ำแพงเพชร ผมตั้งใจ เลยว่าจะต้องไป “สร้างคนดี รักษาศีล 5 และ การสวดมนต์” ซึ่งคิดไว้อยู่แล้วตั้งแต่สมัยที่ เป็นรองผู้ว่าฯ แต่พอผมเป็นผู้ว่าฯปั๊บ ผมก็คิด เลยว่าเราต้องเน้นสร้างคนมากกว่าสร้างวัตถุ ก็เลยเอาวลี “สร้างคนดี รักษาศีล 5 และ การสวดมนต์” มาเป็นหนึ่งในวาระจังหวัด ผมขอเล่าย้อนไปในสมัยที่เป็นรองผู้ว่าฯ ร้อยเอ็ด ท่านผู้ว่าฯ ได้มอบหมายให้ลงไป ในพืน้ ที่ ผมก็ได้พบนายอ�ำเภอ พบผูอ้ ำ� นวยการ โรงเรียน ก็ถาม ผอ.ว่า...ผมจะไปบรรยายธรรมะ ให้ กั บ เด็ ก นั ก เรี ย นในชั้ น ได้ ไ หม เพราะผม ต้องการปลูกจิตส�ำนึกให้เขาเป็นคนดี ตัง้ ใจเรียน มี ค วามกตั ญ ญู ผมจึ ง ได้ มี โ อกาสเข้ า ไป ในโรงเรียน เราลงไปสอนนักเรียนแถวภาคอีสาน 36
ให้สวดมนต์ และพูดถึงอานิสงส์จากการสวดมนต์ ว่าจะเป็นแบบนี้ๆ ซึ่งผมสัมผัสได้ ผมรู้แล้ว ผม ถึ ง บอกเขาได้ เพราะผมเคยได้ ไ ปบวช ที่อินเดียอยู่ช่วงหนึ่ง รู้ว่าบุญและบาปมีจริงๆ อีกภพอีกมิติหนึ่งมีจริงๆ ผมเชื่อมั่นในเรื่อง สวดมนต์ อานิสงส์จากการสวดมนต์จะปกป้อง คุ้มครองภัย แล้วเมื่อแผ่ส่วนกุศลไป ทุกคนจะ เป็นมิตรหมดครับ รวมทั้งสัมภเวสีก็จะเป็น กัลยาณมิตร เมื่อเข้าไปในโรงเรียนแล้วถึงได้รู้ว่าไม่มี หนังสือสวดมนต์ ผมจึงผลิตหนังสือสวดมนต์ ทันที 20,000 เล่ม เพราะผมรู้ว่ามี 700 กว่า โรงเรียน มีนักเรียนประมาณ 150,000 คน เพราะจังหวัดร้อยเอ็ดมีอ�ำเภอประมาณ 20 อ�ำเภอ เยอะมากนะครับ แจกหมด แล้วก็ผลิตใหม่
ผมยกหูโทรศัพท์ถึงภรรยา บอกว่าจะพิมพ์ 20,000 เล่มนะ ซึง่ เงินเดือนนีค่ งหมดลงไปทันที ภรรยาบอกเอาเลย ผมก็แจกหนังสือธรรมะ เป็นทานที่ชนะการให้ทั้งปวง ตั้งแต่จังหวัด ร้อยเอ็ดเป็นต้นมา จากนั้นพอมาอยู่ที่จังหวัดก�ำแพงเพชร ข้อนี้จงึ เป็นข้อหนึง่ ในนโยบาย เพราะผูว้ า่ ราชการ จังหวัด ก�ำกับดูแลกระทรวงศึกษาธิการ ก�ำกับ ดูแลโรงเรียนต่างๆ เพราะฉะนัน้ ก็มอบหมายให้รอง ผูว้ า่ ฯ ลงไป มอบหมายให้นายอ�ำเภอลงไปที่ โรงเรียน แต่ละโรงเรียนในเขตนายอ�ำเภอไป สอนให้หมด เน้นให้เป็นคนดี ปลูกจิตส�ำนึกให้ เด็กตัง้ ใจเรียน เพราะ ณ วันนี้เด็กมีสมาร์ทโฟน ไม่สนใจในการเรียน แล้วก็เล่นแต่เกมเล่นแต่แชท ในทีส่ ดุ พอแชทกัน หนุม่ สาวเป็นวัยอยากเรียนรู้
SBL บันทึกประเทศไทย I KAMPHAENG PHET
OK.indd 36
11/04/61 05:58:15 PM
อยากทดลอง จึงเป็นที่มาของ “คุณแม่วัยใส” คุณแม่ที่ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร ระหว่างอายุ 13-18 ปี ปรากฏว่าองค์การอนามัยโลกก�ำหนด ว่าแต่ละประเทศไม่ควรเกิน 10% แต่ประเทศไทย 15.5% เกินเป้า พอไปดูองั กฤษ ดินแดน free sex มี 3% จังหวัดในภาคอีสานจังหวัดหนึง่ ทีผ่ มอยู่ 19.9% เป็นอันดับ 1 ของประเทศ คุณแม่ วัยใสอยู่ที่นี่มากที่สุด ฉะนัน้ พอผมรูป้ บ๊ั ผมก็มาปลูกจิตส�ำนึกว่า... อย่าพึ่งรีบมีแฟนนะ ให้ตั้งใจเรียนก่อน จึงบอก นายอ�ำเภอว่าลงไปตามโรงเรียนนะครับ เดี๋ยว ปลัดจังหวัดลงไป รองผูว้ า่ ฯ ลงไป ผูว้ า่ ฯ จะลงไป ตอนมาอยู่ก�ำแพงเพชร ผมได้พิมพ์หนังสือ สวดมนต์รุ่นแรก 50,000 เล่ม แต่ดูจะไม่พอ แต่ผมต้องลงไปบอกกล่าวก่อน(บอกกล่าวถึง อานิสงส์ ของการสวดมนต์) แล้วค่อยแจก หนังสือสวดมนต์ ถ้าหนังสือหมดก็จะผลิตใหม่
แต่ขณะนี้ก็มีเจ้าหน้าที่ มีคนที่ทราบว่าเราท�ำ อะไรอยู่ ก็อยากร่วมท�ำบุญ คนนี้ 100 บาท คนนี้ 20 บาท คนนี้ 50 บาท แต่ได้เท่าไหร่ไม่ เป็นไร ผมสมทบตูมทั้งก้อน นี่คือจิตส�ำนึกที่ ผมต้องการ แต่ทุกท่านที่ร่วมท�ำบุญก็จะได้ อานิสงส์ทงั้ หมดก็อนุโมทนาบุญกับทุกท่าน ซึ่งการปลูกจิตส�ำนึกให้เขาเป็นคนดีนี้ เรา ไม่สามารถที่จะดึงหรือฉุดให้เขามาร่วมสวด มนต์ได้ นอกจากเขาจะระเบิดจากภายในตาม หลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งของ ในหลวง (รัชกาลที่ 9) เศรษฐกิจพอเพียงนี่ต้อง ระเบิดจากภายใน ต้องเกิดด้วยตัวของตัวเอง ต้องท�ำด้วยตัวเขาเอง เหมือนดอกบัวมี 4 เหล่า ตามที่พระพุทธองค์ว่า ดอกบัวทีป่ ริม่ น�ำ้ ฟังที เดี ย วก็ เข้ า ใจรั บ แสงอาทิ ต ย์ เดี๋ ย วบานเลย ดอกบัวที่ก�ำลังจะปริ่มน�้ำ จะต้องดีดตัวเอง ฟัง 2-3 รอบ แล้วขวนขวาย ดิ้นรนยืนด้วยล�ำแข้ง
ขึ้นมา พอขึ้นมาแล้วรับแสงอาทิตย์ ดอกบัวก็ จะบาน ก็จะพบความสุขความเจริญ แต่ถ้า ดอกบัวใต้น�้ำ อาจต้องฟัง 10 ครั้ง ถึงจะเข้าใจ ด้ ว ยตั ว ของเขาเอง แบบนี้ ค รั บ ที่ เรี ย กว่ า ระเบิดจากภายใน ต้องปลุกจิตส�ำนึกเขา พอ เขาขึ้นมาก็โอเค ผ่านพ้นวิกฤตการณ์ต่างๆ ได้ แต่ถ้าใครไม่เชื่อเลยในเรื่องวิบากกรรมในอดีต ชาติ ไม่เชื่อเรื่องบุญต้องสั่งสม ไม่เชื่อเรื่องบาป บุญว่ามีจริง คนนี้จะจมปลักอยู่ใต้โคลนดิน เป็นอาหารเต่า ปลา ฉะนั้นที่พระพุทธองค์ สอนเรื่องบัว 4 เหล่านี่ตรงที่สุดเลย ใครที่ อยากท�ำความดีต้องสั่งสม ผมจะเกษียณแล้ว เวลาที่เหลืออยู่ปีเดียว ผมต้องรีบท�ำทุกอย่าง ยอมเหนือ่ ย เดีย๋ วจะได้พกั ยาวแล้ว เพราะฉะนั้น การปลูกจิตส�ำนึกให้เขาเป็นคนดี เป็นสิ่งที่ผม ต้องรีบสอนลูกหลานชาวก�ำแพงเพชร
KAMPHAENG PHET I SBL บันทึกประเทศไทย
OK.indd 37
37
11/04/61 05:58:16 PM
38
SBL บันทึกประเทศไทย I KAMPHAENG PHET
OK.indd 38
11/04/61 05:58:17 PM
คิดถึงก�ำแพงเพชร คิดถึงคนดีมีศีลธรรม ขณะนี้ผมต้องการเน้นให้คนทั่วไปรู้จัก ก�ำแพงเพชรในเรือ่ งของการสร้างคนให้เป็นคนดี เพราะคนดีเขาจะมองภาพในภาพรวม มอง ทุกอย่างเพือ่ ประโยชน์สว่ นรวม คนดีจะต่อยอดได้ ถามว่าคนดีเป็นคนเก่งได้ไหม อย่าลืมว่าความรู้ สมั ย นี้ รู ้ เ ท่ า ทั น กั น หมด คนดี ค นนี้ เ ปิ ด YouTube เปิด Google ก็จะได้องค์ความรู้ มาต่อยอดเป็นคนเก่งๆ ได้นะครับ แต่ถา้ คนเก่ง ในวันนี้ มองทุกอย่างเข้าหาประโยชน์ตนเอง จะเรียกว่าเห็นแก่ตวั ก็จะหนักเกินไป แต่คนเก่ง คนนี้ ถ้าเก่งขึ้นไปเรื่อยๆ อีโก้สูง จะไม่ฟังใคร นะครับ เพราะฉะนั้นคนเก่งคนนี้จะต่อยอด เป็นคนดีได้ไหม...ได้ แต่ได้น้อยเพราะฉะนั้น ต้องสอนคนให้เป็นคนดีของสังคมโดยเฉพาะ คนรุน่ ใหม่ ต้องรูจ้ กั บาปบุญคุณโทษ การทีจ่ ะให้ เขารู้จักบาปบุญคุณโทษได้ พ่อแม่ผู้ปกครอง ต้องพาลูกหลานเข้าวัด เมื่อเข้าวัดมาแล้วต้อง รักษาศีล 5 ให้ได้นะครับ เพราะศีล 5 เป็น ปั จ จั ย พื้ น ฐานในการด� ำ รงตนของแต่ ล ะคน ในการด�ำรงชีวิตในแต่ละวัน ถ้าทุกคนมีศีล 5 ปัญหาอาชญากรรมจะไม่เกิดขึ้นนะครับ ที่เรือนจ�ำกลางก�ำแพงเพชรที่ผมได้ลงไป
สอนนักโทษ ถามว่าใครสวดคาถาชินบัญชรได้ ปรากฏว่านักโทษชาย 300 นักโทษหญิง 200 ยกมือทั้ง 500 คน ผมก็ให้สวด เขาก็สวดโดย ไม่ตอ้ งมีโฉนดไม่ตอ้ งมีตำ� รา เพราะผบ.เรือนจ�ำ (นางสาวโศรยา ฤทธิอร่าม) ซึง่ ผมรูจ้ กั สมัยอยูท่ ี่ พิษณุโลก ถือว่าฉลาดมากที่เอาธรรมะเข้าสู่ เรือนจ�ำ เพราะถ้านักโทษสวดคาถาชินบัญชรได้ อัญเชิญพระอรหันต์ 28 พระองค์มาปกป้อง จากศีรษะจรดปลายเท้า พระโมคคัลลานะ พระสารีบตุ รอยูบ่ า่ ซ้ายบ่าขวา ถ้านักโทษเหล่านี้ สวดมนต์จติ ใจจะอ่อนโยน จะไม่เกิดเหตุเภทภัย ใหญ่ ใ นเรื อ นจ� ำ นั้ น เด็ ด ขาด ต้ อ งขอชมเชย ผบ.หญิงคนนี้นะครับ นอกจากผมจะเน้นในเรื่องของการสร้าง คนดีแล้ว เราต้องการให้เศรษฐกิจเดินหน้า ไปได้โดยมีคนดีที่ไม่คดโกงกัน ก็จะก่อให้เกิด สังคมสงบสุขร่มเย็นภายในจังหวัดก�ำแพงเพชร แต่สิ่งหนึ่งที่เกิดขึ้นก่อนหน้าผมมาคือ จังหวัด ก�ำแพงเพชรของเราที่เป็นจังหวัดเล็กๆ แต่ ร้องเรียนเรื่องทุจริตเป็นอันดับ 2 ของประเทศ เพราะฉะนั้นเราต้องรีบปลูกจิตส�ำนึกให้คน เป็นคนดี ด้วยการรักษาศีล 5 และการสวดมนต์
KAMPHAENG PHET I SBL บันทึกประเทศไทย
OK.indd 39
39
11/04/61 05:58:18 PM
ชาวก�ำแพงเพชรอุ ่นใจ ได้พ่อเมืองดี จากการทีผ่ มได้ลงพืน้ ที่ ได้พบปะชาวบ้าน เขาจะชอบใจ เพราะชาวบ้านต้องการพบผู้น�ำ พบพ่อเมือง ให้ช่วยแก้ไขปัญหาเรื่องปากท้อง เรือ่ งอะไรต่างๆ ให้ ผมก็จะให้กำ� นัน ผูใ้ หญ่บา้ น รวมทั้ ง องค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น เป็ น ผู ้ รวบรวมปั ญ หาแล้ ว ยื่ น เรื่ อ งขึ้ น มา ผมก็ ไ ด้ อธิบายการได้มาซึ่งงบประมาณ เพราะฉะนั้น จะต้ อ งสะท้ อ นปั ญ หาข้ อ มู ล ในพื้ น ที่ ขึ้ น มา และผ่ า นระบบท้ อ งที่ ต� ำ บล หมู ่ บ ้ า นต่ า งๆ จัดท�ำขึ้นมา ผ่านอ�ำเภอๆ จะต้องกลั่นกรอง จัดล�ำดับความส�ำคัญ และเข้าสู่กระบวนการ 40
ท�ำแผนพัฒนาอ�ำเภอ และขึ้นเป็นแผนพัฒนา จั ง หวั ด แล้ ว จั ง หวั ด ก็ จ ะพิ จ ารณาจั ด ล� ำ ดั บ ความส�ำคัญเร่งด่วนของแต่ละอ�ำเภอ จึงจะ สามารถท� ำ ให้ ส อดรั บ สอดคล้ อ งกั บ ความ ต้องการของประชาชนในพื้นที่ได้ นอกเหนือจากนีแ้ ล้ว ถ้าสมมุตวิ า่ มีปญ ั หา ส�ำคัญเร่งด่วนจริงๆ ผู้ว่าราชการจังหวัดมีเงิน อยู่ในมือก้อนหนึ่ง ไม่มากครับประมาณ 3 ล้านบาท ซึ่ง 3 ล้านบาทตรงนี้มันจิ๊บจ๊อย มัน ไม่สามารถแก้ปัญหาเรื่องใหญ่ๆ ได้ทุกเรื่อง นะครับ แต่จะต้องเป็นปัญหาที่จ�ำเป็นเร่งด่วน
จริ ง ๆ และเป็ น ความต้ อ งการ ของพี่ น ้ อ ง ประชาชนอย่างแท้จริง เราถึงจัดท�ำโครงการ ให้สอดคล้องกับตรงนี้ได้ ซึ่งมีเงื่อนไขเวลาอยู่ เราก็ต้องรีบดูว่าตรงไหนที่จ�ำเป็นจริงๆ ส�ำหรับผมยืนยันได้เลยว่า พ่อแม่พี่น้อง ประชาชนคือจุดศูนย์กลางตามนโยบายของ รัฐบาล เรื่องเงินทอนไม่ต้องพูดถึง เพราะผม เหลือปีเดียว ผมจะพยายามรักษาสถาบัน ผู้ว่าราชการจังหวัดไม่ให้เสื่อมเสีย และต้อง รั ก ษาสถาบั น ผู ้ ว ่ า ราชการจั ง หวั ด ให้ เ ป็ น ที่พึ่งของประชาชนได้อย่างแท้จริง
SBL บันทึกประเทศไทย I KAMPHAENG PHET
OK.indd 40
11/04/61 05:58:18 PM
ร้อยดวงใจเป็ นหนึ่งเดียว ใต้ร่มพระบารมี การทีเ่ รายิง่ มีประสบการณ์อยูห่ ลายจังหวัด เรายิ่ ง เห็ น ความแตกต่ า งของแต่ ล ะพื้ น ที่ ที่เรียกว่า “ภูมิสังคม” คือสภาพภูมิศาสตร์ แตกต่างกัน สภาพสังคมแตกต่างกัน ที่นี่มีชาว ไทยภูเขาอยู่ 6 เผ่าด้วยกัน เพราะฉะนั้นใน ช่วงวันที่ 1-5 ธันวาคม 2560 ก�ำแพงเพชร เป็ น จั ง หวั ด ที่ จั ด งานกี ฬ าชาวไทยภู เขา 20 จังหวัด จะมาอยู่ที่นี่ประมาณ 8,000 คน เป็น จุดที่จะท�ำให้ทุกคนมาร่วมกันร้อยดวงใจเป็น หนึง่ เดียวจึงต้องบอกกล่าวให้ชาวก�ำแพงเพชร เป็นเจ้าภาพที่ดี เป็นเจ้าบ้านที่ดี ส�ำหรับด้าน การพัฒนาน�ำพาเศรษฐกิจ ผมได้นำ� หลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงของในหลวงรัชกาลที่ 9 มาปรับใช้ในชีวติ ประจ�ำวัน โดยให้ ทุกคนใช้ชวี ติ อย่างพอเพียง มีความสุขในการด�ำเนินชีวิต แต่การบริหารบ้านเมืองจะไปได้ดี ต้องอาศัย ความปรองดองสมานฉันท์ ในอดีตเราอาจจะมี ความแตกแยกอยู่ แต่ในวันนี้ทุกคนนิ่ง เงียบๆ เมือ่ นิง่ เงียบแล้วผมจะลงไปดูในเรือ่ งความเป็นอยู่ เพื่อให้เขาอยู่เย็นเป็นสุข มีกิน บําบัดทุกข์ บํารุงสุขให้เขา ถ้าทุกคนมีกินจะไม่เดือดร้อน จะไม่มองความคิดเห็นที่แตกต่าง
ในขณะเดียวกันก็เอาความรู้ความเข้าใจ ไปบอกกล่าวเขาว่า ประเทศเราตั้งแต่ในอดีต ผูกพันกับสถาบันพระมหากษัตริย์อย่างไรบ้าง ผมไปที่ไหน ก็จะยกตัวอย่างตามที่ได้อ่านจาก จดหมายเหตุสมเด็จกรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ ที่ทรงนิพนธ์เรื่องในหลวงรัชกาลที่ 5 เสด็จ ประพาสที่ยุโรป ครั้งที่ 2 ว่า...เมื่อสมเด็จฯ โต พรหมรังษี ซึ่งขึ้นชื่อว่าเป็นพระอรหันต์ รู้ว่า ในหลวงรัชกาลที่ 5 จะเสด็จประพาสยุโรป ท่านรีบมาหาแล้วให้คาถาอยูบ่ ทหนึง่ รัชกาลที่ 5 ทรงถามว่าเป็นคาถาอะไร สมเด็จฯโต บอกว่า คือ คาถามงกุฏพระพุทธเจ้า เป็นคาถาส�ำหรับ เมตตาใช้ได้กับคนและสัตว์ เมื่อเสด็จไปถึง ที่รัสเซีย พระเจ้าซาร์แห่งรัสเซียทรงทราบว่า พระองค์ชอบทรงม้า วันหนึ่งก็เอาม้าที่เลี้ยง มาให้พระองค์ทรงม้า ก่อนที่รัชกาลที่ 5 จะ ทรงม้า ท่านก็สวดคาถาของสมเด็จฯโต แล้ว ลูบแผงคอม้าเบาๆ 3 ครัง้ แล้วม้าก็พาเดิน 3 รอบ พอท่านลงจากม้า พระเจ้าซาร์พดู ประโยคแรก เลยว่า...ท่านเป็นกษัตริยไ์ ทยทีม่ บี ญ ุ บารมีสงู ยิง่ เพราะม้าตัวนี้เป็นม้าพยศ คนเลี้ยงม้าของฉัน ขึ้นก็ถูกดีดตกม้า ฉันขึ้นก็ถูกดีดตก แต่ท่าน
มีบุญบารมีสูงยิ่ง เมื่อรัชกาลที่ 5 เสด็จฯ กลับมา อังกฤษก็ ยึ ด ไทรบุ รี กลั น ตั น ตรั ง กานู ฝรั่ ง เศส ยึ ด เสียมราฐ พระตะบอง ศรีโสภณ ตามทีเ่ ราเรียน ประวัติศาสตร์ พระเจ้าซาร์ทรงทราบเรื่อง จึ ง มี จ ดหมายไปถึ ง กษั ต ริ ย ์ อั ง กฤษและ ประธานาธิ บ ดี ฝ รั่ ง เศสว่ า อย่ า ท� ำ อะไร ประเทศสยามนะ คิงสยามเป็นเพื่อนของฉัน นีจ่ งึ เป็นทีม่ าถึงการไถ่คนื ประเทศ ด้วยการเอา ถุงแดงจากท้องพระคลัง ซึ่งรัชกาลที่ 3 ไป ค้าขายกับเมืองจีน ค้าขายกับยุโรป เอามาไถ่คนื ถามว่าพอไหม...ไม่พอ แต่บรรดาข้าราชบริพาร ก็เอาทองร่วมบริจาคด้วย ในที่สุดก็สามารถ ไถ่คืนพื้นที่ของประเทศไทยได้เรียบร้อย เพราะฉะนั้ น สถาบั น พระมหากษั ต ริ ย ์ กั บ พสกนิ ก รชาวไทยจึ ง ผู ก พั น กั น มาอย่ า ง เนิ่ น นาน ในหลวงรั ช กาลที่ 9 ท่ า นทรงมี พระมหากรุณาธิคุณอย่างหาที่สุดมิได้ ตรงนี้ ล่ ะ ครั บ ที่ ผ มก็ อ ยากจะบอกกล่ า วกั บ ผู ้ ค น ทั่วไปว่า พสกนิกรชาวไทย ผูกพันกับสถาบัน พระมหากษัตริย์มากแค่ไหน
KAMPHAENG PHET I SBL บันทึกประเทศไทย
OK.indd 41
41
11/04/61 05:58:20 PM
ประวัติโดยย่อ นายธัชชัย สีสุวรรณ
ผู้ว่าราชการจังหวัดก�ำแพงเพชร วัน/เดือน/ปี เกิด 14 ธันวาคม 2500 อายุปัจจุบัน 60 ปี ภูมิล�ำเนาเดิม เลขที่ 24/937 ซ.วิภาวดีรังสิต 37 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงสนามบิน เขตดอนเมือง กรุงเทพมหานคร ครอบครัว ภรรยา นางสุชาดา สีสุวรรณ, ธิดา 2 คน (ส�ำเร็จการศึกษาแล้ว) ประวัติการศึกษา ปริญญาตรี คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง ปีการศึกษา พ.ศ. 2522 ปริญญาโท คณะพัฒนาสังคม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) ปีการศึกษา พ.ศ. 2540 ประวัติการรับราชการ ผู้ช่วยผู้ตรวจราชการกระทรวงมหาดไทย ปี พ.ศ. 2532 - 2537 หัวหน้าฝ่ายเรื่องราวร้องทุกข์และกิจการพิเศษ กองตรวจราชการ และ เรื่องราวร้องทุกข์ ส�ำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย ปี พ.ศ. 2537 - 2539 เลขานุการรองปลัดกระทรวงมหาดไทย (นายบรรจง กันตวิรุฒ) ปี พ.ศ. 2540 - 2542 เลขานุการรองปลัดกระทรวงมหาดไทย (นายสุดจิต นิมิตกุล) ปี พ.ศ.2543 คณะท�ำงานของรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย (นายสรอรรถ กลิ่นประทุม) ปี พ.ศ.2543 - 2544 หัวหน้าส�ำนักงานจังหวัดราชบุรี ปี พ.ศ. 2545 - 2548 หัวหน้าส�ำนักงานจังหวัดสุพรรณบุรี ปี พ.ศ. 2549 หัวหน้าส�ำนักงานจังหวัดสิงห์บุรี ปี พ.ศ. 2550 - 2551 หัวหน้าส�ำนักงานจังหวัดสมุทรสงคราม ปี พ.ศ. 2552 - 2554 หัวหน้าส�ำนักงานจังหวัดอุบลราชธานี ปี พ.ศ. 2554 - 2555 รองผู้ว่าราชการจังหวัดร้อยเอ็ด ปี พ.ศ. 2555 - 2556 รองผู้ว่าราชการจังหวัดอุบลราชธานี ปี พ.ศ. 2556 - 2557 รองผู้ว่าราชการจังหวัดสุรินทร์ ปี พ.ศ. 2557 - 2559 รองผู้ว่าราชการจังหวัดพิษณุโลก ปี พ.ศ. 2559 - 2560 ปัจจุบันด�ำรงต�ำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัดก�ำแพงเพชร เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2560
42
SBL บันทึกประเทศไทย I KAMPHAENG PHET
OK.indd 42
11/04/61 05:58:21 PM
KAMPHAENG PHET I SBL บันทึกประเทศไทย
OK.indd 43
43
11/04/61 05:58:22 PM
S P ECI A L INT E R V IE W
บันทึกเส้นทางพบรองผู้ว่าราชการจังหวัดก�ำแพงเพชร
“ท�ำหน้าที่ของเราให้ดีที่สุด” นายไพโรจน์ แก้วแดง รองผู้ว่าราชการจังหวัดก�ำแพงเพชร
44
SBL บันทึกประเทศไทย I KAMPHAENG PHET
.indd 44
17/04/61 09:58:36 AM
รองผู้ว่าจัราชการ งหวัดก�ำแพงเพชร
นายไพโรจน์ แก้ ว แดง รองผู้ว่าราชการจังหวัดก�ำแพงเพชร ชีวิตการท�ำงานมากด้วยประสบการณ์ ย้ายไปทัง้ ราชการส่วนภูมภิ าคและส่วนกลาง ราชการส่วนภูมิภาค อยู่จังหวัด พิษณุโลก, พะเยา, ตาก, ก�ำแพงเพชร จังหวัดก�ำแพงเพชร มาอยูเ่ ป็นรอบทีส่ องแล้ว ตอนเป็นระดับเจ้าหน้าที่ ตอนนั้นมาเป็นหัวหน้ากลุ่มบริหารทรัพยากร บุคคล อยู่รอบหนึ่ง แต่อยู่จังหวัดพิษณุโลกเป็น ส่วนใหญ่ เพราะบ้านอยู่ที่นั่นก็มีโอกาส ย้าย ไปอยู่จังหวัดอื่นบ้าง ถ้ามีโอกาสกลับเข้าบ้าน ก็เลยจะอยากเข้าไปอยู่ท่ีบ้านเพราะครอบครัว อยูท่ นี่ นั่ ไปอยูส่ ว่ นกลางทีส่ ำ� นักงานปลัดกระทรวง มหาดไทย ก็อยูท่ สี่ มัยก่อนเขาเรียกว่า กองแผน พั ฒนาจั ง หวั ด คื อ ท� ำ งานเกี่ ย วกั บ เรื่ อ งการ วางแผนงานโครงการงบประมาณการพัฒนา จังหวัดพอมาอีกยุคหนึง่ หน่วยงานนี้ เปลีย่ นไป
เป็นส�ำนักบริหารราชการจังหวัดแบบบูรณาการ ก็เข้าไปอยู่อีกรอบหนึ่ง ในสมัยท่านรองปลัด กระทรวงมหาดไทย ท่านศุภชัย เอี่ยมสุวรรณ เป็นผู้อ�ำนวยการส�ำนักในตอนนั้น และกลับมา ร่วมงาน กับท่านอีกครั้ง ในตอนสมัยท่านมา เป็น ผู้ว่าราชการจังหวัดพิษณุโลก ตอนนั้น ผม เป็นหัวหน้าส�ำนักงานจังหวัดก่อนได้รับการ แต่งตั้งมาด�ำรงต�ำแหน่งรองผู้ว่าราชการจังหวัด ก�ำแพงเพชร แต่ส่วนมากงานก็คุ้นเคยเกี่ยวกับ เรือ่ งท�ำยุทธศาสตร์ ท�ำแผนพัฒนาจังหวัด กลุม่ จังหวัด เรื่องของงาน Policy ทั้งในระดับกรม และกระทรวง พอมาอยู่จังหวัดก็ท�ำเกี่ยวกับ เรื่องยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด ชีวิตเติบโต มากับแผน คนท�ำแผนมาทั้งชีวิต แผนก็เป็น
เรื่องของนักจินตนาการ วาดฝันอยากจะเห็น อะไรยั ง ไงในเชิ ง การพั ฒนาในอนาคต บาง อย่ า งก็ ป ระสบผลส� ำ เร็ จ อย่ า งที่ เ ราคาดหวั ง บางอย่างมันก็มตี วั แปรหลายๆ ตัวแปรทีอ่ าจจะ ไปได้ครึ่งๆ กลางๆ บางอย่างก็ท�ำไม่ได้เลย ขึ้ น อยู ่ กั บ ข้ อจ� ำ กั ด หลายอย่ า ง งบประมาณ ขั บ เคลื่ อ น Policy บางครั้ ง บางที ก็ ต ้ อ งใช้ งบประมาณเยอะ อย่างว่า บ้านเราประเทศไทย เปรียบเสมือนพ่อมีลกู ตัง้ 70 กว่าคน (76จังหวัด) ใครจะขออะไรร้ อ ยบาทก็ ค งไม่ ไ ด้ ร ้ อ ยบาท ทุกคนหรอก ก็คงขึน้ อยูก่ บั ความจ�ำเป็นเร่งด่วน ที่แตกต่างกันไป
KAMPHAENG PHET I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 45
45
17/04/61 09:58:39 AM
สนุกสร้างสรรค์แผนงานพัฒนาจังหวัด รู ป แบบของแผนพั ฒ นาที่ ผ ่ า นมามี ป รั บ มาเรื่อยๆ เน้นพื้นที่เป็นตัวตั้ง หลังๆ ก็ มาเน้น เรื่องยุทธศาสตร์พัฒนาจังหวัด ยุทธศาสตร์ พั ฒนากลุ ่ ม จั ง หวั ด ยุ ท ธศาสตร์ พั ฒนาภาค ล่ า สุ ด นี่ ก็ คื อ ยุ ท ธศาสตร์ พั ฒนาภาค เพราะ ตอนนี้ รั ฐ บาลท� ำ งานภายใต้ เ ชิ ง ยุ ท ธศาสตร์ เพราะฉะนั้ น การขอแผนงานโครงการ ขอ งบประมาณก็จะเอายุทธศาสตร์มาเป็นตัวตั้ง สมัยก่อนถ้าเป็นเฉพาะจังหวัดดูเล็กไป จังหวัด โน้นก็อยากได้สนามบิน จังหวัดนี้ก็อยากได้ จึงเกิดกลุ่มจังหวัดขึ้นเพื่อจะได้มีการบูรณาการ
ในการขับเคลื่อนการพัฒนา ใช้ทรัพยากรกับ การลงทุนด้านสาธารณะให้เกิดประโยชน์มากทีส่ ดุ บางส่วนประสบผลส�ำเร็จ แต่บางส่วนก็มขี อ้ จ�ำกัด หลายๆ อย่าง ปัจจุบนั มีการก�ำหนดยุทธศาสตร์ ระดับภาค ภาคเหนือมีจุดเด่น ศักยภาพเรื่อง อะไรบ้าง ภาคอีสานมีจดุ เด่น ศักยภาพเรือ่ งอะไร โครงการแผนงานก็ จ ะร้ อ ยเรี ย งกั น ไป เช่ น ภาคเหนือมี เรื่องของการเป็นมรดกโลก เรื่อง เชิงเกษตรหรือ เรื่องของวัฒนธรรมเชิงล้านนา ก็จะท�ำร่วมกันครับ
ดูแลเศรษฐกิจ การศึกษา สาธารณสุข จังหวัดก�ำแพงเพชรจะมีรองผูว้ า่ ราชการจังหวัด อยู่ 2 ท่าน คือ ช่วยท�ำงานให้ทา่ นผูว้ า่ ได้แบ่งเบา ภาระท่านได้ เพราะมีหน่วยงานส่วนภูมภิ าคตัง้ อยู่ ในจังหวัดถึง 32 หน่วยงานรวมของส่วนกลาง ที่ตั้งอยู่ในพื้นที่อีกหลายหน่วย รวม 11 อ�ำเภอ และส่วนท้องถิ่น 90 แห่ง รวมแล้ว 100 กว่า หน่วยงาน สิง่ ทีไ่ ด้รบั มอบหมายให้ผมท�ำคือเรือ่ ง ของงานด้านเศรษฐกิจ ด้านเกษตร ด้านการศึกษา ด้านสาธารณสุข และเรือ่ งยุทธศาสตร์การพัฒนา พืน้ ทีเ่ พราะท่านเห็นเราเติบโตมากับการท�ำแผน และยุทธศาสตร์ ท่านก็เลยให้เราช่วยดูแลด้านนี้ ก็จะคลุกคลีกับทางนี้ และการบริหารราชการ ส่วนท้องถิน่ ทุกรูปแบบก็จะอยูใ่ นความดูแลด้วย
งานที่ ได้รับมอบหมาย ในระยะเวลาอันสั้น ยังไม่ได้ท�ำอะไรที่เป็น ความภาคภู มิ ใ จ โดยความรู ้ สึ ก ส่ ว นตั ว นะ คนอื่ น อาจจะมองว่ า เราท� ำ โนนนี่ นั่ น แทบ ไม่มเี วลาว่างดูจากตารางวาระงานแล้ว แต่เราเอง เรามองว่าสิง่ ทีเ่ ราท�ำเป็นเหมือนกับงาน Routine ยังไม่ได้อะไรที่แบบเหมือนกับยังไม่เต็มที่เลย เพราะเรามาอยูต่ รงช่วง 2-3 เดือนยังไม่เห็นผล เท่าไหร่ แต่สว่ นหนึง่ ก็คอื มีหลักว่าของทีท่ า่ นเดิม ได้ท�ำไว้มันดีอยู่แล้ว และชาวบ้านเขาทุกข์อก ทุกข์ใจ ดูแล้วอนาคตมันไปได้กจ็ ะต่อจากของทีม่ ี อยู่เดิมแล้วไม่อยากจะไปเริ่มอะไรใหม่ อยาก จะสานต่อของเก่าให้มันจบถึงเป้าหมายที่เขา ก�ำหนดไว้กับส่วนที่เพิ่มเข้ามาใหม่ก็มีหลายๆ 46
เรื่อง โดยเฉพาะการเปิดเมืองเชิญชวนผู้คนมา ท่องเที่ยวเมืองก�ำแพงเพชรที่มีแหล่งท่องเที่ยว หลากหลาย ทั้งมรดกโลกทางประวัติศาสตร์ โบราณสถานสมัยสุโขทัยแหล่งท่องเที่ยวทาง ธรรมชาติ เป็นต้น ประกอบกับเป็นการกระตุ้น เศรษฐกิจของจังหวัดท่านผูว้ า่ ราชการฯประกาศ วาระจังหวัดอยู่ 7 เรื่อง ใน 2-3 เรื่องที่เกี่ยวกับ ภารกิจที่รับมอบหมาย คือเรื่องของเศรษฐกิจ พอเพียง เรื่องปากเรื่องท้อง เรื่องท่องเที่ยว เรื่องการศึกษา เรื่องสาธารณสุข ครับ และเรื่อง ธรรมะด้ ว ย ท่ า นเน้ น เรื่ อ งของการรั ก ษาศี ล เพราะท่านบอกว่า คนดีกบั คนเก่ง ท่านอยากได้ คนดีมากกว่า เพราะคนดีสอนให้เป็นคนเก่งได้
SBL บันทึกประเทศไทย I KAMPHAENG PHET
.indd 46
17/04/61 09:58:40 AM
บุคคลผู้เป็นแรงบันดาลใจ จริงๆ แล้วไอดอลเราเนี่ย จริงๆ ไม่น่าจะ เรี ย กไอดอล ถื อว่ า เป็ น การยึ ด แนวทางการ ด�ำรงชีวติ ตามแนวทาง ทีใ่ นหลวงของเรา ท่านทรง มีพระราชด�ำรัสไว้มากมาย ในวโรกาสต่างๆ โดยเฉพาะปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงขององค์ ในหลวงเรานี่แหละ เป็นหลักส�ำคัญเลย เพราะ อย่าลืมว่าพระองค์ท่านเป็นพระมหากษัตริย์ ทีเ่ หนือ่ ยทีส่ ดุ นะ เท่าทีเ่ ทียบกับพระมหากษัตริย์ ประเทศอืน่ ๆ วังท่านก็ไม่ใช่เหมือนวังเมืองนอกเค้า เราก็เคยไปดูงานหรือเห็นรูปในโปสเตอร์ปฏิทนิ สวยงามทีเ่ ป็นวังของพระมหากษัตริยต์ า่ งประเทศ ปราสาทเขาจะเป็นปราสาทราชวัง ของเราพระราชวัง ของพระมหากษัตริย์ไทยก็คือบ้านธรรมดาๆ รอบบ้านรอบวังทีท่ า่ นว่าก็คอื แปลงผักแปลงข้าว คอกวัวคอกควาย สังเกตที่เราเข้าไปในสวน จิตรลดา สิ่งที่เราได้สัม ผัสแรกคือ กลิ่นโคลน
ซึมซับแบบอย่างที่ดีจากท่านผู้ว่าฯ ผมคุ้นเคยกับท่านมาก่อน คือผมท�ำงาน ร่วมกับท่านมา ตั้งแต่สมัยท่านเป็นรองผู้ว่าฯ แล้วผมเป็นหัวหน้าส�ำนักงานจังหวัด เพราะฉะนัน้ วาระจังหวัดที่ท่านประกาศ เรื่องคนดีรักษาศีล ท่านเป็นผู้ปฏิบัติ ท่านประกาศแล้วท่านท�ำเป็น ตัวอย่างให้ทุกคนเห็นได้อย่างแท้จริง พระเถระ ผู้ใหญ่ที่นี่เรียกท่านว่า “ผู้ว่าฯ นักสวด” เพราะ ท่านจะน�ำสวดมนต์ด้วย เป็นแบบอย่างที่ดีที่ ตัวเราเองได้อยู่ใกล้ท่านและได้ซึมซับไปโดย ที่ไม่รู้ตัว หรือโดยที่ตั้งใจก็เยอะ ที่นี่มีวัดพระบรมธาตุอารามหลวงครับไป เยี่ยมชมดูครับ เป็นวัดเก่าแก่ครบ 661 ปีแล้ว
สาบควาย ภาษาชาวบ้านคือกลิ่นขี้วัวขี้ควาย คือกลิน่ อายของความเป็นชนบทของคนทีห่ า่ งไกล ความเจริญมันแตะจมูกเรา ท�ำให้เรารู้สึกว่า ขนาดพระองค์ทา่ นเป็นพระมหากษัตริย์ ยังต้อง มีสิ่งเหล่านี้รอบพระองค์ท่าน พระองค์ท่าน เป็นทุกข์แทนพี่น้อง แทนพสกนิกร มีเวลาคิด ก็ท�ำงานทุกที่ภาพประทับใจที่พวกเราสัมผัสได้ คือ พระองค์ท่านนั่งกับพื้นพิงรถแลนด์โรเวอร์ รุน่ เก่าๆ ท่านก็ยงั นัง่ ท�ำงานได้ พระองค์ทำ� งานทุกที่ คิดทุกทีท่ กุ เวลาไม่วา่ จะเสด็จไปแห่งใดเหมือนกับ พระวรกายท่านทุม่ เทให้กบั พสกนิกรตลอดเวลา เราเป็นแค่คนธรรมดาแล้วเมื่อเรามีโอกาสที่จะ ท�ำงานในฐานะผู้ปฏิบัติก็ตามหรือในฐานะที่ Decision Making เราก็ต้องท�ำหน้าที่ของเรา ให้ดีที่สุด แต่ก็มีผู้บังคับบัญชา หลายท่านก็ สอนงานมาเรือ่ ย สิง่ ทีจ่ ำ� ได้วา่ ขณะทีค่ ณ ุ ยังมีหน้าที่
มีโอกาส มีอำ� นาจกฎหมาย ให้ทำ� หน้าทีใ่ ห้เต็มที่ เมือ่ เกษียณแล้วอยากจะท�ำ เค้าไม่ให้คณ ุ ท�ำหรอก ก็เลยรูส้ กึ ว่าคือเราท�ำก็ทำ� ให้เต็มที่ แต่กแ็ น่นอน ท�ำอะไรทุกอย่างย่อมมีปญ ั หาอุปสรรค ไม่มอี ะไร ส�ำเร็จไปทุกเรือ่ ง บางเรือ่ งเจอปัญหาท�ำต่อไม่ได้ เพราะเกินก�ำลังอ�ำนาจหน้าที่ เราก็ตอ้ งปล่อยให้ คนที่เค้ามีอ�ำนาจหน้าที่ท�ำต่อไป เราท�ำได้แค่ เพียงไหนก็หยุดแค่นั้นครับ คนเราในระยะหลังๆ มีการปลูกฝังให้ซมึ ซับ กับความเป็นศักดินาหรือเจ้าขุนมูลนายน้อยลง มากนะ ยุคสมัยเปลี่ยนไปแบบเจ้าขุนมูลนาย อยู่ไม่ได้ เราอยู่ได้เพราะเค้ารักเรา เพราะเค้า ชอบในสิ่งที่เราคิด วิธีการท�ำงานมันอยู่ได้แบบ ยั่งยืนกว่านะ
พระบรมธาตุสร้างตั้งแต่สมัยพระยาลิไท หรือ พระมหาธรรมราชาที่ 1 สมัยกรุงสุโขทัย แล้ว ท่านไปอัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุ และก็หน่อ พระศรีมหาโพธิ์จากศรีลังกามาปลูก 3 ต้น วัดพระบรมธาตุ อยูฝ่ ง่ั แม่นำ�้ ปิงอีกฝัง่ หนึง่ เรียกว่า นครชุ ม ทุ ก ปี จ ะมี ง าน “นบพระเล่ น เพลง” “นบพระ” คือ ไหว้พระ ส่วน “เล่นเพลง” เกิดจาก สมัยก่อนพระมหากษัตริย์เจ้าเมือง น้อยใหญ่ พร้อมทั้งเหล่าไพร่ฟ้าข้าราชบริพาร จะเดินทาง มาสักการะพระบรมธาตุ หนทางไกล จ�ำเป็นต้อง ค้างแรม จึงมีการแสดงการละเล่นต่างๆ เรียกว่า “นบพระเล่นเพลง” ช่วงวันมาฆะ หรือทีเ่ ค้าเรียก
วันมาฆบูชา ตรงกับวันเพ็ญเดือนสาม ก็จะมา สักการะพุทธบูชา ปีนกี้ เ็ ลยจัดให้ยงิ่ ใหญ่ กว่าทุกปี โดยมีกจิ กรรมร�ำพุทธบูชาด้วยนางร�ำจากทุกอ�ำเภอ ชุมชนต่างๆ จ�ำนวนถึง 3,661 นางร�ำ ตรงบริเวณ พระบรมธาตุทกี่ ล่าวมานัน้ สวยงามได้บรรยากาศ อรรถรส มีโอกาสแวะไปกราบสักการะกันนะครับ
KAMPHAENG PHET I SBL บันทึกประเทศไทย
ระหว่างคนดีกับคนเก่ง
.indd 47
47
17/04/61 09:58:42 AM
S P ECI A L INT E R V IE W
บันทึกเส้นทางพบรองผู้ว่าราชการจังหวัดก�ำแพงเพชร
“ก�ำแพงเพชรมีดีกว่าที่คิด” นายพิ จิตร วัฒนศักดิ์ รองผู้ว่าราชการจังหวัดก�ำแพงเพชร
48
SBL บันทึกประเทศไทย I KAMPHAENG PHET
.indd 48
11/04/61 06:02:44 PM
รองผู้ว่าจัราชการ งหวัดก�ำแพงเพชร
นายพิ จ ิ ต ร วั ฒ นศั ก ดิ ์ รองผู้ว่าราชการจังหวัดก�ำแพงเพชร เส้นทางสู่รองผู้ว่าฯ ก�ำแพงเพชร นายพิจติ ร วัฒนศักดิ์ เป็น 1 ใน 2 รองผูว้ า่ ฯ ที่ช่วยแบ่งเบาภารกิจในการขับเคลื่อนพัฒนา จังหวัดก�ำแพงเพชรให้ประสบความส�ำเร็จ โดย ท่านได้รับมอบหมายให้ก�ำกับดูแลภาระงาน ด้านการปกครอง ความมัน่ คง สังคม วัฒนธรรม และทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ฯลฯ ด้ า นการศึ ก ษา ท่ า นรองผู ้ ว ่ า ฯ พิ จิ ต ร ส� ำ เร็ จ การศึ ก ษานิ ติ ศ าสตรบั ณ ฑิ ต และ พัฒนบริหารมหาบัณฑิต จากสถาบันบัณฑิต
พัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) ด้านการท�ำงาน ท่านเริ่มต้นชีวิตราชการ ในต�ำแหน่งปลัดอ�ำเภอในสุโขทัย ด้วยผลงาน คุณภาพจากสุโขทัยแล้วจึงไปอีกหลายจังหวัด ทัง้ แม่ฮอ่ งสอน นครสวรรค์ แพร่ จากนัน้ ก็โอนมา รับราชการทีก่ รมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เมื่อมีการปฏิรูปกระทรวง ทบวง กรม เมื่อปี พ.ศ.2545 เป็นต้นมา และได้ปฏิบัติหน้าที่ ในต� ำ แหน่ ง หั ว หน้ า ส� ำ นั ก งานป้ อ งกั น และ
บรรเทาสาธารณภัย(ปภ.) ที่จังหวัดนครสวรรค์ หลั ง จากนั้ น ก็ ไ ปเป็ น ผู ้ อ� ำ นวยการ ศู น ย์ ป ภ. เขต 18 ภูเก็ต เขต 17 จันทบุรี และเขต 8 ที่ ก�ำแพงเพชร ดังนัน้ เมือ่ ท่านได้รบั การโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้มาด�ำรงต�ำแหน่ง “รองผู้ว่าราชการ จังหวัดก�ำแพงเพชร” จึงช่วยต่อยอดการดูแล ทุกข์สุขของประชาชน ได้อย่างทั่วถึง เพราะ ท่านมีความคุน้ เคยกับพืน้ ทีแ่ ละชาวก�ำแพงเพชร มานาน KAMPHAENG PHET I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 49
49
11/04/61 06:02:45 PM
ภาระงานที่ก�ำกับดูแล ท่านผู้ว่าราชการจังหวัดก�ำแพงเพชร ได้ มอบหมายให้ผมดูแลงานทางด้านความมั่นคง ด้านแรงงาน ด้านสังคม เรือ่ งของการพัฒนาสังคม รวมทัง้ ดูแลงานของกระทรวงวัฒนธรรม งานของ อุทยานประวัติศาสตร์ เหล่านี้เป็นต้นครับ
บุคคลดลใจ บุ ค คลที่ เ ป็ น แรงบั น ดาลใจของผม ก็ มี ผูบ้ งั คับบัญชาหลายท่านครับ ทีเ่ ป็นแรงบันดาลใจ ที่ผมเก็บเล็กผสมน้อยจากของแต่ละท่าน แล้ว น�ำมาประยุกต์ใช้ในการท�ำงาน น�ำมาปรับปรุง การท�ำงานให้ดีขึ้น
ภารกิจที่ ได้รับมอบหมายเป็นพิเศษ ภารกิ จ ที่ ท ่ า นผู ้ ว ่ า ฯ มอบหมายให้ ดู แ ล เป็นพิเศษก็คอื งานของฝ่ายปกครองทัง้ หมดครับ และ งานของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดล้อม ซึง่ มีปญ ั หาเรือ่ งของการบุกรุก ที่ ดิ น ที่ เ กิ ด ขึ้ น ต่ อ เนื่ อ งมายาวนานแล้ ว เช่ น ทีบ่ ริเวณสนามบินพันกว่าไร่ มันเป็นเรื่องที่ตอ้ ง ค่ อ ยๆ แก้ ไ ขปั ญ หา ซึ่ ง ขณะนี้ มี ก ารตั้ ง คณะกรรมการเพื่ อ ด� ำ เนิ น แก้ ไ ขปั ญ หาไป ตามล�ำดับครับ
50
SBL บันทึกประเทศไทย I KAMPHAENG PHET
.indd 50
11/04/61 06:02:46 PM
ปัญหาที่พบและแนวทางแก้ ไข เดี๋ยวนี้ชาวบ้านเขารู้ช่องทางที่จะแจ้งข่าว มาทางราชการครั บ โดยเฉพาะเรื่ อ งของ ความเดื อ ดร้ อ นต่ า งๆ ก็ จ ะแจ้ ง ผ่ า นศู น ย์ ด� ำ รงธรรม ส่ ว นใหญ่ แ ล้ ว ก็ จ ะส่ ง ให้ ท าง ส่วนราชการที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องไปด�ำเนินการ ที่เกี่ยวกับอ�ำนาจหน้าที่ต่อไป ส่วนปัญหาอุทกภัยน�ำ ้ ในจังหวัดก�ำแพงเพชร มี อ ยู ่ 2 แห่ ง ที่ เ กิ ด อุ ท กภั ย หนั ก จุ ด ที่ ห นึ่ ง
อ�ำเภอพรานกระต่าย เกิดจากน�้ำไหลหลาก จากภูเขาลงมา ระบายไม่ทัน ขณะนี้ก็ก�ำลัง จะท�ำโครงการแก้ไขปัญหา โดยให้แต่ละหน่วยงาน รั บ ผิ ด ชอบด� ำ เนิ น การแก้ ไ ขปั ญ หา มี ค วาม ก้าวหน้าไปมากแล้ว อีกแห่งหนึ่ง คือ ตําบล สลกบาตร อําเภอขาณุวรลักษบุรี น�้ำไหลผ่าน ผิ ว ถนนการจราจร การแก้ ไ ขปั ญ หาน�้ ำ ท่ ว ม พืน้ ทีต่ ำ� บลสลกบาตรก็มโี ครงการทีแ่ ก้ไขปัญหา
แล้วได้วางแผนในระดับพื้นที่ ขณะนี้มีความ ก้าวหน้าไปมากแล้ว สองแห่งนี้ โดยเฉพาะ ที่ ต� ำ บลสลกบาตร ผู ้ ที่ ไ ด้ รั บ ผลกระทบ ไม่ใช่เฉพาะคนในพื้นที่ต�ำบลสลกบาตร แต่ หมายความรวมถึงว่าผู้ที่ใช้เส้นทางการจราจร นั้นด้วย
จากใจท่านรองผู้ว่าฯ พิจิตร วัฒนศักดิ์ จังหวัดก�ำแพงเพชรดูเหมือนเป็นเมืองผ่าน ไม่มอี ะไรน่าสนใจ แต่จริงๆ แล้ว ในพืน้ ทีก่ ำ� แพงเพชร มีหลายอย่างน่าศึกษาค้นคว้า เราเป็นเมืองเก่า เป็นเมืองมรดกโลก มีประวัติมายาวนานมาตั้งแต่ สมัยสุโขทัย เราเป็นเมืองหน้าด่านของทั้งสุโขทัยและกรุงศรีอยุธยา จึงมีโบราณสถานต่างๆ ที่มี ความสมบูรณ์มากไม่แพ้อยุธยา ไม่แพ้สุโขทัย หรือไม่แพ้ศรีสัชนาลัยเลย ที่ส�ำคัญยังมีความร่มรื่น มีตน้ ไม้ตน้ ใหญ่ๆ อยูต่ ลอด มีกำ� แพงเมือง ซึง่ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ ทรงเขียนบันทึกไว้ว่า....เมืองก�ำแพงเพชรมีความแน่นหนาและมีความสวยงามมากกว่าเมืองไหนๆ ในประเทศนี้ และที่ส�ำคัญคือเรามีพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ซึ่งรวบรวมของโบราณต่างๆ ที่ถือว่า สมบูรณ์มากๆ อีกทั้งในฝั่งนครชุมเวียง ก็มีวิถีของชาวบ้านที่อยู่กันมาเนิ่นนาน มีอาหารการกิน แตกต่างจากที่อื่น รับรองได้ว่าถ้าท่านมาเที่ยวที่ก�ำแพงเพชร 1 วันนี่อาจจะไม่เพียงพอครับ หากมีโอกาสก็ขอเชิญมาเที่ยวที่ก�ำแพงเพชรกันครับ
KAMPHAENG PHET I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 51
51
11/04/61 06:02:46 PM
S P ECI A L INT E R V IE W
บันทึกเส้นทางพบท้องถิ่นจังหวัดก�ำแพงเพชร
บริหารทรัพยากร
ของท้องถิ่น เพื่อประโยชน์สุขของประชาชน ดร.ไอศูรย์ ดีรัตน์ เป็นผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ ด้วยท่านมีวิสัยทัศน์ ที่กว้างไกล สามารถอ่านปัญหาได้ขาด และมีปณิธานในการปฏิบัติหน้าที่ เพื่อประโยชน์สุขของประชาชน ในท้องถิ่นเป็นส�ำคัญ
52
.
SBL บันทึกประเทศไทย I KAMPHAENG PHET
.indd 52
18/4/2561 13:43:12
ท้องถิ่นจังหวัดก�ำแพงเพชร ดร.ไอศูรย์ ดีรัตน์ ด้านการศึกษา ท่านเป็นนิตมิ หาบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง และดุษฎีบัณฑิต สาขาบริ ห ารการศึ ก ษาและผู ้ น� ำ การ เปลี่ยนแปลง มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชี ย ด้ า นการรั บ ราชการ เคยเป็น ปลัดอ�ำเภอ หลายอ� ำ เภอ สั ง กั ด กรมการปกครอง และเคยด� ำ รงต� ำ แหน่ ง ผู้อ�ำนวยการส่วน บริ ห ารการฝึ ก อบรม ที่ ส ถาบั น พั ฒ นา บุคลากรท้องถิ่น กรมส่งเสริมการปกครอง ท้องถิ่น และเคยปฏิบัติหน้าที่ในต�ำแหน่ง ท้องถิ่นจังหวัด หลายจังหวัด อาทิ สระแก้ว นครนายก สิงห์บุรี และเมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ. 2560 ท่านได้รบั การแต่งตัง้ ให้มาด�ำรง ต�ำแหน่ง ท้องถิ่นจังหวัดก�ำแพงเพชร 8 นโยบายส�ำคัญของ สถ.จ.ก�ำแพงเพชร
ส�ำนักงานส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิน่ จังหวัดก�ำแพงเพชร เป็นหน่วยงานราชการ บริหารส่วนภูมิภาค สังกัดกรมการส่งเสริม การปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย เป็นหน่วยงานส�ำคัญทีจ่ ะขับเคลือ่ นนโยบาย ของรัฐบาลกระทรวงมหาดไทย จังหวัด ให้เกิด ความส�ำเร็จเป็นรูปธรรม นัน่ เป็นเพราะเมือ่ ท้ อ งถิ่ น เข้ ม แข็ ง ประเทศไทยก็ เ ข้ ม แข็ ง นั่ น เอง ดั ง นั้ น นโยบายในการส่ ง เสริ ม สนับสนุน จึงสนองตอบต่อนโยบายของ รั ฐ บาลเป็ น ส� ำ คั ญ เพื่ อ ประโยชน์ สุ ข ของ ประชาชนในพื้นที่จังหวัด ได้แก่
1. ส่ ง เสริ ม และสนั บ สนุ น ให้ อ งค์ ก ร ปกครองส่วนท้องถิน่ เป็นหน่วยงานหลักใน การสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนท้องถิ่น เพื่อแก้ไขปัญหาของตนเอง และเข้ามามี ส่วนร่วมการบริหารงานขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น ตามกฎหมายและหลักการ บริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี 2. ส่ ง เสริ ม และสนั บ สนุ น ให้ อ งค์ ก ร ปกครองส่วนท้องถิ่น พัฒนาและใช้ระบบ ข้อมูลซึง่ เกิดจากกระบวนการมีสว่ นร่วมของ ประชาชน เพือ่ พัฒนาและเพิม่ ประสิทธิภาพ ในการวางแผนและการบริหารจัดการ 3. จัดการความรู้และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่ อ ส่ ง เสริ ม และสนั บ สนุ น ให้ อ งค์ ก ร ปกครองส่วนท้องถิ่น พัฒนารูปแบบและ ระบบการดูแลผู้สูงอายุ รวมถึงส่งเสริมและ สนับสนุนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้มี ศักยภาพในการจัดตั้งเป็น “ศูนย์เรียนรู้ด้าน การดูแลผู้สูงอายุ” ให้เป็นที่ศึกษาเรียนรู้ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั่วไปและ ผู้สนใจ
4. ส่งเสริมและสนับสนุนองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น ให้มีศักยภาพในการพัฒนา ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียนในสังกัด และจั ด ตั้ ง เป็ น “ศู น ย์ พั ฒ นาเด็ ก เล็ ก / โรงเรียนต้นแบบ” ในด้านวิชาการ การบริหาร จัดการ และน�ำหลักพระพุทธศาสนามาเป็น แนวทางในการจัดการเรียนการสอน ให้เป็น ทีศ่ กึ ษาเรียนรูข้ ององค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ทั่วไปและผู้สนใจ 5. ส่งเสริมและสนับสนุนองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น ให้มีการเตรียมความพร้อมใน การรับการถ่ายโอนสถานีอนามัย และการ พัฒนาศักยภาพในการบริหารจัดการสถานี อนามัยที่ถ่ายโอนแล้ว 6. ส่งเสริมและสนับสนุนด้านนโยบาย และทรัพยากร เพื่อการด�ำเนินการด้านการ ส่งเสริมและสนับสนุนการด�ำเนินงานของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ใน 8 ด้านพืน้ ฐาน ประกอบด้วย ด้านการบริหารจัดการท้องถิน่ แบบมี ส ่ ว นร่ ว ม ด้ า นเกษตรกรรมยั่ ง ยื น ด้านการเรียนรูข้ องเด็กและเยาวชน ด้านการ จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รวมถึงการบริหารจัดการขยะมูลฝอยอย่าง ยัง่ ยืน ด้านการจัดสวัสดิการสังคมโดยชุมชน ด้านการจัดการภัยพิบัติโดยชุมชนท้องถิ่น ด้านการดูแลสุขภาพโดยชุมชน และการ ลงทุนด้านสุขภาพโดยชุมชน
KAMPHAENG PHET I SBL บันทึกประเทศไทย
.
.indd 53
53
18/4/2561 13:43:18
7. ส่ ง เสริ ม การเพิ่ ม พู น องค์ ค วามรู ้ สนับสนุนด้านนโยบายและทรัพยากร เพื่อ การพัฒนาบุคลากรขององค์กรปกครองส่วน ท้ อ งถิ่ น และผู ้ น� ำ ชุ ม ชน เพื่ อ ให้ มี ค วาม สามารถในการขับเคลือ่ นกระบวนการเสริม สร้างความเข้มแข็งของชุมชนท้องถิ่น 8. ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการเพิ่ม ขีดความสามารถขององค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น และการยกระดับคุณภาพชีวิตของ ประชาชน แผนการพัฒนา องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ประเทศไทยมี ก ารจั ด ระเบี ย บบริ ห าร ราชการแผ่นดินแบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ การบริหารราชการส่วนกลาง การบริหาร ราชการส่วนภูมภิ าค และการบริหารราชการ ส่วนท้องถิ่น ส่วนกลางมีอ�ำนาจหน้าที่ใน การก� ำ หนดนโยบายและการวางแผนคือ รัฐบาลและคณะรัฐมนตรี มีหน่วยงานที่น�ำ นโยบายและแผนเหล่านีไ้ ปปฏิบตั ิ กระทรวง ต่างๆ ส่วนภูมิภาคเป็นการจัดการปกครอง และบริหารภายใต้หน่วยงานของส่วนกลาง
โดยการมอบอ�ำนาจให้ขา้ ราชการหรือผูแ้ ทน ของหน่วยงานตนไปปฏิบตั งิ านในพืน้ ทีส่ ว่ น ภูมิภาค ในขณะที่ส่วนท้องถิ่น เป็นการ จัดการปกครองที่ส่วนกลางกระจายอ�ำนาจ การปกครองและการบริหาร ให้ผู้ที่อยู่ใน พืน้ ทีไ่ ด้รบั ผิดชอบการบริหารปกครองพืน้ ที่ ของตนแบ่งตามเขตพื้นที่ นับตั้งแต่มีการ ประกาศใช้รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 เป็นต้นมา จนมาถึง ฉบับปัจจุบัน พุทธศักราช 2560 บทบาท อ� ำ นาจหน้ า ที่ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ได้เปลีย่ นแปลง ไปจากเดิมเป็นอย่างมาก โดยรัฐธรรมนูญได้ ให้ความส�ำคัญกับการกระจายอ�ำนาจให้แก่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่งท�ำให้เกิด ความเป็นอิสระในการปกครองตนเองตาม เจตนารมณ์ของประชากร และความเป็น อิสระในการก�ำหนดนโยบายการปกครอง การบริหาร การบริหารงานบุคคล การเงิน และการคลั ง และท� ำ ให้ อ งค์ ก รปกครอง ส่วนท้องถิ่นมีอ�ำนาจหน้าที่ของตนเอง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จึงจ�ำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องวางแผน การใช้ทรัพยากรเหล่านั้น ให้คุ้มค่า และเกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชน
54
.
ประกอบกับพระราชบัญญัตกิ ำ� หนดแผน และขัน้ ตอนการกระจายอ�ำนาจให้แก่องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2542 ได้บัญญัติ ให้มีองค์กรรับผิดชอบในการจัดท�ำแผนการ กระจายอ�ำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น นั่นคือคณะกรรมการการกระจาย อ�ำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จึงได้ก�ำหนดหน้าที่ขององค์ปกครองส่วน ท้องถิ่นในการให้บริการสาธารณะที่จ�ำเป็น แก่ท้องถิ่น และท�ำให้องค์กรปกครองส่วน ท้องถิน่ มีภารกิจหน้าทีท่ ชี่ ดั เจนมากขึน้ ด้วย เหตุนี้จึงมีความจ�ำเป็นในการใช้ทรัพยากร และรายได้ ทัง้ ทีท่ อ้ งถิน่ จัดเก็บเองและรายได้ ที่ รั ฐ บาลจั ด สรรที่ มี อ ยู ่ จ� ำ กั ด ให้ เ กิ ด ประโยชน์สงู สุดและมีความโปร่งใสมากทีส่ ดุ ดังนั้นการวางแผนพัฒนาท้องถิ่นจึงถือเป็น กลไกส�ำคัญประการหนึ่ง ที่ท�ำให้องค์กร ปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น บรรลุ จุ ด มุ ่ ง หมาย ดังกล่าวโดยใช้ยทุ ธศาสตร์ทเี่ หมาะสม องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นจึงจ�ำเป็นอย่างยิ่งที่ ต้องวางแผนการใช้ทรัพยากรเหล่านั้นให้ คุม้ ค่าและเกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชน และมีการน�ำแผนงานและโครงการทีก่ ำ� หนด ไปปฏิบัติตามให้เกิดสัมฤทธิ์ผลในช่วงเวลา ทีก่ ำ� หนด โดยมีการควบคุม ติดตาม วัดและ ประเมินผล มีความโปร่งใส และพร้อมที่จะ ให้มีการตรวจสอบทั้งโดยหน่วยงานของรัฐ และประชาชน ดังนั้นจึงกล่าวสรุปได้ว่า แผนพัฒนา ท้องถิ่นเป็นเครื่องมือที่ส�ำคัญที่จะก�ำหนด ทิศทางการด�ำเนินงานเพื่อพัฒนาท้องถิ่น เพื่ อ ให้ บ รรลุ เ ป้ า หมายตามนโยบายของ ผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ได้ ก� ำ หนดและน� ำ เสนอประชาชนก่ อ นการ เลื อ กตั้ ง ตลอดทั้ ง ที่ ไ ด้ น� ำ เสนอต่ อ สภา ท้องถิ่น ก่อนที่ผู้บริหารจะเริ่มปฏิบัติงาน ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการ จัดท�ำแผนพัฒนาท้องถิน่ พ.ศ.2548 และที่
SBL บันทึกประเทศไทย I KAMPHAENG PHET
.indd 54
18/4/2561 13:43:29
หากต้องการสร้างธุรกิจ เพื่อสังคม ก็ต้องวิเคราะห์ เศรษฐกิจชุมชนให้ชัดเจน จนเกิดเป็นแผนพัฒนา เศรษฐกิจต� ำบล และ ต่อยอดไปสู่วิสาหกิจชุมชน แก้ไขเพิม่ เติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2559 การที่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจะพัฒนาไปใน ทิ ศ ทางใด จ� ำ เป็ น ต้ อ งมี ก ารก� ำ หนด วิสยั ทัศน์ หรือแผนงานในอนาคต และแปลง มาสู่การปฏิบัติ ดังนั้นระเบียบกระทรวง มหาดไทยว่ า ด้ ว ยการจั ด ท� ำ แผนพั ฒ นา ท้องถิ่น พ.ศ.2548 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบั บ 2) พ.ศ.2559 จึ ง ได้ ก� ำ หนดแผน พั ฒ นาขององค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ที่ก�ำหนด วิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย และ กลยุ ท ธ์ โดยสอดคล้ อ งกั บ แผนพั ฒ นา จังหวัด ยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตจังหวัด แผน พัฒนาอ�ำเภอ แผนพัฒนาต�ำบล แผนพัฒนา หมู ่ บ ้ า นหรื อ แผนชุ ม ชน อั น มี ลั ก ษณะ เป็ น การก� ำ หนดรายละเอี ย ดแผนงาน โ ค ร ง ก า ร พั ฒ น า ที่ จั ด ท� ำ ขึ้ น ส� ำ ห รั บ ปีงบประมาณแต่ละปี ซึ่งมีความต่อเนื่อง และเป็นแผนก้าวหน้า และให้หมายความ รวมถึงการเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลงแผน พัฒนาท้องถิ่นสี่ปี การวางแผนการพัฒนาจึงมีความส�ำคัญ ต่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ เป็นอย่างยิง่ ทั้งนี้เนื่องจากแผนการพัฒนาเป็นกรอบใน การก�ำหนดทิศทางการพัฒนาขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิน่ ให้มงุ่ ไปสูส่ ภาพการณ์ อั น พึ ง ประสงค์ ไ ด้ อ ย่ า งเท่ า ทั น กั บ การ
เปลี่ ย นแปลง และมุ ่ ง ไปสู ่ ส ภาพการณ์ ที่ ต้ อ งการให้ เ กิ ด ขึ้ น ในอนาคต ทั้ ง ในด้ า น สังคมเศรษฐกิจ และสิง่ แวดล้อม เป็นเครือ่ ง มือที่จะช่วยให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ได้พิจารณาอย่างรอบคอบ ให้เห็นถึงความ เชื่อมโยงระหว่างแนวทางการด�ำเนินงาน ต่างๆ ทีม่ คี วามเชือ่ มโยง และส่งผลทัง้ ในเชิง สนับสนุนและเป็นอุปสรรคต่อกัน เพื่อให้ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นน�ำมาตัดสินใจ ก�ำหนดแนวทางการด�ำเนินงานและใช้ทรัพยากร การบริหารของท้องถิน่ อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้เกิดประโยชน์สาธารณะสูงสุด
ร่วมคิด ร่วมสร้างสรรค์ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
การปกครองส่วนท้องถิ่น ไม่ว่าจะอยู่ใน พื้ น ที่ จั ง ห วั ด ใ ด ห รื อ แ ม ้ แ ต ่ จั ง ห วั ด ก�ำแพงเพชร ก็พบกับการบริหารงานที่มีแต่ ปั ญ หามากมาย ตั้ ง แต่ เ รื่ อ งการกระจาย อ�ำนาจส่วนราชการด�ำเนินการตามแผนการ กระจายอ�ำนาจฯ ด�ำเนินการถ่ายโอนภารกิจ ไปแล้ ว เกิ ด ปั ญ หาในทางปฏิ บั ติ องค์ ก ร ปกครองส่วนท้องถิ่นไม่สามารถด�ำเนินการ ตามอ�ำนาจหน้าที่ที่กฎหมายก� ำ หนดเพื่ อ แก้ ไ ขปั ญ หาของประชาชน KAMPHAENG PHET I SBL บันทึกประเทศไทย
.
.indd 55
55
18/4/2561 13:43:35
ในพื้นที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ บางองค์กร ปกครองส่วนท้องถิน่ ถูกทักท้วงจากผูต้ รวจสอบ จากผูก้ ำ� กับดูแลองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ไม่มมี าตรฐานเดียวกันบางแห่งมีรายได้นอ้ ย ไม่สอดคล้องกับภารกิจทีจ่ ะด�ำเนินการแก้ไข ปัญหาให้แก่ประชาชน ปัญหาการมีสว่ นร่วม ของประชาชน ขาดกระบวนการที่ชัดเจน เป็นรูปธรรมการเข้าไปมีสว่ นร่วม เพือ่ เสนอ ข้อบัญญัตทิ อ้ งถิน่ มีขนั้ ตอนทีไ่ ม่เอือ้ ต่อการ ท�ำหน้าที่ของประชาชน การมีส่วนร่วมเพื่อ ตรวจก�ำกับดูแล โดยการเข้าชื่อถอดถอน 56
.
สมาชิ ก สภาท้ อ งถิ่ น ผู ้ บ ริ ห ารท้ อ งถิ่ น มี เงือ่ นไข ข้อก�ำหนดทีไ่ ม่สามารถด�ำเนินการได้ การบริ ห ารงานบุ ค คลมี ป ั ญ หาการทุ จริ ต เรียกรับผลประโยชน์ กระบวนการบริหาร งานบุ ค คลไม่ ไ ด้ เ ป็ น มาตรฐานเดี ย วกั น เป็นต้น ปัญหาต่างๆ เหล่านี้ ต้องได้รับการ แก้ไขเพื่อให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ได้เป็นทีพ่ งึ่ แก่ประชาชนในเขตพืน้ ที่ เพือ่ ให้ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นบริหารงานได้ อย่างมีประสิทธิภาพ
ส�ำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ก�ำแพงเพชร จึงเริ่มต้นแก้ปัญหาต่างๆ เริ่ม จากการพัฒนาบุคลากรขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นและผู้น�ำชุมชน เพราะทุกคน ล้วนเป็นฟันเฟืองส�ำคัญที่จะขับเคลื่อนการ ท�ำงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ เพือ่ ประโยชน์สุขของประชาชน ด้วยการจัดฝึก อบรมให้ความรู้ความเข้าใจ ในต�ำแหน่ง หน้ า ที่ ที่ ป ฏิ บั ติ ก็ ย ่ อ มส่ ง ผลให้ ทุ ก คนรู ้ บทบาทหน้าทีข่ องตนเอง ต่อครอบครัว และ ต่อองค์กรได้อย่างเป็นรูปธรรม จากนัน้ ก็ขบั เคลื่อนให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการ พัฒนาบ้านเกิด หรือภูมิล�ำเนาของตนเอง ผ่านกิจกรรม/โครงการต่างๆ มากมาย เช่น กิ จ กรรมอาสาสมั ค รรั ก ษ์ โ ลก (อถล.) เป็ น การรั บ สมั ค รอาสาสมั ค รที่ มี ค วาม ปรารถนาให้ บ ้ า นเมื อ งมี ค วามสะอาด สวยงาม ปลอดจากขยะ/กิจกรรมการจัดท�ำ แผนพัฒนาท้องถิ่น ผ่านกระบวนการจัดท�ำ ประชาคมเริ่มตั้งแต่หมู่บ้าน/ชุมชน และ ต�ำบล เมื่อประชาชนได้ร่วมคิด ร่วมสร้าง ร่วมจัดการตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ คือ การเปิดโอกาสให้ทกุ ภาคส่วนมีสว่ นร่วมคิด ร่วมสร้างสรรค์ ในฐานะเจ้าของปัญหาทีแ่ ท้จริง และยังเป็นฟันเฟืองส�ำคัญในการขับเคลือ่ น ประเด็นต่างๆ ให้เกิดได้จริงด้วย ปัญหา ทั้งหมดข้างต้นก็ลดลงตามล�ำดับและเกิด การพัฒนาร่วมกันได้อย่างยั่งยืน
SBL บันทึกประเทศไทย I KAMPHAENG PHET
.indd 56
18/4/2561 13:43:48
หัวใจของการขับเคลื่อน พัฒนาแผนชุมชน
แผนชุมชนถือเป็นหัวใจของการขับเคลือ่ น พั ฒนา เพราะการที่ ชุ ม ชนจะเข้ ม แข็ ง ได้ อย่างน้อยต้องมีองค์ประกอบ 4 ส่วนด้วยกัน คื อ สิ ท ธิ ชุ ม ชน ประชาธิ ป ไตยชุ ม ชน ซึ่ ง สามารถก�ำหนดทิศทางของตัวเองได้ นั่นก็ คื อ แผนของชุ ม ชนนั่ น เอง ส่ ว นที่ ส องคื อ ชุ ม ชนต้ อ งมี ก ระบวนการที่ จ ะดู แ ลทุ น ของชุมชน ไม่วา่ จะเป็นทุนวัฒนธรรม ทุนทาง ปัญญา ทุนของคนในชุมชนนั้นว่า จะท�ำ อย่างไรถึงจะสามารถน�ำมาใช้ประโยชน์ได้ อย่างเต็มที่ ส่วนที่สามคือ ท�ำอย่างไรถึงจะ ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี เช่นสวัสดิการชุมชน ตัง้ แต่เกิดจนตาย และส่วนสุดท้ายคือ การที่ ชุมชนจะกินดีอยู่ดี ต้องมีเศรษฐกิจชุมชนที่ เกิดจากสัมมาชีพ หรือการประกอบอาชีพที่ ไม่เบียดเบียน ย้อนกลับไปเมื่อปี 2546 ถือเป็นครั้ง แรกทีแ่ ผนชุมชนเข้าสูร่ ะบบของแผนท้องถิน่ อย่างเป็นทางการ ซึ่งความส�ำเร็จนี้ถือเป็น คุณปู การของเครือข่ายแผนแม่บทพึง่ ตนเอง ที่ท�ำให้หน่วยงานต่างๆ ได้มีโอกาสเรียนรู้ ถึงศักยภาพของชุมชน ที่สามารถวิเคราะห์ ข้อมูลของตนเองได้อย่างชัดเจน จนน�ำไปสู่ บันทึกความร่วมมือฉบับแรกระหว่างกรมส่ง เสริมการปกครองท้องถิ่น เครือข่ายแผน แม่บทพึง่ ตนเอง 4 ภาค และสถาบันพัฒนา องค์กรชุมชน (องค์การมหาชน) เมื่อวันที่ 11 ธันวาคม 2546 ซึง่ เป็นความร่วมมือครัง้ แรกๆ ของกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิน่ กับองค์กรภาคประชาชน และหน่วยงานที่ ท� ำ ห น ้ า ที่ ห นุ น เ ส ริ ม ภ า ค ป ร ะ ช า ช น ส� ำ นั ก งานส่ ง เสริ ม การปกครองท้ อ งถิ่ น จังหวัดก�ำแพงเพชรก็เป็นหน่วยงานราชการ บริหารส่วนภูมิภาค ในสังกัดกรมส่งเสริม การปกครองท้อ งถิ่น ที่วางมาตรฐานการ ขับเคลื่อนแผนชุมชน โดยอาศัยระบบการ ท�ำงาน 3 ส่วนควบคู่กัน คือ
1. ระบบของคน เพื่ อ ยึ ด โยงผู ้ ค นใน ชุมชนท้องถิน่ เข้ามาร่วมกันคิด ไม่วา่ จะเป็น ผู้น�ำชุมชน ผู้น�ำท้องถิ่น ผู้น�ำท้องที่ ท�ำงาน ร่วมกัน ไม่ใช่ต่างคนต่างท�ำ 2. ระบบข้อมูล โดยหยิบยกข้อมูลต่างๆ ในชุมชนมาใช้ ทีส่ ำ� คัญข้อมูลต้องไม่ใช่ขอ้ มูล จากความรูส้ กึ เช่น น่าจะเป็นอย่างนัน้ หรือ ต้องการอย่างนี้ แต่ต้องเกิดจากสิ่งที่มีอยู่ จริงในพื้นที่ ผ่านขั้นตอน การวิเคราะห์ สังเคราะห์ เพื่อน�ำไปสู่ทางออกของปัญหา นั้นๆ 3. ระบบของการขับเคลื่อน ซึ่งมีหลาย รู ป แบบ เช่ น ชุ ม ชนท� ำ ด้ ว ยตั ว เอง หรื อ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเข้ามาช่วยท�ำ และการขับเคลื่อนสู่ยุทธศาสตร์และบูรณา การระดับอ�ำเภอ/จังหวัด ท�ำให้พนื้ ทีม่ คี วาม มั่ น คงเข้ ม แข็ ง ขึ้ น ตามล� ำ ดั บ แต่ อ ย่ า งไร ก็ตามความพยายามสร้างกระบวนการมี ส่วนของประชาชน ผ่านเวทีประชาคมเพื่อ จัดท�ำแผนพัฒนาท้องถิน่ พอท�ำไปสักระยะ ชาวบ้านหลายคนไม่ให้ความร่วมมือ เพราะ มองว่าเป็นหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น จนภายหลังจึงพบว่าการท�ำแผน ชุมชนคือ ค�ำตอบที่แท้จริง จึงมีการแก้ไข ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัด
ท�ำแผนพัฒนาท้องถิน่ โดยใช้แผนชุมชนเป็น ฐานของแผนพัฒนาท้องถิน่ มีการวัดผลการ ปฏิบัติโดยให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เข้ามาหนุนเสริมทุกกระบวนการ เช่น การ จัดท�ำ ปรับปรุง ทบทวนแผนชุมชนให้มี คุณภาพมาตรฐาน แผนชุมชนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ทั้ ง 90 แห่ ง ในพื้ น ที่ จั ง หวั ด ก� ำ แพงเพชร จึ ง เป็ น แผนที่ ป ฏิ บั ติ ไ ด้ จริ ง และวั ด ผลได้ เพราะใช้ฐานข้อมูลที่มีอยู่ในท้องถิ่น ไม่ว่า เป็นเรื่องแหล่งน�้ำ ที่ดิน อาชีพ จากนั้นน�ำ ข้อมูลมาวิเคราะห์ เพื่อก�ำหนดทิศทางการ วางแผนพั ฒนาในระดั บ ท้ อ งถิ่ น และจะ สามารถขยายการสร้างธุรกิจแก่ชมุ ชนท้องถิน่ ซึง่ ในชุมชนมีทนุ มากมาย ทีส่ ำ� คัญทุนเหล่านี้ ยังเข้าไปขับเคลือ่ นสวัสดิการชุมชนให้มเี ม็ดเงิน อยู่ในสถาบันการเงินชุมชนในพื้นที่จังหวัด ก�ำแพงเพชรจ�ำนวนมาก เพราะฉะนั้นหาก ต้องการสร้างธุรกิจเพือ่ สังคม ก็ตอ้ งวิเคราะห์ เศรษฐกิจชุมชนให้ชัดเจน จนเกิดเป็นแผน พัฒนาเศรษฐกิจต�ำบล และต่อยอดไปสู่ วิสาหกิจชุมชน เพือ่ ทดแทนการน�ำเข้า และน�ำ ไปสูก่ ารช่วยเหลือตัวเองของพีน่ อ้ งประชาชน ได้อย่างยัง่ ยืน ภายใต้การส่งเสริมสนับสนุน ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ นัน่ เอง
KAMPHAENG PHET I SBL บันทึกประเทศไทย
.
.indd 57
57
18/4/2561 13:43:56
W O R K LI F E
บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนจังหวัด
ส�ำนักงานพระพุทธศาสนา จังหวัดก�ำแพงเพชร
นางศิริพร เรืองวงษ์ ผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดก�ำแพงเพชร “องค์กรขับเคลื่อนกิจการพระพุทธศาสนาสู่ความมั่นคง สังคมด�ำรงศีลธรรม น�ำสันติสุขอย่างยั่งยืน” คือวิสัยทัศน์ของส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดก�ำแพงเพชร
ยุทธศาสตร์ (STRATEGY) 58
1. พัฒนาระบบการศึกษาสงฆ์ 2. ปลูกฝังความเข้าใจเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาให้แก่สังคม 3. เพิ่มศักยภาพการเป็นศูนย์กลางพระพุทธศาสนาโลก 4. พัฒนาสู่องค์การที่โดดเด่น 5. ส่งเสริมงานสาธารณสงเคราะห์ 6. เพิ่มความคุ้มค่าให้แก่ศาสนสมบัติ
Buddhism Education Understanding Distinguished Center Distinctive Organization Help Asset
SBL บันทึกประเทศไทย I KAMPHAENG PHET
.indd 58
18/04/61 06:24:08 PM
พันธกิจ (MISSION) 1. เสริ ม สร้ า งให้ ส ถาบั น และกิ จ การทางพระพุ ท ธศาสนาให้ มีความมั่นคงยั่งยืน 2. สนั บ สนุ น ส่ ง เสริ ม และจั ด การศึ ก ษาสงฆ์ แ ละการเผยแผ่ พระพุทธศาสนาเพื่อพัฒนาให้มีความรู้คู่คุณธรรม 3. จัดการศึกษาสงฆ์เพื่อผลิตและพัฒนาศาสนทายาทที่เปี่ยม ปัญญาพุทธธรรมเผยแผ่ท�ำนุบ�ำรุงพระพุทธศาสนาให้เจริญงอกงาม และร่วมสร้างสังคมพุทธธรรมที่มีความเข้มแข็ง 4. ด�ำเนินการให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางทางพระพุทธศาสนาโลก 5. พัฒนาการดูแลรักษาและจัดการศาสนสมบัตใิ ห้เป็นประโยชน์ ต่ อ พระพุ ท ธศาสนาและสั ง คมเพื่ อ ให้ ส ามารถบรรลุ เ ป้ า หมาย ตามพันธกิจ
KAMPHAENG PHET I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 59
59
18/04/61 06:24:09 PM
ค่านิยม (CORE VALUE) ส่ ง เสริ ม พุ ท ธธรรมน� ำ ชี วิ ต มุ ่ ง ผลสั ม ฤทธิ์ ข องงาน มีจิตบริการ ประสานสามัคคี ส่ ง เสริ ม พุ ท ธธรรมน� ำ ชี วิ ต หมายถึ ง การสนั บ สนุ น ส่งเสริมการน�ำหลักธรรมทางพระพุทธศาสนามาประยุกต์ ใช้ในชีวิตประจ�ำวันอย่างมีความสุข ชุมชนเข้มแข็งก่อให้เกิด สังคมคุณธรรม มุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน หมายถึง ปฏิบัติหน้าที่อย่างมี ประสิ ท ธิ ภ าพ ประสิ ท ธิ ผ ล ด� ำ เนิ น งานให้ แ ล้ ว เสร็ จ ตามวัตถุประสงค์และใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า มี จิ ต บริ ก าร หมายถึ ง เข้ า ใจความต้ อ งการของผู ้ รั บ บริการอย่างถูกต้องและรวดเร็วให้บริการและช่วยเหลือผู้รับ บริการด้วยความยิ้มแย้มแจ่มใส และกระตือรือร้นต่อการ ตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการ ประสานสามัคคี หมายถึง เคารพผู้ร่วมงาน ช่วยเหลือ เกื้อกูลกันไม่แบ่งพรรคแบ่งพวกและเสียสละเพื่อประโยชน์ ส่วนรวม 60
SBL บันทึกประเทศไทย I KAMPHAENG PHET
.indd 60
18/04/61 06:24:10 PM
เป้าประสงค์ (GOAL) 1. สถาบันพระพุทธศาสนามีความมั่นคงและยั่งยืน 2. พระสงฆ์มีความรู้ในหลักธรรมอย่างลึกซึ้ง และสามารถเผยแผ่หลักธรรมได้อย่างถูกต้องและมีความทันสมัยรวมทั้งมีความรู้เรื่องสังคม ความเปลี่ยนแปลงของสังคมในทุกมิติ 3. ประชาชนทุกเพศทุกวัยได้เข้าถึงหลักธรรมทางพระพทธศาสนาสามารถน�ำไปพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้น ท�ำให้สังคมมีความสุขด้วยหลัก พุทธธรรม 4. เพิ่มศานทายาทเพื่อสืบสานพุทธศาสนาให้เกิดความมั่นคงและยั่งยืน 5. ให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางด้านวิชาการและกิจกรรมด้านพระพุทธศาสนาในระดับโลก 6. เพิ่มมูลค่าศาสนสมบัติให้เกิดประโยชน์ต่อพระพุทธศาสนาอย่างสูงสุด 7. จั ด ระบบองค์ ก รส� ำ นั ก งานพระพุ ท ธศาสนาแห่ ง ชาติ ใ ห้ เ ป็ น กลไกในการขั บ เคลื่ อ นให้ พ ระพุ ท ธศาสนามั่ น คง ยั่ ง ยื น และสั ง คมมี ค วามรู ้ ด้วยหลักพุทธธรรม KAMPHAENG PHET I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 61
61
18/04/61 06:24:12 PM
W O R K LI F E
บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนจังหวัด
องค์การบริหารส่วนจังหวัดก�ำแพงเพชร “ท้องถิ่นน่าอยู่ คู่เกษตรปลอดภัย และท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์” คือวิสัยทัศน์ขององค์การบริหารส่วนจังหวัดก�ำแพงเพชร
“เมืองกล้วยไข่น่าอยู่ ควบคู่เกษตรธรรมเทค
เป็นเอกด้านการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ เด่นประจักษ์เมืองมรดกโลก ยกระดับสังคม และคุณภาพชีวิตที่ยั่งยืน” แนวทางการพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตจังหวัดก�ำแพงเพชร
นายปรีชา ฤกษ์หร่าย
รองนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด รักษาราชการแทน นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดก�ำแพงเพชร นายปรี ช า ฤกษ์ ห ร่ า ย รองนายกองค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นจั ง หวั ด รั ก ษาราชการแทน นายกองค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นจั ง หวั ด ก� ำ แพงเพชร เป็น ผู้บริหารสูงสุด และนายสุรพงษ์ ขะจวง รองปลัดองค์การบริหาร ส่วนจังหวัด รักษาราชการแทน ปลัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดก�ำแพงเพชร เป็นหัวหน้าส่วนราชการ โดยตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาองค์การบริหารส่วนจังหวัดก�ำแพงเพชร ได้ ด� ำ เนิ น งานตามภารกิ จ ต่ า งๆ เพื่ อ สนองนโยบายของรั ฐ บาล และ ที่ส�ำคัญได้น้อมน�ำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของ พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช มาเป็นหลักแนวคิดในการด�ำเนินการ เพื่ อ ให้ เ กิ ด การพั ฒนาอย่ า งยั่ ง ยื น โดยภารกิ จ ต่ า งๆ ซึ่ ง ถื อ ได้ ว ่ า เป็ น ผลงานโดดเด่น เกิดประสิทธิภาพ ประสิทธิผลอย่างสูงสุด และองค์การ บริหารส่วนจังหวัดก�ำแพงเพชรได้ด�ำเนินการอย่างต่อเนื่อง
62
SBL บันทึกประเทศไทย I KAMPHAENG PHET
.indd 62
18/04/61 04:25:45 PM
บ่อน�้ำพุร้อนพระร่วง “บ่อน�้ำพุร้อนพระร่วง” ซึ่งถือได้ว่าเป็น แหล่งท่องเทีย่ วทีส่ ำ� คัญของจังหวัดก�ำแพงเพชร และ ไม่ น ้ อ ยหน้ า บ่ อ น�้ ำ พุ ร ้ อ นอื่ น ๆ ของ ประเทศไทยเลยก็ว่าได้ อยู่ในความรับผิดชอบ ขององค์การบริหารส่วนจังหวัดก�ำแพงเพชร “บ่อน�้ำพุร้อนพระร่วง” ที่ก�ำแพงเพชรเป็น ปรากฏการณ์ธรรมชาติท่ีมีทั้ง น�้ำร้อน - น�้ำเย็น ผุดขึ้นมาจากใต้ดินเป็นน�้ำผุดขึ้นมาผ่านตาม ช่องเปิดใต้พื้นดิน น�้ำพุร้อนที่นี่จะมีอุณหภูมิ ไม่สูงมากนัก อยู่ที่ประมาณ 45 - 60 °C และ ทีส่ ำ� คัญน�ำ้ พุรอ้ นทีน่ ไี่ ม่มกี ลิน่ ก�ำมะถัน และสามารถ ดืม่ ได้ ผ่านการตรวจสอบจากหน่วยงานของกระทรวง สารธารณสุขว่าไม่มีสารปนเปื้อนและอันตราย
มีการปรับปรุงสภาพภูมิทัศน์โดยรอบอย่าง สวยงาม เพราะเราตั้งใจพัฒนาให้เป็นแหล่ง ท่องเทีย่ วเพือ่ สุขภาพและส�ำหรับพักผ่อน มีบริการ ห้องอาบน�้ำแร่แบบส่วนตัว ห้องอาบน�้ำแร่รวม (แยกชาย - หญิง) และ บ่อแช่เท้า นอกจากนี้ ยังมีบริการบ้านพักรับรองสไตล์บ้านน็อคดาวน์ และมีลานสนามหญ้าส�ำหรับกางเต้นท์อีกด้วย รวมถึ ง เราได้ ป รั บ สถานที่ ด้ ว ยพรรณ ไม้ ด อกไม้ ป ระดั บ ปรั บ สนามหญ้ า บนพื้ น ที่ ทั้งหมดกว่า 60 ไร่ จัดซุ้มพักผ่อนหย่อนใจ เพื่ อ ให้ นั ก ท่ อ งเที่ ย วสามารถนั่ ง พั ก ผ่ อ นได้ ทุกมุมโดยรอบบริเวณบ่อน�้ำพุร้อน และยังมี กิจกรรมพักผ่อนส�ำหรับครอบครัว คือการปั่น
จักรยานน�้ำซึ่งถือเป็นการพักผ่อนกับครอบครัว อีกอย่างหนึ่ง และหากหน่ ว ยงานราชการ หรื อ เอกชน อยากจะเปลี่ยนบรรยากาศการสัมมนา เราก็มี อาคาร ห้ อ งประชุ ม ซึ่ ง ขนาดไม่ ใ หญ่ ม าก รองรับผู้เข้าร่วมการประชุมประมาณ 50 ท่าน นับได้ว่าปัจจุบันองค์การบริหารส่วนจังหวัด ก�ำแพงเพชร ได้พฒ ั นาการท่องเทีย่ วทีบ่ อ่ น�ำ้ ร้อน พระร่วงนีใ้ ห้มี สิง่ อ�ำนวยความสะดวก ไว้คอย บริการอย่างครบวงจร
KAMPHAENG PHET I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 63
63
18/04/61 04:25:49 PM
รถไฟฟ้า และรถรางชมเมือง จังหวัดก�ำแพงเพชร เป็นจังหวัดทีน่ กั ท่องเทีย่ ว รูจ้ กั ในนามของเมืองมรดกโลก เป็นเมืองเล็ก ทีม่ ี ความเรียบง่าย มีวัดวาอารามมากกว่าสี่สิบวัด ในเขตอุ ท ยานประวั ติ ศ าสตร์ คงความเป็ น เอกลักษณ์ คือ ความเป็นเมืองเก่าที่สร้างด้วย ศิลาแลง มีประวัติศาสตร์ความเป็นมายาวนาน ควบคู่กับเมืองสุโขทัยมากว่า 700 ปี จังหวัด ก�ำแพงเพชรจึงเหมาะแก่การเที่ยวชมสถานที่ ส�ำคัญทางประวัติศาสตร์ วัดวาอาราม โดยการ นั่งรถรางและรถไฟฟ้าชมเมืองก�ำแพงเพชร รถไฟฟ้า และรถรางชมเมืองก�ำแพงเพชร อยู่ในความดูแลขององค์การบริหารส่วนจังหวัด ก�ำแพงเพชร จัดให้มีขึ้นเพื่อเป็นการส่งเสริม การท่องเทีย่ ว ตามนโยบายของจังหวัดก�ำแพงเพชร ที่มุ่งส่งเสริมพัฒนาด้านการท่องเที่ยวในฐานะ 64
ที่ เ ป็ น เมื อ งมรดกโลก ให้ เ ป็ น ที่ รู ้ จั ก อย่ า ง แพร่หลายในกลุ่มนักท่องเที่ยว เส้นทางท่องเที่ยวในเขตเมืองก�ำแพงเพชร มี 3 เส้นทาง ได้แก่ เส้นทางบุญ สักการะสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ที่ส�ำคัญ ในเขตเมื อ งก� ำ แพงเพชร และเกี่ ย วข้ อ งกั บ ประวั ติ ศ าสตร์ ข องเมื อ งก� ำ แพงเพชร เช่ น ศาลหลั ก เมื อ งก� ำ แพงเพชร ศาลพระอิ ศ วร วัดเทพโมฬี วัดคูยาง วัดเสด็จ วัดบาง ศาลปึง เถ่ า กง-เถ่ า ม่ า พร้ อ มชมทั ศ นี ย ภาพบริ เ วณ ริมแม่น�้ำปิง เส้นทางประวัติศาสตร์ น�ำชมวัดต่างๆ ที่ ส�ำคัญในเขตอุทยานประวัติศาสตร์กำ� แพงเพชร ซึ่งมีประวัติศาสตร์ยาวนานกว่า 700 ปี และ ก�ำแพงเพชรยังเป็นเมืองศูนย์กลางการท่องเทีย่ ว
ทางประวัติศาสตร์อีกแห่งหนึ่ง เพราะมีโบราณ สถานส่ ว นใหญ่ ก ่ อ สร้ า งด้ ว ยศิ ล าแลง และ ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลก เส้นทางท่องเที่ยวเมืองนครชุม ชมวิถีชีวิต ชุมชนคนนครชุมทีเ่ รียบง่าย ตามรอยความเป็นมา ของพระเครื่องเมืองนครชุม และชมทิวทัศน์ ริ ม คลองสวนหมาก ย้ อ นรอยเมื่ อ ครั้ ง เสด็ จ ประพาสต้นของรัชกาลที่ 5 โดยการบริการนักท่องเทีย่ วตามเส้นทางดังกล่าว ได้มีการจัดตั้งศูนย์บริการนักท่องเที่ยวไว้ ณ บริเวณลานโพธิ์ ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง ก�ำแพงเพชร โดยความร่วมมือระหว่างองค์การ บริหารส่วนจังหวัดก�ำแพงเพชร และเทศบาลเมือง ก�ำแพงเพชร มีเจ้าหน้าที่และรถไฟฟ้า/รถราง ไว้คอยบริการเป็นประจ�ำทุกวัน
SBL บันทึกประเทศไทย I KAMPHAENG PHET
.indd 64
18/04/61 04:26:00 PM
โรงงานผลิต
สารปรับปรุงบ�ำรุงดิน ด้วยเกษตรกรได้มีการท�ำการเกษตรโดยใช้ สารเคมีจ�ำนวนมาก ก่อให้เกิดผลกระทบต่อ สิ่ ง แวดล้ อ มโดยเฉพาะดิน มีคุณ ภาพเสื่อ มลง ประกอบกั บ ความต้ อ งการที่ จ ะส่ ง เสริ ม ให้ จั ง หวั ด ก� ำ แพงเพชร เป็ น แหล่ ง ผลิ ต อาหาร ปลอดภัย และอ�ำนาจหน้าทีใ่ นการคุมครอง ดูแล และบ�ำรุงรักษาป่าไม้ ที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนจังหวัด ก�ำแพงเพชรจึงได้น้อมน�ำหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงของพระบาทสามเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ภูมิพลอดุลยเดชมาเป็นแนวทางการด�ำเนินงาน เพื่อลดการใช้สารเคมี โดยได้ด�ำเนินการจัดตั้ง โรงงานผลิ ต สารปรั บ ปรุ ง บ� ำ รุ ง ดิ น ขึ้ น ตั้ ง แต่ ปี พ.ศ.2546
การด�ำเนินการผลิตสารปรับปรุงบ�ำรุงดิน โดยการจัดหาวัตถุดิบในการผลิตจากท้องถิ่น แบ่ ง การผลิ ต ออกเป็ น 2 ชนิ ด ได้ แ ก่ สาร ปรับปรุงบ�ำรุงดินชนิดเร่งการเจริญเติบโต (เร่งใบ) และสารปรับปรุงบ�ำรุงดินชนิดเพิม่ ผลผลิต (เร่งผล) การจ� ำ หน่ า ยสารปรั บ ปรุ ง บ� ำ รุ ง ดิ น มิ ไ ด้ เป็นการจ�ำหน่ายในเชิงพาณิชย์ ด้วยต้องการ ส่งเสริมให้เกษตรกรได้หันมาสนใจการท�ำการ เกษตรแบบอิ น ทรี ย ์ และรั บ รู ้ รั บ ทราบถึ ง ประสิ ท ธิ ภ าพประสิ ท ธิ ผ ลของสารปรั บ ปรุ ง บ�ำรุงดิน องค์การบริหารส่วนจังหวัดก�ำแพงเพชร จึงได้ก�ำหนดให้มีการด�ำเนินโครงการส่งเสริม ปัจจัยการผลิตให้แก่เกษตรกร ตามหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง ผ่านการจัดตั้งกองทุนปุ๋ย
หมู่บ้าน ในกลุ่มเกษตรกรพื้นที่ต่างๆ ทั่วทั้ง จังหวัดก�ำแพงเพชรให้ได้ยมื สารปรับปรุงบ�ำรุงดิน ไปประจ�ำหมู่บ้าน และเกษตรกรได้ยืมไปใช้ใน การท�ำการเกษตร ซึ่งปัจจุบันมีการจัดตั้งกลุ่ม เกษตรกรในทุกอ�ำเภอ รวม 146 กลุ่ม อีกทั้งได้มีการด�ำเนินการจัดท�ำแปลงสาธิต ในพืน้ ทีต่ า่ งๆ โดยได้บรู ณาการการท�ำงานร่วมกัน กับหน่วยงานในพื้นที่รวมถึงชุมชน เพื่อจัดท�ำ แปลงสาธิตการเกษตร และแปลงสาธิตในโรงเรียน เป็ น การสนั บ สนุ น อาหารกลางวั น ปลอดภั ย ส่ ง เสริ ม การเรี ย นรู ้ ก ารเกษตรแบบอิ น ทรี ย ์ โดยใช้สารปรับปรุงบ�ำรุงดินที่องค์การบริหาร ส่วนจังหวัดก�ำแพงเพชรผลิตอีกด้วย
KAMPHAENG PHET I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 65
65
18/04/61 04:26:14 PM
โคก หนอง นา โมเดล ตามแนวพระราชด�ำริ
โคก หนอง นา โมเดล คือ การจัดการพืน้ ที่ การเกษตร เป็ น แนวทางพระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช พระองค์ได้ทรง พระราชทานให้ ไ ว้ ใ นการแก้ ป ั ญ หาน�้ ำ ท่ ว ม และจัดการน�้ำแล้ง ซึ่งก่อเกิดความยั่งยืนบน ผืนแผ่นดิน เป็นการผสมผสานเกษตรทฤษฎีใหม่ เข้ากับภูมิปัญญาพื้นบ้านที่อยู่อย่างสอดคล้อง กับธรรมชาติในพืน้ ทีน่ นั้ ๆ โคก หนอง นา โมเดล จึงเป็นเครื่องมือในการจัดการน�้ำอย่างยั่งยืน ทีเ่ กษตรกรสามารถบริหารจัดการได้ภายในไร่นา ของตนเอง โดยการขุดหนองเพื่อกักเก็บน�้ำฝน ไว้ ใ ช้ ย ามหน้ า แล้ ง และเป็ น แก้ ม ลิ ง ในยาม น�ำ้ หลาก ดินจากการขุดหนองน�ำ้ ไปถมให้เป็นโคก เพือ่ ปลูกบ้านทีอ่ ยูอ่ าศัย ปลูกป่า 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง ให้พอกิน พอใช้ พออยู่ และพอร่มเย็น ด้ ว ยมองเห็ น ถึ ง ประโยชน์ อ ย่ า งยั่ ง ยื น ในการท�ำการเกษตร องค์การบริหารส่วนจังหวัด ก� ำ แพงเพชรจึ ง ได้ ด� ำ เนิ น โครงการส่ ง เสริ ม การด�ำเนินชีวติ ตามแนวคิด โคก หนอง นา โมเดล ซึ่ ง จั ด ให้ มี ก ารอบรมให้ ค วามรู ้ แ ก่ เ กษตรกร ในเขตจังหวัดก�ำแพงเพชร จ�ำนวนกว่า 700 คน โดยจัดการอบรมให้ความรูใ้ นเรือ่ งของการแก้ไข ปัญหาน�้ำแล้ง น�้ำท่วมอย่างยั่งยืน การจัดการ ทรั พ ยากรธรรมชาติ และการใช้ ป ระโยชน์
66
จากที่ดินอย่างคุ้มค่า เพื่อเป็นภูมิคุ้มกันในการ ด�ำเนินชีวิตอย่างพอกิน พอใช้ พออยู่ และอุ้มชู ตัวเองได้ ณ ศูนย์กสิกรรมธรรมชาติมาบเอื้อง และจัดท�ำแปลงสาธิตเรียนรู้โครงการ สานต่อ ศาสตร์พระราชา น�ำไปสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน
โดยการออกแบบพื้นที่ ตามหลักภูมิสังคม และ ใช้หลักการภาคปฏิบตั ิ ซึง่ เน้นการร่วมแรง สามัคคี ปฏิบัติการพื้นที่เรียนรู้ โคก หนอง นา โมเดล ณ พื้นที่แปลงสาธิต หมู่ที่ 12 บ้านมอตะแบก ต�ำบลคลองลานพัฒนา อ�ำเภอคลองลาน
SBL บันทึกประเทศไทย I KAMPHAENG PHET
.indd 66
18/04/61 04:26:15 PM
โครงการปราบปรามผักตบชวา จังหวัดก�ำแพงเพชร
ด้วยรัฐบาลมีนโยบายเร่งด่วนในการแก้ไข ปั ญ หาผั กตบชวา จั ง หวั ด ก� ำ แพงเพชรจึ ง ได้ แต่งตั้งชุดเฉพาะกิจปราบปรามผักตบชวาขึ้น โดยมอบหมายให้องค์การบริหารส่วนจังหวัด ก�ำแพงเพชร เป็นหน่วยงานหลักในการด�ำเนิน การก�ำจัดผักตบชวาในแหล่งน�ำ้ แม่นำ�้ ล�ำคลอง สาธารณะ ในพื้นที่จังหวัดก�ำแพงเพชร และ ให้ อ งค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ยื่ น ค� ำ ร้ อ ง แสดงความประสงค์ให้ชดุ เฉพาะกิจปราบปราม ผักตบชวาจังหวัดก�ำแพงเพชรเข้าด�ำเนินการ ส่งเสริมการมีส่วนร่วมระหว่างชุมชนในท้องถิ่น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นซึ่งได้ก�ำหนดให้มี การจั ด ตั้ ง ศู น ย์ รั บ เรื่ อ งร้ อ งขอ ณ กองช่ า ง องค์การบริหารส่วนจังหวัดก�ำแพงเพชร การด�ำเนินการตามนโยบายในการแก้ไข ปั ญ หาผั ก ตบชวา เริ่ ม ด� ำ เนิ น การตั้ ง แต่ ตุลาคม 2560 ในพืน้ ที่ อ�ำเภอทรายทองวัฒนา พรานกระต่าย ลานกระบือ คลองขลุง คลองลาน ขาณุวรลักษณบุรี และอ�ำเภอเมืองก�ำแพงเพชร โดยจะได้ ด� ำ เนิ น การอย่ า งทั่ ว ถึ ง ในทุ ก พื้ น ที่ ของจั ง หวั ด ก� ำ แพงเพชร เป็ น การป้ อ งกั น และแก้ไขปัญหาภัยแล้ง รวมถึงการป้องกัน การเกิดอุทกภัยอีกด้วย
KAMPHAENG PHET I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 67
67
18/04/61 04:26:15 PM
H I S TO R Y O F P R IS O N K A M P H A E N G P HE T บันทึกเส้นทางเรือนจ�ำกลางก�ำแพงเพชร
เรือนจ�ำกลางก�ำแพงเพชร
เรือนจ�ำกลางก�ำแพงเพชร ปัจจุบันมีผู้ต้องขังในความควบคุม จ�ำนวน 2,657 คน (ข้อมูล ณ วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2561) มีอ�ำนาจในการควบคุมนักโทษเด็ดขาดที่มีโทษจ�ำคุกไม่เกิน 30 ปี มีการบริหารที่มีประสิทธิภาพท�ำให้ได้รับการคัดเลือกจากกรมราชทัณฑ์ให้เป็นเรือนจ�ำต้นแบบ ในหลายๆ ด้าน อาทิ เรือนจ�ำต้นแบบสิ่งแวดล้อมปลอดบุหรี่ เรือนจ�ำต้นแบบในการปฏิบัติต่อ ผู้ต้องขังหญิง ตามข้อก�ำหนดกรุงเทพ (Bangkok Rule) และเป็นศูนย์ฝึกอบรมอาชีพด้านช่าง เครื่องเรือนไม้ Woodcraft Academy ฯลฯ
เรือนจ�ำต้นแบบด้านช่างเครื่องเรือนไม้
เรือนจ�ำต้นแบบสิ่งแวดล้อมปลอดบุหรี่ เมือ่ วันที่ 23 ก.พ. 2560 สสส.พาสือ่ มวลชน เยี่ ย มชมเรื อ นจ� ำ กลางก� ำ แพงเพชร ในฐานะ ได้ รั บ การพิ จ ารณาคั ด เลื อ กจากส� ำ นั ก งาน กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ให้เป็น 1 ใน 13 เรือนจ�ำทั่วประเทศ ที่ได้เข้า ร่วมโครงการสิ่งแวดล้อมปลอดบุหรี่ในเรือนจ�ำ และยั ง ได้ พิ จ ารณาให้ เ ป็ น เรื อ นจ� ำ ที่ ป ระสบ ความส�ำเร็จ ในการด�ำเนินโครงการสิ่งแวดล้อม ปลอดบุหรี่ ที่สามารถพัฒนาเป็นพื้นที่ต้นแบบ ให้แก่เรือนจ�ำอื่นๆต่อไปได้
จัดระเบียบเรือนจ�ำชนะเลิศ จั ด ระเบี ย บเรื อ นจ� ำ ชนะเลิ ศ ภายใต้ ก ารบริ ห ารงานของผู ้ บ ริ ห าร นักพัฒนาอย่าง นางสาวโศรยา ฤทธิอร่าม ผู้บัญชาการเรือนจ�ำกลางก�ำแพงเพชร ท�ำให้ในปีงบประมาณ 2560 ที่ผ่านมา เรือนจ�ำกลางก�ำแพงเพชร ได้รบั รางวัล ชนะเลิ ศ ในการประกวดจั ด ระเบี ย บ เรือนจ�ำระดับประเทศ
เรือนจ�ำต้นแบบด้านในการปฏิบัติต่อผู้ต้องขังหญิง 68
SBL บันทึกประเทศไทย I KAMPHAENG PHET
SBL.indd 68
17/4/2561 10:08:45
อีกหนึ่งภารกิจหลักที่ส�ำคัญ คือการพัฒนา พฤตินิสัยให้แก่ผู้ต้องขัง ให้กลับตนเป็นคนดี คืนสู่สังคมอย่างยั่งยืน โดยทางเรือนจ�ำฯ ได้จัด หลักสูตรฝึกอบรมวิชาชีพที่หลากหลายให้ตรง กับความสามารถและความต้องการของตลาด เพื่ อ ให้ ผู ้ ต ้ อ งขั ง สามารถน� ำ ความรู ้ ที่ ไ ด้ ไ ป ประกอบอาชี พ ภายหลั ง พ้ น โทษได้ จริ ง และ ผลิตภัณฑ์จากการฝึกวิชาชีพนั้น ทางเรือนจ�ำฯ ได้ น� ำ มาจั ด จ� ำ หน่ า ยบริ เ วณหน้ า เรื อ นจ� ำ “ร้ า นจ� ำ หน่ า ยผลิ ต ภั ณ ฑ์ ร าชทั ณ ฑ์ ” ซึ่ ง จะมี ผลิตภัณฑ์จ ากการฝึ ก วิ ช าชี พ มากมาย อาทิ เฟอร์นเิ จอร์ไม้ ของตกแต่งบ้าน กระเป๋าแฮนด์เมด ฯลฯ โดยจ�ำหน่ายภายใต้แบรนด์ KAMPHAENGPHET CENTRAL PRISON PRODUCTS
ชาวบ “เรื อ นสบาย” สถานฝึกทักษะอาชีพการ นวดไทย อีกหนึ่งหลักสูตรของการฝึกวิชาชีพที่ เป็นทีย่ อมรับและสามารถสร้างรายได้และน�ำไป ประกอบอาชีพได้จริง ซึง่ ทางเรือนจ�ำฯ จะได้นำ� ผูต้ อ้ งขังทีผ่ า่ นการ อบรมครบหลักสูตรแล้ว ออกมาให้บริการนวด ภายนอกเรือนจ�ำฯ บริเวณอาคารเรือนสบาย หากผ่านมาสามารถแวะเข้าใช้บริการได้ทุกวัน ตัง้ แต่ 08.30 - 16.30 น. บริการนวดตัว 100 บาท นวดฝ่าเท้า 80 บาท
สนใจอุดหนุนผลิตภัณฑ์จากฝีมือผู้ต้องขังเรือนจ�ำกลางก�ำแพงเพชร ติดต่อสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ท่ีโทร 0 5571 0004 ต่อ 431 หรือทาง https://www.facebook.com/KPP.PRISONPRODUCTS/ KAMPHAENG PHET I SBL บันทึกประเทศไทย
SBL.indd 69
69
17/4/2561 10:09:07
W O R K LI F E
บันทึกเส้นทางพบเทศบาลเมืองก�ำแพงเพชร
เทศบาลเมืองก�ำแพงเพชร “เมืองน่าอยู่ คู่เมืองประวัติศาสตร์ เด่นประจักษ์เมืองมรดกโลก การศึกษารุ่งเรือง ฟูเฟื่องประเพณีท้องถิ่น” คือวิสัยทัศน์ของเทศบาลต�ำบลเมืองก�ำแพงเพชร
คณะบริหาร
นายชัยวัฒน์ ศุภอรรถพานิช นายกเทศมนตรี นางโชติกา ฐิตะชนภัค รองนายกเทศมนตรี นายเสกสรรค์ สุวรรณวัฒนา รองนายกเทศมนตรี นายนพพร ปานชัย รองนายกเทศมนตรี
นายชัยวัฒน์ ศุภอรรถพานิช
นายกเทศมนตรีเทศบาลเมืองก�ำแพงเพชร เทศบาลเมืองก�ำแพงเพชร เป็ น เมื อ งที่ มี พ้ื น ที่ ข นาดเล็ ก ของจั ง หวั ด ก�ำแพงเพชร ซึ่งอยู่ในเขตภาคเหนือตอนล่าง อยูห่ า่ งจากกรุงเทพมหานครตามถนนสายเอเชีย หมายเลข 1 ระยะทาง 358 กิโลเมตร ซึ่ง อาณาเขตของเทศบาลเมื อ งก� ำ แพงเพชร มีเนื้อที่ 14.9 ตารางกิโลเมตร ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา เทศบาลเมือง ก�ำแพงเพชรมีความมุ่งมั่นสร้างคุณภาพชีวิตที่ดี เพราะเชื่ อ ว่ า คุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ ดี จ ะส่ ง ผลให้ ประชาชนมี ค วามสุ ข เมื่ อ คนในครอบครั ว มีความสุขก็จะส่งผลให้สังคมเป็นสุข เราสร้าง สภาพแวดล้อม และองค์ประกอบของเมืองให้ เป็นเมืองที่น่าอยู่ในทุกๆ ด้านให้แก่ประชาชน โดยน้ อ มน� ำ แนวทางตามพระราชด� ำ ริ ข อง พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ล อดุลยเดชบรมนาถบพิ ต ร ในเรื่ อ งของความ “พอเพียง” มาใช้ในการบริหารจัดการ ทั้งกับ บุคลากรในองค์กรและการสร้างความร่วมมือ กับประชาชน ในการท�ำโครงการต่างๆ เพื่อให้ เหมาะสมกับประชาชนและสภาพสังคม เพราะ เราทุกคนคือ ครอบครัว (WE ARE FAMILY) ผูกพันกันไม่ทางใดก็ทางหนึ่งเสมอ 70
.
2
รางวัลที่ได้รับในปี พ.ศ. 2559 - 2560 1. รางวัลชนะเลิศศาลเจ้าบริหารงานดีเด่นระดับประเทศ(ศาลเจ้าพ่อหลักเมือง) ประเภท ศาลเจ้าขนาดเล็ก โดยกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทยประจ�ำปี 2560 2. รางวัลชมเชย เทศบาลน่าอยู่อย่างยั่งยืน ประจ�ำปี 2559 การประกอดเมืองสิ่งแวดล้อม ยั่งยืน ปี 2560 3. โล่เกียรติคุณ บริหารจัดการน�้ำเสียยอดเยี่ยม ประเภทการจัดการน�้ำเสียชุมชนดีเด่น ประจ�ำ ปี 2560 4. รางวัลส�ำนักทะเบียนดีเด่นระดับประเทศ ประเภทส�ำนักทะเบียนท้องถิ่นและเมืองพัทยา จ�ำนวนราษฎรไม่เกิน 30,000 คน ตามโครงการคัดเลือกส�ำนักทะเบียนดีเด่น ประจ�ำปี พ.ศ. 2559 โดยกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย 5. รางวัลชนะเลิศศาลเจ้าบริหารงานดีเด่นระดับประเทศ (ศาลเจ้าพ่อหลักเมือง) ประเภท ศาลเจ้าขนาดเล็ก โดยกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทยประจ�ำปี 2559
SBL บันทึกประเทศไทย I KAMPHAENG PHET
.indd 70
11/4/2561 10:21:50
ด้านโครงสร้างพื้นฐาน เขื่อนริมแม่น�้ำปิง สร้ า งเขื่ อ นขั้ น บั น ไดริ ม ฝั ่ ง แม่ น�้ ำ ปิ ง การปรั บ ปรุ ง และสร้ า งถนนหนทางไฟฟ้ า แสงสว่าง การสร้างสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ ด้วยสวนสาธารณะขนาดใหญ่ การดูแลรักษา ความสะอาดของบ้ า นเมื อ ง ด้ ว ยการบริ ห าร จัดการขยะและน�้ำเสียอย่างมีประสิทธิภาพ
สิทธิที่เหมาะสม และเท่าเทียมด้านการศึกษา พัฒนาเยาวชน เปิดโอกาสทางการศึกษา ให้กับ เด็กและเยาวชน ด้วยสถานศึกษาทั้ง 5 แห่ง รองรับความต้องการทางการศึกษาทุกระดับ สร้างความเชื่อมั่นและโอกาสทางการศึกษาให้ กับเยาวชน
ด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิต
ด้านความมั่นคงด้านเศรษฐกิจและรายได้
สร้างศูนย์ผู้สูงอายุ โรงเรียนผู้สูงอายุนคร ชากังราว เป็นสถานที่ให้ผู้สูงอายุได้มีพื้นที่ใน การท�ำกิจกรรมร่วมกัน และเป็นศูนย์รวมของ ปราชญ์ ท ้ อ งถิ่ น รั ก ษาวั ฒ นธรรมประเพณี รวมถึงการดูแลสุขภาพของทุกคนตั้งแต่แรกเกิด จนถึง วัยชรา ด้วยโรงพยาบาลชุมชน เทศบาล เมืองก�ำแพงเพชร ได้รับสวัสดิการ มีการพิทักษ์
ด�ำเนินงานศูนย์บริการนักท่องเทีย่ ว ร่วมกับ ชมรมส่งเสริม การท่องเที่ยวโดยชุม ชนในเขต เทศบาลเมื อ งก� ำ แพงเพชร จั ด กิ จ กรรมถนน คนเดิน “คนก�ำแพง” เพื่อส่งเสริมอาชีพ กระตุ้น เศรษฐกิ จ ในชุ ม ชน เพราะเทศบาลเมื อ ง ก�ำแพงเพชรมีสถานที่ท่องเที่ยวซึ่งเป็นโบราณ สถานและขึ้ น ทะเบี ย นเป็ น เมื อ งมรดกโลก
จึงเป็นอีกทางเลือกหนึ่งให้นักท่องเที่ยวเดินทาง มาสัม ผัสบรรยากาศ พร้อมจัดบริการรถราง ชมเมืองกับมัคคุเทศก์น้อย บนเส้นทางบุญไหว้ สิ่งศักดิ์สิทธิ์
KAMPHAENG PHET I SBL บันทึกประเทศไทย
.
2
.indd 71
71
11/4/2561 10:21:54
W O R K LI F E
บันทึกเส้นทางพบเทศบาลต�ำบล
เทศบาลเมืองหนองปลิง “ส่งเสริมเศรษฐกิจ คุณภาพชีวิตที่ดี ประเพณี สืบไป ใส่ใจสิ่งแวดล้อม พร้อมมีส่วนร่วม” คือวิสัยทัศน์ของเทศบาลต�ำบลเมืองหนองปลิง
นายเชาวนัย ชาญเชี่ยว นายกเทศมนตรีเมืองหนองปลิง
เนื่องจากในพื้นที่ต�ำบลหนองปลิง เป็นที่ตั้ง ของศู น ย์ ร าชการหลายหน่ว ยงาน ประชากร ส่ ว นใหญ่ จึ ง สร้ า งที่ อ ยู ่ อ าศั ย ตามชานเมื อ ง อยูร่ วมกันเป็นกลุม่ โดยประกอบอาชีพเกษตรกรรม เป็นหลัก เนื่องจากอยู่ใกล้ แม่น�้ำปิง ที่ถือเป็น แม่น�้ำที่ส�ำคัญต่อการด�ำรงชีวิต และยังมีวัดเป็น ศูนย์รวมจิตใจ มีสถานทีส่ ำ� คัญด้านประวัตศิ าสตร์ เหมาะส�ำหรับเป็นแหล่งท่องเที่ยวอีกด้วย
72
ผลิตภัณฑ์ ในชุมชน ศิลปะพับผ้าขนหนู (พวงหรีด) ผลิตโดย: กลุ่มชาวบ้าน หมู่ที่3 บ้านคลองบางทวน พรมเช็ ด เท้ า ด้ ว ยเศษผ้ า , ตระกร้ า เส้ น พลาสติก, ตระกร้าเชือก, ไม้กวาดทางมะพร้าว + ไม้กวาดอ่อน ผลิตโดย: กลุ่มแม่บ้าน หมู่ 11
สถานที่ส�ำคัญในชุมชน วั ด หนองปลิ ง ส� ำ นั ก ปฏิ บั ติ ธ รรมประจ� ำ จังหวัดก�ำแพงเพชร แห่งที่ 2 จัดพืน้ ทีว่ ดั เพือ่ ให้ เกิดประโยชน์ต่อมหาชน โดย ท่านเจ้าอาวาส
พระครูวิเชียรธรรมนาท หรือหลวงพ่อสีหนาท เน้นจัดพื้นที่เพื่อการจัดกิจกรรมปฏิบัติ วิปัสนา กรรมฐาน เพือ่ ให้มนุษย์เข้าใจในการมีสติ ภายใน วัดประกอบด้วยอาคารขนาดใหญ่ สามชั้นที่ ประกอบด้วย ห้องพัก ชั้นดีส�ำหรับผู้มาอาศัย ปฏิบัติธรรม ชั้นที่ 2 เป็นห้องส�ำหรับประกอบ พิธีบุญ และชั้นที่ 3 เป็นห้องโถงขนาดใหญ่ที่ใช้ อบรมสัมมนา วัดจัดกิจกรรมอบรมวิปัสสนาเนื่องในวัน ส�ำคัญทางศาสนาและพระมหากษัตริย์อยู่เป็น ประจ�ำเพื่อร่วมส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมให้ คนในสังคมน�ำหลักธรรมไปใช้ในชีวิตประจ�ำวัน
SBL บันทึกประเทศไทย I KAMPHAENG PHET
2
.indd 72
17/04/61 05:09:26 PM
ผู้สนใจควรติดต่อสอบถามรายละเอียดวันเวลา ในกิจกรรมปฏิบัติธรรมอีกครั้งได้ที่ วัดหนองปลิง หมู่ 3 ต�ำบลหนองปลิง อ�ำเภอ เมืองก�ำแพงเพชร จังหวัดก�ำแพงเพชร 62000 โทร.055-710400/ 086-446-6073 กิจกรรม/โครงการของเทศบาลเมืองหนองปลิง กิจกรรมบ�ำเพ็ญสาธารณประโยชน์ เพื่อ ถวายพระราชกุศลฯ พระบาทสมเด็จพระปรมิน ทรมหาภูมิพลอดุลยเดชบรมนาถบพิตร โดยได้ จัดพิธีเปิดในวันที่ 5 ธันวาคม 2560 เวลา 08.00 น. ณ บริเวณทีว่ า่ การอ.เมือง กพ. (หลังเก่า) และหลังเสร็จสิ้นพิธีเปิดจะมีกิจกรรมบ�ำเพ็ญ สาธารณประโยชน์ ซึ่งจุดที่ ทม.หนองปลิงได้รับ มอบหมายคือ บริเวณถนนหน้าศาลหลักเมือง ก�ำแพงเพชร โครงการส่งเสริมเสริมทักษะชีวติ วัยทีน วันที่ 1 กั น ยายน 2560 เวลา 08.30 น. โดยมี นายเชาวนัย ชาญเชี่ยว นายกเทศมนตรีเมือง
2
.indd 73
หนองปลิง ให้เกียรติเป็นประธานเปิดโครงการ ณ โรงเรียนทรัพย์สถิตย์วทิ ยาคาร ต�ำบลหนองปลิง โครงการอบรมให้ความรูเ้ กีย่ วกับการคัดแยก ขยะ ครัง้ ที่ 2 เมือ่ วันที่ 29 มิถนุ ายน 2560 เวลา 08.30 น. โดยนายเชาวนัย ชาญเชียว นายก เทศมนตรีเมืองหนองปลิงให้เกียรติเป็นประธาน เปิดโครงการอบรมให้ความรูเ้ กีย่ วกับการคัดแยก ขยะ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และพนักงาน เทศบาลเมืองหนองปลิง และ โรงเรียนบ้านเกาะ สะบ้า, โรงเรียนบ้านบ่อสามแสน, โรงเรียน เทศบาลเมืองหนองปลิง และโรงเรียนบ้านน�ำ้ ดิบ โครงการโรงเรียนผู้สูงอายุต�ำบลหนองปลิง ครั้งที่ 3 เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน 2560 เวลา 08.30 น.โดยนายเชาวนัย ชาญเชี่ยว นายก เทศมนตรีเมืองหนองปลิงให้เกียรติเป็นประธาน พิธเี ปิดโครงการโรงเรียนผูส้ งู อายุตำ� บลหนองปลิง ครัง้ ที่ 3 ณ ศูนย์พฒ ั นาคุณภาพชีวติ และส่งเสริม อาชีพผูส้ งู อายุตำ� บลหนองปลิง (วัดบ่อสามแสน)
กิจกรรม ประชารัฐร่วมใจ ต้านภัย ไข้เลือดออกจังหวัดก�ำแพงเพชร ปี 2560 เนือ่ งในวันไข้เลือดออกอาเซียน (ASEAN DENGUE DAY) วันที่ 15 มิถุนายน 2560 เวลา 08.30 น. โดยนายเชาวนัย ชาญเชี่ยว นายกเทศมนตรีเมืองหนอง ปลิ ง ให้ เ กี ย รติ เ ป็ น ประธานในพิ ธี เ ปิ ด กิจกรรม ประชารัฐร่วมใจ ต้านภัยไข้เลือด ออกจังหวัดก�ำแพงเพชร ปี 2560 เนื่อง ในวั น ไข้ เ ลื อ ดออกอาเซี ย น (ASEAN DENGUE DAY) และกิ จ กรรมอื่ น ๆ อีกมากมายทีน่ า่ สนใจ
17/04/61 05:09:28 PM
W O R K LI F E
บันทึกเส้นทางพบเทศบาลต�ำบล
เทศบาลต�ำบลนครชุม “นครชุมเมืองน่าอยู่ เคียงคู่เมืองท่องเที่ยว” คือวิสัยทัศน์ของเทศบาลต�ำบลนครชุม
แหล่งท่องเที่ยวมนต์เสน่ห์แห่งศิลป์นครชุม 700 กว่าปีที่ล่วงเลยผ่าน นครชุมเป็นเมืองเล็กๆ ที่เงียบสงบ แต่ยังคง ไว้ซงึ่ อัตลักษณ์ของชุมชน มีความหลากหลายทางวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี สืบทอดมาจนถึงปัจจุบัน ที่โดดเด่นคือ ภูมิปัญญาด้านอาหาร ด้ า นพุ ท ธศิ ล ป์ และยั ง เป็ น ชุ ม ชนที่ มี ค วามหลากหลายทางชาติ พั น ธุ ์ ไม่วา่ จะเป็น คนไทย คนจีน คนลาว ชาวกระเหรีย่ ง ทีอ่ าศัยอยูใ่ นชุมชนร่วมกัน มาตั้งแต่ในอดีต การผสมผสานผ่านกาลเวลา ท�ำให้ชุมชนเล็กๆ แห่งนี้ ยังคงมีความน่าสนใจมาจนถึงปัจจุบัน การท่องเที่ยวในชุมชนนครชุม จึงเป็นอีกทางเลือกทีไ่ ด้นำ� เสนอความเป็นอัตลักษณ์ของชุมชน การบอกเล่า ความเป็นตัวตนผ่านการท่องเทีย่ ว อีกทัง้ นครชุมยังเป็นศูนย์กลางเชือ่ มต่อ การเดินทางไปยังเมืองต่างๆ ได้อย่างสะดวก รวดเร็วเพียงระยะทาง ประมาณ 100 กิ โ ลเมตร ก็ จ ะถึ ง ศรี สั ช นาลั ย จั ง หวั ด สุ โ ขทั ย จังหวัดพิษณุโลก จังหวัดพิจิตร และ จังหวัดตาก เทศบาลต�ำบลนครชุม ได้มองเห็นถึงคุณค่าของมรดกทางวัฒนธรรม แหล่ ง โบราณสถาน หรื อ แหล่ ง ถ่ า ยทอดภู มิ ป ั ญ ญาที่ มี อ ยู ่ ใ นชุ ม ชน อย่างมากมาย แต่ไม่ได้รับความสนใจ ท�ำให้ชุมชนเงียบเหงา เศรษฐกิจ ซบเซาลง ตลาดย้ อ นยุ ค นครชุ ม จึ ง เป็ น แนวทางที่ จ ะเปิ ด ประตู บ ้ า น ให้คนทัว่ ไปได้รจู้ กั ชุมชนนครชุม และเดินทางเข้าสูพ่ นื้ ที่ เพือ่ สามารถต่อยอด ให้เกิดการท่องเทีย่ วในชุมชน ซึง่ ตลาดย้อนยุคนครชุม ในปัจจุบนั ยังเป็นแหล่ง สร้างงาน สร้างรายได้ ให้กบั คนในชุมชนมาอย่างต่อเนือ่ ง โดยใช้บรรยากาศบ้าน เรือนเก่า ทีอ่ ยูก่ ลางชุมชน น�ำแม่คา้ – พ่อค้า ในชุมชน แต่งไทย(ใส่ผา้ แถบ/ นุ่งโจงกระเบน) นั่งบนแคร่ขายอาหารพื้นถิ่นนครชุม ทั้งคาวและหวาน มากกว่า 80 ร้านค้า ซึ่งเป็นการกระตุ้นเศรษฐกิจในชุมชนให้ดีขึ้น เพื่อก้าว ไปสู่ การเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมวิถีชีวิตชุมชนอย่างยั่งยืน และ สร้างชื่อเสียงให้กับชุมชน และ จังหวัดก�ำแพงเพชรต่อไปในอนาคต
74
.
3
“พระบรมธาตุคู่บ้าน พระยาวชิรปราการคุ้มเมือง ป้อมทุ่งเศรษฐีลือเลื่อง ก�ำแพงเมืองเจ็ดร้อยปี คลองสวนหมากเสด็จประพาส ทุ่งมหาราชบทประพันธ์ดี หลวงพ่ออุโมงค์เป็นศักดิ์ศรี คนดีศรีเมืองนครพระชุม”
บ้านพะโป้ (บ้านโบราณสมัยรัชกาลที่ 5) บ้ า นที่ ส วยที่ สุ ด ในอดี ต ที่ ตั้ ง ตระหง่ า นอยู ่ ริ ม คลองสวนหมาก เห็นจะได้แก่บ้านพะโป้ ซึ่งเป็นคหบดี ชาวกระเหรี่ยง ที่บูรณปฏิสังขรณ์ พระบรมธาตุ น ครชุ ม ซึ่ ง ชาวนครชุ ม เรี ย กบ้ า นหลั ง นี้ จ นติ ด ปากว่ า “บ้านห้าง ร.5” ซึ่งเป็นหลักฐานแสดงถึงความรุ่งเรืองจากอดีตมาจนถึง ปัจจุบนั บ้านรูปทรงสไตล์ยโุ รป ท�ำให้นกึ ถึงคฤหาสน์หลังใหญ่ ทีใ่ ช้ทำ� การค้า เป็นสถานที่ติดต่อซื้อ – ขาย ไม้ เมื่อในอดีตที่เคยมีผู้คนเดินทางมาติดต่อ ค้าขายมิได้ขาดสาย มีขา้ วของเครือ่ งใช้ราคาแพง สมฐานะพ่อค้าไม้ผรู้ ำ�่ รวยใน สมัยนัน้ ยิ่งผู้ใดได้อ่านหนังสือทุ่งมหาราช อันหมายถึง ท้องถิ่นแถบคลอง สวนหมาก ที่รัชกาลที่ 5 ได้เสด็จประพาสต้น ครั้งที่ 2 เมื่อพุทธศักราช 2449 ก็จะยิ่งจินตนาการเห็นภาพลึกเข้าไปราวเดินอยู่ในบรรยากาศเมื่อ ครั้งกระโน้น อย่างหลงใหลต่อจินตนาการยากเกินจะบรรยาย
SBL บันทึกประเทศไทย I KAMPHAENG PHET
.indd 74
18/4/2561 8:37:41
วัดสว่างอารมณ์/หลวงพ่ออุโมงค์ เป็นวัดที่สร้างขึ้นด้วยศิลปะแบบพม่าผสมไทย สร้างอยู่ในที่ดินเดิม ของวัดร้าง ชื่อวัดสองพี่น้อง เพราะบริเวณ บ้านปากคลองเหนือเดิม มีวัดอยู่วัดหนึ่ง ห่างออกไปทางเหนือน�้ำ ของคลองสวนหมาก ประมาณ 800 เมตร อยู่ฝั่งตรงข้าม วัดกลางหมู่บ้าน มีเนื้อที่ประมาณ 4 – 5 ไร่ มีทา่ น�ำ้ เป็นทีข่ นึ้ – ลง ของล้อเกวียนทีล่ ากเข็นข้าวจากนามาเก็บไว้ยงั ยุง้ ฉาง ทีว่ ดั นัน้ มีตน้ หมันเป็นสัญลักษณ์ จึงได้ชอื่ ว่า “วัดท่าหมัน” จากนัน้ ได้บรู ณะ วัดให้กว้างขวางกว่าเดิม คณะกรรมการและทางราชการได้เปลีย่ นชือ่ วัดเป็น “วัดท่าหมันแก้วปุณณวาสน์” เคยใช้ศาลาวัดเป็นโรงเรียนประชาบาลแห่งแรก ชือ่ ว่าโรงเรียนประชาบาลประจ�ำต�ำบลคลองสวนหมาก ได้สร้างความเจริญ ให้แก่วดั มากยิง่ ขึน้ วัดสว่างอารมณ์ ได้ให้เอกชนเช่าทีธ่ รณีสงฆ์ทำ� ทีอ่ ยูอ่ าศัย และสร้างอาคารพาณิชย์ ซึง่ บริเวณนีไ้ ด้กลายเป็นส่วนหนึง่ ของตลาดย้อนยุค นครชุ ม และภายในวั ด สว่ า งอารมณ์ ยั ง มี ปู ช นี ย วั ต ถุ ที่ ส� ำ คั ญ คื อ หลวงพ่ออุโมงค์ เป็นพระพุทธรูปสมัยเชียงแสน (ก่อนสุโขทัย) ขนาดหน้าตัก กว้าง 2.87 เมตร สูงเกือบ 3 เมตร มีพทุ ธลักษณะทีง่ ดงามยิง่ เป็นหลักฐาน ส� ำ คั ญ ประกอบข้ อ เท็ จ จริ ง ถึ ง ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งก� ำ แพงเพชรและ หัวเมืองฝ่ายเหนือ บ่งบอกถึงความสัมพันธ์ระหว่าง เมืองกําแพงเพชร และ อาณาจักรล้านนาในอดีต โดยประดิษฐาน อยู่ภายในพระวิหาร
แหล่งเรียนรู้การท�ำพระเครื่องนครชุม “นครชุม” เป็นเมืองโบราณทีต่ งั้ อยูบ่ ริเวณปากคลองสวนหมาก เกิดขึน้ ในยุคกรุงสุโขทัย ช่วงรัชสมัยพระมหาธรรมราชาที่ 1 (ลิไท) และถือได้ว่า เป็นยุคทองของพระพุทธศาสนา ศิลปะและสถาปัตยกรรมต่างๆ และ ทรงสถาปนา พระศรีรตั นมหาธาตุ และทรงปลูกต้นพระศรีมหาโพธิ์ ทีเ่ มืองนครชุม อันเป็นต�ำนานของประเพณีนบพระเล่นเพลง ทีส่ บื ต่อมาจนถึงทุกวันนี้ ภายหลัง เมือ่ มีผรู้ อื้ พระศรีรตั นมหาธาตุเจดีย์ ก็ได้พบจารึกบนแผ่นลาน เงินในกรุ ซึ่งจารึกถึงต�ำนานการสร้าง “พระพิมพ์” หรือที่ในปัจจุบันเรียก ว่ า “พระเครื่ อ ง” นอกจากนี้ ใ นพระราชนิ พ นธ์ เ สด็ จ ประพาสต้ น ครั้ ง ที่ ส อง เรื่ อ งการเสด็ จ ประพาสก� ำ แพงเพชร ของพระบาทสมเด็ จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งเขียนในปี พ.ศ. 2449 ก็ได้กล่าวถึงจารึก บนแผ่นลานทอง อันมีข้อความเกี่ยวกับการขุดพบพระ ตามกรุต่างๆ นับว่าการสร้างพระพิมพ์ หรือพระเครือ่ งนัน้ มีประวัตศิ าสตร์ยาวนานมากว่า 700 - 800 ปี และเชื่อกันว่าคงมิได้สร้างเฉพาะ พระพิมพ์เท่านั้น น่าจะมี การสร้างพระพุทธรูป และถาวรวัตถุอื่นๆ ในพระพุทธศาสนาไว้อีกด้วย แหล่งเรียนรู้การท�ำพระเครื่อง ป้อมทุ่งเศรษฐี วัดวาอาราม ที่ยังคง ปรากฏซากถาวรวัตถุของความเจริญรุง่ เรืองในอดีต มีโบรารสถานทีส่ ำ� คัญ เป็นวิถกี ารผสมผสานวัฒนธรรมทีเ่ ด่นชัด รวมถึงเป็นแหล่งก�ำเนิดพระซุม้ กอ พระเครื่องหนึ่งในชุดเบญจภาคี ที่มีชื่อเสียงโด่งดัง เริ่มต้นขึ้นมาจาก สมหมาย พยอม ผู้มีถิ่นฐานอยู่ในเมืองนครชุม และคลุกคลีอยู่ในวงการ พระเครื่อง ด้วยความที่มีใจรัก จึงศึกษาและจดจ�ำวิธีการท�ำพระเครื่อง จากช่างพระเครือ่ งในก�ำแพงเพชร แล้วน�ำมาทดลอง ท�ำพระซุม้ กอได้เป็น อันดับแรก ในปี พ.ศ.2551 ก็ได้จดั ตัง้ แหล่งเรียนรูก้ ารท�ำพระเครือ่ งนครชุมขึน้ เพือ่ ให้เป็นแหล่งเรียนรูข้ องนักเรียน นักศึกษา และประชาชนทัว่ ไป ทีส่ นใจ ในเรื่ อ งวิ ธี ก ารท� ำ พระเครื่ อ ง ซึ่ ง ภายในแหล่ ง เรี ย นรู ้ ก็ จ ะมี ก ารสาธิ ต กระบวนการท�ำพระเครื่องในขั้นตอนต่างๆ ให้ได้ชม เป็นการสืบสานพุทธ ศิลป์ที่สวยงามตามภูมิปัญญาดั้งเดิมของชนชาวไทยต่อไป KAMPHAENG PHET I SBL บันทึกประเทศไทย
.
3
.indd 75
75
18/4/2561 8:38:02
วัดพระบรมธาตุ พระอารามหลวง พระบรมธาตุ น ครชุ ม มหาเจดี ย ์ ท รงสู ง ใหญ่ สวยงามไปด้ ว ย สถาปัตยกรรมและสีทองอร่ามทัง้ องค์ เสมือนดัง่ เจดียช์ เวดากองในเมืองพม่า เป็นพระบรมธาตุเจดีย์ ที่บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ จ�ำนวน 9 องค์ อยูใ่ นเรือส�ำเภาเงิน เป็นพระบรมธาตุเจดีย์ ทีอ่ ยูค่ เู่ มืองก�ำแพงเพชรมาตัง้ แต่ สมัยเป็นเมืองนครชุม กินเวลายาวนานมากกว่า 700 ปี และยังคงยั่งยืน สืบต่อกันมาเป็นองค์มหาเจดีย์แห่งศรัทธา จวบจนปัจจุบัน ความในจารึ ก นครชุ ม กล่ า วถึ ง การประดิ ษ ฐานพระบรมธาตุ สรุปความว่า พระยาลือไทยโอรสพระยาเลอไทย พระนัดดาพระยารามราช เสวยราชที่เมืองศรีสัชนาลัยสุโขทัย ประมาณปี พ.ศ.1890 เมื่อเสวยราชย์ แล้ว ท้าวพระยาทั้งหลายแต่งกระยาดงวาย ของฝากหมากปลามาไหว้ อันยัดยัญอภิเษก เป็นท้าวเป็นพระญา ชือ่ ศรีสรุ ยิ พงศ์มหาธรรมราชาธิราช ทรงได้พระบรมสารีริกธาตุพร้อมกิ่งพระศรีมหาโพธิ์ จากลังกาทวีปใน ปี พ.ศ.1900 จึงทรงน�ำไปประดิษฐาน ในเมืองนครชุม และทรงจารึกไว้ว่า “...ผิผู้ใดได้ไหว้นบกระท�ำบูชาพระศรีรัตนมหาธาตุ และพระศรีมหาโพธิ์นี้ ว่าไซร้ มีผลอานิสงส์พร�่ำเสมอดังได้นบตนพระเป็นเจ้าบ้างแล...” และ ประเพณีนบพระ-เล่นเพลงของชาวก�ำแพงเพชรนั้น ได้น�ำค�ำในศิลาจารึก นครชุม หลักที่ 3 มาเป็นชื่องาน มีความว่า “ผู้ใดไหว้นบ กระท�ำบูชา พระศรีรัตนมหาธาตุ และพระศรีมหาโพธิ์ไซร้ มีผล อานิสงส์พร�่ำเสมอ ดังได้นบพระผู้เป็นเจ้า…” ค�ำว่า “นบ” เป็นค�ำโบราณ แปลว่า ไหว้ ดังนั้น การนบพระจึง หมายความว่า “ไหว้พระ” ส�ำหรับค�ำว่าเล่นเพลง คือ การละเล่นพื้นบ้านที่สนุกสนาน โดยมีการร้องเพลงพื้นบ้าน มีชาย หญิง ร่วมร้องและร่ายร�ำภายหลัง จากได้ท�ำบุญท�ำกุศลแล้ว งานประเพณี นบพระ-เล่นเพลง จัดงานในช่วงวันมาฆบูชาหรือวันขึ้น 15 ค�่ำ เดือน 3 ของทุกปี มีการจัดขบวนทางสถลมารคมานบพระพระบรมธาตุทุกปี และ ให้ความส�ำคัญยิ่งเช่นในอดีตที่ผ่านมาอีกวาระหนึ่ง
ติดต่อสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม โทร 055-799821-2 ต่อ 119
76
.
3
SBL บันทึกประเทศไทย I KAMPHAENG PHET
.indd 76
18/4/2561 8:38:09
ริเวอร์กรีน รีสอร์ท
RIVER GREEN RESORT ห้องพักสะอาด บรรยากาศริมแม่น�้ำปิง บริการทั้ง บ้านเดี่ยว บ้านแฝด
Tel : 081-284-2599 ID LINE : popzone26 เลขที่ 7/3 หมู่ที่ 2 ต�ำบลแสนตอ อ�ำเภอขาณุวรลักษบุรี จังหวัดก�ำแพงเพชร
.indd 77
11/4/2561 8:38:58
W O R K LI F E
บันทึกเส้นทางพบเทศบาลต�ำบล
เทศบาลต�ำบลเทพนคร “เทพนครพัฒนา มุ่งมั่นสร้างสรรค์คุณธรรม น้อมน�ำเศรษฐกิจ พิชิตอบายมุข เป็นสุขทุกครอบครัว” คือวิสัยทัศน์ของเทศบาลต�ำบลเทพนคร
เทศบาลต�ำบลเทพนคร เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ในเขตอ�ำเภอ เมืองก�ำแพงเพชรพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่ม และเหมาะกับการท�ำอาชีพ เกษตรกรรม เนื่องจากพื้นที่ส่วนหนึ่งติดกับแม่น�้ำปิง พื้นที่ทั้งหมด 22 หมู่บ้าน และมีพื้นที่รับผิดชอบ 172 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 107,500 ไร่ จ�ำนวนประชากร 20,521 คน
เทศบาลต�ำบลเทพนคร ได้ ด�ำเนิน การโครงการต่างๆ ที่มุ่งเน้นประโยชน์ และความผาสุก ของประชาชนต�ำบลเทพ นคร เช่ น การแก้ ไ ขปั ญ หาน�้ ำ เพื่ อ การเกษตร การวางท่ อ งส่ ง น�้ ำ เพื่ อ การเกษตรและการบริหารจัดการน�้ำที่ ยัง่ ยืน การส่งเสริมอาชีพและพัฒนาแหล่ง เรียนรูต้ ามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การก่อสร้างปรับปรุงศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ทั้ง 6 แห่ง และการจัดโครงการ โรงเรียนสร้างสุขผู้สูงวัยฯ เป็นต้น
นายนเรศ อินทปัตย์
นายกเทศมนตรีต�ำบลเทพนคร
กิจกรรม / โครงการ /ผลงานเด่น เทศบาลต�ำบลเทพนคร
ผลิตภัณฑ์ชุมชน/ของฝากจากต�ำบลเทพนคร
กระยาสารทแม่ทองพิณ น�้ำพริกกลุ่มแม่บ้านศรีนคร
ราชาเฉาก๊วย
ไม้กวาดดอกหญ้า
รางวัลแห่งความภาคูมิใจ 1. ได้ รั บ คั ด เลื อ กเป็ น องค์ ก ร ภาครัฐทีด่ ำ� เนิน การเพือ่ ส่งเสริมและ พัฒนาคุณภาพชีวติ คนพิการจังหวัด ก�ำแพงเพชร 2. ไ ด ้ รั บ ผ ล ก า ร ป ร ะ เ มิ น โครงการ “ก�ำแพงเพชรเมืองสะอาด” ประเภททีท่ ำ� การ/ส�ำนักงานระดับดีมาก 3. เป็นหน่วยงานที่มีมาตรการ องค์กรด้านความปลอดภัยทางถนน 78
โครงการแก้ไขปัญหาน�้ำเพื่อก�ำรเกษตรต�ำบลเทพนคร
นางวันเพ็ญ อินทรสูต ปลัดเทศบาลต�ำบลเทพนคร
โครงการวางท่อส่งน�้ำเพื่อการเกษตรและการบริหารจัดการน�้ำอย่างยั่งยืน
SBL บันทึกประเทศไทย I KAMPHAENG PHET
.indd 78
10/4/2561 16:05:05
การส่งเสริมศิลปะ วัฒนธรรมท้องถิ่น
การส่งเสริมอาชีพและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
โรงเรียนสร้างสุขผู้สูงวัย เทศบาลต�ำบลเทพนคร
ส่งเสริมกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อให้เด็กมีสุขภาพดีทั้งร่างกายและจิตใจ
การให้การช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัยในพื้นที่ต�ำบลเทพนคร
ส่งเสริมกิจกรรมการเรียนรู้ และกิจกรรมฝึกทักษะต่างๆ
การก�ำจัดผักตบชวา เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาน�้ำท่วมในพื้นที่
ช่องทางการติดต่อ
การให้การช่วยเหลือผู้ยากไร้ และด้อยโอกาส
36 หมูท่ ี่ 16 ต�ำบลเทพนคร อ�ำเภอเมือง จังหวัดก�ำแพงเพชร 62000 โทรศัพท์ 0 5574 1515 โทรสาร 0 5574 1516 หรือติดตามข่าวสาร ได้ที่ Facebook: เทศบาลต�ำบลเทพนคร จ.ก�ำแพงเพชร Website : thepnakornlocal.go.th KAMPHAENG PHET I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 79
79
10/4/2561 16:05:40
WORK LIFE
บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล
องค์การบริหารส่วนต�ำบล ไตรตรึงษ์ “เจดีย์เจ็ดยอดงามสม ท้าวแสนปมงามกระเดื่อง วัดวังพระธาตุฟูเฟื่อง เลื่องลือไกลไตรตรึงษ์” คือค�ำขวัญขององค์การบริหารส่วนต�ำบลไตรตรึงษ์
ข้อมูลต�ำบลไตรตรึงษ์ ประวัติความเป็นมา : ในแง่มุมประวัติศาสตร์นั้นไม่ปรากฏแน่ชัดว่า สร้างขึ้นปี พ.ศ.ใด แต่มีเอกสารที่กล่าวถึง คือ “ต�ำนานสิงหนวัติกุมาร” ปรากฏข้อความว่า “พระองค์ไชยศิริได้ทิ้งเวียงชัยปราการหนีข้าศึกมอญ จากเมืองธรรมวดีเมื่อปีมะเส็ง พ.ศ.1547 และได้สร้างเมืองขึ้นมาใหม่ใน ปีเดียวกันใกล้เมืองร้างตรงฟากฝัง่ เมืองก�ำแพงเพชร เรียกว่า เมืองไตรตรึงษ์” องค์การบริหารส่วนต�ำบลไตรตรึงษ์ ได้รับการยกฐานะจากสภาต�ำบล เป็นองค์การบริหารส่วนต�ำบล เมื่อวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ.2538 สภาพภูมิประเทศ : เป็นที่ราบสูง ดินร่วนปนทราย มีล�ำคลองแขยง ไหลผ่าน เชื่อมระหว่างต�ำบล ทิศตะวันออกติดกับแม่น�้ำปิง มีพื้นที่ทั้งหมด 90 ตารางกิโลเมตร จ�ำนวน 13 หมู่บ้าน ประชากร 8539 คน นับถือ ศาสนาพุทธ อาชีพ : อาชีพท�ำการเกษตรเช่นท�ำนา ท�ำไร่อ้อย ไร่มันสําปะหลัง ยางพารา ค้าขาย และรับจ้าง การละเล่นพื้นบ้าน : มีระบ�ำกอไก่ ร�ำคล้องช้าง และการเรียกขวัญ
สินค้า
ปลาส้ม นางบุญมี แสงอรุณ หมู่ที่ 14 น�้ำสมุนไพร นางสมร เสนีย์วงค์ ณ อยุธยา หมู่ที่ 2 กระยาสารท นางฉลวย จีนขม หมู่ที่ 1 หมูฝอย แม่จ�ำเนียร ค�ำอินทร์ หมู่ที่ 2 ไม้กวาดดอกหญ้า นางสายชล โพธิ์แตง หมู่ที่ 9
สถานที่ท่องเที่ยวที่น่าสนใจ ศาลท้าวแสนปม เจดีย์เจ็ดยอด วัดพระปรางค์ วัดริมทาง วัดดงมัน วัดดงอ้อย และบ่อน�้ำศักดิ์สิทธิ์
80
.
SBL บันทึกประเทศไทย I KAMPHAENG PHET
3
.indd 80
11/4/2561 10:24:27
วัดวังพระธาตุ เป็นวัดโบราณเก่าแก่ มีพระ มหาเจดีย์ ทรงพุ่มข้าวบิณฑ์ ขนาดใหญ่ สภาพ สมบู ร ณ์ และสวยงาม แห่ ง หนึ่ ง ในจั ง หวั ด ก� ำ แพงเพชร ในพระเจดี ย ์ บ รรจุ พ ระบรม สารีริกธาตุ ในวันมาฆบูชา วันวิสาขบูชา และ วันอาสาฬหบูชา ชาวบ้าน ที่อยู่ใกล้ จะพบเห็น สิ่งที่อัศจรรย์ คือพระธาตุ เสด็จ มีแสงสว่าง ลูก ขนาดเท่ า มะนาว รอย ไปวัดเสด็จ ในเมือ ง ก�ำแพงเพชร แล้วไปวัดพระบรมธาตุ นครชุม พระวิหาร สภาพช�ำรุดแต่เดิมเห็นแค่ดิน เท่านั้น สร้างด้วยอิฐเป็นฐานเสาเป็นศิลาแลง คงสร้ า งในสมั ย เดี ย วกั บ พระเจดี ย ์ เ ป็ นวิ ห าร ยกพื้ น มี บั น ไดห้ า ขั้ น ทางทิ ศ เหนื อ และ ทิศใต้ได้รับการบูรณะแล้วบางส่วน เศียรหลวงพ่อโต เดิมเป็นพระพุทธรูปปูนปัน้ ขนาดใหญ่ ตั้งอยู่บนวิหารเป็นพระที่สร้างใหม่ จากค� ำ บอกเล่ า ของนางเสนอ สิ ท ธิ ป ราชญ์ ชาวบ้านเมืองไตรตรึงษ์เล่าว่าเป็นพระที่สร้าง ขึ้นมาใหม่ ทางวัดได้จัดหาลิเกมาเล่น และได้ ให้เล่นบนวิหารโบราณ ในคืนนั้น ฝนตกหนัก ตอนเช้ า ได้ พ บว่ า องค์ พ ระได้ โ ค่ น ลงมาแล้ ว พังเสียหายหมดได้ปั้นองค์หลวงพ่อโตขึ้นมา ใหม่เห็นเป็นปัจจุบัน
KAMPHAENG PHET I SBL บันทึกประเทศไทย
.
3
.indd 81
81
11/4/2561 10:24:33
โบสถ์วดั พระธาตุ ได้รบั การต่อเติมจากใหม่ จากชาวบ้าน ภายในมีพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ ชาวบ้านเรียกขานกันว่าหลวงพ่อเพชร ใต้ฐาน พระอุ โ บสถ ได้ ขุ ด ลงไปทะลุ ไ ปทั้ ง สองด้ า น ท�ำให้งดงามลมพัดเย็น เป็นแหล่งท่องเที่ยว ส�ำคัญของท้องถิ่น วัดวังพระธาตุ เป็นวัดที่ส�ำคัญและเก่าแก่ ที่สุดวัดหนึ่งในก�ำแพงเพชร มีภูมิทัศน์ที่งดงาม เหมาะส�ำหรับที่จะพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยว ทางวัฒนธรรมอย่างยิ่ง เพราะมีโบราณสถาน หลายแห่งภายในวัด วังพระธาตุแ ห่งนี้ วัดวัง พระธาตุ อาจเปรี ย บได้ เ พชรน�้ ำ หนึ่ ง ของ นครไตรตรึ ง ษ์ ที่ น ่ า มาสั ม ผั ส ถึ ง ประเพณี แ ละ วัมนธรรมอันงดงามที่เปรียบได้ยากนัก และ ยังคงอยู่ได้เกือบสมบูรณ์เลยที่เดียว ต�ำนานท้าวแสนปม บริเวณวัดวังพระธาตุ ด้ า นหน้ า วั ด มี ศ าลของท้ า วแสนปมและใน บริเวณวัด มีรูปปั้น ท้าวแสนปม ที่คนทั่วไปให้ ความเคารพ ผู้ที่บนบานศาลกล่าวจะมาแก้บน ด้วยฆ้องเท่านั้น เมืองไตรตรึงษ์ เป็นนครแห่งแรกของเมือง ก�ำแพงเพชร หมายถึงเมืองสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ มีพระอินทร์ เป็นพระมหาราชา ประจ�ำสวรรค์ ชั้นนี้ นครไตรตรึงษ์ เป็นเมืองโบราณ ที่ยิ่งใหญ่ คู่กับเมืองเทพนคร ตามต�ำนาน สิงหนวัติกุมาร สร้างในสมัย พระเจ้า ศิริชัย เชียงแสน
82
.
SBL บันทึกประเทศไทย I KAMPHAENG PHET
3
.indd 82
11/4/2561 10:24:50
รีสอร์ทบ้านกาแฟ
รีสอร์ทบ้านกาแฟ บริการห้องพัก 24 ชั่วโมง
มีห้องพักแบบบ้านเป็นหลังและห้องพักแถว รูปแบบมีทั้งเตียงเดี่ยวและเตียงคู่ มีเครื่องอ�ำนวยความสะดวกครบทุกห้อง (แอร์ ทีวี Wifi เครื่องท�ำน�้ำอุ่น ตู้เย็น )
ส�ำรองห้องพัก
ค่าบริการห้องพัก 350, 400, 450 บาท
090 979 0991 Facebook@bankafareresort
.indd 83
171 หมู่ที่ 9 ต�ำบลป่าพุทรา อ�ำเภอขาณุวรลักษณบุรี จังหวัดก�ำแพงเพชร (ตรงข้ามปั้มน�้ำมัน PT ป่าพุทรา)
11/4/2561 8:37:19
W O R K LI F E
บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล
องค์การบริหารส่วนต�ำบลอ่างทอง “น้อมน�ำหลักการทรงงาน พัฒนาการเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม น�ำประชาอยู่ดีมีสุข ด�ำเนินงานเชิงรุกสร้างความเข้มแข็งของชุมชนอย่างยั่งยืน” คือวิสัยทัศน์ขององค์การบริหารส่วนต�ำบลอ่างทอง
นายโชคชัย ถมอินทร์
นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลอ่างทอง ผลิตภัณฑ์ชุมชน ได้แก่ แก้วขนเหล็ก ผ้าหมักศิลาแลง ผ้าทอ ผ้าถุง ผ้าขาวม้า ผ้าปักอิ้วเมี่ยน ผลิตภัณฑ์แปรรูปกล้วย ได้แก่ กล้วยกวน กล้วยตากอบน�้ำผึ้ง กล้วยม้วน กล้วยอบเนย กล้วยฉาบ ฯลฯ ผลิตภัณฑ์แปรรูปเห็ดนางฟ้า ได้แก่ แหนมเห็ด เห็ดสวรรค์ เห็ดดอง น�้ำสมุนไพรเห็ด ฯลฯ
แนะน�ำเมนูอร่อย อาหาร ได้แก่ ผัดเผ็ดไก่บา้ น อาหารฮ่องเต้ ซุปข้าวโพด(ยัว่ เจีย๊ ะ) ไก่ตม้ สมุนไพร หน่อหวายผัดน�้ำมันหมู หมูสับห่อใบหม่อนทอด ต้มจืดผักขม น�้ำพริกผัก พืน้ บ้าน ลาบเห็ด แกงเขียวหวานเห็ด ห่อหมกเห็ด ขนมจีนน�ำ้ ยาเห็ด น�ำ้ พริกเห็ด ผลไม้ ได้แก่ กล้วยไข่ แตงไทย น้อยหน่า ฟักทอง ของหวาน ได้แก่ กระยาสาทร สังขยาฟักทอง ขนมแตง ขนมกล้วย ขนมเทียนกล้วย ขนมตาล ขนมไส่ไส้ ข้าวต้มมัด
ตะลุยกินอาหารพื้นถิ่นต�ำบลอ่างทอง ชมรมส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยชุมชนอ่างทอง อ.เมือง จ.ก�ำแพงเพชร สอบถามโทร 087-444-8116, 085-272-2216, 061-684-8049, 05-585-0725 84
SBL บันทึกประเทศไทย I KAMPHAENG PHET
.indd 84
11/04/61 06:37:18 PM
แหล่งท่องเที่ยววิถีฮั่วเมี่ยน การท่องเที่ยว โดยชุมชนอ่างทอง
ด้วยคนในชุมชนต�ำบลอ่างทองมีวฒ ั นธรรมทีแ่ ตกต่างกัน 3 วัฒนธรรม ได้แก่ วัฒนธรรมไทยเดิม ไทยอีสาน และไทยเชือ้ สายจีน แต่สามารถรวมกันได้ กาลเวลาผ่านไปวัฒนธรรมก็ผสมผสานกันเป็นวัฒนธรรมท้องถิน่ ซึ่งองค์การบริหารส่วนต�ำบลอ่างทอง ได้เข้าไปส่งเสริมวัฒนธรรมท้องถิ่น เพื่อให้คงสืบทอดต่อไป มีดังนี้
ประเพณีท�ำบุญกลางบ้าน บวชนาคหมู่ในวันเข้าพรรษา ประเพณีกอ่ พระทรายน�ำ้ ไหล ในเทศกาลตรุษไทย ประเพณีส่งกะบาย ประเพณีเทศน์มหาชาติ ประเพณีสลากพัด วัฒนธรรมอิ้วเมี่ยน ประเพณีผ้าป่านางฟ้า ประเพณีบุญผะเหวด ประเพณีผีนางด้ง การท่องเที่ยว ต� ำ บลอ่ า งทอง มี ที่ ตั้ ง เชิ ง ยุทธศาสตร์การท่องเทีย่ วทีไ่ ด้เปรียบ เนื่ อ งจากมี ท างหลวงสายเอเชี ย หมายเลข 1 ผ่านพื้นที่ต�ำบล เป็น จุดกึง่ กลางเส้นทางแหล่งท่องเทีย่ ว ระหว่างภาคเหนือกับกรุงเทพฯ ซึ่ง จุดท่องเที่ยวส�ำคัญได้แก่ ตลาด มอกล้วยไข่ ซึ่งมีพื้นที่อยู่ในเขต 3 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ที่ 1, 2 และ 21 พืน้ ทีต่ ลาดส่วนใหญ่เป็นของหมูท่ ี่ 1 เป็ น แหล่ ง จ� ำ หน่ า ยสิ น ค้ า และ ผลิตภัณฑ์ที่มีชื่อของท้องถิ่น และ พืน้ ทีใ่ กล้เคียง ในช่วงเทศกาลส�ำคัญ
จะมี นั ก ท่ อ งเที่ ย วแวะซื้ อ สิ น ค้ า จ�ำนวนมาก ซึ่งตลาดมอกล้วยไข่ ได้รับการคัดเลือกจากส�ำนักงาน วัฒนธรรมจังหวัดก�ำแพงเพชร ให้ เป็ น เส้ น ทางการท่ อ งเที่ ย วทาง วัฒนธรรม เชิงสร้างสรรค์ 1 เส้นทาง ท่องเที่ยว 5 สินค้าทางวัฒนธรรม จังหวัดก�ำแพงเพชร เมือ่ พ.ศ.2556 นอกจากนี้ยังได้รับการก�ำหนดให้ อยู ่ ใ นพื้ น ที่ ก ารท่ อ งเที่ ย วพิ เ ศษ เชื่อมโยงจังหวัดก�ำแพงเพชร และ จั ง หวั ด สุ โ ขทั ย “ชมรมส่ ง เสริ ม การท่องเที่ยวโดยชุมชนอ่างทอง”
ร่ ว มกั บ “พื้ น ที่ พิ เ ศษอุ ท ยาน ประวัตศิ าสตร์สโุ ขทัย-ศรีสชั นาลัยก� ำ แพงเพชร” ได้ ด� ำ เนิ น การ ขั บ เคลื่ อ นสนั บ สนุ น และส่งเสริม กระบวนการท่องเที่ยวของต�ำบล อ่างทอง ซึง่ มีความโดดเด่นของพื้นที่ เชิ ง วั ฒ นธรรม วิ ถี ชี วิ ต ของคน ในชุมชนต�ำบลอ่างทอง เช่น อาหาร การกิน การละเล่น ภาษา การแต่ง กาย เป็ น ต้ น เพื่ อ เป็ น การหนุ น เสริมการท่องเที่ยวโดยชุมชนและ พัฒนาเศรษฐกิจของท้องถิน่ ต�ำบล อ่างทองได้ด�ำเนินการจัดท�ำป้าย
ประชาสัมพันธ์แหล่งเรียนรูท้ กุ แหล่ง ในต�ำบลอ่างทองโดยติดตัง้ คูก่ บั ป้าย บอกชือ่ หมูบ่ า้ นทุกหมูบ่ า้ น
KAMPHAENG PHET I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 85
85
11/04/61 06:37:20 PM
W O R K LI F E
บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล
องค์การบริหารส่วนต�ำบล
ธ�ำมรงค์
“พัฒนาคุณภาพชีวิต ผลผลิตการเกษตรปลอดสารพิษ น�ำพาเศรษฐกิจกาวไกล เพิ่มรายได้สู่ชุมชน” คือวิสัยทัศน์ขององค์การบริหารส่วนต�ำบลธ�ำมรงค์
ความเป็นมาของต�ำบลธ�ำมรงค์
ภูมิประเทศและหมู่บ้าน
ต�ำบลธ�ำมรงค์ เดิมขึ้นอยู่กับ ต�ำบลไตรตรึงษ์ ต่อมาประชากร มี จ� ำ นวนมากขึ้ น ก็ ไ ด้ แ บ่ ง เขต การปกครองยกฐานะขึ้ น เป็ น ต�ำบลธ�ำมรงค์ เมื่อ พ.ศ. 2535 มีจ�ำนวน 8 หมู่บ้าน
ภูมิประเทศของต�ำบลธ�ำมรงค์ เป็นที่ราบต�่ำมีแม่น�้ำสายใหญ่และ ล�ำคลองไหลผ่านตลอดพื้นที่
มีทั้งหมด 8 หมู่บ้าน คือ
หมู่ที่ 1 บ้านใหม่ หมู่ที่ 2 บ้านธ�ำมรงค์ หมู่ที่ 3 บ้านธ�ำมรงค์ หมู่ที่ 4 บ้านคลองสุวรรณ หมู่ที่ 5 บ้านสระแก้ว หมู่ที่ 6 บ้านคลองสีนวล หมู่ที่ 7 บ้านคลองสีนวลเหนือ หมู่ที่ 8 บ้านหนองโมกพัฒนา
สภาพทางเศรษฐกิจ อาชีพส่วนใหญ่ของประชาชน ในเขตต� ำ บลธ� ำ มรงค์ แบ่ ง เป็ น กลุ่มใหญ่ๆ ตามล�ำดับ ดังนี้ อาชีพท�ำนา โดยเฉลี่ยเป็น อาชีพที่ท�ำมากเป็นอันดับ 1 อาชีพท�ำไร่ โดยเฉลี่ยเป็น อาชีพที่ท�ำมากเป็นอันดับ 2 อาชีพรับจ้าง โดยเฉลี่ยเป็น อาชีพที่ท�ำมากเป็นอันดับ 3
คณะผู้บริหาร นายเกรียงศักดิ์ กลางนภา นายโกมินทร์ ทวีกิจ นายสมชาย อินผ่อง นายบรรทม เนียมศิลป์
นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลธ�ำมรงค์ รองนายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลธ�ำมรงค์ รองนายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลธ�ำมรงค์ เลขานุการนายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลธ�ำมรงค์
ต�ำบลธ�ำมรงค์ ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 19/2 หมู ่ ที่ 2 ต.ธ� ำ มรงค์ อ.เมื อ งก� ำ แพงเพชร จ.ก�ำแพงเพชร โดยมีอนาเขตติดต่อ กับพื้นที่ใกล้เคียงดังนี้
86
ทิศเหนือ ติดกับแม่น�้ำปิง ทิศใต้ ติดกับต.ลคลองสมบูรณ์ อ.คลองขลุง ทิศตะวันออก ติดกับแม่น�้ำปิง ต.ท่าพุทรา อ.คลองขลุง ทิศตะวันตก ติดกับต.ไตรตรึงษ์ อ.เมือง
SBL บันทึกประเทศไทย I KAMPHAENG PHET
.indd 86
11/04/61 06:33:40 PM
โครงการเศรษฐกิจพอเพียง
มีการปลูกผักสวนครัวปลอด สารพิษ จ�ำนวน 8 หมูบ่ า้ น ผูเ้ ข้าร่วม โครงการ จ�ำนวน 647 ครัวเรือน มีศนู ย์การเรียนรูต้ น้ แบบปรัชญา ของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง หมู ่ ที่ 1 บ้านใหม่ กลุม่ ผลิตภัณฑ์ แปรรูปพริกแกง ตั้ ง อยู ่ หมู ่ ท่ี 8 บ้ า นหนองโมก จ�ำนวนสมาชิก 20 คน กิ จ กรรมขององค์ ก ารบริ ห าร ส่วนต�ำบลธ�ำมรงค์ กิ จ กรรมจ่ า ยเงิ น เบี้ ย ยั ง ชี พ ฯ ก่อนวันที่ 10 ของทุกเดือน
อบรมให้ ค วามรู ้ ด ้ า นการ ประกอบอาชี พ ส� ำ หรั บ ผู ้ พิ ก าร ผู ้ สู ง อายุ ผู ้ ด ้ อ ยโอการ และ ประชาชนทั่วไป อบรมให้ ค วามรู ้ ด ้ า นข้ อ มู ล ข่าวสารและกฎหมายที่ประชาชน ควรรู้
KAMPHAENG PHET I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 87
87
11/04/61 06:33:48 PM
W O R K LI F E
บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล
องค์การบริหารส่วนต�ำบล
นครชุม “สิ่งแวดล้อมดี พัฒนาต�ำบลน่าอยู่
ประชาชนมีการศึกษา ควบคู่คุณภาพชีวิต”
คือวิสัยทัศน์ขององค์การบริหารส่วนต�ำบลนครชุม
ต�ำบลนครชุม ตั้ ง อยู ่ ใ นเขตอ� ำ เภอเมื อ ง ก�ำแพงเพชร จังหวัดก�ำแพงเพชร ห่างจากจังหวัดก�ำแพงเพชร ไป ทางเหนือประมาณ 10 กิโลเมตร พื้นที่ทั้งหมดของต�ำบล 65 ตาราง กิโลเมตรหรือ 40,625 ไร่ สภาพ ภู มิ ป ระเทศของต� ำ บลนครชุ ม โดยทัว่ ไปเป็นพืน้ ทีร่ าบลุม่ มีแม่นำ�้ ปิง ไหลผ่าน จ�ำนวนประชากรทั้งหมด 10,361 คน แยกเป็น ชาย 5,045 คน หญิ ง 5,316 คน จ� ำ นวน 4,793 ครัวเรือน
88
ผลงาน และรางวัล แห่งความภาคภูมิใจ รางวัล องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นที่มีการบริหารจัดการที่ดี ปีงบประมาณ พ.ศ.2560 (องค์การ บริหารส่วนต�ำบล ประเภททั่วไป รางวัลที่ 1) รางวัล พระปกเกล้า ประจ�ำปี 2560 (ใบประกาศเกี ย รติ คุ ณ สถาบันพระปกเกล้าส�ำหรับองค์กร ปกครองท้ อ งถิ่ น ที่ ผ ่ า นเกณฑ์ มาตรฐานประจ�ำปี 2560)
SBL บันทึกประเทศไทย I KAMPHAENG PHET
.indd 88
18/04/61 04:33:03 PM
ผลิตภัณฑ์ชุมชน ที่น่าสนใจ
ของต�ำบลนครชุม
กระเป๋าจากวัสดุรี ไซเคิล(ซองกาแฟ)
ไม้กวาด
พรมเช็ดเท้าจากเศษวัสดุผ้าโรงงานถุงเท้า
ต้นกล้วยไข่และพวงกุญแจกล้วยไข่
ปัจจัยส�ำคัญแห่งความส�ำเร็จ
เกิ ด จากความร่ ว มมื อ และ มุ่งมั่น ของทั้งคณะท�ำงาน คณะ ผู้บริหาร ผู้น�ำชุมชนและประชาชน รวมถึ ง นโยบายของผู ้ บ ริ ห าร องค์การบริหารส่วนต�ำบลนครชุม ที่มุ่งเน้นพัฒนาและแก้ไขปัญหา ของประชาชน ในเรือ่ งของแหล่งน�ำ้ อุปโภคบริโภคและเส้นทางคมนาคม ให้เกิดผลเป็นรูปธรรม วิสัยทัศน์ ขององค์การบริหาร ส่วนต�ำบลนครชุม ที่สอดคล้องกับ บริบทพื้นที่ สภาพพื้นที่โดยรวม เป็ น พื้ น ที่ ท� ำ การเกษตรกรรม
ประชาชนส่วนใหญ่ มีอาชีพท�ำการ เกษตรเป็นหลัก ปัญหาแหล่งน�้ำ ท�ำการเกษตรจึงเป็นปัญหาหลัก และเป็นปัญหาทีเ่ กิดขึน้ ประจ�ำทุกปี ในเรือ่ งภัยแล้ง อุทกภัย ฤดูแหล่งน�ำ้ ไม่เพียงพอ ฤดูฝนน�้ำท่วมและน�้ำ
ไหลหลากท�ำให้เส้นทางคมนาคม เสียหาย ขาดแคลนแหล่งกักเก็บน�ำ้ ในฤดูฝน การวิเคราะห์สภาพปัญหา ในพื้ น ที่ ต รงจุ ด และด� ำ เนิ น การ แก้ไขปัญหานั้นอย่างต่อเนื่องและ จริงจัง จึงเป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่น�ำ
ไปสู่ผลส�ำเร็จอย่างเป็นรูปธรรม การได้รับการสนับสนุน งบ ประมาณเพิ่มเติมจากส�ำนักนายก รัฐมนตรี ท�ำเนียบรัฐบาลในฐานะ ทีจ่ งั หวัดก�ำแพงเพชรเป็นเขตตรวจ ราชการที่ 18
KAMPHAENG PHET I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 89
89
18/04/61 04:33:05 PM
W O R K LI F E
บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล
องค์การบริหารส่วนต�ำบล
ลานดอกไม้
“ต�ำบลลานดอกไม้น่าอยู่ บริหารด้วยหลักธรรมาภิบาล ชุมชนเข้มแข็ง มุ่งสู่คุณภาพชีวิตที่ดี” คือวิสัยทัศน์ขององค์การบริหารส่วนต�ำบลลานดอกไม้
คณะผู้บริหาร นายสม กลัดอยู่ นายลอน แท้เที่ยง นายจีน ทิมสี นางสาวจันทรนา สุบิน
นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบล รองนายกองค์การบริหารส่วนต�ำบล รองนายกองค์การบริหารส่วนต�ำบล เลขานุการนายกองค์การบริหารส่วนต�ำบล
นายสม กลัดอยู่
นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลลานดอกไม้ “บ่อน�้ำพุร้อนพระร่วงเลื่องลือ ขึ้นชื่อหลวงพ่อโพธิ์ จุดโชว์กลุ่มแม่บ้าน ประสานสามัคคี พลเมืองดีลานดอกไม้” คือค�ำขวัญขององค์การบริหารส่วนต�ำบลลานดอกไม้
ประวัติความเป็นมา เมื่อประมาณ ปีพ.ศ.2323 เจ้านางฝ่ายเหนือชื่อ “เจ้าดารา” ได้เสด็จ จากเชี ย งใหม่ ไ ปราชการที่ ก รุ ง ธนบุ รี โดยเสด็ จ ทางล� ำ น�้ ำ ปิ ง ชาวบ้ า น จัดพลับพลาต้อนรับ โดยจัดท�ำเป็นร้านดอกไม้เมื่อเจ้าดาราเข้าประทับ ได้ พ อใจเป็ น อย่ า งยิ่ ง ในการต้ อ นรั บ และตั้ ง ชื่ อ หมู ่ บ ้ า นแห่ ง นี้ ว ่ า “ร้านดอกไม้” เรียกกันต่อมาส�ำเนียงได้เปลี่ยนไปเป็น “ลานดอกไม้”
90
ได้รับการยกฐานะ จากสภาต�ำบลลานดอกไม้เป็น องค์การบริหาร ส่ ว นต� ำ บลลานดอกไม้ เมื่ อวั น ที่ 29 มี น าคม 2539 ตั้ ง อยู ่ ใ นเขต การปกครองของอ�ำเภอเมืองก�ำแพงเพชร ประกอบด้วย 11 หมู่บ้าน พื้นที่ ประมาณ 97.4 ตารางกิโลเมตร โดยมีระยะทางห่างจากอ�ำเภอเมือง ก�ำแพงเพชร ประมาณ 22 กิโลเมตร
SBL บันทึกประเทศไทย I KAMPHAENG PHET
.indd 90
11/04/61 06:30:30 PM
กิจกรรมโรงเรียนผู้สูงอายุ
กิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยว
KAMPHAENG PHET I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 91
91
11/04/61 06:30:45 PM
ผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ ด่ น ในต�ำบลลานดอกไม้ กลุ่มกระยาสารทวิไลวรรณ “กลุ่มกระยาสารทวิไลวรรณ” ตั้งอยู่เลขที่ 27/31 หมู่ที่ 8 บ้าน ท่ า ไม้ แ ดงใต้ ต� ำบลลานดอกไม้ อ�ำเภอเมืองก�ำแพงเพชร เกิดจาก การรวมกลุ่มของสตรีในหมู่บ้าน ที่มีความคิดที่อยากจะใช้เวลาว่าง จ�ำนวน 7 คน รวมตัวกันเพื่อจัดตั้ง กลุ่มท�ำขนมไทย และขนมพื้นบ้าน จ�ำหน่ายภายในหมู่บ้าน และ นอก หมู่บ้าน ต�ำบลข้างเคียง เพื่อให้มี รายได้เพิ่มขึ้น จึงมีความคิดเห็นที่ พ้องต้องกัน คือการรวมกลุ่มเพื่อ ท�ำขนมกระยาสารท ประกอบกับ จั ง หวั ด ก� ำ แพงเพชร จะมี ง าน ประเพณีวฒ ั นธรรมทีส่ บื สานกันมา อย่ า งต่ อ เนื่ อ งในช่ ว ง เทศกาล
งานสารท คือ งานสารทไทยกล้วย ไข่เมืองก�ำแพงเพชร จึงได้คิดริเริ่ม จั ด ตั้ ง กลุ ่ ม ตั้ ง แต่ ป ี พ.ศ.2444 เป็นต้นมา โดยชื่อกลุ่มว่า กระยา สารทกลุ่มแม่บ้านท่าไม้แดง ซึ่ง ยึ ด เป็ น อาชี พ เสริ ม จากการท� ำ อาชีพหลัก คือ เกษตรกรรม และ ต่อมาในปี 2550 กลุม่ และสมาชิก ได้มโี อกาสไปดูงาน กลุม่ กระยาสารท ที่ต่างจังหวัด จึงได้คิดริเริ่มที่จะท�ำ กระยาสารทน�ำ้ ผึง้ และกระยาสารท กล้วยไข่ ท�ำให้เกิดรายได้เพิ่มขึ้น จนถึงปัจจุบนั กลุม่ มีสมาชิกจ�ำนวน 15 คน และได้ เ ปลี่ ย นชื่ อ เป็ น “กระยาสารทวิไลวรรณ” จนถึง ปัจจุบัน
กล้วยกวนตองแก้ว
กลุ่มแม่บ้านเกษตรกร บ้านเกาะน�้ำโจน (กลุ่มกล้วยกวนตองแก้ว) บ้านเกาะน�้ำโจน 52/3 หมู่ที่ 4 ต�ำบลลานดอกไม้ อ�ำเภอเมือง จังหวัดก�ำแพงเพชร 62000 กลุ ่ ม แม่ บ ้ า นเกษตรกรเกาะ น�้ำโจนสามัคคี จัดตั้งกลุ่มขึ้นเมื่อ วันที่ 23 ธันวาคม 2543 ซึ่งมี จ�ำนวนสมาชิก 30 คน โดยการ
92
รวมตัวกันเองของชาวบ้านในหมูบ่ า้ น เกาะน�้ ำ โจน เนื่ อ งจากชาวบ้ า น ส่วนใหญ่ในชุมชนประกอบอาชีพ ท�ำไร่ทำ� นา และมีเวลาว่างหลังจาก การท�ำไร่ท�ำนาเลยรวมตัวกันเพื่อ ปรึกษาหารือ เพือ่ ประกอบอาชีพเสริม เพิ่มรายได้ให้กับครอบครัว โดย
นางสาวรุ่งนภา ไหววิจิตร ได้ขอ การสนับสนุนจากส�ำนักงานเกษตร จั ง หวั ด ก� ำ แพงเพชร เพื่ อ ส่ ง เจ้ า หน้ า ที่ ม าอบรมการแปรรู ป ผลผลิตทางการเกษตร เนื่องจาก วั ต ถุ ดิ บ ในท้ อ งถิ่ น มี จ� ำ นวนมาก เช่น กล้วย ส้มโอ เป็นต้น จึงได้
น�ำมาแปรรูปเป็น กล้วยกวนและ ส้มโอกวน เพือ่ พัฒนาสินค้าให้เป็น เอกลักษณ์ของจังหวัดก�ำแพงเพชร อีกอย่างหนึ่ง
SBL บันทึกประเทศไทย I KAMPHAENG PHET
.indd 92
11/04/61 06:30:54 PM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดป่าชัยรังสี วัดป่าชัยรังสี โดยมีพระอาจารย์สมพร กนฺ ต วี โ ร ประธานสงฆ์ เป็ น ผู ้ รั บ มอบใน การถวายที่ ดิ น ทั้ ง หมด ได้ รั บ หนั ง สื อ อนุญาตสร้างวัด เมื่อวันจันทร์ที่ 7 สิงหาคม พุทธศักราช 2543 ตรงกับวันขึ้น 7 ค�่ำเดือน 9 ปีมะโรง จึงตั้งอยู่ในสถานะ เป็นที่พักสงฆ์ โดยถู ก ต้ อ งตามกฎหมาย โดยความเห็ น ชอบจากอธิ บ ดี ก รมการศาสนา กระทรวง ศึกษาธิการ กรรมการมหาเถรสมาคม
93
1
ได้รับหนังสือประกาศกระทรวงศึกษาทิการ เรื่อง ตั้งวัดในพระพุทธศาสนา เมื่อวันจันทร์ที่ 23 กันยายน พุทธศักราช 2545 มีนายพงษ์ศกั ดิ์ รวมเป็นผูข้ ออนุญาตสร้าง และขอตัง้ วัด ตรงกับ วันแรม 2 ค�่ำ เดือนสิบปีมะเมีย จึงตั้งอยู่ใน สถานะเป็นส�ำนักสงฆ์ โดยถูกต้องตามกฎหมาย โดยมีพระครูสมุห์ วิกรมชิต ตปรงฺสี เลขานุการ เจ้าคณะต�ำบล เป็นประธานด�ำเนินการบริหารวัด ร่ ม พระบุ ญ ญาบารมี พระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดช ในราชวงศ์จักรี องค์ที่ 9 และพระคูบ่ ญ ุ ญาบารมี สมเด็จพระนาง เจ้ า สิ ริ กิ ติ์ มหาบรมราชิ นี น าถ แห่ ง ยุ ค รัตนโกสินทร์ ถิ่นสยามอันรุ่งเรือง ภายใต้การ ชี้แนะและความเมตตายิ่ง ขององค์สมเด็จมหา
วีรวงศ์ พระอุปชั ฌาย์ (มานิตถาวโร) วัดสัมพันธ วงศาราม พระวิหาร กรุงเทพมหานคร ไว้เป็น ศาสนสมบัตขิ องแผ่นดินไทย ของพุทธศาสนิกชน ทั้งหลาย ชาวบ้านท่าไม้แดง โดยพระครูวัชรบุญญากร(เงิน ปุญญกาโร) ได้มารับต�ำแหน่งเจ้าอาวาสในเดือนธันวาคม ปี พ.ศ.2545 น�ำพาญาติโยมอุบาสกอุบาสิกา ได้มีศรัทธามาร่วมสร้างถาวรวัตถุให้เกิดขึ้นเพื่อ เป็ น หลั ก ฐานความเจริ ญ ในพระพุ ท ธศาสนา ในยุคหนึ่ง ด้วยศรัทธาอันบริสุทธิ์ ปัจจุบัน พ.ศ. 2561 และยังมีภาระกิจอยูส่ งิ่ หนึง่ ทีจ่ ะต้องท�ำให้ ส� ำ เร็ จ คื อ พระเจดี ย ์ กว้ า ง 12×12 เมตร ขอพระพุ ท ธศาสนาจงด� ำ รงค์ อ ยู ่ คู ่ บ ้ า นเมื อ ง ตลอดกาลเทอญ
SBL บันทึกประเทศไทย I KAMPHAENG PHET
.indd 93
10/4/2561 14:52:50
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดคูยาง (พระอารามหลวง) ประวัติวัดคูยาง ตั้งอยู่เลขที่ 27 ซอย 4 ถนนราชด�ำเนิน 1 ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมืองก�ำแพงเพชร จังหวัด ก�ำแพงเพชร เป็นวัดเก่าแก่มาตัง้ แต่โบราณกาล มีฐานราก อุโบสถและแท่นพระประธานซึง่ ก่อด้วยศิลาแลง หันไปทางทิศตะวันออก ตัง้ อยูบ่ ริเวณด้านเหนือ ปัจจุบนั เป็นทีต่ งั้ อาคารเรียน 1 (โรงฝึกงานเดิม)
94
ของโรงเรียนวัดคูยางไม่ปรากฎหลักฐานว่าชือ่ อะไร ใครเป็ น ผู ้ ส ร้ า งและสร้ า งในสมั ย ไหน แต่ มี ผู้สันนิษฐานว่าสร้างมาแล้วไม่น้อยว้า 400 ปี จนถึงรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า เจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 4 ระหว่าง พ.ศ.2394-2399 จึงได้มีผู้ก่อสร้างวัดขึ้นใหม่ ในบริเวณที่ตั้งเดิม ซึ่งมีเนื้อที่ประมาณ 28 ไร่เศษ
นับเป็นพระมหากรุณาธิคณ ุ และเกียรติประวัติ แก่วดั เป็นอย่างดีกค็ อื พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ทรงพระกรุ ณ าโปรดเกล้ า ฯ ให้ ย กวั ด คู ย าง ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมืองก�ำแพงเพชร จังหวัด ก� ำ แพงเพชร เป็ น พระอารามหลวงชั้ น ตรี ชนิดสามัญ เมือ่ วันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ.2555
SBL บันทึกประเทศไทย I KAMPHAENG PHET
.indd 94
11/04/61 06:12:16 PM
ที่มาของผู้สร้างวัดนี้ ตามหลักฐานทางประวัติศาสตร์นั้น เมื่อ พ.ศ.2321 สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก เป็นแม่ทพั ไปปราบเมืองศรีสตั นาคนหุตตีได้เมือง เวียงจันทน์และหลวงพระบาง พวกเชลยที่ถูก กวาดต้ อ นมานั้ น ได้ จั ด ให้ ไ ปอยู ่ ต ามหั ว เมื อ ง ต่างๆ เฉพาะเมืองก�ำแพงเพชรนีม้ ชี าวเวียงจันทน์ ขมุ(ชนชาวเขาเผ่าหนึง่ ) และ ยาง(ชนชาติกะเหรีย่ ง) ชาวเวี ย งจั น ทน์ นั้ น มาตั้ ง หลั ก ปั ก ฐานอยู ่ ท าง ปากคลองสวนหมากลงมาทางใต้ตามล�ำแม่นำ�้ ปิง ส่ ว นชาวขมุ แ ละยางนั้ น ก็ ม าจั บ จองสร้ า ง หลักฐานบ้านเรือนอยู่ทางใต้วัดพระบรมธาตุ ลงไปจนถึงคลองกร่าง พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในระหว่ า งที่ พ ระองค์ ผ นวชอยู ่ นั้ น พระองค์ ทรงเชี่ ยวชาญแตกฉานในพระไตรปิฏกอย่า ง กว้างขวางได้ทรงประดิษฐานธรรมยุตกิ นิกายขึน้ ครัง้ แรกในประเทศไทยทัง้ ระองค์ได้ทรงสมณศักดิ์ เป็นพระราชาคณะด้วย และผนวชอยู่ถึง 27 พรรษา จึงได้ทรงลาผนวชออกมาครองราชย์เมือ่ พ.ศ.2394 ครั้ น พระองค์ ไ ด้ เ ถลิ ง ถวั ล ยราช สมบัติแล้วได้รับสั่งทั้งในพระนครและหัวเมือง ให้ ผื้ น ฟู ด ้ า นการปกครองและเศรษฐกิ จ และ พระพุทธศาสนาในการฟื้นฟูพระพุทธศาสนา ซึ่งถือว่าเป็นหลักใหญ่หรือแกนกลางของการ ปกครองในสมัยนัน้ เพราะเป็นศาสนาประจ�ำชาติ เสมือนเป็นเข็มทิศทีจ่ ะชีใ้ ห้ปวงชนได้เห็นความสว่าง ความร่มเย็นเป็นสุขแก่ผู้ศึกษาค้นคว้าประพฤติ
ปฏิบัติอันจักส่งผลให้อยู่ร่วมกันเป็นหมู่คณะ ประชาชนของชาติจะได้อยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข เจริญรุ่งเรืองเป็นปึกแผ่นเพราะแรงพลังแห่ง สามัคคีธรรมของบุคคลในชาติเป็นปัจจัยด้วย เหตุผลดังกล่าวข้างต้น คงจะดลบันดาลให้ชาว ขมุ แ ละยางเกิ ด ก� ำ ลั ง ศรั ท ธาอั น แรงกล้ า และ มองเห็นว่าการสร้างวัดในพระพุทธศาสนานั้น เปรี ย บเสมื อ นการสร้ า งวิ ม านชั้ น สู ง เพื่ อ ให้ พระภิกษุสงฆ์ด�ำรงพระพุทธศาสนาได้อยู่อาศัย เพื่อศึกษาค้นคว้าและปฏิบัติธรรมพร้อมทั้งเป็น สถานที่ เ ผยแผ่ พ ระธรรมค� ำ สั่ ง สอนขององค์ สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าขาวขมุและยางได้ ตระหนักและเชื่อมั่นว่าพระธรรมนี้มีอานุภาพ มากล้นที่จะส่งผลดลบันดาลให้ผู้ปฏิบัติได้รับ ความสุขความเจริญยิ่งๆ ขึ้นไป เมื่อเป็นเช่นนี้ จึงได้พร้อมใจกันขออนุญาตต่อ พระยาราม รณรงค์สงคราม(นุช) เจ้าเมืองก�ำแพงเพชร เพื่อ สร้างวัดนีข้ นึ้ โดยย้ายอุโบสถไปทางทิศตะวันออก ซึ่งเป็นที่ลุ่มเรียกว่า “นาทราย” พร้อมกับได้
ร่วมมือร่วมใจกันขุดเอาดินขึ้นมาถมพื้นที่ด้าน ทิศตะวันออกและทิศใต้ นอกจากขุดดินขึ้นมาถมพื้นที่แล้ว ยังเอา มาท�ำอิฐกระเบือ้ งมุงหลังคาอุดบสถและวิหารด้วย ส่วนด้านทิศใต้ได้ก่อสร้างหอไตรไว้กลางคูเพื่อ ป้องกันมดปลวก คูทขี่ ดุ ขึน้ ใหม่นกี้ ว้างประมาณ 6 วา ลึก 2 วา การก่อสร้างทั้งหมดใช้เวลาหลายปี เพราะมี อุปสรรคเกิดจากฝนตกน�้ำท่วมแต่ด้วยศรัทธา อันแรงกล้าการทัง้ นีจ้ งึ ได้สำ� เร็จลุลว่ งไปได้ดว้ ยดี และได้ขนานนามวัดนี้ว่า “วัดคูยาง” ดังที่ได้ เรียกกันอยู่ตราบเท่าทุกวันนี้ วัดคูยาง เป็นส�ำนักศาสนศึกษา คือ เป็น สถานที่เล่าเรียนพระธรรมวินัยของพระภิกษุ สามเณร ทั้งแผนกธรรมและบาลี มีพระภิกษุ สามเณร อยู่ประจ�ำประมาณ 20-50 รูป เป็น ศู น ย์ ร วมการปกครองของคณะสงฆ์ จั ง หวั ด ก�ำแพงเพชรด้วย
ท�ำเนียบเจ้าอาวาสวัดคูยาง เจ้าอาวาสวัดคูยางตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันเท่าที่สืบได้มีอยู่ 10 รูป คือ 1. พระอุปัชฌาย์บาล พ.ศ.2375-2409 2. พระอุปชฌาย์อาจ พ.ศ.2410-2417 3. พระอุปัชฌาย์ชา พ.ศ.2418-2424 4. พระครูธรรมาธิมุตมุนี (กลึง) พ.ศ.2425-2445 เจ้าคณะจังหวัด 5. พระครุเวทีธรรมคุต (แหยม) พ.ศ.2446-2470 6. พระอุปัชฌาย์หล�ำ พ.ศ.2471-2491 7. พระครูเมธีคณานุรักษ์ (ปลั่ง) พ.ศ.2492-2494 เจ้าคณะจังหวัด 8. พระครูวิมลวชิรคุณ อตฺตรกฺโข (ทอน) พ.ศ.2495-2518 9. พระวิเชียรธรรมคณี (ทองพาน) พ.ศ.2519-2529 เจ้าคณะจังหวัด 10. พระธรรมภาณพิลาส (อดุลย์ ป.ธ.8) พ.ศ.2530-ปัจจุบัน เจ้าคณะจังหวัด
KAMPHAENG PHET I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 95
95
11/04/61 06:12:17 PM
ความส�ำคัญทางประวัติศาสตร์และสังคม ตามหนังสือเสด็จประพาสต้นของรัชกาลที่ 5 ซึ่งได้ทรงพระราชนิพนธ์เรื่องเสด็จประพาสต้น ครั้งที่ 2 ว่า “วันที่ 26 สิงหาคม รัตนโกสินทร์ ศก 125 (พ.ศ.2449) ถ่ายรูป แล้วเสด็จลงเรือ ประพาสล่องไปขึ้นท่าหน้าวัดเสด็จ เพื่อที่จะ ถ่ายรูปวัดเสด็จ ซึง่ เป็นทีจ่ ารึกบอกเรือ่ งพระพิมพ์ แต่ค�ำจารึกนั้นได้น�ำไปกรุงเทพฯ เสียแล้ว จึง เดินทางไปวัดคูยางซึง่ เป็นที่ พระครูธรรมาธิมตุ มุนี (กลึง) อยู่ ผ่านถนนสายใน ถนนสายนี้งามมาก ได้ถ่ายรูปไว้และให้ชื่อถนนนี้ว่า “ราชด�ำเนิน” วัดคูยางมีล�ำคูกว้างประมาณ 6 หรือ 8 วา มี น�้ ำ ขั ง กุ ฏิ แ ละหอไตรตั้ ง อยู ่ ใ นน�้ ำ แปลกอยู ่ ต ่ อ ข้ า มคู เ ข้ า ไปจนถึ ง บริ เ วณพระอุ โ บสถทางที่ เข้าไปเป็นทิศตะวันตก ด้านหลังหันหน้าออก ทุ่งมีพระอุดบสถหลังย่อมหลังหนึ่ง วิหารใหญ่ หลั ง หนึ่ ง ก่ อ ด้ ว ยแลงเสริ ม อิ ฐ ถื อ ปู น หลั ง คา เห็ น จะผิ ด รู ป เตี้ ย แบนไป หลั ง พระวิ ห ารมี พระเจดีย์มีฐาน 3 ชั้น อย่างพระเจดีย์เมืองนี้ แต่ข้างบนแปลงเป็นพระปรางค์ เห็นจะแก้ไข ขึ้ น ใหม่ โ ดยพั ง เสี ย แล้ ว ไม่ รู ้ ว ่ า รู ป เดิ ม เป็ น อย่างไรในพระวิหารมีพระพุทธรูปต่างๆ ข้างจะดี พระครูเลือกไว้ให้เป็นพระลีลาสูงศอกคืบกับ อะไรอีกองค์หนึง่ ต้นเต็มทีไ่ ชอบจึงได้เลือกเอาเอง 4 องค์ เป็นพระยืนก�ำแพงโบราณแท้ชั้นเขมร องค์ 1 พระนาคปรกขาดฐานเขาหล่อฐานเติม ขึ้นไว้ องค์ 1 พระก�ำแพงเก่าอีกองค์ 1 พระชิน ราชจ�ำลองเหมือนพอใช้อีกองค์ 1 กลับจาก วันหยุด ถ่ายรูปบ้าง จนเทีย่ งจึงได้ลงเรือเหลือง” ตามหนังสือตรวจการณ์คณะสงฆ์ จังหวัด ก�ำแพงเพชรของสมเด็จพระมหาสมณะเจ้ากรม พระยาวชิรญาณวโรรส พ.ศ.2456 จดหมายเหตุ ไว้ว่า วันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ.2456 เช้า เสด็ จ บั ณ ฑบาตและทอดพระเนตรวั ด คู ย าง วั ด คู ย างนี้ เ ป็ นวั ด ใหญ่ ข องเมื อ งก� ำ แพงเพชร เคยเป็นวัดเจ้าคณะเมือง เจ้าคณะแขวง เจ้าคณะ เมืองรูปก่อน คือ พระครูธรรมาธิมุติมนี(กลึง) เป็นพระกว้างขวางมากได้ก่อสร้างปฏิสังขรณ์ พระเจดีย์ โบสถ์ วิหาร และศาลาการเปรียญ ไว้ดีเป็นหลักฐาน มีกุกิ 3 หมู่ๆ ละ 5-6 หลัง ฝากระดานมุงกระเบื้องทั้งนั้น นอกจากนี้ ยั ง มี ร ้ า นบาตรและหอไตร หอสวดมนต์อีก เป็นต้น ลวดลายเป็นของเก่า 96
ท�ำประณีตมาก ไม่แลเห็นว่าจะต้องสร้างอะไร เพิ่มเติมอีกข้อส�ำคัญรักษาของเก่าให้คงไว้เป็น พอโบสถ์และวิหารฝาผนังตึก พระประธานเป็น พระก่อใหม่ไม่งามเหมือนวัดเสด็จพระหล่อนั่ง คู่ของเก่าพอดูได้ ที่วัดนี้เคยมีพระมากถึง 20 กว่ารูป แต่พรรษานี้มีเพียง 16 รูป มีโรงเรียน ภาษาบาลี ค่าครูสอนเรี่ยไรจากทายกทายิกา วัดนีส้ ง่ พระเข้าไปศึกษากรุงเทพฯ อยูว่ ดั จักวรรดิ เวลานี้ เ ป็ น เรี ย ญ 2 รู ป ชื่ อ พระมหาช่ ว ง พระมหาโชติ มี เ รี ย นหนั ง สื อ ไทย วั ด ตั้ ง อยู ่ หลั ง ตลาดห่ า งจากแม่ น�้ ำ สั ก 2 เส้ น มี ล าน กว้างขวางมีคูคั่นกุฏิกับตอนโบสถ์คูนี้มีไปเกือบ รอบบริเวณโบสถ์ กล่าวว่าเป็นยางขุด จึงใช้ชอื่ ว่า “วัดคูยาง” เจ้าอาวาสชื่อ พระครูแหยม เป็น เจ้าคณะแขวง อ�ำเภอเมืองและเป็นอุปัชฌาย์ ด้วยอาหารการบริโภคบิณฑบาตไม่พอฉัน ต้อง หุงเพิ่มเติมให้วัด การแต่งรับเสด็จปักธงผ้าขาว เขียนต่างๆ บ้างเขียนอักษรว่าทรงพระเจริญ ก็มี จงเจริญพระชนมายุกม็ ี บ้างท�ำเป็นธงตะขาบ เขียนเป็นดอกไม้ดอกบัวติดคันไม้รวกปักเป็น แถวตั้ ง แต่ ใ นวั ด จนถึ ง ศาลาหน้ า วั ด คู ย าง วั ด เสด็ จ และวั ด บาง สามวั ด นี้ อ ยู ่ ใ กล้ กั น ถึ ง หน้าพรรษาพวกทายกมาท�ำบุญเขานัดเป็นวัดๆ วันนั้นท�ำที่วัดนั้น วันนี้ท�ำที่วัดนี้ ไม่แยกต่าง พวกท� ำ พระสงฆ์ ก็ ม ารวมกั น รั บ เหมื อ นกั น ท� ำ พิ ธี วิ ส าขบู ช า ก็ ร วมกั น ท� ำ ที่ วั ด หนึ่ ง เป็ น ธรรมเนียมส�ำหรับวัดอยู่ชิดกันพอพระหฤทัย ในความปรองดองของเขา วันที่ 20 พฤศจิกายน 2515 พระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช(ร.9) สมเด็จ พระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถและสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุ ม ารี ได้เสด็จพระราชด�ำเนิน มาทรงบ�ำเพ็ญพระราช กุศลทรงถวายผ้าพระกฐินต้น พร้อมด้วยถวาย พระราชทรัพย์สว่ นพระองค์ และกรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ ถวายโดยเสด็จพระราช กุศลด้วย รวมเป็นจ�ำนวนเงิน 60,000.00 บาท (หกหมื่นบาทถ้วน) สมเด็จพระสังฆราชแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ อีก 2 พระองค์ ทีเ่ สด็จเยีย่ มวัดคูยาง คือ สมเด็จ พระอริยวงศาคตญาณ (วาสน์ วาสโน) สมเด็จ พระสังฆราช พระองคืที่ 18 เมื่อวันที่ 18-24 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2523 และสมเด็จพระญาณสังวร (เจริญ สุวฑฺฒโน) สมเด็จพระสังฆราช เมื่อครั้ง ยังด�ำรงสมณศักดิ์ เป็นสมเด็จพระญาณสังวร เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน 2524 เป็นต้น ในอดี ต ครั้ ง ราชอาณาจั ก รสยาม (ไทย) ปกครองด้ ว ยระบอบสมบู ร ณาญาสิ ท ธิ ร าชย์ ทางราชการได้ใช้วิหารของวัดคูยางเป็นสถานที่ ส� ำ หรั บ ประกอบพิ ธี ถื อ น�้ ำ พิ พั ฒ น์ สั ต ยาของ บรรดาข้าราชการผูบ้ ริหารบ้านเมืองก�ำแพงเพชร มาโดยตลอด จนกระทัง่ เปลีย่ นแปลงการปกครอง เป็ น ระบอบประชาธิ ป ไตยเมื่ อ ปี พ.ศ.2475 พิธีดังกล่าวจึงถูกยกเลิกไปส�ำหรับวิหารหลังที่ กล่ า วถึ ง นั้ น ต่ อ มาได้ บู ร ณะใหม่ แ ละขยาย ให้กว้างขวางขึ้นอย่างที่เห้นในปัจจุบัน
SBL บันทึกประเทศไทย I KAMPHAENG PHET
.indd 96
11/04/61 06:12:18 PM
เที่ยวชมไหว้พระวัดคูยาง หอไตรกลางน�ำ้ วัดคูยางหลังนีม้ ลี กั ษณะคล้าย เรือนหอโดดๆ หลังคาทรงจัว่ อาคารสร้างด้วยไม้ มีขนาดกว้าง 6 เมตร 12 เมตร ลักษณะหอไตร มั ก มี รู ป ทรงตามแบบประเพณี นิ ย มในแต่ ละท้องถิ่น และเพื่อการเก็บรักษาพระไตรปิฎก คัมภีร์จารึกพระธรรมวินัยพร้อมต�ำรายาต่างๆ ไว้ศึกษาค้นคว้าเล่าเรียนกัน ในอดีตมักสร้าง
หอไตรไว้กลางสระน�้ำ เพื่อป้องกัน แมลง หรือ สัตว์อื่นที่จะมากัดกินท�ำลาย ครั้งจะน�ำคัมภีร์ ธรรมต่างๆ ออกมาใช้ นอกหอไตรมีสะพาน และบันไดที่สามารถน�ำมาเชื่อมต่อข้ามเข้าไป ในพื้นที่หอไตร เมื่อเลิกใช้ก็ดึงสะพาน และ บันไดออกไว้คืนที่ หอไตรเป็นโบราณสถานที่มีคุณค่าเป็นสิ่งที่
หาดูได้ยาก และมีเหลืออยู่เพียงแห่งเดียวใน จั ง หวั ด ก� ำ แพงเพชร และมี อ ยู ่ ไ ม่ กี่ แ ห่ ง ใน ประเทศไทย สันนิษฐานว่าเป็นสถาปัตยกรรม สมัยรัตนโกสินทร์ตอนกลาง ซึ่งรับอิทธิพลจาก สมัยอยุธยาตอนปลายหรือไม่ก็สมัยรัตนโกสินต์ ตอนต้นราว พ.ศ.2400 - 2420
ศาลานครชาวกังราว พระธรรมภาณพิลาส เจ้าคณะจังหวัดก�ำแพงเพชร เห็นสมควรจัดสร้างศาลานครชากังราว ขนาดความกว้าง 77.80 เมตร ยาว 86.80 เมตร เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็กรูปแบบทรงไทย ประยุกต์ สูง 5 ชั้น ชั้นที่ 1-2 ส�ำหรับจอดรถยนต์ ชั้นที่ 3 เป็นห้องรับประทานอาหาร หรือศาลา การเปรียญ ชัน้ ที่ 4 เป็นห้องพัก ชั้นที่ 5 เป็นห้องประชุมขนาดใหญ่ 1,200 ที่นั่ง สถานที่เพียงพอ รองรับการจัดกิจกรรมประชุมและจัดกิจกรรมพิธีการส�ำคัญๆ ของภาคคณะสงฆ์ ภาครัฐ ภาคเอกชน สถาบันการศึกษา องค์การอืน่ ๆ และพุทธศาสนิกชนอย่างเหมาะสม
KAMPHAENG PHET I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 97
97
11/04/61 06:12:23 PM
98
SBL บันทึกประเทศไทย I KAMPHAENG PHET
.indd 98
11/04/61 06:12:24 PM
สวนป่าไร่นาผสมที่ธรณีสงฆ์วัดคูยาง (พระอารามหลวง) จังหวัดก�ำแพงเพชร KAMPHAENG PHET I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 99
99
11/04/61 06:12:27 PM
พระธรรมภาณพิลาส
เจ้าอาวาสวัดคูยาง(วัดอารามหลวง) เจ้าคณะจังหวัดก�ำแพงเพชร ราชทินนามของท่าน พระธรรมภาณพิลาส (ฉายา อมโร) ชื่อเดิมอดุม แกว่นธัญการณ์ เกิดเมื่อ วันอาทิตย์ที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2495 พรรษา 41 สถานที่เกิด ณ บ้านหนองพังค่า ต.หนองพังคา อ.เมือง จ.อุทัยธานี บรรพชา พ.ศ.2508 ณ วัดศรีปึณณาวาส ต.บลไตรตรึงษ์ อ.เมือง จ.ก�ำแพงเพชร โดยมี พระครูวิศิษฏ์วชิรเวท เป็นพระอุปัชฌาย์ อุ ป สมบท พ.ศ.2517 ณ วั ด ปากคลอง มะขามเฒ่า ต.มะขามเฒ่า อ.วัดสิงห์ จ.ชัยนาท โดยมี พระครูวิชาญชัยคุณ เป็นพระอุปัชฌาย์
วุฒิการศึกษา พ.ศ.2507 ป4 โรงเรี ย นวั ด หนองพั ง ค่ า (ประชานุกลู) ต.หนองพังค่า อ.เมือง จ.อุทัยธานี พ.ศ.2520 ป7(สอบเทียบ) ณ สนามสอบ กรุงเทพมหานคร พ.ศ.2509 น.ธ.ตรี และ ถึ ง พ.ศ.2510 น.ธ.โท วั ด สิ ง คารามส�ำนักเรีย นคณะจัง หวัด ก�ำแพงเพชร พ.ศ.2512 น.ธ.เอก,ป.1-2 วัดพระบรมธาตุ ส�ำนักเรียนคณะจังหวัดก�ำแพงเพชร 100
พ.ศ.2514 ป.ธ.3 วัดปากคลองมะขามเฒ่า ส�ำนักเรียนคณะจังหวัดชัยนาท พ.ศ.2515 ป.ธ.4 ส� ำ นั ก เรี ย นวั ด ปากน� ำ ภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร พ.ศ.2516 ป.ธ.5 ส� ำ นั ก เรี ย นวั ด ปากน� ำ ภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร พ.ศ.2517 ป.ธ.6 ส� ำ นั ก เรี ย นวั ด ปากน� ำ ภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร(สามเฌร) พ.ศ.2519 ป.ธ.7 วัดพระบรมธาตุ ส�ำนักเรียน คณะจังหวัดก�ำแพงเพชร พ.ศ. 2521 ป .ธ.8 วั ด ยาง ส� ำ นั ก เรี ย น คณะจังหวัดก�ำแพงเพชร พ.ศ. 2523 พ.กศ. ประกาศนียบัตรพิเศษ วิ ช าศึ ก ษา/อั ง กฤษ ณ สนามสอบ จั ง หวั ด ก�ำแพงเพชร พ.ศ.2526 พ.ม. ประโยคครูพิเศษมัธยม/ บรรณารั ก ษาศาสตร์ ณ สนามสอบจั ง หวั ด ก�ำแพงเพชร พ.ศ.2527 ศษ.บ.ศึ ก ษาศาลตร์ บั ณ ฑิ ต เอกภาษาไทย มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช พ.ศ.2539 ศษ.บ. ศึ ก ษาศาลตร์ บั ณ ฑิ ต เอกบริหารศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช
พ.ศ.2543 ศษ.มงศึกษาศาสตรมหาบัญฑิต เอกบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช พ.ศ.2557 พธ.ด. กิตติม สามขาจัดการเชิง พุทธ มกาวิทยาลัยมห่จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ.2517-ถึ ง ปั จ จุ บั น การศึ ก ษาพิ เ ศษ พิเศษอื่นๆ (การศึกษาตลอดชีวิต) ต�ำแหน่งหน้าที่ พ.ศ.2518 เป็นเลขานุการเจ้าคณะจังหวัด ก�ำแพงเพชร พ.ศ.2519 พระธรรมทู ต ฝ่ า ยอ� ำ นวยการ จังหวัดก�ำแพงเพชร พ.ศ.2522 พระกรรมวาจารย์ พ.ศ.2526 รองเจ้าอาวาสวัดคูยาง พ.ศ.2527 รองเจ้าคณะจังหวัดก�ำแพงเพชร พ.ศ.2528 พระอุ ป ั ช ฌาย์ เขตจั ง หวั ด ก�ำแพงเพชร พ.ศ.2529 ผูร้ กั ษาการแทนเจ้าคณะจังหวัด ก�ำแพงเพชร ผูร้ กั ษาการแทนเจ้าอาวาสวัดคูยาง พ.ศ.2530 เจ้าคณะจังหวัดก�ำแพงเพชร, เจ้ า อาวาสวั ด คู ย าง, หั ว หน้ า พระธรรมทู ต จังหวัดก�ำแพงเพชร, ประธานคณะกรรมการ อ� ำ นวยการ หน่ ว ยอบรมประชาชน ประจ� ำ
SBL บันทึกประเทศไทย I KAMPHAENG PHET
.indd 100
11/04/61 06:12:27 PM
จั ง หวั ด ก� ำ แพงเพชร, เจ้ า ส� ำ นั ก เรี ย นคณะ จังหวัดก�ำแพงเพชร พ.ศ.2555 ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง เป็ น เจ้ า อาวาส วัดคูยาง(พระอารามหลวง)
หน้าที่ทางการศาสนศึกษา (ครูสอนพระปริยตั ธิ รรม - กรรมการตรวจ) พ.ศ.2516 ครูสอนพระปริยะติธรรม ประจ�ำ ส�ำนักศึกษา วัดปากครองมะขามเฒ่า จังหวัดชัยนาท พ.ศ.2518 กรรมการตรวจข้ อ สอบบาลี สนามหลวง, ครูสอนพระปริยะติธรรมประจ�ำ ส� ำ นั ก ศาสนศึกษา วัดพระบรมธาตุ จัง หวัด ก�ำแพงเพชร, ครูสอนพระปริยัติประจ�ำส�ำนัก ศาสนศึ ก ษา วั ด คู ย าง จั ง หวั ด ก� ำ แพงเพชร, ครู ใ หญ่ โ รงเรี ย นพระปริ ยั ติ ธ รรม วั ด คู ย าง จังหวัดก�ำแพงเพชร พ.ศ.2521 ครูสอนพระปริยัติธรรมประจ�ำ ส�ำนักเรียนวัดปากน�้ำภาษีเจริญ กรุงเทพฯ พ.ศ.2522 กรรมการตรวจข้ อ สอบธรรม สนามหลวง
ผลงานสาธารณูปการ/ศึกษาสงเคราะห์/ สาธารณสงเคราะห์ การพัฒนา พ.ศ.2545 เป็นวัดพัฒนาตัวอย่าง พ.ศ.2555 เป็ น วั ด พั ฒ นาตั ว อย่ า ง ที่ มี ผลงานดีเด่น พ.ศ.2555 เป็ น พระอารามหลวงชั้ น ตรี ชนิดสามัญ สมณศักดิ์ พ.ศ.2517 พระมหาอดุลย์ อมโร(ป.ธ.6) พ.ศ.2530 พระราชาคณะชัน้ สามัญเปรียญ ที่ “พระวิเชียรโมลี” พ.ศ.2536 พ ร ะ ร า ช า ค ณ ะ ชั้ น ร า ช ที่ “พระราชวชิรดิลก” (พระราชวดิลก ตรีปฎิ กวิภษู ติ มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี) พ.ศ.2554 พระราชาคณะชั้ น ธรรม ที่ “พระธรรมภาณพิ ล าส” (ศาสนศาสก์ สุ น ทร บวรปริยตั ิ ตรีปฎิ กวิภษู ติ หาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี)
เกียรติคุณที่เคยได้รับ พ.ศ.2534 โล่ แ ละเกี ย รติ บั ต ร จากศู น ย์ ส่งเสริมการศึกษาและปฎิบตั ธิ รรมแห่งประเทศไทย พ.ศ.2541 รางวั ล พระราชทาน “เสา เสมาะรรมจักร” ผู้ท�ำคุณประโยชน์ต่อพระพุทธ ศาสนา สาขาส่งเสริมกิจการคณะสงฆ์ พ.ศ.2545 โล่ เ ชิ ด ชู เ กี ย รติ คุ ณ จากคณะ กรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ เป้น ผู้มีผลงาน ดีเด่นทางด้านวัฒธรรม จังหวัดก�ำแพงเพชร สาขามนุษยศาลตร์ ด้านศาสนา พ.ศ.2551 โล่ผทู้ ำ� คุณประโยชน์ตอ่ กระทรวง วัฒธรรมเป็นต้น พ.ศ.2559 รับพระราชทานเข็มเกียรติคุณ วันอนุรักษ์มรดกไทย จากสมเด็จพระเทพรัตน ราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
งานวิจัย/งานเขียน พ.ศ.2543 กระบวนการบริหารงานบุคคล ของโรงเรียนพระปริยตั ธิ รรม แผนธรรม เขตการ ปกครองคณะสงฆ์ ภาค 4
KAMPHAENG PHET I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 101
101
11/04/61 06:12:27 PM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดพระบรมธาตุ (พระอารามหลวง) วัดพระบรมธาตุ เป็นพระอารามหลวง ตั้งอยู่เลขที่ 15 ม.3 ต.นครชุม อ.เมือง จ.ก�ำแพงเพชร สร้างเมื่อ พ.ศ.1762 ในสมัยกรุงสุโขทัยเป็นราชธานี เมือ่ ครัง้ สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี) ได้พบว่า วั ด พระบรมธาตุ มี พ ระบรมธาตุ บ รรจุ อ ยู ่ ใ น พระเจดีย์ 3 องค์ เมื่อปี พ.ศ.2392 ต่อมาในปี พ.ศ.2414 ปู ช นี ย สถานที่ ผู ้ ค นต่ า งสั ก การะ ภายในวัดได้เริ่มทรุดโทรมลงมา พระยาตะก่า ชาวกะเหรี่ยง ผู้มีจิตศรัทธาจะบูรณปฏิสังขรณ์ พระเจดียใ์ หม่ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5) พระราชทานอนุญาตให้ ปฏิ สั ง ขรณ์ เ ปลี่ ย นเป็ น พระเจดี ย ์ แ บบพม่ า มีขนาดความยาวด้านละ 15 วา สูงจากฐานถึง
102
ยอดฉัตร 38 วา บูรณะเสร็จเรียบร้อย รัชกาลที่ 5 ได้ทรงเสด็จประพาสต้น นมัสการวัดพระบรมธาตุ ในวันเพ็ญเดือน 3 จึงกลายเป็นประเพณีสมโภช พระบรมธาตุ ปัจจุบนั กลายเป็นประเพณีประจ�ำปี ที่เรียกกันว่างานไหว้พระบรมธาตุ เพ็ญเดือน 3 ล่าสุดมีการจัดประเพณีนขี้ นึ้ ณ วัดพระบรมธาตุ ในวันที่ 30 มกราคม ถึง วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2561 ที่ผ่านมา โดยมีนายธัชชัย สีสุวรรณ ผู้ว่าราชการจังหวัดก�ำแพงเพชร เป็นประธาน ฝ่ายฆราวาสพิธี พระเทพวัชราภรณ์ เจ้าคณะ จังหวัดก�ำแพงเพชร-พิจติ ร(ธ) เป็นประธานฝ่ายสงฆ์ พร้อมคณะสงฆ์ร่วมพิธีฯ เพื่อเป็นการสืบสาน ประเพณีวัฒนธรรมอันดีงามตลอดจนเผยแผ่ ด้านศาสนาสู่คนรุ่นต่อไป
SBL บันทึกประเทศไทย I KAMPHAENG PHET
.indd 102
18/04/61 04:36:08 PM
ศักดิ์และสิทธิ์ในสันตติวงศ์ แห่งราชวงศ์พระร่วง พระยาลือไทย ลูกพระยาไทย หลานปู่ พระยารามราช ในจารึกนครชุม พ.ศ.1900 ระบุบข้อความที่เกี่ยวข้องกับพระชาติก�ำเนิด ของพระมหาธรรมราชาลิไทยไว้ว่า “พระยา ลือไทยราช ผูเ้ ป็นลูกพระยาเลอไทย เป็นหลาน แก่พระยารามราช” ซึ่งแสดงให้เห็นถึงศักดิ์และ สิ ท ธิ์ ใ นการขึ้ น ครองราชสมบั ติ ที่ สื บ สั น ติ ส งศ์ มาจากพระราชบิดาแลพระราชอัยกาที่ทรงเป็น พระมหากษัตริย์แห่งกรุงสุโขทัยของพระองค์ ไตรภูมิถากฌมีการกล่าวถงพระชาติก�ำเนิด ของพระมกาธรรมราชาลิไทยที่สอดคล้องกับ จารึกนครชุมว่า “เจ้าพญาเลไทยผู้เป็นลูกแห่ง เจ้ า พยาเลลิ ไ ทยผู ้ เ สวยราชสั ม ปั ต ติ ใ นเมื อ ง ศรีสัชชนาลัยแลสกโขทัย และเจ้าพยาลิไทยนี้ ธ เป็นหลานเจ้าพญารามราชผู้เป็นสุริยวงศ์
แลเจ้าพญาเลไทยได้เสวยราชสัมปัตติในเมือง สัชชนาลัย” พระมหาธรรมราชาลิ ไ ทยได้ ค รองเมื อ ง ศรีสชั นาลัย ในรัชสมัยพ่อขุนรามค�ำแหงมหาราช (ประมาณ พ.ศ.1822 ถึง ประมาณ พ.ศ.1841) ประมาณปี พ.ศ.1841 พ่อขุนรามค�ำแหงมหาราช เสด็จสวรรคตพระยาเลอไทยก็ได้เสวยราชสมบัติ ต่อจากพระราชบิดาจนถึง พ.ศ.1866 ก็เสด็จ สวรรคต สันนิษฐานว่าพระยาเลอไทย พระราชบิดา ของพระมหาธรรมชาลิไทย ได้เป็นพระมหาอุปราช ครองเมืองศรีสชั นาลัย ซึง่ เป็นเมืองทีม่ ขี นาดใหญ่ และมีความส�ำคัญเมืองหนึ่งในกลุ่มแม่น�้ำยม คู่กับเมืองสุโขทัย ปัจจุบัน คือ ชุมชนโบราณ ในเขตอุทยานประวัติศาลตร์ศรีสัชนาลัย อ�ำเภอ ศีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย
พระวิหารพิพิธภัณฑ์พระพุทธรูป
ทรัพย์สินทางปัญญาที่บรรพบุรุษได้คิดค้น และสร้างมาให้คงอยู่ เป็นแหล่งศึกษาค้นคว้า ของอนุชนคนรุ่นหลังสืบไป เพื่อการรักษาไว้ซึ่ง มรดกทางวัฒนธรรม ลักษณะอาคารทรงไทย 3 ชัน้ กว้าง 8 เมตร ยาว 28 เมตร สูง 23 เมตร เมือ่ วันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2561 คณะสงฆ์สมณศักดิ์ ประกอบพิธฉี ลองพระวิหารพิพธิ ภัณฑ์พระพุทธรูป น�ำโดย พระเดชพระคุณ พระวิสุทธิวงศาจารย์ เจ้าคณะใหญ่หนเหนือ วัดปากน�้ำภาษีเจริญ กรุงเทพฯ พระมหาโพธิวงศาจารย์ วัดราชโอรส วราราม กทม.
KAMPHAENG PHET I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 103
103
20/04/61 11:59:21 AM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดไตรตรึงษาราม วั ด ไตรตรึ ง ษารามเป็ น วั ด ส� ำ คั ญ ที่ ยึดเหนี่ยวจิตใจของชาวบ้านในเทศบาลต�ำบล ปากดง และในพื้นที่ใกล้เคียงให้ความเคารพ นับถือ ที่ อ ยู ่ 1 ม.8 ต.ไตรตรึ ง ษ์ อ.เมื อ ง จ.ก�ำแพงเพชร 62160 พระครู ไ พบู ล ย์ ว ชิ ร กิ จ เจ้ า อาวาส วัดไตรตรึงษาราม
สิ่งศักดิ์สิทธิ์ภายในวัด • ซุ้มประตู • อุโบสถ์ พระเจดีย์ • รอยพระพุทธบาทจ�ำลอง • ศาลาการเปรียญ กว้าง 10 เมตร ยาว 23 สร้าง พ.ศ. 2513 • อุโบสถ์ กว้าง 8 เมตร ยาว 12 เมตร สร้าง พ.ศ. 1519 • มณฑป
104
SBL บันทึกประเทศไทย I KAMPHAENG PHET
2
.indd 104
10/4/2561 15:59:26
กิจกรรมวัดไตรตรึงษาราม • กิจกรรมถือศีลอุโบสถในพรรษา • กิจกรรมสวดมนต์ถวายพรชัยมงคล • กิจกรรมหล่อเทียนจ�ำน�ำพรรษา
KAMPHAENG PHET I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 105
105
10/4/2561 15:59:36
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
พระนอนที่ใหญ่ที่สุดของก�ำแพงเพชร
วัดบ่อสามแสน
วัดบ่อสามแสน 267 หมู่ 6 บ้านบ่อสามแสน ต�ำบลหนองปลิง อ�ำเภอเมือง จังหวัดก�ำแพงเพชร ห่างจากตัวเมือง ประมาณ 4 กิโลเมตร บนทางหลวงสาย ก�ำแพงเพชร-พรานกระต่าย เป็นวัดที่ได้รับ การบูรณะใหม่ แต่เดิมมีมาตั้งแต่สมัยอุทยาน ประวัติศาสตร์เมืองก�ำแพงเพชร ตั้งอยู่ ระหว่างกลางของวัดอาวาสใหญ่ และวัดอาวาสน้อย วัดบ่อสามแสนนั้น สันนิษฐานว่า ได้ชื่อเรียกตามหมู่บ้าน เพราะมีบ่อน�้ำที่เรียกว่า บ่อสามแสน เป็นสถานที่ส�ำคัญเป็นที่รู้จักของคนทั่วไป ตามประวัติที่พอสืบทราบมาว่า ได้มี การบูรณะเมื่อประมาณ ปีพุทธศักราช 2500 106
2
โดยเป็นทีพ่ กั สงฆ์จาริกมาปักกลดพักปฏิบตั ิ ศาสนกิจมาตลอด ตามค�ำบอกเล่าบริเวณวัด ปรากฏมีศิลาแลง โดยทั่วไปและมีพระพุทธรูป ท�ำด้วยศิลาแลงไม่มีเศียรเป็นรูปทรงพระพุทธ ไสยาสน์ (พระนอน) ตั้งอยู่ภายในศาลาไม้ไผ่ หนึง่ หลัง และมีกฏุ พิ ระอีกหนึง่ หลัง ต่อมาเมือ่ ปี พุทธศักราช 2510 ชาวบ้านบ่อสามแสนได้ไป กราบอาราธนาหลวงพ่อพล กุสโล ซึ่งเป็นพระ ธุดงค์จาริกปฏิบตั ศิ าสนกิจจากวัดคลองเมืองนอก ต�ำบลโกสัมพี อ�ำเภอเมือง จังหวัดก�ำแพงเพชร มาบูรณปฏิสังขรวัดบ่อสามแสน เหตุที่เรียกว่าวัดบ่อสามแสนเพราะตั้งอยู่ที่ หมู่ 6 บ้านบ่อสามแสน ด้านหน้าวัดมีบ่อศิลา แลง ขนาดใหญ่มหึมา ชาวก�ำแพงเพชรเรียกขาน
กันว่า บ่อสามแสน โดยมีต�ำนานว่าน�้ำในบ่อ มีจ�ำนวนมาก แม้คนสามแสนคนใช้ดื่มกินก็ไม่มี วันหมด วัดนี้จึงเรียกชื่อตามบ่อสามแสน ว่าวัด บ่อสามแสน หลวงพ่อพล กุสโล ได้ปรารภถึง พระพุทธรูปทรงพระพุทธไสยาสน์ท่ีปราศจาก เศี ย รท่ า นประสงค์ จ ะซ่ อ มให้ เ ป็ น องค์ พ ระที่ สมบูรณ์จึงได้ชักชวนคณะศรัทธาสาธุชนชาวใน เมืองก�ำแพงเพชรและชาวบ้านในหมู่บ้านใกล้ เคียงเพือ่ สร้างหลวงพ่อพระพุทธไสยาสน์ให้เป็น พระที่เต็มองค์ขึ้น โดยได้ถือเอาฤกษ์ด�ำเนินการ เมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2515 เป็นการฉลององค์ หลวงพ่อที่สมบูรณ์ หลวงพ่อพระพุทธไสยาสน์(พระนอน) วัด บ่อสามแสน ประชาชนชาวบ่อสามแสน เคารพ
SBL บันทึกประเทศไทย I KAMPHAENG PHET
.indd 106
10/4/2561 15:37:22
พระครูวชิรปัญญากร ฉายา ปญฺญาวโร อายุ ๖๗ พรรษา ๔๑ วิทยฐานะ น.ธ. เอก พุทธศาสตรบัณฑิ(พธ.บ.), การบริหารการศึกษามหาบัณฑิต(กศ.ม.) วัดบ่อสามแสน ต�ำบลหนองปลิง อ�ำเภอเมือง จังหวัดก�ำแพงเพชร ปัจจุบันด�ำรงต�ำแหน่ง ๑. เจ้าอาวาสวัดบ่อสามแสน ๒. เจ้าคณะอ�ำเภอเมืองก�ำแพงเพชร
สถานะเดิม
นับถือในความศักดิ์สิทธิ์ของท่าน เช่นคุณเสริม วุฒิ สุวรรณโรจน์ เจ้าของเฉาก๊วยชากังราว ที่ได้ ถวายปัจจัยอุปถัมภ์สร้างวิหารหลังใหม่ครอบ องค์หลวงพ่อถึงห้าล้านบาท ได้เล่าประสบการณ์ ที่ท่านประสบให้ฟังว่า ครั้งหนึ่งท่านป่วยหนัก ก่อนที่จะหมดสติลงได้เห็นภาพหลวงพ่อพระ นอนมาปรากฏให้เห็นและท่านได้หมดสติลงฟืน้ อีกทีพบว่าได้นอนที่โรงพยาบาลแล้วและอีก หลายท่านที่ประสบเหตุอันเป็น ผลแห่งความ ศักดิ์สิทธิ์ของหลวงพ่อพระนอนๆ ถึงแม้จะถูก สร้างด้วย ฝีมือช่างราษฎรหรือช่างชาวบ้านโดย การน�ำของหลวงพ่อพลแต่ก็ปั้นด้วยแรงศรัทธา อย่างแรงกล้าต่อพระพุทธศาสนาตามภูมปิ ญ ั ญา ของชาวบ้าน แต่เป็นความภูมิใจที่สามารถสร้าง
เอกลักษณ์ของท้องถิน่ ได้อย่างสมบูรณ์ ชาวบ้าน บ่อสามแสนจะจัดงานประเพณีไหว้พระนอน ประมาณเดือนมีนาคม ของทุกปี ประมาณ 3 วัน 3 คืน ชาวก�ำแพงเพชรและจังหวัดใกล้เคียงจะ มาไหว้พระนอนกันอย่างมากมาย หลวงพ่อพระ นอนมีขนาดใหญ่ที่สุดจังหวัดก�ำแพงเพชร เมื่ อ ท่ า นผ่ า นวั ด บ่ อ สามแสน ถนนสาย ก�ำแพงเพชร-พรานกระต่าย นอกจากจะแวะ นมัสการหลวงพ่อพระนอนแล้ว ท่านจะได้มี โอกาสได้พบกับพระครูวชิรปัญญากร หรือหลวง พ่ออ�ำนวย เจ้าอาวาสวัดบ่อสามแสน เจ้าคณะ อ�ำเภอเมืองก�ำแพงเพชร พระนักพัฒนาที่น่า นับถืออย่างยิ่ง ความเป็นวัดบ่อสามแสน คือ หลวงพ่อพระนอนนั่นเอง
ชื่อ อ�ำนวย นามสกุล กรรณิกา เกิดวัน ๕ ฯ ๑ ค�่ำ ปี เถาะ ตรงกับวันที่ ๖ เดือน ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๙๔ บิดาชื่อ นายท�ำ มารดาชื่อ นางน้อย บ้านเลขที่ ๑๓๒ หมู่ที่ ๓ ต�ำบลนครชุม อ�ำเภอเมือง จังหวัดก�ำแพงเพชร
อุปสมบท วัน ๗ ฯ ๖ ค�่ำ ปี มะเส็ วันที่ ๗ เดือน พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๒๐ ณ วัดคูยาง ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดก�ำแพงเพชร พระอุปัชฌาย์ พระวิเชียรธรรมคณี วัดคูยาง ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดก�ำแพงเพชร พระกรรมวาจาจารย์ พระล�ำยอง ฐิติญาโณ วัดคูยาง ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดก�ำแพงเพชร พระอนุสาวนาจารย์ พระมหาอดุลย์ อมโร (ปัจจุบันเป็นพระธรรมภาณพิลาส) วัดคูยาง ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดก�ำแพงเพชร KAMPHAENG PHET I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 107
107
10/4/2561 15:37:40
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดปราสาท (เมืองโบราณบ้านโคน)
ตั้งอยู่ที่ 68 ม.2 บ้านโคนใต้ ต.คณฑี อ.เมือง จ.ก�ำแพงเพชร ห่างจากตัวเมืองประมาณ 22 กิโลเมตร
วั ด ปราสาท นั้นเป็นวัดโบราณที่อยู่ในเขตเมืองโบราณคณฑีที่มีวิหารหลวงพ่อโต
ซึ่ ง เป็ น ฐาน วิ ห าร โดยภายในวิหารหลังนี้ ประดิ ษ ฐานพระพุ ท ธรู ป ปู น ปั ้ น ขนาดใหญ่ ส กุ ล ช่างก�ำแพงเพชรเป็นประธานหนึ่งองค์ ที่ชาวบ้านเรียกกันว่า “หลวงพ่อโต” อีกทั้งบนฐาน ชุกชียังมีพระพุทธรูปปูนบั้นขนาดเล็กอยู่อีกหลายองค์นอกจากนี้มีเจดีย์ โบราณอยู่ 2 องค์ องค์หนึ่งได้รับการบูรณะและสร้างเจดีย์คร่อมทับส่วนอีกองค์ยังไม่ได้บูรณะชาวบ้านเรียกว่า “ปราสาท”ซึ่งสันนิษฐานว่าเดิมคงเป็นเจดีย์ทรงปราสาทและเป็นที่มาของชื่อวัดปราสาทด้วย
พระปลัดศักดา จนฺทโชโต เจ้าอาวาส 108
4
SBL บันทึกประเทศไทย I KAMPHAENG PHET
.indd 108
10/4/2561 15:26:33
แหล่งท่องเที่ยวด้านพระพุทธศาสนาระดับสากล เมื่อวันที่ 30 กันายน 2553 คณะกรรมการ และ นายสุ พ ร แผ่ แ สงจั น ทร์ ผู ้ อ� ำ นวยการส� ำ นั ก งาน พระพุทธศาสนาจังหวัดก�ำแพงเพชร ร่วมตรวจประเมินฯ วัดปราสาท ต�ำบลคณฑี อ�ำเภอเมือง จังหวัดก�ำแพงเพชร ให้ความเห็นเกี่ยวกับการดูแลรักษา การบริหารจัดการ โบราณวัถตุอันเป็นพุทธศิลป์ ที่มีมายาวนานกว่า 700 ปี ให้มีความคงทน สวยงาม เพื่อให้คนรุ่นหลังได้ศึกษา สื บ ไป ปั จ จุ บั นวั ด ปราสาทได้ เ ป็ น แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย ว ด้านพระพุทธศาสนาในระดับสากลแล้ว ตามระดับ ความส�ำเร็จของการพัฒนาคุณภาพด้านการท่องเที่ยว ของจังหวัด ประจ�ำปีงบประมาณ 2553 KAMPHAENG PHET I SBL บันทึกประเทศไทย
4
.indd 109
109
10/4/2561 15:26:45
พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นวัดปราสาท พิพิธภัณฑ์ รวบรวมเก็บพระพุทธรูปปาง ต่างๆ สมัยสุโขทัย อยุธยา และเครื่องสังคมโลก จ�ำพวก ถ้วย ชาม เป็นจ�ำนวนมาก นอกจากนี้ ยังมีอาคารส�ำหรับเก็บอุปกรณ์เครื่องมือเครื่อง ใช้ ใ นการประกอบอาชี พ และวิ ถี ชี วิ ต ของ ชาวก�ำแพงเพชรตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ได้แก่ เครือ่ งมือหาปลา เครือ่ งจักสาน ต�ำรายาสมุนไพร ไทย ฯลฯ
110
4
SBL บันทึกประเทศไทย I KAMPHAENG PHET
.indd 110
10/4/2561 15:27:03
พิพิธภัณฑ์พื้นบ้าน วัดปราสาท สงิ่ ศักดิส์ ทิ ธิท์ ชี่ าวบ้านเลือ่ มใสศรัทธา วิหาร ประดิษฐานพระพุทธรูป “หลวงพ่อโต” พระพุทธ รู ป องค์ ใ หญ่ ส ร้ า งในสมั ย สุ โ ขทั ย อาคาร พิพิธภัณฑ์ ซึ่งรวบรวมเก็บพระพุทธรูปต่างๆ สมัยสุโขทัย อยุธยา ได้แก่ “พระพุทธลีลา” สมัย สุโขทัย อายุเก่าแก่กว่า 700 ปี มีพุทธลักษณะ ที่งดงามที่สุดในโลก และมีเพียง 2 องค์ คือ ที่ พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ สุ โ ขทั ย จั ง หวั ด สุ โ ขทั ย และ พิพิธภัณฑ์วัดปราสาทแห่งนี้ เปิดให้เข้าชมเวลา 09.00-16.00 น. ทุกวันไม่เว้นวันหยุดราชการ
KAMPHAENG PHET I SBL บันทึกประเทศไทย
4
.indd 111
111
10/4/2561 15:27:25
112
2
SBL บันทึกประเทศไทย I KAMPHAENG PHET
.indd 112
10/4/2561 15:20:27
HIST ORY OF BUDDHISM
บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดประดู่ลาย วัดประดู่ลายได้เริ่มก่อตั้งขึ้นประมาณปี พุทธศักราช 2494 และรับการประกาศ ตั้งวัดจากกระทรวงศึกษาธิการ เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธุ์ พุทธศักราช 2521 ตั้งอยู่ที่บ้านคลองแม่ลาย หมู่ท่ี3 ต�ำบลคลองแม่ลาย อ�ำเภอเมือง จังหวัดก�ำแพงเพชร สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินที่ตั้งวัด เนื้อที่ 21 ไร่ 1 งาน 40 ตารางวา อาณาเขต ทิศเหนือ ยาว 140 วา ติดกับล�ำคลอง ทิศใต้ยาว 140 วา ติดกับถนนสาธารณะ ทิศตะวันออกยาว 61 วา ติดกับถนนสาธารณะ
พืน้ ทีต่ งั้ วัดลักษณะเป็นทีร่ าบลุม่ มีถนนซอย และคลองล้อมบริเวณวัด อาคารเสนาสนะต่างๆ ศาลาการเปรียญ 1 หลัง เป็นแบบคอนกรีตเสริมเหล็ก วิหาร 1 หลัง ศาลาธรรมสังเวช 1 หลัง เมรุ 1 หลัง กุฏิ 9 หลัง อุโบสถ 1 หลัง (ก�ำลังอยูใ่ นระหว่างการก่อสร้าง ยังไม่แล้วเสร็จ)
สถิติเจ้าอาวาส (ตั้งแต่ได้รับการประกาศตั้งวัด) 1. พระสมุห์เช้า อินฺทปญฺโญ 2. พระอธิการจ�ำนง ยสชาโต 3. พระครูโกศลวชิรกิจ ตั้งแต่ พุทธศักราช 2530 จนถึงปัจจุบัน
วัดประดู่ลายมีพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ 2 องค์ หลวงพ่อเพชร เป็นพระพุทธรูปศิลาฉาบปูนปัน้ เก่าแก่ โดยท่านผูใ้ หญ่พวั บ้านวังยาง ได้นำ� เศียรพระทีถ่ กู โจร ตัดทิ้งไว้จากบ้านทุ่งเศรษฐี มาปั้นต่อองค์ให้มีความสมบูรณ์ แล้วน�ำมาถวายให้กับวัดประดู่ลาย เมื่อปีพุทธศักราช 2494 (หลักฐานตามที่มีระบุไว้ที่ฐานองค์พระ) จึงนับว่าเป็นพระพุทธรูปคู่วัด บ้านมาเป็นเวลายาวนาน
หลวงพ่อรวยทันใจ เป็นพระประธานประจ�ำอุโบสถที่มีความศักดิ์สิทธิ์มาก มีขนาดหน้าตัก 5.50 เมตร (220 นิ้ว) สูง 7.00 เมตร (280 นิ้ว) ปางมารวิชัย หล่อด้วยนิลแท้ๆ น�้ำหนัก 30,000 กิโลกรัม (30 ตัน) ผสมคอนกรีตเสริมเหล็ก ท�ำพิธีหล่อเมื่อวันที่ 13 เมษายน พุทธศักราช 2551 แล้วเสร็จภายใน วันเดียว จึงได้ตั้งชื่อว่า “พระทันใจ” หรืออีกนามหนึ่ง คือ “หลวงพ่อรวยทันใจ” ภายในองค์พระบรรจุองค์พระหลวงพ่อรวยทันใจ ขนาดหน้าตัก 9 นิ้ว และสิ่งศักดิ์สิทธิ์ เช่น พระธาตุ แร่กายสิทธิ์ไว้เป็นจ�ำนวนมาก พร้อมกันนั้นได้ท�ำพิธีอัญเชิญญาณหลวงพ่อรวยทันใจ มาประดิษฐานไว้ด้วย เพื่อให้เกิดความเป็นสิริมงคลกับผู้ที่ได้มากราบไหว้บูชา KAMPHAENG PHET I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 113
113
10/4/2561 15:20:37
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดกัลปพฤกษ์ ต�ำนานพระศรีอาริยเมตไตย เมื่อประมาณ 400 กว่าปีที่ผ่านมา มีเรื่อง เล่ า กั น ว่ า มี พ ระพุ ท ธรู ป องค์ ห นึ่ ง ผุ ด ขึ้ น มา กลางแม่น�้ำปิงระหว่างหมู่บ้านทั้งสองฝั่งโดย พระพุ ท ธรู ป องค์ นั้ น ไม่ ส ามารถไหลไป ตามกระแสน�้ ำ ได้ พอชาวบ้ า นลานดอกไม้ ออกและชาวบ้านลานดอกไม้รขู้ า่ วว่ามีพระพุทธ รูปองค์หนึ่งอยู่กลางแม่น�้ำจึงกันไปดูที่แม่น�้ำจึง รู้ว่าเป็นพระศรีอาริยเมตไตย ชาวบ้านจึงเกิด ความศรัทธาในอิทธิฤทธิ์ของท่าน ชาวบ้านลาน ดอกไม้ทั่งสองฝั่งจึงตกลงกันว่า ถ้าหมู่บ้านใด สามารถชักเย่อพระศรีอาริยเมตไตยได้สามารถ น�ำกลับหมูบ่ า้ นได้ทนั ที โดยข้อตกลงมีอยูว่ า่ ต้อง ใช้ผา้ บังสุกลุ จีวรน�ำมา ชักเย่อเท่านัน้ พอวันรุง้ ขึน้ ชาวบ้านทั้งสองได้มาพบกันระหว่างแม่น�้ำทั้ง สองฝัง่ จึงได้เริม่ ชักเย่อได้ทนั ที แต่ในเรือ่ งทีเ่ หลือ เชื่อมากที่สุดคือ หมู่บ้านลานดอกไม้ออกที่มี ชาวบ้านน้อยกว่าหมูบ่ า้ น ลานดอกไม้ตกอยูม่ าก แต่สามารถชักเย่อน�ำพระศรีอาริยเมตไตยกลับ มายังฝัง่ หมูบ่ า้ นลานดอกไม้ออกได้ ตัง่ แต่บดั นัน้ พระศรี อ าริ ย เมตไตยจึ ง เป็ น ที่ ศ รั ท ธาของ ชาวบ้านลานดอกไม้ออกตัง้ แต่นนั้ จนถึงปัจจุบนั หลายปีต่อมาทางการได้ประมาณอายุของ พระพุทธรูปพระศรีอาริยเมตไตยประมาน 700 กว่าปีโดยพระศรีอาริยเมตไตยได้อยู่ที่วัดลาน ดอกไม้ออก แต่บัดนี้ได้เปลี่ยนชื่อวัด เพราะมี สามพีน่ อ้ ง คือ นายกัน นายกิด นายกิง ได้ทำ� การ บูรณะภายหลัง และจึงให้มีชื่อของผู้พี่ไว้เป็น สัญลักษณ์ จึงเปลี่ยนชื่อวัดเป็น วัดกัลปพฤกษ์ จนถึงปัจจุบัน
114
2
ต�ำนานหมูบ้านลานดอกไม้ ประมาณ 250 กว่าปีที่ผ่านมากองทัพของพม่าได้ยกทัพมายึดหมู่บ้านได้ส�ำเร็จ และได้ใช้วัดเป็น ที่ตั้ง ต่อมากองทัพพม่าได้ยกทัพออกจากหมู่บ้านได้ทิ้งหงส์ไว้ที่วัด 1 ตัวเพื่อแสดงให้เห็นว่ากองทัพ พวกตนได้มาเยือนทีน่ ี้แล้ว พอเวลาผ่านไปหลายเดือนหงส์ตัวนัน้ ได้โตเต็มที่มีรปู ร่างทีส่ วยงาม ท�ำให้ ชาวบ้านละแวกนัน้ อยากได้หงส์มาครอบครอง แต่ในทีส่ ดุ หงส์จงึ บินนีห้ ายไป เจ้าอาวาสวัดและผูใ้ หญ่ บ้านได้รว่ มมือกันตามหาหงส์ตวั นัน้ จนพบในทีส่ ดุ แล้วได้นำ� ไปปล่อยบริเวณทุง่ ดอกไม้ มีอยูม่ าวันหนึง่ ได้มีพระราชินีดารารัศมีแห่งเชียงใหม่ได้เสด็จล่องเรือมาตามแม่น�้ำปิง แล้วได้บังเอิญเห็นหงส์ตัวนั้น บินผ่านไปจึงเกิดความอยากได้ จึงสั่งให้ทหารไปจับหงส์ตัวนั้นแต่ก็ไม่พบ แต่ได้พบกับทุ่งดอกไม้ที่ สวยงามเต็มไปหมดทั้งสองฝั่งของแม่น�้ำ พอชาวบ้านรู้ว่าพระราชินีจะเสด็จมาพักที่หมู่บ้านชาวบ้าน จึงท�ำร้านดอกไม้เพื่อรับเสด็จ พระราชินีพักชมทุ่งดอกไม้เป็นเวลาหนึ่งคืน พอรุ่งเช้า พระราชินีดารา รัศมีจึงประทานชื่อหมู่บ้านทั้งสองฝั่งว่า ร้านดอกไม้ออก และ ร้านดอกไม้ตก แต่หลายปีต่อมา ชาวบ้านได้นิยมเรียกหมู่บ้านลานดอกไม้ออกและหมู่บ้านลานดอกไม้ตกจนถึงปัจจุบัน
SBL บันทึกประเทศไทย I KAMPHAENG PHET
.indd 114
10/4/2561 15:15:06
เรือ่ งเล่าว่าชาวหมูบ่ า้ นลานดอกไม้ออกและ หมู ่ บ ้ า นลานดอกไม้ ต กได้ พ บ พระพุ ท ธรู ป พระศรีอริยะเมตไตย 1 องค์ผดุ ขึน้ มาในแม่นำ�้ ปิง ระหว่างหมู่บ้านทั้งสองฝั่ง ชาวบ้านทั้งสองฝั่ง ตกลงกั นว่ า ถ้ า หมู ่ บ ้ า นใดสามารถชั ก เย่ อ พระพุทธรูปได้สามารถน�ำกลับหมู่บ้านได้ทันที วันรุ่งขึ้นชาวบ้านทั้งสองฝั่งมาชักเย่อแข่งกันแต่ หมู ่ บ ้ า นลานดอกไม้ อ อกมี ช าวบ้ า นน้ อ ยกว่ า หมูบ่ า้ นลานดอกไม้ตก แต่ในทีส่ ดุ เรือ่ งเหลือเชือ่ คือ หมูบ่ า้ นลานดอกไม้ออกทีม่ ชี าวบ้านน้อยกว่า แต่สามารถชักเย่อน�ำพระพุทธรูปกลับมาฝัง่ ลาน
ดอกไม้ออกได้และชาวบ้านลานดอกไม้ออกได้ น�ำพระพุทธรูปไปไว้ทวี่ ดั ลานดอกไม้ออก ตัง้ แต่ บัดนั้นจึงเป็นที่ศรัทธาของชาวบ้านลานดอกไม้ ออกตั้งแต่นั้นจนถึงปัจจุบัน หลายปีต่อได้มีวัดลานดอกไม้ออกได้มีการ เปลี่ยนชื่อวัด เพราะมีสามพี่น้อง คือ นายกัน นายกิด นายกิง ได้ทำ� การบูรณะในภายหลัง และ จึงให้มีชื่อของผู้พี่ไว้เป็นสัญลักษณ์ จึงเปลี่ยน ชื่อวัดเป็น วัดกัลปพฤกษ์จนถึงปัจจุบัน
KAMPHAENG PHET I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 115
115
10/4/2561 15:15:19
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
116
2
SBL บันทึกประเทศไทย I KAMPHAENG PHET
.indd 116
10/4/2561 15:18:47
วัดเชตวนาราม ตั้งอยู่ ม.8 ต.หนองปลิง อ.เมือง จ.ก�ำแพงเพชร โทร 061-8049284, 062-9196084 หลวงพ่อโชคชัย
วั ด ที่สร้างขึ้นโดยพระที่ธุดงค์มาจ�ำ
พรรษาไม่ทราบชื่อ และได้บุกเบิกถางที่เพื่อ ให้เป็นที่ปฏิบัติธรรม และท�ำบุญของชาติโยม ในแต่ละแวกนี้ ไม่ทราบแน่ชัดว่าสร้างขึ้นเมื่อ ใด ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาได้มีพระอยู่จ�ำ พรรษาหลายครั้ง จนประมาณ ปี พ.ศ.2500 ได้มีพระอาจารย์พัน มาอยู่จ�ำพรรษา และเริ่ม ก่อสร้างกุฏิไม้ศาลาท�ำบุญ แต่ก็ ได้ทรุดโทรม ผุพังไปตามเวลาและท่านเองได้ลาสิกขาไป ท�ำให้วัดร้างจากพระสงฆ์ อยู่จ�ำพรรษาอีก ครั้งจน ประมาณปี พ.ศ.2546 ได้มีพระจุ่น ทันตจิตโต มาอยู่จ�ำพรรษาเป็นเจ้าอาวาสและ ได้มรณภาพลงในปี พ.ศ.2552 ท�ำให้วัดกลับ มาร้างอีกครั้ง และได้มีพระครูปลัด โชคชัย ชยวุฑฺโฒ ได้มาบูรณปฏิสังขรณ์ และสร้าง ถาวรวัตถุตั้งแต่ปี พ.ศ.2554 จนถึงปัจจุบัน
สิ่งศักดิ์สิทธิ์ภายในวัด หลวงพ่ออุดมโชค เป็นพระพุทธรูปศักดิส์ ทิ ธิ์ ศิลปะสุโขทัยปางมารวิชัย ขนาดหน้าตัก 29 นิ้ว ก่ออิฐถือปูน อายุประมาณ 400 กว่าปี ประวัติ ความเป็นมาของหลวงพ่ออุดมโชค ได้มพี ระและ ญาติโยมได้ชว่ ยกันขนย้ายมาจากวัดร้างไม่ทราบ ที่ เพื่อน�ำมาประดิษฐานเป็นพระพุทธรูปคู่วัด และองค์หลวงพ่ออุดมโชค ได้แสดงปาฏิหาริย์ หลายครัง้ เคยมีคนมาไล่ยงิ นก ยิงไก่ปา่ กระต่ายป่า ตามสัตว์มาจนถึงบริเวณหลวงพ่อ พรานชาวบ้าน ใส่ปืนยิ่งสัตว์ แต่ปืนกลับยิงไม่ออกทุกครั่งไป และได้มีญาติโยมมาอธิฐานขอพรก็ได้สมความ ปรารถนามีการน�ำไข่ พวงมาลัยมาถวายอยู่เป็น ประจ�ำไม่เคยขาด สมเด็จพระพุฒาจารย์(โต พรหมรังสี) ขนาด หน้ า ตั ก 3 เมตร สู ง 4 เมตร รู ป หล่ อ หลวงพ่อเดิมพุทธสโร รูปหล่อหลวงปู่เคลือบ สาวรธมฺโม เป็นรูปหล่อขนาดเท่าองค์จริง สร้าง ขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2558 และปี พ.ศ.2559 เป็น พระเถราจารย์ที่ผู้คนให้ความนับถืบ และจะ มาขอพรในเรื่องของหาย และขอฝน ไม่ให้ตกใน ช่วงฦดีปลูกพืชผลททางการเกษตร
พระกรุ เป็นพระเนือ้ ดินพิมพ์พระร่วงนัง่ หลัง ลิ่มขุดพอ เมื่อ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ.1560 เนือ่ งจากฝนตกหนักในช่วงเดือนพฤาภาคม พ.ศ. 1560 ท�ำให้พระประธานองค์ใหญ่ล้ม ดินทรุด และได้ท�ำการปรับพื้นที่น�ำเอาเศษปูนออกจาก พืน้ ทีท่ ำ� ให้ขดุ เจอพระกรุดงั กว่าง มีอายุประมาณ 90-110 ปี มีอยู่ด้วยกัน 3 พิมพ์ คือ พิมพ์ใบ พุทรา, พิมพ์เข่ากว้าง, พิมพ์นางพญา
KAMPHAENG PHET I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 117
117
10/4/2561 15:19:03
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดบาง ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 275 ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จั ง หวั ด ก� ำ แพงเพชร 62000
118
1
SBL บันทึกประเทศไทย I KAMPHAENG PHET
.indd 118
10/4/2561 15:09:56
Ad-SBL Magazine book new.indd 119
19/4/2561 12:53:35
ติดปีกให้เกษตรไทยยุค
Thailand 4.0 เป็นที่เข้าใจตรงกันว่า Thailand 4.0 คือ “เราจะไม่ปล่อยใครไว้ข้างหลังนั้นคือ ต้ อ งเดิ น หน้ า ไปพร้ อ มๆ กั น รวมทั้ ง “เกษตรไทย” ด้วยซื้อใช้ในประเทศไทย เรามีต้นทางที่เรียกกันว่า อูข ่ า้ วอูน่ ำ�้ นั้น ก็ คื อ มี พื้ น ที่ เ หมาะสมต่ อ เกษตรกรรม อย่างยิ่ง เป็นที่ยอมรับกันทั่วโลกว่าประเทศไทย ของเรามี พื้ น ที่ ที่ เ หมาะสมต่ อ การเกษตร กรรม เป็นอู่ข้าวอู่น�้ำในการผลิตและส่งออก สินค้าทางด้านเกษตรกรรมและอาหารเป็น อันดับต้นของโลก เกษตรกรยุค 1.0 เป็นยุค ของการเพาะปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์โดยการ อาศัยภูมิปัญญาที่มีมาแต่ในอดีต ผลิตและ ขายพืชไร่ พืชสวน ส่วนมากเป็นพืชเชิงเดี่ยว
เกษตรกรยุค 2.0 เป็นยุคการท�ำเกษตรกรรมที่ มี ผ ลผลิ ต เพื่ อ การส่ ง ออกมากขึ้ น เน้ น ที่ ป ริ ม าณ การผลิต ใช้แรงงานคนหรือเครื่องมือที่ไม่ซับซ้อน เกษตรกรยุค 3.0 เป็นยุคของการท�ำเกษตรกรรม ที่เป็นอุตสาหกรรม เน้นปริมาณ ใช้ก�ำลังคนหรือ เครือ่ งจักรในการผลิตเพือ่ การส่งออกเป็นจ�ำนวนมาก มีการแปรรูปผลผลิต เกษตรกรยุค 4.0 จะเน้นไปที่การสร้างมูลค่า เพิ่มให้ผลผลิตทางด้านการเกษตรด้วยการน�ำองค์ ความรู ้ ม าผสมผสานกั บ การใช้ วิ ท ยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม มาเพิ่มมูลค่าและผลผลิต ที่มีคุณภาพให้กับผลผลิตของตนเอง
120
SBL บันทึกประเทศไทย I KAMPHAENG PHET
Thailand 4.indd 120
11/4/2561 18:30:39
Thailand 4.0 จึงเป็นการเปลี่ยนผ่านทั้ง ระบบใน 4 องค์ประกอบส�ำคัญ คือ 1.เปลี่ยนจากการเกษตรแบบดัง้ เดิม (Traditional Farming) โดยเกษตรกรต้องร�่ำรวยขึ้น และเป็ น เกษตรกรแบบเป็ น ผู ้ ป ระกอบการ (Entrepreneur) 2.เปลี่ยนจาก Traditional SMEs หรือ SMEs ที่มีอยู่ที่รัฐต้องให้ความช่วยเหลืออยู่ ตลอดเวลา ไปสู่การเป็น Smart Enterprises และ Startups ที่มีศักยภาพสูง 3.เปลี่ยนจาก Traditional Services ซึ่งมี การสร้างมูลค่าค่อนข้างต�่ำ ไปสู่ High Value Services 4.เปลี่ยนจากแรงงานทักษะต�่ำไปสู่แรงงาน ที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ และทักษะสูง”
KAMPHAENG PHET I SBL บันทึกประเทศไทย
Thailand 4.indd 121
121
11/4/2561 18:30:45
TR AV EL GU ID E
บันทึกเส้นทางท่องเที่ยวจังหวัดก�ำแพงเพชร
KAM PHAENG
PHET
สายสัมพันธ์แห่งศรัทธา สองราชอาณาจักร
122
SBL บันทึกประเทศไทย I KAMPHAENG PHET
.indd 122
17/4/2561 9:28:06
เมืองเก่าแก่ มีศักดิ์เป็นเมืองลูกหลวง และเมืองพญามหานคร KAMPHAENG PHET I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 123
123
17/4/2561 9:28:07
TR AV EL GU ID E
บันทึกเส้นทางความเป็นมาจังหวัดก�ำแพงเพช
เมืองก�ำแพงเพชร เมืองเก่าแก่ มีศักดิ์เป็นเมืองลูกหลวง และเมืองพญามหานคร เมืองก�ำแพงเพชร เป็นเมืองเก่าแก่อีกเมืองหนึ่ง มีอายุไม่ต�่ำกว่า 700 ปีมาแล้ว มีศักดิ์เป็นเมืองลูกหลวงและเมืองพญามหานคร ของอาณาจักรสุโขทัยมาตาม ล�ำดับ ก่อนที่จะมีชื่อว่าก�ำแพงเพชร เมืองนี้มีชื่อเดิมอยู่ 2 ชื่อ คือ เมืองชากังราว และ เมืองนครชุม ทั้ ง สองชื่ อ นี้ มี ป รากฏอยู ่ ใ น ศิลาจารึกหลักที่ 2 และศิลาจารึก เขาสุ ม นกู ฎ เมื อ งทั้ ง สองนี้ ตั้ ง อยู ่ ใกล้กัน คืออยู่ทางฝั่งตะวันตกหรือ ฝั่งขวาของแม่น�้ำปิง คนละฝั่งกับ เมืองปัจจุบัน ในสมัยพญาเลอไทย แห่ ง กรุ ง สุ โ ขทั ย ได้ ม าบู ร ณะเมื อ ง ชากังราวเมื่อประมาณปี พ.ศ. 1800 และยกฐานะขึ้นเป็นเมืองลูกหลวง เช่นเดียวกับเมืองศรีสัชนาลัยและ ได้โปรดเกล้าฯ ให้พระราชโอรส พระองค์หนึ่งมาครองเมืองนี้ ต่อมา แม่น�้ำปิงได้เปลี่ยนทางเดิน เป็นผล ให้ซากเมืองเก่าพังทลายหมดไปจาก การกัดเซาะของกระแสน�้ำ เมื่อพระเจ้าอู่ทองได้ตั้งกรุงศรี อยุธยา เป็นราชธานีของอาณาจักร ทางใต้ ปีพ.ศ. 1893 ล่วงมาถึงรัชสมัย ของ สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1 (ขุนหลวงพะงั่ว) รัชกาลที่ 3 ของ 124
กรุงศรีอยุธยา พระองค์ได้ยกทัพ มาตีกรุงสุโขทัยได้ ผลจากสงคราม เขตการปกครองของกรุ ง สุ โ ขทั ย ได้ถกู แบ่งออกเป็นสองส่วน คือดินแดน ทางริมฝัง่ แม่นำ�้ ปิงส่วนหนึง่ และดินแดน ทางริมฝัง่ แม่นำ�้ ยมและแม่นำ�้ น่านอีก ส่วนหนึ่ง ทางด้านแม่น�้ำปิงได้รวมเมือง ชากังราว และเมืองนครชุมเข้าเป็น เมืองเดียวกัน แล้วเปลี่ยนชื่อใหม่ เป็นเมืองก�ำแพงเพชร ยกฐานะขึ้น เป็นเมืองราชธานีปกครองดินแดน ทางลุ่มแม่น�้ำปิงในย่านนี้ ส่วนทาง ลุ่มแม่น�้ำยมและแม่น�้ำน่าน ให้เมือง พิษณุโลกเป็นราชธานี และโปรดเกล้าฯ ให้ พ ญาไสลื อ ไทย หรื อ พระมหา ธรรมราชาที่ 2 เป็นเจ้าเมือง ล่วงมา ถึงรัชสมัยพระบรมราชาธิราชที่ 2 (เจ้าสามพระยา) ทรงพิจารณาเห็น ว่าการแบ่งเขตการปกครองออกเป็น
สองส่ ว น และต่ า งไม่ ขึ้ น แก่ กั น ดังกล่าวเกิดผลเสีย มีเรื่องไม่สงบ เกิดขึ้นอยู่เสมอ จึงได้รวมเขตการ ปกครองทั้งสองเข้าด้วยกัน เมื่อปี พ.ศ. 1981 โดยยุบเมืองก�ำแพงเพชร จากฐานะเดิมแล้วให้ทุกเมืองขึ้นต่อ เมืองพิษณุโลกเพียงแห่งเดียว ปัจจุบนั จังหวัดก�ำแพงเพชรเป็น เมืองศูนย์กลางการท่องเที่ยวทาง ประวัติศาสตร์แห่งหนึ่ง เพราะมี โบราณสถานเก่าแก่ซึ่งก่อสร้างด้วย ศิลาแลงหลายแห่งรวมอยูใ่ น“อุทยาน ประวัตศิ าสตร์กำ� แพงเพชร” ทีไ่ ด้รบั การพิจารณาคัดเลือกจากองค์การ ศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรม แห่งสหประชาชาติ (UNESCO) ให้ ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลก เมื่อวันที่ 12 ธันวาคม 2534
SBL บันทึกประเทศไทย I KAMPHAENG PHET
.indd 124
17/4/2561 9:28:09
ศาลหลักเมืองก�ำแพงเพชร ตั้ ง อยู ่ บ ริ เ วณวั ด พระแก้ ว ใน อ�ำเภอเมืองถูกสร้างขึ้นสมัยพระเจ้า ชัยวรมันที่ 7 ในช่วงสมัยกรุงสุโขทัย เป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ที่ชาว เมือง ก�ำแพงให้ความเคารพเป็นอย่างมาก อุทยานประวัติศาสตร์ก�ำแพงเพชร อุทยานประวัติศาสตร์ก�ำแพงเพชร อยู่ในอ�ำเภอเมืองเป็นงานสถาปัตย กรรมที่มีลักษณะโดดเด่น และเป็น โบราณสถานทีม่ ปี ระวัติ อันยาวนาน
โดยด้านตะวันออกของแม่นำ�้ ปิงเป็น ทีต่ งั้ เมืองก�ำแพงเพชร โบราณสถาน สร้างด้วยศิลาแลงและมีขนาดใหญ่ ซึง่ โบราณสถานฝัง่ ตะวันตกคือเมือง นครชุม และโบราณสถานฝัง่ ตะวันตก เฉียงใต้คือเมืองไตรตรึง ซึ่งอยู่ห่าง จากตัวเมืองประมาณ 18 กิโลเมตร มีศูนย์ให้บริการข้อมูลนักท่องเที่ยว ตั้ ง อยู ่ น อกเมื อ งก� ำ แพงเพชรไป ประมาณ 5 กิโลเมตร ตามถนนสาย ก�ำแพงเพชร - พรานกระต่าย
อุทยานประวัติศาสตร์ก�ำแพงเพชร ได้แบ่งพื้นที่ออกเป็น 2 เขต คือ เขตภายในก�ำแพงเมืองและเขต นอกก�ำแพงเมือง หรือที่เรียกกันว่า เขตอรัญญิก บริเวณใจกลางเมือง ก�ำแพงเพชร มีวดั ส�ำคัญคือวัดพระแก้ว เป็นลักษณะวัดหลวงที่มีเฉพาะเขต พุทธาวาส ภายในบริเวณวัดประกอบ ด้วยเจดีย์ประธานที่ฐานมีสิงห์ล้อม เจดีย์ทรงกลมที่ฐานมีช้างรอบวิหาร มณฑป อุ โ บสถ และเจดี ย ์ ร าย ทัง้ หมดล้อมรอบด้วยก�ำแพงศิลาแลง เป็นแท่งๆ โดยรอบและมีรปู แบบการ สร้างสไตล์ศรีลงั กา เมืองนครชุม
KAMPHAENG PHET I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 125
125
17/4/2561 9:28:11
ประตูสู่ความมหัศจรรย์แห่งผืนป่า ท่องเที่ยวชุมชน แก่งเกาะใหญ่
126
SBL บันทึกประเทศไทย I KAMPHAENG PHET
.indd 126
17/4/2561 9:28:12
KAMPHAENG PHET I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 127
127
17/4/2561 9:28:13
TR AV EL GU ID E
บันทึกเส้นทางท่องเที่ยวจังหวัดก�ำแพงเพชร
อุทยานประวัติศาสตร์ก�ำแพงเพชร ยูเนสโกประกาศยกย่อง
อุทยานประวัติศาสตร์ก�ำแพงเพชร ตั้งอยู่ในเขตอ�ำเภอเมืองฯ จังหวัดก�ำแพงเพชร ทางฝั่งตะวันออกขอแม่น�้ำปิง แบ่งออกเป็น 2 เขต คือ เขตภายในก�ำแพงเมือง และเขตนอกก�ำแพงเมืองประกอบด้วยกลุ่มโบราณสถาน ขนาดใหญ่ คือโบราณสถานที่ขึ้นชื่อ ได้แก่ วัดช้างรอบ วัดพระสี่อิริยาบถ วัดพระนอน วัดพระแก้ว วัดพระธาตุ ด้วยเหตุนกี้ ำ� แพงเพชรจึงได้รบั การประกาศ จากยูเนสโกให้เป็น “มรดกโลก”
เพชรแท้ “มรดกโลก”
ก�ำแพงเพชร ก�ำแพงเพชร หรือเมืองชากังราวในอดีต เป็นอีกหนึ่งเมืองแห่งมรดกโลก ที่น่าสนใจ มีสถานที่ท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ ทางธรรมชาติ และแนววิถี ไทยที่ น่าสนใจและงดงามหลายแห่ง ถ้าได้รู้จักกับสถานที่ท่องเที่ยวก�ำแพงเพชร ในเชิงลึกจริงๆ ก็จะได้สัมผัสถึงเสน่ห์ ถ้าไม่เคยมาก็จะต้องรีบมา หรือเคยมาแล้วก็จะมาอีกมิรู้เบื่อ
128
SBL บันทึกประเทศไทย I KAMPHAENG PHET
.indd 128
20/4/2561 14:37:22
KAMPHAENG PHET I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 129
129
17/4/2561 9:28:15
ศาลหลักเมือง ก�ำแพงเพชร
สิ่งศักดิ์สิทธิ์คู่เมือง ศาลหลักเมืองก�ำแพงเพชร เป็นศาล ที่ เ ก่ า แก่ ม านานกว่ า 700 ปี ศาลหลักเมืองก�ำแพงเพชร หรือ ศาลเจ้าพ่อหลักเมืองก�ำแพงเพชร ตัง้ อยูท่ ี่ บริเวณวัดพระแก้ว ปากทาง เข้าโรงเรียนก�ำแพงเพชรพิทยาคม ถนนสายก�ำแพงเพชร-สุโขทัย ผ่าน หน้าศาล ชาวเมืองก�ำแพงเพชรและ ประชาชนทั่ ว ไปให้ ค วามนั บ ถื อ เลื่อมใสศรัทธาอย่างมากและเป็นที่ กล่าวขานถึงความศักดิ์สิทธิ์ ทั้งคน ในพื้นที่ และกล่าวขานไปทั่วทุกคน ที่รับรู้และศรัทธา
130
SBL บันทึกประเทศไทย I KAMPHAENG PHET
.indd 130
20/4/2561 14:38:04
KAMPHAENG PHET I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 131
131
17/4/2561 9:28:18
หลวงพ่อเพชร วัดบาง
พระยุคเชียงแสนองค์เดียวที่เหลืออยู่ หลวงพ่อเพชร พระพุทธรูป Unseen ของก�ำแพงเพชร เพราะเป็น พระพุทธรูปยุคเชียงแสนที่เก่าแก่เป็นพระเนื้อส�ำริดองค์ใหญ่ท่ีสุด องค์เดียวที่สมบูรณ์ที่สุดซึ่งเหลืออยู่ในประเทศไทย เป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ที่ชาวก�ำแพงเพชรให้ความเคารพนับถือ นอกจากหลวงพ่อเพชรแล้ว ภายในวัดยังมีพระซุม้ กอขนาดใหญ่ทสี่ ร้างอยูใ่ นพระวิหารเช่นกันเพือ่ ให้ นักท่องเทีย่ วและคนทัว่ ไปได้มากราบไหว้ เราคงได้ยนิ ชืน่ ของพระซุม้ กอ กั น มาบ้ า ง เพราะเป็ น พระเครื่ อ งที่ ขึ้ น ชื่ อ ของจั ง หวั ด ซึ่ ง จั ง หวั ด ก�ำแพงเพชรถือว่าเป็นจังหวัดทีม่ ชี อื่ เสียงในการสร้างและท�ำพิธปี ลูกเศก พระเครื่องเป็นอย่างมาก
132
SBL บันทึกประเทศไทย I KAMPHAENG PHET
.indd 132
17/4/2561 9:28:19
KAMPHAENG PHET I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 133
133
17/4/2561 9:28:19
อุทยานแห่งชาติคลองลาน ต้นก�ำเนิดแม่น�้ำหลายสาย
อุ ท ยานแห่ ง ชาติ ค ลองลาน ตั้ ง อยู ่ ใ นท้ อ งที่ อ� ำ เภอ คลองลาน และอ�ำเภอเมือง จังหวัดก�ำแพงเพชร ครอบคลุม พื้นที่ป่าคลองลาน อันสมบูรณ์แหล่ง สุดท้ายของจังหวัด ก�ำแพงเพชร ประกอบด้วยภูเขาสูงชันสลับซับซ้อน เป็นป่า ต้นน�ำ้ ล�ำธาร ต้นก�ำเนิดของสายน�ำ้ หลายสาย เช่น คลองขลุง คลองสวนหมาก ซึ่งไหลรวมกันลงสู่แม่น�้ำปิง เป็นต้นน�้ำ มี น�ำ้ ตกคลองลาน น�ำ้ ตกทีส่ วยงามคือจุดดึงดูดนักท่องเทีย่ วให้ มาที่อุทยานแห่งชาติแห่งนี้
134
SBL บันทึกประเทศไทย I KAMPHAENG PHET
.indd 134
17/4/2561 9:28:20
KAMPHAENG PHET I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 135
135
17/4/2561 9:28:21
136
SBL บันทึกประเทศไทย I KAMPHAENG PHET
.indd 136
17/4/2561 9:28:22
บ่อน�้ำพุร้อนพระร่วง ก�ำแพงเพชร ครบเครื่องเรื่องสุขภาพ
บ่อน�ำ้ พุรอ้ นพระร่วง(บึงสาป) ตัง้ อยูท่ หี่ มูท่ ี่ 3 ต�ำบลลานดอกไม้ อ�ำเภอเมือง ห่างจากตัว เมื อ งไปตามถนนสายก� ำ แพงเพชรพรานกระต่าย (ทางหลวงหมายเลข 101) ประมาณ 13 กม. แยกซ้ายเข้าไปอีกประมาณ 12 กม. มีลักษณะเป็นน�้ำพุร้อนเกิดขึ้นเองตาม ธรรมชาติ ผุดขี้นมาจากใต้ดิน จ�ำนวน 5 จุด มีความร้อนประมาณ 40-65 องศาเซลเซียส ซึง่ จากการตรวจสอบของกระทรวงสาธารณสุข ปรากฏว่ า ไม่ มี ส ารปนเปื ้ อ นและเชื้ อ โรค อันตรายเกินมาตรฐานแต่อย่างใด ปัจจุบนั บ่อน�ำ้ พุรอ้ นพระร่วง มีการปรับปรุง สภาพภูมิทัศน์โดยรอบให้มีความสวยงามเพื่อ เป็นแหล่งท่องเที่ยวเพื่อสุขภาพ และส�ำหรับ พักผ่อน มีการจัดสถานที่ส�ำหรับให้บริการ อาบน�้ ำ แร่ อ่ า งอาบน�้ ำ ร้ อ น อ่ า งแช่ แ ละ นวดฝ่าเท้า และนวดแผนโบราณในบริเวณ บ่อน�้ำพุร้อนแห่งนี้ด้วย
KAMPHAENG PHET I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 137
137
17/4/2561 9:28:23
ริมแม่น�้ำปิง
มีหลายสิ่งจับใจ ตัง้ อยูใ่ นตัวเมือง เป็นสถานทีพ่ กั ผ่อน หย่อนใจ ที่สามารถมาสัมผัสลมเย็นและ อากาศดีๆ ริมน�้ำ หากพักในตัวเมือง สามารถปั่นจักรยานจากที่พักมาเดินเล่น ได้ ทั้ ง ในช่ ว งเวลาเช้ า และเวลาเย็ น ทุกวันเสาร์ที่สองและที่สี่ของเดือนจะมี ถนนคนเดิ น ให้ ไ ด้ เ ลื อ กช้ อ ปสิ น ค้ า ชิมอาหารอร่อยๆ หลากหลายรสชาติ และชมสีสันแห่งแสงไฟที่สะท้อนผืนน�้ำ และบรรยากาศสวยงามยามค�่ำคืนริมฝั่ง แม่น�้ำปิงได้อีกด้วย
138
SBL บันทึกประเทศไทย I KAMPHAENG PHET
.indd 138
17/4/2561 9:28:24
KAMPHAENG PHET I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 139
139
17/4/2561 9:28:25
140
SBL บันทึกประเทศไทย I KAMPHAENG PHET
.indd 140
17/4/2561 9:28:25
ถนนคนเดินริมน�้ำปิง (Walking Street ) วันเสาร์ บรรยากาศดีในทุกมุม
ตัง้ อยูใ่ นตัวเมือง เป็นสถานทีพ่ กั ผ่อนหย่อนใจ ทีส่ ามารถมาสัมผัสลมเย็น และอากาศดีๆ ริมน�้ำ หากพักในตัวเมืองสามารถปั่นจักรยานจากที่พัก มาเดินเล่นได้ทั้งในช่วงเวลาเช้าและเวลาเย็น ทุกวันเสาร์ที่สองและที่สี่ของ เดือนจะมีถนนคนเดินให้ได้เลือกชื้อสินค้า ชิมอาหารอร่อยๆ หลากหลาย รสชาติ และชมสีสันแห่งแสงไฟที่สะท้อนผืนน�้ำและบรรยากาศสวยงาม ยามค�่ำคืนริมฝั่งแม่น�้ำปิงได้อีกด้วย ถนนคนเดินริมปิง จึงเป็นความสุขในทุกมุมที่โดดเด่นประทับใจชี้ชวน ให้ได้ไปเยือน
KAMPHAENG PHET I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 141
141
17/4/2561 9:28:26
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
ศูนย์การศึกษาพระบาลี สมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ โรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกบาลีประจ�ำจังหวัดก�ำแพงเพชร แห่งที่ 1
วัดสังฆานุภาพ
วั ด สั ง ฆานุ ภ าพ เป็ น วั ด ราษฎร์
ตั้ ง อยู ่ ณ เลขที่ 999 หมู ่ ที่ 16 บ้ า นทุ ่ ง ธารทอง ต�ำบลโกสัมพี อ�ำเภอโกสัมพีนคร จั ง หวั ด ก� ำ แพงเพชร สั ง กั ด คณะสงฆ์ มหานิ ก าย มี เ นื้ อ ที่ ป ระมาณ 99 ไร่ เริ่ ม ตั้ ง วั ด เมื่ อ ประมาณ พ.ศ.2530 เดิ ม ใช้ ชื่ อ ว่ า ที่ พั ก สงฆ์ ทุ ่ ง ธารทอง ได้ รั บ อนุ มั ติ ใ ห้ ตั้ ง วั ด เมื่ อ วั น ที่ 22 ธั น วาคม พ.ศ.2554 และได้ รั บ พระราชทานวิ สุ ง คามสี ม า เมื่ อ วั น ที่ 18เมษายน พ.ศ. 2555 โดยมี เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 28 เมตร ยาว 40 เมตร 142
4
วัดสังฆานุภาพ เป็นวัดในความอุปถัมภ์ของเจ้าพระคุณสมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ (ช่วง วร ปุญฺญมหาเถร. ป.ธ.9) เจ้าอาวาสวัดปากน�ำ้ เขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร ทั้งนี้ เมื่อปีพ.ศ. 2551 หลวงพ่อวุปสี (สมชาย ปิยสีโล) เจ้าส�ำนักสงฆ์ทงุ่ ธารทอง พร้อมด้วยเจ้าคณะพระสังฆาธิการในจังหวัด ก�ำแพงเพชร และผอ.พศจ.ก�ำแพงเพชร ในสมัยนั้น ได้เข้ากราบเรียนถวายที่พักสงฆ์ทุ่งธารทองแด่ เจ้าพระคุณสมเด็จฯ ณ ส�ำนักงานประชาสัมพันธ์วดั ปากน�ำ้ เพือ่ การสานต่อพัฒนาให้เจริญโดยยิง่ ขึน้ ไป
SBL บันทึกประเทศไทย I KAMPHAENG PHET
.indd 142
10/4/2561 15:02:29
การสร้างวัดสังฆานุภาพ และศูนย์การศึกษาพระบาลี พ.ศ.2552 เจ้าพระคุณสมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ ได้เริ่มเข้ามาอุปถัมภ์พัฒนาวัด โดยการ ปรับภูมิทัศน์ สร้างอาคารเสนาสนะต่างๆ พร้อมทั้งวางรูปแบบปกครอง บริหารจัดการจนมีพร้อม ส�ำหรับท�ำสังฆกรรม และประกอบกิจกรรมของพระภิกษุสามเณร ตลอดถึงญาติโยมสาธุชนในระดับ หนึ่งแล้ว ครั้นต่อมา พ.ศ. 2554 ได้พิจารณาเห็นว่าวัดสังฆานุภาพ เป็นสถานที่เหมาะแก่การจัดการ ศึกษาพระบาลี จึงได้เริ่มตั้งศูนย์ขึ้นมาภายใต้ชื่อว่า “ศูนย์การศึกษาพระบาลี สมเด็จพระมหารัชมัง คลาจารย์” เปิดสอนเฉพาะบาลีและนักธรรม โดยแผนกบาลี เปิดสอนตั้งแต่ชั้นบาลีไวยากรณ์ ถึง ประโยค ป.ธ.6 และ แผนกธรรมเปิดสอนตั้งแต่นักธรรมชั้นตรี ถึง นักธรรมชั้นเอก
รูปแบบของการจัดการศึกษา “ศูนย์การศึกษาพระบาลี สมเด็จพระมหารัช มังคลาจารย์” ส�ำนักศาสนศึกษาวัดสังฆานุภาพ หรือ “โรงเรียนพระปริยตั ธิ รรมแผนกบาลีประจ�ำ จังหวัดก�ำแพงเพชร แห่งที่ 1” มีลักษณะการ จั ด การศึ ก ษาแบบเรี ย นฟรี จั ด ถวายเครื่ อ ง อุปโภค บริโภค ตลอดถึงวัสดุ อุปกรณ์ต่างๆ ตามสมควร เป็นต้นว่า ภัตตาหารเช้า-เพล และ น�้ำปานะ, เครื่องนุ่งห่ม (ไตรจีวร), ต�ำราเรียน และวัสดุ อุปกรณ์การเรียนการสอน ปัจจุบันนี้ มีพระศรีศากยวงศ์ (สนั่น ยสชาโต ป.ธ.๙) เป็น เจ้าอาวาส พระอุดมปริยตั ิ (ยอดรัก วรเมธี ป.ธ.๙) อาจารย์ใหญ่ ฯ ร่วมด�ำเนินกิจกรรมการเรียนการ สอนพร้ อ มกั บ คณะครู ทั้ ง สองแผนก ส่ ง ชื่ อ นักเรียนเข้าสอบสนามหลวง ในนาม “ส�ำนัก เรียนคณะจังหวัดก�ำแพงเพชร”
อาคารแม่บัวแก้ว ที่พักส�ำหรับพระภิกษุ สามเณร
โรงเรียนพระปริยัติธรรมกาญจนา
KAMPHAENG PHET I SBL บันทึกประเทศไทย
4
.indd 143
143
10/4/2561 15:02:28
พระพุทธนิวาตสีมาแก้วปฏิมากรมหาโชค
อุโปสถาคารมหาสารศรีตรีธากาญจนารัช
ปูชนียวัตถุที่ส�ำคัญ “พระพุทธนิวาตสีมาแก้วปฏิมากรมหาโชค” พระประธานประดิษฐานภายในอุโบสถ “พระพุทธทันใจรัชกาญจนาประชาสามัคคี มหาลาภ” พระประธานประดิษฐาน ณ ศาลา ทันใจกาญจนารัช “สังเวชนียสถาน 4 ต�ำบล” จ�ำลองแบบมา จากประเทศอินเดีย สร้างด้วยหินแกรนิตแกะสลัก ทีม่ คี วามสวยงามและทนทานถึง 5,000 ปี ตาม อายุพระพุทธศาสนา ประกอบด้วย “สถานที่ ประสูติ” สูง 3.50 เมตร ยาว 2.50 เมตร สถานที่ตรัสรู้ : เจดีย์พุทธคยา สร้าง พ.ศ. ๒๕๔๗ รอบฐานมีพระอุปคุต, พระปางมารวิชยั หินหยกจากพม่า, เจ้าแม่กวนอิม หินอ่อน, เจดีย์ มี 9 ชั้น มีเจดีย์บริวาร 4 หลัง, ลิงถวายรวงผึ้ง 8 ตัว, และมีช้าง 9 เชือก รองรับฐานเจดีย์ สถานที่ ป ฐมเทศนา : พระพุ ท ธรู ป ปาง ปฐมเทศนา, ธรรมจักร สูง 4 เมตร กว้าง 3.00 เมตร หนา 0.09 เมตร, แผ่นจารึกปฐมเทศนา สถานที่ ป ริ นิ พ พาน : พระพุ ท ธรู ป ปาง ปรินิพพาน กว้าง 1.00 เมตร ยาว 3.10 เมตร เสาอโศกจ�ำลอง
เจดีย์พุทธคยา 144
4
SBL บันทึกประเทศไทย I KAMPHAENG PHET
.indd 144
10/4/2561 15:02:41
ธรรมจักร
สถานที่ปรินิพาน
สถานที่ปฐมเทศนา
เสาอโศกจ�ำลอง
วัดสังฆานุภาพ เป็นวัดราษฎร์ ตั้งอยู่ ณ เลขที่ 999 หมู่ที่ 16 บ้านทุ่งธารทอง ต�ำบลโกสัมพี อ�ำเภอโกสัมพีนคร จังหวัดก�ำแพงเพชร 62000 สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย
สถานที่ประสูติ
ศาลาทันใจกาญจนารัช
KAMPHAENG PHET I SBL บันทึกประเทศไทย
4
.indd 145
145
10/4/2561 15:02:50
.indd 146
19/4/2561 10:11:23
.indd 147
19/4/2561 10:11:40
H O TEL G U ID E บันทึกเส้นทางที่พัก
ณัฐนาฏ บูทิค รีสอร์ท บริการห้องพักรายวัน 24 ชั่วโมง เริ่มต้นที่ 400 บาท/คืน ฟรี wifi Coffee แอร์ ทีวี น�้ำอุ่น ตู้เย็น ปลอดภัย เป็นกันเอง ห้องพักสวย สะอาด สัมผับรรยากาศ ยามเช้าแสนสดชื่น ค�่ำคืนเงียบสงบลมเย็นสบายๆ
2.indd 148
19/4/2561 9:55:55
ฟรี wifi Coffee
แอร์ ทีวี น�้ำอุ่น ตู้เย็น
ส�ำรองห้องพัก 083-9544823 0912182445
2.indd 149
FACEBOOK : Nattanat Butiuqe
ณัฐนาฏ บูทิค รีสอร์ท: 108 ม.13 ถ.นครชุม-บ้านใหม่ ต.นครชุม อ.เมือง จ.ก�ำแพงเพชร 62000
(แยกไฟแดงนครชุม เข้าไปทางบ้านใหม่ 200 เมตร เยื้องกับสระว่ายน�้ำ Big A)
20/4/2561 8:30:01
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดสิงคาราม ล�ำดับเจ้าอาวาส ล�ำดับ 1 ล�ำดับ 2 ล�ำดับ 3 ล�ำดับ 4 ล�ำดับ 5 ล�ำดับ 6 ล�ำดับ 7 ล�ำดับ 8
150
พระอาจารย์หล�ำ พระสมุห์เรื่อง พระอาจารย์มัด พระอาจารย์ประจักษ์ พระอาจารย์ทัน พระสมบุญ พระครูวชิรประภากร พระมหาพร้อมเพรียง ภูญาโณ ป.ธ.7
พ.ศ.2461-2465 พ.ศ.2465-2469 พ.ศ.2470-2475 พ.ศ.2477-2479 พ.ศ.2479-2499 พ.ศ.2499-2510 พ.ศ.2517-2549 พ.ศ.2550 ถึงปัจจุบัน
SBL บันทึกประเทศไทย I KAMPHAENG PHET
.indd 150
11/04/61 06:51:02 PM
ปัจจุบันพระมหาพร้อมเพรียง ภูริญาโณ ป.ธ.7 เป็นเจ้าอาวาสวัด รูปที่ 8 แต่งตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2550 วัดสิงคารามตั้งอยู่เลขที่ 1 บ้าน สลกบาตร หมูท่ ี่ 1 ต.สลกบาตร อ.ขาณุวรลักษบุรี จ.ก�ำแพงเพชร สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีเนือ้ ที่ 36 ไร่ สร้ า งขึ้ น ในสมั ย กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา ซึ่ ง สันนิษฐานได้จากหลักฐานการก่อสร้างพระวิหาร พระพุทธปฏิมากร พื้นก�ำแพงวิหาร ลวดลาย สลักเนื้อไม้ระตูวิหาร ยังสามารถพบเห็นได้ใน ปัจจุบัน และเมื่อวันที 12 มีนาคม 2508 ได้รับ พระราชทานวิ สุ ง คามสี ม า เขตวิ สุ ง คามสี ม า กว้าง 40 เมตร ยาว 80 เมตร เมื่ อ วั น ที่ 25 มี น าคม 2521 สมเด็ จ พระบรมโอรสาธิ ร าชฯ สยามมกุ ฎ ราชกุ ม าร พร้อมด้วยพระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรชายา (พระวรชายาทินดั ดามาตุ) ทรงมีพระกรุณาธิคณ ุ แก่ประชาราษฎร์ในอ�ำเภอขาณุวรลักษบุรี ทรง เสด็ จ เป็ น องค์ ป ระธานในการประกอบพิ ธี ตัดหวายลูกนิมติ ณ วัดสิงคาราม ยังคงเป็นความ ปลาบปลื้ ม แก่ ป ระชาชนที่ ม ารอรั บ เสด็ จ เป็ น อันมาก นอกจากนี้ยังมีหน่วยงานทางราชการ และเอกชน ใช้เป็นสถานทีใ่ นการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ด้วยการจัดกิจกรรมวันส�ำคัญทาง พระพุทธศาสนาและวันส�ำคัญของชาติ ตลอดจน มีพุทธศาสนิกชน เข้าวัดปฏิบัติธรรมกันทุกวัน อาทิ ต ย์ ซึ่ ง เป็ น กิ จ กรรมอั น ดี ง ามและเป็ น ประโยชน์ต่อชาวต�ำบลสลกบาตรคมอย่างมาก
KAMPHAENG PHET I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 151
151
11/04/61 06:51:09 PM
W O R K LI F E
บันทึกเส้นทางพบเทศบาลต�ำบล
เทศบาลต�ำบลวังยาง อ�ำเภอคลองขลุง จังหวัดก�ำแพงเพชร วิสัยทัศน์ “ต�ำบลน่าอยู่ สู่สุขภาพดี มีวิถีชีวิตพอเพียง”
ข้อมูลพื้นฐานต�ำบลวังยาง
เทศบาลต�ำบลวังยาง ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 999 ม.1 ต.วังยาง อ.คลองขลุง จ.ก�ำแพงเพชร พืน้ ที่ 44.44 ตร.กม. การปกครอง 2 เขต 9 หมู่บ้าน หมู่ 1 บ้านวังยาง, หมู่ 2 บ้านวังตะล่อม, หมู่ 3 บ้าน หนองโสน, หมู่ 4 บ้านวังน�ำ้ , หมู่ 5 บ้านนิคม, หมู่ 6 บ้านแม่น�้ำกงจีน, หมู่ 7 บ้านนิคมใหม่, หมู่ 8 บ้านท่าตะคล้อ และ หมู่ 9 บ้านเกาะพร้าว จ�ำนวนครัวเรือน 2,045 ครัวเรือน จ�ำนวนประชากร รวม 5,562 คน (ณ ธันวาคม 2560)
นายแสน ผิวลออ นายกเทศมนตรีตำ� บลวังยาง การบริหารงานของคณะผู้บริหารเทศบาลต�ำบลวังยาง
ในการพัฒนาต�ำบลวังยางให้บรรลุตามวิสัยทัศน์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตามยุทธศาสตร์ การพัฒนา รวม 7 ด้าน ดังนี้ 1. การจัดวางผังเมืองและพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐาน 2. การส่งเสริมด้านการศึกษา ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่น 3. การส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียงและพัฒนาเกษตรปลอดภัย 4. การส่งเสริมสุขภาพอนามัย คุณภาพชีวิตของประชาชนและสังคมที่เข้มแข็ง 5. การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 6. การยกระดับคุณภาพแหล่งท่องเที่ยวและส่งเสริมการท่องเที่ยว 7. การพัฒนาการบริหารจัดการองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้มีประสิทธิภาพและธรรมาภิบาล
ผลงานด้านการบริหารงาน ของเทศบาลต�ำบลวังยาง รางวัลแห่งความภาคภูมิใจ
1. ได้รับรางวัลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดีเด่น ด้านการป้องกันการทุจริต ประจ�ำปี 2557 จากส�ำนักงาน ป.ป.ช. 2. ได้รับรางวัลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้นแบบ ด้านการป้องกันการทุจริต ประจ�ำปี 2558 จากส�ำนักงาน ป.ป.ช. 3. ได้รับรางวัลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ด้านความโปร่งใส และการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน ประจ�ำปี 2558 จากสถาบันพระปกเกล้า
152
SBL บันทึกประเทศไทย I KAMPHAENG PHET
.indd 152
11/04/61 06:50:32 PM
ค�ำขวัญต�ำบลวังยาง “ก�ำเนิดเมืองลับแล แพขอนยางใหญ่ สาวไททรงด�ำ เลิศล�้ำไม้ดอกไม้ประดับ” งานบ� ำ รุ ง ศิ ล ปะ จารี ต ประเพณี ภู มิ ป ั ญ ญาท้ อ งถิ่ น และวั ฒ นธรรมอั น ดี ข องต� ำ บลวั ง ยาง
งานสืบสานอนุรักษ์วัฒนธรรมชุมชนไทด�ำบ้านวังน�้ำ
การอนุรักษ์ประเพณีบุญพะเหวด
การอนุรักษ์ประเพณีสู่ขวัญข้าว
เชิญท่องเที่ยวชุมชน
ศูนย์เรียนรู้วัฒนธรรมไทด�ำบ้านวังน�้ำ
ช่องทางการติดต่อสื่อสาร เทศบาลต�ำบลวังยาง
โทรศัพท์ | 0-5586-5376-8 โทรสาร | 0-5586-5375 Website | www.wangyang.go.th Facebook | เทศบาลต�ำบลวังยาง อ.คลองขลุง จ.ก�ำแพงเพชร E-mail | wangyang.vch@gmail.com KAMPHAENG PHET I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 153
153
11/04/61 06:50:33 PM
W O R K LI F E
บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล
องค์การบริหารส่วนต�ำบล
วังไทร
การท่องเที่ยว ในเขตต�ำบลวังไทรไม่มีแหล่งท่องเที่ยว แต่ได้ส่งเสริมการท่องเที่ยว ให้เกิดขึ้นในหมู่บ้าน อย่างการจัดงานประเพณีต่างๆ
สินค้าพื้นเมืองและของที่ระลึก
“ชุมชนน่าอยู่ เฟื่องฟูวัฒนธรรม น้อมน�ำการศึกษา เกษตรธรรมเทคพัฒนา ภายใต้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” คือวิสัยทัศน์ขององค์การบริหารส่วนต�ำบลวังไทร
กลุม่ แม่บา้ นอ่างทองได้อนุรกั ษ์สบื สาน ภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่ อย่างผ้าขาวม้า ผ้าไหมมัดหมี่ หัตถกรรมหรืองานฝีมือผ้า น�ำมาประยุกต์ใช้สร้างสีสัน หลากหลายเหมาะสมในทุกๆ โอกาส สนใจเข้าชมสินค้าได้ที่กลุ่มทอผ้า บ้านอ่างทอง หมู่ที่ 11 ต�ำบลวังไทร
ศาสนา ประเพณี วัฒนธรรม ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ โดยมีสถาบันและองค์กรทาง ศาสนาจัดงาน ประเพณีและงานประจ�ำปี อย่าง ประเพณีวันสงกรานต์, ประเพณีวัฒนธรรมชาวลาวครั่ง, ประเพณีวัฒนธรรมชาวลาวอีสาน
นางสุนันทา สุขสาสุณี
นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลวังไทร คณะผู้บริหาร นางสุนันทา สุขสาสุณี นายสุวิทย์ พุ่มฉัตร นายเหล็กเพชร กันยาวงค์ นายสงัด เกษแก้ว
นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลวังไทร รองนายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลวังไทร รองนายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลวังไทร เลขานุการนายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลวังไทร
สิบต�ำรวจเอกทองปาน โตอ่อน ปลัดองค์การบริหารส่วนต�ำบลวังไทร
154
SBL บันทึกประเทศไทย I KAMPHAENG PHET
.indd 154
18/04/61 04:37:25 PM
วัดมอหินเพิง ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นมอหินเพิง หมูท่ ี่ 14 ต� ำ บลวั ง ไทร อ� ำ เภอคลองขลุ ง จังหวัดก�ำแพงเพชร บริเวณทีต่ งั้ วัด จะมีก้อนหินขนาดใหญ่เทินเรียง ซ้อนกันมีลักษณะคล้ายเพิงพักซึ่ง มีด้านหนึ่งเปิดเป็นโพรงมีลักษณะ คล้ายถ�้ำ ปัจจุบันยังคงสภาพให้ เห็ น เป็ น โขดหิ น ขนาดใหญ่ ไ ม่ มี ปากถ�้ำแล้ว เนื่องจากปากถ�้ำดัง กล่าวได้ทรุดตัวลงท�ำให้ไม่สามารถ เข้าไปภายในได้แต่จะเห็นปากถ�้ำ เป็นโพรงขนาดเล็กที่ถ้ามองผ่าน เข้าไปจะเห็นเป็นโพรงถ�ำ้ อยูเ่ ท่านัน้ พิพิธภัณฑ์เฉลิมพระเกียรติ วัดอัมพาพนาราม (อาคารหลวงปู่เพ็ง)
วัดวังไทร วัดวังไทรหรือวัดอัมพาพนาราม มีความหมายว่า อารามป่ามะม่วง ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 45 ม.1 วังไทร ต.วังไทร อ.คลองขลุง จ.ก�ำแพงเพชร สังกัด คณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัด เนื้อที่ประมาณ 12 ไร่ 2 งาน 50 ตารางวา พระครูกิตติวชิรโสภิต (สมเกียรติ จตฺตาลโย) เจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน อุปสมบทเมื่อปี พ.ศ.2539 ได้รับ
มณฑปหลวงปู่เพ็ง
พระพุทธรูปในมณฑปหลวงปู่เพ็ง
พระราชทานสมณศักดิ์เป็นพระครู สัญญาบัตรที่พระครูกิตติชิรโสภิต พ.ศ.2550 ได้ รั บ แต่ ง ตั้ ง เป็ น เจ้าคณะต�ำบลวังไทร ในปี พ.ศ. 2555 และได้รับตราตั้งเป็นพระ อุปัชฌาย์ในปีพ.ศ.2556 ส�ำเร็จ การศึ ษ าหลั ก สู ต รพุ ท ธศาสตร์ บัณฑิต(พธ.บ.) สาขาวิชาการจัดการ เชิง พุทธ มหาวิทยาลัยมหาจุฬา ลงกรณราชวิทยาลับ พ.ศ.2557
วัดมุจลินท์ ตัง้ อยูบ่ า้ นกระโดนเตีย้ เลขที่ 100 หมูท่ ี่ 6 ต�ำบลวังไทร อ�ำเภอคลองขลุง จังหวัดก�ำแพงเพชร เป็นวัดเก่าแก่ได้เริม่ บูรณปฏิสงั ขรณ์ขนึ้ เมือ่ ปี พ.ศ.2459 เนื่ อ งจากบริ เ วณที่ ตั้ ง วั ด ได้ มี ต ้ น กระโดนเตี้ ย ชาวบ้ า นจึ ง ตั้ ง ชื่ อ ว่ า “วัดกระโดนเตี้ย” ต่อมาในสมัยหลวงพ่อพระครูวิลาศวชิรโสภณ เป็น เจ้าอาวาส ได้เปลี่ยนชื่อเป็น “วัดมุจลินท์” ตามต�ำนานชื่อของไม้จิก ในครั้งพุทธกาลเมื่อครั้งที่พระพุทธเจ้าตรัสรู้ได้ประทับใต้ต้นจิก ได้มี พญานาคนามว่า “มุจลินท์” มีเศียร 7 เศียร มาวงขนดหางเป็น 7 รอบ แผ่ พั ง พานปรกพระพุ ท ธองค์ เ พื่ อ มิ ใ ห้ ฝ นและลมถู ก พระพุ ท ธองค์ หลวงพ่อแดงจึงตั้งชื่อตามพุทธประวัตินั้น ปัจจุบันมีพระครูวาปีวชิโรภาส (วิแมน อาภาธโร) เป็นเจ้าอาวาสวัดมุจลินท์
พระในพิพิธภัณฑ์
มณฑปจัตุรมุขไม้สักทรงไทย (มณฑปหลวงพ่อแดง)
เจ้าอาวาสวัดวังไทร(วัดอัมพาพนาราม)
พระครูวาปีวชิโรภาส (วิแมน อาภาธโร)
เจ้าคณะต�ำบลวังไทร
เจ้าอาวาสวัดมุจลินท์
KAMPHAENG PHET I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 155
155
18/04/61 04:37:35 PM
โทร. 055-029714 E-Mail : info@thaputsa.go.th
WORK LIFE
บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล
องค์การบริหารส่วนต�ำบล ท่าพุทรา “วิถีเศรษฐกิจพอเพียง สร้างการมีส่วนร่วม พัฒนาท้องถิ่น น�ำพาสู่อาเซียน” คือค�ำขวัญขององค์การบริหารส่วนต�ำบลท่าพุทรา
พระครูวิบูลวชิรธรรม
(หลวงพ่อสว่าง อุตตโร)
ชวนเที่ยว เชิงเกษตร แปลงใหญ่กล้วยไข่ ม.7 บ้านท้องคุ้ง วิสาหกิจชุมชน กลุ่มเกษตรกล้วยไข่แปลงใหญ่ ตั้งอยู่ที่ ม.7 บ.ท้องคุ้ง ต.ท่าพุทรา อ. คลองขลุง จ.กําแพงเพชร ชาวบ้านในชุมชนส่วนใหญ่ ประกอบอาชีพทางการเกษตร เช่น ทําสวนกล้วยไข่ ทําไร่อ้อย ค้าขาย ฯลฯ เพื่อเป็นการส่งเสริมการเกษตร ในชุมชุนให้กลับมาปลูกกล้วยไข่ สนง.เกษตรจ.กําแพงเพชร ดําเนินการให้เกษตรกรรมรวมกลุ่มในด้าน ของ เกษตรกรปลูกกล้วยไข่ซึ่งต.ท่าพุทรา ดําเนินการรวมสมาชิกใน ลักษณะ ของแปลงใหญ่กล้วยไข่ พร้อมเป็นศูนย์การเรียนรู้เรื่องกล้วยไข่ มีสมาชิก 70 ราย พื้นที่ 221 ไร่ กลุ่มจดทะเบียนเมื่อปี พ.ศ.2561 นางสาวดวงฤทัย เงินยวง ประธานกลุ่ม
156
.
วั ด คฤหบดี ส งฆ์ ตั้ ง อยู ่ ที่ บ ้ า นท่ า พุ ท รา หมู ่ ท่ี 3 ต.ท่ า พุ ท รา อ.คลองขลุง จ.กําแพงเพชร เป็นวัดเก่าแก่วัดหนึ่งในเขต อ.คลองขลุง จ.กําแพงเพชร มีอายุ มากกว่า 100 ปี หลวงพ่ อ สว่ า ง (พระวิ บู ล วชิ ร ธรรม) อุ ป สมบทที่ วั ด ขุ น ญาณ ต.คลองเมือง อ.กรุงเก่า จ.พระนครศรีอยุธยา โดยพระอุปัชฌาย์ คือ พระญาณไตรโลกย์ (สะอาด) เป็นเกจิอาจารย์ในอยุธยา มงคลวัตถุของ หลวงพ่ อ สว่ า ง ด้ า นคงกระพั น ชาตรี แคล้ ว คลาดมหาอุ ด มี ค วาม คงกระพันชาตรีเป็นเยี่ยมฟันแทงไม่เข้า ด้านโชคลาภ มหาเสน่ห์ เมตตา มหานิยม เช่น เหรียญขวัญถุง นางกวักมหาลาภ ค้าขายร�่ำรวยที่ทําขึ้น จากผงยั น ต์ ม หาราช ตรี นิ สิ ง เห ว่ า นมหาลาภ ว่ า นมหาเสน่ ห ์ ว่านสาวหลง ทําจากงาแกะในลักษณะนางกวักคล้ายกับนางกวักของ หลวงพ่อเดิม วัดหนองโพธิ์ ประสบอุบัติเหตุรถคว�่ำ ทุกรายรถจะพัง ยับเยิน แต่ผู้มีวัตถุมงคลของหลวงพ่อสว่างไม่เป็นไร ผู้มีวัตถุมงคลของ หลวงพ่อสว่าง ถูกยิงด้วยกระสุนปืน เหรียญวัตถุมงคลของหลวงพ่อสว่าง แสดงปฎิหารย์ เข้ารับกระสุนปืนแทน ทําให้ผถู้ กู ยิงปลอดภัย อย่างเหลือเชือ่ ถูกคนร้ายขโมยรถวิ่งผ่านหน้าท่าพุทรา รถยนต์วิ่งกลับ และเครื่องดับ คนร้ายขโมยเรารถไปไม่ได้
SBL บันทึกประเทศไทย I KAMPHAENG PHET
.indd 156
11/4/2561 10:37:19
ชวนเที่ยว เชิงเกษตร นาแปลงใหญ่ ม.4 บ้านคลองเจริญ วิสาหกิจชุมชน กลุ่มเกษตรนาแปลงใหญ่ ต.ท่าพุทรา ตั้งอยู่ที่ ม.4 บ.คลองเจริญ ต.ท่าพุทรา อ.คลองขลุง จ.ก�ำแพงเพชรชาวบ้านในชุมชน ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ได้แก่ ท�ำนา โดยแบ่งเป็น 2 ช่วง คือ นาปี และนาปัง ในฤดูการท�ำนาปี จะปลูกข้าวหอมมะลิ 105 พอได้ ผลผลิตสามารถน�ำไปจ�ำหน่ายและเก็บไว้บริโภค เพราะมีโรงสีข้าวของ ชุ ม ชนเพื่ อ สี ข ้ า วไว้ รั บ ประทานเองและน� ำ มาจ� ำ หน่ า ย เป็ น การสร้ า ง รายได้ในครัวชุมชน เพราะเป็นข้าวปลอดสารพิษ
แนะน�ำสินค้าและผลิตภัณฑ์ โอทอป ของ อบต.ทุ่ทรา - ผลิตภัณฑ์ แปรรูปจากกล้วยไข่ และกล้วยน�้ำหว้า - เมี่ยง - ไข่เค็ม - น�้ำพริกปลาร้าทรงเครื่อง - ข้าวกล้องหอมมะลิ - เห็ดแปรรูป - ไม้กวาด - ปุ๋ยอินทรีย์ - ผลิตภัณฑ์รากไม้ - ดอกบัว
กิจกรรมของ อบต.ท่าพุทรา
โทร 0-5502-9714 www.thaputsa.go.th facebook : ประชาสัมพันธ์อบต.ท่าพุทรา KAMPHAENG PHET I SBL บันทึกประเทศไทย
.
.indd 157
157
11/4/2561 10:37:29
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดรวงผึ้งพัฒนา ประวัติวัดรวงผึ้งพัฒนา บ้านรวงผึ้งพัฒนา มีประชากรในหมู่บ้าน นับถือพระพุทธศาสนา จึงพร้อมใจกันหาสถานที่ สร้างวัดเพือ่ เป็นสถานทีบ่ ำ� เพ็ญบุญกุศล มีผบู้ ริจาค ที่ดิน คือ นายสนั้น สายปัญญา ได้สละที่ดิน แปลงหนึง่ ซึง่ เนือ้ ที่ 8 ไร่ 3 งาน 12 ตาราง รวมทัง้ คณะสงฆ์ และชาวบ้านผูม้ จี ติ ศรัทธาร่วมกันเริม่ ด�ำเนินการสร้างวัดขึน้ เมือ่ พ.ศ.2523 ทางวัดได้ สร้างเสนาสนะขึน้ อย่าง กุฏสิ งฆ์รวม กุฏกิ รรมฐาน ศาลาการเปรียญ โรงครัว หอฉัน หอระฆัง หลวงพ่อ ทันใจ พระสงฆ์ได้นำ� หลักธรรมไปสอนให้สอดคล้อง 158
กับวิถชี วี ติ ของประชาชนในหมูบ่ า้ น ต่างพร้อมใจ กันสนับสนุนบ�ำรุงกิจการพระพุทธศาสนา ทั้ง ด้านการก่อสร้าง การศึกษา และปฏิบัติธรรม ทางส� ำ นั ก งานพระพุ ท ธศาสนาแห่ ง ชาติ ได้ประกาศตัง้ วัดให้กบั วัดรวงผึง้ พัฒนา เมือ่ วันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ.2553 ตั้งอยู่ หมู่ที่ 17 ต�ำบลคลองน�้ำไหล อ�ำเภอคลองลาน จังหวัด ก�ำแพงเพชร อยูเ่ ชิงเขาแหลม ติดกับทุง่ นามีถนน ตัดรอบก�ำแพงวัด 3 ด้าน ทั้ง ทิศเหนือ ทิศใต้ ทิศตะวันตก และปัจจุบันมี พระครูวาปีวชิรกิจ เป็นเจ้าอาวาสวัดรวงผึ้งพัฒนา
SBL บันทึกประเทศไทย I KAMPHAENG PHET
.indd 158
20/04/61 02:39:34 PM
สถานที่กล่อมเกลาจิตใจ วัดรวงผึง้ พัฒนา ยังเป็นสถานศึกษาพระธรรม วิ นั ย ของพระภิ ก ษุ ส ามเณร เด็ ก เยาวชนและ ประชาชนและเป็ น สถานที่ บ� ำ เพ็ ญ กุ ศ ลสร้ า ง ศีลธรรมจริยธรรม จัดกิจกรรมในวันส�ำคัญทาง พระพุทธศาสนาเพือ่ สะสมคุณงามความดี สร้าง ประโยชน์ตอ่ ตัวเองและผูอ้ นื่ และยังเป็นสถานที่ กล่อมเกลาทั้งด้านจิตใจ จากปัญหาต่างๆ ด้วย หลักค�ำสอนทางพระพุทธศาสนาซึง่ เป็นแนวทาง ที่ ดี ที่ สุ ด ร่ ว มถึ ง บรรยากาศภายในวั ด ร่ ม รื่ น ด้วยธรรมชาติที่ลายรอมท�ำให้จิตใจสงบร่มเย็น ประชาชนจึงเห็นความส�ำคัญ รู้รักษ์เสียสละ ทัง้ ก�ำลังกาย ก�ำลังใจ และก�ำลังทรัพย์ สนับสนุน การก่อสร้างวัด พระสงฆ์ทำ� หน้าทีส่ ำ� คัญในการเผยแผ่ศาสนา และเป็ น ผู ้ น� ำ จิ ต วิ ญ ญาณ โดยน� ำ หลั ก ธรรม ค�ำสอนพระพุทธศาสนาซึง่ เป็นความจริงอันประเสริฐ ชีน้ ำ� ทางประชาชนให้รจู้ กั ดี ชัว่ บาป บุญ คุณ โทษ ได้เรียนรู้ตามความสามารถของตน และน�ำไป ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ�ำวัน ประชาชนร่วมช่วยกันอนุรักษ์ประเพณีและ วัฒนธรรมท้องถิน่ อย่างเช่นประเพณีสงกรานต์ ประเพณีต่านก๋วยสลาก(สลากภัตต์) ประเพณี ลอยประทีปโคมไฟในวันลอยกระทง เพื่อเป็น พุทธบูชา ประเพณีวนั ส�ำคัญทางพระพุทธศาสนา วั น มาฆบู ช า วั น วิ ส าขบู ช า วั น อั ฐ มี บู ช า วันอาสาฬหบูชา เทศกาลเข้าพรรษา ออกพรรษา
KAMPHAENG PHET I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 159
159
20/04/61 02:39:43 PM
ติดปีกให้เกษตรไทยยุค
Thailand 4.0
เมื่ อ เป็น ดัง นี้ ก็ต้อ งมามองที่เ กษตรของไทย ซึ่งกระจายกันอยู่ในต่างจังกวัด รวมทั้ง ด้วย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.มณพิไลย นรสิงห์ ได้เขียนบทความชื่อ ติดปีกให้ เกษตรกรไทยยุค 4.0 ไว้ในเว็บไซด์ มีความน่าสนใจ และเข้าใจง่ายดี จึงขอน�ำบาง ตอนมาน�ำเสนอไว้ด้วยดังต่อไปนี้ แต่ระบบดังกล่าวก็ยังเป็นการใช้งานในระดับเจ้าหน้าที่ หรือเกษตรกรที่มีคอมพิวเตอร์ และสามารถเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตได้เท่านั้น ล่าสุด เนคเทค-สวทช. ได้ด�ำเนินการพัฒนาระบบ ดังกล่าวในมาอยู่ในรูปแบบ Mobile Application เกษตรกรหรือผู้สนใจทั่วไป สามารถ ดาวน์โหลดไปใช้งานในมือถือหรือ Smart Phone ได้แล้ว โดยในเบื้องต้นจะเริ่มให้บริการใน ระบบ Android และจะขยายไปยังระบบ IOSในอนาคต ซึ่งผู้ใช้แอปฯดังกล่าวจะสามารถน�ำ ไปใช้ ป ระโยชน์ ไ ด้ ห ลากหลาย อาทิ การเปิ ด ใช้ ง านในพื้ น ที่ ที่ ต นเองต้ อ งการจะทราบ คุณลักษณะของดิน การเพาะปลูกพืชที่เหมาะสมและได้ผลตอบแทนสูงสุด โดยการอาศัย ข้อมูลทางด้านราคา แหล่งเพาะปลูก โรงงานหรือแหล่งรับซื้อ ราคาตลาด ฯลฯ เป็นข้อมูลที่ จะช่วยให้เกษตรกรไทย ได้ก้าวสู่ยุค Thailand 4.0 ได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
“ก�ำแพงเพชร”
160
SBL บันทึกประเทศไทย I KAMPHAENG PHET
Thailand 4.indd 160
11/4/2561 18:31:02
ขอขอบคุณข้อมูลจาก เผยแพร่: 31 พฤษภาคม 2560 โดย: ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มณพิไลย นรสิงห์ https://www.nectec.or.th/news/ news-pr-news/agrimap-smartfarmer.html
KAMPHAENG PHET I SBL บันทึกประเทศไทย
Thailand 4.indd 161
161
11/4/2561 18:31:17
W O R K LI F E
บันทึกเส้นทางพบเทศบาลต�ำบล
เทศบาลต�ำบลทุ่งทราย
W O RK LI FE
“ประชาชนสุขภาพดี วิถีเศรษฐกิจพอเพียง”
คือวิสัยทัศน์ของเทศบาลต�ำบลทุ่งทราย มีจุดมุ่งหมายให้ประชาชนน้อมน�ำวิถีของหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้ ในการด�ำเนินชีวิตโดยมีเป้าหมายคือให้ทุกคนมีสุขภาพดีแข็งแรง
นายวิโรจน์ แสงหิรัญรัตนา ปลัดเทศบาลต�ำบลทุ่งทราย
ปฏิบัติหน้าที่ นายกเทศมนตรีต�ำบลทุ่งทราย
ส�ำนักงานเทศบาลต�ำบลทุง่ ทราย ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 234 ม.1 ต�ำบลทุง่ ทราย
อ�ำเภอทรายทองวัฒนา จังหวัดก�ำแพงเพชร 62190 ห่างจากตัวจังหวัด ก�ำแพงเพชร ประมาณ 60 กิโลเมตร โทรศัพท์/โทรสาร 055-862190 www.thungsaikpp.go.th e-mail:thungsai_234@hotmail.com
กลุ่มอาชีพทอผ้าบ้านหนองนกชุม ตั้งอยู่หมู่ที่ 2 บ้านหนองนกชุม ตั้ง ขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2541 โดยได้ทอผ้าแบบกี่โบราณ จากเส้นด้ายไหมประดิษฐ์ ที่มีความคงทนของสีมีความละเอียดของเส้นด้าย ได้แก่ ผ้าโสร่ง ผ้า ขาวม้า ผ้าซิ่นตีนแดง ผ้าพื้น ผ้าลายมัดหมี่ และได้ถ่ายทอดภูมิปัญญา การทอผ้าให้กับชุมชนและนักเรียน “ผ้าไหมประดิษฐ์ทอมือบ้านหนองนก ชุม” ได้รับการคัดสรรให้เป็น ผ้าทอที่ได้รับรางวัล 5 ดาว สินค้าโอท็อป ระดับประเทศ 162
SBL บันทึกประเทศไทย I KAMPHAENG PHET
2
.indd 162
11/04/61 06:48:23 PM
วัดแก้วศรีวิไล ตั้งอยู่หมู่ที่ 10 บ้านทุ่งทรายกลาง สร้างขึ้นเมื่อปี
พ.ศ.2482 ปัจจุบันมีพระครูโสภณวัชรกิตติ์ เป็นเจ้าอาวาส และเป็น เจ้าคณะต�ำบลทุ่งทราย ท่านได้พัฒนาและปรับปรุงจนเป็นวัดที่มีภูมิทัศน์ สวยงาม สงบ ร่ ม เย็ น วั ด แก้ ว ศรี วิ ไ ลได้ ส ร้ า งวั ต ถุ ม งคลคื อ เหรี ย ญ 9 เกจิ อ าจารย์ เมื่ อ ปี พ.ศ.2513 เป็ น ที่ นิ ย มและศรั ท ธาของชาว จังหวัดก�ำแพงเพชรเป็นอย่างมาก
วัดวังน�้ำแดง ตั้งอยู่หมู่ที่ 17 บ้านวังน�้ำแดง สร้างขึ้นเมื่อปี
พ.ศ.2502 โดยมีหลวงพ่อแสวง ฉนทโก(พระครูวชิรคุณาทร) รวบรวม แรงศรัทธาของชาวบ้านด�ำเนินการสร้างวัดมาเป็นล�ำดับ หลวงพ่อแสวง ท่านเป็นพระที่ชาวบ้านวังน�้ำแดงให้ความเคารพศรัทธาเป็นอย่างมาก ท่านเป็น ผู้มีความรู้ความสามารถในงานช่างหลายสาขา และได้ศึกษา ร�่ำเรียนวิชาต่างๆ จากครูบาอาจารย์ในสมัยนั้น ท่านได้สร้างวัตถุมงคล ไว้หลายอย่างทีส่ ำ� คัญคือพระสมเด็จด�ำ พระสมเด็จแดง สิงห์ใหญ่ สิงห์เล็ก วั ต ถุ ม งคลที่ ท ่ า นสร้ า งไว้ มี ป ระสบการณ์ ม ากมายเป็ น ที่ ป ระจั ก ษ์ ข อง ชาวบ้านวังน�้ำแดงและชาวบ้านทั่วไป ปัจจุบันวัดวังน�้ำแดงมีพระครูถาวร วชิรคุณเป็นเจ้าอาวาส
วัดหนองนกชุม ตั้งอยู่หมู่ที่ 12 บ้านศรีสกุณา สร้างขึ้นเมื่อปี
พ.ศ.2503 ปัจจุบันมีพระอธิการชาญชัย สุรเตโช เป็นเจ้าอาวาส ซึ่งท่าน ได้พัฒนาวัดให้มีความสวยงาม สงบ ร่มรื่น โดยขอรับบริจาคไม้ชนิดต่างๆ จากชาวบ้านมาประดับตกแต่งและก่อสร้างถาวรวัตถุต่างๆ ภายในวัด จนสวยงามสะดุดตาเป็นที่ชื่นชมของผู้ที่มาพบเห็น เช่น พระพุทธรูป ปางไสยาสน์ ปางมารวิชัย ซุ้มประตู อุโบสถ เป็นต้น
KAMPHAENG PHET I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 163
163
11/04/61 06:48:38 PM
W O R K LI F E
บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล
องค์การบริหารส่วนต�ำบล
หนองไม้กอง
“ผู้น�ำบริการสาธารณะ สืบสานวัฒนธรรม น้อมน�ำเศรษฐกิจพอเพียง พัฒนาการเกษตรปลอดภัย ก้าวไกลสู่อาเซียน”
คณะผู้บริหาร นายธงชัย เพ็งภู่ นายสมศักดิ์ สมคิด นายกเหว่า รอดเขียว นายสมร รักษาธูป
นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองไม้กอง รองนายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองไม้กอง รองนายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองไม้กอง เลขานุการนายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองไม้กอง
คือวิสัยทัศน์ขององค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองไม้กอง
นายธงชัย เพ็งภู่
นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองไม้กอง ประวัติต�ำบลหนองไม้กอง ต�ำบลหนองไม้กอง แรกเริม่ ขึน้ กับต�ำบลไทรงาม ซึง่ ก่อนนัน้ ต�ำบล ไทรงามขัน้ กับอ�ำเภอเมือง ต่อมาได้ แยกเป็น กิ่งอ�ำเภอไทรงาม หนอง ไม้กองจึงแยกเป็นต�ำบล มีทั้งหมด 10 หมูบ่ า้ น เพราะบางส่วนได้แยก เป็นต�ำบลหนองแม่แตง เหตุที่ชื่อ ต�ำบลไม้กองเพระมีหนองน�้ำแห่ง หนึ่งชื่อ “หนองไม้กอง” หนองน�้ำนี้ มีตน้ ไม้กองขึน้ อยูห่ นาแน่น ราษฎร จึงตั้งชื่อว่า “หนองไม้กอง”
164
SBL บันทึกประเทศไทย I KAMPHAENG PHET
.indd 164
11/04/61 06:47:29 PM
กิจกรรม และโครงการ
ขององค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองไม้กอง
กิจกรรมบ�ำเพ็ญประโยชน์อ�ำเภอไทรงามโดยพระครูเกษม วชิรโสภณ นายอ�ำเภอไทรงาม นายก อบต.หนองไม้กอง ปลัด ก�ำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ร่วมกันปล่อยปลา ปลูกต้นไม้ ณ สระประมง บ้านแม่ยอื้ ต�ำบลหนองไม้กอง
กีฬาชาวไทยภูเขาแห่งประเทศไทยครั้งที่ 30 กลุ่มไทยทรงด�ำ
โครงการรณรงค์ควบคุมป้องกันโรคหนอนพยาธิ กิจกรรมประกวด
ต�ำบลหนองไม้กอง ได้รบั เกียรติเชิญเข้าร่วมแสดงในพิธเี ปิดกีฬาชาวไทย ภูเขาแห่งประเทศไทยครั้งที่ 30
อาหารปรุงสุก ต�ำบลหนองไม้กอง ตามแนวทางโครงการพระราชด�ำริ ด้านสาธารณสุข
โครงการรณรงค์ตอ่ ต้านยาเสพติด&To Be Number 1 กิจกรรม ออกก�ำลังกาย ตามแนวทางโครงการพระราชด�ำริ ด้านสาธารณสุข
มอบของขวัญวันเด็ก ปี 2561 อบต.หนองไม้กอง บริจาคเงินเพื่อ จัดซื้อของขวัญมอบให้กับนักเรียนในพื้นที่ต�ำบลหนองไม้กอง ร่วมกับ ของขวัญ ปตท. และ ทีโอที
ปรั บ ปรุ ง ซ่ อ มแซมบ้ า นให้ กั บ ผู ้ สู ง อายุ ได้ รั บ สนั บ สนุ น เงิ น งบประมาณจาก ผูว้ า่ ราชการจังหวัด พั ฒ นาสั ง คมและความมั่ น คง ของมนุษย์จงั หวัดก�ำแพงเพชร และ อบต.หนองไม้กอง
ติดต่อ องค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองไม้กอง มอบเงินช่วยเหลือให้กับผู้สูงอายุ ได้รับเงินช่วยเหลือจากส�ำนักงาน พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ จังหวัดก�ำแพงเพชร โดย นายก อบต.เป็นตัวแทนมอบเงิน และเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุ
เลขที่ 428 หมู่ 1 ถนนไทรงาม-มาบมะตื่น ต�ำบลหนองไม้กอง อ�ำเภอไทรงาม จังหวัดก�ำแพงเพชร 62150 โทรศัพท์ | 0-5585-9088 Website | www.nongmaikong.go.th E-mail | Nongmaikongsao@hotmail.com KAMPHAENG PHET I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 165
165
11/04/61 06:47:33 PM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดแสงสุริยาราม
พระครูสุตวชิรสาทร(พระมหาสุธีรพล สุชาโต ส.อุ่นสมัย) เจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน
ที่ ตั้ ง วั ด อยู ่ ใ ต้ ริ ม คลองวั ง ชะโอนเลขที่ 16 หมู่ที่ 10 บ้านวังชะโอนใหญ่ ต�ำบลวังชะโอน อ� ำ เภอบึ ง สามั ค คี จั ง หวั ด ก� ำ แพงเพชร สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย โฉนดที่ดินเลขที่ 597 เล่มที่ 6 หน้า 97 เนื้อที่ 21 ไร่ 1 งาน 27 ตารางวา
ล�ำดับเจ้าอาวาส / หัวหน้าที่พักสงฆ์ 1.อาจารย์สอน ศรีลาดเลา 2.อาจารย์พรหม 3.พระอาจารย์บุญช่วย สวัสดิ์นะที หัวหน้าที่พักสงฆ์ 4.พระอธิการสีลา โกวิโท(มาตรไชยสิงห์) เจ้าอาวาส เจ้าอาวาสรูปที่ 1 (ลาออก) 5.พระครูสวาสดิ์ ฐิตธมฺโม(สุพรหม) เจ้าอาวาสรูปที่ 2 6.เจ้าอธิการบุญทัน ปสนฺนจิตฺโต(เสริมแสง) (พระครูวิเชียรธรรมรังษี) เจ้าอาวาสรูปที่ 3* 7.พระครูวชิรธรรมธาดา(สวาสดิ์ ฐิตธมฺโม) เจ้าอาวาสครั้งที่ 2 8.พระครูสุตวชิรสาทร(พระมหาสุธีรพล สุชาโต ส.อุ่นสมัย)
พ.ศ.2497-2500 พ.ศ.2500-2503 พ.ศ.2503-2506 พ.ศ.2507-2514 พ.ศ.2515-2531 พ.ศ.2532-2540 พ.ศ.2541-2556 พ.ศ.2556-ปัจจุบัน
*เจ้าอาวาสรูปที่ 3 (ย้ายไปเป็นเจ้าอาวาสวัดชัยเคือง) (พระมหาสุธีรพล สุชาโต (อุ่นสมัย) ส�ำรวจเมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม 2552)
166
SBL บันทึกประเทศไทย I KAMPHAENG PHET
.indd 166
11/04/61 06:46:46 PM
ประวัติความเป็นมา
นายค�ำปั่น แสงสุริยะ อายุ 75 ปี อยู่บ้าน เลขที่ 47 ม. 10 ให้ข้อมูลว่า เมื่อ พ.ศ.2496 ได้ มีประชาชนทีย่ า้ ยถิน่ ฐานมาจากทางอิสานได้มา ปักหลักท�ำมาหากินที่บ้านวังชะโอน หมู่ที่ 9 ต�ำบลระหาร อ�ำเภอขาณุวรลักษบุรี จังหวัด ก�ำแพงเพชร และชาวบ้านได้สร้างที่พักสงฆ์ขึ้น เป็นเพียงสร้างกระต๊อบให้พระอยู่ในที่แห่งหนึ่ง และเนื่องจากสถานที่เดิมนั้นเป็นที่ไม่เหมาะสม ชาวบ้านจึงตกลงพร้อมใจกันย้ายจากทีเ่ ดิมมาอยู่ ข้างริมคลองโดยพ่อใหญ่สอน แสงสุริยะ ซึ่งเป็น ผู้น�ำริเริ่มในการก่อสร้างและได้บริจาคที่ดินให้ สร้างที่พักสงฆ์เนื้อที่ประมาณ 15 ไร่ เศษ และ ต่อมามีพ่อใหญ่เต้ แม่ใหญ่ส่วน สวัสดิ์นะที ได้ มอบที่ดินให้อีกประมาณ 6 ไร่ รวมเนื้อที่ 21 ไร่ 1 งาน 27 ตารางวา เพือ่ สร้างเป็นทีพ่ กั สงฆ์ เริม่ สร้ า งที่ พั ก สงฆ์ ขึ้ น เมื่ อ ปี พ.ศ.2497 โดยมี พระอาจารย์สอน เป็น ผู้ดูแลที่พักสงฆ์บ้านวัง ชะโอนและได้ ล าสิ ก ขาจนมาถึ ง พ.ศ.2500 พระอาจารย์พรหมได้มาเป็น ผู้ดุแลที่พักสงฆ์ จนถึง พ.ศ.2503 ก็ได้พระอาจารย์บุญช่วยเป็น ผู้ดูแลที่พักสงฆ์และ (ในปี พ.ศ.2503 นั่นเอง ได้ก่อสร้างโรงเรียนบ้านวังชะโอนขึ้นเมื่อ วันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ.2503 โดยมี นายสอน แสงสุรยิ ะ เป็น ผู้ชักชวนชาวบ้านช่วยกันสร้างอาคารเรียน ชัว่ คราว แบบ 3 ห้องเรียน ขึน้ มา 1 หลังในพืน้ ที่ ส�ำนักสงฆ์บา้ นวังชะโอนสมัยนัน้ โดยมีนายเจริญ ธรรมประเสริฐ เป็น ผู้รักษาการแทนครูใหญ่ เปิดสอนตัง่ แต่ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 1 - 3 ปี จนถึง พุทธศักราช 2513 ชาวบ้านและคณะครูได้รว่ มกัน
บริจาคเงินซื้อที่ดินจ�ำนวน 21 ไร่และได้ย้าย โรงเรียนออกจากวัด และสร้างอาคารเรียนทีเ่ ป็น ที่ตั้งปัจจุบัน) เมื่อปี พ.ศ.2538 พระครูวชิรธรรมธาดา รองเจ้าคณะอ�ำเภอขาณุวรลักษบุรี และ พระครู วิเชียรธรรมรังษีเป็นเจ้าอาวาส ได้ปฏิสงั ขรณ์เมรุ ขึ้นมาใหม่ เพื่อให้มีคุณภาพและการใช้งานที่ดี ขึน้ กว่าเดิม มีผใู้ หญ่จนั ทร์ลา อายุพฒ ั น์ ผูช้ ว่ ยบุญ สิงห์โค ผู้ช่วยถาวร ทุพรหม อบต. สมพาสีค�ำ อบต. สุเทพ พิงชัยภูมิ นายทองสา มาตรไชยสิงห์ ไวยาวัจกร ทายกสี อุน่ สมัย ทายกค�ำพา ศรีจนั ทร์ลา ทายกถนอม การเพียร เป็นคณะกรรมการ สิน้ เงิน ไป 550,000 บาท และเสร็จสิน้ ในปี พ.ศ. 2540 เมื่อปี พ.ศ.2541 พระครูวชิรธรรมธาดา รองเจ้าคณะอ�ำเภอขาณุวรลัษบุรแี ละเจ้าอาวาส
วัด แสงสุริยาราม พร้อมด้วยผู้ใหญ่จันทร์ลา อายุ พั ฒน์ เป็ น ประธาน ผู ้ ช ่ ว ยบุ ญ สิ ง ห์ โ ต ผู ้ ช ่ ว ยถาวร ทุ พ รหม อบต.สุ เ ทพพิ ง ชั ย ภู มิ อบต.สมพาสี ค� ำ อดี ต ก� ำ นั น เอก จั น ทร์ ศิ ริ เลขานุการ นายทองสา มาตรไชยสิงห์ ไวยาวัจกร ทายกสี อุ่นสมัย ทายกถนอม การเพียร ทายก ค�ำพา ศรีจนั ทร์ ทายกทองกลม กรองแก้ว ทายก ทองสา ทุพรหม เป็นคณะกรรมการด�ำเนินการ ปูพื้นหินอ่อนแกรนิต ศาลาการเปรียญขึ้นใหม่ สิ้นเงินไป 240,000 บาท วัดแสงสุรยิ าราม เป็นสถานทีส่ ปั ปายะร่มรืน่ เหมาะส� ำ หรั บ การปฏิ บั ติ ธ รรมวิ ป ั ส สนา กั ม มั ฏ ฐาน ได้ จั ด ปฏิ บั ติ ธ รรมปริ ว าสกรรม ใน เดือน 4 ขึ้น 3 - 12 ค�่ำ ของทุกปี โทร. 05-577-4530,092-651-9978
KAMPHAENG PHET I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 167
167
11/04/61 06:46:48 PM
W O R K LI F E
บันทึกเส้นทางพบเทศบาลต�ำบล
เทศบาลต�ำบลบ้านพราน “พรานกระต่ายน่าอยู่ ควบคู่เกษตรธรรมเธค เป็นเอกด้านหัตถกรรมหินอ่อน” คือวิสัยทัศน์ของเทศบาลต�ำบลบ้านพราน
เทศบาลต�ำบลบ้านพรานได้รบั การจัดตั้งและเปลี่ยนแปลงฐานะ จากองค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บล พรานกระต่าย เมื่อปี พ.ศ. 2551 โดยเปลี่ยนชื่อ จากพรานกระต่าย เป็นบ้านพราน เนื่องจากในพื้นที่ ต�ำบลพรานกระต่ายนัน้ มีเทศบาล ต�ำบลพรานกระต่ายเดิมอยู่แล้ว การใช้ ช่ื อ “เทศบาลต� ำ บลบ้ า น พราน” เพื่อให้การเปลี่ยนแปลงชื่อ สอดคล้ อ งกั บ ประวั ติ ศ าสตร์ ที่ ยาวนานของชาวบ้านพรานกระต่าย
แหล่งท่องเที่ยวที่น่าสนใจ วัดเขาตะล่อมฟาง ตั้งอยู่หมูที่ 9 บ้ า นเขาสว่ า งอารมณ์ ต� ำ บล พรานกระต่าย อ�ำเภอพรานกระต่าย จังหวัดก�ำแพงเพชร เป็นวัดที่สงบ
ร่มเย็น เหมาะกับการปฏิบัติธรรม ท่ามกลางธรรมชาติบริเวณวัดมีถ�้ำ เขาหินปูน ภายในถ�้ำประดิษฐาน พระพุทธรูปหินแกรนิตเป็นศิลปะ สมัยสุโขทัยประดิษฐานอยู่ภายใน 1.วัดเขา ตะล่อมฟาง ตัง้ อยูห่ มูที่ 9 บ้ า นเขาสว่ า งอารมณ์ ต� ำ บล พรานกระต่าย อ�ำเภอพรานกระต่าย จังหวัดก�ำแพงเพชร เป็นวัดที่สงบ ร่มเย็น เหมาะกับการปฏิบัติธรรม ท่ามกลางธรรมชาติบริเวณวัดมีถ�้ำ เขาหินปูน ภายในถ�้ำประดิษฐาน พระพุทธรูปหินแกรนิตเป็นศิลปะ สมัยสุโขทัยประดิษฐานอยู่ภายใน วัดใหญ่จอมโลกอุดร ตัง้ อยูห่ มูท่ ี่ 9 บ้ า นเขาสว่ า งอารมณ์ ต� ำ บล พรานกระต่าย อ�ำเภอพรานกระต่าย จังหวัดก�ำแพงเพชร
นายจเร สุขส�ำราญ
นายกเทศมนตรีต�ำบลบ้านพราน ประวั ติเ รื่ อ งนายพรานตั้ง แต่ เริ่มแรกในการส�ำรวจเส้นทางเพื่อ ไปสร้ า งเมื อ ง หน้ า ด่ า นของกรุ ง สุโขทัย วันหนึง่ ขณะที่ ก�ำลังพักแรม นายพรานได้พบกระต่าย ขนสีทอง สวยงาม มากบริเวณหน้าถ�้ำแห่ง หนึง่ และก็ได้หายเข้าไปในถ�ำ้ ต่อมา นายพรานจึงกราบบังคมทูลพระร่วง ให้ ท รงทราบและรั บ อาสาจะจั บ
168
กระต่ า ยตั ว ดั ง กล่ า วและได้ ใ ช้ ความพยายาม ที่จะจับหลายครั้ง แต่ไม่ประสบผลส�ำเร็จจึงได้ สร้างบ้าน ถาวรขึ้นหน้าถ�้ำเพื่อรอจับกระต่าย หลายปีตอ่ มามีคนมาพบนายพราน จึ ง พากั น อพยพมาอยู ่ เ พิ่ ม ขึ้ น เรื่อยๆ จนกลาย เป็นหมู่บ้านชาว บ้านจึงพร้อมกัน ตั้งชื่อหมู่บ้านว่า “บ้านพรานกระต่าย”
SBL บันทึกประเทศไทย I KAMPHAENG PHET
2
.indd 168
11/04/61 06:45:58 PM
เป็ นวั ด ที่ ตั้ ง อยู ่ บ นเนิ น เขา สงบ ร่มเย็น ท่ามกลางธรรมชาติที่อุดม สมบูรณ์ดว้ ยป่าไม้เป็นทีป่ ระดิษฐาน พระใหญ่จอมโลกอุดร ศิ ล ปหั ต ถกรรมของเทศบาล ต� ำ บลบ้ า นพราน พื้ น ที่ เ ทศบาล ต�ำบลบ้านพรานเป็นพืน้ ทีธ่ รรมชาติ มี ภู เ ขาหิ น อ่ อ นสลั บ ซั บ ซ้ อ นซึ่ ง มี มูลค่าทางเศรษฐกิจ ชาวบ้านจึง รวมตัวกันท�ำหัตถกรรมต่างๆ จาก หินอ่อนเพื่อจ�ำหน่ายทั้งเป็นอาชีพ หลักและอาชีพเสริม
ผลงานที่โดดเด่นของ ท.ต.บ้านพราน ง า น ป้ อง กั นแ ล ะ บ ร ร เท า สาธารณภัย เทศบาลต�ำบลบ้าน พรานร่ ว มกั บ ส� ำ นั ก งานป้ อ งกั น และบรรเทาสาธารณภั ย จั ง หวั ด ก�ำแพงเพชร ในการสร้างความเข้ม แข็งในการป้องกันและแก้ไขปัญหา สิ่ ง แวดล้ อ ม เพื่ อ ส่ ง เสริ ม และ พั ฒ นาศั ก ยภาพชุ ม ชนด้ า นการ ป้ อ งกั น และบรรเทาสาธารณภั ย เพื่ อ ให้ ห มู ่ บ ้ า นเสี่ ย งภั ย มี ค วาม พร้ อ มในการป้ อ งกั ย ภั ย พิ บั ติ
สามารถบริ ห ารจั ด การและลด ความเสียหายเมื่อเกิดสาธารณภัย ให้มแี ละบ�ำรุงทางบกและทางน�ำ้ โดยการก่อสร้างและซ่อมแซมถนน ภายในเขตเทศบาลต� ำ บลบ้ า น พราน ขุดลอกคลองส่งน�้ำ ให้มีเครื่องใช้ในการดับเพลิง พร้ อ มทบทวนฝึ ก ขั้ น ตอนการใช้ งานดับรถดับเพลิงและอุปรณ์ดับ เพลิงอย่างสม�่ำเสมอ ส่ ง เสริ ม พั ฒ นาสตรี เด็ ก เยาวชน ผู้สูงอายุและผู้พิการ โดย จั ด โครงการคนบ้ า นพรานรั ก ษ์
สุ ข ภาพ ส� ำ หรั บ ผู ้ สู ง อายุ และประชาชนในวัยท�ำงาน บ� ำ รุ ง จารี ต ประเพณี ภู มิ ป ั ญ ญาท้ อ งถิ่ น และ วัฒนธรรอันดีของท้องถิ่น
KAMPHAENG PHET I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 169
169
11/04/61 06:46:04 PM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดรัตนปทุม ที่มาของบ้านคุยป้อม ค�ำว่า คุย
หมายถึง ที่เนินสูง น�้ำไม่ท่วม มีต้นไม้ ขึ้นอยู่หลายชนิด และที่มีมากที่สุด คือ ต้นมะขามป้อม มีผลกลม รสฝาด อมเปรี้ยว ชาวบ้านที่ย้ายมาอาศัย จากถิ่นอื่น จึงเรียกตรงนี้ว่า คุยมะขาม ป้อม ต่อมาเรียกชื่อเพี้ยน ค�ำว่ามะขาม หายไป คงเหลือแต่ค�ำว่า คุยป้อม หรือบ้านคุยป้อม ตราบเท่าทุกวันนี้
170
2
ทีม่ าของการสร้างวัดรัตนปทุม จากค�ำบอกเล่า ของ คุณปู่เชย จันเนตร เกิดเมื่อพ.ศ.2470 อายุ 91 ปี เริม่ ก่อสร้างวัดเมือ่ ท่านอายุประมาณ 14 ปี บริเวณสระบัว ซึ่งเป็นที่ดินของนายพรม มาน้อย เป็นสถานที่รกร้าง เป็นหนองน�ำ้ ขนาด ใหญ่ประมาณ 1 ไร่เศษ เป็นที่สงบเงียบเหมาะ แก่การสถานที่บ�ำเพ็ญกุศล สมัยนั้น ท่านก�ำนันแก พลกล้า เป็น ผู้มี ศรัทธาบริจาคทีด่ นิ ของตังเอง เพือ่ สร้างวัดแต่วา่ อยูห่ า่ งจากชุมชนมาก จึงได้ขอแลกทีด่ นิ ของนาย พรม มาน้อย เพื่อให้เป็นที่สร้างวัดคือบริเวณ สระบัว แรกเริ่มชื่อว่า วัดสระบัว มีคณะศรัทธา ชาวบ้านร่วมกันก่อสร้างวัดมาตั้งแต่ประมาณปี พ.ศ.๒๔๘๔ จนได้รับ ใบอนุญาตสร้างวัด เมื่อ
20 เมษายน 2485 ชาวบ้านเรียกชื่อกันว่า วั ด สระบั ว หรื อ วั ด คุ ย บ้ า นโอง ตามชื่ อ ของ หมู่บ้าน มีผู้ถวายที่ดินสร้างวัดคือ ก�ำนันแก พลกล้า นายทรัพย์ แผ่ทอง จ�ำนวน 12 ไร่ 20 ตารางวา และต่อมาในปี พ.ศ.2514 ได้มผี ถู้ วาย ที่ ดิ น สร้ า งวั ด อี ก คื อ นายแก้ ว นางล� ำ พรวน มาน้อย นายจอย นางฉลวย ขรพัตร และนาง อินทร์ แผ่ทอง จ�ำนวน 3 ไร่ 39 ตารางวา รวม ทั้งหมด 15 ไร่ 59 ตารางวา ทีม่ าการเปลีย่ นชือ่ วัดสระบัว เป็นวัดรัตนปทุม ด้วยพระเดชพระคุณพระครูวมิ ลวชิรากร (พรวน เขมิโย) อดีตเจ้าอาวาสวัดไตรภูมิ ท่านเป็นผูต้ งั้ ขึน้ โดยยกเอา พระรัตนตรัย มาน�ำหน้า ส่วนค�ำว่า ปทุม คงมาจากสระบัวทีม่ ดี อกบัวหลวงเป็นจ�ำนวนมาก
SBL บันทึกประเทศไทย I KAMPHAENG PHET
.indd 170
10/4/2561 14:45:38
ขณะนี้ก�ำลังด�ำเนินการก่อสร้าง วิหารสมเด็จพระพุทธรัตนโกสินทร์ (หลวงพ่อ รวยทันใจ) ลักษณะเป็นอาคารสองชัน้ ทรงจตุรมุข กว้ า ง 37.2 เมตร ยาว 37.2 เมตร เพื่ อ ประดิษฐานพระพุทธรัตนโกสินทร์ (หลวงพ่อ รวยทันใจ) ขนาดหน้าตัก 10 ศอก 9 นิ้ว เพื่อ อุทิศถวายเป็นพระราชกุศลแด่ พระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช ร.9 และ เพือ่ เฉลิมพระชนม์พรรษาแด่ สมเด็จพระมหาวชิรา ลงกรณ์บดินทรเทพยวรางกูร ร.10 เริ่มวางศิลา ฤกษ์ ส ร้ า งเมื่ อ วั น เสาร์ ที่ 31 ธั น วาคม พุทธศักราช 2559 ปีวอก เวลา 19 นาฬิกา 39 นาที พระครูวชิรปัญญาคุณ ที่ปรึกษาเจ้าคณะอ�ำเภอ พรานกระต่ายประธานวางศิลาฤกษ์
จึงได้รวมเรียกชือ่ ว่า วัดรัตนปทุม จนถึงปัจจุบนั นี้ และได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมาเมือ่ วันที่ 25 ตุลาคม 2521 เขตวิสงุ คามสีมา กว้าง 40 เมตร ยาว 80 เมตร
ศาลาการเปรียญ ลักษณะเป็นอาคารทรงไทยประยุกต์ชน้ั เดียว โครงสร้างกึง่ ไม้กงึ่ คอนกรีต มุงด้วยหลังคาเมทัลชีท เสาไม้มะค่า และประดู่ ฝ้าท�ำด้วยไม้สักทองทั้ง หลัง กว้าง 24 เมตร ยาว 42 เมตร ราคาค่า ด� ำ เนิ น การก่ อ สร้ า ง จ� ำ นวนเงิ น ประมาณ 4,589,000 บาท เริ่มวางศิลาฤกษ์สร้างเมื่อ วันพฤหัสบดี ที่ 10 มิถุนายน พุทธศักราช 2553 ปีขาลเวลา 07.39 นาฬิกา พระครูวชิรจันโทภาส เจ้าคณะต�ำบลคุยบ้าน โอง-คลองพิไกร ประธานวางศิลาฤกษ์ แล้วเสร็จ เมื่อ พ.ศ.2555
สร้างศาลาหอฉัน ลักษณะเป็นอาคารทรงไทยประยุกต์ชน้ั เดียว โครงสร้างกึง่ ไม้กงึ่ คอนกรีต มุงด้วยหลังคาเมทัลชีท กว้าง 10 เมตร ยาว 10 เมตร ราคาค่าด�ำเนิน การก่อสร้าง จ�ำนวนเงินประมาณ 319,070 บาท
ห้องสมุดพร้อมหอระฆัง
มณฑป
ลักษณะเป็นอาคาร 2 ชั้น ชั้นแรกจัดท�ำเป็น ห้องสมุด ชั้นสองเป็นหอระฆัง กว้าง 14 เมตร ยาว 14 เมตร ราคาค่าด�ำเนินการประมาณ 2,140,778 บาท เริ่มวางศิลาฤกษ์สร้างเมื่อ วันจันทร์ ที่ 15 เมษายน พุทธศักราช 2556 ปีมะเส็งเวลา 15 นาฬิกา 19 นาที พระครูวชิร ปัญญาคุณ เจ้ า คณะอ� ำ เภอพรานกระต่ า ย ประธานวางศิลาฤกษ์
ลักษณะเป็นอาคาร ชั้นเดียว แบบจตุรมุข กว้าง 12 เมตร ยาว 12 เมตร เพื่อประดิษฐาน รูปหล่อเหมือนพระครูวชิรจันโทภาส (ปุ่น จนฺ ทสาโร) อดีตเจ้าอาวาสวัด-รัตนปทุม เริม่ วางศิลา ฤกษ์ ส ร้ า งเมื่ อ วั น จั น ทร์ ที่ 15 เมษายน พุทธศักราช 2556 ปีมะเส็ง เวลา 15 นาฬิกา 29 นาที พระครูวชิรปัญญาคุณ เจ้าคณะอ�ำเภอ พรานกระต่าย ประธานวางศิลาฤกษ์
KAMPHAENG PHET I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 171
171
10/4/2561 14:45:57
W O R K LI F E
บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล
องค์การบริหารส่วนต�ำบล
บึงทับแรต
“บ้านเมืองน่าอยู่ เชิดชูคุณธรรม น�ำการศึกษา พัฒนาคุณภาพชีวิต เศรษฐกิ จ พอเพี ย ง สร้ า งชื่ อ เสี ย งด้ า นกี ฬ า พั ฒ นาแหล่ ง น�้ ำ เพื่อการเกษตร ทุกเพศทุกวัยสุขภาพดี” คือวิสัยทัศน์ขององค์การบริหารส่วนต�ำบลบึงทับแรต
พันธกิจ 1. พั ฒ น า ป รั บ ป รุ ง ร ะ บ บ สาธารณูปโภคและสาธารณูปการ ให้ได้มาตรฐานและเพียง 2. ส่งเสริมและสนับสนุนอาชีพ ควบคู ่ ก ารพั ฒนาเศรษฐกิ จ แบบ พอเพียงให้แก่ประชาชน 3. ส่งเสริมและสนับสนุนระบบ การศึกษา 4. ส่งเสริมและสนับสนุนการ พัฒนาแหล่งน�ำ้ ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
5. ส่ ง เสริ ม การผลิ ต ทางการ เกษตรให้ได้มาตรฐาน เพือ่ ยกระดับ คุณภาพชีวิต 6. พัฒนาศักยภาพของประชาชน และชุมชนให้เข้มแข็งและสามารถ พึ่งพาตนเองได้ 7. บริหารจัดการองค์กรให้มี ประสิ ท ธิ ภ าพ เข้ ม แข็ ง โปร่ ง ใส สามารถตรวจสอบได้ 8. ส่งเสริมสุขภาพอนามัยของ ประชาชนให้เข้มแข็งปราศจากโรคภัย
นายมานิตย์ อยู่ครอบ
นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลบึงทับแรต ประวัติต�ำบลบึงทับแรต บ้านบึงทับแรต เดิมชื่อ บ้าน หนองจิก ตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ.2512 เดิ ม เป็ น หมู ่ บ ้ า นหมู ่ ที่ 9 ต� ำ บล ลานกระบือ จนถึง พ.ศ.2530 จึง เปลีย่ นเป็นหมูท่ ี่ 3 ต�ำบลบึงทับแรต สมัยก่อนมีบึงขนาดใหญ่ มีสัตว์ป่า คือแรดมาอาศัยอยู่มากมายและมี ซากแรดทีต่ ายอยูใ่ นบึงจ�ำนวนมาก จึงเป็นทีม่ าของการตัง้ ชือ่ หมูบ่ า้ นว่า “บึงทับแรต” เขตการปกครอง แบ่ง 172
เป็น 8 หมู่บ้าน ม.1 บ้านเด่นพระ, ม.2 บ้านหนองท่าไม้, ม.3 บ้านบึง ทับแรต, ม.4 บ้านบึงสว่างอารมณ์, ม.5 บ้ า นหนองละมั่ ง ทอง, ม.6 บ้านทุ่งเกลา, ม.7 บ้านประดู่งาม, ม.8 บ้านทุ่งโพธิ์เงิน ประชากรใน ต�ำบล ประชากร หญิง ประมาณ 1,620 คน ชาย ประมาณ 1,674 คน ได้รับการยกฐานะจากสภาต�ำบล บึงทับแรต เป็นองค์การบริหารส่วน
ต� ำ บลบึ ง ทั บ แรต เมื่ อ วั น ที่ 23 กุมภาพันธ์ 2540 และได้รับการ ยกฐานะเป็นองค์การบริหารส่วน ต�ำบลขนาดใหญ่เมือ่ วันที่ 1 ตุลาคม 2557 มีพื้นที่รับผิดชอบทั้งหมด 39.5 ตารางกิโลเมตร ตั้งอยู่เลขที่ 80 หมูท่ ี่ 4 ต�ำบลบึงทับแรต อ�ำเภอ ลานกระบือ จังหวัดก�ำแพงเพชร ห่างจากอ�ำเภอลานกระบือ 13 กม. ห่างจากจังหวัดก�ำแพงเพชร 53 กม.
SBL บันทึกประเทศไทย I KAMPHAENG PHET
.indd 172
11/04/61 06:44:18 PM
จุดมุ่งหมายการพัฒนา 1. มีระบบชลประทานกักเก็บน�ำ้ เพื่อการเกษตรอย่างยั่งยืน 2. การคมนาคมสะดวก รวดเร็ว ปลอดภั ย มี ร ะบบไฟฟ้ า ประปา สาธารณะอย่างเพียงพอ 3. พั ฒนาคุ ณ ภาพการศึ ก ษา ส่ ง เสริ ม ให้ ป ระชาชนมี คุ ณ ภาพ จริยธรรม สร้างจิตส�ำนึก การอนุรกั ษ์
ศิ ล ปวั ฒ นธรรมประเพณี แ ละ ภูมิปัญญาท้องถิ่น 4. เกษตรกรสามารถลดต้นทุน การผลิ ต และใช้ ก ารเกษตรแบบ ผสมผสาน 5. ส่ ง เสริ ม ให้ ชุ ม ชนเข็ ม แข็ ง พึง่ พาตนเองและเอาชนะยาเสพติด 6. ส่ ง เสริ ม การพั ฒนาอาชี พ ของชุมชนให้มีรายได้เพิ่มขึ้น
7. ประชาชนมีสว่ นร่วมในด้าน กีฬา สันทนาการ ส่งเสริมกิจกรรม เด็ ก และเยาวชน ผู ้ สู ง อายุ แ ละ เด็กผู้ด้วยโอกาส 8. พัฒนาระบบการบริหารและ การพัฒนาองค์กรอย่างต่อเนือ่ ง 9. พั ฒ นาบึ ง ทั บ แรตให้ เ ป็ น แหล่งท่องเที่ยว
อาชีพในชุมชน ประชาชนมีอาชีพ ท�ำนา ท�ำไร่ออ้ ย ปลูกพืชไร่ ปลูกไม้ผล และเลี้ยงสัตว์ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ห รื อ สิ น ค้ า /บริ ก าร ที่ ส� ำ คั ญ ของต�ำบล ได้แก่ ผลิตภัณฑ์ตะกร้า หมู่ที่ 1 ผลิตภัณฑ์จักรสาน หมู่ที่ 2 ผลิตภัณฑ์ดอกไม้จันทน์ หมู่ที่ 3 ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง หมู่ที่ 4,5 ผลิตภัณฑ์ผ้าทอมือ หมู่ที่ 7 ผลิตภัณฑ์ไม้กวาดดอกหญ้า หมู่ที่ 8
KAMPHAENG PHET I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 173
173
11/04/61 06:44:22 PM
อาชีพในชุมชน ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง ต�ำบลบึงทับแรต ต�ำบลบึงทับแรต วันที่ 25 กันยายน พ.ศ.2552 ศูนย์ การเรียนรูเ้ ศรษฐกิจพอเพียง ต�ำบล บึ ง ทั บ แรต ได้ ถู ก สร้ า งขึ้ น ตาม นโยบายและวิสยั ทัศน์ของผูบ้ ริหาร น�ำโดย นายมานิตย์ อยู่ครอบ ซึ่ง ตั้งอยู่บริเวณบึงสาธารณะ เลขที่ 84 หมู่ที่ 4 บ้านบึงสว่างอารมณ์
174
ต�ำบลบึงทับแรต มีพนื้ ทีด่ ำ� เนินการ ประมาณ 5 ไร่ แบ่งพื้นที่ด�ำเนินการออกเป็น 1. แปลงผักหมุนเวียน จ�ำนวน 1 งาน ได้แก่ ผักบุง้ ผักกาดขาวปลี ผักกาดเขียวปลี ผักคะน้า ฟักทอง พริก มะเขือ และผักกวางตุ้ง 2. แปลงพืชไร่จ�ำนวน 1 งาน ได้แก่ ข้าวโพดฝักสด
3. แปลงพืชสมุนไพรพื้นบ้าน จ�ำนวน 1 งาน ได้แก่ เจตมูลเพลิง ทองพันชั่ง สบู่เลือด มะค�ำดีควาย หญ้ า หนวดแมว เพชรสั ง ฆาต เสลดพังพอน หนุมานประสานกาย 4. แปลงสวนป่าใช้สอย จ�ำนวน 1 งาน ได้แก่ ไผ่ ตะกู ไม้โตเร็ว 5. แปลงผลไม้ จ�ำนวน 1 ไร่ ได้แก่ มะม่วง พุทธา เงาะ ส้มโอ มะเฟือง
6. นาข้าว จ�ำนวน 2 ไร่ 7. สระเลี้ยงปลา 8. ซุ้มผักเลื้อย จ�ำนวน 1 งาน 9. พื้นที่อื่นๆ จ�ำนวน 2 งาน ประกอบด้วย ทีอ่ ยูอ่ าศัย บ่อเลีย้ งปลา บ่อเลีย้ งกบ เล้าไก่ โรงเรือนเพาะเห็ด ปัจจุบนั มีผดู้ แู ลศูนย์การเรียนรู้ คือ นายพเยาว์ เทศแท้
SBL บันทึกประเทศไทย I KAMPHAENG PHET
.indd 174
11/04/61 06:44:29 PM
โรงเเรมขาณุ รี ส อร์ ท เเอนด์ ส ปา
บรรยากาศสะอาดร่มเย็น
พร้อมบริการมื้อเช้า ขนมปัง กาแฟ ฟรี โรงแรมขาณุรีสอร์ทแอนด์สปา บริการบ้านพักไม้สัก บ้านพักสไตล์บาหลีเตียงเดี่ยว บ้านพักสไตล์บาหลีเตียงคู่ บ้านพักสไตล์บาหลีแบบ VIP พร้อมห้องประชุมสัมมนา ที่จอดรถสะดวกสบาย
ราคาเริ่มที่
350-1,000บาท/คืน 055-771-555
055-772-333
sakchai_2014@outlook.com
โรงแรมขาณุรีสอร์ทแอนด์สปา: 3333/1 ม.1 ต.สลกบาตร อ.ขาณุวรลักษบุรี
.indd 175
20/4/2561 13:32:22
176
2
SBL บันทึกประเทศไทย I KAMPHAENG PHET
.indd 176
10/4/2561 14:35:58
HIST ORY OF BUDDHISM
บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดปรือพันไถ ตั้งอยู่ที่ 81 /1 หมู่ที่ 4 บ้านปรือพันไถ ต�ำบลช่องลม อ�ำเภอลานกระบือ จังหวัดก�ำแพงเพชร เดิมทีชื่อบ้านหนองขอน สาเหตุที่ชื่อบ้านหนองขอนเพราะว่าในหนองน�้ำมีขอนไม้เป็น จ� ำ นวนมากและมี น�้ ำ ตลอด ต่ อ มากรมประมงมาขุ ด ลอกหนองน�้ ำ เพื่ อ เป็ น สระน�้ ำ ไว้ ใ ห้ ชาวบ้านได้ ใช้ ในฤดูแล้ง ในสมัยนั้นหมู่บ้านนี้ผืนนาเป็นป่าปรือ พอชาวบ้านไถนาแต่ละ ครั้งต้นปรือ มักจะมาพันไถชาวบ้านเลยเรียกกันติดปาก คือ บ้านปรือพันไถ ตลอดมา ต่อมาเมือ่ ปี พ.ศ.2516 ชาวบ้านได้รว่ มกันสร้างโรงเรียนบ้านปรือพันไถ ปี พ.ศ.2519 ชาวบ้าน ได้ร่วมกันสร้างที่พักสงฆ์ (วัด) โดยมี หลวงตายิ้ม และ พระประทวน ปิยธมฺโม เข้ามาจ�ำพรรษา และอยู่พัฒนาวัดร่วมกัน ได้รับการแต่งตั้งเป็นวัดในพระพุทธศาสนาเมื่อปี พ.ศ.2543 โดยมี พระอธิการหา วฑฺฒธมฺโม เป็นเจ้าอาวาสรูปแรกแรกและได้มรณภาพเมื่อปี พ.ศ.2551 ต่ อ มาชาวบ้ า น ได้ ไ ปนิ ม นต์ พระคนอง สี ล สํ ว โร มาเป็ น รั ก ษาการแทนเจ้ า อาวาส เมื่อปี พ.ศ. 2552 และได้พาญาติโยมร่วมกัน สร้างศาลา และ อุโบสถ และกุฏิสงฆ์ตามล�ำดับ ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา พ.ศ.2554
กิจกรรมส�ำคัญของวัดปรือพันไถ 1. ได้มีการจัดการเรียนการสอนธรรมศึกษาชั้นตรี,โท,เอก 2. ได้มีการจัดให้มีโครงการบรรพชาสามเณรภาคฤดูร้อนเฉลิม พระเกียติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี ทุกวันที่ 2 เมษายน ของทุกปี 3. งานบุญใหญ่ประจ�ำปี-ไหว้ครู-บวชนาคหมู่-งานอายุวัฒนมงคล เจ้าอาวาส-แจงรวมญาติ ทุกปีของวันที่ 1-2 พฤษภาคม 4. งานประเพณีผ้าป่าเทียนโฮมประจ�ำทุกปี 5. งานตักบาตรเทโว ทุกแรม 2 ค�่ำเดือน 11 ของทุกปี KAMPHAENG PHET I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 177
177
10/4/2561 14:36:10
Ad 2
.indd 174
17/4/2561 10:09:34
ก้าวเข้าสู่ปีที่ 9
บั น ทึ ก ประเทศไทย ถือเป็นแหล่งข้อ มู ล อ้ า งอิ งได้ อ ย่ า งสมบู ร ณ์ โดยให้ ร ายละเอี ยดข้ อมู ลอย่ า งครบถ้ ว น สมบู ร ณ์ และถู กต้ อง พร้อมรู ป ภาพจากสถานที่จริ ง ณ ปั จจุ บัน ล้ ว นได้ ถูกบั นทึ กเอาไว้ แ ล้ ว ในหนั ง สื อเล่ มนี้ !
Ad 2
.indd 175
9
th
ANNIVERSARY ISSUE
17/4/2561 10:09:56
ลํ�าสมัยไม่ตกเทรน คุณภาพคับเล่ม
WWW.SBL.CO.TH
www.ookbee.com/Magazine/SBLMAGAZINE www.issuu.com/sblmagazine SBL บันทึกประเทศไทย
Ad-SBL Magazine Computer.indd 180
18/04/61 04:45:34 PM