ฉบับที่ 68 จังหวัดสุโขทัย พ.ศ. 2561
Magazine
SUKHOTHAI เมืองแห่งอารยธรรมและความสุขที่ยั่งยืน EXCLUSIVE
นายพิพัฒน์ เอกภาพันธ์ ผู้ว่าราชการจังหวัดสุโขทัย กับ 4 โครงการเพื่อ สุโขทัยเข้มแข็ง-ยั่งยืน
SPECIAL INTERVIEW นายศรัทธา คชพลายุกต์ รองผู้ว่าราชการจังหวัดสุโขทัย นายชัชพงษ์ เอมะสุวรรณ รองผู้ว่าราชการจังหวัดสุโขทัย นายจ�ำเริญ ศรีค�ำมูล ผอ.พศจ.สุโขทัย
Vol.8 Issue 68/2018
www.sbl.co.th .indd 5
งานประเพณีลอยกระทง เผาเทียน เล่นไฟ
30/4/2561 13:05:59
2.indd 2
27/4/2561 8:45:41
วัดยางเอน
หลวงพ่อขาว...พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์
SUKHOTHAI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 3
3
26/04/61 04:52:05 PM
ก๋ ว ยเตี๋ ย วสุ โ ขทั ย ตาปุ ้ ย
“ก๋ ว ยเตี๋ ย วสุ โ ขทั ย ตาปุ ้ ย ” เป็ น ร้ า นก๋ ว ยเตี๋ ย วชื่ อ ดั ง เจ้ า แรกของสุ โ ขทั ย ร้านก๋วยเตี๋ยวในต�ำนาน เป็นเป้าหมาย ของนักเดินทาง...มาสุโขทัย...ต้องห้ามพลาด... “ก๋วยเตี๋ยวสุโขทัย ตาปุ้ย” เมนูหลากหลาย ระหว่ า งรออาหารหลั ก เรี ย กน�้ ำ ย่ อ ยด้ ว ย ขนมถ้วย หวาน/มัน ฝาเดียวพอนะ เดี๋ยวทาน อย่างอื่นไม่ไหว ตามด้วยหมูสะเต๊ะเนื้อนุ่ม ต่ อ ด้ ว ย ก๋ ว ยเตี๋ ย ว อร่ อ ยทั้ ง แห้ ง และน�้ ำ ปิดท้ายด้วยลอดช่องน�้ำตาลโตนด สดชื่นกับ กาแฟสด เป็นอันว่าจบครบสูตร
ร้านตาปุ้ย ก๋วยเตี๋ยวสุโขท ัย เจ้าแร
ก๋วยเตี๋ยวเครื่องในหมู เส้นเล็กแห้งสุโขทัย
ลวกจิ้มรวม
ขนมเบื้อง
ก๋วยเตี๋ยวแห้ง ซี่ โครงหมูตุ๋นยาจีน
ก๋วยเตี๋ยวแห้งรวมหมู
ผัดไทกุ้งสด
ต้มเล้งแซ่ บ
กในสุโขทัย
4
SBL บันทึกประเทศไทย I SUKHOTHAI
.indd 4
27/04/61 03:06:41 PM
บริษัท ง่วนฮงหลีเครื่องจักรกลการเกษตร จ�ำกัด
ยันม่าร์ พรีเมี่ยม สุโขทัย (ง่วนฮงหลี)
ตัวแทนจ�ำหน่าย รถแทรกเตอร์ยันม่าร์ เครื่องยนต์ยันม่าร์ รถเกี่ยวนวดข้าว รถขุด รถด�ำนา สินค้ายันม่าร์ทุกชนิด เปิ ด บริ ก ารทุ ก วั น (08.00-17.00) โชว์รูมอยู่ตรงข้ามแขวงทางหลวงสุโขทัย รับซื้อ / เปลี่ยน /แลก รถแทรกเตอร์ **ทุกรุน่ ทุกยีห่ อ้ ทีเ่ ราจะประเมิน “ให้ราคาสูง” ทีท่ า่ นพอใจ แนะน�ำปรึกษาฟรี มีบริการส่ง
โทรด่วน 099-0095527
ติดต่อเราได้เลย .indd 5
055-616135
Fax: 055-616-136 394 ม.11 ต.บ้านสวน อ.เมือง จ.สุโขทัย 64220
: ยันม่าร์สุโขทัย-ง่วนฮงหลี SUKHOTHAI I SBL บันทึกประเทศไทย 5 : @Ymst99
26/4/2561 10:13:19
เรื อ นนริ ศ รา รี ส อร์ ท (Ruen Narissara Resort)
“Ruen narissara Resort” อยู่ห่างจากอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย 5 นาทีหากเดินทางโดย รถยนต์ ให้บริการห้องพักทีส่ ะดวกสบายพร้อมระเบียงส่วนตัวและบริการ อินเทอร์เน็ตไร้สาย (Wi-Fi) ฟรี บริการทีจ่ อดรถในบริเวณโรงแรม รีสอร์ท อยู่ห่างจากมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชและตัวเมืองสุโขทัย 10 นาที หากเดินทางโดยรถยนต์ และห่างจากสนามบินสุโขทัย 30 กม. ห้องพัก ทุกห้องมีเครื่องปรับอากาศ เคเบิ้ลทีวีจอแบน พื้นที่นั่งเล่นพร้อมโซฟา และห้ อ งน�้ ำ ในตั ว พร้ อ มฝั ก บั ว รี ส อร์ ท มี แ ผนกต้ อ นรั บ ที่ เ ปิ ด ตลอด 24 ชั่วโมง 46/3 หมู่1 ถ.จรดวิถีถ่อง ต.เมืองเก่า อ.เมืองสุโขทัย จ.สุโขทัย โทร 055-697-119 , 084-1797-977, 088-273-5012
6
SBL บันทึกประเทศไทย I SUKHOTHAI
2
.indd 6
30/4/2561 16:41:09
ร้านนครเฟอร์นิเจอร์สุโขทัย
เลขที่ ¼ ม.4 ถ.จรดวิถีถ่อง ต.บ้านกล้วย อ.เมืองสุโขทัย จ.สุโขทัย โทร 084-179-7977 , 088-273-5012, 055-651-934 จ�ำหน่ายเฟอร์นเิ จอร์ไม้สกั บ้านเรือนเก่า stye Modern หลากหลายชนิด และรูปแบบ - จ�ำหน่ายเฟอร์นิเจอร์แนวโมเดิร์น - วัตถุดิบเป็นไม้เก่า ( บ้านเรือนเก่า ) น�ำมาผลิตใหม่ - มีจ�ำหน่ายทั้งหน้าร้าน และ ผลิตตามสั่ง - จ�ำหน่ายเฟอร์นิเจอร์แบบบิวท์อิน ( Built-In ) ถอดประกอบได้
SUKHOTHAI I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 7
7
30/4/2561 16:41:19
Thanawong Pool Villa
ที่พักแห่งนี้มีสระว่ายน�้ำกลางแจ้ง ซึ่งเปิดบริการตลอดปี ลานระเบียงกลางแจ้ง ผูเ้ ข้าพักสามารถผ่อนคลายทีบ่ าร์ใน สถานที่ ที่ พั ก ให้ บ ริ ก ารอิ น เทอร์ เ น็ ต ไร้ ส าย ( WiFi ) ฟรีทั่วบริเวณ และมีพื้นที่จอดรถส่วนตัวฟรีในสถานที่
- ที่พักใกล้ชิดสระว่ายน�้ำ - รับจัดเลี้ยง - ห้องประชุม-สัมมนา
ส�ำรองห้องพัก ธนะวงษ์ พูลวิลล่า ID.Line : aungiiaungii Facebook : sukhothai thanawong pool villa Email : thanawongpoolvilla@hotmail.com 331/7 หมู4่ ต.ปากแคว อ.เมือง จ.สุโขทัย 64000
2
.indd 8
26/4/2561 9:11:03
ธนะวงษ์ ทัวร์ บริการรถตู้ VIP ให้เช่า
รับเหมารถตู้ รับวิ่งงานประจ�ำ รับจัดโปรแกรมทัวร์ ทั่วประเทศ
“ เต็มใจบริการ ช�ำนาญเส้นทาง “ 082-400-6060 FACEBOOK : 082-767-6721 รถตู้ให้เช่า สุโขทัย
2
.indd 9
LINE ID : tanawongtour 26/4/2561 9:11:27
Editor’s Talk
ผู้บริหาร คณะที่ปรึกษา
ศ.ดร.กฤช เพิ่มทันจิตต์, พลเอกสรชัช วรปัญญา, ดร.นิเวศน์ กันไทยราษฎร์, ดร.ประยุทธ คงเฉลิมวัฒน์, ดร.ชาญ ธาระวาส, ดร.สุมิท แช่มประสิท, ดร.วัลลภ อารีรบ, ดร.พิชัย ทรัพย์เกิด, ดร.ไอศูรย์ ดีรัตน์, ดร.สุเทษณ์ จันทรุกขา, ดร.อรรถสิทธิ์ ตันติวิรัชกุล
บรรณาธิการอ�ำนวยการ ศุภกิจ ศิลปรังสรรค์
บรรณาธิการบริหาร อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์
บรรณาธิการงานบุคคล
พงษ์ศักดิ์ พรณัฐวุฒิกุล, วนัสกฤษณ์ ศิลปรังสรรค์
ฝ่ายกฎหมาย
สมคิด หวังเชิดชูวงศ์, ทวิช อมรนิมิตร
ชน
กองบรรณาธิการ ฝ่ายประสานงานโครงการภาครัฐและเอกชน
ฝ่ายศิลปกรรม
ทวัชร์ ศรีธามาศ
พัชรา ค�ำมี
ผู้จัดการ
คณะทีมงาน
ถาวร เวปุละ, กษิดิส ไทยธรรม, ธนิน ตั้งธ�ำรงจิต
ผู้จัดการ
กราฟิกดี ไซน์
พิมพ์พิสุทธิ์ พังจูนันท์ วรเชษฐ สมประสงค์ จักรพันธ์ สิงห์ดี ช่างภาพ
ฝ่ายประสานงานข้อมูล ผู้จัดการ
นันท์ธนาดา พลพวก ประสานงาน
ศุภญา บุญช่วยชีพ นงลักษณ์ เทียมเกตุทวีโชค นักเขียน
ฐิติรัตน์ สุวรรณโรจน์
ฝ่ายประสานงานจังหวัด กชกร รัฐวร
Editor’s Talk
.indd 10
ชัยวิชญ์ แสงใส ปณต ปิติจารุวิศาล กิติวัฒน์ ทิศมั่ง
ฝ่ายการตลาด จันทิพย์ กันภัย
ฝ่ายบัญชี/การเงิน บัญชี
ปัฐมาภรณ์ แสงบุราณ การเงิน
กรรณิการ์ มั่นวงศ์, สุจิตรา แดนแก้วนิต, ณภัทร ชื่นสกุล
26/04/61 06:08:06 PM
ริมน้ำ�ปิง @เมืองกำ�แพงเพชร
สุโขทัย
ในยุคปัจจุบันเป็น
“เมือง 2 แหล่ง มรดกโลก”
บริษัท สมาร์ท บิซิเนส ไลน์ จ�ำกัด 9/4-6 ถนนรามอินทรา แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพฯ 10220 โทร. 0-2522-7171 แฟกซ์. 0-2971-7747 FACEBOOK : SBL บันทึกประเทศไทย EMAIL : sbl2553@gmail.com WEBSITE : www.sbl.co.th
สุโขทัยเป็นหนึ่งในจังหวัดที่คนไทยทุกยุคสมัย ต่าง ภาคภูมิใจ ด้วยเหตุผลหลายๆ ประการประกอบกัน ไม่ว่า จะเป็นราชธานีแห่งแรกของไทย ที่มีอาณาเขตกว้างใหญ่ ไพศาลทีส่ ดุ และเป็นปึกแผ่นทีเ่ ข้มแข็ง มี “พ่อขุนรามค�ำแหง มหาราช” พระมหากษัตริย์ผู้ทรงปราดเปรื่อง ทั้งในด้าน การปกครอง ด้านอักษรศาสตร์ ด้านศาสนา ด้านศิลปวัฒนธรรม ด้านการชลประทาน ตลอดจนด้านเศรษฐกิจ จนเรียกได้ว่า เป็นยุคทองแห่งราชอาณาจักรสุโขทัย จากความเจริญรุง่ เรือง ในอดีต ส่งผลให้สุโขทัยในยุคปัจจุบัน เป็น “เมือง 2 แหล่ง มรดกโลก” ที่ได้รับความสนใจอย่างมากจากนักท่องเที่ยว บทสัมภาษณ์พิเศษจากผู้บริหารราชการจังหวัด อาทิ นายพิพฒ ั น์ เอกภาพันธ์ ผูว้ า่ ราชการจังหวัดสุโขทัย ทีจ่ ะมา สร้ า งรอยยิ้ ม ให้ ช าวสุ โขทั ย ผ่ า น 4 โครงการส� ำ คั ญ ตามนโยบายของรัฐบาล นายชัชพงศ์ เอมะสุวรรณ และ นายศรัทธา คชพลายุกต์ สองรองผู้ว่าราชการจังหวัดสุโขทัย ผู ้ ขั บ เคลื่ อ นการพั ฒ นาจั ง หวั ด นายจ� ำ เริ ญ ศรี ค� ำ มู ล ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดสุโขทัย กับ แนวทางการปลู ก ฝั ง คุ ณ ธรรม - จริ ย ธรรมให้ กั บ เด็ ก และเยาวชน นายเทียนชัย วงศ์ษา รักษาราชการแทนท้องถิน่ จั ง หวั ด สุ โขทั ย น� ำเสนอภาพรวมและจุ ด แข็ ง ของ อปท. พร้อมด้วยคอลัมน์ทอ่ งเทีย่ วทีจ่ ะพาท่านไปสัมผัสประสบการณ์ ท่องเที่ยววิถีไทย อาทิ พักโฮมสเตย์บ้านนาต้นจั่น ที่เที่ยว หลักร้อยชมวิวหลักล้าน, ปั่นสองล้อชมโครงการเกษตร อินทรีย์สนามบินสุโขทัย, ไปฝึกท�ำโคมชัก - โคมแขวน และ เครื่องสังคโลก ภูมิปัญญาที่ได้รับการถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่น และไปสั ม ผั ส ความงามของธรรมชาติ ที่ บ ้ า นแม่ ส าน อ.ศรีสัชนาลัย
ติดต่อ คุณศุภกิจ ศิลปรังสรรค์
TEL : 081-442-4445, 084-874-3861 EMAIL : supakit.s@live.com FACEBOOK : Supakit Sillaparungsan
Editor’s Talk
.indd 11
(นายศุภกิจ ศิลปรังสรรค์) บรรณาธิการอ�ำนวยการ
26/04/61 06:08:14 PM
Contents
SUKHOTHAI
ฉบั บ ที่ 68 บั น ทึ ก ประเทศไทยจั ง หวั ด สุ โ ขทั ย พ.ศ.2561
Editor’s Talk ใต้ ร ่ ม พระบารมี
บันทึกเส้นทางพบผู้ว่าราชการ จ.สุโขทัย นายพิ พัฒ น์ เอกภาพัน ธ์
บันทึกเส้นทางพบรองผู้ว่าราชการ จ.สุโขทัย นายศรั ท ธา คชพลายุก ต์
บันทึกเส้นทางพบรองผู้ว่าราชการ จ.สุโขทัย นายนายชั ช พงษ์ เอมะสุวรรณ
บันทึกเส้นทางพบ ผอ.พศจ.สุโขทัย นายจ� ำ เริ ญ ศรีค�ำมูล แขวงทางหลวงสุโ ขทัย วั ด ยางเอน วั ด ราชธานี ทต.บ้ า นกล้ ว ย อบต.เมื อ งเก่ า 12
Contents
10 22
27 44 48 50
56 60 62 65 68
27
บันทึกเส้นทางพบ
ผู้ว่าราชการจังหวัดสุโขทัย นายพิพัฒน์ เอกภาพันธ์
SBL บันทึกประเทศไทย I SUKHOTHAI
.indd 12
10/05/61 10:26:43 AM
วัดช้างล้อม
74 78 82 84 86 90 96
วัดบึงครอบศรัทธาราม วัดทุ่งเนินพยอม วัดคุ้งยาง วัดโบสถ์ อบต.โตนด วัดบึงภูเต่า วัดลาย วัดสามพวง วัดขุนนาวัง วัดนาเชิงคีรี วัดธรรมปัญญาราม วัดมุจลินทราราม อบต.วังลึก วัดใหม่ศรัทธาราม
บันทึกเส้นทางความเป็นมา บันทึกเส้นทางท่องเที่ยว บันทึกเส้นทางพบ นายอ�ำเภอศรีสัชนาลัย
100 104 108 110 112 114 116
118 122 142
นายกองโทพยุงศักย์ สุว รรณโณ
บันทึกเส้นทางท่องเที่ยว
ทม.ศรีสัช นาลัย ทต.หาดเสี้ยว วัดเชิงคีรี (อ.ศรีสัชนาลัย) วัดท่าทอง วัดเด่นกระต่าย วัดใหม่ศรีสมบูร ณ์ อบต.ย่านยาว วัดราษฎร์ศรัทธาธรรม วัดบ้านซ่าน วัดคลองโป่ง
146 154 156 158 162 166 168 170 172 175
SUKHOTHAI I SBL บันทึกประเทศไทย
Contents
.indd 13
13
10/05/61 10:26:51 AM
โรงแรมล้านนา การ์เด้น รีสอร์ท สุโขทัย
โรงแรมล้านนา การ์เด้น รีสอร์ท สุโขทัย
2
.indd 14
389/5 ม.2 ต.เมืองเก่า อ.เมือง จ. สุโขทัย 64210 Tel : 091-032-8666 FB : โรงแรมล้านนาการ์เด้นรีสอร์ท สุโขทัย E-mail : Reservationlannagaden@gmail.com
30/4/2561 16:54:23
โรงแรมล้านนา การ์เด้น รีสอร์ท สุโขทัย
2
.indd 15
389/5 ม.2 ต.เมืองเก่า อ.เมือง จ.สุโขทัย 64210 Tel : 091-032-8666 FB : โรงแรมล้านนาการ์เด้นรีสอร์ท สุโขทัย E-mail Reservationlannagarden@gmail.com
30/4/2561 16:54:33
ร้ า นอาหา ร ณ โขทั ย Na Kho thai
iz
za
Haw iian a
ณ โขทั ย มี อ าหารพื้ น บ้ า นของคนสุ โ ขทั ย โดยแท้ เน้นท�ำเองทุกขัน้ ตอน คือเราต�ำเครือ่ งแกงเอง ด้วยครกหิน เราไม่ใช้เครื่องปั่นเครื่องแกง หากอยากลองชิมอาหาร ของคนสุโขทัย ต้องไม่พลาด!!
P
16
AD
SBL บันทึกประเทศไทย I SUKHOTHAI
.indd 16
27/04/61 03:10:35 PM
NA KHOTHAI RESTUARANT IS LOCATED IN SUKHOTHAI PROVINCE. THERE ARE SERVED THAI FOOD AND ITALIAN FOOD. CONTRACT 062-949-1715, 084-564-6324 ส�ำหรับท่านทีต่ อ้ งการลิม้ ลองอาหารรสเลิศระดับโรงแรม 5 ดาว แบบราคาย่อมเยาว์ตอ้ งแวะมาทีร่ า้ นนีเ้ ลย ณ โขทัย อาหารหลากหลาย สไตส์รสชาติอร่อยล�้ำ ใครแวะมาแถวสุโขทัยต้องแวะมาลองที่ร้านนี้ ไม่ ง้ั น ถื อ ว่ า พลาด อาหารดี คุ ณ ภาพเยี่ ย ม การั น ตี ด ้ ว ยฝี มื อ เชฟโรงแรมระดับ 5 ดาว 54/2 ต.บ้ า นกล้ ว ย ถ.จรดวิ ถี ถ ่ อ ง อ.เมื อ ง จ.สุ โ ขทั ย 062-9491715 หรื อ 084-5646324
เมนูเด็ด!! ปลากะพงซอสเซาว์ซ่า ลาบสุ โ ขทัย ใบมะกอก ซี่ โ ครงหมูซอส BBQ ไก่ ณ โขทัย ผั ด ไท
ปลากระพงซอสเซาว์ ซ ่ า
น�้ ำ ส้ ม คั่ น สด
อิ ต าเลี่ ย นโซดา
ลาบสุ โ ขทั ย ใบมะกอก
ผั ด ไท
ขนมเบื้ อ ง
ไ ก ่ ณ โ ข ทั ย
ซี่ โ ครงหมู ซ อส BBQ SUKHOTHAI I SBL บันทึกประเทศไทย
AD
.indd 17
17
27/04/61 03:10:57 PM
Candy Bar Resort แคนดี้ บาร์ รีสอร์ท
“พักผ่อนสบาย ใกล้ชิดธรรมชาติ”
ห้ อ งพั ก สะอาด ราคา ประหยัดสไตล์รีสอร์ท ปลอดภั ย และพรั่ ง พร้ อ ม ด้ ว ยเครื่ อ งอ� ำ นวยความ สะดวกครบครัน อาทิ เครื่ อ งปรั บ อากาศ ที วี ตู ้ เ ย็ น เครื่ อ งท� ำ น�้ ำ อุ ่ น อินเตอร์เน็ตความเร็วสูง ที่ จ อดรถส่ ว นตั ว และ มินิมาร์ท ห่างจากตัวเมือง ประมาณ 2 ก.ม. (ที่พักอยู่ห่างจากถนน ใหญ่ประมาณ 1 ก.ม. ทางเข้า ติ ด กั บ โรงเรี ย นบ้ า นหรรษา ต�ำบลยางซ้าย )
ช่องทางติดต่อ 131/6 ม.5 ต.บ้านหลุม อ.เมือง บ้านหลุม สุโขทัย 64000 ผ่านเอเจนซี่ Booking.com Facebook : “แคนดี้บาร์ รีสอร์ท” ติดต่อทางโทรศัพท์หมายเลข 055-610-332 มือถือ 088-152-4736 , 086-674-3603 092-036-8015 , 092-036-8015
1
.indd 18
30/4/2561 17:05:38
ร้านอาหารบ้ า นครู อิ๋ว (Baan Kru Iw)
“หิวเมื่อไหร่ ก็แวะมา ร้านอาหารบ้านครูอิ๋ว” เลือกสรรให้ อ ย่ า งพิ ถีพิถั น สุ ขภาพของคุ ณส� ำ คั ญ กว่ า ก� ำ ไร
ร้านอาหารบ้านครูอิ๋ว (Baan Kru Iw)
203/25 ถนนวิเชียรจ�ำนงค์ ต�ำบลธานี อ�ำเภอเมืองสุโขทัย จังหวัดสุโขทัย 055-612-710, 063-665-5562 เปิดเวลา 9.00 - 15.30 น. www.baankruiw.com ร้านอาหารบ้านครูอิ๋ว
SUKHOTHAI I SBL บันทึกประเทศไทย
1
.indd 19
19
26/04/61 05:30:30 PM
In Black สังสรรค์อย่างมีสไตล์
สอบถาม
ส�ำรองโต๊ะติดต่อ IN BLACK 061-6696951, 085-8795252 In_Black_Sukhothai IN BLACK - Sukhothai
20
หากถามหาร้านอาหาร และสถานบันเทิงยามค�่ำคืน ที่น่าไปโดนที่สุดในสุโขทัยขณะนี้ คงจะเป็ นที่ไหน ไปไม่ได้ นอกจากร้าน In Black (อินแบล็ค) ที่มีประติมากรรมเหล็กสีด�ำรู ป “วัวชน” ตัง้ โดดเด่นอยู ่หน้าร้าน ใจกลางเมืองสุโขทัย
SBL บันทึกประเทศไทย I SUKHOTHAI
IN BLACK.indd 20
30/04/61 09:52:10 AM
In Black ได้รับตกแต่งสไตล์ Industrial Loft เน้นโทนสีด�ำ ที่ให้ความรู้สึกเท่ มีเสน่ห์ น่าค้นหา อันเป็นทีม่ าของชือ่ ร้าน “อินแบล็ค” ซึง่ ได้รบั แรงบันดาลใจมาจากเจ้าของร้าน หนุม่ ผิวเข้ม มาดเซอร์ เท่ และมีสไตล์เป็นของตัวเอง ผสมผสานกับบุคลิกที่ชื่นชอบ การสังสรรค์ พบปะผู้คน และการลิ้มลองรสชาติอาหารใหม่ๆ รูปแบบของการ ตกแต่งร้าน In Black จึงมีเอกลักษณ์ที่โดดเด่นโดนใจคนรุ่นใหม่ ไม่เพียงเท่านั้น ที่นี่ยังเสิร์ฟอาหารหลากหลายประเภท ทุกเมนูที่เน้น คุณภาพของวัตถุดิบชั้นเยี่ยม สดใหม่ และสะอาด ด้วยการดูแลเอาใจใส่ อย่างพิถีพิถันโดยเชฟมืออาชีพผู้มากด้วยประสบการณ์ จากสถาบัน School of The Oriental Hotel Apprenticeship Programme (OHAP) ส่วนเรื่อง การบริการนั้นก็ไม่เป็นรอง รื่นรมย์กับบรรยากาศที่เป็นกันเอง ดื่มด�่ำกับการ บรรเลงดนตรีสดให้ฟังทุกวัน พร้อมบาร์ค็อกเทลและเครื่องดื่มหลากหลายชนิด ทั้ ง แบรนด์ ไ ทยและต่ า งประเทศ เหมาะกั บ การสั ง สรรค์ ไม่ ว ่ า จะเป็ น คู ่ รั ก เพื่ อ น ครอบครัว หรือองค์กร พร้อมบริการรับจัดเลี้ยงในโอกาสพิเศษต่างๆ In Black เปิดให้บริการทุกวัน ตั้งแต่เวลา 18.00-24.00น. เลขที่ 118/26 หมู่ 4 ต.ธานี อ.เมือง จ.สุโขทัย (บนถนนสาย 8 ใจกลางเมืองสุโขทัย)
In Black สังสรรค์อย่างมีส21ไตล์
SUKHOTHAI I SBL บันทึกประเทศไทย
IN BLACK.indd 21
30/04/61 09:52:19 AM
H I S TO R Y O F U ND E R H IS G R A C I OU SN E SS บันทึกเส้นทางใต้ร่มพระบารมี
โครงการพัฒนาป่าไม้ตามแนวพระราชด�ำริ จังหวัดสุโขทัย มีที่ท�ำการตั้งอยู่ที่บ้านกว้าว หมู่ที่ 3 ต�ำบลบ้านน�้ำพุ อ�ำเภอคีรีมาศ จังหวัด สุโขทัย โครงการนี้เกิดขึ้นจากการขยายผล โครงการตามแนวพระราชด� ำ ริ ของส� ำ นั ก สนองงานพระราชด�ำริ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ปีงบประมาณ พ.ศ.2552 เพื่ อ แก้ ไ ขปั ญ หาพื้ น ที่ ท� ำ กิ น ของราษฎร ในพื้นที่อ�ำเภอคีรีมาศ จังหวัดสุโขทัย ซึ่งตั้งอยู่ ในเขตอุ ท ยานแห่ ง ชาติรามค�ำแหงมหาราช จังหวัดสุโขทัย และเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต ของราษฎรในพื้นที่โครงการให้ดีขึ้น โดยใช้ แนวทางตามแนวพระราชด�ำริของพระบาท สมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช บรมนาถบพิตร เป็นแนวทางในการพัฒนา ของโครงการ โดยมี น ายสั น ติ ทิ ม เกลี้ ย ง ต�ำแหน่งเจ้าพนักงานป่าไม้ช�ำนาญงาน เป็น หัวหน้าโครงการ
โครงการพัฒนาป่าไม้ตามแนว พระราชด�ำริ จังหวัดสุโขทัย วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเป็นการขยายผลของโครงการตามแนวพระราชด�ำริ ของส�ำนักสนองงาน โครงการพระราชด�ำริ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช โดยน้อมน�ำแนวทาง พระราชด�ำริ ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร เป็น แนวทางในการพัฒนาของโครงการ 2. เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริอื่นๆ 3. เพื่ออนุรักษ์ และฟื้นฟู ทรัพยากรป่าไม้ ดิน และน�้ำ ในพื้นที่โครงการ ท�ำให้มีสภาพ ป่าที่สมบูรณ์ มีแหล่งต้นน�้ำล�ำธาร เกิดระบบนิเวศ และความหลากหลายทางชีวภาพ 22
SBL บันทึกประเทศไทย I SUKHOTHAI
4
.indd 22
26/4/2561 10:28:57
4. เพื่อสร้างจิตส�ำนึกให้แก่ราษฎรใน พื้นที่โครงการ เกิดความรัก ความหวงแหน แ ล ะ เข ้ า ม า มี ส ่ ว น ร ่ ว ม ใ น ก า ร บ ริ ห า ร ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ตาม แนวทางการอยู่ร่วมกันของคนกับป่าได้อย่าง ยั่งยืน 5. เพื่อเสริมสร้างศักยภาพ และโอกาส ของราษฎรที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ของโครงการ ทางด้ า นการพั ฒ นาอาชี พ ยกระดั บ รายได้ และคุ ณ ภาพชี วิ ต สามารถปรั บ ตั ว ทั น ต่ อ กระแสการเปลี่ยนแปลงต่างๆ 6. เพื่อแก้ไขปัญหาพื้นที่ท�ำกินในพื้นที่ อนุรักษ์ 7. เพื่อสร้างงาน และแรงงานในพื้นที่ โครงการ ให้มีรายได้เพิ่มขึ้นเพียงพอต่อการ ด�ำรงชีพ
เป้าหมาย เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของราษฎรใน พื้นที่ของโครงการฯ ให้มีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น และมีรายได้พอเพียงต่อการด�ำรงชีพ ควบคู่ ไปกับการอนุรักษ์ และฟื้นฟู สภาพป่าตาม ความเหมาะสม และสอดคล้องกับศักยภาพ ของพื้นที่
SUKHOTHAI I SBL บันทึกประเทศไทย
4
.indd 23
23
26/4/2561 10:29:06
ประโยชน์ต่อประชาชน 1. การอนุรักษ์ และฟื้นฟู ทรัพยากรป่าไม้ ดิน และน�้ำ ในพื้นที่โครงการ ท�ำให้มีสภาพป่า ที่สมบูรณ์ มีแหล่งต้นน�้ำล�ำธาร เกิดระบบนิเวศ และความหลากหลายทางชีวภาพ 2. สร้างจิตส�ำนึกให้แก่ราษฎรในพื้นที่โครงการ เกิดความรัก ความหวงแหน และเข้ามามี ส่วนร่วม 3. การบริหารทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ตามแนวทางการอยู่ร่วมกันของคนกับ ป่าได้อย่างยั่งยืน 4. เสริมสร้างศักยภาพ และโอกาสของราษฎรที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ของโครงการ ทางด้านการ พั ฒ นาอาชี พ และยกระดั บ รายได้ และคุ ณ ภาพชี วิ ต สามารถปรั บ ตั ว ทั น ต่ อ กระแสการ เปลี่ยนแปลงต่างๆ
ขอขอบคุณข้อมูลจาก ส่วนประสานโครงการพระราชด�ำริและกิจการพิเศษ ส�ำนักบริหาร พื้นที่อนุรักษ์ที่ 14 (ตาก) http://tak.dnp.go.th 24
SBL บันทึกประเทศไทย I SUKHOTHAI
4
.indd 24
26/4/2561 10:29:16
แผนปฏิบัติงาน (กิจกรรมเป้าหมาย)
เป้าหมาย หน่วยนับ
ผลการด�ำเนินงาน
1. งานรวบรวมและขยายพันธุ์ 1/60,000 งาน/กล้า ด�ำเนินการส�ำรวจพันธุไ์ ม้ปา่ พันธุไ์ ม้ปา่ หายาก ไม้ป่าเพื่อสนับสนุนชุมชน น�ำมารวบรวมและขยายพันธุ์ และได้แจกจ่ายพันธุ์ ไม้ปา่ ให้แก่ราษฎรทีม่ าขอรับน�ำไปปลูก เพือ่ สนับสนุน ชุมชนบริเวณพื้นที่โครงการ เป็นไปตามแผนการ ปฏิบัติงานประจ�ำปี พ.ศ.2559 2. งานพัฒนาคุณภาพชีวิต 1 งาน ด�ำเนินการส่งเสริม สนับสนุนพัฒนาอาชีพและ ประชา- สัมพันธ์ ถ่ายทอดองค์ความรู้การด�ำเนิน งานตามแนวพระราชด�ำริ ส่งเสริมด้านการอนุรกั ษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดล้อม ส่งเสริมและ สนั บ สนุ น การท� ำ เกษตรอย่ า งยั่ ง ยื น ตามแนว พระราชด�ำริปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เป็นไปตาม แผนการปฏิบัติงานประจ�ำปี พ.ศ.2559 3. งานธนาคารอาหารชุมชน 1 งาน ด�ำเนินงานส่งเสริมให้ราษฎรในโครงการฯ ปลูกไม้กินได้ ในบริเวณใกล้เคียงที่อยู่อาศัย เช่น ขี้เหล็ก, มะม่วง, สะเดา, หว้า, เสี้ยว, หวาย, กล้วย และไผ่ โดยโครงการได้จัดเตรียมกล้าไม้ผลกินได้ ทั้งที่เป็นไม้ป่าและไม้สวน สนับสนุนให้กับราษฎร น�ำไปปลูก และได้จัดท�ำแปลงสาธิตงานธนาคาร อาหารชุมชน และได้ดูแลแปลงธนาคารอาหาร ชุมชนในพื้นที่โครงการด้วย เป็นไปตามแผนการ ปฏิบัติงานประจ�ำปี พ.ศ.2559 4. งานอานวยการและบริหาร 1 งาน ด�ำเนินงานบริหารทัว่ ไปงานธุรการ, งานการเงิน, โครงการ งานพัสดุ ประชาสัมพันธ์สร้างความเข้าใจเกีย่ วกับ การอนุรกั ษ์ ทรัพยากรป่าไม้ ก่อสร้างและปรับปรุง ส�ำนักงาน บ้านพัก และปรับปรุงภูมิทัศน์โดยรอบ ส�ำนักงาน ติดต่อประสานงานกับส�ำนักบริหาร พื้นที่อนุรักษ์ที่ 14 (ตาก) และหน่วยงานอื่นที่ เกีย่ วข้อง เป็นไปตามแผนการปฏิบตั งิ านประจ�ำปี พ.ศ.2559 5. งานประชาสัมพันธ์การ 1 งาน ด�ำเนินงานจัดท�ำป้ายประชาสัมพันธ์ และ อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ พบปะพูดคุยกับผู้น�ำชุมชนและราษฎรที่อยู่ใน พื้นที่โครงการและบริเวณใกล้เคียง ส่งเสริมด้าน การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ให้แก่ราษฎรและหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง เป็นไป ตามแผนการปฏิบัติงานประจ�ำปี พ.ศ.2559 6. แนวกันไฟ 50 กิโลเมตร ด�ำเนินการจัดชุดลาดตระเวนป้องกันไฟป่า แผ้วถางวัชพืช ท�ำความสะอาด ก�ำจัดเชื้อเพลิง บริเวณแนวกันไฟ เป็นไปตามแผนการปฏิบัติงาน ประจ�ำปี พ.ศ.2559 SUKHOTHAI I SBL บันทึกประเทศไทย
4
.indd 25
25
26/4/2561 10:29:29
26
AD
SBL บันทึกประเทศไทย I SUKHOTHAI
.indd 26
26/04/61 05:31:48 PM
สารจากผู้ว่าราชการจังหวัด
สุโขทัย
นายพิพัฒน์ เอกภาพันธ์ ผู้ว่าราชการจังหวัดสุโขทัย
“ มรดกโลกเลิศ ล�้ำ เมืองเศรษฐกิจสร้างสรรค์ และนวั ต กรรม เมื อ งแห่ ง อารยธรรมและความสุขอย่างยั่ ง ยื น ” นับตัง้ แต่ปี พ.ศ.2448 ทีเ่ ป็นจุดเริม่ ต้นการปกครองส่วนภูมภิ าคในราชอาณาจักรสยาม ต�ำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัด จึงเปรียบเสมือนผู้ปฏิบัติหน้าที่สนองงานพระมหา กษัตริย์ ด้วยการบ�ำบัดทุกข์ บ�ำรุงสุขให้กับประชาชนในจังหวัดต่างๆ ในโอกาสที่มีพระราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้ผมมาด�ำรงต�ำแหน่ง ผู้ว่าราชการจังหวัดสุโขทัย เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2560 ผมได้น�ำเสนอ วางแนวทางการปฏิ บั ติ ร าชการแก่ ห น่ ว ยงานต่ า งๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง อาทิ การบริการจัดการน�้ำ ไม่ว่าจะเป็นปัญหาอุทกภัยและปัญหาภัยแล้ง ที่ต้อง ด�ำเนินการแก้ไขอย่างยั่งยืน, การส่งเสริมการท่องเที่ยว “สุโขทัยเมือง มรดกโลก” ทั้งสถานที่ท่องเที่ยว งานเทศกาล - ประเพณี การท่องเที่ยว วิถีไทย การพัฒนาสินค้า OTOP การจัดกิจกรรมตลาด 800 ปี กรุงสุโขทัย ให้ติดตลาด โดยเน้นการประชาสัมพันธ์ให้กลุ่มนักท่องเที่ยวต่างชาติ เข้ามาท่องเที่ยว รวมไปถึงการวางแผนส่งเสริมการท่องเที่ยวในอีก 20 ปี ข้างหน้า และการจัดท�ำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดสุโขทัยระยะ 20 ปี (พ.ศ.2560-2579) การพัฒนาจังหวัดสุโขทัย 4.0 โดยพัฒนา จังหวัดสุโขทัยให้เป็นเมืองสร้างสรรค์และนวัตกรรม และเป็นองค์กร ที่มีสมรรถนะสูง (High Performance) โครงการท่องเที่ยว 4.0 เพื่อ วางระบบการท่องเที่ยวแบบองค์รวมการพัฒนาด้านโลจิสติกส์และ โครงข่ายคมนาคม และการสร้างความเข้มแข็งให้กับบริษัทประชารัฐ สามัคคี เพื่อให้การค้าการลงทุน และการท่องเที่ยวในจังหวัดเพิ่มขึ้น ท้ายนี้ ขอขอบคุณคณะผูจ้ ดั ท�ำนิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย ตลอดจนหน่ ว ยงานภาครั ฐ และบริ ษั ท - ห้ า งร้ า นต่ า งๆ ที่ ไ ด้ ผนึกก�ำลัง จัดทําหนังสือเผยแพรจังหวัดสุโขทัยดังกลาว
( นายพิพัฒน์ เอกภาพันธ์ ) ผู้ว่าราชการจังหวัดสุโขทัย
Retext.indd 27
10/05/61 10:15:00 AM
มรดก
โลกล�้ำเลิศ ก�ำเนิดลายสือไทย เล่นไฟลอยกระทง ด�ำรงพุทธศาสนา งามตาผ้าตีนจก สังคโลกทองโบราณ สักการแม่ย่าพ่อขุน รุ่งอรุณแห่งความสุข ค� ำ ขวั ญจั งหวั ดสุโขทัย
นายพิพัฒน์ เอกภาพันธ์ ผู้ว่าราชการจังหวัดสุโขทัย
มีทรัพยากรการท่องเที่ยว ทั้งแหล่งธรรมชาติที่งดงาม ตลอดจนวัฒนธรรม ประเพณีอันเป็นเอกลักษณ์เฉพาะของชาวสุโขทัย
28
SBL บันทึกประเทศไทย I SUKHOTHAI
Retext.indd 28
10/05/61 10:15:01 AM
ภาพรวมด้านเศรษฐกิจ - สังคม จังหวัดสุโขทัยมีมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวม (Gross Provincial Product : GPP) ในปี 2558 มีค่าเท่ากับ 37,188 ล้านบาท เป็น โครงสร้างการผลิตภาคเกษตร ร้อยละ 33.5 (คิดเป็นมูลค่าการผลิตภาคเกษตร 12,457 ล้านบาท) และภาคนอกเกษตร ร้อยละ 66.5 (คิดเป็นค่าการผลิตนอกภาคเกษตร 24,735 ล้านบาท) โดยการผลิตภาคบริการมีมูลค่า หรือท�ำรายได้ให้จงั หวัดสุโขทัยสูงสุด รองลงมา ได้แก่ ภาคเกษตร และภาคอุตสาหกรรม การเกษตรกรรม พืชไร่ที่ส�ำคัญของ จังหวัดสุโขทัยที่มีการเพาะปลูกกันมาก ได้แก่ อ้ อ ยโรงงาน ข้ า วโพดเลี้ ย งสั ต ว์ ฤ ดู ฝ น มั น ส� ำ ปะหลั ง ถั่ ว เขี ย วผิ ว ด� ำ ฤดู ฝ น ยาสู บ เบอร์เลย์ เป็นต้น
อุ ต สาหกรรม จั ง หวั ด สุ โขทั ย ตั้ ง อยู ่ ในเขตการส่งเสริมการลงทุนเขต 3 มีจ�ำนวน โรงงานอุตสาหกรรมทั้งหมด 625 แห่ง โดย อุตสาหกรรมที่มีมากเป็นอันดับหนึ่ง ได้แก่ อุ ต สาหกรรมการเกษตร รองลงมา ได้ แ ก่ อุ ต สาหกรรมการขนส่ ง และอุ ต สาหกรรม อโลหะ ตามล�ำดับ ส่วนรายได้เฉลีย่ ต่อหัว (GPP Per Capita) ในปี 2558 จังหวัดสุโขทัยมีรายได้เฉลี่ยต่อหัว ประชากร คิดเป็นเงิน 59,921 บาท/คน/ปี ในปี 2560 ประชากรจังหวัดสุโขทัยที่อยู่ใน วัยแรงงาน ที่มีอายุตั้งแต่ 15 ปีข้ึนไป มีจ�ำนวน 511,116 คน เป็นผ้อู ยูใ่ นก�ำลังแรงงาน จ�ำนวน 342,519 คน ผู้มีงานท�ำ จ�ำนวน 336,315 คน (ร้อยละ 98.19) ผู้ว่างงาน 6,204 คน(ร้อยละ 1.181)
ประชากรในจั ง หวั ด สุ โขทั ย ส่ ว นใหญ่ สื บ เชื้ อ สายมาจากชาวไทยดั้ ง เดิ ม ที่ อ าศั ย อยู่ในดินแดนนี้นานมาแล้ว โดยมีวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี ตลอดจนส�ำเนียง ภาษาพู ด ที่ เ ป็ น เอกลักษณ์ของตนเอง จะมี คนอพยพมาจากท้องถิ่นอื่นบ้างแต่ไม่มากนัก นอกจากนี้ ยั ง มี ช าวไทยภูเขาเผ่า กระเหรี่ยง ม้ง เย้า และลีซอ ซึ่งส่วนหนึ่งอาศัยอยู่ใน ดินแดนแถบนี้มานานแล้ว และอีกส่วนหนึ่ง อพยพมาจากจังหวัดใกล้เคียง เช่น จังหวัด ล�ำปาง น่าน พะเยา เชียงราย แพร่ ตาก และ เพชรบูรณ์ ปัจจุบันชาวไทยภูเขาเหล่านี้อาศัย อยู ่ ใ นเขตต� ำ บลบ้ า นแก่ ง และต� ำ บลแม่ สิ น แม่ส�ำ ในอ�ำเภอศรีสัชนาลัย
SUKHOTHAI I SBL บันทึกประเทศไทย
Retext.indd 29
29
10/05/61 10:15:01 AM
ทรัพยากรสมบูรณ์หนุนเนื่องเศรษฐกิจ จั ง หวั ด สุ โขทั ย เป็ น จั ง หวั ด ๆ หนึ่ ง ที่ อุ ด มสมบู ร ณ์ ไ ปด้ ว ยทรั พ ยากรธรรมชาติ ประกอบด้วย ป่าไม้มีค่า อีกทั้งยังมีพื้นที่ดิน ที่เหมาะสมแก่การเพาะปลูก มีแร่ธาตุที่ส�ำคัญ และมีแหล่งน�้ำธรรมชาติ ด้านทรัพยากรป่าไม้ ในปี พ.ศ. 2559 มี เ นื้ อ ที่ ป ่ า ไม้ 1,225,766.32 ไร่ คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 29.40 ของพื้ น ที่ จั ง หวั ด (ข้ อ มู ล จากสถิติกรมป่าไม้ พ.ศ.2559) ประกอบด้วย ป่าสงวนแห่งชาติ จ�ำนวน 12 ป่า เนื้อที่รวม 1,730,975 ไร่ (บางส่วนมอบ สปก. บางส่วน ประกาศเป็นอุทยาน, เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า จ� ำ นวน 802,882.25 ไร่ คงเหลื อ จ� ำ นวน 969,567.25 ไร่ ) อยู ่ ใ นความรั บ ผิ ด ชอบ ของหน่วยงานสังกัดส�ำนักจัดการทรัพยากร ป่าไม้ที่ 4 (ตาก) กรมป่าไม้ ด้านทรัพยากรน�ำ้ จังหวัดสุโขทัยมีแหล่งน�ำ้
30
ธรรมชาติเป็นน�ำ้ ผิวดินและน�ำ้ ใต้ดนิ (น�ำ้ บาดาล) ที่ส�ำคัญ ดังนี้ แม่น�้ำยม เกิดจากสันเขาผีปันน�้ำ อ�ำเภอปง จังหวัดพะเยา ไหลผ่านจังหวัดแพร่ และจั ง หวั ด สุ โขทั ย จากทางเหนื อ สู ่ ท างใต้ ผ่านพืน้ ทีอ่ ำ� เภอศรีสชั นาลัย อ�ำเภอสวรรคโลก อ�ำเภอศรีส�ำโรง อ�ำเภอเมืองสุโขทัย อ�ำเภอ กงไกรลาศ เป็ น ระยะทางประมาณ 170 กิโลเมตร ไปบรรจบแม่นำ�้ น่านทีอ่ ำ� เภอชุมแสง จังหวัดนครสวรรค์ แม่ น�้ ำ ยมเป็ น แหล่ ง น�้ ำ ที่ ส� ำ คั ญ ที่ สุ ด เปรียบเสมือนเส้นเลือดใหญ่ของจังหวัด ราษฎร ส่ ว นใหญ่ ไ ด้ อ าศั ย น�้ ำ จากแม่ น�้ ำ ยมในการ ท�ำการเกษตรและอุปโภค - บริโภค แม่น�้ำยม เป็ น แม่ น�้ ำ ที่ มี ค วามลาดเทสู ง โดยเฉพาะ ช่ ว งต้ น น�้ ำ ดั ง นั้ น จึ ง เป็ น ปั ญ หาในเรื่ อ ง การเปลี่ยนแปลงของระดับน�้ำในแม่น�้ำ คือ ในฤดูฝนจะมีน�้ำมากเกินความต้องการ และ
ไหลลงสู่ทางใต้อย่างรวดเร็ว ท�ำให้เกิดน�้ำท่วม บริเวณทีร่ าบลุม่ จนเป็นเหตุให้พนื้ ทีก่ ารเกษตร ได้รับความเสียหาย ส่วนในฤดูแล้งน�้ำจะมี ปริ ม าณน้ อ ย ล� ำ น�้ ำ จะแห้ ง ขอดเป็ น ตอนๆ ราษฎรจึ ง ไม่ มี น�้ ำ ใช้ ใ นการเกษตรเพี ย งพอ ปัจจุบันได้มีการสร้างแหล่งเก็บน�้ำถาวรเป็น ช่ ว งๆ นอกจากนี้ ยั ง มี ล� ำ ห้ ว ยต่ า งๆ ได้ แ ก่ ห้วยแม่มอก ห้วยแม่ล�ำพัน และห้วยแม่ท่าแพ ด้านทรัพยากรแร่ธาตุ แร่ธาตุที่ส�ำคัญ ที่พบในจังหวัดสุโขทัยมีอยู่หลายชนิด ได้แก่ หินอ่อน หินปูน พลวง ดินขาว แมงกานีส ฟลูออไรด์ และแร่รัตนชาติ นอกจากนี้ ยังมี แร่ธาตุทมี่ กี ารขุดพบแต่ยงั ไม่นำ� มาใช้ประโยชน์ คื อ ทองแดงและเหล็ ก แหล่ ง แร่ ที่ ส� ำ คั ญ ของจังหวัดมีอยู่แถบภูเขาทางด้านตะวันออก เฉี ย งเหนื อ บริ เวณอ� ำ เภอศรี สั ช นาลั ย และ อ�ำเภอทุ่งเสลี่ยม
SBL บันทึกประเทศไทย I SUKHOTHAI
Retext.indd 30
10/05/61 10:15:03 AM
2 แหล่งมรดกโลก จุดขายด้านการท่องเที่ยว จั ง หวั ด สุ โขทั ย มี ท รั พ ยากรด้ า นการ ท่องเที่ยว ทั้งแหล่งธรรมชาติที่งดงามเหมาะ แก่การท่องเทีย่ ว เช่น อุทยานแห่งชาติรามค�ำแหง และอุทยานแห่งชาติศรีสัชนาลัย ตลอดจน มีแหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ โดยมี โบราณสถานที่ ส� ำ คั ญ ได้ แ ก่ อุ ท ยาน ประวัตศิ าสตร์สโุ ขทัย และอุทยานประวัตศิ าสตร์ ศรี สั ช นาลั ย ที่ ไ ด้ รั บ การขึ้ น ทะเบี ย นเป็ น
มรดกโลก ในปี พ .ศ.2534 และส่ ว นที่ เ ป็ น พิพธิ ภัณฑ์และแหล่งเรียนรู้ เช่น พิพธิ ภัณฑสถาน แห่งชาติรามค�ำแหง พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สวรรควรนายก สาธรพิพิธภัณฑ์ผ้าทองค�ำ แหล่ ง ผลิ ต เครื่ อ งปั ้ น ดิ น เผาบ้ า นทุ ่ ง หลวง ศูนย์ศกึ ษาและอนุรกั ษ์เตาสังคโลก (เตาทุเรียง) รวมถึงแหล่งท่องเทีย่ วทางวัฒนธรรม ประเพณี และวิ ถี ชี วิ ต อั น เป็ น เอกลั ก ษณ์ เ ฉพาะของ
ชาวสุโขทัย ที่ก�ำลังได้รับความนิยมมากขึ้น โดยสถิติจ�ำนวนนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทย และต่างประเทศที่เดินทางมาเที่ยวในจังหวัด สุโขทัย ปี 2560 (ประมาณการ) รวมจ�ำนวน ทัง้ สิน้ 984,571 คน ก่อให้เกิดรายได้จากการ ท่องเทีย่ ว 2,079.17 ล้านบาท
SUKHOTHAI I SBL บันทึกประเทศไทย
Retext.indd 31
31
10/05/61 10:15:04 AM
ตู้แกะสลักและเฟอร์นิเจอร์ @ทต.บ้านกล้วย
งานปูนปั้น และเครื่องปั้นดินเผา @อบต.เมืองเก่า
กรอบแผนพัฒนาจังหวัดสุโขทัย(พ.ศ.2561 - 2564) ฉบับทบทวน ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ.2561
เป้าหมายการพัฒนาจังหวัดสุโขทัย 2561 - 2564
เมืองมรดกโลกเลิศล�้ำ เมืองเศรษฐกิจสร้างสรรค์และนวัตกรรม เมืองแห่งอารยธรรมและความสุขอย่างยั่งยืน
ตัวชี้วัดความส�ำเร็จตามเป้าหมายการพัฒนา 1. อัตราการขยายตัวของผลิตภัณฑ์มวลรวม จังหวัด (GPP) 2. รายได้จากการท่องเที่ยวที่เพิ่มขึ้น 3. อัตราการว่างงานที่ลดลง 4. ครัวเรือนยากจนลดลง
32
5. ความส�ำเร็จของการส่งเสริมการเกษตร แปลงใหญ่ 6. อัตราส่วนแพทย์ต่อประชาชนที่เหมาะสม 7. พื้นที่ป่าไม้ที่เพิ่มขึ้น 8. กระบวนงานภาครัฐที่ได้รับการพัฒนา
SBL บันทึกประเทศไทย I SUKHOTHAI
Retext.indd 32
10/05/61 10:15:11 AM
ประเด็นการพัฒนาจังหวัด (1) พั ฒ นาและยกระดั บ (2) พัฒนาคน คุณภาพชีวิต การท่ อ งเที่ ย วมรดกโลก และสังคม สูเ่ มืองอารยธรรม เสริมสร้าง ความสามารถ และความสุขอย่างยั่งยืน ในการแข่งขัน การค้าการ ลงทุนภาคการเกษตร ภาค อุ ต สาหกรรม สิ น ค้ า และ บริ ก าร และพั ฒ นาการ เชื่อมโยงโครงข่ายคมนาคม และโลจิสติกส์
(3) พั ฒ นาการบริ ห าร จั ด การน�้ ำ และการจั ด การ ทรัพยากรฯ อย่างเป็นระบบ อย่ า งยั่ ง ยื น ภายใต้ ก าร พัฒนาจังหวัดที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม
(4) เสริมสร้างความมั่นคง ภายในจั ง หวั ด การเตรี ย ม ความพร้อมรับภัยพิบัติและ ขยายความร่วมมือระหว่าง ประเทศ
(5) พัฒนาระบบการบริหาร จั ดการภาครัฐและบริการ ภาครั ฐ ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ และ ทั น สมั ย โปร่ ง ใส ตรวจสอบได้
* ประชาชนสั ง คมมั่ น คง ปลอดภั ย มี ร ะบบเตรี ย ม ความพร้อมรับภัยพิบัติและ สถาปนาความสัมพันธ์กับ เมื อ ง ประเทศเพื่ อ เพิ่ ม ศักยภาพ
* พัฒนาระบบการบริหาร จั ด การภาครั ฐ ที่ ทั น สมั ย / จังหวัด 4.0 และเป็นไปตาม หลักธรรมาภิบาล
(1) วัตถุประสงค์ * พั ฒ นาระบบเศรษฐกิ จ * ประชาชนในจั ง หวั ด มี ของ จังหวัดให้มคี วามสมดุล คุณภาพชีวิตที่ดีและสุโขทัย และ ขยายตัวอย่างต่อเนื่อง เป็นเมืองสังคมน่าอยู่และ มีความสุขอย่างยั่งยืน
* ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่ ง แวดล้ อ มมี ก ารบริ ห าร จัดการอย่างเป็นระบบและ ยั่งยืน
(2) เป้าหมายและตัวชี้วัดของแต่ละประเด็นการพัฒนา 1) ร้อยละของรายได้ จาก การท่องเที่ยวที่เพิ่มขึ้น 2) ร้อยละของรายได้จาก ภาคเกษตร ภาคอุตสาหกรรม ภาคการผลิ ต สิ น ค้ า และ บริการที่เพิ่มขึ้น 3) ร้ อ ยละที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ของ โครงสร้ า งพื้ น ฐานที่ ไ ด้ รั บ การพัฒนา 4) ร้อยละครัวเรือน ยากจน ที่ลดลง 5) ร้อยละความส�ำเร็จ ของ การด� ำ เนิ น การส่ ง เสริ ม เกษตรแปลงใหญ่ 6) ร้อยละรายได้จาก การ จ�ำหน่ายสินค้าชุมชน เพิม่ ขึน้ 7) จ�ำนวนผลิตภัณฑ์ OTOP ที่ผ่านการคัดสรร สุดยอด OTOP
1) ร้อยละอัตราการว่างงาน ที่ลดลง 2) ร้อยละประชากรลดลง 3) อั ต ราของแพทย์ ต ่ อ ประชากรที่เหมาะสม 4) ค่าเฉลี่ยคะแนน Q Net ของนักเรียนที่เพิ่มขึ้น 5) ค่ า เฉลี่ ย ร้ อ ยละของ จ� ำ นวนคดี อ าชญากรรม ที่ลดลง
1) ร้อยละพื้นที่ป่าไม้ที่เพิ่ม ขึ้น 2) ร้ อ ยละที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ของ แหล่ ง น�้ ำ ในแต่ ล ะอ� ำ เภอ ที่ได้รับการพัฒนา 3) ร้อยละความส�ำเร็จของ การบริ ห ารจั ด การขยะ มูลฝอย 4) ร้อยละความส�ำเร็จของ กา ร พั ฒ นา กา ร บริ ห า ร จัดการน�้ำ
1) ร้ อ ยละความส� ำ เร็ จ ใน การป้องกันและแก้ไขปัญหา ยาเสพติด 2) สัดส่วนคดีอาชญากรรม ต่อประชาชน (คดี/แสนคน) 3) อั ต ราผู ้ เ สี ย ชี วิ ต จาก อุบัติเหตุจราจรทางบกต่อ ประชากรแสนคน 4) จ�ำนวนเมืองใน ประเทศ ศั ก ยภาพที่ ใ ด สถาปนา ความสัมพันธ์เมืองพี่ และ เมืองน้อง 5) ร้อยละความส�ำเร็จ ของ การพั ฒ นาระบบเตรี ย ม ความพร้อมรับภัยพิบัติและ สาธารณภัย
1 ) จ� ำ น ว น ก า ร พั ฒ น า นวั ต กรรมในการบริ ห าร จั ด ก า ร ร ะ บ บ ง า น ข อ ง จังหวัด 2) จ� ำ นวนกระบวนการ งานของจั ง หวั ด ด้ า นการ บู ร ณาการท� ำ งานการลด พลังงาน การป้องกันและ ปราบปราม การทุจริต การ อ� ำ นวยความสะดวกแก่ ประชาชน และการเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพของส่ ว น ราชการ 3) ร้ อ ยละความส� ำ เร็ จ ใน ก า ร จั ด ท� ำ แ ล ะ ด� ำ เ นิ น โครงการ ของจังหวัดตาม ยุทธศาสตร์ ชาติ 20 ปี
SUKHOTHAI I SBL บันทึกประเทศไทย
Retext.indd 33
33
10/05/61 10:15:11 AM
แนวทางการพัฒนาของแต่ละประเด็นยุทธศาสตร์ 1 . ส ่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ พั ฒ น า ศักยภาพผู้ประกอบการ 2.พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน โครงสร้ า งคมนาคมและ โลจิ ส ติ ก ส์ เ พื่ อ รองรั บ การ ท่ อ งเที่ ย ว การเกษตร/ อุตสาหกรรมการผลิตและ บริการ 3.พัฒนาศักยภาพบุคลากร ผู ้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร โ ด ย ใช ้ เทคโนโลยี และนวัตกรรม การยกระดั บ และเพิ่ ม ศั ก ยภาพการท่ อ งเที่ ย ว การเกษตร การอุตสาหกรรม การผลิต และ การบริการ
1.พัฒนาการศึกษาทุก ระดับ และการเรียนรู้ตลอด ชีวิต 2.ส่งเสริมวัฒนธรรม และ ภูมิปัญญาท้องถิ่น 3.ส่งเสริม และสร้างความ ตระหนั ก ในด้ า นคุ ณ ธรรม จริ ย ธรรม จิ ต สาธารณะ ประชารัฐและคุณภาพคน 4 . เ ต รี ย ม ค ว า ม พ ร ้ อ ม รองรับสังคมผู้สูงอายุ และ ผู้พิการ 5.พัฒนาระบบสาธารณสุข ให้ได้มาตรฐาน
1.พั ฒ นาระบบบริ ห าร จั ด การน�้ ำ และทรั พ ยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อย่างเป็นระบบ และยั่งยืน 2 . ส ่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ พั ฒ น า เทคโนโลยี น วั ต กรรมและ เ พิ่ ม ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ก า ร อ นุ รั ก ษ ์ พ ลั ง ง า น แ ล ะ พลังงานทดแทน
1.เพิ่มประสิทธิภาพ ความ มั่ น คงและความปลอดภั ย โดยบูรณาการความร่วมมือ ทุกภาคส่วน 2.ป้องกันและแก้ไข ปัญหา ยาเสพติ ด โดยใช้ ก ลไก ประชารัฐ 3 . พั ฒ น า ร ะ บ บ เ ต รี ย ม ความพร้อมกับภัยพิบตั แิ ละ การป้ อ งกั น และบรรเทา สาธารณภัย
1.ส่งเสริมพัฒนา คุณภาพ การให้บริการภาครัฐ 2.พั ฒ นากระบวนงานให้ บริ ก ารของภาครั ฐ ให้ มี ประสิทธิภาพโปร่งใสและ ตรวจสอบได้ 3.สนับสนุนการขับเคลื่อน ก า ร ด� ำ เ นิ น แ ผ น ง า น / โครงการภายใต้ยุทธศาสตร์ ชาติระยะ 20 ปี
แผนงานที่ 5 แผนงานที่ 6 พั ฒ นาระบบบริ ห าร การ เสริ ม สร้ า งความมั่ น คง จัดการน�้ำ และทรัพยากร ปลอดภัยและความสุขของ ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ประชาชน อย่างเป็นระบบและยั่งยืน
แผนงานที่ 7 ส่ ง เสริ ม พั ฒ นาและเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการบริ ห าร จั ด ก า ร ภ า ค รั ฐ แ ล ะ ใ ห ้ บริการ ประชาชน
แผนงาน แผนงานที่ 1 พั ฒ น า ภ า พ โ ค ร ง ส ร ้ า ง พื้ น ฐ า น แ ล ะ โ ค ร ง ข ่ า ย คมนาคมเพื่อการท่องเที่ยว และการเกษตร แผนงานที่ 2 พั ฒ น า แ ล ะ ย ก ร ะ ดั บ การท่องเที่ยวมรดกโลก แผนงานที่ 3 ส่งเสริมความสามารถ ใน การแข่งขันพัฒนาศักยภาพ มาตรฐานการเกษตร อุตสาหกรรม และการผลิต สินค้าและบริการ
34
แผนงานที่ 4 พั ฒ นาคน สั ง คม และ คุ ณ ภาพชี วิ ต และคงอั ต ลักษณ์ประเพณีวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น
SBL บันทึกประเทศไทย I SUKHOTHAI
Retext.indd 34
10/05/61 10:15:11 AM
เป้ า หมายการพั ฒ นาจั ง หวั ด สุ โ ขทั ย 2561 - 2564 เมืองมรดกโลกเลิศล�้ำ เมืองเศรษฐกิจสร้างสรรค์และนวัตกรรม เมืองแห่งอารยธรรมและความสุขอย่างยั่งยืน
T
ท่ อ งเที่ ย วมรดกโลก
เมือง 2 มรดกโลก(สุโขทัย-ศรีสชั นาลัย) เมืองมรดกวัฒนธรรม : ลอยกระทง เผาเทียนเล่นไฟ เมื อ งแห่ ง ประวั ติ ศ าสตร์ และ อารยธรรม : มหาราชนักปราชญ์นักรบ หลักศิลาจารึกลายสือไทย ภูมิปัญญา จุดก�ำเนิดอารยธรรม เมืองท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
A
H
เมื อ ง
เมื อง เกษตร/อุ ต สาหกรรม/สิ น ค้ า บริ ก าร บนฐาน เศรษฐกิ จ สร้ า งสรรค์ มู ล ค่ า สู ง
เมืองเศรษฐกิจสร้างสรรค์ เกษตรปลอดภัย เกษตรอินทรีย์/ Smart Farm ยกระดับอุตสาหกรรม และ สินค้า/ บริการ ย่านการค้า ตลาด 800 ปี ทอง เงินโบราณ สังคโลก ผ้าทอแพรภัณฑ์ โครงสร้างพื้นฐาน/ คมนาคม
Tourism
World Heritage City
SUKHO
Happiness Happiness City
THAI
รุ่งอรุณแห่งความสุข
Agri
Industry Service
Creative Economy City
Innovation Innovative City
เมื อ ง
รุ ่ ง อรุ ณ แห่ ง ความสุ ข
สุโขทัยเมืองน่าอยู่ การบริหารจัดการน�้ำอย่างยั่งยืน คุณภาพชีวิต สังคม สุขยั่งยืน แก้ไข ปัญหาความยากจน ฯลฯ จัดการทรัพยากรธรรมชาติ สิง่ แวดล้อม พลังงาน
I
เมื อ ง
นวั ต กรรม
การบริหารภาครัฐ และการให้บริการ ประชาชนทีท่ นั สมัย/จังหวัดสุโขทัย 4.0 ด้ ว ยเทคโนโลยี นวั ต กรรมและมี ธรรมาภิบาล ประชาชนมีความมั่นคงปลอดภัย ในชีวิตและทรัพย์สิน เชื่ อ มโยง/สานสั ม พั น ธ์ กั บ เมื อ ง ศั ก ยภาพในภู มิ ภ าค AEC GMS/ BIMSTEC/LIMEC
SUKHOTHAI I SBL บันทึกประเทศไทย
Retext.indd 35
35
10/05/61 10:15:12 AM
เครดิตภาพ : มีสุข Studio
4 ผลงานส�ำคัญสนองนโยบายรัฐบาล จังหวัดสุโขทัย ได้ให้ความส�ำคัญกับการ พัฒนาตามยุทธศาสตร์การพัฒนาของจังหวัด ควบคู่กับการด�ำเนินงานตามนโยบายที่ส�ำคัญ ของรัฐบาล 7 เรื่อง ได้แก่ การด�ำเนินโครงการ ไทยนิยมยั่งยืน แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดสุโขทัย ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2560 - 2579) และกรอบแนวทาง การพัฒนาจังหวัดสุโขทัย 4.0
การด�ำเนินงานของศูนย์ด�ำรงธรรม การแก้ไข ปัญหาความยากจนของประชาชนโดยใช้กลไก ประชารัฐและน้อมน�ำ ศาสตร์พระราชามาสู่ การปฏิบัติ ตลาดประชารัฐ การแก้ไขปัญหา ยาเสพติด และการจัดการขยะมูลฝอย ดังนี้ รั ฐ บาลได้ ก� ำ หนดให้ ทุ ก ส่ ว นราชการ จังหวัด อ�ำเภอ หมู่บ้าน/ชุมชน ด�ำเนินงาน
ตามโครงการนี้ เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี, แผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 และยุทธศาสตร์ การพัฒนาพื้นที่ เพื่อเสริมสร้างความมั่นคงของชาติ ให้เกิด ประโยชน์ ต ่ อ การ พั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต ของ ประชาชนอย่างเป็นรูปธรรม
กรอบหลั ก ในการด� ำ เนิ น งาน 10 เรื่ อ ง (1) (2) (3) (4) (5) 36
สัญญาประชาคม ผูกใจไทยเป็นหนึ่ง คนไทยไม่ทิ้งกัน ชุมชนอยู่ดีมีสุข วิถีไทย วิถีพอเพียง รู้สิทธิ รู้หน้าที่ รู้กฎหมาย
(6) รู้กลไกบริหารราชการ (7) รู้รักประชาธิปไตยไทยนิยม (8) รู้เท่าทันเทคโนโลยี (9) ร่วมแก้ไขปัญหายาเสพติด (10) งานตามภารกิจของทุกหน่วยงาน
SBL บันทึกประเทศไทย I SUKHOTHAI
Retext.indd 36
10/05/61 10:15:12 AM
2. แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดสุโขทัย ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2560 - 2579) และกรอบ แนวทางการพัฒนาจังหวัดสุโขทัย 4.0 จังหวัดสุโขทัยได้ด�ำเนินโครงการจัดท�ำ แผนยุ ท ธศาสตร์ ก ารพั ฒ นาจั ง หวั ด สุ โขทั ย ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2560 - 2579) เพื่อจัดท�ำ แผนยุทธศาสตร์ การพัฒนาจังหวัด ระยะ 20 ปี ทีส่ อดคล้องและเชือ่ มโยงกับแนวทางการพัฒนา ยุทธศาสตร์แห่งชาติ 20 ปี ยุทธศาสตร์ภาค ยุ ท ธศาสตร์ ก ลุ ่ ม จั ง หวั ด และใช้ เ ป็ น กรอบ ทิ ศ ทางการพั ฒ นาของจั ง หวั ด สุ โ ขทั ย ใน ระยะยาว โดยอาศั ย กลไกการขั บ เคลื่ อ น ผ่านแผนพัฒนาจังหวัด โดยการบูรณาการ
ความร่วมมือในการจัดท�ำแผนพัฒนาในระดับ พื้นที่ (Area) เชื่อมโยงกับ แผนพัฒนาอ�ำเภอ ต�ำบล ชุมชน/หมู่บ้าน และแผนพัฒนาของ ภาคเอกชน และภาคส่วนอื่นๆ (Private) เพื่อ สนับสนุนให้จังหวัดสุโขทัยมีแผนยุทธศาสตร์ กลุ่มจังหวัด ระยะ 20 ปี ที่ตอบสนองต่อผู้มี ส่วนได้ส่วนเสียครบทุกกลุ่มเป้าหมาย และ เป็นไปตามแนวทางที่รัฐบาลก�ำหนด ก่อนที่ จะแปลงไปสู่แผนพัมนาจังหวัด ระยะ 5 ปี และแผนปฏิบัติการประจ�ำปีของจังหวัด กลุ่ม จังหวัดและภาค เพื่อก�ำหนดเป็นแผนงานและ โครงการที่มีคุณภาพ เกิดผลชัดเจนและเป็น รูปธรรมในพื้นที่
โครงการศึกษาแนวทางการพัฒนาและ จั ด ตั้ ง ข้ อ มู ล และสารสนเทศเพื่ อ การพั ฒ นา จังหวัดสุโขทัย 4.0 เพื่อเป็นแหล่งรวบรวม ข้อมูลสารสนเทศ ที่ส�ำคัญในจังหวัดสุโขทัย ทั้งด้านการบริหารจัดการน�้ำ ระบบเตือนภัย ด้านแผนงาน งบประมาณ ด้านการท่องเที่ยว ด้านเศรษฐกิจ และการเกษตร ด้านการศึกษา รวมไปถึ ง ข้ อ มู ล ทั่ ว ไปของจั ง หวั ด เพื่ อ เป็ น ข้อมูลกรอบแนวทางการพัฒนาจังหวัดสุโขทัย สู่จังหวัด 4.0 ตามนโยบาย Thailand 4.0 ของรัฐบาล
นโยบายอนุ รั ก ษ์ ศิ ล ปะวั ฒ นธรรมของ จั ง หวั ด สุ โ ขทั ย โดยการแต่ ง ชุ ด ไทยตลอด เดื อ นเมษายน 2561
3. การแก้ไขปัญหาความยากจนของประชาชน โดยใช้ ก ลไกประชารั ฐ และน้ อ มน� ำ ศาสตร์ พระราชามาสู่การปฏิบัติ ปี ง บประมาณ 2561 จั ง หวั ด สุ โขทั ย มี ค รั ว เรื อ นเป้ า หมายในการแก้ ไขปั ญ หา ความยากจน จ�ำนวน 2,426 ครัวเรือน (เกณฑ์ จปฐ. รายได้เฉลีย่ ต�ำ่ กว่า 38,000 บาท/คน/ปี) โดยแบ่งเป็น
1) ครัวเรือนที่ต้องสงเคราะห์ จ�ำนวน 1,363 ครัวเรือน 2) ครั ว เรื อ นที่ พั ฒ นาได้ จ� ำ นวน 1,063 ครั ว เรื อ น กิ จ กรรมในการช่ ว ยเหลื อ กลุ ่ ม เป้าหมายในปีงบประมาณ พ.ศ.2561 มีดังนี้ 1) ส่งเสริมอาชีพแก่ครัวเรือนเป้าหมายและ สนับสนุนกลุ่มพัฒนาได้ตามโครงการสัมมา อาชี พ โดยการฝึ ก อบรมและสนั บ สนุ น วั ส ดุ ประกอบอาชีพ
2) สนับสนุนการพัฒนาอาชีพในรูปของกลุม่ จ�ำนวน 35 กลุ่ม 3) สนับสนุนการพัฒนาอาชีพผ่านกองทุน ต่างๆ ในชุมชน 4) มอบถุ ง ยั ง ชี พ แก่ ค รั ว เรื อ นเป้ า หมาย สนั บ สนุ น ให้ เข้ า ร่ ว มโครงการผู ้ ล งทะเบี ย น สวัสดิการแห่งรัฐ
SUKHOTHAI I SBL บันทึกประเทศไทย
Retext.indd 37
37
10/05/61 10:15:15 AM
2. ตลาดประชารัฐ การด�ำเนินการโครงการตลาดประชารัฐจังหวัดสุโขทัย มีทั้งหมด 7 ประเภทตลาด ประกอบด้วย
ที่ 1 2 3 4 5 6 7
ตลาดประชารัฐ ตลาดประชารัฐคนไทยยิ้มได้ ตลาดประชารัฐท้องถิ่นสุขใจ ตลาดประชารัฐของดีจังหวัด ตลาดประชารัฐ Modern Trade ตลาดประชารัฐของดีวิถีชุมชน ธ.ก.ส. ตลาดประชารัฐต้องชม ตลาดประชารัฐ ตลาดวัฒนธรรม ถนนสายวัฒนธรรม
3. การแก้ไขปัญหายาเสพติด เนื่ อ งจากรั ฐ บาลได้ ก� ำ หนดให้ ป ั ญ หา ยาเสพติดเป็นปัญหาส�ำคัญเร่งด่วนที่จะได้รับ การป้ อ งกั น และแก้ ไข โดยการบั ง คั บ ใช้ กฎหมายที่เข้มงวด รวมทั้งจัดการปัญหาอื่นๆ ที่เชื่อมโยงต่อเนื่องให้เบ็ดเสร็จประกอบกับ ส� ำ นั ก นายกรั ฐ มนตรี ไ ด้ มี ค� ำ สั่ ง ส� ำ นั ก นายก รัฐมนตรี ที่ 156/2557 ลงวันที่ 18 ตุลาคม 2557 เรื่อง จัดตั้งศูนย์อ�ำนวยการป้องกันและปราบ ปรามยาเสพติดแห่งชาติ (ศอ.ปส.) ท�ำหน้าที่ เป็นองค์กรอ�ำนวยการป้องกันและแก้ไขปัญหา ยาเสพติดระดับชาติ โดยจังหวัดสุโขทัยได้มคี ำ� สัง่ จังหวัดสุโขทัย 38
หน่วยงานรับผิดชอบ ส�ำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดสุโขทัย ส�ำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัดสุโขทัย บริษัทประชารัฐ รักสามัคคีสุโขทัย จ�ำกัด บริษัทประชารัฐ รักสามัคคี, สนง. พาณิชย์จังหวัดสุโขทัย ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ส�ำนักงานพาณิชย์จังหวัดสุโขทัย ส�ำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดสุโขทัย
ที่ 2576/2557 ลงวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ.2557 เรื่อง จัดตั้งศูนย์อ�ำนวยการป้องกันและปราบ ปรามยาเสพติดจังหวัดสุโขทัย (ศอ.ปส.จ.สท.) โดยมีผวู้ า่ ราชการจังหวัดสุโขทัย เป็นผูอ้ ำ� นวยการ ศอ.ปส.จ.สท. และปลัดจังหวัดสุโขทัยเป็น เลขานุ ก าร ศอ.ปส.จ.สท. เพื่ อ บู ร ณาการ การท�ำงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและเป็น ศูนย์กลางในการด�ำเนินงานด้านการป้องกัน และปราบปรามยาเสพติด ในพืน้ ทีจ่ งั หวัดสุโขทัย ให้เกิดผลอย่างเป็นรูปธรรมและเป็นไปตาม เจตนารมณ์ แ ละวั ต ถุ ป ระสงค์ ที่ ก� ำ หนดไว้ จากคณะท� ำ งานเฝ้ า ระวั ง ปั ญ หายาเสพติ ด (โต๊ะข่าว) ครั้งที่ 1/2561 ลงวันที่ 18 ตุลาคม
2560 ณ ห้องประชุมคีรีมาศ ชั้น 4 ศาลากลาง จังหวัดสุโขทัยได้ร่วมกันพิจารณาเป้าหมาย ที่ ต ้ อ งด� ำ เนิ น การป้ อ งกั น และปราบปราม ยาเสพติดในพืน้ ทีต่ ามอ�ำนาจหน้าทีข่ องแต่ละ ส่วนราชการ ตามแผนปฏิบัติการป้องกันและ แก้ไขปัญหายาเสพติด ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ.2561 และมอบหมายให้ เ ลขานุ ก าร ศู น ย์ อ� ำ นวยการป้ อ งกั น และปราบปราม ยาเสพติดจังหวัดสุโขทัย ร่วมจัดท�ำ “แผน ปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด จังหวัดสุโขทัย ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ.2561” เป็นที่เรียบร้อยแล้วโดยมี 4 แผน 2 แนวทาง 8 แผนงาน คือ
SBL บันทึกประเทศไทย I SUKHOTHAI
Retext.indd 38
10/05/61 10:15:16 AM
1) แผนป้ อ งกั น ยาเสพติ ด ก� ำ หนดไว้ 2 แนวทาง แนวทางที่หนึ่ง แนวทางการสร้างภูมิคุ้มกัน ยาเสพติ ด ประกอบด้ ว ย 5 แผนงาน คื อ แผนงานสร้างภูมิคุ้มกันในเด็กปฐมวัยจ�ำนวน 284 แห่ง แผนงานสร้างภูมิคุ้มกันเด็กเยาวชน ในสถานศึกษา ได้แก่ โรงเรียนที่มีการสอน ถึงระดับชั้นประถมศึกษา (ป.6) จ�ำนวน 291 แห่ ง โรงเรี ย นที่ มี ก ารสอนถึ ง ระดั บ ชั้ น ขยาย โอกาส (ม.3) จ� ำ นวน69 แห่ ง โรงเรี ย นที่ มี การสอนถึงระดับชัน้ มัธยมศึกษา (ม.6) จ�ำนวน
27 แห่ง ระดับอาชีวศึกษาจ�ำนวน 6 แห่ง ระดับอุดมศึกษา จ�ำนวน 2 แห่ง สถานศึกษา สั ง กั ด กระทรวงวั ฒ นธรรมจ� ำ นวน 1 แห่ ง สถานศึ ก ษาสั ง กั ด กระทรวงท่ อ งเที่ ย วและ กีฬา จ�ำนวน 1 แห่ง และศูนย์บริการการศึกษา นอกระบบฯ กศน.อ�ำเภอ จ�ำนวน 9 แห่ง แผนงานสร้างภูมิคุ้มกันในเด็กและเยาวชน นอกสถานศึกษา ในพื้นที่ 9 อ�ำเภอ มีโครงการ เยาวชนอาสารักษาดินแดน จ�ำนวน 100 คน และการจัดตั้งศูนย์เยาวชนในพื้นที่เทศบาล ต�ำบล/อบต.จ�ำนวน 84 แห่ง แผนงานสร้าง
ภูมิคุ้มกันแรงงานในสถานประกอบการ ได้แก่ สถานประกอบการ ลูกจ้างต�่ำกว่า 10 คน สร้างภูมิคุ้มกันยาเสพติด จ�ำนวน 45 แห่ง 135 คน และสถานประกอบการลูกจ้างตั้งแต่ 10 คนขึ้นไป มีการรณรงค์ป้องกันยาเสพติด จ�ำนวน 150 แห่ง 2,500 คน การผ่านเกณฑ์ โรงงานสีขาวจ�ำนวน 20 แห่ง และผ่านเกณฑ์ มยส. ปี 2561 จ�ำนวน 2 แห่ง แผนงานสร้าง ภูมคิ มุ้ กันในประชาชนทัว่ ไป ได้แก่ การรณรงค์ วันต่อต้านยาเสพติดโลก จ�ำนวน 1 ครั้ง การ รณรงค์ประชาสัมพันธ์ต่างๆ จ�ำนวน 12 ครั้ง
แนวทางการสร้างสภาพแวดล้อมและการมี ส่ ว นร่ ว มของประชาชน มี ดั ง นี้ แผนงาน เสริ ม สร้ า งหมู ่ บ ้ า น/ชุ ม ชนเข้ ม แข็ ง ได้ แ ก่ การพั ฒ นาหมู ่ บ ้ า น/ชุ ม ชนเข้ ม แข็ ง เอาชนะ ยาเสพติดอย่างยั่งยืนจ�ำนวน 843 หมู่บ้าน 23 ชุมชน รวม 866 หมู่บ้าน/ชุมชน โดยประเมิน สถานะหมู่บ้าน/ชุมชนปีละ 2 รอบแผนงาน หมู ่ บ ้ า นกองทุ น แม่ ข องแผ่ น ดิ น ได้ แ ก่ การขยายผลกองทุนแม่ของแผ่นดินจากเดิม 210 แห่ง ขยายเพิ่ม 9 แห่ง เป้าหมายจ�ำนวน 219 แห่ง และแผนงานสร้างสภาพแวดล้อม เพื่อป้องกันยาเสพติด ได้แก่ การจัดระเบียบ สังคมในพื้นที่ 9 อ�ำเภอๆ ละ 2 ครั้ง/เดือน รวม 216 ครั้ง/ปี 2) แผนปราบปรามยาเสพติ ด ได้ แ ก่ การด�ำเนินคดีกบั ผูก้ ระท�ำผิดเกีย่ วกับยาเสพติด จ� ำ นวน 358 คดี การด� ำ เนิ น การขยายผล
ในความผิ ด “ข้ อ หาสมคบ”จ� ำ นวน 8 คดี การยึด/อายัดทรัพย์สนิ มูลค่าทรัพย์สนิ จ�ำนวน 7 ล้ า นบาท และการตั้ ง จุ ด ตรวจ/จุ ด สกั ด จ�ำนวน 4 แห่ง 3) แผนบ�ำบัดรักษายาเสพติด แบ่งการ บ�ำบัดรักษาออกเป็น 3 ระบบ จ�ำนวน 1,030 คน ได้แก่ ระบบสมัครใจบ�ำบัดจ�ำนวน 850 คน แบ่ ง ออกเป็ น ในสถานพยาบาล (walk in) จ�ำนวน 50 คน ในสถานพยาบาล (คสช.108) จ� ำ นวน 400 คน และศู น ย์ ป รั บ เปลี่ ย น พฤติกรรม (คสช.108) จ�ำนวน 400 คน ระบบ บั ง คั บ บ� ำ บั ด จ� ำ นวน 70 คน ได้ แ ก่ การ ควบคุมตัว จ�ำนวน 36 คน แบ่งออกเป็น สนง. คุ ม ประพฤติ จั ง หวั ด สุ โขทั ย จ� ำ นวน 25 คน และสนง.คุมประพฤติจังหวัดสุโขทัย สาขา สวรรคโลก จ�ำนวน 11 คน และไม่ควบคุมตัว (ส่ ง สถานพยาบาล) จ� ำ นวน34 คน แบ่ ง
ออกเป็ น สนง.คุ ม ประพฤติ จั ง หวั ด สุ โขทั ย จ�ำนวน 29 คน สนง.คุมประพฤติ จังหวัดสุโขทัย สาขาสวรรคโลก จ�ำนวน 5 คน ระบบต้องโทษ จ�ำนวน 110 คน แบ่งออกเป็นเรือนจ�ำจังหวัด สุโขทัย จ�ำนวน 60 คน และเรือนจ�ำอ�ำเภอ สวรรคโลก จ�ำนวน 50 คน การติดตามผู้ผ่าน การบ�ำบัดรักษาฯจ�ำนวน 400 คน 4) แผนบริหารจัดการ ได้แก่ การประชุม คณะกรรมการศูนย์อ�ำนวยการป้องกันและ แก้ ไ ขปั ญ หายาเสพติ ด จั ง หวั ด สุ โ ขทั ย ศอ.ปส.จ.จ�ำนวน 12 ครั้ง และ ศป.ปส.อ. จ�ำนวน 9 อ�ำเภอๆ ละ 12 ครัง้ รวมเป็น 108 ครัง้ และการประชุมคณะท�ำงานเฝ้าระวังปัญหา ยาเสพติดจังหวัดสุโขทัย (โต๊ะข่าว) ศอ.ปส.จ. จ�ำนวน 12 ครั้ง และศป.ปส.อ. จ�ำนวน 9 อ�ำเภอๆ ละ 12 ครั้ง รวมเป็น 108 ครั้ง
SUKHOTHAI I SBL บันทึกประเทศไทย
Retext.indd 39
39
10/05/61 10:15:16 AM
4. การจัดการขยะมูลฝอย 1) ผลความก้าวหน้าในการจัดการขยะจ�ำแนกตามประเภทขยะ (ตั้งแต่ตุลาคม 2559 - มิถุนายน 2560)
ปริมาณขยะมูลฝอย (หน่วย : ตัน) รายการ
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2559
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560
การจัดการขยะมูลฝอยของจังหวัด การจัดการขยะ (การก�ำจัด) เป้าหมาย
ขยะมูลฝอยชุมชนที่เกิด ขึ้นทั้งหมด - ขยะมูลฝอยทั่วไป - ขยะอินทรีย์ - ขยะรีไซเคิล - ขยะอันตรายชุมชน - ขยะอิเล็กทรอนิกส์ (E-waste) ขยะมูลฝอยที่เก็บขนได้
161,135.64
95,709.0588
54,937.18 69,952.63 32,950.87 2,120.14 1,174.81
37,734.5985 38,470.4233 18,305.3327 943.7912 254.9132
67,232.65
44,281.7987
ขยะมูลฝอยตกค้าง
19,244 8,424.8 ปิดบ่อก�ำจัดที่ไม่ถูก (ในบ่อก�ำจัดที่ไม่ถูกต้อง (ในบ่อก�ำจัดที่ไม่ถูกต้อง ต้องทั้งหมด ตามระบบ 9 แห่ง) ตามระบบ 7 แห่ง)
ค่าใช้จ่ายการบริหาร จัดการขยะมูลฝอย (บาท)
51,680,408.1500
ลดลงจากปี 59 (ร้อยละ 5)
ถูกต้อง
44,232.1187
- มูลฝอยติดเชื้อที่เกิด ขึ้น
207.685
724.3315
ก�ำจัดได้ทั้งหมด
724.3315
- กากอุตสาหกรรมที่ เกิดขึ้น
85.81
105.56
ก�ำจัดได้ทั้งหมด
40.66
40
ไม่ถูกต้อง
ที่เหลือรอ การขนส่ง
SBL บันทึกประเทศไทย I SUKHOTHAI
Retext.indd 40
10/05/61 10:15:17 AM
2) ผลความก้าวหน้าในการด�ำเนินการ 2.1 ผลความก้าวหน้าในการด�ำเนินการตาม แผนปฏิ บั ติ ก าร “ประเทศไทย ไร้ ข ยะ” ตามแนวทาง “ประชารัฐ” ระยะ 1 ปี (พ.ศ. 2559 - 2560) ภายใต้แผนแม่บทการบริหาร จัดการขยะมูลฝอยของประเทศ พ.ศ.2559 2564 ในเรื่องต่างๆ 2.1.1 การสนับสนุนการบริหารจัดการ ผลความก้ า วหน้ า ในการด� ำ เนิ น งานของ ค ณ ะ ท� ำ ง า น ด ้ า น ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ขยะมูลฝอย ระดับจังหวัด (1) ประชุมคณะท�ำงานด้านการบริหาร จั ด การขยะมู ลฝอยชุม ชน“จังหวัด สะอาด”
ระดับจังหวัด จ�ำนวน 3 ครั้ง (2) แต่งตั้งคณะอนุท�ำงานฯ ออกตรวจ ติดตาม เร่งรัดการด�ำเนินกิจกรรมด้านการ บริหารจัดการขยะในพื้นที่ทุกอ�ำเภอ ระหว่าง วันที่ 5 - 19 พฤษภาคม 2560 (3) แต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการประกวด คั ด เลื อ ก“หมู ่ บ ้ า น/ชุ ม ชนสะอาด” และ “อ�ำเภอสะอาด” ระดับจังหวัด โดยด�ำเนินการ ดังนี้ - ผลประกวดคั ด เลื อ กหมู ่ บ ้ า น/ชุ ม ชน สะอาด คื อ หมู ่ บ ้ า น/ชุ ม ชนที่ ไ ด้ รั บ รางวั ล ชนะเลิศ รองชนะเลิศ อันดับ 1 รองชนะเลิศ อันดับ 2 และรางวัลชมเชย จ�ำนวน ทั้งสิ้น
ภาคส่วนทั้งหมด ในจังหวัด (แห่ง)
ภาคส่วน 1. ส่วนราชการ 2. สถานศึกษา 3. ศาสนสถาน 4. ภาคเอกชน 5. สถานประกอบการ รวมทั้งสิ้น
363 355 366 9 11 1,104
จัดกิจกรรมลด/คัดแยก ขยะมูลฝอย/การน�ำขยะ มูลฝอยไปใช้ประโยชน์ แล้ว (แห่ง) 363 355 366 9 11 1,104
385 หมู่บ้าน/ชุมชน - การประกวดคัดเลือกอ�ำเภอสะอาด ได้ ก� ำ หนดแผนฯ ออกตรวจประเมิ น ผล การด�ำเนินงานด้านการบริหารจัดการขยะของ ทุกอ�ำเภอ ระหว่างวันที่ 14-25 กรกฎาคม 2560 2.1.2 การลดปริมาณขยะมูลฝอยชุมชน เข้ า สู ่ ร ะบบก� ำ จั ด ที่ ป ลายทาง ผลการจั ด กิจกรรมการลดและคัดแยกขยะมูลฝอย หรือ การน�ำขยะมูลฝอยไปใช้ประโยชน์ตามหลัก 3Rs ของส่วนราชการ สถานศึกษา ศาสนสถาน ภาคเอกชน และสถานประกอบการ (ตั้งแต่ ตุลาคม 2559 - มิถุนายน 2560)
รายละเอียดการด�ำเนิน กิจกรรมโดยสังเขป คัดแยกขยะ / ใช้กระดาษ 2 หน้า คัดแยกขยะ / ใช้กระดาษ 2 หน้า คัดแยกขยะ/น�ำขยะไปใช้ประโยชน์ ฯลฯ ท�ำปุ๋ย คัดแยกขยะ คัดแยกขยะ
2.1.3 การจัดตั้งจุดรวบรวมขยะอันตรายชุมชน (1) แนวทางการจัดตั้งจุดรวบรวมขยะอันตรายหมู่บ้าน/ชุมชน (2) ผลการจั ด ตั้ ง จุ ด รวบรวมขยะอั น ตรายหมู ่ บ ้ า น/ชุ ม ชน ละ 1 แห่ง จังหวัดมีหมู่บ้าน/ชุมชนทั้งหมด 922 แห่ง มีจุดรวบรวม ขยะอันตรายของหมู่บ้าน/ชุมชน จ�ำนวน 801 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 86.87% (3) การประเมินความส�ำเร็จตามเป้าหมายของหมู่บ้าน/ชุมชน ที่มีการจัดตั้ง “จุดรวบรวมขยะอันตรายชุมชน” ร้อยละ 100 2.1.4 หมู่บ้าน/ชุมชนต้นแบบการบริหารจัดการขยะมูลฝอย (1) ผลการคัดเลือกหมู่บ้าน/ชุมชน ต้นแบบการบริหารจัดการ ขยะมูลฝอย จังหวัดมีหมู่บ้าน/ชุมชน ทั้งหมด 922 แห่ง มีหมู่บ้าน/ ชุมชนต้นแบบ 360 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 39.04% (2) การประเมินความส�ำเร็จตามเป้าหมายของหมู่บ้าน/ชุมชน ในพื้ น ที่ ส ามารถเป็ น ต้ น แบบการลดและคั ด แยกขยะมู ล ฝอย ร้อยละ 40 SUKHOTHAI I SBL บันทึกประเทศไทย
Retext.indd 41
41
10/05/61 10:15:17 AM
จากใจผู้ว่าราชการ
จังหวัดสุโขทัย จั ง หวั ด สุ โ ขทั ย ได้ รั บ การจั ด สรร งบประมาณโครงการตามแผนปฏิ บั ติ ราชการประจ� ำ ปี ข องจั ง หวั ด ประจ� ำ ปี ง บประมาณ พ.ศ.2561 จ� ำ นวน 3 โครงการ 12 กิจกรรมหลัก 52 กิจกรรม ย่อย รวมงบประมาณรวมจ�ำนวนทั้งสิ้น 211,069,700 บาท ซึ่งเป็นที่ทราบกันดีว่า งบประมาณที่ จั ง หวั ด สุ โขทั ย ได้ รั บ การ จัดสรรในแต่ละปีนั้น มีจ�ำนวนไม่เพียงพอ ต่อการพัฒนาจังหวัด และการแก้ไขปัญหา ความเดือดร้อน ตลอดจนความต้องการ ของประชาชนในพื้นที่ได้อย่างทั่วถึง โดย เฉพาะอย่ า งยิ่ ง ปั ญ หาเรื่ อ งน�้ ำ ท่ ว มใน ฤดูน�้ำหลาก และปัญหาภัยแล้งในฤดูแล้ง ส่งผลให้เกิดปัญหาต่อประชาชนในพื้นที่ และปัญหาความต้องการของประชาชนใน ด้ า นอื่ น ๆ ผมจึ ง ได้ ใ ห้ มี ก ารจั ด ท� ำ แผน ยุทธศาสตร์การพัมนาจังหวัดสุโขทัยระยะ 20 ปี (พ.ศ.2560-2579) เพื่ อ ก� ำ หนด วิสัยทัศน์ การพัฒนาจังหวัดทั้งในระยะสั้น และระยะยาว เพื่ อ ก� ำ หนดทิ ศ ทางการ พัฒนาจังหวัด สุโขทัยในอนาคต โดยในการบริ ห ารราชการจั ง หวั ด ผมได้ ก� ำ ชั บ ให้ ส ่ ว นราชการที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ด�ำเนินการป้องกันเหตุที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ไว้ล่วงหน้า และหากเกิดปัญหาขึ้นก็ให้ เร่งด�ำเนินการช่วยเหลือประชาชนอย่าง เร่งด่วน อีกทัง้ ยังได้หาแนวทางการช่วย เหลือ ประชาชนชาวจังหวัดสุโขทัย ซึ่งส่วนใหญ่ อยู่ในภาคเกษตรกรรมให้มีคุณภาพ ชีวิต ที่ ดี ขึ้ น โดยยึ ด หลั ก ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย งของในหลวงรั ช กาลท่ี 9 เป็ น แนวทาง ในการพั ฒ นา เพื่ อ ให้ พี่ น ้ อ ง เกษตรกร สามารถพึง่ พาตนเองได้อย่างยัง่ ยืน
42
SBL บันทึกประเทศไทย I SUKHOTHAI
Retext.indd 42
10/05/61 10:15:17 AM
ประวัติโดยย่อ
นายพิพัฒน์ เอกภาพันธ์ ผู้ว่าราชการจังหวัดสุโขทัย
วัน/เดือน/ปีเกิด 8 ตุลาคม 2502 ภูมิล�ำเนาเดิม จังหวัดพิษณุโลก ประวัติการศึกษา ปริญญาตรี ร.บ. สาขาการปกครอง มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ.2525 ปริญญาโท พบ.ม. สาขาพัฒนาทางสังคม NIDA พ.ศ.2536 หลักสูตร นอ. รุ่นที่ 50 นปส. รุ่นที่ 48 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร รุ่นที่ 56 เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ม.ว.ม./2558 ประวัติการรับราชการ พ.ศ.2527 - 2528 นักการข่าว กรมประมวลข่าวกลาง ส�ำนักนายกรัฐมนตรี พ.ศ.2528 - 2529 ปลัดอ�ำเภอเมืองมุกดาหาร จังหวัดมุกดาหาร พ.ศ.2529 - 2530 ปลัดอ�ำเภอดงหลวง จังหวัดมุกดาหาร พ.ศ.2530 - 2531 ปลัดอ�ำเภอค�ำชะอี จังหวัดมุกดาหาร พ.ศ.2531 - 2536 ปลัดอ�ำเภอดอนตาล จังหวัดมุกดาหาร พ.ศ.2536 - 2537 ปลัดอ�ำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก พ.ศ.2537 - 2541 ปลัดอ�ำเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก พ.ศ.2541 - 2545 เจ้าหน้าที่บริหารงานพัฒนาชนบท 7 ส�ำนักงาน รพช.จังหวัดพิษณุโลก จังหวัดอุทัยธานี และจังหวัดชัยนาท พ.ศ.2546 - 2549 หัวหน้าส�ำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดนครสวรรค์ และจังหวัดสุโขทัย พ.ศ.2549 - 2551 ผู้อ�ำนวยการศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เขต 8 ก�ำแพงเพชร พ.ศ.2551 ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านการจัดการช่วยเหลือผู้ประสบภัย (เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและ แผน 9 ชช.) ส�ำนักช่วยเหลือผู้ประสบภัย กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ.2551 - 2552 ผู้อ�ำนวยการศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เขต 2 สุพรรณบุรี (เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน 9 บส.) พ.ศ.2552 - 2555 ผู้อ�ำนวยการส�ำนักช่วยเหลือผู้ประสบภัย กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ.2555 - 2556 รองผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงราย พ.ศ.2556 - 2558 รองผู้ว่าจังหวัดราชบุรี พ.ศ.2558 - 2559 ผู้ว่าราชการจังหวัดแม่ฮ่องสอน พ.ศ.2559 - 2560 ผู้ว่าราชการจังหวัดอุตรดิตถ์ พ.ศ.2560 - ปัจจุบัน ผู้ว่าราชการจังหวัดสุโขทัย SUKHOTHAI I SBL บันทึกประเทศไทย
Retext.indd 43
43
10/05/61 10:15:17 AM
รองผู้ว่า
W O R K LI F E
บันทึกเส้นทางพบรองผู้ว่าราชการจังหวัด
44
SBL บันทึกประเทศไทย I SUKHOTHAI
4
.indd 44
26/4/2561 18:03:51
รองผู้ว่าราชการจังหวัดสุโขทัย
นายศรัทธา คชพลายุกต์ รองผู้ว่าราชการจังหวัดสุโขทัย
“ท�ำงานด้วยความตรงไปตรงมา” นายศรัทธา คชพลายุกต์ รองผู้ว่าราชการ จั ง หวั ด สุ โ ขทั ย ท่ า นเป็ น ศิ ษ ย์ เ ก่ า โรงเรี ย น เซนต์คาเบรียล ส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี จากมหาวิทยาลัยรามค�ำแหง และปริญญาโทจาก สถาบั น บั ณ ฑิ ต พั ฒ นบริ ห ารศาสตร์ หรื อ นิ ด ้ า ท่ า นเคยเข้ า รั บ การศึ ก ษาอบรมหลั ก สู ต ร นักปกครองระดับสูง (นปส.) ประจ�ำปีงบประมาณ 2548 รุน่ ที่ 47 และเคยไปศึกษาดูงานมากกว่า 20 ประเทศทั่วโลก ด้านการปฏิบตั หิ น้าที่ ท่านเคยด�ำรงต�ำแหน่ง ปลั ด อ� ำ เภอในหลายจั ง หวั ด ซึ่ ง ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น จังหวัดทางภาคอีสาน และเป็นนายอ�ำเภอทั้งใน จังหวัดภาคกลางและภาคตะวันตก และเป็นปลัด จังหวัดอุทัยธานีเป็นต�ำแหน่งสุดท้าย ก่อนจะก้าว ขึ้นสู่การเป็น “รองผู้ว่าราชการจังหวัดสุโขทัย” ซึง่ ตลอดระยะเวลาการท�ำงานทีผ่ า่ น ท่านมีผลงาน ดีเด่นทีภ่ าคภูมใิ จมากมาย ได้แก่ โครงการเดินตาม รอยเท้าพ่อ การสร้างศูนย์การเรียนรู้ภูมิปัญญา แผ่นดิน การจัดท�ำแผนยุทธศาสตร์ป้องกันและ แก้ไขปัญหาอุทกภัยและภัยแล้ง ระดับอ�ำเภอ การปรั บ ปรุ ง ศู น ย์ ร าชการอ� ำ เภอ การสร้ า ง โปรแกรมข้อมูลยาเสพติดอ�ำเภอพระพุทธบาท และโครงการถนนต้นสัก ท่านรองผู้ว่าฯศรัทธา คชพลายุกต์ ได้กรุณา ให้ ที ม งานนิ ต ยสาร SBL บั น ทึ ก ประเทศไทย สั ม ภาษณ์ เ กี่ ย วกั บ ภารกิ จ ในต� ำ แหน่ ง รองผู ้ ว ่ า ราชการจังหวัดสุโขทัย หลักการท�ำงานของท่าน และความในใจทีท่ า่ นต้องการฝากไปยังทุกภาคส่วน
ก�ำกับดูแล 19 หน่วยงาน 5 อ�ำเภอ ผมได้รับมอบหมายภารกิจจากท่านผู้ว่าฯ ให้ดแู ลงานด้านการบริหารจัดการและกลุม่ ภารกิจ ด้านเศรษฐกิจ โดยก�ำกับดูแลหน่วยงานของจังหวัด สุโขทัย จ�ำนวน 19 หน่วยงาน ดังนี้ ส� ำ นั ก งานพลั ง งานจั ง หวั ด ส� ำ นั ก งาน อุตสาหกรรมจังหวัด ส�ำนักงานเกษตรและสหกรณ์ จังหวัด ส�ำนักงานเกษตรจังหวัด ส�ำนักงานประมง จั ง หวั ด ส� ำ นั ก งานสหกรณ์ จั ง หวั ด ส� ำ นั ก งาน ปศุสัตว์จังหวัด ส�ำนักงานการค้าภายในจังหวัด ส�ำนักงานพัฒนาธุรกิจการค้าจังหวัด ส�ำนักงาน ส่ ง เสริ ม การปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ส� ำ นั ก งาน แรงงานจังหวัด ส�ำนักงานสวัสดิการและคุ้มครอง แรงงานจั ง หวั ด ส� ำ นั ก งานจั ด หางานจั ง หวั ด ส�ำนักงานประกันสังคม ส�ำนักงานพระพุทธศาสนา จังหวัด ส�ำนักงานวัฒนธรรมจังหวัด ส�ำนักงานสถิติ จั ง หวั ด ส� ำ นั ก งานสาธารณสุ ข จั ง หวั ด และ ส�ำนักงานประชาสัมพันธ์จังหวัด รวมถึงการดูแลและรับผิดชอบการบริหาร ราชการในพื้ น ที่ อ� ำ เภอสวรรคโลก อ� ำ เภอ ศรีสชั นาลัย อ�ำเภอศรีสำ� โรง อ�ำเภอทุง่ เสลีย่ ม และ อ�ำเภอศรีนคร SUKHOTHAI I SBL บันทึกประเทศไทย
4
.indd 45
45
26/4/2561 18:04:02
ภารกิจส�ำคัญ นอกเหนือจากภาระงานประจ�ำตามที่กล่าว ไปข้างต้นแล้ว ท่านผู้ว่าฯยังได้มอบหมายภารกิจ ให้ก�ำกับดูแลเป็นพิเศษก็คือ การบริ ห ารจั ด การการจราจรในวั น ลอย กระทง เนื่องจากในเทศกาลลอยกระทงเผาเทียน เล่นไฟของจังหวัดสุโขทัย จะมีนักท่องเที่ยวทั้ง ชาวไทย ชาวต่างชาติ และประชาชนในพื้นที่ให้ ความสนใจเป็นอย่างมาก จึงท�ำให้เกิดปัญหาการ จราจรคับคั่ง อีกทั้งยังเกิดอุบัติเหตุจากการขับขี่ ยานพาหนะอยู่เสมอ ดังนั้นท่านผู้ว่าฯจึงได้ก�ำชับ ให้ทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ร่วมกันวางแผนการ จั ด การจราจรให้ มี ค วามคล่ อ งตั ว และมี ค วาม ปลอดภั ย ทั้ ง แก่ นั ก ท่ อ งเที่ ย ว และผู ้ ขั บ ขี่ ย าน พาหนะ การเตรียมความพร้อมรับมือโรคพิษสุนัขบ้า แม้ว่าที่ผ่านมายังไม่พบโรคพิษสุนัขบ้าทั้งในคน และสั ต ว์ ใ นพื้ น ที่ จั ง หวั ด สุ โขทั ย แต่ ท ่ า นผู ้ ว ่ า ราชการจังหวัดสุโขทัยก็ได้ประชุมและเน้นย�ำ้ ให้ทกุ พื้นที่ในจังหวัดสุโขทัย โดยเฉพาะในสถานที่ท่อง เทีย่ วทีส่ ำ� คัญๆ อาทิ อุทยานประวัตศิ าสตร์สโุ ขทัย อุทยานประวัติศาสตร์ศรีสัชนาลัย ต้องเป็นพื้นที่ ปลอดโรคพิษสุนัขบ้า 100 เปอร์เซนต์ เพื่อสร้าง ความมั่นใจให้กับนักท่องเที่ยวมากขึ้น เพื่อให้สัตว์ กลุม่ เสีย่ งได้รบั การฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนขั บ้า และให้คนเลี้ยงได้ดูแลสัตว์เลี้ยงอย่างถูกต้อง รวม ไปถึงมีความรับผิดชอบต่อสัตว์เลีย้ งของตนเอง ซึง่ จะช่วยลดอัตราการเกิดโรคในสัตว์และจ�ำนวนผู้ เสียชีวิตจากโรคพิษสุนัขบ้าลงได้ การพัฒนาเมืองเก่าตามแผนการพัฒนาเมือง เก่า 20 ปี ที่มีเป้าหมายในการยกระดับเมืองเก่า สุโขทัย ให้เป็น First Destination ด้านการท่อง เทีย่ วทางประวัตศิ าสตร์ของกลุม่ ภาคเหนือ รวมไป ถึงการเชื่อมโยงระเบียงเศรษฐกิจมรดกโลก หลวง พระบาง อินโดจีน เมาะล�ำไย เพื่อเพิ่มจ�ำนวนนัก ท่องเที่ยวชาวไทยไม่น้อยกว่า 50% และนักท่อง เที่ยวชาวต่างชาติไม่น้อยกว่า 90% ตลอดจนการ พัฒนาย่านพาณิชยกรรมเพือ่ การท่องเทีย่ วให้เป็น ศูนย์กลางเศรษฐกิจ ประวัตศิ าสตร์ และมรดกโลก ที่ส�ำคัญของภาคเหนือ
46
เน้นหลักการ “ตรงไปตรงมา” ตลอดระยะเวลาทีผ่ า่ นมา ไม่วา่ ผมจะปฏิบตั ิ หน้าทีต่ ำ� แหน่งใด ผมจะมีหลักการท�ำงานทีส่ ำ� คัญ ของผมคือ การท�ำงานด้วยความตรงไปตรงมา ด้วย ความซื่อสัตย์สุจริต เราถึงจะน�ำพาประเทศชาติ ของเราไปสู่ความเจริญได้
จากใจท่านรองผู้ว่าฯศรัทธา คชพลายุกต์ จังหวัดสุโขทัยของเราก�ำลังเดินหน้าสู่เป้า หมายการพัฒนาจังหวัด 4 ปี (2561-2564) คือ “เมื อ งมรดกโลกเลิ ศ ล�้ ำ เมื อ งเศรษฐกิ จ สร้างสรรค์และนวัตกรรม เมืองแห่งอารยธรรม และความสุขยั่งยืน” จึงขอความร่วมมือจากทุก ภาคส่วนให้ร่วมด้วยช่วยกัน เราจะก้าวเดินไปด้วย กัน และจะไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง เพื่อให้จังหวัด สุโขทัยเป็นเมืองที่มีความสุขอย่างยั่งยืนดังเช่นใน อดีตที่ผ่านมา
SBL บันทึกประเทศไทย I SUKHOTHAI
4
.indd 46
26/4/2561 18:04:10
นายศรัทธา คชพลายุกต์
ประวัติโดยย่อ
นายศรัทธา คชพลายุกต์
รองผูว้ า่ ราชการจังหวัดสุโขทัย การศึกษา - โรงเรียนเซนต์คาเบรียล - ระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง - ระดับปริญญาโท สถาบันบัณฑิต พัฒนบริหารศาสตร์ หรือนิด้า การปฏิบัติงาน - ปี 2532 ปลัดอ�ำเภอ (จพง.ปค.3) อ�ำเภอ บ้านเหลื่อม จังหวัดนครราชสีมา - ปี 2534 ปลัดอ�ำเภอ (จพง.ปค.4) ที่ท�ำการปกครอง จังหวัดนครราชสีมา - ปี 2536 เจ้าหน้าที่ฝึกอบรม 5 วิทยาลัยการ ปกครอง - ปี 2539 เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป 6 ส�ำนักงาน จังหวัดนครพนม - ปี 2544 ปลัดอ�ำเภอ จังหวัดขอนแก่น - ปี 2547 เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน 8 หัวหน้ากลุ่มงานช่วยปลัดกระทรวงมหาดไทย (สป.มท.) - ปี 2550 นายอ�ำเภอสระโบสถ์ จังหวัดลพบุรี - ปี 2551 นายอ�ำเภอหนองแซง จังหวัดสระบุรี - ปี 2552 นายอ�ำเภอเสาไห้ (ผู้อ�ำนวยการต้น) จังหวัดสระบุรี - ปี 2553 - 2554 นายอ�ำเภอพระพุทธบาท (ผู้อ�ำนวยการสูง) จังหวัดสระบุรี - ปี 2554 นายอ�ำเภอเมืองกาญจนบุรี - ปี 2556 ปลัดจังหวัดอุทัยธานี - ปี 2560 รองผู้ว่าราชการจังหวัดสุโขทัย การศึกษาดูงานต่างประเทศ ประเทศญี่ ปุ ่ น มาเลเซี ย สิ ง คโปร์ ออสเตรเลี ย สาธารณรั ฐ ประชาชนจี น พม่ า ลาว กั ม พู ช า สวี เ ดน เดนมาร์ก ฝรั่งเศส อังกฤษ สวิตเซอร์แลนด์ แคนาดา นิวซีแลนด์ อิตาลี สหรัฐอเมริกา เยอรมนี ฮอลแลนด์ ฮ่องกง ไต้หวัน เครื่องราชอิสริยาภรณ์ - ทวีติยาภรณ์ช้างเผือก - ทวีติยาภรณ์มงกุฎไทย
SUKHOTHAI I SBL บันทึกประเทศไทย
4
.indd 47
47
26/4/2561 18:04:19
W O R K LI F E
บันทึกเส้นทางพบรองผู้ว่าราชการจังหวัด
นายชัชพงศ์ เอมะสุวรรณ รองผู้ว่าราชการจังหวัดสุโขทัย
“จะประพฤติปฏิบัติตนเป็นข้าราชการที่ดี มีความซื่อสัตย์สุจริต เจริญรอยตามเบื้องพระยุคลบาท มุ่งมั่นแน่วแน่แก้ ไขปัญหา ของประเทศชาติ และของประชาชน”
48
SBL บันทึกประเทศไทย I SUKHOTHAI
.indd 48
27/04/61 03:48:36 PM
SUKHOTHAI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 49
49
27/04/61 03:48:37 PM
W O R K LI F E
บันทึกเส้นทางพบส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัด
นายจ�ำเริญ ศรีค�ำมูล
ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดสุโขทัย
50
SBL บันทึกประเทศไทย I SUKHOTHAI
.indd 50
26/04/61 06:06:08 PM
ส�ำนักงานพระพุทธศาสนา จังหวัดสุโขทัย
เป็ น ที่ ท ราบกั น ดี ว ่ า พระพุ ท ธศาสนา ในอาณาจักรสุโขทัยในอดีตนั้น มีความเจริญ รุ ่ ง เรื อ งอย่ า งมาก ด้ ว ยมี พ ระมหากษั ต ริ ย ์ ทรงเป็ น องค์ ศ าสนู ป ถั ม ภ์ ดั ง ปรากฏว่ า มี วัดวาอารามที่เป็นโบราณสถานจ�ำนวนมาก ในจั ง หวั ด สุ โขทั ย แม้ ก าลเวลาจะผ่ า นมา เนิ่นนานหลายร้อยปี ทว่าพระพุทธศาสนา
ก็ ไ ด้ ห ยั่ ง รากแห่ ง ความศรั ท ธาลงในใจของ ชาวพุทธในจังหวัดสุโขทัยมาจวบจนปัจจุบัน นายจ� ำ เริ ญ ศรี ค� ำ มู ล ผู ้ อ� ำ นวยการ ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดสุโขทัย ได้ ให้ สั ม ภาษณ์ ใ นหลากหลายประเด็ น ให้ นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย ได้บันทึก เรื่ อ งราว ของส� ำ นั ก งานพระพุ ท ธศาสนา
จังหวัดสุโขทัย ดังนี้ โครงการเพื่อการส่งเสริมพระพุทธศาสนา ในปี ที่ ผ ่ า นมา ส� ำ นั ก งานพระพุ ท ธศาสนา จังหวัดสุโขทัย ได้ด�ำเนินโครงการเพื่อส่งเสริม ความรู้ ความเข้าใจในพระพุทธศาสนาแก่ภาค ประชาชนหลากหลายโครงการด้วยกัน เช่น
โครงการถวายความรู้แด่พระสังฆาธิการระดับเจ้าอาวาส รักษาการเจ้าอาวาส ผู้ช่วยเจ้าอาวาส และไวยาวัจกร ผู้แทน กรรมการวัด ในจังหวัดสุโขทัย เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจในบทบาท หน้าที่ของตนได้อย่างถูกต้อง เพื่อให้สามารถ ปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ส นองงานกิ จ การคณะสงฆ์ ทั้ ง 6 ด้าน คือ งานด้านการปกครอง การศึกษา การเผยแผ่ การสาธารณู ป การ การศึ ก ษา สงเคราะห์ และการสาธารณสงเคราะห์ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อแสวงหาแนวทาง พัฒนากิจการพระศาสนา ให้สามารถสนอง การด�ำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และ เกิดประโยชน์สูงสุดต่อคณะสงฆ์ อีกทั้งเพื่อ
ให้เกิดการแลกเปลีย่ นประสบการณ์ เสนอปัญหา และแสวงหาแนวทางแก้ไขและการป้องกัน ปัญหาสังคมร่วมกัน โดยการจั ด อบรมถวายความรู ้ นั้ น มี พระสังฆาธิการระดับเจ้าอาวาส รักษาการ เจ้าอาวาส รองเจ้าอาวาส ผู้ช่วยเจ้าอาวาส และไวยาวั จ กร/ผู ้ แ ทน/กรรมการวั ด ใน จังหวัดสุโขทัย จ�ำนวน 1,000 รูป/คน โดย แบ่ ง ออกเป็ น 9 รุ ่ น ซึ่ ง ผลสั ม ฤทธิ์ ใ นการ
ด�ำเนินการคือ ผู้เข้ารับการอบรมไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 มีโอกาสเรียนรู้เกี่ยวกับบริหาร กิจการคณะสงฆ์ในด้านต่างๆ ที่นำ� มาประยุกต์ ใช้ในการบริหารจัดการวัด และมีโอกาสพบปะ แลกเปลี่ยนประสบการณ์และความคิดเห็น ซึ่งกันและกัน ส�ำหรับน�ำมาใช้ในการบริหาร จัดการวัด ให้เป็นองค์กรที่สร้างความเจริญ รุ ่ ง เรื อ งพระพุ ท ธศาสนาและสั ง คมได้ อ ย่ า ง มีประสิทธิภาพ
SUKHOTHAI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 51
51
26/04/61 06:06:09 PM
โครงการปฏิบัติธรรมและครอบครัวอบอุ่นด้วยพระธรรม เฉลิมพระเกียรติ ซึ่ ง จั ด ขึ้ น เพื่ อ เฉลิ ม พระเกี ย รติ ส มเด็ จ พระนางเจ้าฯ พระบรมราชินนี าถ ในรัชกาลที่ 9 เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา 85 พรรษา และสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั มหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร เนื่องในโอกาสวันเฉลิม พระชนมพรรษา 65 พรรษา และเพื่อส่งเสริม สนั บ สนุ น ให้ นั ก เรี ย นมี ค วามรู ้ ความเข้ า ใจ ในหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา โดยเฉพาะ หลักศีล 5 มาประพฤติปฏิบตั ใิ นชีวติ ประจ�ำวัน ได้อย่างถูกต้องและมีความสุข อีกทัง้ เพือ่ ส่งเสริม สถาบันครอบครัวให้อบอุ่นและเข้มแข็ง ด้วย การปลูกฝังศีลธรรม คุณธรรมจริยธรรมอันดีงาม และสร้างภูมิคุ้มกันเรื่องยาเสพติด สร้างความ
ปรองดองสมานฉันท์และสันติสุข ให้เกิดแก่ ครอบครัว ชุมชน สังคมและประเทศชาติ ทั้งนี้ กิจกรรมดังกล่าวจัดขึ้น 2 ช่วง ได้แก่ ช่วงเดือนมกราคม 2560 ณ วัดศรีชุม ต�ำบลเมืองเก่า อ�ำเภอเมืองสุโขทัย วัดไทยชุมพล ต�ำบลธานี อ�ำเภอเมืองสุโขทัย โรงเรียนศรีส�ำ โรงชนูปถัมภ์ ต�ำบลคลองตาล อ�ำเภอศรีส�ำโรง และวัดขวาง(ใหม่หนองเงิน) ต�ำบลบ้านกร่าง อ�ำเภอกงไกรลาศ โดยมีเด็ก เยาวชน และ ประชาชนทั่วไปเข้าร่วม จ�ำนวน 2,000 คน ช่ ว งเดื อ นกั น ยายน ณ วั ด กงไกรลาศ ต�ำบลกง อ�ำเภอกงไกรลาศ โดยมีเด็ก เยาวชน และประชาชนทั่วไปเข้าร่วม จ�ำนวน 470 คน
โครงการสวดมนต์เพื่อความเป็นสิริมงคล เนื่องในโอกาสวันขึ้นปีใหม่ พ.ศ.2561 โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ ถวายเป็ น พุทธบูชา สืบทอดพระพุทธศาสนาให้มีความ เจริญรุ่งเรืองต่อไป และเพื่อความเป็นสิริมงคล แก่ประชาชนชาวไทย เนือ่ งในโอกาสวันขึน้ ปีใหม่ พ.ศ.2561 ซึ่งในระดับจังหวัดมีจ�ำนวน 2 แห่ง ได้แก่ วัดไทยชุมพล อ�ำเภอเมืองสุโขทัย และ วัดราษฎร์ศรัทธาธรรม พระอารามหลวง อ�ำเภอศรีนคร และระดับอ�ำเภอ มีวัดที่จัด กิจกรรมพิเศษ รวมจ�ำนวน 26 วัด และวัดทุกวัด ในจังหวัดสุโขทัย มีพระสงฆ์และพุทธศาสนิกชน ที่เข้าร่วมโครงการ จ�ำนวน 131,679 รูป/คน 52
SBL บันทึกประเทศไทย I SUKHOTHAI
.indd 52
26/04/61 06:06:10 PM
โครงการ “หนึ่งใจ...ให้ธรรมะ” โครงการนี้ มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ ปลู ก ฝั ง หลักศีลธรรมทางพระพุทธศาสนาให้เป็นหลัก ในการพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมของเด็ก และเยาวชน และประชาชนทั่วไป โดยมุ่งให้ มีความรู้คู่คุณธรรม เพือ่ พัฒนาทักษะการด�ำเนินชีวติ ของเด็ก เยาวชน และประชาชนทั่วไป ให้มีคุณธรรม เป็นเครือ่ งน�ำทางพร้อมทัง้ ส่งเสริมจิตสาธารณะ พั ฒ นาภาวะผู ้ น� ำ และจิ ต ส� ำ นึ ก ในการรั บ ใช้ เพือ่ นมนุษย์ตงั้ แต่เยาว์วยั เพือ่ จัดประสบการณ์ ให้เด็ก เยาวชน และประชาชนทั่วไป เรียนรู้ หลักพุทธธรรมน�ำชีวิตฝึกเจริญสมาธิ พัฒนา
ความคิ ด สติ ป ั ญ ญาส� ำ หรั บ เป็ น ภู มิ คุ ้ ม กั น ให้ด�ำเนินชีวิตอย่างไม่ประมาทขาดสติ และ ฝึกปฏิบตั ติ นตามหลักวิถพี ทุ ธ และเพือ่ สนับสนุน รูปแบบการด�ำเนินกิจกรรมต่างๆ ของโครงการ “หนึ่งใจ...ให้ธรรมะ” และสร้างเครือข่าย กระจายความดี อันเป็นการศึกษาและเจริญ รอยตาม พระจริ ย าวั ต รอั น งดงาม ในทู ล กระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญาฯ โดยมีพระวิทยากรเป็นผู้อบรม โดยการ บรรยาย, การฉายภาพสไลด์, เพาว์เวอร์พอยท์ การฝึกปฏิบตั ธิ รรม, การตอบค�ำถาม ณ โรงเรียน อุ ด มดรุ ณี ต� ำ บลธานี อ� ำ เภอเมื อ งสุ โขทั ย
จั ง หวั ด สุ โขทั ย มี นั ก เรี ย นเข้ า รั บ การอบรม จ�ำนวน 1,000 คน ซึง่ ผลสัมฤทธิใ์ นการด�ำเนินการ คือเด็ก เยาวชนและประชาชนได้เรียนรูห้ ลักธรรม ค�ำสอนทางพระพุทธศาสนา โดยเฉพาะหลัก ศีล 5 ได้อย่างถูกต้อง เพื่อน�ำมาใช้ในชีวิต ประจ�ำวัน ได้ฝึกจิตใจให้มีสติ สมาธิ ปัญญา ความอดทนอดกลั้น รู้จักการให้อภัย เสียสละ และเอาชนะใจตนเองได้ เด็ก เยาวชนและ ประชาชนมีความใกล้ชิด มีความเชื่อ ความรัก ความผูกพันกับระหว่างบ้าน วัด, โรงเรียน, ส่วน ราชการ และครอบครัวมีความสุข โดยการน�ำ หลักการปฏิบัติธรรมมาใช้ในชีวิตประจ�ำวัน
โครงการเพื่อพระพุทธศาสนาในปี 2561 ในช่วงต้นปี พ.ศ. 2561 ทีผ่ า่ นมา คณะสงฆ์ จั ง หวั ด สุ โขทั ย ส� ำ นั ก งานพระพุ ท ธศาสนา จังหวัดสุโขทัย โรงเรียนอุดมดรุณีและโรงเรียน กงไกรลาศวิทยา ได้รว่ มจัดโครงการ “หนึง่ ใจ... ให้ธรรมะ” ประจ�ำปีงบประมาณ 2561 เพื่อ ให้เด็ก เยาวชน และประชาชนทั่วไปได้สัมผัส และเรียนรู้ธรรมะอย่างใกล้ชิด ฝึกจิตใจให้มี ความอดทน มีสติ สมาธิ รู้จักเอาชนะใจตน และกตั ญ ญู ต ่ อ บิ ด ามารดาและผู ้ มี พ ระคุ ณ สามารถ น้อมน�ำธรรมะกลับไปปฏิบัติให้เกิด ประโยชน์ ในการเล่าเรียนศึกษาหาความรู้ และด�ำเนินชีวิตเป็นคนดี มีคุณภาพของสังคม โดยได้ จั ด กิ จ กรรม ณ โรงเรี ย นอุ ด มดรุ ณี
ต�ำบลธานี อ�ำเภอเมืองสุโขทัย จังหวัดสุโขทัย และโรงเรียนกงไกรลาศวิทยา ต�ำบลไกรกลาง อ�ำเภอกงไกรลาศ จังหวัดสุโขทัย มีเด็กและ เยาวชนเข้าร่วมโครงการฯ จ�ำนวน 1,500 คน และที่ก�ำลังด�ำเนินการอยู่เป็นกิจกรรม ศูนย์ปรองดองสมานฉันท์เพื่อปฏิรูปจังหวัด สุโขทัย(เคลื่อนที่) เป็นกิจกรรมหนึ่งที่อยู่ใน โครงการฯ หมู่บ้านรักษาศีล 5 เป็นการด�ำเนิน การร่ ว มกั บ จั ง หวั ด สุ โขทั ย และคณะสงฆ์ จังหวัดสุโขทัย และอีกโครงการที่ด�ำเนินการ อย่างต่อเนือ่ งทุกปีคอื โครงการครอบครัวอบอุน่ ด้วยพระธรรม เฉลิมพระเกียรติฯ ซึง่ มีเป้าหมาย ในการเน้นเด็ก เยาวชน นักเรียน นักศึกษา SUKHOTHAI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 53
53
26/04/61 06:06:11 PM
H I S TO R Y O F T H A IL A ND 4 . 0 บันทึกเส้นทางไทยแลนด์ 4.0
5 กระบวนทัศน์สร้างเด็กไทย สู่ยุค Thailand 4.0
ในยุคทีท่ วั่ ทัง้ โลกต้องปรับตัวกันขนานใหญ่ จากผลของการเปลี่ยนแปลงสู่ยุคดิจิตอล 4.0 ซึ่ ง เทคโนโลยี ถู ก น� ำ มาพั ฒ นาต่ อ ยอด เพื่อลดบทบาทของมนุษย์ และเพิ่มศักยภาพ ของมนุษย์ในการใช้ความคิดเพื่อข้ามขีดจ�ำกัด และสร้ า งสรรค์ พั ฒ นาสิ่ ง ใหม่ ๆ เชื่ อ แน่ ว ่ า พ่อแม่ ผู้ปกครอง หลายท่านเกิดความกังวลใจ ไม่ น ้ อ ย ว่ า ควรจะเตรี ย มความพร้ อ ม เรื่ อ งการศึ ก ษาให้ กั บ ลู ก เพื่ อ ให้ รั บ มื อ กั บ ความเปลี่ ย นแปลงอย่ า งใหญ่ ห ลวงนี้ ไ ด้ อย่างไร เมื่ อ วั น ที่ 1 มี น าคม 2561 คณะ อนุกรรมการเตรียมคนไทยสู่ศตวรรษที่ 21 ร่วมกับองค์กรเครือข่ายสร้างกระบวนทัศน์ และหลั ก คิ ด ที่ เ หมาะสมส� ำ หรั บ คนไทย ส�ำนักงานสุขภาพแห่งชาติ (สช.) ส�ำนักงาน กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ(สสส.) ศู น ย์ คุ ณ ธรรม (องค์ ก ารมหาชน) ภาครั ฐ ภาคประชาสังคม และภาคเอกชน ร่วมกันจัดงาน 54
SBL บันทึกประเทศไทย I SUKHOTHAI
4.0 2
.indd 54
26/4/2561 12:00:00
สถาบั น ครอบครั ว และชุ ม ชน ซึ่ ง การปรั บ กระบวนทั ศ น์ ทั้ ง 5 ข้ อ คื อ 1. พอเพี ย ง 2. วิ นั ย 3. สุ จ ริ ต 4. จิ ต สาธารณะ และ 5. รับผิดชอบ จ�ำเป็นต้องท�ำให้เกิดขึ้นจริง ไม่ใช่เพียงให้สอนกันในโรงเรียนและให้เด็ก ท่องจ�ำเพื่อหวังคะแนนอย่างเดียว แต่หน่วย งานทีเ่ กีย่ วข้องจะต้องน�ำไปปฏิบตั ติ อ่ ให้เกิดผล ซึ่ ง โครงการโรงเรี ย นคุ ณ ธรรม ที่ พ ระบาท สมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช ได้ทรงริเริ่มไว้เป็นต้นแบบส�ำคัญของการปรับ ใช้เป็นกระบวนทัศน์ 5 ข้อ ซึ่งทรงตรัสว่า “การสร้างคนดี ให้แก่บ้านเมืองเป็นเรื่องที่ ยากและยาวแต่ก็ต้องท�ำ” ดังนั้น การเรียน การสอนจะไม่ได้เน้นให้เด็กเก่ง แต่ท�ำให้เด็ก มีน�้ำใจ มีจิตอาสา สามัคคี หันมาช่วยเหลือกัน ซึ่งพบว่าการที่เด็กมีน�้ำใจ มีคุณธรรม ส่งผลให้ เด็กเรียนดีขึ้นกว่าเดิม วัดได้จากสถิติการสอบ โอเน็ตอยู่ในล�ำดับที่ดีขึ้นเรื่อยๆ
“การสร้ า งกระบวนทั ศ น์ แ ละหลั ก คิ ด ที่ เหมาะสมส�ำหรับคนไทย” พร้อมประกาศ เจตนารมณ์พันธะสัญญาร่วมกันขององค์กร ภาคีเครือข่าย 275 เครือข่าย กว่า 500 คน เพื่ อ ร่ ว มสร้ า งกระบวนทั ศ น์ แ ละหลั ก คิ ด ส�ำหรับคนไทย โดย ศ.เกียรติคุณ นพ.เกษม วัฒนชัย องคมนตรี ปาฐกถาพิเศษ หัวข้อ “หลักคิดที่ เหมาะสมส�ำหรับคนไทย” ว่า สังคมไทยใน อดี ต ได้ รั บ การยกย่ อ งจากต่ า งชาติ ใ นเรื่ อ ง ความอ่อนโยน มนุษยธรรม กตัญญู แต่ปจั จุบนั เราเผชิ ญ กั บ วิ ก ฤติ คุ ณ ธรรม ต้ น ทุ น เหล่ า นี้ ลดต�่ ำ ลงจากกระแสความเปลี่ ย นแปลงทั้ ง ภายในและภายนอกประเทศที่กระทบเข้ามา ท�ำให้ถึงเวลาที่เราจะต้องคิดว่า จะปล่อยให้ กระแสไหลบ่าจนพาตกเหว หรือ ลุกขึ้นมาสู้ กับมัน ซึ่งปัจจุบันจ�ำเป็นต้องท�ำให้ต้นทุนที่เรา มีอยู่มีคุณค่าขึ้นมา โดยสถาบันหลักของไทย คือ สถาบันพระมหากษัตริย์ สถาบันศาสนา SUKHOTHAI I SBL บันทึกประเทศไทย
4.0 2
.indd 55
55
26/4/2561 13:15:48
H I S TO R Y O F S U K H O T H A IH IG H WAY บันทึกเส้นทางแขวงทางหลวงสุโขทัย
แขวงทางหลวงสุโขทัย “พัฒนาและบ�ำรุงรักษาให้ทางหลวง สวยงามและปลอดภัย เคียงคู่มรดกโลก และเป็นที่พึงพอใจแก่ประชาชน” คื อ วิ สั ย ทั ศ น์ แ ขวงทางหลวงสุ โ ขทั ย ส�ำนักงานทางหลวงที่ 5 (พิษณุโลก) กรมทางหลวง ภารกิจแขวงทางหลวงสุโขทัย แขวงทางหลวงสุโขทัย มีหน้าที่ควบคุม ดูแลและบ�ำรุงรักษาทางหลวงให้อยู่ในสภาพ ที่ดี มีความพร้อมที่จะอ�ำนวยความสะดวก และปลอดภัยแก่ผู้ใช้เส้นทางอยู่ตลอดเวลา ตามนโยบายกรมทางหลวง โดยแขวงฯ มีพื้นที่ ควบคุมทั้งหมด สายทาง 49 ตอนควบคุม เป็น ระยะทางรวมทั้งสิ้น 901.669 กิโลเมตร โดยแบ่งการควบคุมพื้นที่ เป็น 7 หมวด การทาง ตามพื้ น ที่ อ� ำ เภอต่ า งๆ ในจั ง หวั ด สุโขทัยดังนี้ หมวดทางหลวงสุโขทัย หมวดทางหลวงศรีส�ำโรง หมวดทางหลวงทุ่งเสลี่ยม หมวดทางหลวงสวรรคโลก หมวดทางหลวงคีรีมาศ หมวดทางหลวง บ้านแก่ง หมวดทางหลวงแม่สิน
56
นายทศพร เหลืองกัลยาณคุณ ผูอ้ ำ� นวยการแขวงทางหลวงสุโขทัย
กลยุทธ์แขวงทางหลวงสุโขทัย - บริหารงบประมาณอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้ผลตอบแทนอย่างคุ้มค่าต่อการลงทุน - ปรับปรุงภูมิทัศน์สองข้างทางและเกาะ กลาง - จั ด ให้ มี ก ารประชุ ม ต่ อ เนื่ อ ง เพื่ อ ติ ด ตามและประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง านของ บุคลากรภายในหน่วยงาน ลั ก ษณะการด� ำ เนิ น งานของแขวง ทางหลวงสุโขทัย
การด�ำเนินงานด้านงานทางด้านวิศวกรรม แขวงฯ ได้ ด� ำ เนิ น การตรวจสอบและ แก้ไขผิวทาง ไหล่ทาง เกาะกลาง ตลอดจน พื้นที่สองข้างทาง รวมถึงติดตัง้ อุปกรณ์อ�ำนวย ความปลอดภั ย และสิ่ ง อ� ำ นวยความสะดวก ต่างๆ เพื่อใช้งานอย่างปลอดภัย ครบถ้วน และถูกต้องตามมาตรฐานกรมทางหลวง เช่น ปะซ่อมผิวทางที่เป็นหลุมบ่อ ตัดหญ้าสองข้าง ทาง ตลอดจนติ ด ตั้ ง อุ ป กรณ์ อ� ำ นวยความ ปลอดภัย เสาไฟฟ้าแสงสว่าง และไฟสัญญาณ จราจรที่ช�ำรุดเสียหาย ให้อยู่ในสภาพพร้อม ใช้งานได้ตลอดเวลา
SBL บันทึกประเทศไทย I SUKHOTHAI
2
.indd 56
30/4/2561 17:46:22
ด้านความสวยงาม ตบแต่งและดูแลผิวทาง ไหล่ทาง เกาะกลาง และพื้นที่สองข้างทาง อุปกรณ์อ�ำนวยความ ปลอดภั ย สิ่ ง ปลู ก สร้ า ง และอ� ำ นวยความ สะดวกต่ า งๆ ให้ ส วยงามเป็ น ระเบี ย บ เรียบร้อย เช่น มีการตัดหญ้า ตัดแต่งกิ่งไม้ ไม้พมุ่ บ�ำรุงรักษาต้นไม้ บริเวณเกาะกลางถนน ปรับปรุงภูมิทัศน์ให้สวยงามสองข้างทาง งานด้านบริการ การช่ ว ยเหลื อ น�้ ำ ท่ ว ม การช่ ว ยเหลื อ ภัยแล้ง แจกน�้ำ ดับไฟไหม้ข้างทาง ภารกิจฉุกเฉินช่วยเหลือจังหวัดฯ ปี 2560 การช่ ว ยเหลื อ ประชาชนช่ ว งน�้ ำ ท่ ว ม ตลาดเทศบาลเมืองสุโขทัยธานี เมื่ อ วั น ที่ 29-30 กรกฎาคม 2560 แขวงทางหลวงสุ โขทั ย ได้ ใ ห้ ก ารช่ ว ยเหลื อ ประชาชน ที่ ป ระสบปั ญ หาน�้ ำ ท่ ว มตลาด เทศบาลเมืองสุโขทัย โดยได้จัดก�ำลังคนไป ช่วยขนกระสอบทรายอุดรอยรั่วของก�ำแพง คอนกรี ต แม่ น�้ ำ ยม น� ำ เครื่ อ งจั ก รไปขน คอนกรี ต บาริ เ ออร์ เ พื่ อ ชะลอกระแสน�้ ำ ที่ไหลเชี่ยว และหลังน�้ำลดแล้วได้น�ำก�ำลังคน และรถน�้ำไปกวาดล้างท�ำความสะอาดถนนให้ ใช้การได้ตามปกติ เข้าร่วมกิจกรรม “จิตอาสาเราท�ำความดี ด้วยหัวใจ” โดยท�ำความสะอาด ปรับภูมทิ ศั น์ โดยรอบทั้งภายในและภายนอก ณ วัดไทย ชุมพล อ�ำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย เพือ่ เตรียม สถานทีใ่ ช้จดั งานพระเมรุมาศ (จ�ำลอง) พระราช พิธถี วายพระเพลิงพระบรมศพ พระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9
แขวงทางหลวงสุโขทัยฝากถึงประชาชน ขอความร่ ว มมื อ ในการช่ ว ยกั น รั ก ษา ความสะอาดสองข้ า งทาง โดยไม่ ทิ้ ง ขยะ บริเวณทางหลวง และช่วยดูแลทรัพย์สินของ กรมทางหลวง ซึ่ ง เป็ น ทรั พ ย์ สิ น ของทาง ราชการ อีกทั้งขอให้ประชาชนช่วยกันรักษา กฎระเบียบการรุกล�้ำเขตทางหลวง โดยไม่ ก่อสร้างสิ่งปลูกสร้าง หรือป้ายโฆษณารุกล�้ำ เข้ า มาในเขตทางหลวง และหากประสบ ปัญหาจากการใช้ทางหลวง สามารถติดต่อ ศูนย์บริการประชาชน 1586 สายด่วนกรม ทางหลวง SUKHOTHAI I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 57
57
30/4/2561 17:46:25
5 กระบวนทัศน์สร้างเด็กไทย สู่ยุค Thailand 4.0 “หากจะสร้างให้เด็กมีวินัยได้ต้องเริ่ม ตั้ ง แต่ วั ย เด็ ก ซึ่ ง ปั จ จุ บั น เด็ ก อยู ่ ใ นระบบ การศึกษา จึงต้องให้ความส�ำคัญในประเด็น การสร้างคน โดยเน้นคนดี มากกว่าคนเรียนเก่ง ไม่ใช่แข่งกันเรียน แข่งกันกวดวิชา แต่ตอ้ งปรับ ความคิดมีจติ อาสา เด็กช่วยกันติว ให้คำ� แนะน�ำ กันเรือ่ งการเรียน เน้นเรือ่ งระบบธรรมาภิบาล ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ท�ำให้องค์กร หรือโรงเรียนมีคณ ุ ภาพ คุณธรรม จัดสิง่ แวดล้อม เชื่อว่า 5-10 ปีน้ี ประเทศจะเปลี่ยนแปลงไป ในทิศทางทีด่ ขี นึ้ ” ศ.เกียรติคณ ุ นพ.เกษม กล่าว ศ.เกียรติคุณ นพ.เกษม กล่าวเพิ่มเติมว่า สมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว มหาวชิ ร าลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ทรงเห็นความส�ำคัญด้าน การศึกษา และพระราชทานพระราโชบาย ด้านการศึกษา ซึ่งทรงอยากให้การศึกษาต้อง มุ่งสร้างพื้นฐานให้แก่ผู้เรียน คือ 1.ทัศนคติที่ ถู ก ต้ อ งต่ อ บ้ า นเมื อ ง เข้ า ใจในพื้ น ฐานของ บ้านเมือง ยึดมั่นในศาสนา มั่นคงในสถาบัน พระมหากษัตริย์ และเอื้ออาทรต่อครอบครัว ชุมชน 2. พื้นฐานชีวิตที่มั่นคงเข้มแข็ง รู้จัก แยกแยะผิ ด ชอบชั่ ว ดี ปฏิ บั ติ แ ต่ สิ่ ง ที่ ช อบ สิ่งที่ดี ปฏิเสธสิ่งที่ผิด สิ่งที่ชั่ว ช่วยกันสร้างคน ดีแก่บ้านเมือง 3. มีอาชีพ มีงานท�ำ ไม่ใช่เรียน อย่ า งเดี ย วแต่ ไ ม่ ส ามารถน� ำ มาปฏิ บั ติ ใช้ ไ ด้ และ 4. เป็นพลเมืองดี ไม่ว่าครอบครัว สถาน ศึกษา สถานประกอบการ ต้องส่งเสริมให้ โอกาสท�ำหน้าที่พลเมืองดี โดยเห็นอะไรที่ดี ต่อชาติบ้านเมืองก็ต้องท�ำ เช่น งานจิตอาสา เป็นต้น โดยสิ่งส�ำคัญที่เน้นย�้ำคือ การท�ำเพื่อ ชาติบ้านเมือง ศ.กิต ติคุ ณ ดร.เที ยนฉาย กีร ะนั นทน์ กรรมการขับเคลื่อนการปฏิรูปเพื่อรองรับการ ปรับเปลี่ยนตามนโยบายไทยแลนด์ 4.0 และ ประธานคณะอนุ ก รรมการเตรี ย มคนไทย สู ่ ศ ตวรรษที่ 21 กล่ า วว่ า เป้ า หมายของ การพัฒนาคนไทยตามยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี
58
SBL บันทึกประเทศไทย I SUKHOTHAI
4.0 2
.indd 58
26/4/2561 13:16:08
คนไทยต้ อ งเป็ น คนที่ ส มบู ร ณ์ มี ส มรรถนะ ทางกาย มีจิตใจและจิตส�ำนึกที่ดีงาม และมี สติปัญญามีการเรียนรู้ตลอดชีวิต หัวใจของ การเตรียมคน คือ สร้างกระบวนทัศน์และ หลักคิดทีเ่ หมาะสม พร้อมต่อการเปลีย่ นแปลง เป็นพลังขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศ และ การปรับกระบวนทัศน์และหลักคิดคนไทยให้ เหมาะสม มีความพร้อมสู่ศตวรรษที่ 21 เป็น หนึ่งในภารกิจหลักในการปฏิรูปประเทศ เพื่อ เปลี่ยนผ่านประเทศไทยไปสู่ศตวรรษที่ 21 โดยใช้โมเดลประเทศไทย 4.0 (Thailand 4.0) การสร้างคนให้มีความพร้อมอย่างสมดุล ทั้งในด้านการเรียนรู้ การมีหลักคิด และมี ค่านิยมที่ถูกต้อง ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กล่าว ว่า นโยบายส�ำคัญของกระทรวงวิทย์ฯ ที่กำ� ลัง ด�ำเนินการอยู่ในขณะนี้ คือ การเตรียมคนไทย เข้ า สู ่ ศ ตวรรษที่ 21 ผ่ า นวิ ท ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวั ต กรรม (วทน.) หรื อ “วิทย์สร้างคน” ซึ่งเน้นทุกช่วงวัย โดยเฉพาะ เด็กและเยาวชน ให้มีกระบวนการความคิดที่ เป็ น เหตุ เ ป็ น ผล เป็ น เชิ ง วิ ท ยาศาสตร์ ที่ มี หลักฐานอ้างอิงได้ (Scientific Thinking) มี ความตระหนักในหลักธรรมาภิบาล เสริมสร้าง ให้ เ กิ ด วั ฒ นธรรมวิ ท ยาศาสตร์ อ ย่ า งทั่ ว ถึ ง โจทย์ ส� ำ คั ญ ที่ พ ลเอกประยุ ท ธ์ จั น ทร์ โ อชา นายกรัฐมนตรี ฝากไว้คือ ท�ำให้คนไทยมีความคิดความอ่านแบบมี เหตุ ผ ล เป็ น พลเมื อ งดี ที่ ตื่ น รู ้ เชื่ อ มโยงกั บ ความดีงามตามแนวทางไทยนิยมยั่งยืน มีจิต วิญญาณและสปิริตที่หวังประโยชน์ส่วนรวม และประเทศชาติเป็นส�ำคัญ อันเป็นรากฐาน ส�ำคัญของระบอบประชาธิปไตย ขอขอบคุณข้อมูลจาก นางสาวรุ่งทิพย์ ค�ำพิทุม กลุ ่ ม งานประชาสั ม พั น ธ์ กระทรวง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
SUKHOTHAI I SBL บันทึกประเทศไทย
4.0 2
.indd 59
59
26/4/2561 13:16:28
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดยางเอน สุ โ ขทั ย เป็ น ดิ น แดนประวั ติ ศ าสตร์ ที่ ไ ด้ รั บ การยกย่ อ งเป็ น มรดกโลก อี ก ทั้ ง ยังมีพระพุทธปฏิมาศักดิ์สิทธิ์ที่มีพุทธศิลป์ งดงามจากฝี มื อ ช่ า งอั น เยี่ ย มยอด และ เป็นเมืองแห่งพระเกจิที่มีชื่อเสียง หนึ่งในวัด ที่มีชื่อเสียงด้านพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ และมี พระเกจิที่ก�ำลังเป็นที่กล่าวขานถึงทางด้าน วั ต ถุ ม งคลของท่ า น ที่ เ ด่ น ดั ง ด้ า นทรั พ ย์ และพุทธคุณด้านแคล้วคลาดปลอดภัย นั่น ก็ คื อ วั ด ยางเอน ต.ตาลเตี้ ย อ.เมื อ ง จ.สุ โ ขทั ย ซึ่ ง ปั จ จุ บั น มี พ ระอาจารย์ ฉ ลอง ปัญฺญาวโร เป็นเจ้าอาวาสวัด
60
SBL บันทึกประเทศไทย I SUKHOTHAI
.indd 60
02/05/61 11:44:31 AM
หลวงพ่อขาว...พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ วั ด ยางเอน มี พ ระพุ ท ธรู ป ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ทีส่ าธุชนจากทั่วสารทิศมากราบไหว้ขอพรคือ “หลวงพ่ อ ขาว” หรื อ ที่ ช าวบ้ า นเรี ย กว่ า “หลวงปู่ขาว” ประดิษฐานเป็นพระประธาน บนศาลาวัดยางเอน หลวงพ่ อ ขาวเป็ น พระพุ ท ธรู ป ปู น ปั ้ น สมัยสุโขทัย หน้าตักประมาณ 30 นิว้ เชือ่ กันว่า ภายในองค์หลวงพ่อขาว มีพระพุทธรูปทองค�ำ ประดิษฐานอยูด่ า้ นใน และทีพ่ ระเนตรขององค์ ท่านจะเป็น “เพชร” ซึ่งเคยมีมิจฉาชีพแกะ เอาไปแต่สุดท้ายก็ต้องชดใช้กรรมด้วยอาการ ตาบอดทัง้ 2 ข้าง ทุกๆ วันจะมีผคู้ นมากราบไหว้ ขอพรและบนบานศาลกล่าวในเรือ่ งต่างๆ อาทิ
การติดตามข้าวของหาย การขอโชคขอลาภ การขอเรื่องธุรกิจ การค้า การงาน ฯลฯ โดย นิยมบนด้วยธูป 9 ดอก พวงมาลัย 9 พวง และ ไข่ต้ม 9 ใบ โดยมีเรือ่ งราวเกีย่ วกับปาฏิหาริยแ์ ละความ ศักดิ์สิทธิ์ของ “หลวงพ่อขาว” ว่า วันดีคืนดี จะมีแสงสีทอง สว่างไสวเปล่งประกายเป็น ล�ำแสงออกจากองค์ท่าน บางรายก็เห็นเป็น พระภิกษุสูงวัยเดินตรวจตราภายในวัดในช่วง กลางดึก และในอดีตเคยเกิดเหตุการณ์ทนี่ กั เลง หัวไม้กราดยิงปืนใส่ชาวบ้านจ�ำนวนมาก แต่ ชาวบ้ า นก็ แ คล้ ว คลาดปลอดภั ย ด้ ว ยบารมี ของหลวงพ่อขาวคุ้มครอง SUKHOTHAI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 61
61
26/04/61 04:53:12 PM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดราชธานี วัดราชธานี ตั้งอยู่เลขที่ 30 ซอยศรีสุโข ต�ำบลธานี อ�ำเภอเมืองสุโขทัย
ความส�ำคัญของวัดราชธานี วัดราชธานีเมื่อประมาณ 70 ปีก่อน ทาง ราชการ พ่อค้า ประชาชน ถือว่าเป็นวัดส�ำคัญ วัดหนึ่ง โดยทางราชการได้อาศัยประกอบพิธี ทีส่ ำ� คัญ เช่น พิธถี อื น�ำ้ พิพฒ ั น์สตั ยา ทัง้ ยังเป็นวัด ที่มีต�ำนานเล่ากันมาว่า พระยาพิชัยดาบหัก เมื่อครั้งเป็นเด็กเคยมาอาศัยอยู่กับบิดาที่วัดนี้ พร้อมกันนั้นวัดราชธานีแห่งนี้ยังเคยเป็นสาขา 62
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เมื่อปี พ.ศ.2497 เนื่องจากวัดแห่งนี้มีการรวบรวมโบราณวัตถุ และศิ ล ปวั ต ถุ ไ ว้ เ ป็ น จ� ำ นวนมาก อี ก ทั้ ง เป็นวัดที่ตั้งอยู่ใจกลางเมือง มีอุโบสถวิหาร ศาลาการเปรียญ พิพิธภัณฑสถาน ศาลาวัด นอกจากจะใช้ บ� ำ เพ็ ญ กุ ศ ลแล้ ว ยั ง ใช้ เ ป็ น สถานศึ ก ษาเป็ น สถานที่ ศึ ก ษาสตรี ป ระจ� ำ จังหวัดเคยตั้งอยู่ และที่ส�ำคัญคือ ชาวเมือง จะให้ความเคารพนับถือพระพุทธรูปประธาน ของวัดคือ “หลวงพ่อเป๋า” หรือ “หลวงพ่อเป่า” ว่าศักดิ์สิทธิ์เป็นอย่างยิ่ง
SBL บันทึกประเทศไทย I SUKHOTHAI
.indd 62
27/04/61 08:58:23 AM
ประวัติความเป็นมา วัดราชธานี เดิมชือ่ ว่า วัดป่าละเมาะ เพราะ ตั้งอยู่บนเกาะเต็มไปด้วยป่าละเมาะ ต่อมา เปลีย่ นชือ่ เป็น “วัดท่านี”้ เพราะมีทา่ เรือข้ามฟาก ไปมาค้าขายจุดทีส่ ำ� คัญระหว่างคลองแม่รำ� พัน จากด้ า นเหนื อ คื อ เมื อ งเชลี ย ง และต่ อ มา เปลีย่ นเป็น “วัดธานี” ตามชือ่ หมูบ่ า้ น ในสมัย ทีพ่ ระราชธานีมาเป็นเจ้าเมืองสุโขทัย ได้ทำ� การ บูรณะปฏิสังขรณ์วัดธานี แล้วจึงเปลี่ยนชื่อว่า “วัดราชธานี” สืบมาจนปัจจุบัน วัดราชธานีเป็นวัดที่เก่าแก่ จากหลักฐาน ทางโบราณวั ต ถุ ที่ ห ลงเหลื อ อยู ่ เ ป็ น ก้ อ นอิ ฐ ทีน่ ำ� มาก่อสร้างเจดียเ์ ก่าแก่ มีขนาดกว้าง 6 นิว้ ยาว 12 นิ้ว หนา 1 นิ้วครึ่ง ซึ่งนักโบราณคดี
สันนิษฐานว่าเป็นเจดีย์สมัยสุโขทัย แรกทีเดียว ในวิหารวัดราชธานีมีพระพุทธรูปสมัยสุโขทัย ปางต่างๆ เป็นจ�ำนวนมาก นอกจากนี้ยังมี พระพุทธรูปสมัยอู่ทอง และสมัยลพบุรี เป็น จ�ำนวนมาก ปัจจุบันได้น�ำไปเก็บรักษาไว้ที่ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ภูมิภาคที่ 3 สุโขทัย ทีเ่ หลือนอกนัน้ ได้ถกู เพลิงไหม้พร้อมกับกุฏแิ ละ อุโบสถ เมือ่ ปี พ.ศ.2511 ดังทีป่ รากฏในเนือ้ เพลง “สุโขทัยระทม” ประหนึ่งเป็นเพลงประจ�ำ จังหวัดไป โดยเนื้อเพลงกล่าวถึงเหตุการณ์ ไฟไหม้วดั ด้วย ซึง่ ในปัจจุบนั ยังคงเหลือซากนัน้ ปรากฏอยู่
SUKHOTHAI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 63
63
27/04/61 08:58:33 AM
สุโขทัยต๊อตติ สุโขทัยต๊อตติ Good day starts with coffee and food ! “สุโขทัยต๊อตติ” ร้านกาแฟและอาหาร จ า น เ ดี ย ว ใ น บ ร ร ย า ก า ศ ชิ ค ๆ ชิ ล ๆ
“วิวหลักล้าน ราคาหลักสิบ”
โดดเด่นด้วยสไตล์การตกแต่งร้าน แบบ มิกซ์แอนด์แมทช์และดีไอวาย พร้อมทั้งงาน แฮนด์เมดหลายอย่าง ท�ำให้บรรยากาศภายใน ร้านดูเรียบหรู มีเสน่ห์น่าค้นหา โดยเฉพาะ โต๊ะ-เก้าอีแ้ ต่ละตัวนัน้ มีดไี ซน์แตกต่างกัน เพือ่ ให้ คุ ณ ได้ แชะและแชร์ ผ ่ า นโซเชี ย ลได้ อ ย่ า ง สนุกสนาน กาแฟ “ต๊อตติ” กาแฟออแกนิค เรา บรรจงคัดสรรเมล็ดกาแฟออแกนิคจากยอด ดอยสูง ทัง้ ของไทยและต่างชาติแล้วน�ำมาคัว่ เอง และผสม (เบรนด์) เอง จึงได้กาแฟเกรดพรีเมีย่ ม ในราคาธรรมดาๆ โดยแต่ละเมนูจะใช้เมล็ด กาแฟและการเบรนด์ทตี่ า่ งกัน ท�ำให้ได้รสชาติ ที่เข้มข้น นัว ถึงใจ ดื่มแล้วหอมติดปลายจมูก พิเศษสุด ! เครื่องปริ้นท์ฟองนมบริการฟรี เพิ่ม อรรถรสในการดืม่ ด้วยการปริน้ ท์ภาพทีช่ อบลง บนฟองนมในแก้วกาแฟ เมนู “ต๊ อ ตติ ” ติ ด ดาว ข้ า วกะเพราหมู แ ดดเดี ย ว ข้าวกะเพราปลาสลิ ด ข้ า วกะเพราเบคอน ข้ า วผั ด ปลาทู ข้าวหมูพริกไทยด�ำ แกงส้มชะอมไข่ใส่กุ้ง ซุปเปอร์ขาไก่ ย�ำหมูมะนาว ย�ำหมูยอ หมูทอดปลาเค็ม ไข่กระทะ ขนมปัง หน้าหมูที่ท�ำจากขนมปังฝรั่งเศส จึงกรอบนอกนุ่มในไม่อม น�้ำมัน ซึ่งลูกค้าสามารถวางใจในคุณภาพของอาหารได้เต็มที่ เพราะผักทีเ่ ราใช้ ล้วนเป็นผักปลอดสารพิษจากชุมชนในเมืองเก่า ขณะที่เนื้อสัตว์เราเจาะจงใช้จากผูผ้ ลิตทีไ่ ด้มาตรฐาน สากลส่งตรงถึงร้าน ลองมาสักครัง้ แล้วคุณจะติดใจใน
“สุโขทัยต๊อตติ”
64
Ad-
SBL บันทึกประเทศไทย I SUKHOTHAI
1
.indd 64
ตั้ ง อ ยู ่ ท า ง ไ ป อุ ท ย า น ประวั ติ ศ าสตร์ สุ โ ขทั ย ข้ า ง อนามัยเมืองเก่า มีจานสังคโลก ใบใหญ่ๆ อยู่ทางซ้ายมือ ติดต่อสอบถามได้ที่ โทร. 08-1654-4556 หรื อ เข้ า ไปชมเพจร้ า น เฟสบุ ๊ ค https://www.facebook. com/sukhothaiTotti/
30/4/2561 17:36:35
WORK LIF E
บันทึกเส้นทางพบเทศบาลต�ำบล
อ�ำเภอเมืองสุโขทัย จังหวัดสุโขทัย “พัฒนาคน สู่สังคมแห่งการเรียนรู้ ชุมชนน่าอยู่ ควบคู่คุณธรรม น�ำสู่ความพอเพียง” คือวิสัยทัศน์ของเทศบาลต�ำบลบ้านกล้วย
เทศบาลต�ำบลบ้านกล้วย เลขที่ 444 หมู่ที่ 14 ต.บ้านกล้วย อ.เมือง จ.สุโขทัย 64000 โทรศัพท์ : 055-616288-9 โทรสาร : 055-616290 Website : www.bankluai.go.th Facebook : bankluaisukhothai เทศบาลต� ำ บลบ้ า นกล้ ว ย ในปั จ จุ บั น เป็นเทศบาลขนาดกลาง จ�ำนวนประชากรโดย ประมาณ 17,000 คน จ�ำนวนครัวเรือน 6,790 ครัวเรือน ต�ำบลบ้านกล้วยมีเนือ้ ทีโ่ ดยประมาณ 111.02 ตร.กม. หรือประมาณ 69,387.50 ไร่ แบ่งการปกครองออกเป็น 14 หมูบ่ า้ น 18 ชุมชน ลักษณะพื้นที่ของต�ำบลบ้านกล้วย เป็น พื้นที่กึ่งเมืองกึ่งชนบท เป็นที่ตั้งของหน่วยงาน ราชการต่างๆ สถานศึกษาหลายแห่ง ห้าง สรรพสินค้า โรงภาพยนตร์
อ�ำเภอเมืองสุโขทัย เทศบาลต�ำบลบ้านกล้วย เป็นจุดศูนย์กลาง ในการเดินทางไปยังสถานทีต่ า่ งๆ เป็นทางผ่าน ของแหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วประจ� ำ จั ง หวั ด สุ โขทั ย หลายแห่ง เช่น อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย อนุสาวรียพ์ อ่ ขุนรามค�ำแหง ศาลพระแม่ยา่ ฯลฯ และยังเป็นเส้นทางการสัญจรระหว่างอ�ำเภอ และจังหวัดอื่นๆ อาณาเขตต�ำบลบ้านกล้วย ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของอ�ำเภอเมืองสุโขทัย
ทิศเหนือ ติดต่อกับ ต�ำบลวังใหญ่ ต�ำบล ทับผึ้ง อ�ำเภอศรีส�ำโรง ทิศใต้ ติดต่อกับ ต�ำบลบ้านป้อม ต�ำบลนาเชิง อ�ำเภอคีรีมาศ ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ต�ำบลปากแคว ต� ำ บลยางซ้ า ย เทศบาลเมื อ งสุ โขทั ย ธานี อ�ำเภอเมืองสุโขทัย ทิ ศ ตะวั น ตก ติดต่อกับ ต�ำบลเมืองเก่า ต�ำบลวังทองแดง อ�ำเภอเมืองสุโขทัย SUKHOTHAI I SBL บันทึกประเทศไทย
3
.indd 65
65
27/04/61 09:12:16 AM
ของเด่น ของดี ต�ำบลบ้านกล้วย สหกรณ์บริการหัตถกรรมผลิตภัณฑ์ ไม้ บ ้ า นขวาง จ� ำ กั ด ต� ำ บลบ้ า นกล้ ว ย จังหวัดสุโขทัย สืบเนื่องจากราษฎรที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ ต�ำบลบ้านกล้วย (ส่วนใหญ่อยู่หมู่ที่ 3, 4) มีอาชีพเดิมคือท�ำนา แต่ประสบกับปัญหา น�ำ้ ท่วม จึงหันมารวมกลุม่ กันผลิตเครือ่ งไม้ โบราณเป็นอาชีพเสริมในครอบครัว และ จัดตั้งเป็นกลุ่มสหกรณ์ไม้บ้านขวาง เมื่อปี พ.ศ.2539 ต่อมาได้มหี น่วยงานเข้ามาสนับสนุน คือ ส�ำนักงานสหกรณ์ อ.เมืองสุโขทัย ร้านจ�ำหน่ายเฟอร์นิเจอร์ ตู้แกะสลัก และผลิตภัณฑ์ต่างๆ จากไม้สักทอง ของ ต� ำ บลบ้ า นกล้ ว ยให้ เ ลื อ กชม เลื อ กซื้ อ อีกมากมายหลายร้าน ตามแบบตามสไตส์ ที่ลูกค้าต้องการ ต�ำบลบ้านกล้วย อ�ำเภอเมืองสุโขทัย จังหวัดสุโขทัย 64000 055-616288-9 หรือ 055-610188
66
SBL บันทึกประเทศไทย I SUKHOTHAI
3
.indd 66
27/04/61 09:12:24 AM
ก๋...มาแล้ วยเตี ๋ ย วสุ โ ขทั ย วต้องลอง ก๋วยเตี๋ยวสุโขทัย Sukhothai Noodle เป็นอีกหนึ่ง เมนูก๋วยเตี๋ยวที่หากใครเคยได้ลองก็มักจะติดใจไปตามๆ กัน ด้วยรสชาติและความครบเครื่องที่มากันเต็มชามคุณค่า ทางอาหารก็เยอะตามมาด้วย มาสุโขทัย ต้องห้ามพลาด
ทุ่งทะเลหลวงสุโขทัย
โครงการแก้มลิง ซึ่งเป็นโครงการตามแนวพระราชด�ำริเพื่อแก้ปัญหา น�้ำท่วม และน�้ำแล้งซ�้ำซากในพื้นที่จังหวัดสุโขทัยได้เริ่มท�ำโครงการสร้าง แหล่งเก็บน�ำ้ ขึน้ ในปีพ.ศ.2545 โดยใช้บริเวณทะเลหลวงซึง่ เป็นแหล่งเก็บน�ำ้ ในอดีต ท�ำการขุดลอกพื้นที่และขุดคลองเพื่อผันน�้ำเข้ากักเก็บไว้ในพื้นที่ ให้ประชาชนได้ใช้ประโยชน์ ปัจจุบันโครงการแก้มลิงทุ่งทะเลหลวง และ แผ่นดินศักดิ์สิทธิ์รูปหัวใจ เป็นอีกหนึ่งสถานที่ส�ำคัญของจังหวัดสุโขทัย ได้ปรับทัศนียภาพโดยการปลูกต้นไม้เพื่อความร่มรื่น เเละเป็นสถานที่ ในการจัดงานวันส�ำคัญต่างๆ และยังเป็นสถานที่ส�ำหรับให้ประชาชน ได้พักผ่อนหย่อนใจ และยังเป็นการส่งเสริมการท่องเที่ยวในต�ำบล
แหล่งท่องเที่ยวใกล้เคียงต�ำบลบ้านกล้วย อนุสาวรีย์พ่อขุนรามค�ำแหง อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย (เมืองเก่าสุโขทัย) ศาลพระแม่ย่า โรงแรม / รีสอร์ท / ที่พัก / โฮมสเตย์ ภาพ : NET-MANIA
จุดแวะพักก่อนกลับ... เมื่อมาเที่ยวต�ำบลบ้านกล้วยแล้ว หาก ท่านเมื่อยล้ายังสามารถมานวดผ่อนคลายได้ที่ ชมรมนวดแผนไทย ต�ำบลบ้านกล้วย ซึ่งได้รับ การสนับสนุนโครงการฝึกอบรมอาชีพ ผู้เข้า ร่ ว มฝึ ก อบรมได้ ร วมกลุ่มจัดตั้งเป็นศูนย์ให้ บริการนวดแผนไทยส�ำหรับนักท่องเที่ยวและ ประชาชนทั่วไป ในราคาเป็นกันเอง ณ วัด บ้ า นขวาง ต� ำ บลบ้ า นกล้ ว ย อ� ำ เภอเมื อ ง สุโขทัย จังหวัดสุโขทัย SUKHOTHAI I SBL บันทึกประเทศไทย
3
.indd 67
67
27/04/61 09:12:27 AM
W O R K LI F E
บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล
องค์การบริหารส่วนต�ำบล
เมืองเก่า
“ยึดมั่นธรรมาภิบาล ท้องถิ่นพัฒนา ประชามีสุข” คือวิสัยทัศน์ขององค์การบริหารส่วนต�ำบลเมืองเก่า
ประวัติ อบต.เมืองเก่า ต�ำบลเมืองเก่าได้มีการยกฐานะเป็นองค์การบริหารส่วนต�ำบล เมื่อวันที่ 29 มีนาคม 2539 เป็น อบต.ชั้น 4 (อบต.ขนาดเล็ก) เดิมตั้งอยู่ที่หมู่ที่ 3 ต�ำบล เมืองเก่า อ�ำเภอเมืองสุโขทัย จังหวัดสุโขทัย โดยได้มีการย้ายที่ตั้งปัจจุบัน เมื่ อ วั น ที่ 22 มิ ถุ น ายน 2544 และปั จ จุ บั น นี้ ไ ด้ ย กฐานะการจั ด ตั้ ง เป็ น องค์การบริหารส่วนต�ำบลเป็นขนาดกลาง พืน้ ทีท่ งั้ หมดประมาณ 57,163 ตร.กม.
อาณาเขตติดต่อ
ทิศเหนือ ทิศใต้ ทิศตะวันออก ทิศตะวันตก
ติดต่อ ต�ำบลวังทองแดง ติดต่อ ต�ำบลนาเชิงคีรี ติดต่อ ต�ำบลบ้านกล้วย ติดต่อ ต�ำบลบ้านด่าน
อ.เมืองสุโขทัย อ.คีรีมาศ อ.เมืองสุโขทัย อ.บ้านด่านลานหอย
ลักษณะภูมิประเทศ พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบเชิงเขา มีสภาพเป็นที่นา มีภูเขาบ้างเล็กน้อย และ มีพื้นที่ติดกับเขตอุทยานแห่งชาติรามค�ำแหง (เขาหลวง) มีคลองแม่ร�ำพัน เป็นล�ำคลองสายหลัก
เขตการปกครอง ต� ำ บลเมื อ งเก่ า แบ่ ง ออกเป็ น จ� ำ นวน 11 หมู ่ บ ้ า น ประชากรทั้ ง หมด ประมาณ 10,063 คน เป็นชายประมาณ 4,972 คน เป็นหญิงประมาณ 5,064 คน จ�ำนวนครัวเรือน 3,197 ครัวเรือน
อาชีพของประชาชน จ�ำนวนประมาณร้อยละ 80 เป็นเกษตรกร ซึง่ ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพหลัก คือ การปลูกข้าว ซึ่งคิดเป็นอัตราส่วนได้ดังนี้ เกษตรกรรม ร้อยละ 80 รับจ้าง ร้อยละ 10 อื่นๆ ร้อยละ 10
นายบรรจง ทัดนุ่ม
นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลเมืองเก่า ความเป็นมาของต�ำบลเมืองเก่า ต�ำบลเมืองเก่า เป็นที่ตั้งของกรุงสุโขทัย ซึ่งเป็นอาณาจักรแรก ของ ชนชาติไทย เมื่อ 700 กว่าปีมาแล้ว เป็นดินแดนแห่งความดีงามอย่างยิ่ง แต่ครั้งอดีต ทั้งในด้านการปกครอง การศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ประเพณี ตลอดจนความเจริญด้านอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี ตัวอักษรไทยก็มีก�ำเนิด ณ ทีแ่ ห่งนี้ และในพืน้ ทีข่ องต�ำบลเมืองเก่าประกอบไปด้วยมรดกทางประวัตศิ าสตร์ ศิ ล ปะ วั ฒ นธรรม ประเพณี ใ นท้ อ งถิ่ น ต่ า งๆ เป็ น ที่ ตั้ ง ของโบราณสถาน วัดวาอาราม เจดีย์ต่างๆ มากมาย ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความเจริญรุ่งเรืองใน สมัยสุโขทัยเป็นอย่างยิ่ง ในปัจจุบันจึงได้น�ำมาเรียกเป็นชื่อต�ำบล จึงเรียกว่า “ต�ำบลเมืองเก่า” 68
ประเพณีและวัฒนธรรม ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ มีการปฏิบัติธรรมเป็นประจ�ำและ มีประเพณีวัฒนธรรมที่ดีงาม ซึ่งถ่ายทอดและถือปฏิบัติสืบต่อกันมาจนถึง ปัจจุบัน เช่น ประเพณีวันสงกรานต์ การรดน�้ำด�ำหัวผู้สูงอายุ ประเพณี วันมาฆบูชา ประเพณีวันวิสาขบูชา ประเพณีบุญบั้งไฟ ประเพณีการท�ำบุญ วันเข้าพรรษา ประเพณีตักบาตรเทโว วันออกพรรษา ประเพณีการทอดกฐิน เป็นต้น
SBL บันทึกประเทศไทย I SUKHOTHAI
.indd 68
27/04/61 09:32:28 AM
นายชัยเดช ทุมรัตน์
หัวหน้าส�ำนักปลัด รักษาราชการแทน ปลัดองค์การบริหารส่วนต�ำบลเมืองเก่า
เจ้าหน้าที่และพนักงาน
SUKHOTHAI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 69
69
27/04/61 09:32:38 AM
แหล่งท่องเที่ยวส�ำคัญ ขององค์การบริหารส่วนต�ำบลเมืองเก่า
เขื่อนสรีดภงส์ หรือ ท�ำนบพระร่วง อยูใ่ นอุทยานประวัตศิ าสตร์สโุ ขทัย โดยตัง้ อยู่ นอกก�ำแพงเมืองเก่าทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ตรง บริเวณที่ถูกขนาบด้วยภูเขาสองลูกเป็นรูปก้ามปู คือ เขาพระบาทใหญ่และเขากิ่วอ้ายมา ภูเขาทั้ง สองลูกนีอ้ ยูใ่ นทิวเขาหลวงด้านหลังตัวเมืองสุโขทัย โบราณ ลึกเข้าไปในทิวเขานี้เป็นซอกเขาอันเป็น ต้นก�ำเนิดของทางน�้ำเรียกว่า “โซกพระร่วงลอง พระขรรค์” เดิมคนท้องถิ่นต�ำบลเมืองเก่า อ�ำเภอ เมืองสุโขทัย จังหวัดสุโขทัย เรียกร่องรอยของคันดิน โบราณเพื่อการชลประทานว่า “ท�ำนบพระร่วง” เนือ่ งจากมีกษัตริยส์ โุ ขทัย พระองค์ใดพระองค์หนึง่ เป็นผู้สร้างขึ้น จึงถือว่าเป็นของที่พระร่วงท�ำขึ้น หรือเกิดขึ้นด้วยอิทธิฤทธิ์ของพระร่วง 70
ท�ำนบนี้มีลักษณะเป็น เขื่อนดิน(คันดิน) ส�ำหรับกัน้ น�ำ้ อยูร่ ะหว่างซอกเขา สร้างขึน้ เพือ่ กักน�ำ้ และชักน�้ำไปตามคลองส่งน�้ำมาเข้าก�ำแพงเมือง เข้าสระตระพังเงิน ตระพังทอง เพือ่ น�ำไปใช้ในเมือง และพระราชวังในสมัยโบราณ โดยระบายเข้าสูเ่ มือง ตรงมุมตะวันตกเฉียงใต้ ในปัจจุบนั กรมชลประทาน ได้สร้างเขือ่ นดินสูงเป็นแนวเชือ่ มระหว่างปลายเขา พระบาทใหญ่กับเขากิ่วอ้ายมา สามารถกักน�้ำที่ ไหลออกมา จากโซกพระร่วงลองพระขรรค์ บริเวณ ระหว่ า งเขาทั้ ง สองลู ก จึ ง กลายเป็ น อ่ า งเก็ บ น�้ ำ ขนาดย่อม และระบายน�้ำจากอ่างเก็บน�้ำนี้ลง คลองเสาหอ ซึ่งจะน�ำน�้ำนี้เข้าคูเมืองสุโขทัยที่ มุ ม เมื อ งทิ ศ ตะวั น ตกเฉี ย งใต้ อั น เป็ น ต� ำ แหน่ ง
ที่ มี ร ะดั บ ความสู ง ของพื้ น ดิ น สู ง ที่ สุ ด ของเมื อ ง สุ โขทั ย น�้ ำ จากคลองเสาหอจะไหลลงคู เ มื อ ง ด้านทิศตะวันตกและทิศใต้ จากนั้นจะไหลเข้า คูเมืองด้านทิศเหนือและทิศตะวันออกไปสูม่ มุ เมือง ทิศตะวันออกเฉียงเหนือซึง่ มีระดับต�ำ่ ทีส่ ดุ ก่อนทีจ่ ะ ไหลไปลงแม่นำ�้ ยม ทีอ่ ยูไ่ กลออกไปทางทิศตะวันออก เชื่อกันมาแต่เดิมว่าคือ สรีดภงส์ ที่กล่าวไว้ ในศิลาจารึกหลักที่ 1 ดังข้อความต่อไปนี้ “ เบื้ อ งหั ว นอนเมื อ งสุ โ ขไทนี้ มี กุ ฏิ พิ ห าร ปู่ครูอยู่ มีสรีดภงส์ มีป่าพร้าวป่าลาง มีป่าม่วง ป่ า ขาม มี น�้ ำ โคก มี พ ระขพุ ง ผี เ ทพดาในเขา อันนั้น เป็นใหญ่กว่าทุกผีในเมืองนี้ ”
SBL บันทึกประเทศไทย I SUKHOTHAI
.indd 70
27/04/61 09:32:39 AM
วัดเชตุพน อยู่ห่างจากเขตเมืองชั้นในประมาณ 2 กม. เป็นวัดที่มีขนาดใหญ่มีคูน�้ำล้อมรอบ สวยงามด้วย เทือกเขาหลวงซึ่งเห็นเป็นฉากหลัง ลักษณะเด่น ของโบราณสถานแห่งนี้ คือ พระพุทธรูปสีอ่ ริ ยิ าบท ขนาดใหญ่ประดิษฐานอยู่ในมณฑปหินชนวน ซึ่ง สามารถมองเห็ น ได้ แ ต่ ไ กล ผนั ง ด้ า นทิ ศ เหนื อ ของมณฑปเป็นพระพุทธรูปประทับนั่ง ด้ า นทิ ศ ใต้ เ ป็ น พระพุ ท ธรู ป ประทั บ นอน ด้ า น ทิศตะวันออกเป็นพระพุทธรูปลีลา ด้านทิศตะวันตก เป็นพระพุทธรูปประทับยืน ปัจจุบันพระพุทธรูป ประทั บ นั่ ง และพระพุ ท ธรู ป ประทั บ นอนหั ก พั ง เสียหายหมด เหลือแต่พระพุทธรูปประทับยืน และพระพุทธรูปลีลา ซึ่งก็ไม่สมบูรณ์เต็มองค์ ส่ ว นอื่ น ของวั ด ประกอบด้ ว ยก� ำ แพงแก้ ว ล้อมมณฑปโดยท�ำจากหินชนวนที่มีขนาดใหญ่ และหนา โดยมีการสกัดและบากหินเพื่อท�ำเป็น กรอบและซี่ ก รงเลี ย นแบบเครื่ อ งไม้ ด้ า นหลั ง มณฑปใหญ่ มี ม ณฑปขนาดเล็ ก ย่ อ มุ ม ไม้ ยี่ สิ บ มี ห ลั ง คาก่ อ ซ้ อ นกั น เป็ น เสา และใช้ หิ น ชนวน ขนาดใหญ่ท�ำเป็นเพดาน ยังปรากฏร่องรอยของ พระพุทธรูปปางมารวิชัย แต่ช�ำรุดมากแล้ว ที่
ภาพ : อพท
ผนังด้านนอกมีร่องรอยภาพเขียนสีด�ำลายพรรณ พฤกษาอยูบ่ นกรอบประตู ด้านหน้าเป็นพระวิหาร เสากลมสองแถว วัดนี้ไม่ปรากฏหลักฐานว่าสร้างในสมัยใด แต่มีการกล่าวอ้างถึงในจารึกวัดสรศักดิ์ ซึ่งบันทึก เหตุการณ์กลางพุทธศตวรรษที่ 20 จากข้อความ ที่ ร ะบุ ชื่ อ วั ด เชตุ พ น ประกอบกั บ รู ป แบบทาง ศิลปกรรม แสดงให้เห็นว่า วัดเชตุพนคงเป็นวัดที่ มี ค วามส� ำ คั ญ และเจริ ญ รุ ่ ง เรื อ งในช่ ว งสุ โขทั ย ตอนปลาย หลักฐานอีกชิ้นหนึ่งคือ มีการพบจารึก วัดเชตุพน ที่วัดนี้กล่าวถึงเจ้าธรรมรังสี ซึ่งบวชได้ 22 พรรษา เป็นผู้มีจิตศรัทธาสร้างพระพุทธรูป ขึ้นใน พ.ศ.2057 SUKHOTHAI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 71
71
27/04/61 09:32:42 AM
วัดสะพานหิน เป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่มีความส�ำคัญทาง ประวัตศิ าสตร์ ซึง่ ตัง้ อยูใ่ นเขตอุทยานประวัตศิ าสตร์ สุโขทัย และจัดเป็นโบราณสถานด้านนอกก�ำแพงเมือง ทิศตะวันตกตัง้ อยูบ่ นเนินเขาทีม่ คี วามสูง 200 เมตร โดยชื่อวัดสะพานหิน เรียกตามลักษณะทาง ที่ปูลาดด้วยหินชนวนจากตีนเขาขึ้นไป เป็นระยะ ทาง 300 เมตร ก่อนถึงตัววัดบนเนินลาดมีเจดีย์ ทรงพุ่มข้าวบิณฑ์ขนาดเล็ก บนยอดเนินเป็นวิหาร พระยืน ผนังรับองค์พระก่อด้วยอิฐ พระวิหาร ใช้เสาศิลา สภาพปัจจุบนั ของวัดสะพานหินนัน้ มีลกั ษณะ เป็นซากปรักหักพัง มีพระพุทธรูปยืนปางประทานอภัย มีขนาดใหญ่สงู 12.50 เมตร เรียกว่า “พระอัฎฐารส” ซึ่งถือเป็นสิ่งส�ำคัญในวัด ซึ่งหมายถึงพระพุทธรูป ประทั บ ยื น ที่ นิ ย มสร้ า งกั น ในสมั ย สุ โ ขทั ย สันนิษฐานกันว่า พระอัฎฐารส คือพระพุทธรูปยืน ขนาดใหญ่ ที่ศิลาจารึกหลักที่ 1 กล่าวถึงเมือง สุโขทัยสมัยพ่อขุนรามค�ำแหงมหาราชว่า “ใน กลางอรัญญิก มีพิหารอันณึ่งมนใหญ่ สูงงาม แก่ ก ม มี พ ระอั ฎ ฐารสอั น ณึ่ ง ลุ ก ยื น ” และ สันนิษฐานกันอีกว่า วัดสะพานหินนี้น่าจะเป็น วั ด ที่ พ ่ อ ขุ น รามค� ำ แหงมหาราชทรงช้ า งเผื อ ก ชื่อ “รูจาคีรี” ขึ้นไปนบพระทุกวันข้างขึ้น 15 ค�่ำ และข้างแรม 15 ค�่ำ
วัดเจดีย์ส่ีห้อง เป็นวัดที่ตั้งอยู่นอกอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย มีคูน�้ำเป็น อุทกสีมา ล้อมรอบบริเวณวัด ไม่ปรากฏหลักฐานว่าสร้างในสมัยใด มี เ พี ย งศิ ล ปกรรมภายในวั ด ที่ ส อดคล้ อ งกั บ ศิ ล ปะสุ โขทั ย ช่ ว ง พุทธศตวรรษที่ 19-20 ซึ่งเป็นศิลปะแบบลังกา วัดเจดียส์ หี่ อ้ ง มีโบราณสถานส�ำคัญ ประกอบด้วย เจดียป์ ระธาน ทรงระฆังกลม ซึง่ อยูด่ า้ นหน้าหลังพระวิหารรายล้อมด้วยเจดียท์ ราย บริเวณฐานเจดีย์ประดับด้วยปูนปั้นโดยรอบทั้งสี่ด้าน ปั้นเป็นรูป มนุษยนาค ถือหม้อปูรณฆฎะ ซึง่ เป็นเครือ่ งหมายแห่งความอุดมสมบูรณ์ และเป็นผู้พิทักษ์รักษาสถานที่ตามความเชื่อแบบลังกา ถัดจากรูป มนุษยนาค จะสลับด้วยสิงห์ประทับบนหลังช้าง วัดเจดีย์สี่ห้อง มีการบูรณะมาหลายยุคสมัย ครั้งที่มีการส�ำรวจเจดีย์ยังพบว่า ภายในฐานเจดีย์มีภาพวาดพรรณพฤกษาอีกด้วย 72
SBL บันทึกประเทศไทย I SUKHOTHAI
.indd 72
27/04/61 09:32:49 AM
งานปูนปั้น งานแกะสลักไม้ การนวดแผนโบราณ การท�ำเครื่องปั้นดินเผา การท�ำเรือโบราณจ�ำลอง
SUKHOTHAI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 73
73
27/04/61 09:32:57 AM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดบึงครอบศรัทธาราม วัดบึงครอบศรัทธาราม สังกัดคณะสงฆ์ มหานิ ก าย ตั้ ง อยู ่ บ ้ า นบึ ง ครอบ เลขที่ 1 หมู ่ ที่ 1 ต� ำ บลบ้ า นใหม่ สุ ข เกษม อ� ำ เภอ กงไกรลาศ จังหวัดสุโขทัย ปั จ จุ บั น มี พระมหากายสิ ท ธิ์ เป็ น เจ้าอาวาส และรองเจ้าคณะจังหวัดสุโขทัย
74
SBL บันทึกประเทศไทย I SUKHOTHAI
.indd 74
27/04/61 09:50:41 AM
ประวัติบ้านบึงครอบ เดิมทีบงึ ครอบเป็นบึงเก่าแก่โบราณ ตาม ค�ำบอกเล่าของผู้ที่ยังมีชิวิตอยู่ (อายุประมาณ 82-84 ปี) เล่าว่ากลางบึงเป็นป่ารกทึบ ใน บริเวณบึงหน้าแล้งก็ยังมีน�้ำอยู่ มีปลาชุกชุม มากที่สุด พร้อมทั้งปลิง ส่วนกลางบึงนั้นเป็น ป่าไม้นานาพรรณ เป็นสถานทีอ่ าศัยของบรรดา สัตว์ต่างๆ เช่น ช้าง เสือ หมูป่า ลิง ค่าง ไก่ป่า เป็นต้น และยังมีต้นยางนาขนาดใหญ่มาก ประมาณ 5-6 คนโอบ สูงประมาณ 25-30 เมตร และมีหลายต่อหลายคนที่เข้าไปกลางบึงซึ่ง เป็นเกาะเพื่อล่าสัตว์ มักจะหลงทาง และได้ เข้าไปสู่มิติอีกมิติหนึ่งอันเป็นเมืองลี้ลับ และ ในบางครัง้ ชาวบ้านก็ได้ยนิ เสียงปีพ่ าทย์ ตะโพน
จากการสันนิษฐานว่า สถานทีว่ ดั บึงครอบ แห่งนีอ้ าจจะเป็นสถานทีฝ่ กึ กองก�ำลังของทหาร และอาจจะเป็ น ที่ ต้ั ง กองทั พ ส� ำ หรั บ เอาไว้ ต่ อ ต้ า นหรื อ โจมตี ก� ำ ลั ง ของข้ า ศึ ก ที่ เข้ า มา กล�้ ำ กลายจากทางด้ า นทิ ศ ตะวั น ออกของ กรุงสุโขทัย ในรัชสมัยของพ่อขุนรามค�ำแหง มหาราช หรือเป็นสถานที่ตั้งของชุมชนๆ หนึ่ง ที่ตั้งอยู่ในบริเวณเกาะกลางบึงครอบนั้น ต่อมามีประชาชนซึ่งส่วนใหญ่ได้เดินทาง มาจากต�ำบลไกรกลาง อ�ำเภอกงไกรลาศ ได้ เข้ามาท�ำการจับจองเป็นเจ้าของ และได้ถางป่า ฝ่าดงเพื่อท�ำการเกษตร มีการท�ำไร่ข้าวโพด
และท�ำนา ท�ำสวน โดยมีปู่ฟ้อน ลิ้มรส พร้อม ครอบครั ว เป็ น ผู ้ เข้ า มาบุ ก เบิ ก ก่ อ น และ ได้แบ่งให้กับลูกๆ ได้ท�ำมาหาเลี้ยงชีพ แต่เดิมชาวบ้าน บ้านบึงครอบ หมู่ที่ 1 จะท� ำ บุ ญ ตั ก บาตรและประกอบพิ ธี ก รรม ทางศาสนาต่างๆ ณ วัดกกแรต ต�ำบลกกแรต อ� ำ เภอกงไกรลาศ จั ง หวั ด สุ โขทั ย ซึ่ ง วั ด ดังกล่าวตั้งอยู่ในระยะห่างจากบ้านบึงครอบ ระยะทางประมาณ 2 กิโลเมตร ปัจจุบันมี ประชาชนมาท�ำบุญเป็นปกติ 2 หมู่บ้าน คือ หมู 1 และหมู่ 7 ต�ำบลบ้านใหม่สุขเกษม
SUKHOTHAI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 75
75
27/04/61 09:50:49 AM
ประวัติวัดบึงครอบศรัทธาราม เริ่ ม แรกที่ มี ก ารก่ อ สร้ า งที่ พั ก สงฆ์ นั้ น ครอบครัวนายจันทร์-นางสายบัว กุหลาบ ได้ อุทิศที่ดินส่วนตัวมีเนื้อที่ประมาณ 18 ไร่ 28 ตารางวา ให้ด�ำเนินการก่อสร้าง และได้นิมนต์ พระสงฆ์จากวัดกกแรต จ�ำนวน 3 รูป มาอยู่ จ� ำ พรรษาเป็ น ประจ� ำ ตั้ ง แต่ นั้ น เป็ น ต้ น มา และชาวบ้ า นเรี ย กชื่ อ ที่ พั ก สงฆ์ ดั ง กล่ า วว่ า “วัดบึงครอบ” ซึง่ บริเวณทีต่ งั้ ทีพ่ กั สงฆ์ทกุ ด้าน จะมีภูมิทัศน์ล้อมรอบไปด้วยบึงน�้ำธรรมชาติ ขนาดใหญ่ และเป็นบึงน�้ำสาธารณประโยชน์ ภายในหมู่บ้าน ชาวบ้านเรียกบึงดังกล่าวว่า “บึงครอบ” แต่เดิมนั้น น�้ำในบึงดังกล่าวไม่สามารถ ใช้ในการอุปโภคบริโภคได้ เนื่องจากไม่มีการ ดูแลรักษาและปล่อยตามธรรมชาติ มีแต่เพียง พันธุ์สัตว์น�้ำต่างๆ ที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ต่อมาครอบครัวของนายจันทร์-นางสายบัว กุหลาบ ได้เห็นถึงความส�ำคัญของการอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อม จึงได้ติดต่อประสานงานไปยัง ส�ำนักงานเร่งรัดพัฒนาชนบทจังหวัดสุโขทัย เพื่ อ ขุ ด ลอกบึ ง ครอบให้ เ ป็ น แหล่ ง น�้ ำ เพื่ อ การเกษตร การอุปโภคบริโภคภายในหมู่บ้าน ใช้ ง บประมาณในการด� ำ เนิ น งานประมาณ 3,000,000 บาท (สามล้ า นบาท) และได้ ด�ำเนินการจัดท�ำโครงการอนุรักษ์ปลาหน้าวัด โดยประสานงานส�ำนักงานประมงจังหวัดสุโขทัย เพื่อจัดหาพันธุ์ปลาและพันธุ์สัตว์น�้ำมาปล่อย
76
อนุรักษ์ไว้ ณ บริเวณบึงครอบ เช่น พันธุ์ปลา น�้ำจืดชนิดต่างๆ มีปลาจีน ปลาช่อน ปลา ตะเพียน พันธุ์กุ้งก้ามกราม เป็นต้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ รัชกาลที่ 9 เนื่องในโอกาสฉลองสิริราชสมบัติครบ 50 ปี เมื่อปีพุทธศักราช 2543 ปี พ.ศ.2539-2542 ครอบครั ว ของ นายจันทร์-นางสายบัว กุหลาบ ร่วมกับชาวบ้าน บึงครอบ หมู่ที่ 1 ต�ำบลบ้านใหม่สุขเกษม อ�ำเภอกงไกรลาศ จังหวัดสุโขทัย ได้ร่วมแรง ร่วมใจกันก่อสร้างกุฏิสงฆ์ขึ้นจ�ำนวน 1 หลัง เพื่อให้พระภิกษุ-สามเณรพ�ำนักอยู่จ�ำพรรษา เป็นกุฏิสงฆ์ 2 ชั้น ลักษณะทรงไทยประยุกต์ ชั้นล่างเป็นคอนกรีตเสริมเหล็ก ชั้นบนเป็น ไม้เนื้อแข็ง กว้าง 10 เมตร ยาว 40 เมตร รวม 18 ห้อง มีหอ้ งอาบน�ำ้ -ห้องสุขา จ�ำนวน 8 ห้อง ใช้ ง บประมาณในการก่ อ สร้ า งรวมทั้ ง สิ้ น 2,200,000 บาท (สองล้านสองแสนบทถ้วน) โดยงบประมาณในการก่อสร้าง ส่วนหนึ่งเป็น ของครอบครัวของนายจันทร์-นางสายบัว กุหลาบ ปี พ.ศ.2543 ครอบครัวของนายจันทร์นางสายบัว ได้สละทรัพย์สว่ นตัวในการก่อสร้าง หอสวดมนต์ขึ้น 1 หลัง มีความกว้าง 10 เมตร ยาว 18 เมตร มีลักษณะทรงไทยประยุกต์ ชั้นล่างเป็นคอนกรีตเสริมเหล็ก ชั้นบนเป็น ไม้เนือ้ แข็ง มุงหลังคาด้วยกระเบือ้ งลูกฟูกลอนเล็ก
พร้อมทั้งมีห้องในตัวอีก 1 ห้อง สิ้นค่าก่อสร้าง เป็นเงิน 700,000 บาท (เจ็ดแสนบาทถ้วน) พร้อมทั้งสร้างหอระฆัง 1 หลัง เป็นลักษณะ ทรงไทยสูง 3 ชั้น มีเสา 4 ต้น กว้าง 4.50 เมตร ยาว 4.5 เมตร สูง 15 เมตร ใช้งบประมาณ ในการก่ อ สร้ า ง ประมาณ 302,000 บาท (สามแสนสองพันบาท) ปี พ.ศ.2544-2545 ครอบครั ว ของ นายจันทร์-นางสายบัว กุหลาบ ได้ร่วมแรง ร่วมใจกับชาวบ้านบึงครอบก่อสร้าง (ฌาปนสถาน) 1 หลัง ภายในบริเวณวัดบึงครอบศรัทธาราม ลักษณะเมรุเป็นทรงไทยประยุกต์ กว้าง 4.50 เมตร ยาว 9.50 เมตร สูง 15 เมตร เป็นอาคาร คอนกรีตเสริมเหล็ก หลังคามุงด้วยกระเบื้อง เคลือบอย่างดี ใช้งบปรมะมาณในการก่อสร้าง 830,000 บาท (แปดแสนสามหมื่นบาทถ้วน) ปี พ.ศ.2546 ครอบครัวของนายจันทร์นางสายบัว กุหลาบ และชาวบ้านบึงครอบได้ ร่วมแรงร่วมใจกันก่อสร้างศาลาธรรมสังเวชขึน้ จ�ำนวน 1 หลัง ลักษณะทรงไทยประยุกต์เป็น คอนกรีตเสริมเหล็ก กว้าง 14 เมตร ยาว 28 เมตร มีห้องอาบน�้ำ-สุขาในตัว ใช้งบประมาณในการ ก่อสร้างทั้งสิ้น 1,800,000 บาท (หนึ่งล้าน แปดแสนบาทถ้วน) นอกจากนั้นครอบครัวของนายจันทร์นางสายบัว กุหลาบ ได้เป็นผูน้ ำ� ในการก่อสร้าง เสนาสนะถาวรวัตถุขนึ้ ในวัดบึงครอบศรัทธาราม
SBL บันทึกประเทศไทย I SUKHOTHAI
.indd 76
27/04/61 09:50:56 AM
พระประธานในอุโบสถ พระสมเด็จพุทธสิริชัยธรรมโสภิต
พระแก้วบุษราคัมเชียงแสน พระแก้วบุษราคัมเชียงแสน
โดยร่ ว มแรงร่ ว มใจกั บ ชาวบ้ า นบึ ง ครอบ ก่อสร้างอาคารเสนาสนะต่างๆ ขึ้นภายในวัด เช่น ศาลาท่าน�้ำ ห้องอาบน�้ำ-ห้องสุขา การ ประปา และการติดตัง้ ไฟฟ้าภายในวัด พร้อมกับ ปรับปรุงภูมิทัศน์และสิ่งแวดล้อมทั้งภายใน และภายนอกของวัด ให้มีความสะอาด น่าอยู่ สงบ ร่มรืน่ สวยงามอย่างต่อเนือ่ งจนถึงปัจจุบนั ปี พ.ศ.2547 เมื่อวันที่ 3 กุมภาพันธ์ นายจันทร์-นางสายบัว กุหลาบ ได้มคี วามประสงค์ ที่จะขออนุญาตสร้างวัดบึงครอบศรัทธาราม ให้เป็นวัดที่ถูกต้องตามกฎหมาย และใช้เป็น สถานที่ ป ฏิ บั ติศาสนกิจของพุทธศาสนิก ชน โดยทั่วไป จึงได้ยื่นเรื่องขออนุญาตสร้างวัดต่อ
พระแก้วมรกตเชียงแสน
นายอ�ำเภอกงไกรลาศ คือ นายเสรี ทวีพันธุ์ พร้อมได้น�ำหนังสือสัญญายกที่ดินให้วัดไว้ต่อ นายอ�ำเภอกงไกรลาศ และเจ้าพนักงานที่ดิน จังหวัดสุโขทัยสาขากงไกรลาศ ตามโฉนดที่ดิน เลขที่ 20468 เล่ม 205 หน้า 68 เลขที่ดิน 58 หน้ า ส� ำ รวจ 846 ต� ำ บลบ้ า นใหม่ สุ ข เกษม อ�ำเภอกงไกรลาศ จังหวัดสุโขทัย จ�ำนวนเนือ้ ที่ 18 ไร่ 28 ตารางวา ออก ณ วันที่ 4 กรกฎาคม 2545 เพือ่ ขออนุญาตสร้างวัดบึงครอบศรัทธาราม เมื่ อ วั น ที่ 22 เดื อ นตุ ล าคม 2547 ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ด้วยความ เห็ น ชอบของมหาเถรสมาคม อนุ ญ าตให้ นายจันทร์ กุหลาบ อยู่บ้านเลขที่ 116/5 หมู่ที่
พระแก้วบุษราคัมหริภุญชัย ทรงเครื่องจักรพรรดิ
1 ต�ำบลบ้านใหม่สุขเกษม อ�ำเภอกงไกรลาศ จังหวัดสุโขทัย ตามหนังสืออนุญาตให้สร้างวัด ลงวันที่ 22 เดือนตุลาคม 2547 ต่ อ มาในปี พ.ศ.2548 นายจั น ทร์ กุหลาบ ได้ยื่นเรื่องการขออนุญาตตั้งวัด พร้อม หลักฐานเอกสารต่างๆ ตามล�ำดับขัน้ ตอน และ ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ พิจารณา อนุ ญ าตให้ ตั้ ง วั ด ตามประกาศส� ำ นั ก งาน พระพุทธศาสนาแห่งชาติ เรื่องตั้งวัดนามว่า “วัดบึงครอบศรัทธาราม” ประกาศ ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2548
SUKHOTHAI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 77
77
27/04/61 09:50:58 AM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดทุ่งเนินพยอม ( วั ด ป่ า แฝก )
วั ด ทุ ่ ง เนิ น พยอม ตั้ ง อยู ่ บ ้ า นป่ า แฝก หมู ่ ที่ 2 ต� ำ บลป่ า แฝก อ� ำ เภอกงไกรลาศ จั ง หวั ด สุ โ ขทั ย ปั จ จุ บั น มี พระครู สุ ธ รรม บุญเขต เป็นเจ้าอาวาสวัด โทร. 055-625039, 082-7739085, 086-1998938
78
SBL บันทึกประเทศไทย I SUKHOTHAI
.indd 78
02/05/61 11:25:00 AM
ประวัติวัดทุ่งเนินพยอม วัดนี้มีมาตั้งแต่สมัยสุโขทัยเป็นราชธานี วัดตั้งอยู่กลางทุ่งนา ที่ตั้งวัดเป็นเนินดินและมีต้นพยอมใหญ่อยู่ต้นหนึ่ง จึงได้ชื่อว่า “วั ด ทุ ่ ง เนิ น พยอม” เนื้ อ ที่ ดิ น ของวั ด มี ทั้ ง สิ้ น 59 ไร่ ยั ง ไม่ มี หลักฐานแสดงกรรมสิทธิท์ ดี่ นิ ปัจจุบนั มีพนื้ ที่ 16 ไร่ 3 งาน - ตารางวา วั ด ทุ ่ ง เนิ น พยอมคงจะร้ า งในปี พ.ศ.2318 เพราะถู ก พม่ า เผาผลาญโบสถ์และวิหารปรักหักพัง เมื่อเมืองพิษณุโลกแตกแล้ว ไพร่พลข้าแผ่นดินก็คงจะช่วยกันบูรณะปฏิสังขรณ์วัดทุ่งเนินพยอม กันใหม่ให้คืนสู่สภาพเดิม อุโบสถหลังเดิมที่สร้างสมัยกรุงสุโขทัยถูกพม่าเผาในปี พ.ศ. 2318 แต่เหลือซีกด้านหลังด้านเดียว ต่อมาเจ้าอธิการนวมเป็น เจ้าอาวาสวัด จึงได้ปฏิสังขรณ์ใหม่โดยสร้างคร่อมที่เดิม โดยท�ำชื่อ เป็นอุโบสถไม้ ต่อมาได้ช�ำรุดลงตามกาลเวลา ประชาชนจึงร่วมกัน ปฏิสังขรณ์ใหม่เป็นคอนกรีตเสริมเหล็ก เมื่อ พ.ศ.2510 มาแล้ว เสร็จในสมัยของเจ้าอธิการเฉื่อย
ในสมัยก่อน พ.ศ.2318 จนถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ยคุ ต้น ไม่สามารถสืบค้น นามเจ้าอธิการผูด้ ำ� รงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสได้ แต่เจ้าอธิการเฉือ่ ย เจ้าอาวาสรูป ปัจจุบนั ซึง่ อายุได้ 60 ปีเศษ ท่านได้ลำ� ดับนามเจ้าอาวาสวัดทุง่ เนินพยอมดังนี้
รูปที่ 1 หลวงพ่อตู้ รูปที่ 2 หลวงพ่อสวน รูปที่ 3 หลวงพ่อเผือก รูปที่ 4 หลวงพ่อยิ้ม หรือ พระครูวิมลเมธี อดีตเจ้าคณะอ�ำเภอกงไกรลาศ รูปที่ 3 รูปที่ 5 เจ้าอธิการนวม รูปที่ 6 เจ้าอธิการแมน รูปที่ 7 เจ้าอธิการเนียม รูปที่ 8 เจ้าอธิการพะเนียง รูปที่ 9 เจ้าอธิการหรุ่น รูปที่ 10 เจ้าอธิการเฉื่อย อรุโณ (เฉื่อย ป้องเสา) รูปที่ 11 พระครูสุธรรม บุญเขต (ปัจจุบัน)
SUKHOTHAI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 79
79
27/04/61 09:58:40 AM
เสนาสนะส�ำคัญ วิหาร สร้างสมัยกรุงสุโขทัย เสาวิหารก่อด้วยอิฐ ยั ง ปรากฏอยู ่ บ ริ เวณหน้ า วั ด วิ ห ารกว้ า ง 11 เมตร ยาว 21.60 เมตร วิหารยังมิได้ท�ำการซ่อมแซม คงไว้ สภาพเดิม ไม่มีผนัง ประชาชนชาวบ้านป่าแฝกได้เล่า สืบต่อกันมาว่า ทีห่ ลังคาวิหารหลังนีม้ ฝี กั เพกาเป็นทองค�ำ เมื่อพม่าเผาวิหารแล้วได้น�ำเอาฝักเพกาทองค�ำไป ศาลาการเปรียญ หลังเดิมเป็นไม้และช�ำรุดลง ครั้น ต่ อ มาประชาชน และเจ้ า อาวาสองค์ ป ั จ จุ บั น คื อ พระอธิการเฉื่อย อรุโณ ได้ร่วมกันสร้างเมื่อ พ.ศ.2516 เป็ น คอนกรี ต เสริ ม เหล็ ก และในปี พ.ศ.2520 ได้ ก่อสร้างต่ออีก 1 หลัง เป็นคอนกรีตเสริมเหล็กเช่นกัน อุโบสถ มีอายุประมาณ 700 ปีเศษ เป็นอุโบสถ มหาอุดทรงโบราณตามแบบสถาปัตยกรรมสมัยสุโขทัยแท้ ทางวัดได้ทำ� การบูรณปฏิสงั ขรณ์ตงั้ แต่ปี พ.ศ.2537 จนถึง เดือนกรกฎาคม 2538 ใช้งบประมาณ 2,500,000 บาท กุฏิ เป็นคอนกรีตเสริมเหล็ก จ�ำนวน 2 ชั้น 12 ห้อง ขนาด 3.50 เมตร ยาว 15 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ.2534 มูลค่าการก่อสร้าง 2 ล้านบาท หอระฆัง สูง 18 เมตร กว้าง 4 เมตร ยาว 4 เมตร มีระฆัง 2 ใบ กลอง 2 ชุด สร้างในปี พ.ศ.2536 สิ้นงบประมาณ 300,000 บาท ศาลาธรรมสังเวช เป็นคอนกรีตเสริมเหล็กขนาดชั้นครึ่ง กว้าง 14 เมตร ยาว 22 เมตร สร้างในปี 2539 ใช้ ค่าก่อสร้างประมาณ 3,000,000 บาท
พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ “หลวงพ่อเหม” และ“หลวงพ่อตู”้ เป็นพระพุทธรูป ศักดิ์สิทธิ์ที่ประชาชนในต�ำบลป่าแฝกและใกล้เคียง ต่าง ให้ความเคารพบูชาและมักจะมาบนบานศาลแล้วได้ผล เป็นที่ประจักษ์เสมอ โดยหลวงพ่อเหมประดิษฐานเป็น พระประธานทีว่ หิ าร หน้าตักกว้าง 154 ซม. สูง 190 ซม. หน้าองค์หลวงพ่อเหมประดิษฐานหลวงพ่อตู้ หน้าตัก กว้าง 43 ซม. สูง 104 ซม. สันนิษฐานว่าหลวงพ่อตู้ ซึง่ เป็นเจ้าอาวาสรูปแรกเป็นผูส้ ร้างไว้ เมือ่ คราวปฏิสงั ขรณ์ วัดทุ่งเนินพยอมครั้งแรก “พระทศพลญาณ” เป็ น พระพุ ท ธรู ป ปู น ปั ้ น ปางมารวิชัย เป็นพระประธานในอุโบสถ มีหน้าตัก กว้าง 135 ซม. สูง 175 ซม. สร้างเมื่อ พ.ศ.2498 ในสมัยพระอาจารย์หรุ่น รักษาการแทนเจ้าอาวาสวัด ทุ่งเนินพยอม 80
SBL บันทึกประเทศไทย I SUKHOTHAI
.indd 80
27/04/61 09:58:49 AM
ประวัติพระครูสุธรรม บุญเขต พระบุญมี ฉายา ธมฺมจาโร (นามสกุลเดิมคือ ใบไม้) ต�ำแหน่ง เจ้าอาวาสวัดทุ่งเนินพยอม อายุ 67 ปี พรรษา 47 วิทยฐานะ น.ธ.เอก ป.โท สมณศักดิ์ พระครูสุธรรม บุญเขต หน้าที่การงานที่รับผิดชอบ 1. เป็นเจ้าอาวาสวัดทุ่งเนินพยอม 2. เป็นผู้จัดตั้งส�ำนักเรียนขึ้นที่วัดทุ่งเนินพยอม 3. เป็นผู้จัดตั้งและเปิดด�ำเนินการสอนโรงเรียนเด็กเล็กก่อนเกณฑ์ ที่วัดทุ่งเนินพยอม 4. เป็นกรรมการคุมสอบธรรมสนามหลวง 5. เป็นประธานกรรมการและองค์อปุ ถัมน์ของศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ วัดทุ่งเนินพยอม
ผลงานดีเด่นที่เสนอพิจารณา ศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ ของวัดทุ่งเนินพยอม ต�ำบลป่าแฝก อ�ำเภอกงไกรลาศ จังหวัดสุโขทัย เดิมเป็นศูนย์เลี้ยงเด็กก่อนเกณฑ์ ของวัดทุ่งเนินพยอม โดยกรมการศาสนาจัดตั้งขึ้นตั้งแต่ เดือนมิถุนายน พ.ศ.2537 เพื่อเลี้ยงดูเด็กก่อนเกณฑ์ โดยอาศัยศาลาของวัดเป็นสถานที่ ด�ำเนินการ มีเด็กเข้ารับการเลีย้ งดูรน่ ุ แรกจ�ำนวน 37 คน ผูส้ อน จ�ำนวน 2 คน ปัจจุบันมีเด็กก่อนเกณฑ์เข้ารับการเลี้ยงดู จ�ำนวน 25 คน ครูผู้ดูแล 1 คน มีพระครูสมุห์บุมญมี ธมฺมจาโร เจ้าอาวาสวัดทุ่งเนินพยอมเป็น องค์อุปถัมภ์ให้ความอนุเคราะห์ทุกอย่าง โดยใช้ศาลาการเปรียญวัด ทุ่งเนินพยอมเป็นสถานที่ด�ำเนินการ และขอเงินสนับสนุนจากกรม การศาสนา SUKHOTHAI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 81
81
27/04/61 09:58:51 AM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดคุ้งยาง ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 1 หมู ่ ที่ 4 บ้ า นคุ ้ ง ยาง ต�ำบลไกรนอก อ�ำเภอกงไกรลาศ จังหวัด สุ โ ขทั ย สั ง กั ด คณะสงฆ์ ม หานิ ก าย ต� ำ บล คณะสงฆ์กกแรต เขต 1 จังหวัดสุโขทัย ภาค 5 บริเวณที่ตั้งวัดมีเนื้อที่ 22 ไร่ 28 ตารางวา ปัจจุบันมี พระครูสุธรรมวโรทัย รองเจ้าคณะอ�ำเภอกงไกรลาศ เจ้าอาวาสวัดคุ้งยาง
82
ปูชนียวัตถุส�ำคัญ หลวงพ่อฤทธิ์ไกร หรือ หลวงพ่อไกร พระพุทธรูปประจ�ำวัดคุง้ ยางนัน้ เริม่ สร้างพร้อม อุโบสถ เมื่อปีพ.ศ.2502 โดยนายเฮง ฟักแฟง หรือหลวงตาเฮง, นายฉาย ฝ้ายเทศ บิดาของ ชินกร ไกรลาศ, นายทา ธูปเรือง, นายเปรื่อง ภาคภูม,ิ นายโคน ไกรสีกาจ, นายวัน ทรัพย์ซอ้ น, นายพร้อม และนายโดน เพชรี่ ครูใหญ่ โรงเรียน วัดคุ้งยางขณะนั้น เป็นคณะผู้น�ำสร้างพระ ประธานอุโบสถ และเสนอให้ชื่อ “หลวงพ่อ ฤทธิไ์ กร” แต่ชาวบ้านต่างเรียกกันจนติดปากว่า “หลวงพ่อไกร”
SBL บันทึกประเทศไทย I SUKHOTHAI
.indd 82
27/04/61 10:05:21 AM
ประวัติวัดคุ้งยาง วั ด คุ ้ ง ยางเป็ น วั ด เก่ า แก่ วั ด หนึ่ ง ที่ ไ ม่ ปรากฏนามผู้สร้าง แต่จากค�ำบอกเล่าของ ผู้เฒ่าผู้แก่ โดยอ้างถึงบันทึกประวัติศาสตร์ใน สมัยอยุธยาตอนปลาย สันนิษฐานว่า “ขุนไกร” เป็ น ผู ้ ส ร้ า งวั ด แห่ ง นี้ ภ ายหลั ง สิ้ น ศึ ก กั บ “อะแซหวุ ่ น กี้ ” แม่ ทั พ พม่ า (อะแซหวุ ่ น กี้ ยกทัพใหญ่มาล้อมเมืองพิษณุโลก เมือ่ พ.ศ.2318 และพระเจ้าตากสิน ได้ตั้งทัพรอที่บ้านไตรป่าแฝก ปัจจุบันคือ บ้านไกร-ป่าแฝก)
ส่วนชือ่ วัดคุง้ ยางนัน้ ในสมัยก่อนชาวบ้าน ส่วนมากเรียกว่า “วัดยาง” เพราะมีตน้ ยางใหญ่ อยู่หน้าวัด และเป็นสัญลักษณ์ของวัดอีกด้วย ต่อมาคณะกรรมการวัดเติมค�ำว่า “คุง้ ” น�ำหน้า ว่า “วัดคุง้ ยาง” เพราะเหตุทวี่ า่ มีคงุ้ น�ำ้ ล�ำคลอง ข้างวัด กรมการศาสนาประกาศจัดตัง้ วัดคุง้ ยาง ขึน้ ในพระพุทธศาสนา ในปีพ.ศ.2352 และได้รบั พระราชทานวิสุงคามสีมา ในปีพ.ศ.2444 โดย มีเขตวิสุงคามสีมา กว้าง 7 เมตร ยาว 14 เมตร
วัดคุ้งยางมีความเจริญขึ้นและเสื่อมลง ตามยุคสมัยทีเ่ ปลีย่ นแปลงอยูต่ ลอดเวลา กระทัง่ ยุคสมัยทีห่ ลวงพ่อล�ำใยเป็นเจ้าอาวาส วัดคุง้ ยาง ก็เจริญรุ่งเรืองมีชื่อเสียงโด่งดังเป็นที่เคารพ ศรัทธาของพุทธศาสนิกชนทัว่ ไป เพราะหลวงพ่อ ล�ำใยเป็นพระเกจิอาจารย์ทเี่ ปีย่ มไปด้วยคุณธรรม โดยเฉพาะความเมตตาที่ช่วยเหลือชาวบ้าน อยู่เป็นประจ�ำ
ร่วมสร้างเส้นทางบุญ “โบสถ์เฉลิมพระเกียรติ วัดคุ้งยาง” ธนาคารกรุงไทย ชื่อบัญชี วัดคุ้งยาง สาขากงไกรลาศ เลขที่บัญชี 635-1-20238-8 ติดต่อเจ้าอาวาส (พระครูสุธรรมวโรทัย) โทร. 061-2975456
ก�ำลังก่อสร้างโบสถ์เฉลิมพระเกียรติ
ล�ำดับเจ้าอาวาส
พระอธิการเฉย พระอธิการครุฑ พระอธิการเภา พระอธิการเพชร พระอธิการทิพย์ พระอธิการล�ำไย พระอธิการน้อย พระอธิการพรหมณ์ พระอธิการเฉลิมศักดิ์ พระครูสุธรรมวโรทัย
พ.ศ.2352 - 2401 พ.ศ.2401 - 2446 พ.ศ.2446 - 2453 พ.ศ.2453 - 2460 พ.ศ.2460 - 2470 พ.ศ.2470 - 2485 พ.ศ.2485 - 2488 พ.ศ.2488 - 2518 พ.ศ.2518 - 2520 และ พ.ศ.2520 - ปัจจุบัน
ผลงานด้านสาธารณประโยชน์ วัดคุ้งยางได้ช่วยเหลือชาวบ้านบริเวณ ใกล้เคียงที่มาท�ำบุญกับวัดคุ้งยางหรือวัดอื่นๆ ตามสมควร เช่น ด�ำเนินการหาทุนสร้างถนน คอนกรีตเสริมไม้ไผ่บ้านคุ้งยาง หมู่ 1 - หมู่ 8, เป็นประธานด�ำเนินการหาทุนสร้างลานชุมชน แบบคอนกรีตเสริมเหล็กบ้านคุ้งยาง หมู่ 4, หาทุนสร้างสนามกีฬา คอนกรีตเสริมเหล็ก บ้านคุ้งยาง หมู่ 1 และเป็นประธานในการ ก่อสร้างอาคารเรียนวัดคุ้งยาง หลังจากอาคาร หลังเก่าเกิดไฟไหม้เสียหาย
SUKHOTHAI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 83
83
27/04/61 10:05:22 AM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดโบสถ์ ประวัติความเป็นมา วัดโบสถ์เป็นวัดเก่าแก่ที่มีการก่อตั้งเป็น วัดมาตั้งแต่สมัยสุโขทัย จากหลักฐานที่พบคือ โบสถ์ ซึ่ ง เป็ น ลั ก ษณะก่ อ อิ ฐ ถื อ ปู น ต่ อ มา วัดได้ร้างลงไปตามกาลเวลา กระทั่งประมาณ พ.ศ.2423 ประชาชนในต� ำ บลไกรนอก ได้ พ ร้ อ มใจกั น จั ด สร้ า งวั ด นี้ ขึ้ น เป็ น วั ด นั บ ตั้ ง แต่ นั้ น มา โดยได้ รั บ พระราชทาน วิสุงคามสีมา วันที่ 14 ตุลาคม พ.ศ.2525 เขตวิสุงคามสีมากว้าง 30 เมตร ยาว 60 เมตร 84
SBL บันทึกประเทศไทย I SUKHOTHAI
2
.indd 84
26/4/2561 11:30:26
ประวัติหลวงปู่บุญมี พระครู นั น ทสี ล าจาร (หลวงปู ่ บุ ญ มี เปมสีโล) ได้รับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์ เทียบเท่าเจ้าคณะอ�ำเภอชั้นเอก (ทจอ.ชอ.) ปัจจุบันอายุ 89 ปี (พ.ศ. 2561) หลวงปู่บุญมี เป็นพระเกจิอาจารย์ที่มีชื่อ เสี ย งในจั ง หวั ด สุ โขทั ย ท่ า นเป็ น พระภิ ก ษุ ผู้ปฏิบัติดี ปฏิบัติชอบ และให้ความเมตตาต่อ ญาติ โ ยมโดยไม่ เ ลื อ กที่ รั ก มั ก ที่ ชั ง ท� ำ ให้ สาธุชนใกล้ไกลต่างให้ความเคารพศรัทธาท่าน เป็นอย่างมาก และเนื่องในโอกาสครบรอบ อายุ 89 ปีของท่าน ศิษยานุศิษย์ร่วมกันจัด ท�ำวัตถุมงคลที่ปลุกเสกโดยหลวงปู่บุญมี เพื่อ ให้ ส าธุ ช นและลู ก ศิ ษ ย์ ลู ก หาได้ บู ช าเป็ น ที่ ระลึกและเป็นสิริมงคล และเพื่อน้อมน�ำวัตร ปฏิบัติอันงดงามของหลวงปู่มาเป็นแบบอย่าง ในการด� ำ เนิ น ชี วิ ต ให้ พ บแต่ ค วามสุ ข กาย สบายใจ
พระครูนันทสีลาจาร (หลวงปู่บุญมี เปมสีโล) เป็นเจ้าอาวาส
SUKHOTHAI I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 85
85
26/4/2561 11:30:41
W O R K LI F E
บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล
องค์การบริหารส่วนต�ำบลโตนด “โพธิ์ใหญ่เป็นสง่า ตกปลาทุ่งลานช้าง เกจิดังหลวงปู่โถม น�้ำอุดมทุ่งพันทลาย ประเพณี ไทยเจดีย์ข้าวเปลือก” คือค�ำขวัญขององค์การบริหารส่วนต�ำบลโตนด
“การคมนาคมสะดวก ประชาชนสุขภาพดี ชุมชนน่าอยู่ ดูแลแหล่งน�้ำ พัฒนาอาชีพ” คือวิสัยทัศน์ขององค์การบริหารส่วนต�ำบลโตนด
ข้อมูลทั่วไป ตั้งอยู่ในพื้นที่ของต�ำบลโตนด อ�ำเภอคีรีมาศ จังหวัดสุโขทัย ห่างจาก อ�ำเภอคีรีมาศ 6.8 กิโลเมตร จากจังหวัดสุโขทัย 30 กิโลเมตร มีพื้นที่ 21,638.75 ไร่ หรือประมาณ 34.622 ตารางกิโลเมตร
อาณาเขต หมู่ 6 ต�ำบลโตนด อ�ำเภอคีรีมาศ จังหวัดสุโขทัย 61640 โทร. 0-5561-5639 ทิศเหนือ ติดต่อกับต�ำบลทุ่งหลวง อ�ำเภอคีรีมาศ ทิศใต้ ติดต่อกับต�ำบลหนองกระดิง่ , ต�ำบลสามพวง อ�ำเภอคีรมี าศ ทิศตะวันออก ติดต่อกับต�ำบลท่าฉนวน อ�ำเภอกงไกรลาศ ทิศตะวันตก ติดต่อกับต�ำบลศรีคีรีมาศ อ�ำเภอคีรีมาศ มีจ�ำนวนหมู่บ้าน 17 หมู่บ้าน อยู่ในเขตการปกครอง อบต.โตนด 15 หมู่บ้าน และอยู่ในเขตเทศบาลต�ำบลบ้านโตนด 2 หมู่บ้าน
นายวิเชียร สุทธิวิลัย
นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลโตนด
86
SBL บันทึกประเทศไทย I SUKHOTHAI
.indd 86
30/04/61 02:38:47 PM
ยุ ท ธศาสตร์ และแนวทางการพั ฒ นา
1
ด้านการบริหารจัดการทรัพยากรน�้ำและระบบโครงสร้างพื้นฐาน เพื่อให้ประชาชนมีแหล่งน�้ำไว้ใช้ในการอุปโภคบริโภค และมีทาง คมนาคมที่สะดวก องค์การบริหารส่วนต�ำบลโตนดการมีการแก้ไข ปัญหาให้แต่ละพื้นที่มีความเดือดร้อน เช่น โครงการก่อสร้างถนน และ ขุดลอกคลองต่างๆ
SUKHOTHAI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 87
87
30/04/61 02:38:50 PM
2
ด้านการส่งเสริมการศึกษาคุณภาพชีวิตและสังคมที่มีคุณภาพ ส่ ง เสริ ม ให้ ป ระชาชนได้ รั บ การศึ ก ษาอย่ า งเท่ า เที ย มกั น และ การแก้ไขโรคระบาดในพืน้ ที่ ต�ำบลโตนด จึงได้มศี นู ย์พฒ ั นาเด็กเล็ก ทั้งหมด 5 ศูนย์ เพื่อเป็นการจัดการศึกษาให้เด็กนักเรียนในพื้นที่อย่าง ทั่วถึงทั้งต�ำบลโตนด และมีการจัดกิจกรรมต่างๆ ให้กับเด็กในพื้นที่
3
ด้านการส่งเสริมการมีสว่ นร่วมและการบริหารกิจการบ้านเมืองทีด่ ี ส่ ง เสริ ม และสนั บ สนุ น การมี ส ่ ว นร่ ว มของประชาชนในการ ด� ำ เนิ น งาน, พั ฒ นาระบบราชการให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ โปร่ ง ใส ตรวจสอบได้ และส่งเสริมและเพิ่มศักยภาพบุคลากรของ อปท.
88
SBL บันทึกประเทศไทย I SUKHOTHAI
.indd 88
30/04/61 02:38:51 PM
4
ด้านการส่งเสริมการเกษตร สิ่งแวดล้อมและการท่องเที่ยว ส่งเสริมและสนับสนุนการประกอบอาชีพทางการเกษตร พร้อมทั้ง พัฒนาและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
วั ด ธรรมปั ญ ญาราม
5
วั ด หนองกก
ด้านการส่งเสริมเศรษฐกิจและการแก้ไขปัญหาความยากจน อย่างยั่งยืน ส่ ง เสริ ม การประกอบอาชี พ และพั ฒ นารายได้ , สนั บ สนุ น การฝึ ก อบรม สร้ า งอาชี พ และคาราวานแก้ จ น ตลอดจนส่ ง เสริ ม และสนับสนุนการจ�ำหน่ายสินค้า OTOP
SUKHOTHAI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 89
89
30/04/61 02:38:55 PM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดบึงภูเต่า วัดบึงภูเต่า สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 163 หมู ่ ที่ 3 ต� ำ บลทุ ่ ง หลวง อ�ำเภอคีรีมาศ จังหวัดสุโขทัย เดินทางจาก ตั ว เมื อ งสุ โ ขทั ย ไปตามถนนสายสุ โ ขทั ย ก� ำ แพงเพชร ถนนสายเอเชี ย ทางหลวง หมายเลข 101 ประมาณ 17 กิ โ ลเมตร ทางด้ า นขวา จะพบทางเข้ า วั ด บึ ง ภู เ ต่ า อยู่ติดถนน
90
ที่ดินตั้งวัด เนื้อที่ 13 ไร่ แปลงที่ 1 ตั้งอยู่ที่ต�ำบลทุ่งหลวง อ�ำเภอคีรีมาศ จังหวัดสุโขทัย มีเนื้อที่ 12 ไร่ 2 งาน มีหนังสือ แสดงกรรมสิทธิ์ที่ดินคือ น.ส.3 213 แปลงที่ 2 ตั้งอยู่ที่ต�ำบลทุ่งหลวง อ�ำเภอคีรีมาศ จังหวัดสุโขทัย มีเนื้อที่ 2 งาน มีหนังสือ แสดงกรรมสิทธิ์ที่ดินคือ โฉนดเลขที่ 320 อาณาเขต ทิศเหนือ ยาว 2 เส้น 15 วา จดทางสาธารณะประโยชน์ ทิศใต้ ยาว 2 เส้น 15 วา จดทางสาธารณะประโยชน์ ทิศตะวันออก ยาว 5 เส้น 100 วา จดถนนทางหลวง ทิศตะวันตก ยาว 5 เส้น 100 วา จดนางสิน โพธิ์ดี
SBL บันทึกประเทศไทย I SUKHOTHAI
.indd 90
27/04/61 10:17:12 AM
ประวัติวัดบึงภูเต่า วัดบึงภูเต่า เป็นวัดทีส่ ร้างตัง้ แต่สมัยสุโขทัย ประมาณ 700 ปี ในอดีตมีบึงน�้ำและมีเต่า อาศัยอยูเ่ ป็นจ�ำนวนมาก และมักจะออกมาเดิน ข้ามถนนไปมาเสมอๆ ต่อมามีหลวงพ่อเล็ก (โถม) ประธานก่อสร้าง ต่อมากลายเป็นวัดร้าง กระทั่งเริ่มมีการบูรณะขึ้นมาใหม่ เมื่อวันที่ 6 มิ ถุ น ายน พ.ศ.2526 ซึ่ ง เป็ น วั น จั ก รี โดย เริ่ ม สร้ า งวิ ห ารเป็ น หลั ง แรก และได้ นิ ม นต์ หลวงตาโท้ มาอยู่เป็นประธาน ต่อมาปี พ.ศ.2527 ได้สร้างกุฏิขึ้นใหม่ อีก 2 หลัง ปี พ.ศ.2528 สร้างหอระฆังขึ้นอีก 1 หลัง ในปีเดียวกัน คุณลุงจ�ำลอง - ป้ารวม
ได้ถวายบ้านเก่าอีก 1 หลัง รวมเป็น 4 หลัง ต่อมามีผู้มีจิตศรัทธามาร่วมท�ำบุญกันมากขึ้น ดังนัน้ จึงยกศาลาพืน้ ดินขึน้ มา ก็ได้ศาลาหลังนี้ ท�ำบุญกันตลอดมา ทั้งนี้คณะกรรมการได้พร้อมใจกันก่อสร้าง อุโบสถขึ้นมาเป็นหลังแรก ท�ำอุโบสถใกล้จะ เสร็ จ ก็ เริ่ ม สร้ า งศาลาหลั ง ใหม่ ขึ้ น มาและ ได้ก่อสร้างกันมาโดยตลอด แต่ก็ยังเป็นวัดที่ ไม่ถูกต้อง ยังเป็นส�ำนักสงฆ์อยู่นานประมาณ 15 ปี ต่อมาก็ได้ทรุดโทรมไปตามกาลเวลา จึง ได้คิดท�ำกันใหม่และย้ายจากสถานที่เก่าและ สร้างขึ้นใหม่ โดยได้รับอนุญาตให้ตั้งเป็นวัด
เมื่อวันที่ 16 ตุลาคม 2539 ได้รับพระราชทาน วิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 23 มกราคม 2542 ในปีเดียวกันนี้ได้ยกกุฏิขึ้นใหม่ 2 หลัง หอ สวดมนต์ 1 หลัง ปัจจุบันทางกรมการศาสนา ได้อนุญาตให้เป็นวัดถูกต้องตามกฎหมาย ปี พ.ศ.2544 ได้แต่งตั้ง พระอธิการวันชัย ธีรปญฺโญ เป็นเจ้าอาวาส และผูกพัทธสีมา ในปีเดียวกัน เริม่ ก่อสร้างซุม้ ประตู แท็งก์เก็บน�ำ้ และเมรุ และมีคณะศรัทธาน�ำโดยคุณแม่แผ้ว เสือใหญ่ ร่วมสร้างกุฏิถวาย และในปีเดียวกัน เริ่มสร้างศาลาธรรมสังเวช
SUKHOTHAI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 91
91
27/04/61 10:17:19 AM
เสนาสะส�ำคัญ กุฏิ หอสวดมนต์ ท�ำด้วยไม้เนื้อแข็ง ศาลาการเปรี ย ญ อาคารคอนกรี ต กว้าง 16 เมตร ยาว 20 เมตร สร้างสร้างเสร็จ เมื่อปี พ.ศ.2535 วิหาร 1 หลัง กว้าง 5 เมตร ยาว 9 เมตร สร้างเสร็จเมื่อปี พ.ศ.2538 สิ่งศักดิ์สิทธิ์ภายในวัด รูปเหมือนหลวงปู่สิงห์ขี่เต่า อยู่ที่วิหาร หลวงปู่สิงห์ แม้ท่านจะละสังขารไปนานแล้ว แต่ความศักดิ์สิทธิ์ของท่านยังเป็นที่กล่าวขาน และเป็ น ที่ ยึ ด เหนี่ ย วจิ ต ใจของชาวอ� ำ เภอ คี รี ม าศตราบจนทุ ก วั น นี้ ในแต่ ล ะวั น จะมี ประชาชนเดินทางมาสักกาะขอพรเสมอ พระพุ ท ธมหาโคดม เป็ น พระพุ ท ธรู ป ปางมารวิชัยองค์ใหญ่ ประดิษฐานอยู่บริเวณ หน้าวัด ขนาดหน้าตักกว้าง 5 วา ลักษณะเด่นคือ
92
มีพทุ ธศิลป์ทงี่ ดงามอ่อนช้อย พระพักตร์อมิ่ เอิบ งดงามเป็นที่เลื่อมใสศรัทธาต่อพบเห็น โดย พระครู อุ ด มปั ญ ญาวุ ฒิ เจ้ า อาวาสวั ด เป็ น ประธานจัดสร้าง และมีคณะศรัทธาร่วม น�ำโดย คุณประสิทธิ์ - คุณส�ำราญ คงค�ำ จัดหาปัจจัย ในการก่อสร้าง สร้างเมื่อปี 2545
ความส�ำคัญของวัดบึงภูเต่า วัดบึงภูเต่าได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง มีความเป็นระบบระเบียบ สะอาด สวยงาม สงบ ร่มรื่นไปด้วยแมกไม้ มีอุทยานการศึกษา ในวัด สวนป่าสมุนไพร คติธรรมต้นไม้พูดได้ ฯลฯ ปี พ.ศ.2539 ได้รับเลือกเป็นวัดพัฒนา ตั ว อย่ า ง ที่ มี ผ ลงานดี เ ด่ น จากส� ำ นั ก งาน พระพุทธศาสนาแห่งชาติ ปี พ.ศ.2555 ได้รับคัดเลือกเป็นอุทยาน การศึกษาในวัด
กิจกรรมส�ำคัญของวัด วัดบึงภูเต่า มีกิจกรรมที่จัดขึ้นเป็นประจ�ำ ทุกปี ได้แก่ งานสักการะหลวงปู่สิงห์ งาน เพ็ญเดือนสี่ งานบวชนาคสามัคคี งานเทศน์ มหาชาติพระเวสสันดรชาดก งานเทศน์ธรรมกถึก วั น ที่ 1 มกราคมของทุ ก ปี จั ด งาน สวดสะเดาะเคราะห์ ต่อชะตา เสริมบารมี วันที่ 13 เมษายนของทุกปี งานประเพณี แจงรวมญาติ สรงน�้ำพระ อาบน�้ำผู้สูงอายุ ซึ่งมีผู้คนมากมายมาร่วมงาน งานสงเคราะห์ชุมชน แจกสิ่งของช่วยเหลือผู้ประสบอัคคีภัย อุทกภัย มอบทุนการศึกษาทุกปี จัดการศึกษาพระปริยัติธรรม
SBL บันทึกประเทศไทย I SUKHOTHAI
.indd 92
27/04/61 10:17:26 AM
SUKHOTHAI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 93
93
27/04/61 10:17:27 AM
94
SBL บันทึกประเทศไทย I SUKHOTHAI
.indd 94
27/04/61 10:17:37 AM
พระครูอุดมปัญญาวุฒิ (วันชัย ธีรปญฺโญ) เจ้าอาวาสวัดบึงภูเต่า
ประวัติย่อพระครูอุดมปัญญาวุฒิ ปี พ.ศ.2546 ได้รับแต่งตั้งเป็นพระครู สัญญาบัตรพระราชทินนามที่ “พระครูอุดม ปัญญาวุฒิ” เจ้าอาวาสวัดราษฎร์ชั้นโท และ ปัจจุบันเป็นเจ้าอาวาสวัดราษฎร์ชั้นเอก ที่ พระราชทินนามเดิม ปี พ.ศ.2560 ได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าคณะ ต�ำบลทุ่งหลวง แผนการพัฒนาวัด พระครู อุ ด มปั ญ ญาวุ ฒิ เจ้ า อาวาส วั ด บึ ง ภู เ ต่ า มี เ ป้ า หมายการพั ฒ นาวั ด เพื่ อ ให้เป็นศูนย์กลางของชุมชน และจะพัฒนา กิจกรรมของวัด ให้เกิดประโยชน์ต่อพระพุทธ ศาสนาและประชาชนให้มากที่สุด จึ ง ขอเชิ ญ ชวนพุ ท ธศาสนิ ก ชนร่ ว มกั น ท� ำ นุ บ� ำ รุ ง วั ด แห่ ง นี้ เพื่ อ ให้ สั ม ฤทธิ์ ผ ลตาม เป้าหมายที่ตั้งไว้ และให้คงอยู่คู่จังหวัดสุโขทัย สืบไป
SUKHOTHAI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 95
95
27/04/61 10:17:44 AM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดลาย
วัดลาย ตั้งอยู่เลขที่ 148 หมู่ที่ 3 อ�ำเภอ คีรีมาศ จังหวัดสุโขทัย อยู่ห่างจากตัวจังหวัด สุโขทัยตามถนนสายเอเชีย – คีรมี าศ ประมาณ 18 กิโลเมตร ปัจจุบนั มี พระครูวธิ านธรรมประสิทธิ์ เป็ น เจ้ า อาวาส อายุ 61 ปี พรรษา 40 วิทยฐานะ น.ธ.เอก เป็นเจ้าอาวาสวัดลาย
ประวัติวัดลาย วัดลายแต่เดิมมาเป็นวัดร้างเก่าแก่วดั หนึง่ คู่มากับกรุงสุโขทัย เมื่อ 1800 ปีมาแล้ว โดย สันนิษฐานจากโบราณวัตถุที่ปรากฏอยู่ คือ แท่นอุโบสถเก่าและใบเสมา 2 ใบ ซึ่งแกะสลัก เส้นลงบนแผ่นหิน มีอายุอฐิ ทีฐ่ านอุโบสถในยุค เดียวกับอิฐที่ฐานพระอุโบสถ และฐานเจดีย์ เมืองเก่าสุโขทัย ครัน้ เมือ่ พ.ศ.2457 ได้มพี ระภิกษุผคู้ งแก่ เรี ย น (ทางวิ ป ั ส สนาธุ ร ะ) รู ป หนึ่ ง นามว่ า “ต่วน” ต่อมาเป็นเจ้าอาวาสวัดลาย ได้ชื่อว่า พระอุปัชฌาย์ต่วน ธมฺมปญฺโญ หรือ เจ้าคณะ ต่วน เป็นหัวหน้าคณะฝ่ายสงฆ์ โดยมีนายเพ็ง ดี ทุ ่ ง เป็ น หั ว หน้ า ฝ่ า ยฆราวาสได้ ร ่ ว มกั บ ชาวบ้านถวายที่ดิน บริเวณวัดร้าง ซึ่งเป็นที่ท�ำ กินจ�ำนวน 30 ไร่เศษ เพื่อสร้างกุฏิและอุโบสถ ขึน้ มาใหม่ ณ บริเวณ อุโบสถเดิม โดยสร้างเป็น อุโบสถเทคอนกรีตเสริมเหล็ก เสร็จเรียบร้อย ในปี พ.ศ.2462 และได้สร้างกุฏิและเสนาสงฆ์ เพิ่มขึ้นตามล�ำดับ วัดลายที่มีอะไรแปลกกว่าวัดอื่นๆ คือ บริเวณวัดจะร่มรืน่ เย็นสบาย เต็มไปด้วยต้นไม้ นานาชนิ ด มากมาย อาทิ ต้ น ไทร ต้ น โพธิ์ ต้นยาง และที่มีมากที่สุด ได้แก่ ต้นตาล ซึ่งมี ประมาณกว่า 300 ต้น เพราะสมัยที่หลวงพ่อ ต่วนท่านยังมีชีวิตอยู่ ท่านชอบปลูกต้นไม้มาก ปัจจุบันผลิตผลจากต้นตาล เช่นลูกตาลหรือ ก้านตาล ชาวบ้านจะน�ำมาท�ำขนมหรือน�ำมา เป็ น เชื้ อ เพลิ ง ในการเผาเครื่ อ งปั ้ น ดิ น เผา ( อาชีพส่วนใหญ่ชาวต�ำบลทุ่งหลวง มีอาชีพท�ำ เครื่องปั้นดินเผา ) ของชาวบ้าน ไม่มีใครกล้า น�ำเอาออกมาจากป่าตาลได้ เพราะหลวงพ่อ ต่วนมักแสดงปาฏิหาริย์ ให้เห็นอยู่เสมอ 96
4
SBL บันทึกประเทศไทย I SUKHOTHAI
.indd 96
27/04/61 10:34:13 AM
ประวัติพระอุปัชฌาย์ต่วน ธมฺมปญฺโญ พระอุปัชฌาย์ต่วน หรือ เจ้าคณะหมวด ต่ ว น หรื อ หลวงพ่ อ ต่ ว น ธมฺ ม ปญฺ โ ญ เป็ น เจ้าอาวาสวัดลายรูปที่ 1 เกิดเมื่อวันพฤหัสบดี ที่ 11 เมษายน พ.ศ.2421 ตรงกับวันพฤหัสบดี ที ่ 5 เดือพฤษภาคม ปีขาล ณ หมูท่ ี่ 9 ( ปัจจุบนั หมู่ที่ 3 ) ต.ทุ่งหลวง อ. คีรีมาศ จ.สุโขทัย เป็น บุตรคนโตของนายทองอยู่ กับนางสายทอง อยูน่ า มีพนี่ อ้ งร่วมบิดา มารดา 8 คน เป็นชาย 6 คน หญิง 2 คน ชีวิตในวัยเด็ก เมื่ออยู่ในวัยเยาว์ท่านเป็น เด็กทีแ่ ตกต่างจากเด็กในชนบททัง้ หลาย กล่าว คือ ท่านเป็นคนที่ชอบใฝ่หาความรู้จากผู้ใหญ่ จนสามารถเขียนภาษาไทยและอักษรขอมได้ อย่างสวยงามมาก และเนือ่ งจากท่านเป็นผูท้ มี่ ี ร่างกายสมบูรณ์ สมกับชายชาตรี รูปร่างขาว สูงโปร่ง ใบหน้ารูปไข่ มีจิตใจมั่นคง อารมณ์ เยือกเย็น จึงเป็นทีร่ กั ใคร่ของบรรดาเพือ่ นชาย เพื่อนหญิงทั้งหลาย ขยันต่อการท�ำมาหากิน พ่อแม่กร็ กั ใคร่และตามใจ มีจติ ใจน้อมน�ำไปใน ทางบรรพชาอุปสมบท ชีวติ ในพระพุทธศาสนา ครัน้ เมือ่ อายุครบ 21 ปี บริบรู ณ์ ( พ.ศ.2442 ) ได้อปุ สมบท ณ พัทธสีมา วัดวาลุการาม ต�ำบลโตนด กิ่งอ�ำเภอคีรีมาศ ( ปั จ จุ บั น อ� ำ เภอคี รี ม าศ) จั ง หวั ด สุ โขทั ย
โดยมีพระอุปัชฌาย์เผือก วัดวาลุการาม เป็น พระอุปชั ฌาย์ พระอาจารย์นวน วัดดุสติ ดาราม เป็นพระกรรมวาจาจารย์ และพระอาจารย์โต๊ะ วัดบึง เป็นพระอนุสาวนาจารย์ เมื่ออุปสมบท แล้วได้อยู่ปฏิบัติอาจารย์และศึกษาธรรมวินัย ในทางวิปสั สนาธุระ กับพระอุปชั ฌาย์เป็นเวลา 2 พรรษา แล้วจึงเดินทางไปศึกษาธรรมในทาง วิปสั สนาธุระ ทีว่ ดั ไพรสุวรรณ ( วัดไซรรองขน) ต� ำ บลบ้ า นไร่ อ� ำ เภอบางกระทุ ่ ม จั ง หวั ด พิ ษ ณุ โ ล ก แ ล ะ ไ ป ศึ ก ษ า เ พิ่ ม เ ติ ม กั บ พระเกจิอาจารย์อีกหลายท่าน ดังนี้ 1. ได้ศึกษาวิปัสสนาธุระกับหลวงพ่อเงิน พุทธโชติ ( พ.ศ.2355-2462) วัดบางคลาน หรือ วั ด หิ รั ญ ญการาม ต� ำ บลบางคลาน อ� ำ เภอ โพทะเล จังหวัดพิจิตร ซึ่งเป็นเกจิอาจารย์ ชื่อ ดังรูปหนึง่ ของเมืองไทยและเป็นทีเ่ คารพนับถือ ข อ ง ป ร ะ ช า ช น เ ป ็ น จ� ำ น ว น ม า ก ซึ่ ง พระอุปชั ฌาย์ตว่ น เคยเล่าให้พระครูวบิ ลู บุรณ กิจ (เจ้าอาวาสวัดลายองค์ปัจจุบัน) ฟังในเรื่อง ของความศักดิ์สิทธิ์ของหลวงพ่อเงินว่า ท่าน สามารถเสกใบไม้ให้เป็นกบได้ ในสมัยที่ท่าน เดิ น ทางไปหาหลวงพ่ อ เงิ น ในวั น แรกนั้ น ปรากฏว่าในคืนนั้นฝนตกหนัก ภายในบริเวณ ลานวั ด เจิ่ ง นองไปด้ ว ยน�้ ำ และมี ก บตั ว โตๆ กระโดดโลดเต้นเต็มลานวัด ชาวบ้านและศิษย์
วัดต่างก็ช่วยกันจับกบใส่ข้องเพื่อเตรียมจะน�ำ ไปท�ำอาหารในวันรุ่งขึ้น แต่พอรุ่งเช้า ปรากฏ ว่ากบที่อยู่ในข้องนั้นกลายเป็นใบไม้ที่อยู่ใน บริเวณวัดนั้นเอง นอกจากนี้แล้วหลวงพ่อเงิน ยังผูกหุน่ ขึน้ มาเป็นคนเพือ่ ใช้งานได้อกี เป็นต้น 2. ได้ ศึ ก ษาเพิ่ ม เติ ม กั บ พระครู วิ ม ล คุณากร ( หลวงพ่อศุข ) วัดปากคลองมะขาม เฒ่า อ�ำเภอวัดสิงห์ จังหวัดชัยนาท ซึ่งเป็น เกจิอาจารย์ที่เรืองวิชามากอีกองค์หนึ่ง ท่าน เป็นพระอาจารย์ของกรมหลวงชุมพรเขตอุดม ศักดิ์ ผูท้ รงอภินหิ ารอันลือลัน่ ในอดีต หลวงพ่อ ศุขนีส้ ามารถเสกหัวปลีให้เป็นกระต่ายและเสก คนให้เป็นจระเข้ และยิง่ กว่านัน้ ยังมีวชิ าระเบิด น�้ำ ลงไปท�ำตระกรุดในแม่น�้ำเจ้าพระยา ได้อีก ด้วย 3. ได้ไปศึกษาเพิ่มเติมกับพระสังฆรานุ วงศ์เถระ ( ชุ่ม พุทธสโร พ.ศ.2396-พ.ศ.2470 ) วัดราชสิทธาราม ( วัดพลับ ) จังหวัดธนบุรี ( ปัจจุบนั กรุงเทพมหานคร ) ซึง่ ท่านมีชอื่ เสียงใน ทางวิปัสสนาธุระ จนได้รับพระราชทานพัดยศ งาช้ า งสาน เป็ น องค์ สุ ด ท้ า ยของกรุ ง รัตนโกสินทร์ ซึ่งมีวิชาอาคมขลังในทางมหาอุ ตม์ และลูกอม ในทางคงกระพันชาตรี ที่หา เสมอเหมือนมิได้
SUKHOTHAI I SBL บันทึกประเทศไทย
4
.indd 97
97
27/04/61 10:34:20 AM
บัน้ ปลายแห่งชีวติ ในขณะทีว่ ดั ลายก�ำลัง รุ่งเรือง และการก่อสร้างได้ด�ำเนินมาเป็นเวลา อันยาวนานนี้เอง พระอุปัชฌาย์ต่วนได้เริ่ม อาพาธด้วยโรคเนื้องอกที่คอ หรือที่เรียกกันใน สมัยนั้นว่า ฝีสบาย ใน พ.ศ.2483 บรรดาศิษย์ และประชาชนทีเ่ คารพนับถือทัง้ หลาย ต่างก็ได้ ช่วยกันรักษาจนสุดความสามารถ เป็นอยู่ 2 ปี ครั้นถึงปีที่ 2 โรคนั้นก�ำเริบขึ้นสุดที่จะเยียวยา ได้ จึงมรณภาพเมื่อวันที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2485 เวลาประมาณ 17.00 น. ด้วยอาการที่ สงบที่กุฏิของท่าน สิริรวมอายุได้ 64 ปี ด�ำรง อยู่ในสมณเพศ 44 พรรษา
98
4
SBL บันทึกประเทศไทย I SUKHOTHAI
.indd 98
27/04/61 10:34:26 AM
ประวัติพระครูวิบูลบุรณกิจ พระครูวบิ ลู บุรณกิจ หรือ หลวงพ่อเหลีย่ ม อคฺควํโส เดิมชื่อ เลี่ยม นาน้อง เกิดเมื่อวันที่ 18 มีนาคม พ.ศ.24 62 ตรงกับวันแรม 14 ค�่ำ เดือน 4 ปี มะแม ณ บ้านเลขที่ 105 หมู่ที่ 3 ต�ำบลทุ่งหลวง อ�ำเภอคีรีมาศ จังหวัดสุโขทัย เป็ น บุ ต รชายคนโตของนายออด นางพุ ฒิ นาน้อง มีพี่น้องร่วมบิดามารดา 7 คน เมื่ออายุ ครบ 21 ปี บริบูรณ์ จึงได้ท�ำการอุปสมบท ณ พัทธสีมาวัดลาย เมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2483 โดยมีเจ้าคณะหมวดต่วน ธมฺมปญโญ เป็นพระอุปัชฌาย์ พระสมุห์อ่อง วัดบึง เป็น พระกรรมวาจาจารย์ และพระครู ห อม เจ้าอาวาสวัดวาลุการาม เป็นพระอนุสาวนา จารย์ ปัจจุบันอายุ 74 ปี อยู่ในสมณเพศ 53 พรรษา ได้ปฏิบัติดูแลหลวงพ่อต่วน ในขณะ อาพาธอย่างใกล้ชิด ตลอดเวลา และได้รับการ ถ่ายทอดวิชาความรู้จากหลวงพ่อต่วนอีกด้วย ต่อมาเป็นเจ้าอาวาสวัดลาย และเจ้าคณะต�ำบล ทุ่งหลวง ท่านเป็นพระที่ชอบการก่อสร้างวัดและ เสนาสนะสงฆ์ เป็นผู้อนุรักษ์ธรรมชาติ สืบต่อ จากหลวงพ่อต่วน จะเห็นได้จากต้นไม้และว่าน ที่เป็นยาที่ปลูกในวัด และที่ส�ำคัญวัตถุมงคล ของหลวงพ่อเลีย่ ม ( พระครูวบิ ลู บุรณกิจ) ก�ำลัง
ได้ รั บ ความนิ ย มมากในจั ง หวั ด สุ โขทั ย และ จังหวัดอื่น ๆ ดังนี้ 1. รูปหลวงพ่อต่วน รุ่นที่ 1 เมื่อ พ.ศ. 2485 ( แจกในงานศพหลวงพ่ อ ต่ ว น ) มีสองชนิด คือ ชนิดกรอบเป็นเงิน และชนิด กรอบเป็นทองเหลือง ปัจจุบันหาได้ยากมาก สนนราคา ประมาณ 6,000-10,000 บาท 2.รูปหลวงพ่อต่วน รุ่นที่ 2 ปี พ.ศ.2489 สนนราคาทั่วไป ประมาณ 2,000-3,000 บาท 3. เหรียญหลวงพ่อต่วน รุ่นที่ 1 เมื่อ ปี พ.ศ.2518 ได้ร่วมพุทธาภิเษก ณ สนามหลวง กรุงเทพมหานคร รุน่ นีไ้ ม่สามารถจะหล่อได้อกี เพราะเบ้าที่หล่อในครั้งนั้นแตกใช้การไม่ได้ หรือ ที่เรียกว่า “รุ่นเบ้าแตก” ก็ได้ ปัจจุบัน สนนราคาทั่วไปประมาณ 1,000-2,000 บาท 4. เหรียญหลวงพ่อต่วน รุ่นที่ 2 ปี พ.ศ. 2523 มีสองด้านคือหลวงพ่อต่วนด้านหนึ่ง อีก ด้านหนึ่งเป็นรูปของพระครูวิบูลบุรณกิจหรือ หลวงพ่อเหลี่ยม 5. รูปหล่อหลวงพ่อต่วน รุ่นที่ 1 เหรียญ รุ่นที่ 3 และพระผงว่าน 108 ชนิด “รุ่นเสาร์ 5” ซึง่ ปลุกเสกเมือ่ วันเสาร์ที่ 27 มีนาคม 2536 โดยเกจิอาจารย์ชื่อดัง
พระครูวิธานธรรมประสิทธิ์ เป็นเจ้าอาวาส
SUKHOTHAI I SBL บันทึกประเทศไทย
4
.indd 99
99
27/04/61 10:34:28 AM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดสามพวง วัดสามพวง ตั้งอยู่เลขที่ 52 หมู่ที่ 3 ต�ำบลสามพวง อ�ำเภอคีรีมาศ จังหวัดสุโขทัย ปัจจุบันมีพระครูสุคันธศีลคุณ เป็นเจ้าอาวาส และ เจ้าคณะอ�ำเภอคีรีมาศ
ร่วมสร้างเส้นทางบุญ วัดสามพวง ก�ำลังด�ำเนินการก่อสร้างอุโบสถ จึงขอเชิญผู้มีจิตศรัทธา ร่วมสร้างเส้นทางบุญ โดยทางวัดได้เปิดบัญชีออมทรัพย์ ธนาคารเพื่อ การเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ชื่อบัญชีระฆัง เลขที่ 015092977753 หรือติดต่อสอบถามได้ที่ โทร. 0-5594-5591, 085-049-2008, 080-505-9542 100
ท�ำเนียบเจ้าอาวาส วัดสามพวง มีประธานสงฆ์ เจ้าอาวาส และรักษาการแทนเจ้าอาวาส ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ดังนี้ 1. พระอาจารย์น้อย 2. หลวงพ่อคร้าม 3. พระอาจารย์เทศ 4. พระสมุห์จ้อย 5. พระอาจารย์ ไสว 6. พระอาจารย์สวิง 7. พระอาจารย์ส�ำคัญ 8. พระอาจารย์มูล 9. พระอาจารย์สุวรรณ (คุ้ย) 10. พระครูโสภิตจันทคุณ พ.ศ.2505 - 2524 11. พระปลัดเยื้อน อชิโต พ.ศ.2524 12. พระครูอนุชิตธรรมคุณ (รักษาการแทนเจ้าอาวาส) 13. พระครูสุคันธศีลคุณ พ.ศ.2525 - ถึงปัจจุบัน
SBL บันทึกประเทศไทย I SUKHOTHAI
.indd 100
27/04/61 10:45:27 AM
ประวัติวัดสามพวง วั ด นี้ ไ ด้ ท� ำ การสร้ า งมาเมื่ อ สมั ย กรุ ง รัตนโกสินทร์ ตั้งวัดเมื่อ พ.ศ.2375 และได้รับ วิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 9 สิงหาคม พ.ศ.2495 ที่ดินตั้งวัดมี 12 ไร่ โดยมีผู้มีจิตศรัทธาร่วมกัน บริจาคทรัพย์เป็นทุน ในการพัฒนาก่อสร้าง มาเป็นล�ำดับ
วั ด สามพวง สั ง กั ด ต� ำ บลคณะสงฆ์ ต�ำบลสามพวง ที่มาของชื่อว่า “สามพวง” เนื่องจากต�ำบลแห่งนี้มีคลองสามพวงซึ่งมีปลา ชุกชุมมาก จึงเป็นสถานทีท่ ที่ กุ คนต้องมาหาปลา เพือ่ ไปท�ำอาหารบริโภค คนสมัยโบราณเล่าขาน กันว่า ผู้คนมาจับปลาที่คลองแห่งนี้ ไม่ว่าจะ
ต้องการจับปลาให้ได้เยอะหรือน้อยเพียงใด ก็ได้แค่สามพวงกลับบ้าน จนเป็นต�ำนานเรียกขาน ว่า “คลองสามพวง” และประชาชนก็อาศัย อยู่ริมคลอง จึงเป็นชื่อว่าบ้านสามพวง และ ตั้งชื่อเป็นต�ำบลสามพวง (พบหลักฐานตั้งชื่อ ว่าต�ำบลสามพวง ในสมัยรัชกาลที่ 6) จนถึงปัจจุบนั
ลักษณะเด่นของวัดและภูมิทัศน์ทั่วไป ทีต่ งั้ วัดด้านเหนือติดกับคลองแม่นำ�้ สามพวง ด้านใต้เป็นทุ่งนาชาวบ้าน ด้านตะวันออก ตะวั น ตก เป็ น หมู ่ บ ้ า น บริ เวณวั ด มี ต ้ น ไม้ นานาพรรณมากมายพอสมควร จึงมีความ ร่มรื่นมาก โดยมีต้นไทรย้อยกินบริเวณเนื้อที่ เกือบไร่ ในฤดูร้อนหากอยู่ใต้ต้นไทรจะไม่ร้อน พระสงฆ์จะนั่งฉันอาหารเช้า - เพลใต้ต้นไทร
เพราะอากาศเย็นสบาย เวลาทีว่ ดั มีงานประจ�ำปี หรืองานประเพณีสงกรานต์ ประชาชนชาวพุทธ จะอยูบ่ ริเวณใต้ตน้ ไทร และจะพูดเป็นเสียงเดียว กันว่าเย็นสบาย ทางองค์การบริหารส่วนต�ำบล สามพวง จึ ง จั ด งานสงกรานต์ ก็ ม าจั ด ที่ วั ด บริเวณใต้ไทรเป็นประจ�ำ นอกจากนีย้ งั มีตน้ ประดู่ ใหญ่บริเวณริมคลอง อายุประมาณร้อยกว่าปี
ด้านทิศตะวันออกและตะวันตก เป็นหมู่บ้าน ทั้งสองด้าน ด้านทิศใต้ เป็นทุ่งนาทั้งหมด แต่ ปีใดถ้าน�้ำมาก บริเวณวัดจะถูกน�้ำท่วม เพราะ ทิ ศ เหนื อ จะเป็ น ล� ำ คลองสามพวง ด้ า นทิ ศ ใต้เป็นทุ่งนา
SUKHOTHAI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 101
101
27/04/61 10:45:36 AM
ประวัติของหลวงพ่อสุขใจ คณะสงฆ์ แ ละกรรมการวั ด สามพวง ได้ร่วมกันจัดงานหล่อพระพุทธรูป หลวงพ่อ สัมพันธมิตร ประจ�ำอุโบสถ ในเดือนเมษายน พ.ศ.2500 โดยมีนายส�ำคัญ โททอง ซึ่งเป็นคน สามพวงโดยก�ำเนิด และเป็นบุคคลทีช่ า่ งประดิษฐ์ ชอบปั ้ น และวาดรู ป ต่ า งๆ และได้ บ รรพชา อุปสมบทจ�ำพรรษาที่วัดสามพวงได้ 6 พรรษา แล้วได้ลาสิกขาไปมีครอบครัว เป็นช่างปั้นหุ่น นายส�ำคัญได้จ้างช่างมาหล่อขึ้นจากปูนและ อุปกรณ์ยังเหลืออยู่ และที่ศาลาบ�ำเพ็ญกุศล ไม่มีพระพุทธรูปประจ�ำศาลา ในเมื่อเป็นอย่าง นั้นก็มีความคิดว่าต้องปั้นพระพุทธรูป โดย การใช้ปูนเป็นอุปกรณ์ในการปั้นเป็นพระพุทธ รูปเพื่อเป็นพุทธบูชา และขอฝากฝีมือไว้ใน พระพุ ท ธศาสนา ก็ ไ ด้ ป ั ้ น พระพุ ท ธรู ป ขึ้ น หนึ่งองค์ที่บ้าน (หมู่ 4 ปัจจุบัน) เพื่อเป็น 102
พระพุทธรูปประจ�ำศาลาในเวลาบ�ำเพ็ญกุศล และพุทธศาสนิกชนจะได้บูชากราบไหว้ เพื่อ เป็นสิริมงคลกับตนเอง ในการนี้ นายพึง แจ่มใส ซึ่งมีมวลสาร ของหลวงพ่อข�ำ วัดโพธิเ์ ตีย้ อ�ำเภอลานกระบือ จังหวัดก�ำแพงเพชร ที่ตนกราบไว้บูชาอยู่มา ขอบรรจุไว้ที่อุระ (หน้าอก) หลวงพ่อสุขใจ ซึ่งเดิมไม่ใช่องค์ด�ำอย่างที่ปรากฏในปัจจุบัน แต่เดิมเป็นองค์สีขาว แล้วนายส�ำลี โททอง ซึ่งเป็นน้องชายของนายส�ำคัญ ในขณะนั้น ได้ บ วชอยู ่ บ อกว่ า สี ข าวดู ไ ม่ ดี จึ ง ได้ เ อารั ก มาลงทีหลัง หลวงพ่อสุขใจ สร้างขึ้นในสมัยพระครู โสภิตจันทคุณ (ประเสริม จนฺทโชโต) ยังไม่ได้ เป็นเจ้าอาวาส ต่อมาเป็นเจ้าอาวาสล�ำดับที่ 8 พ.ศ. 2505 - 2524
ต่อมาได้มกี ารรือ้ ศาลาการเปรียญหลังเก่า จึงย้ายท่านมาประดิษฐานในอุโบสถ และเมื่อ พ.ศ.2550 มีโยมคนหนึ่ง ฝันว่า “หลวงพ่อ ไปหาที่บ้าน และบอกว่าไม่มีใครสรงน�้ำให้ และไม่ มี ใ ครถวายผ้ า ห่ ม ให้ เ ลย” ดั ง นั้ น พระครูสุคันธศีลคุณ เจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน และคณะกรรมการวัด จึงสร้างวิหารขึน้ หนึง่ หลัง แล้วอัญเชิญหลวงพ่อสุขใจมาประดิษฐานที่ วิหารปัจจุบัน แล้วจัดงานสมโภชขึ้นในวันที่ 11 - 12 เมษายน ของทุกปี สาเหตุที่ชื่อ “หลวงพ่อสุขใจ” เพราะ เจ้าอาวาสรูปปัจจุบนั เห็นว่าวัดอืน่ เขามีหลวงพ่อ ทันใจ หากตัง้ ชือ่ หลวงพ่อทันใจอีก ก็จะไปซ�ำ้ กัน ท่านจึงตั้งว่า หลวงพ่อสุขใจ มีความหมายว่า “ใครไหว้หลวงพ่อแล้วสุขใจนั่นเอง”
SBL บันทึกประเทศไทย I SUKHOTHAI
.indd 102
27/04/61 10:45:42 AM
ประวัติย่อพระครูสุคันธศีลคุณ ต�ำแหน่ง ชื่อ พระครูสุคันธศีลคุณ ฉายา ฐิตสีโล อายุ 64 พรรษา 43 วิทยฐานะ น.ธ.เอก, พธ.บ., ปัจจุบันด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดสามพวง และเจ้าคณะอ�ำเภอคีรีมาศ สถานะเดิม ชื่อ นายทอน นามสกุล ข�ำใจ เกิดวันพุธที่ 30 มิถุนายน พ.ศ.2479 ปีมะเมีย นามบิดา - มารดา นายพัด-นางเงียบ ข�ำใจ บ้านเลขที่ 120 หมู่ที่ 6 ต�ำบลสามพวง อ�ำเภอคีรีมาศ จังหวัดสุโขทัย อุปสมบท วันอังคารที่ 1 เมษายน พ.ศ.2518 ณ พัทธสีมาวัดวาลุการาม ต�ำบลโตนด อ�ำเภอคีรีมาศ จังหวัดสุโขทัย นามพระอุปัชฌาย์ พระครู คีรมี าศธรรมคุณ วัดวาลุการาม ต�ำบลโตนด อ�ำเภอคีรมี าศ จังหวัดสุโขทัย วิทยฐานะ พ.ศ.2509 จบการศึกษาชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านอานม้า ต�ำบลสามพวง อ�ำเภอคีรีมาศ จังหวัดสุโขทัย พ.ศ.2522 สอบได้ นั ก ธรรมชั้ น เอก ส� ำ นั ก วั ด ธรรมปั ญ ญาราม ต�ำบลโตนด อ�ำเภอคีรีมาศ จังหวัดสุโขทัย พ.ศ.2553 ส�ำเร็จการศึกษาปริญญาบัตร พุทธศาสตร์บณ ั ฑิต (พธ.บ.) (เกียรตินยิ มอันดับสอง) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย กรุงเทพฯ
งานปกครอง พ.ศ.2523 พ.ศ.2524 พ.ศ.2525 พ.ศ.2525 พ.ศ.2525 พ.ศ.2531 พ.ศ.2557
ผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาสวัดมุจลินทาราม พระกรรมวาจาจารย์ รักษาการแทนเจ้าอาวาสวัดสามพวง เจ้าอาวาสวัดสามพวง เจ้าคณะต�ำบลสามพวง พระอุปชั ฌาย์ประจ�ำการปกครองคณะสงฆ์ตำ� บลสามพวง เจ้าคณะอ�ำเภอคีรีมาศ
สมณศักดิ์ พ.ศ.2525 ได้รับแต่งตั้งเป็นพระครูประทวนสมณศักดิ์ พ.ศ.2530 ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์เป็นพระครูสัญญาบัตร เจ้าคณะต�ำบลชั้นตรี ในราชทินนาม ที่ พระครูสุคันธศีลคุณ พ.ศ.2537 ได้รับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์เป็นพระครูสัญญา บัตรเจ้าคณะต�ำบลชั้นโท ในราชทินนามเดิม พ.ศ.2544 ได้รับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์เป็นพระครูสัญญา บัตรเจ้าคณะต�ำบลชั้นเอก ในราชทินนามเดิม พ.ศ.2557 เจ้าคณะอ�ำเภอชั้นโท ในราชทินนามเดิม
SUKHOTHAI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 103
103
27/04/61 10:45:43 AM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดขุนนาวัง วัดขุนนาวัง เหมาะแก่การศึกษา หาธรรมะ สมถะ เรียบง่าย ใฝ่กุศล พฤกษ์ร่มรื่น เย็นร่มธรรม ของทุกคน ชื่นกมล อารามเก่า แต่โบราณ วั ด ขุ น นาวั ด สั ง กั ด คณะสงฆ์ มหานิ ก าย เลขที่ 216/1 หมู่ที่ 4 บ้านขุนนาวัง ต�ำบล นาเชิ ง คี รี อ� ำ เภอคี รี ม าศ จั ง หวั ด สุ โ ขทั ย 64160
104
SBL บันทึกประเทศไทย I SUKHOTHAI
.indd 104
27/04/61 10:56:13 AM
ประวัติวัดขุนนาวัง วัดขุนนาวัง เดิมเป็นวัดร้างตั้งอยู่บริเวณ ริมถนนพระร่วง ไม่ปรากฏว่าสร้างปีไหน แต่ สันนิษฐานกันว่าสร้างตั้งแต่ครั้งกรุงสุโขทัย เป็นราชธานี นามว่า “วัดเขมา” มีการพบ ศิลาจารึก เมือ่ พุทธศักราช 2430 บริเวณทีต่ งั้ วัด ปัจจุบัน (หลักที่ 14 ศิลาจารึกวัดเขมา จังหวัด สุโขทัย, ศิลาจารึกวัดเขมา พุทธศักราช 2079 ปัจจุบนั อยูท่ ี่ พิพธิ ภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร กรุงเทพฯ) ค�ำจารึกตอนต้นช�ำรุดมากอ่าน ไม่ ใ คร่ ไ ด้ ค วาม เท่ า ที่ ยั ง เหลื อ อยู ่ เ ป็ น เรื่ อ ง เจ้าเทพรูจี อุปสมบทเป็นภิกษุ และภายหลัง ได้ บ� ำ เพ็ ญ กุ ศ ลต่ า งๆ พร้ อ มด้ ว ยญาติ แ ละ พวกสั ต บุ รุ ษ เมื่ อ ปี พ.ศ. 2079 และได้ ถูกปล่อยให้รกร้างไปพร้อมกับเมือง พ.ศ.2526 ได้ มี ผู ้ ด� ำ ริ ที่ จ ะท� ำ การสร้ า ง
วัดประจ�ำหมู่บ้านขึ้น เพื่อเป็นสถานที่บ�ำเพ็ญ บุญกุศล โดยเลือกสถานทีท่ คี่ น้ พบแท่นศิลาแลง เป็นทีต่ งั้ วัด และได้ขดุ พบถ้วยจานกระเบือ้ งสังคโลก และพบหม้อดินภายในหม้อบรรจุกระดูกบ้าง บรรจุพระเครื่องบ้าง โดยมีเรื่องเล่ากันมาว่า ครั้งก่อนที่จะมีการสร้างวัด เมื่อถึงเวลาค�่ำของ วันโกน หรือเช้ามืดของวันพระ ชาวบ้านจะ ได้ยนิ เสียงดนตรีปพ่ี าทย์ ดังขึน้ ในบริเวณทีต่ งั้ วัด ปัจจุบัน พ.ศ.2526 คณะศรัทธาบ้านขุนนาวัง ได้รว่ มใจ ก่อสร้างวัดบนเนือ้ ที่ 7 ไร่ 2 งาน 48 ตารางวา โดยมีหนังสือแสดงกรรมสิทธิท์ ดี่ นิ เป็น น.ส. 3 ก เลขที่ 35 ปรากฎชื่อ วัดจันทราราม (วัดร้าง) พ.ศ.2531 ท่ า นเจ้ า ประคุ ณ สมเด็ จ พระพุ ท ธชิ น วงศ์ เจ้ า คณะใหญ่ ห นเหนื อ ไ ด ้ ม อ บ ห ม า ย ใ ห ้ พ ร ะ ร า ช กิ ต ติ เ ม ธี ,
พระครูวิจิตรสรนาท และเจ้าหน้าที่กรมการ ศาสนา มาตรวจวัดร้างเพื่อจะยกฐานะวัดร้าง ที่ประชุมมีมติขอใช้ชื่อ “วัดขุนนาวัง” ตาม ชื่อที่ตั้งของหมู่บ้าน วันที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2532 กระทรวง ศึกษาธิการ ได้ประกาศยกฐานะวัดร้างให้เป็น วั ดมีพระสงฆ์อยู่จ�ำพรรษา วั น ที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2542 ได้ รั บ พระราชทานวิ สุ ง คามสีมา ขนาดกว้า ง 20 เมตร ยาว 30 เมตร และประกอบพิ ธี ผู ก พัทธสีมา เมื่อวันที่ 15 เมษายน พ.ศ. 2545 พ.ศ. 2555 ท่านเจ้าพระคุณสมเด็จพระ ญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆ ปริ ณ ายก มี พ ระเมตตาประทานพระบรม สารี ริ ก ธาตุ ป ระดิ ษ ฐานเป็ น การถาวร ณ วัดขุนนาวัง SUKHOTHAI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 105
105
27/04/61 10:56:17 AM
ลักษณะพื้นที่ตั้งวัดและบริเวณโดยรอบ บริ เวณวั ด เป็ น ที่ ร าบเชิ ง เขา บริ เวณ โดยรอบวั ด เป็ น คลองสาธารณะ และที่ ดิ น ของประชาชนท�ำการเกษตร (ท�ำนา) มีชุมชน บ้านเรือนตั้งอยู่โดยรอบวัด อัตลักษณ์ของวัด คณะศรั ท ธา จะมาช่ ว ยกั น ก่ อ สร้ า ง บูรณปฏิสังขรณ์ อาคารเสนาสนะภายในวัด โดยไม่มีการจ้างแรงงานจากที่อื่น ด้วยเหตุนี้ การพัฒนาวัดจึงเป็นไปได้อย่างรวดเร็ว วิสัยทัศน์ เสริมสร้าง พัฒนา ภารกิจพระพุทธศาสนา ปฏิบัติงานของคณะสงฆ์อย่างจริงจัง น�ำหลักธรรมมาพัฒนาคุณภาพชีวิต เพื่อให้เกิดประโยชน์สุขต่อสังคมส่วนรวม ยุทธศาสตร์ ส่งเสริม เผยแผ่พุทธธรรม ชี้น�ำความถูกต้อง สนองงานคณะสงฆ์ ด�ำรงพระพุทธศาสนา พัฒนาคุณธรรม
106
อาคารเสนาสนะภายในวัด อุ โ บสถ ศาลาการเปรี ย ญ และศาลา ราย วิหารพระมหาพุทธาภิรักษ์ (หลวงพ่อโต) หอระฆัง กุฏิสงฆ์ เมรุเผาศพ / ศาลาธรรม สังเวช / อาคารเอนกประสงค์ (หน้าเมรุ) กุฏิ รั บ รองพระเถระ อาคารหอฉั น อาคาร ส�ำนักงานเลขานุการรองเจ้าคณะจังหวัดสุโขทัย อาคารเอนกประสงค์ (กองอ�ำนวยการกลาง) และอาคารเอนกประสงค์ (ทั ก ษิ ณ คณิ ศ รอุดรคณารักษ์) การจัดการศึกษาภายในวัด พ.ศ.2545 ได้ด�ำเนินการเปิดโรงเรียน พระปริยัติธรรมแผนกธรรม (นักธรรม) พ.ศ.2553 ศูนย์การเรียนนักธรรมชั้นตรี ประจ�ำต�ำบลบ้านป้อม พ.ศ.2550 ได้ด�ำเนินการเปิดศูนย์การ เรี ย นพระปริ ยั ติ ธ รรมแผนกธรรม (ธรรม ศึ ก ษา) ณ โรงเรี ย นคี รี ม าศพิ ท ยาคม และ โรงเรียนบ้านขุนนาวัง
รายนามเจ้าอาวาส รูปที่ 1 พระอธิการบุญน�ำ ขนฺติโก พ.ศ. 2533 ถึง พ.ศ. 2542 รูปที่ 2 พระอธิการจอง จิรธมฺโม พ.ศ. 2542 ถึง พ.ศ. 2543 รูปที่ 3 พระอธิการชัชวาล อภิวํโส พ.ศ.2544 ถึง พ.ศ. 2548 รูปที่ 4 พระครูสุเมธภูวดล (ภูวดล ภูวเมโธ) พ.ศ. 2549 ถึง พ.ศ. ปัจจุบัน
SBL บันทึกประเทศไทย I SUKHOTHAI
.indd 106
27/04/61 10:56:22 AM
ประวัติเจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน พระครูสุเมธภูวดล (ภูวดล ภูวเมโธ) วิทยฐานะ ป.1-2, น.ธ.เอก, พธ.บ. เกียรตินิยม, กศ.ม. (บริหารการศึกษา) ปัจจุบันด�ำรงต�ำแหน่ง เจ้าอาวาสวัดขุนนาวัง และเลขานุการรองเจ้าคณะจังหวัดสุโขทัย บรรพชา วันที่ 10 มีนาคม พ.ศ. 2542 พระปลัดบุญธรรม ฐิตปุญฺโญ วัดวาลุการาม เป็นพระอุปัชฌาย์ อุปสมบท วันที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2543 ณ พัทธสีมาวัดศรีคีรี สุวรรณาราม ต�ำบลศรีคีรีมาศ อ�ำเภอคีรีมาศ จังหวัดสุโขทัย พระครู อนุชิตธรรมคุณ วัดธรรมปัญญาราม เป็นพระอุปัชฌาย์ งานปกครอง พ.ศ.2543 เป็นเลขานุการเจ้าคณะต�ำบลศรีคีรีมาศ พ.ศ.2545 เป็นผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาสวัดนากาหลง พ.ศ.2547 เป็นพระกรรมวาจาจารย์ พ.ศ.2548 เป็นพระวินยาธิการประจ�ำจังหวัดสุโขทัย พ.ศ.2549 เป็นผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาสวัดขุนนาวัง พ.ศ.2550 เป็นผูช้ ว่ ยเจ้าอาวาสวัดศรีครี สี วุ รรณาราม ฝ่ายการศึกษา พ.ศ.2553 เป็น เจ้าอาวาสวัดขุนนาวัง พ.ศ.2554 เป็น เลขานุการเจ้าคณะต�ำบลบ้านป้อม พ.ศ.2559 เป็น เลขานุการรองเจ้าคณะจังหวัดสุโขทัย งานการศึกษา พ.ศ.2545 - ปัจจุบัน ครูพระสอนศีลธรรม โรงเรียนคีรมี าศพิทยาคม
พ.ศ.2556 ได้รับคัดเลือกให้เป็น พระสอนศีลธรรมดีเด่นระดับ จังหวัด รับโล่ประทานจาก สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายกจัดโดย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ.2556 ได้รบั โล่ประกาศเกียรติคณ ุ จากโรงเรียนคีรมี าศพิทยาคม ในฐานะผู้ท�ำคุณประโยชน์และชื่อเสียงให้กับโรงเรียนระดับประเทศ งานเผยแผ่ พ.ศ.2556 เป็น พระธรรมวิทยากร กรมการศาสนา กระทรวง วัฒนธรรม พ.ศ.2556 ได้รับประกาศเกียรติคุณ จากสภาวัฒนธรรมจังหวัด สุโขทัย ในฐานะผู้ส่งเสริมกิจกรรมทางด้านวัฒนธรรม ด้านศาสนา ประจ�ำปี 2556 สมณศักดิ์ พ.ศ.2548 เป็นพระฐานานุกรม ที่ พระวินัยธร พ.ศ.2554 เป็นพระฐานานุกรม ที่ พระปลัด พ.ศ.2557 ได้ รั บ พระราชทานสมณศั ก ดิ์ พ ระครู สั ญ ญาบั ต ร ที่ พระครูสุเมธภูวดล
วัดเป็นสถาน บ้านความรู้ วัดเป็นที่อยู่ สุขหรรษา วัดเป็นแหล่ง อบรมจริยา วัดเป็นแหล่งพัฒนาชีวิตคน SUKHOTHAI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 107
107
27/04/61 10:56:23 AM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดเชิงคีรี ศิลาจารึกวัดพระเสด็จ (วัดเขาเชิงคีรี) เมื อ งสุ โขไท ระบุ ว ่ า มี วั ด เชิ ง คี รี อ ยู ่ เชิ ง ด้ า น ตะวั น ออกของเขาเชิ ง เขตอ� ำ เภอคี รี ม าศ ทิวภูเขาหลวงด้านทิศใต้ของตัวเมืองสุโขไท มีถนนพระร่วงสายใต้ เมืองสุโขไท - เมือง ก�ำแพงเพชร ผ่านหน้าวัดพอดี ศิลาจารึกหลักนีเ้ ป็นศิลาจารึกสมัยสุโขไท ตอนปลายสุด เมื่อย้ายเมืองหลวงไปอยู่ที่เมือง สองแควแล้ ว ตามปี ศั ก ราชที่ บ อกเรื่ อ งราว ว่าจารึกระหว่างปี พ.ศ.2052-2061 เป็นสมัยที่ อาณาจักรสุโขไทได้รวมเป็นอาณาจักรเดียวกัน 108
กับกรุงศรีอยุธยา ตรงกับรัชสมัยสมเด็จพระ รามาธิบดีที่ 2 พระเชษฐาธิราชา พระราชโอรส องศ์รองของพระศรีสรรเพชญ สมเด็จพระบรม ไตรโลกนารถบพิตรเป็นเจ้า (ที่เมืองสุโขไท มี เสนาบดีฝ่ายราชวงศ์สุโขไทปกครองอยู่ ไม่มี พระเจ้าแผ่นดิน) ร้อยหลวงสโมสรสรรพกร และหลวงก� ำ จั ด ไพริ น ทร์ เ ป็ น ผู ้ ค ้ น พบศิ ล า จารึกวัดพระเสด็จ เมื่อปี พ.ศ.2430 (สมัย รัชกาลที่ 5) และส่งไปไว้ที่กรุงเทพในปีน้ัน พร้ อ มกั น กั บ ศิ ล าจารึ ก วั ด เขมาหลั ก ที่ 148 สุโขไท ได้เรียบเรียงประมวลไว้ดังต่อไปนี้
พระอธิการสิทธิ์โชค สีลสุทฺโธ เจ้าอาวาส
SBL บันทึกประเทศไทย I SUKHOTHAI
.indd 108
27/04/61 11:02:13 AM
เนื้อหาความกล่าวถึงนายพันเทพรักษา นายพันสุริยมาศ อ�ำแดงค�ำกอง อ�ำแดงค�ำแก้ว ผูเ้ ป็นภรรยาช่วยกันตกแต่งสถานทีด่ า้ นตะวันออก ของเขาเชิง ซึ่งเป็นวัดเล็กๆ เกิดขึ้นก่อนแล้ว เรียกว่า “วัดกานสอ” ให้เป็นลักษณะอารามของ ภิกษุสงฆ์ (สังฆิการาม) ระยะนั้นมีพระภิกษุ จ�ำพรรษาอยู่แล้ว ชื่อ พระมหาเถรลาหุลเทพ วันวาศรีวริ ยิ ะปรัชญา เป็นสมภารเจ้าวัด ได้สร้าง พระวิหารหลังหนึง่ ครัง้ ถึงปีมะแม มหาศักราช 1434 (พ.ศ.2055) ท่านเหล่านี้จึงออกป่าวร้อง และหาลือบรรดาสัปบุรุษทั้งหลาย ตกลงมอบ ให้ท่านเจ้าขุนหลวงมหาเพียรปรัชญา กับท้าว ยอดท้าวเป็นผู้เหมาะสมเดินทางไปอาราธนา อัญเชิญ “พระศรีสรรเพชร” ซึ่งเป็นพระรูป ศักดิ์สิทธิ์ จากวัดวันนาวาส น�ำมาประดิษฐาน ไว้เป็นประธานในวิหารที่สร้างเสร็จใหม่นั้น และเปลี่ยนชื่อวัดกานสอ เป็นชื่อใหม่ครั้งนั้น ว่า “วัดพระเสด็จ” ตามทีอ่ ญ ั เชิญพระพุทธรูป ชือ่ “พระศรีสรรเพชร” เสด็จมาประดิษฐานนัน้ ต่อมาถึงปีมหาศักราช 1434 ปีกุน (พ.ศ. 2059) ท่ า นเหล่ า นั้ น ได้ ช ่ ว ยกั น สร้ า งขยาย พระวิหารให้กว้างขึ้น และท�ำการสมโภชฉลอง ในครั้งนั้น ต่อจากนั้นท่านเหล่านี้ได้ช่วยกัน สร้างอุโบสถวัดพระเสด็จขึ้นจนเสร็จเรียบร้อย ในปี ข าล มหาศั ก ราช 1440 (พ.ศ.2061)
เดื อ น 6 ขึ้ น 6 ค�่ ำ มี พ ระภิ ก ษุ ส� ำ คั ญ เป็ น ประธานในพิธีผูกพัทธสีมาในวันนั้น นามว่า “สมเด็จพระสังฆราชจุรามณีศรีสังฆปรินายก สธรรมติลกปรมวธาจาริยบพิตร” เมื่อสร้างอุโบสถเสร็จแล้ว ท่านเหล่านั้น ยังมีศรัทธาช่วยกันสร้าง “พระวิหารศรี” ขึ้น อีกหลังหนึ่ง โดยเรี่ยรายช่วยกันออกเงินซื้อ ไม้หลังคา, แฝกมุงหลังคา, หินอ่อนส�ำหรับท�ำ ใบเสมา, หินดาด ได้เงินจ�ำนวน 2 ชั่ง 2 สลึง ในวันเดียวกันนัน้ (วันพุทธ เดือน 6 ขึน้ 6 ปีขาล พ.ศ. 2061) นายพันเทพรักษา อ�ำแดงค�ำกอง (ภรรยา) และอ�ำแดงศรีบัวทอง (ลูกสาว) ได้ ร่วมกันบริจาคกลอง 1 ใบ ราคา 7 บาท และ หญิงรับใช้ชอื่ อีแก้ว ให้แก่พระเสด็จ ประสงค์ให้ “อีแก้ว” เป็นหญิงรับใช้ประจ�ำวัด การบริจาค หญิงชื่ออีแก้วนั้น จัดขึ้นเป็นพิธี คือ “นายพัน เทพรั ก ษา” หลั่ ง น�้ ำ ทั ก ษิ โ ณทกต่ อ หน้ า ที่ ประชุมสงฆ์ วัดพระเสร็จ มีสมเด็จพระสังฆราช จุรามณีฯ เป็นประธานสงฆ์ และ “มหาพรหมรัตน์” และ “มหาเถรลาหุลวันวาศรีวิริย ปรัชญา” เจ้าอาวาสวัดพระเสด็จ และ “มหาปรัชญาเทพ” ฝ่ายคฤหัสถ์ที่ส�ำคัญก็มี “ท่านเจ้าขุนหลวง มหาเพียรปรัชญา” นายพัน เทพรักษา กล่าว ค�ำสาปแช่งไว้ว่า ถ้าผู้ใดเอา “อีแก้ว” ไปขาย หรื อ ชั ก พาอี แ ก้ ว หายไปจากวั ด พระเสด็ จ
ขอให้ มั น ผู ้ นั้ น ประสบเคราะห์ ก รรมแบบ พระเทวทัต (ผู้คิดร้ายต่อพระพุทธเจ้าตาม เรือ่ งเล่าในพระสุตนั ตปิฎกเล่าว่าธรณีสบู สิน้ ชีวติ ) อีก 7 ปี ต่อมา ครัน้ ถึงวันศุกร์ เดือน 5 ขึน้ 10 ค�ำ่ ปีระกา (พ.ศ.2068) นายไกรเซียง สามีของ อ�ำแดงศรีบัวทอง (บุตรเขยของนายพันเทพ รักษาและอ�ำแดงค�ำกอง) ได้นิมนต์พระภิกษุ ส�ำคัญ 4 รูป มีชื่อดังนี้ 1.มหาเทพภิกขุ 2.มหา จันภิกขุ 3.มหามงคลภิกขุ 4.มหานน ชีผา้ ขาวอีก 2 คน คือ 1.ผ้าขาวบูรพัด 2.ผ้าขาวสวรัต และ คฤหัสถ์ชื่อ “เจ้าพันรต” และสัปบุรุษทั้งหลาย เข้าประชุมกันในพระอุโบสถวัดพระเสด็จ ใน ท่ามกลางที่ประชุมเป็นเรื่องของนายไกรเซียง กับอ�ำแดงศรีบวั ทอง ท�ำเป็นพินยั กรรมระบุไว้วา่ ประสงค์กัลปนา ยกลูกสาว 1 คนกับ ลูกชาย 1 คน ชื่อ “แม่เทพและพ่อหน” ให้ เป็นผู้รักษาอุโบสถวัดพระเสด็จ (ข้าอุโบสถ) ด้ ว ยความยิ น ยอมของนายเทพรั ก ษาและ อ�ำแดงน้อยศรีบัวทองให้เป็นทาน (ถือว่าเป็น กิริยาบุญอันประเสริฐประเภทหนึ่ง) กิริยาบุญ ที่ได้กระท�ำนี้ ได้จารึกไว้นานชั่วกัลปาวสาน นับตั้งแต่นี้เป็นต้นไป (คือได้จารึกเล่าเรื่องไว้ ในศิลาจารึกหลักนี้)
SUKHOTHAI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 109
109
27/04/61 11:02:19 AM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดธรรมปัญญาราม วัดธรรมปัญญาราม เป็นศาสนสถาน ในพระพุทธศาสนาเถรวาท สังกัดคณะสงฆ์ มหานิ ก าย ตั้ ง อยู ่ ที่ บ ้ า นหนองไอ้ ด ่ อ น หมู ่ ที่ 7 ต� ำ บลโตนด อ� ำ เภอคี รี ม าศ จั ง หวั ด สุ โ ขทั ย เป็ น วั ด ที่ มี ค วามส� ำ คั ญ ในอดี ต ในการบริ ห ารงานคณะสงฆ์ ร ะดั บ จั ง หวั ด คื อ เป็ น วั ด ที่ อ ดี ต เจ้ า คณะจั ง หวั ด และเกจิคณาจารย์อยู่อาศัย
110
ประวัติวัดธรรมปัญญาราม วัดธรรมปัญญาราม หรือที่ชาวบ้านนิยมเรียกว่า “วัดหนองไอ้ด่อน” ตามชื่อหมู่บ้านที่ตั้งวัดอยู่ โดยประชาชนร่วมใจกันสร้างวัดนี้ขึ้น และมีนายเยื้อน คลังเมือง เป็นผู้ติดต่อทางราชการเพื่อ ขออนุญาตจัดสร้างวัด มีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ 28 ไร่ 1 งาน 25 ตารางวา โดยกระทรวงศึกษาธิการ ได้ประกาศตั้งเป็นวัด นับตั้งแต่วันที่ 21 สิงหาคม พ.ศ.2518 ล�ำดับเจ้าอาวาส พระมงคลสุนทร (โถม กลฺยาโณ) พระครูอนุชิตธรรมคุณ (เยื้อน)
พ.ศ.2519 - 2547 พ.ศ.2547 - ปัจจุบัน
SBL บันทึกประเทศไทย I SUKHOTHAI
.indd 110
02/05/61 01:47:13 PM
พระมงคลสุนทร (โถม กลฺยาโณ)
อดีตเจ้าคณะจังหวัดสุโขทัย และอดีตเจ้าอาวาส ประวัติหลวงปู่โถม หลวงปู่โถม สิริอายุ 84 พรรษา 64 อดีตเจ้าคณะจังหวัดสุโขทัย และ ด�ำรงต�ำแหน่งที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดสุโขทัย, เจ้าอาวาสวัดธรรม ปัญญาราม ต�ำบลโตนด อ�ำเภอคีรีมาศ จังหวัดสุโขทัย สถานะเดิม ชื่อ นายโถม ข�ำแย้ม เกิดเมื่อวันจันทร์ที่ 30 พฤษภาคม 2464 ตรงกับเดือน 6 ปีระกา ที่หมู่ 3 ต.โตนด อ.คีรีมาศ จ.สุโขทัย อุปสมบท เมื่ออายุ 20 ปีบริบูรณ์ ได้เข้าพิธีอุปสมบทเพื่อตอบแทน พระคุณบุพการี วันที่ 17 เมษายน 2484 ณ พัทธสีมาวัดวาลุการาม ต.โตนด อ.คีรีมาศ จ.สุโขทัย ซึ่งเป็นวัดบ้านเกิด โดยมีพระครูคีรีมาศเมธี วัดวาลุการาม เป็นพระอุปัชฌาย์ วิทยฐานะ ภายหลังพิธีอุปสมบท พระโถมได้มุ่งมั่นตั้งใจศึกษา พระปริยัติธรรมอย่างแข็งขัน ในปีพ.ศ.2488 สามารถสอบได้นักธรรม ชั้นโท ส�ำนักศาสนศึกษาวัดวาลุการาม ต.โตนด อ.คีรีมาศ จ.สุโขทัย คุณูปการของหลวงปู่โถม ตลอดทั้งชีวิตที่หลวงปู่โถมได้ครองผ้าเหลืองอยู่ในร่มกาสาวพัสตร์ ท่านได้สร้างคุณูปการแก่เมืองสุโขทัยในหลากหลายด้านมากมาย อาทิ การพัฒนาด้านการพระศาสนา ด้านการศึกษา ด้านสาธารณสุข ด้าน ประเพณีวัฒนธรรมท้องถิ่น ตลอดทั้งสาธารณประโยชน์ต่างๆ
หลวงปู ่ โ ถมได้ ใ ห้ ก ารสนั บ สนุ น ส่ ง เสริ ม ประเพณีและวัฒนธรรมพื้นบ้าน เพื่อสร้าง ความสมั ค รสมานสามั ค คี ปลู ก ฝั ง ความรั ก ความเข้าใจ เห็นอกเห็นใจซึง่ กันและกันภายใน ชุมชน โดยให้ประชาชนร่วมกันลงแขกเกีย่ วข้าว ท�ำไร่ ท�ำนา ท�ำบุญกลางหมู่บ้าน ทอดกฐิน ผ้าป่า งานอุปสมบทหมู่ เป็นต้น อีกทัง้ ท่านยังได้ ส่งเสริมการจัดประชุมพระสังฆาธิการทุกระดับ และทุกรูปในเขตปกครอง ทุกวันขึ้น 7 ค�่ำ ของ
ทุกเดือน เป็นประจ�ำทุกปี เพื่อร่วมกันแก้ไข และปรั บ ปรุ ง งานคณะสงฆ์ ใ ห้ เ ป็ น ไปด้ ว ย เรียบร้อย นอกจากนี้ ท่านยังได้ท�ำการจัดสร้างศาลา การเปรียญ ก่อสร้างกุฏิ ก่อสร้างศาลาธรรมสังเวช ก่อสร้างอุโบสถ ก่อสร้างศาลาอเนกประสงค์ หอสวดมนต์ หอระฆั ง และก� ำ แพงอุ โ บสถ ให้กบั วัดต่างๆ ในพืน้ ทีเ่ ป็นจ�ำนวนมาก รวมทัง้ จัดให้ทกุ วัดมีการเรียนการสอนพระปริยตั ธิ รรม
แก่พระภิกษุสามเณร โดยหากวัดแห่งใดไม่มี ความพร้อมในการสอนได้ ท่านจะให้พระภิกษุ สามเณรไปเรียนกับส�ำนักเรียนที่มีการเรียน การสอนแบบเช้าไปเย็นกลับ ถ้าไม่สามารถ ส่งไปเรียนได้ ให้เจ้าคณะต�ำบลมอบหมายให้ เจ้าอาวาสหรือพระภิกษุสามเณรผู้ที่มีความ สามารถท�ำการสอน จัดท�ำการเรียนการสอน ขึ้นภายในวัดนั้นๆ แทน
SUKHOTHAI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 111
111
27/04/61 11:06:41 AM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดมุจลินทาราม วัดมุจลินทาราม ตั้งอยู่ที่หมู่ 12 ต�ำบล หนองจิก อ�ำเภอคีรีมาศ จังหวัดสุโขทัย ปั จ จุ บั น มี พระครู มุ จ ลิ น ทวิ ห ารการ (สมชาย ปริปุณโณ) เป็นเจ้าอาวาส
112
SBL บันทึกประเทศไทย I SUKHOTHAI
.indd 112
27/04/61 11:14:58 AM
พระครูมุจลินทวิหารการ (หิน)
ประวัติวัดมุจลินทาราม วั ด มุ จ ลิ น ทาราม เดิ ม ชื่ อ วั ด หนองจิ ก ไม่ปรากฏปี พ.ศ. และนามผู้สร้าง มีพระสงฆ์ อยู่ประจ�ำวัดบ้างไม่มีบ้าง ต่อมามีพระธุดงค์ จาริกผ่านมา นามว่าหลวงพ่อทองอยู่ ชาวบ้าน นิมนต์ท่านอยู่จ�ำพรรษา ท่านได้ท�ำการปั้น พระพุ ท ธรู ป ด้ ว ยข้ า วสุ ก ที่ เ หลื อ จากการฉั น ขึ้นสามองค์ ชาวบ้านจึงเรียกว่า “หลวงพ่อ สามพี่น้อง” จากนั้นท่านก็ลากลับไปจังหวัด ชลบุรี ต่ อ มาเกิ ด อั ค คี ภั ย ไฟไหม้ วั ด เสี ย หาย เป็นอย่างมาก ประกอบกับพื้นที่วัดมีความ คับแคบเกินไป ชาวบ้านจึงมีความเห็นตรงกัน
ว่าควรจัดหาที่สร้างวัดใหม่ นายยา นางลปิว เหมม่วง, นายยุทธ นางจ�ำเรือน สนองบุญ, นายเปลือ้ ง นางฉลอง เรืองวงศ์, นางวงศ์ นางฟุง้ เรืองวงศ์, นายเพชร นางหวาน อินทร์ลับ, นายใย นางพรามหณ์ อินทร์ลับ ได้ร่วมใจกัน บริจาคที่ดินเพื่อสร้างวัด ซึ่งห่างจากวัดเดิม มาทางทิศตะวันตกติดกับคลองพุ หมู่ที่ 12 ในปั จ จุ บั น โดยมี พ ระครู คี รี ม าศธรรมคุ ณ (ภุ ช งค์ ) เจ้ า คณะอ� ำ เภอคี รี ม าศในขณะนั้ น มาเป็นที่ปรึกษาในการสร้างวัด และเปลี่ยน ชื่อวัดใหม่ว่า “วัดมุจลินทาราม” พร้อมสร้าง กุฏิ 2 หลัง ศาลาการเปรียญ 1 หลัง ท�ำรั้ว
รอบวัด มีซุ้มประตู 3 ด้าน มีพระภิกษุสามเณร บวชจ�ำพรรษาเรื่อยมา ต่อมาขาดเจ้าอาวาสผู้ดูแลวัด ชาวบ้าน จึ ง ได้ นิ ม นต์ พ ระอธิ ก ารสมชาย ปริ ปุ ณ โณ มาเป็ น เจ้ า อาวาส ท่ า นได้ ท� ำ การบู ร ณะ ปฏิสังขรณ์วัดมาตามล�ำดับ ดังนี้ กุฏิสงฆ์ ศาล ธรรมสังเวช เมรุ หอระฆัง ปรับปรุงภูมิทัศน์ ภายในบริเวณวัด รวมทั้งอุโบสถจัตุรมุข เมื่อปี พ.ศ.2556 ท่านได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ เป็นพระครูสัญญาบัตรชั้นโท ในราชทินนาม “พระครูมุจลินทวิหารการ”
SUKHOTHAI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 113
113
27/04/61 11:15:05 AM
W O R K LI F E
บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล
องค์การบริหารส่วนต�ำบลวังลึก “ถนนดี มี ไฟฟ้า หาแหล่งน�้ำ น�ำความรู้ ดูแลอนามัยและสิ่งแวดล้อม พร้อมส่งเสริมอาชีพ” คือวิสัยทัศน์ขององค์การบริหารส่วนต�ำบลวังลึก
“หลวงพ่อพัวลือนาม สายธารน�้ำไหล เห็ดโคนดอกใหญ่ หลากหลายประเพณี คนดีศรีวังลึก” คือค�ำขวัญของต�ำบลวังลึก
ปัจจุบันต�ำบลวังลึกมีเขตการปกครองทั้งหมด 8 หมู่บ้าน ประกอบด้วย หมู่ที่ 1 บ้านวังลึก นายศุกร์ อิ่มเที่ยง ต�ำแหน่งผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 2 บ้านใหม่ฝั่งคลอง นายสายยันต์ ลีรัก ต�ำแหน่งผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 3 บ้านสองชั้น นายสุชิน เรืองศรี ต�ำแหน่งผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 4 บ้านหนองสองตอน นายประดิษฐ์ ชื่นแจ้ง ต�ำแหน่งก�ำนัน ต�ำบลวังลึก หมู่ที่ 5 บ้านหนองป่าแต้ว นายพิสิษฐ์ ปานยิ้ม ต�ำแหน่งผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 6 บ้านหนองตูม นายชาญ นิ่มมั่ง ต�ำแหน่งผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 7 บ้านชะลาด นายอนันต์ ทองจันทร์ ต�ำแหน่งผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 8 บ้านชะลาด นายมนต์ เอมอยู่ ต�ำแหน่งผู้ใหญ่บ้าน
สอบถามข้อมูลติดต่อ อบต.วังลึก โทรศัพท์ 055-946663 โทรสาร 055-946663 ต่อ 18
นายสัญญา น้อยผล
นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลวังลึก ความเป็นมาของต�ำบลวังลึก ประวัติความเป็นมาของต�ำบลวังลึกเริ่มจากในอดีต “ชาวเหนือ” ได้อพยพ มาก่อตั้งหมู่บ้านเมื่อประมาณ 100 กว่าปีมาแล้ว โดยเห็นว่าบริเวณพื้นที่มี ท�ำเลที่ตั้งเหมาะสมในการสร้างที่พักอาศัยชั่วคราวขึ้น คือปบริเวณที่มีน�้ำไหล ผ่านเพื่อให้สะดวกต่อการด�ำเนินชีวิตประจ�ำวัน (ปัจจุบันคือคลองแม่ล�ำพัน) เริ่มแรกมีบ้านเรือนประมาณ 20 หลังคาเรือน ที่พักสงฆ์ขึ้นมา 1 หลัง (ปัจจุบัน คือวัดวังลึก) ต่อมาประชากรได้เพิ่มมากขึ้นจึงท�ำให้เกิดเป็นชุมชนที่หนาแน่น ส่วนชื่อต�ำบลวังลึกเกิดจากในล�ำคลองแม่ล�ำพันมีวังน�้ำที่ลึกมากจนไม่สามารถ วัดได้จึงท�ำให้ผู้คนสัญจรผ่านไปมาเรียกว่า “บ้านวังลึก” 114
ต� ำ บลวั ง ลึ ก ตั้ ง อยู ่ ท างทิ ศ ตะวั น ตกเฉี ย งเหนื อ ของที่ ว ่ า การอ� ำ เภอ บ้านด่านลานหอย ระยะห่างจากอ�ำเภอประมาณ 12 กิโลเมตร มีพื้นที่ทั้งหมด 63,750 ไร่ (102 ตารางกิ โ ลเมตร) ประชากรส่ ว นใหญ่ ป ระกอบอาชี พ เกษตรกรรม รองลงมาคือ รับจ้าง ค้าขาย และรับราชการ ประชากรนับถือ ศาสนาพุทธทั้งหมด มีสถานีอนามัยประจ�ำต�ำบล จ�ำนวน 1 แห่ง มีโรงเรียน จ�ำนวน 3 แห่ง มีศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จ�ำนวน 1 ศูนย์ มีวัดและส�ำนักสงฆ์ จ� ำ นวน 3 แห่ ง ซึ่ ง เป็ น สถานที่ ใช้ ป ระกอบกิ จ กรรมทางศาสนา และบุ ญ ประเพณีต่างๆ
SBL บันทึกประเทศไทย I SUKHOTHAI
.indd 114
27/04/61 11:22:16 AM
ต�ำบลวังลึก
ต� ำ บลวั ง ลึ ก เป็ น ชุ ม ชนที่ มี ข นาดเล็ ก แต่ มี การพั ฒ นาความเป็ น อยู ่ ข องประชากรในพื้ น ที่ อย่างต่อเนื่อง ตามวิสัยทัศน์ที่ว่า “ถนนดี มีไฟฟ้า หาแหล่ ง น�้ ำ น� ำ ความรู ้ ดู แ ลอนามั ย และ สิง่ แวดล้อม พร้อมส่งเสริมอาชีพ” ซึง่ ทางท้องถิน่ ท้องที่ แกนน�ำจิตอาสาสมัคร ปราชญ์ชาวบ้าน และประชาชนทุกภาคส่วน ได้รว่ มมือกันแสดงพลัง ความสามัคคีที่พร้อมจะพัฒนาบ้านเกิดอย่างมี ประสิ ท ธิ ภ าพและประสิ ท ธิ ผ ล เพื่ อ ขั บ เคลื่ อ น กิจกรรมต่างๆ ของต�ำบลไปในทิศทางเดียวกัน อันเนื่องมาจากผลที่ทางท้องถิ่น ท้องที่ยอมรับ และรับฟังปัญหาของประชาชนในพื้นที่จึงท�ำให้ แก้ปัญหาของชุมชนได้อย่างตรงจุด
โครงการ/กิจกรรมเด่น ปี 2560 กิจกรรมตลาดวิถีไทย โครงการโรงเรียนผู้สูงอายุ โครงการงานประเพณีออกพรรษา โครงการงานประเพณีลอยกระทง โครงการคลองสวยน�้ำใส โครงการส่ ง เสริ ม พั ฒ นากระบวนเรี ย นรู ้ ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
SUKHOTHAI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 115
115
27/04/61 11:22:26 AM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
ส�ำนักสงฆ์วัดใหม่ศรัทธาธรรม ส� ำ นั ก สงฆ์ วั ด ใหม่ ศ รั ท ธาธรรม ตั้ ง อยู ่ ห มู ่ ที่ 8 บ ้ า น ต ลิ่ ง ชั น ใ ต ้ ต . ต ลิ่ ง ชั น อ.บ้ า นด่ า นลานหอย จ.สุ โขทั ย ปั จ จุ บั น มี พระชัยยันต์ สิริจนฺโท เป็นเจ้าอาวาส ตั้งแต่ พ.ศ.2553 – ปัจจุบัน ประวัติความเป็นมา ส�ำนักสงฆ์วัดใหม่ศรัทธาธรรม เริ่มก่อตั้ง ขึ้นเมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน 2553 โดยผู้น�ำ ชุ ม ชนและคณะศรั ท ธาชาวบ้ า นตลิ่ ง ชั น ใต้ เพื่ อ ให้ มี ศ าสนสถานส� ำ หรั บ การประกอบ พิธีกรรมทางศาสนา และเป็นศูนย์รวมจิตใจ ของชาวบ้านตลิ่งชันใต้และชาวบ้านใกล้เคียง ปัจจุบันมีเนื้อที่ประมาณ 25 ไร่ 116
SBL บันทึกประเทศไทย I SUKHOTHAI
2
.indd 116
26/4/2561 11:43:12
ศาสนสถานส�ำคัญ ม ณ ฑ ป แ ก ้ ว เ ป ็ น ที่ ป ร ะ ดิ ษ ฐ า น “องค์วิสุทธิเทพ” (สมเด็จองค์ปฐม) จัดสร้าง ขึน้ โดยคณะศิษยานุศษิ ย์ของหลวงพ่อฤาษีลงิ ด�ำ หลักธรรมค�ำสอนของพระชัยยันต์ สิริจนฺโท พระชัยยันต์ สิรจิ นฺโท เป็นพระภิกษุสงฆ์ ผู้ยึดมั่นในหลักธรรมค�ำสอนขององค์สมเด็จ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า และเดินตามรอยครูบา อาจารย์หลวงปู่มั่น หลวงปู่ปาน หลวงพ่อฤาษี ลิงด�ำ ดังนั้นหลักค�ำสอนที่ท่านจะเน้นเสมอ คือ เรื่องการปฏิบัติขัดจิต ดูกิเลส ดูใจของ ตนเอง หลักอริยสัจสี่ และหลักไตรลักษณ์
ร่วมสร้างเส้นทางบุญ ปั จ จุ บั น ทางส� ำ นั ก สงฆ์ วั ด ใหม่ ศ รั ท ธา ธรรม ก�ำลังด�ำเนินการพัฒนาวัดในหลายๆ ด้าน อาทิ การปลูกสวนไผ่วิปัสสนา จ�ำนวน 5 ไร่ การจัดสร้างห้องกรรมฐานส�ำหรับการ ปฏิบัติธรรม การและการจัดสร้างพระพุทธรูป ประดับเพชร เพื่อให้ประชาชนได้กราบสักการ บูชาเพื่อความเป็นสิริมงคลแก่ชีวิต ทางวัดฯ จึงขอเรียนเชิญท่านสาธุชนที่มีจิตศรัทธาร่วม สร้ า งเส้ น ทางบุ ญ ตามก� ำ ลั ง ศรั ท ธามา ณ โอกาสนี้
SUKHOTHAI I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 117
117
26/4/2561 11:43:25
TR AV EL GU ID E
บันทึกเส้นทางความเป็นมาจังหวัดสุโขทัย
118
SBL บันทึกประเทศไทย I SUKHOTHAI
.indd 118
10/05/61 10:21:48 AM
สุโขทัย
ดิน แดน
สมัยก่อนประวัติศาสตร์
บริเวณที่ตั้งของจังหวัดสุโขทัยในอดีต เคยเป็นดินแดนที่มีการตั้งถิ่นฐานมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ และมีชุมชนอาศัยอยู่เรื่อยมา กระทั่งตั้งเป็นบ้านเมืองขึ้นจนถึงปัจจุบัน โดยมีพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ของอาณาจักรสุโขทัย
SUKHOTHAI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 119
119
10/05/61 10:21:50 AM
TR AV EL GU ID E
บันทึกเส้นทางความเป็นมาจังหวัดสุโขทัย
จุดก�ำเนิดสุโขทัย... เส้นทางคมนาคมและการค้า ที่ก่อให้เกิดแคว้นสุโขทัย มี เ ส้ น ทางส� ำ คั ญ สองเส้ น ทางคื อ เส้ น ทางข้ า มหุ บ เขา ในทิ ศ ทางตะวั น ออก เฉี ย งเหนื อ -ตะวั น ตกเฉี ย งใต้ และทิ ศ ทางตะวั น ออก-ตะวั น ตก เป็ น เส้ น ทาง เก่าแก่ใช้เดินทางกันมาแต่ครั้งโบราณ ระหว่างกลุ่มชนลุ่มแม่น�้ำโขง กับกลุ่มชน ลุ่มแม่น�้ำน่าน และภาคกลางของประเทศไทยปัจจุบัน
มี
กลุม่ ชนลุม่ แม่นำ�้ โขงเคลือ่ นย้าย ไปตั้งถิ่นฐานบนเส้นทางสาย เป็นหย่อมๆ แล้วค่อยๆ ทยอยเข้าสู่ ลุ่มแม่น�้ำน่าน บริเวณเขตจังหวัด พิ ษ ณุ โ ลก และจั ง หวั ด อุ ต รดิ ต ถ์ ต่อมาได้เกิดเป็นบ้านเมือง และ ได้ ก ลายเป็ น ประชากรส่ ว นหนึ่ ง ของแคว้นสุโขทัย เส้นทางแรกเชื่อมโยงผู้คนจาก เขตเมืองหลวงพระบาง เมืองแถน (เดียนเบียนฟู) ลงใต้สปู่ ากลาย ทุง่ ยัง้ เชลียง และสุโขทัย อีกสายหนึ่งคือ เส้นทางจากหลวงพระบาง ปัว น่าน แพร่ สุ โขทั ย ตาก ไปสุ ด ทางที่ ริมฝั่งทะเลอันดามันที่มะละแหม่ง เส้นทางข้ามหุบเขาไปทางสาย ตะวันออก-ตะวันตก เริ่มจากลุ่ม แม่ น�้ ำ โขงในภาคอิ ส านตอนบน รวมทั้งกลุ่มเมืองเวียงจันทน์ผ่าน
120
SBL บันทึกประเทศไทย I SUKHOTHAI
.indd 120
เทื อ กเขาภู พ าน ในเขตจั ง หวั ด อุดรธานี เข้าไปในเขตจังหวัดเลย ผ่ า นหุ บ เขาแถบอ� ำ เภอด่ า นซ้ า ย จังหวัดเลย ไปทางล�ำน�้ำแควน้อย ซึ่งเป็นสาขาของล�ำน�้ำน่าน ในเขต อ�ำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก เมื่อถึงล�ำน�้ำน่านแล้ว ก็ล่องไปตาม ล�ำน�ำ้ น่าน ผ่านเข้าเขตจังหวัดพิจติ ร และนครสวรรค์ เข้าสู่บ้านเมือง เก่ า สมั ย ทวาราวดี และลพบุ รี บริเวณที่ราบลุ่มแม่น�้ำเจ้าพระยา ชาวไทยในภาคเหนือตอนล่าง ได้รวมตัวกันเป็นรัฐอิสระ มีความ เจริ ญ คู ่ เ คี ย งกั น มากั บ อาณาจั ก ร ล้านนา และอาณาจักรอยุธยา มี ศูนย์กลางการปกครองทีก่ รุงสุโขทัย ซึ่งไม่มีหลักฐานว่าใครเป็นผู้สร้าง แต่มหี ลักฐานว่าพ่อขุนศรีนาวน�ำถุม ได้เป็นกษัตริย์ครองสองนคร คือ ทัง้ เมืองสุโขทัย และเมืองศรีสชั นาลัย
มีหลักฐานพอเชื่อได้ว่าเจ้านายใน ตระกูลศรีนาวน�ำถุม มีความสัมพันธ์ กั บ ตระกู ล ศรี โ คตรบู ร ณ์ ในลุ ่ ม แม่น�้ำโขงของภาคอีสานตอนบน ที่ มี เ มื อ งเวี ย งจั น ทน์ แ ละเวี ย งค� ำ เป็นเมืองส�ำคัญ นอกจากนั้นก็มี หลั ก ฐานพอเชื่ อ ได้ ว ่ า ตระกู ล ของพ่อขุนบางกลางหาวมีเชื้อสาย ตระกูลเมืองน่าน และเมืองหลวง พระบาง และเชือ่ มโยงไปถึงตระกูล สุพรรณบุรี ทีค่ รองแคว้นสุพรรณภูมิ ทางตะวันตกของลุม่ แม่นำ�้ เจ้าพระยา อาณาจักรสุโขทัย มีหลักฐาน ตั้งแต่สมัยพ่อขุนนาวน�ำถุม และ ชัดเจนมากขึน้ ในสมัยของพ่อขุนศรี อินทราทิตย์ (พ่อขุนบางกลางหาว) ระหว่างปี พ.ศ.1781-1822 ราชวงศ์ พ่ อ ขุ น ศรี อิ น ทราทิ ต ย์ (ราชวงศ์ พระร่วง) ได้ปกครองอาณาจักร สุโขทัยสืบต่อมาเป็นเวลา 200 ปี
วั ด ศรี ชุม
จึงถูกรวมเข้ากับอาณาจักรอยุธยา อาณาจักรสุโขทัยมีความเจริญ รุ่งเรืองสูงสุด ในรัชสมัยพ่อขุนราม ค�ำแหงมหาราช (พ.ศ.1822 -1841) ได้ แ ผ่ อ าณาเขตออกไปโดยรอบ วัฒนธรรมไทยเจริญขึ้นทุกสาขา ดังปรากฏในศิลาจารึกหลักที่ 1 ซึ่ง ได้บง่ ถึงความเจริญด้านประวัตศิ าสตร์ ภูมิศาสตร์ การทหาร กฎหมาย การปกครอง เศรษฐกิ จ สั ง คม พระพุ ท ธศาสนา การประดิ ษ ฐ์ อักษรไทย และอื่นๆ
SUKHOTHAI I SBL
10/05/61 10:21:50 AM
หนั ง สื อ “ประวั ติ ม หาดไทย ส่ ว นภู มิ ภ าคจั ง หวั ด สุ โ ขทั ย ” กล่ า วถึ ง สภาพการปกครองของ สุโขทัยแบ่งออกเป็นระยะที่ส�ำคัญ ดังนี้ 1.ระยะที่ 1 สมัยยุคก่อนราช อาณาจักรสุโขทัย (ก่อนปี พ.ศ.1761) อ�ำนาจของอาณาจักรเขมรรุ่งเรือง มากในดินแดนสุวรรณภูมิ โดยมี ศู น ย์ ก ลางอ� ำ นาจทางลุ ่ ม แม่ น�้ ำ เจ้าพระยาอยู่ที่เมืองละโว้ (ลพบุรี) เขมรมีการปกครองแบบราชาธิปไตย กษัตริย์จะส่งขุนนางมาปกครอง
SUKHOTHAI I SBL บันทึกประเทศไทย
121
เมืองบริวาร โดยเมืองบริวารจะ ต้องส่งส่วยเป็นบรรณาการให้แก่ พระนครหลวง ขณะเดี ย วกั น ใน บางถิ่ น อาจเป็ น อิ ส ระมี อ� ำ นาจ ปกครองตัวเองแบบนครรัฐ กลุ่ม ชนคงไม่ใหญ่โต ผู้ปกครองเป็นผู้ที่ ได้ รั บ การยกย่ อ งจากกลุ ่ ม ชนให้ เป็ น ผู ้ ป กครองบริ เวณที่ มี ค วาม ส�ำคัญได้แก่ เมืองศรีเทพ บริเวณ วั ด จุ ฬ ามณี และบริ เ วณเมื อ ง สุโขทัย และเมืองศรีสัชนาลัย 2.ระยะที่ 2 ยุ ค อาณาจั ก ร สุโขทัยตอนต้น (พ.ศ.1761-1921)
การปกครองในยุ ค นี้ ว างราก ฐานลงแบบการปกครองครัวเรือน จุ ด เริ่ ม ต้ น เริ่ ม ที่ “พ่ อ ครั ว ” ท�ำหน้าทีป่ กครอง ครอบครัวหลายๆ ครอบครั ว รวมกั น เป็ น “เรื อ น” หัวหน้าก็คือ “พ่อเรือน” หลายๆ เรือนรวมกันเป็นหมู่บ้านมีหัวหน้า เรียกว่า “พ่อบ้าน” หลายๆ หมูบ่ า้ น รวมกัน เรียกว่า “เมือง” หัวหน้า คือ “พ่อเมือง” และพ่อขุน คือ ผู้ปกครองประเทศ หรือผู้ปกครอง ทุกเมืองนั่นเอง แม้ว่าอ�ำนาจสูงสุด และเด็ ด ขาดจะรวมอยู ่ ที่ พ ่ อ ขุ น
เพียงคนเดียว แต่ด้วยการจ�ำลอง ลั ก ษณะครอบครั ว มาใช้ ใ นการ ปกครอง พ่อขุนปกครองประชาชน ในลักษณะบิดาปกครองบุตร คือ ถื อ ตนเองเป็ น พ่ อ ของราษฎร พ่อขุนเกือบทุกพระองค์ใช้อ�ำนาจ ในลั ก ษณะให้ ค วามเมตตาและ เสรีภาพแก่ราษฎรตามสมควร ลักษณะการปกครองหัวเมือง ในสมัยพ่อขุนรามค�ำแหงมหาราช แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ หั ว เมื อ งชั้ น ใน ได้ แ ก่ เมื อ ง หน้าด่านหรือเมืองลูกหลวง ล้อม รอบราชธานี มีทั้งหมด 4 ด้าน คือ ศรีสัชนาลัย (ด้านหน้า) สองแคว (ด้านตะวันออก) สระหลวง (ด้านใต้) และชากังราว (ด้านตะวันตก) การ ปกครองหัวเมืองชั้นในนั้นขึ้นอยู่ กับสุโขทัยโดยตรง
SUKHOTHAI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 121
121
10/05/61 10:21:54 AM
วัดศรีชุม
หัวเมืองชั้นนอก ได้แก่ เมือง ท้ า วพระยามหานคร ที่ มี ผู ้ ดู แ ล โดยตรงแต่ ขึ้ น อยู ่ กั บ สุ โขทั ย ใน รู ป ลั ก ษณะของการสวามิ ภั ก ดิ์ ในฐานะเป็นเมืองขึน้ หรือเมืองออก หัวเมืองชั้นนอกมี แพรก อู่ทอง ราชบุรี ตะนาวศรี แพร่ หล่มสัก เพชรบูรณ์ และศรีเทพ เมืองประเทศราช ได้แก่เมือง ที่ เ ป็ น ชาวต่ า งภาษา มี ก ษั ต ริ ย ์ ปกครองขึ้ น กั บ สุ โขทั ย ในฐานะ ประเทศราช มีนครศรีธรรมราช มะละกา ยะโฮร์ ทะวาย เมาะตะมะ
122
หงสาวดี น่าน เซ่า เวียงจันทน์ และเวียงค�ำ 3.ระยะที่ 3 ยุ ค อาณาจั ก ร สุโขทัยตอนกลาย (พ.ศ.1921-1981) ในปี พ.ศ.1921 ซึ่งตรงกับสมัยของ พระมหาธรรมราชาที่ 2 อาณาจักร สุ โขทั ย ได้ ย อมอยู ่ ใ ต้ อ� ำ นาจการ ปกครองของอยุธยา โดยเฉพาะ อย่างยิ่งการรบที่เมืองชากังราวที่ พระมหาธรรมราชาออกถวายบังคม ต่อพระบรมราชาธิราชที่ 1 แห่ง อาณาจักรอยุธยาการเปลี่ยนแปลง ในท้ อ งถิ่ น ที่ ส� ำ คั ญ ในครั้ ง นี้ คื อ
การที่ อ ยุ ธ ยาพยายามท� ำ ลาย ศู น ย์ ก ลางของอาณาจั ก รสุ โขทั ย โดยแบ่งแยกอาณาจักสุโขทัยเป็น 2 ส่วน คือ บริเวณลุ่มแม่น�้ำยม แม่น�้ำน่าน ให้มีศูนย์กลางอยู่ที่เมืองสองแคว ให้กษัตริย์ของสุโขทัยปกครองต่อ ไป และอยู่ในอ�ำนาจของอยุธยาใน ฐานะประเทศราช บริ เ วณลุ ่ ม แม่ น�้ ำ ปิ ง ให้ มี ศูนย์กลางที่เมืองชากังราว และ ขึ้ น ตรงต่ อ อยุ ธ ยาขณะเดี ย วกั น อยุธยาก็พยายามผนวกอาณาจักร
สุโขทัยเข้าเป็นส่วนหนึง่ ของอยุธยา และประสบความส� ำ เร็ จ ในสมั ย พระบรมราชาธิ ร าชที่ 2 (เจ้ า สามพระยา) ส�ำหรับลักษณะการ ปกครองที่ปรากฏในระยะนี้ เป็น แบบผสมระหว่างสุโขทัย และรับ อิทธิพลการปกครอง แบบราชา ธิปไตยของอยุธยาเข้าไปด้วย ใน ระยะนี้นับว่าเมืองสองแควมีความ ส� ำ คั ญ ที่ สุ ด ขณะเดี ย วกั น เมื อ ง สุโขทัยเก่าก็คอ่ ยๆ ลดความส�ำคัญลง 4.ระยะที่ 4 ยุคกรุงศรีอยุธยา จนถึ ง สมั ย รั ช กาลที่ 5 แห่ ง
SBL บันทึกประเทศไทย I SUKHOTHAI
.indd 122
10/05/61 10:21:55 AM
วั ด นางพญา
วั ด สระศรี
กรุงรัตนโกสินทร์ (พ.ศ.1981-2537) ในยุคนี้แนวความคิดเกี่ยวกับ กษั ต ริ ย ์ เ ปลี่ ย นแปลงไปตามคติ พราหมณ์ ซึ่งพวกเขมรเป็นผู้น�ำมา โดยถือว่ากษัตริยเ์ ป็นผูไ้ ด้รบั อ�ำนาจ จากสวรรค์ หรือเป็นพระเจ้าบน มนุษย์โลก ลักษณะการปกครอง จึงเป็นแบบนายปกครองบ่าว หรือ เจ้าปกครองข้า ในสมั ย พระบรมรามาธิ บ ดี ที่ 1 ทรงวางระบบการปกครอง ส่ ว นกลางแบบ “จตุ ส ดมภ์ ” ตามแบบของขอม มีกษัตริย์เป็น ผู ้ ป กครองสู ง สุ ด และมี เ สนาบดี
4 คน คือ ขุนเมือง ขุนวัง ขุนคลัง และขุ น นา ส� ำ หรั บ การปกครอง ส่วนภูมิภาคหรือหัวเมืองต่างๆ ใน ระยะแรกเลียนแบบการปกครอง ของสุโขทัย คือ มีหัวเมืองชันใน ชั้นนอก และหัวเมืองประเทศราช แต่ต่อมาในสมัยสมเด็จพระบรม ไตรโลกนาถ ได้ท�ำการปฏิรูปการ ปกครองหัวเมือง ให้มีลักษณะการ รวมอ� ำ นาจไว้ ที่ ศู น ย์ ก ลาง คื อ เมื อ งหลวงมากขึ้ น โดยขยาย อาณาเขตให้หัวเมืองชั้นในกว้าง ขวางขึ้นกว่าเดิม หัวเมืองชั้นนอก ก�ำหนดเป็นหัวเมืองชั้นเอก โท ตรี
ตามล�ำดับตามขนาด และความ ส�ำคัญของเมือง โดยทางส่วนกลาง จะส่งขุนนาง หรือพระราชวงศ์ไป ท�ำการปกครอง แต่ส�ำหรับเมือง ประเทศราชยั ง ปล่ อ ยให้ มี อิ ส ระ ในการปกครองเช่นเดิม นอกจากนี้ ส มเด็ จ พระบรม ไตรโลกนาถ ได้ทรงปรับปรุงระบบ บริหารขึน้ ใหม่ โดยแยกการบริหาร ออกเป็นฝ่ายพลเรือนและฝ่ายทหาร มีสมุหนายกเป็นผู้รับผิดชอบด้าน พลเรือน บริหารกิจการเกี่ยวกับ เมื อ ง วั ง คลั ง และนา และมี สมุหกลาโหมรับผิดชอบด้านการ
วั ด ศรี ส วาย
ทหารและการป้องกันประเทศ แต่ ภายหลั ง ในสมั ย สมเด็ จ พระเพท ราชา ราว พ.ศ.2234 ทัง้ สมุหนายก และสมุ ห กลาโหมต้ อ งท� ำ งานทั้ ง ด้านทหารและพลเรือนพร้อมกัน โดยสมุ ห กลาโหมปกครองทั้ ง ฝ่ายพลเรือนและทหารในหัวเมือง ด้านใต้ และสมุหนายก ปกครอง ทั้ ง ฝ่ า ยพลเรื อ นและทหารใน หัวเมืองด้านเหนือตัง้ แต่สมัยสมเด็จ พระบรมไตรโลกนารถ เป็นต้นมา
SUKHOTHAI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 123
123
10/05/61 10:22:01 AM
วัดสระศรี
ถึง
สมั ย รั ช กาลที่ 5 แห่ ง กรุ ง รั ต นโกสิ น ทร์ (พ.ศ. 1981-2437) ฐานะของเมืองต่างๆ ในอาณาจักรสุโขทัย เดิมจะต้อง เปลี่ ย นแปลงไปตามขนาดและ ความส�ำคัญของเมือง คือ หัวเมือง ชั้ น นอก ได้ แ ก่ เมื อ งสองแคว หัวเมืองชัน้ โท ได้แก่ เมืองสวรรคโลก เมืองสุโขทัย เมืองชากังราว และ เมืองเพชรบูรณ์ และหัวเมืองชั้นตรี ได้แก่ เมืองพิชัย เมืองสระหลวง (พิจติ ร) เมืองพระบาง (นครสวรรค์) 5.ระยะที่ 5 ยุคการปกครอง แบบมณฑลเทศาภิ บ าล (พ.ศ. 2437-2475) พระบาทสมเด็ จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรง 124
ปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน โดยได้ ทรงยกเลิ ก ต� ำ แหน่ ง อั ค รมหา เสนาบดี 2 ต�ำแหน่ง คือ สมุหนายก และสมุหกลาโหม รวมทัง้ จตุสดมภ์ ด้วย ได้จัดระเบียบบริหารราชการ ออกเป็ น กระทรวง ตามแบบ อารยประเทศ และให้มีเสนาบดี เป็นผูว้ า่ การแต่ละกระทรวง กระทรวง ที่ ตั้ ง ขึ้ น มี ทั้ ง หมด 12 กระทรวง โดยมีกระทรวงมหาดไทยในฐานะ เป็นส่วนราชการที่เป็นศูนย์กลาง อ�ำนวยการปกครองประเทศ และ คุมหัวเมืองทั่วประเทศ ต่อมามีการจัดตั้งหน่วยงาน ราชการบริหารส่วนภูมิภาค ซึ่งมี สภาพและฐานะเป็นตัวแทนหรือ
หน่วยงานประจ�ำท้องทีข่ องกระทรวง มหาดไทยขึ้น อันได้แก่ การจัดการ ปกครองแบบเทศาภิบาล ซึ่งถือ ได้วา่ เป็นระบบการปกครองอันส�ำคัญ ยิ่ง ที่สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ ทรง น�ำมาใช้ปรับปรุงระเบียบบริหาร ราชการแผ่นดินส่วนภูมิภาค ใน สมั ย นั้ น การปกครองเมื อ งแบบ เทศาภิบาล เป็นการปกครองส่วน ภูมิภาคชนิดหนึ่ง ที่ส่วนกลางจัด ส่ ง ข้ า ราชการส่ ว นกลางออกไป บริหารราชการในท้องที่ต่างๆ โดย ได้แบ่งการปกครองประเทศ เป็น ขนาดลดหลั่นกันเป็นขั้นอันดับไป คื อ เป็ น แบบมณฑล มี ข ้ า หลวง
เทศาภิบาลเป็นผู้ปกครองถัดจาก มณฑล คือเมือง (สมัยรัชกาลที่ 6 เรียกว่าจังหวัด) มีเจ้าเมือง (ผู้ว่า ราชการจังหวัด) เป็นผู้ปกครอง เมื อ งแบ่ ง ออกเป็ น อ� ำ เภอ มี นายอ�ำเภอเป็นผู้ปกครอง ทั้งสาม ส่วนนี้ปกครองโดยข้าราชการที่ได้ รับแต่งตั้งจากกระทรวงมหาดไทย อ�ำเภอนั้นแบ่งออกเป็นต�ำบล มี ก�ำนัน ซึ่งเป็นผู้ที่ผู้ใหญ่บ้านเลือก เป็นผู้ปกครองต�ำบล แบ่งออกเป็น หมู่บ้าน มีผู้ใหญ่บ้านซึ่งได้รับการ เลือกตั้งจากประชาชนในหมู่บ้าน เป็นผู้ปกครอง ในปี พ.ศ.2437 เป็ น ปี แรกที่ ไ ด้ ว างแผนงานจั ด ระเบี ย บการบริ ห ารมณฑลแบบ ใหม่เสร็จ กระทรวงมหาดไทยได้ จัดตั้งมณฑลเทศาภิบาลขึ้น และ ทรงโปรดเกล้าฯ ให้โอนหัวเมือง ทั้ ง ปวงขึ้ น กั บ กระทรวงกลาโหม และกระทรวงต่างประเทศ ให้มา ขึ้ น อยู ่ กั บ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงเดียว 6.ระยะที่ 6 ยุคหลัง พ.ศ.2475 มี ก ารปรั บ ปรุ ง ของระเบี ย บการ ปกครองหั ว เมื อ งเมื่ อ ได้ มี ก าร เปลี่ยนแปลงการปกครองประเทศ เมื่ อ ปี พ.ศ.2475 มาเป็ น ระบบ ประชาธิปไตยนัน้ มีการจัดระเบียบ ราชการบริหารส่วนภูมิภาคออก เป็ น จั ง หวั ด และอ� ำ เภอ และได้ ยกเลิ ก มณฑลเสี ย ส่ ว นเมื อ ง สุ โขทั ย ถู ก ยุ บ เป็ น อ� ำ เภอมี ชื่ อ ว่ า “อ� ำ เภอธานี ” ขึ้ น อยู ่ กั บ อ� ำ เภอ สวรรคโลก จนกระทั่งปี พ.ศ.2482 ทางการจึงได้ยกฐานะเป็นจังหวัด สุ โขทั ย ดั ง ปรากฏอยู ่ จ นกระทั่ ง ปัจจุบันนี้ ขอขอบคุณข้อมูลจาก
หอมรดกไทย, ประวั ติ ม หาดไทย ส่วนภูมิภาคจังหวัดสุโขทัย, 2541
SBL บันทึกประเทศไทย I SUKHOTHAI
.indd 124
10/05/61 10:22:03 AM
วัดมหาธาตุ SUKHOTHAI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 125
125
10/05/61 10:22:04 AM
TR AV EL GU ID E
บันทึกเส้นทางท่องเที่ยวจังหวัดสุโขทัย
เที่ ย วแบบเรีย บง่ายก็มีความสุขได้
สไตล์ Slow life
พูดถึงที่เที่ยวในจังหวัดสุโขทัย หลายคนมักจะคิดว่ามีแต่โบราณสถานหรือวัดวาอารามที่เคยเที่ยวแล้วทั้งนั้น แต่จริง ๆ แล้วสุโขทัยยังมีสถานที่ท่องเที่ยวทางธรรมชาติ ที่เที่ยวเชิงเกษตรที่ก�ำลังมาแรง ที่เที่ยวซึ่งเปิดโอกาส ให้นักท่องเที่ยวได้ทดลองสร้างสรรค์งานศิลปหัตถกรรมโบราณ และที่เที่ยวซึ่งจะเปิดมุมมองในการใช้ชีวิต แบบเรียบง่ายก็สุขได้
126
SBL บันทึกประเทศไทย I SUKHOTHAI
.indd 126
10/05/61 10:22:05 AM
อ�ำเภอทุ่งเสลี่ยม จังหวัดสุโขทัย
SUKHOTHAI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 127
127
10/05/61 10:22:06 AM
สักการะ
9 พระพุทธรูปดัง ณ พุทธอุทยานสุโขทัย พระพุทธรูปสมัยสุโขทัยที่สร้างขึ้นในช่วง ศตวรรษที่ 19-20 ได้ ชื่ อ ว่ า มี พุ ท ธลั ก ษณะที่ สง่างาม เส้นสายอ่อนช้อย น่าเลื่อมใสศรัทธายิ่ง ผู้ที่ได้สักการะองค์พระจะเกิดความปีติ อิ่มเอิบ และสุขใจราวกับได้กราบสักการะองค์สมเด็จ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า เนื่องด้วยพระมหากษัตริย์แห่งกรุงสุโขทัย โดยเฉพาะพ่ อ ขุ น รามค� ำ แหงมหาราชทรงมี ความศรั ท ธาเลื่ อ มใสในบวรพุ ท ธศาสนาเป็ น อย่ า งยิ่ ง จึ ง มี ก ารก่ อ สร้ า งพระพุ ท ธรู ป ทั้ ง ขนาดเล็ ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ่ เ ป็ น
1
พระพุ ท ธรู ป ปางลี ล า
พระองค์ จ ริ ง นั้ น ประดิ ษ ฐานไว้ ณ วั ด เบญจมบพิ ต รดุ สิ ต วนาราม ตั้ ง อยู ่ จังหวัดกรุงเทพมหานคร 128
จ� ำ นวนมากนั บ พั น องค์ และในสมั ย ของ พระยาลิไท ศาสนาก็เป็นยุคที่เฟื่องฟูถึงขีดสุด มีการสร้างศาสนสถานและศาสนวัตถุจำ� นวนมาก ทว่าหลังจากอาณาจักรสุโขทัยล่มสลาย วัดต่างๆ ถูกปล่อยทิ้งร้าง จึงมีการอัญเชิญพระพุทธรูป ไปประดิษฐานยังวัดต่างๆ ทั้งในกรุงเทพฯ และ นครปฐม ด้วยเหตุดังกล่าว พุทธอุทยานสุโขทัย จึงได้รบั การจัดสร้างขึน้ เนือ่ งในโอกาสทีพ่ ระบาท สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรง เจริญพระชนมพรรษาครบหกรอบ 72 พรรษา เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม 2542 โดยความคิดริเริ่ม
2
พระร่ ว งโรจนฤทธิ์
พระองค์ จ ริ ง นั้ น ประดิ ษ ฐานไว้ ณ วั ด พระปฐมเจดี ย ์ ร าชวรมหาวิ ห าร ตั้งอยู่จังหวัดนครปฐม
ของนายนรินทร์ พานิชกิจ ผู้ว่าราชการจังหวัด สุโขทัยในขณะนั้น พุ ท ธอุ ท ยานสุ โขทั ย ตั้ ง อยู ่ บ ริ เ วณหน้ า ศาลากลางจังหวัดสุโขทัย ลักษณะอาคารเป็น สถาปั ต ยกรรมแบบปรางค์ ห ้ า ยอด เป็ น ที่ ประดิษฐานพระพุทธรูปสมัยสุโขทัย (จ�ำลอง) ขนาดเล็กกว่าองค์จริงที่มีพุทธลักษณะงดงาม จ� ำ นวน 9 องค์ จึ ง เรี ย กพระพุ ท ธรู ป จ� ำ ลอง ทั้ ง 9 องค์ นี้ ว ่ า “9 พระพุ ท ธสุ ด แผ่ น ดิ น ” ประกอบด้วย
3
พระศาสดา
พระองค์ จ ริ ง นั้ น ประดิ ษ ฐานไว้ ณ วัดสุวรรณาราม จังหวัดกรุงเทพมหานคร
SBL บันทึกประเทศไทย I SUKHOTHAI
.indd 128
10/05/61 10:22:08 AM
4 5 6 7 8 9
พระพุทธชินสีห์ หรือ พระนาคปรก
พระองค์ จ ริ ง นั้ น ประดิ ษ ฐานไว้ ณ วั ด พระเชตุ พ นวิ ม ล มั ง คลาราม ตั้ ง อยู ่ จังหวัดกรุงเทพมหานคร
พระพุ ท ธสิ หิ ง ค์
พระองค์ จ ริ ง นั้ น ประดิ ษ ฐานไว้ ณ พระที่ นั่ ง พุ ท ไธสวรรย์ พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ สถานแห่งชาติพระนคร จังหวัดกรุงเทพมหานคร
หลวงพ่ อ ร่ ว ง
พระองค์ จ ริ ง นั้ น ประดิ ษ ฐานไว้ ณ วั ด มหรรณพาราม ตั้ ง อยู ่ จั ง หวั ด กรุงเทพมหานคร
พระสุ โ ขทั ย ไตรมิ ต ร
พระองค์ จ ริ ง นั้ น ประดิ ษ ฐานไว้ ณ วั ด ไตรมิ ต รวิ ท ยาราม ตั้ ง อยู ่ จั ง หวั ด กรุงเทพมหานคร
พระศรี ศ ากยมุ นี
พระองค์ จ ริ ง นั้ น ประดิ ษ ฐานไว้ ณ วั ด สุ ทั ศ น์ เ ทพวราราม ตั้ ง อยู ่ จั ง หวั ด กรุงเทพมหานคร
พระพุ ท ธไสยาสน์
พระองค์ จ ริ ง นั้ น ประดิ ษ ฐานไว้ ณ วั ด บวรนิ เ วศวิ ห าร ตั้ ง อยู ่ จั ง หวั ด กรุงเทพมหานคร
SUKHOTHAI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 129
129
10/05/61 10:22:12 AM
ชมของเก่ า เล่ า ความหลั ง ...
ณ พิพิธภัณฑ์สวรรค์วรนายก
130
อี ก หนึ่ ง แหล่ ง เรี ย นรู ้ ที่ ไ ม่ ค วรพลาดชม เมื่อมาสุโขทัยก็คือ พิพิธภัณฑ์สวรรค์วรนายก ซึ่ ง ตั้ ง อยู ่ ที่ ต� ำ บลเมื อ งสวรรคโลก หลั ง วัดสวรรคาราม (วัดกลาง) อ�ำเภอสวรรคโลก ทางพิพิธภัณฑ์ได้จัดแสดงออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่ ชั้นบน จัดแสดงประติมากรรมสมัยต่างๆ ส่วนใหญ่เป็นสมบัติที่มาจากวัดสวรรค์วรนายก และพระสวรรค์วรนายก และบางส่วนย้ายมา จากพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติรามค�ำแหง เช่น พระพุทธรูปในยุคสมัยต่างๆ ตัง้ แต่กอ่ นยุคสุโขทัย จนถึงรัตนโกสินทร์ตอนต้น ส่วนบริเวณชั้นล่าง จั ด แสดงเครื่ อ งถ้ ว ยสั ง คโลก เครื่ อ งถ้ ว ยชาม สมบั ติ ใ ต้ ท ะเลที่ ง มมาได้ จ ากแหล่ ง เรื อ จม ในอ่าวไทย เป็นต้น พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ฯ เปิ ด ให้ เข้ า ชมทุ ก วั น เว้ น วั น จั น ทร์ อั ง คาร และวั น หยุ ด นั ก ขั ต ฤกษ์ เวลา 08.30 - 16.30 น. อัตราค่าเข้าชม ชาวไทย 10 บาท ชาวต่างชาติ 30 บาท ในกรณีเข้าชม เป็ น หมู ่ ค ณะ และต้ อ งการวิ ท ยากรน� ำ ชม ติดต่อได้ที่พิพิธภัณฑ์สวรรค์วรนายก โทร. 0 5564 1571, 0 5564 3166
SBL บันทึกประเทศไทย I SUKHOTHAI
.indd 130
10/05/61 10:22:16 AM
สนุกคิด สร้างสรรค์ เครื่องปั้น สังคโลก ใกล้ กั บ อุ ท ยานประวั ติ ศ าสตร์ สุ โ ขทั ย มี แ หล่ ง ท่ อ งเที่ ย วที่ นั ก ท่ อ งเที่ ย วจะได้ สั ม ผั ส ประการณ์แปลกใหม่ นอกเหนือจากการเทีย่ วชม อย่างเดียว นั่นก็คือ จะได้ปั้นและได้เขียนลาย เครื่องสังคโลกด้วยตัวเอง เป็นที่ทราบกันดีว่าเครื่องถ้วยชามสังคโลก เป็นเครื่องปั้นดินเผาที่มีเอกลักษณ์เฉพาะ นั่น ก็ คื อ มี เ นื้ อ ละเอี ย ดสี เ ขี ย วไข่ ก า และต้ อ ง แตกลายงา เป็นมรดกตกทอดจากบรรพบุรุษ ที่ชาวสุโขทัยภูมิใจ ซึ่งปัจจุบัน “กลุ่มเครื่องปั้น ดิ น เผาสุ เ ทพสั ง คโลก” ผู ้ ผ ลิ ต เครื่ อ งสั ง คโลก ฝี มื อ ประณี ต ได้ เ ปิ ด โอกาสให้ นั ก ท่ อ งเที่ ย ว เข้าชมขั้นตอนการท�ำได้ฟรี และถ้าใครอยาก จะลองปั้นหรือลงสีชิ้นงานก็ได้ด้วย แต่ถ้าใคร จะเลื อ กซื้ อ ถ้ ว ยชามสั ง คโลกสวยๆ ไปใช้ เ อง หรือเป็นของฝากก็มีให้เลือกหลายรูปแบบ โดย เฉพาะลวดลายแบบโบราณที่ทางกลุ่มอนุรักษ์ไว้ สอบถามได้ที่ โทร. 055-697-036
SUKHOTHAI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 131
131
10/05/61 10:22:20 AM
โคมชัก-โคมแขวนโบราณ ที่บ้านด่านลานหอย
สุ
โขทัยในอดีต จะมีการประดิษฐ์ประดอย โคมชั ก -โคมแขวน เพื่ อ ใช้ จุ ด ในพิ ธี ลอยกระทง และเพื่อเป็นเครื่องบวงสรวง พ่ อ ขุ น รามค� ำ แหงมหาราช ก่ อ นที่ จ ะถึ ง งาน วันลอยกระทง ในวันเพ็ญเดือน 12 ซึ่งการท�ำ โคมชั ก โคมแขวนแต่ ล ะโคมจะมี ค วามหมาย เฉพาะและมี ค วามหมายที่ ดี ง าม เรื่ อ งราวที่ บรรจงเรียงร้อยอยู่ในโคมชัก โคมแขวน จึงแสดง ให้เห็นถึงภูมิปัญญาของบรรพบุรุษที่สืบต่อ กันมาจนถึงทุกวันนี้ การท�ำโคมชักโคมแขวนแต่ละโคม ต้องใช้ ระยะเวลาประมาณ 2-3 เดือน จึงจะส�ำเร็จ ลวดลายทีป่ ระดับบนโคมจะใช้เมล็ดพันธุพ์ ชื เล็กๆ ได้แก่ เม็ดมะกล�่ำตาหนู, ข้าวฟ่างสีส้ม ขาว ด�ำ เหลือง, ข้าวเปลือกนก, งาขาว ด�ำ แดง เทา, ถั่ ว เขี ย ว, เมล็ ด ผั ก กาด, เมล็ ด ข้ า วเหนี ย ว, ดอกบานไม่ รู ้ โรย, เมล็ ด ผั ก ชี ร า, เปลื อ กไข่ , เปลือกไหม, ใบลาน, ดอกตะแบก, ดอกบานไม่รโู้ รย, ทราย, เชือกผักตบชวา, ไหมญี่ปุ่น, ดวงไฟ, กระดาษแข็ง, ไม้ไผ่, ไม้อัด, กระดาษสา, เชือก, เส้นด้าย, และอื่นๆ มาร้อยเรียงแต่งแต้มให้เป็น โคมชักโคมแขวน แต่ละเสี้ยวของโคมต้องใช้ ความประณีต ความอดทน และความพยายาม อย่างมาก เพื่อให้สมกับความวิจิตรตระการตา ที่น�ำมาให้ได้ชมในงานวันเพ็ญเดือน 12 และ เพื่ อ ให้ ส มกั บ พระเกี ย รติ ใ นการบู ช าและ บวงสรวงองค์พ่อขุนรามค�ำแหง ปัจจุบัน นักท่องเที่ยวสามารถเรียนรู้การท�ำ โคมแขวนโคมชัก พนมหมาก พนมดอกไม้ได้ โดยติดต่อสอบถามได้ที่ อบต.บ้านด่านลานหอย โทร. 055-634-194
132
SBL บันทึกประเทศไทย I SUKHOTHAI
.indd 132
10/05/61 10:22:23 AM
SUKHOTHAI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 133
133
10/05/61 10:22:27 AM
134
SBL บันทึกประเทศไทย I SUKHOTHAI
.indd 134
10/05/61 10:22:28 AM
SUKHOTHAI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 135
135
10/05/61 10:22:32 AM
โฮมสเตย์
บ้านนาต้นจั่น...
ที่ เ ที่ ย ว ห ลั ก ร ้ อ ย วิ ว ห ลั ก ล ้ า น
136
SBL บันทึกประเทศไทย I SUKHOTHAI
.indd 136
10/05/61 10:22:35 AM
เมื่ อ การท่ อ งเที่ ย ววิ ถี ไ ทย ได้รับการโปรโมท นักท่องเที่ยว ไทยจึงมีความเข้าใจ สนใจ และ อยากเปิดประสบการณ์ท่องเที่ยว ใหม่ๆ เพื่อเรียนรู้วิถีชีวิตที่มีเสน่ห์ ชวนหลงใหลแบบไทยๆ กันมากขึน้ บ้านนาต้นจั่น ต�ำบลบ้านตึก อ�ำเภอศรีสัชนาลัย เป็นหมู่บ้าน ที่ก่อตั้งมานานกว่า 200 ปี โดย บรรพบุ รุ ษ ที่ อ พยพมาจากเมื อ ง โยนก เชี ย งแสน ชุ ม ชนแห่ ง นี้ มี ก ารรวมกลุ ่ ม กั น อย่ า งเข้ ม แข็ ง เพื่ อ รั ก ษาอั ต ลั ก ษณ์ ข องชุ ม ชน เมื่อกว่า 25 ปีที่ผ่านมา จนได้รับ
รางวั ล การั น ตี ม ากมาย อาทิ รางวั ล ชนะเลิ ศ PATA GOLD AWARDS 2012 จากประเทศ มาเลเซี ย โดยสมาคมส่ ง เสริ ม การท่องเทีย่ วภูมภิ าคเอเชียแปซิฟกิ และรางวั ล ยอดเยี่ ย ม ประเภท องค์ ก รสนั บ สนุ น และส่ ง เสริ ม การท่ อ งเที่ ย ว ในการประกวด อุตสาหกรรมท่องเทีย่ วไทยปี 2556 จากการท่องเทีย่ วแห่งประเทศไทย เสน่ ห ์ ข องบ้ า นนาต้ น จั่ น ที่ ชาวพระนครอย่ า งเราๆ ท่ า นๆ จะต้องหลงใหลก็คือ วิวทิวทัศน์ ที่มีทั้งทุ่งนาและป่าเขา กับที่พัก
โฮมสเตย์แบบบ้านจริงๆ ที่อบอวล ด้วยกลิน่ อายแบบชนบททีส่ งบเงียบ เรียบง่าย พร้อมกิจกรรมขีจ่ กั รยาน หรื อ นั่ ง รถอี แ ต๊ ก ชมทุ ่ ง ซึ ม ซั บ วั ฒ นธรรม ภู มิ ป ั ญ ญา อาหาร พื้ น บ้ า นที่ มี เ อกลั ก ษณ์ เ ฉพาะ ไม่ ว ่ า จะเป็ น ผ้ า ทอหมั ก โคลน เนื้อนิ่มสีไม่ตก ประณีตสวยงาม ด้วยลวดลายขิดหรือลายยกดอก ที่มีมากกว่า 50 ลาย ซึ่งทางกลุ่ม ทอผ้ า บ้ า นนาต้ น จั่ น จะสาธิ ต การผลิ ต ผ้ า หมั ก โคลนให้ ช ม ทุ ก ขั้ น ตอน การจั ก สานเข่ ง ลาย สองพี่น้อง การท�ำตุ๊กตาบาร์โหน เป็นของเด็กเล่นจากผู้เฒ่าผู้แก่ใน
ชุ ม ชน และการปรุ ง อาหารพื้ น บ้านอย่างข้าวเปิ๊บที่ต้องมากินถึง ถิ่ น เ พื่ อ ใ ห ้ ไ ด ้ ร ส ช า ติ แ ล ะ บรรยากาศจริงๆ รี บ พลิ ก ปฏิ ทิ น ดู วั น หยุ ด ยาว แล้ ว เตรี ย มจองตั๋ ว จองที่ พั ก โฮมสเตย์ บ ้ า นนาต้ น จั่ น เพราะ นอกเหนื อ จากความสุ ข ที่ คุ ณ จะ ได้รับในราคาที่แสนถูก ประเภท เที่ยวหลักร้อยชมวิวหลักล้านแล้ว ยังช่วยกระจายรายได้สู่ชุมชนอีก ทางหนึ่ ง ด้ ว ย...ดี ง ามอะไรเช่ น นี้ สนใจสอบถามได้ที่ โทร. 088-4957738 SUKHOTHAI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 137
137
10/05/61 10:22:43 AM
เรียนรู้วิถีเกษตรอินทรีย์ ที่ ส น า ม บิ น สุ โ ข ทั ย
ในยุ ค ที่ ห ลายๆ คนนั้ น ให้ ค ว า ม ส� ำ คั ญ กั บ สุ ข ภ า พ แ ล ะ สิ่ ง แวดล้ อ ม โดยหั น มาบริ โ ภค ผลผลิ ต ที่ ป ลอดภั ย จากสารเคมี และสารพิษกันมากขึน้ ประกอบกับ เป็ น ยุ ค ที่ ห นุ ่ ม สาวชาวพระนคร ผันตัวไปเป็นเกษตรกรกันมากขึ้น โครงการเกษตรอินทรีย์สนามบิน สุโขทัย บนเนื้อที่กว่า 2,000 ไร่ ในเขต 3 ต�ำบล คือ ต�ำบลท่าทอง ต� ำ บลคลองกระจง และต� ำ บล
138
ย่ า นยาว อ� ำ เภอสวรรคโลก จึ ง ตอบโจทย์ให้กับผู้บริโภคยุคใหม่ได้ โครงการนี้ ถื อ ก� ำ เนิ ด ขึ้ น เมื่ อ กว่าสิบปีที่ผ่านมา ด้วยเจตนารมณ์ ที่จะสร้างประโยชน์แก่สังคม ด้วย การพลิ ก ฟื ้ น ผื น ดิ น บางส่ ว นรอบ สนามบิ น สุ โ ขทั ย ให้ ก ลายเป็ น พื้นที่สีเขียว ด้วยการปลูกข้าวโดย ไม่ใช้สารเคมีในแปลงนาขนาดเล็ก ก่อนจะขยายอาณาเขตให้กว้างขวาง ขึ้นดังที่เห็นในปัจจุบัน พร้อมด้วย
SBL บันทึกประเทศไทย I SUKHOTHAI
.indd 138
10/05/61 10:22:47 AM
รางวัลแห่งความภาคภูมิใจ อาทิ รางวั ล Thailand Tourism Awards ครั้งที่ 8 ประจ�ำปี 2553 ประเภทแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร ของ ททท., รางวัลโอท็อประดับ 5 ดาว ผลิตภัณฑ์ “ข้าวหอมสุโข” ปี 2553 และรางวั ล PATA Gold Award 2012 ในประเภท Environment-Ecotourism ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย โครงการเกษตรอิ น ทรี ย ์ สนามบิ น สุ โขทั ย นอกจากจะมี
ร้ า นอาหาร และจุ ด จ� ำ หน่ า ย ผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ กษตรอิ น ทรี ย ์ ใ ห้ บริการแล้ว ยังเป็นแหล่งเรียนรู้ ให้แก่ผู้ที่ต้องการสัมผัสวิถีเกษตร อินทรีย์อย่างใกล้ชิด ด้วยกิจกรรม “ห้องเรียนกลางแจ้ง” ที่มีให้เลือก หลายรูปแบบ ซึ่งจะได้เรียนรู้และ ลงมือปฏิบัติงานส่วนต่างๆ โดยมี เกษตรกรอินทรียต์ วั จริงเป็นพีเ่ ลีย้ ง คอยให้ค�ำแนะน�ำ นอกจากนี้กลุ่ม องค์กรต่างๆ ยังสามารถใช้บริการ จัดกิจกรรม Team Building เพื่อ
เสริมสร้างความสมัครสมานสามัคคี ของพนักงานได้ดว้ ยกิจกรรมสนุกๆ อาทิ ปลูกข้าว ถอนกล้า ด�ำนา เก็บไข่เป็ด ขี่ควายเผือก ปลูกผัก หาปลา และรับประทานอาหาร กลางวันในคอนเส็พท์ “กินในสิ่ง ที่เราปลูก และปลูกในสิ่งที่เรากิน” พร้ อ มชมโชว์ ก ารสวั ส ดี ข องฝู ง ควายเผือกแสนรู้ จากนั้นไปเที่ยว ชมบริเวณสนามบินสุโขทัย ดูการ ทอผ้าและการท�ำเครื่องปั้นดินเผา แบบโบราณ แปลงผักออร์แกนิก
สวนผลไม้ที่ปลูกเป็นแบบสวนผสม โครงการฯ จะเปิ ด บริ ก าร ตั้ ง แต่ 8.00-17.00 น. ทุ ก วั น ยกเว้นวันพุธซึ่งจะหยุดให้บริการ ใ น ส ่ ว น ข อ ง กิ จ ก ร ร ม ต ่ า ง ๆ , ร้ า นอาหารครั ว สุ โ ขทั ย และ ร้ า นจ� ำ หน่ า ยผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ กษตร อินทรีย์ ติ ด ต่ อ สอบถามรายละเอี ย ด (กิจกรรมห้องเรียนกลางแจ้งและ ที่พัก) ได้ที่ โทร. 0-5564-7290, 0-5564-7196, 08-7986-4270
SUKHOTHAI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 139
139
10/05/61 10:22:53 AM
140
SBL บันทึกประเทศไทย I SUKHOTHAI
.indd 140
10/05/61 10:22:54 AM
เที่ยวบ้านแม่สาน... เบิ ก บานกว่ า ที่ คิ ด อ�ำเภอศรีสัชนาลัย ไม่ได้มีแค่อุทยานประวัติศาสตร์ ที่ขึ้นชื่อเท่านั้น แต่ที่บ้านแม่สาน ม.6 ต.แม่ส�ำ มีสถานที่ ท่ อ งเที่ ย วทางธรรมชาติ ที่ ส วยงามมากมาย ที่ จ ะช่ ว ย ชาร์จพลังให้สดชื่นเบิกบานในช่วงวันหยุด ถ�้ำลมลอด เป็นถ�้ำหินปูนขนาดใหญ่บนยอดเขาที่ทะลุ ไปอีกฝั่งของภูเขาได้ จึงมีลมแรงพัดออกมาจากถ�้ำตลอด ภายในมี โ ถงถ�้ ำ ขนาดใหญ่ ห ลายห้ อ งสลั บ ซั บ ซ้ อ น มี หิ น งอก หิ น ย้ อ ยสวยงามตามแต่ จิ น ตนาการ และ มีค้างคาวอาศัยอยู่จ�ำนวนมาก ตามต�ำนานเล่าว่า พระเจ้า พังคราชแห่งโยนกนคร ได้ใช้ถ�้ำนี้เป็นที่ซ่องสุมก�ำลังพล เพื่อกอบกู้ชาติจากขอม จึงมีทรัพย์สมบัติและพระพุทธรูป ซ่อนไว้โดยมีงูยักษ์เฝ้ารักษาสมบัติไว้ น�้ำตกผาช่อ เป็นน�้ำตกขนาดเล็กหลายสิบชั้น ไหล ลดหลั่นกันเป็นธารน�้ำตลอดทั้งปี แวดล้อมด้วยสภาพ ธรรมชาติที่ร่มรื่น น�้ำออกรู (น�้ำผุด) เป็นโพรงน�้ำที่ไหล ออกมาจากภูเขา มีต�ำนานเล่าว่าที่นี่เป็นแหล่งที่อยู่ของ ช้ า งน�้ ำ ซึ่ ง เป็ น เครื่ อ งรางของขลั ง ในสมั ย โบราณ อี ก ต�ำนานหนึ่งกล่าวว่า ผู้ใดมีบุญจะได้เห็นพระธาตุเป็น เม็ดหินสีสวยสดอยูป่ ากปล่องทีน่ ำ�้ ไหลออกมา น�ำ้ ตกห้วยผา เป็นน�้ำตกที่มีความสวยงาม 7 ชั้น มีน�้ำไหลตลอดทั้งปีและ เป็นแหล่งต้นน�้ำใช้ท�ำน�้ำประปาภูเขาของบ้านแม่สานด้วย แม้ว่าการเดินทางค่อนข้างล�ำบาก แต่ส�ำหรับนักท่องเที่ยว ที่ชอบการผจญภัยละก็ เป็นต้องติดใจแน่นอนเพราะต้อง ปีนป่ายเขาที่มีความชัน ซึ่งอนาคตอาจมีการพัฒนาเป็น แหล่งปีนหน้าผาโรยตัวท่ามกลางสายน�้ำตกเย็นฉ�่ำก็ได้ ขอขอบคุ ณ ข้ อ มู ล จาก ส� ำ นั ก งานจั ง หวั ด สุ โ ขทั ย , การท่ อ งเที่ ย ว แห่งประเทศไทย ส�ำนักงานสุโขทัย, องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษ เพือ่ การท่องเทีย่ วอย่างยัง่ ยืน (องค์กรมหาชน) และ www.kaohomsukhothai.in.th SUKHOTHAI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 141
141
10/05/61 10:22:55 AM
W O R K LI F E
บันทึกเส้นทางพบนายอ�ำเภอ
ประเพณีลือก้อง ทองโบราณ ย่านผ้าซิ่น ถิ่นมรดกโลก
คือค�ำขวัญของอ�ำเภอศรีสัชนาลัย
นายกองโทพยุงศักย์ สุวรรณโณ นายอ�ำเภอศรีสัชนาลัย คนที่ 41
142
SBL บันทึกประเทศไทย I SUKHOTHAI
.indd 142
27/04/61 03:05:23 PM
อ�ำเภอศรีสัชนาลัย อ� ำ เภอศรี สั ช นาลั ย หรื อ ที่ มี ชื่ อ เรี ย กว่ า เมืองเชลียง เมืองเชียงชื่น เมืองสวรรคโลก เ ป็ น เ มื อง เ ก่ า แ ก ่ ที่ มี คว า ม ส� ำ คั ญ ทา ง ประวั ติ ศ าสตร์ และเป็ น ที่ ตั้ ง ของแหล่ ง อารยธรรมโบราณทีม่ อี ายุยาวนานเกือบ 800 ปี คู ่ กั บ เมื อ งสุ โขทั ย จนได้ รั บ การประกาศ
ยกย่องให้เป็นเมืองมรดกโลกคู่กับสุโขทัย และ ก�ำแพงเพชร เมื่อปี พ.ศ.2534 จากองค์การ ยูเนสโก นอกจากนี้ อ� ำ เภอศรี สั ช นาลั ย ยั ง มี พื้ น ที่ กว้างใหญ่ โดยมีเนื้อที่ 2 ใน 3 ของจังหวัด สุโขทัยประมาณ 1.4 แสนไร่ หรือ 2,080
ตารางกิโลเมตร แบ่งการปกครองออกเป็น 11 ต�ำบล 134 หมู่บ้าน 10 องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น มีประชาชนอาศัยอยู่เกือบ 1 แสนคน มีทั้งชาวไทยพื้นราบ และชาวไทยภูเขาหลาย ชาติพันธุ์ อาทิ เผ่าม้ง เผ่าลีซอ กะเหรี่ยง (ปกากะญอ) ขมุ ฯลฯ เป็นต้น
เทศกาล-งานประเพณีศรีสัชนาลัย
1. ประเพณีแห่ชา้ งบวชนาคไทยพวนบ้านหาด เสี้ยว (งานบวชช้างหาดเสี้ยว) เป็นประเพณีงานบุญอันยิ่งใหญ่ที่จัดต่อ เนื่องกันมาประมาณ 174 ปี ของชาวไทยพวน หาดเสี้ยว ที่ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ และ นิยมบรรพชา อุปสมบทบุตรหลานของตน โดย แห่นาคด้วยขบวนช้าง ตามความเชื่อในเรื่อง พระเวชสันดรชาดกทีก่ อ่ นออกผนวชได้ให้ทาน ช้างปัจจัยนาเคนทร์ และหลังจากออกผนวช ก็เสด็จกลับเมืองด้วยขบวนช้างศึก ขบวนแห่มี การตกแต่งช้าง แต่งกายนาคอย่างวิจติ รพิสดาร ผู้ร่วมขบวนแห่จะแต่งกายด้วยเครื่องนุ่งห่ม ผ้าพื้นเมืองไทยพวน ที่มีสีสันต่างๆ งามตาเป็น เอกลักษณ์เฉพาะตัว จัดเป็นขบวนมีแตรวง มีปี่แต๊ (กลองยาว) และตีกลอง กุ่ยหลุ่ยซุ้ม น�ำขบวน แห่ไปรอบหมู่บ้านแห่ข้ามล�ำน�้ำยม โดยจัดเป็นงานประเพณีในวันที่ 6 - 7 เมษายน ของทุกปี
2. งานประเพณีสรงน�้ำโอยทานสงกรานต์ ศรีสัชนาลัย ประเพณี ส รงน�้ ำ โอยทานสงกรานต์ ศรีสชั นาลัย ได้จดั ท�ำขึน้ ตามหลักฐานทีป่ รากฏ ในศิลาจารึกที่ 1 ที่ว่า “คนสุโขทัยมักทรงศีล มักโอยทาน” แสดงให้เห็นว่าชาวสุโขทัย เมื่อ 700 ปีมาแล้ว ประพฤติตนอยูใ่ นศีลธรรม ชอบ ท�ำบุญ ท�ำทาน อยู่เป็นนิจ เพื่อเป็นการรักษา เอกลักษณ์การท�ำบุญสุนทานในสุโขทัยสืบไป โดยปกติ จ ะจั ด งานระหว่ า งวั น ที่ 8 - 12 เมษายน ของทุ ก ปี ที่ บ ริ เ วณอุ ท ยาน ประวัติศาสตร์ศรีสัชนาลัย และลานพระบรม ราชานุสาวรีย์พระยาลิไท
สักการะเจ้าหมืน่ ด้ง ทหารเอกพระเจ้าติโลกราช ซึ่งเป็นผู้ครองเมืองศรีสัชนาลัย (เชียงชื่น) และ เพื่อแสดงออกถึงความเชื่อ ความกตัญญู และ ศรัทธาต่อบรรพบุรุษอย่างลึกซึ้งเข้าไปในจิต วิญญาณ โดยก�ำหนดจัดงานในวันที่ 17 - 19 เมษายน ของทุกปี
3. งานประเพณีแห่น�้ำขึ้นโฮงสรงน�้ำเจ้าพ่อ เมืองด้ง ประเพณี ส� ำ คั ญ ของชาวต� ำ บลบ้ า นตึ ก ที่ ถื อ ปฏิบัติกันมานานกว่า 500 ปี ซึ่งในอดีตเป็นที่ ตั้งของอ�ำเภอด้ง จัดขึ้นเพื่อแสดงถึงวิถีชีวิต ความผู ก พั น ระหว่ า งคนกั บ ช้ า ง และเพื่ อ
4. งานวั น ของดี แ ละเทศกาลอาหารดี ศรีสัชนาลัย เป็นงานประจ�ำปีที่อ�ำเภอศรีสัชนาลัยร่วม กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดขึ้นบริเวณ หน้ า ที่ ว ่ า การอ� ำ เภอ ประมาณกลางเดื อ น สิงหาคมของทุกปี มีผลไม้มากมาย เช่น ทุเรียน ลางสาด ลองกอง และเงาะ เป็นต้น SUKHOTHAI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 143
143
27/04/61 03:05:25 PM
5. งานย้อนอดีตศรีสชั นาลัย นุง่ ผ้าไทย ใส่ เงิน ทองลายโบราณ อ�ำเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย เป็น เมื อ งมรดกโลกมี อุ ท ยานประวั ติ ศ าสตร์ ศรี สั ช นาลั ย เป็ น ที่ ตั้ ง เมื อ งเก่ า อยู ่ กั บ เมื อ ง สุโขทัย เป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่มีโบราณถาน แ ล ะ โ บ ร า ณ วั ต ถุ ม า ก ม า ย อี ก ทั้ ง มี ขนบธรรมเนี ย มประเพณี ศิ ล ปวั ฒ นธรรม ผลิตภัณฑ์ชุมชนท้องถิ่นพื้นบ้านที่ดีงามและ มีชื่อเสียง อาทิ การทอผ้าตีนจก ผ้าหมักโคลน เงิน ทอง ลายโบราณ ฯลฯ ดังนั้นเพื่อเป็นการ ส่ ง เสริ ม และอนุ รั ก ษ์ วั ฒ นธรรมประเพณี ส่งเสริมการจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ชุมชนท้องถิ่น และส่งเสริมการท่องเที่ยวตามนโยบายของ รัฐบาล และยุทธศาสตร์จงั หวัดสุโขทัย อ�ำเภอฯ จึงได้จัดงานย้อนอดีตศรีสัชนาลัย นุ่งผ้าไทย ใส่เงิน ทองลายโบราณ ขึ้นเป็นประจ�ำทุกปี ในระหว่างวันที่ 6 - 10 ธันวาคม ณ บริเวณ อุทยานประวัติศาสตร์ศรีสัชนาลัย ซึ่งงานดัง กล่าวนีเ้ ปรียบเสมือนยกทัง้ อ�ำเภอมาไว้ในงานนีเ้ ลย ทีเดียว งานประจ�ำปีของ อปท.ศรีสัชนาลัย 1. งานก�ำฟ้าของไทยพวนบ้านหาดเสี้ยว จัดในวันขึ้น 8 ค�่ำ เดือน 3,15 ค�่ำ เดือน 3 2. งานวันส้มเขียวหวาน (สีทอง) ต�ำบล แม่สิน จัดในช่วงกลางเดือนมีนาคมของทุกปี ซึ่งเป็นช่วงส้มออกผลผลิตมากในรุ่น 2 3. งานวันผลไม้และของดีบ้านตึก จัดใน ช่วงต้นเดือนสิงหาคม ซึ่งเป็นช่วงผลไม้ เช่น ทุเรียน ลองกอง ลางสาดก�ำลังออกมาก
144
ผลิตภัณฑ์ชุมชนและสินค้า OTOP 1. เงิน ทอง ลายโบราณ มีจ�ำหน่ายและ แหล่งผลิตอยู่ในพื้นที่ต�ำบลท่าชัย และต�ำบล ศรีสัชนาลัย 2. เครื่องปั้นดินเผาสังคโลก บ้านเกาะ น้อย หมูที่ 5 ต�ำบลหนองอ้อ 3. ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ผ ้ า ทอ ซิ่ น ตี น จกบ้ า น หาดเสี้ยว ต�ำบลหาดเสี้ยว 4. ผ้าหมักโคลนบ้านนาต้นจัน่ ต�ำบลบ้านตึก 5. ผลไม้ประจ�ำถิ่น ส้มสีทองต�ำบลแม่สิน จะมีผลผลิตรุ่นที่ 1 ช่วงเดือนพฤศจิกายน ธั น วาคม และรุ ่ น ที่ 2 เดื อ นกุ ม ภาพั น ธ์ มี น าคม, ทุ เ รี ย นต� ำ บลบ้ า นตึ ก ช่ ว งเดื อ น กรกฎาคม - กันยายน, ลองกอง - ลางสาด ช่วง เดือนสิงหาคม - ตุลาคม และเงาะ ช่วงเดือน กรกฎาคม - สิงหาคม เป็นต้น แหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ 1. โฮมสเตย์บ้านนาต้นจั่น หมู่ที่ 5 ต�ำบล บ้านตึก 2. โฮมสเตย์บ้านแม่สาน หมู่ที่ 6 ต�ำบล แม่ส�ำ (ชาวไทยภูเขาเผ่ากะเหรี่ยงปกากะญอ)
3. โฮมสเตย์บ้านคุกพัฒนา หมู่ที่ 12 ต�ำบลสารจิตร (ต�ำนานว่าวพระร่วง - พะลือ) 4. อุทยานแห่งชาติศรีสัชนาลัย (ป่าคา) หมู่ที่ 6 ต�ำบลบ้านแก่ง
SBL บันทึกประเทศไทย I SUKHOTHAI
.indd 144
27/04/61 03:05:26 PM
สุโขทัยพรเจริญ รีสอร์ทแอนด์สปา Sukhothai Porncharoen Resort&Spa “โรงแรมแบบเรียบง่ายในกงไกรลาศ พร้อมสระว่ายน�้ำกลางแจ้ง”
โรงแรมนีม้ สี ระว่ายน�ำ้ กลางแจ้ง พร้อมด้วย ห้องประชุม และบริการซักแห้ง ทางทีพ่ กั ยังให้ บริการ WiFi ฟรีในพื้นที่สาธารณะ และที่จอด รถฟรี นอกจากนี้ ภายในบริเวณโรงแรมยังมี ฝ่ายต้อนรับ 24 ชัว่ โมง มีบริการห้องจัดประชุม สั ม มนา ห้ อ งจั ด เลี้ ย ง พร้ อ มคาราโอเกะที่ สมบูรณ์แบบ
สิ่งอ�ำนวยความสะดวกในห้องพัก ห้องพักทั้ง 95 ห้อง มีสิ่งอ�ำนวยความ สะดวกครบครั น ทั้ ง ตู ้ เ ย็ น , เครื่ อ งชงกาแฟ, WiFi ฟรี และทีวีจอแบนพร้อมช่องเคเบิล นอกจากนี้ ยั ง มี น�้ ำ ดื่ ม บรรจุ ข วดฟรี และ ของใช้ในห้องน�้ำฟรี
50/50 หมู่ 2 ถนนสิงหวัฒน์ ต�ำบลบ้านกร่าง อ�ำเภอกงไกรลาศ จังหวัดสุโขทัย 64170 โทรศัพท์ : 0-5569-1337 094-629-4888
SUKHOTHAI I SBL บันทึกประเทศไทย
145
W O R K LI F E
บันทึกเส้นทางพบเทศบาลเมือง
เทศบาลเมืองศรีสัชนาลัย เทศบาลเมื อ งศรี สั ช นาลั ย อ� ำ เภอ ศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย โดยตั้งอยู่บริเวณ ตอนใต้ของอ�ำเภอศรีสัชนาลัย และห่างจาก จังหวัดสุโขทัยไปทางทิศเหนือ เป็นระยะทาง ประมาณ 57 กิโลเมตร ตามทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 101 (สุโขทัยถึงศรีสัชนาลัย)
ข้อมูลทั่วไป เทศบาลเมืองศรีสัชนาลัย มีขนาดพื้นที่ 159.197 ตารางกิ โ ลเมตรหรื อ ประมาณ 99,375 ไร่ ครอบคลุมพื้นที่ต�ำบลศรีสัชนาลัย และต�ำบลท่าชัย 1. ลักษณะภูมิประเทศ สภาพภู มิ ป ระเทศ แบ่ ง ออกได้ เ ป็ น 2 ลักษณะ คือ พืน้ ทีส่ งู เชิงเขา มีความสูงมากกว่า 35 องศา เนือ้ ทีป่ ระมาณ 30% ของพืน้ ทีท่ งั้ ต�ำบล และพื้นที่ค่อนข้างราบ อยู่ในระดับต�่ำกว่า 35 องศา มีเนือ้ ทีป่ ระมาณ 70% ของพืน้ ทีท่ งั้ ต�ำบล ส่วนใหญ่ใช้ในการท�ำนา ท�ำไร่ ท�ำสวนผลไม้ และการเกษตรอื่นๆ
ทรัพยากรธรรมชาติ - แหล่งน�้ำ ต�ำบลศรีสัชนาลัยมีแหล่งน�้ำที่ ส� ำ คั ญ จ� ำ นวน 2 แหล่ ง ได้ แ ก่ แม่ น�้ ำ ยม ไหลผ่านในแนวเหนือใต้เป็นแนวแบ่งเขตต�ำบล สระหนองช้ า ง อยู ่ ใ นหมู ่ ที่ 4 และหมู ่ ที่ 5 ส่วนที่ต�ำบลท่าชัยมีแหล่งน�้ำที่ส�ำคัญ 3 แหล่ง ได้แก่ แม่น�้ำยมไหลผ่านในแนวเหนือใต้เป็น แนวแบ่งเขตต�ำบล คลองหมอนสูง ไหลผ่าน หมู่ที่ 1, 2, 3, 4 และหมู่ที่ 5 คลองวังยายมาก ไหลผ่านหมู่ที่ 3, 4 ,6 และหมู่ที่ 9
ต.ศรีสัชนาลัย
146
.
- ป่าไม้ ในเขตเทศบาลเมืองศรีสัชนาลัย มี พื้ น ที่ บ างส่ ว นที่ เ ป็ น เขตป่ า สงวนแห่ ง ชาติ ของกรม ป่าไม้ แยกตามต�ำบลได้แก่ ต�ำบล ศรีสชั นาลัย หมู่ 3, 4, 5 และต�ำบลท่าชัย ได้แก่ หมู่ 8, 9 - ภูเขา ในเขตเทศบาลเมืองศรีสัชนาลัย พื้นที่สูงเชิงเขา มีความสูงมากกว่า 35 องศา เนื้ อ ที่ ป ระมาณ 30% ของพื้ น ที่ ทั้ ง ต� ำ บล ศรีสชั นาลัย ส่วนใหญ่เป็นเนือ้ ทีป่ า่ สงวนแห่งชาติ และเขตอุทยาน
ต.ท่าชัย
SBL บันทึกประเทศไทย I SUKHOTHAI
8
.indd 146
27/4/2561 15:36:38
คุณภาพของทรัพยากรธรรมชาติ ในเขตเทศบาลเมื อ งศรี สั ช นาลั ย มี ทรัพยากรธรรมชาติทอี่ ดุ มสมบูรณ์ เหมาะแก่การ ท� ำ การเกษตร และพื ช ที่ ส ร้ า งรายได้ ใ ห้ กั บ เกษตรกร ได้แก่ การปลูกอ้อย ท�ำนา ท�ำสวน เป็นต้น 2. ด้านการเมือง/การปกครอง เขตการปกครอง ชุมชนในเขตเทศบาล เมืองศรีสัชนาลัย มีทั้งหมด 19 ชุมชน ดังนี้ 1. ชุมชนวังวน 2. ชุมชนวงศ์ใหญ่ 3. ชุมชนเมืองเก่า 4.ชุมชนหนองช้าง 5. ชุมชนหัวบ้านไร่ 6. ชุมชนพระปรางค์ 7. ชุมชนป่ากล้วย 8. ชุมชนพระร่วง 9. ชุมชนวังยายมาก 10. ชุมชนท่าชัยพัฒนา 11. ชุมชนตาลแถว 12. ชุมชนหนองบัว 13. ชุมชนศาลาไก่ฟุบ 14. ชุมชนหมอนสูง 15. ชุมชนดงพริกแจว 16. ชุมชนชัยสิทธิ์ 17. ชุมชนท่าชัยใหม่ 18. ชุมชนหมอนสูงพัฒนา 19. ชุมชนป่ากล้วยสามัคคี
การเลือกตั้ง เทศบาลเมืองศรีสัชนาลัย แบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 3 เขต ดังนี้ เขตเลือกตั้งที่ 1 ได้แก่ หมู่ 1 ,หมู่ 2, หมู่ 3, หมู่ 7, หมู่ 8 และหมู่ 13 ต�ำบลท่าชัย เขตเลือกตัง้ ที่ 2 ได้แก่ หมู่ 4, หมู่ 5, หมู่ 6 , หมู่ 9, หมู่ 10 , หมู่ 11 และ หมู่ 12 ต�ำบลท่าชัย เขตเลือกตัง้ ที่ 3 ได้แก่ หมู่ 1, หมู่ 2, หมู่ 3, หมู่ 4, หมู่ 5 และ หมู่ 6 ต�ำบลศรีสัชนาลัย 3. ประชากร จ�ำนวนประชากรตามสถิติการทะเบียน ราษฎร ณ วันที่ 30 เดือนมีนาคม พ.ศ. 2561 มีจ�ำนวนประชากรรวม 15,386 คน มีจ�ำนวน ครัวเรือนทั้งหมด 5,622 ครัวเรือน 4. สภาพทางสังคม การศึกษา ในเขตเทศบาลเมืองศรีสชั นาลัย มีโรงเรียนสังกัดส�ำนักงานคณะกรรมการศึกษา ขัน้ พืน้ ฐานทัง้ สิน้ 7 โรงเรียน, โรงเรียนสังกัดเขต มัธยมศึกษา 1 โรงเรียน, โรงเรียนในสังกัด เทศบาล จ�ำนวน 3 โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็ก เล็กในเขตเทศบาลที่เทศบาลด�ำเนินการจัดตั้ง เอง จ�ำนวน 3 ศูนย์ และ กศน. จ�ำนวน 2 แห่ง
ได้ แ ก่ กศน. ต� ำ บลท่ า ชั ย , กศน. ต� ำ บล ศรีสัชนาลัย การสาธารณสุข มีโรงพยาบาลส่งเสริมสุข ภาพประจ�ำต�ำบล ให้บริการในเขตเทศบาลฯ จ�ำนวน 2 แห่ง คือ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ประจ�ำต�ำบลท่าชัย และโรงพยาบาลส่งเสริมสุข ภาพประจ�ำต�ำบลศรีสัชนาลัย การสั ง คมสงเคราะห์ เทศบาลเมื อ ง ศรี สั ช นาลั ย มี จ� ำ นวนประชากรที่ ไ ด้ รั บ เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ 2,884 คน และคนพิการ 654 คน 5. ระบบเศรษฐกิจ การเกษตร ประชากรส่วนใหญ่ประกอบ อาชี พ เกษตรกรรม มี พื้ น ที่ ท� ำ การเกษตร ทั้งหมด 53,632 ไร่ อยู่ในต�ำบลศรีสัชนาลัย จ�ำนวน 8,300 ไร่ ต�ำบลท่าชัย จ�ำนวน 45,332 พื ช ที่ เ พาะปลู ก ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น พื ช ล้ ม ลุ ก ปลู ก ตามฤดู ก าล เช่ น อ้ อ ย มั น ส� ำ ปะหลั ง ถั่วเขียวถั่วเหลือง และพืชผักสวนครัว การปศุ สั ต ว์ ประชาชนมี ก ารเลี้ ย งสั ต ว์ ได้แก่ เลี้ยงโคเนื้อ เพื่อจ�ำหน่ายให้กับพ่อค้าใน ท้องถิ่นและจ�ำหน่ายในตลาดนัดโค–กระบือ, เลี้ยงไก่/เป็ด เพื่อใช้เป็นอาหาร, เลี้ยงไก่ชน เพื่อจ�ำหน่าย และเกษตรกรที่มีบ่อเลี้ยงปลา จะใช้พนั ธุป์ ลาจากสถานีประมงหรือทีเ่ พาะขาย แต่จะเป็นการเลี้ยงเพื่อบริโภคเป็นหลัก การอุตสาหกรรม ในเขตเทศบาลมีโรงสีขา้ ว ขนาดใหญ่ 1 แห่ง และอู่ซ่อมรถยนต์จ�ำนวน 15 แห่ง การพาณิชย์และกลุม่ อาชีพ ในเขตเทศบาล มีร้านเงินลายโบราณ จ�ำนวน 8 ร้าน และร้าน ทองลายโบราณจ�ำนวน 12 ร้าน
SUKHOTHAI I SBL บันทึกประเทศไทย
.
8
.indd 147
147
27/4/2561 15:36:39
6. ศาสนา ประเพณี วัฒนธรรม ศาสนา ประชาการส่วนใหญ่นบั ถือศาสนา พุทธ โดยมีศาสนสถานทางศาสนา จ�ำนวน 10 แ ห ่ ง มี วั ด อ า ร า ม ห ล ว ง ชั้ น เ อ ก คื อ วั ด พระศรี รั ต นมหาธาตุ ร าชวรวิ ห าร (วัดพระปรางค์) ประเพณี แ ละงานประจ� ำ ปี ประเพณี ที่ ส� ำ คั ญ ของเทศบาลเมื อ งศรี สั ช นาลั ย คื อ การจัดงานย้อนอดีตศรีสัชนาลัย นุ่งผ้าไทย ใส่เงิน ทอง โบราณ โดยจะจัดกิจกรรมในเดือน ธันวาคมของทุกปี, การจัดกิจกรรมวันออก พรรษา ได้แก่ สืบสานฟื้นฟูการละเล่นพื้นบ้าน “การแข่งขันเรือบก” ณ วัดชัยสิทธิธาราม และ วัดเชิงคีร,ี การจัดงานเทโวโรหนะวัดเชิงคีร,ี การ จัดการแข่งขันเรือพาย ณ วัดตลิ่งชัน และวัด พระปรางค์ และประเพณี ส รงน�้ ำ โอยทาน สงกรานต์ศรีสัชนาลัย ซึ่งจะจัดงานในเดือน เมษายนของทุกปี 7. ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภาษาถิ่น ประชาชนในเขตเทศบาล มีผู้ที่มีความรู้ ทางทฤษฎีและเชี่ยวชาญด้านใดด้านหนึ่งโดย เฉพาะ และเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ได้รักษาไว้ สามารถน�ำไปประกอบอาชีพ สร้างรายได้ให้กบั ครอบครัว ได้แก่ ช่างท�ำเงิน ช่างท�ำทองลาย โบราณ ช่างจักสาน และกลุ่มอาชีพท�ำไข่เค็ม 8. สินค้าพื้นเมืองและของที่ระลึก สินค้าพื้นเมืองส�ำหรับนักท่องเที่ยว หรือ ประชาชน สามารถหาซือ้ เพือ่ เป็นของฝาก ของ ทีร่ ะลึก ได้แก่ เงิน-ทอง ลายโบราณ, กล้วยอบเนย, ผ้าพื้นเมืองศรีสัชนาลัย และเครื่องสังคโลก
อุทยานประวัติศาสตร์ศรีสัชนาลัย ( วัดช้างล้อม ) แหล่งท่องเที่ยวในเขต ทม.ศรีสัชนาลัย สถานที่ท่องเที่ยวในเขตเทศบาลเมือง ศรีสัชนาลัย แบ่งออกเป็น 4 ประเภท ได้แก่ 1. แหล่งท่องเที่ยวทางโบราณสถานใน เขตอุทยานประวัติศาสตร์ศรีสัชนาลัย 1.1 วัดช้างล้อม (ต.ศรีสัชนาลัย) 1.2 วัดเจดีย์เจ็ดแถว (ต.ศรีสัชนาลัย) 1.3 วัดนางพญา (ต.ศรีสัชนาลัย) 1.4 ศาลหลักเมือง หรือ วัดหลักเมือง (ต.ศรีสัชนาลัย) 1.5 วัดพระศรีรัตนมหาธาตุราชวรวิหาร (วัดพระปรางค์) (ต.ศรีสัชนาลัย) 1.6 แหล่งขุดค้นทางโบราณคดีวัดชมชื่น (ต.ศรีสัชนาลัย) 1.7 วัดเจ้าเจ้าจันทร์ (ต.ศรีสัชนาลัย) 1.8 บ่อตัดศิลาแลง (ใกล้สนาม Bmx และ ข้างสระหนองช้าง) (ต.ศรีสัชนาลัย)
1.9 วัดเขาพนมเพลิง (ต.ศรีสัชนาลัย) 1.10 แก่งหลวง (ต.ศรีสัชนาลัย) 1.11 วัดโคกสิงคาราม (ต.ศรีสัชนาลัย)
พระบรมราชานุสาวรีย์พระยาลิไท
วัดพระศรีรัตนมหาธาตุราชวรวิหาร(วัดพระปรางค์) 148
.
SBL บันทึกประเทศไทย I SUKHOTHAI
8
.indd 148
27/4/2561 15:36:44
2. แหล่งท่องเทีย่ วส�ำคัญทีอ่ ยูน่ อกเขตอุทยาน ประวัติศาสตร์ศรีสัชนาลัย 2.1 วัดเชิงคีรี หรือ วัดตีนเขา (พระพุทธ รูปเก่าแก่ 700 ปี จุดชมวิวยอดเขา และรอย พระพุทธบาทจ�ำลอง) 2.2 วัดตลิ่งชัน (พระพุทธมงคลสัมฤทธิ์ ภาพจิตรกรรมฝาผนังสมัยรัชกาลที่ 5 แหล่ง อนุรักษ์ประเพณีแห่กฐินทางน�้ำ หรือแห่เรือ สังเค็ด) 2.3 วัดสิริเขตคีรี หรือ วัดนาร้อง 2.4 ใบเสมารั ช กาลที่ 6 (ห้ า แยก พระปรางค์) 2.5 พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ชุ ม ชนศรี สั ช นาลั ย (ต.ศรีสัชนาลัย) 2.6 ศาลาแดง (ศาลาริมทางที่ รัชกาลที่ 6 เคยมาพักประทับระหว่างการเดินทาง ตาม ที่ ร ะบุ ไ ว้ ใ นหนั ง สื อ เที่ ย วเมื อ งพระร่ ว ง) (ต.ศรีสัชนาลัย) 2.7 ศาลเจ้าจีน (ต.ศรีสัชนาลัย) 2.8 สะพานแขวนศรีประเสริฐ / สะพาน แขวนวัดพระปรางค์ (เชื่อมต่อ 2 ต�ำบล) 2.9 สะพานคอนกรีตเสริมเหล็ก (สะพาน หยก) (เชื่อมต่อ 2 ต�ำบล) 2.10 พระบรมราชานุสาวรีย์พระมหา ธรรมราชาที่ 1 (พระยาลิไท)
พระพุทธมงคลสัมฤทธิ์
ภาพจิตรกรรมฝาผนัง
หลวงพ่อโตวัดเชิงคีรี SUKHOTHAI I SBL บันทึกประเทศไทย
.
8
.indd 149
149
27/4/2561 15:36:51
3. แหล่งท่องเทีย่ วภูมปิ ญ ั ญา / วิถชี วี ติ ชุมชน (แหล่งเดิม และแหล่งใหม่) 3.1 ภูมิปัญญาบายศรี (ต.ศรีสัชนาลัย) 3.2 ภูมิปัญญาแกะสลักกระจก / สกัด กระจก (ต.ศรีสัชนาลัย) 3.3 บ้านไอติมตัด (ต.ศรีสัชนาลัย) 3.4 บ้ า นภู มิ ป ั ญ ญาประดิ ษ ฐ์ เ ครื่ อ ง ประดับนาฏศิลป์ (ต.ศรีสัชนาลัย) 3.5 บ้านภูมปิ ญ ั ญาฟัน่ เทียน (ช่างสิบหมู)่ (ต.ศรีสัชนาลัย) 3.6 บ้านภูมิปัญญากระยาสารท (ต.ศรีสัชนาลัย) 3.7 บ้านภูมิปัญญาท�ำพระ (ต.ศรีสัชนาลัย) 3.8 เรือนริมน�ำ ้ (เก่าแก่อายุประมาณ 100 ปี และสถานีต�ำรวจเก่า) 3.9 บ้านแกะสลักสบู่ (ต.ศรีสัชนาลัย) 3.10 บ้านศิลปะศิลาแลง (ศิลปินพื้นถิ่น) (ต.ศรีสัชนาลัย) - กลุ่มจักสานไม้ไผ่ การหล่อพระ
แกะสลักสบู่
4. แหล่งท่องเที่ยวเกี่ยวกับกิจกรรมด้านการกีฬาและการท่องเที่ยวในพื้นที่ 4.1 สนาม Bmx ศรีสัชนาลัย (ต�ำบลศรีสัชนาลัย) ใช้จัดงานแข่งขันจักรยาน Bmx ชิงแชมป์ ประเทศไทย 4.2 ตลาดโบราณใครใคร่ค้าค้า จัดทุกวันศุกร์ วันเสาร์ สัปดาห์สุดท้ายของแต่ละเดือน ณ วัดพระศรีรัตนมหาธาตุราชวรวิหาร (วัดพระปรางค์) 150
.
การลงยาเงิน-ทอง ลายโบราณ
SBL บันทึกประเทศไทย I SUKHOTHAI
8
.indd 150
27/4/2561 15:36:57
ผลงานที่ภาคภูมิใจของ ทม.ศรีสัชนาลัย จากการศึกษา และวิเคราะห์ จุดอ่อน จุ ด แข็ ง ต้ น ทุ น ด้ า นการท่ อ งเที่ ย วในพื้ น ที่ ศรีสัชนาลัย เป็นพื้นที่มี จุดแข็ง ส�ำคัญและ หลากหลาย ประกอบด้วย อุทยานประวัติ ศรีสชั นาลัย พระบรมราชานุสาวรียพ์ ระยาลิไท ความสวยงามของพืน้ ที่ วิถชี วี ติ เรียบง่ายริมสอง ฝัง่ แม่นำ�้ ยม ทีย่ งั มีความเป็นธรรมชาติแบบเดิม ไม่ถกู กระแสโลกาวิภตั น์ครอบง�ำ สินค้าโอท็อป เช่น เงินทองลายโบราณ ผ้าทอ สังคโลก ต้นทุน ด้านการท่องเที่ยว ที่มีอยู่มากมายนี้เอง จะน�ำ รายได้เข้าสู่ท้องถิ่น สร้างชื่อเสียง สร้างอาชีพ ประกอบกับพืน้ ทีศ่ รีสชั นาลัย ได้รบั การส่งเสริม และประกาศ ให้ เ ป็ น พื้ น ที่ พิ เ ศษเพื่ อ การ ท่องเทีย่ วเชิงอนุรกั ษ์และวัฒนธรรม การดึงดูด ให้มนี กั ท่องเทีย่ วเดินทางมาศรีสชั นาลัยมากขึน้ จึงก�ำหนดในเรื่องของการกีฬามาเป็นปัจจัย ส�ำคัญ เพราะจะส่งผลกระทบในระดับมหภาค ทั้งในเรื่องของเศรษฐกิจ สังคม
จากแนวคิ ด เริ่ ม ต้ น เล็ ก ๆ คื อ การน� ำ ยุทธศาสตร์ด้านการกีฬา เข้ามามีบทบาทใน การส่ ง เสริ ม การท่ อ งเที่ ย วของศรี สั ช นาลั ย นายวิ เชี ย ร พรมพิ ร าม นายกเทศมนตรี เมืองศรีสัชนาลัย จึงเข้าไปมีส่วนร่วมในการ จัดการแข่งขันกีฬาระดับจังหวัด และผลักดัน ให้เกิดการแข่งขันกีฬาระดับภาคในพื้นที่ ดังนี้ สุโขทัยเกมส์ : กีฬาเยาวชนแห่งชาติ ครั้ง ที่ 20 ระหว่างวันที่ 20 – 31 มีนาคม 2547 ร่วมจัดการแข่งขันสุโขทัยเกมส์ โดยศรีสชั นาลัย เป็ น พื้ น ที่ ที่ ร องรั บ การจั ด แข่ ง ขั น ประเภท จักรยาน การจัดการแข่งขันกีฬาแห่งชาติ ภาค 5 ครั้งที่ 39 “รุ่งอรุณเกมส์” จัดการแข่งขัน ระหว่างวันที่ 16-25 สิงหาคม 2553 มีทัพ นักกีฬาจากภาคเหนือ 15 จังหวัด เข้าร่วมการ แข่งขัน ณ สนามกีฬาสถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตสุโขทัย โดยศรีสัชนาลัยเป็นพื้นที่ ที่รองรับการแข่งขันกีฬาประเภทจักรยาน
ภายในพิพิธภัณฑ์ชุมชนศรีสัชนาลัย
จากการด�ำเนินการข้างต้น ศรีสชั นาลัยได้ รับค�ำชื่นชมในเรื่องประสิทธิภาพของทีมงาน สนามแข่งขันทีม่ คี วามสมบูรณ์และได้มาตรฐาน ซึ่งศักยภาพและความพร้อมต่างๆ สามารถ รองรับการจัดแข่งขันจักรยานในระดับประเทศได้ นายกเทศมนตรีเมืองศรีสัชนาลัย จึงประสาน กั บ สมาคมจั ก รยานแห่ ง ประเทศไทยใน พระบรมราชูปถัมภ์ เพือ่ เป็นเจ้าภาพจัดแข่งขัน จั ก รยานระดั บ ประเทศ ในปี พ.ศ. 2554 การพิจารณาองค์ประกอบต่างๆ ทัง้ ด้านความพร้อม และศั ก ยภาพของพื้ น ที่ สมาคมจั ก รยานฯ ตอบรับและให้เกียรติศรีสชั นาลัย เป็นเจ้าภาพ จัดการแข่งขัน ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2554 ต่อเนื่องมา จนถึงปัจจุบัน ผลของการน�ำกีฬามาเป็นยุทธศาสตร์ ส�ำคัญในการพัฒนาท้องถิน่ สามารถช่วยในการ ดึ ง ดู ด นั ก กี ฬ าจากทั่ ว ประเทศให้ ม าเยื อ น ศรี สั ช นาลั ย การจั ด แข่ ง ขั น กี ฬ าแต่ ล ะครั้ ง มีจ�ำนวนนักกีฬาและครอบครัว นักท่องเที่ยว สื่อมวลชน เดินทางเข้าพื้นที่ ไม่ต�่ำกว่าครั้งละ 1,000 คน นอกเหนื อ จากผลสั ม ฤทธิ์ ต าม เป้าหมายในเรือ่ งการส่งเสริมการกีฬา ยังท�ำให้ เกิดการกระตุ้นเศรษฐกิจชุมชน การเลือกซื้อ สินค้าอุปโภค บริโภค เลือกซือ้ อาหาร ของฝาก ของที่ระลึก การพักโฮมสเตย์ โรงแรมภายใน พื้นที่ สร้างรายได้ให้แก่คนในท้องถิ่น การ กระจายรายได้ ไม่เพียงเกิดขึ้นเฉพาะในพื้นที่ ยังเกิดการกระจายรายได้กบั พืน้ ทีใ่ กล้เคียง เช่น ต�ำบลหาดเสีย้ ว, อ�ำเภอสวรรคโลก และอ�ำเภอ เมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ อีกด้วย รวมถึงเป็นการ ประชาสั ม พั น ธ์ ศ รี สั ช นาลั ย ให้ รู ้ จั ก ไป ทั่วประเทศ ภายหลังจากได้รับเกียรติให้เป็นเจ้าภาพ จัดการแข่งขันจักรยานระดับประเทศ ร่วมกับ สมาคมจักรยานแห่งประเทศไทย ในพระบรม ราชู ป ถั ม ภ์ ซึ่ ง น้ อ ยพื้ น ที่ ที่ ส ามารถจั ด การ แข่งขันได้ ต้องเป็นพืน้ ทีท่ ี่ มีความพร้อมในเรือ่ ง ของสถานที่ ศักยภาพ ประสิทธิภาพ ยาวนาน ต่ อ เนื่ อ งกั น มากกว่ า 4 ปี จนกระทั่ ง ในปี พ.ศ. 2557 นายกเทศมนตรีเมืองศรีสัชนาลัย ได้พิจารณาพบว่า เยาวชนศรีสัชนาลัยสนใจ และรั ก กี ฬ า การจั ด แข่ ง ขั น กี ฬ าจั ก รยาน SUKHOTHAI I SBL บันทึกประเทศไทย
.
8
.indd 151
151
27/4/2561 15:37:01
ทั้ ง ประเภททางเรี ย บ เสื อ ภู เขา ดาวน์ ฮิ ล มีเยาวชนของศรีสชั นาลัย ติดตามชม เชียร์ และ ให้ก�ำลังใจ นักกีฬาติดขอบสนามทุกครั้ง และ ยิ่งเพิ่มจ�ำนวนมากขึ้นเรื่อยๆ นายกเทศมนตรีได้มีการประเมินความ เป็นไปได้ ในเรื่องของการส่งเสริมเยาวชนใน พื้ น ที่ ที่ รั ก กี ฬ าจั ก รยาน พบว่ า ...มี จ� ำ นวน ไม่นอ้ ยในพืน้ ที่ ทีพ่ ร้อมจะใช้เวลาว่างทีม่ ใี ห้เกิด ประโยชน์ ห่างไกลจากยาเสพติด พร้อมที่จะ ฝึกทักษะในเรื่องจักรยานอย่างถูกต้องและ ถูกวิธี น�ำมาซึ่งการจัดสร้าง สนาม BMX ขึ้นใน เดื อ นกรกฎาคม 2557 ที่ บ ริ เ วณลาน พระบรมราชานุสาวรียพ์ ระมหาธรรมราชาที่ 1 (พระยาลิไทย) เป็นสนามที่ได้รับความร่วมมือ จากสมาคมจั ก รยานแห่ ง ประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ส่งผูค้ วบคุมการก่อสร้าง คือ โค้ชฮาวี่เครฟ และแมรี่ เดินทางมาควบคุม การก่อสร้างให้ได้มาตรฐานระดับสากล เหตุผล ของการสร้างสนาม คือ ท�ำอย่างไรให้เยาวชน ที่รักจักรยาน ได้ใช้เวลาว่างในการฝึกซ้อม ใช้ เวลาว่ างให้ เ กิ ดประโยชน์ และค�ำนึงความ ปลอดภัยในการฝึกซ้อมในสนามปิด เพราะมี ความปลอดภัยสูงกว่า การปัน่ จักรยานประเภท อื่นๆ สนาม BMX ที่ศรีสัชนาลัย สร้างเสร็จ พร้อมเริม่ ใช้งานครัง้ แรกใน วันที่ 27 กรกฎาคม 2 5 5 7 โ ดย ใช ้ ชื่ อ ว ่ า “ ส น า ม B M X เฉลิมพระเกียรติ” เป็นสนามทีม่ คี วามยาว 370 เมตร และได้มาตรฐานระดับสากล จัดการ แข่งขันครั้งแรก คือ การแข่งขันจักรยานชิง แชมป์ประเทศไทย ชิงถ้วยพระราชทาน ประจ�ำ ปี 2557 สนามที่ 4, และการแข่งขันระดับโลก ทีส่ มาคมจักรยานแห่งประเทศไทยฯ ก�ำหนดใช้ พืน้ ทีจ่ ดั การแข่งขันทีส่ นาม BMX ทีศ่ รีสชั นาลัย ภายใต้ชื่อว่า “การแข่งขัน BMX Thailand Open 2014” สนามแห่งนี้ ยังเป็นสถานทีเ่ ก็บ ตัวฝึกซ้อมของนักกีฬาทีมชาติ เช่น อะแมนด้า คาร์ และนางสาวดวงกมล ทองมี ก่อนเดินทาง ไปแข่งขันกีฬาเอเชียนเกมส์ ที่เมืองอินซ็อน ประเทศเกาหลีใต้ ผลการแข่งขันนักกีฬาทีม ชาติไทย อะแมนด้าคาร์ ได้รับเหรียญทองมา ฝากคนไทยทั้งประเทศ กิจกรรมในพื้นที่ ในการส่งเสริมเยาวชน 152
.
จุดชมวิวบริเวณวัดเชิงคีรี ที่ชื่นชอบกีฬาจักรยาน BMX โดยจัดกิจกรรม มินิเรสซิ่งประจ�ำ เดือน : (ปีละ 12 ครั้ง) ทุกวัน เสาร์สัปดาห์ต้นเดือน เพื่อให้น้องๆ มาร่วม แข่งขันเก็บคะแนนสะสมประจ�ำเดือน เพือ่ เป็น ขวัญและก�ำลังใจในการฝึกซ้อมของเยาวชน ก่ อ นมี ก ารจั ด ตั้ ง ที ม ที่ ชั ด เจน เมื่ อ มี จุ ด แข็ ง คือ สนาม BMX ที่ได้มาตรฐานเป็นสถานที่ฝึก ซ้อมให้แก่เยาวชน การด�ำเนินการด้านอื่นๆ จึงเริ่มขึ้น นับจากนั้นเป็นต้นมา ทั้งนี้การฝึกเยาวชนให้มีทักษะในการปั่น BMX จ�ำเป็นต้องมีผฝู้ กึ สอน (โค้ช) ทีด่ ี เทศบาล เมืองศรีสชั นาลัยจึงส่งเจ้าหน้าทีเ่ ทศบาลไปเข้า ร่วมอบรมกับสมาคมจักรยานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ จ�ำนวน 2 คน เพือ่ จะน�ำ ความรู้กลับมาฝึกสอนเยาวชน ระยะเวลาการ อบรม ระหว่างวันที่ 16-23 พฤศจิกายน 2557 จากนั้นได้มีการตั้งทีม Sisatchanalai BMX Racing โดยเปิดรับเยาวชนที่สนใจและรักการ ปัน่ เข้าร่วมทีม ปัจจุบนั มีสมาชิกไม่นอ้ ยกว่า 25 คน การสนับสนุนอุปกรณ์ เช่น ขอรับการ สนับสนุนจักรยานจากสมาคมจักรยานแห่ง ประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ จ�ำนวน 10 คัน พร้อมทั้งมีการฝึกซ้อมอย่างต่อเนื่อง ดูแล ทั้งในเรื่องการซ้อม เรื่องของสุขภาพแบบครบ ทุกมิติ
SBL บันทึกประเทศไทย I SUKHOTHAI
8
.indd 152
27/4/2561 15:37:06
ระยะเวลาตัง้ แต่เดือนพฤศจิกายน 2557– กุมภาพันธ์ 2558 ทีเ่ ยาวชนฝึกซ้อมอย่างจริงจัง จนถึงวันที่ทีม Sisatchanalai BMX Racing ได้ลงแข่งขันสนามแรก คือ เมือ่ วันอาทิตย์ที่ 22 กุมภาพันธ์ 2558 ณ สนาม BMX จังหวัดพะเยา เป็ น การแข่ ง ขั น ที่ มี ผู ้ เข้ า ร่ ว มแข่ ง ขั น จาก ทั่วประเทศ ชื่อว่า “การแข่งขันจักรยาน BMX ชิงแชมป์ประเทศไทย ชิงถ้วยพระราชทาน สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุ มารีฯ สนามที่ 1” ผลการแข่งขันสนามแรกทีม Sisatchanalai BMX Racing ได้รับรางวัล เหรียญทอง 2 เหรียญ และเหรียญทองแดง 2 เหรียญ สร้างความภาคภูมิใจ และความ ปลาบปลื้มให้กับศรีสัชนาลัยอย่างมาก และในปี 2561 สมาคมจักรยานแห่ง ประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ร่วมกับ เทศบาลเมืองศรีสชั นาลัย จัดให้มี “การแข่งขัน BMX ชิ ง แชมป์ ป ระเทศไทย ชิ ง ถ้ ว ย พระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
สยามบรมราชกุมารี สนามที่ 2” ระหว่าง วันที่ 24-25 กุมภาพันธ์ 2561 ณ สนามบีเอ็ม เอ็ ก ซ์ เ ฉลิ ม พระเกี ย รติ ศ รี สั ช นาลั ย อ� ำ เภอ ศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย ประโยชน์ในระดับจุลภาค เกิดความรัก ความผูกพันในครอบครัว การสร้างสัมพันธไมตรีอันดีระหว่างผู้ปกครอง ของแต่ ล ะครอบครั ว ที่ พ าบุ ต รหลานมา ฝึ ก ซ้ อ ม, เยาวชนรู ้ จั ก ใช้ เวลาว่ า งให้ เ กิ ด ประโยชน์ ห่างไกลจากยาเสพติด และเป็น ตัวอย่างที่ดีให้กับคนอื่นในชุมชน, เทศบาลฯ และชุมชน มีกิจกรรมร่วมกัน มีความสามัคคี มากขึ้ น จากการเดิ น ทางไปร่ ว มเชี ย ร์ ก าร แข่ ง ขั น จั ก รยาน BMX ในสนามต่ า งๆ ทั่วประเทศ ความร่วมมือเล็กๆ นี้เอง จะเป็น รากฐานส�ำคัญของชุมชนที่จะขับเคลื่อนไปสู่ การพัฒนาระดับมหภาคต่อไป ประโยชน์ระดับมหภาค การกีฬา ท�ำให้เกิดความร่วมมือจากภาค
ส่วนต่างๆ (ภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ ภาคเอกชน) ใน การสนับสนุนชมรม SBR, การสร้างชื่อเสียงให้ กับศรีสัชนาลัย ในฐานะพื้นที่ที่มีสนาม BMX ทีไ่ ด้มาตรฐาน พืน้ ทีศ่ รีสชั นาลัยได้รบั เกียรติให้ เป็นเจ้าภาพการแข่งขันระดับประเทศ ซึง่ แสดง ถึงความพร้อม ศักยภาพด้านต่างๆ รวมถึง ชือ่ เสียงของศรีสชั นาลัย จากการมีเยาวชนทีร่ กั การปั่นจักรยาน BMX ฝึกซ้อมอย่างจริงจัง จนมี ค วามสามารถคว้ า ชั ย ชนะในทุ ก สนาม ทีล่ งแข่ง การประชาสัมพันธ์ให้ศรีสชั นาลัยเป็น ที่รู้จัก ในระดับประเทศและนานาชาติต่อไป จากเหตุ ป ั จ จั ย ข้ า งต้ น นายวิ เ ชี ย ร พรมพิราม นายกเทศมนตรีเมืองศรีสัชนาลัย จึงถือเป็น นายกฯ นักพัฒนา ที่ไม่เพียงแต่ มุ่งเน้นการพัฒนาภายใต้กรอบการบริหารงาน แบบเดิม การคิดต่าง คิดนอกกรอบ และสร้าง กระบวนการพัฒนาในระดับมหภาค ซึ่งจะ ส่งผลให้เกิดการพัฒนาด้านอื่นๆ ตามมา
พระธรรมจักรและพระพุทธเรืองฤทธิ์ (วัดพระศรีรัตนมหาธาตุราชวรวิหาร) SUKHOTHAI I SBL บันทึกประเทศไทย
.
8
.indd 153
153
27/4/2561 15:37:08
W O R K LI F E
บันทึกเส้นทางพบเทศบาลต�ำบล
เทศบาลต�ำบลหาดเสี้ยว “หนึ่งเดียวในสยาม ระบือนามผ้าตีนจก มรดกงานแห่ช้าง สืบต�ำนานงานก�ำฟ้า ดูตื่นตางานบุญบั้งไฟ ประทับใจสังขานต์ผู้เฒ่า แต่ก่อนเก่ากฐินทางน�้ำ เลื่องลือนามประเพณีชาวไทยพวน” คือค�ำขวัญของเทศบาลต�ำบลหาดเสี้ยว
ข้อมูลทั่วไป เทศบาลต�ำบลหาดเสีย้ ว มีพนื้ ทีป่ ระมาณ 44 ตารางกิ โ ลเมตร มี เขตการปกครอง 7 ชุมชน ประชากรรวมทั้งสิ้น 6,892 คน เป็น ชาย 3,247 คนหญิ ง 3,645 คน จ� ำ นวน ครัวเรือน 3,420 ครัวเรือนประชาชนส่วนใหญ่ เป็ น ชาวไทยพวน ที่ ม าจากประเทศลาว ในสมั ย รั ช กาลที่ 3 แห่ ง กรุ ง รั ต นโกสิ น ทร์ ชาวไทยพวนบ้ า นหาดเสี้ ย วส่ ว นใหญ่ นับถือศาสนาพุทธ มีภาษาท้องถิ่นเป็นของ ตนเองคื อ ภาษาพวน ประเพณีวัฒ นธรรม ได้ แ ก่ แห่ ช ้ า งบวชนาค ประเพณี ก� ำ ฟ้ า สังขานต์ผเู้ ฒ่า กฐินทางน�ำ ้ บุญบัง้ ไฟ สลากภัตร เทศน์มหาชาติ “หาดเสีย้ วเมืองน่าอยู่ ควบคูก่ ารศึกษา พัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อม เพียบพร้อม ประเพณีวัฒนธรรม น้อมน�ำธรรมาภิบาล บนพื้นฐานเศรษฐกิจพอเพียง” คือวิสัยทัศน์ในการพัฒนาที่ว่า เทศบาล ต�ำบลหาดเสีย้ ว พัฒนาไปสูค่ วามเป็นเมืองน่าอยู่ เ พี ย บ พ ร ้ อ ม ด ้ ว ย ป ร ะ เ พ ณี วั ฒ น ธ ร ร ม ครอบครัวมีความอบอุ่นและสงบสุข ชุมชนมี ความเข้ ม แข็ ง ด้ ว ยการบริ ห ารจั ด การที่ ดี โดยความร่ ว มมื อ จากทุ ก ภาคส่ ว น โดย ยึ ด แนวทางเศรษฐกิ จ พอเพี ย งเป็ น หลั ก ในการพัฒนาอย่างยั่งยืน เทศบาลต� ำ บลหาดเสี้ ย วตั้ ง อยู ่ ใ นตั ว อ�ำเภอศรีสัชนาลัย ห่างจากตัวเมืองจังหวัด สุโขทัย ประมาณ 68 กิโลเมตรตามเส้นทาง ถนนหลวงหมายเลข 101 (สุ โ ขทั ย ศรีสัชนาลัย) ปัจจุบันมี นางรุ่งอรุณ ค�ำโมง ด�ำรงต�ำแหน่งนายกเทศมนตรีตำ� บลหาดเสี้ยว และมี น ายเกรี ย งศั ก ดิ์ ทองแซม เป็ น ปลั ด เทศบาลต�ำบลหาดเสี้ยว 154
.
2
นางรุ่งอรุณ ค�ำโมง
นายกเทศมนตรีต�ำบลหาดเสี้ยว
รางวั ล แห่ ง ความภาคภู มิ ใ จ นายเกรียงศักดิ์ ทองแซม ปลัดเทศบาลต�ำบลหาดเสี้ยว
ได้รับโล่รางวัลเกียรติคุณสตรีดีเด่น เนื่องใน วันสตรีสากล ปี 2561 ด้านการบริหารงานปกครอง ท้องถิ่น (ประเภทเทศบาลต�ำบล)
SBL บันทึกประเทศไทย I SUKHOTHAI
.indd 154
30/4/2561 17:10:03
กิจกรรม ประเพณีแห่ช้างบวชนาคของชาวไทย พวนบ้านหาดเสี้ยว จัดในวันที่ 7-8 เมษายน ของทุกปี เป็นประเพณีงานบุญของชาวไทย พวนอันยิ่งใหญ่ที่เชื่อกันได้ว่ากุศลมาก คืองาน บรรพชาและอุปสมบทที่พ่อแม่พี่น้อง ญาติ จัดงานบวชให้ลูกหลานโดยแห่นาคบวชด้วย ขบวนช้างอย่างสวยงามและผู้บวชจะได้รับ การแต่งกายด้วยเครื่องนุ่งห่มที่มีสีสันต่างๆ จัดเป็นขบวนแห่นาครอบๆ หมู่บ้าน
มรดกล�้ำค่าสินค้าขึ้นชื่อ ผ้าทอและผ้าตีนจกไทยพวนบ้านหาดเสี้ยว เป็นภูมิปัญญาของชาวไทยพวนที่สืบทอดกันมา ผ้าทอไทยพวนนั้นมี 2 ประเภทคือ ผ้าทอ เพื่อใช้สอยในชีวิตประจ�ำวัน ผ้าประเภทนี้จะไม่เน้นความประณีตสวยงามนัก แต่จะเน้นความ แน่นความหนาของเนื้อผ้าเพื่อให้คงทนให้ใช้ได้นานวัน เช่น ผ้าซิ่นลายต่างๆ ผ้าขาวม้า ผ้าห่ม ผ้านวม ผ้าพื้นย้อมคราม ผ้าท�ำถุงย่าม เป็นต้น ผ้าทออีกประเภทหนึ่งนั้นทออย่างประณีตงดงาม เพื่อใช้ในโอกาสพิเศษหรือโอกาสส�ำคัญ ผ้าทอประเภทนีไ้ ด้แก่ “ผ้าตีนจก” ซึง่ สร้างชือ่ เสียงและสร้างเกียรติภมู ใิ ห้ชาวไทยพวนบ้านหาดเสีย้ ว เป็นอย่างยิ่ง นักท่องเที่ยวสามารถมาเลือกซื้อได้ที่ร้านจ�ำหน่ายผ้าพื้นเมืองหลายๆ ร้านในพื้นที่ เทศบาลต�ำบลหาดเสี้ยว เพื่อส่งเสริมสนับสนุนผลิตภัณฑ์ของชุมชน และเพิ่มมูลค่าทางด้าน เศรษฐกิจ
ประเพณีงานก�ำฟ้า จะจัดในราวเดือน 3 ขึ้น 3 ค�่ำของทุกปี เป็นประเพณีดั้งเดิมของ ชาวไทยพวนที่คนโบราณก�ำหนดให้มีการพัก ผ่อนหลังจากการคร�่ำเคร่งงานมาเป็นแรมปี และจั ด ให้ มี ก ารท� ำ บุ ญ กุ ศ ลเพื่ อ ให้ เ กิ ด ศิริมงคลแก่ตนเองและครอบครัว พร้อมทั้ง อุทศิ ส่วนกุศลให้กบั บรรพบุรษุ จะมีการละเล่น พื้ น บ้ า น เช่ น หม่ า อื้ อ นางกวั ก นางด้ ง หม่าเตย ลิงลม เป็นต้น
ติดต่อสอบถามได้ที่ www.hadsiew.com หรือ Facebook: เทศบาลต�ำบลหาดเสี้ยว อ.ศรีสัชนาลัย จ.สุโขทัย โทรศัพท์ 055-67112 SUKHOTHAI I SBL บันทึกประเทศไทย
.
2
.indd 155
155
30/4/2561 17:10:18
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดเชิงคีรี ที่ตั้งวัดอยู่หมู่ที่ 3 ต�ำบลศรีสัชนาลัย อ�ำเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย วั ด เชิ ง คี รี หรื อ วั ด ตี น เขา เป็ น วั ด ที่มีความเก่าแก่กว่า 700 ปี โดยมีหลักฐาน ทางโบราณสถานที่ ห ลงเหลื อ อยู ่ ม าจนถึ ง ปัจจุบัน ดังนี้ โบสถ์ สร้างขึ้นด้วยอิฐและศิลาแลง ปั จ จุ บั น ยั ง คงเค้ า โครงเดิ ม แต่ ด ้ า นหน้ า ได้ บูรณะขึ้นใหม่ ในอดีตโบสถ์นี้ใช้เป็นที่ถือน�้ำ พระพิพัฒน์สัตยาของเจ้าเมืองสวรรคโลก 156
SBL บันทึกประเทศไทย I SUKHOTHAI
.indd 156
10/05/61 10:20:23 AM
หลวงพ่อโต เป็นพระพุทธรูปสัมฤทธิ์ ประดิ ษ ฐานในโบสถ์ ขนาดหน้ า ตั ก กว้ า ง 100 นิว้ สูง 138 นิว้ นับเป็นพระพุทธรูปสัมฤทธิ์ ที่มีหน้าตักกว้างที่สุดในจังหวัดสุโขทัย พระพุ ท ธรู ป สั ม ฤทธิ์ 2 รู ป ซึ่ ง มี นามตามที่ชาวบ้านเรียกว่า พระปลัดซ้ายและ พระปลัดขวา รอยพระพุทธบาทสมัยสุโขทัย ท�ำด้วย หินชนวน สร้างขึน้ โดยพระมหาธรรมราชาลิไท กษั ต ริ ย ์ แ ห่ ง ราชวงศ์ พ ระร่ ว ง แต่ เ ดิ ม รอย พระพุ ท ธบาทนี้ ป ระดิ ษ ฐานในมณฑปไม้ ที่ เนินเขาด้านหลังวัด ปัจจุบันประดิษฐานใน อาคารจัตุรมุขที่สร้างขึ้นใหม่ตั้งอยู่ด้านหน้า โบสถ์หลวงพ่อโต พระพุทธบาทแลบ หรือที่ชาวบ้าน เรียกกันว่า “พระตีนแลบ” เป็นพระพุทธรูป ปางสมาธิ ที่มีเท้าแลบยื่นออกมาผิดปกติกว่า พระพุทธรูปโดยทั่วไปประดิษฐานอยู่ที่มณฑป ด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือของโบสถ์หลวงพ่อโต และในมณฑปนี้ยังมี พระพุทธรูปสัมฤทธิ์สมัย สุโขทัย อีกหลายองค์ เป็นหลวงพ่อนิรนาม ที่ ไ ม่ มี ใ ครทราบประวั ติ ค วามเป็ น มา แต่ ได้ประดิษฐานอยู่ที่วัดนี้นานแล้ว
ร่วมสร้างเส้นทางบุญ ผู้มีจิตศรัทธา สามารถติดต่อเพื่อ ร่วมสร้างเส้นทางบุญ กับวัดเชิงคีรี เบอร์โทร 092-486-4841 เลขบัญชี 020-0-2924905-9
SUKHOTHAI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 157
157
10/05/61 10:20:37 AM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดท่าทอง วั ด ท่ า ทอง ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 80 หมู ่ ที่ 2 ต� ำ บลเมื อ งบางยม อ� ำ เภอสวรรคโลก จั ง หวั ด สุ โ ขทั ย สั ง กั ด คณะสงฆ์ ม หานิ ก าย ปัจจุบนั พระครูวรดิตถ์ประภาส เป็นเจ้าอาวาส
อาคารเสนาสนะและพระพุทธรูปส�ำคัญ หลวงพ่อชินสิห์ รอยพระพุทธบาท สมเด็จองค์ปฐม อุโบสถ วัดท่าทอง (สถาปัตยกรรม ทรงเก๋งจีน) ไม่มีช่อฟ้า ไม่มีใบระกา 158
ประวัติวัดท่าทอง วัดท่าทอง สร้างขึ้นเป็นวัดประมาณ ปีพ.ศ. 2420 มีนามตามชื่อบ้าน โดยมีหลวงบริบูรณ์ (นายแขก) และนางอั้ว ได้มาท�ำการก่อสร้าง เสนาสนะเป็นคนแรก จากนั้นชาวบ้านจึงได้ ร่วมใจกันบูรณะพัฒนาเป็นล�ำดับมา ได้รับ พระราชทานวิสุงคามสีมาวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ.2451 ได้ผูกพัทธสีมาในปี พ.ศ. 2460 วัดท่าทอง มีที่ดินตั้งวัด 24 ไร่ 1 งาน 40 ตารางวา โดยมีโฉนดเลขที่ 11607 เป็นหลักฐาน พื้นที่ตั้งวัด เป็นที่ราบสูงอยู่ริมแม่น�้ำยมทาง
ฝั่งตะวันออก มีถนนสายสุโขทัย-สวรรคโลก เป็นทางคมนาคมติดต่อสะดวก
ความส�ำคัญของวัดท่าทอง วั ด ท่ า ทอง ได้ เ ปิ ด สอนพระปริ ยั ติ ธ รรม ตั้งแต่ ปีพ.ศ. 2492 มีโรงเรียนประถมศึกษา ของทางราชการตั้งอยู่ในที่วัดนี้ด้วย ซึ่งทางวัด ได้ ใ ห้ ก ารอนุ เ คราะห์ ด ้ ว ยดี ต ลอดมา และ ยังเป็นศูนย์พระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ (ศพอ. วัดท่าทอง)
SBL บันทึกประเทศไทย I SUKHOTHAI
.indd 158
27/04/61 11:36:40 AM
ผลงานส�ำคัญของวัดท่าทอง ปี พ.ศ.4548 เปิดศูนย์พระพุทธศาสนาวัดอาทิตย์ ส�ำนักเรียน วัดท่าทอง ปี พ.ศ.2550 ได้รับคัดเลือกให้เป็นวัดอุทยานการศึกษาในวัด จากส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ปี พ.ศ.2550 ได้รับคัดเลือกให้เป็นศูนย์วัฒนธรรมไทยสายใย ชุมชน ต�ำบลเมืองบางยม ปี.พ.ศ.2556 ได้ รั บ คั ด เลื อ กให้ เ ป็ น วั ด พั ฒ นาตั ว อย่ า ง ปี พ.ศ.2556 จากส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ปี.พ.ศ.2561 ได้ รั บ คั ด เลื อ กให้ เ ป็ น วั ด พั ฒ นาตั ว อย่ า งที่ มี ผลงานดีเด่น ปี พ.ศ.2561 จากส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ
ท�ำเนียบเจ้าอาวาส
หลวงพ่อพุก หลวงพ่อคล้าย พระปลัดอิ่ม พระครูอุดมธรรมปฏิภาณ (ส�ำเภา อุตฺตโม) พระครูสุกิตติธรรมภาณ (วิเชียร วิริยธมฺโม) พระครูวรดิตถ์ประภาส (ยงยุทธ นาถธมฺโม) 2548 - ปัจจุบัน
SUKHOTHAI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 159
159
27/04/61 11:36:50 AM
ประวัติพระครูวรดิตถ์ประภาส พระครูวรดิตถ์ประภาส ฉายา นาถธมฺโม อายุ 57 พรรษา 24 วิทยฐานะ น.ธ.เอก, พธ.บ. วัดท่าทอง ต�ำบล เมืองบางยม อ�ำเภอสวรรคโลก จังหวัดสุโขทัย ปัจจุบันด�ำรงต�ำแหน่ง เจ้าอาวาสวัดท่าทอง สถานะเดิม ชื่อ ยงยุทธ นามสกุล รังสรรค์ บิดา นายมิ่ง มารดา นางพร้อม บ้านเลขที่ 82/6 หมูท่ ี่ 12 ต�ำบลปากน�ำ ้ อ�ำเภอสวรรคโลก จังหวัดสุโขทัย
อุปสมบท วันที่ 12 เดือนพฤษภาคม พ.ศ.2538 วัดท่าทอง ต�ำบลเมืองบางยม อ�ำเภอสวรรคโลก จั ง หวั ด สุ โขทั ย นามพระอุ ป ั ช ฌาย์ พระครู สุกิตติธรรมภาณ วัดท่าทอง ต�ำบลเมืองบางยม อ�ำเภอสวรรคโลก จังหวัดสุโขทัย งานการปกครอง พ.ศ.2547 เป็นผูร้ กั ษาการแทนเจ้าอาวาส วัดท่าทอง พ.ศ.2548 เป็ น เจ้ า อาวาสวั ด ท่ า ทอง (จนถึงปัจจุบัน) พ.ศ.2555 ได้รับการแต่งตั้งเป็นพระครู สัญญาบัตรชั้นโท ที่ พระครูวรดิตถ์ประภาส
ร่วมสร้างเส้นทางบุญ พระครูวรดิตถ์ประภาส เจ้าอาวาสวัดท่าทอง และ พระนิพนธ์ สุขวโร รองเจ้าอาวาสวัดท่าทอง ขอเชิญพุทธศาสนิกชนร่วมสร้างเส้นทางบุญ ด้วยการรักษาศีล ปฏิบัติธรรมและท�ำนุบ�ำรุง พระพุทธศาสนาให้เจริญรุ่งเรืองสืบต่อไป โดยสามารถติดต่อได้ที่ โทร 081-785-1365 และ 065-150- 0640 Facebook : พระนิพนธ์ สุขวโร วัดท่าทอง
160
SBL บันทึกประเทศไทย I SUKHOTHAI
.indd 160
27/04/61 11:37:01 AM
โรงแรมสวรรคบุรี บูติค Swankaburi Boutique Hotel
โรงแรมสวรรคบุ รี บู ติ ค โรงแรมหรู สไตล์บตู กิ ตั้งอยู่ใจกลางของอ�ำเภอสวรรคโลก จ.สุโขทัย โดดเด่นด้วยการตกแต่งในสไตล์ สุโขทัยร่วมสมัยและได้น�ำศิลปกรรมท้องถิ่น ทั้ ง เครื่ อ งถ้ ว ยชามสั ง คโลก และผ้ า ทอหาด เสี้ยว ที่มีชื่อเสียงของจังหวัดสุโขทัยมาผสม ผสานกับการตกแต่งภายใน ทั้งความสวยงาม และมีเสน่หเ์ ฉพาะตัวภายในห้องพัก เพียบพร้อม ด้ ว ยสิ่ ง อ� ำ นวยความสะดวกครบครั น และ ดื่มด�่ำกับบรรยากาศ การรับประทานอาหาร เช้าแบบสบายๆ บนระเบียงริมสวนสวย.... โรงแรมแห่งนี้ตั้งอยู่ในแหล่งมรดกโลก สุโขทัยซึ่งได้รับการขึ้นทะเบียนโดยองค์กรยู เนสโก ห่างจากสถานีรถไฟสวรรคโลก โดยใช้ เวลาเดิ น 5 นาที ที่ พั ก ได้ ผ สมผสานการ ออกแบบสไตล์เอเชียเข้ากับสิ่งอ�ำนวยความ สะดวกทั น สมั ย และมี บ ริ ก ารอิ น เทอร์ เ น็ ต ไร้สาย (Wi-Fi) ฟรี Swankaburi Boutique Hotel ตั้งอยู่ ห่ า งจากอุ ท ยานประวั ติ ศ าสตร์ ศ รี สั ช นาลั ย และอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย 30 กม. ส่วนสนามบินสุโขทัยอยู่ห่างออกไป 14 กม.
15/31 Sisatchanalai Rd., Swankhalok, naimaueng, swankhalok, สุโขทัย 64110 15/31 ถนนศรีสัชนาลัย สวรรคโลก สุโขทัย 64110
055-644-197 , 087-312-6767 SUKHOTHAI I SBL บันทึกประเทศไทย 161 055644197
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดเด่นกระต่าย วั ด เด่ น กระต่ า ย ตั้ ง อยู ่ ณ บ้ า น หางคลอง หมู ่ ที่ 1 ต� ำ บลในเมื อ ง อ� ำ เภอ สวรรคโลก จังหวัดสุโขทัย ปัจจุบันมี พระ มหากฤษณพล ฉนฺทาลโย เป็นเจ้าอาวาส
162
SBL บันทึกประเทศไทย I SUKHOTHAI
.indd 162
02/05/61 01:30:52 PM
ประวัติวัดเด่นกระต่าย วัดเด่นกระต่าย เดิมชื่อว่า “วัดป่าทอง” เป็นส�ำนักสงฆ์สำ� หรับวิปสั สนา ในปี พ.ศ.2508 มี พ ระภิ ก ษุ อ งค์ แรกที่ ไ ด้ เข้ า มาด� ำ เนิ น การ สร้างส�ำนักสงฆ์ คือ หลวงพ่อทองหลง โดย ได้รับการถวายที่ดินจากมหาบุญธรรม ต่อมา สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (วาสน์ วาสโน) ทรงด�ำเนินมาพ�ำนักปักกลด พักค้างแรมทีน่ ี่ ทรงเห็นแสงสว่างของดวงจันทร์ ที่มีรูปกระต่ายปรากฏเด่นชัด ประกอบกับ ขณะนั้นมีกระต่ายป่าออกมาเป็นจ�ำนวนมาก จึงทรงตั้งพระนามว่า “วัดเด่นกระต่าย” ในปี พ.ศ.2512 ทางหลวงก็เข้ามาร่วมก่อสร้าง ศาลาหลังเก่า ตอนนั้นมีลุงฉลอง แก้วเนตร เป็นมัคนายกคนแรกของวัดเด่นกระต่าย โดย มีนายรื่น ยิ้มจันทร์ ด�ำรงต�ำแหน่งผู้ใหญ่บ้าน ของหมู่ที่ 1 ต�ำบลในเมือง ในปี พ.ศ.2517
หลวงพ่อทองหลงได้มรณภาพลง และต่อมา ลุงฉลอง แก้วเนตร ได้ถึงแก่กรรมลงในปี พ.ศ. 2526 ท�ำให้ท่านผู้ใหญ่รื่น ยิ้มจันทร์ ด�ำรง ต�ำแหน่งมัคนายกและไวยาวัจกรแทนมาตลอด ในปี พ.ศ.2531 ได้มพี ระสมุหอ์ นันต์ อนารโย ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส โดยริเริ่มก่อสร้าง อุ โ บสถขึ้ น ในปี พ.ศ.2532 ในสมั ย ผู ้ ใ หญ่ บรรจง เด่ น ดวง ทางคณะกรรมการวั ด เด่นกระต่ายร่วมกับชาวบ้านได้ทำ� การก่อสร้าง ศาลาหลังใหม่ขึ้นมาอีก 1 หลัง ในวันที่ 9 ธันวาคม 2535 หลังจากพระสมุหอ์ นันต์ อนารโย ได้มรณภาพลง ในปี พ.ศ.2537 พระบุญรอด โฆสนาโม มาด� ำ รงต� ำ แหน่ ง รั ก ษาการแทน เจ้าอาวาส ต่อมา พ.ศ.2538 พระเฉือ่ ย ได้เข้ามา ด�ำรงต�ำแหน่งรักษาการแทนเจ้าอาวาส และ ได้มีพระยงค์ ฉายา จะธร เข้ามารับต�ำแหน่ง
เจ้าอาวาส ในปี พ.ศ.2553 ครั้ น พระยงค์ ไ ด้ ม รณภาพลงแล้ ว พระ อธิการชื่น โชติปัญญา อายุ 61 ปี 7 พรรษา วิทยฐานะ น.ธ.ตรี มาด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส ตั้งแต่ พ.ศ.2556 ต่อมาในปี พ.ศ.2558 ทาง วัดเด่นกระต่ายได้สร้าง วิหารหลวงพ่อทองหลง ขึน้ มาอีกหนึง่ หลัง หลังจากสร้างวิหารเสร็จสิน้ ได้เริ่มมีการบูรณะโบสถ์ขึ้น ในปี พ.ศ.2559 โดยได้รับความร่วมมือจากชาวบ้านหางคลอง และประชาชนคณะศรั ท ธาทั่ ว ไปร่ ว มกั น บริจาคทุนทรัพย์ในการก่อสร้าง ปัจจุบัน พระมหากฤษณพล ฉนฺทาลโย นามเดิม กฤษณพล ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส เมื่อ 24 กันยายน 2560 อายุ 34 ปี 15 พรรษา
SUKHOTHAI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 163
163
27/04/61 12:02:37 PM
พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ หลวงพ่อทองค�ำ เป็นพระพุทธรูปทองค�ำ อายุราว 500 ปี ประดิษฐานอยู่ภายในวัด เด่นกระต่าย โดยต้นตระกูลสีแก้ว คือ นายหลอด สีแก้ว ซึ่งเป็นหลานเจ้าเมืองสีแก้ว จังหวัด ร้อยเอ็ด ถวายเมื่อ พ.ศ.2500 งานส�ำคัญประจ�ำปี วัดเด่นกระต่าย จัดให้มงี านถวายสลากภัตร แด่ภิกษุสามเณร 300 รูป และงานนมัสการ หลวงพ่ อ ทองค� ำ ระหว่ า งวั น ที่ 12-19 เมษายน ของทุกปี
ร่วมสร้างเส้นทางบุญ ขณะนี้ทางวัดเด่นกระต่าย มีโครงการ ก่ อ สร้ า งสมเด็ จ องค์ พ ระปฐมบรมศาสดา ขนาดสูง 29 เมตร จึงขอเชื้อเชิญเจริญพร ท่านสาธุชนทุกท่าน ร่วมบุญในการก่อสร้าง ตามก�ำลังศรัทธา โดยร่ ว มบุ ญ ได้ ที่ (พระมหากฤษณพล ฉนฺทาลโย) เจ้าอาวาส โทร. 097-1232457 หรื อ ร่ ว มบุ ญ ได้ ท่ี บั ญ ชี วั ด เด่ น กระต่ า ย เลขที่ 3260826239 ธนาคารคกรุงเทพ สาขาสวรรคโลก
164
พระมหากฤษณพล ฉนฺทาลโย เจ้าอาวาสวัดเด่นกระต่าย
SBL บันทึกประเทศไทย I SUKHOTHAI
.indd 164
27/04/61 12:02:42 PM
แสงสินธ์ โฮเต็ล Saengsin Hotel โรงแรมมาตรฐาน กลางเมืองสวรรคโลก ห้องพักสะอาด สะดวก ปลอดภัย ฟรี WiFi พร้อมบริการห้องประชุมสัมมนา ห้องจัดเลีย้ ง สังสรรค์ งานมงคลสมรส ห้องพักสะอาด อาหารอร่อย ดนตรีไพเราะ ความประทับใจของท่าน คือความภูมใิ จของเรา
ทีอ่ ยู ่ 2 ถนนเทศบาลด�ำริ 3 ต�ำบลเมือง อ�ำเภอสวรรคโลก จังหวัดสุโขทัย 64110 โทร 055-641-259 , 055-641-424 , 080-517-5565 แฟกซ์ 055-641-828
SUKHOTHAI I SBL บันทึกประเทศไทย
1
.indd 165
165
30/4/2561 17:25:18
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
อุ โ บสถ วั ด ใหม่ ศ รี ส มบู ร ณ์
วัดใหม่ศรีสมบูรณ์ (วัดสบู) “จงเตือนตนด้วยตนเอง ท�ำดีด้วยความดี กตัญญูผู้มีพระคุณ” คืออุดมคติธรรมของพระครูไพจิตวรคุปต์ เจ้าอาวาส
วัดใหม่ศรีสมบูรณ์ (วัดสบู) ตั้งอยู่เลขที่ 208/10 บ้านใหม่ หมู่ 1 ต�ำบลหนองกลับ อ�ำเภอสวรรคโลก จังหวัดสุโขทัย โดยอยู่ห่าง จากอ�ำเภอสวรรคโลกประมาณ 14 ก.ม. ประวัติวัดใหม่ศรีสมบูรณ์ วั ด ใหม่ ศ รี ส มบูรณ์ (สังกัด มหานิก าย) เดิมเป็นวัดเก่าแก่ในสมัยกรุงสุโขทัย ต่อมาในยุค ปัจจุบันได้มี ครูมังกร (ครูหลิว) คงประจักษ์ ครอบครองพืน้ ทีแ่ ละได้บริจาคทีด่ นิ ให้สร้างวัด บนเนื้อที่ 14 ไร่ 67 ตารางวา เพราะเห็นว่า 166
พื้นที่นี้ยังมีฐานวิหารเก่าอยู่ (ปัจจุบันได้สร้าง พระพุทธรูปและเทปูนทับไว้ อยูม่ มุ ทิศตะวันออก เฉียงเหนือติดถนนด้านทิศตะวันออก) โดยเริ่ม ท�ำการก่อสร้างปี พ.ศ. 2503 ผู้น�ำก่อสร้าง คือ หลวงปูน่ าค เสนโก (อดีตเจ้าอาวาสรูปที่ 1) ได้ ชั ก ชวนชาวบ้ า นมาท� ำ ศาลาพื้ น ดิ น พอ ได้พักอาศัย และท�ำบุญตักบาตร เดิมให้ชื่อว่า “วัดศรีสมบูรณ์วราราม” บ้างก็เรียกว่าวัดป่าแฝก (แปลว่าป่าไม้สบู) โดยเรียกตามที่มีหลักฐาน จากหลักศิลาจารึกพ่อขุนรามค�ำแหง
หลวงพ่ อ เมตตาใหญ่
SBL บันทึกประเทศไทย I SUKHOTHAI
2
.indd 166
27/04/61 01:48:33 PM
ล�ำดับเจ้าอาวาสตั้งแต่อดีต - ถึงปัจจุบัน พ.ศ.2503-2527 หลวงปู่นาค เสนโก พ.ศ.2527-2528 พระบุญเลิศ วรจิตฺโต พ.ศ.2528-2534 พระแกะ ปิยธฺมโม พ.ศ.2536-2561 พระครูไพจิตวรคุปต์ (ประเสริฐ คุตฺตจิตฺโต)
อุ โ บสถ วั ด ใหม่ ศ รี ส มบู ร ณ์
รู ป หล่ อ เหมื อ นหลวงปู ่ น าค เสนโก อดี ต เจ้ า อาวาส วั ด ใหม่ ศ รี ส มบู ร ณ์
“พระบรมธาตุ เ จดี ย ์ ศ รี สมบู ร ณ์ ” (เจดี ย ์ พ ระพุ ท ธเจ้ า ๕ พระองค์ ) ปั จ จุ บั น ก� ำ ลั ง ด� ำ เนิ น การก่ อ สร้ า งอยู ่
บริ เ วณวั ด ด้ า นหน้ า อุ โ บสถ
ลานบุ ญ ลานธรรม หลวงพ่ อ ทั น ใจ
อัตโนประวัติพระครูไพจิตวรคุปต์ พระครูไพจิตวรคุปต์ อายุ 55 พรรษา 31 วิทยฐานะ ป.4/ นธ./เอก/ป.บส./ปริญญา ตรี(พธ.บ.)/ปริญญาโท(พธ.ม.) มหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย (มจร.) ต�ำแหน่ง ปัจจุบันด�ำรงต�ำแหน่ง รองเจ้า คณะต� ำ บลหนองกลั บ เจ้ า อาวาสวั ด ใหม่ ศรีสมบูรณ์ (วัดสบู) ต.หนองกลับ อ.สวรรคโลก จ.สุโขทัย สถานะเดิ ม มี น ามเดิ ม ว่ า ประเสริ ฐ นามสกุล ช่างเกวียน เกิดเมื่อวันที่ 9 มีนาคม พ.ศ.2506 (ปีขาล) ที่บ้านหนองดู่ เลขที่ 96 หมู ่ 10 ต.บ้ า นยาง อ.ล� ำ ทะเมนชั ย จ.นครราชสีมา ในครอบครัวของชาวไร่ชาวนา ที่อยู่ห่างไกลความเจริญพอสมควร ติดต่อกับ เขตอ�ำเภอล�ำปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย์โยม บิดาชื่อนายพรม ช่างเกวียน (เสียชีวิตแล้ว) โยมมารดา ชื่ อ นางหวาด ช่ า งเกวี ย น ในจ�ำนวนพี่น้องร่วมท้องทั้งหมด 6 คน เป็น ชาย 4 คน-หญิง 2 คน ท่านเป็นบุตรคนที่ 3 บรรพชา/อุปสมบท พ.ศ.2530 เมื่ออายุ 25 ปี ได้เข้าสู่ร่มกาสาวพัสตร์ อุปสมบทเมื่อ วันที่ 28 มิถุนายน 2530 ณ พัทธสีมาวัดศิริ โ ภ ค า ภิ ร ม ย ์ ต . ช ่ อ ง แ ม ว อ . ชุ ม พ ว ง จ.นครราชสีมา ได้รับฉายาว่า “คุตฺตจิตฺโต” ภิกฺขุ โดยมีพระครูศิริคณานุรักษ์ (พระมหา สมศรี ฉินฺนาลโย) เจ้าคณะอ�ำเภอชุมพวง เป็น พระอุปัชฌาย์ มีพระครูสุญาณกิตติ(พระมหา สาธิต) เป็นพระกรรมวาจาจารย์ และมีพระครู ประดิษฐ์ธรรมญาณ เป็นพระอนุสาวนาจารย์
พระครู ไ พจิ ต วรคุ ป ต์ (ประเสริ ฐ ช่ า งเกวี ย น) SUKHOTHAI I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 167
167
27/04/61 01:48:41 PM
W O R K LI F E
บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล
องค์การบริหารส่วนต�ำบลย่านยาว “พ่อขุนศรีฯ เกรียงไกร เขาใหญ่เขาตระพัง บึงขลังหนองปลาหมอ ชุ่มคอน�้ำตาลอ้อย อิ่มอร่อยมะม่วงกวน ฝีมือล้วนปอกล้วยสาน เพลงขอทานประจ�ำถิ่น ศิลปินกระเดื่องแดน”
นางจิดาภา เต็งแย้ม นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลย่านยาว
คือค�ำขวัญต�ำบลย่านย่าว ซึ่งอยู่ในความดูแลขององค์การบริหารส่วนต�ำบล ย่านยาว อ�ำเภอสวรรคโลก จังหวัดสุโขทัย ปัจจุบันมีนางจิดาภา เต็งแย้ม ด�ำรงต�ำแหน่งนายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลย่านยาว ซึ่งบริหารงานให้บรรลุ วิสัยทัศน์การพัฒนาที่ว่า “ย่านยาวต�ำบลบริการดี สุขภาวะดี และสิ่งแวดล้อมดี”
ประวัติความเป็นมา องค์การบริหารส่วนต�ำบลย่านยาว ได้ประกาศจัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2539 เป็ น องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บลชั้ น 5 โดยประกาศในราชกิ จ จานุ เ บกษา เล่ม 113 ตอน 9 ง ลงวันที่ 30 มกราคม 2539 และได้มีการเลือกตั้งสมาชิก สภาองค์การบริหารส่วนต�ำบลย่านยาว (ครั้งแรก) เมื่อวันที่ 28 เมษายน 2539 มีสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนต�ำบลที่มาจากการเลือกตั้ง จ�ำนวน 24 คน สมาชิกสภาโดยต�ำแหน่ง ( ก�ำนัน, ผู้ใหญ่บ้าน ) 12 คน รวม จ�ำนวน 36 คน
ข้อมูลทั่วไป องค์การบริหารส่วนต�ำบลย่านยาว มีเนื้อที่ประมาณ 47 ตารางกิโลเมตร แบ่งการปกครองแบ่งออกเป็น 12 หมู่บ้าน จ�ำนวนครัวเรือน 3,188 ครัวเรือน ประชากรชาย 3,947 คน ประชากรหญิง 4,481 คน รวมประชากร 8,428 คน ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทางด้านการเกษตร เช่น ท�ำนาข้าว นาผักบุ้ง สวนใบตองกล้วยตานี ท�ำไร่อ้อย ไร่ถั่วเหลือง ไร่ข้าวโพด สวนผลไม้ เช่น มะม่วง มะปราง ฯลฯ และอาชีพอื่นๆ ได้แก่ เลี้ยงสัตว์ (โคนม) รับจ้าง ทั่วไป รับราชการ และค้าขาย
168
SBL บันทึกประเทศไทย I SUKHOTHAI
.indd 168
30/4/2561 17:14:51
ประเพณี วัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่น องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บลย่ า นยาว มี ศิ ล ป วัฒนธรรม มีประเพณีที่ดีงาม และมีภูมิปัญญา ท้องถิ่นที่หลากหลาย เช่น
พิธีบวงสรวงพ่อขุนศรีอินทราทิตย์
สถานที่ท่องเที่ยว อนุสาวรีย์พ่อขุนศรีอินทราทิตย์ พิธีรดน�้ำด�ำหัวผู้สูงอายุ
นมั ส การหลวงพ่ อ วั ด ไทรย้ อ ย หลวงพ่ อ ต้ น มะปราง และกี ฬ าสามั ค คี พี่ น ้ อ งสองต� ำ บล ย่านยาว-คลองกระจง
บึงหนองปลาหมอ การนวดแผนไทยและกายอุปกรณ์ SUKHOTHAI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 169
169
30/4/2561 17:14:52
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดราษฎร์ศรัทธาราม (วัดเตว็ดใหม่) ตั้งอยู่ที่ 9 ต�ำบลทับผึ้ง อ�ำเภอศรีส�ำโรง จังหวัดสุโขทัย มีเนือ้ ที่ 7 ไร่ 2 งาน 81 ตารางวา ปั จ จุ บั น มี พระครู วิ ชั ย คุ ณ าธาร (พระกฤษณะ วิ ช โย) รองเจ้ า คณะอ� ำ เภอ ศรีส�ำโรง เป็นเจ้าอาวาส
170
ประวัติวัดราษฎร์ศรัทธาราม (เตว็ดใหม่) วัดราษฎร์ศรัทธาราม สร้างเมื่อวันศุกร์ที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2502 แรม 4 ค�่ำ เดือน 3 ปีกุน จากศรัทธาชาวบ้านเตว็ดฟากตะวันออก ของแม่น�้ำยม ห่างจากวัดนี้ไปไม่ถึงกิโลจะมี วัดอีกวัดหนึง่ ซึง่ เป็นวัดเก่าแก่ชอื่ ว่า วัดเตว็ดนอก (เก่า) อยูค่ นละฝัง่ เหตุทสี่ ร้างวัดราษฎร์ศรัทธา รามขึน้ มานี้ เพราะเห็นความล�ำบากของเด็กเล็ก คนชรา ซึง่ การทีจ่ ะท�ำบุญในเทศกาลหรือวันพระ
จะต้องใช้เรือข้ามแม่นำ �้ ซึง่ หากเป็นฤดูนำ�้ หลาก จะท�ำให้เกิดอันตรายเรือล่มหลายครั้ง ดังนั้น ประชาชนพร้อมด้วยผู้ใหญ่บ้านจึงได้ประชุม ปรึกษาตกลงพร้อมใจกันสร้างวัดขึ้นมาใหม่ แล้วตั้งชื่อว่า “วัดราษฎร์ศรัทธาราม” แต่ ชาวบ้านเรียกอีกอย่างว่า “วัด เตว็ด ใหม่” จนถึงปัจจุบัน
SBL บันทึกประเทศไทย I SUKHOTHAI
.indd 170
27/04/61 02:16:15 PM
พระครูวิชัยคุณาธาร (พระเทวดา) เจ้าอาวาสวัดราษฎร์ศรัทธาราม
ท่านมีคติที่ว่า “เมื่อเราไม่ช่วยเหลือใคร แล้วใครจะช่วยเหลือเรา” “การท�ำความดีนั้นก็เปรียบได้กับการบ�ำเพ็ญเพียรบารมีของเรา ท�ำมากเราก็สุขใจมาก” “เราให้เขามากเท่าไร ผลย่อมย้อนกลับมาเป็นสิบเท่า”
SUKHOTHAI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 171
171
27/04/61 02:16:25 PM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดบ้านซ่าน วั ด บ้ า นซ่ า น ตั้ ง อยู ่ ที่ บ ้ า นซ่ า น หมู ่ ที่ 2 ต�ำบลบ้านซ่าน อ�ำเภอศรีส�ำโรง จังหวัดสุโขทัย สั ง กั ด คณะสงฆ์ ม หานิ ก าย มี ที่ ดิ น ตั้ ง วั ด เนื้ อ ที่ 23 ไร่ 2 งาน 46 ตารางวา วั ด บ้ า นซ่ า นนี้ ประชาชนชาวบ้ า นซ่ า นได้ พร้อมใจกันจัดสร้างขึ้นเป็นวัด นับตั้งแต่ประมาณ พ.ศ. 2010 และให้นามตามชื่อหมู่บ้าน นับเป็น วั ด ที่ ไ ด้ รั บ พระราชทานวิ สุ ง คามสี ม าแล้ ว ตาม ทะเบียนวัดระบุ พ.ศ.2020 ไม่มหี ลักฐานการสร้างวัดนี้
172
หลวงพ่อขาววัดบ้านซ่าน เป็นพระพุทธรูปปูนปั้นปางมารวิชัย ที่มีพุทธลักษณะคล้ายศิลปะ แบบเชียงแสน อายุประมาณ 500 ปี ขนาดความสูง 140 ซม. หน้าตักกว้าง 110 ซม.ประทับนัง่ บนแท่นสูง 7 ซม. เกศมาลามีลกั ษณะคล้าย “ดอกบัวตูม” ชายผ้าพาดอังสะยาวจรดพระนาภี นิ้วพระหัตถ์เสมอ เป็นพระพุทธรูป ที่ปรากฏอยู่เดิมที่วัดบ้านซ่าน ต�ำบลบ้านซ่าน อ�ำเภอศรีส�ำโรง จังหวัด สุโขทัย ชาวบ้านขนานนามว่า “หลวงพ่อขาว” เป็นพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ ที่อยู่คู่วัดตลอดมา
SBL บันทึกประเทศไทย I SUKHOTHAI
.indd 172
27/04/61 02:24:56 PM
หลวงพ่อสามพี่น้อง ลักษณะองค์ที่ 1 เป็นพระพุทธรูปส�ำริด สีออกทองแดง ปางมารวิชัย มีลักษณะพุทธ ศิลปะแบบสุโขทัยตอนต้น อายุ 700 ปี มี ขนาดความสูง 106 ซม. หน้าตักกว้าง 77 ซม. เกศมาลาเป็นลักษณะเปลวเพลิง ผ้าพาดอังสะ ยาวจรดพระนาภี นิ้วพระหัตถ์เรียวยาวเป็น ธรรมชาติ แท่นประดิษฐานสูง 7 ซม. มีอักษร สมัยสุโขทัย เขียนถอดได้ความว่า “เจ้ารามสูก” สร้างไว้ปรารถนาให้ได้พระนิพพาน ลักษณะองค์ที่ 2 เป็นพระพุทธรูปส�ำริด ใหญ่ปางมารวิชัย พุทธศิลป์สมัยสุโขทัยยุคต้น มี ข นาดสู ง จากพื้น จรดปลายเกศ 141 ซม. หน้าตักว้าง 110 ซม. เกศมาลาเป็นกนกเปลวเพลิง พระศอเป็นรอยหยัก 3 เส้น ผ้าพาดอังสะยาว
จรดพระนาภี ปลายผ้าด้านหลังม้วนเป็น 3 หยักก้นหอย นิ้วพระหัตถ์เรียวยาวธรรมชาติ แท่นประดิษฐานช�ำรุด ได้สร้างขึ้นไว้ใหม่เป็น แท่นโปร่ง ลักษณะองค์ที่ 3 เป็นพระพุทธรูปส�ำริด ปางมารวิชัย ขนาดสูงจากพื้นจรดปลายเกศ 113 ซม. หน้าตักกว้าง 87 ซม. เกศมาลา เป็นกนกเปลวเพลิง ผ้าพาดอังสะยาวจรดพระ นาภี ปลายตัดตรง มีทบผ้า 3 ชั้น ทั้งด้านหน้า และด้านหลัง นิว้ พระหัตถ์เรียวยาวเป็นธรรมชาติ แท่นประดิษฐานสูง 7 ซม. เป็นแท่นทึบ โค้ง ไปตามลักษณะพระพุทธรูป พระร่วงน�ำทาง เป็นพระพุทธรูปส�ำริด ปางประทานอภัย ยกพระหัตถ์ขวา 1 ข้าง
พระหั ต ถ์ ซ ้ า ยทอด พระบาทยื น ตรง แท่ น ประดิษฐานช�ำรุด เหลือเดือยสูง 5 ซม. ไว้สวม กับแท่นฐาน พระเกศมาลาสร้างขึน้ ใหม่ ถอดได้ ความสูงจากพื้นจรดพระเกศ 93 ซม. เป็น พระพุทธรูปที่เคยประดิษฐานอยู่ที่ วัดโบสถ์ ต� ำ บลเมื อ งบางขลั ง อ� ำ เภอสวรรคโลก จังหวัดสุโขทัย ซึ่งแต่เดิมเป็นเมืองร้างไม่มี ผู ้ ค นอาศั ย นายเกตุ บุ ญ เกตุ และคณะ กรรมการวัดบ้านซ่าน จึงได้อัญเชิญมาไว้ที่ วัดบ้านซ่าน เมื่อปี พ.ศ.2447 ทุกวันเเรม 15 ค�ำ ่ เดือน 4 จะมีประเพณี แห่หลวงพ่อสามพีน่ อ้ งไปยัง วัดปากคลองแดน และวัน ขึ้น 1 ค�่ำ เดือน 5 จะมีประเพณี สรงน�้ำหลวงพ่อขาวเป็นประจ�ำทุกปี SUKHOTHAI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 173
173
27/04/61 02:24:58 PM
ไดโอบูติค
ไดโอบู ต ค ิ ช่วงเวลาของการพักผ่อนที่แท้จริง
โรงแรมในตัวเมืองสุโขทัยอีกแห่งหนึ่ง ที่จะท�ำให้การพักผ่อนของคุณเป็นช่วงเวลาที่ได้พักผ่อนจริงๆ ไม่มีสียงรบกวนจากภายนอก เชิญมาสัมผัสกับบรรยากาศ อันเงียบสงบ ในเมืองสุโขทัย แล้วท่านจะติดใจ
ไดโอบูติค ให้บริการที่เน้นความสะอาดและเครื่องนอนชั้นดี ประกอบกับสิ่งอ�ำนวยความสะดวก มากมาย ฟรี WiFi ที่รับรองสัญญาณชัดและแรง บริการหนังสือยืมอ่าน และแผนกต้อนรับที่เปิดรับตลอด 24 ชม
093- 919-0603 061- 515-0603 .indd 174
ถนน สิงหวัฒน์ ต�ำบล ธานี อ�ำเภอเมืองสุโขทัย สุโขทัย 64000
26/4/2561 10:45:45
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
พระประธาน ในอุโบสถอายุ 200 กว่าปี
วัดคลองโป่ง วั ด คลองโป่ ง ตั้ ง อยู ่ ที่ บ ้ า นคลองโป่ ง หมู ่ ที่ 2 ต� ำ บลสามเรื อ น อ� ำ เภอศรี ส� ำ โรง จั ง หวั ด สุ โ ขทั ย สั ง กั ด คณะสงฆ์ ม หานิ ก าย มีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ 45 ไร่ 2 งาน
พระพุทธธรรมภาณสัมฤทธิ์ อายุ200กว่าปี
วัดนี้ประชาชนร่วมใจกันจัดสร้างขึ้นเป็น วัด นับตั้งแต่ประมาณ พ.ศ.2082 มีนามตาม ชื่ อ ของหมู ่ บ ้ า น นั บ เป็ น วั ด ชนิ ด ได้ รั บ พระราชทานวิสุงคามสีมาแล้ว ตามที่ระบุไว้ ในทะเบียนวัด พ.ศ.2104 เป็นระยะเวลาโดย ประมาณไว้เป็นหลักฐาน เพื่อแสดงว่าวัดนี้ เป็นวัดชนิดมีพัทธสีมาแล้ว
พระอุโบสถ
พระอธิการราชันย์ ชาตปัญฺโญ เจ้าอาวาสวัดคลองโป่ง
SUKHOTHAI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 175
175
27/04/61 02:48:49 PM
ประวัติพระครูธรรมภาณโกศล (หลวงปู่เอม) หลวงปู่เอม เป็นชาวศรีส�ำโรงโดยก�ำเนิด เกิดเมื่อปีวอก พ.ศ.2415 ต้นสมัยรัชกาลที่ 5 นับถึงปัจจุบัน จะมีอายุได้ 146 ปี เป็นบุตร คนท้องของนายสนและนางทิม ต้นสกุล “สนทิม” บ้ า นเดิ ม ของหลวงปู ่ เ อมอยู ่ บ ริ เวณริ ม ถนน จรดวิถีถ่อง ฝั่งเดียวกับวัดคลองโป่งเหนือ โดย อยู่ห่างวัดประมาณ 300 เมตร หลวงปู่เอมบรรพชาเป็นสามเณรที่วัด คลองโป่ง สมัยที่หลวงพ่อเหล็ก เป็นเจ้าอาวาส และได้เข้ากรุงเทพฯ ศึกษาพระปริยัติธรรม บาลี ณ วัดระฆังโฆษิตาราม เป็นเวลา 4-5 ปี และได้ ก ลั บ ขึ้ น มาบวชเป็ น พระภิ ก ษุ เ อม ในเวลาต่อมา หลวงปู่เอม
ในปี พ.ศ. 2457 สมัยราชการที่ 6 สมเด็จ พระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส เสด็จไปตรวจการคณะสงฆ์มณฑลฝ่ายเหนือ โดยเสด็จทางรถไฟไปลงที่สวรรคโลก ขณะนั้น มีพระสงฆ์จ�ำนวนมากไปเฝ้ารอรับเสด็จ แต่ผู้ ที่ ส มเด็ จ พระมหาสมณเจ้ า ฯ เสด็ จ เข้ า มา ทักทายก่อนใครคือ “หลวงปู่เอม” ทั้งนี้ก็ด้วย รูปร่างที่สูงใหญ่เห็นเด่นเป็นสง่า ใบหน้าเต็ม ไปด้วยความเมตตา น�ำเคารพศรัทธา ใครเห็น ต้องติดตาตรึงใจไปจนตลอดชีวิต สมเด็จพระ มหาสมณเจ้าฯได้ ทรงบันทึกสรรเสริญหลวงปู่ เอมไว้มากมาย ในบันทึกรายงานการเสด็จใน ครั้งนี้ หลวงปู่เอมเป็นเจ้าอาวาสวัดคลองโป่ง ต่อจากพระอุปัชฌาย์นวมฯ พร้อมกับด�ำรง ต�ำแหน่งเป็นเจ้าขณะแขวง (เจ้าคณะอ�ำเภอ) และเมื่ อ วั น ที่ 24 ธั น วาคม 2457 สมเด็ จ พระมหาสมณเจ้ า ฯประกาศแต่ ง ตั้ ง หลวงปู ่ เอม เป็น “พระครูธรรมภาณโกศล” เป็น พระอุปัชฌาย์และเจ้าคณะสุโขทัย ถัดจาก พระครู ศี ล วั ต รวิ จ ารณ์ เจ้ า อาวาสวั ด คู ห า สุ ว รรณ โดยขณะนั้ น หลวงปู ่ เ อมมี อ ายุ ไ ด้ 42 ปี หลวงปู่เอมมรณภาพ เมื่อปี พ.ศ.2484 รวมสิริอายุได้ 69 ปี สงกรานต์ทกุ ๆ ปีจะน�ำหลวงพ่อออกสรงน�ำ ้ แห่รอบตลาดอ�ำเภอศรีส�ำโรง 176
ธรรมาศทรงบุษบกอายุประมาณ 150 ปี
หอสวดมนต์ ก่อสร้างเมื่อปี พ.ศ.2485
SBL บันทึกประเทศไทย I SUKHOTHAI
.indd 176
27/04/61 02:48:52 PM
วัตถุมงคลหลวงปู่เอม รุ่นต่างๆ
หลวงปู่เอม เทพเจ้าศักดิ์สิทธิ์ หลวงปูเ่ อมเป็นพระภิกษุผปู้ ฏิบตั ดิ ี ปฏิบตั ชิ อบ อี ก ทั้ ง ยั ง เป็ น พระนั ก พั ฒ นา นั ก เทศน์ หมอผู้วิเศษ และเกจิ อ าจารย์ ผู ้ มี อ าคมขลั ง ชาวอ�ำเภอศรีส�ำโรงจึงเคารพบูชาหลวงปู่เอม เสมือนดัง่ เทพเจ้า โดยวัตถุมงคลของหลวงปูเ่ อม ที่ถูกสร้างขึ้นในแต่ละรุ่นนั้น หากผู้ใดมีไว้บูชา ก็ จ ะได้ รั บ ความมั่ ง มี ศ รี สุ ข แคล้ ว คลาด ปลอดภัยจากอันตรายทั้งปวง ประสบโชคลาภ ประสบความส� ำ เร็ จ ในหน้ า ที่ ก ารงาน การค้าขาย สร้างความเชื่อมั่นกับผู้ที่มีไว้บูชา เสมอมา ปัจจุบันถึงแม้ว่าหลวงปู่เอมจะมรณภาพ ไปแล้ว แต่ชาวอ�ำเภอศรีส�ำโรงและสาธุชน ทั่วไปไม่ว่าอยู่ใกล้หรือไกล ก็ยังเคารพบูชา หลวงปู ่ เ อมเป็ น เทพเจ้ า ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ และได้ ด� ำ เนิ น ชี วิ ต ตามคติ ธ รรมค� ำ สอน และวั ต ร ปฏิบัติที่น่าสรรเสริญเป็นอย่างยิ่งของหลวงปู่ เอมคือ
“ไม่ ท� ำ ลาย หรือ ท�ำร้า ยใคร ให้ ค วามเมตตาต่อ ทุกๆ คน”
SUKHOTHAI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 177
177
27/04/61 02:49:00 PM
Ad 2
.indd 174
17/4/2561 10:09:34
ก้าวเข้าสู่ปีที่ 9
บั น ทึ ก ประเทศไทย ถือเป็นแหล่งข้อ มู ล อ้ า งอิ งได้ อ ย่ า งสมบู ร ณ์ โดยให้ ร ายละเอี ยดข้ อมู ลอย่ า งครบถ้ ว น สมบู ร ณ์ และถู กต้ อง พร้อมรู ป ภาพจากสถานที่จริ ง ณ ปั จจุ บัน ล้ ว นได้ ถูกบั นทึ กเอาไว้ แ ล้ ว ในหนั ง สื อเล่ มนี้ !
Ad 2
.indd 175
9
th
ANNIVERSARY ISSUE
17/4/2561 10:09:56
180
SBL บันทึกประเทศไทย I SUKHOTHAI
.indd 180
วัดราชธานี 30/04/61 04:25:34 PM