่า วั ด ุ ง เ ก ไทย 5 0 4 า ก ร ทั่ว งใจ ธย วัดี่ยวทา ลก อโย งเท กโ ท่อ งมรด มือ
ในเ
Magazine
Ayutthaya จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
EXCLUSIVE
นายประดั บ โพธิกาญนวัต ร ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงาน พระพุทธศาสนา
พาเที่ยววัดอยุธยา
พระอารามหลวงในประวัติศาสตร์
Vol.9 Issue 69/2018
อดีตราชธานี ไทย แห่งลุ่มแม่น้ำ�เจ้าพระยา ที่มีประวัติศาสตร์ยาวนานเกือบสองพันปี www.sbl.co.th
.indd 5
วัดธรรมิกราช
24/5/2561 17:26:48
BEST IN TRAVEL 2017
ที่ สุ ด แห่ ง การบั น ทึ ก
ความทรงจ�ำ
www.sbl.co.th
SBL บั นทึ กประเทศไทย น�ำเสนอเรื่องราวของจังหวัดต่างๆ ทั่วประเทศไทย อย่างเจาะลึกและครอบคลุ ม ทุ ก มิ ติ อาทิ มิ ติ ด ้ า น การพั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต และความเป็ น อยู ่ จากหน่ ว ยงานราชการส� ำ คั ญ ในจั ง หวั ด มิ ติ ด ้ า นการท่ อ งเที่ ย วที่ ส ดใหม่ ทั น สมั ย ทั้ งสถานที่เ ที่ ยว ที่พัก ร้านอาหาร ร้านกาแฟ แหล่งช็อปปิ้งใหม่ๆ ฯลฯ มิติด้านอุตสาหกรรม-การค้ า การลงทุ น ที่ เ ป็ น ตั วขั บ เคลื่ อนเศรษฐกิจ ตลอดจนมิติด้านการศึกษา ศาสนา วัฒ นธรรม และวิถีชีวิต ที่มีจุดเด่นและมีเอกลั ก ษณ์ น ่ า สนใจ
P. 3.indd 2
25/5/2561 15:13:54
B E S T IN T R AV E L
2017
TOP 10 PHOTOGRAPHS
OF THE YE AR
หนึ่งความทรงจ�ำของการเดินทางในปี 2560 แสงแรกของวั น ที่ ย อดเขาเทวดา ยอดเขาที่ สู ง ที่ สุ ด ใน จังหวัดสุพรรณบุรี 1,123 เมตร จากระดับน�้ำทะเล ท่ามกลาง ธรรมชาติอันสวยงาม อุทยานแห่งชาติพุเตย จังหวัดสุพรรณบุรี
BEST
P. 3.indd 3
IN
TRAVEL
2017 25/5/2561 15:14:00
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
กราบพระพุทธรัตนมงคล สักการะหลวงพ่อยิ้ม
วัดท่าการ้อง
ตลาดน�้ำกรุงเก่า เที่ยวพระนครศรีอยุธยา พระยาโบราณราชธานินทร์ (พร เดชะคุปต์)
วัดท่าการ้อง เป็นวัดพื้นที่ราบอยู่ติดแม่น�้ำเจ้าพระยาใกล้กับวัดธรรมาราม และ
วั ด กษั ตราธิ ร าช อยู่ห่า งจากเกาะเมือ งประมาณ 3 กิ โลเมตร ตั้ ง อยู ่ น อกพระนคร ด้านทิศตะวันตกหรือบริเวณทุ่งประเชต ปัจจุบันสังกัดคณะสงฆ์ มหานิกาย ตั้งอยู่ที่ หมู่ 6 ต�ำบลบ้านป้อม อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีที่ดินทั้งวัดโฉนด เลขที่ 628 เนื้อที่ 2 ไร่ 78 ตารางวา อาณาเขต ทิศเหนือ ติดตั้งอยู่บริเวณชุมชนอิสลาม เป็ น ส่ ว นใหญ่ ท ่ า มกลางมั ส ยิ ด ถึ ง 5 มั ส ยิ ด โดยมี บ ้ า นเรื อ นที่ เ ป็ น พุ ท ธศาสนิ ก ชน อยู่ประมาณ 8-10 หลังคาเรือนเท่านั้น 4
ในปี พ.ศ.2508 กรมศิลปากร ได้ทำ� การขุด ส�ำรวจฐานรากพระอุโบสถ พบว่าวัดท่าการ้อง ได้มกี ารบูรณปฏิสงั ขรณ์มาไม่ตำ�่ กว่า 2 ครัง้ แต่ ด้วยเหตุทโี่ ดยรอบวัดเป็นชุมชนอิสลาม ส่วนใหญ่ และทางราชการไม่มีงบประมาณที่เพียงพอ ทีจ่ ะท�ำนุบำ� รุงโบราณต่างๆ ได้ทวั่ ถึง วัดท่าการ้อง ในเวลาต่ อ มาจึ ง มี ส ภาพไม่ ต ่ า งจากวั ด ร้ า ง วัดท่าการ้อง ซึ่งสันนิษฐานตามพุทธลักษณะ และซากปรักหักพัง มีหลักฐานเพิม่ เติมว่า น่าจะ สร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 1 (สมเด็จพระชัย ราชา) ประมาณปีพทุ ธศักราช 2076 หรือ 474 ปีเศษมาแล้ว เพราะมีทา่ น�ำ้ กัน้ วัด ช่วงนัน้ แผ่นดิน ค่อนข้างสงบ พระพุทธศักราชเจริญรุ่งเรืองดี อีกทัง้ วัดนีย้ งั ใช้เป็นทีป่ ระทับพักผ่อน เพือ่ เผยแพร่ ศาสนาของลั ท ธิ ลั ง กาวงศ์ อี ก ด้ ว ย แต่ ไ ม่ ปรากฏหลักฐานที่ชัดเจนว่า ผู้ใดเป็น ผู้สร้าง เพราะนอกเขตพระบรมมหาราชวังสันนิษฐาน
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
2
.indd 4
24/5/2561 8:48:15
ว่ า คงจะเป็ นวั ด ที่ ร าษฎรสร้ า งขึ้ น เพราะไม่ ปรากฏรายชือ่ พระอารามหลวงสมัยอยุธยา แต่ จากการสั ง เกตเม็ ด มะยมรอบก� ำ แพงพระ อุ โ บสถจึ ง สั น นิ ษ ฐานว่ า น่ า จะมี ก ารบู ร ณ ปฏิ สั ง ขรณ์ ขึ้ น มาใหม่ ใ นสมั ย รั ต นโกสิ น ทร์ ช่ ว งรั ช กาล พระนั่ ง เกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว และ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จากหลักฐานทางโบราณคดีในการส�ำรวจ ของพระยาโบราณราชธานินทร์ (พร เดชะคุปต์ เป็ น อดี ต ข้ า ราชการไทยสั ง กั ด กระทรวง มหาดไทย ผูด้ ำ� รงต�ำแหน่งเป็นสมุหเทศาภิบาล มณฑลกรุงเก่า มีชื่อเสียงจากความรอบรู้ใน ประวัตศิ าสตร์ไทยสมัยกรุงศรีอยุธยา และการ เป็ น ผู ้ บุ ก เบิ ก การค้ น คว้ า ทางโบราณคดี ที่ เกี่ยวข้องกับประวัติศาสตร์กรุงศรีอยุธยา) ซึ่ง ท�ำแผนที่การส�ำรวจวัดและโบราณสถาน ใน สมัยรัชกาลที่ 5 ระบุชอื่ ทีค่ ล้ายกับวัดท่าการ้อง ไว้ 2 ชื่อ คือวัดท่า กับ วัดการ้อง ซึ่งอยู่ใกล้กัน ซึ่งวัดท่านั้นอยู่ตรงหัวมุมที่แม่น�้ำเจ้าพระยา หักเลี้ยวลงสู่ด้านตะวันตกของเกาะเมืองฝั่ง ตรงข้ามกับวัดป่าพลู ที่ปากคลองมหานาคทุ่ง ลุมพลี ส่วนวัดท่าการ้องนั้นอยู่ถัดเข้ามาเกือบ ถึงหลังวัดธรรมาธิราม แต่ไม่ทราบช่วงเวลาที่ 2 วัดนีร้ วมเข้าด้วยกันเป็นวัดท่าการ้อง และไม่ ปรากฏหลักฐานการสร้างว่าสร้างในสมัยใด อีก ทั้ ง ไม่ ป รากฏชื่อวัดท่าการ้อ งในรายชื่อ พระ อารามหลวงสมัยกรุงศรีอยุธยา จึงสันนิษฐาน ว่าวัดนี้ไม่ใช่พระอารามหลวงแต่น่าจะเป็นวัด ที่ราษฎรร่วมกันสร้าง ทั้งอุโบสถก็ได้รับการ บูรณะหลายครั้งหลายคราท�ำให้รูปแบบทาง สถาปัตยกรรมผิดแผกไปจากเดิม ท�ำให้เห็น การผสมผสานศิลปะในแต่ละยุคสมัยไว้ดว้ ยกัน
กราบพระพุทธรัตนมงคล สักการะหลวงพ่อยิ้ม
วัดท่าการ้อง
ต�ำบลบ้านป้อม อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 13000 โทรศัพท์ : 035-801352
วัดท่าการ้องมาแล้วต้องมาอีก AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 5
5
24/5/2561 8:48:32
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
หลวงปู่ดู่ พรหมปัญโญ เป็นพระเถระองค์ส�ำคัญ วัดสะแก
วัดสะแก
เดิมชื่อ “วัดคลังทอง”
บุญ คือ ความสบายใจ การสร้างบุญโดยการให้ด้วยจิตใจที่เมตตา คือ
การกล่อมเกลาจิตใจไปในตัว และเป็นการปฏิบัติธรรมอีกอย่างด้วย อีกทั้งการโมทนา ก็เป็นบุญ ดังในภาษาบาลีกล่าวไว้ว่า เมื่อมีคนโมทนาหรือช่วยขวนขวายในงานบุญนั้น เจ้าของทานย่อมได้บุญโดยมิบกพร่อง ผู้ขวนขวายช่วยงานและร่วมโมทนา ย่อมเป็น ผู้ ได้รับบุญพร้อมกันไปด้วย วัดสะแก ตั้งอยู่เลขที่ 29 หมู่ที่ 7 ต�ำบลธนู อ�ำเภออุทัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สังกัดสงฆ์ ฝ่ายมหานิกาย เดิมมีเนื้อที่ 13 ไร่ 3 งาน 21 ตารางวา ต่อมาปี พ.ศ. 2522 หลวงปู่ดู่ พรหมปัญโญ
6
2
ได้มอบเงินให้ผใู้ หญ่เชิด หัสถีรกั ษ์ ซือ้ ทีน่ าของ นางมา ตรีวิทย์ กับนายสังเวียน พงษ์ดนตรี เพิ่มอีกประมาณ 2 ไร่ และถมที่ด้านทิศตะวัน ออกของวัด ซึ่งไม่ได้ใช้ประโยชน์และเป็นที่ สาธารณะอีกประมาณ 1 ไร่ วัดสะแก เป็นวัดเก่าแก่ เดิมทีเดียวตัง้ อยูท่ ี่ วัดคลังทอง (วัดโกโรโกโส ในปัจจุบัน) ต�ำบล ข้ า วเม่ า สร้ า งเป็ นวั ด ขึ้ น ในสมั ย ปลายกรุ ง ศรีอยุธยา และได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา ประมาณ พ.ศ. 2525 ต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ตอนพม่ายกทัพมาล้อมกรุงศรีอยุธยา และตี กรุงศรีอยุธยาแตก เผาวัดวาอาราม ไล่ฆ่าคน ไทยตายเป็นจ�ำนวนมาก และขนเอาทรัพย์สิน ของคนไทยซึ่ ง น� ำ ไปฝั ง ไว้ ที่ วั ด คลั ง ทองเป็ น จ�ำนวนมาก พระยาตากสินต่อสู้กับพม่าและตี ทหารพม่าถอยทัพไป บังเอิญตรงนั้นมีคลอง
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 6
22/5/2561 11:08:09
เล็กๆ อยู่ จึงตัง้ ชือ่ คลองนัน้ ว่า คลองชนะ และ พาทหารเดินทางต่อไปสว่างทีอ่ ทุ ยั จึงตัง้ ชือ่ ว่า บ้านอุทัย มาถึงทุกวันนี้ วัดสะแก ได้รับการพัฒนาปรับปรุงและ มีชื่อเสียงเป็นที่ยอมรับมาโดยล�ำดับ เพราะมี ท่านคณาจารย์ที่มีความสามารถหลายท่าน โดยเฉพาะอย่างยิง่ หลวงปูใ่ หญ่ ติณณสุวณ ั โณ ท่านมีความสามารถในการปกครองและการ บริหาร เห็นได้ว่า ในช่วงที่ท่านปกครองวัด สะแกในฐานะเจ้าอาวาส ในระหว่างปี พ.ศ. 2481-2525 นั้ น ท่ า นได้ พั ฒนาปรั บ ปรุ ง ซ่อมแซมและด�ำเนินการก่อสร้าง อาคารศาสน สถานต่างๆ ของวัดไว้อย่างมากมาย อีกทั้ง ท่ า นเป็ น ผู ้ ด� ำ ริ ใ ห้ มี ก ารจั ด สร้ า งวั ต ถุ ม งคล ของวัดสะแกอย่างเป็นทางการในปี พ.ศ. 2493 โดยท่านได้มอบหมายให้ หลวงปู่ดู่ พรหม
ปั ญ โญ เป็ น ผู ้ ด� ำ เนิ น การ ซึ่ ง ในปี ดั ง กล่ า ว วัดสะแกได้จัดสร้างพระเครื่องและวัตถุมงคล เนื้อผงพุทธคุณและเนื้อดินเผามากมายหลาย แบบพิมพ์ ส่วนหลวงปู่ศรี (สีห์) พินทสุวัณโณ นัน้ ท่านเป็นคณาจารย์เป็นทีย่ อมรับกันในด้าน พุ ท ธคุ ณ หมอยารั ก ษาโรค หมอดู เป็ น ที่ ยอมรับของบรรดาลูกศิษย์อย่างมากมาย ด้าน วัตถุมงคลทีท่ า่ นสร้างขึน้ นัน้ บรรดาลูกศิษย์ได้ ประจักษ์และยอมรับถึงพุทธานุภาพและความ ศักดิ์สิทธิ์ และหลวงปู่ดู่ ได้มีโอกาสร่วมกับ หลวงปู่ศรี จัดสร้างวัตถุมงคลของวัดสะแก หลายวาระ อีกทัง้ หลวงปูด่ ู่ ยังได้นำ� แบบพิมพ์พระ โดยเฉพาะพิมพ์รูปพระพรหมแบบต่างๆ ของ หลวงปูศ่ รี มาจัดสร้างเป็นวัตถุมลคลของท่าน ไว้มากมายเช่นกัน เห็นได้วา่ คณาจารย์ทงั้ สอง ท่าน มีความส�ำคัญต่อวัดสะแกและมีความ
สัมพันธ์โดยตรงต่อ หลวงปูด่ ู่ พรหมปัญโญ ดัง ที่กล่าวมาแล้วแต่ต้น
ปูชนียวัตถุที่ส�ำคัญภายในวัดสะแก 1. อุโบสถขนาดกว้าง 15 เมตรยาว 28 เมตร สร้างเป็นโบสถ์ด้านนอกผนังหินอ่อน ภายในมีพระพุทธรูปปางมารพิชยั ปูนปัน้ ลงรัก ปิดทองค�ำอย่างสวยงาม ฐานชุกชีประดับพลอย 2. วิหารพระศรีอริยเมตไตรย มีพระศรีอริย เมตไตรย ทรงเครือ่ งกษัตริยป์ ระดับด้วยพลอย ปิดทองค�ำ สร้างขึ้นในปี พ.ศ.2540 3. วิหารหลวงปูด่ สู่ ร้างขึน้ ราวปี พ.ศ. 2539 เป็ น ที่ จั ด แสดงอั ฐ บริ ข ารหลวงปู ่ ดู ่ แ ละวั ต ถุ มงคลที่หลวงปู่สร้างทั้งสิ้น 4. กุฏิหลวงปู่ดู่จ�ำวัด ในขณะที่ท่านมีชีวิต อยู่ปัจจุบันประดิษฐานหุ่นขี้ผึ้งหลวงปู่ดู่ไว้ให้ ญาติโยมสักการะ จากทั่วสารทิศ
AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 7
7
22/5/2561 11:08:24
กราบพระเจดีย์ชัยมงคล อนุสรณ์แห่งชัยชนะอันยิ่งใหญ่ ของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช วั ด ใหญ่ ชั ย มงคล
8
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 8
25/05/61 10:14:06 AM
“พระเจดีย์ชัยมงคล”
อนุสรณ์แห่งชัยชนะอันยิ่งใหญ่ อนุสรณ์แห่งชัยชนะอันยิ่งใหญ่ ที่สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ทรงรบชนะมังกะยอชวาพระมหาอุปราชของหงสาวดีที่ ต�ำบล หนองสาหร่าย จังหวัดสุพรรณบุรีในครั้งนั้น พม่าได้ยกทัพเข้ามา ในขอบขัณฑสีมา สมเด็จพระนเรศวรฯ และสมเด็จพระเอกาทศรถ ผู้เป็นพระอนุชาจึงได้น�ำทัพไปรับศึก และได้ขับช้างเข้าไปอยู่ใน วงล้อมของข้าศึกที่คอยระดมยิงปืนเข้าใส่พระและพระคชาธาร โดยที่เหล่าแม่ทัพนายกองวิ่งตามพระองค์มาไม่ทัน พระองค์จึง ประกาศด้วยพระสุรเสียงอันดังว่า “พระเจ้าพี่เราจะยืนอยู่ไยใน ร่มไม้เล่าเชิญออกมาท�ำยุทธหัตถีด้วยกันให้เป็นเกียรติยศไว้ ในแผ่นดินเถิด ภายหน้าไปไม่มีกษัตริย์ที่จะได้ยุทธหัตถีแล้ว” พระอุ ป ราชของพม่ า จึงไสช้างออกมากระท�ำยุท ธหัตถีด้วยกัน ในการท�ำยุทธหัตถีครัง้ นัน้ สมเด็จพระนเรศวรได้ทรงใช้พระแสงพล พ่ายฟาดฟันพระอุปราชขาดสะพายแล่ง เมื่อกลับมาสู่พระนครแล้ว พระองค์จะทรงลงโทษเหล่าทหาร ที่ตามพระไปไม่ทันตอนกระท�ำศึกยุทธหัตถี ซึ่งตามกฎระเบียบ แล้วต้องโทษถึงขึน้ ประหารชีวติ ช่วงเวลาทีร่ ออาญาสมเด็จพระพนรัตน์ พระสังฆราชพร้อมด้วยพระสงฆ์ 25 รูปได้ขอให้พระนเรศวร พระราชทานอภัยยกเว้นโทษให้กับทหารเหล่านั้น โดยให้เหตุผล ว่าพระองค์เปรียบดังพระสัมมาสัมพุทธเจ้าที่แวดล้อมด้วยหมู่มาร ก่อนที่จะตรัสรู้ เป็นการประกาศเกียรติและบารมีความกล้าหาญ และเก่งกาจของพระองค์ให้ขจรกระจายไปทั่วแคว้นทั่วแผ่นดิน สมเด็จพระนเรศวรจึงโปรดให้สร้างเจดีย์องค์ใหญ่ขึ้น เพื่อเป็น สัญลักษณ์แห่งชัยชนะและความมีน�้ำพระหฤทัยของพระองค์ ที่มี ต่อเหล่าทหารเหล่านั้น และพระราชทานนามว่า “เจดีย์ชัยมงคล” ซึ่งพระเจดีย์นั้นมีความสูง 69 เมตร
วั ด ใหญ่ ชั ย มงคล ที่ ตั้ ง 40/3 หมู ่ ที่ 3 ต� ำ บลคลองสวนพลู อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ติดต่อโทรศัพท์ : 035-242-640 การเดินทาง : จากกรุงเทพฯ เข้าตัวเมืองอยุธยา แล้วจะเห็นเจดีย์ วัดสามปลื้ม(เจดีย์กลางถนน) ให้เลี้ยวซ้ายตรงไปอีกประมาณ 1 กิโลเมตร ก็จะเห็นวัดใหญ่ชยั มงคลอยูท่ างซ้ายมือช่วงเวลาท่องเทีย่ ว
AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 9
9
25/05/61 10:14:20 AM
Editor’s Talk ผู้บริหาร คณะที่ปรึกษา ศ.ดร.กฤช เพิ่มทันจิ ต ต์ , พลเอกสรชั ช วรปั ญญา, ดร.พิ ชั ย ทรั พ ย์ เ กิ ด ดร.นิเวศน์ กันไทยราษฎร์ , ดร.ประยุ ท ธ คงเฉลิ ม วั ฒน์ , ดร.ชาญ ธาระวาส, ดร.สุ มิ ท แช่ ม ประสิ ท , ดร.วั ล ลภ อารี ร บ, ดร.ไอศูรย์ ดีรัตน์, ดร.สุ เ ทษณ์ จั น ทรุ กขา, ดร.อรรถสิ ท ธิ์ ตั น ติ วิรั ช กุ ล บรรณาธิการอ�ำนวยการ ศุภกิจ ศิลปรังสรรค์ บรรณาธิการบริหาร อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์ บรรณาธิการงานบุคคล พงษ์ศัก ดิ์ พรณัฐวุ ฒิ กุล , วนั ส กฤษณ์ ศิ ล ปรั งสรรค์ ฝ่ายกฎหมาย สมคิด หวังเชิดชูว งศ์ , ทวิ ช อมรนิ มิ ต ร
กองบรรณาธิการ ฝ่ายประสานงานโครงการ ภาครัฐและเอกชน
ฝ่ายศิลปกรรม
ผู้จัดการ
พั ชรา ค� ำ มี
กิตติชัย ศรีสมุทร คณะทีมงาน
นายรุ่ง โรจน์ เสาร์ป า, นายสุคิน แสนโบราณ, วิทยา การินทร, ภานพ เพิ่มพงศ์ว งศ์ ว าน ฝ่ายประสานงานข้อมูล ผู้จัดการ
นันท์ธนาดา พลพวก ประสานงาน
ศุภญา บุญ ช่วยชีพ, จันทิพย์ กันภัย, นงลัก ษณ์ เทียมเกตุ ท วี โ ชค
ผู้จัดการ กราฟิกดีไซน์
พิ ม พ์ พิสุ ท ธิ์ พั งจู นั น ท์ , วรเชษฐ สมประสงค์ , จั กรพั น ธ์ สิ งห์ ดี ช่างภาพ
ชั ย วิ ชญ์ แสงใส, ปณต ปิ ติจารุ วิ ศ าล, กิ ติวั ฒน์ ทิ ศ มั่ ง, วิ ท ยา ประเสริ ฐ สั งข์ ตัดต่อ
วั ชรกรณ์ พรหมจรรย์ ฝ่ายบัญชี/การเงิน
ทีมงานนิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย มีความปีติที่ได้เป็นส่วนหนึ่ง ในการท่องเที่ยวทางใจในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ฉบับพิเศษที่ท่านก�ำลังอ่าน อยูน่ ี้ ทีมงานเราได้รบั การต้อนรับเป็นอย่างดี และมีความอบอุน่ ในขณะทีไ่ ด้เยือน กรุงเก่า เมืองมรดกโลก โบราณสถานและวัดวาอารามทีเ่ ต็มเปีย่ มไปด้วยพลังแห่ง ความสงบเย็นในอยุธยา จากวันวาน ถึงวันนี้ ในน�ำ้ ยังมีปลา ในนายังมีขา้ ว เรายัง ได้ใส่บาตรในยามเช้า และเข้าวัดฟังธรรมอย่างอิ่มเอมใจ นี้คือต้นทุนอันวิเศษ ในการที่ท�ำให้เมืองอโยธยาในยุค 4.0 ก้าวสู่เวทีโลกในทุกด้านอย่างสง่างาม ไม่วา่ จะเป็นด้านเกษตรกรรม อุตสาหกรรม และการท่องเทีย่ วก็ตามที จากความ มั่นคงทางวัฒนธรรมอันมีรากฐานที่แข็งแกร่งทางพระพุทธศาสนาสืบเนื่องมา ยาวนานเป็นพันๆ ปี อันเป็นฐานที่มั่นส�ำคัญที่น�ำไปสู่อนาคตที่งดงามของ ชาวพระนครศรีอยุธยา ในนามของ SBL ผมขอถือโอกาสนี้ กราบขอบพระคุณท่านผูอ้ ำ� นวยการ ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดพระนครศรีอยุธยา นายประดับ โพธิกาญนวัตร ตลอดจนผูบ้ ริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ต่างๆ ศาสนสถาน บริษทั ห้างร้าน ฯลฯ ซึ่งกรุณาสนับสนุนให้ทีมงานด�ำเนินการจัดท�ำนิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย ฉบับจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ส�ำเร็จลุล่วงด้วยดี ท�ำให้เห็นการขับเคลื่อนของ พระธรรมจักร จากพระสุปฏิปนั โนกว่าห้าพันรูป และวัดกว่าห้าร้อยวัดทีย่ งั ช่วย อุ้มชูสังคมให้เกิดความร่มเย็นและสร้างสรรค์มาจนถึงทุกวันนี้
บัญชี
นักเขียน
ปั ฐ มาภรณ์ แสงบุ ร าณ
ฐิติรัตน์ สุวรรณโรจน์
การเงิน
ติดต่อ คุณศุภกิจ ศิลปรังสรรค์
ฝ่ายประสานงานจังหวัด กชกร รัฐวร
กรรณิ การ์ มั่ น วงศ์ , สุ จิต รา แดนแก้ ว นิ ต , ณภั ท ร ชื่ น สกุ ล
Tel : 081-442-4445, 084-874-3861 Email : supakit.s@live.com Facebook : Supakit Sillaparungsan
ท้ า ยนี้ ผมขออาราธนาคุ ณ พระศรี รั ต นตรั ย อั น ประเสริ ฐ เป็ น ที่ พึ่ ง อั น เกษมให้ ทุ ก ท่ า นประสบแต่ ค วามสุ ข ความเจริ ญ ในทุ ก ด้ า นที่ ท ่ า นปรารถนาและตั้ ง จิ ต ไว้ พ ร้ อ มกั บ ตั้ ง ใจปฏิ บั ติ ไ ปสู ่ เ ป้ า หมายนั้ น จงส� ำ เร็ จ ลุ ล ่ ว ง ไปด้ ว ยดี ทุ ก ประการ
Editor’s.indd 10
(นายศุภกิจ ศิลปรังสรรค์) บรรณาธิการอ�ำนวยการ
บริษัท สมาร์ท บิซิเนส ไลน์ จ�ำกัด
9/4-6 ถนนรามอินทรา แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพฯ 10220 โทร. 0-2522-7171 แฟกซ์. 0-2971-7747 Facebook : SBL บันทึกประเทศไทย Email : sbl2553@gmail.com
24/5/2561 11:53:40
Conteants ฉบั บ ที่ 69 จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา พ.ศ. 2561
Ayutthaya 4 6 8 13 14 20 24
วัดท่าการ้อง วัดสะแก วัดใหญ่ชัยมงคล วัดราชประดิษฐาน วัดคู้สลอดวุฒิโสภณ ใต้ร่มพระบารมี บันทึกเส้นทาง สำ�นักงานพระพุทธศาสนา
95 96 97 98 100 102 104 106
“นายประดับ โพธิกาญนวัตร”
108 110 114 118 120 122 124 126 130 132 133 134 140 142 148 152 156 160 162 164 166 168 170 172 174 180 192
ผู้อำ�นวยการสำ�นักงานพระพุทธศาสนา
30 50 52 54 56 58 60 62 64 65 66 70 72 74 76 78 80 81 82 84 90 92 93 94
Contents
.indd 11
บันทึกเส้นทางท่องเที่ยว จังหวัดพระนครศรีอยุธยา วัดช่างทอง วัดหน้าพระเมรุราชิการาม วัดเสนาสนาราม วัดกลางคลองตะเคียน วัดแคท่าเรือ วัดบึง วัดสะตือ วัดนางคุ่ม วัดหนองแห้ว วัดวังแดงใต้ วัดไม้รวก วัดสฎางค์ วัดเกาะแก้วเกษฎาราม วัดบันได วัดสระเกษ วัดบางคล้า วัดปรีดาราม วัดศิริสุขาราม (โรงหลวง) วัดพระขาว วัดพิกุลโสคันธ์ วัดสีกุก วัดบ้านแดง วัดไผ่ล้อม
194
วัดยม วัดโคกหิรัญ วัดบางบาล วัดวรนายกรังสรรค วัดทอง วัดโพธิ์ทอง วัดทางกลาง วัดบ้านแป้ง วัดดาวคนอง วัดอมฤตสิทธาราม วัดโพธิผักไห่ วัดหน้าโคก วัดบ้านอ้อ วัดท่าดินแดง วัดฤาไชย วัดผดุงธรรม วัดธรรมสินธุ์โสภา วัดโคกกลางเจริญศรี วัดหนองเป้า วัดสุทธาวาสวิปัสสนา วัดโพธิ์ประสิทธิ์ วัดบางนมโค วัดบ้านแพน วัดมารวิชัย วัดสุธาโภชน์ วัดเจ้าแปดทรงไตรย์ วัดบางกะทิง วัดทางหลวง วัดพรานนก วัดกุ่มแต้ วัดใหม่ปากบาง วัดประดู่ตะบอง วัดเกาะแก้ว วัดกล้วย วัดป่าโค วัดใหญ่ชัยมงคล
25/5/2561 15:50:03
อโยธยา ริเวอร์ไซด์โฮเทล อยู่บนฝั่งแม่น�้ำป่าสัก มีบริการที่พัก ท่ามกลางเมืองมรดกโลกของอยุธยา
บรรยากาศริมน�้ำ
สิ่งอ�ำนวยความสะดวก
ตกแต่งสไตล์ ไทยร่วมสมัย
“อโยธยาริเวอร์ไซด์โฮเทล” มีห้องอาหารลอยน�้ำที่ให้บริการอาหารไทยดั้งเดิม อโยธยา ริ เ วอร์ ไ ซด์ โ ฮเทลตั้ ง อยู ่ ต รงข้ า มสถานี ร ถไฟซึ่ ง ใช้ เ วลาเดิ น ทางเพี ย ง 90 นาที จ ากกรุ ง เทพฯ ห้องพักที่อโยธยาริเวอร์ไซด์โฮเทลตกแต่งสไตล์ไทยร่วมสมัย มาพร้อมกับเครื่องปรับอากาศ ห้ อ งน�้ ำ ส่ ว นตั ว โทรทั ศ น์ และมิ นิ บ าร์ โรงแรมเรายั ง มี รู ม เซอร์ วิ ส และบริ ก ารซั ก รี ด รวมทั้ ง ห้ อ งประชุ ม และห้ อ งธุ ร กิ จ ที่ พ รั่ ง พร้ อ มด้ ว ยสิ่ ง อ� ำ นวยความสะดวกส� ำ หรั บ แขกทุ ก ท่ า น ท่านจะได้เพลิดเพลินกับดนตรีและความบันเทิงที่ห้องกินรีของโรงแรมซึ่งเสิร์ฟทั้งอาหารไทย และอาหารนานาชาติ หรื อ แม้ แ ต่ อิ่ ม อร่ อ ยกั บ ตั ว อย่ า งของกุ ้ ง แม่ น�้ ำ อยุ ธ ยาที่ มี ชื่ อ เสี ย ง ที่ร้านอาหารลอยน�้ำแพอโยธยา
ห้องอาหาร
90 นาที จากกรุงเทพฯ
ตกแต่งสไตล์ ไทยร่วมสมัย
ร้านอาหารลอยน�้ำแพอโยธยา
กุ้งแม่น�้ำอยุธยา
ห้องอาหารตกแต่งสไตล์ ไทยดั้งเดิม
บรรยากาศด้านนอก
สิ่งอ�ำนวยความสะดวก อโยธยาริเวอร์ ไซด์ โฮเทล 91/1 หมู่10 ต.กะมัง อ.พระนครศรีอยุธยา จ.พระนครศรีอยุธยา 13000 ส�ำรองที่พัก 035-243139
1
.indd 12
22/5/2561 11:11:07
บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
HIST ORY OF BUDDHISM บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วั ด ราชประดิ ษ ฐาน ติ ด ต่ อ วั ด ราชประดิ ษ ฐาน โทร. 035-796-477
วั ด ราชประดิษฐาน ตั้งอยู่ ถ.อู่ทอง ต.หัวรอ อ.พระนครศรีอยุธยา
จ.พระนครศรี อ ยุ ธ ยา เป็ น วั ด โบราณ สร้ า งขึ้ น ในสมั ย กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยาเป็ น ราชธานี ตั้ ง อยู ่ ริ ม ปากคลองประตู ข ้ า วเปลื อ กฝั ่ ง ตะวั น ตก ภายในก� ำ แพง พระนครไม่ปรากฏหลักฐานว่าใครเป็นคนสร้างและสร้างในรัชสมัยใด วัดราชประดิษฐาน หมายความว่า วัดที่ พระเจ้าแผ่นดินทรงสร้าง จึงมีข้อสันนิษฐานว่า ผู้สร้างวัดนี้คงเป็นพระเจ้าแผ่นดิน อีกทั้งยังถูก กล่าวถึงในพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา หลายครัง้ โดยเมือ่ ครัง้ สมเด็จพระไชยราชาธิราช เสด็จสวรรคต พระยอดฟ้าเสด็จขึ้นครองราชย์ สมบัติ ในขณะทีม่ พี ระชมมายุยงั น้อย พระเฑียร ราชา จึงอยู่ในฐานะที่อาจก่อความระแวงว่าจะ แย่งชิงราชสมบัติได้ ดังนั้น พระองค์จึงเสด็จ ออกผนวชที่วัดราชประดิษฐาน ต่อมาได้เสด็จ
ขึน้ ครองราชสมบัตเิ ป็น สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ หลังจากทีข่ นุ วรวงศาธิราชและท้าวศรีสดุ าจันทร์ ถูกปรงพระชนม์ หลังจากนัน้ วัดราชประดิษฐาน ยังถูกกล่าวถึงเมื่อพระศรีศิลป์พระราชโอรสใน สมเด็จพระไชยราชาธิราชและท้าวศรีสดุ าจันทร์ มีพระชันษาได้ประมาณ 14 พรรษา สมเด็จ พระมหาจั ก รพรรดิ จึ ง ทรงให้ อ อกผนวชเป็ น สามเณร ณ วัดราชประดิษฐานแต่พระศรีศิลป์ ก่อขบถต้องปืนสิ้นพระชนม์เสียก่อน นอกจากนี้ วั ด ราชประดิ ษ ฐานยั ง ใช้ เ ป็ น
ที่ประทับของสมเด็จพระเจ้าอุทุมพรในขณะ ที่พระองค์ผนวชเป็นพระภิกษุ หลังจากเสีย กรุงศรีอยุธยาครัง้ ที่ 2 จากนัน้ วัดราชประดิษฐาน ถู ก ปล่ อ ยร้ า งเรื่ อ ยมา จนกระทั่ ง พระบาท สมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณา โปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ขุนศรีสงคราม เป็นแม่กองบูรณปฏิสังขรณ์ขึ้นใหม่ เมื่อปี พ.ศ. 2460 และได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อ วันที่ 2 กันยายน พ.ศ.2497
AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 13
13
21/05/61 05:56:05 PM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดคู้สลอดวุฒิโสภณ
พระครู พิ พั ฒ นกิ จ วิ ม ล เจ้ า คณะอ� ำ เภอลาดบั ว หลวงชั้ น พิ เ ศษ ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง เจ้ า อาวาส
วั ด คู้สลอดวุฒิโสภณ ตั้งอยู่ ต.คู้สลอด อ.ลาดบัวหลวง จ.พระนครศรีอยุธยา ที่ตั้งวัดเดิมเป็นพื้นที่ท�ำนา สมัยก่อน ความเจริญยังไม่เข้ามา การสัญจรไปมา ต้องพึ่งพาเรือ เป็นทางไปมาหาสู่ซ่ึงกันและกัน จนกระทั่งมีผู้มีจิตศรัทธาสร้างวัดไว้เพื่อท�ำบุญในพระพุทธ ศาสนา และอยากมีวัดใกล้ๆ บ้าน จึงมีผู้เริ่มบริจาคที่ดินให้สร้างวัด โดยมียายตาบ บริจาค เนื้ อ ที่ 9 ไร่ 1 งาน 96 ตารางวา ต่อ มามีผู้บ ริจ าคอี ก 2 ราย เนื้ อที่ ป ระมาณ 29 ไร่ เศษ เมื่ อ ด� ำ เนิ น การสร้ า งวั ด ขึ้ น มาแล้ ว ขนานนามว่ า วั ด ใหม่ ไ ปล่ ป ลื้ ม ประชุ ม ท� ำ ก่ อ ตั้ ง ขึ้ น เมื่ อ วั น ที่ 1 เมษายน พ.ศ.2451 เพื่อ เป็น เกียรติ แก่ นายไปล่ กับ นายปลื้ ม ร่ ว มกั บ ราษฎร ในหมู ่ บ ้ า น ที่ ช ่ ว ยกัน ด�ำเนิน การมาตั้งแต่ต้น 14
ต่อมาชาวบ้านนิมนต์ พระอาจารย์เคลือบ มาเป็นเจ้าอาวาส รูปที่ 2 ในปี พ.ศ.2467 ท่าน ได้สร้างโบสถ์ 1 หลังเล็กๆ และเปลี่ยนชื่อวัด “วัดใหม่ไปล่ปลืม้ ประชุมท�ำ” เป็น “วัดบ่อสลอด” และท�ำการขอพระราชทานเขตพระอุโบสถ เมือ่ วันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2467 เขตวิสงุ คามสีมา กว้าง 80 เมตร ยาว 120 เมตร ส�ำหรับการตัง้ ชือ่ วัดบ่อสลอด นัน้ เนือ่ งจาก บริ เ วณวั ด มี ต ้ น สลอดขึ้ น อยู ่ ม าก จึ ง ใช้ ชื่ อ ต้นสลอด และต�ำบลคู้สลอดรวมกันตั้งชื่อ วัด บ่อสลอด หลังจากได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา แล้ ว อี ก ไม่ กี่ ป ี ต ่ อ มาพระอาจารย์ เ คลื อ บก็ มรณภาพ
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 14
24/05/61 10:13:12 AM
มาถึงเจ้าอาวาสรูปที่ 3 พระอาจารย์ฉาย ในยุคของท่านนัน้ ไม่มอี ะไรเปลีย่ นแปลงมากนัก เมื่อถึงเจ้าอาวาสรูปที่ 4 พระอาจารย์พงษ์ เป็น เจ้าอาวาส ท่านเป็นศิษย์ข องหลวงพ่อปาน โสนันโท ได้รบั มอบหมายด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส ที่ว่างลง ในขณะนั้นพระอาจารย์พงษ์ได้สร้าง เจดีย์บรรจุพระเครื่องพิมพ์ต่างๆ ไว้ในเจดีย์ แบบหลวงพ่อปาน แต่ในทีส่ ดุ ท่านก็ลาสิกขา ใน พ.ศ.2486 จนถึงเจ้าอาวาสรูปที่ 5 ในปี พ.ศ. 2487 พระครูประทุมคุณากร (หลวงพ่อเปลือ้ ง) เจ้าคณะต�ำบลคู้สลอด ได้เปลี่ยนชื่อใหม่จาก วัดบ่อสลอด เป็น วัดคูส้ ลอด ตัง้ แต่นนั้ เป็นต้นมา ท่านเป็นพระเกจิอาจารย์ที่ประชาชนเลื่อมใส เป็นอย่างมากในสมัยนั้น จนมาถึงเจ้าอาวาส รูปที่ 6 ในปี พ.ศ.2512 พระครูโสภณรัตนกร (หลวงพ่อสมหวัง) อดีตเจ้าคณะอ�ำเภอลาดบัวหลวง เพิ่มเติมชื่อวัดเป็น “วัดคู้สลอดวุฒิโสภณ”
เทศกาลตรุษไทย ถือเป็นวันปีใหม่ในสมัย โบราณ ตรงกับวันแรม 14 - 15 ค�่ำเดือน 4 และวันขึ้น 1 ค�่ำเดือน 5 รวม 3 วัน โดยถือเอา วันแรก คือวันแรม 14 ค�่ำเป็นวันจ่าย เพื่อ ตระเตรียมสิ่งของไว้ท�ำบุญ วันกลาง คือวันแรม 15 ค�่ำ เป็นวันท�ำบุญตักบาตร และมีการละ เล่นสนุกสนานตาม ประเพณีท้องถิ่น ซึ่งจะเล่น กับจนถึงวันที่ 3 คือวันขึ้น 1 ค�่ำเดือน 5 ค�ำว่า “ตรุษ” แปลว่า ตัด หรือ ขาด ซึ่ง หมายความว่า ตัดปีเก่าที่ล่วงมาแล้วให้ขาดไป ประเพณีตรุษนีแ้ ต่เดิมเป็นของพวกอินเดียฝ่ายใต้ เมื่อพวกทมิฬได้มาครองเมืองลังกา ได้น�ำพิธี ตรุษซึ่งเป็นลัทธิศาสนาของตนเข้ามาปฏิบัติ จึง กลายเป็นงานนักขัตฤกษ์ใหญ่ นิมนต์พระสงฆ์ มาเจริญพระพุทธมนต์ในวันแรม 14 ค�ำ ่ วัน แรม 15 ค�่ำเดือน 4 และขึ้น 1 ค�่ำ เดือน 5 เพื่อให้ เป็นสิรมิ งคลแก่บา้ นเมืองของตน ขนมทีจ่ ดั ท�ำขึน้ ในวันตรุษที่จะขาดไม่ได้คือ ข้าวเหนียวแดง และกะละแม มีการท�ำบุญตักบาตรเลี้ยงพระ ตามประเพณี โดยท่านพระครูพิพัฒนกิจวิมล เจ้าอาวาส เจ้าคณะอ�ำเภอลาดบัวหลวง ท่านยังคงรักษา ประเพณีเดิมเพิ่มเติม คือ การตักบาตรข้าวสาร ท� ำ กั น มานานโดยให้ ป ระชาชนน� ำ ข้ า วสาร มาตักบาตรพระบนศาลาการเปรียญ เป็นการ เสริมสร้างศรัทธา อีกประการหนึ่ง เป็นการ เพิ่มบุญเพิ่มกุศลแด่พุทธศาสนิกชนในการท�ำ กิจกรรมโรงทานของวัดในเทศกาลสงกรานต์ ของทุกปี
กระทัง่ ถึงเจ้าอาวาสรูปปัจจุบนั เป็นรูปที่ 7 พระครูพพิ ฒ ั นกิจวิมล (หลวงพ่อวิจติ ร) เจ้าคณะ อ�ำเภอลาดบัวหลวงชัน้ พิเศษ ตัง้ แต่ปี พ.ศ.2544 เป็นต้นมาจนถึงปัจจุบนั คือ พระครูพพิ ฒ ั นกิจวิมล (หลวงพ่อวิจิตร) นับเป็นยุคแห่งการ “พัฒนา” เสนาสนะที่ช�ำรุดทรุดโทรม “บูรณปฏิสังขรณ์” ให้ดูใหม่แล้วใช้งานได้สะดวกสบายเหมาะกับ ยุ ค สมั ย ในปั จ จุ บั น และท่ า นยั ง ได้ อ นุ รั ก ษ์ ประเพณีการท�ำบุญของชาวพุทธไว้ด้วย อาทิ วันเทศกาลตรุษไทย AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 15
15
24/05/61 10:13:18 AM
Wat Koo Salod Wutthi Sopon Phra Khru Pipathana Kitwimon, Lat Bua Luang district special rank monk dean, the abbot of this temple. Wat Koo Salod Wutthi Sopon is located at Koo Salod sub-district, Lat Bua Luang district, Ayutthaya province. Former location of this temple was farmland. In the old days, the passageway was undeveloped, thus, people at that time had to travel by boat until there were faithful Buddhists who wanted to make merit, built this temple which completed on 1 April 2451 B.E. and named it “Wat Mai Plai Pleum Prachumtham” to be an honor for Mr.Plai and Mr.Pleum together with locals in village whom jointly built this temple from the start. After that, locals invited Phra Ajarn Khleuap to be the second abbot at this 16
temple in 2476 B.E. He built 1 small Buddhist sanctuary and changed this temple name from “Wat Mai Plai Pleum Prachumtham” to “Wat Bor Salod”, then, requested to a Royal family for Wisungkhamsima” (Land granted from Royal family to build temple or other religious buildings) on 24 February 2467 B.E. which scale of this land is 80 meters in width and 120 meters in length. Next, the third abbot “Phra Ajarn Chai”, there were not many changes when he was an abbot. Then, the fourth abbot “Phra Ajarn Pong” who was Luang Por Pan Sonanto’s disciple. He built a pagoda to contain small Buddha
images like Luang Por Pan has done and passed away in 2486 B.E. afterwards. After that, in 2487 B.E., Phra Khru Prathum Kunakorn (Luang Por Pleuang) who was Koo Salod sub-district monk dean (at that time) has changed this temple’s name to “Wat Koo Salod” which has been used until today. He was a master monk who was believed in by many people at that time. Then, the sixth abbot “Phra Khru Sopon Rattanakorn (Luang Por Somwang)” who was a Lat Bua Luang district former monk dean has changed temple’s name to “Wat Koo Salod Sopon” in 2512 B.E.
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 16
24/05/61 10:13:21 AM
Then, the seventh abbot “Phra Khru Pipathana Kitwimon” who was Lat Bua Luang district special rank monk dean and has been an abbot since 2544 B.E. until now. During his time, there were many dilapidated construction in this temple that were developed and repaired to make it looked brand-new which can be comfortably used and suitable with modern style. Moreover, he also preserve Buddhist merit-making traditions such as “Trut Thai” (Thai Lunar New Year) which is Thai New Year day in ancient Thai era that fall on 14th - 15th day of waning moon on 4th month and 1st day of waxing moon on 5th month which are 3 days in total. Word “Trut” means cut or torn which mean cut off an old year. There are desserts that cannot be missed in this day which are red sticky rice and caramel. Phra Khru Pipathana Kitwimon, Lat Bua Luang district monk dean has held the traditional merit-making ceremony and he also maintain an old tradition which is offer rice to the monks by letting people bring rice to offer to the monks on sermon hall in a temple. The purpose of this ceremony is to strengthen faith of people who join this ceremony. Moreover, it is for increasing merit of Buddhists who performed an activity at almshouse in this temple on Songkran day annually.
AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 17
17
24/05/61 10:13:25 AM
H O TEL G U ID E บันทึกเส้นทางที่พัก
มนต์ ส เน่ ห ์ อ ยุ ธ ยาเที่ ย วได้ ทั้ ง ปี กั บ ที่ พั ก ราคาดี ๆ ที่ บ ้ า นวั น เลิ ฟ อยุ ธ ยา
BAAN ONE LOVE # AYUTTHAYA
“Baan one love Ayutthaya” ตั้งอยู่ห่า งจาก วัดราชบูรณะซึ่งเก่าแก่เป็นระยะทาง 200 เมตร มีที่พัก ราคาประหยัดในศูนย์กลางของอยุธยาในสมัยโบราณ ผู้เข้าพักสามารถเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตไร้สาย (WiFi) ฟรี ได้ ในทุกพื้นที่ในระหว่างเข้าพัก
BAAN ONE LOVE มีท�ำเลอยู่ห่างจากวัดมหาธาตุ เป็ น ระยะทางไม่ เ กิ น 250 เมตร และตั้ ง อยู ่ ห ่ า งจาก วัดมงคลบพิตรและวัดพระศรีสรรเพชญ์โดยใช้เวลาเดิน 10 นาที ทีพ่ กั ตัง้ อยูห่ า่ งจากตลาดโต้รงุ่ เป็นระยะทางเพียง 200 เมตร และมีท�ำเลอยู่ห่างจากตลาดน�้ำอโยธยาโดยใช้ เวลาเดินทางด้วยรถยนต์ 10 นาที
18
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
2
.indd 18
22/5/2561 11:09:17
BAAN ONE LOVE
ร้านบ้านวันเลิฟ BAAN ONE LOVE 21/12-14 ซ.จักรพรรดิ์ ต.ประตูชัย อ.พระนครศรีอยุธยา จ.พระนครศรีอยุธยา 21/12-14 Soi Jakkapat T.Pratuchai A.Pranakornsriayutthaya, “Restaurant-Guesthouse-Boat trip” อาหารไทย-ห้องพัก-เรือเที่ยว ราคาประหยัด
ห้องพักอบอุ่นได้รับการตกแต่งแบบเรียบง่าย มีเตียง กรอบไม้และผ้าตกแต่งหลากสี ห้องพักมีทางเดินไปยัง ห้องน�้ำรวมหรือห้องน�้ำส่วนตัว มีเครื่องปรับอากาศหรือ พัดลม ห้องพักมีพนื้ ทีน่ งั่ เล่นและผ้าขนหนู มีคมู่ อื น�ำเทีย่ ว ภาษาอังกฤษและแผนที่ที่มีเนื้อหาครอบคลุมให้บริการ ส�ำหรับห้องพักทุกยูนิต
Facebook : ammy yabe บ้านวันเลิฟ E-mail : khwimon@gmail.com Line : ammyonelove ติดต่อ คุณแอมมี่ (Ammy), คุณนก (Nok) Tel : 035-957-797, 086-758-2172 (ไทย) 089-905-2801 (English)
AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 19
19
25/5/2561 15:51:15
UNDER HIS GRACIOUSNESS บันทึกเส้นทางใต้ร่มพระบารมี
ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพ ระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน) 20
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 20
22/5/2561 11:05:23
“ การสร้างงานศิลปะทุกอย่าง ทุกประเภท นอกจากจะต้องใช้ความฝึกหัดชัดเจนในทาง ปฏิบัติ ประกอบกับวิธีการที่ดีอย่างเหมาะสม แล้ว ศิลปินจ�ำต้องมีความจริงใจและความ บริสุทธิ์ใจในงานที่ท�ำด้วย จึงจะได้ผลงาน ที่มีค่าควรแก่การยอมรับนับถือ เพราะ ความจริงใจที่มีอยู่อย่างสมบูรณ์มั่นคงนั้น เป็นเหตุส�ำคัญที่ท�ำให้สามารถน�ำเอา คุณลักษณะพิเศษภายในตัว ออกมาแสดง ให้ปรากฏได้โดยเด่นชัด ” พระราชด�ำรัสของพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ในหลวงรัชกาลที่ ๙
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงลง
พระปรมาภิไธยในพระราชกฤษฎีกาจัดตัง้ ศูนย์สง่ เสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน) พ.ศ.2546 เมื่อวันที่ 20 กันยายน 2546 และ ประกาศในราชกิ จ จานุ เ บกษาเมื่ อ วั น ที่ 31 ตุลาคม 2546 ซึ่งมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันถัดจาก วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา (1 พฤศจิกายน 2546) จึงถือก�ำหนดให้วนั ที่ 1 พฤศจิกายน ของ ทุกปี เป็นวันคล้ายวันสถาปนา ศ.ศ.ป. และให้มชี อื่ ภาษาอังกฤษว่า The SUPPORT Arts and Crafts International Centre of Thailand (Public Organization) เรียกโดยย่อว่า “SACICT” (อ่านพ้องเสียงกับค�ำว่า “ศักดิส์ ทิ ธิ”์ ในภาษาไทย) ตามพระราชกฤษฎีกา จัดตั้ง ศ.ศ.ป. พ.ศ. 2546 มาตรา 7 ก�ำหนดให้ศูนย์มีวัตถุประสงค์ ในการส่งเสริมสนับสนุนให้มีการประกอบอาชีพ
ผสมผสานเพือ่ สร้างผลิตภัณฑ์ศลิ ปหัตถกรรมพืน้ บ้านตามโครงการส่งเสริมศิลปาชีพในสมเด็จ พระนางเจ้าสิรกิ ติ ิ์ พระบรมราชินนี าถ และส่งเสริม สนับสนุนด้านการตลาดส�ำหรับผลิตภัณฑ์ดงั กล่าว ทั้งในประเทศและต่างประเทศ รูปแบบการบริหาร
ศ.ศ.ป. เป็นหน่วยงานของรัฐซึ่งมีการบริหาร งานในรู ป แบบองค์ ก ารมหาชนตามพระราช บัญญัตอิ งค์การมหาชนโดยมีบทบาทหน้าทีค่ วาม รับผิดชอบ ด�ำเนินการบริหารจัดการให้มกี ารแสดง การประกวด หรือจ�ำหน่ายศิลปหัตถกรรมพืน้ บ้าน พัฒนาผลิตภัณฑ์ศิลปหัตถกรรมพื้นบ้าน ทั้งใน ด้านคุณภาพ มาตรฐาน รวมทัง้ ส่งเสริมภาพลักษณ์ การพัฒนารูปแบบ และการบรรจุผลิตภัณฑ์
“ เป็นศูนย์รวมองค์ความรู้ และอนุรักษ์สืบสานคุณค่า ศิลปหัตถกรรมไทย รวมทั้งต่อยอด เชิงพาณิชย์สู่สากล เพื่อให้ชุมชน กินดีอยู่ดี อย่างยั่งยืน ”
ด�ำเนินการส่งเสริมสนับสนุนด้านการตลาด การขยายตลาด ทั้งในประเทศ และต่างประเทศ ส่งเสริมให้เกิดการเชื่อมโยงและสนับสนุน ระหว่ า งอุ ต สาหกรรมการผลิ ต การจ� ำ หน่ า ย ผลิตภัณฑ์ศิลปหัตถกรรมพื้นบ้าน ตลอดจนผสม ผสานหรื อ ประยุ ก ต์ เ ทคโนโลยี ที่ ทั น สมั ย กั บ ภูมิปัญญาท้องถิ่น AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 21
21
22/5/2561 11:05:32
พัฒนาฝึกอบรมการบริหาร จัดการ การผลิต การบริหารงานบุคคล การเงิน และการตลาด ด�ำเนินการสนับสนุนด้านลิขสิทธิ์ สิทธิบัตร และทรัพย์สินทางปัญญาอื่นๆ ภายในศูนย์สง่ เสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ จัดหอนิทรรศการไว้ให้นักท่องเที่ยวเดินทางมา แวะชมผลิตภัณฑ์อย่างงาม อาทิ หอศิ ล ปาชี พ : หอนิ ท รรศการที่ น� ำ เสนอ พระราชกรณียกิจ และพระเกียรติคณ ุ สมเด็จพระ นางเจ้าฯ พระบรมราชินนี าถ ทีท่ รงมีตอ่ พสกนิกร ชาวไทย ด้ ว ยสื บ สานพระราชปณิ ธ านในการ สร้างงาน สร้างอาชีพด้วยความตระหนักและ ห่วงใยในชีวิตความเป็นอยู่ของราษฎร จึงทรง จัดหาอาชีพเสริมในพื้นที่ชนบททั้งใกล้และไกล ให้มีโอกาสท�ำงานอยู่กับบ้าน เสริมสร้างความ
22
เข้มแข็งทางเศรษฐกิจให้กบั ครอบครัว โดยไม่ตอ้ ง ละทิ้งถิ่นฐานเข้ามาประกอบอาชีพในเมืองใหญ่ จนท�ำให้ประชาชนของพระองค์มีรายได้ และ อาชีพเสริมจากภูมิปัญญาพื้นบ้านในด้านงาน หั ต ถกรรมที่ เ ป็ น มรดกสื บ ทอดกั น มาในแต่ ล ะ ท้องถิ่น จนก่อให้เกิดมูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพฯ และศูนย์ศลิ ปาชีพฯ ในทัว่ ทุกภูมภิ าคของประเทศ หอนวัตศิลป์ : จัดแสดงผลิตภัณฑ์เชิงนวัตศิลป์ เป็นกลุ่ม ผลิตภัณฑ์ศิลปหัตถกรรมที่สร้างสรรค์ ขึ้นใหม่ด้วยการผสมผสานนวัตกรรมทางศิลปะ ความคิดสร้างสรรค์กับทักษะฝีมือเชิงช่างชั้นสูง และภูมปิ ญ ั ญาพืน้ บ้าน รวมทัง้ การใช้วตั ถุดบิ จาก งานศิลปหัตถกรรมดั้งเดิม และงานหัตถกรรม แบบพื้นบ้านมีการปรับปรุงผลงานให้สอดคล้อง กับความต้องการของตลาดและกระแสนิยม
หอสุพรรณ-พัสตร์ : จัดแสดงเครือ่ งทองไทย
และจัดแสดงผ้าไทย จัดแสดงผืน ผ้าและพัสตรา ภรณ์ซงึ่ เป็นเครือ่ งสะท้อนวัฒนธรรมและอัตลักษณ์ ทางชาติพันธุ์และกลุ่มชนที่อาศัยอยู่ร่วมกันมา ช้านานบนผืนแผ่นดินไทย นอกจากนี้ยังจัดแสดง นิทรรศการ “ชุดไทยพระราชนิยม” ซึง่ สมเด็จพระ นางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงมีพระราช วิ นิ จ ฉั ย ปรั บ ปรุ ง เครื่ อ งแต่ ง กายที่ แ สดงถึ ง เอกลักษณ์สตรีไทยให้เป็นที่ยอมรับและจดจ�ำไป ทั่วโลก
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 22
22/5/2561 11:05:40
“ช่างดีนั้นพูดกันว่าฝีมือดี แต่ไม่จริงมิได้ ฝีมือจะใช้อะไรได้ ต้องว่าความคิดดี คือความคิดน�ำมือไป อันความคิดของพวกช่างนั้นไม่มีที่สิ้นสุด” สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวิดติวงศ์ บรมครู นายช่างใหญ่แห่งกรุงสยาม
หอเกียรติยศ : หรือ Hall of Fame เพื่อเป็น
สถานทีใ่ นการยกย่องเชิดชูเกียรติ จัดแสดงผลงาน และเผยแพร่ขอ้ มูลของครูศลิ ป์ของแผ่นดิน ครูชา่ ง ศิลปหัตถกรรม และทายาทช่างศิลปหัตถกรรม ที่ จั ด แสดงผ่ า นนิ ท รรศการบ้ า นครู ฯ จาก 9 สาขาช่าง อาทิ บ้านช่างเครื่องหิน บ้านช่างเครื่อง โลหะ บ้านช่างเครื่องหนัง บ้านช่างเครื่องจักสาน บ้านช่างเครือ่ งไม้ บ้านช่างเครือ่ งกระดาษ บ้านช่าง เครือ่ งรัก บ้านช่างเครือ่ งดิน และบ้านช่างเครือ่ งทอ (ผ้า) ภายในบ้านต่างๆ จ�ำลองการจัดแสดงให้ ผูเ้ ข้าเยีย่ มชมได้เห็นวิถชี วี ติ การท�ำงาน รวมทัง้ ผล งานชิน้ ส�ำคัญของครูฯ ในหลากหลายชิน้ งาน โดย ได้น�ำสื่อเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ประกอบการ จัดแสดงเพื่อเพิ่มความน่าสนใจ และการมีส่วน ร่วมของ ผู้เข้าชมนิทรรศการ เพื่อให้ผู้เข้าชม ร่วมกันตามหา “ขุมทรัพย์หัตถศิลป์” ที่ซ่อนอยู่ ภายในนิทรรศการ หอหัตถศิลป์ระหว่างประเทศ : จัดแสดงองค์ ความรู้ ผลิตภัณฑ์ทางด้านหัตถศิลป์ หัตถกรรม ไทยและนานาชาติ อาทิเช่น งานจักสาน เครือ่ งปัน้ ดินเผา งานฝีมอื อืน่ ๆ เป็นต้น โดยมีการปรับเปลีย่ น นิ ท รรศการทุ ก ๆ ปี ให้ มี ค วามสอดคล้ อ งกั บ หัตถกรรมโลก นอกจากนี้ยังมีส่วนจัดแสดงผล งานศิลปะจากประเทศต่างๆ ในแถบอาเซียน ได้ แ ก่ เวี ย ดนาม ลาว พม่ า กั ม พู ช า และ ประเทศไทย ที่มีรูปแบบคล้ายคลึงหรือแตกต่าง กั น อย่ า งน่ า สนใจ บ่ ง ชี้ ถึ ง หลั ก ฐานทาง ประวัติศาสตร์ของแต่ละภูมิภาคได้อย่างชัดเจน
นิทรรศการ โขน วัฒนธรรมร่วมแห่งภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Southeast Asian’s Khon Performance) :
จัดแสดงเรือ่ งราวความเป็นมาของวัฒนธรรม การแสดงโขนในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประกอบด้วย 4 ประเทศ คือ ประเทศไทย พม่า ลาวและกัมพูชา รวมทัง้ จัดแสดงงานช่างหัตถศิลป์ ด้านงานโขน อาทิ หัตถศิลป์หัวโขน การปักผ้า ชุดโขน เครือ่ งถนิมพิมพาภรณ์ทใี่ ช้ในการแสดงโขน และส่วนนิทรรศการหมุนเวียน จัดแสดงการน�ำ แรงบันดาลใจจากงานโขนมาปรับใช้ในการท�ำ เครือ่ งประดับและเครือ่ งใช้ตา่ งๆ ทีส่ ามารถน�ำมา ใช้งานได้จริงในวิถชี วี ติ ปัจจุบนั ซึง่ แสดงให้เห็นถึง
การสร้างค่านิยมการเรียนรู้งานหัตถศิลป์ให้เป็น วิ ถี ชี วิ ต ของคนไทย และสามารถน� ำ มาปรั บ ประยุกต์ใช้ ให้เข้ากับวิถีชีวิตประจ�ำวัน (Today Life’s Crafts)
ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ เลขที่ 59 หมู่ 4 ต.ช้างใหญ่ อ.บางไทร จ.พระนครศรีอยุธยา โทรศัพท์ 0 3536 7054-9 โทรสาร 0 3536 7051 สายด่วน 1289 ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ info@sacict.mail.go.th
AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 23
23
22/5/2561 11:05:54
Director of nakhonsawan Provincial Buddhism Office
ประดับ โพธิกาญจนวัตร ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดพระนครศรีอยุธยา 24
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 24
24/05/61 04:02:52 PM
E XCL U SIVE INTERVIEW
บันทึกเส้นทางพบผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานพระพุทธศาสนา
ส� ำ นั ก งานพระพุ ท ธศาสนา จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา เป็ น องค์ ก รหลั ก ในการ ขั บ เคลื่ อ นพระพุ ท ธศาสนา ให้ มี ค วามเจริ ญ มั่ น คง ยั่ ง ยื น และพุ ท ธศาสนิ ก ชน มี ค วามสุ ข ด้ ว ยหลั ก พุ ท ธธรรม คื อ วิ สั ย ทั ศ น์ ข องส� ำ นั ก งานพระพุ ท ธศาสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ส�ำนักงานพระพุทธศาสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
เป็นหน่วยงานที่อยู่ภายใต้การก�ำกับ ดูแล ของส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ปฏิบัติ หน้าทีใ่ นระดับจังหวัด การแบ่งเขตการปกครอง ส่ ว นภู มิ ภ าค เราแบ่ ง ตามกฎกระทรวงแบ่ ง ส่วนราชการส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ พ.ศ.2557 มีภารกิจในด้านพระพุทธศาสนา และสนองงานคณะสงฆ์ในส่วนภูมิภาค มีฐานะ เทียบเท่ากอง ตามประกาศส�ำนักงานพระพุทธ ศาสนาแห่งชาติ ที่ 40/2547 ลงวันที่ 30 มกราคม 2547
พันธกิจ 4 ด้าน
ทีม่ งุ่ ตรงสูเ่ ป้าหมายอย่างมีนยั ส�ำคัญในการ สร้างความสุขมวลรวมให้กับทุกคนในจังหวัด ซึ่งผสานสอดคล้องไปกับระดับประเทศ คือ 1. การอุปถัมภ์คุ้มครองพระพุทธศาสนา 2. การส่งเสริมการเผยแผ่พระพุทธศาสนา 3. การส่งเสริมการศึกษาสงฆ์ 4. การรณรงค์ให้พุทธศาสนิกชน น�ำหลัก ศีล 5 ไปปฏิบัติในชีวิตประจ�ำวัน
AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 25
25
24/05/61 04:03:07 PM
จากการจัดท�ำโครงการในลักษณะลงลึก ถึงจิตใจของทุกครัวเรือน ก่อให้เกิดผลอันน่า ภาคภูมิใจ คือ 1. เยาวชน จากสถานศึ ก ษา ในระดั บ ประถมศึกษา มัธยมศึกษา อาชีวศึกษา ทั้ง ภาครัฐ และเอกชน เข้าร่วมกิจกรรม 2. นั ก เรี ย น เยาวชน พุ ท ธศาสนิ ก ชน เกิดความตระหนักร่วมรณรงค์การจัดกิจกรรม ไหว้พระ สวดมนต์ และปลูกฝังจิตส�ำนึกและ สร้างความตระหนัก รักและเชิดชูสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ให้มคี วามมัน่ คงยัง่ ยืน จากรากฐานอันมั่นคงทางพระพุทธศาสนา ของชาวอยุธยา กับการก้าวไปในอนาคต เรา ได้ด�ำเนินตามโยบาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ และ ยุทธศาสตร์ ของส�ำนักงานพระพุทธศาสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ซึ่งก�ำหนดไว้ ดังนี้
วิสัยทัศน์ คื อ ส� ำ นั ก งานพระพุ ท ธศาสนาจั ง หวั ด พระนครศรีอยุธยา เป็นองค์กรหลัก ในการ ขับเคลื่อนพระพุทธศาสนา ให้มีความเจริญ มั่นคง ยั่งยืน และพุทธศาสนิกชน มีความสุข ด้วยหลักพุทธธรรม
พันธกิจ 1. การอุปถัมภ์ คุ้มครอง พระพุทธศาสนา 2. การส่งเสริม เผยแผ่พระพุทธศาสนา 3. การส่งเสริมการศึกษาสงฆ์ 4. การรณรงค์ให้พุทธศาสนิกชน น�ำหลัก ศีล 5 ไปปฏิบัติในชีวิตประจ�ำวัน
ยุทธศาสตร์ 1. การอุปถัมภ์ คุ้มครองพระพุทธศาสนา 2. การส่ ง เสริ ม เผยแผ่ และ การจั ด การศึกษาสงฆ์ 3. การขับเคลื่อนหลักศีล 5 สู่ครอบครัว ชุมชน และสถานศึกษา
26
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 26
24/05/61 10:58:41 AM
กิจกรรมส�ำคัญ
ทางพระพุทธศาสนาที่จัดเป็นประจ�ำ ส� ำ หรั บ กิ จ กรรมมี ม ากมาย อาทิ โครงการเข้ า วั ด สวดมนต์ ท� ำ วั ต รเย็ น ทุกวันธรรมสวนะ, โครงการเผยแผ่ธรรมะ สูส่ ถานศึกษา (โครงการสร้างความปรองดอง สมานฉันท์ โดยใช้หลักธรรมทางพระพุทธ ศาสนา “หมู่บ้านรักษาศีล 5” ระยะที่ 3 อีกทั้งโครงการต่างๆ ที่จะเกิดขึ้น จะต้อง ได้ รั บ ความร่ ว มมื อ จากทุ ก ฝ่ า ย ได้ แ ก่ ส� ำ นั ก งานพระพุ ท ธศาสนาแห่ ง ชาติ ส� ำ นั ก ง า น พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า จั ง ห วั ด คณะสงฆ์ และภาคส่วนราชการฯ เป็นต้น
Ayutthaya รางวัลที่ได้รับ และ
ผลการด�ำเนินงานที่ภาคภูมิใจ เราได้รับโล่เกียรติคุณ หมู่บ้านรักษาศีล 5 เป็นผู้ขับเคลื่อนโครงการ “หมู่บ้านรักษาศีล 5” ดีเด่น มีประชาชนในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เข้าร่วมโครงการ “หมู่บ้านรักษาศีล 5” เกิน ร้อยละ 80 จากสมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ ประธานอ�ำนวยการโครงการ “หมูบ่ า้ นรักษาศีล 5” เมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม 2560
จ�ำนวนประชากร 803,773 คน ชาย 387,518 คน หญิง 416,255 คน มีพื้นที่ 16 อ�ำเภอ ศาสนาพุทธ ร้อยละ 92.12 ศาสนาอิสลาม ร้อยละ 7.53 ศาสนาคริสต์ ร้อยละ 0.34 วัด 515 วัด มัสยิด 60 แห่ง โบสถ์คริสต์ 11 แห่ง วัดร้าง 436 วัด ส�ำนักสงฆ์ 9 แห่ง ศู น ย์ ศึ ก ษาพระพุ ท ธศาสนา วันอาทิตย์ 85 แห่ง พระอารามหลวง 15 แห่ง จ�ำนวนต�ำบล 209 แห่ง จ�ำนวนหมู่บ้าน 1,459 แห่ง จ� ำ นวนหมู ่ บ ้ า นที่ ไ ด้ เ ข้ า ร่ ว ม “โครงการศีล 5” 1,130 แห่ง จ�ำนวนครัวเรือน 299,351 แห่ง
AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 27
27
24/05/61 10:58:48 AM
ชวนเที่ยว
วัดในอยุธยา
ขอยกตัวอย่างมาไว้ ณ ที่นี้จ�ำนวน 15 วัด ซึ่งเป็นวัดพระอารามหลวง ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา คือ 1. วัดสุวรรณดารารามราชวรวิหาร อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา 2. วัดบรมวงศ์อิศรวรารามวรวิหาร อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา 3. วัดเสนาสนารามราชวรวิหาร อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา 4. วัดกษัตราธิราชวรวิหาร อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา 5. วัดพรหมนิวาส อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา 6. วัดพนัญเชิงวรวิหาร อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา 7. วัดพุทไธศวรรย์ อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา 8. วัดหน้าพระเมรุราชิการาม อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา 9. วัดตูม อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา 10. วัดศาลาปูนวรวิหาร อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา 11. วัดชูจิตธรรมาราม อ�ำเภอวังน้อย 12. วัดวรนายกรังสรรค์เจติยบรรพตาราม อ�ำเภอบางปะหัน 13. วัดชุมพลนิกายารามราชวรวิหาร อ�ำเภอบางปะอิน 14. วัดวิเวกวายุพัด อ�ำเภอบางปะอิน 15. วัดนิเวศธรรมประวัติราชวรวิหาร อ�ำเภอบางปะอิน
วัดพนัญเชิงวรวิหาร
วัดกษัตราธิราชวรวิหาร
วัดสุวรรณดารารามราชวรวิหาร
28
วัดวรนายกรังสรรค์เจติยบรรพตาราม
วัดวรนายกรังสรรค์เจติยบรรพตาราม
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 28
24/05/61 10:58:56 AM
วัดกษัตราธิราชวรวิหาร
วัดเสนาสนารามราชวรวิหาร
วัดหน้าพระเมรุราชิการาม
วัดหน้าพระเมรุราชิการาม
วัดบรมวงศ์อิศรวรารามวรวิหาร
สร้างความสุขเย็นใจ AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 29
29
24/05/61 10:59:03 AM
30
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 30
24/5/2561 14:17:01
เยือนกรุงเก่า มรดกโลก โบราณสถานเมืองอยุธยา จากวันวาน ถึงวันนี้ ในน�้ำยังมีปลา ในนายังมีข้าว
Ayutthaya AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 31
31
24/5/2561 14:17:08
TR AV EL G U ID E
บันทึกเส้นทางความเป็นมาจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
เยือนกรุงเก่า มรดกโลก โบราณสถานเมืองอยุธยา จากวันวาน ถึงวันนี้ ในน�้ ำ ยั งมี ป ลา ในนายั งมี ข ้ าว
พระนครศรีอยุธยา เป็นจังหวัดหนึ่ง
ในภาคกลางซึ่งเป็นเขตเศรษฐกิจ ที่ส�ำคัญ โดยมีผลิตภัณฑ์มวลรวม ของจังหวัด มีมูลค่าสูงเป็นอันดับ 3 ของประเทศ และมีประวัติศาสตร์ความเป็นมาที่ยาวนาน เคยมีชื่อเสียงในฐานะเป็นแหล่งปลูกข้าว ที่ส�ำคัญ เป็นจังหวัดที่ ไม่มีอ�ำเภอเมือง มีอ�ำเภอพระนครศรีอยุธยาเป็นศูนย์กลาง การบริหารจัดการด้านต่าง ๆ ชาวบ้าน โดยทั่วไปนิยมเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า “กรุงเก่า” หรือ “เมืองกรุงเก่า”
32
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นอดีตราชธานี ของไทยมีหลักฐานของการเป็นเมืองในลุ่มแม่น�้ำ เจ้าพระยา ตัง้ แต่ประมาณพุทธศตวรรษที่ 16-18 โดยมีรอ่ งรอยของทีต่ งั้ เมือง โบราณสถาน โบราณ วัตถุ และเรื่องราวเหตุการณ์ในลักษณะ ต�ำนาน พงศาวดาร ไปจนถึงหลักศิลาจารึก ซึ่งถือว่าเป็น หลักฐานร่วมสมัยที่ใกล้เคียงเหตุการณ์มากที่สุด ซึง่ เมืองอโยธยาหรืออโยธยาศรีรามเทพนคร หรือ เมืองพระราม มีทตี่ งั้ อยูบ่ ริเวณด้านตะวันออกของ เกาะเมื อ งอยุ ธ ยา มี บ ้ า นเมื อ งที่ มี ค วามเจริ ญ ทางการเมือง การปกครอง และมีวัฒนธรรมที่ รุง่ เรืองแห่งหนึง่ มีการใช้กฎหมายในการปกครอง บ้ า นเมื อ ง 3 ฉบั บ คื อ พระอั ย การลั ก ษณะ เบ็ดเสร็จ พระอัยการลักษณะทาส พระอัยการ ลักษณะกู้หนี้
สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ทรงกู้เอกราช คืนมาได้ใน พ.ศ. 2127 และ เสียกรุงศรีอยุธยา ครั้งที่ 2 ใน พ.ศ. 2310 สมเด็จพระเจ้าตากสิน มหาราช ทรงกอบกู้เอกราชได้ในปลายปีเดียวกัน แล้วทรงสถาปนา กรุงธนบุรเี ป็นราชธานีแห่งใหม่ โดยกวาดต้ อ นผู ้ ค นจากกรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยาไปยั ง กรุงธนบุรีเพื่อสร้างเมืองใหม่ แต่กรุงศรีอยุธยา ไม่ได้ กลายเป็นเมืองร้าง ยังคงมีคนรักถิ่นฐาน บ้านเดิมอาศัยอยูแ่ ละราษฎรทีห่ ลบหนีไปได้กลับ เข้ามาอยูร่ วมกัน ต่อมาได้รบั การยกย่อง เป็นเมือง จัตวาเรียก “เมืองกรุงเก่า” พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก มหาราช ทรงยกเมืองกรุงเก่าขึน้ เป็นหัวเมืองจัตวา เช่นเดียวกับสมัยกรุงธนบุรี หลังจากนัน้ พระบาท สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั โปรดให้จดั การ ปฏิรูปการปกครองทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาค โดยการปกครองส่วนภูมิภาคนั้นโปรดให้จัดการ ปกครองแบบเทศาภิบาลขึ้นโดยให้รวมเมืองที่ ใกล้เคียงกัน 3-4 เมือง ขึ้นเป็นมณฑล มีข้าหลวง เทศาภิบาลเป็นผู้ปกครอง โดยในปี พ.ศ. 2438 ทรงโปรดให้จดั ตัง้ มณฑลกรุงเก่าขึน้ ประกอบด้วย หัวเมืองต่างๆ คือ กรุงเก่าหรืออยุธยา อ่างทอง สระบุรี ลพบุรี พรหมบุรี อินทร์บุรี และสิงห์บุรี ต่ อ มาโปรดให้ ร วมเมื อ งอิ น ทร์ และเมื อ ง พรหมเข้ากับเมืองสิงห์บุรี ตั้งที่ว่าการมณฑลที่ อยุธยา และต่อมาในปี พ.ศ. 2469 เปลีย่ นชือ่ จาก มณฑลกรุงเก่าเป็นมณฑลอยุธยา ซึ่งจากการจัด ตั้งมณฑลอยุธยามีผลให้อยุธยามีความส�ำคัญ ทางการบริหาร การปกครองมากขึ้นการสร้าง สิ่งสาธารณูปโภคหลายอย่างมีผลต่อการพัฒนา
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 32
24/5/2561 14:17:15
เมืองอยุธยาในเวลาต่อมา จนเมื่อยกเลิกการ ปกครองระบบเทศาภิ บ าล ภายหลั ง การ เปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 อยุธยาจึง เปลีย่ นฐานะเป็นจังหวัดพระนครศรีอยุธยาจนถึง ปัจจุบัน ในสมัยจอมพล ป.พิบูลสงคราม เป็นนายก รัฐมนตรีได้มีนโยบายบูรณะโบราณสถานภายใน เมื อ งอยุ ธ ยาเพื่ อ เป็ น การฉลองยี่ สิ บ ห้ า พุ ท ธ ศตวรรษประจวบกั บ ในปี พ.ศ.2498 นายก รั ฐ มนตรี ป ระเทศพม่ า เดิ น ทางมาเยื อ น ประเทศไทยและมอบเงินจ�ำนวน 200,000 บาท เพื่ อ ปฏิ สั ง ขรณ์ วั ด และองค์ พ ระมงคลบพิ ต ร เป็นการเริ่มต้นการบูรณะโบราณสถานในอยุธยา อย่างจริงจัง ต่อมากรมศิลปากรเป็นหน่วยงานส�ำคัญใน การด�ำเนินการ จนองค์การศึกษาวิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติหรือยูเนสโก มี ม ติ ใ ห้ ขึ้ น ทะเบี ย นนครประวั ติ ศ าสตร์ พระนครศรีอยุธยาเป็น “มรดกโลก” เมือ่ วันที่ 13 ธันวาคม 2534 มีพื้นที่ครอบคลุมในบริเวณ โบราณสถานเมืองอยุธยาอาณาจักรกรุงศรีอยุธยา เป็นราชธานีมาตั้งแต่วันที่ 3 เมษายน 1893 จนถึงวันที่ 7เมษายน 2310 เป็นเวลายาวนาน ถึง 417 ปี มีประวัติในการปกครอง การกอบกู้ เอกราช วี ร กรรมและด้ า นขนบธรรมเนี ย ม ประเพณีมากมาย เป็นเมืองที่อุดมสมบูรณ์ด้วย พืชพันธ์ธัญญาหารดังค�ำกล่าวว่า “ในน�้ำมีปลา ในนามีข้าว” ทั่วทั้งจังหวัดพระนครศรีอยุธยายังมากมาย ไปด้วยวัดวาอาราม ปราสาทราชวังและปูชนีย สถาน ปูชนียวัตถุ
กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยามี พ ระมหากษั ต ริ ย ์ ป กครอง อาณาจักรสืบต่อกันมา 33 พระองค์ มีราชวงศ์ ผลัดเปลี่ยนกันครองอาณาจักรรวม 5 ราชวงศ์ 1. ราชวงศ์อู่ทอง 2. ราชวงศ์สุพรรณภูมิ 3. ราชวงศ์สุโขทัย 4. ราชวงศ์ปราสาททอง 5. ราชวงศ์บ้านพลูหลวง เขตการปกครองในสมัยอาณาจักรอยุธยา มีการแบ่งการปกครองในราชธานีออกเป็น 2 ส่วน ใหญ่ๆ ได้แก่ การปกครองภายในบริเวณก�ำแพง เมือง โดยในบริเวณก�ำแพงเมืองก็จะแบ่งออกเป็น 4 แขวงได้แก่ แขวงขุนธรณีบาล แขวงขุนโลกบาล แขวงขุนธราบาล แขวงขุนนราบาล ต่อมาในสมัยอาณาจักรธนบุรีจนถึงรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวได้รวมทั้ง 4 แขวงภายในก�ำแพงเมืองเป็นแขวงเดียวกัน เรียกว่า “แขวงรอบกรุง” และขยายอาณาเขตออก มาเท่าทีม่ อี ยูใ่ นปัจจุบนั และต่อมาเปลีย่ นมาเป็น อ� ำ เภอรอบกรุ ง อ� ำ เภอกรุ ง เก่ า และอ� ำ เภอ พระนครศรีอยุธยาในปัจจุบัน ตามล�ำดับ
สถานทีส่ ำ� คัญในเมืองมรดกโลก อาทิ วัดพระ ศรีสรรเพชญ์, พระราชวังโบราณ อยุธยา, วัดใหญ่ ชัยมงคล, หอวิฑูรทัศนาและพระที่นั่งเวหาศน์ จ�ำรูญในพระราชวังบางปะอิน, ศูนย์ท่องเที่ยว อยุธยา (ATC), ศูนย์ศกึ ษาประวัตศิ าสตร์อยุธยา, พิพธิ ภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา, อุทยาน ประวัตศิ าสตร์พระนครศรีอยุธยา, วัดพระศรีสรรเพชญ์, พระราชวังโบราณ อยุธยา, พระทีน่ งั่ วิหารสมเด็จ พระที่นั่งสรรเพชญ์ปราสาท, พระที่นั่งสุริยาสน์ อมรินทร์, พระที่นั่งจักรวรรดิ์ไพชยนต์, พระที่นั่ง ตรีมขุ , พระทีน่ ง่ั บรรยงค์รตั นาสน์, วัดไชยวัฒนาราม, วั ด สุ ว รรณดาราม, วั ด สะตื อ พุ ท ธไสยาสนย์ , ศูนย์ศิลปาชีพบางไทร, พระราชวังบางปะอิน คลองรางจระเข้, เพนียดคล้องช้าง, พิพิธภัณฑ สถานแห่งชาติ จันทรเกษม และ เขือ่ นพระรามหก เขื่อนทดน�้ำแห่งแรกในประเทศไทยที่น่าศึกษา เรียนรู้เป็นอย่างยิ่ง ปั จ จุ บั น จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา มี เ ขต ปกครองทั้งสิ้น 16 อ�ำเภอ และมีสถานที่ท่องเที่ยว อีกมากมาย AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 33
33
24/5/2561 14:17:23
TR AV E L G U ID E
บันทึกเส้นทางความเป็นมาจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
เยื อ นกรุ ง เก่ า
มรดกโลก โบราณสถานเมื อ งเก่าอยุธ ยา @ Ayutthaya
34
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 34
24/5/2561 14:17:28
เที่ยวเมืองมรดกโลก ท่องกรุงเก่า เล่าเรื่องใหม่ ใจสุขสงบ พบพระรัตนตรัย
วั ด ไชยวั ฒ นาราม จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 35
35
24/5/2561 14:17:34
เจดีย์ชัยมงคล
วัดใหญ่ชัยมงคล เ ป ็ น วั ด มี ค ว า ม ส� ำ คั ญ ท า ง ประวัติศาสตร์มากที่สุดและเป็นวัดที่นัก ท่ อ งเที่ ย วนิ ย มมามากที่ สุ ด วั ด หนึ่ ง ใน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สร้างขึ้นใน สมั ย อยุธ ยาตอนต้นคือในรัช สมัยของ สมเด็ จ พระรามาธิ บ ดี ที่ 1 หรื อ อี ก พระนามหนึ่งคือ สมเด็จพระเจ้าอู่ทอง พ ร ะ ม ห า ก ษั ต ริ ย ์ ผู ้ ส ถ า ป น า ก รุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา ตามต� ำ นานกล่ า วว่ า เมื่ อ พ.ศ.1900 สมเด็จพระเจ้าอู่ทองได้ทรง พระกรุณาโปรดเกล้าฯให้ขุดศพเจ้าแก้ว ซึ่งทิวงคตด้วยอหิวาตกโรค ขึ้ น มาเผา ที่ ป ลงศพนั้ น โปรดให้ สถาปนาเป็นพระอาราม นามว่า วัดป่า แก้ว ต่อมาคณะสงฆ์ส�ำนักวัดป่าแก้ว บวชเรียนมา จากส�ำนักรัตนมหาเถระ ในประเทศศรีลังกา คณะสงฆ์นี้ได้เป็น ที่ เ คารพเลื่อมใสแก่ช าวกรุงศรีอยุธ ยา เป็นอันมาก ท�ำให้ผู้คนต่างมาบวชเรียน ในส� ำ นั ก สงฆ์ ค ณะป่ า แก้ ว มากขึ้ น สมเด็จพระเจ้าอู่ทอง จึงทรงตั้งอธิบดี สงฆ์นิกายนี้เป็นสมเด็จพระวันรัตน มี ต�ำแหน่งเป็นพระสังฆราชฝ่ายขวาคู่กับ ส ม เ ด็ จ พ ร ะ พุ ท ธ โ ฆ ษ า จ า ร ย ์ ซึ่ ง มี ต�ำแหน่งเป็นสังฆราชฝ่ายคันถธุระ จุ ด ที่ น ่ า สนใจ เจดี ย ์ ชั ย มงคล อนุสรณ์แห่งชัยชนะอันยิ่งใหญ่ที่สมเด็จ พระนเรศวรมหาราชทรงรบชนะมังกะ ยอชวา พระมหาอุ ป ราชของหงษาวดี ที่ ต.หนองสาหร่าย จ.สุพรรณบุรี สมเด็จ พระนเรศวรจึงโปรดให้สร้างเจดีย์องค์ ใหญ่ขึ้น เพื่อเป็นสัญลักษณ์แห่งชัยชนะ และความมีน�้ำพระทัยของพระองค์ ที่มี ต่อเหล่าทหารเหล่านั้น จึงพระราชทาน นามว่า “เจดีย์ชัยมงคล”
.indd 36
24/5/2561 14:17:42
วั ด พระศรี ส รรเพชญ์ เป็ นวั ด ส� ำ คั ญที่ ส ร้ า งอยู ่ ใ น พระราชวังหลวงเทียบได้กับวัด พระศรี รั ต นศาสดาราม แห่ ง กรุงเทพมหานครหรือวัดมหาธาตุ แห่งกรุงสุโขทัย ในสมัยสมเด็จ พระรามาธิ บ ดี ที่ 1 (พระเจ้ า อู ่ ท อง) ทรงสร้ า งพระราช มณเฑียรเป็นทีป่ ระทับทีบ่ ริเวณนี้ ต่ อ มาสมเด็ จ พระบรมไตรโลก นาถทรงย้ า ยพระราชวั ง ขึ้ น ไป ทางเหนือและอุทิศที่ดินเดิมให้ สร้างวัดขึ้นภายในเขตพระราชวัง และโปรดเกล้ า ฯให้ ส ร้ า งเขต พุทธาวาสขึ้น เพื่อเป็นที่ส�ำหรับ ประกอบพิธีส�ำคัญต่างๆ เป็นวัด ที่ไม่มีพระสงฆ์จ�ำพรรษา พระเจดียใ์ หญ่สามองค์ โดยเจดีย์ องค์ทางขวามือคือทางฝั่งทิศตะวัน ออก และทางซ้ายมือคือฝั่งตะวันตก
วัดแห่งความซื่อสัตย์ของแม่ ปลื้ม ซึ่งเป็นชาวบ้านอยู่ริมน�้ำ ชานพระนครคนเดี ยว ไม่ มี ลู ก หลาน วันหนึง่ สมเด็จพระนเรศวร ทรงพายเรือมาแต่พระองค์เดียว ท่ามกลางสายฝนเมื่อเสด็จมาถึง ทรงทอดพระเนตรกระท่อมยังมี แสงตะเกียงอยู่ เวลานั้นค�่ำอยู่ สมเด็จพระนเรศวรทรงแวะขึน้ มา ในกระท่อม แม่นางปลืม้ เห็น ชาย ฉกรรจ์เสื้อผ้าเปียกขึ้นมา จึงได้ กล่าวเชื้อเชิญด้วยความมีน�้ำใจ แต่พระองค์ท่านทรงเสียงดังตาม บุคลิกของนักรบชายชาตรี แม่ ปลืม้ ได้กล่าวเตือนว่า ลูกเอ๋ย เจ้า อย่าเสียงดังนักเลย เวลานีค้ ำ�่ มาก แล้ ว เดี๋ ยวพระเจ้ า แผ่ น ดิ น ท่ า น ทรงได้ยินจะโกรธเอา พระองค์ กลับตรัสด้วยเสียงอันดังขึน้ อีกว่า ข้าอยากดื่มน�้ำจันทน์ ข้าเปียกข้า
วัด แม่น างปลื้ม หนาว อยากได้น�้ำจันทน์ให้ร่างกายอบอุ่นพลันแม่ปลื้มยิ่งตกใจขึ้นมาก อีก เพราะว่าวันนี้เป็นวันพระ แม่ปลื้มได้กล่าวว่า ถ้าจะดื่มจริงๆ เจ้า ต้องสัญญาว่า ไม่ให้เรื่องแพร่หลายเดี๋ยวพระเจ้าแผ่นดินรู้ จะอันตราย พระนเรศวรรับปาก แม่ปลืม้ จึงหยิบน�ำ้ จันทน์ให้เสวย สมเด็จพระนเรศวร ได้ประทับค้างคืนที่บ้านของแม่ปลื้มเช้าได้เสด็จกลับวัง AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 37
37
24/5/2561 14:17:50
วัด พระราม เป็นวัดที่ใหญ่โตกว้างขวาง มีพระปรางค์ขนาดใหญ่เห็นเด่นชัด แต่ไกล องค์ปรางค์กอ่ ด้วยอิฐสอปูน เป็นสถาปัตยกรรมสมัยอยุธยา ตอนต้นทีน่ ยิ มท�ำเป็นพระปรางค์ เพราะได้ รั บ อิ ท ธิ พ ลแบบเขมร โบราณจากเมืองละโว้ (ลพบุรี) อยูน่ อกเขตพระราชวังไปทางด้าน
38
ทิศตะวันออก ตรงข้ามกับวิหาร พระมงคลบพิตร สมเด็จพระราเม ศวรทรงสร้ า งขึ้ น ตรงบริ เ วณที่ ถวายพระเพลิงพระบรมศพสมเด็จ พระรามาธิบดีท1ี่ (พระเจ้าอูท่ อง) พระราชบิดา วัดนีม้ บี งึ ขนาดใหญ่ อยูห่ น้าวัด มีบงึ มีชอื่ ปรากฏในกฎ มณเฑียรบาลว่า “บึ ง ชี ขั น ”
ต่อมาเปลีย่ นชือ่ เป็น “บึงพระราม” ปัจจุบันคือ “สวนสาธารณะบึง พระราม” ซึ่ ง ใช้ เ ป็ น ที่ ส� ำ หรั บ พักผ่อนหย่อนใจของชาวจังหวัด พระนครศรีอยุธยา และส�ำหรับ นักท่องเที่ยวที่มาเยือน
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 38
24/5/2561 14:18:00
วั ด พนั ญ เชิ งวรวิ ห าร เป็นวัดเก่าแก่และส�ำคัญวัดหนึ่งของ อยุธยา มีชื่อเสียงระบือไปทั่วประเทศโดย เฉพาะหลวงพ่อโตหรือเจ้าพ่อซ�ำปอกงที่ พุทธศาสนิกชนทัง้ ชาวไทยและชาวจีนต่าง ให้ความเคารพนับถือมาช้านาน วัดพนัญเชิง เป็นวัดที่มีประวัติอันยาวนาน ก่อสร้าง ก่อนการสถาปนากรุงศรีอยุธยาและไม่ ปรากฏหลักฐานที่แน่ชัดว่าใครเป็นผู้สร้าง ตามหนั ง สื อ พงศาวดารเหนื อ กล่ า วว่ า พระเจ้ า สายน�้ ำ ผึ้ ง เป็ น ผู ้ ส ร้ า ง และ พระราชทานนามว่า วัดเจ้าพระนางเชิง และในพงศาวดารฉบั บ หลวงประเสริ ฐ กล่าวไว้ว่า ได้มีการสถาปนาพระพุทธรูป พุทธชื่อ “พระเจ้าพแนงเชิง” จุดน่าสนใจ ภายในวัด อาทิ หลวงพ่อโตหรือพระพุทธ ไตรรัตนนายก พระพุทธรูปศิลปะอู่ทอง ตอนปลาย หรือพระโตของชาวอยุธยาองค์ นี้ ถือกันว่าเป็นพระโบราณคู่บ้านคู่เมือง กรุงศรีอยุธยามาแต่แรกสร้างกรุง
วั ด กุ ฎี ด าว เป็นวัดร้าง ตั้งอยู่นอกเกาะ เมืองทางทิศตะวันออก ในต�ำบล ไผ่ลิง อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็น วั ด ขนาดใหญ่ ส มั ย อยุ ธ ยาตอน ปลายตัง้ อยูใ่ นเขตทีเ่ ชือ่ กันว่าเป็น “อโยธยา” ตอนเหนือ ฝัง่ นอกเกาะ กรุงศรีอยุธยา ด้านตะวันออกของ
แม่ น�้ ำ ป่ า สั ก ซึ่ ง เชื่ อ กั น ว่ า คื อ ชุมชนเมืองโบราณก่อนทีจ่ ะมีการ สร้างกรุงศรีอยุธยา บริเวณแถบนี้ ยังคงเต็มไปด้วยซากอาคารและ เจดี ย ์ ข องวั ด สมั น อยุ ธ ยาแต่ โบราณสถานของวัดกุฎีดาวนั้น มีสภาพที่ดีมากที่สุดของอยุธยา แห่งหนึ่งที่ตกทอดมาถึงปัจจุบัน
ต�ำนานปู่โสมเฝ้าทรัพย์ วัดกุฎีดาว วัดร้างโบราณขนาดใหญ่ในจังหวัด พระนครศรีอยุธยา สันนิษฐานว่า สร้างขึ้นในช่วงกรุงศรีอยุธยาตอนต้น แต่ ยังคงเหลือร่องรอย ซากโบราณสถานที่น่าสนใจ AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 39
39
24/5/2561 14:18:07
เศียรพระพุทธรูปหินทราย สมัยอยุธยาในรากต้นโพ ใกล้วิหารรายของวัดมหาธาตุ
40
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 40
24/5/2561 14:18:12
วัด มหาธาตุ
วั ด ไชยวั ฒนาราม
วัดนี้สร้างในสมัยสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1 ต่อมาสมเด็จ พระราเมศวรโปรดเกล้าฯ ให้อัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุมาบรรจุไว้ ใต้ฐานพระปรางค์ประธานของวัดเมื่อ พ.ศ. 1927 พระปรางค์วัด มหาธาตุถือเป็นปรางค์ที่สร้างในระยะแรกของสมัยอยุธยาซึ่งได้รับ อิทธิพลของปรางค์ขอมปนอยู่ ตัง้ อยูเ่ ชิงสะพานป่าถ่าน ทางทิศตะวันออกของวัดพระศรีสรรเพชญ์ มีสิ่งที่โดดเด่น คือ เศียรพระพุทธรูปกว่าร้อยปีใน รากไม้ โดยเศียร พระพุ ท ธรู ป เป็ น พระพุ ท ธรู ป หิ น ทรายเหลื อ แค่ ส ่ ว นเศี ย ร ส� ำ หรั บ องค์พระนั้นหายไป และเป็นเศียรพระพุทธรูปศิลปะอยุธยา วางอยู่ใน รากโพธิ์ข้างวิหารมีรากไม้ขึ้นปกคลุม ท�ำให้มีความ งดงามแปลกตา จนเลื่องลือกลายเป็นสิ่งมหัศจรรย์ ท�ำให้วัดแห่งนี้กลายเป็นวัดที่มี ชื่อเสียงและ เป็นที่รู้จักทั้งชาวไทย และชาวต่างชาติ
เป็นวัดที่พระเจ้าปราสาททอง โปรดให้สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2173 ได้ชื่อว่าเป็นวัดที่มีความงดงามมากแห่งหนึ่งในกรุงศรีอยุธยา ความ ส�ำคัญอีกประการหนึ่งคือ วัดนี้เป็นที่ฝังพระศพของเจ้าฟ้าธรรมธิเบศร์ (เจ้าฟ้ากุ้ง) กวีเอกสมัยอยุธยาตอนปลายกับเจ้าฟ้าสังวาลย์ซึ่งต้อง พระราชอาญาโบยจนสิ้นพระชนม์ในรัชสมัยของพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ วั ด ไชยวั ฒนาราม ตั้ ง อยู ่ ที่ ต.บ้ า นป้ อ ม อ.พระนครศรี อ ยุ ธ ยา ริมแม่น�้ำเจ้าพระยา ทางฝั่งตะวันตกของเกาะเมือง วัดไชยวัฒนาราม เป็นวัดหนึง่ ทีม่ สี ถาปัตยกรรมการก่อสร้างไม่เหมือนวัดอืน่ ๆ ในอยุธยา และเนื่องจากกรมศิลปากรได้ด�ำเนินการบูรณะตลอดมาจนปัจจุบัน นักท่องเที่ยวยังคงมองเห็นเค้าแห่งความสวยงามยิ่งใหญ่ตระการตา ซึ่งผู้ไปเยือนไม่ควรพลาด
AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 41
41
24/5/2561 14:18:18
วัด มเหยงคณ์ มเหยงคณ์ นี้ แปลว่ า ภู เ ขา เนินดิน เป็นอารามหลวงที่สร้าง ขึ้ น ในสมั ย สมเด็ จ พระบร ม ราชาธิราชที่ 2 (พระเจ้าสามพระยา) อันเป็นวัดที่สร้างถัดจาก วัดราช บูรณะ 14 ปี ในรัชสมัยเดียวกัน และวัดนีน้ อกจากจะมีขนาดใหญ่ โตกินบริเวณได้เท่ากับช้างล้อม รอบ 80 เชือกแล้ว หากแต่ยังมี โบสถ์อันโอ่งโถงที่จุพระสงฆ์ได้
ราว 1,000 รูป เดิมเป็นพระ อารามหลวง และกลายเป็นวัดร้าง ไปภายหลังกรุงศรีอยุธยาแตกเมือ่ พ.ศ. 2310 วัดนีต้ งั้ อยู่ ณ หมูท่ ี่ ๕ ต�ำบลหันตรา อ�ำเภอพระนครศรี อยุธยา ปัจจุบันวัดมเหยงคณ์ จัดปฏิบัติธรรมตลอดปี และกรม ศิลปากรได้ขนึ้ ทะเบียนให้วดั มเหยง คณ์เป็นโบราณวัตถุ โบราณสถาน ของชาติ เรียบร้อยแล้ว
พงศาวดารเหนือได้จดไว้ว่า พระเจ้าธรรมราชา กษัตริย์องค์ที่ ๘ ของ อโยธยา มีมเหสี ชือ่ พระนางกัลยาณี และพระนางเป็นผูส้ ร้างวัดมเหยงคณ์ 42
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 42
24/5/2561 14:18:25
วัด หน้าพระเมรุ
เป็ น วั ด มี ค วามส� ำ คั ญ ทาง ประวั ติ ศ าสตร์ ก รุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา เนื่ อ งจากเคยเป็ น วั ด ที่ พ ม่ า ใช้ตั้งฐานบัญชาการจึงเป็นวัด เดียวในกรุงศรีอยุธยาที่ไม่ได้ถูก พม่ า ท� ำ ลายและยั ง คงปรากฏ สถาปัตยกรรมแบบอยุธยา และ อยู่ในสภาพสมบูรณ์มากที่สุด ในจั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา วัดหน้าพระเมรุ เป็นวัดยอดนิยม ของนักท่องเที่ยวที่มักเดินทาง ไปนมัสการ หลวงพ่อพระพุทธ นิมิตวิชิตมารโมลีศรีสรรเพชญ์ บรมไตรโลกนาถที่ ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ แห่งหนึ่งในกรุงศรีอยุธยา
วัดภูเ ขาทอง วั ด ภู เ ขาทองตั้ ง อยู ่ บ ริ เ วณ ยุทธภูมคิ รัง้ ส�ำคัญระหว่างกองทัพ อยุธยากับกองทัพพม่า ทั้ง 2 ยุค สมัยของการเสียกรุง ตั้งอยู่นอก เกาะกรุงศรีอยุธยา ตามพระราช พงศาวดารอยุธยากล่าวว่า วัด ภูเขาทอง นัน้ สถาปนาในรัชสมัย พระราเมศวร หรือสมัยต้นอยุธยา แต่ ใ นคราวสงครามที่ พ ระเจ้ า
บุ เ รงนองแห่ ง พม่ า มี ชั ย เหนื อ อยุธยาในคราวเสียกรุง ครั้งที่ 1 นัน้ พระเจ้าบุเรงนองทรงให้สร้าง เจดีย์ก่อทับองค์เจดีย์เดิมของวัด แห่ ง นี้ หลั ง จากนั้ น จึ ง ได้ มี ก าร บูรณปฏิสังขรณ์ให้เป็นมหาเจดีย์ ในภายหลัง จึงหลงเหลือส่วนฐาน นั้ น เท่ า นั้ น ที่ ยั ง คงเป็ น รู ป แบบ มอญดังเดิม
หลั ง การเสี ย กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา ครัง้ ที่ 2 วัดภูเขาทองได้กลายเป็น วัดร้างเรื่อยมา แต่พระมหาเจดีย์ ก็ยังเป็นสถานที่ส�ำคัญทางพุทธ ศาสนาทีม่ คี นเดินทางมากราบไหว้ ดังเช่นทีป่ รากฏเป็น นิราศภูเขาทอง ของ สุนทรภู่ ทีเ่ ดินทางมานมัสการ ขณะบวชเป็นพระภิกษุ ในรัชสมัย รัชกาลที่ 3 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์
เป็นวัดยอดนิยมของนักท่อง เที่ ย วที่ มั ก เดิ น ทางไปนมั ส การ หลวงพ่ อ พระพุ ท ธนิ มิ ต วิ ชิ ต มาร โมลีศรีสรรเพชญ์บรมไตรโลกนาถ ที่ ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ แ ห ่ ง ห นึ่ ง ใ น ก รุ ง ศรีอยุธยา
AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 43
43
24/5/2561 14:18:31
วัด สุว รรณดารารามราชวรวิ หาร อยู ่ ใ นเขตพระนครด้ า นทิ ศ ตะวันออกเฉียงใต้ของเกาะเมือง เป็นวัดที่เหมาะส�ำหรับผู้ที่สนใจ มาดูภาพจิตรกรรมที่ฝาผนังใน วิหาร ซึ่งเป็นภาพเขียนสีน�้ำมัน ฝีมือของ มหาเสวกตรี พระยา อนุศาสน์จติ ร เป็นภาพ เรือ่ งพระ ราชพงศาวดารสมเด็จพระนเรศวร มหาราช เป็นภาพเขียนที่มีความ เหมื อ นจริ ง มี ใ บหน้ า ร่ า งกาย กล้ามเนื้อและสัดส่วนต่างตาม สรีระของบุคคลจริง อันมีอทิ ธิพล มาจากตะวั น ตกและได้ น� ำ มา ประยุกต์ใช้ในจิตรกรรมไทย ซึ่ง เชื่ อ ว่ า เป็ น จิ ต รกรรมสี น�้ ำ มั น บ น ฝ า ผ นั ง ปู น แ ห ่ ง แ ร ก ใ น ประเทศไทย วั ด สุ ว รรณดาราราม ตั้ ง อยู ่ ภายในก�ำแพงกรุงศรีอยุธยาทาง ทิศใต้ ริมป้อมเพชร 44
วั ด ธรรมิ ก ราช ตั้งอยู่บริเวณใกล้เคียงกับพระราชวังโบราณ ปัจจุบันวัดธรรมิกราชเป็นวัดที่พระสงฆ์ประจ�ำอยู่ และทางทิศเหนือของวัดธรรมิกราชปัจจุบนั มีวหิ ารพระนอนทีม่ ผี นู้ ยิ มศรัทธามานมัสการอยูส่ ม�ำ่ เสมอ ในพงศาวดารเหนือกล่าวว่า พระยาธรรมิกราชโอรสของพระเจ้าสายน�้ำผึ้งเป็นผู้สร้าง จึงสันนิษฐาน ว่าคงสร้างขึ้นก่อนที่จะสถาปนากรุงศรีอยุธยา เดิมชื่อวัดมุขราช ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อตามผู้สร้างเป็น วัดธรรมิกราช
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 44
24/5/2561 14:18:39
วัด พุท ไธศวรรย์ ตั้งอยู่ริมแม่น�้ำเจ้าพระยาฝั่งตะวันตก ในต�ำบลส�ำเภาล่ม อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา ในสมัยกรุงศรีอยุธยา วัดพุทไธศวรรย์เป็น พระอารามหลวงที่ใหญ่โตและมีชื่อเสียง วัดหนึง่ ปรากฏตามต�ำนานว่าสมเด็จพระ รามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอูท่ อง) ทรงสร้างขึน้ ในบริเวณที่ซึ่งเป็นที่ตั้งพลับพลาที่ประทับ เมื่ อ ทรงอพยพมาตั้ ง อยู ่ ก ่ อ นสถาปนา กรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี
AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 45
45
25/5/2561 15:42:22
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติเจ้ า สามพระยา ตั้ ง อยู ่ ที่ ต� ำ บลประตู ชั ย ใกล้ กั บ ศาลากลางจั ง หวั ด พระนครศรีอยุธยา (หลังเก่า) เยื้ อ งมหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ พ ร ะ น ค ร ศ รี อ ยุ ธ ย า เ ป ็ น พิ พิ ธ ภั ณ ฑสถานแห่ง แรกของ ประเทศไทย ที่มีรูปแบบการจัด แสดงแผนใหม่ คือ น�ำโบราณ วั ต ถุ ม าจั ด แสดงอย่ า งงดงาม สภาพอาคารเป็นอาคารทรงไทย ประยุ กต์ สิ่ ง ที่ น ่ า สนใจ ได้ แ ก่ พระพุ ท ธรู ป ประทั บ นั่ ง ห้ อ ย พระบาท เป็นพระพุทธรูปสมัย ทวารวดี ที่ เ คยประดิ ษ ฐานใน ซุ้ม พระสถูปโบราณวัดพระเมรุ เป็นต้น เปิดให้ชมทุกวัน เว้น วันหยุดนักขัตฤกษ์ตั้งแต่เวลา 09.00-16.00 น.
46
วังช้า งอยุ ธยา แล เพนี ยด ลานพักช้างน้อย เป็นจุดเด่น ของวังช้าง เพราะมีกจิ กรรมให้นกั ท่องเทีย่ งได้เล่นกับช้างแสนน่ารัก มากมาย มีเจ้าหน้าทีค่ อยต้อนรับ มี บ ริ ก ารการถ่ า ยภาพกั บ ช้ า ง หากไปในวันเสาร์อาทิตย์ หรือ วันหยุดนักขัตฤกษ์ จะได้ชมการ โชว์ความสามารถของช้างน้อย
ประกอบกับเสียงดนตรี กิจกรรม ที่ น ่ า ตื่ น เต้ น มากกิ จ กรรมหนึ่ ง หากไปวันธรรมดาที่นี่ก็มีบริการ ขี่ช้างทุกวัน ตั้งแต่เวลา 09.0017.00 น. หากใครสนใจที่จะมา พั ก ค้ า งคื น เพื่ อ มาซึ ม ซั บ กั บ วิ ถี ชีวติ การเลีย้ งช้างของหมูบ่ า้ นช้าง เพนียดหลวง ก็สามารถติดต่อขอ
พักได้ในโครงการ “ประสบการณ์ ครั้งหนึ่งที่มาเลี้ยงช้างที่จังหวัด พระนครศรีอยุธยา” สามารถ สอบถามเพิ่มเติมได้ที่ โทรศัพท์ 08-6901-3981 หรือ 08-1821-7065
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 46
24/5/2561 14:18:53
ตลาดน�้ ำ
“ตลาดน�้ำอโยธยา” น่าจะเป็นอีกหนึ่งที่ เที่ ยวที่ ต อบโจทย์ ทุ ก คน เพราะอย่ า งน้ อ ย เพื่อนๆ ก็จะได้ไม่ต้องเดินทางไปเที่ยวไกลๆ ได้ทั้งช้อปของถูกใจ ชมการแสดงดีๆ และชิม ของอร่อยๆ กันให้เต็มที่ เรียกได้ว่าสนุกครบ รสในที่เดียว
อโยธยา
# AYUTTHAYA
เป็นจุดศูนย์รวมนักท่องเทีย่ วชาวไทย และ ชาวต่างชาติ เพลิดเพลินไปกับบรรยากาศ และ ทัศนียภาพอันงดงามแบบไทยๆ ด้วยการเดิน ชมตลาดเพื่อชิมอาหารรสชาติอร่อยๆ รอบ ตลาดน�้ำอโยธยา พร้อมมีเรือบริการรับส่ง ไปยังท่าเรือภายในตลาดอีกด้วย สะท้อนถึง วิถีการเดินทางในสมัยก่อน ตลาดน�ำ้ อโยธยา เปิดให้บริการทุกวัน เวลาที่เหมาะในการมา เที่ยวคงจะเป็นช่วงเย็น เพราะแดดร่มลมตก อากาศเย็นสบายเดินชอบปิ้งสบายใจ เปิดให้บริการนักท่องเที่ยวทุกวัน ตั้งแต่ เวลา 09.00-18.00 น. สามารถสอบถาม ข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ โทรศัพท์ 035 881 733 AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 47
47
24/5/2561 14:19:06
2.indd 48
25/5/2561 16:07:29
2.indd 49
25/5/2561 16:03:41
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดช่างทอง พระครู พิ ชั ย เดชารั ก ษ์ ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง เจ้ า อาวาส
วั ด ช่างทอง ตั้งอยู่เลขที่ 39 หมู่ 1 ต�ำบลเกาะเรียน
อ� ำ เภอพระนครศรี อ ยุ ธ ยา จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา ซึ่ ง “เกาะเรียน” เป็นชือ่ ของเกาะทีต่ งั้ อยูก่ ลางแม่นำ�้ เจ้าพระยา ทีม่ หี มูบ่ า้ น 2 หมู่บ้านตั้งอยู่บนเกาะเรียน โอบล้อมด้วยแม่น�้ำเจ้าพระยา และ คลองธรรมชาติ คนเก่าแก่เล่าว่า ในสมัยอยุธยามีพอ่ ค้าจากเมืองจีน เข้ามาติดต่อค้าขายกับชาวอยุธยาเมื่อเห็นความอุดมสมบูรณ์ ของเกาะนี้เหมาะส�ำหรับตั้งถิ่นฐานจึงได้มาตั้งรกรากอยู่บนเกาะ วัดช่างทอง เริ่มก่อสร้างประมาณปี พ.ศ.2360 ในปลายสมัย สมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ 2 (พ.ศ.2352 - 2367) แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ โดยท่านผู้หญิงฟัก อภัยราชา ภริยาท่าน เจ้าพระยาอภัยราชา (ปิน่ ) ท่านเป็นมารดาของท่านเจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนีย)์ ซึง่ เป็นอัครมหาเสนาบดีสมุหนายก และแม่ทพั ใหญ่ ในรั ช สมั ย พระบาทสมเด็ จ พระนั่ ง เกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว รั ช กาลที่ 3 (เจ้าพระยาบดินทรเดชา เป็นราชทินนามพิเศษ ที่พระบาทสมเด็จ พระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชทานราชทินนามนี้ มีแต่ท่านเพียง ผู้เดียวเท่านั้น) การสร้างวัดช่างทองในปี พ.ศ.2360 ยังไม่ทันเสร็จเนื่องด้วย ในงานวันท�ำพิธียกช่อฟ้าอุโบสถวัดช่างทองที่ เกาะเรียนกรุงเก่า (คือ อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยาเดีย๋ วนี)้ ซึง่ ตัวท่านผูห้ ญิงได้มาอยูอ่ ำ� นวยการ ก่อสร้างด้วย ท่านผูห้ ญิงฟักเคราะห์รา้ ย ขือ่ โบสถ์ทชี่ กั ขึน้ ไปในขณะนัน้ บั ง เอิ ญ เชื อ กที่ ชั ก ตั ว ขื่ อ โบสถ์ ข าด ขื่ อ โบสถ์ ไ ด้ ต กลงมาทั บ ตั ว ท่านผูห้ ญิงฟัก ถึงอนิจกรรมเสียในวันนัน้ การก่อสร้างจึงยุตลิ งชัว่ คราว ต่อมาท่านเจ้าพระยาบดินทรเดชา ซึง่ ขณะนัน้ ท�ำหน้าทีพ่ ระยาท้ายน�ำ ้ สังกัดอยู่ในกรมหมื่นเจษฎาบดินทร์ แทนพระยาท้ายน�้ำ(แย้ม) ซึ่งถึง อนิจกรรม ท่านได้เข้าอ�ำนวยการก่อสร้างวัดช่างทองต่อมา จนจะยก เครื่องบนโบสถ์อยู่แล้ว การก่อสร้างก็ต้องหยุดค้างไม่ส�ำเร็จอีก ทั้งนี้ นอกจากการสร้ า งตั ว โบสถ์ ต ่ อจากมารดาของท่ า นแล้ ว ท่ า นยั ง อ�ำนวยการปรับปรุงการท�ำนาในเกาะเรียนนี้ เพื่อเพิ่มผลผลิตทวีคูณ จะได้น�ำผลประโยชน์มาใช้ในการก่อสร้างวัดนี้ให้แล้วเสร็จสมบูรณ์ โดยเร็ว จึงเกิดมีผู้ริษยาท�ำฎีกากราบบังคมทูลเป็นทางลับหาว่าท่าน “ไปตั้ ง ท� ำ นาซ่ อ งสุ ม ผู ้ ค นมากเกิ น กว่ า ฐานะตั้ ง ส� ำ นั ก เป็ น ค่ า ยครู ท�ำนองศึกที่ต�ำบลเกาะเรียนเป็นการผิดปกติ” 50
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 50
21/05/61 06:05:11 PM
ในทีส่ ดุ ถูกลงพระราชอาญาจ�ำไว้ ณ ทิมต�ำรวจ (เรือนแถวพักของต�ำรวจ) ในพระบรมมหาราชวัง และถู ก ถอดออกจากหน้ า ที่ แ ละถู ก จ� ำ คุ กอยู ่ ประมาณ 1 ปีเศษ ขณะที่ถูกจ�ำคุกนั้นก็ได้รับ อนุเคราะห์จากกรมหมืน่ เจษฎาบดินทร์ขอผ่อน หนั ก ให้ เ ป็ น เบา ตลอดมาจนสิ้ น แผ่ น ดิ น พระบาทสมเด็ จ พระพุ ท ธเลิ ศ หล้ า นภาลั ย รัชกาลที่ 2 เสด็จสวรรคต ต่อมาในสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้า เจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3 เสด็จเถลิงถวัลย์ขึ้นเสวย ราชสมบัติในปี พ.ศ.2367 เมื่อท่านเจ้าพระยา บดินทรเดชารับพระราชอาญาอยูป่ ระมาณปีเศษ พอเมื่อพ้นโทษแล้วกลับเข้ารับราชการอีกจน เป็นที่โปรดปราน และได้ด�ำเนินการก่อสร้าง ปฏิ สั ง ขรณ์ วั ด ช่ า งทองต่ อ จนแล้ ว เสร็ จ สิ้ น บริบูรณ์ในปี พ.ศ.2367 และในปีนี้เองท่านได้ รับมหากรุณาโปรดเกล้าฯ จากพระบาทสมเด็จ พระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3 โปรดเกล้า พระราชทานบรรดาศักดิใ์ ห้เป็น พระยาราชสุภาวดี เมือ่ เดือนสิงหาคม 2367 และได้เป็นเจ้าพระยา ราชสุภาวดี เมื่อ พ.ศ.2370 เป็นเจ้าพระยา บดินทรเดชา เมื่อ พ.ศ.2372 ปั จ จุ บั น อุ โ บสถวั ด ช่ า งทองที่ เ ก่ า แก่ ซึ่ ง สร้ า งขึ้ น ในปี พ .ศ.2496 มี พ ระประธาน หลวงพ่อด�ำ (หลวงพ่อช่างทอง) เป็นที่ศรัทธา ของชาวบ้านต�ำบลช่างทอง นักท่องเทีย่ วเดินทาง มาสักการะเป็นประจ�ำ อีกทัง้ มีภาพจิตกรรมฝาผนัง เกีย่ วกับประวัตพิ ระพุทธเจ้า และพุทธกิจสีส่ บิ ห้า พรรษาให้เรียนรู้ปฏิปทาขององค์พระพุทธเจ้า เพือ่ เสริมสร้างศรัทธาปสาทะให้กบั พุทธศาสนิกชน ในการน้อมน�ำพระธรรมค�ำสัง่ สอนของพระองค์ มาปฏิบัติเพื่อให้คลายทุกข์ทางใจในชีวิต
ท�ำเนียบเจ้าอาวาส
1. พระอุปัชฌาย์พราย 2. พระอุปัชฌาย์ศุข ศุขวัฒนะ 3. พระครูบุญวิทยโสภณ (บุญ บ�ำรุงราษฎร์) 4. พระครูวิเศษรัตนคุณ (จรัส อุทัยธรรม) 5. พระครูญาณสารโสภณ (จ�ำรัส สุวรรณเบญจางค์) 6. พระครูเหมคุณากร (ทองอยู่ อาภาผล) 7. พระครูพิชัยเดชารักษ์ (พิชัย แม้นอินทร์)
พ.ศ.2444 - 2454 พ.ศ.2456 - 2464 พ.ศ.2464 - 2493 พ.ศ.2494 - 2518 พ.ศ.2519 - 2524 พ.ศ.2525 - 2548 พ.ศ.2549 - ปัจจุบนั AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 51
51
21/05/61 06:05:17 PM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดพระเมรุราชิการาม (วัดหน้าพระเมรุ) เจ้ า คุ ณ พระพิ ศ าลวิ ห ารกิ จ สมศั ก ดิ์ ฉนฺ ท กโร (นกอิ น ทรี ย ์ ) ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง เจ้ า อาวาส
วัดพระเมรุราชิการาม หรือ วัดหน้าพระเมรุ ตั้งอยู่เลขที่ 76 หมู่ 5 ต�ำบลท่าวาสุกรี
อ� ำ เภอพระนครศรี อ ยุ ธ ยา จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา ในอดี ต กาล วั ด หน้ า พระเมรุ มี ความส�ำคัญทางประวัติศาสตร์กรุงศรีอยุธยาเป็นอย่างมาก เนื่องจากเคยเป็นวัดที่พม่าใช้ ตั้งฐานบัญชาการจึงเป็นวัดเดียวในกรุงศรีอยุธยาที่ ไม่ได้ถูกพม่าท�ำลายและยังคงปรากฏ สถาปัตยกรรมแบบอยุธยาและอยู่ในสภาพสมบูรณ์มากที่สุดในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา 52
วั ด หน้ า พระเมรุ เป็ นวั ด ยอดนิ ย มของ นักท่องเที่ยวที่มักเดินทางไปนมัสการหลวงพ่อ พระพุ ท ธนิ มิ ต วิ ชิ ต มาร โมลี ศ รี ส รรเพชญ์ บรมไตรโลกนาถ ที่ศักดิ์สิทธิ์แห่งหนึ่งในกรุงศรี อยุธยา ในต�ำนานกล่าวถึงวัดนีว้ า่ พระองค์อนิ ทร์ ในสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 รัชกาลที่ 10 แห่ง กรุงศรีอยุธยา ทรงสร้างเมื่อจุลศักราช 864 (พ.ศ.2046) ประทานนามว่า “วัดพระเมรุราชิ การาม” แต่ประชาชนส่วนมากนิยมเรียกว่า “วัดพระเมรุ” จึงเป็นนามของวัดทีใ่ ช้มาจนทุกวันนี้
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 52
24/05/61 04:35:03 PM
พระคั น ธารราฐ สร้ า งสมั ย ทวารวดี และ แกะสลั ก จากหิ น เขี ย ว มี ค วามสู ง 5 เมตร หน้ า ตั ก กว้ า ง 1 เมตร 70 ซม. อายุ ป ระมาณ 1500 ปี ปั จ จุ บั น อายุ วั ด 515 ปี ในพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา กล่าวถึง เหตุ ก ารณ์ ค ราวท� ำ สั ญ ญาสงบศึ ก ระหว่ า ง สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ์กับพระเจ้าหงสาวดี บุเรงนอง มีการปลูกพลับพลาเป็นที่ประทับซึ่ง อยูด่ า้ นหน้าวัดพระเมรุกบั วัดหัสดาวาส (ปัจจุบนั วัดหัสดาวาสเหลือเพียงซากเจดีย์) อี ก ตอนหนึ่ ง เมื่ อ คราวสมเด็ จ พระเจ้ า อะลองพญามาตีกรุงศรีอยุธยา เมื่อเดือน 6 ขึ้น 1 ค�่ำ พ.ศ.2303 พม่าเอาปืนใหญ่มาตั้งที่วัด พระเมรุราชิการามกับวัดหัสดาวาส พระเจ้า อะลองพญาทรงบัญชาการและทรงจุดปืนใหญ่เอง ปืนใหญ่ที่ตั้งอยู่ในวัดพระเมรุราชิการามแตก ต้องพระองค์บาดเจ็บสาหัส ประชวรหนักในวันนัน้ พอรุง่ ขึน้ 2 ค�ำ ่ เดือน 6 พ.ศ.2303 พม่าเลิกทัพ กลับไปทางเหนือหวังออกทางด่านแม่ละเมาะ แต่ยังไม่พ้นแดนเมืองตาก พระเจ้าอะลองพญา ก็สิ้นพระชนม์ระหว่างทาง
หน้ า บั น เป็ น งานฝี มื อ แกะสลั ก ไม้ เป็ น รูปพระนารายณ์ทรงครุฑเหยียบเศียรนาค และมี รู ป ราหู ส องข้ า งติ ด กั บ เศี ย รนาค ล้ อ มรอบด้ ว ยหมู ่ เ ทพพนม 26 องค์ สร้ า งมาคู ่ กั บ วั ด และอุ โ บสถ
AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 53
53
24/05/61 04:35:17 PM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดเสนาสนารามราชวรวิหาร พระเทพมงคลโสภณ (โสภณ ปญญาโสภโณ) ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง เจ้ า อาวาส
วัดเสนาสนารามราชวรวิหาร ปูชนียสถานและพระพุทธรูปส�ำคัญในวัดที่สมควรศึกษา
ได้ แ ก่ พระอุ โ บสถ พระพุ ท ธรู ป ประธาน และจิ ต กรรมฝาผนั ง พระเจดี ย ์ พระวิ ห าร พระพุ ท ธรู ป พระอิ น ทร์ แ ปลง และพระพุ ท ธไสยาสน์ ศิ ล า ตลอดจนหมู ่ กุ ฏิ ตึ ก โบราณ กรมศิลปากร ประกาศขึ้นทะเบียนวัดเสนาสนารามเป็นโบราณสถาน ในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 52 ตอนที่ 75 ลงวันที่ 8 มีนาคม พ.ศ.2478
54
อนฺนโท พลโท โหติ วตฺถโท โหติ วณฺณโท ยานโท สุขโท โหติ ทีปโท โหติ จกฺขุโท ผู ้ ใ ห้ ข ้ า วชื่ อ ว่ า ให้ ก� ำ ลั ง ผู ้ ใ ห้ ผ้ า ชื่ อ ว่ า ให้ ผิว พรรณ ผู้ ให้ยานพาหนะชื่อว่าให้ความสุข ผู้ ให้ประทีปโคมไฟชื่อ ว่าให้จักษุ (พุทธพจน์)
พระครู ไ พศาลพิ พั ฒ นาภรณ์ ผู ้ ช ่ ว ยเจ้ า อาวาส วั ด เสนาสนาราม ติ ด ต่ อ ได้ ที่ 08-1375-4097
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 54
21/05/61 06:13:26 PM
ท�ำเนียบเจ้าอาวาส
วั ด เสนาสนารามราชวรวิ ห าร ตั้ ง อยู ่ ที่ ต�ำบลหัวรอ อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัด พระนครศรีอยุธยา ด้านหลังพระราชวังจันทรเกษม เป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรวิหาร ฝ่ายธรรมยุตกิ นิกาย เดิมชือ่ วัดเสือ่ ไม่มหี ลักฐาน แน่ชัดว่าสร้างขึ้นเมื่อใด และผู้ใดเป็นคนสร้าง แต่ มี บั น ทึ กว่ า สมเด็ จ พระเจ้ า ปราสาททอง แห่ ง กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา(พ.ศ.2172 - 2199) ทรงปฏิสงั ขรณ์ วัดนีแ้ ต่เดิมเป็นวัดไม่มพี ระสงฆ์ เพราะเป็นวัดในพระราชวังบวรสถานมงคล คือ วังจันทรเกษม เช่นเดียวกับวัดพระศรีสรรเพชญ์ ซึ่ ง เป็ นวั ด ในพระราชวัง หลวง ต่อ มาในสมัย กรุงรัตนโกสินทร์ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า เจ้ า อยู ่ หั ว (พ.ศ.2394 - 2410) ได้ ท รง บู ร ณปฏิ สั ง ขรณ์ วั ด เสื่ อ โบราณนี้ ใ หม่ ทั้ ง พระอารามแล้ ว เสร็ จ ในปี พ.ศ.2406 พระราชทานนามว่า วัดเสนาสนาราม เรียกเป็น สามัญว่า วัดเสนาสน์
1. พระพรหมเทพาจารย์ (บุญรอด พฺรหฺมเทโว) 2. พระธรรมราชานุวัตร (ต่าย วารโณ ป.ธ.8) 3. พระพรหมเทพาจารย์ (กล�่ำ เหมโก) 4. พระญาณดิลก (รอด วราสโย) 5. พระพรหมเทพาจารย์ (เจ๊ก กุสุโม) 6. พระครูโยคานุกูล (ไสว อมโร) 7. พระราชเมธากร (หลี สิกฺขากาโม) 8. พระเทพสุทธิโมลี (ปาน อิสิญาโณ) 9. พระราชสุทธิโมลี (พินิจ วราจาโร) 10. พระเทพมงคลโสภณ (โสภณ ปญญาโสภโณ)
พ.ศ.2406 - 2424 (18ปี) พ.ศ.2425 - 2441 (17ปี) พ.ศ.2441 - 2464 (23ปี) พ.ศ.2464 - 2465 (ปีเศษ) พ.ศ.2465 - 2478 (13ปี) พ.ศ.2478 - 2497 (19ปี) พ.ศ.2497 - 2516 (19ปี) พ.ศ.2516 - 2543 (27ปี) พ.ศ.2544 - 2552 (8ปี) พ.ศ.2553 - ปัจจุบัน
AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 55
55
21/05/61 06:13:32 PM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
กราบพระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมือง ประจ�ำวัดกลางคลองตะเคียน
วัดกลางปากกราน
เดิมชื่อ “วัดกลางคลองตะเคียน” พระครูพิจิตรกิจจาทร (บุญส่ง ธัมมะจารี) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัด
วัดกลางคลองตะเคียน หรือ วัดกลางปากกราน ตั้งอยู่เลขที่ 1 ปากคลองตะเคียนบน
เป็นชุมชนคลองมอญบ้านเหนือ หมู่ที่ 13 ต�ำบลปากกราน อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย เดิมมีที่ดินตั้งวัด 49 ไร่ (ปัจจุบัน เหลื อ 47 ไร่ ) พื้น ที่ตั้งวัด เป็น ที่ราบลุ่ม อยู่ทิศ ใต้ ของแม่ น�้ ำ เจ้ า พระยาห่ า งประมาณ 500 เมตร ด้านทิศเหนือวัด จดกับหมู่บ้านชาวไทยอิสลาม หมู่ที่ 14 ต�ำบลปากกราน ทิ ศ ใต้ จ ดหมู ่ บ ้ า นคลองมอญ (ไทย พุ ท ธ ) ทิ ศ ตะวั น ออก จดกั บ ล� ำ คลองตะเคี ย น ทิศตะวันตกจดกับต�ำบลบ้านป้อม 56
วัดกลางปากกราน ชาวบ้านเรียกอีกนาม หนึง่ ว่า “วัดกลางคลองตะเคียน” เป็นวัดทีส่ ร้าง ขึ้นมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้นซึ่งสร้าง คูก่ นั กับวัดนาค ( ปัจจุบนั เป็นวัดร้าง ) ชาวบ้าน เรียกชื่อวัดทั้งสองว่า วัดนาควัดกลาง หรือ วัด กลางนาค ตั้งอยู่ท ่ามกลางชาวไทยพุท ธ ชาวไทยมุสลิม และชาวไทยคริสต์ เมื่อ พ.ศ. 2310 กรุงศรีอยุธยากลายสภาพเป็นเมืองแตก วัดหลายวัดได้กลายสภาพเป็นวัดร้างเพราะ การศึกสงคราม วัดกลางคลองตะเคียนก็เป็นอีก วัดหนึ่งที่เสื่อมโทรมแทบจะร้าง ต่อมาเมื่อปี พ.ศ.2430 ได้รับ การบูรณะพัฒนาโดยย้าย เสนาสนะต่ า งๆ ทั้ ง กุ ฏิ ศาลาการเปรี ย ญ อุโบสถ จากพื้นที่ตั้งวัดด้านทิศตะวันตกมา ท�ำการก่อสร้างใหม่ทั้งหมด ไว้ทางทิศตะวัน ออกติดกับล�ำคลองตะเคียน ซึง่ มีหลวงปูเ่ หมือน เป็นเจ้าอาวาส ได้ด�ำเนินการร่วมกับ
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
2
.indd 56
22/5/2561 11:20:41
พระบ� ำ ราญคดี จี น นายอากรสารายาฝิ ่ น นางทั บ ทิ ม ภรรยา และนางเขี ย น แม่ ย าย ได้บริจาคทรัพย์อุปถัมน์ในการก่อสร้างและ ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา อุโบสถที่สร้าง ใหม่ตามหนังสือที่ 46/78 ลงวันที่ 11 มิถนุ ายน 2441 จากนั้นวัดกลางคลองตะเคียน (กลาง ปากกราน) ก็ได้รับการพัฒนาให้เจริญรุ่งเรือง ขึ้นตามล�ำดับ กราบพระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมือง ประจ�ำ วัดกลางคลองตะเคียน พระพุทธมหามิง่ มงคล สร้างในสมัยกรุงศรี อยุธยาตอนต้น อายุกว่า 546 ปี เป็นพระพุทธ รูปเก่าแก่คู่วัด คู่บ้านคู่เมืองของชาววัดกลาง คลองตะเคียนและพุทธศาสนิกชน พระพุทธรูป สมเด็จกริ่งคลองตะเคียน ถือเป็นพระพุทธรูป องค์ แ รกของเมือ งไทย ที่หล่อ เป็น เนื้อ โลหะ เนื้อผสม โดยจ�ำลองมาจากพระเครื่องสมเด็จ กริ่ ง คลองตะเคี ย นที่ ช าววั ด กลางได้ ร ่ ว มกั น สร้างไว้ เพื่อถวายเป็นพุทธบูชา ในวันที่ 23 มีนาคม พ.ศ.2546 ซึ่งถือว่าใหญ่ที่สุดในโลก พระพุทธรูปแผงพระเจ้าสิบชาติ นับเป็นองค์แรก ของเมืองไทยทีห่ ล่อด้วยโลหะผสมสวยงามและ ใหญ่ที่สุด โดยจ�ำลองมาจากพระพุทธรูปแผง พระเจ้าสิบชาติเนือ้ ดินเผา ทีเ่ ป็นพระกรุเก่า ใน เจดีย์วัดเจ้าชาย ซึ่งชาววัดกลางคลองตะเคียน ได้รว่ มกันสร้างถวายเป็นพุทธบูชา พระสิบสอง ก็ถือเป็นพระเก่าแก่อายุกว่า 400 ปี บรรจุ พระพุทธรูปไว้ในพิมพ์เดียวกันจ�ำนวน 10 องค์ ท่านเจ้าอาวาสเล่าว่า พระดังกล่าวเป็นต้น แบบของพระสิบสองที่นิยมสร้างกันในปัจจุบัน เป็นของเก่าแก่ในสมัยอยุธยาซึ่งสมเด็จพระ เอากาทศรถได้สร้างเพือ่ ถวายเป็นพระราชกุศล แด่ ส มเด็ จ พระนเรศวรมหาราช นอกจาก พระพุทธรูปที่ศักดิ์สิทธิ์ดังกล่าวแล้วยังมีพระ แก้วมรกต พระพุทธบาทจ�ำลอง และพระบรม สารี ริ ก ธาตุ ที่ ป ระดิ ษ ฐานอยู ่ บ นศาลา การเปรียญ วัดกลางคลองตะเคียน (กลางปาก กราน) เพื่อให้พุทธศาสนิกชนทั่วไปได้ท�ำการ บูชาสักการะ เพื่อเป็นพุทธานุสติและเกิดสิริ มงคลกับทุกท่านสืบไป
AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 57
57
22/5/2561 11:20:54
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วั ด แคท่ า เรื อ (โคกมะนาว)
ติ ด ต่ อ วั ด แค โทร.08-5117-6624
วัดแค บางท่านเรียกว่าวัดแคท่าเรือ(วัดแค โคกมะนาว) สถานที่วัดตั้งอยู่เลขที่ 032
บ้ า นโคกมะนาว ต� ำ บลท่ า เรื อ อ� ำ เภอท่ า เรื อ จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา สั ง กั ด คณะสงฆ์ มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ 9 ไร่ 2 งาน 42ตารางวา โฉนดเลขที่ 7767 58
.indd 58
กราบไหว้บูชาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ท�ำใจให้สงบ พบธรรม
1. พระประธานในพระอุโบสถ เป็นทีเ่ คารพ สักการะของพุทธศาสนิกชนโดยทั่วไป 2. หลวงพ่อสังกัจจายน์และหลวงพ่อสีวลี องค์โหญ่ องค์แห่งโชคลาภวาสนา เป็นที่เคารพ สักการะบูชาขอพรจากชาวพุทธทั่วไป 3.หลวงพ่อด�ำ และพระโพธิสัตย์(ว์)กวนอิม เป็นทีเ่ คารพสักการะบูชาขอพรของชาวพุทธทัว่ ไป
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
24/05/61 02:21:06 PM
“ ด้วยรอยยิ้ม และ ความอบอุ่น ” เสมือนบ้านหลังที่สองของนักเดินทาง
NEW IN 2018
AT-AYUTTHAYA 69 หมู่7 ต�ำบลคลองสวนพลู อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 13000 Tel. 035-346747-9 E-mail : at-ayutthaya@hotmail.com WWW .AT-AYUT TH AYA .C OM
1
.indd 59
“ โรงแรมแอท อยุธยา ” อยู่ห่างจาก วัดใหญ่ชัยมงคล และ วัดพนัญเชิง ด้วยการเดินทางโดยรถยนต์ เพียง 10 นาที และอยู่ไม่ห่างจากสถานที่ท่องเที่ยวส�ำคัญๆ ภายในจังหวัด อาทิเช่น วัดไชยวัฒนาราม, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติเจ้าสาม พระยา, ตลาดน�้ำอโยธยา และถนนคนเดินอยุธยาไนท์มารค์เก็ต ฯลฯ โรงแรมประกอบด้วยห้องพัก สแตนดาร์ด, ดีลกั ส์ และห้องสูท รวม 58 ห้อง พร้อมสิ่งอ�ำนวยความสะดวกอย่างครบครัน รวมถึงระบบอินเทอร์เน็ตไร้สาย (WI-FI) โดยไม่มี ค่าธรรมเนียม นอกจากนี้ยังมี ห้องประชุม / ห้องจัดเลี้ยง ที่สามารถรองรับได้ตั้งแต่ 20–100 ท่าน มีมุมออกก�ำลังกาย (ฟิตเนส) และห้องอาหารเช้ากลางสวนลานธารา พร้อมให้บริการทุกท่าน
“ โรงแรมแอท อยุธยา ” ตั้งอยู่บนถนนสายเอเชีย ก่อนเข้าตัวเมือง 4 กิโลเมตร อยู่ระหว่างห้างสรรพสินค้า บิ๊กซี และ อยุธยาซิตี้ปาร์ค ใกล้กับศูนย์ราชการจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
24/5/2561 8:57:17
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
ภายในอุโบสถมีภาพจิตรกรรมฝาผนัง
วัดบึง (วัดบ้านบึง)
พระครู อุ ด มภาวนาธิ มุ ต เจ้ า คณะต� ำ บลวั ง แดง ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง เจ้ า อาวาส
วัดบึง หรือ วัดบ้านบึง ตั้งอยู่เลขที่ 7 บ้านบึงเหนือ หมู่ที่ 8 ต.วังแดง อ.ท่าเรือ
จ.พระนครศรีอยุธยา สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีท่ีดินวัดเนื้อที่ 31 ไร่ 3 งาน 31 ตารางวา
สร้างขึ้นเป็นวัดตั้งแต่ พ.ศ.2325 มีนามวัดตามชื่อบ้านและโดยที่หมู่บ้านนี้มีบึงใหญ่อยู่ เกิดจาก การตกคุง้ ของแม่นำ�้ ป่าสัก ทีเ่ กิดจากการถมคลองเพือ่ ให้กระแสน�ำ้ ไหลเป็นทางตรง เพือ่ ย่นระยะเวลา ในการเดินทางกระแสน�้ำจึงเปลี่ยนทิศทางกลายเป็นบึงใหญ่ดังที่เห็นในปัจจุบัน จึงมีนามอย่างนั้น วัดบึง ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา พ.ศ. 2330 และเนื่องจากได้มีการสร้างอุโบสถหลังใหม่ จึงได้ รับพระราชทานวิสงุ คามสีมาครัง้ สุดท้ายเมือ่ พ.ศ.2540 ทางวัดยังเป็นทีต่ งั้ ของโรงเรียนประถมศึกษา ส�ำกัดส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา 60
2
มณฑปบรรจุพระบรมสารีริกธาต
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 60
21/5/2561 18:40:33
พระปรางค์เก่าแก่ ใกล้วิหลวงพ่อโต และเสาหงษ์เก่าเด่นสง่า อาณาเขต ทิศเหนือ จรดถนนคันบึงทาง เข้าหมูบ้าน ทิศใต้ จรดก�ำแพงถนนคันบึง ทิศตะวันออก จรดก�ำแพงติดถนนคันบึงหลัง โรรงเรี ย นวั ด บึ ง ทิ ศ ตะวั น ตก จรดก� ำ แพง ซุ้มประตูทางเข้าวัดบึง ศาสนสถาน มี อุโบสถ 1 หลัง ศาลา การเปรียญ 1 หลัง ศาลาอเนกประสงฆ์ 1 หลัง หอสวดมนต์ 1 หลัง กุฏสิ งฆ์ 8 หลัง เป็นอาคาร ครึ่งตึกครึ่งไม้ วิหารหลวงพ่อเกษร เป็นอาคาร คอนกรีตแสริมเหล็ก 1 หลัง พระปรางค์ 1 หลัง พระเจดีย์ 1 หลัง มณฑป 1 หลัง นอกจากนี้มี หอระฆัง 1 หลัง และมี ฌาปนสถาน คือ เมรุ
ปูชนียวัตถุ 1. พระประธานในพระอุ โ บสถ เป็ น ที่ เคารพสักการะของ พุทธ ศาสนิกชนโดยทั่วไป วิธีการกราบไหว้ ดอกไม้ ธูปเทียนบูชา ปิ ด ทอง ตั้ ง จิ ต กราบพระรั ต นตรั ย เป็ น ที่ พึ่ ง อันประเสริฐแห่งชีวิต แล้วท�ำจิตให้สงบก็จะพบ ธรรม คือ ความเป็นจริงอันประจักษ์ในกายใจให้ เห็นอนิจจัง ทุกขัง และอนัตตา 2. หลวงพ่ อ เกสร (หลวงพ่ อ โต)และ พระพุทธรูปหลวงพ่อแสนสุข งานวัดประจ�ำปี : ปิดทองไหว้พระกลาง เดื อ น 4, งานสรงน�้ ำ พระวั น สงกรานต์ , งานประเพณีทอดกฐิน ท�ำเนียบเจ้าอาวาสที่ทราบนามมี 5 รูป คือ 1.หลวงปู่เสน 2.พระอาจารย์เปลื้อง 3.พระอาจารย์อิน 4.พระอาจารย์หวาน 5.พระครูอุดมภาวนาธิมุต ด�ำรงต�ำแหน่ง เป็นเจ้าอาวาสวัดบึงตั้งแต่ พ.ศ.2508 มาจนถึง ปัจจุบัน
ประวัตแิ ละปฏิปทาพระครูอดุ มภาวนาธิมตุ พระครูอดุ มภาวนาธิมตุ ต�ำแหน่ง เจ้าคณะ ต�ำบลวังแดง และเจ้าอาวาสวัดบึง อายุ 68 ปี 47 พรรษา นั ก ธรรมเอก เกิ ด เมื่ อ วั น ที่ 7 สิงหาคม พ.ศ.2481 และอุปสมบทเมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ.2502 ณ วัดบึง โดยมีพระครู พิบลู วิหารธรรม เป็นพระอุปชั ฌาย์ เมือ่ วันที่ 31
ภาพจิตรกรรมฝาผนัง
มณฑปบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ
ภาพจิตรกรรมฝาผนัง
ซุ้มประตูทางเข้าวัด มี น าคม พ.ศ.2508 ได้ รั บ การแต่ ง ตั้ ง เป็ น เจ้าอาวาสวัดบึง และต่อมาได้รบั การแต่งตัง้ เป็น เจ้าคณะต�ำบลเมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2540 เป็นต้นมาจนถึงปัจจุบัน ติดต่อร่วมบุญกุศลที่ วัดบึง โทรศัพท์ 035-762162 AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 61
61
21/5/2561 18:40:41
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดสะตือ
พระครู ป ริ ยั ต ยาธิ คุ ณ ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง เจ้ า อาวาส
วั ด สะตือ ตั้งอยู่เลขที่ 140 บ้านท่างาม หมู่ที่ ต�ำบลท่าหลวง อ�ำเภอท่าเรือ
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย พื้นที่ตั้งวัดเป็นที่ราบตั้งอยู่ริมแม่น�้ำ ป่าสัก ตามหลักฐานเดิมวัดมีพื้นที่ประมาณ 37 ไร่ แม่น�้ำป่าสักได้กลืนที่ดินวัดแหว่งเว้าไป ทีละนิด ทีละหน่อย ตั้งแต่สร้างเขื่อนพระราม 6 เป็นต้นมา ที่ดินหน้าวัดหายลึกไปประมาณ 20 วา เมื่อทางกรมที่ดินออกโฉนดที่ดินวัดให้ ใหม่เหลือที่ดินซึ่งมีเนื้อที่เพียง 15 ไร่ 1 งาน 80 ตารางวา เลขที่โฉนดที่ดิน 7071 เลขที่ดิน 699 62
ประวัติวัดสะตือ สร้างขึ้นเป็นวัดนับแต่ พ.ศ.2400 เดิมตั้งอยู่ ทางทิศเหนือขึน้ ไปไม่ไกลนัก ทีเ่ รียกว่า วัดสะตือ เพราะมีต้นสะตือใหญ่เป็นนิมิต ต่อเมื่อสมเด็จ พระพุฒาจารย์(โต) พรหมรังสี ได้มาด�ำเนิน การสร้างพระพุทธไสยาสน์แล้ว วัดสะตือจึงได้ ย้ายมาตั้งที่บริเวณพระนอนนี้และ เรียกนาม ตามชื่ อ ต� ำ บลว่ า “วั ด ท่ า งาม” กาลต่ อ มา สมเด็จพระพุทธเจ้าหลวง รัชกาลที่ 5 ได้เสด็จ ไปทรงนมัสการพระพุทธบาท ได้เสด็จขึ้นที่ท่า ต� ำ บลนี้ 2 ครั้ ง แต่ นั้ น มาจึ ง เรี ย กต� ำ บลว่ า “ต�ำบลท่าหลวง” และเรียกนามวัดว่า “วัดท่าหลวง” แต่ตอ่ มากลับไปเรียกว่า “วัดสะตือ” ตามนามเดิม อีก ซึง่ ยุตติ อ้ งกันกับการเสด็จประพาสต้นครัง้ ที่ 2
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 62
21/05/61 06:20:33 PM
ประวัติ เจ้าประคุณสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต) พรหมรังสี
ล�ำดับเจ้าอาวาส
รูปที่ 1 หลวงพ่อกลอย (ไม่ทราบว่าท่านมาจากไหน) รูปที่ 2 หลวงพ่อสุข (บ้านเดิมอยู่ท่าหลวง) รูปที่ 3 พระอาจารย์มา (บ้านเดิมอยู่ท่างาม) รูปที่ 4 พระอุปัชฌาย์บัตร จนฺทโชติ เจ้าคณะต�ำบลจ�ำปา พ.ศ.2448 - 2495 รูปที่ 5 พระครูพุทธไสยาภิบาล น.ธ. เอก เจ้าคณะต�ำบลจ�ำปา ต�ำบลท่าหลวง พ.ศ.2497 - 2537 รูปที่ 6 พระอธิการทองค�ำ คัมภีรปัญโญ (ทองค�ำ อินทโชติ) น.ธ. เอก พ.ศ.2537 - 2542 รูปที่ 7 พระมหาจ�ำรัส คุตสีโล พ.ศ.2543 - 2548 รูปที่ 8 พระครูปริยัตยาธิคุณ เจ้าคณะอ�ำเภอท่าเรือ พ.ศ.2548 - ปัจจุบัน
เจ้ า ประคุ ณ สมเด็ จ พระพุ ฒ าจารย์ (โต) พรหมรั ง สี ถื อ ก� ำ เนิ ด ในแผ่ น ดิ น รั ช กาลที่ 1 บ้ า นไก่ จ ้ น ต� ำ บลท่ า หลวง อ� ำ เภอท่ า เรื อ จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา เมื่ อ วั น ที่ 17 เมษายน พ.ศ.2331 จุลศักราช 1150 มารดา ชื่อ งุด บิดาชื่อ ลา ชีวิตในวัยเยาว์ เมื่อมารดา ย้ายถิ่นฐานจากบ้านยายที่อ�ำเภอไชโย จังหวัด อ่ า งทอง มาอยู ่ ที่ ต� ำ บลบางขุ น พรหม ได้ มอบตัวให้เป็นศิษย์ของท่าน เจ้าคุณอรัญญิก (แก้ว) เจ้าอาวาสวัดอินทรวิหาร บางขุนพรหม เพื่อเล่าเรียนอักขระสมัย เมื่ออายุได้ 12 ปี ได้ บรรพชาเป็นสามเณรที่วัดอินทรวิหาร เมื่ออายุ ได้ 21 ปี พ.ศ.2341 ในรัชกาลที่ 1 ได้ทรง โปรดเกล้ า ให้ อุ ป สมบทเป็ น นาคหลวง ณ อุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม โดยมีสมเด็จ พระสังฆราชญาณสังวร (สุก) เป็นพระอุปชั ฌาย์ ให้ ฉ ายาว่ า “พรหมรั ง สี ” ในปี พ.ศ.2413 เจ้ า ประคุ ณ สมเด็ จ ฯ ได้ ม าท� ำ การก่ อ สร้ า ง พระพุทธรูปก่ออิฐถือปูนปางไสยาสน์ ริมแม่น�้ำ ป่าสัก ณ บ้านทีถ่ อื ก�ำเนิด ปัจจุบนั คือ วัดสะตือ เจ้าประคุณสมเด็จฯ ถึงแก่กรรมในแผ่นดินของ รัชกาลที่ 1 ตรงกับวันที่ 22 มิถนุ ายน พ.ศ.2415 เวลา 24.00 น. บนศาลาใหญ่วัดบางพรหม (วัดอินทรวิหาร) สิริรวมอายุ 84 ปี พรรษที่ 64
AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 63
63
21/05/61 06:20:38 PM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วั ด นางคุ ่ ม
พระครู โ กศลวรากร ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง เจ้ า อาวาส
วั ด นางคุ่ม ตั้งอยู่เลขที่ 30 บ้านตะไล หมู่ที่1 ต�ำบลศาลาลอย อ�ำเภอท่าเรือ
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ 23 ไร่ 60 ตารางวา โฉนดเลขที่ 447 มี ที่ ธ รณี ส งฆ์ 2 แปลง เนื้ อ ที่ 10 ไร่ 2 งาน 40 ตารางวา โฉนดเลขที่ 167,14939 อยู ่ ที่ บ ้ า นแขก และบางโขมด พื้ น ที่ ตั้ ง วั ด เป็ น ที่ ร าบลุ ่ ม อยู ่ แ ม่ แ ควป่ า สั ก ได้ รั บ พระราชทานวิ สุ ง คามสี ม าในราว พ.ศ.2356 64
วัดนางคุ่ม สร้างขึ้นเป็นวัดตั้งแต่ พ.ศ.2350 จากค�ำบอกเล่ากันว่า เป็นหญิงเชื้อพระวงศ์ ชาวบ้านเรียกกันว่า “นางคุม่ ” จึงเรียกนามวัดว่า “วัดนางคุม่ ” เดิมเรียกว่า “วัดแม่นางคุม่ คงคาราม” คงมี ค วามหมายว่ า วั ด นางคุ ่ ม สร้ า งขึ้ น ที่ ริ ม แม่นำ�้ ป่าสัก นัน่ เอง ทางวัดเปิดสอนปริยตั ธิ รรม ตั้งแต่ปี พ.ศ.2515 มีโรงเรียนประถมศึกษา ของทางราชการตัง้ อยู่ ซึง่ ทางวัดได้ให้อนุเคราะห์ ตามสมควร นอกจากนั้ น ทางวั ด ยั ง ได้ ส อน ธรรมศึกษาแก่นกั เรียน และเปิดสอนคอมพิวเตอร์ แก่ประชาชนโดยทั่วไปด้วย
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 64
24/05/61 11:23:35 AM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
HIST ORY OF BUDDHISM บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
กราบหลวงพ่ อ เจี ย มแห่ ง วั ด หนองแห้ ว ท่ า นเป็ น พระเกจิ อ าจารย์ แ ห่ ง ลุ ่ ม น�้ ำ ป่ า สั ก ยุ ค เก่ า ของอยุ ธ ยา มี พ รรษาอยู ่ ใ นยุ ค หลวงพ่ อ กลั่ น วั ด พระญาติ หลวงพ่ อ ขั น วั ด นกกระจาบ หลวงพ่ อ นอ วั ด กลางท่ า เรื อ หลวงพ่ อ พิ ณ วั ด มะขามโพรง หลวงพ่ อ ปาน วั ด บางนมโค หลวงพ่ อ จง วั ด หน้ า ต่ า งนอก ฯลฯ
วัดหนองแห้ว พระสมุ ห ์ สุ ร ชั ย อสฺ ส โว ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง เจ้ า อาวาส
วัดหนองแห้ว ตั้งอยู่เลขที่ 450 ต�ำบลท่าเรือ อ�ำเภอท่าเรือ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ประวั ติ ส ร้ า งเป็ น วั ด ตั้ ง แต่ เ มื่ อ ใดไม่ ป รากฏแน่ ชั ด แต่ ไ ด้ ท รุ ด โทรมลง และได้ รั บ การบู ร ณ ปฏิ สั ง ขรณ์ ขึ้ น ใหม่ ร าว พ.ศ.2372 และตั้ ง เป็ น วั ด เมื่ อ พ.ศ.2382 ในรั ช สมั ย รั ช กาลที่ 3 ได้ รั บ พระราชทานวิ สุ ง คามสี ม า เมื่ อ ปี พ.ศ.2435 สั ง กั ด คณะสงฆ์ ม หานิ ก ายเป็ น วั ด เจ้ า คณะต� ำ บลจ� ำ ปา
สาเหตุที่ชื่อ “วัดหนองแห้ว” เพราะพื้นที่ในบริเวณวัดเป็นหนองน�้ำส่วนใหญ่ และมีแห้วไทย (หัวเล็กๆ) ที่น�ำไปต้มกินรสชาติหวานมัน เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติอยู่มาก ขุดไปตรงไหนก็เจอที่นั่น ภายในวัดมีพระองค์ใหญ่ไม่มีการตั้งชื่ออย่างเป็นทางการ โดยชาวบ้านเรียกว่า “หลวงพ่อใหญ่” เป็นที่เคารพและนับถือของชาวบ้าน การเดินทางมาวัดหนองแห้ว มีคมนาคมสะดวก ห่างสถานี รถไฟสายเหนือประมาณ 50 เมตร ห่างแม่น�้ำป่าสักประมาณ 200 เมตร AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 65
65
21/05/61 06:33:01 PM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
“สมาธิ ท�ำให้มีจิตใจสงบ ไม่ฟุ้งซ่าน เมื่อจิตมีความสงบ ก็มี สติ ท�ำให้เกิดปัญญา มีความคิดรอบคอบ ท�ำอะไรก็ ไม่ผิด พลาด ต้องพิจารณาก่อน”
วัดวังแดงใต้
หลวงพ่ อ เอื้ อ น อตตมโน ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง เจ้ า อาวาส
วัดวังแดงใต้ ตั้งอยู่ใน ต�ำบลวังแดง อ�ำเภอท่าเรือ
จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา เป็ น วั ด เล็ ก ๆ สร้ า งขึ้ น ในต้ น รั ช สมั ย ของกรุ ง รั ต นโกสิ น ทร์ อยู ่ ริ ม แม่ น�้ ำ ป่ า สั ก ด้ า น ทิ ศ เหนื อ บ้ า นวั ง แดงเป็ น หมู ่ บ ้ า นที่ จั ด แต่ ง ผลหมากรากไม้ แ ละเครื่ อ งใช้ ต ่ า งๆ ส่ ง เข้ า วั ง ซึ่ ง อยู ่ ไ ม่ ไ กลจากวั ง เก่ า มากนั ก ปัจจุบนั คือบริเวณใกล้วดั ร้อยไร่หรือโรงเรียนท่าช้างพิทยา ซึง่ มีโครงสร้างฐานอิฐเก่าแก่มากมาย จากการสันนิษฐานของนักโบราณคดีบอกว่า เป็นที่ตั้งของวังเล็กๆ และสถานที่เก็บสิ่งของ ที่พักช้าง ที่พักม้า แต่ก่อนตรงวัดร้อยไร่นั้นทางเดิน ข้ามแม่น�้ำจะเป็นก้อนหินก้อนโตๆ มากมาย ต่อมาการ ขนส่งสินค้าต้องใช้ทางเรือ จึงมีการลอกร่องน�้ำ แต่การสร้างวัดวังแดงใต้ อาจสร้างขึ้นที่หลังแน่นอน เพราะไม่มีหลักฐานว่าเป็นวัดที่สร้างในสมัยกรุงศรีอยุธยา 66
4
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
4
2
.indd 66
24/5/2561 16:28:42
ประวัติและปฏิปทาหลวงพ่อเอื้อน หลวงพ่ อ เอื้ อ น อตตมโน เป็ น หนึ่ ง ใน เกจิอาจารย์แห่งลุม่ แม่นำ�้ ป่าสัก ในอ�ำเภอท่าเรือ ที่มีประชาชนศรัทธามากมายด้วยความกรุณา เมตตาอั น ไม่ มี ป ระมาณของท่ า น ปั จ จุ บั น ชื่ อ เสี ย งท่ า นโด่ ง ดั ง ไปไกลถึ ง ต่ า งประเทศ ทัง้ มาเลเซีย สิงคโปร์ เดินทางมากราบท่านถึงวัด ท่ า นสร้ า งวั ต ถุ ม งคลแต่ ล ะชนิ ด ออกมาน้ อ ย แต่มีประสบการณ์สูง ทั้งด้านอยู่ยงคงกระพัน ชาตรี เมตตามหานิยม แคล้วคลาดปลอดภัย วัตถุมงคล พระเครือ่ งของท่านจึงเป็นทีต่ อ้ งการ ในหมู่ลูกศิษย์อย่างมากตลอดมา หลวงพ่อเอื้อน อตตมโน มีนามเดิม เอื้อน นามสกุล พันธุมิตร เกิดเมื่อวันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2483 ที่บ้านเลขที่ 1 หมู่ 6 ต�ำบลวังแดง อ�ำเภอท่าเรือ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พ่อแม่ ของท่านประกอบอาชีพในการท�ำนา และพ่อ ของท่ า นยั ง เป็ น หมอแผนโบราณมี ค วาม เชี่ยวชาญรักษาโรค ปัดเป่าโรคภัยไข้เจ็บ เล่า เรียนด้านมนต์คาถาศักดิ์สิทธิ์ ทั้งการดูฤกษ์พา นาที ท�ำนายทายทัก และค่อนข้างมีคนให้ความ เลือ่ มใสอย่างมาก หลวงพ่อเอือ้ นมี พีน่ อ้ งด้วยกัน 7 คน ครอบครัวของท่านเป็นครอบครัวชาวนา เหมือนชาวบ้านในละแวกเดียวกัน ชีวิตในวัยเยาว์ ท่านช่วยเหลือครอบครัว เท่าที่ช่วยได้ นิสัยตอนเด็กของท่านนั้นเปี่ยมไป
ด้วยเมตตา ไม่เคยเอาเปรียบใครๆ ช่วยเหลือคนอืน่ ไม่ชอบการรังแกกลัน่ แกล้ง แม้วา่ ท่านเป็นเด็กที่ มีรปู ร่างค่อนข้างสูงใหญ่กว่าคนอืน่ เมือ่ เข้าเรียน หนั ง สื อ ท่ า นยิ่ ง ไม่ ช อบการเอาเปรี ย บและ กลั่นแกล้ง ใครจะมาแกล้งท่าน ท่านก็ไม่ยอม ใครเหมือนกัน จบชั้นประถมปีที่สี่แล้วก็ออกมา ช่วยพ่อแม่ทำ� นา ทัง้ เลีย้ งวัว เกีย่ วหญ้า บางคราว ก็ไปหาปลามาประกอบอาหาร เพราะในสมัยนัน้ ท�ำนาได้ปลี ะครัง้ หมดหน้าท�ำนาแล้วก็ไม่มอี ะไร อยู่กับบ้านท�ำงานต่างๆ ไป ด้วยความเป็นคนที่ ชอบความสงบ สมั ย นั้ น ชอบมากที่ สุ ด คื อ ใน ช่วงคืนเดือนหงาย พระจันทร์สาดส่องสว่างไสว เป็นสีเหลืองที่งดงามมาก ท่านบอกดูแล้วมี ความสุข โยมพ่อของหลวงพ่อเอื้อนเก่งหลายอย่าง นอกจากท่านถ่ายทอดวิชาอาคมให้หลวงพ่อ เอือ้ นแล้วยังสอนให้ทำ� กรรมฐานด้วย สอนมนต์ คาถาท�ำสมาธิ ท�ำให้มจี ติ ใจสงบ ไม่ฟงุ้ ซ่าน เมือ่ จิตมีความสงบ ก็มสี ติ ท�ำให้เกิดปัญญา มีความ คิดรอบคอบ ท�ำอะไรก็ไม่ผิดพลาด ต้องใช้การ พิจารณาก่อน ตอนใกล้บวชพระนัน้ ท่านมีความ เบือ่ หน่ายมาก เบือ่ ชีวติ ในการครองเรือน เพราะ เห็นเพื่อนๆ มีความเดือดร้อนหลายคน บางคน มีลกู เมียแล้วก็ตอ้ งพลัดพรากกัน ป่วยไข้ทรมาน แม้คนในหมูบ่ า้ นทีป่ ว่ ยตายนัน้ ก็หลายคน ยิง่ มา พบเห็ น ชาวบ้ า นตายตอนโรคห่ า ระบาด
ท่านบอกตอนนั้นกลัวเหมือนกัน พอเย็นลงมัน วังเวงทีส่ ดุ บ้านของท่านมีคนแวะเวียนมาไม่เคย ขาด เขามาขอให้ช่วยเหลือปัดเป่าให้โรคร้ายนั้น หายไป พ่อของท่านก็ทำ� น�ำ้ มนต์ใส่กระถางใบโต เสกนานเป็นชั่วโมงไว้ช่วยเหลือผู้คน ท่านมาคิดได้ว่าชีวิตคนเรานี้ เมื่อเกิดแล้ว ก็ต้องป่วยไข้ หากไม่ป่วยไข้อาจถูกคนท�ำร้าย ตาย บางคนยากจนแสนเข็ญหากินจนตาย ท�ำให้ ปลงว่า ชีวิตนี้ต้องตายทุกคน บางรายนอนป่วย นานเป็ น เดื อ นถึ ง ตาย บางรายกว่ า จะตาย ทรมานมาก อั น นี้ เ กิ ด ขึ้ น ด้ ว ยผลแห่ ง กรรม ต่อมาเมื่ออายุ 22 ปี จึงได้เข้าพิธีอุปสมบท ณ พั ท ธสี ม าวั ด บึ ง อ� ำ เภอท่ า เรื อ จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา ได้ มี โ อกาสศึ ก ษาวิ ช า วิปสั สนากรรมฐานตามแบบอย่างหลวงพ่อตาบ แห่งวัดมะขามเรียง อ�ำเภอบ้านหมอ จังหวัด สระบุรี รวมทั้งศึกษาการเขียนยันต์ตะกรุดจาก หลวงพ่ อ ตาบ จน พ.ศ. 2514 จึ ง ได้ ด� ำ รง ต�ำแหน่งเป็นเจ้าอาวาสวัดวังแดงใต้ และพัฒนา วัดแห่งนี้จนมีความเจริญรุ่งเรืองมาโดยล�ำดับ จนถึงปัจจุบัน
AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
4
4
2
.indd 67
67
24/5/2561 16:28:49
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
Wat Wang Daeng Tai “Meditation cause peaceful mind and undistracted when mind are at peace, consciousness will come as well which cause wisdom and cautious thought, every action will not be wrong, must considered beforehand”. Luang Por Uean Attamano is an abbot. Wat Wang Daeng Tai is located at Wand Daeng sub-district, Tha Rua district, Phra Nakhon Si Ayutthaya province. It is a small temple that was built in early period of Rattanakosin Kingdom. It located at northern river bank of Pasak River. Ban Wang Daeng is the village that arranged and decorated fruits and equipment for sending to palace which this village is located near the old palace. At present, this village is 68
4
an area which located near Wat Roi Rai or Tha Chang Pittaya School which has many ancient brick base structure. According to archeologist’s assumption, there were small palace, storehouse, elephant and horse camp on this land. Formerly, the pathway for crossing river is a lot of huge rocks. After that, the goods-transporting must be done by ship, thus, the channel was dredged. However, the construction of Wat Wang Daeng Tai might be after this event due to there is no evidence that this temple was founded in Ayutthaya Kingdom period which now Luang Por Uean Attamano is an abbot.
Luang Por Uean Attamano’s biography and mode of practices
Luang Por Uean Attamano is one of masters of Pasak River basin, in Tha Rua district which has many people belief in him because of his immeasurable kindness. At present, his reputation is widely renowned even in foreign countries like Malaysia and Singapore which there are people from these countries come to this temple to pay respect to him. He is skilled in sacred object-making, but he only makes a few amount for each type of sacred object such as invulnerable type, popularity, free from harm. Therefore, sacred objects and small Buddha images that he has been making are always extremely needed by a lot of his disciples. Luang Por Uean Attamano’s former
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
4
2
.indd 68
24/5/2561 16:28:58
name and surname were Uean and Panthumitr respectively. He was born on 1 September 2483 B.E. at 1 village no.6, Wang Daeng sub-district, Tha Rua district, Phra Nakhon Si Ayutthaya province. His parents earned a living by farming and his father is also a traditional doctor who was skilled in curing and obviating illness. In addition, he also learned magic, holy incantation, how to calculate the auspicious time, fortune-telling which a lot of people believed in him. Luang Por Uean has 7 siblings and his family is a farmer family like other villagers in this neighborhood. In his childhood years, he helped his family as much as his could. In addition, he had merciful habit, never took advantage of anyone, assisted others and not like being bullied. After he completed fourth grade, he quitted school and helped his parents did farming, raised cattle and gathered grass with the sickle, and fished for cooking because in that time, people can do the rice farming only one time in a year, when the farming season was ended, he had nothing to do, thus, he stayed at his house and did all kinds of work. Since
he is the one who prefer peacefulness, his favorite moment at that time was moonlit night when the moon shone yellow light beautifully. He said that this scene brought happiness to him. Luang Por Uean’s father is skilled in various kinds, beside he passed on knowledge about magic and incantation to Luang Por Uean, he also taught the meditation and concentrated incantation which cause peaceful and undistracted mind, after mind is in peaceful state, then consciousness will come and lead to wisdom and sensible mind, no action will be incorrect because it was considered beforehand. At the time when Luang Por Uean was about to go into the monkhood, he was really bored, bored in marriage due to he saw many of his friends had troubles with their marriage like some was separated from child or partner. Apart from that, the illness, many people in his village had died of illness which he had saw some villagers who died because of plague, he admitted that he was scared as well. After that, when evening came, village became a lonesome place. However, his house always visited by villager because they came to ask for
his father’s help to get rid of hazardous illness. Then, his father made holy water which he put it in a big pot and recited an incantation over this water for hour in order to help people. Finally, he came to a conclusion that when we born, we cannot avoid sickness even if we do not get sick, we might be harmed to death by others. Some people is very poor, have to work hard to earn money until they pass away which make him realize that on one can escape death, some have to lay on the bed with sickness for month or meet with a extremely painfulness before they die which the cause of it is karmic law. Afterwards, when he was 22 years old, he was ordained at monastic boundary of Wat Beung, Tha Rua district, Phra Nakhon Si Ayutthaya province. Then, he had an opportunity to learn meditation, how to write a mystic symbol on metal amulet from Luang Por Tarb of Wat Ma Kam Riang, Ban Mo district, Saraburi province. Lastly, in 2514 B.E. he took a position of abbot of Wat Wang Daeng Tai and has been developed this temple to be in glorious state since then until now.
AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
4
4
2
.indd 69
69
24/5/2561 16:29:14
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดไม้รวก
พระครู กั น ตสี ล าภรณ์ ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง เจ้ า อาวาส
วัดไม้รวก ตั้งอยู่เลขที่ 781 บ้านโคกศาลา ในเขตเทศบาล ต.ท่าเรือ อ.ท่าเรือ จ.พระนครศรีอยุธยา สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ 9 ไร่ 1งาน 60 ตารางวา
วัดไม้รวก ชาวบ้านเรียกสั้นๆ ว่า “วัดรวก” สร้างขึ้นเป็นวัดในรัชสมัยรัชกาลที่ 3 ราว พ.ศ. 2370 เดิมบริเวณที่ตั้งวัดมีต้นไม้รวกอยู่มาก ประชาชนจึงได้เรียกตามลักษณะภูมิประเทศ พื้นที่ ตั้งวัดเป็นที่ลาบลุ่มอยู่ริมแม่น�้ำป่าสัก โบราณเล่าสืบกันมาว่า ในสมัยหนึ่งเมื่อครั้งเมืองเวียงจันทน์แตก ราษฏรได้อพยพครอบครัว ร่นถอยมาทางใต้เพื่อหนีภัยแห่งสงคราม มีราษฎรกลุ่มหนึ่ง อพยพครอบครัวมาถึงบริเวณวัดไม้รวก จึงได้พิจารณาดูสถานที่ ที่จะตั้งบ้านเรือนและท�ำมาหากิน เห็นว่าบริเวณนี้เป็นการเหมาะสม 70
2
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 70
25/5/2561 17:00:47
ที่จะตั้งบ้านเรือน และมีวัดไม้รวกนี้อยู่ก่อนแล้ว มีศาลาเก่าๆ อยู่หนึ่งหลัง จึงได้ขนานนามที่ตั้ง ขึ้นนี้ เรียกว่า บ้านโคกศาลา ในสมัยนั้นบริเวณ ของวัดมีไม้รวกขึ้นอยู่เป็น จ�ำนวนมาก มีกุฏิให้ พระสงฆ์ จ� ำ พรรษาอยู ่ ป ระมาณ 3-4 หลั ง แสดงว่ามีวัดตั้งมาก่อนแล้ว แต่ไม่ปรากฏชื่อวัด ว่ า อย่ า งไร ชนกลุ ่ ม นั้ น จึ ง ได้ พ ร้ อ มใจกั น ขนามนามชื่อ “วัดไม้รวก” สืบต่อกันมาเมื่อ ประชาชนมาตั้งถิ่นฐานท�ำมาหากินเจริญขึ้น จึง ช่วยกันพัฒนาในทางพระพุทธศาสนา วัดไม้รวก ก็เจริญขึ้นเป็น ล�ำดับๆ จนถึงท่านเจ้าอาวาส (ชื่อใดไม่ทราบ) เรียกชื่อท่านว่า ท่านปลัด เป็น เจ้าอาวาส เป็นเจ้าข้าคณะหมวด ต�ำบลท่าเรือ และเป็ น พระอุ ป ั ช ฌาย์ มี พ ระภิ ก ษุ ส งฆ์ จ� ำ พรรษาประมาณปีละ 30-40 รูปทุกปี และ อุบาสกอุบาสิกาเคารพนับถือเลื่อมใสศรัทธา ในพระคุณท่านมาก กิจในทางศาสนา ท่านก็ได้ ช่วยเหลือในเรื่องราชการทางคณะสงฆ์ ไม่ใช่ แต่เพียงเจ้าคณะหมวดเท่านั้น ยังต้องท�ำหน้าที่ ดูแลควบคุมไปถึงพระพุทธบาทจังหวัดสระบุรี ด้วย เมื่อท่านปลัดชราภาพไปตามสังขารแห่ง กฎธรรมดาก็มรณภาพลง ครัน้ ต่อมาเจ้าอธิการ ลอยก็เข้าด�ำรงต�ำแหน่งเป็นเจ้าอาวาสสืบมา ได้กระท�ำกิจในทางพระศาสนาให้เจริญสืบมา จนกระทั่งถึงท่านเจ้าอาวาสอีกหลายรูปตาม ล�ำดับ มาจนถึง พระครูกันตสีลาภรณ์ เป็น เจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน อาคารเสนาสนะต่ า งๆ มี อุ โ บสถ โครงสร้ า งคอนกรี ต เสริ ม เหล็ ก สร้ า ง พ.ศ. 2524, ศาลาการเปรียญ สร้าง พ.ศ. 2501 ,หอสวดมนต์ สร้าง พ.ศ. 2479 เป็นอาคารไม้ ,กุฏิสงฆ์ จ�ำนวน 7 หลัง เป็นอาคารไม้ และมี วิหารเก่าแก่ฐานบัวอ่อนทรงเรือส�ำเภา ภายใน มีภาพจิตรกรรมฝีมือช่างสมัยรัชกาลที่ 3 ส� ำ หรั บ ปู ช นี ย วั ต ถุ มี พระประธานใน อุ โ บสถปางมารวิ ชั ย สมั ย สุ โ ขทั ย ที่ วิ ห าร พระพุทธไสยาสน์ปูนปั้น ขนาดยาว 3 วา 3 ศอก ที่วิหารอีกหลังหนึ่งมีพระพุทธรูปปางป่า เลไลยก์ เป็นปูนปั้น
ท�ำเนียบเจ้าอาวาส 1. พระปลัด 2. พระอธิการลอย 3. พระครูเนกขัมมวิสุทธิคุณ (ฮวด เกสโร) พ.ศ.2456 – 2506 4. พระครูสังฆรักษ์ทองม้วน ธมฺมโชติโก พ.ศ.2506 – 2512 5. พระครูกันตสีลาภรณ์ กนฺตวาโร ด�ำรง ต�ำแหน่งตั้งแต่ พ.ศ.2516 6. พระครูใบฎีกา ระเบียบ สุเมโธ องค์ปจั จุบนั
AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 71
71
25/5/2561 17:01:06
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดสฎางค์
เจ้ า อาวาสองค์ ป ั จ จุ บั น สมณศั ก ดิ์ ชื่ อ พระครู ถ าวร..ขั น ติ ธ รรม
วัดสฎางค์ ตั้งอยู่เลขที่ 1 บ้านสฎางค์ หมู่ที่ 6 ต�ำบลท่าเจ้าสนุก อ�ำเภอท่าเรือ จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา สั ง กั ด คณะสงฆ์ ม หานิ ก าย มี ที่ ตั้ ง วั ด เนื้ อ ที่ 39 ไร่ 3งาน 50 ตารางวา น.ส. 4 เลขที่ 8018 ได้ รั บ วิ สุ ง คามสี ม าครั้ ง หลั ง วั น ที่ 25 ตุ ล าคม พ.ศ. 2516
วัดสฎางค์ สร้างขึน้ เป็นวัดตัง้ แต่ พ.ศ. 2359 ในสมัยพระเจ้าทรงธรรม กษัตริยแ์ ห่งกรุงศรีอยุธยา เดิมชื่อ “วัดเสือด่าง” แล้วจึงเปลี่ยนเป็นชื่อ “วัดศรีมหาโพธิ์” ต่อมา สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าอัษฎางค์เดชาวุธ กรมหลวงนครราชสีมา เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ได้เสด็จมาที่วัด 72
2
เห็นว่าวัดช�ำรุดทรุดโทรมมาก จึงบริจาคเงินเพือ่ ท�ำการบูรณะวัดเสียใหม่ จ�ำนวน 1 ชั่ง (เท่ากับ 80 บาท ตามมาตราแลกเปลีย่ นเงินตรา) ซึง่ เงิน จ�ำนวน 80 บาทนี้ หากมาเทียบกับค่าของเงิน สมัยนี้จะแตกต่างกันมากทีเดียว และชาวบ้าน จึ ง ให้ เ กี ย รติ ท ่ า นเรี ย กว่ า “วั ด อั ษ ฎางค์ ” จนกระทั่ ง เรี ย กเพี้ ย นต่ อ ๆ กั น มาเป็ น “วัดสฎางค์” ดังปัจจุบัน สถานที่ตั้งวัดเป็นที่ราบอยู่ริมแม่น�้ำป่าสัก มีต้นไม้ใหญ่หลายชนิดอายุนับร้อยๆ ปี ขึ้นอยู่ ในบริเวณวัดจ�ำนวนมาก สันนิษฐานว่าวัดนีส้ ร้าง มาแต่ครั้งสมัยกรุงศรีอยุธยา ตั้งเป็นส�ำนักสงฆ์ แต่ก่อนยังไม่มีอุโบสถ เพราะเป็นวัดที่ห่างไกล เมื อ งหลวง จึ ง ไม่ นิ ย มสร้ า งเป็ น อุ โ บสถที่ ถาวรอย่ า งในเมื อ งหลวง เพราะเหตุ บั ง คั บ
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 72
25/5/2561 15:36:24
บ้ า นเมื อ งถู ก ภั ย สงครามคุ ก คามอยู ่ เ สมอ เมื่อข้าศึกมา ทั้งชาวบ้านและพระสงฆ์ก็ต้อง อพยพหลบหนี บ้ า นก็ ร ้ า ง วั ด ก็ ร ้ า ง เมื่ อ เหตุการณ์ปกติก็กลับมาฟื้นฟูวัดใหม่อีก จึง ไม่จ�ำเป็นต้องสร้างอุโบสถถาวร คงสร้างเพียง ศาลาคลุมพระพุทธรูปไว้เท่านั้น ต่อมาภายหลังจึงมีการก่อสร้างเสนาสนะ ต่างๆ จนถึงยุครัตนโกสินทร์ตอนต้น ในรัชสมัย สมเด็ จ พระนั่ ง เกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว รั ช กาลที่ 3 พระองค์ ส นั บ สนุ น การสร้ า งวั ด ให้ ส วยงาม ประชันกัน เพื่อประดับบ้านเมืองทั้งในเมือง หลวงและตามหัวเมืองและสืบทอดพระพุทธ ศาสนา สันนิษฐานว่าวัดสฎางค์ ท�ำการก่อสร้าง อุโบสถหลังเก่าโดย “กรมไกร” หรือ “กรมหมื่น ไกรสรวิชิต” พระโอรสองค์ที่ 41 ของพระบาท สมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก “กรมไกร” ได้สร้างอุโบสถวัดสฎางค์ในสมัยรัชกาลที่ 3 ระหว่าง พ.ศ. 2372 - 2390 เป็นฝีมือของช่าง หลวงระดมกันท�ำที่เรียกว่า “ช่างสิบหมู่” ฝีมือ แต่ ล ะหมู ่ ไ ม่ เ หมื อ นกั น รู ป ร่ า งลวดลายของ ปูนปั้น ประตูหน้าต่างจึงแตกต่างกันเรียกว่า แต่ละหมู่ท�ำกันตามถนัด
ท�ำเนียบเจ้าอาวาส 1. พระอาจารย์ค�ำ หรือหลวงพ่อเฒ่า 2. พระอาจารย์แก้ว 3. พระอาจารย์ทัต 4. พระอาจารย์แดง 5. พระอาจารย์ยวง 6. พระอาจารย์นาค เป็นผูอ้ อกแบบให้และ เป็นผู้ค้นคว้าชื่อ และฉายาเจ้าอาวาสต่อมา 7. พระอาจารย์ก้าน 8. พระอาจารย์ชื่น อสิงหโป 9. พระอาจารย์มานิตย์ ชินานันโท 10. อธิการเย็น 11. พระอธิการลุ้ย ฐานิสฺสโร 12. พระอธิการเอิบ ชยธมฺโม 13. พระครูถาวร ขันติธรรม ตั้งแต่พ.ศ. 2552 เจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน ร่วมท�ำบุญกุศล ปฏิบัติธรรมที่วัดสฎางค์ ติดต่อ โทรศัพท์ 081-8365583
AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 73
73
24/5/2561 16:26:13
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดเกาะแก้วเกษฎาราม พระครูปลัดทวีศักดิ์ สนฺ ต กาโย ด� ำ รงต� ำ แหน่ งเจ้ าอาวาส เลขานุการเจ้าคณะอ� ำ เภอนครหลวง รู ปที่ 13 โทร. 080-667-9842
วัดเกาะแก้วเกษฎาราม ตั้งอยู่เลขที่ 39 ถนนบ้านโพธิ์-บ้านเกาะ หมู่ที่ 1 ต�ำบลบ่อโพง
อ�ำเภอนครหลวง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ที่ดินตั้งวัดมีเนื้อที่ 10 ไร่ 40 ตารางวา อาณาเขต ทิศเหนือ จดถนน ทิศใต้ จดคลองระบายน�้ำ ทิศตะวันออก จดแม่น�้ำป่าสัก ทิศตะวันตก จดถนน 74
ผู ้ มี ธ รรม ย่ อ มไม่ เ ศร้ า โศกถึ ง สิ่ ง ซึ่ ง ล่ ว งไปแล้ ว อี ก ทั้ ง ยั ง ไม่ เ พ้ อ ฝั น ถึ ง สิ่ ง ที่ ยั ง มาไม่ ถึ ง ดํ า รงอยู ่ ด้ ว ยปั จ จุ บั น ธรรม ผิ ว พรรณจึ ง ผ่ อ งใส (อรั ญ ญสู ต ร ๑๕/๖)
ปูชนียวัตถุ มีพระประธานประจ�ำอุโบสถ (หลวงพ่อเพชร) ศิลปะสมัยอู่ทอง ขนาดหน้าตักกว้าง 57 นิ้ว สูง 80 นิ้ว พร้อมภาพเขียนจิตกรรมฝาผนัง สร้างประมาณ พ.ศ.2411 ปูชนียวัตถุอื่นๆ อาทิ พระประธานประจ� ำ ศาลาการเปรี ย ญ ศิลปะสมัยอู่ทอง เจดีย์ 3 องค์ ประดิษฐาน หน้าอุโบสถ และ พระปรางค์ 1 องค์
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 74
21/05/61 06:42:58 PM
วัดเกาะแก้วเกษฎาราม ตัง้ เมือ่ พ.ศ.2411 โดยพระยายมราช(สั ง ข์ ) เจ้ า เมื อ งโคราช (ปัจจุบันคือ จังหวัดนครราชสีมา) ในสมัยของ สมเด็จพระนารายณ์มหาราช ถึงสมัยสมเด็จ พระเพทราชา แห่งกรุงศรีอยุธยา ท่านได้สร้าง วัดขึ้นหลังจากที่ไปท�ำศึกที่เมืองหลวงพระบาง และได้รับชัยชนะกลับมา จากนั้นท่านพักอาศัย อยู่ที่บ้านช่างแสง อยู่ทางใต้ของวัด ชาวบ้าน นิยมเรียกว่า “วัดเกาะ” ปัจจุบัน เป็นอีกวัดหนึ่ง ที่น่าสนใจ มีความงดงาม ร่มรื่น เป็นที่เหมาะ ส�ำหรับพักผ่อน ให้อาหารปลาริมแม่นำ �้ ไหว้พระ ขอพรปิดทองหลวงพ่อเพชร โดยได้รับความมือ ร่วมแรง ร่วมใจ พระภิกษุสงฆ์ และอุบาสก อุบาสิกา ทุกท่าน ขึ้ น ทะเบี ย นโบราณสถาน : เมื่ อ ปี พ.ศ.2542 โดยกรมศิลปากร
อาคารเสนาสนะประกอบด้วย 1.อุโบสถ กว้าง 7 เมตร ยาว 14 เมตร สร้ า งเมื่ อ พ.ศ.2411 เป็ น อาคารคอนกรี ต เสริมเหล็ก 2.ศาลาการเปรียญ กว้าง 14 เมตร ยาว 29 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2516 เป็น อาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก 3.กุฏิสงฆ์ จ�ำนวน 10 หลัง เป็นอาคารไม้ 8 หลัง และอาคาร คอนกรีตเสริมเหล็ก 2 หลัง 4.วิหารหลวงพ่อ ทันใจ สร้างด้วยโครงหลังคาไม้ 1 หลัง 5.วิหาร หลวงพ่ อ ประทานพร สร้ า งด้ ว ยคอนกรี ต เสริ ม เหล็ ก 1 หลั ง 6.ศาลาบ� ำ เพ็ ญ กุ ศ ล จ�ำนวน 2 หลัง สร้างด้วยคอนกรีตเสริมเหล็ก 1 หลัง สร้างด้วยไม้ทรงไทย 1 หลัง 7.นอกจากนี้ ยังมี ณาปนสถาน 1 หลัง หอระฆัง 1 หลัง ศาลาท่าน�้ำทรงไทย 3 หลัง AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 75
75
21/05/61 06:43:06 PM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
อฏฺฐาตา กมฺมเธยฺเยสุ อบฺปมตฺโต วิธานวา สมํ กปฺเปติ ชีวิตํ สมภตํ อนุรกฺขติ ผู้ขยันในหน้าที่การงาน ไม่ประมาท เข้าใจเลี้ยงชีพพอสมควร จึงรักษาทรัพย์ที่หามาได้
วัดบันได
เดิมชื่อ “วัดพิกุลทอง ”
กุฏิสงฆ์ 10 หลัง หอสวดมนต์ วิหาร พระปรางค์ เจดีย์ นอกจากนี้ มีหอระฆัง และฌาปนสถาน ศาลาอเนกประสงค์ ปูชนียวัตถุ มีพระประธานในอุโบสถ วัดบันได สร้างตั้งแต่ประมาณ พ.ศ.2200 เดิมมีนามว่า วัดพิกลุ ทอง ต่อมมาได้เปลีย่ นชือ่ เป็นวัดบันได ในภายหลังราว พ.ศ.2480 ได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา ครัง้ หลัง พ.ศ.2509
พระครูฐิติญาณวิสุทธิ์ ( บุญลือ ฐิติญาโณ ) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
เจ้าอาวาสที่ทราบนาม
วัดบันได ตั้งอยู่เลขที่ 1 หมู่ที่ 1 ต�ำบลบางระก�ำ อ�ำเภอนครหลวง จังหวัด
พระนครศรีอยุธยา สังกัดคระสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัด 42 ไร่ พื้นที่เป็นที่ราบ อาคารเสนาสนะต่างๆ มีอุโบสถ โครงสร้างก่ออิฐถือปูน ศาลาการเปรียญ 76
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
2
.indd 76
รูปที่ 1 พระอธิการแข รูปที่ 2 พระครูนครวิหารคุณ (ฟัก วฒฺฑโน) รูปที่ 3 พระมหาส�ำลี กฺตญ ิ าโณ (รักษาการ) รูปที่ 4 พระครูฐิติญาณวิสุทธิ์ (บุญลือ ฐิติ ญาโณ) เจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน
22/5/2561 11:17:25
พระครูฐิติญาณวิสุทธิ์ พระครูฐิติญาณวิสุทธิ์ เจ้าอาวาสวัดบันได อายุ 62 ปี พรรษา 42 นักธรรมเอก เกิดเมื่อ วันที่ 2 มกราคม พ.ศ. 2499 ทีต่ ำ� บลบางระก�ำ อ�ำเภอนครหลวง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา อุปสมบทเมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2520 ณ พัทธสีมาวัดบันได โดยมีพระครูอดุ มพราศัย วัดเขาดิน เป็นพระอุปัชฌาย์ พ.ศ.2523 รักษาการเจ้าอาวาสวัดบันได พ.ศ.2525 ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดบันได พ.ศ.2532 เป็นพระครูสัญญาบัตรเจ้าอาวาส วัดราษฎร์ชั้นตรี พ.ศ.2539 เป็นพระครูสัญญาบัตรเจ้าอาวาส วัดราษฎร์ชั้นโท พ.ศ.2545 ได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าคณะต�ำบล พ.ศ.2546 ได้รับแต่งตั้งเป็นพระอุปัชฌาย์
ความหมายแห่งพระอุปัชฌาย์ อุปัชฌาย์ (/อุ-ปัด-ชา/) ความหมายโดย พยัญชนะว่าผู้เข้าไปเพ่ง กล่าวคือ ได้แก่ผู้คอย ดูแลเอาใจใส่ คอยแนะน�ำพร�ำเตือนสัทธิวหิ าริก (ลูกศิษย์) ของตน ซึ่งก็คือพระเถระผู้ท�ำหน้าที่ เป็นประธานในการบวชกุลบุตรในพระพุทธ ศาสนา เรียกทั่วไปว่า พระอุปัชฌาย์ ในภาษา อังกฤษเรียกว่า “Preceptor” พระอุปชั ฌาย์มหี น้าทีห่ ลัก 2 อย่างคือเป็น ผู้รับผิดชอบและรับรองผู้บวชในพิธีบรรพชา อุปสมบทและเป็น ผู้รับปกครองดูแล แนะน�ำ ตักเตือนและติดตามความเป็นอยู่ของผู้ที่ตน บวชให้ เหมือนบิดาปกครองดูแลบุตร ตามกฎ มหาเถรสมาคมนั้นได้ก�ำหนดให้เขตปกครอง คณะสงฆ์ต�ำบลหนึ่ง ให้มีพระอุปัชฌาย์เพียง หนึ่งรูป เว้นแต่ มีกรณีพิเศษ
AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 77
77
22/5/2561 11:17:41
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดเก่าแก่ตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา
วัดสระเกษ
สังกัดคระสงฆ์มหานิกาย พระครูประทีป ธรรมสาร ฉายา ทีธมฺโม ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดสระเกษ
วัดสระเกษ มีพื้นที่ตั้งวัดเป็นที่ราบลุ่มอยู่ริมคลอง สร้างเป็นวัดตั้งแต่ประมาณ
พ.ศ.2360 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาแล้วเมื่อประมาณ พ.ศ.2365 พระครูประทีป ธรรมสาร ฉายา ทีธมฺโม
พระครูประทีปธรรมสาร อายุ 63 ปี 42 พรรษา นักธรรมเอก เกิดเมื่อวันที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2498 ที่บ้านหนองปลาอีด ต�ำบลส�ำโรงใหม่ อ�ำเภอละหานทราย จังหวัดบุรีรัมย์ อุปสมบทที่วัด ส�ำโรง ต�ำบลส�ำโรงใหม่ อ�ำภอละหานทราย จังหวัดบุรีรัมย์
78
1
เจ้าอาวาสเท่าที่ทราบมี ดังนี้ รูปที่ 1 พระอธิการฉาย มหาคุโณ รูปที่ 2 พระเสงี่ยมปาปรหิโต รูปที่ 3 พระอธิการปุ่น วินทโชโต รูปที่ 4 พระครูประทีบธรรมสาร จนถึงปัจจุบัน
วัดสระเกษ ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 93 บ้ า นสระเกา หมู ที่ 2 ต� ำ บลแม่ ล า อ� ำ เภอนครหลวง จั ง หวั ด พระนครศรีอยุธยา โทรศัพท์ 035-359-959 สังกัดคระสงฆ์มหานิกาย
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 78
22/5/2561 11:18:30
2.indd 79
24/5/2561 16:53:23
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
ปุพพาจริยาติ วุจฺจเร มารดาบิดาท่านว่าเป็นบูรพาจารย์ของบุตร (พุทธพจน์)
วั ด บางคล้ า บุ ป ผานิ ก าราม วั ด บางคล้าบุปผานิการาม ตั้งอยู่เลขที่ 41 บ้านบางคล้า หมู่ที่ 1 ต.บางไทร
อ.บางไทร จ.พระนครศรี อ ยุ ธ ยา สั ง กั ด คณะสงฆ์ ม หานิ ก าย มี ที่ ดิ น ตั้ ง วั ด เนื้ อ ที่ 16 ไร่ 3 งาน 8 ตารางวา วั ด บางคล้ า บุ ป ผานิ ก าราม สร้ า งขึ้ น ตั้ ง แต่ ป ระมาณ พ.ศ. 2335 เป็ น วั ด ที่ ไ ด้ รั บ พระราชทานวิ สุ ง คามสี ม าในราวปี พ.ศ.2339 เจ้าอาวาสที่ทราบนามมี 8 รูป
1. พระอุปัชฌาย์เอี่ยม 2. พระอาจารย์กลิ่น 3. พระอาจารย์อ่อง 4. พระอาจารย์โล่
80
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 80
5. พระอาจารย์บาง 6. พระอาจารย์ห้อย 7. พระอาจารย์อรุณ 8. พระครูวิชัยคุณาภรณ์ (หลวงพ่อเชย)
หมู่บ้านที่ตั้งอยู่ในต�ำบลบางไทรประชาชน ได้ตั้งบ้านเรือนกระจายไปตามริมฝั่งแม่น�้ำน้อย และแม่น�้ำเจ้าพระยา ซึ่งอยู่ตรงข้ามที่ว่าการ อ�ำเภอราชคราม ประกอบอาชีพท�ำไซจับปลา ขายทุกหมู่บ้าน สมัยก่อนจึงเรียกว่า “บางไซ” และได้เรียกเพี้ยนกันมาจาก “บางไซ” เป็น “บางไทร” และเชื่อกันว่าอาจจะมีต้นไทรขึ้นอยู่ จ�ำนวนมากตามริมฝั่งแม่น�้ำและหมู่บ้านที่ตั้ง อยู่ตามริมแม่น�้ำ ส่วนใหญ่เรียกว่าบางน�ำหน้า จึงได้เรียกชื่อหมู่บ้านว่า “บางไทร” โดยพื้นที่ ตั้งวัดเป็นที่ราบลุ่มอยู่ริมแม่น�้ำน้อยนั่นเอง
24/05/61 11:09:08 AM
H I S TOR Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดเก่าแก่ตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา
วัดปรีดาราม ต�ำบลแม่ลา อ�ำเภอนครหลวง จังหวพระนครศรีอยุธยา โทร 035-339255
สุ ขํ สุ ปติ พุ ทฺโ ธ จ เยน เมตฺ ต า สุ ภ าวิ ต า ผู ้ เ จริ ญ เมตตาดี แ ล้ วย่ อมหลั บ และตื่นเป็นสุข AD Magazine EBOOK.indd 214 .indd 81
FACEBOOK วัดทั่วไทย
25/05/61 05:32:54 PM 25/5/2561 17:35:37
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
พระครูกันตธรรมาภิรักษ์ เจ้าคณะต�ำบลบ้านเกาะ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
วัดศิริสุขาราม
กราบไหว้พระพุทธรูปปางไสยาสน์
วัดศิริสุขาราม ตั้งอยู่ที่บ้านโรงหลวง เลขที่ 70 หมู่ 4 ต.ช่างเหล็ก อ. บางไทร
จ.พระนครศรีอยุธยา สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย เริ่มสร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ.2502 มีที่ดิน ที่ตั้งวัด เนื้อที่ 23 ไร่ 5 ตารางวา พื้นที่เป็นที่ราบลุ่ม วัดศิริสุขาราม เดิมชื่อวัดใหม่ โรงหลวง ตามชื่อหมู่บ้าน ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 10 มีนาคม พ.ศ.2515 ปูชนียวัตถุ มีพระประธานในอุโบสถ ภาพเขียนพุทธประวัติ หลังการตรัสรูพ้ ระองค์เสด็จไปโปรด ปัญจวัคคีย์ทั้งห้า คือ พระโกณฑัญญะ พระวัปปะ พระภัททิยะ พระมหานาม และพระอัสสชิ ที่ป่าอิสปตนมฤคทายวัน เมืองพาราณสี ในวันขึ้น 15 เดือน 8 และทรงปฐมเทศนา ธัมมจักกัปป
82
วัตตนสูตร พระสูตรแห่งทางด�ำเนินจิตไปบน ทางสายกลาง อั น เป็ น หั ว ใจของพระพุ ท ธ ศาสนา เป็นหลักธรรมที่น�ำไปสู่ความพ้นทุกข์ โดยมีใจความส�ำคัญคือ 1.) ทรงชี้ทางผิด อันได้แ ก่กามสุขัลลิกา นุ โ ยค(ติ ด สุ ข ) และอั ต ตกิ ล มถานุ โ ยค(การ ทรมานตนให้ลำ� บาก) ว่าเป็นส่วนสุดทีบ่ รรพชิต ไม่ควรด�ำเนิน แต่เดินทางสายกลางที่เรียกว่า มัชฌิมาปฏิปทา คือ อริยมรรคมีองค์แปด เพื่อ พระนิพพาน 2.) ทรงแสดงอริยสัจ 4 ทุกข์ เหตุให้เกิด ทุกข์ การดับทุกข์ และหนทางในการออกจาก ทุกข์อย่างละเอียด 3.) ทรงปฏิญญาว่าทรงตรัสรู้พระองค์เอง และพ้นทุกข์แล้ว ในกาลนั้น โกญฑัญญะเป็น ผู้ได้ธรรมจักษุก่อน เกิดความเข้าใจแจ่มแจ้ง ตามสภาพเป็นจริงว่า
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
2
.indd 82
22/5/2561 11:29:04
มีการลอดอุโบสถ
ยํ กิญฺจิ สมุทยธมฺมํ สพฺพนฺตํ นิโรธธมฺมนฺติ สิ่งใดสิ่งหนึ่งเกิดขึ้นเป็นธรรมดา สิ่งนั้นทั้งหมดดับเป็นธรรมดา จากนั้ น จึ ง ได้ ข ออุ ป สมบทเป็ น เอหิ ภิ ก ขุ อุปสัมปทาองค์แรก (คือพระพุทธเจ้าทรงบวช ให้) ได้ฉายาว่า อัญญาโกญฑัญญะ (โกญฑัญญะ รู้แล้วหนอ) หลังจากปัญจวัคคีย์อุปสมบทแล้ว พุทธองค์จงึ ทรงเทศน์ อนัตตลักขณสูตร ซึง่ เป็น พระสูตรทีแ่ สดงลักษณะความเป็นอนัตตา เป็น พระสู ต รที่ มี ค วามส�ำคั ญที่ สุ ด พระสู ต รหนึ่ ง หลังจากที่พระโคตมพุทธเจ้าได้ทรงแสดงพระ สูตรนี้แล้ว ปัญจวัคคีย์ทั้งห้าบรรลุเป็นพระ อรหันต์ในพระบวรพุทธศาสนา พระสูตรนี้ มีใจความเกี่ยวกับ ความไม่ใช่ ตัวตนของขันธ์ 5 คือ รูป คือ ร่างกาย เวทนา คือ ความรู้สึกสุขทุกข์หรือเฉยๆ สัญญา คือ
ความจ�ำได้หมายรู้ สังขาร คือ ความคิดหรือ เจตนา และ วิญญาณ คือการรับรู้ทาง ตา หู จมูก ลิ้น กายใจ เมื่อจิตกระทบสัมผัสแล้วปรุง แต่ง ทัง้ หมดนีพ้ ระพุทธองค์ตรัสว่า เป็นอนัตตา ไม่ใช่ตวั ไม่ใช่ตน ไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา จิตจึง หลุดออกจากความยึดติดในขันธ์ทงั้ ห้าโดยสิน้ เชิง
ประวัติท่านเจ้าอาวาส พระครูกนั ตธรรมาภิรกั ษ์ เจ้าอาวาสวัดศิริ สุขาราม อายุ 61ปี 38 พรรษา นักธรรมเอก เกิดเมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ.2500 ที่ต�ำบล บ้านหลวง อ�ำเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา อุปสมบทเมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ.2523 ที่ วั ด สุ ท ธาโภชน์ อ�ำเภอเสนา จั ง หวั ด พระนครศรีอยุธยา
พระครูกันตธรรมาภิรักษ์ เจ้าอาวาสวัดศิริสุขาราม
ท่านสาธุชนสามารถร่วมบ�ำเพ็ญบุญกุศล เจริญสมาธิ วิปัสสนาภาวนาที่ วัดศิริสุขาราม บ้านโรงหลวง เลขที่ 70 หมู่ 4 ต.ช่างเหล็ก อ. บางไทร จ.พระนครศรีอยุธยา ได้ทุกวัน โทรศัพท์ 018-524134
AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 83
83
22/5/2561 11:29:16
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
84
6
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 84
22/5/2561 11:30:07
กราบสักการะสรีระหลวงปู่ทิม “เทพเจ้าแห่งความเมตตา” มหาเถราจารย์แห่งกรุงศรีอยุธยา
วัดพระขาว
วัดเก่าแก่ในสมัยกรุงศรีอยุธยา หลวงพ่อสมุห์สุนทร สุนฺทโร ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
วัดพระขาว สังกัดมหานิกาย อยู่ใน
เขตการปกครองคณะสงฆ์ ต� ำ บลน�้ ำ เต้ า อ�ำเภอบางบาล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ภาค 2 วั ด ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 34 หมู ่ ที่ 3 ต� ำ บลพระขาว อ� ำ เภอบางบาล จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา เนื้ อ ที่ ตั้ ง วั ด มี เ นื้ อ ที่ 19 ไร่ 2 งาน ลักษณะพื้นที่โดยทั่วไปของ บริ เ วณที่ ตั้ ง วั ด ทิ ศ เหนื อ และทิ ศ ใต้ มี บ ้ า น ล้ อ มทั้ ง สองทิ ศ ทิ ศ ตะวั น ออกถนนหลวง ทิ ศ ตะวั น ตกมี แ ม่ น�้ ำ เจ้ า พระยาไหลผ่ า น ตลอดปี วัดพระขาวสันนิษฐานว่าสร้างใน สมัยกรุงศรีอยุธยา
พ.ศ. 2250 ได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา วันที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2470 ซึ่งชื่อของวัด นัน้ ตัง้ ตามชือ่ ของหลวงพ่อขาว สืบเนือ่ งมาจาก ที่วัดแห่งนี้มีพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ องค์ใหญ่ สี ข าวมาแต่ โ บราณ ชาวบ้ า นเรี ย กวั ด นี้ ว ่ า “วัดพระขาว” จนกลายมาเป็นชื่อที่ใช้เรียกกัน จวบจนทุกวันนี้ โดยในปี พ.ศ.2540 ทางวัดได้ ท�ำการก่อสร้างอุโบสถหลังใหม่ทดแทนหลังเดิม ซึ่งช�ำรุดทรุดโทรมท�ำการก่อสร้างเสร็จในปี พ.ศ.2545 ภายในอุโบสถ ยังมีสภาพจิตรกรรม ฝาผนังแบบประเพณี เช่น พุทธประวัติ ไตรภูมิ พระร่วง มารผจญ ทศชาติ และภาพทวารบาล
ท�ำเนียบเจ้าอาวาส แม้จะไม่มีห ลักฐานบันทึกที่ชัด เจน แต่ ตั้ ง แต่ อ ดี ต จนถึ ง ปั จ จุ บั น นั้ น วั ด พระขาว มีเจ้าอาวาสที่เคยด�ำรงต�ำแหน่งมาแล้วทั้งสิ้น 7 รูป ประกอบไปด้วย เจ้าอาวาสรูปที่ 1 พระครูทัต เจ้าอาวาสรูปที่ 2 พระครูทรัพย์ เจ้าอาวาสรูปที่ 3 พระอาจารย์ปลั่ง เจ้าอาวาสรูปที่ 4 พระอาจารย์กลึง เจ้าอาวาสรูปที่ 5 พระอาจารย์ติ่ง เจ้าอาวาสรูปที่ 6 พระครูสังวรสมณกิจ (หลวงปู่ทิม อตฺตสนฺโต) เป็นเจ้าอาวาสตั้งแต่ปี พ.ศ.2504- 2552
เจ้าอาวาสรูปที่ 7 หลวงพ่อสมุห์สุนทร สุนทฺ โร เจ้าอาวาสตัง้ แต่ปี พ.ศ.2552 - ปัจจุบนั
หลวงพ่อขาว พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ หลวงพ่อขาวพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ เป็น พระประธานในอุโบสถปัน้ ด้วยปูนมาแต่โบราณ สมั ย กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา หน้ า ตั ก กว้ า งประมาณ 4 ศอก สูงประมาณ 5 ศอก เป้นพระพุทธรูป ปางมารวิชัยสีขาวทั้งองค์ ชาวบ้านเรียกชื่อว่า หลวงพ่อขาว เป็นที่เคารพเลื่อมใสศรัทธาของ ชาวบ้านเป็นอันมากผู้ที่มากราบไหว้บูชาต่าง ประจักษ์ในความศักดิ์สิทธิ์ ผู้อธิษฐานขอพร บารมีในองค์หลวงพ่อขาวและเชื่อมั่น
AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
6
.indd 85
85
22/5/2561 11:30:14
ในบุ ญ กุ ศ ลมี ศี ล ธรรมประจ� ำ ใจจะสมความ ปรารถนาในสิ่งที่ต้องการ ครอบครัวอยู่เย็น เป็นสุข การศึกษา โรคภัยไข้เจ็บ บันดาลโชคลาภ และแคล้วคลาดปลอดภัยให้แก่ผู้สักการบูชา ชาวบ้านมีความเชื่อน�ำไข่ต้มมาถวายแก้บน กราบสักการะสรีระหลวงปู่ทิม “เทพเจ้า แห่งความเมตตา” มหาเถราจารย์แห่งกรุงศรี อยุธยา หลวงปูท่ มิ อัตตะสันโต เป็นพระเกจิชอื่ ดัง ของอยุธยา ท่านมรณะปี 2552 แต่ยังเก็บร่าง ของท่านให้มากราบไหว้อยู่ ทีว่ ดั มีพระประธาน ในโบสถ์เป็นสีขาวจึงมีชอื่ ว่าวัดพระขาว มีภาพ จิตรกรรมฝาผนังในโบสถ์ มีเรือนไทยทีส่ วยงาม
86
6
ท่านเป็นพระผู้มีเมตตาธรรมแก่ญาติโยม ทุกคน เป็นพระผู้ปฏิบัติดี ปฏิบัติเป็นตัวอย่าง เป็ น พระผู ้ มี ป ฏิ ภ าณแตกฉานในพระธรรม จนได้รบั ฉายา เทพเจ้าแห่งความเมตตา หลวงปูท่ มิ อั ต ตะสั น โต ได้ ส ร้ า งปาฏิ ห าริ ย ์ โดยสรี ร ะ ร่างกายหลวงปู่ทิมไม่เน่าเปื่อยและคงสภาพ เหมือนคนนอนหลับ เล็บงอกยาว และผมงอกยาว แต่กลับมีกลิ่นชานหมากหอมฟุ้ง บรรจุอยู่ใน โลงแก้ว หลวงปู่ทิมละสังขาร เมื่อวันที่ 22 มีนาคม 2552 เวลา 10.55 น. โดยก่อนทีท่ า่ น จะมรณภาพ หลวงปู่ได้สั่งให้สร้างมณฑปลาย รดน�ำ้ ไว้ ในเมือ่ ต้นปี พ.ศ.2550 อีกทัง้ ยังได้สงั่ ว่า “ ให้รีบสร้างมณฑป ให้เสร็จเร็วๆ นะ อาตมาจะไปอยู่ ”
หลังจากที่สร้างมณฑปเสร็จแล้วนั้น ไม่นานหลวงปู่ก็ได้มรณภาพลง โดยเหล่า บรรดาลูกศิษย์ของหลวงปู่ ถึงกับทึ่งกัน เลยทีเดียวเมื่อมารู้ความจริงถึงจุดประสงค์ ของหลวงปู่ที่กล่าวไว้ก่อนหน้านั้น ปัจจุบัน ทางวัดจึงประดิษฐานสรีระสังขารหลวงปู่ทิม ณ มณฑป ลายรดน�้ำ อัตตสันตมหาเถราจารย์ เพื่อให้ศิษยานุศิษย์ ผู้มีความเคารพเลื่อมใส หลวงปู่ทิมได้มาสักการบูชาได้ตามศรัทธา
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 86
22/5/2561 11:30:25
AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
6
.indd 87
87
22/5/2561 11:30:29
Luang Por Khao, the sacred Buddha image
Wat Phra Khao
Luang Por Samu Soontorn Soontharo is an abbot
88
6
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 88
22/5/2561 11:30:36
Worship Luang Phu Tim’s body
“God of kindness”
the great master monk of Ayutthaya
Wat Phra Khao belongs to Maha Nikai clergy, it is under second section of
administrative district of clergy at Namtao sub-district, Bang Ban district, Ayutthaya province. This temple is located at 34 village no.3, Phra Khao sub-district, Bang Ban district, Ayutthaya province. Scale of this temple’s land is 7.6 acres and 800 square meters. It was assumed that this temple was built in Ayutthaya kingdom around 2250 B.E. This temple was granted Wisungkhamsima” (Land granted from Royal family to build temple or other religious buildings) on 27 September 2470 B.E. which temple’s name was named after Luang Por Khao’s name which is an ancient white Buddha image, it is Buddha sculpture and principle Buddha image of Wat Phra Khao. That’s why locals call this temple “Wat Phra Khao” and use this name till today (Khao means white).
Luang Por Khao, the sacred Buddha image Luang Por Khao, the sacred Buddha image, it is ancient principle Buddha image in this temple which made of cement and was made since Ayutthaya kingdom. Its Na tak is approximately 2 meters in width and 2.5 meters in height (Na Tak is the lap of Buddha statue in the posture of meditation). It is a white Buddha image in the attitude of subduing Mara which made locals call it “Luang Por Khao”. Locals worship and strongly belief in Luang Por Khao
and people who come to pay respect to this Buddha image would witness its sacredness, as for people pray for benediction from Luang Por Khao, if these people firmly believe in meritorious deed and keep morals in their minds, then, their wish will be fulfilled, their families will be live comfortably without illness, cause fortune and make them free from harm. Villagers who belief in this Buddha image usually offer boiled egg to Luang Por Khao in order to fulfill their vow.
Luang Phu Tim Attasanto is a famous monk of Ayutthaya. He passed away in 2552 B.E. but his body is still keep in this temple for people can pay respect to him. There are mural in Buddhist sanctuary and gorgeous Thai house in this temple. He was generous to everyone no matter what he or she’s social class. He always performed good deed and be a role model for many people. He was masterful in Buddhist doctrine which made him get title “God of kindness”. Luang Phu Tim Attasanto had created miracle because his body was not decayed and still remain the same like people who is sleeping, his nails and hairs still grow with fragrant of dried betel nut still be scented from his body that contained in gem-like coffin. He passed away on 22 March 2552 B.E. at 10.55 hrs. However, before he passed away, he ordered his disciples in 2550 B.E. to build square hall with a pyramidal roof decorated with gold applique on black lacquer which he told them that “You should hurriedly build this hall, my time is growing very short”. Then, he passed away not so long after the construction of this hall is completed which made his disciples were surprised when they learnt the truth of Luang Phu’s intention that he had told them before he passed away. At present, his body was enshrined at this hall for his faithful followers pay their respect to him. AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
6
.indd 89
89
22/5/2561 11:30:53
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
สีลสมาธิคุณานํ ขนฺติ ปธานการณํ สพฺเพปิ กุสลา ธมฺมา ขนฺตฺยาเยว วฑฺฒนฺติ เต ขันติเป็นประธาน เป็นเหตุ แห่งคุณคือศีลและสมาธิ กุศลธรรมทั้งปวงย่อมเจริญเพราะขันติ
วัดพิกุลโสคันธ์ เดิมชื่อ “วัดพิกุล”
พระครูสังฆรักษ์เจียน ฐิตสีโล ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
วั ด พิกุลโสคันธ์ ตั้งอยู่เลขที่ 73 บ้านพระขาว หมู่ที่2 ต�ำบลพระขาว
อ� ำ เภอบางบาล จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา สั ง กั ด คระสงฆ์ ม หานิ ก าย ที่ ดิ น ที่ ตั้ ง วั ด มี เ นื้ อ ที่ 19 ไร่ 3 งาน 40 ตารางวา โฉนดที่ ดิ น เลขที่ 7564 90
อาณาเขต : ทิศเหนือ จดทางสาธารณะ ประโยชน์ ทิศใต้ จดทีด่ นิ เอกชน ทิศตะวันออก จดถนนหลวง ทิศตะวันตก จดแม่น�้ำน้อย มีที่ ธรณีสงฆ์ จ�ำนวน 3 แปลง เนื้อที่ 3 งาน 68 ตารางวา โฉนดที่ดินเลขที่ 228,381,420 อาคารเสนาสนะประกอบด้วย อุโบสถ กว้าง 7 เมตร ยาว 19 เมตร เป็น อาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก ศาลาการเปรียญ กว้าง 14 เมตร ยาว 24 เมตร สร้ า งเมื่ อ พ.ศ.2501 เป็ น อาคารคอนกรี ต เสริมเหล็ก ทรงไทย 1 ชั้น หอสวดมนต์ กว้าง 9 เมตร ยาว 15 เมตร สร้ า งเมื่ อ พ.ศ.2511 เป็ อ าคารคอนกรี ต เสริมเหล็ก
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
2
.indd 90
25/5/2561 15:48:28
กุฏิสงฆ์ จ�ำนวน 24 หลัง เป็นอาคารครึ่ง ตึกครึง่ ไม้ 22 หลัง อาคารคอนกรีตเสริมเหล้ก 2 หลัง วิหาร กว้าง 6 เมตร ยาว 10 เมตร เป็น อาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก ศาลาเอนกประสงค์ กว้าง 11 เมตร ยาว 16 เมตร สร้างเมื่อ .ศ.2532 ศาลาบ�ำเพ็ญกุศล จ�ำนวน 2 หลัง สร้าง ด้วยอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก วัดพิกุลโสคันธ์ ตั้งเมื่อปี พ.ศ.2245 ได้รับ พระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อปี พ.ศ.2254 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 7 เมตร ยาว 15 เมตร การบริหารและการปกครอง มีเจ้าอาวาสเท่าที่ ทราบนาม คือ 1. พระด้วง 2. พระปั้น 3. พระมหาปั่น 4. พระอธิการอ�่ำ 5. พระอธิการผ่อน 6. พระอธิการละมุน 7. พระครูโอภาสธรรมรัตน์ พ.ศ.2503 (อดีตเจ้าคณะต�ำบลพระขาว-น�้ำเต้า) 8. พระครูสงั ฆรักษ์เจียน ฐิตสีโล รูปปัจจุบนั ยสฺส นตฺถิ อิทํ เมติ ปเรสํ วาปิ กญฺจนํ มมตฺตํ โส อสํวินฺทํ นตฺถิ เมติ น โสจติ ผู้ใดไม่กังวลว่า นี้ของเรา นี้ของผู้อื่น ผู้นั้น เมื่อไม่ถือว่าเป็นของเรา จึงไม่เศร้าโศกว่าของเราไม่มี ดังนี้ (พุทธเจน์)
AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 91
91
22/5/2561 11:32:15
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดเก่าแก่ตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา
วัดสีกุก
ส�ำนักปฏิบัติธรรมประจ�ำจังหวัดอยุธยา แห่งที่ 7 พระครูชินธรรมาภรณ์ เจ้าคณะอ�ำเภอบางบาล ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
วัดสีกุก สร้างขึ้นในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลายเมื่อ พ.ศ.2240 ได้รับ
พระราชทานวิสุงคามสีมา พ.ศ.2250 ปัจจุบันตั้งอยู่เลขที่ 35 หมู่ 2 ต.น�้ำเต้า อ.บางบาล จ.พระนครศรีอยุธยา ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น�้ำน้อย ถนนสายอยุธยา-เสนา หลักกิโลเมตรที่ 11 วัดสีกุก เมื่อ พ.ศ.2310 ถูกใช้เป็นสถานที่ตั้งค่ายพม่า แม่ทัพพม่าชื่อ มังมหานรธาได้เสียชีวิต ปัจจุบันมีเจดีย์ดเก่า และศาลแม่ทัพมังมหานรธา ตั้งอยู่หลังอุโบสถ วัดสีกุก เมื่อ พ.ศ.2449 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 เสด็จประพาสต้น ครั้งที่ 2 เสด็จมาประทับแรมที่วัดสีกุก พร้อมทั้งถ่ายภาพศาลาการเปรียญ และกุฏิสงฆ์และลงลาย พระหัตถ์ไว้ที่ภาพถ่ายนั้นด้วย จึงขอเชิญชวนทุกท่านมาสักการบูชาขอพรได้ที่อนุสรณ์สถาน ร.5 พร้อมทั้งชมภาพถ่ายฝีพระหัตถ์ และชมต้นสะตือเก่าแก่อายุกว่า 200 ปี ซึ่งเป็นสถานที่พระองค์ ทรงประทับพักพระอิริยาบท 92
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
1
.indd 92
ปัจ จุบันพระครูชินธรรมาภรณ์ (ประยูร จุลวานิช)เป็นเจ้าอาวาส และเจ้าคณะอ�ำเภอ บางบาล เป็นเจ้าส�ำนักปฏิบัติธรรม (ดีเด่น) ประจ� ำ จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา สั ง กั ด ส� ำ นั ก งานพระพุ ท ธศาสนาแห่ ง ชาติ เ ป็ น ประธานศูนย์ส่งเสริมพระพุทธศาสนาสังกัด กรมการศาสนากระทรวงวัฒนธรรม กิจกรรม ประจ� ำ ปี ข องทางวั ด คื อ โครงการบรรพชา สามเณรภาคฤดู ร ้ อ นวั น ที่ 1-25 เมษายน ประจ�ำทุกปี (พ.ศ.2561เป็นรุน่ ที3่ 6) โครงการ ปฏิบัติธรรมคณะญาติสัมมาปฏิบัติ ก�ำหนด วันขึ้น 9-13ค�่ำ เดือน 10 ประจ�ำทุกปี (พ.ศ. 2561เป็นรุ่นที่36) โครงการส่งเสริมศีลธรรม เพื่อพัฒนาเยาวชนก�ำหนด3วัน2คืน โดยมี โรงเรียนประถม มัธยม วิทยาลัย ทัง้ ในและต่าง จังหวัด น�ำมาศึกษาปฏิบัติธรรมปีละหลายรุ่น หลายพันคน ทุกรุน่ ทุกโครงการ ทางวัดอ�ำนวย ความสะดวก ให้ความอุปถัมภ์มาโดยตลอด ท่านใดเห็นประโยชน์ ปรารถนาจะมีส่วนร่วม สร้างกุศลบุญบารมีกับทางวัด ติดต่อสอบถาม ได้ที่วัดสีกุก 061-7187389 หรือให้ความ อุปถัมภ์ได้ที่ธนาคารกรุงไทย สาขาเสนา ชื่อบัญชีวัดสีกุก เลขบัญชี 104-1-01486-4 ขออนุโมทานามา ณ ที่นี้
22/5/2561 11:33:02
ยํ พุทฺโธ ภาสตี วาจํ เขมํ นิพฺพานปตฺติยา ทุกฺขสฺสนฺตกิริยาย สา เว วาจานมุตฺตมา พระพุทธเจ้าตรัสพระวาจาใด เป็นค�ำปลอดภัย เพื่อบรรลุพระนิพพาน และเพื่อท�ำที่สุดทุกข์, พระวาจานั้นแล เป็นสูงสุดแห่งวาจาทั้งหลาย
วัดบ้านแดง
วัดเก่าแก่นานกว่า 260 ปี พระครูอุดมนวการ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
วัดบ้านแดง ตั้งอยู่เลขที่ 22 บ้านแดง หมู่ที่ 3 ต�ำบลน�้ำเต้า อ�ำเภอบางบาล
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ 12 ไร่ พื้นที่ต้ังวัด เป็นที่ราบลุ่ม สร้างขึ้นนับเป็นวัดนับตั้งแต่ประมาณ พ.ศ. 2293 เป็นวัด ที่ ได้รั บ พระราชทานวิ ส งครามสี ม าในราว พ.ศ. 2301 ได้ มี ก ารบู ร ณปฏิ สั ง ขรณ์ ในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น โดยมีหลวงพ่อสุ่น วัดบางปลาหมอ มาด�ำเนินการบูรณะ อุโบสถ และเสนาสนะต่าง ๆ ตามล�ำดับ พระครูอุดมนวการ หรือหลวงพ่อชัย อตฺตทโม อายุ 65 ปี พรรษาที่ 45 เป็นเจ้าอาวาส เป็น พระสุปฏิปนั โนทีม่ เี มตตาต่อคนและสัตว์ ชอบไถ่ชวี ติ โค กระบือ หากใครไปทีว่ ดั จะพบเห็นสัตว์ตา่ งๆ
ที่หลวงพ่อเลี้ยงไว้ ที่ท่านช่วยเหลือชีวิตของ บรรดาสัตว์เหล่านี้ให้รอดพ้นจากความตาย ชาวบ้านให้ความเคารพนับและศรัทธาในหลวง พ่อชัยมาก ไม่เฉพาะพุทธศาสนิกชนเท่านั้น แม้แต่ผทู้ น่ี บั ถือศาสนาคริสต์ทอี่ าศัยในละแวก นั้นก็ให้ความเคารพนับถือท่าน
เจ้าอาวาสที่ทราบนานมี 7 รูป 1. พระอาจรย์ลบ 2. พระอาจารย์ดิต 3. พระอาจารย์พอน 4. พระอาจารย์เปล่ง 5. พระอาจารย์ยอด พ.ศ.2471-2517 6. พระอาจารย์ทองสุข พ.ศ.2520-2521 7. พระครูอุดมนวการ ด�ำรงต�ำแหน่งตั้งแต่ พ.ศ.2522-ปัจจุบัน
AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
1
.indd 93
93
22/5/2561 11:35:33
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
ท่านเป็นเกจิอาจารย์ทที่ รงวิทยาคุณในสมัยนัน้ เป็ น แพทย์ แ ผนโบราณ มี จิ ต เปี ่ ย มล้ น ด้ ว ย เมตตากรุณา ให้การรักษาแก่บุคคลทั่วไปจน มีชอื่ เสียงรูจ้ กั ไปทัว่ ท่านได้เป็นประธานในการ สร้างอุโบสถ ปี พ.ศ.2471
วัดไผ่ล้อม
กราบสังขาร หลวงพ่อเอียด พระสุนทรธรรมานุวัตร
วัดไผ่ล้อม ตั้งอยู่ ณ ริมฝั่งแม่น�้ำเจ้าพระยา ต�ำบลสะพานไทย อ�ำเภอบางบาล
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา กาลก่อนบริเวณวัดล้อมรอบไปด้วยกอไผ่ จึงได้ชื่อว่า วัดไผ่ล้อม มีหลวงพ่อขาวพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ และต้นสะตือใหญ่อยู่คู่วัดตลอดมา วัดไผ่ล้อมตั้งขึ้นตั้งแต่ปี พ.ศ.2275 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา
ปี พ.ศ.2285 เจ้าอาวาสองค์แรก ไม่ปรากฏหลักฐานจนมาถึงสมัยหลวงพ่อตรุด บ้านเดิมอยู่ จังหวัดนนทบุรี อุปสมบทและศึกษาพระธรรมวินัยอยู่ที่วัดไผ่ล้อม ได้รับการแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาส และได้เป็นเจ้าคณะต�ำบลในเวลาต่อมา ท่านเป็นครูสอนหนังสือให้แก่ลูกหลานในละแวกวัด สอนทัง้ หนังสือไทยและอักขระขอม เนือ่ งจากสมัยนัน้ ยังไม่มโี รงเรียน ลูกศิษย์ของท่านมีความเจริญ ก้าวหน้าในหน้าทีร่ าชการ และประกอบอาชีพส่วนตัวเป็นจ�ำนวนมาก มาถึงสมัยหลวงพ่อแจ่ม กิตติสาโร 94
1
พระสุนทรธรรมานุวัตร เจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน หลวงพ่อเอียด อินฺทวํโส มี ส มณศั ก ดิ์ ที่ พระสุ น ทรธรรมานุ วั ต ร นามเดิมว่า ละเอียด พูลพร เกิดเมือ่ วันอาทิตย์ที่ 10 กุมพาพันธ์ พ.ศ.2471 ณ บ้านเลขที่ 5 ต�ำบลสะพานไทย อ�ำเภอบางบาล จังหวัด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา เป็ น บุ ต รของ นายผั น นางเสงี่ยม พูลพร มีพี่น้องรวม 8 คน ปฐมวัย เป็ น เด็ ก ขยั น ขั น แข็ ง ช่ ว ยเหลื อ บิ ด ามารดา ท�ำงานบ้านอย่างตั้งใจ ชอบอ่านเรียนเขียน หนังสือ เข้าวัดสนทนากับพระเณรอยู่เป็นนิจ บรรพชาเป็ น สามเณร เมื่ อ วั น ศุ ก ร์ ที่ 10 ธันวาคม พ.ศ.2485 อายุ 14 ปี ณ พัทธสีมา วัดไผ่ลอ้ ม โดยพระครูสนุ ทรวิหารกิจ เจ้าอาวาส วัดจันทราราม ขณะเป็นสามเณรศึกษาพระธรรม วินัยสอบนักธรรมชั้นตรี ชั้นโท ได้มีความจ�ำ เป็นเลิศ สามารถสวดท่องพระปาติโมกข์ได้ อุปสมบทเมื่ออายุ 20 ปี บริบูรณ์ วันอาทิตย์ ที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ.2491 ด้วยพระอุปชั ฌาย์ รูปเดียวกันกับที่บรรพชา ขณะที่เป็นพระภิกษุ จ�ำพรรษาอยูท่ วี่ ดั ไผ่ลอ้ ม ศึกษาธรรมวินยั สอบได้ นักธรรมชั้นเอก ปีพ.ศ.2493 เป็นครูสอนพระ ปริยัติธรรม ได้รับการแต่งตั้งเป็นรักษาการ เจ้าอาวาสจนถึงปีพ.ศ.2497 จึงได้รับการแต่ง เป็นเจ้าอาวาสปกครองดูแลพระลูกวัดตลอดมา ท่านมีปณิธานแน่วแน่ในการสืบสานท�ำนุบำ� รุง บวรพระพุทธศาสนาให้เจริญรุ่งเรือง เป็นพระ ผู้สร้างโดยแท้ นอกจากการก่อสร้างถาวรวัตถุ มากมายแล้ว ท่านยังสร้างวัตถุมงคล ทีเ่ ป็นศิลป์ ศักดิส์ ทิ ธิแ์ ละสวยงามสมควรทีบ่ รรดาญาติโยม สาธุชน จักน�ำไปบูชาร�ำลึกในคุณงามความดี ของท่านเพื่อส่งเสริมคุณงามความดีในตนให้ เกิดขึ้น และความเป็นสิริมงคลแก่ครอบครัว และตัวท่านเองอีกด้วย
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 94
22/5/2561 11:36:20
HIST ORY OF BUDDHISM
บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
สุขสฺส ทาตา เมธาวี สุขํ โส อธิคจฺฉติ. ปราชญ์ผู้ ให้ความสุข ย่อมได้รับความสุข
วัดยม
วัดโบราณ สมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี พระมหาสายันต์ เตชวโร ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
วัดยม ไม่มีปรากฏหลักฐานเอกสารเกี่ยวกับการสร้างวัดที่ชัดเจน แต่มีประวัติ
จากกรมการศาสนากล่าวไว้ว่ามีการสร้างวัดขึ้นในราว พ.ศ. 2200 ตรงกับสมัยอยุธยา ตอนกลาง ต่อมาได้ร้างลงสมัยเสียกรุง เมื่อ พ.ศ. 2310 และได้รับการบูรณะกลับมาใช้ งานอีกครั้งจนมาเป็นวัดประจ�ำต�ำบลวัดยม จนปัจจุบัน ส�ำหรับต�ำบลวัดยม เชื่อกันว่าเมื่อก่อนมีกลุ่มชนจีน ขอม และมอญ อาศัยอยู่ เมื่อมีการจัดตั้ง หมู่บ้าน จึงอาศัยชื่อกลุ่มชนต่างๆ ที่มีอยู่มาเป็นชื่อหมู่บ้าน และในพื้นที่แห่งนี้มีวัดยมซึ่งเป็นวัดที่ เก่าแก่ของต�ำบล ที่ประชาชนให้ความเคารพนับถือและเกือบจะเป็นวัดร้าง เมื่อจัดตั้งเป็นต�ำบล
จึงน�ำชื่อวัดยมมาตั้งชื่อว่า “ต�ำบลวัดยม” เพื่อ ให้วัดยมอยู่คู่กับต�ำบลวัดยมตลอดไป และ บ า ง บ า ล เ ป ็ น อ� ำ เ ภ อ ห นึ่ ง ใ น จั ง ห วั ด พระนครศรีอยุธยา เดิมชื่อ อ�ำเภอเสนาใน ต่อมาในปี พ.ศ. 2460 ได้เปลี่ยนชื่อมาเป็นชื่อ อ�ำเภอดังเช่นปัจจุบัน เจดีย์วัดยม เป็นเจดีย์ประธานทรงระฆัง ฐานแปดเหลี่ยม เป็นลักษณะศิลปกรรมสมัย อยุธยา เกี่ยวกับเจดีย์ประธานทรงระฆัง หมายถึง เจดีย์ที่สร้างเป็นหลักของวัด มีขนาดใหญ่ที่สุด ในบรรดาเจดีย์องค์อื่นภายในวัด และสร้างอยู่ ในต�ำแหน่งที่เด่นสมเป็นประธานแก่เจดีย์อื่น ด้วยเหตุนเี้ องท�ำให้เรียกว่า เจดียป์ ระธาน และ ส�ำหรับทรงระฆัง คือ เจดีย์เป็นลักษณะเด่น โดยมีแท่นฐานรองรับอยู่ส่วนล่าง เหนือองค์ ระฆังเป็นส่วนยอด นั่นเอง
AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
1
.indd 95
95
22/5/2561 11:37:30
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
สพฺพรตึ ธมฺมรติ ชินาติ ความยินดีในธรรมย่อมชนะความยินดีทั้งปวง (พุทธพจน์)
วัดโคกหิรัญ
วัดเก่าแก่สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย พระมหาเฉลิมพล อชิโต ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
วัดโคกหิรัญ ตั้งอยู่เลขที่ 28 หมู่ 2 ต.บางชะนี อ.บางบาล จ.พระนครศรีอยุธยา
สร้างขึ้นเมื่อราวพ.ศ.2305 สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย มีปูชนียวัตถุที่ส�ำคัญคือ อุโบสถมหาอุตม์ ซึ่ง เป็นโบสถ์ โบราณที่มีลักษณะแปลกกว่าโบสถ์อื่นๆ คือ เป็นโบสถ์ ที่มีประตูเข้า-ออกเพียงประตูเดียว นอกจากนี้ก็มี วิหารหลวงพ่อโต มณฑปหลวงพ่อ ธรรมจักร 96
1
ล�ำดับเจ้าอาวาส 1. หลวงพ่อผึ้ง พ.ศ.2400-2445 2. หลวงพ่อเชียง พ.ศ.2445-2460 3. หลวงพ่อเฟื่อง พ.ศ. 2460-2470 4. พระครูโบ ฐิติญาโณ พ.ศ.2470-2519 5. พระครูประโชตวรคุณ พ.ศ.2519-2550 6. พระมหาเฉลิมพล อชิโต เปรียญธรรม 5 ประโยค (ป.ธ.5) พธ.บ.(พุทธศาสตรบัณฑิต) พธ.ม.(พุทธศาสตรมหาบัณฑิต) พ.ศ.2551-ปัจจุบัน
วัดโคกหิรัญ โทรศัพท์ 08-9986-7149
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 96
22/5/2561 11:38:20
HIST ORY OF BUDDHISM
บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดเก่าแก่ตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา
วัดบางบาล
เดิมชื่อ “วัดราชสุวรรณกษัตรี” พระอธิการทรงพลวราสโภ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
วัดบางบาล ตั้งอยู่เลขที่ 65 บ้านบางบาล หมู่ที่ 5 ต.บางบาล อ.บางบาล
จ.พระนครศรีอยุธยา สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ที่ดินที่ตั้งวัดมีเนื้อที่ 17 ไร่ 2 งาน 60 ตารางวา ตั้งวัดเมื่อ พ.ศ.2200 ไม่ปรากฏหลักฐานผู้สร้างและผู้บริจาคที่ดิน สร้างวัด ลักษณะพื้นที่ตั้งวัดเป็นที่ราบลุ่ม อยู่ติดริมแม่น�้ำเจ้าพระยา ได้รับพระราชทาน วิสุงคามสีมา เมื่อ พ.ศ.2210 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 23.30 เมตร ยาว 39.40 เมตร อาคารเสนาสนะ ประกอบด้วย อุโบสถ กว้าง 10 เมตร ยาว 25.15 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ.2200 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก ศาลาการเปรียญ กว้าง 15.15 เมตร ยาว 28.15 เมตร สร้าง เมื่อ พ.ศ.2508 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก ทรงไทย ชั้นเดียว หอสวดมนต์ กว้าง 8.26 เมตร
ยาว 15.25 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ.2527-2528 เป็นอาคารไม้ ทรงไทย กุฏสิ งฆ์ จ�ำนวน 8 หลัง เป็นอาคารไม้ นอกจากนีม้ ี ฌาปนสถาน 1 หลัง หอระฆัง 1หลัง โรงครัว 1 หลัง เรือนเก็บพัสดุ 1 หลัง ปูชนียวัตถุ มีพระประธานประจ�ำอุโบสถ ปางมารวิชัย ปางสมาธิ สร้างเมื่อ พ.ศ.2200 -2489 พระประธานประจ�ำศาลาการเปรียญ ปางมารวิชยั สร้างเมือ่ พ.ศ. 2489 ปูชนียวัตถุ อืน่ ๆ เจดียพ์ ระบรมสารีรกิ ธาตุ 2 องค์ พระปรางค์ หน้าอุโบสถ 2 องค์ เจดีย์บรรจุอัฐิหลวงพ่อ เจ้าอาวาส 2 องค์ เจดีย์หลังอุโบสถ 3 องค์ และ ซุ้มประตูทางเข้าวัด 1 ซุ้ม
ท�ำเนียบเจ้าอาวาสเท่าที่ทราบนาม 1. หลวงพ่อพระเนตร 2. หลวงปู่เขียว 3. พระครูสารทรนวกิจ พ.ศ.2485-2524 4. พระครูวิมลศุภการ พ.ศ. 2527-2556 5. พระอธิการทรงพลวราสโภ พ.ศ.2557-ปัจจุบนั AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
1
.indd 97
97
22/5/2561 11:39:52
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
สร้างมาแต่สมัยสมเด็จพระเจ้าทรงธรรม พระมหากษัตริย์องค์ที่ 21 แห่ง กรุงศรีอยุธยา
วัดวรนายกรังสรรค์เจติยบรรพตาราม เดิมชื่อ “วัดเขาดิน”
พระครูวรนายกพิพัฒน์ เจ้าคณะอ�ำเภอบางปะหัน ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
วั ด วรนายกรังสรรค์เจติยบรรพตาราม เดิมชื่อ วัดเขาดิน วัดปากน�้ำแม่โพสพ
หรื อ วั ด ปากน�้ ำ ประสบ เพราะตั้ ง อยู ่ ต รงปากแม่ น�้ ำ ที่ ไ หลแยกออกจากแม่ น�้ ำ ลพบุ รี ไปทางตะวั น ออก เป็ น พระอารามหลวงแห่ ง เดี ย วของอ� ำ เภอบางปะหั น เจ้ า คณะอ� ำ เภอ ประจ�ำอยู่ที่วัดแห่งนี้ วัดเขาดิน สร้างมาแต่สมัยสมเด็จพระเจ้าทรงธรรม พระมหากษัตริยอ์ งค์ท่ี 21 แห่ง กรุงศรีอยุธยา พระพรหมมุนี พระอาจารย์ของสมเด็จพระนารายณ์ได้เคยอยู่ที่วัดนี้ เป็นวัดที่มีความส�ำคัญและ เจริญรุ่งเรืองมาก แต่ก็ต้องมากลายเป็นวัดร้างในช่วงที่เสียกรุงศรีอยุธยา ในสมัยพระบาทสมเด็จ
98
พระนัง่ เกล้าเจ้าอยูห่ วั เจ้าพระยาบดินทร์เดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ได้มาปฏิสงั ขรณ์ครัง้ หนึง่ ต่อมา พระยาภูธราภัย (นุช บุญรัตพันธ์) ทีส่ มุหนายก ในสมัยรัชกาลที่ 4-5 ได้มาปฏิสงั ขรณ์ครัง้ ใหญ่ และเมื่อ พ.ศ. 2417 พระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชด�ำเนินมา บรรจุพระบรมสารีริกธาตุที่พระเจดีย์ และได้ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ เปลี่ยนชื่อ เป็น วัดวรนายกรังสรรค์เจติยบรรพตาราม และยก ฐานะเป็ น พระอารามหลวง สื บ มาจนถึ ง ปัจจุบัน
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
2
.indd 98
22/5/2561 11:40:43
วัดวรนายกรังสรรค์เจติยบรรพตาราม เป็น วัดที่กว้างใหญ่ มีเนื้อที่ 52 ไร่ มีที่ธรณีสงฆ์ 1 แปลง เนื้อที่ 21 ไร่ 40 ตารางวา ทิศเหนือ เป็นคันกัน้ น�ำ้ และทุง่ นา ทิศตะวันออกติดคลอง ตะโกนก ทิศใต้ติดแม่น�้ำลพบุรี ทิศตะวันตก เป็นทุง่ นา มีถนนแยกจากสายเอเชีย (ทางหลวง หมายเลข 32) เข้ามาถึงสะพานข้ามแม่น�้ำ ลพบุรี ต่อเข้ามาในวัดทางด้านใต้ วัดวรนายกรังสรรค์เจติยบรรพตาราม เป็น วั ด ที่ มี ป ระวั ติ ศ าสตร์ ส� ำ คั ญ หลายประการ นอกจากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้า อยูห่ วั แล้ว พระบรมวงศานุวงศ์และเจ้านายชัน้ สู ง หลายพระองค์ ไ ด้ เ สด็ จ มาที่ วั ด วรนายก รังสรรค์เจติยบรรพตาราม แห่งนีแ้ ล้ว พระบาท สมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยูห่ วั พระศรีพชั ริน ทราบรมราชินนี าถ พระบรมราชชนนีพระพันปี หลวง สมเด็จพระนครสวรรค์วรพินิต สมเด็จ กรมพระยาภาณุ พั น ธุ ว งศ์ ว รเดช เจ้ า จอม มารดาแพ กรมหมื่นพิทยาลาภพฤติธาดา ก็ เสด็จมาเช่นกัน อาคารเสนาสนะและปูชนียวัตถุต่างๆ มี ความสวยงาม แปลกตา และมีเรื่องราวที่น่า สนใจ เช่น 1. พระอุโบสถ ไม่มชี อ่ ฟ้า อย่างพระ อุโบสถทัว่ ไป ตัง้ อยูบ่ นเนินดินสูง เชือ่ กันว่าฐาน พระอุโบสถนีเ้ ป็นซุงไม้สกั จ�ำนวนมาก มีกำ� แพง แก้วสองชัน้ 2. พระเจดีย์ ทรงลอมฟาง ภายใน บรรจุพระบรม สารีริกธาตุ มีก�ำแพงล้อมพระ เจดีย์ที่งดงามอีกด้วย 3. หอระฆัง เป็นหอสูง รูปทรงสวยงาม อยู่บนฐานปูนสี่เหลี่ยม วัดวรนายกรังสรรค์เจติยบรรพตาราม มี ประเพณีที่กระท�ำเป็นประจ�ำทุกปี คือ งาน ท�ำบุญวันขึน้ 8 ค�ำ่ เดือน 11 เพือ่ เป็นการร�ำลึก
ถึงอดีต เจ้าอาวาส ซึ่งจะมีงานท�ำบุญใหญ่ มีกิจกรรมต่างๆ รวมทั้งการแข่งเรือด้วย ท�ำเนียบเจ้าอาวาส 1. พระครูนายกวิบูลกิจ (นิ่ม) 2. พระครูเฮง 3. พระครูนายกวิบูลกิจ (แก้ว โฆสโก) 4. พระครูนายกวิบูลกิจ (ขจร ฐานโสภี) 5. พระครูโสภณธรรมภาณ (ฟอง) 6. พระครูอุทุมพราสัย (ชม กสฺสโป) ปัจจุบันคือ พระครูวรนายกพิพัฒน์ (เล็ก ฐิตปุญโญ) เจ้าอาวาสของวัดวรนายกรังสรรค์เจติยบรรพ ตาราม เป็นทีเ่ ลือ่ มใสศรัทธาของชาวบางปะหัน
ทั้งโดยวัตรปฏิบัติ และเสริมสร้างก�ำลังใจ เช่น มีการสร้างเหรียญวัตถุมงคลของหลวงพ่อฟอง ซึ่งเป็นที่นิยมกันในทางเมตตามหานิยม และ เหรียญหลวงพ่อชม 2 รุ่น เชื่อถือกันในทาง พุทธคุณ อีกทั้งเป็นวัดที่มีความส�ำคัญยิ่งของ อ�ำเภอบางปะหัน ควรแก่การศึกษา ชืน่ ชมศิลป วัฒนธรรม ภูมปิ ญ ั ญาทีบ่ รรพบุรษุ ได้สร้างสรรค์ เอาไว้ และสืบสาน พัฒนาให้เจริญมั่นคง งดงาม เป็นแหล่งรวมใจ สร้างสามัคคีธรรมเช่นนี้ ตลอดไป
วัดวรนายกรังสรรค์เจติยบรรพตาราม โทร.0-3530-2192, 0-3538-1263
AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 99
99
22/5/2561 11:40:57
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดเก่าแก่ตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา
วัดทอง ต.ขวัญเมือง เดิมชื่อ “วัดทองนพคุณทูลฉลอง”
เมื่อกรุงศรีอยุธยาต้องเสียแก่พม่าครั้งแรกในวันอาทิตย์เดือน 9 แรม 11 ค�่ำ ปี
มะเส็ ง พ.ศ. 2112 เวลาประมาณ 2 ยามเศษ ตรงกั บ รั ช สมั ย ของกษั ต ริ ย ์ พ ม่ า คื อ พระเจ้าหงสาวดีบุเรงนอง หรือที่ประเทศต่างๆ ขนานพระนามของพระองค์ว่าผู้ชนะสิบทิศ ในคราวเสียกรุงครั้งที่ 1 นี้ไทยต้องตกเป็นเมืองขึ้นของพม่า แต่พม่าให้ไทยปกครองกันเอง โดยมีพระมหาธรรมราชาเป็นกษัตริยป์ กครองดูแลและต้องส่งเครือ่ งราชบรรณาการไปให้แก่พม่า แต่ พระนเรศวรกับพระเอกาทศรถ 2 ราชบุตรถูกพม่าเชิญเสด็จไปเป็นตัวประกันอยู่ที่เมืองพม่าด้วย ที่ ท� ำ เช่ น นี้ เ พื่ อ ป้อ งกัน มิใ ห้ไ ทยแข็ง เมือ ง ไทยต้อ งตกเป็นเมืองขึ้นของพม่าอยู่นานถึง 15 ปี 100
2
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 100
22/5/2561 11:42:29
ท�ำให้สมเด็จพระนเรศวรได้รยู้ ทุ ธวิธตี า่ งๆ ของ พม่ามากมายแต่ก็ยังคงทรงถวายสัตย์ต่อพม่า อยู่เสมอมา จนถึงรัชสมัยของสมเด็จพระเจ้า หงสาวดีนนั ทบุเรงปรากฏว่าเมืองคลัง (ไทยใหญ่) แข็งเมืองจึงโปรดให้พระมหาอุปราชทัพหนึ่ง มังจาปะโรทัพหนึง่ สมเด็จพระเด็จพระนเรศวร ทัพหนึ่ง ยกไปปราบเมืองคลัง พระมหาอุปราชและมังจาปะโรไม่สามารถ ตีได้ แต่สมเด็จพระนเรศวรได้ใช้ยุทโธบายจน สามารถตีเมืองคลังแตก พร้อมกับน�ำเจ้าเมือง คลังไปถวายพระเจ้านันทบุเรง ชัยชนะของ สมเด็จพระนเรศวรครัง้ นีท้ ำ� ให้พม่าไม่พอใจแต่ แสร้งเป็นพอใจในชัยชนะ พร้อมกับปูนบ�ำเหน็จ รางวัลให้แก่พระนเรศวรและแม่ทพั นายกองด้วย และแล้วพม่าก็วางอุบายให้สมเด็จพระนเรศวร ยกกองทัพไปตีเมืองแครง และให้พระยาเกียรติ และพระยาราม (มอญ) หาโอกาสฆ่าพระ นเรศวรเสีย แต่แผนการหาได้เป็นไปตามทีพ่ ม่า วางเอาไว้ไม่เพราะว่าพระยามอญทัง้ สองได้นำ� ความรับนีไ้ ปบอกแก่พระมหาเถรคันฉ่อง พระ มหาเถรคั น ฉ่ อ งน� ำ ความลั บ มาเปิ ด เผยให้ สมเด็ จ พระนเรศวรทรงทราบ สมเด็ จ พระ นเรศวรทั้งเสียพระหฤทัย และแค้นพระหฤทัย จึ ง หลั่ ง น�้ ำ พระเต้ า ทั ก ษิ โ ณทก ประกาศ อิสรภาพ ณ เมืองแครงนั้นเอง เมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม ปีวอก พุทธศักราช 2127 รุ่งเช้า ทรงยกกองทั พ เข้ า ตี เ มื อ งแครง พร้ อ มกั บ กวาดต้ อ นพวกคนไทยกลั บ กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา สมเด็ จ พระเจ้ า หงสาวดี นั น ทบุ เ รงทราบว่ า
สมเด็จพระนเรศวรประกาศอิสรภาพ จึงให้ สุ ร ะกรรมมายกกองทั พ ไปจั บ พระนเรศวร สุระกรรมมายกทัพตามมาทันทัพไทยที่ริมฝั่ง แม่ น�้ ำ สะโตง สุ ร ะกรรมมาเอาปื น ยิ ง พระ นเรศวร แต่ไม่ถูกพระนเรศวรจึงเอาพระแสง ปืนยาวเก้าคืบยิง ถูกสุระกรรมมาตายบนคอช้าง พม่าเห็นแม่ทัพของคนตายก็ถอยทัพกลับไป พระแสงปืนนี้ก็ได้รับพระราชทานนามว่า “พระแสงปืนต้นข้ามข้ามแม่นำ�้ สะโตง” สมเด็จ พระนเรศวรได้ยกกองทัพมาถึงกรุงศรีอยุธยา แล้วทรงปลงทัพพักพลที่ค่ายโพธิ์สามต้น และ ได้ โ ปรดสร้ า งพระพุ ท ธรู ป ปางนาคปรก ประดิษฐานไว้ ณ ทีน่ ดี่ ว้ ย ชาวบ้านทัง้ ปวงเรียก ขานพระพุทธรูปองค์นวี้ า่ “หลวงพ่อด�ำ” ทีเ่ รียก กั น เช่ น นี้ เ พราะว่ า สมเด็ จ พระนเรศวรผิ ว พระองค์ทา่ นด�ำมาก ในปีเดียวกันนัน้ เอง ทรง โปรดให้สมเด็จพระวันรัต (พระมหาเถรคันฉ่อง) วัดป่าแก้ว (ปัจจุบนั ได้เปลีย่ นเป็นวัดใหญ่ชยั มงคล) เป็นแม่กองในการสร้างวัด เพื่อเป็นอนุสรณ์ ในครั้งที่เคยเสด็จมาประทับก่อนก่อนที่จะขึ้น ครองราชย์สมบัติ พร้อมกับพระราชทานนาม วัดนี้ว่า “วัดสุวรรณขวัญเมือง” แต่ชาวบ้านมัก เรียกว่า “วัดทองขวัญเมือง” ค�ำว่า “ขวัญเมือง” ในสมัยรัชกาลที5่ ก็เคยเสด็จมาประทับ ในคราว เสด็จประพาสต้น พร้อมกับสมเด็จกรมพระยา ด�ำรงราชานุภาพ พอต่อมาในสมัยรัฐบาลของ จอมพล ป. พิบลู สงคราม ได้เปลีย่ นจาก “ นครใน” เป็น “อ�ำเภอบางประหัน” ปี พ.ศ. 2207 สมเด็จพระนารายณ์ได้เสด็จ
ประพาสล�ำน�้ำลพบุรี เพื่อจะเสด็จขึ้นไปทอด พระเนตรหาชั ย ภู มิ ส ร้ า งเมื อ งลพบุ รี เป็ น ราชธานี ส� ำ รอง พระองค์ เ สด็ จ ประทั บ เรื อ พระที่นั่งสุกัญญาจากท่าวาสุกรีมาจนถึงเขต บริเวณวัดหางเสือกับวัดสุวรรณขวัญเมือง เรือ พระที่นั่งที่เกิดเกยตอใต้น�้ำท�ำให้เรือพระที่นั่ง ซ่อมเสียใหม่ แล้วพระองค์เสด็จขึ้นประทับบน ชายฝั่ง ทรงให้พลพายซ่อมเรือพระที่นั่ง และ สร้ า งพลั บ พลา แล้ ว พระราชทานชื่ อ ว่ า “พลับพลาหลังคาแดง” ภายหลังชาวบ้านได้มีศรัทธาสร้างวัดขึ้น เพื่อเป็นอนุสรณ์ของสมเด็จพระนารายณ์ว่า เคยมาประทับในบริเวณนั้น พร้อมใจกันเรียก วัดนี้ว่า “วัด พลับพลาหลังคาแดง” บางครั้ง เรียกเพีย้ นเป็น “วัดศาลาแดง” หรือ “วัดหลังคาแดง” ก็มี ภายหลังในคราหนึ่ง สมเด็จพระนารายณ์ เสด็จพร้อมท้าวเทพกุณฑลทิพยวดี พระสนม องค์ ที่ 46 แล้ ว ทรงลื ม ฉลองพระองค์ ท รง เปลื้องพักไว้ที่หัวจอมปลวกไว้ ครั้นพระองค์ นึกขึ้นได้จึงโปรดอุทิศเครื่องต้นเครื่องทรงนี้ สร้ า งเป็ นวั ด แล้ ว พระราชทานชื่ อ วั ด นี้ ว ่ า “วัดทองนพคุณทูลฉลอง” ปัจจุบันชาวบ้าน เรียกกันว่า “วัดทอง” สิ่งส�ำคัญภายในวัด พระประธานในพระ อุโบสถเก่า-สมัยอูท่ อง และหลวงพ่อด�ำ (องค์หน้า), พระอุโบสถเดิม-ทรงมอญ, พระวิหารน้อยศิลปะอยุธยาตอนปลาย, กุฏิพระ-เณร วัดทอง ในปัจจุบัน และพระบรมรูปสมเด็จพระเจ้า อู่ทอง(ที่พระนครศรีอยุธยา) เป็นต้น AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 101
101
22/5/2561 11:42:36
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
สพพฺทานํ ธมฺมทานํ ชินาติ การให้ธรรมะ ชนะการให้ทั้งปวง
วัดโพธิ์ทอง
พระปราโมทย์ กิ ตฺ ติ โ ก ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง เจ้ า อาวาส
วั ด
โพธิ์ ท อง ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 1 หมู ่ ที่ 1 ต� ำ บลบ้ า นม้ า อ� ำ เภอบางปะหั น จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา เดิ ม ชื่ อ “วั ด โพธิ์ ก ระตู บ ” เป็ น วั ด ร้ า ง จนชาวบ้ า น ได้ ร ่ ว มแรง ร่ ว มใจกั น สร้ า งขึ้ น เมื่ อ ปี พ.ศ.2413 ได้ รั บ พระราชทานวิ สุ ง คามสี ม าเมื่ อ ปี พ.ศ. 2416 เป็ น วั ด เล็ ก ๆ อยู ่ เ หนื อ หมู ่ ที่ 1 ต� ำ บลบ้ า นม้ า ชาวพุ ท ธที่ ม าท� ำ บุ ญ ดู แ ล อุ ป ถั ม ภ์ วั ด และพระภิ ก ษุ ตลอดมาคื อ ชาวบ้ า นจากหมู ่ ที่ 1 ต� ำ บลบ้ า นม้ า และหมู ่ ที่ 5 ของต� ำ บลทั บ น�้ ำ ปั จ จุ บั น วั ด โพธิ์ ท องมี ที่ ดิ น จ� ำ นวน 47 ไร่ 2 งาน 47 ตารางวา เป็ น พื้ น ที่ ตั้ ง วั ด จ� ำ นวน 17 ไร่ 1งาน 60 ตารางวา ที่ เ หลื อ เป็ น ที่ ตั้ ง โรงเรี ย นประถมศึ ก ษา และเขตธรณี ส งฆ์ (ซึ่ ง แม่ ชี บั ว ได้ ถ วายไว้ ถึ ง 5 แปลง เป็ น พื้ น ที่ 26 ไร่ เ ศษ) 102
เดิมวัดโพธิท์ องเป็นวัดทีห่ า่ งไกลจากหมูบ่ า้ น รอบๆ เป็นทุง่ นา มีความสงบ และเงียบสงัดมาก แต่ปัจจุบัน ความเจริญต่างๆ ได้เข้ามามาก ประกอบกั บ มี ผู ้ เ ชื่ อ ถื อ ใน “หลวงพ่ อ เฒ่ า ” มากขึ้น ท�ำให้วัดมีความเจริญ ได้สร้างอาคาร เสนาสนะต่ า งๆ ที่ ใ หญ่ โ ต มั่ น คง แข็ ง แรง สวยงาม เช่น พระอุโบสถ ศาลาการเปรียญ หอสวดมนต์ หอระฆัง ศาลาอเนกประสงค์ วิหารจัตุรมุข ศาลาที่พัก ฌาปนสถาน ศาลา ธรรมสังเวช กุฏิพระสงฆ์ และ บ้านพักแม่ชี อีกทัง้ มีการก่อสร้างบูรณปฏิสงั ขรณ์กนั ต่อๆ มา เช่น พระอุโ บสถ เมื่อปี พ.ศ.2483 และปี พ.ศ.2525 ส�ำหรับศาลาการเปรียญบูรณะเมื่อ ปี พ.ศ.2520 เป็นต้น
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 102
21/05/61 06:57:22 PM
ต�ำนานพระพุทธรูป “หลวงพ่อเฒ่า” ศักดิ์สิทธิ์ ที่วัดหลวงพ่อ คนเก่าคนแก่ จ�ำนวนมากเรียกวัดโพธิ์ทอง ว่า “วัดหลวงพ่อ” และหลายคนรู้จักวัดโพธิ์ทอง ก็เพราะ พระพุทธรูปศักดิส์ ทิ ธิ์ ทีต่ า่ งก็เรียกขาน ท่านว่า “หลวงพ่อเฒ่า” ซึ่งเป็นพระพุทธรูป ขนาดเล็ก หน้าตักกว้างประมาณ 15 นิว้ เดิมทีนนั้ วัดโพธิ์ทองเป็นวัดร้าง เชื่อกันว่า เป็นวัดที่สร้าง ขึน้ ในสมัยอยุธยา และคงจะถูกท�ำลายเมือ่ คราว เสียกรุงครั้งที่ 2 (พ.ศ.2310) ซึ่งวัดร้างทั่วไป จะมี พุ ท ธรู ป อยู ่ ด ้ ว ย ซึ่ ง หนึ่ ง ในพระพุ ท ธรู ป เหล่านั้นคือ “หลวงพ่อเฒ่า” เมื่ อ ประมาณต้ น ๆ สมั ย รั ช การที่ 4 มี ชาวบ้านฝันว่า หลวงพ่อเฒ่ามาบอกให้สร้าง หลังคาให้ ชาวบ้านก็จึงท�ำหลังคาสังกะสีข้ึน
อย่างง่ายๆ ตามงบประมาณที่มีจ�ำกัด ต่อมา มีพระภิกษุมาพักจ�ำพรรษา จึงเป็นวัดขึ้นมา และสร้ า งพระอุ โ บสถขึ้ น โดยใช้ พื้ น และผนั ง พระอุโบสถเดิม จนถึง พ.ศ.2483 จึงได้สร้าง เป็นรูปทรงอย่างปัจจุบนั และมีการบูรณะซ่อมแซม กันต่อๆ มา การที่หลวงพ่อเฒ่าเป็นที่รู้จัก และ เคารพนับถือของคนทัว่ ๆ ไปอย่างกว้างขวางนัน้ เป็นเพราะเชื่อในความศักดิ์สิทธิ์ โดยเฉพาะคน ที่มีความทุกข์ความเดือดร้อน เมื่อมากราบไหว้ อธิษฐาน บนบาน ก็มกั จะพ้นจากความทุกข์รอ้ น นั้นมาได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งคนที่เจ็บป่วย เมื่อประมาณ 20 กว่าปีก่อน มีชาวบ้าน จ�ำนวนมากมาเก็บเอารากไม้ เปลือกไม้ และ
พืชพรรณต่างๆ ในวัด ใส่ถาดเข้าไปในโบสถ์แล้ว ก็จุดธูปเทียนบอกเล่าอธิษฐาน แล้วน�ำไปต้มให้ คนป่วยกินการบนบานทีเ่ ชือ่ กันว่าได้ผลมากคือ การ “บนบวช” คนดีที่มีทุกข์ร้อนหรือเจ็บป่วย ถ้าบนว่าจะบวชให้มกั ส�ำเร็จตามปรารถนา ฉะนัน้ ทุกปี จึงมีผมู้ าบวชแก้บนไม่ได้ขาด มีทงั้ บวชพระ บวชเณร บวชชี หรือบวชชีพราหมณ์ ความเลือ่ มใสในหลวงพ่อเฒ่าเป็นทีป่ ระจักษ์ กันดี มีการท�ำวัตถุมงคลขึ้นบูชาจ�ำนวนมาก หลายครัง้ และหลายรุน่ เช่น ท�ำเป็นพระพุทธรูป เหรียญ และแหวน เป็นต้น ซึง่ แต่ละรุน่ แต่ละชนิด ก็ได้รับความนิยมเป็นที่เชื่อถือศรัทธาโดยทั่วไป
ท�ำเนียบเจ้าอาวาส 1. พระอธิการไร ก่อนพ.ศ. 2472 2. พระอธิการพัว พ.ศ. 2472 3. พระอธิการพุก พ.ศ. 2482 4. พระอธิการผึ้ง สุเมโธ พ.ศ. 2500 5. พระอธิการเผด็จ (จง) ฐานวโร พ.ศ. 2513 6. พระอธิการถวัลย์ ถิรจิตโต (พระครูสุวรรณโพธิกิจ) พ.ศ. 2521-2542 ตัง้ แต่ปี พ.ศ.2543 พระปราโมทย์ กิตตฺ โิ ก ได้รบั มอบหมายจากพระอธิการปรีชา มหาวีโร ให้ทำ� หน้าที่ เจ้าอาวาส และได้ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสเมื่อ 10 มีนาคม พ.ศ. 2547 วัดโพธิ์ทอง เป็นวัดที่มีพระภิกษุอยู่จ�ำนวนมาก รวมทั้งอุบาสก อุบาสิกาก็มาถือศีลในช่วง เข้าพรรษาจ�ำนวนมากเช่นกัน
ติดต่อ วัดโพธิ์ทอง โทรศัพท์ 0-3538-3388, 0-1365-1575 AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 103
103
21/05/61 06:57:27 PM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
ทางสายกลาง สว่าง สะอาด สงบ
วัดทางกลาง
พระครู สั ง ฆรั ก ษ์ ส ายั ณ ห์ ติ กฺ ข ปญฺ โ ญ ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง เจ้ า อาวาส
วั ด ทางกลาง ที่ ตั้ ง เลขที่ 77 หมู ่ ที่ 4 ต� ำ บลทางกลาง อ� ำ เภอบางปะหั น
จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา โทร.03-5778-1111, 08-8286-2601 อยู ่ ริ ม ฝั ่ ง ขวาของแม่ น้� ำ ลพบุ รี มี ที่ ดิ น เป็ น พื้ น ที่ ตั้ ง วั ด เนื้ อ ที่ 40 ไร่ วั ด ทางกลาง สร้ า งขึ้ น เมื่ อ ประมาณ พ.ศ.2310 ได้ รั บ พระราชทานวิ สุ ง คามสี ม าเมื่ อ พ.ศ.2315 บางคนเรี ย กวั ด นี้ ว ่ า “วั ด ทองกลาง” 104
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 104
24/05/61 02:34:24 PM
ประวัติความเป็นมา
ปูชนียวัตถุส�ำคัญของวัดทางกลางคือ “พระบรมสารี ริ ก ธาตุ ” ประดิ ษ ฐานที่ ห อพระหน้ า อุ โ บสถ มี “พระพุ ท ธแก้ ว สารพั ด นึ ก ” (หลวงพ่อด�ำ) เป็นพระประธาน “หลวงพ่อใหญ่” พระประธานในอุโบสถ เป็นพระพุทธรูปปางสมาธิ ขนาด 2 เท่าของคนจริง เป็นที่เคารพ เศรัทธาของชาวบ้านทางกลาง และต่างถิ่น มีผู้ที่มาอธิษฐานและขอพร ประสบ ความส�ำเร็จเป็นจ�ำนวนไม่น้อย “หลวงพ่อทันใจ” พระพุทธรูปเรืองแสง ปางชนะมาร หน้าตัก 5.49 เมตร อธิษฐานให้สำ� เร็จทันใจ “ต้นพระศรีมหาโพธิ์” ที่ได้อัญเชิญมาจากประเทศศรีลังกา ซึ่งได้จากต้นพระศรีมหาโพธิ์ ที่พระพุทธองค์ตรัสรู้พระนางสังฆมิตา ได้น�ำไปปลูกไว้ที่ลังกาทวีป เมื่อปี พ.ศ.236 “พระอุปคุตมหาเถระ” พระอรหันต์ผู้คุ้มครองรักษา และมากไปด้วยบารมี อธิษฐานขอพร ให้ส�ำเร็จสมความปรารถนา
วัดทางกลาง ก็เช่นเดียวกับวัดอื่นๆ ที่เป็น แหล่งรวมใจของชาวพุทธ ชาวบ้านต�ำบลทาง กลางหมู่ที่ 1, 2, 3 และ 4 และใกล้เคียง ได้อาศัยเป็นที่บ�ำเพ็ญกุศลและปฏิบัติศาสนกิจ ในโอกาสและประเพณี ต ่ า งๆ นอกจากนี้ วั ด ทางกลางยั ง ได้ ป ั น เนื้ อ ที่ ส ่ ว นหนึ่ ง ให้ เ ป็ น ที่ ตั้ ง ของโรงเรี ย นประถมศึ ก ษา คื อ โรงเรี ย น วัดทางกลาง และเป็นที่ตั้งของสถานีอนามัย อีกด้วย ตลอดระยะเวลาทีผ่ า่ นมา ท่านเจ้าอาวาส พระภิ ก ษุ สามเณรและญาติ โ ยมได้ อุ ป ถั ม ภ์ ดู แ ล บู ร ณะซ่ อ มแซมวั ด มาอย่ า งสม�่ ำ เสมอ ท�ำให้วัดทางกลางมีอาคารเสนาสนะที่มั่นถาวร งดงาม ครบถ้ ว น เช่ น เดี ย วกั บ วั ด อื่ น ๆ ทั้ ง พระอุโบสถ ศาลาการเปรียญ หอสวดมนต์ ฌาปนสถาน กุฏิ ฯลฯ วั ด ทางกลางนั้ น เป็ นวั ด เก่ า แก่ วั ด หนึ่ ง ที่ ชาวพุทธได้ดูแล อุปถัมภ์กันมาอย่างต่อเนื่อง สถาปั ต ยกรรม หรื อ สิ่ ง ก่ อ สร้ า งต่ า งๆ เป็ น สิง่ สะท้อนถึงความรอบรู้ ความสามารถ ความคิด และจิตใจของชาวพุทธวัดทางกลางได้เป็นอย่างดี เช่น ศาลาท่าน�้ำ ซึ่งปัจจุบันจะไม่มีเรือสัญจร มาเทียบท่า แต่ก็เป็นที่น่ังพักผ่อนอันน่ารื่นรมย์ เป็นศาลาพักร้อน สถาปัตยกรรมรัตนโกสินทร์ ที่มีรูปทรงสวยงามมาก หอระฆัง และหอกลอง ทีย่ งั คงรักษาไว้ให้ได้เห็นอยู่ โดยเฉพาะอย่างยิง่ หอกลองนั้น นับวันก็จะหาดูได้ยากขึ้นทุกที นอกจากสถาปัตยกรรม และสิง่ ก่อสร้างแล้ว วัดทางกลาง ยังใช้เป็นสถานที่เพิ่มพูนบุญกุศล ให้พุทธศาสนิกชนได้มาช�ำระล้าง - ให้อาหาร จิตใจ ฝึกวิปัสสนากรรมฐาน โดยมีโครงการ เป็นประจ�ำทุกเดือน หรือ มาปฏิบัติฯ ตามแต่ วาระโอกาส ความเจริญ ความเสื่อม ล้วนเป็นอนิจจัง แต่ ต ราบใดที่ พุ ท ธศาสนิ ก ชนยั ง คอยดู แ ล ให้การอุปถัมภ์ค�้ำชูพระพุทธศาสนาในทางที่ถูก ที่ ค วร วั ด ทางกลางก็ จ ะยั ง คงเป็ น ที่ พึ่ ง ทาง จิ ต วิ ญ ญาณ ช่ ว ยชุ บ เลี้ ย งอบรมจิ ต ใจ เป็ น ศูนย์รวมใจพุทธศาสนิกชนได้ทราบนั้น เป็น ศาสนสถานที่จะช่วยสืบสานพระพุทธศาสนา ให้ด�ำรงคงอยู่ตลอดไป
AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 105
105
24/05/61 02:34:41 PM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดบ้านแป้ง
พระครู วิ บู ล ธรรมวิ สุ ท ธิ์ ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง เจ้ า อาวาส
วั ด บ้ า นแป้ ง ตั้ ง อยู ่ ห มู ่ ที่ 2 ต� ำ บลบ้ า นแป้ ง อ� ำ เภอบางปะอิ น จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา มี เ นื้ อ ที่ ทั้ ง หมด 16 ไร่ 3 งาน 84 ตารางวา เป็ น ที่ ร าบลุ ่ ม มี แ ม่ น�้ ำ เจ้ า พระยาไหลผ่ า น โดย ทิ ศ เหนื อ ติ ด ต่ อ กั บ เขตบ้ า นประชาชนในต� ำ บลบ้ า นแป้ ง สมัยก่อนประชากรส่วนใหญ่มีอาชีพท�ำแป้งขาย โดยใช้ดินเหนียวน�ำมาเผาท�ำแป้งดินสอพอง แล้ ว น� ำ มาละลายน�้ ำ กรองท� ำ เป็ น แป้ ง ส่ ง ขายตลาด ส่ ว นกากที่ เ หลื อ น� ำ มาท� ำ ปู น ต่ อ มาจึ ง ได้ เ รี ย กต� ำ บลว่ า “บ้ า นแป้ ง ” ทิ ศ ใต้ ติ ด ต่ อ กั บ เขตที่ ดิ น วั ด นิ เ วศธรรมประวั ติ ทิ ศ ตะวั น ออก ติ ด กั บ แม่ น�้ ำ เจ้ า พระยา ทิ ศ ตะวั น ตก ติ ด ถนนใหญ่ 106
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 106
24/05/61 02:24:46 PM
ประวัติความเป็นมา ผู้เฒ่าผู้แก่เล่าให้ฟังว่า เดิมวัดนี้มีนามว่า “วัดอินจ�ำปา” เริ่มต้นโดยนางอิน ผู้มีศรัทธา เป็นผูด้ ำ� เนินการก่อสร้างขึน้ ประมาณ พ.ศ.2148 ได้ รั บ พระราชทานวิ สุ ง คามสี ม าประมาณ ปีพ.ศ.2170 และในกาลต่อมาได้เปลี่ยนชื่อวัด เป็ น “วั ด บ้ า นแป้ ง ” ซึ่ ง เป็ น การตั้ ง ชื่ อ ตาม หมู่บ้าน บ้านแป้งสืบมา
สักการะหลวงพ่อด�ำ(หลวงพ่อศิลา) ที่วัดบ้านแป้ง หลวงพ่อด�ำ (หลวงพ่อศิลา) พระพุทธรูปศักดิส์ ทิ ธิป์ างนาคปรก* สร้างขึน้ ด้วยศิลาแลงพระเพลา กว้าง 24 นิ้ว ซึ่งประดิษฐานที่ศาลาท่าน�ำ้ เพือ่ ให้ประชาชนได้กราบไหว้บชู า ค�ำล�ำ่ ลือจากประชาชนผู้ ที่มาขอพรหลังจากที่ได้ตามสิ่งที่ประสงค์ก็จะนิยมน�ำไข่ต้มและพวงมาลัยดอกไม้มาถวายสักการะ
พระครู วิ บู ล ธรรมวิ สุ ท ธิ์
ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง เจ้ า อาวาสวั ด บ้ า นแป้ ง
ศาลาบุญตามทัน “ปฏิบัติธรรม” AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 107
107
24/05/61 02:25:04 PM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
อปฺปมาโท อมตํ ปทํ : ความไม่ประมาท เป็นทางไม่ตาย (พุทธพจน์)
วั ด ดาวคะนอง
พระอธิ ก ารชู ช าติ ติ กฺ ช วิ โ ร ด�ำรงต�ำแหน่ ง เจ้ า อาวาส
วั ด ดาวคะนอง ตั้งอยู่เลขที่ 27 ม.1 ต.โพธิ์สามต้น
อ.บางปะหัน จ.พระนครศรีอยุธยา เป็นวัดเก่าแก่วัดหนึ่ง เชื่อว่า สร้างมาตั้งแต่ประมาณปี พ.ศ.2300 สมัยปลายกรุงศรีอยุธยา เดิ ม เรี ย กว่ า “วั ด ปากคลอง”ได้ รั บ พระราชทานวิ สุ ง คามสี ม า เมื่อ พ.ศ.2308
วัดดาวคะนอง เป็นที่ประกอบศาสนกิจของชาวต�ำบลโพธิ์สามต้น หมู่ที่ 1 และหมู่ที่ 2 เป็นวัดที่ร่มรื่นมีต้นไม้ใหญ่เก่าแก่ อายุนับร้อยปี อยูห่ ลายต้น นอกจากนีย้ งั มีศาลาท่าน�ำ้ รูปทรงสวยงามมาก ท�ำดัวยไม้ อยู่ที่ริมล�ำคลอง มีสะพานต่อเชื่อมมาจากศาลาสถาปัตยกรรมที่ สวยงามอีกอย่างหนึ่งของวัดดาวคะนอง คือศาลาตรีมุข เป็นศาลาที่ เชือ่ มกับศาลาการเปรียญ มีมขุ ทัง้ สามด้าน เป็นศาลาไม้คอ่ นข้างเก่าแก่ มีรูปทรงและสัดส่วนที่งดงามอย่างยิ่ง นับเป็นฝีมือช่างที่หาชมได้ยาก อีกแห่งหนึ่ง ประมาณ 10 กว่ า ปี ที่ แ ล้ ว ขึ้ น ไป มี ล ะคร มาแสดงบ่อยอยูเ่ สมอ จึงต้องสร้างเป็นโรงละคร มาตรฐานไว้ ใ ห้ แ ก่ ผู ้ ม าแก้ บ น แต่ ป ั จ จุ บั น มี ละครใบ้หรือรูปปั้นละครมาแก้บนเป็นส่วนมาก โรงละครที่ช�ำรุดจึงไม่มีการบูรณะ
มี
เรื่องเล่าสืบกันมาว่า เมื่อคราวที่สร้าง พระอุโบสถหลังเดิมนั้น ในพิธียกช่อฟ้า อุโบสถ เกิดเหตุอัศจรรย์คือ มีดาวหลายดวงปรากฏบน ท้องฟ้า เห็นได้ชัดเจนมากแม้เป็นเวลากลางวัน จึงเรียกวัดนีว้ า่ วัดดาวคะนอง สืบมาจนทุกวันนี้ วั ด ดาวคะนองเป็ น ที่ รู ้ จั ก กั น แพร่ ห ลาย ก็เพราะมีประพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ที่ชาวบ้านรู้จัก และให้ ค วามเคารพนั บ ถื อ มาก เรี ย กกั นว่ า 108
“หลวงพ่อโตวัดปากคลอง” เป็นพระพุทธรูป ขนาดค่ อ นข้ า งใหญ่ หน้ า ตั ก กว้ า ง 8 ศอก ปางมารวิชัย อยู่ในพระวิหาร และหากใครไป วัดดาวคะนองจะพบโรงละครเก่าแก่ ซึ่งก็ช�ำรุด ใช้การเกือบไม่ได้แล้วเช่นกัน แต่ก็เป็นร่องรอย ที่บอกให้ทราบว่า เคยมีการแสดงละครที่วัด แห่งนี้บ่อยมาก เพราะเป็นที่รู้กันว่า การแก้บน หลวงพ่อโตนัน้ จะต้องแก้บนด้วยละคร เมือ่ ก่อน
ปัจจุบัน วัดดาวคะนองนอกจากจะเป็นที่ ประกอบศาสนกิจ บ�ำเพ็ญกุศล ปฏิบัติธรรม เจริญจิตตภาวนาของชาวพุทธแล้ว ยังเคยสร้าง วัตถุมงคล เป็นเหรียญหลวงพ่อโต พระพุทธรูป ศักดิ์สิทธิ์ของวัดดาวคะนอง เมื่อปี พ.ศ.2520 เป็นที่นับถือศรัทธากันโดยทั่วไป อีกทั้ง ยังมี โรงเรี ย นวั ด ดาวคะนอง เป็ น โรงเรี ย นมั ธ ยม ขยายโอกาสที่ มี ชื่ อ เสี ย งสร้ า งเยาวชนที่ มี คุณภาพ เป็นที่รู้จักกันดีอีกหนึ่งแห่ง แม้ว่าวัดดาวคะนอง จะไม่มีโทรศัพท์ แต่ก็ มี ก ารคมนาคมที่ ส ะดวกสบาย มี อ าคาร เสนาสนะครบถ้ ว น ใช้ ป ระกอบศาสนากิ จ ต่างๆ ได้อย่างไม่ติดขัด ซึ่งผู้ประสงค์จะติดต่อ วัดดาวคะนอง สามารถติดต่อได้ทุกเวลา
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 108
24/05/61 04:47:39 PM
2.indd 109
24/5/2561 14:17:07
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
สุขํ สุปติ พุทฺโธ จ เยน เมตฺตา สุภาวิตา ผู้เจริญเมตตาดีแล้วย่อมหลับและตื่นเป็นสุข (พุทธพจน์)
วั ด อมฤตสิ ท ธาราม
พระครู อ มรธรรมานุ วั ต ร ธมฺ ม วํ โ ส ด�ำรงต�ำแหน่ ง เจ้ า อาวาส พระครู ส มุ ห ์ อ าทิ ต ย์ อาภสฺ ส โร ผู ้ ช ่ ว ยเจ้ า อาวาส
วั ด อมฤตสิทธาราม ตั้งอยู่ เลขที่ 3/1 บ้านอมฤต หมู่ที่3 อ�ำเภอผักไห่ จังหวัด
พระนครศรีอยุธยา สังกัดคณะสงฆ์ มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ 16 ไร่ 3 งาน 58 ตารางวา เลขที่ 27 พื้นที่ตั้งวัดเป็นที่ราบลุ่ม อยู่ริมแม่น�้ำน้อย วั ด อมฤตสิ ท ธาราม สร้ า งขึ้ น เป็ นวั ด นั บ ตั้ ง แต่ ป ระมาณ พ.ศ.2400 ชาวบ้ า นเรี ย กว่ า “วัดอมฤต”ตามชื่อบ้าน ได้รับพระราชทานวิสุคามสีมา ครั้งหลังวันที่ 24 มกราคม พ.ศ.2506 เขตวิสุงคามสีมากว้าง 40 เมตร ยาว 80 เมตร ผูกพัทธสีมาวันที่ 4 มีนาคม พ.ศ.2507 110
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 110
21/05/61 06:53:00 PM
ปู ช นี ย วั ต ถุ : พระประธานในพระอุ โ บสถ พระพุ ท ธรู ป สมั ย เชี ย งแสน ปางมารวิ ชั ย เรียกกันว่า “หลวงพ่อสัมฤทธิ์” ดารานักแสดง และบุ ค คลทั่ ว ไปต่ า งมาขอพรเป็ น ประจ� ำ นอกจากนี้ พ ระพุ ท ธรู ปนั่ ง จ� ำ นวน 15 องค์ ประทับยืน 2 องค์ และพระอัครสาวกอีก 2 องค์ งานด้านการศึกษา : ทางวัดได้ร่วมกับชาวบ้าน จัดตั้งโรงเรียนระดับชั้นประถมศึกษาขึ้นในวัด ตั้งแต่ พ.ศ.2483 เป็นต้นมาจนถึงปัจจุบัน กิ จ กรรมในวั ด : นอกจากท� ำ วั ต รสวดมนต์ เช้า - เย็น และเจริญสติ สมาธิภาวนา ทุกวันแล้ว ทุกวันเสาร์ - อาทิตย์ ทางวัด เปิดให้พทุ ธศาสนิกชน กราบไหว้ขอพรด้วยการสร้างบุญบารมีท�ำทาน ด้วยตนเองด้านหน้าวัด ที่ศาลาสามมุข ไว้ให้ นั่งพักร้อน ระหว่างให้อาหารปลา พิพิธภัณฑ์ของเก่า
ชวนเที่ ย ว!
บ้ า นขุ น พิ ทั ก ษ์ (หรื อ บ้ า นเขี ย ว) บ้านโบราณสมัยรัชกาลที่ 5 อายุเกินกว่า 100 ปี เป็ น สถาปั ต ยกรรมบ้ า นแบบไทยที่ ได้รับอิทธิพลทางตะวันตก ซึ่งน่าสนใจมาก ตั้ ง อยู ่ ริ ม แม่ น�้ ำ น้ อ ย(ด้ า นหลั ง ติ ด กั บ ถนน ในหมู่บ้าน) หมู่ที่ 2 ต�ำบลอมฤต อ�ำเภอผักไห่ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ลักษณะบ้านเป็น บ้านทรงปั้นหยาสองชั้นยกพื้นสูง ปลูกสร้าง ด้วยไม้สัก(บางส่วนเป็นตึก) ชาวบ้านเรียกกัน ติดปากว่า “บ้านเขียว” ขึน้ ชือ่ ในเรือ่ งความลึกลับ และยังถูกจัดอันดับให้เป็น 1 ใน 5 บ้านที่มี ความน่ากลัว ซึ่งเป็นที่ถ่ายท�ำฉากที่ป๋อ ณัฐวุฒิ สกิดใจ ต้องเข้าไปนอนในโลง และฉากหลอนๆ อีกหลายฉาก อีกส่วนที่ส�ำคัญของวัดอมฤตสิทธาราม คือ พิพธิ ภัณฑ์ของเก่า ย้อนรอยอดีตของใช้ ต่างๆ ของชนรุ่นก่อน เปิดให้เข้าชมและศึกษาทุกวัน ปัจจุบันทางวัดอมฤตสิทธาราม มีพระครู อมรธรรมานุวัตร ธมฺมวํโส เป็นเจ้าอาวาส และ พระครู ส มุ ห ์ อ าทิ ต ย์ อาภสฺ ส โร เป็ น ผู ้ ช ่ ว ย เจ้าอาวาส AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 111
111
21/05/61 06:53:09 PM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
WAT AMMARIT SITTHARAM Wat Ammarit Sittharam is located at 3/1 Ban Amrit village no.3, Phak Hai district, Ayutthaya province. It belongs to Maha Nikai clergy. The scale of this temple’s land is 6.4 acres and 1,432 square meters, title deed no. 27. Location where this temple located is low plain on the side of Noi River.
Sacred objects. Principle Buddha image in ubosot which its lap in the posture of meditation is 1.5 meters in width. Buddha statue in attitude of subduing Mara, in the style of Chiang Saen period, its lap in the posture of meditation is 25 inches in width. The name of this Buddha statue is “Luang Por Samrit” which many celebrities always came to pay respect and hoped that they will get some fortune. Moreover, 15 Buddha images in sitting gesture, 2 images in standing gesture and 2 images in prime followers of Lord Buddha statue. 112
Wat Ammarit Sittharam was considered to be temple since around 2400 B.E., the locals called this temple “Wat Ammarit” as per the name of area where this temple located. This temple was granted Wisung Khama Sima (a royal granting of the land for monks to have the ordination hall constructed or to do religious rites) on 24 January 2506 B.E. which the scale of this area is 40 meters in width and 80 meters in length. After that, it was specified the monastic boundary on 4 March 2507 B.E., as for education aspect, this temple had established
elementary school together with locals in temple area since 2483 B.E. This temple opens on Saturday and Sunday for Buddhist who wants to pay respect to Buddha image of this temple. There is resting area where you can feed the fish which is Sammook pavilion, in front of this temple. As for another important tourist attraction around this area, it is Ban Khiao (Ban Khun Phithak Boribarn). It is located 500 meters from Wat Ammarit Sittharam.
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 112
21/05/61 06:53:11 PM
BAN KHIAO! (BAN KHUN PHITHAK BORIBARN) These old ancient houses were built in the 100 years ago. It was built during the reign of King Rama V period. Ban Khiao was affected by western style which is really interesting, these houses are located at the side of Noi River (the back of this house adjoin road in village), its address is village no.2, Ammarit sub-district, Phak Hai district, Ayutthaya province. Its appearance is the Two-story houses in Thai pattern of Thai construction of common houses without the gable with space under a house. This house made of teakwood which half of it is a brickwork. Locals are accustomed to calling this house “Ban Khiao” which means green house. The mystery of this house is well-known and was ranked to be 1 of the 5 scary houses. Another important place of this temple is the antique museum, where you can retrace an older generation’s step from their appliances which this museum opens everyday. At present, the senior reverend Amornthunnuwat and the senior reverend Samuarthit Arpatsaro are abbot and assistant abbot of this temple respectively. AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 113
113
21/05/61 06:53:17 PM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดโพธิผักไห่
พระครู ป ลั ด พิ จ ารย์ วิ จ ารโณ ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง เจ้ า อาวาส
วัดโพธิผักไห่ เป็นวัดราษฎ์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตั้งอยู่ ต�ำบลผักไห่ อ�ำเภอผักไห่
จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา อยู ่ ใ นเขตการปกครองของคณะสงฆ์ ต� ำ บลผั ก ไห่ สร้ า งขึ้ น ในสมัยอยุธยา ตั้งอยู่ทิศตะวันตกของริมแม่น�้ำน้อย มีเจ้าอาวาสครองวัดถึงปัจจุบัน 16 รูป ความเป็นมาของชื่อวัด คงเรียกกันเป็นสามัญว่า “วัดโพธิ์” มาแต่เดิม และต่อมาได้น�ำชื่อต�ำบล มาต่อท้าย เมื่อประมาณ พ.ศ.2460 ยุคเจ้าอาวาสรูปที่ 12 เมื่อสมเด็จพระวันรัต (เฮง เขมจารี) เป็นเจ้าคณะมณฑล ได้มาตรวจการณ์คณะสงฆ์ ได้มีบัญชาให้เติมชื่อต�ำบลเข้าข้างท้าย จึงได้เรียกกัน อย่างเป็นทางการว่า “วัดโพธิผักไห่” 114
ตั้ ง แต่ นั้ น มาจวบจนถึ ง ปั จ จุ บั น ยั ง ไม่ มี การเปลีย่ นแปลงอีกเลย การสร้างและพัฒนาวัด เดิมมีกุฏิอยู่ไม่กี่หลังปลูกอยู่ริมแม่น�้ำ มาถึงยุค ท่านเจ้าอาวาสรูปที่ 12 พระครูพิสิษฐ์สังฆการ ท่านได้รื้อย้ายขึ้นมาวงแผนผังตั้งรูปใหม่ ให้มี สนามหน้ า วั ด กุ ฏิ ว างเป็ น สองแถว ตาม แนวแม่น�้ำ อยู่ห่างจากตลิ่งประมาณ 1 เส้นเศษ ดังปรากฏอยู่ทุกวันนี้
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 114
24/05/61 04:40:42 PM
เป็นเพราะเชื่อมั่นในความศักดิ์สิทธิ์ โดยเฉพาะ คนทีม่ คี วามทุกข์ความเดือดร้อน เมือ่ มากราบไหว้ อธิษฐานก็มักจะพ้นจากความทุกข์ร้อนนั้นได้ โดยเฉพาะอย่างยิง่ คนทีเ่ จ็บไข้ได้ปว่ ยก็มกั จะมา ตั้งจิตจุดธูปเทียนบอกกล่าวอธิษฐาน แล้วน�ำ น�้ำมนต์ไปอาบและดื่มกิน และอีกประการหนึ่ง คือการบนบานที่เชื่อกันว่าได้ผลมากนั้น คือ การถวาย “ไข่หวาน” ผูค้ นทีม่ เี รือ่ งทุกข์รอ้ นหรือ เจ็บป่วยไข้ไม่สบาย ก็มกั จะบนบานด้วยบัวลอย ไข่ ห วานกั น อย่ า งมาก และก็ มั ก จะประสบ ความส�ำเร็จตามปรารถนาทุกครั้งไป สืบเนื่องด้วยความยาวนานของกาลเวลา พระอุ โ บสถที่ ไ ด้ เ คยใช้ ป ระกอบศาสนกิ จ นั้ น ก็เสื่อมโทรมลง จึงได้มีการสร้างพระอุโบสถ หลังใหม่ขึ้น และได้มีการสร้างพระประธาน พร้อมพระอัครสาวกเพื่อประดิษฐานภายใน พระอุ โ บสถหลั ง ใหม่ และได้ ท� ำ การอั ญ เชิ ญ “หลวงพ่อเฒ่า” มาประดิษฐานอยู่หน้าพระ อุโบสถ และท�ำการพอกปูนลงรักปิดทองขึ้น ด้ ว ยความเลื่ อ มใสศรั ท ธาและอานุ ภ าพ ความศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ข องหลวงพ่ อ เฒ่ า อั น เป็ น ที่ ป ระจั ก ษ์ แ ละเป็ น ที่ ล ่ ว งรู ้ ท ราบกั น ดี ท่ า น พระครูปลัดพิจารณ์ วิจารโณ จึงได้ด�ำริจัดสร้าง เหรียญหล่อโบราณอันเป็นพระรูปหลวงพ่อเฒ่า เพื่ อ ให้ ผู ้ เ ลื่ อ มใสศรั ท ธาทั้ ง หลายได้ น ้ อ มน� ำ ไปบู ช า และเป็ น อนุ ส ติ ร ะลึ ก ถึ ง อานุ ภ าพ ความศักดิ์สิทธิ์ขององค์หลวงพ่อเฒ่า
ความศักดิ์สิทธิ์ของ “หลวงพ่อเฒ่า” แห่งวัดโพธิผักไห่ แต่เดิมนัน้ องค์หลวงพ่อเฒ่าเป็นพระประธาน ทีป่ ระดิษฐานภายในพระอุโบสถหลังเก่า ซึง่ เป็น พระอุโบสถทรงโบราณมีขนาดเล็กมาก ตั้งอยู่ บนพื้นดิน ไม่ได้ยกพื้นสูง มีประตูออกเฉพาะ ด้านหน้าด้านเดียว และมีระเบียงยื่นออกไป ด้านหน้าโดยมีการใช้เสาไม้รับ 2 ต้น และมุง ด้ ว ยกระเบื้ อ งดิ น เผา หลวงพ่ อ เฒ่ า ที่ เ ป็ น พระประธานในพระอุโบสถนัน้ สร้างจากหินทราย แกะสลัก ขนาดหน้าตัก 3 ศอกเศษ คนในชุมชน ชาวบ้ า นผั ก ไห่ ใ นสมั ย ก่ อ นนั้ น มั ก ร�่ ำ ลื อ และ เชื่อมั่นศรัทธาในอานุภาพความศักดิ์สิทธิ์ของ องค์หลวงพ่อเฒ่าเป็นอย่างมาก เมือ่ มีการป่วยไข้ ไม่สบายหรือเกิดโรคระบาดมักจะมากราบขอพร
และอธิษฐานน�ำน�ำ้ มนต์จากหลวงพ่อเฒ่าไปอาบ และดืม่ กิน เมือ่ หายจากอาการเจ็บไข้ได้ปว่ ยแล้ว ก็มกั นิยมมาแก้บนด้วยไข่หวานกัน หรือบางราย ต้องเดินทางไปค้าไปขายยังต่างเมืองก็มกั จะต้อง มากราบไหว้ขอพรจากหลวงพ่อเฒ่าขอความ คุ้มครองและให้ค้าขายร�่ำรวยได้ก�ำไรกลับมา เป็นต้น ด้ ว ยมี ค วามเชื่ อ และความศรั ท ธาต่ อ หลวงพ่อเฒ่าซึง่ เป็นทีย่ ดึ เหนีย่ วจิตใจของชาวบ้าน เมื่อมีความปรารถนาในเรื่องใดก็มักจะมาไหว้ บอกกล่าวจากองค์หลวงพ่อเฒ่ากันอย่างเนือ่ งๆ ด้ ว ยความเชื่ อ และเล่ า ลื อ ถึ ง ความศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ สืบทอดกันมาจนถึงรุ่นลูกหลานในปัจจุบัน การที่หลวงพ่อเฒ่าเป็นที่รู้จัก และเคารพ นั บ ถื อ ของคนทั่ ว ๆ ไปอย่ า งกว้ า งขวางนั้ น AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 115
115
24/05/61 04:40:52 PM
พระพิชัยสงคราม กับต�ำนาน การสร้างพระบรรจุดวงชะตาพิชัยสงคราม ต�ำนานกล่าวไว้แต่ในพระคัมภีรพ์ ชิ ยั สงคราม เรียกพระบูชานี้ว่า “พระบูชามหาพิชัยสงคราม” โดยจัดสร้างเป็นพระปางห้ามสมุทร กล่าวกันว่า ในกาลโบราณพระมหากษัตริย์นครหนึ่งเป็น องค์พุทธศาสนูปถัมภ์ต่อพระศาสนา ได้ถูก ภัยสงครามข้าศึกล้อมพระนครไว้ แลข้าศึกมี ก�ำลังไพร่พลมหาศาลเป็นทัพใหญ่พระองค์และ ทวยราษฎร์ลพี้ ล ท้อแท้และอ่อนก�ำลังจวนเจียน จะเสียพระนครแก่ข้าศึก ครัง้ นัน้ ยังมีพระอรหันต์เถระรูปหนึง่ ได้เห็น เหตุการณ์นนั้ แล้วก็บงั เกิดความสังเวชในวิบตั ภิ ยั อั น จะบั ง เกิ ด ขึ้ น นั้ น จึ ง ไปเฝ้ า ถวายพระพร พระมหากษัตริย์นครนั้นด�ำริว่า จะขอหาทาง 116
ป้ อ งกั น บ� ำ บั ด ศั ต รู ใ ห้ ป ลาสนาการไป พระ มหากษัตริยเ์ จ้าก็ทรงอนุโมทนา พระอรหันต์เถระ จึงปรึกษากับเหล่านักปราชญ์ราชบัณฑิต และ โหราจารย์ จึงท�ำการจัดตั้งราชพิธี บรรจุดวง พระชันษาของพระมหากษัตริยเ์ จ้านัน้ ลงในฐาน พระซึ่งแกะด้วยกิ่งโพธิ์หักเบื้องทิศตะวันออก โดยแกะเป็นพระพุทธรูปปางห้ามสมุทรกระท�ำ การสวดพระปริตรถวายพรพระ ด้วยอ�ำนาจแห่ง การสร้างพระโพธิบ์ รรจุดวงพระชันษาบันดาลให้ เกิดพายุฝนและฟ้าผ่าลง ท่ามกลางกองทัพ ของข้าศึกที่ล้อมพระนครอยู่ ท�ำให้ข้าศึกเกิด ความหวาดหวัน่ พรัน่ พรึงพากันยกทัพถอยล่าไปสิน้ พ้นเขตพระราชอาณาจักรของพระมหากษัตริย์
พระองค์นั้น จึงได้มีการถวายพระนามพระโพธิ์ ที่สร้างในครั้งนั้นว่า “พระมหาพิชัยสงคราม” ตลอดจนขนานพระนามยั น ต์ ที่ จ ารึ ก ดวง พระชั น ษาพระชาตาชี วิ ต ที่ บ รรจุ ภ ายในฐาน ขององค์พระนั้นว่า “ยันต์มหาพิชัยสงคราม” พุ ท ธลั ก ษณะของพระพุ ท ธรู ป ซึ่ ง เป็ น ปางห้ามสมุทรนี้ ค�ำว่า “สมุทร” ในที่นี้ โบราณา จารย์ท่านหมายถึง “สมุทัย” คือ เหตุแห่งทุกข์ ฉะนั้น “พระปางห้ามสมุทร” ก็คือ “พระปาง ห้ามทุกข์” นั้นเอง
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 116
24/05/61 04:41:07 PM
ต�ำราการสร้างพระโพธิ์ห้ามสมุทร สิทธิการิยะ พระต�ำราพระครูเทพผูว้ เิ ศษ มีแต่ครัง้ แผ่นดินสมเด็จพระนเรศวร กรุงศรีอยุธยา ได้จาก พระมหาเถรสิทธิเมธังกร ณ วัดหัวเมืองสิงห์บรุ ี แต่ครัง้ แผ่ น ดิ น สมเด็ จ พระนารายณ์ ไ ด้ ค รองเมื อ งลพบุ รี พระนารายณ์ อ งค์ นี้ เ ป็ น พระราชโอรสของสมเด็ จ พระเจ้าปราสาททอง ครั้งเมื่อพระนารายณ์ได้เป็น พระเจ้าแผ่นดิน ได้พระต�ำรานีม้ าจากมหาเถรเฑียรราช วัดงู และได้มาจากพระวิชัย วัดท่างู กับได้มาจาก พระอาจารย์คงโหร และได้มาจากท่านอาจารย์ผวู้ เิ ศษ สืบๆ มาหาที่จะอุปมามิได้หากท่านผู้ใดมีจิตศรัทธา เลื่ อ มใสในพระพุ ท ธศาสนา และเพื่ อ จะก่ อ เกื้ อ บุญบารมีแห่งตัวแล้วจงจัดท�ำขึ้นเถิด ถ้าแม้นเป็น ชีพราหมณ์บรรพชิตฆราวาสก็ดี ย่อมจะได้เป็นพระยา และอัครมหาเสนาบดี หรือในทีส่ ดุ จะได้เป็นถึงพระยา มหากษัตริย์ก็มีมากต่อมากแล้ว ดั ง บุ ค คลสองคนที่ ไ ด้ ท� ำ พิ ธี ส ร้ า งมาแล้ ว คื อ นายเทียนและนายสามเป็น ผู้ที่ตกทุกข์ได้ยาก เป็น เลขาเข้าเดือนออกเดือน อยู่ในกรมพระสัสดี บุรุษ สองคนนี้ ไ ด้ ไ ปเรี ย นความรู ้ คื อ สร้ า งพระบรรจุ ดวงชะตาไว้ ส� ำ หรั บจากพระมหาเถรสิ ท ธิ เ มธั ง กร ต่ อ มานายเที ย นได้ เ ป็ น กษั ต ริ ย ์ เ สวยราชสมบั ติ ในพระนครส่วนนายสามได้ครองเมืองวิเศษไชยชาญ เมืองอ่างทอง แล้วพระต�ำรานีไ้ ด้ตกมาถึงพระสังฆราช แตงโมวัดมหาธาตุกรุงเก่า แล้วได้มาถึงตาคงโหรอยูท่ ี่ วัดลอดช่อง ต่อมานายสังข์ได้สร้างขึน้ บูชาก็ได้เป็น พระยมราชภักดี ท�ำให้กบั นายมาก็ได้เป็นกรมขุนสุนทร นายปิน่ ซึง่ เป็น มหาดเล็กก็ได้เป็นพระยาราชมนตรี ท�ำให้นางเพ็ง พี่สาวแต่เดิมเป็นคนใช้ ก็ได้เป็นใหญ่กว่าคนทั้งปวง และนับว่าพระต�ำรานีไ้ ด้ประโยชน์ให้กบั บุคคลทีส่ ร้าง พระบรรจุดวงไว้บูชาเป็นปฐมเหตุ ดังที่กล่าวไว้เป็น สั ง เขปแล้ ว นั้ น จึ ง ได้ ใ ห้ ต� ำ รานี้ คั ด บอกไว้ ส� ำ หรั บ โลกภายหน้า เมื่อบุคคลผู้ใดใคร่จะให้เกิดความเจริญ ศิริสวัสดิพิพัฒน์มงคลประกอบด้วยความสุขส�ำราญ ยิง่ ๆ ขึน้ ไปทุกทีหาทีเ่ ปรียบมิได้เลย กับสามารถก�ำจัด ภัยพิบัติภยันตรายซึ่งจะมีมากับตน หรือบุตรภรรยา วงศาคณาญาติทาษกรรมกรในครอบครัว กระท�ำให้ ได้รบั ความสุขอย่างโอฬารทัง้ ภพนีแ้ ละภพหน้าได้ดยี งิ่ อย่าได้สนเท่ห์เลยฯ
AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 117
117
24/05/61 04:41:07 PM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
กราบสักการะหลวงพ่อแก่วัดหน้าโคก
วัดหน้าโคก
หรือ “วัดสว่างอารมณ์เจิรญ” พระครูอุดมปิยธรรม ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดหน้าโคก
วัดหน้าโคก ตั้งอยู่เลขที่ 48 หมู่ที่ 2 บ้านหน้าโคก ต�ำบลหน้าโคก อ�ำเภอผักไห่
วัดหน้าโคก (มีโคกอยู่ด้านหลังวัด) ต่อมาได้ เปลี่ยนมาเป็น วัดหน้าโคก เพราะค�ำว่า หน้า ใช้กบั ด้านหน้า ด้านหลัง แต่คำ� ว่า น่า ตามหลัก การใช้ภาษาไทย จะใช้กบั น่ารัก น่าเอ็นดู ผูเ้ ปลีย่ น อาจเป็นครูรน่ ุ เก่าทีร่ ห้ ู ลักภาษาได้เปลีย่ นให้ถกู ต้อง พื้นที่เดิมของวัดหน้าโคกนี้ เป็นที่ราบลุ่ม น�ำ้ ท่วมตลอดปี อยูร่ มิ แน่นำ�้ น้อย มีศาลา 1 หลัง และโบสถ์แพน�้ำ 1 หลัง ส�ำหรับพระภิกษุสามเณร ใช้ทำ� วัตรสวดมนต์และปฏิบตั กิ จิ ของสงฆ์
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ 17 ไร่เศษ สร้างขึ้นเป็นวัดเมื่อประมาณ พ.ศ.2445
กราบสักการะหลวงพ่อแก่วัดหน้าโคก
เมือ่ คราวพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 5 เสด็จทอดกฐินทีว่ ดั ตึกคชหิรญ ั เมื่อวันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2451 แล้วเสด็จกลับมาลงเรือครุฑเหินเห็จ ขึ้นตามล�ำแม่น�้ำน้อย พักเสวยอาหารที่วัดหน้าโคก พระองค์พักผ่อนอิริยาบถและตรัสกับชาวบ้านที่มาเข้าเฝ้าว่า “ลมพัด เย็นสบายดีมาก” วัดนี้น่าจะมีชื่อใหม่ว่า “วัดสว่างอารมณ์เจริญ” แต่ชาวบ้านเรียกขานติดปากว่า
หลวงพ่อแก่ วัดหน้าโคกไม่ปรากฏหลักฐาน แน่ชดั ว่าประดิษฐานอยูท่ วี่ ดั หน้าโคกเมือ่ ใด ได้ สอบถามผู้เฒ่าผู้แก่ของต�ำบลหน้าโคก ได้เล่า ให้ฟงั ว่า เมือ่ ครัง้ พ่อเป็นเด็ก ปูไ่ ด้เล่าว่า ตัง้ แต่ เกิดมาจ�ำความได้ ก็เห็นหลวงพ่อแก่ประดิษฐาน
118
2
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 118
22/5/2561 11:44:30
อยู่ที่วัดหน้าโคกแล้ว อยู่บนเนินดินสูง เรียกว่า โคก ข้างต้นโพธิ์นั่งบนแท่นฐานบัวก่อด้วยอิฐ ก้อนใหญ่หลังคามุงด้วยสังกะสี มีสภาพช�ำรุด ทรุดโทรมมีต้นไม้ขึ้นปกคลุมเต็มไปหมดเป็น พระพุทธรูปนั่งปางมารวิชัย เนื้อหินทรายแดง แบบเกศตุ้ม สันนิษฐานว่าเป็นพระพุทธรูปที่ เก่าแก่ของวัดอายุนับพันกว่าปี หลวงพ่อแก่วัดหน้าโคก เป็นพระพุทธรูป ที่ศักดิ์สิทธิ์เป็นที่เคารพนับถือของชาวต�ำบล หน้าโคกและต�ำบลใกล้เคียงและพุทธศาสนิกชน ทั่วไปได้กราบสักการบูชาถวายอาหาร คาวหวาน ดอกไม้ พวงมาลั ย และถวายละคร ร�ำชาตรีเกือบทุกวัน ต่อมาชาวต�ำบลหน้าโคก และพุทธศาสนิกชนทั่วๆ ไป ที่มากราบขอพร หลวงพ่อแก่ และประสบผลส�ำเร็จในสิ่งต่างๆ ที่ ป รารถนา มี จิ ต ศรั ท ธาท� ำ บุ ญ และถวาย
องค์ ผ ้ า ป่ า ต่ อ องค์ ห ลวงพ่ อ แก่ แ ละได้ ด� ำ ริ ก่อสร้างมณฑปให้ท่านประดิษฐานอย่างมีสง่า ราศี ดังที่เห็นในปัจจุบันนี้ ผู้ใดได้กราบสักการบูชาด้วยความตั้งใจ ประพฤติปฏิบัติศีล สมาธิ ปัญญา เมื่อขอพร ในสิง่ ต่างๆ ต่อหน้าพระพักตร์องค์หลวงพ่อแก่ จะประสบความส�ำเร็จมีความเจริญรุ่งเรือง สมความปรารถนาทุกประการ ความศรั ท ธาในทางพระพุ ท ธศาสนามี สีอ่ ย่าง คือ กัมมสัทธา เชือ่ กรรม เชือ่ กฎแห่งกรรม เชื่อว่ากรรมมีอยู่จริง คือ เชื่อว่า เมื่อท�ำอะไร โดยมีเจตนา คือ จงใจท�ำทั้งรู้ ย่อมเป็นกรรม คือ เป็นความชัว่ ความดีมขี นึ้ ในตน เป็นเหตุ ปัจจัยก่อให้เกิดผลดีผลร้ายสืบเนื่องต่อไป การกระท�ำไม่วา่ งเปล่า และเชือ่ ว่าผลทีต่ อ้ งการ จะส� ำ เร็ จ ได้ ด ้ ว ยการกระท� ำ วิ ป ากสั ท ธา
เชือ่ วิบาก เชือ่ ผลของกรรม เชือ่ ว่าผลของกรรม มีจริง คือ เชื่อว่ากรรมที่ท�ำแล้วย่อมมีผล และ ผลต้องมีเหตุ ผลดีเกิดจากกรรมดี ผลชั่วเกิด จากกรรมชั่ว กัมมัสสกตาสัทธา เชื่อความที่สัตว์มีกรรม เป็นของตน จะต้องรับผิดชอบเสวยวิบาก เป็น ไปตามกรรมของตน และ ตถาคตโพธิสัทธา เชื่อความตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า มั่นใจในองค์ พระตถาคต ว่าเป็นพระสัมมาสัมพุทธะ ทรง พระคุณทัง้ 9 ประการ ตรัสรูธ้ รรม บัญญัตวิ นิ ยั ไว้ด้วยดี ทรงเป็น ผู้น�ำทางที่แสดงให้เห็นว่า มนุ ษ ย์ คื อ เราทุ ก คนนี้ หากฝึ กตนด้ ว ยดี ก็ สามารถเข้าถึงภูมธิ รรมสูงสุด บริสทุ ธิห์ ลุดพ้นได้ ดังที่พระองค์ทรงบ�ำเพ็ญไว้
AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 119
119
22/5/2561 11:44:42
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
อคฺคสฺมึ ทานํ ททตํ อคฺคํ ปุญฺญํ ปวทฺฒติ อคฺคํ อายุ จ วณฺโณ จ ยโส กิตฺติ สุขํ พลํ เมื่อให้ทานในวัตถุอันเลิศ บุญอันเลิศ อายุ วรรณะ ยศ เกียรติ สุข และ ก�ำลังอันเลิศ ก็เจริญ
วัดบ้านอ้อ
สักการะหลวงพ่อตะวันตก พระครูวิบูลประชากิจ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
วัดบ้านอ้อ ตั้งอยู่ ม.8 ต.อมฤต อ.ผักไห่ จ.พระนครศรีอยุธยา
สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัด 16 ไร่ 40 ตารางวา 120
2
อาณาเขต ทิศเหนือ ยาว 3 เส้น 10 วา ติดกับถนน สาธารณะ และที่ดินเอกชน ทิศใต้ ยาว 4 เส้น ติดกับทีด่ นิ ของเอกชน ทิศตะวันออก ยาว 5 เส้น 10 วา ติดกับถนนชลประทาน ทิศตะวันตก ยาว 10 วา ติดล�ำคลองของแม่น�้ำน้อย
อาคารเสนาสนะ อุโบสถ กว้าง 9 เมตร ยาว 22 เมตร สร้าง พ.ศ.2466 โดยพระอธิการเจียม โครงสร้างของ อุ โ บสถพื้ น เทคอนกรี ต เป็ น แบบทรงไทย โบราณ ท�ำการบูรณะ เมื่อ พ.ศ.2532 โดย พระครูประดิษฐ์ศลี คุณ ศาลาการเปรียญ กว้าง 20.60 เมตร ยาว 40.70 เมตร สร้างเมือ่ พ.ศ. 2470 หอสวดมนต์ กว้าง 8.10 เมตร ยาว 13.30 เมตร สร้าง พ.ศ.2525 กุฏิสงฆ์ เป็น เรือนไม้ จ�ำนวน 11 หลัง
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 120
22/5/2561 11:45:27
วั ด บ้ า นอ้ อ สร้ า งขึ้ น เป็ นวั ด นั บ ตั้ ง แต่ ประมาณ พ.ศ.2300 ในสมัยพระเจ้าอยู่หัว บรมโกศ ซึง่ สันนิษฐานจากวิหารเก่าแก่ของวัด แต่เดิมเป็นวิหารไม้ทรงไทย ภายในมีปชู นียวัตถุ คือ พระประธานปางมารวิชยั (ค�ำสันนิษฐานนี้ อ้างอิงจากหนังสือประวัตวิ ดั ทัว่ ราชอาณาจักร เล่ม 4 โดยกองพุทธศาสนสถาน กรมการ ศาสนากระทรวงศึกษาธิการ ท�ำการส�ำรวจ ตัง้ แต่ พ.ศ.2525-พ.ศ.2527) แต่วหิ ารเก่าทรุด โทรมมาก พระครูประดิษฐศีลคุณพร้อมกับ ชาวบ้านในชุมชนรวมเงินบริจาคสร้างวิหารใหม่ เมื่อ พ.ศ.2516 ชาวบ้านเรียกพระประธานใน วิหารว่า หลวงพ่อตะวันตก แต่ชื่อเต็มๆ ของ พระประธานองค์นคี้ อื พระธาตุมงคลตะวันตก
ท�ำเนียบเจ้าอาวาสวัดบ้านอ้อ 1. สมภารแดง จากค�ำบอกเล่า พ.ศ. 2400-2460 2. พระอธิการเจียม สุมโน พ.ศ. 2460-2484 3. พระครูประดิษฐศีลคุณ พ.ศ.2484 - 6 ต.ค.พ.ศ. 2541 4. พระครูวิบูลประชากิจ 17 ต.ค. พ.ศ.2541 เป็นต้นมา
ปุพฺเพ ทานาทิกํ ทตฺวา อิทานิ ลภตี สุขํ มูเลว สิญฺจิตํ โหติ อคฺเค จ ผลทายกํ ให้ทานเป็นต้นก่อน จึงได้สุขบัดนี้ เหมือนรดน�้ำที่โคนให้ผลที่ปลาย AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 121
121
25/5/2561 15:47:40
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
กราบหลวงพ่อทันใจ ฝึกสติให้ฉับไว แก้ปัญหาได้ทุกอย่างพลัน
วัดท่าดินแดง
เดิมชื่อ “วัดจันทราวาส” พระครูสังฆรักษ์ (วิกรม) ปิยธโร ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
ตั้ ง อยู่เลขที่ 89 หมู่ที่ 2 ต.ท่าดินแดง อ.ผักไห่ จ.พระนครศรีอยุธยา
สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีเนื้อที่ดินตั้งวัด ทั้งหมด 18 ไร่ พื้นที่ตั้งวัดเป็นที่ราบ ด้ า นทิ ศ เหนื อ ของวัด ติด กับ แม่น�้ำน้อ ย ทิศ ใต้ติด กั บ พื้ น ที่ น าของชาวบ้ า น ทิศตะวันออกติดกับหมู่บ้าน และด้านทิศตะวันตกของวัดติดกับถนนสายผักไห่-เสนา วั ด ท่ า ดิ น แดง เมื่อ ตอนเริ่มสร้า งวัดใหม่ๆ เดิมชื่อ “วัด จันทราวาส” บางทีชาวบ้านก็เรียก วัดใหม่บา้ ง เพราะเป็นวัดทีเ่ ริม่ สร้างขึน้ มาใหม่ทหี ลังของวัดย่านอ่างทองและวัดโคกทองทีอ่ ยูใ่ นต�ำบล ใกล้เคียงกัน และจนมาเปลี่ยนเป็นวัดท่าดินแดงตามชื่อของต�ำบลในภายหลัง เริ่มสร้างวัดเมื่อ ประมาณปี พ.ศ.2429 และได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อประมาณปี พ.ศ.2435 122
2
ท�ำเนียบเจ้าอาวาส 1. หลวงพ่อสี 2. หลวงพ่อโหมด 3. หลวงพ่อแช่ม 4. หลวงพ่อบุญ 5. พระอธิการทองอยู่ พ.ศ.2508-2514 6. พระอธิการปราชญ์ พ.ศ.2515-2516 7. พระอธิการสง่า พ.ศ.2517-2520 8. พระอธิการวิโรจน์ พ.ศ.2521-2526 9. พระครูวิภัชวุฒิคุณ (ทองใบ โกวิโท) พ.ศ.2526-2539 10. พระครูบวรสังฆกิจ (บุญชู สนฺติกโร) พ.ศ.2539-2557 11. พระครูสังฆรักษ์ (วิกรม) ปิยธโร 29 เมษายน พ.ศ.2557-ปัจจุบัน
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 122
25/5/2561 16:09:49
ปูชนียวัตถุที่ส�ำคัญภายในวัด หลวงพ่อขาว พระพุ ท ธรู ป พระประธานในโบสถ์ ข อง วัดท่าดินแดง เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย ลงรั กปิ ด ทอง มีซุ้มเรือ นแก้ว แบบพระพุทธ ชินราช แต่รูปแบบไม่เหมือนกัน หน้าตักกว้าง 1 เมตร สูง 1.35 เมตร หลวงพ่อขาวเป็น พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ที่ชาวต�ำบลท่าดินแดง และใกล้ ไกล ให้ความเคารพนับถือเป็นอย่างมาก ได้พากันมากราบไหว้สกั การะขอพรและขอโชค ลาภองค์ หลวงพ่อ ขาวอยู่เ สมอ จนประสบ ความส� ำ เร็ จ มี ค วามเจริ ญ รุ ่ ง เรื อ งสมความ ปรารถนาทุกประการ เมื่อสมความปรารถนา ก็ได้น�ำพวงมาลัยและทองค�ำเปลวมาถวาย หลวงพ่ออยู่เสมอมิได้ขาด หลวงพ่อทันใจ หลวงพ่อทันใจเป็นพระพุทธรูปปูนปัน้ ปาง สมาธิ สร้างขึ้นมาเมื่อปลายปี พ.ศ.2553 เป็น พระพุ ท ธรู ป ที่ ส ร้ า งขึ้ น ด้ ว ยความศรั ท ธาใน พระพุทธศาสนา และองค์สมเด็จพระสัมมาสัม พุทธเจ้าของชาวต�ำบลท่าดินแดง หลวงพ่อ ทันใจเมื่อเริ่มต้นปั้นองค์ท่าน ช่างปั้นไม่ได้ ออกแบบเป็นปางนัง่ ขัดสมาธิเหมือนปัจจุบนั นี้ แต่ออกแบบเป็นปางมารวิชยั แทน แต่พอปัน้ ขึน้ องค์มาถึงแขนด้านขวา ทีจ่ ะต้องใช้พระหัตต์จบั เข่าด้านขวานั้น แขนของหลวงพ่อเกิดหักร่วง ลงมาช่างเลยต้องเปลีย่ นเป็นปางสมาธิอย่างที่ เห็นอยู่ในปัจจุบัน
หลวงพ่อทันใจสร้างและท�ำการปลุกเสก เจริญพระพุทธมนต์ เบิกพระเนตรเสร็จภายใน วันเดียวนัน้ เองจึงได้ชอื่ ว่า “หลวงพ่อทันใจ” จึง เกิดความเชื่อต่อเหล่าพุทธศาสนิกชนว่าจะ สามารถขอพรได้ อ ย่ า งรวดเร็ ว ทั น ใจ ส่ ว น “เทพทันใจ” หรือ “นัต” ต่างจากหลวงพ่อทันใจ คือเทพผูป้ กปักรักษาและบันดาลโชคทีช่ าวพม่า ศรั ท ธา เชื่ อ กั นว่ า จะสามารถท� ำ ให้ ส มหวั ง ปรารถนา ซึ่งนัตเป็นจิตวิญญาณของคนตาย ที่อยู่ระดับสูงกว่าผีและต�่ำกว่าเทพ จึงไม่ใช่ทั้ง
ผี แ ละเทพ ในขณะที่ ยั ง มี ชี วิ ต อยู ่ ก็ ไ ด้ ส ร้ า ง คุณงามความดีเอาไว้ให้เป็นทีน่ า่ จดจ�ำ และนัต ก็ มี ห น้ า ที่ ป กปั ก รั ก ษาเมื อ ง หรื อ สถานที่ ส�ำคัญๆ อย่างเจดีย์เป็นต้น ซึ่งเทพทันใจจะมี กิริยาอยู่ในท่ายืนชี้นิ้วข้างขวาไปข้างหน้า นี้คือ ความแตกต่างของสองสิ่งศักดิ์สิทธิ์ วัดท่าดินแดง โทรศัพท์ : 035-397-152, 089-820-6926
AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 123
123
25/5/2561 16:10:04
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
สร้างขึ้นเป็นวัดนับตั้งแต่ประมาณ พ.ศ. 1900 สมัยกรุงศรีอยุธยา
วัดฤาไชย
หรือ “วัดลือไชย” พระครูวิบูลธรรมนาถ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน
สันพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงเสด็จประพาสต้นไปยังวัดฤาไชย
เมื่อวันที่ 23 ตุลาคม 2451 วัดฤาไชยหรือวัดลือไชย สร้างขึ้นเป็นวัดนับตั้งแต่ประมาณ พ.ศ. 1900 สมัยกรุงศรีอยุธยา ต่อมาได้กลายสภาพเป็นวัดร้างไปในช่วงที่ข้าศึกรุกราน บ้านเมือง และได้ท�ำการบูรณะปฏิสังขรณ์ ให้เป็นวัดมีพระสงฆ์ขึ้นประมาณ พ.ศ.2448
เป็นวัดที่มีพัทธสีมาแล้ว ตามที่คนรุ่นเก่าได้บอกเล่ากันต่อมาว่าวัดนี้ คงจะสร้างขึ้นเพื่อเป็น อนุสรณ์ในชัยชนะ ซึ่งพระเจ้าแผ่นดินทรงสร้างพระประธาน แล้วโปรดให้เสนาอ�ำมาตย์สร้างพระ ประธานองค์รองลงมาคนละ 1 องค์ เกี่ยวกับการศึกษาได้จัดตั้งโรงเรียนประถมศึกษาขึ้นในวัด ครั้งแรกได้อาศัยศาลาการเปรียญเป็นที่ท�ำการสอนต่อมาได้จัดสร้างอาคารเรียนขึ้นเป็นเอกเทศ ในที่วัดแล้วนอกจากนี้ยังมีสถานีอนามัยและหอประชุมสภาต�ำบลตั้งขึ้นอยู่ในวัดนี้ด้วยขอให้ 124
2
พุทธศาสนิกชนผูม้ จี ติ ใจบุญกุศลทัง้ หลาย จงมี แต่ความสุข ความเจริญ ด้วยอายุ วรรณะ สุขะ พละ ปฏิภาณ ธนสาร สมบัติ ทุกประการ เทอญ พื้นที่วัดเป็นที่ราบลุ่มมีล�ำคลองกุฏิผ่าน กลางบริเวณทีว่ ดั และฝัง่ ทีต่ งั้ วัด อยูฝ่ ง่ั ตะวันตก ใช้เป็นเขตสาธารณะสงเคราะห์ และอาคาร เสนาสนะต่างๆ มีอุโบสถกว้าง 16 เมตร ยาว 22 เมตร โครงสร้ า งอิ ฐ ถื อ ปู น ทรงโบราณ ได้ซ่อมแซมหลายครั้ง มีก�ำแพงแก้วโดยรอบ ศาลาการเปรียญกว้าง 14 เมตร ยาว 42 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ.2479 เป็นอาคารครึ่งตึกครึ่งไม้ มีซี่กรงกั้นโดยรอบ กุฏีสงฆ์ จ�ำนวน 12 หลัง เป็นอาคารไม้สักทั้งหลัง ส�ำหรับปูชนียวัตถุมี พระประธานในอุโบสถพร้อมด้วยพระพุทธรูป อื่นๆ อีกจ�ำนวน 17 องค์พระธาตุเจดีย์ สมัยพระครูอเุ ทศธรรมวินยั (หอม) เป็นเจ้า อาวาส พระโพธิ ว งศาจารย์ ขณะด� ำ รง
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 124
22/5/2561 11:48:49
สมณศักดิ์เป็นพระครูสังฆ์รักษ์ (แผ้ว สุนทโร) อญุ วั ด เบญจมบพิ ต ร กรุ ง เทพฯ ได้ ม า ปฏิ สั ง ขรณ์ บ รรจุ พ ระบรมสารี ริ ก ธาตุ 24 พระองค์ ปฏิสังขรณ์ เมื่อ พ.ศ.2448 พระธาตุ หมายถึง อัฐิ (กระดูกที่เผาแล้ว) ของพระพุทธเจ้า พระปัจเจกพุทธเจ้า และพระ อรหันต์ ถ้าเป็นอัฐิของพระพุทธเจ้า เรียกว่า พระบรมสารีรกิ ธาตุ หรือพระบรมธาตุ ถ้าเป็น อัฐพิ ระอรหันต์ เรียกว่า พระธาตุ แต่โดยทัว่ ไป แล้วจะเรียกรวมๆ ว่า พระธาตุ ส� ำ หรั บ พระธาตุ ใ นที่ นี้ หมายถึ ง ส่ ว น ส�ำคัญของพระสถูป หรือพระปรางค์ ที่บรรจุ พระบรมสารีรกิ ธาตุ หรือพระธาตุไว้ภายใน ซึง่ เรียกว่า ธาตุเจดีย์ ซึง่ เป็นหนึง่ ในพุทธเจดียท์ ง้ั สี่ ซึ่งได้แก่พระธาตุเจดีย์ เป็นเจดีย์ที่บรรจุพระ ธาตุอินเดีย เรียกเจดีย์ประเภทนี้ว่า สรีริกสถูป พระธาตุเจดีย์ รวมถึง เจดีย์ที่บรรจุธาตุของ พระอรหันต์สาวกด้วย ถ้าเป็นเจดียท์ บี่ รรจุพระ
ธาตุของพระพุทธเจ้า โดยเฉพาะก็จะเรียกว่า พระมหาธาตุ พระบรมธาตุ หรือพระบรม สารีริกธาตุ ถ้ า เรี ย กพระธาตุ ส ่ ว นหนึ่ ง ส่ ว นใดของ พระพุทธเจ้า โดยเฉพาะก็จะเรียกชื่อตามนั้น เช่น พระทันตธาตุ หรือพระทันตธาตุ หรือพระ ทาฒธาตุ (ฟัน หรือ เขี้ยวของพระพุทธเจ้า) พระเกศธาตุ (เส้นพระเกศาของพระพุทธเจ้า) พระอุรังคธาตุ (พระธาตุส่วนที่เป็นกระดูก หน้าอกของพระพุทธเจ้า บริโภคเจดีย์ เป็นพระเจดียท์ บี่ รรจุของใช้ที่ เกีย่ วกับเนือ่ งกับพระพุทธเจ้า ได้แก่ อัฐบริขาร มีบาตรและจีวร เป็นต้น นอกจากนัน้ ยังรวมไป ถึ ง สถานที่ อั น เป็ น สั ง เวชนี ย สถานทั้ ง สี่ คื อ สถานที่ประสูติ (ลุมพินีวัน) ตรัสรู้ (พุทธคยา) แสดงปฐมเทศนา (ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน) และปรินิพพาน (เมืองกุสินารา) รวมพระแท่น ที่บรรทมตอนปรินิพพาน
อินเดียเรียกเจดีย์ประเภทนี้ว่า ปาริโภค สถูปพระธรรมเจดีย์ เป็นพระเจดียท์ บี่ รรจุ หรือ จารึก พระธรรมค�ำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า เช่ น หอพระไตรปิ ฎ ก และส่ ว นที่ เ ป็ น พระ ไตรปิฎกเอง ไม่วา่ จะจารึกในรูปแบบใด เดิมได้ เลือกเอาหัวใจพุทธศาสนา จารึกเป็นตัวอักษร ประดิษฐานไว้สำ� หรับบูชา มีความว่า “เย ธมฺมา เหตุปปฺภวา เตสํ เหตุ ตถาคโต เตสญฺจ โย นี โรโธ จ เอวํ วาที มหาสมโณอุเทสิกเจดีย์ เป็นเจดียท์ ที่ ำ� เป็น พุทธบัลลังก์ พระแท่นพระพุทธเจ้า รวมถึง พระพุทธฉายด้วย อินเดียเรียกเจดีย์ ประเภท นี้ว่า อุทเทสิกสถูป สร้างขึ้นเพื่อเป็นพุทธบูชา รวมความได้ว่า พระเจดีย์ เป็นที่ท�ำเป็นหรือ บรรจุสิ่งที่เนื่องด้วยพระพุทธเจ้า อันเป็นสิ่งที่ ควรแก่การสักการบูชา พระธาตุเจดีย์ เป็น พระเจดีย์ที่รู้จักกันดี และพบกันมากที่สุด
AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 125
125
22/5/2561 11:49:01
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดผดุงธรรม
พระครู ป ั ญ ญาวรจิ ร คุ ณ ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง เจ้ า อาวาส
วัดผดุงธรรม ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 53 บ้านระเชน หมู่ 3 ต�ำบลระโสม อ�ำเภอภาชี จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ที่ดินตั้งวัดมีเนื้อที่ 11 ไร่ 3 งาน 24 ตารางวา โฉนดที่ดินเลขที่ 3517 ตั้งเป็นวัดเมื่อ พ.ศ.2450 โดยมีนายหรั่งบริจาคที่ดินให้สร้างวัด 10 ไร่ ปัจจุบันเหลือ 8 ไร่เศษ เดิมเรียกว่า วัดระเขน ต่อมาเปลี่ยนเป็น วัดผดุงธรรม ในปี พ.ศ.2483 ได้รับพระราชทาน วิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ.2532 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 17 เมตร ยาว 29 เมตร 126
ประวัติความเป็นมา เหตุที่เปลี่ยนเป็นวัดผดุงธรรม แต่ก่อนนี้ คนแถวอุทัยเอาเรือมาขายของผ่านคลอง ต้อง ลงเข็นเรือกัน เพราะมันเป็นเนินทรายสูง ต้อง เข็นให้พน้ ตรงนี้ ต่อมาเขาก็เรียกวัดหนองระเขน พอไปขอกรมการศาสนา กรมการศาสนาบอก ว่ามันไม่มคี วามหมาย ก็เปลีย่ นเป็นวัดผดุงธรรม ตัง้ แต่นนั้ ก็เป็นวัดผดุงธรรมตลอดมา และแถวนี้ ในอดี ต ยั ง เป็ น เส้ น ทางเดิ น ข้ า มคลองของ หลวงปู่ขาวด้วย
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 126
24/05/61 02:57:53 PM
พระท่านเล่าว่า สมัยก่อนแต่เดิมวัดนั้น ชื่อวัดระเขน ชาวบ้านแถบนั้นไปไหนมาไหนก็ อาศัยเรือ รถไม่มี ถนนไม่มี ตอนหลังมีผบู้ ริจาค ที่ ดิ น ในเขตนี้ แ ล้ ว สร้ า งวั ด ที่ นี่ ใ ห้ พระท่ า นก็ ออกจากวัดตระก้อมาอยู่ที่วัดผดุงธรรม เพราะ มีคลองอยู่ใกล้วัด เวลาขึ้นจากเรือก็ถึงวัดเลย แต่ก่อนวัดตระก้อมีพระอยู่รูปหนึ่ง ท่านมาอยู่ ตั้งแต่หลังคายังเป็นมุงจาก วัดตระก้อก็อายุ ประมาณ 400 กว่าปีแล้ว รุน่ เดียวกับวัดเจดียห์ กั วัดเจดีย์หักตอนหลังก็ไปมาล�ำบาก ก็เลยย้ายที่ ไปอยู ่ วั ด หนองไม้ ซุ ง ตรงหน้ า วั ด มี เ รื อ เข้ า ได้ ตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา ทีนี้ทางวัดตระก้อนั้น ไม่ใช่ธรรมดา มีสงิ่ ศักดิส์ ทิ ธิแ์ รงมาก จึงมีเรือ่ งเล่า อยู่ว่านายฮ้อยควายที่เพชรบูรณ์เขามาหาจะ เข้าวัดตระก้อ ปรากฏว่าเข้าไม่ได้นกร้องเป็น ร้อยตัว มีสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่อยู่ ณ ที่นั้นแรงมาก
เขาก็เลยกลับไป สาเหตุทพี่ ระท่านมาทีว่ ดั ตระก้อ เพราะว่า ที่เพชรบูรณ์เมืองเก่า มีเนื้อที่เป็น 1,000 ไร่ ท่ า นได้ ไ ปนั่ ง ปลุ ก เสกเสร็ จ แล้ ว ปรากฏว่ า พระพุ ท ธรู ป อยู ่ ใ ต้ ดิ น ก็ โ ผล่ ขึ้ น มาประมาณ คืบนึงขุดไปขุดมาก็เจอพระพุทธรูปเลย พอขุด พระพุทธรูปได้แล้วก็เอาไปแลกในตลาดกลาง ที่เพชรบูรณ์ ก็ได้รถไถคันใหญ่มา ครั้นพระท่าน ไปท�ำสมาธิกลางคืนแต่ไม่ให้พระท่านอื่นเข้าไป แต่มีพระรูปนึงตามไป ปรากฏว่ามันแปลกๆ อยู ่ อ ย่ า ง ตรงที่ งู ที่ อ ยู ่ ต ามกิ่ ง ไม้ เยอะแยะ เต็มไปหมดพอเดินไปทางไหนงูกช็ ะเง้อมองหมด พร้อมกัน แล้วอยู่ดีๆ งูแมวเซาก็เลื้อยผ่านหน้า พระท่านไป ลงไปที่หัวระแหง แต่รูมันเล็กมาก เกินกว่าตัวของงูจะลงไปได้ ท่านคิดว่านี่ไม่ใช่ งูธรรมดา แล้วพระท่านที่ไปท�ำสมาธิก็เลยกลับ
พระท่ า นจึ ง ได้ แ บ่ ง รองเท้ า ให้ พ ระอี ก รู ป ใส่ กลับไปที่วัด พอถึงวัดพระองค์ที่ตามมาด้วย ก็มึนๆ ท�ำท่าทีเหมือนจะไปหักคอคนนั้นคนนี้ พระท่ า นเป็ น ห่ ว งว่ า ถ้ า ศึ กออกไปจะมี กิ ริ ย า ก้าวร้าว พอพระองค์นนั้ ศึกไป ก็ไม่มอี ะไรเกิดขึน้ เมื่ อ ก่ อ นนั้ น วั ด ผดุ ง ธรรม แต่ เ ดิ ม ชื่ อ วัดหนองเรือเข็น เพราะมีเรือจากทางอุทัยธานี และแถบใกล้เคียงมาค้าขายแถวคลองใกล้วัด อยู ่ ม ากมาย แต่ ด ้ ว ยความที่ แ ถบนั้ น เป็ น เนินทรายสูง ต้องเข็นเรือให้พ้นเนิน ชาวบ้าน จึ ง เรี ย กกั นว่ า วั ด หนองระเขน ต่ อ มาทางวั ด ได้ไปขอกรมการศาสนา ทางกรมการศาสนา บอกว่าชื่อวัดไม่มีความหมาย จึงเปลี่ยนชื่อเป็น วัดผดุงธรรม นับแต่นั้นจนถึงปัจจุบัน นี่ คื อ เรื่ อ งราวที่ พ ระท่ า นเล่ า เกี่ ย วกั บ ความศักดิ์สิทธิ์ในอดีตทีผ่านมาของวัด
เกิดเป็นมนุษย์และได้พบกับ
พระพุทธศาสนาต้องมีเป้าหมายในชีวติ คนเราเกิ ด มาต้ อ งมี เ ป้ า หมายชี วิ ต เพื่อเป็นตัวก�ำหนดว่า เราจะด�ำเนินชีวิตไป ในทิ ศ ทางใด จะได้ ฝ ึ ก ฝนตนเองไปตาม เป้าหมายที่ตั้งไว้ การตั้งเป้าหมายไว้ในทาง ทีถ่ กู ต้อง จะเป็นจุดเริม่ ต้นให้เราด�ำเนินชีวติ ได้อย่างถูกต้อง ซึ่งทางพระศาสนาเรียกว่า “ตั้งตนชอบ” มีเป้าหมาย 2 อย่าง 1. เป้าหมายทางโลก คือการศึกษา เล่ า เรี ย น การประกอบอาชี พ การงาน มีความส�ำเร็จในชีวิต 2. เป้าหมายทางธรรมนี้ส�ำคัญ เพราะ เราเกิดมาภพชาติหนึง่ จะต้องสัง่ สมบุญกุศล ไว้เป็นเสบียง หล่อเลีย้ งชีวติ ข้ามภพข้ามชาติ ตัง้ เป้าหมายในการสร้างบารมีไว้ ฝึกฝนกาย วาจา ใจ ให้สะอาดบริสทุ ธิย์ งิ่ ๆ ขึน้ ไป ละโลก ไปแล้วเราจะได้ไปอยูใ่ นภพภูมทิ ดี่ ี มีโอกาส สร้ า งความดี ไ ด้ เ ต็ ม ที่ แ ละสะดวกสบาย ด�ำเนินชีวิตมุ่งตรงสู่มรรคผลนิพพาน ตาม อย่างพระสัมมาสัมพุทธเจ้าก็คือ ถ้าตัวเอง ยังไม่มศี รัทธา ก็ตงั้ ตนไว้ในศรัทธา ถ้าตัวเอง เป็นคนตระหนี่ ก็ตั้งเป้าหมายท�ำทานให้ได้ สม�ำ่ เสมอ ถ้าตัวเองยังไม่มศี ลี ก็ตงั้ เป้าหมาย ให้รักษาศีลได้บริสุทธิ์บริบูรณ์ AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 127
127
24/05/61 02:58:25 PM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
Wat Phadungtham Phrakhu Panya Worajirakhun, the abbot of Wat Phadungtham Phrakhu Panya Worajirakhun told that at long time ago, some people traveled around by boat because of there were no car and road. In later day, the donator gave the land to built the temple, then Phrakhu Panya Worajirakhun left from Tra Kho temple to Phadungtham temple because there was a canal near the temple and when got aboard a ship, it can brought him into the temple rapidly. Previously, Tra Kho temple had only one monk and he had been here since the roof of the temple made from dried leaves of the nipa palm. At that time, Tra Kho temple was 400-year-old as same as Chetiyaram temple (Wat Jedeehak). Phrakhu Panya Worajirakhun also told that the journey to Chetiyaram temple was quite difficult and then he decided to moved to Wat Nong Mai Sung because there were boats in front of temple that made travellig convenient. Tra Kho temple was mysterious and strange, there were many sacred cows. For instance, the story of Nai Hoi Khway form Phetchabun province, he wanted
128
to got into the temple but he can’t because of screaming from hundred birds. He thought there was something here and he got back. The reason why Phrakhu Panya Worajirakhun moved to Tra Kho temple was Phetchabun province has area about 400 acres. After he recited incantations over the land, the Buddha image in soil was emerged over the surface of soil about 12 inches and he brought that Buddha image to traded with big tractor in the market. When he had to meditated at night time, he disallowed all of follower but there was still one monk followed him. During he walked to meditated, he found many snakes everywhere especially on the branch of tree. When he walked through, all of snakes raised up and stared at him. Without warning, Siamese Russell’s viper snake crawled over him into fissure that smaller than the snake’s head and he thought this was incredible snake. After that, he got back from meditation and shared his shoe
with follower monk. When both of them reached the temple, follower monk acted weird up. He tried to broke someone’s neck. Phrakhu Panya Worajirakhun worried about his aggressive behavior but when follower monk left the Buddhist monkhood, there was nothing happen. Phadungtham temple was called Wat Nong Ruea Khen because there were some boats form Uthai Thani province and nearby province came to merchandised at the canal near the temple. But as a result of high sand hill, the merchants had to pushed the boats forward the sand hill. That why this temple was called Wat Nong Ruea Khen but Religious Affairs Department of Thailand advised the name of temple was meaningless and changed the name to Phadungtham temple until now. This is the story from Phrakhu Panya Worajirakhun in the past of Phadungtham temple.
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 128
24/05/61 02:58:38 PM
To be born as human and meet with Buddhism must have purpose in life. Every human must have the purpose in life in order to be the determination of which direction should we lead a life to. Then, we can practice ourselves along with the purpose that we are aiming to accomplish. An Aiming on the right way will be the beginning which support us to live a life rightly. Refer to Buddhism, it was called “Tang Ton Chop” which has 2 purposes as following: 1. Worldly purpose: it is an education and earning a living, has successful life. 2. Religious purpose is really i mportant because when we born in this world, we have to collect merit to be provisions to nourish present life and next life. We should aim to create virtue, train body, speech and mind to be cleaner and purer, then, when we leave this world we will be exist in better world that we can build merit with all our capability and comfortably. Making a living by immerse ourselves to go to nirvana like Lord Buddha which is as follows: if you have no faith, then adhere to faith. If you are greedy, then aim to give alms every day. If you are not observe religious precepts, then aim to do it seriously and make it complete and clean.
AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 129
129
24/05/61 02:58:56 PM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
หลวงพ่ อ ขาวศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ อายุ เ ก่ า แก่ ก ว่ า 400 ปี
วัดธรรมสินธุ์ โสภา
พระครู ป ระที ป ปั ญ ญาวิ สิ ฐ ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง เจ้ า อาวาส
วั ด ธรรมสินธุ์ โสภา ตั้งอยู่ ณ บ้านหนองทางบุญ หมู่ 7 ต�ำบลหนองน�้ำใส อ�ำเภอภาชี จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ.2499 โดยแม่เฒ่าพริ้ง หล�่ำโสภา ถวายที่ ดิ น 8 ไร่ เ ศษ ต่ อ มาพ่ อ เฒ่ า สาลี วนสิ น ธุ ์ ถวายที่ ดิ น เพิ่ ม อี ก ประมาณ 2 ไร่ โดย มี ผู้ ด� ำ เนิ น ก่ อ สร้ า งคื อ ผู ้ ใหญ่ กั ณ หา ขั น ธ์ คู ่ ขณะนั้ น ท่ า นเป็ น ผู ้ ใหญ่ บ ้ า นหมู ่ ที่ 7 ต� ำ บลหนองน�้ ำ ใส อ� ำ เภอภาชี จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา ปั จ จุ บั น วั ด ธรรมสิ น ธุ ์ โ สภา เป็ น วั ด ที่ 28 ของอ� ำ เภอภาชี และได้ รั บ พระราชทานวิ สุ ง คามสี ม าเมื่ อ วั น ที่ 15 มี น าคม พ.ศ.2515 130
ทีม่ าของนาม “วัดธรรมสินธุโ์ สภา” มาจาก ค� ำ แรก “ธรรม” เป็ น พระราชทิ น นามของ เจ้าคณะอ�ำเภอภาชีโดยท่านมีนามว่า พระครู สุ น ทรธรรมนิ วิ ฐ ส่ ว นค� ำ ว่ า “สิ น ธุ ์ ” เป็ น นามสกุลของคุณพ่อสาลี วนสินธุ์ ผู้ที่ถวาย ที่ดินสร้างวัด และ ค�ำว่า “โสภา” เป็นนามสกุล ของคุณโยมแม่พริ้ง หล�่ำโสภา ผู้ถวายที่ดิน สร้ า งวั ด รวมเป็ น ชื่ อว่ า วั ด ธรรมสิ น ธุ ์ โ สภา ตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมา
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 130
25/05/61 03:17:48 PM
นับตั้งแต่ แม่เฒ่าพริ้ง หล�่ำโสภา มีศรัทธา ตัง้ มัน่ ถวายทีด่ นิ เพือ่ สร้างวัด คณะกรรมการวัด ได้ดำ� เนินการสร้างวัด ตามกฎกระทรวงมหาดไทย โดยผู้ใหญ่กันหา ขันธ์คู่ ผู้ด�ำเนินการร่วมกับ ราชการฝ่ายบ้านเมือง และฝ่ายสงฆ์ ได้รับ อนุญาตให้สร้างวัดขึน้ มาได้ แต่ยงั ไม่มพี ระพุทธรูป ประจ�ำวัด หรือพระประธานเพือ่ สักการบูชา โดย ในการสร้างวัดสมัยนัน้ พระประธานหาได้ยากมาก เพราะว่ายังขาดผูม้ จี ติ ศรัทธา คณะกรรมการวัด ในสมัยนั้นจึงได้ปรึกษาหารือกัน มีผู้เสนอช่วย กันหา ในที่สุดจึงได้ตกลงกันว่าที่วัดโคกกรวด ต�ำบลระโสม อ�ำเภอภาชี จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นวัดที่เก่าแก่และเป็นวัดแรกของ อ�ำเภอภาชี ทีน่ นั่ มีพระพุทธรูปสมัยอยุธยาตอนปลาย ตัง้ อยู่ บริเวณลานวัด เป็นพระพุทธรูปเนือ้ หินปูนเก่าแก่ ปางสะดุง้ มารหรือเรียกกันอีกอย่างว่า ปางมารวิชยั ตอนแรกในขณะทีค่ ณะกรรมการวัดสมัยนัน้ จะน�ำองค์พระมาทีว่ ดั ธรรมสินธุโ์ สภาได้เกิดเหตุ ประหลาดใจเกิดขึ้น เพราะว่าได้ระดมแรงช่วย กันยกองค์พระแต่ปรากฏว่ายกเท่าไหร่กย็ กไม่ขนึ้ เพราะครั้งแรกที่ยกนั้นยังไม่ได้จุดธูปเทียนเพื่อ อาราธนาหรือบอกกล่าวสิ่งศักดิ์สิทธิ์ในสถานที่ นั้นๆ ให้ได้รับรู้รับทราบถึงความประสงค์หรือ
ความต้องการ เมื่อเกิดเหตุนี้ขึ้น คณะกรรมการ วัดทุกคนจึงได้จุดธูปเทียนอธิษฐานอาราธนา องค์ พ ระ เพื่ อ น� ำ ไปบู ช าประดิ ษ ฐานไว้ ที่ วัดธรรมสินธุโ์ สภา จึงได้ทำ� การยกขึน้ เป็นครัง้ ที่ 2 อย่างง่ายดายเป็นที่น่าอัศจรรย์เป็นอย่างมาก ทุกคนในที่นั้นส่งเสียงเฮกันยกใหญ่ เกิดความ ปลืม้ ใจ และได้แห่องค์พระมาท�ำการประดิษฐาน ไว้ ที่ วั ด ธรรมสิ น ธุ ์ โ สภา โดยท� ำ เป็ น เพิ ง และ ก่อแท่นเพื่อประดิษฐาน เนื่องด้วยในสมัยนั้นวัดยังไม่เจริญมีทุ่งนา ป่าหญ้าล้อมรอบวัด ผูค้ นในสมัยนัน้ เมือ่ ตกเวลา มืดค�่ำพากันออกหาจับกบเขียดในทุ่งนา และ ได้ละเมิดเข้ามาในเขตวัด ซึ่งเป็นเขตอภัยทาน พากันส่องไฟฉายหาจับกบเขียด แต่ได้เผลอส่อง ไฟฉายเข้าใส่ด้านหน้าพระพักตร์ขององค์พระ เก่าแก่องค์นนั้ ปรากฏว่าท่านได้สำ� แดงฤทธิเ์ ดช เปล่งแสงสีเขียวออกจากดวงตาของท่าน ท�ำให้ คนกลุ่มนั้น ผวาแตกตื่นหนีกระเจิงไม่เป็นทิศ ไม่เป็นทาง แต่องค์พระเก่าแก่องค์นไี้ ด้ถกู ย้ายไป ย้ายมาในบริเวณลานวัด ก็เพราะว่าตั้งตรงไหน ก็ถูกฟ้าผ่าท�ำให้เพิงที่คลุมเป็นหลังคากระจุย กระจายบ้าง ผ่ารอบๆ บริเวณบ้าง ท�ำการย้าย ถึง 5 ครั้งด้วยกัน พระครูประทีปปัญญาวิสิฐ
เจ้าอาวาสรูปปัจจุบนั มีความเห็นว่าต้องท�ำการ ก่อสร้างวิหารเพื่อประดิษฐานพระองค์เก่าแก่ องค์นั้นให้สมกับความศักดิ์สิทธิ์ของท่าน จึงได้ น�ำคณะศรัทธาอุบาสกอุบาสิกาชาววัด และ ญาติโยมผู้มีจิตศรัทธาก่อสร้างวิหารทรงไทย (คล้ายกับอุโบสถ)ขนาดใหญ่สวยงาม ด้านใน ของผนั ง วิ ห ารวาดรู ป ภาพอั น เป็ นวิ จิ ต รศิ ล ป์ พุ ท ธประวั ติ ข ององค์ พ ระสั ม มาสั ม พุ ท ธเจ้ า แล้วเสร็จเมือ่ ปี พ.ศ.2545 และท�ำพิธแี ห่อนั เชิญ องค์พระเก่าแก่เนื้อหินปูนขาวสวยงามสง่าขึ้น ประดิษฐานในวิหารเป็นพระประธานศักดิ์สิทธิ์ ประจ�ำวัด ขนานนามท่านว่า “หลวงพ่อขาว ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ” เป็ น พระพุ ท ธรู ป สมั ย อยุ ธ ยา ตอนปลายอายุเก่าแก่กว่า 400 ปี นั บ แต่ ที่ ไ ด้ อ าราธนาองค์ ห ลวงพ่ อ ขาว มาประดิ ษ ฐานอย่ า งถู ก ต้ อ งเหมาะสมแล้ ว การก่อสร้างด�ำเนินมาด้วยดีตลอด มีคณะศรัทธา จากญาติ โ ยมร่ ว มกั น บริ จ าคทรั พ ย์ รั บ เป็ น เจ้าภาพสร้างถาวรวัตถุ ภายในวัดอาทิเช่น กุฏสิ งฆ์ ศาลาการเปรียญ อุโบสถ ฌาปนสถาน ห้องน�้ำห้องสุขา มีการพัฒนามาโดยล�ำดับจนถึงปัจจุบนั
อุ โ บสถวั ด ธรรมสิ น ธุ ์ โ สภา ก่ อ ตั้ ง เมื่ อ ปี พ.ศ.2514
หลวงพ่ อ โตประสิ ท ธิ พ ร
ท�ำเนียบเจ้าอาวาส วิ ห ารหลวงพ่ อ ขาวศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ก่ อ ตั้ ง เมื่ อ ปี พ.ศ.2545
1. พระอธิการไฮ ฐิตธมฺโม 2. พระครูรัตนธรรมมารักษ์ (ฟุ้ง พูลมา) 3. พระครูประทีปปัญญาวิสิฐ (สมจิตร งามนัก)
พ.ศ.2506 - 2526 พ.ศ.2526 - 2546 พ.ศ.2547 - ปัจจุบัน AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 131
131
26/05/61 10:18:20 AM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วั ด โคกกลางศรี เ จริ ญ วั ด โคกกลางศรีเจริญ ตั้งอยู่เลขที่ 33 หมู่ที่ 5 ต�ำบลหนองน�้ำใส อ�ำเภอภาชี
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย สร้างขึ้นตั้งแต่ประมาณ พ.ศ.2399 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา พ.ศ.2405 มีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ 3 ไร่ 3 งาน 54 ตารางวา พื้นที่ต้ังวัดเป็นที่ราบ ขอเชิญพุทธศาสนิกชนร่วมท�ำบุญกุศล เจริญจิตตภาวนาที่วัดโคกกลางศรีเจริญทุกวัน เพื่อ ความพ้นทุกข์ ด้วยพระพุทธเจ้าเปรียบสิ่งที่ตรัสรู้มีมากเหมือนใบไม้บนต้น และทรงตรัสสอนเฉพาะ สิ่งที่ดับทุกข์ได้ ดังที่พระผู้มีพระภาคตรัสสอนพระภิกษุ โดยการถือใบประดู่ลาย 2 - 3 ใบด้วย ฝ่าพระหัตถ์ แล้วตรัสถามว่า ใบประดูล่ าย 2 - 3 ใบทีถ่ อื ด้วยฝ่ามือกับใบทีบ่ นต้น ไหนจะมากกว่ากัน? ภิกษุทั้งหลายกราบทูลพระองค์ว่า ใบประดู่ลาย 2 - 3 ใบที่พระผู้มีพระภาคทรงถือด้วยฝ่าพระหัตถ์ มีประมาณน้อยที่บนต้นมากกว่า พระเจ้าข้า 132
พระพุทธเจ้าตรัสว่า สิ่งที่เรารู้แล้วมิได้บอก เธอทั้งหลายมีมาก ก็เพราะเหตุไรเราจึงไม่บอก เพราะสิ่งนั้นไม่ประกอบด้วยประโยชน์ มิใช่ พรหมจรรย์ เ บื้ อ งต้ น ย่ อ มไม่ เ ป็ น ไปเพื่ อ ความดับทุกข์ เพราะเหตุนั้น เราจึงไม่บอก ดูกรภิกษุทั้งหลาย สิ่งอะไรเราได้บอกนี้คือทุกข์ นี้ทุกขสมุทัย นี้ทุกขนิโรธ นี้ทุกขนิโรธคามินี ปฏิปทา เหตุที่บอกเพราะสิ่งนั้นประกอบด้วย ประโยชน์ เป็นพรหมจรรย์เบื้องต้น ย่อมเป็น ไปเพื่อความหน่าย เพื่อนิพพาน เพราะฉะนั้น เราจึงบอก ดูกรภิกษุ ทั้งหลายเพราะฉะนั้น แหละ เธอทั้งหลายพึงกระท�ำความเพียรเพื่อรู้ ตามความเป็ น จริ ง ว่ า นี้ ทุ ก ข์ นี้ ทุ ก ขสมุ ทั ย นี้ทุกขนิโรธ นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา.
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 132
24/05/61 03:01:33 PM
HIST ORY OF BUDDH ISM
บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วั ด หนองเป้ า
พระอาจารย์ ธ รรมสาลี ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง เจ้ า อาวาส โทร 08-9523-6875
วัดหนองเป้า ตั้งอยู่บ้านหนองเป้า หมู่ที่1 ต�ำบลหนองน�้ำใส
อ�ำเภอภาชี จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มี ที่ ดิ น ตั้ ง วั ด เนื้ อ ที่ 11 ไร่ สร้ า งขึ้ น เป็ น วั ด นั บ ตั้ ง แต่ ป ระมาณ พ.ศ.2399 โดยมี น ายเปรม บริ จ าคที่ ดิ น ให้ เ ป็ น ที่ ส ร้ า งวั ด แต่ ยั ง มิ ไ ด้ แ ยกโฉนดโอนให้ วั ด ต่ อ มาที่ ดิ น แปลงดั ง กล่ า ว ตกมาเป็นของนายสิงห์ นางมาก และได้ตกมาเป็นของนางจันทร์ ฝ่าจันทร์ ก็ยังมิได้หักโอนมาเป็นของวัด วัดนี้ ได้รับพระราชทาน วิสุงคามสีมาวันที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2469
รุ่นมีกิน มีใช้
รุ่นจกบาตร
เหรียญจกบาตร รุ่นซื้อที่ดิน
ในอดี ต ที่ ผ ่ า นมา ต� ำ บลหนองน�้ ำใส อยู ่ ใ นอ� ำ เภออุ ทั ย และ ในกาลก่อน อ�ำเภอภาชีเป็นชุมทางรถไฟที่ส�ำคัญ และเป็นชุมทาง ของราษฎรที่ตัดมาพักเพื่อที่จะเดินทางไปภาคเหนือ, ภาคตะวันออก เฉียงเหนือ หรือเข้าสู่กรุงเทพมหานคร ต่อมาในปี พ.ศ.2479 ทาง ราชการได้เห็นความส�ำคัญของที่ท�ำการบ้านภาชี จึงรวมเขตความ ควบคุมดูแลของอ�ำเภออุทยั มีเขตรับผิดชอบ6 ต�ำบลเข้ามาในอ�ำเภอภาชี เนื่องจากบริเวณที่ตั้งที่เป็นชุมทางรถไฟบ้านภาชี จึงมีความส�ำคัญ ทางยุทธศาสตร์ ด้านการคมนาคม และการค้าขาย ส�ำหรับวัดหนองเป้า พื้นที่ตั้งวัดเป็นที่ราบ อาคารเสนาสนะต่างๆ มี อุโบสถกว้าง 6 เมตร ยาว 17 เมตร ก่ อ อิ ฐ ถื อ ปู น ศาลาการเปรี ย ญกว้ า ง 12 เมตร ยาว 15 เมตร กุฏิสงฆ์ จ�ำนวน 4 หลัง เป็นอาคารไม้ ส�ำหรับ ปูชนียวัตถุ มีพระประธานในอุโบสถ
อธิฐานจิต โดย หลวงพ่อรวย วัดตะโก ร่วมอนุโมทนาบุญ 10,936 บาท รับวัตถุมงคล 1 ชุด โทร. 08-9523-6875, 08-6986-5130
พระสิวลี มหาลาภ หนึ่งในสยาม สูง 14 เมตร AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 133
133
24/05/61 03:04:25 PM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
พระบรมธาตุคู่เมือง ลือเรื่องโบสถ์มหาอุตม์ พุทธมณฑลอยุธยา มหาบารมีหลวงพ่อรักษ์ ส�ำนักปฏิบัติธรรมประจ�ำจังหวัด วัดสุทธาวาส วิปัสสนา
วัดสุทธาวาส วิปัสสนา พุ ท ธมณฑลจั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา
พระภาวนาธรรมาภิ รั ก ษ์ วิ . (หลวงพ่ อ รั ก ษ์ อนาลโย) ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง เจ้ า อาวาส เจ้ า คณะต� ำ บลลาดบั ว หลวง
วั ด สุทธาวาส วิปัสสนา ตั้งอยู่เลขที่ 1 หมู่ 4 ต.ลาดบัวหลวง อ.ลาดบัวหลวง
จ.พระนครศรี อ ยุ ธ ยา สั ง กั ด คณะสงฆ์ ม หานิ ก าย เริ่ ม สร้ า งวั ด เมื่ อ พ.ศ.2465 โดยมี คุ ณ พ่ อ คล้ า ย และครอบครั ว เป็ น ผู ้ ริ เ ริ่ ม ถวายที่ ดิ น สร้ า งวั ด และน� ำ พาสาธุ ช นชาวบ้ า น ร่วมกันก่อสร้างในสมัยนั้น ซึ่งเดิมชื่อว่า “วัดตะพังโคลน” พื้นที่ตั้งวัดเป็นสถานที่ราบลุ่ม กลางท้ อ งทุ ่ ง นา เดิ ม ที่ วั ด แห่ ง นี้ มี เ นื้ อ ที่ ดิ น เดิ ม จ� ำ นวน 22 ไร่ และ ที่ ธ รณี ส งฆ์ 16 ไร่ ในการต่ อ มาสมั ย พระภาวนาธรรมาภิ รั ก ษ์ วิ . (หลวงพ่ อ รั ก ษ์ อนาลโย) เป็ น เจ้ า อาวาส ได้ด�ำเนินการบุกเบิกพัฒนาวัดจากวัดเก่าทรุดโทรม ให้มีความเจริญขึ้นเป็นล�ำดับ จนได้ รั บ พระราชทานวิ สุ ง คามสี ม าอุ โ บสถหลั ง ใหม่ เมื่ อ วั น ที่ 28 มิ ถุ น ายน พ.ศ.2557 ต่ อ มา ท่านได้พัฒนาวัด ซื้อที่ดินขยายเขตวัด เปิดเป็นสถานที่ปฏิบัติธรรม ก่อสร้างพุทธมณฑล จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา ได้ น� ำ พาพุ ท ธศาสนิ ก ชนศิ ษ ย์ ซื้ อ ที่ ดิ น ถวายวั ด เพิ่ ม ขึ้ น จนปัจจุบันมีเนื้อที่ดิน จ�ำนวน 161 ไร่ 3 งาน 70 ตารางวา 134
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 134
25/05/61 10:58:03 AM
กราบพระบรมธาตุศักดิ์สิทธิ์ คู่เมืองลาดบัวหลวง พระบรมสารี ริ ก ธาตุ เรี ย กโดยย่ อ ว่ า พระบรมธาตุ คือ พระอัฐิของพระพุทธเจ้า ซึ่ง พระองค์ได้ทรงอธิษฐานไว้ก่อนปรินิพพาน ให้ คงเหลื อ ไว้ ห ลั ง จากการถวายพระเพลิ ง พระพุทธสรีระ เพื่อเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจ ของพุทธบริษัท พระบรมธาตุมีสองลักษณะคือ พระบรมธาตุทไี่ ม่แตกกระจาย และทีแ่ ตกกระจาย มี ข นาดเล็ ก สุ ด ประมาณเมล็ ด พั น ธ์ ผั ก กาด ชาวพุทธเชื่อว่าพระบรมสารีริกธาตุ เป็นวัตถุ แทนองค์ พ ระบรมศาสดาที่ ท รงคุ ณ ค่ า สู ง สุ ด ในศาสนาพุ ท ธ จึ ง นิ ย มกระท� ำ การบู ช าองค์ พระบรมสารี ริกธาตุโดยประการต่า งๆ เช่น การสร้างเจดีย์ เพือ่ ประดิษฐานพระธาตุไว้สกั การะ
โดยเชื่อว่ามีอานิสงส์ประดุจได้กระท�ำการบูชา แด่พระพุทธเจ้าเมื่อยังทรงพระชนม์อยู่ ส� ำ หรั บ “พระบร มสารี ริ ก ธาตุ ” ที่ ประดิษฐานเป็นสิ่งสักการะคู่เมืองของอ�ำเภอ ลาดบัวหลวง มีลักษณะสัณฐานขนาดกลาง คือ สัณฐานเท่าเมล็ดข้าวสารหัก จ�ำนวน 9 พระองค์ โดยได้ รั บ เมตตาประทานมาจาก สมเด็ จ พระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหา สังฆปริณายก ทรงประทานให้กบั หลวงพ่อรักษ์ เจ้าอาวาสวัดสุทธาวาสวิปัสสนา เมื่อวันพุธที่ 19 พฤษภาคม 2547 เวลา 10.30 น. เพื่อ เป็นสิ่งสักการะเป็นจ�ำอ�ำเภอลาดบัวหลวง
พุทธศาสนิกชนเดินทางมาร่วมท�ำบุญที่วัด AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 135
135
25/05/61 10:58:15 AM
อุโบสถมหาอุตม์ หนึ่งในสยามประเทศ เสน่ห์มนต์ขลัง ทุ่งลาดบัวหลวง เมืองอยุธยา อุโบสถ ถือเป็นอาคารเสนาสนะที่ส�ำคัญ ภายในวัด เนือ่ งจากเป็นสถานทีท่ พี่ ระภิกษุสงฆ์ ใช้ท�ำสังฆกรรม ซึ่งแต่เดิมในการท�ำสังฆกรรม ของพระภิกษุสงฆ์ใช้เพียงพื้นที่โล่งๆ ที่ก�ำหนด ขอบเขตพืน้ ทีส่ งั ฆกรรม โดยการก�ำหนดต�ำแหน่ง “สีมา” เท่านั้น แต่ในปัจจุบันจากการมีผู้บวช มากขึน้ อีกทัง้ ภายในพระอุโบสถมักประดิษฐาน พระประธานที่เป็นพระพุทธรูปองค์ส�ำคัญๆ ท� ำ ให้ มี ผู ้ ม าสั ก การบู ช าและร่ ว มท� ำ บุ ญ เป็ น จ�ำนวนมาก อุโบสถจึงถูกสร้างขึน้ เป็นอาคารถาวร และมักมีการประดับตกแต่งอย่างสวยงาม ส� ำ หรั บ อุ โ บสถมหาอุ ต ม์ วั ด สุ ท ธาวาส วิ ป ั ส สนา มี ป ระวั ติ ก ารสร้ า งขึ้ น เมื่ อ ปี พ.ศ. 2547 โดยหลักการสร้างโบสถ์มหาอุตม์ มีประตูทางด้านเข้าออกเพียงบานเดียวและ ไม่ มี ห น้ า ต่ า ง ใช้ ศิ ล ปะประดั บ ตกแต่ ง ด้ ว ย ลวดลายปูนปัน้ เป็นเทพเทวดา สถาปัตยกรรมนัน้ อุโบสถมหาอุตม์ จะมีลักษณะพิเศษโดดเด่น 136
เป็นเอกลักษณ์กว่าอุโบสถทั่วไป คือ มีประตู และอักขระเลขยันต์ ซึ่งเป็นอักษรโบราณทาง ประวัตศิ าสตร์ และอักขระขอม พระธรรมค�ำสอน ของพระพุทธเจ้า ที่มีคุณวิเศษมีพุทธคุณครอบ จั ก รวาล มาปั ้ น ตกแต่ ง ตามหน้ า บั น และ ตามซุ้มต่างๆ โดยรอบของตัวอุโบสถ อี ก ทั้ ง มี ค วามหมายของ ค� ำ ว่ า “อุ ต ม์ ” กล่าวคือ ความหมายทางอักษรศาสตร์ (อุตมะ) แปลตรงตัว แปลว่า ความอุดมสมบูรณ์ โบราณ จึ ง บั น ทึ ก หลั ก ฐานเป็ น ต� ำ นานสื บ กล่ า วขาน กันมาว่า “บุคคลใด ที่ได้ไปกราบไหว้ขอพร พระประธาน ในอุโบสถมหาอุตม์ บุคคลนั้นจะ อุ ด มสมบู ร ณ์ ด ้ ว ยโชคลาภนานั ป การเป็ น ต้ น อีกประการส�ำคัญยังความเชื่อเกี่ยวกับอุโบสถ มหาอุ ต ม์ ในครั้ ง โบราณกาลนั้ น เชื่ อ กั นว่ า อุโบสถมหาอุตม์ใช้เป็นสถานที่ส�ำคัญในการ ปลุ ก เสก พระเครื่ อ งรุ ่ น ใด เมื่ อ ได้ ป ลุ ก เสก ภายในอุโบสถมหาอุตม์ พระคาถาและพุทธาคม
อันศักดิ์สิทธิ์ต่างๆ จะไม่สามารถเล็ดลอดไป ภายนอกได้จงึ ท�ำให้ประจุพระคาถาและพุทธาคม ต่างๆ ลงในวัตถุมงคลได้อย่างเต็มที่” ภายในอุ โ บสถมี ปู ช นี ย วั ต ถุ ที่ ส� ำ คั ญ คื อ “พระพุทธมุนี” ประดิษฐานเป็นองค์ในประธาน อุโบสถ ขนาดหน้าตัก 99 นิ้ว เนื้อทองสัมฤทธิ์ ลงรักปิดทองค�ำ เป็นทีย่ ดึ เหนีย่ วจิตใจ กราบไหว้ ขอพรของพุทธศาสนิกชนทั่วไปเป็นอย่างมาก ในแต่ละวันจะมีสาธุชนจากทั่วสารทิศเดินทาง มากราบไหว้ขอพร ไม่ขาดสาย กล่าวถึงการก่อสร้างอุโบสถมหาอุตม์หลังนี้ โดยเจตนาการริเริม่ ของ “หลวงพ่อรักษ์ อนาลโย” เจ้ า อาวาสวั ด สุ ท ธาวาสวิ ป ั ส สนา เป็ น ผู ้ น� ำ ศรัทธาพุทธศาสนิกชนสร้างบุญ สร้างกุศลบารมี เพื่อน้อมถวายเป็นพุทธบูชาในบวรพระพุทธ ศาสนา ใช้งบประมาณในการสร้างทั้งสิ้น 35 ล้านบาท
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 136
25/05/61 10:58:28 AM
พุทธมณฑล
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา หนึ่งเดียวในจังหวัด เนือ่ งจากทางวัดสุทธาวาส วิปสั สนา ได้รบั การพิจารณาแต่งตั้งจาก จ.พระนครศรีอยุธยา ให้ ด� ำ เนิ น การจั ด สร้ า งพุ ท ธมณฑลประจ� ำ จ.พระนครศรีอยุธยา โดยมี “หลวงพ่อรักษ์ อนาลโย” เป็นประธานในการสร้างฯ เพื่อให้ เป็นสถานที่ประกอบพิธีทางพระพุทธศาสนา เป็นสถานที่เผยแผ่หลักธรรมและเป็นสถานที่ พักผ่อนที่ร่มรื่น มีความสงบ มีความสุข เป็น แหล่งเรียนรู้ของจังหวัด ปั จ จุ บั น นั้ น พุ ท ธมณฑลประจ� ำ จั ง หวั ด พระนครศรีอยุธยา ตั้งอยู่ ณ วัดสุทธาวาส วิปัสสนา อ.ลาดบัวหลวง จ.พระนครศรีอยุธยา มีเนื้อทั้งหมด 161 ไร่ 3 งาน 70 ตารางวา โดยแบ่ ง เป็ น สถานที่ เ ขตพุ ท ธมณฑลอยุ ธ ยา จ�ำนวน 80 ไร่ ภายในเขตพุทธมณฑลแบ่งเป็น สถานที่ ป ลู ก สวนป่ า ปฏิ บั ติ ธ รรม น� ำ พา พุทธศาสนาสนิกชน เข้าพุทธมณฑล ปฏิบตั ธิ รรม ถือศีล 5 ศีล 8 นุง่ ขาวห่มขาวตลอดทุกเดือนทัง้ ปี
สถานที่ปฏิบัติธรรม ท่ามกลางธรรมชาติ วัดสุทธาวาส วิปสั สนา เป็นส�ำนักปฏิบตั ธิ รรม ประจ�ำจังหวัดพระนครศรีอยุธยา แห่งที่ 13 และ เป็นหน่วยอบรมประชาชนประจ�ำต�ำบล ลาดบัวหลวง ได้จัดให้มีการ ถือศีลปฏิบัติธรรม สอนกรรมฐานเป็ น ประจ� ำ ตลอดทุ กวั น เสาร์ อาทิตย์ ทุกเดือนตลอดทัง้ ปี รวมทัง้ จัดกิจกรรม วันส�ำคัญทางพระพุทธศาสนา
สมเด็จพระศากยมุนีพุทธชยันตีศรีอยุธยา ( หลวงพ่อก้าวหน้า ) พระประธานพุทธมณฑล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 137
137
25/05/61 10:58:41 AM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
WAT
Sutthawas Vipassana Phra Phawana Dhammapirak Wi (Luang Por Rak Analayo) Lat Bua Luang sub-district monk dean, the abbot of this temple.
Invaluable Buddha’s relics, well known Mahaut Ubosot, Ayutthaya Buddhist province The great virtue of Luang Por Rak, provincial dharma-practicing institute, Wat Sutthawas Vipassana “Know your duty, do your work, does not interfere with others duty, perform good deed for goodness, create virtue and united”. By Luang Por Chao khun Rak.
Contact Wat Sutthawas Vipassana via the following numbers: Office Tel.096-4539415, 096-8964549 Office of small Buddha image issue Tel.099-7962464 Wat Sutthawas Vipassana is located at 1 village no.4, Lat Bua Luang sub-district, Lat Bua Luang district, Ayutthaya province. It belongs to Maha Nikai clergy. It was built in 2465 B.E. by Mr.Klai and his family who were the first group that offered their land for building temple and gathered other virtuous men to jointly build this temple which its former name was “Wat Tapang Khlon”. The land where this 138
temple located is low plain, at the middle of rice field. Formerly, scale of this temple’s land was 8.8 acres and monastery land 6.4 acres. After that, when Phra Phawana Dhammarak Wi. (Luang Por Rak Analayo) became abbot, he had worked on developing this temple from dilapidated to prosperous state until it was granted Wisungkhamsima” (Land granted from Royal family to build temple or other
religious buildings) for new ubosot (Buddhist sanctuary) on 28 June 2557 B.E. Then, he bought land to expand an area of this temple in order to open dhamma retreat and establish Buddhist province at Ayutthaya. Moreover, he also led his Buddhist disciples to buy and offer land to temple, until now, the scale of this temple’s land is 64.40 acres and 280 square meters.
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 138
25/05/61 10:58:58 AM
Maha Utm is the one of enchanted mystic ubosot in Lat Bua Luang, Phra Nakhon Si Ayutthaya, Thailand. “Buddha’s relics” is enshrined at the Phra Borommathat which is the respectable sanctity of Lat Bua Luang district. Its shape is medium size of broken rice grain and the total amount are 9 relics which was kindly granted from Somdet Phra Yan nasangwon Somdet Phra Sangkharat Sakonlamahasangkhaparinayok to Luang Por Rak, abbot of Wat Sutthawas Vipassana on 19 May 2547 B.E. there is attractive and magical Mahaut ubosot at this temple, the only one in Thailand which was founded in 2547 B.E. Refer to the principle of building Mahaut ubosot, it has only one door and no window, decorated with stucco in angelic pattern. On architectural aspect, Mahaut ubosot has a unique and specific appearance not like general ubosot which as follows: it has door and occult number which is historical ancient alphabet. In addition, Khmer alphabet about Lord Buddha’s doctrine that has universal and magnificent Buddha’s grace which is decorated on pediment and door facade around this ubosot.
The meaning of word “Ut” in liberal arts meaning (Utama) means abundant. Refer to ancient record, there is a renowned legend from the past which is “Anyone who pay respect to principle Buddha image in Mahaut ubosot, that person will be blessed with various fortune abundantly and so on”. There are important sacred object inside ubosot which is “Phra Buddha Muni”, the principle Buddha image of this temple that placed in ubosot. It is a spiritual anchor and many Buddhists from everywhere usually come to this temple to pay their respect to this Buddha statue everyday continuously. The construction of this Mahaut ubosot was started from initiative intention of “Luang Por Rak Analayo” abbot of Wat Sutthawas Vipassana, leader of faithful Buddhists who lead them to make merit and do meritorious deed for offer this offerings to Buddha in the glorious creed of Buddhism which the total budget of construction is 35 million baht.
BUDDHIST DIOCESE Ayutthaya province, Only One in Ayutthaya
Due to the fact that Wat Sutthawas Vipassana was appointed by Ayutthaya province to manage the establishment of Ayutthaya Buddhist province for the purpose of make this place to be a place for performing Buddhist ceremony, propagating dharmic principle, pleasant and peaceful and delightful resting area and learning center of Ayutthaya which the leader of this establishment is “Luang Por Rak Analayo”. At present, Buddhist province of Ayutthaya is located at Wat Sutthawas Vipassana, Lat Bua Luang district, Ayutthaya province. The scale of this temple’s land is 64.40 acres and 280 square meters which an area of Ayutthaya Buddhist province is 32 acres. There is an afforestation inside area of Buddhist province which for make this place as a dhamma retreat and lead Buddhists to this place in order to practice the dharma, observe the five and eight commandments of Buddhism while wearing white clothes and it is a place where activity of Buddhist holy day has been held. In addition, this Buddhist province is open every month and all the year round. AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 139
139
25/05/61 10:59:10 AM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดโพธิ์ประสิทธิ์
พระครู อ าทรพั ฒ นานุ กิ จ ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง เจ้ า อาวาส
วัดโพธิ์ประสิทธิ์ เริ่มสร้างเมื่อปี พ.ศ.2514 โดยมีนายโพธิ์ และ นางล้อม ปิ่นทอง
เป็ น ผู ้ บ ริ จ าคที่ ดิ น จ� ำ นวน 10 ไร่ และมี ผู้ ใ หญ่ ท องใบ เนื่ อ งเสวก ซึ่ ง เป็ น ผู ้ ใ หญ่ บ ้ า น เป็ น ผู ้ น� ำ ริ เ ริ่ ม ท� ำ การก่ อ สร้ า งขึ้ น เป็ น ส� ำ นั ก สงฆ์ ต่ อ มาทางวั ด ซื้ อ ที่ ดิ น เพิ่ ม ขึ้ น อี ก 5 ไร่ รวมแล้ ว จ� ำ นวน 15 ไร่ ได้ รั บ พระราชทานวิ สุ ง คามสี ม าเมื่ อ ปี พ.ศ.2520 ประกาศ ณ วั น ที่ 3 กุ ม ภาพั น ธ์ พ.ศ.2521 เป็ น วั ด ที่ ส มบู ร ณ์ แ บบ มี อุ โ บสถ กุ ฏิ ศาลาการเปรี ย ญ หอสวดมนต์ หอฉั น ศาลาธรรมสั ง เวช เมรุ ศาลาเอนกประสงค์ ขอเชิญพุทธศาสนิกชนท�ำบุญกุศลที่วัดโพธิ์ประสิทธิ์ได้ทุกวัน ที่อยู่ 35/2 ม.3 ต.พระยาบันลือ อ.ลาดบัวหลวง จ.พระนครศรีอยุธยา โทรศัพท์ 08-9212-8756 140
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 140
24/05/61 04:24:19 PM
วั ด โพธิ์ ป ระสิ ท ธิ์ มี พ ระพุ ท ธรู ป ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ป ระจ� ำ วั ด หลวงพ่ อ โพธิ์ ท อง เป็ น ที่ เ คารพบู ช า ของชาวบ้ า นมากมาย เชิ ญ กราบไหว้ บู ช าขอพรได้ ทุ ก วั น หลวงพ่ อ โพธิ์ ท องประดิ ษ ฐานในวิ ห าร
ต้นโพธิ์เป็นต้นไม้ที่มีความส�ำคัญอย่างยิ่ง ในพระพุทธศาสนา เพราะเป็นต้นไม้อันเป็น สถานทีป่ ระทับและตรัสรูบ้ รรลุพระสัมโพธิญาณ ของพระพุทธเจ้า ด้วยสาเหตุนี้ต้นโพธิ์จึงเป็น พรรณไม้ที่เคารพนับถือของพุทธศาสนิกชนมา ตั้งแต่สมัยพุทธกาล คือ เป็นสถานที่ตรัสรู้ ณ พุทธคยา ของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ตรัสรู้ ซึง่ มีชอื่ เรียกโดยทัว่ ไปว่าต้นพระศรีมหาโพธิ์ ส่วนอีกครัง้ หนึง่ คือต้นอานันทโพธิ์ ณ วัดเชตวัน มหาวิ ห าร ซึ่ ง ต้ น โพธิ์ ดั ง กล่ า วยั ง คงปรากฏ ให้เห็นอยู่ในปัจจุบัน “ต้ น พระศรี ม หาโพธิ์ ” ที่ ยั ง คงปรากฏ ให้เห็นอยู่ในปัจจุบันมีอยู่สามต้นด้วยกัน ได้แก่ ต้นพระศรีมหาโพธิ์อันเป็นสถานที่ตรัสรู้ของ พระพุทธเจ้า ต้นอานันทโพธิ์ ณ เมืองอนุราธปุระ และต้นอานันทโพธิ์ ณ วัดพระเชตวันมหาวิหาร อย่างไรก็ตามต้นโพธิ์พระเจ้าอโศกแห่งเมือง อนุราธปุระน�ำหน่อมาปลูกจากพุทธคยา ได้รบั การ เคารพสักการะและบูชามาอย่างยาวนานเป็นเวลา กว่า 2000 ปีแล้ว แตกต่างจากต้นพระศรีมหาโพธิ์ ในพุทธคยาที่ถูกโค่นและล้มลงตามธรรมชาติ หลายครั้ ง และต้ น อานันทโพธิ์ที่วัดเชตวันที่ ขาดการดู แ ลจากพุ ท ธศาสนิ ก ชนหลั ง จากที่ พระพุทธศาสนาเสื่อมลงในประเทศอินเดีย ต้นโพธิ์ที่ชาวลังกาเรียกว่า “Bohd Tree” หรือชาวอินเดียเรียกว่า “Pipal” มีความส�ำคัญ ประการแรกเมื่อครั้งที่เจ้าชายสิทธัตถะบ�ำเพ็ญ เพียรเพื่อค้นหาสัจธรรม พระองค์ทรงเลือกนั่ง ประทับใต้ต้นโพธิ์ จนกระทั่งพระองค์ได้ตรัสรู้ บรรลุพระสัมมาสัมโพธิญาณ เมือ่ วันเพ็ญเดือนหก คืออริยสัจ 4 อันประกอบไปด้วย ทุกข์ สมุทัย นิโรธ และมรรค อันเป็นแนวทางการดับทุกข์ ของชีวิตและจิตใจ ประกอบกับการแก้ไขปัญหา อย่างมีระบบ มีเหตุผล และรอบด้าน กล่าวกันว่าต้นโพธิ์ที่พระพุทธเจ้าประทับ เพื่อรวบรวมจิตของพระองค์เพื่อให้บรรลุเข้าถึง สัจธรรมนั้นแม้จะได้ถูกท�ำลายไปแล้ว แต่ด้วย บุญญาธิการของพระองค์ เมือ่ มีผใู้ ดน�ำน�ำ้ นมโค ไปรดที่รากจะเกิดแขนงแตกแยกออกมาและ มีชีวิตอยู่ต่อไป เมื่อตายแล้ว ก็จะแตกหน่อ ออกเพิม่ จนในปัจจุบนั ถือได้วา่ ต้นทีเ่ หลืออยูน่ นั้ เป็นช่วงที่สามแล้ว ในพุทธคยา ประเทศอินเดีย
AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 141
141
24/05/61 04:24:36 PM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดบางนมโค
พระครู สุ วั จ ริ ย าภรณ์ สุ ว โจ (หลวงพ่ อ ยงค์ ) ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง เจ้ า อาวาส
วัดบางนมโค ตั้งอยู่ท่ี ต�ำบลบางนมโค อ�ำเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
เป็นวัดที่มีชื่อเสียงมาก เนื่องจากเป็นวัดที่ หลวงพ่อปาน โสนันโท ท่านจ�ำพรรษาอยู่ ซึ่งท่านได้มรณภาพไปนานแล้ว แต่ชื่อเสียงและคุณงามความดีของท่าน ยังอยู่กับ ลู ก หลานชาวจั ง หวั ด อยุ ธ ยาและชาวพุ ท ธโดยทั่ ว ไป วั ด บางนมโคมี เ นื้ อ ที่ ทั้ ง หมด 24 ไร่ 21 วา 3 งาน 142
วัดบางนมโคนี้ สร้างขึน้ มาตัง้ แต่เมือ่ ไรไม่ปรากฏ หลักฐานชัดเจน บางท่านก็ว่ามีในสมัยกรุงศรีอยุธยา ตอนปลาย เดิมชื่อ “วัดนมโค” ครั้นเมื่อ พ.ศ.2310 ในคราวทีค่ วันแห่งศึกสงครามก�ำลังรุมล้อมกรุงศรีอยุธยา พม่าข้าศึกได้มาตั้งค่ายหนึ่งขึ้นที่ต�ำบลสีกุก ห่างจาก วัด บางนมโค ซึ่ง ย่านวัด บางนมโคนี้มีการเลี้ยงวัว มากกว่าที่อื่นพม่า ก็ได้ถือโอกาสมากวาดต้อนเอา วัว ควาย จากย่านบางนมโคไปเป็นเสบียงเลีย้ งกองทัพ ในที่ สุ ด กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยาก็ เ สี ย แก่ พ ม่ า บ้ า นเมื อ ง ระส�่ำระสาย วัดบางนมโค จึงทรุดโทรมไปบ้างตาม กาลเวลา ต่อมาก็ได้มีการซ่อมแซมขึ้นใหม่ ก็ยังมีการ เลี้ยงโคกันอยู่อีกมากมาย ชาวบ้านจึงเรียกติดปากว่า วัดบางนมโค
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 142
25/05/61 05:14:37 PM
กราบหลวงพ่อปาน วัดบางนมโค พระเกจิอาจารย์แห่งอยุธยาที่มีชื่อเสียงอันดับต้นๆ ของประเทศ AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 143
143
25/05/61 05:14:47 PM
ประวัติและปฏิปทา
พระครูวหิ ารกิจจานุการ (ปาน โสนนฺโท) หลวงพ่อปาน วัดบางนมโค (16 กรกฎาคม พ.ศ.2418 - 26 กรกฎาคม พ.ศ.2481) เป็น พระเกจิอาจารย์ชื่อดังแห่ง พระนครศรีอยุธยา ท่ า นเป็ น เจ้ า อาวาสวั ด บางนมโครู ป ที่ 3 ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดบางนมโคระหว่างปี พ.ศ.2478 จนถึ ง ปี พ.ศ.2481 ท่ า นเป็ น พระอริ ย สงฆ์ ท รงอภิ ญ ญารู ป หนึ่ ง แม้ ว ่ า จะ มรณภาพไปนานแล้วก็ตาม ชื่อเสียงของท่าน ยิ่งเป็นที่รู้จัก ในบรรดานักสะสมพระเครื่อง ทัง้ หลาย และการสร้างพระของท่านก็ไม่เหมือน กับวัดอืน่ คือท่านมักจะสร้างเป็นรูปพระพุทธเจ้า อยู่เหนือสัตว์พาหนะอันมี ครุฑ หนุมาน เม่น ไก่ นก และปลา เป็นต้น พระครูวหิ ารกิจจานุการ หรือ หลวงพ่อปาน โสนันโท เกิดวันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ.2418 ตรงกั บ รั ช กาลของพระบาทสมเด็ จ พระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ณ บ้านต�ำบลบางนมโค อ�ำเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็น บุตรของ นายสะอาด และ นางอิ่ม สุทธาวงศ์ ต่ อ มาในปี พ.ศ.2439 ท่ า นอุ ป สมบทเป็ น พระภิกษุ ณ พัทธสีมา วัดบางปลาหมอ โดยมี หลวงพ่อสุน่ วัดบางปลาหมอ เป็นพระอุปชั ฌาย์ พระอาจารย์จ้อย วัดบ้านแพน เป็นพระกรรม วาจาจารย์ พระอาจารย์อุ่ม วัดสุธาโภชน์ เป็น พระอนุ ส าวนาจารย์ ได้ รั บ ฉายาจากพระ อุปัชฌาย์ว่า โสนันโท ต่อมาท่านได้ศึกษาและ ปฏิบัติธรรมอยู่กับหลวงพ่อสุ่นพอสมควรแล้ว จึ ง ได้ เ ดิ น ทางไปศึ ก ษาพระปริ ยั ติ ธ รรม ณ วั ด สระเกศ กรุ ง เทพฯ และวั ด เจ้ า เจ็ ด ใน พระนครศรีอยุธยาเรียนแพทย์แผนโบราณจาก วัดสังเวชฯศึกษาเพิ่มเติมกับ หลวงพ่อเนียม วัดน้อย และ พระอาจารย์โหน่ง อิณฑสุวัณโณ อดีตเจ้าอาวาสวัดคลองมะดันเรียนวิชาสร้าง พระเครื่องดินจากชีปะขาว เรียนการปลุกเสก พระเครื่ อ งและเป่ า ยั น ต์ เ กราะเพชรจาก อาจารย์แจง สวรรคโลก ได้รับพระคาถาปัจเจก โพธิ สั ต ว์ ม าจากครู ผ้ึ ง ที่ น ครศรี ธ รรมราช หลังจากนั้น ท่านจึงได้มาอยู่ที่วัดบางนมโค และได้รับพระราชทานสมณศักดิ์เป็น พระครู วิหารกิจจานุการ 144
กิ จ วั ต รของท่ า นก็ คื อ หลั ง จากท่ า นได้ ฉั น ภั ต ตาหารเพลแล้ ว ก็ ส งเคราะห์ ช าวบ้ า น ตลอดทั้งวัน มีการท�ำน�้ำมนต์เพื่อรักษาคนไข้ รวมทั้งผู้ที่ถูกกระท�ำคุณไสยด้วย หลวงพ่อปาน ละสังขารเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ.2481 ตรงกับรัชกาลของพระบาทสมเด็จพระปรเมน ทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร รวมสิริอายุได้ 63 ปี 42 พรรษา เหลือแต่มรดก ทีล่ ำ�้ ค่า เช่น พระเครือ่ งดินเผา ผ้ายันต์เกราะเพชร ผ้ายันต์ชนิดต่างๆ และพระคาถาปัจเจกโพธิสตั ว์ มอบให้แก่ศษิ ย์สบื ไป ลูกศิษย์ของท่าน ทีส่ บื ทอด วัดบางนมโคต่อจากท่านก็คอื หลวงพ่อเล็ก เกสโร เจ้าอาวาสรูปที่ 4 ของวัดบางนมโค บารมีของหลวงพ่อปานเป็นที่เลื่อมใสของ พระภิกษุสงฆ์และประชาชนในอดีตมากมาย ด้วยท่านท�ำนุบำ� รุงวัดวาอารามในเขตอ�ำเภอเสนา และอ� ำ เภอใกล้ เ คี ย งหลายวั ด ประชาชน ผู้เดือดร้อนเจ็บไข้ได้ป่วยด้วยโรคภัยธรรมดา หรือ โดนคุณไสย ผีเข้า หากมาหาหลวงพ่อปาน เป็ น ต้ อ งหายทุ ก รายไป แม้ ก ระทั่ ง โรคห่ า (อหิวาตกโรค) ซึง่ ฆ่าคนในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ไปอย่ า งมากมาย ในสมั ย นั้ น แต่ ม าถึ ง เขต ต�ำบลบางนมโค กลับไม่มีโรคห่าระบาดเหมือน ในพื้ น ที่ ต� ำ บลอื่ น ๆ เนื่ อ งจากหลวงพ่ อ ปาน ท่านรักษาได้ทันท่วงที ทุกคนไป จนชาวบ้าน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ขนานนามท่านว่า “พระหมอหลวงพ่อปาน”
นอกจากคุ ณ งามความดี ท่ี ท ่ า นได้ ช ่ ว ย ชาวบ้านและท�ำนุบ�ำรุงศาสนาแล้ว สิ่งที่ท่าน ได้ ส ร้ า งไว้ ใ ห้ เ ป็ น มรดกตกทอดถึ ง ลู ก หลาน ปัจจุบันคือ วัตถุมงคล พระเครื่องเนื้อดินเผา อุดด้วยผงอิทธิเจของหลวงพ่อปาน (ผงอิทธิเจ คือ หนึ่งในผงวิเศษ 5 ประการ ประกอบด้วย ผงอิทธิเจ ผงปถมัง ผงมหาราช ผงตรีสิงเห และผงพระพุทธคุณ) ซึ่งเป็นรุ่นเดียวที่ท ่าน สร้างขึ้นด้วยตัวท่านเองและปลุกเสกเอง ซึ่ง ท่านได้วิชาการสร้างพระพิมพ์ต่างๆ เหล่านี้ มาจาก ชีปะขาว เป็นพระพิมพ์ที่ไม่เหมือน พระพิมพ์ใดๆ ในอดีต
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 144
25/05/61 05:16:35 PM
แม้วนั นี้ หลวงพ่อปานละสังขารไปนานแล้ว แต่ทุกท่านที่มาเที่ยวอยุธยา สามารถเดินทาง มากราบหลวงพ่อปานพระเกจิอาจารย์แห่งอยุธยา ที่มีชื่อเสียงอันดับต้นๆ ของประเทศได้ทุกวัน เมื่ อ ถึ ง วั ด สถานที่ จ อดรถนั้ น กว้ า งขวาง จอดรถสะดวกสบาย ร้านค้า ร้านน�ำ้ ดืม่ มีหลายร้าน ซึ่งบริเวณที่จอดรถก็เห็นมณฑปหลวงพ่อปาน ซึ่งท่านสามารถเข้าไปท�ำบุญใส่ในตู้ และน�ำ ธูป เทียน ทอง ดอกไม้ เพือ่ น�ำมากราบสักการะ หลวงพ่อปานวัดบางนมโคในมณฑป ภายในบริเวณวัดยังมีตน้ ไม้ใหญ่อยูส่ องต้น
ด้านหน้ามณฑป เป็นต้นตะเคียนคู่ ซึง่ ในอดีตนัน้ ทางวัดเคยจะท�ำการโค่นต้นตะเคียนทั้งสองต้น แต่มีหญิงสาวมาเข้าฝันหลวงพ่อปาน ขออย่า ได้โค่นต้นตะเคียนคู่นี้เลย เนื่องจากจะท�ำให้ ไม่มีที่อยู่อาศัย หลวงพ่อปานจึงสั่งห้ามโค่น ต้นตะเคียนคูน่ ี้ ซึง่ ทัง้ สองต้นก็อยูค่ วู่ ดั บางนมโค มานานเป็นร้อยปี นับเป็นความเมตตาต่อทุกชีวติ ทุกภพภูมิอันไม่มีประมาณของหลวงพ่อปาน แห่งวัดบางนมโค เมื่ อ ท� ำ บุ ญ กราบไหว้ พ ระเรี ย บร้ อ ยแล้ ว ท่านสามารถท�ำทานได้โดยด้านหน้าวัดจะเป็น
ท่าน�้ำ ติดล�ำคลองหน้าวัด ซึ่งเป็นเขตอภัยทาน มีปลามากมายอาศัยอยู่บริเวณหน้าวัด ท่าน สามารถให้ อ าหารปลาในคลองหน้ า วั ด ได้ นอกจากนี้ก็สามารถไปไหว้พระในโบสถ์ ซึ่งอยู่ ด้านหลังมณฑปหลวงพ่อปาน ภายในโบสถ์ ยังมีช่องทางลงไปด้านล่าง ซึ่งเปรียบเสมือน นรก มีภาพวาดนรก ให้ท่านชมในโบสถ์ เป็น อนุ ส ติ ใ ห้ หั น มาท� ำ ความดี แ ละฝึ ก ปฏิ บั ติ ขัดเกลาตนให้พ้นอบายกันให้มากๆ เพื่อไปสู่ ความพ้นทุกข์ อันมีพระนิพพานเป็นทีห่ มายกัน ในที่สุด
AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 145
145
25/05/61 05:16:50 PM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
Wat Bang Nom Kho
Phra Khru Suwajjariyapon Suwajo (Luang Por Yong), the abbot of this temple.
Worship Luang Por Pan at Wat Bang Nom Kho, the famous master monk of Ayutthaya whose fame renowned as one of the top monks in Thailand. Wat Bang Nom Kho is located at Bang Nom Kho sub-district, Sena district, Ayutthaya province. It is the famous temple of Ayutthaya because it is the place where Luang Por Pan Sonanto lived which he passed away long time ago. However, his fame and goodness still belong to descendants of Ayutthaya and a lot of Buddhists. There is no any apparent evidence about when Wat Bang Nom Kho was built. Some said that it was built in the
146
end of Ayutthaya period, its former name was “Wat Nom Kho”. Nevertheless, in 2310 B.E., when the fog of war surrounded Ayutthaya kingdom Burmese army had established barrack at Si Kook sub-district, not far away from Wat Nom Kho which an area around this temple is where the greatest amount of cow has been raised. Therefore, Burmese army took the opportunity to herd cows and buffaloes from Bang Nom Kho area to
be provisions of Burmese army. Eventually, Burmese army conquered Ayutthaya which led entire kingdom to a state of chaos. Then, Wat Bang Nom Kho was declined along with the flow of time. After that, this temple was reconstructed and people in this area still raised a large number of cows, that’s why locals always called this temple “Wat Bang Nom Kho”.
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 146
25/05/61 05:16:57 PM
The biography and path of Luang Por Pan, Wat Bang Nom Kho Phra Khru Wiharn Kitjanukarn or Luang Por Pan Sonanto was born in 16 July 2418 B.E., in the reign of King Rama V, at Bang Nom Kho sub-district, Sena district, Ayutthaya province. He is son of Mr. Sa-ard and Mrs. Im Sutthawong. After that, in 2439 B.E., he was ordained and became a monk at monastic boundary of Wat Bang Nom Kho. The prestige of Luang Por Pan was admired by a lot of monks and people in the past because he had preserved temples in Sena district and nearby districts, cured an illness and exorcised
black magic that harmed people. Moreover, even cholera that killed a lot of people in Ayutthaya province at that time. When this disease spread to Bang Nom Kho sub-district, there were no sign of anyone infected in this area because Luang Por Pan cured locals who infected this disease in time which made people of Ayutthaya entitled his name as “Royal physician monk, Por Pan”. Although, Luang Po Pan passed away a long ago. Everyone still can come to Wat Bang Nom Kho everyday in order to pay respect to Luang Por Pan, the master monk of Ayutthaya. After you have paid respect to him already, you can give alms by feed the
fish at waterside that located next to canal in front of this temple which is an animal sanctuary area. Moreover, you can pay respect to Buddha statue in Buddhist sanctuary which located behind Luang Por Pan square hall with a pyramidal roof. There is a path inside the Buddhist sanctuary that you can go to downstairs which resemble Hell, there are many painting of hell at this place in order to remind yourself of what you should do which are perform good deed, do the meditation, practice the dharma and polish yourself so you can be free from evil and go to nirvana eventually.
AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 147
147
25/05/61 05:17:12 PM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
ขนฺติโก เมตฺตวา ลาภี ยสสฺสี สุขสีลวา ปิโย เทวมนุสฺสานํ มนาโป โหติ ขนฺติโก ผู้มีขันตินับว่ามีเมตตา มีลาภ มียศ และมีสุขเสมอ ผู้มีขันติเป็นที่รักที่ชอบใจของเทวดา และมนุษย์ทั้งหลาย
วัดบ้านแพน
สร้างสมัยกรุงธนบุรีเป็นราชธานี พระมงคลวุฒาจารย์ (ทองพูน ฐิตสีโล) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
วัดบ้านแพน หรือ วัดจันทรคูหาวาส สร้างมาแต่ครั้งกรุงธนบุรีเป็นราชธานี
ภายหลังจากเสียกรุงศรีอยุธยา ครั้งที่ 2 เป็นเวลา 10 ปี (พ.ศ. 2310-2320) ไม่ปรากฏ หลักฐานว่าใครเป็นผู้สร้าง แต่จากลักษณะพื้นที่ตั้งวัดและลักษณะสิ่งก่อสร้างภายในวัด จึ ง มี ข้ อ สั น นิ ษ ฐานว่า ผู้สร้า งวัด น่า จะเป็น ผู้มีบ รรดาศั ก ดิ์ ในสมั ย นั้ น โดยมี สิ่ ง ที่ เป็ น หลักฐานหลงเหลือจากอดีต อาทิ พระประธานในอุโบสถ หรือที่ชาวบ้านถวายนามว่า “หลวงพ่อเพชร” เป็นพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์สลักจากหินศิลาแรง ศิลปะสมัยอู่ทอง มณฑปประดิ ษ ฐานรอยพระพุท ธบาทจ�ำลอง และ หอระฆั ง เก่ า 148
4
บริเวณพืน้ ทีต่ งั้ วัดบ้านแพนแต่เดิมนัน้ เป็น ที่ราบลุ่ม อยู่ริมแม่น�้ำแควน้อย มีเนื้อที่ 34 ไร่ 1 งาน 67 ตารางต่อมาได้รบั พระมหากรุณาธิคณ ุ จากสมเด็ จ พระเจ้ า กรุ ง ธนบุ รี (สมเด็ จ พระเจ้าตากสิน) โปรดเกล้าฯ พระราชทาน วิสุงคามสีมา เมื่อ พ.ศ. 2325 ปั จ จุ บั นวั ด บ้ า นแพนตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 125 หมู่ที่ 1 ต�ำบลสามกอ อ�ำเภอเสนา จังหวัด พระนครศรีอยุธยา วัดบ้านแพน เมือ่ สมัยเจ้าอธิการจ้อย จนฺท โชติ เป็นเจ้าอาวาส สมเด็จพระนางเจ้าเสาวภา ผ่องศรี พระบรมราชินนี าถ ในรัชกาลที่ 5 เสด็จ ประพาสหัวเมืองทางเหนือ ก็ทรงมาประทับ แรมที่วัดนี้ 1 ราตรี ต่อมาสมัยพระครูรัตนา ภิ ร มย์ เป็ น เจ้ า อาวาส พระบาทสมเด็ จ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 เสด็จ ประพาสหัวเมืองทางเหนือ ก็ทรงเสด็จประทับ แรมที่วัดนี้ 1 ราตรี
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 148
22/5/2561 11:52:32
และต่อมาในวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2457 สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณ วโรรส สมเด็จพระสังฆราชเจ้า พระองค์ที่ 7 แห่ ง กรุ ง รั ต นโกสิ น ทร์ เสด็ จ ทรงตรวจการ คณะสงฆ์ (ในอ�ำเภอเสนากลาง) มณฑลกรุงเก่า ก็ได้เสด็จมาประทับแรมวัดนี้ 1 ราตรี วัดบ้านแพน มีเจ้าอาวาสปกครองวัดทัง้ สิน้ 7 รูป รูปที่ 1 หลวงพ่อแช่ม เจ้าอาวาสในช่วง สมัยกรุงธนบุรี จนถึงรัชกาลที่ 1 แห่งกรุง รัตนโกสินทร์ รูปที่ 2 หลวงพ่อนิล เจ้าอาวาสในช่วงสมัย รั ช กาลที่ 2 จนถึ ง รั ช กาลที่ 3 แห่ ง กรุ ง รัตนโกสินทร์ รูปที่ 3 พระอุปัชฌาย์สี เจ้าอาวาสในช่วง สมัยรัชกาลที่ 3 จนถึงรัชกาลที่ 5 แห่งกรุง รัตนโกสินทร์ รูปที่ 4 พระอุปัชฌาย์จ้อย จนฺทโชโต เจ้า อาวาสในช่วงสมัยรัชกาลที่ 5 จนถึงรัชกาลที่ 6 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ รูปที่ 5 พระครูรตั นาภิรมย์ (อยู่ ติสสฺ ) พ.ศ. 2457-2488 รวม 31 ปี รูปที่ 6 พระครูปริยัติคุณูปการ (วาสน์ ธมฺมโชโต) พ.ศ. 248-2526 รวม 38 ปี รูปที่ 7 พระมงคลวุฒาจารย์ (ทองพูน ฐิต สีโล) พ.ศ. 2527-ปัจจุบัน พระมงคลวุฒาจารย์ (ทองพูน ฐิตสีโล) เจ้าอาวาส มีนามเดิมว่า ทองพูน สัญญะโสภี เป็นบุตรของ นายแบบ และนางสมบุญ สัญญะโสภี เกิดเมื่อ วันพุธที่13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2475 ณ บ้าน สามกอ หมู่ที่ 1 ต�ำบลสามกอ อ�ำเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2488 จบการ ศึกษาชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จากโรงเรียน ประชาบาลต�ำบลสามกอ 1 (ศรีรัตนานุกูลวัด บ้านแพน) ปัจจุบันคือโรงเรียน วัดบ้านแพน “ศรีรัตนานุกูล” บรรพชา เมื่อวันเสาร์ที่ 30 เมษายน พ.ศ.2492 ณ วัดบ้านแพน จังหวัด พระนครศรีอยุธยา โดยมี พระปลัดแจ่ม ฐิตวโร วัดโพธิ์ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นพระ อุปัชฌาย์
อุปสมบท เมื่ออายุย่างเข้า 20 ปี เมื่อวัน เสาร์ที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2495 ณ พัทธสีมา วัด บ้านแพน โดยมี พระครูปริยัติคุณูปการ (วาสน์ ธมฺมโชโต) เจ้าอาวาสวัดบ้านแพน เป็น พระอุปัชฌาย์ พระครูเกษมคณาภิบาล (บุญมี เขมธมฺโม) เจ้าอาวาสวัดมารวิชยั เป็นพระกรรม วาจาจารย์ พระครูวิบูลธรรมศาสน์ (สังวาลย์ คุตตฺ ธมฺโม) เจ้าอาวาสวัดกระโดงทอง เป็นพระ อนุสาวนาจารย์ หลังจากอุปสมบทแล้ว ศึกษา พระปริยัติธรรมจนสามารถสอบได้นักธรรม ชั้นเอก ในปี พ.ศ.2499 งานด้านการปกครอง : พ.ศ. 2499 เป็น ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดบ้านแพน, พ.ศ.2500 เป็น พระกรรมวาจาจารย์, พ.ศ. 2513 เป็นรอง เจ้าอาวาสวัดบ้านแพน พ.ศ.2527 เป็นเจ้า อาวาสวั ด บ้ า นแพน, พ.ศ.2535 เป็ น พระ อุปชั ฌาย์, พ.ศ. 2539 เป็นรองเจ้าคณะอ�ำเภอ เสนา พ.ศ. 2543 เป็นผูร้ กั ษาการแทนเจ้าคณะ
อ�ำเภอเสนา พ.ศ.2545 เป็นเจ้าคณะอ�ำเภอ เสนา, พ.ศ. 2552เป็นหัวหน้าพระธรรมทูต อ�ำเภอเสนา, พ.ศ. 2555 เป็นที่ปรึกษาเจ้า คณะอ�ำเภอเสนา งานด้านการศึกษา : พ.ศ. 2552 จัดตั้ง ศูนย์การศึกษาพระปริยตั ธิ รรม อ�ำเภอเสนาขึน้ โดยรวมการศึกษาพระปริยตั ธิ รรม แผนกธรรม ทั้งนักธรรมชั้นตรี ชั้นโท และชั้นเอก ของทุก ส�ำนักเรียนในเขตปกครอง รวมจัดการสอน ในรู ป แบบศู น ย์ ก ารเรี ย นเพี ย งแห่ ง เดี ย วมา จนถึงปัจจุบัน งานด้านศึกษาสงเคราะห์ : พ.ศ. 2530 ด�ำเนินการจัดตั้งศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ขึ้น ภายในวัดบ้านแพน โดยด�ำรงต�ำแหน่งผูบ้ ริหาร และประธานกรรมการบริหาร มาตามล�ำดับ จนถึงปัจจุบัน สมณศักดิ์ : ปัจจุบัน เป็นพระราชาคณะ ชัน้ สามัญ ในราชทินนามที่ “พระมงคลวุฒาจารย์”
AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
4
.indd 149
149
22/5/2561 11:52:42
วัดบ้านแพน เป็นวัดราษฏร์ ตัง้ อยูบ่ นริมฝัง่ แม่น�้ำน้อย เลขที่ 125 หมู่ที่ 1 ต�ำบลสามกอ อ�ำเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สังกัด คณะสงฆ์มหานิกาย ปัจจุบันมี พระครูสุวรรณ ศีลาธิคณ ุ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดบ้านแพน ท่ า นเจ้ า อาวาส ให้ค วามส�ำคัญกับการ พัฒนาเด็กเล็กมาก ท่านจึงได้จัดตั้ง “ศูนย์ อบรมเด็กก่อนเกณฑ์วดั บ้านแพน” ขึน้ เมือ่ พ.ศ. 2530 โดยท่านพระครูสุวรรณศีลาธิคุณเป็น ผูจ้ ดทะเบียนจัดตัง้ และด�ำรงต�ำแหน่ง ประธาน กรรมการบริหาร จัดการศึกษาให้แก่นักเรียน ระดับปฐมวัย ที่อยู่ในเขตพื้นที่ต�ำบลสามกอ และพื้นที่ใกล้เคียง โดยมิได้เรียกเก็บค่าใช้จ่าย ใดๆ ทั้งสิ้น (เรียนฟรี) ในระยะแรกใช้สถานทีข่ องโรงเรียนวัดบ้าน แพน “ศรีรัตนานุกูล” เปิดด�ำเนินการ ต่อมา ประสบปัญหาน�้ำท่วม ท�ำให้ต้องย้ายสถานที่ ด�ำเนินการมาอยู่ภายในศาลาการเปรียญวัด บ้านแพนเป็นการชัว่ คราว ต่อมา พ.ศ. 2548 วัดบ้านแพนได้ดำ� เนินการก่อสร้างโรงเรียนพระ ปริยตั ธิ รรมขึน้ ศูนย์ ฯ จึงขออนุญาตย้ายสถาน ทีด่ ำ� เนินการมาอยู่ ณ โรงเรียนพระปริยตั ธิ รรม วัดบ้านแพนจนถึงปัจจุบัน ปี พ.ศ. 2553 พระครูสุวรรณศีลาธิคุณ เจ้าอาวาสวัดบ้านแพน มีด�ำริที่จะพัฒนาการ จัดการศึกษาศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์วดั บ้าน แพนให้ได้มาตรฐานตามหลักสูตรการศึกษา ปฐมวัย โดยใช้งบประมาณการก่อสร้างจากเงิน รายได้จากการจัดสร้างวัตถุมงคลของท่านเอง รวมกับเงินที่ได้รับบริจาคจากประชาชนผู้มีจิต ศรั ท ธาอี ก ส่ ว นหนึ่ ง ใช้ ง บประมาณการ ก่อสร้างพร้อมทัง้ ค่าวัสดุอปุ กรณ์ทางการศึกษา ทั้ ง สิ้ น กว่ า 9.5 ล้ า นบาท โดยได้ รั บ พระ มหากรุ ณ าธิ คุ ณ จาก พระเจ้ า วรวงศ์ เ ธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินดั ดามาตุ เสด็จเป็นองค์ประธานประกอบพิธีวางศิลา ฤกษ์ เมือ่ วันอังคารที่ 17 มกราคม พ.ศ.2555 และได้ด�ำเนินการก่อสร้างจนแล้วเสร็จเมื่อ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ.2556 พ.ศ. 2555 สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จ พระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก ทรงพระ กรุณาโปรดประทานพระบรมสารีริกธาตุมา ประดิษฐานไว้ภายในอาคารศูนย์อบรมเด็ก 150
4
ก่อนเกณฑ์วัดบ้านแพน กับทั้งทรงประทานอนุญาตให้ศูนย์ ฯ ด�ำเนินการจัดสร้างพระพุทธรูปปาง มารวิชัย ขนาดหน้าตัก 16 นิ้ว ไว้เป็นพระประธานประจ�ำอาคาร ทรงประทานอักษรพระนามย่อ ญสส ประดิษฐานบนผ้าทิพย์ พร้อมทรงประทานนามพระพุทธรูปว่า “พระพุทธวชิรวิสทุ ธิปญ ั ญา” พ.ศ. 2556 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ นาย จรินทร์ สวนแก้ว ประธานมูลนิธิ 5 ธันวามหาราช เชิญผ้าไตรพระราชทาน ในการทอดผ้าป่ามหา กุศลสมทบทุนซื้อวัสดุอุปกรณ์การศึกษาศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์วัดบ้านแพน เมื่อวันจันทร์ที่ 15 เมษายน พ.ศ.2556 ปัจจุบันศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์วัดบ้านแพน มีนักเรียน 120 คน ครู 2 คน ผู้ดูแลเด็ก 5 คน นักการภารโรง 1 คน และลูกจ้างทั่วไป 1 คน
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 150
22/5/2561 11:52:49
WAT BAN PAN Person who has patience will always has kindness, fortune, prestige and happiness.
Wat Ban Pan or Wat Chan Thara Kuhawat
was built during an era of Thonburi Kingdom which is 10 years after the downfall of Ayutthaya Kingdom (2310-2320 B.E.). There is not any explicit evidence about who built this temple, but there is assumption based on appearance of this temple’s location and construction in this temple which is the builder might be one of a nobleman in that era which there are evidence from the past to prove this assumption such as principle Buddha image in Ubosot (Ubosot is Buddhist sanctuary) which locals offered the name “Luang Por Petch”, it is a sacred Buddha image, carved from laterite in U Thong style, square hall with a pyramidal roof where duplicated Lord Buddha’s footprint is enshrined and old bell tower. Formerly, an area where Wat Ban Pan is located is low plain at the side of Kwai Noi River. The scale of this temple’s land is 13.6 acres and 668 square meters. After that, Somdet Phra Chao Krung Thon Buri (King Taksin) granted Wisung Khama Sima (a royal granting of the land for monks to have the ordination hall constructed or to do religious rites) in 2325 B.E. At present, Wat Ban Pan is located at 125 village no.1, Sam Ko sub-district, Sena district, Ayutthaya province. Nowadays, Phra Maha Mongkol Wutthajarn (Thongphoon Thitasilo) is an abbot of this temple Phra Maha Mongkol Wutthajarn (Thongphoon Thitasilo) is an abbot of this temple went into the monkhood when he was 20 years old on Saturday, 31 May 2495 B.E. at monastic
boundary of Wat Ban Pan by Phra Khru Pariyat Kunoopakarn (Wats Dhammashoto) abbot of Wat Ban Pan whom was a preceptor, and pair of monks who chant the ordination service are Phra Khru Kasemkanaphibarn (Boonme Khemathammo), abbot of Wat Manwichai and Phra Khru Wiboon Thammasart (Sangwan Kuttathammo), abbot of Wat Kra Dong Thong. After his ordination, he studied Buddhist scriptures until he passed an exam of dhamma scholar advanced level in 2499 B.E. Administrative aspect: In 2499 B.E., assistant abbot of Wat Ban Pan. In 2500 B.E., he was one in the pair of monks who chant the ordination service. In 2513 B.E., deputy abbot of Wat Ban Pan. In 2527 B.E., he became an abbot of Wat Ban Pan. In 2535 B.E., the preceptor. In 2539 B.E., Sena district vice monk dean. In 2543 B.E., acting monk dean of Sena district. In 2545 B.E., he became Sena district monk dean. In 2552 B.E., he was the leader of Buddhist missionaries of Sena district. In 2555 B.E. Sena district monk dean counselor. Educational works: he established Dhamma education center at Sena district in 2552 B.E., which he combined the study of Buddhist scriptures and all levels of dhamma scholar of every institute in his administrative area to be in this only place until now. Education supporting: In 2530 B.E., he established teaching center for pre-school child in Wat Ban Pan which he took a position of administrator and executive managing director since this place was established until today.
AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
4
.indd 151
151
22/5/2561 11:53:00
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
“วัดมารวิชัย” หมายถึง “การมีชัยชนะแก่มารทั้งปวง”
วัดมารวิชัย
วัดแห่งชัยชนะมารทั้งปวง พระครูวิชัยพลากร ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
อดีตเจ้าอาวาส พระครูเกษมคณาภิบาล (หลวงปู่มี เขมธมฺโม)
สันนิษฐานตามค�ำบอกเล่าสืบๆ กันมาว่า เป็นวัดเก่าแก่สร้างมาแต่ครั้ง
กรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี เพราะว่า หลังอุโบสถด้านเหนือ มีเนินดิน ชาวบ้าน ขุดพบซากก�ำแพงเก่าที่สร้างด้วยอิฐมอญก้อนใหญ่ถูกกองทัพพม่าเผาท�ำลาย เป็นซาก แล้วทับถมกลายเป็นโคกดังที่ชาวบ้านเรียกเนินดินนั้นว่า “โคกวิหาร” วัดมารวิชัย ตั้งอยู่เลขที่ 42 หมู่ 9 ต�ำบลบางนมโค อ�ำเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย พื้นที่เป็นที่ราบลุ่ม ตั้งอยู่ริมคลองขนมจีน เนื้อที่ 21ไร่ 65 ตารางวา มีที่ธรณีสงฆ์ 2 แปลง เนื้อที่ 39 ไร่ 2 งาน 36 ตารางวา โฉนดเลขที่ 5208,6203
152
4
โคกวิหารอาถรรพณ์ โคกวิ ห ารแห่ ง นี้ มี อ าถรรพณ์ เกิ ด จาก สาเหตุที่กองทัพพม่ายกทัพใหญ่มาตีกรุงศรี อยุธยา เมือ่ ปี พ.ศ.2307 โดยตัง้ ทัพทีบ่ า้ นสีกกุ อ� ำ เภอบางบาล ซึ่ ง ห่ า งจากวั ด มารวิ ชั ย ประมาณ 7 กิโลเมตร ทหารพม่าปล้นสะดม เผาผลาญท�ำลายวัดวาอารามและวัดมารวิชัย ก็ ถู ก เผาท� ำ ลายสิ้ น ซากกลายเป็ นวั ด ร้ า งมา ตั้งแต่บัดนั้น วิญญาณชาวบ้านที่ถูกฆ่าตาย จ�ำนวนมาก จึงวนเวียนสิงสู่อยู่ที่โคกวิหาร นั่นเอง เมื่อผู้ใดไปรบกวนดวงวิญญาณที่มีแต่ ความอาฆาตแค้นก็ถูกท�ำร้ายให้มีอันเป็นไป ต่างๆ นานาทันที จนบริเวณนั้นไม่มีใครกล้า เข้าใกล้และเป็นที่เลื่องลือว่า “วัดมารวิชัยผีดุ” เรื่องที่วัดมารวิชัย มีผีดุนั้นเป็นเรื่องที่เลื่องลือ ไปทั่วแม้แต่ พระราชพรหมยาน (วีระ ถาวโร) หรื อ ที่ รู ้ จั ก กั น ในนาม หลวงพ่ อ ฤาษี ลิ ง ด� ำ
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 152
22/5/2561 11:54:04
วัดท่าซุง ซึง่ เป็นศิษย์เอกองค์สำ� คัญอีกองค์หนึง่ ของ หลวงพ่อปาน วัดบางนมโคยังน�ำไปเขียน และบอกเล่าให้หมู่ศิษย์ทั้งหลายฟังอยู่เสมอ ต่อมาหลวงพ่อมี ผูท้ รงญาณสมาบัตเิ ห็นว่ามัก มี ช าวบ้ า นรู ้ เ ท่ า ไม่ ถึ ง การณ์ เ สี ย ชี วิ ต เมื่ อ ไป รบกวนถูกสถานที่มีอาถรรพณ์ร้ายแรงนั้นเข้า ท่ า นจึ ง ท� ำ พิ ธี ข อขมาดวงวิ ญ ญาณบรรดา สั ม ภเวสี ส ร้ า ง “ฌาปนสถาน” ทั บ เนิ น ดิ น เป็นการแก้อาถรรพณ์ในปี 2510 ท�ำให้ดวง วิญญาณที่มีแต่ความอาฆาตไปผุดไปเกิดใหม่ ยังที่สุคติ ด้วยอานิสงส์ที่สร้างฌาปนสถาน ความทรงญาณแก่กล้าของหลวงพ่อมี หลวงตามืดสร้างวัดขึ้นใหม่ วัดมาวิชยั กลายเป็นวัดร้างมานานถึง 70 ปี ต่อมาประมาณปี พ.ศ.2379 มีพระธุดงค์องค์ หนึ่งมาสร้างวัดขึ้นใหม่ด้วยสาเหตุที่นัยน์ตา ของท่านบอดมืดทั้ง 2 ข้าง ชาวบ้านจึงเรียก ท่านว่า “หลวงตามืด” แต่ท่านยังสามารถ บิณฑบาตจ�ำทางไปบ้านของชาวบ้านได้อย่าง แม่นย�ำทั้งยังมีความสามารถในการก่อสร้าง ต่างๆ อีกด้วย หลวงตามืดจึงนับเป็นเจ้าอาวาส องค์แรกที่ได้สร้างวัดขึ้นใหม่แล้วตั้งชื่อว่า “วัด ผจญมาร” มีความหมายถึงวัดที่เคยถูกข้าศึก รุกรานมานานแล้ว เจริญในสมัยหลวงพ่อสุวรรณ หลวงตามืดเป็นเจ้าอาวาสมานานถึง 16 ปี ก็ ม รณภาพในปี พ.ศ. 2395 หลวงปู ่ ชื่ น วัดสุธาโภชน์ (วัดขนมจีน) ซึ่งเป็นพระอาจารย์ เรืองวิชาที่มีชื่อเสียงมากในสมัยนั้น มอบให้ หลวงพ่อสุวรรณมาเป็นเจ้าอาวาสองค์ที่ 2 หลวงพ่ อ สุ ว รรณได้ ก ่ อ สร้ า งอุ โ บสถ และ
เสนาสนะต่างๆจนเจริญรุง่ เรืองมาก จวบจนถึง แก่การมรณภาพเมื่ออายุ 65 ปี วั ด ผ จ ญ ม า ร ไ ด ้ รั บ พ ร ะ ร า ช ท า น วิสงุ คามสีมา ให้เป็นวัดทีม่ เี ขตท�ำสังฆกรรมโดย สมบูรณ์ เมือ่ ปี พ.ศ.2445 สมัยพระอาจารย์หลง เป็นเจ้าอาวาสองค์ที่ 5 แต่มีเหตุต้องลาสิขา ต่อมา พระอาจารย์ทอง เป็นเจ้าอาวาสองค์ที่ 6 ได้เริ่มโครงการก่อสร้างอุโบสถใหม่ด้วยการ ก่ออิฐถือปูน แต่ยังไม่ทันสร้างก็มีเหตุจ�ำเป็น ต้องลาสิกขา ในปี พ.ศ.2451 พระอาจารย์เทศ เจ้า อาวาสองค์ที่ 8 ได้นิมนต์ พระญาณไตรโลก วัดศาลาปูน มาเป็นประธานก่อสร้างอุโบสถ แต่ยังไม่ทันเสร็จพระอาจารย์เทศก็มาด่วน ลาสิกขา ต่อมา พระอาจารย์เผื่อน เจ้าอาวาส องค์ที่ 9 ได้นิมนต์ หลวงพ่อปาน วัดบางนมโค มาสร้างศาลาการเปรียญหลังใหญ่จนเสร็จในปี พ.ศ.2468 แล้วด�ำริจะสร้างอุโบสถที่ค้างมา นานให้เสร็จแต่มีพระภิกษุชรา 2 รูปคัดค้าน ไม่ยอมให้หลวงพ่อปานตัดต้นกระทุม่ เพือ่ ขยาย พื้ น ที่ เพราะเกรงรุ ก ขเทวดาที่ อ าศั ย อยู ่ จ ะ ท�ำลายหลวงพ่อปานจึงไปสร้างอุโบสถที่วัด
สามตุ่มต่อไป ส่วนพระอาจารย์เผื่อนยังไม่ทัน สร้างอุโบสถต่อก็มาลาสิกขาไปอีก ตั้งส�ำนักพระปริยัติธรรม หลวงพ่อคล้าย เจ้าอาวาสองค์ที่ 10 ได้ สร้ า งความเจริ ญ รุ ่ ง เรื อ งทั้ ง ทางด้ า นการ ก่อสร้าง และการศึกษาเป็นอย่างมากโดยจัด ตั้ ง ส� ำ นั ก เรี ย นพระปริ ยั ติ ธ รรมครั้ ง แรกในปี พ.ศ. 2475 และยังใช้ศาลาการเปรียญเป็น โรงเรี ย นประชาบาลส� ำ หรั บ บุ ต รหลานของ ชาวบ้านทั่วไป นับว่าหลวงพ่อคล้ายเป็นพระ อาจารย์องค์ส�ำคัญที่เป็น ผู้สร้างความเจริญ รุง่ เรืองแก่วดั สืบต่อมาถึงบัดนี้ แต่นา่ เสียดายที่ หลวงพ่อคล้ายมาด่วนลาสิกขาไปครองเรือน เมื่อปี พ.ศ. 2481 และขอให้หลวงพ่อมีช่วย สร้างอุโบสถต่อโดยให้สญ ั ญาว่า ถ้าภายใน 20 ปี ไม่มีบุตร จะกลับมาอุปสมบทใหม่ 20 ปีต่อ มาท่านไม่มีบุตรจริงๆ จึงกลับมาบวชอีกครั้ง ตามทีส่ ญ ั ญาตราบจนถึงแก่กาลมรณภาพอย่าง สงบเมื่ออายุ 80 ปี และก่อนที่จะมรณภาพ ท่านสามารถรู้วันเวลาตายได้อย่างน่าอัศจรรย์ เปลี่ยนชื่อเป็น “วัดมารวิชัย”
AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
4
.indd 153
153
22/5/2561 11:54:14
เมื่ อ หลวงพ่ อ มี เป็น เจ้าอาวาสขณะนั้น เพิ่งส�ำเร็จอสุภกรรมฐานมากับ หลวงพ่อปาน วัดบางนมโค ได้ใช้วิจารณญาณเห็นว่า “วัด ผจญมาร” นั้นชื่อไม่เป็นมงคล ต้องผจญมาร กันอยู่เรื่อย ตั้งแต่หลวงตามืด ผู้สร้างวัดและ หลวงพ่อสุวรรณเจ้าอาวาสองค์ที่ 2 ถึงแก่กาล มรณภาพในผ้าเหลืองแล้ว เจ้าอาวาสองค์ต่อ มาอีก 8 รูป ล้วนมีอันเป็นไปต้องลาสิกขา แม้ แ ต่ ห ลวงพ่ อ คล้ า ย ที่ ป ฏิ บั ติ ก รรมฐาน เคร่ ง ครั ด ก็ ยั ง พ่ า ยแพ้ แ ก่ ม ารต้ อ งลาสิ ก ขา เช่นกัน หลวงพ่อมีจึงเปลี่ยนชื่อวัดใหม่เป็น “วัดมารวิชัย” หมายถึง “การมีชัยชนะแก่มาร ทั้งปวง” ท�ำเนียบเจ้าอาวาส รูปที่ 1 หลวงตามืด พ.ศ.2379-2395 รูปที่ 2 หลวงพ่อสุวรรณ พ.ศ.2395-2437 รูปที่ 3 พระอาจารย์พนั พ.ศ.2437-2440 รูปที่ 4 พระอาจารย์ไผ่ พ.ศ.2440-2444 รูปที่ 5 พระอาจารย์หลง พ.ศ.2444-2446 รูปที่ 6 พระอาจารย์ทอง พ.ศ.2446-2449 รูปที่ 7 พระอาจารย์เทียบ พ.ศ.2449-2451
154
4
รูปที่ 8 พระอาจารย์เทศ พ.ศ.2451-2459 รูปที่ 9 พระอาจารย์เผือ่ น พ.ศ.2459-2471 รูปที่10 หลวงพ่อคล้าย พ.ศ.2471-2481 รูปที่11 พระครูเกษมคณาภิบาล พ.ศ.2481-2540 ลาออก รูปที่12 พระครูวิชัยพลากร พ.ศ.2541- ปัจจุบัน พระครูวิชัยพลากร เจ้าอาวาสวัดมารวิชัย (ปัจจุบัน) พระครูวิชัยพลากร ฉายา จนฺทสีโล อายุ 48 ปี พรรษา 29 วิทยฐานะ นักธรรมเอก สังกัดวัดมารวิชยั ต�ำบลบางนมโค อ�ำเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ปัจจุบันด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดมารวิชัย สถานะเดิม ชื่อ นายชุมพล นามสกุล เทียนบูชา เกิดเมื่อวันอังคารที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2512 บิดาชื่อ นายสมพงษ์ นามสกุล เทียนบูชา มารดาชื่อ นางพวง นามสกุล เทียนบูชา ที่อยู่เดิม บ้านเลขที่ 91/1 หมู่ 1 ต�ำบลบ้านหลวง อ�ำเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
อุปสมบท เมื่อวันที่ 21 มิถุนายน พ.ศ.2532 ณ พัทธสีมาวัดมารวิชัย พระอุปัชฌา พระครู เกษมคณาภิ บ าล เจ้ า อาวาสวั ด มารวิ ชั ย พระกรรมวาจาจารย์ พระครูใบฎีกาจวน พระอนุสาวนาจารย์ พระครูปลัดศิริ วัดมารวิชยั วิทยฐานะ สามัญศึกษา พ.ศ. 2525 ส�ำเร็จการศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนจรัสวิทยาคาร ต�ำบลบ้านหลวง อ�ำเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พ.ศ. 2528 ส�ำเร็จการศึกษาชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนสาคลีวทิ ยา ต�ำบลสามตุม่ อ�ำเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ประวัติการศึกษา - พ.ศ.2533 สอบได้นักธรรมตรี สังกัดวัดมารวิชัย - พ.ศ.2551 สอบได้นักธรรมโท สังกัดวัดมารวิชัย - พ.ศ.2552 ส� ำ เ ร็ จ ก า ร ศึ ก ษ า ต า ม ห ลั ก สู ต ร ประกาศนียบัตรการบริหารกิจการคณะสงฆ์ (ป.บส.) - พ.ศ.2555 สอบได้นักธรรมเอก สังกัดวัดมารวิชัย - พ.ศ.2557 ส�ำเร็จการศึกษาเป็นพุทธศาสตร์บัณฑิต คณะสังคมศาสตร์ สาขาการจัดการเชิงพุทธ
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 154
22/5/2561 11:54:22
- พ.ศ.2558 ส�ำเร็จการศึกษาเป็นพุทธศาสตร์มหาบัณฑิต คณะสังคมศาสตร์ สาขาการจัดการเชิงพุทธ งานปกครอง - พ.ศ.2537 เป็นครูสอนปริยัติธรรม เป็นกรรมการการ สอบนักธรรม - พ.ศ.2537 เป็นประธานศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์วัด มารวิชัย - พ.ศ.2541 ปัจจุบนั เป็นเจ้าส�ำนักศาสนศึกษาวัดมารวิชยั - พ.ศ.2537 เป็นผูช้ ว่ ยเจ้าอาวาสวัดมารวิชยั พ.ศ.2541 เป็นเจ้าอาวาสวัดมารวิชัย
สมณศักดิ์ - พ.ศ.2537 เ ป ็ น พ ร ะ ใ บ ฎี ก า ชุ ม พ ล จ นฺ ท สี โ ล ฐานานุกรมของ พระญาณไตรโลก พระราชา คณะชัน้ สามัญ วัดบรมวงศ์อศิ รวราราม จังหวัด พระนครศรีอยุธยา - พ.ศ. 2541 เป็นพระครูสังฆรักษ์ชุมพล ฐานานุกรม ของ พระธรรมญาณมุนี พระราชาคณะชัน้ ธรรม วั ด พนั ญ เชิ ง วรวิ ห าร ต� ำ บล กะมั ง อ� ำ เภอ พระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา - พ.ศ.2550 เป็นพระครูสัญญาบัตรเจ้าอาวาสชั้นโท - พ.ศ.2559 เป็นพระครูสัญญาบัตรเจ้าอาวาสชั้นเอก พระครูวิชัยพลากร
ศาสนวัตถุที่ส�ำคัญภายในวัด มณฑปเกษมคณาภิบาลนุสรณ์ ประดิษฐาน สรีระสังขาร หลวงปูม่ ี เขมธมฺโม, พระพุทธพิชติ มาร พระประธานในอุโบสถ, อุโบสถวัดมารวิชัย, หอระฆัง, กุฏทิ รงไทย 2 ชัน้ (กุฏเิ จ้าอาวาสองค์ ปัจจุบัน), ฌาปนสถาน วัดมารวิชัย สร้างเมื่อ ปี พ.ศ. 2535, ศาลาทรงไทยประดิษฐานพระ สังกัจจายน์ สมัยหลวงปู่มี เป็นผู้สร้าง มีอายุ กว่า 80 ปี, ศาลาการเปรียญ พระครูวิหาร กิจจานุการ (หลวงพ่อปาน วัดบางนมโค) เป็น ผู้สร้าง เมื่อปีพ.ศ. 2486, กุฏิพระภิกษุสงฆ์ สังกัดวัดมารวิชยั สร้างเป็นทรงไทย 2 ชัน้ เชือ่ มต่อ กันเป็นแนวยาว มีทงั้ หมด 7 ตัวเรือน แบ่งเป็น ห้องได้ 20 ห้อง
AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
4
.indd 155
155
22/5/2561 11:54:34
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
“มหัคคตกรรม”
วัดสุธาโภชน์
วัดแห่งอาหารทิพย์อันวิเศษคือ ปัญญา พระครูพิพิธพัฒนโสภณ, ดร. ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน
วัดสุธาโภชน์ สร้างขึ้นเป็นวัดนับตั้งแต่สมัยอยุธยา ประมาณ พ.ศ. 2200 โดยมี
ลูกคหบดีคนหนึ่งอยู่ที่คลองขนมจีนที่วัดตั้งอยู่ มีนามว่า “ทอง” ได้เป็นเจ้าจอมในสมัย อยุธยาไม่ปรากฏหลักฐานว่ารัชกาลใด ได้มาจัดสร้างวัดนี้ขึ้นแล้วเรียก “วัดจอมทอง”
ต่อมาถึง พ.ศ. 2308 พวกข้าศึกรุกรานท�ำให้ผู้ต้องอพยพหนีการถูกข่มเหง วัดจอมทองก็ขาด การบ�ำรุงจนกลายสภาพเป็นวัดร้างไป พวกข้าศึกได้ใช้สถานที่วัดเป็นที่เลี้ยงช้าง ชาวบ้านจึงเรียก บริเวณวัดร้างว่า “วัดโคกช้าง” เมื่อบ้านเมืองเจริญมากขึ้น จึงมีผู้คนอยู่ท�ำมาหากินเป็นหลักแหล่ง มัน่ คงมากขึน้ จึงได้มกี ารบูรณปฏิสงั ขรณ์วดั ให้เจริญขึน้ และเรียกว่า “วัดขนมจีน” ตามชือ่ บ้านต�ำบล
156
4
ขณะนั้นถึงปี พ.ศ. 2483 ได้เปลี่ยนนามวัด เป็น “วัดสุธาโภชน์” แปลว่าของกินอันเป็นทิพย์ หรือสะอาด ก็คงจะหมายถึงขนมจีนนั่นเอง วัดสุธาโภชน์ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา นับตั้งแต่ประมาณ พ.ศ.2210 วัดสุธาโภชน์ ตั้งอยู่เลขที่ 38 บ้านขนมจีน หมู่ที่ 6 ต�ำบลบางนมโค อ�ำเภอเสนา จังหวัด พระนครศรีอยุธยา สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ โฉนดที่ดิน เลขที่ 37998 เล่ม 380 หน้า 98 อ�ำเภอเสนา จังหวัด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา ที่ ดิ น แปลงนี้ มี เ นื้ อ ที่ ประมาณ 20 ไร่ 3 งาน 42 ตารางวา (ยี่สิบไร่ สามงานสี่สิบสองตารางวา) โฉนดที่ดิน เลขที่ 38496 เล่ม 385 หน้า 96 อ�ำเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ทีด่ นิ แปลงนีม้ เี นือ้ ที่ ประมาณ 2 ไร่ 3 งาน 15 ตารางวา(สองไร่ สามงานสิบห้าตารางวา) พืน้ ทีต่ งั้ วัดเป็นทีร่ าบ ลุ่มอยู่ริมคลองขวางและคลองขนมจีน มีป่าไผ่ ล้อมรอบ
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 156
22/5/2561 13:16:19
อาคารเสนาสนะต่างๆ มี อุโบสถ วิหาร ศาลาการเปรียญ หอสวดมนต์ กุฎีสงฆ์ ฯลฯ ส� ำ หรั บ ปู ช นี ย วั ต ถุ มี พ ระประธานใน อุโบสถปางมารวิชยั สร้างเมือ่ พ.ศ. 2470 โดยมี หลวงพ่อปาน วัดบางนมโค เป็นประธานใน การก่อสร้าง และพระพุทธรูปปางป่าเลไลยก์ ประดิษฐานอยูใ่ นวิหาร สร้างโดยพระอดุลธรรม เวที (หลวงพ่อไวทย์ อินทฺ วํโส ) เมือ่ 20 ปีเศษ เจ้าอาวาสและผู้ปกครองวัดตั้งแต่อดีต จนถึงปัจจุบัน เท่าที่ทราบนามมี 18 รูป รูปที่ 1 หลวงพ่อสว่าง รูปที่ 2 พระอุปัชฌาย์ชื่น (หลวงพ่อเฒ่า) รูปที่ 3 พระอาจารย์อุ่ม (อนุสาวนาจารย์ หลวงพ่อปาน วัดบางนมโค) รูปที่ 4 พระปาน รูปที่ 5 พระเชย รูปที่ 6 พระตี๋ รูปที่ 7 พระอาจารย์สัมฤทธิ์ รูปที่ 8 พระอาจารย์โล่ห์ รูปที่ 9 พระอาจารย์ยวง รูปที่ 10 พระอาจารย์ขาว รูปที่ 11 พระอาจารย์ชม รูปที่ 12 พระอาจารย์เสงี่ยม รูปที่ 13 พระอธิการผูก รูปที่ 14 พระอธิการผัน รูปที่ 15 พระอดุลธรรมเวที (หลวงพ่อไวทย์ อินฺทวํโส ป.ธ.6) 5 ธันวาคม 2520
รูปที่ 16 พระอธิการบุก รูปที่ 17 พระครูกิตติวรวิทย์ จร.ชต. (สุวิทย์ กิตฺติวณฺโณ) 5 ธันวาคม 2530 รูปที่ 18 พระครูพิพิธพัฒนโสภณ, ดร. จต.ชท. (สุบิน สุเมโธ) 5 ธันวาคม 2547 (เจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน) วัดสุธาโภชน์ มีพระภิกษุจำ� พรรษา 13 รูป สามเณร 2 รูป แม่ชี 3 คน ศิษย์วัด 5 คน (ข้อมูลจากหนังสือประวัตวิ ดั ทัว่ ราชอาณาจักร จากศูนย์วัฒนธรรม) พระครูพิพิธพัฒนโสภณ (สุบิน สุเมโธ) เจ้าอาวาส เกิดเมือ่ วันศุกร์ที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2508 (ขึ้น 3 ค�่ำ เดือน 1 ปีมะเส็ง) การศึกษา - พ.ศ. 2529 นักธรรมชั้นเอก ส� ำ นั ก เรี ย นวั ด สุ ธ าโภชน์ ต� ำ บลบางนมโค อ�ำเภอเสนาจังหวัดพระนครศรีอยุธยา, - พ.ศ. 2544 ประโยค 1-2 ส�ำนักเรียนวัดสุธาโภชน์, - พ.ศ. 2532 มัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม, - พ.ศ. 2535 มั ธ ยมศึ ก ษาตอนปลาย โรงเรียนวัดสุวรรณาราม บางกอกน้อย กรุงเทพฯ,
- พ.ศ. 2549 หลักสูตรประกาศนียบัตร การบริหารกิจการคณะสงฆ์ (ป.บส.), - พ.ศ. 2553 อุดมศึกษา พุทธศาสตรบัณฑิต (สาขาวิชาการจัดการเชิงพุทธ) เกียรตินิยม มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย รุน่ ที่ 55, - พ.ศ.2555 ส�ำเร็จ ปริญญาพุท ธศาสตร์ มหาบัณฑิต สาขาการจัดการเชิงพุทธ (ปริญญาโท) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย รุน่ ที่ 22/2555, - พ.ศ. 2558 ส�ำเร็จปริญญาพุทธศาสตร์ ดุษฎีบณ ั ฑิต (ปริญญาเอก) สาขาการจัดการ เชิงพุทธ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิท ยาลัย รุ่นที่ 11/2558 อุปสมบท : วันที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2529 สังกัด วัดสุธาโภชน์ เลขที่ 38 หมู่ที่ 6 ต� ำ บลบางนมโค อ� ำ เภอเสนา จั ง หวั ด พระนครศรีอยุธยา หน้าที่ : งานปกครอง พ.ศ. 2535 เป็น รักษาการเจ้าอาวาสวัดสุธาโภชน์, พ.ศ.2536 เป็นเจ้าอาวาสวัดสุธาโภชน์, พ.ศ.2543 เป็น เจ้าคณะต�ำบลบางนมโค, พ.ศ. 2549 เป็นพระ อุปัชฌาย์ สมณศักดิ์ : พ.ศ. 2547 เป็นพระครูสญ ั ญาบัตร เจ้าคณะต�ำบลชัน้ โท ที่ พระครูพพิ ธิ พัฒนโสภณ
AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
4
.indd 157
157
25/5/2561 16:28:26
ประวัติท่านเจ้าคุณพระอดุลธรรมเวที ( ไวทย์ อินฺทวํโส ป.ธ. ๖ ) อดีตเจ้าอาวาสวัดสุธาโภชน์ ต�ำบลบางนมโค อ�ำเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา นามเดิมชื่อ ไวทย์ นามสกุล ศุภเพณี เกิดวัน ๑ ฯ ๖ ค�่ำ ปีมะเส็ง วันที่ ๖ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๖๐ (อายุปัจจุบัน ๙๗ ปี ) บิดา นายโอ๋ ศุภเพณี มารดา นางเทียบ ศุภเพณี ที่บ้านขนมจีน ต�ำบลบางนมโค อ�ำเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา บรรพชา บรรพชาเมื่อพ.ศ. ๒๔๗๒ อายุได้ ๑๒ ปี ที่ วัดขนมจีน แล้วไปจ�ำพรรษาที่วัดบ้านแพน เพื่อศึกษานักธรรมและบาลี อยู่ที่วัดบ้านแพน ได้ ๓ เดือน แล้วย้ายไปอยู่ที่ส�ำนักเรียน วัดสระเกศราชวรมหาวิหาร ในส�ำนักหลวงปู่ พระครูสวุ รรณบรรพตพิทกั ษ์ (ทิม) กรุงเทพมหานคร อุปสมบท อุปสมบทเมื่อ พ.ศ. ๒๔๘๐ อายุได้ ๒๐ ปี
158
4
ณ พัทธสีมาวัดสระเกศราชวรมหาวิหาร แขวง บ้านบาตร เขตป้อมปราบศัตรูพา่ ย กรุงเทพมหานคร วิทยฐานะ ได้ รั บ การศึ ก ษากั บ ครู ย งค์ (ไม่ ท ราบ นามสกุล) เป็นคนบ้านช้างคู้สลอด มีความรู้ เทียบเท่าชั้นประถมปีที่สาม - พ.ศ. ๒๔๗๘ อายุได้ ๑๘ ปี สอบได้ น.ธ.ตรี ป.ธ. ๓ - พ.ศ. ๒๔๗๙ อายุได้ ๑๙ ปี สอบได้ น.ธ. โท ป.ธ. ๔ - พ.ศ. ๒๔๘๑ อายุได้ ๒๑ ปี สอบได้ น.ธ. เอก - พ.ศ. ๒๔๘๒ อายุได้ ๒๒ ปี สอบได้ ป.ธ. ๕ - พ.ศ. ๒๔๘๓ อายุได้ ๒๓ ปี สอบได้ ป.ธ. ๖ งานการปกครอง - พ.ศ. ๒๔๘๘ เป็นรักษาการแทนเจ้าอาวาสวัดสุธาโภชน์ - พ.ศ. ๒๔๘๙ เป็นเจ้าอาวาสวัดสุธาโภชน์
- พ.ศ. ๒๔๙๗ เป็นเจ้าอาวาสวัดบางซ้ายใน - พ.ศ. ๒๔๙๙ เป็นรักษาการแทนเจ้าคณะอ�ำเภอบางซ้าย - พ.ศ. ๒๕๐๒ เป็นเจ้าคณะอ�ำเภอบางซ้าย - พ.ศ. ๒๕๑๙ เป็นเจ้าอาวาสวัดบรมวงศ์อิศรวราราม พระอารามหลวงชั้นโท สมณศักดิ์ที่ได้รับ - พ.ศ. ๒๔๙๙ ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ เป็นพระครู อดุลวรวิทย์ (พระครูพิเศษ จ.ป.ร. ) - พ.ศ. ๒๕๐๕ ได้รับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์ เป็นเจ้าคณะอ�ำเภอชั้นเอก - พ.ศ. ๒๕๑๒ ได้รับพระราชทานเลื่อน สมณศักดิ์ เป็นเจ้าคณะอ�ำเภอชั้นพิเศษ - พ.ศ. ๒๕๑๙ ได้ รั บ พระราชทานเลื่ อ น สมณศักดิ์ เป็นพระราชาคณะสามัญที่ “ พระอดุลธรรมเวที ” (สป.)
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 158
22/5/2561 13:16:42
อานิสงส์ของการรักษาศีล 5 อาหารทิพย์แห่งมนุษย์สมบัติ 1. ผู้ที่รักษาศีลข้อ 1 ด้วยการไม่ฆ่าสัตว์ ตั ด ชี วิ ต ด้ ว ยเศษของบุ ญที่ รั ก ษาข้ อ นี้ เมื่ อ น้อมน�ำมาเกิดเป็นมนุษย์ ก็จะมีพลานามัยแข็งแรง ปราศจากโรคภัย ไม่ขโี้ รค อายุยนื ยาว ไม่มศี ตั รู เบียดเบียนให้ตอ้ งบาดเจ็บ ไม่มอี บุ ตั เิ หตุตา่ งๆ ทีจ่ ะท�ำให้บาดเจ็บ หรือสิน้ อายุเสียก่อนวัยอันควร 2. ผู้ที่รักษาศีลข้อ 2 ด้วยการไม่ถือเอา ทรัพย์ของผูอ้ นื่ ทีเ่ จ้าของมิได้เต็มใจให้ ด้วยเศษ ของบุญทีน่ ำ� มาเกิดเป็นมนุษย์ ย่อมท�ำให้ได้เกิด ในตระกูลทีร่ ำ�่ รวย การท�ำมาหาเลีย้ งชีพในภาย หน้ามักจะประสบกับช่องทางที่ดี ท�ำมาค้าขึ้น และมั่งมีทรัพย์ ทรัพย์สมบัติไม่วิบัติหายนะไป ด้วยภัยต่างๆ เช่น อัคคีภยั วาตภัย โจรภัย ฯลฯ 3. ผู ้ ที่ รั ก ษาศี ล ข้ อ 3 ด้ ว ยการไม่ ล ่ ว ง ประเวณีในคูค่ รอง หรือคนในปกครองของผูอ้ นื่ ด้วยเศษของบุญที่รักษาศีลในข้อนี้ เมื่อน�ำมา เกิดมาเป็นมนุษย์ ก็จะประสบโชคดีในความรัก มักได้พบกับรักแท้ที่จริงจังและจริงใจ ไม่ต้อง อกหัก อกโรย และอกเดาะ ครัน้ เมือ่ มีบตุ รธิดา
ก็วา่ นอนสอนง่าย ไม่ดอื้ ด้าน ไม่ถกู ผูอ้ นื่ ฉุดคร่า อนาจารไปท�ำให้เสียหาย บุตรธิดาย่อมเป็น อภิชาตบุตร ซึ่งจะน�ำเกียรติยศชื่อเสียงมาสู่ วงศ์ตระกูล 4. ผูท้ รี่ กั ษาศีลข้อ 4 ด้วยการไม่กล่าวมุสา ด้วยเศษของบุญที่รักษาศีลข้อนี้ เมื่อน�ำมาเกิด เป็นมนุษย์ จะท�ำให้เป็น ผู้ที่มีเสียงไพเราะ พูดจามีน�้ำมีนวลชวนฟัง มีเหตุมีผลชนิดที่เป็น พุทธวาจา มีโวหารปฏิภาณไหวพริบในการ เจรจา จะเจรจาความสิ่งใดก็มีผู้ฟังและเชื่อถือ สามารถว่ากล่าวสั่งสอนบุตรธิดาและศิษย์ให้ อยู่ในโอวาทได้ดี 5 . ผู้ที่รักษาศีลข้อ 5 ด้วยการไม่ดื่มสุรา เมรัย เครื่องหมักดองของมึนเมา ด้วยเศษของ บุญที่รักษาศีลข้อนี้ เมื่อน�ำมาเกิดเป็นมนุษย์ ย่อมท�ำให้เป็น ผู้ที่มีสมอง ประสาท ปัญญา ความคิ ด แจ่ ม ใส จะศึ ก ษาเล่ า เรี ย นสิ่ ง ใดก็ แตกฉานและทรงจ�ำได้งา่ ย ไม่หลงลืมฟัน่ เฟือน เลอะเลือน ไม่เสียสติวกิ ลจริต ไม่เป็นโรคสมอง โรคประสาท ไม่ปัญญาทราม ปัญญาอ่อนหรือ ปัญญานิ่ม
วัดสุธาโภชน์ เลขที่ 38 หมูท่ ี่ 6 ต�ำบลบางนมโค อ�ำเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 13110 โทรศัพท์ 0-1991-6426 โทรสาร 0-3520-1638
AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
4
.indd 159
159
22/5/2561 13:16:51
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดเจ้าแปดทรงไตรย์
พระปลั ด สมจิ ต ร จิ ต ตฺ ป สาโท ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง เจ้ า อาวาส
วัดเจ้าแปดทรงไตรย์ ตั้งอยู่ 21 หมู่.2 อ.เสนา จ.พระนครศรีอยุธยา สร้างเมื่อ
พ.ศ.2467 เนื้ อ ที่ ส ร้ า งวั ด ครั้ ง แรก จ� ำ นวน 12 ไร่ 3 งาน โดยนายแปะ และ นางนกแก้ ว ทรงไตรย์ เป็ น ผู ้ ถ วาย จึ ง ได้ ชื่ อ วั ด ตามนามสกุ ล ว่ า “วั ด เจ้ า แปดทรงไตรย์ ” วัดเจ้าแปดมีพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ประจ�ำวัด คือ “หลวงพ่อเพชร” ท่านใดตั้งใจปฏิบัติบูชา รักษาศีลเจริญสมาธิภาวนาจนจิตสงบเกิดปัญญาท�ำอะไรย่อมสมดั่งใจปรารถนา แต่ทุกอย่างก็ อยู่ในกฎอนิจจัง ดังที่พระพุทธองค์ตรัสไว้ อย่างไรก็ตาม หลวงพ่อเพชร ยังคงเป็นที่ศรัทธาและ ยึดเหนีย่ วจิตใจของชาวเจ้าแปด ซึง่ หลวงพ่อปานเป็นผูจ้ ดั สร้างขึน้ ในต�ำแหน่งของพระราหู อันเป็น คู่มิตรของพระเสาร์ เพื่อให้เกิดความสมดุลกันพระราหู คือเทพผู้ประทานความอุดมสมบูรณ์ 160
2
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 160
21/5/2561 18:42:45
ท�ำเนียบเจ้าอาวาสที่แต่งตั้งเป็นทางการ 4 รูป 1.พระอธิการป่วน ขนฺติโก 2.พระอธิการพิพัฒน์ รตนฺสาโร 3.พระครูกิตติธรรมธาดาพร้อมด้วยคณะ ทายกทายิกา คณะกรรมการและชาวสายธาร ศรั ท ธา พ.ศ.2521 ได้ ร ่ ว มกั น ซื้ อ ขยาย อาณาเขต จ�ำนวน 87 ไร่ 2 งาน 88 ตารางวา เพื่อเป็นสถานที่ก่อสร้าง อัฏฐเจดีย์* ธรรม สถานแต่ได้ถึงกาลมรณภาพเสียก่อน 4. พระปลัดสมจิตร จิตตฺปสาโท เจ้าอาวาส รูปปัจจุบัน ติดต่อ วัดเจ้าแปดทรงไตรย์ โทร 081 586 8357 ประวัติ พระครูกิตติธรรมธาดา อดีตเจ้า อาวาสวัดเจ้าแปดทรงไตรย์ จ.พระนครศรีอยุธยา เป็ น พระสุ ป ฏิ ป ั น โนผู ้ ซึ่ ง ท� ำ นุ บ� ำ รุ ง พระพุ ท ธ ศาสนาโดยการริ เ ริ่ ม ก่ อ สร้ า ง “พระมณฑป หลวงพ่อเพชร-หลวงพ่อปาน” และด้วยปฏิปทา อันแน่วแน่ กับการใช้ชวี ติ เป็น “ธรรรมทาน” โดย ตลอดของท่าน อีกทั้งยังได้สร้างชื่อเสียงให้วัด เจ้าแปดทรงไตรย์และเจ้าอาวาสวัดเป็นทีร่ จู้ กั กัน ในพุทธศาสนิกชนด้วยความมีเมตตาอย่างไม่มี ประมาณของท่าน ปัจจุบัน พระปลัดสมจิตร จิ ต ตฺ ป สาโท เจ้ า อาวาส และทายกทายิ ก า ศิษยานุศษิ ย์ ได้ดำ� เนินงานสานต่องานของท่าน จนส�ำเร็จลุล่วงไปด้วยดี
หมายเหตุ* เจดีย์ หมายถึง สิ่งก่อสร้าง หรือสิ่งของที่สร้างขึ้น เพื่อเป็นที่เคารพบูชา ระลึกถึง สถูป หมายถึงสิ่งก่อสร้างเหนือหลุม ฝังศพ หรือสร้างขึ้นเพื่อบรรจุอัฐิธาตุของผู้ที่ ล่วงลับไปแล้ว เพื่อให้ลูกหลานและผู้เคารพ นับถือได้สักการบูชา ถือกันว่ามีบุคคลที่ควร บรรจุอัฐิธาตุไว้ในสถูปเพื่อเป็นที่สักการะของ มหาชนอยู่เพียง 4 พวก เรียกว่า ถูปารหบุคคล ได้แก่ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระปัจเจกพุทธ เจ้า พระอรหันตสาวก และพระเจ้าจักรพรรดิ ส�ำหรับประเทศไทย ค�ำว่า สถูป และ เจดีย์ เรา มั ก รวมเรี ย กว่ า “สถู ป เจดี ย ์ ” หรื อ “เจดี ย ์ ” มี ค วามหมายเฉพาะ ถึ ง สิ่ ง ก่ อ สร้ า งในพุ ท ธ ศาสนาที่ ส ร้ า งขึ้ น เพื่ อ บรรจุ อั ฐิ หรื อ เพื่ อ ประดิษฐานพระพุทธรูป หรือเพื่อเป็นที่ระลึก
ทั้งนี้อาจเป็นเพราะในสมัยหลังลงมาคงมีการ สร้างสถานที่เพื่อบรรจุอัฐิธาตุ และเพื่อเคารพ บูชาระลึกถึงพร้อมกันไปด้วย ต�ำราในพระพุทธศาสนาก�ำหนดว่า พระเจดีย์ หรื อ เจดี ย ์ มี 4 ประเภท คื อ ธาตุ เ จดี ย ์ สิ่งก่อสร้างบรรจุพระบรมธาตุของพระพุทธเจ้า พระมหากษัตริย์พระปรินิพพาน บริโภคเจดีย์ สังเวชนียสถานอันเป็นสถานที่ประสูติ ตรัสรู้ ปฐมเทศนา และปรินิพพาน ของพระพุทธเจ้า ธรรมเจดี ย ์ คาถาที่ แ สดงพระอริ ย สั จ หรื อ คัมภีร์ในพระพุทธศาสนา เช่น พระไตรปิฎก และ อุเทสิกะเจดีย์ ของที่สร้างขึ้นโดยเจตนา อุทิศแด่พระพุทธเจ้า ไม่ก�ำหนดว่าจะต้องท�ำ เป็นอย่างไร เช่น สร้างบัลลังก์ให้หมายแทน พระพุทธองค์ AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 161
161
21/5/2561 18:42:52
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
สร้างในปลายรัชสมัยแผ่นดินสมเด็จพระนารายณ์มหาราช
วัดบางกะทิง ตั้งอยู่ใน ต.หัวเวียง อ.เสนา จ.พระนครศรีอยุธยา การสร้างขึ้น
ต่อมาย้ายมาอยูท่ แี่ ห่งใหม่และปฏิสงั ขรณ์ใหม่ ในรัชกาลที่ 3 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ซึ่งพระยา ประสิทธิ์ (น้อย) เป็นหัวหน้าในการปฏิสังขรณ์ และได้เปลีย่ นชือ่ ใหม่ “วัดใหม่เจ้าพระยามัคคาราม” แต่ชาวบ้านเรียกกันสัน้ ๆ ว่า วัดใหม่ ในทีส่ ดุ ค�ำว่า เจ้าพระยามัคคาราม ก็เลือนหายไปในที่สุด และเรียกวัดใหม่กันเรื่อยมา ครั้นต่อมาท่าน เจ้าอาวาส (พระครูพศิ ษิ ฐ์สงั ฆการ) จึงเปลีย่ นเป็น “บางกะทิง” ทั้งนี้เพื่อรักษานามเดิมและชื่อ ของต�ำบลไว้
ครัง้ ต้นแผ่นดินพระเพทราชา พระญาติราชวงศ์บา้ นพลูหลวงได้มาสร้างเพิม่ เติมจนส�ำเร็จเรียบร้อย และตัง้ ชือ่ ว่าวัดใหม่บางกะทิง เดิมทีเดียวนัน้ วัดไม่ได้อยูต่ รงปัจจุบนั นี้ สถานทีต่ งั้ อยูเ่ ดิมคงอยูต่ อนเหนือ วัดไปราว 1 เส้น เนือ้ ทีท่ สี่ ร้างวัดนีต้ ดิ กับเขตบริเวณบ้านพักของพระยาสีหราชเดโชชัย (ทิป) ปัจจุบนั มีตน้ สะตือเก่าแก่อยู่ 2 ต้น เขตบริเวณบ้านพระยาสีหราชเดโชชัย (ทิป) นี้ ปัจจุบนั เป็นทีท่ ำ� สวนครัว ปลูกพืชของนายบุญชอบ นางตลุ่ม ฤกษ์สมโภชน์ และที่นาของนายมาก นางจรัญ ปิยานุช
พระครูสถิตสมณาจาร เจ้าอาวาสวัดบางกะทิง พระครูสถิตสมณาจาร ปัจจุบันอายุ 60 ปี พรรษา 24 น.ธ.เอก ปัจจุบนั ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส วัดบางกะทิง วิทยฐานะ : พ.ศ.2511 ส�ำเร็จ ชั้ น ประถมศึ ก ษาปี ที่ 4 โรงเรี ย นวั ด โบสถ์ (ศุภพิทยาคาร) จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2532 สอบได้ น.ธ.เอก ส�ำนักเรียนวัดบางกะทิง
วัดบางกะทิง
วัดโบราณ สมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี พระครูสถิตสมณาจาร ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
ในครั้งนั้นนัยว่าพระยาสีหราชเดโชชัย (ทิป) เป็นผู้น�ำการสร้างขึ้น แต่ยังไม่ส�ำเร็จ เรียบร้อยทั้งหมด
162
1
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 162
22/5/2561 13:18:29
อาหารเด่ น ของพื้ น ที่ ร างจระเข้ คื อ ก๋วยเตี๋ยวเรือโอ่ง ขายชามละ 10 บาท อาหารตามสั่งจานละ 20 บาท ซึ่งเป็นร้าน ค้าสวัสดิการของทางวัด ที่เจ้าอาวาสจัดให้ ญาติโยมได้บริโภคอาหารราคาถูก สอบถามได้ที่ป้าแดง 081-434-0806 นอกจากนี้ยังมีเส้นทางธรรมชาติ ด้วย การล่องเรือตามล�ำคลองรางจระเข้ ระยะทาง 10 กม. และเส้นทางปั่นจักรยาน
กิจกรรมร�ำไทย
ล่องเรือ
HOMESTAY
KHLONG RANG JORAKAE “โฮมสเตย์ คลองรางจระเข้ ” โฮมสเตย์ คลองรางจระเข้ มีบ ้า นพัก รวม 5 หลั ง สามารถรั บ นัก ท่องเที่ย วได้ 50 คน ราคาท่า นละ 600 บาท/คน/คืน โดยมีอาหาร 2 มื้อ เย็น และเช้ า กิ จ กรรม ล่องเรือชมวิถีชีวิตชาวบ้านสองฝั่งคลอง ชมนกหลาย ชนิ ด ขณะล่ องเรือ พืช น�้ำริมคลอง ขึ้น กราบพระขอพร (หลวงพ่อโตโลกนายก) ทีช่ าวบ้านใกล้และไกลนับถือมาก มีจักรยานให้ปั่นชมทุ่ง นาบัวในหมู่บ้าน หรือจะนั่งแพ ตกปลาริมคลอง
สอบถามเส้น ทางได้ที่ 089-8811082, 081-2518058 พี่ด าวเรือง
ขนมไทยห่อใบตอง AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
1
.indd 163
163
25/5/2561 16:54:26
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
อปฺปมตฺโต หิ ฌายนฺโต ปปฺโปติ วิปุลํ สุขํ ผู้ ไม่ประมาทพินิจอยู่ ย่อมถึงสุขอันไพบูลย์
วัดทางหลวง
ส�ำนักปฏิบัติธรรมประจ�ำจังหวัดอยุธยา แห่งที่ 5 พระปลัดสุนแสน ปริสุทฺโธ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
วัดทางหลวงเป็นวัดราษฎร์ สังกัดมหานิกาย ตั้งอยู่ติดริมคลองปลายกลัด เลขที่
69 หมู่ที่ 4 ปัจจุบันมีเนื้อที่ 12 ไร่ 3 งานโดยได้รับบริจาคที่ดินจากนางนาค มาก มี 7 ไร่ 3 งาน และทางวัดได้จัดซื้อเพิ่มเติมอีก 5 ไร่ ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ.2437
เขตและอุปจารวัด คือ ด้านหน้าวัดทิศตะวันตกจดล�ำคลองปลายกลัด ทิศเหนือจดเขตสวนและ สนามกีฬาเฉลิมพระเกียรติ์ หมู่ที่ 4 ทิศตะวันออกจดถนนสายล�ำตะเคียน วัดเกาะทิศใต้จดล�ำราง สาธารณประโยชน์ ปัจจุบัน มีเนื้อที่ 12 ไร่ 3 งาน โดยได้รับบริจาคที่ดิน จากนางนาค มากมี 164
2
วัดทางหลวง ได้รับการแต่งตั้งให้เป็น ส�ำนักปฏิบตั ธิ รรมประจ�ำจังหวัดอยุธยา แห่งที่ 5 โดยมหาเถรสมาคมมีนโยบายให้คณะสงฆ์ จังหวัด พิจารณาคัดเลือกวัดที่มีความเหมาะ สมในด้านวิปัสสนาธุระ เสนอขอจัดตั้งเป็น ส�ำนักปฏิบัติธรรมประจ�ำจังหวัด ตามระเบียบ มหาเถรสมาคม ว่าด้วยการจัดตั้งส�ำนักปฏิบัติ ธรรมประจ�ำจังหวัด พ.ศ.2543 ให้ครอบคลุม ทุกจังหวัด เมื่อปี พ.ศ.2482 หลวงปู่เทพ หลวงปู่หิน หลวงปู่เฮง ได้เดินธุดงค์ มาจากประเทศเขมร มาถึงวัดทางหลวงจ�ำพรรษาอยู่ 3 รูปจึงแต่งตัง้ ให้หลวงปูเ่ ทพ เป็นเจ้าอาวาส หลวงปูห่ นิ ได้ไป จ�ำพรรษาที่วัดระฆังโฆสิตารามวรมหาวิหาร ปัจจุบนั พระเดชพระคุณพระราชประสิทธิวมิ ล ผู ้ ช ่ ว ยเจ้ า อาวาสวั ด ระฆั ง โฆสิ ต าราม เป็ น ผู้อุปถัมภ์วัดทางหลวงมาโดยตลอด
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 164
22/5/2561 13:19:23
วัดมีพระพุทธรูปศักดิส์ ทิ ธิ คือ หลวงพ่อโต ในอุโบสถ หน้าตักกว้าง 5 เมตร 9 นิ้ว และ หลวงพ่อใหญ่ในวิหารหน้าตักกว้าง 10 เมตร 9 นิว้ เป็นทีย่ ดึ เหนีย่ วจิตใจของประชาชนทัว่ ไป
มีการสอนวิปัสสนากัมมัฏฐาน สอนปฏิบัติใน มหาสติปัฏฐานสูตร*เป็นหลัก มีพระวิปัสสนา จารย์สอนประจ�ำที่ส�ำนักปฏิบัติธรรมแห่งนี้
ท�ำเนียบเจ้าอาวาส
หลักสูตรการอบรม 3 วัน 2 คืน, หลักสูตร การอบรม 4 วัน 3 คืน หลักสูตรการอบรม 7 วัน 6 คืน ในวัน ส�ำคัญแห่งชาติและวันส�ำคัญทางศาสนา อีกทั้งทางส�ำนักจัดให้มีการปฏิบัติธรรม ทุกวันอาทิตย์ ตั้งแต่เวลา 9.00 น.ถึง 14.00 น.มี พิ ธี ส วดมนต์ ข ้ า มคื น ทุ ก วั น ธรรมสวนะ ตั้งแต่เวลา 21.00 น.ถึง 01.00 น. กิ จ กรรมพิ เ ศษประจ� ำ ปี ทุ ก วั น ที่ 15 เมษายน ของทุกปีจัดงานประเพณีสงกรานต์ แรม 4 ค�่ำ เดือน 12 ของทุกปีจัดงานประจ�ำ ปีปิดทองไหว้พระ ทุกวันที่ 31ธันวาคมของทุกปี จัดพิธีสวด มนต์ข้ามปีส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่
หลวงพ่อลอย ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสรูปที่ 1 พ.ศ.2477 หลวงพ่อจันทร์ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้า อาวาสเป็นรูปที่ 2 พ.ศ.2482 พระครูวิบูลธรรมานุสรณ์ (เทพ อินทโชโต) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสรูปที่ 3 พ.ศ.2518 พระครูอนุวัตรวิหารกิจ (อ�ำนวย อายุโท)ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสรูปที่4 พ.ศ.2544 พระครูศรัทธาบุญกิจ (สุขแสน มงคลไวย์)ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน ในปี พ.ศ.2549 วัดได้รับการแต่งตั้งเป็น ส� ำ นั ก ป ฏิ บั ติ ธ ร ร ม ป ร ะ จ� ำ จั ง ห วั ด พระนครศรีอยุธยา แห่งที่ 5 ได้รับใบประกาศ มหาเถรสมาคม เมื่อวันที่ 28 เมษายน 2549
หลักสูตรการปฏิบัติธรรม
หลักการภาวนาตามมหาสติปัฏฐานสูตร เป็นข้อปฏิบตั เิ พือ่ รูแ้ จ้ง คือเข้าใจตามเป็นจริง ของสิง่ ทัง้ ปวงโดยไม่ถกู กิเลสครอบง�ำ สติปฏั ฐานมี 4 อย่าง กาย เวทนา จิต และธรรม ค�ำว่า สติปฏั ฐานนัน้ หมายถึง การมีสมั มาสติระลึก รู้นั้นพ้นจากการคิดโดยตั้งใจ แต่เกิดจากจิต จ�ำสภาวะได้ แล้วระลึกรู้โดยอัตโนมัติ โดย ค�ำว่า สติ หมายถึงความระลึกรู้ ส่วนปัฏฐาน แปลได้หลายอย่าง แต่ในมหาสติปฏั ฐานสูตร และสติปัฏฐานสูตร หมายถึง ความตั้งมั่น, ความแน่วแน่, ความมุ่งมั่น โดยรวมคือเข้าไป รู้เห็นในสิ่งทั้งหลายตามความเป็นจริง ตาม มุ่งมองของไตรลักษณ์หรือสามัญลักษณะ โดยไม่มีความยึดติดด้วยอ�ำนาจกิเลสทั้งปวง
AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 165
165
22/5/2561 13:19:39
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
“ท่านพึงบ�ำเพ็ญเมตตาบารมีให้เต็มเปี่ยม ให้ความเย็นฉ�่ำแผ่ซ่านไปทั้งแก่คนชั่วและคนดี ฉันใด ท่านเป็นผู้มีเมตตาจิตในสัตว์ทั้งปวง ก็จักได้เป็นพระพุทธเจ้า ฉันนั้น”
วัดพรานนก เดิมชื่อ “วัดโพธิ์ทอง”
วัด พรานนก ตั้งอยู่เลขที่ 116 บ้านพรานนก หมู่ที่ 2 ต�ำบล โพสาวหาญ อ�ำเภอ
อุทัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย พื้นที่ตั้งวัดเป็นที่ราบลุ่มอยู่ ท่ามกลางทุ่งนา ในชุมชนเล็กๆของชนบท มีเนื้อที่ 21 ไร่ 3งาน 40 ตารางวา ตามโฉนด เลขที่ 8806,2651,31739 ตามหนังสือพระราชพงศาวดารกรุงธนบุรี กล่าวว่า ณ วันเสาร์เดือนยี่ ขึ้นสี่ค�่ำปีจอ อัฐศก (อัฐศก เป็นการเรียกปีจุลศักราชที่ลงท้ายด้วยเลข 8) เวลาย�่ำฆ้องยามเสาร์ พระยาวชิรปราการ (พระยาตาก)พร้อมสมัครพรรคพวกประมาณ 500 คน ได้ตีฝ่าวงล้อมของพม่าข้าศึกออกมาจาก
166
2
พระนครฯ ทางค่ายวัดพิชยั ไปทางบ้านข้าวเม่า บรรลุถงึ บ้านสามบัณฑิต ครัน้ รุง่ ขึน้ ณ วันอาทิตย์ เดือนยี่ ขึน้ ห้าค�ำ่ จุลศักราช 1128 ปีจอ อัฐศก ตรงกับวันที่ 4 มกราคม พุทธศักราช 2309 พม่ายกกองทัพตามมาทันที่บ้านโพสาวหาญ ได้เกิดการสู้รบกันทหารพม่าแตกพ่าย ครั้น เวลาบ่ายหยุดประทับพักแรม ณ บ้านพรานนก เพือ่ หาเสบียงอาหาร กองทหารพม่าทีย่ กมาแต่ บางคางประกอบด้วยพลม้า 30 ม้า พลเดินเท้า ประมาณ 2000 คน ยกพลผ่ า นมาพบ ทหารไทยที่ออกไปหาเสบียงอาหาร จึงเข้าไล่ ต้อนจับคนไทย พระเจ้าตากเห็นเหตุการณ์เช่น นั้ น จึ ง ตั ด สิ น ใจโดยฉั บ พลั น กระโดดขึ้ น ม้ า พร้อมด้วยทหารเอกคู่ใจอีก 4 ม้า บัญชาการ รบขับม้าทะยานเข้าต่อสู้กับพม่าข้าศึก 30 ม้า พระเจ้าตากใช้ความห้าวหาญ เข้าท�ำการรบบน
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 166
22/5/2561 13:20:29
หลังม้าด้วยความรวดเร็ว รุนแรง ยังส่งผลให้ ทหารพม่ า ถูกฆ่า ตายและแตกพ่า ย กระจัด กระจายไปสิ้น นับเป็นชัยชนะอย่างเด็ดขาด หลังจากที่พระเจ้าตากจากไปแล้วพร้อมทั้ง ชาวบ้านพรานนกได้ติดตามไปด้วยทั้งหมด เพราะเกรงว่าพม่าจักส่งทหารมาแก้แค้น จึง ท�ำให้บ้านพรานนกร้างผู้คน พระสงฆ์ที่มีอยู่ก็ คงจะหนีไปอยูท่ อี่ นื่ หรือไม่กล็ าสิกขา พระพุทธ รูปในอุโบสถถูกท�ำลายเสียหายเหลือไว้แต่ซาก ปรักหักพังไม่ทราบว่าเป็นฝีมือของผู้ใด ดังนั้นจึงสันนิษฐานว่าวัดพรานนกคงจะ สร้ า งในสมั ย กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยาในขณะที่ ก รุ ง ศรี อยุธยาก�ำลังเจริญรุ่งเรือง และได้ถูกทิ้งให้เป็น วัดร้างหลังจากทีพ่ ระเจ้าตากสินได้เดินทัพจาก ไปพร้ อ มทั้ ง ชาวบ้ า น ต่ อ มาหลั ง จากที่ พระเจ้าตากสินได้กู้กรุงศรีอยุธยากลับมาได้ แล้ ว แต่ ไ ม่ ส ามารถจะบู ร ณะกรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา ให้กลับมาดีดงั เดิมได้ จึงได้ไปตัง้ กรุงธนบุรเี ป็น ราชธานี เมื่อบ้านเมืองกลับเข้าสู่ภาวะปกติ ได้มีประชาชนเข้ามาอยู่อาศัยตั้งบ้านเรือนที่ บ้านพรานนก เป็นจ�ำนวนมากจึงได้พร้อมใจ บูรณะวัดขึน้ มาใหม่ในปี พ.ศ.2472 ได้เรียกว่า “วั ด โพธิ์ ท อง”และได้ เ ปลี่ ย นชื่ อ เป็ น “วั ด พรานนก” ตามชือ่ หมูบ่ า้ น และต�ำนานทีก่ ล่าว ว่าพรานทองค�ำ ซึง่ เป็นพรานล่านก ได้รบั อาสา จัดหาเสบียงให้พระยาวชิรปราการเมื่อครั้งมา พั ก ทั พ ยั ง บ้ า นพรานนกก่ อ นจะไปตี เ มื อ ง จันทบุรี
ท�ำเนียบเจ้าอาวาสตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน 1. พ.ศ.2472-2498 ไม่ทราบนามเจ้าอาวาส 2. พระอธิการโมรา บุญรอด พ.ศ.2498-2510 3. พระอธิการส�ำรวม อิทฺธิมโย (หวังธรรม) พ.ศ.2511-2518 4. พระครูปลัดปิ่น เตชปุญโญ (รื่นแก่นจันทร์) พ.ศ.2524-2541 5. พระอธิการเสนาะ ฐานสโม (เกตุแก้ว) พ.ศ.2542-2543 6. พระครูพิศิษฎ์บุญญากร (ทรัพย์ทวี คงเจริญถิ่น) พ.ศ.2546-ปัจจุบัน
นอกจากเจ้าอาวาสที่ได้รับการแต่งตั้งจาก เจ้าคณะจังหวัดแล้วยังมีพระภิกษุทไี่ ด้รบั รักษา การเจ้าอาวาสและรับดูแลในช่วงที่ยังไม่มีการ แต่งตัง้ เจ้าอาวาสอีกหลายรูป ซึง่ ไม่สามารถจะ กล่าวนามได้หมด ด้วยแรงแห่งศรัทธาในพระพุทธศาสนา และบูรพมหากษัติย์ไทย ร่ ว มงานบุ ญ กุ ศ ล บู ร ณะเสนาสนะและ สร้างศาสนสถานในวัดพรานนก 1. วันที่ 28 ธันวาคม 2561-วันที่ 6 มกราคม 2562 จัดงานผูกพัทธสีมา 2. ท�ำตาข่ายคลุมอุโบสถป้องกันนกมาอาศัย 3. สร้างศาลาหลังใหม่แทนศาลาไม้ ทีส่ ร้าง มากว่า 50 ปี 4. สร้างกุฏใิ หม่แทนกุฏไิ ม้หลังเก่า สองหลัง 5. ตัง้ อนุสาวรียส์ มเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
ท่านใดไม่สะดวกมาที่วัดสามารถโอนเข้าบัญชี วัดพรานนก
ธนาคารกรุงเทพฯ เลขที่บัญชี 073-477385-6 ธนาคารเพือ่ การเกษตรและสหกรณ์การเกษตร เลขที่บัญชี 703-2-46848-9 ติดต่อสอบถามโทร. 0-3577-2111, 08-9996-5247, 08-7991-6649
AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 167
167
25/5/2561 15:39:33
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดกุ่มแต้
พระอธิ ก ารเทิ ด ศั ก ดิ์ ธมฺ ม วโร ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง เจ้ า อาวาส
วัดกุ่มแต้ ที่ต้ัง 33 หมู่ 6 ต�ำบลสามบัณฑิต อ�ำเภออุทัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
โทร. 092-850-9213
ประวั ติ ข องเจ้ า อาวาสวัดกุ่มแต้ปัจ จุบัน พระอธิ ก ารเทิ ด ศั ก ดิ์ ธมฺ ม วโร (นามสกุ ล เดิ ม คนเที่ ย ง) ท่ า นเป็ น ชาวอ� ำ เภอบางเลน จังหวัดนครปฐม อุปสมบทเมื่อวันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ.2546 วัดดอนพุทรา ต�ำบลสามบัณฑิต จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา โดยมี พ ระครู กิ ต ติ ว รวั ฒ น์ (หลวงพ่ อ โอษฐ์ ) เป็ น พระอุ ป ั ช ฌาย์ พระอธิการบุญเลิศ เป็นพระกรรมวาจาจารย์ วิทยฐานะ นธ.โท, หลักสูตร ป.บส พรรษา 15 168
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 168
21/05/61 06:59:10 PM
ประวั ติ วั ด กุ ่ มแต้ คุณปูห่ ลง - คุณย่าสาด หวังจิตร์ ได้บริจาค ที่ ดิ น จ� ำ นวนหนึ่ ง ให้ เ ป็ น ที่ ตั้ ง ส� ำ นั ก สงฆ์ ประมาณปี พ.ศ.2420 โดยมีพระอาจารย์ปลื้ม เป็น ผู้ดูแล จนมาถึงประมาณปี พ.ศ.2518 หลวงปู่แหวน ปจฺโชโต ต่อขาได้รับพระราชทาน สมณศั ก ดิ์ เ ป็ น พระครู สั ง ฆรั ก ษ์ ( แหวน) ปจฺโชโต จนกระทั่งได้มรณภาพลง ต่อมาพระครู ประภัสสร์ ธรรมวิมล เป็นเจ้าอาวาสต่ อจาก หลวงปู ่ แ หวน จนถึ ง ปี พ.ศ.2558 จึ ง ได้ มรณภาพลง คณะสงฆ์ อ�ำเภออุทัย จึงได้แ ต่งตั้งให้ พระครูอุทัยนิติธรรม (ดร.พิรัชเดช ฐิตฺวงฺโส) ด�ำรงต�ำแหน่งรักษาการแทนเจ้าอาวาส จนถึง วันที่ 19 มีนาคม พ.ศ.2559 ทางคณะสงฆ์ อ�ำเภออุทัยจึงได้แต่งตั้ง พระอธิการเทิดศักดิ์ ธมฺมวโร รองเจ้าอาวาสวัดดอนพุทรา (ศิษย์ ของหลวงพ่อโอษฐ์วัดดอนพุทรา หรือ พระครู กิตติวรวัฒน์) เป็นเจ้าอาวาสวัดกุ่มแต้จนถึง ปัจจุบัน
ปูชนียสถานและปูชนียวัตถุภายในวัด ทีพ่ ทุ ธบริษทั - เลือ่ มใสศรัทธาเคารพนับถือ
รูปหล่อสมเด็จโต รูปหล่อหลวงปู่ทวด รูปหล่อหลวงปู่แหวน อดีตเจ้าอาวาส หลวงพ่อสัจกัจจาบปูนปั้น
AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 169
169
24/05/61 05:02:49 PM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดเก่าแก่ตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา
วัดใหม่ปากบาง
เดิมชื่อ “วัดสกุณีเทศฐาราม”
วัดใหม่บางปาง ตั้งอยู่ หมู่ที่ 1 ต�ำบลท่าตอ อ�ำเภอมหาราช จังหวัพระนครศรีอยุธยา
13150 วัดนี้ตั้งอยู่ในเนื้อที่ดินของคุณนกเทศซึ่งถวายเป็นธรณีสงฆ์ ต่อมาได้ถวายเป็นที่ ธรณีสงฆ์ ซึ่งในสมัยนั้นได้มีพระภิกษุ 2 รูปธุดงค์มาในแถบต�ำบลท่าตออยู่เสมอ ชาวบ้าน แถบนั้นต่างก็เลื่อมใสในปฏิปทาของท่านเป็นอันมาก จึงนิมนต์ ให้ท่านอยู่จ�ำพรรษา โดย คุ ณ นกเทศได้ ส ร้ า งกุ ฏิ ส งฆ์ ห ลั ง เล็ ก ๆ ซึ่ ง อยู ่ ใ นที่ ดิ น ของท่ า น และต่ อ มาจึ ง ได้ ม อบที่ ดิ น ให้ตั้งเป็นส�ำนักสงฆ์ พระรูปแรกนั้นมีชื่อว่าทรัพย์ ส่วนอีกรูปไม่มีใครจ�ำชื่อได้ หลวงปู่ทรัพย์ ท่ า นได้ อ ยู ่ จ� ำ พรรษา ณ ส� ำ นั ก สงฆ์ แ ห่ ง นี้ แ ละได้ ก ่ อ สร้ า งเป็ น วั ด ขึ้ น มา และตั้ ง ชื่ อ วั ด นี้ ว ่ า วัดสกุณีเทศฐาราม โดยเอานามของคุณย่านกเทศมาตั้งชื่อวัด กาลต่อมาจึงได้เปลี่ยนชื่อ วัดใหม่เป็น “วัดใหม่ปากบาง” เพื่อให้สอดคล้องกับชื่อหมู่บ้านในภายหลัง 170
2
หลวงปูท่ รัพย์ ท่านเป็นชาวชุมแสง จังหวัด นครสวรรค์ ท่านเป็นพระธุดงค์มาปักกลดอยู่ ในต� ำ บลท่ า ตอ และเริ่ ม สร้ า งวั ด จนส� ำ เร็ จ สมบูรณ์ในปี พ.ศ.2394 โดยประชาชนในต�ำบล ท่าตอได้ชว่ ยกันสร้างกุฏิ หอสวดมนต์ จนเจริญ รุ่งเรืองเป็นวัดขึ้นมา หลวงปู่ทรัพย์ท่านเป็น พระที่ใจดีมีเมตตาธรรมสูง ท่านเก่งหนังสือ ขอม ท่านได้เขียนหนังสือขอมไว้ในสมุดใบลาน ประมาณสิบกระสอบ หลวงปู่ทรัพย์ท่านจะ สอนหนังสือพระเณรภายในวัดทุกวัน และท่าน เป็นพระทีเ่ คร่งครัดในพระธรรมวินยั มาก พระ เณรในวัดต่างก็เกรงท่านมาก และท่านก็เป็น ที่รักเคารพของชาวบ้านในแถบนั้น หลวงปู่ ทรัพย์ได้สร้าง พระเครื่องเนื้อผงกรุวัดใหม่ ปากบาง ไว้จ�ำนวนมาก มีด้วยกันหลายพิมพ์ เช่ น พิ ม พ์ พ ระประจ� ำ วั น พระนางพญา
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 170
22/5/2561 13:21:36
พระสมเด็จ 3 ชัน้ เป็นต้นและพระทัง้ หมดท่าน ได้น�ำบรรจุไว้ในองค์พระเจดีย์ย่อไม้สิบสอง วัดใหม่ปากบางตั้งอยู่คลองบางแก้วทิศ ตะวันตก หมู่ที่ 1 ต�ำบลท่าตอ อ�ำเภอมหาราช จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สายน�้ำที่ไหลผ่าน แยกมาจากแม่น�้ำเจ้าพระยา ผ่านวัดต้นสน จังหวัดอ่างทอง เรียกคลองนี้ว่าคลองบางแก้ว ไหลล่องใต้ผา่ นมารวมกับแม่นำ�้ ลพบุรที วี่ ดั ตองปุ และไหลผ่ า นมารวมกั น แม่ น�้ ำ เจ้ า พระยาที่ จั ง หวั ด อยุ ธ ยา คลองนี้ จึ ง อยู ่ ใ นเขตอ�ำ เภอ มหาราช ซึ่งเป็นอ�ำเภอหนึ่งของจังหวัดอยุธยา เป็นประโยชน์ต่อชาวนา ชาวไร่เกษตรกรเลี้ยง สัตว์พืชไร่ การคมนาคมไม่น้อย ที่ตั้งของวัดใหม่ปากบางอยู่ห่างจากคลอง บางแก้ว ประมาณ 4 กิโลเมตร ทิศใต้ของวัด
อยูใ่ นทิศเดียวกันคือ วัดสุวรรณเจดีย์ ทิศตะวันตก ติดกับคลองชลประทาน ทิศเหนือของวัด มีวัด อยูใ่ นย่านเดียวกันคือวัดเทพสุวรรณ ทิศตะวัน ออกติดริมฝั่งคลองบางแก้ว วัดใหม่ปากบางนี้ อยูห่ า่ งจากถนนสายเอเชียประมาณ 700 เมตร ห่างจากกรุงเทพฯ ประมาณ 100 กิโลเมตร ห่างจากสี่แยก สายเอเชีย-อ่างทอง ประมาณ 2 กิโลเมตร ห่างจากตัวจังหวัดอยุธยา 23 กิโลเมตร วัดใหม่ปากบาง มีพระพุทธรูปปางไสยาสน์ ให้ประชาชนกราบไหว้น้อมจิตใจให้เกิดความ สงบเพื่อความเป็นสิริมงคล พระพุทธรูปปาง ไสยาสน์ เป็นพระพุทธรูปอยู่ในพระอิริยาบถ นอนตะแคงขวา พระบาททั้งสองข้างซ้อนทับ เสมอกัน พระหัตถ์ซ้ายทาบไปตามพระวรกาย
พระหัตถ์ขวาตัง้ ขึน้ รับพระเศียรและมีพระเขนย (หมอน) รองรับ บางแบบพระเขนยวางอยู่ใต้ พระกัจฉะ (รักแร้) โดยมีประวัติย่อ ดังนี้ สมัยหนึ่ง เมื่อพระพุทธองค์ประทับอยู่ ณ วัดเชตวันมหาวิหาร หรือ วัดพระเชตวัน อาราม ของอนาถบิณฑิกเศรษฐี เป็นอาราม (วัด) ที่ สร้างโดยท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐี มหาเศรษฐี แห่งเมืองสาวัตถี บนที่ตั้งของเชตวัน หรือสวน เจ้าเชต นอกเมืองสาวัต ในพระนครสาวัตถี ครั้งนั้นอสุรินทราหูจอมอสูร ซึ่งส�ำคัญว่ามีร่าง โตใหญ่กว่าพระพุทธเจ้า จึงไม่ยอมแสดงความ อ่อนน้อม พระพุทธองค์ทรงประสงค์จะลดทิฐิ ของอสูร จึงทรงเนรมิตกายให้ใหญ่โตกว่าจอม อสู ร จอมอสู ร จึ ง ละทิ ฐิ ย อมอ่ อ นน้ อ มต่ อ พระพุทธองค์
AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 171
171
22/5/2561 13:22:14
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดประดู่ตะบอง
พระครู พิ ศ าลสารกิ จ (ขวั ญ ) ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง เจ้ า อาวาส
วัดประดู่ตะบอง ตั้งอยู่เลขที่ 39 บ้านกระทุ่ม หมู่ที่ 2 ต�ำบลกะทุ่ม อ�ำเภอมหาราช
จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา สั ง กั ด คณะสงฆ์ ม หานิ ก าย มี ที่ ดิ น ตั้ ง วั ด เนื้ อ ที่ 44 ไร่ 2 งาน อาณาเขตทิ ศ เหนื อ ยาว 5 เส้ น ติ ด ต่ อ กั บ ถนนเข้ า หมู ่ บ ้ า น ทิ ศ ใต้ ย าว 2 เส้ น ติ ด ต่ อ กั บ ที่นาของก�ำนันเชื่อม สวนขวัญ ทิศตะวันออกยาว 10 เส้น 6 วาเศษ ติดต่อกับที่ดินของ นายเล็ก ทองเกิด และนางเยื่อ ผดุงผิว ทิศตะวันตกยาว 8 เส้น 3 วา ติดต่อกับคลองกะทุ่ม 172
พื้ น ที่ ตั้ ง วั ด เป็ น ที่ ร าบลุ ่ ม อยู ่ ริ ม คลอง กะทุ่ม มักถูกน�้ำท่วมเสมอ อาคารเสนาสนะ ต่างๆ มี อุโบสถ สร้าง พ.ศ.2506 โครงสร้าง คอนกรีต ศาลาการเปรียญ สร้างเมือ่ พ.ศ.2474 เป็นอาคารไม้ หอสวดมนต์ สร้างเมือ่ พ.ศ.2462 เป็นอาคารไม้ 3 มุข กุฏิสงฆ์ จ�ำนวน 10 หลัง เป็ น อาคารไม้ และฌาปนสถาน ส� ำ หรั บ ปูชนียวัตถุมี พระประธานในอุโบสถ มีนามว่า “หลวงพ่ อ พลอย” สร้ า งขึ้ น ที่ วั ด นรนาถ สุนทริการาม กรุงเทพมหานคร โดยมีนางถมยา สุ ท ธิ ส มบู ร ณ์ และนางทองดี ด� ำ เนิ น การ หล่อขึ้นในสมัยของหลวงพ่อจันทร์ พ.ศ. 2490
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 172
21/05/61 07:00:45 PM
วัดประดูต่ ะบอง เดิมมีนามว่า “วัดตะบอง” สร้างขึน้ เป็นวัดนับตัง้ แต่ประมาณ พ.ศ.2400 ส�ำหรับผูท้ ดี่ ำ� เนินการ สร้างวัดเป็นหลักฐานขึ้นมานั้น คือ หลวงพ่อเพชร ได้รับ ความร่วมมือจากชาวบ้านเป็นอย่างดีทชี่ ว่ ยออกแรงกายใจ หลังจากได้สร้างเสนาสนะต่างๆ มั่งคงแล้วได้ไปอัญเชิญ พระประธานมาจากแถวคลองสระบัว ถวายพระนามว่า “หลวงพ่ อ เพชร” ตรงตามชื่ อ เจ้ า อาวาส ต่ อ มาถู ก โจรกรรมไป วัดประดู่ตะบอง ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา ครั้งหลัง วันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ.2482 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 19 เมตร ยาว 38 เมตร ได้ผูกพัทธสีมาเมื่อเดือน มีนาคม พ.ศ.2495 วัดประดูต่ ะบอง มีทธี่ รณีสงฆ์ 3 แปลง เนือ้ ที่ 49 ไร่ 3 งาน 89 ตารางวา โฉนดเลขที่ 5184,5278,6990 เกีย่ วกับการศึกษา ทางวัดได้เปิดสอนพระปริยตั ธิ รรม ตั้งแต่ พ.ศ.2463 มีโรงเรียนสอนเด็กก่อนเกณฑ์ เปิด พ.ศ.2525
ท�ำเนียบเจ้าอาวาส 1. หลวงพ่อเดช 2. หลวงพ่อเพชร 3. หลวงพ่อจิ๋ว 4. หลวงพ่อแปลก(ควาย) 5. พระครูพรหมสมาจาร(จันทร์) พ.ศ.2455 - 2507 6. พระครูธรรมาภิรม(จ�ำลอง) พ.ศ.2507 - 2517 7. พระครูพิศาลสารกิจ(ขวัญ) พ.ศ.2517 - ปัจจุบัน ปัจจุบนั ทีว่ ดั มีพระภิกษุจำ� พรรษา 10 รูป ศิษย์วดั 15 คน
ชวนเที่ยววัด
ปฏิ บั ติ ธ รรมที่ ป ระดู ่ ต ะบอง แล้ ว แวะกราบไหว้ “หลวงพ่อพระศรีโคดม” เจริญจิตตภาวนาที่วิหารร้าง สมั ย กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา อยู ่ ก ลางทุ ่ ง นา ที่ ถู ก รากต้ น โพธิ์ ปกคลุ ม ตามธรรมชาติ อ ย่ า งสวยงาม ใกล้ กั บ วั ด ประดู่ตะบอง ประมาณ 500 เมตร ซึ่งภายในตัววิหาร ที่พื้นมีการบูรณะน�ำอิฐมาวางเรียงเป็นพื้น พระประธาน วิหารมีการบูรณะทาสีดำ� สีทอง มีชอื่ ว่า “หลวงพ่อพระศรี โคดม” ซึ่งพระครูพิศาลสารกิจ เจ้าอาวาส เล่าว่า เห็น วิหารเก่าหลังนี้มาตั้งแต่สมัยเด็กๆ จนมาบวชเป็นพระ วิหารนีส้ ร้างในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย ปล่อยทิง้ ร้าง มานานแล้ว ซึง่ ถูกพบเมือ่ ไม่กปี่ มี านีเ้ อง และเป็นทีศ่ รัทธา ของชาวบ้านเป็นอย่างมากในปัจจุบัน AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 173
173
21/05/61 07:00:53 PM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดเกาะแก้ว
พระครู ป ลั ด รั ต นวรวั ฒ น์ ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง เจ้ า อาวาส
วัดเกาะแก้ว เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตั้งอยู่ริมแม่น�้ำป่าสัก ตะวันออก
หรือริมปากคลองข้าวสารฝั่งใต้ ตรงกันข้ามกับ วัดรัตนชัย (วัดจีน) ในท้องที่ ต�ำบลกะมัง อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีเนื้อที่ทั้งหมดประมาณ 9 ไร่ ขอเชิ ญ ท่ า นสาธุ ช นท่ อ งเที่ ย วทางธรรม ศึ ก ษาประวั ติ ศ าสตร์ วั ด เกาะแก้ ว รากฐานแห่ ง พระพุ ท ธศาสนา ในยุ ค กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยาที่ บู ร พมหากษั ต ริ ย ์ ไ ทยร่ ว มสร้ า งเขตอภั ย ทานให้ เ กิ ด ขึ้ น ในหั ว ใจของทุ ก คน สามารถติ ด ต่ อ วัดเกาะแก้ว ต�ำบลกระมัง อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา โทรศัพท์มือถือ : พระครูปลัดรัตนวรวัฒน์ (เจ้าอาวาส) 09-3152-3969
174
ประวัติความเป็นมา ท่ า นผู ้ รู ้ สั น นิ ษ ฐานว่ า เมื่ อ ประมาณกว่ า 300 ปี ล่ ว งมาแล้ ว ทางด้ า นทิ ศ ตะวั น ตก ของวัดเกาะแก้ว คือทางแม่น�้ำป่าสัก ในอดีต ที่ตั้งของวัดมีอาณาเขตกว้างขวางกว่าปัจจุบัน นี้มาก เนื่องจากทางวัดเกาะแก้ว ตั้งอยู่ริมน�้ำ ล� ำ คลอง ประกอบกั บ บริ เ วณนี้ เ ป็ น ท้ อ งคุ ้ ง โดยเฉพาะทีป่ ากคลองข้าวสาร เมือ่ ถึงฤดูนำ�้ หลาก น�้ำไหลเชี่ยวอย่างรุนแรง และมีลักษณะม้วน เป็ น น�้ ำ วน จึ ง ท� ำ ให้ ก ระแสน�้ ำ กั ด เซาะตลิ่ ง พังลงไปทุกปีๆ พระอุโบสถหลังเก่าก็ถูกน�้ำ กั ด เซาะพั ง ลงไปในแม่ น�้ ำ ทั้ ง หลั ง จึ ง ท� ำ ให้ บริเวณพื้นที่ของวัดแคบลงโดยล�ำดับ
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 174
26/05/61 10:24:57 AM
ถึงแม้ที่นี่แทบไม่เหลือซากโบราณอันล�้ำค่าให้ ได้เชยชมเช่นวัดอื่น แต่ด้วยพระบารมี ของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ท�ำให้วัดเกาะแก้วไม่เคยว่างเว้นจากแขก ผู้มาเยือน ด้วยแผ่นดินตรงนี้เคยเป็นฐานที่มั่นในการตั้งค่าย ของกองทัพไทยหนึ่งใน 9 ค่าย ในสมัยกรุงศรีอยุธยา
AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 175
175
24/05/61 05:03:30 PM
ปั จ จุ บั น ทางวั ด รวบรวมอาณาเขตของ วั ด ปราสาท ซึ่ ง เป็ นวั ด ร้ า งบริ เ วณใกล้ เ คี ย ง อีกวัดหนึ่งเข้าด้วยกันท�ำให้อาณาเขตของวัด กว้ า งขึ้ น อี ก ซึ่ ง ปั จ จุ บั น ยั ง มี ซ ากอุ โ บสถซึ่ ง เหลือแต่ผนังทั้ง 4 ด้าน มีประตูและหน้าต่าง ปรากฏอยู่ เพื่อประโยชน์ในการค้นคว้าความรู้ ทางด้านประวัติศาสตร์ และโบราณคดีเกี่ยวกับ ภูมิสถานที่ตั้งของวัดเกาะแก้ว วั ด เกาะแก้ ว มี ค วามเกี่ ย วเนื่ อ งกั น กั บ สมเด็ จ พระเจ้ า กรุ ง ธนบุ รี หรื อ สมเด็ จ พระเจ้าตากสินมหาราช กล่าวคือ ในปี พ.ศ. 2301 เคยเป็นทีต่ งั้ ค่ายของกองทัพไทย ค่ายหนึง่ ใน 9 ค่ายด้วยกัน คือ ด้านเหนือ ตั้งค่ายที่ 176
วั ด หน้ า พระเมรุ และ เพนี ย ดคล้ อ งช้ า ง ด้ า นตะวั น ออก ตั้ ง ค่ า ยที่ วั ด มณฑป และ วั ด เกาะแก้ ว (พระยาวชิ ร ปราการ) ด้ า นใต้ ตั้ ง ค่ า ยที่ บ้ า นสวนพลู (หลวงอภั ย พิ พั ฒน์ ขุ น นางจี น คุ ม พวกจี น บ้ า นในไก่ จ� ำ นวน 2,000 คน) วัดพุทธไธสวรรย์ (พวกคริสตัง) ด้ า นตะวั น ตก ตั้ ง ค่ า ยที่ วั ด ไชยวั ฒ นาราม (กรมอาสาหกเหล่า) ในปี พ.ศ.2309 พม่าได้ยกกองก�ำลังเข้ามา ทางด้านตะวันออกของพระนคร มาทางค่าย วัดพิชัย (วัดพิชัยสงคราม ต�ำบลกระมัง อ�ำเภอ พระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา) พระเจ้าเอกทัศน์ จึงสั่งให้ พระยาเพ็ชรบุรี และ
พระยาวชิรปราการ (สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี) คุ ม ก� ำ ลั ง ทางเรื อ คนละกองออกไปตั้ ง ที่ วัดเกาะแก้ว (วัดเกาะแก้ว ต�ำบลกระมัง อ�ำเภอ พระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา) คอยตีสกัดกองทัพพม่าที่จะยกมาทางท้องทุ่ง ครั้นเห็นพม่ายกมา พระยาเพ็ชรบุรี เตรียมสู้ ในทันที แต่ พระยาวชิรปราการ ได้ทดั ทานเอาไว้ เพราะเห็นว่าข้าศึกมีกำ� ลังมากกว่าหลายเท่านัก แต่ พระยาเพ็ชรบุรี ดือ้ ดึงไม่ยอมฟังเสียงทัดทาน สั่ ง ทหารออกยิ ง ต่ อ สู ้ กั บ พม่ า ข้ า ศึ ก ที่ ริ ม วั ด สังฆาวาส สู้รบประเดี๋ยวเดียว กองเรือของพระ ยาเพ็ชรบุรี ก็ถูกกองเรือของพม่าที่ซุ่มอยู่โจมตี อย่างหนัก ถึงแม้จะฆ่าข้าศึกได้จ�ำนวนมาก
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 176
21/05/61 07:02:29 PM
ถึ ง ที่ สุ ด แล้ ว ทั พ ของ พระยาวชิ ร ปราการ ก็ ไม่ อ าจช่ ว ยทั พ ของ พระยาเพ็ ช รบุ รี ไว้ ไ ด้ เนื่องจากขณะนั้นขาดเรือใหญ่ มีแต่เรือเล็ก ขนาดขนคนได้ล�ำละ 5-6 คนเท่านั้น จึงเป็น เหตุให้ พระยาเพ็ชรบุรี เสียชีวิตกลางสนามรบ กองก� ำ ลั ง ฝ่ า ยไทยสู้สุดแรงต้าน เมื่อ ไม่เ ห็น หนทางชนะ พระยาวชิรปราการ จ�ำต้องถอย กลับมาตั้งหลักที่ วัดพิชัย และไม่ได้กลับเข้า พระนครอีกเลย พยานวั ต ถุ ห ลั ก ฐานทางโบราณคดี แ ทบ จะไม่หลงเหลือซากให้เห็น เนือ่ งจากทีต่ งั้ ของวัด อยู่ติดริมแม่น�้ำป่าสัก เมื่อถึงฤดูน�้ำหลากน�้ำจะ ไหลเชี่ยวมาก กระแสความแรงของน�้ำได้กัด
เซาะพืน้ ทีข่ องวัดจมหายลงไป โดยเฉพาะในส่วน ของบริเวณพระอุโบสถ (หลังเก่า) ถูกกระแสน�้ำ กลืนไปจนหมดสิน้ ทีห่ ลงเหลือให้เห็นเป็นของเก่า คื อ พระเจดี ย ์ กั บ พระพุ ท ธรู ป เนื้ อ ส� ำ ริ ด (อายุประมาณ 300 ปี) สิ่ ง ที่ น ่ า สนใจและดึ ง ดู ด ให้ ผู ้ ค นจากทั่ ว สารทิ ศ หลั่ ง ไหลเข้ า มายั ง วั ด เกาะแก้ ว แห่ ง นี้ อย่ า งไม่ ข าดสาย เกี่ ย วเนื่ อ งด้ ว ยพระมหา วีรกษัตริย์ของไทยพระองค์หนึ่ง ทรงเหยียบ แผ่นดินตรงบริเวณดังกล่าวปักหลักสูพ้ ม่าข้าศึก (ก่อนเสียกรุงศรีอยุธยาให้แก่พม่า ครั้งที่ 2 ปี พ.ศ.2310) ก่อนที่จะเคลื่อนทัพลงมา วัดพิชัย (วั ด พิ ชั ย สงคราม) พระมหากษั ต ริ ย ์ ที่ ท รง
อั จ ฉริ ย ะพระองค์ นั้ น ก็ คื อ พระเจ้ า ตากสิ น มหาราช ถึ ง แม้ วั ด เกาะแก้ ว จะไม่ เ หลื อ ซาก โบราณอันล�ำ้ ค่าให้ได้เชยชมเช่นวัดวาอารามอืน่ แต่ดว้ ยพระบารมีของ สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี มหาราช วัดเกาะแก้วก็ไม่เคยว่างเว้นจากแขก ผู้มาเยือนเช่นกัน คณะสงฆ์แห่งวัดเกาะแก้ว ตั้งมั่นอยู่ใน พระหลักธรรม อบรมสัง่ สอนปวงประชาราษฎร ให้ประพฤติตนอยู่ในกรอบแห่งศีลธรรมอันดี และปฏิบัติธรรมสมควรแก่ฐานะของแต่ละคน ท�ำนุบำ� รุงพระพุทธศาสนาสร้างวัตถุสถานเท่าที่ จ�ำเป็นต้องใช้ (พอเพียง) AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 177
177
21/05/61 07:02:37 PM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
Wat Koh Kaew
Phrakhu palad Rattanaworawat, the abbot of Wat koh kaew
Although this place almost has no precious ancient remains for sightseeing like other temple, but with the royal merit of King Taksin the Great that make visitor come to Wat Koh Kaew incessantly, due to the fact that this land was the place where the 1 of 9 military camps of Thai army located during Ayutthaya period. Wat Koh Kaew is a general temple, belongs to Maha Nikai clergy. It is located at east side of Pasak riverside or south side of mouth of Khaosan canal which is opposite Wat Rattanachai (Wat Jin) in an area of Kramang sub-district, Phra Nakhon Si Ayutthaya district, Ayutthaya province. Scale of this temple’s land is around 3.6 acres. At present, this temple expand its territory by combining territory of Wat Prasat which is nearby abandoned temple. There are ruins of ubosot (Buddhist sanctuary) at Wat Prasat but only wall, door and window remained. This ubosot is used for the benefit of historical knowledge and archaeology about the land where Wat Koh Kaew is located. Wat Koh Kaew had connection with Somdet Phra Chao Krungthonburi or King Taksin the Great that is to say in 2301 B.E. this place was the place where the 1 of 9 military camps of Thai army located during Ayutthaya period which the location of these camps are as follows: Northern camp, it is located at Wat Na Phramen and elephant corral. Eastern camp, Wat Mondop and Wat Koh Kaew (Phra Ya Washiraprakarn). Southern camp, 178
Ban Suanphlu (Luang Aphai Phipat, Chinese nobleman, controlled 2,000 of Chinese at Ban Naikai) and Wat Phutthai Sawan (group of Roman Catholic). Western camp, Wat Chaiwatthanaram (The Six Volunteer Forces Department). In 2309 B.E., Burma marched an army to Thailand through camp at Wat Phi Chai (Wat Phi Chai Songkram, Kramang sub-district, Phra Nakhon Si Ayutthaya district, Ayutthaya province). King Ekkatas oredered Phraya Petchburi and Phraya Wachiraprakarn (Somdet Phra Chao Krung Thonburi) to command one fleet of ships for each general to encamp at Wat Koh Kaew (Wat Koh Kaew, Kramang sub-district, Phra Nakhon Si Ayutthaya district, Ayutthaya province) and obstruct Burma army that moved
the troops through field, when they saw Burma came closer, Phraya Petchburi was ready to fight immediately, but Phraya Wachiraprakarn opposed him because the amount of enemy were many times more than. However, Phraya Petchburi was stubborn and did not listened to the warning, besides he commanded his troops to fight with Burma army at border of Wat Sangkhawat. After the fighting between two armies had occurred, Phraya Petchburi’s fleet of ships was heavily ambushed by Burma fleet. Although, many enemies were killed by his army, Phraya Petchburi also died in this battlefield due to his army lacked big ship, it has only small ships that can carry 5-6 people at most, which caused Phraya Petchburi lost his life in a field of
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 178
21/05/61 07:02:38 PM
battle. Thai army fought and opposed with all its might. Phraya Wachiraprakarn did not able to see an opportunity to win, then he commanded his army to retreat and went back to stand firm at Wat Phi Chai which he did not returned to the capital ever again. The archaeological evidence almost not left to be found due to this temple’s located at Pasak riverside, when flood season had arrived, water in river will rapidly flow which this flow had scoured land of this temple, especially an area of old ubosot that was swallowed by the flow of this river without nothing left. The ancient building and antiques of this temple that had been remained at this temple are pagoda and Buddha statue made of bronze (age around 300 years old).
An interesting matter that attract people from all walks of life to come to Wat Koh Kaew continuously. It relates to one great king of Siam who firmly stood and fought Burma army on this land (before the second fall of Ayutthaya kingdom in 2310 B.E.) until he moved the troops to Wat Phi Chai (Wat Phi Chai Songkram), that supreme genius king is King Taksin the Great. Although Wat Koh Kaew has no precious ancient remains for sightseeing like other temple, but, because virtue of King Taksin the Great which make people come to Wat Koh Kaew continually. Clergy of Wat Koh Kaew uphold dharmic principle, teach people to behave themselves in good morals, practice the dharma that befit with status of each
person and maintain Buddhism by build religious object and place as much as necessary (Sufficient). All thing considered, it supports and fulfills an important of this temple which make this temple becomes supporter for people eventually. We would like to invite every virtuous men to take a religious travel, study history of Wat Koh Kaew, the foundation of Buddhism in Ayutthaya period that the former kings of Thailand jointly establish sanctuary which arise in everyone’s mind. Contact Wat Koh Kaew, Kramang sub-district, Phra Nakhon Si Ayutthaya district, Ayutthaya province. Tel : Phrakhu palad Rattana worawat (abbot) 09-3152-3969 AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 179
179
21/05/61 07:02:40 PM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
พระบรมธาตุคู่เมือง ลือเรื่องโบสถ์มหาอุตม์ พุทธมณฑลอยุธยา มหาบารมีหลวงพ่อรักษ์ ส�ำนักปฏิบัติธรรมประจ�ำจังหวัด วัดสุทธาวาส วิปัสสนา
วัดสุทธาวาส วิปัสสนา พุ ท ธมณฑลจั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา
พระภาวนาธรรมาภิ รั ก ษ์ วิ . (หลวงพ่ อ รั ก ษ์ อนาลโย) ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง เจ้ า อาวาส เจ้ า คณะต� ำ บลลาดบั ว หลวง
วั ด สุทธาวาส วิปัสสนา ตั้งอยู่เลขที่ 1 หมู่ 4 ต.ลาดบัวหลวง อ.ลาดบัวหลวง
จ.พระนครศรี อ ยุ ธ ยา สั ง กั ด คณะสงฆ์ ม หานิ ก าย เริ่ ม สร้ า งวั ด เมื่ อ พ.ศ.2465 โดยมี คุ ณ พ่ อ คล้ า ย และครอบครั ว เป็ น ผู ้ ริ เ ริ่ ม ถวายที่ ดิ น สร้ า งวั ด และน� ำ พาสาธุ ช นชาวบ้ า น ร่วมกันก่อสร้างในสมัยนั้น ซึ่งเดิมชื่อว่า “วัดตะพังโคลน” พื้นที่ตั้งวัดเป็นสถานที่ราบลุ่ม กลางท้ อ งทุ ่ ง นา เดิ ม ที่ วั ด แห่ ง นี้ มี เ นื้ อ ที่ ดิ น เดิ ม จ� ำ นวน 22 ไร่ และ ที่ ธ รณี ส งฆ์ 16 ไร่ ในการต่ อ มาสมั ย พระภาวนาธรรมาภิ รั ก ษ์ วิ . (หลวงพ่ อ รั ก ษ์ อนาลโย) เป็ น เจ้ า อาวาส ได้ด�ำเนินการบุกเบิกพัฒนาวัดจากวัดเก่าทรุดโทรม ให้มีความเจริญขึ้นเป็นล�ำดับ จนได้ รั บ พระราชทานวิ สุ ง คามสี ม าอุ โ บสถหลั ง ใหม่ เมื่ อ วั น ที่ 28 มิ ถุ น ายน พ.ศ.2557 ต่ อ มา ท่านได้พัฒนาวัด ซื้อที่ดินขยายเขตวัด เปิดเป็นสถานที่ปฏิบัติธรรม ก่อสร้างพุทธมณฑล จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา ได้ น� ำ พาพุ ท ธศาสนิ ก ชนศิ ษ ย์ ซื้ อ ที่ ดิ น ถวายวั ด เพิ่ ม ขึ้ น จนปัจจุบันมีเนื้อที่ดิน จ�ำนวน 161 ไร่ 3 งาน 70 ตารางวา 134
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 134
25/05/61 10:58:03 AM
กราบพระบรมธาตุศักดิ์สิทธิ์ คู่เมืองลาดบัวหลวง พระบรมสารี ริ ก ธาตุ เรี ย กโดยย่ อ ว่ า พระบรมธาตุ คือ พระอัฐิของพระพุทธเจ้า ซึ่ง พระองค์ได้ทรงอธิษฐานไว้ก่อนปรินิพพาน ให้ คงเหลื อ ไว้ ห ลั ง จากการถวายพระเพลิ ง พระพุทธสรีระ เพื่อเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจ ของพุทธบริษัท พระบรมธาตุมีสองลักษณะคือ พระบรมธาตุทไี่ ม่แตกกระจาย และทีแ่ ตกกระจาย มี ข นาดเล็ ก สุ ด ประมาณเมล็ ด พั น ธ์ ผั ก กาด ชาวพุทธเชื่อว่าพระบรมสารีริกธาตุ เป็นวัตถุ แทนองค์ พ ระบรมศาสดาที่ ท รงคุ ณ ค่ า สู ง สุ ด ในศาสนาพุ ท ธ จึ ง นิ ย มกระท� ำ การบู ช าองค์ พระบรมสารี ริกธาตุโดยประการต่า งๆ เช่น การสร้างเจดีย์ เพือ่ ประดิษฐานพระธาตุไว้สกั การะ
โดยเชื่อว่ามีอานิสงส์ประดุจได้กระท�ำการบูชา แด่พระพุทธเจ้าเมื่อยังทรงพระชนม์อยู่ ส� ำ หรั บ “พระบร มสารี ริ ก ธาตุ ” ที่ ประดิษฐานเป็นสิ่งสักการะคู่เมืองของอ�ำเภอ ลาดบัวหลวง มีลักษณะสัณฐานขนาดกลาง คือ สัณฐานเท่าเมล็ดข้าวสารหัก จ�ำนวน 9 พระองค์ โดยได้ รั บ เมตตาประทานมาจาก สมเด็ จ พระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหา สังฆปริณายก ทรงประทานให้กบั หลวงพ่อรักษ์ เจ้าอาวาสวัดสุทธาวาสวิปัสสนา เมื่อวันพุธที่ 19 พฤษภาคม 2547 เวลา 10.30 น. เพื่อ เป็นสิ่งสักการะเป็นจ�ำอ�ำเภอลาดบัวหลวง
พุทธศาสนิกชนเดินทางมาร่วมท�ำบุญที่วัด AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 135
135
25/05/61 10:58:15 AM
อุโบสถมหาอุตม์ หนึ่งในสยามประเทศ เสน่ห์มนต์ขลัง ทุ่งลาดบัวหลวง เมืองอยุธยา อุโบสถ ถือเป็นอาคารเสนาสนะที่ส�ำคัญ ภายในวัด เนือ่ งจากเป็นสถานทีท่ พี่ ระภิกษุสงฆ์ ใช้ท�ำสังฆกรรม ซึ่งแต่เดิมในการท�ำสังฆกรรม ของพระภิกษุสงฆ์ใช้เพียงพื้นที่โล่งๆ ที่ก�ำหนด ขอบเขตพืน้ ทีส่ งั ฆกรรม โดยการก�ำหนดต�ำแหน่ง “สีมา” เท่านั้น แต่ในปัจจุบันจากการมีผู้บวช มากขึน้ อีกทัง้ ภายในพระอุโบสถมักประดิษฐาน พระประธานที่เป็นพระพุทธรูปองค์ส�ำคัญๆ ท� ำ ให้ มี ผู ้ ม าสั ก การบู ช าและร่ ว มท� ำ บุ ญ เป็ น จ�ำนวนมาก อุโบสถจึงถูกสร้างขึน้ เป็นอาคารถาวร และมักมีการประดับตกแต่งอย่างสวยงาม ส� ำ หรั บ อุ โ บสถมหาอุ ต ม์ วั ด สุ ท ธาวาส วิ ป ั ส สนา มี ป ระวั ติ ก ารสร้ า งขึ้ น เมื่ อ ปี พ.ศ. 2547 โดยหลักการสร้างโบสถ์มหาอุตม์ มีประตูทางด้านเข้าออกเพียงบานเดียวและ ไม่ มี ห น้ า ต่ า ง ใช้ ศิ ล ปะประดั บ ตกแต่ ง ด้ ว ย ลวดลายปูนปัน้ เป็นเทพเทวดา สถาปัตยกรรมนัน้ อุโบสถมหาอุตม์ จะมีลักษณะพิเศษโดดเด่น 136
เป็นเอกลักษณ์กว่าอุโบสถทั่วไป คือ มีประตู และอักขระเลขยันต์ ซึ่งเป็นอักษรโบราณทาง ประวัตศิ าสตร์ และอักขระขอม พระธรรมค�ำสอน ของพระพุทธเจ้า ที่มีคุณวิเศษมีพุทธคุณครอบ จั ก รวาล มาปั ้ น ตกแต่ ง ตามหน้ า บั น และ ตามซุ้มต่างๆ โดยรอบของตัวอุโบสถ อี ก ทั้ ง มี ค วามหมายของ ค� ำ ว่ า “อุ ต ม์ ” กล่าวคือ ความหมายทางอักษรศาสตร์ (อุตมะ) แปลตรงตัว แปลว่า ความอุดมสมบูรณ์ โบราณ จึ ง บั น ทึ ก หลั ก ฐานเป็ น ต� ำ นานสื บ กล่ า วขาน กันมาว่า “บุคคลใด ที่ได้ไปกราบไหว้ขอพร พระประธาน ในอุโบสถมหาอุตม์ บุคคลนั้นจะ อุ ด มสมบู ร ณ์ ด ้ ว ยโชคลาภนานั ป การเป็ น ต้ น อีกประการส�ำคัญยังความเชื่อเกี่ยวกับอุโบสถ มหาอุ ต ม์ ในครั้ ง โบราณกาลนั้ น เชื่ อ กั นว่ า อุโบสถมหาอุตม์ใช้เป็นสถานที่ส�ำคัญในการ ปลุ ก เสก พระเครื่ อ งรุ ่ น ใด เมื่ อ ได้ ป ลุ ก เสก ภายในอุโบสถมหาอุตม์ พระคาถาและพุทธาคม
อันศักดิ์สิทธิ์ต่างๆ จะไม่สามารถเล็ดลอดไป ภายนอกได้จงึ ท�ำให้ประจุพระคาถาและพุทธาคม ต่างๆ ลงในวัตถุมงคลได้อย่างเต็มที่” ภายในอุ โ บสถมี ปู ช นี ย วั ต ถุ ที่ ส� ำ คั ญ คื อ “พระพุทธมุนี” ประดิษฐานเป็นองค์ในประธาน อุโบสถ ขนาดหน้าตัก 99 นิ้ว เนื้อทองสัมฤทธิ์ ลงรักปิดทองค�ำ เป็นทีย่ ดึ เหนีย่ วจิตใจ กราบไหว้ ขอพรของพุทธศาสนิกชนทั่วไปเป็นอย่างมาก ในแต่ละวันจะมีสาธุชนจากทั่วสารทิศเดินทาง มากราบไหว้ขอพร ไม่ขาดสาย กล่าวถึงการก่อสร้างอุโบสถมหาอุตม์หลังนี้ โดยเจตนาการริเริม่ ของ “หลวงพ่อรักษ์ อนาลโย” เจ้ า อาวาสวั ด สุ ท ธาวาสวิ ป ั ส สนา เป็ น ผู ้ น� ำ ศรัทธาพุทธศาสนิกชนสร้างบุญ สร้างกุศลบารมี เพื่อน้อมถวายเป็นพุทธบูชาในบวรพระพุทธ ศาสนา ใช้งบประมาณในการสร้างทั้งสิ้น 35 ล้านบาท
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 136
25/05/61 10:58:28 AM
พุทธมณฑล
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา หนึ่งเดียวในจังหวัด เนือ่ งจากทางวัดสุทธาวาส วิปสั สนา ได้รบั การพิจารณาแต่งตั้งจาก จ.พระนครศรีอยุธยา ให้ ด� ำ เนิ น การจั ด สร้ า งพุ ท ธมณฑลประจ� ำ จ.พระนครศรีอยุธยา โดยมี “หลวงพ่อรักษ์ อนาลโย” เป็นประธานในการสร้างฯ เพื่อให้ เป็นสถานที่ประกอบพิธีทางพระพุทธศาสนา เป็นสถานที่เผยแผ่หลักธรรมและเป็นสถานที่ พักผ่อนที่ร่มรื่น มีความสงบ มีความสุข เป็น แหล่งเรียนรู้ของจังหวัด ปั จ จุ บั น นั้ น พุ ท ธมณฑลประจ� ำ จั ง หวั ด พระนครศรีอยุธยา ตั้งอยู่ ณ วัดสุทธาวาส วิปัสสนา อ.ลาดบัวหลวง จ.พระนครศรีอยุธยา มีเนื้อทั้งหมด 161 ไร่ 3 งาน 70 ตารางวา โดยแบ่ ง เป็ น สถานที่ เ ขตพุ ท ธมณฑลอยุ ธ ยา จ�ำนวน 80 ไร่ ภายในเขตพุทธมณฑลแบ่งเป็น สถานที่ ป ลู ก สวนป่ า ปฏิ บั ติ ธ รรม น� ำ พา พุทธศาสนาสนิกชน เข้าพุทธมณฑล ปฏิบตั ธิ รรม ถือศีล 5 ศีล 8 นุง่ ขาวห่มขาวตลอดทุกเดือนทัง้ ปี
สถานที่ปฏิบัติธรรม ท่ามกลางธรรมชาติ วัดสุทธาวาส วิปสั สนา เป็นส�ำนักปฏิบตั ธิ รรม ประจ�ำจังหวัดพระนครศรีอยุธยา แห่งที่ 13 และ เป็นหน่วยอบรมประชาชนประจ�ำต�ำบล ลาดบัวหลวง ได้จัดให้มีการ ถือศีลปฏิบัติธรรม สอนกรรมฐานเป็ น ประจ� ำ ตลอดทุ กวั น เสาร์ อาทิตย์ ทุกเดือนตลอดทัง้ ปี รวมทัง้ จัดกิจกรรม วันส�ำคัญทางพระพุทธศาสนา
สมเด็จพระศากยมุนีพุทธชยันตีศรีอยุธยา ( หลวงพ่อก้าวหน้า ) พระประธานพุทธมณฑล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 137
137
25/05/61 10:58:41 AM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
WAT
Sutthawas Vipassana Phra Phawana Dhammapirak Wi (Luang Por Rak Analayo) Lat Bua Luang sub-district monk dean, the abbot of this temple.
Invaluable Buddha’s relics, well known Mahaut Ubosot, Ayutthaya Buddhist province The great virtue of Luang Por Rak, provincial dharma-practicing institute, Wat Sutthawas Vipassana “Know your duty, do your work, does not interfere with others duty, perform good deed for goodness, create virtue and united”. By Luang Por Chao khun Rak.
Contact Wat Sutthawas Vipassana via the following numbers: Office Tel.096-4539415, 096-8964549 Office of small Buddha image issue Tel.099-7962464 Wat Sutthawas Vipassana is located at 1 village no.4, Lat Bua Luang sub-district, Lat Bua Luang district, Ayutthaya province. It belongs to Maha Nikai clergy. It was built in 2465 B.E. by Mr.Klai and his family who were the first group that offered their land for building temple and gathered other virtuous men to jointly build this temple which its former name was “Wat Tapang Khlon”. The land where this 138
temple located is low plain, at the middle of rice field. Formerly, scale of this temple’s land was 8.8 acres and monastery land 6.4 acres. After that, when Phra Phawana Dhammarak Wi. (Luang Por Rak Analayo) became abbot, he had worked on developing this temple from dilapidated to prosperous state until it was granted Wisungkhamsima” (Land granted from Royal family to build temple or other
religious buildings) for new ubosot (Buddhist sanctuary) on 28 June 2557 B.E. Then, he bought land to expand an area of this temple in order to open dhamma retreat and establish Buddhist province at Ayutthaya. Moreover, he also led his Buddhist disciples to buy and offer land to temple, until now, the scale of this temple’s land is 64.40 acres and 280 square meters.
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 138
25/05/61 10:58:58 AM
Maha Utm is the one of enchanted mystic ubosot in Lat Bua Luang, Phra Nakhon Si Ayutthaya, Thailand. “Buddha’s relics” is enshrined at the Phra Borommathat which is the respectable sanctity of Lat Bua Luang district. Its shape is medium size of broken rice grain and the total amount are 9 relics which was kindly granted from Somdet Phra Yan nasangwon Somdet Phra Sangkharat Sakonlamahasangkhaparinayok to Luang Por Rak, abbot of Wat Sutthawas Vipassana on 19 May 2547 B.E. there is attractive and magical Mahaut ubosot at this temple, the only one in Thailand which was founded in 2547 B.E. Refer to the principle of building Mahaut ubosot, it has only one door and no window, decorated with stucco in angelic pattern. On architectural aspect, Mahaut ubosot has a unique and specific appearance not like general ubosot which as follows: it has door and occult number which is historical ancient alphabet. In addition, Khmer alphabet about Lord Buddha’s doctrine that has universal and magnificent Buddha’s grace which is decorated on pediment and door facade around this ubosot.
The meaning of word “Ut” in liberal arts meaning (Utama) means abundant. Refer to ancient record, there is a renowned legend from the past which is “Anyone who pay respect to principle Buddha image in Mahaut ubosot, that person will be blessed with various fortune abundantly and so on”. There are important sacred object inside ubosot which is “Phra Buddha Muni”, the principle Buddha image of this temple that placed in ubosot. It is a spiritual anchor and many Buddhists from everywhere usually come to this temple to pay their respect to this Buddha statue everyday continuously. The construction of this Mahaut ubosot was started from initiative intention of “Luang Por Rak Analayo” abbot of Wat Sutthawas Vipassana, leader of faithful Buddhists who lead them to make merit and do meritorious deed for offer this offerings to Buddha in the glorious creed of Buddhism which the total budget of construction is 35 million baht.
BUDDHIST DIOCESE Ayutthaya province, Only One in Ayutthaya
Due to the fact that Wat Sutthawas Vipassana was appointed by Ayutthaya province to manage the establishment of Ayutthaya Buddhist province for the purpose of make this place to be a place for performing Buddhist ceremony, propagating dharmic principle, pleasant and peaceful and delightful resting area and learning center of Ayutthaya which the leader of this establishment is “Luang Por Rak Analayo”. At present, Buddhist province of Ayutthaya is located at Wat Sutthawas Vipassana, Lat Bua Luang district, Ayutthaya province. The scale of this temple’s land is 64.40 acres and 280 square meters which an area of Ayutthaya Buddhist province is 32 acres. There is an afforestation inside area of Buddhist province which for make this place as a dhamma retreat and lead Buddhists to this place in order to practice the dharma, observe the five and eight commandments of Buddhism while wearing white clothes and it is a place where activity of Buddhist holy day has been held. In addition, this Buddhist province is open every month and all the year round. AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 139
139
25/05/61 10:59:10 AM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดโพธิ์ประสิทธิ์
พระครู อ าทรพั ฒ นานุ กิ จ ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง เจ้ า อาวาส
วัดโพธิ์ประสิทธิ์ เริ่มสร้างเมื่อปี พ.ศ.2514 โดยมีนายโพธิ์ และ นางล้อม ปิ่นทอง
เป็ น ผู ้ บ ริ จ าคที่ ดิ น จ� ำ นวน 10 ไร่ และมี ผู้ ใ หญ่ ท องใบ เนื่ อ งเสวก ซึ่ ง เป็ น ผู ้ ใ หญ่ บ ้ า น เป็ น ผู ้ น� ำ ริ เ ริ่ ม ท� ำ การก่ อ สร้ า งขึ้ น เป็ น ส� ำ นั ก สงฆ์ ต่ อ มาทางวั ด ซื้ อ ที่ ดิ น เพิ่ ม ขึ้ น อี ก 5 ไร่ รวมแล้ ว จ� ำ นวน 15 ไร่ ได้ รั บ พระราชทานวิ สุ ง คามสี ม าเมื่ อ ปี พ.ศ.2520 ประกาศ ณ วั น ที่ 3 กุ ม ภาพั น ธ์ พ.ศ.2521 เป็ น วั ด ที่ ส มบู ร ณ์ แ บบ มี อุ โ บสถ กุ ฏิ ศาลาการเปรี ย ญ หอสวดมนต์ หอฉั น ศาลาธรรมสั ง เวช เมรุ ศาลาเอนกประสงค์ ขอเชิญพุทธศาสนิกชนท�ำบุญกุศลที่วัดโพธิ์ประสิทธิ์ได้ทุกวัน ที่อยู่ 35/2 ม.3 ต.พระยาบันลือ อ.ลาดบัวหลวง จ.พระนครศรีอยุธยา โทรศัพท์ 08-9212-8756 140
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 140
24/05/61 04:24:19 PM
วั ด โพธิ์ ป ระสิ ท ธิ์ มี พ ระพุ ท ธรู ป ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ป ระจ� ำ วั ด หลวงพ่ อ โพธิ์ ท อง เป็ น ที่ เ คารพบู ช า ของชาวบ้ า นมากมาย เชิ ญ กราบไหว้ บู ช าขอพรได้ ทุ ก วั น หลวงพ่ อ โพธิ์ ท องประดิ ษ ฐานในวิ ห าร
ต้นโพธิ์เป็นต้นไม้ที่มีความส�ำคัญอย่างยิ่ง ในพระพุทธศาสนา เพราะเป็นต้นไม้อันเป็น สถานทีป่ ระทับและตรัสรูบ้ รรลุพระสัมโพธิญาณ ของพระพุทธเจ้า ด้วยสาเหตุนี้ต้นโพธิ์จึงเป็น พรรณไม้ที่เคารพนับถือของพุทธศาสนิกชนมา ตั้งแต่สมัยพุทธกาล คือ เป็นสถานที่ตรัสรู้ ณ พุทธคยา ของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ตรัสรู้ ซึง่ มีชอื่ เรียกโดยทัว่ ไปว่าต้นพระศรีมหาโพธิ์ ส่วนอีกครัง้ หนึง่ คือต้นอานันทโพธิ์ ณ วัดเชตวัน มหาวิ ห าร ซึ่ ง ต้ น โพธิ์ ดั ง กล่ า วยั ง คงปรากฏ ให้เห็นอยู่ในปัจจุบัน “ต้ น พระศรี ม หาโพธิ์ ” ที่ ยั ง คงปรากฏ ให้เห็นอยู่ในปัจจุบันมีอยู่สามต้นด้วยกัน ได้แก่ ต้นพระศรีมหาโพธิ์อันเป็นสถานที่ตรัสรู้ของ พระพุทธเจ้า ต้นอานันทโพธิ์ ณ เมืองอนุราธปุระ และต้นอานันทโพธิ์ ณ วัดพระเชตวันมหาวิหาร อย่างไรก็ตามต้นโพธิ์พระเจ้าอโศกแห่งเมือง อนุราธปุระน�ำหน่อมาปลูกจากพุทธคยา ได้รบั การ เคารพสักการะและบูชามาอย่างยาวนานเป็นเวลา กว่า 2000 ปีแล้ว แตกต่างจากต้นพระศรีมหาโพธิ์ ในพุทธคยาที่ถูกโค่นและล้มลงตามธรรมชาติ หลายครั้ ง และต้ น อานันทโพธิ์ที่วัดเชตวันที่ ขาดการดู แ ลจากพุ ท ธศาสนิ ก ชนหลั ง จากที่ พระพุทธศาสนาเสื่อมลงในประเทศอินเดีย ต้นโพธิ์ที่ชาวลังกาเรียกว่า “Bohd Tree” หรือชาวอินเดียเรียกว่า “Pipal” มีความส�ำคัญ ประการแรกเมื่อครั้งที่เจ้าชายสิทธัตถะบ�ำเพ็ญ เพียรเพื่อค้นหาสัจธรรม พระองค์ทรงเลือกนั่ง ประทับใต้ต้นโพธิ์ จนกระทั่งพระองค์ได้ตรัสรู้ บรรลุพระสัมมาสัมโพธิญาณ เมือ่ วันเพ็ญเดือนหก คืออริยสัจ 4 อันประกอบไปด้วย ทุกข์ สมุทัย นิโรธ และมรรค อันเป็นแนวทางการดับทุกข์ ของชีวิตและจิตใจ ประกอบกับการแก้ไขปัญหา อย่างมีระบบ มีเหตุผล และรอบด้าน กล่าวกันว่าต้นโพธิ์ที่พระพุทธเจ้าประทับ เพื่อรวบรวมจิตของพระองค์เพื่อให้บรรลุเข้าถึง สัจธรรมนั้นแม้จะได้ถูกท�ำลายไปแล้ว แต่ด้วย บุญญาธิการของพระองค์ เมือ่ มีผใู้ ดน�ำน�ำ้ นมโค ไปรดที่รากจะเกิดแขนงแตกแยกออกมาและ มีชีวิตอยู่ต่อไป เมื่อตายแล้ว ก็จะแตกหน่อ ออกเพิม่ จนในปัจจุบนั ถือได้วา่ ต้นทีเ่ หลืออยูน่ นั้ เป็นช่วงที่สามแล้ว ในพุทธคยา ประเทศอินเดีย
AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 141
141
24/05/61 04:24:36 PM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดบางนมโค
พระครู สุ วั จ ริ ย าภรณ์ สุ ว โจ (หลวงพ่ อ ยงค์ ) ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง เจ้ า อาวาส
วัดบางนมโค ตั้งอยู่ท่ี ต�ำบลบางนมโค อ�ำเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
เป็นวัดที่มีชื่อเสียงมาก เนื่องจากเป็นวัดที่ หลวงพ่อปาน โสนันโท ท่านจ�ำพรรษาอยู่ ซึ่งท่านได้มรณภาพไปนานแล้ว แต่ชื่อเสียงและคุณงามความดีของท่าน ยังอยู่กับ ลู ก หลานชาวจั ง หวั ด อยุ ธ ยาและชาวพุ ท ธโดยทั่ ว ไป วั ด บางนมโคมี เ นื้ อ ที่ ทั้ ง หมด 24 ไร่ 21 วา 3 งาน 142
วัดบางนมโคนี้ สร้างขึน้ มาตัง้ แต่เมือ่ ไรไม่ปรากฏ หลักฐานชัดเจน บางท่านก็ว่ามีในสมัยกรุงศรีอยุธยา ตอนปลาย เดิมชื่อ “วัดนมโค” ครั้นเมื่อ พ.ศ.2310 ในคราวทีค่ วันแห่งศึกสงครามก�ำลังรุมล้อมกรุงศรีอยุธยา พม่าข้าศึกได้มาตั้งค่ายหนึ่งขึ้นที่ต�ำบลสีกุก ห่างจาก วัด บางนมโค ซึ่ง ย่านวัด บางนมโคนี้มีการเลี้ยงวัว มากกว่าที่อื่นพม่า ก็ได้ถือโอกาสมากวาดต้อนเอา วัว ควาย จากย่านบางนมโคไปเป็นเสบียงเลีย้ งกองทัพ ในที่ สุ ด กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยาก็ เ สี ย แก่ พ ม่ า บ้ า นเมื อ ง ระส�่ำระสาย วัดบางนมโค จึงทรุดโทรมไปบ้างตาม กาลเวลา ต่อมาก็ได้มีการซ่อมแซมขึ้นใหม่ ก็ยังมีการ เลี้ยงโคกันอยู่อีกมากมาย ชาวบ้านจึงเรียกติดปากว่า วัดบางนมโค
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 142
25/05/61 05:14:37 PM
กราบหลวงพ่อปาน วัดบางนมโค พระเกจิอาจารย์แห่งอยุธยาที่มีชื่อเสียงอันดับต้นๆ ของประเทศ AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 143
143
25/05/61 05:14:47 PM
ประวัติและปฏิปทา
พระครูวหิ ารกิจจานุการ (ปาน โสนนฺโท) หลวงพ่อปาน วัดบางนมโค (16 กรกฎาคม พ.ศ.2418 - 26 กรกฎาคม พ.ศ.2481) เป็น พระเกจิอาจารย์ชื่อดังแห่ง พระนครศรีอยุธยา ท่ า นเป็ น เจ้ า อาวาสวั ด บางนมโครู ป ที่ 3 ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดบางนมโคระหว่างปี พ.ศ.2478 จนถึ ง ปี พ.ศ.2481 ท่ า นเป็ น พระอริ ย สงฆ์ ท รงอภิ ญ ญารู ป หนึ่ ง แม้ ว ่ า จะ มรณภาพไปนานแล้วก็ตาม ชื่อเสียงของท่าน ยิ่งเป็นที่รู้จัก ในบรรดานักสะสมพระเครื่อง ทัง้ หลาย และการสร้างพระของท่านก็ไม่เหมือน กับวัดอืน่ คือท่านมักจะสร้างเป็นรูปพระพุทธเจ้า อยู่เหนือสัตว์พาหนะอันมี ครุฑ หนุมาน เม่น ไก่ นก และปลา เป็นต้น พระครูวหิ ารกิจจานุการ หรือ หลวงพ่อปาน โสนันโท เกิดวันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ.2418 ตรงกั บ รั ช กาลของพระบาทสมเด็ จ พระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ณ บ้านต�ำบลบางนมโค อ�ำเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็น บุตรของ นายสะอาด และ นางอิ่ม สุทธาวงศ์ ต่ อ มาในปี พ.ศ.2439 ท่ า นอุ ป สมบทเป็ น พระภิกษุ ณ พัทธสีมา วัดบางปลาหมอ โดยมี หลวงพ่อสุน่ วัดบางปลาหมอ เป็นพระอุปชั ฌาย์ พระอาจารย์จ้อย วัดบ้านแพน เป็นพระกรรม วาจาจารย์ พระอาจารย์อุ่ม วัดสุธาโภชน์ เป็น พระอนุ ส าวนาจารย์ ได้ รั บ ฉายาจากพระ อุปัชฌาย์ว่า โสนันโท ต่อมาท่านได้ศึกษาและ ปฏิบัติธรรมอยู่กับหลวงพ่อสุ่นพอสมควรแล้ว จึ ง ได้ เ ดิ น ทางไปศึ ก ษาพระปริ ยั ติ ธ รรม ณ วั ด สระเกศ กรุ ง เทพฯ และวั ด เจ้ า เจ็ ด ใน พระนครศรีอยุธยาเรียนแพทย์แผนโบราณจาก วัดสังเวชฯศึกษาเพิ่มเติมกับ หลวงพ่อเนียม วัดน้อย และ พระอาจารย์โหน่ง อิณฑสุวัณโณ อดีตเจ้าอาวาสวัดคลองมะดันเรียนวิชาสร้าง พระเครื่องดินจากชีปะขาว เรียนการปลุกเสก พระเครื่ อ งและเป่ า ยั น ต์ เ กราะเพชรจาก อาจารย์แจง สวรรคโลก ได้รับพระคาถาปัจเจก โพธิ สั ต ว์ ม าจากครู ผ้ึ ง ที่ น ครศรี ธ รรมราช หลังจากนั้น ท่านจึงได้มาอยู่ที่วัดบางนมโค และได้รับพระราชทานสมณศักดิ์เป็น พระครู วิหารกิจจานุการ 144
กิ จ วั ต รของท่ า นก็ คื อ หลั ง จากท่ า นได้ ฉั น ภั ต ตาหารเพลแล้ ว ก็ ส งเคราะห์ ช าวบ้ า น ตลอดทั้งวัน มีการท�ำน�้ำมนต์เพื่อรักษาคนไข้ รวมทั้งผู้ที่ถูกกระท�ำคุณไสยด้วย หลวงพ่อปาน ละสังขารเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ.2481 ตรงกับรัชกาลของพระบาทสมเด็จพระปรเมน ทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร รวมสิริอายุได้ 63 ปี 42 พรรษา เหลือแต่มรดก ทีล่ ำ�้ ค่า เช่น พระเครือ่ งดินเผา ผ้ายันต์เกราะเพชร ผ้ายันต์ชนิดต่างๆ และพระคาถาปัจเจกโพธิสตั ว์ มอบให้แก่ศษิ ย์สบื ไป ลูกศิษย์ของท่าน ทีส่ บื ทอด วัดบางนมโคต่อจากท่านก็คอื หลวงพ่อเล็ก เกสโร เจ้าอาวาสรูปที่ 4 ของวัดบางนมโค บารมีของหลวงพ่อปานเป็นที่เลื่อมใสของ พระภิกษุสงฆ์และประชาชนในอดีตมากมาย ด้วยท่านท�ำนุบำ� รุงวัดวาอารามในเขตอ�ำเภอเสนา และอ� ำ เภอใกล้ เ คี ย งหลายวั ด ประชาชน ผู้เดือดร้อนเจ็บไข้ได้ป่วยด้วยโรคภัยธรรมดา หรือ โดนคุณไสย ผีเข้า หากมาหาหลวงพ่อปาน เป็ น ต้ อ งหายทุ ก รายไป แม้ ก ระทั่ ง โรคห่ า (อหิวาตกโรค) ซึง่ ฆ่าคนในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ไปอย่ า งมากมาย ในสมั ย นั้ น แต่ ม าถึ ง เขต ต�ำบลบางนมโค กลับไม่มีโรคห่าระบาดเหมือน ในพื้ น ที่ ต� ำ บลอื่ น ๆ เนื่ อ งจากหลวงพ่ อ ปาน ท่านรักษาได้ทันท่วงที ทุกคนไป จนชาวบ้าน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ขนานนามท่านว่า “พระหมอหลวงพ่อปาน”
นอกจากคุ ณ งามความดี ท่ี ท ่ า นได้ ช ่ ว ย ชาวบ้านและท�ำนุบ�ำรุงศาสนาแล้ว สิ่งที่ท่าน ได้ ส ร้ า งไว้ ใ ห้ เ ป็ น มรดกตกทอดถึ ง ลู ก หลาน ปัจจุบันคือ วัตถุมงคล พระเครื่องเนื้อดินเผา อุดด้วยผงอิทธิเจของหลวงพ่อปาน (ผงอิทธิเจ คือ หนึ่งในผงวิเศษ 5 ประการ ประกอบด้วย ผงอิทธิเจ ผงปถมัง ผงมหาราช ผงตรีสิงเห และผงพระพุทธคุณ) ซึ่งเป็นรุ่นเดียวที่ท ่าน สร้างขึ้นด้วยตัวท่านเองและปลุกเสกเอง ซึ่ง ท่านได้วิชาการสร้างพระพิมพ์ต่างๆ เหล่านี้ มาจาก ชีปะขาว เป็นพระพิมพ์ที่ไม่เหมือน พระพิมพ์ใดๆ ในอดีต
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 144
25/05/61 05:16:35 PM
แม้วนั นี้ หลวงพ่อปานละสังขารไปนานแล้ว แต่ทุกท่านที่มาเที่ยวอยุธยา สามารถเดินทาง มากราบหลวงพ่อปานพระเกจิอาจารย์แห่งอยุธยา ที่มีชื่อเสียงอันดับต้นๆ ของประเทศได้ทุกวัน เมื่ อ ถึ ง วั ด สถานที่ จ อดรถนั้ น กว้ า งขวาง จอดรถสะดวกสบาย ร้านค้า ร้านน�ำ้ ดืม่ มีหลายร้าน ซึ่งบริเวณที่จอดรถก็เห็นมณฑปหลวงพ่อปาน ซึ่งท่านสามารถเข้าไปท�ำบุญใส่ในตู้ และน�ำ ธูป เทียน ทอง ดอกไม้ เพือ่ น�ำมากราบสักการะ หลวงพ่อปานวัดบางนมโคในมณฑป ภายในบริเวณวัดยังมีตน้ ไม้ใหญ่อยูส่ องต้น
ด้านหน้ามณฑป เป็นต้นตะเคียนคู่ ซึง่ ในอดีตนัน้ ทางวัดเคยจะท�ำการโค่นต้นตะเคียนทั้งสองต้น แต่มีหญิงสาวมาเข้าฝันหลวงพ่อปาน ขออย่า ได้โค่นต้นตะเคียนคู่นี้เลย เนื่องจากจะท�ำให้ ไม่มีที่อยู่อาศัย หลวงพ่อปานจึงสั่งห้ามโค่น ต้นตะเคียนคูน่ ี้ ซึง่ ทัง้ สองต้นก็อยูค่ วู่ ดั บางนมโค มานานเป็นร้อยปี นับเป็นความเมตตาต่อทุกชีวติ ทุกภพภูมิอันไม่มีประมาณของหลวงพ่อปาน แห่งวัดบางนมโค เมื่ อ ท� ำ บุ ญ กราบไหว้ พ ระเรี ย บร้ อ ยแล้ ว ท่านสามารถท�ำทานได้โดยด้านหน้าวัดจะเป็น
ท่าน�้ำ ติดล�ำคลองหน้าวัด ซึ่งเป็นเขตอภัยทาน มีปลามากมายอาศัยอยู่บริเวณหน้าวัด ท่าน สามารถให้ อ าหารปลาในคลองหน้ า วั ด ได้ นอกจากนี้ก็สามารถไปไหว้พระในโบสถ์ ซึ่งอยู่ ด้านหลังมณฑปหลวงพ่อปาน ภายในโบสถ์ ยังมีช่องทางลงไปด้านล่าง ซึ่งเปรียบเสมือน นรก มีภาพวาดนรก ให้ท่านชมในโบสถ์ เป็น อนุ ส ติ ใ ห้ หั น มาท� ำ ความดี แ ละฝึ ก ปฏิ บั ติ ขัดเกลาตนให้พ้นอบายกันให้มากๆ เพื่อไปสู่ ความพ้นทุกข์ อันมีพระนิพพานเป็นทีห่ มายกัน ในที่สุด
AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 145
145
25/05/61 05:16:50 PM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
Wat Bang Nom Kho
Phra Khru Suwajjariyapon Suwajo (Luang Por Yong), the abbot of this temple.
Worship Luang Por Pan at Wat Bang Nom Kho, the famous master monk of Ayutthaya whose fame renowned as one of the top monks in Thailand. Wat Bang Nom Kho is located at Bang Nom Kho sub-district, Sena district, Ayutthaya province. It is the famous temple of Ayutthaya because it is the place where Luang Por Pan Sonanto lived which he passed away long time ago. However, his fame and goodness still belong to descendants of Ayutthaya and a lot of Buddhists. There is no any apparent evidence about when Wat Bang Nom Kho was built. Some said that it was built in the
146
end of Ayutthaya period, its former name was “Wat Nom Kho”. Nevertheless, in 2310 B.E., when the fog of war surrounded Ayutthaya kingdom Burmese army had established barrack at Si Kook sub-district, not far away from Wat Nom Kho which an area around this temple is where the greatest amount of cow has been raised. Therefore, Burmese army took the opportunity to herd cows and buffaloes from Bang Nom Kho area to
be provisions of Burmese army. Eventually, Burmese army conquered Ayutthaya which led entire kingdom to a state of chaos. Then, Wat Bang Nom Kho was declined along with the flow of time. After that, this temple was reconstructed and people in this area still raised a large number of cows, that’s why locals always called this temple “Wat Bang Nom Kho”.
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 146
25/05/61 05:16:57 PM
The biography and path of Luang Por Pan, Wat Bang Nom Kho Phra Khru Wiharn Kitjanukarn or Luang Por Pan Sonanto was born in 16 July 2418 B.E., in the reign of King Rama V, at Bang Nom Kho sub-district, Sena district, Ayutthaya province. He is son of Mr. Sa-ard and Mrs. Im Sutthawong. After that, in 2439 B.E., he was ordained and became a monk at monastic boundary of Wat Bang Nom Kho. The prestige of Luang Por Pan was admired by a lot of monks and people in the past because he had preserved temples in Sena district and nearby districts, cured an illness and exorcised
black magic that harmed people. Moreover, even cholera that killed a lot of people in Ayutthaya province at that time. When this disease spread to Bang Nom Kho sub-district, there were no sign of anyone infected in this area because Luang Por Pan cured locals who infected this disease in time which made people of Ayutthaya entitled his name as “Royal physician monk, Por Pan”. Although, Luang Po Pan passed away a long ago. Everyone still can come to Wat Bang Nom Kho everyday in order to pay respect to Luang Por Pan, the master monk of Ayutthaya. After you have paid respect to him already, you can give alms by feed the
fish at waterside that located next to canal in front of this temple which is an animal sanctuary area. Moreover, you can pay respect to Buddha statue in Buddhist sanctuary which located behind Luang Por Pan square hall with a pyramidal roof. There is a path inside the Buddhist sanctuary that you can go to downstairs which resemble Hell, there are many painting of hell at this place in order to remind yourself of what you should do which are perform good deed, do the meditation, practice the dharma and polish yourself so you can be free from evil and go to nirvana eventually.
AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 147
147
25/05/61 05:17:12 PM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
ขนฺติโก เมตฺตวา ลาภี ยสสฺสี สุขสีลวา ปิโย เทวมนุสฺสานํ มนาโป โหติ ขนฺติโก ผู้มีขันตินับว่ามีเมตตา มีลาภ มียศ และมีสุขเสมอ ผู้มีขันติเป็นที่รักที่ชอบใจของเทวดา และมนุษย์ทั้งหลาย
วัดบ้านแพน
สร้างสมัยกรุงธนบุรีเป็นราชธานี พระมงคลวุฒาจารย์ (ทองพูน ฐิตสีโล) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
วัดบ้านแพน หรือ วัดจันทรคูหาวาส สร้างมาแต่ครั้งกรุงธนบุรีเป็นราชธานี
ภายหลังจากเสียกรุงศรีอยุธยา ครั้งที่ 2 เป็นเวลา 10 ปี (พ.ศ. 2310-2320) ไม่ปรากฏ หลักฐานว่าใครเป็นผู้สร้าง แต่จากลักษณะพื้นที่ตั้งวัดและลักษณะสิ่งก่อสร้างภายในวัด จึ ง มี ข้ อ สั น นิ ษ ฐานว่า ผู้สร้า งวัด น่า จะเป็น ผู้มีบ รรดาศั ก ดิ์ ในสมั ย นั้ น โดยมี สิ่ ง ที่ เป็ น หลักฐานหลงเหลือจากอดีต อาทิ พระประธานในอุโบสถ หรือที่ชาวบ้านถวายนามว่า “หลวงพ่อเพชร” เป็นพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์สลักจากหินศิลาแรง ศิลปะสมัยอู่ทอง มณฑปประดิ ษ ฐานรอยพระพุท ธบาทจ�ำลอง และ หอระฆั ง เก่ า 148
4
บริเวณพืน้ ทีต่ งั้ วัดบ้านแพนแต่เดิมนัน้ เป็น ที่ราบลุ่ม อยู่ริมแม่น�้ำแควน้อย มีเนื้อที่ 34 ไร่ 1 งาน 67 ตารางต่อมาได้รบั พระมหากรุณาธิคณ ุ จากสมเด็ จ พระเจ้ า กรุ ง ธนบุ รี (สมเด็ จ พระเจ้าตากสิน) โปรดเกล้าฯ พระราชทาน วิสุงคามสีมา เมื่อ พ.ศ. 2325 ปั จ จุ บั นวั ด บ้ า นแพนตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 125 หมู่ที่ 1 ต�ำบลสามกอ อ�ำเภอเสนา จังหวัด พระนครศรีอยุธยา วัดบ้านแพน เมือ่ สมัยเจ้าอธิการจ้อย จนฺท โชติ เป็นเจ้าอาวาส สมเด็จพระนางเจ้าเสาวภา ผ่องศรี พระบรมราชินนี าถ ในรัชกาลที่ 5 เสด็จ ประพาสหัวเมืองทางเหนือ ก็ทรงมาประทับ แรมที่วัดนี้ 1 ราตรี ต่อมาสมัยพระครูรัตนา ภิ ร มย์ เป็ น เจ้ า อาวาส พระบาทสมเด็ จ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 เสด็จ ประพาสหัวเมืองทางเหนือ ก็ทรงเสด็จประทับ แรมที่วัดนี้ 1 ราตรี
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 148
22/5/2561 11:52:32
และต่อมาในวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2457 สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณ วโรรส สมเด็จพระสังฆราชเจ้า พระองค์ที่ 7 แห่ ง กรุ ง รั ต นโกสิ น ทร์ เสด็ จ ทรงตรวจการ คณะสงฆ์ (ในอ�ำเภอเสนากลาง) มณฑลกรุงเก่า ก็ได้เสด็จมาประทับแรมวัดนี้ 1 ราตรี วัดบ้านแพน มีเจ้าอาวาสปกครองวัดทัง้ สิน้ 7 รูป รูปที่ 1 หลวงพ่อแช่ม เจ้าอาวาสในช่วง สมัยกรุงธนบุรี จนถึงรัชกาลที่ 1 แห่งกรุง รัตนโกสินทร์ รูปที่ 2 หลวงพ่อนิล เจ้าอาวาสในช่วงสมัย รั ช กาลที่ 2 จนถึ ง รั ช กาลที่ 3 แห่ ง กรุ ง รัตนโกสินทร์ รูปที่ 3 พระอุปัชฌาย์สี เจ้าอาวาสในช่วง สมัยรัชกาลที่ 3 จนถึงรัชกาลที่ 5 แห่งกรุง รัตนโกสินทร์ รูปที่ 4 พระอุปัชฌาย์จ้อย จนฺทโชโต เจ้า อาวาสในช่วงสมัยรัชกาลที่ 5 จนถึงรัชกาลที่ 6 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ รูปที่ 5 พระครูรตั นาภิรมย์ (อยู่ ติสสฺ ) พ.ศ. 2457-2488 รวม 31 ปี รูปที่ 6 พระครูปริยัติคุณูปการ (วาสน์ ธมฺมโชโต) พ.ศ. 248-2526 รวม 38 ปี รูปที่ 7 พระมงคลวุฒาจารย์ (ทองพูน ฐิต สีโล) พ.ศ. 2527-ปัจจุบัน พระมงคลวุฒาจารย์ (ทองพูน ฐิตสีโล) เจ้าอาวาส มีนามเดิมว่า ทองพูน สัญญะโสภี เป็นบุตรของ นายแบบ และนางสมบุญ สัญญะโสภี เกิดเมื่อ วันพุธที่13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2475 ณ บ้าน สามกอ หมู่ที่ 1 ต�ำบลสามกอ อ�ำเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2488 จบการ ศึกษาชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จากโรงเรียน ประชาบาลต�ำบลสามกอ 1 (ศรีรัตนานุกูลวัด บ้านแพน) ปัจจุบันคือโรงเรียน วัดบ้านแพน “ศรีรัตนานุกูล” บรรพชา เมื่อวันเสาร์ที่ 30 เมษายน พ.ศ.2492 ณ วัดบ้านแพน จังหวัด พระนครศรีอยุธยา โดยมี พระปลัดแจ่ม ฐิตวโร วัดโพธิ์ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นพระ อุปัชฌาย์
อุปสมบท เมื่ออายุย่างเข้า 20 ปี เมื่อวัน เสาร์ที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2495 ณ พัทธสีมา วัด บ้านแพน โดยมี พระครูปริยัติคุณูปการ (วาสน์ ธมฺมโชโต) เจ้าอาวาสวัดบ้านแพน เป็น พระอุปัชฌาย์ พระครูเกษมคณาภิบาล (บุญมี เขมธมฺโม) เจ้าอาวาสวัดมารวิชยั เป็นพระกรรม วาจาจารย์ พระครูวิบูลธรรมศาสน์ (สังวาลย์ คุตตฺ ธมฺโม) เจ้าอาวาสวัดกระโดงทอง เป็นพระ อนุสาวนาจารย์ หลังจากอุปสมบทแล้ว ศึกษา พระปริยัติธรรมจนสามารถสอบได้นักธรรม ชั้นเอก ในปี พ.ศ.2499 งานด้านการปกครอง : พ.ศ. 2499 เป็น ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดบ้านแพน, พ.ศ.2500 เป็น พระกรรมวาจาจารย์, พ.ศ. 2513 เป็นรอง เจ้าอาวาสวัดบ้านแพน พ.ศ.2527 เป็นเจ้า อาวาสวั ด บ้ า นแพน, พ.ศ.2535 เป็ น พระ อุปชั ฌาย์, พ.ศ. 2539 เป็นรองเจ้าคณะอ�ำเภอ เสนา พ.ศ. 2543 เป็นผูร้ กั ษาการแทนเจ้าคณะ
อ�ำเภอเสนา พ.ศ.2545 เป็นเจ้าคณะอ�ำเภอ เสนา, พ.ศ. 2552เป็นหัวหน้าพระธรรมทูต อ�ำเภอเสนา, พ.ศ. 2555 เป็นที่ปรึกษาเจ้า คณะอ�ำเภอเสนา งานด้านการศึกษา : พ.ศ. 2552 จัดตั้ง ศูนย์การศึกษาพระปริยตั ธิ รรม อ�ำเภอเสนาขึน้ โดยรวมการศึกษาพระปริยตั ธิ รรม แผนกธรรม ทั้งนักธรรมชั้นตรี ชั้นโท และชั้นเอก ของทุก ส�ำนักเรียนในเขตปกครอง รวมจัดการสอน ในรู ป แบบศู น ย์ ก ารเรี ย นเพี ย งแห่ ง เดี ย วมา จนถึงปัจจุบัน งานด้านศึกษาสงเคราะห์ : พ.ศ. 2530 ด�ำเนินการจัดตั้งศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ขึ้น ภายในวัดบ้านแพน โดยด�ำรงต�ำแหน่งผูบ้ ริหาร และประธานกรรมการบริหาร มาตามล�ำดับ จนถึงปัจจุบัน สมณศักดิ์ : ปัจจุบัน เป็นพระราชาคณะ ชัน้ สามัญ ในราชทินนามที่ “พระมงคลวุฒาจารย์”
AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
4
.indd 149
149
22/5/2561 11:52:42
วัดบ้านแพน เป็นวัดราษฏร์ ตัง้ อยูบ่ นริมฝัง่ แม่น�้ำน้อย เลขที่ 125 หมู่ที่ 1 ต�ำบลสามกอ อ�ำเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สังกัด คณะสงฆ์มหานิกาย ปัจจุบันมี พระครูสุวรรณ ศีลาธิคณ ุ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดบ้านแพน ท่ า นเจ้ า อาวาส ให้ค วามส�ำคัญกับการ พัฒนาเด็กเล็กมาก ท่านจึงได้จัดตั้ง “ศูนย์ อบรมเด็กก่อนเกณฑ์วดั บ้านแพน” ขึน้ เมือ่ พ.ศ. 2530 โดยท่านพระครูสุวรรณศีลาธิคุณเป็น ผูจ้ ดทะเบียนจัดตัง้ และด�ำรงต�ำแหน่ง ประธาน กรรมการบริหาร จัดการศึกษาให้แก่นักเรียน ระดับปฐมวัย ที่อยู่ในเขตพื้นที่ต�ำบลสามกอ และพื้นที่ใกล้เคียง โดยมิได้เรียกเก็บค่าใช้จ่าย ใดๆ ทั้งสิ้น (เรียนฟรี) ในระยะแรกใช้สถานทีข่ องโรงเรียนวัดบ้าน แพน “ศรีรัตนานุกูล” เปิดด�ำเนินการ ต่อมา ประสบปัญหาน�้ำท่วม ท�ำให้ต้องย้ายสถานที่ ด�ำเนินการมาอยู่ภายในศาลาการเปรียญวัด บ้านแพนเป็นการชัว่ คราว ต่อมา พ.ศ. 2548 วัดบ้านแพนได้ดำ� เนินการก่อสร้างโรงเรียนพระ ปริยตั ธิ รรมขึน้ ศูนย์ ฯ จึงขออนุญาตย้ายสถาน ทีด่ ำ� เนินการมาอยู่ ณ โรงเรียนพระปริยตั ธิ รรม วัดบ้านแพนจนถึงปัจจุบัน ปี พ.ศ. 2553 พระครูสุวรรณศีลาธิคุณ เจ้าอาวาสวัดบ้านแพน มีด�ำริที่จะพัฒนาการ จัดการศึกษาศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์วดั บ้าน แพนให้ได้มาตรฐานตามหลักสูตรการศึกษา ปฐมวัย โดยใช้งบประมาณการก่อสร้างจากเงิน รายได้จากการจัดสร้างวัตถุมงคลของท่านเอง รวมกับเงินที่ได้รับบริจาคจากประชาชนผู้มีจิต ศรั ท ธาอี ก ส่ ว นหนึ่ ง ใช้ ง บประมาณการ ก่อสร้างพร้อมทัง้ ค่าวัสดุอปุ กรณ์ทางการศึกษา ทั้ ง สิ้ น กว่ า 9.5 ล้ า นบาท โดยได้ รั บ พระ มหากรุ ณ าธิ คุ ณ จาก พระเจ้ า วรวงศ์ เ ธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินดั ดามาตุ เสด็จเป็นองค์ประธานประกอบพิธีวางศิลา ฤกษ์ เมือ่ วันอังคารที่ 17 มกราคม พ.ศ.2555 และได้ด�ำเนินการก่อสร้างจนแล้วเสร็จเมื่อ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ.2556 พ.ศ. 2555 สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จ พระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก ทรงพระ กรุณาโปรดประทานพระบรมสารีริกธาตุมา ประดิษฐานไว้ภายในอาคารศูนย์อบรมเด็ก 150
4
ก่อนเกณฑ์วัดบ้านแพน กับทั้งทรงประทานอนุญาตให้ศูนย์ ฯ ด�ำเนินการจัดสร้างพระพุทธรูปปาง มารวิชัย ขนาดหน้าตัก 16 นิ้ว ไว้เป็นพระประธานประจ�ำอาคาร ทรงประทานอักษรพระนามย่อ ญสส ประดิษฐานบนผ้าทิพย์ พร้อมทรงประทานนามพระพุทธรูปว่า “พระพุทธวชิรวิสทุ ธิปญ ั ญา” พ.ศ. 2556 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ นาย จรินทร์ สวนแก้ว ประธานมูลนิธิ 5 ธันวามหาราช เชิญผ้าไตรพระราชทาน ในการทอดผ้าป่ามหา กุศลสมทบทุนซื้อวัสดุอุปกรณ์การศึกษาศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์วัดบ้านแพน เมื่อวันจันทร์ที่ 15 เมษายน พ.ศ.2556 ปัจจุบันศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์วัดบ้านแพน มีนักเรียน 120 คน ครู 2 คน ผู้ดูแลเด็ก 5 คน นักการภารโรง 1 คน และลูกจ้างทั่วไป 1 คน
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 150
22/5/2561 11:52:49
WAT BAN PAN Person who has patience will always has kindness, fortune, prestige and happiness.
Wat Ban Pan or Wat Chan Thara Kuhawat
was built during an era of Thonburi Kingdom which is 10 years after the downfall of Ayutthaya Kingdom (2310-2320 B.E.). There is not any explicit evidence about who built this temple, but there is assumption based on appearance of this temple’s location and construction in this temple which is the builder might be one of a nobleman in that era which there are evidence from the past to prove this assumption such as principle Buddha image in Ubosot (Ubosot is Buddhist sanctuary) which locals offered the name “Luang Por Petch”, it is a sacred Buddha image, carved from laterite in U Thong style, square hall with a pyramidal roof where duplicated Lord Buddha’s footprint is enshrined and old bell tower. Formerly, an area where Wat Ban Pan is located is low plain at the side of Kwai Noi River. The scale of this temple’s land is 13.6 acres and 668 square meters. After that, Somdet Phra Chao Krung Thon Buri (King Taksin) granted Wisung Khama Sima (a royal granting of the land for monks to have the ordination hall constructed or to do religious rites) in 2325 B.E. At present, Wat Ban Pan is located at 125 village no.1, Sam Ko sub-district, Sena district, Ayutthaya province. Nowadays, Phra Maha Mongkol Wutthajarn (Thongphoon Thitasilo) is an abbot of this temple Phra Maha Mongkol Wutthajarn (Thongphoon Thitasilo) is an abbot of this temple went into the monkhood when he was 20 years old on Saturday, 31 May 2495 B.E. at monastic
boundary of Wat Ban Pan by Phra Khru Pariyat Kunoopakarn (Wats Dhammashoto) abbot of Wat Ban Pan whom was a preceptor, and pair of monks who chant the ordination service are Phra Khru Kasemkanaphibarn (Boonme Khemathammo), abbot of Wat Manwichai and Phra Khru Wiboon Thammasart (Sangwan Kuttathammo), abbot of Wat Kra Dong Thong. After his ordination, he studied Buddhist scriptures until he passed an exam of dhamma scholar advanced level in 2499 B.E. Administrative aspect: In 2499 B.E., assistant abbot of Wat Ban Pan. In 2500 B.E., he was one in the pair of monks who chant the ordination service. In 2513 B.E., deputy abbot of Wat Ban Pan. In 2527 B.E., he became an abbot of Wat Ban Pan. In 2535 B.E., the preceptor. In 2539 B.E., Sena district vice monk dean. In 2543 B.E., acting monk dean of Sena district. In 2545 B.E., he became Sena district monk dean. In 2552 B.E., he was the leader of Buddhist missionaries of Sena district. In 2555 B.E. Sena district monk dean counselor. Educational works: he established Dhamma education center at Sena district in 2552 B.E., which he combined the study of Buddhist scriptures and all levels of dhamma scholar of every institute in his administrative area to be in this only place until now. Education supporting: In 2530 B.E., he established teaching center for pre-school child in Wat Ban Pan which he took a position of administrator and executive managing director since this place was established until today.
AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
4
.indd 151
151
22/5/2561 11:53:00
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
“วัดมารวิชัย” หมายถึง “การมีชัยชนะแก่มารทั้งปวง”
วัดมารวิชัย
วัดแห่งชัยชนะมารทั้งปวง พระครูวิชัยพลากร ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
อดีตเจ้าอาวาส พระครูเกษมคณาภิบาล (หลวงปู่มี เขมธมฺโม)
สันนิษฐานตามค�ำบอกเล่าสืบๆ กันมาว่า เป็นวัดเก่าแก่สร้างมาแต่ครั้ง
กรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี เพราะว่า หลังอุโบสถด้านเหนือ มีเนินดิน ชาวบ้าน ขุดพบซากก�ำแพงเก่าที่สร้างด้วยอิฐมอญก้อนใหญ่ถูกกองทัพพม่าเผาท�ำลาย เป็นซาก แล้วทับถมกลายเป็นโคกดังที่ชาวบ้านเรียกเนินดินนั้นว่า “โคกวิหาร” วัดมารวิชัย ตั้งอยู่เลขที่ 42 หมู่ 9 ต�ำบลบางนมโค อ�ำเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย พื้นที่เป็นที่ราบลุ่ม ตั้งอยู่ริมคลองขนมจีน เนื้อที่ 21ไร่ 65 ตารางวา มีที่ธรณีสงฆ์ 2 แปลง เนื้อที่ 39 ไร่ 2 งาน 36 ตารางวา โฉนดเลขที่ 5208,6203
152
4
โคกวิหารอาถรรพณ์ โคกวิ ห ารแห่ ง นี้ มี อ าถรรพณ์ เกิ ด จาก สาเหตุที่กองทัพพม่ายกทัพใหญ่มาตีกรุงศรี อยุธยา เมือ่ ปี พ.ศ.2307 โดยตัง้ ทัพทีบ่ า้ นสีกกุ อ� ำ เภอบางบาล ซึ่ ง ห่ า งจากวั ด มารวิ ชั ย ประมาณ 7 กิโลเมตร ทหารพม่าปล้นสะดม เผาผลาญท�ำลายวัดวาอารามและวัดมารวิชัย ก็ ถู ก เผาท� ำ ลายสิ้ น ซากกลายเป็ นวั ด ร้ า งมา ตั้งแต่บัดนั้น วิญญาณชาวบ้านที่ถูกฆ่าตาย จ�ำนวนมาก จึงวนเวียนสิงสู่อยู่ที่โคกวิหาร นั่นเอง เมื่อผู้ใดไปรบกวนดวงวิญญาณที่มีแต่ ความอาฆาตแค้นก็ถูกท�ำร้ายให้มีอันเป็นไป ต่างๆ นานาทันที จนบริเวณนั้นไม่มีใครกล้า เข้าใกล้และเป็นที่เลื่องลือว่า “วัดมารวิชัยผีดุ” เรื่องที่วัดมารวิชัย มีผีดุนั้นเป็นเรื่องที่เลื่องลือ ไปทั่วแม้แต่ พระราชพรหมยาน (วีระ ถาวโร) หรื อ ที่ รู ้ จั ก กั น ในนาม หลวงพ่ อ ฤาษี ลิ ง ด� ำ
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 152
22/5/2561 11:54:04
วัดท่าซุง ซึง่ เป็นศิษย์เอกองค์สำ� คัญอีกองค์หนึง่ ของ หลวงพ่อปาน วัดบางนมโคยังน�ำไปเขียน และบอกเล่าให้หมู่ศิษย์ทั้งหลายฟังอยู่เสมอ ต่อมาหลวงพ่อมี ผูท้ รงญาณสมาบัตเิ ห็นว่ามัก มี ช าวบ้ า นรู ้ เ ท่ า ไม่ ถึ ง การณ์ เ สี ย ชี วิ ต เมื่ อ ไป รบกวนถูกสถานที่มีอาถรรพณ์ร้ายแรงนั้นเข้า ท่ า นจึ ง ท� ำ พิ ธี ข อขมาดวงวิ ญ ญาณบรรดา สั ม ภเวสี ส ร้ า ง “ฌาปนสถาน” ทั บ เนิ น ดิ น เป็นการแก้อาถรรพณ์ในปี 2510 ท�ำให้ดวง วิญญาณที่มีแต่ความอาฆาตไปผุดไปเกิดใหม่ ยังที่สุคติ ด้วยอานิสงส์ที่สร้างฌาปนสถาน ความทรงญาณแก่กล้าของหลวงพ่อมี หลวงตามืดสร้างวัดขึ้นใหม่ วัดมาวิชยั กลายเป็นวัดร้างมานานถึง 70 ปี ต่อมาประมาณปี พ.ศ.2379 มีพระธุดงค์องค์ หนึ่งมาสร้างวัดขึ้นใหม่ด้วยสาเหตุที่นัยน์ตา ของท่านบอดมืดทั้ง 2 ข้าง ชาวบ้านจึงเรียก ท่านว่า “หลวงตามืด” แต่ท่านยังสามารถ บิณฑบาตจ�ำทางไปบ้านของชาวบ้านได้อย่าง แม่นย�ำทั้งยังมีความสามารถในการก่อสร้าง ต่างๆ อีกด้วย หลวงตามืดจึงนับเป็นเจ้าอาวาส องค์แรกที่ได้สร้างวัดขึ้นใหม่แล้วตั้งชื่อว่า “วัด ผจญมาร” มีความหมายถึงวัดที่เคยถูกข้าศึก รุกรานมานานแล้ว เจริญในสมัยหลวงพ่อสุวรรณ หลวงตามืดเป็นเจ้าอาวาสมานานถึง 16 ปี ก็ ม รณภาพในปี พ.ศ. 2395 หลวงปู ่ ชื่ น วัดสุธาโภชน์ (วัดขนมจีน) ซึ่งเป็นพระอาจารย์ เรืองวิชาที่มีชื่อเสียงมากในสมัยนั้น มอบให้ หลวงพ่อสุวรรณมาเป็นเจ้าอาวาสองค์ที่ 2 หลวงพ่ อ สุ ว รรณได้ ก ่ อ สร้ า งอุ โ บสถ และ
เสนาสนะต่างๆจนเจริญรุง่ เรืองมาก จวบจนถึง แก่การมรณภาพเมื่ออายุ 65 ปี วั ด ผ จ ญ ม า ร ไ ด ้ รั บ พ ร ะ ร า ช ท า น วิสงุ คามสีมา ให้เป็นวัดทีม่ เี ขตท�ำสังฆกรรมโดย สมบูรณ์ เมือ่ ปี พ.ศ.2445 สมัยพระอาจารย์หลง เป็นเจ้าอาวาสองค์ที่ 5 แต่มีเหตุต้องลาสิขา ต่อมา พระอาจารย์ทอง เป็นเจ้าอาวาสองค์ที่ 6 ได้เริ่มโครงการก่อสร้างอุโบสถใหม่ด้วยการ ก่ออิฐถือปูน แต่ยังไม่ทันสร้างก็มีเหตุจ�ำเป็น ต้องลาสิกขา ในปี พ.ศ.2451 พระอาจารย์เทศ เจ้า อาวาสองค์ที่ 8 ได้นิมนต์ พระญาณไตรโลก วัดศาลาปูน มาเป็นประธานก่อสร้างอุโบสถ แต่ยังไม่ทันเสร็จพระอาจารย์เทศก็มาด่วน ลาสิกขา ต่อมา พระอาจารย์เผื่อน เจ้าอาวาส องค์ที่ 9 ได้นิมนต์ หลวงพ่อปาน วัดบางนมโค มาสร้างศาลาการเปรียญหลังใหญ่จนเสร็จในปี พ.ศ.2468 แล้วด�ำริจะสร้างอุโบสถที่ค้างมา นานให้เสร็จแต่มีพระภิกษุชรา 2 รูปคัดค้าน ไม่ยอมให้หลวงพ่อปานตัดต้นกระทุม่ เพือ่ ขยาย พื้ น ที่ เพราะเกรงรุ ก ขเทวดาที่ อ าศั ย อยู ่ จ ะ ท�ำลายหลวงพ่อปานจึงไปสร้างอุโบสถที่วัด
สามตุ่มต่อไป ส่วนพระอาจารย์เผื่อนยังไม่ทัน สร้างอุโบสถต่อก็มาลาสิกขาไปอีก ตั้งส�ำนักพระปริยัติธรรม หลวงพ่อคล้าย เจ้าอาวาสองค์ที่ 10 ได้ สร้ า งความเจริ ญ รุ ่ ง เรื อ งทั้ ง ทางด้ า นการ ก่อสร้าง และการศึกษาเป็นอย่างมากโดยจัด ตั้ ง ส� ำ นั ก เรี ย นพระปริ ยั ติ ธ รรมครั้ ง แรกในปี พ.ศ. 2475 และยังใช้ศาลาการเปรียญเป็น โรงเรี ย นประชาบาลส� ำ หรั บ บุ ต รหลานของ ชาวบ้านทั่วไป นับว่าหลวงพ่อคล้ายเป็นพระ อาจารย์องค์ส�ำคัญที่เป็น ผู้สร้างความเจริญ รุง่ เรืองแก่วดั สืบต่อมาถึงบัดนี้ แต่นา่ เสียดายที่ หลวงพ่อคล้ายมาด่วนลาสิกขาไปครองเรือน เมื่อปี พ.ศ. 2481 และขอให้หลวงพ่อมีช่วย สร้างอุโบสถต่อโดยให้สญ ั ญาว่า ถ้าภายใน 20 ปี ไม่มีบุตร จะกลับมาอุปสมบทใหม่ 20 ปีต่อ มาท่านไม่มีบุตรจริงๆ จึงกลับมาบวชอีกครั้ง ตามทีส่ ญ ั ญาตราบจนถึงแก่กาลมรณภาพอย่าง สงบเมื่ออายุ 80 ปี และก่อนที่จะมรณภาพ ท่านสามารถรู้วันเวลาตายได้อย่างน่าอัศจรรย์ เปลี่ยนชื่อเป็น “วัดมารวิชัย”
AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
4
.indd 153
153
22/5/2561 11:54:14
เมื่ อ หลวงพ่ อ มี เป็น เจ้าอาวาสขณะนั้น เพิ่งส�ำเร็จอสุภกรรมฐานมากับ หลวงพ่อปาน วัดบางนมโค ได้ใช้วิจารณญาณเห็นว่า “วัด ผจญมาร” นั้นชื่อไม่เป็นมงคล ต้องผจญมาร กันอยู่เรื่อย ตั้งแต่หลวงตามืด ผู้สร้างวัดและ หลวงพ่อสุวรรณเจ้าอาวาสองค์ที่ 2 ถึงแก่กาล มรณภาพในผ้าเหลืองแล้ว เจ้าอาวาสองค์ต่อ มาอีก 8 รูป ล้วนมีอันเป็นไปต้องลาสิกขา แม้ แ ต่ ห ลวงพ่ อ คล้ า ย ที่ ป ฏิ บั ติ ก รรมฐาน เคร่ ง ครั ด ก็ ยั ง พ่ า ยแพ้ แ ก่ ม ารต้ อ งลาสิ ก ขา เช่นกัน หลวงพ่อมีจึงเปลี่ยนชื่อวัดใหม่เป็น “วัดมารวิชัย” หมายถึง “การมีชัยชนะแก่มาร ทั้งปวง” ท�ำเนียบเจ้าอาวาส รูปที่ 1 หลวงตามืด พ.ศ.2379-2395 รูปที่ 2 หลวงพ่อสุวรรณ พ.ศ.2395-2437 รูปที่ 3 พระอาจารย์พนั พ.ศ.2437-2440 รูปที่ 4 พระอาจารย์ไผ่ พ.ศ.2440-2444 รูปที่ 5 พระอาจารย์หลง พ.ศ.2444-2446 รูปที่ 6 พระอาจารย์ทอง พ.ศ.2446-2449 รูปที่ 7 พระอาจารย์เทียบ พ.ศ.2449-2451
154
4
รูปที่ 8 พระอาจารย์เทศ พ.ศ.2451-2459 รูปที่ 9 พระอาจารย์เผือ่ น พ.ศ.2459-2471 รูปที่10 หลวงพ่อคล้าย พ.ศ.2471-2481 รูปที่11 พระครูเกษมคณาภิบาล พ.ศ.2481-2540 ลาออก รูปที่12 พระครูวิชัยพลากร พ.ศ.2541- ปัจจุบัน พระครูวิชัยพลากร เจ้าอาวาสวัดมารวิชัย (ปัจจุบัน) พระครูวิชัยพลากร ฉายา จนฺทสีโล อายุ 48 ปี พรรษา 29 วิทยฐานะ นักธรรมเอก สังกัดวัดมารวิชยั ต�ำบลบางนมโค อ�ำเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ปัจจุบันด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดมารวิชัย สถานะเดิม ชื่อ นายชุมพล นามสกุล เทียนบูชา เกิดเมื่อวันอังคารที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2512 บิดาชื่อ นายสมพงษ์ นามสกุล เทียนบูชา มารดาชื่อ นางพวง นามสกุล เทียนบูชา ที่อยู่เดิม บ้านเลขที่ 91/1 หมู่ 1 ต�ำบลบ้านหลวง อ�ำเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
อุปสมบท เมื่อวันที่ 21 มิถุนายน พ.ศ.2532 ณ พัทธสีมาวัดมารวิชัย พระอุปัชฌา พระครู เกษมคณาภิ บ าล เจ้ า อาวาสวั ด มารวิ ชั ย พระกรรมวาจาจารย์ พระครูใบฎีกาจวน พระอนุสาวนาจารย์ พระครูปลัดศิริ วัดมารวิชยั วิทยฐานะ สามัญศึกษา พ.ศ. 2525 ส�ำเร็จการศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนจรัสวิทยาคาร ต�ำบลบ้านหลวง อ�ำเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พ.ศ. 2528 ส�ำเร็จการศึกษาชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนสาคลีวทิ ยา ต�ำบลสามตุม่ อ�ำเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ประวัติการศึกษา - พ.ศ.2533 สอบได้นักธรรมตรี สังกัดวัดมารวิชัย - พ.ศ.2551 สอบได้นักธรรมโท สังกัดวัดมารวิชัย - พ.ศ.2552 ส� ำ เ ร็ จ ก า ร ศึ ก ษ า ต า ม ห ลั ก สู ต ร ประกาศนียบัตรการบริหารกิจการคณะสงฆ์ (ป.บส.) - พ.ศ.2555 สอบได้นักธรรมเอก สังกัดวัดมารวิชัย - พ.ศ.2557 ส�ำเร็จการศึกษาเป็นพุทธศาสตร์บัณฑิต คณะสังคมศาสตร์ สาขาการจัดการเชิงพุทธ
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 154
22/5/2561 11:54:22
- พ.ศ.2558 ส�ำเร็จการศึกษาเป็นพุทธศาสตร์มหาบัณฑิต คณะสังคมศาสตร์ สาขาการจัดการเชิงพุทธ งานปกครอง - พ.ศ.2537 เป็นครูสอนปริยัติธรรม เป็นกรรมการการ สอบนักธรรม - พ.ศ.2537 เป็นประธานศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์วัด มารวิชัย - พ.ศ.2541 ปัจจุบนั เป็นเจ้าส�ำนักศาสนศึกษาวัดมารวิชยั - พ.ศ.2537 เป็นผูช้ ว่ ยเจ้าอาวาสวัดมารวิชยั พ.ศ.2541 เป็นเจ้าอาวาสวัดมารวิชัย
สมณศักดิ์ - พ.ศ.2537 เ ป ็ น พ ร ะ ใ บ ฎี ก า ชุ ม พ ล จ นฺ ท สี โ ล ฐานานุกรมของ พระญาณไตรโลก พระราชา คณะชัน้ สามัญ วัดบรมวงศ์อศิ รวราราม จังหวัด พระนครศรีอยุธยา - พ.ศ. 2541 เป็นพระครูสังฆรักษ์ชุมพล ฐานานุกรม ของ พระธรรมญาณมุนี พระราชาคณะชัน้ ธรรม วั ด พนั ญ เชิ ง วรวิ ห าร ต� ำ บล กะมั ง อ� ำ เภอ พระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา - พ.ศ.2550 เป็นพระครูสัญญาบัตรเจ้าอาวาสชั้นโท - พ.ศ.2559 เป็นพระครูสัญญาบัตรเจ้าอาวาสชั้นเอก พระครูวิชัยพลากร
ศาสนวัตถุที่ส�ำคัญภายในวัด มณฑปเกษมคณาภิบาลนุสรณ์ ประดิษฐาน สรีระสังขาร หลวงปูม่ ี เขมธมฺโม, พระพุทธพิชติ มาร พระประธานในอุโบสถ, อุโบสถวัดมารวิชัย, หอระฆัง, กุฏทิ รงไทย 2 ชัน้ (กุฏเิ จ้าอาวาสองค์ ปัจจุบัน), ฌาปนสถาน วัดมารวิชัย สร้างเมื่อ ปี พ.ศ. 2535, ศาลาทรงไทยประดิษฐานพระ สังกัจจายน์ สมัยหลวงปู่มี เป็นผู้สร้าง มีอายุ กว่า 80 ปี, ศาลาการเปรียญ พระครูวิหาร กิจจานุการ (หลวงพ่อปาน วัดบางนมโค) เป็น ผู้สร้าง เมื่อปีพ.ศ. 2486, กุฏิพระภิกษุสงฆ์ สังกัดวัดมารวิชยั สร้างเป็นทรงไทย 2 ชัน้ เชือ่ มต่อ กันเป็นแนวยาว มีทงั้ หมด 7 ตัวเรือน แบ่งเป็น ห้องได้ 20 ห้อง
AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
4
.indd 155
155
22/5/2561 11:54:34
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
“มหัคคตกรรม”
วัดสุธาโภชน์
วัดแห่งอาหารทิพย์อันวิเศษคือ ปัญญา พระครูพิพิธพัฒนโสภณ, ดร. ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน
วัดสุธาโภชน์ สร้างขึ้นเป็นวัดนับตั้งแต่สมัยอยุธยา ประมาณ พ.ศ. 2200 โดยมี
ลูกคหบดีคนหนึ่งอยู่ที่คลองขนมจีนที่วัดตั้งอยู่ มีนามว่า “ทอง” ได้เป็นเจ้าจอมในสมัย อยุธยาไม่ปรากฏหลักฐานว่ารัชกาลใด ได้มาจัดสร้างวัดนี้ขึ้นแล้วเรียก “วัดจอมทอง”
ต่อมาถึง พ.ศ. 2308 พวกข้าศึกรุกรานท�ำให้ผู้ต้องอพยพหนีการถูกข่มเหง วัดจอมทองก็ขาด การบ�ำรุงจนกลายสภาพเป็นวัดร้างไป พวกข้าศึกได้ใช้สถานที่วัดเป็นที่เลี้ยงช้าง ชาวบ้านจึงเรียก บริเวณวัดร้างว่า “วัดโคกช้าง” เมื่อบ้านเมืองเจริญมากขึ้น จึงมีผู้คนอยู่ท�ำมาหากินเป็นหลักแหล่ง มัน่ คงมากขึน้ จึงได้มกี ารบูรณปฏิสงั ขรณ์วดั ให้เจริญขึน้ และเรียกว่า “วัดขนมจีน” ตามชือ่ บ้านต�ำบล
156
4
ขณะนั้นถึงปี พ.ศ. 2483 ได้เปลี่ยนนามวัด เป็น “วัดสุธาโภชน์” แปลว่าของกินอันเป็นทิพย์ หรือสะอาด ก็คงจะหมายถึงขนมจีนนั่นเอง วัดสุธาโภชน์ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา นับตั้งแต่ประมาณ พ.ศ.2210 วัดสุธาโภชน์ ตั้งอยู่เลขที่ 38 บ้านขนมจีน หมู่ที่ 6 ต�ำบลบางนมโค อ�ำเภอเสนา จังหวัด พระนครศรีอยุธยา สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ โฉนดที่ดิน เลขที่ 37998 เล่ม 380 หน้า 98 อ�ำเภอเสนา จังหวัด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา ที่ ดิ น แปลงนี้ มี เ นื้ อ ที่ ประมาณ 20 ไร่ 3 งาน 42 ตารางวา (ยี่สิบไร่ สามงานสี่สิบสองตารางวา) โฉนดที่ดิน เลขที่ 38496 เล่ม 385 หน้า 96 อ�ำเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ทีด่ นิ แปลงนีม้ เี นือ้ ที่ ประมาณ 2 ไร่ 3 งาน 15 ตารางวา(สองไร่ สามงานสิบห้าตารางวา) พืน้ ทีต่ งั้ วัดเป็นทีร่ าบ ลุ่มอยู่ริมคลองขวางและคลองขนมจีน มีป่าไผ่ ล้อมรอบ
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 156
22/5/2561 13:16:19
อาคารเสนาสนะต่างๆ มี อุโบสถ วิหาร ศาลาการเปรียญ หอสวดมนต์ กุฎีสงฆ์ ฯลฯ ส� ำ หรั บ ปู ช นี ย วั ต ถุ มี พ ระประธานใน อุโบสถปางมารวิชยั สร้างเมือ่ พ.ศ. 2470 โดยมี หลวงพ่อปาน วัดบางนมโค เป็นประธานใน การก่อสร้าง และพระพุทธรูปปางป่าเลไลยก์ ประดิษฐานอยูใ่ นวิหาร สร้างโดยพระอดุลธรรม เวที (หลวงพ่อไวทย์ อินทฺ วํโส ) เมือ่ 20 ปีเศษ เจ้าอาวาสและผู้ปกครองวัดตั้งแต่อดีต จนถึงปัจจุบัน เท่าที่ทราบนามมี 18 รูป รูปที่ 1 หลวงพ่อสว่าง รูปที่ 2 พระอุปัชฌาย์ชื่น (หลวงพ่อเฒ่า) รูปที่ 3 พระอาจารย์อุ่ม (อนุสาวนาจารย์ หลวงพ่อปาน วัดบางนมโค) รูปที่ 4 พระปาน รูปที่ 5 พระเชย รูปที่ 6 พระตี๋ รูปที่ 7 พระอาจารย์สัมฤทธิ์ รูปที่ 8 พระอาจารย์โล่ห์ รูปที่ 9 พระอาจารย์ยวง รูปที่ 10 พระอาจารย์ขาว รูปที่ 11 พระอาจารย์ชม รูปที่ 12 พระอาจารย์เสงี่ยม รูปที่ 13 พระอธิการผูก รูปที่ 14 พระอธิการผัน รูปที่ 15 พระอดุลธรรมเวที (หลวงพ่อไวทย์ อินฺทวํโส ป.ธ.6) 5 ธันวาคม 2520
รูปที่ 16 พระอธิการบุก รูปที่ 17 พระครูกิตติวรวิทย์ จร.ชต. (สุวิทย์ กิตฺติวณฺโณ) 5 ธันวาคม 2530 รูปที่ 18 พระครูพิพิธพัฒนโสภณ, ดร. จต.ชท. (สุบิน สุเมโธ) 5 ธันวาคม 2547 (เจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน) วัดสุธาโภชน์ มีพระภิกษุจำ� พรรษา 13 รูป สามเณร 2 รูป แม่ชี 3 คน ศิษย์วัด 5 คน (ข้อมูลจากหนังสือประวัตวิ ดั ทัว่ ราชอาณาจักร จากศูนย์วัฒนธรรม) พระครูพิพิธพัฒนโสภณ (สุบิน สุเมโธ) เจ้าอาวาส เกิดเมือ่ วันศุกร์ที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2508 (ขึ้น 3 ค�่ำ เดือน 1 ปีมะเส็ง) การศึกษา - พ.ศ. 2529 นักธรรมชั้นเอก ส� ำ นั ก เรี ย นวั ด สุ ธ าโภชน์ ต� ำ บลบางนมโค อ�ำเภอเสนาจังหวัดพระนครศรีอยุธยา, - พ.ศ. 2544 ประโยค 1-2 ส�ำนักเรียนวัดสุธาโภชน์, - พ.ศ. 2532 มัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม, - พ.ศ. 2535 มั ธ ยมศึ ก ษาตอนปลาย โรงเรียนวัดสุวรรณาราม บางกอกน้อย กรุงเทพฯ,
- พ.ศ. 2549 หลักสูตรประกาศนียบัตร การบริหารกิจการคณะสงฆ์ (ป.บส.), - พ.ศ. 2553 อุดมศึกษา พุทธศาสตรบัณฑิต (สาขาวิชาการจัดการเชิงพุทธ) เกียรตินิยม มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย รุน่ ที่ 55, - พ.ศ.2555 ส�ำเร็จ ปริญญาพุท ธศาสตร์ มหาบัณฑิต สาขาการจัดการเชิงพุทธ (ปริญญาโท) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย รุน่ ที่ 22/2555, - พ.ศ. 2558 ส�ำเร็จปริญญาพุทธศาสตร์ ดุษฎีบณ ั ฑิต (ปริญญาเอก) สาขาการจัดการ เชิงพุทธ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิท ยาลัย รุ่นที่ 11/2558 อุปสมบท : วันที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2529 สังกัด วัดสุธาโภชน์ เลขที่ 38 หมู่ที่ 6 ต� ำ บลบางนมโค อ� ำ เภอเสนา จั ง หวั ด พระนครศรีอยุธยา หน้าที่ : งานปกครอง พ.ศ. 2535 เป็น รักษาการเจ้าอาวาสวัดสุธาโภชน์, พ.ศ.2536 เป็นเจ้าอาวาสวัดสุธาโภชน์, พ.ศ.2543 เป็น เจ้าคณะต�ำบลบางนมโค, พ.ศ. 2549 เป็นพระ อุปัชฌาย์ สมณศักดิ์ : พ.ศ. 2547 เป็นพระครูสญ ั ญาบัตร เจ้าคณะต�ำบลชัน้ โท ที่ พระครูพพิ ธิ พัฒนโสภณ
AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
4
.indd 157
157
25/5/2561 16:28:26
ประวัติท่านเจ้าคุณพระอดุลธรรมเวที ( ไวทย์ อินฺทวํโส ป.ธ. ๖ ) อดีตเจ้าอาวาสวัดสุธาโภชน์ ต�ำบลบางนมโค อ�ำเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา นามเดิมชื่อ ไวทย์ นามสกุล ศุภเพณี เกิดวัน ๑ ฯ ๖ ค�่ำ ปีมะเส็ง วันที่ ๖ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๖๐ (อายุปัจจุบัน ๙๗ ปี ) บิดา นายโอ๋ ศุภเพณี มารดา นางเทียบ ศุภเพณี ที่บ้านขนมจีน ต�ำบลบางนมโค อ�ำเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา บรรพชา บรรพชาเมื่อพ.ศ. ๒๔๗๒ อายุได้ ๑๒ ปี ที่ วัดขนมจีน แล้วไปจ�ำพรรษาที่วัดบ้านแพน เพื่อศึกษานักธรรมและบาลี อยู่ที่วัดบ้านแพน ได้ ๓ เดือน แล้วย้ายไปอยู่ที่ส�ำนักเรียน วัดสระเกศราชวรมหาวิหาร ในส�ำนักหลวงปู่ พระครูสวุ รรณบรรพตพิทกั ษ์ (ทิม) กรุงเทพมหานคร อุปสมบท อุปสมบทเมื่อ พ.ศ. ๒๔๘๐ อายุได้ ๒๐ ปี
158
4
ณ พัทธสีมาวัดสระเกศราชวรมหาวิหาร แขวง บ้านบาตร เขตป้อมปราบศัตรูพา่ ย กรุงเทพมหานคร วิทยฐานะ ได้ รั บ การศึ ก ษากั บ ครู ย งค์ (ไม่ ท ราบ นามสกุล) เป็นคนบ้านช้างคู้สลอด มีความรู้ เทียบเท่าชั้นประถมปีที่สาม - พ.ศ. ๒๔๗๘ อายุได้ ๑๘ ปี สอบได้ น.ธ.ตรี ป.ธ. ๓ - พ.ศ. ๒๔๗๙ อายุได้ ๑๙ ปี สอบได้ น.ธ. โท ป.ธ. ๔ - พ.ศ. ๒๔๘๑ อายุได้ ๒๑ ปี สอบได้ น.ธ. เอก - พ.ศ. ๒๔๘๒ อายุได้ ๒๒ ปี สอบได้ ป.ธ. ๕ - พ.ศ. ๒๔๘๓ อายุได้ ๒๓ ปี สอบได้ ป.ธ. ๖ งานการปกครอง - พ.ศ. ๒๔๘๘ เป็นรักษาการแทนเจ้าอาวาสวัดสุธาโภชน์ - พ.ศ. ๒๔๘๙ เป็นเจ้าอาวาสวัดสุธาโภชน์
- พ.ศ. ๒๔๙๗ เป็นเจ้าอาวาสวัดบางซ้ายใน - พ.ศ. ๒๔๙๙ เป็นรักษาการแทนเจ้าคณะอ�ำเภอบางซ้าย - พ.ศ. ๒๕๐๒ เป็นเจ้าคณะอ�ำเภอบางซ้าย - พ.ศ. ๒๕๑๙ เป็นเจ้าอาวาสวัดบรมวงศ์อิศรวราราม พระอารามหลวงชั้นโท สมณศักดิ์ที่ได้รับ - พ.ศ. ๒๔๙๙ ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ เป็นพระครู อดุลวรวิทย์ (พระครูพิเศษ จ.ป.ร. ) - พ.ศ. ๒๕๐๕ ได้รับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์ เป็นเจ้าคณะอ�ำเภอชั้นเอก - พ.ศ. ๒๕๑๒ ได้รับพระราชทานเลื่อน สมณศักดิ์ เป็นเจ้าคณะอ�ำเภอชั้นพิเศษ - พ.ศ. ๒๕๑๙ ได้ รั บ พระราชทานเลื่ อ น สมณศักดิ์ เป็นพระราชาคณะสามัญที่ “ พระอดุลธรรมเวที ” (สป.)
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 158
22/5/2561 13:16:42
อานิสงส์ของการรักษาศีล 5 อาหารทิพย์แห่งมนุษย์สมบัติ 1. ผู้ที่รักษาศีลข้อ 1 ด้วยการไม่ฆ่าสัตว์ ตั ด ชี วิ ต ด้ ว ยเศษของบุ ญที่ รั ก ษาข้ อ นี้ เมื่ อ น้อมน�ำมาเกิดเป็นมนุษย์ ก็จะมีพลานามัยแข็งแรง ปราศจากโรคภัย ไม่ขโี้ รค อายุยนื ยาว ไม่มศี ตั รู เบียดเบียนให้ตอ้ งบาดเจ็บ ไม่มอี บุ ตั เิ หตุตา่ งๆ ทีจ่ ะท�ำให้บาดเจ็บ หรือสิน้ อายุเสียก่อนวัยอันควร 2. ผู้ที่รักษาศีลข้อ 2 ด้วยการไม่ถือเอา ทรัพย์ของผูอ้ นื่ ทีเ่ จ้าของมิได้เต็มใจให้ ด้วยเศษ ของบุญทีน่ ำ� มาเกิดเป็นมนุษย์ ย่อมท�ำให้ได้เกิด ในตระกูลทีร่ ำ�่ รวย การท�ำมาหาเลีย้ งชีพในภาย หน้ามักจะประสบกับช่องทางที่ดี ท�ำมาค้าขึ้น และมั่งมีทรัพย์ ทรัพย์สมบัติไม่วิบัติหายนะไป ด้วยภัยต่างๆ เช่น อัคคีภยั วาตภัย โจรภัย ฯลฯ 3. ผู ้ ที่ รั ก ษาศี ล ข้ อ 3 ด้ ว ยการไม่ ล ่ ว ง ประเวณีในคูค่ รอง หรือคนในปกครองของผูอ้ นื่ ด้วยเศษของบุญที่รักษาศีลในข้อนี้ เมื่อน�ำมา เกิดมาเป็นมนุษย์ ก็จะประสบโชคดีในความรัก มักได้พบกับรักแท้ที่จริงจังและจริงใจ ไม่ต้อง อกหัก อกโรย และอกเดาะ ครัน้ เมือ่ มีบตุ รธิดา
ก็วา่ นอนสอนง่าย ไม่ดอื้ ด้าน ไม่ถกู ผูอ้ นื่ ฉุดคร่า อนาจารไปท�ำให้เสียหาย บุตรธิดาย่อมเป็น อภิชาตบุตร ซึ่งจะน�ำเกียรติยศชื่อเสียงมาสู่ วงศ์ตระกูล 4. ผูท้ รี่ กั ษาศีลข้อ 4 ด้วยการไม่กล่าวมุสา ด้วยเศษของบุญที่รักษาศีลข้อนี้ เมื่อน�ำมาเกิด เป็นมนุษย์ จะท�ำให้เป็น ผู้ที่มีเสียงไพเราะ พูดจามีน�้ำมีนวลชวนฟัง มีเหตุมีผลชนิดที่เป็น พุทธวาจา มีโวหารปฏิภาณไหวพริบในการ เจรจา จะเจรจาความสิ่งใดก็มีผู้ฟังและเชื่อถือ สามารถว่ากล่าวสั่งสอนบุตรธิดาและศิษย์ให้ อยู่ในโอวาทได้ดี 5 . ผู้ที่รักษาศีลข้อ 5 ด้วยการไม่ดื่มสุรา เมรัย เครื่องหมักดองของมึนเมา ด้วยเศษของ บุญที่รักษาศีลข้อนี้ เมื่อน�ำมาเกิดเป็นมนุษย์ ย่อมท�ำให้เป็น ผู้ที่มีสมอง ประสาท ปัญญา ความคิ ด แจ่ ม ใส จะศึ ก ษาเล่ า เรี ย นสิ่ ง ใดก็ แตกฉานและทรงจ�ำได้งา่ ย ไม่หลงลืมฟัน่ เฟือน เลอะเลือน ไม่เสียสติวกิ ลจริต ไม่เป็นโรคสมอง โรคประสาท ไม่ปัญญาทราม ปัญญาอ่อนหรือ ปัญญานิ่ม
วัดสุธาโภชน์ เลขที่ 38 หมูท่ ี่ 6 ต�ำบลบางนมโค อ�ำเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 13110 โทรศัพท์ 0-1991-6426 โทรสาร 0-3520-1638
AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
4
.indd 159
159
22/5/2561 13:16:51
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดเจ้าแปดทรงไตรย์
พระปลั ด สมจิ ต ร จิ ต ตฺ ป สาโท ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง เจ้ า อาวาส
วัดเจ้าแปดทรงไตรย์ ตั้งอยู่ 21 หมู่.2 อ.เสนา จ.พระนครศรีอยุธยา สร้างเมื่อ
พ.ศ.2467 เนื้ อ ที่ ส ร้ า งวั ด ครั้ ง แรก จ� ำ นวน 12 ไร่ 3 งาน โดยนายแปะ และ นางนกแก้ ว ทรงไตรย์ เป็ น ผู ้ ถ วาย จึ ง ได้ ชื่ อ วั ด ตามนามสกุ ล ว่ า “วั ด เจ้ า แปดทรงไตรย์ ” วัดเจ้าแปดมีพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ประจ�ำวัด คือ “หลวงพ่อเพชร” ท่านใดตั้งใจปฏิบัติบูชา รักษาศีลเจริญสมาธิภาวนาจนจิตสงบเกิดปัญญาท�ำอะไรย่อมสมดั่งใจปรารถนา แต่ทุกอย่างก็ อยู่ในกฎอนิจจัง ดังที่พระพุทธองค์ตรัสไว้ อย่างไรก็ตาม หลวงพ่อเพชร ยังคงเป็นที่ศรัทธาและ ยึดเหนีย่ วจิตใจของชาวเจ้าแปด ซึง่ หลวงพ่อปานเป็นผูจ้ ดั สร้างขึน้ ในต�ำแหน่งของพระราหู อันเป็น คู่มิตรของพระเสาร์ เพื่อให้เกิดความสมดุลกันพระราหู คือเทพผู้ประทานความอุดมสมบูรณ์ 160
2
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 160
21/5/2561 18:42:45
ท�ำเนียบเจ้าอาวาสที่แต่งตั้งเป็นทางการ 4 รูป 1.พระอธิการป่วน ขนฺติโก 2.พระอธิการพิพัฒน์ รตนฺสาโร 3.พระครูกิตติธรรมธาดาพร้อมด้วยคณะ ทายกทายิกา คณะกรรมการและชาวสายธาร ศรั ท ธา พ.ศ.2521 ได้ ร ่ ว มกั น ซื้ อ ขยาย อาณาเขต จ�ำนวน 87 ไร่ 2 งาน 88 ตารางวา เพื่อเป็นสถานที่ก่อสร้าง อัฏฐเจดีย์* ธรรม สถานแต่ได้ถึงกาลมรณภาพเสียก่อน 4. พระปลัดสมจิตร จิตตฺปสาโท เจ้าอาวาส รูปปัจจุบัน ติดต่อ วัดเจ้าแปดทรงไตรย์ โทร 081 586 8357 ประวัติ พระครูกิตติธรรมธาดา อดีตเจ้า อาวาสวัดเจ้าแปดทรงไตรย์ จ.พระนครศรีอยุธยา เป็ น พระสุ ป ฏิ ป ั น โนผู ้ ซึ่ ง ท� ำ นุ บ� ำ รุ ง พระพุ ท ธ ศาสนาโดยการริ เ ริ่ ม ก่ อ สร้ า ง “พระมณฑป หลวงพ่อเพชร-หลวงพ่อปาน” และด้วยปฏิปทา อันแน่วแน่ กับการใช้ชวี ติ เป็น “ธรรรมทาน” โดย ตลอดของท่าน อีกทั้งยังได้สร้างชื่อเสียงให้วัด เจ้าแปดทรงไตรย์และเจ้าอาวาสวัดเป็นทีร่ จู้ กั กัน ในพุทธศาสนิกชนด้วยความมีเมตตาอย่างไม่มี ประมาณของท่าน ปัจจุบัน พระปลัดสมจิตร จิ ต ตฺ ป สาโท เจ้ า อาวาส และทายกทายิ ก า ศิษยานุศษิ ย์ ได้ดำ� เนินงานสานต่องานของท่าน จนส�ำเร็จลุล่วงไปด้วยดี
หมายเหตุ* เจดีย์ หมายถึง สิ่งก่อสร้าง หรือสิ่งของที่สร้างขึ้น เพื่อเป็นที่เคารพบูชา ระลึกถึง สถูป หมายถึงสิ่งก่อสร้างเหนือหลุม ฝังศพ หรือสร้างขึ้นเพื่อบรรจุอัฐิธาตุของผู้ที่ ล่วงลับไปแล้ว เพื่อให้ลูกหลานและผู้เคารพ นับถือได้สักการบูชา ถือกันว่ามีบุคคลที่ควร บรรจุอัฐิธาตุไว้ในสถูปเพื่อเป็นที่สักการะของ มหาชนอยู่เพียง 4 พวก เรียกว่า ถูปารหบุคคล ได้แก่ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระปัจเจกพุทธ เจ้า พระอรหันตสาวก และพระเจ้าจักรพรรดิ ส�ำหรับประเทศไทย ค�ำว่า สถูป และ เจดีย์ เรา มั ก รวมเรี ย กว่ า “สถู ป เจดี ย ์ ” หรื อ “เจดี ย ์ ” มี ค วามหมายเฉพาะ ถึ ง สิ่ ง ก่ อ สร้ า งในพุ ท ธ ศาสนาที่ ส ร้ า งขึ้ น เพื่ อ บรรจุ อั ฐิ หรื อ เพื่ อ ประดิษฐานพระพุทธรูป หรือเพื่อเป็นที่ระลึก
ทั้งนี้อาจเป็นเพราะในสมัยหลังลงมาคงมีการ สร้างสถานที่เพื่อบรรจุอัฐิธาตุ และเพื่อเคารพ บูชาระลึกถึงพร้อมกันไปด้วย ต�ำราในพระพุทธศาสนาก�ำหนดว่า พระเจดีย์ หรื อ เจดี ย ์ มี 4 ประเภท คื อ ธาตุ เ จดี ย ์ สิ่งก่อสร้างบรรจุพระบรมธาตุของพระพุทธเจ้า พระมหากษัตริย์พระปรินิพพาน บริโภคเจดีย์ สังเวชนียสถานอันเป็นสถานที่ประสูติ ตรัสรู้ ปฐมเทศนา และปรินิพพาน ของพระพุทธเจ้า ธรรมเจดี ย ์ คาถาที่ แ สดงพระอริ ย สั จ หรื อ คัมภีร์ในพระพุทธศาสนา เช่น พระไตรปิฎก และ อุเทสิกะเจดีย์ ของที่สร้างขึ้นโดยเจตนา อุทิศแด่พระพุทธเจ้า ไม่ก�ำหนดว่าจะต้องท�ำ เป็นอย่างไร เช่น สร้างบัลลังก์ให้หมายแทน พระพุทธองค์ AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 161
161
21/5/2561 18:42:52
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
สร้างในปลายรัชสมัยแผ่นดินสมเด็จพระนารายณ์มหาราช
วัดบางกะทิง ตั้งอยู่ใน ต.หัวเวียง อ.เสนา จ.พระนครศรีอยุธยา การสร้างขึ้น
ต่อมาย้ายมาอยูท่ แี่ ห่งใหม่และปฏิสงั ขรณ์ใหม่ ในรัชกาลที่ 3 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ซึ่งพระยา ประสิทธิ์ (น้อย) เป็นหัวหน้าในการปฏิสังขรณ์ และได้เปลีย่ นชือ่ ใหม่ “วัดใหม่เจ้าพระยามัคคาราม” แต่ชาวบ้านเรียกกันสัน้ ๆ ว่า วัดใหม่ ในทีส่ ดุ ค�ำว่า เจ้าพระยามัคคาราม ก็เลือนหายไปในที่สุด และเรียกวัดใหม่กันเรื่อยมา ครั้นต่อมาท่าน เจ้าอาวาส (พระครูพศิ ษิ ฐ์สงั ฆการ) จึงเปลีย่ นเป็น “บางกะทิง” ทั้งนี้เพื่อรักษานามเดิมและชื่อ ของต�ำบลไว้
ครัง้ ต้นแผ่นดินพระเพทราชา พระญาติราชวงศ์บา้ นพลูหลวงได้มาสร้างเพิม่ เติมจนส�ำเร็จเรียบร้อย และตัง้ ชือ่ ว่าวัดใหม่บางกะทิง เดิมทีเดียวนัน้ วัดไม่ได้อยูต่ รงปัจจุบนั นี้ สถานทีต่ งั้ อยูเ่ ดิมคงอยูต่ อนเหนือ วัดไปราว 1 เส้น เนือ้ ทีท่ สี่ ร้างวัดนีต้ ดิ กับเขตบริเวณบ้านพักของพระยาสีหราชเดโชชัย (ทิป) ปัจจุบนั มีตน้ สะตือเก่าแก่อยู่ 2 ต้น เขตบริเวณบ้านพระยาสีหราชเดโชชัย (ทิป) นี้ ปัจจุบนั เป็นทีท่ ำ� สวนครัว ปลูกพืชของนายบุญชอบ นางตลุ่ม ฤกษ์สมโภชน์ และที่นาของนายมาก นางจรัญ ปิยานุช
พระครูสถิตสมณาจาร เจ้าอาวาสวัดบางกะทิง พระครูสถิตสมณาจาร ปัจจุบันอายุ 60 ปี พรรษา 24 น.ธ.เอก ปัจจุบนั ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส วัดบางกะทิง วิทยฐานะ : พ.ศ.2511 ส�ำเร็จ ชั้ น ประถมศึ ก ษาปี ที่ 4 โรงเรี ย นวั ด โบสถ์ (ศุภพิทยาคาร) จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2532 สอบได้ น.ธ.เอก ส�ำนักเรียนวัดบางกะทิง
วัดบางกะทิง
วัดโบราณ สมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี พระครูสถิตสมณาจาร ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
ในครั้งนั้นนัยว่าพระยาสีหราชเดโชชัย (ทิป) เป็นผู้น�ำการสร้างขึ้น แต่ยังไม่ส�ำเร็จ เรียบร้อยทั้งหมด
162
1
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 162
22/5/2561 13:18:29
อาหารเด่ น ของพื้ น ที่ ร างจระเข้ คื อ ก๋วยเตี๋ยวเรือโอ่ง ขายชามละ 10 บาท อาหารตามสั่งจานละ 20 บาท ซึ่งเป็นร้าน ค้าสวัสดิการของทางวัด ที่เจ้าอาวาสจัดให้ ญาติโยมได้บริโภคอาหารราคาถูก สอบถามได้ที่ป้าแดง 081-434-0806 นอกจากนี้ยังมีเส้นทางธรรมชาติ ด้วย การล่องเรือตามล�ำคลองรางจระเข้ ระยะทาง 10 กม. และเส้นทางปั่นจักรยาน
กิจกรรมร�ำไทย
ล่องเรือ
HOMESTAY
KHLONG RANG JORAKAE “โฮมสเตย์ คลองรางจระเข้ ” โฮมสเตย์ คลองรางจระเข้ มีบ ้า นพัก รวม 5 หลั ง สามารถรั บ นัก ท่องเที่ย วได้ 50 คน ราคาท่า นละ 600 บาท/คน/คืน โดยมีอาหาร 2 มื้อ เย็น และเช้ า กิ จ กรรม ล่องเรือชมวิถีชีวิตชาวบ้านสองฝั่งคลอง ชมนกหลาย ชนิ ด ขณะล่ องเรือ พืช น�้ำริมคลอง ขึ้น กราบพระขอพร (หลวงพ่อโตโลกนายก) ทีช่ าวบ้านใกล้และไกลนับถือมาก มีจักรยานให้ปั่นชมทุ่ง นาบัวในหมู่บ้าน หรือจะนั่งแพ ตกปลาริมคลอง
สอบถามเส้น ทางได้ที่ 089-8811082, 081-2518058 พี่ด าวเรือง
ขนมไทยห่อใบตอง AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
1
.indd 163
163
25/5/2561 16:54:26
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
อปฺปมตฺโต หิ ฌายนฺโต ปปฺโปติ วิปุลํ สุขํ ผู้ ไม่ประมาทพินิจอยู่ ย่อมถึงสุขอันไพบูลย์
วัดทางหลวง
ส�ำนักปฏิบัติธรรมประจ�ำจังหวัดอยุธยา แห่งที่ 5 พระปลัดสุนแสน ปริสุทฺโธ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
วัดทางหลวงเป็นวัดราษฎร์ สังกัดมหานิกาย ตั้งอยู่ติดริมคลองปลายกลัด เลขที่
69 หมู่ที่ 4 ปัจจุบันมีเนื้อที่ 12 ไร่ 3 งานโดยได้รับบริจาคที่ดินจากนางนาค มาก มี 7 ไร่ 3 งาน และทางวัดได้จัดซื้อเพิ่มเติมอีก 5 ไร่ ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ.2437
เขตและอุปจารวัด คือ ด้านหน้าวัดทิศตะวันตกจดล�ำคลองปลายกลัด ทิศเหนือจดเขตสวนและ สนามกีฬาเฉลิมพระเกียรติ์ หมู่ที่ 4 ทิศตะวันออกจดถนนสายล�ำตะเคียน วัดเกาะทิศใต้จดล�ำราง สาธารณประโยชน์ ปัจจุบัน มีเนื้อที่ 12 ไร่ 3 งาน โดยได้รับบริจาคที่ดิน จากนางนาค มากมี 164
2
วัดทางหลวง ได้รับการแต่งตั้งให้เป็น ส�ำนักปฏิบตั ธิ รรมประจ�ำจังหวัดอยุธยา แห่งที่ 5 โดยมหาเถรสมาคมมีนโยบายให้คณะสงฆ์ จังหวัด พิจารณาคัดเลือกวัดที่มีความเหมาะ สมในด้านวิปัสสนาธุระ เสนอขอจัดตั้งเป็น ส�ำนักปฏิบัติธรรมประจ�ำจังหวัด ตามระเบียบ มหาเถรสมาคม ว่าด้วยการจัดตั้งส�ำนักปฏิบัติ ธรรมประจ�ำจังหวัด พ.ศ.2543 ให้ครอบคลุม ทุกจังหวัด เมื่อปี พ.ศ.2482 หลวงปู่เทพ หลวงปู่หิน หลวงปู่เฮง ได้เดินธุดงค์ มาจากประเทศเขมร มาถึงวัดทางหลวงจ�ำพรรษาอยู่ 3 รูปจึงแต่งตัง้ ให้หลวงปูเ่ ทพ เป็นเจ้าอาวาส หลวงปูห่ นิ ได้ไป จ�ำพรรษาที่วัดระฆังโฆสิตารามวรมหาวิหาร ปัจจุบนั พระเดชพระคุณพระราชประสิทธิวมิ ล ผู ้ ช ่ ว ยเจ้ า อาวาสวั ด ระฆั ง โฆสิ ต าราม เป็ น ผู้อุปถัมภ์วัดทางหลวงมาโดยตลอด
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 164
22/5/2561 13:19:23
วัดมีพระพุทธรูปศักดิส์ ทิ ธิ คือ หลวงพ่อโต ในอุโบสถ หน้าตักกว้าง 5 เมตร 9 นิ้ว และ หลวงพ่อใหญ่ในวิหารหน้าตักกว้าง 10 เมตร 9 นิว้ เป็นทีย่ ดึ เหนีย่ วจิตใจของประชาชนทัว่ ไป
มีการสอนวิปัสสนากัมมัฏฐาน สอนปฏิบัติใน มหาสติปัฏฐานสูตร*เป็นหลัก มีพระวิปัสสนา จารย์สอนประจ�ำที่ส�ำนักปฏิบัติธรรมแห่งนี้
ท�ำเนียบเจ้าอาวาส
หลักสูตรการอบรม 3 วัน 2 คืน, หลักสูตร การอบรม 4 วัน 3 คืน หลักสูตรการอบรม 7 วัน 6 คืน ในวัน ส�ำคัญแห่งชาติและวันส�ำคัญทางศาสนา อีกทั้งทางส�ำนักจัดให้มีการปฏิบัติธรรม ทุกวันอาทิตย์ ตั้งแต่เวลา 9.00 น.ถึง 14.00 น.มี พิ ธี ส วดมนต์ ข ้ า มคื น ทุ ก วั น ธรรมสวนะ ตั้งแต่เวลา 21.00 น.ถึง 01.00 น. กิ จ กรรมพิ เ ศษประจ� ำ ปี ทุ ก วั น ที่ 15 เมษายน ของทุกปีจัดงานประเพณีสงกรานต์ แรม 4 ค�่ำ เดือน 12 ของทุกปีจัดงานประจ�ำ ปีปิดทองไหว้พระ ทุกวันที่ 31ธันวาคมของทุกปี จัดพิธีสวด มนต์ข้ามปีส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่
หลวงพ่อลอย ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสรูปที่ 1 พ.ศ.2477 หลวงพ่อจันทร์ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้า อาวาสเป็นรูปที่ 2 พ.ศ.2482 พระครูวิบูลธรรมานุสรณ์ (เทพ อินทโชโต) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสรูปที่ 3 พ.ศ.2518 พระครูอนุวัตรวิหารกิจ (อ�ำนวย อายุโท)ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสรูปที่4 พ.ศ.2544 พระครูศรัทธาบุญกิจ (สุขแสน มงคลไวย์)ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน ในปี พ.ศ.2549 วัดได้รับการแต่งตั้งเป็น ส� ำ นั ก ป ฏิ บั ติ ธ ร ร ม ป ร ะ จ� ำ จั ง ห วั ด พระนครศรีอยุธยา แห่งที่ 5 ได้รับใบประกาศ มหาเถรสมาคม เมื่อวันที่ 28 เมษายน 2549
หลักสูตรการปฏิบัติธรรม
หลักการภาวนาตามมหาสติปัฏฐานสูตร เป็นข้อปฏิบตั เิ พือ่ รูแ้ จ้ง คือเข้าใจตามเป็นจริง ของสิง่ ทัง้ ปวงโดยไม่ถกู กิเลสครอบง�ำ สติปฏั ฐานมี 4 อย่าง กาย เวทนา จิต และธรรม ค�ำว่า สติปฏั ฐานนัน้ หมายถึง การมีสมั มาสติระลึก รู้นั้นพ้นจากการคิดโดยตั้งใจ แต่เกิดจากจิต จ�ำสภาวะได้ แล้วระลึกรู้โดยอัตโนมัติ โดย ค�ำว่า สติ หมายถึงความระลึกรู้ ส่วนปัฏฐาน แปลได้หลายอย่าง แต่ในมหาสติปฏั ฐานสูตร และสติปัฏฐานสูตร หมายถึง ความตั้งมั่น, ความแน่วแน่, ความมุ่งมั่น โดยรวมคือเข้าไป รู้เห็นในสิ่งทั้งหลายตามความเป็นจริง ตาม มุ่งมองของไตรลักษณ์หรือสามัญลักษณะ โดยไม่มีความยึดติดด้วยอ�ำนาจกิเลสทั้งปวง
AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 165
165
22/5/2561 13:19:39
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
“ท่านพึงบ�ำเพ็ญเมตตาบารมีให้เต็มเปี่ยม ให้ความเย็นฉ�่ำแผ่ซ่านไปทั้งแก่คนชั่วและคนดี ฉันใด ท่านเป็นผู้มีเมตตาจิตในสัตว์ทั้งปวง ก็จักได้เป็นพระพุทธเจ้า ฉันนั้น”
วัดพรานนก เดิมชื่อ “วัดโพธิ์ทอง”
วัด พรานนก ตั้งอยู่เลขที่ 116 บ้านพรานนก หมู่ที่ 2 ต�ำบล โพสาวหาญ อ�ำเภอ
อุทัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย พื้นที่ตั้งวัดเป็นที่ราบลุ่มอยู่ ท่ามกลางทุ่งนา ในชุมชนเล็กๆของชนบท มีเนื้อที่ 21 ไร่ 3งาน 40 ตารางวา ตามโฉนด เลขที่ 8806,2651,31739 ตามหนังสือพระราชพงศาวดารกรุงธนบุรี กล่าวว่า ณ วันเสาร์เดือนยี่ ขึ้นสี่ค�่ำปีจอ อัฐศก (อัฐศก เป็นการเรียกปีจุลศักราชที่ลงท้ายด้วยเลข 8) เวลาย�่ำฆ้องยามเสาร์ พระยาวชิรปราการ (พระยาตาก)พร้อมสมัครพรรคพวกประมาณ 500 คน ได้ตีฝ่าวงล้อมของพม่าข้าศึกออกมาจาก
166
2
พระนครฯ ทางค่ายวัดพิชยั ไปทางบ้านข้าวเม่า บรรลุถงึ บ้านสามบัณฑิต ครัน้ รุง่ ขึน้ ณ วันอาทิตย์ เดือนยี่ ขึน้ ห้าค�ำ่ จุลศักราช 1128 ปีจอ อัฐศก ตรงกับวันที่ 4 มกราคม พุทธศักราช 2309 พม่ายกกองทัพตามมาทันที่บ้านโพสาวหาญ ได้เกิดการสู้รบกันทหารพม่าแตกพ่าย ครั้น เวลาบ่ายหยุดประทับพักแรม ณ บ้านพรานนก เพือ่ หาเสบียงอาหาร กองทหารพม่าทีย่ กมาแต่ บางคางประกอบด้วยพลม้า 30 ม้า พลเดินเท้า ประมาณ 2000 คน ยกพลผ่ า นมาพบ ทหารไทยที่ออกไปหาเสบียงอาหาร จึงเข้าไล่ ต้อนจับคนไทย พระเจ้าตากเห็นเหตุการณ์เช่น นั้ น จึ ง ตั ด สิ น ใจโดยฉั บ พลั น กระโดดขึ้ น ม้ า พร้อมด้วยทหารเอกคู่ใจอีก 4 ม้า บัญชาการ รบขับม้าทะยานเข้าต่อสู้กับพม่าข้าศึก 30 ม้า พระเจ้าตากใช้ความห้าวหาญ เข้าท�ำการรบบน
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 166
22/5/2561 13:20:29
หลังม้าด้วยความรวดเร็ว รุนแรง ยังส่งผลให้ ทหารพม่ า ถูกฆ่า ตายและแตกพ่า ย กระจัด กระจายไปสิ้น นับเป็นชัยชนะอย่างเด็ดขาด หลังจากที่พระเจ้าตากจากไปแล้วพร้อมทั้ง ชาวบ้านพรานนกได้ติดตามไปด้วยทั้งหมด เพราะเกรงว่าพม่าจักส่งทหารมาแก้แค้น จึง ท�ำให้บ้านพรานนกร้างผู้คน พระสงฆ์ที่มีอยู่ก็ คงจะหนีไปอยูท่ อี่ นื่ หรือไม่กล็ าสิกขา พระพุทธ รูปในอุโบสถถูกท�ำลายเสียหายเหลือไว้แต่ซาก ปรักหักพังไม่ทราบว่าเป็นฝีมือของผู้ใด ดังนั้นจึงสันนิษฐานว่าวัดพรานนกคงจะ สร้ า งในสมั ย กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยาในขณะที่ ก รุ ง ศรี อยุธยาก�ำลังเจริญรุ่งเรือง และได้ถูกทิ้งให้เป็น วัดร้างหลังจากทีพ่ ระเจ้าตากสินได้เดินทัพจาก ไปพร้ อ มทั้ ง ชาวบ้ า น ต่ อ มาหลั ง จากที่ พระเจ้าตากสินได้กู้กรุงศรีอยุธยากลับมาได้ แล้ ว แต่ ไ ม่ ส ามารถจะบู ร ณะกรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา ให้กลับมาดีดงั เดิมได้ จึงได้ไปตัง้ กรุงธนบุรเี ป็น ราชธานี เมื่อบ้านเมืองกลับเข้าสู่ภาวะปกติ ได้มีประชาชนเข้ามาอยู่อาศัยตั้งบ้านเรือนที่ บ้านพรานนก เป็นจ�ำนวนมากจึงได้พร้อมใจ บูรณะวัดขึน้ มาใหม่ในปี พ.ศ.2472 ได้เรียกว่า “วั ด โพธิ์ ท อง”และได้ เ ปลี่ ย นชื่ อ เป็ น “วั ด พรานนก” ตามชือ่ หมูบ่ า้ น และต�ำนานทีก่ ล่าว ว่าพรานทองค�ำ ซึง่ เป็นพรานล่านก ได้รบั อาสา จัดหาเสบียงให้พระยาวชิรปราการเมื่อครั้งมา พั ก ทั พ ยั ง บ้ า นพรานนกก่ อ นจะไปตี เ มื อ ง จันทบุรี
ท�ำเนียบเจ้าอาวาสตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน 1. พ.ศ.2472-2498 ไม่ทราบนามเจ้าอาวาส 2. พระอธิการโมรา บุญรอด พ.ศ.2498-2510 3. พระอธิการส�ำรวม อิทฺธิมโย (หวังธรรม) พ.ศ.2511-2518 4. พระครูปลัดปิ่น เตชปุญโญ (รื่นแก่นจันทร์) พ.ศ.2524-2541 5. พระอธิการเสนาะ ฐานสโม (เกตุแก้ว) พ.ศ.2542-2543 6. พระครูพิศิษฎ์บุญญากร (ทรัพย์ทวี คงเจริญถิ่น) พ.ศ.2546-ปัจจุบัน
นอกจากเจ้าอาวาสที่ได้รับการแต่งตั้งจาก เจ้าคณะจังหวัดแล้วยังมีพระภิกษุทไี่ ด้รบั รักษา การเจ้าอาวาสและรับดูแลในช่วงที่ยังไม่มีการ แต่งตัง้ เจ้าอาวาสอีกหลายรูป ซึง่ ไม่สามารถจะ กล่าวนามได้หมด ด้วยแรงแห่งศรัทธาในพระพุทธศาสนา และบูรพมหากษัติย์ไทย ร่ ว มงานบุ ญ กุ ศ ล บู ร ณะเสนาสนะและ สร้างศาสนสถานในวัดพรานนก 1. วันที่ 28 ธันวาคม 2561-วันที่ 6 มกราคม 2562 จัดงานผูกพัทธสีมา 2. ท�ำตาข่ายคลุมอุโบสถป้องกันนกมาอาศัย 3. สร้างศาลาหลังใหม่แทนศาลาไม้ ทีส่ ร้าง มากว่า 50 ปี 4. สร้างกุฏใิ หม่แทนกุฏไิ ม้หลังเก่า สองหลัง 5. ตัง้ อนุสาวรียส์ มเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
ท่านใดไม่สะดวกมาที่วัดสามารถโอนเข้าบัญชี วัดพรานนก
ธนาคารกรุงเทพฯ เลขที่บัญชี 073-477385-6 ธนาคารเพือ่ การเกษตรและสหกรณ์การเกษตร เลขที่บัญชี 703-2-46848-9 ติดต่อสอบถามโทร. 0-3577-2111, 08-9996-5247, 08-7991-6649
AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 167
167
25/5/2561 15:39:33
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดกุ่มแต้
พระอธิ ก ารเทิ ด ศั ก ดิ์ ธมฺ ม วโร ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง เจ้ า อาวาส
วัดกุ่มแต้ ที่ต้ัง 33 หมู่ 6 ต�ำบลสามบัณฑิต อ�ำเภออุทัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
โทร. 092-850-9213
ประวั ติ ข องเจ้ า อาวาสวัดกุ่มแต้ปัจ จุบัน พระอธิ ก ารเทิ ด ศั ก ดิ์ ธมฺ ม วโร (นามสกุ ล เดิ ม คนเที่ ย ง) ท่ า นเป็ น ชาวอ� ำ เภอบางเลน จังหวัดนครปฐม อุปสมบทเมื่อวันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ.2546 วัดดอนพุทรา ต�ำบลสามบัณฑิต จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา โดยมี พ ระครู กิ ต ติ ว รวั ฒ น์ (หลวงพ่ อ โอษฐ์ ) เป็ น พระอุ ป ั ช ฌาย์ พระอธิการบุญเลิศ เป็นพระกรรมวาจาจารย์ วิทยฐานะ นธ.โท, หลักสูตร ป.บส พรรษา 15 168
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 168
21/05/61 06:59:10 PM
ประวั ติ วั ด กุ ่ มแต้ คุณปูห่ ลง - คุณย่าสาด หวังจิตร์ ได้บริจาค ที่ ดิ น จ� ำ นวนหนึ่ ง ให้ เ ป็ น ที่ ตั้ ง ส� ำ นั ก สงฆ์ ประมาณปี พ.ศ.2420 โดยมีพระอาจารย์ปลื้ม เป็น ผู้ดูแล จนมาถึงประมาณปี พ.ศ.2518 หลวงปู่แหวน ปจฺโชโต ต่อขาได้รับพระราชทาน สมณศั ก ดิ์ เ ป็ น พระครู สั ง ฆรั ก ษ์ ( แหวน) ปจฺโชโต จนกระทั่งได้มรณภาพลง ต่อมาพระครู ประภัสสร์ ธรรมวิมล เป็นเจ้าอาวาสต่ อจาก หลวงปู ่ แ หวน จนถึ ง ปี พ.ศ.2558 จึ ง ได้ มรณภาพลง คณะสงฆ์ อ�ำเภออุทัย จึงได้แ ต่งตั้งให้ พระครูอุทัยนิติธรรม (ดร.พิรัชเดช ฐิตฺวงฺโส) ด�ำรงต�ำแหน่งรักษาการแทนเจ้าอาวาส จนถึง วันที่ 19 มีนาคม พ.ศ.2559 ทางคณะสงฆ์ อ�ำเภออุทัยจึงได้แต่งตั้ง พระอธิการเทิดศักดิ์ ธมฺมวโร รองเจ้าอาวาสวัดดอนพุทรา (ศิษย์ ของหลวงพ่อโอษฐ์วัดดอนพุทรา หรือ พระครู กิตติวรวัฒน์) เป็นเจ้าอาวาสวัดกุ่มแต้จนถึง ปัจจุบัน
ปูชนียสถานและปูชนียวัตถุภายในวัด ทีพ่ ทุ ธบริษทั - เลือ่ มใสศรัทธาเคารพนับถือ
รูปหล่อสมเด็จโต รูปหล่อหลวงปู่ทวด รูปหล่อหลวงปู่แหวน อดีตเจ้าอาวาส หลวงพ่อสัจกัจจาบปูนปั้น
AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 169
169
24/05/61 05:02:49 PM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดเก่าแก่ตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา
วัดใหม่ปากบาง
เดิมชื่อ “วัดสกุณีเทศฐาราม”
วัดใหม่บางปาง ตั้งอยู่ หมู่ที่ 1 ต�ำบลท่าตอ อ�ำเภอมหาราช จังหวัพระนครศรีอยุธยา
13150 วัดนี้ตั้งอยู่ในเนื้อที่ดินของคุณนกเทศซึ่งถวายเป็นธรณีสงฆ์ ต่อมาได้ถวายเป็นที่ ธรณีสงฆ์ ซึ่งในสมัยนั้นได้มีพระภิกษุ 2 รูปธุดงค์มาในแถบต�ำบลท่าตออยู่เสมอ ชาวบ้าน แถบนั้นต่างก็เลื่อมใสในปฏิปทาของท่านเป็นอันมาก จึงนิมนต์ ให้ท่านอยู่จ�ำพรรษา โดย คุ ณ นกเทศได้ ส ร้ า งกุ ฏิ ส งฆ์ ห ลั ง เล็ ก ๆ ซึ่ ง อยู ่ ใ นที่ ดิ น ของท่ า น และต่ อ มาจึ ง ได้ ม อบที่ ดิ น ให้ตั้งเป็นส�ำนักสงฆ์ พระรูปแรกนั้นมีชื่อว่าทรัพย์ ส่วนอีกรูปไม่มีใครจ�ำชื่อได้ หลวงปู่ทรัพย์ ท่ า นได้ อ ยู ่ จ� ำ พรรษา ณ ส� ำ นั ก สงฆ์ แ ห่ ง นี้ แ ละได้ ก ่ อ สร้ า งเป็ น วั ด ขึ้ น มา และตั้ ง ชื่ อ วั ด นี้ ว ่ า วัดสกุณีเทศฐาราม โดยเอานามของคุณย่านกเทศมาตั้งชื่อวัด กาลต่อมาจึงได้เปลี่ยนชื่อ วัดใหม่เป็น “วัดใหม่ปากบาง” เพื่อให้สอดคล้องกับชื่อหมู่บ้านในภายหลัง 170
2
หลวงปูท่ รัพย์ ท่านเป็นชาวชุมแสง จังหวัด นครสวรรค์ ท่านเป็นพระธุดงค์มาปักกลดอยู่ ในต� ำ บลท่ า ตอ และเริ่ ม สร้ า งวั ด จนส� ำ เร็ จ สมบูรณ์ในปี พ.ศ.2394 โดยประชาชนในต�ำบล ท่าตอได้ชว่ ยกันสร้างกุฏิ หอสวดมนต์ จนเจริญ รุ่งเรืองเป็นวัดขึ้นมา หลวงปู่ทรัพย์ท่านเป็น พระที่ใจดีมีเมตตาธรรมสูง ท่านเก่งหนังสือ ขอม ท่านได้เขียนหนังสือขอมไว้ในสมุดใบลาน ประมาณสิบกระสอบ หลวงปู่ทรัพย์ท่านจะ สอนหนังสือพระเณรภายในวัดทุกวัน และท่าน เป็นพระทีเ่ คร่งครัดในพระธรรมวินยั มาก พระ เณรในวัดต่างก็เกรงท่านมาก และท่านก็เป็น ที่รักเคารพของชาวบ้านในแถบนั้น หลวงปู่ ทรัพย์ได้สร้าง พระเครื่องเนื้อผงกรุวัดใหม่ ปากบาง ไว้จ�ำนวนมาก มีด้วยกันหลายพิมพ์ เช่ น พิ ม พ์ พ ระประจ� ำ วั น พระนางพญา
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 170
22/5/2561 13:21:36
พระสมเด็จ 3 ชัน้ เป็นต้นและพระทัง้ หมดท่าน ได้น�ำบรรจุไว้ในองค์พระเจดีย์ย่อไม้สิบสอง วัดใหม่ปากบางตั้งอยู่คลองบางแก้วทิศ ตะวันตก หมู่ที่ 1 ต�ำบลท่าตอ อ�ำเภอมหาราช จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สายน�้ำที่ไหลผ่าน แยกมาจากแม่น�้ำเจ้าพระยา ผ่านวัดต้นสน จังหวัดอ่างทอง เรียกคลองนี้ว่าคลองบางแก้ว ไหลล่องใต้ผา่ นมารวมกับแม่นำ�้ ลพบุรที วี่ ดั ตองปุ และไหลผ่ า นมารวมกั น แม่ น�้ ำ เจ้ า พระยาที่ จั ง หวั ด อยุ ธ ยา คลองนี้ จึ ง อยู ่ ใ นเขตอ�ำ เภอ มหาราช ซึ่งเป็นอ�ำเภอหนึ่งของจังหวัดอยุธยา เป็นประโยชน์ต่อชาวนา ชาวไร่เกษตรกรเลี้ยง สัตว์พืชไร่ การคมนาคมไม่น้อย ที่ตั้งของวัดใหม่ปากบางอยู่ห่างจากคลอง บางแก้ว ประมาณ 4 กิโลเมตร ทิศใต้ของวัด
อยูใ่ นทิศเดียวกันคือ วัดสุวรรณเจดีย์ ทิศตะวันตก ติดกับคลองชลประทาน ทิศเหนือของวัด มีวัด อยูใ่ นย่านเดียวกันคือวัดเทพสุวรรณ ทิศตะวัน ออกติดริมฝั่งคลองบางแก้ว วัดใหม่ปากบางนี้ อยูห่ า่ งจากถนนสายเอเชียประมาณ 700 เมตร ห่างจากกรุงเทพฯ ประมาณ 100 กิโลเมตร ห่างจากสี่แยก สายเอเชีย-อ่างทอง ประมาณ 2 กิโลเมตร ห่างจากตัวจังหวัดอยุธยา 23 กิโลเมตร วัดใหม่ปากบาง มีพระพุทธรูปปางไสยาสน์ ให้ประชาชนกราบไหว้น้อมจิตใจให้เกิดความ สงบเพื่อความเป็นสิริมงคล พระพุทธรูปปาง ไสยาสน์ เป็นพระพุทธรูปอยู่ในพระอิริยาบถ นอนตะแคงขวา พระบาททั้งสองข้างซ้อนทับ เสมอกัน พระหัตถ์ซ้ายทาบไปตามพระวรกาย
พระหัตถ์ขวาตัง้ ขึน้ รับพระเศียรและมีพระเขนย (หมอน) รองรับ บางแบบพระเขนยวางอยู่ใต้ พระกัจฉะ (รักแร้) โดยมีประวัติย่อ ดังนี้ สมัยหนึ่ง เมื่อพระพุทธองค์ประทับอยู่ ณ วัดเชตวันมหาวิหาร หรือ วัดพระเชตวัน อาราม ของอนาถบิณฑิกเศรษฐี เป็นอาราม (วัด) ที่ สร้างโดยท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐี มหาเศรษฐี แห่งเมืองสาวัตถี บนที่ตั้งของเชตวัน หรือสวน เจ้าเชต นอกเมืองสาวัต ในพระนครสาวัตถี ครั้งนั้นอสุรินทราหูจอมอสูร ซึ่งส�ำคัญว่ามีร่าง โตใหญ่กว่าพระพุทธเจ้า จึงไม่ยอมแสดงความ อ่อนน้อม พระพุทธองค์ทรงประสงค์จะลดทิฐิ ของอสูร จึงทรงเนรมิตกายให้ใหญ่โตกว่าจอม อสู ร จอมอสู ร จึ ง ละทิ ฐิ ย อมอ่ อ นน้ อ มต่ อ พระพุทธองค์
AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 171
171
22/5/2561 13:22:14
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดประดู่ตะบอง
พระครู พิ ศ าลสารกิ จ (ขวั ญ ) ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง เจ้ า อาวาส
วัดประดู่ตะบอง ตั้งอยู่เลขที่ 39 บ้านกระทุ่ม หมู่ที่ 2 ต�ำบลกะทุ่ม อ�ำเภอมหาราช
จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา สั ง กั ด คณะสงฆ์ ม หานิ ก าย มี ที่ ดิ น ตั้ ง วั ด เนื้ อ ที่ 44 ไร่ 2 งาน อาณาเขตทิ ศ เหนื อ ยาว 5 เส้ น ติ ด ต่ อ กั บ ถนนเข้ า หมู ่ บ ้ า น ทิ ศ ใต้ ย าว 2 เส้ น ติ ด ต่ อ กั บ ที่นาของก�ำนันเชื่อม สวนขวัญ ทิศตะวันออกยาว 10 เส้น 6 วาเศษ ติดต่อกับที่ดินของ นายเล็ก ทองเกิด และนางเยื่อ ผดุงผิว ทิศตะวันตกยาว 8 เส้น 3 วา ติดต่อกับคลองกะทุ่ม 172
พื้ น ที่ ตั้ ง วั ด เป็ น ที่ ร าบลุ ่ ม อยู ่ ริ ม คลอง กะทุ่ม มักถูกน�้ำท่วมเสมอ อาคารเสนาสนะ ต่างๆ มี อุโบสถ สร้าง พ.ศ.2506 โครงสร้าง คอนกรีต ศาลาการเปรียญ สร้างเมือ่ พ.ศ.2474 เป็นอาคารไม้ หอสวดมนต์ สร้างเมือ่ พ.ศ.2462 เป็นอาคารไม้ 3 มุข กุฏิสงฆ์ จ�ำนวน 10 หลัง เป็ น อาคารไม้ และฌาปนสถาน ส� ำ หรั บ ปูชนียวัตถุมี พระประธานในอุโบสถ มีนามว่า “หลวงพ่ อ พลอย” สร้ า งขึ้ น ที่ วั ด นรนาถ สุนทริการาม กรุงเทพมหานคร โดยมีนางถมยา สุ ท ธิ ส มบู ร ณ์ และนางทองดี ด� ำ เนิ น การ หล่อขึ้นในสมัยของหลวงพ่อจันทร์ พ.ศ. 2490
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 172
21/05/61 07:00:45 PM
วัดประดูต่ ะบอง เดิมมีนามว่า “วัดตะบอง” สร้างขึน้ เป็นวัดนับตัง้ แต่ประมาณ พ.ศ.2400 ส�ำหรับผูท้ ดี่ ำ� เนินการ สร้างวัดเป็นหลักฐานขึ้นมานั้น คือ หลวงพ่อเพชร ได้รับ ความร่วมมือจากชาวบ้านเป็นอย่างดีทชี่ ว่ ยออกแรงกายใจ หลังจากได้สร้างเสนาสนะต่างๆ มั่งคงแล้วได้ไปอัญเชิญ พระประธานมาจากแถวคลองสระบัว ถวายพระนามว่า “หลวงพ่ อ เพชร” ตรงตามชื่ อ เจ้ า อาวาส ต่ อ มาถู ก โจรกรรมไป วัดประดู่ตะบอง ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา ครั้งหลัง วันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ.2482 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 19 เมตร ยาว 38 เมตร ได้ผูกพัทธสีมาเมื่อเดือน มีนาคม พ.ศ.2495 วัดประดูต่ ะบอง มีทธี่ รณีสงฆ์ 3 แปลง เนือ้ ที่ 49 ไร่ 3 งาน 89 ตารางวา โฉนดเลขที่ 5184,5278,6990 เกีย่ วกับการศึกษา ทางวัดได้เปิดสอนพระปริยตั ธิ รรม ตั้งแต่ พ.ศ.2463 มีโรงเรียนสอนเด็กก่อนเกณฑ์ เปิด พ.ศ.2525
ท�ำเนียบเจ้าอาวาส 1. หลวงพ่อเดช 2. หลวงพ่อเพชร 3. หลวงพ่อจิ๋ว 4. หลวงพ่อแปลก(ควาย) 5. พระครูพรหมสมาจาร(จันทร์) พ.ศ.2455 - 2507 6. พระครูธรรมาภิรม(จ�ำลอง) พ.ศ.2507 - 2517 7. พระครูพิศาลสารกิจ(ขวัญ) พ.ศ.2517 - ปัจจุบัน ปัจจุบนั ทีว่ ดั มีพระภิกษุจำ� พรรษา 10 รูป ศิษย์วดั 15 คน
ชวนเที่ยววัด
ปฏิ บั ติ ธ รรมที่ ป ระดู ่ ต ะบอง แล้ ว แวะกราบไหว้ “หลวงพ่อพระศรีโคดม” เจริญจิตตภาวนาที่วิหารร้าง สมั ย กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา อยู ่ ก ลางทุ ่ ง นา ที่ ถู ก รากต้ น โพธิ์ ปกคลุ ม ตามธรรมชาติ อ ย่ า งสวยงาม ใกล้ กั บ วั ด ประดู่ตะบอง ประมาณ 500 เมตร ซึ่งภายในตัววิหาร ที่พื้นมีการบูรณะน�ำอิฐมาวางเรียงเป็นพื้น พระประธาน วิหารมีการบูรณะทาสีดำ� สีทอง มีชอื่ ว่า “หลวงพ่อพระศรี โคดม” ซึ่งพระครูพิศาลสารกิจ เจ้าอาวาส เล่าว่า เห็น วิหารเก่าหลังนี้มาตั้งแต่สมัยเด็กๆ จนมาบวชเป็นพระ วิหารนีส้ ร้างในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย ปล่อยทิง้ ร้าง มานานแล้ว ซึง่ ถูกพบเมือ่ ไม่กปี่ มี านีเ้ อง และเป็นทีศ่ รัทธา ของชาวบ้านเป็นอย่างมากในปัจจุบัน AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 173
173
21/05/61 07:00:53 PM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดเกาะแก้ว
พระครู ป ลั ด รั ต นวรวั ฒ น์ ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง เจ้ า อาวาส
วัดเกาะแก้ว เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตั้งอยู่ริมแม่น�้ำป่าสัก ตะวันออก
หรือริมปากคลองข้าวสารฝั่งใต้ ตรงกันข้ามกับ วัดรัตนชัย (วัดจีน) ในท้องที่ ต�ำบลกะมัง อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีเนื้อที่ทั้งหมดประมาณ 9 ไร่ ขอเชิ ญ ท่ า นสาธุ ช นท่ อ งเที่ ย วทางธรรม ศึ ก ษาประวั ติ ศ าสตร์ วั ด เกาะแก้ ว รากฐานแห่ ง พระพุ ท ธศาสนา ในยุ ค กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยาที่ บู ร พมหากษั ต ริ ย ์ ไ ทยร่ ว มสร้ า งเขตอภั ย ทานให้ เ กิ ด ขึ้ น ในหั ว ใจของทุ ก คน สามารถติ ด ต่ อ วัดเกาะแก้ว ต�ำบลกระมัง อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา โทรศัพท์มือถือ : พระครูปลัดรัตนวรวัฒน์ (เจ้าอาวาส) 09-3152-3969
174
ประวัติความเป็นมา ท่ า นผู ้ รู ้ สั น นิ ษ ฐานว่ า เมื่ อ ประมาณกว่ า 300 ปี ล่ ว งมาแล้ ว ทางด้ า นทิ ศ ตะวั น ตก ของวัดเกาะแก้ว คือทางแม่น�้ำป่าสัก ในอดีต ที่ตั้งของวัดมีอาณาเขตกว้างขวางกว่าปัจจุบัน นี้มาก เนื่องจากทางวัดเกาะแก้ว ตั้งอยู่ริมน�้ำ ล� ำ คลอง ประกอบกั บ บริ เ วณนี้ เ ป็ น ท้ อ งคุ ้ ง โดยเฉพาะทีป่ ากคลองข้าวสาร เมือ่ ถึงฤดูนำ�้ หลาก น�้ำไหลเชี่ยวอย่างรุนแรง และมีลักษณะม้วน เป็ น น�้ ำ วน จึ ง ท� ำ ให้ ก ระแสน�้ ำ กั ด เซาะตลิ่ ง พังลงไปทุกปีๆ พระอุโบสถหลังเก่าก็ถูกน�้ำ กั ด เซาะพั ง ลงไปในแม่ น�้ ำ ทั้ ง หลั ง จึ ง ท� ำ ให้ บริเวณพื้นที่ของวัดแคบลงโดยล�ำดับ
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 174
26/05/61 10:24:57 AM
ถึงแม้ที่นี่แทบไม่เหลือซากโบราณอันล�้ำค่าให้ ได้เชยชมเช่นวัดอื่น แต่ด้วยพระบารมี ของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ท�ำให้วัดเกาะแก้วไม่เคยว่างเว้นจากแขก ผู้มาเยือน ด้วยแผ่นดินตรงนี้เคยเป็นฐานที่มั่นในการตั้งค่าย ของกองทัพไทยหนึ่งใน 9 ค่าย ในสมัยกรุงศรีอยุธยา
AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 175
175
24/05/61 05:03:30 PM
ปั จ จุ บั น ทางวั ด รวบรวมอาณาเขตของ วั ด ปราสาท ซึ่ ง เป็ นวั ด ร้ า งบริ เ วณใกล้ เ คี ย ง อีกวัดหนึ่งเข้าด้วยกันท�ำให้อาณาเขตของวัด กว้ า งขึ้ น อี ก ซึ่ ง ปั จ จุ บั น ยั ง มี ซ ากอุ โ บสถซึ่ ง เหลือแต่ผนังทั้ง 4 ด้าน มีประตูและหน้าต่าง ปรากฏอยู่ เพื่อประโยชน์ในการค้นคว้าความรู้ ทางด้านประวัติศาสตร์ และโบราณคดีเกี่ยวกับ ภูมิสถานที่ตั้งของวัดเกาะแก้ว วั ด เกาะแก้ ว มี ค วามเกี่ ย วเนื่ อ งกั น กั บ สมเด็ จ พระเจ้ า กรุ ง ธนบุ รี หรื อ สมเด็ จ พระเจ้าตากสินมหาราช กล่าวคือ ในปี พ.ศ. 2301 เคยเป็นทีต่ งั้ ค่ายของกองทัพไทย ค่ายหนึง่ ใน 9 ค่ายด้วยกัน คือ ด้านเหนือ ตั้งค่ายที่ 176
วั ด หน้ า พระเมรุ และ เพนี ย ดคล้ อ งช้ า ง ด้ า นตะวั น ออก ตั้ ง ค่ า ยที่ วั ด มณฑป และ วั ด เกาะแก้ ว (พระยาวชิ ร ปราการ) ด้ า นใต้ ตั้ ง ค่ า ยที่ บ้ า นสวนพลู (หลวงอภั ย พิ พั ฒน์ ขุ น นางจี น คุ ม พวกจี น บ้ า นในไก่ จ� ำ นวน 2,000 คน) วัดพุทธไธสวรรย์ (พวกคริสตัง) ด้ า นตะวั น ตก ตั้ ง ค่ า ยที่ วั ด ไชยวั ฒ นาราม (กรมอาสาหกเหล่า) ในปี พ.ศ.2309 พม่าได้ยกกองก�ำลังเข้ามา ทางด้านตะวันออกของพระนคร มาทางค่าย วัดพิชัย (วัดพิชัยสงคราม ต�ำบลกระมัง อ�ำเภอ พระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา) พระเจ้าเอกทัศน์ จึงสั่งให้ พระยาเพ็ชรบุรี และ
พระยาวชิรปราการ (สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี) คุ ม ก� ำ ลั ง ทางเรื อ คนละกองออกไปตั้ ง ที่ วัดเกาะแก้ว (วัดเกาะแก้ว ต�ำบลกระมัง อ�ำเภอ พระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา) คอยตีสกัดกองทัพพม่าที่จะยกมาทางท้องทุ่ง ครั้นเห็นพม่ายกมา พระยาเพ็ชรบุรี เตรียมสู้ ในทันที แต่ พระยาวชิรปราการ ได้ทดั ทานเอาไว้ เพราะเห็นว่าข้าศึกมีกำ� ลังมากกว่าหลายเท่านัก แต่ พระยาเพ็ชรบุรี ดือ้ ดึงไม่ยอมฟังเสียงทัดทาน สั่ ง ทหารออกยิ ง ต่ อ สู ้ กั บ พม่ า ข้ า ศึ ก ที่ ริ ม วั ด สังฆาวาส สู้รบประเดี๋ยวเดียว กองเรือของพระ ยาเพ็ชรบุรี ก็ถูกกองเรือของพม่าที่ซุ่มอยู่โจมตี อย่างหนัก ถึงแม้จะฆ่าข้าศึกได้จ�ำนวนมาก
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 176
21/05/61 07:02:29 PM
ถึ ง ที่ สุ ด แล้ ว ทั พ ของ พระยาวชิ ร ปราการ ก็ ไม่ อ าจช่ ว ยทั พ ของ พระยาเพ็ ช รบุ รี ไว้ ไ ด้ เนื่องจากขณะนั้นขาดเรือใหญ่ มีแต่เรือเล็ก ขนาดขนคนได้ล�ำละ 5-6 คนเท่านั้น จึงเป็น เหตุให้ พระยาเพ็ชรบุรี เสียชีวิตกลางสนามรบ กองก� ำ ลั ง ฝ่ า ยไทยสู้สุดแรงต้าน เมื่อ ไม่เ ห็น หนทางชนะ พระยาวชิรปราการ จ�ำต้องถอย กลับมาตั้งหลักที่ วัดพิชัย และไม่ได้กลับเข้า พระนครอีกเลย พยานวั ต ถุ ห ลั ก ฐานทางโบราณคดี แ ทบ จะไม่หลงเหลือซากให้เห็น เนือ่ งจากทีต่ งั้ ของวัด อยู่ติดริมแม่น�้ำป่าสัก เมื่อถึงฤดูน�้ำหลากน�้ำจะ ไหลเชี่ยวมาก กระแสความแรงของน�้ำได้กัด
เซาะพืน้ ทีข่ องวัดจมหายลงไป โดยเฉพาะในส่วน ของบริเวณพระอุโบสถ (หลังเก่า) ถูกกระแสน�้ำ กลืนไปจนหมดสิน้ ทีห่ ลงเหลือให้เห็นเป็นของเก่า คื อ พระเจดี ย ์ กั บ พระพุ ท ธรู ป เนื้ อ ส� ำ ริ ด (อายุประมาณ 300 ปี) สิ่ ง ที่ น ่ า สนใจและดึ ง ดู ด ให้ ผู ้ ค นจากทั่ ว สารทิ ศ หลั่ ง ไหลเข้ า มายั ง วั ด เกาะแก้ ว แห่ ง นี้ อย่ า งไม่ ข าดสาย เกี่ ย วเนื่ อ งด้ ว ยพระมหา วีรกษัตริย์ของไทยพระองค์หนึ่ง ทรงเหยียบ แผ่นดินตรงบริเวณดังกล่าวปักหลักสูพ้ ม่าข้าศึก (ก่อนเสียกรุงศรีอยุธยาให้แก่พม่า ครั้งที่ 2 ปี พ.ศ.2310) ก่อนที่จะเคลื่อนทัพลงมา วัดพิชัย (วั ด พิ ชั ย สงคราม) พระมหากษั ต ริ ย ์ ที่ ท รง
อั จ ฉริ ย ะพระองค์ นั้ น ก็ คื อ พระเจ้ า ตากสิ น มหาราช ถึ ง แม้ วั ด เกาะแก้ ว จะไม่ เ หลื อ ซาก โบราณอันล�ำ้ ค่าให้ได้เชยชมเช่นวัดวาอารามอืน่ แต่ดว้ ยพระบารมีของ สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี มหาราช วัดเกาะแก้วก็ไม่เคยว่างเว้นจากแขก ผู้มาเยือนเช่นกัน คณะสงฆ์แห่งวัดเกาะแก้ว ตั้งมั่นอยู่ใน พระหลักธรรม อบรมสัง่ สอนปวงประชาราษฎร ให้ประพฤติตนอยู่ในกรอบแห่งศีลธรรมอันดี และปฏิบัติธรรมสมควรแก่ฐานะของแต่ละคน ท�ำนุบำ� รุงพระพุทธศาสนาสร้างวัตถุสถานเท่าที่ จ�ำเป็นต้องใช้ (พอเพียง) AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 177
177
21/05/61 07:02:37 PM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
Wat Koh Kaew
Phrakhu palad Rattanaworawat, the abbot of Wat koh kaew
Although this place almost has no precious ancient remains for sightseeing like other temple, but with the royal merit of King Taksin the Great that make visitor come to Wat Koh Kaew incessantly, due to the fact that this land was the place where the 1 of 9 military camps of Thai army located during Ayutthaya period. Wat Koh Kaew is a general temple, belongs to Maha Nikai clergy. It is located at east side of Pasak riverside or south side of mouth of Khaosan canal which is opposite Wat Rattanachai (Wat Jin) in an area of Kramang sub-district, Phra Nakhon Si Ayutthaya district, Ayutthaya province. Scale of this temple’s land is around 3.6 acres. At present, this temple expand its territory by combining territory of Wat Prasat which is nearby abandoned temple. There are ruins of ubosot (Buddhist sanctuary) at Wat Prasat but only wall, door and window remained. This ubosot is used for the benefit of historical knowledge and archaeology about the land where Wat Koh Kaew is located. Wat Koh Kaew had connection with Somdet Phra Chao Krungthonburi or King Taksin the Great that is to say in 2301 B.E. this place was the place where the 1 of 9 military camps of Thai army located during Ayutthaya period which the location of these camps are as follows: Northern camp, it is located at Wat Na Phramen and elephant corral. Eastern camp, Wat Mondop and Wat Koh Kaew (Phra Ya Washiraprakarn). Southern camp, 178
Ban Suanphlu (Luang Aphai Phipat, Chinese nobleman, controlled 2,000 of Chinese at Ban Naikai) and Wat Phutthai Sawan (group of Roman Catholic). Western camp, Wat Chaiwatthanaram (The Six Volunteer Forces Department). In 2309 B.E., Burma marched an army to Thailand through camp at Wat Phi Chai (Wat Phi Chai Songkram, Kramang sub-district, Phra Nakhon Si Ayutthaya district, Ayutthaya province). King Ekkatas oredered Phraya Petchburi and Phraya Wachiraprakarn (Somdet Phra Chao Krung Thonburi) to command one fleet of ships for each general to encamp at Wat Koh Kaew (Wat Koh Kaew, Kramang sub-district, Phra Nakhon Si Ayutthaya district, Ayutthaya province) and obstruct Burma army that moved
the troops through field, when they saw Burma came closer, Phraya Petchburi was ready to fight immediately, but Phraya Wachiraprakarn opposed him because the amount of enemy were many times more than. However, Phraya Petchburi was stubborn and did not listened to the warning, besides he commanded his troops to fight with Burma army at border of Wat Sangkhawat. After the fighting between two armies had occurred, Phraya Petchburi’s fleet of ships was heavily ambushed by Burma fleet. Although, many enemies were killed by his army, Phraya Petchburi also died in this battlefield due to his army lacked big ship, it has only small ships that can carry 5-6 people at most, which caused Phraya Petchburi lost his life in a field of
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 178
21/05/61 07:02:38 PM
battle. Thai army fought and opposed with all its might. Phraya Wachiraprakarn did not able to see an opportunity to win, then he commanded his army to retreat and went back to stand firm at Wat Phi Chai which he did not returned to the capital ever again. The archaeological evidence almost not left to be found due to this temple’s located at Pasak riverside, when flood season had arrived, water in river will rapidly flow which this flow had scoured land of this temple, especially an area of old ubosot that was swallowed by the flow of this river without nothing left. The ancient building and antiques of this temple that had been remained at this temple are pagoda and Buddha statue made of bronze (age around 300 years old).
An interesting matter that attract people from all walks of life to come to Wat Koh Kaew continuously. It relates to one great king of Siam who firmly stood and fought Burma army on this land (before the second fall of Ayutthaya kingdom in 2310 B.E.) until he moved the troops to Wat Phi Chai (Wat Phi Chai Songkram), that supreme genius king is King Taksin the Great. Although Wat Koh Kaew has no precious ancient remains for sightseeing like other temple, but, because virtue of King Taksin the Great which make people come to Wat Koh Kaew continually. Clergy of Wat Koh Kaew uphold dharmic principle, teach people to behave themselves in good morals, practice the dharma that befit with status of each
person and maintain Buddhism by build religious object and place as much as necessary (Sufficient). All thing considered, it supports and fulfills an important of this temple which make this temple becomes supporter for people eventually. We would like to invite every virtuous men to take a religious travel, study history of Wat Koh Kaew, the foundation of Buddhism in Ayutthaya period that the former kings of Thailand jointly establish sanctuary which arise in everyone’s mind. Contact Wat Koh Kaew, Kramang sub-district, Phra Nakhon Si Ayutthaya district, Ayutthaya province. Tel : Phrakhu palad Rattana worawat (abbot) 09-3152-3969 AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 179
179
21/05/61 07:02:40 PM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดกล้วย
พระครู ป ระภั ศ รญาณสุ น ทร ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง เจ้ า อาวาส
วั ด กล้วย ตั้งอยู่เลขที่ 63 หมู่ที่ 11 ต�ำบลกะมัง อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นวัดแห่งพระธาตุ ซึ่งมีความส�ำคัญมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา สั น นิ ษ ฐานว่ า สร้ า งขึ้ น ประมาณปี พ.ศ.2200 ในยุ ค ของสมเด็ จ พระนารายณ์ ม หาราช (พ.ศ.2199-2231) อีกทั้งเคยเป็นสมรภูมิรบและค่ายทหารของพระเจ้าตากสินมหาราช ขอเชิ ญ ท่ า นสาธุ ช นและนั ก ท่ อ งเที่ ย วเดิ น ทางมาท� ำ บุ ญ กุ ศ ล กราบพระบรมสารี ริ ก ธาตุ แ ละ พระอั ฐิ ธ าตุ ข องพระอรหั น ตสาวกของพระพุ ท ธเจ้ า ได้ ทุ ก วั น วั ด กล้ ว ยอยู ่ ติ ด โรงแรมวรบุ รี ถนน เรียบทางรถไฟ สายไปวัดพนัญเชิง โทรศัพท์ 035-242-768, 081-425-8395, 089-980-2421 180
ปัจจุบันมีเนื้อที่ตั้งวัด 11 ไร่ 1 งาน ได้รับ อนุญาตตั้งวัดเมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ.1657 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาโบสถ์ใหม่เมื่อ วันที่ 27 กันยายน พ.ศ.2481 ในสมัยพระครู อินทรวุฒิกร (ต่วน สิทธิวงษา) เป็นเจ้าอาวาส บริเวณที่ตั้งวัดกล้วย เป็นเกาะมีน�้ำล้อม รอบตั ว เกาะ เนื้ อ ที่ ย าวประมาณ ข้ า งละ 1 กิ โ ลเมตร ทิ ศ เหนื อ เรี ย ก คลองกะมั ง ทิศตะวันออก เรียกคลองดุสิต ทิศใต้ เรียก คลองข้าวสาร ทิศตะวันตก เรียก แม่น�้ำป่าสัก
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 180
21/05/61 07:04:30 PM
ถาวรวัตถุของวัดกล้วยในอดีต ด้วยเรื่องราวการสู้รบแต่หนหลัง กลาย เป็นต�ำนานบทหนึง่ ของวัดอายุหลายร้อยปีแห่งนี้ และสิง่ ทีด่ งึ ดูดผูค้ นให้เข้ามายังอารามอันร่มเย็น ในปั จ จุ บั น คื อ กรุ วั ต ถุ ม งคลและพระบรม สารีรกิ ธาตุ โดยภายในพระอุโบสถสร้างด้วยหิน ในสมัยกรุงศรีอยุธยา ประดิษฐานพระประธาน ทองเหลื อ งภายในองค์ พ ระบรรจุ วั ต ถุ ม งคล และยั ง จั ด แสดงพระบรมสารี ริ ก ธาตุ แ ละ พระธาตุครูบาอาจารย์หลายองค์ เช่น พระธาตุ พระอรหันตสมัยพุทธกาล, เกศาหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต อัฐิหลวงปู่เทสก์ เทสรังสี เป็นต้น ให้ ประชาชนเข้ า มาสั ก การะและสามารถชม ได้อย่างใกล้ชิด
กราบสักการะรูปหล่อ “หลวงปู่ต่วน” และ “หลวงปู่เทพโลกอุดร” สิ่ ง ที่ เ ป็ น จุ ด เด่ น ที่ สุ ด ของวั ด กล้ ว ยคื อ พระธาตุของพระครูอนิ ทวุฒกิ ร หรือ หลวงปูต่ ว่ น อิ น ทปั ญ โญ อดี ต เจ้ า อาวาส ที่ มี ลั ก ษณะ และความแตกต่างของพระธาตุที่หลากหลาย ทั้งรูปทรง รูปร่าง สีสันวรรณะ ทั้งๆ ที่เป็น พระธาตุทบี่ งั เกิดมาจากสรีรกายของหลวงปูต่ ว่ น เพียงองค์เดียว และแวะกราบรูปหล่อหลวงปูต่ ว่ น และหลวงปู ่ เ ทพโลกอุ ด รที่ ป ระดิ ษ ฐาน ณ ศาลาเปรียญรอบๆ วัดมีความร่มรื่น มีลมจาก แม่น�้ำป่าสักพัดโชยให้เย็นตลอดวัน สามารถ ท�ำทานด้วยการให้อาหารปลาอย่างมีความสุข
และอี ก สิ่ ง ที่ ห ้ า มพลาดคื อ ชิ ม ก๋ ว ยเตี๋ ย วเรื อ รสเด็ดให้อิ่มท้องกันก่อนกลับ ถ้าเดินทางด้วย รถยนต์จากกรุงเทพฯ มาทางถนนสายเอเชีย เมือ่ ตรงเข้าสูต่ วั เมืองจะถึงวงเวียนเจดีย์ เลีย้ วซ้าย ตรงเข้ามาจนข้ามทางรถไฟจะเห็นถนนสายเล็กๆ เลียบทางรถไฟ จึงเลี้ยวขวาเข้าไปประมาณ 500 เมตร จะพบวัดกล้วยทางด้านซ้ายมือ หากตรงไปอีกประมาณ 200 เมตร วนใต้สะพาน ขึ้ น สะพานปรี ดี พนมยงค์ ก็ ส ามารถเข้ า สู ่ ตัวเมืองอยุธยาได้
AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 181
181
21/05/61 07:04:40 PM
H O TEL G U ID E บันทึกเส้นทางที่พัก
HUANSONTREE RESORT “เฮื อ นสุ น ทรี รี ส อร์ ท ”
บ้ า นพั ก สไตล์ รีสอร์ท หรู ห่า งพระนครศรีอยุธยา เพี ย ง 3 กม. เท่ า นั้ น ด้ ว ยสถานที่ก ว้า งขวาง บนเนื้อที่ก ว่า 12 ไร่ ตกแต่ ง อย่ า งสวยงาม ห้องพัก สะอาด บรรยากาศดี ราคาไม่ แ พง เหมาะกั บ วั น พัก ผ่อนของคุณ
182
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
2
.indd 182
25/5/2561 16:51:21
นอกจากนี้ยังอยู่ใกล้แหล่งท่องเที่ยวมากมาย โดย เฉพาะวัดส�ำคัญต่างๆ อาทิเช่น นมัสการหลวงพ่อทิม เกจิอาจารย์ ชือ่ ดังของอยุธยาทีว่ ดั พระขาว นมัสการหลวง พ่อเพิม่ วัดป้อมแก้วเกจิอาจารย์ทเ่ี ป็นทีเ่ คารพสักการะของ อ�ำเภอ บางไทร นมัสการหลวงพ่อโตวัดพนัญเชิง วัดท่ากา ร้ อ งวั ด เก่ า แก่ ตั้ ง แต่ ส มั ย อยุ ธ ยาตอนต้ น วั ด เดี ย วใน ประเทศไทยทีม่ หี อ้ งน�ำ้ ติดแอร์ วัดไชยวัฒนารามวัดเก่าแก่ ตัง้ แต่สมัยพระเจ้าอูท่ อง วัดกษัตราธิราชทีม่ คี วาม สวยงาม วัดหน้าพระเมรุวดั หนึง่ เดียวทีร่ อด จากการถูกเผาจากพม่า สมัยเสียกรุง ชมเพนียดคล้องช้าง เทีย่ วปางช้างอยุธยา ชม การแสดงของช้างและนั่งช้าง ชมเมือง เที่ยวชมกรุงเก่า ห้องพักสะอาด บรรยากาศดี สิ่งอ�ำนวยความสะดวก ครบครัน ทีวี เครื่องปรับอากาศ ตู้เย็น เครื่องท�ำน�้ำอุ่น พร้อม Wifi Free บ้านพักเป็นหลังมีที่จอดรถภายในตัวบ้าน ลักษณะ เตียงเดี่ยว พักได้ห้องละ 2 ท่าน มีอาหารเช้าเป็นกาแฟ โอวัลติน ขนมปังปิ้ง
เฮือนสุนทรี รีสอร์ท
HUAN SONTREE
31 ม.4 ต.พระขาว อ.บางบาล จ.พระนครศรีอยุธยา 13250 Tel. 08-1994-3169 Email : sale@huansontreeresort.com
AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 183
183
25/5/2561 16:51:33
Ayutthaya จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ท่องเที่ ย วทางใจ
504 วั ด
ในเมืองมรดกโลก อโยธยากรุงเก่า อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา วัดกลว้ ย ทีอ่ ยู่ บา้ นกลว้ ย ม.11 ต�ำบลกะมัง อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา วัดกลางคลองสระบัว ทีอ่ ยู่ ม.3 ต�ำบลคลองสระบัว อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา วัดกลางปากกราน ทีอ่ ยู่ บา้ นกลางคลองตะเคียน ม.13 ต�ำบลปากกราน อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา วัดกลางรามัญ ทีอ่ ยู่ บา้ นกลาง ม.5 ต�ำบลสวนพริก อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา วัดกษัตราธิราช ทีอ่ ยู่ ม.7 ต�ำบลบา้ นป้อม อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา วัดกุฎีทอง ทีอ่ ยู่ บา้ นกุฎีทอง ม.5 ต�ำบลทา่ วาสุกรี อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา วัดกุฎีลาย ทีอ่ ยู่ ม.7 ต�ำบลบา้ นใหม่ อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา วัดเกตุ ทีอ่ ยู่ บา้ นใหม่ ม.3 ต�ำบลบา้ นใหม่ อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา
184
วัดเกาะแกว้ ทีอ่ ยู่ ม.12 ต�ำบลกะมัง อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา วัดไกเ่ ตีย้ ทีอ่ ยู่ บา้ นมอญ ม.2 ต�ำบลบา้ นรุน อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา วัดขนอน ทีอ่ ยู่ บา้ นขนอน ม.1 ต�ำบลบา้ นป้อม อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา วัดขุนพรหม ทีอ่ ยู่ บา้ นขุนพรหม ม.5 ต�ำบลส�ำเภาลม่ วัดครุธาราม ทีอ่ ยู่ บา้ นคลองสระบัว ม.5 ต�ำบลคลองสระบัว วัดแค ทีอ่ ยู่ บา้ นเกาะลอย ม.2 ต�ำบลหัวรอ อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา วัดโคกจินดาราม ทีอ่ ยู่ บา้ นโคกแขก ม.7 ต�ำบลคลองตะเคียน วัดจันทร์ประเทศ ทีอ่ ยู่ ม.6 ต�ำบลบา้ นใหม่ อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา วัดเจดียแ์ ดง ทีอ่ ยู่ บา้ นแดง ม.4 ต�ำบลหัวรอ
วัดช้าง ทีอ่ ยู่ บา้ นช้าง ม.3 ต�ำบลปากกราน อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา
กราบพระพุทธรูปอย่างไรให้เกิดปัญญา
วัดช่างทอง ทีอ่ ยู่ บา้ นช่างทอง ม.1 ต�ำบลเกาะเรียน อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา วัดช้างใหญ่ ทีอ่ ยู่ บา้ นช้างใหญ่ ม.1 ต�ำบลวัดตูม อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา วัดชุมพล ทีอ่ ยู่ ม.3 ต�ำบลวัดตูม อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา วัดเชิงทา่ ทีอ่ ยู่ บา้ นเชิงทา่ ม.3 ต�ำบลทา่ วาสุกรี อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา วัดญาณเสน ทีอ่ ยู่ ถนนอู่ทอง ม.3 ต�ำบลทา่ วาสุกรี อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา
วัดดุสิดาราม ทีอ่ ยู่ ม.5 ต�ำบลหันตรา อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา วัดตองปุ ทีอ่ ยู่ ตองปุ ม.5 ต�ำบลบา้ นเกาะ อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา วัดตึก ทีอ่ ยู่ ถนนอู่ทอง ม.1 ต�ำบลทา่ วาสุกรี อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา วัดตูม ทีอ่ ยู่ บา้ นวัดตูม ม.3 ต�ำบลวัดตูม อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา วัดทรงกุศล ทีอ่ ยู่ บา้ นโคกหมอ้ ม.6 ต�ำบลเกาะเรียน อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา วัดทา่ การ้อง ทีอ่ ยู่ บา้ นทา่ ม.6 ต�ำบลบา้ นป้อม อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา วัดทา่ โขลง ทีอ่ ยู่ ม.1 ต�ำบลหัวรอ อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา วัดธรรมนิยม ทีอ่ ยู่ บา้ นป่า ม.4 ต�ำบลวัดตูม อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา
วัดธรรมาราม ทีอ่ ยู่ ม.6 ต�ำบลบา้ นป้อม อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา วัดธรรมิกราช ทีอ่ ยู่ ถนนอู่ทอง ม.3 ต�ำบลทา่ วาสุกรี อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา วัดนางกุย ทีอ่ ยู่ บา้ นนางกุย ม.5 ต�ำบลส�ำเภาลม่ อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา วัดบรมวงศอ์ ิศรวราราม ทีอ่ ยู่ ม.2 ต�ำบลสวนพริก อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา วัดบางกะจะ วัดบางกะจะ ทีอ่ ยู่ ม.4 ต�ำบลส�ำเภาลม่ อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา วัดบ�ำรุงธรรม ทีอ่ ยู่ บา้ นสะพานขาว ม.4 ต�ำบลบา้ นใหม่ อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา วัดประดูท่ รงธรรม ทีอ่ ยู่ บา้ นบาตร ม.4 ต�ำบลไผล่ ิง อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา วัดประสาท ทีอ่ ยู่ บา้ นเกาะเมือง ม.1 ต�ำบลหอรัตนไชย อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 184
24/5/2561 14:05:39
THE IMPORTANT TEMPLES AYUTTHAYA
วัดป้อมรามัญ ทีอ่ ยู่ บา้ นบางขวด ม.4 ต�ำบลสวนพริก อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา วัดป้อมใหญ่ ทีอ่ ยู่ ป้อม ม.3 ต�ำบลบา้ นป้อม อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา วัดปากกราน ทีอ่ ยู่ คลองปราการ ม.1 ต�ำบลปากกราน อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา
วัดมณฑป ทีอ่ ยู่ ม.2 ต�ำบลหัวรอ อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา วัดมหาโลก ทีอ่ ยู่ บา้ นมา้ โรจน์ ม.3 ต�ำบลหัวรอ อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา วัดมเหยงคณ์ ทีอ่ ยู่ ถนนอู่ทอง ม.1 ต�ำบลหอรัตนไชย อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา วัดรัตนชัย ทีอ่ ยู่ ม.2 ต�ำบลหันตรา อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา
วัดแห่งความซื่อสัตย์ของแม่นางปลื้ม วัดป่าโค (บ้านศาลาเกวียน)
วัดป่าโค ทีอ่ ยู่ ม.7 ต�ำบลหันตรา อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา วัดไผโ่ สมนรินทร์ ทีอ่ ยู่ บา้ นไผ่ ม.2 ต�ำบลบา้ นเกาะ อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา วัดพนมยงค์ ทีอ่ ยู่ ม.4 ต�ำบลทา่ วาสุกรี อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา วัดพนัญเชิง ทีอ่ ยู่ ม.2 ต�ำบลคลองสวนพลู อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา วัดพรหมนิวาส ทีอ่ ยู่ ม.4 ต�ำบลทา่ วาสุกรี อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา วัดพระงาม ทีอ่ ยู่ บา้ นป้อม ม.3 ต�ำบลบา้ นป้อม อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา วัดพระญาติการาม ทีอ่ ยู่ บา้ นไผล่ ิง ม.5 ต�ำบลไผล่ ิง อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา วัดพิชัยสงคราม ทีอ่ ยู่ บา้ นบาตร ม.11 ต�ำบลกะมัง อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา วัดพุทไธศวรรย์ ทีอ่ ยู่ บา้ นคลองวัดพุทไธศวรรย์ ม.8 ต�ำบลส�ำเภาลม่ อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา วัดโพธิเ์ ผือก ทีอ่ ยู่ บา้ นใหมม่ ะขามหยอง ม.2 ต�ำบลบา้ นใหม่ อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา วัดภูเขาทอง ทีอ่ ยู่ บา้ นภูเขาทอง ม.2 ต�ำบลภูเขาทอง อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา
วัดแมน่ างปลื้ม ทีอ่ ยู่ บา้ นคลองเมือง ม.5 ต�ำบลหัวรอ อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา วัดราชบัวขาว ทีอ่ ยู่ บา้ นหัวดุม ม.1 ต�ำบลบา้ นใหม่ อ�ำเภอ พระนครศรีอยุธยา วัดราชประดิษฐาน ทีอ่ ยู่ ถนนอู่ทอง ม.8 ต�ำบลหัวรอ อ�ำเภอ พระนครศรีอยุธยา วัดลอดช่อง ทีอ่ ยู่ บา้ นลอดช่อง ม.8 ต�ำบลบา้ นป้อม อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา วัดวงษฆ์ อ้ ง ทีอ่ ยู่ บา้ นคลองสระบัว ม.5 ต�ำบลหัวรอ อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา วัดวรเชต ทีอ่ ยู่ ม.8 ต�ำบลบา้ นป้อม อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา วัดวรโพธิ์ ทีอ่ ยู่ บา้ นคลองทอ่ ถนนอู่ทอง ม.2 ต�ำบลทา่ วาสุกรี อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา วัดศรีโพธิ์ ทีอ่ ยู่ คลองสระบัว ม.2 ต�ำบลคลองสระบัว อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา วัดศาลาปูน ทีอ่ ยู่ ม.3 ต�ำบลทา่ วาสุกรี อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา วัดสนามไชย ทีอ่ ยู่ ม.10 ต�ำบลบา้ นป้อม อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา
วัดสมณโกฎฐาราม ทีอ่ ยู่ บา้ นคลองกุฎีดาว ม.7 ต�ำบลไผล่ ิง อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา วัดสวา่ งอารมณ์ ทีอ่ ยู่ สวนพริก ม.1 ต�ำบลสวนพริก อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา วัดสามวิหาร ทีอ่ ยู่ บา้ นคลองบางขวด ม.4 ต�ำบลหัวรอ อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา วัดส�ำเภาลม่ ทีอ่ ยู่ บา้ นส�ำเภาลม่ ม.4 ต�ำบลปากกราน อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา วัดสุวรรณดาราราม ทีอ่ ยู่ ม.2 ต�ำบลหอรัตนไชย อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา วัดเสนาสนาราม ทีอ่ ยู่ ม.8 ต�ำบลหัวรอ อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา วัดหนา้ พระเมรุราชิการาม ทีอ่ ยู่ ม.5 ต�ำบลทา่ วาสุกรี อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา วัดหันตรา ทีอ่ ยู่ บา้ นหันตรา ม.2 ต�ำบลหันตรา อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา
เจดี ย ์ ชั ย มงคล
วัดใหญช่ ัยมงคล ทีอ่ ยู่ ม.5 ต�ำบลหันตรา อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา วัดอโยธยา ทีอ่ ยู่ ม.3 ต�ำบลคลองสวนพลู อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา วัดอินทาราม ทีอ่ ยู่ บา้ นคลองเมือง ม.6 ต�ำบลหัวรอ อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา
อ�ำเภอท่าเรือ วัดกลาง ทีอ่ ยู่ บา้ นเทศบาล 7 ต�ำบลทา่ เรือ อ�ำเภอทา่ เรือ วัดไกจ่ ้น ทีอ่ ยู่ บา้ นไกจ่ ้น ม.10 ต�ำบลทา่ หลวง อ�ำเภอทา่ เรือ วัดแค ทีอ่ ยู่ บา้ นแค ม.4 ต�ำบลปากทา่ อ�ำเภอทา่ เรือ
วัดแคทา่ เรือ ทีอ่ ยู่ บา้ นโคกมะนาว ต�ำบลทา่ เรือ อ�ำเภอทา่ เรือ วัดจงกลณี ทีอ่ ยู่ ขวาง ม.3 ต�ำบลทา่ เจ้าสนุก อ�ำเภอทา่ เรือ วัดจ�ำปา ทีอ่ ยู่ บา้ นจ�ำปา ม.4 ต�ำบลจ�ำปา อ�ำเภอทา่ เรือ วัดช้าง ทีอ่ ยู่ บา้ นช้าง ม.6 ต�ำบลศาลาลอย อ�ำเภอทา่ เรือ วัดชุมแสง ทีอ่ ยู่ ม.2 ต�ำบลจ�ำปา อ�ำเภอทา่ เรือ วัดแดง ทีอ่ ยู่ บา้ นปากทา่ ม.1 ต�ำบลปากทา่ อ�ำเภอทา่ เรือ วัดต�ำหนัก ทีอ่ ยู่ บา้ นขวาง ม.1 ต�ำบลทา่ เจ้าสนุก อ�ำเภอทา่ เรือ วัดต�ำหนักพระเจ้าทรงธรรม ทีอ่ ยู่ ต�ำหนัก ม.1 ต�ำบลทา่ เจ้าสนุก อ�ำเภอทา่ เรือ วัดถลุงเหล็ก ทีอ่ ยู่ บา้ นถลุงเหล็ก ม.4 ต�ำบลทา่ หลวง อ�ำเภอทา่ เรือ วัดทุง่ มล ทีอ่ ยู่ บา้ นทุง่ มล ม.2 ต�ำบลหนองขนาก อ�ำเภอทา่ เรือ วัดเทพคันธาราม ทีอ่ ยู่ บา้ นทา่ ราบ ม.5 ต�ำบลโพธิเ์ อน อ�ำเภอทา่ เรือ วัดนางคุม้ ทีอ่ ยู่ บางตะไลย ม.1 ต�ำบลศาลาลอย อ�ำเภอทา่ เรือ วัดบัวงาม ทีอ่ ยู่ บา้ นบัวงาม ถนนทา่ เรือ-ทา่ ลาน ม.6 ต�ำบลจ�ำปา อ�ำเภอทา่ เรือ วัดบางมว่ ง ทีอ่ ยู่ บา้ นบางมว่ ง ม.2 ต�ำบลโพธิเ์ อน อ�ำเภอทา่ เรือ วัดบา้ นแถว ทีอ่ ยู่ บา้ นแถว ม.4 ต�ำบลหนองขนาก อ�ำเภอทา่ เรือ วัดบา้ นร่อม ทีอ่ ยู่ บา้ นร่อม ม.2 ต�ำบลบา้ นร่อม อ�ำเภอทา่ เรือ วัดบา้ นราม ทีอ่ ยู่ ราม ม.10 ต�ำบลทา่ หลวง อ�ำเภอทา่ เรือ วัดบึง ทีอ่ ยู่ บา้ นบึง ม.8 ต�ำบลวังแดง อ�ำเภอทา่ เรือ วัดบึงลัฎฐิวัน ทีอ่ ยู่ ม.1 ต�ำบลทา่ หลวง อ�ำเภอทา่ เรือ
วัดโบสถ์พัทธสีมา ทีอ่ ยู่ บา้ นโคกมะนาว ม.8 ต�ำบลจ�ำปา อ�ำเภอทา่ เรือ วัดพุฒาวาส ทีอ่ ยู่ บา้ นปลักแรด ม.6 ต�ำบลหนองขนาก อ�ำเภอทา่ เรือ วัดโพธิไ์ ทร ทีอ่ ยู่ จ�ำปาใต้ ม.5 ต�ำบลจ�ำปา อ�ำเภอทา่ เรือ วัดโพธิเ์ อน ทีอ่ ยู่ บา้ นโพธิเ์ อน ม.2 ต�ำบลโพธิเ์ อน อ�ำเภอทา่ เรือ วัดมะขามโพลง ทีอ่ ยู่ บา้ นมะขามโพลง ม.7 ต�ำบลทา่ เจ้าสนุก อ�ำเภอทา่ เรือ วัดไมร้ วก ทีอ่ ยู่ บา้ นโคกศาลา ต�ำบลทา่ เรือ อ�ำเภอทา่ เรือ วัดยางนม ทีอ่ ยู่ บา้ นยางนม ม.4 ต�ำบลทา่ หลวง อ�ำเภอทา่ เรือ วัดรามพงศาวาส ทีอ่ ยู่ ม.10 ต�ำบลทา่ หลวง อ�ำเภอทา่ เรือ วัดแดงใต้ ทีอ่ ยู่ บา้ นวังแดงใต้ ม.3 ต�ำบลวังแดง อ�ำเภอทา่ เรือ วัดแดงเหนือ ทีอ่ ยู่ บา้ นวังแดงเหนือ ม.2 ต�ำบลวังแดง อ�ำเภอทา่ เรือ วัดเวียง ทีอ่ ยู่ บา้ นเวียง ม.1 ต�ำบลทา่ หลวง อ�ำเภอทา่ เรือ วัดศักดิ์ ทีอ่ ยู่ ถนนสายทา่ เรือ-วังแดง ม.14 ต�ำบลศาลาลอย อ�ำเภอทา่ เรือ วัดศาลาลอย ทีอ่ ยู่ ศาลาลอย ม.10 ต�ำบลศาลาลอย อ�ำเภอทา่ เรือ วัดสฎางค์ ทีอ่ ยู่ บา้ นสฎางค์ ม.6 ต�ำบลทา่ เจ้าสนุก อ�ำเภอทา่ เรือ วัดสวา่ งอารมณ์ ทีอ่ ยู่ บา้ นดอนประดู่ ม.5 ต�ำบลบา้ นร่อม อ�ำเภอทา่ เรือ วัดสะตือ ทีอ่ ยู่ บา้ นทา่ งาม ม.6 ต�ำบลทา่ หลวง อ�ำเภอทา่ เรือ วัดสามเรือน ทีอ่ ยู่ บา้ นสามเรือน ม.4 ต�ำบลโพธิเ์ อน อ�ำเภอทา่ เรือ วัดหนองแห้ว ทีอ่ ยู่ บา้ นเทศบาล ต�ำบลทา่ เรือ อ�ำเภอทา่ เรือ วัดหัวหิน ทีอ่ ยู่ บา้ นหัวหิน ม.2 ต�ำบลทา่ หลวง อ�ำเภอทา่ เรือ
AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 185
185
24/5/2561 14:05:45
ท่องเที่ยวทางใจ 504 วัด ในเมืองมรดกโลก อโยธยากรุงเก่า
อ�ำเภอนครหลวง วัดกลาง ทีอ่ ยู่ ม.4 ต�ำบลนครหลวง อ�ำเภอนครหลวง วัดกุฎีกรุ ทีอ่ ยู่ ม.1 ต�ำบลทา่ ช้าง อ�ำเภอนครหลวง
ไหว้พระขอพรปิดทองหลวงพ่อเพชร
วัดเกาะแกว้ เกษฎาราม ทีอ่ ยู่ ม.1 ต�ำบลบอ่ โพง อ�ำเภอนครหลวง วัดแกว้ ทีอ่ ยู่ ม.6 ต�ำบลแมล่ า อ�ำเภอนครหลวง วัดคลองน้�ำชา ทีอ่ ยู่ บา้ นคลองน้�ำชา ม.7 ต�ำบลทา่ ช้าง อ�ำเภอนครหลวง วัดจันทร์ ทีอ่ ยู่ ม.1 ต�ำบลบางพระครู อ�ำเภอนครหลวง วัดดงหวาย ทีอ่ ยู่ บา้ นดงหวาย ม.5 ต�ำบลทา่ ช้าง อ�ำเภอนครหลวง วัดตะโหนด ทีอ่ ยู่ บา้ นตะโหนด ม.5 ต�ำบลนครหลวง อ�ำเภอนครหลวง วัดทอง ทีอ่ ยู่ ม.2 ต�ำบลพระนอน อ�ำเภอนครหลวง วัดทองทรงธรรม ทีอ่ ยู่ ม.2 ต�ำบลคลองสะแก อ�ำเภอนครหลวง วัดเทพจันทร์ลอย ทีอ่ ยู่ ม.1 ต�ำบลนครหลวง อ�ำเภอนครหลวง วัดนครหลวง ทีอ่ ยู่ ม.1 ต�ำบลนครหลวง อ�ำเภอนครหลวง วัดนอ้ ย ทีอ่ ยู่ ม.4 ต�ำบลทา่ ช้าง อ�ำเภอนครหลวง วัดบันได ทีอ่ ยู่ ม.1 ต�ำบลบางระก�ำ อ�ำเภอนครหลวง
186
วัดบางระก�ำ ทีอ่ ยู่ บา้ นบางระก�ำ ม.3 ต�ำบลบางระก�ำ อ�ำเภอนครหลวง วัดบา้ นชุ้ง ทีอ่ ยู่ บา้ นชุ้ง ม.6 ต�ำบลบา้ นชุ้ง อ�ำเภอนครหลวง วัดบา้ นดาบ ทีอ่ ยู่ บา้ นดาบ ม.7 ต�ำบลบอ่ โพง อ�ำเภอนครหลวง วัดปรีดาราม ทีอ่ ยู่ บา้ นแมล่ า ม.3 ต�ำบลแมล่ า อ�ำเภอนครหลวง วัดพระนอน ทีอ่ ยู่ บา้ นพระนอน ม.3 ต�ำบลพระนอน อ�ำเภอนครหลวง วัดพร้าวโสภณาราม ทีอ่ ยู่ บา้ นพร้าว ม.8 ต�ำบลนครหลวง อ�ำเภอนครหลวง วัดโพธิท์ อง ทีอ่ ยู่ บา้ นโพธิท์ อง ม.3 ต�ำบลบอ่ โพง อ�ำเภอนครหลวง วัดโพธิล์ อย ทีอ่ ยู่ บา้ นโพธิล์ อย ม.8 ต�ำบลพระนอน อ�ำเภอนครหลวง วัดโพธิล์ �ำแพน ทีอ่ ยู่ บา้ นโพธิล์ �ำแพน ม.4 ต�ำบลบา้ นชุ้ง อ�ำเภอนครหลวง วัดมหาพล ทีอ่ ยู่ บา้ นมหาพล ม.7 ต�ำบลนครหลวง อ�ำเภอนครหลวง วัดมเหยงค์ ทีอ่ ยู่ บา้ นไผห่ นอง ม.7 ต�ำบลทา่ ช้าง อ�ำเภอนครหลวง วัดมาบพระจันทร์ ทีอ่ ยู่ บา้ นมาบ ม.1 ต�ำบลหนองปลิง อ�ำเภอนครหลวง วัดร้อยไร่ ทีอ่ ยู่ ม.8 ต�ำบลทา่ ช้าง อ�ำเภอนครหลวง วัดราชบรรทม ทีอ่ ยู่ ม.2 ต�ำบลบอ่ โพง อ�ำเภอนครหลวง วัดราษฎร์บ�ำเพ็ญ ทีอ่ ยู่ บา้ นตีนทา ม.2 ต�ำบลบอ่ โพง อ�ำเภอนครหลวง วัดเรือแขง่ ทีอ่ ยู่ ม.4 ต�ำบลบางระก�ำ อ�ำเภอนครหลวง วัดละมุด ทีอ่ ยู่ บา้ นละมุด ม.2 ต�ำบลปากจัน่ อ�ำเภอนครหลวง วัดลาย ทีอ่ ยู่ บา้ นลาย ม.2 ต�ำบลบางพระครู อ�ำเภอนครหลวง วัดวัง ทีอ่ ยู่ ม.6 ต�ำบลบางระก�ำ อ�ำเภอนครหลวง
วัดสระเกษ ทีอ่ ยู่ บา้ นสระเกษ ม.2 ต�ำบลแมล่ า อ�ำเภอนครหลวง วัดสามไถ ทีอ่ ยู่ บา้ นสามไถ ม.1 ต�ำบลสามไถ อ�ำเภอนครหลวง วัดสีจ�ำปา ทีอ่ ยู่ บา้ นตน้ โพธิ์ ม.6 ต�ำบลทา่ ช้าง อ�ำเภอนครหลวง วัดหนองโคก ทีอ่ ยู่ หนองโคก ม.3 ต�ำบลหนองปลิง อ�ำเภอนครหลวง วัดใหญเ่ ทพนิมิต ทีอ่ ยู่ ม.2 ต�ำบลสามไถ อ�ำเภอนครหลวง วัดใหมช่ ุมพล ทีอ่ ยู่ ม.2 ต�ำบลนครหลวง อ�ำเภอนครหลวง วัดอ่างทอง ทีอ่ ยู่ บา้ นปากจัน่ ม.6 ต�ำบลปากจัน่ อ�ำเภอนครหลวง
อ�ำเภอบางไทร วัดกกแกว้ บูรพา ทีอ่ ยู่ บา้ นหนองกก ม.1 ต�ำบลกกแกว้ บูรพา อ�ำเภอบางไทร วัดกระแซง ทีอ่ ยู่ บา้ นกระแชง ม.2 ต�ำบลกระแชง อ�ำเภอบางไทร วัดขุนจ่าธรรมาราม ทีอ่ ยู่ ม.4 ต�ำบลห่อหมก อ�ำเภอบางไทร วัดช่างเหล็ก ทีอ่ ยู่ บา้ นช่างเหล็ก ม.1 ต�ำบลช่างเหล็ก อ�ำเภอบางไทร วัดช้างใหญ่ ทีอ่ ยู่ บา้ นช้างใหญ่ ม.1 ต�ำบลช้างใหญ่ อ�ำเภอบางไทร วัดเชิงเลน ทีอ่ ยู่ บา้ นเชิงเลน ม.4 ต�ำบลราชคราม อ�ำเภอบางไทร วัดเชียงรากนอ้ ย ทีอ่ ยู่ บา้ นเชียงรากนอ้ ย ม.2 ต�ำบลเชียงรากนอ้ ย อ�ำเภอบางไทร วัดทางยาว ทีอ่ ยู่ บา้ นทางยาว ม.3 ต�ำบลบา้ นมา้ อ�ำเภอบางไทร วัดทา่ ซุงทักษิณาราม ทีอ่ ยู่ บา้ นทา่ ซุง ม.6 ต�ำบลไมต้ รา อ�ำเภอบางไทร วัดไทรโสภณ ทีอ่ ยู่ ม.3 ต�ำบลบา้ นเกาะ อ�ำเภอบางไทร วัดนาคสโมสร ทีอ่ ยู่ บา้ นไผพ่ ระ ม.2 ต�ำบลไผพ่ ระ อ�ำเภอบางไทร
วัดบางแขยง ทีอ่ ยู่ บา้ นบางแขยง ม.4 ต�ำบลบางยีโ่ ท อ�ำเภอบางไทร
วัดเป็นที่ราบลุ่มอยู่ริมแม่น�้ำน้อย
วัดบางคลา้ ทีอ่ ยู่ บา้ นบางคลา้ ม.1 ต�ำบลบางไทร อ�ำเภอบางไทร วัดบางไทร ทีอ่ ยู่ บา้ นบางไทร ม.7 ต�ำบลบางไทร อ�ำเภอบางไทร วัดบา้ นพาด ทีอ่ ยู่ บา้ นพาด ม.8 ต�ำบลสนามชัย อ�ำเภอบางไทร วัดโบสถ์สมพรชัย ทีอ่ ยู่ บา้ นบางไทร ม.1 ต�ำบลราชคราม อ�ำเภอบางไทร วัดโบสถ์อินทราราม ทีอ่ ยู่ บา้ นแป้ง ม.1 ต�ำบลช้างนอ้ ย อ�ำเภอบางไทร วัดป้อมแกว้ ทีอ่ ยู่ บา้ นป้อมแกว้ ม.4 ต�ำบลบา้ นกลึง อ�ำเภอบางไทร วัดปากน้�ำ ทีอ่ ยู่ บา้ นปากน้�ำ ม.1 ต�ำบลแคออก อ�ำเภอบางไทร วัดป่าคา ทีอ่ ยู่ ม.3 ต�ำบลโคกช้าง อ�ำเภอบางไทร วัดพระธาตุศรีรัตนาราม ทีอ่ ยู่ ม.2 ต�ำบลบางพลี อ�ำเภอบางไทร วัดโพธิแ์ ตงใต้ ทีอ่ ยู่ บา้ นโพแตงใต้ ม.3 ต�ำบลโพแตง อ�ำเภอบางไทร วัดโพธิแ์ ตงเหนือ ทีอ่ ยู่ บา้ นโพแตงเหนือ ม.2 ต�ำบลโพแตง อ�ำเภอบางไทร วัดไมต้ ราสมาชิการาม ทีอ่ ยู่ ไมต้ รา ม.7 ต�ำบลไมต้ รา อ�ำเภอบางไทร วัดราษฎฎร์ศรัทธาธรรม ทีอ่ ยู่ บา้ นคลองเกา่ ม.11 ต�ำบลไมต้ รา อ�ำเภอบางไทร วัดศิริสุขาราม ทีอ่ ยู่ บา้ นโรงหลวง ม.4 ต�ำบลช่างเหล็ก อ�ำเภอบางไทร วัดสนามไชย ทีอ่ ยู่ บา้ นสนามชัย ม.6 ต�ำบลสนามชัย อ�ำเภอบางไทร วัดสวา่ งอารมณ์ ทีอ่ ยู่ บา้ นบางพลี ม.4 ต�ำบลบางพลี อ�ำเภอบางไทร
วัดสิงห์สุทธาวาส ทีอ่ ยู่ บา้ นแป้ง ม.3 ต�ำบลบา้ นแป้ง อ�ำเภอบางไทร วัดสุนทราราม ทีอ่ ยู่ บา้ นห่อหมก ม.1 ต�ำบลห่อหมก อ�ำเภอบางไทร วัดหนา้ ตา่ งนอก ทีอ่ ยู่ บา้ นหนา้ ไม้ ม.2 ต�ำบลหนา้ ไม้ อ�ำเภอบางไทร วัดหนา้ ตา่ งใน ทีอ่ ยู่ บา้ นหนา้ ไม้ ม.2 ต�ำบลหนา้ ไม้ อ�ำเภอบางไทร วัดอนุกุญชราราม ทีอ่ ยู่ บา้ นช้างนอ้ ย ม.2 ต�ำบลช้างนอ้ ย อ�ำเภอบางไทร
อ�ำเภอบางบาล วัดกลาง ทีอ่ ยู่ ม.2 ต�ำบลมหาพราหมณ์ อ�ำเภอบางบาล วัดกอไผ่ ทีอ่ ยู่ ม.3 ต�ำบลบางหลวงโดด อ�ำเภอบางบาล วัดก�ำแพงแกว้ ทีอ่ ยู่ ม.1 ต�ำบลสะพานไทย อ�ำเภอบางบาล วัดเกา้ ห้อง ทีอ่ ยู่ บา้ นเกา้ ห้อง ม.4 ต�ำบลไทรนอ้ ย อ�ำเภอบางบาล วัดโคกหิรัญ ทีอ่ ยู่ ม.2 ต�ำบลบางชะนี อ�ำเภอบางบาล วัดจันทาราม ทีอ่ ยู่ บา้ นกบเจา ม.4 ต�ำบลกบเจา อ�ำเภอบางบาล วัดแจ้ง ทีอ่ ยู่ ม.1 ต�ำบลมหาพราหมณ์ อ�ำเภอบางบาล วัดตะกู ทีอ่ ยู่ บา้ นตะกู ม.4 ต�ำบลวัดตะกู อ�ำเภอบางบาล วัดทา่ สุทธาวาส ทีอ่ ยู่ บา้ นผีมด ม.9 ต�ำบลไทรนอ้ ย อ�ำเภอบางบาล วัดไทรนอ้ ย ทีอ่ ยู่ บา้ นมอญ ม.5 ต�ำบลไทรนอ้ ย อ�ำเภอบางบาล วัดธรรมจักร์ ทีอ่ ยู่ บา้ นขอม ม.2 ต�ำบลวัดยม อ�ำเภอบางบาล วัดธรรมโชติการาม ทีอ่ ยู่ บา้ นคลองวัว ม.5 ต�ำบลบา้ นคลัง อ�ำเภอบางบาล วัดนกกระจาบ ทีอ่ ยู่ บา้ นมอญใต้ ม.3 ต�ำบลวัดยม อ�ำเภอบางบาล
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 186
24/5/2561 14:05:54
THE IMPORTANT TEMPLES AYUTTHAYA
วัดน้�ำเตา้ ทีอ่ ยู่ บา้ นน้�ำเตา้ ม.1 ต�ำบลน้�ำเตา้ อ�ำเภอบางบาล วัดบางบาล ทีอ่ ยู่ บา้ นบางบาล ม.5 ต�ำบลบางบาล อ�ำเภอบางบาล วัดบางปลาหมอ ทีอ่ ยู่ บางปลาหมอ ม.6 ต�ำบลน้�ำเตา้ อ�ำเภอบางบาล วัดบา้ นขวาง ทีอ่ ยู่ บา้ นขวาง ม.1 ต�ำบลกบเจา อ�ำเภอบางบาล วัดบา้ นแดง ทีอ่ ยู่ บา้ นแดง ม.3 ต�ำบลน้�ำเตา้ อ�ำเภอบางบาล วัดบุญกันนาวาส ทีอ่ ยู่ บา้ นทางหลวง ม.1 ต�ำบลไทรนอ้ ย อ�ำเภอบางบาล วัดโบสถ์ ทีอ่ ยู่ บา้ นกระเดื่อง ม.1 ต�ำบลบางบาล อ�ำเภอบางบาล วัดปราสาททอง ทีอ่ ยู่ บา้ นปราสาททอง ม.3 ต�ำบลไทรนอ้ ย อ�ำเภอบางบาล วัดไผล่ อ้ ม ทีอ่ ยู่ บา้ นไผล่ อ้ ม ม.4 ต�ำบลสะพานไทย อ�ำเภอบางบาล
“ GOD OF KINDNESS ”
the great master monk of Ayutthaya
วัดพระขาว ทีอ่ ยู่ บา้ นพระขาว ม.3 ต�ำบลพระขาว อ�ำเภอบางบาล วัดพิกุล ทีอ่ ยู่ บา้ นพิกุล ม.2 ต�ำบลพระขาว อ�ำเภอบางบาล วัดโพธิ์ ทีอ่ ยู่ บา้ นแกร ม.2 ต�ำบลกบเจา อ�ำเภอบางบาล วัดมว่ งหวาน ทีอ่ ยู่ บา้ นมว่ ง ม.6 ต�ำบลมหาพราหมณ์ อ�ำเภอบางบาล วัดยม ทีอ่ ยู่ บา้ นยม ม.1 ต�ำบลวัดยม อ�ำเภอบางบาล วัดโรงนา ทีอ่ ยู่ บา้ นโรงนา ม.8 ต�ำบลน้�ำเตา้ อ�ำเภอบางบาล วัดสันติการาม ทีอ่ ยู่ บา้ นสีคต ม.6 ต�ำบลพระขาว อ�ำเภอบางบาล
วัดสีกุก ทีอ่ ยู่ บา้ นสีกุก ม.2 ต�ำบลน้�ำเตา้ อ�ำเภอบางบาล วัดเสาธง ทีอ่ ยู่ บา้ นผัก ม.5 ต�ำบลมหาพราหมณ์ อ�ำเภอบางบาล วัดใหม่ ทีอ่ ยู่ บา้ นกบเจา ม.3 ต�ำบลกบเจา อ�ำเภอบางบาล วัดอัมพวา ทีอ่ ยู่ บา้ นบางหัก ม.1 ต�ำบลบางหัก อ�ำเภอบางบาล วัดอินทาราม ทีอ่ ยู่ บา้ นทางช้าง ม.3 ต�ำบลทางช้าง อ�ำเภอบางบาล
อ�ำเภอบางปะอิน วัดกลาง ทีอ่ ยู่ ม.4 ต�ำบลวัดยม อ�ำเภอบางปะอิน วัดกลางเกาะระก�ำ ทีอ่ ยู่ ม.8 ต�ำบลบา้ นสร้าง อ�ำเภอบางปะอิน วัดก�ำแพง ทีอ่ ยู่ บา้ นเลน ม.4 ต�ำบลบา้ นเลน อ�ำเภอบางปะอิน วัดขนอนใต้ ทีอ่ ยู่ บา้ นกรด ม.11 ต�ำบลบา้ นกรด อ�ำเภอบางปะอิน วัดขนอนเหนือ ทีอ่ ยู่ บา้ นกรด ม.11 ต�ำบลบา้ นกรด อ�ำเภอบางปะอิน วัดคลองพุทรา ทีอ่ ยู่ บา้ นคลองพุทธา ม.10 ต�ำบลบางกระสัน้ อ�ำเภอบางปะอิน วัดจุฬามณี ทีอ่ ยู่ บา้ นกุม่ ม.6 ต�ำบลบา้ นกุม่ อ�ำเภอบางบาล วัดชีปะขาว ทีอ่ ยู่ บา้ นชีปะขาว ม.7 ต�ำบลบางประแดง อ�ำเภอบางปะอิน วัดชุมพลนิกายาราม ทีอ่ ยู่ ม.4 ต�ำบลบา้ นเลน อ�ำเภอบางปะอิน วัดเชิงทา่ ทีอ่ ยู่ บา้ นเกาะเกิด ม.3 ต�ำบลเกาะเกิด อ�ำเภอบางปะอิน วัดตลาดเกรียบ ทีอ่ ยู่ บา้ นตลาด ม.5 ต�ำบลตลาดเกรียบ อ�ำเภอบางปะอิน วัดทองบอ่ ทีอ่ ยู่ บา้ นเสากระโดง ม.4 ต�ำบลขนอนหลวง อ�ำเภอบางปะอิน วัดท�ำเลไทย ทีอ่ ยู่ บา้ นท�ำเลไทย ม.1 ต�ำบลขนอนหลวง อ�ำเภอบางปะอิน
วัดทุง่ ศรีโพธิ์ ทีอ่ ยู่ บา้ นทุง่ ศรีโพธิ์ ม.9 ต�ำบลบางประแดง อ�ำเภอบางปะอิน วัดธรรมนาวา ทีอ่ ยู่ ม.12 ต�ำบลเชียงรากนอ้ ย อ�ำเภอบางปะอิน วัดนิเวศธรรมประวัติ ทีอ่ ยู่ ม.12 ต�ำบลบา้ นเลน อ�ำเภอบางปะอิน วัดบางเคียนวิเชียรฉาย ทีอ่ ยู่ บา้ นบางเคียน ม.7 ต�ำบลบางกระสัน้ อ�ำเภอบางปะอิน วัดบา้ นกลิง้ ทีอ่ ยู่ บา้ นกลิง้ ม.2 ต�ำบลบางประแดง อ�ำเภอบางปะอิน วัดบา้ นแป้ง ทีอ่ ยู่ บา้ นแป้ง ม.2 ต�ำบลบา้ นแป้ง อ�ำเภอบางปะอิน วัดบา้ นพาสน์ ทีอ่ ยู่ บา้ นพาสน์ ม.1 ต�ำบลบา้ นโพ อ�ำเภอบางปะอิน วัดบา้ นเลนสระกระจับ ทีอ่ ยู่ บา้ นเลนสระกระจับ ม.9 ต�ำบลบา้ นโพ อ�ำเภอบางปะอิน วัดบา้ นสร้าง ทีอ่ ยู่ บา้ นสร้าง ถนนโรจนะ ม.5 ต�ำบลบา้ นสร้าง อ�ำเภอบางปะอิน วัดบา้ นหวา้ ทีอ่ ยู่ บา้ นหวา้ ม.2 ต�ำบลบา้ นหวา้ อ�ำเภอบางปะอิน วัดเปรมประชากร ทีอ่ ยู่ บา้ นเปรมประชากร ม.4 ต�ำบลเชียงรากนอ้ ย อ�ำเภอบางปะอิน วัดโปรดสัตว์ ทีอ่ ยู่ บา้ นขนอนหลวง ม.2 ต�ำบลขนอนหลวง อ�ำเภอบางปะอิน วัดพยาญาติ ทีอ่ ยู่ บา้ นทา้ ยวัด ม.4 ต�ำบลเกาะเกิด อ�ำเภอบางปะอิน วัดโพธิ์ ทีอ่ ยู่ บา้ นโพ ม.3 ต�ำบลบา้ นโพ อ�ำเภอบางปะอิน วัดยม ทีอ่ ยู่ บา้ นยม ม.1 ต�ำบลวัดยม อ�ำเภอบางปะอิน วัดลาดระโหง ทีอ่ ยู่ บา้ นลาดระโหง ม.5 ต�ำบลวัดยม อ�ำเภอบางปะอิน วัดวิเวกวายุพัด ทีอ่ ยู่ ม.3 ต�ำบลคลองจิก อ�ำเภอบางปะอิน วัดสุทธิรุจิราราม ทีอ่ ยู่ บา้ นสามขา ม.4 ต�ำบลบา้ นกรด อ�ำเภอบางปะอิน
อ�ำเภอบางปะหัน วัดเกาะเลิง่ ทีอ่ ยู่ ม.1 ต�ำบลบางปะหัน อ�ำเภอบางปะหัน วัดแกว้ ตา ทีอ่ ยู่ ม.1 ต�ำบลบางเพลิง อ�ำเภอบางปะหัน วัดไก่ ทีอ่ ยู่ บา้ นแจ้ง ม.3 ต�ำบลหันสัง อ�ำเภอบางปะหัน วัดโขดเขมาราม ทีอ่ ยู่ บา้ นโขด ม.2 ต�ำบลบา้ นขลอ้ อ�ำเภอบางปะหัน วัดคา่ ย ทีอ่ ยู่ คา่ ย ม.1 ต�ำบลขวัญเมือง อ�ำเภอบางปะหัน วัดโคก ทีอ่ ยู่ ม.4 ต�ำบลพุทเลา อ�ำเภอบางปะหัน วัดจอมเกษ ทีอ่ ยู่ บา้ นขยาย ม.2 ต�ำบลขยาย อ�ำเภอบางปะหัน วัดดอกไม้ ทีอ่ ยู่ บา้ นดอกไม้ ม.2 ต�ำบลหันสัง อ�ำเภอบางปะหัน วัดดาวคะนอง ทีอ่ ยู่ บา้ นโพธิส์ ามตน้ ม.1 ต�ำบลโพธิส์ ามตน้ อ�ำเภอบางปะหัน วัดตน้ สะตือ ทีอ่ ยู่ บา้ นสวนพริก ม.5 ต�ำบลขยาย อ�ำเภอบางปะหัน วัดตลาด ทีอ่ ยู่ บา้ นหันสัง ม.5 ต�ำบลหันสัง อ�ำเภอบางปะหัน วัดตะเคียน ทีอ่ ยู่ บา้ นตะเคียน ม.4 ต�ำบลขวัญเมือง อ�ำเภอบางปะหัน วัดตาลเอน ทีอ่ ยู่ บา้ นตาลเอน ม.1 ต�ำบลตาลเอน อ�ำเภอบางปะหัน วัดโตนด ทีอ่ ยู่ บา้ นโตนด ม.5 ต�ำบลบางนางร้า อ�ำเภอบางปะหัน วัดโตนด ทีอ่ ยู่ บางเดื่อ ม.6 ต�ำบลบางเดื่อ อ�ำเภอบางปะหัน วัดทอง ทีอ่ ยู่ บา้ นขวัญเมือง ม.2 ต�ำบลขวัญเมือง อ�ำเภอบางปะหัน วัดทางกลาง ทีอ่ ยู่ บา้ นทางกลาง ม.4 ต�ำบลทางกลาง อ�ำเภอบางปะหัน วัดเทพธาราราม ทีอ่ ยู่ โรงนอก ม.5 ต�ำบลเสาธง อ�ำเภอบางปะหัน วัดเทพอุปการาม ทีอ่ ยู่ บา้ นตานิม ม.2 ต�ำบลตานิม อ�ำเภอบางปะหัน
วัดนาค ทีอ่ ยู่ บา้ นบางปะหัน ม.7 ต�ำบลบางปะหัน อ�ำเภอบางปะหัน วัดบางเดื่อ ทีอ่ ยู่ บา้ นบางเดื่อ ม.5 ต�ำบลบางเดื่อ อ�ำเภอบางปะหัน วัดบางเพลิง ทีอ่ ยู่ บา้ นบางเพลิง ม.3 ต�ำบลบางเพลิง อ�ำเภอบางปะหัน วัดบา้ นแจ้ง ทีอ่ ยู่ บา้ นแจ้ง ม.1 ต�ำบลหันสัง วัดบา้ นมา้ ทีอ่ ยู่ บา้ นมา้ ม.3 ต�ำบลบา้ นมา้ อ�ำเภอบางปะหัน วัดประมุง ทีอ่ ยู่ บา้ นลี่ ม.3 ต�ำบลบา้ นลี่ อ�ำเภอบางปะหัน วัดผึ่งแดด ทีอ่ ยู่ บา้ นทับน้�ำ ม.4 ต�ำบลทับน้�ำ วัดโพธิท์ อง ทีอ่ ยู่ บา้ นโพธิท์ อง ม.1 ต�ำบลบา้ นมา้ อ�ำเภอบางปะหัน วัดโพธิห์ อม ทีอ่ ยู่ บา้ นโพธิห์ อม ม.3 ต�ำบลโพธิส์ ามตน้ อ�ำเภอบางปะหัน วัดมว่ ง ทีอ่ ยู่ บา้ นมว่ ง ม.5 ต�ำบลโพธิส์ ามตน้ อ�ำเภอบางปะหัน วัดวชิรธรรมาราม ทีอ่ ยู่ ใหม่ ม.4 ต�ำบลหันสัง อ�ำเภอบางปะหัน วัดวรนายรังสรรคเ์ จติบรรพตาราม ทีอ่ ยู่ ม.4 ต�ำบลบางปะหัน อ�ำเภอบางปะหัน วัดศรีภวังค์ ทีอ่ ยู่ บา้ นคลองสาร ม.1 ต�ำบลทับน้�ำ อ�ำเภอบางปะหัน วัดศาลาแดง ทีอ่ ยู่ บา้ นศาลาแดง ม.5 ต�ำบลบางปะหัน อ�ำเภอบางปะหัน วัดสบสวรรค์ ทีอ่ ยู่ โพธิส์ ามตน้ ม.8 ต�ำบลบางปะหัน อ�ำเภอบางปะหัน วัดเสาธงเกา่ ทีอ่ ยู่ บา้ นเสาธง ม.2 ต�ำบลเสาธง อ�ำเภอบางปะหัน วัดเสาธงใหม่ ทีอ่ ยู่ บา้ นเสาธง ม.4 ต�ำบลเสาธง อ�ำเภอบางปะหัน วัดหงส์ ทีอ่ ยู่ บา้ นหันสัง ม.5 ต�ำบลหันสัง อ�ำเภอบางปะหัน วัดหันสัง ทีอ่ ยู่ บา้ นหันสัง ม.7 ต�ำบลหันสัง อ�ำเภอบางปะหัน วัดอินกัลยา ทีอ่ ยู่ บา้ นลี่ ม.1 ต�ำบลบา้ นลี่ อ�ำเภอบางปะหัน
AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 187
187
24/5/2561 14:06:01
ท่องเที่ยวทางใจ 504 วัด ในเมืองมรดกโลก อโยธยากรุงเก่า
อ�ำเภอผักไห่
วัดล�ำตะเคียน ทีอ่ ยู่ บา้ นล�ำตะเคียน ม.3 ต�ำบลล�ำตะเคียน อ�ำเภอผักไห่ วัดหนา้ โคก ทีอ่ ยู่ บา้ นหนา้ โคก ม.2 ต�ำบลหนา้ โคก อ�ำเภอผักไห่
วัดคงษาสุทธาราม ทีอ่ ยู่ บา้ นลาดน้�ำเค็ม ม.1 ต�ำบลลาดน้�ำเค็ม อ�ำเภอผักไห่ วัดโคกทอง ทีอ่ ยู่ บา้ นกุฎี ม.12 ต�ำบลกุฎี อ�ำเภอผักไห่ วัดจักราช ทีอ่ ยู่ จักราช ม.6 ต�ำบลจักราช อ�ำเภอผักไห่ วัดชีโพน ทีอ่ ยู่ บา้ นชีโพน ม.1 ชวนเที่ยวบ้านขุนพิทักษ์ (หรือบ้านเขียว) ต�ำบลผักไห่ อ�ำเภอผักไห่ วัดดอนลาน วัดอมฤตสิทธาราม ทีอ่ ยู่ บา้ นดอนลาน ม.2 ทีอ่ ยู่ บา้ นอ�ำมฤต ม.3 ต�ำบลดอนลาน อ�ำเภอผักไห่ ต�ำบลอมฤต อ�ำเภอผักไห่ วัดตาลานใต้ ทีอ่ ยู่ บา้ นตาลานใต้ ม.1 อ�ำเภอภาชี ต�ำบลบา้ นใหญ่ อ�ำเภอผักไห่ วัดตาลานเหนือ ทีอ่ ยู่ บา้ นตาลาน ม.4 วัดขุมแกว้ ต�ำบลตาลาน อ�ำเภอผักไห่ ทีอ่ ยู่ บา้ นกระจิว ม.1 วัดตึกคชหิรัญศรัทธาราม ต�ำบลกระจิว อ�ำเภอภาชี ทีอ่ ยู่ บา้ นอ�ำมฤต ม.7 วัดโคกกรวด ต�ำบลอมฤต อ�ำเภอผักไห่ ทีอ่ ยู่ บา้ นโคกกรวด ม.12 วัดทา่ ดินแดง ต�ำบลโคกมว่ ง อ�ำเภอภาชี ทีอ่ ยู่ บา้ นทา่ ดินแดง ม.2 วัดโคกกลาง ต�ำบลทา่ ดินแดง อ�ำเภอผักไห่ ทีอ่ ยู่ ม.5 ต�ำบลหนองน้�ำใส วัดนาคู (สวา่ งอารมณ)์ อ�ำเภอภาชี ทีอ่ ยู่ บา้ นนาคู ม.5 วัดโคกมว่ ง ต�ำบลนาคู อ�ำเภอผักไห่ ทีอ่ ยู่ บา้ นโคกมว่ ง ม.1 วัดบา้ นแค ต�ำบลโคกมว่ ง อ�ำเภอภาชี ทีอ่ ยู่ บา้ นแค ม.6 วัดโคกสังข์ ต�ำบลบา้ นแค อ�ำเภอผักไห่ ทีอ่ ยู่ บา้ นโคกสังข์ ม.7 วัดบา้ นอ้อ ต�ำบลโคกมว่ ง อ�ำเภอภาชี ทีอ่ ยู่ บา้ นอ้อ ม.8 วัดเจริญธรรม ต�ำบลอมฤต อ�ำเภอผักไห่ ทีอ่ ยู่ บา้ นวัด ม.3 ต�ำบลภาชี วัดไผล่ อ้ ม อ�ำเภอภาชี ทีอ่ ยู่ บา้ นลาดน้�ำเค็ม ม.4 วัดซึก ต�ำบลลาดน้�ำเค็ม อ�ำเภอผักไห่ ทีอ่ ยู่ บา้ นซีก ม.1 วัดโพธิผักไห่ ต�ำบลพระแกว้ อ�ำเภอภาชี ทีอ่ ยู่ ผักไห่ ม.4 วัดดอนกลาง ต�ำบลผักไห่ อ�ำเภอผักไห่ ทีอ่ ยู่ ม.7 ต�ำบลพระแกว้ อ�ำเภอภาชี วัดโพธิเ์ ผือก วัดดอนหญา้ นาง ทีอ่ ยู่ บา้ นโคกช้าง ม.3 ทีอ่ ยู่ บา้ นดอนหญา้ นาง ม.3 ต�ำบลโคกช้าง อ�ำเภอผักไห่ ต�ำบลดอนหญา้ นาง อ�ำเภอภาชี วัดยา่ นอ่างทอง วัดตะโก ทีอ่ ยู่ บา้ นยา่ นอ่างทอง ม.6 ทีอ่ ยู่ ตะโก ม.2 ต�ำบลบา้ นใหญ่ อ�ำเภอผักไห่ ต�ำบลดอนหญา้ นาง อ�ำเภอภาชี วัดราษฎร์นิยม วัดทุง่ ชาน ทีอ่ ยู่ บา้ นหนองแขยง ม.7 ทีอ่ ยู่ บา้ นทุง่ ชาน ม.10 ต�ำบลผักไห่ อ�ำเภอผักไห่ ต�ำบลดอนหญา้ นาง อ�ำเภอภาชี วัดลาดชะโด วัดนาอุ่น ทีอ่ ยู่ บา้ นลาดชะโด ม.3 ทีอ่ ยู่ บา้ นไผล่ อ้ ม ม.3 ต�ำบลหนองน้�ำใหญ่ อ�ำเภอผักไห่ ต�ำบลไผล่ อ้ ม อ�ำเภอภาชี วัดลาดชิด วัดบา้ นพลับ ทีอ่ ยู่ บา้ นลาดชิด ม.6 ทีอ่ ยู่ บา้ นพลับ ม.6 ต�ำบลลาดชิด อ�ำเภอผักไห่ ต�ำบลดอนหญา้ นาง อ�ำเภอภาชี 188 SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 188
วัดผดุงธรรม ทีอ่ ยู่ บา้ นระเขน ม.3 ต�ำบลระโสม อ�ำเภอภาชี วัดพระแกว้ ทีอ่ ยู่ บา้ นพระแกว้ ม.6 ต�ำบลกระจิว อ�ำเภอภาชี วัดภาชี ทีอ่ ยู่ ม.6 ต�ำบลภาชี อ�ำเภอภาชี วัดมาบโพธิ์ ทีอ่ ยู่ บา้ นมาบโพธิ์ ม.4 ต�ำบลระโสม อ�ำเภอภาชี วัดวิมลสุนทร ทีอ่ ยู่ บา้ นหนองหัวควาย ม.4 ต�ำบลดอนหญา้ นาง อ�ำเภอภาชี วัดหนองกลาง ทีอ่ ยู่ บา้ นหนองกลาง ม.11 ต�ำบลไผล่ อ้ ม อ�ำเภอภาชี วัดหนองเครือบุญ ทีอ่ ยู่ บา้ นหนองเครือบุญ ม.6 ต�ำบลหนองน้�ำใส อ�ำเภอภาชี วัดหนองนาง ทีอ่ ยู่ หนองนาง ม.9 ต�ำบลระโสม อ�ำเภอภาชี วัดหนองนางเกา่ ทีอ่ ยู่ บา้ นป่าหวา้ ม.4 ต�ำบลโคกมว่ ง อ�ำเภอภาชี วัดหนองบัว ทีอ่ ยู่ หนองบัว ม.13 ต�ำบลพระแกว้ อ�ำเภอภาชี วัดหนองเป้า ทีอ่ ยู่ บา้ นหนองเป้า ม.1 ต�ำบลหนองน้�ำใส อ�ำเภอภาชี วัดหัวคุง้ ทีอ่ ยู่ บา้ นหัวคุง้ ม.9 ต�ำบลไผล่ อ้ ม อ�ำเภอภาชี วัดอุทการาม ทีอ่ ยู่ บา้ นหนองโดน ม.4 ต�ำบลภาชี อ�ำเภอภาชี
อ�ำเภอลาดบัวหลวง วัดคูส้ ลอดวุฒิโสภณ ทีอ่ ยู่ บา้ นคูส้ ลอดวุฒิโสภณ ม.6 ต�ำบลคูส้ ลอด อ�ำเภอลาดบัวหลวง วัดฉัตรทองด�ำริธรรม ทีอ่ ยู่ ม.6 ต�ำบลพระยาบันลือ อ�ำเภอลาดบัวหลวง วัดตรีพาราสีมาเขต ทีอ่ ยู่ สามเมือง ม.5 ต�ำบลสามเมือง อ�ำเภอลาดบัวหลวง วัดบันลือธรรม ทีอ่ ยู่ บา้ นตน้ ไทร ม.1 ต�ำบลพระยาบันลือ อ�ำเภอลาดบัวหลวง วัดปทุมวัน ทีอ่ ยู่ บา้ นคลองญีป่ ่ ุน ม.5 ต�ำบลหลักชัย อ�ำเภอลาดบัวหลวง
วัดโพธิป์ ระสิทธิ์ ทีอ่ ยู่ บา้ นพระยาบันลือ ม.3 ต�ำบลพระยาบันลือ อ�ำเภอลาดบัวหลวง วัดราษฎร์บ�ำรุง ทีอ่ ยู่ บา้ นหนองปลาดุก ม.7 ต�ำบลสิงหนาท อ�ำเภอลาดบัวหลวง วัดราษฎร์ปุณณาราม ทีอ่ ยู่ บา้ นหมอนหนึ่ง ม.8 ต�ำบลคลองพระยาบันลือ อ�ำเภอลาดบัวหลวง วัดลาดบัวหลวง ทีอ่ ยู่ บา้ นลาดบัวหลวง ม.3 ต�ำบลสามเมือง อ�ำเภอลาดบัวหลวง วัดลาดประทุมคงคาราม ทีอ่ ยู่ บา้ นลาดประทุม ม.8 ต�ำบลหลักชัย อ�ำเภอลาดบัวหลวง
“ UTAMA ”
Means abundant. “Anyone who pay respect to principle Buddha image in Mahaut ubosot, that person will be blessed with various fortune abundantly and so on”
วัดสุทธาวาส ทีอ่ ยู่ บา้ นตะพังโคลน ม.4 ต�ำบลลาดบัวหลวง อ�ำเภอลาดบัวหลวง วัดโสภณเจติการาม ทีอ่ ยู่ บา้ นคูม้ ักเมา่ ม.7 ต�ำบลคูส้ ลอด อ�ำเภอลาดบัวหลวง วัดหลักชัย ทีอ่ ยู่ บา้ นหลักชัย ม.2 ต�ำบลหลักชัย อ�ำเภอลาดบัวหลวง วัดใหมห่ ญา้ ไทร ทีอ่ ยู่ หญา้ ไทร ม.8 ต�ำบลลาดบัวหลวง อ�ำเภอลาดบัวหลวง วัดอินทอารี ทีอ่ ยู่ บา้ นเมขลา ม.5 ต�ำบลลาดบัวหลวง อ�ำเภอลาดบัวหลวง
อ�ำเภอวังน้อย วัดกุฎีประสิทธิ์ ทีอ่ ยู่ ม.1 ต�ำบลล�ำไทร อ�ำเภอวังนอ้ ย วัดชูจิตธรรมาราม ทีอ่ ยู่ บา้ นสนับทึบ ม.1 ต�ำบลสนับทึบ อ�ำเภอวังนอ้ ย
วัดทองจันทริการาม ทีอ่ ยู่ บา้ นคลอง 3 ม.3 ต�ำบลพยอม อ�ำเภอวังนอ้ ย วัดธรรมจริยา ทีอ่ ยู่ บา้ นคลองสิบ ม.2 ต�ำบลขา้ วงาม อ�ำเภอวังนอ้ ย วัดธรรมาราม ทีอ่ ยู่ หัวคลอง 27 ม.6 ต�ำบลสนับทึบ อ�ำเภอวังนอ้ ย วัดนอ้ มประชาสรรค์ ทีอ่ ยู่ บา้ นคลอง 27 ม.2 ต�ำบลชะแมบ อ�ำเภอวังนอ้ ย วัดบา้ นช้าง ทีอ่ ยู่ บา้ นช้าง ม.10 ต�ำบลล�ำตาเสา อ�ำเภอวังนอ้ ย วัดพะยอม ทีอ่ ยู่ คลองสอง ม.4 ต�ำบลพยอม อ�ำเภอวังนอ้ ย วัดไพฑูริยถ์ นิมาราม ทีอ่ ยู่ ม.5 ต�ำบลวังจุฬา อ�ำเภอวังนอ้ ย วัดมณฑลประสิทธิ์ ทีอ่ ยู่ ม.4 ต�ำบลวังนอ้ ย อ�ำเภอวังนอ้ ย วัดยมนาตามธรรม ทีอ่ ยู่ ถนนพหลโยธิน ต�ำบลชะแมบ อ�ำเภอวังนอ้ ย วัดราษฎรบรรจง ทีอ่ ยู่ บา้ นตาดง ม.1 วัดลาดทราย ทีอ่ ยู่ บา้ นลาดทราย ม.4 ต�ำบลล�ำไทร อ�ำเภอวังนอ้ ย วัดล�ำบัว ทีอ่ ยู่ บา้ นล�ำบัว ม.3 ต�ำบลหันตะเภา อ�ำเภอวังนอ้ ย วัดล�ำพระยาราษฎร์เจริญธรรม ทีอ่ ยู่ ล�ำพะยา ม.4 ต�ำบลวังจุฬา อ�ำเภอวังนอ้ ย วัดวงษส์ วรรค์ ทีอ่ ยู่ บา้ นคลอง 27 ม.1 ต�ำบลหันตะเภา อ�ำเภอวังนอ้ ย วัดศรีประชา ทีอ่ ยู่ บา้ นคลอง 6 ม.1 ต�ำบลชะแมบ อ�ำเภอวังนอ้ ย วัดสวา่ งอารมณ์ ทีอ่ ยู่ ม.1 ต�ำบลวังจุฬา อ�ำเภอวังนอ้ ย วัดสหกรณธ์ รรมนิมิต ทีอ่ ยู่ ชุมนุมสหกรณ์ 9 ม.7 วัดสันติธรรมาราม ทีอ่ ยู่ บา้ นคลอง 26 ม.3 ต�ำบลวังนอ้ ย อ�ำเภอวังนอ้ ย วัดสุคันธาราม ทีอ่ ยู่ บา้ นเสาวังคา ม.6 ต�ำบลบอ่ ตาโล่ อ�ำเภอวังนอ้ ย วัดหนองโสน ทีอ่ ยู่ หนองโสน ม.4 ต�ำบลสนับทึบ อ�ำเภอวังนอ้ ย
24/5/2561 14:06:24
THE IMPORTANT TEMPLES AYUTTHAYA
อ�ำเภอเสนา วัดกระโดงทอง ทีอ่ ยู่ บา้ นปลายนา ม.7 ต�ำบลบา้ นโพธิ์ อ�ำเภอเสนา วัดกลาง ทีอ่ ยู่ ม.11 ต�ำบลบา้ นโพธิ์ อ�ำเภอเสนา วัดกลางคลองวัฒนาราม ทีอ่ ยู่ ม.1 ต�ำบลเจ้าเสด็จ อ�ำเภอเสนา วัดเกาะราษฎร์ศรัทธาธรรม ทีอ่ ยู่ ม.3 ต�ำบลบา้ นโพธิ์ อ�ำเภอเสนา วัดแกว้ สุวรรณ ทีอ่ ยู่ บา้ นปิ่ นแกว้ ม.3 ต�ำบลชายนา อ�ำเภอเสนา วัดโคกจุฬา ทีอ่ ยู่ บา้ นโคกจุฬา ม.9 ต�ำบลสามตุม่ อ�ำเภอเสนา วัดโคกเสือ ทีอ่ ยู่ บา้ นโคกเสือ ม.3 ต�ำบลบา้ นแพน อ�ำเภอเสนา วัดจระเขไ้ ล่ ทีอ่ ยู่ คลองจรเข้ ม.2 ต�ำบลดอนทอง อ�ำเภอเสนา วัดเจ้าเจ็ดนอก ทีอ่ ยู่ ถนนสุขาภิบาลเจ้าเจ็ด ม.3 ต�ำบลเจ้าเจ็ด อ�ำเภอเสนา วัดเจ้าเจ็ดใน ทีอ่ ยู่ ถนนสุขาภิบาลเจ้าเจ็ด ม.3 ต�ำบลเจ้าเจ็ด อ�ำเภอเสนา วัดเจ้าแปดทรงไตรย์ ทีอ่ ยู่ บา้ นเจ้าแปด ม.2 ต�ำบลมารวิชัย อ�ำเภอเสนา วัดชายนา ทีอ่ ยู่ ชายนา ม.7 ต�ำบลเจ้าเจ็ด อ�ำเภอเสนา วัดไชยภูมิ ทีอ่ ยู่ ม.2 ต�ำบลชายนา อ�ำเภอเสนา วัดบันไดช้าง ทีอ่ ยู่ บา้ นหัวเวียง ม.7 ต�ำบลหัวเวียง อ�ำเภอเสนา วัดบางกะทิง ทีอ่ ยู่ บา้ นบางกะทิง ม.3 ต�ำบลหัวเวียง อ�ำเภอเสนา วัดบางนมโค ทีอ่ ยู่ บา้ นบางนมโค ม.3 ต�ำบลบางนมโค อ�ำเภอเสนา
อ�ำเภอบางซ้าย
WAT BAN PAN
วัดบา้ นแพน ทีอ่ ยู่ บา้ นสามกอ ม.1 ต�ำบลสามกอ อ�ำเภอเสนา วัดโบสถ์ ทีอ่ ยู่ บา้ นกระทุม่ ม.6 ต�ำบลบา้ นกระทุม่ อ�ำเภอเสนา วัดโบสถ์ ทีอ่ ยู่ บา้ นช่างเหล็ก ม.8 ต�ำบลบา้ นแพน อ�ำเภอเสนา วัดใบบัว ทีอ่ ยู่ บา้ นใบบัว ม.2 ต�ำบลบา้ นกระทุม่ อ�ำเภอเสนา วัดประดูโ่ ลกเชฎฐ์ ทีอ่ ยู่ บา้ นหัวเวียง ม.5 ต�ำบลหัวเวียง อ�ำเภอเสนา วัดปิ่ นแกว้ ทีอ่ ยู่ กิง่ แกว้ ม.5 ต�ำบลชายนา อ�ำเภอเสนา วัดโพธิ์ ทีอ่ ยู่ บา้ นโพธิ์ ม.4 ต�ำบลบา้ นแพน อ�ำเภอเสนา วัดมารวิชัย ทีอ่ ยู่ บา้ นคลองขนมจีน ม.9 ต�ำบลบางนมโค อ�ำเภอเสนา วัดยวด ทีอ่ ยู่ บา้ นเลียง ม.7 ต�ำบลบา้ นแพน อ�ำเภอเสนา วัดรางจระเข้ ทีอ่ ยู่ บา้ นรางจระเข้ ม.10 ต�ำบลบา้ นโพธิ์ อ�ำเภอเสนา วัดสามกอ ทีอ่ ยู่ บา้ นสามกอ ม.2 ต�ำบลสามกอ อ�ำเภอเสนา วัดสามตุม่ ทีอ่ ยู่ บา้ นสามตุม่ ม.4 ต�ำบลสามตุม่ อ�ำเภอเสนา วัดสุธาโภชน์ ทีอ่ ยู่ บา้ นขนมจีน ม.8 ต�ำบลบางนมโค อ�ำเภอเสนา วัดสุวรรณเจดีย์ ทีอ่ ยู่ บา้ นคลองบางหลวง ม.3 ต�ำบลหัวเวียง อ�ำเภอเสนา วัดหนองล�ำเจียก ทีอ่ ยู่ บา้ นหนองล�ำเจียก ม.7 ต�ำบลบา้ นแถว อ�ำเภอเสนา วัดหัวเวียง ทีอ่ ยู่ บา้ นหัวเวียง ม.2 ต�ำบลหัวเวียง อ�ำเภอเสนา วัดอู่ส�ำเภา ทีอ่ ยู่ อู่ตะเภา ม.4 ต�ำบลมารวิชัย อ�ำเภอเสนา
วัดแกว้ ฟ้า ทีอ่ ยู่ บา้ นแกว้ ฟ้า ม.1 ต�ำบลแกว้ ฟ้า อ�ำเภอบางซ้าย วัดคลองตัน ทีอ่ ยู่ บา้ นคลองตัน ม.5 ต�ำบลบางซ้าย อ�ำเภอบางซ้าย วัดดอนพัฒนาราม ทีอ่ ยู่ ม.7 ต�ำบลวังพัฒนา อ�ำเภอบางซ้าย
ส� ำ นั ก ปฏิ บั ติ ธ รรมประจ� ำ จั ง หวั ด อยุ ธ ยา แห่ ง ที่ 5
วัดทางหลวง ทีอ่ ยู่ บา้ นทางหลวง ม.4 ต�ำบลปลายกลัด อ�ำเภอบางซ้าย วัดเทพมงคล ทีอ่ ยู่ บา้ นรางอ้ายทึม ม.5 ต�ำบลเทพมงคล อ�ำเภอบางซ้าย วัดบางซ้ายนอก ทีอ่ ยู่ บา้ นเตา่ เลา่ ม.8 ต�ำบลเตา่ เลา่ อ�ำเภอบางซ้าย วัดบางซ้ายใน ทีอ่ ยู่ บา้ นบางซ้าย ม.4 ต�ำบลเตา่ เลา่ อ�ำเภอบางซ้าย วัดพรหมนิมิต ทีอ่ ยู่ บา้ นโคกตาพรหม ม.10 ต�ำบลเตา่ เลา่ อ�ำเภอบางซ้าย วัดมฤตทายวัน ทีอ่ ยู่ บา้ นรางเนื้อตาย ม.8 ต�ำบลเทพมงคล อ�ำเภอบางซ้าย วัดวังชะโด ทีอ่ ยู่ บา้ นวังชะโด ม.2 ต�ำบลวังพัฒนา อ�ำเภอบางซ้าย วัดเศวตศิลาราม ทีอ่ ยู่ บา้ นล�ำโพธิทอง ม.7 ต�ำบลปลายกลัด อ�ำเภอบางซ้าย วัดสามเพลง ทีอ่ ยู่ บา้ นสามเพลง ม.9 ต�ำบลปลายกลัด อ�ำเภอบางซ้าย วัดสุคนธาราม ทีอ่ ยู่ บา้ นเทพมงคล ม.3 ต�ำบลเทพมงคล อ�ำเภอบางซ้าย วัดใหมต่ า้ นทาน ทีอ่ ยู่ บา้ นตา้ นทาน ม.8 ต�ำบลปลายกลัด อ�ำเภอบางซ้าย วัดใหมห่ นองคต ทีอ่ ยู่ บา้ นหนองคต ม.3 ต�ำบลวังพัฒนา อ�ำเภอบางซ้าย
อ�ำเภออุทัย วัดกลางขุย ทีอ่ ยู่ บา้ นกลางขุย ม.5 ต�ำบลหนองไมซ้ ุง อ�ำเภออุทัย วัดกะสังข์ ทีอ่ ยู่ บา้ นกะสังข์ ม.1 ต�ำบลธนู อ�ำเภออุทัย วัดกุม่ แต้ ทีอ่ ยู่ บา้ นกุม่ แต้ ม.6 ต�ำบลสามบัณฑิต อ�ำเภออุทัย วัดขนอน ทีอ่ ยู่ บา้ นขนอน ม.6 ต�ำบลหนองน้�ำสม้ อ�ำเภออุทัย วัดขุนทราย ทีอ่ ยู่ บา้ นทุง่ ชายเคือง ม.10 ต�ำบลอุทัย อ�ำเภออุทัย วัดขุนทิพย์ ทีอ่ ยู่ บา้ นขุนทิฑย์ ม.12 ต�ำบลธนู อ�ำเภออุทัย วัดเขาดิน ทีอ่ ยู่ บา้ นเขาดิน ม.4 ต�ำบลธนู อ�ำเภออุทัย วัดคานหาม ทีอ่ ยู่ บา้ นคานหาม ม.4 ต�ำบลคานหาม อ�ำเภออุทัย วัดโคกช้าง ทีอ่ ยู่ สามงา่ ม ม.1 ต�ำบลอุทัย อ�ำเภออุทัย วัดโคกโพธิ์ ทีอ่ ยู่ บา้ นโคกโพธิ์ ม.7 ต�ำบลโพสาวหาญ อ�ำเภออุทัย วัดโคกมะยม ทีอ่ ยู่ บา้ นโคกมะยม ม.5 ต�ำบลคานหาม อ�ำเภออุทัย วัดดอนพุทรา ทีอ่ ยู่ ม.10 ต�ำบลสามบัณฑิต อ�ำเภออุทัย วัดโตนด ทีอ่ ยู่ บา้ นโตนด ม.10 ต�ำบลขา้ วเมา่ อ�ำเภออุทัย วัดโตนดเตีย้ ทีอ่ ยู่ บา้ นโตนดเตีย้ ม.4 ต�ำบลอุทัย อ�ำเภออุทัย วัดเทพกุญชร ทีอ่ ยู่ บา้ นช้าง ม.3 ต�ำบลบา้ นช้าง อ�ำเภออุทัย วัดไทรงาม ทีอ่ ยู่ บา้ นคุง้ ระก�ำ ม.1 ต�ำบลเสนา อ�ำเภออุทัย วัดไทรพุทธรังสี ทีอ่ ยู่ คลองคต ม.11 ต�ำบลขา้ วเมา่ อ�ำเภออุทัย วัดนางชี ทีอ่ ยู่ บา้ นนางชี ม.9 ต�ำบลบา้ นหีบ อ�ำเภออุทัย วัดบา้ นหีบ ทีอ่ ยู่ บา้ นหีบ ม.1 ต�ำบลบา้ นหีบ อ�ำเภออุทัย
ด้ ว ยแรงแห่ ง ศรั ท ธาในพระพุ ท ธศาสนา และบู ร พมหากษั ติ ย ์ ไ ทย
วัดพรานนก ทีอ่ ยู่ บา้ นพรานนก ม.2 ต�ำบลโพสาวหาญ อ�ำเภออุทัย วัดโพธิส์ าวหาญ ทีอ่ ยู่ บา้ นโพธิส์ าวหาญ ม.3 ต�ำบลโพสาวหาญ อ�ำเภออุทัย วัดร่มโพธิ์ ทีอ่ ยู่ หนองไมซ้ ุง ม.9 ต�ำบลคานหาม อ�ำเภออุทัย วัดลุม่ ทีอ่ ยู่ บา้ นลุม่ ม.2 ต�ำบลโพสาวหาญ อ�ำเภออุทัย วัดสนามทอง ทีอ่ ยู่ บา้ นสนามทอง ม.3 ต�ำบลหนองไมซ้ ุง อ�ำเภออุทัย วัดสะแก ทีอ่ ยู่ บา้ นสะแก ม.7 ต�ำบลธนู อ�ำเภออุทัย วัดสามบัณฑิต ทีอ่ ยู่ บา้ นสามบัณฑิต ม.8 ต�ำบลสามบัณฑิต อ�ำเภออุทัย วัดเสนานิมิต ทีอ่ ยู่ วัดเสนา ม.6 ต�ำบลบา้ นหีบ อ�ำเภออุทัย วัดหนองน้�ำสม้ ทีอ่ ยู่ บา้ นหนองน้�ำสม้ ม.3 ต�ำบลหนองน้�ำสม้ อ�ำเภออุทัย วัดหนองไมซ้ ุง ทีอ่ ยู่ บา้ นหนองไมซ้ ุง ม.8 ต�ำบลหนองไมซ้ ุง อ�ำเภออุทัย วัดอุทัย ทีอ่ ยู่ บา้ นละมุ ม.2 ต�ำบลเสนา อ�ำเภออุทัย
อ�ำเภอมหาราช วัดกระโจมทอง ทีอ่ ยู่ ม.2 ต�ำบลพิตเพียน อ�ำเภอมหาราช วัดกลาง ทีอ่ ยู่ บา้ นขวางกลาง ม.3 ต�ำบลบา้ นขวาง อ�ำเภอมหาราช วัดกลางทุง่ ทีอ่ ยู่ บา้ นนา ม.2 ต�ำบลบา้ นนา อ�ำเภอมหาราช วัดกุฎีทอง ม.7 ต�ำบลพิตเพียน อ�ำเภอมหาราช วัดคลองบุญ ทีอ่ ยู่ บา้ นคลองควาย ม.1 ต�ำบลน้�ำเตา้ อ�ำเภอมหาราช AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 189
189
24/5/2561 14:06:14
ท่องเที่ยวทางใจ 504 วัด ในเมืองมรดกโลก อโยธยากรุงเก่า
วัดเจ้าปลุก ทีอ่ ยู่ บา้ นเจ้าปลุก ม.4 ต�ำบลเจ้าปลุก อ�ำเภอมหาราช วัดแจ้ง ทีอ่ ยู่ บา้ นไผล่ อ้ ม ม.6 ต�ำบลพิตเพียน อ�ำเภอมหาราช วัดทา่ ทีอ่ ยู่ บา้ นนา ม.1 ต�ำบลบา้ นนา อ�ำเภอมหาราช วัดทา่ ตอ ทีอ่ ยู่ บา้ นทา่ ตอ ม.3 ต�ำบลทา่ ตอ อ�ำเภอมหาราช วัดเทพสุวรรณ ทีอ่ ยู่ บา้ นขวางใต้ ม.4 ต�ำบลบา้ นขวาง อ�ำเภอมหาราช วัดธรรมรส ทีอ่ ยู่ บา้ นใหม่ ม.2 ต�ำบลบา้ นใหม่ อ�ำเภอมหาราช วัดนาค ทีอ่ ยู่ บา้ นพิตเพียน ม.3 ต�ำบลพิตเพียน อ�ำเภอมหาราช วัดน้�ำเตา้ ทีอ่ ยู่ บา้ นน้�ำเตา้ ม.3 ต�ำบลน้�ำเตา้ อ�ำเภอมหาราช วัดบวรพุทธาวาส ทีอ่ ยู่ บางนา ม.1 ต�ำบลบางนา อ�ำเภอมหาราช วัดบางสงบ ทีอ่ ยู่ บา้ นบางนา ม.4 ต�ำบลบางนา อ�ำเภอมหาราช วัดโบสถ์ ทีอ่ ยู่ บา้ นเจ้าปลุก ม.2 ต�ำบลเจ้าปลุก อ�ำเภอมหาราช วัดโบสถ์ ทีอ่ ยู่ บา้ นไทย ม.4 ต�ำบลมหาราช อ�ำเภอมหาราช
“หลวงพ่ อ พระศรี โ คดม” วิ ห ารร้ า งสมั ย กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา อยู ่ ก ลางทุ ่ ง นา ที่ ถู ก รากต้ น โพธิ์ ปกคลุ ม ตามธรรมชาติ อ ย่ า งสวยงาม
วัดประดูต่ ะบอง ทีอ่ ยู่ บา้ นกะทุม่ ม.2 ต�ำบลกระทุม่ อ�ำเภอมหาราช วัดปากคลอง ทีอ่ ยู่ บา้ นปากคลอง ม.6 ต�ำบลหัวไผ่ อ�ำเภอมหาราช วัดป่าศรีถาวรอยุธยา ทีอ่ ยู่ ม.4 ต�ำบลบา้ นนา วัดโพธิ์ ทีอ่ ยู่ บา้ นบางโรงช้าง ม.4 ต�ำบลโรงช้าง อ�ำเภอมหาราช
190
วัดโพธิท์ องหนองจิก ทีอ่ ยู่ บา้ นหนองจิก ม.4 ต�ำบลกระทุม่ อ�ำเภอมหาราช วัดโพธิป์ ระสิทธิ์ ทีอ่ ยู่ บา้ นโพลาว ม.4 ต�ำบลบา้ นนา อ�ำเภอมหาราช วัดวัง ทีอ่ ยู่ บา้ นมหาราช ม.2 ต�ำบลมหาราช อ�ำเภอมหาราช วัดเวฬุวัน ทีอ่ ยู่ บา้ นโรงช้าง ม.2 ต�ำบลโรงช้าง อ�ำเภอมหาราช วัดสุเมธ ทีอ่ ยู่ บา้ นใหม่ ม.4 ต�ำบลบา้ นใหม่ อ�ำเภอมหาราช วัดสุวรรณเจดีย์ ทีอ่ ยู่ บา้ นขวางเหนือ ม.2 ต�ำบลบา้ นขวาง อ�ำเภอมหาราช วัดใหมป่ ากบาง ทีอ่ ยู่ บา้ นปากบาง ม.1 ต�ำบลทา่ ตอ อ�ำเภอมหาราช วัดอุโลม ทีอ่ ยู่ บา้ นช่องลม ม.3 ต�ำบลมหาราช อ�ำเภอมหาราช
อ�ำเภอบ้านแพรก วัดไกเ่ ตีย้ ทีอ่ ยู่ บา้ นคลองนอ้ ย ม.5 ต�ำบลคลองนอ้ ย อ�ำเภอบา้ นแพรก วัดเขียนลาย ทีอ่ ยู่ ม.4 ต�ำบลบา้ นแพรก อ�ำเภอบา้ นแพรก วัดทา้ วอู่ทอง ทีอ่ ยู่ บา้ นใหม่ ม.4 ต�ำบลบา้ นใหม่ อ�ำเภอบา้ นแพรก วัดนครโปรดสัตว์ ทีอ่ ยู่ ม.3 ต�ำบลคลองนอ้ ย อ�ำเภอบา้ นแพรก วัดโบสถ์ ทีอ่ ยู่ บา้ นแพรก ม.1 ต�ำบลบา้ นแพรก อ�ำเภอบา้ นแพรก วัดส�ำพะเนียง ทีอ่ ยู่ บา้ นส�ำพะเนียง ม.6 ต�ำบลส�ำพะเนียง อ�ำเภอบา้ นแพรก วัดหลวงพอ่ เขียว ทีอ่ ยู่ บา้ นส�ำพะเนัยง ม.2 ต�ำบลส�ำพะเนียง อ�ำเภอบา้ นแพรก วัดใหมส่ องห้อง ทีอ่ ยู่ สองห้อง ม.5 ต�ำบลสองห้อง อ�ำเภอบา้ นแพรก
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 190
24/5/2561 14:06:35
Ayutthaya HISTORIC CITY OF
Founded c. 1350, Ayutthaya became the second Siamese capital after Sukhothai. It was destroyed by the Burmese in the 18th century. Its remains, characterized by the prang (reliquary towers) and gigantic monasteries, give an idea of its past splendour. AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 191
191
24/5/2561 14:06:34
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดป่าโค
พระยอดชาย สุ นฺ ท โร ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง เจ้ า อาวาสวั ด ป่ า โค
วัดป่าโค (บ้านศาลาเกวียน) ตั้งอยู่ เลขที่ 39 ต�ำบลหันตรา อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา
จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา ในพื้ น ที่ เ ขตเทศบาลนครพระนครศรี อ ยุ ธ ยา มี เ นื้ อ ที่ ทั้ ง สิ้ น 23 ไร่ อาณาเขต : ทิ ศ ตะวั น ออก จรดทางรถไฟ ทิ ศ ตะวั น ตก จรดแม่ น�้ ำ ป่ า สั ก ทิ ศ เหนื อ จรดคลองบ้ า นม้ า ทิ ศ ใต้ จรดคลองทราย วั ด ป่ า โค เป็ น วั ด โบราณสมั ย อยุ ธ ยาตอนปลาย ตามประวั ติ ก ล่ า วไว้ ว ่ า ได้ จั ด ตั้ ง เป็ น วั ด เมื่ อ พ.ศ.2100 หรื อ ก่ อ นเสี ย กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา 200 ปี มี อ ายุ ยื น ยาวมากว่ า 500 ปี มี เ นื้ อ ที่ 23 ไร่ 1 งาน 14 ตารางวา 192
ตครํ ว ปลาเสน โย นโร อุปนยฺหติ ปตฺตาปิ สุรภี วายนฺติ เอวํ ธีรูปเสวนา คนห่อกฤษณาด้วยใบไม้ แม้ ใบไม้ก็หอมไปด้วยฉันใด การคบกับนักปราชญ์ก็ฉันนั้น (พุทธพจน์)
เดิมเป็นวัดสายวิปัสสนากัมมัฏฐาน เช่น เดี ย วกั บ วั ด อื่ น ๆ ในกลุ ่ ม อโยธยา ตั้ ง อยู ่ สามแยกปากคลองบ้ า นม้ า ต� ำ บลหั น ตรา ที่ เ ป็ น สมรภู มิ เ ลื อ ดแห่ ง สงคราม เมื่ อ ครั้ ง ที่ พม่ายกทัพมารุกรานไทยทั้ง 2 ครั้ง เมื่อปี พ.ศ. 2310 วั ด ป่ า โคถู ก เผาย่ อ ยยั บ อุ โ บสถเก่ า พั ง ทลาย ต้ อ งสร้ า งขึ้ น ใหม่ ใ น พ.ศ.2517 จนมองไม่ออกว่ามีอายุยืนยาวกว่า 500 ปี
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 192
24/05/61 04:37:32 PM
จากข้อสังเกตของนักวิชาการ, นักโบราณคดี, นั ก ประวั ติ ศ าสตร์ และให้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ วัดป่าโค(บ้านศาลาเกวียน) ไว้มาก โดยเฉพาะ วั ด ดั ง กล่ า วเป็ น เส้ น ทางผ่ า นทางการสั ญ จร ทางน�้ำของกวีเอก “สุนทรภู่” ในคราวไปไหว้ พระพุทธบาทที่จังหวัดสระบุรี ภายในอุโบสถของวัดป่าโค มีภาพเขียน สีนำ�้ มันเกีย่ วกับพุทธประวัติ ฝีมอื ของนายประยูร อุ ลุ ช าฎะ ศิ ล ปิ น แห่ ง ชาติ สาขาทั ศ นศิ ล ป์ (วิจติ รศิลป์) ปี 2535 เจ้าของนามปากกา พลูหลวง หรือ น.ณ ปากน�้ำ ผู้เขียนถวายเป็นพุทธบูชา ด้วยตนเองทั้งหมด โดยใช้เวลาเขียนภาพนาน ถึงปีเศษ จากพ.ศ.2518 - 2519 วั ด ป่ า โคได้ จั ด ตั้ ง เป็ น ศู น ย์ ก ารศึ ก ษา พระพุทธศาสนาวันอาทิตย์แห่งแรกของจังหวัด พระนครศรีอยุธยา เพื่อให้นักเรียน นักศึกษา และผู้ที่สนใจทั่วไปได้เรียนและศึกษาหลักสูตร ธรรมศึกษาตรี ธรรมศึกษาโท และธรรมศึกษาเอก ตลอดจนร่ ว มจั ด กิ จ กรรมในวั น ส� ำ คั ญ ทาง พระพุ ท ธศาสนาของพุ ท ธศาสนิ ก ชน และมี โรงเรียนเทศบาลวัดป่าโค ซึ่งเป็นสถานศึกษา อีกแห่งหนึ่งที่ติดกับวัดป่าโค สังกัดส�ำนักงาน เทศบาลนครพระนครศรีอยุธยา ปัจจุบันวัดป่าโค มีพระยอดชาย สุนฺทโร เป็ น เจ้ า อาวาส โดยทางวั ด เปิ ด ให้ ญ าติ โ ยม สาธุ ช นทั่ ว ไป ได้ เ ดิ น ทางมากราบไหว้ บู ช า ท�ำบุญท�ำทาน ให้อาหารปลาทีแ่ ม่นำ�้ ป่าสักข้างวัด และปฏิ บั ติ ธ รรม มี พ ระประธานในอุ โ บสถ พระนามว่า พระพุทธโคดม
การเดินทางไปวัดป่าโค(บ้านศาลาเกวียน) 1.จากตัวเมืองอยุธยา วิ่งตามถนนโรจนะ (ขาออกไปวังน้อย) ถึงแม่น�้ำป่าสัก ให้ข้าม สะพานปรี ดี ธ� ำ รง (ใกล้ ส ะพานจะมี โ รงแรม กรุงศรีริเวอร์ สะพานปรีดีธ�ำรง คือสะพานเก่า อยู่ตรงกลาง ขนาบข้างด้วยสะพานใหม่ คือ สะพานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช กับสะพาน สมเด็จพระเอกาทศรถ) แล้วเลี้ยวซ้าย ผ่าน
สถานีรถไฟอยุธยาไปประมาณ 4 กิโลเมตร วัดอยู่ซ้ายมือของทางรถไฟ 2.จากถนนสายเอเชีย วิ่งเข้าถนนโรจนะ ออกทางคู่ขนานแล้วเลี้ยวขวาลอดใต้สะพาน ปรีดีธ�ำรง (ใกล้ๆ สะพานจะมีโรงแรมกรุงศรี ริเวอร์) วิ่งผ่านสถานีรถไฟอยุธยาไปประมาณ 4 กิโลเมตร วัดอยู่ซ้ายมือของทางรถไฟ AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 193
193
24/05/61 04:37:48 PM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดใหญ่ชัยมงคล
พระครู พิ ศ าลสารกิ จ (ขวั ญ ) ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง เจ้ า อาวาส
วั ด ใหญ่ ชั ย มงคล ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 40/3 หมู ่ ที่ 3 ต� ำ บล
คลองสวนพลู อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เดิ ม ชื่ อ “วั ด ป่ า แก้ ว ” หรื อ “วั ด เจ้ า ไท” ตั้ ง อยู ่ ท างทิ ศ ตะวั น ออก เฉียงใต้ของเกาะพระนครศรีอยุธยา จากการสันนิษฐานสร้างขึน้ เมือ่ พ.ศ. 1900 เป็นที่พ�ำนักของพระภิกษุคณะป่าแก้ว ซึ่งมี สมเด็จพระวันรัตน์* เป็นประธานสงฆ์ จึงได้ชื่อว่า วัดเจ้าพระยาไทยคณะป่าแก้ว หมายเหตุ * สมเด็จพระวันรัตน์ (อ่านว่า วันนะรัด) แปลว่า ผูย้ นิ ดีในการอยูป่ า่ ผูร้ กั การอยูป่ า่ เดิมใช้ค�ำว่า พนรัตน์ และ วันรัตน์ ซึ่งแปลว่า ป่าแก้ว
194
วิหารพระพุทธไสยาสน์ เมือ่ เดินผ่านประตูทางเข้าด้านในก็จะพบวิหารพระพุทธไสยาสน์ อยู่ทางซ้ายมือภายในประดิษฐานพระพุทธไสยาสน์ซึ่งสร้างขึ้นใน แผ่นดินของ สมเด็จพระนเรศวรมหาราชเพื่อใช้เป็นที่สักการบูชา และปฏิบัติพระกรรมฐาน พระพุทธรูปองค์นี้ได้รับการปฏิสังขรณ์ ใหม่ในปี พ.ศ.2508 รูปแบบอาคารเป็นลักษณะวิหาร สันนิษฐานว่ามีประตูทางเข้าอยู่ 2 ช่องทางด้านทิศเหนือ (ปัจจุบันได้สูญสิ้นหมดแล้ว) ภายในอาคาร มีหน้าต่างสี่เหลี่ยมเพียง 4 บาน เสาของอาคารเป็นลักษณะกลม ปรากฏร่องรอยบัวหัวเสาที่ประดับอยู่บนยอด องค์พระประธานของ วิหารหันหน้าไปทางทิศตะวันออกอันเป็นด้านหน้าของวัด ภายหลัง ได้รับการปฏิสังขรณ์และบูรณะเรื่อยมา
SBL บันทึกประเทศไทย I AYUTTHAYA
.indd 194
26/05/61 10:29:51 AM
พระอุโบสถ เดิมสร้างขึ้นในสมัยพระเจ้าอู่ทอง ใช้เป็น สถานทีป่ ฏิบตั กิ รรมฐานรวมทัง้ ประกอบพิธกี รรม ต่างๆ พระอุโบสถหลังนี้เคยถูกใช้เป็นสถานที่ นัดพบของเหล่าขุนนาง น�ำโดยขุนพิเรนทรเทพ และพรรคพวก ซึ่ ง มาเสี่ ย งเที ย นเพื่ อจะเป็ น นิมติ หมายในการไปปราบขุนวรวงศาธิราช และ ท้าวศรีสุดาจันทร์ วิธีการเสี่ยงเทียนคือการฟั่น เทียนขึ้นมา 2 เล่ม เล่มหนึ่งแทนตัวขุนวรวง
ศาธิราช กษัตริย์ที่นักวิชาการหลายท่านไม่นับ รวมว่าเป็นหนึ่งในกษัตริย์อยุธยา เทียนอีกเล่ม หนึง่ แทนตัวพระเฑียรราชา หน่อเนือ้ เชือ้ กษัตริย์ อันหลบหลีกปัญหาการแย่งชิงบัลลังก์ และไป บวชอยู่ที่วัดราชประดิษฐาน และจุดเทียนขึ้น พร้ อ มกั น แต่ เ ที ย นเล่ ม ที่ เ ป็ น ตั ว แทนของขุ น วรวงศาธิราช มีเหตุให้ดับลงก่อนจึงถือว่าการ ล้มล้างจะเป็น ผลส�ำเร็จ
ภายในอุโบสถมีพระพุทธรูปส�ำคัญหลายองค์ ส่วนที่เป็นองค์ประธานเป็นพระพุทธรูปซึ่งมี ลั ก ษณะเด่ น จากที่ อ่ื น คื อ ปั ้ น ด้ ว ยหิ น ทราย ตลอดทั้งองค์ ส่วนที่เป็นจีวรถูกลงรักปิดทอง ประดับแก้ว ส่วนที่ไม่ใช่จีวรนั้นว่างเว้นเห็นเป็น เนื้อหินทรายที่สวยงามสร้างขึ้นในสมัยพระเจ้า อู่ทอง ลักษณะเป็นปางมารวิชัย หรือลักษณะ ปางสะดุ้งมาร
วิหารพระพุทธไสยาสน์ เมื่อเดิน ผ่านประตูทางเข้าด้านในก็จะพบวิหาร พระพุทธไสยาสน์อยู่ทางซ้ายมือภายในประดิษฐาน พระพุทธไสยาสน์ซึ่งสร้างขึ้นในแผ่นดินของ สมเด็จ พระนเรศวรมหาราชเพื่อใช้เป็นที่สักการบูชา และ ปฏิ บั ติ พ ระกรรมฐาน พระพุ ท ธรู ป องค์ นี้ ไ ด้ รั บ การปฏิสังขรณ์ใหม่ในปี พ.ศ.2508 รูปแบบอาคารเป็นลักษณะวิหาร สันนิษฐานว่ามี ประตูทางเข้าอยู่ 2 ช่องทางด้านทิศเหนือ (ปัจจุบัน ได้สูญสิน้ หมดแล้ว) ภายในอาคารมีหน้าต่างสีเ่ หลีย่ ม เพียง 4 บาน เสาของอาคารเป็นลักษณะกลมปรากฏ ร่องรอยบัวหัวเสาทีป่ ระดับอยูบ่ นยอด องค์พระประธาน ของวิ ห ารหั น หน้ า ไปทางทิ ศ ตะวั น ออกอั น เป็ น ด้านหน้าของวัด ภายหลังได้รับการปฏิสังขรณ์ AYUTTHAYA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 195
195
21/05/61 05:38:57 PM
หลวงพ่อโตหรือพระพุ ท ธไตรรั ตนนายก วั ดพนั ญ เชิ ง วรวิ หาร
.indd 196
25/5/2561 17:23:36