ฉบับที่ 71 จังหวัดสุรินทร์ พ.ศ. 2561
Magazine
SURIN อารยะ วัฒนธรรมขอมโบราณ EXCLUSIVE
นายอรรถพร สิงหวิชัย
ผู้ว่าราชการจังหวัดสุรินทร์
SPECIAL INTERVIEW
นายเพทาย สดทรงศิลป์
ผู้อ�านวยการส�านักงาน พระพุทธศาสนาจังหวัดสุรินทร์
“ท�าไม สุรินทร์จึงเป็นเมืองมนต์ (เมืองแห่งปัญญา) เมืองแห่งคนมีเมตตาธรรม”
Vol.9 Issue 71/2018
รูปสลักนางอัสราที่เสาด้านข้างซุ้มประตู พบเห็นได้เพียงแห่งเดียวในประเทศไทย www.sbl.co.th
.indd 5
ปราสาทศีขรภูมิ
6/6/2561 17:51:36
.indd 2
6/6/2561 12:07:44
โรงแรมโซริน บูทีค SORIN BOUTIQUE HOTEL
ความหรูหราของที่พัก บน “อัตลักษณ์” ของจังหวัดสุรินทร์ ปรากฏการณ์ที่พัก เอกลักษณ์ เมืองสุรินทร์ ที่คุณสามารถสัมผัสได้ คุณจะได้สัมผัส กับการพักผ่อนอย่างเต็มรูปแบบ หรูหราระดับ 5 ดาว อย่างที่ ไม่เคยหาได้ ในจังหวัดสุรินทร์ www.sorinhotel.com sorin_boutiquehotel@hotmail.com
0
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
.indd 3
6/7/2018 12:10:48 AM
โรงแรมทองธารินทร์
“ ความประทับใจของท่าน คือ ความภูมิ ใจของเรา ” โรงแรมทองธารินทร์ โรงแรมชั้นหนึ่งในจังหวัดสุรินทร์ ตั้งอยู่ ใจกลางเมืองสุรินทร์ จึงสะดวกสบายในการเดินทางไปยัง สถานที่ต่างๆ โดดเด่นทันสมัยด้วยอาคารสูง 12 ชั้น พร้อม บริการที่จอดรถสะดวกสบายส�าหรับทุกท่าน
เลือกใช้บริการไม่ว่าจะเป็นงานเลี้ยงแบบ ค้อกเทล บุฟเฟ่ต์ หรือโต๊ะจีน ฝรัง่ พร้อมด้วย อุปกรณ์ทที่ นั สมัยส�าหรับงานประชุมสัมมนา
ห้องพักหรูหรา สะดวกสบาย โรงแรม ทองธารินทร์สร้างสรรค์สิ่งที่ดีที่สุดไว้คอย บริการท่าน ด้วยห้องพักหรู มากกว่า 200 ห้อง ประกอบไปด้วย ห้องเอ๊กซ์คลูซีฟ สวีท, ห้องวีไอพี สวีท , ห้องจูเนียร์ สวีทและห้องดี ลักซ์พรั่งพร้อมด้วยสิ่งอ�านวยความสะดวก ต่างๆ อาทิ ระบบปรับอากาศ ทีวี ตู้เย็น มินิ บาร์ และฟรีอินเตอร์เน็ท WiFi ความเร็วสูง ห้องประชุมสัมมนา-จัดเลี้ยงครบวงจร สัมผัสกับความสมบูรณ์แบบของห้องประชุม สัมมนาและจัดเลี้ยงจ�านวน 12 ห้อง รองรับ ได้ตงั้ แต่ 20-3,000 ท่านขึน้ ไป พร้อมให้ทา่ น 4
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
.indd 4
6/7/2018 5:26:41 PM
เมเปิ้ลภัตตาคาร บริการอาหารจีนที่ดีที่สุดในจังหวัดสุรินทร์ และเป็นจุดนัดพบ ที่แสนโรแมนติกด้วยเสียงดนตรีจากเปียโนและนักร้องสาวแสนสวยขับกล่อมเพลง หลากหลายอรรถรส เติมเต็มอารมณ์ทา่ นด้วยบรรยากาศอันแสนอบอุน่ อิม่ อร่อยกับ อาหารจีน (เป็ดปักกิง่ ) ทีใ่ ครมาแล้วต้องสัง่ และอีกหลากหลายเมนูทงั้ ไทย จีน ยุโรป ศูนย์รวมบันเทิงหลากรูปแบบ โรงแรมทองธารินทร์ ไม่เพียงแต่จะมีห้องพักอัน แสนสบายและอบอุ่นเท่านั้น แต่เรายังเป็นศูนย์รวมแห่งความบันเทิงและความผ่อน คลายเพือ่ ทุกท่าน อาทิ สนุก๊ เกอร์ คลับ Coffee Gold , นวดแผนไทย โรสควีน อาบ อบ นวด เลขที่ 60 ถนนศิริรัฐ ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ 32000 โทรศัพท์ 044-514281-8 โทรสำร 044-511580 GPS.14.886415,103.500103 SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 5
5
6/7/2018 5:26:11 PM
ไอน�้ำรีInamresort สอร์ท บรรยากาศส่วนตัว บริการแบบครอบครัว สะอาด ปลอดภัย แวะเที่ยวเมืองสุรินทร์ ทุกถิ่นที่ เป็นจังหวัดที่ได้ชื่อว่า เป็นเมืองช้างใหญ่ มีมรดกทางวัฒนธรรมที่เชิดหน้า ชูตา เป็นเมืองชายแดนที่มีอาณาเขตติดต่อกับ กัมพูชา ประชาธิปไตย มีภูเขาบรรทัดกั้นพรมแดน สุรินทร์ อยู่ห่างจากกรุงเทพฯ 451 กม. มีแหล่งท่องเที่ยว ด้านประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม ประเพณี วิถีชีวิต เช่น ปราสาทศีขรภูมิ หมู่บ้านช้างจังหวัดสุรินทร์ เป็นต้น 6
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
.indd 6
6/11/2018 6:54:43 PM
ติดต่อส�ำรองห้องพักอย่ำงดี รำคำมิตรภำพ ไอน�้ำรีสอร์ท (Inamresort) โทรศัพท์ 044-159044 มือถือ 089-8492750 , 085-3014653 ,091-8273827 facebook ไอน�้ำ รีสอรท์ Inamresort ไอน�้ำ รีสอรท์ (Inamresort) ตัง้ อยู่ เลขที่ 417 ม. 10 ต. นอกเมือง อ. เมือง จ. สุรนิ ทร์ 32000 สะดวกสบำย สะอำด บริ ก ำรห้ อ งพั ก ทั้ ง แบบรำยวั น และ รำยเดือน ที่จอดรถกว้ำงขวำง กำรสัญจร สะดวกสบำย
แล้วพบกันที่ ไอน�้ำ ห้องพักสะอำด คุ้มค่ำรำคำที่เข้ำพัก บริกำรห้องพักทัง้ แบบห้องปรับอำกำศ และห้องพัดลม ห้องน�ำ้ ในตัว ทุกห้องมี TV ฟรีอินเตอร์เน็ต เครื่องท�ำน�้ำอุ่น ตู้เย็น ไอน�้ำ รีสอรท์ (Inamresort ) อยู่ห่ำงจำก อ่ำงเก็บน�้ำห้วยเสนง ประมำณ 1500 เมตร บนทำงหลวงแผ่นดินหมำยเลข 214 (เลี่ยง เมือง) ต�ำบล นอกเมือง อ�ำเภอ เมืองสุรินทร์ จังหวัด สุรินทร์ เปิด ต้อนรับตลอด24 ชั่วโมง บรรยำกำศเงียบสงบแบบธรรมชำติ สะอำดบริกำรเป็นกันเอง ดุจญำติมิตร
SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 7
7
6/6/2018 11:47:43 PM
สยามมารีน่า สยามมารีน่า บริการห้องพักรายวันและรายเดือน อยู่ใกล้ถนนเลี่ยงเมือง ติดทางหลวงหมายเลย 214 จากถนนประมาณ 150 เมตร ทางเข้า อบต.นอกเมือง ห้องพัก สไตส์โมเดิรน์ สะอาด สะดวก สบาย เงียบสงบเหมาะกับการพักผ่อน มีสงิ่ อ�านวยความสะดวกครบครัน ภายในห้องพักอาทิเช่น แอร์ เครือ่ งท�าน�า้ อุน่ ทีวี ตูเ้ ย็น ตูเ้ สือ้ ผ้าขนาดใหญ่ เตียงนอนกว้างขวาง สัญญาณอินเตอร์เน็ต wifi และทีจ่ อดรถสะดวกปลอดภัย เปิดบริการ 24 ชัว่ โมง ที่อยู่ 234 หมู่ 12 ต�าบลนอกเมือง อ�าเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ เบอร์ โทร : 095-5249391
สยามมารีน่า 8
095-5249391
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
.indd 8
6/6/2018 11:52:08 PM
สยามมารีน่า
SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 9
9
6/6/2018 11:53:21 PM
Editor’s Talk ผู้บริหาร คณะที่ปรึกษา ศ.ดร.กฤช เพิ่มทันจิ ต ต์ , พลเอกสรชั ช วรปั ญญา, ดร.พิ ชั ย ทรั พ ย์ เ กิ ด ดร.นิเวศน์ กันไทยราษฎร์ , ดร.ประยุ ท ธ คงเฉลิ ม วั ฒน์ , ดร.ชาญ ธาระวาส, ดร.สุ มิ ท แช่ ม ประสิ ท , ดร.วั ล ลภ อารี ร บ, ดร.ไอศูรย์ ดีรัตน์, ดร.สุ เ ทษณ์ จั น ทรุ กขา, ดร.อรรถสิ ท ธิ์ ตั น ติ วิรั ช กุ ล บรรณาธิการอ�านวยการ ศุภกิจ ศิลปรังสรรค์ บรรณาธิการบริหาร อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์ บรรณาธิการงานบุคคล พงษ์ศัก ดิ์ พรณัฐวุ ฒิ กุล , วนั ส กฤษณ์ ศิ ล ปรั งสรรค์ ฝ่ายกฎหมาย สมคิด หวังเชิดชูว งศ์ , ทวิ ช อมรนิ มิ ต ร
กองบรรณาธิการ ฝ่ายประสานงานโครงการ ภาครัฐและเอกชน
ฝ่ายศิลปกรรม
ผู้จัดการ
พั ชรา ค� ามี
อัครกฤษ หวานวงศ์
กราฟิกดีไซน์
คณะทีมงาน
พิ ม พ์ พิสุ ท ธิ์ พั งจู นั น ท์ , วรเชษฐ สมประสงค์ , จั กรพั น ธ์ สิ งห์ ดี , เดโช รอดอนั น ตกิ จ
กษิดิส ไทยธรรม นายนิรุจน์ แก้ว เล็ก นางสาวสุษฎา พรหมคี รี นายศรัญ ย์ ภิระบรรณ์ ฝ่ายประสานงานข้อมูล ผู้จัดการ
นันท์ธนาดา พลพวก
ผู้จัดการ
ช่างภาพ
ชั ย วิ ชญ์ แสงใส, ปณต ปิ ติจารุ วิ ศ าล, กิ ติวั ฒน์ ทิ ศ มั่ ง, วิ ท ยา ประเสริ ฐ สั งข์ ตัดต่อ
ประสานงาน
วั ชรกรณ์ พรหมจรรย์
ศุภญา บุญ ช่วยชีพ, จันทิพย์ กันภัย, นงลัก ษณ์ เทียมเกตุ ท วี โ ชค
ฝ่ายบัญชี/การเงิน
นักเขียน
ฐิติรัตน์ สุวรรณโรจน์ ฝ่ายประสานงานจังหวัด กชกร รัฐวร
ทีมงานนิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย ฉบับพิเศษ มีความซาบซึ้งใจที่ได้เป็น ส่วนหนึ่งในการท่องถิ่นวัดพระกรรมฐานในจังหวัดสุรินทร์ เพื่อขยายความดีงามไปสู่ ท้องถิน่ ชุมชน และสังคมไทยในมุมกว้าง เราได้รบั การต้อนรับเป็นอย่างดี และมีความสุข ในขณะทีไ่ ด้เดินเล่นชมเมือง “ข้าวหอมมะลิ ผ้าไหมไทย ถิน่ ช้างใหญ่ ใจพระโพธิสตั ว์” ท�าให้พบว่า นี่แหละคือขุมทรัพย์อันยิ่งใหญ่ของชาวสุรินทร์และชาวไทยเลยทีเดียว ทีค่ วามมัน่ คง มัง่ คัง่ ทางวัฒนธรรม อันน�าไปสูค่ วามร�า่ รวยทีย่ งั่ ยืนในทางเศรษฐกิจอย่าง ยาวนานตลอดไป เพราะมีทพี่ งึ่ อันอุดม คือ พระธรรมค�าสอนของพระพุทธเจ้าทีผ่ า่ นมา ทางการปฏิบัติตนของบูรพาจารย์ชนิดก้าวต่อก้าวไม่ขาดตอนท�าให้คนรุ่นใหม่ได้รับ รสพระธรรมอันจริงแท้ไม่เสื่อมคลายต่อไปอย่างเต็มก�าลังด้วยความภาคภูมิใจของชาว “อีสานใต้” ในนามของนิตยสาร SBL ผมขอถือโอกาสนี้ กราบขอบพระคุณท่านผู้ว่าราชการ จังหวัดสุรนิ ทร์นายอรรถพร สิงหวิชยั พร้อมทัง้ สามรองผูว้ า่ ฯ อีกสามท่าน นายธรรมศักดิ์ รัตนธัญญา, นายวรพจน์ บัณฑิตยานุรักษ์ และว่าที่ร้อยตรีนิรันดร์ ดุจจานุทัศน์ ที่ช่วย ขับเคลื่อนพัฒนาจังหวัดให้ประสบความส�าเร็จในทุกด้าน ท่านท้องถิ่นจังหวัดสุรินทร์ นายอรรถพร สิงหวิชัย และท่านผู้อ�านวยการส�านักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดสุรินทร์ นายช�านาญ ศรีพารา ตลอดจนผูบ้ ริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ต่างๆ ศาสนสถาน บริษัท ห้างร้าน ฯลฯ ซึ่งกรุณาสนับสนุนให้ทีมงานด�าเนินการจัดท�านิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย ฉบับ จังหวัดสุรินทร์ ส�าเร็จลุล่วงด้วยดี ท�าให้เห็นภาพรวมของ จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์ ดิ น แดนแห่ ง ธรรมะ เมื อ งแห่ ง ปั ญ ญา เมื อ งแห่ ง คนมี เ มตตาธรรม อย่างเต็มเปี่ยม
บัญชี
ปั ฐ มาภรณ์ แสงบุ ร าณ การเงิน
ติดต่อ คุณศุภกิจ ศิลปรังสรรค์
กรรณิ การ์ มั่ น วงศ์ , สุ จิต รา แดนแก้ ว นิ ต , ณภั ท ร ชื่ น สกุ ล
Tel : 081-442-4445, 084-874-3861 Email : supakit.s@live.com Facebook : Supakit Sillaparungsan
ท้ายนี้ ผมขออาราธนาคุ ณพระศรี รั ต นตรั ยจงดลบั น ดาลให้ ทุ กท่ า นประสบแต่ ค วามสุ ข ความเจริ ญ และ ความส�าเร็จในทุก ด้ าน ผ่ านพ้ น อุ ปสรรคทั้ งหลายไปได้ ด้ ว ยดี ทุ กประการ
Editor’s.indd 10
(นายศุภกิจ ศิลปรังสรรค์) บรรณาธิการอ�านวยการ
บริษัท สมาร์ท บิซิเนส ไลน์ จ�ากัด
9/4-6 ถนนรามอินทรา แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพฯ 10220 โทร. 0-2522-7171 แฟกซ์. 0-2971-7747 Facebook : SBL บันทึกประเทศไทย Email : sbl2553@gmail.com
5/6/2561 11:06:43
พูลพิมานรีสอร์ท
pool pimaan resort
วิมานกลางสวน อบอุ่นแบบบ้าน บริการแบบโรงแรม ส�ำหรับเรำ...บ้ำน คือ ทีอ่ ยู่ ทีพ่ กั ทีท่ เี่ รำอยำกจะใช้ชวี ติ พักผ่อนอย่ำงมีควำม สุขกับครอบครัวและคนทีเ่ รำรัก เรำจึงเลือกทีจ่ ะสร้ำงบ้ำนในฝันตำมควำมคิด ของเรำ โดยเฉพำะส�ำหรับ พูลพิมำน รีสอร์ท เป็นบ้ำนทีส่ ร้ำงขึน้ เพือ่ ตอบโจทย์ตำม ควำมฝันของคนสองคนทีอ่ ยำกจะมีบำ้ น อีกทัง้ เป็นบ้ำนทีน่ อกจำกสร้ำงควำม สุขแล้วต้องเป็น Home Make Money และยังมำพร้อมกับควำมต้องกำรส่วน ตัว... ที่ต้อนรับน้องหมำน้องแมว ที่ไม่สำมำรถหำที่พักระหว่ำงกำรเดินทำง ด้วยกำรจัดโซนส�ำหรับคนที่รักน้องหมำน้องแมวโดยเฉพำะขึ้น และแยก ออกจำกโซนปกติอย่ำงชัดเจน แต่ดว้ ยจ�ำนวนห้องมีจำ� กัดสำมำรถเปิดให้บริกำร โซนน้องหมำน้องแมวเพียง 2 ห้อง จึงขอควำมกรุณำลูกค้ำที่จะเข้ำพักส�ำรอง ห้องพักล่วงหน้ำก่อนค่ะ เพรำะเรำไม่อยำกให้ลูกค้ำไม่ได้รับควำมสะดวก ระหว่ำงกำรเดินทำงค่ะ
พูลพิมำน รีสอร์ท : อบอุ่นแบบบ้ำน บริกำรแบบ โรงแรม ตลอด 24 ชั่วโมงสะอำดปลอดภัย บรรยำกำศ ดี มีมุมเดินเล่นในสวน ระเบียงโปร่ง ละเลียดยำมเช้ำ ค�่ำอย่ำงส�ำรำญใจ พร้อมมีชำ/กำแฟไว้บริกำรชงดื่มใน ส่วนกลำง บริกำร Wi-Fi ฟรี มีทจี่ อดรถฟรีสะดวกสบำย ภำยในบริเวณที่พัก จองที่พักล่วงหน้ำ ติดต่อได้ที่โทรศัพท์ : 090-615- 9498 ตั้งอยู่เลขที่ 473-474 บ้ำนพันธุลี ต.นอกเมือง อ.เมือง จ.สุรินทร์ 32000 SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 11
11
6/7/2018 2:01:35 AM
Contents SURIN ฉบั บ ที่ 71 จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์ พ.ศ.2561
Editor’s Talk
27
10
บันทึกเส้นทางพบ ผู้ว่าราชการจังหวัด นายอรรถพร สิ ง หวิ ชั ย
44
บันทึกเส้นทางพบ รองผู้ว่าราชการจังหวัด นายธรรมศักดิ์ รั ต นธั ญ ญา
48
บันทึกเส้นทางพบ รองผู้ว่าราชการจังหวัด นายพรพจน์ บัณฑิ ต ยานุ รั กษ์
52
บันทึกเส้นทางพบ รองผู้ว่าราชการจังหวัด ว่าที่ร้อยตรีนิรันดร์ ดุจจานุทัศน์
56
บันทึกเส้นทางพบท้องถิน่ จังหวัด นายช�านาญ ศรี พารา
60
บันทึกเส้นทางพบส�านักพุทธฯ นายเพทาย สดทรงศิ ลป์
อ่า งเก็บน�้า ห้วยเสนง
12
ส� านั กงานขนส่ ง จั ง หวั ด 64 บั นทึ กเส้ นทางความเป็ น มา 74 บั นทึ กเส้ นทางท่ อ งเที่ ย ว 78 อบจ.สุ ริ นทร์ 91 ทม.สุ รินทร์ 96 อบต.เพี้ ยราม 100 วั ด ประทุ มธรรมชาติ 102 วั ด อาม็ อ ง 104 วั ด จ� าปา 106 วั ด หนองบั ว 108
27
บันทึกเส้นทางพบ
ผู้ว่าราชการจังหวัดสุรินทร์ นายอรรถพร สิงหวิชัย
วั ด มงคลรั ต น์ วั ด ไตรรั ต นาราม วั ด ราษฎร์ เจริ ญ ผล อ� า เภอท่ า ตู ม อบต.ท่ า ตู ม อบต.บะ อบต.หนองบั ว อบต.หนองเมธี อบต.ทุ ่ ง กุ ล า
110 112 114 116 118 120 122 124 126
วั ด โพธิ์ พ ฤกษาราม วั ด บ้ า นตาลวก อบต.โชคนาสาม วั ด สะเดารั ตนาราม วั ด สามราษฎร์ นุกู ล วั ด สามราษฎร์ บ�า รุ ง วั ด อมริ น ทราราม วั ด ศรี ล�า ยอง วั ด สุ วรรณวิ จิตร
128 131 132 134 138 142 146 148 150
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
.indd 12
06/06/61 04:25:53 PM
เมืองช้างบุ๊คเซ็นเตอร์ มอบคุณค่า มากกว่าความเป็นร้านหนังสือ เมื่อโลกออนไลน์และออฟไลน์มาบรรจบกัน “เมืองช้างบุ๊คเซ็นเตอร์” คือค�าตอบ
ร้านเมืองช้างบุ๊คเซ็นเตอร์ คือหนึ่งใน ธุรกิจท้องถิน่ ทีม่ งุ่ มัน่ พัฒนาตัวเอง และมอบ ประสบการณ์ของการเรียนรู้ให้กับลูกค้า ให้ คุ ณ ค่ า มากกว่ า ความเป็ น ร้ า นหนั ง สื อ ด้วยพื้นที่สร้างประสบการณ์ใหม่ ต่อยอด จิ น ตนาการได้ ทุ ก วั น ไม่ รู ้ จ บ เปรี ย บกั บ “ศูนย์การเรียนรู้ขนาดใหญ่” ด้วยสินค้ามี หลากหลายหมวดหมู่ มุ่งเน้นกลุ่มการศึกษา ทั้งโรงเรียนและหน่วยงานภาครัฐ จ�าหน่าย หนังสือ แบบเรียน เครื่องเขียน อุปกรณ์ วิ ท ยาศาสตร์ อุ ป กรณ์ กี ฬ า สื่ อ การเรี ย น การสอน กิ๊ฟช็อป สินค้าเบ็ดเตล็ด ส�าหรับ นักเรียน นักศึกษา และคนทั่วไปทุกสาขา อาชี พ เรามี ห นั ง สื อ ไลฟ์ ส ไตล์ เ พื่ อ ความ บันเทิงมากมาย ทั้งวารสาร นิตยสาร นิยาย ความรู้ แรงบันดาลใจ หรืออยากจะประดิษฐ์ ประดอยท�า Workshop ก็มี มาที่เดียวจบ ครบวงจร! แม้ว่าโลกปัจจุบันจะเข้าสู่ดิจิตอลอย่าง เต็มรูปแบบเร็วๆ นี้ แต่คุณค่าของหนังสือ และเสน่ห์ของการเลือกซื้อสินค้าในร้านไม่มี
วันจางหาย ประสบการณ์จากการเข้ามา สัมผัสร้านเมืองช้างบุ๊คเซ็นเตอร์ คือ ความ เพลิ ด เพลิ น กระตุ ้ น การเรี ย นรู ้ เมื่ อ โลก ออนไลน์และออฟไลน์มาบรรจบกัน เมืองช้างบุ๊คเซ็นเตอร์ มีสองสาขา สถานี รถไฟจังหวัดสุรินทร์ และ สาขาส�านักงาน ใหญ่ ต.เฉนียง จ.สุรินทร์ เราเชื่อว่า เพราะ การเรียนรู้คือสิ่งส�าคัญ ร้านกาแฟ Cup At MC กาแฟโดน บรรยากาศดี ฟรี Wifi ถนนสุรินทร์-ปราสาท(กม8) 59 หมู่ 7 ต.เฉนียง อ.เมือง จ.สุรินทร์ (340.25 km) เทศบาลเมืองสุรินทร์ 32000 โทร : 093-423 -5559 เปิดเวลา 8.30 - 18.00 น. กาแฟโดน บรรยากาศดี ฟรี Wifi .... ต้อง Cap@MC
SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 13
13
6/7/2018 5:16:39 PM
Contents SURIN
ฉบั บ ที่ 71 จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์ พ.ศ.2561
วัดมงคลคชาราม วัดพัฒนาธรรมาราม วัดโคกพยุง อบต.ยางสว่าง อบต.หนองระฆัง อบต.ยาง อบต.ช่างปี่ วัดช่างปี่ วัดประทุมสว่าง วัดป่าศรีประชา (ธ) ทต.สังขะ อบต.สะกาด วัดจัดสรรค์สงเคราะห์ วัดโพธาราม วัดป่าสังฆพงษ์พิทักษ์ ธรรมมาราม วัดป่าล�าหาด วัดธรรมรัตน์ โพธาราม วัดวังปลัดสามัคคี ทต.ล�าดวนสุรพิน ท์ วัดป่าคงคู วัดทักษิณวารีสิริ สุข อบต.โคกกลาง อบต.สะโน อ�าเภอโนนนารายณ์ อบต.หนองหลวง อบต.โนน
156 160 162 166 168 170 174 176 178 179 182 186 188 190 192 194 196 198 200 202 204 205 206 212 214 216
ปราสาทตาเมื อ นโต๊ ด
วนอุ ท ยานพนมสวาย
14
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
.indd 14
06/06/61 04:26:23 PM
โรงแรม ณ.แสงสิริ โฮเทล
na sangsiri hometel
บริการห้องพัก 24 ชม. เดินทางสะดวก สบาย ห้องพัก มีทีวีจอแบน บางห้องมีพื้นที่นั่งเล่นให้ท่านได้พักผ่อน หลังจากวันอันเหน็ดเหนื่อย เหมาะกับการพักผ่อน แบบ สบายๆ เงียบสงบ สะอาด ฟรี WiFi 378 ต�าบล นอกเมือง อ�าเภอเมืองสุรินทร์ สุรินทร์ โทร : 044-515552 Na Sangsiri Boutique Hotel
SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 15
15
6/7/2018 2:05:43 AM
บ้านสวนปลาเผา บรรยากาศดี อาหารรสเด็ด ผักสดปลอด สาร จัดเต็มทุกจาน จัดจ้านทุกเมนู บ้านสวนปลาเผา กับทุกเมนู ปลา ปลา อิ่ม อร่อย ย่อยง่าย รับประทานคู่กับผักสดๆ ปลอดสารพิษ จากสวนเราเอง อาทิ ปลาเผาพร้อมเสิรฟ ์ , ต้มย�ารังไข่, ปลาช่อนลุยสวน, เมีย่ งปลาเผา ปลานิลนึ่งมะนาว และปลานิล 2 ร่าง ในจานเดียว ทั้งผัดทั้งย�า ฯลฯ ทุกเมนูพลาดไม่ได้ อร่อยแค่ไหน ต้องมาทานเอง ที่บ้าน สวนปลาเผา ชวนคนคู่ ทั้งครอบครัว พร้อมเจ้าตัวเล็ก มารับ ประทานอาหารทีร่ า้ น บ้านสวนปลาเผา อร่อยเด็ด ยัว่ น�า้ ลายทุก เมนู อยากให้คุณมาโดน ท่านจะได้ลิ้มลองหลากหลาย เมนูอร่อย พร้อมเครื่องดื่ม ราคาโปรโมชั่นแบบสุดๆ
บ้านสวนปลาเผา @baansuansurin 16
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
.indd 16
6/11/2018 6:55:59 PM
ส�ำรองที่นั่งหรือสั่งอำหำร โทรศัพท์ : 085-375-6611, 044-515-936 WiFi ฟรี ที่จอดรถกว้างขวางสะดวกสบาย มีห้องจัดเลี้ยงและสนามเด็กเล่นส�าหรับ คุณหนูๆ ด้วยนะ ร้านอาหารอีสานรสแซ่บ บรรยากาศดี มีห้องจัดเลี้ยง บริการส่ง อาหารนอกสถานที่ ส�ารองโต๊ะล่วงหน้า โทร : 085-375-6611, 044-515-936 เปิดบริกำร : 9:00 - 21:00 น. บ้านสวนปลาเผา 6/3 ถนนศรีธนามิตร ต.ในเมือง อ.เมือง จ.สุรินทร์ 32000 บรรยากาศดี อาหารรสเด็ด ผักสดปลอดสาร จัดเต็มทุกจาน จัดจ้านทุกเมนู SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 17
17
6/6/2018 11:59:54 PM
ร้านอาหารครัวบ้านเรา KRUABAANRAO
ครบเครื่องเรื่องอาหาร คาวหวาน กาแฟสด ขนมหวาน ตื่นตาตื่นใจ บริการอาหารตามสัง่ กาแฟสด ข้าวกล่อง ขนมเบเกอรีส่ า� หรับจัดเบรก เปิด จันทร์ - เสาร์ เวลา 09.00 - 20.30 น. ร้านอาหารครัวบ้านเรา โทรศัพท์ 061-462-8954 ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 5/41 ถนน เทศบาล 3 ต.ในเมือง อ.เมือง จ.สุรนิ ทร์ เมนูแนะน�า ปลาทอดเปรี้ยวหวาน, ปลาทอดลุยสวน, ต้มย�าทะเล หม้อไฟ, ไก่ผดั เม็ดมะม่วง, สเต็กเนือ้ , สปาเก็ตตี,้ ส้มต�าถาด บันทึกเราไว้ในใจคุณ “ร้านอาหารครัวบ้านเรา”
kruabaanrao.surin 18
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
.indd 18
6/7/2018 12:01:43 AM
โรงแรมทองธารินทร์
จังหวัดสุรินทร์
โรงแรมทองธารินทร์ โรงแรมชั้นหนึ่งในจังหวัดสุรินทร์ ตั้งอยู่ใจกลาง เมืองสุรินทร์ จึงสะดวกสบายในการเดินทางไปยังสถานที่ต่างๆ โดด เด่นทันสมัยด้วยอาคารสูง 12 ชั้น พร้อมบริการที่จอดรถสะดวก สบายส�าหรับทุกท่าน เลขที่ 60 ถนนศิรริ ฐั ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดสุรนิ ทร์ 32000 โทรศัพท์ 044-514281-8 โทรสำร 044-511580 GPS.14.886415,103.500103
SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 19
19
6/6/2018 11:42:52 PM
The Mahanakhon Saren
ดิมหานครสะเร็น
20
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
.indd 20
6/7/2018 1:49:12 AM
เพราะการเดินทางคือเสียงดนตรี และห้องพักดีๆ คือ สตูดิโอ “ดิมหานครสะเร็น” เป็นมากกว่า จุดหมายปลายทาง การพักผ่อน สะดวกสบาย ด้วยบรรยากาศที่ ร่มรื่นในสุรินทร์ ทุกฤดูกาล
ขอต้อนรับเข้าสู่ รีสอร์ททันสมัยสไตล์โมเดิร์นแห่งเมืองสุรินทร์ ดิมหานครสะเร็น The Mahanakhon Saren บริการห้องพัก ตกแต่งสไตล์ทนั มสัยโมเดิรน์ สะอาด สว่าง สงบ เฟอร์ นิ เ จอร์ ค รบครั น พร้ อ มน�้ า อุ ่ น เครื่ อ งปรั บ อากาศไร้ เ สี ย ง โทรทัศน์ ตู้เย็น และ Wifi ฟรี แสนสุด ประทับใจ กับการต้อนรับที่แสนอบอุ่น เพราะ “ดิมหา นครสะเร็น” เป็นมากกว่าจุดหมายปลายทาง การพักผ่อนที่แสน สะดวก สบาย ด้วยบรรยากาศที่ร่มรื่น อีกหนึ่งทางเลือกของการพักผ่อนอย่างมีสไตล์ The Mahanakhon Saren ใกล้ทุกแห่ง คล่องตัวทุกที่ที่คุณจะไปในเมืองสุรินทร์ พร้อมบริการตลอด 24 ชั่วโมง ทั้งห้องพักรายวันและรายเดือน กับโปรโมชั่นสุดประทับใจในราคาเป็นกันเองส�าหรับทุกท่าน กับการต้อนรับประดุจญาติสนิทมิตรสหาย ดิมหานครสะเร็น The Mahanakhon Saren 222 หมู่ 12 ต�าบลนอกเมือง อ�าเภอเมืองสุรนิ ทร์ จังหวัดสุรนิ ทร์ 32000. โทรศัพท์จองห้องพักล่วงหน้า : 09-3554-9955. อีเมล : The_mahanakorn_saren@outlook.co.th. SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 21
21
6/7/2018 1:49:26 AM
H I S TO R Y O F U ND E R H IS G R A C I OU SN E SS บันทึกเส้นทางใต้ร่มพระบารมี
ใต้ร่มพระบารมี
โครงการศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพอีสานใต้ “…ข้าพเจ้านั้นภูมิใจเสมอมาว่า คนไทยมีสายเลือดของช่างฝีมืออยู่ทุกคน ไม่ว่าจะ เป็นชาวไร่ ชาวนา หรืออาชีพใด อยู่สารทิศใด คนไทยมีความละเอียดอ่อนและฉับไวต่อ การรับศิลปะทุกชนิด ขอเพียงแต่ให้เขาได้มีโอกาสฝึกฝน เขาก็จะแสดงความสามารถ ออกมาให้เห็น…” พระราชด�ารัสของสมเด็จพระนางเจ้า สิ ริ กิ ติ์ พระบรมราชิ นี น าถ ในพระบาท สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิ ต ร ณ ศาลาดุสิดาลัย สวน จิตรลดา เมื่อวันที่ 11 สิงหาคม 2532 สมเด็ จ พระนางเจ้ า สิ ริ กิ ติ์ พระบรม ราชินนี าถ ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรม หาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช บรมนาถบพิ ต ร มี พระราชด� า ริ ที่ จ ะส่ ง เสริ ม ให้ ร าษฎรไทยมี
22
.indd 22
อาชีพหัตถกรรมเพื่อเป็นอาชีพเสริมให้แก่ ชาวนา ชาวไร่ ผู้เป็นพลเมืองส่วนใหญ่ของ ประเทศ แต่มีรายได้น้อย เพราะต้องเผชิญ อุ ป สรรคในการเพาะปลู กอั นเนื่ องมาจาก สภาพดิ น ฟ้ า อากาศที่ ป รวนแปรอยู ่ เ สมอ ท� า ให้ ร ายได้ จ ากผลผลิ ต ไม่ เ พี ย งพอเลี้ ย ง ครอบครัว ในขณะเดียวกันศิลปหัตถกรรม อันเป็นเอกลักษณ์ประจ�าชาติไทยซึง่ ได้ชอื่ ว่า เคยเจริญรุง่ เรืองมาแต่ในสมัยโบราณก�าลังจะ
เสื่อมสูญไป จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้กอ่ ตัง้ มูลนิธศิ ลิ ปาชีพในสมเด็จ พระนางเจ้า สิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ขึ้นเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม 2519 และต่อมาเมื่อปี พ.ศ. 2522 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ก่อตั้ง โรงฝึกศิลปาชีพแขนงต่างๆ และทรงขยาย โรงฝึกศูนย์ศิลปาชีพในภูมิภาคต่างๆ นอก เหนื อ จากงานด้ า นหั ต ถกรรมแล้ ว ทรง ส่งเสริมให้มีการอนุรักษ์ป่าไม้และสัตว์ป่า
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
6/7/2018 2:09:05 AM
ต่างๆ ที่ก�าลังจะสูญพันธุ์ เพื่อให้ราษฎรมี จิตส�านึกในการรักษาต้นน�้า ล�าธาร โดยการ ฝึกอบรมให้ปลูกป่าและดูแลธรรมชาติ และ ใช้ประโยชน์จากป่าโดยไม่ต้องท�าลายตาม โครงการป่ า รั ก น�้ า โครงการบ้ า นเล็ ก ใน ป่าใหญ่ และโครงการฟาร์มตัวอย่างตาม พระราชด�าริ โดยทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ขยายโครงการขึน้ ทุกภูมภิ าคเพือ่ ช่วยเหลือ ราษฎรทีว่ า่ งงานให้เป็นแหล่งศึกษาหาความรู้ เพื่ อ น� า ไปประกอบอาชี พ เพิ่ ม รายได้ แ ก่ ครอบครัวต่อไป โครงการศูนย์สง่ เสริมศิลปาชีพอีสานใต้ จังหวัดสุรินทร์ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ล อดุ ล ยเดช รั ช กาลที่ 9 พระราชทาน
พระราชด� าริ กั บ พล ท.สนั่ น มะเริ ง สิ ท ธิ์ แม่ทพั น้อยที่ 2 ให้พจิ ารณาจัดตัง้ ศูนย์สง่ เสริม ศิ ล ปาชี พ ขึ้ น ที่ จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์ เพื่ อ เป็ น ศูนย์กลางในการรวบรวม ผลิตภัณฑ์ศลิ ปาชีพ ในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง แทนการด�าเนินการในลักษณะศูนย์ศึกษา การพั ฒ นาอั น เนื่ อ งมาจากพระราชด� า ริ เนื่องจากอาจจะเป็นการท�างานซ�้าซ้อนกับ หน่วยงานอื่น ซึ่งท�าให้ไม่ได้รับความร่วมมือ และจะต้องใช้งบประมาณเป็นจ�านวนมาก จึงมีวตั ถุประสงค์ จัดตัง้ โครงการศูนย์สง่ เสริม ศิ ล ปาชี พ อี ส านใต้ เพื่ อ เป็ น โครงการ พระราชด�าริในการให้ความช่วยเหลือราษฎร ผูย้ ากไร้ ให้มรี ายได้ มีอาชีพและความเป็นอยู่ ที่ดีขึ้น โดยจะท�าการฝึกอาชีพให้กับราษฎร
และเป็นแหล่งรวมศิลปาชีพทางอีสานใต้ เป็น สถานจัดแสดงผลิตภัณฑ์งานฝีมอื การแสดง ศิลปวัฒนธรรม การแข่งขันงานฝีมือ และ ประกอบพิธกี ารต่างๆ ของหน่วยงานราชการ วัตถุประสงค์ของโครงการ เพือ่ เป็นศูนย์กลางของการเรียนการสอน ศิลปาชีพแขนงต่าง ๆ รวมทั้งเป็นศูนย์กลาง ในการจัดหาวัตถุดิบ รับซื้อ เก็บรักษาและ จั ด จ� าหน่ ายผลิ ต ภัณฑ์ง านหัตถกรรม ให้ ราษฎรที่ยากจนน�าไปประกอบอาชีพเสริม เพือ่ เพิม่ รายได้และพัฒนาคุณภาพชีวติ ให้พอ อยู่พอกินพึ่งตนเองได้ตามแนวพระราชด�าริ เพื่อฟื้นฟู เสริมสร้างช่างฝีมือ และธ�ารง รักษางานหัตถกรรมไทยให้พัฒนายิ่งขึ้น เพื่อเป็นแหล่งให้ความรู้ทางการเกษตร
SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 23
23
6/7/2018 12:04:23 AM
ด้านพืช สัตว์ โดยวิธีเรียนรู้จากการปฏิบัติ ตลอดจนสนับสนุนพันธุ์พืช พันธุ์สัตว์ ให้ ราษฎรสามารถน�าไปประกอบอาชีพในภาค เกษตรต่อไป เพื่อให้ราษฎรมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ ทรัพยากรป่าไม้ แหล่งต้นน�า้ ล�าธาร และสัตว์ ป่าหายากที่ก�าลังจะสูญพันธุ์ โดยวิธีส่งเสริม ให้ปลูกป่าเสริมธรรมชาติ และสร้างจิตส�านึก ในการอนุรักษ์ และใช้ประโยชน์จากป่าอย่าง ยั่งยืน โดยเมื่ อวั น ที่ 30 พฤษภาคม 2537 พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ เ จ ้ า อ ยู ่ หั ว ไ ด ้ พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ด�าเนิน การพิจารณาจัดตั้งศูนย์ศิลปาชีพอีสานใต้ เพื่อเป็นการขยายผลการจัดตั้งศูนย์ศึกษา การพัฒนาให้ครอบคลุมพืน้ ทีอ่ สี านตอนล่าง
24
.indd 24
ขึ้นในพื้นที่จังหวัดสุรินทร์ เพื่อเป็นแหล่ง กลางในการรวบรวมงานศิลปาชีพ ส่งเสริม การประกอบอาชี พ และช่ ว ยเหลื อ ราษฎร ผูย้ ากไร้บริเวณพืน้ ทีภ่ าคอีสานตอนล่าง รวม 8 จังหวัด ซึง่ สามารถช่วยเหลือราษฎรบริเวณ พื้ น ที่ ภ าคอี ส านตอนล่ า งในเขตจั ง หวั ด นครราชสีมา บุรีรัมย์ สุรินทร์ ศรีสะเกษ อุ บ ลราชธานี ร้ อ ยเอ็ ด ยโสธร และ อ�านาจเจริญ ได้มีแหล่งศูนย์กลางในการ สาธิตฝึกอบรม และให้บริการด้านการส่งเสริม ศิลปาชีพเป็นหลัก รวมทั้งการให้ความรู้ด้าน การเกษตรเพื่อเพิ่มรายได้แก่ราษฎรอีกด้วย ที่ตั้งของโครงการ โครงการศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพอีสานใต้ จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์ ตั้ ง อยู ่ บ นถนนเลี่ ย งเมื อ ง สุรินทร์ - ปราสาท ต�าบลนอกเมือง อ�าเภอ
เมืองสุรนิ ทร์ จังหวัดสุรนิ ทร์ โดยมีหน่วยงาน ผู้ด�าเนินงาน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง คือ 1. กองทัพภาคที่ 2 และ 2. สถาบันพัฒนา ฝีมือแรงงาน ลักษณะโครงการ จังหวัดสุรนิ ทร์ ได้รว่ มกับกองก�าลังสุรนารี จั ด ตั้ ง ศู น ย์ ส ่ ง เสริ ม ศิ ล ปาชี พ อี ส านใต้ ขึ้ น บริเวณถนนเลี่ยงเมืองสุรินทร์ - ปราสาท ต�าบลนอกเมือง อ�าเภอเมืองสุรนิ ทร์ ในเนือ้ ที่ 93 ไร่ เพื่อเป็นโครงการพระราชด�าริในการ ให้ความช่วยเหลือราษฎรผูย้ ากไร้ ให้มรี ายได้ มี อ าชี พ และความเป็ น อยู ่ ที่ ดี ขึ้ น โดยจะ ท�าการฝึกอาชีพให้กับราษฎร และเป็นแหล่ง รวมศิลปาชีพทางอีสานใต้ไว้ที่ศูนย์แห่งนี้ ภายในศูนย์ฯ ประกอบด้วย อาคารศูนย์ ศิลปาชีพ ศาลาศิลปาชีพ ประจ�าจังหวัด 8
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
6/7/2018 12:04:38 AM
จังหวัด อาคารศาลาทรงงาน อาคารศูนย์ฝึก และพั ฒ นาอาชี พ ของหน่ ว ยงานที่ ใ ห้ ก าร สนับสนุน โดยเฉพาะสถาบันพัฒนาฝีมือ แรงงาน ซึ่งผู้ได้รับประโยชน์ คือ ราษฎรใน พื้นที่ต�าบลนอกเมือง อ�าเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรนิ ทร์ และราษฎรในบริเวณใกล้เคียง ผลการด�าเนินงานและกิจกรรมโครงการ กองทัพภาคที่ 2 ได้ด�าเนินการบริหาร ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพอีสานใต้ ซึ่งตั้งอยู่ที่ จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์ ให้ เ ป็ น ศู น ย์ ก ลางในการ รวบรวม ผลิตภัณฑ์ศิลปาชีพ จากสมาชิกใน พืน้ ทีภ่ าคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง และ เป็ น แหล่ ง จั ด จ� า หน่ า ยผลิ ต ภั ณ ฑ์ ดั ง กล่ า ว นอกจากนี้ ยั ง ให้ บ ริ ก ารในการฝึ ก อบรม พัฒนาอาชีพหลากหลายสาขา ได้แก่ ด้าน เครื่ อ งยนต์ ข นาดเล็ ก การตั ด เย็ บ เสื้ อ ผ้ า
วิทยาการเกีย่ วกับการปลูกพืช-เลีย้ งสัตว์ และ ขยายผลการพั ฒ นาการเกษตรตามแนว “ทฤษฎีใหม่” ให้แก่เกษตรกรบริเวณ รอบศูนย์ จ�านวน 12 ราย รวมทั้ง ยังได้จัดหาวัสดุ การเกษตร เช่น รถไถนาเดินตาม เพื่อให้ สมาชิกศิลปาชีพยืมหมุนเวียนใช้ประโยชน์ ร่วมกันอีกด้วย ผลการด�าเนินงาน ปี 2540 1. งานปรับปรุงศูนย์ งานก่อสร้างป้าย ศูนย์และปรับปรุงศาลาที่ประทับทรงงาน 2. งานชลประทาน งานก่อสร้างท่อส่งน�า้ และระบบสปริงเกอร์ 3. การก่อสร้างหมู่บ้านวัฒนธรรมอีสาน ใต้ กิจกรรมจัดตั้งศูนย์วัฒนธรรมอีสานใต้ 4. จั ด ตั้ ง ศู น ย์ ฝ ึ ก อบรมถ่ า ยทอด เทคโนโลยีทางการเกษตร - กิจกรรมฝึกอบรม
เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีทางการเกษตร ประโยชน์ของโครงการ ท�าให้ราษฎรมีรายได้เพิ่มขึ้น และมีทาง เลือกในการประกอบอาชีพหัตถกรรมแขนงต่างๆ ส่งผลให้คุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ดีขึ้น ฟื้นฟู ธ�ารงรักษา ส่งเสริม และสร้างช่าง ฝีมอื ในงานด้านหัตถกรรมไทยให้พฒ ั นาและ เผยแพร่ผลิตภัณฑ์ศลิ ปาชีพให้มชี อื่ เสียงเป็น ที่นิยมทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ ท� า ให้ ร าษฎรมี ค วามรู ้ ใ นการประกอบ อาชี พ ภาคเกษตรโดยเรี ย นรู ้ จ ากการฝึ ก ปฏิบัติด้วยตนเอง เกิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถน�า ไปปฏิบตั ไิ ด้อย่างมีประสิทธิภาพ ท�าให้ป่าไม้และสัตว์ป่าเพิ่มปริมาณมาก ขึ้น ซึ่งจะส่งผลในการอนุรักษ์ต้นน�้าล�าธาร และทรัพยากรธรรมชาติ
SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 25
25
6/7/2018 12:06:19 AM
Sit-in “
Restaurant
ร้านอาหาร บรรยากาศสุดโรแมนติก เหมาะส�าหรับทุกโอกาสพิเศษของคุณ
”
สิ่งอ�ำนวยควำมสะดวก อาหารไทย และนานาชาติ, เครื่องดื่มหลากหลายชนิด, บริการเสริฟแสนประทับใจ อินเตอร์เน็ต WiFi, ที่นั่ง Indoor และ Out door ริมสวน, เพลงบรรเลง (เปิดแผ่น) ที่จอดรถ, ห้องน�้า บริการอาหารไทยและอาหารนานาชาติ หลากหลายเมนู อีกทั้งยังใส่ใจสุขภาพ โดยใช้ น�้ำมันร�ำข้ำว ประกอบอำหำร ทุกเมนูด้วย ทุกจานและพิถีพิถันทุกขั้นตอนพร้อมเสริฟ เมนูโดนใจรสชาติถูกปากรักษาสุขภาพเพื่อคุณ OPEN : 08.00 – 22.00 น. โทร 044-062-523 , 084-477-6688 พิกัด : ซอยปอยปริง หน้าศาลหลักเมือง จ.สุรินทร์
0
sit-in
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
.indd 26
6/7/2018 12:09:35 AM
สารจากผู้ว่าราชการ จังหวัดสุรินทร์
ชีวิตผมมีความภูมิใจหลายครั้ง ความภูมิใจแต่ละครั้ง คือได้ท�างานเพื่อแผ่นดิน สมกับค�าว่า “ข้าราชการ” กระผม นายอรรถพร สิงหวิชยั ผูว้ า่ ราชการจังหวัดสุรนิ ทร์ เข้ามาด�ารงต�าแหน่งผูว้ า่ ราชการจังหวัด ตั้งแต่วันที่ 2 ตุลาคม 2558 นับมาจนถึงตอนนี้ก็ 2 ปีกับ 8 เดือน ผลงานที่โดดเด่นคือ ผมท�างาน ไปตามภาระหน้าที่ อย่างเช่น ปัญหาเร่งด่วนของจังหวัดมีอยู่สองเรื่อง ก็คือ ข้าวกับน�้า เมื่อถึงฤดูฝน ก็คอื น�า้ ท่วม เวลาฤดูแล้งก็คอื น�า้ แล้ง แล้วทีน่ า�้ ท่วม กับทีน่ า�้ แล้ง ก็คอื ทีเ่ ดียวกัน เพราะฉะนัน้ ประเด็น คือ ท�าอย่างไร พอเวลาหน้าฝน น�้าไม่ท่วม พอเวลาน�้าแล้ง น�้าพอใช้ ไม่แห้ง การด�าเนินการผมก็พยายามที่จะขุดบ่อให้ลึกกว่าเดิม ท�าฝายเพิ่ม ท�าแก้มลิงบริเวณแนวที่เป็น แม่น�้า ตรงไหนเป็นช่วงที่แคบน�้าก็จะเอ่อท่วม เราก็ขยายที่นา ขยายทางน�้าให้กว้างขึ้น สามารถไหล สะดวก ต่อมาก็เรื่องข้าว คือ จังหวัดสุรินทร์ปลูกข้าวเป็นหลัก ปีหนึ่งประมาณล้านสองแสนตัน ถึงเวลา ถึงฤดูเก็บเกีย่ วก็มาตากกลางถนนแล้วมากองขายหน้าโรงสี เมือ่ กองเยอะๆ ราคาก็จะตก เพราะข้าว จ�านวนมาก เราก็ต้องพยายามที่จะดึงปริมาณข้าวที่มีอยู่ให้ในตลาดลดน้อยลง ค่อยๆ ทยอยขาย ทั้งปี เช่นว่า โครงการจ�าน�ายุ้งฉางของรัฐบาลก็ได้ผล ก็ดึงซับพลายจากตลาดออกไปได้ประมานปีละ 2-3 แสนตัน สหกรณ์ตา่ งๆ ก็รบั ซือ้ เพือ่ ไปสีเองแล้วขายเอง ก็จะได้ประมาณปีละ 2 แสนถึง 3 แสนตัน นอกจากนัน้ ชาวบ้านก็จะสีเองขายเองก็มากเป็นหมื่นตัน อีกทั้งเราขายตรงไปยังที่ต่างๆ โดยมี องค์กรต่างๆ มาช่วยซื้อ อย่างเช่น องค์การตลาดของกระทรวงมหาดไทย กรมกองต่างๆ ที่เรา ติดต่อไปโดยตรง ก็เป็นการช่วยลดปริมาณข้าวล้นตลาดได้จ�านวนหนึ่ง และมีการเปิดตลาดนัด ในจังหวัดสุรินทร์ ก็ขายตรงได้อีก และชาวบ้านท�าเป็นแพ็กเกจเองขายออนไลน์ก็มีเช่นเดียวกัน ภาคประชารัฐก็ช่วยกันขาย นอกจากนั้นเราก็แปรข้าวเป็นผลิตภัณฑ์อื่น อย่างเช่น ขนมคุกกี้ อาหาร เสริมต่างๆ เป็นต้น เราพยายามให้ปริมานข้าวไม่มากองในเวลาเดียวกัน คือท�าอย่างไรให้เกษตรกร ของเราสามารถที่จะอยู่ได้ทั้งปี ใช้ชวี ติ อยูใ่ นชนบทได้อย่างมีความสุข มีคณ ุ ภาพชีวติ ทีด่ ี อยูใ่ นบ้านได้ โดยมีอยู่มีกิน เราส่งเสริมทุกอาชีพของพี่น้องประชาชน เพื่อให้เศรษฐกิจคล่องตัว เราดูแลพี่น้องประชาชนใน เรื่องการค้าขายตามแนวชายแดน สนับสนุนให้เพิ่มปริมาณการค้าแถบชายแดนช่องจอม ซึ่งมีพี่น้อง ทั้งคนไทยและชาวกัมพูชาเข้ามาจับจ่ายใช้สอยจ�านวนมากครับ ส่งเสริมในเรื่องของบริการต่างๆ ก็ถือเป็นความพยายามที่จังหวัดสุรินทร์ด�าเนินการอยู่ เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจพี่น้องประชาชน และ ได้รับการตอบรับอย่างดีจากประชาชนทุกฝ่ายตลอดเวลาที่ผ่านมา
(นายอรรถพร สิงหวิชยั ) ผูว้ า่ ราชการจังหวัดสุรนิ ทร์
_
.indd 27
6/6/2561 17:53:04
EXCL U S IV E INT E R V IE W บันทึกเส้นทางพบผู้ว่าราชการจังหวัดสุรินทร์
นายอรรถพร สิงหวิชัย
ผู้ว่าราชการจังหวัดสุรินทร์
28
_
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
.indd 28
6/6/2561 17:53:10
ผู้น�ำช้ำงศึก
เมืองสุรินทร์
ออกศึกต่อสู้ความยากจน อย่างมีชัยให้กับเกษตรกร
ผู้ว่าราชการจังหวัดสุรินทร์
นายอรรถพร สิงหวิชัย “สิ่งที่ผมพยายามท�าอยู่ก็คือ ท�าให้พี่น้องเกษตรกรชาวสุรินทร์สามารถ อยู ่ ใ นพื้ น ที่ ไ ด้ โดยไม่ ต ้ อ งอพยพไปอยู ่ ที่ ไ หน อยู ่ แ บบพออยู ่ พ อกิ น เศรษฐกิจพอเพียง อยู่อย่างมีความสุข...ขณะเดียวกันก็บูรณาการเชื่อม ความสั ม พั น ธ์ ทุ ก ด้ า น ทั้ ง การเกษตร การท่ อ งเที่ ย ว การศึ ก ษา อุตสาหกรรม ไปด้วยกันอย่างเป็นองค์รวม” นิตยสำร Sbl บันทึกประเทศไทย มีควำมภูมิใจที่ได้เปิดปูมประวัติ และบันทึก ชีวิตอันมีสีสัน ประกอบกับกำรท�ำงำนหนักอย่ำงมีควำมสุขของท่ำนอรรถพร สิงหวิชัย ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดสุรินทร์ กับสองปีที่ผ่ำนมำในบทบำทของโค้ช ผู้สนับสนุนและรังสรรค์นวัตกรรมผสำนภูมิปัญญำท้องถิ่นอันมีรำกฐำนจำก พระพุทธศำสนำให้เป็นหนึ่งเดียวกันในกำรสร้ำงควำมสัมพันธ์กับนำนำประเทศ เพื่อก้ำวสู่ AEC 4.0 อย่ำงมั่นใจในเวทีโลก
SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
_
.indd 29
29
6/6/2561 17:53:15
นายอรรถพร สิงหวิชัย ผู้ว่าราชการจังหวัดสุรินทร์ เป็นประธานในงานเทศกาลข้าวใหม่ จากค�าขวัญอันทรงพลังสู่วัฒนธรรมอาเซียน
จากค�าขวัญจังหวัดสุรินทร์ที่บอกอัตลักษณ์อย่างมีนัยส�าคัญ มาสู่การอธิบายความหมายอย่างมีนัยส�าคัญของท่านผู้ว่าฯ
สุรินทร์ถิ่นช้างใหญ่ ก็ คื อ สุ ริ น ทร์ เ ป็ น จั ง หวั ด ที่ มี ช ้ า งมากที่ สุ ด ในประเทศไทย ประมาณ 500 เชือก ซึ่งช้างจ�านวนมาก เป็นช้างอยู่คู่กับพี่น้อง ชาวสุรินทร์ตลอดมา เหมือนสมาชิกในครอบครัว คนสุรินทร์ เลีย้ งช้างไว้เป็นสมาชิกในครอบครัว จึงเป็นเอกลักษณ์มาช้านาน ผ้าไหมงาม จั ง หวั ด สุริน ทร์ มีผ้า ไหมสวยงามมาก โดยเฉพาะที่ บ ้ าน ท่าสว่าง ต�าบลท่าสว่าง อ�าเภอเมือง ทางรัฐบาลเคยใช้ผ้าไหม ที่ท่าสว่างตัดเป็นชุดให้กับผู้น�าที่มาประชุม APEC ครับ เมื่อ ประมาณ 6-7 ปีที่แล้วได้สวมใส่ มีความสวยงาม ละเอียด ประณีต โดยเฉพาะลายประจ�าจังหวัดสุรนิ ทร์ เรียกว่า ลายอัมปรม กับผ้าโฮล ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ประจ�าจังหวัดสุรินทร์ ประค�าสวย เรามีประค�า มีเครื่องเงิน มีชื่อเสียงที่อ�าเภอเขวาสินรินทร์ถ้า เทียบกับอ�าเภอท่าตูมก็มกี ารเลีย้ งช้าง ผลิตภัณฑ์ตา่ งๆ ทีม่ าจาก ช้าง เช่นงาช้าง หางช้าง และมูลช้าง เป็นต้น
30
_
ร�่ารวยปราสาท จริงๆ แล้ว จังหวัดสุรินทร์ มีปราสาทจ�านวนมาก ปราสาท ขอมโบราณ อย่างเช่น ปราสาทศีขรภูมิ ทางเรามีการแสดงแสงสี เสียงเกือบทุกปี ปราสาทตาเมือนธม ปราสาทตาควาย ปราสาท ภู มิ โ ปน ปราสาทช่ า งปี ่ ปราสาทอื่ น ๆ อี ก หลายแห่ ง เพี ย ง แต่ว่าปราสาทของสุรินทร์มีขนาดเล็กหน่อย แต่ก็มีประวัติความ เป็นมาเกีย่ วกับพระเจ้าชัยวรมันของขอม มาสร้างสุขศาลา มาสร้าง ที่พักส�าหรับการรักษาพยาบาล ที่เรียกว่า อโรคยาศาล หรือ อโรคยาศาลา เป็นลักษณะปราสาทจ�านวนมาก นี่ก็คือความ ละเอียดลออของกษัตริย์ ผู้ปกครองประเทศในการดูแลรักษา สุ ข ภาพของประชาชนในสมั ย โบราณซึ่ ง เป็ น ฐานรากทาง วัฒนธรรมที่เราสามารถน�ามาบูรณาการในทุกวันนี้ได้ดี ส�าหรับความสวยงาม ไม่ว่าจะเป็นเรื่องทับหลัง หรือเรื่อง นางอัปสรา ซึ่งเป็นองค์ประกอบหลัก เป็นลวดลายหลักของ ปราสาทก็เป็นจุดเด่นที่ดึงดูดนักท่องเที่ยวได้ดีมากในการน�ามา สูก่ ารเรียนรูใ้ นเชิงประวัตศิ าสตร์ตอ่ ไป และยังท�าให้เศรษฐกิจใน ท้องถิ่นคึกคัก เป็นการกระจายรายได้สู่ชุมชน ทั้งอาหาร ที่พัก โรงแรม รีสอร์ท รถเช่า รถประจ�าทาง ตลอดจนสินค้าโอทอป ก็ สามารถเติบโตจากจุดที่มีนักท่องเที่ยวมาชม มาชม มาช็อปปิ้ง มาให้ความคิดเห็นอย่างเป็นกันเองด้วยมิตรภาพ สินค้าเหล่านี้ ก็จะเดินหน้าและพัฒนาต่อไปได้
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
.indd 30
6/6/2561 17:53:21
ผักกาดหวาน ข้าวสารหอม เราปลูกหัวผักกาดมากมาย และข้าวสารหอม ข้าวหอมมะลิจงั หวัดสุรนิ ทร์มชี อื่ เสียง ไปทั่วโลก ทุกปีเราผลิตได้จ�านวนมากประมาณ 1.2 ล้านตัน ในแถบอ�าเภอท่าตูม แถบ อ�าเภอชุมพลบุรี อ�าเภอรัตนบุรี ข้าวหอมมะลิของเรามีชอื่ เสียงอย่างมาก แล้วก็สง่ ขายออก ไปยังต่างประเทศจ�านวนมากและได้รับการตอบรับอย่างดี ข้าวหอมมะลิของจังหวัด สุรินทร์จึงมีชื่อเสียงมายาวนานอย่างต่อเนื่องจนถึงทุกวันนี้ งามพร้อมวัฒนธรรม จังหวัดสุรนิ ทร์มวี ฒ ั นธรรมอีสานใต้อยูห่ ลายประการ ประกอบด้วยวัฒนธรรมของชาวกูย ชาวเขมร ชาวส่วย ซึง่ แต่ละชนชาติ ก็มวี ฒ ั นธรรมทีแ่ ตกต่างกันไป อย่างเช่น ในเรือ่ งของ การเลีย้ งช้าง การคล้องช้าง พิธที างศาสนา ความเชือ่ การร�า การแสดงการละเล่นต่างๆ ก็เป็นประเพณีวฒ ั นธรรมทีส่ บื สานกันมาจากบรรพบุรษุ รุน่ ต่อรุน่ รวมทัง้ เสือ้ ผ้าทีส่ วมใส่ นะครับ ก็เป็นวัฒนธรรมที่สวยงามของจังหวัดสุรินทร์ นอกจากนั้นแล้วจังหวัดสุรินทร์ เราก็มีด่านชายแดนที่เป็นด่านใหญ่ คือจุดผ่านแดนถาวรช่องจอม ด่านช่องจอม ติดกับ ประเทศกัมพูชา ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ประการหนึ่งที่จะสร้างรายได้ให้พี่น้องชาวจังหวัด สุรินทร์
นายอรรถพร สิงหวิชัย ผู้ว่าราชการจังหวัดสุรินทร์ เป็นประธานกิจกรรม KIKC OFF “ลงแขกเกี่ยวข้าว สืบสานวัฒนธรรมพื้นบ้าน” เมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน 2560
การท่องเที่ยวจุดเชื่อมโยง ทุกเศรษฐกิจเข้าด้วยกัน
ในส่วนของผลิตภัณฑ์ วัฒนธรรมและ เศรษฐกิ จ ที่ เ ชื่ อ มโยงไปยั ง ประเทศ เพือ่ นบ้านของเรา นอกเหนือจากนีแ้ ล้วก็ จะมีในส่วนของสถานที่ท่องเที่ยว ที่ทุก ท่ า นสามารถเดิ น ทางท่ อ งเที่ ยวกั น ได้ อย่างอบอุ่นและปลอดภัย เรามีสถานที่ ท่ อ งเที่ ย วหลายแห่ ง อย่ า งเช่ น ศู น ย์ คชศึ ก ษา หมู ่ บ ้ า นช้ า ง บ้ า นตากลาง ต�าบลกะโพ อ�าเภอท่าตูม จังหวัดสุรนิ ทร์ วัดพนมสวายต้องเดินขึน้ ไปหลายร้อยขัน้ มีระฆังให้เคาะเจริญสติไปด้วย ท�าบุญ ไปด้วย ได้ทงั้ ความเบิกบานใจและได้ชนื่ ชม ความสวยงาม เรามีอา่ งเก็บน�า้ ห้วยเสนง ซึ่งเป็นอ่างน�้าจืดขนาดใหญ่ สามารถไป นัง่ เล่นชมวิวความสวยงาม สูดอากาศบริสทุ ธ์ มีพระต�าหนักอยูท่ นี่ นั้ มีปราสาทต่างๆ มี วัดวาอาราม ใน จ.สุรินทร์ มีหลวงพ่อ พระสุ ป ฏิ ป ั น โน คุณแม่ชีเป็นที่เคารพ กราบไหว้ของชาวสุ ริ น ทร์ ม ากมาย แล้ ว ก็มหี ลวงปูด่ ลุ ย์ อตุโล ซึง่ เป็นเกจิอาจารย์ วิปสั สนาชือ่ ดังของจังหวัดสุรนิ ทร์ ซึง่ ท่าน มรณภาพตั้งแต่ปี พ.ศ.2526 ในหลวง รัชกาลที่ 9 ทรงเสด็จพระราชด�าเนินมา ประกอบพิธีฌาปนกิจ แล้วมีรูปปั้นใหญ่ หลวงปูด่ ลุ ย์ อตุโล ทีม่ หาวิทยาลัยราชภัฏ สุรินทร์ นอกจากนั้นเราก็มีสถานที่ท่องเที่ยว ต่ า งๆ สามารถเยี่ ย มชมได้ มี น�้ า ตก อลงกรณ์ ท่ามกลางป่าเขาล�าเนาไพรทีย่ งั อุดมสมบูรณ์อีกแห่งหนึ่งในประเทศไทย อยู ่ ใ นแนวเทื อ กเขาพนมดงรั ก เขต ชายแดนไทย-กั ม พู ช า ตั้ ง อยู ่ ใ นเขต อนุ รั ก ษ์ พั น ธุ ์ สั ต ว์ ป ่ า ห้ ว ยทั บ ทั น -ห้ ว ย ส�าราญ ในหมู่บ้านคะนา ต�าบลตาตุม อ�าเภอสังขะ จังหวัดสุรินทร์ ที่มีความ สวยงาม เป็นน�า้ ตกเล็กๆ แต่กเ็ ข้าไปในป่า อุทยานแห่งชาติมีความสวยงาม SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
_
.indd 31
31
6/6/2561 17:53:27
วัฒนธรรมของจังหวัดสุรินทร์ที่โดดเด่น
วัฒนธรรมก็อย่างเช่น จังหวัดสุรินทร์มี3ชนเผ่า เผ่ากูย เขมร และก็ส่วย วัฒนธรรมก็จะมาจากชนเผ่าเหล่านี้ นอกจากนี้เราก็ มีวฒ ั นธรรมค่อนข้างทีจ่ ะเชือ่ มโยงกัน เรียกได้วา่ ในอีสานใต้ของ ประเทศไทย จ.สุรินทร์ มีขนบธรรมเนียมประเพณีที่เหมือนเป็น อันเดียวกับชาวกัมพูชามากที่สุด คือ คนสุรินทร์จ�านวนมาก สามารถพูดภาษาเขมรได้ มีความผสมกลมกลืนกันมากที่สุด วัฒนธรรมที่ส�าคัญ อย่างเช่น ประเพณีแซนโฎนตา คือการบูชา บรรพบุรุษในช่วงเดือนพฤศจิกายนของทุกปี ก็เหมือนกับการ เซ่นไหว้บรรพบุรษุ ซึง่ มีมาทุกปีอยูแ่ ล้ว การแสดงต่างๆ การละเล่น ต่างๆ ในวันนัน้ อาทิ ร�าแกลมอ ในแถบส�าโรงทาบ หรือ ร�าอัปสรา ที่ ไ ปสู ่ เ วที ส ากลในงานเทศกาลการแสดงแลกเปลี่ ย นศิ ล ป วัฒนธรรมนานาชาติ (SICE : Surin International Cultural Exchange) ในปี 2560 มาแล้ว อีกทัง้ ก็มศี ลิ ปะการร่ายร�าต่างๆ ซึ่งเป็นวัฒนธรรมของชาวกัมพูชา หรือว่าชาวขอมตั้งแต่โบราณ ที่เรารับมา การคล้องช้างต่างๆ ก็เป็นไปในลักษณะใกล้เคียงกัน อาชีพหลักของชาวสุรินทร์
ชาวสุรนิ ทร์สว่ นใหญ่ ตัง้ แต่ดงั้ เดิมประกอบอาชีพเกษตรกรรม ท�านา เกษตรรายย่อย จ.สุรินทร์ เรามีพื้นที่ประมาณ 5 ล้านไร่ เป็นพื้นที่เกษตรกรรม 3.5ล้านไร่ โดยเฉพาะข้าว ก็ประมาณ 3 ล้านไร่ เพราะฉะนั้นพี่น้องส่วนใหญ่เป็นเกษตรกรที่ท�านาเป็น หลัก ผลผลิตประมาน 1.12 ล้านตัน เป็นรายได้หลักของพีน่ อ้ ง เกษตรกร อย่างไรก็ตามในช่วงระยะหลัง ถ้าดูรายได้ของชาว จ.สุรินทร์ รายได้หลักของจังหวัดก็ประมาน 6 หมืน่ ล้านบาท รายได้ตอ่ หัว ก็ประมาน ห้าหมื่นหก ห้าหมื่นเจ็ด ถึงหกหมื่นบาท ต่อคนต่อปี ก็ยังถือว่ายังน้อยอยู่มาก ปรากฏว่ารายได้ส่วนใหญ่กลายเป็น ภาคบริการเพิ่มขึ้นถึงประมาณ50-60%ของรายได้ทั้งจังหวัด ส่วนภาคการเกษตรลดลงไปประมาน 30-40% แล้วก็คา้ ขายภาค อุตสาหกรรมขนาดย่อม เช่น โรงสี โรงโม่เล็กๆ แล้วก็มีการท�า เหมืองต่างๆ ก็เป็นอุตสาหกรรม แต่วา่ คนส่วนใหญ่กจ็ ะประกอบ อาชีพเกษตรกรรม
32
_
การพัฒนาต่อยอดจากภาคเกษตรสู่การท่องเที่ยว และบริการชุมชน
ในส่วนของภาคบริการของ จ.สุรินทร์ เรามีพรมแดนที่ติดกับ ประเทศกัมพูชา เป็นด่านใหญ่ชายแดนช่องจอม จังหวัดสุรินทร์ ลักษณะเป็นพรมแดนติดกับจังหวัดอุดรมีชัย ประเทศกัมพูชา ความยาวตลอดแนวชายแดนประมาณ 90 กิโลเมตร มีจดุ ผ่านแดน ถาวร 1 จุด คือ จุดผ่านแดนถาวรช่องจอม-โอร์เสม็ด อ�าเภอ กาบเชิง จังหวัดสุรินทร์ ได้รับการยกฐานะจุดผ่อนปรนการค้า เป็นจุดผ่านแดนถาวร ในแต่ละวันจะมีพนี่ อ้ งกัมพูชา โดยเฉพาะ ผู้ที่มีฐานะร�่ารวยจะเดินทางเข้ามาใน จ.สุรินทร์ เพื่อจับจ่าย ใช้สอยอยู่เป็นจ�านวนมาก การมาท่ อ งเที่ ย วในสถานที่ ต ่ า งๆ สิ่ ง ที่ เ กิ ด ตามมาก็ คื อ นักท่องเทีย่ วมาจับจ่ายซือ้ ของตามร้านค้า ลงชุมชน และเดินตาม ห้างสรรพสินค้าต่างๆ ซึ่งห้างใหญ่ของ จ.สุรินทร์ก็สามารถท�า รายได้จ�านวนมากในแถบนี้ ถ้าเทียบกันก็จะเป็นรองเฉพาะ จ.อุบลราชธานี ถือว่ามีพี่น้องกัมพูชามาจับจ่ายมากมาย และ ประการส�าคัญก็คือ ชาวกัมพูชามักเข้ามารักษาพยาบาลใน จ.สุรินทร์จ�านวนมาก เนื่องจากว่าการรักษาพยาบาลของสถาน พยาบาล จ.สุรินทร์ ไม่ว่าจะเป็นของราชการ หรือเอกชนมี คุณภาพ รักษาดี แล้วก็เป็นที่ถูกใจ ด้วยชาวสุรินทร์หลายคน สามารถพูดภาษาเขมรได้ เพราะฉะนัน้ พีน่ อ้ งชาวเขมรผูท้ มี่ ฐี านะ เมือ่ จะมารักษาพยาบาลก็จะมาที่ จ.สุรนิ ทร์ เมือ่ เข้ามาแล้วก็มา จับจ่ายซื้อของ คนที่มาเฝ้าไข้ ญาติพี่น้องก็จะท่องเที่ยวไปด้วย ก็ท�าให้รายได้ของ จ.สุรินทร์ เพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะของภาค บริการตอนนี้ อย่างไรก็ตาม นอกจากพัฒนาการเกษตร ระบบเศรษฐกิจ พอเพียง ช่วยเหลือพีน่ อ้ งเกษตรกรแล้ว เราก็พฒ ั นาในเรือ่ งของ การท่องเที่ยวไปด้วยว่า ท�าอย่างไร เราสามารถที่จะสร้างรายได้ การบริการ การค้าปลีก การรักษาพยาบาลให้กับพี่น้องชาว จังหวัดสุรินทร์ให้ได้มากที่สุด แล้วก็เป็นแนวทางในการพัฒนา เศรษฐกิจของ จ.สุรินทร์ ในอนาคตสืบต่อไป
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
.indd 32
6/6/2561 17:53:34
มหัศจรรย์งานช้างสุรินทร์
ท่านผู้ว่าฯ เชิญชวนเที่ยวงานช้าง จังหวัดสุรินทร์
ในจังหวัดสุรนิ ทร์ มีสถานทีท่ อ่ งเทีย่ วอยูห่ ลายแห่ง แล้วเรามีงานหรือการจัดงานแสดง ใหญ่ๆ ของ จ.สุรินทร์ เป็นที่เชิดหน้าชูตา รู้จักกันอย่างแพร่หลาย ส�าหรับนักท่องเที่ยว ทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติก็คืองานแสดงช้างสุรินทร์ ซึ่งจัดขึ้นปีนี้เป็นปีที่ 57 แล้ว เราจัดครั้งแรกตั้งแต่ปี พ.ศ.2503 ระหว่างวันที่ 18-19 พฤศจิกายน ซึง่ การจัดงานครัง้ นี้ เป็นงานทีย่ งิ่ ใหญ่วนั ที่ 16 พฤศจิกายน เราจะมีการเลีย้ งอาหารช้าง วันที่ 17 พฤศจิกายน การแห่นา� ช้างเข้าเมือง 10 ขบวน มีการขีช่ า้ งเดินตามถนนในเมืองเข้ามาตามถนนจนถึง อนุสาวรีย์พระยาสุรินทร์ภักดีศรีณรงค์จางวาง (ปุม) ซึ่งเป็นเจ้าเมืองคนแรก เข้ามาถึง บริเวณนั้น เราก็จะมีการจัดเลี้ยงอาหารช้าง มีผัก ผลไม้ จ�านวนมากมาย เป็นงานที่เรา ได้บันทึกไว้เป็นงานที่มีช้างมาร่วมในครั้งนี้มากที่สุดในโลกเท่าที่เคยมี ส�าหรับการจัดงานแสดงช้าง วันที่ 16 พฤศจิกายน เราจะซ้อมใหญ่ จัดงานแสดงที่ สนามช้างบริเวณสนามกีฬาศรีณรงค์ ซึ่งเป็นสนามกีฬาประจ�าจังหวัดสุรินทร์ ส�าหรับ การแสดงครั้งนี้ เราจัด 10 องค์ แต่ละองค์จะมีการแสดงอลังการ มีช้างเข้าร่วม มากกว่า160-170 เชือก พีน่ อ้ งทีเ่ ข้าร่วมแสดงกว่า 200-300 คน แล้วก็จะมีการจัดฉาก เครื่องแต่งกายสวยงาม แสง สี เสียงต่างๆ ให้มีความสมจริงสมจังเป็นที่น่าตื่นตาตื่นใจ ในคืนวันที่ 17-18 เรามีการแสดงถึง แสง สี เสียง ทีบ่ ริเวณปราสาทศีขรภูมิ ซึง่ เราท�ามา ทุกปี เป็นการแสดงถึงวัฒนธรรมความเป็นมาของปราสาทศีขรภูมิ อ�าเภอศีขรภูมิ แล้วก็ การแสดงการร�าอัปสรา และมีการแสดงดนตรีดงั้ เดิมต่างๆ ซึง่ เป็นทีน่ า่ ตืน่ ตาตืน่ ใจมากๆ ผมอยากจะกราบเรียนว่า การจัดงานช้าง การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ได้น�าเข้า ไว้ในปฏิทินการท่องเที่ยวประจ�าปี เพราะฉะนั้นทุกปีเรามีการจัดงานอย่างอลังการ แล้วก็เป็นที่ทราบกันดีของนักท่องเที่ยวต่างประเทศ
จริงๆ แล้วเราจัดตั้งแต่วันที่ 8-19 พฤศจิกายน เป็นงานประจ�าปีของจังหวัด หรือที่เราเรียกว่างานช้าง รวมกับงาน กาชาดด้วย เริม่ ตัง้ แต่วนั ที่ 8 พฤศจิกายน ไปจนถึงการแสดงช้างมี 2 วัน คือวันที1่ 8 และ 19 พฤศจิกายน นอกจากนั้นแล้ว การจัดงานครั้งนี้ เราก็เน้นการจัดงาน ไร้แอลกอฮอล์ ไม่มกี ารจ�าหน่ายแอลกอฮอล์ เพราะเจ้าหน้าที่ของเราจะกวดขันอย่าง ใกล้ชดิ ไม่ให้มีการเกิดเหตุการณ์คนเมา หรือจ�าหน่ายแอลกอฮอล์ หรือการเกิด เหตุ ร ้ า ยใดๆ ทั้ ง สิ้ น เรามี เ จ้ า หน้ า ที่ ของเราเฝ้าระวัง เชื่อมั่นได้ในเรื่องความ ปลอดภัย ขอเชิญชวน พ่อแม่ พี่น้อง ทั้ง ชาวไทย ชาวต่างชาติ มาเยี่ยมชมงาน แสดงช้ า งของจั ง หวั ด สุ ริ น ทร์ ซึ่ ง จั ด ระหว่ า งวั น ที่ 8-19 พฤศจิ ก ายนของ ทุกปี
SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
_
.indd 33
33
6/6/2561 17:53:40
เปิดปูมประวัติท่านผู้ว่าฯ อรรถพร สิงหวิชัย กับผลงานอันโดดเด่น
ผมเข้ามาด�ารงต�าแหน่งผูว้ า่ ราชการจังหวัดตัง้ แต่วนั ที่ 2 ตุลาคม 2558 นับมาจนถึง ตอนนีก้ ็ 2 ปีกบั 8 เดือน ผลงานทีโ่ ดดเด่นคือ ผมท�างานไปตามภาระหน้าที่ อย่างเช่นว่า ปัญหาเร่งด่วน จ.สุรนิ ทร์ มีเรือ่ งส�าคัญ 2 เรือ่ ง ก็คอื ข้าวกับน�า้ เวลาหน้าฝนก็คอื น�า้ ท่วม เวลาหน้าแล้งก็คอื น�า้ แล้ง แล้วทีน่ า�้ ท่วม กับทีน่ า�้ แล้ง ก็คอื ทีเ่ ดียวกัน เพราะฉะนัน้ ประเด็น คือ ท�าอย่างไร จังหวัดสุรินทร์ พอเวลาหน้าฝน น�้าไม่ท่วม พอเวลาน�้าแล้ง น�้าพอใช้ ไม่แห้ง นอกจากนั้นแล้วในเขตเทศบาลก็จะมีน�้าท่วมทุกปี เพราะมีพื้นที่ค่อนข้างต�่า การด�าเนินการผมก็พยายามที่จะขุดบ่อ ท�าฝาย เราจะขุดบ่อให้ลึกกว่าเดิม อย่างเช่น เมื่อก่อน 3 เมตรเป็น 6 เมตร ก็สามารถที่จะบรรเทาไม่ให้น�้าท่วมได้ เวลาหน้าแล้งก็จะ มีนา�้ ใช้ เพราะบ่อขุดลึกว่าเดิม นอกจากนัน้ ก็ทา� บ่อขุดใหม่ ท�าแก้มลิงบริเวณแนวทีเ่ ป็น
34
_
แม่น�้า ที่เป็นแนวแหล่งน�้าต่างๆ ถ้าตรง นั้นท่วมบ่อยๆ ก็ขุดท�าแก้มลิง ก็จะลด ปริมาณน�้าท่วม ตรงไหนเป็นช่วงที่แคบ น�้าก็จะเอ่อท่วม เราก็ขยายที่นา ขยาย ทางน�้าให้กว้างขึ้น สามารถไหลสะดวก นอกจากนั้นในเรื่องของท่อ บางที่ ผ่านสะพาน หรือผ่านทางกั้น มีอุปสรรค ถ้ าท่ อเล็ ก มั นก็ จ ะแตก หรือไม่เช่นนั้น น�้าก็จะออกด้านข้าง เราก็ต้องขยายท่อ ให้ใหญ่ขึ้น เป็นการก่อสร้างท่อเหลี่ยม คอนกรีตเสริมเหล็ก (บล็อกคอนเวิร์ส) เพราะฉะนัน้ เวลาปิดประตูเราก็เก็บกักน�า้ ได้มาก พอเวลาน�า้ ล้นก็เปิดให้กว้างจะได้ ระบายน�้าให้รวดเร็ว นอกจากนั้นแล้ว ในเรื่ องผั กตบชวา พอน�้า ท่วม ทุกเย็น ผักตบชวามันต้องติดกันอยู่บริเวณคอ สะพาน พอติดก็ไปขวางทางน�า้ น�า้ ก็ไม่ไหล เราก็ต้องคอยลอก ผมอยากจะกราบเรียนว่า ปัญหาน�า้ ท่วม ก็มีทุกปี เพียงแต่ว่าเราจะท�าอย่างไรให้ น�้าท่วมอยู่ในระยะสั้นๆ แล้วก็ไม่สร้าง ความเสี ย หายให้ กั บ พี่ น ้ อ งประชาชน ดังนัน้ ในเรือ่ งของการจัดการน�า้ พอเวลา ผมไปที่ ไ หนแล้ ว เห็ น จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์ น�้าไม่ท่วม แต่ว่าน�้าเต็มทุกบ่อ ผมก็รู้สึก มีความสุข ไม่ทว่ มแต่วา่ ต้องเต็ม ไม่ใช่วา่ น�้าไม่ท่วม แต่น�้าแล้ง เพราะฉะนั้นเรื่อง น�้ า ก็ เ ป็ น เรื่ อ งที่ ส� า คั ญ ของพี่ น ้ อ งชาว สุรินทร์ ซึ่งพยายามแก้ไขตลอด
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
.indd 34
6/6/2561 17:53:46
ต่อมาก็เรื่องข้าว คือ จังหวัดสุรินทร์ ปลูกข้าวเป็นหลักอย่างที่ผมเรียน ปีหนึ่ง ประมาณล้านสองแสนตัน ถึงเวลาถึงฤดู เก็ บ เกี่ ย ว พี่ น ้ อ งก็ จ ะเร่ ง ในเดื อ น พฤศจิกายน เก็บเกีย่ วก็มาตากกลางถนน โดยธรรมชาติแล้ว ปกติพอเก็บเกีย่ วเสร็จ ก็จะมากองขายหน้าโรงสี กองเยอะๆ โดยตามหลักอุปสงค์และอุปทาน (Demand & Supply) ที่เป็นความสัมพันธ์ของผู้ซื้อ และผู้ขายสินค้าในตลาดที่มีการแข่งขัน โดยถือว่าอุปสงค์และอุปทาน เป็นตัวแปร ที่ ก� า หนดปริ ม าณและราคาของสิ น ค้ า แต่ละชนิดในตลาด ซึง่ ถ้าเมือ่ ไรเกีย่ วข้าว เสร็จแล้ว พี่น้องเกษตรกรก็จะไปท�างาน กรุงเทพฯ เอาข้าวมากองไว้หน้าโรงสี ราคามันก็จะตก เพราะมีขา้ วจ�านวนมาก เราท�าอย่างไร เราก็ต้องพยายามที่จะดึง ซั บ พลาย ดึ ง ปริ ม าณข้ า วที่ มี อ ยู ่ ใ ห้ ล ด น้อยลง ค่อยๆ ทยอยขายทั้งปี ไม่ใช่ขาย หน้าโรงสี เพราะถ้าขายอย่างเดิม โรงสี เขาก็โก่งราคา เพราะเขาก็เอาไปเก็บไว้ เขาก็ตอ้ งมีคา่ เก็บรักษาอีก แต่ก็ได้มีการ ประชุมกัน เราก็พยายามที่จะยืด ซับ พลายออกไปให้ได้ทั้งปี เช่น โครงการ จ� า น� า ยุ ้ ง ฉางของรั ฐ บาลก็ ไ ด้ ผ ล ก็ ดึ ง ซับพลายจากตลาดออกไปได้ประมาน ปีละ 2-3 แสนตัน สหกรณ์ต่างๆ ก็รับซื้อเพื่อ ไปสี เ องแล้ ว ขายเอง ไม่ ไ ด้ ผ ่ า นโรงสี เดีย๋ วนีส้ หกรณ์เขามีโรงสีขนาดเล็กของ เขาเอง ก็จะได้ประมาณปีละ 2-3 แสนตัน นอกจากนัน้ แล้วชาวบ้านก็จะสีเองขายเอง ก็เยอะ พอสีเสร็จก็ท�าเป็นแพ็ ค เกจเอง ขายเองด้ ว ยก็ นั บ หมื่ น ตั น เราขายตรง ไปยังทีต่ า่ งๆ โดยมีองค์กรต่างๆ มาช่วยซือ้ อย่างเช่น องค์การตลาดของกระทรวง มหาดไทย กรมกองต่างๆ ที่เราติดต่อ ไปโดยตรง
เรามีการเปิดตลาดนัดในจังหวัดสุรินทร์ ก็ขายตรงอีกเช่นเดียวกัน ขายของออนไลน์ ชาวบ้านท�าเป็นแพ็คเกจเองขายเองก็มเี ช่นเดียวกัน บริษทั ประชารัฐขาย เปิดตลาดประชารัฐ ขาย ซึ่งมีกระจายอยู่ทั้งจังหวัดนอกจากนั้นเราก็แปรข้าวเป็น ผลิตภัณฑ์อื่น อย่างเช่น ขนมคุกกี้ อาหารเสริมต่างๆ แล้วก็ใช้ขา้ วในการแปรรูปได้ เราก็พยายามทีจ่ ะให้ปริมาณ ข้าวไม่มากองในเวลาเดียวกัน พยายามที่จะให้ซับพลายค่อยๆ ทยอยมานะครับ ไม่ใช่ ทีเดียวมาเยอะๆ ขายเสร็จก็ได้ราคาน้อย คือท�าอย่างไรให้เกษตรกรของเราสามารถ ที่จะอยู่ได้ทั้งปี ใช้ชีวิตอยู่ในชนบทได้อย่างมีความสุข มีคุณภาพชีวิตที่ดี อยู่ในบ้านได้ โดยมีอยู่มีกิน นอกจากแก้ปญ ั หาในเรือ่ งข้าว เรือ่ งน�า้ แล้ว ในเรือ่ งของการปลูกพืชระยะสัน้ หลังท�านา เป็นสิ่งส�าคัญ เพราะท�านาเสร็จก็ปลูกพืชระยะสั้น จะได้มีรายได้เพิ่มขึ้นอย่างเช่น ถั่ว หรือผักต่างๆ ผลไม้กม็ นี ะครับ อย่างเช่น แถบอ�าเภอกาบเชิง อ�าเภอบัวเชด มีการปลูกทุเรียน ปลูกขนุน มีน้อยหน่า ล�าไย นอกจากนั้นก็เลี้ยงปลา เลี้ยงไก่ เลี้ยงหมู และวัววากิว จ�านวนมาก เป็นวัววากิวทีม่ ถี นิ่ ก�าเนิดในประเทศไทย โดยใช้นา�้ เชือ้ พ่อพันธุส์ ายเลือดแท้ จากต่างประเทศ ผสมกับแม่พันธุ์พื้นฐานในประเทศ ท�าให้ได้ลูกวัวที่มีสายเลือดผสม มีไขมันแทรกสูง (Marbling) มีการควบคุมดูแลทุกขัน้ ตอนตัง้ แต่การเลีย้ ง เราก็สนับสนุน การเลี้ยงวัวพันธุ์เนื้อวากิวที่จังหวัดสุรินทร์ด้วย เพราะฉะนั้นเราส่งเสริมทุกอาชีพของพี่น้องประชาชน ในเรื่องเศรษฐกิจอื่นๆ ก็คือ เป็นผลงานทีด่ แู ลพีน่ อ้ งประชาชนในเรือ่ งการค้าขายตามแนวชายแดน สนับสนุนให้เพิม่ ปริมาณการค้าแทบชายแดนช่องจอม เรามีตลาดช่องจอม ซึ่งมีพี่น้องทั้งคนไทยและ ชาวกัมพูชาเข้ามาจับจ่ายใช้สอยจ�านวนมากครับ ส่งเสริมในเรื่องของบริการต่างๆ ก็ถือ เป็นความพยายามที่ จ.สุรินทร์ด�าเนินการอยู่ เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจพี่น้องประชาชน
SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
_
.indd 35
35
7/6/2561 18:11:27
บูรณาการศึกษา สร้างคน พัฒนาชุมชน สังคมเข้มแข็ง
ส�ำหรับในเรื่องของสังคม ในจังหวัดสุรินทร์เรำมีระบบกำรศึกษำที่เรำจะผลักดัน ระบบกำรศึกษำเชิงพืน้ ที่ หมำยควำมว่ำ นอกจำกระบบสำยสำมัญของกระทรวงด�ำเนิน กำรแล้ว เรำให้พี่น้องประชำชน สนับสนุนกำรศึกษำของบุตรหลำน ให้กำรศึกษำของ บุตรหลำน นักเรียน ให้สอดคล้องกับบริบทเนื้อหำของกำรประกอบอำชีพของจังหวัด สุรินทร์ อย่ำงเช่นว่ำ เมื่อเด็กเรียนจบออกมำแล้ว ต้องมีงำนท�ำที่สำมำรถจะอยู่ได้ใน จังหวัดสุรินทร์ของเรำ เรียนในเรื่องของช่ำงต่ำงๆ เช่น ช่ำงไฟฟ้ำ ช่ำงมอเตอร์ไซด์ ช่ำงซ่อมเครือ่ งปรับอำกำศ เรียนในเรือ่ งของเกษตรกรรม อย่ำงเช่นว่ำ ป.1 ต้องปลูกข้ำว เป็น ป.2 ต้องเลีย้ งกบเป็น ท�ำนองนีค้ รับ คือให้เด็กนักเรียน เรียนรูค้ วบคูไ่ ปกับกำรศึกษำ ท้องถิ่น และต้องมีอำชีพ เรียนและประกอบอำชีพได้ ไม่ใช่ว่ำถ้ำเรียนมำแล้วไม่มีอำชีพ ต้องไปด้วยกันทั้งคุณธรรม ปัญญำ และอำชีพ ส�ำหรับเด็กทีเ่ ก่งมำกๆ ก็ไปเรียนต่อใน กรุงเทพมหำนคร หรือไปเรียนแพทย์กเ็ ป็นอีกทำงหนึง่ แต่เด็กสุรินทร์ที่มีกำรศึกษำอยู่ใน พืน้ ทีก่ ต็ อ้ งช่วยกันดูแลประคับประคองไม่ให้เกิดควำมเสียหำยจนกลำยเป็นเด็กแว้น หรือ ถ้ำมีก็ต้องน�ำมำช่วยกันอบรมบ่มนิสัย ให้ควำมรักควำมอบอุ่น และควำมเข้ำใจ แล้ว ให้เรียนต่อ ไม่ใช่ตัดสิทธิ์เด็กที่ก�ำลังเติบโตและมีอนำคตออกไป เพรำะปัญหำทีเ่ ขำเป็น ไม่ใช่มำจำกเขำ แต่มำจำกเหตุและปัจจัยหลำยๆ อย่ำงในสุ รินทร์ มี จ� ำนวนเด็ ก แว้ นบ้ำง ในพื้ น ที่ เรำก็ ใ ห้ ผู ้ ป กครองและท้ อ งถิ่ น ช่ ว ยกั น ดู แ ล้ ว ก็ น� ำ เด็ ก เหล่ ำ นี้ เข้ ำ สู ่ ร ะบบ กำรศึกษำ และเป็นกำรศึกษำเพือ่ เน้นในส่วนของกำรประกอบอำชีพ ให้สอดคล้องในเชิง พื้นที่ ในเรื่องของสังคม เรำมีกำรปรำบปรำมยำเสพติดซึ่งมีกำรแพร่ขยำย ส่วนมำกจะมี กำรเสพมำกกว่ำกำรขำย เรำก็พยำยำมช่วยเหลือน�ำมำรักษำและส่งเสริมให้มกี ำรศึกษำ อำชีพ ในเรื่องของเด็กนักเรียน ในเรื่องของสังคม เรำก็พยำยำมจะแก้ไข ในเรื่องของ
36
_
เศรษฐกิจสังคม ในเรื่องของกำรรับรู้พี่ น้องประชำชน เรำก็พยำยำมให้พี่น้อง ประชำชน มีควำมรับรูเ้ รือ่ งของกำรเมือง ท้องถิ่น กำรประกอบอำชีพต่ำงๆ เพื่อที่ จะสำมำรถด�ำรงชีวติ อยูไ่ ด้รว่ มกันอย่ำงมี ควำมสุข ประเด็นส�ำคัญทีเ่ รำจะเน้นหนักคือว่ำ ท�ำอย่ำงไรพีน่ อ้ งเกษตรกรชำวสุรนิ ทร์จะ สำมำรถอยู่ในพื้นที่ได้ โดยไม่ต้องอพยพ ไปอยูท่ ไี่ หน อยูแ่ ล้วอยูแ่ บบพออยูพ่ อกิน เศรษฐกิจพอเพียง อยู่แบบมีควำมสุข แล้วก็สำมำรถทีจ่ ะเลีย้ งตนเองได้ ผมเชือ่ ว่ำ ที่เรำก�ำลังท�ำอยู่อย่ำงนี้ ที่พยำยำมทั้ง แก้ไขปัญหำในทุกๆ เรื่อง ขณะเดียวกัน ก็บรู ณำกำรเชือ่ มควำมสัมพันธ์ทกุ ด้ำนไป ด้วยกัน แล้วค่อยๆ ท�ำไป ท�ำเศรษฐกิจ พอเพี ย งตำมแนวทำงของพระบำท สมเด็ จ พระเจ้ ำ อยู ่ หั ว รั ช กำลที่ 9 ก็ สำมำรถท�ำให้พี่น้องชำวจังหวัดสุรินทร์ ด�ำรงชีวิตอยู่ได้อย่ำงแน่นอน
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
.indd 36
6/6/2561 17:54:00
ยุทธศาสตร์สุรินทร์เพื่ออนาคต
ทีส่ ำ� คัญก็คอื ในกำรกระตุน้ เศรษฐกิจจังหวัดสุรนิ ทร์ ประกำรแรก มีโครงสร้ำงพืน้ ฐำน อย่ำงเช่น เรือ่ งของแหล่งน�ำ้ ก็ตอ้ งขุดบ่อเพิม่ ให้มแี หล่งน�ำ้ ชลประทำนให้เพียงพอ ยำมหน้ำ น�้ำไม่ท่วม ยำมหน้ำแล้งไม่แล้ง เรื่องของถนนหนทำง ตอนนี้ จังหวัดสุรินทร์ถนนสำย 24 ซึ่งเป็นถนนสำยหลักของอีสำนใต้ เดิมเรำเรียกว่ำ สำยโชคชัยเดชอุดม เดี๋ยวนี้ก�ำลัง ขยำยอยูท่ ผี่ ำ่ นมำทำงอ�ำเภอปรำสำท ไปอ�ำเภอสังขะ ท�ำให้กำรเดินทำงสะดวกมำกยิง่ ขึน้ ในเรื่องของกำรเกษตร เรำก็พยำยำมที่จะเพิ่มมูลค่ำสินค้ำกำรเกษตรโดยเฉพำะ เรื่องข้ำว ท�ำอย่ำงไรก็คือ เรำพัฒนำยกระดับคุณภำพข้ำว อย่ำงเช่น ปกติเรำปลูกข้ำว ธรรมดำ เรำก็หนั มำปลูกข้ำวอินทรีย์ หรือข้ำวออร์แกนิค ก็ทำ� ให้มรี ำคำสูงขึน้ นอกจำกนัน้ เรำก็หำตลำดให้รองรับกว้ำงขวำงยิง่ ขึน้ ให้สำมำรถขำยข้ำวได้รำคำ ในส่วนของพืชอย่ำงอืน่ เรำก็สนับสนุนพืชสวน เช่น ผัก ผลไม้ต่ำงๆ ระยะสั้น เช่น ข้ำวโพด อ้อย มันส�ำปะหลัง ยำงพำรำเรำก็มีอยู่บ้ำง แล้วก็ผลไม้ ทุเรียน ขนุน น้อยหน่ำ ล�ำไย ต่ำงๆ เรำก็พยำยำม ทีจ่ ะสนับสนุน นอกเหนือจำกในเรือ่ งของกำรท่องเทีย่ ว ภำคกำรเกษตรของจังหวัดสุรนิ ทร์ นับวันจะโตขึ้น โตขึ้น พี่น้องประชำชนก็ต้องมีควำมรู้ในเรื่องรำยได้จำกกำรท่องเที่ยว ไม่ว่ำจะเป็นไกด์ เป็นมัคคุเทศก์ หรือว่ำเป็น ผู้ประกอบกำรที่สอดคล้องกำรท่องเที่ยว อย่ำงทุกวันนี้ มี โ ฮมสเตย์ อ ยู ่ จ� ำ นวนมำก ที่ แ ถวต� ำ บลกระโพ แล้วก็ที่หนองเรือ
อ.ชมุ พลบุรี จังหวัดสุรนิ ทร์ ซึง่ มีชำวต่ำงชำติ ไปพักอยู่ ใช้ชีวิตส่วนตัว เรำก็ไม่รู้หรอก จนกระทั่งไปลงในพื้ น ที่ ถึ ง เห็ น นะครั บ ก็ ส ำมำรถที่จะสร้ำงรำยได้ให้กับพี่น้อง ชำว จ.สุรนิ ทร์ได้มำก สนับสนุนในเรื่อง กำรเดิ น ทำงเข้ำออก ระหว่ำง จ.สุรินทร์ ไปถึง กำบเชิง ไปเสียมเรียบ ประเทศ กัมพูชำเลย ท�ำอย่ำงไรจะท�ำถนนให้ดขี นึ้ ทั้งถนนในฝั่งไทยด้วย ฝั่งกัมพูชำด้วย มีรถโดยสำรให้กำรติดต่อค้ำขำย คือให้ เกิดช่องทำงกำรค้ำกว้ำงขึ้น ให้ช่องทำง กำรติดต่อสือ่ สำรระหว่ำงกันกว้ำงขึน้ ก็จะ ท�ำให้ชำวสุรินทร์มีรำยได้เพิ่มขึ้น รวมทั้ง ชำวบ้ำนก็พัฒนำในเรื่องผลิตภัณฑ์ให้ดี ยิง่ ขึน้ ตอบโจทย์เศรษฐกิจ ตอบโจทย์กำร บริ ก ำรชุ ม ชน ด้ ว ยกำรรั ก ษำพยำบำล ตอบโจทย์ในเรือ่ งของกำรค้ำขำยต่ำงๆ ทีจ่ ะ รองรับกำรหลัง่ ไหลเข้ำมำของนักท่องเทีย่ ว จำกประเทศกัมพูชำ คื อ เรำมี ทุ ก อย่ ำ งที่ ค รบถ้ ว นและ สมบูรณ์ อำทิ กำรเกษตร กำรท่องเที่ยว อุตสำหกรรมเรำก็มี โรงโม่ โรงงำน โรงยำง ผลิตยำง แล้วก็มโี รงสีเป็นจ�ำนวนมำกเป็น อุตสำหกรรมแล้วตอนนี้ต้องรอในเรื่อง ของผังเมืองรวมอยู่ แต่ก็ว่ำเรำมีโรงงำน หลำยแห่ง เตรียมพร้อมทีจ่ ะตัง้ ในจังหวัด สุรินทร์ ซึ่งถ้ำมีโรงงำนเพิ่มขึ้นเยอะ ก็ สำมำรถที่ จ ะรองรั บ กำรขยำยตั ว ทำง เศรษฐกิจได้ และทำงอุตสำหกรรมได้
SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
_
.indd 37
37
7/6/2561 18:11:12
สร้างสรรค์เดินหน้าไปด้วยกัน กับชาวสุรินทร์
ปัญหา อุปสรรคในการด�าเนินงาน และทางออก เพื่อน�าไปสู่เป้าหมาย
ปัญหาในเรื่องของอุตสาหกรรม ในแง่ของกฎหมายต่างๆ เรามีการปรับปรุงอยู่ ใน เรือ่ งของโรงโม่ การตัง้ โรงงานอุตสาหกรรม เราก็พยายามปรับปรุง เชือ่ ว่าคงคลีค่ ลายไป ในไม่ชา้ เราก็สนับสนุนต่อไป ในเรือ่ งของการเกษตร ส่วนมากเกษตรกรในจังหวัดสุรนิ ทร์ คุน้ เคยกับการท�าเกษตรแบบดัง้ เดิม คือเราจะต้องพยายามท�าให้เกษตรกรเป็นผูป้ ระกอบการ ไม่ ใช่ ผู ้ ใ ช้ แ รงงาน หรือ ชาวนา ผู้ป ระกอบการต้ องไปหาตลาดมาก� าหนดการผลิ ต รูว้ า่ ผลิตแล้วไปขายทีไ่ หน ไม่ใช่ผลิตไปแล้วก็ไม่รจู้ ะไปขายทีไ่ หนก็ไปกองหน้าโรงสี ราคา มันก็ไม่ได้ คือ เกษตรกรเราต้องเป็นผู้ประกอบการ ต้องเป็นผู้รู้จักหาตลาด โฆษณา ใน เว็บไซด์ตา่ งๆ ไปโฆษณาทีไ่ กลๆ ต่างๆ สามารถจะขายได้ หาตลาดนอกพืน้ ที่ จ.สุรนิ ทร์ เป็นผูป้ ระกอบการเอง เราก็สนับสนุน แล้วเปลีย่ นจากเกษตรธรรมดา มาปลูกหลายๆ อย่าง การท�านาธรรมดาก็มาท�าเกษตรอินทรีย์ หรือมาท�านาแบบออร์แกนิค ปราศจากสารเคมี แล้วก็เน้นการปลูกพืชแบบหลายๆ อย่าง แทนที่จะปลูกอย่างเดียว แต่ที่เป็นปัญหา อุปสรรค คือว่า ส่วนมากเกษตรกรเราเป็นเกษตรกรรายย่อย แล้วก็ทา� นาแบบดัง้ เดิม ท�า เสร็จแล้วก็ไปท�างานต่อในกรุงเทพ หรือไปท�างานโรงงาน ท�าอย่างไรเราจะท�าให้พี่น้อง ชาวเกษตรกลับมาท�านา แล้วก็ท�าการเกษตรในจังหวัดสุรินทร์ทั้งปี ให้มีพออยู่พอกิน ในเรื่องของการบริการ เราก็เน้นหนักในเรื่องของการค้าขายตามแนวชายแดน แล้ว ก็ต้องพยายามที่จะท�าให้การติดต่อเพิ่มมากขึ้น ตรงไหนที่มีอุปสรรคเราก็พยายามที่จะ จัดการออกไปกระตุ้นให้เกิดกิจกรรมทางเศรษฐกิจ การเกษตร การค้า อุตสาหกรรม อย่างที่ผมเรียนจะเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจให้กับพี่น้องชาว จ.สุรินทร์ ก็คือการประสาน เชื่อมต่อ และบูรณาการทุกอย่างเข้าด้วยกัน เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน เติบโตไปด้วยกัน
38
_
จังหวัดสุรนิ ทร์เป็นจังหวัดทีม่ ลี กั ษณะ เฉพาะ ก็เช่นเดียวกับแต่ละจังหวัดก็มี เนื้อหาบริบทไม่เหมือนกัน เพราะฉะนั้น ถ้ าเราจะลงไปช่ ว ยจัด การก็ต้องมีการ สนับสนุนการโปรโมทต่างๆ เราก็ต้อง นึ ก ถึ ง เกษตรกรส่ ว นใหญ่ ข องจั ง หวั ด ผูป้ ระกอบการรายย่อย เพราะฉะนัน้ ถ้ามี การส่งเสริมต้องค�านึงรายได้วา่ ต้องจะตก กับผู้ประกอบการรายย่อย อย่างเช่น ใน เรื่องของการท่องเที่ยว ท�าให้ผู้ประกอบ การรายย่อยต่างๆ ในครัวเรือนสามารถ ที่ จ ะมาหารายได้ จ ากการท่ อ งเที่ ย ว การเกษตร นอกจากเกษตรรายย่อย เรา ต้องพยายามให้รวมกลุ่มกัน นโยบาย การเกษตรเขาก็บอกอยูแ่ ล้ว นาแปลงใหญ่ ให้รวมกลุ่มเพื่อเพิ่มอ�านาจการต่อรอง เพิม่ ประสิทธิภาพการผลิต ให้ได้ราคาสูง ยิ่งขึ้น ก็สนับสนุนเกษตรกรรายย่อยให้มี รายได้มากขึ้น ในเรื่องการค้าขายต่างๆ อย่ า งที่ ผ มเรี ย นให้ ท ราบ พี่ น ้ อ งชาว สุรินทร์เขาจะมองแบบเกษตรรายย่อย ซึง่ เราก็ตอ้ งเข้าใจบริบทเนือ้ หาของพีน่ อ้ ง ชาวสุรินทร์เป็นอย่างไร แล้วในส่วนของ เมื อ ง ก็ ต ้ อ งมี พ ่ อ ค้ า อยู ่ แต่ ไ ม่ ใ ช่ ร าย ใหญ่ๆ มาก ส่วนมากก็เป็นนักธุรกิจที่ ท่านก็ประกอบอาชีพไป ช่วยเหลือสังคม ไป เพราะฉะนัน้ ทุกสิง่ ทุกอย่างก็สามารถ พู ด คุ ย ท� า ความเข้ า ใจได้ พี่ น ้ อ งชาว จ.สุรนิ ทร์กม็ คี วามเป็นกันเองสูง มีอะไรก็ จะมาคุยกัน แล้วก็ให้ความร่วมมือกับ ทางราชการ แต่วา่ ราชการก็ตอ้ งเห็นใจพี่ น้อง ก็ตอ้ งเข้าใจเนือ้ หาบริบทในการทีจ่ ะ เข้าไปช่วยแก้ไขส่งเสริม
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
.indd 38
7/6/2561 18:11:03
หลักใจในการท�างานที่น�าไปสู่หลักชัย
ส�ำหรับกำรท�ำงำนของผมก็คือ ตำมแนวพระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัว คือ เข้ำใจ เข้ำถึง พัฒนำ ผมก็จะออกพืน้ ทีไ่ ปบ่อย มีโอกำสก็จะออกไปตำมอ�ำเภอต่ำงๆ ทุกอ�ำเภอ เพื่อที่จะเข้ำใจในเนื้อหำบริบทพื้นที่ จังหวัดสุรินทร์ทำงตอนใต้ ซึ่งเป็นป่ำติดกับ แนว ชำยแดนมีอำ่ งน�ำ้ เยอะ แหล่งน�ำ้ เยอะ ทำงตอนเหนือก็เป็นทีร่ ำบ ทุง่ กุลำร้องไห้ ติดกลับ ล�ำน�ำ้ มูล ทำงตอนกลำงโดยเฉพำะกลำงตะวันออกจะแล้งหน่อยเป็นทีด่ อน เข้ำใจเนือ้ หำ เข้ำใจวัฒนธรรมประเพณี 3 ชนเผ่ำ เข้ำใจสภำพปัญหำว่ำเป็นอย่ำงไง เข้ำถึงก็หมำยควำมว่ำ ต้องไปเยี่ยมเยียนสภำพปัญหำที่แท้จริง รู้จักพี่น้องประชำชน แล้วก็น�ำทั้งสำมอย่ำงมำ ก�ำหนดแนวทำงพัฒนำต่อไป เข้ำใจ เข้ำถึง พัฒนำ บำงครั้งก็ต้องมีกำรชี้แจ้ง ท�ำควำมเข้ำใจให้พี่น้องประชำชน เนือ่ งจำกพีน่ อ้ งชำวสุรนิ ทร์เป็นเกษตรกรรำยย่อย แล้วก็มกั มองทีผ่ ลประโยชน์เฉพำะหน้ำ ท่ำนก็ตอ้ งดิน้ รนปลูกข้ำวเป็นรำยปีไป เพรำะฉะนัน้ เรำก็ตอ้ งดูแลพีน่ อ้ งประชำชน อย่ำงที่ เรำบอกว่ำ ปีนี้ข้ำวรำคำดีไหม เรำก็ยังตอบไม่ได้ แต่ได้ประชุมเรื่องข้ำว โรงสีเขำต้องดู อุปสงค์และอุปทำน ปริมำณกำรค้ำขำยต้องดูรำคำตลำดโลก เพรำะฉะนัน้ เรำก็ตอบไม่ได้ สิ่งที่จะช่วยได้ก็อย่ำงที่เรียนให้ทรำบ คือ ต้องใช้กลไกตลำด พยำยำมท�ำให้รำคำข้ำวสูง ขึ้น เรำจะไปบอกวันนี้ให้ 5 บำท พรุ่งนี้ให้ 10 บำท อย่ำงนี้มันคงไม่ได้ แต่ถ้ำว่ำวันนี้ ควำมต้องกำรมำก สินค้ำน้อย รำคำมันก็จะขึน้ แต่วำ่ ถ้ำมีควำมต้องกำรน้อย แต่มสี นิ ค้ำ มำก รำคำก็ตกลง เป็นธรรมดำ เป็นกลไกตลำด เรำก็ต้องไปดูกลไกตลำดท�ำให้พี่น้อง
เกษตรกรให้สำมำรถที่จะอยู่ได้ คือพูด ง่ำยๆ ถ้ำให้จงั หวัดสุรนิ ทร์เปรียบดัง่ นักมวย ก็ต้องเป็นนักมวยที่มีควำมหลำกหลำย คือออกอำวุธได้หลำยอย่ำง ไม่ใช่ว่ำต่อย อย่ำงเดียวคงไม่ได้ เรำก็ต้องมีเรื่องนั้น เรื่องนี้ มีควำมสำมำรถเฉพำะตน สิ่งที่ผมอยู่มำอยู่สองปีเศษ ก็ได้รับ ควำมร่วมมืออย่ำงดี อยูอ่ ย่ำงสงบ ไม่คอ่ ย มีปญ ั หำอะไร มีกม็ บี ำ้ งก็แก้ไขกันไป เป็น กรณีๆ ไป
SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
_
.indd 39
39
7/6/2561 18:10:35
นายอรรถพร สิงหวิชัย ผู้ว่าราชการจังหวัดสุรินทร์ ประวัติการท�างาน - ผู้ตรวจราชการกระทรวงมหาดไทย - รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน - ผู้อ�านวยการส�านักส่งเสริมการป้องกันสาธารณภัย กรมป้องกันและ บรรเทาสาธารณภัย - ผู้อ�านวยการส�านักวิจัยและความร่วมมือระหว่างประเทศ กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย - ผู้อ�านวยการส�านักนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย - เลขานุการกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย - รองผู้อ�านวยการวิทยาลัยป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย - บุคลากร กองอัตราก�าลังและส่งเสริมสมรรถภาพ กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย - นักวิชาการ กองวิชาการและแผนงานกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย - เลขานุการ ผู้ว่าราชการจังหวัดนครราชสีมา - ปลัดอ�าเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา - ปลัดอ�าเภอปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมา - เลขานุการผู้ว่าราชการจังหวัดมหาสารคาม - ปลัดอ�าเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม
ประวัติการศึกษา - มัธยมศึกษา โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย - ปริญญาตรี รัฐศาสตร์บัณฑิต(การคลัง) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - ปริญญาโท Master of Science (Regional Planning), Asian Institute of Technology (AIT) (ทุนรัฐบาล เนเธอร์แลนด์) - วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร ปี2556 40
_
การอบรม 19 กันยายน–26 ตุลาคม 2551 : Advanced Management Program (AMP 55),The Wharton School, University of Pennsylvania, USA 7–15 พฤศจิกายน 2548 (ทุน กพ.) : Top Managers’ Seminar on Fire Service and Disaster Management Administration For The Kingdom of Thailand ประเทศญีป่ นุ่ (ทุนรัฐบาลญีป่ นุ่ ) 20 เมษายน – 8 กันยายน 2546 : นั ก บริ ห ารระดั บ สู ง รุ ่ น ที่ 47 ส�านักงาน ก.พ. กันยายน 2535–มิถุนายน 2536 (ทุนรัฐบาลออสเตรีย) : Economic Theory and Quantitative Analysis University of Innsbruck, Austria
การศึกษาดูงาน 4-14พฤษภาคม 2539 : คอมพิวเตอร์(ดูงาน),วอชิงตัน ดีซี ดัลลัส เท็กซัส เวอร์จเิ นียร์ลอสแอลเจลีส แคลิฟอร์เนียร์ สหรัฐอเมริกา 13-20 มิถุนายน 2554 : ศึกษาดูงานด้านการบริหารจัดการ อุ ท กภั ย , ราชอาณาจักรเนเธอร์แ ลนด์ ราชอาณาจั ก รเบลเยี่ ย ม สหพั น ธ์ สาธารณรั ฐ เยอรมนี และสาธารณรั ฐ ฝรั่งเศส
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
.indd 40
7/6/2561 18:10:23
เมืองเกษตรอินทรีย์ ท่องเที่ยววิถีชุมชน ประชาชนมีคุณภาพชีวิตดี นายอรรถพร สิงหวิชัย
ผู้ว่าราชการจังหวัดสุรินทร์
SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
_
.indd 41
41
6/6/2561 17:54:34
นายอรรถพร สิงหวิชัย ผู้ว่าราชการจังหวัดสุรินทร์
42
_
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
.indd 42
6/6/2561 18:04:18
SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
_
.indd 43
43
6/6/2561 18:03:34
Director of nakhonsawan Provincial Buddhism Office
รองผู ้ ว ่ า ราชการ จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์ นายธรรมศั ก ดิ์ รั ต นธั ญ ญา 44
ขั บ เคลื่ อ นยุ ท ธศาสตร์ สุ ริ น ทร์ ไปพร้ อ มๆ กั บ ที ม ข้ า ราชการ ส� า นั ก งานจั ง หวั ด สุ ริ น ทร์ อย่ า งแข็ ง ขั น
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
.indd 44
11/06/61 05:11:05 PM
E XCL U SIVE INTERVIEW
บันทึกเส้นทางพบรองผู้ว่าราชการจังหวัด
บทบาทเกี่ยวกับส�านักงานจังหวัดสุรินทร์ ส�ำนักงำนจังหวัดมีหน้ำที่เกี่ยวกับรำชกำรทั่วไปของจังหวัด และมีผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด เป็น ผู้ปกครองบังคับบัญชำและรับผิดชอบ ส่วนรำชกำรต่ำงๆ ซึ่งกระทรวง ทบวง กรม ได้ จัดตั้งขึ้น มีหน้ำที่เกี่ยวกับรำชกำรของกระทรวง ทบวง กรมนั้นๆ และมีภำรกิจหน้ำที่อยู่ 2 ประกำร ได้แก่ กำรปฏิบัติหน้ำที่ในฐำนะส�ำนักงำนเลขำนุกำรผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด และ รั บ ผิ ด ชอบในกำรจั ด ท� ำ แผนพั ฒนำจั ง หวั ด โดยมี พั น ธกิ จ คื อ มี ก ำรจั ด โครงสร้ ำ งและ กำรบริหำรจัดกำรในรูปแบบขององค์กำรระบบรำชกำร ทีแ่ บ่งงำนกันตำมควำมถนัดเฉพำะด้ำน ยึดหลักสำยกำรบังคับบัญชำตำมล�ำดับชัน้ ยึดกฎหมำย และระเบียบเป็นหลักในกำรปฏิบตั งิ ำน เน้นควำมสัมพันธ์ทไี่ ม่เป็นส่วนตัว ไม่ยดึ ติดในตัวบุคคลแต่ยดึ ต�ำแหน่งเป็นหลัก มีรบั บุคลำกร เข้ำท�ำงำน และเลื่อนต�ำแหน่งหรือให้ผลตอบแทนตำมควำมสำมำรถ และมีควำมมั่นคง ในอำชีพกำรงำน ด้วยส�ำนักงำนจังหวัดเป็นหน่วยงำนในสังกัดส�ำนักงำนปลัดกระทรวงมหำดไทย ที่ส�ำคัญ หน่วยงำนหนึ่งที่ท�ำหน้ำที่เป็นที่ปรึกษำ (Back Office) ส�ำหรับผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด กล่ำวคือ ท�ำหน้ำที่ให้ค�ำแนะน�ำหรือแสดงข้อคิดเห็นต่ำงๆ ที่เกี่ยวข้องกับงำนของผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด ในกำรบริหำรรำชกำรให้บรรลุวัตถุประสงค์ตำมแผนยุทธศำสตร์กำรพัฒนำจังหวัด โดยมี จุดมุ่งหมำย ดังนี้ คือ 1.เพื่อเป็นศูนย์กลำงกำรประสำนควำมร่วมมือระหว่ำงหน่วยงำน
ทั้งภำครัฐ และเอกชน ภำยในจังหวัด ใน กำรร่วมกันพัฒนำจังหวัดให้เจริญก้ำวหน้ำ 2.เป็นหน่วยงำนให้ค�ำปรึกษำรำชกำรของ จังหวัด พร้อมทั้งเป็นศูนย์กลำงของข้อมูล ข่ำวสำรและระเบียบปฏิบตั ริ ำชกำรทีค่ รบถ้วน 3.เพือ่ บริหำรงำนภำยใต้กำรจัดสรรทรัพยำกร และงบประมำณที่มีอยู่อย่ำงจ�ำกัด ให้เกิด ประสิทธิภำพและประสิทธิผล อย่ำงสูงสุด 4.เพื่อให้บริกำรแก่ภำครัฐและภำคเอกชน ตลอดจนประชำชนในสังคม ให้ได้รับควำม พึ ง พอใจอย่ ำ งสู ง สุ ด 5.สนั บ สนุ น ให้ ก ำร บริหำรรำชกำรของผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดและ ของส่วนรำชกำรต่ำงๆ ในฐำนะส�ำนักงำน เลขำนุกำรของผูว้ ำ่ รำชกำรจังหวัด ด�ำเนินงำน อย่ำงมีประสิทธิภำพ
SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 45
45
06/06/61 04:46:21 PM
วัตถุประสงค์ของส�านักงานจังหวัด 1. เพื่อตรวจสอบ เสนอแนะ ให้ค�าปรึกษาเกี่ยวกับการบริหารงานแก่ผู้ว่าราชการจังหวัด 2. เพื่อรับผิดชอบงานอื่นๆ ที่ไม่มีหน่วยงานใดรับผิดชอบโดยตรง 3. เพื่อก�ากับดูแล เกี่ยว กับการติดตามผลการปฏิบัติตามค�าสั่งของผู้ว่าราชการจังหวัด 4. เพื่อจัดงานบริหารราชการ ทั่วไปของจังหวัดเช่น งานเลขานุการ งานบริหารงานบุคคล ในอ�านาจของผู้ว่าราชการจังหวัด 5. เพื่อประสานราชการกับหน่วยงานต่างๆ อ�านาจหน้าที่ของส�านักงานจังหวัด 1. แปลงยุทธศาสตร์การพัฒนาระดับชาติไปเป็นยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดในพื้นที่ 2. พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศเพื่อบริหาร ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการวางแผน และเครือข่ายสารสนเทศของจังหวัดและเป็นศูนย์สารสนเทศของจังหวัด เพื่อการบริหารและ การวางแผนพัฒนาจังหวัด 3. จัดท�าแผนพัฒนาจังหวัดและด�าเนินการตามแผน 4. ก�ากับ และติ ด ตามผลการด� า เนิ น งานตามแผนยุ ท ธศาสตร์ ก ารพั ฒนาจั ง หวั ด 5. อ� า นวยการ ประสานและปฏิบัติตามอ�านาจหน้าที่ของผู้ว่าราชการจังหวัด 6. ด�าเนินการในภารกิจที่ ได้รับมอบหมาย กรณีที่ไม่มีการจัดตั้งส่วนราชการขึ้นรับผิดชอบ ในระดับจังหวัด 7. ปฏิบัติ งานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย
จากแผนยุ ท ธศาสตร์ ก ารพั ฒ นาจั ง หวั ด 4 ปี พ.ศ.2561-2564 ถึงภาคปฏิบัติ มองจากวิสัยทัศน์ “เมืองเกษตรอินทรีย์ ท่องเทีย่ ววิถชี มุ ชน ประชาชนมีคณ ุ ภาพชีวติ ดี” ถึงความมั่นคงอย่างแท้จริง ที่ไปในทิศทาง เดียวกัน ด้วยพันธกิจ คือ 1. ส่งเสริมและ พัฒนาการเกษตรอินทรีย์ 2. ส่งเสริมและ พัฒนาการค้า การลงทุน และการท่องเที่ยว 3. ส่ ง เสริ ม การบริ ห ารจั ด การทรั พ ยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 4. ส่งเสริมและ พั ฒนาการรั ก ษาความสงบเรีย บร้อ ยและ ความมั่ น คง 5. ส่ ง เสริ ม คุ ณ ภาพชี วิ ต ประชาชนตามหลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพียง และมีเป้าประสงค์รวมอยูท่ ี่ ประชาชน 46
มีคณ ุ ภาพชีวติ ดี มีความมัน่ คง มัง่ คัง่ และยัง่ ยืน
ยุ ท ธศาสตร์ ส� า คั ญ คื อ ยุ ท ธศาสตร์ ยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน และ ยุทธศาสตร์เสริมสร้างความมั่นคง เป้ า ประสงค์ เ ชิ ง ยุ ท ธศาสตร์ ยกระดั บ คุ ณ ภาพชี วิ ต ของประชาชน เพื่ อ ให้ ประชาชนมีความสุขและสังคมร่มเย็น และ ยุ ท ธ ศ า ส ต ร ์ เ ส ริ ม ส ร ้ า ง ค ว า ม มั่ น ค ง ประชาชนมี ค วามมั่ น คงปลอดภั ย และ เกิดความสงบเรียบร้อย โดย 1. เสริมสร้างศักยภาพการพึ่งพา ตนเองของประชาชน 2. ส่งเสริมให้ภาค
ประชาชนและกลุ่มองค์กรมีความเข้มแข็ง 3. ส่งเสริมอาชีพ ทักษะชีวิต และสุขภาวะ แก่ประชาชน และยุทธศาสตร์เสริมสร้าง ความมั่ น คงคื อ 1. พั ฒ นาคน องค์ ก ร หมู่บ้าน เพื่อความมั่นคง และความสงบ เรียบร้อย 2. ส่งเสริมการรักษาความสงบ เรียบร้อย และความปลอดภัยในชีวิตและ ทรั พ ย์ สิ น 3. ส่ ง เสริ ม และพั ฒ นาความ ร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้าน แผนงาน ในด้านยุทธศาสตร์ด้านการ ยกระดั บ คุ ณ ภาพชี วิ ต ของประชาชน มี กลยุทธ์ ดังนี้ คือ เสริมสร้างศักยภาพการ พึ่งพาตนเองของประชาชน แผนงานพัฒนา หมู ่ บ ้ า นตามหลั ก ของปรั ช ญาเศรษฐกิ จ
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
.indd 46
06/06/61 04:48:58 PM
พอเพียง แผนงานการบริหารจัดการครัวเรือน ยากจนแบบบู ร ณาการ แผนงานส่ ง เสริ ม และขยายผลโครงการอั น เนื่ อ งมาจาก พระราชด�าริ มีกลยุทธ์คือ ส่งเสริมให้ภาค ประชาชนและกลุ่มองค์กรมีความเข้มแข็ง มี ดังนีค้ อื การขับเคลือ่ นและบูรณาการเชือ่ มโยง แผนชุมชนทุกระดับ แผนงานส่งเสริมการ ป้องกัน แก้ไข และเฝ้าระวังปัญหาสังคม แผนงานส่ ง เสริ ม และพั ฒ นาการจั ด สวัสดิการชุมชนสู่ชุมชนสวัสดิการ มีดังนี้คือ แผนงานการสร้างความปรองดองสมานฉันท์ และการมีส่วนร่วมในการปกครองในระบบ ประชาธิปไตย และมี กลยุทธ์ คือ ส่งเสริม อาชีพ ทักษะชีวติ และสุขภาวะแก่ประชาชน
แผนงานส่งเสริมการปลูก ฝังคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมหลักคนไทย ,แผนงาน ส่ ง เสริ ม พั ฒ นาทั ก ษะชี วิ ต ให้ แ ก่ เ ด็ ก และ เยาวชน และส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมพืน้ บ้าน, แผนงานเสริ ม สร้ า งโอกาสให้ ป ระชาชน มี ง านท� า มี ร ายได้ และได้ รั บ การพิ ทั ก ษ์ คุ้มครองสิทธิ, แผนงานการจัดการศึกษา เชิ ง พื้ น ที่ และ แผนงานส่ ง เสริ ม สุ ข ภาพ ประชาชน
ยุ ท ธศาสตร์ เ สริ ม สร้ า งความมั่ น คง มี กลยุทธ์ คือ พัฒนาคน องค์กร หมู่บ้าน เพื่อ ความมั่นคง และความสงบเรียบร้อย โดยมี แผนงานส่ ง เสริ ม และพั ฒ นาคน องค์ ก ร
มวลชน หมู ่ บ ้ า น เพื่ อ ความมั่ น คงและ ความสงบเรียบร้อย, แผนงานพัฒนาและ เสริมสร้างความเข้มแข็งของบุคลากรและ มวลชนพื้ น ที่ ช ายแดนและพื้ น ที่ ต อนใน มีกลยุทธ์ คือ ส่งเสริมการรักษาความสงบ เรียบร้อย และความปลอดภัยในชีวิตและ ทรัพย์สิน, แผนงานเสริมสร้างความสงบ เรี ย บร้ อ ย แผนงานปรั บ ปรุ ง และพั ฒ นา ระบบการรั ก ษาความสงบเรี ย บร้ อ ยและ ความปลอดภั ย ในชี วิ ต และทรั พ ย์ สิ น มี กลยุทธ์ คือ ส่งเสริมและพัฒนาความร่วม มื อ กั บ ประเทศเพื่ อ นบ้ า น และแผนงาน เสริ ม สร้ า งพั ฒ นาความสั ม พั น ธ์ และ ความร่วมมืออันดีกับประเทศเพื่อนบ้าน SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 47
47
06/06/61 04:50:44 PM
Director of nakhonsawan Provincial Buddhism Office
รองผู ้ ว ่ า ราชการ จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์ นายพรพจน์ บั ณ ฑิ ต ยานุ รั ก ษ์ 48
เมื อ งเกษตรอิ น ทรี ย ์ ท่ อ งเที่ ย ววิ ถี ชุ ม ชน ประชาชนมี คุ ณ ภาพชี วิ ต ดี วิ สั ย ทั ศ น์ ข องจั ง หวั ด สุ ริ น ทร์
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
.indd 48
12/06/61 08:30:35 AM
E XCL U SIVE INTERVIEW
บันทึกเส้นทางพบรองผู้ว่าราชการจังหวัด
พัฒนาหัวใจของการท่องเที่ยว ในปี 2558 จังหวัดสุรินทร์มีรายได้จากการท่องเที่ยว จ�านวน 2,210 ล้านบาท เพิ่มขึ้น จากปีก่อนๆ ที่ผ่านมาร้อยละ 8.03 ด้วยชื่อเสียงในเรื่องของหมู่บ้านช้าง โบราณสถาน อีกทั้ง แหล่งท่องเที่ยวธรรมชาติและวัฒนธรรมที่หลากหลาย จึงเป็นโอกาสในการพัฒนาศักยภาพ ด้านการท่องเที่ยวต่อมาเรื่อยๆ อย่างเป็นระบบ ไม่ว่าจะเป็นด้านโครงสร้างพื้นฐานสู่แหล่ง ท่องเที่ยว และบุคลากรที่เกี่ยวข้อง เพื่อดึงดูดความสนใจของผู้เยี่ยมเยียน (นักท่องเที่ยว และนักทัศนาจร) ให้มีระยะเวลาพักค้างคืนในจังหวัดสุรินทร์นานขึ้น และยังก่อให้เกิดการ ใช้จ่ายที่จะสร้างรายได้ให้กับจังหวัดเพิ่มมากขึ้น ความมั่นคงทางชายแดนด้วยเศรษฐกิจและมิตรภาพ ด้ ว ยจั ง หวั ด สุ ริ น ทร์ มี อ าณาเขตชายแดนติ ด ต่ อ กั บ ประเทศเพื่ อ นบ้ า นราชอาณาจั ก ร กัมพูชา รวม 4 อ�าเภอ ประกอบด้วย อ�าเภอพนมดงรัก อ�าเภอกาบเชิง อ�าเภอสังขะ และ อ�าเภอบัวเชด รวมระยะทางประมาณ 90 กิโลเมตร และมีจุดผ่านแดนถาวรที่ส�าคัญ คือ จุด ผ่านแดนถาวรบริเวณด่านช่องจอม อ�าเภอกาบเชิง ซึ่งเป็นช่องทางการค้า การท่องเที่ยว เชื่อมโยงกับประเทศเพื่อนบ้าน ทางจังหวัดจึงได้สร้างความเข้มแข็งบริเวณหมู่บ้าน/ชุมชน ชายแดน และการค้าบริเวณชายแดนไทย - กัมพูชา ณ จุดผ่านแดนถาวรช่องจอม - โอร์เสม็ด จังหวัดสุรินทร์ ซึ่งช่องจอมได้รับการยกฐานะจากจุดผ่อนปรนการค้าบริเวณชายแดนช่องจอมเป็นจุด
ผ่านแดนถาวรช่องจอม - โอร์เสม็ด เมื่อวันที่ 1 กันยายน 2554 เปิดทุกวันระหว่างเวลา 07.00 - 20.00 น. ท�าให้ด้านการส่งออก พบว่า ตั้งแต่ปี 2554-2557 มีมูลค่าเพิ่ม ขึ้ น อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง โดยมี มู ล ค่ า เท่ า กั บ 755.99 ล้านบาท 1,253.34 ล้านบาท 1,910.64 ล้านบาท 2,369.87 ล้านบาท และ 2,108.76 ล้านบาทตามล�าดับ เช่นเดียวกับการน�าเข้า ก็เพิ่มขึ้นอย่าง ต่อเนื่อง ตั้งแต่ปี 2554-2558 โดยมีมูลค่า เท่ากับ 53.85 ล้านบาท 190.92 ล้านบาท 269.50 ล้านบาท 443.18 ล้านบาท และ 983.65 ล้านบาท ตามล�าดับต้นโดยในปี 2558 มีอัตราการเปลี่ยนแปลงเทียบกับ ปีก่อนๆ ที่ผ่านมา เพิ่มขึ้นร้อยละ 121.8 สินค้าน�าเข้าที่ส�าคัญ ได้แก่ เม็ดพลาสติก มันส�าปะหลัง(หัวมันสด) ถ่านไม้ เศษสแตนเลส มันเทศสด เป็นต้น
SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 49
49
07/06/61 06:06:27 PM
หลักการท�างาน และบุคคล ผู้เป็นแรงบันดาลใด ส�ำหรับผม กำรท�ำงำนต้องอยูบ่ นพืน้ ฐำน ควำมชัดเจน มีเหตุผล และถูกต้อง เพรำะ ในกำรท�ำงำนถ้ำมีหลักกำรที่ชัดเจน กำร ท�ำงำนก็จะง่ำย สะดวก เร็วขึ้น มีควำม เป็นธรรม และตัดสินใจปัญหำต่ำงๆ ภาระงานที่ ท ่ า นก� า กั บ ดู แ ลครอบคลุ ม ในส่วนใดบ้าง ผมรั บ ผิ ด ชอบด้ ำ นเศรษฐกิ จ เป็ น หลั ก หน่ ว ยงำนที่ อ ยู ่ ใ นกำรดู แ ล เช่ น 1.1 กระทรวงมหำดไทย ส�ำนักงำนจังหวัดสุรนิ ทร์ - กลุม่ งำนอ�ำนวยกำร - กลุม่ งำนยุทธศำสตร์ และข้อมูลเพื่อกำรพัฒนำจังหวัด - กลุ่มงำน ศูนย์ด�ำรงธรรม 1.2 กระทรวงคมนำคม 1.3 กระทรวงศึ ก ษำธิ ก ำร 1.4 กระทรวง สำธำรณสุข 1.5 กระทรวงกำรคลัง 1.6 กระทรวงกำรเกษตรและสหกรณ์ 1.7 กระทรวงอุ ต สำหกรรม 1.8 กระทรวง ทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อม 1.9 กำรประสำนกำรปฏิบัติกับหน่วยงำนอิสระ ตำมประกำศคณะรักษำควำมสงบแห่งชำติ ฉบับที่ 11/2557 ลงวันที่ 22 พฤษภำคม 2557 1.9.1 เฉพำะในส่วนที่เกี่ยวข้องกับ หน่วยงำนที่ได้รับมอบหมำย 1.9.2 กำร เลื อ กตั้ ง เฉพำะพื้ น ที่ อ� ำ เภอที่ ไ ด้ รั บ มอบ หมำยรั บ ผิ ด ชอบในเขตพื้ น ที่ 1.อ� ำ เภอ ส�ำโรงทำบ 2.อ�ำเภอล�ำดวน 3.อ�ำเภอศีขรภูมิ 4.อ�ำเภอเขวำสินรินทร์ 5.อ�ำเภอศรีณรงค์ พันธกิจและเป้าประสงค์รวม 1. ส่งเสริมและพัฒนำกำรเกษตรอินทรีย์ 2. ส่งเสริมและพัฒนำกำรค้ำ กำรลงทุน และกำรท่องเที่ยว 3. ส่งเสริมกำรบริหำร จัดกำรทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อม 4. ส่งเสริมและพัฒนำกำรรักษำควำมสงบ เรี ย บร้ อ ยและควำมมั่ น คง 5. ส่ ง เสริ ม คุณภำพชีวิตประชำชนตำมหลักปรัชญำของ เศรษฐกิจพอเพียง โดยมีเป้ำประสงค์รวม คือ ประชำชนมีคณ ุ ภำพชีวติ ดี มีควำมมัน่ คง มั่งคั่ง และยั่งยืน
50
ยุทธศาสตร์จังหวัดสุรินทร์ มีอยู่ 5 ด้ำน ดังนี้ 1. ยุทธศำสตร์เพิ่ม ศักยภำพภำคกำรเกษตร 2. ยุทธศำสตร์ ยกระดับควำมสำมำรถในกำรแข่งขันทำงด้ำน เศรษฐกิจและบริกำร 3. ยุทธศำสตร์กำร บริ ห ำรจั ด กำรทรั พ ยำกรธรรมชำติ แ ละ สิ่ ง แวดล้ อ มอย่ ำ งยั่ ง ยื น 4. ยุ ท ธศำสตร์ ยกระดับคุณภำพชีวิตของประชำชน และ 5. ยุทธศำสตร์เสริมสร้ำงควำมมั่นคง
จุดแข็งของการพัฒนา จังหวัดสุรนิ ทร์ เรำมีกำรวิเครำะห์สภำวะ แวดล้อมจังหวัดสุรนิ ทร์ (SWOT ANALYSIS) โดยจุดแข็ง (Strength) คือ 1. พืน้ ทีเ่ หมำะสม ในกำรปลู ก ข้ ำ วหอมมะลิ อิ น ทรี ย ์ แ ละ ข้ำวหอมมะลิคุณภำพดี 2. มีกลุ่มองค์กร เครือข่ำย กำรพัฒนำที่เข้มแข็ง 3. มีองค์ ควำมรู ้ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ภู มิ ป ั ญ ญำท้ อ งถิ่ น ที่ มี ควำมหลำกหลำย 4. เป็นศูนย์กลำงของกำรค้ำ ชำยแดนอีสำนใต้ 5. มีโรงงำนอุตสำหกรรม
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
.indd 50
07/06/61 06:03:03 PM
สิ่ ง ที่ ท ่ า นต้ อ งการฝากไปยั ง ภาคส่ ว นต่ า งๆ รวมถึ ง ประชาชน ในจั ง หวั ด เพื่ อ การมี ส ่ ว นร่ ว มในการ พัฒนาจังหวัดให้เจริญก้าวหน้า
ในการพั ฒ นาจั ง หวั ด มี ห ลั ก การ บริหารโดยมุ่งเน้นการใช้กระบวนการ ประชาสังคม การมีส่วนร่วมของชุมชน ในการแก้ ไ ขปั ญ หาของหมู ่ บ ้ า น และ ชุมชนด้วยตนเอง ทั้งนี้ให้ส่วนราชการ เป็นผู้สนับสนุน โดยการเข้าไปชี้แจงและ สร้างความเข้าใจให้แก่ประชาชน และ ให้ ห มู ่ บ ้ า น ชุ ม ชนเข้ า มามี ส ่ ว นร่ ว ม ในการด�าเนินการแก้ ไขปัญหา มุ่งเน้น การส่งเสริมกิจกรรมในเชิงบวกให้มากขึน้ ขณะเดี ย วกั น ก็ ให้ ด� า เนิ น การเพื่ อ ลดทอนกิ จ กรรมในเชิ ง ลบต่ า งๆ ให้ มี น ้ อ ยลง และหั ว หน้ า ส่ ว นราชการ นายอ�าเภอ โดยหัวหน้าส่วนราชการ นายอ�าเภอ ต้องพร้อมในการรับการ ประสานงาน เพื่ อ แก้ ไ ขปั ญ หาตลอด 24 ชั่วโมง
เกษตรมากเพียงพอต่อการรองรับผลผลิต ทางด้านการเกษตร 6. มีศิลปวัฒนธรรม ประเพณี วิถีชีวิต และทรัพยากรธรรมชาติ ที่ เ หมาะสมด้ า นการท่ อ งเที่ ย วโดยชุ ม ชน เท่านี้เราก็ช่วยกันขยายไปสู่ภาคการปฏิบัติ ในทุกภาพส่วนเพื่อให้จุดแข็ง เป็นจุดปฏิบัติ การที่ชัดเจนและพัฒนาไปพร้อมกันทุกด้าน เรามี โ อกาสที่ ดี ม ากตามนโยบายของ รัฐบาลที่วางไว้คือ 1. นโยบายรัฐบาลสนับสนุน การเพิ่ม
ศักยภาพทางการค้า การลงทุน และการ ท่องเที่ยว 2. นโยบายรัฐบาลมีการส่งเสริม ด้ า นการเกษตรและน� า ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพียงมาใช้ทุกมิติ 3. นโยบายรัฐบาลให้ ความส�าคัญด้านการพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐาน การบริหารจัดการขยะ การบริหารจัดการน�า้ พลังงานทางเลือก และการอนุรกั ษ์ทรัพยากร ธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม 4. กระแสการตืน่ ตัว ดูแลสุขภาพของคนมีเพิม่ มากขึน้ 5. มีกรอบ ความร่ ว มมื อ ที่ ส� า คั ญ ระหว่ า งประเทศใน
ภูมิภาคและประชาคมอาเซียน 6. มีการ พั ฒ นานวั ต กรรมด้ า นการผลิ ต และการ แปรรูปเพื่อน�ามาใช้ในการเพิ่มมูลค่าสินค้า 7. การเติบโตและขยายตัวทางเศรษฐกิจ การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของประเทศ เพื่อนบ้าน ท�าให้มีการน�าเข้าสินค้า วัสดุ ก่อสร้าง สินค้าอุปโภค - บริโภคมากขึ้น
SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 51
51
06/06/61 05:36:06 PM
Director of nakhonsawan Provincial Buddhism Office
52
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
.indd 52
06/06/61 04:53:59 PM
E XCL U SIVE INTERVIEW
บันทึกเส้นทางพบรองผู้ว่าราชการจังหวัด
รองผู ้ ว ่ า ราชการ จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์
ว่ า ที่ ร ้ อ ยตรี นิ รั น ดร์ ดุ จ จานุ ทั ศ น์ ภารกิจด้านสังคมเป็นหลัก ส�ำหรับ ด้ำนสังคมที่ผมต้องรับผิดชอบ เกี่ยวข้องกับ กระทรวงมหำดไทย ส�ำนักงำน ป้องกันและบรรเทำสำธำรณภัยจังหวัดสุรนิ ทร์ ส� ำ นั ก งำนพั ฒ นำชุ ม ชนจั ง หวั ด สุ ริ น ทร์ , กระทรวงยุ ติ ธ รรม ส� ำ นั ก งำนพระพุ ท ธ ศำสนำแห่ ง ชำติ , กระทรวงพำณิ ช ย์ , กระทรวงพลังงำน กระทรวงกำรท่องเที่ยว และกี ฬ ำ กระทรวงแรงงำน กระทรวง
วัฒนธรรม กระทรวงกำรพัฒนำสังคมและ ควำมมั่นคงของมนุษย์ กระทรวงดิจิทัลเพื่อ เศรษฐกิจและสังคม เกี่ยวข้องกับหน่วยงำน ตำมนโยบำยส�ำคัญของรัฐบำล, ส�ำนักงำน คณะกรรมกำรพิ เ ศษเพื่ อ ประสำนงำน โครงกำรอั น เนื่ อ งมำจำกพระรำชด� ำ ริ , กำรประสำนกำรปฏิบัติกับหน่วยงำนอิสระ ตำมประกำศคณะรักษำควำมสงบแห่งชำติ
สร้างสรรค์คุณภาพชีวิต ผ่านประเพณีและวัฒนธรรม จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์ ป ระชำกรร้ อ ยละ 93 คือ เขมร กูย และลำว แต่ประชำกรทั้งหมด อำศัยอยูใ่ นเขตชนบท โดยมีประชำกรทีอ่ ำศัย มีควำมเป็นอยู่ที่เรียบง่ำย มีควำมสำมัคคี อยู่ในเขตเมืองได้แก่ เทศบำลเมืองสุรินทร์ ต่ำงได้รกั ษำวัฒนธรรม ประเพณีภำษำของตน และเทศบำลต�ำบลอีก 24 แห่ง เป็นจังหวัด ไว้เป็นอย่ำงดีและเป็นเอกลักษณ์ที่โดดเด่น ทีม่ คี วำมหลำกหลำยทำงวัฒนธรรม ประเพณี จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์ มี ป ระเพณี ที่ ส� ำ คั ญ และควำมเป็นอยู่ เนื่องจำกประชำกรที่พูด มำกมำย อำทิ ประเพณี บ วชนำคช้ ำ ง ภำษำต่ำงกัน 3 กลุ่ม หรือ “สุรินทร์ 3 เผ่ำ” งำนประเพณีขึ้นเขำสวำย เคำะระฆังพันใบ
เมื อ งเกษตรอิ น ทรี ย ์ ท่ อ งเที่ ย ววิ ถี ชุ ม ชน ประชาชนมี คุ ณ ภาพชี วิ ต ดี วิ สั ย ทั ศ น์ ข องจั ง หวั ด สุ ริ น ทร์
ฉบับที่ 17/2557 ลงวันที่ 22 พฤษภำคม พ.ศ.2557 เฉพำะในส่วนที่เกี่ยวข้องกับ หน่วยงำนทีไ่ ด้รบั มอบหมำย และ กำรเลือกตัง้ เฉพำะพื้นที่อ�ำเภอที่ได้รับมอบหมำย โดย รั บ ผิ ด ชอบในเขตพื้ น ที่ อ� ำ เภอจอมพระ, อ�ำเภอชุมพลบุรี, อ�ำเภอรัตนบุรี, อ�ำเภอ ท่ำตูม, อ�ำเภอสนม, อ�ำเภอโนนนำรำยณ์
ไหว้ 9 สิ่งศักดิ์สิทธิ์ งำนช้ำงและกำชำด สุรินทร์ ประเพณีแซนโฎนตำ กันตรึม กำร กวนข้ำวทิพย์ กำรแต่งงำน หรือ แซนกำร์ กะโน้ปติงตอง เรือมอันเร หรือ ลูดอันเร เรือมตรด เรือมอำยัย โชง สะบ้ำ ลิเกเขมร มโหรีเจรียง และ เจรียงเบริน
SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 53
53
06/06/61 04:54:46 PM
มีรากฐานทางพุทธศาสนาอันมั่นคง จังหวัดสุรินทร์มีศาสนสถานต่างๆ เป็น วัด 773 แห่ง ที่พักสงฆ์ 480 แห่ง โบสถ์ คริสต์ 24 แห่ง และมัสยิด 1 แห่ง (แหล่งข้อมูล สํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดสุรินทร์ และ สํานักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดสุรินทร์ ข้อมูล ณ เดือนธันวาคม 2554) โดยมี พระอารามหลวง คือ วัด ศาลาลอย และ วัดบูรพาราม (เป็นวัดสําคัญเก่าแก่ของจังหวัด มีอายุประมาณ 200 ปีเป็นที่ประดิษฐาน หลวงพ่อพระชีว์พระพุทธรูปสําคัญประจํา จังหวัด) รวมทั้งวนอุทยานพนมสวาย มี พระพุทธสุรินทรมงคล (นามพระราชทาน) พระพุทธรูปองค์ใหญ่ที่สุดในจังหวัดสุรินทร์ ซึ่งผู้เดินทางไปสักการะ จะได้เคาะระฆัง 1,080 ใบ เสริมสิริมงคลแก่ชีวิตด้วย นอกจากนี้ จั ง หวั ด ยั ง มี พ ระเกจิ ที่ มี ชื่ อ เสียงอีกหลายรูป เช่น พระราชวุฒาจารย์ (หลวงปู่ดูลย์ อตุโล) พระครูปราสาทพรหม คุณ (หลวงปู่หงส์ พรหมปัญโญ) วัดเพชรบุรี (สุสานทุ่งมน) อ.ปราสาท, พระครูวิสุทธิ กิ ต ติ ญ าณ (หลวงปู ่ คี ย ์ กิ ต ติ ญ าโณ) วัดศรีลํายอง อ.ปราสาท และ พระพิมล พั ฒ นาธร (หลวงพ่ อ พวน วรมงฺ ค โล) วัดมงคลรัตน์ อ.เมืองสุรินทร์เป็นต้น
ข้าวหอมมะลิกับความมั่นคง การเกษตรกรรม พื้ น ที่ ทํ า การเกษตร ทัง้ หมดของจังหวัด ฤดูการผลิตปี 2554/55 ประมาณ 3,879,443 ไร่ (ร้อยละ 76.40 ของพืน้ ทีจ่ งั หวัด) มีครัวเรือนเกษตร จํานวน 222,294 ครัวเรือน (แหล่งข้อมูล สํานักงานเกษตร จังหวัดสุรินทร์ ข้อมูล ณ เดือนกรกฎาคม 2555)
แม้การท่องเที่ยวเป็นกลยุทธ์หนึ่งของ ยุทธศาสตร์ดา้ นการเพิม่ ศักยภาพการแข่งขัน ด้านเศรษฐกิจ ก็ตาม แต่เราก็มองถึงฐานราก เกษตรกรรมที่จะเป็นตัวเชื่อมสังคมร้อยไว้ เป็นหนึง่ เดียว เนือ่ งจากจังหวัดสุรนิ ทร์มจี ดุ เด่น ในเรื่องของศิลปวัฒนธรรมขนบธรรมเนียม ประเพณี วิถีชีวิตที่แตกต่างจากจังหวัดอื่นๆ 54
และคณะรัฐมนตรีจึงมีมติให้จังหวัดสุรินทร์ เป็นจังหวัดท่องเที่ยว ด้วยความมีชื่อเสียง เกี่ยวกับข้าวหอมมะลิผ้าไหม และงานช้าง อาทิเช่น การมีชา้ งเลีย้ งมากทีส่ ดุ ในประเทศไทย เป็นเมืองช้าง การเป็นเมืองเกษตรอินทรีย์ การมีผลิตภัณฑ์ข้าวหอมมะลิอินทรีย์ที่ได้ รับรองมาตรฐานและส่งออกขายไปทั่วโลก การได้รบั คัดเลือกให้ออกแบบและทอผ้าไหม สําหรับตัดเสื้อให้ผู้นําเขตเศรษฐกิจ APEC นอกจากนีก้ ารเป็นจุดเชือ่ มต่อของอารยธรรม ขอมโบราณ การเป็นเมืองชายแดนที่ติดต่อ กั บ ประเทศกั ม พู ช า มี จุ ด ผ่ า นแดนถาวร ช่องจอมเป็นประตูสแู่ หล่งท่องเทีย่ วระดับโลก อย่าง ปราสาทหินนครวัด นครธม ในกัมพูชา
ก็ เ ป็ น เสน่ ห ์ อ ย่ า งหนึ่ ง ที่ ส ามารถดึ ง ดู ด นั ก ท่ อ งเที่ ยวได้ เ ป็ น อย่ า งดี เ หล่ า นี้ ล้ ว น ทํ า ให้ ชื่ อ ของจั ง หวั ด สุ ริ น ทร์ เ ป็ น ที่ รู ้ จั ก ใน ระดับโลก และมีความภาคภูมิใจในหลาย ด้านดังต่อไปนี้ “ข้ า ว” สุ ริ น ทร์ เ ป็ น ดิ น แดนที่ มี ก าร ปลูกข้าวหอมมะลิที่ดีที่สุด ในประเทศและ ของโลก มี พื้ น ที่ ป ลู ก ข้ า วกว่ า 3 ล้ า นไร่ พร้อมที่จะเป็นแหล่งผลิตข้าวเลี้ยงคนไทย และเป็ น ครั ว ของโลกโดยเฉพาะที่ สํ า คั ญ ข้ า วหอมมะลิ อิ น ทรี ย ์ สุ ริ น ทร์ เ ป็ น ข้ า วที่ มี คุณภาพเป็นที่ยอมรับ จังหวัดได้ประกาศ นโยบายเป็ น เมื อ งเกษตรอิ น ทรี ย ์ ป ลอด สารเคมีและสารพิษ มาตั้งแต่ปี 2542 และ
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
.indd 54
06/06/61 04:55:04 PM
คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อ 12 พ.ย. 2544 ให้ จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์ เ ป็ น จั ง หวั ด นํ า ร่ อ งในเรื่ อ ง การเกษตรอิ น ทรี ย ์ ข องประเทศไทยและ จั ง หวั ด กํ า ลั ง พั ฒ นาเกษตรอิ น ทรี ย ์ ไ ปสู ่ มาตรฐานสากล เพื่ อ เพิ่ ม ผลผลิ ต และ ปริมาณการส่งออกต่างประเทศให้มากยิง่ ขึน้ โดยเมื่อวันที่ 12 สิงหาคม 2547 จังหวัด สุ ริ น ทร์ ไ ด้ ป ระกาศใช้ ม าตรฐานเกษตร อินทรีย์สุรินทร์ (มก.สร.) เป็นจังหวัดแรก ของประเทศไทย ในปี 2549 และ จังหวัด สุ ริ น ทร์ ไ ด้ ป ระกาศให้ เ ป็ น ปี แ ห่ ง คุ ณ ภาพ และมาตรฐานข้าวหอมมะลิอินทรีย์อีกด้วย จากชื่ อ เสี ย งของข้ า วหอมมะลิ จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์ โรงสี โ ครงการส่ ว นพระองค์
สวนจิตรลดา ได้ลองนําข้าวหอมมะลิสรุ นิ ทร์ ไปทําการทดสอบปรากฏว่ามีคุณภาพที่สุด จึ ง ได้ สั่ ง ซื้ อ ข้ า วเปลื อ กหอมมะลิ สุ ริ น ทร์ ต่อเนื่องมาตั้งแต่ปี 2553 จนถึงปัจจุบัน โดยในปี 2555 ได้ มี ก ารสั่ ง ซื้ อ จํ า นวน 2,000 ตันๆ ละ 18,000 บาท มูลค่าร่วม 36 ล้ า นบาท เพื่ อ นํ า ไปแปรรู ป ไว้ ใ ช้ ใ น โครงการส่วนพระองค์และอีกส่วนหนึ่ง นํา ไปจําหน่ายในโครงการส่วนพระองค์โดยได้ มีพิธีลงนามทําสัญญาซื้อขายข้าวหอมมะลิ เมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2555 “ผ้าไหม” สุรินทร์ก็เป็นอีกหนึ่งแหล่ง ภูมปิ ญ ั ญาแห่งผ้าไหมมหัศจรรย์มวี ฒ ั นธรรม การทอผ้าไหมที่ถ่ายทอดสืบต่อกันมาจาก
บรรพบุ รุ ษ ซึ่ ง ได้ รั บ อิ ท ธิ พ ลจากกั ม พู ช า ผ้ า ไหมสุ ริ น ทร์ เ ป็ น ผ้ า ไหมที่ มี คุ ณ ภาพดี มีเอกลักษณ์โดดเด่นเฉพาะถิ่น และผ้าไหม สุรินทร์ที่กําลังมีชื่อเสียงเป็นที่สนใจอยู่ใน ขณะนีค้ อื ผ้าไหมยกทองโบราณบ้านท่าสว่าง อํ า เภอเมื อ งสุ ริ น ทร์ ที่ ไ ด้ รั บ การคั ด เลื อ ก ให้เป็นผ้าไหมทีใ่ ช้ตดั เสือ้ ให้ผนู้ าํ เขตเศรษฐกิจ เอเปคสวมใส่ นับเป็นความภาคภูมิใจของ ชาวจั ง หวั ด สุ ริ น ทร์ แ ละเป็ น ที่ ป ระจั ก ษ์ ถึงความมหัศจรรย์แห่งผ้าไหมที่งดงาม และนี่คือจุดเด่นที่เชื่อมประสานให้สุรินทร์ เ ป ็ น โ ม เ ด ล ที่ น ่ า ส น ใ จ ใ น ภ า ค พื้ น เ อ เ ชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต้ ใ นปั จ จุ บั น และอนาคต
SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 55
55
06/06/61 04:55:50 PM
Director of nakhonsawan Provincial Buddhism Office
ท้ อ งถิ่ น จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์ นายช�านาญ ศรีพารา 56
การปกครองท้ อ งถิ่ น เป็ น การ กระจายอ� า นาจให้ ป ระชาชน ดู แ ล พั ฒ นากั น เอง บนพื้ น ฐานของ ก า ร พึ่ ง พ า ต น เ อ ง โ ด ย รั ฐ บ า ล ก� า กั บ ดู แ ลน้ อ ยที่ สุ ด
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
.indd 56
11/06/61 05:35:39 PM
E XCL U SIVE INTERVIEW
บันทึกเส้นทางพบท้องถิิ่นจังหวัด
หลักการท�างาน แรงบันดาลใจ และ คติพจน์
“ เป็นนักวิชาการ เป็นนักปฏิบัติ ภายใต้หลักการที่ดี หลักกฎหมายและหลักคุณธรรม ” เป็ น นั ก วิ ช าการ หมายถึง ต้องเป็น ผู้ที่มี ความสามารถรอบรู้ในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมากที่สุด มีการ เรียนรูว้ ชิ าการวิทยาการสมัยใหม่อย่างต่อเนือ่ ง มีความรูเ้ ท่าทันต่อสถานการณ์หรือเหตุการณ์ ปั จ จุ บั น ที่ ส�า คัญต้อ งเป็น นักวางแผน มี แนวทางหรื อ ทิ ศ ทางการปฏิ บั ติ ง านและ เป้าหมายที่ชัดเจนและบริหารจัดการข้อมูล ที่ เ กี่ ย วกั บ การปฏิ บั ติ ง านให้ เ ป็ น ระบบ ปรั บ ปรุ ง ข้ อ มู ล ให้ เ ป็ น ปั จ จุ บั น ทุ ก ระยะ สามารถเรี ย กใช้ ป ระโยชน์ ไ ด้ อ ย่ า งมี ประสิทธิภาพโดยมีประเด็นส�าคัญๆ ดังนี้ 1. เข้ า ใจง่ า ยต่ อ แนวทางปฏิ บั ติ ง าน ข้อสั่งการ ระเบียบ กฎหมาย ที่เกี่ยวข้องกับ การบริหารงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ 2. เข้ า ใจต่ อ แบบแผนการปฏิ บั ติ ราชการในส่วนของข้าราราชการพลเรือน และนโยบายส�าคัญของกรม กระทรวง และ รั ฐ บาล เพื่ อ ปฏิ บั ติ ร าชการที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ให้ส�าเร็จเรียบร้อย 3. ให้ความส�าคัญงานนโยบายส�าคัญ ของต้นส�าคัญ อาทิ การประเมินประสิทธิภาพ ขององค์ ก รปกครองส่วนท้อ งถิ่น (Local Performance Assessment : LPA) และ การท�าแผนพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียงท้องถิน่ (Local Sufficieny Economy Plan: LSEP) ด้านการเกษตรและแหล่งน�้า เป็ น นั ก ปฏิ บั ติ หมายถึง ต้องปฏิบัติงาน ได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและประสิ ท ธิ ผ ล สามารถประสานการปฏิบตั ไิ ด้กบั ทุกภาคส่วน ที่ส�าคัญต้องปฏิบัติเชิงรุกสามารถปฏิบัติได้ ชิ้นงานครบถ้วนมีความรับผิดชอบ รวดเร็ว ถูกต้อง และทันต่อเวลา โดยเฉพาะการ ปฏิบัติงานต้องเชิงรุก : การท�างานต้องมี ความรวดเร็ว ถูกต้อง ทันเวลา และสถานการณ์ และเป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม หากมีปัญหา ต้องรีบแก้ไขทันทีหรืองานใดคาดการณ์ว่า
จะมีการสัง่ การก็ให้เตรียมความพร้อมล่วงหน้า หรือสามารถด�าเนินการแบบคู่ขนานหรือ ก่อนมีการสั่งการก็ให้ด�าเนินการไปได้ทันที
ภายใต้ ห ลั ก การที่ ดี หลั ก กฎหมายและ หลักคุณธรรม หลักการทีด่ ี หมายถึง การบริหาร จัดการหรือการปฏิบตั ริ าชการในอ�านาจหน้าที่ ของท้องถิ่นจังหวัดต้องยึดหลักการที่ดี ยึด ความถูกต้อง การใช้ดลุ ยพินจิ ทีเ่ ป็นประโยชน์ และค�านึงถึงผลลัพธ์ต่อส่วนรวม ดังนี้ 1. เป็นสิ่งที่สามารถกระท�าได้ อยู่ใน อ�านาจหน้าที่หรือไม่ 2. เพื่ อ ประโยชน์ ข องส่ ว นรวมไม่ ถื อ ประโยชน์เฉพาะตนเอง 3. บุ ค คลอื่ น ได้ รั บ ผลกระทบหรื อ เกิดความเสียหาย เสียสิทธิ์ หรือไม่ 4. มีผมู้ สี ว่ นได้สว่ นเสียกลุม่ ใดมากน้อย เพียงใด 5. ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้องหรือ ผู้มีส่วนได้เสีย 6. ระเบียบ / กฎหมายที่เกี่ยวข้อง 7. รวดเร็ว ถูกต้อง และทันเวลา หลักกฎหมาย หมายถึง การบริหารจัดการ หรือการปฏิบัติราชการในอ�านาจหน้าที่ของ ท้องถิ่นจังหวัด ต้องยึดข้อสั่งการ ระเบียบ กฎหมาย ที่ เ กี่ ย วข้ อ งในเรื่ อ งนั้ น ๆ เป็ น แนวทางปฏิบตั ิ หากเรือ่ งใดทีข่ ดั หรือไม่ถกู ต้อง ตามระเบียบ กฎหมาย จะต้องไม่มกี ารปฏิบตั ิ อย่างเด็ดขาด ทัง้ นี้ ท้องถิน่ จังหวัดเป้นผูบ้ ริหาร จัดการงานทั้งจากส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิ่น ดังนี้ 1. ส่วนกลาง : การปฏิบตั งิ านให้เป็นไป ตามนโยบาย ระเบียบ/กฎหมาย ข้อสั่งการ ของรัฐบาล กระทรวง กรม และหน่วยงาน ระดับนโยบาย 2. ส่ ว นภู ม ภาค : การปฏิ บั ติ ง านที่ ด�าเนินการในระดับจังหวัด อ�าเภอ ภายใต้
อ�านาจหน้าที่ของผู้ว่าราชการจังหวัด และ นายอ�าเภอ 3. ส่วนท้องถิน่ : การประสานการปฏิบตั ิ กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ทั้งรูปแบบ อบต. เทศบาล และ อบจ. ตามกฎหมายที่ เกี่ยวข้องกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแต่ละประเภท ฉะนั้น บทบาทและอ�านาจหน้าที่ของ ท้ อ งถิ่ น จั ง หวั ด หมายถึ ง การด� า เนิ น การ เรื่องใดต้องยึดถือระเบียบ / กฎหมาย ให้ ถู กต้ อ งเรื่ อ งนั้ น ๆ และต้ อ งไม่ ก ระท� า ผิ ด กฎหมายอย่างเด็ดขาด
หลั ก คุ ณ ธรรม หมายถึง การน�าคุณงาม ความดี ม าปฏิ บั ติ แ ละเป็ น แบบอย่ า งที่ ดี ในการปฏิบัติราชการ ได้แก่ 1. พรหมวิ ห าร 4 : เมตตา กรุ ณ า มุทิตา อุเบกขา 2. สั ง คหวั ต ถุ 4 : ทาน ปิ ย ะวาจา อัตถจริยา สมานัตตา 3. หลั ก ธรรมาภิ บ าล : นิ ติ ธ รรม คุณธรรม ความโปร่งใส ความรับผิดชอบ คุณธรรม การมีส่วนร่วม และความคุ้มค่า
จะใช้ต�ำแหน่งหน้ำที่ของตนในทำง ที่เป็นประโยชน์ต่อประชำชน ร่วมพัฒนำท้องถิ่น บ้ำนเมือง และสังคม ให้เป็นท้องถิ่นที่สงบร่มเย็น เป็นท้องถิ่นแห่งกำรพึ่งพำอำศัย กันและกัน ที่ส�ำคัญอยู่ที่ ไหน ต้องถือมั่นเสมอว่ำท�ำงำน เพื่อตอบแทนคุณแผ่นดิน
SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 57
57
06/06/61 06:12:50 PM
หน้าที่ความรับผิดชอบปัจจุบัน 1. วางแผนงาน โครงการ หรือแผนปฏิบัติการ เพื่อก�าหนดเป้าหมายและผลสัมฤทธิ์ของ ส�านักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัดฯ ให้สอดคล้องกับนโยบายและแผนกลยุทธ์ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น โดยบูรณาการแผนงาน โครงการ กิจกรรม รวมทั้งติดตาม เร่งรัดการด�าเนินกิจกรรมต่างๆ เพื่อให้เป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธิ์ 2. ก�าหนดกลยุทธ์ ระบบงาน และวิธกี ารปฏิบตั ริ าชการของส�านักงานส่งเสริมการปกครอง ท้องถิ่นจังหวัดฯ เพื่อเป็นแนวทางการปฏิบัติการของเจ้าหน้าที่ในสังกัดฯ และองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นในพื้นที่ที่รับผิดชอบ 3. จัดระบบงานและอัตราก�าลังเจ้าหน้าที่ในหน่วยงานที่มีความหลากหลายทั้งในเชิง ปริมาณ และคุณภาพให้สอดคล้องกับภารกิจ เพื่อให้การปฏิบัติราชการเกิดประสิทธิภาพ และความคุ้มค่า 4. วางแผนการใช้ทรัพยากรและงบประมาณ เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบาย พันธกิจ และ เป็นไปตามเป้าหมาย รวมทั้งติดตามตรวจสอบการใช้ทรัพยากรและงบประมาณ เพื่อให้เกิด ประสิทธิภาพ ความคุ้มค่า และเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธิ์ตามที่ก�าหนด ภารกิจส�าคัญและเร่งด่วน การด� า เนิ น การตามแผนปฏิ บั ติ ก าร จังหวัดสะอาดในปี พ.ศ.2560 - 2561 ภายใต้ แผนแม่บทการบริหารจัดการขยะมูลฝอย ของประเทศ พ.ศ.2559 - 2564 ในเรื่อง ต่างๆ ดังนี้คือ 1. การสนับสนุนการบริหาร จัดการขยะมูลฝอยระดับจังหวัด ซึ่งก�าหนด ให้เป็นหน้าที่ของกรมส่งเสริมการปกครอง ท้องถิ่นจะเสนอแนะ แนะน�า และช่วยเหลือ ราชการส่วนท้องถิ่นในการจัดท�าแผนงาน โครงการในการจัดการสิง่ ปฏิกลู และมูลฝอยได้ ก�ากับการด�าเนินการของราชการส่วนท้องถิน่ 2. การบริหารจัดการขยะมูลฝอย ให้ขบั เคลือ่ น เป้าประสงค์ตาม “แผนปฏิบัติการจัดการ ขยะมูลฝอยชุมชน “จังหวัดสะอาด” ประจ�าปี พ.ศ.2561 โดยขยะมูลฝอยชุมชนที่เกิดขึ้น ในปีพ.ศ.2561 ร้อยละ 40 ได้รับการก�าจัด อย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ และ สถานที่ ก�าจัดขยะมูลฝอยทีไ่ ม่ถกู ต้องตามหลักวิชาการ ได้รบั การปรับปรุงแก้ไข ปิด หรือบ�าบัดฟืน้ ฟู ร้อยละ 20 จนกระทั่งจังหวัดสุรินทร์ มีบ่อ ก�าจัดขยะมูลฝอยทีถ่ กู ต้องตามหลักวิชาการ แล้วจ�านวน 1 แห่ง คือบ่อก�าจัดขยะแบบ ฝังกลบ ของเทศบาลต�าบลศีขรภูมิ อ�าเภอ ศีขรภูมิ พื้นที่ 46 ไร่ ต่อมาคือ การปรับปรุง แก้ไข ปิด หรือบ�าบัดฟืน้ ฟูบอ่ ขยะ เตาเผาขยะ จ�านวน 15 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 33.33 58
นอกจากนี้ ขยะมูลฝอยชุมชนที่เกิดขึ้น ในปี พ.ศ.2561 ร้อยละ 30 ถูกน�าไปใช้ ประโยชน์ โดยการรณรงค์ จัดกิจกรรม ลด คัดแยก และการน�ามาใช้ประโยชน์ ผ่านรูปแบบ กิจกรรมต่างๆ เช่น ผ้าป่ารีไซเคิล การล่องเรือ เก็ บ ขยะ กิ จ กรรม Big Cleaning Day กิจกรรม ท�าปุย๋ หมัก น�า้ หมักชีวภาพ กิจกรรม ร้านรับซื้อของเก่าสีเขียว กิจกรรมธนาคาร ขยะชุ ม ชน ธนาคารขยะโรงเรี ย น ศู น ย์ รีไซเคิลชุมชน กิจกรรมขยะแลกไข่/สิ่งของ กิจกรรมตลาดนัดมือสอง กิจกรรมที่เกิดขึ้น จากอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก ฯลฯ ประกอบกับ การณรงค์ และประชาสัมพันธ์ เปิดรับสมัครอาสาสมัครท้องถิน่ รักษ์โลก (อถล.) ให้ได้ครัวเรือนร้อยละ 50 เข้าร่วมเครือข่าย
(มี 267,836 ครัวเรือน) โดยมีอาสาสมัคร ท้องถิน่ รักษ์โลก (อถล.) จ�านวน 17,416 คน สมัครแล้ว จ�านวน 15,988 ครัวเรือน/ 17,416 คน คิดเป็น 5.97 ( ข้อมูล ณ วันที่ 23 เมษายน 2561 ปัจจุบนั หมูบ่ า้ น และ ชุมชน ร้อยละ 100 จัดตั้งจุดรวมขยะอันตรายจาก ชุมชน เรียบร้อยแล้ว อีกทั้ง ร้อยละ 100 มีภาชนะรองรับขยะมูลฝอยแบบแยกประเภท ในสวนสาธารณะ และสถานทีท่ อ่ งเทีย่ วทุกแห่ง โดยมี กิ จ กรรม และ การด� า เนิ น การ ที่เกี่ยวข้อง คือ เมื่อวันที่ 20 ตุลาคม 2561 กิ จ กรรมโครงการ “เมื อ งสุ ริ น ทร์ ร ่ ว มใจ ท�าความสะอาดครัง้ ใหญ่ Big Cleaning Day” ครัง้ ที่ 1 และ 2 เมือ่ วันที่ 3 พฤษภาคม 2561 ณ บริเวณด้านหน้าพระบรมราชานุสาวรีย์
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
.indd 58
06/06/61 06:13:03 PM
รัชกาลที่ 5 ศาลากลางจังหวัดสุรินทร์ โดย มีอธิบดีผู้พิพากษาศาลอาญาคดีทุจริตและ ประพฤติมชิ อบ ภาค 3 ผูพ้ พิ ากษาหัวหน้าศาล อัยการจังหวัด ผู้บัญชาการมณฑลทหารบก ที่ 25 ผูบ้ ญ ั ชาการต�ารวจภูธรจังหวัดสุรนิ ทร์ หัวหน้าส่วนราชการระดับจังหวัด ผู้บริหาร รัฐวิสาหกิจ นายอ�าเภอ ผู้บริหารองค์กร ปกครองส่วนท้องถิน่ ประธานสภาหอการค้า จังหวัดสุรินทร์ ประธานสภาอุตสาหกรรม จังหวัดสุรนิ ทร์ และผูจ้ ดั การห้างสรรพสินค้า ทุกแห่ง ร่วมจัดกิจกรรมโดยพร้อมเพรียงกัน นอกจากนีย้ งั มี กองทุนฌาปนกิจสงเคราะห์ จากขยะรีไซเคิล การจัดท�าสิ่งประดิษฐ์จาก วัสดุเหลือใช้ การคัดแยกขยะต้นทาง ขยะ แลกไข่ สอยดาวขยะ ฯลฯ และ กิจกรรม การบริหารจัดการขยะสองข้างทาง โดยทาง จังหวัดสุรนิ ทร์ ได้แจ้งให้หน่วยงานทีร่ บั ผิดชอบ ถนนสายทางในพืน้ ทีจ่ งั หวัดสุรนิ ทร์ ตลอดจน องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ทีม่ ถี นนทางหลวง (กรมทางหลวง) ถนนทางหลวงชนบท (กรมทางหลวงชนบท) ในพืน้ ทีท่ ราบ รวมถึง ถนนที่อยู่ในความรับผิดชอบขององค์การ บริหารส่วนต�าบลทีอ่ ยูใ่ นเขตพืน้ ที่ โดยให้จดั กิจกรรมตรวจตราและท�าความสะอาดถนน ทีอ่ ยูใ่ นความรับผิดชอบเป็นประจ�า อย่าให้มี ขยะริมถนนสองข้างทางโดยเด็ดขาด พร้อม ติดป้ายประชาสัมพันธ์ รถณรงค์ให้ประชาชน ได้เข้าใจ โดยเน้นการบริหารจัดการขยะมูลฝอย แบบการมีส่วนร่วมของประชาชนเป็นหลัก 3Rs (Reduce : การลดการใช้ Reuse : การใช้ซ�้า Recycle : การน�ากลับมาใช้ใหม่) ให้เป็นรูปธรรม และให้รายงานผลการปฏิบตั ิ พร้ อ มภาพถ่ า ย ทุ ก วั น ที่ 5 ของเดื อ น นับตั้งแต่เดือนมกราคม 2561 เป็นต้นไป อีกหนึ่งกิจกรรมคือ โครงการประกวด การจั ด การขยะมู ล ฝอยชุ ม ชน “หมู ่ บ ้ าน/ ชุมชนสะอาด” ระดับต�าบล โดยจังหวัดสุรนิ ทร์ ได้ประชุมคณะกรรมการจัดการสิ่งปฏิกูล และมูลฝอยจังหวัดสุรินทร์ ครั้งที่ 1/2561 วันที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2561 มีมติเห็นชอบ ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จัดโครงการ ประกวดการจั ด การขยะมู ล ฝอยชุ ม ชน
“หมู ่ บ ้ า น/ชุ ม ชนสะอาด” ระดั บ ต� า บล ด� า เนิ น การจั ด ประกวดและมอบรางวั ล ตามความเหมาะสม หมู่บ้าน/ชุมชนสะอาด ต�าบลละ 3 หมู่บ้าน/ชุมชน (อันดับ 1,2,3) และรางวัลชมเชย 2 รางวัล และเห็นชอบ ให้ด�าเนินการขับเคลื่อนเป้าประสงค์ ตาม “แผนปฏิบัติการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน “จั ง หวั ด สะอาด” ประจ� า ปี พ.ศ.2561” รายงานผลการประกวดให้ จั ง หวั ด ทราบ ภายในวันที่ 30 มิถุนายน 2561 SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 59
59
06/06/61 06:13:27 PM
นายเพนาย สดทรงศิลป์
ผู้อ�ำนวยกำรส�ำนักงำนพระพุทธศำสนำ จังหวัดสุรินทร์
60 SBL 60บันSBL ทึกประเทศไทย บันทึกประเทศไทย I SURINI SURIN
.indd 60
11/6/2561 16:44:42
E XCL U SIVE INTERVIEW
บันทึกเส้นทำงพบผู้อ�ำนวยกำรส�ำนักพุทธศำสนำจังหวัดสุรินทร์
นายเพทาย สดทรงศิลป์
ผู้อ�ำนวยกำรส�ำนักงำนพระพุทธศำสนำจังหวัดสุรินทร์ “จังหวัดสุรินทร์มิได้มีเพียงช้างแสนรู้เท่านั้น หากแต่เป็นดินแดนแห่งธรรมะ มีพระวิปัสสนากัมมัฏฐานบรรลุธรรมขั้นสูงอยู่ ไม่น้อย สุรินทร์จึงเป็นเมืองมนต์ (เมืองแห่งปัญญา) เมืองแห่งคนมีเมตตาธรรม ด้วยบารมีธรรมแห่งองค์พระสัมมาสัมพุทธ เจ้าได้เข้าไปอยู่ในจิตใจของชาวสุรินทร์ ผ่านพระผู้ปฏิบัติดี ปฏิบัติชอบมาอย่างต่อเนื่อง” SBL บันทึกประเทศไทยมีความภูมใิ จทีเ่ ป็นส่วนหนึง่ ในการบันทึกการขับเคลือ่ นพระธรรมจักรไปพร้อมกับ ส�านักงานพระพุทธศาสนาจังหวัด สุรินทร์ ขอเชิญท่านผู้อ่านทัศนาความคิด แนวการด�าเนินงาน และบทบาทของส�านักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดสุรินทร์ ผ่านการท�างานของ “นายเพทาย สดทรงศิลป์” ผู้อ�านวยการส�านักงาน พระพุทธศาสนาจังหวัดสุรินทร์ในปัจจุบัน
จังหวัดสุรินทร์ดินแดนแห่งธรรม สุรินทร์ ดินแดนแห่งธรรมะ พระเกจิดัง มนต์ ข ลั ง แห่ ง อี ส านใต้ หากจะกล่ า วถึ ง เมืองสุรินทร์ เชื่อว่าหลายคนรู้จักสุรินทร์ ในฐานะเมืองช้างแสนรู้ เนือ่ งจากเป็นเมืองเดียว ของโลกทีม่ กี ารเลีย้ งช้างมากทีส่ ดุ มีชา้ งเป็น เหมือนสมาชิกในครอบครัว เลีย้ งช้างเหมือน เลี้ ย งลู ก จนมี ค วามผู ก พั น กั น แนบแน่ น ระหว่างคนกับช้างที่สามารถสัมผัสได้ทั่วไป ในจังหวัดสุรินทร์ แต่จังหวัดสุรินทร์มิได้มีเพียงช้างแสนรู้ เท่านั้น หากแต่เป็นดินแดน แห่งธรรมะ ที่มี พระนักปฏิบัติ วิปัสสนา กัมมัฏฐาน จนได้
อภิญญา หรือบรรลุธรรมขั้นสูงอยู่ไม่น้อย สุรินทร์จึงเป็นเมืองมนต์ (มนต์ หมายถึง ปัญญา) เมืองแห่งคนมีเมตตาธรรม ด้วย บารมีธรรมแห่งองค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ได้เข้าไปอยู่ในจิตใจของชาวสุรินทร์ ผ่าน พระผู้ปฏิบัติดี ปฏิบัติชอบ มาอย่างต่อเนื่อง จนเป็ น ที่ ลื อ เลื่ อ งเรื่ อ งเกจิ อ าจารย์ ที่ มี มนต์ขลัง ประกอบกับชาวสุรินทร์ส่วนใหญ่ ประมาณร้อยละ 80 ใช้ภาษาเขมรในการ สื่อสาร บทสวดมนต์บางบทยังใช้บทบาลี ขอม และภาษาเขมรในการสวดอยู่ จึงท�าให้ เมื อ งสุ ริ น ทร์ ก ลายเป็ น เมื อ งที่ มี ม นต์ ข ลั ง เพราะเป็นภาษาบาลีดงั้ เดิม ซึง่ เราเรียนจาก
คัมภีร์ของขอม ดังนั้นจึงเป็นการสวดมนต์ จากภาษาบาลีตน้ ฉบับแท้ๆ ทีย่ งั ไม่ผา่ นการ แปลเป็ น ภาษาไทยเหมื อ นในปั จ จุ บั น จึงท�าให้เป็นอัตลักษณ์พิเศษ เรามีหลวงปูด่ ลู ย์ อตุโล พระสายปฏิบตั ิ วิปัสสนากรรมฐาน ที่มีจริยาวัตรงดงามเป็น หลั ก ชั ย มี พ ระที่ ป ฏิ บั ติ ดี ป ฏิ บั ติ ช อบอี ก มากมาย ที่เป็นที่รู้จักกว้างขวาง ได้แก่ พระ มงคลรังษี (หลวงปูธ่ รรมรังษี จนฺทสุวรรณฺโณ), หลวงปู่เจียม อติสโย, พระพิมลพัฒนาทร (หลวงพ่อพวน วรมังคโล), พระครูปราสาท พรหมคุณ (หลวงปู่หงส์ พรหมปัญโญ), หลวงปูค่ ยี ์ กิตติญาโณ เป็นต้น แม้ทา่ นเหล่านัน้ SURIN SURIN I SBL บัI นSBL ทึกประเทศไทย บันทึกประเทศไทย 61
.indd 61
PB
61
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN 6/6/2561 17:42:03
จะละสังขารไปแล้วก็ตามแต่กย็ งั มีผสู้ บื ทอด มาอย่างต่อเนือ่ ง องค์ทเี่ ป็นทีเ่ คารพสักการะ ในปัจจุบนั เช่น พระธรรมโมลี (หลวงพ่อทอง อยู่ ญาณวิสทุ โฺ ธ) วัดศาลาลอย พระอาราม หลวง, พระราชวรคุณ (หลวงพ่อสมศักดิ์ ปณฺฑิโต) วัดบูรพาราม พระอารามหลวง เฉลิมพระเกียรติ, พระราชวิสุทธิมุนี (เยือ้ น ขนฺ ติ พ โล) วั ด เขาศาลาอตุ ล ฐานะจาโร, พระครู ป ทุ ม สั ง ฆการ (หลวงพ่ อ สุ พ รรณ ฐิตปัญโญ) วัดประทุมเมฆ, หลวงปูเ่ ฮง ปภาสโร วัดบ้านด่านช่องจอม (วัดพัฒนาธรรมาราม), หลวงปู่มี ฐิตสาโร วัดโพนทอง, พระครูอา ภัสร์ธรรมคุณ. (หลวงปู่บุญรอด อาภสฺสโร) วัดโคกกรม และ พระสุปฏิปนั โนอีกมากมาย ซึ่งในจ�านวนวัด ส�านักสงฆ์ และที่พักสงฆ์ กว่า 1,250 แห่ง ทัง้ คณะสงฆ์ธรรมยุต และ มหานิกาย ซึ่งกระจายอยู่ในทุกพื้นที่ของ จังหวัดสุรินทร์ วิสัยทัศน์ พระพุ ท ธศาสนามี ค วามเจริ ญ มั่ น คง พุทธศาสนิกชนมีความเข้มแข็ง มีความสุข ด้วยหลักพุทธธรรม นโยบายหลัก ส� า นั ก งานพระพุ ท ธศาสนาจั ง หวั ด สุรนิ ทร์ มุง่ สนองงานคณะสงฆ์และรัฐ โดยมี เป้าหมายหลัก คือประชาชนทุกหมู่เหล่าให้ มี โ อกาสได้ เ รี ย นรู ้ ห ลั ก ธรรมค� า สอนทาง พระพุทธศาสนาอย่างถูกต้อง กว้างขวาง ทั่วถึง อันจะน�ามาซึ่งความสงบ ความสันติ และความสุ ข อย่ า งแท้ จริ ง ซึ่ ง หมายถึ ง ความเจริญ ความมั่นคง ความมั่งคั่ง และ ความยั่งยืน นั่นเอง ผลการด�าเนินงานที่โดดเด่น เราตระหนักเสมอว่าถ้าคนตระหนักใน หลักศีล ยึดมั่นในหลักธรรม จะน�ามาซึ่ง ความสุข ดังนั้น ส�านักงานพระพุทธศาสนา จังหวัดสุรนิ ทร์ จึงได้รว่ มกับคณะสงฆ์จงั หวัด สุรนิ ทร์ โดยสนับสนุนส่งเสริมการด�าเนินการ ด้ า นการศึ ก ษาพระปริ ยั ติ ธ รรม เพื่ อ ให้ พระภิกษุ สามเณร มีความรู้ มีหลักในการ ฝึกปฏิบัติที่ถูกต้อง เมื่อศึกษาปฏิบัติจนมี
ความรู ้ ค วามเข้ า ใจในระดั บ หนึ่ ง แล้ ว จึ ง สนับสนุนให้นา� ความรูน้ นั้ ไปเผยแผ่ ทัง้ นีโ้ ดย มีการควบคุม ก�ากับติดตามอย่างใกล้ชิด ร่วมกันระหว่างคณะสงฆ์จงั หวัดสุรนิ ทร์ และ ส�านักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดสุรินทร์ โดยมีศูนย์ปฏิรูปกิจการพระพุทธศาสนาซึ่ง มี ค ณะกรรมการทั้ ง ฝ่ า ยบรรพชิ ต และ คฤหัสถ์ ร่วมกันวางแผน อ�านวยการ ก�ากับ ติ ด ตาม การท� า งานในแต่ ล ะด้ า นอย่ า ง เหมาะสมส่งผลให้ 1. เป็นจังหวัดแรกที่มีการจัดตั้งศูนย์ ปฏิ รู ป กิ จ การพระพุ ท ธศาสนาขึ้ น ใน ส�านักงานพระพุทธศาสนาจังหวัด มีห้อง ท�างานเฉพาะ มีคณะกรรมการขับเคลื่อน การปฏิรูป ครบทั้ง 7 ด้าน มีเจ้าหน้าที่
ประจ�าศูนย์รับสนองงาน มียุทธศาสตร์ใน การก�าหนดทิศทาง มีแผนงาน โครงการ เป็น ทางในการปฏิบัติงานที่ชัดเจน 2. การขับเคลื่อนโครงการสร้างความ ปรองดองสมานฉั น โดยใช้ ห ลั ก ธรรมทาง พระพุทธศาสนา เป็นจังหวัดที่มีผู้สมัครเข้า ร่วมโครงการหมู่บ้านศีล 5 มากที่สุดใน ประเทศไทย คือมีผู้สมัครเข้าร่วมโครงการ ร้ อ ยละ 90 ส่ ง ผลให้ ป ระชาชนมี ค วาม ตระหนักมีการตื่นตัวพัฒนาต่อยอดในเรื่อง การรณรงค์ไม่ขายสุราในวันพระมีการจัดท�า ธรรมนูญประจ�าหมูบ่ า้ นเป็นข้อตกลงในการ จัดกิจกรรมของหมู่บ้านที่จะไม่ขายเหล้า ไม่บริโภคเหล้า และมีการสร้างเครือข่าย หมู่บ้านศีล 5 อย่างกว้างขวาง
62 SBL 62บันSBL ทึกประเทศไทย บันทึกประเทศไทย I SURINI SURIN
.indd 62
6/6/2561 17:42:15
3. ร่ ว มกั บ หน่ ว ยงานอื่ น ให้ เ ป็ น องค์ ก รเครื อ ข่ า ยทั้ ง ภาครั ฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม เช่น ร่วมมือกับ ส�านักงานป้องกัน ปราบปรามการทุจริต จังหวัดสุรินทร์(ปปช.จ.สร) เลือกหมู่บ้านช่อ สะอาด พัฒนาผู้น�าด้านต่างๆ เพื่อให้เกิดความตระหนักยึดมั่นใน หลั ก ศี ล ธรรมอั น ดี อี ก ทั้ ง ส� า นั ก งานคณะกรรมการการเลื อ กตั้ ง จังหวัดสุรินทร์ (.กกต.จ.สร.) สนับสนุนกิจกรรมหมู่บ้านปลอดการ ซื้อสิทธิ์ขายเสียง องค์กรเครือข่ายงดเหล้าจังหวัดสุรินทร์ องค์การ สร้างเสริมสุขภาพภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (สสส.) พุทธสมาคม จังหวัดสุรินทร์ในการท�าบุญตักบาตร จัดปฏิบัติธรรม ยุวพุทธิก สมาคมจังหวัดสุรินทร์ จัดท�าบุญปุริมพรรษา สนับสนุนการปฏิบัติ ธรรมของนักเรียนโรงเรียนต่างๆ และโครงการสู่ร่มอาราม เป็นต้น ภาพรวมของวัดในจังหวัดสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ มีวัดที่ถูกต้องไม่รวมกับที่พักสงฆ์ทั้งสิ้น 913 วัด แยกเป็น มหานิกาย 806 วัด และธรรมยุต 107 วัด กระจายอยู่ ในอ�าเภอต่างทั้ง 17 อ�าเภอ อ�าเภอที่มีวัดมากที่สุดเรียงตามล�าดับ 5 อ�าเภอแรกประกอบด้วย อ�าเภอเมืองสุรินทร์ 120 วัด อ�าเภอศีขรภูมิ 105 วัด อ�าเภอสังขะ 86 วัด อ�าเภอปราสาท 84 วัด อ�าเภอรัตนบุรี 77 วัด นอกนั้นมีวัดตั้งแต่ 60 กว่าวัดลงมาจนถึงอ�าเภอที่มีวัดน้อย ที่สุดคืออ�าเภอบัวเชด มีวัด 16 วัด วัดที่ส�าคัญ และโดดเด่นในด้านการท่องเที่ยวทางธรรม มีมากมายจริงๆ ขอแนะน�าไว้ 15 วัดก่อน มาถึงสุรินทร์แล้วอย่า ให้ พ ลาด 1.วั ด บู ร พาราม (พระอารามหลวงเฉลิ ม พระเกี ย รติ ) 2.วัดศาลาลอย (พระอารามหลวง) 3.วัดเขาศาลาอตุลฐานะจาโร
4.วัดป่าโยธาประสิทธิ์ 5. ที่พักสงฆ์ป่าอาเจียง 6. วัดช่างปี่ 7.วัดพนม ศิลาราม 8. วัดโพธิ์ศรีธาตุ 9. วัดอินทราสุการาม 10. วัดโคกกรม 11. วั ด เพชรบุ รี 12. วั ด พั ฒนาธรรมาราม 13. วั ด โมฬี ว งษา 14. วัดปราสาทเทพนิมิต 15. วัดมงคลคชาราม ชวนเที่ยววัดในจังหวัดสุรินทร์ที่ท่านอาจยังไม่รู้จัก 1. วั ด ไตรรั ต นาราม ต� า บลนอกเมื อ ง อ� า เภอเมื อ งสุ ริ น ทร์ 2. วัดกลางสุรินทร์ ต�าบลในเมือง อ�าเภอเมืองสุรินทร์ 3. วัดพรหม สุรินทร์ ต�าบลในเมือง อ�าเภอเมืองสุรินทร์ 4. วัดป่าศรีประชา ต�าบล หนองแวง อ�าเภอศีขรภูมิ 5. วัดหิมวันบรรพต ต�าบลตาเมียง อ�าเภอ พนมดงรั ก 6. วั ด ไตรวิ เ วก ต� า บลนาบั ว อ� า เภอเมื อ งสุ ริ น ทร์ 7.วัดสว่างอารมณ์ ต�าบลปราสาททนง อ�าเภอปราสาท 8.วัดปราสาท ต�าบลระแงง อ�าเภอศีขรภูมิ สิ่งที่ต้องการฝากไปยังพุทธศาสนิกชน พระพุทธศาสนาเจริญรุ่งเรืองมากว่า 2600 ปี เพราะ 1. ศึกษา ค�าสั่งสอนให้เกิดความรู้ ความเข้าใจอย่างถ่องแท้ 2. น�าหลักธรรมมา ประยุ ก ต์ ใ ช้ ใ นการด� า เนิ น ชี วิ ต ประจ� า วั น ให้ เ กิ ด ความเหมาะสม 3. ไม่ทงิ้ ภาระทางพระพุทธศาสนาให้แก่พระสงฆ์ฝา่ ยเดียว ต้องรับผิด ชอบร่ ว มกั น ทั้ ง พระสงฆ์ แ ละฆราวาส (พุ ท ธบริ ษั ท สี่ และ ข้อ 4. พระสงฆ์ควรปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างแก่พุทธศาสนิกชน ติดต่อ ส�ำนักงำนพระพุทธศำสนำจังหวัดสุรินทร์ : อาคาร พระปริ ยั ติ ธ รรมชั้ น สอง วั ด บู ร พาราม พระอารามหลวง เฉลิมพระเกียรติ ถนนจิตรบ�ารุง ต�าบลในเมือง อ�าเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ 32000 โทรศัพท์ 0-4451-4607-8
SURIN SURIN I SBL บัI นSBL ทึกประเทศไทย บันทึกประเทศไทย 63
.indd 63
63
6/6/2561 17:42:23
W O R K LI F E
ส�ำนักงำนขนส่งจังหวัดสุรินทร์
ส�านักงานขนส่งจังหวัดสุรินทร์
นายสุทิน กลมอ่อน ขนส่งจังหวัดสุรินทร์
วิสัยทัศน์ “เป็นองค์กรแห่งนวัตกรรมในการควบคุม ก�ากับ ดูแล ระบบการขนส่งทางถนน ให้มีคุณภาพและปลอดภัย พ.ศ.2559-2564” ส�ำนักงำนขนส่งจังหวัดสุรินทร์ มอบควำมสุขทั่วไทย ส่งควำมปลอดภัยให้ทุกคน ส�ำนักงำนขนส่งจังหวัดสุรนิ ทร์ เป็นหน่วยรำชกำรในส่วนภูมภิ ำค สังกัดกรมขนส่งทำงบกกระทรวงคมนำคม จัดตั้งและเปิดด�ำเนิน กำรครั้งแรกเมื่อปีพ.ศ.2513 ปัจจุบันตั้งอยู่เลขที่ 345 หมู่ 20 ถนนสุรนิ ทร์ -ปรำสำท ต�ำบลนอกเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดสุรนิ ทร์ มีเนือ้ ทีป่ ระมำณ 7 ไร่ เพือ่ ใช้เป็นสถำนทีท่ ำ� กำรถำวรของส�ำนักงำน ขนส่งจังหวัดสุรินทร์ ภำรกิจของส�ำนักงำนขนส่งจังหวัดสุรินทร์ ส�ำนักงำนขนส่งจังหวัดสุรินทร์มีหน้ำที่และควำมรับผิดชอบ ในกำรให้บริกำรประชำชน เกี่ยวกับกำรด�ำเนินกำรทำงทะเบียน และภำษีรถ และกำรตรวจสภำพรถ ใบอนุญำตขับรถใบอนุญำต ผูป้ ระจ�ำรถตำม กฎหมำยว่ำด้วยกำรขนส่งทำงบก และกฎหมำยว่ำ ด้วยรถยนต์ งำนด้ำนใบอนุญำตประกอบกำรขนส่ง ส่วนบุคคล ใบอนุญำต ประกอบกำรขนส่งไม่ประจ�ำทำง วำงแผนและส่งเสริม สวัสดิภำพกำร ขนส่งในเขตพืน้ ทีร่ บั ผิดชอบ และก�ำกับดูแลสถำนประกอบกำรของเอกชน ในเขตพื้นที่ ที่ได้รับอนุญำตจำกกรมฯ ให้เป็นไปตำมกฎหมำย ส�ำนักงำนขนส่งจังหวัดสุรินทร์ มีส�ำนักงำนขนส่งจังหวัดสำขำ จ�ำนวน 3 แห่ง คือ 1. ส�ำนักงำนขนส่งจังหวัดสุรินทร์ สำขำอ�ำเภอรัตนบุรี 2. ส�ำนักงำนขนส่งจังหวัดสุรินทร์ สำขำอ�ำเภอปรำสำท 3. ส�ำนักงำนขนส่งจังหวัดสุรินทร์ สำขำอ�ำเภอสังขะ ตลอดเวลำที่ผ่ำนมำ ส�ำนักงำนขนส่งจังหวัดสุรินทร์ มีโครงกำร ช่วยเหลือสังคมควบคู่กับกำรท�ำงำนภำคพื้นสนำมที่มีเป้ำหมำยในเรื่อง ควำมปลอดภัยเป็นหลัก ดังนี้ 64
.indd 64
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
6/7/2018 12:18:29 AM
โครงการ “รณรงค์ป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนนฯ ช่วงเทศกาลปีใหม่ พ.ศ. 2561 และ ช่วงเทศกาลสงกรานต์ พ.ศ. 2561” เพื่อก�ำกับดูแลกำรเดินรถโดยสำรสำธำรณะ ให้ มีควำมพร้อมทัง้ สภำพตัวรถ และผูข้ บั รถเพือ่ เป็นกำรอ�ำนวยควำมสะดวก ควำมปลอดภัย และ สร้ำงควำมมั่นใจในกำรเดินทำง แก่ผู้ใช้บริกำรรถโดยสำรสำธำรณะ โครงการ “Happiness for All : ความสุขทั่วไทย ส่งความปลอดภัยให้ทุกคน ปีที่ 2” ก็ได้รับควำมร่วมมือเป็นอย่ำงดี โดยมีพิธีมอบอุปกรณ์ช่วยเหลือผู้พิกำรอันเนื่องมำจำก กำรประสบภัยที่เกิดจำกกำรใช้รถใช้ถนน ประจ�ำปีงบประมำณ พ.ศ. 2560 โครงการ Dlt Helmet Area สวมหมวกนิรภัย 100% ซึง่ เป็นมำตรกำรด้ำนควำมปลอดภัย ทำงถนน ทีใ่ ห้เจ้ำหน้ำทีแ่ ละประชำชนทีข่ บั ขีร่ ถจักรยำนยนต์ ทีเ่ ข้ำมำในเขตพืน้ ทีข่ องส�ำนักงำน ต้องสวมหมวกนิรภัยทุกคนได้รบั ควำมร่วมมือเป็นอย่ำงดี เพรำะเรำตระหนักถึงควำมปลอดภัย เป็นหลัก ควบคูไ่ ปกับค่ำนิยมและวัฒนธรรมทีว่ ำ่ “เป้าหมายชัดเจน มีบรู ณาการ งานโดดเด่น เน้นวัตกรรม ก�ากับตามกฎหมาย โปร่งใส เป็นธรรม” เพื่อมอบความสุขทั่วไทย ส่งความ ปลอดภัยให้ทุกคน ติดต่อส�านักงานขนส่งจังหวัดสุรินทร์ 345 หมู่ที่ 20 ถ.สุรินทร์-ปราสาท ต.นอกเมือง อ.เมือง จ.สุรินทร์ 32000 Email : webmaster@dlt.mail.go.th โทรศัพท์ : 0-44511-478 SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 65
65
6/7/2018 12:18:44 AM
บันทึกเส้นทาง
AEC 4.0
จังหวัดสุรินทร์
ยุทธศาสตร์สุรินทร์ ประตูสู่การท่องเที่ยว ทางประวัติศาสตร์ของอาเซียน
สนามบินพร้อม จังหวัดสุรินทร์ พร้อมต้อนรับประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community : AEC) มาตัง้ แต่ปี 2558 ตาม นโยบายของรัฐบาล จนถึงวันนี้ก้าวไกลถึง 4.0 แล้ว โดยนอกจากมีการรวมตัวกันของ ประเทศสมาชิกอาเซียนเพื่อเพิ่มอ�านาจต่อ รองกับ คู่ค้า และเพิ่มขีดความสามารถการ แข่งขันทางด้านเศรษฐกิจระดับโลก รวมถึงมี การยกเว้นภาษีสนิ ค้าบางชนิดให้กบั ประเทศ สมาชิก ส่งเสริมให้ภมู ภิ าคมีความเจริญมัง่ คัง่ มั่ น คง ประชาชนอยู ่ ดี กิ น ดี แ ล้ ว ส� า หรั บ จังหวัดสุรินทร์ ได้เปิดสนามบินสุรนิ ทร์ภักดี ในจังหวัดสุรินทร์ทางภาคตะวันออกเฉียง เหนือของประเทศไทย ซึ่งได้รับการพัฒนา เป็นสนามบินในเชิงพาณิชย์ เพื่อรับมือการ เติบโตของการท่องเทีย่ ว โดยองค์การบริหาร 66
AEC.indd 66
ส่วนจังหวัดสุรินทร์ได้รับมอบหมายให้ก�ากับ ดูแลการพัฒนางาน สนามบินสุรินทร์ภักดี เริ่มด�าเนินการใน วันที่ 12 พฤศจิกายน 2545 และปิดลงใน ปลายปีต่อมาด้วยเหตุผลบางประการ และ เปิดสนามบินอีกครั้งเพื่อต้อนรับจ�านวนนัก ท่องเทีย่ วทีม่ ากขึน้ จากขยายตัวทางเศรษฐกิจ และการลงทุ น ในการเตรี ย มความพร้ อ ม ส�าหรับการเป็นประชาคมอาเซียนในปี 2558 เพื่อเพิ่มการค้าในบริเวณชายแดนที่ผ่านมา โดยจังหวัดสุรินทร์ได้ท�าหน้าที่เป็นประตู สู่อาเซียนและพัฒนาเป็นศูนย์กลางการท่อง เที่ยวในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ของประเทศไทย ซึ่งมีพื้นที่ติดกับประเทศ กัมพูชาและเวียดนาม โดยสายการบินนกแอร์ เป็นสายการบินแรกทีเ่ ปิดเทีย่ วบินทีส่ นามบิน สุรินทร์
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
6/7/2018 12:22:17 AM
จังหวัดสุรนิ ทร์อยูห่ า่ งจากกรุงเทพมหานคร ประมาณ 450 กิโลเมตรและ 50 กิโลเมตร จากชายแดนกั ม พู ช า เป็ น จั ง หวั ด ทาง ประวัติศาสตร์ตั้งแต่สมัยเขมรโบราณและ จังหวัดนี้ยังถือได้ว่าเป็นที่ดินแดนแห่งช้าง นอกจากนี้สุรินทร์ยังมีชื่อเสียงในด้านข้าว หอมมะลิและผ้าไหมไทย ท�าให้สุรินทร์เป็น อี ก หนึ่ ง ในจั ง หวั ด ที่ มี ยุ ท ธศาสตร์ ใ นการ พัฒนาเพือ่ เป็นจังหวัดแห่งการท่องเทีย่ วทาง ประวัติศาสตร์ของอาเซียน การท่องเที่ยวพร้อม โดยกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ได้ ประกาศเขตพัฒนาการท่องเที่ยว ในพื้นที่ ของอีสานใต้ 5 จังหวัด ได้แก่นครราชสีมา ชัยภูมิ บุรีรัมย์ สุรินทร์ และอุบลราชธานี อยู่ ในกลุ่มเขตพัฒนาการท่องเที่ยวอารยธรรม
อีสานใต้ จึงมีการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อ การสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมและตรวจ สอบร่างแผนพัฒนาการท่องเที่ยวหลักของผู้ ประกอบการธุรกิจท่องเที่ยว รวมทั้งภาครัฐ ในการที่จะมาช่วยกันน�าเสนอข้อมูล และ ระดมความคิดเห็นกันในการทีจ่ ะหาแนวทาง ในการพัฒนาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว ใน พืน้ ทีข่ องอีสานใต้ 5 จังหวัด เพือ่ ส่งเสริมการ ท่ อ งเที่ ย วอี ส านใต้ ใ ห้ เ ป็ น ไปในทิ ศ ทาง เดียวกันมาโดนตลอด เพือ่ ท�าให้เกิดศักยภาพ ในการที่ จ ะน� า เสนอเส้ น ทางท่ อ งเที่ ย วใน อีสานใต้ให้มีความเข้มแข็งและเสนอขายให้ แก่ นั ก ท่ อ งเที่ ย วได้ ม ากขึ้ น รวมถึ ง การ พั ฒนาการเพื่ อเตรี ย มความพร้ อมในด้ าน แหล่งท่องเที่ยว บุคลากรทางการท่องเที่ยว ให้มีความพร้อมในการรองรับนักท่องเที่ยว และต้อนรับนักธุรกิจเศรษฐกิจพิเศษ เขต
เศรษฐกิจอาเซียน AEC ท�าให้มีความพร้อม สามารถแข่งขันกับประเทศเพือ่ นบ้านได้ โดย รูปแบบการท่องเทีย่ วในพืน้ ทีจ่ งั หวัดอีสานใต้ มีอัตลักษณ์และมีศักยภาพในการดึงดูดนัก ท่องเที่ยว ในจังหวัดของตนเองอยู่มาก และ สามารถน� า อั ต ลั ก ษณ์ ที่ เ ป็ น จุ ด เด่ น ของ จังหวัดมาร้อยเรียงให้เป็นเส้นทางท่องเที่ยว ที่จะน�าเสนอขายแก่นักท่องเที่ยวได้ เช่น จ.สุรินทร์ถิ่นเมืองช้าง เป็นต้น การท่องเที่ยวของอีสานใต้นั้น มีเส้นทาง ท่องเที่ยว มีจุดเชื่อมโยงกับประเทศเพื่อน บ้านได้ เช่น ประเทศกัมพูชา เข้าออกด่าน ถาวร อ.ช่องจอม ด่านชายแดนถาวร อ.ภูสงิ ห์ จ. ศรี ษ ะเกษ ช่ อ งสะง� า และช่ อ งเม็ ก ที่ จ.อุบลราชธานี ซึง่ ทัง้ หมดเป็นศักยภาพทีเ่ ด่น ในเรื่องของกายภาพ จะท�าให้เกิดการท่อง เทีย่ ว เชือ่ มโยงได้เป็นอย่างดี โดยทางรัฐบาล ได้ส่งเสริมการท่องเที่ยวแบบวิถีไทยมาโดย ตลอด
SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
AEC.indd 67
67
6/7/2018 12:22:43 AM
ดังนั้น อัตลักษณ์ความเป็นไทย วิถีชีวิต ประเพณีต่างๆ รวมทั้งศิลปะและวัฒนธรรม ในเมืองสุรินทร์ถิ่นช้างใหญ่ ก็สามารถเป็น สินค้าทางการท่องเที่ยวที่มีศักยภาพอย่าง มหาศาล ในความพร้อมขายให้กับนักท่อง เที่ยว ทั้งตลาดเอเชีย และยุโรป ขอเชิญชวนทุกท่าน ร่วมท่องเทีย่ ววิถไี ทย ไทยเที่ยวไทย และเป็นเจ้าบ้านที่ดี ในการ ต้อนรับนักท่องเที่ยวต่อไป การเข้าถึงธุรกิจทุกด้านพร้อม และเพื่อการเข้าถึงแหล่งข้อมูลทุกด้าน เกี่ยวกับ AEC ทางพานิชย์จังหวัดสุรินทร์ ได้ เ ปิ ด บริ ก ารข้ อ มู ล ประชาคมเศรษฐกิ จ อาเซียนระดับจังหวัดขึ้น เพื่อสร้างความตื่น ตัว กระจายข้อมูล และอ�านวยความสะดวก ในการเข้าถึงข้อมูล AEC ในแต่ละจังหวัด ซึง่
68
AEC.indd 68
จะเป็นการส่งเสริมให้มีการใช้ และขยายการ ใช้สิทธิประโยชน์จาก AEC รวมทั้งประสาน ความร่วมมือกับหน่วยงาน/องค์กร ทั้งภาค รัฐและเอกชนเพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ ข้อมูลข่าวสาร AEC ตามที่อาเซียนได้ก่อตั้ง ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) อันประกอบด้วย 3 ประชาคม คือประชาคม การเมืองและความมัน่ คงอาเซียน ประชาคม สังคมและวัฒนธรรมอาเซียน และประชาคม เศรษฐกิ จ อาเซี ย น ส� า หรั บ ประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ อาเซียนรวมตัวกันเป็นตลาดและฐานการ ผลิตเดียวกัน เป็นภูมิภาคที่มีความสามารถ ในการแข่งขันสูง มีการพัฒนาอย่างเท่าเทียม กัน และสามารถบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจ โลกได้ เพื่อเป็นการสนับสนุนในการเตรียม ความพร้อมของผู้ที่เกี่ยวข้องในจังหวัด สุรินทร์จึงได้จัดตั้งศูนย์ประสานงานและ บริการข้อมูลประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนขึ้น เพือ่ สนับสนุนการเตรียมความพร้อมดังกล่าว ทั้งนี้ ประชาชนผู้สนใจสามารถเข้าใช้บริการ ข้อมูลได้ทางเว็บไซต์ www.moc.go.th/surin (ขอขอบคุ ณ ข้ อ มู ล จาก : ส� า นั ก งาน ประชาสัมพันธ์จงั หวัดสุรนิ ทร์ และ thailand. prd.go.th)
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
6/7/2018 12:22:59 AM
มหาวิทยาลัยเฉลิมกาญจนา
“สร้างความเป็นเลิศสู่อนาคต” Building A Future of Excellence
เปิดรับสมัครนักศึกษา - คณะพยาบาลศาสตร์ - คณะสาธารณสุขศาสตร์ - คณะบริหารศาสตร์ - คณะนิติศาสตร์ - คณะรัฐศาสตร์
ติดต่อสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม เลขที่ 333 ม.7 ต.เฉนียง อ.เมือง จ.สุรินทร์ 32000 ศรีสะเกษ 045-617-971, บุรีรัมย์ 044-602-711 เพชรบูรณ์ 056-911-655, นครศรีธรรมราช 075-446-458, สุรินทร์ 044-143-143 / 086-451-5587
. .
.indd 2
6/7/2018 12:25:42 AM
โรงเรียนวีรวัฒน์ โยธิน
“
นายพิทักษ์ สุปิงคลัด ผู้อ�ำนวยกำรโรงเรียน
สุวิชาโน ภวํ โหติ : ผู้รู้ดีเป็นผู้เจริญ (ปรัชญาโรงเรียน) โรงเรียนวีรวัฒน์โยธิน ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 1100 หมู่ 20 ถนนคชสาร ต�าบลนอกเมือง อ�าเภอ 70
คติพจน์
เลิศวิชา พัฒนาวีรวัฒน์ฯ ปฏิบัติดี ทวีเกียรติคุณ
เมือง จังหวัดสุรินทร์ ส�านักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 มีประวัติ ความเป็ น มาของโรงเรี ย นคื อ ตั้ ง แต่ พ .ศ. 2534 โดยเริ่มต้นจากคณะกรรมการบริหาร โรงเรี ย นสิ ริ น ธรได้ มี ม ติ ม อบให้ น ายกิ ต ติ สืบนุการณ์ เป็นผูด้ า� เนินการจัดหาทีด่ นิ ก่อตัง้ โรงเรียนมัธยมศึกษาเป็นแห่งที่ 3 ในเขต อ�าเภอเมืองสุรินทร์ ได้รับการแนะน�าและ ประสานงานของ นายเสนอ มูลศาสตร์ อดีต ผู้ว่าราชการจังหวัดสุรินทร์ และนางปลั่งศรี มูลศาสตร์ อดีตผูอ้ า� นวยการโรงเรียนสิรนิ ธร ให้ขออนุเคราะห์ที่ดินจากจังหวัดทหารบก
”
สุรินทร์ ซึ่งขณะนั้นพลตรีทวีสิทธิ์ หนูนิมิตร เป็นผูบ้ งั คับการทหารบกสุรนิ ทร์ ได้มอบทีด่ นิ ทีอ่ ยูใ่ นความดูแลของจังหวัดทหารบกสุรนิ ทร์ จ�านวน 37 ไร่ ให้กลับกรมสามัญศึกษาเพื่อ ตั้งโรงเรียนแบบสหศึกษา ในปีการศึกษา 2535 (หนังสือ ศธ ที่ 0806/33909 ลง วันที่ 3 ธันวาคม2543) เพือ่ เป็นการขอบคุณ จังหวัดทหารบกสุรินทร์ที่มอบที่ดินให้จัดตั้ง โรงเรียนครัง้ นี้ และเพือ่ ระลึกถึงเกียรติประวัติ วี ร กรรมของ ผู ้ บั ง คั บ บั ญ ชาหน่ ว ยทหาร คนแรกของเมืองสุรินทร์ คือ พลตรีหลวง วีรวัฒน์โยธิน สถานศึกษาแห่งนี้จึงขอให้ใช้ นามว่า “ โรงเรียนวีรวัฒน์โยธิน” โดยได้
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
.indd 70
6/5/2018 10:07:04 AM
แต่งตัง้ ให้นายกิตติ สืบนุการณ์ เป็นผูบ้ ริหาร โรงเรียน และวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2538 กระทรวงศึกษาธิการประกาศให้โรงเรียน วีรวัฒน์โยธินจัดการเรียนการสอนถึงระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย ผู้บริหารโรงเรียนวีรวัฒน์โยธิน 1. นายกิ ต ติ สื บ นุ ก ารณ์ (ครู ใ หญ่ อาจารย์ใหญ่ และผู้อ�านวยการ (ตามล�าดับ) พ.ศ. 2535 - 2343 2. นายวรเชษฐ์ สุขแสวง (ระดับ 9) พ.ศ.2543 - 2551 3. นายปริญญา พุ่มไหม พศ. 2551 -2554 4. นายณรงค์ พรหมพัชรพล พ.ศ. 2554 -2559 5. นายไพชยนต์ จั น ทเขต (ระดั บ 9) พ.ศ. 2559 - 2560 6. นายพิทักษ์ สุปิงคลัด พ.ศ. 2561 - ปัจจุบัน ปั จ จุ บั น โรงเรี ย นวี ร วั ฒ น์ โ ยธิ น มี โครงสร้างการบริหารตามระเบียบของคณะ กรรมการส� า นั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษา มัธยมศึกษา เขต 33 พ.ศ. 2552
วิสัยทัศน์ ในปี 2564 โรงเรียนวีรวัฒน์ โยธิน มีแหล่งเรียนรูท้ หี่ ลากหลาย ผูเ้ รียนและ ครูมคี วามรูค้ คู่ ณ ุ ธรรม สร้างสัมพันธ์กบั ชุมชน ด� า รงตนตามหลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพียง เอกลักษณ์ สรรค์สร้างประชาธิปไตย วีรวัฒน์ร่วมใจพัฒนา อัตลักษณ์ เป็นคนดี มีความรู้ อยู่อย่าง พอเพียง พันธกิจ พัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตาม เกณฑ์มาตรฐานการศึกษา ส่งเสริม สนับสนุน ให้ ผู ้ เ รี ย นรู ้ มี คุ ณ ธรรมจริ ย ธรรมตาม คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และได้รับการ พัฒนาตนเองตามศักยภาพ ให้ด�ารงตนตาม หลั ก ของปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง โดย พัฒนาให้โรงเรียนมีแหล่งเรียนรูท้ หี่ ลากหลาย เพิ่มประสิทธิภาพระบบการบริหารจัดการ โรงเรียน และ สร้างความสัมพันธ์ระหว่าง โรงเรียนกับชุมชน
ปฏิปทา นายพิทักษ์ สุปิงคลัด ผู้อ�านวยการโรงเรียนวีรวัฒน์โยธิน โรงเรียน คือสถานที่อบรมสั่งสอนศิษย์ ให้มีความรู้ มีคุณธรรม จริยธรรม สามารถ อยู ่ ร ่ ว มกั น ในสั ง คมได้ อ ย่ า งมความสุ ข ลูกศิษย์แต่ละคน เปรียบเสมือนต้นไม้ที่มี หลากหลายพันธุ์ ต้องได้รบั การดูแลเอาใจใส่ ที่แตกต่างกัน ต้องการ การรดน�้า พรวนดิน ใส่ปุ๋ย รดน�้า จนกว่าจะเติบโตสมบูรณ์ การพั ฒนาคุ ณ ภาพการศึ ก ษานั้ น คื อ การสร้างโอกาสทางการศึกษาให้กบั เด็กและ เยาวชนให้ได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่มี คุณภาพได้มาตรฐานทางการศึกษาของชาติ สอดคล้ อ งกั บ ความต้ อ งการของท้ อ งถิ่ น เป็ น ที่ ย อมรั บ และศรั ท ธาของนั ก เรี ย น ผูป้ กครองและชุมชน โดยมีผลมาจากแนวทาง การบริหารการจัดการโรงเรียนสู่คุณภาพ ซึ่ง ต้องค�านึงถึงประโยชน์สูงสุดของผู้เรียน และ ยึดหลักธรรมาภิบาลในการบริหาร คือ หลัก นิติธรรม หลักคุณธรรม หลักความโปร่งใส่ หลักความมีส่วนร่วม หลักความรับผิดชอบ หลั ก ความประหยัด และคุ้มค่า ซึ่ง จ�า เป็น จะต้องตัง้ จุดมุง่ หมายไปทีผ่ รู้ บั บริการ ในการ สั่งสอนศิษย์นั้นต้องค�านึงถึงความแตกต่าง และเชือ่ เสมอว่าทุกคนสามารถพัฒนาตนเอง ได้ และทุกคนต้องการประสบความส�าเร็จ ในชีวิต
ติดต่อ โรงเรียนวีรวัฒน์ โยธิน ตั้งอยู่เลขที่ 1100 หมู่ 20 ถนน คชสาร ต�าบลนอกเมือง อ�าเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ โทรศัพท์ 0-4451-5689 โทรสาร 0-4451-9350 www.weerawat.ac.th SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 71
71
6/7/2018 6:01:09 PM
ศูนย์ฝึกอบรมเนท มูลนิธิพัฒนาอีสาน
NET FOUNDATION มูลนิธิพัฒนาอีสาน ร่วมสร้างสังคมที่เป็นธรรม สนใจติดต่อ ศูนย์ฝึกอบรมเนท มูลนิธิพัฒนาอีสาน โทร.081-966-6156, 092-940-8718 Email : ntcsurin@gmail.com ศูนย์เนท จ.สุรินทร์ 72
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
.indd 72
6/7/2018 12:26:47 AM
มูลนิธิพัฒนาอีสาน เป็นองค์กรพัฒนา เอกชน ด� า เนิน งานพัฒนาชนบท ในภาค อีสาน ตั้งแต่ปี 2524 ใน “โครงการพัฒนา หมูบ่ า้ นชายแดนไทย-กัมพูชา จังหวัดสุรนิ ทร์” ปัจจุบัน มูลนิธิพัฒนาอีสาน ยังคงมุ่งมั่น ในการพั ฒนาคุ ณ ภาพชี วิ ต ของประชาชน ทั้งด้านสุขภาพ การส่งเสริมอาชีพ รายได้ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และพลั ง งาน รวมทั้ ง การจั ด ฝึ ก อบรม การศึกษาวิจัย และเชื่อมประสานกับภาคี เครือข่าย ทั้งในประเทศและต่างประเทศ ศูนย์ฝึกอบรมเนท มูลนิธิพัฒนาอีสาน เป็ น ส่ ว นงานระดมทุ น เพื่ อ น� า รายได้ ม า สนับสนุนการท�างานพัฒนาสังคม โดยบริการ อาหาร ทีพ่ กั ห้องประชุมส�าหรับการฝึกอบรม สั ม มนา และเป็ น ศู น ย์ ก ารเรี ย นรู ้ เ พื่ อ การพึ่งพาตนเอง ในด้านต่างๆ เช่น การท�า
เกษตรผสมผสาน การแปรรู ป ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ของกินของใช้ในครัวเรือน การจัดการด้าน พลั ง งานและสิ่ ง แวดล้ อม การผลิ ต อิ ฐดิ น ซีเมนต์ รองรับการศึกษาดูงาน ส�าหรับท่าน ที่สนใจ ดังนี้ 1. ฐานเรียนรู้เกษตรผสมผสาน ท�าปุ๋ย หมักชีวภาพ สารสกัดสมุนไพรป้องกันก�าจัด แมลง การขยายพั น ธ์ุ พื ช การเลี้ ย งปลา เลี้ยงกบ พืชผักนาข้าวอินทรีย์ 2. ฐานเรี ย นรู ้ ก ารแปรรู ป ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ของกินของใช้ในครัวเรือน การท�าสบู่ถ่าน สบู่ฟักข้าว น�้ายาอเนกประสงค์ น�้าสมุนไพร เพื่อสุขภาพ แปรรูปอาหารจากผลผลิตทาง การเกษตร 3. ฐานเรียนรู้เทคโนโลยีพลังงาน และ สิ่งแวดล้อม การเผาถ่าน ด้วยเตา 200 ลิตร เตาอิวาเตะ น�้าส้มควันไม้ เตาหุงต้ม ประสิ ท ธิ ภ าพสู ง เตาชี ว มวล กั ง หั น ลม จักรยานสูบน�้า บ้านพลังงานแสงอาทิตย์ รถเข็ น สู บ น�้ า โซล่ า เซลล์ บ่ อ หมั ก ก๊ า ซ การจัดการขยะ การผลิตและการก่อสร้าง ด้วยอิฐดินซีเมนต์ รายละเอียดทีพ่ กั /ห้องประชุม มีบริการที่พักปรับอากาศ ห้อง 2 เตียง จ�านวน 12 ห้อง บริการบ้านพักปรับอากาศ ห้อง 4 เตียง จ�านวน 10 หลัง เรื อ นไม้ ป รั บ อากาศหลั ง ละ 2 ห้ อ ง
ห้องละ 2 เตียง จ�านวน 4 หลัง เรือนนอนรวมปรับอากาศ 1 หลัง เรือนนอนรวมระบบพัดลม จ�านวน 2 หลัง ห้องประชุมขนาด 10 ที่นั่ง, 30 ที่นั่ง และขนาด 50 - 200 ที่นั่ง
ส Em SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 73
73
6/7/2018 12:26:59 AM
TR AV E L G U ID E
บันทึกเส้นทางความเป็นมาจังหวัดสุรินทร์
ดินแดนแห่งข้าวหอมมะลิ ผ้าไหมไทย ถิ่นช้างใหญ่ ใจพระโพธิสัตว์ จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์ ได้ รั บ การสั น นิ ษ ฐานจาก นักประวัติศาสตร์ว่า พื้นที่อันเป็นที่ตั้งเมืองสุรินทร์ มีชุมชนอาศัยอยู่เมื่อประมาณ 2,000 ปีล่วงมาแล้ว ในสมั ย ที่ พ วกขอมรุ ่ ง เรื อ งอ� า นาจ แต่ เ มื่ อ ขอม เสื่อมอ�านาจลงเมืองสุรินทร์ ได้ถูกทิ้งร้างจนกลาย เป็นป่าดงอยู่นาน กระทั่งในสมัยกรุงศรีอยุธยา ตอนปลาย พ.ศ.2260 ชาวพื้ น เมื อ งกลุ ่ ม หนึ่ ง ที่เรียกตัวเองว่าส่วยหรือกูย ซึ่งอาศัยอยู่แถบเมือง อั ต ปื อ แสนแป แคว้ น จ� า ปาศั ก ดิ์ ซึ่ ง ขณะนั้ น เป็ น ดินแดนของไทย และเป็นผู้ที่มีความสามารถในการ จับช้างป่ามาเลี้ยงไว้ใช้งานเป็นอย่างมากได้พากัน อพยพข้ า มล� า น�้ า โขง มาสู ่ ฝ ั ่ ง ขวาโดยแยกย้ า ย กั น ไปตั้ ง ชุ ม ชนที่ เ มื อ งลี ง (อ� า เภอจอมพระ) บ้านโคกล�าดวน(อ�าเภอขุขันธ์จังหวัดศรีสะเกษ) บ้านอัจจะปะนึ่ง(อ�าเภอสังขะ) และบ้าน กุดปะไท (อ�าเภอศีขรภูมิ) แต่ละ บ้านจะมี หัวหน้าควบคุมอยู่
Surin อ่างเก็บน�้าห้วยเสนง สถานที่พักผ่อนหย่อนใจของชาวเมืองสุรินทร์
74
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
.indd 74
06/06/61 06:49:50 PM
อ่างเก็บน�้าห้วยเสนง
เป็นอ่างเก็บน�้าของโครงการชลประทาน อยู่ห่าง จากตัวเมืองสุรินทร์ไปทางถนนสายสุรินทร์-ปราสาท (ทางหลวงหมายเลข 214) ประมาณ 5 กิโลเมตร บริเวณหลักกิโลเมตรที่ 5-6 แยกซ้ายมือไปทางถนน ริมคลองชลประทาน ประมาณ 4 กิโลเมตร ห้วยเสนงนี้ เป็ น อ่ า งเก็ บ น�้ า ที่ มี สั น เขื่ อ นสู ง บนสั น เขื่ อ นเป็ น ถนนลาดยาง เป็นสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ ชมวิว ของชาวเมืองสุรินทร์ และภายในที่ท�าการชลประทาน มีพระต�าหนักที่ประทับของสมเด็จพระศรีนครินทรา บรมราชชนนี
สุรินทร์ถิ่นช้างใหญ่ ผ้าไหมงาม ประคำ�สวย ร�่ารวยปราสาท ผักกาดหวาน ข้าวสารหอม งามพร้อมวัฒนธรรม คําขวัญ จังหวัดสุรินทร์ SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 75
75
06/06/61 06:50:02 PM
ลักษณะภูมิประเทศ
ในปี พ.ศ.2306 หลวงสุรินทรภักดี หรือ เชี ย งปุ ม หั ว หน้ า หมู ่ บ ้ า นเมื อ งที่ ไ ด้ ข อให้ เจ้าเมืองพิมายกราบบังคมทูลขอพระกรุณา โปรดเกล้ า ฯ จากสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว พระทีน่ งั่ สุรยิ าศน์อมรินทร์ ย้ายหมูบ่ า้ นจาก บ้านเมืองทีม่ าตัง้ อยูท่ บี่ ริเวณบ้านคูประทาย บริเวณซึ่งเป็นที่ตั้งเมืองสุรินทร์ในปัจจุบันนี้ เนื่ อ งจากเห็ นว่ า เป็ น บริ เ วณที่ มี ชั ย ภู มิ ที่ เหมาะสม มีก�าแพงค่ายคูล้อมรอบ 2 ชั้น มีนา�้ อุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การประกอบอาชีพ และอยู ่ อ าศั ย ต่ อ มาหลวงสุ ริ น ทร์ ภั ก ดี ได้กระท�าความดีความชอบเป็นทีโ่ ปรดปราน สมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว พระที่ นั่ ง สุ ริ ย าศน์ อมรินทร์ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ ยกบ้านคูประทาย เป็นเมืองประทายสมันต์ และเลื่อนบรรดาศักดิ์หลวงสุรินทร์ภักดีเป็น พระยาสุรินทร์ภักดีศรีณรงค์จางวางให้เป็น เจ้าเมืองปกครอง ในปี พ.ศ.2329 พระบาท สมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เปลี่ยน ชื่ อ เมื อ งประทายสมั น ต์ เ ป็ น เมื อ งสุ ริ น ทร์ ตามสร้อยบรรดาศักดิ์เจ้าเมือง 76
เมื อ งสุ ริ น ทร์ มี เ จ้ า เมื อ งปกครอง สื บ เชื้ อ สายกั น มารวม 11 คน จนถึ ง ปี พ.ศ.2451 ได้มีการปรับปรุงระบบบริหาร ราชการแผ่ น ดิ น เป็ น แบบเทศาภิ บ าล ส่วนกลาง จึงได้แต่งตั้งพระกรุงศรีบุรีรักษ์ (สุม สุมานนท์) มาเป็น ข้าหลวงประจ�า จังหวัดหรือผูว้ า่ ราชการจังหวัดเป็นคนแรก ที่ตั้งและอาณาเขต
จังหวัดสุรินทร์ ตั้งอยู่ภาคตะวันออก เฉียงเหนือ ของประเทศไทย ระหว่างเส้นแวง ที่ 103 องศา และ 105 องศาตะวันออก และระหว่างเส้นรุง้ ที่ 15 องศา และ องศาเหนือ ห่างจากกรุงเทพมหานคร ประมาณ 450 กิโลเมตร โดยมีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัด ใกล้เคียง ดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับ จังหวัดร้อยเอ็ด และ จังหวัดมหาสารคาม ทิศตะวันออก ติดต่อกับจังหวัดศรีสะเกษ ทิศใต้ ติดต่อกับ ราชอาณาจักรกัมพูชา ทิศตะวันตก ติดต่อกับ จังหวัดบุรีรัมย์
จังหวัดสุรินทร์มีเนื้อที่ประมาณ 8,124 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 5,077,535 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 4.8 ของพืน้ ทีภ่ าคตะวันออก เฉียงเหนือทั้งหมด ลักษณะภูมิประเทศโดย ทั่วไปมีลักษณะดังนี้คือ บริเวณซึ่งติดต่อกับ ราชอาณาจักรกัมพูชา มีปา่ ทึบและภูเขาสลับ ซับซ้อน ถัดจากบริเวณภูเขา จะเป็นทีร่ าบสูง ลุ ่ ม ๆ ดอนๆ ลั ก ษณะลู ก คลื่ น ลอนลาด บริเวณตอนกลาง ของจังหวัด จะเป็นทีร่ าบลุม่ เป็นส่วนใหญ่ มีทรี่ าบสูงอยูบ่ างตอน ด้านเหนือ ของจังหวัดเป็นทีร่ าบลุม่ แม่นา�้ ไหลผ่าน โดย มีลา� น�า้ ธรรมชาติทสี่ า� คัญ 8 สาย คือ แม่นา�้ มูล ล�าน�า้ ชี ห้วยเสนง ล�าห้วยพลับพลา ล�าห้วยระวี ล�าห้วยทับทัน ล�าห้วยระหารและล�าห้วยแก้ว เป็นล�าน�า้ ทีท่ า� ประโยชน์ให้แก่จงั หวัดสุรนิ ทร์ นอกจาก 8 แห่งนีแ้ ล้ว ยังมีลา� น�า้ และหนองน�า้ อีกมากมายกระจัดกระจายอยูใ่ นอ�าเภอต่างๆ แต่แหล่งน�า้ ต่างๆ ดังกล่าวไม่สามารถอ�านวย ประโยชน์ให้แก่เกษตรกรได้มากนัก ในฤดูแล้ง ส่วนใหญ่นา�้ จะแห้ง เว้นแต่ลา� น�า้ มูลซึง่ มีนา�้ ไหล ตลอดปี จังหวัดสุรนิ ทร์ มีพนื้ ทีท่ ไี่ ด้รบั การประกาศ เป็นเขตป่าจ�านวน 1,382,625 ไร่หรือ คิดเป็นร้อยละ 27.23 ของพื้นที่จังหวัด ไม่มอี ทุ ยานแห่งชาติ มีวนอุทยานจ�านวน 2 แห่ง คือวนอุทยานพนมสวาย อ�าเภอเมืองสุรนิ ทร์ เนือ้ ที่ 2,500 ไร่ และวนอุทยานป่าสนหนองคู อ�าเภอสังขะ เนื้อที่ 625 ไร่และมีเขตรักษา พันธ์สตั ว์ปา่ 1 แห่งคือเขตรักษาพันธ์สตั ว์ปา่ ห้ ว ยส� า ราญ - ห้ ว ยทั บ ทั น อยู ่ ใ นพื้ น ที่ กิง่ อ�าเภอพนมดงรัก, อ�าเภอกาบเชิง, อ�าเภอ สังขะ และอ�าเภอบัวเชด เนือ้ ที่ 313,750 ไร่
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
.indd 76
07/06/61 06:01:32 PM
โครงสร้างและสภาพของสังคม
จังหวัดสุรินทร์ มีประชากรร้อยละ 93 อาศัยอยูใ่ นเขตชนบท มีภาษาพูดพืน้ เมืองที่ แตกต่างกัน เป็น 3 กลุ่ม คือ กลุ่มแรกเป็น กลุม่ ทีพ่ ดู ภาษาเขมร ส่วนใหญ่อาศัยอยูแ่ ถบ อ�าเภอเมือง ปราสาท กาบเชิง สังขะ บัวเชด จอมพระ ศีขรภูมิ ท่าตูม ชุมพลบุรี ล�าดวน กลุม่ ทีส่ องเป็นกลุม่ ทีพ่ ดู ภาษาส่วย อาศัยอยู่ ในแถบอ�าเภอส�าโรงทาบ ท่าตูม สนม จอมพระ ศีขรภูมิ รัตนบุรี และกระจายอยู่ตามอ�าเภอ อื่นๆ อีกเล็กน้อย กลุ่มที่สามเป็นกลุ่มที่พูด ภาษาพื้นเมืองอีสาน(ลาว) อาศัยอยู่แถบ อ�าเภอสนม รัตนบุรี ท่าตูม ชุมพลบุรี และ ศีขรภูมิ เนื่ อ งจากประชาชนจั ง หวั ด สุ ริ น ทร์ มี ภาษาพูดที่แตกต่างกัน จึงท�าให้แต่ละกลุ่ม มีขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรมที่ แตกต่างกันบ้าง แต่อย่างไรก็ตาม ประชากร ทั้ง 3 กลุ่ม มีความเป็นมาที่กลมกลืนกัน มี ความเป็นอยูท่ เี่ รียบง่าย มีความสามัคคีตอ่ กัน เป็นอย่างดี ไม่ปรากฏการเกิดปัญหาระหว่าง กลุ่มชนแต่อย่างใด
ด้านการลงทุนภาคเอกชนเพิ่มขึ้น พิจารณา ได้ จ ากทุ น จดทะเบี ย นนิ ติ บุ ค คลตั้ ง ใหม่ จ�านวนรถยนต์พาณิชย์จดทะเบียนใหม่ และ พื้ น ที่ อ นุ ญ าตก่ อ สร้ า งที่ อ ยู ่ อ าศั ย เพิ่ ม ขึ้ น เรือ่ ยๆ ด้านอุปทาน รายได้ภาคนอกการเกษตร ขยายตัวเพิ่มขึ้นโดยพิจารณาจากการผลิต ภาคอุตสาหกรรมขยายตัวเพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง เป็ น ผลมาจากปริ ม าณการใช้ ไ ฟฟ้ า ภาค อุตสาหกรรมในจังหวัดสุรินทร์ จ�านวนทุน จดทะเบียนของอุตสาหกรรมและจ�านวน แรงงานอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้นจากปีก่อนๆ เช่นกัน การนับถือศาสนาของชาวสุรินทร์ ส่ ว นใหญ่ นั บ ถื อ ศาสนาพุ ท ธจ� า นวนกว่ า 1,367,885 คน ศาสนาคริสต์ประมาณ 1,109 คนศาสนาอิสลามประมาณ 691 คน และศาสนาพราหมณ์ ฮินดู ซิกข์ ประมาณ 11,528 คน ศาสนสถาน มีวดั จ�านวน 673 วัด ส�านักสงฆ์ 279 วัด ที่พักสงฆ์ 407 แห่ง โบสถ์คริสต์จ�านวน 1 แห่ง
ประเพณี และหัตถกรรม อาทิ หมู่บ้านช้าง สุรินทร์ บ้านตากลาง ต�าบลกระโพ อ�าเภอ ท่าตูม จังหวัดสุรนิ ทร์, วนอุทยานพนมสวาย อยูห่ า่ งจากศาลากลางจังหวัดสุรนิ ทร์ ประมาณ 22 กิโลเมตร, หมู่บ้านทอผ้าไหม แหล่งที่มี การทอผ้ า ไหมและส่ ง เสริ ม กั น มากของ จังหวัดสุรินทร์ คือที่ บ้านเขวาสินรินทร์ กิ่งอ�าเภอเขวาสินรินทร์, บ้านจันรม ต�าบล ตาอ็อง บ้านสวาย ต�าบลสวาย อ�าเภอเมือง สุรินทร์, บ้านอู่โลก อ�าเภอล�าดวน และ บ้านประทุน ต�าบลแตล อ�าเภอศีขรภูมิ ปราสาทโบราณ จังหวัดสุรนิ ทร์มปี ราสาท อยูต่ ามอ�าเภอในเขตจังหวัดจ�านวน 31 แห่ง, ห้ ว ยเสนง เป็ น อ่ า งเก็ บ น�้ า ชลประทาน มีทิวทัศน์สวยงาม, งานประเพณีประจ�าปี งานแสดงของช้าง จังหวัดสุรินทร์ได้ก�าหนด จัดงานนี้ในวันเสาร์ - อาทิตย์ สัปดาห์ที่สาม ของเดื อ นพฤศจิ ก ายนของทุ ก ปี และ งานกาชาดจังหวัดสุรินทร์ เป็นงานประจ�าปี ซึ่งจัดควบคู่กับงานแสดงของช้าง เป็นต้น
สถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดสุรินทร์
(ขอบคุณข้อมูลจากส�านักงานจังหวัดสุรินทร์ และ http://www.surin.go.th/)
มีแหล่งท่องเทีย่ วธรรมชาติ โบราณสถาน ประวัติศาสตร์ สถาปัตยกรรม วัฒนธรรม
การปกครองส่วนภูมิภาค
แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 17 อ�าเภอ 158 ต�าบล 2,119 หมู่บ้าน และมีองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น จ�านวน 173 แห่ง สภาพทางเศรษฐกิจ
โครงสร้างเศรษฐกิจของจังหวัดสุรินทร์ ขึ้นอยู่กับด้านการขายส่ง ขายปลีก ด้าน การเกษตรและด้านการศึกษาเป็นส�าคัญ ตามล�าดับ เศรษฐกิจโดยรวมของจังหวัด สุ ริ น ทร์ ขยายตั ว เพิ่ ม ขึ้ น อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง พิจารณาจาก ด้านอุปสงค์ การบริโภคขยายตัว เพิ่มขึ้นเป็น ผลมาจากจ�านวนจดทะเบียน รถยนต์นงั่ ปริมาณ การใช้ไฟฟ้าของครัวเรือน และจ�านวนจดทะเบียนรถจักรยานยนต์เพิม่ ขึน้ สะท้อนให้เห็นว่าประชาชนมีกา� ลังซือ้ รถยนต์ และรถจักรยานยนต์เพิม่ ขึน้ มูลค่าการส่งออก และน�าเข้าเกินดุล การใช้จา่ ยภาครัฐด้านรายจ่าย ประจ�าเพิ่มขึ้น แต่รายจ่ายงบลงทุนลดลง SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 77
77
06/06/61 06:50:22 PM
อนุสาวรีย์พระยาสุรินทรภักดี ศรีณรงค์จางวาง(ปุม)
อนุสาวรียเ์ ป็นรูปหล่อทองเหลืองอมด�า สูง 2.2 เมตร มือขวาถือของ้าว อันเป็นการ แสดงถึงความเก่งกล้าสามารถของท่าน ในการบังคับช้างศึกและเป็นเครือ่ งแสดงว่า สุรนิ ทร์เป็นเมืองช้างมาแต่ดกึ ด�าบรรพ์ รูปปัน้ สะพายดาบคู่อยู่บนหลังอันหมายถึงความ เป็นนักรบ ความกล้าหาญอันเป็นคุณสมบัติ ทีต่ กทอดเป็นมรดกของคนสุรนิ ทร์ สร้างขึน้ เมื่อ พ.ศ.2511 เพื่อเป็นอนุสรณ์สถาน ระลึกถึงผูส้ ร้างเมืองท่านแรก ซึง่ เป็นบุคคล ที่ ส� า คั ญ อย่ า งยิ่ ง ในประวั ติ ศ าสตร์ ข อง เมื อ งสุ ริ น ทร์ ท� า พิ ธี เ ปิ ด เมื่ อ วั น ที่ 13 เมษายน 2528 อนุ ส าวรี ย ์ แ ห่ ง นี้ ตั้ ง อยู ่ ที่ ท างเข้ า เมืองสุรินทร์ทางด้านใต้ ตรงบริเวณของ หลักกิโลเมตรที่ 10 ทีถ่ นนสุรนิ ทร์-ปราสาท เป็ น บริ เ วณที่ เ คยเป็ น ก� า แพงเมื อ งชั้ น ใน ของตัวเมืองสุรินทร์
78
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
.indd 78
06/06/61 06:50:36 PM
ปราสาทหินบ้านพลวง
เป็นสถาปัตยกรรมสมัยลพบุรี ราวพุทธศตวรรษที่ 16 - 17ฐานก่อด้วยอิฐศิลาแลง ยกพื้นเป็นรูป ทับหลังประตูจ�าหลักเป็นรูปเทวดาขี่ช้างยืนบนแท่น เหนือเศียรเกียรติมขุ มือทัง้ สองจับพวงมาลัย ริมขอบ ข้างบนจ�าหลักเป็นรูปโยคีนั่งขัดสมาธิราบเรียงกัน เป็นแถว 6 องค์ หน้าบันจ�าหลักเป็นรูปพระกฤษณะ ยืนอยู่บนเศียรเกียรติมุข มือซ้ายเท้าสะเอว มือขวา ยกถูเขาวรรธนะ (ชือ่ ภูเขาในอินเดีย) ส่วนยอดปราสาท ก่อสร้างด้วยอิฐเผาและจ�าหลักลวดลายต่างๆ ค้างไว้ แต่ก็เป็นปราสาทหินที่สวยงามมากแห่งหนึ่งของ จังหวัดสุรนิ ทร์ดา้ นหน้าปราสาทมีสระน�า้ ขนาดใหญ่ อยู่ 1 แห่ง ตัง้ อยูใ่ น ต.บ้านพลวง อ.ปราสาท จ.สุรนิ ทร์
SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 79
79
06/06/61 06:50:44 PM
80
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
.indd 80
06/06/61 06:51:06 PM
ปราสาทตาเมือนโต๊ด
ปราสาทตาเมือนโต๊ด ตั้งอยู่ที่ บ้านหนองคันนา ต.ตาเมียง กิ่งอ�าเภอพนมดงรัก จ.สุรินทร์ เป็นอโรคยศาล สร้างขึ้นในพุทธ ศตวรรษที่ 18 สมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 อโรคยศาลแห่งนี้ยังคง สภาพเกือบจะสมบูรณ์ ประกอบด้วยปรางค์ประธานรูปสี่เหลี่ยม จัตรุ สั มีมขุ ยืนทางด้านหน้าเยือ้ งไปทางขวาขององค์ปรางค์ลอ้ มรอบ ด้วยก�าแพงก่อด้วยศิลาแลงเช่นกัน มีซมุ้ ประตู (โคปุระ) อยูท่ างด้านหน้า ตรงห้องกลางของโคปุระได้พบศิลาจารึก 1 หลัก จารึกด้วยอักษร ขอมภาษาสันสกฤต เป็นจารึกซึง่ พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 โปรดให้สร้าง ไว้ประจ�าอโรคยศาลแห่งนี้ มีข้อความเช่นเดียวกับจารึกที่พบที่ อโรคยศาลแห่งอื่นๆ คือ กล่าวนมัสการพระพุทธเจ้า พระไภษัชย คุรไุ วฑูรย์ ซึง่ เป็นพระโพธิสตั ว์ผปู้ ระทานความไม่มโี รคแก่ประชาชน ผู้นับถือ และกล่าวถึงการแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ประจ�าสถานพยาบาลใน แผนกต่างๆ (ปัจจุบนั หลักนีเ้ ก็บรักษาไว้ทหี่ อสมุดแห่งชาติทา่ วาสุกรี)
SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 81
81
06/06/61 06:51:17 PM
ปราสาทตาเมือนธม
ปราสาทตาเมือนธม ตั้งอยู่ที่ บ้านหนองคันนา ต.ตาเมียง กิ่งอ�าเภอพนมดงรัก จ.สุรินทร์ เป็นหนึ่ง ในปราสาททีจ่ ดั อยูใ่ นโบราณสถานกลุม่ ปราสาทตาเมือน เป็นปราสาทขนาดใหญ่ทสี่ ดุ ในกลุม่ ปราสาทตาเมือน มี ก ารสั น นิ ษ ฐานว่ า ได้ รั บ อิ ท ธิ พ ลจากศาสนา พราหมณ์ และอาจสร้างขึน้ ในราวพุทธศตวรรษที่ 16 ซึง่ เก่าแก่กว่าโบราณสถานอีก 2 แห่งในกลุม่ ปราสาท ตาเมือน ปราสาทตาเมื อ นธม ตั้ ง อยู ่ ถั ด จากปราสาท ตาเมือนโต๊ดไปทางทิศใต้ประมาณ 200 เมตร อยู่ บนแนวเทือกเขาบรรทัดซึ่งเป็นพรมแดนระหว่าง ประเทศไทยและประเทศกั ม พู ช า ประกอบด้ ว ย ปรางค์ 3 องค์ โดยมีปรางค์ประธานซึ่งมีขนาดใหญ่ ทีส่ ดุ ตัง้ อยูต่ รงกลาง ส่วนปรางค์อกี สององค์อยูถ่ ดั ไป ด้านหลังทางด้านขวาและด้านซ้ายของปรางค์ ซึ่ง ประธานปรางค์ ทั้ ง 3 องค์ สร้ า งด้ ว ยหิ น ทราย ที่ปรางค์ประธานมีลวดลายจ�าหลักงดงาม
82
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
.indd 82
06/06/61 06:51:32 PM
ปราสาทตาเมือน
ปราสาทตาเมื อ น เป็ น โบราณสถานแบบขอม 3 หลัง ที่ตั้งอยู่ในบริเวณใกล้เคียงกัน โ ด ย อ ยู ่ ติ ด แ นว ช า ย แ ด น ประเทศไทยและกั ม พู ช า ปราสาทตาเมือนเป็นสิง่ ก่อสร้าง ทีเ่ ชือ่ กันว่าคือทีพ่ กั คนเดินทาง แห่ง 1 ใน 17 แห่งที่พระเจ้า ชั ย วรมั น ที่ 7 มหาราชองค์ สุ ด ท้ า ยแห่ ง เมื อ งพระนคร โปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ สร้างขึ้นจากเมืองยโสธรปุระ เมืองหลวงของอาณาจักรขอม โบราณไปยังเมืองพิมาย ตัว ปราสาทมี ลั ก ษณะเป็ น แท่ ง
สี่เหลี่ยมตั้งตรง เป็นปรางค์เดียวมีห้องยาวเชื่อมต่อมาทางด้านหน้า ผนังด้านหนึ่งปิดทึบ แต่ได้สลัก เป็นหน้าต่างหลอกเอาไว้ ส่วนอีกด้านมีหน้าต่างเรียงกันโดยตลอด เคยมีผพู้ บทับหลังเป็นรูปพระพุทธรูป ปางสมาธิในซุ้มเรือนแก้วจ�านวน 2-3 ชิ้นที่นี่ ปราสาทตาเมือน ตั้งอยู่ที่ บ้านหนองคันนา ต.ตาเมียง กิ่งอ�าเภอพนมดงรัก จ.สุรินทร์ SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 83
83
06/06/61 06:52:48 PM
ปราสาทภูมิโปน
ตั้งอยู่ที่บ้านภูมิโปน ต�าบลดม อ�าเภอสังขะ จังหวัดสุรินทร์ ปราสาทภูมิโปน ประกอบด้วยโบราณสถาน 4 หลัง คือ ปราสาทก่ออิฐ 3 หลัง และก่อศิลาแลง 1 หลัง มีอายุการก่อสร้างอย่างน้อยสองสมัย ปราสาทก่ออิฐหลังใหญ่และหลังทางทิศเหนือสุด นับเป็นปราสาทแบบศิลปะเขมร ที่มีอายุเก่าแก่ที่สุดในประเทศไทย คือราวๆ พุทธศตวรรษที่ 13 ส่วนปราสาทอิฐหลังเล็กทีต่ งั้ ตรงกลางและปราสาททีม่ ฐี านศิลาแลง ทางด้านทิศใต้นั้นสร้างขึ้นในสมัยหลังปราสาทภูมิโปน อาจสร้างขึ้นเพื่อเป็นศาสน สถานในศาสนาฮินดูไศวนิกาย เช่นเดียวกับศาสนสถานแห่งอื่นในรุ่นเดียวกัน และ ทีป่ รางค์องค์ใหญ่มี ท่อโสมสูตร คือ ท่อน�า้ มนตร์ทตี่ อ่ ออกมาจากแท่นฐานรูปเคารพ ในห้องกลางติดอยู่ที่ผนังในระดับพื้นห้อง การเดินทาง ใช้ทางหลวงหมายเลข 2077 (สายสุรินทร์-สังขะ) ระยะทาง 49 กิโลเมตร จากแยกอ�าเภอสังขะเข้าทางหลวงหมายเลข 2124 (สังขะ- บัวเชด) จนถึง บ้านภูมิโปนอีก 10 กิโลเมตร จะเห็นปราสาทอยู่ริมถนนด้านซ้ายมือ
84
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
.indd 84
06/06/61 06:51:55 PM
SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 85
85
06/06/61 06:52:04 PM
86
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
.indd 86
06/06/61 06:52:15 PM
ศาลหลักเมืองสุรินทร์
ศาลหลั ก เมื อ งสุ ริ น ทร์ ตั้ ง อยู ่ บ นถนน เทศบาล 3 ต� า บลในเมื อ ง อ� า เภอเมื อ ง จังหวัดสุรินทร์ เดิมเป็นศาล ที่ ยั ง ไม่ มี เ สาหลั ก เมื อ งแต่ มี ความศักดิ์สิทธิ์คู่บ้านคู่เมือง เป็นทีเ่ คารพบูชาของประชาชน ทั่ ว ไปมาเป็ น เวลานานนั บ 100 ปี ครั้ น พ.ศ.2511 จ.สุรินทร์ได้ด�าเนินการขอให้ กรมศิลปากรออกแบบแปลน ก่อสร้างตัวศาลหลักเมืองเสา หลักเมืองท�าด้วยไม้ชัยพฤกษ์ แกะสลักตกแต่งด้วยเจ้าหน้าที่ ของกรมศิลปากร และในวันที่ 21 สิ ง หาคม พ.ศ.2515 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ทรงประกอบพิธีเจิมเสาหลักเมือง ณ ต�าหนักจิตรลดารโหฐาน พระราชวังดุสิต ต่อมาจังหวัดสุรินทร์ ได้มีการบูรณะปรับปรุงรูปแบบศาลหลักเมืองโดยการผสมผสานระหว่างศิลปะแบบเขมรและศิลปะ แบบไทยเข้าด้วยกัน ท�าให้ศาลหลักเมืองมีความสวยงาม และใหญ่โตอลังการ ทัง้ นีใ้ นอดีตเคยมีเหตุการณ์มหัศจรรย์เกิดขึน้ ทีบ่ ริเวณศาลหลักเมืองเมือ่ เกิดรอยแยกบนพืน้ ถนนท�าให้ มีการขุดลงไปพบพระพุทธรูปนาคปรกและวัตถุโบราณ เช่น พระเครื่องดินเผาและก�าไลโบราณจ�านวน มาก รวมถึงเครื่องปั้นภาชนะดินเผาสมัยก่อนประวัติศาสตร์ที่มีอายุราว 1,500 – 2,000 ปี ชาวบ้าน จึงได้น�าไปบูชาที่ศาลหลักเมือง
SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 87
87
06/06/61 06:52:25 PM
วนอุทยานพนมสวาย
ตั้งอยู่ที่ต�ำบลนำบัว อ�ำเภอเมือง ห่ำงจำกศำลำ กลำงจั ง หวัดประมำณ 22 กิโลเมตร ใช้เ ส้นทำง สุรนิ ทร์-ปรำสำท (ทำงหลวงหมำยเลข 214) ระยะทำง 14 กิโลเมตร แล้วเลีย้ วขวำไปอีกประมำณ 6 กิโลเมตร เป็นภูเขำเตี้ยๆ มียอดเขำอยู่ 3 ยอด ยอดที่ 1 มีชื่อว่ำยอดเขำชำย (พนมเปรำะ) สูง 210 เมตร เป็นที่ตั้งของวัดพนมสวำย มีบันไดก่ออิฐ ถือปูนขึ้นถึงวัด ระหว่ำงทำงเรียงรำยไปด้วยระฆัง จ�ำนวน 1,080 ใบให้ผู้มำเยือนเคำะเพื่อควำมเป็น สิรมิ งคล มีสระน�ำ้ กว้ำงใหญ่และร่มรืน่ ด้วยต้นไม้ บนเขำ เป็นทีป่ ระดิษฐำนพระพุทธสุรนิ ทรมงคล พระพุทธรูป ประจ� ำ เมื อ งสุ ริ น ทร์ เป็ น พระพุ ท ธรู ป สี ข ำว ปำง ประทำนพร มีพระบรมสำรีรกิ ธำตุบรรจุทบี่ ริเวณพระนำภี
88
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
.indd 88
06/06/61 06:52:59 PM
ยอดที่ 2 มีชอื่ ว่ายอดเขาหญิง (พนมสรัย) สูงระดับ 228 เมตร เป็นที่ตั้งของวัดพนมศิลาราม ทางวัดได้ จั ด สร้ า งพระพุ ท ธรู ป องค์ ข นาดกลางประดิ ษ ฐาน บนยอดเขา และยังมี สระน�้าโบราณ 2 สระที่เชื่อว่า เป็นที่อยู่ของ เต่าศักดิ์สิทธิ์ ยอดที่ 3 มีชอื่ ว่าเขาคอก (พนมกรอล) พุทธสมาคม จังหวัดสุรินทร์ได้จัดสร้างศาลาอัฏฐะมุข เป็นอนุสรณ์ ฉลองครบรอบ 200 ปี แห่งการสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ เพือ่ ประดิษฐานพระพุทธบาทจ�าลอง จากยอดเขาชาย มาประดิษฐานไว้ในศาลา และใกล้ๆ กันนั้นมีสถูป ที่เก็บ อัฐิธาตุพระราชวุฒาจารย์ หรือหลวงปู่ดูลย์ อตุโล พระเถรานุเถระฝ่ายวิปัสสนา วัดพนมศิลาราม และมีตงั้ ศาลเจ้าแม่กวนอิม ให้ประชาชนได้เคารพบูชา ในอดีตบรรพบุรุษชาวสุรินทร์ถือว่าเขาพนมสวาย เป็นสถานทีแ่ สวงบุญ โดยการเดินทางไปขึน้ ยอดเขาใน วันขึ้น 1 ค�่า เดือน 5 ซึ่งเป็นวันหยุดงานตามประเพณี ของชาวจังหวัดสุรินทร์มาแต่โบราณกาล และจวบจน ปัจจุบันชาวสุรินทร์ยังถือปฏิบัติเรื่อยมา ผู้ที่มาเยือน เขาพนมสวายจะได้สักการะ9 สิ่งศักดิ์สิทธิ์คู่บ้าน คู่เมืองเพื่อความเป็นสิริมงคล คือ พระใหญ่ หรือ พระพุทธ สุรินทรมงคล, รอยพระพุทธบาทจ�าลอง , อัฐหิ ลวงปูด่ ลุ อตุโล, พระพุทธรูปองค์ดา� , หลวงปูส่ วน, ปราสาทหิ น พนมสวาย, ศาลเจ้ า แม่ ก วนอิ ม , เต่าศักดิ์สิทธิ์ และสระน�้าศักดิ์สิทธิ์
SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 89
89
06/06/61 06:53:09 PM
Chang Resort ช้าง รีสอร์ท
เชิญทุกท่าน เที่ยว พัก กิน ถิ่นอีสาน พลาดไม่ได้กับ การพักผ่อนที่แสนสะดวก สบาย บรรยากาศดี บริการเป็นกันเอง กับ ช้าง รีสอร์ท (Chang Resort) “ บริการที่ประทับใจ คือ ความสุขของเรา ” 60/1 ม. 2 ต.นอกเมือง อ.เมือง จ.สุรินทร์ 32000 โทร 044-531434 การเดินทาง : จากห้างบิก๊ ซี สุรนิ ทร์ เข้าถนนสุรนิ ทร์ - สังขะ เลยห้างแม็คโครมาจนถึง หน้าวัดใหม่ศรีมากทอง มีป้ายช้างรีสอร์ทเลี้ยวช้ายเข้าซอยอยู่สุดซอย ด้านขวามือ 90
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
.indd 90
6/7/2018 5:13:59 PM
องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุรินทร์ องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุรนิ ทร์ ได้จดั ท�าโครงการ โลกของช้าง (Elephant world) โดยพัฒนาต่อยอดมาจากโครงการน�าช้างคืนถิ่น เพือ่ พัฒนาสุรนิ ทร์บา้ นเกิด ซึง่ นอกเหนือจากมี วัตถุประสงค์เพือ่ แก้ไข ปัญหาช้างเร่ร่อน ให้กลับมาอยู่ในถิ่นฐาน บ้านเกิดอย่างมีความสุข และจัดกิจกรรมส่งเสริม การท่องเที่ยวเชิง วัฒนธรรม สื่อให้นัก ท่องเที่ยวได้เห็นถึงวิถีชีวิตความผูกพันระหว่าง
นายกิติเมศวร์ รุ่งธนิเกียรติ นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสุรินทร์
พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรี ได้เดินทางตรวจราชการจังหวัดสุรินทร์จังหวัดบุรีรัมย์ และประชุม คณะรัฐมนตรีอย่างเป็นทางการนอกสถานที่ ครั้ง ที่ 3/2561 ณ จังหวัดบุรีรัมย์ ในระหว่างวันที่ 7 - 8 พฤษภาคม 2561 โดยช่วงเช้า ของวันที่ 7 พฤษภาคม 2561 นายกรัฐมนตรีได้ลงพืน้ ทีจ่ งั หวัดสุรนิ ทร์ เพื่ อ ตรวจเยี่ ย มพื้ น ที่ บ ริ เ วณจุ ด ผ่ า นแดนถาวรช่ อ งจอม ต.ด่ า น อ.กาบเชิง จ.สุรนิ ทร์ หลังจากนัน้ ในเวลา10.30 น. ได้เยีย่ มชมหมูบ่ า้ น ทอผ้าไหมยกทองโบราณบ้านท่าสว่าง อ.เมือง จ.สุรินทร์ โดยมี นายกิติเมศวร์ รุ่งธนิเกียรติ นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสุรินทร์ พร้อมด้วยหัวหน้าส่วนราชการและประชาชนรอต้อนรับ ในการนี้ ได้ มอบ พระฉายาลักษณ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม ราช กุมารี เสด็จเยือน ศูนย์คชศึกษา ปี 2550 ให้กับพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี นอกจากนี้องค์การบริหารส่วนจังหวัด สุรนิ ทร์ยงั ได้นา� พลายทองค�า และพลายทองแท่ง ช้างแฝดใน โครงการ โลกของช้าง (Elephant World) มาร่วมต้อนรับท่าน นายกรัฐมนตรี และคณะด้วย
และเพื่อรองรับการกลับคืนถิ่นของช้างและควาญช้างแล้ว ยัง เป็นการ พัฒนาพืน้ ทีป่ า่ สงวนแห่งชาติปา่ ภูดนิ ให้เป็นแหล่งท่องเทีย่ ว เกี่ยวกับ ช้างอย่างครบวงจรควบคู่กับการอนุรักษ์ช้าง ซึ่งมีเพียง แห่งเดียวใน โลกทีม่ ชี า้ งมากทีส่ ดุ โดยใช้พนื้ ทีใ่ นเขตป่าสงวนแห่งชาติ ป่าภูดิน ต�าบลกระโพ อ�าเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ (ศูนย์คชศึกษา) เป็นพืน้ ที่ ด�าเนินโครงการ ซึง่ ปัจจุบนั มีกจิ กรรมส่งเสริมการท่องเทีย่ ว อาทิเช่น การจัดการแสดงความสามารถของช้าง 2 ช่วงเวลา คือ ช่วงเช้า เวลา 10.00 น. และช่วงบ่าย เวลา 14.00 น. หากมีนักท่อง เที่ยวมาเที่ยวชม จ�านวนมากก็จัดการแสดงความสามารถของช้าง 3 ช่วงเวลา คือ ช่วง เช้า เวลา 10.00 น. 12.00 น และช่วงเวลา 14.00 น., แท็กซีช่ า้ ง, นัง่ ช้างท่องไพร, โรงช้างส�าคัญ และอยูร่ ะหว่างการด�าเนิน การก่อสร้าง เช่น อาคารพิพิธภัณฑ์ช้าง, หอชมวิว, ลานแสดงช้าง
โครงการโลกของช้าง (Elephant World)
SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
..indd 91
91
6/7/2018 5:29:13 PM
องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุรินทร์ “เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นหลักในการพัฒนาคุณภาพชีวิต การท่องเที่ยว และสิ่งแวดล้อมภายใต้หลักธรรมาภิบาล” วิสัยทัศน์ นายกิตเิ มศวร์ รุง่ ธนิเกียรติ นายกองค์การ บริหารส่วนจังหวัดสุรินทร์ องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นจั ง หวั ด สุ ริ น ทร์ ตั้งอยู่บน ถ.หลักเมือง อ.เมือง จ.สุรินทร์ เป็นนิติบุคคลและเป็นราชการส่วนท้องถิ่น ซึ่งเป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบ หนึ่ง มีอยู่ในทุกจังหวัด (ยกเว้นกรุงเทพฯ) จังหวัดละ 1 แห่ง ประกอบด้วยสภาองค์ การบริหาร ส่วนจังหวัดและนายกองค์การ
92
..indd 92
บริหารส่วนจังหวัดมีอา� นาจและหน้าทีใ่ นเขต จังหวัด นั้นๆ และเป็นองค์กรที่ประชาชน ในท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการปกครอง และ สามารถตรวจสอบการบริหารงานได้ด้วย ล�าดับความเป็นมามีดังต่อไปนี้ 1. ราชการส่ ว นท้ อ งถิ่ น หรื อ องค์ ก ร ปกครองส่วนท้องถิน่ ทีถ่ อื ก�าเนิดมาในรัชสมัย พระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5) เรียกว่า สุขาภิบาล มีอยู่ 2 แบบคือ
1.1 สุขาภิบาลกรุงเทพฯ จัดตั้งขึ้นโดย “พระราชก�าหนด สุขาภิบาลกรุงเทพฯ ร.ศ. 116” (พ.ศ.2440) 1.2 สุขาภิบาลตามหัวเมือง จัดตัง้ ขึน้ โดย “พระราชบัญญัตจิ ดั การสุขาภิบาล ร.ศ.127” (พ.ศ.2451) ทัง้ นี้ ปรากฏตามส�าเนาพระราช หัตถเลขาของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยูห่ วั 2. ได้จัดให้มีสภาจังหวัดขึ้นเป็นครั้งแรก
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
6/6/2018 1:34:02 AM
ตามความใน “พระราชบัญญัติจัดระเบียบ เทศบาล พ.ศ.2476” สภาจังหวัดท�าหน้าที่ เป็นสภาที่ปรึกษาแก่กรมการจังหวัด และ ยังมิได้มฐี านะเป็นนิตบิ คุ คลทีแ่ ยกจากจังหวัด ซึ่งเป็นราชการส่วนภูมิภาค 3. ได้มีการประกาศใช้ “พระราชบัญญัติ สภาจังหวัด พ.ศ.2481” ซึง่ มีการแก้ไขเพิม่ เติม ถึงฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2487) ที่ต้องการจะแยก กฎหมายที่เกี่ยวกับสภาจังหวัดไว้โดยเฉพาะ แต่สภาจังหวัดยังท�าหน้าทีเ่ ป็นสภา ทีป่ รึกษา ของกรมการจังหวัดเช่นเดิม 4. ได้ มี ป ระกาศใช้ “พระราชบั ญ ญั ติ ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2495” ก�าหนดให้ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นหัวหน้า ปกครองบั ง คั บ บั ญ ชาและรั บ ผิ ด ชอบการ
บริหารราชการในจังหวัด ท�าให้อ�านาจของ กรมการจังหวัดเป็นอ�านาจของผู้ว่าราชการ จังหวัด ดังนั้น สภาจังหวัดยังท�าหน้าที่เป็น สภาที่ปรึกษาของผู้ว่าราชการจังหวัด 5. “องค์การบริหารส่วนจังหวัด” เกิดขึ้น ตามความใน “พระราชบั ญ ญั ติ ร ะเบี ย บ บริหารราชการ ส่วนจังหวัด พ.ศ. 2498” ซึ่งมีการแก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2523) ก�าหนดให้องค์การบริหารส่วนจังหวัด มี ฐ านะเป็ น นิ ติ บุ ค คลที่ แ ยกจากจั ง หวั ด ซึ่งเป็นราชการส่วนภูมิภาค และประกาศ คณะปฏิวตั ฉิ บับที่ 218 ลงวันที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2515 ซึง่ เป็นกฎหมายแม่บทว่าด้วยการ จัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน ก�าหนดให้ องค์การบริหารส่วนจังหวัดมีฐานะเป็นหน่วย
การปกครองท้องถิ่นรูปแบบ พันธกิจ 1. ส่งเสริมคุณภาพชีวิตประชาชนตาม หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 2. ส่ ง เสริ ม และพั ฒ นาอาชี พ ด้ า น การเกษตรและผลิตภัณฑ์ชุมชน 3. ส่ ง เสริ ม และพั ฒนาการท่ อ งเที่ ย ว วิถีสุรินทร์ 4. ส่งเสริมการบริหารทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์ เ ป็ น จั ง หวั ด ที่ มี ป ระวั ติ ความเป็ น มาอั น ยาวนาน แต่ ไ ม่ ป รากฏ หลักฐานที่แน่นอนว่ามีประวัติความเป็นมา อย่ า งไร อาศั ย เพี ย งข้ อ สั น นิ ษ ฐานของ นักประวัติศาสตร์ นักโบราณคดี ตลอดจน
SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
..indd 93
93
6/6/2018 1:34:31 AM
ค�ำบอกเล่ำของผู้สูงอำยุที่เล่ำต่อๆ กันมำ โดยเชื่ อ กั น ว่ ำ เมื อ งสุ ริ น ทร์ ถู ก สร้ ำ งขึ้ น เมื่อประมำณ 2,000 ปี ล่วงมำแล้ว ใน สมัยทีพ่ วกขอมมีอำ� นำจอยูบ่ ริเวณนี้ เมือ่ ขอม เสื่อมอ�ำนำจลงเมืองสุรินทร์ได้ถูกทิ้งร้ำงจน กลำยเป็นป่ำดงอยู่นำน จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2306 ปรำกฏหลักฐำนว่ำหลวงสุรนิ ทร์ภกั ดี (เชียงปุม) ซึ่งเดิมเป็นหัวหน้ำหมู่บ้ำนเมืองที่ ได้ ข อให้ เ จ้ ำ เมื อ งพิ ม ำย กรำบบั ง คมทู ล ขอพระกรุ ณ ำโปรดเกล้ ำ ฯ จำก สมเด็ จ พระเจ้าอยู่หัวพระที่นั่งสุริยาสน์อมรินทร์ ย้ำยหมูบ่ ำ้ นจำกบ้ำนเมืองที มำตัง้ อยูบ่ ริเวณ บ้ำนคูประทำย บริเวณซึ่งเป็นที่ตั้ง เมือง สุรินทร์ในปัจจุบันนี้ เนื่องจำกเห็นว่ำเป็น บริเวณที่มีชัยภูมิเหมำะสม มีก�ำแพงค่ำยคู ล้อมรอบ 2 ชั้น มีน�้ำอุดมสมบูรณ์เหมำะ
94
..indd 94
แก่กำรประกอบอำชีพและอยู่อำศัยต่อมำ หลวงสุ ริ น ทร์ ภั ก ดี ไ ด้ ก ระท� ำ ควำมดี ค วำม ชอบเป็นที่โปรดปรำน จึงได้ทรงพระกรุณำ โปรดเกล้ำฯ ให้ยกบ้ำนคูประทำยเป็น “เมือง ประทำยสมันต์” และเลื่อนบรรดำศักดิ์หลวง สุรินทร์ภักดี เป็นพระสุรินทร์ภักดีศรีณรงค์ จำงวำงให้เป็นเจ้ำเมืองปกครอง ในปี พ.ศ. 2329 พระบาทสมเด็ จ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ได้ทรง พระกรุณำโปรดเกล้ำฯ ให้เปลี่ยนชื่อ “เมือง ประทายสมันต์” เป็น “เมืองสุรินทร์” ตำม สร้อยบรรดำศักดิ์ของเจ้ำเมือง จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์ ตั้ ง อยู ่ ภ ำคตะวั น ออก เฉี ย งเหนื อ ตอนใต้ ห่ ำ งจำกกรุ ง เทพฯ ประมำณ 420 กิโลเมตร โดยทำงรถยนต์ และ 420 กิโลเมตร โดยทำงรถไฟ มีพื้นที่
ประมำณ 8,124.06 ตำรำงกิโลเมตร หรือ ประมำณ 5,077,535 ไร่ มี ป ระชำกร ประมำณ 1,388,194 การปกครอง มี 17 อ�ำเภอ 158 ต�ำบล 2,120 หมู ่ บ ้ ำ น 364,389 ครั ว เรื อ น องค์กำรบริหำรส่วนจังหวัด 1 แห่ง เทศบำล เมือง 1 แห่ง เทศบำลต�ำบล 15 แห่ง องค์กำร บริหำรส่วนต�ำบล 156 แห่ง องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นจั ง หวั ด สุ ริ น ทร์ สนับสนุนปราชญ์ชาวบ้าน ปรำชญ์ชำวบ้ำนเป็นควำมรู้ท่ีตกทอดมำ จำกบรรพบุรุษ เกิดจำกกระบวนกำรเรียนรู้ ปรับตัว ผ่ำนประสบกำรณ์ที่สั่งสม พัฒนำ และสืบทอดกันต่อๆ มำเพื่อใช้แก้ปัญหำ ที่เกิดขึ้นในกำรด�ำรงชีวิตได้อย่ำงมีควำมสุข ด้วยหลักกำรแนวคิดและวิถีชีวิตของปรำชญ์
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
6/6/2018 1:35:15 AM
เป็ น สิ่ ง ที่ ค นในยุ ค สมั ย ปั จ จุ บั น นี้ ควรได้ เรียนรู้ และนําไปเป็นแบบอย่างในการดํารง ชีวิต การนําภูมิปัญญาจากปราชญ์ชาวบ้าน มาประยุกต์ใช้ในการทํางาน ซึง่ สามารถนําไป ใช้ปฏิบัติในระดับบุคคลและชุมชนท้องถิ่น ได้เป็นอย่างดี ความรู ้ ค วามสามารถเหล่ า นี้ เ รี ย กว่ า “ภูมิปัญญาท้องถิ่น” ปั จจุ บัน องค์ก ารบริห ารส่วนจังหวัด สุรินทร์ได้ด�าเนินการจัดกิจกรรม ส่งเสริม การท่องเที่ยวมากมาย อาทิ จดทะเบียนสมรสบนหลังช้าง ทุ ก วั น ที่ 14 กุ ม ภาพั น ธ์ ของทุ ก ปี องค์การบริหารส่วนจังหวัด สุรินทร์ขอเชิญ คูร่ กั และคูส่ มรสร่วมพิธจี ดทะเบียนสมรสบน หลังช้าง หนึง่ เดียวในโลก คูร่ กั และคูส่ มรสทุก
คู่จะได้ร่วมพิธีแต่งงานแบบชาวกูยโบราณ อันศักดิ์สิทธิ์ที่เรียกว่า พิธีซัตเต พร้อมร่วม บันทึกภาพประวัติศาสตร์การจดทะเบียน สมรสบนหลังช้าง ยิ่งใหญ่หนึ่งเดียวในโลก วันช้างไทย 13 มีนาคม ของทุกปี ร่วมตระหนักใน คุณค่าช้างไทย ทีม่ คี ณ ุ ปู การต่อแผ่นดิน ได้จดั วันช้างไทย จัดศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้าน ร่วม ตักบาตรกับเหล่าช้างเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้ หมอช้าง ควาญช้าง และช้างที่ล่วงลับไปแล้ว และจัดแสดงช้างอย่างยิ่งใหญ่อลังการ งานประเพณีบวชนาคช้างประจ�าปี องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุรนิ ทร์ ขอเชิญ ชวนมาในงานประเพณีบวชนาคช้าง ตรงกับ วันขึ้น 15 คํ่า เดือนหก ของทุกปี ที่ศูนย์คช ศึกษา หมูบ่ า้ นช้างบ้านตากลาง ตําบลกระโพ
อําเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ ใช้ช้างเป็น พาหนะแห่นาคไปบวช ขอเชิญผู้สนใจสมัคร บวชและร่วมเป็นเจ้าภาพบวชนาคช้างได้ท่ี องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุรินทร์ งานต้อนรับและเลี้ยงอาหารช้าง จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์ องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว น จังหวัดสุรินทร์ ขอเชิญร่วมงานมหัศจรรย์ ต้อนรับและเลี้ยงช้างที่ยิ่งใหญ่ของโลก....ใน ห้วงเดือน พฤศจิกายน ชมการประกวดรถ อาหารช้างที่จัดยิ่งใหญ่ตระการตา และโต๊ะ อาหารช้าง ร่วมเลี้ยงอาหารช้าง ณ บริเวณ อนุสาวรียพ์ ระยาสุรนิ ทร์ภกั ดีศรีณรงค์จางวาง ด้วยช้างนับร้อย
SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
..indd 95
95
6/7/2018 5:31:37 PM
W O R K LI F E
บันทึกเส้นทางพบเทศบาลเมือง
เทศบาลเมืองสุรินทร์
นายสมเมือง ตัณฑเลขา รองนายกเทศมนตรี รักษาราชการแทน นายกเทศมนตรีเมืองสุรินทร์
วิสัยทัศน์ “เมืองสุรินทร์น่าอยู่ สร้างความรู้คู่คุณธรรม น้อมน�าเศรษฐกิจพอเพียง รับฟังเสียงประชาชน” ปัจจุบัน นายสมเมือง ตัณฑเลขา รองนายกเทศมนตรี รักษา ราชการแทน นายกเทศมนตรี เ มื อ งสุ ริ น ทร์ บริ ห ารงานภายใต้ ยุทธศาสตร์การพัฒนาเทศบาลเมืองสุรินทร์ 3 ด้าน คือ ยุ ท ธศาสตร์ ที่ 1 ด้ า นการพั ฒนาคุ ณ ภาพชี วิ ต สิ่ ง แวดล้ อ ม และโครงสร้างพื้นฐาน ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านการพัฒนาและส่งเสริมการจัดการศึกษา และส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น ยุทธศาสตร์ที่ 3 ด้านการพัฒนาองค์กร พัฒนาบุคลากรและ การมีส่วนร่วมของประชาชน ในปี 2560 – 2561 ผลงานทีโ่ ดดเด่น ท�าให้ประสบผลส�าเร็จใน การให้บริการแก่พี่น้องประชาชนในเขตเทศบาลเมืองสุรินทร์ ดังนี้
งานสักการะและสมโภชพระพุทธสุรินทรภักดีศรีณรงค์จางวาง เทศบาลเมืองสุรินทร์จัดเป็นประจ�าทุกวันที่ 15 มกราคมของทุกปี และใน ปี 2561 เป็นการจัดงานครบรอบปีที่ 19 พิธีสวดเสริม มงคลชีวิต พระพุทธสุรินทรภักดีฯ จัดสร้างเมื่อปีพ.ศ.2541 และ เริ่มจัดงาน “ฉลองสืบศรัทธาพระยาสุรินทรภักดี” ครั้งแรก เป็นที่ สักการะบูชาและยึดเหนีย่ วทางจิตใจ ร�าลึกถึงบรรพบุรษุ “พระยาสุรนิ ทรภักดีศรีณรงค์จางวาง” เจ้าเมืองผู้สร้างเมืองสุรินทร์ และอัญเชิญ มาประดิษฐาน ณ วิหารหน้าส�านักงานเทศบาลเมืองสุรินทร์ เมื่อ 15 มกราคม 2542 พร้อมกันนี้ได้มีการจัดตั้ง มูลนิธิพระยาสุรินทรภักดี ศรีณรงค์จางวางขึ้น มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมงานประเพณีและ วัฒนธรรมของท้องถิ่น จัดหาทุนการศึกษาช่วยเหลือเด็กนักเรียน 96
.
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
.indd 96
6/7/2018 12:30:22 AM
ที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ได้ศึกษาอย่างต่อเนื่อง พัฒนาประชากรในท้องถิ่นให้มีคุณภาพและ ประกอบอาชีพเป็นคนดีของสังคม ส่งเสริม และสร้ า งความร่ ว มมื อ ให้ ค นในสั ง คมทุ ก ระดั บ ได้ ช ่ ว ยเหลื อ เกื้ อ กู ล ซึ่ ง กั น และ กัน ด�าเนินการเพื่อสาธารณประโยชน์ หรือ ร่วมมือกับองค์กรการกุศลอืน่ ๆ และ จัดงาน ฉลองสื บ ศรั ท ธาพระยาสุ ริ น ทรภั ก ดี ศ รี ณรงค์จางวาง และการร�าบวงสรวง ทุกวันที่ 11 เมษายนของทุกปี ส�าหรับปีพ.ศ. 2561 จั ด เป็ น ปี ที่ 5 โดยมี หั ว หน้ า ส่ ว นราชการ พ่อค้า ประชาชนชาวจังหวัดสุรินทร์จากทุก ภาคส่วน ร่วมงาน 4,000 คน
งานสมโภชหลั ก เมื อ งสุ ริ น ทร์ พิ ธี ก ่ อ เจดีย์ทราย ยกธงตุงเพื่อความเป็นสิริมงคล พิธีสงฆ์เจริญพระพุทธมนต์ พิธีบวงสรวง หลั ก เมื อ งสุ ริ น ทร์ และการแสดงศิ ล ป วัฒนธรรมพื้นบ้านสมโภช งานมหาสงกรานต์ จั ด พิ ธี ท� า บุ ญ ตักบาตรเนือ่ งในวันขึน้ ปีใหม่ไทยแด่พระสงฆ์ 100 รูป หัวหน้าส่วนราชการ และพี่น้อง ประชาชน ร่วมท�าบุญตักบาตร และสรงน�้า พระพุ ท ธรู ป ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ โดยมี พี่ น ้ อ งจาก ประเทศลาว กัมพูชา และเวียดนาม ร่วมพิธี รวมทั้ ง จั ด กิ จ กรรมเนื่ อ งในวั น ผู ้ สู ง อายุ แห่งชาติ และ จัดการประกวดเทพีสงกรานต์ เปิดถนน “แคแจ๊ด....สะเร็น” โซนนิ่งเล่น
น�้ า สงกรานต์ ที่ ห น้ า ส� า นั ก งานเทศบาล เมื อ งสุ ริ น ทร์ โดยท� า เป็ น อุ โ มงค์ น�้ า เพื่ อ ให้ ป ระชาชนเดิ น เล่ น น�้ า สงกรานต์ อ ย่ า ง มีความสุข งานวั น เทศบาล จั ด ขึ้ น ทุ ก วั น ที่ 24 เมษายนของทุกปี ซึ่งเป็นวันเทศบาล โดยจัด พิธีสักการะสิ่งศักดิ์สิทธิ์ (ศาลพระภูมิ ศาล ตายาย และพระพุทธสุรินทรภักดีศรีณรงค์ จางวาง) และประกอบพิธที างศาสนา พระสงฆ์ เจริญพระพุทธมนต์ ถวายภัตตาหารเพล ณ ส�านักงานเทศบาลเมืองสุรินทร์ ในภาคบ่าย จั ด การแข่ ง ขั น กี ฬ าเพื่ อ เชื่ อ สั ม พั น ธไมตรี ระหว่างหน่วยงานของเทศบาลเมืองสุรินทร์ งานประเพณีแซนโฎนตา บูชาบรรพบุรษุ เป็นงานทีจ่ ดั ขึน้ เพือ่ อนุรกั ษ์ประเพณีของชาว สุ ริ น ทร์ สร้ า งจิ ต ส� า นึ ก ให้ เ ด็ ก เยาวชน ประชาชนในจังหวัดสุรินทร์มีความรักความ สามั ค คี แ ละได้ แ สดงออกถึ ง ความกตั ญ ญู
กตเวทีตอ่ ผูม้ พี ระคุณและบรรพบุรษุ ทีล่ ว่ งลับ ไปแล้ว จัดการประกวดข้าวต้มมัด ข้าวต้มใบ มะพร้ า ว และข้ า วต้ ม ด่ า ง เมื่ อวั น ที่ 15 กันยายน 2560 มีประชาชนจาก 32 ชุมชน ร่วมงาน งานมหกรรมแห่เทียนพรรษา ในส่วนที่ เทศบาลเมื อ งสุ ริ น ทร์ รั บ ผิ ด ชอบคื อ จั ด ประกวดต้ น เที ย นพรรษา และจั ด งานแห่ เทียนพรรษา ในวันที่ 6 - 7 กรกฎาคม 2560 เพื่อเป็นการสืบทอดประเพณีอันดีงามของ ไทยให้ ค งอยู ่ สื บ ไป โดยการประกวดต้ น เทียนพรรษา จาก 12 คุ้มวัด พระสงฆ์เจริญ พระพุทธมนต์ และการแสดงมหรสพสมโภช อีกทั้ง การประกวดขบวนแห่เทียนพรรษา จาก 12 คุม้ วัด ทีป่ ระดับตกแต่งอย่างสวยงาม รวมทั้งขบวนฟ้อนร�าศิลปวัฒนธรรม 3 ชน เผ่าของชาวจังหวัดสุรินทร์ (เขมร ส่วย ลาว) ทีแ่ ต่งกายอย่างสวยงาม พร้อมกันนี้ องค์การ
SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
.
.indd 97
97
6/7/2018 12:31:09 AM
บริหารส่วนจังหวัดสุรินทร์ ได้น�าขบวนแห่ เทียนพรรษา และขบวนแห่ช้างที่ประดับ ตกแต่ ง สวยงามหลากสี สั น อย่ า งยิ่ ง ใหญ่ จ�านวน 66 เชือก มาร่วมในการจัดงาน ครั้งนี้ด้วย ปรั บ ปรุ ง ผิ ว จราจรเป็ น แอสฟั ล ท์ ติ ก คอนกรีต และปรับปรุงบ่อพัก (ยกระดับ บ่อพัก) เพื่อให้เกิดความสะดวก ปลอดภัย ในการสั ญ จรของพี่ น ้ อ งประชาชนในเขต เทศบาลเมืองสุรินทร์ ชุ ม ชนเข้ ม แข็ ง เอาชนะยาเสพติ ด ณ ชุมชนเทศบาลอนุสรณ์ และ ชุมชนหนองบัว เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันในสถาบันครอบครัวให้มี ความเข้มแข็ง ป้องกันปัญหายาเสพติดทีเ่ กิด ขึ้นในชุมชน เป็นเจ้าภาพจัดสัมมนาเครือข่ายทาง วิชาการ “นครชัยบุรินทร์” ระดับกลุ่มการ ศึกษาท้องถิ่นที่ 14 ตอนล่าง 2 “นครชัย บุรินทร์” ประจ�าปี 2560 ประกอบด้วย นครราชสีมา ชัยภูมิ บุรีรัมย์ และสุรินทร์ โรงเรียนและชุมชนปลอดลูกน�้ายุงลาย แบ่งปันประเภทโรงเรียน และประเภทชุมชน เพือ่ ให้ชมุ ชนและโรงเรียนเกิดความตระหนัก พร้ อ มทั้ ง มี ส ่ ว นร่ ว มในการป้ อ งกั น โรคไข้ เลือดออก
98
.
การประกวดหน้าบ้านน่ามอง เพื่อสร้าง จิตส�านึกในการรักษาความสะอาดบ้านเรือน ที่อยู่อาศัย ปรับปรุงสภาพแวดล้อม ลดการ เกิดโรคระบาดต่างๆ มอบแว่นสายตาตามโครงการตรวจคัด กรองโรคต้อกระจก โดยการตรวจคัดกรอง และค้นหาผู้ป่วยโรคต้อกระจก เพื่อให้ได้รับ การรักษาอย่างทันท่วงที และแก้ไขปัญหาผูม้ ี ภาวะสายตาผิ ด ปกติ และท� า แว่ น สายตา พร้อมเลนส์ส่วนบุคคลแก่ประชาชน จ�านวน 3,000 คน โดยไม่คิดมูลค่า จากการตรวจ คัดกรองดังกล่าวมีผู้มีปัญหาสายตาผิดปกติ และต้องตัดแว่นสายตาจ�านวน 1,200 คน พร้อมท�าพิธีมอบ มอบชุดอุปกรณ์แปรงฟันแก่นักเรียน โรงเรี ย นในสั ง กั ด เทศบาลเมื อ งสุ ริ น ทร์ โรงเรี ย นอนุ บ าลรั ตนศึ ก ษา และโรงเรี ย น สุรินทรศึกษา เพื่อส่งเสริมให้เด็กนักเรียน รักการแปรงฟันอย่างถูกวิธี กิจกรรมการใช้จักรยานเพื่อสุขภาพ ปั่น สุขใจ เคาะระฆังพันใบ กราบไหว้สงิ่ ศักดิส์ ทิ ธิ์ @ เขาสวาย เส้นทางสุรินทร์ – เขาสวาย ระยะทาง 53 กิโลเมตร และ อบรมการใช้ จักรยานในชีวติ ประจ�าวัน ให้ความรูเ้ รือ่ งการ ขับขี่จักรยานที่ถูกวิธี กฎจราจร และความ ปลอดภัยในการขับขี่จักรยาน ตามโครงการ
ส่ ง เสริ ม การใช้ จั ก รยานในชี วิ ต ประจ� า วั น (เมืองปัน่ ได้ เมืองปัน่ ดี) เทศบาลเมืองสุรนิ ทร์ กิจกรรม Surin Car Free Day โดย เทศบาลเมืองสุรนิ ทร์ ร่วมกับ ชมรมจักรยาน เพื่อสุขภาพเทศบาลเมืองสุรินทร์ สมาคม จักรยานเพื่อสุขภาพไทย รณรงค์ลดการใช้ รถยนต์ ส ่ ว นตั ว และส่ ง เสริ ม ให้ มี ก ารใช้ จั ก รยานเป็ น ยานพาหนะในการเดิ น ทาง สมาคมจั ก รยานเพื่ อ สุ ข ภาพไทยได้ จั ด กิ จ กรรมหารายได้ เ พื่ อ สมทบทุ น สร้ า ง โรงพยาบาลรามาธิบดีแห่งใหม่ ณ จังหวัด สมุทรปราการ ด้วย ตรวจจุดรับน�้า (แก้มลิง) รองรับปริมาณ น�้ า ช่ ว งฤดู ฝ น ออกตรวจจุ ด รั บ น�้ า ตามที่ ต่างๆ ซึ่งจัดท�าไว้เป็นแก้มลิง ส�าหรับรองรับ การระบายน�้าในช่วงฤดูฝน ได้แก่ 1. คูเมืองบล็อกที่ 7 ชุมชนเทศบาลอนุสรณ์ 2. สระหนองบัวเฉลิมพระเกียรติ กิจกรรมโรงเรียนผู้สูงอายุเทศบาลเมือง สุ ริ น ทร์ จั ด ตั้ ง ขึ้ น เพื่ อ ให้ ผู ้ สู ง วั ย ได้ ม าท� า กิ จ กรรมร่ ว มกั น ทุ ก วั น อั ง คาร โดยแต่ ล ะ สั ป ดาห์ จ ะมี กิ จ กรรมพบปะแลกเปลี่ ย น เรียนรู้ และแสดงออกในด้านต่างๆ หมุนเวียน กันไป กิ จ กรรมจิ ต อาสา “เราท� า ความดี ด้ ว ยหั ว ใจ” ร่ ว มใจพั ฒ นาเทศบาลเมื อ ง สุ ริ น ทร์ สื บ สานพระราชปณิ ธ านของ สมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว มหาวชิ ร าลงกรณ บดิ น ทรเทพยวรางกู ร และเป็ น การเทิ ด พระเกียรติเนือ่ งในโอกาสเฉลิมพระชนมพรรษา อีกทั้งเป็นนโยบาย “ประเทศไทยไร้ขยะ” และ นโยบาย “จังหวัดสะอาด” ของจังหวัด
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
.indd 98
6/7/2018 12:31:23 AM
สุรินทร์ โดยเชิญชวนจิตอาสาร่วมกิจกรรม ท� า ความดี พั ฒนารั ก ษาความสะอาดถนน และพื้ น ที่ ส าธารณะในเขตเทศบาลเมื อ ง สุ ริ น ทร์ เป็ น ประจ� า ทุ ก สั ป ดาห์ ใ นวั น พุ ธ เวลา 14.00 น. เป็นต้นไป ร่วมจัดระเบียบพาดสายสื่อสาร ส่งเจ้า หน้าที่ร่วม Kick Off “จัดระเบียบสายและ อุปกรณ์สื่อสารบนเสาไฟฟ้าในพื้นที่จังหวัด สุรินทร์” ถนนเทศบาล 1 ตั้งแต่ห้าแยกหลัง โรงพยาบาลสุรินทร์ ถึงสี่แยกวัดหนองบัว (ฝั ่ ง ทิ ศ เหนื อ ) เพื่ อ ปรั บ ปรุ ง ภู มิ ทั ศ น์ ใ ห้ สวยงาม บูรณาการร่วมจัดระเบียบทางเท้า ร่วม กับมณฑลทหารบกที่ 25 และต�ารวจภูธร จังหวัดสุรินทร์ จัดระเบียบทางเท้า ที่ถนน สายหลักในเขตเมืองสุรินทร์ เพื่อความเป็น ระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง การบริหารจัดการขยะมูลฝอย ก่อสร้าง สถานีขนถ่ายขยะมูลฝอย โดยการบีบอัดขยะ เข้าตูค้ อนเทนเนอร์ และขนส่งไปก�าจัดทีศ่ นู ย์ ก�าจัดขยะมูลฝอยเทศบาลเมืองวารินช�าราบ จังหวัดอุบลราชธานี ทุกวันๆ ละ 3 เที่ยว ประมาณ 42 ตั น /วั น โดยเป้ า หมายจะ ลดปริมาณขยะให้เหลือ 20 ต้น/วัน
ออกบริการประจ�าจุด เพื่อเตรียมพร้อม ช่ ว ยเหลื อ ระงั บ อั ค คี ภั ย จั ด รถดั บ เพลิ ง พร้อมพนักงานดับเพลิง ออกประจ�าจุดนอก สถานี ดั บ เพลิ ง ที่ ห ลั ง สถานี ร ถไฟ และ อนุ ส าวรี ย ์ พ ระยาสุ ริ น ทรภั ก ดี ศ รี ณ รงค์ จางวาง เป็นประจ�าทุกวัน เวลา 21.00 น. ถึง 05.00 น. พ่นสารเคมีกา� จัดยุงป้องกันโรคไข้เลือด ออก ในช่วงเดือนเมษายน – มิถุนายน ของ ทุกปี นอกเวลาราชการ ในชุมชนต่างๆ ทั้ง 32 ชุมชน วัดและโรงเรียนในเขตเทศบาล เมืองสุรินทร์ เพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออก และขอความร่วมมือให้ดูแลสภาพแวดล้อม ของบ้านเรือน จั ด ตั้ ง ศู น ย์ บ ริ ก ารประชาชนในช่ ว ง เทศกาลปีใหม่ และเทศกาลสงกรานต์ โดย สถานีขนส่งผูโ้ ดยสารจังหวัดสุรนิ ทร์ เทศบาล เมืองสุรินทร์ ได้จัดตั้งศูนย์บริการประชาชน ช่วงเทศกาล ปีใหม่และสงกรานต์ เป็นเวลา 7 วัน โดยมีน�้าดื่ม อาหารว่าง และเครื่องดื่ม ไว้ส�าหรับบริการประชาชนผู้เดินทางด้วย พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุน หลั ก ประกั น สุ ข ภาพ เพื่ อ ให้ ก ารบริ ห าร กองทุนฯ มีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์ สูงสุด จึงจัดการอบรมพัฒนาศักยภาพคณะ กรรมการ คณะอนุกรรมการกองทุน และ การดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงระยะยาว (Long Term Care) เพือ่ ให้ความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในการบริหารจัดการกองทุนระดับ ท้องถิ่นหรือพื้นที่ จั ด เวที ป ระชาคมชุ ม ชนเมื อ งสุ ริ น ทร์ โดยผู้แทนภาคราชการ ภาคเอกชน ภาค
ประชาชน สื่ อ มวลชน และสมาชิ ก สภา เทศบาลเมืองสุรินทร์ เพื่อรับทราบปัญหา ความต้ อ งการ ประเด็ น การพั ฒนา และ ประเด็ น อื่ น ๆที่ เ กี่ ย วข้ อ ง น� า มาก� า หนด แนวทางการจัดท�าแผนพัฒนาของเทศบาล เมืองสุรินทร์ได้อย่างสมบูรณ์มีประสิทธิภาพ ผลการด�าเนินงานกองทุนหลักประกัน สุขภาพเทศบาลเมืองสุรนิ ทร์ ตามทีไ่ ด้จดั ตัง้ “กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมือง สุรนิ ทร์” โดยสมัครเข้าร่วมกับส�านักงานหลัก ประกันสุขภาพแห่งชาติ เมื่อปี 2555 เพื่อ สนั บ สนุ น หน่ ว ยบริ ก ารสาธารณสุ ข กลุ ่ ม และองค์กรประชาชน ในเขตเทศบาลเมือง สุรินทร์ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาล เมืองสุรินทร์ ได้อนุมัติงบประมาณ ดังนี้ 1. สนับสนุนแก่หน่วยบริการหรือสถาน บริการหรือหน่วยงานสาธารณสุขในพื้นที่ 2. สนั บ สนุ น แก่ ก ลุ ่ ม หรื อ องค์ ก ร ประชาชนหรือหน่วยงานอื่นในพื้นที่ 3. สนับสนุนแก่ศูนย์เด็กเล็กหรือศูนย์ พัฒนาเด็กและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ และคนพิการในชุมชน นอกจากนี้ยังได้มีการออกเยี่ยมผู้สูงอายุ ติดเตียง และให้ค�าแนะค�าแก่ผู้ดูแลผู้สูงอายุ อย่างถูกวิธี เพื่อให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดี และมีชีวิตที่ยืนยาวต่อไป
SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
.
.indd 5
99
6/4/2018 5:49:23 PM
W O R K LI F E
บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�าบล
องค์การบริหารส่วนต�าบลเพี้ยราม
“องค์การบริหารส่วนต�าบลเพี้ยราม งามวัฒนธรรม น�าภูมิปัญญา การศึกษาทันสมัย ให้เศรษฐกิจชุมชน คมนาคม รุ่งเรือง การเมืองการปกครองโปร่งใส สุขภาพพลานามัย มีทรัพยากรสิ่งแวดล้อมน่าอยู่ ควบคู่คุณธรรม” คือ วิสัยทัศน์
นายสุทัศน์ ชิดชอบ
นายกองค์การบริหารส่วนต�าบลเพี้ยราม
ว่าที่ ร.ท.สิทธิชัย คงใจดี
ปลัดองค์การบริหารส่วนต�าบลเพี้ยราม
100
.
ประวัติความเป็นมา ต�าบลเพี้ยราม เป็นต�ำบลหนึ่งของอ�ำเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ ตั้งอยู่ทำง ทิศตะวันตกของจังหวัดสุรินทร์ ส�ำนักงำนตั้งอยู่ หมู่ที่ 3 บ้ำนขยูง ต�ำบลเพี้ยรำม อ�ำเภอเมือง จังหวัดสุรนิ ทร์ จัดตัง้ ขึน้ เมือ่ ปี พ.ศ. 2539 ห่ำงจำกตัวอ�ำเภอและจังหวัด สุรินทร์ ประมำณ 23 กิโลเมตร มีเนื้อที่ ประมำณ 51.75 ตำรำงกิโลเมตรหรือ 32,344 ไร่ กลุ่มอาชีพที่ได้รับการสนับสนุนจากองค์การบริหารส่วนต�าบลเพี้ยราม อาทิ 1.ศูนย์ส่งเสริมและผลิตพันธุ์ข้ำวชุมชนบ้ำนฮ็อง ได้รับรำงวัล “ศูนย์ส่งเสริมและ ผลิตพันธุ์ข้ำวชุมชน ดีเด่น ระดับประเทศ” ประจ�ำปี 2557 2.วิ ส ำหกิ จ ชุ ม ชนกลุ ่ ม แม่ บ ้ ำ นเกษตรกรปลู ก หม่ อ นเลี้ ย งไหมบ้ ำ นพญำรำม
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
.indd 100
6/7/2018 5:22:22 PM
จนกระทั่งได้รับรางวัล “หมู่บ้านปลูกหม่อน เลี้ยงไหม ดีเด่น ระดับประเทศ” ประจ�าปี 2558 แหล่งท่องเที่ยวต�ำบลเพี้ยรำม 1. บ้ำนชิดชอบ เป็นบ้านไม้โบราณของต้นตระกูลชิดชอบ ซึ่งเคยเป็น ผู้คล้องช้างและเลี้ยงช้างจ�านวน มาก มีศาลปะก�าโบราณ อุปกรณ์การคล้องช้าง สมัยโบราณ ยังอยู่ในสภาพดี เปรียบเป็น พิพิธภัณฑ์ของผู้เลี้ยงช้างต�าบลเพี้ยราม 2. วัดเพี้ยรำม เป็ น วั ด เก่ า แก่ ข องต� า บลเพี้ ย ราม มี พระพุทธรูปไม้โบราณ ซึ่งเป็นที่กล่าวขาน ถึ ง ความศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ และเคารพนั บ ถื อ ของ ชาวต�าบลเพีย้ รามเป็นอันมาก และยังมีศาลา การเปรียญหลังใหญ่ท�าจากไม้โบราณอย่าง สวยงาม 3. ศูนย์เรียนรูเ้ ชิงเกษตรด้ำนหม่อนไหม ได้รับการจัดตั้งขึ้นจากศูนย์หม่อนไหม เฉลิมพระเกียรติฯ จังหวัดสุรินทร์ โดยการ สนั บ สนุ น จากองค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� า บล เพี้ยราม ด�าเนินการโดยวิสาหกิจชุมชนกลุ่ม แม่ บ ้ า นเกษตรกรปลู ก หม่ อ นเลี้ ย งไหม บ้านพญาราม ปัจจุบัน ได้เปิดเป็นหมู่บ้าน ท่องเทีย่ วเชิงเกษตรด้านหม่อนไหม เมือ่ วันที่ 19 พฤษภาคม 2560
4. ศูนย์สง่ เสริมและผลิตพันธุข์ ำ้ วชุมชน บ้ำนฮ็อง เป็นแหล่งผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวมะลิ โดย การสนับสนุนจากมูลนิธชิ ยั พัฒนา ส�านักงาน เกษตรอ� า เภอเมื อ งสุ ริ น ทร์ และองค์ ก าร บริหารส่วนต�าบลเพี้ยราม บริการให้ความรู้ และจ�าหน่ายเมล็ดพันธุ์ข้าวหอมมะลิ 105 ส�าหรับผู้สนใจ 5. ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงอ�ำเภอ เมืองสุรินทร์ เป็นแหล่งเรียนรู้ที่จัดตั้งโดยส�านักงาน เกษตรอ�าเภอเมืองสุรนิ ทร์ โดยการสนับสนุน ขององค์การบริหารส่วนต�าบลเพี้ยราม ให้ บริการความรูด้ า้ นการเพาะปลูกพืช การเลีย้ ง
กลุ่มหม่อนไหมพญาราม
สัตว์ และประมง รวมทั้ง องค์ความรู้ในการ ด�าเนินงานตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สอบถามข้อมูล: 044-558947 Website: http://www.phearam.go.th Fanpage: องค์การบริหารส่วนต�าบลเพีย้ ราม
กิจกรรมงานกีฬาสีต�าบลเพี้ยราม SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
.
.indd 101
101
6/7/2018 12:44:05 AM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�าชีวิต
วัดประทุมธรรมชาติ ชื่อเดิมชาวบ้าน เรียกกันว่า “วัดบ้านแกใหญ่”
วัดประทุมธรรมชาติ ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นแกใหญ่ ต�าบลแกใหญ่ อ�าเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัด สุรินทร์ ประวัตวิ ดั ประทุมธรรมชาติ (ธรรมธัชบ�ารุง) วั ด ประทุ ม ธรรมชาติ เดิ ม ที ช าวบ้ า น เรียกกันว่า “วัดบ้านแกใหญ่” โดยตั้งชื่อตาม หมู่บ้าน แต่เดิมนั้นวัดตั้งอยู่บนที่เนินสูง ใน ที่ดินธรณีสงฆ์ (หอประชุมและสถานีอนามัย หลั ง เก่ า ของบ้ า นแกใหญ่ หมู ่ ที่ 10 ใน ปัจจุบัน) ซึ่งอยู่ด้านทิศตะวันตกของวัดที่ตั้ง อยู่ในปัจจุบัน ต่อมา พระครูธรรมธัชพิมล (หลวงปู่ทุน ธมฺมปญฺโญ) ได้ย้ายมาสร้างใน 102
พื้ น ที่ ป ั จ จุ บั น สาเหตุ ที่ ไ ด้ ตั้ ง ชื่ อ ใหม่ ว ่ า “วัดประทุมธรรมชาติ” เพราะว่ามีดอกบัว เกิ ด ขึ้ นเองธรรมชาติในสระน�้า ซึ่ง ท�า การ ขุ ด ใหม่ เ พื่ อ ใช้ เ ป็ น ที่ ท� า การประปาของ หมู่บ้าน โดยสระนี้อยู่ด้านทิศตะวันออกของ อุโบสถในปัจจุบัน สิมไม้โบราณ...มรดกธรรมล�้าค่า เมือ่ ย้ายทีต่ งั้ วัดแล้วเสร็จ พระครูธรรมธัช พิมล ได้ปรึกษากับชาวบ้านว่า ท�าอย่างไรจึง จะได้สร้างโบสถ์ ส�าหรับไว้ให้พระสงฆ์ได้ ประกอบศาสนกิจในทางพระพุทธศาสนา ชาวบ้านจึงร่วมใจกันบริจาคเงินสมทบทุน
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
.indd 102
6/7/2018 12:33:59 AM
ก่อสร้างอุโบสถ แต่จา� นวนเงินทีบ่ ริจาคนัน้ ไม่ สามารถที่ จ ะสร้ า งโบสถ์ ใ ห้ แ ล้ ว เสร็ จ ได้ คุณพ่อทอง ศรีไทย จึงได้บริจาคเพิม่ เติม จน สร้างเสร็จเรียบร้อย และได้จารึกทีเ่ สาอุโบสถ ด้านขวาของพระประธาน (อุโบสถหลังเก่า) ว่า “เมื่อ พ.ศ.2464 คุณพ่อทอง-คุณแม่ตู๊จ ศรีไทย บริจาคเงินสร้างโบสถ์ 511 บาท” โบสถ์ไม้ (สิม) วัดประทุมธรรมชาติ สร้าง เมื่อปี พ.ศ. 2460 ผูกพัทธสีมา เมื่อวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ.2462 ในสมัยพระเดชพระคุณ “พระครูธรรมธัชพิมล” (หลวงปูท่ นุ ธมฺมปญฺโญ นามสกุล เมืองงาม) อดีตเจ้าคณะแขวงท่าตูม และอดี ต เจ้ า อาวาสวั ด ประทุ ม ธรรมชาติ (ธรรมธัชบ�ารุง) ปัจจุบันสิมไม้นี้มีอายุร่วม 100 ปี ขนาด ของสิ ม ไม่ ใ หญ่ โ ตนั ก เหมาะกั บ การท� า สังฆกรรมในชุมชนหมูบ่ า้ น ซึง่ ในสมัยก่อนยัง มีจ�านวนผู้คนไม่มากนัก ภายในประดิษฐาน พระประธาน ซึง่ เล่ากันว่า สร้างพระประธาน มาแล้ว 2-3 รุ่น เป็นพระทองส�าริด ปัจจุบัน ประดิษฐานอยูท่ วี่ ดั จ�าปา และวัดประทุมเมฆ องค์ล่าสุดสร้างโดยช่างตาเหล่ ฐานชุกชีเป็น ปูนปั้นแบบพื้นเมือง
ปัจจุบนั กรมศิลปกรได้ขนึ้ ทะเบียนสิมไม้ โบราณ วัดประทุมธรรมชาติ เป็นโบราณวัตถุ เรียบร้อยแล้ว ร่วมสร้างเส้นทางบุญ ปั จ จุ บั น เสนาสนะต่ า งๆ ภายในวั ด ประทุมธรรมชาติ ซึ่งก่อสร้างมาตั้งแต่สมัย ของพระครู ธ รรมธั ช พิ ม ล เริ่ ม ทรุ ด โทรม ไปตามกาลเวลา โดยเฉพาะสิมไม้โบราณ ซึง่ จ�าเป็นต้องได้รับการบูรณปฏิสังขรณ์ ทางวัด จึงขออนุโมทนาล่วงหน้า ส�าหรับท่านใดที่
มี จิ ต ศรั ท ธาจะร่ ว มท� า บุ ญ ขอเรี ย นเชิ ญ / เจริญพร ติดต่อได้ที่ พระครูประยุตปัญญภรณ์ เจ้าอาวาส โทร 08-1730-9205
SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 103
103
6/7/2018 12:34:20 AM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�าชีวิต
วัดอาม็อง
พระครูโสภณธรรมาภิมณฑ์ ดร. (วิรัติ โสภณ สีโล ป.ธ.3) ด�ารงต�าแหน่งรักษาการเจ้าฃอาวาส วัดอาม็อง ตั้งอยู่เลขที่ 27 บ้านอาม็อง หมูท่ ี่ 13 ต�าบลท่าสว่าง อ�าเภอเมือง จังหวัด สุรินทร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ที่ดินตั้ง วัดมีเนื้อที่ 15 ไร่ 40 ตารางวา
104
อาณาเขต : ทิศเหนือ จดทางสาธารณ ประโยชน์ ทิศใต้ จดทางสาธารณประโยชน์ ทิศตะวันออก จดทางสาธารณประโยชน์ ทิศตะวันตก จดสหกรณ์ปฏิรูปที่ดินจังหวัด สุรินทร์ วัดอาม็องได้รบั อนุญาตให้สร้างวัดเมือ่ วันที่ 21 มีนาคม พ.ศ.2528 ตั้งชื่อวัดอาม็องเมื่อ วันที่ 30 ธันวาคม พ.ศ.2528 และ ได้รับ พระราชทานวิ สุ ง คามสี ม า เมื่ อวั น ที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2547 ปั จ จุ บั น มี พ ระครู โ สภณธรรมาภิ ม ณฑ์ ดร. (วิรตั ิ โสภณสีโล ป.ธ.3 ) ผูช้ ว่ ยเจ้าอาวาส
วั ด ยานนาวา พระอารามหลวกรุ ง เทพ มหานคร ด�ารงต�าแหน่งรักษาการเจ้าอาวาส วัดอาม็อง โดยมีพระภิกษุและสามเณรใน วัดทั้งหมด 24 รูป ท�าเนียบเจ้าอาวาส 1. พระอธิ ก ารพลั น จนฺ ท โชโต พ.ศ. 2528 - 2533 2. พระอธิการน้อย โกวิโท พ.ศ. 25332543 3. พระอธิการวิลาส กนฺตวีโร พ.ศ. 25432553 4. พระครูโสภณธรรมาภิมณฑ์
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
.indd 104
6/7/2018 12:36:20 AM
(วิรัติ โสภณสีโล ป.ธ.3 ) พ.ศ.2553-ปัจจุบัน เมือ่ วันที่ 2 มีนาคม พ.ศ.2557 วัดอาม็อง ได้ ท� า พิ ธี เ ปิ ด พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ พ ระพุ ท ธรู ป ไม้ โบราณพระพรหมวชิรญาณ โดยมีพระเดช พระคุ ณ พระพรหมวชิ ร ญาณ เจ้าอาวาส วัดยานนาวา พระอารามหลวง กรรมการมหา เถรสมาคม องค์อปุ ถัมภ์พพิ ธิ ภัณฑ์พระพุทธ รูปไม้โบราณ ส�าหรับพิพิธภัณฑ์แห่งนี้เป็น แหล่งเรียนรู้อีกแห่งหนึ่งของจังหวัดสุรินทร์ เปิดบริการแก่นกั เรียน นักศึกษา และผูท้ สี่ นใจ ทั่วไปได้เข้าชมทุกวัน จนได้รับการคัดเลือก ให้เป็นวัดต้นแบบการส่งเสริมการท่องเที่ยว เชิ ง วั ฒ นธรรม จากส� า นั ก งานพระพุ ท ธ ศาสนาจังหวัดสุรนิ ทร์ เมือ่ พ.ศ. 2557 นับเป็น เกี ย รติ ป ระวั ติ แ ละความภาคภู มิ ใ จของ ชาวต�าบลท่าสว่างและชาวจังหวัดสุรินทร์ ความเชื่อของชุมชนชาวเขมรนิยมสร้าง พระพุ ท ธรู ป ไม้ ใ นช่ ว งเข้ า พรรษาโดยจะ เสาะแสวงหาไม้ที่เป็นไม้มงคลแล้วน�ามาท�า พิธีกรรม มีการแกะสลักพระพุทธรูปไม้เพื่อ เป็นพุทธบูชา น�าไปถวายวัดใดวัดหนึ่งในวัน ออกพรรษาหรือ “วันเทโวโรหนะ” ซึ่งในสมัย ก่อนนัน้ ไม่มกี ารหล่อหรือเททองแบบปัจจุบนั ชาวเขมรจึงต้องขวนขวายในการหาไม้ต่างๆ มีไม้จนั ทร์หอม ไม้ตะเคียน ไม้พยุง ไม้กนั เกรา เป็ น อาทิ แล้ ว แต่ ค วามนิ ย มชมชอบและ ความเชื่อของการสร้าง ซึ่งขึ้นอยู่กับสภาพ
แวดล้อมในด้านต่างๆ ถ้า อุดมสมบูรณ์พระพุทธรูปก็ จะดูอิ่มเอิบ ถ้าแห้งแล้ง พิพธิ ภัณฑ์พระพุทธรูป ไม้โบราณพระพรหมวชิร ญาณ ให้ด�าเนินการจัดตั้ง และก่ อ สร้ า งโดยพระครู โสภณธรรมาภิ ม ณฑ์ ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัด ยานนาวา พระอารามหลวง รักษาการเจ้า อาวาสวั ด อาม็ อ ง และอาจารย์ ป ระจ� า มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย วิทยาเขตสุรนิ ทร์ โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ เป็น แหล่งศึกษาทางศิลปะในพระพุทธศาสนา และรวบรวมคัมภีร์ใบลานตามยุคตามสมัย ตั้ ง แต่ ส มั ย ดั้ ง เดิ ม จนถึ ง ปั จ จุ บั น เพื่ อ เป็ น แหล่งการเรียนรู้ทางให้แก่พระภิกษุสามเณร และฆารวาส ในสถาบันการศึกษาต่างๆ เมือ่ วันที่ 3กรกฎาคม พ.ศ.2558 ได้มพี ธิ ี ยกเสาเอกกุฏริ บั รองพระพรหมวชิรญาณ โดย ได้ออกแบบแปลนการก่อสร้างกุฏิ ป็นอาคาร สองชั้ น ทรงแปดเหลี่ ย มหรื อดาวแปดแฉก มีความหมายถึงพระอรหันต์คมุ้ ครองแปดทิศ ได้แก่ ทิ ศ ที่ 1 พระอั ญ ญาโกณฑั ญ ญเถระ อยู่ทางทิศบูรพา ทิศที่ 2 พระมหากัสสปะ อยู่ทางทิศ อาคเนย์
ทิศที่ 3 พระสารีบุตร อยู่ทางทิศทักษิณ ทิศที่ 4 พระอุบาลี อยู่ทางทิศหรดี ทิศที่ 5 พระอานนท์ อยู่ทางทิศปัจฉิม ทิศที่ 6 พระภควันปติ อยู่ทางทิศพายัพ ทิศที่ 7 พระมหาโมคคัลลานะ อยู่ทาง ทิศอุดร ทิศที่ 8 พระราหุล อยู่ทางทิศอีสาน โดยได้รับเกียรติจากนายแพทย์ สมศักดิ์ อรรถศิลป์ ผู้ตรวจการกระทรวงสาธารณสุข เขตบริการสุขภาพที่ 9 นายแพทย์สมคิด สุริยเลิศ ผู้อ�านวยการโรงพยาบาลสุรินทร์ นายแพทย์ วราวุธ ชื่นตา รองนายแพทย์ สาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์ และนายวัลลภ เรืองพรกิจ นายอ�าเภอเมืองจังหวัดสุรินทร์ พร้อมทั้งนายกองค์การบริหารส่วนต�าบล ก�านัน ผู้ใหญ่บ้าน และชาวบ้านต�าบลท่า สว่างมาร่วมงานเป็นจ�านวนมาก ปัจจุบันเปิดให้พุทธศาสนิกชนทั่วไป นัก ท่องเที่ยวได้เข้าศึกษาเยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์ดัง กล่าวเป็นประจ�าทุกวัน SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 105
105
6/7/2018 12:36:48 AM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�าชีวิต
วัจิตทีด่ฝึกจ�หัดดีำแล้ปำ ว ย่อมเป็นไปเพื่อประโยชน์ ยิ่งใหญ่ (พุทธพจน์) พระครูสาธุกจิ โกศล ดร.(สิทธิชยั ฐานจาโร (เดชกุลรัมย์) ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาส วัดจ�าปา เป็นวัดราษฎร์ ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 575 ถนนหลักเมือง ต�าบลในเมือง อ�าเภอเมือง สุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ สังกัดคณะสงฆ์มหา นิกาย มีเนือ้ ที่ 5 ไร่ 68 ตารางวา โฉนดทีด่ นิ เลขที่ 1983 ตั้งอยู่ก�าแพงเมืองชั้นนอกด้าน ทิศตะวันออก ตัง้ วัดขึน้ ในสมัยกรุงศรีอยุธยา ตอนปลาย ประมาณระหว่างปี พุทธศักราช 2290 - 2300 ได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา เมื่อวันที่ 10 เดือน มีนาคม พ.ศ.2525 ก�าหนดเขต กว้าง 24 เมตร ยาว 47 เมตร 106
.indd 106
ความเป็นมา วั ด จ� า ปามี ชื่ อ เดิ ม ว่ า “วั ด ยายจ� า ปา” เป็ น วั ด เก่ า แก่ วั ด หนึ่ ง ในจั ง หวั ด สุ ริ น ทร์ พุทธศาสนิกชนร่วมแรงร่วมใจสร้างขึ้นใน สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย ในสมัยก่อน วัดยายจ�าปา ตัง้ อยูท่ ชี่ ายป่าบ้านโคกประทาย หรือ ประทายสมันต์ในปัจจุบัน สืบเนื่องมี พระภิกษุชนชาวเขมรธุดงค์จาริกมาพักที่ป่า ข้างบ้านโคกประทาย ท่านมีวตั รปฏิบตั อิ นั น่า เลือ่ มใสศรัทธา ช�านาญในด้านอักษรขอม ท�าให้ ชาวบ้านเลื่อมใสศรัทธาสร้างที่พักสงฆ์ถวาย กาลต่อมาคุณยายจ�าปา เห็นว่าบริเวณ
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
6/7/2018 12:46:27 AM
สถานทีน่ ไี้ ม่เหมาะต่อการเจริญบ�าเพ็ญสมณ ธรรม จึงได้ชักชวนเพื่อนบ้านสร้างที่พักสงฆ์ ให้เหมาะควรกว่าเดิม โดยตนเองมีศรัทธา แรงกล้าจ�าหน่ายวัว 2 ตัว ได้เงิน 8 สตางค์ น�ามาสร้างเป็นที่พักสงฆ์ขึ้นในป่าซึ่งติดกับ หมู่บ้าน (ที่ตั้งของวัดในปัจจุบัน) ภายหลังจากยายจ�าปาเสียชีวิตแล้ว ชาว บ้านจึงเรียกวัดนีว้ า่ “วัดยายจ�าปา” เพือ่ เป็น อนุสรณ์แด่คุณยายผู้เป็นก�าลังส�าคัญในการ สร้างวัดให้เป็นศูนย์รวมการบ�าเพ็ญธรรมและ พัฒนาจิตใจของชาวบ้านสืบมา และเปลี่ยน ชื่อเป็น “วัดจ�ำปำ” ในกาลต่อมา ควำมส�ำคัญของวัดจ�ำปำทำงประวัตศิ ำสตร์ ในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย พระเจ้า แผ่นดินได้ส่งแม่ทัพเสนาบดีติดตามช้างศึก ของพระองค์ และได้พักที่วัดจ�าปาประมาณ 5 วัน จนสามารถติดตามหาช้างได้ โดยมี หลวงพ่อวัดจ�าปาได้ชว่ ยอ�านวยความสะดวก ในการติดตามช้าง อีกทั้งเป็นวัดที่ประกอบ พิธี “ดืม่ น�า้ พิพฒ ั น์สตั ยาแก่ขา้ ราชการทุกคน” ให้มีความจงรักภักดี มีความซื่อสัตย์ต่อแผ่น ดินไทยเป็นประจ�าทุกปี ต่อมาได้ถกู ยกเลิกไป ในปี พ.ศ. 2453 พระบาทสมเด็ จ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทาน ถวายพระธรรมาสน์ 1 หลัง เป็นธรรมา สน์สังเค็ด (หมายถึง ธรรมาสน์แบบยาว บางทีกเ็ รียกกันว่า “เตียงสวด” หรือ “สังเค็ด”) งานพระบรมศพรัชกาลที่ 5 ศิลปะรัตนโกสินทร์ ไม้ลงรักปิดทอง ลายฉลุ ขนาดกว้าง 91 ซม. ยาว 122 ซม. สูง 120 ซม. สลักพระนาม ย่อว่า “จปร” อยู่ใต้พระเกี้ยว เพื่อถวาย พระราชอุทิศในงานพระบรมศพ พระบาท สมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว พ.ศ. 2453 พร้อมเหรียญรูปเหมือนของรัฐกาลที่ 5 หนึง่ เหรียญ เป็นเหรียญเงินรูปครึง่ พระองค์ ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 16 นิ้ว ท�ำเนียบเจ้ำอำวำสวัดจ�ำปำ 1. หลวงพ่อมี, 2. หลวงพ่อจิตต์ 3. หลวงพ่อคง, 4. หลวงพ่อเกี๊ยะ
5. พระมหาสุคนธ์ คนฺธว�โส ป.ธ.5 6. หลวงพ่อคุย, 7. หลวงพ่อรัน 8. หลวงพ่อรอด, 9. หลวงพ่อบุญ 10. พระประภากรคณาจารย์ (หลวงพ่อ เดือ่ ปภากโร/วรรณศรี) อดีตเจ้าคณะจังหวัด สุรินทร์พ.ศ. 2499 – 2506 11. พระอธิการไชยยศ ยนฺตสีโล (สุดอุดม) พ.ศ. 2506 – 2533 12. พระอธิการบรึม สุรปญฺโญ (ศรีสง่า) พ.ศ. 2534 – 2535 13.พระครูสาธุกิจโกศล ดร. (สิทธิชัย ฐานจาโร/เดชกุลรัมย์) พ.ศ.2536 – ปัจจุบนั กำรศึกษำและกำรสำธำรณะสงเครำะห์ เมื่ อ ปี พ.ศ.2461 เจ้ า คณะมณฑล อุบลราชธานี ได้สง่ พระสมุหส์ วัสดิม์ าเป็นครู สอนนักธรรมเป็นครั้งแรก ด�าเนินการเรียน การสอนที่ วั ด จ� า ปา มี พ ระภิ ก ษุ ส ามเณร ประมาณ 30 รูป มาสมัครเรียนและสามารถ สอบได้ทั้งหมด ในปัจจุบันวัดจ�าปามีการ
ศึกษาปริยตั ธิ รรม มีการฝึกฝนอบรมธรรมแก่ ประชาชน ตามโรงเรียนต่างๆ มีการจัดตั้ง “มูลนิธิประภำกรกิจโกศล เมื่อพ.ศ.2529” และกองทุนเพื่อการศึกษาส�าหรับพระภิกษุ สามเณรโดยคณะศิษย์เก่าวัดจ�าปา ในนาม “กองทุนร่มจ�ำปำเพือ่ กำรศึกษำเมือ่ พ.ศ. 2552” กิ จ กรรมของวั ด ส่ ว นใหญ่ ไ ด้ รั บ การ สนับสนุน จากโรงเรียนสุรวิทยาคาร โดยมี คณะครู พนักงาน เจ้าหน้าที่ นักการและ นักเรียนมาร่วมท�ากิจกรรมในวันส�าคัญทาง พระพุ ท ธศาสนาหรื อ กิ จ กรรมอย่ า งอื่ น ที่ เกี่ยวข้องกับโรงเรียน อีกทั้งเป็นก�าลังส�าคัญ ด� า เนิ น การช่ ว ยจั ด หาทุ น พั ฒ นาวั ด จ� า ปา เช่น ทอดกฐิน ทอดผ้าป่า และร่วมแสดง ศิ ล ปวั ฒนธรรมพื้ น บ้ า นเพื่ อ อนุ รั ก ษ์ ศิ ล ป วัฒนธรรมพื้นเมืองสุรินทร์ เป็นต้น
SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 107
107
6/7/2018 12:46:46 AM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�าชีวิต
วัดหนองบัว
พระครูอนุวัตปัญญาภรณ์ ด�ารงต�าแหน่ง เจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน วั ด หนองบั ว ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 349 ถนน เทศบาล 1 ต� า บลในเมื อ ง อ� า เภอเมื อ ง จังหวัดสุรินทร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มี เนื้อที่ทั้งหมดจ�านวน 15 ไร่ 1 งาน 20 ตารางวา ได้รับอนุญาตให้สร้างเป็นวัด เมื่อ วันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2359 กระทรวง ศึกษาธิการประกาศพระราชทานวิสคุ ามสีมา เป็ นวั ด สมบู ร ณ์ แ บบ เมื่ อ วั น ที่ 1 เดื อ น พฤษภาคม พ.ศ.2389 ต่อมาเมื่ออุโบสถได้ ใช้งานผ่านมาเป็นเวลานานหลายปี จึงท�าให้ ช�ารุดทรุดโทรมและเก่าแก่มาก จึงได้ท�าการ 108
รื้อถอนและสร้างใหม่ขึ้นมาแทน ได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา เมือ่ วันที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2521 ขนาดกว้าง 24 เมตร ยาว 40เมตร วัดหนองบัว แต่เดิมมีชื่อว่า วัดตระเปียง โชค หรือวัดโชค ตามภาษาเขมรท้องถิน่ ทีใ่ ช้ เรียกในสมัยนั้น “ตระเปียงโชค” เป็นภาษา พื้นบ้านสุรินทร์ แปลว่า “หนองบัว” ส่วน ค�าว่า “โชค” หมายถึง “บัว” หรือ “ดอกบัว” สาเหตุที่ชาวบ้านเรียกว่าวัดตระเปียงโชคนั้น เพราะให้คล้องจองกับหนองน�้าใกล้วัดที่มีด
อกบัวขึ้นเต็มหนอง มีการผลิดอกออกผล บานสะพรั่งตลอดปี วัดหนองบัว เป็นวัดเก่าแก่ท่ีอยู่ไกลออก ไปจากตั ว เมื อ งสุ ริ น ทร์ ห รื อ จะเรี ย กว่ า ชานเมืองก็ได้ในสมัยนั้น และเป็นวัดเพียง แห่งเดียวทีอ่ ยูน่ อกเขตก�าแพงเมืองชัน้ นอกซึง่ เป็นเขตเมืองโบราณเมืองสุรนิ ทร์ในอดีต โดย แรกเริ่มก่อนที่จะมีการสร้างวัดขึ้นมานั้น ได้ มีหลวงพ่ออวน เป็นผู้บุกเบิกสร้างวัดนี้เป็น คนแรก โดยได้รบั การบริจาคทีด่ นิ ทีเ่ ป็นทุง่ นา
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
.indd 108
6/7/2018 12:51:04 AM
ของคุณยายหมึกเมื่อประมาณปีพุทธศักราช 2359 ปูชนียวัตถุ ประกอบด้วย พระพุทธชินราช พระประธานในอุโบสถ ,พระพุทธศรีประทาย สมันต์ เป็นพระพุทธรูปส�าริด ศิลปะขอม, รูป เหมือนหลวงปู่เวียน พระครูญาณวิริยาคม ,พระพุทธรูปหินทรายหน้าอาคารเรียน และ พระพุทธรูปปูนปัน้ ภายในวิหารศรีสรุ นิ ทร์ คือ พระพุทธศรีประทายสมันต์ เป็นพระพุทธรูป เก่าแก่ควู่ ดั หนองบัวและจังหวัดสุรนิ ทร์มาช้า นานนาน ซึง่ หลวงปูส่ มัย (คณะทีย่ งั มีชวี ติ อยู)่ เล่าว่า พระพุทธศรีประทายสมันต์ประดิษฐาน อยู่ในอุโบสถวัดหนองบัวหลังเก่ามาตั้งแต่ ก�าเนิดวัด ปัจจุบนั วัดหนองบัวมีความเจริญก้าวหน้า เป็นล�าดับ มีการสร้างศาสนวัตถุ อาคาร สถานทีต่ า่ งๆภายในวัดเพือ่ บริการประชาชน และยังเป็นวัดทีม่ พี นื้ ทีอ่ ยูใ่ จกลางเมือง มีการ คมนาคมที่สะดวกสบาย และเป็นสถานที่ๆ ประชาชนนิยมน�าศพเข้ามาบ�าเพ็ญกุศลยังวัด หนองบัว ด้วยมีความสะดวกสบายทั้งสถาน ที่บ�าเพ็ญกุศลและเรื่องพื้นที่จอดรถที่กว้าง ขวาง รายนามเจ้ า อาวาส ตั้ ง แต่ อ ดี ต ถึ ง ปัจจุบันมีทั้งหมด จ�านวน 8 รูป รูปที่ 1 พระอวน ผู้ริเริ่มสร้างวัดตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2359 ,รูปที่ 2 พระพิมพ์, รูปที่ 3 พระสาม, รูปที่ 4 พระเสียง, รูปที่ 5 พระ เสมย, รูปที่ 6 พระปิ่น รูปที่ 7 พระครูญาณวิริยาคม (เวียน วิญญาโณ/อินทนูจิตร) ช่วงที่ท่านเป็นเจ้า อาวาสวั ด หนองบั ว นั้ น ญาติ โ ยมเลื่ อ มใส ศรัทธาท่านมาก โดยเฉพาะในการรักษาโรค ภัยไข้เจ็บ เวทมนต์คาถาและสมุนไพรและ มหานิยมต่างๆ แต่ทา่ นมิเคยพูดบอกใครเลย ชัว่ ชีวติ หลวงปู่ ซึง่ อยูใ่ นเพศบรรพชิตไม่มเี รือ่ ง มัวหมองมาสู่บวรพุทธศาสนาเลย จนถึงเมื่อ วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2526 หลวงปูม่ รณภาพ ด้วยอาการอันสงบ ณ โรงพยาบาลสุรินทร์ สิริรวมอายุ ได้ 88 ปี 69 พรรษา ท่านเป็น พระเถระที่มีพรรษาอยู่ในเพศบรรพชิตนาน
ที่สุดในจังหวัดสุรินทร์ รูปที่ 8 พระครูอนุวัตปัญญาภรณ์ (หาด ปญฺญาวโร/ผ่องศรี) พ.ศ. 2528 – ปัจจุบัน ประวัติพระครูอนุวัตปัญญาภรณ์ (หาด ปญฺญาวโร ) ชื่อเดิม หาด นามสกุล ผ่องศรี เกิดวัน อังคารที่ 24 มิถุนายน พ.ศ.2484 บิดา ชื่อ นายนวง ผ่องศรี มารดา ชื่อ นางมอญ ผ่อง ศรี เกิดที่บ้านโสน เลขที่ 20 หมู่ 4 ต�าบล แสลงพั น ธ์ อ� า เภอเมื อ งสุ ริ น ทร์ จั ง หวั ด สุรนิ ทร์ บรรพชาอุปสมบทเมือ่ วันเสาร์ที่ 26 เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2505 ณ พัทธสีมา วัดหนองบัว ต�าบลในเมือง อ�าเภอเมือง สุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ โดยมี พระอุปัชฌาย์ พระสิทธิการโกศล วัดกลางสุรนิ ทร์ จังหวัด สุรนิ ทร์ พระกรรมวาจาจารย์ พระบัว สิรปิ ญฺโญ วัดหนองบัว จังหวัดสุรนิ ทร์ พระอนุสาวนาจาย์
พระเหมาะ ฐานวโร วัดหนองบัว จังหวัด สุรินทร์ วิ ทยฐานะ มหาวิทยาลัยราชภัฏ สุรินทร์ ได้ถวายปริญญาบัตร รัฐประศาสน ศาสตรมหาบั ณ ฑิ ต กิ ต ติ ม ศั ก ดิ์ สาขาวิ ช า รัฐประศาสนศาสตร์ เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ.2557 ต�าแหน่งทางการปกครอง : พ.ศ. 2528 เจ้าอาวาสวัดหนองบัว , พ.ศ.2533 - 2552 รองเจ้าคณะต�าบลในเมืองเขต ต�าบลใน เมือง อ�าเภอเมืองสุรินทร์ ,พ.ศ. 2556 รอง เจ้าคณะอ�าเภอเมือง ต�าบลในเมือง อ�าเภอ เมืองสุรินทร์ SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 109
109
6/7/2018 12:51:24 AM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�าชีวิต
วัดมงคลรัตน์
พระครูปิยธรรมกิตติ์ (หลวงพ่อชื่น) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้ำอำวำส วัดมงคลรัตน์ ต�ำบลคอโค อ�ำเภอเมือง สุรนิ ทร์ จังหวัดสุรนิ ทร์วดั มีเนือ้ ทีโ่ ดยประมำณ 25 ไร่ มีสระน�้ำล้อมรอบวัดและภำยในวัดก็ มีต้นไม้สวยงำมร่มรื่นเสมือนเป็นวัดป่ำ และ มีเสนำสนะที่สวยงำมถูกจัดวำงด้วยควำม เป็ น ระบบเรี ย บร้ อ ยเหมำะกั บ กำรปฏิ บั ติ วิปัสสนำกรรมฐำนจึงเป็นศูนย์รวมจิตใจของ พุทธศำสนิกชนทั้งหลำย อาณาเขต : ทิศเหนือ ติดส�ำนักงำน องค์ ก ำรบริ ห ำรส่ ว นต� ำ บลคอโค ทิ ศ ใต้ ติดบ้ำนเจิงจำบ ทิศตะวันออก ติดบ้ำนรังผึ้ง และ ทิศตะวันตก ติดบ้ำนตะโก
110
วัดมงคลรัตน์เป็นที่รู้จักกันดีโดยเฉพำะ คนเก่ำแก่โบรำณในนำม “วัดตะโก หลวงพ่อ พวน” เป็ น วั ด ที่ มี ชื่ อ เสี ย งในเรื่ อ งของ ควำมศรัทธำของพุทธศำสนิกชนทั้งหลำย เพรำะอดีตเจ้ำอำวำสวัดคือ พระเดชพระคุณ พระพิ ม ลพั ฒ นาทร (หลวงพ่ อ พวน วรมงฺคโล) เป็นพระเกจิชอื่ ดังด้ำนควำมเมตตำ มหำนิยม ท่ำนสำมำรถรักษำคนไข้สติไม่ดี ให้หำยขำดได้ จึงเป็นที่มำของควำมศรัทธำ ปัจจุบนั พระครูปยิ ธรรมกิตติ์ (หลวงพ่อชืน่ ) ศิษย์เอกหลวงพ่อพวนที่ได้รับกำรถ่ำยทอด วิชำจำกหลวงพ่อพวน ด�ำรงต�ำแหน่งเป็น
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
.indd 110
6/7/2018 1:51:20 AM
เจ้าอาวาสวัดมงคลรัตน์ ได้ด�าเนินการสาน ต่อเจตนารมณ์ของหลวงพ่อพวน ในการ สร้างเสนาสนะ อาทิเช่น ศาลาปฏิบัติธรรม วัดมงคลรัตน์, มณฑปมหามงคล, ศาลามงคล ธรรม, สร้างเมรุ สร้างศาลาบ�าเพ็ญกุศล, เทถนน พื้นคอนกรีตภายในวัด พร้อมทั้งปรับพื้นที่ ภูมิทัศน์วัดมงคลรัตน์จนเกิดความสวยงาม จนเป็นทีป่ ระจักษ์แจ้งแก่สาธาณชนทัง้ หลาย พระครูปิยธรรมกิตติ์ (หลวงพ่อชื่น) เป็น พระเถระที่ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบประกอบแต่ คุณงามความดีมีศีลาจารวัตรที่งดงามและ มีบารมีธรรมสูงจึงเป็นที่เคารพและศรัทธา ของคณะศิษย์ทงั้ หลายไม่วา่ จะเป็นข้าราชการ พ่อค้า ประชาชนต่างเข้ามากราบนมัสการ ขอพรเพื่ อ ความเป็ น สิ ริ ม งคลแก่ ชี วิ ต และ ครอบครัว ร่วมสร้างเส้นทางบุญ วัดมงคลรัตน์ โทร : 084-919-9929, 087-444-4545
SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 111
111
6/7/2018 1:51:40 AM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�าชีวิต
วัดไตรรัตนาราม
“พระสมณะโคดมเจ้า” วัดไตรรัตนาราม ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นทะนง เลขที่ 4 หมู่ที่ 6 ต�าบลนอกเมือง อ�าเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ ในชุมชนใหญ่เขตต่อเนื่อง ระหว่ า งเขตเทศบาลเมื อ งสุ ริ น ทร์ กั บ เขต ต�าบลนอกเมือง มีชุมชนจ�านวนมากรอบวัด เริ่มสร้างวัดเมื่อ พ.ศ. 2511 โดยเริ่มแรกมี พระอาจารย์สาม มาปักกลดเพื่อบ�าเพ็ญ เพียร ชาวบ้านเกิดศรัทธาอยากให้สร้างเป็น วัดจึงไปกราบเรียน พระราชวุฒาจารย์ (หลวง ปูด่ ลุ ย์ อตุโล) เจ้าคณะจังหวัดสุรนิ ทร์ (ธ) ใน ขณะนัน้ ว่ามีความประสงค์ขอให้หลวงปูส่ ร้าง เป็นวัดขึ้น โดยได้ถวายที่ดินเริ่มแรกจ�านวน 6 ไร่ 1 งาน 88 ตารางวา ปัจจุบันมีที่ดิน 112
ทัง้ สิน้ 19 ไร่ 3 งาน 88 ตารางวา ด้วยศรัทธาความเคารพนับถือ ของชาวบ้ า นบริ เ วณรอบวั ด แห่ ง นี้ ต ่ อ องค์หลวงปู่ดุลย์ หลวงปู่จึงได้มอบหมายให้ พระมหาบุญเรียด พุธวงฺโส ต่อมาได้รับแต่ง ตัง้ เป็นเจ้าคณะจังหวัดสุรนิ ทร์ ธรรมยุต และ ได้รบั พระราชทานสมณศักดิท์ ี่ พระราชวิสทิ ธิ นายกเป็น ผู้มาเริ่มต้นสร้างวัดไตรรัตนาราม โดยความสนับสนุนจากหลวงปู่ดุลย์ และ คณะสงฆ์ ตลอดจนญาติโยมเป็นอย่างดี และ ยังได้รับความเมตตาจากสมเด็จพระมหา วีรวงศ์(ทิม) แห่งวัดราชประดิษฐสถิตมหา สี ม าราม เมื่ อ ขณะที่ ท ่ า นด� า รงสมศั ก ดิ์ ที่
พระธรรมปาโมกข์ ตลอดจนลูกศิษย์ลูกหา เช่น ม.ร.ว.หญิง นันทา สนิทวงศ์, ม.ร.ว.หญิง อุไร ปราโมช, ม.ร.ว.วรรณี มณีกาญจน์ โดย มีพันเอกนิตย์ จันมา ผู้บังคับการทหารบก จังหวัดสุรินทร์ ในสมัยนั้นเป็น ผู้รับอนุญาต ในการตั้งวัดได้รับนามว่า “วัดไตรรัตนาราม” เมื่ อ สร้ า งเสนาสนะพอสมควรแล้ ว จึ ง ได้ ประกอบพิธีวางศิลาฤกษ์สร้างอุโบสถเมื่อ วั น ที 14 เมษายน 2514 โดยมี ส มเด็ จ พระมหาวีรวงศ์ (ทิม) วัดราชประดิษฐสถิต มหาสี ม าราม เมื่ อ ครั้ ง ด� า รงสมศั ก ดิ์ ที่
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
.indd 112
6/7/2018 1:56:25 AM
พระธรรมปัญญาจารย์ เป็นองค์ประธานวาง ศิลาฤกษ์ และเมือ่ วันที่ 26 - 27 ตุลาคม พ.ศ. 2517 ท่านอาจารย์สญ ั ญา ธรรมศักดิ์ พร้อม ด้วยคุณหญิงพงา ธรรมศักดิ์ และบุตรธิดาได้ น�าผ้ากฐินมาทอดถวายเพื่อสมทบทุนสร้าง อุโบสถ และเป็นเจ้าภาพหล่อพระประธาน ประจ�าอุโบสถถวายพร้อมลงรักปิดทอง ซึ่ง สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก ทรงประทานนามว่า “พระสมณะโคดมเจ้า” ส่วนพระอัครสาวก 2 องค์ ม.ร.ว.หญิงนันทา สนิทวงศ์ กับโรงพิมพ์ มนตรีบางล�าพู กรุงเทพมหานคร สร้างถวาย เมื่ อ พ.ศ.2520 ส� า หรั บ ฐานชุ ก ชี ส� า หรั บ ประดิษฐานพระประทาน นายสุธี โอบอ้อม ผู้ว่าราชการจังหวัดสุรินทร์ในสมัยนั้น พร้อม ด้วยศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และ คุณหญิงบุญธรรม บริรกั ษ์ นิตเิ กษตร ร่วมกัน บริจาคทรัพย์สร้างด้วย วั ด ไตรรั ต นาราม ได้ รั บ อนุ ญ าตสร้ า ง วัดเมื่อ วันที่ 30 มีนาคม พ.ศ.2513 ได้รับ อนุญาตตั้งวัดเมื่อ วันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2516 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อ วันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ.2517 และท�าพิธีผูก พัทธสีมาตัดลูกนิมติ เมือ่ วันที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2529 เมื่อวันอังคารที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2536 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา ภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 ทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั มหาวชิรา ลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูรเมื่อครั้งด�ารง พระยศที่ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้า มหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จ พระราชด�าเนินแทนพระองค์ทรงยกช่อฟ้า อุโบสถจตุรมุขวัดไตรรัตนาราม วัดไตรรัตนาราม ได้รับประกาศยกย่อง เป็นวัดพัฒนาตัวอย่างจากกรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการเมื่อ พ.ศ.2537 และได้ รับประกาศยกย่องเป็นวัดพัฒนาตัวอย่าง ดี เ ด่ น จากกรมการศาสนากระทรวง ศึกษาธิการ เมื่อ พ.ศ.2543
รายนามเจ้าอาวาส 1. พระราชวิสุทธินายก (บุญเรียด ฉายา พุทธว�โส ) ตัง้ แต่ พ.ศ.2511 - 29 กรกฎาคม พ.ศ.2546 รวมเป็นเวลา 35 ปี (อดีตเจ้า คณะจังหวัดสุรินทร์ ธรรมยุต) 2. พระครู ป ลั ด วิ รั ตน์ ธนสี โ ล ตั้ ง แต่ มิถุนายน พ.ศ.2546 - 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2549 รวมเวลา 3 ปี 3. พระครูปราโมทย์ธรรมวงศ์ (หม่อม หลวงสั ม พั น ธ์ ฉายา ปุ ญ ญสมฺ ป นฺ โ น สกุลเดิม ปราโมช ตั้งแต่ วันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ.2549 จนถึงปัจจุบัน (เจ้าคณะอ�าเภอ จอมพระ ธรรมยุต) การพัฒนาวัดไตรรัตนาราม เมื่อพระครู ปราโมทย์ธรรมวงศ์ เป็นเจ้าอาวาส ในปี พ.ศ.2550 สร้างซุม้ ประตูทางตะวัน ออกเฉียงใต้ 1 ซุ้ม, พ.ศ.2551 สร้างศาลา การเปรียญคอนกรีตเสริมเหล็กกลางน�้า 2
ชั้น 1 หลัง ขนาดกว้าง 16.5 เมตร ยาว 37 เมตร, พ.ศ.2553 สร้างห้องน�า้ 2 หลัง 20 ห้อง พร้ อ มแท็ ง ก์ น�้ า , พ.ศ.2554 ท� า ถนน คอนกรีตเสริมเหล็ก และท่อระบาย 350 เมตรพร้ อ มไฟฟ้ า ส่ อ งสว่ า ง, พ.ศ.2555 เปลี่ยนระบบไฟฟ้าภายในจาก 2 เฟสเป็น 3 เฟส และท�าก�าแพงด้านหลังวัดที่ยังไม่มี พร้อมประตูทางเข้าด้านหลัง, พ.ศ.2556 ซ่อมแซมกุฏิ 1 หลัง, สร้างกุฏิ หลังใหม่ 1 หลัง, พ.ศ.2557 ซ่อมแซมอุโบสถพร้อม เทพื้นรอบอุโบสถ ท�าก�าแพงแก้วใหม่หมด, พ.ศ.2559 สร้างศาลาเอนกประสงค์แทน หลังเดิมที่ช�ารุดพร้อมห้องน�้า 4 ห้องระบบ เก็บน�้าไว้ใช้ในห้องน�้า ติดต่อ วัดไตรรัตนาราม โทรศัพท์ 044-513-966, 081-725-2315 , 090-251-7590 SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 113
113
6/7/2018 1:56:58 AM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�าชีวิต
วัดราษฎร์เจริญผล รักษาศีล 5 เพื่อสร้างความสันติสุขในสังคม ปญฺญวนฺตํ ตถาวาทึ สีเลสุ สุสมาหิตํ เจโตสมถมนุยุตฺตํ ตํ เว วิญฺญู ปสํสเร ผู ้ รู ้ ย ่ อ มสรรเสริ ญ คนมี ป ั ญ ญา พู ด จริ ง ตั้งมั่นในศีล ประกอบความสงบใจนั้นแล (พุทธพจน์) พระอธิ ก าร ทวี น กนฺ ต สี โ ล ด� า รง ต�าแหน่งเจ้าอาวาส วัดราษฎร์เจริญผล ตั้งอยู่ เลขที่ 1 หมู่ที่ 2 ตําบล แสลงพันธ์ อําเภอเมือง จังหวัด สุรินทร์ เป็นอีกหนึ่งวัดในจังหวัดสุรินทร์ ทัง้ หมดทีไ่ ด้เข้าร่วมโครงการหมูบ่ า้ นรักษาศีล 5 เพือ่ สร้างความสันติสขุ ในสังคม สํานักงาน พระพุ ท ธศาสนาจังหวัดสุริน ทร์ ในฐานะ หน่วยงานราชการที่มีภารกิจในการส่งเสริม ให้สังคม มีศีลธรรม คุณธรรมและจริยธรรม ตามแนวทางของพระพุ ท ธศาสนา จึ ง ได้ 114
กําหนดกิจกรรมในการสนับสนุนส่ง เสริม ให้เด็ก เยาวชน และประชาชนทุกเพศ ทุกวัยได้นําหลักธรรมคําสอนทางพระพุทธ ศาสนาไปพัฒนาชีวติ ครอบครัว ชุมชน และ สังคม โดยเน้นการรณรงค์ ส่งเสริม และ สนับสนุนให้มี “หมูบ่ า้ นรักษาศีล 5” ขึน้ ตาม ดําริที่เจ้าประคุณสมเด็จพระมหารัชมังคลา จารย์ ไ ด้ ป ระทานโอวาทไว้ เมื่ อวั น ที่ 17 พฤศจิกายน 2556 ความว่า “อันว่าศีล 5 เป็นการสําคัญมนุษย์ เมือ่ ทุกคนมีศลี 5 ด้วย กัน สังคมนั้น คือ ประชาชน ย่อมจะอยู่เย็น เป็นสุข เมื่อเป็นไปได้ ขอให้ชื่อหมู่บ้านนั้นว่า หมู่บ้านรักษาศีล 5” ประวัติ พระอธิการ ทวีน กนฺตสีโล เจ้าอาวาสวัดราษฎร์เจริญผล พระอธิการ ทวีน กนฺตสีโล เจ้าอาวาส
วัด ราษฎร์ เจริญผล ตําบล แสลงพันธ์ อําเภอเมือง จังหวัดสุรนิ ทร์ สถานะเดิม ชือ่ นาย ทวีน นามสกุล ประดับทอง เกิดวันพุธ ข้างขึน้ 8 คํา่ เดือน 9 ตรงกับวันที่ 12 เดือน กันยายน พ.ศ.2513 บิดาชื่อ นายตอน นามสกุล ประดับทอง มารดาชื่อ นางหิด นามสกุลเดิม หอมนวล อยู่บ้านเลขที่ 6 หมู่ 12 ต.หนองเต็ง อ. กระสัง จ.บุรรี มั ย์ มีพนี่ อ้ ง ร่วมสายโลหิต 7 คน
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
.indd 114
6/5/2018 1:06:41 AM
บ้านตะวันฉาย
Baan Tawan Shine โรงแรมใหม่ใกล้เมืองสุรินทร์ เดินทางสะดวก อยู่ติด ถนนใหญ่ไม่ต้องเข้าซอยให้ยุ่งยาก เงียบสงบ ปลอดภัย ห้องพักสวย สไตล์ โมเดิร์น มีทั้งสไตล์ห้องปูน และห้องสีหวานสดใส มีสิ่งอ�านวยความสะดวกครบครัน เคเบิ้ลทีวี ตู้เย็น แอร์ LCD TV.32” จอใหญ่ เต็มตา ที่จอดรถเป็นส่วนตัวทุกห้อง มี WiFi ฟรีตลอด 24 ชั่วโมง สะดวกสบายที่สุดในสุรินทร์เหมาะสมส�าหรับผู้ที่ต้องการพักผ่อนต้องการ ความเป็นส่วนตัว กลางใจเมือง หรือผู้ที่ต้องการที่สงบๆ ในการท�างาน ที่บ้านตะวันฉาย ให้ท่านได้
ที่อยู่ : 286 ถ.เทศบาล3 ต.ในเมือง อ.เมือง จ.สุรินทร์ 32000 ราคาห้อง : พักเริ่มต้น 450 -1500 บาท โทร : 044-538-881 บ้านตะวันฉาย Baan Tawan Shine
SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 115
115
6/7/2018 12:58:17 AM
W O R K LI F E
บันทึกเส้นทางพบนายอ�าเภอ
บันทึกเส้นทางพบนายอ�าเภอท่าตูม นายสมชาย อ�าพันกาญจน์
นายอ�าเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์
“
ท่าตูม ถิ่นช้างใหญ่ ผ้าไหมเนื้อดี ประเพณี เรือยาว ข้าวหลามขึ้นชื่อ เลื่องลือทุ่งกุลา งามตาแม่น�้ามูล ค�าขวัญอ�าเภอ
”
อ� ำ เภอท่ ำ ตู ม ชื่ อ เดิ ม เรี ย ก อ� ำ เภออุ ด ร เนื่ อ งจากอยู ่ ท างทิ ศ เหนื อ ของจั ง หวั ด สุ ริ น ทร์ สุรินทร์ ตั้งสถานที่ท�างานอยู่ในเมืองสุรินทร์ ต่อ มาทางราชการได้ แ ต่ ง ตั้ ง นำยพิ น จรั ญ ยำนนท์ (หลวงสนิทนิคมรัฐ) มาด�ารงต�าแหน่งนาย อ�าเภออุดร เมือ่ พ.ศ. 2456 ได้ปลูกสร้างสถานที่ ว่าการอ�าเภอขึ้นที่ฝั่งแม่น�้ามูลต่อมาได้พิจารณา เห็นว่าที่ตั้งของที่ว่าการอ�าเภอยังไม่เหมาะสม เนือ่ งจากอยูใ่ กล้รมิ แม่นา�้ มูลเกินไป ฤดูฝนน�า้ ไหล เซาะตลิ่งพังทุกปี และที่ดินน้อยลงทุกปี จึงได้ ย้ายไปตัง้ ทีว่ า่ การอ�าเภอขึน้ ใหม่บริเวณตลาดสด ทุกวันนี้ และได้เปลี่ยนชื่อใหม่ว่าอ�ำเภอสุรพินท์ แต่เนือ่ งจากอ�าเภอสุรพินท์ ต้องขึน้ ต่อเมืองขุขนั ท์ ซึ่งมีระยะทางไกลมาก สร้างความล�าบากแก่ ข้าราชการ และราษฎร ที่จ�าเป็นต้องไปติดต่อ ราชการ จึ ง ได้ พิ จ ารณาให้ อ� า เภอสุ ร พิ น ท์
116
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
.indd 116
6/7/2018 12:59:52 AM
มาขึ้นต่อเจ้าเมืองสุรินทร์ ต่อมาเห็นว่าชื่อ อ�าเภอยังไม่ถูกต้อง ตามความเป็นจริงของ ภูมปิ ระเทศคือ หมูบ่ า้ นซึง่ เป็นทีต่ งั้ ของอ�าเภอ จึงได้เปลี่ยนชื่ออ�าเภอใหม่เป็น อ�าเภอท่าตูม ต่อมา พ.ศ. 2499 ได้ย้ายสถานที่ตั้งอ�าเภอ ไปตัง้ อยูใ่ นทางทิศใต้หา่ งจากทีเ่ ดิมประมาณ 10 เส้น จนกระทั่งปัจจุบันนี้ โบราณสถานน่าเที่ยว และโบราณวัตถุ น่าชมในอ�าเภอท่าตูม คือ ปราสาท บ้าน สระถลาตั้งอยู่บ้านสระถลา หมู่ที่ 21 ต�าบล ท่าตูม อ�าเภอท่าตูม ห่างจากที่ว่าการอ�าเภอ ท่าตูม ประมาณ 4 กิโลเมตร สถานที่ท่องเที่ยวเพลินตา เพลินใจ 1. วัดพระพุทธบาทพนมดิน ในต�าบล ท่ า ตู ม เป็ นวั ด ป่ า ที่ มี สิ่ ง ก่ อ สร้ า งสวยงาม บรรยากาศร่มรื่น อาทิ พระพุททบาทจ�าลอง พระมหาเจดีย์บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ 2. หมู ่ บ ้ า นช้ า ง และ ศู น ย์ ค ชศึ ก ษา บ้านตากลาง หมู่ที่ 9 และหมู่ที่ 13 ตั้งอยู่ที่ บ้านตากลาง ต�าบลกระโพ ตามทางหลวง หมายเลข 214 (จอมพระ-ท่าตูม) บริเวณ หลั ก กม.ที่ 36 แล้ ว เลี้ ย วซ้ า ยเข้ า ไปอี ก ประมาณ 22 กิโลเมตร ชาวบ้านตากลาง ดั้งเดิมเป็นส่วย มีอาชีพในการคล้องช้างป่า ฝึกช้าง และเลีย้ งช้าง ปัจจุบนั ยังคงมีการเลีย้ ง ช้าง และการฝึกช้างเพื่อร่วมการแสดงช้าง ของจังหวัดทุกปี นักท่องเที่ยวสามารถไปชม การฝึกช้างที่หมู่บ้านได้ทุกวันในช่วงเดือน ตุลาคมถึงเดือนพฤศจิกายน
ศู น ย์ ค ชศึ ก ษา ตั้ ง อยู ่ ที่ ห มู ่ บ ้ า นช้ า ง บ้านตากลาง อ�าเภอท่าตูม เพื่อเป็นจุดรวม สังคมคนกับช้าง เป็นศูนย์ข้อมูลวัฒนธรรม ท้องถิ่น โดยทางอ�าเภอท่าตูม และชุมชน หมู่บ้านช้างบ้านตากลาง ได้ร่วมกันจัดการ แสดงของช้างไว้ตอ้ นรับนักท่องเทีย่ ว โดยเปิด แสดงทุกวันเสาร์ เวลา 09.30-11.00 น. อัตราค่าเข้าชม ผูใ้ หญ่ 50 บาท เด็ก 20 บาท ค่าขี่ช้าง 50 บาทต่อ 1 เชือก ติ ด ต่ อ สอบถามรายละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม ได้ที่ผู้จัดการศูนย์คชศึกษา หมู่บ้านช้าง บ้านตากลาง ต.กระโพ อ.ท่าตูม โทร. (01) 966-5285 หรื อ ที่ ก�า นั น ต� า บลกระโพ อ.ท่าตูม โทร. (044) 512-925, (01) 9663845 หรือผู้ใหญ่บ้านตากลาง โทร. (01) 977-4420 (วัฒนา 18/06/40) 3. ประเพณีการแข่งเรือยาวประจ�าปี ระหว่างเดือนตุลาคมของทุกปี ณ ล�าน�้ามูล 4. วังทะลุ เป็นสถานที่ท่องเที่ยวตั้งอยู่
ทางทิศตะวันตกบ้านตากลาง ต.กระโพ ระยะ ทาง 2.4 กิโลเมตร เป็นบริเวณที่แม่น�้ามูล และแม่น�้าชีไหลมาบรรจบกันอย่างสวยงาม 5. ฝายน�้าล้นบ้านกุดมะโน เป็นฝายน�้า ล้ น ที่ กั ก น�้ า หนองกลาง เป็ น แหล่ ง น�้ า ที่ มี ทิวทัศน์สวยงามในฤดูฝน น�้าลดจะมีหาด ทรายที่สวยงาม อยู่ที่บ้านกุดมะโน หมู่ ที่ 7 ต.โพนครก ติดต่อ ที่ว่าการอ�าเภอท่าตูม ต�าบลท่าตูม อ�าเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ โทรศัพท์ : 0-4459-1141 SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 117
117
6/7/2018 1:00:22 AM
W O R K LI F E
บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�าบล
องค์การบริหารส่วนต�าบลท่าตูม
นายวานิช ธนาคุณ
นายกองค์การบริหารส่วนต�าบลท่าตูม “วิถีชีวิตลุ่มน�้ำมูล สำธำรณูปโภคพร้อม สิ่งแวดล้อมดี คนมีคุณธรรม เลิศล�้ำกำรศึกษำ ยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง สุขอย่ำงยั่งยืน” วิสัยทัศน์ ทีท่ ำ� กำรองค์กำรบริหำรส่วนต�ำบลท่ำตูม อ�ำเภอท่ำตูม จังหวัดสุรนิ ทร์ ตัง้ อยูห่ ำ่ งจำกทีว่ ำ่ กำรอ�ำเภอท่ำตูมประมำณ 2 กิโลเมตร มีเนือ้ ทีท่ งั้ หมด ประมำณ 107 ตำรำงกิโลเมตร หรือ ประมำณ 66,875 ไร่ โดยมีอำณำเขต ดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับ ต�ำบลทุ่งกุลำ และต�ำบลโพนครก อ�ำเภอท่ำตูม จังหวัดสุรินทร์ ทิศใต้ ติดต่อกับ ต�ำบลเมืองแก ต�ำบลบัวโคก และต�ำบล หนองเมธี อ�ำเภอท่ำตูม จังหวัดสุรินทร์ ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ต�ำบล หนองบัว อ�ำเภอท่ำตูม จังหวัดสุรินทร์ ทิศตะวันตก ติดต่อกับ ต�ำบลบะ และต�ำบลพรมเทพ อ�ำเภอท่ำตูม จังหวัดสุรินทร์ มีสภำพภูมิอำกำศ สำมฤดู เหมำะกับกำรท�ำกำรเกษตรตำมช่วงฤดู เช่น กำรปลูกข้ำวใน ฤดูฝน ปลูกผัก หรือพืชไร่บำงชนิดในฤดูหนำว ยุทธศำสตร์ 1.ด้ำนโครงสร้ำงพืน้ ฐำน และกำรพัฒนำด้ำนแหล่งน�ำ้ พัฒนำระบบ โครงสร้ำงพืน้ ฐำนและบริกำรสำธำรณูปโภคให้สะดวกทัว่ ถึงและมีคณ ุ ภำพ สร้ ำ งระบบคมนำคมของต� ำ บลให้ มี ค วำมเชื่ อ มโยงทั้ ง ระดั บ ต� ำ บล 118
.
และหมู่บ้ำนให้มีควำมสะดวกในทุกพื้นที่ พัฒนำบริกำรด้ำน สำธำรณูปโภคให้ครอบคลุมทุกหมู่บ้ำนและพัฒนำกำรให้บริกำร ให้มีคุณภำพได้มำตรฐำน 2. ด้ำนเศรษฐกิจแบบพอเพียง และกำรท่องเทีย่ ว พัฒนำระบบ เศรษฐกิจของต�ำบลท่ำตูมให้มคี วำมเสมอภำคและกระจำยรำยได้ ไปทุกพื้นที่ สนับสนุนให้ประชำชนมีอำชีพและหลักประกันสังคม มั่นคง ส่งเสริมกำรประกอบอำชีพเสริมทั้งในและนอกฤดู 3. ด้ำนสังคม และกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนกำรเมืองทีด่ ี ส่งเสริม ปลูกฝัง ควำมรูร้ กั สำมัคคีของประชำชน รักษำควำมสงบเรียบร้อย ควำมปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน กำรป้องกันปรำบปรำมและ แก้ไขปัญหำยำเสพติด กำรป้องกันและบรรเทำสำธำรณภัยทุกรูป แบบพร้อมทัง้ จะพัฒนำด้ำนวัสดุอปุ กรณ์เครือ่ งมือเครือ่ งใช้สำ� หรับ ป้องกันและบรรเทำสำธำรณภัย ให้ทันสมัยและเพียงพอพร้อมใช้ งำนป้องกันภัยได้ตลอดเวลำและมีประสิทธิภำพมำกที่สุด ส่งเสริมปลูกจิตส�ำนึกให้ประชำชนมีคุณธรรม จริยธรรม มี ระเบียบวินยั ประชำชนมีกจิ กรรมทำงศำสนำและน�ำหลักธรรมทำง พระพุทธศำสนำมำปฏิบัติตำมกฎหมำย พัฒนำระบบกำรบริกำร ประชำชนและบุคลำกร ให้ มี ขี ด ควำมสำมำรถในกำรอ� ำ นวย ควำมยุติธรรมแก่ประชำชนได้อย่ำงเต็มก�ำลังควำมสำมำรถ
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
.indd 118
6/7/2018 1:01:09 AM
ส่งเสริม สนับสนุนการด�าเนินงานของ สภาเด็กและเยาวชน สภาผู้น�าชุมชน สภา องค์กรชุมชน ศูนย์พัฒนาครอบครัวเข้มแข็ง ศูนย์ยุติธรรมชุมชนประจ�าต�าบล เพื่อการ พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนและสร้าง ความเข้มแข็งของชุมชน 4. ด้านการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม พัฒนาประชากรวัยศึกษาของต�าบลให้ได้รับ การศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน 12 ปี ขยายโอกาสทาง การศึกษาให้ครอบคลุมจ�านวนประชากรใน ทุกพื้นที่ของต�าบล สร้างจิตส�านึก ความรักหวงแหน ศิลป วั ฒ นธรรมและภู มิ ป ั ญ ญาท้ อ งถิ่ น และ เสริมสร้างระบบครอบครัวและชุมชนให้มี ความเข้มแข็งและอบอุ่น รณรงค์และรวม กลุ่มต่อต้าน ยาเสพติด เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี มีความมั่นคง รวมทั้งส่งเสริมบทบาทการมี ส่วนร่วมในการพัฒนาและกิจกรรมการเมือง ทุกระดับ อนุรกั ษ์โบราณสถาน วัฒนธรรมประเพณี ของต�าบลให้คงอยูต่ ลอดไป และ ส่งเสริมและ สนับสนุนประเพณีต่างๆ อนุรักษ์สืบสาน ขนบธรรมเนียมประเพณีศลิ ปวัฒนธรรมและ ภู มิ ป ั ญ ญาท้ อ งถิ่ น รวมทั้ ง วั น ส� า คั ญ และ กิจกรรมต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับชาติ ศาสนา และ พระมหากษัตริย์
5. ด้านสาธารณสุขและการกีฬาและ สิ่งแวดล้อม ลดปริมาณขยะและมลภาวะ โดยวิธีการก�าจัดขยะที่เหมาะสม การจัดการ สิ่งแวดล้อมที่เป็นระบบเพื่อน�าไปสู่ชุมชน น่าอยู่ พัฒนาระบบการให้บริการสาธารณสุข ให้มีคุณภาพได้มาตรฐานและทั่วถึง สร้าง หลักประกันสุขภาพแก่ประชาชนประเภท ต่างๆ และการกระจายด้านสาธารณสุขทั้ง ด้านบริการและด้านบุคลากร โดยการพัฒนา แบบองค์รวมทั้งการป้องกัน การรักษาและ พัฒนาองค์ความรู้ ส่งเสริม/สนับสนุนการ ออกก�าลังกายอย่างสม�่าเสมอ
กิจกรรม “ปั่นจักรยาน สร้างสุขภาพดี บนวิถพี อเพียง” เป็ น โครงการที่ น ้ อ มร� า ลึ ก ถึ ง พระมหา กรุณาธิคุณในพระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมพิ ลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 เพือ่ รณรงค์ ส่งเสริมการออกก�าลังกาย สร้างสุขภาพที่ดี ให้ กั บ ประชาชน โดยมีผู้เข้า ร่วมกิจกรรม กว่า 1,900 คน เมื่อวันที่ 6 มีนาคม 2560 ที่ผ่านมา
SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
.
.indd 119
119
6/7/2018 1:03:11 AM
W O R K LI F E
บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�าบล
องค์การบริหารส่วนต�าบลบะ
นายสุทิน ลักขษร นายกองค์การบริหารส่วนต�าบลบะ
คณะผู้บริหาร
120
.
.indd 120
องค์การบริหารส่วนต�าบลบะ จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติ สภาต�าบลและองค์การบริหารส่วนต�าบล พ.ศ. 2537 โดยประกาศ ของกระทรวงมหาดไทย และประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว ซึง่ มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2540 ตราสัญลักษณ์ประจ�าองค์การบริหารส่วนต�าบลบะ : มี ลักษณะเป็นวงกลม ภายในวงกลม ประกอบด้วย เนินเขา หมาย ถึง การประกอบอาชีพของต�าบล ซึ่งส่วนใหญ่จะท�านาข้าว และ ยังแสดงถึงความอุดมสมบูรณ์ของพื้นที่เกษตรกรรม ดวงจันทร์ที่ เปล่งแสง หมายถึง ความเจริญรุ่งเรืองของต�าบลบะ กระต่าย หมายถึง ชุมชน เรียกว่า “บะ ขีก้ ระต่าย” แม่น�้า หมายถึง ต�าบลบะ อุดมสมบูรณ์ด้วยแหล่งน�้า ได้แก่ แม่น�้ามูล และห้วยระวี ซึ่งอุดม สมบูรณ์ด้วยสัตว์น�้านานาชนิด ค�าขวัญ “ รักสามัคคี มากมีนักปราชญ์ ปราสาทโบราณ สืบสาน วัฒนธรรม เกษตรล�้าหน้า ชาวประชาเป็นสุข ” วิสัยทัศน์ “ต�าบลน่าอยู่ สูก่ ารพัฒนาทีย่ งั่ ยืน โครงสร้างพืน้ ฐานครอบคลุม มีภมู คิ มุ้ กันทางสังคม ยึดถือปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” ส�านักงานองค์การบริหารส่วนต�าบลบะ ตั้งอยู่ ณ เลขที่ 80 หมู่ที่ 2 บ้านหนองตาไก้ ต�าบลบะ อ�าเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ มี ร ะยะห่ า งจากตั ว อ� า เภอท่ า ตู ม ไปทางทิ ศ ตะวั น ตกเฉี ย งใต้ ประมาณ 25 กิโลเมตร และห่างจากตัวจังหวัดสุรินทร์ไปทางทิศ ตะวันตกเฉียงเหนือ ประมาณ 50 กิโลเมตร อาณาเขตติดต่อ มีอาณาเขตติดต่อกับต�าบลต่างๆ ดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับ องค์การบริหารส่วนต�าบลท่าตูม และ
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
6/6/2018 1:37:27 PM
องค์การบริหารส่วนต�าบลพรมเทพ ทิศใต้ ติดต่อกับ องค์การบริหารส่วน ต�าบลชุมแสง อ�าเภอจอมพระ ทิศตะวันตก ติดต่อกับ องค์การบริหาร ส่วนต�าบลกระโพ ทิศตะวันออก ติดต่อกับ องค์การบริหาร ส่วนต�าบลหนองเมธี ขนาดพืน้ ที่ ทัง้ หมดประมาณ 63 ตาราง กิโลเมตร หรือประมาณ 39,375 ไร่ มี หมู่บ้านที่อยู่ในเขตพื้นที่รับผิดชอบ จ�านวน 15 หมู่บ้าน ข้อมูลประชากร ต�าบลบะ มีครัวเรือน ทั้ ง หมดในเขตพื้ น ที่ รั บ ผิ ด ชอบ จ� า นวน 1,607 หลังคาเรือน และมีประชากรทัง้ หมด
6,491 คน จ�าแนกเป็น ชาย 3,210 คน หญิง 3,281 คน ผู้น�าในท้องถิ่น ประกอบด้วย 1. นายสุ ทิ น ลั ก ขษร นายกองค์ การบริหารส่วนต�าบลบะ 2. นายสงบ คงสุข ประธานสภาองค์การ บริหารส่วนต�าบลบะ 3. นายอิสรพงศ์ วงศ์ฉลาด ปลัดองค์การ บริหารส่วนต�าบลบะ 4. นายประสิทธิ์ ซ่อนกลิน่ ก�านันต�าบลบะ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคม 1. สนั บ สนุ น การศึ ก ษา แหล่ ง เรี ย นรู ้ ข่าวสารข้อมูล 2. ส่งเสริมสุขภาพและอนามัย 3. ส่ ง เสริ ม สนั บ สนุ น ด้ า นสวั ส ดิ ก าร ของชุมชน
4. ส่ ง เสริ ม สนั บ สนุ น การกี ฬ าและ นันทนาการ 5. ส่งเสริมป้องกัน เฝ้าระวัง รักษา บ�าบัด ผูเ้ สีย่ งติดยาเสพติด 6. การพัฒนาด้านคุณธรรม จริยธรรมและ วัฒนธรรมประเพณี ยุทธศาสตร์การพัฒนาเศรษฐกิจ เพื่ อ กระตุ ้ น ส่ ง เสริ ม ให้ เ กิ ด การค้ า การลงทุน การส่งเสริมการท่องเทีย่ ว โดยการ ส่งเสริมอาชีพ การสร้างงาน สร้างรายได้แก่ ประชาชน ท� า ให้ ป ระชาชนมี ฐ านะทาง เศรษฐกิจและความเป็นอยู่ดีขึ้น 1. ส่งเสริมสนับสนุนการเพิม่ ผลผลิตโดย วิถีเกษตรอินทรีย์ 2. สนับสนุนการจัดท�าเศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวพระราชด�าริ การรวมกลุม่ เกษตรกร
และกลุ่มอาชีพต่างๆ ทั้งด้านทุน ศูนย์ฝึก อาชีพเพื่อพัฒนาอาชีพ ความเข้มแข็งและ สร้างรายได้ ประเพณี แ ละแหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วทาง วัฒนธรรม ในต�าบลบะมีแหล่งท่องเที่ยวทางศาสนา ได้แก่ วัดป่าโพธิสัตว์ เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่ ส�าคัญ มีปราสาทดินที่เก่าแก่มาก ซึ่งในช่วง เดือนเมษายน-พฤษภาคม ของทุกปี จะมีการ จัดงานประเพณีสรงน�้าปราสาทขึ้น เพื่อเป็น ที่ยึดเหนี่ยวจิตใจของประชาชนในต�าบลบะ และประชาชนทั่วไป SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
.
.indd 121
121
6/6/2018 1:38:19 PM
W O R K LI F E
บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�าบล
องค์การบริหารส่วนต�าบลหนองบัว
นางสาวประจวบ บุญมี นายกองค์การบริหารส่วนต�าบลหนองบัว
“สังคมอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุขด้วยความเสมอ ภาค เป็นธรรมและมีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลง” วิสัยทัศน์ ที่ท�ำกำรองค์กำรบริหำรต�ำบลหนองบัว ตั้งอยู่เลขที่ 241/3 หมู่ที่ 10 ต�ำบลหนองบัว อ�ำเภอท่ำตูม จังหวัดสุรินทร์ ห่ำงจำกอ�ำเภอท่ำตูมมำทำง ทิศตะวันออกประมำณ 6 กิโลเมตร พื้นที่ส่วนใหญ่ทำงทิศใต้ของต�ำบล หนองบัว สภำพเป็นทีร่ ำบสูงลำดต�ำ่ ลงมำทำงทิศเหนือ ซึง่ เป็นเขตป่ำสงวน แห่งชำติ สลับกับทุ่งนำ พื้นที่ตอนกลำงเป็นที่ลุ่ม ลำดต�่ำไปทำงทิศเหนือ จดเขตแม่น�้ำมูล มีหนองน�้ำมำกมำยสลับกับทุ่งนำ เหมำะส�ำหรับปลูกข้ำว ท�ำไร่ปอ ป่ำยูคำลิปตัส ส่วนบริเวณแม่น�้ำเหมำะส�ำหรับกำรท�ำกำรประมง เลี้ยงสัตว์แบบปล่อยทุ่ง เช่น วัว ควำย เป็ด เป็นต้น เนื้อที่ทั้งหมดขององค์กำรบริหำรส่วนต�ำบลหนองบัวมีประมำณ 38 ตำรำงกิโลเมตร หรือประมำณ 23,750 ไร่ โดยใช้พื้นที่ส่วนใหญ่ใช้ในด้ำน กำรเกษตรประมำณ 20,040 ไร่ พื้นที่ต�ำบลหนองบัวรักสงบ และมีควำมปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ซึ่งอยู่ในพื้นที่ควำมรับผิดชอบของ สถำนีต�ำรวจภูธรอ�ำเภอท่ำตูม จังหวัด สุรินทร์ กำรศำสนำ ประชำชนต� ำ บลหนองบั ว ส่ ว นใหญ่ นั บ ถื อ ศำสนำพุทธ มีสถำบันและองค์กรทำงศำสนำ วัด และส�ำนักสงฆ์ รวม 7 แห่ง ดังนี้ คือ 1.วัดจ�ำปำหนองบัว หมูท่ ี่ 10 บ้ำนหนองบัว 2.วัดอัมพำวำรินทร์ หมูท่ ี่ 9 บ้ำนม่วงมูล 3.วัดโพธิศ์ รีไกลเสนียด หมูท่ ี่ 6 บ้ำนไกลเสนียด 4.วัดบ้ำนตลำดไทร หมูท่ ี่ 3 บ้ำนตลำด ไทร 5.วัดโพธิ์ศรีสะอำด หมู่ที่ 5 บ้ำนโพนงอย 6.ส�ำนักสงฆ์ บ้ำนดงเย็น หมู่ที่ 4 บ้ำนดงเย็น 7.วัดป่ำสวนแสงธรรม หมู่ที่ 1 บ้ำนหนองบัว ศิลปวัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณี มีกำรท�ำบุญ ตำมประเพณี และวันส�ำคัญทำงศำสนำตลอดทั้งปี และในทุก วันพระ มีโครงกำร/กิจกรรมที่ปฏิบัติ สืบทอดกันมำทุกปีในงำน ประจ�ำปี มกรำคม - ธันวำคม ของทุกปี 122
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
.indd 122
6/7/2018 1:07:43 AM
ส่วนใหญ่ มีความพึงพอใจที่องค์การบริหาร ส่ ว นต� า บลหนองบั ว ได้ ด� า เนิ น การตาม
ภูมิปัญญาท้องถิ่นและภาษาถิ่น สืบทอด กันมาจากบรรพบุรุษ และขนบธรรมเนียม ทางอีสาน ประชาชนส่วนใหญ่จงึ ใช้ภาษาลาว (อีสาน)ในการสือ่ สาร และมีภมู ปิ ญ ั ญาท้องถิน่ ดังนี้ 1.การจักสาน ตะกร้า และผลิตภัณฑ์ จากไม้ ไ ผ่ 2. การทอเสื่ อ กก เสื่ อ ไหล 3. การทอผ้ า ย้ อ มสี ธ รรมชาติ 4. เรื่ อ ง สมุนไพรพื้นบ้าน 5. การประมงจับสัตว์น�้า 6. แพทย์แผนไทย สินค้าพืน้ เมืองและของทีร่ ะลึก 1. ผ้าฝ้าย ย้อมสีธรรมชาติ 2. ผลิตภัณฑ์เสือ่ กก เสือ่ ไหล 3. ผลิตภัณฑ์ทอผ้าเช็ดเท้า 4. ผลิตภัณฑ์ จักสานจากเส้นด้ายพลาสติก 5. ผลิตภัณฑ์ พืชผักสวนครัว 6. ผลิตภัณฑ์ขนมนางเล็ด และข้าวเกรียบ 7. ผลิตภัณฑ์ขนมดอกจอก อย่างไรก็ตาม พื้นที่ต�าบลหนองบัว ยังมี ผู้ยากไร้ และด้อยโอกาส ที่ต้องการได้รับ ความช่วยเหลือจากทางการ ทั้งด้านที่อยู่ อาศัย ที่ดินท�ากิน การฝึกอาชีพเพื่อเพิ่ม รายได้ ซึ่งเป็นแผนงานที่ได้รับการเอาใจใส่ และได้ รั บ ความร่ ว มมื อจากพั ฒนาชุ ม ชน อ�าเภอท่าตูม เพือ่ ให้หาทางช่วยเหลือ โดยยึด ระเบียบและอ�านาจหน้าที่องค์การบริหาร ส่วนต�าบลหนองบัว ได้ดา� เนินการด้านสงคม สังเคราะห์ ดังนี้ 1. ด� า เนิ น การจ่ า ยเบี้ ย ยั ง ชี พ ให้ กั บ ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ป่วยเอดส์ 2. รับลงทะเบียนและประสานโครงการ
เงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิด 3. ประสานการท�าบัตรผู้พิการ 4. ให้การสนับสนุนโครงการบ้านท้องถิ่น ไทย เทิดไท้องค์ราชัน ต�าบลหนองบัวมีผลิตภัณฑ์ต�าบล และ มีการจัดตั้งกลุ่มอาชีพ ดังนี้ 1.หมู่ที่ 4 ผลิตภัณฑ์จากผ้าฝ้ายย้อมสี ธรรมชาติ เช่ น ผ้ า ปู เ ตี ย ง ผ้ า คลุ ม ตู ้ เ ย็ น กระเป๋าใส่โทรศัพท์มือถือ หมวก ผ้าขาวม้า ผ้าม่าน ผ้าพื้น ฯลฯ 2.หมู่ที่ 6,7,8 และ 9 ผลิตภัณฑ์จกั สานด้วยไม้ไผ่ เช่น เครือ่ งมือ การท�าประมง เครือ่ งมือการเกษตร 3.หมูท ่ ี่ 3 กลุม ่ ท�าขนมนางเล็ดและขนมข้าวเกรียบทอด 4.หมู่ที่ 9 กลุ่มทอผ้าไหมพื้นบ้าน 5.หมู่ที่ 6,7,8 และ9 กลุ ่ ม ทอเสื่ อ กก เสื่ อ ไหล 6.หมู่ที่ 2 กลุ่มโรงสีชุมชน
โครงการและกิจกรรมตามแผนพัฒนาต�าบล เนื่ อ งจากประชาชนมี ค วามต้ อ งการด้ า น โครงสร้างพื้นฐานมาเป็นอันดับแรก ผลการ ด� า เนิ น งานที่ ผ ่ า นมาจึ ง เน้ น หนั ก ไปที่ ด ้ า น โครงสร้างพื้นฐาน และทางองค์การบริหาร ส่วนต�าบลหนองบัวก็จะพยายามต่อไปที่จะ พั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต ในด้ า นต่ า งๆ ของ ประชาชนให้ ค รบทุ ก ด้ า น ส� า หรั บ การ ประเมิน ผลการน�าแผนพัฒนาไปปฏิบัติใน เชิงปริมาณ ส่วนใหญ่ในแผนพัฒนาต�าบล ในปี ที่ ผ ่ า นมาได้ จั ด ท� า แผนงานโครงการ และกิจกรรมไว้จ�านวนมากครอบคลุมงาน ทุกด้าน โดยจัดเรียงล�าดับความส�าคัญเร่งด่วน และค�านึงถึง งบประมาณที่องค์การบริหาร ส่วนต�าบลได้รับ ท�าให้ในเชิงปริมาณการน�า แผนพั ฒ นาไปสู ่ ก ารปฏิ บั ติ จึ ง มี ค วาม ครอบคลุม ถึงแม้จะไม่สามารถด�าเนินการ ได้ครบ 100%
ผลการด� า เนิ น งานในปี ง บประมาณ พ.ศ.2557-2560 จากการประเมิ น ประสิ ท ธิ ภ าพของ แผนพัฒนาเชิงคุณภาพ จากการสอบถาม ความพึงพอใจของสมาชิก อบต.และประชาชน SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 123
123
6/7/2018 1:08:07 AM
W O R K LI F E
บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�าบล
องค์การบริหารส่วนต�าบลหนองเมธี
นายอธิพงศ์ แจ้งสนาม นายกองค์การบริหารส่วนต�าบลหนองเมธี “ชุมชนเข้มแข็งน่าอยู่ ความรู้ก้าวไกล สนใจ เกษตรอินทรีย์ ประเพณีนิยม คมนาคม สะดวก” องค์การบริหารส่วนต�าบลหนองเมธี ที่ตั้งส�ำนักงำน หมู่ที่ 1 ต�ำบล หนองเมธี อ�ำเภอท่ำตูม จังหวัดสุรินทร์ ห่ำงจำกจังหวัดสุรินทร์ไปทำง ทิศเหนือ ตำมทำงหลวงหมำยเลข 214 ระยะทำง 42 กิโลเมตร ปัจจุบันมี นายอธิพงศ์ แจ้งสนาม ด�ำรงต�ำแหน่งนำยกองค์กำรบริหำรส่วนต�ำบล หนองเมธี ประวัติความเป็นมา : ต�ำบลหนองเมธี เดิมเป็นส่วนหนึ่งของต�ำบลบะ ต่อมำเมื่อปี พ.ศ. 2525 ได้แยกหมู่บ้ำนตั้งเป็นต�ำบลหนองเมธี โดยแยก ตำมแนวหมูบ่ ำ้ นทีอ่ ยูท่ ำงทิศตะวันออกของต�ำบลบะ ได้แก่ บ้ำนบุผำง บ้ำน ทุง่ มน บ้ำนทุง่ โก และบ้ำนพะเนำ ซึง่ เดิมมีกำรเสนอตัง้ ชือ่ ต�ำบลเป็น 2 ชือ่ ได้แก่ ต�ำบลหนองไม้ถี่ และต�ำบลหนองเมธี พระครูวรรณรังษีโสภณ (หลวงพ่อเขียน) เจ้ำคณะต�ำบลในขณะนั้น ได้อธิบำยควำม หมำยของค�ำว่ำ หนองเมธี ว่ำหมำยถึง หนองแห่งนักปราชญ์ จึงมีมติเลือกชื่อ “หนองเมธี” เป็นชื่อต�ำบล โดยก�ำนันคนแรก ชื่อ นายแฮม ดอกแก้ว และเมื่อปี พ.ศ. 2536 ได้มีกำรเลือก ก�ำนันคนใหม่ โดย นายเชิดชาย ชมภู ได้รับเลือกเป็นก�ำนัน และด�ำรงต�ำแหน่งติดต่อกันถึง 3 สมัย พันธกิจ 1. ส่งเสริมกระบวนกำรเรียนรู้และกำรมีส่วนร่วมในกำร พัฒนำสู่ชุมชนเข้มแข็ง
124
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
.indd 124
6/7/2018 1:09:10 AM
2.ส่งเสริมและสนับสนุนวิถีชีวิตเกษตร อินทรีย์ 3.การพัฒนาการรวมกลุม่ ประกอบอาชีพ เสริม-รายได้ 4.บ�ารุง รักษา พัฒนาระบบคมนาคมให้ สะดวก รวดเร็ว 5.คุ้มครอง รักษา ดูแล ฟื้นฟูทรัพยากร ธรรมชาติและพัฒนาสิ่งแวดล้อมชุมชนให้ หน้าอยู่ 6.บ� า รุ ง รั ก ษา ภู มิ ป ั ญ ญาท้ อ งถิ่ น ขนบธรรมเนียมประเพณีอนั ดีงามของท้องถิน่ และชาติ 7.สนับสนุนการศึกษาทั้งในระบบและ นอกระบบอย่างทั่วถึง คณะผูบ้ ริหารองค์การบริหารส่วนต�าบล หนองเมธี นายอธิพงศ์ แจ้งสนาม นายกองค์การ บริหารส่วนต�าบลหนองเมธี นายวีรศักดิ์ พิมพ์ศรี รองนายกองค์การ บริหารส่วนต�าบลหนองเมธี นายโพธิ์ แกล้วกล้า รองนายกองค์การ บริหารส่วนต�าบลหนองเมธี นายเลื่อน กองสุข เลขานายกองค์การ บริการส่วนต�าบลหนองเมธี
จากใจนายกองค์การบริหารส่วนต�าบล หนองเมธี “นายอธิพงศ์ แจ้งสนาม” ด้ ว ยความมุ ่ ง มั่ น ตั้ ง ใจในการสานต่ อ นโยบายการพั ฒ นาบ้ า นเมื อ งให้ เ จริ ญ ก้าวหน้าอย่างต่อเนือ่ ง ตลอดระยะเวลา 4 ปี ที่ผ่านมา กับภารกิจหน้าที่ภายใต้ต�าแหน่ง นายกองค์การบริหารส่วนต�าบลหนองเมธี ผมปลาบปลืม้ ใจเป็นอย่างยิง่ ทีไ่ ด้รว่ มท�างาน กับทีมผู้บริหาร คณะสมาชิกสภา ข้าราชกร และพนักงานส่วนต�าบลหนองเมธี ทุกๆคน เพื่ อ ขั บ เคลื่ อ นสร้ า งสรรค์ ง านสร้ า งต� า บล หนองเมธีให้วิวัฒน์พัฒนายิ่งๆ ขึ้นไป จนมาบรรจบครบรอบปีอีกครั้งหนึ่งด้วย ความเรียบร้อยนั้น ถือได้ว่าองค์การบริหาร ส่วนต�าบลหนองเมธีได้ผ่านพ้นภารกิจอัน
ส�าคัญแห่งการพัฒนาท้องถิ่นอย่างเป็นรูป ธรรม อาทิ การพัฒนาด้านโครงสร้างพืน้ ฐาน ยกระดับคุณภาพชีวิตประชาชน การส่งเสริม อาชี พ โดยยึ ด หลั ก เศรษฐกิ จ พอเพี ย ง สนับสนุนและส่งเสริมการศึกษาให้มคี ณ ุ ภาพ มาตรฐาน การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม ภายในชุมชน พร้อมทั้งส่งเสริมและอนุรักษ์ วัฒนธรรมประเพณีอันดีงาม สุดท้ายนี้ ผมและคณะผูบ้ ริหารองค์การ บริหารส่วนต�าบลหนองเมธี ต้องขอขอบคุณ ทุกความร่วมมือร่วมใจจากทุกภาคส่วน ทั้ง ภาครัฐและเอกชน ที่ร่วมผลักดันให้ต�าบล หนองเมธีเดินหน้าสู่ความส�าเร็จและพร้อม เคี ย งข้ า งพี่ น ้ อ งประชาชนชาวหนองเมธี เสมอมา
SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 125
125
6/7/2018 1:10:03 AM
W O R K LI F E
บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�าบล
องค์การบริหารส่วนต�าบลทุ่งกุลา อ�าเภอท่าตูม
นายญาติ บินรัมย์ นายกองค์การบริหารส่วนต�าบลทุ่งกุลา
“ทุ่งกุลากว้างใหญ่ ผ้าไหมเนื้อดี วารีล�าพลับพลา มากค่ามะลิหอม งามพร้อมวัฒนธรรม” ค�าขวัญ องค์การบริหารส่วนต�าบลทุ่งกุลา อ�าเภอท่าตูม จังหวัด สุรนิ ทร์ ตั้งอยู่ที่บ้านตานบ หมู่ที่ 4 อยู่ทางทิศตะวันตกเฉียง เหนื อ ของอ� า เภอท่ า ตู ม ห่ า งจากอ� า เภอท่ า ตู ม ระยะทาง ประมาณ 16 กิโลเมตร ตามเส้นทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 214 ห่างจากศาลากลางจังหวัดสุรนิ ทร์ ระยะทางประมาณ 69 กิโลเมตรมีเนื้อที่ประมาณ 67 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 41,875 ไร่ มีลักษณะเป็นที่ราบ สภาพหมู่บ้านแต่ละหมู่บ้าน อยู่ห่างไกลกันซึ่งเป็นพื้นที่ท�าการเกษตรและเป็นที่อยู่อาศัย มีอาณาเขตติดต่อกับต�าบลต่างๆ ดังต่อไปนี้ ทิศเหนือ ติดกับ อ�าเภอสุวรรณภูมิ อ�าเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด ทิศใต้ ติดกับ แม่น�้ามูล เขตต�าบลท่าตูม อ�าเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ ทิศตะวันออก ติดกับ ต�าบลโพนครก อ�าเภอท่าตูม จังหวัด สุรินทร์ ทิศตะวันตก ติดกับ ต�าบลพรมเทพ อ�าเภอท่าตูม และต�าบลไพรขลา อ�าเภอชุมพลบุรี จังหวัดสุรินทร์ วิสัยทัศน์ “คมนาคมสะดวก การศึกษาเป็นเลิศ ชีวีเป็นสุข” ลักษณะภูมิประเทศ ต�าบลทุ่งกุลา มีลักษณะเป็นที่ราบ สภาพ หมูบ่ า้ นแต่ละหมูบ่ า้ นอยูห่ า่ งไกลกัน ประกอบกับมีลกั ษณะภูมอิ ากาศ 3 ฤดู คือ ฤดูหนาว ร้อน ฝน น�้าฝนน้อยไม่พอแก่การเพาะปลูก เขตการปกครอง ต�าบลทุ่งกุลาแบ่งเขตการปกครองออกเป็น 10 หมู่บ้าน ที่อยู่ในความรับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนต�าบล
126
.
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
.indd 126
6/7/2018 1:12:03 AM
เศรษฐกิจ อาชีพหลัก ประชาชนในต�าบล ประกอบอาชีพ ดังนี้ ร้อยละ 90 ประกอบอาชีพ เกษตรกร ร้อยละ 5 ประกอบอาชีพ ค้าขาย ร้อยละ 2.5 ประกอบอาชีพ รับจ้าง ร้อยละ 2.5 ประกอบอาชีพ รับราชการ พืชเศรษฐกิจ ได้แก่ ข้าวหอมมะลิ สัตว์เศรษฐกิจ ได้แก่ โค, กระบือ, สุกร, เป็ด และไก่ ประชาชนในต�าบลนับถือศาสนาพุทธ คิดเป็น 100 % จากประชากรทัง้ หมด ประเพณี 1. ช่วงเดือนเมษายน งานแห่พระและสรงน�้าผู้สูงอายุ 2. กันยายน - ตุลาคม งานวันแซนโฎนตา 3. ธันวาคม - มกราคม งานเทศกาล ผ้าไหม ข้าวใหม่ ปลามัน ปศุสัตว์ สัมพันธ์ท้องทุ่ง สินค้า OTOP 1. กลุ่มสตรีทอผ้าไหม หมู่ที่ 1-10 2. วิสาหกิจชุมชนกลุม่ ส่งเสริมและผลิต พันธุ์ข้าวต�าบลทุ่งกุลา หมู่ที่ 4 บ้านตานบ 3. กลุ่มเครื่องจักสาน หมู่ที่ 5 บ้าน น�้าอ้อม รางวั ล ที่ ภ าคภู มิ ใ จ ปี พ.ศ. 2559 รองชนะเลิศอันดับ 1 ศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ ระดับอ�าเภอ กระทรวงสาธารณสุข
SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
.
.indd 127
127
6/7/2018 1:13:20 AM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�าชีวิต
วัดโพธิพฤกษาราม พระครูปริยัติวิสุทธิคุณ ผศ.ดร. ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้ำอำวำส
ปญฺญาชิวีชีวิตมาหุ เสฏฺฐํ ปราชญ์ ก ล่ า วชี วิ ต ของผู ้ เ ป็ น อยู ่ ด ้ ว ย ปัญญาว่า ประเสริฐสุด. (สํ . ส. ๑๕/ ๕๘, ๓๑๕. ขุ. สุ. ๒๕/ ๓๖๐.) วัดโพธิพฤกษาราม ตั้งอยู่บ้านพงสวาย ตําบลท่าตูม อําเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ เป็นวัดทีต่ งั้ มานานคูบ่ า้ นคูเ่ มือง ชาวบ้านผูม้ ี ศรัทธาร่วมกันสร้างขึ้นเพื่อเป็นศูนย์กลาง หมู่บ้านตามลักษณะนิสัย และวัฒนธรรม ประเพณีของคนไทยทีน่ บั ถือพระพุทธศาสนา มีเจ้าอาวาสปกครองสืบต่อกันมาหลายชั่ว อายุคน วัดตั้งอยู่ริมฝั่งแม่นํ้ามูล มีที่จํานวน 128
5 ไร่เศษ ประวัตคิ วามเป็นมา วัดโพธิพ์ ฤกษาราม นี้ ได้รับอนุญาตให้สร้างเป็นวัดเมื่อวันที่ 3 มี น าคม 2320 ได้ รั บ พระราชทาน วิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2489 ผูกเป็นพัทธสีมาเมื่อวันที่ 1 เมษายน 2491 เป็นประเภทวัดราษฎร์ แห่งแรกของการศึกษาประชาบาล เมื่อทางฝ่ายราชอาณาจักรได้ตั้งหมู่บ้าน ตําบลขึ้นเป็นอําเภอแล้ว วัดโพธิ์พฤกษาราม ได้ ถู ก กํ า หนดให้ เ ป็ น โรงเรี ย นประชาบาล กุลบุตรกุลธิดาในหมู่บ้านนี้และหมู่บ้านใกล้
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
.indd 128
6/7/2018 1:15:01 AM
เคียงได้อาศัยศึกษาเล่าเรียนเป็นเวลานาน หลายปี มีผจู้ บการศึกษาจากสถานศึกษาแห่ง นี้แล้วได้รับการศึกษาต่อแล้วไปท�างานได้ดี มีชื่อเสียงหลายคน สวนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระบรม ราชินีนาถ 6 รอบ เมื่ อ ประมาณ พ.ศ.2526 พระครู ประภัศร์คณารักษ์ (จันทร์ ปภสฺสโร) อดีต ประธานกลุ่มเผยแผ่พระพุทธศาสนาคณะ สงฆ์จังหวัดสุรินทร์ และอดีตเจ้าคณะอ�าเภอ ท่าตูม กับนายจุนพงศ์ จันทรดี ปลัดจังหวัด สุรินทร์ (อดีตนายอ�าเภอท่าตูม) เป็น ผู้คิด ริเริ่มพัฒนาที่ดินสาธารณะริมฝั่งแม่น�้ามูล โดยได้เชิญชวนชาวสุขาภิบาลอ�าเภอท่าตูม ร่ ว มกั น มอบที่ ดิ น ฝั ่ ง แม่ น�้ า มู ล ประมาณ 200 ไร่ ความคิดที่จะพัฒนาต้องหยุดชะงัก เนือ่ งจากพระครูประภัศร์คณารักษ์ได้อาพาธ และมรณภาพเสียก่อน ต่อมาเมื่อปี พ.ศ. 2537 ดร.พระมหาประจักษ์ จกฺกธมฺโม (พระครูปริยัติวิสุทธิคุณ) เจ้าอาวาสวัดโพธิ พฤกษาราม รูปปัจจุบัน และนายสมพงศ์ อรุ ณ โรจน์ ป ั ญ ญา ซึ่ ง ด� า รงต� า แหน่ ง นาย อ� า เภอท่ า ตู ม ในช่ ว งนั้ น ได้ สื บ ทอด เจตนารมณ์ทา่ นพระครูประภัศร์คณารักษ์ จึง ได้เชิญชวนพุทธศาสนิกชนชาวอ�าเภอท่าตูม
ด� า เนิ น การพั ฒ นา โดยได้ ท� า เรื่ อ งขอ พระราชทานนามว่า “สวนเฉลิมพระเกียรติ สมเด็ จ พระบรมราชิ นี น าถ 6 รอบ 12 สิ ง หาคม 2547 วั ด โพธิ พ ฤกษาราม เทศบาลต�าบลท่าตูม” ด้านหน้าเป็นสวน พักผ่อนหย่อนใจและออกก�าลังกายส�าหรับ ประชาชนทัว่ ไป ด้านหลังเป็นศาลาไม้ตะเคียน ทั้ ง หลั ง และศาลาปฏิ บั ติ ธ รรมสมเด็ จ พระพุฒาจารย์ (สนิท เชาวณปญญมหาเถร) ใช้เป็นสถานที่ปฏิบัติธรรมส�าหรับเยาวชน ส่วนราชการ และประชาชนทั่วไป สถานที่จัดการแข่งขันประเพณีเรือยาว ท่าน�้าหน้าวัดโพธิพฤกษารามทั้งสองฝั่ง แม่ น�้ า มู ล ใช้ เ ป็ น สถานที่ จั ด การแข่ ง ขั น ประเพณีเรือยาวประจ�าทุกปี ของชาวอ�าเภอ ท่าตูม ช่วงปลายเดือนตุลาคมหรือต้นเดือน พฤศจิกายน ท�าเนียบเจ้าอาวาสวัดโพธิพฤกษาราม 1. หลวงพ่อเอี่ยม อคฺคธมฺโมพ.ศ.2445 - พ.ศ.2460 2. หลวงพ่อพุฒ พุทฺธวโร พ.ศ.2460 - พ.ศ.2475 3. พระครูธรรมธัชพิมล พ.ศ.2475 พ.ศ.2482 4. พระอธิการรัตน์ ธมฺธรโต พ.ศ.2482 - พ.ศ.2487
5. พระอธิ ก ารครอบง� า ธมฺ ม คุ ตฺ โ ต พ.ศ.2487 - พ.ศ.2489 6. พระครูพิทักษ์ปุญญาทร พ.ศ.2489 พ.ศ.2497 7. พระอธิการบุญมี ติสฺสวโร พ.ศ.2498 - พ.ศ.2499 8. พระอธิ ก ารพิ พั ฒ น์ ธมฺ ม คุ โ ณ พ.ศ.2499 - พ.ศ.2500 9. พระอธิ ก ารสั ง วาล สิ ล ธมฺ โ ม พ.ศ.2500 - พ.ศ.2517 10. พระครูประภัศร์คณารักษ์ พ.ศ.2517 - พ.ศ.2537 11. พระครู ป ริ ยั ติ วิ สุ ท ธิ คุ ณ ผศ.ดร. พ.ศ.2537 – ปัจจุบัน
SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 129
129
6/7/2018 1:15:54 AM
Srithongkul Riverside Hotel
โรงแรมศรีทองกุลริเวอร์ ไซด์
โรงแรมใหม่ทันสมัยแห่งแรกและแห่งเดียวในอ�ำเภอท่ำตูม ท่ำมกลำง ธรรมชำติ ริมล�ำน�้ำมูล สำยน�้ำที่เป็นดังสำยเลือดหลักของ อีสำนตอนใต้
โรงแรมศรีทองกุลริเวอร์ ไซด์ หมู่ที่ 9 ต�ำบล ท่ำตูม อ�ำเภอ ท่ำตูม สุรินทร์ 32120 โทรศัพท์ 044-591788, 085-4799259
.indd 130
ไม่ ว ่ า จะเดิ น ทางมาท่ อ งเที่ ยวหรื อ ติ ด ต่ อ ธุ ร กิ จ โรงแรมศรี ท องกุ ล ริ เ วอร์ ไ ซด์ (Srithongkul Riverside Hotel) เป็นสถานที่พักอันยอดเยี่ยมส�าหรับผู้ที่มาเยือน สุรินทร์ จากที่น่ี ผู้เข้าพักสามารถไปยังทุกที่ในเมืองอันมีชีวิตชีวานี้ได้อย่างง่ายดาย ด้วยท�าเลที่สะดวกสบายของโรงแรม คุณสามารถเดินทางไปยังสถานที่ที่ต้องไปชมให้ ได้ของเมืองได้อย่างสะดวก โรงแรมศรีทองกุลริเวอร์ไซด์ ให้บริการแขกผูม้ าเยือนทุกท่านด้วยมิตรภาพอันอบอุน่ สุดแสนประทับใจ ด้วยบริการมาตรฐานระดับสากล ให้บริการทั้งห้องพัก ห้องประชุม ห้องจัดเลี้ยง ร้านอาหารเรือนแพกลางน�้า และสิ่งอ�านวยความสะดวกมากมาย เพื่อ ตอบรับการเดินทางท่องเที่ยวและพักผ่อนของท่าน บริการ : ห้องพักปรับอากาศ จ�านวน 28 ห้อง, ห้องสัมมนาขนาดความจุ 100 ทีน่ งั่ เวลาเปิด - ปิด : บริการตลอด 24 ชม. ทุกวัน โรงแรมศรีทองกุลริเวอร์ไซด์ ตั้งอยู่บนถนนสนิทนิคมรัฐในตัวอ�าเภอท่าตูมห่างจาก ศูนย์คชศึกษาบ้านตากลาง หมู่บ้านช้างเลี้ยงที่ใหญ่ที่สุดในโลก แหล่งท่องเที่ยวทาง วัฒนธรรมและวิถีชีวิตที่เลื่องชื่อของจังหวัดสุรินทร์ โรงแรมใหม่ทันสมัยแห่งแรกและ แห่งเดียวในอ�าเภอท่าตูม ท่ามกลางธรรมชาติ ริมล�าน�้ามูล สายน�้าที่เป็นดังสายเลือด หลักของอีสานตอนใต้ และ ทะเลสาบทุ่งกุลาร้องไห้
6/5/2018 2:24:21 AM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�าชีวิต
วัดบ้านตาลวก
เมตตามอบคติธรรมสอนใจแด่พุทธศาสนิกชน วัดบ้านตาลวก ตั้งอยู่หมู่ที่ 11 บ้าน ตาลวก ต�าบลกังแอน อ�าเภอปราสาท จังหวัด สุ ริ น ทร์ ปั จ จุ บั น มี พระอธิ ก ารจี ร ะศั ก ดิ์ จิระธมโม ด�ารงต�าแหน่ง เจ้าอาวาสวัดบ้าน ตาลวก
ทางวัด ได้น�าสาธุชนพุทธ บริษัทสร้างวิหารพระพุทธอมตะศากยมุนี ศรีมหาปราสาทศิลป (ขอม-เขมร) ศิลป วัฒนธรรมอีสานใต้ไว้ในศาสนา ภายในได้ ติ ด ประดั บ ลวดลายประยุ ค ร่ ว มสมั ย และ พุทธรูปปางต่างๆ องค์เล็ก-ใหญ่ เป็นจ�านวน หลายแสนองค์และเป็นที่ปฏิบัติธรรมของ สาธุชนพุทธบริษัท เป็นที่พักกาย-ใจของ ทุกท่าน เพื่อความสงบกาย-ใจ ทางวัดจึง ขอเชิ ญ ชวนสาธุ ช นพุ ท ธบริ ษั ท แวะเวี ย น มาเที่ยวชมได้ทุกวัน SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 131
131
6/7/2018 1:21:45 AM
W O R K LI F E
บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�าบล
องค์การบริหารส่วนต�าบลโชคนาสาม
นายจันทร์ทอง ทนงตน นายกองค์การบริหารส่วนต�าบลโชคนาสาม
“ชุมชนน่าอยู่ ควบคู่กับการพัฒนาคุณภาพชีวิตและ ฟื้นฟูวัฒนธรรมประเพณี พร้อมสู่ประชาคมอาเซียน” วิสัยทัศน์ องค์การบริหารส่วนต�าบลโชคนาสาม จัดเป็น อบต.ขนาด กลาง ตัง้ อยูห่ มูท่ ี่ 2 บ้านโชค ต�าบลโชคนาสาม อ�าเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์ โดยอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของจังหวัด สุรินทร์ ระยะห่างจากอ�าเภอปราสาท 23 กิโลเมตร มีเนื้อที่ ประมาณ 52 ตารางกิโลเมตร หรือ 32,500 ไร่ รับผิดชอบเขต พืน้ ทีก่ ารปกครองภายในต�าบลโชคนาสาม จ�านวน 14 หมูบ่ า้ น มีกลุ่มวิสาหกิจชุมชนและพืชเศรษฐกิจ ได้แก่ กลุ่มผลิตภัณฑ์ จากหญ้าแฝก กลุม่ ทอผ้าไหม กลุม่ ผลิตภัณฑ์นา�้ ฟักข้าว ไร่ออ้ ย พันธกิจ 1. การพัฒนาสังคมและชุมชนน่าอยู่ 2. การส่งเสริมคุณภาพชีวิตและสังคม 3. การพัฒนาด้านสุขภาพและอนามัยชุมชน 4. การพัฒนาด้านการเมือง การบริหาร ยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนา 1. การพัฒนาการส่งเสริมการขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และ การพัฒนาด้านเศรษฐกิจ 2. การพัฒนาด้านคนและสังคม โดยการพัฒนาส่งเสริมคุณภาพชีวิตใน สังคม พัฒนาด้านสาธารณสุข และ พัฒนาส่งเสริมการศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม และประเพณี 3. การพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐาน เช่น การก่อสร้าง ปรับปรุง บ�ารุง
132
.
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
.indd 132
6/7/2018 1:22:58 AM
โครงการพัฒนาส่งเสริมการปลูกหญ้าแฝก
รักษาถนน สะพาน ท่อระบายน�้า การขยาย เขต ซ่อมแซม ปรับปรุง บ�ารุงรักษาไฟฟ้าสา สาธารณะ และโทรทัศน์สาธารณะ 4. การพัฒนาด้านแหล่งน�้า อาทิ การ ก่อสร้างปรับปรุง บ�ารุงรักษาระบบประปา ถังเก็บน�้า บ่อน�้าดื่ม เพื่อการอุปโภคบริโภค และ การพัฒนาก่อสร้างปรับปรุงบ�ารุงรักษา แหล่งน�้าเพื่อการเกษตร 5. การพัฒนาด้านการเมืองการบริหาร การส่งเสริมและพัฒนาด้านการเมือง การ บริหาร สวัสดิการ และการมีส่วนร่วมของ ประชาชน การพัฒนาบุคลากรท้องถิ่น และ การพัฒนาระบบการบริหารจัดการ 6. การพัฒนาด้านทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดล้อม โดยการ การสร้างจิตส�านึก และตระหนักในคุณค่าของทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม รวมไปถึง การบูรณะ ฟื้นฟู ทรัพยากรธรรมชาติป่าไม้ และ การบริหาร จัดการขยะชุมชน ผลการด�าเนินงานส�าคัญ 1. โครงการพั ฒ นาส่ ง เสริ ม การปลู ก หญ้าแฝก 2. โครงการประเพณีแห่เทียนเข้าพรรษา 3. โครงการ อบต.เคลื่อนที่
ประเพณีแห่เทียน
โครงการอ�าเภอยิ้ม...เคลื่อนที่
4. โครงการอบรมคุณธรรม จริยธรรม และ ความโปร่ ง ใสในการด� าเนิ น งานของอปท. (ITA) 5. โครงการส่งเสริมอาชีพผู้ด้อยโอกาส 6. โครงการส่งเสริมและสนับสนุนกลุ่ม อาชีพเกษตรกรต�าบลโชคนาสาม 7. โครงการส่ ง เสริ ม สนั บ สนุ น กลุ ่ ม อาชีพสตรี 8. โครงการลอยกระทง
SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
.
.indd 133
133
6/7/2018 1:23:18 AM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�าชีวิต
“ ท�าลมหายใจให้เกิดสุข ”
วัดสะเดารัตนาราม พระครูปริยัติกิตติวรรณ รองเจ้าคณะ ต�าบลทุ่งมน ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาส
วั ด สะเดารั ต นาราม ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 1 บ้านแสรโอ หมูท่ ี่ 10 ต�าบลทุง่ มน อ�าเภอปราสาท จังหวัดสุรนิ ทร์ เนือ้ ที่ 16 ไร่ 1 งาน 61 ตารางวา พื้ น ที่ ก ่ อ นสร้ า งวั ด เป็ น พื้ น ที่ ทุ ่ ง มน เรี ย ก เวียลตะโมกสะเดา หรือโกกตะแบง เมื่อ เริ่มสร้างวัด ได้มีการสงวนแนวไม้ระหว่าง พ.ศ. 2537–2545 ได้ถมพืน้ ทีใ่ ห้สงู กว่าระดับ พื้นนา ได้ปลูกต้นไม้เป็นสวนป่า มีสระน�้า คูน�้า อาคารเสนาสนะต่างๆ โดยรอบบริเวณ วั ด เป็ น พื้ น ที่ โ ล่ ง ทุ ่ ง นา และมี ถ นนเลี ย บ วัดด้านทิศตะวันตก 134
ผู้ริเริ่มสร้างวัด พระอธิการริม รตฺนมุณี เจ้าอาวาสวัดอุทุมพร ต�าบลทุ่งมน อ�าเภอ ปราสาท จังหวัดสุรนิ ทร์ โดยท่านได้รบั มรดก จากโยมบิดาและโยมมารดา ตาเชด และยาย ลม แก้วกมล เป็นการถือครองที่ดิน ขนาด 3 ใน 4 ของพื้นที่ปัจจุบัน หลักฐานที่ดิน สค. 1 เลขที่ 214 หมู่ 1 ต�าบลทุง่ มน อ�าเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์ 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2498 จ�านวน 13 ไร่ 3 งาน 80 ตารางวา ต่อมา ในปี พ.ศ. 2498-2510 หลวงพ่อริมได้รับ การบริจาคที่ดินเพิ่มเติมส่วนหนึ่งด้านทิศ
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
.indd 134
6/7/2018 1:24:45 AM
เหนือจากหลานๆ จึงได้เริ่มสร้างวัดต่อมา เพื่อบรรเทาความเดือดร้องเรื่อง น�้าบริโภค อุ ป โภค, เพื่ อ ขยั บ ขยายความแออั ด ของ พระภิกษุสามเณรวัดอุทุมพรส่วนหนึ่งได้เข้า พักอาศัยและศึกษาอบรมตน เพือ่ สงเคราะห์ ศาสนิกชนชาวโคกเกรียง แสรโอ โคกตะแบง บ้ า นตาเจี ย ด ได้ บ� า เพ็ ญ กุ ศ ลตามศาสน ประเพณี และเพื่อยกที่ดินของตระกูลสร้าง วัดถวายเป็นพุทธบูชา และเป็นอนุสรณ์แห่ง การสร้างบารมี ปณิธานการสร้างวัด ของหลวงพ่อริม รตฺนมุณี ท่านปรารภถึงความมัน่ ใจในการสร้างวัด ใหม่ “จะได้เป็นวัดที่รุ่งเรืองในอนาคต เป็น สถานที่เจริญศรัทธาของศาสนิกชนทั่วไป” ประวัติประธานสงฆ์ปกครองที่พักสงฆ์ พ.ศ. 2510-2513 พระภิกษุหัด ทนงใจ 4 พรรษา (มรณภาพ) พ.ศ. 2514 พระภิกษุก�าพล ขตฺตปญฺโญ (เรืองสุข) 1 พรรษา (ลาสิกขา) พ.ศ. 2514-2515 พระภิกษุลี บุญสวัสดิ์ 6 เดือน (ลาสิกขา) พ.ศ. 2515-2520 พระภิ ก ษุ เ สย พุทธฺ ญาโณ (ได้ทกุ ทาง) 6 พรรษา (ลาสิกขา) พ.ศ. 2521-2540 พระอธิการเพลียด สิ ริ ป ญฺ โ ญ (อย่ า นอนใจ) 20 พรรษา ( มรณภาพ)
พ.ศ. 2541-2548 พระมหาวี ร ะ กิตฺติวณฺโณ (ได้ทุกทาง) 6 ปี (รักษาการ) พ.ศ. 2548 – ปัจจุบนั พระครูปริยตั กิ ติ ติ วรรณ (พระมหาวีระ กิตฺติวณฺโณ)เจ้าอาวาส วัดราษฎร์ ชั้น เอก (จร.ชอ.), รองเจ้าคณะ ต�าบลทุ่งมน นักธรรมเอก เปรียญธรรม 3 ประโยค พุทธศาสตร์บัณฑิต เกียรตินิยม อันดับ 2 “เพียรเพื่อพุทธศาสน์ปราชญ์เพื่อ ศาสนิก” หนังสือส�าคัญแสดงกรรมสิทธิ์ที่ดิน โฉนดทีด่ นิ (น.ส.4 จ) เลขที่ 30980 เล่ม 310 หน้า 80 อ�าเภอปราสาท จังหวัดสุรนิ ทร์ ต�าแหน่งทีด่ นิ ระวาง 3608#2624 เลขทีด่ นิ 538 หน้าส�ารวจ 1873 ต�าบลทุง่ มน มีเนือ้ ที่ 16 ไร่ 1 งาน 61 ตารางวา
ออกเมื่อวันที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2545 ส� า นั ก งานพระพุ ท ธศาสนาแห่ ง ชาติ ประกาศตั้งวัดสะเดารัตนาราม ให้เป็นวัดใน พระพุทธศาสนา เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2546
SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 135
135
6/7/2018 1:26:35 AM
เป้าหมายในการพัฒนาวัด เพื่ อ พั ฒ นาศาสนทายาท เยาวชน ศาสนิกชน, เพือ่ เป็นสถานทีเ่ จริญสมาธิภาวนา และ เพื่อเป็นวัดพัฒนาด้านสุขภาพจิต แนวทางแห่งการพัฒนา 1.การพัฒนาถือว่าเป็นภาระร่วมกันของ ทุกคนทุกฝ่าย 2.สร้างกระบวนการกลุม่ ให้คน ทุกคนร่วมมือร่วมใจกัน 3.สร้างระบบพัฒนา ข้อมูล โปร่งใส ตรวจสอบได้ 4.ระดมทุน ระดมคน ระดมธรรม
136
ค�าขวัญวัดสะเดารัตนาราม ทุง่ นาตะโมกสะเดา ดินตระกูลหลวงปูร่ มิ ชุมชนร่วมสร้าง เยาวชนร่วมช่วย พระเณรร่วมพัฒนา โรงเรียนร่วมรักษา วัดส่งเสริมสุขภาพ หยาดหยดแห่งธรรม น�าชีวิตงดงาม ขอเชิ ญ พุ ท ธศาสนิ ก ชนกราบไหว้ บู ช า “พระพุทธเกษตรเมตตา” (หลวงพ่อใจดี) เสริมพลังให้สขุ ภาพดี จิตใจเข้มแข็ง ร่างกาย แข็งแรง ประดิ ษ ฐาน ณ อุ โ บสถวั ด สะเดา รัตนาราม โดย พระครูปริยัติกิตติวรรณ ตั้ง ชื่อ “พระพุทธเกษตรเมตตา (หลวงพ่อใจดี)” เนื่ อ งจากพื้ น ฐานเป็ น คนชื่ น ชอบบริ ห าร จัดการ และวางแผน ด้านพัฒนาถิ่นฐาน ชุมชนบ้านเกิดเหมือน นายพ่อรัน ได้ทุกทาง โยมพ่อ และ หลวงพ่อริม รัตนมุมี เกจิชื่อดัง สุรินทร์ ผู้มีแนวคิดวางแผนพัฒนาหมู่บ้าน โรงเรียน แหล่งน�้า และ คมนาคม ดังนั้น จึงได้เกิดแนวคิดในการหล่อพระประธาน พระพุทธเกษตรเมตตา (หลวงพ่อใจดี) เพื่อ สือ่ ความหมายตัง้ ใจช่วยเหลือในการยกระดับ คุ ณ ภาชี วิ ต เกษตรกรชาวไร่ ชาวนา เมื่ อ เกษตรกรได้ ก ราบไหว้ พระพุ ท ธเกษตร เมตตา จะเกิดแรงงบันดาลใจให้ ฝนตกตาม
ฤดูกาล ท�าให้มีก�าลังในการประกอบสัมมา อาชีพ สูตรการขยายแบคทีเรียสังเคราะห์แสง หรือ จุลลินทรีย์สังเคราะห์แสง (สูตรไข่ไก่ 1ฟอง เติมน�้าปลาแท้ 2 ช้อน แกง ผงชูรส ครึ่งช้อนแกง ตีให้เข้ากัน) ใช้ ขวดน�้า 1.5 ลิตร ใส่น�้าเปล่าเกือบเต็มขวด ใส่ไข่ที่ตีแล้ว 2 ช้อนโต๊ะ เติมหัวเชื้อ 1 แก้ว ถ้าใช้ถังน�้า 18 ลิตร ใส่น�้าเปล่าเกือบเต็มถัง ใส่ไข่ที่ตีแล้ว 12 ช้อนโต๊ะ เติมหัวเชื้อ 2 ลิตร ตากแดดไว้ 7-15วัน เมื่อเชื้อเดินเต็มก็น�าไป ใช้ประโยชน์ได้ ทั้งพืชและสัตว์ ส�าหรับผัก ทานใบ น�้าสังเคราะห์แสง 1 แก้ว กับน�้า ประมาณ 10 ลิตร ใช้รดผักได้ และเหมาะ อย่างยิ่งส�าหรับการใส่ข้าวในนา หน่วยอบรมประชาชนประจ�าต�าบล มีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสร้างสิ่ง ที่เป็นคุณประโยชน์แก่ประชาชนตามหัวข้อ อบรม ดังนี้ (1) ศีลธรรมและวัฒนธรรม (2) สุขภาพอนามัย (3) สัมมาชีพ (4) สันติสุข (5) ศึกษาสงเคราะห์ (6) สาธารณสงเคราะห์ (7) กตัญญูกตเวทิตาธรรม (8) สามัคคีธรรม
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
.indd 136
6/7/2018 1:26:57 AM
“5 ห้าม” ที่ต้องระวัง 1. ไม่จิตนาการเชิงลบ ความเครียดจะ ท� า ให้ เ กิ ด ความทุ ก ข์ เมื่ อ เกิ ด ความทุ ก ข์ ร่างกายก็เจ็บป่วยง่าย 2. ห้ามอ้วน ความอ้วนเป็นบ่อเกิดของ โรคทั้งหลาย 3. ห้ามรับประทานน�้าตาล โรคส่วนใหญ่ เบาหวาน ความดัน ไขมันในเส้นเลือด ฯลฯ มาจากการรับประทานน�้าตาลมากเกินไป 4. ห้ามรับประทาน Trans Fat ส่วนใหญ่ อยู่ในอาหารประเภททอด หรือผลิตภัณฑ์ จ�าพวกครีมเทียม เนยเทียม 5. ห้ามรับประทานสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม มีโครงสร้างเดียวกับ มนุษย์ ดังนั้นเมื่อสัตว์เป็นโรค โรคเหล่านั้น สามารถติดต่อเราได้โดยตรง “5 ต้อง” ที่ควรท�า 1. กิน ผักและผลไม้สดก่อนอาหารใน ปริมาณครึ่งหนึ่งของความอิ่ม 2. ลดปริมาณข้าวเมื่ออายุมากขึ้น ผู้ที่ อายุ 30 ปี ขึ้น ไป ควรลดปริมาณข้า วลง เพราะคาร์ โ บไฮเดรตไม่ ใ ช่ สิ่ ง จ� า เป็ น ต่ อ ร่างกาย 3. ออกก�าลังกาย ออกก�าลังกายในระดับ ที่เหงื่อออก หัวใจเต้นแรง จะช่วยขับพิษและ ท�าให้ระบบหมุนเวียนของน�้าเหลืองดีขึ้น 4. นอนให้หลับสนิทในช่วง 22.00 02.00 น. เพราะช่วงเวลาดังกล่าวร่างกาย หลั่งโกรทฮอร์โมน ที่ท�าให้เกิดกระบวนการ
ฟื้นฟูร่างกาย 5. จินตนาการเชิงบวก จินตนาการเชิงบวก ส่งผลให้สุขภาพดี ร่างกายแข็งแรง อาหารกลุ่มไร้โรค อาหารกลุ่ม 1 อาหารไม่ให้พลังงานเลย กลุ่ม น�้า และเส้นใยอาหาร อาหารกลุ่ม 2 อาหารให้พลังงานต�่ามาก กลุ่มพืชกินใบ, กินดอก อาหารกลุม่ 3 กลุม่ อาหารให้พลังงานต�า่ กลุ่มพืชกินฝัก กินผล กินหัว อาหารกลุ ่ ม 4 อาหารให้ พ ลั ง งาน ปานกลาง กลุ่มผลไม้สุกแล้วไม่หวาน อาหารกลุ่ม 5 อาหารให้พลังงานปาน กลาง กลุ่มโปรตีนสูง แป้งต�่า ไขมันต�่า อาหารกลุ่มต้องระวัง อาหารกลุม่ 6 อาหารให้พลังงานค่อนข้าง
สูง กลุ่ม ข้าว,ข้าวโพด,ฟักทอง,เผือก,มัน อาหารกลุม่ 7 อาหารให้พลังงานค่อนข้าง สูง กลุ่ม ผลไม้สุกแล้วหวาน หรือมีน�้าตาล อาหารกลุ ่ ม 8 อาหารให้ พ ลั ง งานสู ง กลุ่ม ผลไม้หวานมาก (ผลไม้ตามฤดูกาล) อาหารกลุ่ม 9 อาหารให้พลังงานสูงมาก กลุ่มขนมหวานต่าง ๆ (อาหารดัดแปลง) อาหารกลุ่ม 10 อาหารให้พลังงานสูง มาก กลุ่ม เครื่องดื่มที่มีน�้าตาลสูง อาหารกลุ่ม 11 อาหารให้พลังงานสูง มากๆ กลุ ่ ม เนื้ อ สั ต ว์ ติ ด มั น และถั่ ว ที่ มี ไขมันสูง อาหารกลุม่ 12 อาหารให้พลังงานสูงสุด กลุ่ม ไขมันสกัด
SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 137
137
6/7/2018 1:28:39 AM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�าชีวิต
วัดสามราษฎร์นุกูล พระครูวิกรมประชานุกูล ด�ารงต�าแหน่ง เจ้าอาวาส
วั ด สามราษฎร์ นุ กู ล เดิ ม ชื่ อ ส�านักสงฆ์เจ้าคุณสามราษฎร์นกุ ลู ตัง้ อยูเ่ ลข ที่ 229 หมู่ 9 ต�ำบลโชคนำสำม อ�ำเภอ ปรำสำท จังหวัดสุรินทร์ เริ่มก่อสร้ำงเมื่อ ประมำณปี พ.ศ.2503 โดยกำรน�ำของพระ อาจารย์เมือย ไม่ทรำบฉำยำ ต่อมำ พระ อธิการสุพฒ ั น์ ขนฺตสิ าโร พระภิกษุ-สำมเณร ร่วมกับชำวบ้ำน บ้ำนเจ้ำคุณ ตำเดำะ โดยมี ควำมเห็ น ตรงกั นว่ ำ จะสร้ ำ งวั ด เพื่ อ เป็ น สถำนที่บ�ำเพ็ญกุศลทำงศำสนำ เนื่องจำก บริเวณแถบนี้ยังไม่มีวัดในกำรท�ำบุญแต่ละ ครั้งต้องเดินทำงไกลประมำณ 4-5 กม. จึงมี 138
คุณพ่อเมน-คุณแม่เตย ไม่ย่อท้อ ประสงค์ ถวำยทีด่ นิ จ�ำนวน 30 ไร่ – งำน 21 ตำรำงวำ โดยในปี พ.ศ.2503 ได้รว่ มช่วยกันพัฒนำ สถำนที่ ใ นกำรสร้ ำ งวั ด โดยอำศั ย แรงกำย แรงใจ จำกพระภิกษุ-สำมเณร และชำวบ้ำน ทั้งสองหมู่บ้ำน ต่ำงช่วยกันปรับสภำพดินให้ เรียบร้อย จำกนัน้ ก็ชว่ ยกันล้อมรัว้ ลวดหนำม และสร้ำงศำลำเพื่อบ�ำเพ็ญกุศล 1 หลัง ต่อ มำในปี พ.ศ.2544 พระครูวกิ รมประชานุกลู ได้อุปสมบท และได้เข้ำถือนิสัย ฝำกตัวเป็น ลูกศิษย์ของพระครูปราสาทพรมคุณ (หลวงปู่
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
.indd 138
6/7/2018 1:30:26 AM
หงษ์ พรหมปัญโญ) และหลวงปู่ได้เข้ามา อุปถัมภ์วัดตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา ในปี พ.ศ. 2548 ประกอบพิธวี างศิลาฤกษ์ สร้างอุโบสถ โดยพระครูประสาทพรหมคุณ เป็นประธาน วัดสามราษฎร์นกุ ลู ได้รบั อนุญาตสร้างวัด เมื่อวันที่ 29 เดือนเมษายน พ.ศ.2548 ได้ รับประกาศตัง้ วัดเมือ่ วันที่ 30 เดือนธันวาคม พ.ศ.2548 และได้รบั พระราชทานโปรดเกล้า วิสุงคามสีมา งวดที่ 5 ประจ�าปี พ.ศ.2552 เลขที่ 32 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับ ประกาศทั่วไป เล่มที่ 126 ประเภท ง วันที่ 9 เดือนพฤศจิกายน พ.ศ.2552 และได้ปิด ทองฝังลูกนิมิตในเดือนเมษายน พ.ศ.2553 อาณาเขตของวั ด สามราษฎร์ นุ กู ล : ทิศเหนือ จรดถนนลูกรัง ทิศใต้ จรดที่ดินท�า กิน ทิศตะวันตก จรดล�าน�า้ ชี ทิศตะวันออก จรดถนนลูกรัง วัดสามราษฎร์นุกูล ก่อสร้างมา 57 ปี มี ประชาชนชาวบ้านไปท�าบุญ และอยู่ในเขต บริ ก ารของวั ด สามราษฎร์ นุ กู ล จ� า นวน 4 หมู่บ้าน คือ บ้านโคกนาสาม , บ้านเจ้าคุณ, บ้านตาเดาะ และบ้านศรีสุข ท�าเนียบเจ้าอาวาส 1.พระอาจารย์เมือย (ไม่ทราบฉายา ) พ.ศ.2503-2507 2.พระอธิการสุพัฒน์ ขนฺติสาโร พ.ศ.2508-2518
3.พระอธิการอวง ปญญาธโร พ.ศ.2519-2530 4.พระอธิการพยัคฆ์ กิตติโก (พระครุปทุมธรรมนิวิฐ) พ.ศ.2531-2532 5.พระอธิการบุญส่ง สุทธิวิชุโช พ.ศ.2533-2542 6.พระอาจารย์บุญเลิศ สมาจาโร พ.ศ.2543-2544 7.พระครูวิกรมประชานุกูล พ.ศ.2545-ปัจจุบัน การก่อสร้างและพัฒนาวัด พ.ศ.2548 วางศิลาฤกษ์อุโบสถ สร้าง จนแล้วเสร็จ สิ้นเงิน 10,500,000 บาท (สิบล้านห้าแสนบาทถ้วน) พ.ศ.2549 สร้างกุฏิ ทรงไทยประยุกต์ 1 หลัง สิ้นเงิน 150,000 บาท (หนึ่งแสนห้า หมื่นบาทถ้วน) พ.ศ.2550 สร้างห้องน�า้ ห้องสุขา 10 ห้อง สิน้ เงิน 200,000 บาท ( สองแสนบาทถ้วน) พ.ศ.2551 สร้างกุฏิ 80 พรรษา นะเมติ สิ้นเงิน 250,000 บาท (สองแสนห้าหมื่น บาทถ้วน) พ.ศ.2552 สร้างกุฏิทรงไทยประยุกต์ 1 หลัง สิ้นเงิน 260,000 บาท (สองแสนหก หมื่นบาทถ้วน) SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 139
139
6/7/2018 1:30:45 AM
พ.ศ.2553 สร้างศาลาปฏิบัติธรรม สิ้น เงิน 900,000 บาท (เก้าแสนบาทถ้วน) พ.ศ.2554 สร้างศาลาเจ้าแม่กวนอิม โพธิสัตว์ สิ้นเงิน 400,000 บาท(สี่แสนบาท ถ้วน) พ.ศ.2555 สร้างห้องน�า้ ห้องสุขา 20 ห้อง สิ้นเงิน 500,000 บาท (ห้าแสนบาทถ้วน) พ.ศ.2556 สร้างกุฏิกรรมฐาน สิ้นเงิน 100,000 บาท (หนึ่งแสนบาทถ้วน) พ.ศ.2557 เทคอนกรีตภายในบริเวณวัด สิน้ เงิน 1,000,000 บาท (หนึง่ ล้านบาทถ้วน) พ.ศ.2558 สร้ า งซุ ้ ม ประตู สิ้ น เงิ น 400,000 บาท (สี่แสนบาทถ้วน) พ.ศ.2559 สร้างกุฏิสีมานุสรณ์ 2 ชั้น สิน้ เงิน 3,000,000 บาท (สามล้านบาทถ้วน) ประวัติพระครูวิกรมประชานุกูล เจ้า อาวาส สถานะเดิม ชื่อ ชัยยะ มีงามดี เกิดเมื่อ วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2524 วันอาทิตย์ แรม 3 ค�่า เดือน 3 ปีระกา อุปสมบท เมื่อวัน อาทิตย์ แรม 13 ค�่า เดือน 6 ปีมะเส็ง วันที่
140
20 เดือนพฤษภาคม 2544 ณ วัดปทุมสาม ราษฎร์ ต�าบลโชคนาสาม อ�าเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์ พระอุปัชฌาย์ พระครูโสภณ บุญญกิจ วัดอมรินทราราม ต�าบลตาเบา อ�าเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์ พระกรรม วาจาจารย์ พระครูปทุมธรรมนิวิฐ วัดปทุม สามราษฎร์ จังหวัดสุรินทร์ พระอนุสาวนา จารย์ พระธาตุ รตฺตนโชโต วัดปทุมสามราษฎร์ จังหวัดสุรินทร์ วิทยฐานะ น.ธ.เอก และจบ การศึ ก ษาหลั ก สู ต รประกาศนี ย บั ต รการ บริ ห ารกิ จ การคณะสงฆ์ (ป.ปส.) จาก มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตสุรินทร์ งานการปกครอง : พ.ศ.2548 ได้รบั การ แต่งตั้งเป็นรักษาการแทนเจ้าอาวาสวัดสาม ราษฎร์นุกูล อ�าเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์, พ.ศ.2549 ได้รบั การแต่งตัง้ เป็นเจ้าอาวาสวัด สามราษฎร์ ต�าบลโชคนาสาม อ�าเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์ งานสาธารณสงเคราะห์ : พ.ศ. 2554 ได้รับมอบเงินสมทบทุนสร้างยุ้งธนาคารข้าว
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
.indd 140
6/7/2018 1:31:10 AM
บ้านเจ้าคุณ หมูท่ ี่ 3 ต�าบลโชคนาสาม อ�าเภอ ปราสาท จังหวัดสุรินทร์ เป็นเงินจ�านวน 10,000 บาท (หนึ่งหมื่นบาทถ้วน), พ.ศ. 2555 ได้มอบเงินสมทบทุนสร้างศาลากลาง หมู่บ้าน บ้านถนนหัก หมู่ที่ 5 ต�าบลโชคนา สาม อ�าเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์ จ�านวน เงิน 10,000 บาท (หนึง่ หมืน่ บาทถ้วน), พ.ศ. 2556 ได้มอบเงินสมทบทุนสร้างศาลากลาง หมู่บ้านเจ้าคุณ หมูท่ี 3 ต�าบลโชคนาสาม อ�าเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์ จ�านวนเงิน 30,000 บาท (สามหมื่นบาทถ้วน), พ.ศ. 2557 ได้มอบเงินสมทบทุนสร้างศาลากลาง หมู่บ้านตาเดาะ หมูที่ 9 ต�าบลโชคนาสาม อ�าเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์ จ�านวนเงิน 30,000 บาท (สามหมื่นบาทถ้วน), พ.ศ. 2558 ได้มอบเงินสมทบทุนสร้างศูนย์สาธิต การตลาดบ้านโคกโบสถ์ ต�าบลโคกกลาง อ�าเภอพนมดงรัก จังหวัดสุรนิ ทร์ เป็นจ�านวน เงิน 10,000 บาท (หนึง่ หมืน่ บาทถ้วน), พ.ศ. 2559 ได้ร่วมกับชุมชนบ้านเจ้าคุณตาเดาะ ด�าเนิการสร้างสะพานไม้ ข้ามห้วยล�าชี เป็น ทางสั ญ จรของชาวบ้ า นสุ ริ น ทร์ แ ละชาว จังหวัดบุรรี มั ย์ ขนาดกว้าง 5 เมตร ยาว 100 เมตร ท�าไม้ด้วยไม้เป็นเงิน 300,000 บาท ( สามแสนบาทถ้วน) งานศึกษาสงเคราะห์ : พ.ศ.2556 ได้ มอบเงินสมทบทุนในการจัดซื้ออุปกรณ์กีฬา ให้ กั บ โรงเรี ย นเจ้ า คุ ณ ต� า บลโชคนาสาม อ�าเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์ เป็นจ�านวน เงิน 12,000 บาท (หนึ่งหมื่นสองพันบาท ถ้วน) ,พ.ศ.2556 ได้ดา� เนินการจัดซือ้ โต๊ะหมู่ บูชา หมู่ 9 พร้อมเครื่องบูชา จ�านวน 1 ชุด ให้แก่โรงเรียนบ้านถนนหลัก ต�าบลโชคนา สาม อ�าเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์ เป็น จ�านวนเงิน 15,000 บาท ( หนึ่งหมื่นห้าพัน บาทถ้วน), พ.ศ.2557 ได้บริจาคเงินสมทบ กองทุนส่งเสริมการศึกษา โรงเรียนโคกโบสถ์ ต�าบลโคกกลาง อ�าเภอพนมดงรัก จังหวัด สุรินทร์ จ�านวน 20,000 บาท (สองหมื่น บาทถ้วน), พ.ศ.2557 ได้บริจาคเงินสมทบ
กิจกรรมวันเด็กแห่งชาติ โรงเรียนบ้านถนน หัก ต�าบลโชคนาสาม อ�าเภอปราสาท จังหวัด สุรนิ ทร์ เป็นจ�านวนเงิน 15,000 บาท (หนึง่ หมืน่ ห้าพันบาทถ้วน), พ.ศ.2558 ได้มอบเงิน สมทบทุนในการจัดซื้ออุปกรณ์กีฬา ให้กับ โรงเรียนบ้านโชคนาสาม ต�าบลโชคนาสาม อ�าเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์ เป็นจ�านวน เงิน 10,000 บาท (หนึง่ หมืน่ ห้าพันบาทถ้วน), พ.ศ.2558 ได้บริจาคเงินสมทบกองทุนส่ง เสริมการศึกษาศูนย์เด็กก่อนเกณฑ์บ้านเจ้า คุ ณ ตาเดาะ ต� า บลโชคนาสาม อ� า เภอ ปราสาท จังหวัดสุรินทร์ จ�านวน 20,000 บาท ( สองหมื่นบาทถ้วน), พ.ศ.2559 ได้ ด�าเนินการจัดซื้อโต๊ะหมู่บูชา หมู่ 9 พร้อม เครือ่ งบูชา จ�านวน 1 ชุด ให้แก่โรงเรียน บ้าน เจ้าคุณต�าบลโชคนาสาม อ�าเภอปราสาท
จังหวัดสุรนิ ทร์ เป็นจ�านวนเงิน 15,000 บาท ( หนึ่งหมื่นห้าพันบาทถ้วน) อานิสงส์จากการถวาย “วิหารทาน” วิหารทาน คือ การท�าบุญถวายหรือร่วม สร้างเสนาสนะต่าง ๆ ถวายไว้เป็นสมบัตพิ ระ ศาสนา เช่น การสร้างพระอุโบสถ (โบสถ์) กุฏิ ศาลา วิหาร หอฉัน หอระฆัง ห้องน�้า เป็นต้น องค์สมเด็จพระทศพลบรมศาสดา สัมมาสัมพุทธเจ้า ตรัสว่า การถวายวิหาร ทานมีอานิสงส์มาก ดัง พุทธด�ารัสนี้ว่า “ แม้ ถวายทานแด่องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธ เจ้า 100 ครั้ง ยังมีอานิสงส์ไม่เท่าถวาย สั ง ฆทานครั้ ง เดี ยว”แม้การถวายสัง ฆทาน 100 ครัง้ ยังมีอานิสงส์ไม่เท่าการถวาย วิหาร ทานครั้งเดียว” SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 141
141
6/7/2018 1:31:54 AM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�าชีวิต
วัดสามราษฎร์บ�ารุง
พระครูอนุสรณ์ปิยธรรม (หลวงพ่อโย ปิยธัมโม) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้ำอำวำส วัดสามราษฎร์บ�ารุง ตั้งอยู่เลขที่ 239 บ้ า นโคกบุ หมู ่ ที่ 5 ต� า บลทมอ อ� า เภอ ปราสาท จังหวัดสุรนิ ทร์ สังกัดคณะสงฆ์มหา นิกาย บนเนื้อที่ดินตั้งวัด 71 ไร่ 13 ตาราง วา น.ส. 3 เลขที่ 239 ประวัติความเป็นมา เมื่อปี พ.ศ. 2490 ก�านัน ผู้ใหญ่บ้าน พร้อมด้วยชาวบ้านใน ละแวกนี้ได้ร่วมประชุมปรึกษาหารือกันเห็น ว่าควรที่จะได้มีการสร้างวัด ณ ที่แห่งนี้ เพื่อ พุทธศาสนิกชนจะได้มีโอกาสร่วมท�าบุญ ฟัง ธรรมและประกอบศาสนกิจทางพระพุทธ ศาสนาต่อไป จึงได้ริเริ่มสร้างเป็นส�านักสงฆ์ 142
เป็นการชัว่ คราว โดยมีผนู้ า� หมูบ่ า้ น ที่เป็นเรี่ยวแรงในการสร้างส�านักสงฆ์แห่งนี้ คือ คุณพ่อศรี ชะเนติยงั อดีตผูใ้ หญ่บา้ นยาง, คุณพ่อปรวจ ฉวีทอง อดีตผู้ใหญ่บ้านโคกบุ, คุณพ่อคลิม สุดจ�านงค์ อดีตผูใ้ หญ่บา้ นอ�าปึล เมื่อผู้น�าหมู่บ้านทั้ง 3 ท่าน พร้อมด้วย ประชาชนทุกหมู่บ้าน พร้อมใจกันจัดสร้าง ส� า นั ก สงฆ์ เ รี ย บร้ อ ยแล้ ว จึ ง เข้ า นมั ส การ ขออนุญาตต่อ หลวงพ่อร่วน วะระโธ ซึง่ เป็น เจ้าอาวาสวัดโคกบัวไรย์ เพื่อขออาราธนา นิมนต์หลวงปู่บอน ปูชิโต มาประจ�าเป็น เจ้ า อาวาสในส� า นั ก สงฆ์ แ ห่ ง นี้ ในที่ สุ ด
หลวงปู ่ จึ ง ได้ ม าประจ�า ที่ส�า นักสงฆ์แ ห่ง นี้ และได้เปลี่ยนจาก“ส�านักสงฆ์บ้านโคกบุ” เป็น “วัดสามราษฎร์บ�ารุง” จนถึงปัจจุบัน วัดสามราษฎร์บ�ารุงเริ่มก่อสร้าง พ.ศ. 2490 ได้รบั อนุญาตสร้างเมือ่ วันที่ 18 เดือน มิถุนายน พ.ศ.2497 ได้รับประกาศตั้งวัด เมื่อวันที่ 18 มิถุนายน พ.ศ.2497 ได้รับ พระราชทานวิ สุ ง คามสี ม าเมื่ อ วั น ที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 มีที่ธรณีสงฆ์ 3 แปลง เนื้อที่รวมโดยรวมประมาณ 60 ไร่ 10 ตาราวา
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
.indd 142
6/7/2018 1:33:30 AM
ท�ำเนียบท่ำนเจ้ำอำวำส รู ป ที่ 1 พระครู ป ระสำธน์ ย ติ คุ ณ (หลวงปูบ่ อน ปูชโิ ต) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้ำอำวำส /เจ้ำคณะต�ำบลทมอ – โคกยำง ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2490 - พ.ศ. 2522 รูปที่ 2 พระครูอนุสรณ์ปิยธรรม (หลวง พ่อโย ปิยธัมโม) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้ำอำวำส / เจ้ำคณะต�ำบลโคกยำง ตั้งแต่ปี พ.ศ.2524 จนถึงปัจจุบัน อำคำรเสนำสนะประกอบด้วย อุโบสถ สร้ำงเมือ่ พ.ศ. 2519 ศำลำกำรเปรียญ สร้ำง เมื่อพ.ศ. 2536 วิหำรหลวงปู่บอน ปูชิโต สร้ำงเมือ่ พ.ศ.2537 โรงเรียนพระปริยตั ธิ รรม สร้ำงเมื่อ พ.ศ.2512 หอระฆัง สร้ำงเมื่อ พ.ศ.2514 โรงครัว สร้ำงเมื่อปี พ.ศ. 2529 เมรุ สร้ำงเมื่อปี พ.ศ.2535 กุฏิสงฆ์ 4 หลัง เสนำสนะอื่นๆ อำทิ เจดีย์บรรจุอัฐิธำตุ พระครูประสำธน์ยติคุณ สร้ำงเมื่อ พ.ศ. 2524 ก�ำแพงกัน้ เขตหน้ำวัด สร้ำงเมือ่ พ.ศ. 2523 แท็งก์นำ�้ เพือ่ กักน�ำ้ ฝน สร้ำงเมือ่ พ.ศ. 2512 พ.ศ. 2526 ห้องน�้ำห้องสุขำ 1 สร้ำง เมือ่ พ.ศ. 2527 ห้องน�ำ้ ห้องสุขำ 2 สร้ำงเมือ่ พ.ศ. 2536 ห้องน�้ำ 3 สร้ำงเมื่อ พ.ศ.2533 ประวั ติ แ ละเกี ย รติ คุ ณ โดยย่ อ ของ “พระครู ป ระสำธน์ ย ติ คุ ณ ” เจ้ ำ อำวำส รูปแรก พระครูประสำธน์ยติคุณ (หลวงปู่บอน ปูชิโต ) อดีตเจ้ำคณะต�ำบลทมอ โคกยำง
และเจ้ำอำวำสวัดสำมรำษฎร์บ�ำรุง เกิดเมื่อ วันที่ 1 กรกฎำคม พ.ศ.2460 ที่บ้ำนสก็วน ต. เฉนียง อ. เมือง จ. สุรินทร์ เป็นบุตรของ พ่อ นิต แม่ แปะ มีมน่ั มีพนี่ อ้ งทัง้ หมด 9 คน หลวงปู่บอน เมื่ออำยุครบ 8 ปี ได้เข้ำเรียน ระดับประถมศึกษำทีโ่ รงเรียนวัดปรำสำทศิลำ รำม จ. สุรินทร์ จนส�ำเร็จชั้นประถมศึกษำ ปีที่ 4 ภำยหลังจบกำรศึกษำแล้วได้ช่วยบิดำ มำรดำท�ำงำนประกอบอำชีพด้วยควำมขยัน อดทน สุจริต จนเป็นบุคคลที่น่ำเอำแบบ อย่ำงเป็นอย่ำงยิง่ ส�ำหรับชนรุน่ หลัง เมือ่ อำยุ ครบ 19 ปีหลวงปู่บอน ปูชิโต ได้ขออนุญำต บิ ด ำมำรดำเข้ ำ บรรพชำเป็ น สำมเณรที่ วัดปรำสำทศิลำรำม เมื่อวันที่ 21 เมษำยน พ.ศ. 2479 และอีกหนึ่งปีต่อมำได้อุปสมบท เป็นพระภิกษุ ที่วัดปรำสำทศิลำรำมแห่งนี้
เมื่อวันที่ 3 พฤษภำคม พ.ศ.2480 โดยมี พระอธิ ก ำรตั น พรั ม มะปั ญ โญ เป็ น พระอุ ป ั ช ฌำย์ พระอำจำรย์ ม อญ เป็ น พระกรรมวำจำจำรย์ พระครูประสำทศีลวัตร เป็ น พระอนุ ส ำวนำจำรย์ หลั ง จำกกำร อุปสมบทแล้วได้มำจ�ำพรรษำทีว่ ดั โคกบัวไรย์ จังหวัดสุรินทร์ เป็นเวลำ 10 พรรษำ ได้ ศึกษำพระธรรมวินยั ถือศีลวัตรปฏิบตั ธิ รรม เจริ ญ วิ ป ั ส สนำกั ม มั ฏ ฐำนอย่ ำ งเคร่ ง ครั ด มีลูกศิษย์ลูกหำเข้ำรับกำรศึกษำอบรมด้วย ควำมเคำรพและศรั ท ธำเลื่ อ มใสเป็ น อย่ำงมำก ชีวติ ในบัน้ ปลำยนัน้ หลวงปูท่ ำ่ นมีภำรกิจ มำกมำย เพรำะมี พุ ท ธศำสนิ ก ชนเข้ ำ มำ พึ่งพำอำศัยมำกแทบทุกวันจนเป็นเหตุให้ ร่ำงกำยของท่ำนทรุดโทรมลงตำมล�ำดับ และ ได้อำพำธลงเมื่อวันที่ 1 เดือนกรกฎำคม พ.ศ. 2518 ด้วยโรคอัมพำต นับเป็นเหตุ อัศจรรย์อย่ำงยิ่ง เพรำะวันเดือนเกิด และ SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 143
143
6/7/2018 1:33:53 AM
วันเดือนอาพาธ ของหลวงปู่ ตรงเป็นวัน เดียวกัน หลังจากที่หลวงปู่ท่านอัมพาตแล้ว ก็ได้รับการรักษาพยาลบาลจากแพทย์ที่มี ความรู ้ ค วามช� า นาญในเรื่ อ งนี้ โ ดยเฉพาะ ตลอดมา แต่ อ าการของหลวงปู ่ ก็ ไ ม่ ดี ขึ้ น สุขภาพทรุดลงตามล�าดับ จนกระทั่งเมื่อวัน ที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2522 เวลาประมาณ 05.30 น. หลวงปู่ท่านก็ได้ถึงแก่มรณภาพ ด้วยอาการอันสงบ รวมสิริอายุ 63 ปี 43 พรรษา พ.ศ. 2490 ได้รับแต่งตั้งให้รักษาการใน ต�าแหน่งเจ้าอาวาส วัดสามราษฎร์บ�ารุง พ.ศ. 2495 ได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาส
วัดสามราษฎร์บ�ารุง พ.ศ. 2502 ได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าคณะ ต�าบลทมอ โคกยาง พ.ศ. 2505 ได้ รั บ แต่ ง ตั้ ง เป็ น พระ อุปัชฌาย์ ต�าบลทมอ พ.ศ. 2515 ได้รับพระราชทานสมญา ศักดิ์พระครูชั้นตรี ราชทินนามที่ “พระครู ประสาธน์ยติคุณ” ประวัติและเกียรติคุณ พระครูอนุสรณ์ ปิยธรรม เจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน พระครูอนุสรณ์ปิยธรรม (หลวงพ่อโย ปิ ย ธั ม โม) ด� า รงต� า แหน่ ง เจ้ า อาวาส วัดสามราษฎร์บ�ารุง และ เจ้าคณะต�าบล โคกยาง แต่งตั้งตั้งแต่ พ.ศ. 2524 จนถึง ปัจจุบัน ท่านเกิดวันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2495 อายุ 66 ปี พรรษา 33 เป็นบุตร ของนาย นายสื น และนางจิ สายแก้ ว อุ ป สมบทเมื่ อวั น ที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2515 ที่ วั ด โคกบั ว ไรย์ ต� า บลเฉนี ย ง 144
อ�าเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ โดยมี พระครู ประสาทศิ ล าวั ต ร เจ้ า อาวาสวั ด ประสาท ศิลาราม เป็นพระอุปัชฌาย์ พระอธิการร่วน วรโท เจ้าอาวาสวัดโคกบัวไรย์ เป็นพระกรรม วาจารย์ พระอธิการเย้ย จนฺโท เจ้าอาวาส วัดจันทราราม เป็นพระอนุสาวนาจารย์ วิทยฐานะ พ.ศ. 2507 ส�าเร็จการศึกษาชัน้ ประถมปี ที่ 4 จากโรงเรียนบ้านกะทม พ.ศ.2517 สอบได้นักธรรมชั้นตรี จาก ส�านักเรียนวัดสามราษฎร์บ�ารุง พ.ศ. 2518 สอบได้นักธรรมชั้นโท จาก ส�านักเรียนวัดสามราษฎร์บ�ารุง พ.ศ. 2522 สอบได้นกั ธรรมชัน้ เอก จาก ส�านักเรียนวัดสาราษฎร์บ�ารุง พ.ศ.2523 ส�าเร็จการอบรมครูสอนพระ ปริยัติธรรม พ.ศ.2524 ได้ รั บ การแต่ ง ตั้ ง เป็ น เจ้ า อาวาสวัดสามราษฎร์บ�ารุง พ.ศ.2533 ได้รบั พระราชทานสัญญาบัตร พัดยศพระครูชั้นโท พ.ศ.2535 ได้ รั บการแต่ง ตั้ง เป็นพระ ธรรมทูตประจ�าอ�าเภอปราสาท พ.ศ.2539 ได้รบั การแต่งตัง้ เป็นเจ้าคณะ ต�าบลโคกยาง พ.ศ.2540 ได้ รั บ การแต่ ง ตั้ ง เป็ น
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
.indd 144
6/7/2018 1:35:58 AM
พระอุปัชฌาย์ งานเผยแผ่ พ.ศ. 2526 จนถึงปัจจุบัน เป็นผู้แสดง ธรรมทุกๆ วันธรรมสวนะ พ.ศ. 2530 จนถึงปัจจุบัน เป็นพระธร รมฑูตประจ�าอ�าเภอปราสาท พ.ศ. 2536 จนถึงปัจจุบัน เป็นประธาน จัดโครงการบรรพชา สามเณรภาคฤดูร้อน ประจ�าปี พ.ศ. 2539 จนถึงปัจจุบัน เป็นประธาน การอบรมคุณธรรม จริยธรรมประจ�าต�าบล ทมอ – โคกยาง มีการประกอบพิธีมาฆบูชา วิสาขบูชา และวันส�าคัญทางพระพุทธศาสนา ตามประเพณีนิยมทั้งราชการและทางการ ทุกปี มีการอบรมพระภิกษุสามเณร โดย ใช้เวลาว่างหลังจากท�าวัตรสวดมนต์เช้า - เย็น ส่ ว นมากการอบรมเน้ น หนั ก ให้ พ ระภิ ก ษุ สามเณร ประพฤติปฏิบัติให้สมควรแก่ภาวะ และให้ อ ยู ่ ใ นขอบเขตของพระธรรมวิ นั ย และพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ กฎมหาเถระ สมาคม มีการอบรมศีลธรรม แก่คณะครู นักเรียน และประชาชนในเทศกาลวันส�าคัญใน ทาง พระพุทธศาสนา มีกิจกรรมเกี่ยวกับการ เผยแผ่ ดังนี้ แจกหนังสือธรรมะแก่ประชาชน บริจาคทรัพย์ในการจัดพิมพ์หนังสือธรรมะ และหนังสือส่งเสริมศีลธรรม ให้การสนับสนุน การบรรพชาสามเณรภาคฤดูร้อนในต�าบล โคกยางและต�าบลไกลเคียงตลอดมา มอบ หนังสือธรรมะให้หอ้ งสมุดประชาชน จัดอบรม นักเรียนตามโรงเรียนโดยจัดเป็นการเข้าค่าย พุทธปัญญา ออกอบรมนักเรียนตามโรงเรียน ในเขต ต�าบลทมอ และ ต�าบลโคกยาง ทุก ปีๆละ 4 ครัง้ ชักชวนประชาชนปฏิบตั ศิ าสนกิจ ตามหน้ า ที่ ช าวพุ ท ธในวั น ส� า คั ญ ทาง พระพุทธศาสนา และร่วมมือกับคณะสงฆ์ และทางราชการในการเผยแผ่ ดังนี้ ช่วย อ�านวยความสะดวกในการเดินทางให้แก่พระ ธรรมทูตสายที่ 6 ให้ความร่วมมือกับทาง คณะสงฆ์ อ� า เภอปราสาททุ ก ๆ ครั้ ง ที่ มี
กิจกรรมคณะเกิดขึ้น ส�าหรับในส่วนราชการ ทางวั ด ได้ ใ ห้ ใ ช้ ส ถานที่ ข องวั ด เพื่ อจั ด ฝึ ก อบรม และประชุมหน่วยงานราชการทุก หน่วยงานเป็นประจ�า และมีผู้มา ท� า บุ ญ ที่ วั ด เป็ น ประจ� า ตลอดปี ประมาณ 84,500 คน งานสาธารณูปการ พ.ศ. 2539 - 2541 เป็ น ผู้ด�าเนินการก่อสร้างศาลาการเปรียญ รวมสิ้นเงินทั้งสิ้น 3,784,000 บาท พ.ศ.2540 - 2541 เป็นผูด้ า� เนินงานการ ก่อสร้างกุฏิ วัดสามราษฎร์บา� รุง รวมสิน้ เงิน ทัง้ สิน้ 2,545,000 บาทถ้วน และยังมีงาน ในหน้าที่อีกมากมายที่พระครูอนุสรณ์ ปิยธรรม (หลวงพ่อโย ปิยธัมโม) ต้อง ดูแลอย่างไม่ทอดธุระแม่เพียงเรื่อง เล็กๆ น้อยๆ ท�าให้ท่านเป็นพระสุ ปฏิปันโน อยู่ในใจของพระเณร และ ประชาชนทั่วไปอย่างกว้างขวาง SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 145
145
6/7/2018 1:36:32 AM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�าชีวิต
วัดอมรินทราราม
พระมหาเรือน โชติวัณโณ ด�ารงต�าแหน่ง เจ้าอาวาส
วัดอมรินทราราม ตั้งอยู่หมู่ที่ 3 ต�ำบล ตำเบำ อ�ำเภอปรำสำท จังหวัดสุรินทร์ ตั้ง วั ด เมื่ อ พ.ศ.2423 ได้ รั บ พระรำชทำน วิสงุ คำมสีมำเมือ่ พ.ศ.2522 และได้ประกำศ แต่งตั้งวัดเมื่อวันที่ 2 มกรำคม พ.ศ.2532 มีเจ้ำอำวำสปกครอง 13 รูป ปี พ.ศ.2511 พระครูโสภณ บุญญกิจ ได้รับกำรแต่งตั้งให้เป็นเจ้ำอำวำส รูปที่ 11 และได้รับพระบรมสารีริกธาตุ จำกสมเด็จ พระญาณสั ง วร สมเด็ จ พระสั ง ฆราช สกลมหาสั ง ฆปริ น ายก มำประดิ ษ ฐำน 146
บรรจุไว้ ณ เจดีย์ วัดอมรินทรำรำม ( บ้ำนตำ เดียว ) เมื่อวันที่ 14 ธันวำคม พ.ศ.2547 ปั จ จุ บั น มี พ ระมหาเรื อ น โชติ วั ณ โณ เป็นเจ้ำอำวำส ได้รับแต่งตั้งเมื่อ พ.ศ.2559 ชุมชนวัดอมรินทรำรำม (บ้ำนตำเดียว) มีเขตบริกำรวัดจ�ำนวน 10 หมู่บ้ำน เป็นวัด เก่ำแก่ที่สุดในอ�ำเภอปรำสำทและมีสิ่งปลูก สร้ำง เช่น กุฏิ โบสถ์ เจดีย์ เป็นวัดทีม่ ชี อื่ เสียง ของอ�ำเภอปรำสำทวัดหนึ่ง เป็นสถำนที่จัด งำนประเพณีทำงศำสนกิจที่ส�ำคัญๆ อำทิ งำนทอดกฐิ น “จุ ล กฐิ น ” ท� ำ บุ ญ ฉลอง
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
.indd 146
6/7/2018 1:37:31 AM
โกนเนี ย ง และร่ ว มกั น ทอผ้ า ไหมผลิ ต ผ้ า ไตรจีวร ซึ่งได้จัดขึ้นเป็นประจ�าทุกปี การท�าบุญ “จุลกฐิน” มีอานิสงส์มาก การท�าบุญฉลององค์กฐิน “จุลกฐิน” และ พิธที า� บุญฉลองโกนเนียง แปลว่า การท�าบุญ ให้ ตั ว หม่ อ นไหม โดยได้ ร ่ ว มกั น ท� า บุ ญ เพื่ อ ความเป็ น สิ ริ ม งคลให้ ตั ว หม่ อ นไหม พร้ อ มกั น นี้ ยั ง ได้ รั บ ความร่ ว มมื อ จาก ส�านักงานหม่อนไหมเฉลิมพระเกียรติจงั หวัด สุรินทร์ ได้น�าเอาผู้เชี่ยวชาญด้านการทอ ผ้าไหมทุกหมู่บ้านของต�าบลตาเบา มาร่วม การสาธิตการผลิตผ้าไหมจากวงจรชีวิตไหม ตั้งแต่การเพาะเลี้ยง การน�ามาเลี้ยง จนถึง การทอแบบภูมิปัญญาชาวบ้านโดยใช้เครื่อง มื อ แบบโบราณผสมผสานกั บ เครื่ อ งมื อ ปัจจุบนั เพือ่ ให้เกิดความรวดเร็ว สะดวกสบาย และมีประสิทธิภาพ ขณะเดี ยวกั น ชาวบ้ า นตาเตี ยว ต� า บล ตาเบา อ�าเภอปราสาทจังหวัดสุรนิ ทร์ได้ผลัด เปลีย่ นหมุนเวียนกันทอผ้าไหม ผลิตผ้าไตรจีวร
ความยาว 4 เมตร ให้แล้วเสร็จภายใน 24 ชั่วโมงเพื่อทอดกฐินที่ต้องท�าด้วยความรีบ ด่วน ถวายให้พระสงฆ์กรานกฐินให้เสร็จ ภายในวันเดียว จึงนับว่าการท�าจุลกฐินมี อานิสงส์มาก เพราะต้องใช้ความอุตสาหะ มากกว่ากฐินแบบธรรมดาทัว่ ไปซึง่ ต้องท�าใน ระยะเวลาอันจ�ากัด จึงเป็นเครื่องมือหนึ่งใช้ สร้างความสามัคคีของคนในชุมชนได้รู้จัก ความเป็นมาที่แท้จริงของวัฒนธรรม โดย จุ ล กฐิ น นี้ ป ั จ จุ บั น มั ก จั ด เป็ น งานใหญ่ มี ผู้เข้าร่วมเป็นจ�านวนมาก ข้อมูลของการท�าจีวรให้เสร็จในวันเดียว ปรากฏหลักฐานในคัมภีรอ์ รรถกถา กล่าวถึง เรื่ อ งที่ พ ระพุ ท ธเจ้ า รั บ สั่ ง ในคณะสงฆ์ ใ น วัดพระเชตวัน ร่วมมือกันท�าผ้าไตรจีวรเพื่อ ถวายแก่พระอนุรทุ ธะผูม้ จี วี รเก่าใช้การเกือบ ไม่ได้แล้ว โดยในครั้งนั้นเป็นงานใหญ่ ซึ่ง พระพุทธเจ้าเสด็จมาทรงช่วยการท�าไตรจีวร โดยทรงรับหน้าที่สนเข็มในการท�าจีวรด้วย ประเพณีการทอดจุลกฐิน เป็นประเพณี
ที่ พ บเฉพาะในประเทศไทยและลาว ไม่ ปรากฏประเพณี ก ารทอดกฐิ น ชนิ ด นี้ ใ น ประเทศพุทธเถรวาทประเทศอื่น ส�าหรับ ประเทศไทย มีหลักฐานว่ามีการทอดจุลกฐิน มาแล้ ว ตั้ ง แต่ ส มั ย อยุ ธ ยา ดั ง ปรากฏใน หนังสือค�าให้การชาวกรุงเก่า หน้า 268 ว่า “ถึงวันขึ้น 15 ค�่า เดือน 12) โปรดให้ท�าจุล กฐิน” ปัจจุบันประเพณีการท�าจุลกฐินนิยม ท�ากันเฉพาะชุมชนทางภาคเหนือและอีสาน เท่ า นั้ น โดยอี ส านจะเรี ย กกฐิ น ชนิ ด นี้ ว ่ า “กฐินแล่น” (จุลกฐินไม่ใช่ศัพท์ที่ปรากฏใน พระวินัยปิฎก) การทอดกฐิน “จุลกฐิน” จึงเป็นงานบุญที่ ถื อว่ า ได้ อ านิ ส งค์ ม าก เพราะเป็ น การท� า กิ จ กรรมร่ ว มกั น ระหว่ า งคณะสงฆ์ แ ละผู ้ ปกครองชุมชน และร่วมสืบสานวัฒนธรรม ประเพณีที่ดีงาม ตามวิถีชีวิตของความเป็น อยู ่ ข องชนพื้ น เมื อ งสุ ริ น ทร์ และเป็ น การ อนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณีที่ดีงามอันล�้าค่า สืบไป SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 147
147
6/7/2018 1:37:49 AM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�าชีวิต
วัดศรีล�ำยอง วัดเก่าแก่ของจังหวัดสุรินทร์
“อตฺ ต ที ป า วิ ห รถ อตฺ ต สรณา อนญฺญสรณา ธมฺมทีปา ธมฺมสรณา อนญฺญสรณา” “จงมีตนเป็นเกาะ มีตนเป็นที่พึ่ง สิ่งอื่น ไม่ใช่ จงมีธรรมเป็นเกาะ มีธรรมเป็นที่พึ่ง สิ่งอื่นไม่ใช่” (พุทธพจน์) วัดศรีล�ำยอง ตั้งอยู่ ณ บ้านโคกจ๊ะ หมู่ 4 ต�าบลสมุด อ�าเภอปราสาท จังหวัดสุรนิ ทร์ เป็นวัดเก่าแก่ของจังหวัดสุรินทร์อีกวัดหนึ่ง ก่ อ ตั้ ง วั ด เมื่ อ ปี พ.ศ.2303 มี เ จ้ า อาวาส ปกครองตามล�าดับมาจนถึง หลวงปูค่ ยี ์ กิตติ ญำโณ หรือ พระครูวิสุทธิกิตติญำณ ประวัติ พระครูวสิ ทุ ธิกติ ติญำณ (หลวงปู่ 148
คีย์ กิตติญำโณ) หลวงปู่คีย์ กิตติญาโณ เกิดเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ.2471 มรณภาพเมื่อวันที่ 23 พฤศจิ ก ายน พ.ศ.2558 สิ ริ อ ายุ 88 ปี พรรษา 68 มีนามเดิมว่า คีย์ จงพูนศรี เกิด ที่บ้านโคกจ๊ะ ต.สมุด ( ต.ปรือ ) อ.ปราสาท จ.สุรินทร์ บรรพชาและอุปสมบท เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ.2492 เข้าบรรพชา อุปสมบท ณ วัดเพชรบุรี ต.ทุง่ มน อ.ปราสาท จ.สุรินทร์ จ�าพรรษาที่ วัดเพชรบุรี ย้ายจ�า พรรษาที่ วัดศรีล�ายอง ก่อนเดินธุดงค์ เพื่อ
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
.indd 148
6/7/2018 1:40:39 AM
ปฏิ บั ติ วิ ป ั ส สนากรรมฐานและศึ ก ษาวิ ช า อาคมต่างๆ ตามแถบเทือกเขาพนมดงรัก ไป กับ หลวงปูเ่ ชิด วัดเพชรบุรี เป็นเวลาหลายปี หลวงปูค่ ยี ์ เชีย่ วชาญพิธเี สริมดวง เสริมบารมี สะเดาะเคราะห์ ต่อชะตา ราศี ด้วยการสาว น�้าตาเทียนจากบาตรน�้ามนต์ครอบลงบน ศี ร ษะของผู ้ เ ข้ า พิ ธี ครอบมงกุ ฎ พระเจ้ า วิทยาคมด้าน เมตตามหานิยม ด้านวัตถุมงคล หลวงปู่คีย์ อนุญาตให้ สร้าง 30 รุ่น แต่ละรุ่นล้วนได้รับความนิยม จากประชาชน หลวงปู่คีย์ กิตติญาโณ ได้รับ แต่งตั้งเป็น พระครูวิสุทธิกิตติญาณ เมื่อปี พ.ศ.2536 และเมือ่ ปี 2542 ได้รบั แต่งตัง้ เป็น เจ้าคณะต�าบลทุ่งมน อย่างไรก็ตาม แม้ว่าหลวงปู่ช่วยเหลือ ผู ้ ค นมากมายทางด้ า นสงเคราะห์ ท างใจ ก็เพื่อให้พุทธบริษัทพึ่งตนเองให้ได้ในที่สุด และมี “พระรัตนตรัย” เป็นที่พึ่งอันประเสริฐ คือ พระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์ ในยาม ที่มีทุกข์นั่นเอง เมื่อระลึกถึงความเพียรของ พระพุทธเจ้าในการปฏิบตั ติ นจนสิน้ ทุกข์โดย สิ้ น เชิ ง ระลึ ก ถึ ง พระธรรมค� า สอนของ พระองค์ แ ล้ ว น� า มาปฏิ บั ติ อ ย่ า งเต็ ม ก� า ลั ง ระลึกถึงพระสุปฏิปันโน พระสงฆ์สาวกของ พระพุทธเจ้าที่ตั้งใจปฏิบัติขัดเกลาตนอยู่ใน ทางอริยมรรคมีองค์แปดจนสิ้นทุกข์ตามรอย
พระพุทธเจ้า เมื่อเราระลึกถึงพระรัตนตรัย แล้วน้อมมาใส่ตวั ปฏิบตั ติ นท่านสามารถช่วย บ�าบัดทุกข์บา� รุงสุขให้ได้ เมือ่ มีสขุ แล้ว ถ้าระลึก ถึ ง รั ต นะทั้ ง สามนี้ ก็ เ พิ่ ม เติ ม ความสุ ข ได้ เพราะพระรัตนตรัยเป็นแหล่งรวมแห่งความสุข ความเบิกบานใจ ซึ่งมีอยู่ภายในตัวของเรา ทุกๆ คน หากทุกคนในโลกเข้าถึงสรณะอันสูงสุดนี้ ได้เมือ่ ใด ความทุกข์ทงั้ หลายจะดับไปเมือ่ นัน้ จะเข้าถึงความสุขทีแ่ ท้จริง เป็นบรมสุขคือสุข อย่างยิ่ง เป็นสุขสงบไม่ฟูไม่แฟบ ไม่มีทุกข์ เจือปนเลย เนือ่ งจากชีวติ ของเราทุกคนทีเ่ กิด มา ล้วนเกิดมาเพือ่ แสวงหาความสุขทีแ่ ท้จริง เพราะสิ่ ง อื่ น ที่ จ ะ เป็ น ที่ พึ่ ง และที่ ร ะลึ ก ยิ่งไปกว่านี้ไม่มีอีกแล้ว พระรั ตนตรั ย เป็ น ที่ พึ่ ง อันแท้จริง พระสัมมาสัม พุทธเจ้าทรงสอนให้ใจ ปลอดโปร่ ง ว่ า งจาก เครื่องกังวลร้อยรัด ด้วย การฝึ ก ให้ จิ ต มี ที่ เ กาะ คื อ สติ ปั ญ ญาจนเห็ น กายใจตามความเป็ น จริงว่าไม่ใช่ตัวเรา ไม่ใช่ ของเรา ไม่ให้ไปยึดมั่น
ถือมั่นในสิ่งทั้งหลายทั้งปวง ไม่ว่าจะเป็นคน เป็นสัตว์ เป็นสิง่ ของ จะเป็นสิง่ มีชวี ติ หรือไม่มี ชีวติ ก็ตาม ทรงสอนว่า สิง่ เหล่านีล้ ว้ นไม่เทีย่ ง มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา เป็นทุกข์ และก็ไม่ใช่ของเรา เพราะว่าบังคับบัญชาไม่ ได้ ควบคุมไม่ได้ คิดอย่างนีแ้ ล้วใจจะได้คลาย จากความยึดมั่นถือมั่นในสิ่งนี้ พอคลายแล้ว จะได้อะไร เมื่อคลายแล้วใจมันก็หลุดจาก ความยึดติด จิตหลุดพ้น จิตก็บริสุทธิ์ เมื่อ บริสุทธิ์จิตไปสู่ที่ตั้งเดิมในปริมณฑลของใจ ไม่ไปเกาะเกี่ยวอะไรกลับมาให้เกิดทุกข์อีก ดังนัน้ ขอให้เราทุกคนมีพระรัตนตรัยเป็น ที่พึ่งในที่สุดเทอญ SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 149
149
6/7/2018 1:41:05 AM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�าชีวิต
วัดสุวรรณวิจิตร
ส่งเสริมการศึกษาด้านจริยธรรมคุณธรรม ปญฺญา ว ธนํ เสยฺโย ปัญญา แล ประเสริฐกว่าทรัพย์ พระครู ป ริ ยั ติ ป ั ญ ญาโสภณ ดํ า รง ตําแหน่งเจ้าอาวาสวัดสุวรรณวิจิตร วัดสุวรรณวิจิตร ตามหลักฐานของกรม ศาสนา สร้างเมื่อปี พ.ศ.2464 และได้รับ พระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อ พ.ศ.2510
150
ปัจจุบัน ตั้งอยู่เลขที่ 26 หมู่ 1 บ้านปะอาว ต�าบลกังแอน อ�าเภอปราสาท จังหวัดสุรนิ ทร์ ในเขตเทศบาลต�าบลกังแอน วั ด สุ ว รรณวิ จิ ต ร มี ชุ ม ชนบ้ า นปะอาว ชุมชนบ้านโคกมะกะ ชุมชนบ้านหนองก็วล ชุมชนบ้านสัมพันธ์และชุมชนทะเม็งตรัย เป็น เขตบริการด้านศิลปะประเพณีวฒ ั นธรรมและ วันส�าคัญทางพระพุทธศาสนา การศึกษาเป็นรากฐานชีวิต พระพุทธ ศาสนาเป็นรากฐานของจิตใจ จุดเด่น วัดสุวรรณวิจิตร เป็นสถานที่ จัดการศึกษาให้ชุมชนเพื่อส่งเสริมการศึกษา ด้ า นจริ ย ธรรมคุ ณ ธรรมให้ กั บ เยาวชน
พระภิ ก ษุ ส ามเณรและเด็ ก ชาย-หญิ ง ด้ อ ย โอกาสทางการศึกษา และประชาชนทั่วไป เป็ นรู ป แบบโรงเรี ย นการกุศล (ของวัด ใน พระพุทธศาสนา) แห่งแรกของจังหวัดสุรนิ ทร์ ตั้งแต่ พ.ศ.2550 มาจนปัจจุบัน โดยเชื่อ มั่นว่า การศึกษาเป็นรากฐานชีวิต โดยมี พระพุทธศาสนาช่วยขัดเกลานิสัย มีวินัยดี มารยาทดี จิตใจดี ทุกสิ่งอย่างก็จะดีเอง ปั จ จุ บั น มี พ ระเอกชั ย ชยฺ เ มธี เป็ น ผู ้ อ� า นวยการโรงเรี ย นสุ ว รรณวิ จิ ต รวิ ท ยา วั ด สุ ว รรณวิ จิ ต ร ต.กั ง แอน อ.ปราสาท จ.สุรินทร์ 32140
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
.indd 150
6/7/2018 2:17:21 AM
แพนาวาทอง
โรงแรมใหม่ทันสมัยแห่งแรกและแห่งเดียวในอ�ำเภอท่ำตูม ท่ำมกลำง ธรรมชำติ ริมล�ำน�้ำมูล สำยน�้ำที่เป็นดังสำยเลือดหลักของ อีสำนตอนใต้ และรับประทานอาหารพื้นบ้าน อร่อยถึงใจ เพลินไปกับวิวแม่น�้ามูล เป็นร้านอาหารที่อยู่ในแพของแม่น�้ามูล เป็นร้านเดียวจริงๆ ของอ�าเภอ ท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ ที่มีทั้งวิว และ บรรยากาศ สดชื่น สบายตา อาหารพื้นบ้าน อร่อยถึงใจ เพลินไปกับวิวแม่น�้ามูล เมนูเด็ด แกงป่าหมูป่า ทั้งเผ็ดร้อนอย่างลงตัว หรือจะสั่งแบบทานได้ทั้งครอบครัว ก็มี เช่น ปลากะพงทอดน�้าปลา กรอบอร่อยชนิดที่ทานได้ทั้งตัวพร้อมน�้าจิ้ม มะม่วงกับถั่วลิสง อาหารอร่อย รสชาติ จี๊ดจ๊าด แซบมากๆ และยังมีอาหาร ที่แนะน�าอีกหลายอย่าง โรงแรม ศรีทองกุล ริเวอร์ ไซด์ หมู่ที่ 9 ต�ำบล ท่ำตูม อ�ำเภอ ท่ำตูม สุรินทร์ 32120 โทรศัพท์ 044 591 788
.indd 151
6/5/2018 2:25:17 AM
ศรีประที ป รีสอร์ท เดินทางไกล แล้วหายเหนื่อย เมื่อแวะพัก ศรีประทีป รีสอร์ท ห้องพักสไตล์บ้านเดี่ยว สีสันสดใส อบอุ่นใจ เป็นส่วนตัว ที่จอดรถกว้างขวาง บรรยากาศเงียบ สงบ สะอาด ปลอดภัยกับกล้องวงจรทุกจุด นึกถึงที่พักในสุรินทร์ นึกถึงเรา ศรีประทีป รีสอร์ท กับทุกเส้นทางที่คุณจะไปสะดวกทุกจุดหมายปลายทาง มาไม่ถูกโทรถามทางได้ที่ 083-127-9547 152
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
.indd 152
6/7/2018 1:45:29 AM
พักครั้งนี้ หายเหนื่อย ศรีประทีป รีสอร์ท 189 ม.13 ต.กังแอน อ.ปราสาท จ.สุรินทร์ โทรศัพท์จองล่วงหน้า : 083-127-9547
ศรีประทีป รีสอร์ท บริ ก ารตลอด 24 ชั่ ว โมง ด้ ว ยห้ อ งพั ก ที่ ส ะอาด สะดวก สบาย พร้อมเฟอร์นิเจอร์ครบครัน SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 153
153
6/7/2018 1:45:49 AM
Ad-SBL Magazine book new.indd 119
6/6/2561 10:22:20
ชมดาว รีสอร์ท
Chomdow Resort “ ห้องพักหรู สะอาด บรรยากาศดี ” ชมดาว รีสอร์ท เปิดให้บริการห้องพักปรับอากาศ ตลอด 24 ชั่วโมง ห่างจาก ที่ว่าการอ�าเภอรัตนบุรีประมาณ 1 กิโลเมตร บรรยากาศภายในห้องพัก สะอาด และเงียบสงบ ประกอบไปด้วยเครื่องอ�านวยความสะดวกต่างๆ อาทิ ทีวี PSI เครื่องท�าน�้าอุ่น ตู้เย็น ตู้เก็บสัมภาระ เฟอร์นิเจอร์ และอื่นๆ
ที่ตั้ง : 333 หมู่ 10 บ้านน้อยสนาม ต.รัตนบุรี อ.รัตนบุรี จ.สุรินทร์ โทร. : 093-393-9898 chomdowresort
SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 155
155
6/11/2018 6:23:16 PM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�าชีวิต
วัดมงคลคชาราม (วัดช้างหมอบ) พระสมุห์ทวีขันติยาโณ (อาจารย์ธิ) ด�ารงต�าแหน่ง เจ้าอาวาส วัดมงคลคชาราม ตั้งอยู่ต�าบลแนงมุด อ�าเภอกาบเชิง จังหวัดสุรินทร์ วัดมงคลคชาราม หรือ วัดช้างหมอบ เดิมชื่อ วัดมงคลวราภรณ์ โดยมี พระพิมล พัฒนาทร หรือ หลวงพ่อพวน วรมงฺคโล อดีตเจ้าอาวาสวัดมงคลรัตน์ ต.คอโค อ.เมือง จ.สุรนิ ทร์ เป็นผูม้ าบุกเบิกสร้างวัดเมือ่ ปี พ.ศ. 2527ตอนนั้นยังไม่มีพระจ�าพรรษา และ ท่านก็ได้นั่งสมาธิเห็นรอยพระพุทธบาทอัน ศักดิส์ ทิ ธิ์ จากนัน้ มาท่านก็สร้างมณฑปครอบ 156
รอยพระพุทธบาท ต่อมาในปี พ.ศ.2531 ท่านก็สร้างอุโบสถขึ้น และปีนี้เองก็ได้มีพระ จ�าพรรษามาจนถึงปัจจุบนั เมือ่ ปี พ.ศ. 2552 หลวงปูพ่ วน ท่านก็ได้วางศิลาฤกษ์สร้างพระ ปรางค์กุญชรมณีศรีไตรยอดเพชร ต่อมาในปี พ.ศ. 2555 ก็ได้ขออนุญาต สร้ า งวั ด แล้ ว ได้ พ ระราชทานนามว่ า “วั ด มงคลคชาราม” มีเนื้อที่ประมาณ 200 ไร่ ปัจจุบนั มีพระสมุหท์ วีขนั ติยาโณ(อาจารย์ธ)ิ เป็นเจ้าอาวาส อีกทั้งยังเป็นสถานที่ส�าคัญ
แห่งหนึ่งของจังหวัดสุรินทร์ มีความสวยงาม และยังคงรักษาความเป็นธรรมชาติ ทั้งภูเขา และป่าไม้เหมาะแก่การปฏิบตั ธิ รรม และท่อง เที่ ยวเชิ ง ธรรมะของประชาชนชาวจั ง หวั ด สุรินทร์ หลวงพ่อพวน วรมงฺคโล พระผู้ปลูก ศรัทธาและปัญญาแก่ประชาชน พระพิมลพัฒนาทร หรือ หลวงพ่อพวน วรมงฺคโล เป็นพระสงฆ์ผู้มีพรหมวิหารธรรม เป็นพระสุปฏิปนั โน เป็นผูท้ า� คุณประโยชน์ตอ่ ชาวจังหวัดสุรินทร์ ที่พุทธศาสนิกชนทั่วไป
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
.indd 156
6/5/2018 9:59:49 AM
นิยมไปกราบนมัสการท่านมากมายทุกวัน ในสมัยที่ท่านมีชีวิตอยู่จนกระทั่งสังขารท่าน เริม่ เจ็บป่วยตามวัยและรับการรักษาอย่างต่อ เนื่อง แต่หลวงพ่อพวนก็ยังสามารถปฏิบัติ ศาสนกิ จ เป็ น ประจ� า ทุ กวั น ญาติ โ ยม ยั ง เลื่ อ มใสในข้ อ วั ต รปฏิ บั ติ ที่ เ คร่ ง ครั ด ของ หลวงพ่อ ได้เดินทางมากราบไหว้ ขอพร และ ขอบารมีคมุ้ ครองจากหลวงพ่อ และเป็นทีเ่ ชือ่ กั นว่ า หากใครได้ รั บ พร และน�้ า มนต์ จ าก หลวงพ่อ จะเป็น ผู้โชคดี ได้สิ่งที่ปรารถนา ดั่งใจ (ปัจจุบันมรณภาพแล้ว) พระพิมลพัฒนาทร หรือ หลวงพ่อพวน วรมังคโล มีนามเดิม พวน แก้วหล่อ เกิดเมือ่ วันพุธที่ 15 เม.ย.2472 ทีบ่ า้ นตราด หมูท่ ี่ 2 ต.คอโค อ.เมือง จ.สุรนิ ทร์ บรรพชาทีว่ ดั คอโค (วัดสง่างาม) อ.เมืองสุรินทร์ โดยมี หลวงปู่ อวง ปัจฉิมปัญโญ วัดคอโค เป็นพระอุปชั ฌาย์ เมื่ อ ครบอายุ อุ ป สมบท เข้ า พิ ธี เ มื่ อ วั น พฤหัสบดีที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2492 ณ พัทธสีมาวัดคอโค มี พระครูโสภณคณานุรกั ษ์ วัดประทุมศรัทธา ต.คอโค เป็นพระอุปชั ฌาย์, พระอธิการ จิตร์ กิตติญาโณ วัดโพธิ์สลาด ต.คอโค เป็นพระ กรรมวาจาจารย์ และ พระงา ขันติพโล วัดประทุมศรัทธา ต.คอโค เป็นพระอนุสาวนาจารย์ ได้รับฉายานามว่า วรมังคโล ภ ายห ลั ง อุ ป ส ม บท มุ ่ ง มั่ น ศึ ก ษ า พระปริยัติธรรม พ.ศ.2487 สามารถสอบได้ นักธรรมชั้นตรี-โท-เอกตามล�าดับ
SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 157
157
6/5/2018 9:55:33 AM
หลวงพ่อพวนชมชอบความสงบสันโดษ จึงออกท่องธุดงค์ไปปฏิบตั ธิ รรมตามสถานที่ ต่างๆ เป็นประจ�า ประมาณปี พ.ศ.2517 หลวงพ่อพวนธุดงค์เข้าไปในป่าบริเวณนี้ซึ่ง อยู่บนเนินเขาพนมดงรัก ติดชายแดนไทยกัมพูชา ชอบความสงบตามธรรมชาติ ได้ พ�านักและมาปฏิบัติธรรมในถ�้าใกล้บริเวณ วั ด ช้ า งหมอบ ในช่ ว งนั้ น เดิ น ทางไปมา
158
ระหว่างวัดคอโคและวัดแห่งนี้ มีความรูส้ กึ ว่า เป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์มาก หากชาวบ้านมา ถางป่าท�าไร่ก็น่าเสียดาย จึงได้ริเริ่มสร้างวัด ขึ้นในที่สุด การปกครองคณะสงฆ์ ได้รับแต่งตั้งเป็น เจ้าอาวาสวัดมงคลรัตน์ ต.คอโค, เป็นเจ้า คณะต�าบลคอโค, เป็นพระอุปัชฌาย์, เป็น รักษาการแทนเจ้าอาวาสวัดมงคลคชาราม
บ้านช้างหมอบ ต.แนงมุด อ.กาบเชิง จ.สุรนิ ทร์ และได้รบั พระบัญชาแต่งตัง้ เป็นทีป่ รึกษาเจ้า คณะต�าบลคอโค งานสาธารณูปการ ด�าเนินการก่อสร้าง พระปรางค์กุญชรมณีศรีไตรยอดเพชร ที่วัด มงคลคชาราม บ้ า นช้ า งหมอบ และพ.ศ. 2519 ก่อตั้งโรงเรียนอุปัชฌาย์พวนอุทิศ ตั้ง อยู ่ ห มู ่ ที่ 8 บ้ า นตะโก ต.คอโค อ.เมื อ ง จ.สุรินทร์ สมณศักดิ์ เมือ่ วันที่ 10 มิถนุ ายน 2549 เนือ่ งในโอกาสพระราชพิธฉี ลองสิรริ าชสมบัติ ครบ 60 ปี ได้รบั พระราชทานเลือ่ นสมณศักดิ์ เป็น พระราชาคณะชั้นสามัญ ในราชทินนาม ที่ พระพิมลพัฒนาทร หลวงพ่อพวนเป็น พระเกจิอาจารย์ชอื่ ดัง เมืองสุรินทร์ เลื่องลือในด้านเสริมดวงบารมี ท�านายดวงชะตา และเป็นพระผู้มีเมตตา
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
.indd 158
6/5/2018 9:55:58 AM
สร้างถาวรวัตถุ ท�านุบ�ารุงพระพุทธศาสนา สร้างวัด สร้างอุโบสถ เคร่งครัดในข้อวัตร ปฏิบัติในกิจของสงฆ์อย่างสม�่าเสมอ เป็นที่ เลื่ อ มใสศรั ท ธาของพุ ท ธศาสนิ ก ชนทั่ ว ประเทศ ในวันที่ 5 มิถุนาย พ.ศ.2559 ท่าน มรณภาพด้ ว ยอาการสงบ ที่ โ รงพยาบาล พระมงกุฎเกล้า สิรอิ ายุรวม 87 ปี พรรษา 67 วัดมงคลคชาราม จึงเป็นวัดที่หลวงพ่อ พวน สร้างแรงศรัทธาจากพุทธศาสนิกชนทุก ชนชน ทั้งในจังหวัดสุรินทร์และต่างจังหวัด มายังที่นี่ได้อย่างต่อเนื่อง แม้ท่านละสังขาร ไปแล้วก็ตามประชาชนก็ยงั นิยมมากราบไหว้ กันเป็นประจ�า หลวงพ่อพวน วรมังคโล เป็นเกจิอาจารย์ ชือ่ ดังของอีสานใต้ เป็นพระทีม่ เี มตตาธรรมสูง ช่วยเหลือพี่น้องประชาชนมาโดยตลอด ใคร ทีเ่ ดือดร้อนมาขอให้ชว่ ยโดยหลวงพ่อจะสอน ให้ยึดหลักธรรมะ ให้เก่งการท�างาน เก่งการ ประกอบอาชีพอย่างสุจริต ใช้อย่างประหยัด คุ้มค่าตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง จากพระอภิธรรม 7 คัมภีร์ ถึง พระปรางค์ กุญชรมณีศรีไตรยอดเพชร “พระปรางค์กญ ุ ชรมณีศรีไตรยอดเพชร” เป็นหลักประธานในวัดเช่นเดียวกับพระเจดีย์ แต่เดิมถือว่าเป็นงานสถาปัตยกรรมที่มีรูป แบบลักษณะเฉพาะของขอม โดยมีคติความ เชือ่ ในศาสนาฮินดู ว่าเป็นสัญลักษณ์ของ เขา พระสุเมรุ ซึง่ ท่านเจ้าคุณ พระพิมลพัฒนาทร (หลวงพ่อพวน) กล่าวถึงที่มาของการสร้าง พระปรางว่า จากการที่ได้ธุดงค์มาพ�านักที่ บนเนินเขาพนมดงรักแห่งนี้ ได้บา� เพ็ญเพียร วิ ป ั ส สนากรรมฐาน นั่ ง สมาธิ นิ มิ ต เห็ น พระปรางค์ รู ป ทรงตามที่ ไ ด้ จั ด สร้ า งเป็ น สวรรค์ ชั้ น ดาวดึ ง ส์ เพราะว่ า สวรรค์ ชั้ น ดาวดึงส์มีธรรมสภากว้างขวาง ใหญ่โตและ เป็ น สวรรค์ ชั้น ที่เ ทวดาในชั้น จาตุมหาราชิ กาสามารถขึ้ น ไปฟั ง พระธรรมจากองค์ สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทีเ่ สด็จมาโปรด พระพุทธมารดาตลอดไตรมาส ให้เทพดาใน โลกธาตุทปี่ ระชุมฟังธรรมอยูใ่ นทีน่ นั้ ได้บรรลุ
มรรคผลสุดทีจ่ ะประมาณ ในอวสานกาลเป็น ที่จบคัมภีร์มหาปัฏฐาน ซึ่งเป็นคัมภีร์ที่ 7 ใน พระอภิ ธ รรม พระนางสิ ริ ม หามายาเทวี พระพุทธมารดาได้บรรลุพระโสดาปัตติผล สมพระประสงค์ของพระผูม้ พี ระภาคเจ้า ทีไ่ ด้ ทรงตั้ ง พระหฤทั ย เสด็ จ ขึ้ น มาสนองคุ ณ พระพุทธมารดา จากนิมิตดังกล่าวหลวงพ่อพวนไม่รู้ว่า จะจัดสร้างได้อย่างไร คิดว่าสถานทีแ่ ห่งนีน้ า่ จะเป็นดินแดนธรรมในอนาคต เทพ พรหม คงมาก�าหนดให้เห็นเป็นนิมิต จึงได้ท�าพิธี บวงสรวงขอสิ่ ง ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ให้ มี ค นมาช่ ว ย ให้การสร้างพระปรางค์ประสบผลส�าเร็จเพือ่ ประดิ ษ ฐานพระบรมสารี ริ ก ธาตุ ข ององค์ สมเด็ จ พระสั ม มาสั ม พุ ท ธเจ้ า และพระ สารีริกธาตุของพระอริยสงฆ์และพระธาตุที่ เสด็จมาและเก็บไว้ที่วัดแห่งนี้เพื่อสืบทอด พระพุทธศาสนาและให้พุทธศาสนิกชนได้ เคารพบูชาสักการะได้ตลอดไป ในที่สุดก็สามารถเริ่มสร้างได้เมื่อวันที่ 9 มีนาคม 2552 โดยจัดสร้างเป็นองค์ปรางค์ 3 ยอดอยู่ตรงกลาง และมีปรางค์บริวาร โดยรอบทั้ง 8 ทิศ ตั้งอยู่บนยอดเขาเตี้ยๆ มี ค วามวิ จิ ต รสวยงาม ผสมผสานแนวคิ ด
พระธาตุพนมกับนครวัด โดยหลวงพ่อพวน เป็น ผู้ออกแบบเอง ตั้งอยู่ริมชายแดนไทยกัมพูชา ส�าหรับวัสดุที่ใช้ในการก่อสร้าง ที่ เป็นทัง้ หินศิลาแลง และปูนทีว่ างแบบเป็นรูป แบบสมัยประยุกต์ ทั้งลวดลาย ที่เป็นแบบ ลายไทย และลายผสม ไทยและอาณาจักร ขอมอังงดงามตระการตาเป็นอย่างยิง่ การได้ มีโอกาสเดินทางมากราบไหว้บชู าพระปรางค์ กุญชรมณีศรีไตรยอดเพชร ยิ่งเป็นการส่ง เสริมศรัทธาปสาทะในการตั้งจิตอธิษฐานใน การบ� า เพ็ ญ จิ ต ภาวนาไปจนกว่ า จะถึ ง ซึ่ ง ความพ้นทุกข์
SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 159
159
6/5/2018 9:56:24 AM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�าชีวิต
วัดพัฒนาธรรมาราม (วัดบ้านด่านช่องจอม) บ้านด่านพัฒนาถิ่นบวร พระนอนอยู่คู่บ้านสมัคร สมานสามัคคี และมีแหล่งการค้าที่ช่องจอม หลวงปู่เฮง ปภาโส ด�ารงต�าแหน่งเจ้า อาวาส วัดพัฒนาธรรมาราม หรือ วัดบ้านด่าน ช่ อ งจอม ตั้ ง อยู ่ ณ บ้ า นด่ า นช่ อ งจอม อ.กาบเชิง จ.สุรินทร์ สังกัดคณะสงฆ์มหา นิกาย เริ่มตั้งวัดเมื่อ พ.ศ. 2479 มีเนื้อที่ 30 ไร่เศษๆ ตัง้ อยูท่ างทิศตะวันออกเฉียงใต้ของ จังหวัดสุรนิ ทร์ ระยะทางห่างจากเมืองสุรนิ ทร์ ประมาณ 70 กิโลเมตร มีก�าแพงล้อมรอบ มั่นคงแข็งแรง วัดสะอาด ร่มรื่นและสวยงาม 160
ประวัตคิ วามเป็นมา เดิมบ้านด่าน ได้แบ่ง แยกกันอยู่หลายกลุ่ม ต่อมาประมาณปี พ.ศ. 2475 ได้มี ปลัดกวี คงเก่ง เป็นปลัดอ�าเภอ สังขะ จังหวัดสุรนิ ทร์ ในสมัยนัน้ ได้มาประชุม ชาวบ้านให้มาร่วมกลุ่มกันอยู่และได้ด�าเนิน การจัดสรร ที่ดินให้แก่ชาวบ้าน ตั้งชื่อว่า บ้านด่าน หมูท่ ี่ 1 อ�าเภอสังขะ จังหวัดสุรนิ ทร์ และได้เว้นที่ดินไว้เพื่อการสร้างวัด หลังจาก นั้นชาวบ้านได้ช่วยกันถากถางและเริ่มสร้าง ศาลา ชาวบ้านได้รว่ มบริจาคไม้กระดานต่างๆ
และสร้างกุฏิขึ้นมา 4 หลัง มีหลวงพ่อเดือน เป็นรักษาการเจ้าอาวาสองค์แรก สมัยนั้น อ�าเภอกาบเชิงยังเป็นกิง่ อ�าเภออยู่ และต�าบล ด่าน ก็ได้ขึ้นต่อกิ่งอ�าเภอกาบเชิง ต่อมาในปี พ.ศ. 2533 บ้านด่านได้แยกหมู่บ้าน เป็น หมู่บ้านที่ 14 ชื่อหมู่บ้านด่านพัฒนา จึงได้ เปลีย่ นชือ่ วัดเป็น วัดพัฒนาธรรมาราม สร้าง ขึ้นเมื่อปีพ.ศ. 2479 ปัจจุบันมี หลวงปู่เฮง ปภาโส เป็นเจ้าอาวาส ประวัติและปฏิปทาหลวงปู่เฮง ปภาโส บิดาชื่อ นายล็อง นพเก้า มารดาชื่อ
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
.indd 160
6/5/2018 10:13:14 AM
นางเปก นพเก้า หมูบ่ า้ นปราสาท ต�าบลตาอ็อง อ�าเภอเมือง จังหวัดสุรนิ ทร์ เกิดเมือ่ วันศุกร์ที่ 11 สิงหาคม พ.ศ.2470 ที่บ้านปราสาท จังหวัดสุรินทร์ อายุ 9 ขวบเข้าโรงเรียนวัด บ้านปราสาท ส�าเร็จการศึกษาชั้นประถม ศึกษาปีที่ 4 ในปี พ.ศ.2482 พ.ศ.2483 หลานของแม่คอื พระอาจารย์ เฉิด ธมฺมกโร ซึ่งเป็นลูกผู้พี่ลูกของป้า เดิน ทางธุดงค์มาจากประเทศกัมพูชา มาเยี่ยม ญาติพี่น้องที่ประเทศไทย แล้วจะเดินทางไป เรื่อยๆ ก่อนที่ท่านจะไปได้บอกกับแม่ว่า โยมอา ฉันอยากจะขอน้องไปด้วย โยมอาจะ ว่าอย่างไร ฉันจะได้สอนให้น้องได้หัดเรียน เขียนอ่าน จะได้รู้หนังสือ แม่บอกว่าตามใจ จะไปก็ไป ถ้าน้องอยากจะกลับก็ให้พระมา ส่งน้องก็แล้วกัน หลังจากนัน้ ก็บวชพราหมณ์ ให้แล้วพาออกเดินทางธุดงค์ไปตามป่าเขา ตามแนวเขตชายแดนกัมพูชา เจอลานหินใหญ่ๆ ท่านก็พาหยุดพักค้างคืน แล้วท่านก็สอนให้ เขียนอ่านขอมบาลี ท่านสอนอะไรมาหลวงปู่ ก็เข้าใจง่ายเพราะว่าตอนอยูบ่ า้ นโยมพ่อก็ได้ สอนให้หดั เขียนอ่านอยูบ่ า้ งแล้ว ตลอดระยะ เวลาที่เดินธุดงค์อยู่ในป่านานถึง 14 เดือน ได้รู้ได้เห็นอะไรหลายอย่างที่ท่านได้สั่งสอน
อักขระจนแตกฉานทุกตัว ท่านก็พากลับมา ส่งที่บ้าน ต่อมาในปี พ.ศ.2484 โยมพ่อโยมแม่กใ็ ห้ บวชเรียน เรียนหนังสือไทยและบาลีเพิม่ เติม และสอบได้นักธรรมชั้นโท ต่อมา พ.ศ.2486 ก็ได้ลาสิกขาไปรับใบกองเกินและท�านาอยู่ 2 ปี ในปี พ.ศ.2489 ไปเป็นทหารอยู่ที่จังหวัด ลพบุรี ทีก่ รมทหารม้าลพบุรี เลีย้ งม้าขีม่ า้ อยู่ กรมกทหาร 3 ปี พ.ศ.2491 ปลดจากการ เป็นทหารตอนนั้นก็ได้เริ่มออกเที่ยวไปใน หลายจังหวัดหลายอ�าเภอ พ.ศ.2492 ลงไป ศึกษาภาษาขอมที่กัมพูชา 3 ปี แล้วกลับมา ประเทศไทยอยู่ที่จังหวัดจันทบุรีระยะหนึ่งก็ บวชอยูก่ บั หลวงพ่อคง สุวณฺโณ ในพ.ศ.2519 ทีว่ ดั วังสรรพรส ต�าบลบ่อ อ�าเภอขลุง จังหวัด จันทบุรี และได้ออกเดินธุดงค์ สร้างวัดสร้าง ศาลาสร้างพระอุโบสถไว้หลายแห่งทัว่ จังหวัด จันทบุรี ต่อมาในปีพ.ศ.2539 ลาสิกขาไปวัน เดียว ( แบ่งที่ดินให้ลูกหลาน) ตรงกับวันที่ 5 กรกฎาคม เช้าวันรุ่งขึ้นวันที่ 6 หลวงปู่ก็บวช ใหม่ พ.ศ.2549 หลังจากหลวงพ่อเฮง ปภาโส กลับมาจ�าพรรษาทีว่ ดั พัฒนาธรรมาราม ท่าน ก็ได้พระภิกษุในปีนั้น 12 รูป โดยมีลูกหลาน
ชาวบ้านเข้ามาอุปสมบท จากนั้น ท่านก็เริ่ม บูรณะวัดทีห่ ลวงพ่อนิด นนฺทโก ท่านท�าไว้ยงั ไม่เสร็จ เริม่ ปลูกต้นไม้รอบสระ สร้างก�าแพง แก้วรอบอุโบสถก�าแพงแก้วรอบอุโบสถและ ก�าแพงรอบวัดปรับพื้นวัดให้เสมอสร้างซุ้ม ประตูทางเข้าด้านติดถนนใหญ่ ยกกุฏิปูนอีก 4 หลัง ศาลาการเปรียญ 1 หลัง และศาลา พักศพ ในปี พ.ศ.2556 ศาสนสมบัติ มี อุโบสถ 1 หลัง ประดับ ด้ ว ย ช่ อ ฟ้ า ใบระกา ตกแต่ ง สวยงาม ประดิษฐานพระประธานในอุโบสถ, ศาลา การเปรียญ 1 หลัง, อาคารอเนกประสงค์ ส�าหรับพุทธศาสนิกชนท�าบุญในวันส�าคัญ ทางพระพุทธศาสนาต่างๆ และฟังธรรมใน วันธรรมสวนะ วันส�าคัญทางพระพุทธศาสนา มีพระประธานปางสมาธิหลายองค์, กุฏิ 5 หลัง, เมรุมาศ 1 หลัง, ศาลาพักศพ 2 หลัง และ ห้องน�้ารวม 8 ห้อง ส�าหรับปูชนียวัตถุมี มีพระพุทธรูป ปาง สมาธิ หลายองค์, พระประธานพุทธรัตนะ ปกป้องไทย 1 องค์, พระพุทธรูปปางไสยาสน์ (พระนอน) 1 องค์, พระพุทธรูปปางห้าม ญาติ 1 องค์ ,พระสังกัจจายน์ 1 องค์ SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 161
161
6/7/2018 5:33:53 PM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�าชีวิต
วัดโคกพยุง
พระครูใบฏีกาสุเทพ ธีรธมฺโม ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาส วัดโคกพยุง ตั้งอยู่ เลขที่ 98 หมู่ที่ 6 ต.แนงนุด อ.กาบเชิง จ.สุรินทร์ ประวั ติ ค วามเป็ น มา ณ บริ เ วณที่ ตั้ ง วัดโคกพยุงนับย้อนหลังไปเมือ่ พ.ศ. 2510 ยัง เป็นป่าดงดิบ ทีช่ กุ ชุมไปด้วยสัตว์ปา่ นานาชนิด ต่อมามีชายผูย้ งิ่ ใหญ่นามว่า คุณพ่อช�ำ กำยดี คุณพ่อเพีย ปิงจุลดั คุณพ่อมิน บอนประโคน คุณพ่อซอน ศำลำงำม ได้ยา้ ยถิน่ ฐานเข้ามา จั บจองเป็ น ที่ อ ยู ่ อ าศั ย รวมกั น สามเผ่ า คื อ เขมร กูย ลาว จนกระทัง่ ปีพ.ศ.2511 พระเดช พระคุณหลวงปู่บอน ปูชิโต(มีมั่น) พร้อม 162
คณะสงฆ์ จ ากวั ด สามราษฎร์ บ� า รุ ง (บ้ า น โคกบุ) ได้นิมนต์มาแผ่ศรัทธา โดยการมา บิณฑบาตไม้ เพื่อใช้ในการสร้างเสนาสนะ ชาวบ้านต่างดีอกดีใจได้พระผูเ้ ป็นเนือ้ นาบุญ มาโปรด เพราะในบริเวณนีไ้ ม่มวี ดั เลย ต่างช่วย หลวงปู่และพระสงฆ์เลื่อยไม้ โยมผู้หญิงช่วย กันดูแลภัตตาหาร ขณะนั้นเองหลวงปู่บอน และชาวบ้านต่างปรารภถึงการสร้างวัดเพื่อ เป็นศูนย์รวมใจแก่สาธุชนในบริเวณนี้ หลวงปู่ จึ ง ถามโยมว่ า พอจะมี ที่ ไ หม ทั น ใดนั้ น ได้ มีทานบดี ผูป้ ระกอบด้วยศรัทธา ออกปากต่อ
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
.indd 162
6/5/2018 10:19:24 AM
หลวงปู่ว่าขอถวายที่แห่งนี้เพื่อสร้างวัด ท่าน มีนามว่าคุณพ่อช�ำ กำยดี เป็นผูถ้ วายในเบือ้ ง ต้น และมีพอ่ ช�า-แม่วงิ กายดี , พ่อกิบ-แม่มูล สมดัง และพ่อเหลือม-แม่บุ สุขสบาย ได้บริจาค ที่ดินให้จ�านวน 17 ไร่ 2 งาน หลวงปู่บอน จึงได้เริ่มสร้างตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา ให้ชื่อว่า วัดโคกพยุง ในอดีต ตัง้ อยู่ หมูท่ ี่ 17 ต.บักได อ.ปราสาท จ.สุรินทร์ ในพรรษาแรกนั้นหลวงปู่ได้ส่ง หลวงพ่อ เอือน มาจ�าพรรษาเป็นรูปแรก ท่านได้น�า ญาติ โ ยมปฏิ บั ติ ธ รรมตามแนวทางของ พระพุทธศาสนา ต่อมามีผู้มีจิตศรัทธาถวาย ทีเ่ พิม่ เติม คือ คุณพ่อเหลือม แม่บุ สุขสบำย คุณพ่อกิบ แม่มลู สมดัง รวมเนือ้ ทีไ่ ด้ 17 ไร่ และในการก่อสร้างศาลามีพระสงฆ์ อีกรูป หนึ่งที่เป็นเรี่ยวแรงส�าคัญ ในการก่อสร้างคือ พระครูพิพิธปุญญำภรญ์ (เมย กตปุญโญ/ สมดัง) ในขณะนัน้ มีหมูบ่ า้ นในเขตบริการคือ 1. บ้านโคกพยุง บ้านจันทร์หอม บ้านปะค�า บ้านโคกสง่า บ้านนิคม 2. ต่อมาทางการได้ แยกการปกครองใหม่ วัดโคกพยุง ตัง้ อยูบ่ า้ น โคกพยุง หมู่ 6 ต.แนงมุด อ.กาบเชิง จ.สุรนิ ทร์ จากการร่วมแรงร่วมใจกันพัฒนาท�าให้วัด มีความเจริญมาโดยล�าดับ ปี พ.ศ.2546 พระอธิกำรฉัตรชัย โกวิโท เจ้าอาวาสในขณะนั้น พร้อมด้วยนำยกน ลอยเลือ่ น ผูใ้ หญ่บา้ น ได้ขออนุญาตสร้างวัด และขออนุญาตตัง้ วัดให้ถกู ต้องตามกฎหมาย
มหาเถรสมาคม และได้รบั อนุญาตให้สร้างวัด เมื่อวันที่ 5 มีนาคม พ.ศ.2546 และได้รับ ประกาศตั้งเป็นวัดเมื่อวันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2550 ปัจจุบันมีพระครูใบฏีกำสุเทพ ธีรธมฺโม เป็นเจ้าอาวาส มีพระภิกษุ จ�านวน 6 รูป ตลอดระยะเวลา 50 ปีของการสร้างวัด นั้ น เป็ น ระยะเวลาที่ ย าวนานพอสมควร วัดโคกพยุงตั้งอยู่ได้เพราะอาศัยแรงศรัทธา ของสาธุชน จึงก่อเกิดเป็นวัด เป็นชุมชน ทีเ่ ข้มแข็งเป็นล�าดับ โดยหลวงปูบ่ อนท่านเป็น พระเถระ และนักสร้างนักพัฒนาไม่เพียง วัดนีเ้ ท่านัน้ แต่ทา่ นยังพัฒนาวัดอีกหลายวัด เลยทีเดียว (พระอธิการชูสิทธิ์ กิตติสาโร ผู้รวบรวมประวัติ) ขอเชิญสำธุชนร่วมท�ำบุญ สมทบทุนใน กำรก่อสร้ำงอุโบสถ เมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม 2559 ที่ผ่านมา ได้มพี ธิ วี างศิลาฤกษ์ในการก่อสร้างอุโบสถวัด โคกพยุง ขนาดกว้าง 7 เมตร ยาว 19 เมตร โดยความคิดริเริ่มของพระครู อ นุ ส รณ์ ป ิ ย ธรรม รองเจ้าคณะอ�าเภอปราสาท, พระครู ใบฏีกาสุเทพ ธีรธมฺโม เจ้าอาวาสวัดโคกพยุง และคณะศิษยานุศิษย์ หลวงปู่บอน ปูชิโต กรรมการวัด อุบาสก อุบาสิกา ประชาชน ทั่วไปในเขตบริการของวัด โดยทุนในการ
ก่อสร้างได้รับบริจาคจากการบริจาคของพี่ น้องประชาชนชาวบ้านโคกพยุง และจากผู้มี จิตศรัทธาทั้งหลาย ในขณะนี้ การก่อสร้าง พระอุโบสถหลังดังกล่าวใกล้จะด�าเนินการ แล้วเสร็จ ทางวัดจึงด�าริที่จะท�าพิธีเทหล่อ พระพุทธรูปเพื่ออัญเชิญขึ้นประดิษฐานเป็น พระประธานในอุโบสถโดยพระประธานองค์ ดังกล่าวนี้มีหน้าตัก 84 นิ้ว เป็นเนื้อทอง เหลือง ทรงสุโขทัยประยุกต์ ปางมารวิชัย นามว่า พระพุทธมงคลพิชัย ขอเชิ ญ พุ ท ธศำสนิ ก ชนทุ ก ท่ ำ นร่ ว ม ท�ำบุญ สมทบทุนในกำรก่อสร้ำงอุโบสถ ให้แล้วเสร็จ หรือโอนเงินเข้ำบัญชี ธนำคำร กรุงเทพ สำขำกำบเชิง เลขที่บัญชี 545-037684-2 บัญชีวัดโคกพยุง
SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 163
163
6/7/2018 5:35:24 PM
มาช่องจอม(สุรินทร์)นึกถึง ….
ศิรินภา แกรนด์ รีสอร์ท ศิรินภา แกรนด์ รีสอร์ท (Sirinapha Grand Resort) รีสอร์ทที่จะท�าให้ คุณได้สัมผัสกับความผ่อนคลายในบรรยากาศสบายๆ ท่ามกลาง ต้นไม้นานาพันธุ์ โดยเฉพาะกล้วยไม้หลากสีสันสวยงาม 164
.indd 164
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
6/5/2018 10:21:59 AM
เราให้บริการบ้านพักเรือนไม้ประยุกต์ในสไตล์เรียบง่าย สะอาด สะดวกสบาย พร้อมสิง่ อ�านวยความสะดวกครบครัน อาทิ แอร์, TV, ตูเ้ ย็น, เครือ่ งท�าน�า้ อุน่ , กาน�า้ ร้อน, สัญญาณอินเตอร์เน็ตไร้สายความเร็วสูง พิเศษสุด ! ฟรีบริการชา,กาแฟ,โอวัลติน,แครกเกอร์ ศิรนิ ภา แกรนด์ รีสอร์ท ตัง้ อยูใ่ กล้ตลาดช่องจอม (ชายแดนไทย-กัมพูชา) แหล่งการค้าระหว่างประเทศจึงสะดวกในการเดินทางไปช็อปปิง้ สินค้าถูกใจทีม่ ี ให้เลือกละลานตา
ที่ตั้ง : 183 หมู่ 18 ต.ด่าน อ.กาบเชิง จ.สุรินทร์ 32210 โทร : 090-601-4622,086-866-9235
ศิรินภา แกรนด์ รีสอร์ท-ช่องจอม
0906014622 SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 165
165
6/7/2018 5:36:42 PM
W O R K LI F E
บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�าบล
องค์การบริหารส่วนต�าบลยางสว่าง
นายวิทูรย์ ศรชัย นายกองค์การบริหารส่วนต�าบลยางสว่าง
“
ยางสว่างน่าอยู่ มีธรรมชาติสวย ปูปลามากหลาย มุ่งมั่นสามัคคี
อู่ข้าวพันธุ์ดี ร�่ารวยของป่า ล�าน�้าใสห้วยทับทัน คู่ประเพณีดีงาม
”
คือค�ำขวัญต�ำบลยำงสว่ำง ซึ่งอยู่ในเขตรับผิดชอบขององค์การบริหาร ส่วนต�าบลยางสว่าง อ�าเภอรัตนบุรี จังหวัดสุรินทร์ โดยตั้งอยู่ด้านทิศตะวัน ออกของอ�าเภอรัตนบุรีเป็นระยะทาง15 กิโลเมตร ปัจจุบันมี นำยวิทูรย์ ศรชัย ด�ารงต�าแหน่ง นำยกองค์กำรบริหำรส่วนต�ำบลยำงสว่ำง และมี นำยกิตมิ ำ สุขบท ด�ารงต�าแหน่ง ปลัดองค์กำรบริหำรส่วนต�ำบลยำงสว่ำง ประวัตคิ วำมเป็นมำ (โดยย่อ) ต�ำบลยำงสว่ำงแยกจากต�าบลธาตุ เมือ่ ปี พ.ศ. 2526 โดยใช้ชอื่ เดิมของ บ้านยาง หมู่ที่ 1 รวมกับชื่อวัดสว่างบ้านยาง โดยมีพระครูบุรีรัตนาจารย์ เป็นเจ้าอาวาส และสมัยนั้นตรงกับช่วงการด�ารงต�าแหน่งของนายอ�าเภอ
โครงการมอบผ้าห่มกันหนาวให้ผู้ยากไร้
ส่งเสริมอาชีพให้ราษฏรทุกกลุ่มอาชีพ 166
.
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
.indd 166
6/5/2018 10:30:09 AM
รัตนบุรี ชื่อนายสว่าง ศรีสกุล จึงได้เสนอ ขออนุญาตใช้ค�าว่า “สว่าง” โดยเรียกชื่อใหม่ ว่า “ต�าบลยางสว่าง” หมายถึง ต�าบลแห่ง ความสุขความเจริญด้วยปัญญาและความดี ข้อมูลทัว่ ไป ต�าบลยางสว่างมีเนือ้ ทีป่ ระมาณ 15,992 ไร่ หรือ 25.52 ตารางกิโลเมตร เป็นพืน้ ทีน่ า ประมาณ 9,054 ไร่ สภาพพื้นที่ส่วนใหญ่ เป็นที่ราบลุ่มเหมาะแก่การเพาะปลูก ดินมี ลักษณะร่วนปนทราย ด้านทิศตะวันออกมี ป่าดงโพนทราย ครอบคลุ่มพื้นที่ทางการ เกษตรของราษฎร ม.1, ม.3, ม.4, ม.5, ม.6, ม.10 และมีแนวป่าเชือ่ มมาทางทิศเหนือ คือ ป่าดงแดง, ป่าดงอึง่ ครอบคลุมพืน้ ทีท่ างการ เกษตรของราษฎร ม.2, ม.8, ม.11 โดยมี
ส่งเสริมอบรมคุณธรรม-จริยธรรม
ล�าห้วยทับทันไหลเชือ่ มกับแม่นา�้ มูล เป็นแนว กั้นเขตพื้นที่ต�าบลยางสว่างกับบ้านหนองฮู ต� าบลอี เ ซ อ� าเภอโพธิ์ ศ รี สุว รรณ จั ง หวั ด ศรีสะเกษ ปูชนียบุคคลของชาวต�าบล ยางสว่าง 1. หลวงพ่อจันทร์ (หลวงพ่อองค์แรก วัดสว่างบ้านยาง) 2. พระครูบุรีรัตนาจารย์ (หลวงพ่อเสาร์) 3. พระครูรัตนพุทธิคุณ (หลวงพ่อเขียว วัดโพธิ์ศรีธาตุ ต.ธาตุ) เป็นคนบ้านยางโดย ก�าเนิด 4. พระครูประภัสร์สารธรรม (รองเจ้าคณะ อ�าเภอรัตนบุรี)
สมทบทุนเพื่อสร้างบ้านพักอาศัยและ มอบเมล็ดพันธุ์พืชแก่ผู้ด้อยโอกาส
คณะผูบ้ ริหาร 1. นายวิทรู ย์ ศรชัย นายกองค์การบริหาร ส่วนต�าบล 2. นายอ�าไพ อุดม รองนายกองค์การ บริหารส่วนต�าบล 3. นายมานิต พันพา รองนายกองค์การ บริหารส่วนต�าบล 4. นายคาน เพชรหงส์ เลขานุการนายก อบต.
อบต.ยางสว่างเป็นศูนย์จัดกิจกรรมวันเด็กทุกปี SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
.
.indd 167
167
6/7/2018 5:38:03 PM
W O R K LI F E
บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�าบล
องค์การบริหารส่วนต�าบลหนองระฆัง นายสุธน สุจริต
นายกองค์การบริหารส่วนต�าบลหนองระฆัง
“บริหารงานโดยยึดหลักธรรมมาภิบาล ใช้หลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มุ่งสู่คุณภาพชีวิตที่ดี โดยใช้เทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาสู่ประชาคมอาเซียน” วิสัยทัศน์ องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� า บลหนองระฆั ง เป็ น องค์ ก ารบริ ห าร ส่วนต�าบล ขนาดกลาง ตั้งอยู่เลขที่ 178 หมู่ 8 ต�าบลหนองระฆัง อ�าเภอสนม จังหวัดสุรินทร์ สภาพพื้นที่ของต�าบลหนองระฆังโดยทั่วไป เป็นพื้นที่ราบลุ่ม สลับเนินดินมีความอุดมสมบูรณ์ พื้นที่ส่วนใหญ่ใช้ใน การท�านา มีชุมชนตั้งอยู่ประปราย พื้นที่ส่วนใหญ่ใช้ท�าการเกษตร เช่น ท�านา ท�าสวนยางพาราในพื้นที่ชุ่มชื้น โดยเฉพาะบ้านนาดี หมู่ที่ 1 ต�าบลหนองระฆัง องค์การบริหารส่วนต�าบลหนองระฆัง มีพนื้ ทีท่ งั้ หมด ประมาณ 22.97 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 14,400 ไร่ หมู่บ้าน ในเขตองค์การบริหารส่วนต�าบลหนองระฆัง ประกอบด้วย 8 หมู่บ้าน ครอบคลุมพื้นที่ หมู่1 - หมู่ 8 ประวัติความเป็นมาของต�าบลหนองระฆัง เดิมชื่อ บ้านหนอง ระฆัง ต�าบลสนม อ�าเภอรัตนบุรี จังหวัดสุรนิ ทร์ ชุมชนดัง้ เดิมอพยพ มาจากเมืองอัตปือแสนแป แคว้นจ�าปาสักราชอาณาจักรลาว มี ทั้งหมด 6 กลุ่ม ด้วยกัน ตั้งเป็นต�าบลเมื่อ ปี พ.ศ. 2489 ภาษาที่ใช้ ภาษาส่วย ภาษาลาว ตามล�าดับ มีความช�านาญเป็นพิเศษ คือ จับช้างป่า ประเพณีดั้งเดิม บุญกองข้าวใหญ่ (บุญข้าวจี่) บุญเทศน์ มหาชาติ งานสู่ขวัญข้าว งานลงแขก องค์การบริหารส่วนต�าบลหนองระฆัง มีประชากรรวมทั้งสิ้น 4,417 คน แยกเป็น ชาย จ�านวน 2,272 คน หญิง จ�านวน 2,145 คน
168
.
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
.indd 168
6/7/2018 5:39:22 PM
ความหนาแน่ น ของประชากร 100 คน ต่อตารางกิโลเมตร (ทีม่ า : ส�านักงานทะเบียน อ�าเภอสนม ข้อมูล ณ วันที่ 31 เดือน สิงหาคม พ.ศ.2559) ด้านการศึกษา จากการส�ารวจข้อมูลพืน้ ฐานพบว่ามีประชากรอายุ 15 - 60 ปีเต็ม ร้อยละ 99 อ่าน เขียนภาษไทยและคิดเลข อย่างง่ายได้ เด็กอายุ 6 - 14 ปี ร้อยละ 100 ได้รับการศึกษาภาคบังคับ 9 ปี ได้เรียนต่อ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 - 6 หรือเทียบเท่า และ ทีไ่ ม่ได้เรียนต่อมีงานท�า ร้อยละ 60 ด้านการ ศึกษาอยู่ในเกณฑ์ที่ดี อีกทั้งทางองค์การ บริหารส่วนต�าบลหนองระฆัง ได้จัดกิจกรรม ให้ กั บ เด็ ก ของศู น ย์ พั ฒ นาเด็ ก เล็ ก การ สนับสนุนอาหารเสริมนม อาหารกลางวัน ให้กับทางโรงเรียนในเขตพื้นที่ และร่วมกัน จัดกิจกรรมต่างๆ กับทางโรงเรียน สามารถ แยกประเภทได้ดังนี้ 1. ประเภทศูนย์พัฒนา เด็กเล็ก 2 แห่ง และ 2. ประเภทโรงเรียน ประถมศึกษา/มัธยม 3 แห่ง พันธกิจ 1.ปรับปรุงและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน
ให้ ไ ด้ ม าตรฐานและเพี ย งพอ ต่อความต้องการของประชาชน 2.ปรับปรุงและพัฒนาระบบ สาธารณูปโภค สาธารณูปการให้ ได้ ม าตรฐาน และเพี ย งพอต่ อ ความต้องการของประชาชน และ รองรับการขยายตัวของชุมชนและ เศรษฐกิจในท้องถิ่น 3. ส่ ง เสริ ม และพั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต การศึกษา สาธารณสุขมูลฐาน ตลอดจน อนุรักษ์และสืบสานศิลปวัฒนธรรมอันดีงาม และภูมิปัญญาของท้องถิ่น 4. การพัฒนาหมูบ่ า้ น/ต�าบล ให้เป็นเมือง น่าอยูม่ คี วามสงบ สวยงาม มีความปลอดภัย ในชีวิตและทรัพย์สิน 5. ส่งเสริมสนับสนุนการจัดสวัสดิการ สังคมให้กับคนชรา เด็ก คนพิการและผู้ด้อย โอกาส 6. จั ด การทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละ สิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน 7. พัฒนาส่งเสริมศักยภาพการเกษตร อินทรีย์
8. สร้ า งการพั ฒนาท้ อ งถิ่ น โดยเน้ น กระบวนการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนของ สังคม ในการพัฒนาท้องถิ่น 9. ส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนาบุคลากร และ สนับสนุนพัฒนาวัสดุ ครุภัณฑ์ อุปกรณ์ เครือ่ งมือ เครือ่ งใช้ และสถานทีป่ ฏิบตั ริ าชการ 10. การพั ฒนาศั ก ยภาพของคนและ ชุมชนให้เข้มแข็ง สามารถพึ่งพาตนเองได้ ติดต่อ องค์การบริหารส่วนต�าบลหนอง ระฆัง ตั้งอยู่เลขที่ 178 หมู่ 8 ต�าบลหนอง ระฆัง อ�าเภอสนม จังหวัดสุรนิ ทร์ โทรศัพท์ 0-4455-8795 โทรสาร 0-4455-8795
SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
.
.indd 169
169
6/5/2018 10:39:06 AM
W O R K LI F E
บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�าบล
องค์การบริหารส่วนต�าบลยาง
นายศักดินันท์ สุภัควรางกูร นายกองค์การบริหารส่วนต�าบลยาง
องค์การบริหารส่วนต�าบลยาง ตั้งอยู่ที่บ้านยาง หมู่ที่ 1 ต�าบลยาง อ�าเภอศีขรภูมิ จังหวัดสุรินทร์ มีพื้นที่ 42.286 ตารางกิโลเมตร มีเขตการ ปกครองรวม 18 หมู่บ้าน แบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 18 เขต มีสมาชิก สภาองค์การบริหารส่วนต�าบล 34 คน มีจ�านวนประชากรชาย 4,737 คน หญิง 4,908 คน รวม 9,645 คน 2,425 ครัวเรือน พืน้ ทีโ่ ดยทัว่ ไปเป็นทีร่ าบสูง ซึง่ สูงจากระดับน�า้ ทะเลปานกลางประมาณ 130 -150 เมตร ดินเป็นดินร่วนปนทรายสภาพโดยรวมมีความอุดม สมบูรณ์ดี สภาพอากาศทัว่ ไป แบ่งออกเป็น 3 ฤดู ได้แก่ฤดูรอ้ น ฤดูฝน ฤดู หนาว เป็นอากาศแบบทุ่งหญ้าเมืองร้อน ซึ่งมีลักษณะอากาศที่มีฤดูแล้ง สลับฤดูฝนอย่างเด่นชัด ต�าบลยางตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของอ�าเภอศีขรภูมิ อยู่ห่างจากที่ ว่าการอ�าเภอศีขรภูมิ 8 กิโลเมตร มีสถานที่ติดต่อกับต�าบลข้างเคียง ดังนี้ ทิศเหนือ ติด ต�าบลนารุ่ง อ�าเภอศีขรภูมิ จังหวัดสุรินทร์ ทิศใต้ ติด ต�าบลกุดหวาย อ�าเภอศีขรภูมิ จังหวัดสุรินทร์ ทิศตะวันออก ติด อ�าเภอส�าโรงทาบ จังหวัดสุรินทร์ ทิศตะวันตก ติด ต�าบลระแงง อ�าเภอศีขรภูมิ จังหวัดสุรินทร์
มีแหล่งน�า้ ทีส่ ามารถกักเก็บน�า้ ได้ปริมาณมาก ได้แก่ อ่างเก็บน�า้ ห้วยล�าพอก มีพื้นที่ 7,000 ไร่ และมีล�าห้วยล�าพอก ซึ่งไหล ผ่านหลายหมูบ่ า้ น ไปยังล�าห้วยทับทัน มีปา่ ไม้ตามแหล่งชุมชน ซึง่ ยังคงอนุรกั ษ์ไว้แต่ไม่มาก มีตน้ ไม้ จ�าพวก ต้นมะค่า ต้นสะเดา ต้นยางนา ฯลฯ
170
.
.indd 170
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
6/6/2018 1:50:59 AM
คณะผูบ้ ริหารองค์การบริหารส่วนต�าบล ยาง 4 ท่าน 1. นายศักดินันท์ สุภัควรางกูร นายกองค์การบริหารส่วนต�าบล 2. นายกงสี วงค์รักษ์ รองนายกองค์การบริหารส่วนต�าบล 3. นางสิริอนงค์ วิศิษฐ์สกุล รองนายกองค์การบริหารส่วนต�าบล 4. นางสาวรุจิรา รัมพณีนิล เลขานุการนายกองค์การบริหารส่วนต�าบล สาธารณสุ ข มี โรงพยาบาลส่ ง เสริ ม สุขภาพ ตัง้ อยูห่ มูท่ ี่ 10 จ�านวน 1 แห่ง อัตรา การมีและใช้ส้วมราดน�้า 100 เปอร์เซ็นต์ การสั ง คมสงเคราะห์ โดยมี ก ารดู แ ล ผู้สูงอายุ กายภาพผู้พิการ และรักษาผู้ป่วย
เอดส์ อย่างดี การคมนาคมขนส่ง มีลาดยางภายใน ต�าบล 150 กิโลเมตร มีถนนเชื่อมหมู่บ้าน เป็นถนนคอนกรีต ถนนหินคลุก เชื่อมทุก หมู่บ้าน การไฟฟ้า ประชาชนต�าบลยาง มีไฟฟ้า ใช้ทุกครัวเรือน จ�านวน 18 หมู่บ้าน การประปา มีระบบประปาส่วนภูมิภาค ครอบคลุมทุกหมู่บ้าน แต่ยังใช้ไม่ครบ 100 เปอร์เซ็นต์ เพราะบางส่วนยังอาศัยแหล่งน�้า ตามธรรมชาติ น�้าบาดาล และระบบประปา หมู่บ้าน โทรศัพท์ การติดต่อสื่อสารทางโทรศัพท์ ของประชาชนต�าบลยาง ปัจจุบนั ใช้โทรศัพท์ แบบระบบไร้สาย ซึ่งมีคู่ข่ายครอบคลุมทุก SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
.
.indd 171
171
6/6/2018 1:51:19 AM
พื้นที่ ทั้ง 18 หมู่บ้าน ส่วนโทรศัพท์แบบมีคู่ สาย สามารถใช้ได้เฉพาะหมูบ่ า้ นทีอ่ ยูต่ ดิ เขต ถนนหลัก และมีไปรษณีย์ ส�าหรับการติดต่อ สือ่ สาร ส่งจดหมาย พัสดุ การขนส่ง ครุภณ ั ฑ์ เป็นปกติ อาชี พ ร้ อ ยละ 80 ประกอบอาชี พ เกษตรกร ได้แก่ การท�านา ท�าสวน ท�าไร่ และ นอกจากจะประกอบอาชี พ เกษตรกรแล้ ว เมื่อว่างเว้นจากการท�าการเกษตรก็จะเดิน ทางไปท�างานต่างจังหวัด เช่น กรุงเทพมหานคร ชลบุรี เป็นต้น ร้อยละ 10 ประกอบอาชีพการประมง จากการหาปลาตามแหล่งน�้าตามธรรมชาติ ผักไฮโดรโปรนิก
เพือ่ การด�ารงชีพ ซึง่ มีอา่ งเก็บน�า้ ห้วยล�าพอก และล�าห้วยสาขา ร้อยละ 10 ประกอบอาชีพปศุสัตว์ ใน การเลี้ยงโค, กระบือ, หมู, เป็ด, ไก่ เพื่อเป็น อาชีพเสริม การบริการ มีโรงแรมห้องพักพัก 1 แห่ง การท่องเที่ยว หาดทรายเทียม บริเวณ อ่างเก็บน�้าห้วยล�าพอก เป็นสถานที่แวะพัก ผ่อน ส�าหรับคนสัญจรไปมาระหว่างทาง และ มีปราสาทหินบ้านอนันต์
172
.
.indd 172
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
6/7/2018 5:40:35 PM
การอุตสาหกรรม มีโรงงานผลิตน�า้ ดืม่ 1 แห่ง โรงสับไม้ 1 แห่ง ประชาชนในพืน้ ทีต่ า� บลยาง มีอา่ งเก็บน�า้ ห้วยล�าพอก ซึ่งเป็นแหล่งกักเก็บน�้าขนาด ใหญ่ สามารถใช้เป็นน�้าเพื่ออุปโภค บริโภค ได้ตลอดทั้งปี มีน�้าประปาส่วนภูมิภาค ซึ่งได้ เข้ า ไปถึ ง ทุ ก หมู ่ บ ้ า น บางส่ ว นก็ ยั ง ใช้ น�้ า ประปาหมู่บ้าน และน�้าบาดาล ศาสนา ประเพณี วัฒนธรรม ประชาชนต�าบลยาง ร้อยละ 95 นับถือ ศาสนาพุทธ ที่เหลือ นับถือศาสนา อิสลาม ศาสนา คริสต์ ประเพณีและงานประจ�าปี วั ฒนธรรมประเพณี วัฒนธรรมที่เ ป็น เอกลักษณ์ของชุมชน ประเพณีที่ส�าคัญของ ชุมชน ได้แก่ การเซ่นไหว้ปู่ตา วันสาร์ท (แซนโฎนตา) เทศมหาชาติ และประเพณี 12 เดือนในรอบปีในหมู่บ้าน มีการท�าบุญหรือ งานประเพณี ดังนี้ 1. เดือนมกราคม ท�าบุญประเพณี ปีใหม่ 2. เดื อ นกุ ม ภาพั น ธ์ ท� า บุ ญ ประเพณี บุญข้าวจี่ 3. เดือนมีนาคม ท�าบุญประเพณี เซ่น ไหว้ปู่ตา 4. เดื อ นเมษายน ท� า บุ ญ ประเพณี สงกรานต์
5. เดื อ นพฤษภาคม ท� า บุ ญ ประเพณี บุญบั้งไฟ 6. เดื อ นมิ ถุ น ายน ท� า บุ ญ ประเพณี อุปสมบท 7. เดื อ นกรกฎาคม ท� า บุ ญ ประเพณี เข้าพรรษา 8. เดือนสิงหาคม ท�าบุญประเพณี สาร์ท 9. เดือนกันยายน ท�าบุญประเพณี สาร์ท 10. เดื อ นตุ ล าคม ท� า บุ ญ ประเพณี ออกพรรษา 11. เดือนพฤศจิกายน ท�าบุญประเพณี ลอยกระทง
12. เดื อ นธั นวาคม ท� า บุ ญ ประเพณี บุญกฐิน ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภาษาถิ่น ประชาชนชาวต�าบลยาง ประกอบด้วย ชาวเขมร ส่วย (กูย) ลาว
SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
.
.indd 173
173
6/6/2018 1:52:06 AM
W O R K LI F E
บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�าบล
องค์การบริหารส่วนต�าบลช่างปี่
นายสุธี บูรณ์เจริญ
นายกองค์การบริหารส่วนต�าบลช่างปี่
“ประชาชนอยู่ดีกินดี คนมีคุณภาพ มีแหล่งท่องเที่ยวทาง โบราณสถาน ระบบเศรษฐกิจ มั่นคง ชุมชนน่าอยู่และเข้มแข็ง มีความพร้อมด้านพื้นฐาน ด้วยการบริหารจัดการที่ดี มีส่วนร่วมจาก ทุกภาคส่วน” คือวิสัยทัศน์การพัฒนาขององค์การบริหารส่วนต�าบลช่างปี่ ซึ่งมีที่ท�าการตั้งอยู่หมู่ที่ 1 บ้านช่างปี่ ต�าบลช่างปี่ อ�าเภอ ศีขรภูมิ จังหวัดสุรินทร์ ปัจจุบันมีนายสุธี บูรณ์เจริญ ด�ารงต�าแหน่ง นายกองค์การ บริหารส่วนต�าบลช่างปี่ และมีนายขวัญชัย อุดเขียว เป็น ปลัด องค์การบริหารส่วนต�าบลช่างปี่
เจตจ�ำนงของผู้บริหำร “ข้าพเจ้า นายสุธี บูรณ์เจริญ ต�าแหน่ง นายกองค์การ บริหารส่วนต�าบลช่างปี่ ขอแสดงเจตจ�านง ต่อเจ้าหน้าที่ ในหน่วยงานต่อสาธารณชนและประชาชนทั่วไปว่า ข้าพเจ้า จะปฏิบตั หิ น้าที่ และบริหารงานของหน่วยงานภายใต้อา� นาจ หน้าที่ขององค์การบริหารส่วนต�าบลช่างปี่ ด้านการบริหาร องค์กรและด้านการบ�าบัดทุกข์บา� รุงสุขด้านการบริการตลอด จนอ�านวยความสะดวกในหน่วยงานด้วยความซือ่ สัตย์ สุจริต ด้ ว ยความส� า นึ ก และตระหนั ก ในความรั บ ผิ ด ชอบที่ มี อ ยู ่ จะตัง้ ใจปฏิบตั หิ น้าทีโ่ ดยเต็มก�าลังความสามารถจะให้อา� นาจ หน้าที่โดยยึดหลักธรรมาภิบาลในการบริหารงานและจะ ยืนหยัดต่อต้านการทุจริตทุกรูปแบบ”
174
.
ประวัติ อบต.ช่ำงปี่ องค์การบริหารส่วนต�าบลช่างปี่ ได้มกี ารยกฐานะจากสภาต�าบลเป็นองค์การ บริหารส่วนต�าบล เมื่อปี 2539 ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย ลงวันที่ 16 ธันวาคม 2539 ซึ่งได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับประกาศทั่วไป เล่ม 113 ตอน พิเศษ 52 ง ลงวันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2539
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
.indd 174
6/7/2018 5:41:37 PM
พันธกิจ (MISSION) 1.ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพของคน ครอบครัว และชุมชน ในการพึ่งตนเอง 2. พัฒนาระบบการศึกษา และสาธารณสุข ตลอดจนอนุรกั ษ์ศลิ ปวัฒนธรรมอันดีงามของ ท้องถิ่น 3. พั ฒ นาระบบสาธารณู ป โภค เพื่ อ รองรับการขยายตัวของเศรษฐกิจและชุมชน 4. สร้างระบบบริหารจัดการที่ดี โดยให้ ประชาชนมีสว่ นร่วมในการตัดสินใจ ตรวจสอบ เพื่อให้เกิดความโปร่งใสในการบริหาร และ มีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน กลุ่มอาชีพโดดเด่น 1. กลุ่มทอผ้าไหมและแปรรูปผลิตภัณฑ์ ผ้าไหม บ้านโคกอาโพน 2. กลุ่มแปรรูปผลิตภัณฑ์ผ้าไหม บ้านข่า 3. กลุ่มผลิตภัณฑ์ผ้าไหมพื้นเมืองต�าบล ช่างปี่ 4. กลุ ่ ม อาชี พ การสานเส้ น พลาสติ ก บ้านหนองผือ อบต.ชวนเที่ยว โบราณสถานปราสาท ช่างปี่ ปราสาทช่างปี่ ตัง้ อยูท่ หี่ มูท่ ี่ 1 บ้านช่างปี่ ต�าบลช่างปี่ อ�าเภอศีขรภูมิ จังหวัดสุรินทร์ ห่างจากที่ว่าการอ�าเภอไปทางทิศตะวันตก เฉียงใต้ ทางถนนสายสุรนิ ทร์-ศรีขรภูมิ ระยะ ทางประมาณ 12 กม. ปราสาทช่ า งปี ่ เป็ น อโรคยศาล หรื อ โรงพยาบาล 1 ในจ�านวน 102 แห่ง ทีพ่ ระเจ้า ชัยวรมันที่ 7 แห่งอาณาจักรขอมโบราณ
โปรดฯให้ ส ร้ า งขึ้ น มี ลั ก ษณะคล้ า ยกั บ ปราสาทจอมพระ ที่ตั้งอยู่อ�าเภอจอมพระ จังหวัดสุรินทร์ จึงสันนิษฐานว่าสร้างในราว พุทธศตวรรษที่ 17-18 เป็นศิลปะแบบบายัน เขตโบราณสถานปราสาทช่างปี มีเนือ้ ที่ 4 ไร่ 30 ตารางวา ประกอบด้วย ปรางค์ก่อด้วย ศิลาแลง มีผังเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสย่อมุมไม้ สิบสอง ขนาดกว้าง 1.50 x 9.50 เมตร ผืนผ้า และหินทราย บรรณาลัยสร้างด้วยศิลาแลง รู ป สี่ เ หลี่ ย มผื น ผ้ า ขนาด 4 x 6 เมตร คงเหลือแต่กา� แพง มีซมุ้ ประตูและก�าแพงแก้ว ล้อมรอบปราสาทไว้ และมีสระน�า้ กรุดว้ ยศิลา แลงอยู่ด้านนอกก�าแพงแก้ว ปราสาทช่างปี่ ได้รับการขึ้นทะเขียนเป็น โบราณสถาน เมื่อ 8 มีนาคม 2478 ซึ่งจาก การส�ารวจได้พบวัตถุโบราณหลายชิ้นซึ่งมี
ความสมบูรณ์ โบราณวัตถุบางส่วน เช่น เศียรเทวรูป ประธาน ได้ น� า ไปเก็ บ รั ก ษาไว้ ที่ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติสุรินทร์ การเดินทาง ออกจากสุรินทร์ไปทางเส้น ทางสาย 226 (สุรินทร์-ศรีสะเกษ) เมื่อเข้า เขตอ�าเภอศีขรภูมิ ประมาณกิโลเมตรที่ 19 มองทางขวามือจะมีป้ายบอกทาง ตรงไป เรื่อยๆ จะมีป้ายบอกทางตลอด เมื่อผ่าน หมู่บ้านช่างปี่ และวัดช่างปี่ จะพบปราสาท ช่างปีตั้งอยู่ทางขวามือ
SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
.
.indd 175
175
6/5/2018 10:45:22 AM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�าชีวิต
วัดบ้านช่างปี่
สถาปัตยกรรมของขอมโบราณ วัดบ้านช่างปี่ บ้านช่างปี่ ต.ช่างปี่ อ.ศีขรภูมิ จ.สุรินทร์ บ้านช่างปี่ ในอดีตเคยเป็นชุมชนเขมรโบราณ เท่าที่พบ ในโบราณสถานส� า คั ญ ในหมู ่ บ ้ า น คื อ ปราสาทช่ า งปี ่ ซึ่ ง ในภาษาเขมรเรี ย กว่ า “ปราสาทเจียงแป็ย” เป็นสถาปัตยกรรมของ ขอมโบราณ สันนิษฐานว่าก่อสร้างในสมัย พระเจ้าวรมันที่ 7 ราวต้นพุทธศตวรรษที่ 18 ซึ่งเป็นโบราณสถานที่ก่อสร้างรุ่นราวคราว เดียวกับปราสาทศีขรภูมิ และปราสาทหิน พิ ม าย ปราสาทช่ า งปี ่ เป็ น อโรคยาศาล ประกอบด้วย องค์ปรางค์ประธานสี่เหลี่ยม จัตรุ สั ก่อด้วยหินศิลาแลงและหินทราย ทีม่ มุ 176
ทิศตะวันออกเฉียงใต้มีอาคารขนาดเล็กรูป สี่เหลี่ยมผืน ผ้าที่เรียกว่า “บรรณาลัย” มี ก� า แพงล้ อ มล้ อ มด้ า นทิ ศ ตะวั น ออกเฉี ย ง เหนือมีสระน�า้ ขนาดเล็กกรุดว้ ยศิลาแลงค�าว่า “อโรคยาศาล” หมายถึ ง สถานที่ รั ก ษา พยาบาลรักษาตัวของคนทีบ่ าดเจ็บ โดยมีการ สร้ า งอาคารไม้ ไ ว้ ด ้ า นนอกองค์ ป ราสาท ส่วนการรักษามีการส่งผู้มีวิชาด้านแพทย์ แผนโบราณและตั ว ยามาจากเมื อ งใหญ่ ๆ เช่น นครวัดในประเทศ กัมพูชา เมืองพิมาย และเมืองละโว้ ภายในองค์ปราสาทจะมีที่ ประดิษฐานพระโพธิสัตว์ไว้บวงสรวง เคารพ
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
.indd 176
6/5/2018 10:54:44 AM
บูชา ซึ่งเชื่อว่าการรักษาผู้ป่วยนั้นแม้เพียงได้ สั ม ผั ส รู ป ประติ ม ากรรมของพระองค์ ก็ จ ะ ท�าให้หายได้ ปราสาทช่ า งปี ่ เ ป็ น ปราสาทที่ ยั ง สร้ า ง ไม่เสร็จสมบูรณ์ มีคา� บอกเล่าสืบต่อกันมาว่า ปราสาทช่างปี่ (เจียงแป็ย) ปราสาทช่างปี่ได้ รับการประกาศขึน้ ทะเบียนโบราณสถานของ ชาติตามประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 52 ตอนที่ 75 วันที่ 8 มีนาคม พ.ศ.2478 จากข้อมูลโบราณสถานดังกล่าวที่ตั้งอยู่ ในบริเวณหมู่บ้านช่างปี่ จึงได้เชื่อได้ว่าบ้าน ช่างปี่ เป็นชุมชนเขมร (ขอม) โบราณทีอ่ พยพ เข้ามาอยู่ในอาณาเขตนี้ เป็นเวลาหลายร้อย ปีแล้ว ซึง่ ต่อมามีการประสานวัฒนธรรมและ เชื้อชาติระหว่างกลุ่มชาติพันธุ์อื่นๆ ท�าให้ คนที่อาศัยอยู่ในบ้านช่างปี่ เรียกตัวเองว่า “ขแมร์ลือ” หรือเขมรบน” และเรียกเขมรที่ อาศัยอยู่ในประเทศกัมพูชาว่า “ขแมร์กรอม” หรื อ “เขมรต�่ า ” ซึ่ ง คงมามาจากสภาพ ภูมปิ ระเทศของประเทศไทยทีม่ พี นื้ ดินสูงลาด ต�่ า ในทางประเทศกั ม พู ช า เมื่ อ สมั ย ก่ อ น
ประมาณ 60 ปี ทีแ่ ล้ว พวกบ้านช่างปีย่ งั เดิน เท้าและนั่งเกวียน ตามเส้นทางลงที่ช่องจอม อ�าเภอ กาบเชิง จังหวัดสุรนิ ทร์ การลงไปเขต เขมรต�า่ ทางลงจากภูเขาลาดมากต้องคานลง ไป บางแห่งทางหักเหมือนข้อศอก ป่ารกมาก มีสตั ว์ปา่ มากมาย สภาพหมูบ่ า้ นเขาก็เหมือน ทางบ้านเรา พี่น้องบางคนก็ไปมีลูกมีเมียอยู่ ทีน่ นั่ (ก็วง แสวงชอบ. สัมภาษณ์ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2552 ) ซึ่งหมู่บ้านช่างปี่ เป็นชื่อที่ทางราชการ ตั้งขึ้นให้ตรงกับค�าเรียกชื่อหมู่บ้านของคน เขมรเดิมว่า เสราะ เจียงแป็ย ค�าว่า เสราะ แปลว่าหมูบ่ า้ น ส่วนค�าว่าเจียงแป็ย ในภาษา เขมร แปลได้หลายความหมาย ถ้าแยกค�า เจียง แปลว่า ช่าง แป็ย แปลว่า ปี่ หรือรวม เป็นค�าเดียวกัน เจียงแป็ย แปลว่า ช่างชือ่ แป็ย เมื่อน�ามาเขียนเป็นภาษาไทย ค�าว่า แป็ย ออกเสียงยากเลยเพี้ยนเป็น “ปี่” ซึ่งสะดวก ส�าหรับคนไทยอ่านออกเสียง แต่ก็ท�าให้เป็น ปั ญ หาต่ อ ประวั ติ ศ าสตร์ ข องหมู ่ บ ้ า นใน ภายหลัง ตามข้อสันนิฐานจากโบราณสถาน คือ ปราสาทช่างปี่ หรือปราสาทเจียงแป็ย ซึ่ ง หมู ่ บ ้ า นน่ า จะเรี ย กตามชื่ อ ช่ า งที่ ส ร้ า ง ปราสาทที่ชื่อช่างแป็ย (ช่างปี่) จะมีคนบาง ส่วนในปัจจุบันคิดว่าชื่อบ้านช่างปี่น่าจะมา
จากชื่อช่างปั้นหม้อดิน ที่ชื่อ ปี่ จากการเล่า ขานว่า บ้านช่างปี่ ที่มีตาปี่เป็นช่างปั้นหม้อ ไห ถ้วย ชาม กระปุกทีม่ ฝี มี อื และสวยงามมาก จากการค้นพบโดยบังเอิญจากการปรับปรุง แปลงนาใกล้ ป ราสาท และสระน�้ า ด้ า น ทิศตะวันตกพบเตาเผาที่เปิดแล้วในสมัยนั้น แต่ก็ยังพบเศษ ไฟ กระปุกเคลือบรูปช้าง กระปุกต่างๆ แตกหักเสียหายเป็นจ�านวน มากมีเศษอิฐที่ก่อเป็นเตาจ�านวน 4-5 เตา เรียงกัน จากทิศตะวันออกไปทางทิศตะวันตก เป็นหลักฐานส�าคัญมีช่างปั้นหม้อจริง ตามประวัติของหมู่บ้านในอดีตที่มีแลก เปลี่ยนค้าขายติดกับหมู่บ้านต่างๆ จากการ ขนพบจึงเรียกหมู่บ้านว่า บ้านช่างปี่แต่ข้อ สันนิษฐานนี้มีน�้าหนักมากเท่ากับชื่อช่างที่ สร้างปราสาทเพราะองค์ปราสาทมีมาก่อน ชื่ อ ช่ า งปั ้ น หม้ อ ดิ น หลายร้ อ ยปี (สมาน กองแก้ว, สัมภาษณ์, 18 สิงหาคม 2552) SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 177
177
6/5/2018 10:55:52 AM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�าชีวิต
วัดประทุมสว่าง
(วัดตะคร้อ)
พระครูกมลวรรณรังษี ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้ำอำวำส สตญจ คนฺ โ ธ ปฏิ ว าตเมติ กลิ่ น ของ สัตบุรุษย่อมหอมทวนลมได้ (พุทธพจน์) วัดประทุมสว่าง หรือ วัดตะคร้อ ตั้งอยู่ ณ บ้านตะคร้อ หมู่ที่ 3 ต�าบลช่างปี่ อ�าเภอ ศีขรภูมิ จังหวัดสุรนิ ทร์ เริม่ ก่อตัง้ เมือ่ พ.ศ.2480
178
ได้รบั วิสงุ คามสีมา พ.ศ.2492 เป็นวัดราษฎร์ โดยหลวงปู่ผดุง (ทมอ) ธมฺมโชโต ท่านเป็น ชาวกัมพูชา เมือ่ ท่านจาริกมาถึงมีดา� ริทจี่ ะสร้างวัดจึง ได้มาพักอยู่ที่ท�านบข้างสระน�้าบ้านตะคร้อ มุ ม ตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ (อยู ่ ไ ด้ ไ ม่ ถึ ง ปี ) ได้พบกับโยมนุ่น เผ่าพันธ์ จึงนิมนต์ให้อยู่ที่ บ้านตะคร้อโดยบริจาคที่ดินให้สร้างวัดด้าน ตะวันออกหมุ่บ้าน ตั้งแต่ได้รับบริจาคที่ดิน มา หลวงปูผ่ ดุง(ทมอ)ธมฺมโชโต ก็ได้เริม่ สร้าง วัดประทุมสว่าง, สร้างถนน (มาที่บ้านก�า ปมา), และสร้างโรงเรียนบ้านตะคร้อเป็นต้น มา ต่อมาได้ซอื้ ทีแ่ ละรับบริจาคทีด่ นิ เพิม่ เติม
ด้านการสร้างวัดนั้นท่านได้สร้างกุฏิไม้ ยกพืน้ สูง, สร้างอุโบสถเพือ่ ท�าสังฆกรรมก่อน และสร้างโรงเรียนประถมปีที่ 1-6 ในบริเวณ วั ด ด ้ า น ทิ ศ เ ห นื อ อุ โ บ ส ถ ด ้ ว ย จ น ไ ด ้ รับความไว้วางใจให้เป็นเจ้าคณะต�าบลและ พระอุปชั ฌาย์ด้วย ท�าเนียบเจ้าอาวาส 1. เจ้าอธิการผดุง ธมฺมโชโต (ทมอ เจ้า คณะต�าบล 2480-2515) 2. พระครูอรุณธรรมพินิจ (วร ธมฺมสุว ณฺโณ,จต. 2516-2550) 3. พระครู ก มลวรรณรั ง ษี (ไพบู ล ย์ อคฺควณฺโณ, จร.2551- ปัจจุบัน )
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
.indd 178
6/7/2018 5:42:56 PM
HIST ORY OF BUDDHISM
บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�าชีวิต
วัดป่าศรีประชา (ธ) พระครูใบฎีกาสมัย ฐิตสีโล ด�ารงต�าแหน่ง เจ้าอาวาส วัดป่าศรีประชา (ธ) ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นหนองแวง หมู่ที่ 9 ต�าบลผักไหม อ�าเภอศีขรภูมิ จังหวัด สุรินทร์ เดิมทีเป็นป่ารกชัฏ ยังไม่มผี คู้ นมาจับจอง ท�ามาหากิน เป็นที่ตั้งของเจดีย์โบราณที่ปรัก หักพัง และเป็นที่เกรงกลัวของชาวบ้านแถบ นี้ จึงเป็นที่โคจรของพระธุดงค์กัมมัฏฐานได้ มาปักกลดภาวนาผ่านไปผ่านมาหลายรูป ตามที่ ช าวบ้ า นผู ้ เ ฒ่ า ผู ้ แ ก่ ไ ด้ บ อกเล่ า จน กระทั่ ง เดื อ นธั น วาคม พ.ศ.254 6 พระอาจารย์สมัย ฐิตสีโล ได้ธุดงค์มาจาก จั ง หวั ด อุ ด รธานี มาพั ก ภาวนาและได้ อ ยู ่
จ�าพรรษาใน พ.ศ.2547 แล้วเริ่มต้นก่อสร้าง เสนาสนะ พอได้อยู่พักอาศัยบ�าเพ็ญเพียร และเริ่มมีพระภิกษุมาอยู่ร่วมจ�าพรรษาด้วย กันเพิ่มขึ้นมาเรื่อยจนถึง 5 – 7 รูป ในปี พ.ศ. 2549 มีแม่ขาวแพง ทราจารวัตร ได้ มาอยู ่ ป ฏิ บั ติ แ ละอุ ป ั ฏ ฐากพระ จึ ง ขอเริ่ ม ก่อสร้างเป็นวัดขึ้นมา พ.ศ.2552 ได้รบั หนังสืออนุญาตให้สร้าง วัด ต่อมา พ.ศ.2553 ได้รับประกาศตั้งเป็น “วัดป่าศรีประชา” (ธ) พ.ศ.2556 ได้รับ พระราชทานวิสุงคามสีมา จนถึง พ.ศ.2561 ปัจจุบันวัดป่าศรีประชา (ธ) ได้สร้างส�าเร็จ
ลุล่วงมาได้ด้วยดี ปัจจุบัน พระครูใ บฎีกาสมัย ฐิตสีโล (นามสกุลเดิม บุญเขื่อง) อายุ 45 ปี 22 พรรษา ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาสวัดป่าศรี ประชา (ธรรมยุต) บ้านหนองแวง ต.ผักไหม อ.ศีขรภูมิ จ.สุรินทร์ SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 179
179
6/7/2018 5:47:20 PM
บ้ำนลีลำวดี รีสอร์ท ต้อนรับทุกท่านประดุจญาติมิตร บ้านพักลีลาวดี เราสร้างขึ้น เพื่อให้ทุกการพักผ่อนเป็นบ้าน หลับสบาย ไร้กังวลกับการ ดูแลตลอด 24 ชั่วโมง บ้านพักหรู มีระดับ ตั้งอยู่ใจกลาง อ�าเภอศีขรภูมิ จังหวัดสุรินทร์ พร้อมบริการท่านด้วยห้องพักหลากสไตล์ หลายระดับ ตกแต่งอย่างมีรสนิยม ห่างที่ว่าการอ�าเภอ สภอ. ตลาด Lotus และปราสาทศีขรภูมิ เพียง 300 เมตร บ้านพัก สะอาด สะดวก ปลอดภัย เป็นส่วนตัว เสมือนบ้านคุณ ภายในประกอบด้วย ห้องนอน ห้อง โถง ห้องครัว ห้องน�า้ สะอาด สว่าง บริเวณซักล้าง แยกเป็นสัดส่วน พร้อมทีจ่ อดรถส่วนตัว ปลอดภัย พร้อมสิ่งอ�านวยความสะดวก Free wifi, เครื่องปรับอากาศ, เครื่องท�าน�้าอุ่น, ตู้เย็น, ทีวี, ไมโครเวฟ, กระติกน�้าร้อน, ชุดเครื่องครัว, ราวตากผ้า, พร้อมเฟอร์นิเจอร์ และ มีจักรยานไว้บริการ
259-259/7 ถนนเทศบาล 4 ต�าบลระแงง อ�าเภอศีขรภูมิ จังหวัดสุรินทร์ 32110 โทรศัพท์ส�ำรองที่พักล่วงหน้ำ โทร : 087-017-2111
“พักกำย พักใจ พักสมอง เติมพลังให้ชีวิต เดินไปข้ำงหน้ำอย่ำงมั่นใจ และมั่นคง”
0
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
.indd 180
6/5/2018 11:27:25 AM
SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 181
0
6/5/2018 11:27:49 AM
W O R K LI F E
บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�าบล
เทศบาลต�าบลสังขะ
นางกิ่งกาญจน์ พัวไพฑูรย์ ด�ำรงต�ำแหน่ง นำยกเทศมนตรีต�ำบลสังขะ
เทศบาลต�าบลสังขะ ตัง้ อยูห่ มูท่ ี่ 1 ถนนอภิสาร ต�าบลสังขะ อ�าเภอสังขะ จังหวัดสุรนิ ทร์ ปัจจุบนั มี นางกิง่ กาญจน์ พัวไพฑูรย์ ด�ารงต�าแหน่ง นายกเทศมนตรีต�าบลสังขะ ข้อมูลทั่วไป เทศบาลต�าบลสังขะ จัดตั้งตามพระราชบัญญัติเปลี่ยนแปลง ฐานะของสุขาภิบาลเป็นเทศบาล พ.ศ. 2542 เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2542 มีพื้นที่ 1,593 ไร่ หรือจ�านวน 2.55 ตาราง กิโลเมตร ลักษณะการปกครองแบ่งพืน้ ทีก่ ารปกครองให้ประชาชน ได้เข้ามามีส่วนในการพัฒนาท้องถิ่น ด้วยการแบ่งพื้นที่ออกเป็น 9 ชุมชน ในชุมชนประกอบด้วยคณะกรรมการจ�านวน 9 คน เพือ่ ท�าหน้าทีบ่ ริหารจัดการงานภายในชุมชน และประสานงานต่อ กับเทศบาลต�าบลสังขะ ส่วนราชการส�าคัญในเขตเทศบาลต�าบลสังขะ ประกอบด้วย ส�านักงานเทศบาลต�าบลสังขะ ทีว่ า่ การอ�าเภอสังขะ สถานีตา� รวจ ภูธรสังขะ โรงพยาบาลสังขะ ส�านักงานสาธารณสุขอ�าเภอสังขะ ส�านักงานเกษตรอ�าเภอสังขะ ส�านักงานปศุสัตว์อ�าเภอสังขะ
182
.
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
.indd 182
6/6/2018 2:23:23 PM
สถานที่ส�าคัญของเมืองสังขะ อนุสุ าวรียพ์ ระยาสังฆบุรศี รีนครอัจจะ เป็นสถานทีย่ ดึ เหนีย่ ว จิ ต ใจของชาวต� า บลสั ง ขะและพื้ น ที่ ข ้ า งเคี ย ง ประกอบด้ ว ย ศาลตาเกร ศาลตาดาน อนุสาวรียพ์ ระยาสังฆบุรศี รีนครอัจจะ ซึง่ ก่อสร้างขึ้นเพื่อเป็นการร�าลึกถึงบรรพบุรุษผู้เป็นเจ้าเมืองคนแรก ของอ�าเภอสังขะ และเป็นการยกย่องเชิดชูคณ ุ ปู การทีท่ า่ นได้สร้าง ไว้ให้แก่อนุชนรุ่นหลัง อุทธยาสระขุนมูลศาสตร์สาธรและสระขวาว เป็นสถานที่ ส�าหรับพักผ่อนหย่อนใจและออกก�าลังกาย และเป็นสถานทีส่ า� คัญ ที่ใช้ส�าหรับจัดงานยิ่งใหญ่ประจ�าปี คือ งานประเพณีลอยกระทง เนื่องจากมีแหล่งน�้าธรรมชาติที่มีอายุยืนนานคู่กับเทศบาลต�าบล สังขะ และมีประวัติ เกี่ยวเนื่องกับการก่อตั้งเมืองด้วย กิจกรรม/โครงการเด่น ทต.สังขะ โครงการลานบ้าน ลานวัฒนธรรม สืบสานศิลปะพื้นถิ่น เทศบาลต�าบลสังขะ จัดโครงการดังกล่าวขึ้นเพื่อสนับสนุน โครงการถนนคนเดิน สังขะปลอดสารพิษ SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
.
.indd 183
183
6/6/2018 2:23:50 PM
W O R K LI F E
บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�าบล
โครงการสืบสานประเพณีแซนโฎนตา เทศบาลต�าบลสังขะ ร่วมกับวัดและประชาชน ในพื้นที่ จัดงานประเพณีแซนโฎนตา (บูชา บรรพบุรุษ) ขึ้นเป็นประจ�าทุกปี เพื่ออนุรักษ์ และสื บ สานขนบธรรมเนี ย ม วั ฒ นธรรม และประเพณี ที่ ดี ง ามให้ ค งอยู ่ สื บ ไป และ เพือ่ แสดงความกตัญญูตอ่ บรรพบุรษุ ผูล้ ว่ งลับ โครงการตลาดเขียว เทศบาลต�าบลสังขะ ขอเชิญเลือกซื้อสินค้าเกษตร “ตลาดเขียว” อาทิ ผัก ผลไม้ อาหารพืน้ บ้านสดใหม่ ปลอด สารพิ ษ ทุ ก เย็ นวั น ศุ ก ร์ ณ บริ เ วณลาน ที่ว่าการอ�าเภอสังขะ อ�าเภอสังขะ จังหวัด สุรินทร์ เพื่อสนับสนุนเกษตรกรชาวสังขะ
184
.
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
.indd 184
6/6/2018 2:25:33 PM
จากใจนายก ทต.สังขะ นับตัง้ แต่ทกี่ า้ วเข้ามาท�าหน้าทีบ่ ริหารงาน ดิฉันรู้สึกมีความภาคภูมิใจที่พ่อแม่พี่น้อง ให้โอกาสดิฉนั และคณะผูบ้ ริหารงาน และขอ ตั้งปณิธานว่าจะปฏิบัติหน้าที่อย่างเต็มก�าลัง ความสามารถ จะมุง่ มัน่ พัฒนาบริหารท้องถิน่ ให้มคี วามน่าอยูแ่ ละเจริญรอบด้าน เริม่ ตัง้ แต่ การพัฒนางาน คุณภาพชีวติ พีน่ อ้ งประชาชน พั ฒ นาการศึ ก ษา การส่ ง เสริ ม อาชี พ
การสาธารณสุข การส่งเสริมให้ได้รับความรู้ การฝึกอบรม ศึกษาดูงาน การอนุรกั ษ์ศลิ ปะ วัฒนธรรมและสิง่ แวดล้อมให้คงอยู่ ตลอดจน การอ�านวยความสะดวกทั้งสาธารณูปโภค และการเฝ้าระวังโรคติดต่อร้ายแรง รวมถึง การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดให้ลด น้อยและหมดไปในที่สุด ประกอบกับรัฐบาล ได้ ใ ห้ ค วามส� า คั ญ กั บ นโยบายด้ า นสั ง คม โดยเน้นทีก่ ารส่งเสริมความรัก ความสามัคคี
ความสมานฉั น ท์ ของคนไทยทั้ ง ชาติ การสร้างสังคมให้อยู่เย็นเป็นสุข โดยยึดหลัก ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง คื อ ความพอ ประมาณ ความมีเหตุผล ซึ่งจะต้องอาศัย ความรอบรู ้ ความรอบคอบ และความ ระมั ด ระวั ง อย่ างยิ่ง มาใช้วางแผนในการ ด�าเนินการต่างๆ ทุกขั้นตอน
SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
.
.indd 185
185
6/6/2018 2:28:14 PM
W O R K LI F E
บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�าบล
องค์การบริหารส่วนต�าบลสะกาด
นายเมธา ขอชัย ปลัดองค์การบริหารส่วนต�าบล
ต�ำบลสะกำด ตั้งอยู่ห่ำงจำกตัวอ�ำเภอสังขะ 12 กิโลเมตร และห่ำง จำกตัวจังหวัดสุรนิ ทร์ 40 กิโลเมตร มีหมูบ่ ำ้ นในกำรปกครอง 16 หมูบ่ ำ้ น มีประชำกร 9,899 คน 2,591 ครัวเรือน อำชีพหลักคือท�ำนำ ประชำกร ส่วนใหญ่เป็นคนไทยเชือ้ สำยส่วย ภำษำทีใ่ ช้สว่ นใหญ่เป็นภำษำส่วย จุดแข็ง คือกำรมีพื้นที่ติดถนนเส้น 24 และมีล�ำห้วยจ�ำนวนมำกจึงไม่ประสบ ปัญหำกำรขำดแคลนน�ำ้ หรือภัยแล้ง จุดอ่อนคือชุมชนมีควำมเป็นส่วนตัว สูง ไม่ชอบกำรรวมตัวกันท�ำงำนเป็นกลุ่ม องค์กำรบริหำรส่วนต�ำบลสะกำด มีนายเมธา ขอชัย ต�ำแหน่ง ปลัดองค์กำรบริหำรส่วนต�ำบล บรรจุครั้งแรกเมื่อวันที่ 16 กันยำยน 2540 สังกัดองค์กำรบริหำรส่วนต�ำบลส�ำเภำลูน อ�ำเภอบัวเชด จังหวัด สุรินทร์ โอน(ย้ำย)มำด�ำรงต�ำแหน่ง สังกัดองค์กำรบริหำรส่วนต�ำบล สะกำด อ�ำเภอสังขะ จังหวัดสุรินทร์ เมื่อวันที่ 1 พฤศจิกำยน 2552 และมีค�ำสั่งให้ปฏิบัติหน้ำที่นำยกองค์กำรบริหำรส่วนต�ำบลสะกำดเมื่อ วันที่ 29 เมษำยน 2559 รับผิดชอบพื้นที่ 16 หมู่บ้ำนพนักงำนส่วน ต�ำบลและพนักงำนจ้ำง 31 คนสมำชิกสภำองค์กำรบริหำรส่วนต�ำบล 32 คนและประชำชน 9,899 คน เนือ่ งจำกกำรมีพนักงำนส่วนต�ำบลเป็นผูบ้ ริหำร เป้ำหมำยกำรบริหำร งำนจึงมุง่ เน้นทีก่ ำรเข้ำถึงสิทธิขนั้ พืน้ ฐำนและงำนบริกำรประชำชนทุกคน ด้วยมำตรฐำนเดียวกันเป็นเป้ำหมำยของนักบริหำรงำนท้องถิน่ ทีจ่ ะท�ำให้ สำมำรถน�ำท้องถิ่นให้พัฒนำในทุกด้ำนไปพร้อมๆกัน ผลงานที่ภาคภูมิใจ “สะกาดขวัญข้าว” เราปลุกชาวนาลุกขึ้นมาขายข้าว เกิดจำกส�ำนึกสำมัญของข้ำวเปลือกรำคำตกต�่ำลงมำถึงระดับของ บะหมีส่ ำ� เร็จรูป นายเมธา ขอชัย ต�าแหน่ง ปลัดองค์กำรบริหำรส่วนต�ำบล ต้องรับผิดชอบต่อหน้ำที่ของนำยกองค์กำรบริหำรส่วนต�ำบลในอีกทำง หนึ่ง ชวนชำวนำสีข้ำวเอง ขำยเอง โดยวำงเป้ำหมำยไว้ที่ร้ำนค้ำชุมชน ประจ�ำหมู่บ้ำน และ ตลำดเขียวในตัวจังหวัด แต่ข่ำวที่ปรำกฏในโลกของ โซเชียลมีเดียในเพจ “สุรินทร์วันนี้” และ “สุรินทร์ร้อยแปดดอทคอม” เมือ่ วันที่ 28 ตุลำคม พ.ศ.2559 กำรกดไลท์กดแชร์ในชัว่ เวลำไม่ถงึ ชัว่ โมง กลำยเป็นกระแส “ปลุกชาวนาขายข้าว” พลิกผันให้ต�ำบลสะกำดเป็น ต�ำบลน�ำร่องกำรสีข้ำวขำยเอง และเกิดผลิตภัณฑ์ประจ�ำต�ำบลในชื่อ “สะกาดขวัญข้าว” สีขำ้ วขำยเองและพำชำวนำไปขำยข้ำวถึงกรุงเทพมหำนคร 186
.
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
.indd 186
6/7/2018 5:48:33 PM
ประเพณีสู่ขวัญข้าวประจ�าต�าบล งานประเพณีกวนข้าวทิพย์
สามารถท� า ให้ ข ้ า วชาวนาต� า บลสะกาดมี ราคาตั น ละหนึ่ ง หมื่ น สามพัน ถึงหนึ่งหมื่น ห้าพันบาท และเป็นแนวทางให้ชาวนาใน อีกหลายพื้นที่พากันสีข้าวขายเอง จนฝ่าพ้น วิกฤตข้าวราคาตกต�่าในปี พ.ศ.2559 กิจกรรมและสถานที่ส�าคัญ 1. งานประเพณี ก วนข้ า วทิ พ ย์ วั ด สนสัทธาราม วัดสนสัทธาราม ตั้งอยู่หมู่ 8 บ้านสน ต�าบลสะกาด เป็นวัดที่มี พระครูประภัศร์ อาภาธร หรือ หลวงพ่อออก เป็นเจ้าอาวาส และเจ้าคณะต�าบล ท่านเป็นผู้มีความรอบรู้ ในเรื่ อ งของประเพณี ก วนข้ า วทิ พ ย์ แ บบ โบราณดั้งเดิมโดยใช้วัตถุดิบ 108 อย่างที่หา ได้เองในชุมชน ในวันออกพรรษาของทุกปีจะ มี ก ารจั ด งานประเพณี ก วนข้ า วทิ พ ย์ 25 กระทะ โดยชาวบ้านทั้ง 16 หมู่บ้านในเขต ต�าบลสะกาด จะมาร่วมพิธีกวนข้าวทิพย์ใน พิธกี รรมและบรรยากาศของชุมชนชาวต�าบล สะกาดที่ ยั ง คงรั ก ษารู ป แบบและวิ ธี ก าร ดั้งเดิมเอาไว้ และไม่มีกิจกรรมมหรสพใดๆ ในแง่ของความบันเทิงเริงรมย์ตามกระแส สมัย 2. งานประเพณีสขู่ วัญข้าวประจ�าต�าบล คนต�าบลสะกาดทัง้ 16 หมูบ่ า้ นมีการท�านา
เป็นอาชีพหลัก และมีประเพณีที่เหมือนกัน คือสู่ขวัญข้าวเพื่อขอขมาพระแม่โพสพก่อน ขนข้าวขึน้ ฉาง แต่เดิมท�ากันเฉพาะในหมูบ่ า้ น จนเมื่อปี 2556 องค์การบริหารส่วนต�าบล ได้ยกระดับมาเป็นงานประเพณีสา� คัญประจ�า ต�าบล โดยจัดงานที่ที่ท�าการองค์การบริหาร ส่วนต�าบลสะกาด เพื่อเผยแพร่วิถีชาวนา ต�าบลสะกาดที่มีทั้งการประกวดขบวนแห่ พระแม่โพสพ การสู่ขวัญข้าว งานรื่นเริง ต�าข้าวลีลา และการสร้างกระท่อมฟาง ซึง่ จัด ให้มีขึ้นในสัปดาห์สุดท้ายของเดือนธันวาคม ทุกปีในชือ่ “เทศกาลลมหนาว กระท่อมฟาง ลานข้าวและสาวร�าวง” 3. ปราสาทเต่าทอง ตั้งอยู่ที่หมู่ 3 บ้านตาโมม เป็นปราสาท เก่าแก่ทใี่ นปัจจุบนั ล่มสลายไม่เหลือซากปรัก หักพัง แต่ยงั มีรอ่ งรอยให้เห็นและเข้าใจได้วา่ เคยเป็นที่ตั้งของปราสาทที่ก่อสร้างในยุค เดียวกันกับปราสาทศิลป์ชยั จุดเด่นก็คอื การ
เป็ น ปราสาทที่ เ ดี ยวในโลกที่ ยั ง เก็ บ รั ก ษา ทรัพย์สมบัติ และวัตถุโบราณไว้ได้ครบถ้วน จากวิธีคิดของคนบ้านตาโมม โดยในยุคของ คนมีอา� นาจออกล่าขุดสมบัติ คนบ้านตาโมม ป้องกันสมบัติโดยการขุดหลุมฝัง และ สร้าง องค์พระใหญ่ปิดทับ ท�าให้นักล่าสมบัติไม่ สามารถที่ จ ะขุ ด เอาไปได้ เมื่ อ วั น ที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 มีเหตุการณ์พระพุทธรูป โบราณผุ ด ขึ้ น มาหลั ง พิ ธี บ วงสรวงองค์ ปราสาท ท�าให้เป็นที่สนใจแก่คนโดยทั่วไปที่ พากันมาเที่ยวชม และกราบไหว้บูชา ฝั่งตรงกันข้ามกับปราสาทเต่าทองมี วั ด เก่ า แก่ ชื่ อ วั ด เต่ า ทอง เป็ น ที่ ประดิษฐานขององค์พระประธาน ชื่อ “หลวงพ่อใหญ่หรือพระปื๊ด” ซึ่งเป็นพระเก่าแก่คู่บ้านตาโมม ที่มีทั้งเรื่องราวและปาฏิหารย์ เป็นที่เคารพบูชาแก่คนต�าบล สะกาด
SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
187
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�าชีวิต
วัดจัดสรรสงเคราะห์ พระครูสังฆรักษ์ (ณรงค์ สิริจันโท) รักษาการเจ้าอาวาส วัดจัดสรรสงเคราะห์ ตั้งอยู่ต�าบล สังขะ อ�าเภอ สังขะ จังหวัด สุรินทร์ เดิมเป็นที่พัก สงฆ์สร้างเมือ่ ปี พ.ศ.2510 โดยพระครูจนั ทร ธรรมวิโยค ( หลวงปู่ลมัย จันทโร ) เป็น พระสงฆ์ที่มาบุกเบิกสร้างที่พักสงฆ์ ในปี พ.ศ.2528 ได้เป็นส�านักสงฆ์ มี หลวงพ่อประพันธ์ กิตติสาโร เป็นเจ้า อาวาส พ.ศ.2536-2548 หลั ง จกท่ า น มรณภาพเมือ่ วันที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ.2548 มีพระสงฆ์มารักษาการแทนตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2548 จนถึง ในปี พ.ศ. 2554 ปัจจุบนั มี 188
พระครูสงั ฆรักษ์ (ณรงค์ สิรจิ นั โท) รักษา การแทน ตั้งแต่ พ.ศ.2554 จนถึงปัจจุบัน ที่ผ่านมาทางวัดจัดปริวาสกรรม ตั้งแต่ปี พ.ศ.2554 ตั้ ง แต่ วั น ที่ 1-10 ธั นวาคม ของทุกปี และได้ท�าผ้าป่าครอบครัวช่วงวันที่ 12-13 เมษายน ของทุกปี จนถึงปัจจุบัน ประวัติและปฏิปทาหลวงปู่ลมัย จันทโร ผู้บุกเบิก หลวงปูล่ มัย จันทโร นามเดิม ลมัย บุตรงาม เกิดวันอังคาร ขึ้น 1 ค�่า เดือน 3 ปีชวด ตรง กับวันที่ 3 เดือนมกราคม พ.ศ.2479 ใน
ครอบครัวบุตรงาม บิดาชือ่ นายทา เป็นผูใ้ หญ่ บ้าน มารดาชื่อนางจันทร์ อาชีพท�าไร่ท�านา ก่อนเด็กชายลมัยเกิด มารดาได้ฝันเห็นคนขี่ ช้างเผือกมามอบก้อนทองค�า 1 ก้อนมีรปู ทรง ไม่สวยงาม จึงได้ถามคนขี่ช้างว่า ทองค�า คือ สีด�าๆ ท�าไมไม่เป็นสีเหลือง คนขี่ช้างจึงบอก ว่านีแ่ หละทองค�าแท้แน่นอน จึงรับไว้ จากนัน้ สะดุง้ ตืน่ ขึน้ จึงได้เล่าความฝันนัน้ ให้แก่ผเู้ ป็น สามีและตาฟัง ได้รับค�าท�านายว่าจะได้บุตร ชายมีบุญญาธิการมาเกิด หลวงปู่ลมัยมีพี่
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
.indd 188
6/6/2018 2:21:09 AM
น้องร่วมบิดามาราดาเดียวกัน 8 คนเป็นชาย 6 หญิง 2 ท่านเป็นบุตรคนโต ชีวิตในวัยเด็กของเด็กชายลมัย เรียนจบ ชัน้ ประถมศึกษา 4 ก็ตอ้ งช่วยงานบ้านหลาย อย่ า งเพื่ อ แบ่ ง เบาภาระของบิ ด ามารดา ในการเลีย้ งน้อง การเลีย้ งวัว เลีย้ งควาย ตลอด จนเรื อ กสวนไร่น า เด็กชายลมัย เป็น คนมี จิตเมตตา อยากบวชตั้งแต่เป็นเด็ก แต่ด้วย ภาระต่างๆที่ต้องช่วยงานบ้านบิดามารดา ท�าให้ต้องหยุดความปรารถนานั้นไว้ และ ในทีส่ ดุ เมือ่ เดือนอ้าย พ.ศ. 2496 ได้บรรพชา เป็ น สามเณรเมื่ อ อายุ 17 ปี โดยมี พระอาจารย์แสง สิริปญโญ วัดสัทธารมณ์ บ้านขามเป็นพระอุปัชฌาย์ อยู่จ�าพรรษา ที่ วั ด สว่ า งบ้ า นว่ า นกั บ พระอาจารย์ ส า คมฺภีรปญฺโญ การบวชในครั้งนี้สามเณรลมัย ตั้งใจไว้ว่าจะบวชพระต่อเลยเมื่ออายุครบ 20 ปี แต่หาได้เป็นไปตามนั้นไม่ เมื่อเดือน หก พ.ศ.2498 อายุได้ 18 ปี ด้วยเหตุความ จ�าเป็นทางครอบครัวจึงลาสิกขาออกมาช่วย พ่อแม่ท�าไร่ ท�านา ด้วยความกตัญญูต่อบิดา มารดาแม้ยงั เสียดายในการทีจ่ ะบวชอยูก่ ต็ าม ต่อมาได้พบรักกับหญิงสาวคนหนึ่งในขณะที่ ไปท�างานในจังหวัดชลบุรี ขณะนั้นนายลมัย อายุได้ 25 ย่าง 26 ปีและได้แต่งงานอยู่กิน ด้วยกันที่บ้านอาภู ต.จอมพระ อ.จอมพระ จ.สุ ริ น ทร์ ป ระกอบอาชี พ ท� า นา มี ฐ านะ ปานกลาง มีบุตรด้วยกัน 6 คน ชาย 4 หญิง 2 ช่วยกันประกอบสัมมาชีพ เลี้ยงครอบครัว ต่อมาน้องสาว 2 คนได้เสียชีวิต มารดา
ได้ร้องขอให้บวชเพื่ออุทิศส่วนบุญส่วนกุศล ให้กับน้องสาว ด้วยความกตัญญูต่อมารดา และบิดา จึงได้ตกลงตั้งใจบวช ณ พัทธสีมา วัดท่าสว่าง ต.กระสัง อ.กระสัง จ.บุรีรัมย์ โดยมี พระครูประสานสังฆกิจ เจ้าคณะ อ�าเภอกระสัง เป็นพระอุปชั ฌาย์ พระสุทธิพงษ์ สิรวิ ณฺณโภ เป็นพระกรรมวาจาจารย์ พระจรัส ปรกฺกโม เป็นพระอนุสาวนาจารย์ อุปสมบท เมื่ออายุได้ 39 ปี วันที่ 15 เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2518 ส�าเร็จญัตติจตุตถกรรมวาจา เป็นภิกษุภาวะในพุทธศาสนา เวลา 09.00 น. ได้ รั บ ฉายาว่ า จนฺ ท โร แปลว่ า ผู ้ เ ป็ น ดุ จ พระจันทร์
หลังจากที่หลวงปู่ลมัยศึกษาธรรมจาก ครูบาอาจารย์มากมาย ในทีส่ ดุ ก็กลับมาก็จา� พรรษาอยู่ที่ป่าช้าโคกตาเขียวเรื่อยมาและได้ ซือ้ ทีด่ นิ ข้างป่าช้าสร้างวัดโคกตาเขียว และซือ้ ทีด่ นิ ขยายพืน้ ทีแ่ ละขออนุญาตจัดสร้างวัดให้ ถูกต้องตามกฏหมาย เปลีย่ นชือ่ วัดเป็นวัดป่า จันทธรรมาราม หลวงปู่ลมัยเป็นธงธรรม กั ม มั ฏ ฐานที่ พึ่ ง จิ ต ใจชาวบ้ า น เป็ น พระ สุปฏิปันโน พระดีศรีสุรินทร์ อีกหนึ่งรูปเป็น ที่ศรัทธาของประชาชนในวงกว้าง
SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 189
189
6/6/2018 2:21:27 AM
บั น ทึ กเ ส ้ นทา ง ธ ร ร มหนุ นน� า ชี วิ ต
วัดโพธาราม
“วัดโพธารามหัวสะพานบ้านขวาว” พระครูพิทักษ์สังฆกิจ (โกสุม ติกฺ ขวีโร/แต้มทอง) ดร. เจ้าคณะอ�าเภอสังขะ ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาส วัดโพธาราม ตัง้ อยู่ เลขที่ 241 เทศบาลต�าบลสังขะ อ�าเภอสังขะ จังหวัดสุรินทร์ มีนามเดิมว่า “วัดโพธาราม หั ว สะพานบ้ า นขวาว” สร้ า งเมื่ อ วั น ที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2334 ต่อมาในราวปีพ.ศ. 2479 พระอธิการเอียน โอภาโส เจ้าอาวาส ในขณะนั้น ได้ท�าหนังสือแจ้งต่อเจ้าคณะ จังหวัดสุรินทร์ขอตัดชื่อหัวสะพานบ้านขวาว ออก ให้คงเหลือชือ่ ไว้เพียง “วัดโพธาราม” มา จนถึงทุกวันนี้ ผู้สร้างวัดโพธาราม คือคุณยายหว้า ไม่ 190
.
ทราบนามสกุล ซึง่ เป็นมารดาของ พระอนันต์ เป็นผูส้ ร้าง โดยในวันปฐมฤกษ์ได้ปลูกต้นโพธิ์ เงินโพธิ์ทอง อย่างละหนึ่งต้น ปัจจุบันนี้คง เหลือแต่ต้นโพธิ์ทองซึ่งอยู่ติดกับส�านักงาน คณะสงฆ์อา� เภอสังขะในปัจจุบนั ส่วนต้นโพธิ์ เงิน พระครูสังฆพงษ์พิสุทธิ์ (หลวงพ่อ อ๊อม ธมฺมิโก) เจ้าคณะอ�าเภอสังขะองค์ปฐม เจ้า อาวาสวัดปราสาทบ้านจารย์ได้ตัดออกเพื่อ ใช้พนื้ ทีส่ ร้างอุโบสถทีใ่ ช้อยูใ่ นปัจจุบนั นี้ ส่วน ต้นโพธิ์ที่อยู่ด้านเหนือโรงอุโบสถในปัจจุบัน นัน้ เดิมอยูน่ อกวัดซึง่ เป็นนาของโยมยายสบง กรองทอง ต่อมานายเอียน สาลีโภชน์ ก�านัน
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
.
.indd 190
6/5/2018 11:35:00 PM
ต�ำบลสังขะ ไวยำวัจกรของวัดโพธำรำมใน ขณะนั้น ได้ขอแลกเปลี่ยนที่ดินกับคุณโยม ยำยสบง กรองทอง ที่กล่ำวข้ำงต้นนั้น ต้น โพธิ์ที่เห็นอยู่ด้ำนเหนือในปัจจุบันจึงเข้ำมำ อยู่ในเขตที่ดินวัดโพธำรำมจนถึงปัจจุบัน กระทั่งปีพ.ศ. 2475-2481 พระอธิกำร เอียน โอภำโส ซึ่งเดินทำงกลับจำกกำรไป ศึกษำพระธรรมวินัยที่ในตัวเมืองสุรินทร์ จน สอบได้นกั ธรรมชัน้ โท มำเป็นเจ้ำอำวำสและ ได้ด�ำเนินกำรพัฒนำวัดโพธำรำมอย่ำงต่อ เนื่องจนสำมำรถก่อสร้ำงอุโบสถส�ำเร็จ และ ได้ ข อพระรำชทำนวิ สุ ง คำมสี ม ำในปี พ .ศ. 2480 ต่อมำพระอธิกำรเอียน สละสมณเพศ ลง กำรพัฒนำวัดและศำสนวัตถุภำยในวัด โพธำรำมก็หยุดไปด้วย ในปีพ.ศ. 2504 โดยกำรน�ำของนำย เอียน สำลีโภชน์ ก�ำนันต�ำบลสังขะกับนำยศก ร่วมบุญ สำรวัตรก�ำนันต�ำบลสังขะ พร้อม อุบำสกอุบำสิกำจ�ำนวนหนึง่ ของวัดโพธำรำม เดินทำงไปขอพระภิกษุเพื่อมำอยู่จ�ำพรรษำ และเป็นเจ้ำอำวำสวัดโพธำรำม กับพระครู สังขปุรำรักษ์ (ประนต นตฺตโร) เจ้ำอำวำส วั ด สุ ว รรณรั ตน์ โ พธิ ย ำรำม ต� ำ บลล� ำ ดวน เจ้ำคณะอ�ำเภอสังขะในสมัยนั้น ซึ่งท่ำนได้ มอบหมำยให้หลวงตำปลัง่ สุจณ ิ โฺ ณ กับคณะ เดินทำงมำจ�ำพรรษำตำมค�ำอำรำธนำ ต่อมำ หลวงตำปลัง่ ได้รบั กำรแต่งตัง้ เป็นเจ้ำอำวำส วั ด โพธำรำม และด�ำ รงต�ำ แหน่งเจ้ำ คณะ ต� ำ บลสั ง ขะอี ก ต� ำ แหน่ ง หนึ่ ง เป็ น พระ อุปัชฌำย์ต�ำบลสังขะ ด�ำรงต�ำแหน่งอยู่ 8 ปี
กระทัง่ อำพำธจึงเดินทำงกลับไปยังภูมลิ ำ� เนำ เดิมจนกระทั่งมรณภำพในปีถัดมำ ต่อมำก�ำนันศก ร่วมบุญ ก�ำนันต�ำบล สังขะ พร้อมด้วยคณะเดินทำงไปขอพระภิกษุ เพื่อมำด�ำรงต�ำแหน่งเจ้ำอำวำสวัดโพธำรำม กับ เจ้ำคุณพระสิทธิกำรโกศล เจ้ำอำวำส วัดกลำงสุรินทร์ เจ้ำคณะจังหวัดสุรินทร์ ซึ่ง ท่ำนได้มอบหมำยให้พระมหำสมศักดิ์ ป.ธ. 5 วัดกลำงสุรนิ ทร์เดินทำงมำด�ำรงต�ำแหน่งเจ้ำ อำวำสวัดโพธำรำม และด�ำรงต�ำแหน่งรอง เจ้ำคณะอ�ำเภอสังขะอีกต�ำแหน่งหนึ่ง เมื่อ ท่ ำ นพระมหำสมศั ก ดิ์ ไ ด้ ส ละสมณเพศลง ทำงเจ้ำคณะอ�ำเภอสังขะ จึงแต่งตั้งให้พระ อำจำรย์ พยัคฆ์ จำรุวณฺโณ (จันทร์พลี) ขึ้น ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้ำอำวำสวัดโพธำรำมแทน ภำยหลั ง มี ค ณะพระสงฆ์ น� ำ โดย เจ้ ำ อธิกำรพรหม กนฺตสีโล เจ้ำคณะต�ำบลขอน แตก อ�ำเภอสังขะในขณะนัน้ (ปัจจุบนั ได้สละ สมณเพศแล้ว ) พระอธิกำรลุน สุภำจำโร ใน สมั ย นั้ น ปั จ จุ บั น คื อ พระครู ธ รรมรั ต นำ ภิ ร มณ์ เจ้ ำคณะต� ำบลพระแก้ ว และเจ้ ำ อำวำสวัดธรรมรัตน์โพธำรำม พระอธิกำรละ มัย จนฺทโร ปัจจุบันคือ พระครูจันทธรรมำนุ โยค เจ้ำอำวำสวัดจันทธรรมำรำม (ป่ำช้ำโคก ตำเขียว) และอุบำสกอุบำสิกำ ภำยใต้กำรน�ำ
ของ “แม่สุพรรณ ประดับสุข” และ คณะ ได้ พ ร้ อมใจกั นเดิ นทำงไปอำรำธนำ พระ โกสุม ติกฺขวีโร ผู้ช่วยเจ้ำอำวำสวัดมูลจินดำ รำม ต�ำบลบึง ยี่โถ อ�ำเภอธัญบุรี จังหวัด ปทุมธำนี กับหลวงพ่อพระครูธัญญเขตคณำ รักษ์ เจ้ำอำวำสวัดมูลจินดำรำม เจ้ำคณะ อ�ำเภอธัญบุรี ในสมัยนั้น ปัจจุบันคือ เจ้ำคุณ พระเทพวุฒำจำรย์ เจ้ำคณะจังหวัดปทุมธำนี มำเป็นเจ้ำอำวำสวัดโพธำรำม ต่อมำท่ำนได้ รับกำรแต่งตั้งเป็นเจ้ำอำวำสวัดโพธำรำม เป็นทำงกำรเมื่อวันที่ 29 มิถุนำยน พ.ศ. 2526 และได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้ำคณะอ�ำเภอ สังขะ จังหวัดสุรินทร์ ล�ำดับที่ 5 ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลำคม พ.ศ. 2544 จนถึงปัจจุบัน ต�ำแหน่งปัจจุบัน เจ้ำคณะอ�ำเภอสังขะ เจ้ำอำวำสวัดโพธำรำม และผูจ้ ดั กำรโรงเรียน พระปริ ยั ติ ธ รรมแผนกสำมั ญ วั ด โพธำรำม เทศบำลต�ำบลสังขะ อ�ำเภอสังขะ จังหวัด สุรินทร์ SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
.
.
.indd 191
191
6/5/2018 11:35:49 PM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�าชีวิต
วัดป่าสังฆพงษ์พิทักษ์ ธรรมมาราม
พระครูวิศิษฏ์วิหารคุณ (ฉลาด อาภสฺสโร) รองเจ้าคณะอ�าเภอสังขะ ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาส วั ด ป่ า สั ง ฆพงษ์ พิ ทั ก ษ์ ธ รรมมาราม ตั้งอยู่ที่ ซอย 6 ต�ำบลบ้ำนชบ อ�ำเภอสังขะ จังหวัดสุรินทร์ (อยู่หลังโรงพญำบำลสังขะ ติดโรงเรียนสังขะ) ประวัติควำมเป็นมำ ผู้ใหญ่บ้ำนพร้อม ชำวบ้ ำ นได้ เ ห็ น พระภิ ก ษุ ม ำปั ก กลดอยู ่ บริเวณป่ำแห่งนี้ และชำวบ้ำนในชุมชนเกิด ควำมศรัทธำทำงผู้ใหญ่บ้ำนและชำวบ้ำนจึง ประชุมกันเรื่องกำรสร้ำงวัด เพรำะชุมชน ละแวกนีไ้ ม่มวี ดั และได้ผลสรุปว่ำจะร่วมแรง 192
ร่ ว มใจสร้ ำ งวั ด วั ด ป่ ำ แห่ ง นี้ เ ดิ ม มี ชื่ อ ว่ ำ วัดป่ำประชำสำมัคคี ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ.2522 ต่อมำในปี พ.ศ. 2525 ทำงเจ้ำคณะจังหวัด ได้ มี ค วำมประสงค์ ใ ห้ เ ปลี่ ย นชื่ อ จำก “วัดป่ำประชำสำมัคคี” มำเป็น “วัดป่ำสังฆ พงษ์พิทักษ์ธรรมมำรำม” และใช้ชื่อนี้มำจน กระทั่งปัจจุบัน ประวัตพิ ระครูวศิ ษิ ฎ์วหิ ารคุณ เจ้าอาวาส พระครูวิศิษฎ์วิหารคุณ ต�ำแหน่งพระครู ชั้นเอกเทียบเท่ำเจ้ำคณะอ�ำเภอ ฝ่ำยวิปัสนำ ธุระ ชื่อเดิม(ฉลำด อำภสฺสโร นำมสกุล บุญ เตือน) เกิดเมือ่ วันที่ 28 สิงหำคม พุทธศักรำช
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
.indd 192
6/5/2018 11:38:36 PM
2487 อุปสมบทเมื่อวันที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2509 การศึกษา จบ นธ.เอก อภิธรรมบัณฑิต ปริญญาโทพุทธศาสตร์บัณฑิต อดีตเคยเป็น พระอาจารย์ (ต�าแหน่งอัตราจ้าง) สอนวิชา อภิ ธ รรม และวิ ช า วปิ สั ส นากรรมฐาน มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย (มจร.วิทยาลัยเขตสุรินทร์) “อย่าใช้ชีวิตอยู่ บนความประมาท” ข้อธรรมจากวิทยานิพนธ์ โดย พระครู วิศษิ ฎ์วหิ ารคุณ (ฉลาด อาภสฺสโร) เจ้าอาวาส เรือ่ ง ศึกษาวิเคราะห์นริ ยภูมใิ นพระพุทธ ศาสนาเถรวาท “นิรยภูมิ” หรือ นรก จัดอยู่ในอบายภูมิ อันดับที่ 1 เป็นดินแดนที่ปราศจากความสุข สบาย สั ต ว์ ที่ ต กลงไปสู ่ นิ ร ยภู มิ เพราะ บาปกรรมที่ ตนกระท�า ไว้เ ป็น อาจิณกรรม เมื่ อ ตกลงไปแล้ ว จะต้ อ งได้ รั บ ความทุ ก ข์ ทรมานอย่างแสนสาหัสไม่มเี วลาว่างเว้นจาก การลงทัณฑ์ทรมาน นิรยภูมิ หรือ โลกนิรยภูมิ หมายถึง โลก ที่ไม่มีความสุขสบาย เป็นปรโลกฝ่ายทุคติ ภูมิ ที่มีโทษแห่งการกระท�าอกุศลหนักที่สุด ในบรรดาอบายภูมทิ งั้ หลาย เป็นโลกทีเ่ ต็มไป ด้วยความทุกข์ลว้ นๆ ปราศจากความสุขโดย สิ้นเชิง พระพุทธศาสนา เป็นศาสนาที่สอนเรื่อง
กรรมว่า สัตว์ทั้งหลายล้วนเป็นไปตามกรรม หมายความว่า กรรมนั้นสามารถที่จะท�าให้ สัตว์โดยเฉพาะมนุษย์เรากลายสภาพเป็น อะไรก็ได้ คือท�าให้ไปสูท่ คุ ติ ได้แก่ ไปเกิดเป็น สัตว์ดิรัจฉาน เป็นเปรต เป็นสัตว์นิรยภูมิ เป็ น อสุ ร กายก็ ไ ด้ ท� า ให้ ไ ปสู ่ สุ ค ติ คื อ ไป เกิดเป็นมนุษย์ เทวดา พรหม จนถึงเป็น พระอรหันต์ก็ได้ อกุ ศ ลกรรม หมายถึ ง บาปกรรมชั่ ว ความชั่วร้าย ความเสียหาย ความไม่ถูกต้อง ซึ่งให้ผลเป็นความทุกข์ เป็นสิ่งที่ควรเว้น การกระท�าบาป กระท�าความชั่ว เรียกว่าท�า อกุศลกรรม เรียกย่อว่า ท�าอกุศล หรือเรียกว่า ท�าบาปอกุศล อกุศลกรรม เกิดมา จากอกุ ศ ลมู ล อย่ า งใด อย่างหนึง่ ใน 3 อย่างคือ โลภะ โทสะ โมหะ เพราะเมื่อเกิดอย่างใด อย่างหนึ่งขึ้นแล้วก็เป็น เหตุ ชั ก น� า ใจให้ คิ ด ท� า อกุศลกรรม เช่น เมื่อ โลภะเกิดขึ้นก็เป็นเหตุ ให้ คิ ด อยากได้ เมื่ อ อยากได้ก็แสวงหา เมื่อ ไม่ได้ตามต้องการด้วย
วิ ธี สุ จริ ต ก็ เ ป็ น เหตุ ใ ห้ ท� า อกุ ศ ลกรรมอื่ น ต่อไป เช่น ลักขโมย ปล้น จี้ ฉ้อโกง เป็นต้น ดังนั้น อย่าใช้ชีวิตอยู่บนความประมาท เร่งท�าความเพียรเจริญสติ สมาธิ ปัญญาจน สามารถดับหลุมถ่านเพลิงร้อนคือ โลภ โกรธ หลงในใจได้
SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 193
193
6/5/2018 11:40:12 PM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�าชีวิต
วัดป่าล�าหาด
พระครูพิสิฐวรธรรม ด�ำรงต�ำแหน่ง เจ้ำอำวำส วัดป่าล�าหาด ตั้งอยู่บ้านเลขที่ 123 หมู่ ที่ 6 ต.ทับทัน อ.สังขะ จ.สุรินทร์ ทางทิศ ตะวั น ออกของหมู ่ บ ้ า น เดิ ม ที่ ดิ น แห่ ง นี้ มี นายสี – นางลา สระแก้ว เป็นผู้ครอบครอง อยู่บ้านเลขที่ 53 หมู่ 6 บ้านล�าหาด ต.ทับ ทัน อ.สังขะ จ.สุรินทร์ แล้วได้ถวายที่ดิน จ�านวน 2 แปลง รวมเป็น 28 ไร่ 1 งาน 71 ตารางวา เพื่อสร้างวัด โดยได้รับอนุญาตให้ สร้างวัดเมือ่ วันที่ 7 ธันวาคม พ.ศ.2531 โดยมี นามว่า วัดป่าล�าหาด สังกัดคณะสงฆ์ธรรมยุต โดยมี พ ระอาจารย์ ถ นอม รั ก ษาการเจ้ า อาวาสอยู ่ ขณะนั้ น ปี พ .ศ.2531-2536
194
ต่อมามีพระครูพิสิฐวรธรรม เป็นเจ้าอาวาส ถึงปัจจุบัน เสนาสนะภายในวัด การก่อสร้างเสนาสนะภายในวัดป่า เกิดขึน้ ตามเหตุ ป ั จ จั ย ให้ เ พี ย งแค่ พ ออยู ่ ห ลบฝน กันแดด เพื่อด�ารงสมณธรรมให้ยิ่งขึ้น ซึ่ง เดิมทีทว่ี ดั ป่าล�าหาดเป็นทีล่ มุ่ ต�า่ น�า้ ท่วมทุกปี จึงได้ถมดินขึ้นเต็มเนื้อที่ 28 ไร่ 1 งาน 71 ตารางวา สูงประมาณ 2 เมตร ถึง 3 เมตร เสร็จแล้วจึงสร้างกุฏิเจ้าอาวาส 1 หลัง กุฏิ พระสงฆ์ 7 หลัง สร้างโบสถ์ 1 หลัง โรงครัว 1 หลัง ศาลาปฏิบัติธรรม 1 หลัง เมรุ ศาลา
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
.indd 194
6/5/2018 11:51:53 PM
ธรรมสังเวช 1 หลัง สะพานข้ามน�้าระหว่าง บ้านล�าหาดไปบ้านไก่แก้ว ความยาว 136 เมตร ถนนรอบวัดถนนเชื่อมหมู่บ้าน เพียง เท่านีเ้ พือ่ อ�านวยความสะดวกแก่ญาติโยมใน การมาบ�าเพ็ญจิตภาวนา ลดละกิเลสน้อย ใหญ่ ท�าให้แจ้งเพื่อวิมุติธรรมคือเป้าหมาย อันเป็นธงชัยของพระอรหันต์ ประวัติเจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน พระครูพิสิฐวรธรรม (เยี่ยม) อายุ 72 ปี พรรษา 26 นักธรรมเอก ท่านเป็นบุตรของ นายจันทา-แม่เข่ง อินทนัย เกิดเมื่อวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ.2489 บ้านเลขที่ 79 หมู่ 6 ต.ทับทัน อ.สังขะ จ.สุรินทร์ อุปสมบท ตอน อายุ 46 ปี เมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม 2535 ณ วัดบูรพาราม ต.ในเมือง อ.เมือง จ.สุรินทร์ มี พระอุปัชฌาย์ พระรัตนกรวิสุทธิ พระกรรม วาจาจารย์ พระครูสมุห์เดือน ครุธมฺโม และ พระอนุสาวนาจารย์ พระจ�าลอง จนฺทวณฺโน เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ.2559 ได้รับ สมณศักดิ์ เป็น พระครูสญ ั ญาบัตร เจ้าอาวาส วัดราษฎร์ ชั้นเอก ชื่อพระครูพิสิฐวรธรรม เนือ่ งด้วยพระครูพสิ ฐิ วรธรรม เป็นลูกศิษย์ พระราชวุฒาจารย์ (หลวงปูด่ ลู ย์ อตุโล) และ อุปสมบทที่วัดบูรพาราม ต.ในเมือง อ.เมือง จ.สุรินทร์ ซึ่งเป็นวัดที่หลวงปู่ดูลย์ ก่อตั้งขึ้น จึงขอน้อมน�า “ค�าสอน และวิธีปฏิบัติธรรม ของหลวงปู่ดุลย์” มาฝากเพื่อให้เกิดศรัทธา ปสาทะในการบ�าเพ็ญจิตภาวนาให้ยิ่งขึ้น 1. เริ่มต้นของการภาวนา ให้บริกรรม เช่น “พุทโธ” เพื่อรวมอารมณ์ให้เป็นหนึ่ง แล้วสังเกตว่าใครเป็นผูบ้ ริกรรม “พุทโธ” โดย
อาจตั้งฐานของจิตไว้ในบริเวณใดก็ได้ในกาย นี้ ตามแต่จะถนัด เช่นบริเวณกลางทรวงอก เมื่ออารมณ์สงบแล้ว ค�าบริกรรมจะขาดหาย ไปเอง ไม่ต้องบริกรรมอีก ให้สังเกตดูความ รู้สึกที่ฐานก�าหนดอยู่เช่นนั้นอย่าเผลอ 2. รูท้ นั จิตสังขารแล้วดูจติ ต่อไป ท�าความ เข้าใจในอารมณ์ความคิดนึกปรุงแต่ง สังเกต ราคะ โทสะ โมหะที่เกิดขึ้น โดยให้สติจดจ่อ อยู่ที่ฐานก�าหนดเดิมเช่นนั้น เมื่ออารมณ์ อะไรเกิดขึ้นก็ให้รู้และปล่อยวางอารมณ์นั้น ทิง้ ไป โดยหันมาดูจติ ต่อไปอีกไม่ตอ้ งกังวลใจ ใช้สติรู้เท่าทันอารมณ์อยู่ โดยไม่ต้องวิจารณ์ กิริยาใดๆ ของจิตที่เกิดขึ้น เพียงก�าหนดรู้ไป เท่านั้น 3. อย่าส่งจิตออกนอก ระวังจิตไม่ให้หลง คิดเรือ่ งภายนอก และสังเกตดูความหวัน่ ไหว ของจิตตามอารมณ์ทรี่ บั มาทางอายตนะทัง้ 6 คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย และใจ เมื่อจิตเผลอ คิดไปก็ให้ตงั้ สติระลึกถึงฐานก�าหนดเดิม และ รักษาสัมปชัญญะให้สมบูรณ์อยูท่ กี่ ายเสมอ ๆ 4. หยุดคิด จิตว่าง เมื่อสังเกตกิริยาจิต ไปเรื่อยๆ จนเข้าใจถึงเหตุปัจจัยของอารมณ์ ความคิดนึกต่างๆ ได้แล้ว จิตจะค่อยๆ รูเ้ ท่า
ทันการเกิดของอารมณ์ต่างๆ อารมณ์ความ คิดนึกต่างๆ ก็จะค่อยๆ ดับไปเรือ่ ยๆ จนจิต ว่างจากอารมณ์ แล้วจิตก็จะเป็นอิสระอยูต่ า่ ง หากจากเวทนาของรูปกาย อยู่ที่ฐานก�าหนด เดิมนั่นเอง 5. ปล่อยวางความว่าง ถึงจิต ถึงธรรม จิตที่ว่าว่างนั้น ยังไม่ว่างจริง แต่การเพียรดู จิตเรื่อยไปนั้น จะท�าให้จิตสามารถรู้เท่าทัน สิง่ ละเอียดทีแ่ อบแฝงอยูใ่ นจิตได้มากขึน้ ตาม ล�าดับ ในทีส่ ดุ จิตจะรูโ้ ดยไม่คดิ คือหมดกิรยิ า ต่างๆ ของจิต จิตก็จะถึงความว่างที่แท้จริง จิตเห็นจิตอย่างแจ่มแจ้ง แล้วอยูเ่ หนือสภาวะ สมมุติบัญญัติทั้งปวง
SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 195
195
6/7/2018 5:49:44 PM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�าชีวิต
วัดธรรมรัตน์ โพธาราม อโรคยา ปรมลาภา ความไม่มีโรคเป็นลาภ อันประเสริฐ (พุทธพจน์) พระครูธรรมรัตนาภิรม (ลุน สุภาจาโร) ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาส วัดธรรมรัตน์โพธาราม เป็นวัดราษฎร์ ตั้งอยู่เลขที่ 27 หมู่ 2 บ้านหนองคู ต�าบล
196
พระแก้ว อ�าเภอสังขะ จังหวัดสุรนิ ทร์ ซึง่ เป็น วัดเก่าแก่ในต�าบลพระแก้ว สังกัดคณะสงฆ์ มหานิกาย มีเนื้อที่ 10 ไร่ 15 ตารางวา ตั้ง วัดขึ้นเมื่อพุทธศักราช 2494 โดย ชาวบ้าน กระสัง-หนองคู รวมตัวกันสร้างวัดขึ้นเพื่อ ประกอบพิธีทางศาสนา และใช้เป็นสถาน ศึกษา เล่าเรียนของพระเณร และประชาชน ก่อนจะมีโรงเรียนเกิดขึ้น เดิ ม วั ด ธรรมรั ต น์ โ พธารามมี ชื่ อ ว่ า “วัดบ้านกระสัง” เมือ่ พ.ศ.2520 เปลีย่ นเป็น วัด ธรรมรัตน์โพธิยาราม และ ได้รบั อนุญาต สร้างวัดตามประกาศส�านักพระพุทธศาสนา
แห่งชาติเมือ่ วันที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2554 ได้ รับการเปลี่ยนชื่ออีกครั้งเป็น วัดธรรมรัตน์ โพธาราม ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 19 เมษายน พ.ศ. 2556 ปัจจุบัน มีพระจ�าพรรษาอยู่ 14 รูป ท� า เนี ย บเจ้ า อาวาส เท่ า ที่ ป รากฏ รายนามดังนี้ 1. หลวงพ่อพรม ประมาณ พ.ศ. 2494 - พ.ศ. 2497 2. หลวงพ่อจ่อย ประมาณ พ.ศ. 2497 - พ.ศ. 2499 3. หลวงพ่อพิพฒ ั น์ ประมาณ พ.ศ. 2499
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
.indd 196
6/7/2018 5:51:10 PM
– พ.ศ. 2502 4. หลวงพ่อจันทร์ ประมาณ พ.ศ. 2502 – พ.ศ. 2504 5. หลวงพ่อพรหม ประมาณ พ.ศ.2504 – พ.ศ. 2509 6. หลวงพ่อยูร ประมาณ พ.ศ.2509 – พ.ศ. 2511 7. หลวงพ่อวันทา ประมาณ พ.ศ. 2511 – พ.ศ. 2515 8. หลวงพ่อวัน ประมาณ พ.ศ. 2515 – พ.ศ. 2519 9. พระครูธรรมรัตนาภิรม (ลุน สุภาจาโร) พ.ศ. 2519 - ปัจจุบัน ประวัตพิ ระครูธรรมรัตนาภิรม (ลุน สุภาจาโร) เจ้าอาวาส พระครูธรรมรัตนาภิรม นามเดิม ลุน ระยับศรี เกิดเมื่อวันพุธที่ 23 สิงหาคม พ.ศ.
2493 ณ บ้านหนองคูขาม ต.หนองเชียงทูน อ.ปรางค์กู่ จ.ศรีสะเกษ ปัจจุบัน จบวุฒิ ประกาศนียบัตรการบริหารกิจการคณะสงฆ์ (ป.บส.) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัย วิทยาเขตสุรินทร์ บรรพชาอุปสมบท วันที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2515 ณ อุโบสถวัดโพธาราม อ.สังขะ จ.สุรินทร์ พระอุปัชฌาย์ชื่อ พระอธิการปลั่ง สุจิณโณ พระกรรมวาจาจารย์พระอธิการ ลาน ปญฺ ญ าคโม พระอนุ ส าสนาจารย์ พระอธิการลอย กญฺลญาโณ สอบได้นกั ธรรม ชั้นเอก พ.ศ. 2521 ได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้า อาวาสวัดธรรมรัตน์โพธาราม พ.ศ. 2519 ได้ รั บ แต่ ง ตั้ ง เป็ น เจ้ า คณะต� า บลตาคง พ.ศ.
2536 – 2554 ได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าคณะ ต�าบลพระแก้ว พ.ศ. 2554 – ปัจจุบัน ได้รับ ตราตัง้ เป็นพระครูสญ ั ญาบัตรเจ้าคณะต�าบล พัดยศชั้นตรีพ.ศ. 2536 ได้รับตราตั้งเป็น พระครูสัญญาบัตรเจ้าคณะต�าบลพัดยศชั้น โทพ.ศ. 2545 ได้รบั ตราตัง้ เป็นพระครูสญ ั ญา บัตรเจ้าคณะต�าบลพัดยศชัน้ เอก พ.ศ. 2556 ได้รบั เลือ่ นสมณะศักดิเ์ ป็นพระครูสญ ั ญา บัตรเจ้าคณะต�าบลชั้นเอกเทียบเท่าเจ้าคณะ อ�าเภอชัน้ เอก วันที่ 5กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559 ปัจจุบนั ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาสวัดธรรม รัตน์โพธาราม (บ้านหนองคู - ทุง่ เจริญ) เเละ เจ้าคณะต�าบลพระแก้ว อ.สังขะ จ.สุรินทร์ เสนาสนะสงฆ์ 1. พระอุโบสถ สร้างเมื่อ พ.ศ. 2536 ได้ รั บ พระราชทานวิ สุ ง คามสี ม าเมื่ อ วั น ที่ 19 เมษายน พ.ศ. 2556 2. หอระฆัง สร้างเมือ่ วันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2548 3. ศาลาการเปรียญหลังใหม่ แทนหลัง เก่าที่ช�ารุดทรุดโทรมไป สร้างเมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2554 แต่ยังไม่เสร็จสมบูรณ์ 4. กุฏิพระสงฆ์ปัจจุบันมี 11 หลัง และ หอสงฆ์ 2 หลัง ห้องครัว 1 หลัง ห้องน�้า 25 ห้อง ปั จ จุ บั นก� าลั ง ด�า เนินการซื้อทีเพิ่มเติม จ�านวน 3ไร่ 2 งานและด�าเนินการก่อสร้าง ฌาปนสถาน (เริ่ม 1 พย.60) ตามรูป SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 197
197
6/6/2018 12:01:08 AM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�าชีวิต
วัส�ำนัดกปฏิวับัตงิธรรมประจ� ปลัดำจังสามั ค คี หวัดสุรินทร์ แห่งที่ 2 วั ด วั ง ปลั ด สามั ค คี เดิ ม ชื่ อ “วั ด ใหม่ สามัคคีธรรม” ตั้งอยู่ที่ บ้านวังปลัด ต�าบล ทับทัน อ�าเภอสังขะ จังหวัด สุรินทร์ จัดตั้ง ขึ้นเมื่อ พ.ศ 2511 ได้รับบริจาคที่ดิน 6 ไร่ จากผู้มีจิตศรัทธา 3 ท่าน คือ นายป้อม ค�า ดี 2 ไร่ นายแก้ว วิเศษชาติ 2 ไร่นายนัด ผม น้อย 2 ไร่ โดยการน�าของ นายสอน หงษ์ อินทร์ ผู้ใหญ่บ้านวังปลัดในสมัยนั้น ต่อมา พระราชสิทธิโกศล เจ้าคณะจังหวัดสุรินทร์ ได้อนุญาตจัดตั้งเป็นส�านักสงฆ์ สังกัดมหา นิกาย โดยมี หลวงพ่อเค เป็นเจ้าอาวาสรูป แรก และผู้ใหญ่บ้าน พร้อมทั้งชาวบ้านวัง ปลัด บ้านสวาท และบ้านหนองเกาะ ได้ร่วม กั น บริ จ าคทรั พ ย์ สิ น และวั ส ดุ อุ ป กรณ์ ต่าง ๆ เพื่อจัดสร้างศาลาการเปรียญ 1 หลัง กุฏิสงฆ์ 1 หลัง จนแล้วเสร็จ 198
พ.ศ.2539-ปัจจุบัน มีพระครู โกศลสมาธิวัตร (จ�าปี ปญฺญาธโร) เป็นเจ้า อาวาส รูปที่ 6 ได้จัดหางบประมาณเพื่อ บูรณะปฏิสังขรณ์และสร้างอาคารเสนาสนะ ภายในวัด เหมาะแก่การเป็นที่บ�าเพ็ญสมณ ธรรม อาทิเช่น อุโบสถ ศาลาการเปรียญ ศาลาปฏิบัติธรรม อาคารอบรมวิปัสสนา ห้องสมุด กุฎสี งฆ์ กุฎเิ จ้าอาวาส เมรุ และจัด ซื้อที่ดินขยายบริเวณวัด จ�านวน 20 ไร่ ปลูก ป่าถาวร ถวายเป็นพระราชกุศล ปลูกต้นไม้ กว่าหมื่นต้น เป็นส�านักปฏิบัติธรรมประจ�า จังหวัดสุรินทร์ แห่งที่ ๒ เป็นศูนย์อบรม พระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ เป็นหน่วยอบรม วิ ป ั ส สนา ตามหลั ก สติ ป ั ฏ ฐาน 4 เป็ น วัดพัฒนาตัวอย่าง ประจ�าปี 2560
พญานาครากไม้ประดู่ ยาว 18.30 เมตร (36 ศอก)
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
.indd 198
6/6/2018 12:03:57 AM
พลายนครินทร์ Sportclub
“สดชื่น ผ่อนคลาย พักกาย สบายอุรา” บริการห้องพัก สะอาด สะดวก ปลอดภัยไร้มลภาวะ พร้อมสปอร์ตคลับ และ สระว่ายน�้ามาตรฐานสากล มาที่นี่ที่เดียวสัมผัสกับความรู้สึกเหมือนได้พักผ่อนอยู่กับบ้าน เบิกบานกับการออกก�าลังกายทุกรูปแบบ บริการด้วยใจ ประทับใจกับการบริการ บ้านเพชรนลิน & สวนสรินพัศ 863/4 ม.1 ต.ระแงง อ.ศรีขรภูมิ จ.สุรินทร์ โทรศัพท์ ส�ารองที่พักล่วงหน้า 09-3562-2998, 08-1725-4816
SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 199
0
6/6/2018 12:13:31 AM
W O R K LI F E
บันทึกเส้นทางพบเทศบาลต�าบล
เทศบาลต�าบลล�าดวนสุรพินท์ นายสุรศักดิ์ บวรวัฒนานุกิจ นายกเทศมนตรีต�าบลล�าดวนสุรพินท์
“องค์กรแห่งการเรียนรู้ คู่คุณธรรม น�าสู่ความยั่งยืน และความเข็มแข็งของชุมชน” เทศบาลต�าบลล�าดวนสุรพินท์ ได้รบั การประกาศให้เป็นองค์กร ปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ในรู ป แบบของสุ ข าภิ บ าล เมื่ อวั น ที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2532 และได้เปลี่ยนแปลงฐานะจากสุขาภิบาล เป็นเทศบาลต�าบล เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ.2542 มีพื้นที่ ภายในเขตเทศบาล 9.67 ตารางกิโลเมตร แบ่งการปกครองเป็น 5 ชุมชน จ�านวน 1,743 ครัวเรือน จ�านวนประชากรรวมทั้งสิ้น 4,421 คน แยกเป็นหญิง 2,286 คน ชาย 2,135 คน ส�านักงานเทศบาลต�าบลล�าดวนสุรพินท์ ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 360 ถนน สุรนิ ทร์-สังขะ ต�าบลล�าดวน อ�าเภอล�าดวน จังหวัดสุรนิ ทร์ ซึง่ ต�าบล ล�าดวน ในอ�าเภอล�าดวน มีความเจริญรุ่งเรือง เป็นเมืองหนึ่งใน อดีตกาล ซึ่งยังปรากฏหลักฐานให้เห็น คือ ซากก�าแพงเมืองสร้าง ด้วยดินมูล มีคคู ลองล้อมรอบ มีปชู นียสถานและโบราณวัตถุปรากฏ อยู่ ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ได้ ท รงโปรดเกล้ า โปรดกระหม่ อ มยกบ้ า นล� า ดวนขึ้ น เป็ น เมื อ ง พระราชทานนามว่า “เมืองสุรพินทนิคม” นโยบายการพัฒนาเศรษฐกิจ การพัฒนา คือ ประชาชนมีการรวมตัวกันเพื่อเรียนรู้ พัฒนา ทักษะในการประกอบอาชีพตลอดจนเทคโนโลยี วิชาการต่างๆ เพือ่ ปรุงปรุงและแปรรูปผลผลิต รวมทั้งการเพิ่มมูลค่าของสินค้า ซึ่งก่อ ให้เกิดการผลิต การบริการ การหมุนเวียนของเงิน และสร้างงาน ตามแนวทาง “เศรษฐกิจพอเพียง” โดยสามารถพึ่งตนเองได้ และ ด�ารงอยู่อย่างมั่นคง ถึงแม้จะมีการเปลี่ยนแปลงจากภายนอกและ ภายในเทศบาลจะด�ารงอยูอ่ ย่างมัน่ คง และจะด�าเนินการเสริมสร้าง ขบวนการชุมชนเข้มแข็ง สนับสนุนประชาชนและกลุ่มอาชีพต่างๆ ให้สามารถใช้ประโยชน์จากทรัพยากรในท้องถิน่ อย่างมีประสิทธิภาพ และยั่งยืน รวมทั้งอ�านวยความสะดวกให้ค�าแนะน�าบริการต่างๆ เสริมสร้างทักษะ ในการประกอบอาชีพแก่ประชาชนและกลุม่ อาชีพ รวมถึงการพัฒนาการศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี และการ กีฬาให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจการศึกษาตลอดชีวิต 200
.
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
.indd 200
6/6/2018 12:20:21 AM
ด้านการส่งเสริมอนุรักษ์วัฒนธรรม ด้วยการรักษาขนบธรรมเนียมประเพณี อันดีงามของท้องถิน่ และการจัดตัง้ ศูนย์การ ตลอดชีวิตเพื่อเปิดโอกาสให้ชุมชนได้เรียนรู้ ส่งเสริมและอนุรกั ษ์วฒ ั นธรรมขนบธรรมเนียม อันดีงามของท้องถิน่ เช่น จัดให้มงี านประเพณี ต่างๆ ของเทศบาลและชุมชน ส่งเสริมและ สนับสนุนให้เด็ก เยาวชนและประชาชนทัว่ ไป ได้ อ อกก� า ลั ง กาย และเล่ น กี ฬ าอย่ า ง สม�่ า เสมอ สนั บ สนุ น และส่ ง เสริ ม ให้ เ ด็ ก เยาวชน และประชาชนทั่วไปได้ด�าเนินตาม ค่านิยมส�าหรับคนไทย 12 ประการ ด้ า นคุ ณ ภาพชี วิ ต สามารถยกระดั บ คุ ณ ภาพชี วิ ต ประชาชนมี คุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ ดี มี คุ ณ ธรรม จริ ย ธรรม สามารถสื บ ทอด วัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น มีศาสนา เป็ น เครื่ อ งชี้ น� า ชุ ม ชนและสั ง คม ตลอด จนจัดการระบบการศึกษาให้สอดคล้องกับ การพัฒนาและเหมาะสมกับสภาพท้องถิ่น อย่างทั่วถึง ระบบสารสนเทศทีท่ นั สมัย ทัง้ นี้ เพือ่ ให้ สามารถดูแลตัวเองในขั้นพื้นฐานและได้รับ การบริการด้านสวัสดิการสังคม สาธารณสุข อย่างทั่วถึง ส่วนนโยบายพัฒนาโครงสร้าง พื้นฐาน คือ เตรียมความพร้อมเพื่อรองรับ
การขยายตัวของชุมชน การลงทุนแระกอบ ธุรกิจด้านอุตสาหกรรม การพาณิชย์ และการ ท่ อ งเที่ ย ว ด� า เนิ น การปรั บ ปรุ ง เส้ น ทาง คมนาคม ถนนสายหลักให้ได้มาตรฐานและ ปรั บ ปรุ ง ถนนสายรองและซอยต่ า งๆ ให้ สามารถเชื่อมโยงถึงกันได้และใช้การได้โดย สะดวก ก่อสร้างและปรับปรุงระบบระบายน�า้ ควบคู่ไปกับการปรับปรุงถนนสายหลักและ ถนนสายรองในเขตเทศบาล เพื่อให้สามารถ ระบายน�้าได้อย่างรวดเร็ว ป้องกันการเกิด น�้าท่วม ติดตั้งและขยายเขตไฟฟ้าสาธารณะ ให้ทวั่ ทุกแหล่งชุมชนเพือ่ สร้างความปลอดภัย ในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน และผู้ใช้ เส้นทางสัญจรไป มา ปรับปรุงสาธารณูปโภค ที่อยู่ในความรับผิดชอบของเทศบาลให้เพียง พอกับความต้องการของประชาชน พัฒนา แหล่งน�า้ ล�าห้วยและแหล่งน�า้ สาธารณะ เพือ่
ให้ ส ามารถกั ก เก็ บ น�้ า ไว้ ใ ช้ อ ย่ า งพอเพี ย ง ตลอดจนการขยายเขตประปาเพือ่ ให้ควบคลุม ทุกพื้นที่ รักษาความสะอาดของถนนหรือ ทางเดินและจัดการขยะมูลฝอย สิ่งปฎิกูล และน�า้ เสียตามหลักสุขาภิบาลอย่างต่อเนือ่ ง และเป็นระบบ เทศบาลฯ จะบริหารจัดการ บนพื้นฐานการบิหารกิจการบ้านเมืองที่ดี และพั ฒ นางานของเทศบาลให้ ส ามารถ บริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี และพัฒนางาน ของเทศบาลให้ สามารถบริการแก่ประชาชน ให้ได้รับความสะดวก รวดเร็วและเป็นธรรม ส่ ง เสริ ม การมี ส ่ ว นร่ ว มของประชาชนใน การปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพตลอด จนการเสริมสร้างความปรองดองสมานฉันท์ ของคนในท้ อ งถิ่ น เพื่ อ ประโยชน์ สุ ข ของ ประชาชน SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
.
.indd 201
201
6/6/2018 12:20:34 AM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�าชีวิต
วัดป่าดงคู
“วัดโพธารามหัวสะพานบ้านขวาว” “คําสอนทั้ง 84000 พระธรรมขันธ์นั่น เป็นเพียงอุบายให้คนทั้งหลายหันมาดูจิต นั่นเอง คําสอนของพระพุทธองค์มีมากมาย ก็เพราะกิเลสมีมากมาย แต่ทางที่ดับทุกข์ได้ มีทางเดียว คือ พระนิพพาน การที่เรามี โอกาสปฏิบัติธรรมที่ถูกทางเช่นนี้มีน้อยนัก หากปล่อยโอกาสให้ผา่ นไปเราจักหมดโอกาส พ้นทุกข์ได้ทนั ในชาตินี้ แล้วเราจะหลงอยูใ่ น ความเห็นผิดอีกนานแสนนาน เพื่อที่จะพบ ธรรมอันเดียวกันนี้ ดังนั้น เมื่อเราเกิดมา พบพระพุทธศาสนาแล้ว รีบปฏิบตั ใิ ห้พน้ ทุกข์ เสีย มิฉะนัน้ จะเสียโอกาสอันดีนไี้ ป เพราะว่า เมือ่ สัจธรรมถูกลืม ความมืดมนย่อมครอบงํา 202
ปวงสัตว์ให้อยู่ในกองทุกข์สิ้น กาลนาน” หลวงปู่ดุลย์ อตุโล พระครูถาวรธรรมวงศ์ ด�ารงต�าแหน่งเจ้า อาวาส วัดป่าดงคู ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 182 หมูท่ ี่ 9 บ้าน โคกสะอาด ตําบลโชคเหนือ อําเภอลําดวน จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์ สั ง กั ด คณะสงฆ์ ธ รรมยุ ต วั ด มี เ นื้ อ ที่ ป ระมาณ 105 ไร่ ปั จ จุ บั น พระครูถาวรธรรมวงศ์ เป็นเจ้าอาวาส ความเป็นมาในการก่อสร้างวัด เมื่อปี พ.ศ. 2521 คุณตาแปง สุขสมาน ศิษย์ กรรมฐานฝ่ายฆราวาสของหลวงปูด่ ลู ย์ อตุโล ได้มาสอนกรรมฐานทีบ่ า้ นลําดวน ในสมัยนัน้
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
.indd 202
6/6/2018 12:25:24 AM
คนสนใจแนวทางการฝึ ก กรรมฐานเป็ น จ� า นวนมาก โดยเฉพาะนายพิ พั ฒ น์ นางพิกลุ ประดับสุข สองสามีภรรยา มีจติ ใจ เลื่อมใสในทางพระพุทธศาสนาเป็นอย่าง มาก ต่อมาบุคคลทั้งสองมีความคิดจะสร้าง วั ด ในที่ จั บ จองของตนเอง จึ ง บอกความ ประสงค์นั้นกับอาจารย์แปง ให้ท่านทราบ หลังจากนั้นประมาณ 5-6 วัน อาจารย์แปง ได้มาที่บ้านของนายพิพัฒน์และนางพิกุลอีก ครัง้ และได้บอกกับสองสามีภรรยาว่าท่านได้ ไปกราบเรียนหลวงปู่ดูลย์ อตุโล ถึงเรื่องที่ ท่านทั้งสองมีความศรัทธาที่จะสร้างวัด ต่อมาหลวงปู่ดลย์ อตุโล ได้ส่งพระภิกษุ จ�านวน 4 รูป มาดูสถานที่ที่จะด�าเนินการ สร้ า งวั ด โดยมี พ ร ะ ค รู ส ถิ ต ส า คุ ณ , พระอาจารย์ใหญ่, พระอาจารย์เจริญ และ พระอาจารย์สุพัฒน์ หลังจากดูสถานที่ใน การด�าเนินการก่อสร้างวัดเป็นที่เรียบร้อย แล้วนั้น พระอาจารย์ทั้ง 4 รูป ได้เดินทาง
กลั บวั ด บู ร พาราม จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์ เพื่ อ รายงาน หลวงปู่ดูลย์ อตุโล ต่อไป จากการส�ารวจสถานทีส่ ร้างวัด ประมาณ ปลายเดือนมกราคม พ.ศ. 2521 ท่านอาจารย์ แปง แจ้งว่ารับได้คา� อนุญาตจาก หลวงปูด่ ลู ย์ อตุโล ให้ด�าเนินการก่อสร้างวัดป่าดงคู ซึ่ง เป็นวัดฝ่ายธรรมยุต โดยพระเดชพระคุณท่าน หลวงปู่ดูลย์ ได้เมตตาแนะน�าและด้วยความ ร่วมแรงร่วมใจ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ครอบครัว นายพิพัฒน์ ประดับสุข ท่านได้บริจาคทีด่ นิ วัสดุอปุ กรณ์ เพือ่ สร้างกุฏิ ถางป่า ท�าทางเข้า วัด และมีเพื่อนบ้านใกล้เคียง 2-3 คน ร่วม แรงในการสร้างวัด ต่อมาเมื่อมีข่าวในการ สร้างวัดป่า แพร่ออกไปได้มีผู้มีจิตศรัทธา ญาติพนี่ อ้ ง ช่วยบริจาคปัจจัย ร่วมแรงร่วมใจ กันในการสร้างวัดขึน้ มาเป็นจ�านวนมาก โดย ในการสร้างวัดในครั้งแรก ท่านอาจารย์แปง ได้แนะน�าให้ด�าเนินการสร้างศาลาก่อนเป็น อันดับแรก ต่อมาสร้างกุฏิ เมื่อวันที่ 25
เมษายน พ.ศ. 2521 และสร้างศาลาแล้วเสร็จ เมือ่ วันที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2521 สร้างเรือน พักแม่ชีเมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2521 เมื่อสร้างเสนาสนะดังกล่าวแล้ว ได้ไป กราบนมั ส การเรี ย นให้ ห ลวงปู ่ ท ่ า นทราบ และหลวงปูด่ ลู ย์ สัง่ ให้ไปนิมนต์ พระอาจารย์ เรียก จากวัดหนองเวียง ต�าบลเขวาสินรินทร์ (แต่เดิมยังไม่เปลีย่ นเป็นอ�าเภอ) อ�าเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ มาเป็นเจ้าอาวาสวัดป่าดงคู เป็นรูปแรก ท�าเนียบเจ้าอาวาสวัดป่าดงคู 1. พระอาจารย์เรียก 2. พระอาจารย์ดึก 3. พระอาจารย์คืน ปสมโน 4. พระอาจารย์องค์ อภิสโก 5. พระอาจารย์ตรอม ขีณมโล 6. หลวงพ่อกิม ทีปธมฺโม 7. พระครูถาวรธรรมวงศ์ ด�ารงต�าแหน่ง เจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน
SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 203
203
6/6/2018 12:26:42 AM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�าชีวิต
วัดทักษิณวารีสิริสุข
พระครูรัตนธรรมนิวิฐ (ศิริ จนฺทธมฺโม) รักษาการเจ้าอาวาส วัดทักษิณวารีสริ สิ ขุ เป็นวัดราษฎร์ ตัง้ อยู่ เลขที่ 58 หมู่ 2 บ้านล�าดวน ถนนล�าดวนกระเที ย ม ต� า บลล� า ดวน อ� า เภอล� า ดวน จังหวัดสุรินทร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ก่อตั้งเมื่อประมาณปี 2442 ตามหลักฐาน การก่อตั้ง ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่ อ วั น ที่ 8 มี น าคม พ.ศ. 2454 เขต วิสุงคามสีมากว้าง 18 เมตร ยาว 36 เมตร ที่ดินตั้งวัดมีเนื้อที่ 9 ไร่ 2 งาน และมีพื้นที่ ธรณีสงฆ์ทางทิศตะวันออกอีกประมาณ 4 ไร่ เป็น ฌาปนสถาน และศาลาบ�าเพ็ญกุศล ฌาปนกิจศพ โดยทางวัดได้รับการพัฒนา 204
อย่างต่อเนื่องจากรุ่นสู่รุ่นจนถึงยุคปัจจุบัน การบริหารและการปกครองวัดทักษิณ วารีสิริสุขตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน โดยมี ล�าดับเจ้าอาวาส ดังนี้ 1. หลวงพ่อเถร เจ้าอาวาส พ.ศ. 2440 2. หลวงพ่อดุ่ย เจ้าอาวาส พ.ศ. 2445 3. หลวงพ่อเมา เจ้าอาวาส พ.ศ. 2447 4. หลวงพ่อธิน พระงาม เจ้าอาวาส พ.ศ. 2449 - 2459 5. เจ้าอธิการหว่าง ธมฺมโชโต เจ้าอาวาส พ.ศ. 2476 - 2518 6. พระครูสังขปุรานุรักษ์ (สมพงษ์ กนฺต
สีโล/จันทเขต) เจ้าอาวาส พ.ศ. 2518 2541 7. พระมหาบัญญัติ ญาณร�สี/สาลี เจ้า อาวาส พ.ศ. 2542 - 2545 8. พระบุญส่ง ขนฺตสิ าโร/วงศ์วรรณ รักษา การแทนเจ้าอาวาส พ.ศ. 2546 - 2548 9. พระครูโกวิทธรรมาภินันท์ (สรวิชญ์ ปณฺฑิโต/สมนึก) เจ้าอาวาส พ.ศ. 2549 –2559 10. พระมหาสุทิศ ญาณวุฑฺโฒ/จันทเขต ปฎิบัติหน้าที่แทนรักษาการเจ้าอาวาส พ.ศ. ๒๕๕๙-ปัจจุบัน
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
.indd 204
6/6/2018 12:29:01 AM
WORK LIF E
บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�าบล
องค์การบริหารส่วนต�าบลโคกกลาง
ประเพณีบุญบั้งไฟ ต.โคกกลาง
นายวิชิต เครือศรี
นำยกองค์กำรบริหำรส่วนต�ำบลโคกกลำง
“ประเพณีบุญบั้งไฟ ระหารหนองใหญ่ ผ้าไหม ชั้นดี ดนตรีพื้นบ้าน ช�านาญเครื่องหนัง” คือ ค�ำขวัญของเรำ องค์การบริหารส่วนต�าบลโคกกลาง มียุทธศาสตร์การพัฒนา จาก แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของ อบต. ที่ก�าหนดยุทธศาสตร์และ แนวทางการพัฒนาของ อบต. ซึง่ แสดงวิสยั ทัศน์ พันธกิจและจุดมุง่ หมาย เพื่ อ การพั ฒนาในอนาคต โดยสอดคล้ อ งแผนพั ฒนาเศรษฐกิ จ และ สังคมแห่งชาติ แผนพัฒนาจังหวัดและแผนพัฒนาอ�าเภอ
ซ่อมแซมบ้านให้ผู้สูงอายุ
วิสัยทัศน์ ( Vision ) “อบต.ชั้นน�ำ สู่กำรพัฒนำท้องถิ่น อย่ำงยั่งยืน” เป้ำหมำย ( Goal ) “โครงสร้ำงพื้นฐำนดี เกษตรอินทรีย์ปลอดสำรพิษ คุณภำพ ชีวิตดีขึ้น” พันธกิจ ( Misson ) 1. สร้างและปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานให้ได้มาตรฐาน 2. การส่งเสริมพัฒนาคุณภาพชีวิตครอบครัว และชุมชนใน การพึ่งตนเองตามศักยภาพ 3. การวางแผน การส่งเสริมการลงทุน พาณิชการและการท่อง เทีย่ วเข้าสูร่ ะบบ AEC. 4. การบริหารจัดการและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ง แวดล้อม 5. การส่งเสริมการศึกษา ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม จารีต ประเพณีและภูมิปัญญาท้องถิ่นอันดีงาม 6. การบริหารจัดการและสนับสนุนการปฏิบัติภารกิจของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ติดต่อ : องค์กำรบริหำรส่วนต�ำบลโคกกลำง อ�ำเภอพนมดงรัก จังหวัดสุรินทร์ โทร : 044-146430 SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 205
205
6/12/2018 10:45:11 AM
W O R K LI F E
บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�าบล
องค์การบริหารส่วนต�าบลสะโน
นายส�าราญ อบอุ่น นายกองค์การบริหารส่วนต�าบลสโน
“ต�าบลเข้มแข็ง คุณภาพชีวิตดี ประเพณีเด่น เกษตรอินทรีย์ สู่วิถีพอเพียง” วิสัยทัศน์ องค์การบริหารส่วนต�าบลสะโน ตัง้ อยูใ่ นต�ำบลสะโน อ�ำเภอ ส�ำโรงทำบ จังหวัดสุรินทร์ ต�ำบลสะโน เดิมขึน้ อยูก่ บั ต�ำบลกระออมต่อมำปี 2527 ได้ขอ แยกหมู ่ บ ้ ำ นมำตั้ ง เป็ น ต� ำ บลสะโน ซึ่ ง แต่ เ ดิ ม ได้ ตั้ ง อยู ่ ริ ม ห้วยทับทันมีชื่อว่ำ บ้ำนเตเปรต หรือบ้ำนกล้วยเก่ำสำเหตุที่ อพยพมำเพรำะน�้ำท่วม จึงมำยึดท�ำเลที่มีหนองใหญ่ 2 แห่ง คือ หนองสะโนปั จ จุ บั นเป็ นหนองของบ้ ำนสะโน และหนองสิม ปัจจุบันเป็นหนองของบ้ำนน�้ำท่วม ภำยหลังมีหมู่บ้ำนต่ำงๆ มำอยู่ล้อมรอบ จึงเกิดมีหมู่บ้ำนในละแวกนั้นหลำยๆ หมู่บ้ำน ในภำยหลังได้มีพระรำชบัญญัติว่ำด้วยกำรปกครองท้องที่ จึง รวมหลำยๆ หมู่บ้ำนจัดตั้งเป็นต�ำบล ชื่อว่ำต�ำบลกระออม ในช่วงนายกังวาน ศิรริ งั ศรี เป็นก�ำนัน ผูใ้ หญ่บำ้ นทุกหมูบ่ ำ้ น และรำษฎร์ในท้องทีต่ ำ� บลกระออม ได้พจิ ำรณำว่ำต�ำบลกระออม มี ห มู ่ บ ้ ำ นหลำยหมู ่ บ ้ ำ นมำสั ง กั ด และเพื่ อ ให้ ส ะดวกแก่ กำรปกครอง จึงขอแยกจำกต�ำบลเดิม และเนื่องจำกบ้ำนสะโน เป็นหมู่บ้ำนที่ใหญ่กว่ำหมู่บ้ำนอื่นๆ และเป็นศูนย์กลำงของ หมูบ่ ำ้ นต่ำงๆ จึงได้แยกมำตัง้ ชือ่ ว่ำ “ต�าบลสะโน” ซึง่ ค�ำว่ำ “สะโน” ค�ำนีก้ ห็ มำยถึง “หนองโสน” เพรำะมีดอกโสนมำก แต่ภำษำท้องถิน่ (กูย) เรียกดอกนีว้ ำ่ ดอกสะนอจึงเพีย้ นเป็นภำษำไทยว่ำดอกสะโน โดยได้แยกออกมำตั้งเป็นต�ำบลใหม่เมื่อปี 2527 ปัจจุบันอยู่ ในควำมรับผิดชอบของ อบต.สะโน ที่ตั้งของต�ำบลสะโนอยู่ห่ำงจำกที่ว่ำกำรอ�ำเภอส�ำโรงทำบ ระยะทำง 11 กิโลเมตรและห่ำงจำกจังหวัดสุรนิ ทร์ประมำณ 66 กิโลเมตร กำรเดินทำงเข้ำสู่ต�ำบลสะโนใช้เส้นทำงหลวงแผ่นดิน หมำยเลข 226 จำกจังหวัดสุรนิ ทร์มำอ�ำเภอส�ำโรงทำบระยะทำง 54 กิโลเมตร และใช้เส้นทำงหลวงจังหวัดหมำยเลข 2262 (ส�ำโรงทำบ-รัตนบุรี ) โดยระยะทำงจำกอ�ำเภอส�ำโรงทำบไปทำง ทิศเหนือประมำณ 11 กิโลเมตร ขนำดพื้นที่ ต�ำบลสะโนมีเนื้อที่ประมำณ 30.33 ตำรำง กิโลเมตรหรือ 18,956 ไร่ มีประชำกรชำย 1,667 คน หญิง 1,635 คน รวม 3,302 คน โดยมีครัวเรือนทัง้ หมด 763 ครัวเรือน 206
.
.indd 206
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
6/6/2018 12:57:11 AM
ประชากรส่ ว นใหญ่ ข องต� า บลสะโนมี อาชีพเกษตรกรรม ประกอบด้วย การเพาะ ปลูกข้าวร้อยละ 90 การปลูกพืชไร่ร้อยละ 5 และประกอบอาชีพอื่นๆ ร้อยละ 5 การพาณิชย์และกลุม่ อาชีพ ประชาชนใน ต�าบลมีหลากหลายที่รวมกันเป็นกลุ่มอาชีพ ต่างๆ อาทิ กลุ่มทอผ้าไหมลายลูกแก้วหมู่ที่ 7 กลุม่ ทอพรมเช็ดเท้าหมูท่ ี่ 1 กลุม่ ท�าน�า้ มัน สกัดมะพร้าว ฯลฯ ซึง่ สามารถสร้างรายได้ให้ แก่กลุ่ม หมู่บ้านและชุมชนสะโน ประกอบด้วย 1. บ้าน สะโน หมู่ที่ 1 ต�าบล สะโน อ�าเภอ ส�าโรงทาบ จังหวัดสุรินทร์ 2. บ้านน�้าท่วม หมู่ที่ 2 ต�าบลสะโน อ�าเภอส�าโรงทาบ จังหวัดสุรินทร์ 3. บ้านอาเลา หมู่ที่ 3 ต�าบล สะโน อ�าเภอ ส�าโรงทาบ จังหวัดสุรินทร์ 4. บ้านจิก หมู่ที่ 4 ต�าบล สะโน อ�าเภอ ส�าโรงทาบ จังหวัดสุรินทร์
5. บ้านแขม หมู่ที่ 5 ต�าบลสะโน อ�าเภอ ส�าโรงทาบ จังหวัดสุรินทร์ 6. บ้ านจารย์ หมู ่ ที่ 6 ต� าบล สะโน อ�าเภอส�าโรงทาบ จังหวัดสุรินทร์ 7. บ้ านนายาว หมู ที่ 7 ต� าบลสะโน อ�าเภอส�าโรงทาบ จังหวัดสุรินทร์ 8. บ้านหนองบัวล�าพุก หมู่ที่ 8 ต�าบล สะโน อ�าเภอส�าโรงทาบ จังหวัดสุรินทร์ 9. บ้ า นกอไผ่ น ้ อ ย หมู ่ ที่ 9 ต.สะโน อ.ส�าโรงทาบ จ.สุรินทร์ พันธกิจการพัฒนาท้องถิ่น 1. ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรอินทรีย์ สามารถพึ่งตนเองได้ตามแนวทางเศรษฐกิจ พอเพียง 2. ส่งเสริมและพัฒนาด้านเศรษฐกิจ การ ประกอบอาชีพและการท่องเทีย่ วเชิงวัฒนธรรม 3. ส่งเสริมสุขภาพอนามัยและสร้างความ มั่นคงปลอดภัยของชุมชน
4 . ส ่ ง เ ส ริ ม ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน 5. ส่งเสริมการศึกษา การอนุรักษ์พัฒนา ศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น 6. ส่งเสริมการพัฒนาองค์กรตามหลักธร รมาภิบาล กิ จ กรรมที่ ผ ่ า นมาขององค์ ก ารบริ ห าร ส่วนต�าบลสะโน วันเด็กแห่งชาติ ,ประชาคมแผนพัฒนา ต�าบลระดับหมู่บ้าน, โครงการบวชศีลจาริณี ชี พ ราหมณ์ , กี ฬ าประจ� า ต� า บล, งาน ปริ ว าสกรรม วั ด ป่ า ธรรมชาติ บ ้ า นแขม, วันปิยมหาราช และ ปลูกต้นไม้ เป็นต้น
SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
.
.indd 207
207
6/6/2018 12:58:07 AM
ห้วยแสงจันทร์รีสอร์ท HUAI SAENG CHAN RESORT
อิ่มใจ อิ่มบรรยากาศ ท่ามกลางธรรมชาติบริสุทธิ์ กับห้องพักที่สะอาด ราคาเป็นกันเอง รีสอร์ทส�ำโรงทำบ ห้วยแสงจันทร์รีสอร์ท เที่ ย วสุ ริ น ทร์ ค รบทุ ก รสชำติ ต้ อ งแวะพั ก รี ส อร์ ท ส� ำ โรงทำบ ห้วยแสงจันทร์รีสอร์ท HUAI SAENG CHAN RESORT รีสอร์ทริมน�้ำ งำมทุกโมงยำมแต่เช้ำจนข้ำมวัน ห้วยแสงจันทร์รสี อร์ท ยินดีตอ้ นรับนักท่องเทีย่ วและนักเดินทำงทุกท่ำน ทุกจุดเริ่มต้นกำรเดินทำงท่องเที่ยวผจญภัยส�ำหรับนักท่องเที่ยวที่ ต้องกำรหำประสบกำรณ์แปลกใหม่ และพร้อมต้อนรับหลังกำรเดินทำง อันเหน็ดเหนื่อยเพื่อเตรียมตัวกลับบ้ำนอย่ำงอบอุ่นใจ ห้วยแสงจันทร์รีสอร์ท HUAI SAENG CHAN RESORT 208
ให้บริกำรด้วยใจ เป็นกันเอง ห้องพักมีสงิ่ อ�ำนวยควำมสะดวกครบครัน ห้องพักกว้ำง สะอำด ปลอดภัย ท่ำมกลำงธรรมชำติและสัม ผัส ล�ำห้วยน�ำ้ ใส รำคำประหยัด เครือ่ งอ�ำนวยควำมสะดวกครบครัน เช่น เครื่องปรับอำกำศ เครื่องท�ำน�้ำอุ่น ทีวี ตู้เย็น WiFi Free “ห้วยแสงจันทร์ยอดสงบ ได้มำครบน�้ำ ไฟ ทั้งไออุ่น ห้องกว้ำงขวำงสดใสละไมละมุน กำแฟกรุ่นกลิ่นดี ศรีส�ำโรง ให้กิจกำรที่ด�ำเนินเจริญรุด ก้ำวหน้ำสุด เรืองรุ่งฟุ้งโขมง ขยำยโครงสร้ำงเพิม่ เติมเรือนโรง กระเดือ่ งโด่ง ห้วยแสงจันทร์แจ้งจริง”
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
.indd 208
6/7/2018 5:52:24 PM
วิทวัส แสงจันดา ผู้จัดการ ตั้งอยู่ เลขที่ 436 หมู่ 10 ถ.สุรินทร์-ศรีสะเกษ ต.ส�ำโรงทำบ อ.ส�ำโรงทำบ จ.สุรินทร์ 32170 โทรศัพท์ : 044 569 375, 083-3711987
เปิดต้อนรับตลอด 24 ชั่วโมง อิ่มใจ อิ่มบรรยำกำศ ท่ำมกลำงธรรมชำติบริสุทธิ์ กับ ห้องพักที่สะอำด รำคำเป็นกันเอง
รีสอร์ทส�ำโรงทำบห้วยแสงจันทร์รีสอร์ท
SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 209
209
6/7/2018 5:52:50 PM
JK POOL VILLA RESORT เจ เค พลู วิลล่า รีสอร์ท
รีสอร์ทใจกลางธรรมชาติ ที่เดียวในสุรินทร์
JK Pool Villa Resort รีสอร์ทสร้างใหม่ ทันสมัย ในรูปแบบโมเดิร์น ท่ามกลางธรรมชาติ และ สระว่ายน�้าใจกลางที่พัก สะอาด ปลอดภัย บรรยากาศดี ครบเครื่องอ�านวยความสะดวกล�้ายุค มีเครื่องปรับอากาศ ตู้เย็น LED TV พร้อม เครื่องต้มน�้าร้อน กาแฟ ครบครัน สระว่ายน�้า ยังสามารถเล่นน�้าได้ตลอดทั้งวันเหมือนพักผ่อนที่บ้านตัวเอง เมื่อท่านมาพักกับเราที่นี่ ท่านยังจะได้พบกับ Jk cafe & Restaurant ร้านอาหารอร่อยๆ และ เบียร์สดน�าเข้า รีสอร์ท ใจกลางธรรมชาติ ที่เดียวในสุรินทร์ พร้อมต้อนรับทุกการเดินทาง รับเช่า สถานที่จัดงานเลี้ยง งานมงคลวิวาทุกรูปแบบด้วยมิตรภาพ 210
.indd 210
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
6/6/2018 1:08:37 AM
JK POOL VILLA RESORT เจ เค พลู วิลล่า รีสอร์ท อ�ำเภอส�ำโรงทำบ เปิดบริกำร เต็มรูปแบบแล้ว วันนี้! ด้วยโปรโมชั่นสุดพิเศษ เครื่องอ�ำนวยควำม สะดวกครบครัน อยูใ่ กล้ปม้ั น�ำ้ มัน ตลำด และร้ำน อำหำรมำกมำย ด้ ว ยห้ อ งพั ก งดงำมเย็ น กำย สบำยใจหลำกลำยรูปแบบ ด้วยบรรยำกำศโม เดิร์นสมัยใหม่กลำงธรรมชำติ
88 หมู่1 ถนน226สุรินทร์-ศรีสะเกษ ต�ำบลส�ำโรงทำบ อ�ำเภอส�ำโรงทำบ จังหวัดสุรินทร์ 32170 ส�ำรองห้องพัก โทรศัพท์ 098-285-5969, 089-656-5444 044-558701 JK POOL VILLA Resort
SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 211
211
6/7/2018 5:54:07 PM
W O R K LI F E
บันทึกเส้นทางพบนายอ�าเภอ
บันทึกเส้นทางพบนายอ�าเภอโนนนารายณ์
นายเทิดพันธ์ ครอบทอง นายอ�าเภอโนนนารายณ์ จังหวัดสุรินทร์
“
ปราสาทขุมดินคู่เมือง ลือเลื่องซิ่นไหม บุญบั้งไฟประเพณี เกษตรอินทรีย์วิถีชน มิ่งมงคลเจ้าแม่โนนนารายณ์
”
ทีว่ า่ การอ�าเภอโนนนารายณ์ ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 88 หมูท่ ี่ 6 ต�ำบลหนองหลวง อ�ำเภอ โนนนำรำยณ์ จังหวัดสุรนิ ทร์ SBL บันทึกประเทศไทย ได้รบั กำรต้อนรับจำกท่าน เทิดพันธ์ ครอบทอง นำยอ�ำเภอโนนนำรำยณ์ จังหวัดสุรินทร์ อย่ำงเป็นกันเอง ท้องที่อ�ำเภอโนนนำรำยณ์เดิมเป็นส่วนหนึ่งของอ�ำเภอรัตนบุรี ทำงรำชกำรได้ แบ่งพื้นที่กำรปกครองออกมำตั้งเป็น กิ่งอ�ำเภอโนนนำรำยณ์ ตำมประกำศ กระทรวงมหำดไทยลงวันที่ 1 มิถุนำยน พ.ศ. 2540 โดยมีผลบังคับตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎำคม ปีเดียวกัน ต่อมำในวันที่ 24 สิงหำคม พ.ศ. 2550 ได้มพี ระรำชกฤษฎีกำ ยกฐำนะขึ้นเป็น อ�ำเภอโนนนำรำยณ์ โดยมีผลบังคับตั้งแต่วันที่ 8 กันยำยน ปีเดียวกัน อ�ำเภอโนนนำรำยณ์ตงั้ อยูท่ ำงทิศตะวันออกเฉียงเหนือของจังหวัด มีอำณำเขต ติดต่อกับเขตกำรปกครองข้ำงเคียง ดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับ อ�ำเภอรัตนบุรี ทิศตะวันออก ติดต่อกับอ�ำเภอเมืองจันทร์ (จังหวัดศรีสะเกษ) ทิศใต้ ติดต่อกับอ�ำเภอส�ำโรงทำบ ทิศตะวันตก ติดต่อกับอ�ำเภอสนมและ อ�ำเภอรัตนบุรี อ�ำเภอโนนนำรำยณ์ แบ่งเขตการปกครอง ย่อยออกเป็น 5 ต�ำบล 68 หมู่บ้ำน ได้แก่ 1. หนองหลวง 8 หมู่บ้ำน 2. ค�ำผง 12 หมู่บ้ำน 3. โนน 15 หมู่บ้ำน 4. ระเวียง 13 หมู่บ้ำน 5.หนองเทพ 20 หมู่บ้ำน และมีการปกครองส่วนท้องถิ่น 5 แห่ง ได้แก่ องค์การบริหารส่วนต�าบลหนองหลวง ครอบคลุมพื้นที่ต�ำบลหนองหลวงทั้งต�ำบล องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� า บลค� า ผง 212
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
.indd 212
6/6/2018 1:13:51 AM
ครอบคลุมพื้นที่ต�ำบลค�ำผงทั้งต�ำบล อ ง ค ์ ก า ร บ ริ ห า ร ส ่ ว น ต� า บ ล โ น น ครอบคลุมพื้นที่ต�ำบลโนนทั้งต�ำบล องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� า บลระเวี ย ง ครอบคลุมพื้นที่ต�ำบลระเวียงทั้งต�ำบล องค์การบริหารส่วนต�าบลหนองเทพ ครอบคลุมพื้นที่ต�ำบลหนองเทพทั้งต�ำบล สื บ สานประเพณีวิถีคนโนนนารายณ์ (บุญบั้งไฟ) ด้วยอ�ำเภอโนนนำรำยณ์ พร้อมด้วยส่วน รำชกำรทุกหน่วยงำน องค์กรปกครองส่วน ท้องถิน่ ทุกแห่ง ก�ำนัน ผูใ้ หญ่บำ้ น ภำคเอกชน และประชำชนชำวอ�ำเภอโนนนำรำยณ์ ได้ ก� ำ หนดจั ด งำนสื บ สำนประเพณี วิ ถี ค น โนนนำรำยณ์ (บุญบัง้ ไฟ) ประจ�ำปี 2561 ใน วันที่ 11 พฤษภำคม 2561 ทีผ่ ำ่ นมำ ณ สนำม หน้ำที่ว่ำกำรอ�ำเภอโนนนำรำยณ์ จังหวัด สุ ริ น ทร์ เพื่ อ น� ำ เสนอและประชำสั ม พั น ธ์ ของดีเมืองโนนนำรำยณ์ วัฒนธรรม ประเพณี ภูมปิ ญ ั ญำท้องถิน่ กำรจัดกิจกรรมกำรออกร้ำน ตำมแนวทำงปรัชญำชีวิตคนโนนนำรำยณ์ 8 ข้อ และกิจกรรมอันเป็นเอกลักษณ์ของ ชำวอ�ำเภอโนนนำรำยณ์ ซึง่ ได้รบั กำรตอบรับ จำกชำวโนนนำรำยณ์ และทุ ก อ� ำ เภอใน จังหวัดสุรินทร์เป็นอย่ำงมำก ในกำรนี้ท่ำน นำยอ�ำเภอได้ขอบพระคุณทุกท่ำนเป็นอย่ำง
สูงที่ท�ำให้โนนนำรำยณ์เป็นที่เชิดหน้ำชูตำ ด้วยงำนประเพณีบุญบั้งไฟภูมิปัญญำของ บรรพชนได้รับกำรสืบทอดมำจนถึงปัจจุบัน ประวัติและปฏิปทาท่านนายอ�าเภอ นำยเทิดพันธ์ ครอบทอง นำยอ�ำเภอโนน นำรำยณ์ อ�ำเภอโนนนำรำยณ์ จังหวัดสุรนิ ทร์ เกิดวันที่ 27 สิงหำคม 2510 ประวัตกิ ำร ศึกษำ พ.ศ. 2529 มัธยมศึกษำ โรงเรียน สุรวิทยำคำร จังหวัดสุรินทร์, พ.ศ. 2532 ปริญญำตรี มหำวิทยำลัยรำมค�ำแหง กรุงเทพฯ, พ.ศ.2538 ปริ ญ ญำโท สถำบั น บั ณ ฑิ ต พัฒนบริหำรศำสตร์ ประวัติการรับราชการ พ.ศ. 2539 ปลัดอ�ำเภอ (เจ้ำพนักงำนปกครอง) ทีท่ ำ� กำร ปกครองอ� ำ เภอกำบเชิ ง จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์ และที่ ท� ำ กำรปกครองอ� ำ เภอพนมดงรั ก จังหวัดสุรินทร์, พ.ศ. 2545 ปลัดอ�ำเภอ (เจ้ำพนักงำนปกครอง) ส�ำนักบริหำรกำร
ปกครองท้องที่ กรมกำรปกครอง, พ.ศ. 2548 ปลัดอ�ำเภอ (เจ้ำพนักงำนปกครอง) ทีท่ ำ� กำร ปกครองอ�ำเภอโพธิ์ทอง จังหวัดอ่ำงทอง, พ.ศ. 2558เจ้ำพนักงำนปกครอง ส�ำนักกำร สอบสวนและนิติกำร กรมกำรปกครอง และ พ.ศ.2560-ปัจจุบันนำยอ�ำเภอโนนนำรำยณ์ กรมกำรปกครอง ประวัติการฝึกอบรม พ.ศ. 2541 ปลัด อ�ำเภอรุ่นที่ 131 โรงเรียนปลัดอ�ำเภอ และ พ.ศ. 2552 นำยอ�ำเภอรุ่นที่ 70 วิทยำลัย กำรปกครอง SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 213
213
6/6/2018 1:15:21 AM
W O R K LI F E
บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�าบล
องค์การบริหารส่วนต�าบลหนองหลวง ล�้ำค่ำปรำสำทขอม “ขุมดิน” สวยล�้ำผ้ำไหม “มัดหมี่” ศำลเจ้ำแม่ฯ “คู่เมือง”
ถิ่นอำรยธรรมภำษำ “ส่วย” ประเพณีบุญบั้งไฟ “โบรำณ” ลือเลื่อง “ปุ๋ยอินทรีย์”
คือค�ำขวัญต�ำบลหนองหลวง ซึง่ อยูใ่ นความดูแลขององค์กำรบริหำรส่วนต�ำบล หนองหลวง เลขที่ 174 บ้านโนนสัน้ หมูท่ ี่ 6 ต�าบลหนองหลวง อ�าเภอโนนนารายณ์ จังหวัดสุรินทร์ โดยตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของจังหวัดสุรินทร์ เป็น ระยะทาง 85 กิโลเมตร ปัจจุบันมีนำยประวิทย์ จิตชื่น เป็น นำยกองค์กำรบริหำร ส่วนต�ำบลหนองหลวง และ นำยณรินทร์ บุญสรรค์ เป็น ปลัดองค์กำรบริหำร ส่วนต�ำบลหนองหลวง ข้อมูลทั่วไป องค์กำรบริหำรส่วนต�ำบลหนองหลวง มีเนือ้ ทีป่ ระมาณ 13,125 ไร่ หรือพืน้ ที่ ประมาณ 21 ตารางกิโลเมตร มีหมู่บ้านในเขตพื้นที่อบต.หนองหลวง ทั้งหมด 8 หมู่บ้าน ดังนี้ บ้านหนองแวง หมู่ที่ 1, บ้านหนองใหญ่ หมู่ที่ 2, บ้านหนองหลวง หมู่ที่ 3, บ้านขุมดิน หมู่ที่ 4, บ้านหนองพวง หมู่ที่ 5, บ้านโนนสั้น หมู่ที่ 6, บ้าน โนนสั้น หมู่ที่ 7, บ้านอีโกฏิ หมู่ที่ 8 มีจ�านวนประชากรประมาณ 5,805 คน ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทางด้านเกษตรกรรม คือ ท�านาข้าว ท�าไร่ ท�าสวน เลี้ยงสัตว์ ค้าขาย และรับจ้าง
นายประวิทย์ จิตชื่น
นายกองค์การบริหารส่วนต�าบลหนองหลวง
นายณรินทร์ บุญสรรค์
ปลัดองค์การบริหารส่วนต�าบลหนองหลวง
214
..
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
.indd 214
6/6/2018 1:23:01 AM
คณะผู้บริหาร นายประวิ ท ย์ จิ ต ชื่ น นายกองค์ ก าร บริหารส่วนต�าบลหนองหลวง นายอ�านวย จ�าปาหอม รองนายกองค์การ บริหารส่วนต�าบลหนองหลวง นายบุ ญ เจริ ญ พั น บุ ด ดี รองนายก องค์การบริหารส่วนต�าบลหนองหลวง นายวิชา นุชนาจารย์ เลขานุการนายก องค์การบริหารส่วนต�าบลหนองหลวง วิสัยทัศน์ (Vision) “ต�าบลหนองหลวงน่าอยู่ เชิดชูคุณธรรม น�าพาคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจมั่นคง” จุดมุ่งหมายเพื่อการพัฒนา (Goal) 1. ภูมิทัศน์สวยงาม โครงสร้างพื้นฐาน ทางน�า้ และทางบก สะดวกรวดเร็วทรัพยากร ธรรมชาติอุดมสมบูรณ์ 2. การบริหารราชการและการจัดการ โดยยึ ด หลั ก นิ ติ ธ รรม คุ ณ ธรรม โปร่ ง ใส ตรวจสอบได้ 3. ประชาชนมีอาชีพ มีรายได้ ได้รับ การศึกษา สุขภาพร่างกายแข็งแรง 4. สืบสานประเพณี วัฒนธรรม อนุรักษ์ ภูมิปัญญาท้องถิ่น 5. การเกษตรกรรมมีศกั ยภาพ ผลิตภัณฑ์ สินค้าการเกษตรได้มาตรฐาน สถานที่ส�าคัญของต�าบลหนองหลวง ปราสาทขุ ม ดิ น ตั้ ง อยู ่ ใ นบริ เ วณวั ด ปราสาทขุมดิน บ้านขุมดิน หมู่ที่ 4 ต�าบล หนองหลวง อ�าเภอโนนนารายณ์ จังหวัด สุรนิ ทร์ บนเนือ้ ทีป่ ระมาณ 2 งาน ขึน้ ทะเบียน และประกาศในราชกิจ จานุเ บกษา เล่มที่ 118 ตอนที่ 33ง เมือ่ วันที่ 9 เมษายน 2434
“ประสาทขุมดิน เป็นศาสนาประเภทปรางค์, วิ ห าร, สระน�้ า และคู น�้ า คั น ดิ น โบราณ เป็ น ศาสนาสถานที่ ใ ช้ ป ระกอบพิ ธี ก รรม ทางศาสนา ลักษณะรูปแบบทางสถาปัตยกรรม เป็นกลุม่ อาคารปรางค์ประธาน วิหารตกแต่ง ด้ ว ยชิ้ น ส่ ว นสถาปั ต ยกรรมหิ น ทราย เป็นศิลปะเขมรสมัยบาปวน อายุราวพุทธ ศตวรรษที่ 16 - 17 (พ.ศ.2560 - 1630)”
ปั จ จุ บั น วั ด ปราสาทขุ ม ดิ น ได้ รั บ การ พั ฒ นาให้ มี ค วามเจริ ญ ก้ า วหน้ า อย่ า งยิ่ ง และในวันวิสาขบูชา ขึ้น 15 ค�่า เดือน 6 ของทุกๆ ปี ประชาชนจะมาร่วมกันท�าบุญ ตักบาตร เป็นประเพณีประจ�าปี เรียกว่า “งานตักบาตรพระธาตุ” ศาลเจ้าแม่โนนนารายณ์ เป็นที่เคารพ สั ก การะของชาวต� า บลหนองหลวง และ ประชาชนชาวอ�าเภอโนนนารายณ์ และมี ประเพณี ร� า ถวายและบรวงสรวงเจ้ า แม่ ในเดือน 6 ของทุกปี
SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
..
.indd 215
215
6/7/2018 5:56:53 PM
W O R K LI F E
บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�าบล
องค์การบริหารส่วนต�าบลโนน อ�าเภอโนนนารายณ์
นายเกียรติธวัช มีสิทธิ์ ปลัด อบต.ปฏิบัติหน้าที่ นายกอบต.โนน
“ต�าบลโนนน่าอยู่ ผู้คนน่ารัก พร้อมรัก สามัคคี พัฒนาการศึกษาดี ประชาชนมี อาชีพ ร่วมสืบสานวัฒนธรรมไทย” องค์การบริหารส่วนต�าบลโนน ตั้งอยู่ในเขตการปกครองของ อ�าเภอโนนนารายณ์ จังหวัดสุรนิ ทร์ โดยมีทที่ า� การองค์การบริหาร ส่ ว นต� า บลตั้ ง อยู ่ ที่ บ้ า นหนองบั ว งาม หมู ่ ที่ 2 ต� า บลโนน อ�าเภอโนนนารายณ์ จังหวัดสุรินทร์ ซึ่งมีระยะห่างจากอ�าเภอ โนนนารายณ์ ประมาณ 12 กิโลเมตร มีอาณาเขตดังนี:้ ทิศเหนือ ติดต่อกับ ต�าบลระเวียง ทิศใต้ ติดต่อ กับ ต�าบลหนองเทพ ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ต�าบลหนองหลวง และ ทิศตะวันตก ติดต่อกับ ต�าบลแคน อ�าเภอสนม ต�าบลโนน ได้ประกาศจัดตัง้ เป็นองค์การบริหารส่วนต�าบลโนน โดยประกาศกระทรวงมหาดไทย ตามมาตรา 40 และมาตรา 41 แห่งพระราชบัญญัตสิ ภาต�าบลและองค์การบริหารส่วนต�าบลโนน ได้ประกาศให้สภาองค์การบริหารส่วนต�าบลโนน จัดตั้งเป็น องค์การบริหารส่วนต�าบลโนน เมือ่ วันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2539 เดิมองค์การบริหารส่วนต�าบลโนน ตั้งอยู่ที่บ้านโนน หมู่ที่ 1 ต�าบลโนน และในปี พ.ศ. 2559 ได้ย้ายที่ท�าการองค์การบริหาร ส่วนต�าบลโนนไปตั้งอยู่ที่บ้านหนองบัวงาม หมู่ที่ 2 ต�าบลโนน อ�าเภอโนนนารายณ์ จังหวัดสุรนิ ทร์ ซึง่ มีระยะห่างจากอ�าเภอโนน นารายณ์ ประมาณ 12 กิโลเมตร และ องค์การบริหารส่วนต�าบล โนนมีพื้นที่บางส่วนอยู่ในเขตป่าสงวนแห่งชาติ คือ หมู่ที่ 4 บ้าน ผักไหม และหมูท่ ี่ 8 บ้านหนองไม้งาม ป่าสาธารณะ หมูท่ ี่ 1 บ้าน โนน และหมู่ที่ 3 บ้านขาม ปัจจุบัน มีเนื้อที่ทั้งหมดประมาณ 34 ตารางกิโลเมตร ประมาณ 19,375 ไร่ เขตการปกครอง จ�านวน 15 หมูบ่ า้ น มีจา� นวนประชากรโดย ประมาณ 5,961 คน ชาย จ�านวน 3,001 คน หญิง จ�านวน 2,960 คน ในเขตองค์การบริหารส่วนต�าบลโนนมี ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก 4 แห่ง, โรงเรียนระดับประถมศึกษา 3 แห่ง, โรงเรียนระดับประถม 216
.
.indd 216
SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN
6/6/2018 1:31:10 AM
ศึกษา - ม.3 (ขยายโอกาส) 2 แห่ง และ ที่อ่านหนังสือประจ�าหมู่บ้าน 4 แห่ง และ มีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�าบลโนน 1 แห่ง ตั้งอยู่ที่หมู่ที่ 14 ภาษา คือ เครื่องที่แสดงถึงความเป็นอัตลักษณ์ของกลุ่มชนที่ช่วยสืบทอด วัฒนธรรมจากรุ่นสู่รุ่นและช่วยบอกเล่าเรื่องราวความเป็นไปเป็นมาของชุมชน ซึ่ง ภาษาที่ใช้พูดกันในพื้นที่ คือ ภาษาไทยอีสาน ภาษาไทยภาคกลาง ภาษาส่วยและ ภาษาเขมร ผลิตภัณฑ์ - ผลิตภัณฑ์จักสานสุ่มไก่ - ผลิตภัณฑ์เปลญวณ และพรมเช็ดเท้า - ผลิตภัณฑ์ทอผ้าไหม ศูนย์เรียนรูห้ มูบ่ า้ นเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ตั้งอยู่บ้านโบก หมู่ที่ ๑๓ ต�าบลโนน อ�าเภอโนนนารายณ์ จังหวัดสุรินทร์ ได้รับ การคัดเลือกเป็นหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ประจ�าปี พ.ศ. ๒๕๕๘ โดย ชุมชนได้น้อมน�าหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙ มาปรับใช้ในการด�าเนินชีวติ ท�าให้ชมุ ชนสามารถยกระดับคุณภาพชีวติ เป็นชุมชนเข้มแข็ง สามารถพึ่งพาตนเองได้
SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
.
.indd 217
217
6/7/2018 5:59:23 PM
BEST IN TRAVEL 2017
ที่ สุ ด แห่ ง การบั น ทึ ก
ความทรงจ�า www.sbl.co.th
SBL บั นทึ กประเทศไทย น�ำเสนอเรื่องรำวของจังหวัดต่ำงๆ ทั่วประเทศไทย อย่ำงเจำะลึกและครอบคลุ ม ทุ ก มิ ติ อำทิ มิ ติ ด ้ ำ น กำรพั ฒ นำคุ ณ ภำพชี วิ ต และควำมเป็ น อยู ่ จำกหน่ ว ยงำนรำชกำรส� ำ คั ญ ในจั ง หวั ด มิ ติ ด ้ ำ นกำรท่ อ งเที่ ย วที่ ส ดใหม่ ทั น สมั ย ทั้ งสถำนที่เ ที่ ยว ที่พัก ร้ำนอำหำร ร้ำนกำแฟ แหล่งช็อปปิ้งใหม่ๆ ฯลฯ มิติด้ำนอุตสำหกรรม-กำรค้ ำ กำรลงทุ น ที่ เ ป็ น ตั วขั บ เคลื่ อนเศรษฐกิจ ตลอดจนมิติด้ำนกำรศึกษำ ศำสนำ วัฒ นธรรม และวิถีชีวิต ที่มีจุดเด่นและมีเอกลั ก ษณ์ น ่ ำ สนใจ
_
.indd 218
6/6/2561 11:07:26
B E S T IN T R AV E L
2017
TOP 10 PHOTOGRAPHS
OF THE YE AR
หนึ่งความทรงจ�าของการเดินทางในปี 2560 พระอาทิตย์ตกยามเย็น ณ เนินนางพญา เป็นถนนเลียบ ทะเลเมื อ งจั น ทบุ รี ที่ ย าวที่ สุ ด ในประเทศไทย ตั้ ง แต่ ช ายทะเล ด้านเหนือสุดไปยังชายทะเลด้านใต้สุด ของจังหวัดจันทบุรี และ เป็นจุดชมวิวสวยที่สุดในภาคตะวันออก
BEST
_
.indd 219
IN
TRAVEL
2017 6/6/2561 11:07:37
ลํ�าสมัยไม่ตกเทรน คุณภาพคับเล่ม
WWW.SBL.CO.TH
www.ookbee.com/Magazine/SBLMAGAZINE www.issuu.com/sblmagazine SBL บันทึกประเทศไทย
Ad-SBL Magazine Computer.indd 220
06/06/61 06:15:42 PM