70 อุบลราชธานี

Page 1

ฉบับที่ 70 จังหวัดอุบลราชธานี พ.ศ. 2561

Magazine

EXCLUSIVE

UBON

RATCHATHANI

นายสฤษดิ์ วิฑูรย์ ผู้ว่าราชการจังหวัดอุบลราชธานี

อุ บ ลราชธานี ศรี ว นาลั ยประเทศ

“อุบลฯ เมืองน่าอยู่ คู่การพัฒนาทุกมิติ” สังคม Digital ทันกระแส ทันโลก & บนเสน่ห์ “3 ธรรม”

SPECIAL INTERVIEW ร่วมขับเคลื่อน “อุบลฯ เมืองน่าอยู่” กับรองผู้ว่าราชการ จังหวัดอุบลราชธานี ทั้ง 3 ท่าน

นายเฉลิมพล มั่งคั่ง นายกองเอกปราโมทย์ ธัญญพืช นายเธียรชัย พุทธรังษี

Vol.9 Issue 70/2018

www.sbl.co.th

_

.indd 7

อัศจรรย์ต้นไม้เรืองแสง วัดสิรินธรวรารามภูพร้าว

8/6/2561 16:04:06


สวนสัตว์อุบลราชธานี Ubon Ratchathani Zoo เปิดบริการทุกวัน เวลา 08.30 น. ปิดจ�ำหน่ายบัตรเวลา 16.30 น.

อั ต ราค่ า บั ต ร ผู ้ ใ หญ่ 100 บาท เด็ ก 20 บาท ข้ า ราชการ/นั ก ศึ ก ษา แต่ ง เครื่ อ งแบบ 50 บาท ฟรี ! ! ผู ้ สู ง อายุ 60 ปี / เด็ ก สู ง ไม่ เ กิ น 120 ซม./ ภิ ก ษุ สามเณร/ผู ้ พิ ก าร

รอบโชว์ สั ต ว์ นั ก ล่ า จ - พฤ เวลา 11.30 น. และ 15.30 น. เสื อ ด� ำ - เสื อ ดาว ศ - อา เวลา 11.30 น. และ 15.30 น. เสื อ โคร่ ง อิ น โดจี น

อั ต ราค่ า บริ ก ารรถชมสั ต ว์ รถราง ผู ้ ใ หญ่ 25 บาท เด็ ก 10 บาท บริ ก ารเช่ า รถกอล์ ฟ 200 บาท/ชม.

*** มี ห ้ อ งประชุ ม สั ม มนาและลานจั ด กิ จ กรรมให้ บ ริ ก าร ติ ด ต่ อ 088-5903697 *** ติ ด ต่ อ แผนงานน� ำ นั ก เรี ย น ประเภทไป - กลั บ และค่ า ยพั ก แรม พร้ อ มบริ ก ารอาหารฟรี ติ ด ต่ อ ฝ่ า ยการศึ ก ษา 084-8319311 2

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

OK.indd 2

สอบถามข้ อ มู ล เพิ่ ม เติ ม ติ ด ต่ อ โทรศั พ ท์ 045-252761 โทรสาร 045-252762 แฟนเพจ : สวนสั ต ว์ อุ บ ลราชธานี Ubon Zoo www.ubon.zoothailand.org

08/06/61 09:16:43 AM


UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 3

3

31/5/2561 13:38:04


วิทยาลัยอาชีวศึกษาชุติญาบริหารธุรกิจ

เปิดรับสมัครนักศึกษาใหม่ ประจ�ำปีการศึกษา 2561 ระดับปวช. / ปวส.

ภาคปกติ และ เสาร์ - อาทิตย์ ประเภทวิชาพาณิชยกรรม / บริหารธุรกิจ สาขาวิ ช าธุ ร กิ จสถานพยาบาล สาขาวิ ช าการบั ญ ชี สาขาวิ ช าคอมพิ ว เตอร์ ธุ ร กิ จ

หลักสูตรใหม่ล่าสุด สาขาวิชาช่างอากาศยาน สาขาวิชาช่างยนต์ สาขาวิชาช่างเคาะพ่นสี

ประเภทวิชาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว สาขาวิชาการโรงแรม

74 หมู่ที่ 15 ถนนแจ้งสนิท ต�ำบลหนองขอน อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี 34000 หมายเลขโทรศัพท์ : 045-344159 , มือถือ : 089-581-5815 Email : chutiyacollege@gmail.com / www.chutiya.ac.th

4

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

1

.indd 4

5/6/2561 16:46:11


UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

-

.indd 5

5

29/5/2561 14:12:54


Prasongsuk

“ประสงค์สุข”

Place

บริการห้องพัก รายวัน รายเดือน อาหารเช้า บรรยากาศดี มีสวนสุขภาพ สิง่ อ�ำนวยความสะดวกครบ ทีจ่ อดรถกว้างขวาง ประสงค์สขุ เพลส ราคาห้องพัก รวมอาหารเช้า , ฟรีอนิ เตอร์เน็ต ,ฟรีสถานทีจ่ อดรถ ใกล้วดั พระธาตุหนองบัว ตลาดสดหนองบัว และเซ็นทรัลอุบลฯ

ประสงค์สุข เพลส

15 ซอยแจ้งสนิท 4.2 , 4.5 ถนนแจ้งสนิท ต�ำบลในเมือง

อ�ำเภอเมืองอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี 34000

6

โทรศัพท์ 045-281280, 088 5862210

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHAN

(1

).indd 6

4/6/2561 17:48:25


UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 7

7

29/5/2561 14:14:02


8

.

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

.indd 8

08/06/61 10:18:57 AM


UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

9


บนความเหมือนที่แตกต่าง แมนชั่นใหม่ รายวัน รายเดือน บริ ก า ร ห้ อ ง พั ก ส ะ ดว ก ส ะ อ า ด ปลอดภั ย อุ ป กรณ์ อ� ำ นวยความสะดวก ครบครั น อยู ่ ใ กล้ ส นามบิ น บขส. และ ห้างสรรพสินค้า

THE NINE MANSION เดอะไนน์ แมนชั่น

“เหมือนได้พักอยู่กับบ้าน”

(the nine mansion) เดอะไนน์ แมนชั่น

23/9 ซอยชยางกูร12 ถ.ชยางกูร ต.ในเมือง อ.เมือง

จ.อุบลราชธานี 34000 Tel : 081-8791244 Fax : 045-950588 Facebook : THENINEMANSION@gmail.com E-mail : ngnarong2@hotmail.com ID Line : THENINEMANSION

10

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

THE NINE MANSION

(1

).indd 10

4/6/2561 17:39:36


ที่พักใจกลางเมืองอุบลฯ การคมนาคม สะดวก รวดเร็ว จากสนามบินเพียง 15 นาที ใกล้สถานีรถไฟ และ บขส.

UBON Hotel “อุบล” โรงแรมอุบลโฮเต็ล บริการห้องพักระดับมาตรฐาน ส�ำหรับนักเดินทาง ท่องเที่ยวและท�ำงาน พร้อมสิ่งอ�ำนวยความสะดวกครบครัน และ อาหารเช้า สะดวก สะอาด ปลอดภัย บริการเป็นกันเอง ห้องอาหารมณียา ในช่วงเย็น มีดนตรี คาราโอเกะ และฟลอร์ลลี าศ ใกล้สถานที่ท่องเที่ยวส�ำคัญ ทุ่งศรีเมือง บริเวณจัดงานประจ�ำปีต่างๆ อาทิเช่น งานประเพณี แห่เ ทียนพรรษา, งานปีใหม่, ถนนสายน�้ำงานวันสงกรานต์, ตลาด อาหารเย็นโต้รุ่ง (Food Street), ถนนคนเดิน วันศุกร์ เสาร์และอาทิตย์ พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ วั ดศรี อุ บ ล ที่ เ ป็ น ที่ ป ระดิ ษ ฐานพระแก้ ว บุ ษ ราคั ม วัดมหาวนาราม(วัดป่าใหญ่) ที่ประดิษฐานพระเจ้าใหญ่อินทร์แปลง วัดทุ่งศรีเมือง ซึ่งเป็นที่ตั้งของหอไตรกลางน�้ำ สถาปัตยกรรมเก่าแก่ อายุกว่า 200 ปี

โรงแรมอุบลโฮเต็ล (9 ชั้น) UBON HOTEL

เลขที่ 2 ถ.อุบลกิจ ต.ในเมือง อ.เมือง จ.อุบลราชธานี 34000

Tel : 045-241045-6 Fax : 045-241046

E-mail : info@UbonHotel.com

Website : www.UbonHotel.com UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

(1

).indd 11

11

4/6/2561 17:28:05


“เนวาด้ า ” คอนเวนชัน่

Neveda Convention Hotels

โรงแรมเนวาด้า คอนเวนชั่น ตั้งอยู่ใจกลางเมืองอุบลราชธานี ห่างจากสนามบิน เพียง 10 นาที ใกล้ย่านธุรกิจ แหล่งช้อปปิ้ง และสถานบัน เทิงต่างๆ สามารถเดินทาง ไปยังสถานที่ต่างๆ ได้อย่างง่ายดาย พร้อมบริการห้องพักกว้างขวาง สะดวกสบาย ครบครัน ด้วยมาตรฐานระดับสากล

สิ่งอ�ำนวยความสะอาดภายในโรงแรม • ห้องพักขนาดมาตรฐาน 29 ตรม. 150 ห้อง • ห้องประชุมขนาด 50 – 1,200 ท่าน • ที่จอดรถกว่า 300 คัน • Pool bar • ห้องอาหารนานาชาติมรกต • มินิมาร์ท สิ่งอ�ำนวยความสะดวกในห้องพัก • เตียงนอนขนาดมาตรฐาน พร้อมหมอนข้าง • TV 40 นิ้ว แอร์ ตู้เย็น โทรศัพท์ ตู้เสื้อผ้า • Free wifi • Mimi Bar • Room service พร้ อ มบริ ก าร Fitness ร้ า นอาหาร และ โรงหนังเนวาด้า ซีนมี า่

12

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

(2

) .indd 12

4/6/2561 18:02:33


บันทึกเส้นทางพักผ่อน

สถานที่ท่องเที่ยวใกล้เคียง • วัดพระธาตุหนองบัว • วัดมหาวนาราม • วัดทุ่งศรีเ มือง • Country of Arts (3D Gallery)

โรงแรมเนวาด้า คอนเวนชั่น 434 ถนนชยางกูร ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี 34000 Tel. 045-313-357-8, 081-995-7719 โทรศัพท์ (ฝ่ายขาย) 097-341-7575, 099-165-2888 Facebook : Nevada Convention Hotel

- ร้านครัวสวนปลาเปิดให้บริการทุกท่าน ทุกวัน มีห้องจัดเลี้ยงพร้อมคาราโอเกะ ทุกขนาดไว้คอยบริการทุกท่าน อาหารใหม่ สด สะอาด อร่อย ตั้งแต่เวลา 10.00-23.00 น. ส�ำรองโต๊ะ โทร.045-315-432

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

(2

) .indd 13

13

4/6/2561 18:02:49


Editor’s Talk ผู้บริหาร คณะที่ปรึกษา ศ.ดร.กฤช เพิ่มทันจิ ต ต์ , พลเอกสรชั ช วรปั ญญา, ดร.พิ ชั ย ทรั พ ย์ เ กิ ด ดร.นิเวศน์ กันไทยราษฎร์ , ดร.ประยุ ท ธ คงเฉลิ ม วั ฒน์ , ดร.ชาญ ธาระวาส, ดร.สุ มิ ท แช่ ม ประสิ ท , ดร.วั ล ลภ อารี ร บ, ดร.ไอศูรย์ ดีรัตน์, ดร.สุ เ ทษณ์ จั น ทรุ กขา, ดร.อรรถสิ ท ธิ์ ตั น ติ วิรั ช กุ ล บรรณาธิการอ�ำนวยการ ศุภกิจ ศิลปรังสรรค์ บรรณาธิการบริหาร อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์ บรรณาธิการงานบุคคล พงษ์ศัก ดิ์ พรณัฐวุ ฒิ กุล , วนั ส กฤษณ์ ศิ ล ปรั งสรรค์ ฝ่ายกฎหมาย สมคิด หวังเชิดชูว งศ์ , ทวิ ช อมรนิ มิ ต ร

กองบรรณาธิการ ฝ่ายประสานงานโครงการ ภาครัฐและเอกชน

ฝ่ายศิลปกรรม

ผู้จัดการ

พั ชรา ค� ำ มี

ธนวรรษ เชวงพจน์ คณะทีมงาน

ไพรัตน์ กลัดสุขใส จิร โกมลทองทิพย์ มงคล แพร่ศิริพุฒิพ งศ์ ณัฎฐพัฒ น์ แจ่มจัน ทร์ ปุญ พัฒ น์ งามมาก ฝ่ายประสานงานข้อมูล ผู้จัดการ

นันท์ธนาดา พลพวก ประสานงาน

ศุภญา บุญ ช่วยชีพ, จันทิพย์ กันภัย, นงลัก ษณ์ เทียมเกตุ ท วี โ ชค นักเขียน

ฐิติรัตน์ สุวรรณโรจน์ ฝ่ายประสานงานจังหวัด กชกร รัฐวร

ผู้จัดการ กราฟิกดีไซน์

พิ ม พ์ พิสุ ท ธิ์ พั งจู นั น ท์ , วรเชษฐ สมประสงค์ , จั กรพั น ธ์ สิ งห์ ดี , ช่างภาพ

ชั ย วิ ชญ์ แสงใส, ปณต ปิ ติจารุ วิ ศ าล, กิ ติวั ฒน์ ทิ ศ มั่ ง, วิ ท ยา ประเสริ ฐ สั งข์ ตัดต่อ

วั ชรกรณ์ พรหมจรรย์

อุบลราชธานี รู้จักกันดี “เมืองดอกบัว” สืบลึกไปในอดีต “นครเขื่อนขันธ์ กาบแก้วบัวบาน” “อุบลราชธานี ศรีวนาลัยประเทศ” ประวัตศิ าสตร์การสร้างเมือง สืบมานับร้อยๆ ปี จังหวัดอุบลราชธานี เป็นจังหวัดเดียวในภาคอีสานตอนล่าง ที่สามารถชม พระอาทิตย์ขึ้นได้ก่อนที่ใดในประเทศไทย อีกทั้งเป็นจังหวัดที่มีพื้นที่กว้างใหญ่ เป็นอันดับหนึ่งของประเทศ เมืองอุบลฯจึงมีศักยภาพทั้งด้านการท่องเที่ยว ทางธรรมชาติที่หลากหลาย ศิลปวัฒนธรรมชาวอีสานที่ยิ่งใหญ่ มีความเป็น หนึ่งเดียว เช่น ประเพณีแห่เทียนพรรษา แนวทางและนโยบายการพัฒนาจังหวัดอุบลราชธานี จึงมุ่งเน้นการพัฒนา ในทุกด้าน เพื่อให้ “เมืองอุบลฯ เป็นเมืองที่น่าอยู่ คู่การพัฒนาในทุกมิติ” เป็น สังคม Digital ทันกระแส ทันโลก ส่งเสริมเมืองเกษตรกรรม น�ำเสน่ห์ 3 ธรรม มาใช้ นั่นคือ “ธรรมชาติ” “ธรรมะ” และ “ศิลปวัฒนธรรม” ที่ท่าน ผู้ว่าราชการ จังหวัดอุบลราชธานี “นายสฤษดิ์ วิฑรู ย์” ตัง้ ใจด�ำเนินการพัฒนาจังหวัด ให้กา้ วไป สูเ่ มืองอุบลฯน่าอยูอ่ ย่างยัง่ ยืน ร่วมกับรองผูว้ า่ ฯทัง้ 3 ท่านทีจ่ ะช่วยกันขับเคลือ่ น การพัฒนาจังหวัดอุบลราชธานีไปสู่เป้าหมาย ด้าน “นายวิรอด ไชยพรรณา” ผู้อ�ำนวยการส�ำนักพระพุทธศาสนา จังหวัด อุบลราชธานี ยืนยัน การยึดมั่นและเหนี่ยวแน่นในการนับถือและปฏิบัติต่อ พระพุทธศาสนาอย่างมั่นคง สมกับการเป็น “เมืองดอกบัวงาม”

ฝ่ายบัญชี/การเงิน บัญชี

ปั ฐ มาภรณ์ แสงบุ ร าณ การเงิน

ติดต่อ คุณศุภกิจ ศิลปรังสรรค์

กรรณิ การ์ มั่ น วงศ์ , สุ จิต รา แดนแก้ ว นิ ต , ณภั ท ร ชื่ น สกุ ล

Tel : 081-442-4445, 084-874-3861 Email : supakit.s@live.com Facebook : Supakit Sillaparungsan

ผมขอขอบพระคุณท่านผู้ว่าราชการจังหวัดอุบลราชธานี ทุกหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน ที่กรุณามอบโอกาส ให้นิตยสาร SBL ได้บันทึกและรวบรวมเรื่องราวต่างๆ ที่น่าสนใจในทุกมิติของจังหวัดอุบลราชธานี หากมีข้อผิดพลาด ประการใด ทีมงานขอน้อมรับค�ำติชมจากทุกท่านด้วยความเคารพ ไว้ ณ โอกาสนี้ครับ

Editor’s.indd 10

(นายศุภกิจ ศิลปรังสรรค์) บรรณาธิการอ�ำนวยการ

บริษัท สมาร์ท บิซิเนส ไลน์ จ�ำกัด

9/4-6 ถนนรามอินทรา แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพฯ 10220 โทร. 0-2522-7171 แฟกซ์. 0-2971-7747 Facebook : SBL บันทึกประเทศไทย Email : sbl2553@gmail.com

6/6/2561 9:29:29


HIST ORY OF BUDDH ISM บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

“ที่พักแสนสะดวกสบาย และอบอุ่นใจในอุบลราชธานี”

Saabpaiboon “ทรัพย์ ไพบูลย์ แกรนด์ ”

Resort

เมื่ อ ท่ า นเดิ น ทางมาอ� ำ เภอเดชอุ ด ม จั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี มองหาที่ พั ก คุ ณ ภาพ “ทรั พ ย์ ไ พบู ล ย์ แกรนด์ รี ส อร์ ท ” คื อ ค� ำ ตอบ เพราะที่ นี่ พิ ถี พิ ถั น ในการออกแบบห้ อ งพั ก ให้ ดูทั น สมั ย สะอาด สงบ เป็นส่วนตัว แวดล้อมไปด้วยบรรยากาศธรรมชาติ ต้นไม้ และล�ำธาร ที่จะท�ำให้ท่านรู้สึกผ่อนคลาย สิ่งอ�ำนวยความสะดวกระดับท็อปคลาส เช่น Hi-Speed Wi-fi ทุกห้องและพื้นที่สาธารณะฟรี เครื่องปรับอากาศ เครื่องท�ำน�้ำอุ่น โทรทั ศ น์ จ อแบน พร้ อ มระบบช่ อ งสั ญ ญาณดาวเที ย ม ตู ้ เ ย็ น โทรศัพท์ กล้อง CCTV. 24 ชั่วโมง และอาหารเช้าไว้บริการ ทรั พ ย์ ไ พบู ล ย์ แกรนด์ รี ส อร์ ท อยู ่ ใ กล้ กั บ วั ด ป่ า ไทรงาม ท่านสามารถไปชมอุโมงค์ต้นไม้ ก�ำแพงดิน และก�ำแพงต้นไม้ที่สวยงาม ซึ่งเกิดจากแนวคิดการอนุรักษ์ธรรมชาติของวัดป่าไทรงาม “พวกเราทุกคน ยินดีให้บริการด้วยใจ”

ทรัพย์ไพบูลย์ แกรนด์ รีสอร์ท

99 ม. 23 ซ.วดั ป่าไทรงาม ต.เมืองเดช อ.เดชอุดม จ.อบุ ลราชธานี 34160

โทรศัพท์ 045-953498 , 099-4758881 เว็บไซต์ www.saabpaiboonresort.com UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

(1

).indd 15

15

4/6/2561 18:07:47


Contents UBON RATCHATHANI ฉบั บ ที่ 70 จั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี พ.ศ.2561

Editor’s Talk

27

14

บันทึกเส้นทางพบ ผู้ว่าราชการจังหวัด นายสฤษดิ์ วิฑูร ย์

44

บันทึกเส้นทางพบ รองผู้ว่าราชการจังหวัด

พระประทุ ม ราชวงศา

นายเฉลิมพล มั่ง คั่ ง

48

บันทึกเส้นทางพบ รองผู้ว่าราชการจังหวัด นายกองเอกปราโมทย์ ธัญญพืช

52

บันทึกเส้นทางพบ รองผู้ว่าราชการจังหวัด นายเธียรชัย พุท ธรั ง ษี

56

บันทึกเส้นทางพบท้องถิน่ จังหวัด นายจ�ำลักษ์ กัน เพ็ ชร์

60

บันทึกเส้นทางพบส�ำนักพุทธฯ นายวิรอด ไชยพรรณา บันทึกเส้นทางความเป็ นมา 66 บันทึกเส้นทางท่อ งเที่ ยว 70

เทศบาลนครอุ บ ลราชธานี 98 ทม.แจระแม 100 ทต.อุ บล 102 อบต.ปะอาว 103 อบต.หนองขอน 104 วั ด ทุ ่ ง ศรี เ มื อ ง 105 วั ด มหาวนาราม 108 วัดใต้พระเจ้าใหญ่องค์ตื้อ 114 วั ด หลวง 120 วั ดศรี ประดู ่ 122 วั ด ปากน�้ ำ (บุ ่ ง สระพั ง ) 124 วั ด พลแพน 130 วั ด ทองนพคุ ณ 132 วั ด ไชยมงคล 134 วั ด ศรี แสงทอง 136 วั ด ด้ ามพร้ า 140 แก่ ง ชมดาว

16

27

บันทึกเส้นทางพบ

ผู้ว่าราชการจังหวัดอุบลราชธานี นายสฤษดิ์ วิฑูรย์ วั ด บ้ า นหนองหว้ า วั ด หั วเรื อ วั ด ท่ า วั ง หิ น วั ด มณี วนาราม วั ด บู รพาปะอาวเหนื อ วั ด ทุ ่ ง ขุ น ใหญ่ วั ด เรี ย บปะอาวใต้ วั ด กระโสบ อบต.หนามแท่ ง วั ด แก้ วมงคล วั ด แก้ วรั ง ษี อบต.หนองแสงใหญ่ อบต.นาโพธิ์ ก ลาง อบต.ห้ วยไผ่

142 144 146 148 154 156 158 160 166 170 172 174 176 182

อบต.ห้ วยยาง วั ด โขงเจี ย ม วั ด โพธาราม อบต.หั วดอน อบต.ยางขี้ น ก อบต.ชี ท วน อบต.ก่ อ เอ้ อบต.ค้ อ ทอง ทต.ขามป้ อ ม อบต.เจี ย ด วั ด บ้ า นนาขนั น (วั ด สว่ า งอารมณ์ ) วั ด โขงเจี ย มปุ ร าณวาส วั ด โพธิ์ เ มื อ งวนาราม

184 188 190 193 196 199 200 203 204 206 208 210 213

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

.indd 16

04/06/61 11:25:17 AM


HIST ORY OF BUDDH ISM บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

Kamwan

“แก้มหวาน” Resort

แก้ ม หวาน รี ส อร์ ท ห้ อ งพั ก สะอาด บรรยากาศแสนดี มี สิ่ ง อ� ำ นวยความสะดวกครบครั น พร้ อ มห้ อ งประชุ ม สั ม มนา ห้องอาหาร และสระว่ายน�้ำ สถานที่ท่องเที่ยว

วัดป่าคีรีบรรพตภูน้อย ระยะทาง 7 กม. น�้ำตกแก่งล�ำดวน ระยะทาง 16 กม.

ช่องอานม้า ระยะทาง 13 กม.

สามเหลีย่ มมรกต ช่องบก ระยะทาง 107 กม.

น�้ำตกห้วยหลวง ระยะทาง 35 กม.

น�้ำตกตาดไฮ ระยะทาง 30 กม.

ผามออีแดง เขาพระวิหาร ระยะทาง 77 กม.

โรงแรมแก้มหวานรีสอร์ท

188 หมู่ที่ 12 ถนนพิมพ์สวัสดิ์ ต�ำบลสีวิเชียร อ�ำเภอน�้ำยืน

จังหวัดอุบลราชธานี 34260 โทรศัพท์ 045-371501, 081-6006053, 081-9559407 UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

(1

).indd 17

17

4/6/2561 18:11:13


Contents UBON RATCHATHANI

ฉบั บ ที่ 70 จั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี พ.ศ.2561

สะพานแขวน

ทม.เดชอุดม ทต.บัวงาม ทต.โพนงาม อบต.ทุ่งเทิง อบต.ค�ำครั่ง วัดเทพเกษม วัดเวตวันวิทยาราม วัดอุดมพัฒนา วัดป่าห่องเตย วัดนาเจริญ วัดหนองดุม วัดบ้านตาโกย ทต.นาจะหลวย วัดบ้านโนนเจริญ วัดห้วยชัน เหนือ

น�้ ำ ตกห้ ว ยทรายใหญ่

214 216 220 224 228 229 230 236 238 239 240 242 243 244 248

วั ด ภู พลานสู ง อบต.นาตาล อบต.พะลาน วั ด พระโต(ปากแซง) ทม.วาริ นช� ำ ราบ ทต.ค� ำ ขวาง อบต.หนองกิ น เพล วั ด วาริ นทราราม ทต.คอแลน วั ด ศรี มงคล วั ด ป่ าอุ ทยานภู ถ�้ ำ พระ วั ด ธรรมิ กาวาส วั ด อั มพวั น นายอ� ำ เภอน�้ ำ ยื น ทต.สี วิ เ ชี ยร

สามพันโบก

18

250 252 254 256 259 260 262 264 266 268 270 272 274 276 278

เสาเฉลียง

ทต.โซง อบต.เก่ า ขาม อบต.โดมประดิ ษ ฐ์ อบต.ยางใหญ่ อบต.บุ เปื อ ย วั ด น�้ ำ ยื น วั ด วารี อุ ด ม วั ด เกษตรสมบู ร ณ์ วั ด โนนป่ า เลา วั ด ป่ า นาเยี ย อบต.ถ�้ ำ แข้ อบต.ท่ า หลวง อบต.เกษม อบต.โนนกุ ง อบต.กระเดี ย น วั ด บู รพา (บ้ า นสะพื อ ) วั ด โพธิ์ ส ระปทุ ม ทต.โพธิ์ ไทร วั ด ม่ วงสามสิ บ วั ด หนองหลั ก วั ด พระโรจน์ วั ด ศรี สุพ นอาราม วั ด หนองขุ ่ น

282 286 290 296 298 300 304 308 312 314 316 318 320 322 324 326 330 332 334 336 342 344 346

วั ด หนองสองห้ อ ง วั ด บู ร พา วั ด ยางสั ก กระโพหลุ ่ ม วั ด ยางเครื อ วั ด ยางโยภาพ ทต.กุ ด ชมภู อบต.ดอนจิ ก วั ด สว่ า งอารมณ์ วั ด โพธิ์ ต าก วั ด หนองเป็ ด วั ด ส� ำ โรงใหญ่ วั ด นามน วั ด บ้ า นเชี ย งแก้ ว อบต.โนนกาเล็ น วั ด บ้ า นหว้ า น วั ด ค� ำ เขื่ อ นแก้ ว วั ด ศรี อุ ด ม วั ด มงคลใน วั ด สั ล เลขธรรม วั ด ดงบั ง ใต้ วั ด กุ ด กั่ว วั ด บ้ า นค้ อ

348 350 352 354 356 358 364 366 368 370 374 376 378 380 382 384 388 390 394 396 400 402

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

.indd 18

04/06/61 11:26:17 AM


HIST ORY OF BUDDH ISM บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

Namsapvilla “น�้ำแซบ”

Resort

รีสอร์ทขนาดเล็ก สไตล์บ้านสวนครันทรี่ ได้มาตรฐานและมีความ เป็นส่วนตัว พร้อมสิ่งอ�ำนวยความสะดวกภายในห้องครบครัน การตกแต่งภายในห้องแต่ละหลังมีสไตล์ทแี่ ตกต่างกัน ไม่วา่ จะ เป็น บ้านนก Bird House บ้านโจรสลัด Pirate House บ้านหิน Bed Rock และบ้านขอนไม้ Log House ***มีร้านกาแฟสดที่หอมอร่อยขึ้นชื่อของเขมราฐ และ ร้านสเต็ก ไว้คอยบริการ*** เหมาะส�ำหรับมาพักผ่อน ท่องเทีย่ ว เป็นหมูค่ ณะ เพราะอยูห่ า่ งจาก ตัวอ�ำเภอเขมราฐ ถนนคนเดินและแม่น�้ำโขง เพียง 4 กม.

น�้ำแซบวิลล่ารีสอร์ท Namsapvilla Resort

229 ม.6 ถนน เขมราฐ-ตระการ ต.เขมราฐ อ.เขมราฐ จ.อุบลราชธานี

34170 โทรศัพท์ : 081-8354755 คุณแฟรงค์ , 089-6777547 คุณทราย เว็ปไซด์ : www.namsapvillaresort.com UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

(1

).indd 19

19

4/6/2561 18:17:12


“โขงเจียม” Khong Chiam Hotel

“มาอ�ำเภอโขงเจียมทั้งที ต้องพักที่โรงแรมโขงเจียม” บริการอบอุน่ และเป็นกันเอง ห้ อ งพั ก สะอาด สะดวกสบาย ได้ ม าตรฐาน โทรทั ศ น์ จ อแบน ช่องรายการดาวเทียม เครือ่ งท�ำ น�ำ้ อุน่ เครือ่ งปรับอากาศ พัดลม ตู ้ เ ย็ น ห้ อ งจั ด เลี้ ย ง บริ ก าร อาหารเช้า อิน เตอร์เน็ตไร้สาย พื้นที่นั่งเล่น สวนหย่อม พื้นที่ จอดรถ มี ร ะบบรั ก ษาความ ปลอดภัย ทั้งโรงแรมโขงเจียม โรงแรมโขงเจียม 2 และบ้านพัก ปากมูล สถานที่ท่องเที่ยวใกล้เคียง แม่นำ�้ สองสี ผาแต้ม ผาชะนะได วัดภูพร้าว (วัดเรืองแสง) วัดถ�้ำ พญานาค วั ด ถ�้ ำ คู ห าสวรรค์ น�้ ำ ตกสร้ อ ยสวรรค์ น�้ ำ ตก แสงจันทร์ เถาวัลย์ยักษ์ 20

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

(2

).indd 20

4/6/2561 18:24:22


บันทึกเส้นทางพักผ่อน

โรงแรมโขงเจียม (Khong Chiam Hotel) 355 ม.1 ถ.ภู่ก�ำชัย ต.โขงเจียม อ.โขงเจียม จ.อุบลราชธานี 34220 086-4687431, 088-1187053, 045-351074 Line: kjhotel โรงแรมโขงเจียม - Khong Chiam Hotel

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

(2

).indd 21

21

4/6/2561 18:24:46


สุพรเลควิว

เซอร์วิสอพาร์ทเมนท์ & โฮมสเตย์ “บริการที่พักบรรยากาศดี เงียบ สงบ ติดสวนสาธารณะหนองขุหลุ พร้อมสระว่ายน�้ำ”

ห ้ อ ง พั ก ก ว ้ า ง ข ว า ง ส ะ อ า ด สิ่ ง อ� ำ น ว ย ค ว า ม ส ะ ด ว ก ค ร บ ค รั น ฟรี อิ น เตอร์ เ น็ ต ไวไฟ ใกล้ เ ทสโก้ โ ลตั ส ตระการพืชผล บริการอาหาร & เครื่องดื่ม มีห้อง คาราโอเกะรั บ รองงานเลี้ ย งสั ง สรรค์ ส�ำหรับ 35 - 40 ท่าน สามารถจองผ่าน Agoda, Booking และ Traveloka

สุพรเลควิว เซอร์วิสอพาร์ทเมนท์ & โฮมสเตย์

289/9 ม.4 ต.ขุหลุ อ.ตระการพืชผล จ.อุบลราชธานี 34130 โทรศัพท์ : 088-5952309 อีเมล์ : supornlakeview@gmail.com Line id : ning4958

22

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

(1

).indd 22

4/6/2561 18:30:39


HIST ORY OF BUDDH ISM บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

“รีสอร์ทเล็ก ใจกลางเมืองใหญ่”

Wangnong “วังนอง”

Resort

รีสอร์ทเล็ก ใจกลางเมืองใหญ่ อยู่ริมอ่างเก็บน�้ำ บรรยากาศ เย็นสบาย ท่ามกลางต้นไม้นานาพรรณ เงียบสงบเป็นส่วนตัว สะอาด ปลอดภัย ได้มาตรฐาน บริการเป็นกันเอง สิ่งอ�ำนวยความสะดวกครบครับ ทั้งเครื่องท�ำน�้ำอุ่น เครื่องปรับ อากาศ ตู้เย็น ทีวี ดาวเทียม reception free hi-speed WIFI 24 hour and security โรงแรมวั ง นองรี ส อร์ ท ตั้ ง อยู ่ ใ นเขตเทศบาลนครอุ บ ลฯ ใกล้สนามบิน การเดินทางสะดวกสบาย ใกล้ร้านอาหารหลากหลาย

โรงแรมวังนองรีสอร์ท

21 ถ.เลียบห้วยวังนอง ต.ในเมือง อ.เมือง จ.อุบลราชธานี 34000

E-mail : wangnongresort@hotmail.com Facebook : วังนองรีสอร์ท Website : www.wangnongresort.com Tel : 045-241004, 094-2915419, 081-4078057 UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

(1

).indd 23

23

4/6/2561 18:33:40


“ห้องพักบรรยากาศริมแม่น้ �ำโขง ใกล้ถนนคนเดิน”

Chanram Resort “จันทร์แรม” จันทร์แรม รีสอร์ท บริการห้องพัก พร้อมสิง่ อ�ำนวยความสะดวก แอร์ ทีวี ตู้เย็น เครื่องท�ำน�้ำอุ่น ฟรี WiFi พร้อมอาหารเช้า สถานที่ท่องเที่ยวใกล้เคียง หาดทรายขาว, หาดทรายสูง, วัดพระเจ้าใหญ่องค์หมืน่ -องค์แสน, แก่ ง ช้ า งหมอบ, สามพั น โบก, ถนนคนเดิ น เขมราฐ, หาดชมดาว, วัดพระเจ้าใหญ่องค์ตื้อ(ปากแซง) ฯลฯ

จันทร์แรม รีสอร์ท

58/1 บ.หนองวิไล ต.เขมราฐ อ.เขมราฐ จ.อุบลราชธานี 34170 โทรศัพท์ 081-9993711, 095-4895273 Facebook : จันทร์แรม รีสอร์ท

24

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

(1

).indd 24

4/6/2561 18:38:47


ม่วงสามสิบ ออร์แกนิคฟาร์ม

สถานที่ท่องเที่ยวเชิงเกษตรอินทรีย์ที่ ใหญ่ที่สุดใน จังหวัดอุบลราชธานี ปลูกผลไม้ปลอดสาร อาทิ เมล่อน และแตงโมไร้เมล็ดในโรงเรือนระบบปิดทีม่ ากถึง 48 โรงเรือน บนพื้นที่ 150 ไร่ พร้อมศูนย์การเรียนรู้ส�ำหรับเกษตรกร หรือผู้ที่สนใจสามารถเข้าชมและศึกษาวิธีการปลูกผลไม้ ปลอดสาร โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายใดๆทั้งสิ้น บริการอาหาร และเครื่องดื่ม ให้เลือกมากกว่า 60 เมนู

วิ ส า ห กิ จ ชุ ม ช น ม ่ ว ง ส า ม สิ บ อ อ ร ์ แ ก นิ ค ฟ า ร ์ ม ก ่ อ ตั้ ง โ ด ย ท่าน ดร.จ�ำลอง พรมสวัสดิ์ มีความประสงค์ต้องการกลับมาแบ่งปัน และ พั ฒ นาบ้ า นเกิ ด พั ฒ นาชุ ม ชน และสั ง คม โดยเลื อ กท� ำ เกษตรอิ น ทรี ย ์ เพื่อเป็นตัวอย่างให้เกษตรกร ผู้ที่สนใจ และคนรุ่นใหม่ หันมาเอาใจใส่ใน การปลูกพืชโดยไม่ใช้สารเคมีมากยิ่งขึ้น เพื่อเพิ่มรายได้ ให้กับเกษตรกรหลัง จากเก็ บ เกี่ ย วข้ า วในฤดู ก าลแล้ ว เสร็ จ เป็ น แบบอย่ า งให้ เ กษตรกรหั น มา ปลูกพืชอินทรีย์ เพื่อมุ่งเน้น เรื่องความปลอดภัยของผู้ผลิตและผู้บริโภค และเพื่ อ สุ ข ภาพ เป็ น แลนด์ ม าร์ ค แห่ ง ใหม่ อี ก ทางเลื อ กหนึ่ ง ของจั ง หวั ด อุบลราชธานี สร้างงานและส่งเสริมเศรษฐกิจของชุมชน อ�ำเภอ และจังหวัด อุบลราชธานีให้ดีย่ิงขึ้น

ม่วงสามสิบ ออร์แกนิคฟาร์ม

เลขที่ 9 หมู่ 12 ต.ม่วงสามสิบ อ.ม่วงสามสิบ จ.อุบลราชธานี สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม โทร. 045-252-897, 094-542-6960 UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย 25 Facebook fan pace : ม่วงสามสิบ ออร์แกนิคฟาร์ม

(1

).indd 25

4/6/2561 18:42:43


ห้างทองพรไพบูลย์

“ ทองสุกสวย ครบทุกลวดลาย มาตรฐานสูงสุดจากเยาวราช ”

ห้างทองพรไพบูลย์ เปิดท�ำการมากว่า 30 ปี ในฐานะร้านทองขายปลีก จ�ำหน่ายทองค�ำรูปพรรณ น�้ำหนักเต็ม คุณภาพดีที่สุด 96.5 % ลวดลายทันสมัย มีให้ท่านเลือกได้ทุกขนาดจากห้างใหญ่เยาวราช ติดต่อสอบถาม ห้างทองพรไพบูลย์ 1001 ศูนย์การค้าเดชอุดม ต.เมืองเดช อ.เดชอุดม จ.อุบลราชธานี 34160 045 – 361471 , 081 - 7183201 26

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHAN

1

.indd 26

29/5/2561 11:54:48


สารจากผู้ว่าราชการ จังหวัดอุบลราชธานี

ชีวิตผมมีความภูมิใจหลายครั้ง ความภูมิใจแต่ละครั้ง คือได้ท�ำงานเพื่อแผ่นดิน สมกับค�ำว่า “ข้าราชการ”

ความเป็น “ข้าราชการ” ในแต่ละช่วงนั้นผมได้ประสบการณ์มากมายจากเพื่อน

ร่วมงาน การร่วมท�ำงานกับผูค้ นต่างๆ ท�ำให้ผมยังเห็นคุณค่าของการท�ำงานเป็น “ทีม” ดังนัน้ ไม่วา่ จะท�ำงานวิจยั เป็นอาจารย์พเิ ศษ เป็นปลัดอ�ำเภอน้อย ปลัดอาวุโส ป้องกัน จังหวัด ผูต้ รวจการส่วนท้องถิน่ นายอ�ำเภอ หัวหน้างาน หัวหน้ากลุม่ งาน ในส�ำนักงาน ผูต้ รวจราชการกรม ส�ำนักงานเลขานุการกรม กองการเจ้าหน้าที่ กองวิชาการและแผนงาน หัวหน้าฝ่าย ผู้อ�ำนวยการส่วน ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน ในส�ำนักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง ผูอ้ ำ� นวยการส�ำนัก ผูช้ ว่ ยปลัดกระทรวง ในกระทรวงมหาดไทยจนถึง ผู้ว่าราชการจังหวัด ชื่อเรียกว่าเป็นประวัติ “รับราชการ” ที่พอสังเขป ผมภูมิใจกับ ทุกต�ำแหน่งเพราะได้ทำ� งานจริง ท�ำเต็มทีท่ กุ ต�ำแหน่งทุกงานทีไ่ ด้รบั มอบหมาย ส�ำหรับ วั น นี้ ก็ ต ้ อ งเรี ย กได้ ว ่ า ผมมี ค วามภาคภู มิ ใ จเป็ น พิ เ ศษ ที่ เ ป็ น ลู ก หลาน จั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี ได้ ก ลั บมารั บ ต� ำ แหน่ ง เป็ น ผู ้ ว ่ า ราชการจั ง หวั ด อุบลราชธานีบา้ นเกิดของผมเอง ผมตัง้ ใจทีจ่ ะน�ำประสบการณ์ทงั้ หลาย ที่ได้มาจากทุกๆ แห่งที่ “รับราชการ” ท�ำงานสนองคุณแผ่นดิน มาบริหารจัดการ สืบต่อ สานงานทีด่ ๆ ี และก่องานใหม่ เพือ่ พีน่ อ้ ง จังหวัดอุบลราชธานี และเชื่อมั่น มั่นใจในการท�ำงานเป็น “ทีม” อุบล โดยจะใช้ทนุ ทางสังคมทีผ่ มมีอยูท่ งั้ เพือ่ น น้องๆ และเชื่อว่าทุกคน ทุกๆ ฝ่าย คือ “พลัง” ที่จะร่วมมือกัน เกื้อกูลกัน เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาบ้านเราให้ฝันของ คนอุบลราชธานี คนอีสานเป็นจริง โอกาสนี้ขอขอบคุณทีมงาน SBL บันทึกประเทศไทย ทีไ่ ด้ เข้ามาช่วยเป็นสะพานสือ่ สาร และหมุดยึดโยงเอาพลัง ความร่วมมือ น�ำสิง่ ดีๆ สร้างสิง่ ทีด่ ๆ ี ของจังหวัดอุบลราชธานี ที่มีอยู่มากมายไปสู่พี่น้องประชาชนได้รับทราบ ขออวยพรให้ สิง่ ศักดิส์ ทิ ธิท์ ี่ ทุกๆ ท่านเคารพนับถือและของจังหวัดอุบลราชธานี จงปกปักรักษาพีน่ อ้ งประชาชนชาวอุบลราชธานีและทีมงาน นิตยสาร SBL บั น ทึ ก ประเทศไทยให้ แ คล้ ว คลาดปลอดภั ย จากอุ บั ติ ภั ย และ ภยันตรายทั้งปวง และได้รับแต่สิ่งดีๆ ไม่มีทุกข์

(นายสฤษดิ์ วิฑรู ย์) ผูว้ า่ ราชการจังหวัดอุบลราชธานี

.indd 27

6/6/2561 17:29:22


EXCLUS I V E INT E R V IE W

บันทึกเส้นทางพบผู้ว่าราชการจังหวัดอุบลราชธานี

ผู้ว่าฯ ลูกอุบล

คนหัวใจอีสาน ผู้ว่าราชการจังหวัดอุบลราชธานี

นายสฤษดิ์ วิฑูรย์

28

.indd 28

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

6/6/2561 17:29:20


ผู้ว่าราชการจังหวัดอุบลราชธานี นายสฤษดิ์ วิฑูรย์

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 29

29

6/6/2561 17:29:25


EXCLUS I V E INT E R V IE W

บันทึกเส้นทางพบผู้ว่าราชการจังหวัดอุบลราชธานี

วิสัยทัศน์ที่ชัดเจนกับการพัฒนาจังหวัดอุบลราชธานี

ของผู้ว่าฯ มากประสบการณ์

เมื่อได้นั่งต่อหน้าท่านผู้ว่าราชการจังหวัดอุบลราชธานี ทีมงาน SBL บันทึกประเทศไทย รู้สึกได้ทันทีว่าท่านเป็นผู้ใหญ่ใจดี มีความมุ่งมั่นและเมตตา เมื่อขอให้ท่าน เล่าประวัติ ครอบครัวถึงวัยเด็กท่านก็ยิ้มด้วยความยินดี และต่อไปนี้คือเรื่องราวที่น่าสนใจอย่างยิ่ง จากผู้ซึ่งด�ำรงต�ำแหน่ง “พ่อเมือง อุบลราชธานี”

ผู้ว่าราชการจังหวัดอุบลราชธานี

นายสฤษดิ์ วิฑูรย์

ท่ า นเกิ ด ที่ อ� ำ เภอวาริ น ช� ำ ราบ ใกล้ ๆ กั บ วั ด หนองป่ า พง พอโตขึ้ น เมื่ อ อายุ 7 ขวบก็ ไ ด้ ย ้ า ย ตามพ่ อ เป็ น ครู ป ระชาบาล ซึ่ ง เมื่ อ ก่ อ นขึ้ น อยู ่ กั บ กระทรวงมหาดไทย(ปั จ จุ บั น คื อ ครู โ รงเรี ย น สังกัดการประถมศึกษาขั้นพื้นฐานหรือ สพฐ.)

ไปอยูบ่ า้ นค�ำสมิง ต�ำบลสว่าง บ้านเกิดพ่อ ของท่าน แม่ทำ� อาชีพท�ำขนมจีนไปขายตลาด ก็ผันตัวเองเป็นชาวนาเป็นเกษตรกร ไม่มี ความรู้ก็จบ ป.4 ส่วนพ่อ จบ ม.3 เรียน หนังสือแล้วก็เป็นครู สมัยก่อนเป็นครูนี่ เมื่อ จบระดับนีแ้ ล้วไปอบรมครู ได้เป็นครู ประถมวัย ท่านจึงเรียนหนังสือตามที่โรงเรียนพ่อสอน และย้ายไปหลายแห่ง ส่วนใหญ่เป็นโรงเรียน บ้าน วัด ก็คอื บ้านค�ำสมิง บ้านทุง่ เพียง บ้าน สะพานโดม บ้านโคกสมบูรณ์ ปัจจุบันก็เป็น ที่ตั้งของอ�ำเภอสว่างวีระวงศ์

เส้นทางการเรียนในวัยเด็ก เรียนโรงเรียนเอกชน วัยเด็กต้องเรียกว่าเด็กบ้านนอกจริงๆ เรียกว่าอยูบ่ า้ นนอกตลอด และมีวถิ ชี วี ติ แบบ ชาวนา ชาวไร่ ชาวสวน กลับจากโรงเรียนก็ มาช่วยแม่ท�ำนา ท�ำสวน ปลูกผัก แปรรูปผัก ไปขายเป็นผักส้ม ผักกาด ผักเสี้ยน หรือไม่ก็ 30

.indd 30

ท�ำปลาร้าเอาไปแลกกับข้าวได้ของอะไรมาก็ มาขายทีต่ ลาด ไปตลาดก็ตอ้ งนัง่ รถ สมัยก่อน เส้นทางสายวารินช�ำราบ-พิบลู มังสาหาร หรือ เราจะพูดว่าเป็นช่องเม็ก เป็นเส้นทางลูกรัง มีรถคอกหมูวิ่งเส้นนั้น นานๆ มาที ท่านเป็น นั ก กี ฬ าแต่ วั ย เด็ ก ขยั น เรี ย นแต่ เ ยาว์ วั ย จบประถมต้นมาเรียนประถมปลายก็เรียนป.5 ที่ ใ นเมื อ ง โดยมาอาศั ย อยู ่ กั บ พี่ ส าว ซึ่ ง ท� ำ งานเป็ น ข้ า ราชการหน่ ว ยมาลาเรี ย อยู่ในตัวจังหวัด จากโรงเรียนวัดบ้านนอกมาอยูท่ โี่ รงเรียน สิทธิธรรมศาสตร์ศิลป์ เป็นโรงเรียนเอกชน เจ้าของชื่อนายฟอง สิทธิธรรม นักการเมือง ชื่อดัง จบ ป.7 ก็สอบเข้าเรียนต่อ มศ.1 ที่โรงเรียนประจ�ำจังหวัด 5 ปี ตั้งแต่ มศ.1มศ.5 จบ มศ.5 ก็เอ็นทรานซ์เข้าทีจ่ ฬุ าลงกรณ์ มหาวิ ท ยาลั ย คณะรั ฐ ศาสตร์ อั น เป็ น จุดหักเหของชีวิตและความภูมิใจ

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

6/6/2561 17:29:33


แรงบันดาลใจทีเ่ ลือกเรียนคณะรัฐศาสตร์ เพราะว่าชีวิตอยู่กับบ้านนอก เห็นปลัด อ�ำเภอ กั บ ครู ฝ ่ า ยปกครองเขามี อ� ำ นาจ มีบารมี และอีกอย่างคือ เห็นว่านอกจาก มีอำ� นาจ มีบารมีแล้ว ในมุมกลับกันนัน้ ก็คอื ได้ดูแลทุกข์สุขของคน เพราะว่าเขาสั่งอะไร ได้หมด ไม่ว่าจะพัฒนาจะท�ำโน่นท�ำนี่ท�ำได้ หมดเขาจะเป็ น คนติ ด ต่ อ ประสานงาน หน่วยงานต่างๆ ต่อจากปลัดคือนายอ�ำเภอ ผูว้ า่ ราชการจังหวัด เป็นพ่อเมือง เป็นหัวหน้าทีม ผู ้ บั ญ ชาการพื้ น ที่ ฝ ่ า ยพลเรื อ น ที่ จ ะดู แ ล

บ�ำบัดทุกข์บ�ำรุงสุข ค�ำนี้ได้ยินติดหูตลอด ท่านว่า “บ�ำบัดทุกข์บำ� รุงสุข” เป็นค�ำทีด่ มี าก เลยเลือกที่จะเรียนรัฐศาสตร์ เพื่อจะก้าวไป ท� ำ หน้ า ที่ ดั ง กล่ า ว ก่ อ นสมั ค รสอบเข้ า มหาวิทยาลัย ท่านได้รับสิทธิการสัมภาษณ์ เข้าเรียนต่อที่มหาวิทยาลัยขอนแก่น เพราะ เป็นเด็กที่มีผลการเรียนดีระดับแนวหน้าของ โรงเรียน แต่ท่านเลือกที่จะเรียนสายสังคม หรือสหวิชา แต่ก็เลือกหลายคณะ หลาย มหาวิทยาลัย ทั้งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่จริงๆ อยากไปเรียน เชียงใหม่ แต่เลือกไว้เป็นอันดับที่ 3 อยากไป อยูท่ างเหนือเพราะชอบอากาศหนาว แต่กม็ า ติดรัฐศาสตร์จุฬาฯ จนเรียนจบปริญญาตรี ชีวติ ในมหาวิทยาลัย ด้วยความเด็กอีสาน มาจากบ้านนอก เมือ่ มาเรียนรวมกับคนอืน่ ๆ ต้องขยันกว่าคนอื่น คนอีสานมักจะบอกว่า องค์ความรูก้ ม็ าจากบ้านนอกไม่พอเพียงและ เท่าทัน เพราะโอกาสเข้าถึงแหล่งเรียนรูต้ า่ งๆ ไม่ว่าจะเป็นห้องสมุด ครูเก่งๆ น้อยกว่า คนในกรุง วิธีการที่จะเรียนให้ได้ดีและทัน ต้องเข้มทีต่ วั เอง คนอืน่ อ่านหนังสือเทีย่ วเดียว ท่านจะต้องอ่าน 3 เทีย่ ว และใช้ชวี ติ ให้คมุ้ ค่า เกื้ อ กู ล กั บ การเรี ย น และงานในอนาคต ท่ า นจึ ง ท� ำ กิ จ กรรมเพื่ อ สั ง คมและเรี ย น ให้ได้ทัน รวมทั้งท�ำงานไปด้วยเมื่อมีโอกาส สภาพแวดล้อมแบบนีก้ บั การสร้างและรักษา วิ นั ย กั บ ตั ว เอง จึ ง ท� ำ ให้ ช ่ ว งการศึ ก ษาที่ มหาวิทยาลัย ท่านมีเพือ่ นมาก ทัง้ จากกิจกรรม การเรียน การท�ำงานนอกเวลาเรียน ไม่วา่ จะ เป็นงานอาสาพัฒนาสังคม ค่ายอาสา ผูช้ ว่ ยวิจยั หมอบายศรี สู ่ ข วั ญ อั น เป็ น การปลู ก ฝั ง หล่อหลอมทักษะ ตั้งแต่เรื่อง การท�ำงาน ร่วมกับคนอืน่ ภาวะผูน้ ำ � การจัดระบบความคิด ความเชื่อมโยง การท�ำงานทั้งด้านวางแผน ประสานแผน ประสานงาน การสื่อสารสร้าง ความเข้าใจแบบ 360 องศา ให้ คนส�ำราญ งานส�ำเร็จแบบ win win UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 31

31

6/6/2561 17:29:39


ส�ำคัญของภาครัฐ เช่น สภาพัฒน์ ท�ำแผน ป้องกันชายแดนให้กับชุมชนหมู่บ้านที่ได้รับ ผลกระทบจากผู้อพยพ ในช่วงที่ประเทศ เพื่ อ นบ้ า นเขาประสบปั ญ หา ลาว เขมร เปลีย่ นแปลงการปกครอง การท�ำงานร่วมกับ สภาพัฒน์ฯ ก็ได้รู้จักคน งานแผนระดับชาติ ที่เขาท�ำกัน การรู้จักคน รู้จักพื้นที่ และรู้จัก งาน จึงเป็นฐานและแรงบันดาลใจ แรงขับ ให้กบั การได้เลือกมาท�ำงานด้านการปกครอง การบริหารงานพัฒนา ซึ่งเป็นงานหัวใจของ มหาดไทยมาถึงวันนี้ การลงพื้นที่ก็ท�ำให้รักพื้นที่ รักชาวบ้าน เห็ น ชาวบ้ า นมี ค วามสุ ข เราภู มิ ใ จ อั น นี้ หล่อหลอมมาตั้งแต่งานค่าย งานกิจกรรมที่ มหาวิทยาลัย ผูว้ า่ ย�ำ้ ว่า “ผมไม่ใช่นกั เคลือ่ นไหว หรือ Activists แต่เป็นนักกิจกรรม” และ ใช้กจิ กรรมสร้างคน สร้างความร่วมมือ ก่อนท�ำ จึงต้องรู้ทุกข์ รู้สุขรู้ปัญหา แล้วหาคนมาช่วย คิดสมการแก้ ร่วมกันแก้ จึงเป็นที่มาของ แนวทางการท�ำงานปัจจุบันคือ ต้องรู้ทุกข์ รูส้ ขุ ชาวบ้าน มีขอ้ มูลทีค่ รบถ้วนรอบด้านเป็น ปั จ จุ บั น ทั น การณ์ รู ้ ป ระชารั ฐ ใครจะมา ท�ำงานแก้ทุกข์ บ�ำรุงสุข ต้องท�ำเวทีการมี ส่วนร่วมและบูรณาการให้เกิดผลสัมฤทธิเ์ ป็น รูปธรรม

เหตุผลที่ชอบท�ำงานด้านค่ายอาสา “ค่ายสร้างคน คนสร้างค่าย” เป็นการ ท�ำงานโดยเอาพืน้ ทีเ่ ป็นตัวตัง้ และเอาความคิด ที่ ห ลากหลาย ประสบการณ์ ที่ แ ตกต่ า ง มาท�ำงานร่วมกัน ร่วมทุกข์ร่วมสุขกันและ มีเป้าหมายให้กิจกรรมนั้น เกิดผลสัมฤทธิ์ ตอนท�ำงานค่ายท�ำให้ทา่ นได้รจู้ กั เพือ่ นฝูงทัง้ ในคณะ ในจุฬา และมหาวิทยาลัยอืน่ ๆ อาทิ ลาดกระบัง ธรรมศาสตร์ มหิดล สงขลา ฯลฯ

32

.indd 32

เหนือกว่ารู้อะไรไม่สู้รู้วิชา คือ “รู้อะไร ไม่สู้ รู้จักกัน” จากงานค่ายอาสาส่งผลให้ท่านได้ ใช้ ป ระสบการณ์ แ ละเพื่ อ น ท� ำ งานอื่ น ๆ ขณะเรียน ตัง้ แต่ปริญญาตรีถงึ ปริญญาโทกับ อาจารย์ ทั้งงานวิจัย งานองค์กรทางวิชาการ เช่น สมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย เศรษฐศาสตร์ ก ารเมื อ ง สถาบั นวิ จั ย ของ มหาวิทยาลัยต่างๆ มูลนิธิ รวมถึงงานช่วย ท�ำแผนให้กับราชการต่างๆ รวมถึงองค์กร

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

6/6/2561 17:29:50


เรียกได้ว่าเข้าแนวคิดของท่านเลย ท่านว่า ก็เข้ากับจริตของท่าน มีจติ อาสา พร้อมและเต็มใจกับทุกข์เรื่อง ที่เป็นงาน สาธารณประโยชน์ ก่อนทีจ่ ะรับราชการท่าน เป็นอาจารย์ ด้วยความที่มีคณะอาจารย์ที่ ท�ำงานวิจยั ด้วยกันบ้าง หรือไปช่วยงานวิจยั ของมหาวิทยาลัย ก็มักจะได้รับโอกาสให้ เข้าร่วมงานกับองค์กรต่างๆ อาทิ สมาคม สั ง คมศาสตร์ แ ห่ ง ประเทศไทย สมาคม เศรษฐศาสตร์การเมืองท�ำให้ได้มีเพื่อนเป็น นักวิชาการทัง้ ในและต่างประเทศ ก็เลยเป็น ส่วนที่ท�ำให้ได้เรียนต่อปริญญาโทและใน ขณะเดี ย วกั น ก็ ไ ปช่ ว ยสอนหนั ง สื อ เป็ น อาจารย์สอนด้านบริหารบุคคลประยุกต์และ ช่ ว ยออกแบบและผลั ก ดั น หลั ก สู ต ร เทคโนโลยีสังคมให้กับ มหาวิทยาลัยเกริก

ได้สอนหนังสืออยู่ประมาณ 3-4 ปี ก็ได้ สมั ค รงานเข้ า บริ ษัทเอกชน เช่ น บริ ษัท ปูนซีเมนต์นครหลวง บริษทั อายิโนะโมะโต๊ะ แต่ว่าสุดท้าย ไปเลือกราชการเพราะคิดว่า ตรงกั บ จริ ต ของตนเอง ด้ ว ยความคิ ด ว่ า ท�ำงานบ้านนอกดีกว่าท�ำงานออฟฟิศ แต่ ชีวติ จริงๆ ก็ไม่ได้อยูบ่ า้ นนอกเท่าไหร่ ตลอด เวลาทีร่ บั ราชการกว่า 80% ก็เป็นส่วนกลาง อยูใ่ นกรม อยูใ่ นกระทรวง แต่วา่ งานพืน้ ทีก่ ็ จะเป็นงานทีอ่ อกตรวจเยีย่ มร่วมกัน การให้ ค�ำแนะน�ำเรื่อง ต่างๆ เป็นงานอ�ำนวยการ งานสร้างความเข้มแข็ง หน่วยงานของรัฐ สนับสนุนให้องค์กรน�ำนโยบายไปปฏิบตั ใิ ห้ บังเกิดผลเป็นรูปธรรม

เมื่อท่านได้มาด�ำรงต�ำแหน่งผู้ว่าราชการ จังหวัดอุบลราชธานี ท่านมีความรู้สึก อย่างไร

งานทีท่ ำ� แล้วเกิดความสุขกับคนอืน่ ๆ แล้วเรา ก็สุขด้วย ความจริงก็อยู่ใน เส้นทางชีวิต ราชการของตัวเองเหมือนกันว่า จากร้อยเอ็ด จะไปอยู ่ จั ง หวั ด ไหนก่ อ น เพื่ อ จะให้ ไ ด้ ประสบการณ์มากขึน้ จังหวัดเล็กก็ได้จงั หวัด ใหญ่ก็ได้ เพราะผู้ว่าฯที่ไหนก็ต้องเจอปัญหา และต้องท�ำงานเหมือนกัน พอมาอุบลราชธานี รู้สึกเหมือนวิ่งมาชนก�ำแพงใหญ่เลยมันจะ ทะลุไปได้ยงั ไง เพราะว่าก�ำแพงงานมันมีมาก

พอรู้ว่าต้องได้มาที่อุบลราชธานีก็ตกใจ แต่ไม่ถอดใจเพราะเป็นเมืองใหญ่ แต่เสียดาย ที่อยู่ร้อยเอ็ดไม่นาน ห่วงงานหลายอย่าง ก�ำลังสนุก ต�ำแหน่งผู้ว่าฯ เป็นงานที่ถือว่า หนักแต่มคี วามสุข ท�ำงานโดยทีเ่ พือ่ นร่วมงาน ใช้คน ใช้พื้นที่ให้เกิดประโยชน์มันก็จะเป็น

.indd 33

6/6/2561 17:29:51


.indd 34

6/6/2561 17:29:58


คือจ�ำนวนคนก็เยอะ พื้นที่ก็มาก ลูกน้อง เพื่อนร่วมงานก็เยอะแน่นอน มีหน่วยงาน หลายหน่วย จาก 100 ก็เป็น 150-200 หน่วย ที่ส�ำคัญที่สุดเป็นเมืองที่มีเพื่อนบ้าน เรียกว่าเป็นเมืองชายแดน ติด 2 ประเทศ ลาวนี่เยอะหน่อยระยะทาง 360 กิโลเมตร กัมพูชาก็ราว 50 กิโลเมตร มีอ�ำเภอที่มี ประชาชนอยูช่ ายแดนทัง้ สองประเทศ 10 อ�ำเภอ อุบลราชธานีถูกจัดวางต�ำแหน่งยุทธศาสตร์ เป็ น เมื อ งศู น ย์ ก ลางเชื่ อ มโยงภาคอี ส าน ตอนล่าง ตอนกลาง และประเทศเพื่อนบ้าน มีแม่น�้ำโขง แม่น�้ำมูล น�้ำชี ที่มีทั้งวิถีชีวิต วิถสี งั คม เศรษฐกิจ การเมือง ต�ำนานสืบทอด มาเป็นเวลานาน

มีต้นทุนคือเพื่อนและคนบ้านเดียวกัน ต้นทุนทีไ่ ด้มาท�ำงานบ้านเกิด คือ มีเพือ่ นฝูง ญาติมติ ร ประการที่ 2 คือ รูพ้ นื้ ที่ อันนีอ้ าจจะ รวมถึงการได้เคยรับราชการมาก่อน แต่กต็ อ้ ง ยอมรั บ ว่ า ช่ ว งสั้ น ๆ แม้ จ ะได้ ท� ำ หลาย ต�ำแหน่ง อาทิ ปลัดอ�ำเภอ ผู้ตรวจการส่วน ท้องถิน่ ก็คอื ช่วง Y2K ช่วงปี ค.ศ. 2000 ครับ พ.ศ. 2542-2543 ตอนนั้นมีผู้ว่าที่เก่งและ ท�ำงานเร็ว ท�ำงานสโลแกน “สร้างสุข ทุกนาที” จากผูว้ า่ จนท่านเป็นอธิบดีกรมการปกครอง คือ ท่านศิวะ แสงมณี และยังมีท่าน รองผู้ว่า ที่ต่อมาเป็นอธิบดีกรมส่งเสริมการปกครอง ท้องถิ่น คือ ท่านสมพร ใช้บางยาง ท่าน ประภาส บุญยินดี และท่านจรินทร์ จักกะพาก หัวหน้าส�ำนักงานจังหวัด ท่านเหล่านี้เป็น ครูสอนงาน แต่มาวันนี้ก็มีอดีตผู้ว่าที่รู้จัก คุ้นเคยท่านเกษียณราชการแล้วมาอยู่ ซึ่งจะ ท�ำให้มีที่ปรึกษา นี่ก็เป็นทุนมนุษย์ที่มีตอนนี้ จึงท�ำให้มีความสบายใจ อุ่นใจว่าเราจะไม่ หลงทาง หน้ า ที่ ก็ คื อ วั น นี้ ต ้ อ งมาบริ ห าร

ต้นทุนที่มีอยู่ รวมทั้งต้นทุนจากความเป็น ภูมิล�ำเนาเมืองเกิด รู้ปัญหา รู้ช่องทางที่จะ แก้ปัญหา มีเพื่อนฝูง ตั้งแต่ชาวบ้านเรียน ประถมด้วยกัน บางคนก็เป็นผูใ้ หญ่บา้ น เป็น อบต. นั่นเป็นจุดส�ำคัญที่จากความหนักใจ กลายเป็นความภาคภูมใิ จและมีกำ� ลังใจมาก ขึ้ น และมี แ รงบั ด าลใจที่ จ ะต้ อ งท� ำ อะไรๆ ให้ดีขึ้น ทั้งต่อผู้ที่คาดหวัง และขณะเดียวกัน ต่อตัวเองในการทีจ่ ะ ใช้คำ� ว่า “มาพัฒนาบ้าน เกิดเมืองนอน”หรือบริหารบ้านเมือง บริหาร จังหวัดอุบลราชธานี ก็ให้ไม่นอ้ ยหน้า แล้วให้ มันดีกว่าที่เป็นอยู่ ให้มันได้ประโยชน์กับ ทุกฝ่ายมากยิ่งขึ้น

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 35

35

6/6/2561 17:30:06


ข้ อ ดี ของอีสานคือ เป็ น เมื องพุท ธ เมื อ งที่ เ รีย กว่า อู ่ ข้ า ว อู ่ น�้ำ อู่ธรรม

จากประสบการณ์ ที่ เ คยไปเป็ น ผู้ว่าฯร้อยเอ็ดมาก่อน น�ำมาปรับใช้ใน จังหวัดอุบลราชธานีซงึ่ อยูแ่ ถบภาคอีสาน เหมือนกัน เป็นความโชคดี ที่ได้รับแต่งตั้งมาเป็น ผู ้ ว ่ า ที่ ภ าคอี ส าน และครั้ ง แรกที่ จั ง หวั ด ร้ อ ยเอ็ ด ท� ำ งานกั บ พี่ น ้ อ งประชาชนได้ ทุ ก เรื่ อ ง ตั้ ง แต่ แ ก้ ป ั ญ หาและเป็ น พลั ง ใน การพัฒนา ฝนแล้ง น�ำ้ ท่วม ขาดน�ำ ้ เรือ่ งข้าว เรือ่ งการท่องเทีย่ วและเรือ่ งการพัฒนา โดยเฉพาะ

36

.indd 36

ยิ่งการพัฒนาท�ำให้คนอาชีพภาคเกษตรหรือ พี่น้องเกษตรกรส่วนใหญ่ ให้มีความเป็นอยู่ ที่ ดี ขึ้ น นอกจากความเป็ น อยู ่ ที่ ดี ขึ้ น แล้ ว ยังมีองค์ความรู้ มีสมรรถนะ มีศักยภาพที่ เข้ ม แข็ ง ขึ้ น ประสบการณ์ นั้ น มั น ถื อ เป็ น Springboard ในการที่จะท�ำงานให้ก้าวไป ข้ า งหน้ า ได้ อ ย่ า งมั่ น คงแข็ ง แรงมากขึ้ น อี ก อย่ า งการสั่ ง สมประสบการณ์ ใ น การบริหารงานพื้นที่ บริหารคนให้เกิดและ มีความร่วมมือ และบูรณาการกัน เป็นทีม

ทีร่ อ้ ยเอ็ดได้ตงั้ แนวทางการท�ำงานของตัวเอง และข้าราชการ เจ้าหน้าที่ ทุกฝ่าย ก�ำนัน ผูใ้ หญ่บา้ น ผูบ้ ริหารท้องถิน่ ในการบ�ำบัดทุกข์ บ�ำรุงสุข แบบประชารัฐ ไว้ 3 ข้อ ก็คือ ต้อง รูท้ กุ ข์รสู้ ขุ มีขอ้ มูลทุกข์สขุ ต่างๆ เชิงประจักษ์ ทัง้ ทีเ่ ป็นตัวเลข ตัวหนังสือ ตัวชีว้ ดั วิเคราะห์ แนวทางแก้ทุกข์สร้างสุข และสุดท้ายก็คือว่า ต้ อ งรู ้ ว ่ า ใครที่ จ ะมาช่ ว ยเราแก้ ไ ขได้ บ ้ า ง เดิ น หน้ า เรื่ อ งของการสานต่ อ ก่ อ และ เติมพลังประชารัฐ ในการขับเคลือ่ นงานทุกมิติ คื อ ภาครั ฐ เป็ น ผู ้ ส นั บ สนุ น ประชาชนหรื อ ผู้ที่อยู่กับปัญหาหลักเป็น ผู้แก้ แล้วก็ภาค เอกชนที่มีความส�ำเร็จที่มีโอกาส ช่วยเป็น พลังขับเคลื่อน อยากจะเอาบทเรียนและความส�ำเร็จของ ร้อยเอ็ด ทีเ่ กิดจากความร่วมมือ เอางานเป็นหลัก ไม่ เ อาผลประโยชน์ ไม่ เ อาสิ่ ง ที่ เ รี ย กว่ า การออกค�ำสั่ง แต่ออกค�ำเสริม คือเติมใจ เติมพลัง เรียกร้องเอาจิตวิญญาณการท�ำงาน เพื่ อ คนอื่ น พู ด คุ ย กั น แบบกั ล ยาณมิ ต ร โดยจะใช้วิธีเอาปัญหามาคุยมาเปิดเวทีกัน สร้างเวทีการท�ำงานที่ต่อเนื่อง ไม่ว่าจะเป็น เวทีการประชุมร่วม เวทีการท�ำงาน ดึงเอา ทุ ก ภาคส่ ว น ฟั ง ทุ ก ฝ่ า ย สภาหอการค้ า อุตสาหกรรม ท่องเทีย่ ว สภาเด็ก สภาผูส้ งู อายุ แม้กระทั่งกลุ่มที่เป็นพลังกลุ่มสตรี เป็นต้น

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

6/6/2561 17:30:14


อุบลราชธานีจะใช้แนวทางการท�ำงานที่ เหมื อ นกั น เพราะคนอี ส านเหมื อ นกั น วิถีชีวิตก็คล้ายคลึงกัน ความเคารพเชื่อฟัง ปราชญ์ชาวบ้าน ยึดมั่นในศีลธรรมร่วมกัน จึงคิดว่าท�ำงานอุบลราชธานีจะง่าย แม้จะ มีพื้นที่มากกว่า อุบลราชธานีมีมนต์เสน่ห์ เป็นเมืองมีจุดขาย 3 ธรรม คือ ธรรมชาติ ธรรมมะ และศิลปะวัฒนธรรม ด้านธรรมชาติ ด้านภูมิศาสตร์โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ป่าไม้ ภูเขา น�้ำตก แม่น�้ำและสภาพทางธรณีวิทยา อุบลเป็นจังหวัดที่มีจุดขาย เห็นพระอาทิตย์ ก่อนใครในสยาม พระอาทิตย์ที่ ผาชะนะได ประติมากรรมธรรมชาติ ด้านศิลปะมีแหล่ง และพืน้ ทีท่ แี่ สดงให้เห็นร่องรอยของอารยธรรม ผาแต้ม วัฒนธรรมเก่าแก่ ด้านวัฒนธรรม ประเพณีโดดเด่น ได้แก่งานประเพณีแห่เทียน งานบุญฮีตคอง ด้านธรรม อุบลเป็นเมืองแห่ง พระพุทธศาสนา ที่เป็นทั้งศูนย์การศึกษา และเผยแพร่ พุ ท ธศาสนา หลั ก ปฏิ บั ติ สายวิปสั สนากรรมฐาน มีพระอริยสงฆ์ทเี่ ป็น แม่ทพั ธรรมทีโ่ ดดเด่น อาทิ หลวงปูม่ นั่ ภูรทิ ตั โต หลวงปู่ชา มีวัด วาอารามและศาสนสถาน ที่ส�ำคัญ

สภาอุตสาหกรรม สภาการท่องเทีย่ ว ภาคการเงิน การธนาคาร ภาคประชารั ฐ ก็ เ ลยคิ ด ว่ า งานทุกอย่าง จากความร่วมมือมันก็เกิดพลัง เพราะฉะนั้นจึงเป็นเมืองโอกาส เมืองอุบลฯ นี่เป็นเมืองโอกาส มีคนกล่าวกันเสมอว่า อุบลเมืองคนดี เมืองมีทนุ ดีเยอะ คนดีมาจาก เป็นเมืองของแหล่งพุทธธรรม แล้วก็ดินดี ปลูกอะไรก็ดีน�้ำดี มีที่ที่รวมน�้ำ รวมน�้ำก็คือ ชี ก็ ม าหาลงแม่ น�้ ำ มู ล น�้ ำ สายอื่ น ก็ ล งมา แล้วก็ไปรวมที่โขงโขงก็มาหา เพราะโขงผ่าน อุ บ ลราชธานี ตั้ ง 360 กว่ า กิ โ ลเมตร เพราะฉะนั้ น ดิ น ดี น�้ ำ ดี คนดี จึ ง คิ ด ว่ า สิง่ เหล่านีท้ ำ� ให้เกิดพลังว่า เป็นเมืองมีโอกาส ก็ เ มื่ อ มี โ อกาสก็ ม าคิ ด ในเชิ ง ยุ ท ธศาสตร์ โอกาสทางยุทธศาสตร์มีหลายอย่าง

การท�ำมาค้าขายและบริหารสิ่งดีที่มีอยู่ มากมาย การเมืองเป็นเมืองการค้า ที่จะท�ำให้เกิด การผลิตและสร้างมูลค่าเพิม่ ให้กบั ทรัพยากร ที่มีอยู่ครับ ทั้งด้านกายภาพและภูมิศาสตร์

คือ การเป็นเมืองศูนย์กลางเชือ่ มโยงอีสานล่าง เชื่อมโยงประเทศไทย และรวมถึงประเทศ เพื่อนบ้าน ภูมิภาคอาเซียน ผลผลิตจาก ภาคเกษตร เมื อ งแห่ ง อาหารและพื ช เศรษฐกิจส�ำคัญ อุบลราชธานีมอี าหารอร่อย ทีห่ ลากหลาย เมนูทเี่ ป็นเอกลักษณ์ของเผ่าพันธุ์ และชุ ม ชนต่ างๆ ที่ผสมผสานอยู่ในพื้นที่ ไทย ลาว จีน เวียดนาม กัมพูชา ด้านการ ท่ อ งเที่ ย ว มี ท รั พ ยากรท่ อ งเที่ ย วที่ ห ลาก หลายทั้ ง ธรรมชาติ วิ ถี ชี วิ ต การสื บ สาน วั ฒ นธรรมประเพณี ที่ มี ลั ก ษณะที่ เ ป็ น เอกลักษณ์และผสมผสาน อารยธรรมล้านช้าง อารยธรรมทางขอม อุบลครบถ้วน มีการ พัฒนาและวางแผนด้านโครงสร้างพื้นฐาน เพื่ อ การเข้ า ถึ ง แหล่ ง และพื้ น ที่ ต ้ น ทุ น การ ท่องเที่ยว ตอนนี้อุบลเรามีเครื่องบิน 19 เที่ยวบินภาย ในประเทศ นานาชาติ และ ก�ำลังจะขยายไปอีกในการบินระหว่างประเทศ ทุกอย่างมันลงตัวคิดว่า เหลืออย่างเดียวก็คอื ว่า ต้ อ งบริ ห ารสิ่ ง ที่ มี อ ยู ่ ใ ห้ เ กิ ด ประสิ ท ธิ ภ าพ ให้เกิดผลสัมฤทธิ์ที่เป็นรูปธรรมให้ได้

ทีมอุบล ทุนพัฒนาจังหวัดอุบลราชธานี ที ม อุ บ ล ที่ เ ป็ น ภาคี ก ารพั ฒ นาและ ขับเคลื่อน นอกจากภาคราชการ ที่ผมอยาก จะให้เป็น “กรมอุบล” คือสังกัดเดียวกัน ไม่มี กระทรวง กรมที่ ห ลากหลายตามสั ง กั ด เพราะเรามาท�ำงานพื้นที่เดียวกัน เอาพื้นที่ เป็ น ตั ว ตั้ ง สลายการท� ำ งานแบบแท่ ง ยังมีภาคีการพัฒนาภาคเอกชนและประชาชน ได้ แ ก่ ภ าคธุ ร กิ จ คื อ สภาหอการค้ า

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 37

37

6/6/2561 17:30:21


ยุทธศาสตร์ ด้านกายภาพ เศรษฐกิจ แล้วก็ศาสนา สังคม แล้วก็วฒ ั นธรรมของ อุบลราชธานี ท่ า นมองภาพการพั ฒ นาจั ง หวั ด หรื อ พั ฒนาพื้ น ที่ ข องอุ บ ลราชธานี ด ้ ว ยการตั้ ง อุดมคติหรือว่าวิสัยทัศน์ว่าเป็นเมืองที่น่าอยู่ คู ่ ก ารพั ฒนาที่ มีโ อกาส ให้เ ท่า ทัน กระแส โลกาภิ วั ฒ น์ สั ง คมดิ จิ ต อล เมื อ งที่ ต ้ อ ง ทันสมัย ทันโลก แล้วก็สภาพภูมิสังคมแล้วก็ ภูมิศาสตร์ของเราก็คือ มันเป็นประตูการค้า เมื่ อ มี ป ระตู ก ารค้ า และพื้ น ฐานทางการ พัฒนาที่มาจากการเกษตร มันต้องมีการ ลงทุนเพือ่ ให้เกิดกิจกรรมธุรกรรมทางการค้า ไม่ว่าจะเป็นลงทุนภาคบริการที่สนับสนุน ทางการค้า ลงทุนเรือ่ งสินค้าทีน่ ำ� ไปสูก่ ารค้า ลงทุนเรื่องของคนที่จะเป็นนักการค้า หรือ

38

.indd 38

เปลีย่ นจากการผลิตอย่างเดียว ไปสูก่ ารผลิต และค้าขาย คนอุบลต้องไม่ท�ำหรือผลิตเป็น อย่างเดียวขายเป็นด้วย อันนี้เป็นส่วนหนึ่ง ท�ำให้ตลาดประชารัฐของเราขายดีด้วย แล้ว ก็เมืองอุบลราชธานี ไปที่ไหนก็มีความสุข เป็นเรือ่ งของการท่องเทีย่ วหลายมิติ มีทงั้ มิติ วัฒนธรรม มิตทิ งั้ ธรรมชาติ แล้วมิตทิ งั้ วิถชี วี ติ ที่เป็นสิ่งบันเทิงใจ เช่น ความสวยงามของ โบราณสถาน ความมีร่องรอยประวัติศาสตร์ ที่เชื่อมโยงกับความส�ำเร็จของผู้คน ไม่ว่าจะ เป็ น สายปฏิ บั ติ พ ระ หรื อ การบริ ห ารงาน ต่างๆ เหล่านี้ ท่องเที่ยวหลายมิติ แล้วอีก อย่างคือ อุบลเมืองเกษตร เมืองเกษตรนี่เรา มีพืชหลัก คือ ข้าว ข้าวอุบลนี่ปลูกมากที่สุด ทั้งจ�ำนวนไร่ แล้วผลผลิตก็ดีขึ้นเรื่อยๆ แล้ว ก็ยงั มีเกษตรทีเ่ ป็นอืน่ ๆ ไม่วา่ จะเป็นปศุสตั ว์

ประมง เป็นแหล่งประมงเพราะว่าแม่น�้ำมา บรรจบเรา น�ำเอาความอุดมสมบูรณ์เข้ามา ปากแม่นำ�้ มูล แม่นำ�้ โขงก็เป็นแม่นำ้� นานาชาติ เพราะฉะนั้นเป็นเมืองเกษตร เกษตรต้อง

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

6/6/2561 17:30:28


สู่สากล เกษตรอยู่ในบ้านเราไม่ได้ เราต้อง สร้างอาหารทีม่ คี ณ ุ ภาพให้สมกับเป็นครัวโลก ครั ว ที่ จ ะท� ำ ให้ เ กิ ด ความอยู ่ ดี กิ น ดี แล้ ว ก็ ความปลอดภั ย ทั้ ง ผู ้ ผ ลิ ต และผู ้ บ ริ โ ภค เป็นเมืองน่าอยูท่ ที่ นั สมัย ประตูสกู่ ารค้าและ การลงทุน ท่องเที่ยวหลายมิติเกษตรสู่สากล เป็นวิสยั ทัศน์ทต่ี อ้ งขับเคลือ่ นอย่างมีแนวทาง และขั้นตอนที่ชัดเจน

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 39

39

6/6/2561 17:30:33


ขณะนี้อุบลราชธานีมีโครงสร้างที่จะก้าว ไปในทิศทางที่คิดแล้ว ตอนนี้โครงสร้างพื้นฐานอุบลราชธานี โครงข่ายการเดินทางไปได้ทวั่ ถึงละ ทางถนน หนทางจะมีเรือ่ งของการเดินทางทางอากาศ จะมีโครงการที่เราอยู่กับประเทศเพื่อนบ้าน โครงสร้ า งพื้ น ฐานที่ จ ะต้ อ งพั ฒ นาต่ อ ไป ก็ คื อ การปรั บ ถนนเชื่ อ มไปยั ง ประเทศ เพื่ อ นบ้ า น เช่ น ลาว ข้ า มสะพานข้ า ม แม่น�้ำโขง เพื่อให้เกิดการค้าการลงทุน อันนี้ คือจะเป็นการต่อยอดต่อกิจกรรมออกไป โครงสร้างพื้นฐานหนึ่ง โครงสร้างพื้นฐาน ด้านคุณภาพชีวิต คุณภาพชีวิตคือสังคมที่มี แต่ความสามัคคี การช่วยเหลือเกื้อกูลกัน เป็นเมืองที่น่าอยู่ น่าอยู่จากคน น่าอยู่จาก สิ่งแวดล้อมและน่าอยู่จากความทันสมัย คือ เราอยากให้บ้านเมืองของเรา ทันสมัยกับ ข่าวสารข้อมูลการตลาด การเกษตรรู้ไอที ใครซือ้ ขายอะไร มีผลผลิตอะไรสามารถทีจ่ ะ ไม่ตอ้ งวิง่ มาหาเขา ไม่ตอ้ งท�ำเหมือนสมัยผม ตอนเด็ ก ๆ กว่ า จะขายผั ก กาดดองได้ กะละมังหรือหม้อหนึ่งต้องนั่งรถกว่า 30 กิโลเมตร ต้องเข้าไปถึงแหล่ง สมัยนี้ต้องให้ เกษตรกรสามารถน�ำเทคโนโลยีมาใช้ แล้วการ เป็ น ประตู สู ่ ก ารค้ า ต้ อ งพั ฒ นาขี ด ความ สามารถของคน แล้วก็แหล่งที่เป็นจุดพัก สินค้า ขนส่งอะไรต่างๆ มันจึงเป็นประตูได้ แล้วก็ความสะดวกสบายของการเดินทาง เข้า–ออกระหว่างประเทศ ในเรื่องของการ สนั บ สนุ น โครงสร้ า งของ logistics ที่ มี ความสมบูรณ์ที่มีความคล่องตัว ไม่ว่าจะ เป็นการระบายสินค้า ระบายคน แล้วก็เป็นที่ เจรจา เจรจาทางการค้า เจรจาทางการซือ้ ขาย เป็นเมืองทีส่ ะดวกในการจัดประชุม นิทรรศการ แสดงสินค้าและบริการ รวมถึงการท่องเทีย่ ว ท� ำ ให้ มี ศู น ย์ ป ระชุ ม หรื อ ศู น ย์ แ สดงสิ น ค้ า ต่ า งๆ เหล่ า นี้ นี่คือ สิ่งที่เ ป็น ทิศทางที่ว่า ต้องท�ำนะครับ และในเรือ่ งของการท่องเทีย่ ว 40

.indd 40

ต้องยอมรับว่าท่องเที่ยวเป็นกิจกรรมทาง เศรษฐกิจที่สร้างรายได้ สร้างเงิน และสร้าง อืน่ ๆ ต่อ เช่น คนมาเทีย่ วต้องมากิน มานอน และมาซือ้ สินค้า หรือไม่บางทีกอ็ าจจะต่อไป อาจจะมาปักหลักฐานมาลงทุน มันจึงเป็น สิ่ ง ล่ อ ใจเป็ น แม่ เ หล็ ก เพราะฉะนั้ น การ ท่องเทีย่ วอุบลราชธานีเป็นทิศทางทีเ่ ราต้องท�ำ

จังหวัดอุบลราชธานีมีศักยภาพแข็งแรง ในการที่ก้าวหน้าต่อไป เพราะว่าอุบลราชธานีมเี สน่หใ์ นเรือ่ งของ ลักษณะทางภูมิศาสตร์อยู่แล้ว เรื่องของการ ท่ อ งเที่ ย วธรรมชาติ จึ ง ถื อว่ า เป็ น เรื่ อ งที่ ต้องถือว่าเป็นแนวทางการพัฒนาอันหนึ่ง ที่ จ ะต้ อ งก่ อ ให้ เ กิ ด ความส� ำ เร็ จ แล้ ว ก็ มี ผลตอบแทนที่ สู ง ขึ้ น คื อ จั ง หวั ด มี ร ายได้

มีผลิตภัณฑ์มวลรวมที่สูงขึ้น ปีก่อนๆ คือ 2559 ตัวเลขอยู่ที่ 1.8 แสนล้าน ปีนี้ 2560 ต้องเพิม่ ขึน้ ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 4 และปี ต่อไป อย่างน้อย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 อันนี้ต้อง ตัง้ เป้า ส่วนการกระจายรายได้ ปี 2559 อยูท่ ี่ 6.77 หมื่นบาท/คน/ปี ปีต่อๆ มาและปีนี้ ควรจะเป็น 7-8 หมืน่ และ 1 แสนบาท/คน/ปี ให้ได้ และหากเอาเกณฑ์ความสุขมวลรวมมา วัดก็ต้องมีความสุขที่เพิ่มขึ้น ดังนั้นจึงต้อง พัฒนาเสริมสร้างศักยภาพและความเข้มแข็ง ของเศรษฐกิจ สังคมของจังหวัดอุบลราชธานี ให้ก้าวหน้ามากยิ่งขึ้น อุบลมีสิ่งที่น่าลงทุน มากหลายเรื่อง ทั้งการค้าขายภายในและ ชายแดน การพัฒนาต่อยอดและสร้างมูลค่า เพิม่ ของผลผลิตทางการเกษตรทีม่ ผี ลผลิตมาก และการพัฒนาธุร กิจการท่องเที่ยว ซึ่งจะ

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

6/6/2561 17:30:41


ท�ำให้เกิดการเชื่อมโยง ไปยังกิจกรรมอื่นๆ และพื้ น ที่ อื่ น ๆ ด้ ว ย เพราะขณะนี้ ต ่ า ง ประเทศเขาก�ำลังจะพัฒนาส�ำเร็จไปเรื่อยๆ ประเทศลาวเขาจะเปิดเป็นเมืองท่องเที่ยว Visit Lao Year 2018 ลาวเปิดตัวขึน้ มาแล้ว เราก็ตอ้ งเชือ่ มโยงไปกับเขา แล้วก็สดุ ท้ายคือ ฐานหลั ก เราคื อ เกษตร เกษตรสู ่ ส ากล นอกจากอาหาร นอกจากการแปรรูป สินค้า เกษตรที่ ไ ม่ ใ ช่ แ ค่ อ าหาร ไม่ ว ่ า จะเป็ น เวชส�ำอางหรือสินค้าเกษตรที่เป็นวัตถุดิบ พลังงานทดแทน เช่น มันส�ำปะหลัง หรืออ้อย เป็นพลังงานทดแทน พลังงานที่ลดเรื่องการ เสียดุลการค้าเรือ่ งการน�ำเข้าพลังงาน ทุกวัน นี้ ก� ำ ลั ง มี โ ครงการ Bio Ethanol จาก มันส�ำปะหลัง หรือจะมีโครงการเกี่ยวกับ พลังงานทดแทนอืน่ อุบลราชธานีมศี กั ยภาพ ตรงนี้ ม าก เราจะใช้ โ อกาสของเกษตรที่ สู่สากล ก็คือ คนรุ่นใหม่ที่ท�ำธุรกรรมหรือ อาชีพด้านการเกษตรต้องเป็นเกษตรสมัยใหม่ ไม่ ใ ช่ เ กษตรตามยถากรรมตามมีต ามเกิด ต้องเป็นนักวางแผนนักบริหารการเกษตร ปศุสัตว์ไม่ได้มองว่าเราเลี้ยงวัวอย่างเดียว แต่ เ ราต้ อ งค� ำ นึ ง ถึ ง การท� ำ โรงงานแปรรู ป อาหารจากสัตว์ต่างๆ ซึ่งก็จะมี ภาคของ เกษตรที่เป็นพืชมาสนับสนุน ไม่ว่าจะเป็นใน เรือ่ งของอาหารสัตว์ เราต้องสร้างความเชือ่ มโยง ของธุรกิจ หรือว่าช่วงหนึง่ ของทรัพยากรทีเ่ รา มีอยู่ให้เกิดประโยชน์ที่สมดุล ก็คือเกษตร ปลอดภัย เกษตรที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เรี ย กว่ า ไม่ เ บี ย ดเบี ย นตั ว เองและผู ้ อื่ น นั่นก็คือ เกษตรอินทรีย์

จะต้ อ งพั ฒนาเพื่ อ ตอบรั บ ตรงนี้ เราเป็ น จังหวัดปลายน�ำ้ และทางน�ำ้ นานาชาติ แต่เรา ใช้น�้ำที่มาหาเราอย่างไม่คุ้มค่า หรืออย่างไม่ ได้ ป ระโยชน์ เ ต็ ม ที่ เราต้ อ งพั ฒ นาให้ ใ ช้ ประโยชน์เต็มที่ ไม่ว่าจะเป็นระบบส�ำรองน�้ำ ระบบกระจายน�้ำที่จะไปเป็นแหล่งผลิตของ เกษตรกร แล้ ว ยั ง เอาน�้ ำ ไปในเรื่ อ งของ การท่องเที่ยว งานปีนี้ก็เป็นส่วนหนึ่ง คือจะ ท�ำในเรื่องของการท่องเที่ยวทางน�้ำ เพราะ เรามีแหล่งน�ำ้ และทุง่ น�ำ้ จะเข้าถึงแหล่งว่าท�ำ ที่ทางบกกว่าจะไปถึงก็น่าจะยาก เพราะ มันอยู่ริมน�้ำ มันเป็นสังคมที่อยู่ริมน�้ำ สิ่งที่ เป็นร่องรอยและความเจริญต่างๆ ในอดีตก็ดี ในความงดงามของเมืองท่าริมน�้ำ ลองนึกถึง ประเทศยุโรป แม่นำ�้ ดานูบ จะสร้างความเจริญ ในการท่ อ งเที่ ย วและการสั ญ จร เราจะมี เตรี ย มการเรื่ อ งการท� ำ ให้ เ กิ ด เศรษฐกิ จ ทางน�ำ้ ไม่วา่ จะเป็นตลาดน�ำ้ ท่องเทีย่ วทางน�ำ้ นอกเหนื อ จาก เรามี แ ค่ แ พ เรื อ ประมง เราต้องพัฒนาให้เกิดก�ำลังเศรษฐกิจ ซึ่งมัน จะเชื่อมโยงเกษตรสู่สากลได้อย่างยั่งยืน

การพัฒนาจังหวัดอุบลราชธานี สืบสานสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ การพัฒนาประเทศ ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศทัง้ 6 ด้าน ยุทธศาสตร์ชาติ 20 แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 ยุทธศาสตร์ภาค กรอบแนวทางการปฏิ รู ป ประเทศ จะถู ก น�ำมาแปลงสู่การปฏิบัติ และอุบลราชธานีก็ จะต้องปรับยุทธศาสตร์ของจังหวัด กลุม่ จังหวัด ทีม่ พี นื้ ฐานจากลักษณะทางเศรษฐกิจ สังคม การปกครองและการพัฒนาทีม่ ศี กั ยภาพของ ตนเองให้สอดรับ และเกือ้ กูลกัน การพัฒนา จั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี ซึ่ ง มี ต ้ น ทุ น และองค์ ประกอบของคน พืน้ ที่ ทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรคน สภาพทางภูมสิ งั คมและสภาพ ภูมิศาสตร์ ผมเชื่อว่าอุบลราชธานีจะเป็น เมื อ งแห่ ง โอกาสการพั ฒ นาสู ่ เ ป้ า หมาย ความ“มัน่ คง มัง่ คัง่ ยัง่ ยืน” ทีเ่ ป็นจริงได้ เป็น ความมั่นใจของท่านผู้ว่าราชการจังหวัดที่มี ทั้งประสบการณ์หลักการและความมุ่งมั่น และมีแรงบันดาลใจที่พร้อมในวันนี้ครับ

งานเรื่องสุขภาพและเกษตรสู่สากล ก็ต้องท�ำ แน่นอนเราต้องดูแลเรื่องสุขภาพ ทุกคน หั น มาสนใจสุ ข ภาพ อุ บ ลราชธานี มี พื้ น ที่ เพาะปลูก มีน�้ำที่เพียงพอ มีการจัดการน�้ำที่

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 41

41

6/6/2561 17:30:52


SP EC I AL I N FO RM AT I O N บันทึกประวัติผู้ว่าราชการจังหวัดอุบลราชธานี

นายสฤษดิ์ วิฑูรย์

ประวัติการรับราชการ

- หลักสูตรนักวิจยั สังคมศาสตร์ รุน่ ที่ 2 ส�ำนักวิจยั สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิดา้ ) - หลักสูตรปลัดอ�ำเภอ รุ่นที่ 94 - หลักสูตรนายอ�ำเภอ รุ่นที่ 47 - หลักสูตรนักปกครองระดับสูง รุ่นที่ 53 - หลักสูตร Executive Training Program on Provincial and Local Administration (PPLA) 2015 (Tentative) จาก National Graduate Institute for Policy Studies (GRIPS) ประเทศญี่ปุ่น - หลักสูตรนักบริหารการงบประมาณระดับสูง รุ่นที่ 1 - หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้านการค้า และการพาณิชย์ (TEPCOT) รุ่นที่ 9

- ปลัดอ�ำเภอแม่จริม จังหวัดน่าน - ฝ่ายช่วยอ�ำนวยการและประสานราชการ ส�ำนักงานเลขานุการกรม กรมการปกครอง - ฝ่ายบรรจุและแต่งตัง้ กองการเจ้าหน้าที่ กรมการปกครอง - หัวหน้างานบรรจุและแต่งตั้ง/ ฝ่ายบรรจุและแต่งตั้ง กองการเจ้าหน้าที่ กรมการปกครอง - ปลัดอ�ำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัด อุบลราชธานี - ผู้ตรวจการส่วนท้องถิ่น ฝ่ายท้องถิ่น จังหวัดอุบลราชธานี - หั ว หน้ า ฝ่ า ยบริ ห ารทั่ ว ไป ส� ำ นั ก บริหารการทะเบียน กรมการปกครอง - ปลัดอ�ำเภอหนองบัวแดง จังหวัดชัยภูมิ - ป้องกันจังหวัดปทุมธานี - หัวหน้ากลุม่ งานแผนและงบประมาณ กองวิชาการและแผนงาน กรมการปกครอง - นายอ�ำเภอห้วยคต จังหวัดอุทัยธานี - ผูอ้ ำ� นวยการส่วนส่งเสริมการทะเบียน และบัตร ส�ำนักบริหารการทะเบียน

ประวัติการท�ำงาน

กรมการปกครอง

- นักวิจัย บริษัท Inter-Thai Consultant จ�ำกัด - คณะท�ำงาน แผนและโครงการ หมูบ่ า้ นป้องกันตนเองชายแดน กองวางแผนเตรียมพร้อม ด้านเศรษฐกิจ ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ - นักวิจัยสถาบันวิจัยสังคมและประชากร มหาวิทยาลัยมหิดล - นักวิจัย โครงการนโยบายสาธารณะและสังคม สถาบันนโยบายศึกษา - อาจารย์พเิ ศษ ภาควิชาบริหารจัดการ คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรเทคโนโลยีสงั คม และ การจัดการ สถาบันเทคโนโลยีและสังคม (เกริก)

- ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านการบริหาร งานทะเบียน ส�ำนักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง - ผู้อ�ำนวยการส�ำนักนโยบายและแผน ส�ำนักปลัดกระทรวงมหาดไทย - ผู้ช่วยปลัดกระทรวงมหาดไทย - ผู้ว่าราชการจังหวัดร้อยเอ็ด - ผู้ว่าราชการจังหวัดอุบลราชธานี (ปัจจุบัน)

ผู้ว่าราชการจังหวัดอุบลราชธานี ประวัติการศึกษา - โรงเรียนสิทธิธรรมศาสตร์ศิลป์ จังหวัดอุบลราชธานี - โรงเรียนเบ็ญจะมะมหาราช จังหวัดอุบลราชธานี - รัฐศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับ 2) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2525) - รัฐศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2530)

ประวัติการศึกษาอบรม

42

.indd 42

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

6/6/2561 17:30:56


ผู้ว่าราชการจังหวัดอุบลราชธานี นายสฤษดิ์ วิฑูรย์

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 43

43

6/6/2561 17:31:06


S P ECI A L INT E R V IE W

บันทึกเส้นทางพบรองผู้ว่าราชการจังหวัดอุบลราชธานี

นายเฉลิมพล มั่งคั่ง รองผู้ว่าราชการจังหวัดอุบลราชธานี

44

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

4

.indd 44

1/6/2561 17:54:15


รองผู้ว่าราชการจังหวัดอุบลราชธานี

ท�ำงานให้เต็มความสามารถ เพื่อพัฒนาชาติให้มั่นคง ครอบครัวเป็นสุข รองผู้ว่าราชการจังหวัดอุบลราชธานี นายเฉลิมพล มั่งคั่ง

ง านราชการ คือ งานของแผ่นดิน ข้าราชการจึงต้องส�ำเหนียกตระหนักอยู่ตลอดเวลา

ถึงฐานะและหน้าที่ของตน “ราชการ” เป็นงานของแผ่นดิน “ข้าราชการ” เป็นผู้ปฏิบัติบริหารงาน ของแผ่ น ดิ น ดั ง พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช บรมนาถบพิตร ที่ว่า

“ ข้าราชการผู้ปฏิบัติบริหารงาน “งานของแผ่นดินนั้นเป็นงานส่วนรวม มีผลเกี่ยวเนื่องถึงความเจริญขึ้น หรือเสื่อมลง ของบ้านเมือง และทุกข์สขุ ของประชาชนทุกคน ข้าราชการผูป้ ฏิบตั บิ ริหารงานของแผ่นดิน จึงต้องส�ำนึกตระหนักในความรับผิดชอบที่มีอยู่”

ของแผ่นดินจะต้องตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ อย่างเต็มก�ำลังความสามารถ ”

“ข้าราชการผู้ปฏิบัติบริหารงานของแผ่นดิน จะต้องมุ่งปฏิบัติภาระทั้งปวง ด้วยความ อุตสาหะเพ่งพินิจ ใช้ความรู้ ความคิด ความเฉลียวฉลาด และความรู้ผิดชอบชั่วดี” “ข้าราชการผู้ปฏิบัติบริหารงานของแผ่นดินจะต้องตั้งใจปฏิบัติหน้าที่อย่างเต็มก�ำลัง ความสามารถ” เชื่อเป็นอย่างยิ่งว่านายเฉลิมพล มั่งคั่ง รองผู้ว่าราชการจังหวัดอุบลราชธานี คือ “ข้าราชการ ผู้ปฏิบัติบริหารงานของแผ่นดิน” ดังพระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร อย่างแน่นอน เพราะท่านเฉลิมพล ได้น้อมน�ำแนวทางการทรงงาน ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร และองค์สมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร มาเป็นหลักในการท�ำงาน และ เทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์เป็นที่ตั้ง ปฏิบัติงานและด�ำรงตนในความเป็นข้าราชการ ภายใต้เบื้องพระยุคลบาทอย่างเต็มความสามารถ บ�ำบัดทุกข์ บ�ำรุงสุข ให้กับพี่น้อง ประชาชนอย่างเต็มก�ำลังความสามารถ เพื่อประชาชนได้มีความมั่นคงในอาชีพการงาน มีความมั่นคง และด�ำรงชีพได้อย่างยั่งยืนชั่วลูกชั่วหลาน

นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย ได้ รั บ เกี ย รติ จากท่ า นเฉลิ ม พล มั่ ง คั่ ง รองผู ้ ว ่ า ราชการจั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี ให้สมั ภาษณ์ ถึงภาระหน้าทีห่ ลัก ทีไ่ ด้รบั มอบหมายจากผูว้ า่ ราชการจังหวัด ในการ ดูแลทุกข์ สุข พีน่ อ้ งประชาชน ชาวจังหวัด อุ บ ลราชธานี ทั้ ง งานด้ า นเศรษฐกิ จ ปฏิรปู การศึกษา การค้าชายแดนระหว่าง ประเทศ ดูแลองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ วัฒนธรรมประเพณี ฯลฯ รวมถึงการวาง ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด และกลุ่ม จังหวัด โดยมีรายละเอียดดังนี้

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

4

.indd 45

45

1/6/2561 17:54:22


“ งานของแผ่นดินนั้นเป็นงานส่วนรวม มีผลเกี่ยวเนื่องถึงความเจริญขึ้น หรือเสื่อมลงของบ้านเมือง และทุกข์ สุข ของประชาชนทุกคน ข้าราชการ ผู้ปฏิบัติบริหารงานของแผ่นดิน จึงต้องส�ำนึกตระหนัก ในความรับผิดชอบที่มีอยู่ ”

การเมืองการปกครอง ด้านความมัน่ คง ในฐานะรองผูอ้ ำ� นวยการ

รักษาความมัน่ คงภายในจังหวัดอุบลราชธานี ฝ่ายพลเรือน ช่วยเหลือผูว้ า่ ราชการจังหวัด ในภารกิ จ ดู แ ลความมั่ น คงทางด้ า น เศรษฐกิจ ในเขตจังหวัด และตามแนว ชายแดน โดยเตรียมการตั้งแต่การป้องกัน การกระท�ำความผิดเกี่ยวกับการค้าต่างๆ ทัง้ ด้านแรงงาน และการค้ามนุษย์ ด้านการ เผชิญเหตุเมื่อเกิด ร่วมกับกองก�ำลังรักษา ความสงบเรียบร้อย ออกปฏิบัติงานเพื่อ หยุดยัง้ การกระท�ำความผิด ในทุกรูปแบบ ภายใต้นโยบายท่านผู้ว่าราชการจังหวัด ที่ต้องการให้ดูแลประชาชนให้ปลอดภัย ที่สุด ด้ า นการก� ำ กั บ ดู แ ลองค์ ก รปกครอง ส่วนท้องถิ่น ก�ำกับดูแลองค์กรปกครอง

ส่วนท้องถิน่ ทัง้ ในเรือ่ งของการบริหารงาน งบประมาณ ระบบการท�ำงาน และการ บริหารงานบุคคล โดยเฉพาะการประชุม คณะกรรมการองค์การบริหารส่วนต�ำบล เทศบาล และองค์การบริหารส่วนจังหวัด เพื่ อ ให้ อ งค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ได้ จัดการบริหารงานอย่างมีประสิทธิภาพ ปลอดจากการทุจริต และสามารถบริการ ประชาชนได้อย่างทั่วถึงและเป็นธรรม

46

ด้านสังคม ดูแลปัญหาข้อร้องเรียนที่ผ่านศูนย์ด�ำรงธรรม ให้สามารถแก้ไขปัญหา

ความเดือนร้อนให้ประชาชนได้อย่างทันท่วงที และช่วยเหลืองานสังคมสงเคราะห์ ตามที่ ได้รับมอบหมาย โดยเฉพาะเรื่องภัยพิบัติต่างๆ ในนามของจังหวัดและกาชาดจังหวัด ด้านเศรษฐกิจ ดูแลขับเคลื่อนเศรษฐกิจของจังหวัดภายใต้นโยบายของผู้ว่าราชการ จังหวัดให้วงล้อเศรษฐกิจสามารถหมุนไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ พัฒนาฝึกอาชีพให้กับ ผู้ด้อยโอกาส ให้สามารถด�ำรงชีพได้ด้วยตนเองอย่างมั่นคง ยั่งยืน นอกจากนี้ยังช่วยดูแล ตลาดประชารัฐรักสามัคคี ให้ขับเคลื่อนเชื่อมโยงกันในทุกมิติทั้งด้านพืชผลการเกษตร การท่องเที่ยว การอุตสาหกรรม การบริการต่างๆ ตลอดจนการส่งเสริมวัฒนธรรม ประเพณี เพื่อให้การขับเคลื่อนทางด้านเศรษฐกิจในภาพรวมเพิ่มขึ้นอย่างเป็นระบบ มีความยั่งยืน เพิ่มรายได้ให้ประชาชน เพิ่มยอดการค้าและการบริการ เพื่อเป้ารวม GDP และ GPP สูงขึ้นอย่างมีระบบ ด้ า นการพั ฒ นาเมื อ ง วางแผนงานพั ฒนาเมื อ งอุ บ ลราชธานี ให้ ก ้ า วสู ่ เ มื อ งแห่ ง เทคโนโลยี เป็นแหล่งท่องเที่ยว เป็นเมืองแห่งโอกาสทางการกีฬา Sport City ที่เป็น ศูนย์กลางของการแข่งขันกีฬาต่างๆ ทั้งทางบก ทางน�้ำและทางอากาศ ด้ า นการค้ า การลงทุ น ในการดู แ ลงานด้ า นการค้ า ชายแดน ซึ่ ง ที่ ตั้ ง ของจั ง หวั ด อุบลราชธานี เป็นศูนย์กลางการค้า การลงทุนของลุ่มแม่น�้ำโขงตอนล่าง ที่เชื่อมกับ ประเทศกัมพูชา สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เวียดนาม สหภาพเมียนมา ซึง่ ประเทศเหล่านีเ้ ข้ามาใช้บริการทางด้านการแพทย์ การศึกษาในมหาวิทยาลัยของจังหวัด อุบลราชธานี ท�ำให้จงั หวัดเป็นศูนย์กลางทางด้านการแพทย์ และการศึกษาในเขตภูมภิ าคนี้ เหมาะที่จะเป็นแหล่งการค้า การลงทุนที่ส�ำคัญในลุ่มแม่น�้ำโขงตอนล่าง

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

4

.indd 46

1/6/2561 17:54:31


งานวัฒนธรรม ประเพณี จังหวัดอุบลราชธานี มีงานแห่เทียนพรรษาที่ยิ่งใหญ่มาก

สืบสานประเพณีกันมาปีนี้เป็นปีที่ 117 มีนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ มาเที่ยวชมความงดงามของวัฒนธรรม ประเพณีแห่เทียนเข้าพรรษาเป็นจ�ำนวนมาก ท่าน ผู้ว่าราชการจังหวัด จึงมอบหมายให้ดูแลงานตั้งแต่การเตรียมงาน การจัดงาน และการ ประเมินผลการท�ำงาน ซึง่ ในปีนชี้ อื่ ของงานคือ “ฮีตศรัทธา ราชธานีแห่เทียน” ซึง่ สือ่ ถึงการ เป็นเมืองแห่งการท�ำเทียนทีใ่ ช้ในงานประเพณีตา่ งๆ ตลอดทัง้ 12 เดือน เป็นการแกะสลัก ลวดลายลงบนแท่งเทียนและน�ำไปถวายวัดในช่วงเข้าพรรษา ปีนี้ท่านผู้ว่าราชการจังหวัด ต้องการให้ประชาชนและนักท่องเที่ยว ได้มีโอกาสสัมผัสกับบรรยากาศของ ฮีตสิบสอง ครองสิบสี่และมีส่วนร่วมในงานบุญดังกล่าว โดยจัดให้มีพื้นที่จัดงานแสดงวัฒนธรรม ประเพณีตั้งแต่อดีต สืบต่อมาถึงปัจจุบันมีกลิ่นอายของการย้อนยุคสู่สมัยการก่อตั้งเมือง มีการแข่งขันแกะสลักเทียนโลก อุโมงค์เทียน และกิจกรรมอีกมากมาย

อยากให้พนี่ อ้ งชาวจังหวัดอุบลราชธานี มาร่วมมือร่วมใจกันในการพัฒนาจังหวัด ให้ มี เ ศรษฐกิ จ ที่ ดี ประชาชนได้ รั บ การ บริ ก ารสาธารณะที่ ดี มี ชี วิ ต ที่ เ ป็ น สุ ข มีรายได้เพียงพอต่อการเลี้ยงชีพ มีความ ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ควรหันมา จับมือปรองดองสมานฉันท์กัน สร้างบ้าน เมืองของเรานี้ ให้เป็นตัวอย่างและเป็น ต้นแบบ “บนความพอเพียง” นายเฉลิมพล มั่งคั่ง รองผู้ว่าราชการจังหวัดอุบลราชธานี

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

4

.indd 47

47

1/6/2561 17:54:42


S P ECI A L INT E R V IE W

บันทึกเส้นทางพบรองผู้ว่าราชการจังหวัดอุบลราชธานี

ใจเขา ใจเรา

หลักการบริการงานราชการ

นายกองเอกปราโมทย์ ธัญญพืช รองผู้ว่าราชการจังหวัดอุบลราชธานี

48

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

.indd 48

5/6/2561 14:57:23


ความพอดี ความจริงใจต่อหน้าที่ ความรับผิดชอบ และการสร้าง ทีมงานที่มีประสิทธิภาพ รองผู้ว่าราชการจังหวัดอุบลราชธานี นายกองเอกปราโมทย์ ธัญญพืช

การพัฒนาจังหวัดอุบลราชธานีให้ครอบคลุมในทุกมิตินั้น จ�ำเป็นอย่างยิ่งที่ทุกภาคส่วน

ไม่ ว ่ า จะเป็ น ภาคประชาชน ภาคเอกชน ภาครั ฐ ต้ อ งร่ ว มกั น ผลั ก ดั น และประสานมื อ กั น ด้ ว ย ความสามัคคี โดยไม่ทอดทิ้งใครหรือภาคส่วนใดไว้ข้างหลัง และต้องเข้าใจถึงนิยามของค�ำว่า “การพั ฒ นาร่ ว มกั น ” ซึ่ ง หมายถึ ง การมี วิ สั ย ทั ศ น์ มี เ ป้ า หมาย และวางยุ ท ธศาสตร์ การพัฒนาร่วมกันอย่างสมดุล ซึ่งจะท�ำให้จังหวัดอุบลราชธานี เป็นจังหวัดที่น่าอยู่ ประชาชน มีความสุข

ความสามัคคี หากเกิดขึน้ ณ ทีใ่ ด เป้าหมายของความส�ำเร็จย่อมเกิดขึน้ เสมอ และเชือ่ เป็นอย่างยิง่ ว่าทุกมิตชิ วี ติ ของประชาชนจังหวัดอุบลราชธานี จะได้รบั การดูแลเป็นอย่างดี จากนายกองเอกปราโมทย์ ธัญญพืช รองผู้ว่าราชการจังหวัดอุบลราชธานี ผู้ยึดหลัก “ใจเขา ใจเรา” ในการบริการงานราชการที่จะท�ำให้การก�ำกับดูแล ด้านการเมืองการ ปกครองและด้านความมั่นคง ส�ำเร็จและบรรลุเป้าหมาย พี่น้องประชาชนชาวจังหวัด อุบลราชธานี มีแต่ความผาสุก มั่นคง ปลอดภัยในวิถีชีวิตประจ�ำวัน นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย ขอกราบขอบพระคุณท่านรองผู้ว่าฯ ปราโมทย์ ที่ ให้เกียรติสัมภาษณ์ถึงบทบาทและภาระหน้าที่หลัก ในการดูแลทุกข์สุขของพี่น้อง ประชาชนชาวจังหวัดอุบลราชธานี โดยมีรายละเอียดดังนี้

รวมทั้ ง การก� ำ กั บ ดู แ ลพื้ น ที่ อ� ำ เภอ ชายแดนของจังหวัดอุบลราชธานี ซึ่งมี พ ร ห ม แ ด น ติ ด กั บ ส า ธ า ร ณ รั ฐ ประชาธิ ป ไตยประชาชนลาว และราช อาณาจักรกัมพูชา จ�ำนวน 10 อ�ำเภอ ได้แก่ อ�ำเภอโขงเจียม อ�ำเภอเขมราฐ อ�ำเภอนาตาล อ�ำเภอโพธิ์ไทร อ�ำเภอ ศรีเมืองใหม่ อ�ำเภอบุณฑริก อ�ำเภอสิรนิ ธร อ�ำเภอน�้ำยืน อ�ำเภอนาจะหลวย และ อ�ำเภอน�้ำขุ่น งานนโยบายและงานเฉพาะกิจ ภารกิ จ ปกป้ อ งและเทิ ด ทู น สถาบั น ส�ำคัญของชาติ ภารกิจป้องกันและปราบ ปรามยาเสพติ ด และก� ำ กั บ ดู แ ลศู น ย์ อ� ำ นวยการป้ อ งกั น และปราบปราม ยาเสพติดจังหวัดอุบลราชธานี ภารกิจ การป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม ภารกิจการป้องกันและปราบปรามการ บุ ก รุ ก ท� ำ ลายทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละ สิ่งแวดล้อม การแก้ไขปัญหาการบุกรุก ที่ดินของรัฐ รวมถึงภารกิจเกี่ยวกับความ มั่ น คงชายแดน งานการต่ า งประเทศ งานการข่ า ว และงานมวลชน รวมถึ ง ภารกิ จ ที่ เ กี่ ยวข้ อ งกั บ ความมั่ น คงอื่ น ๆ อาทิ การหลอกลวงประชาชนในรูปแบบ ต่างๆ

ภาระหน้าที่หลัก นายสฤษดิ์ วิฑรู ย์ ผูว้ า่ ราชการจังหวัดอุบลราชธานี ได้มอบหมายให้ผมรับผิดชอบก�ำกับ ดูแลปฏิบตั ริ าชการด้านการเมืองการปกครอง ภารกิจด้านความมัน่ คง การรักษาความสงบ เรี ย บร้ อ ย การป้ อ งกั น และปราบปรามยาเสพติ ด การจั ด ระเบี ย บสั ง คม การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยมีส่วนราชการในการก�ำกับดูแลทั้ง ราชการส่วนภูมภิ าค จ�ำนวน 6 ส่วนราชการ และราชการส่วนกลาง จ�ำนวน 36 ส่วนราชการ

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 49

49

5/6/2561 14:57:30


“ การพัฒนาจังหวัดอุบลราชธานี ให้ครอบคลุมในทุกมิตินั้น จ�ำเป็นอย่างยิ่งที่ทุกภาคส่วน ไม่ว่าจะเป็นภาคประชาชน ภาคเอกชน ภาครัฐ ต้องร่วมกัน ผลักดันและประสานมือกัน ด้วยความสามัคคี ”

ผลงานที่ภาคภูมิใจ การที่ผมมีโอกาสได้เป็นข้าราชการใน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้ดูแล รับใช้พี่น้องประชาชน เป็นสิ่งที่ภาคภูมิใจ เป็นอย่างยิ่งผมจึงปฏิบัติหน้าที่ราชการ อย่างเต็มก�ำลังความสามารถ ภารกิจทุก ภารกิ จ ที่ ไ ด้ รั บ มอบหมายจากผู ้ บั ง คั บ บัญชา ล้วนท�ำให้เกิดความภาคภูมิใจแก่ ผมทั้ ง สิ้ น ส่วนภารกิจ ที่ป ระทับใจและ ท�ำให้เกิดความภาคภูมใิ จเป็นพิเศษ ได้แก่ การได้ รั บ มอบหมายให้ ขั บ เคลื่ อ นการ พัฒนาพืน้ ทีท่ รุ กันดาร เช่น การขับเคลือ่ น การพัฒนาหมูบ่ า้ นดงนา-โหง่นขาม ต�ำบล หนามแท่ง อ�ำเภอศรีเมืองใหม่ จังหวัด อุบลราชธานี ซึ่งเป็นหมู่บ้านที่อยู่ในเขต อุ ท ยานแห่ ง ชาติ ผ าแต้ ม ก่ อ นมี ก าร ประกาศเป็นเขตอุทยานแห่งชาติ ท�ำให้ ประชาชนในหมู ่ บ ้ า นไม่ ส ามารถเข้ า ถึ ง บริการสาธารณะที่จ�ำเป็นหลายประการ ซึง่ ขณะนีไ้ ด้พยายามขับเคลือ่ นการพัฒนา และน� ำ หมู ่ บ ้ า นดั ง กล่ า วออกจากเขต อุทยานแห่งชาติเพือ่ ให้ประชาชน สามารถ รับการบริการสาธารณะได้โดยไม่ท�ำลาย ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่อุทยาน การขั บ เคลื่ อ นการพั ฒนาพื้ น ที่ ต าม แนวชายแดน เช่น กรณีโรงเรียนบ้านตายอย ต�ำบลโดมประดิษฐ์ อ�ำเภอน�้ำยืน จังหวัด อุ บ ลราชธานี ซึ่ ง ตั้ ง อยู ่ ห ่ า งไกลจากตั ว

50

จังหวัดและยังขาดสิง่ จ�ำเป็นทีใ่ ช้ในการเรียนการสอน ซึ่งผู้ว่าราชการจังหวัดอุบลราชธานี ได้มอบหมายให้ผมบูรณาการทุกภาคส่วน เพื่อให้เข้าไปแก้ไขปัญหาความขาดแคลนดัง กล่าวเป็นกรณีเร่งด่วน ภารกิจด้านการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด ซึ่งจังหวัดอุบลราชธานีได้มีการ ด�ำเนินการอย่างจริงจังและเข้มข้น มีการบูรณาการส่วนราชการที่เกี่ยวข้องปิดล้อมตรวจ ค้นพื้นที่ ที่การข่าวรายงานว่าเกี่ยวข้องกับยาเสพติดเป็นประจ�ำทุกเดือน การเชิญผู้ต้อง สงสัยว่ามีความเกี่ยวข้องกับยาเสพติดมาให้ข้อมูลกับเจ้าหน้าที่ การจับกุมด�ำเนินคดีกับ ผู้ที่เกี่ยวข้องกับยาเสพติดอย่างเข้มงวด การน�ำผู้เสพยาเสพติดเข้ารับการบ�ำบัดรักษาเพื่อ คืนคนดีที่เป็นลูกหลานให้กับพี่น้องประชาชน การวางยุทธศาสตร์การป้องกันและปราบ ปรามยาเสพติดทั้งระยะสั้นและระยะยาว การสร้างภูมิคุ้มกันยาเสพติดให้กับประชาชน ในพื้ น ที่ โดยให้ ค วามรู ้ ค วามเข้ า ใจถึ ง พิ ษ ภั ย ของยาเสพติ ด รวมทั้ ง ให้ ก� ำ ลั ง ใจ เจ้ า หน้ า ที่ , ประชาชน ทุ ก ภาคส่ ว นในการป้ อ งกั น ปราบปราม และบ� ำ บั ด รั ก ษา ผู้เสพสารเสพติดให้เป็นรูปธรรม ภารกิจการป้องกันและแก้ไขปัญหาการลักลอบตัดไม้พยุงและไม้มีค่าอื่นๆ โดยใช้ แนวคิดการน�ำมวลชนในพื้นที่ ผู้น�ำชุมชนทั้งท้องที่และท้องถิ่น เด็กและเยาวชน รวมถึง จิตอาสา ร่วมกันปลูกไม้พยุงทดแทนในพืน้ ทีท่ ถี่ กู ตัดโค่นโดยหากถูกตัด 1 ต้นจะต้องปลูก ทดแทนจ�ำนวนไม่นอ้ ยกว่า 20 ต้น เพื่อสร้างจิตส�ำนึกร่วมกันในการหวงแหนและรักษา ต้นไม้ที่ตนปลูก และร่วมกันดูแลรักษาให้เติบโตทดแทนไม้ทถี่ กู ตัด ในส่วนผูท้ ลี่ กั ลอบตัด ไม้พยุงและไม้มีค่าอื่นๆ ก็ให้ส่วนราชการที่เกี่ยวข้องเร่งจับกุมด�ำเนินคดีอย่างเด็ดขาด

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

.indd 50

5/6/2561 14:57:38


การแก้ปัญหาความเดือดร้อนให้กับประชาชน กรณีการช่วยแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของพีน่ อ้ งประชาชน ตามทีไ่ ด้รบั การร้องเรียน ร้องทุกข์ เป็นเรื่องเกี่ยวกับการรักษาความสงบเรียบร้อยในบ้านเมือง เช่น ปัญหาที่พี่น้อง ประชาชนได้รับผลกระทบจากสถานประกอบการ, สถานบริการหรือกึ่งสถานบริการที่ไม่ ปฏิบัติตามกฎหมาย จ�ำหน่ายสุราโดยไม่มีใบอนุญาต จ�ำหน่ายสุราให้กับเด็กและเยาวชน ส่งเสียงดังรบกวน และสร้างความเดือดร้อนร�ำคาญให้ประชาชน ซึง่ ผมได้นำ� ชุดจัดระเบียบ สังคมของจังหวัดอุบลราชธานี เข้าด�ำเนินการแก้ไขความเดือดร้อนให้กับพี่น้องประชาชน อย่างต่อเนื่อง โดยด�ำเนินการบังคับใช้กฎหมายที่เกี่ยวข้องเพื่อให้เกิดความสงบเรียบร้อย ในบ้านเมืองและปกป้องสวัสดิภาพของสุจริตชนมิให้ถูกคุกคาม เป็นต้น

“ เมืองน่าอยู่ทันสมัย ประตูสู่การค้าการลงทุน ท่องเที่ยวหลายมิติ เกษตรสู่สากล ”

ทีผ่ า่ นมาแผนพัฒนาจังหวัดอุบลราชธานี ปี พ.ศ. 2561-2564 (แผน 4 ปี) ได้มกี าร ก� ำ หนดวิ สั ย ทั ศ น์ ร ่ ว มกั น ว่ า จั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี จะมุ ่ ง พั ฒ นาสู ่ ก ารเป็ น “เมืองน่าอยู่ทันสมัย ประตูสู่การค้าการ ลงทุน ท่องเทีย่ วหลายมิติ เกษตรสูส่ ากล” ซึ่ ง การที่ จ ะขั บ เคลื่ อ นจั ง หวั ด ให้ เ ป็ น ดั ง วิสยั ทัศน์ดงั กล่าวได้ จ�ำเป็นอย่างยิง่ ทีต่ อ้ ง อาศัยทุกภาคส่วนช่วยกันผลักดัน จะขาด ภาคส่วนใดไปมิได้ ผมจึงขอเชิญชวนให้ทกุ ฝ่ายเข้ามามีสว่ นร่วมในการพัฒนาจั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี ซึ่ ง เป็ น บ้ า นของพวกเรา ให้ส�ำเร็จตามเจตนารมณ์ร่วมกัน

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 51

51

5/6/2561 14:57:46


S P ECI A L INT E R V IE W

บันทึกเส้นทางพบรองผู้ว่าราชการจังหวัดอุบลราชธานี

นายเธียรชัย พุทธรังษี รองผู้ว่าราชการจังหวัดอุบลราชธานี

.indd 52

1/6/2561 17:55:45


การร่วมแรงร่วมใจ รู้รักสมัครสมาน สามัคคีปรองดอง เป็นสิ่งส�ำคัญ ที่ช่วยส่งเสริมให้การพัฒนาจังหวัด ประสบผลส�ำเร็จตามเป้าหมายที่วางไว้

รองผู้ว่าราชการจังหวัดอุบลราชธานี นายเธียรชัย พุทธรังษี

ที่ ใดมีความขัดแย้ง ไม่ว่าจะน้อยหรือถึงขั้นรุนแรง ย่อมเป็นอุปสรรคส�ำคัญและน่ากลัวต่อ

การพัฒนา จึงอยากให้ทุกภาคส่วนมีเป้าหมายเดียวกัน คือ การพัฒนาจังหวัดให้มีความเจริญ ก้าวหน้า อย่างไรก็ตามแม้จะมีความเห็นต่าง แต่เราจะไม่แตกแยก เพื่อให้การพัฒนาจังหวัด อุบลราชธานี ประสบความส�ำเร็จและบรรลุเป้าหมาย นั่นคือสิ่งส�ำคัญ

ด้านสังคมและวัฒนธรรม และพื้นที่อ�ำเภอ ก�ำกับดูแลราชการส่วนภูมิภาค จ�ำนวน 10 หน่วยงาน ได้แก่ 1. ส�ำนักงานป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยจังหวัดอุบลราชธานี 2. ส�ำนักงานสาธารณสุขจังหวัด อุบลราชธานี 3. ส�ำนักงานแรงงานจังหวัด อุบลราชธานี 4. ส�ำนักงานสวัสดิการและคุ้มครอง แรงงานจังหวัดอุบลราชธานี 5. ส�ำนักงานจัดหางานจังหวัด อุบลราชธานี 6. ส�ำนักงานประกันสังคมจังหวัด อุบลราชธานี 7. ส�ำนักงานวัฒนธรรมจังหวัด อุบลราชธานี 8. ส�ำนักงานพัฒนาสังคมและความ มั่นคงของมนุษย์จังหวัดอุบลราชธานี 9. ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัด อุบลราชธานี 10. ส�ำนักงานสถิตจิ งั หวัดอุบลราชธานี

ความรัก ความสมัครสมานสามัคคี คือ รากฐานส�ำคัญที่องค์กรหรือหน่วยงานต่างๆ ตั้งแต่หน่วยงานหรือองค์กรเล็กๆ ไปจนถึงองค์กรใหญ่ระดับประเทศ ที่ต้องการเห็น ผู้ปฏิบัติงานทุกคนใช้พลังความสามัคคี เพื่อความส�ำเร็จของงานร่วมกัน เช่นเดียวกับ นายเธียรชัย พุทธรังษี รองผูว้ า่ ราชการจังหวัดอุบลราชธานี ทีท่ า่ นต้องการเห็นชาวจังหวัด อุบลราชธานี มีความรักสมัครสมานสามัคคีและยึดมาเป็นหลักในการปฏิบัติงานร่วมกัน เพื่อประโยชน์สุข ของพี่น้องชาวจังหวัดอุบลราชธานีทุกคน นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย ขอกราบขอบพระคุณท่านรองผู้ว่าฯเธียรชัย ที่ สละเวลาให้เกียรติสัมภาษณ์ ถึงบทบาทและภาระหน้าที่ส�ำคัญ ที่ได้รับมอบหมายจาก นายสฤษดิ์ วิฑูรย์ ผู้ว่าราชการจังหวัดอุบลราชธานี ให้ก�ำกับดูแลการปฏิบัติราชการของ ส่วนราชการตามกลุ่มภารกิจต่างๆ ดังนี้

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 53

53

1/6/2561 17:55:54


ก�ำกับดูแลราชการส่วนกลาง ที่ตั้งอยู่ ในส่วนภูมิภาค จ�ำนวน 44 หน่วยงาน และอ� ำ เภอ จ� ำ นวน 8 อ� ำ เภอ ได้ แ ก่ อ�ำเภอส�ำโรง อ�ำเภอกุดข้าวปุ้น อ�ำเภอ นาเยีย อ�ำเภอน�ำ้ ขุน่ อ�ำเภอเหล่าเสือโก้ก อ�ำเภอทุ่งศรีอุดม อ�ำเภอเดชอุดม และ อ�ำเภอดอนมดแดง งานที่ผู้ว่าราชการ ให้ก�ำกับดูแลเป็นพิเศษ 1. งานโครงการพระราชด�ำริ 2. งานส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม 3. งานป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ 4. โครงการ To Be Number One 5. งานเฝ้าระวังและบรรเทาสาธารณภัย ผลงานที่ความภาคภูมิใจ การด�ำเนินโครงการที่ท�ำให้เกิดความ ภาคภูมิใจ ได้แก่ การได้เป็นส่วนหนึ่งของ การขับเคลือ่ นโครงการ “ส่งเสริมประเพณี ท�ำบุญตักบาตรและถวายดอกบัวทุกวัน อาทิ ต ย์ เ พื่ อ เป็ น พุ ท ธบู ช า” ซึ่ ง เป็ น โครงการที่นายสฤษดิ์ วิฑูรย์ ผู้ว่าราชการ จังหวัดอุบลราชธานี ริเริ่มและได้ให้ความ ส�ำคัญมาก เนื่องจากประเพณีวัฒนธรรม การท�ำบุญตักบาตร ถือเป็นประเพณีทชี่ าว พุ ท ธปฏิ บั ติ กั น มานั บ แต่ ส มั ย พุ ท ธกาล อันมีผลในการขัดเกลาบ่มเพาะและพัฒนา จิตใจให้พทุ ธศาสนิกชน หลุดพ้นจากกิเลส ด้วยการท�ำบุญให้ทาน ลั ก ษณะของโครงการ เป็ น การจั ด กิ จ กรรมให้ ป ระชาชนและส่ ว นราชการ ต่างๆ ร่วมกันท�ำบุญตักบาตร และถวาย ดอกบัวทุกวันอาทิตย์ ณ บริเวณลานเทียน สนามทุ่งศรีเมือง ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอ เมืองอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี โดยนิมนต์พระภิกษุและสามเณรจากวัด ต่ า งๆ ในจั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี มารั บ

54

“ ส่งเสริมประเพณีท�ำบุญตักบาตรและถวายดอกบั ว ทุ ก วั น อาทิ ต ย์ เพื่ อ เป็ น พุ ท ธบู ช า ” บิณฑบาต อันเป็นการสืบสานประเพณีวัฒนธรรมอันดีงาม และขัดเกลาจิตใจให้เบาบาง จากกิเลส เป็น ผู้รู้จักเสียสละและรู้จักให้ ซึ่งนายสฤษดิ์ วิฑูรย์ ผู้ว่าราชการจังหวัด อุบลราชธานี มีความประสงค์ให้โครงการดังกล่าว เป็นการจุดประกายความดีงาม ความ รู้รักสามัคคี อันเป็นรากฐานที่ส�ำคัญต่อการพัฒนาจังหวัดอุบลราชธานี ทั้งนี้จะส�ำเร็จ สมประสงค์ได้ก็ด้วยพลังความดีงามของพี่น้องชาวจังหวัดอุบลราชธานี โครงการดังกล่าวเริ่มด�ำเนินการ เมื่อวันอาทิตย์ที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2560 โดยได้รับ ความเมตตาจากพระธรรม ฐิตญ ิ าณ เจ้าคณะภาค 10 (ธรรมยุต) เจ้าอาวาสวัดบึงพลาญชัย จังหวัดร้อยเอ็ดมาเป็นประธานฝ่ายสงฆ์ โดยโครงการดังกล่าว จะด�ำเนินการอย่างต่อเนือ่ งทุกวันอาทิตย์ ในการนีจ้ งึ ขอเชิญชวน พีน่ อ้ งชาวจังหวัดอุบลราชธานีและพืน้ ทีใ่ กล้เคียง รวมทัง้ ส่วนราชการต่างๆ ร่วมกันท�ำบุญ ตักบาตรและถวายดอกบัวทุกวันอาทิตย์ ณ สถานที่ดังกล่าว เพื่อเป็นแบบอย่างที่ดีงาม และสมดังค�ำขวัญของจังหวัดอุบลราชธานี ดังว่า

“ อุบลเมืองดอกบัวงาม แม่น�้ำสองสี มีปลาแซบหลาย หาดทรายแก่งหิน ถิ่นไทยนักปราชญ์ ทวยราษฎร์ใฝ่ธรรม งามล�้ำเทียนพรรษา ผาแต้มก่อนประวัติศาสตร์ ฉลาดภูมิปัญญาท้องถิ่น ดินแดนอนุสาวรีย์คนดีศรีอุบล ”

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

.indd 54

1/6/2561 17:56:02


UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 55

55

1/6/2561 17:56:17


S P ECI A L INT E R V IE W

บันทึกเส้นทางพบท้องถิ่นจังหวัดอุบลราชธานี

“ในการท�ำงาน ผมจะต้องปรับทัศนคติ ของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และพนักงาน รวมถึงสมาชิกสภาท้องถิ่น ในเรื่องของการสร้างทัศนคติที่ดีต่อการ ท�ำงานและองค์กร โดยการมุ่งหวังความ ส�ำเร็จ หรือความเจริญรุ่งเรืองของพี่น้อง ประชาชนเป็นหลัก”

56

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

...

.

4

.indd 56

5/6/2561 15:06:38


ท้องถิ่นจังหวัดอุบลราชธานี นายจ�ำลัก ษ์ กันเพ็ช ร์ นี่เป็นเพียงหลักการท�ำงานบางส่วนของ นายจ� ำ ลั ก ษ์ กั น เพ็ ช ร์ ท้ อ งถิ่ น จั ง หวั ด อุบลราชธานี ในการพัฒนาองค์กรปกครอง ท้ อ งถิ่ น ที่ จ ะท� ำ ให้ ก ารท� ำ งานประสบ ความส�ำเร็จและเป็นที่ยอมรับของประชาชน ยังมีแนวทางในการบริหารงานอีกมากมาย ที่ท่านท้องถิ่นจังหวัด ให้เกียรติกับนิตยสาร SBL บั น ทึ ก ประเทศไทย มาเล่ า ถึ ง ร า ย ล ะ เ อี ย ด ใ น ก า ร บ ริ ห า ร ง า น แ ล ะ การพัฒนาองค์กรปกครองท้องถิ่นจังหวัด อุบลราชธานี ให้บรรลุตามเป้าหมาย จังหวัดอุบลราชธานี มีองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นจ�ำนวน 239 แห่ง เพราะเป็น จังหวัดใหญ่ มีถึง 25 อ�ำเภอ ท�ำให้องค์กร ปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น มี ค วามหลากหลาย ทั้งด้านภูมิศาสตร์และฐานะการเงินการคลัง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นบางแห่งมีฐานะ การคลังมาก บางแห่งมีฐานะการคลังน้อย คุณภาพของประชาชนก็มีความหลากหลาย โดยมีทั้งผู้มีความรู้สูงและผู้ที่มีความรู้อยู่ใน ระดับที่ยังต้องปรับปรุงอีกจ�ำนวนมาก ปั ญ หาอุ ป สรรคในการพั ฒ นาองค์ ก ร ปกครองส่วนท้องถิน่ ของจังหวัดอุบลราชธานี ส่วนใหญ่เป็นเรื่องของความแตกแยกทาง ด้านการเมือง ทีย่ งั คาราคาซังมาช้านาน และ การยึดติดในตัวบุคคล และการแบ่งแยกใน ด้านต่างๆ ส่วนปัญหาในการท�ำงาน มักจะ

มีอปุ สรรคในเรือ่ งของความไม่รขู้ องผูบ้ ริหาร ท้องถิ่น ปัญหาความเดือดร้อนของพี่น้อง ประชาชน ทีย่ งั ไม่ได้รบั การแก้ไขอีกจ�ำนวนมาก สืบเนื่องมาจากฐานะทางการเงินการคลัง ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ อยูใ่ นระดับต�ำ ่ แต่ อ ย่ า งไรก็ ต าม ในวิ ก ฤตย่ อ มมี โ อกาส

ปั จ จุ บั น องค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ยั ง มี ฐานะการเงิ น การคลั ง ที่ ยั ง ไม่ ไ ด้ น� ำ มา ใช้จ่ายอีกจ�ำนวนมาก เช่น เงินสะสมหรือ เงิ น ทุ น ส� ำ รองสะสม ทั้ ง จั ง หวั ด ประมาณ 15,000 ล้านบาท ซึ่งจะต้องน�ำมาแก้ไข ปัญหาของพี่น้องประชาชนต่อไป

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

...

.

4

.indd 57

57

5/6/2561 15:06:49


หลักส�ำคัญในการบริหารงานให้สมั ฤทธิผ ์ ล

หลักส�ำคัญในการท�ำงานของผม เริม่ จาก การปรับทัศนคติของผูบ้ ริหารองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นและพนักงานทุกคน รวมไปถึง สมาชิกสภาท้องถิน่ ในเรือ่ งการสร้างทัศนคติ ทีด่ ตี อ่ การท�ำงานและองค์กร โดยการมุง่ หวัง ความส� ำ เร็ จ หรื อ ความเจริ ญ รุ ่ ง เรื อ งของ พี่น้องประชาชนเป็นหลัก ส�ำหรับการปรับ ทัศนคติ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงทัศนคติ ไปในทางที่ดีขึ้น ซึ่งเป็นสิ่งที่ท้าทาย เพราะ การมุ่งหวังที่จะให้คนรุ่นเก่าปรับปรุงแก้ไข คงจะยากกว่าคนรุ่นใหม่ โดยวิธีการส่งเสริม คุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาล ดังนั้นแนวทางในการท�ำงานหลักๆ ของ องค์กรปกครองท้องถิน่ ในปัจจุบนั ของจังหวัด อุบลราชธานี นอกเหนือจากแก้ปญ ั หาระบบ การบริหารงาน ปัญหาความขัดแย้ง ปัญหา ระบบการบริหารจัดการในส�ำนักงานต่างๆ วันนี้เราจ�ำเป็นต้องน�ำเทคโนโลยีที่ทันสมัย เข้ า มาใช้ ใ นการบริ ห ารงานให้ ม ากขึ้ น ทั้ ง ปรั บ เปลี่ ย นระบบในการบริ ห ารงาน การสร้างธรรมาภิบาล สร้างความสะอาด ในส�ำนักงานให้มี 5ส ที่ส�ำคัญคือ ให้ทุกคน มีส่วนร่วมในการบริหารงาน มีการร่วมคิด ร่วมท�ำ และร่วมปฏิบัติด้วยกัน

58

แผนพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ปี 2561

จากยุ ท ธศาสตร์ ก ารพั ฒ นาชาติ แ ละ จังหวัด เราจะเป็นเมืองที่เชื่อมต่อกับบ้านพี่ เมืองน้องของเรา เสริมสร้างเศรษฐกิจด้วย การเป็ น Hub ในเรื่ อ งของการคมนาคม ขนส่งต่างๆ เราจะยึดยุทธศาสตร์ชาติและ ยุทธศาสตร์จังหวัดเป็นหลักในการท�ำงาน เพื่อท�ำให้พี่น้องประชาชนอยู่ดีมีสุข

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

...

.

4

.indd 58

5/6/2561 15:07:06


บทบาทและหน้าทีข่ ององค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น

ปั จ จุ บั น ท้ อ งถิ่ น มี บ ทบาทส� ำ คั ญ ต่ อ กระทรวง ทบวง กรมต่างๆ เมือ่ ส่วนราชการ สั่งการมาที่ท้องถิ่น ท้องถิ่นไม่จ�ำเป็นต้องมี บทบาทอะไรมาก แค่ปรับวิธคี ดิ และน�ำความ ประสงค์ ข องพี่ น ้ อ งประชาชนเป็ น ที่ ตั้ ง ใน การท� ำ งาน และตอบสนองอย่ า งรวดเร็ ว กรณีของงบประมาณมีไม่พอเพียง คงไมใช่ ปั ญ หาหลั ก เพราะว่ า ท้ อ งถิ่ น สามารถ ประสานงบประมาณไปยังองค์กรปกครอง ส่ วนท้ อ งถิ่ น ขนาดใหญ่ไ ด้ เช่น องค์ก าร บริหารส่วนจังหวัด แต่เกินศักยภาพจริงๆ ก็ใช้งบของยุทธศาสตร์จังหวัด กลุ่มจังหวัด หรื อ ถ้ า ยั ง เกิ น มากไปอี ก สามารถของบ ประมาณจากทบวง กรม ได้ ดังนั้นประเด็น ปัญหาในขณะนี้ จึงไม่ใช่อยู่ที่งบประมาณ มีน้อยหรือไม่เพียงพอ แต่อยู่ที่การบริหาร จัดการ การประสานงาน และความรู้ความ เข้าใจ ดังนั้นองค์กรปกครองท้องถิ่นจึงต้อง มีการบริหารจัดการที่มีคุณภาพ มีศักยภาพ เพียงพอ บุคลากรจะต้องมีความสามารถทีด่ ี ซึ่ ง เรื่ อ งเหล่ า นี้ ยั ง ไม่ ไ ด้ รั บ การแก้ ไ ขและ คงต้องใช้เวลาอีกสักระยะหนึ่ง

ฝากถึงผู้น�ำท้องถิ่นทุกท่าน อยากให้ ท�ำงานในหน้าที่ของท่านให้ดีที่สุด ให้ท่านปรับวิธีคิดปรับความเข้าใจใน การท�ำงานและเร่งท�ำงานให้เต็มศักยภาพ เพื่ือพี่น้องประชาชนให้มาก

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

...

.

4

.indd 59

59

5/6/2561 15:07:18


S P ECI A L INT E R V IE W

บันทึกเส้นทางพบส�ำนักพุทธศาสนาจังหวัดอุบลราชธานี

นายวิรอด ไชยพรรณา

ผู ้ อ� ำ นวยการส� ำ นั กงานพระพุ ท ธศาสนาจั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี 60

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

(

.

.

)4

.indd 60

5/6/2561 15:13:25


ส�ำนักงานพระพุ ท ธศาสนา จั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี

“อุบลเมืองดอกบัวงาม แม่น�้ำสองสี มีปลาแซ่บหลาย หาดทรายแก่งหิน ถิ่นไทยนักปราชญ์ ทวยราษฎร์ ใฝ่ธรรม งามล�้ำเทียนพรรษา ผาแต้มก่อนประวัติศาสตร์ ฉลาดภูมิปัญญาท้องถิ่น ดินแดนอนุสาวรีย์คนดีศรีอุบล” คือค�ำขวัญประจ�ำจังหวัดอุบลราชธานี

และ “... ถิ่นไทยนักปราชญ์ ทวยราษฎร์ ใฝ่ ธ รรม ...” ก็เ ป็น บางช่วงบางตอนของ ค�ำขวัญประจ�ำจังหวัดอุบลราชธานี ที่แสดง ให้เห็นความชัดเจนของคนเมืองอุบลราชธานี ได้เป็นอย่างดี ในการยึดมั่นและเหนียวแน่น ในการนับถือและปฏิบัติต่อพระพุทธศาสนา อย่างมั่นคง

โอกาสนี้ นิ ต ยสาร SBL บั น ทึ ก ประเทศไทย ฉบับจังหวัดอุบลราชธานี ได้รบั เกียรติจาก นายวิรอด ไชยพรรณา ผูอ้ ำ� นวย การส� ำ นั ก งานพระพุ ท ธศาสนาจั ง หวั ด อุบลราชธานี สัมภาษณ์ ภาพรวม วิสัยทัศน์ บทบาทหน้าทีข่ องส�ำนักงานพระพุทธศาสนา ในการส่งเสริมพระพุทธศาสนาในจังหวัด อุบลราชธานี โดยมีรายละเอียดดังนี้

วิสัยทัศน์

“เป็ น องค์ ก รหลั ก ในการส่ ง เสริ ม สนับสนุน งานด้านพระพุทธศาสนา ให้มี ความมั่นคง ยังยืน และสังคมมีความสุข ด้วยหลักพุทธธรรม”

พันธกิจ

สร้างเครือข่ายในการส่งเสริม สนับสนุน ปกป้องคุ้มครองพระพุทธศาสนาให้มีความ มั่นคง ยั่งยืน ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาสงฆ์ และการเผยแผ่พระพุทธศาสนาเพื่อพัฒนา พุทธบริษทั ให้เกิดความรู ้ ความเข้าใจ เข้า ถึ ง หลั ก พุ ท ธธรรมและพั ฒนาชี วิ ต อย่ า งมี คุณภาพ ด�ำเนินการให้จังหวัดอุบลราชธานี เป็น ศูนย์กลางพระพุทธศาสนาอาเซียน จั ด การดู แ ลรั ก ษาศาสนสมบั ติ ใ ห้ เ ป็ น ประโยชน์ต่อพระพุทธศาสนาและสังคม พั ฒนาวั ด ให้ เ ป็นศูนย์กลางของชุมชน อย่างมั่นคง และยั่งยืนตามหลัก เศรษฐกิจ พอเพียง พั ฒ นาบุ ค ลากรส� ำ นั ก งานพระพุ ท ธ ศาสนาจังหวัดอุบลราชธานี ให้มีความเป็น มืออาชีพ

เป้าประสงค์หลัก

สถาบันพระพุทธศาสนามีความมั่นคง และยั่งยืน พระสงฆ์มีความรู้ในหลักธรรมอย่างลึก ซึง้ และสามารถเผยแผ่หลักธรรมได้อย่างถูก ต้อง UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

(

.

.

)4

.indd 61

61

5/6/2561 15:13:33


พระพุ ท ธศาสนา กั บ ชาวจั ง หวั ด อุบลราชธานี

จังหวัดอุบลราชธานี มีจ�ำนวนประชากร โดยรวม ประมาณ 1.5 ล้านคน ข้อมูลจาก ส�ำนักงานสถิตจิ งั หวัดอุบลราชธานี พบว่า มี ประชาชนทีน่ บั ถือพระพุทธศาสนา ประมาณ ร้ อ ยละ 99.3 จึ ง จะเห็ น ได้ ว ่ า สั ง คมของ จั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี เป็ น สั ง คมที่ ยื ด ถื อ ประเพณีและวัฒนธรรมดั้งเดิมตามแบบชาว พุทธ ปฏิบัติตาม “ฮีตสิบสอง คองสิบสี่” มี พระสงฆ์ เ ป็ น ผู ้ น� ำ ทางจิ ต วิ ญ ญาณในการ ปฏิบัติความดีตามแบบชาวพุทธ ประชาชนยึดมั่นในศีล 5 ในการปฏิบัติ ชีวิตประจ�ำวันและการประกอบอาชีพ เมื่อ ว่างเว้นจากภารกิจการงาน ก็จะร่วมใจกัน ท� ำ นุ บ� ำ รุ ง พระพุ ท ธศาสนาอยู ่ เ ป็ น นิ จ

62

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

(

.

.

)4

.indd 62

5/6/2561 15:13:41


จ ะ เ ห็ น ไ ด ้ จ า ก ผู ้ ว ่ า ร า ช ก า ร จั ง ห วั ด อุ บ ลราชธานี ได้ น� ำ ประชาชน และส่ ว น ราชการ ร่วมกันท�ำบุญตักบาตรและถวาย ดอกบัวเป็นพุทธบูชา เป็นประจ�ำทุกเช้าวัน อาทิตย์ ทีม่ ณฑลพิธที งุ่ ศรีเมืองอุบลราชธานี

ผลการด�ำเนินงานที่โดดเด่น

1. โครงการหมู่บ้านรักษาศีล 5 จังหวัด อุบลราชธานี 2. โครงการส่ ง เสริ ม ประเพณี ท� ำ บุ ญ ตักบาตรและถวายดอกบัวเป็นพุทธบูชา ทุก วันอาทิตย์ 3. โครงการอบรมพัฒนาตามอุดมการณ์ แผ่นดินธรรมแผ่นดินทอง

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

(

.

.

)4

.indd 63

63

5/6/2561 15:13:52


อิ่มอร่อยมะม่วงกวน ฝีมือล้วนปอกล้วยสาน เพลงขอทานประจ�ำถิ่น ศิลปินกระเดื่องแดน”

นี าชธา ขา้ ราชก ารส่วนท้องถิ่นจังหวัดอุบลร

W O R K LI F E

บันทึกเส้นทางพบสมาคมข้าราชการส่วนท้องถิ่น

สมาคมข้าราชการส่วนท้องถิ่น จังหวัดอุบลราชธานี

นายสายสิทธิ์ ไท้ทอง

นายกสมาคมข้าราชการส่วนท้องถิ่นจังหวัดอุบลราชธานี

ค์ ค์ มรงค์

23 ชยางกูร 30 ต.ในเมือง อ.เมือง จ.อุบลราชธานี / www.ubonlocalgov.or.th / ubonlocalgov.com@gmail.com ทะเบียนสมาคม จ.อุบลราชธานี ที่ 6/ 2556 64

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

.

1

.indd 64

5/6/2561 15:22:55


.indd 65

11/6/2561 15:54:56


TR AV E L G U ID E

บันทึกเส้นทางความเป็นมาของจังหวัดอุบลราชธานี

พระอาทิตย์ตกที่ผาชะนะได อ�ำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี

66

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

.indd 66

31/5/2561 10:27:05


UBON RATCHATHANI อดีตนครเขื่อนขันธ์ กาบแก้วบัวบาน . . . สู่อุบลราชธานี ศรีวนาลัยประเทศ

อรุณรุ่งของเช้าวันใหม่ หากต้องการชมพระอาทิตย์ขึ้นก่อนที่ใด

ในประเทศไทย คงต้องมาชมกันทีจ่ งั หวัดอุบลราชธานี เพราะทีน่ ถี่ อื ว่า เป็นจังหวัดเดียวในภาคอีสานตอนล่าง ทีต่ งั้ อยูท่ างตะวันออกสุดของ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศ นอกจากนีย้ งั เป็นจังหวัดมีพนื้ ที่ กว้างใหญ่ไพศาลมากเป็นอันดับหนึ่งของประเทศ ซึ่งเคยมีการแยก ออกเป็นจังหวัดใหม่มาแล้วถึง 2 จังหวัด อุบลราชธานีแห่งนี้จึงมี ประวัติศาสตร์ที่ยาวนานมากว่า 200 ปี

ผาชะนะไดอยู่ที่ไหน สวยงามเพียงใด คงเป็นค�ำถามที่ค้างคาใจ ของใครหลายคนกันมานาน

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 67

67

31/5/2561 10:29:43


จากต� ำ นานเมื อ งอุ บ ล ได้ ก ล่ า วไว้ ว ่ า ในปี พ.ศ. 2228 เกิ ด วิ กฤติ ทางการเมื อ งในนคร เชียงรุ้งมีกลุ่มจีนฮ่อธงขาวบุกเข้าปล้นเมือง เจ้า อินทกุมาร เจ้านครเชียงรุ้ง เจ้านางจันทกุมารี และเจ้ า ปางค� ำ จึ ง อพยพไพร่ พ ลหนี ม าขอพึ่ ง บารมี “พระเจ้ า สุ ริ ย วงศาธรรมิ ก ราช” ของ เวียงจันทน์ พระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราชโปรด ให้น�ำไพร่พลไปตั้งเมืองที่หนองบัวลุ่มภู(ปัจจุบัน เป็นจังหวัดหนองบัวล�ำภู) และตั้งชื่อเมืองใหม่นี้ ว่า “นครเขื่อนขันธ์ กาบแก้วบัวบาน”

หลังจากนัน้ พระเจ้าสุรยิ วงศาธรรมิกราช ให้เจ้าปางค�ำเสกสมรสกับพระราชนัดดา มีโอรส คือ “เจ้าพระตาและเจ้าพระวอ” ต่อมา ปี พ.ศ. 2314 เกิดสงครามแย่งชิงอ�ำนาจ ระหว่างเวียงจันทน์ กับเมืองหนองบัวลุ่มภู โดยเจ้าสิริบุญสาร เจ้าแผ่นดินเวียงจันทน์ ขอบุตรธิดาของเจ้าพระตา เจ้าพระวอ ไปเป็น นางห้าม และนางสนม แต่เจ้าพระตา เจ้า พระวอไม่ ยิ น ยอม เจ้ า สิ ริ บุ ญ สาร จึ ง ส่ ง กองทัพมาตีเมืองหนองบัวลุ่มภู แต่กองทัพ ของเจ้ า สิ ริ บุ ญ สารก็ ต ้ อ งพ่ า ยแพ้ ก ลั บ ไป หลายครั้ง กระทั่งเจ้าสิริบุญสารได้ส่งทูต ไปขอกองทัพพม่าที่เมืองเชียงใหม่ ให้มา ช่วยตีเมืองหนองบัวลุ่มภู โดยมีเงื่อนไขว่า 68

เวี ย งจั น ทน์ จ ะยอมเป็ น เมื อ งขึ้ น ของพม่ า เมือ่ เจ้าพระตาทราบข่าว จึงได้อพยพราษฎร เด็ก สตรี คน ชรา ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ เพือ่ หาทีส่ ร้างบ้านเมืองใหม่ไว้กอ่ นหากต้อง พ่ายแพ้สงครามในครั้งนี้ การสู้รบในครั้งนั้น ท�ำให้เจ้าพระตา ถึงแก่ความตาย เจ้าพระวอผู้เป็นบุตรชาย คนโต พร้อมด้วยเครือญาติ จึงพากันหลบหนี มาที่บ้านสิงห์โคก สิงห์ท่า แล้วไปตั้งเมือง ใหม่อยูท่ ี่ “ดอนมดแดง” โดยได้ขอพึง่ พระเจ้า องค์ ห ลวงไชยกุ ม าร แห่ ง นครจ� ำ ปาศั ก ดิ์ เมือ่ เจ้าสิรบิ ญ ุ สารทราบข่าวการตัง้ เมืองใหม่ จึงยกทัพมาตีท�ำให้เจ้าพระวอเสียชีวิต

เจ้าค�ำผง ผู้น้องจึงขึ้นเป็นหัวหน้ากลุ่ม และได้มาขอพึง่ บารมีจากพระเจ้ากรุงธนบุรี โดยพระเจ้ากรุงธนบุรี ให้เจ้าพระยาจักรี (ทองด้วง) และเจ้าพระยาสุรสีห์ (บุญมา) ยก กองทัพมาช่วยเจ้าค�ำผง กองทัพเจ้าสิริบุญ สาร ถอยทัพกลับเวียงจันทน์ แต่เจ้าพระยา จักรีและเจ้าพระยาสุรสีห์ ได้เดินทัพติดตาม ทัพเวียงจันทน์ จนสามารถเข้ายึดเมืองได้ ส�ำเร็จ พร้อมกับอัญเชิญพระแก้วมรกต และ คุมตัวเจ้าสิริบุญสารไปกรุงธนบุรี ส่วนเจ้าค�ำผงหลังเสร็จศึกสงคราม ได้ กลั บ ไปตั้ ง เมื อ งอยู ่ ที่ ด อนมดแดงเช่ น เดิ ม กระทั่งปีพ.ศ. 2319 เกิดอุทกภัยครั้งใหญ่ เจ้าค�ำผงจึงอพยพไพร่พลไปอยู่ที่ดอนห้วย แจระแม (ปัจจุบนั คือบ้านท่าบ่อ) เมือ่ น�ำ้ ลด จึงมาหาทีต่ งั้ เมืองใหม่ ทีต่ ำ� บลบ้านร้าง หรือ เรียกว่า “ดงอู่ผึ้ง” ริมฝั่งแม่น�้ำมูล ซึ่งเป็น ที่ตั้งของจังหวัดอุบลราชธานีในปัจจุบัน ต่อมาปี พ.ศ. 2322 พระเจ้ากรุงธนบุรี โปรดเกล้าฯ ตั้งเป็น “เมืองอุบลราชธานี” พร้อมให้เจ้าค�ำผงเป็นเจ้าเมือง และแต่งตั้ง ให้เป็น “พระประทุมราชวงศา” จนถึงปี พ.ศ. 2334 สมัย พระบาทสมเด็จพระพุทธยอด ฟ้าจุฬาโลก รัชกาลที่ 1 เกิดขบถอ้ายเชียง แก้วเขาโอง ยกก�ำลังมาตีเมืองนครจ�ำปาศักดิ์ เจ้ า ฝ่ า ยหน้ า ผู ้ น ้ อ งพระประทุ มราชวงศา ได้ยกทัพไปสู้รบ จนสามารถจับอ้ายเชียง แก้วได้

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

.indd 68

31/5/2561 10:29:51


อดีตนครเขื่อนขันธ์ กาบแก้วบัวบาน สู่อุบลราชธานี ศรีวนาลัยประเทศ ในปี ถั ด มาพระบาทสมเด็ จ พระพุ ท ธ ยอดฟ้าจุฬาโลก ทรงพระมหากรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาเมืองอุบลขึน้ เป็นเมืองประเทศราช แต่งตั้งให้พระประทุมราชวงศาเป็น “พระ ประทุมวรราชสุรยิ วงศ์” (ค�ำผง) เจ้าครองเมือง “เมืองอุบลราชธานีศรีวนาลัยประเทศราช” พระราชทานพระสุพรรณบัฏ และเครื่องยศ เจ้าเมืองประเทศราช พร้อมท�ำพิธีสาบาน ถือน�้ำพิพัฒน์สัตยา เมื่อวันจันทร์ เดือน 8 แรม 13 ค�ำ่ จุลศักราช 1154 ปีชวด จัตวาศก ตรงกับวันที่ 16 กรกฎาคม 2335 ให้เป็น เจ้าเมืองคนแรกของอุบลราชธานี พระประทุ ม วรราชสุ ริ ยวงศ์ ได้ ส ร้ า ง วัดหลวงไว้เพื่อเป็นวัดคู่บ้านคู่เมือง ริมฝั่ง แม่น�้ำมูล ซึ่งถือเป็นวัดแรกของเจ้าเมือง อุบลราชธานี ถัดจากนั้นมาเพียง 3 ปี พระ ประทุมวรราชสุริยวงศ์ ก็ถึงแก่พิราลัย เมื่อ วันขึ้น 14 ค�่ำ เดือน 12 ปีเถาะ จุลศักราช 1157 ปี พ.ศ. 2338 รวมอายุได้ 86 ปี พ.ศ. 2338 พระพรหมวรราชสุริยวงศ์ (ทิต พรหม) น้องชายพระประทุม จึงได้รบั แต่งตัง้ เป็นเจ้าเมืองอุบลราชธานีคนถัดมา รวมมี เจ้าเมืองอุบลราชธานี ที่พระมหากษัตริย์ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ทรงพระมหากรุณา โปรดเกล้าฯแต่งตั้งทั้งหมด 4 ท่าน ภายหลังการก่อตั้งเมืองอุบลราชธานี ได้มีการตั้งเมืองส�ำคัญในเขตปกครองของ จังหวัดอุบลราชธานีขนึ้ อีกหลายเมือง เช่นใน พ.ศ. 2357 โปรดฯ ให้ตั้งบ้านโคกพเนียง เป็นเมืองเขมราฐธานี พ.ศ. 2366 ยกบ้านนาก่อ ขึ้นเป็นเมืองโขงเจียง (โขงเจียม) โดยขึ้นกับ นครจ�ำปาศักดิ์ ในรัชกาลที่ 3 ปี พ.ศ. 2388 ทรงพระ กรุณาโปรดเกล้าฯ ยกบ้านช่องนางให้เป็นเมือง เสนางคนิคม ยกบ้านน�้ำโดมใหญ่ ขึ้นเป็น เมืองเดชอุดม ปี พ.ศ. 2390 ตัง้ บ้านดงกระชุ หรือบ้านไร่ ขึ้นเป็นเมืองบัวกัน ต่อมาได้ เปลี่ยนมาเป็นเมืองบัวบุณฑริก หรืออ�ำเภอ บุณฑริกในปัจจุบัน

พ.ศ. 2401 ตัง้ บ้านค้อใหญ่ ให้เป็นเมือง ขอตั้งท้าวจันทบรม เป็นพระอมรอ�ำนาจ เป็นเจ้าเมือง ตั้งท้าวบุตตะเป็นอุปฮาด ให้ ท้ า วสิ ง หราชเป็ น ราชวงศ์ ท้ า วสุ ริ โ ยเป็ น ราชบุตร รักษาราชการเมืองอ�ำนาจเจริญขึน้ กับเมืองเขมราฐ ในสมัยรัชกาลที่ 4 พ.ศ. 2406 ทรงพระ กรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตั้งบ้านกว้างล�ำชะโด ต�ำบลปากมูล เป็นเมืองพิบลู มังสาหาร และ ให้ตั้งบ้านสะพือ เป็นเมืองตระการพืชผล ตั้งท้าวสุริยวงษ์ เป็นพระอมรดลใจ เป็น เจ้ า เมื อ ง ปี พ.ศ. 2422 ในรั ช กาลที่ 5 โปรดเกล้าฯ ให้ตั้งบ้านท่ายักขุเป็นเมือง ชานุมานมณฑล และ ให้ตั้งบ้านเผลา (บ้าน พระเหลา) เป็นเมืองพนานิคม ปี พ.ศ. 2423 โปรดเกล้าฯ ให้ตั้งบ้านนากอนจอ เป็นเมือง วารินช�ำราบ ปี พ.ศ. 2424 โปรดเกล้าฯ ให้ตงั้ บ้านจันลานาโดม เป็นเมืองโดมประดิษฐ์ (ปัจจุบนั เป็นหมูบ่ า้ นทีอ่ ำ� เภอน�ำ้ ยืน) ปี พ.ศ. 2425 โปรดเกล้าฯ ให้ตั้งบ้านทีเป็นเมือง เกษมสี ม า ซึ่ ง ต่ อ มาเปลี่ ย นเป็ น อ� ำ เภอ ม่วงสามสิบนั่นเอง

ดังนั้น อุบลราชธานี จึงเป็นเมืองที่มีเขต การปกครองที่กว้างขวางที่สุด ครอบคลุม ทีร่ าบและแม่นำ�้ สายส�ำคัญของภาคอีสานถึง 3 สาย ได้แก่ แม่นำ�้ ชี แม่นำ�้ มูล และแม่นำ�้ โขง รวมทัง้ แม่นำ�้ สายเล็กๆ ทีม่ กี ำ� เนิดจากเทือก เขาในพื้นที่ เช่น ล�ำเซบก ล�ำเซบาย ล�ำโดม ใหญ่ เป็นต้น ซึง่ แม่นำ�้ เหล่านีไ้ หลผ่านทีร่ าบ ทางด้านเหนือและทางด้านใต้ ลงสู่ป าก แม่นำ�้ มูลและแม่นำ�้ โขง ท�ำให้เกิดความอุดม สมบูรณ์แก่พื้นที่ในบริเวณแถบนี้ทั้งหมด มีสภาพแวดล้อมที่เหมาะแก่การด�ำรงชีวิต ของมนุษย์และสัตว์มาตั้งแต่อดีตกาล พ.ศ. 2476 ได้มีการยกเลิกมณฑลทั้ง ประเทศ จังหวัดอุบลราชธานีซงึ่ แยกออกมา จากมณฑลนครราชสีมา หลังจากนัน้ จังหวัด อุบลราชธานีก็ได้ถูกแบ่งออก โดยอ�ำเภอ ยโสธรและอ�ำเภอใกล้เคียงเป็น “จังหวัด ยโสธร” ในปี พ.ศ. 2515 ต่อมา พ.ศ. 2536 อ�ำเภออ�ำนาจเจริญและอ�ำเภอใกล้เคียงถูก แบ่งเป็น “จังหวัดอ�ำนาจเจริญ” ปัจจุบัน อุบลราชธานีกลายเป็นจังหวัดทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ใน ประเทศไทย ขอบคุณข้อมูล : ส�ำนักงานจังหวัดอุบลราชธานี

.indd 69

31/5/2561 10:29:59


TR AV E L G U ID E

บันทึกเส้นทางท่องเที่ยวของจังหวัดอุบลราชธานี

ท่องเที่ยว

มหัศจรรย์ สุดแสนอลังการ อุบลราชธานี ปลดปล่อยอารมณ์ตึงเครียด เข้าสู่โหมดชีวิต ชี้ค ชิล แอนด์คลู สู่ดินแดนเมืองดอกบัว กับสถานที่ ท่องเที่ยวสุดแซ่บ อิงแอบวัฒนธรรม ตื่นตา และธรรมชาติตรึงใจ ที่ยาก จะลืมเลือน ที่เมืองอุบลราชธานี

Grand Canyon Ubon Ratchathani 70

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

.indd 70

31/5/2561 10:30:05


UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 71

71

31/5/2561 10:30:13


น�้ำตกห้วยทรายใหญ่ น�้ำตกห้วยทรายใหญ่ ต�ำบลคอแลน อ�ำเภอบุณฑริก จังหวัดอุบลราชธานี อยูใ่ น เขตรักษาพันธุส์ ตั ว์ปา่ บุณฑริก-เขายอดมน เป็นสายน�้ำที่ไหลไปตามลานหินลดหลั่น กันไปด้านล่างอย่างงดงาม บริเวณน�้ำตก ร่มรื่น นักท่องเที่ยวสามารถเดินทางมา ชื่นชมความงดงามและสัมผัสละอองน�้ำ ที่ เ ย็ น ฉ�่ ำ ของน�้ ำ ตกห้ ว ยทรายใหญ่ ไ ด้ ในช่วงเดือนกันยายน-ธันวาคม ของทุกปี ชื่อเดิมที่ชาวบ้านเรียก “แก่งอีเขียว”

72

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

.indd 72

31/5/2561 10:30:20


หาดสลึง ส� ำ หรั บ ที่ ม าของชื่ อ “หาดสลึ ง ” นั้ น เชื่อว่า ในสมัยที่เหรียญสลึง 1 เหรียญ สามารถซื้อควายได้ 1 ตัว คนที่มาเล่นน�้ำ สงกรานต์ ที่ ห าดแห่ ง นี้ ไ ด้ ตั้ ง ค� ำ ท้ า ทาย ความสามารถโดยมีเดิมพันว่า กลางเดือน เมษายน ในเวลาเทีย่ งวัน หากใครสามารถ เดินหรือวิง่ บนหาดได้ตลอดแนว (ระยะทาง 860 เมตร) โดยไม่แวะพัก จะได้รับเงิน เดิมพัน 1 สลึง ซึ่งนับตั้งแต่มีการเดิมพัน มาไม่เคยมีใครได้รางวัลนี้เลย ชาวบ้านจึงขนานนามหาดแห่งนี้ว่า

“หาดสลึง”

.indd 73

31/5/2561 10:30:28


74

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

.indd 74

31/5/2561 10:30:34


แก่งชมดาว “แก่งชมดาว” อ�ำเภอนาตาล จังหวัดอุบลราชธานี แก่งชมดาวมีพื้นที่กว้างขวาง ที่ให้นักท่องเที่ยวต้อง ขยับแข้งขยับขาเดินสักประมาณ 1 กิโลเมตร เพื่อ ไปยั ง จุ ด ไฮไลท์ ซึ่ ง มี ลั ก ษณะเป็ น ผาหิ น สู ง ใหญ่ เว้าแหว่งยาวคล้ายช่องแคบ มีน�้ำไหลผ่าน ด้านล่าง กลางน�้ำมีก้อนหินขนาดเล็ก นักท่องเที่ยวสามารถ เดิ น ลงไปถ่ า ยรู ป นั บ ว่ า เป็ น มุ ม ชี้ ค สุ ด เท่ ส วยเก๋ จนน่าอิจฉาเลยทีเดียว เวลาในการชมแก่งชมดาวที่ดี

- ช่วงเช้า ชมพระอาทิตย์ขึ้นก่อน 8.00 น. - ช่วงบ่ายตั้งแต่ประมาณ 16.00 น. เป็นต้นไป ในเดือนพฤศจิกายน-พฤษภาคม

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 75

75

31/5/2561 10:30:41


สามพันโบก

พู ด ถึ ง “แกรนด์แคนยอนเมืองไทย” คงต้ อ งยกให้ สามพันโบก ความงดงาม ทางธรรมชาติสดุ แสนอลังการและแปลกตา ทีบ่ า้ นโป่งเป้า ต�ำบลเหล่างาม อ�ำเภอโพธิไ์ ทร จังหวัดอุบลราชธานี สามพันโบก คือแก่งหิน ขนาดใหญ่ในแม่น�้ำโขง ที่ถูกกัดเซาะด้วย แรงของกระแสน�้ำวนในช่วงฤดูน�้ำหลาก จนเกิ ด เป็ น แอ่ ง เล็ ก แอ่ ง น้ อ ยมากกว่ า

76

3,000 แอ่ง หรือ 3,000 โบก ค�ำว่า “โบก” เป็นภาษาลาว แปลว่า “แอ่ง” จึงเป็นที่มา ของ “สามพันโบก” ความงดงามแปลกตาของแอ่งหินทีว่ า่ นี้ จะสามารถมองเห็นได้อย่างชัดเจนในช่วง หน้าแล้ง สามพันโบกจะโผล่ขึ้นมาจากน�้ำ กลายเป็ น สิ่ ง มหั ศ จรรย์ ท างธรรมชาติ สุดอลังการ อวดโฉมให้นักท่องเที่ยวได้

ชืน่ ชมความวิจติ รงดงามของแก่งหิน รูปร่าง แปลกตา ที่ ว าดโดยนั ก ประติ ม ากรรม ธรรมชาติ หลากหลายรู ป แบบ ตาม จินตนาการของนักท่องเที่ยว โดยสามารถ เดิ น ทางมาสั ม ผั ส กั บ บรรยากาศตรึ ง ตา ตรึงใจนี้ได้ เฉพาะในช่วงเดือนมกราคมเมษายนเท่านั้น

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

.indd 76

31/5/2561 10:30:49


“GRAND CANYON” Ubon Ratchathani

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 77

77

31/5/2561 10:30:56


อุทยานแห่งชาติผาแต้ม

อุทยานแห่งชาติผาแต้ม มีเนือ้ ทีป่ ระมาณ 212,500 ไร่ ครอบคลุม พื้นที่อ�ำเภอโขงเจียม อ�ำเภอศรีเมืองใหม่ และอ�ำเภอโพธิ์ไทร จังหวัด อุบลราชธานี สภาพภูมปิ ระเทศเป็นทีร่ าบสูงและเนินเขา มีหน้าผาสูงชัน หลายแห่ง ท�ำให้อุทยานแห่งชาติผาแต้ม มีสถานที่ท่องเที่ยวน่าสนใจ มากมาย เช่น เสาเฉลียง เป็นปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดจากการกัดเซาะ ของน�้ำ สายลม และแสงแดด เป็นเวลานับล้านๆ ปี จึงท�ำให้มีลักษณะ เป็นแท่งหินตั้งขึ้นเป็นเสาดูแปลกตา ด้านบนของเสาหินมีแผ่นหินวาง ซ้อนอยู่ จึงท�ำให้ดูคล้ายกับดอกเห็ด ผาแต้ ม หน้าผาสูงชันที่มีความสวยงาม เป็นจุดชมวิวและชม พระอาทิตย์ขนึ้ เป็นทีแ่ รกของประเทศไทย บริเวณผนังหน้าผาด้านล่าง พบภาพเขียนสีกว่า 300 ภาพ สันนิษฐานว่าเป็นภาพเขียนก่อน ประวัติศาสตร์ ซึ่งนักท่องเที่ยวสามารถเดินลงไปชมภาพเขียนดังกล่าว ได้ น�้ำตกแสงจันทร์ หรือ น�้ำตกลงรู เป็นน�้ำตกขนาดเล็กที่มีความ งดงามเป็นพิเศษไม่เหมือนทีใ่ ด ซึง่ เกิดจากล�ำห้วยเล็กๆ บนลานหินไหล ลอดผ่านหน้าผาหินทีม่ ลี กั ษณะเป็นรูลงสูผ่ าด้านล่าง แนะน�ำให้เดินทาง มาชมน�้ำตกในช่วงเที่ยง เพราะจะมองเห็นแสงอาทิตย์ลอดผ่านรูพอดี ท�ำให้รู้สึกเหมือนว่าสายน�้ำตก เหมือนกับแสงจันทร์

78

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

.indd 78

31/5/2561 10:31:04


น�้ำตกแสงจันทร์ หรือ น�้ำตกลงรู เสาเฉลียง

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 79

79

31/5/2561 10:31:16


สะพานแขวน

แก่งตะนะ 80

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

.indd 80

31/5/2561 10:31:20


อุทยานแห่งชาติแก่งตะนะ

เป็นอุทยานแห่งชาติแก่งตะนะ ตัง้ อยูใ่ นพืน้ ทีอ่ ำ� เภอโขงเจียม และ อ�ำเภอสิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี สภาพภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็น พืน้ ทีร่ าบและเนินเขาทีไ่ ม่สงู มากนัก มีแม่นำ�้ มูลและแม่นำ�้ โขงไหลผ่าน ภายในเขตอุทยานฯ มีสถานที่ท่องเที่ยวทางธรรมชาติมากมาย อาทิ ดอนตะนะ เป็นเกาะทีเ่ กิดขึน ้ ในล�ำน�้ำมูล โดยแบ่งแม่นำ�้ ออกเป็น 2 สาย มีเนื้อที่ประมาณ 225 ไร่ สภาพพื้นที่ทั่วไปเป็นป่าดิบแล้ง ทางตอนเหนือของเกาะมีห าดทรายส�ำหรับพักผ่อนหย่อนใจ สะพานแขวน เป็นสะพานทีเ่ ชือ่ มจากฝัง่ ทีท ่ ำ� การอุทยานแห่งชาติ แก่ ง ตะนะ ไปยั ง ดอนตะนะ นั บ ว่ า เป็ น สะพานแขวนคนเดิ น ที่ ยาวที่ สุ ด ในประเทศไทย ซึ่ ง เป็ น จุ ด ชมวิ ว ทั้ ง สองฟากฝั ่ ง ของ แม่น�้ำมูลที่สวยงามมากจุดหนึ่ง เลยทีเ ดียว แก่งตะนะ เป็ น หนึ่ ง ของล� ำ น�้ ำ มู ล ซึ่ ง อยู ่ ถั ด จากดอนตะนะ กลางแก่ ง ตะนะจะมี โ ขดหิ น ทรายขนาดใหญ่ ม หึ ม า ซึ่ ง เคยเป็ น จุดที่ชี้ร ่องน�้ำในการเดิน เรือสมัยที่ฝรั่ง เศสล่าอาณานิคม

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 81

81

31/5/2561 10:31:26


หาดทราย สามพันโบก

82

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

.indd 82

31/5/2561 10:31:37


หน้าหนาวนี้จึงไม่ควรพลาด ชวนคนรู้ใจไปฟินกับ บรรยากาศสุดแสนโรแมนติก ได้ที่จังหวัดอุบลราชธานี

ขอบคุณข้อมูล การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย จ.อุบลราชธานี UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 83

83

31/5/2561 10:31:45


“ไอศยา” รีสอร์ท Isaya Resort

รีสอร์ทกลางเมืองบรรยากาศริมน�้ำ “บ้านพัก ริมน�้ำมูลสดใส สัมผัสบรรยากาศกลิ่นไอ อบอวนหมู่แมกไม้ สายน�้ำและสายลม ในวันพักผ่อนของคุณ” เอิ บ อิ่ ม กั บ ธรรมชาติ แวดล้ อ มด้ ว ย บรรยากาศ ที่ เ ป็ น ส่ ว นตั ว ริ ม ฝั ่ ง แม่ น�้ ำ มู ล รั บ สายลมแสงแดดยามเย็ น อั น น่ า หลงใหล เหมาะกับการผ่อนนคลาย สะดวกสบายด้ ว ยเครื่ อ งอ� ำ นวยความ สะดวกอย่างครบครัน ที่มีทั้งห้องพักเดี่ยว ห้องชุด ห้องประชุม ห้องจัดเลี้ยงขนาดใหญ่ ห้องอาหารลานกิจกรรมสถานที่กว้างขวาง เดิ น ทางสะดวก รอให้ คุ ณ มาสั ม ผั ส ที่ นี่ “ไอศยารีสอร์ท”

84

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

Isaya Resort (2

).indd 84

4/6/2561 18:53:38


ไอศยา รีสอร์ท Isaya Resort

36/1 ถ.มูลสาร ต.วารินช�ำราบ

อ.วารินช�ำราบ จ.อุบลราชธานี 34190 โทร. 045-251208, 084-8880409

Facebook : ไอศยารีสอร์ท

Line ID : 084-8880409

Website : www.isayaresort.com E-mail : isayaresort_ubn hotmail.com

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

Isaya Resort (2

).indd 85

85

4/6/2561 18:54:01


“เรืRuenaoy อนอ้อย” Resort

“สะดวก สะอาด ปลอดภัย” เรือนอ้อยรีสอร์ท

บริการที่พัก พร้อมสิ่งอ�ำนวย ความสะดวก แอร์ น�้ำอุ่น WiFi เรือนอ้อยรีสอร์ท อยู่เลี่ยง เ มื อ งวาริ น เพี ย ง 4 กม. จากแยกตลาดวาริ น เจริ ญ ศรี ไปทาง อ.พิบูลมังสาหารเส้นใหม่ หรื อ เลี้ ย วซ้ า ยที่ ปตท.ลื อ ค� ำ หาญ 4 กม.

86

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

(2

).indd 86

4/6/2561 18:59:08


บันทึกเส้นทางพักผ่อน

เรือนอ้อยรีสอร์ท 288 ม.6 บ.แต้ ต.ค�ำขวาง อ.วารินช�ำราบ จ.อุบลราชธานี 34190 087-6520222 เรือนอ้อยรีสอร์ท-Ruenaoyresort UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

(2

).indd 87

87

4/6/2561 18:59:31


“เรือนตระการรี ส อร์ ท ” Ruentrakan Resort

โรงแรมเรือนตระการรีสอร์ท

อยู่ในเขตเทศบาล ติดถนน 4 เลน สายตระการ - เขมราฐ กม.4 สิรพรรณ ชิณศิริรัตน์กุล ผู้บริหารโรงแรมเรือนตระการรีสอร์ท โรงแรมเรือนตระการรีสอร์ท ก่อตัง้ เมือ่ 2554 มีหอ้ งพัก จ�ำนวน 24 ห้อง แบ่งเป็น เรือนเดี่ยว 12 หลัง อาคารรวม1 หลัง 12 ห้อง ห้องประชุมเล็ก 50 คน 1 หลัง อาคารร้านค้าขายของฝาก 1 หลัง จุดเด่นของโรงแรมเรือนตระการรีสอร์ท ติดอ่างเก็บน�้ำห้วยถ�้ำแข้ ซึ่งเป็น แหล่งน�้ำขนาดใหญ่ ส�ำหรับการอุปโภคบริโภค การเกษตร และการท่องเที่ยว นอกจากนี้ ยังจัดพื้นที่ท�ำโครงการเกษตรอินทรีย์ ปลูกข้าว ท�ำสวน เช่น กล้วย มะนาว มัลเบอรี หญ้าหวาน และมะม่วงพันธุ์ต่างๆ และบ่อปลาหมอ เพาะเลี้ยง และ ขยายพันธุ์ อีกด้วย 88

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

2

.indd 88

5/6/2561 16:50:57


บันทึกเส้นทางพักผ่อน

จ�ำหน่าย ผลิตผลทางการเกษตร แปรรูป เช่น กล้วยตาก มะม่วงแผ่น และ “ชาสิรินทร์” ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์เด่นของ รีสอร์ท และถือเป็นของดีเมืองตระการ เป็นชาสมุนไพรเพื่อสุขภาพ ชนิดชงดื่ม ผลิตและจ�ำหน่ายที่โรงแรมเรือนตระการ รีสอร์ท โดยได้รับการส่งเสริมสนับสนุน จากทางราชการ

โรงแรมเรือนตระการรีสอร์ท

288 ม.1 ถ.ตระการ-เขมราฐ ต.ค�ำเจริญ อ.ตระการพืชผล จ.อุบลราชธานี 34130

โทรศัพท์ : 098-6069795 062-1955414

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 89

89

5/6/2561 16:51:09


สูทไฮโซ ผ้าไทย ศู น ย์ ร วมผลิ ต จ� ำ หน่ า ย : ผ้าไหม ผ้าฝ้าย ผ้าขาวม้า เสื้อ สงกรานต์ ชุดแซก ชุดเครื่องแบบ ข้าราชการ ชุดผ้าพื้นเมือง ครู – นักเรียน เสื้อผ้าส�ำเร็จรูป ราคาผู้ ผลิต ปลีก – ส่ง ของฝาก ของที่ ระลึ ก บริ ก ารห่ อ ของขวั ญ ปั ก โลโก้ ให้ฟรี ! Decha Sumantha (ร้านสูทไฮโซผ้าไทย)

ร้านสูทไฮโซ ผ้าไทย จ.อุบลราชธานี 2

hiso2523

24/1 ม.19 ต.เมืองเดช อ.เดชอุดม

จ.อุบลราชธานี 34160

เปิดบริการทุกวัน 07.30-18.30 น.

โทร.080-4659125, 064-2963265

90

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

(2

).indd 90

5/6/2561 14:52:47


บันทึกเส้นทางพักผ่อน

Ruenlak village “เรือนรักวิลเลจ” Resort “บ้านพักสวยหรู บรรยากาศดี สะดวก สะอาด ปลอดภัย”

เรือนรักวิลเลจ รีสอร์ท บริการ ห้องพัก 24 ชม. แอร์ ทีวี ตูเ้ ย็น น�ำ้ อุน่ อินเตอร์เน็ต WIFI รับจัดงานเลี้ยง งานพิธีต่างๆ งานแต่งงาน เลี้ยงรุ่น ประชุมสัมมนา

เรือนรักวิลเลจ รีสอร์ท 551 ม.19 ต.เมืองเดช อ.เดชอุดม จ.อุบลราชธานี 34160 064-2963265, 088-8192965 เรือนรักวิลเลจ รีสอร์ท 0642963265

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

(2

).indd 91

91

5/6/2561 14:53:00


“มนธิ ร า” Monthira Hotels

มนธิรารีสอร์ท

บริ ก ารห้ อ งพั ก สิ่ ง อ� ำ น ว ย ความสะดวกครบครั น แอร์ ทีวี ตู้เย็น น�้ำอุ่น และ Wi-Fi บริการอาหารและเครื่องดื่ม

92

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

2

.indd 92

5/6/2561 14:13:21


บันทึกเส้นทางพักผ่อน

สวนน�ำ้

มนธิรารีสอร์ท & สวนน�้ำ สวนอาหาร 21/2 ม.14 ต.เมืองเดช อ.เดชอุดม จ.อุบลราชธานี 34160 045-429044 , 081-2661157 มนธิรารีสอร์ทสวนน�้ำ สวนอาหาร

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 93

93

5/6/2561 14:13:42


“สงบ สะอาด ปลอดภัย ราคาย่อมเยา”

Leelawadee Resort “ลีลาวดี”

รีสอร์ทขนาดเล็ก ที่พักส�ำหรับนักเดินทาง บรรยากาศเป็น กันเอง สิ่งอ�ำนวยความสะดวกครบ แอร์ น�้ำอุ่น ทีวีดาวเทียม FREE WIFI พร้อมบริการเครื่องดื่มร้อน/ขนมฟรีมื้อเช้า ใกล้ห้างสรรพสินค้าสุนีย์ บิ้กซี โลตัส แม๊คโคร ยูปาคร์ สถานีขนส่ง และสนามบิน ยินดีต้อนรับสมาชิก Giving Forward

ลีลาวดีรีสอร์ท

98 ม.17 ถนนเลี่ยงเมือง บ้านแคนค�ำ ต�ำบลไร่นอ้ ย อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี 34000 Facebook : ลีลาวดีรีสอร์ท 98 ม.17 บ้านแคนค�ำ ต�ำบลไร่น้อย โทรศัพท์ : 088-3490053 , 084-9604415 94

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

(1

).indd 94

5/6/2561 16:33:56


Kukkik “กุ๊กกิ๊ก”

Hotel& Restaurant

บริการอาหาร, เครื่องดื่ม, ห้องพัก, คาร์แคร์ ราคาที่พักมีเริ่มต้น 350, 400, 500, 600 เปิดบริการทุกวัน ตั้งแต่ 06.00 น. เป็นต้นไป

กุ๊กกิ๊กห้องพัก Kukkik Hotel & Restaurant

426 ม.13 ต.ช่องเม็ก อ.สิรินธร จ.อุบลราชธานี

โทรศัพท์ : 045-476055, 086-2631558

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

1

.indd 95

95

5/6/2561 14:45:26


HIST ORY OF BUDDH ISM บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

“บรรยากาศหรู คู่ธรรมชาติ”

SABYDEE “สบายดี”

Resort

สบายดี รีสอร์ท บริการห้องพัก พร้อมสิง่ อ�ำนวย ความสะดวกครบครัน แอร์ เครือ่ งท�ำน�ำ้ อุน่ WiFi ใกล้สถานทีท่ อ่ งเทีย่ ว อาทิ… ผาแต้ม โขงเจียม เขือ่ นสิรนิ ธร พัทยาน้อย ฯลฯ

สบายดีรีสอร์ท

195 หมู่ 6 ต.บุ่งมะแลง อ.สว่างวีระวงค์ จ.อุบลราชธานี

โทรศัพท์ : 093-4254209 (ร.ต.ต.จรูญ เพียลา),

094-5374232 (ส.ต.ต.วชิระ เพียลา)

Facebook : wachira piala

96

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

(1

).indd 96

5/6/2561 14:50:25


UBON RATCHATHANI สุขทุกวันที่อุบลราชธานี

อุบลราชธานี เมืองตะวันออกสุดของภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย มีประวัติศาสตร์ที่ยาวนานมากว่า 200 ปี เจ้าของค�ำขวัญ “เมืองดอกบัวงาม แม่น�้ำสองสี มีปลาแซบหลาย หาดทรายแก่งหิน ถิ่นไทยนักปราชญ์ ทวยราษฎร์ ใฝ่ ธรรม งามล�้ำเทียนพรรษา ผาแต้ ม ก่ อ นประวั ติศ าสตร์ ” ที่ นี่ มี ส ถานที่ ท ่ องเที่ ย วมากมายที่ น ่ า สนใจ

THE NINE

SAABPAIBOON SAABPAIBOON Tel : 045-953498, 099-4758881 www.saabpaiboonresort.com

Facebook : THENINEMANSION Line : THENINEMANSION Tel : 081-8791244

THE NINE MANSION เดอะไนน์ แมนชั่ น “เหมือ นได้พักอยู ่ กับบ้ าน”

SUPORNLAKEVIEW

ที่พัก แสนสะดวกสบาย และอบอุ่นใจในอุบลราชธานี

ISAYA RESORT

สุพ รเลควิว เซอร์ วิ ส อพาร์ ทเมนท์ &โฮมสเตย์ Tel : 088-5952309 Line id : ning4958 E-mail : supornlakeview@gmail.com

ISAYA RESORT

บริการที่พักบรรยากาศดี เงี ย บ สงบ ติดสวนสาธรณะหนองขุ หลุ พร้ อมสระว่ ายน�้ ำ

บ้านพัก ริม น�้ำมูลสดใส สัม ผัสบรรยากาศกลิ่น ไอ อบอวนหมู่แมกไม้ สายน�้ำและสายลม ในวัน พัก ผ่อนของคุณ

The Best.indd 97

Tel : 045-251208, 084-8880409 Line id : 084-8880409 Facebook : ไอศยารี ส อร์ ท

NEVEDA CONVENTION NEVEDA CONVENTION Facebook : Nevada Convention Hotel Tel : 045-313-357-8, 081-995-7719 โรงแรมเนวาด้ า คอนเวนชั่น ตั้ง อยู่ใ จกลางเมือ ง อุ บ ลราชธานี ห่ า งจากสนามบิน เพียง 10 นาที ใกล้ ย ่ า นธุ ร กิ จ แหล่ ง ช้ อ ปปิ้ง และสถานบันเทิง ต่า งๆ

NAMSAPVILLA NAMSAPVILLA RESORT Tel : 081-8354755, 089-6777547 www.namsapvillaresort.com การตกแต่ ง ภายในห้ อ งแต่ ล ะหลั ง มี ส ไตล์ ที่ แ ตกต่ า งกั น ไม่ ว ่ า จะ เป็น บ้านนก Bird House บ้า นโจรสลัด Pirate House บ้านหิน Bed Rock และบ้า นขอนไม้ Log House

31/5/2561 16:26:33


อิ่มอร่อยมะม่วงกวน ฝีมือล้วนปอกล้วยสาน เพลงขอทานประจ�ำถิ่น ศิลปินกระเดื่องแดน”

W O R K LI F E

บันทึกเส้นทางพบเทศบาลนครอุบลราชธานี

เทศบาลนครอุบลราชธานี นางสาวสมปรารถนา วิกรัยเจิดเจริญ นายกเทศมนตรีนครอุบลราชธานี

เทศบาลนครอุบลราชธานี เป็นองค์กรในการบริการประชาชนแก้ไขปัญหาความเดือดร้อน ของ พี่น้องในเขตเทศบาลนครอุบลราชธานี ร่วมพัฒนาบ้านเมือง สร้างคุณภาพชีวิตที่ดี โดยผ่านโครงการ ต่างๆ ซึ่งเทศบาลนครอุบลราชธานีให้ความส�ำคัญในการด�ำเนินการทุกๆด้าน เพื่อครอบคลุมภารกิจ ตามที่กฎหมายได้ให้อ�ำนาจหน้าที่ไว้ และที่ผ่านมาทุกภาคส่วนให้ความร่วมมือในการส่งเสริม สนับสนุนภารกิจหน้าที่ตามโครงการ จนประสบผลส�ำเร็จไปด้วยดี ดิฉัน นางสาวสมปรารถนา วิกรัยเจิดเจริญ นายกเทศมนตรีนครอุบลราชธานี พร้อมด้วยคณะ ผู้บริหารและเจ้าหน้าที่เทศบาลนครอุบลราชธานีทุกคน จะด�ำเนินการสานต่อพัฒนาเทศบาลนคร อุบลราชธานีในทุกด้าน โดยยึดปัญหาความเดือดร้อน ความจ�ำเป็นเร่งด่วนของพี่น้องประชาชน เป็นที่ตั้งตามเจตนารมณ์ ที่จะร่วมพัฒนาไปสู่ความเจริญรุ่งเรือง และเกิดความผาสุกในทุกชุมชน

ค์ ค์ มรงค์

นโยบายการพัฒนา 1. ด้ า นโครงสร้ า งพื้ น ฐาน มี ค วามจ� ำ เป็ น ต้ อ ง ด� ำ เนิ น การอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง เพื่ อ ตอบสนองต่ อ ความ ต้องการของพี่น้องประชาชนให้มากที่สุด ซึ่งจะด�ำเนิน การปรั บ ปรุ ง ถนน และวางระบบระบายน�้ ำ ในเขต เทศบาลนครอุบลราชธานีอย่างต่อเนื่อง ให้ได้มาตรฐาน สามารถตอบสนองต่ อ ความต้ อ งการของชุ ม ชนและ มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล รวมทั้งจัดภูมิทัศน์ให้ สวยงาม และวางระบบสายไฟลงดินในถนนสายหลัก ขยายการให้บริการไฟฟ้าสาธารณะอย่างทั่วถึง สร้าง ทางเท้ า ปลู ก ต้ น ไม้ ใ นสวนสาธารณะเพื่ อ เพิ่ ม ความ ร่มรื่นและสวยงาม 2. ด้านสิ่งแวดล้อม มีการพัฒนาระบบการจัดการ ขยะมูลฝอย อย่างถูกหลักสุขาภิบาล เพื่อลดปัญหาขยะ ในชุมชน รณรงค์ให้ประชาชนได้ตระหนักและเล็งเห็น ความส�ำคัญของปัญหาขยะ รวมถึงการลดปัญหามลพิษ ทางอากาศ ฝุ่นละอองและเสียง ตลอดจนการจัดให้มี ระบบปรับปรุงคุณภาพน�้ำและบ่อดักไขมัน ก่อนปล่อย น�้ำเสียลงท่อระบายน�้ำ เพื่อรักษาสิ่งแวดล้อม 98

3. ส่ ง เสริ ม คุ ณ ภาพชี วิ ต จั ด สร้ า งศู น ย์ บริการผู้สูงอายุ ดูแลช่วยเหลือในเรื่องที่อยู่ อาศัย ส�ำหรับผู้มีรายได้น้อย การสงเคราะห์ เด็ก สตรี คนพิการ และผู้ด้อยโอกาสทางสังคม เน้นให้ความส�ำคัญกับเยาวชนและครอบครัว รวมถึงจัดให้มสี วนสาธารณะ ส�ำหรับออกก�ำลังกาย 4. เศรษฐกิจ ส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวพระราชด� ำ ริ ข องพระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 กระตุ้นเศรษฐกิจ

ด้ ว ยกิ จ กรรมที่ ห ลากหลาย ทั้ ง ด้ า นศาสนา งานประเพณีศิลปวัฒนธรรมและเทศกาลตลอด ทั้งปี รวมทั้งการสร้างภาคีเครือข่ายเศรษฐกิจ ทั้งในประเทศ และต่างประเทศ โดยเฉพาะใน กลุ่มอาเซียนและอินโดจีน เพื่อการขับเคลื่อน พั ฒ นาเทศบาลนครอุ บ ลราชธานี ใ ห้ เ ป็ น ศูนย์การค้า การท่องเที่ยว การลงทุน เพื่อการ พึ่งตนเอง

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

(2

).indd 98

8/6/2561 10:16:54


5. การศึกษา ส่งเสริมการศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้มีมาตรฐานและเป็นธรรม ด้วยความเป็นธรรม เสมอภาค 6. สาธารณสุข จัดให้มีศูนย์บริการชุมชน และการแพทย์ทางเลือก ให้ครอบคลุมพื้นที่เขต เทศบาลนครอุ บ ลราชธานี สนั บ สนุ น การเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพ การบริ ก ารทางการแพทย์ แ ละ สาธารณสุ ข ให้ ทั น สมั ย เพื่ อ รองรั บ การเจริ ญ เติบโตของเมือง โดยประชาชนทุกระดับต้องเข้าถึง การบริการทางการแพทย์และสาธารณสุขอย่าง เท่าเทียม พัฒนาตลาดสดและสถานประกอบการ ทุกแห่งในเขตเทศบาลให้ถูกสุขลักษณะ สะอาด มีคุณภาพ 7. ส่ ง เสริ ม ศิ ล ปวั ฒ นธรรมและศาสนา ร่วมกับประชาชน ชุมชน และกลุ่มองค์กรต่างๆ อนุรักษ์งานประเพณี ศิลปวัฒนธรรม และศาสนา เช่ น งานแห่ เ ที ย นพรรษา งานลอยกระทง งานสงกรานต์ งานแข่งเรือยาว งานบุญของคุ้มวัด ชุมชน เป็นต้น 8. การท่องเที่ยวและการกีฬา จัดกิจกรรม ส่งเสริมการท่องเที่ยวอย่างต่อเนื่องทุกรูปแบบ เพื่อท�ำให้เทศบาลนครอุบลราชธานี เป็นศูนย์กลาง การท่องเที่ยว โดยอนุรักษ์แหล่งท่องเที่ยวเก่า และส่งเสริมให้มีแหล่งท่องเที่ยวใหม่ นอกจากนี้ ยังสนับสนุนการแข่งขันกีฬา เพื่อพัฒนาศักยภาพ ด้านการกีฬาของเด็กและเยาวชน 9. การจราจร ปรับปรุงระบบจราจร โดย สร้ า งถนนเพื่ อ เพิ่ ม ช่ อ งทางจราจร สนั บ สนุ น ประสาน ส่งเสริมภารกิจโครงการร่วมกับหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง ในการแก้ไขปัญหาจราจรอย่างเป็น ระบบ รวมทั้ ง การสร้ า งวิ นั ย การจราจร เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพ คุ ณ ภาพของสั ญ ญาณและ เครื่องหมายจราจร 10. การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย จั ด ระบบการช่ ว ยเหลื อ ป้ อ งกั น และบรรเทา สาธารณภั ย ทุ ก รู ป แบบให้ พ อเพี ย งสามารถ ช่วยเหลือประชาชนทุกสถานการณ์ ให้ครอบคลุม ทุกชุมชน

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

(2

).indd 99

99

8/6/2561 10:17:04


อิ่มอร่อยมะม่วงกวน ฝีมือล้วนปอกล้วยสาน เพลงขอทานประจ�ำถิ่น ศิลปินกระเดื่องแดน”

W O R K LI F E

บันทึกเส้นทางพบเทศบาลเมือง

เทศบาลเมืองแจระแม “แจระแมเมืองแห่งการพัฒนา คุณภาพชีวิตสังคมดี สิ่งแวดล้อมดี การศึกษามีมาตรฐาน บริหารองค์การอย่างมีคุณภาพ” คือวิสัยทัศน์ของเทศบาลเมืองแจระแม

ประวัติความเป็นมา กระทรวงมหาดไทย ได้ประกาศจัดตั้งองค์การบริหารส่วนต�ำบลแจระแม อ�ำเภอเมือง อุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี เป็นเทศบาลเมืองแจระแม เมื่อวันที่ 5 กันยายน 2555 โดยมี ที่ ตั้ ง อยู ่ บ ริ เวณบ้ า นหนองแก ถนนแจ้ ง สนิ ท อ� ำ เภอเมื อ งอุ บ ลราชธานี จั ง หวั ด อุบลราชธานี ตั้งอยู่ตรงข้ามกับศาลปกครองและศาลากลางจังหวัดอุบลราชธานี (หลังใหม่) มีพื้นที่ทั้งหมดโดยประมาณ 50 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 31,250 ไร่ ครอบคลุม พื้นที่ จ�ำนวน 10 หมู่บ้าน

กลุ่มอาชีพ

ค์ ค์ มรงค์

นางสาวปลิดา สิทธิธรรม นายกเทศมนตรีเมืองแจระแม

.

100

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

(2

).indd 100

กลุ่มสตรีสหกรณ์บ้านทุ่งหว้า มีผลิตภัณฑ์ดังนี้ แหนมซี่โครงหมูอ่อน หมูยอ กุนเชียงหมู แหนมหมู เส้นก๋วยจั๊บเวียดนาม หมูหยอง เค็มบักนัดปลา ที่อยู่ 119/1 หมู่ที่ 4 ถนนแจ้งสนิท ต�ำบลแจระแม อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี 34000 ติดต่อ คุณจารุณี ฑีฆะทิ โทร 081 - 5079582 งานประติมากรรมกระดาษนูนต�่ำ ที่อยู่ 227 หนองแก หมู่ 3 แจ้งสนิท ต�ำบลแจระแม อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี 34000 ติดต่อ นายปราโมทย์ โทร 089-1589118 กลุ่มสตรีบ้านทุ่งขุนน้อย หมู่ 5 ประกอบอาชีพเย็บผ้าห่ม โดยจ�ำหน่ายให้กับหน่วยงาน ราชการ ได้แก่ ส�ำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เพื่อน�ำไปช่วยเหลือผู้ประสบ ภัยหนาว รวมถึงจ�ำหน่ายแก่บุคคลทั่วไป ซึ่งสร้างรายได้ให้กับคนในชุมชน นอกจากนี้ชุมชน มีการพัฒนาผลิตภัณฑ์ของกลุ่มให้มีมาตรฐาน มีคุณภาพ รวมถึงพัฒนารูปแบบให้ทันสมัยและ ตรงตามความต้องการของลูกค้า กลุ่มวิสาหกิจชุมชนไพหญ้าแฝกส�ำเร็จรูป หมู่ 7 และหมู่ 1 ผลิตไพหญ้าแฝกเพื่อจ�ำหน่าย ได้ปีละ 50,000 ไพ เพื่อจ�ำหน่ายและสร้างงานสร้างรายได้ให้แก่คนในชุมชน

5/6/2561 15:30:16


แหล่งท่องเที่ยว หาดคูเดือ่ ต�ำบลแจระแม จังหวัดอุบลราชธานี เป็ น หนึ่ ง ในสถานที่ ที่ ช าวเมื อ งอุ บ ลฯ และ นักทัศนาจรต่างถิ่นนิยมเดินทางมาสังสรรค์เป็น จ� ำ นวนมาก โดยมี นั ก ท่ อ งเที่ ย วชาวไทยและ ชาวต่างประเทศประมาณ 1 แสนคนต่อปี มีแพ ร้านอาหารของผู้ประกอบการจ�ำนวน 700 แพ อาหารที่นี่มีความสดใหม่ รสชาติอร่อย และมีให้ เลื อ กมากมาย รวมถึ ง ทั ศ นี ย ภาพโดยรอบยั ง สวยงามน่าชม โดยเฉพาะในช่วงฤดูแล้ง ซึ่งระดับ น�้ำในแม่น�้ำมูลจะลดลงจนเผยให้เห็นหาดทราย สี ส ้ ม ทอดยาวตลอดริ ม ฝั ่ ง นอกจากการ รั บ ประทานอาหารซึ่ ง เป็ น กิ จ กรรมหลั ก แล้ ว ที่หาดคูเดื่อยังมีจุดส�ำหรับลงเล่นน�้ำคลายร้อน รวมถึงมีบริการเช่าเรือปั่นนั่งเป็นคู่ ล่องไปตาม ล�ำน�้ำมูลเพื่อชมทัศนียภาพริมสองฝั่งด้วย ท่าเสด็จ เดิมมีชอื่ เรียกว่า “ท่าน�ำ้ ปากคลองกุด” เป็นสถานที่ที่ชาวบ้านคูเดื่อทุกคนมีความภาค ภูมิใจที่จังหวัดอุบลราชธานี เลือกให้เป็นสถานที่ ถวายการต้อนรับเจ้าชายฟูมิฮิโต พระราชโอรส องค์เล็กแห่งจักรพรรดิญี่ปุ่น เนื่องในวโรกาสที่ เสด็จเยือนประเทศไทย และเสด็จฯมาทรงจับ ปลาเพื่อทรงศึกษาพันธุ์ปลาน�้ำจืด ที่มีถิ่นก�ำเนิด ในล�ำน�้ำมูล เมื่อวันที่ 14 สิงหาคม 2532 และเพื่อ เป็นเกียรติประวัติแก่ชุมชน ชาวบ้านคูเดื่อจึงได้ พร้อมใจกันเปลี่ยนชื่อสถานที่จาก “ท่าน�้ำปาก คลองกุ ด ” เป็ น “ท่ า เสด็ จ ” พร้ อ มกั บ มี ก าร

ปรับปรุงบริเวณสถานที่ให้เกิดความสวยงามอย่าง สมพระเกี ย รติ โดยสร้ า งสั ญ ลั ก ษณ์ เ ป็ น “สถาปัตยกรรมร่วมสมัยไทย - ญี่ปุ่น” มีเนื้อหา ภาษาไทย ภาษาอังกฤษและภาษาญี่ปุ่น เพื่อให้

เป็นสถานที่ท่องเที่ยวทางธรรมชาติที่ยั่งยืน เป็น อนุ ส รณ์ แ ละส่ ง เสริ ม การท่ อ งเที่ ย วตามรอย เจ้าชายฟูมิฮิโตของนักท่องเที่ยวประเทศญี่ปุ่น และนักท่องเที่ยวทั่วไป UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.

(2

).indd 101

101

5/6/2561 15:29:12


ค์ ค์ มรงค์

อิ่มอร่อยมะม่วงกวน ฝีมือล้วนปอกล้วยสาน เพลงขอทานประจ�ำถิ่น ศิลปินกระเดื่องแดน”

W O R K LI F E

บันทึกเส้นทางพบเทศบาลต�ำบล

เทศบาลต�ำบลอุบล “เทศบาลต�ำบลอุบล บ้านเมืองน่าอยู่ มีสภาพแวดล้อมสะอาดปราศจากมลพิษ ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี ส่งเสริมประเพณีวัฒนธรรม พัฒนาระบบการบริหารและบริการประชาชน ใช้รถใช้ถนนสะดวกปลอดภัย ส่งเสริมอาชีพ และเพิ่มพูนรายได้ของประชาชน” คือค�ำขวัญของเทศบาลต�ำบลอุบล

นายประภากร สิทธิธรรม รองนายกเทศมนตรี รักษาราชการแทน นายกเทศมนตรีต�ำบลอุบล

เทศบาลต�ำบลอุบล จัดตั้งขึ้นตามพระราช บัญญัติเปลี่ยนแปลงฐานะสุขาภิบาลเป็นเทศบาล พ.ศ. 2542 และประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 116 ตอนที่ 9 ก ลงวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2542 และมีผลตั้งแต่ วันที่ 25 พฤษภาคม 2542 พื้นที่ 3.5 ตารางกิโลเมตร จ�ำนวน/ชุมชนในเขต เทศบาล จ�ำนวน 7 ชุมชน

ผลงานที่ประสบความส�ำเร็จ วิสัยทัศน์ด้านการรักษาสิ่งแวดล้อม นายประภากร สิทธิธรรม รองนายกเทศมนตรี รั ก ษาราชการแทนนายกเทศมนตรี ต� ำ บลอุ บ ล ได้มอบหมายให้กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม มีภารกิจหน้าที่ในการดูแลสุขภาพและสุขภาวะ ของประชาชนในชุมชน โดยเน้นในเรื่องของการ รักษาความสะอาด การติดตั้งถังรองรับขยะทั่วไป และติดตั้งถังอันตรายในชุมชนครบทุกชุมชน การ ควบคุ ม ขยะติ ด เชื้ อ ในสถานพยาบาล ซึ่ ง การ ด�ำเนินการที่ผ่านมาเทศบาลต�ำบลอุบล สามารถ จั ด การปั ญ หาขยะที่ มี จ� ำ นวนมาก ด้ ว ยการ ส่งเสริมและให้ความรู้แก่ประชาชนในการคัดแยก 102

ขยะชุมชนได้เป็นอย่างดี และอีกกิจกรรมที่ส�ำคัญ ทีเ่ ทศบาลต�ำบลอุบลได้รว่ มมือกับชุมชนอย่างเต็มที่ โดยมีแกนน�ำที่ส�ำคัญคือ อาสาสมัครสาธารณสุข ชุมชน (อสม.) ได้ด�ำเนินกิจกรรมลดและคัดแยก ขยะในรู ป แบบของธนาคารขยะรี ไซเคิ ล ชุ ม ชน ตามนโยบาย 3Rs ประชารัฐของรัฐบาลในการลด ปริ ม าณขยะลงให้ ไ ด้ ร ้ อ ยละ 5 ซึ่ ง ที่ ผ ่ า นมา เทศบาลต� ำ บลอุ บ ลมี ชุ ม ชนที่ ไ ด้ รั บ การจั ด ตั้ ง ธนาคารขยะรีไซเคิลไปแล้ว 5 ชุมชน การด�ำเนิน งานอยู่ในระดับที่น่าพอใจ มีประชาชนมาสมัคร เป็ น สมาชิ ก และน� ำ ขยะมาขายพอสมควร ซึ่งสามารถลดปริมาณขยะลงได้ตามเป้าหมายที่ ก�ำหนด โดยในปี 2562 นี้ เทศบาลได้ก�ำหนด เป้าหมาย ที่จะสร้างความพร้อมของชุมชนให้

สามารถจั ด ตั้ ง ธนาคารขยะในชุ ม ชนให้ ไ ด้ ค รบ 100% ส่วนกิจกรรมที่ต่อยอดและด�ำเนินการตาม นโยบายของกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิน่ คื อ การจั ด การขยะในครั ว เรื อ นเพื่ อ ท� ำ ขยะ อิ น ทรี ย ์ (ปุ ๋ ย อิ น ทรี ย ์ ) โดยก� ำ หนดพื้ น ที่ ใ น ส�ำนักงานเทศบาล จ�ำนวน 2 จุด และศูนย์พัฒนา เด็กเล็ก จ�ำนวน 4 จุด เพื่อเป็นจุดสาธิตและแหล่ง เรียนรู้ของชุมชน และตั้งเป้าขยายไปในครัวเรือน ให้ได้มากกว่า 60% ภายในปี 2561 นี้ ส�ำนักงานเทศบาลต�ำบลอุบล 222 หมู่ที่ 18 ถนนสุ ข าพั ฒ นา ต� ำ บลขามใหญ่ อ� ำ เภอเมื อ ง จังหวัดอุบลราชธานี 34000 โทรศัพท์ : 0-4531-1211-2 Website : www.tambonubon.go.th

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

1

.indd 102

6/6/2561 8:49:00


WORK LIF E

บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล

องค์การบริหารส่วนต�ำบลปะอาว “โครงสร้างพื้นฐานดี สิ่งแวดล้อมไม่มีมลพิษ พัฒนาคนให้มีคุณภาพทุกด้าน ประสานการมีส่วนร่วมทุกภาคส่วน สร้างชุมชนให้เข้มแข็งและน่าอยู่” ค�ำขวัญต�ำบลปะอาว “ทองเหลืองสดใส ผ้าไหมสุดสวย ร�่ำรวยน�้ำใจ บั้งไฟแสนเลื่องลือ ยึดถือคุณธรรม”

ข้อมูลพื้นฐาน

องค์การบริหารส่วนต�ำบลปะอาว ตั้งอยู่ที่ หมู่ที่ 4 บ้านปะอาวต�ำบลปะอาว อ�ำเภอเมืองอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี อยู่ห่างจากอ�ำเภอเมืองอุบลราชธานี เป็นระยะทางประมาณ 22 กิโลเมตร ห่างจากศาลากลาง จังหวัดอุบลราชธานี ประมาณ 14 กิโลเมตร

โครงการและกิจกรรม

นายสมเนตร แววคุ้ม

นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลปะอาว

โครงการรดน�้ำขอพรผู้สูงอายุ โครงการบุญมหาชาติ โครงการบุญบั้งไฟ โครงการวันส�ำคัญทางศาสนา

สถานที่ส�ำคัญและผลิตภัณฑ์

ธนาคารน�้ำ วัดป่าหนองอ้อ หมู่ที่ 1 บ้านข่าโคม ศูนย์บ�ำบัดยาเสพติด วัดบ้านข่าโคม หมู่ที่ 1 บ้านข่าโคม ศูนย์ช่างหล่อหัตถกรรมทองเหลืองโบราณ หมู่ที่ 5 บ้านปะอาว ศูนย์แสดงสินค้าพื้นเมือง หมู่ที่ 3 บ้านปะอาว กลุ่มปลูกถั่วลิสง หมู่ที่ 1 และ หมู่ที่ 2 บ้านข่าโคม กลุ่มหม่อนไหม หมู่ที่ 4 – 6 บ้านปะอาว และหมู่ที่ 8 บ้านทุ่งนาเพียง กลุม่ อาชีพทอผ้า หมูท่ ี่ 7 บ้านสร้างหมากแข้ง และหมูท่ ี่ 8 บ้านทุง่ นาเพียง

องค์การบริหารส่วนต�ำบลปะอาว โทรศัพท์ : 0-4584-0492 โทรสาร : 0-4584-0492 www.pa-ao.go.th E-mail : pa-ao2011@hotmail.com Facebook : อบต.ปะอาว อ.เมือง UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.

(1

).indd 103

103

6/6/2561 8:57:06


อิ่มอร่อยมะม่วงกวน ฝีมือล้วนปอกล้วยสาน เพลงขอทานประจ�ำถิ่น ศิลปินกระเดื่องแดน”

W O R K L IF E

บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล

องค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองขอน นายทองแดง มณีพงษ์ นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองขอน ข้อมูลพื้นฐาน องค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองขอน ตั้งอยู่เลขที่ 225 หมู่ที่ 10 บ้านหนองขอน ต�ำบลหนองขอน อ�ำเภอเมืองอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี ตัง้ อยูท่ างทิศตะวันตกเฉียงเหนือของอ�ำเภอเมืองอุบลราชธานี ระยะห่างประมาณ 18 กิโลเมตร มีเนื้อที่ทั้งหมด 54 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 33,765 ไร่ อาณาเขต ทิศเหนือ ติดต่อกับพืน้ ทีต่ ำ� บลปะอาว อ�ำเภอเมืองอุบลราชธานี ทิศใต้ ติดต่อกับพืน้ ทีต่ ำ� บล แจระแมและต�ำบลหนองบ่อ อ�ำเภอเมืองอุบลราชธานี ทิศตะวันออก ติดต่อกับพืน้ ทีต่ ำ� บลขีเ้ หล็กและต�ำบล ขามใหญ่ อ�ำเภอเมืองอุบลราชธานี ทิศตะวันตก ติดต่อกับพื้นที่ต�ำบลหัวดอน อ�ำเภอเขื่องใน

ระบบเศรษฐกิจ

โดยภาพรวม ลักษณะการประกอบอาชีพของประชาชนในต�ำบลหนองขอน จะเกี่ยวข้องกับการ ท�ำเกษตรกรรมและกสิกรรมเป็นส่วนใหญ่ ได้แก่ ท�ำนาปี ปลูกพืชไร่ พืชผักสวนครัวและพืชสมุนไพร ปลูกไม้ดอกไม้ประดับ ปลูกพืชยืนต้น ไม้ผลและสวนป่า การท�ำประมงน�้ำจืด การเลี้ยงสัตว์ เป็นต้น

ค์ ค์ มรงค์

โครงการเด่น

โครงการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวอุทยานบึงบัวหนองขอนอุบลราชธานี เพื่อให้ประชาชนชาวจังหวัด อุบลราชธานีและพื้นที่ใกล้เคียงตลอดจนคนไทยทั้งประเทศ มีแหล่งท่องเที่ยวแหล่งศึกษาเรียนรู้เพิ่มขึ้น จากการพัฒนาที่สาธารณประโยชน์แห่งนี้ โดยมีกิจกรรมและภารกิจการด�ำเนินงานรอบบริเวณอุทยาน บึงบัวหนองขอนอุบลราชธานี

104

.

(1

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

).indd 104

6/6/2561 9:07:43


ISM

วัดทุ่งศรีเมือง พระวิโรจน์รัตโนบล เจ้าอาวาสวัดทุ่งศรีเมือง

ประวัติความเป็นมา วัดทุง่ ศรีเมือง เป็นวัดเก่าแก่แห่งหนึง่ ทีต่ งั้ อยู่ ใจกลางเมืองอุบลราชธานี สร้างขึน้ เมือ่ ช่วงปลาย สมั ย รั ช กาลที่ 2 จนถึ ง สมั ย พระบาทสมเด็ จ พระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3 แห่งราชวงศ์ จักรี ประมาณปี พ.ศ.2356 โดยเจ้าคุณพระ อ ริ ย ว ง ศ า จ า ร ย ์ ญ า ณ วิ ม ล อุ บ ล ภิ บ า ล สังฆปาโมกข์ (สุ้ย) ซึ่งด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าคณะ เมืองอุบลราชธานี ในสมัยนั้นเจ้าคุณพระอริย วงศาจารย์ฯ เดิมเป็นพระภิกษุจากวัดสระเกศ ราชวรมหาวิหารกรุงเทพฯ ได้มาจ�ำพรรษาที่ วัดป่าแก้วมณีวัน (วัดมณีวนารามในปัจจุบัน) จ.อุบลราชธานี มีอัธยาศัยสงบ ทุกเช้าเย็นจะ ออกจากอารามมานั่งเจริญสมณธรรม ที่ป่าชาย ทุ ่ ง ดงอู ่ ผึ ง คื อ สถานที่ ตั้ ง วั ด ทุ ่ ง ศรี เ มื อ งใน ปัจจุบัน ซึ่งเป็นที่สงบจึงได้น�ำพระพุทธบาท จ�ำลองจากวัดสระเกศฯ มาเพื่อเป็นที่กราบไหว้ ของประชาชน และได้สร้างหอพระพุทธบาท ซึง่ ทางวัดถือเป็นพระอุโบสถขึน้ เป็นทีป่ ระดิษฐาน ประมาณ ปี พ.ศ.2356 โดยมี ญ าดู ช ่ า ง (พระสงฆ์ที่มีความช�ำนาญในการก่อสร้างจาก นครเวียงจันทน์) มาเป็นก�ำลังในการก่อสร้าง ศิ ล ปะการก่ อ สร้ า งหอพระพุ ท ธบาท เป็ น แบบแผนผสมกันระหว่างรัตนโกสินทร์ตอนต้น และศิลปะล้านช้าง โครงสร้างส่วนล่างเป็นแบบ สิมอีสาน โครงหลังคาเป็นแบบรัตนโกสินทร์ ภายในมีศิลปะวัตถุ มีค่า3 อย่าง คือ พระพุทธ รูปปางมารวิชัย ซึ่งเป็นพระประธานเก่าแก่ของ เมืองอุบลราชธานีขนาดหน้าตัก 2.39 เมตร พระพุทธบาทจ�ำลอง และ ภาพจิตรกรรมฝาผนัง อันงดงามประดับทั้ง 4 ด้าน เป็นภาพเขียน วรรณคดีทางพระพุทธศาสนาเรือ่ งพระเวสสันดร และเรื่องราวเกี่ยวกับชีวิตการเป็นอยู่ การท�ำมา หากิน การแต่งกายของชาวชนบทในภาคตะวัน ออกเฉียงเหนือในสมัยนั้น

พระวิโรจน์รัตโนบล เจ้าอาวาสวัดทุ่งศรีเมือง

อาคารเสนาสนะส�ำคัญ หอพระไตรปิ ฎ ก หรื อ ที่ รู ้ จั ก กั น ดี ว ่ า “หอไตรกลางน�ำ้ ” เป็นโบราณสถานทีง่ ดงามและ มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันทั่วไปของวัดทุ่งศรีเมือง ทีใ่ ครๆ ต้องแวะมาชมลักษณะเป็นศิลปะผสม 3 สกุลช่าง คือ ไทย พม่า และลาว ตัวอาคารเป็น แบบไทยภาคกลาง หลังคาเป็นแบบไทยผสม พม่า สร้างด้วยไม้เนื้อแข็งทั้งหลัง แกะสลัก ลวดลายบนหน้าบันทั้ง 2 ด้าน เป็นศิลปะลาว ฝีมือชั้นสูง มีความสมบูรณ์สวยงามที่สุดในภาค อีสาน เป็นทีเ่ ก็บรักษาพระไตรปิฎกอันเป็นคัมภีร์ ทางพระพุทธศาสนา เพื่อให้ปลอดภัยมิให้วิบัติ เสียหาย โดยเฉพาะมดปลวกมาท�ำลาย จึงนิยม สร้างหอไตรขึน้ ทีก่ ลางสระน�ำ้ หรือทีป่ ลอดภัยใน การเก็บรักษา UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

(3

).indd 105

105

5/6/2561 16:05:29


หอไตร มักสร้างขึ้นในวัดใหญ่ๆ อันเป็น ศู น ย์ ก ลางแห่ ง พระพุ ท ธศาสนาในย่ า นนั้ น ๆ จ.อุบลราชธานี มีหอไตรอยู่ 3 แห่ง คือ วัดทุ่ง ศรีเมือง อ.เมือง หอไตรกลางน�้ำที่หนองขุหลุ วั ด ศรี โ พธิ์ ชั ย อ.ตระการพื ช ผล วั ด หอไตรที่ อ.เขื่ อ งใน แต่ ป ั จ จุ บั น นี้ รื้ อ ถอนไปแล้ ว และ หอไตรกลางสระน�้ ำ ที่ วั ด มหาธาตุ จ.ยโสธร ซึ่ ง เดิ ม เป็ น จ.อุ บ ลราชธานี เป็ น หอไตรที่ ทรวดทรงสัณฐานคล้ายหอไตรวัดทุ่งศรีเมือง สันนิษฐานว่าจะเป็นช่างก่อสร้างคนเดียวกัน หอไตรทีว่ ดั ทุง่ ศรีเมือง เป็นคูก่ บั หอพระบาท เสนาสนะทั้งสองนี้ภาษาชาวบ้าน เรียกว่า หอ เพราะมี ศิ ล ปะสวยงามตามความนิ ย มใน พระพุทธศาสนา หอพระบาทมีความสวยงาม มี ช่อฟ้า ใบระกา คันทวย หางหงส์ เหมือนโบสถ์

106

เป็นศิลปะนครเวียงจันทน์ หอไตรเป็นศิลปะผสม ระหว่างนครเวียงจันทน์กบั นครย่างกุง้ เสนาสนะ ทั้งสองนี้มีความสวยงามเป็นที่เชิดหน้าชูตาของ จ.อุบลราชธานี วิหารศรีเมือง เป็นทีป่ ระดิษฐานพระเจ้าใหญ่ ศรีเมือง พระประธานเก่าแก่ ซึง่ มีประวัตวิ า่ สร้าง มานานพร้ อ มสร้ า งเมื อ งอุ บ ลราชธานี (พ.ศ. 2335) เดิมประดิษฐานอยูท่ วี่ ดั เหนือท่า อันเป็น วัดรุ่นแรกของเมือง สร้างขึ้นในสมัยพระปุทมวร ราชสุริยวงศ์ (ค�ำผง) เจ้าเมืองอุบลราชธานีคน แรก เพื่อเป็นที่บ�ำเพ็ญกุศลของท่าน และเหล่า ข้าราชการบริหาร มีอายุเก่ากว่าพระเจ้าใหญ่อนิ แปลง ที่ ป ระดิ ษ ฐานอยู ่ ที่ วั ด มหาวนารามใน ปัจจุบนั ต่อมาวัดเหนือท่าถูกยกเลิกไปเมือ่ พ.ศ. 2458 จึ ง ได้ อั ญ เชิ ญ ไปประดิ ษ ฐานที่ วั ด ทุ ่ ง ศรีเมือง

ปูชนียสถาน 3 แห่ง ของวัดทุ่งศรีเมืองนี้ มีความส�ำคัญทางประวัติศาสตร์และเอกลักษณ์ ทางศิลปวัฒนธรรมของอุบลราชธานี ควรค่าแก่ การเยีย่ มชมสักการะ ทัง้ ในฐานะพุทธศาสนิกชน และนักท่องเที่ยวชื่นชมในคุณค่าของมรดกทาง ศิลปวัฒนธรรม

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

(3

).indd 106

5/6/2561 16:05:48


โรงเรียนบาลีสาธิตศึกษา มหาจุ ฬ าลงกรณราชวิ ท ยาลั ย จั ง หวั ด อุบลราชธานี วิสัยทัศน์ มุ่งจัดการศึกษาให้ได้มาตรฐานการศึกษา ของชาติสมู่ าตรฐานสากลแบบมีสว่ นร่วม ผูเ้ รียน มีสุนทรียภาพ มีคุณธรรมน�ำความรู้ พัฒนา ตนเองอย่างเป็นระบบต่อเนื่อง และอนุรักษ์สิ่ง แวดล้อม

พระราชรั ต โนบล(พิ ม พ์ นารโท) ผู ้ ก ่ อ ตั้ ง โรงเรี ย น

อัตลักษณ์ของสถานศึกษา “โอบอ้อมอารีย์ วจีไพเราะ สงเคราะห์ชมุ ชน วางตนเหมาะสม” ตามหลัก สังคหวัตถุ 4 (ทาน, ปิยวาจา, อัตถจริยา และสมานัตตตา) เดิ ม ชื่ อ ว่ า “โรงเรี ย นบาลี มั ธ ยมศึ ก ษา” ก่อตัง้ ขึน้ เมือ่ ปี พ.ศ. 2507 โดยพระราชรัตโนบล (พิมพ์ นารโท) เจ้าอาวาสวัดทุง่ ศรีเมือง เจ้าคณะ จังหวัดอุบลราชธานี ได้รับใบอนุญาตให้จัดตั้ง โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา เมื่ อวั น ที่ 15 ธั นวาคม พ.ศ.2514 ในนาม “โรงเรียนบาลีสาธิตศึกษา มหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัย จังหวัดอุบลราชธานี” ตั้งอยู่เลขที่ 95 วัดทุ่งศรีเมือง ถนนหลวง ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอ เมื อ ง จั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี โทรศั พ ท์ 045255463 เปิดสอนตั้งแต่ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1- 6 นั ก เรี ย นรวมทั้ ง สิ้ น จ� ำ นวน 153 รู ป ผู้บริหาร ครู และบุคลากร รวมจ�ำนวน 28 รูป/ คน (ข้อมูล ณ วันที่ 10 ธันวาคม 2560) สังกัด ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ปัจจุบัน มี พระวิ โ รจน์ รั ต โนบล เป็ น ผู ้ จั ด การโรงเรี ย น พระครูพสิ ฐิ ธรรมทัศน์ เป็นผูอ้ ำ� นวยการโรงเรียน UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

(3

).indd 107

107

5/6/2561 16:05:41


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัพระอารามหลวง ดมหาวนาราม พระครูสารกิจโกศล เจ้าอาวาสวัดมหาวนาราม พระอารามหลวง ตั้งอยู่เลขที่ 370 ถนนหลวง เขตเทศบาลนครอุบลราชธานี มีเนื้อที่ 18 ไร่ 2 งาน 95 2/10 ตารางวา เดิมชือ่ ว่า “วัดป่าหลวงมณีโชติศรีสวัสดิ”์ นิยมเรียกว่า “วัดป่าใหญ่” เป็นวัดเก่าแก่ คู่บ้านคู่เมืองของจังหวัดอุบลราชธานี สร้างเมื่อ พ.ศ. 2347

108

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

(6

).indd 108

5/6/2561 15:55:21


UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

(6

).indd 109

109

5/6/2561 15:55:29


พระปทุ ม วรราชสุ ริ ย วงศ์ (ท้ า วค� ำ ผง) เจ้าเมืองอุบลราชธานีคนแรก เป็นบุตรคนโตของ เจ้าพระวอ ได้กอ่ สร้างวัดทีร่ มิ ฝัง่ แม่นำ�้ มูล ตัง้ ชือ่ ว่า “วัดหลวง” ได้นิมนต์พระธรรมโชติวงศา (พระมหาราชครูศรีสัทธรรมวงศา) ซึ่งเป็นพระ มหาเถระ และพระภิกษุสามเณรมาอยูจ่ ำ� พรรษา เพื่อสนองศรัทธาของประชาชน เมือ่ พระมหาเถระได้เข้ามาอยูจ่ ำ� พรรษาแล้ว ท่านเห็นว่า วัดนี้เป็นวัดบ้านหรือฝ่ายคามวาสี ไม่ เ หมาะแก่ ก ารปฏิ บั ติ ส มณธรรมวิ ป ั ส สนา กรรมฐาน จึงได้หาสถานที่ใหม่ คือ ป่าดงอู่ผึ้ง ห่างจากวัดหลวงไปทางทิศเหนือ 100 เส้น มีหนองน�้ำชื่อว่า “หนองสะพัง” เป็นสถานที่อัน สงบวิเวก เหมาะแก่การปฏิบัติธรรม จึงได้ก่อตั้ง ขึ้นเป็นส�ำนักสงฆ์ (พ.ศ.2322) ชื่อว่า “วัดป่า หลวงมณีโชติศรีสวัสดิ์” เพื่อให้คู่กับวัดหลวงซึ่ง ก่อตั้งขึ้นก่อนแล้วนั้น แต่ก็ยังไม่ทันได้ตั้งเป็นวัด ให้เรียบร้อยสมบูรณ์ พระปทุมวรราชสุริยวงศ์ (ท้าวค�ำผง) ก็ได้ถึงแก่อนิจกรรมเสียก่อนเมื่อ พ.ศ.2338 ต่อมา พ.ศ.2348 เจ้าเมืองคนที่ 2 คือ พระพรหมวรราชสุริยวงศ์ (ท้าวทิดพรหม) ซึ่ง เป็นน้องชายของท้าวค�ำผง ได้มาก่อสร้างวิหาร อารามในวั ด ป่ า หลวงมณี โ ชติ ศ รี ส วั ส ดิ์ ต ่ อจน ส� ำ เร็ จ ใน พ.ศ.2350 และได้ ย กฐานะเป็ น วัดชื่อว่า “วัดป่าหลวงมณีโชติศรีสวัสดิ์สัสดี” แต่ชาวบ้านเรีย กว่า “วัด หนองตะพัง” หรือ “หนองสระพัง” ตามชื่อหนองน�้ำที่อยู่ใกล้เคียง (มีหลักฐานการสร้างวัดทีอ่ ยู่ ศิลาจารึก ซึง่ ตัง้ อยู่ ข้างหลัง (ด้านซ้าย) ของพระเจ้าใหญ่อนิ ทร์แปลง 110

ระบุปีที่สร้างวัดนี้ ตรงกับ พ.ศ.2350) โดยมี พระมหาราชครูศรีสทั ธรรมวงศา เป็นเจ้าอาวาส รูปแรก และเป็น ผู้น�ำพาพุทธศาสนิกชนสร้าง พระพุทธรูป “พระอินแปง” หรือ “พระเจ้าใหญ่ อินทร์แปลง” พ.ศ.2484 เจ้าประคุณสมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (อ้วน ติสฺโส) ซึ่งเป็นพระมหาเถระชั้น ผู้ใหญ่ ชาวอุ บ ลราชธานี ไ ด้ เ ปลี่ ย นชื่ อ ใหม่ เ ป็ น “วัดมหาวัน” หรือ “วัดป่าใหญ่” และใน พ.ศ. 2488 เจ้าประคุณสมเด็จพระมหาวีรวงศ์ได้ เปลีย่ นชือ่ ใหม่อกี ครัง้ หนึง่ เป็น “วัดมหาวนาราม” ซึ่งเป็นชื่อทางราชการมาตราบเท่าทุกวันนี้ แต่

ชาวอุบลราชธานีกย็ งั คงนิยมเรียกว่า “วัดป่าใหญ่” เหมือนเดิม วัดมหาวนาราม สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 14 มีนาคม 2514 เขตวิสงุ คามสีมา กว้าง 40 เมตร ยาว 80 เมตร ต่อมาได้รับพระราชทานโปรด เกล้าฯ พระอารามหลวง ชั้นตรีชนิดสามัญ เมื่อ วันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ.2521 ในสมัยพระครู นวกรรมโกวิท (นาค ภูริปญฺโญ) เป็นเจ้าอาวาส และนายประมูล จันทร์จ�ำนง เป็น ผู้ว่าราชการ จังหวัดอุบลราชธานี นับเป็นพระอารามหลวง คณะสงฆ์ ม หานิ ก ายแห่ ง แรกของจั ง หวั ด อุบลราชธานี

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

(6

).indd 110

5/6/2561 15:55:47


ล�ำดับเจ้าอาวาสปกครองวัด 1. พระมหาราชครูศรีสัทธรรมวงศา 2. ญาท่านหงส์ 3. ญาท่านสังวาล 4. ญาท่านโสม 5. ญาท่านพวง 6. ญาท่านทอง 7. ญาท่านพระครูเคน 8. พระครูนวกรรมโกวิท (นาค ภูริปญฺโญ) 9. พระเทพกิตติมุนี (สมเกียรติ สมกิตฺติ) 10. พระครูสารกิจโกศล

ปัจจุบัน วัดมหาวนาราม มีความเจริญรุ่งเรืองในทุกด้านไม่ว่าจะเป็นด้านศิลปวัฒนธรรม ด้านวิทยาการการศึกษาการก่อสร้าง แพทย์แผนโบราณ แม้แต่การสวดมนต์พระคาถาต่างๆ ดังจะ เห็นได้จากการสวดมนต์ไชยน้อย ไชยใหญ่ ซึ่งเป็นการสวดพิเศษในพิธีการและในงานต่างๆ ของ วัดมหาวนาราม ทุกวันนี้ถือได้เป็นแหล่งวิชาการการศึกษา ทุกระดับชั้น นักธรรม บาลี พระอภิธรรม ตัวธรรมใบลาน อบรมวิปัสสนากัมมัฏฐาน เผยแผ่ศีลธรรม ศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ โดยได้รับเมตตาจากอดีตเจ้าอาวาสรูปผ่านๆมา

พระครูสารกิจโกศล เจ้าอาวาส UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

(6

).indd 111

111

5/6/2561 15:56:03


ประวัติการสร้างพระเจ้าใหญ่อินทร์แปลง พระเจ้าใหญ่อินทร์แปลง เป็นพระพุทธรูป ปางมารวิชัย งดงามด้วยพุทธศิลป์แบบล้านช้าง โดยองค์พระเป็นปูนปั้นที่เรียกว่าปูนชะทาย คือ ใช้ดินโพนผสมกับยางบงและผงที่เผ่าหอยมา ผสมกัน(ปูนขาว) แล้วน�ำมาโบกคล้ายกับซีเมนต์ แล้วลงรักปิดทองหน้าตักกว้าง 3 เมตร สูง 5 เมตร นามของพระเจ้าใหญ่อนิ ทร์แปลงนัน้ หมาย ถึง พระพุทธรูปทีพ่ ระอินทร์มาสร้างขึน้ มีตำ� นาน กล่ า วว่ า มี ทั้ ง สิ้ น 3 องค์ คื อ องค์ ห นึ่ ง อยู ่ เวียงจันทน์ องค์หนึ่งอยู่นครพนม และองค์ที่อยู่ วัดมหาวนารามแห่งนี้ จากหลักฐานศิลาจารึกวัดป่าใหญ่ ผู้สร้าง พระพรหมวรราชสุรยิ าวงศ์ พระพุทธรูปพระเจ้า ใหญ่อินทร์แปลง คือ ท่านพระมหาราชครูศรี สัทธรรมวงศา พร้อมด้วยศิษยานุศษิ ย์ได้พร้อมใจ กันสร้าง ท�ำพิธพี ทุ ธาภิเษก และเบิกพระเนตรแล้ว เมื่อวันอาทิตย์ขึ้น 15 ค�่ำ เดือน 5 จ.ศ.1169 ปี เมิงเหม้าตรงกับ พ.ศ.2350 ปีเถาะนพศก เมื่อ ยามแถใกล้คำ �่ (ประมาณ 15.00 น. – 16.30 น.) เจ้าเมืองอุบลราชธานี ในขณะนัน้ คือ พระพรหม วรราชสุริยวงศ์ เป็นเจ้าเมืองคนที่ 2 ซึ่งได้มา สร้างวิหารในวัดตั้งแต่ปี พ.ศ.2347 และมาแล้ว เสร็จในปีเดียวกัน

112

ต�ำนานการสร้างพระเจ้าใหญ่อินทร์แปลง

มีต�ำนานการก่อสร้างพระเจ้าใหญ่อินทร์แปลง เล่าขานกันมาหลายอย่าง โดยนัยหนึ่งว่าขณะที่ ก่อสร้างอยู่นั้น มีฝนตกฟ้าร้องอยู่ตลอดเวลา ใกล้จะเสร็จอยู่แล้ว เหลือแต่การตกแต่งให้สวยงาม เท่านัน้ ตกดึกมีแสงสว่างเต็มบริเวณวัดไปหมดและสูงขึน้ สูอ่ ากาศ ผูค้ นต่างตืน่ ตกใจออกมาดู แต่กไ็ ม่ พบอะไร รุ่งเช้าปรากฏว่าพระพุทธรูปที่สร้างยังไม่เสร็จนั้น กลายเป็นพระพุทธรูปที่ส�ำเร็จเรียบร้อย สวยงามเป็นอย่างยิ่ง ชาวบ้านต่างก็พูดกันว่าเป็นเพราะเทวดา พระอินทร์ แปลงร่างลงมาสร้าง จึงได้ สวยงามอย่างนี้ เหตุนี้จึงได้ขนานนามว่า “พระเจ้าอินทร์แปลง” และต่อมาเรียกว่า “พระเจ้าใหญ่ อินทร์แปลง” และมีความเชื่อกันมาตลอดจนตราบเท่าทุกวันนี้

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

(6

).indd 112

5/6/2561 15:56:23


พลังแห่งศรัทธา

เมื่ อ สร้ า งพระเจ้ า ใหญ่ อิ น ทร์ แ ปลงเสร็ จ พระมหาราชครูศรีสัทธรรมวงศาได้ท�ำการเบิก พระเนตรเมื่อเดือนเมษายน วันเพ็ญ 15 ค�่ำ วันอาทิตย์ เวลาบ่าย 3 โมง ในนักขัตฤกษ์ที่ 12 ราศีกันย์ และก�ำหนดเป็นงานบุญประจ�ำปี สื บ มาตามหลั ก ศิ ล าจารึ ก ที่ ป ระดิ ษ ฐาน ณ ฐานพระเจ้าใหญ่อินทร์แปลง พระพรหมวร ราชสุ ริ ย วงศ์ ซึ่ ง ถื อว่ า เป็ น ผู ้ มี จิ ต ใจเลื่ อ มใส ศรัทธาได้น�ำพาก่อสร้างพระพุทธรูปองค์วิเศษ จึ ง ได้ ป ระกาศสั จ จาอธิ ษ ฐานเพื่ อ ให้ ค น และเทวดาช่ ว ยกั น รั ก ษาเคารพสั ก การบู ช า และอย่าให้มีอันตรายใดๆ ทั้งสิ้นแก่พระพุทธ รู ป องค์ วิ เ ศษดั ง ปรากฏในศิ ล าจารึ ก ข้ า งฐาน พระเจ้าใหญ่อินทร์แปลง กล่าวว่า “เมื่อศักราช ได้ 145 ตัวปีเต่าสันพระพรหมวรราชสุริยวงศ์ ขึ้นเสวยเมืองอุบลราชธานี 15 ปี จึงได้มาสร้าง วิหารอาฮามในวัดป่าหลวงมณีโชติ ศรีสวัสดิ์ สัสดี เพื่อเป็นความส�ำราญแก่พระพุทธฮูป...” และข้อความตอนหนึ่งจารึกได้ว่า “พญาตน ใดมาอยู่ดินกินเมืองนี้ ต้องเคารพพระพุทธฮูป องค์นี้ ด้วยเครื่องสักการบูชาเหยื่องใดเหยื่อง หนึ่ง คือ มีมหรสพคบงัน ในเดือน 5 เพ็งจักได้ รับความวุฒิศรีสวัสดิ์ ด้วยเดชะคุณพระพุทธ ฮูปองค์นี้...” พระเจ้าใหญ่อินทร์แปลง วัดมหาวนาราม หรื อ วั ด ป่ า ใหญ่ จึ ง เป็ น ที่ พึ่ ง ทางจิ ต ใจของ ชาวจังหวัดอุบลราชธานีและจังหวัดใกล้เคียงมา ต่อเนื่อง โดยเฉพาะเมื่อมีการเดินทางมารับ ต�ำแหน่งใหม่ของข้าราชการทุกระดับชั้น จะต้อง มากราบไหว้นมัสการบอกกล่าวต่อองค์ท่าน เพื่ อ ให้ ก ารปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ เ ป็ น ไปอย่ า งราบรื่ น ปราศจากอุปสรรคใดๆ ส�ำหรับการท�ำบุญกับ พระเจ้าใหญ่อินทร์แปลงที่ชาวบ้านนิยม คือการ ถวายดอกบัวตูม ธูปเทียน และขันหมากเบ็ง พร้อมลงรักปิดทองที่ตัวองค์พระเจ้าใหญ่อินทร์ แปลง และถวายสังฆทาน

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

(6

).indd 113

113

5/6/2561 15:56:21


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดใต้พระเจ้าใหญ่องค์ตื้อ

วัดพระเจ้าใหญ่องค์ตื้อ หรือวัดใต้เทิง ตั้งอยู่เลขที่ 2 ถนนสุนทรวิมล ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี สร้างในสมัย ใดไม่ปรากฏ แต่มปี ระวัตเิ ล่าว่าในสมัยพระเจ้า พระพรหมราชวงศา (ทิดพรหม) พระมหาราชครู (เจ้ า หอแก้ ว ) ได้ ม าปฏิ บั ติ ธ รรมอยู ่ บ ริ เวณ เหนือแม่นำ�้ มูลเป็นประจ�ำ เจ้าครองเมืองพร้อม ด้ ว ยไพร่ พ ลได้ ม าสร้ า งส� ำ นั ก สงฆ์ ใ ห้ เ ป็ น ที่ ปฏิบัติธรรมของพระมหาราชครูเจ้าหอแก้ว 114

เรียกว่า “วัดใต้ท่า” บริเวณตอนบนเรียก “วัดใต้เทิง” เขตวัดทั้งสองติดกันเพียงแค่มี ถนนกั้น ในสมัยเจ้าคุณอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จั น ทร์ สิ ริ จั น โท) เป็ น ผู ้ ค รองสั ง ฆมณฑล ได้น�ำวัดใต้ท่าไปรวมกับวัดใต้เทิง ชาวบ้านทั้ง สองคุ ้ ม วั ด ได้ แ สดงถึ ง ความสามั ค คี กั น จึ ง ได้มีมติ ตกลงกันเรียกว่า “วัดใต้” ปัจจุบันค�ำ ว่า “เทิง” ได้ เลือนหายไป ค�ำว่า เทิง เป็นภาษา อีสานมีความหมายว่า บน หรือ เหนือ อยูส่ งู

วัดใต้เทิง คือ วัดที่อยู่เหนือขึ้นไป ถัดไปจาก วัดใต้ท่าที่ตั้งอยู่ใกล้ริมแม่น�้ำมูล วัดพระเจ้าใหญ่องค์ตอื้ นัน้ เคยเป็นวัดฝ่าย วิปัสสนาธุระของพระอาจารย์เสาร์ กันตสีโล และพระอาจารย์มนั่ ภูรทิ ตั โต เดิมมีหาดทราย ขาวสะอาดยาวเหยียดเป็นทีท่ อ่ งเทีย่ ว เรียกว่า หาดวัดใต้ ต่อมามีการดูดทรายขาย หาดทราย จึงจมหายไปอย่างน่าเสียดาย

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHAN

(6

).indd 114

29/5/2561 16:03:15


ปูชนียวัตถุที่ส�ำคัญ เช่น พระเจ้าใหญ่ องค์ตื้อ พระพุทธรูปยืนปางห้ามสมุทร 4 องค์ พระพุทธรูปเจตมูนเพลิงองค์ตื้อ (สีด�ำสนิท) อีก 1 องค์

พระเจ้าใหญ่องค์ตื้อ เป็นพระประธานในอุโบสถ ท�ำด้วยทอง นาคส�ำริด หนักเก้าแสนบาท พุทธลักษณะ ปางมารวิชัย หน้าตักกว้าง 51 นิ้ว สูง 85 นิ้ว (มีผสู้ นั นิษฐานว่า พระเจ้าไชยเชษฐาธิราชแห่ง เวียงจันทน์เป็นผู้สร้าง) พระเจ้าใหญ่องค์ตื้อ มีความส�ำคัญเป็น 1 ใน 5 องค์ในจ�ำนวน พระเจ้ า ใหญ่ อ งค์ ตื้ อ ที่ มี อ ยู ่ ใ นประเทศไทย อีก 4 องค์อยูท่ เี่ ชียงใหม่ ชัยภูมิ หนองคาย และ วัดพระโต อ.นาตาล จ.อุบลราชธานี และ ที่ประเทศลาวอีก 1 องค์ พระเจ้าใหญ่องค์ตื้อ เดิมประดิษฐานอยู่ บนแท่นพระอุโบสถหลังเก่า ฐานรองรับสูง 70 เซนติเมตร ภายหลังอุโบสถหลังเก่าทรุดโทรม พระเจ้าใหญ่องค์ตื้อจึงอยู่กลางแจ้ง ตากแดด ตากฝน เป็นเวลานานท�ำให้องค์พระพุทธรูป องค์ตอื้ มีรอยแตก ผูเ้ ฒ่าผูแ้ ก่ได้บอกเล่าสืบต่อ กันมาว่า “… พระพุทธรูปองค์ตอื้ นีไ้ ด้ถกู หุม้ ห่อ ทาปอมพอกเอาไว้พอกด้วยเปลือกไม้ ยางบด ผสมผงอิฐเจ และทองค�ำ เงิน นาก สัมฤทธิ์ เงิน รางกาชาดซะพอก ให้น�้ำเกลี้ยง น�้ำชาดผสม ทาปอมพอก แล้ ว ลงรั ก ปิ ด ทองที่ เข้ า เมื อ ง อุบลราชธานี และเถราจารย์ในสมัยนัน้ เพราะ เป็นสมบัติล�้ำค่าที่ไม่สามารถน�ำติดตัวไปได้ ซึ่งองค์พระพุทธรูปเป็นทองแท้สัมฤทธิ์กลัวว่า จะถูกข้าศึกศัตรูขนเอาไป จึงได้ทาปอมพอก ปิดเอาไว้ และปล่อยทิ้งเป็นวัดร้างนานถึง 200 ปี…” ครั้ น ต่ อ มาเมื่ อ ปี พ.ศ. 2509-2514 พระภิกษุสวัสดิ์ ทัสสนีโย และพระราชธรรม โกศล เจ้าอาวาสวัดใต้พระเจ้าใหญ่องค์ตื้อ ได้ท�ำการก่อสร้างพระอุโบสถหลังใหม่ขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2519 เมื่อสร้างฐานแท่นพระพุทธรูป พระประธานเสร็จ จึงได้ยกพระเจ้าใหญ่องค์ตอื้ ขึ้นประดิษฐานที่แท่นจนถึงปัจจุบันนี้

พระอุโบสถมณฑปเพชรเจ็ดแสง พระเจ้า ใหญ่องค์ตื้อ ประกอบด้วยศิลปกรรม 3 ชาติ อยูใ่ นหลัง เดียวกัน กล่าวคือ ส่วนหลังคาเป็นทรงไทย ประยุกต์ ส่วนช่อ ฟ้าใบระกา เป็นศิลปะขอม ผสมเวียดนาม (ช่างไทยเวียดนาม) ส่วนฐาน เป็นศิลปะไทยภาคอีสาน ขนาดกว้าง 9 เมตร ยาว 11 เมตร หน้าต่าง 5 ช่อง ประตู 2 ประตู เริม่ ก่อสร้าง พ.ศ. 2509 ฉลองพิธผี กู พัทธสีมา วันที่ 1- 5 มีนาคม พ.ศ. 2523 ผูอ้ ำ� นวยการ ก่ อ สร้ า งคื อ พระศรี จั น ทรคุ ณ (กั น ตสี โ ล ศรีจนั ทร์ โสวรรณี ) พระครูปลัดสวัสดิ์ ทัสสนีโย (ตามสีวนั ) ผูอ้ อกแบบและควบคุมการก่อสร้าง อุ โ บสถมี ก ารตกแต่ ง ซุ ้ ม ขอบประตู

หน้าต่างด้วยสีทอง แต่คงไว้ดว้ ยความเรียบของ ผนั ง ด้ า นนอก ภายในพระอุ โ บสถมี ภ าพ จิตรกรรมฝาผนัง ด้านหลังองค์พระเป็นภาพ พระศรี ม หาโพธิ์ แลดู ค ล้ า ยพระพุ ท ธเจ้ า ประทับใต้ต้นโพธิ์ใหญ่ ผนังทุกด้านเขียนภาพ จิตรกรรมพุทธประวัติและทศชาติชาดกที่มุม ด้านข้างของพระอุโบสถ ซึง่ จะเห็นองค์ประกอบ หลายๆ อย่างได้แก่รปู ปูนปัน้ มียกั ษ์ยนื อยู่ 2 ข้าง มีทา้ วจตุคาม - รามเทพ ภายในมณฑปมี พระอุ ป คุ ต ผู ้ ที่ ม ากราบไหว้ พ ระที่ วั ด ใต้ พระเจ้าใหญ่องค์ตื้อ จะจุดธูปเทียนที่มณฑป ส่วนภายในอุโบสถให้กราบไหว้พระเท่านัน้ UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

(6

).indd 115

115

29/5/2561 16:03:31


หลักจารึก 2 หลัก บริเวณสองข้างของอุโบสถวัดใต้ มีหลัก ศิ ล าจารึ ก เป็ น หิ น ทรายตั้ ง อยู ่ แต่ ล ะหลั ก มีข้อมูลแตกต่างกัน โดยหลักศิลาจารึกที่ 2 อบ. 14 วัดใต้ “เทิง” มีขอ้ มูลทีบ่ นั ทึกไว้ทฐี่ านว่า “เป็นอักษรธรรมอีสาน วัตถุจารึกศิลาประเภท หินทรายสีแดง ลักษณะรูปใบเสมา กว้าง 67 ซม. สูง 82 ซม. หนา 7 ซม. มีจารึก 1 ด้าน 19 บรรทัด ในราวพุทธศตวรรษที่ 19 - 24 พุทธศักราช 2377 รัชกาลที่ 3 ปีที่ 11 ปีมะเมีย ร.ศ.53 ค.ศ. 1834 - 5 ปีกาบสง้า วันพฤหัสบดี แรม 1 ค�่ำ เดือน 3 มีสมเด็จฯ อรรควรราชครู ปุสสีตธรรมวงศาเจ้า สมเด็จเจ้าพระพรหมมวร ราชวงศาภูมนิ ทร์ เจ้าแผ่นดินในเมืองอุบลราชธานี เป็นประธาน นิพพฺ าน ปจฺจโยโหตุ นิจจฺ ํ ทวุ ํ ทวุ ํ ท่ า นเจ้ า ครู แ ก้ ว กั บ เณรพุ ท ธา เป็ น ผู ้ เขี ย น แลฯ”

วิหารเฉลิมพระเกียรติ 200 ปี เป็นที่ประดิษฐานของพระประธาน คือ พระพุทธมงคลรัตนสิริธัญสถิต วิหารมีขนาด สูงใหญ่ ตกแต่งด้านหน้าด้วยงาช้างคู่เป็นปูน อยู่ด้านขวาของอุโบสถ

116

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHAN

(6

).indd 116

29/5/2561 16:03:57


เจดีย์พระบรมสารีริกธาตุ เจดี ย ์ พ ระบรมสารี ริ ก ธาตุ ตั้ ง อยู ่ ด้านหลังอุโบสถ ภายในเจดีย์เป็นที่สถานที่ เก็บพระบรมสารีริกธาตุ พระพุทธรูปเก่าแก่ เช่น พระบรมสารีริกธาตุ พระแก้วจักรพรรดิ โกเมน พระแก้วจักรพรรดิมรกต พระแก้ว จักรพรรดิบุษราคัม

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

(6

).indd 117

117

29/5/2561 16:04:41


Wat Tai

Phrachao Yai Ong Tue 118

History Wat Tai Phrachao Yai Ong Tue or Wat Tai Thoeng is located at 2, Sunthonwimon road, Nai Mueang subdistrict, Mueang district and Ubon Ratchathani province. The era of creation still unknown but there is hearsay from the past that on the era of Phra Phrom Ratchawongsa (Tidphrom) and the great master (Chao Horkaew), that was keeping the meditation at the north of Mool riverside often. He came with his troops and built the temple without royal bound Buddhist stone to the Dharma Practice Center for the great master Chao Horkaew. This temple was called Wat Tai Tha and the upper side was called Wat Tai Thoeng. The both of temple are close and has only road separate them off. In the era of Ubaleekhunuprakarn (Jan Sirijantho), the possessor of diocese assembled the Wat Tai Tha and Wat Tai Thoeng together. This temple was called Wat Tai by the adherent of Buddhism. At the present time, the speech of Thoeng disappeared. Thoeng is the word from northeast of Thailand. It means upper, north or high. So, Wat Tai Thoeng means the temple that next to Wat Tai at the Mool riverside. Wat Tai Phrachao Yai Ong Tue used to be the the burden of contemplation for Phra Ajarn Sao Kuntaseelo and Phra Ajarn Maun Phooritutto. Formerly, there is the long white sand beach as the tourist attraction that was called Wat Tai beach, but the sand pumping destroyed all sand beach.

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHAN

(6

).indd 118

29/5/2561 16:04:15


Shrine Phrachao Yai Ong Tue, there are four statues of the attitude of stopping the rainstorm and the statue of Jadmoolplerng (pitch-black). Phrachao Yai Ong Tue Phrachao Yai Ong Tue is the principle of buddha image in the chapel that made form alloy of gold silver and copper about 13.68 kilograms. The Buddha characteristics is the attitude of subduing Mara. The sitting cross-legs is 51x85 inches (suppose that was built by Phrachao Chaiyachetthathiraj). Phrachao Yai Ong Tue is the one of the biggest

five statue in Thailand. The other statue is located at Chiang Mai, Chaiyaphum, Nong Khai and Wat Phra To, Ubon Ratchathani province. The glorify of 200 years old monastery This place was the enshrining of Phra Phutthamonthon Rattanasiri Thanyasathit. The size of temple is enormous and have right frontage decoration with statue of ivory that made from cement. The sepulchral monument of Buddha’s relics The sepulchral monument is located at front of temple. The interior of this place is the storage for Buddha’s relics and the old Buddha statue such as Buddha’s relics, the Buddha statue that made from garnet, the Buddha statue that made from emerald and Buddha statue that made from yellow sapphire.

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

(6

).indd 119

119

29/5/2561 16:04:58


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดหลวง พระครูวิลาสกิจจาทร เจ้าอาวาสวัดหลวง

ประวัติความเป็นมา วัดหลวง ตั้งอยู่ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี พระแก้วไพฑูรย์ แห่งเมือง อุ บ ลราชธานี ศ รี ว นาลั ย ประเทศราช เป็ น พระพุทธรูปแก้วเกิดจากหินธรรมชาติ มีอายุ หลายล้ า นปี ม า ใครจะเป็ น ผู ้ แ กะหิ น เป็ น พระพุทธรูปนั้นไม่ทราบ ซึ่งอยู่ในการปกครอง ของเจ้านายเมืองอุบลมานาน ตั้งแต่บรรพบุรุษ ของพระปทุมวราชสุรยิ วงศ์ (เจ้าค�ำผง) ได้ถวาย เป็นสมบัติของวัดหลวงคู่กับพระแก้วบุษราคัม เมื่ อ เจ้ า นายจากกรุ ง เทพมหานคร เข้ า มา ปกครองเมืองอุบล ในสมัยรัชกาลที่ 5 เจ้านาย พื้นเมืองอุบลราชธานีเกรงว่า จะน�ำพระแก้ว ทั้งสององค์ไปเป็นสมบัติของส่วนตัว จึงได้น�ำ พระแก้วไปซ่อนไว้ ต่ อ มาเมื่ อ สร้ า งวั ด ศรี อุ บ ลรั ต นาราม (วั ด ศรี ท อง) โดยเจ้ า อุ ป ฮาดโท บิ ด าของ พระอุบลเดชประชารักษ์ (เสือ ณ อุบล) จึงได้ ไปเชิ ญ พระแก้ ว ทั้ ง สองออกมาจากที่ ซ ่ อ น ส� ำ หรั บ พระแก้ ว บุ ษ ราคั ม ได้ ถ วายให้ กั บ พระเดชพระคุณพระเทวธัมมี (ม้าว) ซึ่งเป็น เจ้าอาวาสรูปแรกของวัดศรีทอง (วัดศรีอุบล รัตนาราม) และเป็นลัทธิวิหาริกของพระบาท สมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 4 120

2

ส่วนพระแก้วไพฑูรย์ ทายาทของเจ้านาย พื้ น เมื อ งอุ บ ลราชธานี น� ำ ไปเก็ บ รั ก ษาไว้ เพราะเป็นสมบัตอิ นั ล�ำ้ ค่าของบรรพบุรษุ ต่อมา ภายหลังจึงได้นำ� มาถวายพระครูวลิ าสกิจจาทร เจ้าอาวาสวัดหลวงให้เป็นสมบัติของวัดหลวง ตามเดิม ดังปรากฏอยูท่ กุ วันนี้ พระแก้วไพฑูรย์ เป็นหนึ่งในแก้วอันเป็นรัตนชาติ หากยกองค์ พระขึ้นส่องจะเห็นคล้ายสายฝนหยาดลงมา จากฟ้ า อั น เป็ น นิ มิ ต หมายแห่ ง ความอุ ด ม สมบูรณ์ ฝนตกตามฤดูกาลของส�ำคัญคู่บ้าน คู่เมืองของเมืองอุบลราชธานี

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

.indd 120

5/6/2561 16:14:09


ส�ำหรับพระเจ้าใหญ่องค์หลวง พระประธาน ในวิหารวัดหลวง สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ.2324 โดย พระประทุมวรราชสุริยวงศ์ (เจ้าค�ำผง) เป็น พระพุทธรูปสร้างด้วยอิฐถือปูนปางมารวิชัย ลงรักปิดทอง หน้าตักกว้าง 2.5 เมตร สูง 3.5 เมตร โดยช่ า งจากเวี ย งจั น ทน์ ในสมั ย ที่ พระมหาราชครูทา่ นหอแก้วเป็นเจ้าอาวาส และ เป็ น สั ง ฆปาโมกข์ ประธานสงฆ์ เ มื อ ง อุบลราชธานี เป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งเป็นที่พึ่งทาง จิ ต ใจของชาวเมื อ งอุ บ ลราชธานี แ ละเป็ น พระพุ ท ธรู ป องค์ แ รกของเมื อ งอุ บ ลราชธานี นานกว่า 223 ปีมาแล้ว เมื่อ พ.ศ.2489 ได้รื้อพระวิหารและซ่อม องค์พระเจ้าใหญ่องค์หลวง สร้างเรือนแก้ว และ ลงรักปิดทอง ทรงพุทธลักษณะพระพุทธชินราช และบูรณปฏิสังขรณ์อีกครั้ง เมื่อ พ.ศ.2547 เปลี่ ย นหลั ง คาวิ ห าร และลงรั ก ปิ ด ทอง พระเจ้ า ใหญ่ อ งค์ ห ลวง สิ้ น งบประมาณ “แปดแสนบาทเศษ” โดยให้ช่างมาจากส�ำนัก พระราชวังเป็นผู้ลงรักปิดทอง พระเจ้าใหญ่องค์หลวง ประดิษฐานเป็น พระประธานที่ ศ าลาการเปรี ย ญ พระแก้ ว ไพฑูรย์ เก็บรักษาไว้นำ� มาให้สรงน�ำ้ วันสงกรานต์ และหลวงพ่ อ ปากด� ำ (พระพุ ท ธสิ ริ ม งคล อุบลราชธานี ศรีวนาไล) ที่ยังคงเก็บรักษาไว้

อุโบสถวัดหลวง ยังไม่มพี ระประธานทีเ่ ป็น เอกลั ก ษณ์ ข องวั ด พระครู วิ ล าสกิ จ จาทร เจ้าอาวาสวัดหลวง จึงด�ำริให้หล่อพระหลวงพ่อ ปากด�ำ เพือ่ เป็นพระประธานภายในโบสถ์ เป็น พระพุทธรูปส�ำริด ปางมารวิชัย สมัยเชียงแสน ความสูง ประมาณ 1 เมตร พร้อมฐาน ความกว้าง ประมาณ 30 เซนติเมตร เล่ากันว่าพระโอษฐ์ (ริมฝีปาก) ท่านจะเปลีย่ นสีไปตามฤดูกาล เป็น ความเชือ่ ในการกราบไหว้ขอพร เพือ่ ความเจริญ รุ่งเรืองในชีวิต

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 121

121

5/6/2561 16:14:23


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดศรีประดู่ พระครูถิรธรรมสิริ เจ้าอาวาสวัดศรีประดู่ ประวัติความเป็นมา วัดศรีประดู่ ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 76 ถนนบูรพานอก ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี มีเนื้อจ�ำนวน 6 ไร่ 3 งาน 83 ตารางวา เดิมบริเวณคุม้ บ้านดู่ ยังไม่เคยมีวดั ชาวบ้าน ต้องอาศัยวัดของหมูบ่ า้ นอืน่ เพือ่ บ�ำเพ็ญกุศลใน เทศกาลท�ำบุญมาตลอด ท�ำให้ไม่สะดวกเพราะ แต่ละวัดอยู่ห่างไกล ถนนหนทางในสมัยก่อนก็ ล�ำบากโดยเฉพาะในช่วงฤดูฝน เมือ่ พ.ศ. 2508 ชาวบ้านดู่ จึงได้ประชุมปรึกษาหารือกัน เพื่อ สร้างวัดโดยมี พ่อใหญ่บู่ ทองมี พ่อใหญ่มา จูมพระบุตร และพ่อใหญ่โฮม บุญจรัส เป็นผู้คิด ริเริ่มและเป็น ผู้น�ำชาวบ้าน และเห็นว่าพื้นที่ ป่าช้าเก่าของหมู่บ้าน ซึ่งเป็นที่ปล่อยให้รกร้าง ว่างเปล่า น่าจะปรับปรุงและพัฒนาให้เป็นวัดได้ แต่น่าเสียดายที่ในปี พ.ศ. 2509 พ่อใหญ่มา จู ม พระบุ ต ร ได้ ถึ ง แก่ ก รรมลงไปเสี ย ก่ อ น จึงถือว่าขาดก�ำลังที่ส�ำคัญ แต่พ่อใหญ่บู่ ทองมี และพ่ อ ใหญ่ โ ฮม บุ ญ จรั ส ยั ง คงยึ ด มั่ น ใน อุดมการณ์เดิม จึงไปปรึกษาหารือและเชิญชวน บุคคลในหมู่บ้านดู่มาเพิ่มเติม และได้จัดประชุม ชาวบ้านเพื่อเลือกบุคคลที่จะเป็นแกนน�ำในการ จัดตั้งวัด ซึ่งประกอบไปด้วยพ่อใหญ่บู่ ทองมี

122

(2

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

).indd 122

5/6/2561 16:19:23


พ่ อ ใหญ่ โ ฮม ผู ้ ใ หญ่ บ ้ า นเพชรสายเสี ย ง คุณประสิทธิ์ รากเงิน ครูใหญ่ทอง หอมสิน แพทย์คำ� ภา จูมพระบุตร พ่อบุญไชโย สิทธิจนิ ดา พ่อทองดี สอนอาจ พ่อเก่า แสงทอง มีหน้าที่ ตรวจสอบพืน้ ทีท่ จี่ ะสร้างวัดให้ชดั เจน ว่ามีเนือ้ ที่ เพียงพอตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ให้จัดตั้ง วั ด ได้ ห รื อ ไม่ พร้ อ มกั บ ประสานงานกั บ ทาง ราชการบ้านเมืองและฝ่ายสงฆ์ กรรมการชุดนี้ เรียกว่า “ชุดเตรียมการ” แต่เนื้อที่ยังไม่เพียงพอ ในการสร้างวัด พ่อใหญ่บู่ ทองมีและพ่อใหญ่โฮม บุญจรัส ซึง่ มีทดี่ นิ ติดกับพืน้ ทีท่ จี่ ะสร้างวัด จึงได้ ร่วมกันบริจาคที่ดินเพิ่มเติม หลั ง จากได้ ค ณะกรรมการเตรี ย มการ เรี ย บร้ อ ยแล้ ว จึ ง ได้ ไ ปปรึ ก ษาหารื อ กั บ พระเถรานุเถระชั้นผู้ใหญ่วัดต่างๆ ในเมืองอุบล คื อ พระครู น วกรรมโกวิ ท เจ้ า อาวาสวั ด มหาวนาราม ในขณะนั้น และพระครูกิตติยาภ รณ์โกศล เลขานุการเจ้าคณะจังหวัดอุบลราชธานี (ปัจจุบนั คือ พระเทพกิตติมนุ ี ทีป่ รึกษาเจ้าคณะ จังหวัดอุบลราชธานี เจ้าอาวาสวัดมหาวนาราม รูปปัจจุบนั ) พระสงฆ์ชนั้ ผูใ้ หญ่ตา่ งกันสนับสนุน อนุโมทนาเห็นชอบด้วย และทางคณะกรรมการ จึ ง ได้ ก ราบนิ ม นต์ พ ระครู กิ ต ติ ย าภรณ์ โ กศล เลขานุการเจ้าคณะจังหวัดอุบลราชธานี (ปัจจุบนั คือ พระเทพกิตติมุนี ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัด อุ บ ลราชธานี เจ้ า อาวาสวั ด มหาวนารามรู ป ปัจจุบนั ) มาเป็นประธานฝ่ายสงฆ์ ในการด�ำเนิน การสร้ า งเป็ น ส� ำ นั ก สงฆ์ ชื่ อ ว่ า “ศรี ป ระดู ่ ทรงธรรม” ในปี พ.ศ.2511 ต่อมามหาเถร สมาคม และกระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศให้ เป็นวัดโดยสมบูรณ์ เมื่อวันที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2518 โดยชื่อว่า “วัดศรีประดู่” ได้ตัดค�ำว่า “ทรงธรรม” ออกไป เนื่องจากว่าชื่อดังกล่าว ไป ซ�้ ำ กั บ วั ด ที่ เ ป็ น พระอารามหลวงที่ จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยาและได้ รั บ พระราชทาน วิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 13 เมษายน 2519 ล�ำดับเจ้าอาวาส 1. พระครูกิตติยาภรณ์โกศล 2. พระอาจารย์สรวง 3. พระปลัดผิน อิสญ ิ าโณ (พระครูสริ พิ ฒ ั นวิมล) 4. พระครูถิรธรรมสิริ เจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

(2

).indd 123

123

5/6/2561 16:19:57


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดปากน�้ำ (บุ่งสระพัง) วัดปากน�ำ ้ เป็นวัดโบราณเก่าแก่สร้างเมือ่ ประมาณ พ.ศ. 2320 ตั้งอยู่ที่บ้านปากน�้ำ เลขที่ 125 หมู่ที่ 3 ต�ำบลกุดลาด อ�ำเภอเมือง อุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี มีเนื้อที่ ทัง้ หมด ๓๓ ไร่ ๒๓ ตารางวา ได้รบั พระราชทาน วิสงุ คามสีมา เมือ่ วันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2523 สมัยก่อนชาวบ้านเรียกขานว่า “วัดบ้านบาก” เนือ่ งจากสภาพภูมศิ าสตร์บริเวณแถบนีม้ ตี น้ ไม้ 124

(6

บากจ�ำนวนมาก ต่อมาพระเดชพระคุณพระเทพ มงคลเมธี (พระธรรมเสนานี) เจ้าคณะจังหวัด อุบลราชธานีในขณะนัน้ ได้ปรารภกับชาวบ้าน ว่าปัจจุบันต้นไม้บากไม่มีแล้ว ควรเปลี่ยน ชื่ อ บ้ า น ชื่ อ วั ด ใหม่ ท ่ า นจึ ง เปลี่ ย นให้ ว ่ า “วัดปากน�้ำ” ด้วยว่า เดิมทีวดั และหมูบ่ า้ นแห่งนีต้ งั้ อยู่ ริมแม่นำ�้ มูลบริเวณ “บุง่ สระพัง” หรือบุง่ สะทัง

ซึ่ ง สั น นิ ษ ฐานว่ า เคยเป็ น ที่ ตั้ ง ทั พ หน้ า ของ พระวอ พระตาในช่วงอพยพมาจากนครจ�ำปา ศักดิ์ เมื่อทัพเจ้าเมืองได้ย้ายถิ่นฐานไปตั้งค่าย ณ ดงอู่ผึ้ง เหลือชาวบ้านบางส่วนไว้ ต่อมา ชาวบ้ า นจึ ง อพยพขึ้ น มาตั้ ง ถิ่ น ที่ อ ยู ่ ใ หม่ ณ บริเวณหมู่บ้านปัจจุบันนี้ และได้ร่วมกัน สร้างวัดขึน้ เพือ่ เป็นทีย่ ดึ เหนีย่ วจิตใจของคนใน ชุมชนตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

).indd 124

5/6/2561 16:31:36


ต่ อ มาพระเดชพระคุ ณ “พระมงคล ธรรมวั ฒ น์ ” (บุญจันทร์ จตฺตสลฺโล) เป็น เจ้าอาวาส ได้พัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์ของวัด จนท�ำให้มเี สนาสนะ ถาวรวัตถุเกิดขึน้ ภายในวัด มากมาย ท่านได้ทมุ่ เทก�ำลังสติปญ ั ญาของท่าน ในการพัฒนาวัดพร้อมกับพัฒนาหมู่บ้านไป พร้อมๆ กัน โดยเฉพาะการพัฒนาการศึกษา ของลูกหลานในหมู่บ้าน

ปูชนียวัตถุภายในวัด หลวงพ่อพระทศพลญาณมงคลบพิตร วิเศษศักดิ์สิทธิ์ อุโบสถมิตรภาพ หลวงพ่อสมเด็จ 7 กษัตริย์ หลวงพ่อพระพุทธมงคลโสฬสญาณวิเศษ ศักดิ์สิทธิ์ หลวงพ่อเงิน 700 ปี (พระชัยหลังช้าง แห่งแผ่นดินอีสาน) หลวงพ่อเงินจ�ำลอง พระธาตุพนมจ�ำลอง พิพิธภัณฑ์ ประวัติหลวงพ่อเงิน 700 ปี หลวงพ่อเงิน พระชัยหลังช้างแห่งแผ่นดิน อีสาน เป็นพระพุทธรูปหุม้ ด้วยเนือ้ เงินบริสทุ ธิ์ ปางมารวิชัย ศิลปะเชียงแสนล้านช้างอายุ ประมาณ 700 ปี ถูกขุดพบทีว่ ดั ป่าพระพิฆเณศวร์ เมื่อ พ.ศ. 2515 โดยการนิมิตของท่านเจ้าคุณ พระมงคลธรรมวัฒน์ (บุญจันทร์ จตฺตสฺลฺโล) ปัจจุบนั ประดิษฐานอยูท่ ว่ี ดั ปากน�ำ ้ (บุง่ สระพัง) ต�ำบลกุดลาด อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี หลวงพ่อเงิน เกี่ยวข้องกับการสถาปนา เมืองอุบลราชธานีศรีวนาลัย เนื่องจากเป็น พระพุทธรูป ประจ�ำกองทัพเจ้าปางค�ำ แห่ง ราชวงศ์เชียงรุ้ง แสนหวีฟ้า สิบสองปันนา ทีแ่ ตกหนีกองทัพจีนฮ่อ มาสร้างนครเขือ่ นขันธ์ กาบแก้วบัวบาน หนองบัวลุ่มภู ประมาณปี พ.ศ. 2228 เจ้ า ปางค� ำ ได้อญ ั เชิญหลวงพ่อเงิน ขึน้ เป็นพระชัยหลังช้าง ประจ�ำกองทัพ ตามธรรมเนียมนักรบโบราณ และเป็นสัญลักษณ์แห่งชัยชนะ ต่อมาประมาณ ปี พ.ศ. 2314 พระเจ้าสิริบุญสารได้เสด็จขึ้น ครองราชย์นครเวียงจันทน์ เกิดหวาดระแวง

เจ้าพระวอ - เจ้าพระตา ลูกเจ้าปางค�ำ ซึง่ ครอง เมืองต่อจากพ่อจะเป็นกบฏ จึงได้ยกทัพมาตี นครเขือ่ นขันธ์กาบแก้วบัวบาน ท�ำให้เจ้าพระตา ถึ ง แก่ อ สั ญ กรรมในสมรภู มิ ร บเจ้ า พระวอ ผู ้ น ้ อ งขึ้ น เป็ น ผู ้ น� ำ กองทั พ และได้ อ พยพ ประชาชน มาตั้งบ้านเมืองอยู่ท่ีค่ายบ้านดอน มดแดง สร้ า งเมื อ งอุ บ ลราชธานี ศ รี ว นาลั ย ภายหลัง เจ้าพระวอถูกฝ่ายเวียงจันทน์ตาม โจมตี จนถึงแก่สัญกรรมที่ค่ายบ้านคู่บ้านแก เขตนครจ�ำปาศักดิ์ และท้าวค�ำผงผู้บุตรเจ้า พระตา ได้ขนึ้ เป็นผูน้ ำ� กองทัพ เห็นว่าค่ายบ้าน ดอนมดแดง จะต้านทานกองทัพเวียงจันทน์ ไม่ไหว จึงได้ขอพึง่ พระบรมโพธิสมภารพระเจ้า กรุงธนบุรี

สมเด็ จ พระเจ้ า ตากสิ น มหาราช แห่ ง กรุ ง ธนบุ รี ทรงรั บ สั่ ง ให้ พ ระบาทสมเด็ จ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่ 1 ครั้งด�ำรงพระยศเป็นสมเด็จเจ้าพระยามหา กษัตริยศ์ กึ เป็นแม่ทพั ไปช่วยเมืองอุบลราชธานี ศรีวนาลัย โดยให้ทา้ วค�ำผงเป็นทัพหน้า น�ำทัพ ขึ้นไปตีเมืองเวียงจันทน์ จนประสบชัยชนะ และได้อัญเชิญ พระแก้วมรกต และพระบางสู่ สยามประเทศ การศึกครั้งนั้น ท�ำให้หลวงพ่อเงินเป็นที่ ประจั ก ษ์ ถึ ง ความศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ต ่ อ กองทั พ กรุงธนบุรี ท้าวค�ำผงเกรงว่าพระพุทธรูปประจ�ำ ทัพเมืองอุบล จะถูกอัญเชิญสูนครหลวง เฉก เช่น พระพุทธรูปที่ส�ำคัญของหัวเมืองต่างๆ UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

(6

).indd 125

125

5/6/2561 16:31:48


จึงฝังเก็บรักษาไว้ใต้ดิน จนเวลาผ่านไปกว่า 200 ปี ต่ อ มาหลวงพ่ อ เจ้ า คุ ณ พระมงคล ธรรมวัฒน์ ได้นิมิตถึงตาชีปะขาวมาบอกว่ายัง มีพระพุทธรูปประจ�ำทัพเจ้าเมืองเก่า ถูกฝังอยู่ ใต้ดนิ อยากให้นำ� ขึน้ มารักษาไว้ เพือ่ เป็นสมบัติ ของพระพุทธศาสนา ให้ลูกหลานได้เคารพ สักการบูชาสืบไป ท่านจึงน�ำชาวบ้านไปขุด ก็พบแผ่นศิลา 4 เหลีย่ ม ถูกจัดไว้ในลักษณะหีบ ภายในประดิษฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย เนื้อเงินบริสุทธิ์ หลวงพ่อเจ้าคุณพระมงคล ธรรมวั ฒ น์ จึ ง ได้ อั ญ เชิ ญ หลวงพ่ อ เงิ น มา ประดิษฐานไว้ทวี่ ดั ปากน�ำ้ ตราบจนถึงปัจจุบนั

ชีวประวัติ (โดยสังเขป) ท่ า นเจ้ า คุ ณ พระมงคลธรรมวั ฒ น์ (บุญจันทร์ จตฺตสลฺโล) อดีตเจ้าอาวาส วัด ปากน�้ำ ต�ำบลกุดลาด อ�ำเภอเมือง จังหวัด อุบลราชธานี เกิดเมื่อวันที่ 15 เมษายน พ.ศ. 2469 อายุ 81 ปี พรรษา 60 บิดานายค�ำ มารดานางคูณ นามสกุล ประสานพิมพ์ ณ บ้าน เลขที่ 109 หมู่ 3 บ้านปากน�้ำ ต�ำบลกุดลาด อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี บรรพชา เมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2483 ณ วัดปากน�ำ้ ต�ำบลกุดลาด อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี โดยมี พระครูคมั ภีรญาณ เป็นพระอุปัชฌาย์ อุปสมบท เมื่อวันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2490 ณ พัทธสีมาวัดปากน�้ำ ต�ำบลกุดลาด อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี โดยมีพระครู คัมภีรญาณ วัดบ้านแคน เป็นพระอุปัชฌาย์ การศึกษา พ.ศ. 2482 ส�ำเร็จการศึกษาชั้นประถม ศึกษาปีที่ 4 จากโรงเรียนวัดปากน�ำ้ ต�ำบลกุดลาด อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี พ.ศ. 2488 สอบได้นักธรรมชั้นเอกจาก ส� ำ นั ก ศ า ส น ศึ ก ษ า วั ด ห ล ว ง อ� ำ เ ภ อ พิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี พ.ศ. 2492 สอบไล่ได้มัธยมศึกษา มศ.5 ( ม.5 เดิม ) จังหวัดอุบลราชธานี พ.ศ. 2498 สอบได้ประโยคครูพิเศษมูล 126

(6

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

).indd 126

5/6/2561 16:31:54


งานการปกครอง พ.ศ. 2505 ได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาส วัดปากน�้ำ พ.ศ. 2540 ได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าคณะ ต�ำบลกุดลาด พ.ศ. 2542 ได้รบั แต่งตัง้ ให้ดำ� รงต�ำแหน่ง พระอุปัชฌาย์ ต�ำบลกุดลาด สมณศักดิ์ พ.ศ. 2514 ได้แต่งตั้งเป็น “พระสมุห์ บุญจันทร์ จตฺตสลฺโล” พ.ศ. 2524 ได้แต่งตั้งเป็น “พระครู ใบฎีกาบุญจันทร์ จตฺตสลฺโล” ฐานานุกรมของ “พระเทพมงคลเมธี ” เจ้ า คณะจั ง หวั ด อุบลราชธานี พ.ศ. 2528 ได้รบั พระราชทานสมณศักดิ์ เป็นพระครูสัญญาบัตรเจ้าอาวาสวัดราษฎร์ ชั้นโทที่ “พระครูพัฒนกิจวิมล” พ.ศ. 2528 ได้รบั ประทานเลือ่ นสมณศักดิ์ เป็นพระครูสัญญาบัตรเจ้าอาวาสวัดราษฎร์ ชั้นเอก ในราชทินนามเดิม พ.ศ. 2545 ได้รบั ประทานเลือ่ นสมณศักดิ์ เป็นพระครูสัญญาบัตรเจ้าคณะต�ำบล ชั้นเอก ในราชทินนามเดิม พ.ศ. 2549 ได้รับพระราชทานเลื่อน สมณศั ก ดิ์ เป็ น พระราชาคณะชั้ น สามั ญ ที่ “พระมงคลธรรมวัฒน์” UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

(6

).indd 127

127

5/6/2561 16:32:07


Wat Paknam (Bung Sapang) Wat Paknam is the ancient temple. This temple was built in 1777 and located on 125, Ban Pak Nam, village 8, Kut Lat subdistrict, Mueang Ubon Ratchathani District, Ubon Ratchathani. Wat Paknam has an area about 52,888 square meters. The temple was granting of the land to a particular temple in 3 July 1779. This temple was called Wat Ban Bak by the ordinary people long time ago because of the geography around this area has many Bak trees (Anisoptera costata). Afterwards, Phradet Phrakhun Phrathep Mongkol Maedhi (Phra Thum Saenarnee) that maintain the Lord Abbot of a Buddhist monastery in Ubon Ratchathani at that time mentioned with the ordinary people that “There was no Bak tree now. So, the temple should changed the name to Wat Paknam.” 128

(6

Sacred object of temple - Luang Phor Phra Thotsaphol Yarn Mongkol Bapit Wiset Suksit - The ordination hall of amity (Mitra Phaph Chapel) - Luang Phor Somdet Jed Kshatriya - Luang Phor Pharputtamongkol Solod Yarn Wiset Suksit - Luang Phor Ngein Jed Roy (700) years (Phra Chai Lung Chang Hang Pan Din Isan, Buddha image of victory of Isan kingdom) - Luang Phor Ngein (model) - Phra That Phanom (model) - Museum History of Luang Phor Jed Roy (700) years Luang Phor Ngein (Phra Chai Lung Chang Hang Pan Din Isan) is Buddha image that cover with pure silver. The image made in the attitude of subduing Mara type and was built by the

architecture of Chiang Saen Lan Xang at 700 years ago. Luang Phor Ngein was discovered at Wat Pa Phra Pikhanesuan in 1772 by the vision of Chao Khun Phra Mongkol Thummawat (Boonjun Juttasanlo) and is currently enshrined at Wat Paknam (Bung Sapang). Luang Phor Ngein related with Ubonratchathani Sriwanalai city establishment. Because of Luang Phor Ngein belonged to the army forces of King Pang Kham dynasty, San Wee Phar, Sipsongpanna kingdom that avoided China army force and built Nakhon Khuean Khan Kabkaewbuaban at Nong Bua Lamphu. In 1684, King Pang Kham installed Luang Phor Ngein as Buddha image of victory on the elephantry (war elephant) by following the ancient tradition of warrior. Luang Phor Ngein was the token of victory. After that in

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

).indd 128

5/6/2561 16:32:07


1771, King Siribunyasan acceded the Viengchan (Vientiane) kingdom and the king was suspicious to sons of King Pang Kham (Prince Tha and Price Wor) the acceded the throne from his father will rebelled. Because of that, King Siribunyasan moved the troops to engaged Nakhon Khuean Khan Kabkaewbuaban and caused Prince Tha died. Prince Wor ascended the commander in chief and emigrated his people to Don Mot Daeng camp and established Ubonratchathani Sriwanalai city. Prince Wor was attacked by Viengchan and caused him died. His son was Price Kum Pong ascended the leader thought that his army was unable to resisted the army forces of Viengchan, so he requested assistance from King of Thonburi. Taksin the Great, the King of Thonburi gave an order to Buddha Yodfa Chulaloke (Rama I, the first monarch of the reigning Chakri dynasty), the Somdet Chao Praya Maha Kasatsuek (King of War) at that period. Rama I was the commander in chief to assisted Ubonratchathani Sriwanalai by appointing Price Kum Pong as the vanguard of army. He brought the army to engaged Viengchan until he won. After that he respectfully invited Emerald Buddha and Phra Bang (royal Buddha Image in the dispelling fear mudra) to Siam kingdom. The great war at that time proved the sacred power of Luang Phor Ngein to Thonburi army. Price Kum Pong was afraid that the Buddha image of Ubonratchathani Sriwanalai will be invited to the capital such as Buddha image form other provinces, so he kept the Luang Phor Ngein under the ground until 200 years.

Chao Khun Phra Mongkol Thummawat saw the old white-robed ascetic in his vision and the old whiterobed ascetic told that the King’s Buddha image of victory was buried under the ground. He wanted Chao Khun Phra Mongkol Thummawat to maintained the King’s Buddha image of victory as the treasure of Buddhism and

let the descendant adored. Chao Khun Phra Mongkol Thummawat brought the villagers to dug and found stone square set piece like a chest. In the chest, there was Buddha image that cover with pure silver in the attitude of subduing Mara type. Chao Khun Phra Mongkol Thummawat invited Luang Phor Ngein to installed at Wat Paknam until now.2 UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

(6

).indd 129

129

5/6/2561 16:32:19


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดพลแพน พระครูอดุลธรรมประจักษ์ เจ้าอาวาสวัดพลแพน ประวัติความเป็นมา วั ด พลแพน ต� ำ บลในเมื อ ง อ� ำ เภอเมื อ ง อุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี สร้างในสมัย พระยาศรีสิงหเทพ (ทัต ไกรฤกษ์) ข้าหลวงจัดการ ป ก ค ร อ ง เ มื อ ง อุ บ ล ร า ช ธ า นี ห ลั ง จ า ก ที่ เจ้ า ราชบุ ต รถึ ง แก่ อ นิ จ กรรม ประมาณ พ.ศ. 2430-2431 ผู ้ น� ำ ในการสร้ า งวั ด พลแพน คื อ พระพิ ทั ก ษ์ ชุ ม พล (บั ว ริ น ทร์ ) และ พ่ อ กวน เมืองแพน ร่วมกันเป็นผู้น�ำในการสร้าง จึงได้เอา ชื่อของทั้งสองท่านมารวมกัน น�ำอักษรย่อท้าย นามมาตั้งชื่อวัดว่า “วัดพลแพน” วัดพลแพน มีเนื้อที่ประมาณ 16 ไร่ 2 งาน 32 ตารางวา พ่อวินยั ธรรม แสนทวีสขุ พ่อพรหมมา แม่จันทร์แดง เป็นผู้บริจาคดินถวายที่ดินสร้างวัด อยู ่ ห ่ า งจากทุ ่ ง ศรี เ มื อ งไปทางทิ ศ ตะวั น ออก 130

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

(2

).indd 130

ประมาณ 1 กิโลเมตรเศษ บริเวณวัดอยู่หัวมุม สี่แยกจรดถนนพโลรังฤทธิ์และถนนพลแพน

เสนาสนะที่ส�ำคัญ วิหารใหญ่วัดพลแพน เป็นเสนาสนะกลาง เป็นที่ประดิษฐาน “พระเจ้าใหญ่มิ่งมงคลอุบล เทพนิมิต” ซึ่งเป็นพระคู่บ้านคู่เมืองอุบลราชธานี เป็ น พระพุ ท ธรู ป ปางมารวิ ชั ย ศิ ล ปะแบบลาว ซึ่ ง เป็ น พระพุ ท ธรู ป ที่ ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ข องเมื อ ง อุบลราชธานี มีหน้าตักกว้าง 3.25 เมตร สูง 4.5 เมตร สร้ า งราว พ.ศ. 2458 ด้ ว ยการน� ำ ของ พระเดชพระคุณหลวงปู่พระครูวิโรจน์รัตโนบล (บุญรอด นนฺตโร) อดีตเจ้าอาวาสวัดทุ่งศรีเมือง และอดีตเจ้าคณะจังหวัดอุบลราชธานี ได้น�ำคณะ ญาติโยมและศิษยานุศิษย์คุ้มวัดพลแพน ได้สร้าง พระเจ้าใหญ่มิ่งมงคลอุบลเทพนิมิต เป็นที่เคารพ สักการบูชาจนถึงปัจจุบัน

6/6/2561 9:23:04


วัดพลแพน เป็นอีกวัดหนึ่งซึ่งตั้งอยู่ใจกลาง เมืองอุบลราชธานี มีอายุร้อยกว่าปีแล้ว พระครู วิ โรจน์ รั ต โนบล อดี ต เจ้ า อาวาสวั ด ทุ ่ ง ศรี เ มื อ ง เป็ น ผู ้ น� ำ ญาติ โ ยมและคณะศิ ษ ย์ ใ นการสร้ า ง พระเจ้าใหญ่มิ่งมงคลอุบลเทพนิมิต เพื่อให้เป็น มิ่งเมืองเป็นมงคลของอุบลราชธานี ส่วนเทพนิมิต นั้น หมายถึง เทพเทวดามาช่วยสร้างให้องค์พระ เป็ น พระที่ ส มบู ร ณ์ เป็ น สง่ า ถู ก ต้ อ งตามพุ ท ธ ลั ก ษณะขอ งพระ พุ ทธ อง ค์ ทุ ก ป ระ ก าร พุทธศาสนิกชนในเขตชุมชนชองวัดได้ให้ความ ศรั ท ธาในความศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ข องพระเจ้ า ใหญ่ ฯ จึ ง มากราบสั ก การบู ช าขอพร เป็ น เครื่ อ ง ยึดเหนี่ยวทางจิตใจ

ล�ำดับเจ้าอาวาส

1. ยาถ่านผิว 2. ยาถ่านเผย 3. ยาถ่านนา พ.ศ. 2495 - 2499 4. พระมหาพินิจ จตฺตสลฺโล พ.ศ. 2499 - 2503 5. พระมหาพรหมา ญาณจารี พ.ศ. 2503 – 2504 6. พระมหาอ่อน อิสิญาโน พ.ศ. 2504 - 2507 7. พระมหาพรหมา ญาณจารี พ.ศ. 2507 – 2511 8. พระครูสาทรมงคลกิจ ( สาธุ์ สายหงส์ ) พ.ศ. 2511 – 2531 9. พระครูสนุ ทรญาณคุณ ( พรหมา ญาณจารี) พ.ศ. 2531 - 2541 10. พระครูอดุลธรรมประจักษ์ ( เนตร เตชธโร ) พ.ศ. 2541 - ปัจจุบัน

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

(2

).indd 131

131

6/6/2561 9:23:30


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดทองนพคุณ พระครูสุวรรณธรรโมภาส เจ้าอาวาสวัดทองนพคุณ เจ้าคณะต�ำบลในเมือง เขต 2

วัดทองนพคุณ

ตั้งอยู่ทาง ทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ของศาลากลางจังหวัด อุบลราชธานี และอยู่ในบริเวณสี่แยกมุมเมืองของ สี่ แ ยกกิ โ ลศู น ย์ ตามที่ ผู ้ เ ฒ่ า ผู ้ แ ก่ เ มื อ งอุ บ ล บอกเล่ากันสืบต่อมาว่า ที่ดินที่เป็นวัดทองนั้น เดิ ม เป็ น ส่ ว นของเจ้ า ราชบุ ต รสุ ้ ย แห่ ง เมื อ ง อุ บ ลราชธานี และเป็ น ที่ ดิ น ที่ เ ป็ น ท� ำ เล พักกองเกวียน ของเมืองที่ขึ้นต่อการปกครองของ เมืองอุบล เจ้านายเมืองต่างๆ เวลาเดินทางเข้า มาในเมือง มักจะน�ำบุตรตรีและสาวๆร่วมขบวน มาด้วย ทั้งนี้ก็เพราะเขาเหล่านั้นอยากจะมาเห็น เมื อ งใหญ่ หรื อ มาเพื่ อ ซื้ อ ข้ า วของเครื่ อ งใช้ 132

(2

บ้างก็มาดูเจ้านาย บ้างก็มาเยี่ยมญาติ บริเวณดังกล่าวจึงมีบ่อน�้ำเพื่อใช้เป็นที่อุปโภค – บริโภค ของผู้ที่มากับกองเกวียน พร้อมทั้งศาลาพักร้อน และบริเวณดังกล่าวก็มีจอมปลวกหรือโพนอยู่ด้วย คนทั่วไปในสมัยนั้นเรียกว่า “โพนสาวเอ้” ซึ่งก่อนจะเข้าเมือง บรรดาหญิงสาวที่มากับกองเกวียน จะต้องแต่งตัวให้สมฐานะอย่างสวยงาม ซึ่งตามปกติแล้วเวลาอยู่บ้านหญิงสาวจะแต่งตัวธรรมดา ไม่ ไ ด้ ต บแต่ ง อะไรมากนั ก ปั จ จุ บั น โพนสาวเอ้ และศาลาพั ก หรื อ บ่ อ น�้ ำ ไม่ มี ใ ห้ เ ห็ น แล้ ว คงเหลื อ แต่เรื่องเล่า เท่านั้น

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

).indd 132

6/6/2561 9:33:42


ประวัติเจ้าอาวาส พระครูสุวรรณธรรโมภาส ฉายา ฐิตธมฺโม อายุ 64 พรรษา 44 วิทยฐานะ ป.ธ.4, น.ธ.เอก วัดทองนพคุณ ต�ำบลในเมืองเขต 2 อ�ำเภอเมือง อุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี ฯ 3 ค�่ำ สถานะเดิมชื่อ ผจญ จันแก้ว เกิด 4 10 ปีขาล วันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2481 บิดานาย อ่อน มารดานางน้อย จันแก้ว ที่บ้านเลขที่ 45 หมู่ที่ 5 ตําบลไร่ใต้ อําเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัด อุบลราชธานี บรรพชา ปีระกา วันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 ณ วัดวารินทราราม ต�ำบลธาตุ อ�ำเภอ วารินช�ำราบ จังหวัดอุบลราชธานี พระอุปัชฌาย์ เจ้าอธิการอ้วน ปญฺญาทีโป วัดท่าช้าง ต�ำบลท่าช้าง อ�ำเภอวารินช�ำราบ จังหวัดอุบลราชธานี อุ ป สมบท ปี จ อ วั น ที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2501 วั ด ชมพู รั ต นาราม ตํ า บลไร่ ใ ต้ อํ า เภอ พิ บู ล มั ง ส า ห า ร จั ง ห วั ด อุ บ ล ร า ช ธ า นี พระอุปัชฌาย์ พระครูมงคลวิบูลกิจ วัดศรีมงคล

ต�ำบลตําบลไร่ใต้ อําเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัด อุบลราชธานี พระกรรมวาจาจารย์ พระส่วน ปวโร วัดชมพูรตั นาราม ตาํ บลไร่ใต้ อาํ เภอพิบลู มังสาหาร จั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี พระอนุ ส าวนาจารย์ พระสมบูรณ์ จารุวณฺโณ วัดชมพูรตั นาราม ตําบลไร่ใต้ อําเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี วิทยฐานะ พ.ศ.2494 ส�ำเร็จวิชาสามัญ ชั้นประถมศึกษา ปีที่ 4 จากโรงเรียนบ้านไร่ใต้ ต�ำบลไร่ใต้ อ�ำเภอ พิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี พ.ศ.2504 สอบได้นกั ธรรมชัน้ เอก ส�ำนักเรียน คณะจังหวัดอุบลราชธานี พ.ศ.2519 ส�ำเร็จการศึกษาผู้ใหญ่ระดับ 4 โรงเรียนวิโรจน์วิทยา วัดทุ่งศรีเมือง อ�ำเภอเมือง อุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี พ.ศ.2522 สอบไล่ได้เปรียญธรรม 4 ประโยค ส�ำนักเรียนคณะจังหวัดอุบลราชธานี

สมณศักดิ์ พ.ศ.2525 เป็นพระครูสมุห์ ฐานานุกรมในพระ เทพมงคลเมธี รองเจ้าคณะภาค 10 วัดมณีวนาราม ต�ำบลในเมือง เขต 1 อ�ำเภอเมืองอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี ตราตัง้ ลงวันที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2525 พ.ศ.2529 เป็นพระครูปลัด ฐานานุกรมใน พระเทพมงคลเมธี รองเจ้ า คณะภาค 10 วัดมณีวนาราม ต�ำบลในเมือง เขต 1 อ�ำเภอเมือง อุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี ตราตั้งลงวันที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2529 พ.ศ.2533 ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์เป็น พระครู สั ญ ญาบั ต ร เจ้ า คณะต� ำ บลชั้ น โท ในราชทินนามที่ “พระครูสุวรรณธรรโมภาส” พ.ศ. 2552 ได้รับเลื่อ นชั้นเทียบเจ้า คณะ อ�ำเภอ ชั้นเอก ในราชทินนามเดิม

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

(2

).indd 133

133

6/6/2561 9:33:53


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดไชยมงคล

พระครูจิตวิสุทธิญาณคุณ เจ้าอาวาสวัดไชยมงคล ประวัติความเป็นมา

วัดไชยมงคล เป็นวัดราษฎร์ ตั้งอยู่ เลขที่ 2 ถนนสุ ร ศั ก ดิ์ ต� ำ บลในเมื อ ง อ� ำ เภอเมื อ ง จั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี มี เ นื้ อ ที่ 14 ไร่ 3 งาน 89.7 ตารางวา ตามเอกสาร โฉนดที่ 1945 เลขที่ดิน 1 หน้าส�ำรวจ 106 เล่มที่ 20 หน้า 45 ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี ออกให้ตั้งแต่วันที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ.2499 วัดไชยมงคล เป็นเก่าแก่วัดหนึ่ง สร้างขึ้น เป็นล�ำดับที่ 4 ในบรรดาวัดทีส่ งั กัดธรรมยุตกิ นิกาย ในจั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี โดยวั ด แรกคื อ “วัดสุปฏั นารามวรวิหาร” สร้างโดยพระพรหมราชวงศ์ (พ.ศ.2338-2388) นามเดิม กุทอง สุวรรณกูฏ (ทิดพรหม) เจ้าเมืองอุบลราชธานี วัดที่สร้าง เป็ น ล� ำ ดั บ ที่ 2 คื อ “วั ด ศรี อุ บ ลรั ต นาราม” (เดิมคือวัดศรีทอง) สร้างโดยคณะกรรมการเมือง 134

(2

อุบลราชธานี มีนามว่า พระอุปฮาด ชื่อท้าวโท (ต้นตระกูล ณ อุบล) ซึ่งมีต�ำแหน่งกรมการเมือง ในสมัยโบราณเรียกว่า อาชญาสี่ คือ 1.เจ้าเมือง 2.พระอุปฮาด 3.พระราชวงศ์ 4.พระราชบุตร โดยเริ่มสร้างกุฏิวิหาร ศาลาการเปรียญ ในปี พ.ศ.2398 นอกจากนั้นยังได้ร่วมมือการสร้าง “วัดสุทัศนาราม” ซึ่งเป็นวัดในสังกัดธรรมยุติก นิกายวัดที่ 3 ส่วนวัดไชยมงคลนั้น เป็นวัดสังกัด ธรรมยุติกนิกายในล�ำดับที่ 4 วั ด ไชยมงคล เป็ น วั ด ที่ ส ร้ า งขึ้ น โดย เจ้าพรหมเทวานุเคราะห์ (พ.ศ.2409 – 2425) เจ้าพรหมเทวา เดิมชื่อ “เจ้าหน่อค�ำ” เป็นพี่ชาย เจ้าจอมมารดาด้วงค�ำ ในสมัยพระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยท่านเป็นบุตรของ เจ้ า คลี่ (เจ้ า เสื อ ) ซึ่ ง เป็ น หลานปู ่ เจ้ า อนุ ว งศ์ แห่งนครเวียงจันทน์ เป็นเหลนของเจ้าสิริบุญสาร ซึ่งขณะนั้นเป็นเจ้าราชวงศ์เมืองนครจ�ำปาศักดิ์ เป็นต้นตระกูลพรหมโมบล

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

).indd 134

6/6/2561 9:38:51


ล�ำดับเจ้าอาวาส

1.เจ้ า อธิ ก ารสี โ ห หรื อ เจ้ า อธิ ก ารสิ ง ห์ เจ้าอาวาสองค์แรก (พ.ศ.2414) เดิมท่านพัก อยู่ที่ วัดศรีทอง (ปัจจุบัน วัดศรีอุบลรัตนาราม) 2.ญาครูลา บ้านเดิมอยู่ที่บ้านปลาดุก 3.ญาครูค�ำ บ้านเดิมอยู่ที่บ้านก้านเหลือง 4.พระอาจารย์ทอง 5.พระอาจารย์มหาค�ำแสน 6.พระอาจารย์กอง 7.พระครู ชิ โ นวาทสาทร (พระมหาอุ ทั ย ปภสฺสโร ปธ. 4) พ.ศ.2499 – พ.ศ.2538 8.พระครูมงคลชัยคุณ (พระสมชาย กลฺยาโณ) พ.ศ.2538 – พ.ศ.2543 9.พระครูจิตวิสุทธิญาณคุณ (พระจตุรงค์ ญาณุตฺตโม พ.ศ.2543 – ปัจจุบัน

งานทอฝ้ายสายบุญจุลกฐิน

พิธที อดกฐิน เป็นงานบุญทีม่ ปี ลี ะครัง้ จึงจัด เป็ น กาลทาน แปลว่ า “ถวายตามกาลสมั ย ” ประชาชนชาวไทยจั ด พิ ธี น้ี อ ย่ า งสนุ ก สนาน ดังค�ำกลอนข้างต้นนั้น ค�ำว่า “กฐิน” แปลว่า ไม้สะดึง คือกรอบไม้ ชนิดหนึ่งส�ำหรับขึงผ้าให้ตึง สะดวกแก่การเย็บ ในสมัยโบราณ เย็บผ้าต้องเอาไม้สะดึงมาขึงผ้า ให้ ตึ ง เสี ย ก่ อ นแล้ ว จึ ง เย็ บ เพราะช่ า งยั ง ไม่ มี ความช�ำนาญเหมือนสมัยปัจจุบัน การท�ำจีวร ในสมัยโบราณจะเป็นผ้ากฐินหรือแม้แต่จวี ร อันมิใช่ ผ้ากฐิน ถ้าภิกษุทำ� เองก็จดั เป็นงานทีเ่ อิกเกริก เช่น มีตำ� นานกล่าวว่าเมือ่ ครัง้ พุทธกาล พระเถรรานุเถระ ต่างมาช่วยกัน เป็นต้นว่า พระสารีบุตร พระมหา โมคคัลลานะ พระมหากัสสปะ แม้พระบรมศาสดา ก็ เ สด็ จ ลงมาช่ ว ยภิ ก ษุ ส ามเณรอื่ น ๆ ก็ ช ่ ว ย ขวนขวายในการเย็บจีวร อุบาสกอุบาสิกาก็จดั หา น�้ำดื่ม มาถวายพระสงฆ์ การทอดกฐินเป็นกาลทาน ปีหนึ่งท�ำได้ ครัง้ เดียว วัดหนึง่ สามารถรับได้ครัง้ เดียว และต้อง ท�ำตามก�ำหนดเวลา และผู้ทอดต้องตระเตรียม จัดท�ำเป็นงานใหญ่ ต้องมีผู้ช่วยเหลือหลายคน จึงนิยมกันว่าเป็นพิธบี ญุ ทีอ่ านิสงส์แรง พิธเี ช่นนีไ้ ด้ ทั้งบริวารสมบัติ เพราะได้บอกบุญแก่ญาติมิตร ให้ ม าร่ ว มการกุ ศ ล กาลทานเช่ น นี้ เ รี ย กว่ า “ทานทางพระวินัย”

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

(2

).indd 135

135

6/6/2561 9:39:03


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดศรีแสงทอง พระอธิการณรงค์ชัย ฐิตญาโณ เจ้าอาวาสวัดศรีแสงทอง

ประวัติความเป็นมา

วัดศรีแสงทอง ตั้งอยู่ถนนอุบล - ตระการ ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี สร้ า งขึ้ น ในปี พ.ศ.2501 จากความตั้ ง ใจของ พ่อถ่านสี เกสโร เจ้าอาวาสวัดสารพัฒนึก ที่ต้องการที่จะสร้างที่ปฏิบัติธรรม ของพุทธศาสนิกชน จึงมีผู้จิตศรัทธาถวายที่ดินให้ คือ คุณพ่อมาลี และ คุณแม่เหมือน แสงทอง บริเวณริมน�้ำห้วยวังนอง ประมาณ 10 ไร่ แต่พ่อถ่าน ต้องการที่แปลงปัจจุบัน ซึ่งมีประมาณ 6 ไร่เศษ โยมจึงถวายให้ หลังจากนั้น พ่อถ่านสี จึงได้พาพระเณรจากวัดสารพัฒนึก เพื่อมาถากถางที่ดิน จนเป็น ส�ำนักสงฆ์ โดยให้อาจารย์เพชร เป็นเจ้าอาวาส หลังจากนั้นอาจารย์หอม หลวงปู่พรม มาด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส แต่อาจารย์หอมได้ลาสิกขาไป

136

4

ด้วยเหตุนี้ คณะญาติโยมวัดศรีแสงทอง จึงประชุมกันในการสรรหา ผู้ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส โดยมีมติเห็นสมควร นิมนต์ พระสุพล สุปญฺโญ ขณะนัน้ จ�ำพรรษาอยูว่ ดั มหาวนาราม (วัดป่าใหญ่) ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี ท่านเป็นผู้ท�ำประโยชน์ต่อวัด ได้แก่ การจัดท�ำผ้าป่า มาถวายเพื่อสร้างวัด จัดหาถ้วยชาม มาช่วยวัดเป็นประจ�ำ จนมีความคุ้นเคย กับครูบาอาจารย์และญาติโยม หลังจากนั้นมีการโอนจากส�ำนักสงฆ์ให้เป็นวัด โดยพระสุพล สุปญฺโญ พร้อมด้วยพ่อครูประชุม มุถสิกพันธ์ และ ร.ต.อุดม รักษาโสม ด�ำเนินการโอน ตามประเมินที่ดิน 6 ไร่ 3 งาน 46 ตารางวา เป็นเงิน 179,779 บาท ในปี พ.ศ.2527

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

13_05_61.indd 136

6/6/2561 9:47:04


การสร้างอุโบสถ

อุโบสถวัดศรีแสงทอง เริม่ สร้างเมือ่ วันศุกร์ที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2549 โดยมีพระเกจิอาจารย์ คือหลวงปู่เกลี้ยงวัดโนนเกด จังหวัดศรีสะเกษ จากนั้ น พระเดชพระคุ ณ พระพรหมวชิ ญ าณ กรรมการเถระสมาคม เจ้าอาวาสวัดยานนาวา กรุงเทพมหานคร เป็นประธานวางศิลาฤกษ์ ปรากฏการณ์อศั จรรย์ หลังจากลงมือท�ำการ ก่อสร้างอุโบสถไประยะหนึ่ง มีพระคุณเจ้า และ ร่างประทับทรง ได้เดินทางมาโดยไม่ทราบเหตุผล และอยากเข้าไปพักในอุโบสถที่ยังสร้างไม่เสร็จ ซึ่งมีแต่ซากมูลสัตว์ จากนั้นมีร่างเหมือนงูใหญ่ มาเข้ า ประทั บ ในร่ า งทรง แล้ ว บอกว่ า ท่ า น คือ ปู่ศรีสุทโธนาคราช จะมาช่วยสร้างโบสถ์

พระครูสารธรรมรังษี เจ้าอาวาส จึงถามว่าจะเอา อะไรจากไหนมาสร้าง เงินก็ไม่มี ปู่ก็บอกว่าปู่จะ ช่วยให้คนมาช่วยเองไม่ตอ้ งเป็นห่วงและเมือ่ สร้าง เสร็จแล้วให้ปั้นพญานาคด้านทิศตะวันออกตัวละ 5 เศียร ทางด้านข้าง ตัวละ 3 เศียร ที่ฐานพระ ก็ให้มีพญานาค จากนัน้ การสร้างอุโบสถก็กอ่ สร้างมาเรือ่ ยๆ ไม่เคยติดขัดเรื่องเงินแต่อย่างใด ใครมาเห็นก็ชม ว่าสวยงาม ด้ า นรอบอุ โ บสถก� ำ แพงแก้ ว จั ด ท� ำ เป็ น เทวดาประทับยืนรอบอุโบสถและเหล่าทวยเทพ ต่ า งๆ ยื น ถื อ ฉั ต รและพั ด แฉก รอรั บ เสด็ จ ส่ ง พระพุ ท ธเจ้ า เสด็ จ จากสวรรค์ ชั้ น ดาวดึ ง ส์ ลงสู ่ โ ลกมนุ ษ ย์ อ ย่ า งสวยงาม

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

4

13_05_61.indd 137

137

6/6/2561 9:47:15


Wat Srisangthong Rector Narongchai Thitayano The abbot of wat Srisangthong

History

Wat Srisangthong is located on Ubon-Trakarn road, Nai Mueang subdistrict, Mueang district and Ubon Ratchathani province. This temple was built in 1958 form the intention of Luang Por Tharnsee Ketsro, the abbot of Saraphutneug temple that require the practice of the dharma place for Buddhists and then Mr. Malee and Mrs. Muean Sangthong, the devotees offered the land near the riverside about 138

4

1.6 hectares at Wang Nong brook. But Luang Por Tharnsee require only one hectare. After that Luang Por Tharnsee brought Buddhist novice form the Saraphutneug temple to cleared the area and built the temple without royal bound Buddhist stone. The abbot of this temple was Ajarn Phet, Ajarn Hom and Luang Pu prom respectively but Ajarn Hom left the Buddhist monkhood later.

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

13_05_61.indd 138

6/6/2561 9:47:24


So, the folks of Buddhists form Wat Srisangthong had to conferred the recruitment of new abbot. As the unanimous decision, Phra Suphol Suphuyo that was keeping the Buddhist Lent at Wat Mahavanaram (Wat Payai), Nai Mueang subdistrict, Mueang district and Ubon Ratchathani province to became the new abbot of the Srisangthong temple. He was benefactor of the temple such as the off-season robe offering to monks ceremony, Offering the dishware frequently until he was familiar with the folks of Buddhists.

After that, there is transferring the land of temple without royal bound Buddhist stone about one hectare (value 179,779฿) to the temple by Phra Suphol Suphuyo, Porkru Prachum Muthasikaphun and second lieutenant Udom Ragsasoam in 1984.

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

4

13_05_61.indd 139

139

6/6/2561 9:47:41


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดด้ามพร้า

หลวงพ่อศักดิ์สิทธิ์ศรีมงคล

140

(2

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

).indd 140

6/6/2561 9:53:03


ประวัติความเป็นมา วัดด้ามพร้า ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 112 หมู่ ติดถนน ชยางกูร บ้านด้ามพร้า เทศบาลต�ำบลขามใหญ่ อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี สังกัดคณะสงฆ์ มหานิกาย เดิมชื่อ “วัดราษฎร์ศรัทธาธรรม” เป็นวัดทีเ่ ก่าแก่วดั หนึง่ สันนิษฐานว่า สร้างขึน้ ในยุ ค ต้ น ของการสร้ า งเมื อ งอุ บ ลราชธานี เมื่อ พ.ศ. 2369 และได้เปลี่ยนชื่อวัดใหม่ เพื่อ ให้เกิดความเหมาะสมกับสภาพบ้านเมือง เมือ่ วันที่ 18 มีนาคม พ.ศ. 2409 ว่า “วัดด้ามพร้า” ชาวบ้านด้ามพร้า บ้านดอนกลางได้ร่วมกัน ถากถางและปรับพื้นที่ดิน รายนามเจ้าอาวาส รูปที่ 1 ญาท่านทอน เป็นเจ้าอาวาสรูป แรกนับจากวัดมีสถานะเป็นวัดที่สมบูรณ์ รูปที่ 2 ญาท่านจันทร์ รูปที่ 3 ญาท่านส่วน โอภาโส รูปที่ 4 ญาท่านสิงห์ กนฺตสีโล รูปที่ 5 ญาท่านพัน รูปที่ 6 ญาท่านยืน กิตฺติสาโร รูปที่ 7 ญาท่านยืน กตปุญฺโญ รูปที่ 8 พระอาจารย์บัว รูปที่ 9 ญาท่านผาย กตปุญฺโญ รูปที่ 10 หลวงตาพั่ว เสนสิมโสม รูปที่ 11 พระครูวิจิตรศาสนการ (ศรี ธมฺมทินฺโน) พ.ศ. 2496 - 2546 รูปที่ 12 พระครูวิจิตรศาสนการ (พูล ถาวโร) รูปปัจจุบัน พ.ศ. 2546 - ปัจจุบัน

พระครูวิจิตรศาสนการ เจ้าอาวาสวัดด้ามพร้า

หลวงพ่อศักดิ์สิทธิ์ศรีมงคล เดิ มพระพุ ท ธรู ปองค์ นี้ ถู ก พอกปิ ด ไว้ ด้วยปูนฉาบ ทาสีทองทั่วทั่งองค์ ประดิษฐาน เด่นเหนือหมู่พระประธานบนโต๊ะหมู่บูชาใน กุ ฏิ เ จ้ า อาวาสวั ด ด้ า มพร้ า สื บ มาทุ ก ยุ ค สันนิษฐานไม่ได้ว่าใครเป็นผู้สร้างสร้างเมื่อใด เมื่อต้นเดือนมกราคม ปี พ.ศ. 2557 หลวงพ่อพระครูวิจิตรศาสนการ (พูล ถาวโร) เจ้าอาวาสวัดด้ามพร้ารูปปัจจุบัน ได้นิมิตเห็น ชี ป ะขาวมาบอกว่ า ในวั ด ด้ า มพร้ า แห่ ง นี้ มี พระพุ ท ธรู ป องค์ ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ป ระดิ ษ ฐานอยู ่ อยากให้ท่านช่วยบูรณะให้พุทธศาสนิกชนได้ กราบไหว้สักการบูชาต่อไป ต่อมาก็เกิดเหตุการณ์ดังนิมิต ท่านได้ เห็นพระพุทธรูปปูนองค์นี้ ซึ่งเป็นพระพุทธรูป ที่ มี อ ยู ่ ใ นวั ด มานาน มี ร อยร้ า วและแตกที่ บริเวณพระกัจฉะ สามารถมองเห็นเนื้อทอง ที่อยู่ภายในองค์พระ ต่อมาปูนพอกที่บริเวณ พระอังสาได้ร้าวและแตก และหลุดออกมา สามารถมองเห็ น เนื้ อ ทองที่ อ ยู ่ ภ ายในองค์ พระชัดและใหญ่ขึ้น คณะกรรมการวัดและ ชาวบ้าน มีมติให้กะเทาะปูนส่วนที่เหลือออก พบว่าภายในเป็นพระพุทธรูปเนื้อทองทั้งองค์ มีความงดงามมาก ขาดแต่ส่วนฐานขององค์ พระ จึงได้น�ำองค์พระพุทธรูปไปบูรณะฐาน เพิ่มเติม เมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน 2558 ที่ จั ง หวั ด นครปฐม และได้ อ าราธนามา ประดิษฐานสถิตไว้ที่กุฏิอนุสรณ์พระครูวิจิตร ศาสนการ (ศรี ธมฺทนิ โฺ น) ตัง้ แต่บดั นัน้ เป็นต้นมา

โรงเรี ย นศรี ศ าสนวิ ท ยา วั ด ด้ า มพร้ า (โรงเรี ย นพระปริ ยั ติ ธ รรม แผนกสามั ญ ศึกษา) พระครูวิจิตรศาสนการ (พูล ถาวโร) ผู้อ�ำนวยการ สังกัดกองพุทธศาสนศึกษา ส�ำนักงาน พระพุ ท ธศาสนาแห่ ง ชาติ เปิ ด สอนตั้ ง แต่ ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1 (ม.1 – ม.3) ถึงระดับ มัธยมศึกษาปีที่ 6 (ม.4 – ม.6 ) ตั้งอยู่เลขที่ 112 วัดด้ามพร้า บ้านด้ามพร้า หมู่ที่ 4 ถนนชยางกูร ต�ำบลขามใหญ่ อ�ำเภอ เมื อ งอุ บ ลราชธานี จั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี 34000 โทรศัพท์/โทรสาร. 045 - 315742 E-mail : mtt2550@hotmail.com Website : www.dampra.org UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

(2

).indd 141

141

6/6/2561 9:53:18


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดบ้านหนองหว้า

พระครู สุ น ทรพั ฒ นวิ ธ าน ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง เจ้ า อาวาสวั ด บ้ า นหนองหว้ า

วั ด บ้านหนองหว้า ตั้งอยู่หมู่บ้านหนองหว้าและบ้านหนองไผ่ เลขที่ 73 หมู่ 9

ต� ำ บลขามใหญ่ อ� ำ เภอเมื อ ง จั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี ห่ า งจากตั ว จั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี ประมาณ 10 กิ โลเมตร ตามเส้นทางถนนชยางกูร สายอุบล - ม่วง ดั้งเดิมเป็นป่าธรรมชาติ ที่เรียกว่า “หนองหว้า” สมัย ก่อ นมีต้น หว้า อยู่ตามหนอง ต้ น เหมื อนกั บ ต้ น ชมพู ชาวบ้ า น เรียกกันว่า “ต้นหว้า” เมล็ดของมันมีสีด�ำรับประทานได้ มีต�ำนานอยู่ในหนังสือพระเวสสันดร ชาดก ชื่อว่าชมพูหรือต้นหว้า ปัจจุบันมี อุโบสถ ศาลาการเปรียญ หอระฆัง ศาลาต้อนรับแขก เมรุเผาศพ ศาลาธรรมสังเวช โรงครัว ศาลาพิพิธภัณฑ์ หอพระจ�ำลอง หอประชุม ศาลาเอนกประสงค์ และ กุฎี ทั้งหมด 25 หลัง 142

วัดบ้านหนองหว้า สร้างเมื่อ พ.ศ.2497 อนุญาตให้สร้างวัด เมือ่ วันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2513 ตั้งวัดในพระพุทธศาสนา เมื่อวันที่ 27 พฤศจิ ก ายน พ.ศ.2515 รั บ พระราชทาน วิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 5 เมษายน พ.ศ.2517 ผูกพัทธสีมา พ.ศ.2519 วัดบ้านหนองหว้า เป็น วัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์ มหานิกาย โดยมีทดี่ นิ 41 ไร่ งาน 23 ตารางวา ที่ดินวัด 16 ไร่ 2 งาน 33 ตารางวา ที่ดินธรณีสงฆ์ 24 ไร่ 1 งาน 90 ตารางวา

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

.indd 142

30/05/61 04:08:22 PM


เกียรติคุณของวัด

พ.ศ.2540 กรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ ได้คัดเลือกเป็นวัดอุทยานการศึกษา พ.ศ.2544 กรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ ได้คัดเลือกเป็นวัดพัฒนาตัวอย่าง พ.ศ.2549 ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ได้คดั เลือกเป็นวัดพัฒนาตัวอย่างทีม่ ผี ลงานดีเด่น พ.ศ.2550 กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม ได้คดั เลือกเป็นศูนย์ศกึ ษาพระพุทธศาสนา วันอาทิตย์ (ศพอ.) พ.ศ.2550 สาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี ได้คดั เลือกเป็นวัดส่งเสริมสุขภาพดีเด่น ระดับจังหวัด พ.ศ.2550 ผ่านการประเมินวัดส่งเสริมสุขภาพดีเด่น ระดับเขต พ.ศ.2554 ผ่านการประเมินรับรองมาตรฐานคุณภาพชมรมผู้สูงอายุเขต 7 ระดับดี พ.ศ.2555 กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ได้คัดเลือกเป็นวัดส่งเสริมสุขภาพดีเด่น พ.ศ.2558 เป็นหน่วยอบรมประชาชนประจ�ำต�ำบล (อปต.) พ.ศ.2560 เป็นชุมชนคุณธรรมวัดบ้านหนองหว้า

พระครูสุนทรพัฒนวิธาน เจ้าอาวาสวัดบ้านหนองหว้า

ประวัติเจ้าอาวาส

ท�ำเนียบพระสังฆาธิการ

พระครูสนุ ทรพัฒนวิธาน ฉายา สุธมฺโม อายุ 85 พรรษา 61 น.ธ.โท สถานะเดิม ชือ่ หนู ธรรมสาร เกิดวันศุกร์ ปีระกา วันที่ 19 ตุลาคม พ.ศ.2476

1. พระครูสุนทรพัฒนวิธาน ทีป่ รึกษาเจ้าคณะต�ำบลขามใหญ่ เขต 2 เจ้าอาวาสวัดบ้านหนองหว้า 2. เจ้าอธิการวิวัฒน์ วิสุทโธ เจ้าคณะต�ำบลขามใหญ่ เขต 2 ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดบ้านหนองหว้า 3. พระสุชาติ ยโสธโร ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดบ้านหนองหว้า

ด�ำรงต�ำแหน่งทางคณะสงฆ์

เจ้าอธิการวิวัฒน์ วิสุทโธ เจ้าคณะต�ำบลขามใหญ่ เขต 2

พ.ศ.2517 เจ้าอาวาสวัดบ้านหนองหว้า พ.ศ.2545 เจ้าคณะต�ำบลขามใหญ่ เขต 2 พ.ศ.2557 ทีป่ รึกษาเจ้าคณะต�ำบลขามใหญ่ เขต 2

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 143

143

30/05/61 04:09:19 PM


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดหัวเรือ พระครูสุกิจชัยโสภณ เจ้าอาวาสวัดหัวเรือ

144

(2

ประวัติความเป็นมา วัดหัวเรือ ตั้งอยู่บ้านเลขที่ 143 หมู่ท่ี 1 ต�ำบลหัวเรือ อ�ำเภอเมืองอุบลราชธานี จังหวัด อุบลราชธานี โทรศัพท์ 084 - 9838469 สังกัด มหานิกาย มีเนื้อที่ 7 ไร่ 2 งาน 553 ตารางวา ตั้ ง ขึ้ น เมื่ อ พ.ศ. 2337 ได้ รั บ พระราชทาน วิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2527 เมื่อ ปี พ.ศ. 2332 มี 8 ครอบครัว คือ เฒ่านาค เฒ่าเชาวรัตน์ เฒ่าสางจางวาง เฒ่าเกาะ เฒ่าข้อ มุงคุล เฒ่าหมาแพง และครอบครัวสาวคูส่ าวหนู ได้ร่วมกันตั้งวัดโดยเรียกชื่อวัดว่า “มงกุฎนาวา” ตามนามศัพท์ของบ้าน ต่อมาเมื่อปี พ.ศ. 2335 ชาวบ้านหัวเรือ(คุม้ บ้านหลุม่ ) และบ้านยางเดีย่ ว

(คุม้ บ้านเหนือ) ได้แยกออกไป ท�ำให้คมุ้ ยางเดีย่ ว มาท�ำบุญยากล�ำบาก จึงได้ยา้ ยวัดมาตัง้ ยังทีใ่ หม่ (เหนือบริเวณวัดหัวเรือปัจจุบันไป 200 เมตร) แต่ตั้งได้ 2 ปี ก็ต้องย้ายอีกเพราะเป็นป่าดงที่ยุง ชุกชุมท�ำให้เกิดไข้มาลาเรีย และเชื่อว่าผีท�ำเข็ญ เพราะหวงป่า ในปี พ.ศ. 2337 จึงได้ย้ายจากดงที่มียุงชุม ตัง้ วัดหัวเรือ ในปัจจุบนั เดิมชือ่ ว่า “วัดป่าสัฏวัล” แต่ ช าวบ้ า นชิ น กั บ ชื่ อ วั ด เก่ า จึ ง เรี ย กว่ า “วัดมงกุฎนาวา” ต่อมานิยมเรียกชือ่ ตามบ้านว่า “วัดหัวเรือ” มาจนตราบเท่าทุกวันนี้

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

).indd 144

5/6/2561 17:21:02


พระครูศาสนกิจจาธร (หลวงพ่อทอง) ท่าน มีชอื่ เสียงเรือ่ งความศักดิส์ ทิ ธิ์ ท่านเคยเดินธุดงค์ ไปถึงหลีผ่ ี ประเทศลาว เพือ่ ทดสอบคาถาอาคม เช่น คาถาเสือโคร่ง ที่ได้ร�่ำเรียนมา ต้นไม้ใหญ่ ในป่า ล�ำงามทีไ่ หนท่านตัดลง ใครทีจ่ ะไปเอากิง่ ก้าน ช่วงที่ท่านอยู่ด้วยให้รีบเอา ปรากฏว่าเมื่อ ท่านกลับถึงวัดแล้ว ชาวบ้านบางส่วนพากันไป ขนเอาทีหลังเป็นเหตุให้เกิดเจ็บป่วย จนต้องน�ำ ไม้กลับไปส่งคืนยังที่เดิม ปี พ.ศ. 2509 ขณะที่ ท ่ า นยั ง มี ชี วิ ต อยู ่ ได้ออกเหรียญของท่านรุ่นแรก จ�ำนวน 3,000 เหรียญ ปัจจุบันได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก ญาถ่านด่าง มีเรือ่ งเล่าเกีย่ วกับคนเลีย้ งช้าง น�ำช้างเข้ามาหากินใบไผ่ที่วัดโดยไม่บอกเล่าเก้า สิบให้ท่านรู้ท่านจึงเอากะลามะพร้าวคว�่ำช้างไว้ จนคนเลีย้ งช้างต้องเก็บดอกไม้ไปขอขมาขอโทษ ต่อท่าน จึงได้ช้างกลับคืนมา ปัจจุบันญาติโยม นิยมมาขอพรจากท่าน เพื่อให้เกิดความสมหวัง ในชีวิตหน้าที่การงาน รายนามเจ้าอาวาส หลวงปู่เพียโคตร (พ่อเฒ่าเพียโคตร) หลวงพ่อพรมมา (พ่อจารย์พรมมา) หลวงพ่ออินทร์ (จารย์ครูอินทร์) หลวงปู่ชัยมงคล (พ่อเฒ่าชัยมงคล) ญาถ่านด่าง (ญาครูสุวรรณ) หลวงปู่มี(พ่อเฒ่าจารย์ชามี) หลวงพ่อสี (จารย์ครูสี) หลวงพ่อลุน (จารย์ครูลุน) หลวงพ่อเสนเสน (จารย์ชาเสน) หลวงพ่อแก้ว (จารย์ครูแก้ว) สมภารค�ำภา (ญาถ่านเส้ว) พระครูศาสนกิจจาธร (ญาถ่านทอง) พ.ศ. 2471 - 2523 พระครูวรกิจสุนทร (ญาถ่านสี) พ.ศ. 2523 - 2536 เจ้าอธิการไพฑูรย์ กิตฺติสาโร พ.ศ. 2536 - 2545 พระครูสุกิจชัยโสภณ พ.ศ. 2545 - ปัจจุบัน

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

(2

).indd 145

145

5/6/2561 17:21:28


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดท่าวังหิน พระปลัดสุริยา สุริโย เจ้าอาวาสวัดท่าวังหิน

ประวัติความเป็นมา วัดท่าวังหิน ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง อุ บ ลราชธานี จั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี เป็ น วัดราษฎร์ ตั้งอยู่ชุมชนท่าวังหิน ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมืองอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี ซึง่ จัดว่าเป็นชุมชนขนาดใหญ่ ประมาณ 3,000 หลังคาเรือน เริม่ สร้าง พ.ศ. ใดไม่ปรากฏแน่ชดั มีพระกร รมฐานมาปักกลดอยูร่ มิ แม่นำ�้ มูลน้อย (ด้านทิศ ตะวันตกของพระเจ้าใหญ่ศรีสรรเพชร พระคู่ บ้านท่าวังหินองค์ปจั จุบนั ) เมือ่ ประมาณปี พ.ศ. 2471 ญาท่านอาจ (พระธุดงค์) ได้น�ำพา พระสงฆ์และญาติโยมสร้างโรงธรรมขึน้ (ศาลา) เพือ่ ใช้ในการท�ำบุญของญาติโยม และปฏิบตั ธิ รรม 146

2

ของพระสงฆ์ โดยตัง้ ชือ่ วัดว่า “วัดป่าท่าวังหิน” โดย มอบให้อาจารย์สอน (ญาท่านสอน ชาวบ้าน เรียกในสมัยนั้น) เป็นผู้ดูแลวัดแห่งนี้ ต่อมาหลวงปู่สุข ปภงฺกโร ได้บูรณะวัดขึ้น เป็นทางการ และมีชาวบ้านหลายคนถวายทีด่ นิ เพิม่ เติม จึงสร้างกุฏแิ ละสร้างโรงธรรมขึน้ มาใหม่ ได้รับการตั้งวัดอย่างเป็นทางการเมื่อปี พ.ศ. 2484 ต่อมาปี พ.ศ. 2505 พระเดชพระคุณ พระวิโรจน์รตั โนบล (พระราชรัตโนบล) รองเจ้าคณะ จังหวัดอุบลราชธานี เจ้าอาวาสวัดทุ่งศรีเมือง ได้ส่งหลวงปู่เดช ปญฺญธโร มาบูรณะวัดท่าวัง หินขึ้นมาใหม่ พ.ศ. 2532 พระเดชพระคุณ พระราชรัตโนบล เจ้าคณะจังหวัดอุบลราชธานี ได้ส่งพระมหาสุบิน คมฺภีโร รองเจ้าอาวาส วัดทองนพคุณ (พระครูวรดิตถ์โสภณ) มาเป็น เจ้าอาวาส ท่านได้นำ� พาพระภิกษุสามเณรและ ญาติโยมบูรณะกุฏิ ศาลาการเปรียญ สร้างศาลา คู่เมรุขึ้นมาใหม่ และสร้างกุฏิขึ้นใหม่อีกหลาย หลัง เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2537

ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา ท่านได้รื้อถอน อุโบสถหลังเก่าออก ในวันที่ 5 พฤษภาคม 2539 ได้วางศิลาฤกษ์ และได้น�ำพาพระภิกษุ สามเณร พร้อมญาติโยมสร้างอุโบสถหลังใหม่ ซึ่งเป็นโบสถ์ขนาดใหญ่ คอนกรีตเสริมเหล็กขึ้น กว้าง 22 เมตร ยาว 42 เมตร จนแล้วเสร็จ ใน ปัจจุบันสิ้นงบประมาณ 21,300,981 บาท (ยีส่ บิ เอ็ดล้านสามแสนเก้าร้อยแปดสิบเอ็ดบาท ถ้วน) ใช้เวลาในการก่อสร้าง 9 ปีเต็ม ปูชนียวัตถุ ได้แก่ พระเจ้าใหญ่ศรีสรรเพชร และหลวงพ่อหิน

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

.indd 146

6/6/2561 10:00:37


รายนามเจ้าอาวาส 1. ญาท่านสอน 2. หลวงปู่สม 3. หลวงปู่สุข ปภงฺกโร 4. หลวงปู่เดช ปญฺญาธโร พ.ศ. 25052528 5. พระอาจารย์กลม อิณมฺ ตุ โฺ ต พ.ศ. 25292531 6. พระครูวรดิตถ์โสภณ พ.ศ. 2532 2560 7. พระปลั ด สุ ริ ย า สุ ริ โ ย พ.ศ. 2561ปัจจุบัน (เจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน)

ประวัติหลวงพ่อหิน หลวงพ่อหินทั้ง 3 องค์ สมัยเชียงแสน สุโขทัยและอูท่ อง มีนาม “แสน สุโข อูข่ า้ ว อูน่ ำ�้ ” เป็นพระพุทธรูปแกะสลักเก่าแก่ล�้ำค่ารูปทรง งดงาม ประวัตทิ มี่ าไม่ชดั เจน พบครัง้ สุดท้ายอยู่ วัดร้างกลางป่าลึกของอ�ำเภอบ้านกรวด จังหวัด บุรีรัมย์ ได้อัญเชิญมาประดิษฐานอยู่ภายในวัด ท่าวังหินโดยการติดต่อประสานงานของ คุณสมเจ ตน์ – คุณอุทัยวรรณ รุจิรารังสรรค์ คุณสงวน ศักดิ์ – คุณอนัญญา ชโลธร ร้านโชคอนันต์ และ คุ ณ แจโหมย แซ่ เ จา คุ ณ บุ ญ หลง แซ่ จ ่ อ ง ร้าน ส.กันทรลักษ์ค้าไม้ ภายหลั ง ได้ อั ญ เชิ ญ มาประดิ ษ ฐานอยู ่ ภายในวัด เกิดสิ่งที่แปลกมหัศจรรย์ ขึ้นหลาย อย่ า ง เริ่ ม จากปี 2 540 ทางวั ด มี ม ติ กั นว่ า อุโบสถหลังใหม่ทกี่ ำ� ลังก่อสร้างได้อญ ั เชิญหลวง พ่อหินองค์กลาง 1 ใน 3องค์ แยกออกจาก ศาลาที่ อ ยู ่ เ ดิ ม เพื่ อ น� ำ ขึ้ น เป็ น พระประธาน ภายในอุโบสถดังกล่าว เหตุที่ต้องเลือกเพียง องค์เดียวเพราะมีปัญหาด้านน�้ำหนักขององค์ พระ โดยทีมงานผู้ออกแบบสร้างอุโบสถ์หลังนี้ ให้ความเห็นว่า องค์พระทัง้ 3 องค์ เมือ่ เรียงกัน อยู่ในโบสถ์นี้น�้ำหนักจะมีมาก มีปัญหาระยะ ยาวต่อรากฐานตัวอาคารอุโบสถ อาจทรุดตัวลง ได้ จ�ำเป็นต้องเลือกองค์เดียวขึ้นไปไว้เท่านั้น

จากมติในวันนั้นส่งผลทันทีให้เจ้าอาวาสวัย พรรษาต้นๆ ต้องล้มหมอนนอนเสื่อป่วยไข้ ไม่สบายด้วยโรคภัยทันที ทั้งที่ก่อนหน้านี้ท่าน มีสุขภาพแข็งแรง ครัน้ ถึงวันนัดหมายทีต่ อ้ งชักลาก เครือ่ งมือ เครือ่ งจักรต่างๆ พร้อมทุกอย่าง แต่กเ็ กิดปัญหา อุปสรรคนานัปการ เครื่องจักรสายรอกขาด สะบั้นท�ำอย่างไรองค์พระก็ไม่ขยับ “ก็แปลกดี นะโยม” หลวงพ่อเจ้าอาวาสกล่าว เวลาผ่าน ล่ ว งเลยจนถึ ง บ่ า ย องค์ พ ระยั ง ตั้ ง อยู ่ ที่ เ ดิ ม (ณ ที่ปัจจุบัน) ตกกลางคืนหลวงพ่อเจ้าอาวาส เกิดฝันไป ต่างๆ นานา ตื่นเช้าประมวลเหตุการณ์ตั้งแต่ ต้นถึงปัจจุบัน พอสรุปได้ว่าพระพุทธรูปหินทั้ง 3 องค์ นีม้ คี วามผูกพันกันมาก่อน จากนัน้ หลวง พ่อเจ้าอาวาส จึงได้ไปขอขมา โรคภัยต่างๆ ที่อยู่หายปกติ หมอนัดไปตรวจก็ไม่ต้องไป ทุก วันนี้สุขภาพของท่านเจ้าอาวาสแม้วัยจะเลย 60 ปีแล้ว ยังดูสขุ ภาพแข็งแรงดี นีก้ เ็ พราะบารมี หลวงพ่อหินทั้ง 3 องค์ ท่านจึงสร้างวิหารหลัง ใหม่ถวาย เพื่อเป็นที่ประดิษฐาน ตามมโน ปฌิธานนิมิตที่ได้ตั้งใจไว้ เหตุการณ์ทุกอย่าง ภายในวัดก็เป็นปกติ และเจริญรุ่งเรืองขึ้นมา ตามล� ำ ดั บ ดั ง ที่ ท ่ า นทั้ ง หลายได้ เ ห็ น อยู ่ ใ น ปัจจุบันฯ UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 147

147

6/6/2561 10:00:51


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดมณีวนาราม พระเทพวราจารย์

เจ้าอาวาสวัดมณีวนาราม เจ้าคณะจังหวัดอุบลราชธานี วั ด มณี ว นาราม ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 136 ถ.หลวง ต.ในเมือง อ.เมือง จ.อุบลราชธานี เดิมชาวเมืองเรียก “วัดป่าแก้วมณีวัน” และ “วัดป่าน้อย” ต่ อ มาได้ เ ปลี่ ย นเป็ น วั ด มณี วนารามตามยุ ค สมั ย กล่ า วกั น ว่ า วั ด นี้ เ ป็ น วั ด เก่ า แก่ คู ่ เ มื อ งอุ บ ลฯ สร้ า งในยุ ค ต้ น กรุ ง รั ต นโกสิ น ทร์ โดยอุ ป ฮาด(ก�่ ำ ) หรื อ พระเทพวงศา(ก�่ำ)ต่อมาได้รับโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งเป็นเจ้าเมือง “เขมราษฎร์ธานี” วัดมณีวนาราม นับว่าเป็นวัดที่มีความ ส�ำคัญยิ่งของเมืองอุบลฯเพราะเป็นที่พ�ำนัก ของเจ้าคณะสงฆ์ชั้นปกครองนับแต่ครั้งสมัย รัชกาลที่ 3 คือ ท่านเจ้าคุณพระอริยวงศาจารย์ ญาณวิมลอุบลสังฆปาโมกข์ เจ้าคณะเมือง 148

(6

อุบลราชธานี แม้ปัจจุบันก็เป็นที่พ�ำนักของ ท่านเจ้าคุณ พระเทพวราจารย์ เจ้าคณะจังหวัด อุบลราชธานี วัดแห่งมณีวนาราม มีบทบาทส�ำคัญยิ่ง ในด้านการศึกษา คือเป็นส�ำนักเรียนที่ส�ำคัญ ของเมืองอุบลฯ ในยุคสมัยรัชกาลที่ 3 ใช้เป็น ศูนย์กลางการศึกษาของภาคอีสาน จนเป็นต้น เค้า “อุบลฯเมืองนักปราญ์” เพราะได้ก่อเกิด ปราชญ์ผรู้ มู้ ากมายในภาคอีสานซึง่ สมัยนัน้ ต่าง ต้องมาร�่ำเรียนจากเมืองอุบลราชธานีแห่งนี้ ดั ง ปรากฏตามหลั ก ฐานว่ า วั ด มณี ว นาราม มีคัมภีร์ใบลาน อายุเก่าแก่ถึง 400 ปี มากมาย ถึง 300 ผูก ภายในใบลานจารด้วยอักษรขอม อักษรธรรม อักษรไทยน้อย และอักษรล้านนา

ภายในวั ด มี พ ระพุ ท ธรู ป ส� ำ คั ญ คื อ องค์พระแก้วโกเมน เป็นพระแก้วที่แกะสลัก จากอัญมณีธรรมชาติอายุหลายร้อยปี เดิมอยู่ ในการปกครองของเจ้านายฝ่ายเมืองอุบลฯ ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 3 บ้านเมืองสงบจากศึก สงคราม ทางคณะผู้ดูแลรักษาพระแก้วโกเมน จึงได้นำ� มาถวายท่านเจ้าคุณพระอริยวงศาจารย์ฯ เจ้าอาวาสวัดมณีวนารามในขณะนั้น ท่านก็ได้ ดู แ ลรั ก ษาและเก็ บ เป็ น ความลั บ ตลอดมา ปัจจุบันพระเทพวราจารย์ เจ้าคณะจังหวัด อุ บ ลฯ เจ้ า อาวาสรู ป ปั จ จุ บั น ได้ ส ร้ า งหอ พระแก้วโกเมนขึ้นเพื่อประดิษฐานพระแก้ว โกเมนองค์ศักดิ์สิทธ์ ให้พุทธศาสนิกชนได้มี โอกาสกราบไหว้ขอพรเพือ่ เป็นสิรมิ งคลแก่ชวี ติ

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

).indd 148

5/6/2561 17:07:13


พระแก้วโกเมน พระแก้ ว โกเมนพระพุ ท ธรู ป ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ องค์พระแกะสลักจากอัญมณีธรรมชาติอายุ หลายร้ อ ยปี องค์ พ ระจากฐานถึ ง ยอดเกศ มวยผม สูงประมาณ 4 นิ้ว เดิมองค์พระอยู่ ในการปกครองของเจ้ า นายฝ่ า ยปกครอง เมืองอุบลฯ มาช้านาน นับแต่ครั้งเจ้าปาง ค�ำแหงนครเชียงรุ้งแสนหวีฟ้า บรรพบุรุษท้าว ค�ำผงเจ้าเมืองอุบลฯ องค์แรก ในสมั ย รั ต นโกสิ น ทร์ ต อนต้ น ไทยมี สงครามกั บ ฝ่ า ยเวี ย งจั น ทน์ คณะผู ้ รั ก ษา พระแก้วโกเมนได้น�ำพระแก้วโกเมนไปเก็บ รักษาไว้อย่างดีที่วัดกุดละงุม อ.วารินช�ำราบ จ.อุบลราชธานี ภายในผอบไม้จนั ทร์หอม ด้วย เกรงว่าจะโดนข้าศึกแย่งชิงไป

โบราณสถานส�ำคัญ กุ ฏิ พ ระอริ ย วงศาจารย์ (กุ ฏิ แ ดง) กุฏิพระอริยวงศาจารย์ หรือที่เรียกกันโดย ทั่วไปว่ากุฏิแดง เดิมเป็นที่ จ�ำพรรษาของท่าน เจ้าคุณพระอริยวงศาจารย์ฯ (ท่านเจ้าสุ้ย) เจ้าคณะเมืองอุบลราชธานี ราวปี พ.ศ. 2371 ในยุคสมัยพระบาทสมเด็จพระนัง่ เกล้าเจ้าอยูห่ วั ฯ รัชกาลที่ 3 แห่งราชวงศ์จักรี กุฏิแดงแห่งนี้เป็นโบราณสถานที่ส�ำคัญ ยิ่งของจังหวัดอุบลฯ มีเอกลักษณ์อันโดดเด่น ทางสถาปัตยกรรมไทย มีสีสันอันงดงาม เป็น อาคารสร้างด้วยไม้ชั้นเดียว ตั้งเสายกพื้นสูงตี ฝาผนังแบบเรือนไม้ฝาปะกน ใช้เทคนิคการเข้า เดือยไม้แบบโบราณ หลังคาเดิมมุงด้วยไม้แป้น เกล็ดและเปลีย่ นมาใช้กระเบือ้ งมุงในภายหลัง

ภายในแบ่งเป็น 4 ห้อง มีห้องโถงใหญ่ 2 ห้อง ห้องเล็กด้านข้างอีก 2 ห้อง ประดับลูกกรงไม้ ขนาดเล็กทีข่ อบหน้าต่างและระเบียงด้านหน้า หน้าต่างระหว่างห้องด้านทิศเหนือมีการเขียน รูปเทวดาประดับไว้ 2 บานและพันธุ์พฤกษา อีก 2 บาน ต่อมาในปี พ.ศ.2558 พระเทพวราจารย์ เจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน มีด�ำริในการบูรณะ โดย ได้รบั งบประมาณวัดมณีวนารามและชาวคุม้ วัด จ�ำนวน 1,960,000 บาท (หนึง่ ล้านเก้าแสนหก หมื่นบาท) ทางกรมศิลปากรได้ขึ้นทะเบียน กุฏิใหญ่ เป็นมรดกของชาวอุบลราชธานีและ ของชาติ

เมื่อโบราณสถานกุฏิทั้ง 3 หลังบูรณะ เสร็จเรียบร้อย พระเทพวราจารย์ ได้ประสาน งานไปยัง ผู้ช่วยศาสตราจารย์วีณา วีสเพ็ญ ประธานโครงการอนุรักษ์ใบลานในภาคตะวัน ออกเฉี ย งเหนื อ มหาวิ ท ยาลั ย มหาสารคาม ผศ.ดร.สมศรี ชัยวณิชยาประธานหลักสูตร ศิ ล ป ะ ศ า ส ต ร ม ห า บั ณ ฑิ ต ส า ข า วิ ช า ประวัตศิ าสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี และ พิพธิ ภัณฑสถานแห่งชาติ อุบลราชธานี ด�ำเนิน การจัดแสดงโบราณวัตถุสำ� คัญของวัด เพือ่ เป็น แหล่ ง เรี ย นรู ้ ท างประวั ติ ศ าสตร์ ข องเมื อ ง อุบลราชธานีและอนุรักษ์เป็นมรดกของชาติ บ้านเมืองสืบไป UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

(6

).indd 149

149

5/6/2561 17:07:30


พระพุทธมณีโชติปางนาคปรก ในทางพระพุทธศาสนา เป็นที่ทราบกัน ว่ามีความนิยมสร้างพระพุทธรูปปางนาคปรก อันเกีย่ วเนือ่ งกับพญานาคทีช่ อื่ “มุจลินท์” ซึง่ มาแผ่พงั พานปกป้องพระพุทธองค์ จากสายฝน ที่ตกลงมาตลอด 7 วัน 7 คืน นอกเหนือ ไป จากเรือ่ งพญานาค เลือ่ มใสในพระพุทธศาสนา ถึ ง ขนาดปลอมตนมาขอบวชจนเรี ย กว่ า “บวชนาค” มาจนถึงปัจจุบนั นอกจากนี้ หาก พิจารณาอาคารสถาปัตยกรรมจะพบเห็นเค้า เงื่ อ นที่ พ ญานาค ท� ำ หน้ า ที่ ป กป้ อ งดู แ ล พระศาสนาอย่างเอาจริงเอาจัง เช่น การท�ำ ช่อฟ้า ใบระกา และหางหงส์ เป็นรูปพญานาค หรือการท�ำคันทวยเป็นรูปนาค เรียกกันว่า “นาคทัณฑ์” ล้อมรอบอุโบสถ วิหารไว้ ในพืน้ ถิน่ เมืองอุบลฯ ก็เช่น พระพุทธมณี โชติพระพุทธเก่าแก่ฝีมือช่างพื้นถิ่นเมืองอุบล ในยุคสร้างบ้านแปลงเมืองเมือ่ 200 กว่าปีกอ่ น ก็ ไ ด้ ส ร้ า งพระองค์ นี้ ขึ้ น โดยแกะสลั ก จาก หิ น ทรายองค์ พ ระมี ลั ก ษณะปางมารวิ ชั ย มีนาคปรก 5 เศียร แต่เศียร 1 ได้ช�ำรุดหายไป เหลือเพียง 4 เศียร พระเนตรของพระองค์พระ เป็ น แก้ ว นิ ล กาฬ มี พุ ท ธลั ก ษณะที่ เ ป็ น เอกลักษณ์ ผูค้ นต่างแวะเวียนมากราบไหว้ขอพร ในเรือ่ งของ โชค ลาภ วาสนา ปัจจุบนั พระพุทธ มณีโชติ นาคปรก ประดิษฐาน ณ พิพิธภัณฑ์ วัดมณีวนาราม กุฏิธรรมระโต

150

(6

พระพุทธมณีโชติปางนาคปรก กุฏิใหญ่ ตั้งอยู่ทางทิศเหนือของวัด มณีวนาราม มีลักษณะเป็นกุฏิเดี่ยวใต้ถุนสูง ก่อสร้างด้วยไม้เสาชั้นล่างเป็นเสาคอนกรีต ตัวกุฏแิ บ่งการใช้ประโยชน์ออกเป็น 3 ส่วน คือ ส่วนห้องนอนส่วนโถงและส่วนเรือนชาน โดย พื้นที่อาคารลดหลั่นสามระดับ จากส่วนห้อง นอนลดระดับมาส่วนโถง และเรือนชานเป็น ส่วนที่ต�่ำสุด ส่วนเรือนชานด้านทิศใต้มีบันได ทอดลงตามแนวทิศเหนือ - ทิศใต้ กุฏิหลังนี้มี แผนผังเป็นรูปสีเ่ หลี่ยมผืนผ้า มีจำ� นวน 6 ห้อง ฝาเป็นฝาไม้ตที บั เกล็ดตามแนวนอน ไม้พรึงปิด ซ้อนทับด้วยไม้ลวดบัวรอบอาคาร เหนือช่อง แสงประตูหน้าต่างด้านทิศใต้และทิศตะวัน ออกตกแต่งด้วยไม้ฉลุลวดลายพันธุ์พฤกษา หลังคาทรงมะนิลามุงด้วยกระเบือ้ งว่าวซีเมนต์ ยอดหน้าจัว่ ตกแต่งไม้กลึงใต้มมุ จัว่ ตกแต่งด้วย ลวดลายฉลุสวยงาม สร้างขึ้นเมื่อประมาณปี พ.ศ.2478 น�ำสร้างโดยพระครูวจิ ติ รธรรมภาณี (พวง ธมฺมทินโน)

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

).indd 150

5/6/2561 17:07:32


พระพุทธมณีรัตน์ (พระเจ้ายิ้ม) เป็นพระประธานศักดิ์สิทธิ์ องค์เก่าแก่คู่ อุโบสถมาแต่ครัง้ อุโบสถ หลังเดิมของวัดตราบ ถึงอุโบสถหลังปัจจุบัน พุทธลักษณะเป็นพุทธ ศิลป์สกุลช่างเมืองอุบลฯ ยุครัตนโกสินทร์ตอน ต้น มีเอกลักษณ์ทโี่ ดดเด่นโดยเฉพาะพระโอษฐ์ มีพระลักษณะแย้มพระสรวงตลอดเวลา เดิม ยอดพระเกศเป็นอัญมณีโบราณสีขาวหมอก ถูกโจรกรรมไปเมื่อ 30 ปีก่อน ภายหลังได้ ซ่อมแซมพระเกศใหม่ลงรักปิดทองทั้งองค์ พระเจ้ายิ้มนับเป็นพระพุทธรูปองค์เก่า แก่ศกั ดิอ์ กี องค์ของชาวบ้านเมืองอุบลราชธานี เชือ่ ว่าผูใ้ ดได้กราบไหว้ขอพรปรารถนาในเรือ่ ง ความสุขกายสบายใจ จักสมมโนรสถ้วนทั่วกัน ทุกคน (อุโบสถเปิดให้ญาติโยมได้เข้ากราบไหว้ ขอพร เฉพาะวั น พระ และวั น ส� ำ คั ญ ทาง ศาสนา)

พระเทพวราจารย์ (ศรีพร ป.ธ.9, Ph.D.)

ประวัติพระเทพวราจารย์ (ศรีพร ป.ธ.9, Ph.D.) นามเดิม พระมหาศรีพร วรวิญญฺ ู (ราชิวงศ์) ภูมลิ ำ� เนา บ้านศรีบญ ุ เรือง อ.เมือง จ.มุกดาหาร เกิดวันพุธที่ 5 พฤษภาคม 2508 ปีมะเส็ง การศึกษา - ป.ธ.9 (เปรียญธรรม 9 ประโยค) วั ด มหาธาตุ ยุ ว ราชรั ง สฤษฎิ์ กรุงเทพมหานคร ปี 2532 M.A. (Pali & Sanskrit) [First Class] ปี 2536 ปริญญาโท สาขาวิ ช าภาษาบาลี สั น สกฤต เกี ย รติ นิ ย ม Ph.D. (Pali) ปี 2539 ปริญญาเอก สาขาภาษา บาลี การท�ำงาน เจ้าคณะจังหวัดอุบลราชธานี เจ้าอาวาสวัดมณีวนาราม อ.เมือง จ.อุบลราชธานี ผู้รับใบอนุญาต และผู้อ�ำนวยการโรงเรี ย น

อุบลวิทยากร รองอธิการบดี มหาวิทยาลัย มหาจุ ฬ าลงกรณราชวิ ท ยาลั ย วิ ท ยาเขต อุบลราชธานี สมณศักดิ์ พ.ศ. 2543 ได้รบั พระราชทาน สมณศั ก ดิ์ เ ป็ น พระราชาคณะชั้ น สามั ญ ใน ราชทินนามที่ “พระศรีวรเวที” พ.ศ. 2552 ได้รบั พระราชทานสมณศักดิพ์ ระราชาคณะชัน้ ราชใน ราชทินนาม พระราชธีราจารย์ และเป็น พระราชาคณะชัน้ เทพ ที่ “พระเทพวราจารย์” เมือ่ พ.ศ. 2559 วัดมณีวนาราม ตั้งอยู่เลขที่ 139 ถนนหลวง ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

(6

).indd 151

151

5/6/2561 17:07:49


History of Wat Manee Wararam Wat Manee Wararam was called “Wat Pa Kaew Maneewan” and “Wat Pa Noi” by people in the past which changed to the present name afterwards. Locals have been considered this temple to be an ancient and respectable temple of Ubon Ratchathani. It was built during early Rattanakosin kingdom period by viceroy who governed the north at that time whose name is Phra Thep Wongsa (Kam). After that, the Royal family was kind enough to appoint him to be in the ruler of “Khemratthani” City. Wat Manee Wararam was considered the significant temple of Ubon Ratchathani because it was a residence of monk dean since the reign of King Rama III which the first monk dean who lived at this temple was Chao Khun Phra Ariyawongsajarn Yarnwimon Ubonsangkhapamoke, Ubon Ratchathani province monk dean. Even today, this place is the residence of Chao Khun Phra Thep Warajarn, the present Ubon Ratchathani province monk dean.

Wat Manee Wararam Phra Thep Warajarn Abbot of Wat Manee Wararam and Ubon Ratchathani province monk dean. 152

(6

Phra Kaew Komen (The Garnet Buddha) Phra Kaew Komen is a sacred Buddha image which carved from hundreds of years old natural jewel. The height of this Buddha image from its base to topknot is around 4 inches. Formerly, this Buddha image was owned by royalty who ruled Ubon Ratchathani for a long time, since the reign of Chao Pang Khamhaeng Nakhonchiangrung Sanwefha, an ancestor of Thao Kham Phong who was the first ruler of Ubon Ratchathani City.

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

).indd 152

5/6/2561 17:07:53


Phra Buddha Manee Choti Prangnakprok Refer to Buddhism, it was known that the constructing of Buddha image in attitude of Spreading Naga which involved with Naga name “Mutchalin”, the Naga that sheltered Buddha from the 7 days and nights rain by its hood. Apart from that, Naga was strongly believed in Buddhism which made it disguised itself in order to be ordained in Buddhism. That’s why we called the step before being an official monk in ordination ceremony “Buat Naka” until today.

Phra Buddha Maneerat (Phra Chao Yim) The sacred and ancient principle Buddha image of this temple which has been simultaneously existed with Buddhist sanctuary, since and old one till present. It was built in Buddhist art style of Ubon Ratchathani artist in early Rattanakosin period. This style is unique and outstanding especially the mouth which is always smiling. Important ancient remains Phra Ariya Wongsajarn’s house (Red monk’s house). This monk’s house is the significant ancient remains of

Ubon Ratchathani province. It has an outstanding trait of Thai architecture and wonderful color. After that, the Association of Siamese Architects under the Royal Patronage of His Majesty the King chosen “Phra Ariya Wongsajarn’s house (Red monk’s house)” to get “Architectural Conservation building Award of 2558 B.E.” type sacred place and temple. Dhammarato monk’s house - this monk’s house is located in the north of Wat Manee Wararam (Wat Pa Noi). It is a single and small wooden monk’s house with space under a house. Kuti Yai (Big monk’s house) - it is located in the north of Wat Manee Wararam. It is a single and small wooden monk’s house with space under a house and concrete poles at the ground floor.

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

(6

).indd 153

153

5/6/2561 17:08:05


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดบูรพาปะอาวเหนือ พระครูสุตบูรพาสถิต

เจ้าอาวาสวัดบูรพาปะอาวเหนือ เจ้าคณะต�ำบลปะอาว

ประวัติความเป็นมา วัดบูรพาปะอาวเหนือ ตั้งอยู่หมู่ที่ 5 ต�ำบลปะอาว อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี เมื่อ พ.ศ. 2245 ได้มีพระภิกษุรูปหนึ่ง นามว่า “อัคคะ” มีรูปร่างลักษณะสูงใหญ่ ได้อพยพตาม ครอบครัว มาจากอ�ำเภอหนองบัวล�ำภู จังหวัดอุดรธานี เมื่อมาถึงบ้านปะอาว ท่านก็หาสถานที่ ที่จ�ำพรรษา ท่านจึงได้สร้างวัดขึ้น แต่เป็นเพียงส�ำนักสงฆ์เท่านั้น และให้ชื่อว่า “วัดบูรพาปะ อาวเหนือ” นับว่าท่านเป็นบูรพาจารย์ของวัดบูรพาปะอาวเหนือนี้ เป็นผู้สร้างวัดให้เป็นที่ศึกษา เล่าเรียนแก่พระภิกษุ - สามเณร ในบวรพุทธศาสนาสืบมาจนกระทั่งปัจจุบัน เมื่อ พ.ศ. 2265 ได้ผูกพัทธสีมาเป็นวัดที่สมบูรณ์ ปี พ.ศ. 2537 ทางราชการขุดลอกหนองสิม พบไม้แคนใหญ่ฝังอยู่ในหนองลึกกว่า 2 เมตร แต่ไม่สามารถน�ำขึ้นมาได้ ปัจจุบันชาวบ้านเชียงแก้วเรียกบ้านใต้ – บ้านเหนือว่า “บ้านเก่า” ต่อมาทางวัดร่วมกับชาวบ้านเห็นว่า ที่วัดโนนโพธิ์ลาดเอียง ยากต่อการพัฒนาสร้างอารามวิหาร ต่างๆ ขณะนั้นมีผู้มีจิตศรัทธาคือ มีลูกเมืองแสนสังข์ 4 คน (ชาย 2 คน หญิง 2 คน) ได้บริจาค ที่ดินส่วนตัวให้เป็นธรณีสงฆ์ สร้างเป็นวัดบ้านเชียงแก้วจนถึงปัจจุบันนี้ 154

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

(2

).indd 154

5/6/2561 17:14:42


ล�ำดับเจ้าอาวาส 1. พระอัคคะเถร 2. ยาครูโบ้ 3. ยาถ่านโต 4. ยาถ่านน้อย 5. ยาถ่านโท 6. ยาถ่านเฮียง 7. ยาครูบุญ 8. ยาครูมี 9. ยาครูกัณหา 10. ยาครูสวน 11 ชามี 12. ยาครูสุ่น 13. ชาวัน 14. ชายู้ 15. ชาพา 16. ชาบุญ 17. ยาครูค�ำ 18. พระครูธรรมสุนทรนิวฐิ (ยามฐิตธมฺโม) 19. พระมหาพยนต์ สนฺตจิตโฺ ต รักษาการ เจ้าอาวาส องค์ปัจจุบัน ประวัติเจ้าอาวาส พระครูสุตบูรพาสถิต ฉายา สนฺตจิตฺโต ชื่อ(เดิม) พยนต์ พันธ์วัตร์ อายุ 56 ปี พรรษา 35 วุฒิการศึกษา นักธรรมชั้นเอก เปรียญ ธรรม 4 ประโยค ทางโลก พธ.บ.ศศ.ม.ปว.ด. สั ง กั ด วั ด บู ร พาปะอาวเหนื อ หมู ่ ที่ 5 ต� ำ บลปะอาว อ� ำ เภอเมื อ งอุ บ ลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี หน้าที่การงานที่รับผิดชอบ • พ.ศ. 2524 – ปัจจุบัน ด�ำรงต�ำแหน่ง ครูสอนปริยัติธรรม แผนกธรรม ส�ำนักเรียน วัดเรียบปะอาวใต้ • พ.ศ. 2541 ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง รอง เจ้าอาวาสวัดบูรพาปะอาวเหนือ • พ.ศ. 2543 – ปัจจุบัน ด�ำรงต�ำแหน่ง เจ้าอาวาสวัดบูรพาปะอาวเหนือ • พ.ศ. 2552 ด�ำรงต�ำแหน่ง รักษาการ เจ้าคณะต�ำบลปะอาว • พ.ศ. 2553 – ปัจจุบันด�ำรงต�ำแหน่ง เจ้าคณะต�ำบลปะอาว UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

(2

).indd 155

155

5/6/2561 17:15:05


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดทุ่งขุนใหญ่ พระครูสุนทรวรดิตถ์

เจ้าอาวาสวัดทุ่งขุนใหญ่ เจ้าคณะต�ำบลหนองขอน

ประวัติความเป็นมา วัดทุง่ ขุนใหญ่ ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 130 บ้านทุง่ ขุนใหญ่ หมู ่ ที่ 3 ต� ำ บลหนองขอน อ�ำเภอเมือง จังหวัด อุบลราชธานี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ที่ดินตั้งวัด มีเนื้อที่ 21 ไร่ 3 งาน 60 ตารางวา อาณาเขต ทิศเหนือ จดทางทิศใต้ จดหมู่บ้านและทางรอบ บ้าน ทิศตะวันออก จดทางสาธารณะ ทิศตะวันตก จดถนนผ่านหมู่บ้าน วั ด ทุ ่ ง ขุ น ใหญ่ ตั้ ง เมื่ อ พ.ศ. 2187 ได้ รั บ พระราชทานวิ สุ ง คามสี ม า เมื่ อ พ.ศ. 2197 มีโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกธรรม เปิดสอนเมื่อ พ.ศ. 2475 156

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

(2

).indd 156

6/6/2561 10:08:20


ปูชนียวัตถุ พระประธาน ขนาดหน้าตักกว้าง 25 นิ้ว สูง 35 นิ้ว สร้างเมื่อ พ.ศ. 2462 อาคารเสนาสนะ อุโบสถ กว้าง 6.50 เมตร ยาว 13.50 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2462 ศาลการเปรียญ กว้าง 14.35 เมตร ยาว 21.20 เมตร กุฏิสงฆ์ จ�ำนวน 3 หลัง เป็นอาคารไม้ ศาลาอเนกประสงค์ กว้าง 14 เมตร ยาว 30.50 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2536 ล�ำดับเจ้าอาวาส รูปที่ 1 พระอ่อน พ.ศ. 2450 - 2496 รูปที่ 2 พระครูพิพัฒนคุณ พ.ศ. 2497 - 2536 รูปที่ 3 พระครูสุนทรวรดิตถ์ (ดร.กิตติมศักดิ์) พ.ศ. 2537- ปัจจุบัน

พระครูสุนทรวรดิตถ์

เจ้าอาวาสวัดทุ่งขุนใหญ่ เจ้าคณะต�ำบลหนองขอน UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

(2

).indd 157

157

6/6/2561 10:08:31


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดเรียบปะอาวใต้ พระครูศรีพิพัฒนคุณ

เจ้าอาวาสวัดปะอาวใต้ รองเจ้าคณะอ�ำเภอเมืองอุบลราชธานี ประวัติความเป็นมา วัดปะอาวใต้ หรือวัดเรียบปะอาวใต้ ตั้งอยู่ที่ บ้านปะอาว ต.หนองขอน อ.เมือง จ.อุบลราชธานี ตั้ ง ขึ้ น เมื่ อ ปี พ.ศ. 2385 ผู ก พั ท ธสี ม า เมื่ อ ปี พ.ศ. 2405 หลังจากที่บ้านปะอาวตั้งถิ่นฐานที่ มั่นคงแล้ว ก็ได้สร้างวัดบูรพาปะอาวเหนือขึ้น หลังจากนั้น 150 ปี หลวงพ่อโป้ และหลวงพ่อโต ซึ่ ง เดิ น ทางมา จากหนองบั ว ล� ำ ภู จ.อุ ด รธานี เดินทางมาจ�ำพรรษาอยู่ที่วัดบูรพาปะอาวเหนือ หลายปีต่อมาได้มีภิกษุ สามเณร บวชเข้ามาอยู่ใน วั ด จ� ำ นวนมาก ท� ำ ให้ ท่ี พั ก สงฆ์ ไ ม่ เ พี ย งพอ หลวงพ่อโป้และหลวงพ่อโต จึงพากันมาสร้าง วั ด ใหม่ ซึ่ ง เป็ น สวนมะม่ ว งของแม่ ใ หญ่ ปู ม ได้เป็นผู้ถวาย และได้สร้างวิหารเล็กๆ หลังหนึ่ง พอเป็นที่พักสงฆ์ พร้อมกุฏิอีก 2-3 หลัง ต่อมาก็ มีญาติโยมที่มีที่ติดวัด ได้ช่วยกันถวายที่ดินให้วัด คนละเล็ ก ละน้ อ ย จนได้ มี พื้ น ที่ จ� ำ นวน 9 ไร่ 2 งาน 94 ตารางวา อยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ของวัดบูรพาปะอาวเหนือ จากนั้ น หลวงพ่ อ ทั้ ง สองก็ ไ ด้ ไ ปปฏิ สั ง ขรณ์ วัดวาอารามให้เจริญขึ้นตามล�ำดับ การปฏิบัติ พระธรรมวินัยของหลวงพ่อทั้งสองเป็นไปอย่าง เคร่ ง ครั ด มี ค วามเรี ย บร้ อ ยดี ส่ ว นหลวงพ่ อ โว ท่ า นก็ จ� ำ พรรษาอยู ่ ที่ วั ด บู ร พาปะอาวเหนื อ จนกระทั่งมรณภาพอยู่ที่วัดนั้น ต่อมาในปี พ.ศ. 2405 จึงได้มีการผูกพัทธสีมา วัดเรียบปะอาวใต้ ให้ ถู ก ต้ อ งตามกฎหมาย พอมาถึ ง สมั ย ที่ พระอาจารย์สูญเป็นเจ้าอาวาสพาลูกศิษย์และ ญาติฝึกหัดหล่อทองเป็นรูปกระดิ่ง หรือกะพุน มา จนถึงทุกวันนี้

158

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

(2

).indd 158

6/6/2561 10:19:31


ล�ำดับเจ้าอาวาส 1. หลวงพ่อโป้(ผู้สร้างวัดปะอาวใต้) พ.ศ. 2395 2. หลวงพ่อโต 3. หลวงพ่อลุน พ.ศ. 2405 4. หลวงพ่อสูญ พ.ศ. 2463 5. พระอาจารย์มหาสมบูรณ์ พ.ศ. 2470 6. พระอาจารย์มี 7. พระอาจารย์ทวง พ.ศ. 2489 8. พระอาจารย์ดี 9. พระอาจารย์อ้วน 10. พระอธิการสิงห์ พ.ศ. 2490 11. พระอธิการทา จิตญาโณ (วงศ์สุข) พ.ศ. 2501 12. พระอธิการสมเนตร กิตติสาโร (แววคุม้ ) พ.ศ. 2527 13. พระครูศรีพิพัฒนคุณ พ.ศ. 2535 – ปัจจุบัน

ประวัติเจ้าอาวาส พระครูศรีพพิ ฒ ั นคุณ ฉายา ฐิตสิ โี ล (พานเงิน) อายุ 60 พรรษา 40 วิทยฐานะ น.ธ.เอก, ป.ธ.6, ปริ ญ ญาโท สาขาพุ ท ธศาสตรมหาบั ณ ฑิ ต , วั ด เรี ย บปะอาวใต้ ต� ำ บลปะอาว อ� ำ เภอเมื อ ง อุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี ปัจจุบันด�ำรง ต�ำแหน่ง รองเจ้าคณะอ�ำเภอเมืองอุบลราชธานี และเจ้าอาวาสวัดเรียบปะอาวใต้ สถานะเดิม ชือ่ เพลินจิตร พานเงิน เกิดปีจอ วันที่ 12 มีนาคม พ.ศ.2501 บิดาชื่อเทียน มารดา ชื่ อ อุ ด ม พานเงิ น อยู ่ บ ้ า นเลขที่ 50 หมู ่ 11 บ้ า นปะอาว ต� ำ บลหนองขอน อ� ำ เภอเมื อ ง อุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี อุปสมบท วันที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2522 ณ พัทธสีมา วัดเรียบปะอาวใต้ บ้านปะอาว ต�ำบล หนองขอน อ� ำ เภอเมื อ งอุ บ ลราชธานี จังหวัด

อุบลราชธานี พระอุปัชฌาย์ พระครูพิพัฒนคุณ วั ด ทุ ่ ง ขุ น ใหญ่ ต� ำ บลหนองขอน อ� ำ เภอเมื อ ง อุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี พระกรรมวาจา จารย์ พระอาจารย์โทน โชติปาโล วัดทุ่งขุนใหญ่ ต�ำบลหนองขอน อ�ำเภอเมืองอุบลราชธานี จังหวัด อุบลราชธานี พระอนุสาวนาจารย์ พระอธิการยาม ฐิธมฺโม วัดบูรพาปะอาวเหนือ ต�ำบลหนองขอน อ�ำเภอเมืองอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

(2

).indd 159

159

6/6/2561 10:19:50


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดกระโสบ พระครูสุภัทรธรรมานุกิจ เจ้าอาวาสวัดกระโสบ ประวัติความเป็นมา วัดกระโสบ ตั้งอยู่ที่บ้านกระโสบ หมู่ที่ 4 ต�ำบลกระโสบ อ�ำเภอเมืองอุบลราชธานี จังหวัด อุบลราชธานี สังกัดคณะสงฆ์นิกาย ที่ดินตั้งวัด มีเนื้อที่ 7 ไร่ 3 งาน 30 ตารางวา อาณาเขต ทิศเหนือประมาณ 2 เส้น 5 วา ทิศใต้ประมาณ 1 เส้น 10 วา 2 ศอก ทิศตะวันออกประมาณ 2 เส้น 5 วา ทิศตะวันตกประมาณ 2 เส้น 9 วา มีทธี่ รณีสงฆ์จำ� นวน 2 แปลง เนือ้ ที่ 7 ไร่ 1 งาน 30 ตารางวา 160

(2

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

).indd 160

5/6/2561 16:55:43


วัด กระโสบ ตั้งเมื่อ พ.ศ. 2324 ได้รับ พระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อ พ.ศ. 2327 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 15 เมตร ยาว 27 เมตร

อาคารเสนาสนะ 1. อุโบสถ กว้าง 7 เมตร ยาว 18 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2500 2. ศาลาการเปรี ย ญ กว้ า ง 13 เมตร ยาว 24 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ.2507 3. กุฏิสงฆ์ จ�ำนวน 3 หลัง เป็นอาคารไม้ 4. ศาลาอเนกประสงค์ กว้าง 13 เมตร ยาว 21 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ.2533 5. ศาลาอเนกประสงค์ จ�ำนวน 1 หลัง สร้างด้วยคอนกรีต

ล�ำดับเจ้าอาวาส รูปที่ 1 พระมี รูปที่ 2 พระเวิน พ.ศ. 2425-2438 รูปที่ 3 พระโท พ.ศ. 2438-2476 รูปที่ 4 พระเดช พ.ศ. 2476-2484 รูปที่ 5 พระบุญมา พ.ศ. 2484-2489 รูปที่ 6 พระค�ำหล้า ล�ำเลิศ รูปที่ 7 พระครูสภุ ทั รธรรมคุณ พ.ศ. 25002536 รูปที่ 8 พระบุญหลายอสฺสโว พ.ศ. 2536 - พ.ศ. 2542 รู ป ที่ 9 พระครู สุ ภั ท รธรรมานุ กิ จ พ.ศ. 2544-ปัจจุบัน

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

(2

).indd 161

161

5/6/2561 16:56:00

นา


A large province in the Northeast of Thailand. Ubon Ratchathani has many interesting and beautiful.

ubon 2 page.indd 162

7/6/2561 16:53:29


ubon 2 page.indd 163

7/6/2561 16:53:37


REGIONS

OF

UBON RATCHATHANI

สามพันโบก @อ� ำ เภอโพธิ์ ไ ทร

อุ ท ยานแห่ ง ชาติ

ผาแต้ ม

@อ� ำ เภอโขงเจี ย ม อ� ำ เภอศรี เ มื อ งใหม่ และ อ� ำ เภอโพธิ์ ไ ทร อุ ท ยานเปิ ด ต้ อ นรั บ นั ก ท่ อ งเที่ ย วตลอดปี

อุ ท ยานแห่ ง ชาติ

น�้ ำ ตก

@อ� ำ เภอโขงเจี ย ม และ อ� ำ เภอสิ ริ น ธร ช่ ว งที่ ส วยงามที่ สุ ด คื อ ปลายฝนต้ น หนาว

@ อ� ำ เภอบุ ณ ฑริ ก

แก่ง ตะนะ 164

ห้วยทรายใหญ่ น�้ ำ ตกจะมี น�้ ำ มากเฉพาะฤดู ฝ น

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

Ads Ubon.indd 164

07/06/61 03:53:30 PM


อ�ำเภอในจังหวัดอุบลราชธานี à¢ÁÃÒ° ¹ÒµÒÅ ¡Ø´¢ŒÒǻ؇¹

侸Ôìä·Ã

µÃСÒþת¼Å

ÈÃÕàÁ×ͧãËÁ‹

Á‹Ç§ÊÒÁÊÔº ⢧à¨ÕÂÁ

àËÅ‹ÒàÊ×Íâ¡Œ¡

à¢×èͧã¹

µÒÅÊØÁ

´Í¹Á´á´§

àÁ×ͧÍغÅÃÒª¸Ò¹Õ

ที่ตั้งและอาณาเขต อุบลราชธานี (Ubon Ratchathani) เป็น จังหวัดในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง มีพื้นที่ประมาณ 16,112 ตารางกิโลเมตร (10.6 ล้านไร่) คิดเป็นร้อยละ 9.5 ของพื้นที่ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ใหญ่เป็นอันดับที่ 2 รองจาก นครราชสี ม า ห่ า งจากกรุ ง เทพมหานคร ทางรถยนต์ ประมาณ 630 กิโลเมตร

ÊÇ‹Ò§ÇÕÃÐǧÈ

ÇÒÃÔ¹ªÓÃÒº

ÊÔÃÔ¹¸Ã

¹ÒàÂÕÂ

ÊÓâç

ทิศเหนือ ติดต่อกับจังหวัดอ�ำนาจเจริญ และ จังหวัด ยโสธร ทิศตะวันออก ติดต่อกับสาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว (สปป.ลาว) มีล�ำน�้ำโขงเป็นแนวกั้นเขตแดน ทิศใต้ ติดต่อกับราชอาณาจักรกัมพูชา และจังหวัด ศรีสะเกษ ทิศตะวันตก ติดต่อกับจังหวัด ศรีสะเกษ และจังหวัดยโสธร

¾ÔºÙÅÁѧÊÒËÒÃ

à´ªÍØ´Á ·Ø‹§ÈÃÕÍØ´Á

ºØ³±ÃÔ¡

¹éӢ؋¹

¹éÓÂ×¹

¹Ò¨ÐËÅÇÂ

SNAP IT &

WACTH

เว็บไซต์จังหวัดอุบลราชธานี UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

Ads Ubon.indd 165

165

07/06/61 03:52:59 PM


อิ่มอร่อยมะม่วงกวน ฝีมือล้วนปอกล้วยสาน เพลงขอทานประจ�ำถิ่น ศิลปินกระเดื่องแดน”

W O R K LI F E

บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล

องค์การบริหารส่วนต�ำบลหนามแท่ง นายบัวทอง แสงเขตต์ นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลหนามแท่ง ประวัติความเป็นมา ความเป็นมาของต�ำบลหนามแท่ง ค�ำว่า “หนามแท่ง” มีที่มาจาก การที่สมัยก่อน พื้นที่บริเวณนี้มีลักษณะภูมิประเทศโดยทั่วไป เป็นพื้นที่ราบ หุบเขา พื้นที่ป่าส่วนใหญ่เป็นป่าโปร่งมีต้นไม้ใหญ่ไม่หนาแน่นนัก และ ที่ส�ำคัญ คือ มีต้นหนามแท่งอยู่มากมายกระจายทั่วบริเวณ และเนื่องจาก ต�ำบลหนามแท่ง อยู่ห่างจากตัวอ�ำเภอศรีเมืองใหม่ มาทางทิศตะวันออก ประมาณ 32 กิโลเมตร มีเส้นทางเกวียน เพื่อใช้เป็นเส้นทางสัญจรไปมายัง อ�ำเภอศรีเมืองใหม่ และจังหวัดอุบลราชธานี เมื่อมีผู้คนเริ่มเข้ามาอยู่อาศัย เพื่อท�ำมาหากินและตั้งรกราก เป็นชุมชนมากขึ้นมา ผู้คนจะพูดกันติดปาก โดยเรียกชาวบ้านที่เดินทางมาจากชุนชนบริเวณนี้ว่า “ชาวหนามแท่ง” ต่อมาเมื่อมีการจัดระเบียบการปกครองท้องที่ขึ้น จึงได้รวบรวมเอาหมู่บ้าน ชุมชนต่างๆ บริเวณนั้น ตั้งขึ้นเป็น “ต�ำบลหนามแท่ง” โดยได้ตั้งชื่อต�ำบล ตามชื่อของหมู่บ้าน “หนามแท่ง” หมู่ที่ 1 ในปัจจุบัน

ค์ ค์ มรงค์

166

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

4

.indd 166

6/6/2561 10:33:17


ตั้งอยู่ หมู่ที่ 2 บ้านาคอ ต�ำบลหนามแท่ง อ�ำเภอศรีเมืองใหม่ จังหวัดอุบลราชธานี เนื้อที่ 410 ตารางกิโลเมตร (256,250 ไร่) ทิศเหนือ ติดต่อต�ำบลส�ำโรง อ�ำเภอโพธิ์ไทร จังหวัดอุบลราชธานี ทิ ศ ใต้ ติ ด ต่ อ ต� ำ บลนาโพธิ์ ก ลาง อ� ำ เภอ โขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี ทิศตะวันออก ติดต่อสาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว ทิศตะวันตก ติดต่อต�ำบลนาค�ำ และต�ำบลนาเลิน อ�ำเภอศรีเมืองใหม่ จังหวัดอุบลราชธานี จ�ำนวนหมู่บ้านในเขตองค์การบริหารส่วน ต�ำบลหนามแท่ง ทั้งหมด 12 หมู่บ้าน หมู่ที่ 1 บ้านหนามแท่ง หมู่ที่ 2 บ้านนาคอ หมู่ที่ 3 บ้านชาด หมู่ที่ 4 บ้านโหง่นขาม หมู่ที่ 5 บ้านดงนา หมู่ที่ 6 บ้านหุ่งหลวง หมู่ที่ 7 บ้านนาทอย หมู่ที่ 8 บ้านสร้างถ่อ หมู่ที่ 9 บ้านดงบาก

หมู่ที่ 10 บ้านพะเนียด หมู่ที่ 11 บ้านหนามแท่งน้อย หมู่ที่ 12 บ้านไร่ศรีสุข องค์การบริหารส่วนต�ำบลหนามแท่งมีพื้นที่ ป่าชุมชนที่สามารถน�ำมาใช้ประโยชน์ได้ เช่น หา ของป่าและยังเป็นแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ เชิ ง อนุ รั ก ษ์ ส ภาพดิ น มี ค วามเหมาะสมแก่ ก าร เพาะปลู ก พื ช เศรษฐกิ จ เช่ น ยางพารา มันส�ำปะหลัง ข้าว มะม่วงหิมพานต์ ด้านการศึกษา มีศูนย์อบรมเด็กเล็กก่อนวัยเรียนที่ได้มาตรฐาน ที่ศูนย์กลางองค์การบริหารส่วนต�ำบลหนามแท่ง แต่ อั ต ราการศึ ก ษาต่ อ ในระดั บ อุ ด มศึ ก ษา ค่อนข้างต�่ำ ทางด้านวัฒนธรรมและศาสนาคนใน ชุมชนนับถือศาสนาพุทธและมี บุญประเพณีใน ท้องถิ่นที่สืบต่อกันมายาวนาน เช่น ประเพณีบุญ พระเวสสั น ดรชาดก ประเพณี เ นาถ�้ ำ พระ ประเพณีเนาถ�้ำพระเจ้าคอกุด เนาพระเจ้าใหญ่ องค์ตื้อ ทางด้านสาธารณสุข ทุกหมู่บ้านในชุมชน จะได้รับการดูแลด้านสาธารณสุขพื้นฐานตั้งแต่ แรกเกิด - ตาย โดยแต่ละหมู่บ้านจะมี อสม. ประจ�ำหมู่บ้าน ด้านสังคม คนในชุมชนให้ความ ร่วมมือในการท�ำกิจกรรมร่วมกันเป็นอย่างดีและ มีหลักประกันจากกองทุนสวัสดิการของชุมชน

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

4

.indd 167

167

6/6/2561 10:33:22


แหล่งท่องเที่ยวต�ำบลหนามแท่ง • ผานางคอย ตั้งอยู่หมู่ที่ 5 บ้านดงนา ต�ำบลหนามแท่ง อ�ำเภอศรีเมืองใหม่ จังหวัดอุบลราชธานี ฤดูท่องเที่ยวหน้าหนาว • ภูข้าวโพด ตั้งอยู่หมู่ที่ 3 บ้านชาด ต�ำบลหนามแท่ง อ�ำเภอศรีเมืองใหม่ จังหวัดอุบลราชธานี ฤดูท่องเที่ยวหน้าหนาว

168

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

4

.indd 168

6/6/2561 10:33:29


UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

4

.indd 169

169

6/6/2561 10:33:35


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดแก้วมงคล พระครูโสภณนพรัตน์ เจ้าอาวาสวัดแก้วมงคล เจ้าคณะต�ำบลดอนใหญ่ ประวัติความเป็นมา วัดแก้วมงคล ตั้งอยู่ที่ต�ำบลดอนใหญ่ อ�ำเภอ ศรีเมืองใหม่ จังหวัดอุบลราชธานี เริ่มก่อสร้างเมื่อ พ.ศ. 2525 โดยมีหลวงปู่คูณ จากวัดดอนสุวรรณ บ้านดอนน�้ำค�ำ ต�ำบลค�ำไหล อ�ำเภอศรีเมืองใหม่ จังหวัดอุบลราชธานี เป็นผู้น�ำชาวบ้านสร้างใน ที่ดินของพ่อใหญ่ชม แม่ดอกแก้ว จันละคน เนื้อที่ 8 ไร่เศษ หลังจากนั้นประมาณ 3 ปี ท่านย้ายไป อยู่ที่อื่น 170

(2

ต่อมา พระอาจารย์วิบูลย์ สมาจาโร จาก วัดขวัญมงคล ต�ำบลวาริน อ�ำเภอศรีเมืองใหม่ จั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี เป็ น ผู ้ น� ำ ชาวบ้ า นในการ สร้างวัดต่อ แต่ท่านก็มรณภาพไปก่อนที่จะได้ตั้ง เป็ น วั ด สมบู ร ณ์ จากนั้ น ชาวบ้ า นได้ นิ ม นต์ พระอาจารย์เลิศมงคล กิตฺติวณฺโณ จากอ�ำเภอ วารินช�ำราบ จังหวัดอุบลราชธานี มาเป็นผู้น�ำ ชาวบ้ า นสร้ า งวั ด อี ก ครั้ ง โดยได้ รั บ อนุ ญ าตให้ สร้างวัด เมื่อวันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2543 และ ได้รับอนุญาตตั้งวัดเมื่อวันที่ 18 เมษายน พ.ศ. 2546 ชื่อว่า “วัดแก้วมงคล” เหตุที่ตั้งชื่อนี้เพื่อ

ให้เป็นเกียรติประวัติและเป็นมงคลแก่ผู้ที่เป็น เจ้าของทีด่ นิ ทีบ่ ริจาคให้สร้างเป็นวัด คือ แม่ดอกแก้ว ต่อมาพระอาจารย์เลิศมงคล ได้ลาสิกขาบทไป ชาวบ้านได้ไปนิมนต์ พระใบฎีกามงคล กนฺตสีโล (ปัจจุบัน พระครูโสภณนพรัตน์) จากวัดแก้วรังษี ต� ำ บลดอนใหญ่ อ� ำ เภอศรี เ มื อ งใหม่ จั ง หวั ด อุบลราชธานี มาเป็นเจ้าอาวาส โดยได้รับการ แต่งตั้ง เมื่อวันที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2548 ซึ่งเป็น เจ้าอาวาสรูปแรก หลังจากได้รับการตั้งเป็นวัดมา จนถึงปัจจุบัน (พ.ศ. 2561)

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

).indd 170

6/6/2561 10:42:12


อาคารเสนาสนะ กุฏิสงฆ์ 1 สร้างเมื่อ พ.ศ. 2534 ขนาดกว้าง 9 เมตร ยาว 20 เมตร ท�ำเป็น 2 ชั้น ชั้นบนสร้าง ด้วยไม้เนื้อแข็ง หลังคามุงด้วยกระเบื้องลอนคู่ ชั้ น ล่ า งสร้ า งด้ ว ยปู น โดยพระอาจารย์ วิ บู ล ย์ สมาจาโร ได้น�ำชาวบ้านสร้าง ศาลาการเปรี ย ญ สร้ า งเมื่ อ พ.ศ. 2543 ขนาดกว้าง 11 เมตร ยาว 21 เมตร ลักษณะทรง ไทยชั้ น เดี ย ว โครงสร้ า งคอนกรี ต เสริ ม เหล็ ก พื้นคอนกรีตปูหินขัด เสาปูนโรมัน โครงหลังคา เหล็ก มุงด้วยกระเบื้องลอนคู่พระอาจารย์เลิศ มงคล กิตฺติวณฺโณ ได้น�ำชาวบ้านก่อสร้าง พระประธานในศาลาการเปรี ย ญ ชื่ อ “พระรั ต นมงคล” เป็ น พระพุ ท ธรู ป ที่ ท� ำ ด้ ว ย ทองเหลือง ปางมารวิชยั ขนาดหน้าตักกว้าง 38 นิว้ สูง 45 นิ้ว ซึ่งประดิษฐานอยู่ในศาลาการเปรียญ นายตี๋ นางต่อม ปลอดประดิษฐ์ เป็นผู้ที่น�ำมา ถวาย เมื่อ พ.ศ. 2533

กุฏิสงฆ์ 2 สร้างเมื่อ พ.ศ. 2558 ขนาดกว้าง 9 เมตร ยาว 12 เมตร ชั้นเดียว สร้างด้วยไม้ เนื้อแข็ง หลังคามุงด้วยกระเบื้องลอนคู่ พระครู โสภณนพรัตน์ ได้น�ำชาวบ้านสร้าง อุโบสถ (สิม) สร้างเมื่อ 9 มีนาคม พ.ศ. 2559 โดยมี พ ระครู ม งคลชยานุ รั ก ษ์ เจ้ า คณะ อ�ำเภอศรีเมืองใหม่ และนายอ�ำเภอศรีเมืองใหม่ เป็นประธาน ขนาดกว้าง 6 เมตร ยาว 12 เมตร ฐานและเอวขันธ์คอนกรีตเสริมเหล็ก เสาไม้เต็ง และไม้ แ ดง ปู พื้ น ไม้ แ ดง ฝาผนั ง ไม้ ต ะเคี ย น ท�ำเป็นลูกฟัก โครงหลังคาไม้เนื้อแข็ง มุงด้วย กระเบื้องเซรามิค ฝ้าเพดานไม้ตะเคียน ประตู หน้าต่าง ไม้ประดู่ (ยังไม่แล้วเสร็จ) พระพุทธรูป ในอุ โ สถท� ำ ด้ ว ยหิ น ทราย ปางปฐมเทศนา พระครูโสภณนพรัตน์ ได้น�ำชาวบ้านสร้าง

ประวัติเจ้าอาวาส พระครูโสภณนพรัตน์ ชี่อเดิม มงคล สกุล พืชหมอ เกิดวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ.2506 ที่บ้าน เลขที่ 31 ม.2 บ้ า นดอนใหญ่ ต.ดอนใหญ่ อ.ศรีเมืองใหม่ จ.อุบลราชธานี บิดานายบุญโฮง พืชหมอ มารดานางสุภีร์ น้อยแก้ว อุปสมบท เมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ.2527 พระอุปัชฌาย์พระครูโอภาสจิรวัฒน์ วัดศรีมงคล พระกรรมวาจาจารย์ พ ระครู รั ต นรั ง ษี พิ ทั ก ษ์ วัดแก้วรังษี พระอนุสาวนาจารย์พระครูมงคล วโรภาส วัดมิ่งมงคล UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

(2

).indd 171

171

6/6/2561 10:42:33


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดแก้วรังษี พระอธิการวิเชียร วิชฺชาธโร เจ้าอาวาสวัดแก้วรังษี

172

(2

ประวัติความเป็นมา

วั ด แก้ ว รั ง ษี หรื อ ที่ ช าวบ้ า นเรี ย กกั น ว่ า “วัดบ้านดอนใหญ่” ตั้งอยู่ที่หมู่ที่ 2 ต�ำบลดอน ใหญ่ อ�ำเภอศรีเมืองใหม่ (สมัยก่อน พ.ศ. 2500 เป็นอ�ำเภอโขงเจียม) จังหวัดอุบลราชธานี สังกัด คณะสงฆ์ ม หานิ ก าย วั ด แก้ ว รั ง สี ตั้ ง เมื่ อ พ.ศ. 2427 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อ พ.ศ. 2430 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 20 เมตร ยาว 40 เมตร ที่ดินเฉพาะที่ตั้งวัดมีเนื้อที่ 17 ไร่ 1 งาน 20 วา

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

).indd 172

6/6/2561 10:51:56


ประวัติอุโบสถหลังเก่า

อุโบสถหลังเก่าวัดแก้วรังษี สร้างเสร็จเมื่อปี พ.ศ. 2482 (ขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถานแล้ว) สิ้นทุนทรัพย์ในการสร้างสมัยนั้น 1,500 บาท (ขณะนั้นบ้านดอนใหญ่ขึ้นกับอ�ำเภอโขงเจียม) สมั ย นั้ น พ่ อ ถ่ า นเก่ ง ได้ น� ำ ชาวบ้ า นดอนใหญ่ ร่วมใจกันสร้างอุโบสถหลังนี้แทนอุโบสถหลังเดิม ที่สร้างด้วยการใช้เสาไม้มาท�ำเป็นผนังฝังเรียงกัน มีหลังคาเป็นไม้มีจารครูศรีเป็นนายช่างในการท�ำ โครงสร้าง และมีชา่ งนา ซึง่ เป็นช่างญวน เป็นผูท้ ำ� ลวดลายต่ า งๆ และเขี ย นภาพด้ า นในอุ โ บสถ ในสมัยนั้นมีพระจ�ำพรรษาอยู่เป็นจ�ำนวนมาก และเป็นแรงงานส�ำคัญในการก่อสร้าง เมื่อสร้าง เสร็จดีแล้ว จึงได้มีการจัดงานฉลองอย่างยิ่งใหญ่ มีการนิมนต์พระมาเทศน์ทั้งวันทั้งคืน ทั้งยังมี มหรสพฉลอง และเปิดใช้ท�ำสังฆกรรมอย่างเป็น ทางการ เมื่อปี พ.ศ. 2485

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

(2

).indd 173

173

6/6/2561 10:52:17


W O R K LI F E

บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล

องค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองแสงใหญ่ “แหล่งไม้กวาดวังใหม่ หนองแสง-น้อย ใหญ่ วังอ่าง ดงบากวัฒนธรรมดี ผ้ากาบบัวสวยหลากสีดงมะไฟน�้ำตกสวยใสแซหัวแมว ไหลมองเรือแจวชาววังสะแบง” คือค�ำขวัญขององค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองแสงใหญ่

นายประเสริ ฐ ทองค�ำ นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองแสงใหญ่ ข้อมูลทั่วไป องค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองแสงใหญ่ หมู่ 2 ต�ำบลหนองแสงใหญ่ อ�ำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี 34220 โทรศัพท์ 045-473076, 045-473077 (กองคลัง) โทรสาร 045-473076 Website : www.nongsangyai.go.th E-mail : nongsaengyai@ hotmail.com ปี พ.ศ.2506 ทางราชการได้ยกฐานะบ้านหนองแสงใหญ่ขึ้นเป็นต�ำบลมีช่ือว่า ต�ำบล หนองแสงใหญ่ ประกอบด้วยหมูบ่ า้ นต่างๆ 9 หมูบ่ า้ น คือ บ้านหนองแสงใหญ่ บ้านวังสะแบงใต้ บ้ า นวั ง สะแบงเหนื อ บ้ า นดงบาก บ้ า นดงมะไฟ บ้ า นหนองแสงน้ อ ย บ้ า นวั ง อ่ า ง บ้านกุดเรือค�ำ และบ้านวังใหม่ ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย และได้รับยกฐานะจาก สภาต�ำบลหนองแสงใหญ่เป็น องค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองแสงใหญ่ เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม 2542 ต�ำบลหนองแสงใหญ่ มีพื้นที่ประมาณ 42,386 ไร่ 1 งาน หรือ 67.818 ตารางกิโลเมตร มีจ�ำนวนประชากรทั้งสิ้น 5,635 คน จ�ำแนกเป็นชาย 2,824 คน หญิง 2,811 คน มีความหนาแน่นของประชากร เฉลี่ย 83.09 คนต่อตารางกิโลเมตร และมีจ�ำนวน ครัวเรือนทั้งสิ้น 1,492 ครัวเรือน

ผลการพัฒนา

การด�ำเนินงานด้านเศรษฐกิจ มีการร่วมกลุ่ม ตามโครงการเศรษฐกิ จ ชุ ม ชนให้ กั บ ราษฎรใน หมู่บ้าน เช่น ท�ำไม้กวาดดอกหญ้า ท�ำปุ๋ยเพื่อ การเกษตร เลี้ยงโค การด� ำ เนิ น งานด้ า นสั ง คม เน้ น การพั ฒ นา ทางด้ า นกายภาพเกี่ ย วกั บ คุ ณ ภาพชี วิ ต ของ ประชาชน การพ่นหมอกควันตามหมู่บ้านและ ชุมชนที่เห็นว่าเสี่ยงต่อการเป็นโรคไข้เลือดออก

174

.

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

2

.indd 174

6/6/2561 10:57:38


ด้านด�ำเนินงานด้านโครงสร้างพื้นฐานเน้น

การพัฒนาด้านกายภาพเกี่ยวกับสาธารณูปโภค สาธารณูปการต่างๆ เพื่อยกระดับความเป็นอยู่ และอ� ำ นวยความสะดวกในชุ ม ชน เช่ น ถนน ประปา ปรับปรุงระบบไฟฟ้า เป็นต้น การด�ำเนินงานด้านพัฒนาแหล่งน�้ำ เน้นการ พัฒนาแหล่งน�้ำเพื่อการอุปโภค - บริโภค โดย การขยายเขตและก่อสร้างระบบประปาหมู่บ้าน การด�ำเนินงานด้านสาธารณสุข ส่งเสริมให้ ราษฎร มีสุขภาพพลานามัยที่สมบูรณ์ รณรงค์ ให้ความรู้ด้านการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนขั บ้า ก�ำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายตามสถานที่ต่างๆ และอุดหนุนงานด้านสาธารณสุข การด� ำ เนิ น งานด้ า นการเมื อ ง ส่ ง เสริ ม ให้ ประชาชนมี ส ่ ว นร่ ว มในการพั ฒ นาต� ำ บล ในรู ป แบบของประชาคมต่ า งๆ การด�ำเนินงานด้านการศึกษา ศาสนา และ วัฒนธรรม จัดกิจกรรมวันเด็ก ส่งเสริมการจัดงาน

ประเพณีเก่าแก่ของท้องถิ่น และส่งเสริมกิจกรรม วันส�ำคัญทางศาสนา การด� ำ เนิ น งานด้ า นทรั พ ยากรธรรมชาติ และสิ่ ง แวดล้ อ ม ด� ำ เนิ น การปลู ก ป่ า ชุ ม ชน การรณรงค์ ก ารคั ด แยกขยะ และรณรงค์ ท� ำ ความสะอาดใหญ่ (Big Cleaning Day) เดือนละครั้ง

แหล่งท่องเที่ยว

น�้ ำ ตกแซหั ว แมว เป็ น แหล่ ง น�้ ำ ธรรมชาติ ของล�ำห้วยตุงลุง ตั้งอยู่ หมู่ที่ 8 บ้านกุดเรือค�ำ ต� ำ บล หนองแสงใหญ่ อ� ำ เภอโขงเจี ย ม เส้นทางพิบูล – โขงเจียม กิโลเมตรที่ 20 เลี้ยว เข้าหมู่บ้านกุดเรือค�ำ ก่อนถึงหมู่บ้าน ประมาณ 3 กิโลเมตร UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.

2

.indd 175

175

6/6/2561 10:57:42


W O R K LI F E

บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล

องค์การบริหารส่วนต�ำบลนาโพธิ์กลาง “เป็นต�ำบลต้นแบบที่น่าท่องเที่ยวและน่าอยู่ มุ่งสู่การค้ากับประเทศเพื่อนบ้าน ส่งเสริมผลิตภัณฑ์ชุมชน และเกษตรอินทรีย์ มีคุณภาพชีวิต เป็นมิตรกับธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พร้อมสืบสานวัฒนธรรมประเพณีดั้งเดิมของท้องถิ่น” คือวิสัยทัศน์ขององค์การบริหารส่วนต�ำบลนาโพธิ์กลาง

นายภิญโญ บุญยงค์

นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลนาโพธิ์กลาง ประวั ติ ค วามเป็ น มา ต�ำบลนาโพธิ์กลาง เป็น 1 ใน 5 ต�ำบลของอ�ำเภอโขงเจียม มีพื้นที่ ประมาณ 261 ตารางกิโลเมตร (163,125 ไร่) ตั้งอยู่ทางทิศเหนือของ ที่ว่าการอ�ำเภอโขงเจียม ที่ท�ำการองค์การบริหารส่วนต�ำบลอยู่ห่างจาก อ�ำเภอโขงเจียม 38 กิโลเมตร แต่เดิมนั้นมีชื่อว่า “หนองสันโด” มีฐานะ เป็นอ�ำเภอแกงแขนงโขงเจียม ซึ่งแปลว่า “งาช้าง” มีนายอ�ำเภอชื่อ ท้าวบุญธิสาร วงค์เจียม ต่อมาอ�ำเภอแกงแขนงโขงเจียม ได้ย้ายไปตั้งที่ หมู่บ้านสุวรรณวารี คือ อ�ำเภอโขงเจียมในปัจจุบัน ต่อมาบ้านหนองสันโด เปลีย่ นชือ่ เป็น “บ้านนาโพธิก์ ลาง” ยกระดับเป็นต�ำบลขึน้ ต่ออ�ำเภอโขงเจียม ชาวบ้านนาโพธิ์กลาง เดิมอยู่ตามที่ราบลุ่มแม่น�้ำโขง และมีบางส่วนอพยพ มาจากประเทศลาว โดยใช้ช้างเป็นพาหนะ จนมาถึงหนองสันโดบริเวณ หนองตาเหียว จึงได้ตั้งหลักแหล่งท�ำมาหากิน ในอดีตมีชนชาวพื้นเมือง ที่มาอาศัยอยู่จ�ำนวน 4 เผ่า ได้แก่ ขอม ส่วย ข่า และภูไท ปัจจุบัน วัฒนธรรมของเผ่าต่างๆ ได้เปลี่ยนและผสมผสานกันเป็นวัฒนธรรม ไทย - ลาว(อีสาน) ส่วนวัฒนธรรมพื้นถิ่นดั้งเดิม ยังพบได้กับผู้เฒ่าผู้แก่ ที่สืบทอดมาจากบรรพบุรุษ

นายประเวส หอมชื่น

ปลัดองค์การบริหารส่วนต�ำบลนาโพธิ์กลาง 176

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

.indd 176

29/05/61 05:17:38 PM


“ ตะวั น ขึ้ น ก่ อ นใครในสยาม ” ผาชะนะได เป็นเพิงผาที่ตั้งอยู่ปลายตะวันออกสุดของ ประเทศไทย (ลองติจูดที่ 105 องศา 37 ลิปดา 17 พิ ลิ ป ดาตะวั น ออก) เป็ น จุ ด ที่ เ ห็ น ตะวั น ขึ้ น ก่ อ นใครในสยาม และช่ ว งปลายฝนต้ น หนาวมีทะเลหมอกยามเช้าให้สัมผัสอีกด้วย

ศูนย์บริการนักท่องเที่ยว อบต.นาโพธิ์กลาง ติดต่อ : 045-381063 UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 177

177

29/05/61 05:18:13 PM


น�้ ำ ตกห้ ว ยพอก เป็นน�้ำตกขนาดเล็กเกิดจากล�ำห้วยพอกที่ไหลลัดเลาะมาตามป่าดิบแล้ง ก่อนจะมาไหลตกลงบนหน้าผาหินเป็นชั้นๆ ขนาดเล็ก และไหลลงสู่ป่าด้านล่าง ลงสู่แม่น�้ำโขง ถูกล้อมลอบไปด้วยพรรณไม้ต่างๆ นาๆ การเดินทางก็ไม่ล�ำบาก ห่างจากลานกางเต็นท์บริเวณฐานปฏิบัติการดงนาทามแค่ 200 เมตร สามารถ เที่ยวชมได้ตั้งแต่เดือน กรกฎาคม - ธันวาคม ของทุกปี

น�้ ำ ตกแสงจั น ทร์ หรื อ น�้ ำ ตกรู เป็นน�้ำตกขนาดเล็ก เกิดจากล�ำห้วยท่าล้งไหลไปตามพลาญหินทราย แล้ว ไหลลอดผ่ า นหน้ า ผาที่ มี ลั ก ษณะเป็ น รู ข นาดใหญ่ อั น เกิ ด จากแรงกั ด เซาะ ของสายน�้ำ บ้างก็เรียกว่า “น�้ำตกรู” สายน�้ำที่ไหลรอดรูตกลงเป็นละออง สีขาวนวลมองดูคล้ายแสงจันทร์สาดส่องลงมาสู่พื้นโลก ชาวบ้านจึงเรียกว่า “น�ำ้ ตกแสงจันทร์” สามารถมาสัมผัสความงามได้ในช่วงเดือนมิถนุ ายน - ธันวาคม

ป่ า ดงนาทาม เป็นป่าดิบแล้งผืนใหญ่ พื้นที่ป่าราว 55,000 ไร่ เป็นที่อาศัยของสัตว์ป่า นานาชนิด เป็นจุดก�ำเนิดต้นน�้ำล�ำห้วยหล่อเลี้ยงชุมชนหลายสาย มีทัศนียภาพ ความงามทางธรรมชาติอันหลากหลาย ชมความงามของทิวเขา เสาหินทราย แมกไม้และสายน�้ำ ลานหิน - ทุ่งดอกไม้ ช่วงปลายฝนต้นหนาวราวเดือน สิ ง หาคม - ธั น วาคม ผลาญหิ น หรื อ ลานหิ น ในป่ า ดงนาทามจะกลายเป็ น ทุ่งดอกไม้ป่าหลากสีสัน เหมาะแก่การเดินป่าศึกษาธรรมชาติ 178

เป็นปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดจากการกัดเซาะของน�้ำ สายลม และ แสงแดด ต่อเนือ่ งเป็นเวลาหลายร้อยล้านปี มีลกั ษณะเป็นแท่งหินตัง้ ขึน้ มีสว่ นบน เป็นแผ่นหินวางไม่ติดกันมองดูคล้ายดอกเห็ด ตั้งคู่กันบนเนินหินทราย ชาวบ้าน เรียกเสาหินที่คล้ายดอกเห็ดนี้ว่า “เสาเฉลียงคู่’ และตรงเนินเสาเฉลียงคู่นี้ ยังเป็นจุดที่ชมพระอาทิตย์ตกดินที่สวยที่สุดของดงนาทามอีกด้วย

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

.indd 178

29/05/61 05:18:30 PM


ตั ก บาตรรั บ ตะวั น ใหม่ ณ ผาชะนะได

ร้ า นค้ า ริ ม ทาง

วั น สงกรานต์

สื บ ชะตาแม่ น�้ ำ : วั น ลอยกระทง UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 179

179

29/05/61 05:18:49 PM


แม่ น�้ ำ โขง

ดอกดุ สิ ต า

ดอกสร้ อ ยสุ ว รรณา

ทุ ่ ง ดอกหญ้ า 180

ดอกพู ่ ม ่ ว ง

เถาวั ล ย์ ยั ก ษ์

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

.indd 180

29/05/61 เถาวัลย์ยักษ์ เป็นเถาวัลย์ท่ีมีขนาดใหญ่อายุราว ๔๐๐ ปี และมีต�ำนาน

05:19:16 PM


สินค้าพื้นเมือง และของที่ระลึก

กลุ่มผ้าฝ้ายทอมือย้อมสีธรรมชาติ

ผ้าคลุมไหล่กาบบัวลายจก ผ้าปูโต๊ะ ผ้าขาวม้า ผ้าทอย้อมสีธรรมชาติ

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 181

181

29/05/61 05:19:32 PM


อิ่มอร่อยมะม่วงกวน ฝีมือล้วนปอกล้วยสาน เพลงขอทานประจ�ำถิ่น ศิลปินกระเดื่องแดน”

W O R K LI F E

บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล

องค์การบริหารส่วนต�ำบลห้วยไผ่ นายวิจักร ฐิตะสาร

นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลห้วยไผ่

ข้อมูลทั่วไป องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บลห้ ว ยไผ่ ตั้ ง อยู ่ ท างทิ ศ เหนื อ ของอ� ำ เภอ โขงเจียม อยู่ห่างจาก อ�ำเภอโขงเจียม 8 กิโลเมตร เนื้อที่มีเนื้อที่โดย ประมาณ 120.32 ตารางกิโลเมตร ลักษณะภูมิประเทศ สภาพภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นที่ราบ มีแม่น�้ำโขง ไหลผ่านตลอดทั้งปี ลักษณะดินส่วนใหญ่ เป็นดินทรายปนหิน จึงเหมาะ แก่ ก ารท� ำ เกษตรกรรมบ้ า งเป็ น บางส่ ว นและเลี้ ย งสั ต ว์ ประกอบกั บ ภูมิประเทศเป็น เขตร้อนชื้น และมีปริมาณน�้ำฝนที่เหมาะแก่การเพาะปลูก

ค์ ค์ มรงค์

หมู่ที่ 1 บ้านห้วยไผ่ หมู่ที่ 3 บ้านกุ่ม หมู่ที่ 5 บ้านท่าล้ง หมู่ที่ 7 บ้านหนองผือน้อย หมู่ที่ 9 บ้านห้วยหมากเหนือ

หมู่ที่ 2 บ้านห้วยหมาก หมู่ที่ 4 บ้านตามุย หมู่ที่ 6 บ้านหนองฆ้อง หมู่ที่ 8 บ้านถ้าป่อง หมู่ที่ 10 บ้านห้วยไผ่

เขตการปกครอง ทิ ศ เหนื อ จดกั บ องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บลห้ ว ยยาง และองค์ ก ารบริ ห าร

ส่ ว นต� ำ บลนาโพธิ์ ก ลาง ทิ ศ ใต้ จดกั บ องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บลโขงเจี ย ม ทิ ศ ตะวั น ออก จดกั บ แม่ น�้ ำ โขง สาธารณรั ฐ ประชาธิ ป ไตยประชาชนลาว ทิ ศ ตะวั น ตก จดกั บ องค์ ก ารบริ ห าร ส่วนต�ำบลหนองแสงใหญ่ 182

.

(2

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

).indd 182

6/6/2561 11:01:58


แหล่งท่องเที่ยว แหล่งท่องเที่ยวในเขตต�ำบลห้วยไผ่ ได้แก่ ผาแต้ ม เสาเฉลี ย ง ชุ ม ชนเผาบรู น�้ ำ ตกวั ง ผา หมู ่ บ ้ า นเชิ ง เกษตร หาดวิ จิ ต รา เก้ า พั น โบก เป็นต้น

สถานที่ส�ำคัญ อุทยานแห่งชาติผาแต้ม

จุ ด ช ม บั้ ง ไ ฟ พ ญ า น า ค บ ้ า น ต า มุ ย , บ้านท่าล้ง, บ้านกุ่ม สถานปฏิ บั ติ ธ รรม ถ�้ ำ วั ง ผาพญานาค บ้านห้วยหมาก แก่งพิศมัย บ้านกุ่ม ชุมชนเผ่าบรู บ้านท่าล้ง เก้าพันโบก บ้านท่าล้ง

สินค้าพื้นเมืองและของที่ระลึก ผลิ ต ภั น ณ์ สิ น ค้ า ชุ ม ชน เครื่ อ งจั ก สาน กระติ๊บข้าว บ้านท่าล้ง ผ้าฝ้ายย้อมสีธรรมชาติบา้ นกุม่ หน่อไม้ปบ๊ิ ดอง บ้านตามุย สวนเกษตร ผลไม้ เช่น สวนล�ำใย, สวนมะขาม หวาน, สวนส้มโอ บ้านตามุย สวนเกษตร ผลไม้ สวนเงาะ บ้านหนองฆ้อง

องค์การบริหารส่วนต�ำบลห้วยไผ่

เว็บไซต์ : http://www.huaypaiubon.go.th/ UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.

(2

).indd 183

183

6/6/2561 11:02:05


อิ่มอร่อยมะม่วงกวน ฝีมือล้วนปอกล้วยสาน เพลงขอทานประจ�ำถิ่น ศิลปินกระเดื่องแดน”

W O R K LI F E

บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล

องค์การบริหารส่วนต�ำบลห้วยยาง “พัฒนาองค์การบริการส่วนต�ำบลห้วยยาง ให้มีความน่าอยู่อย่างยั่งยืน ควบคู่ธรรมาภิบาล เน้นสวัสดิการคุณภาพชีวิต ละภารกิจจัดการศึกษา พัฒนารักษาสิ่งแวดล้อม น้อมน�ำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” คือวิสัยทัศน์ขององค์การบริหารส่วนต�ำบลห้วยยาง

นายค�ำแดง เกษชาติ นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลห้วยยาง

ประวัติความเป็นมา ส� ำ นั ก งานที่ ท� ำ การองค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บลห้ ว ยยาง ตั้ ง อยู ่ ที่ บ้านหนองฮี หมู่ 2 องค์การบริหารส่วนต�ำบลห้วยยาง อ�ำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี มีเนื้อที่ 37 ไร่ โดยประมาณห่างจากที่ว่าการอ�ำเภอ โขงเจียม ประมาณ 16.7 กิโลเมตร ห่างจากอ�ำเภอเมืองอุบลราชธานี ประมาณ 102 กิโลเมตร และห่างจากเมืองหลวง (กรุงเทพมหานคร) ประมาณ 720 กิโลเมตร องค์การบริหารส่วนต�ำบลห้วยยาง มีพนื้ ทีท่ งั้ หมดประมาณ 140 ตาราง กิโลเมตร หรือประมาณ 87,500 ไร่ แบ่งเขตการปกครองออกเป็นหมู่บ้าน มีทั้งหมด 11 หมู่บ้าน หมู่ที่ 1 ห้วยยาง หมู่ที่ 2 หนองฮี หมู่ที่ 3 นาบัว หมู่ที่ 4 โพนแพง หมู่ที่ 5 ดงดิบ หมู่ที่ 6 ดงแถบ หมู่ที่ 7 บะไห หมู่ที่ 8 เหล่าเจริญ หมู่ที่ 9 นาบัว หมู่ที่ 10 ดงแถบ หมู่ที่ 11 นาดอนใหญ่

ค์ ค์ มรงค์

นางพนิตนันท์ วีสเพ็ญ ปลัดองค์การบริหารส่วนต�ำบลห้วยยาง 184

.

(2

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

).indd 184

6/6/2561 11:15:15


จ�ำนวนประชากรในเขตองค์การบริหารส่วน ต�ำบลห้วยยาง ณ เดือนมกราคม พ.ศ. 2560 มีจ�ำนวน 8,724 คน เป็นชาย 4,468 คน และ หญิง จ�ำนวน 4,256 คน อัตราการเจริญเติบโต ของประชากรในพื้นที่องค์การบริหารส่วนต�ำบล ห้วยยางมีการเปลี่ยนแปลงจ�ำนวนประชากรลด ลงเพียงเล็กน้อยเท่านั้น ปัจจุบันองค์การบริหาร ส่วนต�ำบลห้วยยางมีประชาชนช่วงอายุ 60 ปีขึ้น ไปจ�ำนวน 847 คน จ�ำนวนผู้สูงอายุจ�ำแนกตาม หมู่บ้าน

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.

(2

).indd 185

185

6/6/2561 11:15:29


การศึกษา องค์การบริหารส่วนต�ำบลห้วยยางให้ความ ส�ำคัญกับการศึกษาของประชาชนโดย มีภารกิจ 3 ด้าน ดังนี้ 1. การจัดการศึกษาปฐมวัย 2. การจัดการส่งเสริมกีฬา นันทนาการและ กิจกรรมเด็กเยาวชน 3. การด�ำเนินงานด้านศาสนาศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณีและภูมิปัญญาท้องถิ่น ปัจจุบันองค์การบริหารส่วนต�ำบลห้วยยาง มีศูนย์พัฒนาเด็กเล็กก่อนวัยเรียนในสังกัดจ�ำนวน 6 แห่ ง ให้ ก ารศึ ก ษาในระดั บ ก่ อ นวั ย เรี ย น (อนุ บ าล) นอกจากนี้ ในองค์ ก ารบริ ห ารส่ ว น ต�ำบลห้วยยางยังมีโรงเรียนสังกัดการศึกษาของ เอกชน จ�ำนวน 1 โรง ศู น ย์ พั ฒ นาเด็ ก เล็ ก ก่ อ นวั ย เรี ย นในสั ง กั ด องค์การบริหารส่วนต�ำบลห้วยยาง 1. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองฮี 2. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาบัว 3. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านโพนแพง 4. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านดงดิบ 5. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบะไห 6. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านดงแถบ กลุ่มอาชีพ กลุ่มอาชีพไม้ไผ่ สถานที่ท่องเที่ยว ป่าดงสาละเมิน มีแหล่งท่องเที่ยว 3 แห่ง คือ น�้ำตกถ�้ำพวง น�้ำตกกุญจอ และน�้ำตกแสนเมือง

186

.

(2

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

).indd 186

6/6/2561 11:15:37


UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.

(2

).indd 187

187

6/6/2561 11:15:37


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดโขงเจียม พระสมุห์คนอง ปภสฺสโร

เจ้าอาวาสวัดโขงเจียม เจ้าคณะต�ำบลโขงเจียม ประวัติความเป็นมา วัดโขงเจียม ตั้งอยู่ที่ บ้านดานเก่า หมู่ที่ 1 ต� ำ บลโขงเจี ย ม อ� ำ เภอโขงเจี ย ม จั ง หวั ด อุบลราชธานี สังกัดคณะมหานิกาย ตั้งเมื่อ พ.ศ. 2392 เดิมชาวบ้านเรียกว่า “วัดบ้านด่านเก่า” ตามชื่อของหมู่บ้าน ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อวัดเป็น “วัดด่านปากมูล” โดยเอาชื่อบ้านและชื่อแม่น้�ำ มูลผสมกัน และในปี พ.ศ. 2482 ได้เปลี่ยนชื่อ วัดเป็น “วัดโขงเจียม” ตามชื่ออ�ำเภอโขงเจียม ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2518 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 30 เมตร ยาว 60 เมตร

188

(2

รายนามเจ้าอาวาส รูปที่ 1 พระครูฑพธิญาณ ญาณจาโร พ.ศ. 2392-2409 รูปที่ 2 พระเสือ สุชาโต พ.ศ. 2410-2429 รูปที่ 3 พระเครือ คุณวโร พ.ศ. 2430-2437 รูปที่ 4 พระลาสา อาสโภ พ.ศ. 2438-2450 รูปที่ 5 พระภูธร ภูริปญฺโญ พ.ศ. 24512464 รูปที่ 6 พระเมือง มหพฺพโล พ.ศ. 24652471 รูปที่ 7 พระครูท้าว ธมฺมทินโน พ.ศ. 24722481

รูปที่ 8 พระครูสุวรรณ วารีคณารักษ์ พ.ศ. 2482-2492 รูปที่ 9 พระครูปญ ั ญาวุฒวิ บิ ลู ย์ พ.ศ. 24932414 รูปที่ 10 พระครูรัตนวารีสมานคุณ พ.ศ. 2515-2533 รูปที่ 11 พระครูวรคุณโกศล พ.ศ. 25342559 รูปที่ 12 พระสมุห์คนอง ปภสฺสโร เจ้าอาวาสวัดโขงเจียมรูปปัจจุบัน และด�ำรง ต�ำแหน่งเจ้าคณะต�ำบลโขงเจียม

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

).indd 188

6/6/2561 11:21:15


ปูชนียวัตถุ พระพุทธรูปทองส�ำริด ปางมารวิชยั หน้าตัก กว้าง 40 นิ้ว สร้างเมื่อ พ.ศ. 2514 พระพุทธรูปเนื้อทองเหลือง ปางมารวิชัย หน้าตักกว้าง 27 นิ้ว สร้างเมื่อ พ.ศ. 2465 พระพุ ท ธชิ น ราชจ� ำ ลอง ปางมารวิ ชั ย ปิดทอง หน้าตักกว้าง 4 ศอก 1 คืบ สร้างเมื่อ พ.ศ. 2533 พระนามว่า พระพุทธโลเกศวรชิน ราชบรมศาสดาอุดมมงคลอุบลราชธานีสภุ สิรสิ ถิต ได้ประดิษฐานตามภาคต่างๆ รวมห้าภาค ภาค อีสานอยู่วัดโขงเจียม จ.อุบลราชธานี ประวัติเจ้าอาวาส พระสมุหค์ นอง ปภสฺสโร อายุ 48 พรรษา 8 วิทยฐานะ น.ธ.เอก พธ.บ. วัดโขงเจียม ต�ำบล โขงเจียม อ�ำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี ปัจจุบันเป็นเจ้าคณะต�ำบลโขงเจียม สถานะเดิม ชือ่ นายคนอง นวลตา เกิดวันที่ 4 ธั น วาคม พ.ศ. 2512 ณ บ้ า นเลขที่ 37 หมู่ที่ 9 ต�ำบลห้วยยาง อ�ำเภอโขงเจียม จังหวัด อุบลราชธานี เคยได้รับราชการหรือปฏิบัติงาน ส�ำคัญมาแล้ว คือ รับราชการเป็นทหารเกณฑ์ บรรพชาอุปสมบท วันที่ 13 เมษายน พ.ศ. 2552 ณ วัดสว่างสมดี ต�ำบลห้วยยาง อ�ำเภอ โขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี พระอุปัชฌาย์ พระครูโพธิเขตวรคุณ วัดโพธาราม ต�ำบลนาโพธิก์ ลาง อ�ำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี วิทยฐานะ พ.ศ. 2525 ส�ำเร็จชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จากโรงเรียนบ้านนาบัว ต�ำบลห้วยยาง อ�ำเภอ โขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี พ.ศ. 2557 สอบได้ นักธรรมชั้นเอก ส�ำนัก เรียนคณะจังหวัดอุบลราชธานี อ�ำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี พ.ศ. 2559 ส�ำเร็จการศึกษาพุทธศาสตรบัณฑิต จากมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตอุบลราชธานี อ�ำเภอเมือง จังหวัด อุบลราชธานี การศึกษาพิเศษ สามารถอ่านเขียนอักษร ตัวธรรมได้ ความช�ำนาญพิเศษ ช่างไม้และช่างปูน

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

(2

).indd 189

189

6/6/2561 11:21:35


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดโพธาราม พระครูโพธิเขตวรคุณ เจ้าคณะอ�ำเภอโขงเจียม

ประวัติความเป็นมา

วัดโพธาราม ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 213 หมูท่ ี่ 1 บ้านนาโพธิก์ ลาง ต�ำบลนาโพธิก์ ลาง อ�ำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ที่ตั้งวัด ทิศเหนือ จดถนนสาธารณะ ทิศใต้ จดทีห่ มูบ่ า้ น ทิศตะวันออก จดถนนสาธารณะ ทิ ศ ตะวั น ตก จดถนนสาธารณะ มี อ าคารเสนาสนะประกอบไปด้ ว ย อุโบสถ กว้าง 6 เมตร ยาว 12 เมตร 1 หลัง กุฏิสงฆ์ 4 หลัง ศาลาการเปรียญ กว้าง 12 เมตร ยาว 24 เมตร 1 หลัง โรงครัว 1 หลัง อาคารศูนย์อบรบเด็ก ก่อนเกณฑ์ในวัด 1 หลัง หอระฆัง 1 หลัง กองอ�ำนวยการ 1 หลัง ห้องน�้ำ 2 หลัง เมรุ 1 หลัง วัดโพธาราม ตั้งเมื่อ พ.ศ.2404 ชาวบ้านเรียกว่า ”วัดบ้านโพธิ์ใหญ่” ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ.2421

190

(3

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

).indd 190

5/6/2561 14:27:33


รายนามเจ้าอาวาส

รูปที่ 1 พระเคน รูปที่ 2 พระเหลา รูปที่ 3 พระสงห์ รูปที่ 4 พ่อถ่านอ่อน รูปที่ 5 พ่อถ่านสิงห์ รูปที่ 6 พระเครื่อง รูปที่ 7 พระอธิการจันที โกวิโท รูปที่ 8 เจ้าอธิการน้อย สุปุญโญ รูปที่ 9 เจ้าอธิการทารม วิสารโท รูปที่ 10 พระเหล่า รูปที่ 11 พระบัวค�ำ ปุณณฺโก รูปที่ 12 พระมายา รูปที่ 13 พระอ้น ธมฺมทตฺโต รูปที่ 14 พระครูโพธิเขตวรคุณ (บุญเลียง โยธารักษ์) พ.ศ.2536 - ปัจจุบัน เป็นเจ้าอาวาสวัดโพธาราม รูปแรกที่ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์เป็นพระครู สัญญาบัตร และได้รับแต่งตั้งเป็นคณะเจ้าอ�ำเภอ โขงเจียม

พระครูโพธิเขตวรคุณ เจ้าคณะอ�ำเภอโขงเจียม

รายนามเจ้าคณะอ�ำเภอโขงเจียม

พระปัญญาวุฒิวิบูล (ค�ำ เนื่องเฉลิม) วัดโขงเจียม พระรัตนวารีสมานคุณ (บัวพันธ์ โพธิ์ศรี) วัดโขงเจียม พระครูธรรมทัศนคุณ (บรรยง ค�ำล้าน) วัดสว่างวารี ทป.จอ. พระครูจารุรัตนาภรณ์ (ทอง พิมพ์ทอง) วัดบุบผาวัน ทป.จอ. พระครูโพธิเขตวรคุณ (บุญเลียง โยธารักษ์) วัดโพธาราม พ.ศ.2551 - ปัจจุบัน

ประวัติเจ้าอาวาส

พระครูโพธิเขตวรคุณ ฉายา อินฺทปญฺโญ นามสกุล โยธารักษ์ อายุ 39 พรรษา 18 น.ธ.เอก พธ.บ. ศษ.ม. ปั จ จุ บั น ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง เจ้ า อาวาสวั ด โพธาราม เจ้าคณะอ�ำเภอโขงเจียม สถานะเดิม ชื่อ บุญเลียง นามสกุล โยธารักษ์ เกิดวันอาทิตย์ที่ 6 เมษายน พ.ศ.2512 บ้านเลขที่ 8 หมู่ที่ 1 ต.นาโพธิ์กลาง อ.โขงเจียม จ.อุบลราชธานี เป็นบุตรของพ่อมา โยธารักษ์ - แม่สมจิตร ใต้โพธิ์ มีพนี่ อ้ งร่วมบิดามารดา ทัง้ หมด 6 คน บรรพชา อุปสมบท วันที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2534 ณ วัดโพธาราม หมู่ท่ี1 ต.นาโพธิ์กลาง อ.โขงเจียม จ.อุบลราชธานี พระอุปัชฌาย์ พระครูโพธิวรเขต วัดแสนส�ำราญ หมูท่ 4ี่ บ้านหนองผือใหญ่ ต.นาโพธิก์ ลาง อ.โขงเจียม จ.อุบลราชธานี พระกรรมวาจาจารย์ พระอธิการสุบิน โกสฺโล วัดโชติการาม หมู่ที่ 3 บ้านชาด ต.หนามแท่ง อ.ศรีเมืองใหม่ จ.อุบลราชธานี พระอธิการสมศรี เตชฺวโร วัดบุญญธิศาราม หมู่ที่ 2 บ้านนาโพธิ์ใต้ ต.นาโพธิ์กลาง อ.โขงเจียม จ.อุบลราชธานี

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

(3

).indd 191

191

5/6/2561 14:27:39


วิทยฐานะ พ.ศ.2525 ส� ำ เร็ จ การศึ ก ษาชั้ น ประถมศึ ก ษาปี ที่ 6 จาก โรงเรียนบ้านนาโพธิ์กลาง พ.ศ.2539 ส�ำเร็จชัน้ มัธยมปีที่ 6 จากศูนย์การศึกษานอกโรงเรียน อ�ำเภอโขงเจียม พ.ศ.2542 สอบได้นกั ธรรมเอก ในสนามหลวงจากส�ำนักศาสนศึกษา วัดโพธาราม ต�ำบลนาโพธิก์ ลาง อ�ำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี พ.ศ.2549 ส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี จากมหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตอุบลราชธานี พ.ศ.2550 ส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท จากมหาวิทยาลัยราชธานี งานปกครอง พ.ศ.2536 ได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาส วัดโพธาราม ต�ำบลนาโพธิก์ ลาง อ�ำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี พ.ศ.2539 - ปัจจุบนั ได้รบั การแต่งตัง้ เป็นเจ้าอาวาสวัดโพธาราม ต�ำบลนาโพธิ์กลาง อ�ำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี ตราตั้ง เลขที่ 24/2539 วันที่ 3 สิงหาคม พ.ศ.2539 พ.ศ.2542 ได้รบั แต่งตัง้ เป็นเลขานุการเจ้าคณะต�ำบลนาโพธิก์ ลาง ตราตั้งเลขที่ 1/2542 วันที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ.2542 พ.ศ.2545 ได้รับแต่งตั้งเป็นเลขานุการเจ้าคณะอ�ำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี พ.ศ.2546 ได้รับแต่งตั้งเป็นรักษาการเจ้าคณะต�ำบลโขงเจียม อ�ำเภอโขงเจียม 192

(3

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

).indd 192

5/6/2561 14:27:49


อิ่มอร่อยมะม่วงกวน ฝีมือล้วนปอกล้วยสาน เพลงขอทานประจ�ำถิ่น ศิลปินกระเดื่องแดน”

WORK LIF E

บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล

องค์การบริหารส่วนต�ำบลหัวดอน “ต�ำบลหัวดอนทรัพยากรดินน�้ำอุดม เชิญเที่ยวชมประเพณีหลากหลาย ลุ่มน�้ำเซบายแหล่งเกษตร สุดเขตเขื่องในบูรพา ศูนย์พัฒนาธรรมป่าดงใหญ่ ไก่ย่างมะพร้าวเผารสดี” คือค�ำขวัญขององค์การบริหารส่วนต�ำบลหัวดอน

ธรรมนูญอยู่ดีมีสุขต�ำบลหัวดอน ธรรมนูญอยู่ดีมีสุขต�ำบลหัวดอน จัดท�ำขึ้น โดยคณะกรรมการร่างธรรมนูญอยู่ดีมีสุขต�ำบล หัวดอน จากความเห็นชอบของการประชาคม หมู่บ้านในต�ำบลหัวดอน เมื่อวันที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2560 และ ประกาศใช้ในวันที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2560 เพื่อเป็นการจัดระเบียบสังคม และ เป็ น การสร้ า งแนวทางแก้ ไขปั ญ หาของสั ง คม ระดับหมู่บ้าน โดยเป็นการปฏิบัติให้สอดคล้อง กั บ วั ฒ นธรรม จารี ต ประเพณี แ ละไม่ ขั ด ต่ อ กฎหมาย มีสาระส�ำคัญเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ ร่วมกันของราษฎรในต�ำบล ในการธ�ำรงรักษาไว้ ซึ่งความสงบเรียบร้อยของสังคม การท�ำนุบ�ำรุง รักษาศาสนา การยึดถือระบอบประชาธิปไตยอัน มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระประมุข

ค์ ค์ มรงค์

นายชุมพล ดอกดวง นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลหัวดอน

“การคมนาคมสะดวก เศรษฐกิจดี สังคมคุณภาพ การศึกษาดี มีธรรมาภิบาล” คือวิสัยทัศน์ขององค์การบริหารส่วนต�ำบลหัวดอน

ประวัติความเป็นมา องค์การบริหารส่วนต�ำบลหัวดอน ยกฐานะจากสภาต�ำบลหัวดอน เป็น องค์การบริหารส่วนต�ำบลหัวดอน ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เมื่อวันที่ 16 ธั น วาคม พ.ศ. 2539 (ล� ำ ดั บ ที่ 3436) ปั จ จุ บั น ตั้ ง อยู ่ ท่ี เ ลขที่ 182 บ้านท่าวารี หมู่ที่ 4 ต�ำบลหัวดอน อ�ำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.

(3

).indd 193

193

5/6/2561 14:19:20


ธรรมนูญอยูด่ มี สี ขุ ต�ำบลหัวดอน มี 7 หมวด 99 ข้อ หมวดที่ 1 ว่ า ด้ ว ย การรั ก ษาความสงบ เรียบร้อยในต�ำบล หมวดที่ 2 ว่าด้วย ความเป็นอยู่ดีมีสุข (การส่งเสริมอาชีพ ส่งเสริมการออม สร้างรายได้) หมวดที่ 3 ว่าด้วย สุขภาพดี ด้านปรัชญาและ แนวคิดหลักของระบบสุขภาพต�ำบลหัวดอน หมวดที่ 4 ว่าด้วย อนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ และสิ่งแวดล้อม หมวดที่ 5 ว่าด้วย อนุรกั ษ์ประเพณี วัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่น หมวดที่ 6 ว่าด้วย ข้อมูลข่าวสารชุมชน หมวดที่ 7 ว่าด้วย ความรู้และปัญญา (พัฒนา คุณภาพการศึกษาเด็ก เยาวชน และคนในชุมชน)

194

.

(3

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

).indd 194

5/6/2561 14:19:44


โรงเรียนผู้สูงอายุต�ำบลหัวดอน สรุปการขับเคลื่อนการด�ำเนินงานโรงเรียน ผู้สูงอายุในต�ำบลหัวดอน 1. คณะกรรมการและแกนน�ำร่วมขับเคลื่อน 2. ทีมวิทยากรจิตอาสา 3. กติกาหรือข้อตกลงร่วมกัน 4. กลุ่ม ชมรมผู้สูงอายุ 5. กิ จ กรรมหรื อ หลั ก สู ต ร (ที่ มี เ ป้ า หมาย ชัดเจนและมีการจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง) 6. กองทุ น ในการสนั บ สนุ น โดยองค์ ก ร ปกครองส่วนท้องถิ่นหนุนเสริม 7. มีเครือข่ายการท�ำงานในระดับพื้นที่ 8. มี ก ารเรี ย นรู ้ แ ละพั ฒ นาการด� ำ เนิ น งาน อย่างต่อเนื่อง

จุดมุ่งหมาย

1) เพื่ อ ให้ ผู ้ สู ง อายุ มี ค วามรู ้ ความเข้ า ใจ ในการเตรียมตัวเข้าสู่ช่วงวัยสูงอายุอย่างมีคุณค่า 2) เพื่อส่งเสริมสุขภาพป้องกันการเจ็บป่วย และดู แ ลตนเองเบื้ อ งต้ น เข้ า ถึ ง ข่ า วสารและ สื่ อ ต่ า งๆ ได้ สามารถปรั บ ตั ว ทั น ต่ อ ความ เปลี่ ย นแปลงของสั ง คม และด� ำ รงชี วิ ต อย่ า งมี ความสุข

จุดประสงค์ปลายทาง

ผู้สูงอายุได้เรียนรู้ตลอดชีวิต เพื่อให้ด�ำรงชีวิต อย่างมีความสุข UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.

(3

).indd 195

195

5/6/2561 14:19:49


อิ่มอร่อยมะม่วงกวน ฝีมือล้วนปอกล้วยสาน เพลงขอทานประจ�ำถิ่น ศิลปินกระเดื่องแดน”

W O R K LI F E

บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล

องค์การบริหารส่วนต�ำบลยางขี้นก นายเทียน แผลงฤทธิ์ นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลยางขี้นก

สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐาน องค์การบริหารส่วนต�ำบลยางขี้นก บ้านยางขี้นก หมู่ที่ 1 ต�ำบลยางขี้นก อ�ำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานีห่างจากที่ว่าการอ�ำเภอเขื่องใน ประมาณ 6 กิโลเมตร มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 48.50 ตารางกิโลเมตร ประชากรส่วน ใหญ่ประกอบอาชีพ ทางการเกษตร รับจ้าง การค้าขาย และรับราชการ แบ่งพืน้ ทีก่ ารปกครองออกเป็น 10 หมูบ่ า้ น โดยมีประชากรทัง้ หมดในต�ำบล จ�ำนวน 5,014 คน และแยกเป็นประชากรหญิง จ�ำนวน 2,557 คน ประชากร ชาย จ�ำนวน 2,457 คน จ�ำนวนครัวเรือนของประชากรทัง้ สิน้ 1,046 ครัวเรือน ประชากรส่วนใหญ่ร้อยละ 99 นับถือศาสนาพุทธ มีโรงเรียนที่สังกัดส�ำนักงาน การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน จ�ำนวน 5 แห่งศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จ�ำนวน 5 แห่ง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุมชนระดับต�ำบล 2 แห่ง และวัดจ�ำนวน 10 แห่ง

ค์ ค์ มรงค์

รางวัลที่ ได้รับ ได้รับรางวัลต้นยางนาใหญ่ชนะเลิศอันดับ 1 ของจังหวัดอุบลราชธานี ต้นยางนาใหญ่ หมู่ 4 ต�ำบลยางขีน้ ก อ�ำเภอเขือ่ งใน จังหวัดอุบลราชธานี ได้รับรางวัลต้นยางนาใหญ่รองชนะเลิศอันดับ 2 ของจังหวัดอุบลราชธานี ต้นยางนามิ่งมงคล หมู่ 3 ต� ำ บลยางขี้ น ก อ� ำ เภอเขื่ อ งใน จั ง หวั ด อุบลราชธานี

การส่งเสริมและพัฒนาอาชีพในผู้สูงอายุ กลุ่มเลี้ยงหม่อนไหมเฉลิมพระเกียรติ 196

3

กลุ่มทอผ้าไหมก่วย ผ้าก่วย กลุม่ ทอเสื่อ(สาด) จากหญ้าขอด จากกก กลุม่ จักสานเครือซูด

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

.indd 196

6/6/2561 11:54:35


สถานที่ส�ำคัญ วัตถุโบราณวัดป่าดงบ้านตาด ตั้งอยู่ที่บ้านผัก แว่น หมูท่ ี่ 4 ต�ำบลยางขีน้ ก อ�ำเภอเขือ่ งใน จังหวัด อุบลราชธานี บนที่ดินสาธารณะประโยชน์ ชื่อว่า “ดงบ้านตาด” เนื้อที่ทั้งหมดประมาณ 250 ไร่ ห่างจากบ้านผักแว่นไปทางตะวันออกเฉียงใต้ 1 กิโลเมตร ดงบ้ า นตาดเป็ น ที่ ร าบ มี ป ่ า ไม้ น านาชนิ ด ที่ ส� ำ คั ญ ยั ง มี ไ ม้ ย างขนาดใหญ่ ค งเหลื อ อยู ่ จ�ำนวนมาก มีสตั ว์ปา่ และหนองน�ำ ้ ชือ่ “หนองสิม” ตามค� ำ บอกเล่ า ของคนเฒ่ า คนแก่ สื บ ต่ อ กั น มายาวนาน บอกว่า สถานที่แห่งนี้เคยเป็นที่ของ หมู่บ้านเก่า ชื่อว่า “บ้านตาด” คาดว่าจะอยู่ใน ช่วงระหว่างปี พ.ศ. 2310-2320 ซึง่ ตัง้ อยูก่ อ่ นบ้าน ผักแว่นประมาณ 10 - 20 ปี แต่บ้านตาดก็กลาย เป็ น หมู ่ บ ้ า นร้ า งไปเมื่ อ ครั้ ง ในอดี ต คงจะเกิ ด โรคระบาดหรือน�้ำท่วม หรือจากภัยข้าศึกรุกราน อย่างใดอย่างหนึ่งก็เป็นไปได้ บริเวณฝั่งหนองสิม ด้านทิศตะวันออก เชื่อว่า เคยเป็นที่ตั้งของวัดเก่า ปัจจุบันพบหลักฐานทาง โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ เช่น ซากโบสถ์ เงินราง แหวน พระพุ ท ธรู ป แบบปางมารวิ ชั ย เป็ น ศิ ล ปะลาว ย้อนหลังไปประมาณ 15 ปี บริเวณข้างเนินดิน ข้างโบสถ์เก่าจะมีตูบเล็กๆ ตั้งอยู่ 1 หลัง ชื่อว่า “ตูบเจเผะหลาย” หมายถึงทีอ่ ยูข่ องผูม้ บี ญ ุ หลาย คือ เจ้าผะหลาย เจ้าอาวาสวัดแห่งนี้ และในอดีต หากใครเข้ามากระท�ำผิดต่อสถานที่ เช่น ลบหลู่ ดูหมิ่น จะมีอันเป็นไปในทางที่ไม่ดีทุกราย เรียกว่า สถานที่แห่งนี้เป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งชาวบ้าน ผักแว่นให้ความเคารพนับถือเป็นอย่างมาก และ สืบทอดยาวนานจนถึงปัจจุบัน

การขุดค้นพบโบราณวัตถุ เมื่อวันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2551 ในขณะที่ พระทองล้วน สุปภาโส และนายกกระจ่าง ทุมมัย กรรมการวัด พร้อมด้วยชาวบ้านจ�ำนวนหนึง่ ก�ำลัง พากันขุดปรับเนินดิน บริเวณที่เชื่อกันว่าเป็นที่ตั้ง โบสถ์เก่า เพือ่ ทีจ่ ะก่อสร้างโบสถ์ใหม่ ซึง่ เป็นเนินดิน สูงประมาณ 1.5 เมตร กลางเนินดินปกคลุมด้วย ต้นแต้โตขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 50 เซนติเมตร และข้างเนินดินทั้งสองด้าน ขนาบด้วย ต้นยาง 2 ต้น โตขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 60 เซนติเมตร ในระหว่างขุดปรับเนินดินก็ได้พบ UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

3

.indd 197

197

6/6/2561 11:54:43


โบราณวัตถุและศิลปวัตถุโดยบังเอิญ เป็นจริงตามค�ำบอกเล่าของคนเฒ่าคนแก่ 1. เสาร์ไม้เนื้อแข็ง จ�ำนวน 6 ต้น ฝังอยู่ในดินลึกประมาณ 1.5 เมตร 2. กลุ่มใบเสมา ท�ำจากหินทราย จ�ำนวน 8 กลุ่มๆละ 5-6 ใบ แต่ละกลุ่มจะมีแหวนและใบเสมาถูกฝัง อยู่กับกลุ่มใบเสมาด้วย 3. ภาชนะดินเผา (หม้อ) จ�ำนวน 1 หม้อ พร้อมฝาปิด ฝังลึกอยู่ใต้โคนต้นแต้กลางโบสถ์ ภายในหม้อมี กระดูกมนุษย์ แหวน เงินราง และพระพุทธรูปบุเงินแกนว่าน แบบปางมารวิชยั เป็นศิลปะลาว เชือ่ ว่ากระดูก มนุษย์ในหม้อคือ อัฐิของเจ้าผะหลาย อดีตเจ้าอาวาส

วัดเหนือยางขี้นก พระธรรมบาล (ทุ ย ) ใช้ อุ บ ายในการสั่ ง สอนธรรมะแก่ ญ าติ โ ยมศิ ษ ยานุ ศิ ษ ย์ ด ้ ว ยการ ใช้สถานการณ์จริง โดยการปฏิบัติจริงจึงจะได้รู้ว่าผลที่เกิดขึ้นจะเป็นอย่างไร ดีหรือไม่ดีอย่างไรขอยกกรณี ตัวอย่างที่ ดร.ปรีชา พิณทอง (ป.ธ.9., อดีตพระศรีธรรมโศภน) ได้บันทึกไว้ตามค�ำบอกเล่าของบิดา ของท่านซึ่งเป็นหนึ่งในศิษย์ของพระธรรมบาล (ทุย) 3 เรื่องดังนี้ เรื่องที่ 1 “สอนให้รู้จักประมาณตน” โดยใช้กระบวยตักน�้ำเป็นสื่อในการสอนให้รู้จักประมาณ คือ ที่หน้ากุฏิของท่านจะมีโอ่งน�้ำขนาดใหญ่ ใบหนึ่ง ให้ลูกศิษย์ตักน�้ำมาใส่ให้เต็มอยู่ทุกวัน เมื่อญาติโยมมาเยี่ยมหรือนิมนต์ไปในงานบุญกุศลต่างๆ ถ้ากระหายน�้ำก็จะให้ตักดื่มเอง มากน้อยตามความต้องการ กระบวยมี 3 ขนาด คือ เล็ก กลาง ใหญ่ บางคนใช้กระบวยใหญ่ตกั ดืม่ ไม่หมดเททิง้ บางคนใช้กระบวยขนาดกลางตักดืม่ ไม่อมิ่ ต้องตักเพิม่ บางคนใช้ กระบวยเล็กต้องตัดเพิ่มหลายครั้ง ท่านจะสอนว่าก่อนจะดื่มต้องส�ำรวจดูตนเองเสียก่อน ถ้ากระหายมาก ต้องใช้กระบวยใหญ่ กระหายปานกลางต้องใช้กระบวยขนาดกลาง กระหายนิดหน่อยต้องใช้กระบวยขนาด เล็ก คนเราทุกคนต้องให้รจู้ กั ประมาณ กินก็ให้รจู้ กั ประมาณ ใช้กร็ จู้ กั ประมาณ ถ้าไม่รจู้ กั ประมาณ ก็เข้าใน ลักษณะ “กินช้างก็บ่เหลือ กินเสือก็บ่อิ่มได้มาเต็มฟ้าเต็มแผ่นดิน กะใช้หมดบ่เหลือดอก” เป็น 1 ใน 3 พระธรรมบาลของอุบลราชธานี ที่มาของค�ำขวัญอุบลราชธานีเมืองนักปราชญ์

สถานที่ท่องเที่ยว สถานที่ท่องเที่ยวแห่งใหม่ภายใต้ชื่อ ทะเลเขื่องใน หนองใหญ่ยางขี้นก มีเนื้อที่ทั้งหมด 495 ไร่ และมีเกาะกลาง เนือ้ ที่ 107 ไร่ เป็นสถานทีท่ อ่ งเทีย่ วทีช่ มความงามของทะเลบัวหลวง บัวแดงและนกเป็ดน�ำ้ นอกนั้นยังสามารถนั่งเรือชมความงามของทะเลหนองใหญ่ได้อีกด้วย ในปัจจุบันหนองใหญ่ก�ำลังพัฒนา ให้เป็นสถานที่ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ที่อยู่ไม่ไกลจากตัวอ�ำเภอเขื่องในเพียงแค่ 10 กิโลเมตร

198

3

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

.indd 198

6/6/2561 11:54:33


องค์การบริหารส่วนต�ำบลชีทวน นายสุ วิ ท ย์ ธานี

นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลชีทวน

“ ชุ ม ชนวั ฒ นธรรม แหล่ ง โบราณคดี ล�้ ำ ค่ า ประวั ติ ศ าสตร์ 3000 ปี ที่ นี่ ชี ท วน ”

1

พระพุ ท ธวิ เ ศษ

2

พระธาตุ ส วนตาล

3

ธรรมมาสสิ ง ห์ เ ทิ น บุ ษ บก

4

ขั ว น้ อ ยบ้ า นชี ท วน

5

เรื อ โบราณ อายุ 300 ปี

6

เรื อ โบราณ อายุ 150 ปี

ณ วั ด ทุ ่ ง ศรี วิ ไ ล

ณ วั ด ศรี น วลแสงสว่ า งอารมณ์

ณ วั ด ธาตุ ส วนตาล

.indd 199

ณ วั ด ธาตุ ส วนตาล

ณ บ้ า นชี ท วน

ณ วั ด อั ม พวั น วนาราม

01/06/61 05:57:14 PM


อิ่มอร่อยมะม่วงกวน ฝีมือล้วนปอกล้วยสาน เพลงขอทานประจ�ำถิ่น ศิลปินกระเดื่องแดน”

W O R K LI F E

บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล

องค์การบริหารส่วนต�ำบลก่อเอ้ “การศึกษาพัฒนาคน ชุมชนน่าอยู่ คู่หลักธรรมาภิบาล การเกษตรอินทรีย์ ศูนย์รวมแหล่งท่องเที่ยว” คือวิสัยทัศน์ขององค์การบริหารส่วนต�ำบลก่อเอ้

นายสุริยา บุญประภาร นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลก่อเอ้ สถานที่ส�ำคัญและแหล่งท่องเที่ยว • พุทธสถานครองราชย์ 60 ปี พระใหญ่เขื่องใน หรือ พระพุทธปิยะโพธิ มงคล เป็นการรวมศิลปะ 3 สมัย อยู่ในองค์เดียวกัน คือ แบบเชียงแสน แบบ สุโขทัยและรัตนโกสินทร์ พระครูปิยะจันทคุณ หรือพระอาจารย์ ชาลี ปิยะ ธัมโม เจ้าอาวาส

ค์ ค์ มรงค์

• พระธาตุเจดีย์โนนเก่า วัดป่าโนนเก่า บ้านโนนใหญ่ ลักษณะคล้ายกับ เจดีย์พระธาตุพนม วางศิลาฤกษ์ เมื่อปี พ.ศ. 2549 กว้าง 9 เมตร สูง 41 เมตร พระครูสิริวรรณคุณ เจ้าอาวาส • เกจิเมืองสยาม หลวงปู่โทน ขันติโก วัดบ้านพับ อายุ 94 ปี

200

.

(3

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

).indd 200

6/6/2561 13:08:20


• แก้วมังกรเนื้อแดงไต้หวัน ผลไม้ขึ้นชื่อของ ต�ำบลก่อเอ้ นายมังกร ทรายทา เป็นคนแรกที่น�ำ เข้าสู่ต�ำบลก่อเอ้ เมื่อปี พ.ศ. 2540 จนถึงปัจจุบัน ขยายพันธุ์ไปหลายจังหวัด เช่น จังหวัดปทุมธานี มุ ก ดาหาร สกลนคร นครพนม อ� ำ นาจเจริ ญ ยโสธร ขอนแก่น ฯลฯ รวมทั้งส่งออกต่างประเทศ ปั จ จุ บั น ตั้ ง เป็ น กลุ ่ ม วิ ส าหกิ จ ชุ ม ชนแปรรู ป ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร เพื่อรองรับการออก ผลผลิตในระยะยาว เนื่องจากเป็นสินค้าที่ขายดี ทั้งผลสดและแปรรูป

UBON RATCHATHAN I SBL บันทึกประเทศไทย

.

(3

).indd 201

201

6/6/2561 13:08:27


• พระบรมสารีริกธาตุ วัดยางน้อย (พระพรหม วชิรญาณ เจ้าอาวาสวัดยานนาวา องค์อุปถัมภ์) • ศูนย์ศิลปาชีพฯ อุบลราชธานี • ฟาร์มตัวอย่างในพระองค์ฯ • สวนสิริกิตต์ • มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี วิทยาเขต ยางน้อย

202

.

(3

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

).indd 202

6/6/2561 13:08:28


WORK LIF E

บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล

องค์การบริหารส่วนต�ำบลค้อทอง “พัฒนาการเกษตร สาธารณูปโภคพร้อม สิ่งแวดล้อมดี ชุมชนเข้มแข็ง พัฒนาคุณภาพชีวิต ประชาชนมีส่วนร่วม” คือวิสัยทัศน์ขององค์การบริหารส่วนต�ำบลค้อทอง

สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐาน จัดตั้งเป็นองค์การบริหารส่วนต�ำบล เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2540 ตั้งอยู่ หมู่ที่ 5 ต�ำบลค้อทอง อ�ำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตก ของอ�ำเภอเขื่องใน ซึ่งอยู่ห่างจากอ�ำเภอ ประมาณ 15 กิโลเมตร และอยู่ห่างจาก จังหวัดอุบลราชธานี ประมาณ 54 กิโลเมตร และมีแม่น�้ำชีไหลผ่าน

นายสง่า หาญกล้า

นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลค้อทอง ศาลเจ้าปู่เลียบโลกต�ำบลค้อทอง เดิมเป็นศาลรวมเจ้าปูอ่ ยูท่ บี่ า้ นเป้าหัวทุง่ โดยมี หมู่บ้านที่ร่วมกันเคารพบูชาบวงสรวงประจ�ำคือ บ้านนาโพธิ์ บ้านหัวทุ่ง บ้านกลางน้อย และบ้าน ส้มป่อย ซึง่ เป็นหมูบ่ า้ นอพยพถิน่ ฐานมาจากบ้านเป้า เนื่ อ งจากเกิ ด โรคระบาด และได้อัญเชิญเจ้าปู่ มาประจ�ำภายในหมู่บ้านของตนเอง เมือ่ ประมาณปี พ.ศ.2310 เจ้าปูเ่ ลียบโลกเดิมชือ่ “ค�ำพะมัย” เป็นผู้เฒ่าผู้คงแก่เรียนวิชาปราบมาร อยูย่ งคงกระพันชาตรี มีลกู น้อง 8 คน ชอบอาสาไปรบ กับกองทัพเมื่อเกิดสงคราม โดยเดินทางด้วยช้าง เดิมทีเ่ กิดของท่านอยูล่ าวเหนือ ขึน้ ต่อเมืองเวียงจันทน์ เมือ่ เกิดความแห้งแล้งอดอยาก ข้าวยากหมากแพง เกิดโรคระบาด จึงได้พาลูกหลานญาติพี่น้องย้าย

ถิ่นฐานอพยพลงมาทางใต้ มาตั้งอยู่ทุ่งขะโหมย ปัจจุบัน คือ บ้านทุ่งใหญ่ และอพยพลงมาเพื่อหา ท�ำเลในการเลี้ยงช้าง มีป่า ล�ำธาร ที่บ้านเป้าเทิง ในการเดินทางระยะใกล้ๆ ท่านชอบขีม่ า้ ขาว ต่อมา ท่านได้ต่อสู้กับพวกข่าและขอม เสียทีถูกแทง แต่ไม่เข้าเพียงแต่เลือดออกซิบๆ ท่านเสียใจที่ ไม่เคยมีใครเอาเลือดออกได้ จึงเอามีดที่เอวออก มาแทงท้องตัวเอง ดึงเอาไส้ออกมาพันคอพร้อม ตัดล�ำไส้จนขาดและสิ้นใจตาย ต่อมาวิญญาณของ ท่านมาเข้าสิงกับลูกหลานบ้านเป้าเทิง ว่าจะดูแล ลูกหลานตลอดไปโดยขอให้อัญเชิญท่าน และ ทุกๆ สิ้นปีจัดหมูเลี้ยงหาม 3 คาน ห้ามกินก่อน ถ้ากินก่อนให้ไปซื้อมาใหม่ การตั้งจ�้ำให้ตั้งจาก ลูกหลานของท่าน ถ้าตั้งจากคนอื่นจะแพ้จ�้ำ UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 203

203

29/05/61 04:31:38 PM


อิ่มอร่อยมะม่วงกวน ฝีมือล้วนปอกล้วยสาน เพลงขอทานประจ�ำถิ่น ศิลปินกระเดื่องแดน”

W O R K LI F E

บันทึกเส้นทางพบเทศบาลต�ำบล

เทศบาลต�ำบลขามป้อม “ขามป้อมเมืองใหม่ ไร้มลพิษ เศรษฐกิจพัฒนา รักษาวัฒนธรรม น้อมน�ำหลักธรรมภิบาล” คือวิสัยทัศน์ของเทศบาลต�ำบลขามป้อม

ข้อมูลทั่วไป

นายถวิล แสงสุกวาว

ค์ ค์ มรงค์

นาย กเ ทศ มนต รี ต� ำ บ ลขาม ป ้ อ ม

เทศบาลต�ำบลขามป้อม เป็นเทศบาลต�ำบลขนาดกลาง เมือ่ วันที่ 25 มิถนุ ายน 2553 เป็นแห่งแรกของอ�ำเภอเขมราฐ อยู่ในเขตการปกครองอ�ำเภอเขมราฐ จังหวัดอุบลราชธานี ระยะทางห่างจากอ�ำเภอเขมราฐ ประมาณ 16 กิโลเมตร และห่างจาก จังหวัดอุบลราชธานีประมาณ 89 กิโลเมตร มีพื้นที่ 72.453 ตรม. จ�ำนวน 17 หมู่บ้าน จ�ำนวนประชากร 9,373 คน จ�ำนวน 2,939 ครัวเรือน ประชาชนส่วนใหญ่ในท้องถิน่ ประกอบอาชีพท�ำนา ท�ำไร่ ค้าขาย ต�ำบลขามป้อม มีวัฒนธรรมเก่าควรได้รับการอนุรักษ์ เทศบาลต�ำบลขามป้อม โดยนายถวิล แสงสุกวาว นายกเทศมนตรีตำ� บลขามป้อม ได้เล็งเห็นถึงความส�ำคัญของการ พัฒนาการส่งเสริมคุณภาพชีวิตผู้ของประชาชน ให้ประชาชนมีความเป็นอยู่ที่ดี จึงได้ก�ำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาขึ้น โดยยึดหลักการบริหารจัดการ 4 ด้าน ได้แก่ ด้านสุขภาพ ด้านสังคม ด้านเศรษฐกิจ และด้านสิง่ แวดล้อม ให้มคี วามพร้อม ในทุกๆ ด้านเพื่อรองรับการเป็นเมืองใหม่ในอนาคตตามวิสัยทัศน์การพัฒนาของเทศบาลต�ำบลขามป้อม

อาคารส�ำนักงาน

ส�ำนักงานเทศบาลต�ำบลขามป้อม เป็นอาคาร 2 ชัน้ จึงมีความพร้อมส�ำหรับ รองรับการประชุม การสัมมนา ทัศนศึกษาดูงาน และรองรับการบริการ ประชาชนในทุกๆ ด้าน

แหล่งท่องเที่ยว

- พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ บ ้ า นดงเย็ น หมู ่ ที่ 8 ต� ำ บลขามป้ อ ม อ� ำ เภอเขมราฐ จังหวัดอุบลราชธานี - วัดบ้านนาเจริญ หมู่ที่ 5 บ้านนาเจริญ ต�ำบลขามป้อม อ�ำเภอเขมราฐ จังหวัดอุบลราชธานี - ขุนขามป้อม หรือขุนปราญช์ ผู้ก่อตั้งต�ำบลขามป้อม จ�ำลองสร้างเมื่อปี พ.ศ.2560 ชาวต�ำบลขามป้อมเรียกเจ้าปู่ตา 204

.

2

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

.indd 204

6/6/2561 13:17:39


กิจกรรม/ประเพณี

- ประเพณีทำ� บุญตักบาตรเทโวโรหะนะ บ้านนาเจริญ หมูท่ ี่ 5 ต�ำบลขามป้อม - ประเพณีสมโภชต้นเทียน บ้านทรายพูลหมู่ที่ 10 ต�ำบลขามป้อม - ประเพณีสืบสานงานลอยกระทง หมู่ที่ 17 บ้านนางาม ต�ำบลขามป้อม - ประเพณีสงกรานต์และวันผู้สูงอายุ หมู่ที่ 1 บ้านขามป้อม

ผลิตภัณฑ์ชุมชน

- กลุ่มทอผ้าบ้านดงเย็น หมู่ที่ 8 ต�ำบลขามป้อม - กลุ่มอาชีพการเกษตร-ปลูกพืช เลี้ยงสัตว์ บ้านทรายพูล หมู่ที่ 10, บ้านเตย หมู่ที่ 3 - กลุ่มสมุนไพร บ้านขามป้อม หมู่ที่ 1 ต�ำบลขามป้อม - กลุ่มจักรสานบ้านดอนเย็น หมู่ที่ 4 ต�ำบลขามป้อม

ส�ำนักงานเทศบาลต�ำบลขามป้อม

เลขที่ 556 หมู่ที่ 6 ต�ำบลขามป้อม อ�ำเภอเขมราฐ จังหวัดอุบลราชธานี โทรศัพท์ 0-4521-0504 โทรสาร 0-4521-0512 UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.

2

.indd 205

205

6/6/2561 13:17:46


อิ่มอร่อยมะม่วงกวน ฝีมือล้วนปอกล้วยสาน เพลงขอทานประจ�ำถิ่น ศิลปินกระเดื่องแดน”

W O R K LI F E

บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล

องค์การบริหารส่วนต�ำบลเจียด “เป็นสังคมอยู่ดีมีสุข ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น” คือวิสัยทัศน์ขององค์การบริหารส่วนต�ำบลเจียด

ประวัติความเป็นมา

นางค�ำภา บุญยืน

ค์ ค์ มรงค์

นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลเจียด

บ้านเจียด เกิดจากตาอู๋ ตาเฟือง ซึง่ เป็นทหารของพระวอ พระตาได้นำ� ไพร่พลผูค้ นจากเมืองอุบลราชธานี อพยพเพือ่ มาตั้งถิ่นฐานที่บ้านเจียด ซึ่งอยู่ใกล้ล�ำห้วยทราย โดยบริเวณริมฝั่งของล�ำห้วยทรายมีต้นเจียดจ�ำนวนมาก จึงได้ตั้งชื่อ หมู่บ้านนี้ว่า “บ้านเจียด” และเรียกมาจนถึงปัจจุบัน บ้านเจียด อยู่ในการปกครองของ “เมืองเขมราษฎร์ธานี” ซึ่งตั้ง ขึ้นเมื่อ พ.ศ.2357 เป็นหัวเมืองชั้นนอก และขึ้นตรงต่อกรุงเทพมหานคร ต่อมาในปี 2452 “เมืองเขมราษฎร์ธานี” ได้เปลีย่ นแปลงฐานะเป็น “อ�ำเภอเขมราฐ” โดยมี “พระเกษมส�ำราญรัฐ” เป็นนายอ�ำเภอคนแรก ส่วนบ้านเจียดมีความเจริญ และประชากรหนาแน่นขึน้ ได้รบั การยกฐานะเป็น “ต�ำบลเจียด” โดยมี นายเหลีย่ ม ชิณกะธรรม ต่อมาได้รบั การแต่งตัง้ เป็น “ขุนเจียดจ�ำนง” เป็นก�ำนันคนแรก องค์การบริหารส่วนต�ำบลเจียด เป็นหนึ่งในสิบแห่งขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่ของอ�ำเภอเขมราฐ จังหวัดอุบลราชธานี ปัจจุบัน นางค�ำภา บุญยืน ด�ำรงต�ำแหน่ง นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบล มีประชากรประมาณ 5,000 คน อาชีพส่วนใหญ่ คือ เกษตรกรรม เช่น ท�ำนา ท�ำไร่ ท�ำสวน แหล่งท่องเที่ยวที่ส�ำคัญ คือ พิพิธภัณฑ์ต�ำบลเจียด และวัดพระธาตุภูเขาเงิน โดยมีมรดกด้านศิลปะการแสดงอันทรงคุณค่า ซึ่งต�ำบลเจียดถือว่าเป็นต้นก�ำเนิด นั่นคือ “ร�ำตังหวาย”

พิพิธภัณฑ์ต�ำบลเจียด เป็นพิพิธภัณฑ์ชุมชน ตั้งอยู่ภายในวัดถ�้ำพระ ศิลาทอง บ้านนาหนองเชือก หมูท่ ี่ 3 ต�ำบลเจียด เป็นสถานทีร่ วบรวมไหบรรจุศพ สมัยโบราณยุคสัมฤทธิ์ท่ีมีอายุราว 2,000-3,000 ปี นอกจากนั้นยังมีสิ่งของ ที่ขุดค้นพบจ�ำนวนมาก เปิดให้นักท่องเที่ยว เข้าชมและเรียนรู้ทุกวัน โดยไม่มี ค่าเข้าชม พระอธิการคารมย์ โอภาโส เจ้าอาวาสวัดถ�ำ้ พระศิลาทอง พร้อมด้วย จิตอาสาในพื้นที่เป็นผู้คอยให้บริการ โดยมีชาวบ้านในชุมชนช่วยกัน ส่งเสริม สนับสนุน และองค์การบริหารส่วนต�ำบลเจียด พร้อมด้วยผูน้ ำ� หมูบ่ า้ น โรงเรียน ช่วยกันดูแล

.

206

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

1

.indd 206

“ร�ำตังหวาย” คือ มรดกอัน ล�้ำค่าของศิลปะการแสดงที่สืบสาน มาหลายชั่วอายุคน โดยมีต้นก�ำเนิด ที่ต�ำบลเจียด เป็นการร�ำประกอบ ดนตรี อ ย่ า งมี วั ง หวะ มี ท ่ ว งท่ า ที่ สวยงาม สมัยก่อนใช้ในการร�ำถวาย บุคคลส�ำคัญหรือ เทวดา ในพิธกี รรม ต่างๆ ของชุมชน ในปัจจุบนั ร�ำตังหวาย มี ก ารรวมตั ว ของผู ้ อ นุ รั ก ษ์ ศิ ล ปะ แขนงนี้ เรียกว่า ชมรมร�ำตังหวาย ต� ำ บลเจี ย ด โดยมี นางบุ ญ สม ค�ำแดงสด เป็นประธานกรรมการ ซึง่ มี นางค�ำภา บุญยืน นายกองค์การ บริ ห ารส่ ว นต� ำ บลเจี ย ด ให้ ก าร สนั บ สนุ น เพื่ อ ให้ “ร� ำ ตั ง หวาย” คงอยู่คู่ต�ำบลเจียดตลอดไป.

6/6/2561 13:23:36


อิ่มอร่อยมะม่วงกวน ฝีมือล้วนปอกล้วยสาน เพลงขอทานประจ�ำถิ่น ศิลปินกระเดื่องแดน”

WORK LIF E

บันทึกเส้นทางพบโรงเรียนอนุบาลพุทธเมตตา

โรงเรียนอนุบาลพุทธเมตตา “พัฒนาตนเป็นคนดี คือศักดิ์ศรีของเด็กไทย” ปรัชญาโรงเรียนอนุบาลพุทธเมตตา

ประวัติความเป็นมา โรงเรียนอนุบาลพุทธเมตตา ได้รับอนุญาตให้จัดตั้งขึ้น เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2548 สมาคมพุทธศาสตร์ บ้านดอนโด่ โดย ว่าที่ร้อยตรี ผศ.ดร.ธีรภณ ดวงสินธุ์ อุปนายกสมาคม เป็นผู้ลงนามแทนผู้รับใบอนุญาต เป็นโรงเรียน เอกชน ประเภทการศึกษาสงเคราะห์ ตามมาตรา 15(3) แห่งพระราชบัญญัติ โรงเรียนเอกชน พ.ศ. 2525 ต่อมา พ.ศ. 2549 ได้โอนโรงเรียนให้แก่สมาคมสถานศึกษาพุทธเมตตา

ค์ ค์ มรงค์

ว่าที่ร้อยตรี ผศ.ดร.ธีรภณ ดวงสินธุ์ ผู้จัดการ / ผู้อ�ำนวยการ โรงเรียนอนุบาลพุทธเมตตา

ผลงานของโรงเรียน ได้รับรางวัลชนะเลิศ ประเภทนวัตกรรมความคิด สร้างสรรค์ การศึกษาและพัฒนาคุณสมบัติใหม่ของ ผ้าไหมนาโนซิงค์ออกไซด์ เนือ่ งในงานประกวดนวัตกรรม นาโนเทคโนโลยีมธั ยมศึกษา ระดับประเทศ ครัง้ ที่ 2 ปีการศึกษา 2555 และ 2556 ได้จัดการเรียนการ สอนธรรมศึกษา มีนักเรียน สอบได้มากเป็นอันดับ 1 ในส่วนภูมิภาค ได้รับรางวัลธนาคารโรงเรียน ประเภท การออมดี เด่นระดับประเทศ จาก พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ณ ท�ำเนียบรัฐบาล ปีการศึกษา 2560

โรงเรียนอนุบาลพุทธเมตตา 128 ม.7 ต.เจียด อ.เขมราฐ จ.อุบลราชธานี Facebook : โรงเรียนอนุบาลพุทธเมตตา

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.

(1

).indd 207

207

6/6/2561 13:29:06


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วั(วัดดสว่บ้างอารมณ์ านนาขนั น ) พระครูศรีสุตาลังการ นิภาธโร เจ้าอาวาสวัดบ้านนาขนัน

ประวัตคิ วามเป็นมา วัดสว่างอารมณ์ ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 71 บ้านนาขนัน หมู่ 5 ต�ำบลแก้งเหนือ อ�ำเภอเขมราฐ จังหวัด อุบลราชธานี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ล�ำดับที่ 20 รหัส 3405032 เป็นวัดราษฎร์ ตัง้ ขึน้ เมือ่ พ.ศ. 2459 โดยมีหลวงปูแ่ ก้ว พร้อมด้วยชาวบ้าน ได้ ร ่ ว มกั น สร้ า งวั ด ขึ้ น ได้ รั บ พระราชทาน วิสงุ คามสีมา เมือ่ วันที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2480 เขตวิสงุ คามสีมากว้าง 10 เมตร ยาว 15 เมตร ในปี พ.ศ. 2455 วัดสว่างอารมณ์ ได้เปิดการเรียน การสอนวิชามูลกัจจายนะ มีพระภิกษุสามเณร เข้ามาศึกษาทัง้ พระภิกษุสามเณรไทย และจาก สปป.ลาว เป็นจ�ำนวนมาก เป็นวัดทีม่ ชี อื่ เสียงใน ด้านการศึกษาปริยัติธรรมด้านมูลกัจจายนะ โดยมีอาจารย์สอนดังนี้

1. 2. 3. 4.

พ่อจารย์ใบ ศรีสอน พ่อจารย์บญ ุ ศรีสอน พ่อจารย์งาม ศรีสอน พ่อจารย์ชว่ ย ศรีสอน

ล�ำดับเจ้าอาวาส หลวงปูแ่ ก้ว หลวงปูเ่ กษ หลวงปูเ่ สบย หลวงปูเ่ กือ้ หลวงปูใ่ บ หลวงปูเ่ บย หลวงปูอ่ ว้ น หลวงปูห่ นู หลวงปูก่ าร หลวงปูค่ ำ� หลวงปูส่ วย ฐานวุฑโฺ ฒ พ.ศ. 2513 – 2542 รวม 29 ปี พระศักดิช์ ยั ชยธมฺโม รักษาการเจ้าอาวาส พ.ศ. 2542 - 2544 รวม 3 ปี พระมหากฤษฎา กิ ตฺ ติ ธ โร รั ก ษาการ เจ้าอาวาส พ.ศ. 2544 – 2545 พระครู ศ รี สุ ต าลั ง การ นิ ภ าธโร วั น ที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2546 ถึงปัจจุบนั

พระศักดิ์สิทธิ์ประจ�ำวัด คือ พระนาคปรกนพเศียร 208

(

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

) (2

).indd 208

6/6/2561 13:34:39


ประวัตพ ิ ระครูศรีสตุ าลังการ ชื่อ พระครูศรีสุตาลังการ ฉายา นิภาธโร นามสกุ ล ปั ถ มา อายุ 48 ปี พรรษา 28 วิทยฐานะ นักธรรม เอก ประโยค ป.ธ. 6 ปริญญา ตรี พธบ. เกียรตินยิ มอันดับ 2 ปริญญาโท ศษม. ปริ ญ ญาเอก Phd.umkc.USA อยู ่ ที่ วั ด สว่างอารมณ์ ต�ำบลแก้งเหนือ อ�ำเภอเขมราฐ จั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี ปั จ จุ บั น ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง 1.เจ้าอาวาสวัดสว่างอารมณ์ 2.เจ้าคณะอ�ำเภอ เขมราฐ วิทยฐานะ พ.ศ. 2536 ส�ำเร็จวิชาสามัญชัน้ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 จากศูนย์การศึกษานอกโรงเรียน ต�ำบล แก้งเหนือ จังหวัดอุบลราชธานี พ.ศ. 2536 สอบได้นักธรรมชั้นเอก จาก ส�ำนักเรียนคณะจังหวัดอุบลราชธานี พ.ศ. 2543 สอบได้ประโยค ป.ธ.6 ณ โรงเรี ย นพระปริ ยั ติ ธ รรมแผนกบาลี ประจ� ำ จังหวัด แห่งที่ 1 วัดพิชโสภาราม ต�ำบลแก้งเหนือ อ�ำเภอเขมราฐ จังหวัดอุบลราชธานี พ.ศ. 2550 ปริ ญ ญาตรี พธบ. มจร. อุบลราชธานี พ.ศ. 2552 ปริญญาโท ศษม. บริหารการ ศึกษา ม.ราชธานี การศึ ก ษาพิ เ ศษ พ.ศ. 2539 สอบได้ วิ ช า เลขานุ ก าร จากโรงเรี ย นบั ณ ฑิ ต อาชี ว ะ กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2558 จบ ปริญญาเอก phd. จาก มหาวิทยาลัย umkc.รัฐฟอริดา้ USA ผลงานทีไ่ ด้รบั เสาเสมาธรรมจั ก รทองค� ำ จากสมเด็ จ พระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี สาขา ส่งเสริมการศึกษาปริยตั ธิ รรม ปี พ.ศ. 2550 ได้รับเกียรติบัตรต้นแบบคนดีศรีแผ่นดิน จังหวัดอุบลราชธานี พ.ศ. 2553

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

(

) (2

).indd 209

209

6/6/2561 13:34:59


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดโขงเจียมปุราณวาส พระมหาสว่าง วิสทฺโธ

เจ้าอาวาสวัดโขงเจียมปุราณวาส

ประวัติความเป็นมา วัดโขงเจียมปุราณวาส ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นนาแวง หมู่ที่ 2 ต�ำบลนาแวง อ�ำเภอเขมราฐ จังหวัด อุ บ ลราชธานี สั ง กั ด คณะสงฆ์ ม หานิ ก าย ที่ดินตั้งวัดมีเนื้อที่ 6 ไร่ 1 งาน 37 ตารางวา มีธรณีสงฆ์จ�ำนวน 4 แปลง เนื้อที่ 16 ไร่ 7 งาน 70 ตารางวา วัดตั้งเมื่อ พ.ศ. 2338 โดยมีพระยาก�ำแหงสงคราม ซึ่งเป็นเจ้าเมือง โขงเจียมได้น�ำชาวบ้านมาตั้งบ้านเรือนและ สร้างวัดขึ้น วัดโขงเจียมปุราณวาส มีโรงเรียน พระปริยัติธรรม แผนกธรรม เปิดสอนเมื่อ พ.ศ. 2476 210

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

3

.indd 210

6/6/2561 13:42:26


อาคารเสนาสนะ ประกอบด้วยอุโบสถ กว้าง 5.7 เมตร ยาว 12 เมตร เป็นอาคาร ก่ออิฐถือปูน ศาลาการเปรียญ กว้าง 16 เมตร ยาว 28 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2532 และ กุฏิสงฆ์ จ�ำนวน 5 หลัง เป็นอาคารไม้ 3 หลัง และครึ่ ง ตึ ก ครึ่ ง ไม้ 2 หลั ง ปู ช นี ย วั ต ถุ มี พระประธานประดิษฐานในอุโบสถ และศาลา การเปรียญสร้างด้วยทองเหลือง ขนาดหน้าตัก กว้าง 40 นิ้ว และพระพุทธรูปไม้ จ�ำนวน 2 องค์ ปางมารวิชัยและปางห้ามญาติ ล�ำดับเจ้าอาวาส รูปที่ 1 พระหงส์ พ.ศ. 2378 - 2400 รูปที่ 2 พระฟั่น พ.ศ. 2400 - 2433 รูปที่ 3 พระหอม พ.ศ. 2433 - 2446 รูปที่ 4 พระมี พ.ศ. 2446 - 2461 รูปที่ 5 พระกุล กุสโล พ.ศ. 2461 - 2475 รูปที่ 6 พระขจัด มลทิน พ.ศ. 2475 - 2483 รูปที่ 7 พระจร แสงชัย พ.ศ. 2483 - 2492 รูปที่ 8 พระจันดี จนฺทูปโม พ.ศ. 2492 - 2508 รูปที่ 9 พระอร่าม เตชปุญฺโญ พ.ศ. 2508 - 2518 รูปที่ 10 พระผึ้ง ธมฺมธโร พ.ศ. 2518 - 2537 รูปที่ 11 พระประมูล เขมภาโร รักษาการเจ้าอาวาส รูปที่ 12 พระสว่าง วิสทฺโธ พ.ศ. 2557 – ปัจจุบัน

ประวัติเจ้าอาวาส พระมหาสว่าง วิสทฺโธ พระมหาสว่าง ฉายา วิสทฺโธ อายุ 46 พรรษา 11 วิทยฐานะ ป.ธ.3, น.ธ.เอก วัดโขงเจียมปุราณวาส ต�ำบล นาแวง อ�ำเภอเขมราฐ จังหวัดอุบลราชธานี ปี พ.ศ. 2556 สอบไล่ได้เปรียญธรรม สาม ประโยค ข่าวในพระราชส�ำนัก พระบรมมหาราชวัง (20 พ.ย. พ.ศ. 2518) เมื่ อ วั น พุ ธ ที่ 19 พฤศจิ ก ายน เวลา 19.35 น. พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ภูมิพลอดุลยเดช (รัชกาลที่ 9)และสมเด็จ พระนางเจ้ า ฯ พระบรมราชิ นี น าถ เสด็ จ พระราชด�ำเนินโดยเฮลิคอปเตอร์พระที่นั่ง พร้ อ มด้ ว ยสมเด็ จ พระเจ้ า ลู ก เธอทั้ ง สอง พระองค์ จากที่ประทับแรมเขื่อนน�้ำอูน ไป ทรงเยี่ยมราษฎร ทหาร ต�ำรวจ และอาสา สมัครรักษาดินแดนในเขตพืน้ ที่ จ.อุบลราชธานี และ จ.นครพนม

เวลา 11.00 น. เสด็จฯ ถึงหน้าโรงเรียน บ้ า นนาแวง ต� ำ บลนาแวง อ� ำ เภอเขมราฐ จังหวัดอุบลราชธานี แล้วเสด็จฯ โดยรถยนต์ พระที่นั่ง ไปยังกองบังคับการกองร้อยทหาร ราบที่ 6011 ต�ำบลนาแวง อ�ำเภอเขมราฐ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ภูมพิ ลอดุลยเดช (รั ช กาลที่ 9)พระราชทาน ถุ ง ของขวั ญ เวชภัณฑ์ และพระเครื่อง แก่ผู้แทนทหาร หน่ ว ยปฏิ บั ติ ก ารตามล� ำ แม่ น�้ ำ โขง หน่ ว ย ต�ำรวจตระเวนชายแดน หน่วยอาสาสมัคร รักษาดินแดน และครูโรงเรียนบ้านนาแวง ต่อจากนั้นพันตรีด�ำรง ทัศนศร รองผู้บังคับ ศูนย์เฝ้า ตรวจชายแดน 303 กราบบังคมทูล ถวายบรรยายสรุ ป สถานการณ์ เ สด็ จ แล้ ว ทรงพระราชด�ำเนิน ทอดพระเนตรทีพ่ กั ทหาร และคูติดต่อรอบกองบังคับการฯ ตลอดจนมี พระราชปฏิสันถารกับผู้แทนหน่วยต่างๆ โดย ทั่วถึง แล้วจึงเสด็จฯ โดยรถยนต์พระที่นั่ง ต่อ ไปยังวัดโขงเจียมปุราณวาส UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

3

.indd 211

211

6/6/2561 13:42:39


เวลา 12.00 น. เสด็จฯ ถึงวัดโขงเจียม ปุราณวาส ต�ำบลนาแวง อ�ำเภอเขมราฐ เสด็จ ขึ้ น ศาลาการเปรี ย ญ ทรงจุ ด ธู ป เที ย นบู ช า พระรั ต นตรั ย และมี พ ระราชด� ำ รั ส กั บ พระราชาคณะและเจ้าอาวาส ถึงความเป็น อยู ่ ข องราษฎรตลอดจนพระราชทาน เวชภัณฑ์ส�ำหรับพระภิกษุได้ใช้ร่วมกับราษฎร เสร็ จ แล้ ว เสด็ จ ลงเพื่ อ ทรงเยี่ ย มราษฎร ที่มาเฝ้าฯ อยู่อย่างล้นหลาม ได้มีพระราช ปฏิสันถารกับราษฎรเหล่านั้น ถึงสถานการณ์ ตามแนวชายแดนและความเป็นอยู่โดยทั่วไป เสร็ จ แล้ ว จึ ง เสด็ จ ฯ โดยรถยนต์ พ ระที่ นั่ ง กลับยังโรงเรียนบ้านนาแวง ทรงเยี่ยมลูกเสือ ชาวบ้านจากจังหวัดอุบลราชธานีที่มาเฝ้าฯ ก่ อ นประทั บ เสวยพระกายาหารกลางวั น พร้ อ มทรงพั ก ผ่ อ น พระราชอิ ริ ย าบถตาม 212

พระราชอั ธ ยาศั ย แล้ ว จึ ง เสด็ จ ฯ โดย เฮลิคอปเตอร์พระทีน่ งั่ ต่อไป เมือ่ เวลา 14.40 น. จุดที่ตั้งศาลาการเปรียญหลังเก่าของวัด โขงเจียมปุราณวาส เมื่อวันพุธที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2518 เวลา 12.00 น. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช (รั ช กาลที่ 9) สมเด็ จ พระบรมราชินีนาถ พร้อมด้วยพระราชธิดา ทั้งสองพระองค์ ได้เสด็จขึ้นศาลาการเปรียญ หลังนี้ ทรงจุดธูปเทียนบูชาพระรัตนตรัยและ มี พ ระราชด� ำ รั ส กั บ พระราชาคณะและ เจ้ า อาวาสวั ด ถึ ง ความเป็ น อยู ่ ข องราษฎร พระราชทานเวชภัณฑ์ส�ำหรับพระภิกษุได้ใช้ ร่วมกับราษฎร

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

3

.indd 212

6/6/2561 13:42:46


HIST ORY OF BUDDH ISM บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดโพธิ์เมืองวนาราม พระครูโพธินครานุกิจ

เจ้าอาวาสวัดโพธิ์เมืองวนาราม เจ้าคณะต�ำบลนาแวง

ประวัติความเป็นมา วัดโพธิ์เมืองวนาราม ตั้งอยู่ที่บ้านโพธิ์เมือง หมู่ที่ 9 ต�ำบลนาแวง อ�ำเภอเขมราฐ จังหวัด อุบลราชธานี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ที่ดินตั้งวัดมีเนื้อที่ 10 ไร่ 3 งาน อาณาเขตทิศเหนือ จดโรงเรียนบ้านนาเมือง ทิศใต้จดทุ่งนา ทิศตะวันออกจดถนน ร.พ.ช. ทิศตะวันตกจดห้วยบังโกย อาคารเสนาสนประกอบด้วยอุโบสถกว้าง 5 เมตร ยาว 14 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2546 ศาลา การเปรียญกว้าง 9 เมตร ยาว 18 เมตร สร้างเมือ่ พ.ศ. 2528 กุฏสิ งฆ์ จ�ำนวน 4 หลัง เป็นอาคารปูน ศาลาบ�ำเพ็ญกุศล กว้าง 9 เมตร ยาว 15 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2554 วัดโพธิ์เมืองวนาราม ตั้งเมื่อ พ.ศ. 2502 โดยมี นายทา พรมภา เป็นผูบ้ ริจาคทีด่ นิ แปลงนี้ เพือ่ สร้างวัดการบริหารและการปกครองมีนาม เจ้าอาวาสดังนี้ คือ รูปที่ 1 พระครูโพธินครานุกจิ พ.ศ.2547 เป็นต้นมา การศึกษามีโรงเรียน พระปริยตั ธิ รรมแผนกธรรมเปิดสอน เมือ่ พ.ศ. 2547 จนถึงปัจจุบัน

ประวัติวัดโพธิ์เมืองวนาราม พื้นที่วัดโพธิ์เมืองวนารามในสมัยก่อน เป็นพืน้ ทีด่ นิ ของ นายทา พรมภา ได้มอบถวาย ให้สำ� นักสงฆ์วดั สระบัวทอง (ชือ่ เดิมของวัดโพธิ์ เมืองวนาราม) ในปี พ.ศ. 2502 และได้มี พราหมณ์ประขาวมาอยูใ่ นทีพ่ กั สงฆ์ หลวงปูค่ ำ � มาเป็นเจ้าอาวาส เป็นเวลา 5 ปี เป็นเวลา 5 ปี เมื่อท่านมรณภาพ และใน พ.ศ. 2504 ก็มี พระภิกษุชอื่ ว่าหลังจากนัน้ หลวงปูค่ ำ � ท่านก็ได้ ต่ อ มาก็ มี ห ลวงปู ่ น วลมาเป็ น เจ้ า อาวาสวั ด สระบัวทอง ในปี พ.ศ. 2505 และในปี พ.ศ. 2512 ก็ได้มีเจ้าอาวาสใหม่ คือ หลวงปู่โฮม ท่านได้มาอยู่เป็นเวลา 2 ปี UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

1

.indd 213

213

6/6/2561 13:51:12


W O R K LI F E

บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล

เทศบาลเมืองเดชอุดม “สร้างชุมชนให้รุ่งเรือง พัฒนาเมืองให้น่าอยู่” คือวิสัยทัศน์ของเทศบาลเมืองเดชอุดม

รายชื่อหัวหน้าส่วนราชการ เทศบาลเมือง เดชอุดม (เรียงจากซ้ายไปขวา) 1.นายสุริยา จันทะสิงห์ ปลัดเทศบาล ปฏิบัติหน้าที่ นายกเทศมนตรีเมืองเดชอุดม 2. นายณัฎฐ์วัฒน์ ศรีสังวาลย์ ผู้อ�ำนวยการกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม 3.นางบุษฎี วงษ์สมโภช ผู ้ อ� ำ นวยการกองคลั ง ปฏิ บั ติ ร าชการแทน ปลัดเทศบาลเมืองเดชอุดม 2 4. น.ส.วัฒนา วิไลสุทธิวงศ์ หัวหน้าส�ำนักปลัดเทศบาล 5. นายสิทธิเดช ประจันทร์ ผู้อ�ำนวยการกองช่าง 6. นายยิ่งยศ ศรีจรูญ ผู้อ�ำนวยการกองการศึกษา ปฏิบัติราชการแทน ปลัดเทศบาลเมืองเดชอุดม 1

ประวัติความเป็นมา เทศบาลเมื อ งเดชอุ ด ม ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 345 ถนนสถลมาร์ค ต�ำบลเมืองเดช อ�ำเภอเดชอุดม จังหวัดอุบลราชธานี 34160 มีพื้นที่รวมทั้งหมด 8.10 ตารางกิ โ ลเมตร เป็ น ราชการบริ ห าร ส่วนท้องถิ่น ได้รับการจัดตั้งเป็นสุขาภิบาลเมือง เดช ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เมื่อวันที่ 24 กั น ยายน 2499 เปลี่ ย นแปลงฐานะจาก สุขาภิบาลเมืองเดช เป็นเทศบาลต�ำบลเมืองเดช เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2542 เปลี่ยนแปลง ฐานะจากเทศบาลต�ำบลเมืองเดช เป็นเทศบาล เมืองเมืองเดช เมื่อวันที่ 5 เมษายน 2550 และ เปลี่ยนชื่อเป็น “เทศบาลเมืองเดชอุดม” เมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม 2551 ตามประกาศกระทรวง มหาดไทย ซึ่งเทศบาลเมืองเดชอุดมอยู่ในการ ก�ำกับดูแลของผู้ว่าราชการจังหวัดและกระทรวง 214

.

2

มหาดไทย โดยมีนายกเทศมนตรีเมืองเดชอุดม เป็ น ผู ้ บ ริ ห ารสู ง สุ ด มี ภ ารกิ จ อ� ำ นาจหน้ า ที่ ภายใต้ ร ะเบี ย บ กฎหมาย ข้ อ บั ง คั บ และ มติ ครม.ที่เกี่ยวข้อง ส่ ง เสริ ม ขนบธรรมเนี ย มประเพณี ข องไทย หลายงาน ทั้ ง ประเพณี ส งกรานต์ ประเพณี ลอยกระทง และประเพณี ที่ ถื อ ว่ า เด่ น ที่ สุ ด คื อ งานประเพณี แ ห่ เ ที ย นเข้ า พรรษา โดยมี ก าร จั ด ประกวดต้ น เที ย นพรรษา ขบวนแห่ เ ที ย น พรรษา และส่งต้นเทียนเข้าร่วมจัดงานในระดับ จั ง หวั ด ได้ รั บ รางวั ล ชนะเลิ ศ รองชนะเลิ ศ ประเภทเทียนโบราณติดต่อกันหลายปี นอกจากนั้ น เทศบาลได้ มุ ่ ง ส่ ง เสริ ม การ พั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต ของผู ้ สู ง อายุ โดยจั ด ตั้ ง โรงเรียนผู้สูงอายุมีผู้สนใจเข้าร่วมกิจกรรมเป็น จ�ำนวนมาก

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

.indd 214

6/6/2561 14:04:42


สถานที่ท่องเที่ยวส�ำคัญ วัดแสงเกษมตั้งอยู่ที่ บ้านหนองแสง หมู่ที่ 7 ต� ำ บลเมื อ งเดช อ� ำ เภอเดชอุ ด ม จั ง หวั ด อุบลราชธานี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ทีด่ นิ ตัง้ วัด มีเนื้อ ที่ 57 ไร่ 4 ตารางวา วัดแสงเกษม ตั้งเมื่อ พ.ศ.2464 โดยมีข้าราชการ พ่อค้าที่อพยพมาจาก บ้านเมืองเก่า พร้อมกับการตั้งที่ว่าการอ�ำเภอใหม่ มีหนองน�้ำแห่งหนึ่งอยู่ด้านทิศตะวันออก รอบๆ หนองน�้ำมีต้นแสงอยู่เป็นจ�ำนวนมาก อยู่ติดกับ ล�ำน�้ำโดมใหญ่ เดิมมีชื่อว่า วัดหนองแสง ตามชื่อ หมู่บ้าน ต่อมาพระเกษมศักดิ์เป็นเจ้าอาวาสและ เป็นเจ้าคณะอ�ำเภอ ตัดค�ำว่าหนองออก ต่อด้วย ชื่อของท่าน เป็นแสงเกษม ชาวบ้านนิยมเรียกว่า วัดแสง หรือ วัดแสงเกษม ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา วั ด เวตวั น วิ ท ยาราม ตั้ ง อยู ่ ที่ เลขที่ 435 บ้านป่าก่อ ถนนเวตวัน หมู่ที่ 8 ต�ำบลเมืองเดช อ�ำเภอเดชอุดม จังหวัดอุบลราชธานี สังกัดคณะ สงฆ์มหานิกาย ทีด่ นิ ตัง้ วัดมีเนือ้ ที่ 32 ไร่ 2 งาน 45 ตารางวา วัดเวตวันวิทยาราม ตั้งเมื่อ พ.ศ. 2480 โดยนายทั น พวงแก้ ว ผู ้ ใ หญ่ บ ้ า นและ ชาวบ้าน สร้างกุฏิถาวรขึ้น 1 หลัง ด้วยไม้ตะเคียน มุงด้วยสังกะสี และขอรื้อศาลาการเปรียญวัดร้าง (วัดหลวง บ้านเมืองเก่าในปัจจุบัน) มาปลูกเป็น ศาลาการเปรี ย ญชั่ ว คราวและได้ ตั้ ง ชื่ อ วั ด ว่ า “วัดเวตวันวิทยาราม” ตามป่าพื้นบ้านมีต้นหวาย ขึน้ อยูเ่ ป็นจ�ำนวนมาก วนะ หรือ วันนะ แปลว่า ป่า เวตตะ แปลว่า หวาย แล้วเติมค�ำว่า วิทยาราม ลงท้าย วั ด เมื อ งเดช เดิ ม มี ชื่ อ ว่ า “วั ด ประดิ ษ ฐ์ ธรรมาราม” สถานที่ตั้งอยู่ที่ บ้านเมืองใหม่ หมู่ที่ 17 ต� ำ บลเมื อ งเดช อ� ำ เภอเดชอุ ด ม จั ง หวั ด อุบลราชธานี มีเนื้อที่ 50 ไร่ 56 ตารางวา ปี 2505 ได้รับความเห็นชอบจากมหาเถรสมาคม เห็นว่า อ� ำ เภอเดชอุ ด ม ยั ง ไม่ มี ชื่ อ สอดคล้ อ งเข้ า กั บ หมู่บ้าน ต�ำบล อ�ำเภอ จึงได้ประกาศชื่อวัดใน พระพุ ท ธศาสนาว่ า “วั ด เมื อ งเดช” มี ก ารท� ำ อุโบสถทุกกึ่งเดือน อบรมพระภิกษุสามเณรทุกวัน ธรรมสวนะ เป็ น วั ด ตั ว แทนของชาวอ� ำ เภอ เดชอุดม โดยเฉพาะวันแห่เทียนเข้าพรรษาร่วม กับจังหวัดอุบลราชธานี UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.

2

.indd 215

215

6/6/2561 14:04:50


อิ่มอร่อยมะม่วงกวน ฝีมือล้วนปอกล้วยสาน เพลงขอทานประจ�ำถิ่น ศิลปินกระเดื่องแดน”

W O R K LI F E

บันทึกเส้นทางพบเทศบาลต�ำบล

เทศบาลต�ำบลบัวงาม “เทศบาลบัวงามเมืองน่าอยู่ ควบคู่พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน สืบสานประเพณีวัฒนธรรม เลิศล�้ำการศึกษา เศรษฐกิจพอเพียงก้าวหน้า พัฒนาสังคมแห่งการเรียนรู้ สู่ประชาคมอาเซียน” คือวิสัยทัศน์ของเทศบาลต�ำบลบัวงาม

อาณาเขต

ด้ า นทิ ศ เหนื อ มี ห ลั ก เขตที่ 1 ซึ่ ง ตั้ ง อยู ่ ริ ม ถนนศิ ริ ส มบั ติ ฟ ากเหนื อ ตรงจุดที่ห่างจากศูนย์กลางถนนราษฎร์พัฒนาบรรจบกับถนนศิริสมบัติไปทาง ตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ ตามแนวถนนศิ ริ ส มบั ติ ร ะยะทาง 700 เมตร จากหลักเขตที่ 1 เป็นเส้นตรงไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือถึงหลักเขตที่ 2 ซึ่ ง ตั้ ง อยู ่ ริ ม ถนนไปบ้ า นค� ำ ครั่ ง ฟากเหนื อ ตรงจุ ด ที่ อ ยู ่ ห ่ า งจากศู น ย์ ก ลาง ถนนศิริสมบัติบรรจบกับถนนไปบ้านค�ำครั่งระยะทาง 800 เมตร ด้ า นทิ ศ ตะวั น ออก จากหลั ก เขตที่ 2 เป็ น ส่ ว นตรงไปทางทิ ศ ใต้ ถึ ง หลั ก เขตที่ 3 ซึ่ ง ตั้ ง อยู ่ ริ ม ทางหลวงแผ่ น ดิ น หมายเลข 218/2 (ตอนเดชอุดม – หนองแสง) ฟากใต้ตรงจุดที่อยู่ห่างตามแนวเส้นขนานกับ ศู น ย์ ก ลางถนนประชาสามั ค คี ฟ ากตะวั น ออกระยะทาง 700 เมตร จากหลั ก เขตที่ 3 เป็ น เส้ น ขนานกั บ ศู น ย์ ก ลางถนนประชาสามั ค คี ฟากตะวันออกระยะทาง 700 เมตร ไปทางทิศใต้ถึงหลักเขตที่ 4 ซึ่งตั้งอยู่ ริมถนนไปบ้านหนองแวงฟากตะวันออก

นายธีรพันธ์ ชัยวัฒน์ธนัน นายกเทศมนตรีต�ำบลบัวงาม

ค�ำขวัญ

“เทศบาลบัวงามงามดัง่ ชือ่ เลือ่ งลือถิน่ ผ้าไหมมัดหมี่ หมูบ่ า้ นเมืองไทยแข็งแรงดี กลุม่ สตรีโอทอปหลากหลาย เขตข้าวหอมปลอดสาร แหล่งล�ำธารห้วยบัวสาย ฐานธรรมปู่มึ้มน�ำใจ กินอยู่ง่ายด้วยเศรษฐกิจพอเพียง”

สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐาน

ลักษณะที่ตั้ง อยู่ในบางส่วนของต�ำบลบัวงาม ห่างจากตัวอ�ำเภอเดชอุดม ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ เดินทางตามหลวงแผ่นดินหมายเลข 2182 ( ตอนเดชอุดม –บุณฑริก ) ระยะทาง 20 กิโลเมตร และมีส�ำนักงานเทศบาล ต�ำบลบัวงาม ตั้งอยู่บ้านบัวงาม เลขที่ 1 หมู่ที่1 ต�ำบลบัวงาม อ�ำเภอเดชอุดม จังหวัดอุบลราชธานี ระยะห่างจากทางหลวงแผ่นดิน 2182 (ตอนเดชอุดม – บุณฑริก) แยกมาทางทิศใต้ ตามถนนประชาสามัคคีระยะทาง 3 กิโลเมตร

.

216

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

(4

).indd 216

ด้านทิศใต้ จากหลักเขตที่ 4 เป็นเส้นตรงไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ถึงหลักเขตที่ 5 ซึง่ ตัง้ อยูร่ มิ ถนนไปบ้านนาเลิงฟากเหนือตรงจุดทีต่ งั้ อยูห่ า่ งจาก ศูนย์กลางถนนสัมฤทธิ์ผลบรรจบถนนไปบ้านนาเลิงทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ตามแนวถนนไปบ้านนาเลิงระยะทาง 500 เมตร ด้านทิศตะวันตก จากหลักเขตที่ 5 เป็นเส้นตรงไปทางทิศตะวันออกเฉียง เหนือถึงหลักเขตที่ 6 ซึง่ ตัง้ อยูห่ ว้ ยบัวเหนือฝัง่ เหนือตรงจุดทีต่ งั้ อยูห่ า่ งตามแนว เส้ น ขนานกั บ ศู น ย์ ก ลางถนนประชาสามั ค คี ฟ ากตะวั น ตก ระยะทาง 700 เมตร จากหลักเขตที่ 6 เป็นเส้นขนานศูนย์กลางถนนประชาสามัคคี ฟากตะวันตก ระยะทาง 700 เมตร ไปทางทิศเหนือถึงหลักเขตที่ 7 ซึ่งตั้งอยู่ ริมทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2182 เดชอุดม- หนองแสงใต้จากหลักเขตที่ 7 เป็นเส้นตรงไปทางทิศเหนือบรรจบกับหลักเขตที่ 1

เขตการปกครอง/ ประชากร

เขตการปกครองขนาดพื้นที่ 8.7 ตารางกิโลเมตร หรือจ�ำนวน 5,348 ไร่ ครอบคลุมพื้นที่ 7 หมู่บ้านหรือ 8 ชุมชน

6/6/2561 14:23:07


สถานที่ส�ำคัญ

วัดจันทร์ทุมมาวาส วัดบ้านหนองสนม

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.

(4

).indd 217

217

6/6/2561 14:23:21


ผลิตภัณฑ์มวลรวมรายได้

จากลักษณะโครงสร้างทางสังคม ยังมีลกั ษณะ เป็นสังคมชนบทประชาชน มีอาชีพท�ำนานอกนั้น ประกอบอาชี พ ค้ า ขายเครื่ อ งอุ ป โภค-บริ โ ภค หลังฤดูเก็บเกีย่ วจะรวมกลุม่ อาชีพเป็นรายได้เสริม เช่ น กลุ ่ ม ทอผ้ า กลุ ่ ม หม่ อ นไหม กลุ ่ ม ผลิ ต ปุย๋ ชีวภาพ ฯลฯ การซ่อมเครือ่ งจักรเล็ก การท�ำสวน ขนาดเล็ก ส�ำหรับคนหนุม่ สาวจะไปประกอบอาชีพ ในเขตเศรษฐกิจดี (ข้อมูลจาก จปฐ.ปี 2561) จ�ำนวน 1,370 ครัวเรือน จ�ำนวน 4,813 คน (เพศชาย จ� ำ นวน 2,369 คน และเพศหญิ ง จ�ำนวน 2,444 คน) รายละเอียดในการประกอบอาชีพ

.

218

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

(4

).indd 218

6/6/2561 14:23:24


โครงการเด่น

โครงการชุมชนปลอดขยะส่งเสริมการคัดแยก ขยะและจัดตั้งธนาคารขยะชุมชน โครงการแข่งขันกีฬาเด็กเล็ก โครงการบัวงาม เมืองสะอาด

กลุ่มอาชีพ

กลุ่มทอผ้า กลุม่ แจกันไม้ไผ่ กลุม่ ไม้กวาด สวดสรภัญญะ

หมอล�ำคู่

เทศบาลต�ำบลบัวงาม

เลขที่ 1 หมู่ที่ 1 ถ.ประชาสามัคคี ต.บัวงาม อ.เดชอุดม จ.อุบลราชธานี 34160 โทร.045-867036, 045-867037 www.buangam.go.th UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.

(4

).indd 219

219

6/6/2561 14:23:37


อิ่มอร่อยมะม่วงกวน ฝีมือล้วนปอกล้วยสาน เพลงขอทานประจ�ำถิ่น ศิลปินกระเดื่องแดน”

W O R K LI F E

บันทึกเส้นทางพบเทศบาลต�ำบล

เทศบาลต�ำบลโพนงาม “บริการประชาชนด้วยความโปร่งใส ให้ความส�ำคัญการศึกษา ศาสนา ประเพณี วัฒนธรรม หนุนน�ำผลิตภัณฑ์ต�ำบล สงเคราะห์คนพิการ และผู้สูงอายุ ดูแลสภาพแวดล้อม น้อมรับฟังความคิดเห็น สร้างความอยู่เย็นให้ชาวประชา” คือวิสัยทัศน์ของเทศบาลต�ำบลโพนงาม

นายสมบูรณ์ บุญเจือ นายกเทศมนตรีต�ำบลโพนงาม

ประวัติความเป็นมา ต�ำบลโพนงาม เดิมมีนายบุตรพรม สันตะ เป็นหัวหน้าชักชวนเพื่อนฝูง

มาก่อตั้งหมู่บ้านหนองยาว มีการก่อตั้งมา 3 ครั้ง บ้านหนองยาวที่ 1 และที่ 2 บ้านหนองยาวที่ 1 ตั้งอยู่ทิศตะวันออกเฉียงเหนือของบ้านปัจจุบัน ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ.2449 มีประชาชนทั้งหมด 30 ครัวเรือน มีนายสอน ไม่ทราบนามสกุล เป็นผู้ใหญ่บ้าน บ้านนี้ตั้งอยู่ติดกับหนองยาวและห้วยหินสิ่ว สาเหตุที่ตั้งอยู่ติดกับ หนองยาว จึงเรียกว่า “บ้านหนองยาว” หนองยาวที่ 2 ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของ หนองยาวที่ 1 ห่างประมาณ 1 กิโลเมตร และหนองยาว ที่ 3 ก่อตั้ง เมื่อปี พ.ศ.2484 ผู ้ ใหญ่ บ้ า นคนต่ อมา คื อ นายบุ ตรศรี สั น ตะ นายค� ำ กุ ล บุ ต ร นายทอง จันทร์แจ้ง นายช่วย บุญรักษา และได้แยกตัวออกจากต�ำบลเมืองเดช เป็นต�ำบลโพนงาม เมือ่ ประมาณ พ.ศ. 2530 จัดตัง้ เป็นองค์การบริหารส่วนต�ำบล เมื่อ พ.ศ.2539 และได้ยกฐานะจากองค์การบริหารส่วนต�ำบล เป็นเทศบาล ต�ำบลโพนงาม เมื่อวันที่ 27 ตุลาคม พ.ศ.2552

สภาพทั่วไป

ที่ ตั้ ง เทศบาลต� ำ บลโพนงาม ตั้ ง อยู ่ ท างทิ ศ ตะวั น ออกของอ� ำ เภอเดชอุ ด ม ระยะห่ า งจาก อ�ำเภอเดชอุดม ประมาณ 5 กิโลเมตร เนือ้ ทีม่ พี นื้ ที่ รับผิดชอบประมาณ 37 ตารางกิโลเมตร หรือ ประมาณ 23,125 ไร่ จ�ำนวนหมู่บ้าน 13 หมู่บ้าน อยู่ในเขตเทศบาลต�ำบลโพนงาม ประกอบด้วย หมู่ที่ 1 บ้านโพนงาม หมูท่ ี่ 8 บ้านราษฎร์พฒั นา หมู่ที่ 2 บ้านหนองยาว หมู่ที่ 9 บ้านหนองยาว หมู่ที่ 3 บ้านโนนสว่าง หมูท่ ี่ 10 บ้านหนองยาว หมู่ที่ 4 บ้านอุดมพัฒนา หมู่ที่ 11 บ้านโนนสว่าง หมู่ที่ 5 บ้านผังสอง หมูท่ ี่ 12 บ้านหนองยาว หมูท่ ี่ 6 บ้านโนนหนองค้า หมู่ที่ 13 บ้านโพนงาม หมู่ที่ 7 บ้านค�ำสมบูรณ์ 220

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

(4

).indd 220

6/6/2561 14:35:20


กลุ่มอาชีพ

กลุ่มทอเสื่อ การรวมตัวกันของกลุ่มสตรีโดยเริ่มต้นจากการทอไว้ใช้เอง ต่อมามีหน่วยงานภาครัฐสนับสนุน จึงเกิดการรวมกลุ่มกันท�ำการทอเสื่อ ส�ำหรับจ�ำหน่ายกลุ่มทอเสื่อและตามที่ลูกค้าสั่ง กลุม่ จักสาน เป็นกลุม่ ทีผ่ ลิตเครือ่ งใช้จากวัสดุธรรมชาติเช่น ไม้ไผ่หวายคล้า เป็นต้น ผลิตภัณฑ์ส่วนใหญ่จะเป็นอุปกรณ์ดักจับสัตว์น�้ำ ตะกร้า กระติบข้าว จ�ำหน่ายในร้านค้าชุมชนหรือตามทีล่ กู ค้าสัง่ นอกจากนีย้ งั ถ่ายทอดสูค่ นรุน่ หลัง และเป็นการอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น กลุม่ ปุย๋ ชีวภาพ เกิดจากความต้องการทีจ่ ะลดค่าใช้จา่ ยจากการซือ้ ปุย๋ เคมี จึงรวมกลุม่ จัดตัง้ ผลิตปุย๋ อินทรียช์ วี ภาพจ�ำหน่ายให้แก่สมาชิก และบุคคลทัว่ ไป บริหารจัดการด้วยคณะกรรมการสมาชิกจะได้ปุ๋ยในราคาสมาชิก และมี การแบ่งผลก�ำไรทุกปี กลุ่มตัดเย็บเสื้อผ้า เป็นการรวมตัวกันของกลุ่มสตรีโดยการส่งเสริม และสนับสนุนจากเทศบาลต�ำบลโพนงาม และส�ำนักงานพัฒนาชุมชนอ�ำเภอ ท�ำการตัดเย็บเสื้อผ้าส�ำเร็จรูปทรงพื้นบ้านและทรงสมัย ส่วนใหญ่ตัดเย็บจาก ผ้าพื้นบ้านซึ่งรับมาจากสมาชิกทอเองและกลุ่มทอผ้าในหมู่บ้าน การจ�ำหน่าย ขายทั้งปลีกและส่ง หรือตามที่ลูกค้าสั่ง นอกจากนี้ยังเพิ่มมูลค่าโดยท�ำเสื้อเย็บ มือด้วย กลุ่มโคมไฟ เป็นการรวมกันท�ำโคมไฟจากไม้ไผ่ เพื่อจ�ำหน่าย กลุ่มทอผ้า การรวมตัวกันของกลุ่มสตรีโดยเริ่มต้นจากการทอไว้ใช้เอง ต่อมามีหน่วยงานภาครัฐสนับสนุน จึงเกิดการรวมกลุม่ กันท�ำการทอผ้าพืน้ เมือง ส�ำหรับจ�ำหน่ายกลุ่มตัดเย็บเสื้อผ้าและตามที่ลูกค้าสั่ง กลุ่มยางพารา เป็นการรวมตัวกันของชาวสวนยางพารา เพื่อการมีอ�ำนาจ ต่อรองกับพ่อค้าคนกลางมากขึ้น หรือมีปัญหาในการปลูกพืชชนิดนี้ ก็จะได้ ปรึกษาหาทางแก้ไขหรือมาแชร์ความรู้กัน UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

(4

).indd 221

221

6/6/2561 14:35:38


โครงการธนาคารขยะต�ำบลโพนงาม ก่อตั้ง ขึ้นเมื่อวันที่ 20 ธันวาคม 2559

วัตถุประสงค์เพื่อ 1. เพื่อรณรงค์สร้างจิตส�ำนึกให้กับประชาชน ในการคัดแยกขยะ 2. เพื่อลดปริมาณขยะก่อนน�ำมาทิ้ง 3. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมการมี ส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการขยะโดยชุมชน 4. เพื่อสร้างรายได้ให้กับครัวเรือนในชุมชน 5. เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตพร้อมเสริมสร้าง ความเข้มแข็งให้แก่ครัวเรือนและชุมชน 6. เพื่อน�ำผลพลอยได้จากการคัดแยกขยะไว้ ขายมาตัง้ เป็นกองทุนฌาปนกิจสงเคราะห์เพือ่ เป็น สวัสดิการให้กับประชาชนในชุมชน ระเบียบ 1. มีชื่อในทะเบียนบ้านของครัวเรือนนั้น และ อยู่ในเขตเทศบาลต�ำบลโพนงาม 2. ต้องขายขยะรีไซเคิลติดต่อกันไม่นอ้ ยกว่า 6 เดือน 3. หลังจากขายขยะรีไซเคิลติดต่อกันครบแล้ว ไม่ต้องหยุดขายติดต่อกันเกิน 1 เดือน เพราะจะ ท�ำให้ขาดสิทธิร์ บั เงินค่าฌาปนกิจศพ หมายความว่า สมาชิกธนาคารขยะผู้ใดที่ขายขยะครบ 6 เดือน ติดต่อกัน และมีสิทธิ์รับเงินค่าฌาปนกิจศพแล้ว สามารถหยุดขายได้เดือน เว้นเดือน หรือจะขายทุก เดือนก็ได้ โดยจะยังมีสิทธิ์รับเงินค่าฌาปนกิจศพ (จ�ำนวนที่รับเท่ากับจ�ำนวนครัวเรือนคูณด้วยยี่สิบ บาท) ปัจจุบนั มีสมาชิกรวมทัง้ หมด 1,461 ครัวเรือน เงินทุนหมุนเวียน 915,986.57 บาท

222

กองทุนสวัสดิการชุมชนและผู้สูงอายุต�ำบล โพนงาม(เงินออมวันละบาท) ก่อตั้งเมื่อ 1 สิงหาคม 2551 วัตถุประสงค์ 1.เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้ประชาชนในพื้นที่ ดูแลช่วยเหลือซึ่งกันและกัน 2.เพื่ อ ให้ เ กิ ด กองทุ น สวั ส ดิ ก ารชุ ม ชนขึ้ น ในรูปแบบการมีสว่ นร่วมของ 3 ภาคส่วน คือ (1) ประชาชน (2) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (3) ภาครัฐ 3.เพือ่ ให้ประชาชนมีสวัสดิการตัง้ แต่เกิดจนตาย สวัสดิการกองทุนสวัสดิการชุมชนและผูส้ งู อายุ ต�ำบลโพนงาม สมาชิกจะได้รับสวัสดิการ ต้องเป็นไปตาม เงื่อนไขดังนี้ 1.เกี่ยวกับการเกิด 500 บาท 2.เกี่ยวกับการเจ็บป่วย 100บาท/คืน

3.เกี่ยวกับการเสียชีวิต 4.สวัสดิการเพิ่มเติม - เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ติดต่อกัน 6 เดือน 300 บาท - สนั บ สนุ น ครอบครั ว สุ ข ใจ ห่ า งไกล ยาเสพติด 500 บาท (พร้อมใบเกียรติบตั ร) ปัจจุบันมีสมาชิก รวม 1,178 คน เงินทุน หมุนเวียน 1,198,422 บาท (11 มกราคม 2561)

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

(4

).indd 222

6/6/2561 14:35:36


วัดป่าหนองยาว

ที่ตั้ง หมู่ 8 ต�ำบลโพนงาม อ�ำเภอเดชอุดม จังหวัดอุบลราชธานี ประวัติความเป็นมา เดิมเนื้อที่ของวัดนี้ เป็นที่ ของโยม 3 ท่าน คือ นายหลง แก่นจันทร์ นายสอน ถิ่นขาม และนายแปลง อูปแก้ว ร่วมผู้บริจาค รวม 140 ไร่ 2 งาน 40 ตารางวา โดยหลวงพ่อสาย จารุวัณโณ เจ้าอาวาสวัดค�ำส�ำราญ ในขณะนั้น ได้ เห็นว่าเป็นที่สงบ เหมาะแก่การปฏิบัติธรรมมาก และห่างไกลบ้านพอสมควร ในปี พ.ศ.2502 มี พระเณรเข้ามาปฏิบตั ธิ รรมและไปมาตลอด จนมา เป็ น ที่ พั ก สงฆ์ ปี พ.ศ.2519 ขอสร้ า งวั ด เป็ น ส�ำนักสงฆ์และขอจัดตั้งให้เป็นวัดถูกต้องและได้ อนุญาตในวันที่ 24 มิถุนายน 2520 ในปีถัดมา 2521 ได้แต่งตั้งพระอธิการพุทธา พุทธจิตโต เป็น เจ้ า อาวาสและได้ รั บ พระราชทานแต่ ง ตั้ ง เป็ น พระครูอรัญกิจโกศล ในวันที่ 5 ธันวาคม 2531 จนถึงปัจจุบัน

ประวัติวัดตรัยรัตนาราม วัดตรัยรัตนาราม ก่อตั้งขึ้นเมื่อ 1 มีนาคม

2550 โดยแรกเริ่มเดิมที โยมพ่อโยมแม่ของท่าน พระอาจารย์ประสงค์ เขมโก ได้ถวายที่ดินมีเนื่อที่ 4 ไร่ พระอาจารย์ประสงค์ เขมโก ท่านได้นิมิตว่า ผู้ที่ถวายที่ดิน สมควรที่จะเป็นบุคคลที่น่ายกย่อง เชิดชู ท่านจึงได้เอานามสกุล ของโยมพ่อโยมแม่คอื

“สามแก้ว” มาเปลี่ยนเป็นภาษาบาลีได้ชื่อออก มาว่า “รัตนาราม” เมือท่านได้กราบเรียนหลวงปู่ พุทธา พุทธจิตโต ให้ท่านทราบ หลวงปู่จึงเพิ่มเข้า ให้อกี ค�ำคือ “ตรัย” แปลว่า”สาม” และ “รัตนาราม” ซึ่งแปลว่า “แก้ว” จึงมีที่มาของอาวาสแห่งนี้ และ มีญาติโยมจากทั่วสารทิศที่มีความเคารพศรัทธา

ในปฏิปทา และในการแสดงพระธรรมเทศนาของ ท่าน จึงได้เเรงศรัทธาจากญาติโยมรวบรวมปัจจัย ช่วยกันซื้อที่ดินขยายพื้นที่ใช้เวลานาน 6 ปี จนถึง ปัจจุบัน มีเนื้อที่ 45 ไร่เศษ ซึ่งอยู่ในขั้นตอนการ ด� ำ เนิ น การขอก่ อ ตั้ ง วั ด ให้ ถู ก ต้ อ งตามกฎของ เถรสมาคมต่อไป UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

(4

).indd 223

223

6/6/2561 14:35:38


อิ่มอร่อยมะม่วงกวน ฝีมือล้วนปอกล้วยสาน เพลงขอทานประจ�ำถิ่น ศิลปินกระเดื่องแดน”

W O R K LI F E

บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล

องค์การบริหารส่วนต�ำบลทุ่งเทิง นายค�ำภา เชื้อคง

นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลทุ่งเทิง ข้อมูลทั่วไป องค์การบริหารส่วนต�ำบลทุ่งเทิง ต�ำบลทุ่งเทิง อ�ำเภอเดชอุดม จังหวัด อุบลราชธานี ขนาดพื้นที่ 99 ตารางกิโลเมตร มีจ�ำนวนหมู่บ้าน 15 หมู่บ้าน จ�ำนวนประชากร 7,920 คน ประชาการภายในต�ำบลทุ่งเทิง ประกอบอาชีพ หลักเป็นเกษตรกรรม

ค์ ค์ มรงค์

จ.ส.อ.วรวิทย์ จดจ�ำ ปลัดองค์การบริหารส่วนต�ำบลทุ่งเทิง

224

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

4

.indd 224

6/6/2561 14:44:55


ร่วมงานวันปิยมหาราชกับส่วนราชการอื่นๆในต�ำบลทุ่งเทิง

เกษตรอินทรีย์ ฝ่ายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

4

.indd 225

225

6/6/2561 14:44:57


ท�ำงานตามรอยพ่อ “ถ้ามีความมุ่งมั่นตั้งใจและมีองค์ความรู้ เมื่อท�ำงานลุล่วงก็มีความสุข” จ.ส.อ.วรวิทย์ จดจ�ำ ปลัดองค์การบริหาร ส่ ว นต� ำ บลทุ ่ ง เทิ ง อ� ำ เภอเดชอุ ด ม จั ง หวั ด อุบลราชธานี หลังจากสอบผ่านได้มาเป็นปลัด องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บล ก็ ไ ด้ ล าออกจาก ราชการทหารเมื่อปี 2540 ซึ่งเป็นไปตามฝันเมื่อ ครั้ ง วั ย เยาว์ ความมุ ่ ง มั่ น ที่ จ ะกลั บ มารั บ ใช้ ประชาชนในถิ่นบ้านเกิดตนเอง แรกเริ่มได้รับ การบรรจุที่ องค์การบริหารส่วนต�ำบลโคกช�ำแระ อ�ำเภอทุ่งศรีอุดม จังหวัดอุบลราชธานี ก้าวแรก ในท้องถิ่น สิ่งแรกที่อยากท�ำคือ ท�ำอย่างไรจะได้ มี โ อกาสช่ ว ยเหลื อ ประชาชน ร้ อ นวิ ช าว่ า งั้ น “หัวเราะ” มีอ�ำเภอเป็นพี่เลี้ยงตอนนั้นพอเข้าใจ ได้บ้าง ทุกครั้งที่พบเจอปัญหา จะนึกถึง ในหลวง 226

รัชกาลที่ 9 ท่านเป็นแรงบันดาลใจในทุกๆ ครั้ง ทุกๆ เรื่อง เมื่อยามท้อหรือเจอปัญหา เพราะ พระองค์ ไ ม่ เ คยที่ จ ะหยุ ด คิ ด หรื อ หยุ ด ท� ำ พระองค์ทรงงานไม่รู้จักเหน็ดเหนื่อย ทุรกันดาน เพียงใดท่านก็ไม่เคยย่อท้อ เท่าที่พบเห็นมาตั้งแต่ จ�ำความได้เห็นแต่พระองค์ทรงงานตลอด เหล่า นี้คือแรงบันดาลใจให้ ข้าพเจ้าได้เดินตามรอยพ่อ ที่ส�ำคัญพระองค์ทรงคิดริเริ่มนวัตกรรมหลายๆ ด้าน ทรงเป็นต้นแบบในการใช้ทุกอย่างให้เกิด ความคุ้มค่ามากที่สุด

ผลงาน

ในต�ำแหน่งปลัดองค์การบริหารส่วนต�ำบล 1. พ.ศ.2552 ผลักดันองค์การบริหารส่วน ต� ำ บลนาเกษม อ� ำ เภอทุ ่ ง ศรี อุ ด ม จั ง หวั ด

อุบลราชธานี ได้รับรางวัลชนะเลิศ ระดับจังหวัด โครงการอุบลเมืองสะอาด ราชธานีอิสาน 2. พ.ศ.2560 ได้ รั บ โล่ ร างวั ล เกี ย รติ ย ศ นั ก ปกครองท้ อ งถิ่ น ดี เ ด่ น สาขาการจั ด การ สิง่ แวดล้อม โดยสถาบันรางวัลไทย กรุงเทพมหานคร แนวทางการบริหารจัดการน�้ำ ตามโครงการ

งานในอนาคต

1. ปรั บ ปรุ ง หนองทุ ่ ง เทิ ง ให้ เ ป็ น สวน สาธารณะ พักผ่อนหย่อนใจ ออกก�ำลังกาย 2. ระบบธนาคารน�้ำใต้ดิน เต็มพื้นที่ต�ำบล ทุ่งเทิง 3. งานเกษตรอินทรีย์ ที่ยั่งยืน 4. งานสิ่งแวดล้อม หมู่บ้านสะอาดสวยงาม ไร้ขยะ

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

4

.indd 226

6/6/2561 14:45:01


ธนาคารน�้ำใต้ดิน โครงการธนาคารน�ำ้ ใต้ดนิ มีสองระบบ ระบบเปิด และระบบปิ ด สภาพทั่ ว ไปของต� ำ บลทุ ่ ง เทิ ง เป็นพื้นที่ราบ ไม่มีระบบชลประทาน และไม่มี ล� ำ น�้ ำ ใหญ่ ไ หลผ่าน จึงเป็นพื้นที่แห้งแล้งเป็น ประจ�ำ โดยเมือ่ ปี 2558 เกิดภัยภัยแล้งอย่างหนัก ท�ำให้ผลผลิตทางการเกษตรได้รบั ความเสียหายมาก อี ก ทั้ ง น�้ ำ ที่ ใช้ อุ ป โภคบริ โ ภคขาดแคลนเกื อ บ ทั้งต�ำบล จึงได้น�ำเรื่องดังกล่าวเข้าปรึกษาหารือ หลายส่วนราชการทั้งอ�ำเภอและจังหวัด แต่สืบ เนื่ อ งภั ย แล้ ง ดั ง กล่ า วได้ ส ่ ง ผลกระทบไป ทั่ ว จั ง หวั ด เกิ น ที่ จ ะเยี ย วยาและช่ ว ยเหลื อ ทุกท้องถิ่นได้ จนผมได้ทราบเรื่องการบริหาร จัดการน�้ำจากท่านนายกชาตรี ศรีวิชาฐา นายก องค์การบริหารส่วนต�ำบลเก่าขาม ซึ่งเคยท�ำงาน ร่วมกับท่านมาก่อน ครั้งด�ำรงต�ำแหน่งที่ต�ำบล เก่าขาม ก็ได้ทราบว่าการบริหารจัดการน�้ำในเขต ที่ไม่มีชลประทานผ่านมีลักษณะอย่างใด จนได้ น�ำเรื่องดังกล่าวมาแจ้งผู้บริหารและสภาองค์การ บริหารส่วนต�ำบลทราบและน�ำแนวทางดังกล่าว มาแก้ ไขปั ญ หาตามที่ ต� ำ บลเก่ า ขามได้ ริ เริ่ ม ไว้ ปี 2558 สถาบันน�้ำนิเทศศาสนคุณ โดยท่านเจ้าคุณ สมาน สิริปัญโญ เป็นผู้ถ่ายทอดองค์ความรู้ใน เรื่องการบริหารจัดการน�้ำ เริ่มแรกได้ร่วมกับท่าน นายกค�ำภา เชื้อคง นายกองค์การบริหารส่วน ต�ำบลทุ่งเทิง หาโอกาสไปกราบนมัสการหลวงพ่อ

เพื่ อ รั บ ทราบแนวทาง เจ้ า คู ณ หลวงพ่ อ สมาน ท่านเล่าให้ฟังว่าท่านเป็นธรรมทูต ไปเผยแพร่ พระธรรมค� ำ สอนองค์ สั ม มาสั ม พุ ท ธเจ้ า อยู ่ ที่ ประเทศสหรัฐอเมริกาเป็นเวลาหลายสิบปี ท่าน ก็ได้ศึกษาแนวทางที่เกี่ยวการบริหารจัดการน�้ำที่ อเมริ ก า จนสามารถปรั บ แนวทางให้ เ ป็ น ประโยชน์และเป็นจริงกับพื้นที่ประเทศไทย ท่าน จึ ง กลั บ มาเพื่ อ จะช่ ว ยให้ พี่ น ้ อ งประเทศไทย รอดพ้นจากความทุกข์ยากเรื่องน�้ำ โดยท่านได้ เริ่มท�ำในพื้นที่วัดต่างๆ น�ำร่องไปก่อนจนส�ำเร็จ และเริ่มขยายผลสู่ท้องถิ่น โดยมี องค์การบริหาร ส่ ว นต� ำ บลเก่ า ขาม น� ำ ร่ อ งท� ำ ก่ อ น องค์ ก าร บริหารส่วนต�ำบลทุ่งเทิงเป็นท้องถิ่นถัดมาเริ่ม

ด� ำ เนิ น การบ่ อ ธนาคารน�้ ำ ใต้ ดิ น ในปี 2559 จ�ำนวน 5 บ่อ ผลก็พบว่าน�้ำใต้ดินบริเวณที่ท�ำ ธนาคารน�้ำมีเพียงพอ และไม่กร่อยไม่เค็มดังเช่น แต่ก่อน ณ ปี 2560 องค์การบริหารส่วนต�ำบล ทุ่งเทิง มีธนาคารน�้ำใต้ดิน จ�ำนวน 8 บ่อ และ อนาคตจะขยายให้เต็มพื้นที่ อย่างน้อย 30 บ่อ และท�ำธนาคารน�้ำใต้ดินระบบปิด ให้เต็มพื้นที่ ต� ำ บล ในโอกาสต่ อ ไป ต้ อ งขอขอบพระคุ ณ สถาบันน�้ำนิเทศศาสนคุณ และ องค์การบริหาร ส่วนต�ำบลเก่าขาม มณฑลทหารบกที่ 22 กรม ทหารราบที่ 6 และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องที่เป็นแรง ผลักดันให้เกิดสิ่งที่ยั่งยืนต่อประเทศชาติต่อไป

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

4

.indd 227

227

6/6/2561 14:45:11


W O R K LI F E

บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล

องค์การบริหารส่วนต�ำบลค�ำครั่ง

นายสมบัติ เสตรา

นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลค�ำครั่ง องค์การบริหารส่วนต�ำบลค�ำครั่ง

สภาต�ำบลค�ำครั่ง อ�ำเภอเดชอุดม จังหวัดอุบลราชธานี ได้รับการ เปลี่ยนแปลงฐานะเป็นองค์การบริหารส่วนต�ำบล เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ.2539 ซึ่งประกาศใน ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 113 ตอนพิเศษ 52ง ลงวันที่ 25 เดือนธันวาคม 2539 และปรับยกฐานะเป็น อบต.ขนาดกลาง เมื่อวันที่ 1 เดือนเมษายน พ.ศ.2551 โครงการและกิจกรรม

สภาพทั่วไปข้อมูลพื้นฐาน

องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บลค� ำ ครั่ ง มี พื้ น ที่ 46 ตารางงกิ โ ลเมตร หรือ 28,750 ไร่ ครอบคลุมพื้นที่ 10 หมู่บ้าน ทิศเหนือ ติดกับเทศบาล ต�ำบลกุดประทาย อ�ำเภอเดชอุดม ทิศใต้ติดกับต�ำบลบัวงาม ทิศตะวันออก ติดกับเทศบาลต�ำบลนาโพธิ์ อ�ำเภอบุญฑริก ทิศตะวันตก เทศบาลต�ำบล โพนงาม จ�ำนวน ประชากรในพื้นที่ 6,415 คน แยกเป็นชาย 3,257 คน หญิง 3,158 คน จ�ำนวนครัวเรือน 2,479 หลังคาเรือน ณ วันที่ 11 พฤษภาคม 2561

สถานที่ส�ำคัญและแห่งท่องเที่ยว วั ด ป่ า สุ ธ รรมรั ง ษี ที่ อ ยู ่ บ้ า นนานวล หมู ่ ที่ 4 บ้ า นนานวล ต�ำบลค�ำครั่ง อ�ำเภอเดชอุดม จังหวัดอุบลราชธานี

228

.

(1

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

).indd 228

6/6/2561 14:50:34


วัดเทพเกษม พระครูโกวิทพัฒนากร เจ้าอาวาสวัดเทพเกษม เจ้าคณะต�ำบลเมืองเดช เขต 2 ประวัติความเป็นมา วัดเทพเกษม ตั้งอยู่ระหว่างบ้านแขม หมู่ 3 กั บ บ้ า นเทพเกษม หมู ่ 26 ต� ำ บลเมื อ งเดช อ�ำเภอเดชอุดม จังหวัดอุบลราชธานี วัดเทพเกษม สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย เป็นวัดแห่งแรกที่ก่อตั้งพร้อมกับบ้านแขม เมื่อ ประมาณ ปี พ.ศ. 2466 ได้รับพระราชทาน วิสงุ คามสีมา เมือ่ วันที่ 15 มิถนุ ายน พ.ศ. 2521 มีเนื้อที่ ทั้ง 14 ไร่ 3 งาน

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

(1

).indd 229

229

6/6/2561 14:56:06


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดเวตวันวิทยาราม ต.เมืองเดช อ.เดชอุดม จ.อุบลราชธานี

230

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

6

.indd 230

6/6/2561 15:04:06


ประวัติหมู่บ้านป่าก่อ

วัดเวตวันวิทยาราม ตัง้ อยูท่ ี่ ต�ำบลเมือง เดช อ�ำเภอเดชอุดม จังหวัดอุบลราชธานี เมือ่ ปีพ.ศ. 2471 มีราษฎรจากบ้านเมืองเก่า 5-6 ครอบครัว น�ำโดย นายดี สระแผง นายอ้น พลรักษ์ นายธรรม พลรักษ์ นายทอน พรมรินทร์ และนายสา นารินทร์ ได้อพยพ ครอบครัวออก จากบ้านเมืองเก่า มาแผ้ว ถางป่าบริเวณด้านทิศใต้ของล�ำห้วยตลาด เพื่อตั้งรกรากอยู่อาศัย เพราะเป็นท�ำเลที่ เหมาะสม มี น�้ ำ ท่ า บริ บู ร ณ์ เหมาะแก่ การเพาะปลูก หลังจากนัน้ ได้มชี าวบ้านจาก ถิ่นใกล้เคียงและอ�ำเภอต่างๆ ได้อพยพมา เพิ่มจ�ำนวนมากขึ้นเรื่อยๆ จนทางการเห็น ว่าควรตั้งเป็นหมู่บ้านได้อีกหมู่บ้านหนึ่ง และบริเวณนี้มีต้นก่อขึ้นอยู่หนาแน่น ไม้ก่อ เป็นไม้เนื้ออ่อน ผลรับประทานได้ ชาวบ้าน จึงขนานนามหมูบ่ า้ นนี้ “ป่ากอ” ทางราชการ จึงได้ตั้งชื่อตามที่ชาวบ้านพากันเรียกเป็น หมูบ่ า้ นที่ 13 ขึน้ ต่อต�ำบลเมืองเดชในสมัย นัน้ และแต่งตั้ง นายชม พันธ์ธัง เป็นผู้ใหญ่ บ้านคนแรก นายทัน พวงแก้ว นายสมศักดิ์ บุญต่อ นายทัน พวงแก้ว นายอ่อน แสงค�ำ นายกอง จันทร์พันธ์ นายประดิษฐ์ บุญ อนันต์ (2539) นายนิยม ถิน่ ขาม (2542) นายสมศรี ริปนั โน (2547) นายไสว ทองงอก ผูใ้ หญ่บา้ นคนสุดท้าย ปัจจุบนั เป็นเทศบาล เมืองเดชอุดม จึงไม่มีผู้ใหญ่บ้าน

ประวัติวัดเวตวันวิทยาราม

ครั้นต่อมาเมื่อปี พ.ศ. 2482 นายทัน พวงแก้ว ซึ่งได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้ใหญ่บ้าน คนที่ 2 ได้พร้อมใจกันกับชาวบ้านสร้างกุฏิ ถาวร ขึ้น 1 หลัง ท�ำด้วยไม้ตะเคียนมุงด้วย สังกะสี (ซึ่งยังปรากฏในปัจจุบัน) แล้วไปรื้อ ศาลาการเปรียญทีว่ ดั ร้าง (วัดหลวงเมืองเก่า ในปัจจุบัน ไม่มีพระอยู่) มาปลูกเป็นศาลา กลางเปรียญเป็นการถาวร และได้ตั้งชื่อว่า “วั ด เวตวั น วิ ท ยาราม” ตามชื่ อ ป่ า หวาย “เวตตะ” แปลว่า ต้นหวาย “วนะ” แปลว่า ป่า ขณะนั้นบ้านป่าก่อ บ้านเมืองเก่า ไม่มี โรงเรี ย นประชาบาล จึ ง ขอใช้ ศ าลา การเปรียญเป็นโรงเรียนสอนเด็กนักเรียน โดยนิมนต์เจ้าอาวาสมาเป็นครูสอน ฉะนั้น วัดเวตะวัน จึงมีค�ำว่า “วิทยา” มาต่อท้าย เพราะเหตุที่มีโรงเรียนในวัด เมื่อสร้างกุฏิเสร็จแล้วได้น�ำความไป ปรึ ก ษา พระครู อุ ด มเดชบริ ห าร (เกษม อินทปัญโญ)เจ้าคณะอ�ำเภอเดชอุดม ใน ขณะนั้ น เพื่ อ ขอพระมาอยู ่ ป ระจ� ำ จึ ง ได้ พระสินทร ยสินธโร มาเป็นเจ้าอาวาส แต่ พระสินทร ก็อยู่ได้เพียงพรรษาเดียวทางวัด แสงเกษม จึงส่งพระอธิการเสรี สารปัญโญ เจ้าคณะต�ำบลเมืองเดช มาเป็นเจ้าอาวาส ระยะนี้ได้มีบูรณะวัดหลายด้าน พร้อมทั้ง สร้างกุฏิขึ้นอีก 1 หลัง พ.ศ. 2500 สร้างขึ้น อีกหนึ่งหลัง แล้วพระอธิการเสรี ก็ได้ลาไป จ� ำ พรรษาที่ วั ด สระแก้ ว อ� ำ เภอสระแก้ ว

ณ เมื่ อ ประมาณปี พ.ศ. 2478 มี พระธุดงค์หลายรูปมักมาปักกรดพักแรมอยู่ เป็นประจ�ำในบริเวณป่าหวาย และป่าไม้กอ่ อั น ร่ มรื่ น อั น เป็ น ที่ ตั้ ง ของวั ด ในปั จ จุ บั น ซึ่งในสมัยนัน้ เป็นทีร่ กร้างว่างเปล่า นายทัน พวงแก้ว ได้ปรึกษาหารือกับชาวบ้านเห็นควร ตัง้ วัดประจ�ำหมูบ่ า้ น และทีเ่ หมาะในการตัง้ วั ด ควรจะเป็ น ที่ พ ระธุ ด งค์ มั ก มาพั ก แรม จึงได้สงวนที่ไว้เป็นเขตส�ำหรับการตั้งวัด ต่อมาได้พากันปลูกเพิ่งพัก (คล้ายเพิงหมา แหงน) ไว้ส�ำหรับเป็นที่นิมนต์พระให้พัก อาศัยชั่วคราวเมื่อถึงเทศกาลท�ำบุญ

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

6

.indd 231

231

6/6/2561 15:04:13


จังหวัดปราจีนบุรี ชาวบ้านจึงได้ไปนิมนต์ พระสัญญา สารธัมโม วัดแสงเกษม มาเป็น เจ้าอาวาส พระสัญญา ได้ตอ่ เติมกุฏใิ หญ่จน เสร็ จ สมบู ร ณ์ ต่ อ มาเมื่ อ ปี พ.ศ. 2506 พระสัญญา สารธัมโม ก็ลาสิกขาบท เมื่อเจ้าอาวาสว่างลงอีก ชาวบ้านได้ ไปนิมนต์ พระอาจารย์อ้วน สุนทโร(พระครู พิพิธพัฒนโกศล) จากบ้านหนองบัวฮีใหญ่ อ�ำเภอพิบูลมังสาหาร มาเป็นเจ้าอาวาส และในปี พ.ศ.2507 ได้ด�ำเนินการก่อสร้าง ศาลาการเปรียญขึ้นแล้วเสร็จ ในปี พ.ศ. 2514 - 2515 ได้กอ่ สร้างอุโบสถขึน้ 1 หลัง โดยใช้เวลานานถึง 12 ปีเต็ม สิน้ ค่าก่อสร้าง เป็นเงินจ�ำนวน 3,253,795.00 บาท ในการด�ำเนินการก่อสร้างอุโบสถ ที่ใช้ ระยะเวลาอันยาวนานถึง 12 ปีนั้นกว่าจะ ส�ำเร็จลงได้ ก็ด้วยความศรัทธาอันบริสุทธิ์ ของเราชาวพุทธศาสนิกชนทั้งหลายด้วยกัน โดยเฉพาะอย่างยิง่ ความสามัคคีเป็นน�ำ้ หนึง่ ใจเดียวกันของชาวบ้านก่อบ้านหนองแสงใต้ ต้องใช้ผนู้ ำ� คือผูใ้ หญ่บา้ นถึง 3-4 ท่านด้วยกัน เริม่ จากผูใ้ หญ่บา้ น คือ (1)นายอ่อน แสงค�ำ (2515) (2)นายประดิษฐ์ บุญอนันต์ (3) นายกอง จันทร์พันธ์ แล้วกลับมาเป็น (4) นายประดิษฐ์ บุญอนันต์ อีกวาระหนึง่ ผูใ้ หญ่ บ้านหนองแสงใต้ คือนายประศาสน์ รักผล ดี (ช.ปลา) นายมโน สาหมาน (2 สมัย) และ นายบัญชา สายเสมา ผูใ้ หญ่บา้ นคนปัจจุบนั 232

พระครูเวตวันวรกิจ เจ้าคณะอ�ำเภอเดชอุดม เจ้าอาวาสวัดเวตวันวิทยาราม

ประวัติเจ้าอาวาส

พระครูเวตวันวรกิจ (จรัส สารธมฺโม) เจ้าคณะอ�ำเภอเดชอุดม ชัน้ เอก เจ้าอาวาส วัดเวตวันวิทยาราม เกิดเมื่อวันจันทร์ที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2501 มีนามว่า จรัส นามสกุล บุญใจรักษ์ บิดาชื่อ นายค่า มารดาชื่อ นางประเทือง บุ ญ ใจรั ก ษ์ บิ ด ามารดามี อ าชี พ ทานา มี พี่น้องร่วมบิดามารดา 9 คน ส่วนท่านเป็น บุตรคนที่ 3 ของครอบครัว อุปสมบท เป็นพระภิกษุ ณ พัทธสีมา วั ด เวตวั น วิ ท ยาราม ต� ำ บลเมื อ งเดช อ�ำเภอเดชอุดม จังหวัดอุบลราชธานี โดยมี

พระครูพิพิธพัฒนโกศล (อ้วน สุนทโร) เป็น พระอุ ป ั ช ฌาย์ , พระครู ว รสารคุ ณ เป็ น พระกรรมวาจาจารย์, พระบุญมา กลฺยาโณ เป็ น พระอนุ ส าวนาจารย์ เมื่ อ วั น ที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ.2522 ได้รบั ฉายาว่า สารธมฺโม ซึ่งแปลว่า “ผู้มีธรรมเป็นแก่นสาร” ด้านการปกครอง พ.ศ.2528 ได้รบั แต่งตัง้ ให้ดำ� รงต�ำแหน่ง ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดเวตวันวิทยาราม ต�ำบล เมื อ งเดช อ� ำ เภอเดชอุ ด ม จั ง หวั ด อุบลราชธานี ตราตั้งที่ 10/2528 วันที่ 5 เดือนกรกฎาคม พ.ศ.2528

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

6

.indd 232

6/6/2561 15:04:21


พ.ศ.2529 ได้รับแต่งตั้งเป็นเลขานุการ เจ้าคณะอ�ำเภอเดชอุดม จังหวัดอุบลราชธานี พ.ศ.2535 ได้รับการแต่งตั้งให้ด�ำรง ต� ำ แหน่ ง เป็ น ผู ้ รั ก ษาการแทนเจ้ า อาวาส วัดเวตวันวิทยาราม ต�ำบลเมืองเดช อ�ำเภอ เดชอุดม จังหวัดอุบลราชธานี พ.ศ.2539 ได้รบั แต่งตัง้ ให้ดำ� รงต�ำแหน่ง เจ้าอาวาสวัดเวตะวันวิทยาราม ต�ำบลเมือง เดช อ�ำเภอเดชอุดม จังหวัดอุบลราชธานี ตราตัง้ ที่ 10/2539 วันที่ 29 เดือนมกราคม พ.ศ.2539 พ.ศ.2545 ได้ รั บ พระราชทานตั้ ง สมณศักดิ์เป็นพระครูสัญญาบัตรเจ้าอาวาส วัดราษฎร์ ชั้นโท (จร.ชท) ราชทินนามที่ “พระครูเวตวันวรกิจ” พ.ศ.2546 ได้รบั แต่งตัง้ เป็นพระอุปชั ฌาย์ ในเขตต�ำบลเมืองเดช เขต 2 อ�ำเภอเดชอุดม จังหวัดอุบลราชธานี ตราตั้งที่ 61/2546 วันที่ 13 เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ.2546 พ.ศ.2547 ได้รบั แต่งตัง้ ให้ดำ� รงต�ำแหน่ง เจ้ า คณะต� ำ บลเมื อ งเดช เขต 2 อ� ำ เภอ เดชอุดม จังหวัดอุบลราชธานี พ.ศ.2547 ได้รบั แต่งตัง้ ให้ดำ� รงต�ำแหน่ง รองเจ้าคณะอ�ำเภอเดชอุดม อ�ำเภอเดชอุดม จังหวัดอุบลราชธานี ตราตั้งที่ 3/2547

วันที่ 16 เดือนตุลาคม พ.ศ. 2547 พ.ศ.2553 ได้ รั บ ประทานเลื่ อ นชั้ น พระสั ง ฆาธิ ก ารจากพระครู สั ญ ญาบั ต ร รองเจ้ า คณะอ� ำ เภอชั้ น โทเป็ น ชั้ น เอก (รจอ.ชอ) ราชทินนามเดิม พ.ศ.2554 ได้รบั แต่งตัง้ ให้ดำ� รงต�ำแหน่ง เจ้าคณะอ�ำเภอเดชอุดม ชั้นโท (จอ.ชท.) วันที่ 11 เดือนพฤษภาคม พ.ศ.2554 พ.ศ.2557 ได้ รั บ ประทานเลื่ อ นชั้ น พระสั ง ฆาธิ ก าร พระครู เ จ้ า คณะอ� ำ เภอ ชัน้ เอก (จอ.ชอ.) วันที่ 5 เดือนธันวาคม พ.ศ. 2557 จนถึงปัจจุบัน

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

6

.indd 233

233

6/6/2561 15:04:32


ศาสนสถานที่โดดเด่น ศาลาการเปรียญ จุดเด่นเป็นศาลาทรง ไทย ด้านหลังศาลาตกแต่งด้วยภาพเขียน ลายมารผจญ และรอบๆ ตกแต่งด้วยภาพ เขียน พระเวสสันดรชาดก ส่วนเพดานด้าน บนตกแต่งด้วยลายไทยสวยงาม

ภาพเขียนลายมารผจญ มีความหมายว่า พญามารมุ ่ ง ผจญ ขั ด ขวางพระโพธิ สั ต ว์ พระสมณะโคดม แต่ด ้วยเดชะบารมีที่ได้ บ�ำเพ็ญเพียรมาในอดีต ประดิษฐานด้วยบาท หรือวิริยะบารมีเหนือปฐพีคือศีลบารมีญาณ มีปัญญาบารมีเป็นอาวุธ และมีพระหัตถ์คือ ศรัทธาโดยมีพระแม่ธรณีเป็นพยาน ปล่อยน�ำ้ จากมวยผมท�ำลายไพร่พลของพญามารให้ แตกพ่ายแพ้ไป จึงส�ำเร็จตรัสรู้ เป็นองค์ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าพุทธโคดม “วิถีชีวิตมนุษย์นั้น จะให้มีแต่ความสุข อย่างเดียวคงไม่ได้ จะต้องมีทุกข์ มีภัยมี อุปสรรคผ่านเข้ามาด้วยเสมอ ยากจะหลีก เลีย่ งพ้น ข้อส�ำคัญอยูท่ ที่ กุ ๆคนจะต้องเตรียม ใจเตรียมกาย เตรียมการให้พร้อมทุกเวลา เพื่อเผชิญและแก้ไขความไม่ปกติเดือดร้อน นั้ น ด้ ว ยความไม่ ป ระมาท ด้ ว ยเหตุ ผ ล หลักวิชาและสามัคคีธรรม จึงจะผ่อนหนักให้ เป็นเบาและกลับร้ายให้กลายเป็นดีได้” 234

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

6

.indd 234

6/6/2561 15:04:44


เจดีย์ เป็นเจดีย์อนุสรณ์สถาน พระครูพิพิธพัฒนโกศล (อ้วน สุนฺทโร) อดีตเจ้าอาวาส วัดเวตวันวิทยาราม และรองเจ้าคณะอ�ำเภอเดชอุดม จังหวัดอุบลราชธานี คณะสงฆ์ทายก ทายิกา ชาวบ้านป่าก่อ บ้านหนองแสงใต้ บ้านโคกเถื่อนช้าง บ้านเมืองเก่าและชาวอ�ำเภอ เดชอุดม ได้ระลึกถึงคุณงามความดี ของหลวงพ่อที่ได้สร้างคุณประโยชน์นานัปการแก่ชุมชน แห่งนี้ จึงได้พร้อมใจกันสร้างอนุสรณ์สถานแห่งนี้ขึ้น มีขนาดกว้าง 9 เมตร สูง 19 เมตร เพื่อ บรรจุอฐั ิ รูปเหมือนและอัฐบิ ริขารของหลวงพ่อ โดยมีคณะผูป้ กครองทัง้ ฝ่ายสงฆ์ ฝ่ายฆราวาส ให้การสนับสนุน

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

6

.indd 235

235

6/6/2561 15:04:47


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดอุดมพัฒนา พระครูสิริญาณสังวร

เจ้าอาวาสวัดอุดมพัฒนา รองเจ้าคณะอ�ำเภอเดชอุดม

236

(2

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

).indd 236

6/6/2561 15:10:33


ประวัติความเป็นมา วัดอุดมพัฒนา ต�ำบลโพนงาม อ�ำเภอ เดชอุ ด ม จั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี เป็ น วั ด ใน พุทธศาสนา วันที่ 23 มิถุนายน 2537 โดย นายหนูแดง สายพันธ์ ผู้ใหญ่บ้านในขณะนั้น มีเนื้อที่ทั้งหมด 13 ไร่ ลงวันที่ 30 ตุลาคม 2529 ตามหนังสือที่ มท 0810 ฝว/108832 ลงวันที่ 7 ตุลาคม 2529 พร้อมคณะกรรมการ หมู ่ บ ้ า น มี บั น ทึ ก ข้ อ ตกลงกั บ นายขั น ธ์ ชั ย เสถียร หัวหน้านิคมฯ สมัยนั้น ล�ำดับเจ้าอาวาส 1. หลวงปู่บุญ ญาณวโร สร้างศาลา การเปรียญและพระพุทธมงคลญาณวโร 2. พระมหาสุพศิ ตปสีโล ป.ธ.4 มจร. 3. พระยงยุทธ กันตสีโล 4. พระสันติ ปภากโร 5. พระชาตรี อิสรธัมโม 6. พระมหาอุทยั อหึสโก 7. พระครูสริ ญิ าณสังวร (พระมหาณรงค์ ญาณสํ ว โร) รองเจ้ า คณะอ� ำ เภอเดชอุ ด ม เจ้าอาวาสรูปปัจจุบนั ตัง้ แต่ พ.ศ. 2553 ถึงปัจจุบนั

พระครูสิริญาณสังวร (พระมหาณรงค์ ญาณสํวโร) ท่านได้สร้างกุฏิ 4 หลัง สร้าง อุโบสถ 1 หลัง สร้างห้องน�้ำ 15 ห้อง บูรณะ ศาลาพระใหญ่พระพุทธมงคลญาณวโร บูรณะ ศาลาบ� ำ เพ็ ญ กุ ศ ล สร้ า งพระพุ ท ธรู ป 3 สมัยอู่ทอง เชียงแสนและสุโขทัย พระสีวลี พระพุทธกันเกรา พระไม้ตะเคียนทอง พระอุปคุต พระพุ ท ธทั น ใจ หอน�้ ำ บาดาลบ่ อ บาดาล

สร้างถนนคอนกรีตกว้าง 5 เมตร ยาว 200 เมตร ถมดิน หลายร้อยคันรถปลูกต้นมเหศักดิ์ สักสยามมินทร์ ต้นกันเกรา ต้นตะเคียนทอง ต้นยางนา ต้นมะขามป้อม ต้นมะตูม ต้นสมอเทศ ต้นพยุง เป็นต้น ถือว่าอยู่นาน สร้างประโยชน์ เยอะและได้บวชสามเณรภาคฤดูร้อนมานาน กว่า 9 ปี พร้อมกับผู้ใหญ่บ้านและชาวบ้าน อุดมพัฒนาตลอดศรัทธาสาธุชนทั้งหลาย

พระพุทธมงคลญาณวโร

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

(2

).indd 237

237

6/6/2561 15:10:48


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดป่าห่องเตย

พระครู สุ ภั ท รปุ ณ ณธาดา (บุ ญ มา โสภา) ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง เจ้ า อาวาสวั ด ป่ า ห่ อ งเตย เจ้ า คณะต� ำ บลนาเจริ ญ

เดิมชื่อ “วัดป่าชัยมงคล” เพราะตั้งตรงกับ วันพืชมงคล ในขณะนั้นเป็นที่พักสงฆ์ ซึ่งได้รับ ศรัทธาจากญาติโยมจากหมู่บ้านต่างๆ สร้าง เสนาสนะเท่าที่จ�ำเป็นส�ำหรับจ�ำพรรษา เมือ่ ต้นปี พ.ศ.2540 เริม่ ก่อสร้าง ศาลาอุโบสถ วันที่ 30 ธันวาคม พ.ศ.2548 ได้รับอนุญาตให้ ตั้งวัดโดยมี ชื่อว่า “วัดป่าห่องเตย” เพราะตั้งอยู่ ในเขตบ้านห่องเตย และเป็นสาขาของวัดหนองป่า ที่ 176 โดยมีพระปลัดบุญมา ปุญฺญสิริ เป็น เจ้าอาวาส ปัจจุบนั เป็น พระครูสภุ ทั รปุณณธาดา 238

วันที่ 14 มีนาคม พ.ศ.2553 ทางวัดได้รับ หนังสือ จากส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ แจ้งให้ไปรับประกาศส�ำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานวิสงุ คามสีมา ณ วัดพนัญเชิงวรวิหาร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ในวันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ.2553 วันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ.2553 จึงได้จดั พิธี ปักหมายเขตวิสงุ คามสีมา ตามพระบรมราชโองการ โปรดเกล้ า ฯ โดยมี น ายอ� ำ เภอเดชอุ ด มเป็ น ประธานในพิธี

วัดป่าห่องเตย ตั้งอยู่หมู่บ้านห่องเตย

หมู ่ ที่ 6 ต� ำ บลนาเจริ ญ อ� ำ เภอเดชอุ ด ม จั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี เริ่ ม ก่ อ ตั้ ง เมื่ อ วั น ที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ.2534 วันที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2555 ได้จดั งาน ผูกพัทธสีมา โดยมีพระเทพกิตติมุนี ที่ปรึกษา เจ้ า คณะจั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี เ ป็ น ประธาน พระราชธีราจารย์ เจ้าคณะจังหวัดอุบลราชธานี และนายสุรพล สายพันธ์ ผู้ว่าราชการจังหวัด อุบลราชธานี เป็นประธานฝ่ายฆราวาส ปี พ.ศ. 2557 ได้ขยายเขตพืน้ ที่ อีกจ�ำนวน 8 ไร่ รวมเป็น 26 ไร่เศษ ในปัจจุบัน รวมระยะ เวลาที่ก่อตั้งวัดจนถึงปัจจุบันวันนี้ ได้ 27 ปี

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

.indd 238

30/05/61 04:21:06 PM


HIST ORY OF BUDDHISM

บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดนาเจริญ

พระครูสุเขตตาภินันท์ เจ้าอาวาสวัดนาเจริญ

ประวัติความเป็นมา

วัดนาเจริญ ตั้งอยู่ที่ ต.นาเจริญ อ.เดชอุดม จ.อุบลราชธานี เดิมทีชาวบ้านเรียกกันว่า “วัดแสงจันทร์” (เป็นที่พักสงฆ์) เจ้าคณะอ�ำเภอสมัยนั้น เป็นผู้ตั้งชื่อ เพื่อให้สอดคล้องกับ วัดแสงเกษมของท่าน เริ่มก่อสร้างวัดเมื่อประมาณปี พ.ศ. 2500 โดยชาวบ้านนาเจริญได้ร่วมใจกัน สร้างขึ้น แต่วัดก็ยังไม่สู้จะเจริญเท่าที่ควร เพราะขาดพระผู้น�ำ ส่วนใหญ่เป็นพระที่มาจากถิ่นอื่นที่ ชาวบ้านนิมนต์มา ซึ่งอยู่ได้ไม่นานก็มีเหตุให้ออกจากวัดไป

วัดนาเจริญ มีความเจริญรุ่งเรืองขึ้นมาตาม ล� ำ ดั บ ทั้ ง ด้ า นศาสนธรรม คื อ มี พ ระสงฆ์ สามเณร ตลอดถึงทายกทายิกา เข้าร่วมปฏิบัติ ธรรม ฟังธรรมมิได้ขาด และด้านศาสนวัตถุ คือ มีทายิกทายิกา ชาวบ้าน มาบ�ำเพ็ญทานให้การ สนั บ สนุ น ในการก่ อ สร้ า งตลอดมา ให้ ค วาม อุปถัมภ์พระสงฆ์สามเณรที่อยู่จ�ำพรรษาซึ่งแต่ละ ปีมีจ�ำนวนมาก จึงถือได้ว่าวัดนาเจริญ เป็นวัดวัด หนึ่งที่มีแต่ความเจริญขึ้นไปเรื่อยๆ

แต่อย่างไรก็ตาม ถ้าหากพระภิกษุสงฆ์ที่อยู่ ในวัดเป็นผู้เพียบพร้อมด้วยศีลาจริยวัตร อุบาสก อุ บ า สิ ก า ตั้ ง มั่ น อ ยู ่ ใ น ก า ร บุ ญ ก า ร กุ ศ ล มีการให้ทาน รักษาศีล เจริญภาวนา เป็นต้น แน่นอนว่าศาสนธรรมและศาสนวัตถุ ในวัดจะมี แต่ ค วามเจริ ญ วั ด นาเจริ ญ ก็ เช่ น เดี ย วกั น จะด�ำรงอยู่ได้อย่างงอกงามเจริญรุ่งเรือง นั้นก็ ย่ อ มอาศั ย พุ ท ธบริ ษั ท ทั้ ง 4 จึ ง ขอฝากไว้ ใ ห้ พวกเราได้ช่วยกันจรรโลงไว้ และสนับสนุนให้เจ ริ ญ ยิ่ ง ๆขึ้ น ไป อยู ่ คู ่ บ ้ า นนาเจริ ญ สื บ ไป ตลอดกาลนาน UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

(1

).indd 239

239

6/6/2561 15:14:39


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดหนองดุม

พระครู สุ ท ธิ พั ฒ นกิ จ (สุ ภ กิ จ โสธโน) ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง เจ้ า อาวาสวั ด หนองดุ ม เจ้ า คณะอ� ำ เภอน�้ ำ ขุ ่ น

วั ด หนองดุม ตั้งอยู่เลขที่ 86 บ้านหนองดุม หมู่ที่ 4 ต�ำบลไพบูลย์ อ�ำเภอน�้ำขุ่น

จั ง หวั ดอุ บ ลราชธานี ฐานะเป็น วัด ราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์ ม หานิ ก าย มี ที่ ดิ น ตั้ ง วั ด 29 ไร่ 1 งาน 10 ตารางวา ตั้งขึ้น เมื่อ วัน พุธ ขึ้น 9 ค�่ำ เดื อน 3 ปี ร ะกา พ.ศ. 2476 โดยมี คุณ พ่ อ เบ้ า -คุ ณ แม่ ที ประจญ พร้อ มด้ว ยครอบครัว ได้มอบถวายที่ ดิน ให้ ตั้ ง วั ด ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2526 เขตวิสุงคามสีมา กว้ า ง 20 เมตร ยาว 40 เมตร 240

อุโ บสถสร้างเสร็จแล้ว ผูกพัท ธสีมาเมื่อ วั น จั น ทร์ ที่ 17 มี น าคม พ.ศ.2557 โดยมี พระเทพวิ สุ ท ธิ โ มลี รองเจ้ า คณะภาค 10 วัดจักรวรรดิราชาวาส กรุงเทพมหานคร เป็น ประธานสงฆ์ในการผูกพัทธสีมา มีคณะสงฆ์ ร่วมสังฆกรรมทั้งหมด 46 รูป เสนาสนะที่เห็นอยู่ในปัจจุบันนี้ เช่น กุฏิ ศาลาการเปรียญ อุโบสถ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ศาลาโรงครั ว เมรุ ศาลาพั ก ญาติ เป็ น สิ่ ง ที่ ปลูกสร้างขึ้นมา หลังปี พ.ศ.2524 มานี้เอง ส่วนเสนาสนะที่ปลูกสร้างพร้อมกับสมัยตั้งวัด ช�ำรุดผุพังรื้อถอนไปหมดแล้ว

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

.indd 240

30/05/61 04:41:00 PM


ประวัติเจ้าอาวาส

ล�ำดับเจ้าอาวาส

พระครูสุทธิพัฒนกิจ ม.6 น.ธ.เอก วันที่ 16 ตุลาคม พ.ศ.2496 อายุ 65 พรรษา 43 บรรพชา-อุปสมบท วันที่ 22 มิถุนายน พ.ศ.2517 ณ พัทธสีมา วัดสุวรรณาราม บ้านค�ำเนียม ต�ำบลค�ำเนียม อ�ำเภอกันทรารมย์ จังหวัดศรีสะเกษ พระครูวิศาลศาสนกิจ วัดสุวรรณาราม เป็นพระอุปัชฌาย์ พระครูปัญญาสมณกิจ วัดมะกรูด เป็นพระกรรมวาจาจารย์ พระอธิการกลม จกฺกวโร วัดศิริราษฎร์ เป็นพระอนุสาวนาจารย์ พระครูสุทธิพัฒนกิจ รับนิมนต์มาอยู่วัดหนองดุม เมื่อวันที่ 29 มกราคม พ.ศ.2521 - ปัจจุบัน ได้รับแต่งตั้งให้ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดหนองดุม วันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2523 ได้รับแต่งตั้งให้ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าคณะต�ำบลขี้เหล็ก-ไพบูลย์ วันที่ 7 มิถุนายน พ.ศ.2540 ได้รับแต่งตั้งให้ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าคณะอ�ำเภอน�้ำขุ่น วันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ.2551

1.หลวงปู่แก้ว โกสโล 2.หลวงปู่เขียว ขนฺติธโร 3.หลวงปู่เคน คนฺธสีโล 4.พระศรีสวัสดิ์ นิวาโต 5.พระมหาเลิศ ฐิตสีโล 6.หลวงปู่ทัน อุชุโก 7.หลวงปู่ทุย เทวธมฺโม 8.พระครูสุทธิพัฒนกิจ

พ.ศ.2476 - 2487 พ.ศ.2488 - 2493 พ.ศ.2494 - 2499 พ.ศ.2500 - 2503 พ.ศ.2504 - 2506 พ.ศ.2506 - 2519 พ.ศ.2520 - 2521 พ.ศ.2521 - ปัจจุบัน

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 241

241

30/05/61 04:41:12 PM


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดบ้านตาโกย

พระครู โ อภาสศาสนการ ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง เจ้ า อาวาสวั ด บ้ า นตาโกย เจ้ า คณะต� ำ บลตาเกา

วัดบ้านตาโกย ตั้งอยู่เลขที่ 253 บ้านตาโกย หมู่ที่ 7 ต�ำบลโคกสะอาด อ�ำเภอน�้ำขุ่น

จังหวัดอุบลราชธานี เป็นวัดที่ตั้งก่อนปี พ.ศ.2484 มีเนื้อที่จ�ำนวน 3 แปลงติดกันคือที่เดิม จ� ำ นวน 8 ไร่ 2 งาน 70 ตารางวา ที่ ธ รณี ส งฆ์ กว้ า ง 11 เมตร ยาว 105 เมตร (เป็ น ถนนวั ด ทางไปธรณี ส งฆ์ ) และเนื้ อ ที่ 13 ไร่ 2 งาน 46 ตารางวา วั ด บ้ า นตาโกยได้ รั บ พระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 7 มีนาคม พ.ศ.2526 ขนาดกว้าง 20 เมตร ยาว 30 เมตร

242

จากค�ำบอกเล่าของผูส้ งู อายุภายในหมูบ่ า้ น วัดบ้านตาโกย ตั้งขึ้นในวันอังคาร ขึ้น 13 ค�่ำ เดือน 2 ปีขาล ซึ่งตรงกับวันที่ 3 มกราคม พ.ศ.2481 โดยนายเมียะ เวระนะ เป็นผูบ้ ริจาค ทีด่ นิ จ�ำนวนเนือ้ ที่ 8 ไร่ กับ 2 งาน 70 ตารางวา เมือ่ ตัง้ วัดแล้วในปีแรกชาวบ้านได้นมิ นต์ พระเส็ง สมฺงคิโก พร้อมพระภิกษุอกี 4 รูป และมีพระภิกษุ มาอยูจ่ ำ� พรรษาในวัดบ้านตาโกยมาโดยตลอด วัดบ้านตาโกยตัง้ ชือ่ ตามหมูบ่ า้ น ซึง่ ค�ำว่า “ตาโกย” มาจากค�ำว่า “ตากย” เดิมเรียกตาม ภาษาท้องถิ่น (เขมร) แปลเป็นภาษาไทยค�ำว่า “ตา” คื อ ผู ้ ช ายแก่ ที่ มี อ ายุ ม าก ส่ ว นค� ำ ว่ า “โกย”(กย) คืออวัยวะของแรด ภาษาไทยเรียกว่า “หน่ อ แรด” ซึ่ ง รวมความได้ ว ่ า มี ผู ้ ช ายแก่ คนหนึง่ ได้ไปพบหน่อแรดในป่า ซึง่ เป็นซากเก่าๆ คิ ด ว่ า เป็ น ของคู ่ บ ้ า นคู ่ เ มื อ งจึ ง เก็ บ มา พอ กลั บ มาถึ ง บ้ า นก็ น� ำ ความมาบอกชาวบ้ า น เลยตกลงกันตั้งชื่อหมู่บ้านตามเหตุการณ์ที่ พบเห็น

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

.indd 242

30/05/61 03:29:44 PM


WORK LIF E

บันทึกเส้นทางพบเทศบาลต�ำบล

เทศบาลต�ำบลนาจะหลวย นายสิงห์หา เวียงค�ำ นายกเทศมนตรีต�ำบลนาจะหลวย

สถานที่ส�ำคัญและแหล่งท่องเที่ยว 1. วัดศรีพรหม 2. วัดป่านาจะหลวย 3. วัดภูพลาญแก้ว 4. วัดป่าโนนนิเวศน์ 5. วัดภูพลานสูง 6. น�้ำตกห้วยหลวง (อุทยานแห่งชาติภูจอง-นายอย)

ผลิตภัณฑ์เด่นของต�ำบล

6. เมี่ยงข่าตะไคร้ 7. หมากจอง (ลูกส�ำรอง) 8. กลุ่มทอผ้าพื้นเมืองบ้านหลักเมือง ต�ำบลนาจะหลวย

2

1 ผักไร้สาร

4

3 6

5

ปุ๋ยพืชสด

7

ศูนย์การเรียนรู้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

8

9

ส�ำนักงานเทศบาลต�ำบลนาจะหลวย ต�ำบลนาจะหลวย อ�ำเภอ

นาจะหลวย จังหวัดอุบลราชธานี 34280 โทรศัพท์ 045-379335 Website : www.nachaluay.go.th

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 243

243

6/6/2561 15:20:57


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

เจดีย์หลวงปู่มั่น ทตฺโต

244

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

(4

) 10-5-61.indd 244

1/6/2561 15:04:34


วัดบ้านโนนเจริญ พระครูสุนทรสารวัฒน์ เจ้าอาวาสวัดบ้านโนนเจริญ

ประวัติความเป็นมา

วั ด บ้ า นโนนเจริ ญ ตั้ ง อยู ่ ที่ บ้ า นโนนเจริ ญ หมู ่ ที่ 7 ต� ำ บลตู ม อ� ำ เภอนาจะหลวย จั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี สั ง กั ด คณะสงฆ์ ม หานิ ก าย ที่ ดิ น ตั้ ง วั ด มี เ นื้ อ ที่ 19 ไร่ 3 งาน อาณาเขต ทิ ศ เหนื อ จดหมู ่ บ ้ า น ทิ ศ ใต้ จ ดห้ ว ยหลวง ทิ ศ ตะวั น ออกจดถนนในหมู ่ บ ้ า น ทิ ศ ตะวั น ตก จดป่ า ไม้ ถนนอาคารเสนาสนะประกอบด้ ว ย ศาลาการเปรี ย ญ กว้าง 14 เมตร ยาว 15 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ.2508 กุฏิสงฆ์ จ�ำนวน 5 หลัง ครึ่งตึกครึ่งไม้ 1 หลัง วัดบ้านโนนเจริญ ตัง้ เมือ่ พ.ศ.2482 ชือ่ ทีช่ าวบ้านเรียก วัดป่าเวฬุวนั วนาราม ได้ รั บ พระราชทานวิ สุ ง คามสี ม าเมื่ อ วั น ที่ 10 กุ ม ภาพั น ธ์ พ.ศ.2535 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 30 เมตร ยาว 60 เมตร วัดบ้านโนนเจริญ มีโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกธรรม เปิดสอนเมื่อ พ.ศ.2520 นอกจากนี้มีศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ในวัด เปิดเมื่อ พ.ศ.2537

ล�ำดับเจ้าอาวาส

รูปที่ 1 หลวงปู่มั่น ทตฺโต พ.ศ.2508 - 2522 รูปที่ 2 หลวงปู่บุญมา ธมฺทินฺโน พ.ศ.2522 - 2525 รูปที่ 3 หลวงปู่สมบุญ ติสฺสโร พ.ศ.2525 - 2536 รูปที่ 4 พระครูสุนทรสารวัฒน์ (สมศักดิ์ สุนทฺโร) พ.ศ.2537 - ปัจจุบัน

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

(4

) 10-5-61.indd 245

245

1/6/2561 15:04:46


ประวัติหลวงปู่มั่น ทตฺโต

วั ด บ้ า นโนนเจริ ญ เดิ ม เป็ น วั ด ป่ า บ้ า นท่ ง เต้ น (ทุ่งเงิน) มีพระธุดงค์มาสร้างไว้แล้วอยู่จ�ำพรรษา ผลัดเปลี่ยนกันหลายรูป ต่อมามีพระมหาโสม มาจ�ำพรรษา หลังจากออกพรรษา ญาติพี่น้องได้ มาอาราธนากลับไปจ�ำพรรษาที่เดิม ต่อมาอีก หลายปีหลวงปูม่ นั่ ทตฺโต ได้จาริกผ่านมาชาวบ้าน ท่งเต้นจึงได้อาราธนามาจ�ำพรรษา และมีชาวบ้าน กว่า 10 กว่าหลังคาเรือน ย้ายมาตั้งหมู่บ้าน โดยมีนายสมบุญ ผู้เป็นผู้ใหญ่บ้าน หลวงปู่มั่น ได้ตั้งชื่อบ้านว่า “บ้านโนนเจริญ”

246

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

(4

) 10-5-61.indd 246

1/6/2561 15:04:58


เสนาสนะ

วิ ห ารหลวงปู ่ มั่ น สร้ า งเมื่ อ พ.ศ.2549 วางฤกษ์วนั ขึน้ 15 ค�ำ่ เดือน 6 และท�ำการก่อสร้าง ในปี พ.ศ.2549 อุ โ บสถ วางฤกษ์ เ มื่ อ วั น พฤหั ส ที่ 24 ปี 2548 โดยพระครูบวรสีลคุณ (เจ้าคณะอ�ำเภอ) และได้ก่อสร้างวันที่ 22 วันขึ้น 15 ค�่ำ เดือน 6 วันอาทิตย์ เจดี ย ์ ห ลวงปู ่ มั่ น ทตฺ โ ต สร้ า งเมื่ อ พ . ศ . 2 5 3 2 บ ร ร จุ พระบรมธาตุ และกุ ฏิ หลวงปูม่ นั่ ทตฺโต ใช้เพือ่ ให้ทราบ และระลึกถึงคุณ ของหลวงปู่มั่น งานประจ� ำ ปี งานไหว้เจดีย์บูรพาจารย์ และปฎิบตั ธิ รรม เริม่ วันที่ 25-30 มกราคม ของทุกปี

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

(4

) 10-5-61.indd 247

247

1/6/2561 15:05:11


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดห้วยซันเหนือ พระครูสุชีพภาวนาภิวัตร เจ้าอาวาสวัดห้วยซันเหนือ

ประวัติความเป็นมา วัดห้วยซันเหนือ ตั้งอยู่ในเขตหมู่บ้านห้วยซันเหนือ ต�ำบลนาจะหลวย อ�ำเภอนาจะหลวย จังหวัดอุบลราชธานี เดิมชื่อ “วัดป่าโนนนิเวศน์” เมื่อขอตั้งวัด ทางกรมศาสนาได้เปลี่ยนชื่อเป็น “วัดห้วยซันเหนือ” ตามชื่อของหมู่บ้าน ตั้งแต่ พ.ศ. 2528 เดิม มีพื้นที่ทั้งหมด 269 ไร่เศษ เมื่อปี พ.ศ. 2518 วัดห้วยซันเหนือ เป็นส�ำนักสงฆ์ โดย พระครูสุชีพภาวนาภิวัตร เจ้าอาวาส รูปปัจจุบัน เป็นผู้ริเริ่ม มีข้าราชการและประชาชนทั่วไปเป็นแรงสนับสนุนด้วยดี เนื่องจากที่ตั้ง ส�ำนักสงฆ์เป็นป่า ไม่มีผู้จับจองท�ำประโยชน์และเป็นที่ทราบกันทั่วไปว่าเป็นป่าสงวนแห่งชาติ จึงไม่สามารถขอสร้างวัดให้ถูกต้องได้ เพราะไม่มีเอกสารสิทธิ์ จึงได้ซื้อที่ดินติดกับส�ำนักสงฆ์ที่มี เอกสารสิทธิ์ 1 แปลง จ�ำนวน 10 ไร่ ในราคา 1,700 บาท เมื่อปี พ.ศ. 2522 จึงใช้เอกสารสิทธิ์ ที่ดินแปลงนี้ และด�ำเนินการขอสร้างวัดจากกรมการศาสนา ในปี พ.ศ. 2524 ปี พ.ศ. 2528 ได้รับ อนุญาตให้ตั้งวัด และปี พ.ศ. 2530 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา 248

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

(2

).indd 248

6/6/2561 15:27:40


ปี พ.ศ. 2521 ก่อสร้างศาลาการเปรียญ พ.ศ. 2534 สร้างอุโบสถ พ.ศ. 2539 สร้างโรงครัว พ.ศ. 2540 สร้ า งเมรุ พ.ศ. 2541 และ ปี พ.ศ. 2545 สร้างเจดียเ์ พือ่ บรรจุอฐั ิ ธาตุของ ครู บ าอาจารย์ (เจดี ย ์ อุ ชุ ป ฏิ ป ั น นานุ ส รณ์ ) เสร็จสมบูรณ์เมื่อ เดือนมีนาคม พ.ศ. 2547 และปี พ.ศ. 2553 ต่อเติมศาลาการเปรียญ ส่ ว นกุ ฏิ ไ ด้ ก ่ อ สร้ า งต่ อ เนื่ อ งมาโดยตลอด ปัจจุบนั มีกฏุ ถิ าวรทัง้ หมด 26 หลัง และปี พ.ศ. 2556 ก่อสร้างพระพุทธไสยาสน์มีความยาว 32 เมตร สูง 7.40 เมตร ใช้เวลาก่อสร้าง ประมาณ 1 ปีเศษ ปี พ.ศ. 2559 สร้างศาลา การเปรียญหลังใหม่ ขนาดความยาว 51 เมตร กว้าง 25 เมตร เป็นอาคาร 2 ชั้น งบประมาณ ในการก่อสรางประมาณ 15 ล้านบาท ใช้เวลา ก่อสร้างประมาณ 3 ปี ประวัติเจ้าอาวาส พระครูสชุ พี ภาวนาภิวตั ร (หลวงพ่อเข็ม สุชโี ว) ชาติภมู ิ เกิดทีบ่ า้ นเศรษฐี ต�ำบลเหล่าบก อ�ำเภอม่วงสามสิบ จังหวัดอุบลราชธานี ตาม ใบส�ำนะโนครัว เกิดวันที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2489 บิดาชื่อ โส มารดาชื่อ หม่อง นามสกุล พวงจันทร์ มีพี่น้องด้วยกัน 5 คน การศึกษา เรียนจบชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่โรงเรียนบ้านเศรษฐี บรรพชา ฝึกหัดข้อปฏิบตั ใิ นแนวทางของ นักบวชกับท่านอาจารย์คำ � สุมงั คะโล ประมาณ เดือนกันยายน – ต้นเดือนตุลาคม พ.ศ. 2507 บรรพชาเป็นสามเณรเมือ่ อายุ 19 ปี วันที่ 2 เดือนธันวาคม พ.ศ. 2507 โดยมี พระครูภัทร คุ ณ าธาร เจ้ า คณะอ� ำ เภอเลิ ง นกทาเป็ น พระอุปัชฌาย์การบรรพชา อุปสมบท เมือ่ วันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2509 ที่วัดป่าสุนทราราม บ้านกุดแห่ อ�ำเภอ เลิงนกทา จังหวัดอุบลราชธานี พระครูภัทรคุณาธาร เจ้าคณะอ�ำเภอ เลิงนกทาเป็นพระอุปัชฌาย์ พระอาจารย์ ค� ำ สุ ม งคโล เป็ น พระกรรมวาจาจารย์ พระอาจารย์สงิ ห์ทอง ปภากโร เป็นพระอนุสาว จารย์

สมณศักดิแ์ ละการปกครอง พ.ศ. 2531 ได้รบั พระราชทานสมณศักดิ์ เป็น “พระครูสญั ญาบัตรชัน้ โท” ในราชทินนาม ที่ “พระครูสุชีพภาวนาภิวัตร” พ.ศ. 2536 ได้รบั ตราตัง้ เจ้าอาวาส ด�ำรง ต�ำแหน่งเจ้าอาวาส “วัดห้วยซันเหนือ” พ.ศ. 2537 ได้รบั พระราชทานสมณศักดิ์ เป็ น “พระครู สั ญ ญาบั ต รชั้ น เอก” ใน ราชทินนามเดิม พ.ศ. 2540 ได้รับการแต่งตั้ง ให้ด�ำรง ต�ำแหน่ง “พระอุปัชฌาย์” พ.ศ. 2552 มหาเถรสมาคม มีมติ เลื่อน “พระครูสุชีพภาวนาภิวัตร” ต�ำแหน่ง พระครู เจ้าอาวาสวัดราษฎร์ ชั้นเอก เทียบเท่า ผู้ช่วย เจ้าอาวาสพระอารามหลวง ชั้นเอก พ.ศ. 2558 ได้รับเลื่อนเป็นพระครูชั้น พิเศษเทียบเท่าผูช้ ว่ ยเจ้าอาวาสพระอารามหลวง

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

(2

).indd 249

249

6/6/2561 15:27:51


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดภูพลานสูง พระครูวิเวกธรรมรังษี เจ้าอาวาสวัดภูพลานสูง ประวัติความเป็นมา วั ด ภู พ ลานสู ง อยู ่ ที่ บ ้ า นหลั ก เมื อ ง ต.นาจะหลวย อ.นาจะหลวย จ.อุบลราชธานี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตั้งอยู่บนยอดเขา ภูพลานสูง เทือกเขาภูจองนายอย ห่างจากตัว เมืองอ�ำเภอนาจะหลวยไปทางทิศตะวันออก ประมาณ 4 กิโลเมตร ได้รบั การประกาศตัง้ เป็น วัดอย่างถูกต้อง เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2550 250

(2

วั ด ภู พ ลานสู ง เกิ ด ขึ้ น จากการพยายามของ บรรพบุรุษทั้งฝ่ายบรรพชิตและคฤหัสถ์ครูบา อาจารย์ทไี่ ด้สร้างวัดเป็นรูปแรก คือ พระครูวบิ ลู ธรรมธาดา (กาว ธมฺมทินฺโน) อดีตเจ้าคณะ อ�ำเภอเดชอุดม ได้มาบุกเบิกหักร้างถางพง และ สร้างเสนาสนะต่างๆ เท่าทีจ่ ำ� เป็น ตัง้ แต่ ปี พ.ศ. 2518 พระครูวิโรจน์รัตโนบล (บุญรอด นนฺตโร) อดีตเจ้าคณะจังหวัดอุบลราชธานี วัดทุง่ ศรีเมือง ผูไ้ ปท�ำการบูรณะพระธาตุพนมในปี พ.ศ. 2444 และได้พบคัมภีร์โบราณ ที่มีค�ำพยากรณ์ว่าจะมี

พระบรมสารีรกิ ธาตุเสด็จมาทีว่ ดั ภูพลานสูงแห่งนี้ จึงมอบหมายให้พระครูวิบูลธรรมธาดาซึ่งเป็น สามเณรในสมัยนั้น มาสร้างวัดภูพลานสูง เพื่อ รองรับพระบรมสารีริกธาตุ ตามที่ท�ำนายไว้ใน พระคัมภีร์ เมื่อปี พ.ศ. 2542 ชาวบ้านหลักเมืองได้ พร้อมใจกันกราบอาราธนาให้หลวงพ่อภรังสี มาเป็ น ผู ้ ดู แ ลวั ด และน� ำ พาสาธุ ช นบู ร ณ ปฏิสังขรณ์ แต่หลวงพ่อภรังสีได้ให้พระลูกศิษย์ เป็น ผู้ดูแลแทน ส่วนตัวท่านเองขึ้นมาดูแลวัด ในปีพ.ศ. 2547 ถึงปัจจุบัน

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

).indd 250

6/6/2561 15:30:32


ร่วมสร้างเส้นทางบุญ ร่วมสร้างมหามณฑปแก้ว เพือ่ ใช้เป็นสถาน ที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ และ อุโบสถ ได้ ที่ เ ลขบั ญ ชี 055740193499 ชื่ อ บั ญ ชี วั ด ภู พ ลานสู ง (กองทุ น พระธาตุ ) สาขา นาจะหลวย ติดต่อ พระมหาเอกชัย โชติวณฺโณ ผูช้ ว่ ยเจ้าอาวาสวัดภูพลานสูง โทร.090-295-0531

ประวัติเจ้าอาวาส พระครูวิเวกธรรมรังษี (ภรังสี ฉนฺทโร) อายุ 56 ปี พรรษา 36 วิทยฐานะ น.ธ.เอก วั ด ภู พ ลานสู ง ต� ำ บลนาจะหลวย อ� ำ เภอ นาจะหลวย จังหวัดอุบลราชธานี ปัจจุบันด�ำรง ต�ำแหน่ง เจ้าอาวาสวัดภูพลานสูง สถานะเดิม ชื่อ ภรังสี นามสกุล แก้วค�ำ เกิดวัน 3 ฯ9 3 วันที่ 13 เมษายน พุทธศักราช 2505 บิ ด า นายหมอน แก้ ว ค� ำ มารดา นางส�ำเริง แก้วค�ำ ทีบ่ า้ นค�ำบอน ต�ำบลบ้านตูม อ�ำเภอนาจะหลวย จังหวัดอุบลราชธานี อุปสมบท วันที่ 27 มิถุนายน พุทธศักราช 2525 ปีจอ ณ วัดป่าหนองยาว บ้านหนองยาว ต� ำ บลเมื อ งเดช อ� ำ เภอเดชอุ ด ม จั ง หวั ด อุบลราชธานี พระอุปัชฌาย์ พระครูพิพิธพัฒน โกศล วั ด เวตวั นวิ ท ยาราม อ� ำ เภอเดชอุ ด ม จังหวัดอุบลราชธานี

วิทยฐานะ พ.ศ. 2524 สอบได้นักธรรมชั้นตรี ส�ำนัก เรียนวัดศรีพรม อ�ำเภอนาจะหลวย จังหวัด อุบลราชธานี พ.ศ. 2525 สอบได้นักธรรมชั้นโท ส�ำนัก เรี ย นวั ด มณี ว นาราม อ� ำ เภอเมื อ ง จั ง หวั ด อุบลราชธานี พ.ศ. 2527 สอบได้นักธรรมชั้นเอก ส�ำนัก เรี ย นวั ด มณี ว นาราม อ� ำ เภอเมื อ ง จั ง หวั ด อุบลราชธานี พ.ศ. 2528 ได้รับการแต่งตั้งเป็นครูสอน พระปริยัติธรรม ประจ�ำส�ำนักเรียนวัดกุดลาด ต�ำบลกุดลาด อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี สมณศักดิ์ พ.ศ. 2549 ได้รบั การแต่งตัง้ สมณศักดิ์ เป็น พระครู ส มุ ห ์ ภ รั ง สี ฉนฺ ท โร ฐานานุ ก รมใน พระธรรมปริยัติโสภณ เจ้าคณะภาค 10 พ.ศ. 2550 ได้รบั การแต่งตัง้ สมณศักดิ์ เป็น พระครูธรรมธรภรังสี ฉนฺทโร ฐานานุกรมใน พระธรรมปริยัติโสภณ เจ้าคณะภาค 10 พ.ศ. 2558 ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ เป็น พระครูสญ ั ญาบัตร ที่ พระครูวเิ วกธรรมรังษี

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

(2

).indd 251

251

6/6/2561 15:30:46


อิ่มอร่อยมะม่วงกวน ฝีมือล้วนปอกล้วยสาน เพลงขอทานประจ�ำถิ่น ศิลปินกระเดื่องแดน”

W O R K LI F E

บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล

องค์การบริหารส่วนต�ำบลนาตาล

แหล่งท่องเที่ยว

ค์ ค์ มรงค์

นายอภิวัตร พวงพุฒ นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลนาตาล ประวัติความเป็นมา องค์การบริหารส่วนต�ำบลนาตาล เป็นหน่วยการปกครองท้องถิน่ รูปแบบหนึง่ ทีม่ บี ทบาทส�ำคัญต่อ การพัฒนาและสร้างความเจริญให้เกิดขึน้ แก่ชมุ ชนในพืน้ ที่ องค์การบริหารส่วนต�ำบลนาตาลเป็นพื้นที่ชายแดนตั้งอยู่ทางภาคตะวันออก เฉียงเหนือ ของประเทศไทย พืน้ ทีก่ ารปกครอง จ�ำนวน 18 หมูบ่ า้ น ได้แก่ หมู่ที่ 1 บ้านนาตาลใต้ หมู่ที่ 2 บ้านลุมพุก หมู่ที่ 3 บ้านเหมือดแอ่ หมู่ที่ 4 บ้านคันพะลาน หมู่ที่ 5 บ้านนากลาง หมู่ที่ 6 บ้านนาคอม หมู่ที่ 7 บ้านนาสะตัง หมู่ที่ 8 บ้านแก้งไฮ หมู่ที่ 9 บ้านดอนงิ้ว หมู่ที่ 10 บ้านโนนตาล หมู่ที่ 11 บ้านดอนนาม่อง หมู่ที่ 12 บ้านนาม่วง หมู่ที่ 13 บ้านโพธิ์ทอง หมู่ที่ 14 บ้านดอนดู่ หมู่ที่ 15 บ้านโนนบก หมู่ที่ 16 บ้านนานคร หมู่ที่ 17 บ้านโนนงาม หมู่ที่ 18 บ้านโนนเจริญ

.

252

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

(2

).indd 252

หาดชมดาว (แก่งหินงาม) เป็นแก่งหินทรายขนาดใหญ่ทจี่ มอยูใ่ ต้แม่นำ�้ โขง จะ มองเห็นได้ชดั เจนในช่วงฤดูแล้ง ระหว่างเดือน มกราคม-มิถนุ ายน เป็นแก่งหินและ หาดทรายขาวทีท่ อดยาวออกไปริมฝัง่ แม่นำ�้ โขง อยูใ่ นเขตพืน้ ที่ 10 บ้านโนนตาล ต�ำบลนาตาล อ�ำเภอนาตาล จังหวัดอุบลราชธานี เมือ่ ถูกกัดเซาะจากความแรงของ สายน�ำ้ ตามธรรมชาติ เกิดเป็นแก่งหินทรายและแอ่งหินทีเ่ ป็นหลุมเป็นบ่อหลาย ขนาดสลับกับหาดทรายขาวทีพ่ าดอยูบ่ ริเวณริมฝัง่ และใจกลางแม่นำ้� โขง มีเกาะแก่ง และเพิงหินต่างๆ อยู่หลายจุด โดยแบ่งพื้นที่ออกเป็น 11 จุด เพื่อเชิญชวนให้ นักท่องเทีย่ วเยีม่ มชม ดังต่อไปนี้ จุดที่ 1. ก้อนสามเส้า คือ หินสามก้อนวางเรียงกันอย่างสวยงามเหมือนมนุษย์ สร้างขึน้ จุดที่ 2. แกรนด์ แ คนยอนนาตาล เป็ น ความมหั ศ จรรย์ ที่ ธ รรมชาติ สร้างสรรค์ขึ้น น�้ำได้กัดเซาะหิน ใช้เวลาเป็นพันปีจนกลายเป็นเกาะแก่งสวยงาม หน้าผาสูงชันคล้ายกับแกรนด์แคนยอน จุดที่ 3. ช่องเบียดสาว ผู้เฒ่าผู้แก่ได้เล่าต่อกันมาว่า ในสมัยที่การค้าของ ไทย - ลาว ยังมีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน หนุ่มสาวของทั้งสองฝั่งจะเดินทางมา ค้าขาย และได้พบปะผูกสมัครรักใคร่กนั หากหนุม่ สาวคูใ่ ดมีใจให้กนั ก็ให้มดุ เบียด ผ่านช่องนี้และถือเป็นการรับไมตรีต่อกันนั่นเอง

6/6/2561 15:36:20


จุดที่ 4. ช่องสาวโศก ว่ากันว่าในสมัยที่ไทย และลาวยังไปมาหาสู่กัน สาวไทย หนุ่มลาวได้มา พบรักกันและเมื่อลาวแตก คอมมิวนิสต์ปกครอง ประเทศลาว ท�ำให้ลาวตัดสัมพันธ์กบั ไทย หนุม่ ลาว ไม่ มี โ อกาสได้ ก ลั บ มาหาสาวไทยคนรั ก อี ก เลย สาวไทยได้มานั่งรอหนุ่มคนรักที่บริเวณนี้ จึงเป็น ที่มาของช่องสาวโศกจนถึงปัจจุบัน จุดที่ 5 และ 6 ถ�ำ้ ตาอ้วน ถ�ำ้ ตามา ความเป็นมา ตาอ้วนและตามาเป็นเพื่อนรักกัน ทั้งสองจะไป ปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์ในฤดูแล้ง ถือได้ว่าเป็นนัก อนุรักษ์ธรรมชาติในสมัยนั้น อยู่แบบพอเพียงไม่ เบียดเบียนธรรมชาติ ทั้ ง สองท่ า นจะพู ด เสมอ ว่าเมือ่ เรารักธรรมชาติๆ ก็จะรักเรา ท่านจะเก็บขยะ ที่ลอยมาตามน�้ำ ท�ำให้หาดชมดาว แก่งหินงามมี ทัศนียภาพที่น่าท่องเที่ยวสวยงามตามธรรมชาติ สร้างขึ้นมา ท่านจะย�้ำนักย�้ำหนา ว่าอย่าท�ำลาย ธรรมชาติ ให้ทิ้งขยะให้เป็นที่เป็นทาง ธรรมชาติ จะได้อยู่กับเราไปชั่วลูกชั่วหลาน จากรุ่นสู่รุ่น เมื่อ ท่านทั้งสองจากไปหลายครั้งที่นักท่องเที่ยวมา เยี่ยมชมหาดชมดาว แก่งหินงาม และได้ทิ้งขยะ ไม่เป็นที่หรือกินแล้วไม่เก็บ เมื่อกลับบ้านไปก็จะ ปวดหัว ตัวร้อนไม่สบาย อย่างไม่ทราบสาเหตุ หลายคนต้องกลับมาขอขมา อาการเหล่านั่นจึง จะหายไป (เป็นความเชื่อส่วนบุคคล กรุณาใช้ วิจารณญาณ) จุดที่ 7. ประติมากรรมล�ำน�้ำโขง ชมวิวทัศน์ ความสวยงามของหิ น ที่ มี รู ป ร่ า งลั ก ษณะต่ า งๆ ที่เกิดจากการกัดเซาะของน�้ำ ลม และทราย มี ความสวยงามวิ จิ ต รบรรจงคล้ า ยจิ ต กรได้ ว าด ปั ้ น สร้ า งสรรค์ ขึ้ น อย่ า งสวยงามเหมาะเจาะ ตระการตาและน่ามหัศจรรย์ จุดที่ 8. ช่องแคบสองฝั่งโขง เป็นบริเวณจุด ทีแ่ คบทีส่ ดุ ของแม่นำ�้ โขงทีก่ นั้ ระหว่างประเทศไทย และลาว ณ บริ เวณนี้ ช าวบ้ า นของทั้ ง สองฝั ่ ง จะออกมาหาปลาเพื่อใช้ในการด�ำรงชีวิต จุดที่ 9. ผาเดียวดาย เป็นต�ำนานความรักของ หนุม่ ไทยกับสาวลาวได้มาพบรักกัน ณ หาดชมดาว แก่ ง หิ น งามแห่ ง นี้ เมื่ อ ลาวได้ ตั ด สั ม พั น ธ์ อั น ดี กับไทย ท�ำให้ความรักของทัง้ คูไ่ ม่สมหวัง หนุม่ ไทย ได้มานั่งรอสาวคนรัก ณ ชะง่อนหินแห่งนี้ด้วย ความเดียวดาย จุดที่ 10. ผาวัดใจ เป็นบริเวณที่หินได้ถูก กั ด เซาะท� ำ ให้ เ กิ ด หน้ า ผาสู ง ชั น เหมาะกั บ

ผู้ชื่นชอบความท้าทาย นักปืนเขาที่ชอบความสูง มาวัดใจท้าความสูงได้ที่บริเวณ จุดที่ 11. แอ่งม้าคอย ผู้เฒ่าผู้แก่ได้เล่าต่อกัน มาว่า ในสมัยที่การค้าของไทย - ลาว ยังมีความ สั ม พั น ธ์ ที่ ดี ต ่ อ กั น จะใช้ ม ้ า เป็ น พาหนะในการ ขนส่งสิ่งของไปขายที่ลาว พอมาถึงบริเวณนี้ ก็จะ ผูกม้าไว้เพื่อขนถ่ายสินค้าและพักม้าไว้บริเวณนี้ UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.

(2

).indd 253

253

6/6/2561 15:36:36


อิ่มอร่อยมะม่วงกวน ฝีมือล้วนปอกล้วยสาน เพลงขอทานประจ�ำถิ่น ศิลปินกระเดื่องแดน”

W O R K LI F E

บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล

องค์การบริหารส่วนต�ำบลพะลาน “การคมนาคมสะดวก รายได้ดี มีการศึกษา พัฒนาสิ่งแวดล้อม เพียบพร้อมคุณธรรม งามล�้ำประเพณี” คือวิสัยทัศน์ขององค์การบริหารส่วนต�ำบลพะลาน

นายไมตรี ป้องกัน

นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลพะลาน สารจาก นายไมตรี ป้องกัน “การมีส่วนร่วม ถือเป็นสิ่งส�ำคัญในการบริหารงานขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น ให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลอย่างแท้จริง” องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ถือเป็นหน่วยงานราชการที่มีความส�ำคัญ ยิ่งต่อการพัฒนาท้องถิ่น เพราะเป็น หน่วยงานที่ใกล้ชิดกับประชาชน รับรู้ปัญหาและความต้องการของประชาชนอย่างแท้จริง ในการบริหาร งานขององค์การบริหารส่วนต�ำบลพะลาน กระผมเน้นการท�ำงานแบบ มีส่วนร่วม การท�ำงานเป็นทีม การด�ำเนินงานทุกอย่างจึงมีการปรึกษา หารือจากหลายฝ่าย โดยค�ำนึงถึงผลประโยชน์ของประชาชนเป็นส�ำคัญ การทีท่ กุ คนร่วมคิด ร่วมท�ำตามบทบาทหน้าทีข่ องตนอย่างเต็มที่ ย่อมส่งผล ต่อความส�ำเร็จ นั่นคือผลงานที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล และเกิด ประโยชน์สูงสูดต่อประชาชนอย่างแท้จริง

ค์ ค์ มรงค์

สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐาน องค์การบริหารส่วนต�ำบลพะลาน อ�ำเภอนาตาล จังหวัดอุบลราชธานี จัดตั้งเป็นองค์การบริหารส่วนต�ำบลเมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2540 มีพื้นที่ประมาณ 41.122 ตารางกิโลเมตร มีเขตปกครองรวม 13 หมู่บ้าน ประชากร มีจ�ำนวนทั้งสิ้น 7,021 คน มีครัวเรือน จ�ำนวน 1,906 ครัวเรือน สินค้า OTOP ผ้าฝ้ายย้อมคราม ต�ำบลพะลานมีการส่งเสริมอาชีพกลุ่มแม่บ้าน ผลิตผ้าฝ้ายย้อมคราม เป็นผลิตภัณฑ์พื้นบ้าน และเป็ น สิ น ค้ า OTOP โดยการรวมกลุ ่ ม ของ แม่บา้ นต�ำบลพะลาน มีการจ�ำหน่ายและผลิตอยูท่ ี่ บ้านบก หมู่ 4 บ้านหนองบัว หมู่ที่ 11 และ บ้านทางโค้ง หมู่ที่ 13 ต�ำบลพะลาน

.

254

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

(2

).indd 254

6/6/2561 15:41:59


แหล่งท่องเที่ยวส�ำคัญ วัดพระโตบ้านปากแซง พระเจ้าใหญ่องค์ตื้อ ประดิษฐานอยู่ที่วัดพระโต บ้านปากแซง หมู่ที่ 3 ต�ำบลพะลาน อ�ำเภอนาตาล จังหวัดอุบลราชธานี เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย สร้างด้วยอิฐผสม ปูนขาว ขนาดหน้าตักกว้าง 2.90 เมตร สูง 4.36 เมตร มี อ ายุ เ ก่ า แก่ และเป็ น ที่ เ คารพนั บ ถื อ ของประชาชนชาวไทยและลาว งานประเพณี ส งกรานต์ การสื บ สานงาน ประเพณีสงกรานต์ เป็นกิจกรรมหนึ่งที่องค์การ บริหารส่วนต�ำบลพะลานจัดขึ้นเป็นประจ�ำทุกปี โดยมี ก ารจั ด ประกวดขบวนแห่ ร ถบุ ป ผาชาติ ขบวนแห่กลองยาว การประกวดก่อเจดีย์ทราย การประกวดเทพีสงกรานต์ การรดน�้ำขอพรจาก พระสงฆ์และรดน�้ำด�ำหัวขอพรจากผู้สูงอายุ โดย จัดขึ้นในวันที่ 13 เมษายน ของทุกปี ที่วัดพระโต บ้ า นปากแซง ต� ำ บลพะลาน อ� ำ เภอนาตาล จังหวัดอุบลราชธานี งานประเพณีแข่งเรือยาว องค์การบริหาร ส่วนต�ำบลพะลาน มีพื้นที่ติดกับแม่น�้ำโขง และฝั่ง ตรงข้ามติดกับประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว ในแต่ละปีได้ร่วมกับชุมชนในพื้นที่ ต�ำบลพะลาน และประเทศเพื่อนบ้าน คือ สปป. ลาว จัดกิจกรรมแข่งขันเรือยาว เพื่อสืบสานงาน ประเพณีแข่งเรือ ซึ่งจะมีเรือขนาดเล็ก 10 ฝีพาย และเรือขนาดใหญ่ 40 ฝีพาย จัดขึ้นในช่วงเดือน ตุลาคม ของทุกปี ณ ท่าน�้ำด่านถาวรวัดพระโต บ้านปากแซง หมู่ที่ 3 บ้านปากแซง ต�ำบลพะลาน อ�ำเภอนาตาล จังหวัดอุบลราชธานี หาดทรายขาว เป็นแหล่งท่องเที่ยวแห่งใหม่ ของต�ำบลพะลาน ตั้งอยู่ที่บ้านนาทราย หมู่ที่ 2 ต�ำบลพะลาน อ�ำเภอนาตาล จังหวัดอุบลราชธานี เนื่ อ งจากพื้ น ที่ ต� ำ บลพะลานติ ด กั บ แม่ น�้ ำ โขง ท�ำให้มีหาดทราย มีโขดหินที่สวยงาน ซึ่งจะเห็น หาดทรายในช่ ว งเดื อ นกุ ม ภาพั น ธ์ – เดื อ น เมษายน ของทุกปี อยู่ห่างจากองค์การบริหาร ส่วนต�ำบลพะลาน ประมาณ 5 กิโลเมตร

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.

(2

).indd 255

255

6/6/2561 15:42:07


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดพระโต (ปากแซง)

พระครู พุ ท ธวราธิ คุ ณ ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง เจ้ า อาวาสวั ด พระโต

วั ด พระโต หรื อ วั ด ปากแซง ตั้ ง อยู ่ ที่ บ้ า นปากแซง หมู ่ ที่ 3 ต� ำ บลพะลาน

อ� ำ เภอเขมราฐ จังหวัด อุบ ลราชธานี

ล�ำดับเจ้าอาวาส 1. ญาชาโกษ 2. ญาชาพม 3. ญาท่านโก่ม 4. ญาท่านโนม 5. พระครูหลักค�ำ 256

(

6. ญาท่านสอน 7. ญาท่านโพธิ์ 8. พระครูหมิ่ง 9. พระครูอิ้ง 10. พระครูกุ 11. ญาท่านค�ำมา

12. พระสิม 13. พระยัง 14. พระครูพุทธวราภิบาล (ชู สรธมฺโม) 15. เจ้าอธิการทองค�ำ ยสโชโต 16. พระครูพุทธวราธิคุณ

พระครู วี ร วรานุ กู ล

ผู ้ ป ระสานข้ อ มู ล ของวั ด พระโต

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

).indd 256

30/05/61 04:28:00 PM


ความเป็นมา มี ก ษั ต ริ ย ์ ส มั ย ข อ ม พ ร ะ อ ง ค ์ ห นึ่ ง ทรงพระนามว่า “พระยาแข้วเจ็ดถัน” ได้เสด็จ ล่องเรือลงมาตามล�ำแม่นำ�้ โขงในฤดูฝน เมือ่ มาถึง บ้านปากแซงก็คำ�่ มืด จึงได้หยุดประทับแรม 1 คืน วันรุ่งขึ้นพระองค์เสด็จขึ้นไปยังหมู่บ้าน และ ได้พบกับเจ้ากวนของหมู่บ้านในสมัยนั้น และ ได้ ต รั ส ถามถึ ง ประวั ติ ข องหมู ่ บ ้ า น เจ้ า กวน ได้เล่าให้ฟังว่า บ้านนี้มีหาดทรายสวยงามและ กว้างใหญ่ ในฤดูแล้งหาดทรายจะโผล่ขึ้นมา เหนือผิวน�้ำด้านเหนือหรือด้านใต้ของหมู่บ้าน ประชาชนในหมู่บ้านจะไม่อยู่เย็นเป็นสุข แต่ถ้า ปีใดหายทรายโผล่ขนึ้ เหนือผิวน�ำ้ ระหว่างหมูบ่ า้ น ประชาชนก็ จ ะอยู ่ เ ย็ น เป็ น สุ ข เมื่ อ พระองค์ ทราบจึงเกิดศรัทธาว่า “สักวันหนึ่งจะต้องได้ ย้อนกลับมาสร้างหมู่บ้านนี้ให้เป็นเมือง” ราว พ.ศ.1154 พระองค์ ก็ ไ ด้ เ สด็ จ มา พร้อมด้วยข้าทาสบริวารเป็นจ�ำนวนมาก และ มอบให้เจ้าแสง (คงจะเป็นนายชั้นใหญ่) เป็น ผู้ควบคุมการก่อสร้างวัด พร้อมกันนี้ก็ได้สร้าง พระพุทธรูปขึ้นองค์หนึ่ง นามว่า “พระอินทร์ ใส่โฉม” (ต่อมาเรียกพระเจ้าใหญ่องค์ตอื้ ) จากนัน้ ไม่นานเจ้าแสงก็ถึงแก่กรรม ชาวเมืองจึงได้ สร้างหอหลักเมืองขึ้น เพื่อเป็นอนุสรณ์ ชื่อว่า “หอแสง” จากนั้ นวั ด แห่ ง นี้ ก็ ข าดการบู ร ณะ และ กลายเป็นวัดร้าง เวลาผ่านไปหลายร้อยปีจึงมี ควาญช้ า งมาคล้ อ งช้ า งในหมู ่ บ ้ า น และพบ พระพุทธรูปองค์หนึ่ง จึงได้ไปบอกชาวบ้าน ให้ ม าช่ ว ยกั น ถางป่ า ที่ ค ลุ ม พระพุ ท ธรู ป ออก และได้ บ อกบุ ญ ชาวบ้ า นให้ ร ่ ว มกั น บู ร ณะวั ด ขึ้นมาอีกครั้งหนึ่ง ต่อมาจึงเปลี่ยนชื่อวัดเป็น “วัดพระโต” หลักฐานการบูรณะ “วัดพระโต” ในปี พ.ศ. 2461 โดยพระครูกุ พร้อมชาวบ้านได้ร่วมกัน ก่อสร้างวิหาร เมื่อ พ.ศ.2463 - พ.ศ.2468

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

(

).indd 257

257

30/05/61 04:28:21 PM


พระเจ้าใหญ่องค์ตื้อ พระเจ้าใหญ่องค์ตื้อเดิมเรียกชื่อว่า “พระเจ้าอินทร์ใส่โฉม” ประดิษฐานอยู่ที่วัดพระโต บ้านปากแซง เป็นพระพุทธรูปปาง มารสะดุ้ง หรือ ปางมารวิชัย ลักษณะงดงามมาก สร้างด้วยอิฐ ขนาดหน้าตักกว้าง 2.90 เมตร สูง 4.365 เมตร ประดิษฐาน ไว้บนแท่นบูชา สูง 1.19 เมตร เป็นพระพุทธรูปเก่าแก่ และมี 258

(

ความศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ เป็ น ที่ เ คารพบู ช าของประชาชนคนไทย และ ประชาชนจากสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เลื่อมใส ศรัทธากราบไหว้บูชาตลอดมา จนกลายเป็นประเพณีที่ส�ำคัญ ในการนมัสการพระเจ้าใหญ่องค์ตื้อ ระหว่าง วันขึ้น 9 ค�่ำ ถึง วันขึ้น 15 ค�่ำ เดือน 3 ของทุกปี โดยมีประชาชนจากทั่วสารทิศ ทั้งไทย-ลาว มากราบนมัสการกันเป็นจ�ำนวนมาก

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

).indd 258

30/05/61 04:28:46 PM


อิ่มอร่อยมะม่วงกวน ฝีมือล้วนปอกล้วยสาน เพลงขอทานประจ�ำถิ่น ศิลปินกระเดื่องแดน”

WORK LIF E

เทศบาลเมืองวารินช�ำราบ

บันทึกเส้นทางพบเทศบาลเมือง

“วารินเมืองน่าอยู่ ผู้คนน่ารัก และสุขใจ” เทศบาลเมืองวารินช�ำราบ เดิมชื่อว่า “บ้านค�ำน�้ำแซบ” ยกฐานะจากเทศบาลต�ำบลขึ้นเป็น “เทศบาลเมือง วารินช�ำราบ” ตามประกาศในราชกิจจานุเบกษาลงวันที่ 24 กันยายน 2538 ปัจจุบันมีพื้นที่ 12.9 ตารางกิโลเมตร มีชุมชนในเขตเทศบาลทั้งสิ้น 28 ชุมชน เทศบาลเมืองวารินช�ำราบ มีลำ� ธารเล็กๆ ล�ำธารหนึง่ เรียกว่า “ ล�ำค�ำน�ำ้ แซบ ” ไหลผ่าน โดยเป็นล�ำธารทีม่ นี ำ�้ ซับไหล ซึมอยู่ตลอดชั่วนาตาปี ก่อให้เกิดความอุดมสมบูรณ์แก่ท้องถิ่นตลอดมา ประชาชนชาวเมืองวารินช�ำราบจึงได้ใช้น�้ำจาก ล�ำค�ำน�้ำแซบ ในการบริโภคและอุปโภค เนื่องจากเป็นน�้ำที่ใสสะอาดและมีรสอร่อย

นายจีระชัย ไกรกังวาร

นายกเทศมนตรีเมืองวารินช�ำราบ

ค์ ค์ มรงค์

การบริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบครบวงจร

หอชมวิวเมืองวารินช�ำราบ สวนเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา (สวนพระยาประทุมเทพภักดี) มีพื้นที่ 1 ไร่ 3 งาน 19 ตารางวา เดิมเป็นที่ราชพัสดุ ของกรมธนารักษ์ กระทรวงการคลัง ซึ่งการประปาได้ใช้เป็นสถานีจ่ายน�้ำประปาของอ�ำเภอ วารินช�ำราบ และมีหอถังจ่ายน�ำ้ สูงประมาณ 25 เมตร แต่ได้ยกเลิกการใช้ เมือ่ ปี พ.ศ. 2527 และในปี พ.ศ. 2550 เทศบาลเมืองวารินช�ำราบ ได้ด�ำเนินการ ปรับปรุงสภาพภูมิทัศน์ โดยได้พัฒนาพื้นที่ให้เป็นสวนสาธารณะ และได้ ดั ด แปลงหอจ่ า ยน�้ ำ มาเป็ น “หอชมวิ ว เมื อ งวาริ น ช� ำ ราบ” เพื่ อ เป็ น การเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช ทรงมี พระชนมพรรษาครบ 80 พรรษา และเพื่อเป็นการร�ำลึกถึง พระยาประทุม เทพภักดี ซึ่งเป็นนายกเทศมนตรีคนแรกของเทศบาล

เทศบาลเมืองวารินช�ำราบ ได้ดำ� เนินการก่อสร้างสถานทีก่ ำ� จัดขยะมูลฝอย และสิ่งปฏิกูลแบบครบวงจร ภายใต้ชื่อ “โครงการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม” บนเนือ้ ที่ 282 ไร่ ด�ำเนินการก�ำจัดขยะมูลฝอยแบบฝังกลบ (Sanitary Landfill) สามารถรองรับปริมาณขยะได้ถึง 250-300 ตัน/วัน โดยสถานที่ก�ำจัดขยะของ เทศบาลเมืองวารินช�ำราบ ยังเป็นศูนย์ก�ำจัดขยะมูลฝอยรวมของจังหวัด อุบลราชธานี โดยมีหน่วยงานต่างๆทั้งภาครัฐ และเอกชนกว่า 40 แห่ง เข้ามา ใช้บริการ และด้วยวิสัยทัศน์ “สร้างขุมทองจากกองขยะ” ส่งผลให้โครงการ อนุรักษ์ สิ่ ง แวดล้ อ ม เป็ น สถานที่ ส ร้ า งนวั ต กรรมจากขยะต่ า งๆ มากมาย อาทิ การรีไซเคิลถุงพลาสติกมาเป็นเม็ดพลาสติก เพือ่ ใช้ผลิตเป็นถังดักไขมัน อ่างบัว กระถางต้นไม้ การท�ำแปลงนาสาธิตโดยใช้นำ�้ จากบ่อขยะ ทีผ่ า่ นการบ�ำบัดแล้ว นอกจากนีย้ งั เป็นสถานทีด่ ำ� เนินการก�ำจัดมูลฝอยติดเชือ้ จากสถานพยาบาล ด้วยระบบเตาเผาแบบหมุน อัตราการเผาไหม้ 350 กิโลกรัม/ชั่วโมง ให้บริการ ก�ำจัดมูลฝอยจากสถานบริการทางการแพทย์ คลินิก โรงพยาบาล ของรัฐและ เอกชน ในพื้นที่จังหวัดอุบลราชธานี และจังหวัดใกล้เคียง 4 จังหวัด จ�ำนวน 70 กว่าแห่ง

ตลาดสดเทศบาลแห่งที่ 1 เป็นตลาดสดทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ในจังหวัดอุบลราชธานี และเป็นตลาดทีม่ กี ารค้าขาย สินค้าตลอด 24 ชัว่ โมง จึงได้มกี ารพัฒนาปรับปรุงตลาดให้มคี วามสะดวก สะอาด ปลอดภัย ตามหลักสุขาภิบาล รวมทัง้ ได้พฒ ั นาปรับปรุงสถานทีอ่ าคารทีจ่ อดรถ โดยสาร ให้เป็นอาคาร ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร ทีส่ ามารถใช้เป็นทัง้ ทีจ่ อดรถ เป็นสถานทีจ่ ำ� หน่ายสินค้า และท่าเทียบรถโดยสาร ได้ในทีเ่ ดียวกัน UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

(1

).indd 259

259

5/6/2561 9:01:48


อิ่มอร่อยมะม่วงกวน ฝีมือล้วนปอกล้วยสาน เพลงขอทานประจ�ำถิ่น ศิลปินกระเดื่องแดน”

W O R K LI F E

บันทึกเส้นทางพบเทศบาลต�ำบล

เทศบาลต�ำบลค�ำขวาง “ต�ำบลน่าอยู่ ควบคู่การศึกษา พัฒนาด้านเศรษฐกิจ ปราศจากมลพิษ มีคุณภาพชีวิตที่ดี” คือวิสัยทัศน์ของเทศบาลต�ำบลค�ำขวาง

นายเพิ่มวิทย์ ประทุมพันธ์ นายกเทศมนตรีต�ำบลค�ำขวาง ประวัติความเป็นมา เทศบาลต�ำบลค�ำขวาง เดิมมีฐานะเป็นสภาต�ำบลค�ำขวาง และได้รับประกาศยกฐานะเป็น เทศบาลต�ำบลค�ำขวาง เมื่อวันที่ 27 ตุลาคม 2552 เทศบาลต�ำบลค�ำขวาง ตั้งอยู่ที่ บ้านค�ำขวาง หมู่ที่ 5 ต�ำบลค�ำขวาง อ�ำเภอวารินช�ำราบ ห่างจากตัวอ�ำเภอวารินช�ำราบ ประมาณ 6 กิโลเมตร และอยู่ห่างจากตัวจังหวัดอุบลราชธานี ประมาณ 13 กิโลเมตร ใช้ระยะเวลาเดินทางถึงตัวอ�ำเภอ 20 นาที ต�ำบลค�ำขวาง มีเนื้อที่โดยประมาณ 35.90 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 22,437.50 ไร่ แยกเป็น 10 หมู่บ้าน มีประชากรทั้งสิ้น 7,998 คน แยกเป็นชาย 4,070 คน หญิง 3,928 คน (ข้อมูลจากทะเบียนราษฎร ณ เดือนเมษายน พ.ศ.2559) และเนื่องจากสภาพพื้นที่เทศบาลต�ำบล ค�ำขวางห่างจากตัวอ�ำเภอวารินช�ำราบไม่มากจึงท�ำให้ประชากรในเขตพื้นที่มีความเป็นอยู่และมี การประกอบอาชีพที่หลากหลาย ทั้งอาชีพเกษตรกรรม ค้าขาย รับจ้างทั่วไป และรับราชการ

ค์ ค์ มรงค์

260

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

2

.indd 260

5/6/2561 9:09:18


สถานที่น่าสนใจในต�ำบลค�ำขวาง พระโตโคตะมะ วัดเกษตรพัฒนา (รัตนนรสิงห์) ที่ตั้ง บ้านเกษตรพัฒนาเหนือ เป็นพระพุทธรูป ที่สร้างขึ้นด้วยจิตศรัทธาขอชาวบ้าน 3 หมู่บ้าน ได้ แ ก่ บ้ า นเกษตรพั ฒ นาเหนื อ บ้ า นเกษตร สามัคคี ต�ำบลค�ำขวาง และบ้านเกษตรสมบูรณ์ ต� ำ บลแสนสุ ข เพื่ อ เป็ น เครื่ อ งยึ ด เหนี่ ย วจิ ต ใจ สร้างความสมัครสมานสามัคคีของทุกภาคส่วน ในชุมชน และด�ำรงรักษาไว้ซึ่งขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรมของพระพุทธศาสนา

ศูนย์การเรียนรู้เกษตรพอเพียงชุมชน ต�ำบล ค�ำขวาง หรืออีกชื่อหนึ่ง คือ ศูนย์การเรียนรู้ ตามรอยธรรมเกษตรกรรมไร้สารพิษเกษตรพอเพียง นางเกศแก้ว เข็มเพชร ที่ตั้งบ้านเกษตรพัฒนา ซึ่ ง เป็ น ศู น ย์ ก ารเรี ย นที่ น ้ อ มน� ำ หลั ก ปรั ช ญา เศรษฐกิจพอเพียงมาใช้บนพื้นที่ 50 ไร่ที่มีอยู่ โดยแบ่งพื้นที่เป็นที่อยู่อาศัยและท�ำการเกษตร ซึ่งถือหลักว่า “ปลูกทุกอย่างไว้กิน กินทุกอย่าง ที่ ป ลู ก ท� ำ ทุ ก อย่ า งไว้ ใช้ ใช้ ทุ ก อย่ า งที่ ท� ำ ” ซึ่งเป็น การท�ำเกษตรแบบธรรมชาติไร้สารเคมี ซึ่งเปิดให้ประชาชนทั่วไปและผู้สนใจเข้าชมและ ศึกษาหาความรู้ได้

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 261

261

5/6/2561 9:09:46


อิ่มอร่อยมะม่วงกวน ฝีมือล้วนปอกล้วยสาน เพลงขอทานประจ�ำถิ่น ศิลปินกระเดื่องแดน”

W O R K LI F E

บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล

องค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองกินเพล

ค์ ค์ มรงค์

นายอุทิศ ประดิษฐศิลป์

นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองกินเพล สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐาน ที่ตั้งและขนาด องค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองกินเพล ตั้งอยู่หมู่ที่ 6 บ้ า นปากกุ ด หวาย ต� ำ บลหนองกิ น เพล อ� ำ เภอวาริ น ช� ำ ราบ จั ง หวั ด อุบลราชธานี อยู่ห่างจากที่ว่าการอ�ำเภอวารินช�ำราบ 10 กิโลเมตร มีเนื้อที่ รวมทั้งหมดประมาณ พื้นที่ทั้งหมด 13,221 ไร่ หรือ 21.15 ตารางกิโลเมตร โดยมีอาณาเขตติดต่อ ดังนี้ ทิศเหนือ ติดกับ อ�ำเภอเมืองอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี ทิศใต้ ติดกับ ต�ำบลโนนผึ้ง อ�ำเภอวารินช�ำราบ จังหวัดอุบลราชธานี ทิศตะวันออก ติดกับ ต�ำบลค�ำน�ำ้ แซบ อ�ำเภอวารินช�ำราบ จังหวัด อุบลราชธานี ทิ ศ ตะวั น ตก ติ ด กั บ ต� ำ บลบุ ่ ง หวาย อ� ำ เภอวาริ น ช� ำ ราบ จั ง หวั ด อุบลราชธานี ลักษณะภูมิประเทศ ตั้งอยู่เลียบแม่น�้ำมูล ซึ่งเป็นแม่น�้ำสายหลัก ไหลมา จากอ� ำ เภอกั น ทรารมย์ จั ง หวั ด ศรี ษ ะเกษ ผ่ า นทางทิ ศ เหนื อ ของอ� ำ เภอ วารินช�ำราบ ไปอ�ำเภอพิบูลมังสาหาร อ�ำเภอโขงเจียม ลงสู่แม่น�้ำโขง เขตการปกครอง แบ่งเป็นจ�ำนวน 9 หมู่บ้าน 262

.

ประเพณีแข่งเรือประจ�ำปี

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

(2

).indd 262

5/6/2561 9:14:57


การท่องเที่ยว แหล่งน�้ำธรรมชาติ หาดทรายแก้ว แม่น�้ำมูล ที่เหมาะต่อการพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยว จุ ด ชมวิ ว ท่ า น�้ ำ บ้ า นหนองกิ น เพล เหมาะ ส�ำหรับเป็นสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ

อาชีพ อาชี พ เกษตรกรรม ได้ แ ก่ ท� ำ นา ท� ำ สวน ยางพารา อาชีพอุตสาหกรรมในครัวเรือน ได้แก่ ไม้ ก วาดจากทางมะพร้ า ว เข่ ง ปลาทู เย็ บ ผ้ า อุ ต สาหกรรมจั ก รสานจากไม้ ไ ผ่ ปั ้ น อิ ฐ จาก ภูมิปัญญาชาวบ้านในท้องถิ่น อาชีพค้าขาย ได้แก่ ค้าขายผัก ขายของช�ำ ร้านอาหาร อาชีพรับจ้าง ได้แก่ รับจ้างท�ำงานในโรงงานอุตสาหกรรม และ รับจ้างทั่วไป

ประเพณีสงกรานต์ รดน�้ำหัวผู้สูงอายุ

ศิลปวัฒนธรรมและประเพณี

กิจกรรมโรงเรียนผู้สูงอายุ

องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บลหนองกิ น เพล ได้รักษาประเพณีวันส�ำคัญต่างๆ เช่นประเพณี สงกรานต์ ประเพณีแข่งเรือ ซึ่งบางปีจะมีการจัด แข่ ง ขั น เรื อ ชิ ง ถ้ ว ยพระราชทานของสมเด็ จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เพื่อ เป็นการสืบทอดวัฒนธรรมของชาวลุ่มน�้ำมูล และ ได้รับรางวัลการแข่งขันมาโดยตลอด

การพัฒนาผู้สูงอายุ องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บลหนองกิ น เพล มีการจัดตั้งโรงเรียนผู้สูงอายุ เกิดจากแนวคิดที่ ตระหนักถึงคุณค่า ความส�ำคัญ และพลังของ ผู้สูงอายุ โดยการสร้างพื้นที่ส่งเสริมการเรียนรู้ และพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุ บนพื้นฐานการมี ส่วนร่วมของชุมชนท้องถิ่น และภาคีเครือข่าย โดยมีการเรียนการสอนทั้งในและนอกสถานที่

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.

(2

).indd 263

263

5/6/2561 9:15:03


HI S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

พระเจ้าใหญ่อินทร์สาน

วัดวารินทราราม

“น�้ ำ โจ้ ก ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ คู ่ บ ้ า น พระเจ้ า ใหญ่ อินทร์สานคูเ่ มือง ลือเลือ่ งหลวงปูช่ า ถิน่ มัจฉา แม่น�้ำมูล อุดมสมบูรณ์ด้วยวัฒนธรรม”

พระศรีรัตโนบล (สุริโย อุตฺตมเมธี)

เจ้าอาวาสวัดวารินทราราม เจ้าคณะอ�ำเภอวารินช�ำราบ

ประวัติความเป็นมา วัดวารินทราราม ตั้งอยู่ที่ เลขที่ 17 ถนนทหาร ต�ำบลวารินช�ำราบ อ�ำเภอวารินช�ำราบ จังหวัด อุบลราชธานี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ทีด่ นิ ตัง้ วัดมีเนือ้ ที่ 25 ไร่ โฉนดทีด่ นิ เลขที่ 372 อุโบสถสร้างเมือ่ พ.ศ. 2470 มีพระประธานในอุโบสถชื่อว่า “พระมหาวารีปทุมรัตน์” ขนาดหน้าตัก กว้าง 48 นิ้ว สู ง 48 นิ้ ว วั ด ตั้ ง เมื่ อ พ.ศ.2447 บ้ า นค� ำ น�้ ำ แซบ มี บ ่ อ น�้ ำ ซั บ อยู ่ แ ห่ ง หนึ่ ง มี ร สอร่ อ ยมาก ชาวบ้านจะมาเอาน�้ำดื่มเป็นประจ�ำในสมัยนาย บัว ชินโคตร เป็นก�ำนันนายบ้านโดยท่านพระครูวิโรจน์ รัตนอุบล เจ้าคณะมณฑลอุบลราชธานี ได้ส่งพระชมพูธิราช และพระอ่อน มาสร้างที่พักสงฆ์ จ�ำพรรษาทางทิศตะวันออกของบ่อน�ำ้ เพือ่ ให้ชาวบ้านได้ทำ� บุญ ชาวบ้านมักเรียกว่า “วัดค�ำน�ำ้ แซบ” ได้รับพระราชทานวิสงุ คามสีมา เมือ่ วันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2467 “พระศรีรัตโนบล (สุริโย อุตฺตมเมธี) ป.ธ.9,พธ.บ., M.A., Ph.D. เจ้าอาวาสวัดวารินทราราม เจ้าคณะอ�ำเภอ

รายนามเจ้าอาวาส 1. พระชมพูธิราช 2. พระผง ไชยภาค 3. พระทา 4. พระชู 264

พ.ศ. 2450 พ.ศ. 2450 - 2451 พ.ศ. 2451 - 2454 พ.ศ. 2454 - 2456

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

5. พระหมา 6. พระอธิการค�ำมี 7. พระผึ้ง 8. พระอธิการลา

พ.ศ. 2456 - 2457 พ.ศ. 2457 - 2458 พ.ศ. 2458 - 2460 พ.ศ. 2460 - 2465

วารินช�ำราบ

9. พระหา 10. พระแสง

พ.ศ. 2465 พ.ศ. 2465 – 2469


11. พระผุย ขนฺตยาคโม พ.ศ. 2470 - 2471 12. พระครูวุฒิกรพิศาล (ทุย ธมฺมทินฺโน) พ.ศ. 2472 - 2501 13. พระครูกมลวิสุทธิ์ รักษาการเจ้าอาวาส พ.ศ. 2501 - 2506 14. พระครูกมลวิสุทธิ์ (โชติ มหปฺพโล) พ.ศ. 2507 - 2512 15. พระทองดี กมโล (ขันค�ำ) รักษาการเจ้าอาวาส พ.ศ. 2512 16. พระครูวิรุฬสุตการ (ลุน ญาณสาโร) พ.ศ. 2513 - 2523 17. พระครูสุพจน์อุบลรัตน์ (สุข สุวโจ) พ.ศ. 2523 - 2529 18. พระวิบูลสิทธิคุณ (ค�ำ จนฺทสาโร) พ.ศ. 2530 - 2553 19. พระมหาส่ง พุทธิวโร ดร. พ.ศ. 2554 - 2555 20. พระศรีรัตโนบล (สุริโย อุตฺตมเมธี) ป.ธ.9, พธ.บ.,Ph.D.พ.ศ. 2555 - ปัจจุบัน

สิ่งที่โดดเด่นภายในวัด - โรงเรียนวารินทร์พรหมสิทธิว์ ทิ ยา พระปริยตั ธิ รรมแผนกสามัญ ม.1 - 6 - ศูนย์การเรียนบาลีประโยค 6, 7,8,9 ของ แม่กองบาลีสนามหลวงและคณะสงฆ์ภาค 10 - โรงเรียนพรหมกวีบาลีศกึ ษา เรียน พระปริยตั แิ ผนกธรรมและบาลี - ส� ำ นั ก ปฏิ บั ติ ธ รรมประจ� ำ จั ง หวั ด อุบลราชธานี แห่งที่ 34

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

265


อิ่มอร่อยมะม่วงกวน ฝีมือล้วนปอกล้วยสาน เพลงขอทานประจ�ำถิ่น ศิลปินกระเดื่องแดน”

W O R K LI F E

บันทึกเส้นทางพบเทศบาลต�ำบล

เทศบาลต�ำบลคอแลน

ค์ ค์ มรงค์

ประวัติความเป็นมา

นายเจษฎากร สุรมิตร

ปฏิบัติหน้าที่ นายกเทศมนตรีต�ำบลคอแลน

ประมาณปี พ.ศ. 2335 มีราษฎรอพยพจาก “บ้านปิเหร่อ” ไม่ทราบ แน่ชัดว่าอยู่ในเขตอ�ำเภอใดของจังหวัดศรีสะเกษ ในปัจจุบัน มาตั้งรกราก อยู่ริมฝั่งแม่น�้ำโดมน้อย และได้ตั้งชื่อบ้านว่า “บ้านขัวหมี” ซึ่งปัจจุบัน คือ บ้านหนองบัว หมู่ 5 ต�ำบลคอแลน เมื่อเกิดโรคระบาด จึงได้อพยพ จากบ้านขัวหมี มาตั้งบ้านใหม่อยู่ทางทิศตะวันตก ประมาณ 4 กิโลเมตร ซึ่งเป็นที่ดอนอุดมสมบูรณ์ไปด้วยป่าไม้และทรัพยากรธรรมชาติ จึงได้ตั้ง ชื่อบ้านใหม่ว่า “บ้านคอแลน”เหตุที่ ชื่อว่าบ้านคอแลน ก็เพราะว่าบริเวณ ทีเ่ ป็นทีต่ งั้ หมูบ่ า้ นนัน้ มีตน้ ไม้ทชี่ อื่ ว่า “ต้นคอแลน” (ลิน้ จีป่ า่ ) เป็นจ�ำนวนมาก เมื่อมีประชากรเพิ่มมากขึ้นจึงมีการแบ่งแยกหมู่บ้านเป็นหลายหมู่บ้าน และเมื่อมีการจัดระเบียบการปกครองท้องที่ขึ้น จึงได้รวบรวมเอาหมู่บ้าน ต่างขึ้นเป็นต�ำบลคอแลนในปัจจุบัน มีทั้งหมด 18 หมู่บ้าน ส�ำนักงานเทศบาลต�ำบลคอแลน อยู่ทางทิศเหนือของที่ว่าการอ�ำเภอ บุณฑริก ตั้งอยู่ เลขที่ 202 หมู่ที่ 1 ต�ำบลคอแลน อ�ำเภอบุณฑริก จังหวัด อุบลราชธานี มีระยะทางไปตามทางหลวงชนบท บุณฑริก-ห้วยทราย ประมาณ 16 กิโลเมตร

การท่องเที่ยว น�ำ้ ตกห้วยทรายใหญ่ เป็นน�ำ้ ตกทีม่ ชี อื่ เสียง อยูใ่ นเขตพืน้ ทีบ่ า้ นเจริญชัย หมู่ที่ 14 ต�ำบลคอแลน อ�ำเภอบุณฑริก จังหวัด อุบลราชธานี ช่วงเวลาที่ เหมาะแก่ ก ารเดิ น ทางมาท่ อ งเที่ ย ว คื อ ระหว่ า งเดื อ นพฤษภาคม – กันยายน ของทุกปี ภูฝอยลม อยู่ในเขตต�ำบลคอแลน อ�ำเภอบุณฑริก จังหวัดอุบลราชธานี เป็นแนวติดต่อระหว่างประเทศไทยกับสปป.ลาว ภูฝอยลม เป็นภูเขาที่มี ความสวยงามมาก และยังเป็นอีกหนึ่งสถานที่ส�ำหรับชมความงดงามของ ทะเลหมอก 266

.

(2

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

).indd 266

5/6/2561 9:44:49


แหล่งท่องเที่ยว สถานที่ท่องเที่ยวที่น่าสนใจ เช่น น�้ำตกห้วย ทรายใหญ่หรือแก่งอีเขียว ภูฝอยลม ภูถ�้ำขี้แกลบ และน�้ำตกแช

ผลิตภัณฑ์ของต�ำบล

การสานหวดเป็นศิลปหัตถกรรมพื้นเมืองของ เทศบาลต�ำบลคอแลน

เศรษฐกิจพอเพียงท้องถิ่น (ด้านการเกษตร และแหล่งน�้ำ) ภายในเขตเทศบาลต�ำบลคอแลน มีอา่ งเก็บน�ำ ้ ห้วย หนอง คลองจ�ำนวนหนึ่ง เป็นประโยชน์ใน การผลิตน�้ำประปา บริการประชาชนและเป็น ประโยชน์ต่อเกษตรกรที่ปลูกพืชผักตามริมแม่น�้ำ แต่ในฤดูฝนมักเกิดปัญหาน�้ำหลากและเอ่อท่วม บ้านเรือนราษฎร ปัญหาการพังทลายของฝัง่ แม่นำ �้ ท� ำ ให้ บ ้ า นเรื อ นประชาชนได้ รั บ ความเสี ย หาย ปัญหาการก�ำจัดขยะไม่ถูกวิธี ปัญหาการปล่อย น�้ ำ เสี ย จากชุ ม ชนลงแม่ น�้ ำ ล� ำ โดมน้ อ ย ปั ญ หา ปริมาณขยะเพิ่มสูงขึ้น ฯลฯ

จุดยืนทางยุทธศาสตร์ (Positioning) มีการเกษตรที่เป็นฐานหลักที่สามารถรองรับ วิกฤตเศรษฐกิจได้ เป็นแหล่งผลิตอาหารที่ส�ำคัญ มี ภู มิ ป ระเทศและอากาศรวมทั้ ง สภาวะ แวดล้อมที่เหมาะแก่การท�ำการเกษตร มีโครงการคมนาคมขนส่ง สามารถติดต่อได้ ตลอดพื้นที่ทั้งจังหวัดและ มีเขตพื้นที่ติดต่อกับ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว

มีสินค้าพื้นเมืองของต�ำบลและพื้นที่ใกล้เคียง เช่น ผ้าไหมสมพรรัตน์ ผ้าลายกาบบัว ผลิตภัณฑ์ สานหวดบ้านคอแลนข้าวปุ้นซาว เป็นต้น ด้ ว ยสภาพพื้ น ที่ เ ทศบาลต� ำ บลคอแลนที่ มี ความอุดมสมบูรณ์ ทั้งทรัพยากรธรรมชาติและ ปัจจัยที่เอื้อต่างๆ จึงเหมาะแก่การท�ำการเกษตร จึงก�ำหนดจุดยีนทางยุทธศาสตร์ (Positioning) ของเทศบาลต�ำบลบุณฑริก เพิ่มขีดความสามารถ ทางการเกษตรทั้งยางพารา อาหารพื้นบ้านและ ผลิตภัณฑ์สินค้าพื้นเมือง เพื่อเป็นสินค้าเศรษฐกิจ ภายในจังหวัด น�ำส่งสู่ต่างจังหวัดทั่วประเทศ

ศาสนา ประเพณี วัฒนธรรม ชุมชนในเขตเทศบาลต�ำบลคอแลน นับถือ ศาสนาพุทธเป็นส่วนใหญ่ ประเพณีวัฒนธรรม ชุมชนอ�ำเภอบุณฑริกยังปฏิบัติตาม ฮีตสิบสอง

คลองสิ บ สี่ เป็ น ขนบธรรมเนี ย มประเพณี ข อง ชาติพันธุ์ลาว ร่วมถึงชาวลาวอีสานที่ปฏิบัติสืบต่อ กันมาจนถึงปัจจุบัน ซึ่งเป็นวัฒนธรรมแสดงถึง ความเป็นชาติเก่าแก่ที่เจริญรุ่งเรืองมานาน เป็น เอกลักษณ์ของชาติและท้องถิ่น มีส่วนช่วยให้ชาติ ด�ำรงความเป็นชาติของตนอยู่ตลอดไป

ทรัพยากรธรรมชาติ ทรั พ ยากรธรรมชาติ ที่ ส� ำ คั ญ ของอ� ำ เภอ บุณฑริก คือ ป่าไม้ มีทั้งป่าเต็งรัง หรือป่าแดงที่มี อยู่ทั่วไป ป่าดงดิบในเขตอ�ำเภอน�้ำยืนและป่าผสม ส่ ว นป่ า เบญจพรรณ มี อ ยู ่ ใ นบริ เวณ อ� ำ เภอ เข ม ร า ฐ อ� ำ เ ภ อ บุ ณ ฑ ริ ก แ ล ะ อ� ำ เ ภ อ พิ บู ล มั ง สาหาร ไม้ ส ่ ว นใหญ่ เ ป็ น ไม้ ก ระยาเลย ได้ แ ก่ ไม้ ย าง ไม้ ต ระแบก ไม้ แ ดง ไม้ ป ระดู ่ ไม้เคี่ยม ไม้ชุมแพรกไม้กันเกรา เป็นต้น UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.

(2

).indd 267

267

5/6/2561 9:44:18


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดศรีมงคล

พระวิโรจน์รัตโนบล อาวาสวัดศรีมงคล เจ้าคณะอ�ำเภอบุณฑริก

ประวัติความเป็นมา ตัง้ อยูท่ ี่ บ้านโพนงาม หมูท่ ี่ 1 ต�ำบลโพนงาม อ�ำเภอบุณฑริก จังหวัดอุบลราชธานี สังกัดคณะ สงฆ์มหานิกาย อาณาเขต ทิศเหนือประมาณ 3 เส้น จดถนนหลวง ทิศตะวันออกประมาณ 3 เส้น จดที่ดินนายสวัสดิ์ ทิมา ทิศตะวันตก ประมาณ 3 เส้น จดทีด่ นิ นายทา อิม้ ค�ำ มีทธี่ รณี สงฆ์จ�ำนวน 3 แปลง เนื้อที่ 87 ไร่ 1 งาน 52 ตาราง อาคารเสนาสนะ ประกอบด้วยศาลา การเปรียญ กว้าง 12 เมตร ยาว 20 เมตร สร้าง เมือ่ พ.ศ. 2495 และกุฏสิ งฆ์จำ� นวน 5 หลัง เป็น อาคารไม้ 3 หลัง ครึ่งตึกครึ่งไม้ 1 หลัง และตึก 1 หลัง ตัง้ เมือ่ พ.ศ. 2470 เดิมมีชอื่ ว่า วัดบ้านโพนงาม ต่อมาในปี พ.ศ. 2489 พระครูบณ ุ ฑริกคณารักษ์ มาด� ำ รงต� ำ แหน่ ง เจ้ า อาวาสเดิ ม ท่ า นมี ชื่ อว่ า พระมงคล เป็นที่เคารพนับถือของชาวบ้านโพน งามและชาวอ�ำเภอบุณฑริก จึงเปลีย่ นชือ่ วัดเพือ่ เป็ น เกี ย รติ แ ก่ ท ่ า นว่ า วั ด ศรี ม งคลได้ รั บ พระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อ พ.ศ. 2495 วั ด ศรี ม งคล มี โ รงเรี ย นพระปริ ยั ติ ธ รรม แผนกธรรม เปิดสอนเมื่อ พ.ศ. 2491 โรงเรียน พระปริยัติธรรมแผนกบาลี เปิดสอนเมื่อ พ.ศ. 268

(2

2520 และโรงเรียนพระปริยตั ธิ รรมแผนกสามัญ เปิดสอนเมื่อ พ.ศ. 2517 ประมาณ พ.ศ. 2527 ได้ประกาศสอนโรงเรียนพระปริยัติธรรม ระดับ ชั้นประถมปลาย – มัธยมปลาย รายนามเจ้าอาวาส รูปที่ 1 พระผง ฐิตธมฺโม พ.ศ. 2470 - 2472 รูปที่ 2 พระทองค�ำ สิริธมฺโม พ.ศ. 2482 - 2489 รูปที่ 3 พระครูบุณฑริกคณะรักษ์ พ.ศ. 2490 - 2508 รูปที่ 4 พระมหาหนูสนิ พ.ศ. 2509 - 2514 รูปที่ 5 พระมหาค�ำนึง ฐิตธมฺโม พ.ศ. 2515 - 2519 รูปที่ 6 พระวิโรจน์รัตโนบล พ.ศ. 2520 – ปัจจุบัน กิจกรรมและประเพณี การบรรพชาสามเณร มีการจัดขึน้ ทุกปี ในช่วง วันที่ 1-10 เมษายนของทุกปี บวชเป็นเวลา 10 วัน งานบุ ญ พระเวส เป็ น ประเพณี ข อง 3 หมูบ่ า้ น มารวมตัวกันจัดท�ำขึน้ ในช่วงวันที่ 1-10 เมษายนของทุกปี

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

).indd 268

5/6/2561 9:58:08


ประวัติเจ้าอาวาส พระวิโรจน์รตั โนบล (จันทร์) ฉายา จนฺทสโร อายุ 77 พรรษา 56 ป.ธ.3 น.ธ.เอก วัดศรีมงคล อ�ำเภอบุณฑริก จังหวัดอุบลราชธานี ปัจจุบัน เป็นเจ้าคณะอ�ำเภอบุณฑริก เดิมชือ่ จันทร์ ส่งสุข เกิดเมื่อวันที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2482 บิดา นายโม้ มารดา นางสุ่ม ณ บ้านเลขที่ 1 ต�ำบล เมืองเดช อ�ำเภอเดชอุดม จังหวัดอุบลราชธานี บรรพชาและอุ ป สมบท เมื่ อ วั น ที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2512 วัดท่าโพธิ์ศรี ต�ำบล เมืองเดช อ�ำเภอเดชอุดม จังหวัดอุบลราชธานี พระอุ ป ั ช ฌาย์ คื อ พระครู อุ ด มเดชบริ รั ก ษ์ วัดแสงเกษม ต�ำบลเมืองเดช อ�ำเภอเดชอุดม จังหวัดอุบลราชธานี วิทยฐานะ พ.ศ. 2494 จบชั้ น ประถมศึ ก ษาปี ที่ 4 ณ โรงเรียนท่าโพธิ์ศรี ต�ำบลเมืองเดช อ�ำเภอ เดชอุดม จังหวัดอุบลราชธานี

พ.ศ. 2505 สอบได้นักธรรมชั้นเอก จาก ส�ำนักเรียนศาสนศึกษาวัดท่าโพธิศ์ รี ต�ำบลเมือง เดช อ�ำเภอเดชอุดม จังหวัดอุบลราชธานี พ.ศ. 2520 สอบได้เปรียญธรรม 3 ประโยค จากส�ำนักเรียนวัดชลประทาน อ�ำเภอหล่มเก่า จังหวัดเพชรบูรณ์ สมณศักดิ์ พ.ศ. 2521 เป็นพระครูสญ ั ญาบัตรเจ้าคณะ อ�ำเภอชั้นโทที่ พระครูโสภิตปริยัติการ พ.ศ. 2526 เป็นพระครูสญ ั ญาบัตรเจ้าคณะ อ�ำเภอชั้นเอก ในพระราชทินนามเดิม พ.ศ. 2531 เป็นพระครูสญ ั ญาบัตรเจ้าคณะ อ�ำเภอชั้นพิเศษ ในพระราชทินนามเดิม พ.ศ. 2550 เป็นพระราชาคณะชั้นสามัญที่ พระวิโรจน์รัตโนบล

วัดป่าศรีมงคล

พระวิโรจน์รัตโนบล ได้สร้างวัดป่าศรีมงคล ขึ้นประมาณปี พ.ศ. 2524 เนื่องจากเจ้าอาวาส มองว่าวัดศรีมงคลมีพื้นที่ไม่เพียงพอในการท�ำ กิจกรรมทางพระพุทธศาสนา วัดป่าศรีมงคล ได้ ก� ำ ลั ง เริ่ ม สร้ า งพระวิ ห าร เพื่ อ เป็ น ลานปฏิบัติธรรม UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

(2

).indd 269

269

5/6/2561 9:58:32


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดป่าอุทยานภูถ�้ำพระ 270

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

(2

).indd 270

5/6/2561 10:11:00


ประวัติความเป็นมา วัดป่าอุทยานภูถ�้ำพระ ตั้งอยู่เลขที่ 75 หมู่ที่ 7 บ้านหนองกบ อ�ำเภอบุณฑริก จังหวัด อุบลราชธานี เหตุผลที่ตั้งชื่อว่า “วัดป่าอุทยานภูถ�้ำพระ” นั้น ในสมัยโบราณ ชาวบ้านมักจะ น�ำพระพุทธรูปที่มีอยู่ในบ้าน ไปเก็บไว้ที่ถ�้ำและหน้าผาเป็นจ�ำนวนมาก ขณะเดียวกัน มีชาวบ้านมาพบพระพุทธรูปทองสัมฤทธิ์ และพระพุทธรูปไม้แกะสลัก เป็น จ�ำนวนมาก จึงเรียกกันติดปากว่าว่า “ภูถ�้ำพระ” นับตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมา จึงได้ตั้งชื่อว่า “วัดป่าอุทยานภูถ�้ำพระ”

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

(2

).indd 271

271

5/6/2561 10:11:33


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วิหาร

วัดธรรมิกาวาส พระครูอุดมปุญญาภรณ์ เจ้าอาวาสวัดธรรมิกาวาส รองเจ้าคณะอ�ำเภอบุณฑริก

ประวัติความเป็นมา วั ด ธรรมิ ก าวาส ตั้ ง อยู ่ ที่ บ ้ า นห้ ว ยข่ า หมูท่ ี่ 1 ถนนบุณฑริก - นาจะหลวย ต�ำบลห้วยข่า อ�ำเภอบุณฑริก จังหวัดอุบลราชธานี สังกัด คณะสงฆ์มหานิกาย ทีด่ นิ ทีต่ งั้ วัด มีเนือ้ ที่ 93 ไร่ 1 งาน 86 ตารางวา มีธรณีสงฆ์ 1 แปลง เนื้อที่ 4 ไร่ วั ด ธรรมิ ก าวาส ตั้ ง เมื่ อ พ.ศ.2435 เดิมชื่อว่า “วัดบ้านห้วยข่า” เพราะสถานที่ตั้ง วัดมีข่าจ�ำนวนมาก เหตุที่เปลี่ยนชื่อ เนื่องจาก พระภิ ก ษุ ส ามเณรที่ บ วชอยู ่ ใ นวั ด สามารถ สอบไล่ได้เปรียญธรรมหลายรูป ชาวบ้านเห็น ว่าวัดนีเ้ ป็นเสมือนทีอ่ ยูข่ องผูใ้ คร่ตอ่ การศึกษา เล่าเรียนพระธรรมวินัย จึงได้เปลี่ยนชื่อวัดว่า 272

“วัดธรรมิกาวาส” มาจนถึงปัจจุบัน ได้รับ พระราชทานวิ สุ ง คามสี ม า เมื่ อ วั น ที่ 19 กุ ม ภาพั น ธ์ พ.ศ.2522 เขตวิ สุ ง คามสี ม า 30 เมตร ยาว 60 เมตร อาคารเสนาสนะประกอบด้วย ศาลา การเปรี ย ญ 1 หลั ง สร้ า งเมื่ อ พ.ศ.2512 กุฏิสงฆ์ จ�ำนวน 9 หลัง วิหาร 1 หลัง สร้างเมื่อ พ.ศ.2526 ศาลาอเนกประสงค์ 1 หลั ง สร้างเมื่อ พ.ศ.2528 ศาลาบ�ำเพ็ญบุญ 1 หลัง สร้างเมือ่ พ.ศ.2535 ศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ ในวัด 1 หลัง สร้างเมื่อ พ.ศ.2536 โรงครัว 1 หลัง สร้างเมื่อ พ.ศ.2536

รายนามเจ้าอาวาส พระพรหมา พฺรหฺมสโร (โคตะมี) พ.ศ. 2535 - 2468 พระผัน ยนฺตสีโล พ.ศ. 2468 - 2481

พระศากยมุนีทศพลญาณอภิบาลบุณฑริก (หลวงพ่อมนต์วิเศษ)

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

(2

) 10-5-61.indd 272

5/6/2561 10:17:49


พระอธิการเพ็ง พลวุทฺโฒ พ.ศ.2481 - 2489 พระอธิการผุย พลญาโณ พ.ศ.2489 - 2492 พระมหาทินกร ธมฺมาภิรโต พ.ศ.2492 - 2494 พระดา ติกฺขญาโณ พ.ศ.2508 - 2518 พระสอ สิริคุตฺโต พ.ศ.2518 - 2525 พระอธิการเตียง อินฺทปญฺโญ พ.ศ.2525 - 2529 พระครูอุดมปุญญาภรณ์ พ.ศ.2529 - ปัจจุบัน

ประวัติเจ้าอาวาส พระครูอดุ มปุญญาภรณ์ ฉายา กตปุญโฺ ญ อายุ 62 พรรษา 42 น.ธ.เอก ป.ธ.วัดธรรมิกาวาส ต� ำ บลห้ ว ยข่ า อ� ำ เภอบุ ณ ฑริ ก จั ง หวั ด อุบลราชธานี ปัจจุบนั ด�ำรงต�ำแหน่ง เจ้าอาวาส วัดธรรมิกาวาส และรองเจ้าคณะอ�ำเภอบุณฑริก สถานะเดิ ม ชื่ อ อภิ ญ ญา นามสกุ ล สุระพล เกิ ด วั น ที่ 5 มิ ถุ น ายน พ.ศ.2499 บิดานายจันทร์ มารดานางแสง บรรพชา วันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ.2517 วั ด อั ม ริ น ทราราม ต� ำ บลโพนงาม อ� ำ เภอ บุณฑริก จังหวัดอุบลราชธานี พระอุปชั ฌาย์ พระครูสิริสัจจคุณ วัดอัมรินทราราม ต�ำบล โพนงาม อ�ำเภอบุณฑริก จังหวัดอุบลราชธานี อุปสมบท วันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ.2518 วัดศรีมงคล ต�ำบลโพนงาม อ�ำเภอบุณฑริก จั ง ห วั ด อุ บ ล ร า ช ธ า นี พ ร ะ อุ ป ั ช ฌ า ย ์ เจ้าอธิการเลียบ ฉายา ขนฺตโิ ก วัดอัมรินทราราม ต� ำ บลโพนงาม อ� ำ เภอบุ ณ ฑริ ก จั ง หวั ด อุบลราชธานี วิทยฐานะ พ.ศ.2528 ส�ำเร็จการศึกษา ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาตอนปลาย จากโรงเรี ย น อุ บ ลวิ ท ยากร ต� ำ บลในเมื อ ง อ� ำ เภอเมื อ ง จังหวัดอุบลราชธานี พ.ศ.2532 สอบได้ประกาศบัตรประโยค ครู พิ เ ศษมั ธ ยม จากกรมการฝึ ก หั ด ครู กระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร พ.ศ.2542 ส� ำ เร็ จ

ป่าไม้ธรรมชาติบริเวณวัด

การศึกษาพุทธศาสตร์บัณฑิต (พธ.บ.) จาก มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตอุบลราชธานี ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี พ.ศ.2524 สอบได้ นั ก ธรรมชั้ น เอก จากส�ำนักศาสนศึกษา วัดล�ำนารายณ์ ต�ำบล ล�ำนารายณ์ อ�ำเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี การศึกษาพิเศษ จูฬอาภิธรรมิกเอก สมณศั ก ดิ์ พ.ศ.2537 เป็ น ที่ พ ระครู อุ ด มปุ ญ ญาภรณ์ เจ้ า คณะต� ำ บลชั้ น ตรี พ.ศ.2542 เป็ น ที่ พ ระครู อุ ด มปุ ญ ญาภรณ์ เจ้าคณะต�ำบลชั้นโท พ.ศ.2552 เป็นที่พระครู อุ ด มปุ ญ ญาภรณ์ เจ้ า คณะต� ำ บลชั้ น เอก พ.ศ.2557 ด�ำรงต�ำแหน่งรองเจ้าคณะอ�ำเภอ ชั้นเอก

ซุ้มประตู UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

(2

) 10-5-61.indd 273

273

5/6/2561 10:17:59


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดอัมพวัน

พระครูอนุเขตธรรมรักษ์ รักษาการ เจ้าอาวาสวัดอัมพวัน

ประวัติความเป็นมา วัดอัมพวัน ตั้งอยู่ที่บ้านหนองม่วง ต�ำบลหนองสะโน อ�ำเภอบุณฑริก จังหวัดอุบลราชธานี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินจ�ำนวน 20 ไร่ 3 งาน 1 ตารางวา ซึ่งเป็นที่ดินโฉนด นส.3 ของพ่อใหญ่ทองดี ดวงแก้ว เป็นผู้บริจาคที่ดินให้ในการสร้างวัดอัมพวัน โดยเริ่มก่อสร้างวัด ตั้งแต่ปี พ.ศ.2505 ของพระภิกขุและชาวบ้าน ประสงค์จะสร้างเป็นวัดให้ถาวรวัฒนาสืบไป จึงขออนุญาตสร้างวัด โดยประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องการตั้งวัดในพระพุทธศาสนา ในวันที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2541 ซึ่งได้รับ อนุญาตสร้างวัด ในปี พ.ศ. 2542 และได้รับ พระราชทานวิสงุ คามสีมา ตามประกาศส�ำนัก นายกรัฐมนตรี ปี พ.ศ. 2543 และได้รับการ ผูกพัทธสีมา ปี พ.ศ. 2544 วัดอัมพวัน มีเจ้าอาวาสวัดหลายรูปสืบ ต่อกันมา จนมาเป็นวัดที่ถูกต้องตามกฎหมาย โดยในปี พ.ศ. 2541 มี พ ระอธิ ก ารค� ำ มี จิ น ตะโน เป็ น เจ้ า อาวาสรู ป แรก ต่ อ มา 274

(1

ปี พ.ศ. 2560 พระครู อ นุ เขตธรรมรั ก ษ์ รักษาการ เจ้าอาวาสวัด จนถึงปัจจุบัน ปัจจุบันวัดอัมพวัน มีการก่อสร้างวิหาร พระเจ้ า ใหญ่ ดี โรจน์ ปี พ.ศ. 2557 ซึ่ ง มี “พระเจ้าใหญ่ดีโรจน์” ประดิษฐานอยู่วิหาร มีหน้าตักกว้าง 3 เมตร สูง 5 เมตร หนัก 15 ตัน แกะด้ ว ยหิ น อ่ อ น มี ค วามประณี ต งดงาม น่าเลื่อมใสศรัทธาและเป็นที่เคารพบูชาของ ชาวบ้าน

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

).indd 274

5/6/2561 10:25:55


.indd 275

31/5/2561 17:09:42


อิ่มอร่อยมะม่วงกวน ฝีมือล้วนปอกล้วยสาน เพลงขอทานประจ�ำถิ่น ศิลปินกระเดื่องแดน”

W O R K LI F E

บันทึกเส้นทางพบที่ว่าการอ�ำเภอ

ที่ว่าการอ�ำเภอน�้ำยืน “ดินแดนสามเหลี่ยมมรกต คีรีบรรพตศากยมุนี มากมีพืชเศรษฐกิจ ถิ่นสถิตนารายณ์บรรทมสินธุ์ ช่องอานม้าสู่อินโดจีน ยลถิ่นกุ้งเดินขบวน งามล้วนวัฒนธรรม” คือค�ำขวัญของที่ว่าการอ�ำเภอน�้ำยืน

ค์ ค์ มรงค์

นายสมชัย บูรณะ นายอ�ำเภอน�้ำยืน สภาพทั่วไป อ� ำ เภอน�้ ำ ยื น ตั้ ง อยู ่ ท างทิ ศ ใต้ ข องจั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี ห่ า งจากตั ว จั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี ประมาณ 110 กิโลเมตร อ�ำเภอน�้ำยืนมีพื้นที่ ประมาณ 875 ตารางกิโลเมตร อ� ำ เภอน�้ ำ ยื น เป็ น อ� ำ เภอที่ มี พื้ น ที่ ติ ด กั บ ประเทศเพื่อนบ้าน 2 ประเทศ คือ สปป.ลาว และ กัมพูชาประชาธิปไตย ภูมิประเทศตอนเหนือเป็น ที่ราบ และมีความลาดเอียงน้อย ส่วนตอนใต้เป็น ป่าภูเขาสลับซับซ้อน มีเทือกเขาพนมดงรักกั้น ระหว่ า งไทย - กั ม พู ช า ท� ำ ให้ พื้ น ที่ โ ดยรอบ ประกอบด้วยพื้นที่ป่าไม้ ได้แก่ ป่าสงวนแห่งชาติ “ป่ า ฝั ่ ง ซ้ า ยล� ำ โดมใหญ่ ” ที่ มี ส ภาพป่ า อุ ด ม สมบูรณ์ส่วนใหญ่อยู่ติดกับแนวเขตอนุรักษ์ เขต รักษาพันธ์สัตว์ป่ายอดโดม อุทยานแห่งชาติภูจอง - นายอย และอุทยานแห่งชาติเขาพระวิหาร 276

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

(2

).indd 276

5/6/2561 10:35:20


พื้นที่สมบูรณ์ ริมล�ำห้วยล�ำโดมใหญ่ 1. พื้ น ที่ ป ่ า สงวนแห่ ง ชาติ ป่ า ฝั ่ ง ซ้ า ยล� ำ โดมใหญ่ ในต�ำบลโดมประดิษฐ์ ต�ำบลสีวิเชียร ต� ำ บลโซง ซึ่ ง มี ส ภาพที่ ส มบู ร ณ์ ติ ด แนวเขต ป่าอนุรักษ์ เนื้อที่ประมาณ 4,000 ไร่ 2. พื้ น ที่ ป ่ า สงวนแห่ ง ชาติ ป่ า ฝั ่ ง ซ้ า ยล� ำ โดมใหญ่ ท้ อ งที่ ต� ำ บลบุ เ ปื อ ย ต� ำ บลยางใหญ่ ตามแนวริ ม ล� ำ ห้ ว ยล� ำ โดมใหญ่ รวมเนื้ อ ที่ ประมาณ 2,000 ไร่ 3. พื้นที่ป่าในเขตอนุรักษ์พันธ์สัตว์ป่ายอดโดม ครอบคลุมพื้นที่ต�ำบลโดมประดิษฐ์ ต�ำบลสีวิเชียร ต�ำบลโซง รวมเนื้อที่ทั้งสิ้น 140,845 ไร่ 4. พื้นที่ป่าในเขตอุทยานแห่งชาติภูจอง นายอย ในพื้นที่ต�ำบลโดมประดิษฐ์ รวมเนื้อที่ ทั้งสิ้น 110,625 ไร่ 5. พื้ น ที่ ป ่ า ในเขตอุ ท ยานแห่ ง ชาติ เ ขา พระวิ ห าร ในเขตพื้ น ที่ ต� ำ บลโซง และต� ำ บล สีวิเชียร รวมเนื้อที่ 22,500 ไร่

โครงการส�ำคัญ โครงการสร้ า งบ้ า นประชารั ฐ ถวายเป็ น พระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรม หาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช (การแก้ ไขปั ญ หาความ เดือดร้อนของประชาชน) หลังที่ 1 โครงการเยี่ยมยามถามไถ่ได้ใจได้บุญ ถวาย เป็ น พระราชกุ ศ ลแด่ พ ระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ล อดุลยเดช ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 โครงการนายอ�ำเภอห่วงใยลูกรัก ประจ�ำปี 2560 โครงการบ้านสวย เมืองสุข โครงการเสริมสร้างความเข้มแข็ง ของคณะ กรรมการหมู่บ้าน ประจ�ำปี 2560 โครงการนายอ� ำ เภอพบปะนั ก เรี ย นหน้ า เสาธง ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 โครงการนายอ�ำเภอพบส่วนราชการระดับ ต�ำบล ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 โครงการพั ฒ นาการท่ อ งเที่ ย วช่ อ งบกเนิ น 500 สมรภู มิ ร บช่ อ งบก ต� ำ บลโดมประดิ ษ ฐ์ อ�ำเภอน�้ำยืน

สถานที่และแหล่งท่องเที่ยวที่ส�ำคัญ แหล่งโบราณคดี ภาพสลักนารายบรรทมสินธุ์ ถ�้ำโยนี สามเหลี่ยมมรกต ช่องอานม้า พลาญเสือ แก่ ง ล� ำ ดวน ถ�้ ำ ห้ ว ยบอน วั ด ป่ า คี รี บ รรพต (วัดภูน้อย) ศูนย์อนุรักษ์ภาพไทย กลุ่มกล้วยไม้

ความเชื่อ ประเพณี และพิธีกรรม ความเชื่ อ และประเพณี ที่ ส� ำ คั ญ ของอ� ำ เภอ น�้ำยืน คือ งานประเพณีบุญบั้งไฟ ซึ่งจัดในช่วง เดื อ นพฤษภาคม งานประเพณี แ ห่ เ ที ย นเข้ า พรรษา ช่วงเดือนกรกฎาคม งานประเพณีลอย กระทง ช่วงเดือนพฤศจิกายน และการจัดงาน สมโภชศาลเจ้าพ่อหลักเมือง ระหว่างวันที่ 16 20 มีนาคม ของทุกปี เพื่ออนุรักษ์และส่งเสริม ขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามของท้องถิ่น UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

(2

).indd 277

277

5/6/2561 10:35:27


อิ่มอร่อยมะม่วงกวน ฝีมือล้วนปอกล้วยสาน เพลงขอทานประจ�ำถิ่น ศิลปินกระเดื่องแดน”

W O R K LI F E

บันทึกเส้นทางพบเทศบาลต�ำบล

เทศบาลต�ำบลสีวิเชียร “ดินแดนห้วยวังใหญ่ ใส่ใจคุณภาพชีวิต เกษตรปลอดสารพิษ ต�ำบลเศรษฐกิจพอเพียง รุ่งเรืองวัฒนธรรม” คือค�ำขวัญของเทศบาลต�ำบลสีวิเชียร

ประวัติความเป็นมา

ค์ ค์ มรงค์

นายทองอินทร์ สีหาบุตร นายกเทศมนตรีต�ำบลสีวิเชียร

278

เทศบาลต�ำบลสีวเิ ชียร เป็นหนึง่ ใน 8 อปท.ในพืน้ ทีอ่ ำ� เภอน�ำ้ ยืน จังหวัด อุบลราชธานี ตั้งอยู่ห่างจากจังหวัดอุบลราชธานี ระยะทางประมาณ 112 กิโลเมตร มีพื้นที่ 109.01 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 68,131.25 ไร่ ครอบคลุ ม พื้ น ที่ 16 หมู ่ บ ้ า น เป็ น พื้ น ที่ ที่ มี ค วามอุ ด มสมบู ร ณ์ ท าง ทรัพยากรธรรมชาติ เห็นได้จากมีห้วย ล�ำน�้ำ จ�ำนวน 9 แห่ง บึง หนอง จ�ำนวน 6 แห่ง เขื่อน จ�ำนวน 1 แห่ง ฝาย จ�ำนวน 3 แห่ง บ่อน�้ำตื้น จ�ำนวน 209 แห่ง บ่อบาดาล จ�ำนวน 52 แห่ง และอื่นๆ รวมทั้งมีสถานที่ส�ำคัญ หลายแห่ง ทีบ่ ง่ บอกถึงความอุดมสมบูรณ์ เช่น อ่างเก็บน�ำ้ ห้วยวังใหญ่ ถ�ำ้ ยอ วัดพลานนกยูง วัดถ�้ำน�้ำทิพย์ เป็นต้น เทศบาลต�ำบลสีวิเชียรเดิมเป็น “สภาต�ำบลสีวิเชียร” ได้รับการยก ฐานะเป็น “องค์การบริหารส่วนต�ำบลสีวิเชียร” เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2540 และได้รับการจัดตั้งเป็น “เทศบาลต�ำบลสีวิเชียร” ตามประกาศ กระทรวงมหาดไทย เมื่อวันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2556 ส�ำนักงานตั้งอยู่ที่ เลขที่ 39 หมู่ 11 บ้านค�ำข่า ต�ำบลสีวิเชียร อ�ำเภอ น�้ำยืน จังหวัดอุบลราชธานี ห่างจากอ�ำเภอน�้ำยืนไปทางทิศตะวันออก ระยะทางประมาณ 5 กิโลเมตร ตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2248 (ถนนน�ำ้ ยืน - นาจะหลวย) ครอบคลุมพืน้ ที่ 16 หมูบ่ า้ น ประกอบด้วย หมูท่ ี่ 1 บ้านวารีอดุ ม หมู่ที่ 2 บ้านโนนสวรรค์ หมู่ที่ 3 บ้านซ�ำหวาย หมู่ที่ 4 บ้าน โนนเจริญ หมู่ที่ 5 บ้านนาสามัคคี หมู่ที่ 6 บ้านสงวนรัตน์ หมู่ที่ 7 บ้าน ศรีเมือง หมู่ที่ 8 บ้านห้วยแก้ว หมู่ที่ 9 บ้านโนนทอง หมู่ที่ 10 บ้านสีวิเชียร หมู่ที่ 11 บ้านค�ำข่า หมู่ที่ 12 บ้านศรีบุญเรือง หมู่ที่ 13 บ้าน นองหญ้าช้าง หมู่ที่ 14 บ้านห้วยจันทร์แดง หมู่ที่ 15 บ้านโนนเจริญศึกษา หมู่ที่ 16 บ้านซ�ำหวายพัฒนา ทิศเหนือ ติดกับต�ำบลบุเปือย อ�ำเภอน�้ำยืน จังหวัด อุบลราชธานี ทิศใต้ ติดกับชายแดนประเทศกัมพูชา ทิศตะวันออก ติดกับ ต�ำบลโดมประดิษฐ์ อ�ำเภอน�้ำยืน จังหวัดอุบลราชธานี ทิศตะวันตก ติดกับ ต�ำบลโซง อ�ำเภอน�้ำยืน จังหวัดอุบลราชธานี

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

(4

).indd 278

5/6/2561 10:48:33


อ่างเก็บน�้ำห้วยวังใหญ่

นายเทิดทูน คุณภูริปัญญา ปลัดเทศบาลต�ำบลสีวิเชียร

ป่าชุมชนซ�ำหวาย จากพระราชกฤษฎี ก าจั ด ตั้ ง เขตรั ก ษาพั น ธุ ์ สัตว์ป่ายอดโดม ซึ่งกรมป่าไม้ได้ก�ำหนดป่ายอด โดมในท้องที่ต�ำบลโดมประดิษฐ์ อ�ำเภอน�้ำยืน ในเขตป่ า สงวนแห่งชาติป ่าฝั่งซ้ายล�ำโดมใหญ่ พ.ศ. 2520 และในภายหลัง มีการประกาศขยาย เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่ายอดโดม ในท้องที่ต�ำบล สีวิเชียร และต�ำบลโดมประดิษฐ์ อ�ำเภอน�้ำยืน พ.ศ.2535 ท� ำ ให้ พื้ น ที่ ป ่ า กลั บ มามี ค วามอุ ด ม สมบู ร ณ์ อี ก ครั้ ง หากแต่ พื้ น ที่ เ ขตป่ า กั น ชน ระหว่างเขตอนุรักษ์กับที่ดินราชพัสดุของเขื่อน ห้ ว ยวั ง ใหญ่ บริ เ วณหลั ง เขื่ อ นห้ ว ยวั ง ใหญ่ มี ป ั ญ หาในเรื่ อ งการล�้ ำ ในแนวเขตพื้ น ที่ มี ก าร บุกรุกแผ้วถางท�ำการเกษตร เช่นการปลูกข้าวไร่ มันส�ำปะหลัง ปลูกปอ ท�ำให้พื้นที่ป่าเสื่อมโทรม ชุมชนบ้าน ซ�ำหวายจึงได้ขอขึ้นทะเบียนเป็นป่า ชุมชนเป็นแนวกันชนตลอดประมาณ 2,000 ไร่ เพื่ อ แก้ ไขปั ญ หาเบื้ อ งต้ น มี ก ารจั ด ตั้ ง คณะ กรรมการและทีมงานเข้าไปเพื่อส�ำรวจพื้นที่ป่า จั ด ตั้ ง คณะท� ำ งานด้ า นการเฝ้ า ระวั ง การตั ด ไม้ ท�ำลายป่าและการบุกพื้นที่ท�ำกิน โดยมีการแจ้ง ประชาสัมพันธ์ให้ชาวบ้าน แจ้งข่าวสาร เรื่องไฟ ป่ า การบุ ก รุ กท�ำลายป่าไม้ มีการรณรงค์ใ ห้ ชาวบ้านงดการจับปลาในฤดูปลาวางไข่ ประกอบ กั บ กรมป่ า ไม้ ไ ด้ มี น โยบายการบริ ห ารจั ด การ ได้พิจารณาอนุมัติ ในวันที่ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2558 โดยป่าชุมชนบ้านซ�ำหวายมีจ�ำนวน 516 ไร่ 3 งาน 44 ตารางวาและ บ้านซ�ำหวาย หมู่ที่ 16

โครงการรักน�้ำ รักป่า รักษาแผ่นดิน มีพื้นที่ 426 ไร่ 1 งาน 49 ตารางวา และพื้นที่ ต่อเนือ่ งทีข่ อจัดตัง้ เพิม่ เติมรวมประมาณ 2,000 ไร่ เมื่อชุมชนได้รับการอนุมัติจากกรมป่าไม้แล้ว ได้ท�ำโครงการฝายชะลอน�้ำ เพื่อฟื้นฟูสภาพป่า และเป็นแหล่งน�้ำของสัตว์ป่า ได้มีโครงการต่างๆ เกิ ด ขึ้ น มากมาย เช่ น โครงการวั น ผู ้ สู ง อายุ โครงการแข่ ง ขั น เรื อ ยาวบนอ่ า งเก็ บ น�้ ำ ห้ ว ย วังใหญ่ โครงการนกยูงคืนถิ่นเพื่อจัดการป่าชุมชน โดยมีส่วนร่วมต�ำบลสีวิเชียร โครงการปลูกป่าคืน ป่าไม้พะยูง จัดลงทีมป้องกันไฟ ท�ำแนวกันไฟ ในฤดูแล้ง ส�ำรวจพืน้ ทีพ่ ลานนกยูง พลานกระต่าย พลานหมาจอก พลานดอกไม้ป่า โดยมีการจัดตั้ง คณะกรรมการก�ำกับดูแล

จากการด� ำ เนิ น การที่ ผ ่ า นมาป่ า ชุ ม ชนได้ มี กิ จ กรรมในการฟื ้ น ฟู แ ละบริ ห ารจั ด การเพี ย ง บางส่วน เนื่องจากผู้ท่ีเข้าไปท�ำกิจกรรมมีเพียง ส� ำ นั ก งานเทศบาลต� ำ บลสี วิ เชี ย ร และคณะ กรรมการป่ า ชุ ม ชนเท่ า นั้ น ยั ง ไม่ เ กิ ด การมี ส่วนร่วมของชุมชนและหน่วยงานอื่นๆเท่าใดนัก คณะท�ำงานจึงเห็นว่าในการจัดการป่าชุมชนที่ ยั่งยืนจะต้องมีหลายภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วม จึงได้มีแนวคิดในการท�ำงานวิจัยเพื่อหาแนวทาง ในการบริหารจัดการป่าที่เหมาะสมและมีส่วน ร่วมอย่างแท้จริง

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

(4

).indd 279

279

5/6/2561 10:48:43


หมู่บ้านไร้คลอง (สุขภาวะชุมชนต้นแบบ) การบริ ห ารจั ด การน�้ ำ แก้ ป ั ญ หาน�้ ำ ท่ ว ม ภั ย แล้ ง (ธนาคารน�้ ำ ใต้ ดิ น ) เป็ น ศาสตร์ ข อง พระเดชพระคุ ณ (หลวงพ่ อ สมาน สิ ริ ป ั ญ โญ) เจ้าอาวาสวัดอาฮงศิลาวาส ต�ำบลไคสี อ�ำเภอเมือง จั ง หวั ด บึ ง กาฬ ได้ ศึ ก ษาค้ น คว้ า เรื่ อ งการ เก็บรักษาน�้ำไว้ใต้ดิน โดยใช้สถานที่วัดบุญเรือง สุวรรณาราม เป็นสถานที่ทดลองในปี พ.ศ.2537 ผลปรากฏว่าน�้ำที่ไหลผ่านวัดและน�้ำจากทุ่งนา ถูกท�ำให้ไหลลงบ่อ ซึ่งมีการออกแบบเป็นพิเศษ ให้จม่ หายไปในดิน เก็บอยูใ่ นชัน้ อุม้ น�ำ ้ (Confined Aquifer) ตามแรงโน้มถ่วงของโลกและแรงเหวี่ยง ของโลกที่หมุนรอบตัวเอง การจัดชลธารที่ดิน เพื่อพัฒนาพื้นที่บ้านนา สามัคคี หมู่ที่ 5 เป็นโมเดลต้นแบบ โดยใช้หลัก การและทฤษฎี “ธนาคารน�้ำใต้ดิน” มาบริหาร จัดการสร้างพื้นที่ให้เกิดสภาวะสมดุล โดยใช้หลัก พื้ น ฐานทางวิ ท ยาศาสตร์ ให้ เ กิ ด สุ ข ภาวะดิ น น�้ำ อากาศ บริหารจัดการทรัพยากรดังกล่าวเพื่อ สร้างคุณค่าเศรษฐกิจชุมชน 280

ท� ำ ระบบน�้ ำ อุ ป โภคบริ โ ภค และน�้ ำ เพื่ อ การเกษตร น�ำทรัพยากรในท้องถิ่นมาเพิ่มมูลค่า ทางเศรษฐกิ จ โดยใช้ ร ะบบธนาคารน�้ ำ ใต้ ดิ น (Ground water bank) เพื่อรวมพลังทุกภาคส่วน ภาคประชาชน ภาคธุ ร กิ จ หรื อ ภาครั ฐ และ มองพื้ น ฐานทรั พ ยากรของชุ ม ชน ในทุ ก ๆมิ ติ อย่าง “มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน”

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

(4

).indd 280

5/6/2561 10:48:50


รางวัลความภาคภูมิใจ รางวัลไทย รางวัลเกียรติยศ...บนเส้นทางชีวิต ประกาศนียบัตรเกียรติคุณ “ความดี ตอบแทน คุณแผ่นดิน” BEST PRACTICE AWARDS 2017 สาขา สุขภาวะชุมชนต้นแบบ - ธนาคารน�ำ้ ใต้ดนิ ระบบปิด

ป่าชุมชนซ�ำหวาย

อ่างเก็บน�้ำห้วยวังใหญ่

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

(4

).indd 281

281

5/6/2561 10:48:56


อิ่มอร่อยมะม่วงกวน ฝีมือล้วนปอกล้วยสาน เพลงขอทานประจ�ำถิ่น ศิลปินกระเดื่องแดน”

W O R K LI F E

บันทึกเส้นทางพบเทศบาลต�ำบล

เทศบาลต�ำบลโซง ประวัติความเป็นมา เดิ ม ต� ำ บลโซง อยู ่ ใ นความปกครองของอ� ำ เภอเดชอุ ด ม จั ง หวั ด อุบลราชธานี ต่อมาได้ยกฐานะเป็นกิ่งอ�ำเภอน�้ำยืน ต�ำบลโซง จึงขึ้นอยู่ ความปกครองของถิ่น กิ่งอ�ำเภอน�้ำยืน เมื่อปี พ.ศ.2512 และได้ยกขึ้นเป็น อ�ำเภอน�้ำยืน เมื่อ ปี พ.ศ.2515 โดยปัจจุบันมีจ�ำนวนหมู่บ้านทั้งสิ้น 12 หมู่บ้าน ทั้งหมดอยู่ในเทศบาลต�ำบลโซง 11 หมู่บ้าน และอยู่ในเขต เทศบาลต�ำบลน�้ำยืนบางส่วน จ�ำนวน 1 หมู่บ้าน ดังนี้ หมู่ที่ 1 บ้านโซง หมูท่ ี่ 2 บ้านดวน หมูท่ ี่ 3 บ้านหัวน�ำ้ หมูท่ ี่ 4 บ้านตาโม หมูท่ ี่ 5 บ้านหนองเทา หมู่ที่ 6 บ้านน�้ำยืน (บางส่วน) หมู่ที่ 7 บ้านค้อ หมู่ที่ 8 บ้านน้อยตาหวาน หมู ่ ที่ 9 บ้ า นหนองอุ ด ม หมู ่ ที่ 10 บ้ า นทรั พ ย์ เ กษตร หมู ่ ที่ 11 บ้านโชคสมบูรณ์ หมู่ที่ 12 บ้านชัยเจริญ

ค์ ค์ มรงค์

กิจกรรม ดร.เติม ศรีเนตร นายกเทศมนตรีต�ำบลโซง ร่วมพิธีเปิดโครงการฝึก อบรมผู้น�ำชุมชนเข้มแข็ง เทศบาลต�ำบลโซง อ�ำเภอน�้ำยืน จ.อุบลฯ วันที่ 10 - 12 ม.ค.2561 13 ม.ค.2561 เทศบาลต� ำ บลโซงน� ำ โดยดร.เติ ม ศรี เ นตร นายก เทศมนตรีต�ำบลโซง ด�ำเนินการจัดโครงการวันเด็กแห่งชาติ ประจ�ำปี 2561 ที่ รร.บ้านดวน อ.น�้ำยืน จ.อุบลราชธานี 26 ก.พ.2561 ดร.เติม ศรีเนตร นายกเทศมนตรีต�ำบลโซง ร่วมโครงการ ไทยนิยมยั่งยืน 2561 ในเขตเทศบาลต�ำบลโซง อ.น�้ำยืน จ.อุบลราชธานี

นายเติม ศรีเนตร นายกเทศมนตรีต�ำบลโซง

282

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

(3

).indd 282

5/6/2561 10:55:25


13 เม.ย.2561 น�ำโดยท่าน ดร.เติม ศรีเนตร นายกเทศมนตรีต�ำบลโซง เป็นประธานในงาน เปิ ด โครงการรดน�้ ำ ขอพรผู ้ สู ง อายุ เนื่ อ งในวั น สงกรานต์ ณ ส� ำ นั ก งานเทศบาลต� ำ บลโซง อ.น�้ำยืน จ.อุบลราชธานี โครงการตักบาตร 2 แผ่นดิน ไทยและกัมพูชา 15 เมษายน 2561 เนื่ อ งในวั น สงกรานต์ ที่ ช ายแดนจั ด ผ่ อ นปรนช่ อ งอานม้ า อ.น�้ ำ ยื น จ.อุบล ผลิตภัณฑ์เด่นของต�ำบล โคมไฟผักตบชวา กลุ่มวิสาหกิจชุมชนแม่บ้าน เกษตรกรบ้านหัวน�้ำ2 หมู่ 3 บ้านหัวน�้ำ ต�ำบลโซง อ�ำเภอน�้ำยืน จังหวัดอุบลราชธานี 34260 ติดต่อ คุณวิรัตน์ สังฆพรม โทรศัพท์ 08-6250-2169, 08-7879-0879 กระเป๋าสานจากกก กลุ่มสตรีจักสานบ้านด วน 134 หมู่ 2 ต�ำบลโซง อ�ำเภอน�้ำยืน จังหวัด อุบลราชธานี 34260 ติดต่อ คุณไพรินทร์ วงศ์ค�ำ (เจ้าหน้าทีป่ ระสานงาน) โทรศัพท์ 08-7817-7537

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

(3

).indd 283

283

5/6/2561 10:55:32


สถานที่ท่องเที่ยว ช่องอานม้า เป็นชื่อของช่องทางผ่านเข้าออก บริเวณแนวชายแดน ไทย - กัมพูชา เป็นจุดผ่อนปรน ในการค้าขายและผ่านแดนระหว่างไทย - กัมพูชา อยู่ที่ต�ำบลโซง อ�ำเภอน�้ำยืน จังหวัดอุบลราชธานี เปิดทุกวัน เส้นทางจากอ�ำเภอนาจะหลวย ไปทาง อ�ำเภอน�้ำยืน จังหวัดอุบลราชธานี มุ่งหน้าไปทาง เขาพระวิหาร เลยตัวอ�ำเภอน�้ำยืนไปประมาณ 3 กิโลเมตร มีปา้ ยบอกทางแยกซ้ายมือ ไปช่องอานม้า ระยะทาง 10 กิโลเมตร จะได้สัมผัสกับป่าไม้ ภูเขา และเส้นทางที่เป็นธรรมชาติจริงๆ ช่องอานม้า ตั้งอยู่ในพื้นที่ บ้านน�้ำยืน หมู่ที่ 6 ต�ำบลโซง อ�ำเภอน�้ำยืน จังหวัดอุบลราชธานี แต่ เ ป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของพื้ น ที่ อุ ท ยานแห่ ง ชาติ เขาพระวิหาร อ�ำเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ ในเทือกเขาพนมดงรัก แนวเขตแดนระหว่างไทย กับกัมพูชา สามารถชมธรรมชาติป่าไม้ได้ตลอด เส้นทาง สุดทางราดยางเป็นชายแดนประเทศไทย มีลานจอดรถและตลาดสินค้าอาหารป่า พืชผัก จากธรรมชาติ 284

สถานที่แห่งนี้ เป็นที่ตั้งของฐานปฏิบัติการ กองร้อยทหารพรานที่ 2310 ซึ่งดูแลตรวจตรา การเข้า – ออก ผ่านแดนที่ช่องอานม้า รวมทั้งท�ำ หน้าที่บันทึกชนิดและจ�ำนวนสินค้าที่มีการน�ำเข้า - ออก นักท่องเที่ยวสามารถเดินเท้าข้ามแดนไป เที่ยวยังฝั่งประเทศกัมพูชาได้

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

(3

).indd 284

5/6/2561 10:55:46


.indd 285

31/5/2561 15:18:57


อิ่มอร่อยมะม่วงกวน ฝีมือล้วนปอกล้วยสาน เพลงขอทานประจ�ำถิ่น ศิลปินกระเดื่องแดน”

W O R K LI F E

บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล

องค์การบริหารส่วนต�ำบลเก่าขาม “ถนนไร้ฝุ่น ชุมชนปลอดภัย พัฒนาตามหลักธรรมาภิบาล เน้นงานพัฒนาคุณภาพชีวิต ตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง” คือวิสัยทัศน์ขององค์การบริหารส่วนต�ำบลเก่าขาม

ค์ ค์ มรงค์

นายชาตรี๊ ศรีวิชาฐา นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลเก่าขาม

ข้อมูลทั่วไป องค์การบริหารส่วนต�ำบลเก่าขาม เลขที่ 309 หมู่2 ต.เก่าขาม อ.น�้ำยืน

จ.อุ บ ลราชธานี 34260 ต� ำ บลเก่ า ขามได้ แ ยกเขตการปกครองออกจาก ต�ำบลยาง อ�ำเภอน�้ำยืน จังหวัดอุบลราชธานี เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 2532 โดยใช้ชื่อว่า “ต�ำบลเก่าขาม” ซึ่งได้มาจากบ้านเก่าขาม หมู่ที่ 1 เป็นหมู่บ้าน แรกที่ ตั้ ง ขึ้ น ในต� ำ บลนี้ และมี บ ้ า นร้ า งก่ อ นที่ จ ะมี ค นเข้ า มาอยู ่ อ าศั ย มีแต่ต้นมะขามที่มีขนาดใหญ่อยู่เป็นจ�ำนวนมาก จึงเรียกว่าบ้านเก่าขาม และ ต� ำ บลเก่ า ขาม โดยมี น ายชาตรี๊ ศรี วิ ช าฐา เป็ น นายกองค์ ก ารบริ ห ารส่ ว น 286

.

4

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

.indd 286

5/6/2561 11:13:14


ต�ำบลเก่าขาม ตั้งแต่ ปี พ.ศ.2552 จนถึงปัจจุบัน และเป็นคณะกรรมการขับเคลื่อน โครงการ อปท ต้นแบบจัดการน�้ำตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ธนาคารน�้ำใต้ดิน) เป็นผู้มีความรู้ความสามารถใน ด้านการบริหารงาน จนสามารถน�ำพา อบต. เก่าขาม ให้ได้รับรางวัลจากหลายหน่วยงาน ได้แก่ รางวั ล ชนะเลิ ศ อั น ดั บ 1 เศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ระดับอ�ำเภอน�้ำยืน ปี พ.ศ.2553 รางวัลชนะเลิศระดับจังหวัดหมู่บ้านเศรษฐกิจ พอเพียง ปี พ.ศ.2555 เป็น อปท แรกขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่ได้น�ำนวัตกรรมการบริหารจัดการน�้ำด้วยระบบ “ธนาคารน�ำ้ ใต้ดิน” (Groundwater bank) มาแก้ไข ปัญหาน�้ำท่วม น�้ำแล้ง ในพื้นที่ของตนเอง จนได้ UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.

4

.indd 287

287

5/6/2561 11:13:18


เป็นต้นแบบของประเทศไทยในการบริหารจัดการ น�้ำนอกเขตชลประทาน ถ่ายทอดความรู้ให้กับผู้ สนใจได้ทุกพื้นที่ รางวั ล ชนะเลิ ศ นวั ต กรรมไทยแลนด์ 4.0 ปี พ.ศ.2559 รางวั ล คนดี ต อบแทนคุ ณ แผ่ น ดิ น (Best practice award) ปี พ.ศ. 2560 รางวัล อปท ดีเด่นบริหารจัดการตามหลัก ธรรมาภิบาลและผู้น�ำท้องถิ่นดีเด่นปี พ.ศ.2560 รางวัลนักปกครองดีเด่น ปี พ.ศ.2560 รางวัลนักบริหารดีเด่น ปี พ.ศ.2561

288

.

4

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

.indd 288

5/6/2561 11:13:26


โครงการกิจกรรม ฐานที่ 1 การบริหารจัดการน�้ำด้วยระบบธนาคารน�้ำใต้ดิน (แบบบ่อปิดและร่องระบายน�้ำไร้ท่อ) ฐานที่ 2 กราบนมัสการหลวงพ่อรวย วัดเก่าขาม สิ่งศักดิ์ของต�ำบล ฐานที่ 3 กระบวนการบริ ห ารจั ด การน�้ ำ ระบบธนาคารน�้ ำ ใต้ ดิ น ขั้ น ตอนที่ 1 ระบบเปิ ด (บ่อชะลอน�้ำ บ่อรับน�้ำ บ่อตกตะกอน) ฐานที่ 4 กลุ่มวิสาหกิจชุมชนเกษตรอินทรีย์ล�ำห้วยแก้ว (ผักสะอาด พลังงานสะอาด Green crop) ฐานที่ 5 ขั้นตอนที่ 2 ระบบเปิด (บ่อเติมน�้ำลงใต้ดิน Ground water recharge) ฐานที 6 ขั้นตอนที่ 3 ระบบเปิด (บ่อลม )และการบริหารจัดการน�้ำอย่างยั่งยืน(จุลเจริญบาราย) ฐานที่ 7 ศูนย์เรียนรู้ต้นแบบเกษตรทฤษฏีใหม่ หนึ่งหมู่บ้านหนึ่งศูนย์เรียนรู้ (พ่อสอนลูกสร้าง) อุดร เทศนา และบ่อน�้ำพลังงานสะอาดที่เกิดจากธนาคารน�้ำใต้ดิน

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.

4

.indd 289

289

5/6/2561 11:13:38


อิ่มอร่อยมะม่วงกวน ฝีมือล้วนปอกล้วยสาน เพลงขอทานประจ�ำถิ่น ศิลปินกระเดื่องแดน”

W O R K LI F E

บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล

องค์การบริหารส่วนต�ำบลโดมประดิษฐ์ “เสริมสร้างคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจก้าวหน้า พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน การบริหารจัดการที่ดี มีสิ่งแวดล้อมน่าอยู่ มุ่งสู่การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน” คือวิสัยทัศน์ขององค์การบริหารส่วนต�ำบลโดมประดิษฐ์

ประวัติความเป็นมา ต�ำบลโดมประดิษฐ์ เดิมชื่อว่า บ้านจันลานาโดม (จันลา แปลว่า ต้นจัน นา แปลว่า พื้นที่ปลูกข้าว โดม แปลว่า สูง) เมืองโดมประดิษฐ์ ตั้งในปี พ.ศ. 2424 ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยให้ขึ้น ตรงต่อเมืองจ�ำปาศักดิ์ พ.ศ. 2446 เมืองโดมประดิษฐ์มีฐานะเป็นอ�ำเภอ ขึ้นตรงต่ออ�ำเภอเดชอุดม พ.ศ. 2455 อ�ำเภอโดมประดิษฐ์ ยุบเป็นต�ำบล อยู่ในเขตการปกครองของอ�ำเภอเดชอุดม ต�ำบลโดมประดิษฐ์ เป็นหนึ่งในเจ็ดต�ำบลของอ�ำเภอน�้ำยืน และได้รับ การยกฐานะจากสภาต�ำบลโดมประดิษฐ์เป็นองค์การบริหารส่วนต�ำบล โดมประดิษฐ์ เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2539 ปัจจุบันต�ำบลโดมประดิษฐ์ แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 21 หมู่บ้าน ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของ อ�ำเภอน�้ำยืน ห่างจากอ�ำเภอประมาณ 14 กิโลเมตร และห่างจากจังหวัด อุบลราชธานี ประมาณ 114 กิโลเมตร มีพื้นที่ 309.50 ตร.กม. หรือ 193,437.5 ไร่

ค์ ค์ มรงค์

นางวาสนา ค�ำโส

นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลโดมประดิษฐ์

290

.

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

(6

).indd 290

5/6/2561 11:32:01


คณะผู้บริหาร 1. นางวาสนา ค�ำโส นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลโดมประดิษฐ์ 2. นายสงคราม นะมี รองนายกองค์การบริหารส่วนต�ำบล โดมประดิษฐ์ 3. นายบัณฑิต ศรีทา รองนายกองค์การบริหารส่วนต�ำบล โดมประดิษฐ์ 4. นายอุดม บุญเพิ่ม เลขานุการนายกองค์การบริหารส่วน ต�ำบลโดมประดิษฐ์ 5. นายญาณกิตต์ กันยาพงษ์ ปลัดองค์การบริหารส่วนต�ำบลโดมประดิษฐ์

ส่วนราชการแบ่งเป็น 4 ส่วน ส�ำนักปลัด มีนางเพชรมณี บุญเพิ่ม หัวหน้า ส�ำนักปลัด กองคลัง มีนางฌาลิศา ทุมเมฆ ผู้อ�ำนวยการ กองคลัง

กองช่ า ง มี น ายญาณกิ ต ต์ กั น ยาพงษ์ ปลัดอบต.รักษาราชการแทนผูอ้ ำ� นวยการกองช่าง กองการศึ ก ษา ศาสนา และวั ฒ นธรรม มี นายสราวุธ นาตาแสง ผูอ้ ำ� นวยการกองการศึกษา

มีความมัน่ คงยัง่ ยืนด้านเศรษฐกิจ สังคม และสภาพ แวดล้อมที่ดี เพื่อน�ำไปสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน

องค์การบริหารส่วนต�ำบลโดมประดิษฐ์ เป็น หน่วยงานที่มีความมุ่งมั่นตั้งใจที่จะพัฒนาท้องถิ่น ตลอดระยะเวลาทีผ่ า่ นมา ด้วยความทุม่ เทแรงกาย แรงใจ ของผู้บริหาร เจ้าหน้าที่ และความร่วมมือ ของประชาชนทุกภาคส่วน ก่อให้เกิดผลงานที่มี คุณภาพ น�ำไปสูค่ ณ ุ ภาพชีวติ ทีด่ ขี องประชาชนและ บ้านเมืองน่าอยู่ สังคมอบอุน่ ตามปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง โปร่งใสตรวจสอบได้ ประชาชนมีสว่ นร่วม ในการปกครองในระบอบประชาธิ ป ไตยอั น มี พระมหากษั ต ริ ย ์ ท รงเป็ น ประมุ ข มี ร ะบบการ บริหารจัดการที่ดี มีประสิทธิภาพ คุ้มค่าทันสมัย และทั น ต่ อ การเปลี่ ย นแปลงอยู ่ เ สมอตลอดจน พัฒนาพืน้ ทีใ่ ห้เป็นแหล่งท่องเทีย่ ว และจัดท�ำศูนย์ บริ ก ารและให้ ข ้ อ มู ล แก่ นั ก ท่ อ งเที่ ย วพร้ อ มรั บ บริการแก่การท่องเทีย่ ว พัฒนาสังคมและชุมชนให้ UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.

(6

).indd 291

291

5/6/2561 11:32:07


โทร.045-859639 Facebook : อบต.โดมประดิษฐ์ อ�ำเภอน�้ำยืน Website : Dompradit.go.th

พัฒนาและด�ำเนินการตามยุทธศาสตร์ 1. การพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีและการเสริม สร้ า งความเข้ ม แข็ ง ของชุ ม ชน เพื่ อ ส่ ง เสริ ม สวั ส ดิ ก ารสั ง คม สนั บ สนุ น เบี้ ย ยั ง ชี พ ผู ้ สู ง อายุ ผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการและเด็กแรกเกิด 2. การพัฒนาด้านเศรษฐกิจ เพิ่มรายได้ลด รายจ่าย ส่งเสริมผลิตภัณฑ์ชุมชน 3. การพั ฒ นาด้ า นระบบคมนาคมและ โครงสร้างพื้นฐาน สาธารณูปโภค ให้ได้รับความ สะดวกในการคมนาคม ตลอดจนให้มีน�้ำอุปโภค บริโภคและการการอยู่อย่างเพียงพอ

292

.

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

(6

).indd 292

5/6/2561 11:32:15


4. การพัฒนาด้านการเมืองการบริหารและ การบริการ ส่งเสริมและพัฒนาระบบการเมือง การบริ ห ารจั ด การที่ ดี และการให้ บ ริ ก าร ประชาชนอย่างมีประสิทธิภาพ 5. การพัฒนาด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ง แวดล้ อ มในท้ อ งถิ่ น ส่ ง เสริ ม อนุ รั ก ษ์ ฟื ้ น ฟู ทรัพยากรรมธรรมชาติ การดูแลรักษาทรัพยากร ป่าไม้ร่วมกัน การเพิ่มพื้นที่สีเขียว การดูแลรักษา แหล่งน�้ำต่างๆ 6. การศึ ก ษา ศาสนา วั ฒ นธรรม และ ภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่ /ส่งเสริมการเรียนรูเ้ พิม่ คุณภาพ จัดให้มีโรงเรียนอนุบาลที่มีคุณภาพ ผ่านเกณฑ์ มาตรฐาน ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กและพัฒนาด้านกีฬา 7. การท่ อ งเที่ ย ว มี แ หล่ ง ท่ อ งเที่ ย วทาง ธรรมชาติและแหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ ที่ น ่ า สนใจ พั ฒ นาและส่ ง เสริ ม ให้ เ ป็ น สถานที่ ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์แห่งอีสานตอนใต้

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.

(6

).indd 293

293

5/6/2561 11:32:24


สถานที่ท่องเที่ยวส�ำคัญ แก่งล�ำดวน/กุ้งเดินขบวน ตั้งอยู่บริเวณ ศู น ย์ ศึ ก ษาธรรมชาติ แ ละสั ต ว์ ป ่ า อุ บ ลราชธานี เป็นน�้ำตกขนาดเล็กบรรยากาศร่มรื่น เหมาะแก่ การพั ก ผ่ อ นหย่ อ นใจ และในช่ ว งฤดู ฝ นหรื อ น�้ำหลาก จะมีปรากฏการณ์กุ้งเดินขบวน กุ้งเดิน ขบวนเป็นปรากฏการณ์ทางธรรมชาติทหี่ าชมได้ยาก สามารถชมได้ในเวลากลางคืน กุ้งก้ามกรามจะ เดินทวนกระแสน�ำ้ ขึน้ ไปวางไข่จำ� นวนเป็นล้านๆ ตัว นั ก ท่ อ งเที่ ย วสามารถเดิ น ทางมาชมได้ ใ นช่ ว ง กลางเดือนสิงหาคม-กลางเดือนตุลาคม ของทุกปี

นารายณ์บรรทมสินธุ์ ตั้งอยู่บนเทือกเขาพนม ดงรัก อุทยานแห่งชาติภจู องนายอย เป็นภาพแกะสลัก นารายณ์ บ รรทมสิ น ธุ ์ น อนจมอยู ่ ใ ต้ น�้ ำ ใน ล�ำโดมใหญ่ การเที่ยวชมต้องเดินทางด้วยเท้า ระยะทางประมาณ 14 กิโลเมตร ในช่วงเดือน มีนาคม - เมษายน โดยระหว่างเดินทางจะได้ ชมทั ศ นี ย ภาพของทรั พ ยากรธรรมชาติ ที่ ยั ง อุดมสมบูรณ์และสวยงาม

294

.

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

(6

).indd 294

5/6/2561 11:32:30


น�้ำตกพลาญเสือ ตั้งอยู่ทิศใต้ของอ่างเก็บน�้ำ พลาญเสือตอนล่างทางขึ้นสามเหลี่ยมมรกต ห่าง จากช่องบกประมาณ 1 กิโลเมตร น�้ ำ ตกถ�้ ำ บอน เป็ น น�้ ำ ตกขนาดเล็ ก อยู ่ ระหว่างสมรภูมิรบช่องบก (เนิน500) เหมาะกับ การพักผ่อนหย่อนใจ เดินทางสะดวก นอกจาก น�้ำตกที่สวยงามยังมีกล้วยไม้ป่าให้ได้ชมและมีวัด ถ�้ำบอนให้นักท่องเที่ยวได้สักการบูชา สามเหลี่ ย มมรกต สมรภู มิ ร บช่ อ งบก (เนิน500) เป็นแหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ ที่ มี ก ารสู ้ ร บในอดี ต และเป็ น จุ ด ชมวิ ว ที่ มี ทั ศ นี ย ภาพที่ ส วยงามและมองเห็ น ทิ ว ทั ศ น์ สามประเทศ คือไทย กัมพูชา และสาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว สามารถเดินทางมา ท่องเที่ยวได้ทุกฤดูกาล น�้ำตกวังเวิน เป็นแก่งหินขนาดเล็กมีน�้ำตกที่ สวยงาม อยู ่ ใ นล� ำ โดมใหญ่ ร ะหว่ า งทางขึ้ น นารายณ์ บ รรทมสิ น ธุ ์ ระยะทางประมาณ 5 กิโลเมตร สามารถเดินทางได้ด้วยทางเท้าและ ทางเรือ บรรยากาศร่มรื่นเหมาะกับการกางเต้นท์ พักแรมและท�ำกิจกรรมชมธรรมชาติ นอกจากนี้ยังมีแหล่งท่องเที่ยวที่ส�ำคัญ เช่น อ่างเก็บน�ำ้ พลาญเสือตอนบน อ่างเก็บน�ำ้ พลาญเสือ ตอนล่าง อ่างเก็บน�ำ้ ห้วยจันลา กลุม่ วิสาหกิจชุมชน กล้วยไม้นาๆ พันธุ์ ส�ำนักสงฆ์ภูวังน�้ำจั้น เป็นต้น

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.

(6

).indd 295

295

5/6/2561 11:32:35


อิ่มอร่อยมะม่วงกวน ฝีมือล้วนปอกล้วยสาน เพลงขอทานประจ�ำถิ่น ศิลปินกระเดื่องแดน”

W O R K LI F E

บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล

องค์การบริหารส่วนต�ำบลยางใหญ่ “ชุมชนเข็มแข็ง แหล่งพืชเศรษฐกิจ วิถีชีวิตพอเพียง ฟังเสียงประชา ร่วมพัฒนาอย่างยั่งยืน” คือวิสัยทัศน์ขององค์การบริหารส่วนต�ำบลยางใหญ่

นายหลาง กอมพนม

นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลยางใหญ่ ข้อมูลพื้นฐาน ต�ำบลยางใหญ่ แยกจากต�ำบลบุเปือย อ�ำเภอน�้ำยืน พ.ศ.2506 ปัจจุบัน แบ่งเขตการปกครองเป็น 12 หมู่บ้าน ก�ำนันคนแรกชื่อ นายชุน สิงห์หา คนปัจจุบันชื่อ นายแดง พลศรี ต�ำบลยางใหญ่

ของดีต�ำบลยางใหญ่ “คาเวนดิช” กล้วยหอมน้องใหม่ มากด้วยคุณค่าทางยาและโภชนาการ เป็นผลไม้ท่ีก�ำลังมาแรงและได้ผลตอบรับที่ดีอย่างมากส�ำหรับการเริ่มปลูก “กล้ ว ยหอมคาเวนดิ ช ” หรื อ กล้ ว ยหอมเขี ย ว ของเกษตรกรไทย ที่นักวิชาการและนักลงทุนหลายท่านหลายบริษัทมองเห็น ว่าถึงเวลาผลิต กล้วยหอมสายพันธุ์ที่หลายประเทศนิยมบริโภคเพื่อการส่งออก ส�ำหรับคน ไทยยังไม่นิยมรับประทานเท่ากับกล้วยหอมพันธุ์อื่นๆ ทั้งที่จริงๆ แล้วมี ประโยชน์ทางโภชนาการ และมีคุณค่าทางยาอย่างดี ที่สามารถส่งเสริม เกษตรกรให้ปลูกเพื่อขาย เป็นกล้วยหอมส่งออกได้ เพราะในหลายประเทศ เช่น จีน ญี่ปุ่น และประเทศอื่นๆ เลือกรับประทานกล้วยหอมชนิดนี้เป็นหลัก

ค์ ค์ มรงค์

296

.

(2

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

).indd 296

5/6/2561 11:38:49


สวนทุ เรี ย น นายพิ ทั ก ษ์ ภู อุ ท า ตั้ ง อยู ่ ที่ หมูท่ ี่ 1 บ้านยางใหญ่ ต�ำบลยางใหญ่ อ�ำเภอน�้ำยืน จังหวัดอุบลราชธานี โทรศัพท์ 093-4455375 ไก่มือปืน คือ การเข้าไปบริหารจัดการในการ จัดระบบการออกไข่และในการฟักไข่ โดยรูปแบบ ธรรมชาติดั้งเดิมของไก่พื้นเมือง เพื่อเป้าหมาย ด้ า นคุ ณ ภาพและปริ ม าณการผลิ ต สู ่ ร ะบบ ครบวงจร ตั้งแต่ต้นน�้ำถึงปลายน�้ำ เพื่อลดต้นทุน การผลิต เช่น การผลิตลูกไก่ออกเป็นรุ่นเดียวกัน ครั้งละสองร้อยตัว/สัปดาห์ การเลี้ยงไก่ ด้วยสร้าง แมลง สร้างหนอนผีเสื้อหรือใช้วัสดุการเกษตร จากฟาร์ม เช่น ฟางข้าว กากมัน ทางปาล์ม อื่นๆ น�ำมาหมักยีสต์ สร้างโปรตีน ราคาถูกส่งออกเป็น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ มนู ไ ก่ “อาหารท้ อ งถิ่ น ปลอดภั ย ” มีแหล่งผลิตที่แน่นอน สืบค้นได้เป็นภูมิปัญญา ท้ อ งถิ่ น อาหารเป็ น ยา ส่ ง เสริ ม อาชี พ ชุ ม ชน พึ่งตนเอง โดยชุมชนเพื่อชุมชนยั่งยืน

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.

(2

).indd 297

297

5/6/2561 11:39:12


W O R K LI F E

บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล

องค์การบริหารส่วนต�ำบลบุเปือย “ดินแดนภูเขาไฟ ผลไม้พืชไร่มากมี ศากยมุนีศักดิ์สิทธิ์ เศรษฐกิจพึ่งตนเอง แหล่งแร่หินอุตสาหกรรม น้อมน�ำธรรมาภิบาล” คือค�ำขวัญขององค์การบริหารส่วนต�ำบลบุเปือย

นายพระลานชัย พวงบุตร นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลบุเปือย ประวัติความเป็นมา องค์การบริหารส่วนต�ำบลบุเปือย อ�ำเภอน�ำ้ ยืน จังหวัดอุบลราชธานี เป็นหน่วย การบริหารราชการส่วนท้องถิน่ ตามพระราชบัญญัตสิ ภาต�ำบลและองค์การบริหาร ส่วนตําบล พ.ศ. 2537 เรียกชื่อย่อว่า อ.บ.ต. จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2540 ตามประกาศกระทรวงมหาดไทยเรื่องการจัดตั้งองค์การบริหารส่วนต�ำบล ลงวันที่ 16 ธันวาคม 2539 ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 25 ธันวาคม 2539 เล่มที่ 113 ตอนพิเศษ 52 ง. โดยยกฐานะจากสภาต�ำบลบุเปือยเป็นองค์การ บริหารส่วนต�ำบลบุเปือยพร้อมกับต�ำบลอื่นๆในอ�ำเภอน�้ำยืนทั้งหมด 7 แห่ง

แหล่งท่องเที่ยว และ เทศกาลงานประเพณีที่ส�ำคัญ งานวันผลไม้ดีศรีบุเปือย ต�ำบลบุเปือยเป็นต�ำบลที่มีผลไม้รสชาติที่

ดีที่สุดไม่แพ้ผลไม้ของจังหวัดระยองหรือภาคตะวันออก ประชาชนใน เขตต�ำบลบุเปือยประกอบอาชีพท�ำการเกษตร ปลูกพืช ท�ำสวนผลไม้ ดังนั้นในแต่ละปีท�ำให้มีผลไม้ออกสู่ตลาดเป็นจ�ำนวนมากองค์การบริหาร ส่วนต�ำบลจึงจัดให้มีเทศกาล “วันผลไม้ดีศรีบุเปือย” ขึ้นระหว่างเดือน มิ ถุ น ายน - กรกฎาคม ของทุ ก ปี โ ดยในงาน จะมี ก ารจ� ำ หน่ า ยผลไม้ ซึ่งประกอบไปด้วย เงาะ ทุเรียน ละมุด ล�ำไย มังคุด น้อยหน่า ขนุน แก้วมังกร ชมพู่ ฝรั่งและผลไม้อื่นๆอีกนานาชนิดให้นักท่องเที่ยวได้แวะ เที่ยวและชิมกันในงาน นอกจากนี้ชาวสวนผลไม้ยังได้เปิดสวนที่มีผลผลิต เต็มให้นักท่องเที่ยวเข้าชมได้สัมผัสกับบรรยากาศภายในสวน และให้ชิม จากต้น สดๆ ในราคาที่มิตรภาพ และสามารถซื้อติดไม้ติดมือ เป็นของ ฝากกลั บ ได้ ด ้ ว ย สวนผลไม้ ที่ ส� ำ คั ญ และขึ้ น ชื่ อ ในเขตต� ำ บลบุ เ ปื อ ยคื อ สวนไพศาล,สวนเรืองศักดิ์,สวนเสงี่ยม และ สวนทองดี ผู้ประสานงาน นางยุพิน อังกรรัมย์ ศูนย์บริการข้อมูลการท่องเที่ยวเชิงเกษตรต�ำบล บุเปือยหมายเลขโทรศัพท์ 080 154 4034 298

.

2

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

.indd 298

5/6/2561 11:57:45


ประเพณี ตั ก บาตรเทโว วั ด ป่ า คี รี บ รรพต (วัดภูน้อย) ประเพณีตักบาตรเทโวโรหณะวันออก พรรษา ถือเป็นประเพณีที่ส�ำคัญที่ประเพณีหนึ่ง ที่มีการปฏิบัติสืบทอดต่อกันมาตั้งแต่โบราณกาล โดยจะมีการท�ำบุญตักบาตรในเทศกาลวันออก พรรษาตามความเชื่อของพุทธศาสนิกชนว่าเป็น วันที่พระพุทธเจ้าเสด็จลงจากสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ หลังจากเทศนาอภิธรรมปิฎกโปรดพุทธมารดา เสร็ จ แล้ ว ประเพณี ก ารจั ด งานตั ก บาตรเทโว โรหณะของต�ำบลบุเปือยจัดขึ้นในวันออกพรรษา ทุกๆปี ณ วัดคีรีบรรพต (วัดภูน้อย) ซึ่งเป็นวัดที่ ประดิษฐานพระพุทธรูปองค์ใหญ่ ชือ่ พระศากยมุนี ศรีน�้ำยืนซึ่งมีหน้าตักกว้างกว่า 6 เมตร สูงกว่า 12 เมตร ประดิษฐานอยู่บนปากปล่องภูเขาไฟที่ สงบแล้ ว คื อ ภู น ้ อ ย มี บั น ไดขึ้ น ไปนมั ส การ ประมาณ 199 ขั้ น โดยในพิ ธี พระสงฆ์ เ ดิ น บิณฑบาต ลงมาจากยอดเขาภูน้อยเป็นแถวให้ ญาติ โ ยมที่ ม าร่ ว มงานได้ ตั ก บาตร อย่ า งเป็ น ระเบียบและสวยงาม เป็นประเพณีประจ�ำถิ่นของ อ�ำเภอน�้ำยืนที่ส�ำคัญ โดยเฉพาะอย่างยิ่งวัดภูน้อย เป็นวัดที่เป็นสถานที่ท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมอีก แห่งหนึ่งของอ�ำเภอน�้ำยืน

ประเพณีงานบุญบั้งไฟ ขึ้นเป็นประจ�ำทุกปี ถือเป็นการท�ำพิธีบวงสรวงพญาแถน เพื่อขอฝน ให้ตกต้องตามฤดูกาล เนื่องจากชาวอีสานมีความ เชือ่ ว่าพระยาแถนเป็นเทพเจ้าทีค่ วบคุมฟ้าฝน มีหน้า ทีท่ ำ� ให้ฝนตกต้องตามฤดูกาล การจุดบัง้ ไฟเป็นการ ส่งสัญญาณให้พญาแถนได้รับรู้ว่าชาวเกษตรกร มี ค วามต้ อ งการน�้ ำ ฝนเพื่ อ ใช้ ใ นการเกษตร

เมือ่ พระยาแถนได้เห็นบัง้ ไฟทีจ่ ดุ ขึน้ บนฟ้าจากทีใ่ ด ก็จะดลบันดาลให้ฝนตกที่นั่น ด้วยเหตุนี้ องค์การ บริหารส่วนต�ำบลบุเปือยจึงสืบทอดประเพณีการ จุดบั้งไฟดังกล่าว โดยจะจัดขึ้นระหว่างวันที่ 15 -17 เดือนพฤษภาคม ของทุกปี มีประชาชนจาก ในอ�ำเภอน�้ำยืน และจากอ�ำเภอใกล้เคียงมาร่วม งานเป็นจ�ำนวนมาก UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.

2

.indd 299

299

5/6/2561 11:57:53


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดน�้ำยืน

พระครู วี ร กิ จ ชลธาร ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง เจ้ า อาวาสวั ด น�้ ำ ยื น รองเจ้ า คณะอ� ำ เภอน�้ ำ ยื น

ล�ำดับเจ้าอาวาส 300

พระอ่อน พะวงค์ พระโส สาริก พระสิน ติภาโร พระครูสถิตชลธาร (บุญเรือน สุจิตฺโต) พระครูวีรกิจชลธาร (สุรินทร์ กนฺตวีโร (รัตนวัน))

พ.ศ.2468 - 2475 พ.ศ.2475 - 2482 พ.ศ.2516 - 2517 พ.ศ.2519 - 2555 พ.ศ.2555 - ปัจจุบัน และ รองเจ้าคณะอ�ำเภอน�้ำยืน

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

.indd 300

05/06/61 02:41:35 PM


วั ด น�้ ำ ยื น ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 151 หมู ่ ที่ 6 บ้านน�้ำยืน ต�ำบลโซง อ�ำเภอน�้ำยืน จังหวัด อุ บ ลราชธานี สั ง กั ด คณะสงฆ์ ม หานิ ก าย ก่ อ ตั้ ง ประมาณปี พ.ศ.2350

ซึ่งสถานที่ก่อตั้งวัด มีต้นไม้ใหญ่เป็นป่าไม้ เป็นธรรมชาติ มีหนองน�ำ้ ซึง่ อยูท่ างทิศตะวันออก ของหมูบ่ า้ น เรียกตามภาษาเขมร ของท้องถิน่ ว่า ตะเปี ย งตากก และตะเปี ย งตึ ก เขมา ส่ ว น ตะเปียงตากก ในสมัยนัน้ มีนกกระยางขาว มาอยู่ ในหนองตากก จ�ำนวนมากในช่วงเข้าพรรษา (หนอง เขมรเรียกว่า ตะเปียง ตา เขมรเรียกว่า ตา หรือเรียกว่าคุณตา หรือเป็นชือ่ คน และกก เขมร เรียกว่า นกกระยาง หรือ กก เรียกอีกอย่างว่า ต้นไม้ชนิดหนึ่งน�ำมาสานเป็นเสื่อ จึงเรียกว่า หนองตากก และตะเปียงตากก) (ตะเปียงตึกเขมา ภาษาไทยเรียกว่าหนองน�้ำด�ำ ตะเปียง เรียกว่า หนอง และตึก เรียกว่า น�ำ ้ และเขมา เรียกว่า ด�ำ จึงเรียกว่าตะเปียงตึกเขมา และหนองน�้ำด�ำ) เพราะเหตุ นี้ น�้ ำ ที่ อ ยู ่ ล ้ อ มรอบจึ ง ไหลออกมา ซึมซับ ท�ำให้พื้นดินท�ำชุ่มชื่นอยู่ตลอดเวลา จึง ได้ตั้งชื่อวัดว่าวัดบ้านน�้ำยืน ตามหมู่บ้าน ตั้งแต่ เมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ.2395 - 2555 บนพืน้ ทีป่ ระมาณ 195 ไร่ รวมระยะเวลา 160 ปี

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 301

301

05/06/61 02:41:16 PM


บุคคลที่มาสร้างวัด เริ่มแรกโดย นายประเทศ พะวงค์ และ นายสา มีเจ้าอาวาสชือ่ พระอ่อน พะวงค์ ตัง้ แต่ พ.ศ.2468 - 2475 และได้ลาสิกขาไป จากนัน้ มี พระโส สาริก เป็นเจ้าอาวาส ตั้งแต่ พ.ศ.2475 - 2482 และได้ลาสิกขาไป จนกระทัง่ วัดบ้านน�ำ้ ยืน เป็นวัดร้างไม่มพี ระภิกษุสงฆ์อยูจ่ ำ� พรรษาอีกเลย จากค�ำบอกเล่า มีกำ� นันหอม อบชา ซึง่ เป็น ก�ำนันต�ำบลโซง มีความคิดให้รวม 2 หมู่บ้าน คือ บ้านน�ำ้ ยืน และบ้านโซง โดยให้เป็นวัดบ้านโซง เป็นจุดศูนย์กลาง และให้พระภิกษุสงฆ์ไปอยู่ที่ วัดบ้านโซง จึงเป็นสาเหตุท�ำให้วัดบ้านน�้ำยืน 302

ต้องร้างเป็นเวลานานประมาณ 34 ปี จนถึง พ.ศ.2516 จึงมีพระภิกษุสงฆ์อกี ครัง้ โดยการน�ำ ของผู้ใหญ่บ้านน�้ำยืน พ่อจิน จะโรจร ผู้ใหญ่ บ้านน�ำ้ ยืนในสมัยนัน้ ท่านได้อปุ ถัมภ์วดั บ้านน�ำ้ ยืน เรื่อยมา พ่อจิน จะโรจร ได้ปรึกษาหารือกันกับ นายสมสักดิ์ ถนอมวงศ์ ริเริ่มก่อสร้างวัดขึ้น อีกครั้ง จึงไปกราบเรียนปรึกษากับหลวงพ่อ พระครูสารธรรมโกวิท (จันดี โกวิโท) อดีตเจ้าคณะ อ�ำเภอน�้ำยืน หลวงพ่อให้ พ่อจิน จะโรจร ได้ไป นิมนต์พระจากวัดบ้านตลาด อ�ำเภอเดชอุดม มา 8 รูป มาจ�ำพรรษาอยู่ประมาณ 1 พรรษา

เมื่อออกพรรษาพระภิกษุสงฆ์ได้ลาญาติโยม กลับไปยังวัดเดิม ต่ อ มาผู ้ ใ หญ่ จิ น จะโรจร ได้ ไ ปนิ ม นต์ พระเฮา จากวัดบ้านหมากแหน่ง ต�ำบลตาเกา กิ่งอ�ำเภอน�้ำขุ่น (ปัจจุบันเป็นอ�ำเภอน�้ำขุ่น) จังหวัดอุบลราชธานี มาอยู่จ�ำพรรษาที่วัดบ้าน น�้ำยืน พร้อมกับพระบวชใหม่ในหมู่บ้านอีก หลายรูป เช่น พระสิน ติภาโร และสามเณร อาจอยู่จ�ำพรรษา พระเฮา ได้อบรมสั่งสอน พระภิกษุสงฆ์ สามเณร ให้เรียนหนังสือสวดมนต์ ไหว้พระ จนช�ำนาญพอสวดมนต์ได้ด้วยตนเอง หลังออกพรรษา พระเฮา ก็ลาญาติโยมกลับวัด

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

.indd 302

30/05/61 03:38:33 PM


บ้านหมากแหน่ง ซึ่งมีพระสิน ติภาโร อยู่เป็น ประธานสงฆ์ในช่วงนั้น พ.ศ.2516 - 2517 ผู ้ ใ หญ่ จิ น จะโรจร กั บ คณะกรรมการ ทายกทายิ ก าวั ด ได้ พ ากั น ไปหาหลวงพ่ อ เจ้าคณะอ�ำเภอน�้ำยืน พระครูสารธรรมโกวิท (จั น ดี โกวิ โ ท) (อดี ต เจ้ า คณะอ� ำ เภอน�้ ำ ยื น ) ปรึ ก ษากั บ หลวงพ่ อ อี ก ครั้ ง และได้ นิ ม นต์ พระบุ ญ เรื อ น สุจิตฺโต (พระครูส ถิตชลธาร) มาจากวัดดอนโมกข์ ต�ำบลขีเ้ หล็ก กิง่ อ�ำเภอน�ำ้ ขุน่ (ปัจจุบนั เป็นอ�ำเภอน�ำ้ ขุน่ ) จังหวัดอุบลราชธานี มาเป็ น เจ้ า อาวาสวั ด บ้ า นน�้ ำ ยื น จากนั้ น มา ที่ วั ด บ้ า นน�้ ำ ยื น ก็ ไ ม่ เ คยขาดพระภิ ก ษุ ส งฆ์

สามเณรอี ก เลย จนถึ ง ปั จ จุ บั น นี้ ปั จ จุ บั น วัดมีอายุได้ประมาณ 205 ปี นับว่าเป็นวัด ที่เก่าแก่ในพระพุทธศาสนา ครั้งหนึ่งวัดบ้านน�้ำยืน โดยพระครูสถิต ชลธาร (บุ ญ เรื อ น สุ จิ ตฺ โ ต) เป็ น เจ้ า อาวาส วัดบ้านน�้ำยืน เคยได้ช่วยประเทศชาติบ้านเมือง ของไทย ด้วยการให้ก�ำลังใจกับแม่ทัพทหาร และพลทหาร เมื่อปี พ.ศ.2521 มีสงครามเกิด ขึ้นหลายครั้ง วัดบ้านน�้ำยืน เป็นฐานพักของ พลทหารหาร และในช่วงนั้นมีทหารถูกยิงตาย ไม่ทราบฝ่ายเป็นจ�ำนวนมาก ศพพลทหารที่ถูก ยิงตาย ได้นำ� มาไว้ทใี่ ต้ถนุ ศาลาการเปรียญหลังเก่า

ปัจจุบันได้รื้อถอนไปแล้ว และได้สร้างศาลา การเปรียญหลังใหม่ขึ้นตรงจุดเก่า นับว่าเป็น วัด ที่มีประวัติศาสตร์ควรจดจ�ำเอาไว้เช่นกัน พระครูสถิตชลธาร (บุญเรือน สุจิตฺโต) ก็ได้ พัฒนาวัดบ้านน�้ำยืนมาเรื่อยๆ วัดน�้ำยืน ได้รับให้เป็นวัดพัฒนาตัวอย่าง จากกรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ เมื่อ วันที่ 21 กันยายน พุทธศักราช 2519

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 303

303

30/05/61 03:40:20 PM


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดวารีอุดม

พระครู วิ ชั ย ธรรมานั น ท์ ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง เจ้ า อาวาสวั ด วารี อุ ด ม

วั ด วารี อุ ด ม ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 198

หมู ่ 1 บ้ า นวารี อุด ม ต�ำบลสีวิเ ชีย ร อ�ำเภอ น�้ ำ ยื น จั ง หวั ดอุบ ลราชธานี เป็น วัด สังกัด สงฆ์ ค ณะธรรมยุ ต มี เ นื้ อ ที่ 24 ไร่ 3 งาน 27ตารางวา มีที่ธรณีสงฆ์ จ�ำนวน 5 แปลง เนื้ อ ที่ 105 ไร่ 3 งาน 32 ตารางวา 304

วัดวารีอุดม ก่อตั้งเมื่อ ปี พ.ศ.2512 บนที่ป่าริมห้วยโซง โดยมี พระครูพุทธิสารสุนทร (เคน นนฺทโก) เจ้าอาวาสวัดเมืองเดช เจ้าคณะอ�ำเภอเดชอุดม(ธ) ในขณะนั้น ได้ออกเดินธุดงค์ มาปักกลดเพื่อปฏิบัติกรรมฐาน เมื่อญาติโยมได้เห็น จึงได้นิมนต์ท่านอยู่พ�ำนักและได้ร่วมกันถวาย ที่ดินเพื่อสร้างวัดขึ้นและได้ตั้งชื่อวัดว่า “วัดราษฎร์ประชาสรรค์” โดยมีหลวงพ่อพระครูพุทธิสาร สุนทรเป็นประธานในการก่อสร้างวัด และได้ส่ง พระครูวิชัยธรรมานันท์ มาอยู่จ�ำพรรษา จนถึงปี พ.ศ.2525 จึงได้ขออนุญาตตั้งวัดพร้อมกับเปลี่ยนชื่อ เป็น “วัดวารีอุดม” ตามชื่อของหมู่บ้าน โดย มีพระครูวิชัยธรรมานันท์ เป็นเจ้าอาวาสรูปแรกจนถึงปัจจุบัน

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

.indd 304

05/06/61 02:35:53 PM


UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 305

305

05/06/61 02:35:33 PM


ประวัติเจ้าอาวาส

งานด้านการศึกษา

พระครูวิชัยธรรมานันท์ (ชัย แสวงดี) ฉายา อนาวิโล อายุ 72 ปี พรรษา 52 อุปสมบทเมื่อ วันที่ 22 เดือน มีนาคม พ.ศ.2511 โดยมี พระครูพุทธิสารสุนทร (พุธ ฐานิโย) เป็นพระ อุปัชฌาย์

พ.ศ.2520 - ปัจจุบัน เป็นเจ้าส�ำนัก ศาสนศึกษาวัดวารีอุดม พ.ศ.2550 - ปัจจุบัน เป็น ผู้อ�ำนวยการ ศูนย์ศกึ ษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์วดั วารีอดุ ม พ.ศ.2559 - ปัจจุบัน เป็นรองประธาน ฝ่ายการศึกษาคณะสงฆ์จงั หวัด อุบลราชธานี(ธ) ฯลฯ

ต�ำแหน่งทางการปกครองและงานคณะสงฆ์ พ.ศ.2524 - ปัจจุบัน เป็นเจ้าอาวาส วัดวารีอุดม พ.ศ.2543 - ปั จ จุ บั น เป็ น เจ้ า คณะ อ�ำเภอน�้ำยืน(ธ) พ.ศ.2560 - ปัจจุบัน เป็นเจ้าส�ำนัก ปฏิบตั ธิ รรมประจ�ำจังหวัดอุบลราชธานี (ธรรมยุต) แห่งที่ 1 ฯลฯ

306

สาธารณูปการ พ.ศ.2552 เป็นประธานในการก่อสร้าง อุโบสถวัดวารีอุดม พ.ศ.2559 เป็นประธานในการน�ำศรัทธา ก่อสร้างโดมเอนกประสงค์โรงเรียนน�้ำยืนวิทยา

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

.indd 306

30/05/61 04:37:28 PM


งานเผยแผ่ พ.ศ.2541 เป็นวิทยากรอบรมนักเรียน นักศึกษา ข้าราชการประชาชน พ.ศ.2560 เป็นเจ้าส�ำนักปฏิบัติธรรม ประจ�ำจังหวัดอุบลราชธานี(ธรรมยุต) แห่งที่ 1

การศึกษาสงเคราะห์ พ.ศ.2556 - ปัจจุบัน ถวายทุนการศึกษา แก่ พ ระภิ ก ษุ - สามเณร วั ด วารี อุ ด มที่ ส อบได้ นักธรรม จ�ำนวน 10 ทุนๆละ 1,000 บาท มอบทุนประเภทเรียนดีแต่ยากจนให้กับ นักเรียนโรงเรียนน�ำ้ ยืนวิทยา จ�ำนวน 20 ทุนๆละ 1,000 บาท มอบทุ น สนั บ สนุ น สถานศึ ก ษาให้ กั บ

โรงเรียนในสังกัดส�ำนักศาสนศึกษาวัดวารีอุดม จ�ำนวน 7 ทุนๆละ 5,000 บาท

สาธารณะสงเคราะห์ พ.ศ.2558 ร่วมบริจาคเงินเข้ากองทุน ช่ ว ยเหลื อ ผู ้ ป ่ ว ยโรคเรื้ อ น เป็ น จ� ำ นวนเงิ น 2,000 บาท ร่วมบริจาคเงินช่วยเหลือผ้าป่าพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม เป็นจ�ำนวนเงิน 2,000 บาท ร่ ว มบริ จ าคเงิ น เข้ า กองทุ น คณะสงฆ์ ธรรมยุตจังหวัดอุบลราชธานี เป็นจ�ำนวนเงิน 3,800 บาท ร่วมบริจาคกัปปิยภัณฑ์สมทบโครงการ อบรมพระภิกษุในโครงการบรรพชาอุปสมบทหมู่

เพื่อถวายเป็นพระราชกุศลแด่ พระบาทสมเด็จ พระปริมนทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ในวาระครบรอบปัญญาสมวาร สตมวาร และ วันถวายพระเพลิง เป็นจ�ำนวนเงิน 20,000 บาท พ.ศ.2560 ร่วมบริจาคกัปปิยภัณฑ์สมทบ โครงการอบรมพระภิกษุในโครงการบรรพชา อุปสมบทหมู่ เพื่อถวายเป็นพระราชกุศลแด่ พระบาทสมเด็จพระปริมนทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ในวาระครบรอบปัญญาสมวาร สตมวาร และวันถวายพระเพลิง เป็นจ�ำนวนเงิน 10,000 บาท ฯลฯ

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 307

307

30/05/61 04:37:42 PM


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดเกษตรสมบูรณ์ (วัดภูน้อย)

พระครู เ กษมกิ จ จานุ ยุ ต ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง เจ้ า อาวาสวั ด เกษตรสมบู ร ณ์

วั ด เกษตรสมบูรณ์ (วัดภูน้อย) ตั้งอยู่ที่ บ้านเกษตรสมบูรณ์ ต�ำบลบุเปือย

อ� ำ เภอน�้ ำ ยื น จั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี เดิ ม เรี ย กว่ า “วั ด ป่ า คี รี บ รรพต” ที่ ตั้ ง ของวั ด มี ภู เ ขา ขนาดย่ อ มๆ อยู ่ ลู ก หนึ่ ง ซึ่ ง เป็ น ภู เ ขาไฟเก่ า ที่ เ ย็ น ตั ว ลงหลายล้ า นปี ม าแล้ ว และบริ เ วณ โดยรอบส่วนใหญ่เป็นป่าไม้เต็งรัง ที่ มีสัตว์ป่าชนิดต่างๆ เป็นจ�ำนวนมาก และบริเวณรอบๆ เขายังมีดินโป่ง ที่สัตว์ป่าชอบลงมากินจึงเรียกได้ว่าป่าแถบนี้อุดมสมบูรณ์มาก ในฤดูแล้ง ชาวบ้านก็จะเก็บผักหวานและดอกกระเจียวในฤดูฝนก็จะมีเห็ดป่าชนิดต่างเป็นจ�ำนวนมาก ชาวบ้ า นและชุ มชนใกล้เ คียงจึงได้รับ ประโยชน์จากป่ า แห่ ง นี้ 308

สิ่งปลูกสร้างและถาวรวัตถุ

พระอุโบสถ 1 หลัง ศาลาการเปรียญ 1 หลัง ศาลาเอนกประสงค์ 2 หลัง พระพุทธรูปปูนปั้น 1 องค์ เจดีย์ ใหญ่ 1 องค์ กุฏิพระสงฆ์ 13 หลัง เรือนพักแม่ชี 4 หลัง โรงครัว 2 หลัง, ห้องน�้ำ 30 ห้อง เมรุเผาศพ 1 หลัง

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

.indd 308

05/06/61 02:16:45 PM


ในช่ ว ง พ.ศ.2500 เป็ น ต้ น มาผู ้ ค นได้ เข้ามาจับจองพื้นที่บริเวณโดยรอบ และเข้ามา บุ ก เบิ ก ท� ำ ไร่ ท� ำ นากั น มากขึ้ น และที่ ภู น ้ อ ย แห่งนีก้ ไ็ ด้มพี ระธุดงค์ เข้ามาปักกรดปฏิบตั ธิ รรม เพราะเป็นที่สงบร่มรื่นและเป็นที่ประทับรอย พระพุทธบาท ญาติโยมทีท่ ำ� ไร่ทำ� นาอยูโ่ ดยรอบ จึงได้นิมนต์ให้ท่านอยู่จ�ำพรรษาที่นี่ เพื่อจะได้ ท�ำบุญ และเป็นขวัญก�ำลังใจแก่ญาติโยม ซึ่ง ก็มพี ระหมุนเวียนสับเปลีย่ นกันมาอยู่ หนึง่ เดือน สามเดือน หรือเป็นปีก็มี แต่ก็ยังไม่เป็นถาวร จนกระทั่ ง ประมาณ พ.ศ.2513 หลวงพ่ อ พระครูสารธรรมโกวิท ซึ่งเป็นเจ้าคณะอ�ำเภอ น�้ำยืน รูปแรก ได้เข้ามาจับจองพื้นที่เพื่อสงวน ไว้เป็นที่ของวัดประมาณสามร้อยไร่เศษ และ ได้เริ่มปลูกสร้างเสนาสนะและถาวรวัตถุต่างๆ นับแต่นั้นเป็นต้นมา

ล�ำดับเจ้าอาวาส

รูปที่ 1 พระครูสารธรรมโกวิท (จันดี โกวิโท) รูปที่ 2 พระอธิการ ประยุทธ์ ธมฺมภาณี รูปที่ 3 พระครูเกษมกิจจานุยุต (แคล้ว อธิจิตฺโต)

พ.ศ.2513 – 2535 พ.ศ.2535 – 2538 พ.ศ.2538 – ปัจจุบัน

การศาสนาสงเคราะห์ พ.ศ.2530 - 2531 กองทัพภาคที่ 2 ได้มาตั้งค่ายฝึกเป็นเวลา 2 ปี (ช่วงสงครามช่องบก) พ.ศ.2542 ได้รับการแต่งตั้งให้ศูนย์ปฏิบัติธรรมประจ�ำอ�ำเภอน�้ำยืน ในวัน แรม 1 ค�่ำ เดือน 11 ของทุกปีจะมีบุญประเพณีตักบาตรเทโว ซึ่งเป็นงานที่ยิ่งใหญ่ที่สุด ในจังหวัดอุบ ลราชธานี

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 309

309

05/06/61 02:17:00 PM


พระครู ส ารธรรมโกวิ ท (หลวงพ่ อ ใหญ่ จั น ดี โกวิ โ ท)

310

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

.indd 310

05/06/61 02:17:20 PM


UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 311

311

05/06/61 02:17:45 PM


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดโนนป่าเลา

พระอธิ ก ารบุ ญ เพ็ ง อธิ จิ ตฺ โ ต ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง เจ้ า อาวาสวั ด โนนป่ า เลา

วั ดโนนป่าเลา ตั้งอยู่เลขที่ 155 หมู่ที่ 6 บ้านโนนป่าเลา ต�ำบลยาง อ�ำเภอน�้ำยืน

จั ง หวั ดอุ บ ลราชธานี เป็น วัด ป่า อยู่ใ นพื้น ราบ มีป ่ า สั ป ปายะ 120 ไร่ สร้ า งวั ดโนนป่ า เลา ให้ เ ป็ น วั ด สั ป ปายะทั้ ง 4 มี ม รรคผล คื อ เป้ า หมายเป็ น วั ด มหานิ ก าย เริ่ ม เป็ น ส� ำ นั ก สงฆ์ เมื่ อ ปี พ.ศ.2515

วั ด โนนป่ า เลา เป็ น อี ก วั ด หนึ่ ง ของพระศาสนา ถ้ า ท่ า นมี โ อกาสได้ ม า ถื อ ว่ า เป็ น วั ด ของสงฆ์ ที่ มี พ ระสั ม มาสั ม พุ ท ธเจ้ า ทรงเป็ น ประธานมี พ ระนิ พ พานเป็ น จุ ด หมายของดวงจิ ต ทุ ก ๆ การ บ� ำ เพ็ ญ ธรรมวิ นัย สาธุ 312

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

.indd 312

05/06/61 02:30:55 PM


ปูชนียวัตถุ พระพุทธรูปใหญ่องค์ปฐมโคตรไชโย พระพุทธรูปใหญ่ยืนประธานพร บาตรใหญ่เจดีย์บริขารรอยพระพุทธหัตคู่ รอยพระพุ ท ธบาทคู ่ จ� ำ ลองข้ า งบน รอยจริ ง อยู่ข้างล่าง สระพระคัมภีร์ พระไตรปิฎก พระประธานที่ศาลาการเปรียญ พระแก้วหลายพระองค์ อ่างน�้ำทองเหลือง แช่บรมธาตุ และธาตุกายสิทธิกุฏิเจ้าอาวาส พระเจดี ย ์ ที่ บ รรจุ พ ระบรมธาตุ ของ พระพุทธเจ้า 5 พระองค์ พระพุทธรูปหินทราย พระศรีอาริยเมตตรัย หิ น ทราย พระสี ว ลี เ ถระ รอยพระพุ ท ธบาท ช้อนหินทราย มหาสาวกแกะด้วยหินทราย พระใหญ่ ก�ำลังสร้างอยู่ ชุดพระปัจเจก สัมมาสัมพุทธเจ้า

ประวัติเจ้าอาวาส พระอธิการบุญเพ็ง อธิจิตฺโต เกิดวันที่ 10 สิงหาคม พ.ศ.2509 ขึ้น 15 ค�่ำ เดือนแปดสองหน วันอาทิตย์ ปีมะเมีย ปัจจุบนั พ.ศ.2561 อายุ 52 ปี พรรษา 31 บรรพชา เป็นสามเณร ที่วัดป่าคีรีบรรพต (วัดภูน้อย) เมื่อวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ.2525 อายุ 16 ปี กับเจ้าคณะอ�ำเภอน�้ำยืนองค์แรก พระครู สารธรรมโกวิท เป็นสามเณรอยู่ 4 ปี จบนักธรรมเอก ระดับ 4 หรือ ม.3 จูฬอภิธรรมมิกเอก ส�ำนักเรียน วัดเขาพระ ต�ำบลบ้านป่า อ�ำเภอแก่งคอย จังหวัด สระบุรี ปี 2528 อุ ป สมบท เป็ น พระภิ ก ษุ ส งฆ์ ที่ อุ โ บสถ วัดเขาพระ ต�ำบลบ้านป่า อ�ำเภอแก่งคอย จังหวัด

สระบุรี เมื่อวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ.2529 เจ้าคณะ อ� ำ เภอแก่ ง คอย พระครู พิ พั ฒ น์ สั ง ฆการ พระอุปัชฌาย์ พระปลัดทรัพย์ญาณโร พระกรรม วาจาจารย์ พระมหาศัสตราวุธ จกฺกวโร พระ อนุสาวนาจารย์ เป็นพระแล้ว ชอบการฟังเทศน์ ฝึกแสดงธรรม ชอบฝึกกรรมฐาน ปฏิบัติธุดงค์วัตร เรียนรู้ทางจิตทางทิพย์ ทางธรรมชาติ ปฏิบัติตาม มรรคแปด ให้รู้จริงในธรรมที่ควรรู้จริง รู้แจ้งด้วย พุ ท ธปั ญ ญา ตามบู ช าปฏิ บั ติ พระบรมธาตุ พระอรหันตะธาตุ พระพุทธรูป เจดีย์ ต้นโพธิ์

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 313

313

05/06/61 02:30:36 PM


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดป่านาเยีย พระครูอรุณธรรมโกศล เจ้าอาวาสวัดป่านาเยีย ประวัติความเป็นมา วัดป่านาเยีย ตั้งอยู่เลขที่ 184 บ้านนาเยีย หมู่ที่ 4 ถนนศรีสมบูรณ์ ต�ำบลนาเยีย อ�ำเภอ นาเยีย จังหวัดอุบลราชธานี สังกัดคณะสงฆ์ มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัด 12 ไร่ 2 ตารางวา อาณาเขต ทิศเหนือ จดถนนศรีสมบูรณ์ ทิศใต้ จดซอยแก่นค�ำ ทิศตะวันออก จดถนนสุขสวัสดิ์ ทิศตะวันตก จดที่เอกชน

314

(2

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

).indd 314

5/6/2561 13:52:53


ล�ำดับเจ้าอาวาส พระพุทธสุวรรณปฏิมากร (หลวงพ่อทอง) วัดป่านาเยีย ตั้งเมื่อ พ.ศ. 2483 โดยมี พระครูอรุณธรรมรังสี เป็นประธานในการสร้างวัด โดยได้รับบริจาคที่ดินจากนางต้อม แก้วอุดร นางอ่อนสี ราษี นายอ่าง ค�ำศรี นายโฮม ราษี นายยืน แสงจันทร์ และนายค�ำผ่อน ค�ำภิเดช ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2525 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 25 เมตร ยาว 30 เมตร

อาคารเสนาสนะ อุโบสถ กว้าง 7 เมตร ยาว 15 เมตร ศาลาการเปรียญ กว้าง 12 เมตร ยาว 24 เมตร เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก ทรงไทย ประยุกต์ สร้างเมื่อ พ.ศ. 2536 หอสวดมนต์ กว้าง 12 เมตร ยาว 24 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2531 กุฏิสงฆ์จ�ำนวน 11 หลัง เป็นตึก 5 หลัง เป็นไม้ 6 หลัง ศาลาเอนกประสงค์ กว้าง 8 เมตร ยาว 20 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2537 โรงครัว กว้าง 12 เมตร ยาว 24 เมตร สร้าง เมื่อ พ.ศ. 2537 เมรุ กว้าง 4 เมตร ยาว 13 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2541 หอระฆัง สร้างเมื่อ พ.ศ. 2558

รูปที่ 1 พระครูอรุณธรรมรังสี (ลุน ณ อุบล) พ.ศ. 2483 - 2492 รูปที่ 2 พระค�ำ กนฺตสีโล พ.ศ. 2492 - 2496 รูปที่ 3 พระโทม ธมฺมธโร พ.ศ. 2496 - 2500 รูปที่ 4 พระอ่อนสี ชาคโร พ.ศ. 2500 - 2502 รูปที่ 5 พระอธิการพร สิริสาโร พ.ศ.2502 - 2527 รูปที่ 6 พระครูสิริเขตโกศล (ผง ฉนฺทโก) พ.ศ. 2527 - 2537 รูปที่ 7 พระครูอรุณธรรมโกศล (อุทยั เตชพโล) พ.ศ. 2537 - ปัจจุบัน

ปูชนียวัตถุ มีพระประธาน 1 องค์ และพระพุทธรูป จ�ำนวน 5 องค์

ศูนย์การศึกษาที่เปิดสอน ส�ำนักศาสนศึกษาวัดป่านาเยีย ศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

(2

).indd 315

315

5/6/2561 13:53:14


W O R K LI F E

บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล

องค์การบริหารส่วนต�ำบลถ�้ำแข้ นายก�ำพล บัวพันธ์

นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลถ�้ำแข้ ประวัติความเป็นมา

สถานที่ท่องเที่ยว

เดิมหมู่บ้านแห่งนี้แยกจากบ้านนาหว้า ต�ำบลกระเดียน โดยการน�ำของนายใบ ก้อนจันทร์ มาตั้งเป็น หมู่บ้านถ�้ำแข้ (เนื่องจากมีถ�้ำหินดาด และมีจระเข้มาอาศัยอยู่) ต่อมาได้ยกฐานะเป็นต�ำบลถ�้ำแข้ ปี พ .ศ.2523 ตามประกาศจากกระทรวงมหาดไทยเรื่ อ งตั้ ง และเปลี่ ย นแปลงเขตต� ำ บลในท้ อ งที่ แยกเขตการปกครองเป็นต�ำบลถ�้ำแข้ โดยนายหนูพร สาระพันธ์ เป็นก�ำนันคนแรก ปัจจุบันแบ่ง การปกครองออกเป็น 9 หมู่บ้าน และได้รับยกฐานะจากสภาต�ำบลถ�้ำแข้ขึ้นเป็นองค์การบริหารส่วน ต�ำบลถ�้ำแข้ พ.ศ. 2540

ภูสองชั้น มีชื่อท้องถิ่นอีกชื่อหนึ่งว่า “ภูธาตุ” ซึ่งเป็นชื่ออันเนื่องมาจากลักษณะของเสาหินใหญ่ ที่ดูคล้าย ธาตุหรือเจดีย์หิน ส่วนชื่อ “ภูสองชั้น” มีที่มาจากลักษณะของภูเขาสองลูกทับซ้อนกันอยู่ โดยมีสัณฐานและเนินภูแตกต่างกันชัดเจนเป็นชื่อ ที่ใช้เรียกขานภูแห่งนี้มากระทั้งปัจจุบัน ชั้นบนสุด ของภูสองชัน้ เป็นสถานทีป่ ระดิษฐานของ “พระแจ้ง” พระพุทธรูปปางมารวิชัย ที่ชาวบ้านศรัทธาและ เคารพนับถือ มีประเพณีเนาสรงน�ำ้ พระเป็นประจ�ำ ทุกปี ภูสองชัน้ อยูใ่ นพืน้ ทีบ่ า้ นบ๋าหอย หมู่ 9 ต�ำบล ถ�้ำแข้ อ�ำเภอตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานี ภู มิ ป ระเทศเป็ น ภู เขาหิ น ทราย ประกอบด้ ว ย ป่าเต็งรัง ป่าเบญจพรรณสลับไผ่ ป่าดิบแล้ง และ ป่าหญ้าเขตร้อน อยูห่ า่ งจากตัวอ�ำเภอตระการพืชผล ไปทางทิศ ตะวั น ออกประมาณ 27 กิ โ ลเมตร โดยใช้ เส้ น ทางหมายเลข 2050 (ตระการ-เขมราฐ) เลีย้ วขวาทีบ่ า้ นคอนสายสู่ อบต.ถ�ำ้ แข้ และภูสองชัน้ โดยถนนคอนกรี ต และลู ก รั ง จะถึ ง ค่ า ยศึ ก ษา ธรรมชาติ

316

.

(2

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

).indd 316

5/6/2561 13:45:51


ปฏิทินท่องเที่ยว ช่วงเดือนมกราคม - มีนาคม งามสีสันป่า ผลั ด ใบ หอมกลิ่ น ไอดอกไม้ ป ่ า ละลานตาป่ า เปลี่ยนสี รุ่งสุรีย์ชมตะวันขึ้น ค�่ำคืนหนาวดูดาวตก ช่วงเดือนเมษายน - พฤษภาคม ชมมวล ดอกไม้ป่า ศึกษาพืชทนแล้ง ค�่ำคืนแห่งดวงดาว รุ่งเช้าชมตะวัน ช่วงเดือนมิถุนายน - กันยายน ยลเสน่ห์ป่า งามยามหน้าฝน หลัง่ ล้นน�ำ้ ตกค้างคาว ถ�ำ้ เสือโคร่ง

ภู เขาเขี ย วขจี ม ากมี ข องป่ า ศึ ก ษาพื ช สมุ น ไพร ไลเคนส์ มอสและเฟิร์น ช่วงเดือนตุลาคม ศึกษาทุ่งดอกไม้กินแมลง แสนสวย ชมกล้ ว ยไม้ ป ่ า ละลานตาหมู ่ แ มลง งามสี สั น ค�่ ำ คื น แห่ ง ดวงดาว รุ ่ ง เช้ า ชมตะวั น ย�่ำสายัณห์ดูอาทิตย์อัสดง ช่วงเดือนพฤศจิกายน - ธันวาคม หอมกลิ่น ไอดอกไม้ป่า ห่มฟ้าคืนหนาว ดวงดาวพรางนภา รุ่งทิวาชมตะวัน ย�่ำสายัณห์ดูพระอาทิตย์ตกดิน

กลุ่มอาชีพภูมิปัญญาท้องถิ่น 1.กลุม่ จักสาน หมู่ 1 บ้านถ�ำ้ แข้ เป็นภูมปิ ญ ั ญา ท้องถิ่นที่ตกทอดและสืบสานจากรุ่นสู่รุ่น รูปแบบ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ ครื่ อ งจักรสาน เป็นศิลปหัต ถกรรม พืน้ บ้าน ที่มีความงามบริสุทธิ์แบบวิถีชีวิตของคน ชนบท ชีใ้ ห้เห็นคุณค่าทางอารยธรรมอีสานทีเ่ ข้าใจ ใช้วัสดุธรรมชาติให้สอดคล้องกับการด�ำรงชีวิต และคงใว้ซงึ่ เอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมทีส่ บื ทอดกัน มาอย่างยาวนาน 2.กลุ่มผลิตภัณฑ์หมอนฟักทอง หมู่ 7 บ้าน ห้วยทีเหนือ เป็นการรวมตัวของกลุม่ สตรีสร้างงาน หัตถกรรมพื้นบ้าน การปักเย็บผ้าโดยใช้นุ่นซึ่งเป็น วัสดุที่มีในท้องถิ่นเป็นวตถุดิบส�ำคัญในการผลิต ซึ่งสร้างรายได้ให้กับคนในชุมชนและเป็นสินค้า ที่ขึ้นชื่อของต�ำบล 3.กลุม่ ทอเสือ่ หมู่ 1 บ้านถ�ำ้ แข้ เป็นภูมปิ ญ ั ญา ท้องถิ่นที่สืบสานและถ่ายทอดผ่านวิถีชีวิตของคน ท้องถิ่น โดยใช้วัสดุธรรมชาติที่มีในท้องถิ่น ได้แก่ กก ไหล เตย เป็นงานหัตถกรรมพืน้ บ้านทีส่ ร้างรายได้ และใช้ประโยชน์ตามวิถีชีวิตของคนในท้องถิ่น 4.กลุ่มแปรรูปอาหาร หมู่ 9 บ้านบ๋าหอย เป็น ภูมปิ ญ ั ญาพืน้ บ้านในการแปรรูป และถนอมอาหาร ให้เกิดมูลค่าและยืดอายุการเก็บรักษา เพิม่ รสชาติ อาหารโดยใช้ผลผลิตทางการเกษตรของท้องถิ่น เช่น การท�ำกล้วยตาก ไส้กรอก แหนม ปลาร้าบอง เป็นต้น 5.สวนเศรษฐกิจพอเพียงลุงเจริญ หมู่ 4 บ้าน ค�ำแคน เป็นสวนเกษตรแบบผสมผสานพืชไร่และ พืชสวน โดยใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียง ที่ประสบ ผลส� ำ เร็ จ ในการด�ำเนินชีวิต มีผลผลิต ทางการ เกษตรทั้งจ�ำหน่าย เช่น เงาะ มังคุด ทุเรียน ขนุน มะไฟ มะม่วง เป็นต้น และให้ผู้สนใจศึกษาเป็นต้น แบบในการด�ำเนินชีวิตแบบพอเพียงในท้องถิ่น

6.กลุ่มสมุนไพรภูสองชั้น เป็นการรวมกลุ่ม ของผู้รู้หมอยาสมุนไพรในท้องถิ่น ซึ่งเป็นปราชญ์ ชาวบ้านทีม่ คี วามรูเ้ รือ่ งสมุนไพรในการรักษา และ บ�ำรุงร่างกาย โดยสมุนไพรที่หาได้เป็นทรัพยากร ทางธรรมชาติจากป่าอนุรักษ์ภูสองชั้น

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.

(2

).indd 317

317

5/6/2561 13:46:14


อิ่มอร่อยมะม่วงกวน ฝีมือล้วนปอกล้วยสาน เพลงขอทานประจ�ำถิ่น ศิลปินกระเดื่องแดน”

W O R K LI F E

บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล

องค์การบริหารส่วนต�ำบลท่าหลวง “ดินแดนป่าอุดม ชื่นชมธรรมชาติ ภาพวาดภูโลง ภูนกหงษ์ภูพระ สูงสง่าภูผาผึ้ง งามซึ้งผ้ากาบบัว” คือค�ำขวัญขององค์การบริหารส่วนต�ำบลท่าหลวง

นายประสงค์ วังค�ำลุน นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลท่าหลวง ประวัติความเป็นมา ปี พ.ศ.2540 – 2543 รูปแบบการบริหารขององค์การบริหารส่วนต�ำบล ท่าหลวง ในขณะนั้นเป็นสภาต�ำบลท่าหลวง ซึ่งตั้งอยู่ที่สถานีอนามัยต�ำบล ท่าหลวง บ้านท่าหลวง อ�ำเภอตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานี โดยมี นายใจเด็ด ทาค�ำ ก�ำนันต�ำบลท่าหลวง เป็นประธานบริหารรุ่นแรก ซึ่งมี จ�ำนวนหมู่บ้านเพียง 8 หมู่บ้าน ต่อมาเมื่อวันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2544 มี การแยกหมู่บ้านออกมาอีก 1 หมู่บ้าน รวมทั้งหมด 9 หมู่บ้าน จนถึงปัจจุบัน

ค์ ค์ มรงค์

แหล่งท่องเที่ยว ผาฮูบ - ภูโลง สมัยก่อนมีคนโบราณสร้างโลงศพไม้คู่ไว้บนภูโลง (ถ�้ำโลง) เนื่องจากมีการเดินทางไปสร้างพระธาตุพนม เชื่อกันว่าเป็นเจ้าเมืองจ�ำปาสัก ที่เดินทางมาพร้อมกับบริวาร แต่เมื่อเดินทางมาถึงภูโลงเกิดเจ็บป่วยอย่าง รุนแรง โดยอาการเจ็บป่วยนั้นคือโรคปวดศีรษะ เมื่อพระองค์ป่วยมากขึ้น จึงสั่งให้บริวารเตรียมโลงศพส�ำหรับใส่ท่านฝังไว้ในถ�้ำ เพื่อไม่ให้เป็นภาระ ของบริวาร สมัยนั้นเชื่อว่าใครที่เดินทางไปสร้างพระธาตุพนมได้ ให้เอาข้าว ของมีคา่ ทีม่ อี ยูไ่ ปฝังรวมกับพระธาตุพนม (สะดือธาตุนนั่ เอง) จะท�ำให้ได้บญ ุ มาก แต่ ก ารเดิ น ทางนั้ น จะผ่ า นปาภู เขามากมาย จึ ง ท� ำ ให้ เ กิ ด ต� ำ นานของภู

318

.

(2

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

).indd 318

5/6/2561 13:37:38


แต่ละลูกแตกต่างกันไป เชื่อกันว่าเจ้าเมืองจ�ำปา สักที่ป่วยนั้น ภายหลังจากการท�ำโลงศพแล้วท่าน ก็หายป่วย แต่ คณะเดินทางก็ไม่สามารถเดินทาง ไปถึงพระธาตุพนมได้ เพราะได้ยินเสียงฆ้องเสียง กลองดั ง มาเป็ น สั ญ ญาณ ว่ า ผู ้ ค นได้ ส ร้ า ง พระธาตุพนมเสร็จแล้ว คณะเดินทางจากจ�ำปา สักจึงไม่ได้ชว่ ยสร้างพระธาตุพนม ในสมัยนัน้ เชือ่ ว่า ถ้าใครมีจิตใจหรือตั้งใจจะไปสร้างพระธาตุพนม แล้วเดินทางไปถึงไหน เมื่อได้ยินเสียงฆ้องเสียง กลองดัง ให้ฝังทรัพย์สมบัติของมีค่าที่เตรียมมา บริเวณที่มาถึง แล้วหาอาสาสมัครที่เดินทางมา ด้วยเป็นอยู่เฝ้าสมบัติที่ฝังไว้ เมื่อมีผู้อาสาจะท�ำ พิธีบวงสรวงผู้รักษาสมบัติโดยการฆ่า แล้วเอา เนื้อหนังให้สัตว์กิน แล้วน�ำกระดูกฝังรวมไว้กับ สมบัติ คณะเดินทางมาจากเมืองจ�ำปาสัก มีผอู้ าสา 1 คู่ ซึ่งเป็นคู่รักที่เดินทางมาด้วยกัน ชาวบ้าน เรียกว่า ปูพ่ มุ่ และย่าเพ้ว ก่อนตายมีการเลีย้ งฉลอง เซ่นไหว้ มีการฟ้อนร�ำถวายอย่างรื่นเริง จึงเกิด ผาฮูบ (ค�ำว่าฮูบภาษาอีสาน หมายถึง คือภาพ ต่างๆที่เขียนจารึกไว้ เพื่อถ่ายทอดเรื่องราวที่เกิด ขึ้นนั่นเอง) ดังนั้นรูปที่เห็นบนผาฮูบ จึงมีรูปของ ผู ้ ห ญิ ง ที่ ก� ำ ลั ง ฟ้ อ นร� ำ และมี ค วามเชื่ อ อี ก อย่ า ง ว่าถ้าใครที่ขึ้นไปบนภูโลง จะต้องบอกกล่าวขอ เจ้าของที่เฝ้าสมบัติ คือ ปู่พุ่มและย่าเพ้ว ก่อนจะ ท� ำ อะไรบนภู โ ลง ไม่ อ ย่ า งนั้ น ก็ จ ะไม่ เ ห็ น สิ่ ง ที่ ต้ อ งการ และมี ค วามเชื่ อ ว่ า หากหนุ ่ ม สาวคู ่ ใ ด ได้เดินขึ้นภูโลงไปด้วยกันจะได้แต่งงานกันทุกคู่ เพราะปู่ย่าบนภูโลงชอบให้คนรักกันและซื่อสัตย์ ต่อกัน ผาฮู บ - ภู โ ลง ตั้ ง อยู ่ ที่ บ ้ า นแก้ ง อะฮวน หมู ่ ที่ 6 และหมู ่ ที่ 9 ต� ำ บลท่ า หลวง อ� ำ เภอ ตระการพื ช ผล จั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี มี เ นื้ อ ที่ ประมาณ 500 ไร่ สภาพภูมิประเทศเป็นป่าสลับ เขา ชาวบ้านได้ตั้งกฎระเบียบ เพื่ออนุรักษ์ไว้เป็น ป่าชุมชนและแหล่งท่องเที่ยว

ภูผาผึ้ง เป็นสถานที่กางเต็นท์ศึกษาดวงดาว เป็น ภูหินทรายไม่สูงมาก อยู่ห่างจาก จ.อุบลราชธานี 60 กิโลเมตร เป็นที่ปั่นจักรยานเที่ยว หรือขบวน off road ได้เป็นอย่างดี

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.

(2

).indd 319

319

5/6/2561 13:37:08


W O R K LI F E

บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล

องค์การบริหารส่วนต�ำบลเกษม “ต�ำบลเกษม การคมนาคมสะดวก เมืองน่าอยู่ ชุมชนเข้มแข็ง อนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม น�ำพาคุณภาพชีวิตที่ดีอย่างยั่งยืน ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” คือวิสัยทัศน์ขององค์การบริหารส่วนต�ำบลเกษม

นายวิกาล หนองแคน

นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลเกษม ประวัติความเป็นมา องค์การบริหารส่วนต�ำบลเกษม เป็น 1 ใน 22 องค์การบริหารส่วนต�ำบลของ อ� ำ เภอตระการพื ช ผล ตั้ ง อยู ่ ท่ี หมู ่ ที่ 9 บ้ า นเกษม ต� ำ บลเกษม อ� ำ เภอ ตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานี มีหมู่บ้านในเขตรับผิดชอบ 15 หมู่บ้าน มีประชากร 7,615 คน มี 1,909 ครัวเรือน อาชีพหลักของชาวบ้านคือการท�ำนา หลังฤดูทำ� นาก็ทำ� เกษตรผสมผสานโดยการน้อมน�ำหลักปรัชญาเศรษฐกิจของพ่อหลวง มาปรับใช้ มีหลายหมู่เป็นหมู่บ้านต้นแบบ การันตีจากรางวัลพระราชทานจาก สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในปี พ.ศ.2554 และปี2558

หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ อยู่เย็น เป็นสุข ชนะเลิศระดับประเทศรางวัลพระราชทานฯ ประจ�ำ ปี2554 บ้านหนองเอาะ บ้านหนองสิม ต�ำบลเกษม และในปี พ.ศ.2558 บ้านเกษม หมู่ที่ 1,8,9 ต�ำบลเกษม เป็นหมู่บ้านต้นแบบสามารถมาศึกษา ดูงานได้

พิพิธภัณฑ์เมืองเกษมสีมา เป็นพิพิธภัณฑ์ที่สร้างขึ้นด้วยแรงศรัทธาชาวบ้าน เป็นแหล่งรวบรวม และสืบสานมรดกอันล�้ำค่าของชาวต�ำบลเกษม เป็นผลงานและความภูมิใจ ของท่านพระครูเกษมธรรมานุวัตร สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2554 ตั้งอยู่ที่วัด เกษมส�ำราญ ต�ำบลเกษม อ�ำเภอตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานี 320

.

2

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

.indd 320

5/6/2561 13:29:33


งานประเพณีบุญเดือนหก เป็นอีกประเพณีหนึ่งที่ยังอนุรักษ์สืบทอดกันมา โดยจะจั ด กิ จ กรรม 15 ค�่ ำ เดื อ น 6 ของทุ ก ปี มี ข บ ว น ฟ ้ อ น ส ว ย ง า ม ต า ม ป ร ะ เ พ ณี อี ส า น มีการแข่งขันตีกลองประเภทต่างๆ มีการจุดบั้งไฟ เพื่ อ เป็ น การสั ก การบู ช าพญาแถน เพื่ อ ขอฝน (เป็นความเชื่อของชาวต�ำบลเกษม)

สะพานแขวน เป็ น แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วเชิ ง อนุ รั ก ษ์ ธ รรมชาติ ดูธรรมชาติสองฝั่งล�ำห้วยที ตั้งอยู่ที่วัดเกษมส�ำราญ ต�ำบลเกษม อ�ำเภอตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานี

งานประเพณีก่อเจดีย์ทราย เ ป ็ น ป ร ะ เ พ ณี ที่ ท า ง อ ง ค ์ ก า ร บ ริ ห า ร ส่ ว นต� ำ บลเกษมร่ ว มกั บ ทุ ก หมู ่ บ ้ า นได้ ร ่ ว มการ สื บ ส า น ป ร ะ เ พ ณี อั น ดี ง า ม ข อ ง ท ้ อ ง ถิ่ น ไว ้ ไ ม ่ ใ ห ้ สู ญ ห า ย โ ด ย ก า ร จั ด จั ด กิ จ ก ร ร ม ทุกวันที่ 21 เมษายน ของทุกปี

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.

2

.indd 321

321

5/6/2561 13:29:39


W O R K LI F E

บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล

องค์การบริหารส่วนต�ำบลโนนกุง “ท้องถิ่นนักปราชญ์ ภูธาตุแสนสวย ห้วยตุงลุงน�้ำใส ผ้าฝ้ายลายกาบบัว ข้าวเม้าคั่วหม้อดิน แคว้นถิ่นเทียนหอม พรั่งพร้อมวัฒนธรรม” คือค�ำขวัญขององค์การบริหารส่วนต�ำบลโนนกุง

นายทนงศรี สิงห์ค�ำ

นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลโนนกุง ประวัติความเป็นมา ต�ำบลโนนกุง เป็นต�ำบลที่อยู่บนที่ราบสูง ภาษาอีสาน เรียกว่า “โนน” และมี ต้นกุง (ต้นพลวง) จึงเรียก “ต�ำบลโนนกุง” ซึ่งเป็นต�ำบลที่เก่าแก่เป็นเวลาหลายปี พื้นที่ส่วนใหญ่จะมีที่ราบสูงตลอดทุกหมู่บ้าน

สภาพทั่วไป ที่ตั้งองค์ก ารบริหารส่วนต�ำบลโนนกุง (ที่ท�ำการองค์การบริหารส่วนต�ำ บล โนนกุง) ตั้งอยู่ที่ถนนสายดอนโทน – ท่าหลวง หมู่ที่ 3 บ้านโนนกุง ต�ำบลโนนกุง อ�ำเภอตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานี อยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของ

อ�ำเภอตระการพืชผล ห่างจากตัวอ�ำเภอประมาณ 23 กิโลเมตร และ อยู่ห่างจากจังหวัด 73 กิโลเมตร ทิ ศ เ ห นื อ ติ ด ต ่ อ กั บ ต� ำ บ ล ส า ร ภี อ� ำ เ ภ อ โ พ ธิ์ ไ ท ร จั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี ทิ ศ ใต้ ติ ด ต่ อ กั บ ต� ำ บลกุ ศ กร อ� ำ เภอตระการพื ช ผล จั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ต�ำบลท่าหลวง อ�ำเภอตระการพืชผล จั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี ทิ ศ ตะวั น ตก ติ ด ต่ อ กั บ ต� ำ บลกระเดี ย น ต� ำ บลถ�้ ำ แข้ อ� ำ เภอตระการพืช ผล จังหวัด อุบ ลราชธานี

322

.

2

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

.indd 322

6/6/2561 15:52:27


แหล่งท่องเที่ยว

ภู ธ าตุ หมู ่ 12 บ้ า นนกเขี ย น(คุ ้ ม ภู ธ าตุ ) ต� ำ บ ล โ น น กุ ง อ� ำ เ ภ อ ต ร ะ ก า ร พื ช ผ ล จังหวัดอุบลราชธานี วั ด ภู ต าดยาว หมู ่ 12 บ้ า นนกเขี ย น ต� ำ บ ล โ น น กุ ง อ� ำ เ ภ อ ต ร ะ ก า ร พื ช ผ ล จังหวัดอุบลราชธานี

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.

2

.indd 323

323

6/6/2561 15:52:43


W O R K LI F E

บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล

องค์การบริหารส่วนต�ำบลกระเดียน

นายวุฒิชัย อินทร์แก้ว นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลกระเดียน ประวัติความเป็นมา ที่ตั้ง อบต.กระเดียน อยู่ทางทิศตะวันออก ของอ�ำเภอตระการพืชผล ห่างจากตัวอ�ำเภอประมาณ 5 กิโลเมตร และอยูห่ า่ งจากจังหวัด 55 กิโลเมตร เนื้อที่ต�ำบลกระเดียน ประมาณ 42 ตารางกิโลเมตร/ประมาณ 26,250 ไร่ และมีทั้งหมด 9 หมู่บ้าน จ�ำนวนประชากร 4,603 คน ศูนย์เรียนรู้โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ บ้านกระเดียน หมูท่ ี่ 1 ต�ำบลกระเดียนบ้านกระเดียน ตัง้ ขึน้ เมือ่ ประมาณ พ.ศ.2325 มี ก ลุ ่ ม ชาวบ้ า นอพยพมาจากหนองบั ว ล� ำ ภู ม าตั้ ง ถิ่ น ฐาน เดิมมีชื่อว่า“บ้านกระเบียน”(กระด้ง) ต่อมาเรียกผิดเพี้ยนจนกลายเป็น

“กระเดี ย น” และได้ เรี ย กต่ อ มาจนถึ ง ปั จ จุ บั น นี้ ทั้ ง หมด 9 หมู ่ บ ้ า น บ้านกระเดียน เป็นหมูบ่ า้ นเศรษฐกิจพอเพียง แหล่งศึกษาดูงาน โดยได้รบั รางวัล ชนะเลิศหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง อยู่เย็นเป็นสุข ระดับจังหวัด ประจ�ำปี พ.ศ.2555 เข้ า รั บ โล่ ร างวั ล พระราชทานสมเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุมารี เมื่อวันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ.2555

324

.

2

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

.indd 324

5/6/2561 8:57:13


วั ด ราษฎร์ ป ระดิ ษ ฐ์ เป็ น แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย ว ทางวัฒนธรรม ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถานเมื่อ วันที่ 17 ธันวาคม พ.ศ.2544 จากกรมศิลปากร ก่อสร้างเมื่อ พ.ศ.2370 อิฐที่ใช้เป็นอิฐที่เผาจาก ดิ น ในหมู ่ บ ้ า น เป็ น วั ด ที่ ใช้ ใ นการประกอบพิ ธี ทางศาสนาเป็นระยะเวลานานตั้งแต่บรรพบุรุษ จนถึงปัจจุบันนี้ มีโบราณสถาน ที่ส�ำคัญเช่น กุฏิ ลาย โบสถ์ ศาลาการเปรี ย ญ ธรรมมาสน์ เป็นต้น

ศาลาการเปรียญ ใช้ในการแสดงธรรมของพระภิกษุ บริเวณ

ทางเข้าสร้างเป็นรูปสัตว์คล้ายกิเลนสองตัวอยู่ ทั้งสองด้าน ประตูท�ำด้วยไม้เนื้อแข็งขนาดใหญ่ สองบาน

กุฏิลาย

ธรรมมาสน์

เป็ น กุ ฏิ ที่ ส ร้ า งด้ ว ยไม้ เสากุ ฏิ ท� ำ ด้ ว ยไม้ ทั้งต้น จ�ำนวน 12 ต้น จ�ำนวน 2 หลัง หลังคาเดิม มุงด้วยไม้ ด้านหน้ากุฏิ มีการติดกระจกเพื่อให้ เกิดความแวววาวและใช้สีจากธรรมชาติซึ่งยังคง ให้เห็นจนทุกวันนี้

ใช้ ใ นการแสดงธรรมในบุ ญ มหาชาติ ของชาวบ้าน สร้างด้วยไม้ซึ่งฉลุเป็นลวดลายมี ทาสีด้วยสีธรรมชาติ website : www.kradian.go.th โทร/โทรสาร : 045-235166 Facebook : kkradian

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.

2

.indd 325

325

5/6/2561 8:57:29


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดบูรพา (บ้านสะพือ)

พระครูสถิตบูรพาภิวัฒน์ เจ้าอาวาสวัดบูรพา

ประวัติความเป็นมา วัดบูรพา ตั้งอยู่บ้านสะพือ หมู่ที่ 6 และ หมู่ที่ 8 ต�ำบลสะพือ อ�ำเภอตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีเนื้อที่ 13 ไร่ 3 งาน 15 ตารางวาตั้งเมื่อ พ.ศ. 2320 ได้รับพระราชทานวิสุงคามเสมา พ.ศ. 2510 เขตวิสุงคามเสมา 10 x 20 เมตร 326

(

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

)4

.indd 326

6/6/2561 16:02:56


รายนามเจ้าอาวาส 1. พระหงส์ พ.ศ. 2370 – 2390 2. พระพูล พ.ศ. 2390 – 2420 3. พระพิมพ์ พ.ศ. 2420 – 2430 4. พระสุพา พ.ศ. 2430 – 2445 5. พระแก้ว พ.ศ. 2445 – 2460 6. พระลี พ.ศ. 2460 – 2468 7. พระเหลือง พ.ศ. 2469 – 2475 8. พระบัวศรี พ.ศ. 2475 – 2480 9. พระบุญจันทร์ พ.ศ. 2480 – 2485 10. พระครูพิศาลสังฆกิจ พ.ศ. 2492 – 2532 11. พระครูสถิตบูรพาภิวัฒน์ พ.ศ. 2532 – ปัจจุบัน

อาคารเสนาสนะ อุโบสถ 5x13 เมตร ศาลาการเปรียญ 18x40 เมตร กุฏิ จ�ำนวน 3 หลัง โรงเรียนปริยัติธรรมสังฆกิจ สังฆสามัคคี สหประชานุกูล ศาลาเอนกประสงค์ 9x21 เมตร ศูนย์เด็กก่อนเกณฑ์วัดบูรพา

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

(

)4

.indd 327

327

6/6/2561 16:03:11


ประวัติพระครูพิศาลสังฆกิจ พระครูพศิ าลสังฆกิจ (หลวงปูโ่ ทน กนฺตสีโล) เกิดเมือ่ วันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2440 ขึน้ 14 ค�ำ ่ เดื อ นอ้ า ย ปี ร ะกา ที่ บ ้ า นสะพื อ ต.สะพื อ อ.ตระการพืชผล จ.อุบลราชธานี บิดาชื่อ นาย ปุ้ย หิมคุณ มารดาชื่อพิมพา หิมคุณ มีพี่น้อง ร่วมมารดาด้วยกัน 4 คน หลวงปูโ่ ทนเป็นคนที่ 3 บรรพชา เมือ่ วันที่ 14 เมษายน พ.ศ. 2455 เมื่ออายุ 15 ปี ณ วัดสิงหาญ หลวงปู่สีดาเป็น อุปัชฌาย์ อุปสมบท เมื่อวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2461 เมื่ออายุ 20 ปี ณ วัดสิงหาญ หลวงปู่สีดาเป็น อุปัชฌาย์ พระอาจารย์หนู (วัดบ้านตระการ) เป็นพระกรรมวาจารย์ พระอาจารย์ขนั (วัดบ้าน นาพิน) เป็นพระอนุสาวจารย์ การศึกษา ไปอยูเ่ ป็นเด็กวัดสิงหาญ ซึง่ เป็น วัดในบ้านสะพือ วัดบ้านเกิดของหลวงปู่ เมือ่ เข้ามา อยู ่ ใ นวั ด ได้ โ กนผมและได้ เ ข้ า เรี ย นหนั ง สื อ เรียนอักขรวิธี หนังสือไทย ตัวธรรม ตัวขอม ทั้งสามตัวนี้ท่านอ่านเขียนได้ แต่ตัวธรรมและ ตัวไทยที่พออ่านเขียนตัวหนังสือออก ด้านการปกครอง พรรษาที่ 5 พ.ศ. 2465 พระมหาวีรวงศ์ (ติสสะมหาเถระ หรือ ติสโฺ ส อ้วน) (สังฆนายกองค์แรกของประเทศไทย ปัจจุบัน มรณภาพแล้ว) ท่านได้แต่งตั้งให้หลวงปู่โทน เป็นเจ้าอาวาสวัดสิงหาญ พรรษาที่ 9 -10 ได้รบั แต่งตัง้ ให้เป็นครูสอน พรรษาที่ 11-12 ในปี พ.ศ. 2471 ได้ตั้ง โรงเรียนสอนพระปริยัติธรรม พรรษาที่ 14 พ.ศ. 2474 เมื่อหลวงปู่โทน เดินทางกลับจากภูโหล่นมาอยู่วัดสิงหาญ ก็ได้ รับค�ำสั่งของ พระมหาวีรวงศ์ (ติสฺโส อ้วน) ให้

328

(

เข้าไปในจังหวัดอุบลราชธานี เพื่อสอบพระ อุปัชฌาย์ ที่วัดสุปฏนาราม การสอบในสมัยนั้น ยังคงเป็นใช้การสอบแบบถามแล้วตอบ พอ วันรุง่ เช้าเขาก็ประกาศผลการสอบพระอุปชั ฌาย์ ที่มาสอบนี้พระมีทั้งหมด 10 รูป แต่สอบได้ เพียงรูปเดียว คือหลวงปู่โทน ลูกศิษย์คนแรกที่ หลวงปู่บวชให้ คือ นายมั่น อินโสม พรรษาที่ 15 พ.ศ. 2475 ได้รับการแต่งตั้ง ให้เป็นเจ้าคณะต�ำบล พรรษาที่ 24 พ.ศ. 2484-2488 ได้จัดตั้ง

โรงเรียนมัธยมพิศาลวิทยา พรรษาที่ 30 พ.ศ. 2490 ได้รับการแต่งตั้ง ให้เป็นเจ้าอาวาสวัดบูรพา สมณฐานันดรศักดิ์ พรรษาที่ 20 อายุ 40 ปี ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์เป็นพระครูพิศาล สังฆกิจ ชั้นตรี พรรษาที่ 43 อายุ 63 ปี ได้รับ พระราชทานสมณศักดิเ์ ป็นพระครูพศิ าลสังฆกิจ ชัน้ โท พรรษาที่ 62 อายุ 82 ปี ได้รบั พระราชทาน สมณศักดิ์เป็นพระครูพิศาลสังฆกิจ ชั้นเอก

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

)4

.indd 328

6/6/2561 16:03:10


ประวัติเจ้าอาวาส พระครูสถิตบูรพาภิวัฒน์ ชื่อ พระบุญเวียน ฉายา ฐานโต อายุ 55 พรรษา 33 วิทยฐานะ นักธรรมเอก วัดบูรพา บ้านสะพือ ต�ำบลสะพือ อ�ำเภอตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานี สถานะเดิ ม ชื่ อ นายบุ ญ เวี ย น คุ ณ ทา เกิดเมือ่ 24 เมษายน พ.ศ. 2506 บิดาชือ่ นายดี คุณทา มารดาชื่อ นางค�ำพัน คุณทา บ้านเลขที่ 7 หมู่ 8 บ้านม่วงตอย ต�ำบลตระการ อ�ำเภอ ตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานี บรรพชา ปี พ.ศ. 2521 เมื่ออายุ 15 ปี ณ วัดบูรพา บ้านสะพือ ต�ำบลสะพือ อ�ำเภอ ตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานี อุ ป สมบท เมื่ อ อายุ 22 ปี วั น ที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2528 ณ วัดบูรพา บ้านสะพือ ต� ำ บลสะพื อ อ� ำ เภอตระการพื ช ผล จั ง หวั ด อุบลราชธานี พระอุปชั ฌาย์ พระครูพศิ าลสังฆกิจ ณ วัดบูรพา บ้านสะพือ ต�ำบลสะพือ อ�ำเภอ ตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานี พระอนุสาว นาจารย์ พระอธิการทอง สุวณโณ, พระอธิการ บัวสี สุเมโฑ วิทยฐานะ จบการศึ ก ษาระดั บ ประถมศึ ก ษาจาก โรงเรียนบ้านโพนเมือง ต�ำบลตระการ อ�ำเภอ ตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานี เมื่อวันที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2517 จบการศึ ก ษาระดั บมั ธ ยมศึ ก ษาตอนต้ น และตอนปลาย จากการศึกษานอกโรงเรียน อ� ำ เภอตระการพื ช ผล ต� ำ บลขุ ห ลุ อ� ำ เภอ ตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานี เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2540 พ.ศ. 2521 สอบไล่นักธรรมชั้นตรี พ.ศ. 2528 สอบไล่นักธรรมชั้นโท พ.ศ. 2542 สอบไล่นักธรรมชั้นเอก

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

(

)4

.indd 329

329

6/6/2561 16:03:31


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดโพธิ์สระปทุม พระครูวินัยธรฉัตรชัย สุรปญฺโญ เจ้าอาวาสวัดโพธิ์สระปทุม ประวัติความเป็นมา วัดโพธิ์ ตั้งอยู่หมู่ที่ 9 ต�ำบลกุศกร อ�ำเภอ ตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานี ตั้งเมื่อ พ.ศ.2408 สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ที่ดินตั้ง วัดมีเนื้อที่ 5 ไร่ 28 ตารางวา อาคารเสนาสนะ ประกอบด้วยอุโบสถ กว้าง 5 เมตร ยาว 17 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2524 ศาลาการเปรียญ กว้าง 11 เมตร ยาว 21 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2534 และกุฏิสงฆ์ จ�ำนวน 1 หลัง เป็นอาคารไม้ ปูชนียวัตถุ มีพระประธานในอุโบสถ ขนาดหน้าตัก กว้าง 1.20 เมตร และพระประธานในศาลา การเปรียญเนื้อทองขัดเงา ขนาดหน้าตัก กว้าง 1.20 เมตร 330

พระพุทธอุบลบันดาลสุข(หลวงพ่อสมปรารถนา อายุ 350 ปี) วัดสระ ตั้งอยู่หมู่ที่ 9 ต�ำบลกุศกร อ�ำเภอ ตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานี ตัง้ เมือ่ พ.ศ. 2448 สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ที่ดินตั้งวัดมี เนื้อที่ 3 ไร่ 40 ตารางวา อาคารเสนาสนะ ประกอบด้วย กุฏิสงฆ์ จ�ำนวน 1 หลัง เป็น อาคารไม้ และวิหาร กว้าง 12 เมตร ยาว 19 เมตร สร้างเมือ่ พ.ศ. 2520 ปูชนียวัตถุ มีพระประธาน 1 องค์

เมื่อวันที่ 17 มิถุนายน พ.ศ.2548 ได้มี ประกาศจากส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ เรื่องรวมวัดโพธิ์ กับ วัดสระ เพื่อประโยชน์แก่ การท� ำ นุ บ� ำ รุ ง ให้ เ จริ ญ ยิ่ ง ขึ้ น มี น ามว่ า “วั ด โพธิ์ ส ระปทุ ม ” เจ้ า อาวาสรู ป แรก คื อ พระครูโพธิคุณโสภิต (สีบู ถิรสีโล) พ.ศ.25482556 รูปที่ 5 พระครูวินัยธรฉัตรชัย สุรปญฺโญ (ฉัตรชัย อภัย) พ.ศ.2559 ถึงปัจจุบัน

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

2

.indd 330

6/6/2561 16:06:38


พระประธานในอุโบสถ(สิม) “พระพุ ท ธอุ บ ลบั น ดาลสุ ข ” (หลวงพ่ อ สมปรารถนา) เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชยั แกะ สลักด้วยไม้กนั เกรา (ไม้มนั ปลา) ขนาดหน้าตัก กว้าง 1.20 เมตร สูง 2.50 เมตร สร้างขึ้นมา ครั้งแรกตั้งแต่ปีไหนไม่ทราบที่มาแน่ชัด ทราบ จากคนเฒ่าคนแก่ในหมูบ่ า้ นทีเ่ ล่าสืบๆกันมาว่า อายุนา่ จะไม่ตำ�่ กว่า 350 ปี ในปี พ.ศ.2520 ได้ ก่ออิฐถือปูนทับอีกรอบจนกลายเป็นพระพุทธรูป ปูนปั้น ต่อมาในวันที่ 28 เมษายน พ.ศ.2559 ได้ มี ก ารบู ร ณปฏิ สั ง ขรณ์ ใ หม่ เ นื่ อ งการองค์ พระพักตร์ของพระพระพุทธรูปมีการแตกร้าว โดยการลงรักปิดทองใหม่ทั้งองค์ ซึ่งได้รับการ อนุเคราะห์จาก คุณสมพงษ์-คุณอโณทัย บูรณ วัฒนาโชค พร้อมบุตร จากกรุงเทพมหานคร มา เป็นเจ้าภาพ

พระบรมสารีริกธาตุ และพระอรหันตธาตุ

หลวงพ่อประทานพร

หลวงพ่อสัมฤทธิ์

ประวัติพระครูโสภิตพิริยคุณ (หลวงปู่ญา ถ่านฤทธิ์ โสภิโต) พระครู โ สภิ ต พิ ริ ย คุ ณ หรื อ หลวงปู ่ ญ า ท่านฤทธิ์ โสภิโต วัดสระกุศกร อ.ตระการพืชผล จ.อุ บ ลราชธานี ศิ ษ ย์ รุ ่ น สุ ด ท้ า ยที่ ไ ด้ รั บ การ ถ่ายทอดวิชาโดยตรงพระอาจารย์ใหญ่สำ� เร็จลุน หลวงปู ่ ญ าท่ า นฤทธิ์ เ ป็ น ศิ ษ ย์ ร ่ ว มอาจารย์ เดียวกันกับศิษย์ผู้พี่หลวงปู่กัมมัฏฐานแพงและ หลวงปู่ญาท่านตู๋ หลวงปู่ญาท่านฤทธิ์ จึงถือว่า เป็นทัง้ ศิษย์ผนู้ อ้ งและศิษย์ของหลวงปูก่ มั มัฏฐาน แพงและหลวงปูญ ่ าท่านตู๋ หลวงปูญ ่ าท่านฤทธิ์ เกิดเมือ่ วันศุกร์ที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2443 บ้านกุศกร อ.ตระการพืช ผล จ.อุบ ลราชธานี ท่านเป็น สหธรรมของ หลวงปู่ญาท่านโทน กันตสีโล ญาท่านทอง วัดบ้านหัวเรือ หลวงปู่ญาท่านภู วัดบ้านกองโพน หลวงปูบ่ ตุ ร วัดส�ำราญวราราม ถ้านับตามล�ำดับชั้น หลวงปู่ญาท่านฤทธิ์ท่าน เป็นศิษย์ผพู้ ข่ี องญาท่านสวน วัดนาอุดม อ.ตาลสุม หลวงปูญ ่ าท่านฤทธิเ์ ป็นผูส้ บื วิชาสายส�ำเร็จลุน วิชาเอกของท่านคือ “พระโมคคัลลาน์ประสานกาย หรือ หนุมานประสานกระดูก” ขนาดทีว่ า่ แพทย์ ในสมัยก่อนยังบอกให้ไปหาญาท่านฤทธิไ์ ม่งนั้ ก็ ต้องตัดขา และท่านยังเชี่ยวชาญการรักษาคน ช่ ว ยไล่ ผี ใ นสมั ย อดี ต เดิ น ไม่ เ ปี ย กฝนและ ย่อระยะทางเคร่งครัดในสัจจะปฏิญาณ ไม่มอง เหลียวหลัง ไม่เคี้ยวกระดูก ไม่กลับทางเดิม ไม่รอดราวตากผ้าไม่ฉันภัตตาหารในงานศพ มักปรีกวิเวกเข้าป่าฝึกวิชา ผูต้ ดิ ตามจะหาไม่เจอ วัดทีท่ า่ นเคยจ�ำพรรษาอยูค่ อื วัดสระกุศกรหรือ อีกชือ่ หนึง่ คือวัดโพธิส์ ระปทุม ตัง้ อยูท่ ี่ บ้านกุศกร อ.ตระการพืชผล จ.อุบลราชธานี ปัจจุบันศิษย์ ที่ สื บ ทอดวิ ช าของท่ า นที่ ยั ง ด� ำ รงขั น ธ์ อ ยู ่ มี หลวงปู่อ่อง วัดสิงหาญ หลวงปู่ญาท่านฤทธิ์ มรณภาพเมื่อวันที่ วันที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2524 สิริอายุ 80 ปี พรรษา 60

หลวงพ่อองค์แสน

ประวัติเจ้าอาวาส พระครูวนิ ยั ธรฉัตรชัย สุรปญฺโญ (ฉัตรชัย อภัย) การศึกษา - ปริญญาโท Master of Religious Philosophy in Social Change UNIVERSAL MINISTRIES OF THE KING’S COLLEGE Florda United of America ( MA in Social Change ) - จบนักธรรมชั้นเอก ส�ำนักเรียนวัดบ้าน หินโงม ต.ตะบ่าย อ.ศรีเมืองใหม่ จ.อุบลราชธานี

หน้าที่การงานปัจจุบัน ครูสอนประจ�ำที่โรงเรียนปริยัติธรรมศรีสุตา วิทยาวัดบ้านนาขนัน(สว่างอารมณ์) ต.แก้งเหนือ อ.เขมราฐ จ.อุบลราชธานี พระสอนศีลธรรมในโรงเรียนประจ�ำโรงเรียน บ้านกุศกร ต.กุศกร อ.ตระการพืชผล ผู้บริหารศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ในวัดโพธิ์ สระปทุม ผู้อ�ำนวยการศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวัน อาทิตย์ในวัดโพธิ์สระปทุม

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 331

331

6/6/2561 16:06:54


อิ่มอร่อยมะม่วงกวน ฝีมือล้วนปอกล้วยสาน เพลงขอทานประจ�ำถิ่น ศิลปินกระเดื่องแดน”

W O R K LI F E

บันทึกเส้นทางพบเทศบาลต�ำบล

เทศบาลต�ำบลโพธิ์ไทร “สร้างภูมิทัศน์ พัฒนามีส่วนร่วม ผดุงความเป็นธรรม น�ำโพธิ์ ไทรก้าวหน้า มุ่งสู่ประชาคมอาเซียน” คือวิสัยทัศน์ของเทศบาลต�ำบลโพธิ์ไทร

ว่าที่พันตรีจรูญ เจริญสุข นายกเทศมนตรีต�ำบลโพธิ์ไทร

ประวัติความเป็นมา เทศบาลต� ำ บลโพธิ์ ไ ทร เดิ ม เป็ น สุ ข าภิ บ าลโพธิ์ ไ ทร อ� ำ เภอโพธิ์ ไ ทร จังหวัดอุบลราชธานี ได้มีการจัดตั้งขึ้นตามประกาศกระทรวงมหาดไทย และ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 109 ตอนที่ 126 ลงวันที่ 25 กันยายน พ.ศ.2535 ต่อมาได้รบั การเปลีย่ นแปลงฐานะจากสุขาภิบาลโพธิไ์ ทรเป็นเทศบาลต�ำบลโพธิไ์ ทร เมื่ อ วั น ที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ.2542 ตามพระราชบั ญ ญั ติ เ ปลี่ ย นแปลง ฐานะสุขาภิบาลเป็นเทศบาล พ.ศ.2542

ศูนย์การเรียนรู้

332

.

2

ผ้าทอมือลายดอกผักแว่น กลุ่มจักสานโนนทัน โครงการธนาคารขยะรีไซเคิล ชุมชนศรีสว่าง หมู่ 15 การท�ำน�้ำหมักชีวภาพ-EM การท�ำปุ๋ยหมักชีวภาพ การเพาะเห็ดขอนขาว (ถุงพลาสติก ขอนไม้)

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

.indd 332

1/6/2561 14:30:15


ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

งานประเพณีบุญบั้งไฟ

งานการศึ ก ษาปฐมวั ย มี ห น้ า ที่ เ กี่ ย วกั บ การอบรมเลี้ยงดูเด็กเล็กหรือเด็กก่อนวัยอนุบาล ปฐมวั ย (อายุ ร ะหว่ า ง 2 - 3 ปี ) เพื่ อ เตรี ย ม ความพร้อมทางด้านร่างกาย อารมณ์และสังคม ให้กับเด็กเล็กเพื่อเตรียมความพร้อมที่จะเข้ารับ การศึ ก ษาระดั บ อนุ บ าล ปฐมวั ย อบรมเลี้ ย งดู เด็กเล็ก (2-3 ปี) แทนบิดา - มารดาหรือผูป้ กครอง ตลอดจนการส่งเสริมการเรียนรู้พัฒนาเด็กเล็ก และปฏิบตั งิ านทางวิชาการของศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก การพัฒนาตนเองและวิชาชีพประสานความร่วม มื อ ของผู ้ ป กครอง บุ ค คลในชุ ม ชนและหรื อ สถานประกอบการเพื่อร่วมกันพัฒนาเด็กเล็ก

เป็นประเพณีของภาคตะวันออกเฉียงเหนือทีม่ ี มาแต่ช้านาน เป็นภูมิปัญญาท้องถิ่น จนกลายเป็น ประเพณีทดี่ งี ามควรค่าแก่การอนุรกั ษ์และสืบทอด แก่ ลู ก หลานต่ อ ๆ ไป เทศบาลต� ำ บลโพธิ์ ไ ทร ได้เล็งเห็นถึงความส�ำคัญในการอนุรกั ษ์วฒ ั นธรรม และประเพณีทอ้ งถิน่ จึงได้จดั ท�ำโครงการนีข้ นึ้ มา เป็นประจ�ำทุกปีและด�ำเนินงานไปตามประกาศ จังหวัดอุบลราชธานี เรื่อง ก�ำหนดมาตรการแก้ไข ปัญหาการลักลอบเล่นการพนันบั้งไฟ การป้องกัน อุบัติเหตุ และรักษาความสงบเรียบร้อยในงาน ประเพณีบุญบั้งไฟ ประจ�ำปี พ.ศ.2561

ตลาดประชารัฐ เพื่ อ ยกระดั บ รายได้ แ ละขั บ เคลื่ อ นเศรษฐกิ จ ฐานรากและยุ ท ธศาสตร์ ก ารสร้ า งความเข้ ม แข็ ง ทางเศรษฐกิจและสังคมได้อย่างยั่งยืน และเป็นการวางรากฐาน ไทยแลนด์ 4.0 เพื่อดูแลคนไทยทุกคน ให้ก้าวไปพร้อมกันโดยไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง กระทรวงมหาดไทยพิจารณาด�ำเนินการเกี่ยวกับการส่งเสริม ตลาดชุมชน เพื่อให้เกษตรกร ผู้มีรายได้น้อยชุมชน รวมทั้งผู้ประกอบการ ที่เดือดร้อนจากการไม่มี สถานที่ค้าขาย มีพื้นที่ในการค้าขายรวมทั้งเป็นการยกระดับการค้าขายในชุมชน โครงการตลาดประชารัฐบูรณาการ โครงการที่ด�ำเนินการเกี่ยวกับตลาดที่อยู่ในความรับผิดชอบ มุ ่ ง เน้ น การขยายพื้นที่ตลาดที่มีอยู่เดิมและพัฒนาตลาดใหม่ เพิ่มศักยภาพการบริหารจัดการตลาด ให้ผู้ประกอบการ แต่ละกลุ่มประเภทสินค้าในแต่ละระดับมีที่ค้าขายให้แก่เกษตรกร ผู้มีรายได้น้อย ผู้ประกอบการที่เดือดร้อน จากการไม่มีสถานที่ค้าขาย ลงทะเบียนเป็นผู้ประกอบการรายใหม่ จัดสรร ลงพื้นที่ตลาดที่เข้าร่วมโครงการ อันจะน�ำมาซึ่งรายได้เพื่อใช้ในการด�ำรงชีวิตต่อไป

กิ จ กรรมส่ ง เสริ ม ท้ อ งถิ่ น น่ า อยู ่ สู ่ สั ง คม สีเขียวและสิ่งแวดล้อมเมืองยั่งยืน (Local Agenda 21: LA 21 & Green City ; GC) องค์ ก ารสหประชาติ ไ ด้ ส ่ ง ต่ อ แนวคิ ด แก่ ประเทศสมาชิก รวมทั้งประเทศไทย น�ำสู่การ ปฏิบัติโดยล�ำดับและในการประชุม Rio+20 ใน ปีงบประมาณ 2555 ได้เน้นย�้ำให้ประเทศสมาชิก สานต่อและน�ำประเด็นการพัฒนาเศรษฐกิจสีเขียว (Green Economy) เป็นธงน�ำทางในการพัฒนา ประเทศ การสร้างความตระหนักและปลูกจิต ส�ำนึกแก่ประชาชน โดยการส่งเสริมบทบาทภาคี ทุกภาคส่วนในสังคมให้เข้ามามีสว่ นร่วมในการขับ เคลือ่ นชุมชนและท้องถิน่ ของตนเองสูส่ งั คมสีเขียว ที่ ยั่ ง ยื น โดยมุ่งเน้นคนเป็นศูนย์กลางของการ พัฒนาอย่างยั่งยืน UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.

2

.indd 333

333

1/6/2561 14:30:34


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดม่วงสามสิบ พระครูอุบลธรรมวิโรจน์

เจ้าอาวาสวัดม่วงสามสิบ เจ้าคณะต�ำบลหนองเหล่า เขต 9

ประวัติความเป็นมา วัดม่วงสามสิบ สร้างเมื่อ พ.ศ.2309 ตั้งอยู่เลขที่ 17 หมู่ 12 ต�ำบลม่วงสามสิบ อ� ำ เภอม่ ว งสามสิ บ จั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี 34140 ล�ำดับเจ้าอาวาส 1. หลวงพ่อสียา 2. หลวงพ่อตุ๊ 3. หลวงพ่อตุ่ม

334

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

(2

).indd 334

6/6/2561 16:11:22


4. หลวงพ่ อ วจี สุ น ทร (อดี ต เจ้ า คณะ อ�ำเภอม่วงสามสิบ) พ.ศ.2450 - 2516 5. พระครู สุ จิ ต รธรรมาจารย์ (อดี ต เจ้าคณะอ�ำเภอม่วงสามสิบ) พ.ศ.2516 - 2530 6. พระครู ป ริ ยั ต ยานุ สิ ฐ (อดี ต รอง เจ้าคณะอ�ำเภอม่วงสามสิบ) พ.ศ.2531 - 2553 7. พระครูอุบลธรรมวิโรจน์ วิทยฐานะ พม., พธ.บ., นธ.เอก (เจ้ า คณะต� ำ บล หนองเหล่า เขต 9) พ.ศ.2554 - ปัจจุบัน กิจกรรมประจ�ำปี กิ จ กรรมเวี ย นเที ย น วั น มาฆบู ช า วันวิสาขบูชา วันอาสาฬหบูชา วันเข้าพรรษา วันออกพรรษา ประเพณีฮตี 12 ของชาวอีสาน

อาคารเสนาสนะและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ พระอุโบสถ ประดิษฐาน “หลวงพ่อองค์ แสน” ซึง่ หล่อทีว่ ดั พระโรจน์ โดยหลวงพ่อเก่ง และอดีตเจ้าคณะอ�ำเภอ คือ หลวงพ่อพระครู วจีสุนทร (ทอง-ญาณวโร) และชาวอ�ำเภอ ม่วงสามสิบร่วมกันสร้าง วิหารหลวงพ่อพุทธนิมิต ประดิษฐาน หลวงพ่อพุทธนิมิต สร้างสมัยหลวงพ่อพระครู ปริยัตยานุสิฐ (แหว่น ผาสุโก) พร้อมด้วยชาว บ้านม่วงสามสิบ ศาลาหลวงพ่อหยกขาว (หลวงพ่อส�ำเร็จ) สร้างเมื่อ พ.ศ.2559 โดยพระครูอุบลธรรม วิโรจน์ พร้อมด้วยชาวบ้านและผู้มีจิตศรัทธา ร่วมกันสร้าง ด้านการศึกษา โรงเรี ย นพระปริ ยั ติ ธ รรมม่ ว งสามสิ บ วิ ท ยา เป็ น โรงเรี ย นพระปริ ยั ติ ธ รรมแผนก สามัญศึกษาและแผนกธรรม - บาลี แผนก สามัญศึกษา เปิดตั้งแต่ระดับชั้น ม.1 - ม.6 สร้างเมื่อ พ.ศ.2545 โดยหลวงพ่อพระครู ปริยัตยานุสิฐ เป็นประธานการก่อสร้าง ศูนย์ เด็กก่อนเกณฑ์ เริ่มเปิดเมื่อ พ.ศ.2546 ปัจจุบัน

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

(2

).indd 335

335

6/6/2561 16:11:35


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดหนองหลัก วัดหนองหลัก ตั้งอยู่เลขที่ 135 หมู่ที่ 9 บ้ า นหนองหลั ก ต� ำ บลเหลาบก อ� ำ เภอ ม่ ว งสามสิ บ จั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี เดิ ม ชื่ อ “วัดธรรมรังสี” ต่อมาเปลีย่ นเป็น วัดหนองหลัก ตามชื่ อ ของหมู ่ บ ้ า น สั ง กั ด มหานิ ก าย เขตปกครองคณะสงฆ์ ต�ำบลเหล่าบก อ�ำเภอ ม่วงสามสิบ จังหวัดอุบลราชธานี ภาค 10 336

(6

พระครูศรีธรรมวิบูล เจ้าอาวาสวัดหนองหลัก

จากหลักฐาน หนังสือเอกสารการส�ำรวจของ กรมการศาสนา พ.ศ. 2521 วัดหนองหลัก ตั้งประมาณ พ.ศ. 2350 พัทธสีมา พ.ศ. 2380 แ ละ ได ้ รั บ พ ร ะ ร า ช ท า นวิ สุ ง คา มสี ม า พ.ศ. 2550 วั ด หนองหลั ก เป็ น วั ด พั ฒ นาตาม โครงการของกรมศาสนา พ.ศ. 2535 ได้รับ เป็นวัดพัฒนาตัวอย่าง และเจ้าอาวาสได้รับ

สมณศักดิ์ ที่พระครูศรีธรรมวิบูล พ.ศ. 2539 ได้รับการคัดเลือกเป็นวัดพัฒนาดีเด่น

การศึกษาของวัด หลังจากพ่อท่านหลักค�ำ เดินทางกลับ จากไปศึ ก ษาเล่ า เรี ย นที่ น ครเวี ย งจั น ทน์ มาจ�ำพรรษาที่วัด ได้เปิดสอนพระไตรปิฎก คัมภีร์ทั้ง 5 พอสรุปได้ดังนี้

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHAN

).indd 336

6/6/2561 16:20:16


พ.ศ. 2478 เปิดสอนธรรมและบาลีโดยมี พระมหาศรี หวานใจ เป็นครูสอน พ.ศ. 2494 เป็นหน่วยสอบธรรมสนาม หลวง พ.ศ. 2518 เปิดสอยปริยัติธรรม แผนก สามัญศึกษา ระดับ ม.3 - ม.5 พ.ศ. 2520 เปิดศูนย์พุทธศาสนา วันอาทิตย์ พ.ศ. 2520 เปิดโรงเรียนการศึกษาผูใ้ หญ่ ระดับ 3-4 และปิดท�ำการ พ.ศ. 2530 พ.ศ. 2525 เปิดสอนระดับ ม.ปลาย พ.ศ. 2536 โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกธรรมบาลี ได้ยกระดับเป็น โรงเรียน พระปริยตั ธิ รรมแผนกธรรมบาลี ประจ�ำอ�ำเภอ พ.ศ. 2536 เปิ ด ศู น ย์ อ บรมเด็ ก ก่ อ น เกณฑ์ พ.ศ. 2537 เปิดท�ำการเรียนการสอน ภาษาไทย – อีสาน (ตัวธรรม) จนถึงปัจจุบัน พ.ศ. 2539 ได้ยกระดับเป็นโรงเรียน พระปริยตั ธิ รรมแผนกธรรมบาลีประจ�ำจังหวัด

ถาวรวัตถุ มีอุโบสถ ศาลาการเปรียญ ฌาปนสถาน ศาลาบ�ำเพ็ญกุศล ถังประปา หอสมุด หอ ระฆัง โรงครัว อย่างละ 1 หลัง กุฏิตึก 2 ชั้น จ�ำนวน 5 หลัง กุฏิครึ่งตึกครึ่งไม้ จ�ำนวน 3 หลัง กุฏิไม้ชั้นเดียว 1 หลัง ปูชนียวัตถุ พระพุ ท ธรู ป ประธาน ประจ� ำ ศาลา การเปรี ย ญ ซึ่ ง ได้ บ รรจุ พ ระพุ ท ธรู ป อันศักดิ์สิทธิ์คู่วัดมาตลอดไว้ภายใน โดยหลวง พ่อพระครูอรรคธรรมวิจารณ์ ได้น�ำมาบรรจุ ไว้ พ.ศ. 2513 หลวงพ่อพระโพธิญาณเถระ วัดหนองป่าพง ได้น�ำพระเกศามาบรรจุไว้ใน คราวงานวางศิลาฤกษ์ พ.ศ. 2531 ได้ท�ำการ บู ร ณะพระพั ก ตร์ ใ หม่ ใ ห้ ส วยงามขึ้ น โดย พระมงคลกิตติธาดา ได้เมตตาน�ำพระบรม สารี ริ ก ธาตุ ม าบรรจุ ไ ว้ ด ้ ว ย ซึ่ ง ได้ เ ป็ น ที่ ประจั ก ษ์ แ ก่ ผู ้ พ บเห็ น ในคราวบู ร ณะศาลา การเปรียญ พ.ศ. 2534

พระพุทธปฏิมาภรณ์ ด้านหลังอุโบสถ เป็ น ที่ บ รรจุ อั ฐิ เ กจิ อ าจารย์ พ ่ อ ท่ า นบุ ด ดี พ่อท่านเลิศ ทัง้ 2 องค์ เป็นทีพ่ งึ่ เคารพสักการะ ของชาวบ้ า นมาตลอด ปั จ จุ บัน แม้ ง านบุ ญ ประเพณีประจ�ำปี เช่น บุญเบิกบ้าน สงกรานต์ กฐิน ผ้าป่า ฯลฯ จะต้องบอกกล่าวท่านทุกครัง้ พระพุ ท ธรู ป สั ม ฤทธิ์ ศิ ล ปะล้ า นช้ า ง ปางมารวิชัย หน้าตักกว้าง 1 ฟุต สูง 2 ฟุต พระเจ้าอุ่นเมือง พระเจ้ามิ่งเมือง อยู่ใน อุ โ บสถ พระพุ ท ธชิ น ราชเป็ น พระประธาน องค์ใหญ่ในพระอุโบสถ ล�ำดับเจ้าอาวาส 1. พ่อท่านบุดดา 2. พ่อท่านพระครูหลักค�ำ

3. พ่อท่านจันทร์ 4. พ่อท่านเงิน แสนสิงห์ พ.ศ. 2436 2440 5. พ่ อ ท่ า นบุ ด ดี (บุ ด ดี ทิ้ ง ชั่ ว ) พ.ศ. 2440 - 2470 6. พ่อท่านพระครูอรรคธรรมวิจารณ์ (เลิศ ฉนฺโน ศาลาทอง) พ.ศ. 2470 - 2515 7. พ่อท่านพระครูปริยัตยานุสิฐ (แหว่น ผาสุโก กลัวผิด) ป.ธ.5 น.ธ.เอก พ.ศ. 2515 - 2531 8. พ่อท่านพระครูศรีธรรมวิบูล (วิเชียร ญาณเตโช บ�ำรุงชาติ) ป.ธ.6 น.ธ.เอก ปริญญาโท พ.ศ. 2531 - ปัจจุบัน UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

(6

).indd 337

337

6/6/2561 16:20:28


พระครูอรรคธรรมวิจารณ์ (เลิศ ฉนฺโน) (อดีตเจ้าอาวาส องค์ที่ 6) ชาติภูมิ เกิด วันที่ 8 เมษายน พ.ศ.2445 ตรงกับวันอังคารขึ้น 1 ค�่ำ เดือน 5 ปีขาล ที่บ้านหนองหลัก โยมบิดาชื่อนายทัด มารดา ชือ่ นางทา มีพนี่ อ้ งร่วมบิดามารดาเดียวกัน 9 คน การศึกษาเบื้องต้น เรียนที่โรงเรียนวัด หนองหลัก จนจบประถมบริบูรณ์จึงบรรพชา ที่วัดหนองหลัก วันที่ 5 มกราคม พ.ศ.2456 โดยมีพระอุปัชฌาย์บุดดี เป็นพระอุปัชฌาย์ อุปสมบท วันที่ 21 เมษายน พ.ศ. 2465 อายุ ไ ด้ 21 ปี มี พ ระอุ ป ั ช ฌาย์ บุ ด ดี เป็ น พระอุปชั ฌาย์พระอยู่ เป็นพระกรรมวาจาจารย์ พระทึ ง เป็ น พระอนุ ส าวนาจารย์ เ มื่ อ อุปสมบทแล้วได้เรียนและเข้าสอบ น.ธ.ตรี สอบได้ในปีนี้ จากนั้นท่านไม่เข้าสอบอีกเลย

พระครูปริยัตยานุสิฐ (อดีตเจ้าอาวาส องค์ที่ 7) ชาติภมู ิ เกิดวันที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ.2583 ที่ บ ้ า นสงยาง ต.เหล่ า บก อ.ม่ ว งสามสิ บ จ.อุบลราชธานี นามบิดา สม นามมารดา เขื่อง นามสกุล กลัวผิด บรรพชา วันที่ 6 ธั น วาคม พ.ศ.2500 พระครู อ รรคธรรม วิจารณ์ เป็นพระอุปัชฌาย์ อุ ป สมบท วั น ที่ 9 มิ ถุ น ายน 2503 พระครูอรรคธรรมวิจารณ์ เป็นพระอุปัชฌาย์ พระอธิการจ�ำปา สิริปญฺโญ วัดหนองขุ่น เป็น พระกรรมวาจาจารย์ พระชื่น ปสุโต วัดสงยาง เป็นพระอนุสาวนาจารย์ 338

(6

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHAN

).indd 338

6/6/2561 16:20:39


UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

(6

).indd 339

339

6/6/2561 16:20:46


Wat Nong Luang Sri Thum Wiboon; The senior reverend The abbot of Wat Nong Luang

History Wat Nong Luang was located at 135, Moo 1, Ban Nong Luang, Lao Bok subdistrict, Muang Sam Sip district, and Ubon Ratchathani province. The original name is Wat Thum Rung Sri and then change to Wat Nong Luang by following to the village name. This temple belongs to Maha Nikaya and the ecclesiastical department of Lao Bok subdistrict, Muang Sam Sip district, Ubon Ratchathani section 10. According to the explore book of Religious Affairs Department (1978) report that Wat Nong Luang was found at 1807, consecrated precinct of a temple at 1837 and received royal granting of the land to a particular temple by announcing in royal decree at 2007. Wat Nong Luang was the temple that followed the development of temple project from the Religious Affairs Department and was chosen as the Outstanding developmental measurement temple. Shrine The principle Buddha image of sermon hall in a monastery that keep the sacred statue of Buddha by Auka Thum Wijan. At 1970, Luang Por Phra Poh Thi yan Te Ra, Wat Parphong brought the Buddha’s hair and keep in the statue of Buddha on foundation stone laying ceremony. At 1988, Phra Mongkol Kittithadah was benevolent to give the Buddha’s relics too. That was 340

(6

realize to spectator over a period of reconstruction of the sermon hall in a monastery at 1991. Image of Buddha behind the chapel was the store-place of bones and ashes both of Phra Buddee and Phra Lert that has been worshipped for long time even if the spectator would better be off after religious ceremony of the year has done.

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHAN

).indd 340

6/6/2561 16:20:55


The bronze statue of Buddha is the art from Lan Xang, it was the attitude of subduing Mara and has sitting cross-legs with 1x2 foots. There are the Oon Mueang and Mingkhwan statue in the chapel and has Buddhachinaraj statue as the principal Buddha image.

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

(6

).indd 341

341

6/6/2561 16:21:00


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดพระโรจน์ พระครูศรีปัญญาภิวัฒน์ เจ้าอาวาสวัดพระโรจน์

ประวัติความเป็นมา วัดพระโรจน์ ตั้งอยู่เลขที่ 162 หมู่ที่ 5 บ้านพระโรจน์ ต.หนองช้างใหญ่ อ.ม่วงสามสิบ จ.อบุ ลราชธานี มีเนือ้ ที่ 22 ไร่ 1 งาน 60 ตารางวา ชาวบ้ า นถวายที่ ดิ น พร้ อ มกั บ ทางวั ด ซื้ อ เพิ่ ม มีโฉนดทีด่ นิ น.ส.3 ก. เลขที่ 1838 ประมาณปี พ.ศ.2235 ชือ่ ว่า “วัดโพธิศ์ รีสพุ รรณรัตนาราม” ส่วนบ้าน ชือ่ ว่า บ้านศรีโพธิช์ ยั เพราะว่าหมูบ่ า้ น มีต้นโพธิ์หลายต้น ต่อมาเปลี่ยนชื่อใหม่ เป็น “วัดพระโรจน์” และบ้านพระโรจน์ เมือ่ วันที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2355 ได้รับพระราชทาน วิสงุ คามสีมาอุโบสถหลังเก่า สิง่ ปลูกสร้างอาคารเสนาสนะประกอบด้วย อุโบสถเก่า กว้าง 7 เมตร ยาว 13 เมตร สร้าง เมือ่ พ.ศ. 2460 ศาลาการเปรียญ 1 หลัง กว้าง 13 เมตร ยาว 24 เมตร สร้างเมือ่ พ.ศ. 2532 กุฏสิ งฆ์ 3 หลัง โรงเรียนปริยตั ิ 1 หลัง หอระฆัง 1 หอ โรงครัวเอนกประสงค์ 1 หลัง ห้องน�ำ ้ 2 แห่ง ด้านทิศตะวันตก 1 แห่ง 4 ห้อง ทิศตะวันออก 1 แห่ง 6 ห้อง เมรุเผาศพ 1 หลัง ประตูโขง หน้าวัด 1 หลัง

342

2

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

.indd 342

6/6/2561 16:27:45


ล�ำดับเจ้าอาวาส 1. พ่อท่านจ�ำปา 2. พ่อท่านอ่อน (ภายหลังได้พาลูกหลาน ชาวบ้ า นพระโรจน์ อ พยพไปอยู ่ บ ้ า นม่ ว งไข่ อ�ำเภอพังโคน จังหวัดสกลนคร) 3. พ่อท่านสังข์ ลักธิวรรณ (พระอุปชั ฌาย์สงั ข์) 4. พ่อท่านเก่ง (พระครูคณ ุ สัมปันมุนี (เก่ง ถาวโร (พวงธรรม) 5. พ่อท่านผุย (พระครูวิบูลย์วุฒิกร (ผุย จนฺโชโต (บุญจันทร์) 6. พ่อท่านสิทธิ์ (พระครูจันทปัญโญภาส (ประสิทธิ์ จันทปญโต (โอภากุล) 7. พระมหาทองค�ำ (พระครูศรีปัญญาภิ วัฒน์) เจ้าอาวาสรูปปัจจุบนั

ประวัติเจ้าอาวาส พระครูศรีปญ ั ญาภิวฒ ั น์ ฉายา ปญฺญาทีโป อายุ 85 ปี พรรษา 64 น.ธ.เอก ป.ธ.6 พธ.บ. วัดพระโรจน์ บ้านพระโรจน์ ต�ำบลหนองช้างใหญ่ อ�ำเภอม่วงสามสิบ จังหวัดอุบลราชธานี สถานะเดิม ทองค�ำ มั่นจิตต์ เกิดปีระกา วันที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 บิดา นายค�ำดี มารดา นางเต้ มั่ น จิ ต ต์ บ้ า นเลขที่ 107 บ้านพระโรจน์ ต�ำบลหนองช้างใหญ่ อ�ำเภอ ม่วงสามสิบ จังหวัดอุบลราชธานี

บรรพชา วันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2495 ณ วัดพระโรจน์ ต�ำบลหนองช้างใหญ่ อ�ำเภอ ม่วงสามสิบ จังหวัดอุบลราชธานี พระอุปชั ฌาย์ พระครูสมั บันมุนี วัดพระโรจน์ ต�ำบลหนองช้าง ใหญ่ อ�ำเภอม่วงสามสิบ จังหวัดอุบลราชธานี อุปสมบท วันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2497 ณ พัทธสีมาวัดเวฬุวัน ต�ำบลไผ่ใหญ่ อ�ำเภอ ม่วงสามสิบ จังหวัดอุบลราชธานี พระอุปชั ฌาย์ พระครูวจีสนุ ทร วัดม่วงสามสิบ เจ้าคณะอ�ำเภอ ม่วงสามสิบ พระกรรมวาจาจารย์ เจ้าคณะหมวดอ่อน วัดม่วงสามสิบ พระอนุสาวนาจารย์ พระใบฎีกา บุญมี วัดม่วงสามสิบ วิทยฐานะ พ.ศ. 2487 จบชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 4 จาก โรงเรียนบ้านพระโรจน์ ต�ำบลหนองช้างใหญ่ อ�ำเภอม่วงสามสิบ จังหวัดอุบลราชธานี พ.ศ. 2497 สอบได้ น.ธ.เอก ส�ำนักเรียน วัดเวฬุวัน ต�ำบลไผ่ใหญ่ อ�ำเภอม่วงสามสิบ จังหวัดอุบลราชธานี พ.ศ. 2508 ได้ ป.ธ.6 ส�ำนักเรียนวัดเวฬุวนั ต� ำ บลไผ่ ใ หญ่ อ� ำ เภอม่ ว งสามสิ บ จั ง หวั ด อุบลราชธานี พ.ศ. 2546 จบการศึ ก ษาปริ ญ ญาตรี พุทธศาสบัณฑิต (พธ.บ.) จากมหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

6 ธันวาคม พ.ศ.2517 ได้รับแต่งตั้งเป็น ผูช้ ว่ ยเจ้าอาวาสวัดนครป่าบาก เขตตลิง่ ชัน กทม. สมณศักดิ์ พ.ศ. 2534 ได้รบพระราชทาน สมณศักดิ์ เป็นพระครูสญ ั ญาบัตร เจ้าอาวาสวัดราษฎร์ชนั้ เอกที่ พระครูศรีปญ ั ญาภิวฒ ั น์

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 343

343

6/6/2561 16:27:59


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดศรีสุพนอาราม พระฉลอง ธัมมิโก

เจ้าอาวาสวัดศรีสุพนอาราม

ประวัติความเป็นมา บ้ า นหนองช้ า งน้ อ ย ต. หนองช้ า งใหญ่ อ. ม่วงสามสิบ จ. อุบลราชธานี ได้ก่อตั้งหมู่บ้าน ขึน้ ในปี พ.ศ.2465 โดยได้แยกตัวออกมาจากบ้าน หนองช้างใหญ่ เนื่องจากอยู่ไกลที่ท�ำมาหากิน หลังจากตั้งหมู่บ้านเสร็จ จึงก่อตั้งวัดขึ้น ในอดีต บริ เวณนี้ เ คยเป็ น ที่ อ าศั ย ของชาวข่ า และขอม โบราณ เนือ่ งจากมีหมูบ่ า้ นร้างของชาวข่าและขอม กระจายอยูโ่ ดยทัว่ ไป เช่น ดงบ้านกรุง ดงบ้านสังข์ ดงบ้านทม ดงบ้านแขม ต่อมาชาวลาวที่อพยพมา พร้อมกับการตัง้ เมืองอุบลราชธานี ได้เข้ามาอาศัย อยู ่ แ ทน และได้ ขุ ด พบข้ า วของเครื่ อ งใช้ ข อง ชาวขอมโบราณ มากมาย เช่น ไห 4 หู พระพุทธ รูปโบราณ

344

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

(2

.indd 344

6/6/2561 16:31:42


เรือโบราณ เจ้าแม่ตะเคียนทอง อายุ 200 ปี เรือโบราณล�ำนี้ น่าจะเป็นเรือทีใ่ ช้ขนส่งสินค้า ไปมาระหว่างล�ำเซบกตามบ้านเมืองต่างๆ จนกระทัง้ ถึงเมืองอุบลราชธานี หรือใช้ในการเดินทางไป มาระหว่างเมืองต่างๆ หมู่บ้านต่างๆทั้งขาขึ้นและ ขาล่ อ ง การขุ ด ข้ น พบเรื อ โบราณนี้ จึ ง เป็ น เกียรติประวัติอย่างยิ่งที่ท�ำให้อนุชนรุ่นหลังได้ ทราบประวั ติ ค วามเป็ น มาของบรรพบุ รุ ษ ของ ตนเอง และวิถีชีวิตของคนในสมัยโบราณ สมัย สร้างบ้านแปลงเมือง เรือโบราณจึงถูกน�ำมาเก็บ และจั ด แสดงไว้ ที่ พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ วั ด ศรี สุ พ นอาราม บ.หนองช้างน้อย ต. หนองช้างใหญ่ อ.ม่วงสามสิบ จ. อุบลราชธานี ให้อนุชนรุ่นหลังได้ศึกษาต่อไป และมีประชาชนทัว่ สารทิศ เดินทางมาเยีย่ มชมเรือ โบราณอย่างมากมายและต่อเนื่องมาโดยตลอด

พิพิธภัณฑ์วัดศรีสุพนอาราม

ประวัติพระฉลอง ธัมมิโก

พระอาจารย์ฉลอง ธมฺมโิ ก เจ้าอาวาสวัดศรีสพุ น อาราม มีบรรพบุรุษอาศัยอยู่ในหมู่บ้านนี้ เห็น ความส�ำคัญ จึงจัดหาทุนทรัพย์ร่วมกับลูกหลาน และชาวบ้าน ในการจัดตั้งพิพิธภัณฑ์ เพื่อเป็นที่ เก็บรวบรวมวัตถุโบราณต่างๆมากมาย จนส�ำเร็จ เรียบร้อย พิพิธภัณฑ์พื้นบ้านวัดศรีสุพนอาราม จึงถือเป็นพิพธิ ภัณฑ์พนื้ บ้านแห่งแรกของชาวบ้าน หนองช้ า งน้ อ ย ต� ำ บลหนองช้ า งใหญ่ อ� ำ เภอ ม่วงสามสิบ เป็นเกียรติประวัติอย่างยิ่งของคนใน ท้องถิน่ ทีไ่ ด้แสดงออกถึงการอนุรกั ษ์ และสืบทอด วั ฒ นธรรมของบรรพบุ รุ ษ และแสดงออกถึ ง ความกตัญญูต่อบรรพชนเป็นอย่างยิ่ง

พระฉลอง ธมฺมิโก เดิมชื่อ ฉลองภูมิภาค เกิดเมื่อ พ.ศ.2500 ที่บ้านหนองช้างน้อยแล้วย้าย ภูมิล�ำเนาไปเติบโตและเรียนหนังสือที่อื่น จากนั้น เข้าสู่ร่มกาสาวพักตร์ เมื่อ พ.ศ. 2525 ได้รับฉายา ว่า ฉลอง ธมฺมิโก ที่วัดต�ำแย ต�ำบลไร่น้อย อ�ำเภอ เมือง จังหวัดอุบลราชธานี ศึกษาทางธรรมจนส�ำเร็จนักธรรมชัน้ เอก พ.ศ. 2527 จน พ.ศ.2551 จึงกลับมาสังกัดวัดศรีสุพน อารามทีบ่ า้ นเกิด และได้รเิ ริม่ สร้างพิพธิ ภัณฑ์ พืน้ บ้ า นขึ้ น จนมี ชื่ อ เสี ย งและเป็ น แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย ว ส�ำคัญของอ�ำเภอม่วงสามสิบ และได้พระราชทาน เข็มเชิดชูเกียรติจาก สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ

สยามบรมราชกุมารี เมื่อวันที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2554 ซึ่งถือเป็นเกียรติสูงสุดส�ำหรับนักอนุรักษ์ ท่านเป็นนักอนุรักษ์มาตั้งแต่ครั้งที่อยู่วัดต�ำแย ซึ่งเป็นผู้รวบรวมและเก็บรักษาวัตถุโบราณที่พบ ในบ้านก้านเหลือง และได้บริจาคเข้าพิพิธภัณฑ์ สถานแห่งชาติอบุ ลราชธานี โดยได้รบั การประกาศ เกียรติคณ ุ จากอธิบดีกรมศิลปากร เมือ่ พ.ศ. 2532 UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

(2

.indd 345

345

6/6/2561 16:31:58


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดหนองขุ่น พระครูจารุปริยัติการ เจ้าอาวาสวัดหนองขุ่น ประวัติความเป็นมา วัดหนองขุ่น ตั้งอยู่ เลขที่ 191 หมู่ 11 ต.ยางโยภาพ อ.ม่วงสามสิบ จ.อุบลราชธานี เนือ้ ทีบ่ ริเวณวัดมีเนือ้ ทีท่ งั้ หมด 6 ไร่ 3 งาน 20 ตารางวาเมื่ อ ประมาณ จ.ศ.1188 (จ.ศ. 1188+1181= พ.ศ.2369) เจ้าอนุวงศ์แห่ง เวียงจันทน์ ยกทัพไปตีเมืองโคราชให้เจ้าโย้ (เจ้าขีห้ นอน) ยกมาตีเมืองอุบลฯ เมือ่ ยึดได้แล้ว เจ้าโย้ได้ยกทัพเคลื่อนมาพักอยู่ ณ ทิศตะวัน ออกของชุมชนบ้านนาค�ำ เกิดการสูร้ บกัน ทางฝ่าย บ้านนาค�ำพ่ายแพ้ จึงหนีกระจัดกระจายไป สันนิษฐานว่าทางพระเถระวัดนาค�ำ ได้พาลูกศิษย์ ย้ายหนีไปด้วย พร้อมกับญาติโยมลูกหลาน และ ไปตั้งวัดอยู่ใกล้ๆ หนองแวง (หนองน�้ำอยู่ติด ถนนชยางกูร หน้าวัดหนองขุ่นปัจจุบัน) ส่วน 346

2

ประชาชนไปตั้งบ้านเรือนอยู่ใกล้ๆ หนองขุ่น พระเถระรูปนั้นมีนามว่า “ญาท่านสังฆะราช” เป็นผูค้ ณ ุ ธรรมสูง เป็นทีพ่ งึ่ ทางใจของลูกหลาน ญาท่ า นสั ง ฆะราช ได้ ชั ก ชวนพระเณรและ ญาติโยม ท�ำการหล่อพระรูปโลหะ (ทองผสม) ขึน้ องค์หนึง่ และได้จารึกทีฐ่ านพระพุทธรูป เป็น อักษรพื้นเมือง ไว้ว่า “เมือ่ พระพุทธศักราชล่วงได้ 2425 พรรษา กับ 8 เดือน 8 วันตรงกับวันแรม 9 ค�่ำ เดือน เจียม ปีมะแม ได้รว่ มกันหล่อพระพุทธรูปไว้กบั พระพุทธศาสนา เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย ขนาดหน้าตักกว้าง 1 ฟุต สูง 2 ฟุต 5 นิ้ว หนัก ได้ 21 กิโลกรัม (หมื่นเก้าชั่ง)” จึงเป็นหลักฐาน ชิ้นส�ำคัญให้ได้รู้เรื่องราวความเป็นมา หลวงพ่อท่านพระครูอรรคธรรมวิจารณ์ วัดหนองหลัก ได้เล่าตามที่ได้ฟังมาจากครูบา อาจารย์สืบต่อกันมา ประมาณ พ.ศ.2325 ญาท่านสังฆะราช เป็นผูน้ ำ� ในการสร้างวัดขึน้ มา จนกระทัง่ ถึง พ.ศ.2425 จึงได้ทำ� พิธเี ททองหล่อ พระพุทธรูปไว้ที่วัดหนองขุ่น

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

.indd 346

1/6/2561 11:24:01


โรงเรียนพระปริยัติธรรมหนองขุ่นวิทยา วัดหนองขุ่น อ.ม่วงสามสิบ จ.อุบลราชธานี ภารกิจ ให้โอกาสทางการศึกษา ร่วมน�ำพา ความเจริญให้สังคม

ผลงานและรางวัลเกียรติยศที่ได้รับ พ.ศ. 2550 พระครูจารุปริยตั กิ าร ผูอ้ ำ� นวย การโรงเรี ย นหนองขุ ่ น วิ ท ยา รั บ พระบรม สารีริกธาตุ จากสมเด็จพระสังฆราชฯ พ.ศ. 2552 พระครูจารุปริยตั กิ าร ผูอ้ ำ� นวย การโรงเรี ย นหนองขุ ่ น วิ ท ยา ได้ รั บ รางวั ล พระราชทานเสาเสมาธรรมจักร จากสมเด็จ พระเทพพระรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี ในฐานะผูบ้ ำ� เพ็ญประโยชน์ตอ่ พระพุทธศาสนา สาขาการจัดการศึกษาพระปริยัติธรรม แผนก สามัญศึกษา พ.ศ. 2553 พระครูจารุปริยตั กิ าร ผูอ้ ำ� นวย การโรงเรียนหนองขุ่นวิทยารับโล่รางวัลพุทธ คุณูปการ ประเภท รัชตเกียรติคุณ ในฐานะ ผูเ้ พียบพร้อมด้วยศีลาจารวัตรอันดีงาม มีความ ตัง้ ใจเสียสละ ทุม่ เท และ อุทศิ ตนเพือ่ พระพุทธ ศาสนาเป็นเวลายาวนาน อันก่อให้เกิดคุณปู การ ต่อพระพุทธศาสนา และประเทศชาติเป็นที่ ประจักษ์ จากคณะกรรมาธิการศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรม สภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2554 ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่ง ชาติ โดย พระพรหมวชิรญาน กรรมการมหา เถรสมาคมมอบรางวัล “ผู้ท�ำคุณประโยชน์ทาง ด้านการศึกษา” โครงการยกย่องเชิดชูเกียรติครู และบุคลากรทางการศึกษา ประจ�ำปีการศึกษา 2553 แด่ พระครูจารุปริยัติการ เจ้าอาวาสวัด หนองขุน่ ผูอ้ ำ� นวยการโรงเรียนพระปริยตั ธิ รรม หนองขุ่นวิทยา พ.ศ. 2554 ได้รบั เกียรติบตั รจากส�ำนักงาน คณะกรรมการส่ ง เสริ ม สวั ส ดิ ก าร และ สวั ส ดิ ภ าพครู แ ละบุ ค ลากรทางการศึ ก ษา (สกสคฺ.) กระทรวงศึกษาธิการ ในฐานะผู้ได้รับ การยกย่องเชิดชูเกียรติ เป็นผู้ท�ำคุณประโยชน์ ทางด้านการศึกษา เป็นแบบอย่างที่ดีในด้าน การด� ำ รงตน พั ฒนาตน อุ ทิ ศ ตน เสี ย สละ อดทน ในการปฏิบัติหน้าที่และพัฒนาคุณภาพ ชีวิตให้ดีขึ้น เป็นที่ประจักษ์ต่อสาธารณชน พ.ศ. 2560 ได้รับรางวัลผู้มีผลงานดีเด่น สาขาพระสงฆ์ ของมู ล นิ ธิ ส มาน-คุ ณ หญิ ง เบญจา แสงมลิ จากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุ ดาฯ สยามบรมราชกุมารี ณ พระราชวังสวน จิตรลดา UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 347

347

1/6/2561 11:24:27


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดหนองสองห้อง พระครูวิบูลปุญญาภรณ์ เจ้าอาวาสวัดหนองสองห้อง เจ้าคณะต�ำบลยางโยภาพ เขต 1

348

ประวัติความเป็นมา วั ด หนองสองห้ อ ง ตั้ ง อยู ่ ที่ หมู ่ บ ้ า น หนองสองห้ อ ง หมู ่ ที่ 5 ต.ยางโยภาพ อ.ม่วงสามสิบ จ.อุบลราชธานี ตัง้ เมือ่ ประมาณปี พ.ศ. 2376 ได้รับวิสุงคามสีมา ในปี พ.ศ. 2470 เดิมชือ่ “วัดบ้านหนองสอง” มีเนือ้ ที่ 4 ไร่ 3 งาน 4 ตารางวา เป็นวัดบ้านเกิดของ ท่านพ่อลี ธมฺมธโร อดี ต เจ้ า อาวาสวั ด อโศการาม ต.ท้ า ยบ้ า น อ.ปากน�้ำ จ.สมุทรปราการ ปัจจุบนั อยูใ่ นเขตของหมูท่ ี่ 10 ต.ยางโยภาพ เพราะหมู ่ บ ้ า นหนองสองห้ อ ง แบ่ ง เขตการ ปกครองออกเป็ น 2 หมู ่ บ ้ า น (วั ด บ้ า น หนองสองห้อง) ตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2482 ต่อมา

โรงเรียนได้ยา้ ยออกไปตัง้ อยูข่ า้ งวัดทางทิศใต้ ใน ปี พ.ศ. 2489 มี พ ระครู วิ บู ล ปุ ญ ญาภรณ์ (ไพบูลย์ ปิยธมฺโม) เจ้าคณะต�ำบลยางโยภาพ เขต 1 เป็นเจ้าอาวาสวัดในปัจจุบัน วัดหนองสองห้อง มีการพัฒนามาตามล�ำดับ ตามแรงศรัทธาของชาวบ้านในชุมชน และจาก ผู ้ มี จิ ต ศ รั ท ธ า ท า ง ภ า ย น อ ก ใ น ก า ร บูรณปฏิสังขรณ์ ทั้งเสนาสนะและสถานที่ใน ปั จ จุ บั น นี้ มี ก ารจั ด ลานวั ด เป็ น พื้ น คอนกรี ต ปลูกต้นไม้ร่มรื่น สะอาดดีเป็นที่เลื่อมใสศรัทธา ของพุทธสาสนิกชนทั่วไป

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

(2

).indd 348

6/6/2561 16:34:54


พระครูวิบูลปุญญาภรณ์ เจ้าอาวาสวัดหนองสองห้อง

เสนาสนะภายในวัด อุโบสถ 1 หลัง ศาลาการเปรียญ 1 หลัง วิหารประดิษฐานรูปเหมือนบูรพาจารย์ 1 หลัง ศาลาไม้ทรงไทยเอกประสงค์ 1 หลัง ศาลาโครงเหล็กหลังคาโค้ง 1 หลัง กุฏิ 4 หลัง หอระฆัง 1 หลัง โรงครัว 1 หลัง เมรุ 1 แห่ง ห้องน�้ำห้องสุขา 5 แห่ง ศาลาพักผ่อน 4 แห่ง

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

(2

).indd 349

349

6/6/2561 16:35:05


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วั(บ้าดนโพนเมื บูรองมะทั พาน) พระอธิการพิเชษฐ์ ธมฺมธโร เจ้าอาวาสวัดบูรพา

วัดบูรพา

ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นโพนเมืองมะทัน ต�ำบลหนองเหล่า อ�ำเภอม่วงสามสิบ จังหวัด อุบลราชธานี ก่อตัง้ เมือ่ ปี พ.ศ. 2400 ณ เลขทีด่ นิ 79 ขึ้นส�ำนักทะเบียน 107 หมู่ 6 โดยมีที่ดิน ทัง้ หมด 9 ไร่ 2 งาน 60 ตารางวา จากการบอก เล่ า จากชาวบ้ า นและศึ ก ษาเรื่ อ งราวในอดี ต การก่อสร้างวัดบูรพานัน้ อยูร่ ะหว่างการขึน้ ครอง ราชย์ของรัชกาลที่ 5 ในปี พ.ศ. 2400 หรือ ค.ศ. 1857 กล่าวกันว่าหลวงปู่ค�ำขาวและชาวบ้าน ร่วมกันก่อตั้งวัด โดยตั้งชื่อว่า “ใหญ่” ต่อมา เปลี่ยนเป็น “บูรพา” ตามที่ชาวบ้านเรียก และ ก่อสร้างเสนาสนะที่อยู่ของพระสงฆ์ตามล�ำดับ โดยมีการก่อสร้างศาลาการเปรียญ หอฉัน ทีอ่ ยู่ ของพระสงฆ์และสามเณร ตามก�ำลังศรัทธาของ ญาติโยมในหมู่บ้านในสมัยนั้น รวมถึงการสร้าง อุ โ บสถ แต่ ป ั จ จุ บั น ได้ พั ง ทลายลงหมดแล้ ว ต่อมาหลวงปู่ค�ำขาว เป็นเจ้าอาวาสวัด แล้วได้ ร่วมกับศรัทธาญาติโยมสร้างพระพุทธรูปขึ้นมา สององค์ เป็นพระพุทธรูปที่ท�ำมาจากเงินแท้ๆ ซึ่งเป็นเงินพดด้วงแท้ทั้งหมดถึง 9 ชั่ง แล้วเพื่อ ไว้เป็นที่กราบไหว้บูชา และเป็นที่เคารพของ คนในหมูบ่ า้ นและชุมชน ซึง่ มีความศักดิส์ ทิ ธิท์ าง ด้านอ�ำนวยเงินทอง ท�ำมาค้าขึ้นโดยตั้งชื่อว่า “พระเงินมิ่งเมือง”

350

(

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

) (2

).indd 350

1/6/2561 11:37:21


ต่อมาพระพุทธรูปองค์หนึ่งได้ถูกขโมยไป เหลือเพียงองค์เดียว ชาวบ้านและพระสงฆ์จึง ท�ำการรักษาไว้เป็นอย่างดี ไม่ได้น�ำออกมาให้ ชาวบ้านกราบไหว้บชู าเหมือนแต่กอ่ น จะมีเพียง ปีละครัง้ คือ ในช่วงวันสงกรานต์เท่านัน้ ทีจ่ ะให้ ชาวบ้านได้กราบไหว้ โดยเจ้าอาวาสในแต่ละยุค แต่ละสมัยสืบต่อกันมาจนถึงปัจจุบัน เล่าขานกันว่า พระพุทธรูปองค์นี้ที่มีความ ศักดิ์สิทธิ์มาก โดยเฉพาะทางด้านอ�ำนวยเงิน ทองท�ำมาค้าขาย ว่ากันว่าถ้าลูกหลานคนไหน จะไปท�ำมาค้าขาย มากราบไหว้อธิษฐานบุญ บารมี แ ล้ ว มี เ งิ น ทองใช้ ไ ม่ ข าดมื อ เลยที่ เ ดี ย ว มาขอพรหลวงพ่อเจ้าเงินมิ่งเมือง แล้วส�ำเร็จ ทุ ก ราย ปั จ จุ บั น ทางวั ด ได้ อั ญ เชิ ญ พระบรม สารีรกิ ธาตุมาประดิษฐานไว้ คือ พระหฤทัยและ พระมังสะ จากประเทศศรีลังกา เมื่อวันที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2554 โดยพันเอกภัทราวุฒิ ชุณหะวัณ จึงเป็นมิตรหมายที่ดีของญาติโยมทั้ง หลายจะได้มากราบไหว้บูชาทั้งหลวงพ่อเงินมิ่ง เมือง และพระบรมสารีรกิ ธาตุ เพือ่ เป็นสิรมิ งคล แก่ชีวิต และร่วมกันพัฒนาพุทธศาสนาร่วมกัน ต่อไป รายนามเจ้าอาวาส 1. พระค�ำขาว (หลวงปู่ค�ำขาว) พ.ศ. 2400 - 2449 2. พระชม พ.ศ. 2450 - 2465 3. พระอาจารย์มี พ.ศ. 2466 - 2479 4. พระโสภา ตนฺติปาโร (หลวงปู่โสภา) พ.ศ. 2480 - 2497 5. พระนุม พ.ศ. 2498 - 2510 6. พระโสภา ตนฺติปาโร (หลวงโสภา) พ.ศ. 2511 - 2532 7. พระสุนทร พ.ศ. 2532 - 2534 8. พระมหาสิงห์ (ป.) (หลวงปู่มหาสิงห์) พ.ศ. 2534 - 2536 9. พระพรหมมา (หลวงปู่พรหมมา) พ.ศ. 2537 - 2538 10. พระณรงค์ กนฺลยาโณ พ.ศ. 2541 - 2543 11. พระปู่พันธ์ พ.ศ. 2545 - 2549 12. พระอธิการพิเชษฐ์ ธมฺมธโร พ.ศ. 2559 - ปัจจุบัน

หลวงพ่อเงิน

ปูชนียวัตถุ พระศรีอริยเมตไตรย เป็นพระประธานประจ�ำอุโบสถวัดบูรพา เป็นพระประธานสร้างด้วยทอง ส�ำริดทัง้ องค์และลงรักปิดทองด้วยทองค�ำแท้ทงั้ องค์ เป็นพระพุทธรูปปางมหาจักรพรรดิ มีขนาดหน้า ตัก 2.09 เมตร สูง 3.59 เมตร สร้างถวายโดย คุณจิตรลดา ทาระกาล ในวันที่ 16 เมษายน พ.ศ. 2556 วันอังคารขึ้น 6 ค�่ำ ปีมะเส็ง เป็นวันเททองหล่อองค์พระพุทธรูป ใบเสมาศิลาแรง เป็นใบเสมาในยุคทราวดี ต้นพระศรีมหาโพธิ์ 400 ปี UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

(

) (2

).indd 351

351

1/6/2561 11:37:38


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดยางสักกระโพหลุ่ม พระอธิการสุดตา เตชธมฺโม เจ้าอาวาสวัดยางสักกระโพหลุ่ม

ประวัติความเป็นมา วัดยางสักกระโพหลุม่ ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นยางสัก กระโพหลุ่ม หมู่ที่ 1 ต�ำบลยางสักกระโพหลุ่ม อ� ำ เภอม่ ว งสามสิ บ จั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตั้งเมื่อ พ.ศ. 2351 ชื่อที่ชาวบ้านเรียก คือ “วัดโพธิ์ศรีมณีวรรณ” ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อ พ.ศ. 2412 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 8.95 เมตร ยาว 15.16 เมตร

352

ล�ำดับเจ้าอาวาส รูปที่ 1 พระปาน พ.ศ. 2351 - 2381 รูปที่ 2 พระใบฎีกาเหง้า พ.ศ. 2382 - 2400 รูปที่ 3 พระทา พ.ศ. 2402 - 2415 รูปที่ 4 พระสมพร พ.ศ. 2416 - 2422 รูปที่ 5 พระสมหมาย พ.ศ. 2423 - 2470 รูปที่ 6 พระชาย พ.ศ. 2472 - 2515 รูปที่ 7 พระพันธ์ ปริสุทฺโธ พ.ศ. 2516 - 2531 รูปที่ 8 พระอธิการสุดตา เตชธมฺโม พ.ศ. 2533 - ปัจจุบัน

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

(2

).indd 352

1/6/2561 11:17:47


ประวัติเจ้าอาวาส พระอธิ ก ารสุ ด ตา ฉายา เตชธมฺ โ ม อายุ 54 พรรษา 32 วิทยฐานะ น.ธ.เอก วั ด ยางสั ก กระโพหลุ ่ ม ต� ำ บลยางสั ก กระโพหลุ ่ ม อ� ำ เภอม่ ว งสามสิ บ จั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี ปั จ จุ บั น ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง เจ้าอาวาสวัดยางสักกระโพหลุ่ม สถานะเดิ ม ชื่ อ สุ ด ตา ชาวนา เกิ ด ปีมะโรง วันที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2507 บิดา ชื่ อ นายบุ ญ ยื น ชาวนา มารดาชื่ อ นางทา ชาวนา บ้านเลขที่ 19 หมู่ที่ 1 บ้านยางสัก กระโพหลุ่ม ต�ำบลยางสักกระโพหลุ่ม อ�ำเภอ ม่วงสามสิบ จังหวัดอุบลราชธานี บรรพชา วันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2529 ณ วัดยางสักกระโพหลุม่ ต�ำบลยางสักกระโพหลุม่ อ� ำ เภอม่ ว งสามสิ บ จั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี พระอุ ป ั ช ฌาย์ พระครู นิ เ ทศอรรถกิ จ วัดหนองบัวแดง ต�ำบลยางสักกระโพหลุ่ม อ�ำเภอม่วงสามสิบ จังหวัดอุบลราชธานี อุปสมบท วันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2529 ณ วัดยางสักกระโพหลุม่ ต�ำบลยางสักกระโพหลุม่ อ� ำ เภอม่ ว งสามสิ บ จั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี พระอุ ป ั ช ฌาย์ พระครู นิ เ ทศอรรถกิ จ พระกรรมวาจาจารย์ พระอธิการพุฒ ฐิตธมโม พระอนุ ส าวนาจารย์ พระอธิ ก ารพั น ธ์ ปริสุทโธ

วิทยฐานะ พ.ศ. 2521 ส�ำเร็จการศึกษาวิชาสามัญ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จากโรงเรียนบ้านยาง สั ก กระโพหลุ ่ ม ต� ำ บลยางสั ก กระโพหลุ ่ ม อ�ำเภอม่วงสามสิบ จังหวัดอุบลราชธานี พ.ศ. 2533 สอบไล่ได้นักธรรมชั้นเอก ในสนามหลวง จากส�ำนักเรียนคณะจังหวัด จังหวัดอุบลราชธานี ส�ำนักศาสนศึกษาวัดยาง สั ก กระโพหลุ ่ ม ต� ำ บลยางสั ก กระโพหลุ ่ ม อ�ำเภอม่วงสามสิบ จังหวัดอุบลราชธานี พ.ศ. 2546 ส�ำเร็จการศึกษาวิชาสามัญ ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาชั้ น ปี ท่ี 3 (ม.3) จากศู น ย์

บริ ก ารการศึ ก ษานอกโรงเรี ย นอ� ำ เภอ ม่ ว งสามสิ บ อ� ำ เภอม่ ว งสามสิ บ จั ง หวั ด อุบลราชธานี พ.ศ. 2549 จบมัธยมศึกษาตอนปลาย จากศู น ย์ บ ริ ก ารการศึ ก ษานอกโรงเรี ย น อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี การศึกษาพิเศษ ได้ศกึ ษาเล่าเรียนอักษร ตัวธรรมใบลานจนสามารถอ่านออกเขียนได้ สามารถเทศนาอักษรตัวธรรม ความช�ำนาญการ มีความช�ำนาญการใน ด้านการก่อสร้างเสนาสนะ งานโยธา เป็น พระนักเผยแผ่และนักพัฒนา

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

(2

).indd 353

353

1/6/2561 11:18:02


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดยางเครือ พระครูกิตติชยากร เจ้าอาวาสวัดยางเครือ ประวัติความเป็นมา วัดยางเครือ เดิมที่ชื่อ “วัดสว่างอารมณ์” ต่อมาเปลี่ยนเป็นวัดยางเครือ ตามชื่อบ้าน เป็น วัดราษฎร์ ตั้งอยู่ที่ 191 บ้านยางเครือ หมู่ 9 ต�ำบลยางสักกระโพหลุ่ม อ�ำเภอม่วงสามสิบ จังหวัดอุบลราชธานี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย หลังจากได้ย้ายหมู่บ้านเมื่อปี พ.ศ. 2460 ต่อมามีการตัง้ วัดขึน้ โดยการน�ำของพระอาจารย์ ครูมใี น เนือ้ ที่ 4 ไร่เศษ และญาติโยมในหมูบ่ า้ น ยางเครือที่มีดินติดเขตวัดได้บริจาคถวายที่ดิน เพิ่ม ปัจจุบันวัดยางเครือ มีเนื้อที่ทั้งหมด 5 ไร่ 2 งาน 20 ตารางวา 354

(2

อุโบสถหลังเดิม สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2511 สร้างเสร็จปี พ.ศ. 2522 ได้รับพระราชทาน วิสุงคามสีมา พ.ศ. 2523 อุโบสถหลังใหม่ ลักษณะเป็นอุโบสถสองชัน้ มีขนาดความกว้าง 9 เมตร ยาว 15 เมตร ประตู 7 ช่องประตูด้านบน 4 ช่อง ประตูด้านล่าง 3 ช่อง หน้าต่างชั้นบนมี 6 ช่อง หน้าต่างด้าน ล่างมี 10 ช่อง ไม้ประตูหน้าต่างชั้นบนแกะลาย ทั้งหมด ไม้ประตูหน้าต่างด้านล่างแกะลายรูป ฟัก หลังคามุงกระเบือ้ งลาดเอียงลักษณะ 3 ชัน้ และบั น ไดปู หิ น แกรนิ ต พระประธานชั้ น บน รูปแบบปางอินเดีย พระประธานชัน้ ล่าง รูปแบบ ปางมารวิชัย

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

).indd 354

1/6/2561 11:13:23


เนือ่ งจากอุโบสถหลังเดิมมีการช�ำรุดไปตาม กาลสมัย เพราะอุโบสถหลังเดิมสร้างผสมผสาน ระหว่างไม้และปูนส่วนที่เป็นไม้ได้มีปลวกและ แมลงกัดแคระกินในส่วนที่เป็นไม้ก็มีการช�ำรุด ทรุดโทรมไปตามกาลเวลาทางวัดและชาวบ้าน ยางเครือจึงได้มีการประชุมปรึกษาร่วมกันเห็น สมควรรือ้ อุโบสถหลังเก่าท�ำการสร้างโบสถ์หลัง ใหม่ขึ้นแทน โดยเริ่มท�ำการก่อสร้างเมื่อปี พ.ศ. 2551 วางศิลาฤกษ์เมือ่ ปี พ.ศ. 2552 ได้รบั การ โปรดเกล้ า พระราชทานวิ สุ ง คามสี ม า จาก พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ล อดุลยเดช บรมนาถบพิตร รัชกาลที่ 9 เมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2556 โดยพระมหารัช มังคลาจารย์ วัดปากน�ำ้ ภาษีเจริญผูป้ ฏิบตั หิ น้าที่ สมเด็จพระสังฆราช เป็นองค์พระราชทาน

ล�ำดับเจ้าอาวาส

ประวัติเจ้าอาวาส

พระครูกติ ติชยากร ฉายา กิตตฺ คิ โุ ณ นามเดิม นายวิชัย ใจบุญ เกิดเมื่อวันที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2504 อุปสมบท เมือ่ อายุ 21 ปี วันที่ 10 เมษายน พ.ศ. 2525 ณ อุโบสถ วัดยางเครือ บ้านยางเครือ ต�ำบลยางสักกระโพหลุ่ม อ�ำเภอม่วงสามสิบ จังหวัดอุบลราชธานี พระอุปชั ฌาย์ พระครูนเิ ทศ อรรถกิจ วัดหนองบัวแดง บ้านหนองบัวแดง ต�ำบลยางสักกระโพหลุ่ม อ�ำเภอม่วงสามสิบ จังหวัดอุบลราชธานี

1. อาจารย์ครูมี 2. หลวงปูค่ ง อคฺคโท 3. พ่อถ่านกอง 4. พ่อถ่านเคน 5. อาจารย์ดี 6. อาจารย์สนั่น 7. อาจารย์พันธุ์ 8. อาจารย์สิทธิ์ 9. อาจารย์สีบู 10. อาจารย์จ�ำลอง 11. อาจารย์ประมวล 12. อาจารย์สว่าง 13. อาจารย์เสถียร 14. พระครูกิตติชยากร (ปัจจุบัน)

วิทยฐานะ พ.ศ. 2513 จบประถมศึกษา ปีที่ 4 โรงเรียนหนองแฝกยางเครือ ณ บ้าน หนองแฝก พ.ศ. 2532 สอบได้นักธรรมชั้นเอก ส�ำนักเรียนวัดม่วง จังหวัดอุบลราชธานี งานปกครอง พ.ศ. 2533 ได้รับการแต่งตั้ง ให้ ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง เจ้ า อาวาสวั ด ยางเครื อ บ้านยางเครือ วันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555 ได้ รับแต่งตั้งให้ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าคณะต�ำบลโพน แพง อ�ำเภอม่วงสามสิบ จังหวัดอุบลราชธานี สมณศักดิ์ วันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2546 ได้ รับพระราชทานพระครูสัญญาบัตรเจ้าอาวาส วัดราษฎร์ชนั้ โททีพ่ ระครูกติ ติชยากร ต่อมาได้ลา ออกจากเจ้ า คณะต� ำ บลโพนแพง วั น ที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2558 ได้รับแต่งตั้งให้ด�ำรง ต�ำแหน่งเจ้าคณะต�ำบลยางสัก เขต 2 และเป็น เจ้าอาวาสวัดยางเครือ ถึงปัจจุบัน

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

(2

).indd 355

355

1/6/2561 11:13:37


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดยางโยภาพ พระครูอุดมเขมคุณ เจ้าอาวาสวัดยางโยภาพ

ประวัติความเป็นมา วัดยางโยภาพ ตั้งอยู่ที่บ้านยางโยภาพ ต�ำบลยางโยภาพ อ�ำเภอม่วงสามสิบ จังหวัด อุบลราชธานี ซึ่งเป็นหมู่บ้านเก่าแก่แห่งหนึ่ง ของจังหวัดอุบลราชธานี ผู้ที่มาตั้งหมู่บ้านคือ ท้าวไชโย และท้าวสุภาพ ซึ่งเป็นทหารเอก ของท้าวค�ำผง ผู้ครองเมืองอุบลราชธานีใน สมั ย นั้ น ได้ สั่ ง ให้ ท ้ า วไชโยและท้ า วสุ ภ าพ มารักษาด่านที่ล�ำเซบกห้วยเวียงหลวง อยู่มา ก็ได้ตั้งหมู่บ้านแห่งนี้ขึ้น ชื่อว่า “บ้านยางโย ภาพ” ซึ่งเป็นนามของทั้งสองคน เพราะสมัย ก่ อ นมี ป ่ า ไม้ ย างที่ อุ ด มสมบู ร ณ์ ล ้ อ มรอบ 356

(2

จึงเอาป่าไม้ยางมาตั้งเป็นชื่อหมู่บ้านและนาม ของคนทั้งสองมาต่อท้ายว่า บ้านยางโยภาพ ต่ อ มาปี พ.ศ.2336 มี พ ระน้ อ งชายของ ท้าวไชโย เดินทางจากเมืองหลวงพระบางมา เยี่ยมท้าวไชโย และท้าวสุภาพ จึงนิมนต์อยู่ จ�ำพรรษา และได้ก่อตั้งวัดขึ้น คือ พระปุญไช หรือที่เรียกว่า ยาถ่านปุญไช สิริปุญโญ ผู้ร่วม ก่อตั้งวัดรูปแรก พระพุ ท ธอุ ด มไชโย เป็ น พระพุ ท ธรู ป ศักดิ์สิทธิ์ ประจ�ำวัด มีศาลาการเปรียญแบบ ไม้โบรานหลังเก่า และศาลาการเปรียญหลัง ใหม่และอุโบสถ หอระฆังไม้

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

).indd 356

1/6/2561 11:07:24


ล�ำดับเจ้าอาวาสวัดยางโยภาพ 1. ยาถ่านบุญตา กตปุญโญ 2. ยาถ่านไชยา ธมฺมธโร 3. ยาถ่านสุวรรณ วิสุทฺโธ 4. ยาถ่านเสาร์ สุมงฺคโร 5. ยาถ่านบุญ กนฺตสีโร 6. พระพวง อนงฺคโณ 7. หลวงปู่เสือ ธมฺมธโร 8. พระทองดี นาถสีโล 9. พระอธิการหัน อนุตฺต หรือ พระครู อุดมเขมคุณ ซึ่งเป็นเจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน ประวัติเจ้าอาวาส พระอธิการหัน อนุตฺตโร หรือ พระครู อุดมเขมคุณ บรรพชา อุปสมบท เมื่อวันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2520 ที่วัดยางโยภาพ บ้าน ยางโยภาพ หมู่ที่ 4 ต�ำบลยางโยภาพ อ�ำเภอ ม่วงสามสิบ จังหวัดอุบลราชธานี พระอุปชั ฌาย์ คื อ พระครู สุ ค นธ์ เขมคุ ณ วั ด โนนรั ง น้ อ ย พระกรรมวาจาจารย์ คือ พระมหาพร ฐานวโร วั ด โนนรั ง น้ อ ย พระอนุ ส าวนาจารย์ คื อ พระตา จตฺตมโร วัดโนนรังน้อย ได้รับแต่งตั้ง เป็นเจ้าอาวาส เมื่อวันที่ 20 กันยายน 2527 พรรษา 7 วันทที่ 11 กันยายน พ.ศ.2525 ตั้ ง เป็ น พระธรรมทู ต ฝ่ า ยปฏิ บั ติ ก าร ของ อ�ำเภอม่วงสามสิบ จังหวัดอุบลราชธานี พ.ศ.2538 ได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าคณะต�ำบลยางโยภาพ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2541 ได้รับแต่งตั้งเป็น

พระอุปัชฌาย์ 21 ธันวาคม 2542 ได้รับการ อบรมตั้ ง เป็ น พระนั ก เผยแผ่ ข องจั ง หวั ด อุบลราชธานี 5 ธันวาคม พ.ศ.2543 ได้รับ พระครูสัญญาบัตรเจ้าคณะต�ำบลชั้นโท 10 มีนาคม พ.ศ.2544 ได้รับการอบรมเป็นพระ นักเทศน์แม่แบบ 5 ธันวาคม พ.ศ.2555 ได้ รับพระครูสัญญาบัตรชั้นเอก ความสามารถพิเศษ เป็นพิธีกร เป็นพระ นักเทศน์ นักแสดงธรรม นักบรรยายและเป็น วิทยากร การศึกษาทางธรรม นักธรรมชั้นเอก การศึกษาทางโลก จบมัธยมศึกษาตอน ปลาย ม.6

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

(2

).indd 357

357

6/6/2561 16:37:41


W O R K LI F E

บันทึกเส้นทางพบเทศบาลต�ำบล

เทศบาลต�ำบลกุดชมภู ประวัติความเป็นมา

มภู

ภู

นายอภิ ช าติ เศรษฐมาตย์ ปลัดเทศบาล ปฏิบัติหน้าที่ นายกเทศมนตรีต�ำบลกุดชมภู

เทศบาลต�ำบลกุดชมภู ตั้งอยู่ที่บ้านแก่งเจริญ หมู ่ ที่ 5 ต� ำ บลกุ ด ชมภู อ� ำ เภอพิ บู ล มั ง สาหาร จังหวัดอุบลราชธานี ซึ่งบริเวณนี้ยังเป็นที่ตั้งของ แก่งไก่เขี่ยสถานที่ท่องเที่ยวส�ำคัญอีกแห่งหนึ่ง ของต� ำ บลกุ ด ชมภู และอยู ่ ห ่ า งจากอ� ำ เภอ พิบูลมังสาหาร ประมาณ 3 กิโลเมตร เดิมทีมีฐานะเป็นสภาต�ำบลและเมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2540 ได้รับการยกฐานะจากสภา ต�ำบลเป็นองค์การบริหารส่วนต�ำบลกุดชมภู โดย ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่ อ งการจั ด ตั้ ง องค์การบริหารส่วนต�ำบล ต่อมาเมื่อวันที่ 28 มิ ถุ น ายน 2556 องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บล กุดชมภู ได้รับการยกฐานะอีกครั้งเป็นเทศบาล ต�ำบลกุดชมภู ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องจัดตั้งองค์การบริหารส่วนต�ำบลกุดชมภู เป็น เทศบาลต� ำ บลกุ ด ชมภู มี จ� ำ นวนหมู ่ บ ้ า น 19 หมู ่ บ ้ า น อี ก ทั้ ง ยั ง เป็ น 1 ใน 4 เทศบาลของ เทศบาลต� ำ บลทั้ ง หมดภายในเขตอ� ำ เภอ พิบูลมังสาหาร ประชากรตามทะเบี ย นราษฎร์ ณ เดื อ น มีนาคม 2561 มีจ�ำนวน 11,637 คน แยกเป็น

ชาย จ�ำนวน 5,824 คน แยกเป็นหญิง 5,813 คน ปั จ จุ บั น เทศบาลต� ำ บลกุ ด ชมภู ไม่ มี ค ณะ ผู้บริหารที่มาจากการเลือกตั้ง ซึ่งตามประกาศ คณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 85/2557 ข้อ 11 ในกรณีที่ผู้บริหารครบวาระหรือว่างลง ให้ปลัด องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นปฏิบัติหน้าที่นายก องค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ดั ง นั้ น เทศบาล ต�ำบลกุดชมภู จึงมี นายอภิชาติ เศรษฐมาตย์ ปลัดเทศบาล ปฏิบัติหน้าที่นายกเทศมนตรีต�ำบล กุดชมภู มีสมาชิกสภาเทศบาลต�ำบลกุดชมภู ที่มา จากการสรรหาและแต่งตัง้ โดยผูว้ า่ ราชการจังหวัด จ�ำนวน 12 คน ปัจจุบนั เหลือ 11 คน ถึงแก่กรรม 1 คน โดยมีนายนิยม สายเสนา ประธานสภาเทศบาล ต�ำบลกุดชมภู ดร.สิริพร แสนทวีสุข รองประธาน สภาเทศบาลต�ำบลกุดชมภู และ นางเพ็ญศิริ มุขสมบัติ เลขานุการสภาเทศบาลต�ำบลกุดชมภู

แนวทางการพัฒนาเทศบาลต�ำบลกุดชมภู นายอภิ ช าติ เศรษฐมาตย์ ปลั ด เทศบาล ปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ น ายกเทศมนตรี ต� ำ บลกุ ด ชมภู ได้ ยึ ด หลั ก ธรรมาภิ บ าลของการบริ ห ารจั ด การบ้ า นเมื อ งที่ ดี (Good Governance) ซึ่งมีองค์ประกอบ 6 องค์ประกอบ คือ หลักนิติธรรม หลักความโปร่งใส หลักการมีส่วนร่วม หลักความรับผิดชอบ หลักความคุ้มค่า หลักคุณธรรม เป็นแนวทางสากลและเป็นที่ยอมรับกันทั่วโลก ในการน�ำแนวทางนี้มาบริหารก็เพื่อให้การอยู่ร่วมกันในบ้านเมืองและสังคมมีความสงบสุข สามารถประสานประโยชน์และคลี่คลายปัญหาข้อขัดแย้งโดยสันติวิธี และพัฒนาสังคมให้มีความยั่งยืน โดย “หลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการ บ้านเมืองที่ดี” นั้น ประกอบด้วย 10 หลัก ได้แก่ ในการบริหารงานเทศบาลได้รับความร่วมมือจาก ก�ำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ส่วนราชการ 1. หลักการตอบสนอง (Responsiveness) ในพื้นที่ และพี่น้องประชาชนเป็นอย่างดีจนก่อให้เกิดผลส�ำเร็จในการบริหารงาน 2. หลักประสิทธิผล (Effectiveness) 3. หลักประสิทธิภาพ / ความคุ้มค่า (Effciency / Value for money) 4. หลักความเสมอภาค (Equity) 5. หลักมุ่งเน้นฉันทามติ (consensus Oriented) 6. หลักการตรวจสอบได้ / มีภาระรับผิดชอบ (Accountability) 7. หลักเปิดเผย / โปร่งใส (Transparency) 8. หลักการกระจายอ�ำนาจ (Decentralization) 9. หลักการมีส่วนร่วม (Participation) 10. หลักนิติธรรม (Rule of Law) 358

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

.indd 358

04/06/61 05:06:20 PM


จากความมุ่งมั่นทุ่มเท

ในการพัฒนาเทศบาลต�ำบลกุดชมภู จึงส่งผลให้เทศบาลต�ำบลกุดชมภูได้รับรางวัลให้ความภาคภูมิใจมากมาย อาทิ

ด้านองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดีเด่น

รางวัลการบริหารจัดการที่ดี อันดับที่ 1 ประจ�ำปี 2549 องค์การบริหารส่วนต�ำบลกุดชมภู รางวัลการบริหารจัดการที่ดี อันดันที่ 1 ประจ�ำปี 2551 โดย คณะกรรมการกระจายอ�ำนาจให้แก่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นร่วมกับกระทรวงมหาดไทย รางวัลชนะเลิศ องค์การบริหารส่วนต�ำบลที่มีการบริหารจัดการที่ดี ประจ�ำปี งบประมาณ พ.ศ.2554 (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) รางวัลการประกวดศูนย์ช่างประจ�ำชุมชนเทิดไท้องค์ราชัน อันดับที่ 1 ประจ�ำปี 2553 - 2554 ดีเด่น 2 ปีซ้อน ระดับภาคและระดับประเทศ รางวัลผ่านเกณฑ์การประเมินองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่มีการบริหารจัดการที่ดี ประจ�ำปี พ.ศ. 2556 (รอบที่ 2) นอกจากนี้ยังมีรางวัลอีกมากมายที่เทศบาลต�ำบลกุดชมภู ได้รับ ตลอดระยะเวลา ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เช่น รางวัลเป็นต�ำบลน�ำร่องการจัดการขยะเหลือศูนย์ในปีงบประมาณ 2552 โดยมีศูนย์สาธิตการจัดการ ขยะเหลือศูนย์ (ซีโรเวส) บ้านโนนเจริญ ม.13 ซึ่งผ่านเกณฑ์การประเมินความสะอาดระดับดีเยี่ยมล�ำดับที่ 1 ได้รับโล่รางวัลและเกียรติบัตรตามโครงการอุบลเมืองสะอาด ราชธานีอีสาน (ระยะที่ 3) ฯลฯ

ด้านบุคคลดีเด่น จากความมุง่ มัน่ ทุม่ เท ในการพัฒนาเทศบาลต�ำบล กุดชมภู นายอภิชาติ เศรษฐมาตย์ ปลัดเทศบาล ปฏิบตั หิ น้าที่ นายกเทศมนตรีตำ� บลกุดชมภู จึงได้รบั การยกย่องให้เป็นบุคคลดีเด่นจากหลายสถาบัน

และได้ รั บ รางวั ล หลากหลายรางวั ล อาทิ เช่ น รางวัล ผู้บริหารดีเด่น ผู้บริหารแห่งปี 2561 CEO Thailand Awards 2018 ตามโครงการยกย่อง และสรรเสริญผูบ้ ริหารทีด่ แี ละผูบ้ ริหารทีเ่ ป็นตัวอย่าง

ขับเคลื่อนเพื่อความเข้มแข็งของประเทศ โดย หม่อมหลวงปนัดดา ดิศกุล รัฐมนตรีประจ�ำส�ำนัก นายกรัฐมนตรี

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 359

359

04/06/61 06:42:08 PM


ภารกิจและการพัฒนาที่ส�ำคัญ 1. ด้านโครงสร้างพื้นฐาน |

การซ่อมแซมถนน

การซ่อมแซมไฟฟ้าส่องสว่าง

ของเทศบาลต� ำ บลกุ ด ชมภู

การสร้างถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก เป็นต้น

ซ่อมแซมระบบไฟฟ้าส่องสว่าง

ซ่อมแซมถนน คสล.

ก่อสร้างถนน คสล.

2. ด้านสาธารณสุขสวัสดิการและสังคม |

360

การก�ำจัดยุง

ฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ในสุนัขและแมว เป็นต้น

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

.indd 360

04/06/61 05:07:02 PM


3. ด้านการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม |

4. ด้านการบริหารงานคลัง |

5. ด้านสิ่งแวดล้อม |

การท�ำบุญตักบาตร รดน�้ำขอพรผู้สูงอายุ

การออกจัดเก็บภาษีนอกสถานที่

การเก็บผักตบชวา

การขุดและลอกคลอง

บัณฑิตน้อยสานฝัน

โครงการบ้านหลังเรียน เป็นต้น

ออกส�ำรวจสถานประกอบการ เป็นต้น

ปลูกต้นไม้ลดมลภาวะ ก�ำจัดขยะต้นทางโดยท�ำเป็นขยะอินทรีย์ เป็นต้น

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 361

361

04/06/61 05:07:23 PM


เที่ยว

กุดชมภูครึกครื้น เศรษฐกิ จ คึ ก คั ก

ดินแดนแหล่งท่องเที่ยวต�ำบลกุดชมภู พร้อมสถานที่ท่องเที่ยวแนะน�ำที่ไม่ควรพลาด!!

เกาะดอนค�ำพวง ตัง้ อยูใ่ นเขต ต.กุดชมภู อ.พิบลู มังสาหารและ ต.คันไร่ อ.สิรินธร จ.อุบลราชธานี มีพื้นที่ จ�ำนวน 460 ไร่ เป็นเกาะดินขนาดใหญ่ อยูก่ ลางแม่นำ�้ มูล ห่างจากแก่งสะพือ ไปทาง ทิศตะวันออกตามล�ำน�้ำมูล ประมาณ 4 กม. และมีพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นป่าไม้อุดมสมบูรณ์ เหมาะแก่การท่องเที่ยว เชิงนิเวศ

วัดวิหารเจดีย์ศรีชมพู เป็นสถานที่เก็บสรีระสังขารหลวงปู่ ค�ำบุ คุตตจิตโต เกจิอาจารย์ ผู้ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ เป็นที่เคารพกราบไหว้ ศรัทธา ของชาวพุทธทั้งในประเทศ และต่างประเทศ

แก่งไก่เขี่ย

ตั้ ง อยู ่ บ ้ า นแก่ ง เจริ ญ หมู ่ ที่ 5 ต� ำ บลกุ ด ชมภู อ� ำ เภอ พิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี เป็นสถานที่ท่องเที่ยว และสวนสาธารณะ ส�ำคัญอีกหนึ่งแห่งในต�ำบลกุดชมภู ที่ อยูต่ ดิ แม่นำ�้ มูล มีประชาชนมาพักผ่อนหย่อนใจเป็นจ�ำนวนมาก และเป็นที่ตั้งของเทศบาลต�ำบลกุดชมภู จากค�ำเล่าขานของ คนโบราณ รอยไก่เขี่ย นั้นคือ รอยฝนดาบของนักรบโบราณ มีจ�ำนวน 97 รอย

แก่งไฮ ตั้งอยู่ในเขตต�ำบลกุดชมภู หมู่ที่ 6 ห่างจาก อ�ำเภอพิบูลมังสาหาร ประมาณ 5 กิโลเมตร มีลักษณะเป็นแก่งหินที่สวยงาม รายล้อมไปด้วย ต้นไม้ใหญ่ (ต้นไทร ภาษาอีสาน เรียก ต้นไฮ) มีลานหินกว้างๆ เหมาะแก่การเล่นน�้ำ และผักผ่อนหย่อนใจ ปัจจุบันกลายเป็น สถานที่ท่องเที่ยวที่ได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก

เขื่อนริมตลิ่ง บ้านดอนส�ำราญ เป็ นสถานที่ พั ก ผ่ อน ชมบรรยากาศวิถีชีวิต การจับ ปลา ในล� ำ น�้ ำ มู ล และ เป็ น ที่ อ อกก� ำ ลั ง กายของคนในต� ำ บล กุดชมภู และประชาชนทั่วไป

362

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

.indd 362

04/06/61 06:41:32 PM


กลุ่มอาชีพ กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบ้านดอนส�ำราญ ทีอ่ ยู่ 89 หมู่ 9 บ้านดอนส�ำราญ ต�ำบลกุดชมภู อ�ำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี ผู้น�ำ นางสมสนิท พิมพ์ทอง โทรศัพท์ 0-4520-4121 เว็บไซต์ www.Kudchomphu.go.th

กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบ้านโชคอ�ำนวย ที่อยู่ บ้านโชคอ�ำนวย หมู่ที่ 3 ต�ำบลกุดชมภู อ�ำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี ผู้น�ำ นางอรดี บับพิบูล เว็บไซต์ www.Kudchomphu.go.th

กลุ่มต่อเรือไฟเบอร์กลาส ทีอ่ ยู่ ศูนย์ชา่ งเทิดไท้องค์ราชัน บ้านดอนส�ำราญ ต� ำ บลกุ ด ชมภู อ� ำ เภอพิ บู ล มั ง สาหาร จั ง หวั ด อุบลราชธานี

ตลาดประชารัฐท้องถิ่นสุขใจ ลานวัฒนธรรมประเพณี ของดีกุดชมภู

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 363

363

04/06/61 05:08:14 PM


อิ่มอร่อยมะม่วงกวน ฝีมือล้วนปอกล้วยสาน เพลงขอทานประจ�ำถิ่น ศิลปินกระเดื่องแดน”

W O R K LI F E

บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล

องค์การบริหารส่วนต�ำบลดอนจิก นายหนู สีสาสีมา

นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลดอนจิก ประวัติความเป็นมา องค์การบริหารส่วนต�ำบลดอนจิก เป็นองค์การบริหารส่วนต�ำบล 1 ใน 13 องค์การบริหารส่วนต�ำบลของอ�ำเภอพิบูลมังสาหาร ได้รับการยก ฐานะจากสภาต�ำบลเป็นองค์การบริหารส่วนต�ำบล ตามประกาศกระทรวง มหาดไทยและมีผลบังคับใช้ เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2540 ที่ท�ำการ องค์การบริหารส่วนต�ำบลดอนจิก ตั้งอยู่ที่บ้านดอนจิก หมู่ท่ี 14 เป็น องค์การบริหารส่วนต�ำบลขนาดกลาง ขึ้นอยู่กับอ�ำเภอพิบูลมังสาหาร อยู่ ทางทิ ศ ใต้ ของอ� ำ เภอพิ บู ล มั ง สาหาร ห่ า งจากอ� ำ เภอพิ บู ล มั ง สาหาร ประมาณ 10 กิโลเมตร บนถนนพิบูล - บุณฑริก อยู่ห่างจากจังหวัด อุบลราชธานี ประมาณ 55 กิโลเมตร

ค์ ค์ มรงค์

องค์การบริหารส่วนต�ำบลดอนจิก มีพื้นที่รวมทั้งสิ้น 100.80 ตาราง กิโลเมตร (60,435 ไร่) แยกได้ดังนี้

หมู่ที่ 1 บ้านดอนจิก หมู่ที่ 3 บ้านหนองไผ่ หมู่ที่ 5 บ้านนาดี หมู่ที่ 7 บ้านไทรงาม หมู่ที่ 9 บ้านห้วยแดง หมู่ที่ 11 บ้านม่วงแมด หมู่ที่ 14 บ้านดอนจิก หมู่ที่ 16 บ้านนาเจริญ หมู่ที่ 18 บ้านม่วงงาม หมู่ที่ 20 บ้านโนนเจริญ หมู่ที่ 22 บ้านแก่งเจริญสุข

364

.

(2

หมู่ที่ 2 บ้านภูมะหรี่ หมู่ที่ 4 บ้านบุ่งค�ำ หมู่ท่ี 6 บ้านโนนล�ำดวน หมู่ที่ 8 บ้านม่วงฮี หมู่ที่ 10 บ้านแก่งยาง หมู่ที่ 13 บ้านดอนใหญ่ หมู่ที่ 15 บ้านโคกสะอาด หมู่ที่ 17 บ้านสมบูรณ์สามัคคี หมู่ที่ 19 บ้านทุ่งแสงตะวัน หมู่ที่ 21 บ้านใหม่ผาสุข หมู่ที่ 23 บ้านทุ่งเทวา

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

).indd 364

1/6/2561 14:34:52


สถานที่ท่องเที่ยว

แก่งใหญ่ หมู่ที่ 4 บ้านบุ่งค�ำ แก่งล�ำดวน หมู่ที่ 6 บ้านโนนล�ำดวน แก่งกกไม้ หมู่ที่ 10 บ้านแก่งยาง แก่งชมพู หมู่ที่ 13 บ้านดอนใหญ่ แก่งปลาขาว หมู่ที่ 19 บ้านทุ่งแสงตะวัน

วัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่น งานประเพณีแก่งล�ำดวนและงานพาแลง งานประเพณีแห่เทียนเข้าพรรษา งานประเพณีวันออกพรรษา (ตักบาตรเทโวโร หะนะ) งานประเพณีลอยกระทง UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.

(2

).indd 365

365

6/6/2561 16:39:43


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดสว่างอารมณ์ พระครูสถิตพิบูลคุณ กนฺตธมฺโม เจ้าอาวาสวัดสว่างอารมณ์

ประวัติความเป็นมา วัดสว่างอารมณ์ ตัง้ อยูบ่ า้ นท่าเสียว ต�ำบลทรายมูล อ�ำเภอพิบลู มังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2469 เคยเป็นวัดร้างมาก่อน ประวัติเจ้าอาวาส พระครูสถิตพิบูลคุณ กนฺตธมฺโม ชื่อ พระครูสถิตพิบูลคุณ ฉายา กนฺตธมฺโม อายุ 48 พรรษา 27 วิทยฐานะ น.ธ. เอก วัดสว่างอารมณ์ ต�ำบลทรายมูล อ�ำเภอพิบลู มังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี ปัจจุบันด�ำรงต�ำแหน่ง เจ้าอาวาสวัดสว่างอารมณ์ สถานะเดิม ชื่อ ณพรห์มฤทธิ์ นามสกุล เจโตนิพัทธิ์ เกิดปีจอ วันที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2513 บิดานายไพโรจน์ มารดา นางพรรณภาวินี นามสกุล เจโตนิพัทธิ์ ณ บ้านเลขที่ 41 หมู่ที่ 5 ต�ำบลทรายมูล อ�ำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี 366

บรรพชา – อุปสมบท วันที่ 30 มิถนุ ายน พ.ศ. 2534 ณ วัดสว่างอารมณ์ ต�ำบลทรายมูล อ�ำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี พระอุ ป ั ช ฌาย์ พระครู โ อภาสธรรมสถิ ต วั ด สว่ า งอารมณ์ ต� ำ บลทรายมู ล อ� ำ เภอ พิบลู มังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี พระกรรม วาจาจารย์ พระเลียบ สุเมโธ วัดสว่างอารมณ์ ต�ำบลทรายมูล อ�ำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัด อุบลราชธานี พระอนุสาวนาจารย์ พระค�ำ คมฺภโี ร วั ด สว่ า งอารมณ์ ต� ำ บลทรายมู ล อ� ำ เภอ พิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี วิทยฐานะ พ.ศ.2526 ส�ำเร็จชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จาก โรงเรี ย นบ้ า นท่ า เสี ย วคั น ลึ ม ต� ำ บล ทรายมู ล อ� ำ เภอพิ บู ล มั ง สาหาร จั ง หวั ด อุบลราชธานี พ.ศ.2529 ส�ำเร็จชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จาก โรงเรี ย นพิ บู ล มั ง สาหาร ต� ำ บลพิ บู ล อ�ำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

(2

).indd 366

6/6/2561 16:43:10


พ.ศ.2536 สอบไล่ได้นักธรรมชั้นเอก ส�ำนักเรียนคณะจังหวัดสระบุรี วัดเขาพระ ต�ำบลบ้านป่า อ�ำเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี การศึกษาพิเศษ ได้ศกึ ษาเล่าเรียนอักษร ตัวธรรมใบลาน จนสามารถอ่านออกเขียนได้ และสามารถเทศน์มหาชาติอักษรธรรมได้ ความช�ำนาญการพิเศษ มีความช�ำนาญ การในด้านการก่อสร้าง ช่างไม้ ช่างปูน งานการปกครอง พ.ศ.2543 ได้รบั แต่งตัง้ ให้ดำ� รงต�ำแหน่ง เจ้าอาวาสวัดสว่างอารมณ์ ต�ำบลทรายมูล อ�ำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี งานการศาสนศึกษา พ.ศ.2550 เป็นกรรมการคุมห้องสอบ ธรรมสนามหลวงแผนกธรรมศึกษา หน่วยสอบ วั ด สว่ า งอั ม พวั น ต� ำ บลทรายมู ล อ� ำ เภอ พิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี พ.ศ.2550 – ปัจจุบัน เป็นกรรมการคุม ห้ อ งสอบธรรมสนามหลวงแผนกนั ก ธรรม หน่วยสอบวัดโพธิ์ตาก ต�ำบลพิบูล อ�ำเภอ พิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี

งานการสาธารณูปการ พ.ศ. 2550 ได้ดำ� เนินการก่อสร้างห้องน�ำ้ ที่ วั ด สว่ า งอารมณ์ ต� ำ บลทรายมู ล อ� ำ เภอ พิบลู มังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี กว้างห้องละ 2.00 เมตร ยาว 17 เมตร พืน้ เทคอนกรีตปูดว้ ย กระเบื้องซีแพค เสาคอนกรีตเสริมเหล็ก ผนัง ก่ออิฐถือปูน โครงหลังคาเหล็ก วงกบประตูทำ� ด้วยไม้ มุงด้วยสังกะสี เดินระบบไฟฟ้าน�้ำ ประปา แล้วเสร็จสมบูรณ์ รวมค่าก่อสร้างเป็นเงินทั้งสิ้น 170,000 บาท (หนึ่งแสนเจ็ดหมื่นบาทถ้วน) พ.ศ.2554 ได้ด�ำเนินการก่อสร้างศาลา การเปรียญที่วัดสว่างอารมณ์ ต�ำบลทรายมูล อ�ำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี กว้าง 17 เมตร ยาว 24 เมตร ลักษณะทรงไทย ประยุกต์ รากฐานคอนคอดินคอนกรีตเสริมเหล็ก ก่อเอวขันสูง 2 เมตร พื้นคอนกรีตเสริมเหล็ก พื้ น ปู หิ น แกรนิ ต เสาคอนกรี ต เสริ ม เหล็ ก ผนังก่ออิฐถือปูน โครงหลังคาเหล็ก มุงสังกะสี สันไท หน้าบันก่ออิฐถือปูน เดินระบบไฟฟ้า แล้วเสร็จแล้วสมบูรณ์ รวมค่าก่อสร้างเป็นเงินทั้งสิ้น 905,000 บาท (เก้าแสนห้าหมื่นบาทถ้วน) ติดต่อวัดสว่างอารมณ์ โทร. 099-559-2599 พระครูสถิตพิบูลคุณ กนฺตธมฺโม

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

(2

).indd 367

367

6/6/2561 16:43:16


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดโพธิ์ตาก พระครูพิศาลโพธานุวัตร เจ้าอาวาสวัดโพธิ์ตาก ประวัตคิ วามเป็นมา วัดโพธิ์ตาก ตั้งอยู่เลขที่ 178 หมู่บ้านโพธิ์ตาก ถนนวิพากษ์ ต�ำบลพิบูล อ�ำเภอพิบูลมังสาหาร จั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี (อยู ่ ใ นเขตเทศบาลเมื อ ง พิ บู ล มั ง สาหาร) สั ง กั ด คณะสงฆ์ ม หานิ ก าย ที่ดินตั้งวัด 16 ไร่ 1 งาน 53 ตารางวา วัดโพธิ์ตาก ตั้ ง ขึ้ น เมื่ อ ใดไม่ มี ผู ้ ใ ดยื น ยั น แต่ จ ากหนั ง สื อ พิบลู มังสาหาร 139 ปี เนือ่ งในงานฉลองอนุสาวรีย์ พระบ�ำรุงราษฎร์ (จูมมณี) ว่าวัดโพธิ์ตาก สร้างใน ปี พ.ศ. 2410 สอดคล้ อ งกั บ ประวั ติ ที่ เ ล่ า มา ทุกประการ แต่ประวัติวัดโพธิ์ตาก มีเอกสารหลัก ฐานที่ ส� ำ นั ก งานพระพุ ท ธศาสนาแห่ ง ชาติ ห รื อ กรมการศาสนาเดิม ได้ส�ำรวจหลักฐานของวัด ต่ า งๆ ให้ แ น่ น อนว่ า ตั้ ง ขึ้ น ใน พ.ศ. ใดได้ รั บ พระราชทานวิสุงคามสีมาปีใด เป็นพัทธสีมาปีใด โดยให้เจ้าอาวาส – เจ้าคณะผู้ปกครองยืนยัน ประวัติวัดไปยังกรมศาสนาเพื่อพิมพ์เป็นประวัติ ทั่วไปอีกครั้งหนึ่ง

368

(2

มีการลงทะเบียนตัง้ วัดในกรมศาสนาในสมัยนัน้ ใช้จนถึงปัจจุบนั คือ ตัง้ วัดในปี พ.ศ. 2330 ได้รบั พระราชทานวิ สุ ง คามสี ม า ในปี พ.ศ. 2474 เขตวิสงุ คามสีมา กว้าง 80 เมตร ยาว 120 เมตร และ ได้ ผู ก เป็ น พั ท ธสี ม าใน พ.ศ. 2475 (เอกสาร พระราชทานวิสงุ คามสีมาดังกล่าวได้ใช้ประกอบใน การผูกพัทธสีมา ปี พ.ศ. 2524 (อุโบสถหลังใหม่) แต่ปจั จุบนั ช�ำรุดเสียหายไปแล้ว

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

).indd 368

6/6/2561 16:46:14


รายการเจ้าอาวาส รูปที่ 1 พระอินทร์ อินทสาโร รูปที่ 2 พระครูญาณวิสทุ ธิคณ ุ (กอง อุตตฺ โม) พ.ศ. 2457-2490 รูปที่ 3 พระครูพศิ าลโพธิวฒ ั น์ (ค�ำ สุวโจ) พ.ศ. 2490-2513 รูปที่ 4 พระครูญาณวิสทุ ธิคณ ุ (ทอง กิตตฺ วิ ณฺโณ) พ.ศ. 2513-2514 รูปที่ 5 พระมหาถวิล สุทธฺ โิ ก ป.ธ.5, น.ธ.เอก รูปที่ 6 พระครูพศิ าลโพธานุวตั ร (ทัน ปคุโณ) พ.ศ. 2525-ปัจจุบนั

อาคารเสนาสนะ อุโบสถ ขนาดกว้าง 7 เมตร ยาว 17 เมตร ศาลาการเปรียญ ขนาดกว้าง 15 เมตร ยาว 30 เมตร วิหารประจ�ำวัดหนึง่ หลัง ขนาดกว้าง 14 เมตร ยาว 25 เมตร ศาลาบ�ำเพ็ญกุศล (ศาลาคูเ่ มรุ) ขนาดกว้าง 14 เมตร ยาว 45 เมตร โรงเรียนพระปริยตั ธิ รรม ศาลาเอนกประสงค์ 3 หลัง เมรุเผาศพ 1 หลัง ศาลาคูเ่ มรุ หอระฆัง กุฏเิ จ้าอาวาส กุฏอิ ดีตเจ้าอาวาส กุฏสิ งฆ์ ศาลาท่าน�ำ้

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

(2

).indd 369

369

6/6/2561 16:46:28


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

370

(4

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

).indd 370

1/6/2561 10:29:04


วัดหนองเป็ด (วัดจอมศรี) ประวัติความเป็นมา วั ด หนองเป็ ด หรื อ วั ด จอมศรี เป็ น วัดราษฎร์ ตั้งอยู่ที่บ้านหนองเป็ด หมู่ที่ 3 บ้านโนนเจริญ หมู่ที่ 13 ต�ำบลนาคาย อ�ำเภอ ตาลสุม จังหวัดอุบลราชธานี สังกัดคณะสงฆ์ มหานิกาย ตั้งวัดเมื่อประมาณปี พ.ศ.2539 ได้ รั บ พระทานวิ สุ ง คามสี ม า เมื่ อ วั น ที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2537 วัดหนองเป็ด เป็นวัดเก่าแก่ ไม่ปรากฏ หลักฐานชัดเจนว่าเริ่มสร้างมาตั้งแต่เมื่อใด ประมาณได้ว่า คงมีอายุไม่ต่�ำกว่า 200 ปี แน่นอน หลักฐานส่วนหนึ่งคือพระอุโบสถ หลั ง ปั จ จุ บั น ที่ ส ร้ า งขึ้ น มาแทนอุ โ บสถหลั ง เดิ ม ที่ ส ร้ า งด้ ว ยไม้ โดยมี ส มเด็ จ พระมหา วี ร วงศ์ (อ้ ว น ติ สฺ โ ส) เป็ น ประธานใน การด�ำเนินงานก่อสร้าง เมื่อแล้วเสร็จจัดงาน ฉลองอุโบสถในเดือนพฤษภาคม พ.ศ.2482 เป็ น อุ โ บสถทรงเวี ย ดนามผสมศิ ล ปะลาว พระภิ ก ษุ ส งฆ์ ไ ด้ ใช้ ท� ำ สั ง ฆกรรม มาจนถึ ง ปัจจุบัน

เสนาสนะ อุ โ บสถ ขนาดกว้ า ง 5.50 เมตรยาว 11.50 เมตร ศาลาการเปรียญ ขนาดกว้าง 13.50 เมตร ยาว 22.50 เมตร วิหารพระเจ้าใหญ่ 5 พระองค์ ขนาด กว้าง 39.60 เมตร ยาว 52 เมตร กุฏิ จ�ำนวน 6 หลัง ศาลาอเนกประสงค์ 1 หลัง หอระฆัง 3 ชั้น ทรงไทยประยุกต์ 1 หลัง อาคารเรี ย นพระปริ ยั ติ ธ รรม 3 ชั้ น ขนาดกว้าง 10 เมตร ยาว 52 เมตร โรงครัว 1 หลัง ห้องน�้ำ 3 หลัง จ�ำนวน 27 ห้อง ศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ 1 หลัง ลานธรรมเขตปริวาสกรรม จ�ำนวน 10 ไร่ สระน�้ำ 1 แห่ง ขนาด 8 ไร่

พระสุนทรปริยัติเมธี

เจ้าอาวาสวัดหนองเป็ด (วัดจอมศรี)

กว้าง 80 เซนติเมตร และสูง 1 เมตร เป็น ศิลปะแบบสุโขทัย พระพุทธรูปประจ�ำพระอุโบสถ 1 องค์ หน้ า ตั ก กว้ า ง 120 เซนติ เ มตร สู ง 180 เซนติเมตร พระพุทธรูปไม้ อายุประมาณ 200 ปี 2 องค์ พระเจ้ า ใหญ่ 5 พระองค์ สร้ า งด้ ว ย หินทรายเขียว หินทราบแดง ขนาดหน้าตัก กว้าง 59 นิ้ว ประดิษฐานในวิหารศิลปะล้าน ช้าง

ปูชนียวัตถุ พระเจ้าใหญ่จอมศรี เป็นพระพุทธรูป ปางมารวิชยั หล่อด้วยทองสัมฤทธิ์ ขนาดหน้าตัก UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

(4

).indd 371

371

1/6/2561 10:29:17


ประวัติเจ้าอาวาส พระสุ น ทรปริ ยั ติ เ มธี ฉายา เตชวโร นามเดิม ประเด็น อินทร์โสม เกิดวันที่ 8 เดือน เมษายน พ.ศ. 2504 แรม 8 ค�่ำ เดือน 5 ปีฉลู บิดาชื่อนายสวาสดิ์ อินทร์โสม มารดา ชื่ อ นางทองด� ำ อิ น ทร์ โ สม บ้ า นเลขที่ 11 หมู่ที่ 3 บ้านหนองเป็ด ต�ำบลนาคาย อ�ำเภอ ตาลสุม จังหวัดอุบลราชธานี อุปสมบท เมื่อวันศุกร์ที่ 10 เมษายน พ.ศ. 2525 ตรงกับวันขึ้น 6 ค�่ำ เดือน 5 ปีจอ ณ วัดหนองเป็ด ต�ำบลนาคาย อ�ำเภอตาลสุม จังหวัดอุบลราชธานี โดยมีพระครูสริ ปิ ญุ ญาภรณ์ 372

(4

(บุญศรี ปณฺฑโิ ต) วัดโนนจิก เป็นพระอุปชั ฌาย์ พระครู สุ ว รรณสิ ริ กิ จ (ทอง เหมวณฺ โ ณ) วั ด ศรี ช มพู เป็ น พระกรรมวาจาจารย์ พระบุ ญ มา ติ สฺ ส วโร วั ด ค� ำ หนามแท่ ง เป็นพระอนุสาวนาจารย์ วิทยฐานะ พ.ศ. 2515 ส�ำเร็จการศึกษาชั้นประถม ศึ ก ษาปี ที่ 4 จากโรงเรี ย นไมตรี จิ ต ไทยอเมริกัน พ.ศ. 2527 สอบไล่ได้นักธรรมชั้นเอก ณ ส�ำนักเรียนวัดทองนพคุณ แขวงคลองสาน กรุงเทพมหานคร

พ.ศ. 2544 สอบไล่ได้ประโยค ป.ธ.7 ณ วัดหนองเป็ด ต�ำบลนาคาย อ�ำเภอตาลสุม จังหวัดอุบลราชธานี พ.ศ. 2544 ส� ำ เร็ จ การศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาตรี พุ ท ธศาสตร์ บั ณ ฑิ ต (คณะ ครุศาสตร์) จากมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ ราชวิทยาลัย (มจร.) วิทยาเขตอุบลราชธานี พ.ศ. 2548 ส�ำเร็จการศึกษาปริญญา ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต (สาขาบริหารการ ศึกษา) จากมหาวิทยาลัยราชธานี

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

).indd 372

1/6/2561 10:29:30


งานการปกครองและงานการศาสน ศึ ก ษา หลวงพ่ อ ได้ ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง ทางการ ปกครองเป็นเจ้าอาวาสวัดหนองเป็ด เป็น พระอุปชั ฌาย์ และเป็นเจ้าคณะอ�ำเภอตาลสุม (จอ.ชั้ น โท) ส่ ว นงานการศึ ก ษานั้ น เป็ น เจ้ า ส� ำ นั ก ศาสนศึ ก ษาวั ด หนองเป็ ด เป็ น พระปริยัตินิเทศก์ประจ�ำอ�ำเภอตาลสุม เป็น ผู ้ อ� ำ นวยการศู น ย์ ศึ ก ษาพระพุ ท ธศาสนา วันอาทิตย์วัดหนองเป็ด และเป็นผู้อ�ำนวยการ โรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษา วัดหนองเป็ด เกียรติคุณ พ.ศ. 2545 ได้รับพระราชทานเสมา ธรรมจักรและประกาศนียบัตรเกียรติคุณผู้มี ผลงานดีเด่นสาขาการศึกษาพระปริยัติธรรม แผนกธรรม จากสมเด็ จ พระเทพรั ต นราช สุ ด าฯ สยามบรมราชกุ ม ารี เนื่ อ งในงาน สัปดาห์ส่งเสริมพระพุทธศาสนา พ.ศ. 2539 ได้ รั บ พระราชทานตั้ ง สมณศักดิ์ เป็นพระครูสัญญาบัตรเจ้าอาวาส วัดราษฎร์ ชั้นเอก ในราชทินนามที่ “พระครู ศรีปริยัติธ�ำรง” พ.ศ. 2551 ได้ รั บ พระราชทางตั้ ง สมณศั ก ดิ์ เป็ น พระราชาคณะชั้ น สามั ญ เปรียญ ที่ “พระสุนทรปริยัติเมธี”

ประวัติโรงเรียน โรงเรียนพระปริยัติธรรมวัดหนองเป็ด เปิดท�ำการเรียนการสอนครั้งแรกเมื่อปีพุทธศักราช 2532 โดยพระครูวิสุทธินพคุณ ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดทองนพคุณกรุงเทพมหานคร ช่วงแรกเปิด การสอนเฉพาะแผนกนักธรรม – บาลี โดยนิมนต์พระมหาประเด็น เตชวโร เปรีญธรรม 4 ประโยค นามปัจจุบัน (พระสุนทรปริยัติเมธี เปรียญธรรม 7 ประโยค) มาเป็นเจ้าส�ำนักเรียน ปีการศึกษา 2536 ได้รับใบอนุญาตจัดตั้งโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษา เลขที่ 137/2536 ได้ รั บ ชื่ อ เป็ น ทางการว่ า “โรงเรี ย นพระปริ ยั ติ ธ รรมแผนกสามั ญ ศึ ก ษา วัดหนองเป็ด” เลขที่ 123 หมู่ 3 ต�ำบลนาคาย อ�ำเภอตาลสุม จังหวัดอุบลราชธานี เปิดสอน ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น มีพระมหาฉวี อุปลชาโต เป็นครูใหญ่ ปีการศึกษา 2552 ได้ขอขยายชั้นเรียนโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษา ระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย ใบอนุญาตเลขที่ 5/2552 เมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม 2552 เปิดสอนระดับ มัธยมศึกษาตอนต้น และตอนปลาย (ม.1-ม.6) สายวิทย์ - คณิต โดยมีพระครูวิสุทธินพคุณ เป็น ผู้จัดการ และผู้ให้การอุปถัมภ์ พระสุนทรปริยัติเมธี เป็นผู้อ�ำนวยการ

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

(4

).indd 373

373

6/6/2561 16:47:46


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดส�ำโรงใหญ่ พระอธิการนพอนันต์ โสภิโต เจ้าอาวาสวัดส�ำโรงใหญ่ ประวัติความเป็นมา วัดส�ำโรงใหญ่ ชื่อที่ชาวบ้านเรียก “วัดส้มโฮง” ชื่อเดิม “วัดสระแก้วรัตนมงคล” ตั้งอยู่เลขที่ 41 บ้านส�ำโรงใหญ่ หมู่ที่ 1 ต�ำบลส�ำโรง อ�ำเภอตาลสุม จังหวัดอุบลราชธานี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย วัดสร้างเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ.2431 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา พ.ศ.2455 มีเนื้อที่ดิน 6 ไร่ 50 ตารางวา พ.ศ.2542 ซื้อเพิ่มเติมอีก 3 ไร่ 67 ตารางวา รวมเป็น 9 ไร่ 117 ตารางวา มี นส.3 ก. อาณาเขต ทิศเหนือ จรดทุ่งนา (หมู่ 1 ต�ำบลส�ำโรง) ทิศใต้ จรดถนนสาธารณะ (หมู่ 2 ต�ำบลส�ำโรง) ทิศตะวันออก จรดถนนสาธารณะ (หมู่ 8 ต�ำบลส�ำโรง) ทิศตะวันตก จรดโรงเรียนบ้านส�ำโรง

ล�ำดับเจ้าคณะต�ำบล 1. พระครูอาทรพัฒนคุณ (สวน ฉนฺทโร, แสงเขียว) 2. พระครูปิยสีลานุโยค (อนันต์ ปโยโค, ตลอดพงษ์) 3. เจ้าอธิการทองพูล สุทฺธิโก เจ้าคณะต�ำบลส�ำโรง-หนองกุง 374

2

พ.ศ. 2542 พ.ศ. 2542 – 2558 10 มี.ค. 2558 – ปัจจุบัน

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

.indd 374

1/6/2561 10:19:26


ล�ำดับเจ้าอาวาส

1. พระอาจารย์พรมมา ปคุโณ พ.ศ. 2431 - 2440 2. พระอาจารย์บัว ปญญาวโร พ.ศ. 2440 - 2449 3. พระอาจารย์ดี ถาวโร พ.ศ. 2449 - 2453 4. พระอาจารย์บัว สายโสภา พ.ศ. 2453 - 2460 5. พระอาจารย์หอม ป้องสุข พ.ศ. 2460 - 2468 6. พระอาจารย์หม่อน แสงเขียว พ.ศ. 2468 - 2478 7. พระอาจารย์แก้ว ธมฺมฐิติ(พูลสุข) พ.ศ. 2478 - 2490 8. พระครูอาทรพัฒนคุณ (ญาท่านสวน ฉนฺทโร แสงเขียว) พ.ศ. 2490 - 2525 9. พระครูปิยสีลานุโยค (อนันต์ ปโยโค, ตลอดพงษ์) พ.ศ. 2527- 2558 10. พระอธิการนพอนันต์ โสภิโต (ณ อุบล) เจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 375

375

1/6/2561 10:19:22


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดนามน พระอธิการพุธชา ธมฺมฺทินฺโน เจ้าอาวาสวัดนามน

ประวัติความเป็นมา วัดนามน ตั้งอยู่ที่บ้านนามน ถนนสมเด็จ หมู่ที่ 5 ต�ำบลตาลสุม อ�ำเภอตาลสุม จังหวัดอุบลราชธานี สั ง กั ด คณะสงฆ์ ม หานิ ก าย ที่ ดิ น ตั้ ง วั ด มี เ นื้ อ ที่ 12 ไร่ 3 งาน 5 ตารางวา ปั จ จุ บั น มี พระอธิการพุธชา ธมฺมฺทินฺโน เป็นเจ้าอาวาส วัดนามน ตัง้ เมือ่ พ.ศ.2385 โดยมีพระอธิการพรหม พรหฺมวโร เป็นผูน้ ำ� ชาวบ้าน ในการสร้างวัด โดยได้ รั บ พระราชทานวิ สุ ง คามสี ม าเมื่ อ วั น ที่ 17 กั น ยายน พ.ศ.2519 เขตวิ สุ ง คามสี ม ากว้ า ง 30 เมตร ยาว 60 เมตร มีโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกธรรม เปิดสอน เมื่อ พ.ศ.2489 และมีศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ ในวัดเปิดสอน เมื่อ พ.ศ.2536

376

(2

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

).indd 376

1/6/2561 10:00:41


อาคารเสนาสนะ อุโบสถ กว้าง 6 เมตร ยาว 13.50 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ.2521 ศาลากลางเปรียญ กว้าง 12 เมตร ยาว 24 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ.2500 กุฏิสงฆ์ จ�ำนวน 4 หลัง ศาลาอเนกประสงค์ กว้าง 12 เมตร ยาว 30 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ.2527 ปูชนียวัตถุ 1. พระประธาน ลักษณะแบบพระชินราช 2. พระพุทธรูปจ�ำนวน 4 องค์ 3. พระธาตุบรรจุอัฐิหลวงพ่อพระครูสุเขต คุณาภรณ์ ล�ำดับเจ้าอาวาส 1. พระอธิการพรหม พรหฺมวโร 2. พระกุด 3. พระฮุย 4. พระชาลี 5. พระเหลี่ยม 6. พระเคน 7. พระพร้อม 8. พระพู 9. พระเดือน 10. พระครูสุเขตคุณาภรณ์ 11. พระครูจันทนันทเขต

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

(2

).indd 377

377

1/6/2561 10:00:59


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดบ้านเชียงแก้ว พระครู รัตนปุญญาภิวัฒน์ เจ้าอาวาสวัดบ้านเชียงแก้ว

ประวัติความเป็นมา วัดบ้านเชียงแก้ว ตั้งอยู่ที่ ต.จิกเทิง อ.ตาลสุม จ.อุบลราชธานี เดิมชาวบ้านเชียงแก้ว บางส่วนอพยพมาพร้อมกับชาวลาวเวียงจันทน์ ที่มาตั้งเมืองอยู่ปากมูลน้อย ซึ่งย้ายถิ่นที่อยู่มา จากบ้านค�ำไฮ – หนองแล้ง และอีกส่วนหนึ่งจากหนองหาน หนองคาย มาตั้งบ้านอยู่ดอนหาด เรียกว่า บ้านดอนหาด ริมห้วยบะฮัง ห่างจากหมู่บ้านเชียงแก้วไปทางทิศตะวันตกประมาณ 2 กิโลเมตร และยังมี บ้านหนองขอน ตั้งอยู่ริมหนองขอนทางทิศตะวันตก แต่เป็นหมู่บ้านเล็กๆ ต่อมาเกิดน�้ำท่วมเกือบทุกปี จึงหาท�ำเลที่ตั้งใหม่ทางทิศตะวันตก โดยแยกเป็นสองหมู่บ้าน คือ บ้านเหนือกับ บ้านใต้ เป็นชุมชนที่ใหญ่ขึ้นกว่าเดิม ทางบ้านใต้ตั้งวัดขึ้น บริเวณที่ตั้งมีต้นโพธิ์ ใหญ่อยู่จนถึงปัจจุบันนี้ และบริเวณที่ก่อสร้างอุโบสถ (สิม) ยังมีหลักฐานหลงเหลืออยู่บ้าง จากค�ำบอกเล่าได้ย้ายวัดมาตั้งใหม่ ปัจจุบันเป็นบริเวณบ้าน นายพัน ภาเรือง นายโทน ภาเรือง นายเสถียร ภาเรือง ซึ่งอยู่ทางทิศใต้ ต่อมาได้พิจารณาเห็นว่าไม่เหมาะสม ต้องการให้ วั ด อยู ่ ท างทิ ศ เหนือเพื่อเป็น สิริม งคล จึงย้ายวัด ไปตั้ ง อยู ่ โ นนโพธิ์ (โพธิ์ ต าก – ปั จ จุ บัน คื อ บ้านสร้างค�ำ) แล้วสร้างสิมน�้ำที่หนองสิม อยู่ทางทิศตะวันตกของหมู่บ้าน 378

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

(2

).indd 378

6/6/2561 16:59:43


ปี พ.ศ. 2537 ทางราชการขุ ด ลอก หนองสิม พบไม้แคนใหญ่ฝังอยู่ในหนองลึก กว่ า 2 เมตร แต่ ไ ม่ ส ามารถน� ำ ขึ้ น มาได้ ปัจจุบันชาวบ้านเชียงแก้วเรียกบ้านใต้ – บ้าน เหนือว่า “บ้านเก่า” ต่อมาทางวัดร่วมกับชาว บ้านเห็นว่า ที่วัดโนนโพธิ์ลาดเอียง ยากต่อ การพัฒนาสร้างอารามวิหารต่างๆ ขณะนั้นมี ผู้มีจิตศรัทธาคือ มีลูกเมืองแสนสังข์ 4 คน (ชาย 2 คน หญิง 2 คน) ได้บริจาคที่ดินส่วน ตัวให้เป็นธรณีสงฆ์ สร้างเป็นวัดบ้านเชียงแก้ว จนถึงปัจจุบันนี้

ปูชนียวัตถุ หลวงพ่อ รัตนมงคล เป็นองค์พระประธาน ประดิษฐาน ในศาลามงคลธรรม รูปเหมือน หลวงพ่อพระครู วิบลู สมณวัฒน์ ซึ่งเป็นเจ้าอาวาสองค์ก่อน มรณภาพ เมื่อ พ.ศ.2515 เป็นที่เคารพนับถือของชาวบ้าน รู ป หล่ อ พระสั ง กั จ จายน์ พระสี ว ลี พระอุปคุต ไว้กราบไหว้ขอพร พระประจ�ำวันเกิด ทั้ง 7 วัน ไว้ให้บูชา ขอพร

กิจกรรมของวัด หลวงพ่ อ พระครู รั ต นปุ ญ ญาภิ วั ฒ น์ เจ้าอาวาส รูปปัจจุบัน น�ำญาติโยมผู้ใฝ่ธรรม สวดมนต์ ท� ำ วั ต ร ทุ ก วั น และถื อ ศี ล แปด ทุกวันพระ กิจกรรม สมโพชพุทธาภิเษกทุกๆ ปี ใน ช่วงเดือน กุมภาพันธ์ ประวัติเจ้าอาวาส หลวงพ่ อ พระครู รั ต นปุ ญ ญาภิ วั ฒ น์ นามเดิ ม บุ ญ มี ทองอ่ อ น เกิ ด เมื อ 12 พฤษภาคม 2506 6ค�่ำ ปีเถาะ เป็นบุตรคน ที่5 ของคุณพ่อ ลี ทองอ่อน คุณแม่ จันทรา ทองอ่อน อุปสมบท เมื่อ อายุ 21ปี ในวันที่ 9 มีนาคม 2527 ณ.พัทธสีมาวัดจอมศรี ต.นาคาย อ.ตาลสุ ม จ.อุ บ ลราชธานี พระอุ ป ั ช ฌาย์ พระครู สิริบุญญาภรณ์ พระกรรมวาจาจารย์ พระสมุหท์ อง พระอนุสาวาจาจารย์ พระบุญมา ปั จ จุ บั น พรรษา 34 ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง เจ้าอาวาสวัดราษฎร์ ชั้นเอก

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

(2

).indd 379

379

6/6/2561 16:59:53


อิ่มอร่อยมะม่วงกวน ฝีมือล้วนปอกล้วยสาน เพลงขอทานประจ�ำถิ่น ศิลปินกระเดื่องแดน”

W O R K LI F E

บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล

องค์การบริหารส่วนต�ำบลโนนกาเล็น “ต�ำบลน่าอยู่ เชิดชูภูมิปัญญา น�ำพาเศรษฐกิจพอเพียง เคียงคู่คุณธรรม” คือวิสัยทัศน์ขององค์การบริหารส่วนต�ำบลโนนกาเล็น

นายวรพจน์ พรรณวิไล นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลโนนกาเล็น วิสัยทัศน์การเพื่อพัฒนา “ถนนสู่นา ไฟฟ้าสู่ทุ่ง มุ่งสุขภาพดีถ้วนหน้า การศึกษาดีทุกเพศวัย คนทุกวัยไม่ถูกเมิน น�ำความ เจริญสู่โนนกาเล็น”

พันธกิจ

ค์ ค์ มรงค์

380

.

(2

1. เพื่อพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐานให้เพียงพอและทั่วถึง 2. เพื่อพัฒนาด้านสังคมและส่งเสริมคุณภาพชีวิตดีขึ้น 3. เพื่อพัฒนาด้านการจัดระเบียบชุมชนสังคมและความสงบเรียบร้อย 4. เพื่อพัฒนาด้านการวางแผนการส่งเสริมการลงทุนพาณิชยกรรมและการท่องเที่ยว 5. เพื่อพัฒนาด้านการบริหารจัดการและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

).indd 380

6/6/2561 17:04:35


6. เพื่ อ พั ฒ นาด้ า นการศึ ก ษา ศาสนา วัฒนธรรม จารีตประเพณีและภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่ อ พั ฒ นาด้ า นการเมื อ งการบริ ห ารจั ด การ ทรัพยากรขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

ผลงาน โครงการส่งเสริมความรู้เกี่ยวกับการป้องกัน และระงับอัคคีภัยแก่ อปพร.และเยาวชน โครงการก�ำจัดขยะอินทรีย์ โครงการหน่ว ยบริการเคลื่อนที่เพื่อจัด เก็บ และประชาสัมพันธ์ภาษีท้องถิ่น โครงการประชาคมหมู่บ้าน โครงการป้องกันพิษสุนัขบ้าในสุนัขและแมว โครงการฝึกอบรมและศึกษาดูงานเศรษฐกิจ พอเพียงตามแนวพระราชด�ำริ โครงการวันผู้สูงอายุ โครงการส่งเสริมและพัฒนาบทบาทสตรี โครงการป้องกันโรคไข้เลือดออก โครงการกีฬาต�ำบลโนนกาเล็น การประกาศเจตจ� ำ นงการบริ ห ารงานด้ ว ย ความสุ จ ริ ต ขององค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บล โนนกาเล็น

องค์การบริหารส่วนต�ำบลโนนกาเล็น ต�ำบลโนนกาเล็น อ�ำเภอส�ำโรง จังหวัด อุบลราชธานี 34360 โทรศัพท์ / โทรสาร 0-4521-0834-6 E- mail : admin@nonkalen.go.th Web Site : www.nonkalen.go.th

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.

(2

).indd 381

381

6/6/2561 17:04:45


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดบ้านหว้าน

พระครู ป ภาตจั น ทคุ ณ ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง เจ้ า อาวาสวั ด บ้ า นหว้ า น เจ้ า คณะอ� ำ เภอส� ำ โรง

ปูชนียวัตถุ

วั ด บ้านหว้าน ตั้งอยู่ที่บ้านหว้าน หมู่ที่ 2 ต�ำบลส�ำโรง อ�ำเภอส�ำโรง จังหวัด

อุ บ ลราชธานี สังกัด คณะสงฆ์ม หานิกาย ภาค 10 ที่ ดิ น ตั้ ง วั ด 3 ไร่ 3 งาน 44 ตารางวา ตั้ ง เมื่ อ พ.ศ.2446 โดยชาวบ้ า นหว้ า น ได้ ร ่ ว มมื อ กั น สร้ า งวั ด นี้ ขึ้ น โดยมี “หลวงปู ่ บั ว ” เป็ น ผู ้ น� ำ สร้ า งวั ด ได้ รั บ พระราชทานวิ สุ ง คามสี ม าเมื่ อ พ.ศ.2458 เขตวิ สุ ง คามสี ม า กว้ า ง 60 เมตร ยาว 84 เมตร ปัจจุบันได้บูรณะพระอุโบสถเพิ่มเติม พ.ศ.2539 แล้วเสร็จได้ขอพระราชทานวิสุงคามสีมาใหม่ เพือ่ ให้เหมาะในการท�ำสังฆกรรมของพระสงฆ์ใน พ.ศ.2548 กว้าง 15 เมตร ยาว 25 เมตร ในปัจจุบนั 382

พระพุทธรูป สร้างเมื่อ พ.ศ.2530 พระพุทธรูป สร้างเมื่อ พ.ศ.2531 พระพุทธรูป สร้างเมื่อ พ.ศ.2545 โดย นายขาน ชาบุญเรือง ผู้ถวายเป็นพระประธาน ในพระอุโบสถ พระพุทธรูป สร้างเมื่อ พ.ศ.2553 โดย นายไพวรรณ์ นางบัวละภา สายบัว พร้อมด้วย น้ อ งก้ อ ย เรื อ งแสง สร้ า งถวาย 12 เมษายน พ.ศ. 2553

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

.indd 382

30/05/61 04:15:17 PM


ประวัติเจ้าอาวาส พระครูปภาตจันทคุณ ฉายา จนฺทูปโม อายุ 50 พรรษา 28 วิทยฐานะ นธ.เอก วัดบ้านหว้าน ต�ำบลส�ำโรง อ�ำเภอส�ำโรง จังหวัดอุบลราชธานี ปัจจุบนั ด�ำรงต�ำแหน่ง 1. เจ้าอาวาสวัดบ้านหว้าน 2. เจ้าคณะอ�ำเภอส�ำโรง สถานะเดิม ชือ่ วิจติ ร ป้อมพิทกั ษ์ เกิด วันอังคาร ที่ 28 เดือน พฤษภาคม พ.ศ.2511 บิดา นายค�ำมี มารดา นางผา ป้อมพิทักษ์ บ้านเลขที่ 35/2 ต�ำบล สีวิเชียร อ�ำเภอน�้ำยืน จังหวัดอุบลราชธานี บรรพชา - อุปสมบท วันเสาร์ที่ 24 กุมภาพันธ์ 2533 พระอุปัชฌาย์ พระครูประสิทธสรคุณ ฉายา สุวีโร วัดประสิทธิยาราม ต�ำบลส�ำโรง อ�ำเภอส�ำโรง จังหวัดอุบลราธานี พระกรรมวาจาจารย์ พระอธิการโทน ฉายา สุปญฺโญ วัดโนนสวน ต�ำบลส�ำโรง อ�ำเภอส�ำโรง จังหวัดอุบลราชธานี วิ ท ยฐานะ พ.ศ.2524 ส� ำ เร็ จ วิ ช าสามั ญ ชั้นประถมศึกษาปี่ที่ 6 ที่โรงเรียนบ้านน�้ำเที่ยง ต�ำบล ท่าลาด (ปัจจุบนั ต�ำบลห้วยขะยุง) อ�ำเภอวารินช�ำราบ จังหวัดอุบลราชธานี พ.ศ.2541 สอบได้นกั ธรรมชัน้ เอก จากส�ำนักศาสนศึกษาวัดบ้านหว้าน ต�ำบลส�ำโรง อ� ำ เภอส� ำ โรง จั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี พ.ศ.2555 จบการศึกษาพุทธศาสตร์บัณฑิต จากมหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตอุบลราชธานี สมณศั ก ดิ์ พ.ศ.2550 ได้ รั บ พระราชทาน สมณศักดิเ์ ป็นพระครูสญ ั ญาบัตร เจ้าคณะต�ำบลชัน้ โท ในราชทินนามที่ “พระครูปภาตจันทคุณ” เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ.2550 และในปีพ.ศ.2558 ได้รบั ประทาน เลือ่ นชัน้ พระสังฆาธิการ พระครูเจ้าคณะอ�ำเภอชัน้ เอก (จอ.ชอ.) “ในราชทินนามเดิม” เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 383

383

06/06/61 05:39:51 PM


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

พระพุทธสิริชินราช

384

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

4

.indd 384

1/6/2561 9:20:23


วัดค�ำเขื่อนแก้ว พระมหาบุญเฮ็ง ปญฺาสิริ เจ้าอาวาสวัดค�ำเขื่อนแก้ว

ประวัติความเป็นมา วัดค�ำเขื่อนแก้ว ตั้งอยู่บ้านเลขที่ 121 หมู่ที่ 1 บ้านค�ำเขื่อนแก้ว ต�ำบลค�ำเขื่อนแก้ว อ�ำเภอสิรนิ ธร จังหวัดอุบลราชธานี มีทดี่ นิ ตัง้ วัด จ�ำนวน 21 ไร่ ได้มาโดยการบริจาคร่วมกัน ของญาติโยมผู้มีจิตศรัทธาทั้งหลาย สร้างวัด เมื่อ พ.ศ. 2524 ด้วยศรัทธาของชาวบ้านที่ ย้ายมาจากบ้านฝางเทิง ต�ำบลฝางเทิง, บ้าน ค�ำก้อม บ้านนกเต็น ต�ำบลโนนกลาง อ�ำเภอ พิบูลมังสาหาร (ปัจจุบัน อ.สิรินธร) ได้รับ หนั ง สื อ อนุ ญ าตให้ ส ร้ า งวั ด จากกรมการ ศาสนา โดยความเห็ น ชอบของกระทรวง ศึ ก ษาธิ ก าร วั น ที่ 20 มกราคม 2538 กระทรวงศึกษาธิการประกาศตั้งเป็นวัดใน พระพุทธศาสนา วันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2541 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา วันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558 เจ้าอาวาสตั้งแต่อดีต – ปัจจุบัน 1. พระอธิการณัฐพล อุชุโต พ.ศ. 2544 – 2548 2. พระมหาบุญเฮ็ง ปญฺาสิริ พ.ศ. 2549 – ปัจจุบัน

ปูชนียวัตถุและสิ่งส�ำคัญภายในวัด 1. พระพุทธสิริชินราช พระประธานใน อุโบสถจตุรมุข 2. ไม้กลายเป็นหิน อายุ 500 ปี 3. พระบรมสารีริกธาตุ เสนาสนะภายในวัด 1. ศาลาการเปรียญหลังเดิม 2. อุโบสถจตุรมุข (ยังไม่แล้วเสร็จ) 3. ศาลาการเปรียญหลังใหม่ 4. อาคารเรียนพระปริยัติธรรม (ยังไม่ แล้วเสร็จ) 5. กุฎีกรรมฐาน 6 หลัง 6. กุฎีใหญ่ 1 หลัง 7. หอระฆัง (ยังไม่แล้วเสร็จ) 8. โรงครัว 9. ศาลาบ�ำเพ็ญกุศล (ยังไม่แล้วเสร็จ) 10. เมรุ (สร้างพอใช้ประโยชน์ได้) 11. ห้องน�้ำญาติโยม จ�ำนวน 3 หลัง 16 ห้อง 12. ห้องน�้ำพระภิกษุ-สามเณรจ�ำนวน 4 หลัง 10 ห้อง UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

4

.indd 385

385

1/6/2561 9:20:37


ประวัติเจ้าอาวาส พระมหาบุญเฮ็ง ปญฺาสิริ สกุลเดิม ทีอุทิศ อายุ 45 ปี พรรษา 25 เกิดที่บ้านเลข ที่ 66 หมู่ 1 บ้านขามเปี้ย ต�ำบลขามเปี้ย อ�ำเภอตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานี เป็นบุตรของ นายกอน – นางเพ็ง ทีอุทิศ บรรพชา เมื่อวันที่ 19 เมษายน พ.ศ. 2528 โดยมี พระครูสุวัฒน์ธรรมคุณ วัดอันตร มัคคาราม บ้านเซเป็ด ต�ำบลเซเป็ด อ�ำเภอ ตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานี เป็นพระ อุปัชฌาย์ 386

อุปสมบท เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2536 โดยมี พระสุ เ มธาธิ บ ดี อธิ บ ดี ส งฆ์ วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ กรุงเทพมหานคร เป็ น พระอุ ป ั ช ฌาย์ พระราชปริ ยั ติ โ กศล เป็นพระกรรมวาจาจารย์ พระราชเมธี เป็น พระอนุ ส าวนาจารย์ (สมณศั ก ดิ์ สุ ด ท้ า ยที่ พระพรหมกวี) วิทยฐานะ การศึกษาทางโลก พ.ศ. 2528 ระดับประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านขามเปี้ย

พ.ศ. 2531 ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนปุญญสารวิสุทธิวิทยา พ.ศ. 2533 ระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษาตอน ปลาย ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนจังหวัด อุบลราชธานี พ.ศ. 2546 ระดับปริญญาตรีเอกบริหาร การศึ ก ษา(ศษ.บ.) มหาวิ ท ยาลั ย สุ โขทั ย ธรรมาธิราช พ.ศ.2549 ระดับปริญญาตรี เอกนิติ ศาสตรบัณฑิต (น.บ.) มหาวิทยาลัยสุโขทัย ธรรมาธิราช

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

4

.indd 386

1/6/2561 9:23:33


การศึกษาทางธรรม พ.ศ. 2530 นักธรรมเอก วัดกุญชราราม พ.ศ. 2534 เปรียญธรรม 3 ประโยค วัดอัมพวัน พ.ศ. 2537 เปรียญธรรม 6 ประโยค วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ พ.ศ. 2541 เปรียญธรรม 9 ประโยค วัดโมลีโลกยาราม ราชวรวิหาร งานการปกครอง พ.ศ. 2549 ได้รับแต่งตั้งให้ เป็นเจ้าอาวาสวัดค�ำเขื่อนแก้ว พ.ศ. 2550 ได้รับแต่งตั้งให้เป็น รองเจ้าคณะอ�ำเภอสิรินธร พ.ศ. 2551 ได้รับแต่งตั้งให้เป็น พระอุปัชฌาย์สามัญ พ.ศ. 2554 ได้รับแต่งตั้งให้เป็น เจ้าคณะอ�ำเภอสิรินธร

งานการศาสนศึกษา วัดค�ำเขื่อนแก้ว เป็นวัดที่เน้นการสร้าง บุคลากรทางพระพุทธศาสนา ได้จดั การศึกษา พระปริยัติธรรม แผนกบาลี – แผนกนักธรรม โดยตรง มีการเรียนการสอน 2 แห่ง คือ 1. วัด ค�ำเขื่อนแก้ว 2. ส�ำนักศึกษาและปฏิบัติธรรม ดอนธรรมะประดิษฐ์เจดีย์ศรีมูล (ดอนตาดไฮ) ซึง่ ตัง้ อยูเ่ กาะกลางแม่นำ�้ มูล บ้านปากบุง่ ต.คัน ไร่ และสนับสนุนให้เรียนในระบบโรงเรียน ปริยัติธรรมแผนกสามัญ เพื่อเป็นการเพิ่มพูน วิทยฐานะ เสริมทักษะความรูท้ างวิชาการ เป็น ประโยชน์ในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาใน อนาคต การรับสมัครกุลบุตรเข้ารับการบรรพชา เป็นสามเณร เพื่อศึกษาพระปริยัติธรรม เริ่ม รั บ สมั ค รเดื อ นเมษายน ของทุ ก ปี รั บ ผู ้ ที่

ร่วมสร้างเส้นทางบุญ วัดค�ำเขื่อนแก้ว ขอเชิญชวนท่านสาธุชนทั้งหลาย ร่วมสบทบทุนสร้างศาสนวัตถุในวัด เป็นวิหารทาน หรือ ร่วมสนับสนุนการศึกษาพระปริยัติธรรมทั้งสองแผนก เป็นการสร้างศาสน ทายาทสืบอายุพระพุทธศาสนา โดยบริจาคทรัพย์ตามก�ำลังศรัทธาได้ที่ บัญชีธนาคารกรุงไทย สาขาโขงเจียม ชื่อบัญชี วัดค�ำเขื่อนแก้ว เลขที่บัญชี 338-0-39071-2 (บัญชีวัดค�ำเขื่อนแก้ว เลขที่ดังกล่าว ลิงก์กับกรมสรรพากรโดยตรง ในระบบ E-donation ไม่ต้องออกเป็นใบอนุโมทนา บัตร) ส�ำหรับบุคคลหรือนิติบุคคลที่ต้องเสียภาษีเงินได้ สามารถไป แจ้งลดหย่อนภาษีได้เลย และให้แจ้งหน่วยรับบริจาค เพื่อบันทึกราย ละเอี ย ดการท� ำ บุ ญ โดยติ ด ต่ อ ได้ ท่ี พระมหาบุ ญ เฮ็ ง ปญฺ า สิ ริ เจ้าอาวาสและเจ้าคณะอ�ำเภอสิรินธร โทร. 081-1775508 หรือ เพือ่ ความสะดวก จะท�ำบุญผ่าน QR CODE ได้ทกุ ธนาคาร แล้วแจ้งรายละเอียดการท�ำบุญที่เบอร์โทรเจ้าอาวาส อีกครั้ง เพื่อ บันทึกรายละเอียดในระบบ E-donation

จบประถมศึกษาปีที่ 6 หรือกุลบุตรผู้มีอายุ มากกว่านั้น ต้องมีความตั้งใจที่จะศึกษาเล่า เรียนจริง บวชฟรี เรียนฟรี มีทนุ สนับสนุน และ

ผู ้ ที่ ป ระสงค์ จ ะเรี ย นในชั้ น สู ง ขึ้ น ไป วั ด ก็ สนับสนุนส่งเสริม และมีทุนการศึกษาให้ UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

4

.indd 387

387

1/6/2561 9:23:40


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดศรีอุดม พระครูสิริปุญญาคม

เจ้าอาวาสวัดศรีอุดม เจ้าคณะต�ำบลนิคมสร้างตนเองล�ำโดมน้อย เขต 1 ประวัติความเป็นมา วัดศรีอุดม สังกัดคณะสงฆ์ มหานิกาย ตั้งอยู่เลขที่ 126 หมู่ที่ 6 บ้านประชาสมบูรณ์ ต�ำบล นิคมสร้างตนเองล�ำโดมน้อย อ�ำเภอสิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อ วั น ที่ 23 มิ ถุ น ายน พ.ศ.2520 เขตที่ ไ ด้ รั บ พระราชทานวิ สุ ง คามสี ม า กว้ า ง 40 เมตร ยาว 80 เมตร ที่ดินที่ตั้งวัด มีเนื้อที่ 15 ไร่ วัดศรีอุดม เดิมอยู่ที่บ้านปากโดม (บ้านโดมประดิษฐ์เดิม) ต�ำบลโนนกลาง อ�ำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี ได้รับผลกระทบ จากการสร้างเขื่อนสิรินธร ชาวบ้านจึงได้ย้ายบ้านพร้อมวัด มาตั้งบ้านใหม่ในที่ดินที่นิคมสร้างตนเองล�ำโดมน้อย จัดให้ โดยการน�ำพาของ นายหยุ่ย จิตจันทร์ และ ญาถ่านอ่อนสี ปัจจุบันเป็นพระครูประภัสสสิรสาร เป็นเจ้าอาวาสวัดรูปแรก เมื่อปี พ.ศ.2512 และได้ รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อ พ.ศ.2520 388

2

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

16.05.61.indd 388

31/5/2561 17:36:35


ประวัติเจ้าอาวาส พระครู สิ ริ ปุ ญ ญาคม ฉายา สิ ริ ปุ ญฺ โ ญ อายุ 58 พรรษา 38 วิ ท ยาฐานะ น.ธ เอก วัดศรีอุดม ต�ำบลนิคมสร้างตนเองล�ำโดมน้อย อ�ำเภอสิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี ปัจจุบันด�ำรง ต� ำ แหน่ ง เจ้ า อาวาสวั ด ศรี อุ ด ม เจ้ า คณะต� ำ บลนิ ค มสร้ า งตนเองล� ำ โดมน้ อ ย และ เจ้าคณะต�ำบลนิคมสร้างตนเองล�ำโดมน้อย เขต 1 สถานะเดิ ม ชื่ อ ค� ำ สอน นามสกุ ล จู ม ทอง เกิ ด ปี จ อ วั น ที่ 9 มี น าคม พ.ศ.2501 บิ ด า นายยัง จูมทอง มารดานางข�ำ จูมทอง บ้านเลขที่ 25 หมู่ที่ 13 ต�ำบลนิคมสร้างตนเองล�ำโดมน้อย อ�ำเภอ สิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี บรรพชา วันที่ 16 มีนาคม พ.ศ.2521 วัดศรีอุดม ต�ำบลนิคมสร้างตนเองล�ำโดมน้อย อ�ำเภอสิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี พระอุปัชฌาย์ พระครูภัทรธรรมพิบูล วัดหลวง ต�ำบลพิบูล อ�ำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี อุปสมบท วันที่ 16 มีนาคม พ.ศ.2521 วัดศรีอุดม ต�ำบลนิคมสร้างตนเองล�ำโดมน้อย อ�ำเภอสิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี พระอุปัชฌาย์ พระครูภัทรธรรมพิบูล วัดหลวง ต�ำบลพิบูลมังสาหาร จังหวัด อุบลราชธานี พระกรรมวาจาจารย์ พระประเสริฐ ถานโย วัดหลวง ต�ำบลพิบูล อ�ำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี พระอนุสาวนาจารย์ พระบุญมี คมภีโร วัดหลวง ต�ำบลพิบูล อ�ำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี วิทยฐานะ พ.ศ.2521สอบได้นักธรรมชั้นเอก ส�ำนักศาสนศึกษา วัดดอนชี ต�ำบลคันไร่ อ�ำเภอสิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี พ.ศ.2543 ส�ำเร็จการศึกษาชั้น พธ.บ. มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วัดมหาวนาราม ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี พ.ศ.2555 ส�ำเร็จการศึกษาชั้น พธ.ม. มหาจุฬาลงกรณ ราชวิทยาลัย วิทยาเขตอุบลราชธานี

ร่วมสร้างพระพุทธมณีศรีอุดม สมเด็จองค์ ปฐมบรมพระมหาจักรพรรดิ ปางเปิดโลก ขนาด สูง 9 เมตร แล้วประมาณ 60% เพื่อเป็นศูนย์รวม ชาวพุทธ ขอเชิญร่วมบริจาคทีพ่ ระครูสริ ปิ ญ ุ ญาคม โทร.089-581-6644 และพระเลขานพดล เตชปญฺโญ โทร.081-169-6049 หรือผ่านบัญชี วัดศรีอดุ มแผนกธรรม เลขบัญชี 862-0-25387-5 ธนาคารกรุงไทย สาขาเทสโก้โลตัส

ล�ำดับเจ้าอาวาส รูปที่ 1 พระครูประภัสสสิรสาร รูปที่ 2 พระครูสิริปุญญาคม ฉายา สิริปุญฺโญ

ด�ำรงต�ำแหน่งเมื่อ พ.ศ.2512 ด�ำรงต�ำแหน่งเมื่อ พ.ศ. 2539

โรงเรี ย นสิ ริ ป ั ญ ญาพิ ท ยาอยู ่ ข ้ า งวั ด เป็ น โรงเรียนอนุบาล รับตั้งแต่ อนุบาล-ป.6 UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

2

16.05.61.indd 389

389

31/5/2561 17:36:48


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดมงคลใน

390

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

(4

).indd 390

31/5/2561 17:09:34


ประวัติความเป็นมา วั ด มงคลใน ตั้ ง อยู ่ ท่ี ต� ำ บลเหล่ า เสื อ โก้ ก อ.เหล่าเสือโก้ก จ. อุบลราชธานี สร้างมาคู่กับ บ้านเหล่าเสือโก้ก เมื่อปี พ.ศ. 2340 (ได้รับ วิสงุ คามสีมาครัง้ แรกเมือ่ พ.ศ. 2380 และได้รบั วิสุงคามสีมาครั้งแรกปัจจุบัน พ.ศ. 2541) โดย การน�ำของท่านหลักค�ำ ซึ่งเป็นพระสงฆ์รูปหนึ่ง ที่ภิกขาจารย์มาจากเวียงจันทน์เวียงค�ำ ร่วมกับ ชาวบ้าน หักล้างถางพงสร้างวัดขึ้น ส่วนใหญ่ชาวบ้านมักจะเรียกชื่อวัดประจ�ำ หมู่บ้านหรือวัดคู่บ้าน เช่น วัดเหล่าเสือโก้ก เป็น ค่านิยม อ่านง่ายเข้าใจง่าย การเปลี่ยนชื่อเป็น “วัดมงคลใน” เกิดขึ้นเมื่อครั้งสมเด็จพระมหา วีระวงศ์ (ติสฺโส อ้วน) พระสังฆนายกในสมัยนั้น เดินทางมาประชุมพระสังฆาธิการในภาคตะวัน ออกเฉียงเหนือ ทีว่ ดั สุปฏั นารามวรวิหาร อ�ำเภอ เมือง จังหวัดอุบลราชธานี (พ.ศ. 2484) ก่อน จะเริ่มพิธีการอบรม ท่านได้ทักทายปราศรัยกับ บรรดาพระสั ง ฆาธิ ก ารต่ า งๆ จนมาถึ ง ท่ า น

พระครูสาธรมงคลกิจ (เจ้าอาวาสวัดเหล่าเสือโก้ก ในขณะนัน้ ) ท่านได้พดู เปรยๆ ขึน้ ว่าเหล่าเสือโก้ก เป็นชือ่ ทีเ่ กีย่ วกับสัตว์ดรุ า้ ย ไม่เหมาะสมทีจ่ ะเป็น ชือ่ วัด ควรจะเปลีย่ นใหม่ พระครูสาทรมงคลกิจ จึ ง กราบเรี ย นในเชิ ง หารื อว่ า ถ้ า เช่ น นั้ น ควร เปลีย่ นเป็นชือ่ “วัดพยัคฆ์คำ� ราม” เสียเลยจะดีไหม ท่านเจ้าประคุณสมเด็จตอบว่ายังเป็นชื่อความ หมายของสัตว์ดุร้ายเช่นเดิม ชื่อใหม่ควรจะเป็น ชื่อที่มงคลกว่านี้ ท่านพระครูสุวรรณวารี (เป็น พระสหายของพระครูสาทรมงคลกิจ) จึงออก ความเห็ น ตั้ ง ชื่ อว่ า “วั ด มงคล” เสี ย เลยเป็ น อย่างไร และบ้านเหล่าเสือโก้กมี 2 วัด (ในขณะนัน้ ) ควรเพิม่ เติมค�ำว่า ใน และ นอก ต่อท้ายชือ่ ค�ำว่า มงคล เข้าไป วัดทีส่ ร้างก่อนอยูใ่ นบ้านควรเรียกว่า “วัดมงคลใน” ดังนั้นวัดเหล่าเสือโก้ก จึงได้ชื่อ ใหม่วา ่ วัดมงคลใน ตัง้ แต่สมัยพระครูสาทรมงคล กิจเป็นเจ้าอธิการ เป็นต้นมาจนถึงปัจจุบัน

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

(4

).indd 391

391

31/5/2561 17:09:45


ล�ำดับเจ้าอาวาส 1. ญาถ่านค�ำ หรือ ญาถ่านหลักค�ำ เป็นพระ ทีป่ ฏิบตั เิ คร่งในศีลจารวัตร มีความรูค้ วามสามารถสูง แตกฉานในพุทธศาสนา อักษรไทยใหญ่ ไทยน้อย อักษรขอม อักษรลาว อักษรธรรม 2. ญาถ่ า นทั น (บุ ญ ทั น ) ปฏิ บั ติ เ ข้ ม ใน พระธรรมวินัย เช่น การแบ่งปันแจกจ่ายของแก่ พระภิกษุสามเณรที่ชาวบ้านน�ำมาถวายให้เป็น ของสงฆ์นั้น ท่านจะต้องประชุมสงฆ์อย่างน้อย 4 รูป เพื่อรับทราบรับรู้ร่วมกัน ถือเป็นมติสงฆ์ จึงแจกจ่ายแบ่งปันสิง่ ของแก่พระเณรไป การเทศ สั่งสอนอบรมศิษย์และญาติโยมทั้งหลาย ท่าน เน้นให้เป็นคนช่างสังเกตจดจ�ำ จากการประพฤติ ปฏิบัติจึงจะได้รับผลส�ำเร็จและเจริญเป็นสัตย์ บุรุษ ท่านมักจะใช้ค�ำพูดที่น่าฟังน่าคิดพิจารณา ตัวอย่างเช่น “เรียนรูแ้ ล้วไม่ปฏิบตั ิ ลงท้ายจะเป็น สัตว์ควายเอย” 3. ญาถ่านสี (สี อินลี) เป็นพระที่เข้มเรื่อง การศึกษา ท่านได้จดั การศึกษาในวัดให้ดขี นึ้ เป็น รู ป ธรรมและกิ จ จะลั ก ษณะขึ้ น ท่ า นได้ ส ร้ า ง อาคารเรียนเป็นโรงยาวรูปตัวแอล (L) ไว้ให้ ลูกหลานชาวบ้านพระเณรได้ศึกษาสายสามัญ มีอาจารย์เป็นครูสอน 4. ญาถ่านสาธุ์ หรือ พระครูสาธรมงคลกิจ ท่านเป็นพระเถรานุเถระที่ประชาชนชาวเหล่า เสื อ โก้ ก ให้ ค วามเคารพนั บ ถื อ เป็ น อย่ า งยิ่ ง ลูกศิษย์ลกู หามากมายล้วนได้รบั ผลส�ำเร็จในการ ศึกษาและชีวติ ครอบครัว เมือ่ ท่านมรณภาพทีว่ ดั พลแพน อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี (เป็น เจ้าอาวาสวัดพลแพน) อัฐิส่วนหนึ่งของท่าน ลู ก ศิ ษ ย์ ไ ด้ น� ำ มาบรรจุ ไ ว้ ใ นธาตุ ด้ า นทิ ศ ได้ อุโบสถ วัดมงคลใน เพื่อให้ประชาชนที่ศรัทธา เคารพเลื่อมใสได้กราบไหว้บูชา

392

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

(4

).indd 392

5. พระครูมงคลสาธุกิจ (ค�ำมี ธมฺมทินโน) ผลงานที่เป็นรูปธรรมที่ส�ำคัญ เช่น เปิดโรงเรียน บาลีสาธิตศึกษา ในเครือมหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัย สาขาวัดทุง่ ศรีเมือง จังหวัดอุบลราชธานี ระดับ ม.1 - ม.6 ปัจจุบัน เป็นโรงเรียนวัดมงคล ในวิทยา สร้างศาลาการเปรียญและสร้างกุฏิ เมือ่ พ.ศ. 2525 สร้างเมรุในปี พ.ศ. 2532 สร้าง อุ โ บสถหลั ง ใหม่ พ.ศ. 2540 ท่ า นเป็ น พระสงฆาธิการ พระครูเจ้าคณะต�ำบลชั้นเอก 6. พระครูวิสิฐจันทคุณ (กาสี สิริจนฺโท) ปี พ.ศ. 2551 - 2556 เป็นเจ้าคณะอ�ำเภอ รูปแรกของอ�ำเภอเหล่าเสือโก้ก 7. พระปลัดประคอง ปัญญาคโม เจ้าอาวาส รูปปัจจุบัน

31/5/2561 17:10:04


ประวัติเจ้าอาวาส พระปลัดประคอง ฉายา ปญฺญาคโม อายุ 52 พรรษา 30 น.ธ.เอก วัดมงคลใน ต�ำบลเหล่า เสือโก้ก อ�ำเภอเหล่าเสือโก้ก จังหวัดอุบลราชธานี สถานะเดิม ชือ่ ประคอง งามเถือ่ น เกิดวันที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2509 อุปสมบท วันที่ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2531 ณ วัดมงคลใน ต�ำบลเหล่าเสือโก้ก อ�ำเภอเหล่า เสือโก้ก จังหวัดอุบลราชธานี พระอุปัชฌาย์ พระครู ม งคลสาธุ กิ จ พระกรรมวาจาจารย์ พระกาสี สิ ริ จ นฺ โ ท พระอนุ ส าวนาจารย์ พระเฉลิมชัย กิตฺติญาโณ วิทยฐานะทางธรรม พ.ศ. 2536 สอบได้ น.ธ.เอก ส�ำนักเรียนคณะจังหวัดอุบลราชธานี วิทยฐานะทางโลก พ.ศ. 2520 ส�ำเร็จชั้นประถมศึกษาจาก โรงเรียนบ้านนาไผ่ พ.ศ. 2537 ส�ำเร็จการศึกษาชัน้ มัธยมศึกษา ต อ น ต ้ น ที่ โ ร ง เ รี ย น บ า ลี ส า ธิ ต ศึ ก ษ า ฯ มหาวิ ท ยาลั ย มหาจุ ฬ าลงกรณราชวิ ท ยาลั ย วัดทุ่งศรีเมือง

พระปลัดประคอง ปัญญาคโม เจ้าอาวาสวัดมงคลใน

พ.ศ. 2540 ส�ำเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่โรงเรียนบาลีสาธิตศึกษาฯ มหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วัดทุ่งศรีเมือง พ.ศ. 2545 ส�ำเร็จปริญญาตรี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตอุบลราชธานี พ.ศ. 2547 ส�ำเร็จการศึกษาปริญญาโท M.Ed. (ศษ.ม.) จากมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

(4

).indd 393

393

31/5/2561 17:10:24


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดสัลเลขธรรม พระครูวิจิตรสัลเลขคุณ เจ้าอาวาสวัดสัลเลขธรรม

ประวัติความเป็นมา วัดสัลเลขธรรม ตั้งอยู่เลขที่ 129 หมู่ 6 ต�ำบลแพงใหญ่ อ�ำเภอเหล่าเสือโก้ก จังหวัด อุบลราชธานี ตามประวัตเิ ล่าว่า สถานทีแ่ ห่งนีเ้ ป็นทีป่ ระดิษฐานพระพุทธรูปศักดิส์ ทิ ธิ์ มีอายุเก่าแก่ คู่บ้านคู่เมืองของชาวเหล่าเสือโก้ก มีอายุหลายร้อยปี โดยชาวบ้านขนานนามว่า “พระเจ้าใหญ่ บ้านถ่อน” เป็นที่เคารพสักการบูชาของพุทธศาสนิกชน ชาวบ้านจะมีความเชื่อว่า เมื่อมา อธิ ษ ฐานกราบไหว้ ข อพรพระเจ้ า ใหญ่ บ ้ า นถ่ อ น แล้ ว จะส� ำ เร็ จ ตามความปรารถนา โดยมี พระภิกษุสงฆ์แวะเวียนมาพ�ำนักปฏิบัติธรรมอยู่ในสถานที่แห่งนี้มิได้ขาด และเป็นที่ประกอบ พิธีกรรมของชุมชนชาวเหล่าเสือโก้ก อันเป็นประเพณีและวัฒนธรรมดั้งเดิม คือ “ประเพณี สรงน�้ำพระเจ้าใหญ่บ้านถ่อน” จะนัดหมายกันมาท�ำบุญถวายภัตตาหารแก่พระภิกษุสงฆ์ สามเณรและสรงน�้ำพระ ในระหว่างเดือน 6 ของทุกปี โดยมีความเชื่อว่าจะท�ำให้ฝนฟ้าตกต้อง ตามฤดูกาล พืชพันธุ์ธัญญาหารอุดมสมบูรณ์ และเพื่อความเป็นสิริมงคลแก่ตนและครอบครัว ซึ่งปฏิบัติสืบทอดกันมาแต่สมัยบรรพบุรุษ จนถึงปัจจุบัน 394

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

(2

).indd 394

31/5/2561 16:46:47


เมื่อปี พ.ศ.2544 มีพระมุกดา กัลฺยาโณ มาพ�ำนักอยู่เพื่อเจริญสมณธรรม ท่านเห็นว่า สถานที่แห่งนี้เป็นสถานที่สัปปายะเหมาะแก่ การปฏิบัติธรรม และได้อยู่จ�ำพรรษาจนถึง ปั จ จุ บั น และเห็ น ว่ า เนื้ อ ที่ ส� ำ นั ก สงฆ์ มี แ ค่ ประมาณ 4 ไร่ ไม่เพียงพอในการที่จะรองรับ พระสงฆ์ ส ามเณร อุ บ าสกอุ บ าสิ ก า ผู ้ ม า ปฏิ บั ติ ธ รรม จึ ง ได้ บ อกบุ ญ ญาติ โ ยมจั ด ซื้ อ ที่ดิน เพื่อขยายเขตส�ำนักสงฆ์เพิ่มเติม จ�ำนวน 6 ไร่ 3 งาน และท�ำการถมที่ดิน ปลูกต้นไม้ นานาพันธุ์ให้ร่มเงา เพื่อเป็นสถานที่สัปปายะ ในอนาคต สร้างห้องน�้ำ กุฏิ โรงครัว ศาลา เสนาสนะขึ้นมาตามล�ำดับ ปี พ.ศ.2551 ได้ ด� ำ เนิ น การขออนุ ญ าตสร้ า งวั ด และได้ รั บ อนุญาตให้สร้างวัดให้ ถูกต้องตามกฎมหาเถร สมาคม เพื่อความมั่นคงแห่งพระพุทธศาสนา สืบไป ปี พ.ศ.2553 ได้รับอนุญาตให้ตั้งวัด จากส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ได้รับ ชื่ อ วั ด ว่ า “วั ด สั ล เลขธรรม” และได้ ตั้ ง เจ้าอาวาสรูปแรก คือ “พระอธิการมุกดา กั ล ยาโณ” เป็ น เจ้ า อาวาส จนถึ ง ปั จ จุ บั น ปี พ.ศ.2554 ได้ท�ำการซื้อที่ดินขยายเขตวัด จ�ำนวน 11 ไร่ เพื่อจะสร้างอุโบสถ ปี พ.ศ. 2555 ได้ท�ำการวางศิลาฤกษ์อุโบสถ ขนาด กว้าง 18 เมตร ความยาว 45 เมตร และ ก่อสร้างเสร็จใน ในปี พ.ศ.2559 ปี พ.ศ.2560 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา ปี พ.ศ.2560 ได้ รั บ คั ด เลื อ กให้ เ ป็ น ส� ำ นั ก ปฏิ บั ติ ธ รรม ประจ�ำจังหวัดอุบลราชธานี แห่งที่ 27

ประวัติเจ้าอาวาส พระครู วิ จิ ต รสั ล เลขคุ ณ สถานะเดิ ม ชื่อ มุกดา นามสกุล จันทร์มะณี บิดา นายชื่น จันทร์มะณี มารดา นางสี ธรรมสัตย์ เกิดเมื่อ วันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ.2517 บ้านเลขที่ 17 หมู ่ ที่ 13 บ้ า นหนองสนม ต� ำ บลบั ว งาม อ�ำเภอเดชอุดม จังหวัดอุบลราชธานี อุปสมบท เมื่ออายุ 22 ปี เมื่อวันที่ 18 ธันวาคม พ.ศ.2538 ณ พัทธสีมาวัดหนองหว้า ต� ำ บลขามใหญ่ อ� ำ เภอเมื อ ง จั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี มี พระครู วิ จิ ต รศาสนการ เป็นพระอุปัชฌาย์ พระครูสุนทรพัฒนวิธาน เป็ น พระกรรมวาจาจารย์ พระตึ้ ง วิ สุ ทฺ โ ธ เป็ น พระอนุ ส าวนาจารย์ ได้ รั บ ฉายาว่ า “กลฺยาโณ” พ.ศ.2541 สอบได้นักธรรมชั้นเอกส�ำนัก เรียนคณะจังหวัดอุบลราชธานี พ.ศ.2550 เป็ น พระสอนศี ล ธรรมใน โรงเรียน พ.ศ.2552 ได้รับแต่งตั้งเป็นเลขานุการ เจ้าคณะต�ำบลแพงใหญ่ พ.ศ.2553 ได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาส วัดสัลเลขธรรม พ.ศ.2554 ได้ผ่านการอบรมเป็นพระนัก เทศน์เฉลิมพระเกียรติ พ.ศ.2554 ได้ ผ ่ า นการอบรมเป็ น พระวิปัสสนาจารย์ พ.ศ.2555 ได้ จ บการศึ ก ษาระดั บ ปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ ราชวิทยาลัย พธบ. พ.ศ.2558 ได้ ผ ่ า นการอบรมเป็ น พระธรรมทูต พ.ศ.2558 ได้รับพระราชทานสัญญา บั ต ร พั ด ยศ เจ้ า อาวาสวั ด ราษฎร์ ชั้ น โท ราชทินนามที่ “พระครูวิจิตรสัลเลขคุณ” พ . ศ . 2 5 6 0 ไ ด ้ รั บ พ ร ะ ร า ช ท า น วิสุงคามสีมา พ.ศ.2560 ได้เป็นเจ้าส�ำนักปฏิบัติธรรม ประจ�ำจังหวัดอุบลราชธานี แห่งที่ 27

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

(2

).indd 395

395

31/5/2561 16:47:01


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

396

(4

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

).indd 396

31/5/2561 16:37:08


วัดดงบังใต้ เจ้าอธิการสถิตย์ ปภากโร

เจ้าคณะต�ำบลดอนมดแดง วัดดงบังใต้

ประวัติความเป็นมา วัดดงบังใต้ ตั้งอยู่เลขที่ 124 หมู่ที่ 14 ต�ำบลดอนมอแดง อ�ำเภอดอนมดแดง จังหวัด อุบลราชธานี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ทีด่ นิ ตัง้ วัดเนื้อที่ 6 ไร่ 1 งาน 12 ตารางวา อาณาเขต ทิศเหนือประมาณ 2 เส้น 3 วา จดที่ดินนายกุ คงโท ทิศใต้ประมาณ 2 เส้น จดที่ดินหนองสิม ทิศตะวันออกประมาณ 3 เส้น 3 วา จดถนน ทิศตะวันตกประมาณ 3 เส้น จดถนน มีทธี่ รณีสงฆ์ จ�ำนวน 1 แปลง เนื้อที่ 5 ไร่ 1 งาน 12 ตาราง วัด ดงบังใต้ ตั้งเมื่อ พ.ศ. 2330 ได้รับ พระราชทานวิ สุ ง คามสี ม า เมื่ อ วั น ที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2534 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 14 เมตร ยาว 20 เมตร อาคารเสนาสนะ ศาลาการเปรียญ กว้าง 15 เมตร ยาว 30 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2517 กุฏิสงฆ์ จ�ำนวน 3 หลัง เป็นอาคารไม้ วิหารกว้าง 2 เมตร ยาว 10 เมตร เป็น อาคารไม้ สร้างเมื่อ พ.ศ. 2520 ศาลาบ�ำเพ็ญบุญ 1 หลัง โรงครัว 1 หลัง ศาลากลางบ้าน 1 หลัง ห้องน�้ำ ห้องสุขา 17 ห้อง ศาลาการเปรียญ 2 ชัน้ กว้าง 15 เมตร ยาว 30 เมตร ปูชนียวัตถุ พระพุทธรูป จ�ำนวน 9 องค์

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

(4

).indd 397

397

31/5/2561 16:37:27


398

(4

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

).indd 398

31/5/2561 16:38:18


รายนามเจ้าอาวาส รูปที่ 1 พระค�่ำ คงดี พ.ศ. 2470 - 2475 รูปที่ 2 พระสวน คงดี พ.ศ. 2475 - 2477 รูปที ่ 3 พระเทียม หอมแก้ว พ.ศ. 2478 - 2479 รูปที่ 4 พระดี บุญเนตร พ.ศ. 2480 - 2484 รูปที ่ 5 พระเคน จุลดาลัย พ.ศ. 2486 - 2487 รูปที ่ 6 พระเคน ปราภากโร พ.ศ. 2489 - 2492 รูปที ่ 7 พระสุด จานฺทสาโร พ.ศ. 2496 - 2513 รูปที่ 8 พระพูล ปิยธมฺโม พ.ศ. 2525 รูปที่ 9 พระอธิการสถิตย์ ปภากโร พ.ศ. 2553 – ปัจจุบัน ประวัติเจ้าอาวาส เจ้าอธิการสถิตย์ ปภากโร อายุ 58 พรรษา 31 วิทยฐานะ น.ธ.เอก, พธ.บ. วัดดงบังใต้ ด�ำรง ต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดดงบังใต้ ต�ำบลดอนมอแดง อ�ำเภอดอนมดแดง จังหวัดอุบลราชธานี

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

(4

).indd 399

399

31/5/2561 16:38:30


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดกุดกั่ว พระครูสังวรวัฒนคุณ

เจ้าอาวาสวัดกุดกั่ว รองเจ้าคณะอ�ำเภอดอนมดแดง ประวัติความเป็นมา วัดกุดกั่ว ตั้งอยู่ที่บ้านกุดกั่ว หมู่ที่ 3 ต�ำบลดอนมดแดง อ�ำเภอดอนมดแดง จังหวัดอุบลราชธานี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีทดี่ นิ ตัง้ วัด เนือ้ ที่ 9 ไร่ 1 งาน 9 ตารางวา โฉนดทีด่ นิ เลขที่ 35 อาณาเขต ทิศเหนือประมาณ 4 เส้น 10 วา จดถนนหลวง ทิศใต้ประมาณ 4 เส้น 10 วา ทิศตะวันออกประมาณ 2 เส้น 11 วา จดทีน่ ายค�ำ เก่งหน่อแก้ว ทิศตะวันตกประมาณ 2 เส้น 11 วา จดถนนซอยในหมูบ่ า้ น อาคารเสนาสนะ ประกอบด้วยอุโบสถ กว้าง 6 เมตร ยาว 15 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2526 พระประธานในโบสถ์ ชือ่ “พระเจ้าใหญ่องค์แสน” มีกฏุ สิ งฆ์ จ�ำนวน 4 หลัง เป็นอาคารครึง่ ตึกครึง่ ไม้ และศาลาอเนกประสงค์ กว้าง 5 เมตร ยาว 4 เมตร ปูชนียวัตถุมีพระพุทธรูป จ�ำนวน 5 องค์ วัดกุดกั่ว ตั้งเมื่อ พ.ศ. 2335 เดิมทีชื่อว่า วัดสิงหาญ ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2530 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 25 เมตร ยาว 35 เมตร

400

(

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

)2

14.5.61.indd 400

31/5/2561 16:05:59


ล�ำดับเจ้าอาวาส รูปที่ 1 พระแดง พ.ศ.2470 - 2479 รูปที่ 2 พระสวน หน่อแก้ว พ.ศ.2480 - 2482 รูปที่ 3 พระจอม พ.ศ.2483 - 2485 รูปที่ 4 พระเพชร พ.ศ.2486 - 2489 รูปที่ 5 พระสุพล เวียงค�ำ พ.ศ.2490 - 2493 รูปที่ 6 พระทองหล่อ พ.ศ.2494 - 2496 รูปที่ 7 พระโสม อินลา รูปที่ 8 พระครูสังวรวัฒนคุณ พ.ศ.2524 - ปัจจุบัน ด�ำรงต�ำแหน่ง รองเจ้าคณะอ�ำเภอดอนมดแดง

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

(

)2

14.5.61.indd 401

401

31/5/2561 16:06:17


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดบ้านค้อ

พระครูประทีปสุวรรณคุณ เจ้าอาวาสวัดบ้านค้อ

ประวัติความเป็นมา วัดบ้านค้อ ตั้งอยู่เลขที่ 29 บ้านค้อ หมู่ที่ 9 ต�ำบลเหล่าแดง อ�ำเภอดอนมดแดง จังหวัด อุบลราชธานี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ที่ดินตั้งวัดมีเนื้อที่ 9 ไร่ 2 งาน 91 ตารางวา อาคาร เสนาสนะประกอบด้วยอุโบสถ สร้างเมื่อ พ.ศ.2537 ศาลาการเปรียญ กว้าง 9 เมตร ยาว 20 เมตร เป็นอาคารไม้ สร้างเมื่อ พ.ศ. 2516 หอสวดมนต์กว้าง 9 เมตร ยาว 32 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2529 กุฏิสงฆ์ จ�ำนวน 2 หลัง เป็นอาคารไม้ ศาลาอเนกประสงค์กว้าง 9 เมตร ยาว 21 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2528 และศาลาบ�ำเพ็ญกุศล จ�ำนวน 2 หลัง สร้างด้วยไม้ ปูชนียวัตถุ มีพระพุทธรูป จ�ำนวน 20 องค์ วัดบ้านค้อ ตั้งเมื่อ พ.ศ. 2329 เดิมมีวัด ชื่อว่า “วัดโนนค้อ” ได้รับบริจาคที่ดินจาก ราษฎรประมาณ 3 ไร่ 2 งาน 91 ตารางวา ต่อมาสมัยพระครูสุภัทธรรมคุณ ได้ขอบริจาค ที่ดินของชาวบ้านรอบๆบริเวณวัดเพิ่มและ ได้เปลี่ยนชื่อวัดเป็น “วัดบ้านค้อ” ได้รับ พระราชทานวิสงุ คามสีมาเมือ่ วันที่ 3 กันยายน 402

(1

พ.ศ. 2535 เขตวิสุงคามสีมากว้าง 20 เมตร ยาว 40 เมตร การศึกษา มีโรงเรียนพระปริยัติ ธรรมแผนกธรรม เปิดสอนเมื่อ พ.ศ. 2520

รายนามเจ้าอาวาส รูปที่ 1 พระเลียง พ.ศ. 2503 - 2511 รูปที่ 2 พระครู สุภัทธรรมคุณ พ.ศ. 2512 - 2516 รูปที่ 3 พระทองค�ำ ทีปโก พ.ศ. 2530 รูปที่ 4 พระครูประทีปสุวรรณคุณ ปัจจุบัน

SBL บันทึกประเทศไทย I UBON RATCHATHANI

).indd 402

31/5/2561 15:57:11


.indd 403

31/5/2561 15:20:52


BEST IN TRAVEL 2017

B E S T IN T R AV E L

2017

TOP 10 PHOTOGRAPHS

OF TH E YE AR

ที่สุดแห่งการบันทึก

ความทรงจ�ำ หนึ่งความทรงจ�ำของการเดินทางในปี 2560 ภู ผ าม่ า น บริ สุ ท ธิ์ ง ดงามเหนื อ กาลเวลา พื้ น ที่ ที่ ส มบู ร ณ์

www.sbl.co.th

ไปด้วยพรรณไม้และสัตว์ป่านานาชนิด สภาพอากาศจะเย็นชื้น เกือบตลอดปี อุทยานแห่งชาติภูผาม่าน จังหวัดขอนแก่น

BEST

.indd 404

IN

TRAVEL

2017 1/6/2561 15:14:20


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.