72 ลำพูน

Page 1

ฉบับที่ 72 จังหวัดล�ำพูน พ.ศ. 2561 Magazine

โบราณสถาน 1,300 ปี

ถิ่นก�ำเนิดพระนางจามเทวี

EXCLUSIVE

นายอรรษิ ษ ฐ์ สั ม พั นธรัตน์ ผู้ว่าราชการจังหวัดล�ำพูน ผู้ว่าฯ ไฟแรง ที่อายุน้อย ที่สุดในเมืองไทย

SPECIAL INTERVIEW นายส�ำเริง ไชยเสน นายวรยุ ท ธ เนาวรั ตน์

รองผู้ว่าราชการจังหวัดล�ำพูน ผู้ขับเคลื่อนการพัฒนา

เมืองแห่งความสุข บนความพอเพียง

Vol.9 Issue 72/2018

www.sbl.co.th

LAMPHUN มณฑปกลางน�้ำสมบูรณ์ที่สุดในเอเชียอาคเนย์ ณ วัดเกาะกลาง อ.ป่าซาง


.indd 2

28/6/2561 17:00:23


ที่พักสบาย สไตล์ลอฟท์ เท่ เก๋ไก๋

ใจกลางเมืองล�ำพูน

THAI THANI Loft & Life Lamphun ไทธานี ลอฟท์ แอนด์ ไลฟ์ ล�ำพูน

ไทธานี ลอฟท์ แอนด์ ไลฟ์ ล�ำพูน ที่พักใหม่ที่มาพร้อม สไตล์การตกแต่งแบบเท่ ๆ เก๋ไก๋ ในรูปแบบ Loft ที่โดดเด่นรับ กับสภาพแวดล้อมโดยรอบได้อย่างลงตัว ท่ามกลางบรรยากาศ ภายในอันเงียบสงบเป็นส่วนตัว สะดวกสบายในการเดินทาง เพราะตั้งอยู่ในตัวเมืองล�ำพูน ใกล้ แ หล่ ง ท่ อ งเที่ ยวส� ำ คั ญ ๆ ที่ ส� ำ คั ญ อยู ่ ห ่ า งจากจั ง หวั ด เชียงใหม่เพียงแค่ 28 กิโลเมตร พร้อมให้ข้อมูลการท่องเที่ยว เพียบพร้อมด้วยสิง่ อ�ำนวยความสะดวก อาทิ ทีวจี อแบน ฟรี Wi-Fi ที่จอดรถกว้างขวาง มั่นใจในระบบรักษาความปลอดภัย ตลอด 24 ชั่วโมง และแผนกต้อนรับให้บริการถึงเที่ยงคืน

ติดต่อส�ำรองห้องพักได้ที่ ไทธานี ลอฟท์ แอนด์ ไลฟ์ ล�ำพูน 182/103-104 หมู่บ้านเฟื่องฟ้าธานี หมู่ 4 ซอย 1 ป่าสัก อ.เมืองล�ำพูน จ.ล�ำพูน 51000 โทร 053-584879, 061-6393282 www.booking.com


เวียงศิริ ล�ำพู น รีสอร์ท Wiangsiri Lamphun Resort

ที่พักในฝันของทุกคน

เวียงศิริ ล�ำพูน รีสอร์ท ทีพ่ กั คุณภาพใจกลางย่านธุรกิจ และสถานทีท่ อ่ งเทีย่ ว ทีไ่ ด้รบั ความนิยมจากนักธุรกิจและ นักท่องเที่ยวทั้งไทยและเทศ ด้วยท�ำเลที่ตั้งของเวียงศิริ ล�ำพูน รีสอร์ท ที่อยู่ในย่าน กิจกรรมทางศาสนา, การเที่ยวชมทิวทัศน์, กิจกรรมทาง วัฒนธรรมของล�ำพูน คุณจึงสามารถเดินทางไปยังทุกจุด หมาย และทุกสถานที่ที่ต้องไปชมในเมืองอันมีชีวิตชีวานี้ ได้อย่างง่ายดาย

ห้องพักของ เวียงศิริ ล�ำพูน รีสอร์ท ได้รบั การออกแบบ ตกแต่งอย่างพิถีพิถัน เพื่อมอบความพึงพอใจในระดับ สู ง สุ ด พร้ อ มด้ ว ยสิ่ ง อ� ำ นวยความสะดวกระดั บ ท็ อ ป ทีเ่ ลือกสรรมาแล้ว อาทิ ตูเ้ ซฟในห้องพัก, ตูเ้ ย็น, ทีว,ี ห้อง ปลอดบุหรี่, มินิบาร์ในห้องพัก เพลิดเพลินกับสิง่ นันทนาการในเวียงศิริ ล�ำพูน รีสอร์ท ที่ได้รับการออกแบบเพื่อให้คุณได้พักผ่อน และหลีกหนี จากความวุน่ วาย ไม่วา่ จะเป็นสวนทีร่ ม่ รืน่ ด้วยแมกไม้เขียว ขจี ร้านอาหาร ร้านค้า บริการซักรีด หรือบริการนวดเพื่อ การผ่อนคลาย


เวียงศิริ ลำ�พูน รีสอร์ท จุดหมายที่ครบครัน ที่พักในฝันของทุกคน

ห้องแกรนด์ ห้องประชุมขนาดใหญ่สามารถรองรับได้ 300-500 ท่านพร้อมอุปกรณ์ครบครันทันสมัย ห้องไอยเรศ ห้องประชุมใหญ่สามารถรองรับได้ 120-150 ท่านพร้อมอุปกรณ์ครบครันทันสมัย ห้องเอื้องผึ้ง สามารถจัดได้หลากหลายฟังค์ชั่น ทั้งห้อง จัดเลี้ยงจัดประชุมสัมมนา ซึ่งสามารถรองรับได้ 40-60 ท่าน ห้องจามจุรี ห้องอาหารบรรยากาศสบายๆ สไตล์ล้านนาพร้อมดนตรีขับกล่อมไพเราะ

ส�ำรองที่พักติดต่อ เวียงศิริ ล�ำพูน รีสอร์ท เลขที่ 126/42 ม.15 ต.ป่าสัก ต. อ.เมือง จ.ล�ำพูน 51000 โทร : 053-597187 Line : wiangsiri01 E-mail : baanwiangsiri@gmail.com


EASY HOTEL

LAMPHUN

อีซี่โฮเทล

ลำ�พูน

เสน่หข์ องความเรียบง่าย ที่คุณสัมผัสได้ Easy Hotel Lamphun โรงแรมแห่งใหม่ ของจั ง หวั ด ล� ำ พู น ที่ ถู ก สร้ า งขึ้ น อย่ า งเรี ย บง่ า ย แต่มีเอกลักษณ์อย่างที่ไม่เคยมีมาก่อนในจังหวัด ล�ำพูน ภายใต้แนวคิด “ ท�ำทุกอย่างให้ง่าย ”

ล�ำพูน...จังหวัดเล็ก ๆ ทีอ่ บอวลไปด้วยบรรยากาศและ กลิน่ อายแห่งประวัตศิ าสตร์ ด้วยว่าล�ำพูนนัน้ มีอายุเก่าแก่ ทีส่ ดุ ในภาคเหนือตอนบน จึงมีขนบธรรมเนียม วัฒนธรรม และประเพณีทสี่ บื ทอดมาจากบรรพบุรษุ ท�ำให้การด�ำเนิน ชีวิตของผู้คนยังเป็นไปอย่างเรียบง่าย ท่ามกลางกระแส กาลเวลาที่ผันเปลี่ยน จากจังหวัดเล็ก ๆ ที่เป็นเพียง ทางผ่านให้คนผ่านมาแล้วจากไป จังหวัดล�ำพูนหวังจะ เปิดบ้านรับผู้มาเยือน แสดงตัวตนให้เป็นที่รู้จักมากขึ้น ประวัติศาสตร์ถูกหยิบมาเล่าใหม่ เทศกาล-งานประเพณี ต่าง ๆ ถูกจัดเพื่อประดับประดาสร้างสีสันดึงดูดผู้คนให้ มาเยือน เมื่อผู้คนหลั่งไหลมามากขึ้น Easy Hotel Lamphun จึ ง ถื อ ก� ำ เนิ ด จากความคิ ด ที่ ต ้ อ งการจะสร้ า งสถานที่ ต้อนรับผูม้ าเยือน ให้ได้รบั ความสะดวกสบายและประทับ ใจมากที่สุดห้องพักจึงได้รับการออกแบบให้มีเอกลักษณ์ เรี ย บง่ า ยแต่ เ หมาะกั บ ยุ ค สมั ย สะอาด ปลอดโปร่ ง สบายตา ครบครันด้วยสิ่งอ�ำนวยความสะดวกภายใน ห้องพัก อาทิ เครือ่ งปรับอากาศ ตูเ้ ย็น ทีวจี อแบน พร้อม ช่องเคเบิล Free WiFi พร้อมด้วยที่จอดรถกว่า 50 คัน เดินทางเข้าออกสะดวกสบาย เพราะตัง้ อยูบ่ นถนนล�ำพูนดอยติ (ขาออกจากเมืองล�ำพูน)


สำ�รองห้องพักติดต่อ

อีซโี่ ฮเทล 1 I EASY HOTEL 1 2/7 หมู่ 3 ถนนล�ำพูน-ดอยติ ต�ำบลเวียงยอง อ�ำเภอเมือง จังหวัดล�ำพูน 51000 Tel : 053-511-558 Line id : easyhotel

หาที่พักในจังหวัดลำ�พูน นึกถึง

EASY HOTEL

LAMPHUN

สำ�รองห้องพักติดต่อ อีซี่โฮเทล 2 I EASY HOTEL 2 213 ม.5 ถ.ล�ำพูน-ดอยติ ต.เวียงยอง อ.เมือง จ.ล�ำพูน 51000 Tel : 053-093388-89 Line id : easyhotel2


บ้านไพลิน รีสอร์ท Baan Pailyn Resort

ส�ำรองห้องพักติดต่อ บ้านไพลิน รีสอร์ท 141/1 หมู่ 4 ต.ลี้ อ.ลี้ จ.ล�ำพูน 51110 โทร : 085 219 7775 เว็บไซต์ : baanpailynresort.com

บ้านไพลิน รีสอร์ท เป็นโรงแรมทีเ่ หมาะส�ำหรับการพักผ่อนร่างกายและผ่อนคลาย จิตใจ ด้วยบรรยากาศภายในโรงแรมอันสงบเงียบ ไม่วุ่นวายอึกทึกครึกโครม โอบล้อม ไปด้วยแนวเทือกเขาและต้นไม้เขียวขจี สามารถมองเห็นผืนทุ่งนาได้กว้างไกลสุดลูกหู ลูกตา อีกทั้งลูกค้าที่มาพักผ่อนจะได้รับมิตรภาพและความใส่ใจในบริการที่ดี จึงสัมผัส ได้ถึงความอบอุ่นราวกับพักผ่อนอยู่ในบ้านกับครอบครัวของคุณเอง

ส� ำ หรั บ ท่ า นที่ ชื่ น ชอบในการท่ อ งเที่ ยวเชิ ง วั ฒ นธรรม สถานที่ แ นะน� ำ ในการท่ อ งเที่ ย ว ประกอบด้ ว ย วั ด พระบาทห้ ว ยต้ ม ห่ า งจาก โรงแรม 7 กิโลเมตร วัดผาหนาม 5 กิโลเมตร วัดบ้านปาง 30 กิโลเมตร (บ้านเกิดครูบาศรีวิชัย นักบุญแห่งล้านนา) ส�ำหรับผูท้ ชี่ นื่ ชอบในการท่อง เที่ยวเชิงธรรมชาติ ก็มีสถานที่แนะน�ำที่สามารถ เดินทางไปได้อย่างสะดวกเช่นกัน นั่นคือ อุทยาน แห่งชาติแม่ปงิ ซึง่ ห่างออกไปราว 40 กิโลเมตร มี ทัง้ น�ำ้ ตกทีง่ ดงามและธรรมชาติทยี่ งั อุดมสมบูรณ์ ให้ค้นหาและสัมผัส เพื่อสร้างประสบการณ์ที่น่า ประทับใจไม่รู้ลืม


Café De Lyn เพลิดเพลินไปกับเครื่องดื่มและอาหารรส เลิศจาก “คาเฟ่เดอลิน” ทีน่ ำ� มาสร้างสรรค์ และปรับปรุงจนเป็นสูตรที่เป็นเอกลักษณ์ ของทางคาเฟ่ Café De Lyn

ให้บริการเครื่องดื่มและอาหาร เปิดบริการ 8:00 – 18:00 น. Restaurant

Type of food: Fusion Food Open: 08.00 am. – 06.00 pm.


Editor’s Talk

ผู้บริหาร คณะที่ปรึกษา

ศ.ดร.กฤช เพิ่มทันจิตต์, พลเอกสรชัช วรปัญญา, ดร.นิเวศน์ กันไทยราษฎร์, ดร.ประยุทธ คงเฉลิมวัฒน์, ดร.ชาญ ธาระวาส, ดร.สุมิท แช่มประสิท, ดร.วัลลภ อารีรบ, ดร.พิชัย ทรัพย์เกิด, ดร.ไอศูรย์ ดีรัตน์, ดร.สุเทษณ์ จันทรุกขา, ดร.อรรถสิทธิ์ ตันติวิรัชกุล

บรรณาธิการอ�ำนวยการ ศุภกิจ ศิลปรังสรรค์

บรรณาธิการบริหาร อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์

บรรณาธิการงานบุคคล

พงษ์ศักดิ์ พรณัฐวุฒิกุล, วนัสกฤษณ์ ศิลปรังสรรค์

ฝ่ายกฎหมาย

สมคิด หวังเชิดชูวงศ์, ทวิช อมรนิมิตร

อ�ำเภอลี้

กองบรรณาธิการ ฝ่ายประสานงานโครงการภาครัฐและเอกชน

ฝ่ายศิลปกรรม

คณะทีมงาน ถาวร เวปุละ ธนิน ตั้งธ�ำรงจิต

กราฟิกดี ไซน์ พิมพ์พิสุทธิ์ พังจูนันท์ วรเชษฐ สมประสงค์ จักรพันธ์ สิงห์ดี

ผู้จัดการ ทวัชร์ ศรีธามาศ

ฝ่ายประสานงานข้อมูล ผู้จัดการ นันท์ธนาดา พลพวก

ประสานงาน ศุภญา บุญช่วยชีพ นงลักษณ์ เทียมเกตุทวีโชค นักเขียน ฐิติรัตน์ สุวรรณโรจน์

ฝ่ายประสานงานจังหวัด กชกร รัฐวร

ฝ่ายการตลาด

จันทิพย์ กันภัย Outsource ณพัชรกัณฑ์ รัชต์เลิศโภคิน

Editor’s Talk

.indd 10

ผู้จัดการ พัชรา ค�ำมี

ช่างภาพ ชัยวิชญ์ แสงใส ปณต ปิติจารุวิศาล กิติวัฒน์ ทิศมั่ง วิทยา ประเสริฐสังข์

อุโมงค์ขุนตาน

ตัดต่อวีดีโอ วัชรกรณ์ พรหมจรรย์

ฝ่ายบัญชี/การเงิน บัญชี ปัฐมาภรณ์ แสงบุราณ การเงิน กรรณิการ์ มั่นวงศ์ สุจิตรา แดนแก้วนิต ณภัทร ชื่นสกุล

แก่งก้อ @อุทยานแห่งชาติแม่ปิง

28/06/61 04:11:24 PM


ริมน้ำ�ปิง @เมืองกำ�แพงเพชร

จั ง หวั ด ล� ำ พู น หรื อ เมื อ งหริ ภุ ญ ชั ย มี ป ระวั ติ ความเป็นมาที่น่าสนใจยิ่ง เนื่องด้วยมีพระนางจามเทวี ปฐมกษั ต รี ย ์ ผู ้ ค รองเมื อ งหริ ภุ ญ ชั ย และมี ก ษั ต ริ ย ์ สืบราชวงศ์ต่อมาอีกหลายพระองค์ แม้ว่ากาลต่อมา เมืองหริภุญชัยจะถูกรวมเข้ากับอาณาจักรล้านนา ทว่า เมืองหริภญ ุ ชัยยังคงมีบทบาทส�ำคัญต่ออาณาจักรล้านนา โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี และภูมิปัญญาจากหลากหลายชาติพันธุ์ ท�ำให้ล�ำพูน ในปัจจุบนั เป็นจังหวัดทีม่ คี วามโดดเด่นไม่เป็นสองรองใคร อีกทั้งชาวล�ำพูนยังมีวิถีชีวิตที่เรียบง่าย สงบสุข ยึดมั่น ในขนบธรรมเนียม วัฒนธรรม และประเพณีที่อยู่พื้น ปฐมกษัตรีย์ แห่งเมืองหริภุญชัย ฐานของพุทธศาสนา โดยมีครูบาเจ้าศรีวิชัย และครูบา อีกหลายรูปซึ่งเป็น ที่เลื่อมใสศรัทธาของชาวล้านนา มาจนถึงทุกวันนี้

พระนาง จามเทวี

น�้ำตกก้อหลวง

บริษัท สมาร์ท บิซิเนส ไลน์ จ�ำกัด 9/4-6 ถนนรามอินทรา แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพฯ 10220 โทร. 0-2522-7171 แฟกซ์. 0-2971-7747 FACEBOOK : SBL บันทึกประเทศไทย EMAIL : sbl2553@gmail.com WEBSITE : www.sbl.co.th

ในนามของนิ ต ยสาร SBL บั น ทึ ก ประเทศไทย ขอกราบขอบพระคุณอย่างสูงในโอกาสที่ท่านอรรษิษฐ์ สัมพันธรัตน์ ผู้ว่าราชการจังหวัดล�ำพูน ซึ่งเปิดโอกาส ให้ทมี งานได้รว่ มเป็นส่วนหนึง่ ในการบอกเล่าเรือ่ งราวดีๆ ของจังหวัดล�ำพูน เพือ่ ให้สาธารณชนได้รบั ทราบ รวมถึง ขอขอบคุ ณ หน่ ว ยงานราชการต่ า งๆ ศาสนสถาน องค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น บริ ษั ท ห้ า งร้ า นต่ า งๆ ที่ร่วมสนับสนุนให้นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย ฉบับจังหวัดล�ำพูน ได้ปรากฏต่อสายตาทั้งในรูปของ นิตยสารทีส่ วยงาม และในสือ่ สังคมออนไลน์ตา่ งๆ ซึง่ ก�ำลัง ได้รบั ความนิยมอย่างท่วมท้นและทั่วถึงทุกกลุ่มเป้าหมาย

ติดต่อ คุณศุภกิจ ศิลปรังสรรค์

TEL : 081-442-4445, 084-874-3861 EMAIL : supakit.s@live.com

Editor’s Talk

.indd 11

(นายศุภกิจ ศิลปรังสรรค์) บรรณาธิการอ�ำนวยการ

28/06/61 01:41:49 PM


CONTENTS LAMPHUN 2018

18 วัดพระธาตุหริภุญชัย วรมหาวิหาร 24 ใต้ร่มพระบารมี 29 บันทึกเส้นทางพบผู้ว่าราชการจังหวัด นายอรรษิษฐ์ สัมพันธรัตน์ 46 บันทึกเส้นทางพบรองผู้ว่าราชการจังหวัด นายส�ำเริง ไชยเสน 50 บันทึกเส้นทางพบรองผู้ว่าราชการจังหวัด นายวรยุทธ เนาวรัตน์ 54 บันทึกเส้นทางพบ ผอ.พศจ. นายประพันธ์ ค�ำจ้อย 58 บันทึกเส้นทางพบท้องถิ่นจังหวัด นายชาติชาย โครงไพบูลย์ 62 บันทึกเส้นทางพบพัฒนาการจังหวัด นางณัฎฐิยาภรณ์ ศรีสุบรรณ์ 64 บันทึกความเป็นมา 68 บันทึกเส้นทางท่องเที่ยว 84 ทต.มะเขือแจ้ (อ.เมือง) 92 ทต.เวียงยอง 96 ทต.ต้นธง 100 มูลนิธิเจ้าพ่อกู่ช้าง 102 วัดพระยืน 104 วัดพระธาตุดอนแต 106 วิทยาลัยสงฆ์ล�ำพูน มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย 112 วัดป่าเห็ว 115 วัดบ้านปาง ( อ.ลี้ ) 116 อ�ำเภอลี้ 118 วัดพระพุทธบาทผาหนาม 120 วัดแม่ป๊อก 124 วัดห้วยบง

วัดพระธาตุหริภุญชัย วรมหาวิหาร

106

วิทยาลัยสงฆ์ล�ำพูน มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

วัดพระยืน

บันทึกเส้นทางท่องเที่ยว

68

18

102

บันทึกเส้นทางพบผู้ว่าราชการจังหวัด

นายอรรษิษฐ์ สัมพันธรัตน์

29


ลี้รีสอร์ท ชวนเที่ยว 3 ธรรม

ลี้รีสอร์ท

บริการห้องพัก สะอาด ปลอดภัย ขอเชิญคุณมาเยือน อ�ำเภอลี้...แหล่งรวมที่เที่ยว 3 ธรรม ได้แก่

ธรรมะ สักการะพระมหาเจดีย์ศรีเวียงชัย กราบสรีระครูบาชัย วงศาที่ไม่เน่าไม่เปื่อย ณ วิหารวัดพระพุทธบาทห้วยต้ม ขอพร พระบรมธาตุเจดีย์ดวงเดียว และพระธาตุห้าดวง

วัฒนธรรม ชมวิถีปกากญอหมู่บ้านห้วยต้ม ที่ถือศีลห้าไม่กิน

เนื้อสัตว์ตามรอยธรรมครูบาชัยวงศา และเลือกซื้อผลิตภัณฑ์จากผ้าทอ และเครื่องเงินฝีมือประณีต ณ ศูนย์วิจัยหัตถกรรมบ้านห้วยต้ม

ธรรมชาติ เที่ยวน�้ำตกก้อหลวงที่น�้ำใสจนเห็นปลาแหวกว่าย และแก่งก้อทะเลสาบสวยงาม ณ อุทยานแห่งชาติแม่ปิง

ลี้รีสอร์ท

ให้บริการที่พักราคาประหยัด เรามีให้ท่านเลือก หลายแบบ ไม่ว่าท่านจะมาเดี่ยวหรือกลุ่ม พร้อมบริการห้องสัมมนา และห้องจัดเลี้ยง พร้อมสิ่งอ�ำนวยความสะดวกครบครัน

ลี้รีสอร์ท

399 หมู่ 4 ต�ำบลลี้ อ�ำเภอลี้ จังหวัด ล�ำพูน 51110 โทร. 0857148467 / 053979292 Facebook : Li Resort Line ID : liresort

มาเที่ยวลี้ครั้งใด ต้องพักที่ “ลี้รีสอร์ท”


CONTENTS LAMPHUN 2018

132 ทต.ป่าไผ่ 134 ทต.วังดิน 137 วัดดอยก้อม (อ.บ้านโฮ่ง) 138 วัดหลวงศรีเตี้ย 140 วัดหนองผาขาว 142 ทต.ศรีเตี้ย 146 อบต.เหล่ายาว 148 บันทึกเส้นทางพบอ�ำเภอบ้านธิ 150 อบต.ห้วยยาบ 154 วัดกู่ป่าลาน 156 วัดป่าตาล 160 บันทึกเส้นทางพบอ�ำเภอแม่ทา 162 ทต.ทาขุมเงิน 164 ทต.ทากาศเหนือ 166 วัดเกาะกลาง (อ.ป่าซาง) 168 วัดพระพุทธบาทตากผ้า 170 พุทธสถานอุโบสถดอนตอง 174 วัดหนองเงือก 176 วัดบ้านเหล่าพระเจ้าตาเขียว 178 วัดช้างค�้ำ 180 วัดป่ารกฟ้า 183 ทต.แม่แรง 186 อบต.น�้ำดิบ 190 วัดหนองยวง (อ.เวียงหนองล่อง) 196 วัดร้องธารท่าลี่ 198 วัดบ้านดงหลวง 201 วัดราชธานี (สุโขทัย) 204 อบต.ตะเคียนปม 206 วัดพระธาตุดอยกวางค�ำ

วัดพระพุทธบาทตากผ้า

176

วัดบ้านเหล่าพระเจ้าตาเขียว

วัดพระธาตุดอยกวางค�ำ

206

168

วัดเกาะกลาง (อ.ป่าซาง)

166


ล�ำพูนค้าไม้ ศูนย์รวมไม้ครบวงจร ล�ำพูนค้าไม้ จ�ำหน่ายไม้แปรรูปทุกชนิด พร้อมให้บริการอย่างครบวงจรที่สุด โดยช่างผู้เชี่ยวชาญด้านประตูไม้จริง พร้อมบริการท�ำสี ติดตั้งครบวงจร และรับสั่งท�ำ ประตู หน้าต่าง วงกบ ตามแบบที่คุณพอใจ

นึกถึงงานไม้ครั้งใด ต้องไปที่

ล�ำพูนค้าไม้ สุพิชฌาย์ เรสซิเดนซ์ Suphitcha Residence สุพิชฌาย์ เรสซิเดนซ์ ที่พักเปิดใหม่ ใจกลางเมืองล�ำพูน สวย สะอาด สะดวก สงบ ประหยัด และปลอดภัย ด้วยความใส่ใจและ พิถพี ถิ นั ในการบริการ เพือ่ ให้คณ ุ มีความสุขกับการพักผ่อนอย่าง เต็มที่ พร้อมสิ่งอ�ำนวยความสะดวกครบครัน อาทิ เครื่องปรับ อากาศ TV จอแบน ตู้เย็น ซิงค์ล้างจาน ฟรี WiFi ที่นอน King size หนานุ่มไม่ปวดหลัง พร้อมผ้าม่านทึบแสง เพื่อให้คุณรู้สึก ผ่อนคลายหลับสบาย หมดกังวลเรื่องที่จอดรถและการเดินทาง เพราะอยู่ติดถนน ใหญ่ มีทจี่ อดรถกว้างขวางและปลอดภัย เพราะมีเจ้าหน้าที่ รปภ. และกล้อง CCTV ตลอด 24 ชั่วโมง

ส�ำรองห้องพักติดต่อ

สุพชิ ฌาย์ เรสซิเดนซ์ ล�ำพูน เลขที่ 291 ม.18 ถ.อ้อมเมือง อ.เมือง จ.ล�ำพูน 51000 มือถือ : 089-261-6843, 053-584-806

Facebook : สุพิชฌาย์ เรสซิเดนซ์ ล�ำพูน Line ID : suphitcha111

เลขที่ 111 ม.18 ต.ป่าสัก อ.เมือง จ.ล�ำพูน 51000 โทร : 080-678-9979, 053-584-649 Facebook: ล�ำพูนค้าไม้ (ศูนย์รวมไม้ครบวงจร)


วิวดอยรีสอร์ท ลำ�พูน... สะอาด สงบ สบาย ใกล้ชิดธรรมชาติ

วิวดอยรีสอร์ท ล�ำพูน ให้บริการห้องพักสะอาด กว้างขวาง ในบรรยากาศที่เป็นกันเอง ให้บริการทั้ง แบบรายวัน-รายเดือน พร้อมสิ่งอ�ำนวยความสะดวกครบครัน อาทิ ทีวี แอร์ ตู้เย็น เครื่องท�ำน�้ำอุ่น ฟรี อินเทอร์เน็ต Wi-Fi ที่จอดรถ กว้างขวาง ดูแลความปลอดภัยด้วยกล้อง CCTV เดินทางสะดวก เพราะตั้งติดถนนใหญ่ ใกล้กับ เครือสหพัฒน์ ล�ำพูน มาแอ่วล�ำพูนทัง้ ที ต้องพักที่ “วิวดอยรีสอร์ท ล�ำพูน” เจ้า ติดต่อส�ำรองห้องพักได้ที่ วิวดอยรีสอร์ท ล�ำพูน 88 หมู่ที่ 15 ต�ำบลป่าสัก อ�ำเภอเมืองล�ำพูน จังหวัดล�ำพูน 51000 โทร.053-584188, 088-1831888 www.facebook.com/viewdoiresortlamphun/


ด�ำรงแมชชีนทูลส์ ศูนย์รวมอุปกรณ์ช่าง ฮาร์ดแวร์ วัสดุก่อสร้าง

บริษัท ด�ำรงแมชชีนทูลส์ จ�ำกัด เราคือผู้จ�ำหน่าย อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ และวัสดุก่อสร้างที่ได้รับความไว้ วางใจจากชาวจังหวัดล�ำพูนมาอย่างยาวนาน ด้วย สินค้าที่มีให้บริการอย่างครบครัน อาทิ เครื่องมือช่าง เครื่องมือโรงงาน เหล็กรูปพรรณ เหล็กเส้น สแตนเลส ทองแดง ทองเหลือง ปั๊มน�้ำ อุปกรณ์ระบบน�้ำ-ระบบลม ดอกสว่าน ดอกต๊าป อุปกรณ์ ตัด ขัด เจาะ น๊อต-สกรูทุกชนิด

ติดต่อสอบถามเพิ่มเติมได้ที่

บริษัท ด�ำรงแมชชีนทูลส์ จ�ำกัด เลขที่ 125 ถนนเจริญราษฎร์ ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมืองล�ำพูน จังหวัดล�ำพูน 51000 โทร 053-511640, 053-534853-4, 089-7009135 Fax 053-534855


HI S TO R Y O F BU D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต

วัดพระธาตุหริภุญชัย วรมหาวิหาร วัดพระธาตุหริภุญชัย วรมหาวิหาร ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมืองล�ำพูน จังหวัดล�ำพูน เป็นพระอาราม หลวงชั้นเอก มีเนื้อที่ 28 ไร่ 3 งาน วัดนี้มีก�ำแพง 2 ชั้น คือรอบบริเวณวัดชั้นนอกชั้นหนึ่ง และก่อก�ำแพง ท�ำเป็นศาลาบาตรรอบองค์พระธาตุหริภุญชัยชั้นในอีกชั้นหนึ่ง 22 มหาสถานทีส่ ำ� คัญภายในวัดพระธาตุหริภญ ุ ชัย 22 Sacred Site at Wat Phrathat Hariphunchai, Mueang District, Lamphun Province วรมหาวิหาร เมือ่ เข้ามาในบริเวณหน้าวัดด้านนอกเบือ้ งหน้าซุม้ ประตู ท่านจะได้เห็น สิงห์ใหญ่คหู่ นึง่ อยูบ่ นแท่นประดิษฐานยืนเต็มเสมอกันทัง้ สีเ่ ท้า สิงห์ทงั้ คูน่ ี้ ประดับด้วยเครื่องทรงและลวดลาย ยืนเป็นสง่าอ้าปาก สิงห์คู่นี้เดิมเป็น ก�ำแพงวังชั้นนอกของพระเจ้าอาทิตยราชเมื่อถวายเป็นสังฆารามแล้ว ได้ รื้อซุ้มชั้นนอกปั้นสิงห์คู่ประดิษฐานไว้แทน เพื่อให้เหมาะสมกับความเป็น พระอารามหลวง ก่อนที่ท่านจะผ่านซุ้มประตูเข้าไปในบริเวณของพระบรมธาตุ ขอให้ พิจารณาให้ถี่ถ้วนสักหน่อย ท่านจะได้เห็นว่าซุ้มประตูนี้เป็นฝีมือโบราณ สมั ย ศรี วิ ชั ย เพราะลวดลายทางศิ ล ปะแสดงว่ า เป็ น แบบสมั ย ศรี วิ ชั ย ประกอบทั้งซุ้มยอดเป็นชั้น ๆ ก็แสดงให้แลเห็นซุ้มประตูนี้เป็นศิลปะสมัย โบราณชั้นหนึ่งของวัด ไม่ควรที่ท่านจะผ่านเลยไปเสีย

18

SBL บันทึกประเทศไทย I LAMPHUN

Wat Phrathat Hariphunchai is a first-class royal temple located in the center of Lamphun Province, covering an area of 28 Rai or 40,000 square meters, At the arched entrance to the temple, standing four feet on a pedestal with their mouths open is a pair of impressive giant Singha (lion), The temple was formerly king Athitayaraj’s palace, After the palace became a temple as designated by the King, the wall was replaced by these sculptured lions created in the ancient Sriwichai architectural style.


1

พระวิหารหลวง เข้ า สู ่ ภ ายในบริ เ วณพระบรมธาตุ แ ล้ ว จะแลเห็นพระวิหารหลวงใหญ่ตั้งอยู่เบื้องหน้า ประจ� ำ ทิ ศ ตะวั น ออกของพระธาตุ ห ริ ภุ ญ ชั ย มีพระระเบียงรอบด้าน และมีมุขออกทั้งด้าน หน้ า และด้ า นหลั ง แต่ พ ระวิ ห ารหลั ง นี้ ไ ด้ สร้ า งขึ้ น ใหม่ แ ทนหลั ง เก่ า ที่ ถู ก พายุ พั ด ถล่ ม เมื่ อ ปี พ .ศ.2458 และเริ่ ม สร้ า งใหม่ เ มื่ อ ปี พศ.2460 ซึ่งคนเก่า ๆ มักเล่าว่าวิหารเดิม หลังเก่าสวยงามวิจิตรนัก แม้แต่ไม้ระแนงทุก อันก็ลงรักปิดทอง ครูบาศรีวิชัยเป็นผู้หนึ่งที่มา ร่วมบูรณะวิหารหลังใหม่นี้ และแล้วเสร็จในปี พ.ศ.2463 พระวิ ห ารหลวงนี้ เ ป็ น ที่ บ� ำ เพ็ ญ กุ ศ ลเป็ น ประจ�ำทุกวันพระ และเป็นที่ประกอบศาสนกิจ ทุกวันพระ เช่น การฟังธรรม การบวช และ อื่น ๆ ภายในพระวิหาร มีพระปฏิมาองค์ใหญ่ ประดิษฐานอยู่บนแท่นแก้ว รวม 3 องค์ ก่อ อิฐถือปูนและลงรักปิดทอง องค์ใหญ่กับองค์ เล็ ก ด้ า นเหนื อ ก่ อ ใหม่ พ ร้ อ มกั บ วิ ห ารหลั ง นี้ นอกจากนั้นยังมีพระพุทธปฏิมาหล่อด้วยโลหะ ขนาดกลาง สมัยชียงแสนชั้นต้นและชั้นกลาง ประดิษฐานอยู่อีกหลายองค์ มีพระเสตังคมณี ที่หล่อขึ้นมาใหม่แทนองค์เดิม ที่พญามังราย อัญเชิญไว้ที่วัดเชียงมั่น จ.เชียงใหม่ มีพระรอด ทองค�ำแท้ พระพุทธเจ้าน้อย ซึง่ เป็นสิง่ ทีม่ าเพิม่ เติมในภายหลัง วิหารหลังนีเ้ ปิดให้นกั ท่องเทีย่ ว สามารถเข้าไปกราบไหว้บูชาได้ The Grand Assembly Hall (Vihara Luang) Upon entering temple ground, there is the Grand Assembly Hall situated to the east of Phrathat Hariphunchai ( The pagoda containing Buddha’s relics ) The hall has a wrap-around corridor and a front and back balcony exit. The Grand Assembly Hall was renovated in 1917 as the old hall was destroyed by storm in 1915. The old halls as believed to be richly

ornate with gilded wood. Khruba Srivichai was one of the monks who played a role in reconstructing the Grand Hall and saw to its completion in 1920. The Grand Hall serves as a religious venue on Buddhist Lent for religious rites and activities such as sermon and ordaining. Inside the Hall are 3 gilded brick-mortar Buddha images on glass pedestal. The large and small ones in the north side were built at the same time as the Hall. In addition, there are many medium-sized metal Buddha images from early and middle Chiang Saen period. There is also a new Saetangkhamance Buddha image which was built as a replacement of the old one that King Mangrai had transferred to Chiang Man temple, There is also Phra Rod Buddha image which was made of pure gold. The latest additional Buddha image inside the Hall is Phra Buddhachao Noi.

Trippitaka Tower (Hor-Dhamma) To the south of the Grand Hall is the Trippitaka Tower. The Tower houses palmleaf manuscripts inscribed in local characters narrating stories such as Dhamma folk tales and the city history. Tripitaka Tower was and Sriwichai architectural styles, with wood cared in flower patterns. The lower door panels were laid in brick while the upper door panels were cared images of male deities. Door and window arched were created in Khmer style. The roof was covered with silver and tin tiles and the gable apex and bai Raka ( toothlike ridges on the sloping edges of a gable ) The upper part of the Tower houses a number of book cases. Underneath the Trippitaka Tower is a water well sculpted in the shape of crouching elephants.

3

2

หอพระไตรปิฎก (หอธรรม) ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของพระวิหารหลวง หอพระไตรปิฎก ( หอธรรม) เป็นทีบ่ รรจุหนังสือ ใบลานจารด้วยอักขระพื้นเมือง เป็นหนังสือที่ กล่าวด้วยเรือ่ งนิทานธรรม และประวัตขิ องบ้าน เมือง เป็นต้น ศิลปะแห่งการก่อสร้าง หอไตรนี้ เป็นฝีมือช่างโบราณทรงล้านนา มีลวดลายเป็น สมัยขอมปนสมัยศรีวิชัย ลวดลายตามเนื้อไม้ แกะเป็นลายดอกยก มีภาพเทพบุตรที่ใบประตู ชั้นบน ส่วนชั้นล่างก่ออิฐถือปูน ซุ้มหน้าต่าง ประตู ก ่ อ เป็ น ลวดลายขอม หลั ง คามุ ง ด้ ว ย กระเบือ้ งเงินและดีบกุ มีชอ่ ฟ้าและใบระกา และ ภายในหอซุ้มบนยังมีตู้หนังสือบรรจุอยู่หลาย ตู้ ใต้หอไตรปิฎกนี้ มีบ่อน�้ำปั้นรูปช้างหมอบไว้ ตามปรากฏในต�ำนาน

เขาสิเนรุ (ไหว้ก่อนบูชาองค์พระธาตุ) เบื้องหลังของหอไตรปิฎก เป็นเขาสิเนรุ เตีย้ เป็นหลัน่ ชัน้ บนยอดหุม้ ด้วยโลหะมีลวดลาย และปราสาทประดิษฐานอยู่ เบื้องบนก่อแท่น บูชาไว้ด้านทิศตะวันออก ชาวเมืองนิยมบูชา เขาสิเนรุนี้เพราะถือเป็นภูเขาที่เกี่ยวกับพระ ประวัตขิ องพระพุทธเจ้าตามคติความเชือ่ เหมือ นสัตตภัณฑ์ลา้ นนาส�ำหรับไหว้บชู าองค์พระธาตุ จากนั้นเดินไปประตูทางออกทิศตะวันตกแล้ว เลี้ยวขวาท่านก็จะพบ Sinaeru Mountain The Sinaeru Mountain is located at the back of Trippitaka tower. It was built with ascending layers of hills. At the top of the mountain is a structure decorated with metal. The altar is on the east side. Local people worship Sinaeru Mountain in the same way they worship “ Lanna Sartapan ” as it represents the mountain in Buddha’s life story.

LAMPHUN I SBL บันทึกประเทศไทย

19


4

มุมหรดี วิหารสะดือเมืองราหูทรงครุฑ คณะสะดือเมือง (เดิมเรียกวัดสะดือเมือง) เป็นที่พ�ำนักของท่านเจ้าอาวาสวัดรูปปัจจุบัน พระเทพรั ต นนายก มี ส� ำ นั ก งานเจ้ า คณะ จังหวัดล�ำพูน ทีห่ น้ากุฏทิ า่ นเจ้าอาวาสมีพระราหู มีพระราหูทรงครุฑไว้บูชา ซึ่งกลายเป็นที่นิยม ของคนรุ่นใหม่ที่มาสักการะเป็นจ�ำนวนมากทั่ว ประเทศ ตามค�ำบอกเล่าของหมอลักษณ์ฟันธง ถัดต่อไปเป็นวิหารเล็ก ๆ ทรงงดงาม ถือว่า สถานทีน่ เี้ ป็นกลางใจเมืองล�ำพูน เรียกว่า “ วิหาร สะดือเมือง” ท่านสามารถเข้าไปกราบไหว้บูชา ได้ มีความหมายเหมือนใจกลางเมืองหรือสะดือ เมือง ประดิษฐานพระพุทธรูปหล่อด้วยโลหะ สมัยเชียงแสน ขนาดกลาง 10 องค์ เลยไปด้าน หลังเป็นที่ตั้งโรงเรียนหอปริยัติธรรม ศรีจ�ำปา ใช้สอนบาลีและนักธรรม รวมทั้งวิชาสามัญแก่ พระภิกษุ สามเณรทัว่ ไป เมือ่ สักการะขอพรแล้ว ก็กลับมาทางเดิม เลี้ยวซ้ายขึ้นไปกราบพระบน วิหารพระพุทธ South-west Corner (Moom Horadee) City Navel Hall (Sadue Mueang Vihara ), Garuda-riding Rahu (Rahu Song Khurt) City Navel Hall (originally Called “ Sadue Mueang Temple ”) is the residence of the present abbot, Phra Raja Panya Molee. It is also the location of the Lamphun Province Abbot Office. In front of the abbot’s residence is an image of Garuda-riding Rahu which is a popular object of worship by people all over the country. There is also a small attractive temple called “ Sadue Mueang ” or “ center of the city ”, which contains ten medium-sized metal Buddha images from the Chiang Saen period. In the back is Hor Pariyat Sri Champa School where classes in Pali language and general subjects are taught to religious students and monks.

20

SBL บันทึกประเทศไทย I LAMPHUN

5

วิหารพระพุทธ ประจ�ำด้านทิศใต้ของพระธาตุภายใน ประดิษฐานพระพุทธรูปนั่งปางมารวิชัยก่ออิฐ ถื อ ปู น ขนาดใหญ่ ล งรั ก ปิ ด ทอง เรี ย กว่ า “พระพุทธ” ซึ่งหมายถึงตัวแทนพระพุทธเจ้า The Buddha Hall The Buddha Hall is located to the south of the Phra That Hariphunchai. Situated inside the hall is a large gilded, brick mortar Buddha image in subduing Mara ( evil) posture. This Buddha image is known as “Brah Buddha” as it represents the Lord Buddha.

6

วิหารพระบาทสี่รอย ตั้ ง อยู ่ ห ลั ง วิ ห ารพระพุ ท ธ สร้ า งใหม่ จ�ำลองพระพุทธบาทสี่รอย จากอ�ำเภอแม่ริมมา สร้างไว้เพื่อเป็นที่เคารพบูชาส�ำหรับที่ท่านไม่ได้ ไปบูชา ณ สถานที่จริง The Hall of Phrabat Si Roi ( Buddha’s footprints ) The Hall of Phrabat Si Roi is located at the back of the Buddha Hall. These Buddha’s footprints are modes of the real Buddha’s footprints at Mae Rim district.

7

พิพิธภัณฑ์วัดพระธาตุหริภุญชัย ตั้ ง เด่ น เป็ น สง่ า อยู ่ ท างทิ ศ ตะวั น ตก ของวัด เปิดบริการวันอังคารถึงอาทิตย์ หยุดทุก วันจันทร์ ตั้งแต่เวลา 9.00-16.30 น. ภายใน ประกอบด้วยพระพุทธรูปต่าง ๆ มากมาย มี พระเครือ่ งเมืองล�ำพูนของจริงทีห่ าดูได้ยากให้ได้ ชม และของโบราณหลากหลายชนิดทีช่ าวล�ำพูน น�ำมามอบให้เป็นจ�ำนวนมาก Wat Phrathat Hariphunchai Museum The museum is a building standing to the west of the temple. It is open to the public from 9.00am. to 4.30pm. 6 days a week (Tuesday to Sunday) The museum displays various Buddha image, rare genuine Lamphun amulets, and a large collection of antique objects donated by local people

8

วิหารพระเจ้าทันใจ ประจ�ำทิศตะวันตกเป็นที่ประดิษฐาน พระพุทธรูปปางลีลาสมัยเชียงแสนขนาดใหญ่ หล่อด้วยโลหะ เรียกว่า “พระเจ้าทันใจ” เชื่อกัน ว่าหากมีเรื่องด่วน เรื่องร้าย แล้วบูชาพระเจ้า ทันใจจะได้อะไรรวดเร็วดังใจหมาย The Hall of Phrachao Tanjai Situated on the west side is “ Phrachao Tanjai ” a large metal Buddha statue in walking posture from the Chiang Saen period. It is believed that Phrachao Tanjai grants instant wishes.


The Hall of Phra Sai Yas This is a small hall located to the north of Phra Lawo Hall. It housed one of the most ancient Buddha images of Lamphun, This is a reclining brick mortor, and gilded Buddha image, built before 1517.

9

วิหารพระเจ้าพันตน ตัง้ อยูห่ ลังวิหารพระละโว้ บรรจุพระพุทธ รูปต่าง ๆ มีจ�ำนวนมาก มีหลากหลายลักษณะ จึงเรียกว่า “ พระเจ้าพันตน ” เชื่อว่าบูชาพระ ที่วิหารนี้เท่ากับได้บูชาพระพุทธรูปพันกว่าตน The Hall of Phrachao Panton Located in the back of Phra Lawo Hall, is the hall of “ A Thousand Buddha Images ” so called because it house many Buddha images in different styles. It is believed that worshipping the Buddha images in this hall is equivalent to worshipping a thousand of Buddha images at one time.

10

วิหารพระกลักเกลือ หรือพระเจ้าแดง ตั้ ง อยู ่ ด ้ า นเหนื อ ของวิ ห ารพระทั น ใจ ประดิษฐานพระพุทธรูปนั่งปางมารวิชัยก่ออิฐ ถือปูนขนาดใหญ่ ทาด้วยสีแดง เป็นสถานทีเ่ มือ่ พระพุทธเจ้าเสด็จมาทีน่ ี่ เมือ่ ฉันหมากสมอและ ทิ้งบ่อเกลือไว้ ที่นี่จึงสร้างพระพุทธรูปขึ้น เรียก ว่า “ พระเจ้ากลักเกลือ ” คนทั่วไปเรียกว่า “ พระเจ้าแดง ” The Hall of Phra Glak Gluea or Prachao Dang Dang popularly known as the red Buddha as it is made of brick and mortar in subduing Mara (evil) posture, It is believed this place was once visited by Buddha as can be seen from the remains of the betel nut (Mark Sa-moh) and salt ( Gluea ) he had chewed. Therefore the Buddha image called “ Glak Gluae ” was built on this site.

11

เจดีย์ปทุมวดี เมื่อท่านได้ชมวิหารแล้ว ขอให้ท่านม องไปทางเบือ้ งทิศเหนือของพระธาตุ ท่านจะได้ เห็นเจดีย์ปทุมวดี ซึ่งสร้างโดยพระนางปทุมวดี อัครมเหสีของพระเจ้าอาทิตยราช ภายหลังสร้าง พระธาตุหริภญ ุ ชัยแล้วเสร็จได้ 4 ปี เจดียป์ ทุมวดี องค์นเี้ ป็นรูปแบบพระปรางค์ 4 เหลีย่ ม ฝีมอื ช่าง ขอม แม้พระพุทธรูปประตูซมุ้ เบือ้ งบนทีย่ งั เหลือ เห็นอยูบ่ า้ ง ก็เป็นแบบสมัยขอมชัดเจน ยอดพระ เจดีย์มีทองเหลืองหุ้มอยู่มีความเก่าแก่คร�่ำคร่า มาก ภายใต้ฐานชั้นล่างเป็นกรุบรรจุ “พระเปิม” เป็นสัญลักษณ์ของคู่บุญบารมีพระเจ้าอาทิตย ราช เสมือนความรักที่ยั่งยืน ว่ากันว่าหนุ่มสาว คูร่ กั คูใ่ ดชวนกันมาไหว้พระธาตุหริภญ ุ ชัย แลมา ไหว้อธิษฐานทีเ่ จดียป์ ทุมวดีในวันเดียวกัน ความ รักจะยัง่ ยืนคูก่ นั ตลอดทัง้ ชาตินแี้ ละต่อไปอีกทุก ภพทุกชาติ Pathumvadee pagoda North to the Grand Hall is the Pathumvadee pagoda, which took 4 years to build at the wish of Queen Pathumvadee of King Atthitayaraj, The remains of Buddha images can still be seen at the top of this brass-tipped, square-shaped pagoda. Underneath the pagoda is a chamber containing a small Buddha image ( Phra Perm), which symbolizes the everlasting love of King Athitayaraj and his pre-destined wife. It is believed that a couple who visit Phrathat Hariphunchai and worship this pagoda on the same day will have everlasting love in this life and all future lives.

13

สถานที่กักบริเวณครูบาเจ้าศรีวิชัย นักบุญแห่งล้านนา อยู่ติดกับวิหารพระไสยาสน์ หรือวิหารพระ นอนตรงหัวมุมศาลาบาตร มีสถานที่เมื่อสมัยที่ ครูบาเจ้าศรีวชิ ยั ถูกข้อกล่าวหาต่าง ๆ ทีเ่ กิดจาก การเปลี่ยนแปลงการปกครองคณะสงฆ์ที่ต้อง ขึ้นกับส่วนกลาง ท่านถูกข้อกล่าวหามากมาย ประกอบกับมีผคู้ นเป็นจ�ำนวนมากเคารพนับถือ ครูบา ทางการกับเจ้าคณะจังหวัดสมัยนัน้ จึงน�ำ ท่านมากักบริเวณไว้ทวี่ ดั พระธาตุหริภญ ุ ชัย และ ทีน่ คี่ อื สถานทีท่ า่ นก็นงั่ พ�ำนักบ�ำเพ็ญภาวนาอยู่ เป็นประจ�ำนานกว่า 1 ปี ถึงสองครั้งสองครา ก่อนนิมนต์ท่านไปยังเชียงใหม่ และส่งท่านไป ยังกรุงเทพฯเพื่อสอบสวนตามข้อกล่าวหา Detention Center for Khrubachao Sriwichai, the Buddhist Saint of Lanna The Detention Center is located next to the Hall of the reckoning Phra Sai Yas Vihara. In the past, Khruba Chao Sriwichai, who was revered by many disciples, was accused of many offences during the time of clergy reformation. Khruba Chao วิหารพระไสยาสน์ Sriwichai was taken to Phrathat Hariphun ตั้งอยู่เหนือวิหารพระละโว้ เป็นวิหาร chai temple twice in one year before he เล็ก ๆ ภายในประดิษฐานพระพุทธรูปนอน was transferred to Chiang Mai and finally ก่อด้วยอิฐถือปูนลงรักปิดทอง สร้างก่อนพ.ศ. to Bangkok for interrogation. 2060 ถือเป็นพระนอนที่เก่าแก่องค์หนึ่งใน จังหวัดล�ำพูน

12

LAMPHUN I SBL บันทึกประเทศไทย

21


Isaan ( North East ) Corner, Chiang Yan Pagoda Chiang Yan pagoda also know as “ Rattana Chedi ” was built by Phraya Sappasit in 1136 and later reconstructed by the Department of Fine Arts. This pagoda is the model for other pagodas in Lanna and Chiang San styles, It has long served as an องค์พระธาตุจ�ำลอง วิหารพระกัจจายน์ (พระเจ้าปุม๋ ผญา) academic venue called “ Methi Wutthikorn ทีส่ วยสดงดงามย่อส่วนมาอย่างลงตัว หน้าโบสถ์ภกิ ขุณมี วี หิ ารพระกัจจายน์ School ” for monks novices and school ปิดด้วยทองค�ำงดงามเหลืองอร่าม ปลายยอด ตัง้ อยู่ สร้างก่อน พ.ศ.2060 ไม่ทราบว่าใครสร้าง boys from secondary to high school level. ฉัตรสร้างด้วยทองค�ำแท้ เปิดให้สกั การบูชาได้ใน เป็นพระพุทธรูปที่มีพุงใหญ่ แต่ข้างในเชื่อกัน วันสงกรานต์ โดยทางวัดจะน�ำองค์พระธาตุองค์ ว่ามีแต่ปัญญาอยู่ในพุง เชื่อกันว่าผู้ที่มาเคารพ นี้ ออกให้ประชาชนและนักท่องเทีย่ วร่วมสรงน�ำ ้ สักการะจักได้มีผญา มีปัญญาคิดวิเคราะห์แก้ เพื่อเป็นสิริมงคลในวันขึ้นปีใหม่เมือง จากนั้นก็ ปัญหา เรียนหนังสือเก่ง คิดอะไรไม่ออกให้มา เดินไปทางซุ้มประตูทางด้านทิศเหนือเลี้ยวซ้าย ที่นี่อธิษฐานจะเกิดสติ มีสมาธิ ปัญญาก็จะเกิด ออกไปทางโรงเรียนเมธีวุฒิกร ออกไปไหว้พระ ตามมา คนที่นี่มักเรียกตามลักษณะรูปลักษณ์ มุมพายัพ ชาวล้านนาว่า “พระเจ้าปุ๋มผญา” The Phrathat Replica ( The pagoda The Hall of Phra Kajjai ( Lanna Phracontaining Buddha’s relics ) chao Pum Paya) This beautiful gilded replica is a In front of the Hall of Buddhist nuns is model of the real Phrathat. The tip of the the Hall of Phra Kajjai built before 1517 by วิหารพระละโว้ Chat (umbrella) was made of pure gold. unknown builders. Phra Kajjai has a very ประจ� ำ ทิ ศ เหนื อ ของพระธาตุ ตั ว During Songkran festival. (Thai New Year), big belly, which many believe is a well of วิหารสร้างใหม่ ภายในประดิษฐานพระพุทธ the Phrathat is on public display so that wisdom. Consequently, those who pay รูปยืนขนาดใหญ่เรียกว่า “พระละโว้” จากนั้นก็ worshippers can participate in bathing homage to Phra Kajjai will become clever เข้าไหว้องค์พระธาตุเจ้าหริภุญชัย ท่านจะขึ้นไป อธิษฐานกล่าวค�ำบูชาพระธาตุทหี่ ลังวิหาร หรือ Buddha’s relics as it good fortune beck- and full of wisdom. ที่เขาสิเนรุ ฟากด้านทิศใต้ในล�ำดับที่ 3 ซึ่งถือ oning gestures. เอาพระธาตุเป็นที่สุดยอดของสิ่งที่บูชาตามคติ ชาวล้านนา แล้วเดินเวียนเทียนสามรอบ The Hall of Phra Lawo To the north of Phrathat Hariphunchai is a newly constructed building where a large standing Buddha image called “ Phra Lawo” is situated.

14

16

18

15

มุมพายัพ วิหารพระอัฏฐารส คณะอัฏฐารส (เดิมเรียกว่าวัดอัฏ ฐารส) มีวิหารพระอัฏฐารสแบบมณฑป ตั้งอยู่ ประจ�ำภายในประดิษฐานพระพุทธรูปนั่ง ก่อ ด้วยอิฐถือปูน ปางมารวิชยั สูง 18 ศอก พระเจ้า ธรรมิกราช ทรงสร้างเมื่อ พ.ศ.1660 Payap Corner (The Hall of Phra Attaros) The Hall of Phra Attaros or Attaros Temple is situated toward the north entrance of the temple to the right of Methi Wutthakorn School. This is a square hall with a pyramidal roof which houses an 18 cubit high, brick-mortar Buddha image in the Mara subduing posture. The image was built by Prachao Dhammikaraja in 1117.

22

SBL บันทึกประเทศไทย I LAMPHUN

17

มุมอีสานเรียกว่า “คณะเชียงยัน” (เดิมเรียกวัดเชียงยัน) พระเจดีย์เชียงยันเก่า ผ่านการบูรณะจากกรม ศิลปากร ชื่อว่า “ รัตนเจดีย์ ” คนที่นี่เรียกว่า “ เจดีย์เชียงยัน ” พญาสรรพสิทธิ์ทรงสร้างเมื่อ ประมาณ พ.ศ.1679 เป็นต้นแบบเจดีย์ต่าง ๆ หลายองค์ที่แพร่หลายไปในล้านนา ไกลไปถึง เชียงแสน ประดิษฐานเป็นหลักประจ�ำคณะนี้ เป็นสถานศึกษาสืบ เนื่องมาแต่โ บราณจนถึง ปัจจุบัน ในปัจจุบันจัดการศึกษาแผนใหม่ ชื่อ โรงเรียนเมธีวฒ ุ กิ ร สอนพระภิกษุ, สามเณร และ กุลบุตร ตั้งแต่ ม.1- ม.6 เมื่อกราบไหว้อธิษฐาน ครบทั้งหมด ก็กลับเข้ามาในเขตพุทธาวาสอีก ครั้งหนึ่ง เข้าไปที่วิหารพระเจ้าละโว้สักการะ พระเจ้าละโว้

19

องค์พระบรมธาตุหริภุญชัย เจดีย์ทรงล้านนาที่สวยที่สุดในโลก พระธาตุประจ�ำปีเกิดปีระกา ก� ำ เนิ ด ขึ้ น ในยุ ค ของพระเจ้ า อาทิ ต ยราช มีเรื่องเล่าเป็นทั้งต�ำนานและประวัติศาสตร์มี


ความเป็นมาอย่างยิ่งใหญ่ (สามารถดูภาพวาด ประกอบเรื่องราวของการก�ำเนิดพระธาตุหริ ภุญชัย ที่ก�ำแพงศาลาบาตรด้านเหนือจ�ำนวน 32 ภาพ ) Phrabarommatat Hariphunchai This sacred site is considered the most beautiful Lanna architectural style pagoda where the relics of Buddha are kept. Phrabarommatar Hariphunchai was built during the reign of King Athitayaraj. Illustrations for historical facts and legends about the origin of this sacred site are portrayed in 32 murals on the north wall of the temple. This is a designated auspicious site for worshippers born in the year of the rooster.

Kang Sadarn Tower To the north of the Grand Hall is an ancient bell tower constructed by Phrakru Pitak Chediyanukit or Kruba Khamfoo in 1938 during the reign of Chao Luang Daradirek Rattanapairot. On the ground floor hangs a large bell built by Kruba Thaosoongmen whose inscription says. This bell was made in 679 at Prasingh Temple, Chiang Mai province, and dedicated as offerings here at Prathat Hariphunchai ( Lamphun city), with the combined faith of King of Chiang Mai and the abbot of Pa Temple, Prae province, This sacred site is a popular spot for taking great photos of the grand Hall.

21

พระพุทธรูปปางไสยาสน์ (หน้าวัด) ด้ า นขวามื อ ของท่ า นจะได้ เ ห็ น พระวิ ห ารพระนอนหลั ง หนึ่ ง ขนาดธรรมดา มีพระพุทธรูปปางไสยาสน์ ก่อด้วยอิฐถือปูน หอกังสดาล วนดูภาพ ประดิษฐานไว้ภายใน สิ่งที่น่าชมในพระวิหารนี้ ประวั ติ ศ าสตร์ ค วามเป็ น มาการ ก็คอื “นาคทันต์” ด้านหน้าเอาไม้สกั มาแกะเป็น ก�ำเนิดขององค์พระธาตุ จ�ำนวน 32 ภาพ รูปลิง มีท่าทางต่าง ๆ แบบเชิงชายพระวิหารไว้ เบื้ อ งทิ ศ เหนื อ ของพระวิ ห ารหลวงมี ห อ นับเป็นศิลปะอันวิจิตรบรรจงอย่างหนึ่ง ระฆั ง ใหญ่ ต้ั ง อยู ่ เป็ น ฝี มื อ พระครู พิ ทั ก ษ์ Pang Saiyas ( The reclining Buddha ) เจติ ย านุ กิ จ (ครู บ าค� ำ ฟู คณะอั ฎ ฐารส To the right is another hall where a สร้างเมื่อ พ.ศ.2481 ซึ่งหล่อ reclining brick and mortar Buddha image สมั ย เจ้ าหลวง กัง สดาลขนาดใหญ่เ ป็น is situated. Another object of arts and crafts ฝีมือครูบาเฒ่าสูงเม่นหล่อถวายไว้ มีค�ำขอ in this hall is “Nakthan” a carved wooden จารึกไว้ว่า สร้างหล่อกังสดาลหน่วยนี้ แต่เมื่อ monkey in various postures. ศักราชได้ 1,222 ตัว ปีกัคสัน อังคารหล่อกัญ ยจนามหาเถระ เจ้าวัดป่าเมืองแพร่ เป็นเค้า แก่ศรัทธาภายในเจ้าหลวงเมืองเชียงใหม่ เป็น เค้าแก่ศรัทธาภายนอก ศรัทธาทั้งภายในและ ภายนอกพร้อมกันสร้างหล่อในวัดพระสิงห์ เวียงเชียงใหม่ มาไว้เป็นเครือ่ งบูชาทานกับพระ ธาตุเจ้า อันตั้งไว้ในเมืองหริภุญชัยที่นี้ 5,000 พระวัสสาแล ที่ตรงนี้มุมนี้ เป็นท�ำเลถ่ายภาพ องค์พระธาตุทงี่ ดงามทีส่ ดุ บันทึกภาพกันอย่าง ไหว้ “พระเจ้าทองทิพย์” เต็มที่ จากนั้นก็วนดูภาพวาดต�ำนานพระธาตุ ก่ อ นจะขึ้ น รถกลั บ หั น หน้ า ไปทาง เจ้าหริภุญชัย จะเข้าใจรู้เรื่ององค์พระธาตุเป็น ประตูเข้าวัด จะแลเห็นพระอุโบสถตั้งอยู่ด้าน อย่างดี แล้วกลับออกด้านประตูหน้า

20

22

ซ้ายมือรูปทรงแบบก่อสร้างเป็นฝีมือของแสน สรรพช่าง บ้านกอแงะ ต�ำบลประตูป่า อ�ำเภอ เมืองล�ำพูน จังหวัดล�ำพูน กว้างขาวงใหญ่โต พอสมควร ขนาดบรรจุพระสงฆ์ได้ไม่ต�่ำกว่า 150 รูป มีมุขยื่นออกด้านหน้าและมีระเบียง ทั้งด้านเหนือและด้านใต้ ส่วนด้านหลังไม่มีมุข แบบหลังคา 2 ชาย ภายในพระอุโบสถมีซุ้ม พระพุทธรูปประดิษฐาน ฝีมือโบราณประดับ ลวดลายมีรปู เป็น 4 ซุม้ บรรจุพระพุทธรูปขนาด กลางหล่อด้วยโลหะ เรียกว่า “พระเจ้าทองทิพย์” เป็นพระพุทธรูปหล่อแบบสมัยเชียงแสนรุน่ กลาง ลงรักปิดทองสวยงามมาก พระอุโบสถนี้เป็นที่ ประชุมสงฆ์ครั้งใหญ่ในฤดูเข้าพรรษาและออก พรรษา พระภิกษุสงฆ์ตำ� บลในเมืองทัง้ หมดต้อง มาประชุมกันเป็นปกติ ถ้าท่านก้าวออกไปจาก หน้าพระอุโบสถเพียงสัก 2-3 ก้าว ก็จะได้แล เห็นสระหนึ่งมีรูปยาวเป็นผืนผ้า มีความลึกพอ สมควรก่อศิลาแลงล้วนเต็มรอบทั้งสี่ด้าน เล่า ว่าในขณะสร้างพระธาตุหริภุญชัยพวกแม่ครัว เลี้ยงอาหารคนงานแล้วเอาถ้วยชามมาล้างใน สระนี้ ชาวบ้านจึงเรียกว่า “สระน�้ำแก๋ง” Phrachao Thongthip Upon exiting the temple there is a large chapel on the left side of the entrance, this building was constructed by a group of craftsmen and artists from Ko Ngae Billage, Pratoo pa Sub-district, Mueang Lamphun District, Lamphun province. The building is large enough to the north and south sides, the roof has double eaves. Inside the chapel are 4 ancient ornate arched enclosures housing a beautiful medium-sized metal Buddha image called “Phrachao Thongthip”, a beautifully gilded Buddha image built in the middle Chiang Saen period. This is where all city monks gather at the beginning and the end of Buddhist Lent. Just a few steps from the building is a rectangle deep pool made from laterite, As the legend goes, during the construction of this temple, this is where the cooks wash their dishes and so the name “Sa Namgang” ( the soup water pool).

LAMPHUN I SBL บันทึกประเทศไทย

23


ใต้ร่มพระบารมี

โครงการพัฒนาพื้นที่ลุ่มน้ำ�แม่อาวฯ ต้นแบบการช่วยเหลือราษฎร

จะมีพระมหากษัตริยพ์ ระองค์ใดในโลกนี้ ทีแ่ ม้แต่จะพระราชทานความช่วยเหลือแก่ราษฎรผูท้ กุ ข์ยากผ่านโครงการอันเนือ่ งมาจาก พระราชด�ำริใด ๆ ก็ตาม ยังทรงมีความห่วงใยว่าโครงการนั้น ๆ ได้สร้างผลกระทบต่อชีวิตความเป็นอยู่ของราษฎรด้วยหรือไม่ ดังพระราชกระแสรับสั่งพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ในคราวที่เสด็จพระราชด�ำเนินทอดพระเนตรสภาพพื้นที่ บริเวณอ่างเก็บน�้ำแม่อาวน้อย ต�ำบลนครเจดีย์ อ�ำเภอป่าซาง จังหวัดล�ำพูน เมื่อวันที่ 11 มีนาคม 2535 ใจความว่า “ที่เกิดเรื่องที่โครงการใหญ่ ๆ เขาเกิดเรื่องอะไร เอะอะเดินขบวนกัน เพราะว่าคนที่ย้ายไปแล้ว ก็ย้ายไปในที่ที่ท�ำกินไม่ได้ เขาต้องร้องเรียน นี่ถ้าร้องเรียนอย่างนั้นแก้ยาก แต่ถ้าเราไม่ละเลยเมื่อเขาย้ายไปแล้ว ก็จะมีที่ที่จะท�ำมาหากินได้ ก็ตอนแรกก็ยัง ไม่เห็นด้วย แต่เราก็พิสูจน์ได้ แล้วโครงการเล็ก ๆ นี้ก็เป็นโครงการตัวอย่าง”

24

SBL บันทึกประเทศไทย I LAMPHUN


สภาพปัญหาหลัก จากการส�ำรวจของคณะท�ำงานพบว่า พืน้ ทีใ่ นการด�ำเนินการโครงการฯ มีปัญหาดังนี้ ราษฎรขาดที่ดินท�ำกิน ท�ำให้เป็นสาเหตุของการบุกรุกป่า สภาพป่าเสื่อมโทรม ขาดแหล่งไม้ใช้สอย ในขณะเดียวกันคุณภาพของดิน ยังขาดความอุดมสมบูรณ์ เช่น ดินมีกรวดทราย ดินเปรี้ยว ดินเค็ม ดินตื้น และดินถูกชะล้าง อีกทั้งยังขาดแคลนน�้ำ มีน�้ำไม่เพียงพอต่อการเกษตร กรรม และมักจะเกิดไฟป่าในพื้นที่ ซึ่งสาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากหาของป่า ล่าสัตว์ และเผาไร่

หน่วยงานรับผิดชอบ

ด้วยน�ำ้ พระราชหฤทัยอย่างหาทีส่ ุดมิได้ “โครงการพัฒนาพืน้ ทีล่ มุ่ น�้ำ แม่อาวฯ อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ” อ�ำเภอป่าซาง จังหวัดล�ำพูน จึงถือเป็นโครงการต้นแบบที่ได้พระราชทานแนวพระราชด�ำริโดยสรุปคือ ให้ พิ จ ารณาส� ำ รวจและวางโครงการก่ อ สร้ า งอ่ า งเก็ บ น�้ ำ แม่ อ าวน้ อ ย เพื่อช่วยเหลือราษฎรในเขตพื้นที่จัดสรร ส.ป.ก. และบริเวณใกล้เคียง ให้มีน�้ำใช้เพาะปลูก ใช้อุปโภคบริโภคได้ตลอดปี และส�ำหรับราษฎรที่ ได้รับผลกระทบจากการถูกน�้ำท่วม เนื่องจากมีที่ท�ำกินและที่อยู่อาศัย ในบริเวณพื้นที่ก่อสร้างอ่างเก็บน�้ำให้ ส.ป.ก. พิจารณาจัดหาพื้นที่รองรับ ให้ใหม่ทมี่ คี วามเหมาะสม เพือ่ ไม่ให้ราษฎรผูอ้ พยพต้องเดือดร้อน และจะได้ เป็นโครงการตัวอย่างส�ำหรับโครงการอื่น ๆ ต่อไป ยังความซาบซึ้งใน พระมหากรุณาธิคุณอย่างหาที่สุดมิได้แก่ราษฎรหลายพันชีวิต

ส�ำหรับการพัฒนาพืน้ ทีล่ มุ่ น�ำ้ แม่อาว ให้ดำ� เนินการในลักษณะโครงการ ร่วม โดยใช้แผนทีฉ่ บับเดียวกัน หน่วยงานด�ำเนินการประกอบด้วย กรมป่าไม้ ส.ป.ก. กรมชลประทาน กรมพัฒนาที่ดิน โดยส�ำนักงานคณะกรรมการ พิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ (ส�ำนักงาน กปร.) เป็นหน่วยงานกลางในการประสานงาน โดยก�ำหนดให้มีแนวทาง ในการด�ำเนินงาน ดังนี้ กรมป่ า ไม้ พิ จ ารณาด� ำ เนิ น การเกี่ ย วกั บ การจ� ำ แนกประเภทป่ า เสื่อมโทรม บริเวณที่ราบดินยังมีคุณภาพดี เพื่อจัดสรรให้ราษฎรไม่มีที่ ท�ำกินได้เข้าอยู่เป็นการถาวร จะเป็นการช่วยแก้ไขปัญหาการบุกรุก ท�ำลายป่า ส่วนพื้นที่ดอย พื้นที่เนินสูง หรือภูเขาต่าง ๆ รวมทั้งพื้นที่ที่ดิน คุณภาพไม่ดี และเสียสภาพป่า ให้ด�ำเนินการปลูกป่าทดแทน สปก. พิจารณาด�ำเนินการเกี่ยวกับการจัดระเบียบชุมชน และจัดแบ่ง พื้นที่ท�ำกินและพื้นที่อาศัยให้แก่ราษฎรที่ยากจน กรมชลประทาน พิจารณาด�ำเนินการเกีย่ วกับงานพัฒนาแหล่งน�ำ้ ต่าง ๆ ในลุม่ น�ำ้ แม่อาว อ.ป่าซาง จ.ล�ำพูน เพือ่ ช่วยให้ราษฎรในเขตโครงการมีนำ�้ ใช้ เพาะปลูกและอุปโภคบริโภคได้ตลอดปี โดยพิจารณาก่อสร้างแหล่งน�้ำ กระจายทั่วพื้นที่ ได้แก่ อ่างเก็บน�้ำ ฝายทดน�้ำ สระเก็บน�้ำ ฝายเก็บกักน�้ำ ตามล�ำน�้ำสายต่าง ๆ รวมทั้งปรับปรุง ขุดลอกคลองบึง ที่มีทั้งหมดใน เขตโครงการ กรมพัฒนาทีด่ นิ พิจารณาด�ำเนินการเกีย่ วกับการจ�ำแนก และวางแผน การใช้ประโยชนที่ดิน การปรับปรุงฟื้นฟูสภาพดิน การแก้ไขปัญหาการ ชะล้างและพังทลายของหน้าดิน ส� ำ นั ก งาน กปร. ท� ำ หน้ า ที่ เ ป็ น หน่ ว ยงานกลางในการประสาน การด�ำเนินงานในโครงการพัฒนาพื้นที่ลุ่มน�้ำแม่อาว อันเนื่องมาจาก พระราชด�ำริ อ.ป่าซาง จ.ล�ำพูน LAMPHUN I SBL บันทึกประเทศไทย

25


ลักษณะการด�ำเนินการ ส่วนประสานงานโครงการพระราชด�ำริ สังกัดส�ำนักบริหารพื้นที่ อนุรกั ษ์ที่ 16 (เชียงใหม่) ส�ำนักสนองงานพระราชด�ำริ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์พืช กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นหน่วยงานหนึ่งซึ่งสนองงานพระราชด�ำริด้านการอนุรักษ์และฟื้นฟู ทรัพยากรป่าไม้ ได้มอบหมายให้นายวรุฒม์ ศิริกิม ต�ำแหน่ง นักวิชาการ ป่าไม้ช�ำนาญการ เป็นหัวหน้าโครงการพัฒนาพื้นที่ลุ่มน�้ำแม่อาวฯ โดยมี วัตถุประสงค์เพื่ออนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่ลุ่มน�้ำ แม่อาว ให้มีสภาพอุดมสมบูรณ์ และยกระดับความเป็นอยู่ของราษฎรใน พื้นที่ รวมทั้งสร้างจิตส�ำนึกด้านการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและการ จัดการลุ่มน�้ำ เป้าหมายในการด�ำเนินการคือ ฟื้นฟูและรักษาพื้นที่ป่าไม้ในเขต โครงการให้มีประมาณ 74,000 ไร่ (หรือ 58.2 %) จัดที่ดินท�ำกินและ ที่อยู่อาศัยให้แก่เกษตรกรในพื้นที่ประมาณ 20,000 ไร่ (หรือ 16 %) จัดการพื้นที่ลุ่มน�้ำให้มีน�้ำเพียงพอต่อการประกอบเกษตรกรรมและการ อุปโภคบริโภคตลอดปี พัฒนาอาชีพในและนอกการเกษตรกรรม เพื่อยก ระดับรายได้ของราษฎรกลุม่ เป้าหมายให้มรี ายได้ไม่ตำ�่ กว่า 100,000 บาท ต่อครัวเรือนต่อปี ราษฎรในพื้นที่โครงการมีคุณภาพชีวิตตามเกณฑ์ มาตรฐาน จปฐ. ตลอดจนราษฎรมีความเข้าใจและมีสว่ นร่วมในการอนุรกั ษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและจัดการลุ่มน�้ำอย่างยั่งยืน

26

SBL บันทึกประเทศไทย I LAMPHUN


และในส่วนของส�ำนักงานประมงจังหวัดล�ำพูน จังหวัดล�ำพูน ได้เข้า ด�ำเนินการร่วมกิจกรรมเพื่อส่งเสริมในการพัฒนาอาชีพแก่เกษตรกรใน พื้นที่ภายใต้โครงการฯ ในเขตพื้นที่ 3 อ�ำเภอ คือ อ�ำเภอป่าซาง อ�ำเภอ บ้านโฮ่ง และอ�ำเภอเวียงหนองล่อง รวม 27 หมู่บ้าน โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อใช้ประโยชน์จากแหล่งน�้ำให้เกิดผลประโยชน์อย่างเต็มประสิทธิภาพ โดยมีองค์กรต่าง ๆ ของหมูบ่ า้ นช่วยดูแลรักษา รวมทัง้ ช่วยบริหารแหล่งน�ำ้ เพือ่ เพิม่ อาหารโปรตีนประเภทปลาแก่เกษตรกรในเขตพืน้ ทีข่ องโครงการฯ เพื่ออบรมเผยแพร่ความรู้ด้านการเลี้ยงปลา และการอนุรักษ์ทรัพยากร ประมง เพือ่ ก่อให้เกิดรายได้จากการจับปลาในแหล่งน�ำ้ ธรรมชาติ และปลา ที่เลี้ยงในบ่อของราษฎร เพื่อเป็นแหล่งผลิตอาหารโปรตีนประเภทปลาให้ แก่นักเรียนบริโภคเป็นอาหารกลางวัน และเป็นศูนย์กลางในการเผยแพร่ ความรู้ถ่ายทอดให้เกษตรกรในหมู่บ้าน รวมทั้งปลูกฝังและฝึกอบรมให้ นักเรียนมีความรู้และประสบการณ์ในการเพาะเลี้ยงสัตว์น�้ำ

ในปี 2546-2556 ส�ำนักงานประมงจังหวัดล�ำพูน สถานีประมงน�ำ้ จืด จังหวัดล�ำพูน ส่วนโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ และส�ำนักพัฒนา และถ่ายทอดเทคโนโลยีการประมง กรมประมง ได้ส่งเสริมและพัฒนา อาชีพการเพาะเลี้ยงสัตว์น�้ำ จ�ำนวน 200 ราย เพิ่มผลผลิตการประมง ในแหล่งน�้ำ จ�ำนวน 6 แห่ง ประมงโรงเรียน จ�ำนวน 6 แห่ง ฝึกอบรม เกษตรกรด้ า นการเพาะเลี้ ย งสั ต ว์ น�้ ำ คณะอนุ ก รรมการแหล่ ง น�้ ำ คณะกรรมการครูและนักเรียน จ�ำนวน 320 ราย ตลอดจนติดตามและ แนะน�ำเกษตรกร จ�ำนวน 10 ครั้ง

ขอขอบคุณที่มา - ส่วนประสานงานโครงการพระราชด�ำริและกิจการพิเศษ ส�ำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 16 (เชียงใหม่) - ส�ำนักงานประชาสัมพันธ์เขต 4

LAMPHUN I SBL บันทึกประเทศไทย

27


WOR K LI FE

บันทึกประเทศไทย 4.0

บันทึกประเทศไทย 4.0 Thailand Innovation Hubs 4.0s

ที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย (ทปอ.) สนองนโยบายรัฐบาล ผลั ก ดั น มหาวิ ท ยาลั ย สู ่ ก ารเป็ น ศู น ย์ ก ลางด้ า นนวั ต กรรม หรื อ Innovation Hubs โดยใช้ น วั ต กรรม งานวิ จั ย และองค์ ค วามรู ้ มาพัฒนา เพื่อยกระดับสู่การสร้างเศรษฐกิจฐานนวัตกรรมให้ประเทศ ผ่าน 5 กลุ่มนวัตกรรม ได้แก่ เกษตรและอาหาร พลังงานชีวภาพ สังคมผู้สูงอายุ เมืองอัจฉริยะ และเศรษฐกิจสร้างสรรค์ เมื่อต้นเดือนเมษายน 2561 ที่ผ่านมา ทปอ.ได้จัดงานไทยแลนด์อิน โนเวชั่น ฮับส์ 4.0 เอส (Thailand Innovation Hubs 4.0s) เพื่อแสดง ศักยภาพผลงานวิจัยและนวัตกรรมจากฝีมือคนไทย 5 กลุ่มนวัตกรรม และไฮไลท์พิเศษ โชว์กองทัพ AI หุ่นยนต์อัจฉริยะจากหลายสถาบันการ ศึกษา อาทิ หุ่นยนต์ JARVIS หุ่นยนต์ Grubbot หุ่นยนต์ N/AX เป็นต้น โดยมีศาสตราจารย์คลินิก นายแพทย์ อุดม คชินทร รัฐมนตรีช่วยว่าการ กระทรวงศึกษาธิการ เป็นประธานในพิธี

รองศาสตราจารย์ ดร.พีระพงศ์ ทีฆสกุล ผู้อ�ำนวยการโครงการ Innovation Hubs กล่าวว่า ประเทศไทย 4.0 เป็นนโยบายในการผลัก ดันการปฏิรูปโครงสร้างเศรษฐกิจ ซึ่งเป็นการปฏิรูปองค์ความรู้ผ่านระบบ การวิจัยและพัฒนา เพื่อสร้างนวัตกรรมและปฏิรูปคนและการศึกษา ไปพร้อม ๆ กัน ซึ่งประเทศไทยมีข้อได้เปรียบในต้นทุนความหลากหลาย ทางชีวภาพ (Bio-diversity) จึงจ�ำเป็นที่จะต้องใช้ความได้เปรียบนั้นเป็น ความได้เปรียบเชิงแข่งขันให้ได้ ทีป่ ระชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย (ทปอ) ในฐานะองค์กรหลักในการพัฒนาอุดมศึกษา จึงมีการด�ำเนินการในรูป แบบศูนย์นวัตกรรม (Innovation Hubs) ซึง่ ในระยะแรก จะใช้สถานทีข่ อง มหาวิทยาลัยและเน้นต่อยอดงานวิจยั ให้เป็นนวัตกรรม จากนัน้ ใช้กลไกการ ท�ำงานแบบประชารัฐ(Public Private Partnership – PPP) ในการสร้าง ความร่วมมือกับทุกฝ่าย และขยายผลจากงานวิจัยในมหาวิทยาลัยสู่การ ใช้ประโยชน์หรือการพัฒนาต่อยอดเทคโนโลยีในเชิงพาณิชย์ โดยเฉพาะ การสร้างผู้ประกอบการใหม่ (Tech Start up) และยกระดับผู้ประกอบ การเดิม (Existing industry) เพื่อสร้างความสามารถในการผลิตและ การแข่งขันให้ SMEs ของประเทศ ตั้งเป้าดัน SMEs ไทยด้วยงานวิจัย ไม่ตำ�่ กว่า 200 ราย สร้างมูลค่าเพิม่ ให้ SMEs ไม่ตำ�่ กว่า 10% โดยมุง่ เน้น 5 กลุ่มนวัตกรรม ซึ่งได้แก่ กลุ่มเกษตรและอาหาร(Agriculture & Food) เทคโนโลยีเพื่อ การเกษตรสมัยใหม่ ผลิตภัณฑ์จากความหลากหลายทางชีวภาพของ ท้องถิน่ น�ำมาผลิตเป็นผลิตภัณฑ์เพือ่ สุขภาพ ความงาม อาหารเพือ่ ผูป้ ว่ ย และผูส้ งู อายุ ตลอดจนอาหารทีม่ รี ปู แบบและนวัตกรรมการบริโภคแบบใหม่ อาทิ น�้ำพริกหนุ่มอบแห้ง เยลลี่ผักสมุนไพร เป็นต้น กลุม่ พลังงานชีวภาพ (BioEnergy) มุง่ เน้นการพัฒนาพลังงานชีวภาพ ที่เป็นฐานทรัพยากรที่ส�ำคัญของประเทศ โดยเฉพาะก๊าซชีวภาพและ ชีวมวลส�ำหรับชุมชน อาทิ ถ่านไร้ควันจากวัตถุเหลือทิ้งจากการเกษตร น�้ำมันดีเซลจากขยะพลาสติก เป็นต้น กลุ่มสังคมสูงอายุ(Ageing Society) การใช้เทคโนโลยีการผลิต เครือ่ งมือและอุปกรณ์เพือ่ ยกระดับคุณภาพชีวติ ส�ำหรับผูส้ งู อายุ เพือ่ ตอบ สนองการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรของประเทศและของโลก อาทิ บ้านอัจฉริยะส�ำหรับผู้สูงอายุ หุ่นยนต์ BLISS ช่วยบ�ำบัดเด็กออทิสติก ระบบหุ่นยนต์โต้ตอบเพื่อเฝ้าระวังผู้มีภาวะซึมเศร้า สมุนไพรสกัด ตลอด จนแอพพลิเคชั่นต่าง ๆ กลุม่ เมืองอัจฉริยะ (Smart City) มุง่ เน้นการพัฒนานวัตกรรมยกระดับ คุณภาพชีวิตในด้านต่าง ๆ เช่น การคมนาคม การขนส่งสินค้า การจัดการ ด้านพลังงาน ความปลอดภัย การส่งเสริมระบบนิเวศทางเศรษฐกิจ ตลอด จนนวัตกรรมการเตือนภัยทางธรรมชาติ เศรษฐกิจสร้างสรรค์(Creative Economy) มุง่ เน้นการสร้างนวัตกรรม ด้วยการบูรณาการความรูแ้ ละเทคโนโลยีกบั ต้นทุนภูมปิ ญ ั ญา และศักยภาพ ท้องถิ่น สร้างสรรค์ให้เกิดเป็น ผลิตภัณฑ์หรือบริการที่มีมูลค่าเพิ่มทาง เศรษฐกิจ อาทิ เครื่องคัดลอกและผลิตไม้แกะสลักด้วยระบบสแกน 3 มิติ ไหมไทยไฮเทคไม่กลัวเครื่องซักผ้า เครื่องถมไร้สารตะกั่ว เป็นต้น ขอขอบคุณที่มา : Facebook : Thailand.Innovation.Hubs4.0s

28

SBL บันทึกประเทศไทย I LAMPHUN


สารผู้ว่าราชการจังหวัด

ลำ�พูน

เป็นที่ทราบกันดีว่า ผู้ว่าราชการจังหวัดมีหน้าที่ในการปกครอง ดูแล บ�ำบัดทุกข์ บ�ำรุงสุขแก่ประชาชน ปัจจุบันเมื่อบริบททางสังคมเปลี่ยนไป ความคาดหวังของประชาชนต่อตัวผู้ว่าราชการจังหวัดย่อมเพิ่มมากขึ้น ตามความหลากหลายและความซับซ้อนของปัญหา ผู้ว่าราชการจังหวัด เพียงคนเดียวและการบริหารงานรูปแบบเก่า อาจไม่สามารถดูแลทุกข์ สุขของประชาชนได้อย่างทั่วถึงและรวดเร็ว จึงจ�ำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้อง ได้รับความร่วมมือจากทุกภาคส่วนตามแนวทางสานพลังประชารัฐ ในโอกาสที่ผมได้มาปฏิบัติหน้าที่ผู้ว่าราชการจังหวัดล�ำพูน ผมรู้สึก ดีใจและอบอุน่ ใจอย่างยิง่ ทีท่ กุ ภาคส่วนร่วมแรงร่วมใจกันขับเคลือ่ นการ พัฒนาจังหวัดของเราไปพร้อม ๆ กัน ท�ำให้การบริหารราชการจังหวัด เป็นไปอย่างราบรืน่ รวดเร็ว ส่งผลให้จงั หวัดล�ำพูนได้รบั รางวัลมากมาย อาทิ จังหวัดที่สะอาดที่สุดในประเทศ และเป็นจังหวัดที่ประชาชนมี ส่วนร่วมเป็นอันดับ 1 ของประเทศ เป็นต้น ผมจึงขอมอบเกียรติคุณ อันภาคภูมิใจนี้แด่ทุก ๆ ท่าน และจากนี้ไปผมจะสานต่อภารกิจใน การยกระดับคุณภาพชีวิตของชาวล�ำพูนให้ดีขึ้น โดยเฉพาะการ เตรียมตัวเข้าสูส่ งั คมผูส้ งู อายุอย่างมีคณ ุ ภาพ สามารถพึง่ พาตนเอง พึง่ พาครอบครัว และพึง่ พากันในชุมชนได้ และท�ำให้ชาวล�ำพูนมี อาชีพ มีรายได้ และมีความสุขตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ดังเช่นวิสยั ทัศน์ของจังหวัด “เมืองแห่งความสุข บนความพอเพียง” ท้ายนี้ ขอขอบคุณหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม และประชาชนในพื้นที่ ตลอดจนคณะผู้จัด ท�ำนิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย ทีไ่ ด้รว่ มเป็นส่วนหนึง่ ใน การประชาสัมพันธ์จงั หวัดล�ำพูนให้เป็นทีร่ จู้ กั แก่สาธารณชนใน วงกว้าง และที่จะขาดไม่ได้คือ บริษัทห้างร้านต่าง ๆ ที่ให้การ สนับสนุนการจัดพิมพ์นิตยสารของล�ำพูน...จังหวัดที่ไม่เป็น สองรองใคร

........................................................... (นายอรรษิษฐ์ สัมพันธรัตน์) ผู้ว่าราชการจังหวัดล�ำพูน

LAMPHUN I SBL บันทึกประเทศไทย 29


S P ECI A L I NT E R V IE W

บันทึกเส้นทางพบผู้ว่าราชการจังหวัดลำ�พูน

“นายอรรษิษฐ์ สัมพันธรัตน์” ผู้ว่าราชการจังหวัดลำ�พูน “เมืองแห่งความสุข บนความพอเพียง” ด้วยหัวใจของการพัฒนา ทีเ่ น้นหลักการมีสว่ นร่วมตามแนวทางสานพลังประชารัฐ จากทุกภาคส่วน โดยยึดแนวพระราชด�ำริเศรษฐกิจพอเพียงเป็นทีต่ ง้ั ส่งผลให้ “ล�ำพูน” จังหวัดเล็ก ๆ ที่ดูเหมือนจะเป็นเมืองรองด้านการท่องเที่ยว กลายเป็นจังหวัดที่ได้ รับรางวัลชนะเลิศระดับประเทศในหลาย ๆ ด้าน อาทิ รางวัลชนะเลิศการประกวด “จังหวัดสะอาด” ระดับประเทศ และเป็นต้นแบบให้กับจังหวัดอื่นๆ ได้ศึกษาดูงาน ด้านการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน, มีหมู่บ้านที่ได้รับรางวัลต้นแบบ “หมู่บ้านรักษา ศีล 5” แห่งแรกในประเทศไทย จากส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ได้รบั รางวัล อุตสาหกรรมท่องเทีย่ วไทย หรือ “รางวัลกินรี” และรางวัลดีเด่นประเภทแหล่งท่อง เทีย่ วชุมชน ประจ�ำปี 2558 และปี 2560, เป็นจังหวัดทีม่ ผี ลการประเมินคุณธรรม และความโปร่งใสฯอยูใ่ นระดับทีส่ งู มาก จากส�ำนักงาน ป.ป.ช. และได้รบั เกียรติบตั ร ชมเชยจาก พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ฯลฯ ทั้งหมดนี้ก็ด้วยวิสัยทัศน์ ความมุ่งมั่นตั้งใจ ความทุ่มเท และความเสียสละ ที่ “นายอรรษิษฐ์ สัมพันธรัตน์” ผูว้ า่ ราชการจังหวัดล�ำพูน ปรารถนาทีจ่ ะให้จงั หวัด ล�ำพูน เป็น “เมืองแห่งความสุข บนความพอเพียง” อย่างแท้จริง นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย ได้รับเกียรติอย่างสูงจากท่านผู้ว่าราชการ จังหวัดล�ำพูน กรุณาให้สัมภาษณ์ข้อมูลและเรื่องราวอันน่าสนใจในจังหวัดล�ำพูน จังหวัดที่เล็กที่สุดในภาคเหนือ แต่มีชื่อเสียงขจรขจายไปไกลทั้งประเทศ

30

SBL บันทึกประเทศไทย I LAMPHUN

วิสัยทัศน์จังหวัด

“ เมืองแห่งความสุข บนความพอเพียง ”


LAMPHUN I SBL บันทึกประเทศไทย 31


ล�ำพูน...เมืองต้นแบบศิลปะ-วัฒนธรรมล้านนา

จังหวัดล�ำพูน เดิมชื่อเมืองหริภุญชัย เป็นเมืองโบราณมีอายุประมาณ 1,343 ปี ข้อมูลตามพงศาวดารโยนกเล่าสืบต่อกันมาถึงการสร้างเมือง หริภญ ุ ชัยว่า สร้างโดยฤาษีวาสุเทพเป็นผูเ้ กณฑ์พวกเม็งคบุตร หรือชนเชือ้ ชาติ มอญ มาสร้างเมืองนี้ขึ้นในพื้นที่ระหว่างแม่น�้ำสองสาย คือ แม่น�้ำกวงและ แม่นำ�้ ปิง เมือ่ สร้างเสร็จได้สง่ ทูตไปเชิญราชธิดากษัตริยเ์ มืองละโว้ พระนามว่า “จามเทวี” มาเป็นปฐมกษัตริย์ปกครองเมืองหริภุญชัย สืบราชวงศ์กษัตริย์ ต่อมาหลายพระองค์ จนกระทั่งถึงสมัยพระยายีบาจึงได้เสียการปกครอง ให้แก่พอ่ ขุนเม็งรายมหาราช ผูร้ วบรวมแว่นแคว้นทางเหนือเข้าเป็นอาณาจักร ล้านนา ถึงแม้วา่ เมืองล�ำพูนจะตกอยูภ่ ายใต้การปกครองของอาณาจักรล้านนา แต่ก็ได้เป็นผู้ถ่ายทอดมรดกทางศิลปะและวัฒนธรรมให้แก่ผู้ที่เข้ามา ปกครอง ดังปรากฏหลักฐานทัว่ ไป ในเวียงกุมกาม เชียงใหม่ และเชียงราย เมืองล�ำพูนจึงยังคงความส�ำคัญในทางศิลปะและวัฒนธรรมของอาณาจักร ล้านนา จนกระทัง่ สมัยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช เมืองล�ำพูนจึงได้เข้ามาอยู่ ในราชอาณาจักรไทย มีผู้ครองนครสืบต่อกันมาจนถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ต่อมาภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 เมื่อเจ้าผู้ครอง นครองค์สุดท้าย คือ พลตรีเจ้าจักรค�ำขจรศักดิ์ถึงแก่พิราลัย “เมืองล�ำพูน” จึงเปลี่ยนเป็น “จังหวัด” และเปลี่ยนเป็นการบริหารราชการแบบภูมิภาค ตั้งแต่นั้นมา

32

SBL บันทึกประเทศไทย I LAMPHUN

จุดเน้นทางยุทธศาสตร์ หัตถกรรม นวัตกรรม สร้างสรรค์ เกษตร ปลอดภัย และจุดหมาย การท่องเที่ยว เชิงวัฒนธรรม


ทิศทางการพัฒนาภาค เหนือให้เป็นฐานเศรษฐกิจ สร้างสรรค์มูลค่าสูง เชื่อมโยงเศรษฐกิจกับ ประเทศในกลุ่มอนุภูมิภาค ลุ่มแม่น้ำ�โขง

LAMPHUN I SBL บันทึกประเทศไทย 33


ผมได้ให้ความสำ�คัญ ในการพัฒนาองค์กร โดยเน้นหลักการมี ส่วนร่วมตามแนวทาง สานพลังประชารัฐ จากทุกภาคส่วน

34

SBL บันทึกประเทศไทย I LAMPHUN


ส่งเสริมผลักดันให้ จังหวัดลำ�พูนเป็น ศูนย์กลางของผ้าฝ้าย ทอมือและผ้าไหมยกดอก ในภาคเหนือ

ล�ำพูน...จังหวัดเล็กพริกขี้หนู

จั ง หวั ด ล� ำ พู น เป็ น จั ง หวั ด ที่ มี ข นาดเล็ ก ที่ สุ ด ของภาคเหนื อ มี พื้ น ที่ ประมาณ 4,505.822 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 2,816,176.25 ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 4.85 ของพื้นที่ภาคเหนือตอนบน แบ่งเป็นเนื้อที่ป่า จ�ำนวน 1,592,672 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 56.55 เป็นเนื้อที่การใช้ประโยชน์ ทางการเกษตร จ�ำนวน 803,037 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 28.52 และเป็นเนื้อที่ ใช้ประโยชน์นอกการเกษตร จ�ำนวน 420,467 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 14.93 การปกครอง จังหวัดล�ำพูน แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 8 อ�ำเภอ 51 ต�ำบล 577 หมู่บ้าน, 1 องค์การบริหารส่วนจังหวัด, 1 เทศบาลเมือง, 38 เทศบาลต�ำบล, 18 องค์การบริหารส่วนต�ำบล และ 17 ชุมชน ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (Gross Pvovincil Product : GPP) ปี พ.ศ. 2558 มูลค่าเพิม่ ณ ราคาประจ�ำปี เท่ากับ 58,249 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จากปี 2557 คิดเป็นร้อยละ 1.8 โครงสร้างการผลิตที่ส�ำคัญ 3 ล�ำดับแรก ได้แก่ สาขาอุตสาหกรรม สาขาเกษตรกรรม และสาขาการขายส่ง ขายปลีกฯ ตามล�ำดับ โดยผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดต่อหัว (GPP per capita) เท่ากับ 142,771 บาทต่อปี LAMPHUN I SBL บันทึกประเทศไทย 35


เมืองแห่งความสุข บนความพอเพียง

ตามแผนพัฒนาจังหวัดล�ำพูน พ.ศ.2561-2564 ได้ก�ำหนดยุทธศาสตร์ การพัฒนา ดังนี้ วิสัยทัศน์ “เมืองแห่งความสุข บนความพอเพียง” พันธกิจ 1. ส่งเสริมยกระดับและพัฒนาหัตถกรรม ด้วยนวัตกรรมสร้างสรรค์ 2. สร้างมูลค่าเพิ่มให้สินค้าเกษตรด้วยมาตรฐานความปลอดภัย อย่าง ปราดเปรื่อง 3. สร้ า งมู ล ค่ า เพิ่ ม และกระจายรายได้ จ ากการท่ อ งเที่ ยว บนฐาน วัฒนธรรมอย่างยั่งยืน 4. ยกระดับคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชน อย่างเท่าเทียม 5. อนุรักษ์และจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อย่างสมดุล 6. พัฒนาระบบการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ ยกระดับสมรรถนะ บุคลากร บูรณาการการท�ำงานระหว่างหน่วยงาน ส่งเสริมการมีสว่ นร่วมของ ประชาชน เพื่อยกระดับความสามารถในการแข่งขันของจังหวัด ค่านิยม “มุ่งผลสัมฤทธิ์ มีจิตบริการ ท�ำงานเป็นทีม” ยุทธศาสตร์การพัฒนา ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 เมืองหัตถ นวัตกรรมสร้างสรรค์ (Creative Craft Innopolis) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 เมืองเกษตรสีเขียว (Green Agricultural City) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 เมืองจุดหมายปลายทางแห่งการท่องเที่ยวเชิง ประสบการณ์วัฒนธรรม (Cultural Experience Destination) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 เมืองแห่งคุณภาพชีวิต (Quality of Life) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 เมืองนิเวศน์ (Eco - Town) เป้าประสงค์ 1. การเติบโตของรายได้ครัวเรือน และการจ้างงานที่เกิดจากการพัฒนา สินค้าหัตถกรรมด้วยความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม 2. การเติบโตของรายได้ครัวเรือน และการจ้างงานที่เกิดจากการพัฒนา สินค้าเกษตรที่ได้รับการยกระดับมาตรฐานความปลอดภัยและเทคโนโลยี 3. การเติ บ โตของรายได้ ค รั ว เรื อ นและการจ้ า งงาน ที่ เ กิ ด จากการ พัฒนาการท่องเที่ยวเชิงประสบการณ์วัฒนธรรม 4. การพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนทุกช่วงวัย 5. อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพื่อเป็นฐานการพัฒนา อย่างยั่งยืน

36

SBL บันทึกประเทศไทย I LAMPHUN

ผ้าไหมยกดอกลำ�พูน ได้รับการจดทะเบียนเป็น สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) โดยมีสถาบันผ้าทอ มือหริภุญชัยเป็นศูนย์ ถ่ายทอดภูมิปัญญา


3 จุดเน้นทางยุทธศาสตร์ (Strategic Position)

1. หัตถกรรม นวัตกรรม สร้างสรรค์ (Creative Craft Innopolis) - แหล่งผลิตผ้าไหมยกดอก ผ้าฝ้ายทอมือ และสินค้าภูมิปัญญา - ฐานการผลิตและการลงทุนภาคอุตสาหกรรม 2. เกษตรปลอดภัย (Safe Agriculture) - แหล่งผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย เกษตรอินทรีย์ และเกษตรแปรรูป 3. จุดหมายการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม (Cultural Experience Destination) - แหล่งท่องเที่ยวที่มีต้นทุนทางวัฒนธรรมมายาวนาน - เมืองโบราณที่มีชีวิต

ลำ�ไยอบเนื้อสีทอง ได้รับความนิยมจากตลาด ทั้งในและต่างประเทศ และได้รับการจดทะเบียน เป็นสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI)

LAMPHUN I SBL บันทึกประเทศไทย 37


ฐานเศรษฐกิจสร้างสรรค์มูลค่าสูง

จุดเน้นทางยุทธศาสตร์ของจังหวัดล�ำพูนทีเ่ ชือ่ มโยงกลุม่ จังหวัดภาคเหนือ ตอนบน 1 และภาคเหนือ ในระยะแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 ซึ่งมีทิศทางการพัฒนาภาคเหนือให้เป็นฐานเศรษฐกิจสร้างสรรค์ มูลค่าสูง เชื่อมโยงเศรษฐกิจกับประเทศในกลุ่มอนุภูมิภาคลุ่มแม่น�้ำโขง โดยมีเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ ดังนี้ 1. เพื่อยกระดับการผลิตและการสร้างมูลค่าเพิ่มแก่สินค้าและบริการ โดยใช้ความรู้เทคโนโลยี นวัตกรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ 2. เพื่อเชื่อมโยงห่วงโซ่มูลค่าของระบบเศรษฐกิจภาค เข้ากับระบบ เศรษฐกิจของประเทศ และภูมิเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 3. เพื่อดูแลช่วยเหลือคนจนและผู้สูงอายุให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี พึ่งพา ตนเอง พึ่งพาครอบครัว และพึ่งพากันในชุมชนได้ 4. เพื่อแก้ไขปัญหาด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ได้แก่ การบริหารจัดการน�้ำ ป่าต้นน�้ำ และปัญหาหมอกควัน

“ หมู่บ้านพระบาทห้วยต้ม

ได้รับรางวัลดีเด่นประเภท แหล่งท่องเที่ยวชุมชน ปี 2558 และ ปี 2560 38

SBL บันทึกประเทศไทย I LAMPHUN


“ จังหวัดลำ�พูนได้รับมอบ

โล่รางวัลชนะเลิศ การประกวดการจัดการ ขยะมูลฝอยชุมชน “จังหวัดสะอาด” ระดับประเทศ จากพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ในปี 2560

” “ความร่วมมือ” คือหัวใจของการพัฒนา

ผู้ว่าราชการจังหวัดในฐานะที่เป็นผู้บริหารขององค์กร ผมได้ให้ความ ส�ำคัญในการพัฒนาองค์กร โดยเน้นหลักการมีส่วนร่วมตามแนวทางสาน พลังประชารัฐจากทุกภาคส่วน ทั้งภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคเอกชน ภาคประชาสั ง คมและประชาชน เพื่ อ รั บ ฟั ง ปั ญ หาความ ต้องการและความคิดเห็นของผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการให้ ข้อเสนอแนะ แนวทางการด�ำเนินการ และก�ำหนดแนวทางการพัฒนาในเชิง ยุทธศาสตร์ ทีส่ อดคล้องกับสภาพปัญหา และความต้องการของประชาชนใน พืน้ ที่ ให้มคี วามสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ นโยบายของรัฐบาล แผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 และทิศทางการพัฒนาภาคเหนือ โดยมีกระบวนการถ่ายทอดยุทธศาสตร์ลงสู่ระดับหน่วยงานและบุคคล เพื่อสร้างการรับรู้ และน�ำไปสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรมในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับองค์กรจนถึงระดับบุคคล ภายใต้ค่านิยมองค์กร “มุ่งผลสัมฤทธิ์ มีจติ บริการ ท�ำงานเป็นทีม” สามารถพัฒนายุทธศาสตร์ทสี่ ำ� คัญ และจุดเน้น ทางยุทธศาสตร์จนประสบผลส�ำเร็จตามพันธกิจที่ก�ำหนดไว้ LAMPHUN I SBL บันทึกประเทศไทย 39


3 ผลงานชิ้นโบว์แดง

การด�ำเนินงานที่ถือเป็นความส�ำเร็จร่วมกับหน่วยงานทั้งภาครัฐ ภาค เอกชนและภาคประชาชน โดยสรุปมีประเด็นที่ส�ำคัญ ดังนี้ 1. ด้านการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด ได้ก�ำหนดประเด็นยุทธศาสตร์ จ�ำนวน 5 ด้าน โดยมีจุดเน้นทางยุทธศาสตร์ จ�ำนวน 3 เรื่อง ได้แก่ 1.หัตถ นวัตกรรม สร้างสรรค์ 2. เกษตรปลอดภัย และ 3. จุดหมายปลายทางการท่องเที่ยวเชิง วัฒนธรรม - ความส�ำเร็จในการพัฒนาหัตถ นวัตกรรมสร้างสรรค์ ได้แก่ การส่งเสริม ผลักดันให้จังหวัดล�ำพูนเป็นศูนย์กลางของผ้าฝ้ายทอมือและผ้าไหมยก ดอกในภาคเหนือ โดยที่ผ่านมา ผ้าไหมยกดอกล�ำพูน ได้รับการจดทะเบียน เป็นสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) โดยมีสถาบันผ้าทอมือหริภุญชัย เป็นศูนย์ ถ่ายทอดภูมิปัญญา และเป็นแหล่งเรียนรู้ให้แก่หน่วยงานภาครัฐและเอกชน ตลอดจนชาวต่างประเทศ - ความส�ำเร็จในการพัฒนาเกษตรปลอดภัย ได้แก่ การขับเคลือ่ นเกษตร ปลอดภัยเพื่อรองรับการเป็นครัวของภาคเหนือ และการส่งเสริมการปลูก ล�ำไยพันธุด์ งั้ เดิม ได้แก่ พันธุส์ ชี มพู พันธุเ์ บีย้ วเขียว ซึง่ ในปัจจุบนั ล�ำไยพันธุ์ เบี้ยวเขียวได้รับการจดทะเบียนเป็นสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) และส่งเสริม การแปรรูปล�ำไยเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม โดยมีผลิตภัณฑ์ที่ส�ำคัญ คือ ล�ำไยอบ เนื้อสีทอง ซึ่งได้รับความนิยมจากตลาดทั้งในและต่างประเทศ และล�ำไยอบ เนื้อสีทอง ได้รับการจดทะเบียนเป็นสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) - ความส�ำเร็จในการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ได้เน้นการเชื่อม โยงกิจกรรม การท่องเที่ยวในเชิงวัฒนธรรม และการท่องเที่ยวชุมชน เพื่อ ดึงดูดนักท่องเที่ยว โดยใช้ศักยภาพความเป็นเอกลักษณ์ที่โดดเด่นของพื้นที่ จนเป็นที่นิยมของนักท่องเที่ยวในการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม และมี การ สนับสนุน ส่งเสริม พัฒนาชุมชนท่องเที่ยวหมู่บ้านพระบาทห้วยต้ม ซึ่งได้ รับรางวัลโล่หมูบ่ า้ นรักษาศีล 5 แห่งแรกในประเทศ จากส�ำนักงานพระพุทธ ศาสนาแห่งชาติ และได้รับรางวัลอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทย Thailand Tourism Award (รางวัลกินรี) ประจ�ำปี 2558 และ 2560 และได้รับ รางวัลดีเด่นประเภทแหล่งท่องเที่ยวชุมชน ปี 2558 และ ปี 2560 นอกจากนี้ ยังด�ำเนินการขับเคลื่อนขยายผลจังหวัดล�ำพูนให้เป็นจังหวัด สะอาด ซึ่งได้รับมอบโล่รางวัลชนะเลิศ การประกวด การจัดการขยะมูลฝอย ชุมชน “จังหวัดสะอาด” ระดับประเทศ จากพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ในปี 2560 และมีหมู่บ้านชุมชนที่เป็นแหล่งเรียนรู้ในการ จัดการชุมชนเข้มแข็ง ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง และหมู่บ้านปลอดขยะ ให้แก่หน่วยงานทั่วประเทศ

40

SBL บันทึกประเทศไทย I LAMPHUN


2. การส่งเสริมการประพฤติปฏิบตั ติ ามหลักนิตธิ รรม ความโปร่งใสและ ความมีจริยธรรม โดยเน้นการบริหารราชการตามหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองทีด่ ี และ หลักธรรมาภิบาล ในหน่วยงานระดับจังหวัด อ�ำเภอ และองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น และการสร้างเครือข่ายการด�ำเนินงานในระดับหมู่บ้าน/ชุมชน โดย ใช้หลัก บ้าน วัด โรงเรียน “บวร” ที่ผ่านมาจังหวัดล�ำพูนมีผลการประเมิน โครงการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการด�ำเนินงานของหน่วยงาน ภาครัฐ(Integrity and Transparency Assessment : ITA) จากส�ำนักงาน คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ส�ำนักงาน ป.ป.ช.) อยูใ่ นระดับทีส่ งู มาก และได้รบั เกียรติบตั รชมเชยจาก พลเอกประยุทธ์ จันทร์ โอชา นายกรัฐมนตรี 3. การสร้างองค์กรคุณภาพทีย่ งั่ ยืน เน้นการท�ำงานเพือ่ พัฒนาสูค่ วาม ยั่งยืน โดยใช้หลักการก�ำกับดูแลองค์กร การติดตามประเมินผลการปฏิบัติ ราชการ เพื่อสร้างความพึงพอใจให้แก่ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย ตลอดจนการสร้างความโปร่งใสและตรวจสอบได้

เน้นการบริหารราชการ ตามหลักการบริหาร กิจการบ้านเมืองที่ดี และหลักธรรมาภิบาล

LAMPHUN I SBL บันทึกประเทศไทย 41


“ประตูสู่ล้านนา” ที่สุดแห่งอนาคตเมืองล�ำพูน

ส�ำหรับทิศทางและเป้าหมายของการพัฒนาในอนาคตอันใกล้ เพื่อให้ จังหวัดล�ำพูนเป็น “ ประตูสู่ล้านนา” มีอยู่ 4 ประเด็นหลัก ๆ ประกอบด้วย

2. ศูนย์กลางอุตสาหกรรม แหล่งกระจายสินค้า และ Logistics

1. โครงข่ายคมนาคม 1.1 โครงข่ายคมนาคมทางอากาศและทางราง อาทิ สนามบินนานาชาติ, รถไฟความเร็วสูง, รถไฟรางคู่ 1.2 โครงข่ายคมนาคมทางถนน 1.2.1 โครงการก่อสร้างทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 106 - ขยายช่องจราจร จาก 2 เป็น 4 ช่องทาง จาก อ.ลี้ - อ.เมืองล�ำพูน (1,000 ลบ.) - การศึ ก ษาเพื่ อ ส� ำ รวจออกแบบการก่ อ สร้ า งและการใช้ พื้ น ที่ จาก อ.เถิน จ.ล�ำปาง ถึง อ.ลี้ จ.ล�ำพูน และ อ.แม่สะเรียง จ.แม่ฮ่องสอน 1.2.2 โครงการก่อสร้างทางหลวงหมายเลข 116 (ต.ป่าสัก อ.เมือง ล�ำพูน – แยกสะปุง๋ – ต.บ้านเรือน อ.ป่าซาง เชือ่ มโยง อ.สันป่าตอง เชียงใหม่) (400 ลบ.) 1.2.3 โครงการก่อสร้างทางหลวงแนวใหม่ (เชียงใหม่-เลี่ยงเมืองล�ำพูน) 1.2.4 ก่อสร้างทางยกระดับ ข้ามแยกดอยติ อ.เมืองล�ำพูน จ.ล�ำพูน (700 ลบ.) 1.2.5 ศึกษาโครงข่ายรองรับการขยายตัวของเมืองล�ำพูน 1.3 การพัฒนาโครงข่ายคมนาคมรองรับการขยายตัวของเมือง

42

SBL บันทึกประเทศไทย I LAMPHUN

3. การท่องเที่ยวเมืองรอง เชื่อมโยงศักยภาพชุมชน /วัฒนธรรม ธรรมชาติ /มรดกโลก

4. ครัวของภาคเหนือ “เกษตรปลอดภัยและแปรรูป” ยกระดับสินค้าเกษตรปลอดภัยพันธุกรรมพืช / GI/ ใช้นวัตกรรม / Smart Agriculture


จังหวัดลำ�พูน เมืองแห่งความสุข บนความพอเพียง ประตูสู่ล้านนา

” จากใจผู้ว่าฯ “นายอรรษิษฐ์ สัมพันธรัตน์”

จากการที่ ผ มได้ มี โ อกาสมาดู แ ลรั บ ใช้ พ ่ อ แม่ พี่ น ้ อ ง ชาวล�ำพูน ผมรู้สึกดีใจและเป็นเกียรติอย่างยิ่ง แม้ว่าใน อดีตที่ผ่านมา จังหวัดล�ำพูนจะเป็นเพียงจังหวัดทางผ่าน แต่ปัจจุบันด้วยความร่วมมือร่วมใจของทุกภาคส่วน ทั้งภาค รัฐ ภาคเอกชน ภาคการปกครองส่วนท้องถิน่ และภาคประชา สังคม อันประกอบด้วยบ้าน วัด โรงเรียน ได้สร้างความ เปลีย่ นแปลงอย่างเห็นได้ชดั เจนในหลาย ๆ ด้าน และได้กลาย เป็นจังหวัดต้นแบบให้แก่จังหวัดอื่น ๆ ได้มาศึกษาเรียนรู้ แต่ในขณะเดียวกันชาวล�ำพูนยังคงรักษาไว้ซึ่งอัตลักษณ์ ในความเป็นจังหวัดเล็ก ๆ ที่ผู้คนอบอุ่น โอบอ้อมอารี และอ่อนโยน ทว่าเข้มแข็งด้วยศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี และศรัทธาในพระพุทธศาสนา ท้ายนี้ ผมขอขอบคุณชาวล�ำพูนทุกภาคส่วนทีไ่ ด้ให้ความ ร่วมมือในการพัฒนาจังหวัดของเราให้เจริญก้าวหน้า และผม จะพยายามน�ำพาจังหวัดล�ำพูนไปสูก่ ารเป็น “ประตูสลู่ า้ นนา” ในทุก ๆ ด้าน ตามที่กล่าวไปข้างต้น เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ ของจังหวัดที่ว่า “เมืองแห่งความสุข บนความพอเพียง”

LAMPHUN I SBL บันทึกประเทศไทย 43


“ สร้างเครือข่ายการดำ�เนิน งานในระดับหมู่บ้าน/ ชุมชน โดยใช้หลัก “บ้าน วัด โรงเรียน” หรือ “บวร”

44

SBL บันทึกประเทศไทย I LAMPHUN


ประวัติผู้ว่าราชการจังหวัดล�ำพูน

“นายอรรษิษฐ์ สัมพันธรัตน์” การศึกษา – รัฐศาสตรบัณฑิต (การปกครอง) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย – พัฒนบริหารศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐประศาสนศาสตร์) สถาบันบัณฑิต พัฒนบริหารศาสตร์ – นักบริหารงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย รุ่นที่ 2 – นักปกครองระดับสูง รุ่นที่ 54 – หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้านการค้าและการพาณิชย์ (TEPCOT) รุ่นที่ 10 ประวัติรับราชการ – ผู้ว่าราชการจังหวัดล�ำพูน – รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน – รองผู้ว่าราชการจังหวัดอุดรธานี – รองผู้ว่าราชการจังหวัดสิงห์บุรี – ผู้อ�ำนวยการสถาบันด�ำรงราชานุภาพ – หัวหน้าส�ำนักงานคณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วน ท้องถิ่น – นักวิเคราะห์นโยบายและแผนเชี่ยวชาญ กรมป้องกันและบรรเทา สาธารณภัย – ผู้อ�ำนวยการกองการเจ้าหน้าที่ กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย – เลขานุการกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย – หัวหน้ากลุ่มงานสรรหาและบรรจุแต่งตั้ง ส�ำนักงานปลัดกระทรวง มหาดไทย –หัวหน้ากลุม่ งานช่วยอ�ำนวยการและกิจการพิเศษ ส�ำนักงานเลขานุการ กรม กรมป้องกันและ บรรเทาสาธารณภัย – เจ้าหน้าทีว่ เิ คราะห์นโยบายและแผน 7ว , 8ว กรมป้องกันและบรรเทา สาธารณภัย – หัวหน้างานการเจ้าหน้าที่ (บุคลากร 6ว , 7ว) ส�ำนักงานคณะกรรมการ ส่งเสริมการลงทุน – หัวหน้างานบรรจุและแต่งตั้ง กองการเจ้าหน้าที่ – บุคลากร 4 , 5 , 6ว ฝ่ายบรรจุและแต่งตั้ง กองการเจ้าหน้าที่ – เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป 3 , 4 กองกลาง ส�ำนักงานปลัดกระทรวง มหาดไทย – เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน 3 ส�ำนักงานจังหวัดฉะเชิงเทรา เครื่องราชอิสรยาภรณ์ – ประถมาภรณ์ช้างเผือก – ประถมาภรณ์มงกุฎไทย – เหรียญพิทักษ์เสรีชน ชั้น 2 – เหรียญราชการชายแดน – เหรียญลูกเสือสดุดี ชั้น 1 – เหรียญกาชาดสมนาคุณ ชั้น 3 LAMPHUN I SBL บันทึกประเทศไทย 45


SPECI A L I N TE R V IE W

บันทึกเส้นทางพบรองผู้ว่าราชการจังหวัดลำ�พูน

46

SBL บันทึกประเทศไทย I LAMPHUN


ส่งเสริมการตลาด สินค้าเกษตรปลอดภัย สินค้าเกษตรอินทรีย์ และขยายช่องทางการ ตลาดสู่อาเซียน

นายสำ�เริง ไชยเสน รองผู้ว่าราชการจังหวัดลำ�พูน “ลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ และเราจะไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง” นายส�ำเริง ไชยเสน รองผู้ว่าราชการจังหวัดล�ำพูน ที่ได้รับ มอบหมายจากท่านผู้ว่าราชการจังหวัดล�ำพูน ให้รับผิดชอบ งานด้านยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด ซึ่งนับเป็นภารกิจที่ท่าน คุ้นเคย อีกทั้งยังได้ปฏิบัติหน้าที่ในพื้นที่ภาคเหนือที่ท่านคุ้นชิน เป็นอย่างดี ส่งผลให้การขับเคลือ่ นการพัฒนาจังหวัดล�ำพูนเป็น ไปอย่างก้าวกระโดด เนื่องด้วยในอดีตท่านเคยด�ำรงต�ำแหน่งหัวหน้ากลุ่มงาน ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด ส�ำนักงานจังหวัดเชียงใหม่ เคย เป็นหัวหน้าส�ำนักงานจังหวัดล�ำปาง เป็นรองผูว้ า่ ราชการจังหวัด แม่ฮ่องสอน ก่อนที่จะได้รับค�ำสั่งจากกระทรวงมหาดไทย แต่ง ตั้งให้มาด�ำรงต�ำแหน่ง รองผู้ว่าราชการจังหวัดล�ำพูน เมื่อเดือน ตุลาคม 2560 วันนี้ ท่านส�ำเริง ไชยเสน กรุณาสละเวลาอันมีค่าของท่าน เพือ่ ให้นติ ยสาร SBL บันทึกประเทศไทย ได้สมั ภาษณ์พดู คุยใน หลากหลายประเด็น ดังนี้ ภารกิจ-งานเฉพาะกิจพิเศษ ผมได้รับมอบหมายให้เป็นหัวหน้ากลุ่มด้านเศรษฐกิจและ สังคม จึงมีภารกิจที่ก�ำกับดูแลประจ�ำ และภารกิจที่ได้รับมอบ หมายเป็นพิเศษ เช่น งานด้านประชาคมอาเซียน, บริษทั ประชา รัฐรักสามัคคีลำ� พูน (วิสาหกิจเพือ่ สังคม) จ�ำกัด, งานการพัฒนา และส่งเสริมการท่องเที่ยว, การแก้ไขปัญหาพืชผลทางการ เกษตร, โครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ, โครงการปิดทอง หลังพระ, กองทุนแม่ของแผ่นดิน, โครงการเกษตรเพื่ออาหาร กลางวัน, โครงการ To be number one, เป็นคณะอนุกรรมการ ด�ำเนินงานยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปราม การทุจริตจังหวัดล�ำพูน, คณะกรรมการการป้องกันและปราบ ปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบในภาครัฐ, คณะกรรมการ จริยธรรมประจ�ำจังหวัดล�ำพูน และคณะอนุกรรมการสามัญ ประจ�ำจังหวัดล�ำพูน (อ.ก.พ.จังหวัดล�ำพูน) LAMPHUN I SBL บันทึกประเทศไทย 47


จังหวัดเรามีแนวทางการดำ�เนิน งานตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง และหลักความเข้าใจ เข้าถึง และ พัฒนา และหลักการทรงงานใน ชุมชนที่ให้ระเบิดจากภายใน

” โครงการเด่นปี 61 “เกษตรสุขภาพดี วิถีคนหละปูน”

เนือ่ งด้วยจังหวัดล�ำพูนของเรา มีสนิ ค้าเกษตรที่ ส�ำคัญ ได้แก่ ล�ำไย กระเทียม หอมแดง และพืชผัก ต่าง ๆ ซึง่ ล�ำพูนนับเป็นแหล่งผลิตพืชผักทีส่ ำ� คัญของ ภาคเหนือ โดยผลผลิตส่วนหนึ่งจะป้อนเป็นวัตถุดิบ แก่โรงงานอุตสาหกรรมแปรรูป และส่วนหนึ่งจะถูก ส่งไปจ�ำหน่ายในจังหวัดต่าง ๆ เช่น เชียงใหม่ ล�ำปาง กรุงเทพฯ นครสวรรค์ ฯลฯ เราจึงสนับสนุนและส่งเสริมให้เกษตรกรผลิต สินค้าปลอดภัยและเกษตรอินทรีย์ ภายใต้ โครงการ ส่ ง เสริ ม การตลาดสิ น ค้ า เกษตรปลอดภั ย สิ น ค้ า เกษตรอินทรียแ์ ละขยายช่องทางการตลาดสูอ่ าเซียน ประจ�ำปีงบประมาณ 2561 โดยจังหวัดล�ำพูนได้ จัดกิจกรรมการขยายตลาดเกษตรปลอดภัย สินค้า เกษตรอินทรีย์ ให้สอดรับกับยุทธศาสตร์การพัฒนา เกษตรอินทรียข์ องจังหวัดล�ำพูน และนโยบายรัฐบาล โดยการใช้นโยบายของกระทรวงพาณิชย์ ที่ใช้ตลาด น�ำการผลิต หรือ Demand Driven มาก�ำหนดความ ต้องการของตลาด ตลอดจนเพื่อให้การด�ำเนินงาน ตามกิจกรรม/โครงการ เป็นไปด้วยความเรียบร้อย มีประสิทธิภาพ และเกิดประโยชน์สูงสุด

48

SBL บันทึกประเทศไทย I LAMPHUN


จากใจท่านรองผู้ว่าฯ

ทั้งนี้จังหวัดล�ำพูนได้อนุมัติโครงการและมอบอ�ำนาจให้ส�ำนักงาน พาณิชย์จงั หวัดล�ำพูน ด�ำเนินโครงการตามแผนปฏิบตั ริ าชการจังหวัดล�ำพูน ประจ�ำปี 2561 จ�ำนวนกว่า 6 ล้าน 5 แสนบาท โดยมีแผนด�ำเนินงานใน 2 กิจกรรมหลัก ได้แก่ กิจกรรมการพัฒนาผูป้ ระกอบการและส่งเสริมตลาด สินค้าอินทรีย์ เป็นการพัฒนาสินค้าเกษตรอินทรีย์และผลิตภัณฑ์แปรรูป จากผลผลิตทางการเกษตรให้ได้มาตรฐานสากล และจัดท�ำฐานข้อมูล สินค้าทั้งด้านแหล่งผลิต ปริมาณการผลิต เพื่ออ�ำนวยความสะดวกแก่ผู้ ซือ้ ผูป้ ระกอบการ สูก่ ารสร้างเครือข่ายผูผ้ ลิต ผูป้ ระกอบการสินค้าเกษตร อินทรีย์ และผลิตภัณฑ์แปรรูปจากผลผลิตทางการเกษตรจังหวัดล�ำพูน เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันด้านการตลาดของผู้ผลิต ผู้ประกอบ การสินค้าเกษตรอินทรีย์ และผลิตภัณฑ์แปรรูปจากผลผลิตทางการเกษตร จังหวัดล�ำพูน และกิจกรรมการขยายตลาดและการสร้างโอกาสทางการค้าในประเทศ และต่างประเทศ(Asian/Asian+3/Asian+6) เพื่อให้กับเกษตรกร และ ผู้ประกอบการมีช่องทางการจ�ำหน่ายเพิ่มขึ้น มีการเชื่อมโยงตลาดสินค้า ในภูมิภาคและต่างประเทศ สร้างรายได้ เพิ่มมูลค่าสินค้าให้กับเกษตรกร ชุมชน และผู้ประกอบการอย่างแท้จริง ตลอดจนสร้างความเข้าใจแก่ผู้ บริโภค และส่งเสริมภาพลักษณ์สนิ ค้าเกษตรอินทรียท์ งั้ ในประเทศและต่าง ประเทศให้เป็นที่รู้จักแพร่หลาย ท�ำให้เกิดการตื่นตัว กระตุ้นให้ประชาชน นิยมบริโภคเพื่อสุขภาพ รวมทั้งอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

จังหวัดล�ำพูนได้น�ำศาสตร์ของพระราชามาเป็นแนวทางหลาย กิจกรรม โดยเฉพาะกิจกรรมส่งเสริมอาชีพ ซึ่งศาสตร์ของพระราชาที่ เราน�ำมาใช้ คือ หนึ่งการลดรายจ่าย สองการเพิ่มรายได้ ควบคู่กับข้อ ทีส่ ามตามนโย บายของรัฐบาล คือ เราจะไม่ทงิ้ ใครไว้ขา้ งหลัง ซึง่ หมาย ถึงการให้ความ เป็นธรรมในการส่งเสริมมาตรการต่าง ๆ เพือ่ ทีจ่ ะให้ได้ รับผลประโยชน์ ร่วมกันอย่างเป็นธรรม ซึ่งจากข้อมูลของราษฎรหรือ เกษตรกรที่มีราย ได้ตกเกณฑ์มีจ�ำนวนไม่มาก เราก็จะเร่งรัดพัฒนาให้ แล้วเสร็จภายในปีต่อไป จากการประชุมคณะกรรมการประสานงานขับเคลือ่ นและขยาย ผล โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริจังหวัดล�ำพูน เพื่อพิจารณากลั่น กรองโครงการฯ ประจ�ำปีงบประมาณ 2561 จังหวัดเรามีแนวทางการ ด�ำเนินงานตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง และหลักความเข้าใจ เข้าถึง และ พัฒนา และหลักการทรงงานในชุมชนทีใ่ ห้ระเบิดจากภายใน และพร้อม ที่จะมีส่วนร่วม ไม่ใช่การรอรับเพื่อให้ภาครัฐด�ำเนินการ แต่ราษฎรหรือ ชุมชนในพื้นที่เป็นผู้คิดริเริ่มที่จะด�ำเนินการ เพราะงบประมาณต่าง ๆ ที่จังหวัดมอบให้มีจ�ำนวนจ�ำกัด ซึ่งจะช่วยเสริมในส่วนที่ขาด อาจจะ ออกมาในรูปของการส่งเสริมในสิ่งที่ชุมชนหรือราษฎรมีอยู่แล้วอย่าง ภูมิปัญญา แล้วเราเข้าไปให้ความรู้คู่คุณธรรม ให้เขาได้ด�ำเนินการต่อ เพื่อให้เกิด ความยั่งยืน ซึ่งเขาอาจจะน�ำไปขยายผลให้แก่กลุ่มราษฎร หรือชุมชนอื่น ๆ ต่อไปตามศาสตร์ของพระราชา และปัจจุบันการขึ้นทะเบียนของการท�ำตลาดประชารัฐก็ดี การน�ำ ผลผลิตต่าง ๆ เข้ามาสู่ช่องทางการขยายผลไปสู่รายได้ก็ดี จังหวัด ล�ำพูนก็ก�ำลังด�ำเนินการอย่างต่อเนื่อง ซึ่งเราคิดว่าศาสตร์พระราชา นี้ จะสามารถท�ำให้ชุมชนหรือราษฎรอยู่อย่างมีความสุขภายใต้หลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงท�ำให้จังหวัดล�ำพูนบรรลุวิสัยทัศน์เป็นเมือง แห่งความสุข บนความพอเพียง ครับ LAMPHUN I SBL บันทึกประเทศไทย 49


SPECI A L I N TE R V IE W

บันทึกเส้นทางพบรองผู้ว่าราชการจังหวัดลำ�พูน

50

SBL บันทึกประเทศไทย I LAMPHUN


นายวรยุทธ เนาวรัตน์ รองผู้ว่าราชการจังหวัดลำ�พูน นายวรยุทธ เนาวรัตน์ รองผู้ว่าราชการจังหวัดล�ำพูน เป็น ข้าราชการพลเรือนอีกท่านหนึ่งที่มีความรู้ความสามารถด้าน บริหารและด้านความมัน่ คง ท่านผ่านการศึกษาอบรมหลักสูตร นายอ�ำเภอรุน่ ที่ 56 โดยมีผลคะแนนสูงสุดเป็นล�ำดับที่ 2 ของรุน่ และเคยปฏิบัติหน้าที่ทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค โดย เฉพาะในพื้นที่ภาคเหนือ อาทิ เป็นจ่าจังหวัดแพร่ และเป็นนาย อ�ำเภอฟากท่า (ผู้อ�ำนวยการระดับต้น) จังหวัดอุตรดิตถ์ ในปี 2555 ก่อนที่จะได้รับการโยกย้ายไปด�ำรงต�ำแหน่ง เลขานุการ กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ในปี 2556 จากนั้นในปี 2558 ท่านได้รับแต่งตั้งให้ด�ำรงต�ำแหน่ง ผู้อ�ำนวยการส�ำนัก อ�ำนวยการกองอาสารักษาดินแดน กระทรวงมหาดไทย และ ในเดือนตุลาคม 2560 ได้รับแต่งตั้งจากกระทรวงมหาดไทย ให้ดำ� รงต�ำแหน่ง “รองผูว้ า่ ราชการจังหวัดล�ำพูน” ซึง่ มีภารกิจใน การก�ำกับดูแลงานด้านบริหารและความมั่นคงที่ท่านเชี่ยวชาญ นิ ต ยสาร SBL บั น ทึ ก ประเทศไทย ได้ รั บ เกี ย รติ จ าก ท่านวรยุทธ เนาวรัตน์ ให้สัมภาษณ์ถึงบทบาทหน้าที่ที่ท่านรับ ผิดชอบก�ำกับดูแล งานเฉพาะกิจพิเศษ ตลอดจนภารกิจต่าง ๆ ตามที่ ไ ด้ รั บ มอบหมายจากท่ า นผู ้ ว ่ า ราชการจั ง หวั ด ล� ำ พู น ดังรายละเอียดต่อไปนี้

บทบาทหน้าที่ที่รับผิดชอบ

เพื่อให้การบริหารราชการของจังหวัดล�ำพูนเป็นไปด้วย ความเรียบร้อย และเพื่อให้เกิดผลลัพธ์ของการปฏิบัติหน้าที่ที่ ได้รับมอบหมายในแต่ละกลุ่มภารกิจ ท่านผู้ว่าราชการจังหวัดฯ ได้มอบหมายหน้าที่ในการควบคุม ดูแล การบริหารราชการ ก�ำหนดแนวทางปฏิบัติราชการ ก�ำกับ เร่งรัด ประสานงาน ติดตามประเมินผลการปฏิบัติงาน และก�ำหนดยุทธศาสตร์และ นโยบายการพัฒนาจังหวัดในกลุ่มภารกิจที่รับผิดชอบ

LAMPHUN I SBL บันทึกประเทศไทย 51


ภารกิจและงานเฉพาะกิจพิเศษ

ภาระงานด้านการบริหารและความมั่นคงที่ผมก�ำกับดูแล ตลอดจนงาน เฉพาะกิจพิเศษต่าง ๆ ประกอบด้วย ศูนย์อ�ำนวยการป้องกันและแก้ไข ปัญหายาเสพติด ( ศูนย์อ�ำนวยการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด) คณะ กรรมการองค์การบริหารส่วนจังหวัดล�ำพูน คณะกรรมการพนักงานเทศบาล จังหวัดล�ำพูน คณะกรรมการพนักงานส่วนต�ำบลจังหวัดล�ำพูน งานแก้ไข ปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน งานศูนย์ดำ� รงธรรม/งานคุม้ ครองบริโภค งานบริหารจัดการน�้ำแบบบูรณาการ และงานป้องกันและแก้ไขปัญหาไฟป่า และหมอกควัน อี ก ทั้ ง ยั ง ได้ รั บ มอบหมายให้ ก� ำ กั บ ดู แ ลพื้ น ที่ ห รื อ หน่ ว ยงานต่ า ง ๆ ประกอบด้วย ที่ท�ำการปกครองจังหวัดล�ำพูน ส�ำนักงานจังหวัดล�ำพูน ( ศูนย์ด�ำรงธรรม ) ส�ำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดล�ำพูน ส�ำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดล�ำพูน ส�ำนักงานที่ดินจังหวัดล�ำพูน ส�ำนักงานส่งเสริมปกครองท้องถิ่นจังหวัดล�ำพูน เรือนจ�ำล�ำพูน ส�ำนักงาน บังคับคดีจังหวัดล�ำพูน ส�ำนักงานคุมประพฤติจังหวัดล�ำพูน ส�ำนักงาน ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม ส�ำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนุษย์จงั หวัดล�ำพูน ส�ำนักงานพลังงานจังหวัดล�ำพูน ส�ำนักงานแรงงาน จังหวัดล�ำพูน ส�ำนักงานจัดหางานจังหวัดล�ำพูน ส�ำนักงานประกันสังคม จังหวัดล�ำพูน ส�ำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดล�ำพูน

ภารกิจส�ำคัญตามนโยบายเร่งด่วนของรัฐบาล

1. โครงการไทยนิยม ยั่งยืน จากการที่พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ได้มอบนโยบาย และแนวทางการขับเคลื่อน การพัฒนาประเทศตามโครงการไทยนิยม ยั่งยืน เพื่อการขับเคลื่อนนโยบายของรัฐบาลไปสู่การปฏิบัติ โดยยึดประชาชนเป็น ศูนย์กลาง ควบคู่กับการสร้างสรรค์นวัตกรรมที่มีคุณค่า เพื่อผลิตก�ำลังคน การสร้างพลังทางสังคมและลดการเหลือ่ มล�ำ้ ซึง่ เป็นการกระจายโอกาสอย่าง ทั่วถึงและเป็นธรรม เพื่อการพัฒนาไปสู่ประเทศไทย 4.0

52

SBL บันทึกประเทศไทย I LAMPHUN

ซึ่งโครงการไทยนิยม ยั่งยืน ได้มุ่งขับเคลื่อนงานส�ำคัญ 10 เรื่อง อาทิ สัญญาประชาคมผูกใจไทยเป็นหนึ่ง, คนไทยไม่ทิ้งกัน, ชุมชนอยู่ดีมีสุข, วิถไี ทยวิถพี อเพียง, รูเ้ ท่าทันเทคโนโลยี, ร่วมแก้ไขปัญหายาเสพติด เป็นต้น โดยถือเป็นเรื่องเร่งด่วน และจะขยายผลเพื่อต่อยอดในเรื่องอื่น ๆ ต่อไป ให้ครอบคลุมทุกมิติ เพื่อให้การแก้ไขปัญหาความยากจน และลดความ เหลื่อมล�้ำในสังคมให้น้อยลง โดยให้มีการบูรณาการร่วมกันระหว่าง เจ้าหน้าที่ภาครัฐ ภาคเอกชน กับภาคประชาชน ด้วยการยึดถือความ ต้องการของประชาชนเป็นส�ำคัญ และการพัฒนาอาชีพด้านการเกษตร แก่ประชาชน เพราะจังหวัดล�ำพูนนั้นเป็นแหล่งปลูกล�ำไย ข้าว ข้าวโพด เลี้ยงสัตว์ กระเทียม หอมแดง มันส�ำปะหลัง โดยเฉพาะล�ำไยสีทองนั้น เป็นพืชเศรษฐกิจส�ำคัญของจังหวัดล�ำพูน ซึ่งปัจจุบันได้มีการรวมกลุ่ม ผู้ปลูกล�ำไยในรูปแบบของสหกรณ์ ซึ่งจะเป็นแหล่งรวบรวม จ�ำหน่ายและ กระจายผลผลิต จึงช่วยลดต้นทุนด้านการขนส่งแก่สมาชิก รวมถึงมีการ ส่งเสริมอาชีพให้สมาชิกแปรรูปล�ำไยเป็นล�ำไยอบแห้งสีทอง เพือ่ เพิม่ มูลค่า ผลผลิต สามารถสร้างรายได้ที่เพิ่มขึ้นและยั่งยืนให้แก่เกษตรกร การขับเคลือ่ นการพัฒนาประเทศตามโครงการไทยนิยม ยัง่ ยืน จังหวัด ล�ำพูน มีทั้งสิ้น 8 อ�ำเภอ 51 ต�ำบล 577 หมู่บ้าน 17 ชุมชน ได้ด�ำเนิน การเวทีที่ 4 เป็นที่เรียบร้อยแล้ว เมื่อวันที่ 15 มิถุนายน 2561 ส�ำหรับ โครงการพัฒนาคุณภาพชีวติ เพือ่ ขับเคลือ่ นเศรษฐกิจฐานรากในพืน้ ทีต่ าม “โครงการไทยนิยม ยัง่ ยืน” (หมูบ่ า้ น/ชุมชนละสองแสนบาท) จ�ำนวน 594 หมูบ่ า้ น/ชุมชน มีโครงการทีข่ อรับการสนับสนุนทัง้ สิน้ 665 โครงการ รวม งบประมาณ 118,796,900 บาท

2. การป้องกันและแก้ไขปัญหาไฟป่าและหมอกควัน ในฐานะทีผ่ มได้รบั มอบหมายให้รบั ผิดชอบนโยบายด้านงานป้องกันและ แก้ไขปัญหาไฟป่าและหมอกควัน ได้ด�ำเนินการตามนโยบายที่กระทรวง มหาดไทยก�ำหนด โดยใช้มาตรการในการป้องกันแก้ไขปัญหาแบบบูรณาการ อาศัยการท�ำงานร่วมกันกับหน่วยงานองค์กรทุกภาคส่วน โดยแบ่งเป็น พื้นที่รับผิดชอบชัดเจนให้หน่วยงานแต่ละกระทรวงดูแล คือ พื้นที่ป่าไม้โดย กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม พืน้ ทีเ่ กษตรกรรมโดยกระทรวง เกษตรและสหกรณ์ พืน้ ทีช่ มุ ชนและเขตเมืองโดยกระทรวงมหาดไทย และพืน้ ทีร่ มิ ทางโดยกระทรวงคมนาคม


ซึ่งในปีงบประมาณ 2561 จังหวัดล�ำพูนได้รับงบประมาณเกี่ยวกับ การป้องกันและแก้ไขปัญหาหมอกควัน 19.84 ล้านบาท มีก�ำหนด ช่วงเวลาห้ามเผาเด็ดขาด ตั้งแต่วันที่ 20 กุมภาพันธ์ - 20 เมษายน 2561 จึงมีมาตรการในการด�ำเนินงาน ประกอบด้วย ด้านการบริหาร จัดการ มีการจัดตั้งศูนย์สั่งการแบบเบ็ดเสร็จ (Single Command) มีการจัดตั้งศูนย์อ�ำนวยการเฉพาะกิจรับแจ้งเหตุรวบรวมข้อมูลและ สั่งการ (War Room) ระดับจังหวัด อ�ำเภอ และต�ำบล ด้านการ ประชาสั ม พั น ธ์ ได้ จั ด ให้ มี กิ จ กรรมประชาสั ม พั น ธ์ ร ณรงค์ ห ยุ ด เผา ผ่านสื่อมวลชนในพื้นที่ รวมทั้งเครือข่ายหน่วยงานภาครัฐ เอกชน และ อาสาสมัครภาคประชาชน ด้านการป้องกันและเฝ้าระวังพื้นที่เสี่ยง มีการจัดตัง้ ฐานปฏิบตั กิ ารของเจ้าหน้าทีต่ ลอด 24 ชัว่ โมง ด้านการส่งเสริม และสร้างเครือข่ายการมีส่วนร่วม ได้ระดมก�ำลังหน่วยงานระดับจังหวัด ที่เกี่ยวข้องร่วมกับอ�ำเภอ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้การสนับสนุน ส่งเสริมชุมชนในพื้นที่เสี่ยงให้มีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังป้องกันและ ควบคุมปัญหาไฟป่า เช่น การท�ำแนวกันไฟ, การจัดเวทีเสวนาเสริม สร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาหมอกควันไฟป่า, การอบรมเพื่อ สร้างเครือข่ายอาสาสมัครภาคประชาชน และด้านการบังคับใช้กฎหมาย ได้ก�ำหนดให้มีการด�ำเนินคดีกับผู้ที่จุดไฟเผาป่าในขั้นเด็ดขาด จากการด�ำเนินงานอย่างเข้มข้น ตามมาตรการข้างต้น ได้ท�ำให้ สถานการณ์ไฟป่าและหมอกควันในพื้นที่จังหวัดล�ำพูน รุนแรงน้อยกว่า ปี 2560 ซึ่งในปี 2561 มีสถิติการเกิดจุดความร้อน (Hotspot) พบจุด ความร้อนลดลง จ�ำนวน 255 จุด (ปี 2560 จ�ำนวน 333 จุด) ซึง่ มาตรการ ทั้งหมดทางจังหวัดจะได้น�ำไปเป็นแนวทางในการปฏิบัติของปีต่อไป โดย จะคงเน้นในการที่จะให้ชุมชนท้องถิ่นเป็นฐาน ให้ชาวบ้านเป็นก�ำลังหลัก ในการสอดส่องดูแลเฝ้าระวังพื้นที่ไม่ให้เกิดไฟไหม้ป่า และให้หน่วยงาน ส่วนราชการเป็นส่วนก�ำลังเสริมคอยรับแจ้งเหตุสถานการณ์ไฟป่าพร้อม สนับสนุนในเรื่องของก�ำลังคนเครื่องมืออุปกรณ์และการเข้าถึงพื้นที่ได้ อย่างรวดเร็วทันที รวมถึงให้หน่วยงานระดับจังหวัดได้มกี ารกระจายอ�ำนา จลงสูห่ น่วยงานระดับพืน้ ที่ เพือ่ ให้การบริหารจัดการงบประมาณคล่องตัว ตลอดจนเป็นหน่วยงานหลักในการทีจ่ ะรณรงค์ให้ความรูส้ ร้างความเข้าใจ ที่ถูกต้องสร้างจิตส�ำนึกรักและหวงแหนผืนป่าให้แก่ประชาชน 3. นโยบายการบริหารจัดการแรงงานต่างด้าว แรงงานต่ า งด้ า วเป็ น เรื่ อ งที่ มี ผ ลกระทบต่ อ ความมั่ น คง ขณะที่ ประเทศไทยยังมีความต้องการแรงงานต่างด้าวในการพัฒนาประเทศ จึงจ�ำเป็นต้องมีการบริหารจัดการแรงงานต่างด้าวอย่างเป็นระบบตาม มาตรฐานสากล จังหวัดล�ำพูน ได้ตั้งศูนย์บริการจดทะเบียนแรงงานต่างด้าว (One Stop Service : OSS) ขึ้นที่ศูนย์ราชการกระทรวงแรงงานจังหวัดล�ำพูน โดยได้เปิดขึน้ ทะเบียนแรงงานต่างด้าวสัญชาติกมั พูชา ลาว และเมียนมาร์ กลุ่มบัตรสีชมพู ที่ผ่านการพิสูจน์สัญชาติแล้วและยังไม่พิสูจน์สัญชาติ ซึ่งการด�ำเนินการขึ้นทะเบียนแรงงานต่างด้าว มี 2 ระยะ คือ

ระยะที่ 1 ระหว่างวันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2561- 31 มีนาคม 2561 จังหวัด มีเป้าหมาย 6,906 ราย จังหวัดสามารถด�ำเนินการได้ 7,801 ราย ระยะที่ 2 ระหว่างวันที่ 23 เมษายน 2561- 30 มิถนุ ายน 2561 เป้าหมาย 99 ราย ด�ำเนินการได้ 101 ราย ( ระยะที่ 2 เป็นการขยายเวลาการจัดท�ำ/ ปรับปรุงทะเบียนประวัตแิ ละขออนุญาตท�ำงานให้กบั แรงงานต่างด้าวทีย่ งั ไม่ ได้ลงทะเบียนหรือลงทะเบียนไม่ทันในระยะที่ 1) รวมทั้ง 2 ระยะ เป้าหมายรวม 7,005 ราย ด�ำเนินการได้ 7,902 ราย คิดเป็นร้อยละ 112.80% เกินเป้าหมายที่วางไว้ LAMPHUN I SBL บันทึกประเทศไทย 53


WO R K L I F E

บันทึกเส้นทางพบสำ�นักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดลำ�พูน

นายสำ�ราญ รัตนพันธ์

ผู้อำ�นวยการสำ�นักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดลำ�พูน “พระพุทธศาสนามั่นคง ศาสนิกชนธ�ำรงความดี ศักดิ์ศรีแดนธรรม น�ำพาสังคม” คือวิสัยทัศน์ของส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดล�ำพูน ตั้งอยู่ที่ศาลากลางจังหวัดล�ำพูน ถนนอินทยงยศ อ�ำเภอเมืองล�ำพูน จังหวัดล�ำพูน

54

SBL บันทึกประเทศไทย I LAMPHUN


พันธกิจ

อุปถัมภ์ คุ้มครองและสนองงานทางพระพุทธศาสนา พัฒนาการเผยแผ่หลักธรรม น้อมน�ำหลักธรรมสู่ประชาชน อ�ำนาจหน้าที่ ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดล�ำพูน มีอ�ำนาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้

1. ศึกษา วิเคราะห์ และรายงานข้อมูลสารสนเทศด้านพระพุทธ ศาสนา เพื่อก�ำหนดนโยบายในระดับจังหวัด รวมทั้งเสนอแนะแนวทาง แก้ไข 2. ติดตามและประเมิน ผลการด�ำเนินงานตามนโยบาย แผนงาน โครงการของหน่วยงานในความดูแลของส�ำนักงานพระพุทธศาสนา จังหวัด รวมทั้งรายงานผลการด�ำเนินงาน ปัญหาและอุปสรรคให้หน่วย งานที่เกี่ยวข้องทราบ 3. ส่งเสริม ดูแล รักษา และท�ำนุบ�ำรุงศาสนสถานและศาสนวัตถุ ทางพระพุทธศาสนารวมทั้งดูแล รักษา และจัดการวัดร้างและศาสน สมบัติกลางในจังหวัด 4. ส่งเสริมและสนับสนุนให้วัดเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ และแหล่ง ภูมปิ ญ ั ญาของชุมชนรวมทัง้ ส่งเสริมให้มศี นู ย์กลางในการจัดกิจกรรมทาง พระพุทธศาสนาของจังหวัด 5. ส่งเสริม สนับสนุน และประสานงานด้านการเผยแผ่พระพุทธ ศาสนา และด้านพุทธศาสนศึกษา รวมทั้งดูแลและควบคุมมาตรฐาน คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาในสังกัดภายในจังหวัด ให้ผู้เรียนมี ความรู้คู่คุณธรรม และพัฒนาบุคลากรทางพระพุทธศาสนา 6. รับสนองงาน ประสานงาน และสนับสนุนกิจการ และการ บริหารการปกครองคณะสงฆ์ ตลอดจนการด�ำเนินการตามนโยบายและ มาตรการในการคุ้มครองพระพุทธศาสนา 7. ส่งเสริมและประสานการด�ำเนินงานในการปฏิบัติศาสนพิธี และ กิจกรรมในวันส�ำคัญทางพระพุทธศาสนา 8. ปฏิ บั ติ ง านตามกฎหมายในความรั บ ผิ ด ชอบของส� ำ นั ก งาน พระพุทธศาสนาแห่งชาติ ซึง่ ก�ำหนดให้เป็นอ�ำนาจหน้าทีข่ องผูว้ า่ ราชการ จังหวัด หรือตามที่ได้รับมอบหมาย 9. ปฏิบตั งิ านร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบตั งิ านของหน่วยงานอืน่ ที่เกี่ยวข้อง หรือที่ได้รับมอบหมาย

LAMPHUN I SBL บันทึกประเทศไทย 55


พศจ.ล�ำพูน ประกาศเจตจ�ำนงสุจริต

ตามแผนพั ฒ นาเศรษฐกิ จ และสั ง คมแห่ ง ชาติ ฉ บั บ ที่ 12 ( พ.ศ.2560-2564 ) ยุทธศาสตร์ที่ 6 การบริหารจัดการในภาครัฐ การป้องกันการทุจริตประพฤติมิชอบและธรรมาภิบาลในสังคมทย มีวตั ถุประสงค์เพือ่ ลดปัญหาทุจริตและการประพฤติมชิ อบของประเทศ สร้างให้สังคมไทยมีวินัย โปร่งใส ยึดมั่นความซื่ออสัตย์สุจริตและ ยุติธรรม ซึ่งสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและ ปราบปรามทุจริต ระยะที่ 3 ( พ.ศ.2560-2561 ) กอปรกับการ ต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบในภาครัฐ เป็นหนึ่งในนโยบาย ส�ำคัญของประเทศ และถูกบรรจุอยู่ในยุทธศาสตร์ชาติระยะที่ 20 ( พ.ศ.2560-2579 ) ซึ่งส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดล�ำพูนได้ ตระหนักและให้ความส�ำคัญในเรื่องดังกล่าวอย่างยิ่ง จึงขอประกาศ เจตจ�ำนงสุจริตในการบริหารงานด้วยความซื่อสัตย์สุจริต อย่างมี คุณธรรม เพื่อให้ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดล�ำพูนเป็นองค์กร แห่งธรรมมาภิบาล มีภาพลักษณ์ที่ดี สาธารณชนเกิดความเชื่อมั่นใน การด�ำเนินงาน ที่เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาลและการบริหารกิจการ บ้านเมืองที่ดี รวมทั้งสนับสนุนให้บุคลากรในสังกัดมีความตระหนักรู้ และปฏิบตั หิ น้าทีอ่ ย่างซือ่ สัตย์สจุ ริต จึงก�ำหนดมาตรฐานแนวทางการ ปฏิบัติ ให้ผู้บริหารและบุคลากรในองค์กรยึดถือ และปฏิบัติควบคู่กับ กฎ ระเบียบ ดังนี้ 1. ด้านความโปร่งใส 2. ด้านความรับผิดชอบ 3. ด้านความปลอดจากการทุจริตในการปฏิบัติงาน 4. ด้านวัฒนะรรมคุณธรรมในองค์กร 5. ด้านคุณะรรมการท�ำงานในหน่วยงาน 6. ด้านการสื่อสารภายในหน่วยงาน

56

SBL บันทึกประเทศไทย I LAMPHUN

กิจกรรมเด่นปี 2560

พิธีมอบผ้าไตร พิธีบรรพชาเพื่อถวายเป็นพระราชกุศลฯ วันอังคารที่ 17 ตุลาคม 2560 เวลา 09.00 น.คณะสงฆ์จังหวัด ล�ำพูน ร่วมกับจังหวัดล�ำพูน จัดพิธีมอบผ้าไตรบรรพชาอุปสมบท พระภิกษุ จ�ำนวน 121 รูป ตามโครงการอุปสมบทถวายเป็น พระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ในวันถวายพระเพลิงพระบรมศพ ของจังหวัดล�ำพูน โดยมีพระเทพรัตนนายก เจ้าคณะจังหวัดล�ำพูนเป็นประธานสงฆ์ นายอรรษิษฐ์ สัมพันธรัตน์ ผู้ว่าราชการจังหวัดล�ำพูน เป็นประธาน ในพิธี มีหัวหน้าส่วนราชการ ข้าราชการและประชาชน เข้าร่วมพิธี เป็นจ�ำนวนมาก ณ วัดพระธาตุหริภญ ุ ชัย วรมหาวิหาร จังหวัดล�ำพูน


พิธีปลงผมนาค บวชถวายเป็นพระราชกุศลฯ วันอังคารที่ 17 ตุลาคม 2560 เวลา 09.00 น.คณะสงฆ์จังหวัดล�ำพูน ร่วมกับจังหวัดล�ำพูน จัดพิธีมอบผ้าไตรบรรพชาอุปสมบทพระภิกษุ จ�ำนวน 121 รูป ตามโครงการอุปสมบทถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ในวันถวายพระเพลิง พระบรมศพ ของจังหวัดล�ำพูน โดยมีพระเทพรัตนนายก เจ้าคณะจังหวัด ล�ำพูนเป็นประธานสงฆ์ นายอรรษิษฐ์ สัมพันธรัตน์ ผูว้ า่ ราชการจังหวัดล�ำพูน เป็นประธานในพิธี มีหัวหน้าส่วนราชการ ข้าราชการและประชาชน เข้าร่วม พิธีเป็นจ�ำนวนมาก ณ วัดพระธาตุหริภุญชัย วรมหาวิหาร จังหวัดล�ำพูน LAMPHUN I SBL บันทึกประเทศไทย 57


WO R K L I F E

บันทึกเส้นทางพบท้องถิ่นจังหวัดลำ�พูน

นายชาติชาย โครงไพบูลย์ ท้องถิ่นจังหวัดลำ�พูน

“ซื่อสัตย์ สุจริต มุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน ยึดมั่นมาตรฐาน บริการด้วยใจ เป็นธรรม”

วิถีชีวิตหละปูน เมืองหละปูน (ล�ำพูน) หรือเมืองหริภุญไชยในอดีต เป็นหนึ่งใน จังหวัดทางภาคเหนือที่มีประวัติศาสตร์ยาวนานมากกว่า 1,300 ปี เป็นเมืองทีเ่ ก่าแก่ทสี่ ดุ ในภาคเหนือ เต็มไปด้วยอารยธรรมทีส่ วยงามดัง่

58

SBL บันทึกประเทศไทย I LAMPHUN

ค�ำขวัญของจังหวัดล�ำพูนทีว่ า ่ "พระธาตุเด่น พระรอดขลัง ล�ำไยดัง กระเทียม ดี ประเพณีงาม จามเทวีศรีหริภุญไชย" ผู้คนใช้ชีวิตแบบไม่เร่งรีบ กินอยู่ เรียบง่าย อย่างพอเพียง ซึ่งยังคงมีวิถีชีวิตท้องถิ่นแบบดั้งเดิมอยู่มากในตัว เมืองล�ำพูนมีวัดวาอารามเก่าแก่ งดงามด้วยสถาปัตยกรรมเฉพาะถิ่นให้ได้


เยี่ยมชมมากมาย ทั้งวัดพระธาตุหริภุญชัย วัดจามเทวี กู่ช้างกู่ม้า มีชุมชนที่ มีเอกลักษณ์เฉพาะถิน่ เชือ้ ชาติและภาษา โดยภาษายองเป็นภาษาทีใ่ ช้กนั แพร่ หลายในจังหวัดล�ำพูน คนในจังหวัดล�ำพูนมักจะพูดส�ำเนียงเมืองยอง เพราะ ชาวล�ำพูนส่วนใหญ่สืบเชื้อสายมาจากไทลื้อในรัฐฉานประเทศพม่าและสิบ สองปันนาประเทศจีน และประชากรส่วนหนึ่งของจังหวัดล�ำพูนเป็นชาวเขา เผ่ากะเหรีย่ ง ปวากะญอ โดยเฉพาะหมูบ่ า้ นพระบาทห้วยต้มหมูบ่ า้ นเดียว มี ประชากรของกะเหรีย่ งปวากะญออาศัยพันกว่าหลังคาเรือนและเป็นหมูบ่ า้ น ต้นแบบหมู่บ้านรักษาศีล 5 งานด้านหัตถกรรมหมู่บ้าน/ชุมชนที่สั่งสมกันมาอย่างยาวนานจนเป็น สินค้าขึน้ ชือ่ อย่างผ้าไหมยกดอก ผ้าฝ้ายยกดอกลายดอกพิกลุ ผ้าฝ้าย ผ้าทอ นอกจากนี้ยังเป็นแหล่งปลูกล�ำไย กระเทียม แหล่งใหญ่ของภาคเหนือ ส่วน ด้านอุตสาหกรรม ล�ำพูนนับเป็นพื้นที่ที่มีศักยภาพ เป็นศูนย์กลางของภาค เหนือตอนบน และมีนิคมอุตสาหกรรมภาคเหนือเป็นแหล่งเศรษฐกิจส�ำคัญ ของจังหวัดล�ำพูน

ท้องถิ่นก้าวไกล ชาวไทยมีสุข การบริหารราชการส่วนท้องถิ่น จังหวัดล�ำพูน มีเทศบาลต�ำบล 39 แห่ง อบต. 17 แห่ง องค์การบริหารส่วนจังหวัดล�ำพูน และเทศบาลเมืองล�ำพูน รวมองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 58 แห่ง ประชากรจ�ำนวน 4 แสนกว่าคน การขับเคลือ่ นโครงการและนโยบายจากภาครัฐสูป่ ระชาชนของจังหวัดล�ำพูน จะมีจุดแข็งในเรื่องทุนทางสังคมของคนล�ำพูนที่มีส่วนร่วมให้ความร่วมมือ กับภาคราชการและสังคมชุมชนมีความเข้มแข็ง ท�ำให้การท�ำงานในระดับ พื้นที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นไปด้วยความเรียบร้อยส�ำเร็จตาม เป้าหมายที่ก�ำหนดไว้ ไม่ว่าจะเป็นการขับเคลื่อนจังหวัดสะอาด จนได้รับ รางวัลที่ 1 ระดับประเทศ การขับเคลื่อนให้จังหวัดล�ำพูนเป็นเมืองสะอาด ปราศจากโฟม การบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลจนได้รับรางวัลใน ระดับประเทศ การออกมาใช้สทิ ธิของประชาชนในการเลือกตัง้ มีสถิตสิ งู ทีส่ ดุ ในระดับประเทศ หลายสมัยติดต่อกัน ซึง่ ล้วนแล้วแต่มาจากภาคประชาชนที่ มีบทบาทส�ำคัญท�ำให้เกิดการบูรณาการท�ำงานร่วมมือกับหน่วยงานราชการ ทัง้ ส่วนกลาง ส่วนภูมภิ าค และหน่วยงานทีท่ ำ� งานใกล้ชดิ ประชาชนมากทีส่ ดุ คือ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ส�ำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัดล�ำพูน เป็นหน่วยงาน ในสังกัดกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย ซึ่งได้ส่งส่ง เสริม สนับสนุน และพัฒนาองค์กรกครองส่วนท้องถิ่นทุกประเภททุกระดับ ในจังหวัดล�ำพูน ให้มผี ลการด�ำเนินงานทีโ่ ดดเด่นในหลายๆ ด้าน โดยเฉพาะ อย่างยิ่งด้านการแก้ไขปัญหาขยะเปียก 100% ซึ่งจังหวัดล�ำพูนได้ประกาศ เป็น “จังหวัดปลอดขยะเปียก” เป็นแห่งแรกของประเทศไทย เมื่อวันที่ 3 กันยายน 2560 ส่งผลให้จังหวัดล�ำพูนได้รับรางวัลชนะเลิศจังหวัดสะอาด ระดับประเทศ ประจ�ำปี พ.ศ. 2560 และกระทรวงมหาดไทย ได้น�ำ “ล�ำพูน โมเดล” ด้านการก�ำจัดขยะเปียก 100% ไปปรับใช้กับองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น (อปท.) ทั่วประเทศ

เมื่อวันที่ 9 ตุลาคม 2560 นายอรรษิษฐ์ สัมพันธรัตน์ ผู้ว่าราชการจังหวัดล�ำพูนได้เข้ารับถ้วยรางวัลชนะเลิศจังหวัดสะอาด อันดับ 1 ของประเทศไทยกับ พณฯ ท่านพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ณ ตึกสันติไมตรีท�ำเนียบรัฐบาล

LAMPHUN I SBL บันทึกประเทศไทย 59


การบริหารจัดการขยะมูลฝอย จังหวัดล�ำพูน

จังหวัดล�ำพูนได้ประกาศเป็นจังหวัดปลอดขยะเปียก เมื่อวันที่ 3 กันยายน 2560 โดยมี พลเอกสุรศักดิ์ กาญจนรัตน์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเดินทางมาเป็นประธาน

60

SBL บันทึกประเทศไทย I LAMPHUN


ส�ำหรับในปี พ.ศ. 2561 จังหวัดล�ำพูน ได้ตอ่ ยอดผลส�ำเร็จ “จังหวัดสะอาด ประจ�ำปี 2560” โดยก�ำหนดเป็นวาระจังหวัดขับเคลื่อนให้เมืองล�ำพูน เป็นเมืองสะอาด ปราศจากโฟม (Lamphun No Foam) โดยมีเป้าหมาย ทีจ่ ะประกาศให้จงั หวัดล�ำพูนปลอดโฟม ภายในเดือนกันยายน 2561 และ เป็นจังหวัดแรกของประเทศไทย

1. บ้านป่าเส้า หมู่ที่ 9 ต�ำบลอุโมงค์ (ทต.อุโมงค์) อ�ำเภอเมืองล�ำพูน ได้รับรางวัลชนะเลิศ ระดับประเทศขนาดใหญ่ ปี 2555

2. บ้านน�้ำพุ หมู่ที่ 7 ต�ำบลป่าสัก (ทต.ป่าสัก) อ�ำเภอเมืองล�ำพูน ได้รับรางวัลชนะเลิศ ระดับประเทศขนาดกลาง ปี 2557

จังหวัดล�ำพูนมีตน้ ทุนทีด่ ี คือ มีหมูบ่ า้ น/ชุมชนปลอดขยะได้รบั รางวัล ชนะเลิศระดับประเทศ โดยได้รับถ้วยพระราชทาน 4 แห่ง ได้แก่

3. บ้านป่าบุก หมู่ที่ 10 ต�ำบลแม่แรง (ทต.แม่แรง) อ�ำเภอป่าซาง ได้รับรางวัลชนะเลิศ ระดับประเทศขนาดเล็ก ปี 2557

4. บ้านป่าตึงงาม หมู่ที่ 3 ต�ำบลป่าสัก (ทต.ป่าสัก) อ�ำเภอเมืองล�ำพูน ได้รับรางวัลชนะเลิศ ระดับประเทศขนาดเล็ก ปี 2560

LAMPHUN I SBL บันทึกประเทศไทย 61


WO R K LI FE

บันทึกเส้นทางพัฒนาการจังหวัด

นางณัฎฐิยาภรณ์ ศรีสุบรรณ์ พัฒนาการจังหวัดลำ�พูน

สำ�นักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดลำ�พูน “เศรษฐกิจฐานรากมั่นคงและชุมชนพึ่งตนเองได้ ภายในปี 2564”

คือวิสัยทัศน์ของส�ำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดล�ำพูน ศาลากลางจังหวัดล�ำพูน ถนนอินทยงยศ ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมืองล�ำพูน จังหวัดล�ำพูน 51000 โทรศัพท์ 053511166 โทรสาร 053561206 บทบาทภารกิจ ส�ำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดล�ำพูน มีบทบาทหน้าที่เกี่ยวกับการจัดท�ำ ยุทธศาสตร์การพัฒนาชุมชนของจังหวัด ประสานงาน ก�ำหนด ก�ำกับดูแล ให้ค�ำแนะน�ำและสนับสนุนการปฏิบัติงานของส�ำนักงานพัฒนาชุมชนอ�ำเภอ โดยการส่งเสริม สนับสนุน พัฒนาระบบและกลไกส่งเสริมการมีส่วนร่วม และการเรียนรูข้ องชุมชน การบริหารจัดการชุมชน กิจกรรมทางเศรษฐกิจของ ชุมชนตามปรัชญาของเศรษฐกิจ และพัฒนาสมรรถนะองค์กรในการท�ำงาน เชิงบูรณาการ ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงาน อื่นที่เกี่ยวข้องหรือได้รับมอบหมาย

62

SBL บันทึกประเทศไทย I LAMPHUN

โครงการส�ำคัญ ปี 2561 :โครงการชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี จังหวัดล�ำพูน ได้รับงบประมาณ ”โครงการชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี” จ�ำนวน 73,36,000 บาท แบ่งเป็น 5 กิจกรรมหลัก ดังนี้ กิจกรรม หลักที่ 1 พัฒนาบุคลากรด้านการท่องเที่ยว กิจกรรมหลักที่ 2 พัฒนาแหล่ง ท่องเที่ยวและสิ่งอ�ำนวยความสะดวก กิจกรรมหลักที่ 3 พัฒนา สินค้าและ บริการด้านการท่องเที่ยว กิจกรรมหลักที่ 4 เชื่อมโยงเส้นทางการท่องเที่ยว แต่ละท้องถิ่น กิจกรรมหลักที่ 5 ส่งเสริมการตลาดชุมชนท่องเที่ยว ด�ำเนิน การในพื้นที่ 8 อ�ำเภอ 33 หมู่บ้าน/ชุมชนเพื่อมุ่งหวังสร้างชุมชนเข้มแข็ง รองรับการเป็นชุมชนท่องเที่ยว สร้างรายได้แก่ประชาชนทุกกลุ่มในชุมชน จากอัตลักษณ์ เสน่ห์ที่หลากหลายในรูปแบบ “ แอ่งเล็ก check in ”


กลุ่มผลิตภัณฑ์

อันนาเฮ้าส์บ้านสวน สมุนไพรเพือ่ สุขภาพ ทีอ่ ยู่ 71 ม.8 ต.บา้ แป้น อ.เมืองล�ำพูน จ.ล�ำพูน 51000 โทร 095-4915644

ข้าวแต๋นน�้ำแตงโมกันตพัฒน์ 94/4 ม. 9 ต.ป่าสัก อ.เมืองล�ำพูน จ.ล�ำพูน โทร 089-555-6010 วิสาหกิจชุมชนกลุ่มท�ำสวน เพื่อการผลิตและแปรรูป ผลผลิตการเกษตร(แสงผึ้ง) 174 หมู่ 12 ต.น�้ำดิบ อ.ป่าซาง จ.ล�ำพูน โทร 081-0266225

จันดีผ้าฝ้าย 107/1 ม 1 ต.แม่แรง อ.ป่าซาง จ.ล�ำพูน โทร 081-8854903

พรชัย ผ้าไหมยกดอก ม.8 ต.บ้านปวง อ.ทุ่งหัวชัาง จ.ล�ำพูน โทร 083 -567-3536

ผ่องผิวผ้าฝ้าย ผลิตภัณฑ์จากฝ้ายทอมือ 64 ม.16 บ้านห้วยม่วงไร่พฒ ั นา ต.ห้วยยาบ อ.บ้านธิ จ.ล�ำพูน 51180 โทร 085-626-0762 Email:pongpew_wongkom@hotmail.com

ล�ำพูนไหมไทย 8/2 ถนนพนังจิตต์วงศ์ เยื้องโรงแรมพญาอินน์ ต.ในเมือง อ.เมืองล�ำพูน จ.ล�ำพูน 51000 โทร 053-510329 www.thaisilk.th.com

วิสาหกิจชุมชนแม่บ้านริมร่อง 288 หมู่ 7 ต.มะเขือแจ้ อ.เมืองล�ำพูน จ.ล�ำพูน โทร 084-613-6368

งานไม้เพนท์ลาย วิมาลาคราฟวิ่ง 31 ต.ป่าซาง อ.ป่าซาง จ.ล�ำพูน โทร 089-559-6805

อรษาไหมไทย 78 ถ.ช่างฆ้อง ต.ในเมือง อ.เมืองล�ำพูน จ.ล�ำพูน โทร 081-724-7577 LAMPHUN I SBL บันทึกประเทศไทย 63


TR AV EL

บันทึกความเป็นมา

หริภุญชัย...

เมืองโบราณแห่งล้านนาตะวันออก

64

SBL บันทึกประเทศไทย I LAMPHUN


ล�ำพูน หรือที่ในอดีตเรียกว่า “เมืองหริภุญชัย” นั้น เป็นจังหวัดที่มีพัฒนาการทางประวัติศาสตร์มา อย่างยาวนาน อีกทัง้ ยังมีประวัตกิ ารก่อร่างสร้างเมืองทีน่ า่ สนใจไม่นอ้ ย เพราะปฐมกษัตริยผ์ กู้ อ่ ตัง้ เมือง คือ พระนางจามเทวี กษัตรีย์ผู้เก่งกล้าและมีความปราดเปรื่อง ซึ่งต�ำนานชินกาลมาลีปกรณ์ ได้กล่าวว่า เมืองหริภญ ุ ชัยมีกษัตริยป์ กครองสืบต่อมาถึง 50 พระองค์ (พระนางจามเทวี-พญาญีบา) รวมระยะเวลา 631 ปี ก่อนที่พญามังรายมหาราชแห่งอาณาจักรโยนกนคร จะยึดครองเมืองหริภุญชัยได้ เมื่อปี พ.ศ. 1835 จากนั้นพระองค์จึงทรงก่อตั้ง “เมืองนพบุรีศรีนครพิงค์เชียงใหม่” เมื่อปี พ.ศ.1839 ซึ่งต่อมาได้ กลายเป็นศูนย์กลางอาณาจักรล้านนา ยุคก่อนประวัติศาสตร์ บริเวณแอ่งที่ราบเชียงใหม่ - ล�ำพูน ได้มีการส�ำรวจพบร่องรอยของแหล่ง โบราณคดี ในบริเวณที่ราบริมฝั่งแม่น�้ำกวง ทางด้านทิศตะวันออก ตั้งแต่เขต อ�ำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ เป็นแนวยาวมาถึงเขตอ�ำเภอเมืองล�ำพูน มีรอ่ งรอยการอยูอ่ าศัยของชุมชนโบราณ สมัยก่อนวัฒนธรรมหริภญ ุ ชัย ได้แก่ แหล่งโบราณคดีบา้ นวังไฮ ต�ำบลเวียงยอง อ�ำเภอเมือง ฯ พบว่าเคยเป็นสถาน ที่ฝังศพ ซึ่งนอกจากจะมีโครงกระดูกแล้ว ตามชั้นดินต่าง ๆ ยังพบโบราณ วัตถุที่ปะปนกันในหลายลักษณะทั้งรูปแบบและวัสดุ กล่าวคือ ลึกลงไปตามชั้นดินประมาณชั้นที่ 4-5 พบขวานหินกะเทาะ เครื่องมือ สะเก็ดหิน แวดินเผา ฆ้อนหิน ภาชนะดินเผาเนื้อหยาบ สิ่งของดังกล่าวมี ลักษณะเป็นวัฒนธรรมของมนุษย์ทอี่ าศัยอยูใ่ นทีส่ งู ตามถ�ำ ้ หรือเพิงผา มีการ ด�ำรงชีพแบบล้าหลัง ตั้งแต่ชั้นดินที่ 3-1 พบวัสดุที่ผลิตด้วยการใช้เทคโนโลยี ที่สูงกว่า ได้แก่ เครื่องมือเหล็ก เศษภาชนะดินเผาแบบหริภุญชัย ก�ำไลแก้ว ลูกปัดแก้ว ลูกปัดแร่คาร์เนเลียน ลูกปัดแร่อาเกดและ ก�ำไลส�ำริด เป็นต้น อัน เป็นสิ่งของของสังคมที่เจริญกว่าในลักษณะชุมชนที่เชื่อมต่อกับ ยุคประวัติศาสตร์ จากการส�ำรวจพบดังกล่าว ท�ำให้ได้ข้อสันนิษฐานเกี่ยวกับลักษณะของ กลุม่ ชนดัง้ เดิมในแถบนีว้ า่ ชุมชนทีต่ งั้ หลักแหล่งบริเวณลุม่ แม่นำ�้ กวง อันได้แก่ ชุมชนบ้านยางทองใต้ ชุมชนทีบ่ า้ นสันป่าค�ำ และชุมชนทีบ่ า้ นวังไฮ เป็นชุมชน ร่วมสมัยเดียวกัน เดิมเป็นชุมชนก่อนประวัตศิ าสตร์ ทีม่ วี ฒ ั นธรรมแบบดัง้ เดิม จนกระทั่งประมาณพุทธศตวรรษที่ 19 ได้มีกลุ่มชนจากภาคกลางเป็นกลุ่ม ชนเมืองอพยพมาตั้งหลักฐานในบริเวณใกล้เคียงกัน มีการติดต่อกัน จาก นั้นสังคมเมืองก็แผ่อิทธิพลมายังชุมชนเหล่านี้ โดยกลุ่มชนที่บ้านวังไฮได้รับ

เอารูปแบบวัฒนธรรมทวารวดี จากเมืองหริภุญชัยมากกว่ากลุ่มชนบ้านยาง ทองใต้ และบ้านสันป่าค�ำที่อยู่ห่างไกลออกไป จากการศึกษาจากเอกสารต�ำนานที่เกี่ยวเนื่องกับพระพุทธศาสนาลัทธิ ลังกาวงศ์ ที่เผยแผ่เข้ามายังดินแดนแถบนี้ พบว่ามีการกล่าวถึงกลุ่มสังคม ในลักษณะชนเผ่าที่ตั้งถิ่นฐานบริเวณลุ่มน�้ำต่าง ๆ เช่น กลุ่มชนแถบลุ่มน�้ำ ปิงตอนบนแถบจังหวัดล�ำพูนในปัจจุบัน และบริเวณลุ่มน�้ำวัง จังหวัดล�ำปาง ที่มีความสัมพันธ์กับอารยธรรมทวารวดี และลพบุรีจากภาคกลาง ก�ำเนิดเมืองหริภุญชัย จากประวัติศาสตร์ของเมืองหริภุญชัยตอนต้น เป็นเรื่องนิยายปรัมปรา สะท้อนให้เห็นว่าชาวพื้นเมืองในระยะแรก ๆ เป็นพวกเมงคบุตร หรือพวก ละว้า ที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ในที่ราบลุ่มเชียงใหม่ ใกล้ดอยสุเทพ มีหลายชุมชนใน บริเวณใกล้เคียงกัน มีความสัมพันธ์ในทางเชือ้ สายเดียวกัน ใช้ภาษาเดียวกัน และมีหวั หน้าปกครอง แต่แบ่งออกเป็นหลายหมูเ่ หล่า แต่ละหมูจ่ ะมี แรด ช้าง วัว เนือ้ เป็นสัญลักษณ์ของตน ดังทีใ่ นต�ำนานกล่าวว่า คนทีเ่ กิดจากรอยเท้าช้าง รอยเท้าแรด และรอยเท้าวัว เป็นต้น จากต�ำนานมูลศาสนาได้กล่าวถึงพวกฤาษีกลุ่มหนึ่งที่ได้เคยบวชเรียนใน พระพุทธศาสนามาก่อน แต่ไม่สามารถปฏิบตั ติ ามสิกขาบทในพระธรรมวินยั ได้ จึงได้ลาสิกขา แล้วมาบวชเป็นฤาษีมีอยู่ห้ารูปด้วยกันคือ สุเทโว สุกกทันโต อนุสิสสะ พุทธชฎิละ และสุพรหม ชุมชนในลุ่มน�้ำพิงค์ (ปิง) เป็นชุมชนของพวกละว้า หรือเมงคบุตร ศูนย์กลางของชุมชนอยูบ่ ริเวณเชิงดอยสุเทพ ทีฤ่ าษีวาสุเทพมาพ�ำนักอยู่ และ ฤาษีวาสุเทพก็ได้เป็นผูน้ ำ� ชาวพืน้ เมืองเหล่านี้ ในเวลาต่อมาได้สร้างบ้านเมือง ขึ้นให้ลูกหลานปกครอง ได้มีการเปลี่ยนแปลงทางสังคมจากแบบเดิมมาเป็น LAMPHUN I SBL บันทึกประเทศไทย 65


สังคมแบบเมือง เกิดมีชนชั้น มีกษัตริย์ปกครอง แต่ยังไม่มีความสัมพันธ์กับ แว่นแคว้นอื่นบ้านเมืองอื่นมากนัก ต่อมาได้เกิดน�้ำท่วมใหญ่บริเวณเชิงดอยสุเทพ ฤาษีวาสุเทพจึงได้น�ำชาว ลัวะกลุ่มหนึ่ง ล่องลงมาตามล�ำน�้ำพิงค์ เห็นสถานที่แห่งหนึ่งมีชัยภูมิดี เคย เป็นสถานทีป่ ระทับของพระพุทธเจ้า จึงให้สร้างขึน้ แล้วคิดหาผูม้ บี ญ ุ ญาธิการ และมีทศพิธราชธรรมมาเป็นท้าวพญา จึงคิดถึงสุกกทันตฤาษีผู้เป็นสหายที่ อยูส่ ำ� นักเมืองละโว้ จึงได้สง่ ข่าวให้มาช่วยเตรียมการสร้างเมือง ได้มกี ารสร้าง เมืองตามรูปหอยสังข์ ตามค�ำแนะน�ำของอนุสสะฤาษี ทีอ่ ยูใ่ กล้เมืองหลิททวัลลี (ศรีสชั นาลัย) ด้านหนึง่ ของก�ำแพงเมืองติดกับแม่นำ�้ พิงค์ เมือ่ สร้างเสร็จสุกก ทัตฤาษีได้ให้ค�ำแนะน�ำว่า พญาจักรวัตติ เจ้าเมืองละโว้ ทรงทศพิธราชธรรม มีพระธิดานามว่า “จามเทวี” มีสติปัญญาสามารถฉลาดรอบรู้สรรพกิจ ขัตติยประเพณี มีมรรยาท และอัธยาศัยเสงี่ยมงาม ตั้งอยู่ในศีลสัตย์สุจริต สมควรเป็นเจ้าเป็นใหญ่ปกครองเมืองได้ จึงตกลงให้แต่งตั้งนายคะวะยะ เป็นทูตไปกับสุกกทันตฤาษี ไปทูลเชิญพระนางจามเทวีมาครองเมือง การเดินทางขึ้นมาครองเมืองหริภุญชัยของพระนางจามเทวี ได้น�ำชาว ละโว้มาด้วยคือ พระมหาเถระที่ทรงปิฎก 500 รูป ปะขาวที่ตั้งอยู่ในศีลห้า 500 คน บัณฑิต 5000 คน หมู่ช่างสลัก ช่างแก้วแหวน พ่อเลี้ยง แม่เลี้ยง หมูห่ มอโหรา หมอยา ช่างเงิน ช่างทอง ช่างเหล็ก ช่างเขียน หมูช่ า่ งหลายต่าง ๆ หมู่พ่อเรียกทั้งหลาย อย่างละ 500 คน ตลอดเส้นทางที่ขึ้นมาตามแม่น�้ำเจ้าพระยา และแม่น�้ำพิงค์ ได้ประกาศ ศาสนาตลอดระยะเวลาเจ็ดเดือนที่ประทับผ่าน เช่น เมืองปางปะบาง (ปาก บาง) เมืองคันธิกะ (ชัยนาท) เมืองบุรฐี ะ (นครสวรรค์) เมืองบุราณะ (เฉลียง) เมืองเทพบุรี บ้านโคนหรือวังพระธาตุ เมืองรากเสียด (เกาะรากเสียด) ถึงหาด แห่งหนึ่งน�้ำเข้าเรือ จึงเรียกหาดนั้นว่า หาดเชียงเรือ (เชียงเงิน) ถึงที่แห่งหนึ่ง

66

SBL บันทึกประเทศไทย I LAMPHUN

ให้ตากผ้า จึงเรียกว่า บ้านตาก จามเหงา (สามเงา) ผ่านผาอาบนาง ผาแต้ม ดอนเต่า (ดอยเต่า) บ้านโพคาม (ท่าข้าม - ฮอด) ทรงสร้างสถูปวิปะสิทธิเจดีย์ ไว้ท่าเชียงของ (จอมทอง) พระนางจามเทวีได้รับการราชาภิเษกเสวยราชย์ในเมืองหริภุญชัยแล้ว พระนางให้สร้างวัดถวายเป็นที่อยู่ของพระสงฆ์ 500 รูป เมื่อมาถึงเมืองหริ ภุญชัยได้เจ็ดวัน พระนางก็ประสูติกุมารฝาแฝดสองคน ให้ชื่อว่า มหันตยศ กุมาร และอนันตยศกุมาร หรืออินทรวรกุมาร เมื่อพระนางจามเทวีได้ครองเมืองหริภุญชัยแล้ว ขุนหลวงวิลังคะหัวหน้า ชาวลัวะที่อยู่บริเวณเชิงดอยสุเทพ หลงใหลในพระนาง ได้ส่งฑูตมาเจรจา หลายครั้ง แต่พระนางได้ประวิงเวลาต่อมาได้ถึงเจ็ดปี ขุนหลวงวิลังคะจึง ตัดสินใจท�ำสงคราม มหันตยศกุมารได้ขออาสาพระนางจามเทวีขี่คอช้างผู้ ก�่ำงาเขียว โดยมีอนันตยศนั่งกลางช้างเข้าต่อสู้ ขุนหลวงวิลังคะพ่ายแพ้ ชาว ลัวะบางส่วนหนีไปอยู่ตามป่าเขา บางส่วนเข้ามาอยู่ในปกครองของพระนาง จามเทวี โดยแต่งตั้งให้ขนุ ลัวะปกครองกันเอง แต่ต้องส่งส่วยให้เมืองหริภุญชั ยเป็นประจ�ำ ต่อมาพระนางจามเทวีได้มอบราชสมบัติให้มหันตยศ แล้วทรง บ�ำเพ็ญแต่ในพระราชกุศล ทางด้านพระศาสนา ทรงสร้างวัดวาอารามเป็นอันมาก ทรงรักษา อุโบสถศีล และทรงธรรมเสมอมิได้ขาด ทรงบริจาคทรัพย์แจกจ่ายแก่ยาจก วณิพกทั่วไปมิได้ขาด บรรดาเสนาอ�ำมาตย์ราชมนตรี และชาวพระนครก็พา กันประพฤติปฏิบัติตามพระนาง เป็นที่พุทธอุปถัมภก ยกย่องพระศาสนา รุ่งเรืองวัฒนาสืบต่อมา เมื่อเมืองหริภุญชัยเจริญมั่งคงแล้ว ก็ได้ขยายอ�ำนาจออกไปสร้างเมือง เขลางค์นคร (ล�ำปาง) ในที่ราบลุ่มแม่น�้ำวัง โดยได้รับการสนับสนุนจาก สุพรหมฤาษีแห่งเขลางค์บรรพต เพื่อให้อินทรวรกุมาร (อนันตยศ) โอรสองค์ เล็กไปครอง เจ้าอนันตยศได้ขอคณะสงฆ์ และครูพราหมณ์ไปสืบศาสนาใน เขลางค์นคร และได้สร้างเมืองขึ้นทางทิศใต้อีกเมืองหนึ่งชื่อ อลัมพางค์นคร พระนางจามเทวีเสด็จมาประทับอยู่ที่เขลางค์นครได้ 6 พรรษา จึงเสด็จ กลับไปเมืองหริภุญชัย และสวรรคตเมื่อพระชนมายุได้ 92 พรรษา ยุคเสียเมืองหริภุญชัย พญามังรายแห่งอาณาจักรโยนก (เชียงราย) ทรงตรียมการยึดแคว้น หริภญ ุ ชัยด้วยการส่งขุนฟ้ามาเป็นไส้ศกึ โดยให้ไปพึง่ บารมีพญาญีบา(กษัตริย์ องค์สดุ ท้าย) เพือ่ ก่อความไม่สงบในเมืองหริภญ ุ ชัย เมือ่ เห็นสถานการณ์คบั ขัน ก็ส่งข่าวให้พญามังรายยกก�ำลังไปตีเมืองหริภุญชัย พญามังรายทรงยกก�ำลังจากเมืองเชียงรายไปตีเมืองหริภุญชัย ขุนฟ้า กราบทูลว่าควรแต่งกองทัพไปสู้รบหน่วงไว้แต่กลางทาง ให้พญาญีบาย้าย ครอบครัวไปอยู่กับพญาเบิกราชโอรสที่เมืองเขลางค์เพื่อความปลอดภัย ส่วนขุนฟ้าขออาสารักษาเมืองหริภุญชัยเอง เมือ่ พญาญีบาหนีออกจากเมืองไป ชาวเมืองก็พากันแตกตืน่ คุมกันไม่ตดิ กองทัพพญามังรายก็เข้าเมืองหริภุญชัยได้โดยง่าย แล้วได้ไฟเผาบ้านเมือง ยกเว้นหอพระแก้วขาว (พระเสตังคมณี) ที่อยู่ภายในวัดพระธาตุหริภุญชัย เพลิงไม่ไหม้


พญามังรายทรงยึดครองเมืองหริภุญชัยได้ เมื่อปี พ.ศ.1835 และได้ ประทับอยู่ที่เมืองนี้สองปี จึงมอบเมืองให้ขุนฟ้าปกครอง ส่วนพญาเม็งราย ทรงไปสร้างเวียงกุมกาม เมื่อปี พ.ศ.1837 เพื่อใช้เป็นฐานในการสร้างเมือง เชียงใหม่ จากนัน้ ได้ไปสร้างเมืองนพบุรศี รีนครพิงค์เชียงใหม่ เมือ่ ปี พ.ศ.1839 เป็นศูนย์กลางอาณาจักรล้านนา โดยการผนวกแคว้นโยนกและแคว้นหริภญ ุ ชัย เข้าด้วยกัน นับตัง้ แต่พระนางจามเทวีสบื ต่อมาถึงพญาญีบา ตามต�ำนานชินกาลมาลี ปกรณ์ กล่าวว่ามีกษัตริย์ 50 พระองค์ เป็นระยะเวลา 631 ปี แต่พงศาวดาร โยนกกล่าวว่ามี 47 พระองค์ เป็นระยะเวลา 618 ปี ยุคต้นรัตนโกสินทร์ พุทธศตวรรษที่ 24-25 เป็นยุคเก็บผักใส่ซ้า เก็บข้าใส่เมือง ในช่วงที่พม่า ครอบครอง ดินแดนล้านนา เกิดสงครามขึน้ บ่อยครัง้ ชาวเมืองพากันหลบหนี เข้าป่า ปล่อยบ้านเมืองร้าง ในปี พ.ศ.2348 พระเจ้ากาวิละ เจ้าเมืองเชียงใหม่ ได้แต่งตัง้ อนุชา คือ พระยาบุรรี ตั น์ (ค�ำฝัน้ )มาครองเมืองล�ำพูน และได้อพยพ ผู้คนจากเมืองยองกว่าหมื่นคนมาสร้างบ้านแปงเมืองใหม่ การแบ่งไพร่พลยองทีต่ งั้ ถิน่ ฐานอยูท่ เี่ มืองล�ำพูน ให้พระยามหยังคบุรเี จ้า เมืองยอง และน้องอีกสามคน ตัง้ ถิน่ ฐานอยูท่ รี่ มิ ฝัง่ แม่นำ�้ กวง ตรงข้ามกับเมือง ล�ำพูน ที่บ้านเวียงยอง ให้ผู้คนที่อพยพจากเมืองยู้ เมืองหลวย ไปตั้งถิ่นฐาน อยู่นอกก�ำแพงเมืองด้านทิศตะวันออกเฉียงใต้ เพื่อให้ชุมชนเหล่านี้ทอผ้าให้ กับเจ้าเมืองล�ำพูน นอกจากนั้นการตั้งถิ่นฐานของชาวยองจะขยายตัวไปตามแนวล�ำน�้ำ หมูบ่ า้ นหลักในขณะนัน้ ในเขตลุม่ แม่นำ้� กวง มีบา้ นเวียงยอง บ้านยู้ บ้านหลวย บ้านตอง บ้านหลิ่วห้า (ศรีบุญยืน) บ้านปิงห่าง (หนองหมู) ตามลุ่มแม่สาร มีบ้านป่าขาม บ้านสันป่าสัก บ้านสัมคะยอม ในเขตลุ่มแม่น�้ำปิง มีบ้านริมปิง บ้านประตูป่า บ้านหลุก บ้านบัว บ้านบาน ในเขตลุ่มน�้ำแม่ทา มีบ้านป่าซาง บ้านสบทา บ้านฉางข้าวน้อย บ้านแซม บ้านสะปุง๋ บ้านหวาย อีกส่วนหนึง่ ได้ ขยายตัวจากทีร่ าบป่าซางเข้าสูเ่ ขตอ�ำเภอบ้านโฮ่ง และอ�ำเภอลี้ ในลุม่ แม่นำ�้ ลี้ มีชาวไตเขินจากเชียงตุง มาตัง้ ถิน่ ฐานทีบ่ า้ นสันดอนรอม นอกเขตก�ำแพงเมือง ทางด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้ที่บ้านแป้น ต�ำบลบ้านแป้น และก่อนการเข้ามาตัง้ ถิน่ ฐานของชาวยอง ได้มกี ารกวาดต้อนชาวไตใหญ่ จากเมืองปุ เมืองปั่น เมืองสาด เมืองนาย เมืองขวาด เมืองแหน และกลุ่มคน ที่เรียกว่า ยางค้างหัวตาด ยาวหัวด่าน มาไว้ที่เวียงป่าซาง ภายหลังที่ตั้งเป็นเมืองล�ำพูน เมื่อปี พ.ศ.2348 ในฐานะเป็นหัวเมือง ประเทศราชขึ้นกับราชอาณาจักรสยามแล้ว ในปี พ.ศ.2351 พระเจ้ากาวิละ ได้เกณฑ์ก�ำลังพลชาวเมืองล�ำพูน ประมาณ 1,000 คน รวมกับก�ำลังจาก เชียงใหม่ และล�ำปาง เข้าตีเมืองยางที่ถูกพม่ายึดไว้แต่ไม่ส�ำเร็จ จึงเทครัว อพยพชาวเมืองยองลงมาอยู่ที่เชียงแสน พระยาอุปราช (บุญมา) แห่งเมืองล�ำพูน ผูเ้ ป็นอนุชาองค์เล็กของตระกูล เชือ้ เจ็ดตน ได้รบั แต่งตัง้ จากกรุงเทพ ฯ ให้เป็นเจ้าเมืองล�ำพูนองค์ที่ 2 ระหว่างปี พ.ศ.2359-2370 พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้า ฯ ได้โปรดเกล้า ฯ ให้พระยา อุปราช (น้อย อินทร) เป็นพระยาล�ำพูนองค์ที่สาม ระหว่างปี พ.ศ.2370-

2381 เมืองล�ำพูนได้ขยายตัวไปผู้คนไปตั้งถิ่นฐานอยู่ในลุ่มน�้ำต่าง ๆ อย่าง มีความมั่นคง ในปี พ.ศ.2381 พระยาล�ำปางไชยวงศ์ เจ้าเมืองล�ำปางได้ถึงแก่พิราลัย พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้า ฯ ได้โปรดเกล้า ฯ ให้แต่งตั้งพระยาอุปราช (น้อย อินทร) เจ้าเมืองล�ำพูนไปเป็นเจ้าเมืองล�ำปาง และโปรดเกล้า ฯ ให้ พระยาอุปราช (ค�ำตัน) เป็นเจ้าเมืองล�ำพูน (องค์ที่ 4) คนมอญและคนพม่า ในบังคับอังกฤษเริม่ เข้ามาด�ำเนินธุรกิจท�ำไม้ ในป่าปลายแขนแขวงเมืองตาก เมืองเชียงใหม่ และเมืองล�ำพูน พระยาอุปราช (ค�ำตัน) เป็นเจ้าเมืองล�ำพูนถึง ปี พ.ศ.2384 ก็พิราลัย พระยาบุรรี ตั น์ (เจ้าน้อยธรรมลังกา) บุตรเจ้าบุญมาได้รบั โปรดเกล้า ฯ ให้เป็น เจ้าเมืองล�ำพูน (องค์ที่ 5) ถึงปี พ.ศ.2386 ก็พริ าลัย เจ้าหนานไชยลังกาได้รบั โปรดเกล้า ฯ เป็นเจ้าเมืองล�ำพูน (องค์ที่ 6) ต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้รับขนานนามเป็น “เจ้าไชยลังกาพิศาลโสภาคุณ หริภุญชัย” เป็นเจ้านครล�ำพูนถึง ปี พ.ศ.2414 จึงให้ยกเลิกต�ำแหน่งพระยา หัวเมืองแก้ว เปลี่ยนเป็นต�ำแหน่งเจ้าบุรีรัตน์ ยุคปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน เจ้าราชวงศ์ดาวเรืองรักษาการเจ้าเมืองล�ำพูน ตัง้ แต่ ปี พ.ศ.2414 - 2418 จึงได้รบั แต่งตัง้ ให้เป็นเจ้าดาราดิเรกไพโรจน์ เจ้านครล�ำพูนไชย (องค์ที่ 7) ในปี พ.ศ.2431 เจ้าดาราดิเรกรัตน์ไพโรจน์ พิราลัย เกิดปัญหาแย่งชิงอ�ำนาจในหมู่ เจ้านายและบุตรหลาน ข้าหลวงพิเศษมณฑลลาวเฉียงได้มอบให้เจ้านายเมือง ล�ำพูน ปรึกษาหารือกันในการจัดการปกครองเมืองล�ำพูนเสียใหม่ เมื่อสิ้นสมัยเจ้าเหมพินธุไพจิตร (ค�ำหยาด) เจ้าผู้ครองนครล�ำพูน ล�ำดับ ที่ 8 (พ.ศ.2431- 2438) ทางกรุงเทพ ฯ มีนโยบายที่จะปฏิรูปการปกครอง เมืองล�ำพูนก่อนเมืองเชียงใหม่ และล�ำปาง เพราะเป็นเมืองเล็ก แต่ก็ได้รับ การต่อต้านจากเจ้านายและบุตรหลาน การปฏิ รู ป การปกครองอย่ า งจริ ง จั ง มี ขึ้ น ในสมั ย เจ้ า อิ น ทยศโชติ (เจ้าน้อยหมวก) เจ้าเมืองล�ำพูน ล�ำดับที่ 9 (พ.ศ.2438 - 2454) ในปี พ.ศ. 2443 ได้จัดราชการเมืองล�ำพูนใหม่โดยการบริหารราชการระดับเมืองเป็น หน้าที่ของคณะกรรมการบริหาร ที่เรียกว่า เค้าสนามหลวง เจ้าผู้ครองนคร ข้าหลวงประจ�ำนคร และข้าหลวงผูช้ ว่ ย แบ่งเขตการปกครองเมืองล�ำพูนออก เป็นสองแขวง คือ แขวงในเมือง นอกเมืองล�ำพูน และแขวงเมืองลี้ มีนาย แขวง (นายอ�ำเภอ) ที่ส่วนกลางแต่งตั้งมาปกครอง ในแต่ละแขวง แบ่งออก เป็นแคว้น มีแคว่น (ก�ำนัน) ปกครอง แขวงล�ำพูนแบ่งออกเป็น 28 แคว้น แขวงเมืองลี้ แบ่งออกเป็น 5 แคว้น ในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ด�ำเนินนโยบาย ยกเลิกต�ำแหน่งเจ้าเมืองโดยเด็ดขาด นับตั้งแต่ ปี พ.ศ.2469 เป็นต้นไป หาก เจ้าเมืองใดว่างลงจะไม่โปรดเกล้า ฯ แต่งตัง้ ขึน้ อีก เจ้าเมืองล�ำพูนองค์สดุ ท้าย คือ นายพลตรี เจ้าจักรค�ำขจรศักดิ์ (พ.ศ.2454 - 2486) ส่วนเจ้าเมืองที่มี ชีวิตอยู่ก็ได้เงินเดือนไปจนกว่าจะถึงแก่กรรม ขอขอบคุณที่มา : หอมรดกไทย LAMPHUN I SBL บันทึกประเทศไทย 67


T R AV EL

บันทึกเส้นทางท่องเที่ยว

แอ่วหละปูนม่วนใจ๋ วิถีไทยยั่งยืน

ฮิตฮอตข้ามปีกับนโยบายส่งเสริมการท่อง เที่ยววิถีไทย ซึ่งปี 2561 นี้ รัฐบาลประกาศให้ เป็น “ปีทอ่ งเทีย่ ววิถไี ทย เก๋ไก๋อย่างยัง่ ยืน” เพือ่ ให้การท่องเที่ยวเป็นฐานสร้างความมั่นคงทั้ง ทางเศรษฐกิจ สังคม และการต่างประเทศ โดย เน้นแหล่งท่องเทีย่ วคุณภาพทีเ่ จริญเติบโตอย่าง มีดลุ ยภาพบนพืน้ ฐานของความเป็นไทย และน�ำ รายได้สู่ประชาชนทุกภาคส่วนอย่างยั่งยืน SBL บั น ทึ ก ประเทศไทย ฉบั บ ล� ำ พู น นี้ เลยจัดเต็มที่เที่ยววิถีไทยที่มีอยู่มากมาย ตลอด จนแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ และส�ำหรับขาลุยก็ห้าม พลาด เพราะเราจะไปสัมผัสความสดชื่นรื่นเย็น ของสายน�้ำ รับปีฝนฉ�่ำกันค่ะ

68

SBL บันทึกประเทศไทย I LAMPHUN


LAMPHUN I SBL บันทึกประเทศไทย 69


เรียนรู้ภูมิปัญญา ทอผ้ากับคู่รัก ณ บ้านหนองเงือก

บ้านหนองเงือก ต�ำบลแม่แรง อ�ำเภอป่าซาง เป็นแหล่งก�ำเนิดผ้าฝ้าย ทอมืออันเลื่องชื่อ เพราะในอดีตชาวยองตั้งรกรากที่นี่มีหน้าที่ทอผ้าให้แก่ เจ้าเมืองล�ำพูน ปัจจุบันชาวบ้านหนองเงือกได้รับการถ่ายทอดภูมิปัญญา จากบรรพบุรุษ และมีการทอผ้าฝ้ายใช้เป็นเครื่องนุ่งห่มในชีวิตประจ�ำวัน อีก ทั้งได้พัฒนารูปแบบ สีสัน และลวดลายให้มีความทันสมัย กลายเป็นสินค้า หัตถกรรมจากผ้าฝ้ายจ�ำหน่ายยังแหล่งต่าง ๆ มากมายทัง้ ในและต่างประเทศ และบ้านหนองเงือกยังได้รบั คัดเลือกเป็นแกนน�ำหลักของเครือข่ายกลุม่ ผ้าทอ ของจังหวัดล�ำพูนร่วมกับบ้านดอนหลวง บ้านหนองเงือกได้จดั โปรแกรมเรียนรูว้ ถิ ชี วี ติ ชาวยองให้เลือกเป็นรอบ ๆ นักท่องเที่ยวจะได้เรียนรู้การทอผ้าด้นมือ และการทอผ้าแบบกี่คู่ที่เป็น เอกลักษณ์ มีชื่อเรียกว่า “กี่คู่รัก” ซึ่งเดิมเป็นกี่ที่พ่อบ้านและแม่บ้านใช้ทอ ด้วยกัน เพื่อเป็นผลงานของคู่รักในครอบครัว และเพื่อไม่ให้ผู้ชายต้องออก ไปท�ำงานนอกหมู่บ้าน คู่รักนักท่องเที่ยวที่อยากร่วมสร้างความประทับใจ ร่วมกัน ก็สามารถทอกี่คู่รักพร้อมกันสองคนได้ และน�ำผลงานกลับไปเป็นที่ ระลึกได้ด้วย ว้าว! จะมีอะไรหวานกว่านี้อีกไหม

70

SBL บันทึกประเทศไทย I LAMPHUN

เมื่อมีโอกาสมาเยือนบ้านหนองเงือกแล้ว อย่าลืมแวะไปสักการะสิ่ง ศักดิ์สิทธิ์ประจ�ำหมู่บ้านคือ พระธาตุวัดหนองเงือก ที่บรรจุพระแก้วมรกต และพระบรมสารีริกธาตุ 101 องค์ และชมหอไตรที่มีจุดเด่นคือทางเข้ามี ลักษณะเป็นซุ้มโค้งแบบอาคารยุโรป และยังมีภาพจิตรกรรมฝาผนังที่ได้รับ อิทธิพลจากศิลปะพม่าให้ชมด้วย ใกล้กันยังมีพิพิธภัณฑ์ไทยอง ที่บอกเล่า ความเป็นมาของบรรพบุรุษของชาวยอง โดยมีเนื้อหา 3 หมวด ได้แก่ หมวด ศาสนา หมวดวิถีชีวิตและกระบวนการผลิตผ้าฝ้ายทอมือ และหมวดโบราณ วัตถุสิ่งของเครื่องใช้ ซึ่งทางวัดเปิดให้ชมฟรี ตั้งแต่เก้าโมงเช้าถึงห้าโมงเย็น ของทุกวันค่ะ


พักโฮมสเตย์ดีเด่น ณ บ้านดอนหลวง

แหล่งผลิตภัณฑ์ผา้ ฝ้ายทอมือรายใหญ่ของภาคเหนือ และเป็นทีร่ จู้ กั มาก ที่สุดแห่งหนึ่งของประเทศอีกแห่งหนึ่งก็คือ บ้านดอนหลวง ต�ำบลแม่แรง อ�ำเภอป่าซาง ซึ่งได้รับการสืบทอดมาจากบรรพบุรุษชาวยอง จุดเด่นของผ้า ฝ้ายบ้านดอนหลวงคือกรรมวิธกี ารทอมือแบบโบราณ มีตงั้ แต่ลาย 2-8 ตะกอ แต่ที่นี่จะเน้นผลิตลาย 4 และ 6 ตะกอ เพราะจะได้เนื้อผ้าที่นุ่มและเหนียว จุดเริม่ ต้นของการเป็นแหล่งผลิตผ้าฝ้ายทอมือคุณภาพนัน้ เริม่ จากในปี 2535 กลุ่มทอผ้าบ้านดอนหลวง ต้องการอนุรักษ์การทอผ้าฝ้ายอันเป็นมรดกของ บรรพบุรุษให้คงอยู่สืบไป จึงมีการจัดสร้างอาคารศูนย์รวมผลิตภัณฑ์เครือ ข่ายกลุม่ ทอผ้าหัตถกรรมพืน้ บ้าน เพือ่ เป็นสถานทีร่ วบรวมและจ�ำหน่ายสินค้า หัตถกรรมผ้าฝ้ายทอ อีกทัง้ ยังเป็นสถานทีฝ่ กึ อบรมสมาชิกเกีย่ วกับการทอผ้า การย้อมสีผ้า และการออกแบบผลิตภัณฑ์ด้วย ปัจจุบันมีสมาชิกกลุ่มเพิ่มขึ้น และมีเครือข่ายการผลิตทีเ่ ข้มแข็ง ท�ำให้สามารถผลิตส่งขายร้านผ้าฝ้ายดัง ๆ ทั้งในล�ำพูน เชียงใหม่ และจังหวัดใกล้เคียง ต่อมาในปี พ.ศ.2542 บ้านดอนหลวงได้รบั รางวัล “หมูบ่ า้ นอุตสาหกรรม ดีเด่น” และในปี พ.ศ. 2549 ยังได้รับเลือกเป็น “หมู่บ้านโอท็อปแหล่งท่อง เทีย่ วเชิงวัฒนธรรม (หมูบ่ า้ น OVC)” และได้รบั คัดเลือกเป็น “หมูบ่ า้ น OTOP ดีเด่นระดับประเทศ” ทีช่ าวบ้านด�ำรงชีวติ แบบเศรษฐกิจพอเพียง มีผา้ ฝ้ายทอ มือเป็นผลิตภัณฑ์ดเี ด่นประจ�ำต�ำบล โดยทางหมูบ่ า้ นมีโฮมสเตย์คอยต้อนรับ นักท่องเทีย่ ว ทีต่ อ้ งการสัมผัสวิถชี วี ติ และวัฒนธรรมของชาวยอง ผ่านกิจกรรม การทอผ้า และการชมสถานที่ส�ำคัญในหมู่บ้าน เช่น

วัดดอนหลวง วัดเก่าแก่คู่บ้านดอนหลวงที่มีสถาปัตยกรรมแบบผสม ผสานระหว่างล้านนา พม่า และยอง ภายในพระอุโบสถประดิษฐานพระพุทธ รูปคู่บ้านคู่เมืองของชาวบ้านดอนหลวง บ้านโบราณของชาวยอง เป็นบ้านที่ บรรพบุรุษชาวยองที่อพยพมาจากแคว้นสิบสองปันนา มาตั้งรกรากอยู่ที่นี่ มีลักษณะเด่นคือ เป็นบ้านไม้ บันไดทางขึ้นมีหลังคาคลุมยาวไปจนถึง ตัวเรือน ประตูและหน้าต่างใช้ไม้ขดั แทนกลอน ใต้ถนุ ยกสูงไว้ใช้เป็นทีท่ อผ้า ส� ำ หรั บ สาว ๆ ที่ ป ลื้ ม ผ้ า ฝ้ า ยทอมื อ ห้ า มพลาดไปงาน “แต่ ง สี อวดลาย ผ้าฝ้ายดอนหลวง” ซึง่ จัดขึน้ ในวันศุกร์แรกของเดือนเมษายนทุก ๆ ปี ในช่วง 5 วันทีจ่ ดั งานจะมีการลดราคาสินค้าประจ�ำปีดว้ ยค่ะ เตรียมวางแผน ไปเที่ยวสงกรานต์พร้อมช็อปปิ้งผ้าฝ้ายบ้านดอนหลวงกันนะคะ

LAMPHUN I SBL บันทึกประเทศไทย 71


ชมแหล่งแกะสลักไม้ใหญ่ที่สุดในโลกที่ อ. แม่ทา

หัตถกรรมไม้แกะสลักของอ�ำเภอแม่ทา นับเป็นผลงานศิลปกรรมอันทรง คุณค่าแขนงหนึง่ ซึง่ สล่าหรือช่างไม้ชาวแม่ทาทุกหมูบ่ า้ น ได้สบื ทอดจิตวิญญาณ การแกะสลักไม้จากบรรพบุรุษชาวยองมานานกว่า 200 ปี จนกลายเป็นแหล่ง ผลิตงานไม้แกะสลักทีข่ นึ้ ชือ่ มีเอกลักษณ์โดดเด่น และเป็นแหล่งแกะสลักไม้ที่ ใหญ่ที่สุดในโลกเลยทีเดียว ผลิตภัณฑ์ไม้แกะสลักอ�ำเภอแม่ทาในแต่ละหมู่บ้าน จะมีรูปแบบที่แตกต่าง กันไปไม่ซ�้ำแบบกัน ได้แก่ บ้านทาทุ่งหลวง หมู่ที่ 1 แกะสลักพระพุทธรูป นางร�ำ นางไหว้ ช่อฟ้า, บ้านเหมืองลึก หมูท่ ี่ 2 แกะสลักไม้ดอกไม้ชดุ กอต้นกล้วย แจกัน ทรงสูง , บ้านท้องฝาย หมู่ที่ 3 ผลิตตุ๊กตาแมวเดี่ยว ครอบครัวแมว ช้างชูงวง ช้างวางกระถางต้นไม้ โขลงช้าง , บ้านหนองยางไคล หมู่ที่ 4 ผลิตช้างคู่ ตุ๊กตา นกฮูก แมว กล่องใส่เครื่องประดับ ตุ๊กตาคน เก้าอี้ หัวกระทิง ชุดเต่าลงสี ของ เล่นเด็ก คุณสีดาลุยไฟ ตุ๊กตาแป๊ะยิ้ม ขันตักน�้ำไม้ พระพุทธรูปปางต่าง ๆ เจ้าแม่ จามเทวี , บ้านหนองยางฟ้า หมู่ที่ 5 แกะสลักหงส์ฟ้า หน้ากากพระ พระพิฆเนศ นางร�ำ ชุดรับแขก ของเด็กเล่น เช่น รถจักรยานยนต์ไม้ รถยนต์ไม้ เครื่องบินไม้ และบ้านทุ่งทองกวาว หมู่ที่ 6 ผลิตตุ๊กตานางร�ำ ตัวอักษรไม้ ป้ายติดหน้าบ้าน หน้ากากติดผนัง ฯลฯ ส�ำหรับผู้ที่สนใจจับจองผลิตภัณฑ์ไม้แกะสลักหรือเรียนรู้ การแกะสลักไม้ สามารถแวะเข้าไปเยีย่ มชมได้ทกุ วัน ตัง้ แต่เวลา 08.00-17.00 น. หรือจะรอไปเที่ยว “งานต้นก�ำเนิดไม้แกะสลัก ของดีอ�ำเภอแม่ทา” ซึ่งทาง องค์การบริหารส่วนจังหวัดล�ำพูน และเทศบาลต�ำบลทาทุ่งหลวงร่วมกันจัดขึ้น เป็นประจ�ำทุกปี ในงานจะมีสุดยอดช่างฝีมือที่เลื่องชื่อด้านการแกะสลักไม้ น�ำ ผลิตภัณฑ์มาจ�ำหน่ายในราคาผู้ผลิต เพื่อส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชนสู่สากล งานจัด ขึ้นที่ศูนย์โอทอป หมู่ที่ 5 บ้านหนองยางฟ้า ต�ำบลทาทุ่งหลวง อ.แม่ทา จ.ล�ำพูน

72

SBL บันทึกประเทศไทย I LAMPHUN


ผ้าทอกะเหรี่ยงโอท็อป 5 ดาว บ้านแม่ขนาด

บ้ า นแม่ ข นาด ต� ำ บลทากาศ อ� ำ เภอแม่ ท า เป็ น หมู ่ บ ้ า น ของชาวปกากญอ (กะเหรี่ยง) ซึ่งสตรีในหมู่บ้านจะใช้เวลา ว่างในการทอผ้า ส�ำหรับใช้เป็นเครือ่ งนุง่ ห่มและของใช้สอยหลาย อย่าง เช่น เสื้อ ผ้าถุง ย่าม ผ้าสไบ ฯลฯ ปัจจุบันได้พัฒนารูปแบบ และสีสนั เพือ่ ให้ถกู ใจผูบ้ ริโภค จนกลายเป็นผลิตภัณฑ์ทสี่ ร้างชือ่ เสียง ให้กับหมู่บ้าน และได้รับการคัดสรรให้เป็นสินค้าโอท็อป ระดับ 5 ดาว ของ จังหวัดล�ำพูนเลยทีเดียว “ผ้าทอกระเหรี่ยงแม่ขนาด” ได้รับการสืบทอดมาแต่ครั้งบรรพบุรุษ มีการอนุรักษ์กรรมวิธีการผลิต ซึ่งจะท�ำทุกขั้นตอนเริ่มตั้งแต่การปลูกฝ้าย ปัน่ ด้าย ทอผ้า การเย็บและประดับลูกเดือยบนผืนผ้า ซึง่ เป็นงานฝีมอื ทีต่ อ้ งใช้ ทั้งความละเอียด ประณีต และใช้ระยะเวลาในการสร้างสรรค์ผลงาน ซึ่งทาง กลุ่มฯยังคงสืบทอดลวดลายการทอแบบดั้งเดิมเอาไว้ ท�ำให้ได้รับความนิยม ไปไกลถึงญีป่ นุ่ โดยสินค้าทีไ่ ด้รบั ความนิยมได้แก่ ผ้าพันคอ ผ้าคลุมไหล่ เสือ้ สตรีปักลูกเดือย ย่าม เป็นต้น สนใจเรียนรู้การทอผ้ากะเหรี่ยงแบบโบราณฯ หรือจะอุดหนุน ผ้าฝ้าย ฝีมือดีมีรสนิยมของกลุ่มทอผ้ากระเหรี่ยงแม่ขนาด ติดต่อได้ที่ นางพรทิพา ดอกแก้ว เลขที่ 99 หมู่ 8 บ้านแม่ขนาด ต�ำบลทากาศ อ�ำเภอแม่ทา จังหวัดล�ำพูน โทร : 08 1961 8741 LAMPHUN I SBL บันทึกประเทศไทย 73


สะพานขาว บ้านทาชมภู

74

SBL บันทึกประเทศไทย I LAMPHUN


LAMPHUN I SBL บันทึกประเทศไทย 75


หลงรักสะพานขาว บ้านทาชมภู

บ้านทาชมพู ต�ำบลทาปลาดุก อ.แม่ทา เป็นหมู่บ้านที่มีบรรพบุรุษเป็น ชาวไทลื้อ-ไทยอง และชาวหลวย ซึ่งมีถิ่นฐานเดิมอยู่เหนือขึ้นไปทางสิบสอง ปันนา –หนองแส แต่ถูกรุกรานจากชาวไทใหญ่จึงถอยร่มลงมาทางใต้จนถึง เมืองล�ำพูน และตัง้ ฐานอยูท่ ตี่ ำ� บลเวียงยอง (ในปัจจุบนั ) ต่อมามีชาวบ้านบาง ส่วนได้อพยพตามล�ำน�้ำกวง แล้ววกกลับขึ้นมาแถบล�ำน�้ำสายหนึ่ง ชื่อล�ำน�้ำ แม่ทา เมื่อเห็นท�ำเลดีก็พักปลูกบ้านเป็นแห่ง ๆ จนถึงขุนน�้ำทา (ปัจจุบัน เป็นส่วนหนึ่งของกิ่งอ�ำเภอแม่ทาออน จังหวัดเชียงใหม่) และพ่อแสนเทพได้ น�ำพาชาวบ้านอีก 20 ครอบครัว มาตั้งหมู่บ้านข้างฝั่งล�ำน�้ำทา ซึ่งริมน�้ำนี้มี ต้นชมพู่ พ่อแสนเทพจึงตั้งชื่อหมู่บ้านว่า “บ้านทาชมภู” ปัจจุบันเป็นหมู่บ้าน ในเขตเทศบาลต�ำบลทาปลาดุก อ�ำเภอแม่ทา บ้านทาชมพูมีชื่อเสียงเป็นที่รู้จัก เมื่อมีการสร้างสะพานขาวบ้านทาชมพู ต่อจากอุโมงค์รถไฟขุนตาน ซึง่ เป็นเส้นทางสายกรุงเทพฯ – เชียงใหม่ เพือ่ ให้ รถไฟข้ามผ่านล�ำน�้ำแม่ทาไปยังเชียงใหม่ โดยเริ่มก่อสร้างเมื่อปี พ.ศ. 2461 และสร้างเสร็จในปี พ.ศ. 2463 ซึ่งตรงกับสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 ซึ่งยาก ต่อการหาเหล็กจ�ำนวนมากมาก่อสร้างสะพานได้ ท�ำให้สะพานขาวบ้านทา ชมภูต้องสร้างเป็นคอนกรีตเสริมเหล็ก ยาว 87.3 เมตร มีลักษณะรูปทรง โค้งซึง่ เป็นรูปแบบสถาปัตยกรรมแบบตะวันตก และทาสีขาวโดดเด่นเป็นสง่า อยูก่ ลางทุง่ ท�ำให้ชาวบ้านในท้องถิน่ ตืน่ เต้นเข้ามาดูชมการสร้างสะพานนีอ้ ยู่ ตลอดเวลา แม้กาลเวลาจะผ่านมาเนิน่ นานแต่สะพานนีย้ งั คงใช้การได้ดี และจะมีผคู้ น แวะเวียนไปถ่ายภาพเป็นทีร่ ะลึกกันมิได้ขาด จังหวัดล�ำพูน ร่วมกับส�ำนักงาน การท่องเทีย่ วแห่งประเทศไทย (ททท.) ส�ำนักงานล�ำปาง และเทศบาลต�ำบลทา ปลาดุก ส่งเสริมการท่องเทีย่ วโดยใช้ความคลาสสิคของสะพานขาวทาชมพูนี้ มาเป็นจุดดึงดูดให้นักท่องเที่ยวมาเที่ยวชม ด้วยการจัดงานต่าง ๆ อาทิ กิจกรรมจด “ทะเบียนสมรสวันแห่งความรัก” การจัดงานลอยกระทง การ เยีย่ มชมหมูบ่ า้ นทาชมพู กิจกรรมรีดนมวัวในฟาร์ม และชิมอาหารรสเด็ด อาทิ ข้าวแคบ ขนมครก และไก่แดงที่เป็นสูตรเฉพาะของอ�ำเภอแม่ทา

76

SBL บันทึกประเทศไทย I LAMPHUN


น�้ำตกก้อหลวง มรกตแห่งเมืองล�ำพูน

น�้ำตกก้อหลวง เป็นน�้ำตกที่สวยงามและมีชื่อเสียงมาก ที่สุดของอุทยานแห่งชาติแม่ปิง จนได้รับการขนานนามให้ เป็น “มรกตแห่งเมืองล�ำพูน” เลยทีเดียว น�้ำตกก้อหลวงเกิดจากน�้ำในห้วยแม่ก้อ ไหลจากผืนป่า ที่อุดมสมบูรณ์ผ่านหน้าผาหินดินดานเทาด�ำและหินทราย ที่มีความสูงต่างระดับลดหลั่นลงมาทั้งหมด 7 ชั้น ประกอบ กับพืน้ ทีด่ งั กล่าวมีหนิ ปูนและมีนำ�้ ไหลตลอดปี ท�ำให้บริเวณ น�ำ้ ตกมีหนิ งอกหินย้อยมากมาย แลดูสวยงามตามธรรมชาติ และที่น่าอัศจรรย์ใจคือ ในฤดูหนาวน�้ำในแอ่งขนาดใหญ่จะ แลดูเป็นสีเขียวมรกต ส่วนในฤดูร้อนน�้ำจะดูเป็นสีฟ้าคราม จึงดึงดูดให้นักท่องเที่ยวหลั่งไหลมาเที่ยวสัม ผัสกับความ งดงามของน�ำ้ ตกแห่งนีต้ ลอดทัง้ ปี ยกเว้นฤดูนำ�้ ป่าไหลหลาก การเดินไปยังน�้ำตกก้อหลวง จากอ�ำเภอลี้ จังหวัดล�ำพูน ไปตามถนนสายพหลโยธิน เส้นทางหลวงหมายเลข 1087 (ลี-้ ก้อ) ถึงหลัก กม.ที่ 20-21 ทีท่ ำ� การอุทยานแห่งชาติตงั้ อยู่ ทางฝัง่ ซ้ายของถนน ส�ำหรับน�ำ้ ตกตัง้ อยูห่ น่วยพิทกั ษ์อทุ ยาน แห่งชาติที่ 1 ส�ำหรับท่านที่สนใจต้องการเที่ยวชมความ งดงามของน�ำ้ ตกก้อหลวง สามารถติดต่อสอบถามข้อมูลได้ที่ อุทยานแห่งชาติแม่ปิง หมายเลขโทรศัพท์ 053-818348

หนีร้อนไปนอนแพที่ แก่งก้อ

แก่งก้อเป็นทะเลสาบส่วนหนึ่งของอ่างเก็บน�้ำเขื่อนภูมิพล ตั้งอยู่ใน อุทยานแห่งชาติแม่ปิง ต�ำบลก้อ อ�ำเภอลี้ จังหวัดล�ำพูน มีทิวทัศน์ริมฝั่งแม่ น�้ำปิงตอนเหนือเขื่อนที่สวยงาม เหมาะแก่การพักผ่อนหย่อนใจ กิจกรรมที่น่าสนใจให้เลือกมากมาย อาทิ เล่นน�้ำ นั่งชมวิวทิวทัศน์เหนือ ทะเลสาป นัง่ เรือชมทิวทัศน์แม่ปงิ พายเรือคายัค ซึง่ ทีท่ ำ� การหน่วยพิทกั ษ์อทุ ยานฯ มีเรือนแพไว้บริการให้นั่ง-นอนชมความงามของหน้าผาหินปูนริมฝั่งน�้ำ ชมพระอาทิตย์ขึ้นและตกที่จุดชมวิวดอยกระตึก ซึ่งตั้งอยู่ฝั่งตรงข้ามหน่วย พิทักษ์ฯ ต้องนั่งเรือข้ามไประยะทาง 1 กม. หลังจากนั้นต้องเดินขึ้นดอยชัน ระยะทางประมาณ 400-500 ม. จากจุดชมวิวดอยกระตึก สามารถมองเห็น แม่น�้ำปิงไหลมาจากด้านเหนือ และเวิ้งทะเลสาบสลับเทือกเขาและป่าเต็งรัง เป็นทัศนียภาพที่สวยงามน่าประทับใจอีกด้วย

LAMPHUN I SBL บันทึกประเทศไทย 77


78

SBL บันทึกประเทศไทย I LAMPHUN


อุโมงค์ขุนตาล

LAMPHUN I SBL บันทึกประเทศไทย 79


อุทยานแห่งชาติดอยขุนตาล

อุทยานแห่งชาติดอยขุนตาล เป็นอุทยานแห่งชาติที่ตั้งอยู่ ในอ�ำเภอแม่ทา จังหวัดล�ำพูนและอ�ำเภอห้างฉัตร อ�ำเภอเมืองล�ำปาง จังหวัดล�ำปาง สภาพพืน้ ทีเ่ ป็นป่าอุดมสมบูรณ์ เป็นแหล่งต้นน�ำ ้ สามารถเดินทางโดยรถไฟมาลงที่สถานีรถไฟขุนตาน ซึ่งเป็นที่ ตั้งอุโมงค์ขุนตาน อุโมงค์รถไฟที่ยาวที่สุดในประเทศไทย สร้าง โดยชาวเยอรมัน อุทยานแห่งชาติดอยขุนตาล ได้รับการจัดตั้งเป็นอุทยาน แห่ ง ชาติ ล� ำ ดั บ ที่ 10 ของประเทศไทย มี เ นื้ อ ที่ ป ระมาณ 159,556.25 ไร่ พื้นที่ส่วนใหญ่อยู่ในแนวเทือกเขาขุนตาล ซึ่งเป็นแนวแบ่งเขตระหว่างที่ราบลุ่มเชียงใหม่และที่ราบลุ่ม ล�ำปาง เป็นเทือกเขาสูงชันสลับซับซ้อน มีความสูงจากระดับ น�ำ้ ทะเลตัง้ แต่ 325-1,373 เมตร โดยมียอดดอยขุนตาลเป็นจุด สูงสุด พื้นที่ป่าในแนวเทือกเขาขุนตาลเป็นแหล่งต้นน�้ำที่ส�ำคัญ ของแม่นำ�้ ปิงและแม่นำ�้ วัง จุดเด่นด้านการท่องเทีย่ วของอุทยานฯ นี้คือยอดเขาสูงที่เหมาะกับการเดินศึกษาธรรมชาติ

80

SBL บันทึกประเทศไทย I LAMPHUN


ถนนคนเดินเมืองล�ำพูน คืนวิถีชีวิต ให้ชุมชน คืนถนนให้คนเดิน

ตั้ ง อยู ่ ถ นนรอบเมื อ งในบริ เ วณหน้ า ประตู นครหริภุญชัย อินทยงยศ อ�ำเภอเมืองล�ำพูน ถนนคนเดินล�ำพูน จ�ำหน่ายสินค้าพื้นเมือง สินค้าท�ำมือ อาหารอร่อยขึ้นชื่อของเมืองล�ำพูน มีสินค้ามากมายหลายประเภท รวมถึงสินค้า OTOP อีกมากมาย ได้แก่ ล�ำไยสด ล�ำไยกรอบ ผ้าทอ ฯลฯ เปิ ด ขายทุ ก วั น ศุ ก ร์ ตั้ ง แต่ เ วลาประมาณ 15.00 น.เป็นต้นไป

LAMPHUN I SBL บันทึกประเทศไทย 81


ชมผ้าทอโบราณ ณ สถาบันผ้าทอมือหริภุญชัย

เป็นสถาบันที่ตั้งขึ้นโดยองค์การบริหารส่วนจังหวัดล�ำพูน ตั้งอยู่ที่ต�ำบล ต้นธง อ�ำเภอเมืองล�ำพูน จังหวัดล�ำพูน มีวตั ถุประสงค์เพือ่ อนุรกั ษ์วฒ ั นธรรม และประเพณีการทอผ้าของชาวล�ำพูน ทีม่ ปี ระวัตคิ วามเป็นมายาวนานและมี เอกลักษณ์โดดเด่นให้คงอยู่สืบไป อีกทั้งสถาบันฯยังเป็นศูนย์เสริมสร้างอาชีพให้กับกลุ่มทอผ้า และเป็นที่ รวบรวมพ่อครูแม่ครูที่มีความรู้ด้านการทอผ้า เพื่อถ่ายทอดภูมิปัญญาการ ทอผ้าด้วยมือสู่เยาวชนและผู้ที่สนใจ รวมถึงเป็นศูนย์การเรียนรู้ด้านการ ออกแบบลวดลายผ้าทอโบราณ และพัฒนาการทอผ้าลวดลายใหม่ ๆ และยัง เป็นศูนย์สง่ เสริมด้านการตลาดเกีย่ วกับการทอผ้าของจังหวัดล�ำพูน ทีส่ ำ� คัญ ภายในสถาบันฯมีพพิ ธิ ภัณฑ์ผา้ ทอโบราณ ซึง่ จัดแสดงชิน้ ผ้าโบราณหายากไว้ มากมายให้ชม

ช็อปเครื่องเงิน-ผ้าทอชิ้นงาม ณ ศูนย์วิจัยหัตถกรรม บ้านห้วยต้ม

ศูนย์วจิ ยั หัตถกรรมบ้านห้วยต้ม ตัง้ อยูท่ ตี่ ำ� บลนาทราย อ�ำเภอลี้ เป็นศูนย์ ส่งเสริมงานหัตถกรรมและวัฒนธรรมของชาวปกากญอแห่งบ้านห้วยต้ม ด้าน หน้าศูนย์จดั แสดงเรือนโบราณของชาวปกากญอ และมีการสาธิตการปัน่ ฝ้าย ให้กลายเป็นเส้นด้าย และสาธิตการทอผ้าด้วยกีเ่ อวทีม่ หี น้าแคบ ซึง่ ผูท้ อต้อง นั่งเหยียดขาทอกับพื้น ส่วนภายในศูนย์จ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ของกลุ่มอาชีพชุมชน โดดเด่นด้วย ผ้าฝ้ายปลูกและทอมืออย่างประณีต มีสีสันและลวดลายที่สวยงามเป็น เอกลักษณ์ รวมทัง้ การแปรรูปจากผ้าทอเป็นเสือ้ ผ้าซิน่ กระเป๋าแฟชัน่ กระเป๋า ย่าม ถุงผ้า กระเป๋าสตางค์ ของที่ระลึก เครื่องจักสานหลากหลายรูปแบบ งดงามด้วยความคิดสร้างสรรค์ นอกจากนี้ยังจ�ำหน่ายสินค้า OTOP ของ ชุมชนอีกมากมาย ส่วนใครที่ชอบเครื่องประดับเงินห้ามพลาดเด็ดขาด เพราะชาวบ้านห้วย ต้มมีฝมี อื ในการขึน้ รูปเงินแท้บริสทุ ธิใ์ ห้เป็นเครือ่ งประดับต่าง ๆ เช่น จี้ สร้อย คอ สร้อยข้อมือ ต่างหู ปิ่นปักผม แหวน ก�ำไล เข็มกลัด ฯลฯ ที่มีลวดลาย เลียนอ่อนช้อยสวยงามแบบธรรมชาติ ซึ่งสะท้อนวิถีชีวิตของชาวปกากญอที่ ผูกพันกับธรรมชาติและธรรมะ และยังเป็นหมูบ่ า้ นทีถ่ อื ศีลกินมังสวิรตั อิ กี ด้วย

82

SBL บันทึกประเทศไทย I LAMPHUN


งานศิลป์อิ่มตาธรรมะอิ่มใจ ณ หอศิลป์ อุทยานธรรม

หอศิลป์ อุทยานธรรม เป็นสถานที่แสดงงานศิลปะ และสร้างสรรค์ผล งานของศิลปินแห่งชาติ ท่ามกลางบรรยากาศเงียบสงบของสวนล�ำไยขนาด 13 ไร่ เหมาะส�ำหรับผู้ชื่นชอบงานศิลปะ และรักธรรมชาติ หอศิลป์แห่งนี้ก่อตั้งโดยคุณอินสนธิ์ วงศ์สาม ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (ประติมากรรม) ปี พ.ศ. 2542 และคุณเวนิเซีย วอล์คกี้ ประติมากรชาว อังกฤษ มีวัตถุประสงค์เพื่อจะเป็นแหล่งท่องเที่ยวประเภทศิลปะและธรรมะ แสดงงานศิลปะโดยสอดแทรกธรรมะซึ่งเข้าใจง่ายและสนุกสนาน ท่ามกลาง บรรยากาศที่เป็นสวนร่มรื่น เพื่อให้เข้าถึงสัจธรรมแห่งชีวิตตามแนวค�ำสอน ของพระพุทธศาสนา ภายในหอศิลป์จัดแสดงงานประติมากรรมทางพระพุทธศาสนา รอบ ๆ อาคารมีแบบจ�ำลองประติมากรรมเกี่ยวกับธรรมะและพระพุทธศาสนา โดย มีผลงานชิ้นเอกคือ “น�้ำพุแห่งปัญญา” แสดงถึงหลักธรรมแห่งมรรค 8 มี เรือนไทยจัดแสดงผลงานและประวัติของคุณอินสนธิ์ วงค์สาม ศิลปินแห่ง ชาติ นอกจากนี้ยังเป็นศูนย์การเรียนรู้ชุมชนท้องถิ่นในการอนุรักษ์ธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม หอศิลป์ อุทยานธรรม เลขที่ 109/2 หมู่ 1 บ้านป่าซางน้อย อ�ำเภอ ป่าซาง เปิดให้เข้าชมทุกวัน เวลา 10.00-16.00 น. โดยติดต่อนัดหมายล่วง หน้าก่อนเข้าชมได้ที่ โทร. 053-521609

ขอขอบคุณ ส�ำนักงานจังหวัดล�ำพูน, ส�ำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดล�ำพูน, องค์การ บริหารส่วนจังหวัดล�ำพูน, กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์พืช, www.handicrafttourism.com โดย ศูนย์วจิ ยั เพือ่ ความเป็นเลิศด้านสังคม เศรษฐกิจดิจิทัล คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

LAMPHUN I SBL บันทึกประเทศไทย 83


WO R K L I F E

บันทึกเส้นทางพบเทศบาลตำ�บล

ว่าที่ร้อยตรีวีระศักดิ์ สุวลัย ปลัดเทศบาลตำ�บลมะเขือแจ้

ดร.วัฒนา จันทนุปาน

นายกเทศมนตรีตำ�บลมะเขือแจ้ ประธานสันนิบาตเทศบาลจังหวัดลำ�พูน

เทศบาลตำ�บลมะเขือแจ้ “ เมืองน่าอยู่ คู่เกษตรและอุตสาหกรรม วัฒนธรรมล�้ำเลิศ เชิดชูคุณธรรม ” เทศบาลต�ำบลมะเขือแจ้ ตั้งอยู่เลขที่ 203 หมู่ที่ 20 ต�ำบลมะเขือแจ้ อ�ำเภอเมือง จังหวัดล�ำพูน ปัจจุบันมี ดร.วัฒนา จันทนุปาน ด�ำรงต�ำแหน่ง นายกเทศมนตรีต�ำบลมะเขือแจ้ และประธานสันนิบาตเทศบาลจังหวัด ล�ำพูน ประวัติเทศบาลต�ำบลมะเขือแจ้ เทศบาลต�ำบลมะเขือแจ้ เดิมเป็นองค์การบริหารส่วนต�ำบลมะเขือแจ้ ซึ่งได้ยกฐานะเป็นเทศบาลต�ำบล อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา 42 แห่งพระราชบัญญัติสภาต�ำบลและองค์การบริหารส่วนต�ำบล พ.ศ.2537

84

SBL บันทึกประเทศไทย I LAMPHUN

ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติสภาต�ำบลและองค์บริหารส่วนต�ำบล (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2556 และมาตรา 7 แห่งพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 รัฐมนตรีว่าการระทรวงมหาดไทย จึงจัดตั้งองค์การบริหารส่วนต�ำบล เป็นเทศบาลต�ำบลเมื่อวันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ.2550 ค�ำขวัญประจ�ำต�ำบล "ดินแดนแห่งน�้ำศักดิ์สิทธิ์ สิ่งประดิษฐ์จากไม้ ล�ำไยสีทอง ของกินของฝาก หลากหลายภาษา"


แหล่งท่องเที่ยวส�ำคัญ ดอยขะม้อบ่อน�้ำทิพย์ เดิมเรียกขานกันว่า “ดอยคว�่ำหม้อ” เพราะลักษณะรูปทรงสัณฐาน ดูแล้วเหมือนหม้อที่คว�่ำอยู่ และภายหลังเพี้ยนมาเป็นดอยขะม้อ ทุกวัน นี้เรียกกันว่า “ดอยขะม้อบ่อน�้ำทิพย์” เพราะว่าบนยอดดอยที่สูงและชัน มากนั้นกลับมีบ่อน�้ำอยู่ มีลักษณะเป็นโพรงหินลึกลงไปบนยอดเขา เป็น ที่อัศจรรย์ ถือกันมาแต่โบราณว่าเป็นบ่อน�้ำทิพย์ หรือบ่อน�้ำศักดิ์สิทธิ์ ที่มีความสูงจ�ำนวนขั้นบันไดทั้งสิ้น 1,749 ขั้น น�้ำทิพย์จากดอยขะม้อ มีความส�ำคัญอย่างยิ่งส�ำหรับชาวจังหวัดล�ำพูน เนื่องจากถูกก�ำหนดให้ เป็นน�้ำส�ำหรับสรงพระบรมธาตุหริภุญชัย ซึ่งชาวล�ำพูนให้ความเคารพ นับถืออย่างยิ่ง เป็นมิ่งขวัญ และเป็นจอมเจดีย์ที่ส�ำคัญที่สุดของอาณาจักร ล้านนาโบราณ ตามต�ำนานความเชื่อที่ได้กล่าวมาแล้ว ส�ำหรับพิธีการ ตักน�้ำทิพย์บนยอดดอย ตามธรรมเนียมพื้นเมืองจะตักในวันขึ้น 12 ค�่ำ ก่อนวันสรงน�้ำพระธาตุหริภุญชัย 3 วัน จะนิมนต์พระสงฆ์ จ�ำนวน 9 รูป ขึ้นไปเจริญพระพุทธมนต์ ณ บริเวณยอดดอยขะม้อ เวลาค�่ำมีการท�ำพิธี บวชพราหมณ์ จ�ำนวน 4 ตน ซึ่งจะต้องนอนค้างคืน 1 คืน และประมาณ เวลา 05.00 น. ของเช้าวันขึ้น 12 ค�่ำ พราหมณ์ ทั้ง 4 ตน จะได้ลงตักน�้ำ ทิพย์ใส่หม้อน�้ำทิพย์ขึ้นเสลี่ยงแบกหามลงมาท�ำพิธีสมโภช หลังจากนั้นจะ จัดขบวนอัญเชิญน�้ำทิพย์ดอยขะม้อเข้าเมืองหริภุญชัย เพื่อตั้งสมโภชที่วัด พระธาตุหริภุญชัยเป็นเวลา 3 วัน ก่อนน�ำขึ้นสรงพระบรมธาตุเจ้า ร่วมกับ น�้ำสรงพระราชทาน น�ำ้ ทิพย์ดอยขะม้อ เป็นน�ำ้ ศักดิส์ ทิ ธิ์ ทางราชการจังหวัดล�ำพูนได้นำ� เอา น�ำ้ จากบ่อน�ำ้ ทิพย์นเี้ ข้าร่วมในการพระราชพิธบี รมราชาภิเษก ตัง้ แต่รชั กาลที่ 6 ในปี 2454 เป็นต้นมาจนถึงรัชกาลปัจจุบัน การพระราชพิธีบรมราชาภิเษก นั้นจะมีการพลีกรรมตักน�้ำจากแม่น�้ำและแหล่งน�้ำต่าง ๆ ที่ถือว่าส�ำคัญ และเป็นสิริมงคลในมหานครโบราณทั่วทั้งพระราชอาณาจักร มาตั้งท�ำ น�ำ้ พุทธมนต์ศกั ดิส์ ทิ ธิ์ ณ มหาเจดียสถานทีเ่ ป็นหลักของมหานครโบราณนัน้ ๆ แล้วน�ำขึ้นถวายเป็นน�้ำสรงมูรธาภิเษกแด่องค์พระมหากษัตริย์ ซึ่งมีแม่น�้ำ และแหล่งน�้ำทั้งหมด 7 แห่ง ซึ่งบ่อน�้ำทิพย์ดอยขะม้อ เมืองล�ำพูน เป็น 1 ใน 7 แห่งนั้น

LAMPHUN I SBL บันทึกประเทศไทย 85


อ่างเก็บน�้ำแม่ตีบ เป็นอ่างเก็บน�ำ้ ขนาดกลาง ตัง้ อยูใ่ นพืน้ ทีห่ มูท่ ี่ 10 บ้านหนองหอย ต�ำบลมะเขือแจ้ อ�ำเภอเมือง จังหวัดล�ำพูน เป็นโครงการในพระราชด�ำริ ตรงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ในการเสด็จ พระราชด�ำเนิน เมื่อวันที่2 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2528 พร้อมด้วยสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเยี่ยมราษฎรและ ทรงร่วมทอดพระเนตรภูมิประเทศ และแหล่งน�้ำในเขตพื้นที่ต�ำบล มะเขือแจ้ ต่อมาเมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2530 พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 พร้อมด้วยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชด�ำเนินทรงเยี่ยมราษฎร และ ทรงทอดพระเนตรโครงการอ่ า งเก็ บ น�้ ำ ห้ ว ยแม่ ธิ ฯ ต� ำ บลแม่ ธิ และโครงการก่อสร้างอ่างเก็บน�ำ้ ห้วยแม่ตบี ฯ ต�ำบลมะเขือแจ้ อ�ำเภอเมือง จังหวัดล�ำพูน ปัจจุบัน อ่างเก็บน�้ำแม่ตีบ มีความจุ 10 ล้านลูกบาศก์เมตรอยู่ ในความรับผิดชอบของโครงการชลประทานล�ำพูน เป็นอ่างเก็บน�้ำที่ ใช้ในด้านเกษตรกรรม การท�ำนาเพาะปลูก ซึ่งเป็นพระราชด�ำริเพื่อ ช่วยเหลือเกษตรกรให้มีน�้ำใช้ตลอดปี

86

SBL บันทึกประเทศไทย I LAMPHUN


ประเพณีส�ำคัญต�ำบลมะเขือแจ้ ทต.มะเขือแจ้ สืบสานประเพณีเลี้ยงผีขุนน�้ำ 2561 10 มิถุนายน 2561 เวลา 09:00 น. ดร.วัฒนา จันทนุปาน นายกเทศมนตรีต�ำบลมะเขือแจ้ พร้อมด้วย คณะผู้บริหาร พนักงาน เทศบาล ร่วมท�ำกิจกรรม “ประเพณีเลี้ยงผีขุนน�้ำ ประจ�ำปี 2561” ณ บริเวณป่าห้วยขุนน�้ำ ต้นน�้ำแม่ตีบ หมู่ที่ 10 บ้านหนองหอย ต�ำบลมะเขือแจ้ อ�ำเภอเมืองล�ำพูน จังหวัดล�ำพูน โดยในงานมีการ ร่วมท�ำบุญตักบาตรแด่พระภิกษุ-สามเณร พิธีบวชป่า การจัดขบวน แห่เครื่องบวงสรวงเลี้ยงผีขุนน�้ำ พิธีเลี้ยงผีขุนน�้ำ พิธีสืบชะตาล�ำน�้ำ ห้ ว ยเกวี ย น และการสร้างฝายชะลอน�้ำ ตามแนวพระราชด�ำริข อง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9, การแข่งขันบั้งไฟเมตร ณ บริเวณอ่างเก็บน�ำ้ แม่ตบี โดยในปีนไี้ ด้รบั ความร่วมมือจาก ส�ำนักงาน นิคมอุตสาหกรรมภาคเหนือ, อุทยานแห่งชาติแม่ตะไคร้ ส่วนอุทยาน แห่งชาติ พื้นที่อนุรักษ์ที่ 16 (เชียงใหม่), กลุ่มอ๊อฟโรดจิตอาสา, ครูและนักเรียนโรงเรียนมะเขือแจ้, ประชาชนทัว่ ไป และผูม้ จี ติ อาสาเข้า ร่วมกิจกรรมทั้งหมดกว่า 200 คน ดร.วัฒนา จันทนุปาน นายกเทศมนตรีต�ำบลมะเขือแจ้ กล่าวว่า “ประเพณี เ ลี้ ย งผี ขุ น น�้ ำ เป็ น ประเพณี ที่ ส ามารถบู ร ณาการให้ เ กิ ด ประโยชน์ เ พิ่ ม ขึ้ น โดยอาศั ย ความเชื่ อ เรื่ อ งผี ขุ น น�้ ำ มากระตุ ้ น ให้ เกิดกระแสการอนุรักษ์ทรัพยากรแหล่งน�้ำในพื้นที่ต�ำบลมะเขือแจ้ ให้แผ่ขยายไปสู่กลุ่มคนทุกระดับในพื้นที่ และแสวงหาความร่วมมือ กับหน่วยงาน องค์กรต่าง ๆ ให้มาร่วมมือจัดกิจกรรมเลี้ยงผีขุนน�้ำ โดยสอดแทรกกิจกรรมการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ เช่น การสร้าง ฝายชะลอน�้ำตามแนวพระราชด�ำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 การบวชป่า การส่งเสริมให้เยาวชนได้เรียนรูร้ ะบบนิเวศของป่า เป็นต้น นอกจากนี้ เทศบาลต�ำบลมะเขือแจ้ยังส่งเสริมให้โครงการ เลี้ยงผีขุนน�้ำเป็นกิจกรรมท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม โดยส่งเสริมให้มีการ ประกอบพิธีกรรมตามความเชื่อดั้งเดิม โดยเชื่อว่าการเลี้ยงผีขุนน�้ำจะ ท�ำให้อยู่เย็นเป็นสุข ดิน น�้ำ ป่าอุดมสมบูรณ์ต่อไป” LAMPHUN I SBL บันทึกประเทศไทย 87


OTOP ขึ้นชื่อต�ำบลมะเขือแจ้ ล�ำไยอบแห้งเนื้อสีทอง โดย กลุ่มวิสาหกิจชุมชนล�ำไยสีทอง หมู่ที่ 7 บ้านสันป่าเหียงต�ำบลมะเขือแจ้ จังหวัดลําพูน กลุ่มนี้เกิดจากการรวมกลุ่มของสมาชิกจ�ำนวน 9 คน เมื่อวันที่ 26 มิถุนายน 2548 มีเงินออมทรัพย์ทุกเดือนสามจ�ำนวนหุ้นละ 10 บาท ไม่จ�ำกัดจ�ำนวนหุ้น และต่อมาวันที่ 8 พฤศจิกายน 2548 ได้เกิดพรบ. วิสาหกิจชุมชนขึ้น ทางกลุ่มจึงได้จดทะเบียนเป็นกลุ่มวิสาหกิจชุมชนแปรรูป ล�ำไยเนื้อสีทองด้านต่าง ๆ ที่ส�ำนักงานเกษตรอ�ำเภอเมืองล�ำพูน จากนั้น มาได้มีหน่วยงานภาครัฐเข้ามาให้ความรู้ในด้านการผลิตสินค้าให้มีคุณภาพ และเริม่ มีแหล่งเงินทุนเข้ามาสนับสนุนมากขึน้ จนได้รบั ใบอนุญาตผลิตภัณฑ์ อาหาร (อย.) เอกลักษณ์/จุดเด่น/ภูมิปัญญา/หรือผลิตภัณฑ์ ลําไยคือล�ำพูน ล�ำพูนคือล�ำไย ผลไม้เศรษฐกิจส�ำคัญของภาคเหนือ และ แทบทุกครัวเรือนในต�ำบลมะเขือแจ้ จะมีการปลูกล�ำไยไว้ในบ้าน ในปี 2545 ล�ำไยติดดอกมากท�ำให้ผลผลิตมีปริมาณมากราคาจึงถูกลง ประกอบกับล�ำไย เป็นผลไม้ที่เน่าเสียง่าย ชาวบ้านสันป่าเหียงจึงรวมตัวกันเป็นกลุ่มวิสาหกิจ ชุมชนแปรรูปล�ำไยเนื้อสีทองบ้านสันป่าเหียง จนเป็นแหล่งผลิตล�ำไยเนื้อ สีทองที่ใหญ่ที่สุดในโลก ตลอดเส้นทางเข้าหมู่บ้านเป็นถนนแห่งล�ำไยเนื้อ สีทอง เป็นวิถีชีวิตที่สืบทอดกันมายาวนาน และได้คิดค้นพัฒนากรรมวิธีการ ผลิตเพื่อให้ได้มาตรฐานและคุณภาพ โดยใช้เตาอบแบบควบคุมอุณหภูมิที่ ใช้ฟืนจากไม้ล�ำไยที่ได้หลังจากการตัดแต่งกิ่ง ต�ำบลมะเขือแจ้ถือได้ว่าเป็น แหล่งแปรรูปล�ำไยสดกว่า 300,000 กิโลกรัมต่อวัน จากจ�ำนวน 300 เตา ได้ปริมาณล�ำไยเนื้อสีทองกว่า 30,000 กิโลกรัมต่อวัน

88

SBL บันทึกประเทศไทย I LAMPHUN


สมาคมสันนิบาตเทศบาลแห่งประเทศไทย (ส.ท.ท.) สมาคมสั น นิ บ าตเทศบาลแห่ ง ประเทศไทย(ส.ท.ท.) หรื อ ที่ เ รี ย กชื่ อ ใน ภาษาอังกฤษว่า The National Municipal League of Thailand (NMITL) เป็นสมาคมของหน่วยราชการบริหารส่วนท้องถิ่นแบบเทศบาลและเมืองพัทยา รวมทั้งกรุงเทพมหานคร อยู่ในความอุปถัมภ์ของกระทรวงมหาดไทย ประวัติความเป็นมาของ ส.ท.ท. ได้ก่อตั้งขึ้นจากความริเริ่มของนายช�ำนาญ ยุวบูรณ์ นายกเทศมนตรี นครกรุงเทพมหานคร (ในสมัยนั้น) โดยท่านได้เป็นหัวหน้าคณะผู้แทนนคร กรุงเทพฯ เดินทางไปร่วมในการประชุมใหญ่สหพันธ์เทศบาลนานาชาติ ครัง้ ที่ 24 ซึง่ จัดขึน้ ทีน่ ครเบอร์ลนิ ประเทศสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีตะวันตก เมื่อปี พ.ศ. 2502 และเมื่อกลับมาท่านได้น�ำแนวความคิดที่จะให้เทศบาล ต่าง ๆ ในประเทศไทย ได้รวมตัวกันในรูปแบบของสมาคม เพื่อร่วมมือกัน ด�ำเนิน กิจการต่าง ๆ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการบริหารงานของ เทศบาล รวมทั้งเพื่อที่จะได้ให้มีการแลกเปลี่ยนความรู้ในด้านวิชาการ และ ให้มีการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน

และในเดือนตุลาคม 2502 ก็ได้มีการน�ำแนวความคิดนี้เสนอต่อที่ ประชุมใหญ่ นายกเทศมนตรี ปลัดเทศบาล และผู้ตรวจราชการเทศบาล ทั่วราชอาณาจักร ณ ศาลาสันติธรรมจังหวัดพระนคร และที่ประชุมใหญ่ ได้มีมติเห็นชอบในหลักการให้มีการก่อตั้งสมาคมของเทศบาลทั่วประเทศ ใช้ชื่อว่า “สันนิบาตเทศบาลแห่งประเทศไทย” และให้มีข้อบังคับซึ่งก�ำหนด วัตถุประสงค์ รูปแบบองค์กร อ�ำนาจหน้าที่ เพือ่ ใช้เป็นแนวทางในการด�ำเนิน กิจการของสมาคมสันนิบาตเทศบาลแห่งประเทศไทย ซึ่งสมาชิกประกอบ ด้วยเทศบาลทุกแห่งทั่วประเทศ และได้มีการประชุมใหญ่ครั้งแรก ที่จังหวัด เชียงใหม่ ซึ่งมติของที่ประชุมใหญ่ ได้เลือก นายช�ำนาญ ยุวบูรณ์ เป็นนายก สันนิบาตเทศบาลแห่งประเทศไทยคนแรก

LAMPHUN I SBL บันทึกประเทศไทย 89


ดร.วัฒนา จันทนุปาน นายกเทศมนตรีตำ�บลมะเขือแจ้ ประธานสันนิบาตเทศบาลจังหวัดลำ�พูน การก่อตั้งสันนิบาตเทศบาลแห่งประเทศไทยเทศบาลแห่งประเทศไทย เพือ่ ให้สนั นิบาตเทศบาลแห่งประเทศไทย มีฐานะเป็นนิตบิ คุ คล มีอำ� นาจ ด�ำเนินการได้ตามกฎหมายนายกสันนิบาตเทศบาลฯ จึงได้ยนื่ ค�ำขอค�ำร้องขอ จดทะเบียนต่อกระทรวงศึกษาธิการ เมื่อวันที่ 11 ธันวาคม 2502 โดยยื่น หลักฐานมีข้อบังคับและวัตถุประสงค์ในการก่อตั้งไปประกอบการพิจารณา กระทรวงศึกษาได้พิจารณากระทรวงศึกษาได้พิจารณาอนุญาตให้จัดตั้งขึ้น เมื่อวันที่ 7 มีนาคม 2503 และจดทะเบียนมีฐานะเป็นสมาคมตามทะเบียน เลขที่ จ.643 ลงวันที่ 22 มีนาคม 2503

90

SBL บันทึกประเทศไทย I LAMPHUN


วัตถุประสงค์ของสันนิบาตเทศบาลฯ ก�ำหนดไว้ ดังนี้ 1. ศึกษาค้นคว้าเผยแพร่ทางวิชาการหรือกฎหมายที่เป็นประโยชน์แก่ เทศบาล 2. ส่งเสริมความสามัคคีและช่วยเหลือซึ่งกันและกันระหว่างสมาชิก 3. ให้ ส มาชิ ก ได้ มี โ อกาสพบปะแลกเปลี่ ย นความคิ ด เห็ น และ ประสบการณ์ซึ่งกันและกัน 4. ส่งเสริมสวัสดิภาพและสมรรถภาพของพนักงานเทศบาล 5. จัดให้มีการฝึกอบรมพนักงานเทศบาล 6. เสนอความคิดเห็นของสันนิบาตเทศบาลฯ ต่อรัฐบาลผ่านกระทรวง มหาดไทย 7. ร่วมกับองค์การระหว่างประเทศในการส่งเสริมการปกครองท้องถิน่ 8. ไม่เกี่ยวกับการเมือง

LAMPHUN I SBL บันทึกประเทศไทย 91


WO R K L I F E

บันทึกเส้นทางพบเทศบาลตำ�บล

พล.อ.วินัย ทันศรี ที่ปรึกษานายกเทศมนตรีตำ�บลเวียงยอง

นายสว่าง คำ�พรหม นายสนิท อาภัย รองนายกเทศมนตรีตำ�บลเวียงยอง

ดร.พลศุภรักษ์ ศิริจันทรานนท์ นายกเทศมนตรีตำ�บลเวียงยอง

เทศบาลตำ�บลเวียงยอง เทศบาลต�ำบลเวียงยอง ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 239 หมู่ 3 ต�ำบลเวียงยอง อ�ำเภอเมือง จังหวัดล�ำพูน ที่ตั้งและขนาดต�ำบลเวียงยองตั้งอยู่ทางทิศใต้ของที่ว่าการ อ�ำเภอเมืองล�ำพูน ห่างจากที่ว่าการอ�ำเภอเมืองประมาณ 300 เมตร ห่างจากศาลากลางจังหวัดล�ำพูนประมาณ 1 กิโลเมตร เป็นพื้นที่ราบ ตั้งอยู่บนฝั่งตะวันออกของแม่น�้ำกวง มีเนื้อที่ทั้งหมดประมาณ 8,595 ไร่ (11.97 ตร.กม.) บริ ห ารงานโดย ดร.พลศุ ภ รั ก ษ์ ศิ ริ จั น ทรานนท์ นายกเทศมนตรีต�ำบลเวียงยอง โครงการเรียนภาษาล้านนาหรือลานนา (ตั๋วเมือง) ประจ�ำปี 2561 ภาษาล้านนา หรือค�ำเมือง เป็นภาษาประจ�ำท้องถิน่ ทางภาคเหนือมาเป็น ระยะเวลานาน หมายรวมถึง ภาษาเขียน (ตัว๋ เมือง) และภาษาพูด (ก�ำเมือง) นอกจากจะใช้ใน 8 จังหวัดภาคเหนือแล้ว ยังมีผู้ใช้ภาษาล้านนาในบาง ท้องที่ของจังหวัดอุตรดิตถ์ ตาก สุโขทัย สระบุรี ในประเทศเพื่อนบ้าน เป็น ภาษาทีม่ สี ณ ั ฐานกลมป้อม คล้ายอักษรมอญ (ฝักขาม) มีเสียงสระภายในตัว ใช้ในการติดต่อสื่อสารกันในอดีต ภาษาล้านนาเป็นสิ่งแสดงให้เห็นถึง เอกลักษณ์ ความเป็นชนชาติที่มีอารยธรรมที่ยิ่งใหญ่ล่วงมาแล้วพันกว่าปี ปราชญ์พื้นบ้าน และปราชญ์ราชส�ำนัก สามารถอ่านออกเขียนได้ มีการ ให้การสนับสนุนการเรียนภาษาล้านนาทัง้ ฝ่ายอาณาจักร และฝ่ายศาสนจักร อักษรล้านนา (ตัว๋ เมือง) ถือได้วา่ เป็นอักษรแห่งภาษาแม่ของชาวล้านนา เป็นมรดกอันล�้ำค่าทางอักษรศาสตร์ เป็นศาสตร์อันสูงสุดของชาวล้านนา เป็นภูมิปัญญาของนักปราชญ์ชาวล้านนา เป็นอักษรแห่งมนต์ขลัง

92

SBL บันทึกประเทศไทย I LAMPHUN

นายชม ชมภูรักษ์ เลขานุการนายกเทศมนตรี ตำ�บลเวียงยอง

นายชุวัท สายเกษม ปลัดเทศบาลตำ�บลเวียงยอง


ถือกันมาว่ามีความศักดิ์สิทธิ์ จึงเป็นอักษรที่ใช้เกี่ยวกับพิธีกรรมทาง พระพุทธศาสนา คือต�ำราไสยศาสตร์ เลขยันต์ คาถาเวทย์มนต์ต่างๆ ที่คน ล้านนาถือว่าขลังมาแต่โบราณกาล ชาวล้านนาถือว่า “ตั๋วเมือง” เป็นของสูง เป็นภาษาที่บรรพชนนักปราชญ์ล้านนาคิดค้นประดิษฐ์ขึ้นด้วยภูมิปัญญา อันสูงส่ง และเป็นมรดกทางวัฒนธรรมอันมีค่าสูงยิ่ง ไม่ว่าจะเป็น พับสา คัมภีร์ใบลาน สมุด ข่อย แม้แต่กระดาษที่เขียนด้วยตั๋วเมือง จะต้องเก็บไว้ใน ที่อันควร เช่น บนหิ้ง บนหัวนอน จะไม่มีการทิ้งเรี่ยราด ไม่มีการเหยียบหรือ เดินข้ามเป็นอันขาด ดังนั้นเทศบาลต�ำบลเวียงยองจึงเล็งเห็นความส�ำคัญของภาษาล้านนา ทัง้ ภาษาพูด ภาษาเขียน และความเป็นชนชาติอารยธรรมทีย่ งิ่ ใหญ่ในอดีตกาล ที่สะท้อนให้เห็นถึงวิถีชีวิตในอดีต เหตุการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้นและเป็นบท เรียนส�ำหรับการด�ำเนินชีวิตของอนุชนรุ่นหลังในปัจจุบัน และปัจจุบันพบว่า ปราชญ์ ช าวบ้ า นที่ มี ค วามรู ้ เ กี่ ยวกั บ ภาษาล้ า นนา(ตั๋ ว เมื อ ง) ก� ำ ลั ง จะมี ลดน้อยลง และขาดความต่อเนื่องในการสืบทอด ความรู้ เรื่องภาษาล้านนา (ตั๋วเมือง) เทศบาลต�ำบลเวียงยอง จึงได้จัดท�ำโครงการเรียนภาษาล้านนา (ตั๋วเมือง) เพื่อให้อนุชนคนรุ่นหลังในปัจจุบันได้ศึกษาเรียนรู้ และสืบสาน สิง่ ทีด่ งี าม น�ำมาปรับใช้ให้เหมาะสม เพือ่ ให้มรดกวัฒนธรรมทางภาษาคงอยู่ ตราบนานเท่านาน

พิพิธภัณฑ์ผ้าทอโบราณเฮือนคนยองวัดต้นแก้ว พิพิธภัณฑ์ผ้าทอโบราณเฮือนคนยองวัดต้นแก้ว ต.เวียงยอง อ.เมือง จ.ล�ำพูน ทีร่ วมเอาผ้าทอโบราณของเชือ้ สายเจ้าชาวยองในยุคต่างๆ และเป็น มรดกตกทอดรุน่ สูร่ นุ่ ตราบจนปัจจุบนั รวมไปถึงศิลปวัฒนธรรมล้านนาต่างๆ ไว้ให้ดูให้ชมได้ที่ พิพิธภัณฑ์ผ้าทอโบราณเฮือนยอง วัดต้นแก้วแห่งนี้

วัดหัวขัว /เตวะบุตรโหลง (เทวะบุตรหลวง) เตวะบุตรหลวง เป็นเทวบุตรสี่องค์ที่ชาวยอง หรือชาวลื้อเมืองยองให้ ความเคารพนับถือเป็นอย่างยิง่ มีพระนามว่า สุรณะ มหินยิ งั คะ ปิทธิวะ และ ลักขณา เดิมทีนนั้ เตวบุตรทัง้ สีน่ เี้ ป็นเทวดาทีป่ กปักรักษาพระธาตุเจ้าจอมยอง ทีเ่ มืองยอง (ประเทศพม่า) โดยมีรปู เคารพอยูท่ งั้ สีด่ า้ นของ พระธาตุเจ้าจอมยอง เมือ่ คราวทีช่ าวลือ้ เมืองยองอพยพย้ายถิน่ ฐานมาสูเ่ มืองล�ำพูน เมือ่ ประมารณ ปี พ.ศ. 2348 (ปีเสือ) บรรพบุรษุ ชาวยองได้ทำ� พิธอี ญ ั เชิญเตวบุตรทัง้ สีม่ าด้วย เมือ่ มาถึงเมืองล�ำพูน แล้วได้สร้างวัดขึน้ ทางด้านทิศตะวันออกเมืองให้นามว่า วัดหัวข่วงนางเหลียว แล้วอัญเชิญเตวบุตรทัง้ 4 ให้สถิต ณ ทีว่ ดั นี้ เจ้าฟ้าเมือง ยองจึงทรงสถาปนาให้เป็นวัดประจ�ำราชวงศ์ บรรดาลูกหลานของราชวงศ์ได้ พากันออกบวชที่วัดแห่งนี้หลายพระองค์ ในเวลาต่อมาวัดนีไ้ ด้รา้ งไปเนือ่ งจาก กระแสน�ำ้ แม่กวงได้กดั เซาะบริเวณวัด ปัจจุบนั คงเหลือเพียงซากอิฐโบราณอยูใ่ นพืน้ ทีข่ อง เอกชน บรรดาลูกหลาน ชาวยองได้อัญเชิญเตวบุตรหลวงมาไว้ยังวัดที่สร้างขึ้นใหม่ในสถานที่ไม่ไกล จากที่เดิมมากนักคือ วัดหัวขัว ซึ่งตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น�้ำกวงในพื้นที่ต�ำบลเวียง มาจนถึงปัจจุบันเมื่อคนยองมีเรื่องทุกข์ร้อนใดก็มักจัดดอกไม้ธูปเทียนไปสัก การะขอพรกับ เตวะบุตรหลวง เสมอและมักจะประสบความสุขความเจริญ พ้นจากเภทภัยทุกข์ร้อนด้วยประการทั้งปวง

พุทธสถานวัดพระยืน วัดพระยืนเป็นโบราณสถานที่เก่าแก่ในประวัติศาสตร์มีอายุล่วงเลย มาเป็นระยะเวลา 1350 ปี เป็นวัดคู่บ้านคู่เมืองที่พระนางเจ้าจามเทวี ปฐมกษัตริย์แห่งนครหริปุญไจย ทรงสร้างไว้เมื่อปีพุทธศักราช 1209 และ พุทธสถานวัดพระยืนได้รับการบูรณะ ปฏิสังขรณ์จากกษัตริย์ผู้ครองนคร อย่างต่อเนื่อง ในปีพุทธศักราช 2549 กรมศิลปากรได้มีการบูรณครั้งใหญ่ ซึ่งในการบูรณครั้งนี้ได้พบหลักฐาน ที่ส�ำคัญต่างๆมากมายที่สามารถยืนยัน ได้ว่าพุทธสถานวัดพระยืนเป็นโบราณสถานที่เก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่ง ซึ่งทุกปี จะได้ทำ� การสักการบูชาด้วยการร่วมกันจัดพิธสี รงน�ำ้ พระธาตุวนวัดขึน้ 15 ค�ำ่ เดือน 9 (เดือนเก้าเป็งเหนือ) และในปีพุทธศักราช 2558 ศิราจารึกวัด พระยืนยังได้รับการขึ้นทะเบียนเอกสารมรดก ความทรงจ�ำแห่งโลกของ ประเทศไทยอีกด้วย LAMPHUN I SBL บันทึกประเทศไทย 93


ศูนย์ถ่ายทอดความรู้ ภูมิปัญญา สล่าปูนปั้นล้านนา ณ ศาลา SML หมู่ 4 บ้านแม่สารบ้านตอง สล่ า ชาวยองด้านปูน ปั้น เป็น ผู้ที่สืบทอดมรดกทางภูมิปัญญาด้าน สถาปัตยกรม ด้วยฝีมือช่างที่มีความประณีตงดงาม ควรค่าแก่การอนุรักษ์ ให้คงอยู่ช่ัวลูกชั่วหลาน มีศูนย์กลางอยู่ที่ บ้านแม่สารบ้านตอง ได้อนุรักษ์ สืบสานงานฝีมือช่าง พื้นเมืองของชาวยองจากรุ่นสู่รุ่นไว้มานานกว่า 230 ปี ผลงานปูนปัน้ จากสล่าชาวยองกลุม่ นี้ ถือได้วา่ เป็นสถาปัตยกรรมทีง่ ดงามวิจติ ร และตระการตา มีความเคลื่อนไหวมีชีวิตชีวา แม้จะประดับไว้ ณ สถานที่ แห่งใดก็ตาม

หมู่บ้านหัตถกรรมผ้าทอบ้านแม่สารบ้านตอง การทอผ้ายกดอกได้เฟือ่ งฟูมาก สมัยของพระชายาดารารัศมี ในพระบาท สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชการที่ 5 แห่งราชวงศ์จักรี ซึ่งเป็น พระธิดาของพระเจ้าอินทวิชยานนท์ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 7 ท่าน ได้ทรงนิยมนุ่งซิ่นเป็นประจ�ำ จึงทรงสนพระทัยที่จะคิดค้นประดิษฐ์ลวดลาย ใหม่ ๆ ขึ้น โดยฝึกหัดคนในวัง ให้ทอผ้าไปถวายเจ้านายชั้นผู้ใหญ่ และทรง ใช้เอง ส่วนทางล�ำพูนนั้น เจ้าหญิงส่วนบุญ ธิดาของเจ้าผู้ครองนครล�ำพูนได้ รับการถ่ายทอดความรูเ้ รือ่ งการทอผ้ายกดอก จากพระชายาเจ้าดารารัศมีใน คุ้มเชียงใหม่ แล้วน�ำมาฝึกหัดชาวบ้านในคุ้มหลวงล�ำพูน และต่อมาคนที่ได้ รับการฝึกหัดในคุ้มได้ออกมาทอเองที่บ้าน ผู้หญิงชาวบ้านในจังหวัดล�ำพูน ทุกคนสามารถทอผ้ายกดอกได้ ผ้าทอยกดอกแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ ผ้าไหมยกดอก และผ้าฝ้าย ยกดอก ซึ่งผ้าทอทั้ง 2 ประเภทมีลักษณะการใช้ งานที่แตกต่างกัน กล่าวคือ ในอดีตหญิงสาวทุกบ้านต้องทอผ้าเป็น และจะทอได้ทั้งผ้าไหมและผ้าฝ้าย การทอ ผ้าฝ้ายเพือ่ ส�ำหรับสวมใส่อยูใ่ นบ้าน ส่วนการทอผ้าไหมจะทอไว้สวม ใส่ในงานต่าง ๆ เช่น งานบวช งานขึ้นบ้านใหม่ และงานแต่งงาน เป็นต้น

94

SBL บันทึกประเทศไทย I LAMPHUN

กู่ผียักษ์ หรือ กู่สิงห์ตอง กูผ่ ยี กั ษ์ เป็นโบราณสถานทีส่ ำ� คัญมีอายุเก่าแก่หลายร้อยปีของเมืองล�ำพูน จากรายงานการส�ำรวจ โบราณสถานของกรมศิลปากรเมื่อปี พ.ศ.2540 กู่ผียักษ์หรือกู่สิงห์ตองแห่งนี้มีอายุเก่าแก่กว่า การเข้ามาตั้งหลักแหล่งของ ชาวยองเมื่อต้นพุทธศตวรรษที่ 24 อย่างแน่นอน กู่ผียักษ์ หรือ กู่สิงห์ตอง จัดเป็นกลุ่มโบราณสถานที่ได้รับอิทธิพลศิลปะสกุลช่างเชียงแสน ในราว ครึ่งแรกของพุทธศตวรรษที่ 20 ก่อนที่บทบาทของศิลปะเชียงใหม่สมัย พญาติโลกราชจะรุ่งเรืองขึ้นมาแทน นอกจากนั้นในแง่ประวัติศาสตร์ ยังอาจเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ที่มี พระสงฆ์จากเชียงแสนเข้ามาศึกษาในส�ำนักวัดสวนดอก จากการอุปถัมภ์ของ พญากือนา และได้สร้างวัดตาม ลักษณะสกุลช่างเชียงแสนขึ้นในระยะนั้น เพราะนั บ ตั้ ง แต่ ยุ ค รุ ่ ง เรื อ งของศิ ล ปกรรมสกุ ล ช่ า งเชี ย งใหม่ คื อ สมั ย พญาติโลกราชสืบต่อลงมาถึงคราวเสียเมืองให้แก่พม่าในปี พ.ศ.2101 ก็ไม่ ปรากฏสถาปัตยกรรมแบบสกุลช่าง เชียงแสนในเขตอาณาบริเวณเชียงใหม่ ล�ำพูนอีกเลย


...ผ้าทอลายราชวัตร...

จากคุ้มเจ้าถึงชาวบ้าน ผ้ า ฝ้ า ยทอมื อ ถื อ เป็ น หั ต ถกรรมพื้ น บ้ า นที่ ส ร้ า งขึ้ น จากการสั่ ง สม ประสบการณ์ ผสมผสานกลมกลืน กับขนบธรรมเนียมประเพณี ยามว่าง จากการท�ำไร่ท�ำนา ผู้หญิงจะทอผ้า ผู้ชายจะปั้นปูน ดังนั้นทุกครัวเรือน จะมี การทอผ้า เพื่อการใช้สอยมีการถ่ายทอดความรู้ในการทอผ้าให้กับสมาชิก โดยเฉพาะผูห้ ญิง ซึง่ ถือเป็น ภูมปิ ญ ั ญาทีส่ บื ทอดมาจากบรรพบุรษุ เป็นมรดก ทางวัฒนธรรมที่สืบทอดมาหลายชั่วอายุคน ยายสังวาลย์ วงศ์สาม (ฉายศาสตรา) หรือ ยายหมอก อายุ 87 ปี ได้เล่าถึงการทอผ้าว่า ตอนยายหมอกยังเด็ก จ�ำความได้ว่าเห็นคุณยาย (เจ้าแม่จนั ทร์สม วงศ์สาม) ทอผ้าอยูแ่ ล้ว จนมาถึงรุน่ คุณแม่ (เจ้าแม่แว่นแก้ว วงศ์สาม) ของยายหมอกก็ทอผ้าเช่นกัน ส�ำหรับกี่ที่ยายหมอกใช้ทอผ้าทุก วันนี้ ก็สืบทอดมาจากของคุณยายในสมัยที่ยายเป็นเด็กยังเรียนหนังสือ ..... ทุกๆเย็น หลังเลิกเรียนมาจากโรงเรียนวัดพระยืน ก็จะมาแอบขึ้นกี่ทอผ้า พร้อมทั้งเรียนรู้แบบครูพักลักจ�ำ..... ส�ำหรับการทอผ้าลายราชวัตร ยายหมอกเล่าว่ามีจดุ เริม่ ต้นอยูใ่ น “คุม้ เจ้า” เนื่องจากพี่สาวของยาย คือ แม่บัวผาย วงศ์สาม และแม่ปราณี วงศ์สาม ได้เข้าไปรับจ้าง ทอผ้าที่คุ้มเจ้าหญิงล�ำเจียก ณ ล�ำพูน ซึ่งเป็นบุตรของ

เจ้าจักรค�ำขจรศักดิ์ กับ เจ้าหญิงขานแก้ว ณ ล�ำพูน โดยเจ้าหญิงล�ำเจียก ณ ล�ำพูน ได้เขียนลายราชวัตรและสอนให้พี่สาวทั้งสองของยายทอ พี่สาวของ ยายหมอกทีม่ ชี อื่ ว่า แม่ปราณี วงศ์สาม เป็นคนทีม่ คี วามช�ำนาญในการทอผ้า ตั้งแต่การฟอก ย้อม กรอ สาว(โว้น) เคล้าเครือสืบหูก โดยคิดลายหรือ ลอกลายลงบนสมุดกราฟอย่างช�ำนาญ แล้วน�ำไปดัน้ ลายดอกในเครือหูก จน ทอออกมาเป็นผืน อย่างสวยงาม ....จากความช�ำนาญเฉพาะตัวของแม่ปราณี ทีไ่ ด้เข้าไปรับจ้างทอผ้าในคุม้ เจ้าหญิงล�ำเจียก พี่สาวยายกลับจากคุ้มเจ้าก็ได้น�ำลายราชวัตร มาสอนยาย ซึ่งรับจ้างทอผ้าอยู่ที่บ้าน ประกอบกับค�ำสั่งเสียครั้งสุดท้าย ของแม่ปราณี วงศ์สาม พี่สาวยายสั่งไว้ว่า “ลายราชวัตรนี้ หื้อทอไว้กับตั๋ว เอาไว้เซาะว่าหา เลีย้ งตัว๋ เก่าเน้อ”..... ปัจจุบนั นีผ้ า้ ทอลายราชวัตร เปรียบเสมือนเป็นลายเฉพาะ ของต้นตระกูลของยาย ผู้ที่จะสืบทอดจะต้องเป็นลูกหลานที่สืบเชื้อสายของ ตระกูลเท่านัน้ แต่อย่างไรก็ตามปัจจุบนั นีค้ ณ ุ ยายก็ได้ถา่ ยทอดลายราชวัตรนี้ ให้กบั ช่างทอผ้าในต�ำบลเวียงยองเพือ่ เป็นการสืบสานและช่วยกันรักษาให้คง ไว้ซึ่งมรดกแห่งภูมิปัญญาอันทรงคุณค่านี้ให้อยู่คู่กับต�ำบลเวียงยองตลอดไป เพื่อให้เข้ากับยุคสมัย ผ้าทอลายราชวัตรในปัจจุบัน เปลี่ยนจากฝ้าย ธรรมชาติมาเป็นฝ้ายสังเคราะห์ มีการเพิม่ สีสนั มากขึน้ ท�ำให้ผนื ผ้าสะดุดตา และมีผสู้ นใจน�ำไปตัดเป็นเสือ้ เป็นผ้าถุง และเป็นทีต่ อ้ งการของตลาดมากขึน้ LAMPHUN I SBL บันทึกประเทศไทย 95


WO R K L I F E

บันทึกเส้นทางพบเทศบาลตำ�บล

นายประกาศิต รังสรรค์

ปลัดเทศบาลตำ�บลต้นธง ปฎิบัติหน้าที่ นายกเทศมนตรีตำ�บลต้นธง

เทศบาลตำ�บลต้นธง “ เมืองโบราณแหล่งประวัติศาสตร์ งามล�้ำวัฒนธรรม ประเพณีวิถีชาวบ้าน ชุมชนเข้มแข็ง เศรษฐกิจยั่งยืน พึ่งตนเอง แบบพอเพียง สิ่งแวดล้อมสะอาดและ ปราศจากมลพิษ คุณภาพชีวิตดีพร้อม ภูมิทัศน์สวยงาม ตระการตาทั้งต�ำบล” คือค�ำขวัญเทศบาลต�ำบลต้นธง ซึ่งมีส�ำนักงานตั้งอยู่เลขที่ 200 หมู่ที่ 10 ต�ำบลต้นธง อ�ำเภอเมือง จังหวัดล�ำพูน

96

SBL บันทึกประเทศไทย I LAMPHUN

ประวัติความเป็นมา ต�ำบลต้นธงเป็นหนึ่งต�ำบลของอ�ำเภอเมืองล�ำพูน อยู่ทางทิศใต้ของ ตัวเมืองเป็นเขตชานเมือง ประชากรส่วนใหญ่มีอาชีพเกษตรกรรม มีเนื้อที่ ทั้งหมด 202 ตารางกิโลเมตร การด�ำรงชีพและชีวิตความเป็นอยู่อาศัยตาม ล�ำเหมือง แม่น�้ำ ซึ่งต�ำบลต้นธงมีแม่น�้ำสายส�ำคัญขนาบทั้งสองข้าง คือ แม่น�้ำปิงและแม่น�้ำกวง วิสัยทัศน์ ในการพัฒนาเทศบาลต�ำบลต้นธง “ ต�ำบลต้นธง แหล่งสินค้าเกษตรปลอดภัย ร่วมใจมุ่งสู่ประชาคมอาเซียน (Asean Community) ” พันธกิจของเทศบาลต�ำบลต้นธง 1. ดูแลผู้สูงวัย ใส่ใจทุกครอบครัว 2. ส่งเสริมการศึกษา และกีฬาให้สอดคล้องกับบริบทของท้องถิน่ และนโยบาย การศึกษาแห่งชาติ 3. ประชาชนเข้าถึงบริการด้านสุขภาพและสาธารณสุขอย่างทั่วถึง 4. ประชาชนมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการท้องถิ่นของตนเอง 5. มีการบริหารจัดการขยะมูลฝอยอย่างเป็นระบบ 6. ส่งเสริมแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ ถนนดี ไฟฟ้าสว่าง น�้ำสะอาด 7. มุง่ ให้ตำ� บลต้นธงเป็นเมืองแห่งการท่องเทีย่ วด้านศิลปวัฒนธรรม ประเพณี โบราณ สถานและภูมิปัญญาท้องถิ่น รวมทั้งการท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์จาก ทรัพยากรของท้องถิ่นและบุกเบิก 8. ส่งเสริมให้ต�ำบลต้นธงเป็นแหล่งผลิตสินค้าการเกษตรปลอดภัย 9. ส่งเสริมการสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชนและประชาสังคม


สถานที่ส�ำคัญ วัดรมณียาราม (กูล่ ะมัก) ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 222 หมูท่ ี่ 4 บ้านศรียอ้ ย ต�ำบลต้นธง อ�ำเภอเมือง จังหวัดล�ำพูน เป็นวัดเก่าแก่ที่พระนางจามเทวี ปฐมกษัตรีย์เป็น ผูส้ ร้าง ตัง้ แต่ พ.ศ.1206 ก่อนทีพ่ ระนางจะเสด็จเข้าครองเมืองหริภญ ุ ชัย และ ครูบาศรีวชิ ยั ปฐมสังฆรามแรก แห่งนครหริภญ ุ ชัย เป็นผูบ้ รู ณะ จึงนับเป็นจุด หยั่งรากพระพุทธศาสนา ลง ณ ผืนแผ่นดินหริภุญไชย ตามประวัตศิ าสตร์เมืองหริภญ ุ ชัยนัน้ สร้างขึน้ โดยพระฤาษีสององค์ นามว่า สุเทวฤาษจากดอยสุเทพและสุกกทันตฤาษีจากเขาสมอคอน เมืองละโว้ หลัง จากที่ได้สร้างอาณาจักรหริภุญชัยเสร็จแล้ว จึงได้อัญเชิญพระนางจามเทวี พระธิดาของพระเจ้าละโว้ให้ขนึ้ มาครองเมือง โดยพระนางจามเทวีทรงเสด็จ ลงเรือขึ้นมาตามแม่น�้ำปิง ใช้เวลานานกว่า 7 เดือน เมื่อกระบวนเรือได้เทียบ ท่าเจียงตอง หรือท่าเชียงทอง จึงได้หยุดพักกระบวน เมื่อพระนางจามเทวี ทรงทราบว่าระยะทางยังอีกไกล จึงมีรบั สัง่ ตรัสปรึกษาแก่หมูอ่ ำ� มาตย์ราชครู ทัง้ หลายว่า เราควรจะยับยัง้ ตัง้ เวียงพักอยู่ ณ ทีน่ กี้ อ่ น ยังมิควรรีบร้อนเข้าไป ในยามนี้ อ�ำมาตย์ราชครูทงั้ หลายก็เห็นชอบ พระนางจามเทวีจงึ ปรึกษาว่าเรา ควรจะตั้งเวียงนั้น ณ ตรงจุดใดดีเหล่าอ�ำมาตย์ราชครูโหราจารย์ทั้งหลายจึง ทูลถวายความเห็นว่า ควรจะเสี่ยงธนูตามเคยมาแต่ก่อน

จากนั้นพระนางจามเทวีจึงได้สั่งนายฉมังธนูว่า “เราจักตั้งบ้านอยู่ทิศหน เหนือก้อนหินนี้ ท่านจงยิงธนูเสี่ยงมหามงคลสถานไปให้แก่เราเถิด” จากนั้น นายฉมังธนูจึงได้ตั้งพลีกรรมธนูแล้วก็ขึ้นสายพาดปืนธนู บ่ายหน้าเฉพาะ ทิศอุดรแล้วก็ลั่นลูกธนูออกไปแล้วมาตกตรงที่ตั้งเจดีย์ในวัดกู่ละมัก ลูกธนู ที่เสี่ยงทายได้ปักตั้งอยู่เป็นอันดี ก็ทรงทราบว่าเป็นชัยภูมิอุดมสมควรยิ่งนัก พระนางจามเทวีจึงให้ราชบัณฑิตไปอาราธนาถามพระมหาเถระว่า ลูกธนู ตกลง ณ ที่ใดเราควรจะท�ำประการใดดีก่อน พระมหาเถระจึงถวายตอบว่า มหาราชเทวีเจ้าน�ำพระพุทธศาสนามาแต่ กรุงละโว้ ควรจะหยั่งรากพระ ศาสนาลง ณ ผืนแผ่นดินหริภุญไชยก่อน ซึ่งพระนางฯ ก็เห็นชอบด้วย จึงทรง จัดการให้มกี ารสร้างพระอารามขึน้ ทรงให้กอ่ มหาเจดีย์ ณ ตรงลูกธนูปกั แล้ว บรรจุพระบรมธาตุ ทัง้ นีพ้ ระนางได้บรรจุพระบรมสารีรกิ ธาตุของพระพุทธเจ้า ที่ได้น�ำมาจากกรุงละโว้ และทรงสร้างพระพุทธรูปเนื้อทองสัมฤทธิ์ขนาด เท่ากับความสูงของพระนางบรรจุไว้ขา้ งในพระธาตุดว้ ยและสร้างพระอุโบสถ อันถือเป็นวัดแรกสุดและเก่าแก่ทสี่ ดุ กว่าวัดใด ๆ ทีเ่ จ้าแม่จามเทวี ทรงสร้างไว้ ในเมืองหริภญ ุ ชัยโดยไม่ปรากฏชือ่ ดัง่ เดิมมาก่อนต่อมาวัดนีถ้ กู ทิง้ ไว้ให้รกร้าง เมือ่ มีพระมหาเถระจากเมืองอืน่ เดินทางมา ก็ได้ตงั้ ชือ่ ให้ใหม่วา ่ “รมณียาราม” แต่ จ ากค� ำ บอกเล่ า ของชาวบ้ า นสมั ย ก่ อ นจะเรี ย กว่ า “วั ด กู ่ ล ะมั ก ” LAMPHUN I SBL บันทึกประเทศไทย 97


ซึ่งสันนิษฐานว่าค�ำว่า “ละมัก” อาจแผลงมาจากค�ำว่า “ลัวะ-ละว้า” เพราะ พบหมูบ่ า้ นของชาวลัวะถัดจากวัดนีข้ า้ มแม่นำ�้ กวงไปทางทิศตะวันออกจ�ำนวน 2-3 หลัง ส�ำหรับเจดียก์ ลู่ ะมักทีป่ รากฏในปัจจุบนั เป็นองค์ใหม่ทคี่ รูบาศรีวชิ ยั ได้มา บูรณะสร้างขึน้ ครอบองค์เดิมไว้ เนือ่ งจากเจดียอ์ งค์เดิมนัน้ ได้ชำ� รุดทรุดโทรม ด้วยกาลเวลาที่ผ่านมานับพันปี นอกจากนี้ครูบาศรีวิชัยยังได้สร้างพระวิหาร และธรรมาสทีใ่ ช้แสดงพระธรรมเทศนา ซึง่ เป็นสิง่ ทรงคุณค่าวิจติ รตระการตา สวยงามมาก ส่วนเจดีย์ที่สร้างขึ้นใหม่นี้เจดีย์รูปแบบผสม ส่วนล่างเป็นทรง มณฑปหรือทรงปราสาทแบบล้านนา ซึ่งได้รับการประกาศขึ้นทะเบียนเป็น โบราณสถานจากกรมศิลปากรแล้ว นอกจากนี้บริเวณด้านหลังของกู่ มีร่องรอยของฐานอุโบสถที่สร้างขึ้น พร้อม ๆ กับเจดียด์ ว้ ย โดยยังเห็นเป็นรอยของฐานท�ำด้วยศิลาแลง บริเวณรอบ ฐานอุโบสถยังปรากฏพัทธสีมาเป็นหินขนาดใหญ่โผล่ขึ้นมาจากดิน ชาวบ้าน บอกว่าเมื่อหลายปีก่อนได้ท�ำการขุดรอบหิน ลึกประมาณ 3 เมตรยังไม่ถึง พื้นของพัทธสีมาเลย หลังจากนั้นพระธิติพรรณ ญาณวีโร เจ้าอาวาสวัด จึงได้ท�ำการก่อสร้างรั้วขึ้นรอบเขตอุโบสถเพื่อไม่ให้คนเข้าไปวัดรมณียราม หรือ วัดกู่ละมัก วัดรมณียาราม(กู่ละมัก) ถือว่า เป็นวัดที่มีความเก่าแก่ ซึ่ง ดังนั้นจึงถือว่าวัดกู่ละมัก เป็นวัดที่มีความส�ำคัญทางประวัติศาสตร์วัด หนึ่งของจังหวัดล�ำพูน

98

SBL บันทึกประเทศไทย I LAMPHUN

บ่อน�้ำทิพย์ วัดรมณียาราม อยู่นอกก�ำแพงด้านหน้าวัดรมณียาราม (กู่ละมัก) ตามประวัติกล่าว่า สมัยที่พระแม่เจ้าจามเทวีเสด็จจากละโว้มาขึ้นที่วัดกูละมัก ได้อธิษฐานให้มี น�้ำขึ้นมาจากพื้นดินเพื่อที่เหล่าทหารและคนติดตามได้ดื่มกินกัน จึงเรียกว่า “บ่อน�ำ้ ทิพย์” กาลเวลาผ่านไปมีดนิ ทับถมจนไม่เหลือร่องรอย ต่อมาคุณนวล ระหงส์ ธานัสชา ได้ท�ำพิธีขุดขึ้นมาใหม่อีกครั้ง


ประเพณีที่ส�ำคัญของเทศบาลต�ำบลต้นธง ประเพณีลอยโขมด ถือว่าเป็นต้นก�ำเนิดของประเพณีลอยกระทงในปัจจุบัน เป็นประเพณี ที่ถือว่าหนึ่งเดียวในล้านนาและหนึ่งเดียวในโลก สมัยก่อนเมื่อถึงเดือนยี่ (พฤศจิกายน) ขึน้ 14 - 15 ค�ำ่ ชาวบ้านจะเข้าวัดท�ำบุญ เรียกว่า “ตานขันข้าว” เพือ่ อุทศิ ส่วนบุญส่วนกุศลไปให้บรรพบุรษุ ผูล้ ว่ งลับไปแล้ว ตอนสายชาวบ้าน จะไปที่วัดเพื่อฟังเทศนาธรรม วัดบางแห่งมักจะมีการตั้งธรรมหลวง เรียกว่า “เทศน์ธรรมมหาจาติ” แบบพืน้ เมือง จะมีการเทศน์ทงั้ หมด 13 กัณฑ์ ให้เสร็จ ภายในวันเดียวตอนเช้าลู่ค�่ำ ชาวบ้านชาวเมืองจะพากันไปสู่ที่วัด เพื่อน�ำผาง ปะดิด้ ไปจุดบูชาพระเจ้าทีว่ ดั จุดโคมบูชาสว่างไสวทัว่ พระอาราม หลังจากจุด ธูปเทียนบูชาแล้ว จะมีการจุดบอกไฟ (ดอกไม้ไฟ) ประเภทต่างๆ ภายในวัด โดยจุดเป็นพุทธบูชา ส่วนผู้เฒ่า ผู้แก่จะกลับไปบ้าน เพื่อจุดผางปะดิ้ดที่บ้าน บูชาพระพุทธเจ้า บูชาเจ้าที่เจ้าทาง บูชาบ่อน�้ำ บูชาประตูบ้าน บูชาครัวไฟ ประตูยุ้งฉาง เทวดาประจ�ำบ้าน ประเพณี ล อยโขมดมี ม าแต่ โ บราณเป็ น ประเพณี เ ก่ า แก่ ข องล้ า นนา ที่นับถือปฏิบัติกันมาตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 15 นับตั้งแต่อาณาจักรหริภุญชัย อาณาจักรล้านนา โดยเมื่อถึงเดือนยี่เป็งก็กระท�ำพิธีลอยโขมด เพื่อบูชาท้าว พกาพรหม, ลอยเพือ่ ลอยเคราะห์ลอยบาป, ลอยเพือ่ ส่งสิง่ ของ, ลอยเพือ่ บูชา พระนารายณ์ซึ่งบรรทมสินธุ์อยู่ในมหาสมุทร และลอยเพื่อบูชาอุปคุตเถระ ซึ่งบ�ำเพ็ญเพียรบริกรรมคาถาอยู่ในท้องทะเลลึกหรือสะดือทะเล ในสมัย อาณาจักรหริภุญชัย เทศกาลเดือนยี่เป็งเป็นประเพณีที่ยิ่งใหญ่มาก อาณา ประชาราษฎร์ต่างพากันไปบูชาพระเจ้าในอารามข่วงแก้วทั้งหลาย มากมาย ไปด้วยผู้คนหนุ่มสาว ผู้เฒ่า ผู้แก่ รื่นเริงม่วนเล่นมหรสพสมโภชครึกครื้นเป็น ที่พึงพอใจอย่างยิ่ง

*สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ เทศบาลต�ำบลต้นธง โทรศัพท์ 053-534-775 โทรสาร 053-563-3708

LAMPHUN I SBL บันทึกประเทศไทย 99


ค�ำไหว้เจ้าพ่อกู่ช้าง

“ สาธุอิสังโต สาธุอิสังโต สาธุอิสังโต กะยากะโร อิกะตัง พระยาขุนจงคงกระพัน เจ้าพญาช้างต๋นผู้ก�่ำงาเขียว อิตะกะตัง จะหิตายะ จะสุขายะ ปรมังโสติ “

โบราณสถาน เจ้าพ่อกู่ช้าง 1,400 ปี สิ่งศักดิ์สิทธิ์คู่เมืองลำ�พูน

หนึ่งในสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ชาวจังหวัดล�ำพูนให้ความเคารพสักการะก็คือ เจ้าพ่อกูช่ า้ ง ซึง่ ประดิษฐานอยู่ ณ บริเวณโบราณสถานเจ้าพ่อกูช่ า้ งล�ำพูน ชุมชนวัดไก่แก้ว ซอยโรงเรียนจักรค�ำคณาทร อ�ำเภอเมือง จังหวัดล�ำพูน ซึง่ วันนีม้ ลู นิธเิ จ้าพ่อกูช่ า้ ง ได้มาบอกเล่าถึงประวัตคิ วามเป็นมาของเจ้าพ่อ กู่ช้างให้เราได้ทราบโดยละเอียด ดังนี้ ช้างผู้ก�่ำงาเขียว หรือออกเสียงตามแบบล้านนาว่า “จ๊างปู๊ก�่ำงาเขียว” เป็นช้างส�ำคัญคู่บารมีพระนางจามเทวี ปฐมกษัตรีย์แห่งแคว้นหริภุญูชัย ลักษณะของช้างมีผิวสีคล�้ำ แต่บางแหล่งกล่าวว่ามีสีดั่งเงินยวง หรือมี สีขาวอมชมพู งามีสีเขียว มีอิทธิฤทธิ์มาก กล่าวกันว่าหากช้างผู้ก�่ำงาเขียว ออกศึ ก สงครามหั น หน้ า ไปหาข้ า ศึ ก ศั ต รู ท างทิ ศ ไหน ข้ า ศึ ก ศั ต รู ก็ จ ะ อ่อนก�ำลังลงโดยพลัน และถ้าหากงาของช้างผู้ก�่ำงาเขียวชี้ไปทางใด ก็จะเกิดภัยพิบัติและผู้คนในบ้านเมืองเกิดล้มตายโดยไม่ทราบสาเหตุ ต้นก�ำเนิดของช้างผูก้ ำ�่ งาเขียว เดิมอยูท่ บี่ ริเวณชายป่าเชิงเขาอ่างสะหลุง หรือ ดอยหลวงเชียงดาว (อ�ำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ ในปัจจุบัน)

100

SBL บันทึกประเทศไทย I LAMPHUN

ช้างเชือกนี้มีเทวดาอารักษ์ชื่อเจ้าหลวงค�ำแดงผู้เป็นใหญ่แห่งดอยหลวง เชียงดาวเป็น ผู้พิทักษ์รักษา โดยเหตุที่เป็นช้างคู่บุญบารมีแห่งพระนาง จามเทวี จึงบันดาลให้ช้างเผือกเชือกนี้บ่ายหน้าลงทางทิศใต้ มุ่งตรงเข้าสู่ เมืองหริภุญชัย ครั้นมาถึงชานเมือง ในด้านทิศอีสาน ซึ่งเรียกกันว่า “สวนผนัน” ชาวบ้านชาวเมืองเห็นเข้าจึงได้รบี น�ำความกราบทูลให้พระนาง จามเทวีทรงทราบ พระนางเธอก็มีพระทัยโสมนัสยินดียิ่ง จึงโปรดให้แต่ง เครื่องสักการะและดุริยางค์ดนตรีไปรับคชสารอย่างครบถ้วนทุกสิ่งสรรพ์ พระยาคชสารเชือกนี้ถือได้ว่าเป็นช้างคู่บุญบารมีแห่งพระนางจามเทวี วี ร กรรมที่ เ ล่ า ขานการออกศึ ก ครั้ ง ส� ำ คั ญ ของช้ า งผู ้ ก�่ ำ งาเขี ย วคื อ ศึกพระนางจามเทวีกับขุนหลวงวิลังคะ กษัตริย์ลัวะ ที่มีถิ่นฐานอยู่บริเวณ เชิงดอยสุเทพ ด้วยขุนหลวงวิลังคะอยากได้พระนางจามเทวีเป็นชายา จึ ง ได้ พ ยายามทุ กวิ ถี ท างทั้ ง ท้ า ชนวั ว ท้ า ชนไก่ แต่ ก็ พ ่ า ยแพ้ ทุ ก ครั้ ง จึงได้ยกกองทัพจากเชิงดอยสุเทพเพื่อมาตีเมืองล�ำพูน พระนางจาม เทวีทรงทราบข่าวจึงได้โปรดให้ราชโอรสฝาแฝด แฝดองค์พี่คือเจ้าชาย


กู่ม้า

“รูปปั้นจ�ำลอง จ๊างปู๊ก�่ำงาเขียว”

กู่ไก่

คณะกรรมการมูลนิธิเจ้าพ่อกู่ช้างลำ�พูน

มหันตยศ แฝดองค์น้องคือเจ้าชายอนันตยศ ทรงช้างผู้ก�่ำงาเขียวออก รบข้าศึก โดยเจ้าชายมหันตยศทรงคอช้างผู้ก�่ำงาเขียว และเจ้าชาย อนันตยศทรงกลางช้างผู้ก�่ำงาเขียว ขณะชนช้างศึกของขุนหลวงวิลังคะ เนื่ อ งจากประตู ด ้ า นทิ ศ เหนื อ ของเมื อ งหริ ภุ ญ ชั ย แคบ ช้ า งได้ เ อาล� ำ ตั ว เข้ า เบี ย ด จึ ง ได้ ตั้ ง ชื่ อว่ า ประตู ช ้ า งสี (ค� ำว่ า สี เป็ น ภาษาล้ า นนา ซึ่ ง ตรงกั บ ภาษากลางว่ า เบี ย ดหรื อ ถู ไ ถ) กั บ ประตู หั ว เวี ย งล� ำ พู น แล้วยันขับไล่ช้างทรงของขุนหลวงวิลังคะจนพ่ายแพ้ไปในที่สุด ส่วนประตู หัวเวียงล�ำพูนด้านทิศเหนือจึงเรียกชือ่ ว่า “ประตูชา้ งสี” ตามเหตุการณ์ของ ช้างผู้ก�่ำงาเขียวเอาสีข้างไปถูกับประตูเวียงมาจนถึงปัจจุบัน ภายหลังพระนางจามเทวีทรงสละราชสมบัติ ให้ราชโอรสแฝดองค์โต คือเจ้าชายมหันตยศขึ้นครองราชย์แทน (เจ้าชายอนันตยศ แฝดองค์น้อง ไปครองแคว้นเขลางค์นครที่สร้างขึ้นใหม่ เป็นพญาอินทวรเกิงกร กษัตริย์ แคว้นเขลางค์นครองค์แรก) ช้างผู้ก�่ำงาเขียวจึงเป็นช้างคู่บารมีของพญา มหันตยศ กษัตริยแ์ คว้นหริภญ ุ ชัยองค์ที่ 2 ราชวงศ์จามเทวี ทรงครองราชย์ จนมีพระชนมายุได้ 85 พรรษาจึงเสด็จสวรรคต หลังจากพญามหันตยศเสด็จสวรรคตไม่นาน ช้างผู้ก�่ำงาเขียวก็สิ้น ชีวิตตาม ในวันขึ้น 9 ค�่ำ เดือน 9 เหนือ พญาดูมัญญราช ราชโอรสพญา มหันตยศ กษัตริย์แคว้นหริภุญชัยองค์ที่ 3 จึงโปรดให้น�ำเอาซากช้างผู้ก�่ำ งาเขียวมาฝังไว้ โดยให้ปลายงาช้างทัง้ 2 ชีข้ นึ้ บนฟ้า เพือ่ ไม่ให้เกิดภัยพิบตั ิ กับผูค้ นในบ้านเมืองทีถ่ กู งาช้างชี้ พร้อมสร้างสถูปทรงลอมฟางสูงครอบไว้ เรียกว่า “กูช่ า้ ง” อันเป็นสถานทีศ่ กั ดิส์ ทิ ธิส์ ำ� คัญอีกแห่งหนึง่ ของเมืองล�ำพูน “กู่ช้าง” เป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ ที่ชาวเมืองล�ำพูนและชาวบ้านต่างเมือง ต่างก็ให้ความเคารพนับถือเป็นอย่างยิ่ง จวบจนถึงปัจจุบัน ลักษณะของ

ประธานมูลนิธิฯ คุณชวลิต สุริยจันทร์

กู่ช้างหรือสถูปช้างนี้ เป็นทรงกระบอกปลายมน เนื่องจากมีการฝังสรีระ ของช้าง โดยหันศีรษะและปลายงาขึ้นด้านบนท้องฟ้าและมีการก่ออิฐโดย รอบเพือ่ กันไม่ให้ลม้ สูงจากพืน้ ดินประมาณ 8 เมตร ด้านบนท�ำเป็นปลายตัด รอบฐานวัดได้ประมาณ 10 เมตร “กู่ช้าง” ซึ่งปัจจุบันนี้คือ “ เจ้าพ่อกู่ช้าง” อันศักดิ์สิทธิ์ของเมืองล�ำพูน ซึง่ ชาวล�ำพูนให้ความเคารพนับถือกันอย่างสูง และมักจะมาบนบานขอให้ ประสบความส�ำเร็จในเรือ่ งต่าง ๆ อาทิ เกีย่ วกับหน้าทีก่ ารงาน ความเป็นอยู่ เศรษฐกิจ การเดินทาง การศึกษาต่อ การเสี่ยงทาย (โชคลาภ) ขอให้มี บุตร-ธิดา ขอให้หายจากโรคภัยไข้เจ็บ และเพือ่ ความเป็นสิรมิ งคล ซึง่ มักจะ ประสบความส�ำเร็จทุกเรื่องไป จนเป็นที่รู้จักแพร่หลายแก่ประชาชนทั่วไป ในบริเวณใกล้กัน ยังมี “กู่ม้า” ซึ่งเป็นสถานที่บรรจุซากร่างของม้าแก้ว คู่บารมีของพระนางจามเทวี โดยตั้งอยู่ทางทิศเหนือของกู่ช้าง นอกจาก นี้ยังมี “กู่ไก่” สถานที่บรรจุซากร่างของไก่แก้วสีขาวคู่บารมีของพระนาง จามเทวี และคู่ขวัญของเมืองหริภุญชัย งานประเพณีประจ�ำปี 1.วั น ส่ ง เคราะห์ 14 เม.ย.ของทุ ก ปี 2.วั น บวงสรวง,รดน�้ ำ ด� ำ หั ว 17 เม.ย.ของทุกปี 3. วันช้างล้ม ขึ้น 9 ค�่ำ เดือน 9 เหนือ ของทุกปี 4. วันเข้าพรรษา 5. วันออกพรรษา ข้อมูลติดต่อมูลนิธิฯ เวปเพจ : มูลนิธิเจ้าพ่อกู่ช้างล�ำพูน , สนง.โทร 097-9200394 ประธานมูลนิธฯิ โทร 081-7643460 เลขานุการมูลนิธฯิ โทร 089-6327523 LAMPHUN I SBL บันทึกประเทศไทย

101


HI STO R Y O F BU D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต

วัดพระยืน วัดพระยืน ตั้งอยู่ ณ บ้านพระยืน หมู่ที่ 1 ต�ำบลเวียงยอง อ�ำเภอเมือง จังหวัดล�ำพูน วัดพระยืน ได้รับการแต่งตั้งจากมติมหาเถรสมาคมให้เป็นส�ำนักปฏิบัติธรรมประจ�ำจังหวัดล�ำพูน แห่งที่ 2 ตามมติมหาเถรสมาคมที่ มส.26/2549 ลงวันที่ 30 พฤศจิกายน 2549 ประวัติวัดพระยืน

วัดพระยืนเป็นวัดเก่าแก่วัดหนึ่งในประเทศไทย และเป็นวัดคู่บ้าน คูเ่ มืองนครหริภญ ุ ชัยทีส่ ร้างมาแต่สมัยพระนางจามเทวี ปฐมกษัตรียผ์ คู้ รอบ ครองนครหริภุญชัย โดยปรากฏตามประวัติศาสตร์และโบราณคดี ดังนี้ ต�ำนานแห่งวัดพระยืนล�ำพูนนี้ไม่ปรากฏแน่ชัด แต่ด้วยความที่เป็น วัดเก่าแก่และโบราณที่ตั้งอยู่นอกเมืองไปในทางทิศตะวันออก และเป็น วัดส�ำคัญหนึ่งในสี่ของวัดสี่มุมเมืองที่พระนางจามเทวีปฐมกษัตรีย์แห่ง หริภุญชัยนครทรงโปรดให้สร้างไว้ หลังจากที่พระวาสุเทพฤษีได้สร้าง นครหริภุญชัยขึ้น ในปีพ.ศ.1204 เมื่อสร้างนครหริภุญชัยได้ 2 ปี คือในปี พ.ศ.1206 จึงได้อญ ั เชิญพระนางจามเทวีจากเมืองละโว้ (ลพบุร)ี มาเสวย ราชสมบัติ และเมือ่ พระนางเจ้าจามเทวีครองราชย์ได้ 7 ปี เมือ่ พ.ศ.1213 จึงได้สร้างวัด ณ ทิศตะวันออก สร้างพระวิหาร พระพุทธรูป และเสนาสนะ ให้เป็นที่อยู่ของพระสังฆเถระ

102

SBL บันทึกประเทศไทย I LAMPHUN

ในต�ำนานวัดป่าแดงเชียงตุงกล่าวว่า เมื่อปีพ.ศ. 1606 สมัยพระเจ้า ธรรมิกราช กษัตริยห์ ริภญ ุ ชัยองค์ที่ 33 มีผอบบรรจุพระบรมสารีรกิ ธาตุผดุ ขึน้ มาจากพืน้ ดินกลางเมือง แล้วเปร่งรัศมีตา่ ง ๆ พระองค์จงึ มีพระบัญชา ให้เสนาอ�ำมาตย์ทั้งหลายสร้างสถูปปราสาทสูง 16 ศอก มีประตู 4 ด้าน ตรงทีผ่ อบพระบรมสารีรกิ ธาตุผดุ ขึน้ นัน้ ต่อมาภายหลังเรียกว่า “พระธาตุ หริภญ ุ ชัย” และพร้อมกันนัน้ พระเจ้าธรรมิกราชทรงหล่อพระมหาปฏิมากร ทองสัมฤทธิ์สูง 18 ศอก เมื่อแล้วเสร็จจึงได้อัญเชิญมาประดิษฐาน ณ ทิศ ตะวันออกทางด้านหลัง และให้ชื่อว่า “วัดพุทธมหาสถาน” ต่อมาเรียกชื่อ “วัดป่าไผ่หลวง” และ “วัดพระยืน” ตามล�ำดับ เมือ่ ปีพ.ศ. 1712 พระยากือนากษัตริยผ์ คู้ รองนครเชียงใหม่และล�ำพูน ได้ทรงทราบกิตติศพั ท์ของสถูปของพระสุปติปนั นะตาธคุณญาณของพระ มหาสุมนะเถระแห่งกรุงสุโขทัย จึงมีบัญชาให้หมื่นเงินกองเป็นราชฑูต เชิญพระราชสาส์นและเครื่องบรรณาการไปถวายพระมหาธรรมราชากรุง


สุโขทัย เพือ่ ขอนิมนต์พระมหาสุมนะเถระพร้อมด้วยสามเณรกุมารกัสสปะ ผู้เป็นหลาน ขึ้นมาประกาศพระพุทธศาสนาพร้อมด้วยพระภิกษุรามัญ 10 รูป ซึ่งพระยากือนาทรงนิมนต์มาจากเมืองเมาะตะมะ ก่อนหน้านั้น แล้วโดยอาราธนานิมนต์ให้จ�ำพรรษาอยู่ ณ วัดพระยืนแห่งนี้ และได้ สั่งสมมุติกระท�ำอัปสัมปถุกรรมบวชสามเณรกุมารกัสสปะภิกษุ พร้อม ทั้ ง อุ ป สมบทกุ ล บุ ต รทั้ ง ในนครล� ำ พู น และเชี ย งใหม่ เ ป็ น จ� ำ นวนมาก จนพระพุทธศาสนาเจริญรุ่งเรืองมาก ในปีพ.ศ. 2447 พระคันธวงศ์เถระ (ครูบาวงศ์) ภายหลังได้รับการ พระราชทานสมณะศักดิเ์ ป็นพระครูศลี วิลาศ เจ้าคณะจังหวัดล�ำพูน พร้อม ทั้งเจ้าหลวงอินทะยงยศ เจ้าผู้ครองนครล�ำพูน ได้ก่อสร้างปราสาทสถูปที่ พังทลายลง และซ่อมแซมสิ่งปรักหักพังที่ช�ำรุดให้คงดีดังเดิม ดังที่ปรากฏ ในปัจจุบัน ด้วยเหตุที่วัดพระยืนเป็นวัดที่กษัตริย์ทรงสร้างไว้เป็นวัดคู่บ้านคู่เมือง กอปรทั้งเจ้าผู้ครองนครล�ำพูนให้ความอุปถัมภ์มาแต่โบราณกาล ภายใน บริเวณวัดแบ่งเขตเป็น 2 เขต คือเขตพุทธาวาส และสังฆาวาส มีเนื้อที่ รวมทั้งหมด 36 ไร่เศษ กรมศิลปากรได้ขึ้นบัญชีไว้เมื่อ พ.ศ. 2465 ให้ เป็นโบราณสถานทีส่ ำ� คัญแห่งหนึง่ ของประเทศไทย อนึง่ วัดพระยืนยังเป็น สถานที่ค้นพบหลักศิลาจารึก (ลพ-38) โดย มจ.ทรงวุฒิภาพ ดิสกุล ในปี พ.ศ. 2457 ในบริเวณเชิงฐานพระเจดีย์วัดพระยืนด้านทิศเหนือ เป็นการ จารึกอักษรลายสือไทแบบกรุงสุโขทัย ซึ่งเป็นหลักศิลาจารึกหลักแรกและ หลักเดียวที่พบในล้านนา ปัจจุบันได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกความ ทรงจ�ำแห่งชาติของโลก จากองค์การสหประชาชาติ ภายใต้การดูแลของ ส�ำนักหอสมุดแห่งชาติร่วมกับกรมศิลปากร ศิลาจารึกวัดพระยืน

STONE INSCRIPTON AT WAT PHRA YUEN

ท�ำเนียบเจ้าอาวาส วัดพระยืนมีผู้ปกครองวัด เท่าที่สืบค้นได้ ดังนี้ พระสุมนเถระ พ.ศ.1912-1915 นิมนต์จากกรุงสุโขทัย พระครูศีลวิลาส พ.ศ.2447-2469 เจ้าอาวาส/ เจ้าคณะแขวงล�ำพูน พระมงคลญาณมุนี พ.ศ.2469-2505 เจ้าอาวาส / เจ้าคณะจังหวัดล�ำพูน พระใบฎีกาศรีศักดิ์ พ.ศ.2504-2505 เจ้าอาวาส พระมหาบุญชู สิริมงฺคโล พ.ศ.2506-2518 เจ้าอาวาส พระอธิการบุญชม ชินวโร พ.ศ.2518-2521 เจ้าอาวาส พระศรีวรรณ ธีรปญฺโญ พ.ศ.2524-2530 รักษาการเจ้าอาวาส พระอธิการค�ำอ้าย ปภสฺสโร พ.ศ.2531-2532 เจ้าอาวาส พระมหาวิโรจน์ กุลวฒฺโน พ.ศ.2533-2540 เจ้าอาวาส พระครูภาวนาโสภิต ว.,ดร. พ.ศ.2540-2559 เจ้าอาวาส พระครูไพศาลธีรคุณ พ.ย.2559- มิ.ย.2560 รักษาการเจ้าอาวาส พระอธิการสิริพงศ์ ปญฺญาชโย ก.ค.2560- ปัจจุบัน เจ้าอาวาส

LAMPHUN I SBL บันทึกประเทศไทย

103


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต

วัดพระธาตุดอยแต วัดพระธาตุดอยแต ตั้งอยู่เลขที่ 108 หมู่ที่ 7 ระหว่างบ้านดอยแต–บ้านฝั่งหมิ่น ต�ำบลเหมืองจี้ อ�ำเภอเมือง จังหวัดล�ำพูน สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย เป็นวัดทีม่ คี วามส�ำคัญเกีย่ วกับท่านครูบาเจ้า ศรีวิชัยเป็นอย่างยิ่ง เนื่องจากเป็นสถานที่ที่ท่านเคยศึกษาข้อวัตรปฏิบัติกับครูบาอุปาละ ประมาณ ปีกว่าจนแตกฉานและช�ำนาญ ทั้งการเขียนการอ่านและการปฏิบัติธรรม ภายในวัดมีโบราณวัตถุ ส�ำคัญ คือ พระบรมธาตุดอยแต และปูชนียวัตถุคือ พระพุทธรูปขนาดใหญ่บนยอดเขาภาวนา ประวัติวัดพระธาตุดอยแต วัดพระธาตุดอยแต เริม่ สร้างเมือ่ พ.ศ.2339 (จ.ศ. 1158) ได้มพี ระภิกษุ 3 รูป เดินธุดงค์มาทีด่ อยแต หรือ ดอยแม่แต ซึง่ เป็นป่าไม้หนาทึบ มีเขาสอง ลูกอยูต่ ดิ กัน พระภิกษุผเู้ ป็นอาจารย์มนี ามว่า วังสะพุทธะ อีกสองรูปเป็นลูก ศิษย์มีนามว่า ปัญญาศีลธรรมและญาณวีระ ได้ค้างพักแรมบนเขาด้านทิศ ใต้ กลางคืนได้เห็นแสงสว่างเจิดจ้าบนยอดเขาอีกลูกหนึง่ ซึง่ อยูท่ างทิศเหนือ แสงนัน้ ได้ลอยขึน้ เบือ้ งบนและลอยกลับลงสูท่ เี่ ดิม รุง่ เช้าท่านได้เดินลงเขา ไปดูบริเวณทีม่ แี สงสว่าง เห็นผางประทีปจ�ำนวนมากทีม่ ผี นู้ ำ� มาบูชา จึงเห็น ว่าพื้นที่นี้เป็นยอดเขาที่เหมาะสมเห็นสมควรสร้างเจดีย์ ท่านวังสะพุทธะ จึงได้มอบหมายให้ท่านปัญญาศีลธรรมบอกบุญเชิญชวนสาธุชนที่หลั่ง ไหลมาจากทุกทิศ ในประวัตกิ ล่าวไว้วา่ เมือ่ ทราบถึงเข้าผูค้ รองนครล�ำพูน นามว่า เจ้าบุญเรืองรัตนติงสา (เจ้าเศรษฐีค�ำฝั้น) ท่านได้เดินทางมาถึง ณ

104

SBL บันทึกประเทศไทย I LAMPHUN

สถานที่แห่งนี้ได้ทราบความประสงค์ของท่านวังสะ จึงได้รับเป็นประธาน ด�ำเนินการก่อสร้างเจดีย์ เมื่อวันพฤหัสบดีขึ้น 15 ค�่ำ เดือน 11 เหนือ ปีมะโรง ได้บรรจุพระธาตุและยกยอดฉัตรเมือ่ วันพุธขึน้ 8 ค�ำ ่ เดือน 8 เหนือ ปีมะเส็ง พ.ศ. 2340 มีพระเจดียท์ งั้ หมด 5 องค์ องค์ใหญ่ไว้ตรงกลาง องค์เล็ก 4 องค์ไว้ ด้านหลังพระพุทธรูป และสร้างพระพิมพ์คำ� หลวงติดฝาผนัง ท�ำเสา ครอบมงคลอุโมงค์ทกุ ด้าน สร้างเทพบุตรพรัง่ พร้อมทัง้ 4 ทิศ สร้างก�ำแพง ล้ อ มรอบเป็ น 2 ชั้ น และมอบให้ พ ระญาณวี ร ะ (ครู บ าญาณะ) เป็นเจ้าอาวาสรักษาสถานที่แห่งนี้ ส่วนท่านวังสะพุทธะและท่านปัญญา ศีลธรรมได้ออกจาริกแสวงบุญเพื่อความหลุดพ้น ต่อมาครูบาญาณะ ได้มรณภาพลง ลูกศิษย์ได้ก่อเจดีย์บรรจุอัฐิไว้เชิงเขาด้านทิศใต้ หลังจาก นั้นไม่นานวัดพระธาตุดอยแตก็ไม่มีพระสงฆ์อยู่จ�ำพรรษา


ต่อมาครูบาอุปละ (พระครูอุปละ) ได้เป็นเจ้าอาวาส ในประวัติกล่าว ไว้ว่า ท่านครูอุปละเป็นพระปฏิบัติ เป็นอาจารย์ทางวิปัสสนาที่มีชื่อเสียง วัดพระธาตุดอยแตจึงเป็นศูนย์รวมแห่งจิตใจของผูค้ น เป็นทีเ่ คารพสักการ บูชาของประชาชนทั่วไป ท่านได้ท�ำนุบ�ำรุง ณ สถานที่แห่งนี้ได้มอบหมาย ให้สล่านมอญเป็น ผู้ควบคุมการบูรณปฏิสังขรณ์พระธาตุ เจ้าดาราดิเรก ไพโรจน์ (เจ้าดาวเรือง) เจ้าผู้ครองนครล�ำพูนองค์ที่ 7 พร้อมเจ้านายฝ่าย เหนือทราบความประสงค์ของครูอุปละ จึงรับเป็นประธานในการบูรณะ พระธาตุ และสร้างก�ำแพงหินด้านทิศตะวันออก สาธุชนพากันหลั่งไหล กันไปทั้งกลางคืนจากทุกทิศ เพื่อสักการบูชาท่านและปฏิบัติธรรม ท�ำให้ วัดพระธาตุดอยแตเจริญรุ่งเรืองมาก ในปีพ.ศ. 2442 สิริวิชโยภิกขุ ผู้ใฝ่ธรรมปฏิบัติธรรมได้ติดตาม พระอาจารย์ คือพระอธิการขัตติยะ สมภารวัดบ้านปาง ได้น�ำพระศรีวิชัย (เรียกตามนามฉายา) มาฝากเป็นลูกศิษย์ครูบาอุปละทีว่ ดั พระธาตุดอยแต เพื่อปฏิบัติธรรมกัมมัฏฐานกับครูบาอุปละ ซึ่งเป็นผู้มีความเชี่ยวชาญทั้ง คันถธุระและวิปสั สนาธุระ เป็นเวลา 1 พรรษา จึงได้ขอลากลับไปอยูว่ ดั เดิม คือ วัดบ้านปาง อ�ำเภอลี้ ต่อมาชาวบ้านเรียกชื่อท่านว่า เจ้าตุ๊ตนบุญบ้าง ครูบาเจ้าศรีวิชัยบ้าง ครูบาศรีวิชัยบ้าง ครูบาวัดบ้านปางบ้าง ครูบาศีล ธรรมบ้าง นักบุญแห่งล้านนาไทย หลังจากนั้นไม่นานครูบาอุปละได้ถึงมรณภาพ ได้มีผู้รักษาการเจ้า อาวาสอีก 2 รูป ในปีพ.ศ. 2484 วัดพระธาตุดอยแตได้กลายเป็นวัดทีไ่ ม่มี พระสงฆ์จ�ำพรรษาอีกครั้ง ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 (พ.ศ. 2484 จนถึงปี พ.ศ. 2517) และในปีพ.ศ. 2528 ได้ทำ� การบูรณปฏิสงั ขรณ์พระธาตุดอยแต สร้างเสนาสนะต่าง ๆ จนมีความรุ่งเรืองมาจนถึงปัจจุบันนี้

วัดพระธาตุดอยแต มีเจ้าอาวาสปกครองวัดตั้งรูปแรกจนถึงปัจจุบัน (2561) ดังนี้ รูปที่ 1 ครูบาญาณะ พ.ศ. 2340 – 2370 รูปที่ 2 หลวงพ่อเกี๋ยง พ.ศ. 2370 – 2420 พ.ศ. 2421 –2437 (ไม่มีพระสงฆ์อยู่จ�ำพรรษา) รูปที่ 3 ครูบาอุปละ พ.ศ. 2438 – 2449 รูปที่ 4 พระสี (ขุมเงิน) พ.ศ. 2449 – 2467 รูปที่ 5 หลวงพ่อเมือง พ.ศ. 2467 – 2483 พ.ศ. 2484 – 2527 (ไม่มีพระสงฆ์อยู่จ�ำพรรษา) รูปที่ 6 ดร.มหามนัส ปัญญาวุโธ รก. พ.ศ. 2528 – 2532 รูปที่ 7 พระบุญมา กตปุญโญ รก. พ.ศ. 2532 – 2539 รูปที่ 8 พระถาวร ถาวโร พ.ศ. 2540 – 2542 รูปที่ 9 พระถา ถาวโร พ.ศ. 2542 – 2542 รูปที่ 10 พระครูสุตสารประสิทธิ์ พ.ศ. 2543 จนถึงปัจจุบัน (2561)

LAMPHUN I SBL บันทึกประเทศไทย

105


WO R K L I F E

บันทึกเส้นทางพบวิทยาลัยสงฆ์ลำ�พูน

วิทยาลัยสงฆ์ลำ�พูน

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย “มหาวิทยาลัยแห่งแรกของจังหวัดลำ�พูน”

106

SBL บันทึกประเทศไทย I LAMPHUN


LAMPHUN I SBL บันทึกประเทศไทย 107


มหาวิทยาลัยสงฆ์แห่งคณะสงฆ์ไทย ฝ่ายมหานิกาย การบริหารและการ จัดการศึกษาของมหาวิทยาลัยมีความสัมพันธ์ทางกฎหมายทั้งกับรัฐบาล และคณะสงฆ์ เป็นสถาบันสถาบันการศึกษาชัน้ สูงของคณะสงฆ์ ซึง่ พระบาท สมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 5 ทรงสถาปนาขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2432 มีชื่อเดิมว่า "มหาธาตุวิทยาลัย" และมี พระบรมราชโองการเปลี่ยนนามใหม่ว่า "มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย" เมื่อ พ.ศ. 2439 ได้จัดการศึกษาพระปริยัติธรรมแผนเดิมตลอดมา จนล่วงถึง พ.ศ. 2490 ได้ด�ำเนินการจัดการศึกษาพระไตรปิฎกและวิชาชั้นสูงในระดับ มหาวิทยาลัย เปิดสอนระดับปริญญาตรี คณะพุทธศาสตร์เป็นคณะแรก และมีพัฒนาการตามล�ำดับจน จนกระทั่ง พ.ศ. 2540 ได้มีพระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยส่งผลให้มหาวิทยาลัย มีพระราช บัญญัตริ บั รองสถานภาพเป็นมหาวิทยาลัยของรัฐ และเป็นนิตบิ คุ คลทีไ่ ม่เป็น ส่วนราชการและไม่เป็นรัฐวิสาหกิจ เน้นจัดการศึกษาวิชาการด้านพระพุทธ ศาสนา มาจนถึงปัจจุบันนี้

“จากมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย มุ่งพัฒนาสู่วิทยาลัยสงฆ์ ล�ำพูน” คณะสงฆ์จังหวัดล�ำพูน ได้ก�ำหนดแผนพัฒนาด้านการศึกษาของคณะ สงฆ์ทุกแผนกทั้งบาลี นักธรรมและสามัญศึกษาเป็นต้น โดยเฉพาะระดับ อุดมศึกษาในห้วงเวลาระยะเวลา พ.ศ.2535-2539ในช่วงแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 7 ได้เกิดการตืน่ ตัวกระแสการขับเคลือ่ น การปฏิรูปการศึกษา สังคมให้ความสนใจที่จะผลักดันให้มีการปฏิรูปการ ศึกษาและส่งผลต่อการปฏิรูปการศึกษาทุกระบบ

108

SBL บันทึกประเทศไทย I LAMPHUN

ได้กอ่ ตัง้ และด�ำเนินการเปิดการเรียนการสอนขึน้ ในปีพทุ ธศักราช 2540 โดยคณะสงฆ์ ข้าราชการ พ่อค้า ประชาชนชาวจังหวัดล�ำพูน ได้รว่ มกันก่อตัง้ และผลักดัน โดยการน�ำของพระราชธีราภรณ์ เจ้าคณะจังหวัดล�ำพูน พระราช มหาเจติยาภิบาล เจ้าอาวาสวัดพระธาตุหริภุญชัย วรมหาวิหาร และพระครู ปริยตั ธิ ำ� รง ประธานพระปริยตั นิ เิ ทศก์ภาคเหนือ ซึง่ พระสังฆาธิการทุกรูปทัว่ ทั้งจังหวัด มีฉันทามติสละนิตยภัต จ�ำนวน 1 เดือน เพื่อถวายสมทบเป็นก องทุนในการก่อตั้ง เพื่อยื่นเสนอขอจัดตั้งสถาบัน“มหาวิทยาลัยสงฆ์ล้านนา” โดยใช้อาคารเรียนของโรงเรียนหอปริยัติ วัดพระธาตุหริภุญชัย วรมหาวิหาร เป็นสถานที่ท�ำการเรียนการสอน เดิมมีชื่อว่า "มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่ ศูนย์การศึกษาวัดพระธาตุหริภุญชัย" โดยมีวัตถุประสงค์ เพือ่ ให้เป็นสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาทีจ่ ดั การศึกษาแก่บรรพชิตและ คฤหัสถ์ ได้มีโอกาสศึกษาวิชาการทางธรรมที่ควบคู่กับทางโลก ให้มีความรู้ คู่คุณธรรม มีความเจริญงอกงาม เสียสละอุทิศตนเพื่อพระพุทธศาสนาและ สังคม ด�ำรงตนตามแนววิถีพุทธ และเพื่อพัฒนาปัญญามุ่งก้าวเป็นสถาบัน หลักทางสังคมที่ยั่งยืนสืบต่อไป ได้เริ่มเปิดการเรียนการสอนวันแรกวันที่ 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2540 หลั ก สู ต รพุ ท ธศาสตรบั ณ ฑิ ต คณะครุ ศ าสตร์ สาขาวิ ช าสั ง คมศึ ก ษา พุทธศักราช 2546 ได้ยา้ ยไปอยูท่ ตี่ งั้ ปัจจุบนั นี้ ซึง่ คุณเจ้าดารารัตน์ ณ ล�ำพูน ผู้เป็นทายาทอดีตเจ้าผู้ครองนครล�ำพูน ได้ถวายที่ดินให้เป็นที่ตั้ง( ใส่รูปตาม บุคคลที่ปรากฏชื่อ) วิทยาลัยสงฆ์ล�ำพูน มีผู้อ�ำนวยการวิทยาลัยสงฆ์ เป็นผู้ก�ำกับ ดูแลและ มีหน้าที่รับผิดชอบในการจัดการเรียนการสอน โดยท�ำหน้าที่แทนคณะวิชา ในส่วนกลาง


พระเทพญาณเวที

(สุเธียร อคฺคปญฺโญ,ป.ธ.4) อดีตเจ้าคณะจังหวัดล�ำพูน, อดีตรองเจ้าคณะภาค 7, อดีตที่ปรึกษาเจ้าคณะภาค 7

พระเทพมหาเจติยาจารย์

พระเทพรัตนนายก

(ไพบูลย์ ภูริวิปุโล) อดีตเจ้า (จ�ำรัส ทตฺตสิริ.ป.ธ.7) อาวาสวัดพระธาตุหริภุญชัยฯ, เจ้าอาวาสวัดพระธาตุหริภุญชัยฯ, อดีตเจ้าคณะจังหวัดล�ำพูน เจ้าคณะจังหวัดล�ำพูน

คุณเจ้าดารารัตน์ ณ ล�ำพูน

หลักสูตรการจัดการเรียนการสอน ระดับปริญญาตรี คณะพุทธศาสตร์ สาขาวิชาพระพุทธศาสนา คณะครุศาสตร์ สาขาวิชาสังคมศึกษา คณะสังคมศาสตร์ สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ สาขาวิชาภาษาอังกฤษ ระดับปริญญาโท คณะพุทธศาสตร์ สาขาวิชาพระพุทธศาสนา คณะสังคมศาสตร์ สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ ฝ่ายสนับสนุนการศึกษา 4 ส่วนงาน 1. ส�ำนักงานวิทยาลัย กลุ่มงานบริหาร กลุ่มงานการเงิน บัญชี และพัสดุ กลุ่มงานวางแผนและงบประมาณ 2. ส�ำนักงานวิชาการ กลุม่ งานทะเบียนและวัดผล กลุม่ งานห้องสมุดและ สารสนเทศกลุ่มงานวิจัยและคุณภาพการศึกษากลุ่มงานบริการการศึกษา 3. ส่วนงานวิจัยพุทธศาสตร์หริภุญชัย 4. ฝ่ายกิจการพิเศษ การพัฒนาองค์กร ตามกรอบปณิธาน ปรัชญา และวิสัยทัศน์ ปณิธาน : เป็นสถานศึกษาพระไตรปิฎกและวิชาชั้นสูงส�ำหรับพระภิกษุ สามเณรและคฤหัสถ์ ปรัชญา : การจัดการศึกษาพระพุทธศาสนา บูรณาการกับศาสตร์ สมัยใหม่ พัฒนาจิตใจและสังคม วิสัยทัศน์ของวิทยาลัยสงฆ์ล�ำพูน : มุ่งพัฒนาวิทยาลัยสงฆ์ล�ำพูนเป็น ศูนย์กลางการศึกษาพระพุทธศาสนาในระดับภูมิภาค โดยจัดการศึกษาและ พัฒนาองค์ความรู้บูรณาการกับศาสตร์สมัยใหม่ให้น�ำไปสู่การพัฒนาจิตใจ และสังคมอย่างยั่งยืน พันธกิจ 4 ด้าน 1. ผลิตบัณฑิต : ผลิตและพัฒนาบัณฑิตให้มีความรู้ควบคู่คุณธรรม ที่มี คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 9 ประการ 2. วิจัยและพัฒนา : การวิจัยและค้นคว้า เพื่อสร้างองค์ความรู้ควบคู่ไป กับกระบวนการเรียนการสอน เน้นการพัฒนาองค์ความรูใ้ นพระไตรปิฎก โดย วิธีสหวิทยาการแล้วน�ำองค์ความรู้ที่ค้นพบมาประยุกต์ใช้แก้ปัญหา ศีลธรรม และจริยธรรมของสังคม รวมทั้งพัฒนา คุณภาพงานวิชาการด้านพระพุทธ ศาสนา 3. ส่งเสริมพระพุทธศาสนาและบริการวิชาการแก่สังคม : ตามปณิธาน การจัดตั้งมหาวิทยาลัย สนับสนุนกิจการคณะสงฆ์ สร้างความรู้ ความเข้าใจ หลักค�ำสอนทางพระพุทธศาสนา พัฒนาพระสงฆ์และบุคลากรทางศาสนา ให้มศี กั ยภาพในการธ�ำรงรักษา เผยแผ่หลักค�ำสอน และเป็นแกนหลักในการ พัฒนาจิตใจ 4. ท�ำนุบ�ำรุงศิลปวัฒนธรรม : เสริมสร้างและพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ ด้านการท�ำนุบ�ำรุงศิลปวัฒนธรรม ให้เอื้อต่อการศึกษา เพื่อสร้างจิตส�ำนึก และความภาคภูมใิ จในความเป็นไทย สนับสนุนให้มกี ารน�ำภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่ มาเป็นรากฐานของการพัฒนาอย่างมีดุลยภาพ LAMPHUN I SBL บันทึกประเทศไทย 109


คณะผู้บริหารในปัจจุบัน ผู้อ�ำนวยการวิทยาลัยสงฆ์ล�ำพูน พระครูสิริสุตานุยุต,ดร. (น.ธ.เอก, ป.ธ.5, พธ.บ. กศ.ม., พธ.ด. ) รองผู้อ�ำนวยการฝ่ายวิชาการ พระครูไพศาลธรรมานุสิฐ (น.ธ.เอก, ป.ธ.5, พธ.บ. พธ.ม.) รองผู้อ�ำนวยการฝ่ายบริหาร นายประเด่น แบนปิง (น.ธ.เอก, ป.ธ.4, พธ.บ. กศ.ม.) ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานวิชาการ นายพุทธิพงษ์ กันทะรส (น.ธ.เอก, ป.ธ.1-2, พธ.บ., พธ.ม.) ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานวิทยาลัย นายจักรพงศ์ เพ็ญเวียง (ค.บ.) หัวหน้าศูนย์วิจัยพุทธศาสตร์หริภุญชัย พระมหาไกรสร โชติปญฺโญ,ผศ. (น.ธ.เอก, ป.ธ.3, พธ.บ. รป.ม.) ผู้บริหารหลักสูตร ระดับปริญญาตรี 1.ประธานกรรมการหลักสูตรสาขาวิชาพระพุทธศาสนา ดร. ไพรินทร์ ณ วันนา (น.ธ.เอก, ป.ธ.4, พธ.บ. พธ.ม.,พธ.ด.) 2.ประธานกรรมการหลักสูตรสาขาวิชาสังคมศึกษา นายอาเดช อุปนันท์ (น.ธ.เอก, ป.ธ.4, พธ.บ. ศศ.ม.) 3. ประธานกรรมการหลักสูตรสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ พระมหาไกรสร โชติปญฺโญ,ผศ. (น.ธ.เอก, ป.ธ.3, พธ.บ. รป.ม.) 4.ประธานกรรมการหลักสูตรสาขาวิชาภาษาอังกฤษ นายภราดร สุขพันธ์ (น.ธ.เอก,พธ.บ., M.A.) ผู้บริหารหลักสูตร ระดับปริญญาโท 1.ประธานกรรมการหลักสูตรสาขาวิชาพระพุทธศาสนา (รก.) พระครูสิริสุตานุยุต,ดร. (น.ธ.เอก, ป.ธ.5, พธ.บ. กศ.ม., พธ.ด. ) 2. ประธานกรรมการหลักสูตรสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ ผศ.ดร. เสน่ห์ ใจสิทธิ์ (น.ธ.เอก, ร.บ.,รป.ม.,พธ.ด. )

110

SBL บันทึกประเทศไทย I LAMPHUN

สัมโมทนียพจน์จากผูอ้ ำ� นวยการวิทยาลัยสงฆ์ลำ� พูน พระครูสริ สิ ตุ านุยตุ ,ดร. “จัดการศึกษาด้วยสิ่งแวดล้อมแบบวัดแบบอาราม ยึดแนวมาตรฐาน วิชาการที่โลกยอมรับ ” ..................ล�ำพูนหรือในอดีตคืออาณาจักรนครหริภุญไชย เป็นจังหวัดที่มีพื้นที่ เล็กและเก่าแก่ทสี่ ดุ ในภาคเหนือตอนบน ถือว่าเป็นเมืองแห่งพระพุทธศาสนา ตั้งแต่ยุค พระนางจามเทวีองค์ปฐมกษัตริย์ เป็นดินแดนพระพุทธศาสนาที่มี ความเจริญรุง่ เรือง แม้แต่พระยามังรายยังเคารพยกย่องว่าเป็นเมืองพระธาตุ เป็นเมืองที่เต็มไปด้วยวัดวาอาราม ความเจริญก้าวหน้าได้พัฒนาตามกาล เวลาและตามเหตุปัจจัย โดยเฉพาะด้านการศึกษาก็เปลี่ยนไปตามค่านิยม ประชาชนต้องพัฒนาตนเองด้วยการศึกษาที่สูงขึ้น .................วิทยาลัยสงฆ์ลำ� พูนริเริม่ เกิดจากคนในชุมชน จึงมุง่ พัฒนาองค์กรเพือ่ สร้างอรรถประโยชน์ให้กับชุมชน เป็นสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษา ที่ ตอบสนองรองรับคฤหัสถ์ศรัทธาญาติโยมและพระภิกษุ สามเณร ให้มโี อกาส ความเสมอภาคทางด้านการศึกษาทั้งฝ่ายโลกและฝ่ายธรรม จัดการศึกษา ตามหลักการของพระพุทธศาสนาที่เน้นการพัฒนาชีวิตมนุษย์ให้ด�ำเนินชีวิต อย่างมีความสุขอย่างแท้จริงและอยูใ่ นสังคมร่วมกับคนอืน่ ได้ พัฒนาคุณภาพ ชีวิตอย่างสมบูรณ์ทั้งกายภาพและชีวภาพ มุ่งสร้างความสุขความส�ำเร็จทั้ง ปริญญาวิชาชีพและปริญญาชีวิต ที่นี่จึงเป็นมหาวิทยาลัยที่ยกฐานะพัฒนา ร่างกายและจิตใจเพราะมีหลักสูตรที่เอื้อ มีสภาพแวดล้อมบรรยากาศการ ศึกษาแบบวัดในสมัยเริ่มแรกของการศึกษาไทยโดยแท้ และเป็นสถาบันที่ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว องค์ผู้สถาปนาขึ้นเพื่อประสงค์ ให้การศึกษาผลิตบัณฑิตทีม่ คี วามรูค้ วบคูค่ ณ ุ ธรรม(วิชชาจรณสัมปันโน) สร้าง พัฒนาคนตามแนวพุทธภาษิตประจ�ำมหาวิทยาลัย “ปญฺญา โลกสฺมิ ปชฺโชโต ปัญญาเป็นแสงสว่างในโลก” และสร้างเบ้าหลอม เป็นคุณลักษณะของนิสิตที่พึงประสงค์ 9 ประการ ที่เรียกว่านวลักษณ์นิสิต มจร...............เพราะที่นี่คือองค์กรแห่งความสุข ฯลฯ......................


โครงการส่งเสริมหอพุทธศิลป์ โดยการสร้างพระพุทธรูป ขนาดหน้าตัก 59 นิว้ “พระพุทธ มหาจุฬาบารมีศรีหริภุญชัย หริภุญชยฎฺฐํ สงฺฆวิชฺชาลยุปฺ ปนฺ น สฺ ส วี ส ติ ว สฺ ส ปริ ปุ ณฺ ณ มงฺ ค ลกาลิ กํ เสฎฺ ฐ วรุ ตฺ ต มํ ” การสร้างพระพุทธปฎิมาศิลปะหริภญ ุ ชัยประยุกต์เนือ้ ส�ำริด นามว่า “พระพุทธมหาจุฬาบารมีศรีหริภญ ุ ชัย หริภญ ุ ชยฎฺฐํ สงฺฆวิชฺชาลยุปฺปนฺนสฺส วีสติวสฺสปริปุณฺณมงฺคลกาลิกํ เสฎฺฐวรุตฺตมํ. (พระพุทธมหาจุฬาบารมีศรีหริภุญชัย องค์มใี นกาลมงคลอันบริบรู ณ์แห่งปีทยี่ สี่ บิ แห่งการเกิด ขึ้นของวิทยาลัยแห่งสงฆ์อันตั้งอยู่ในเมืองหริภุญชัย เป็ น องค์ ป ระเสริ ฐ และสู ง สุ ด อย่ า งยิ่ ง )” เพื่ อ ถวายเป็ น พุ ท ธบู ช า ด้วยการมีสว่ นร่วมสร้างพลังสามัคคีของบุคลากร นิสติ นักศึกษา ศิษย์เก่า ที่ตั้งปัจจุบัน วิทยาลัยสงฆ์ล�ำพูน มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เลขที่ 192 หมู่ที่ 2 ถนนล�ำพูน - ป่าซาง ต�ำบลต้นธง อ�ำเภอเมือง จังหวัดล�ำพูน รหัสไปรษณีย์ 51000 โทรศัพท์ 053 – 563163 โทรสาร 053 – 563163 ต่อ 105 www.mculp.ac.th Facebook : มหาจุฬาฯ ล�ำพูน

วัตถุประสงค์ 1. เพื่อสร้างพระพุทธรูปประธานประจ�ำ วิทยาลัยสงฆ์ล�ำพูนเนื้อส�ำริดตามพุทธศิลปะ ของหริภุญชัยแบบประยุกต์ 2. เพื่อเป็นอนุสรณ์ฉลองสัมพุทธชยันตี และในโอกาสวิทยาลัยสงฆ์ลำ� พูน ครบรอบ20ปี แห่งการสถาปนาก่อตั้ง 3. เพื่อบูรณาการกิจกรรมทางสังคมที่มุ่ง เน้นการสืบทอดพระพุทธศาสนาและส่งเสริม คุณค่าของสถาบัน

4. เพื่อการเรียนรู้ศาสนพิธี ประเพณีและ วัฒนธรรมของจังหวัดล�ำพูน 5. เพื่อการศึกษาเรียนรู้วิธีปฏิบัติ วิธีการ ถ่ายทอดหลักปฏิบตั ทิ างศาสนาสูพ่ ทุ ธศาสนิกชน ผ่านการสร้าง พระพุทธปฎิมาผ่านงานพุทธ ศิลป์ ซง่จึ ะได้พฒ ั นาการเป็นหลักสูตรการเรียน การสอนสืบต่อไป

LAMPHUN I SBL บันทึกประเทศไทย 111


HI S TO R Y O F BU D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต

วัดป่าเห็ว วัดป่าเห็ว สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตั้งอยู่เลขที่ 158 ถนนเชียงใหม่ – ล�ำพูน บ้านป่าเห็วหมูท่ ี่ 5 ต�ำบล อุโมงค์ อ�ำเภอเมือง จังหวัดล�ำพูน ปัจจุบันมีพระครู สิริสุตานุยุต,ดร. (สมาน จนฺทรํสี น.ธ.เอก,ป.ธ.๕, พธ.ด.) รองเจ้าคณะอ�ำเภอเมืองล�ำพูน เป็นเจ้าอาวาส

ประวัติความเป็นมา

วัดป่าเห็ว ไม่ปรากฏหลักฐานว่าสร้างมาแต่สมัยใด เป็นวัดร้างมาก่อน แต่ทราบว่าเริม่ บูรณะปฏิสงั ขรณ์ซากพระเจดียโ์ บราณ เมือ่ พ.ศ.2375 และ ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อ พ.ศ. 2456 ที่ดินตั้งวัดมีเนื้อที่ 7 ไร่ 2 งาน 5 ตารางวา วัดป่าเห็วในอดีต เรียกว่า “วัดป่าเห็วหลวง” ตัง้ ชือ่ ตามหมูบ่ า้ นทีต่ งั้ อยู่ (เดิมเขียนว่าป่าเหียว) จนกร่อนเสียงเป็นป่าเห็วเช่นปัจจุบนั นี้ ทีม่ ชี อื่ เช่นนี้ เพราะว่ามีตน้ เหียวหรือต้นตะเคียนหนูมากมาย ตัง้ อยูบ่ นสองฝัง่ แม่นำ�้ ปิง ห่าง ในอดีตกาลอันยาวนาน ประมาณ 1,400 ปี แม่น�้ำปิงห่างไหลผ่าน มาทางหน้าวัด ต่อมาก็เปลีย่ นทิศทางเดิน ดังทีเ่ ป็นอยูใ่ นปัจจุบนั แม่นำ�้ ปิง

112

SBL บันทึกประเทศไทย I LAMPHUN

พระครูสิริสุตานุยุต,ดร. (สมาน จนฺทรํสี น.ธ.เอก,ป.ธ.๕, พธ.ด.) รองเจ้าคณะอ�ำเภอเมืองล�ำพูน เจ้าอาวาส วัดป่าเห็ว ห่างสายนี้จึงร้าง หรือ ห่าง ตามภาษาท้องถิ่น ชาวล้านนาไทยจึงเรียก แม่น�้ำสายนี้ว่า “แม่น�้ำปิงห่าง” หรือ “น�้ำปิงห่าง”

วัดป่าเห็วยุคปัจจุบัน

พระครูสิริสุตานุยุต,ดร. (สมาน จนฺทรํสี น.ธ.เอก,ป.ธ.๕, พธ.ด.)รอง เจ้าคณะอ�ำเภอเมืองล�ำพูน ผูอ้ ำ� นวยการมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์ล�ำพูน และเจ้าอาวาสวัดป่าเห็วรูปปัจจุบัน ท่าน เป็นพระนักพัฒนา นักการศึกษา นักเผยแผ่ นักสังคมสงเคราะห์ และนัก บริหารที่มีแนวคิดก้าวหน้า น�ำพาให้วัดป่าเห็วมีความเจริญรุ่งเรืองและได้ รับรางวัลต่าง ๆ มากมาย พอสังเขปดังนี้


ด้านการบริหารกิจการคณะสงฆ์ของวัดป่าเห็ว 1. จัดตั้งส�ำนักศาสนศึกษาแผนกธรรม เพื่อจัดการศึกษาแก่นักเรียน ตามหลักสูตรของคณะสงฆ์ โดยแม่กองธรรมสนามหลวง 2. จัดตั้งโรงเรียนพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ เพื่อจัดการศึกษาตาม หลักสูตรของคณะสงฆ์ เป็นการสงเคราะห์แก่บตุ รหลาน นักเรียน เยาวชน ในชุมชนใกล้เคียง 3. จัดตั้งส�ำนักงานหน่วยอบรมประชาชนประจ�ำต�ำบลอุโมงค์ เพื่อ เผยแผ่หลักค�ำสอนของพระพุทธศาสนา และปฏิบัติหน้าที่ตามนโยบาย คณะสงฆ์ 4. ตั้งทุนนิธิการศึกษาของวัดป่าเห็ว วัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนส่ง เสริมการศึกษาของพระภิกษุสามเณร นักเรียน นักศึกษา โดยมอบทุน การศึกษาเป็นประจ�ำทุกปี 5. ตั้งศูนย์การเรียนรู้ชุมชนเป็นสถานที่จัดอบรมธรรมะ การอบรม วิทยาการความรู้ต่าง ๆ เช่น การออมทรัพย์ การอบรมรมทฤษฎีพอเพียง การรักษาสุขภาพ เป็นต้น 6. จัดตั้งศูนย์สงเคราะห์พุทธมามกะของกรมการศาสนา เพื่อจัด กิจกรรมที่เกี่ยวกับการเผยแผ่ธรรมแก่นักเรียน และเยาวชน เป็นต้น 7. ตั้งศูนย์พัฒนาเยาวชนและชุมชน ร่วมกับหน่วยงาน สสส. เป็น โครงการสนับสนุนวัดเพือ่ พัฒนาเด็กเยาวชนและชุมชนให้เข้าวัดทุกอาทิตย์ จิตแจ่มใส

LAMPHUN I SBL บันทึกประเทศไทย

113


ด้านการบริหารจัดการของวัดป่าเห็ว ได้ดำ� เนินตามกระบวนการพุทธ วิธีที่เป็นไปตามพระวินัย และเป็นไปตามนโยบายมหาเถรสมาคม โดย มีเป้าหมายคือ สะอาด สว่าง สงบ ซึ่งมีรูปแบบดังนี้ 1. จัดตั้งห้องสมุด เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น และความรู้ ในด้านต่าง ๆ ปรับปรุงอาคารเรียนพระปริยตั ธิ รรมเป็นพิพธิ ภัณฑ์ทอ้ งถิน่ 2. จัดท�ำหนังสือสวดมนต์ และสร้างวัสดุการสือ่ สารความรูธ้ รรมะต่าง ๆ เช่น แผ่นพับ สติกเกอร์ ป้ายพุทธภาษิต เป็นต้น 3.ได้วางแผนผังของวัดให้อยู่เป็นสัดส่วน ได้แก่ เขตพุทธาวาส เขต สังฆาวาส เป็นต้น และได้จัดแผนผังวัดหรือป้ายชื่อ เพื่ออ�ำนวยความ สะดวกแก่ ผู ้ ไ ปติ ด ต่ อ หรื อ ต้ อ งการใช้ อ าคารต่ า ง ๆ อี ก ทั้ ง จั ด ป้ า ย ประชาสัมพันธ์ข่าวสารแก่ประชาชนทั่วไป จัดการปลูกต้นไม้ประเภทต่าง ๆ ในบริเวณวัดให้เกิดความสวยงาม มีความร่มรื่นเย็นใจแก่ผู้ที่ได้พบเห็น สมกับเป็นอารามในพระพุทธศาสนา 4. ได้เชิญชวนให้ชมุ ชนได้ตระหนักและเห็นคุณค่าประเพณีวฒ ั นธรรม ของท้องถิ่น ได้ริเริ่มสร้างศูนย์ความรู้ 5. ได้รับแต่งตั้งให้เป็นหัวหน้าในการรณรงค์ขับเคลื่อนหมู่บ้านรักษา ศีล 5 และรณรงค์การเลิกเหล้าร่วมกับเทศบาลต�ำบลอุโมงค์ 6. จัดโครงการต่าง ๆ เพือ่ การเผยแผ่ธรรมและเพือ่ การมีสว่ นร่วมต่าง ๆ เช่น โครงการธรรมสัญจร โครงการธรรมสากัจฉา โครงการวันพระใน โรงเรียน โครงการเยาวชนวัยใสห่างไกลยาเสพติด เป็นต้น 7. ได้สร้างเครือข่ายเพื่อการมีส่วนร่วมตามหลัก บวร ได้แก่ วัด บ้าน โรงเรียน โดยได้อุดหนุนเกื้อกุลต่อกันตามวิธีปฏิบัติต่าง ๆ เช่น ท�ำหน้าที่ เป็นประธานกรรมการสถานศึกษา อนุญาตให้ชุมชนใช้ที่ธรณีสงฆ์เป็น สนามกีฬา เป็นต้น 8. ส่งเสริมให้ศรัทธาประชาชนไหว้พระสวดมนต์ภาวนาในเวลาปกติ ที่วัดในวันพระตอนเช้าและค�่ำ หรือตามวันส�ำคัญตามแต่จะนัดหมายกัน เพราะท�ำให้จิตใจ สะอาด สว่าง สงบ มีความร่มเย็นเป็นสุข ซึ่งจะท�ำให้ ปราศจากความโลภ โกรธ หลง เป็นการสร้างคุณงามความดีให้กับตนเอง และผู้อื่น ตามปกติ 9. กิจกรรมท�ำบุญในวันส�ำคัญของพระพุทธศาสนาได้แก่ วันพระ หรือ วันธรรมสวนะ วันมาฆบูชา วันวิสาขบูชา วันอาสาฬหบูชา และ วันเข้าพรรษา-วันออกพรรษา วันส�ำคัญทางราชการเช่น วันส่งท้ายปีเก่า ต้อนรับปีใหม่ วันสงกรานต์ วันแม่แห่งชาติ วันพ่อแห่งชาติ และวันส�ำคัญ ตามประเพณีท้องถิ่น เช่น ประเพณีเดือนยี่เป็ง วันลอยกระทง ได้จัดการ เทศน์มหาชาติทุกปี ประเพณีเดือน12 เป็ง การท�ำบุญอุทิศบรรพบุรุษ 10. ส่งเสริมให้พทุ ธบริษทั 4 ให้มหี ลักธรรมอปริหาณิยธรรม 7 คือการ มีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชนตามหลักบวร ได้แก่ บ้าน วัด และโรงเรียน

114

SBL บันทึกประเทศไทย I LAMPHUN

จากแนวคิดหลักการของการท�ำงานพัฒนาทีเ่ น้นการมีสว่ นร่วมของ ฝ่ายต่าง ๆ จึงได้ประจักษ์ดังที่ได้กล่าวมา ส่งผลให้วัดป่าเห็วได้รับการ ยกย่องให้รับรางวัลมากมาย ดังนี้ - รับรางวัลชนะเลิศโครงการประกวดวัด โรงเรียนสะอาด น่าอยู่จาก เทศบาลต�ำบลอุโมงค์ - ได้รบั รองเป็นวัดส่งเสริมสุขภาพขัน้ พืน้ ฐาน จากส�ำนักงานสาธารณสุข จังหวัดล�ำพูน - ได้รบั คัดเลือกรางวัลระดับดีเยีย่ มในการจัดการสิง่ แวดล้อมในวัด จาก กรมส่งเสริมสุขภาพสิ่งแวดล้อม - ได้รับคัดเลือกเป็นอุทยานการศึกษาในวัด จากส�ำนักงานพระพุทธ ศาสนาแห่งชาติ - ได้รบั คัดเลือกเป็นวัดพัฒนาตัวอย่าง จากส�ำนักงานพระพุทธศาสนา แห่งชาติ สุดท้ายนี้ขอฝากบทกลอนที่ว่า

วัดจะดี มีหลักฐาน เพราะบ้านช่วย บ้านจะสวย เพราะมีวัด ดัดนิสัย บ้านกับวัด ผลัดกันช่วย ยิ่งอวยชัย ถ้าขัดกัน ก็บรรลัย ทั้งสองทาง


HISTORY OF BUDDHISM บันทึกเส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต

วัดบ้านปาง วั ด บ้ า นปาง เลขที่ 381 หมู ่ ท่ี 1 บ้ า นปาง ต�ำบลศรีวชิ ยั อ�ำเภอลี้ จังหวัดล�ำพูน เป็นวัดราษฎร์ มหานิกายเป็นวัดพัฒนาตัวอย่าง ประจ�ำปี พ.ศ.2537 ประวัติความเป็นมา

วั ด บ้ า นปาง (วั ด จอมสลี๋ ท รายมู ล บุ ญ เรื อ ง) เป็ น ปู ช นี ย สถานที่ ส�ำคัญยิ่ง และมีความเกี่ยวข้องกับชีวิตของท่านพระครูบาเจ้าศรีวิชัย สิริวิชโย ผู้เป็นนักบุญแห่งล้านนาไทย เพราะเป็นวัดที่ท่านเริ่มสร้างเป็น แห่งแรก เมือ่ ปีพ.ศ.2444 และยังเป็นสถานทีท่ า่ นดับขันธ์มรณภาพอีกด้วย วัดบ้านปาง ได้รับอนุญาตให้สร้างวัดเมื่อ พ.ศ. 2419 และได้รับ พระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อ พ.ศ.2480

LAMPHUN I SBL บันทึกประเทศไทย

115


WO R K LI FE

บันทึกเส้นทางพบนายอำ�เภอ

นายวิวัฒน์ จันทร์โอภาส นายอำ�เภอลี้ จังหวัดลำ�พูน

“องค์พระธาตุสูงค่า ตระการตาอุทยานแม่ปิง ยอยศยิ่งพระนางจามรี ประเพณีงามล�้ำเลิศ ถิ่นก�ำเนิดนักบุญล้านนา ”

คือค�ำขวัญของอ�ำเภอลี้ ซึ่งตั้งอยู่ทางทิศใต้ห่างจากจังหวัดล�ำพูน ประมาณ 105 กิโลเมตร ไปตามเส้นทางถนนพหลโยธินหมายเลข 106 ข้อมูลทั่วไป อ�ำเภอลี้ อยู่สูงกว่าระดับน�้ำทะเล 400-600 เมตร มีเนื้อที่ประมาณ 1,702.11 ตารางกิโลเมตร (1,063,743.75ไร่) พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นภูเขา คิดเป็นร้อยละ 88 ของพื้นที่ทั้งหมด มีความลาดเอียงจากทิศใต้สู่เหนือ ลักษณะเป็นกรวด ดินลูกรังเป็นส่วนใหญ่ ประชากรและอาชีพ อ�ำเภอลี้ มีจ�ำนวนครัวเรือนทั้งหมด 23,847 ครัวเรือน มีประชากรรวมทั้งสิ้น 69,578 คน ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ เกษตรกรรม เช่น ล�ำไย หอม กระเทียม ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ เป็นต้น การปกครอง อ�ำเภอลีแ้ บ่งพืน้ ทีก่ ารปกครองออกเป็น 8 ต�ำบล 99 หมูบ่ า้ น เทศบาลต�ำบล 7 แห่ง องค์การบริหารส่วนต�ำบล 3 แห่ง แยกเป็นหมู่ใน เขตต�ำบล ดังนี้ 1.ต�ำบลลี้ 17 หมู่บ้าน 2. ต�ำบลแม่ตืน 17 หมู่บ้าน

116

SBL บันทึกประเทศไทย I LAMPHUN

3.ต�ำบลนาทราย 4.ต�ำบลดงด�ำ 5.ต�ำบลก้อ 6.ต�ำบลแม่ลาน 7.ต�ำบลป่าไผ่ 8.ต�ำบลศรีวิชัย

23 6 4 7 12 13

หมู่บ้าน หมู่บ้าน หมู่บ้าน หมู่บ้าน หมู่บ้าน หมู่บ้าน

ด้านเศรษฐกิจและสังคม 1.เกษตรกรรม อ� ำ เภอลี้ มี พื้ น ที่ ก ารเกษตรทั้ ง สิ น 119,547 ไร่ มีครอบครัวเกษตรกร 12,559 ครอบครัว 2.การปศุสัตว์ อ�ำเภอลี้ มีลักษณะการปศุสัตว์ ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อการ บริโภคและใช้งาน ส�ำหรับการเลี้ยงสัตว์เพื่อการค้า มีค่อนข้างน้อย สัตว์ที่ เลี้ยงส่วนใหญ่ คือ โค กระบือ สุกร และไก่


3.การประมง อ�ำเภอลี้ มีการประมงที่มีลักษณะของการเพาะพันธุ์ปลา ในแหล่งน�้ำธรรมชาติ และแหล่งน�้ำชลประทาน โดยได้รับการสนับสนุนพันธุ์ ปลาจากสถานีประมงน�้ำจืดแม่โจ้ และจากกรมการประมงโดยตรง 4.การอุตสาหกรรม อ�ำเภอลี้ มีโรงงานอุตสาหกรรมทีไ่ ด้รบั อนุญาตด�ำเนิน การ และประกอบการ ดังนี้ โรงงานอุตสาหกรรมเหมืองแร่ จ�ำนวน 2 แห่ง โรงโม่หิน จ�ำนวน 2 แห่ง และมีโรงงานอุตสาหกรรมขนาดเล็ก กระจาย ตามหมู่บ้านต่าง ๆ เช่น โรงสี โรงงานผลิตคอนกรีตบล็อก ฯลฯ 5.การพาณิชยกรรมและการบริหาร ธุรกิจห้างหุ้นส่วนจ�ำกัด จ�ำนวน 25 ราย บริษัทจ�ำกัด จ�ำนวน 7 ราย ร้านค้าเอกชนจดทะเบียนพาณิชย์ จ�ำนวน 305 ราย ธนาคาร (ออมสิน,ธกส,กรุงไทย,และกสิกรไทย) จ�ำนวน 4 แห่ง โรงแรมชั้นสอง จ�ำนวน 2 แห่ง ศาสนสถานที่ส�ำคัญ วัดพระธาตุห้าดวง เป็นหนึ่งในสองของโบราณสถานที่มีคุณค่าที่พบใน เขตอ�ำเภอลี้ วัดพระธาตุ 5 ดวง อยู่ไกลจากตัวเมืองล�ำพูน 106 กิโลเมตร อยู่ริมถนนพหลโยธิน(สายลี้-เถิน)โดยเฉพาะอย่างยิ่งจุดเด่นของวัดนี้คือ พระธาตุ 5 ดวง ทีเ่ รียกเช่นนีเ้ นือ่ งจากว่าเจดียท์ วี่ ดั นีส้ ร้างรวม 5 องค์ โดยมีองค์ ใหญ่เป็นประธานอยูก่ ลาง 1 องค์ และเจดียอ์ งค์เล็กอยูแ่ วดล้อมองค์อกี มุมละ 1 องค์ ลักษณะของเจดีย์ทั้ง 5 องค์ ก็มีลักษณะคล้ายกับเจดีย์ทั่วไป คือ ฐานเป็นทรงสี่เหลี่ยมที่องค์เจดีย์ท�ำเป็นทรงกลมเป็นบัวถลาลดหลั่นขึ้นไป เหนือองค์เจดีย์เป็นองค์ระฆังเล็ก ๆ รองรับยอดเจดีย์ทั้ง 5 องค์นี้ ต่างจาก เจดีย์อื่น ๆ ตรงที่รูปทรงค่อนข้างจะชะลูดมากกว่าที่ออกทรงป้าน วัดแท่นค�ำ เป็นวัดที่เก่าแก่ของเมืองลี้ ตั้งแต่สมัยเริ่มแรก สร้างสมัย พระนางจามรี พร้อม ๆกับวัดพระธาตุองค์เดียว, วัดพระธาตุ5ดวง เป็นวัด ที่มีความส�ำคัญยิ่งในยุคนั้น เมื่อกรมทางหลวงได้ใช้รถแทรกเตอร์ขุดตัดถนน พหลโยธินผ่านบริเวณวัดแห่งนี้ ได้พบพระพุทธรูป ต่อมาใน พ.ศ.2535 ได้มี ผู้จิตศรัทธาด�ำเนินการสร้างเจดีย์ขึ้น 1 องค์ และสร้างอาคารสถานที่ปฏิบัติ ธรรม กุฏพิ ระสงฆ์ขนึ้ เป็นการถาวรแล้ว คงเหลือแต่ซากวัดโปงกางหรือวัดโป่ง ก้าง ยังไม่ได้รับการบูรณะก่อสร้าง วัดลี้หลวง ตั้งอยู่ที่หมู่ที่ 6 ต�ำบลลี้ เป็นวัดที่ตั้งมานานแล้ว โดยเกี่ยวข้อง กับความเป็นมาของเมืองโบราณเมืองลี้ หรือเวียงเจดีย์ ซึ่งร้างไปนานแล้ว

เจดีย์และซากฐานสิ่งก่อสร้างได้รับการบูรณะสร้างเป็นบริหารและเจดีย์อยู่ ในสภาพเรียบร้อยถาวรแล้ว นอกจากนีย้ งั มีวตั ถุโบราณอันได้แก่ พระพุทธรูป ทองสัมฤทธิ์ ซึ่งเดิมที่ถูกทอดทิ้งอยู่ที่วัดร้างกลางเมืองเก่า ต่อมาในปี 2400 พระอธิการผุย มหาชโย อดีตเจ้าอาวาสวัดลี้หลวง ได้ให้คณะศรัทธาอัญเชิญ พระพุทธรูปดังกล่าวมาประดิษฐานไว้ ณ อุโบสถวัดลี้หลวง เป็นที่เลื่อมใส ศรัทธาแก่พุทธศาสนิกชน โดยทั่วไปจนกระทั่งทุกวันนี้ วัดพวงค�ำ เป็นวัดทีป่ ระดิษฐานพระพุทธรูปสัมฤทธิเ์ ก่าแก่ ค้นพบขณะที่ กรมทางหลวงได้ปรับพืน้ ทีถ่ นนพหลโยธินตัดผ่านเมืองลีเ้ ก่า พระพุทธรูปถูก ใบพัดท�ำให้องค์พระช�ำรุดกลางองค์ ปัจจุบนั ประดิษฐานทีว่ ดั พวงค�ำ บ้านปวง ค�ำ หมู่ที่ 9 ต�ำบลลี้ อ�ำเภอลี้ จังหวัดล�ำพูน วัดแม่ป้อก เป็นวัดที่พระพุทธรูปถูกค้นพบบริเวณวัดร้างที่ชุมชนโบราณ ที่บ้านแม่ป้อก ต�ำบลศรีวิชัย อ�ำเภอลี้ จังหวัดล�ำพูน ปัจจุบันประดิษฐานที่ วัดแม่ป้อก วัดหลวงเก่า ตั้งอยู่ที่บ้านฮ่อมต้อ หมู่ที่ 5 ต�ำบลลี้ ก่อตั้งปี พ.ศ.2476 เดิมเป็นวัดร้าง ต่อมาชาวบ้านได้ขุดพบพระพุทธรูปองค์หนึ่ง จึงน�ำมา ประดิษฐานไว้ ต่อมาก็ได้สร้างเป็นวัดขึน้ ใหม่ เรียกว่า วัดหลวง ชาวบ้านเรียก ง่าย ๆ ว่า วัดหลวงเก่า วัดบ้านปาง ตั้งอยู่ที่ ณ บ้านปาง หมู่ที่ 1 ต�ำบลศรีวิชัย ซึ่งเป็นสถานที่ เกิดของครูบาเจ้าศรีวิชัย ห่างจากที่ว่าการอ�ำเภอลี้ประมาณ 40 กิโลเมตร ปัจจุบันเป็นพิพิธภัณฑ์ของครูบาเจ้าศรีวิชัย โดยจัดเก็บรวบรวมเครื่องอัฐ บริขาร เครื่องใช้ เกียรติประวัติต่าง ๆ ของท่านครูบาเจ้าศรีวิชัย เพื่อให้เป็น แหล่งศึกษาและเป็นอนุสรณ์สถานถวายแด่ครูบาเจ้าศรีวชิ ยั พิพธิ ภัณฑ์นสี้ ร้าง โดย พระอนันต์ พุทธธัมโม วัดพระพุทธบาทห้วยต้ม หมูท่ ี่ 8 ต�ำบลนาทราย วัดแห่งนีเ้ ป็นวัดทีม่ รี อย พระบาท ซึ่งปัจจุบันได้จัดสร้างวิหารครอบรอยพระพุทธบาทไว้แห่งนี้ วัดพระพุทธบาทผานาม ตั้งอยู่ที่บ้านผาหนาม หมู่ที่6 ต�ำบลป่าไผ่ ซึ่งผู้คน ส่วนใหญ่ได้อพยพมาจากอ�ำเภอฮอด จังหวัดเชียงใหม่ โดยหนีภัยน�้ำท่วมมา อยู่ที่หมู่บ้านผาหนาม ชาวบ้านได้นิมนต์ครูบาอภิชัยขาวปี มาอยู่จ�ำพรรษา ท่านรับนิมนต์และได้สร้างอารามขึ้นที่เชิงดอยผาหนาม และเป็นสถานที่ พ�ำนักปฏิบตั ธิ รรมในปัจฉิมวัยของท่าน จนท่านมรณกรรม เมือ่ วันที่ 3 มีนาคม 2520 อายุได้ 73 ปี จากนั้นวัดก็ได้รับการพัฒนาบูรณปฏิสังขรณ์เรื่อยมา จนถึงปัจจุบันนี้ สถานที่ท่องเที่ยวส�ำคัญ ทุ ่ ง กิ๊ ก เป็ น อี ก สถานที่ ห นึ่ ง ซึ่ ง ประชาชนส่ ว นใหญ่ ใ ห้ ค วามสนใจไป ท่องเทีย่ ว บริเวณทุง่ กิก๊ เป็นพืน้ ทีร่ าบขนาดกว้าง เหมาะส�ำหรับการตัง้ แคมป์ ปิง้ การดูดาวในช่วงเวลากลางคืน และการส่องสัตว์ หรือนักท่องเทีย่ วบางคน ต้องการความสะดวกสบาย ก็สามารถเข้าพักแรมค้างคืนในบ้านพัก ซึ่งจัดไว้ ส�ำหรับนักท่องเที่ยวเข้าพักแรมได้ เรือนแพแก่งก้อ เป็นเรือนแพ ซึง่ ล้นมาจากหน้าเขือ่ นภูมพิ ล จังหวัดตาก มีทัศนียภาพสวยงาม ห่างจากที่ว่าการอ�ำเภอลี้ ประมาณ 45 กิโลเมตร น�้ำตกแก่งก้อ เป็นน�้ำตกที่มี 7 ชั้น มีสีสันสวยงามเป็นสีเขียวมรกต มีน�้ำไหลตลอดปี ในวันหยุดนักขัตฤกษ์ และช่วงฤดูร้อนในของทุก ๆ ปี จะมีนักท่องเที่ยวเข้าไปเที่ยวชมอย่างมากมาย ด้วยความสวยงามของน�้ำตก และธรรมชาติที่มีอยู่ จนท�ำให้น�้ำตกแก่งก้ออยู่ในค�ำขวัญของอ�ำเภอลี้ LAMPHUN I SBL บันทึกประเทศไทย

117


HI S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต

วัดพระพุทธบาทผาหนาม วัดพระพุทธบาทผาหนาม ตั้งอยู่เลขที่ 99 หมู่ 12 ต�ำบลป่าไผ่ อ�ำเภอลี้ จังหวัด ล�ำพูน ปัจจุบันมีพระครูสุนทรอรรถการ เป็นเจ้าอาวาส ประวัติความเป็นมา

ครั้งพุทธกาลสมัยที่สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้เสด็จจาริกโปรด เวนัยสัตว์ในดินแดนสุวรรณภูมิ เมือ่ ได้เสด็จมาสูด่ อยผาหนามเขตอ�ำเภอลี้ ในปัจจุบนั นี้ ทรงท�ำนายว่าสถานทีแ่ ห่งนีจ้ ะเจริญเป็นสังเวชนียสถาน และ ประกาศพระสัทธรรมแก่ผแู้ สวงหาต่อไปในอนาคตกาล จึงทรงประทับรอย พระบาทไว้บนแผ่นหิน ณ ดอยผาหนามนั้น กาลต่อมาเมือ่ รอยพระพุทธบาทแห่งนีถ้ กู ค้นพบ มีพทุ ธศาสนิกชนมา นมัสการมิได้ขาดจนเกิดความเจริญรุ่งเรืองกลายเป็นวัด โดยมีหลักฐาน การครองและการสร้างวัดพระพุทธบาทผาหนามจากพระเถรนุเถระ รวมทัง้ สิน้ 8 รูป ดังนี้ 1.ครูบามหารัตนากร 2.ครูบาปินใจ 3.ครูบาพุทธิมา 4.ครู บ าสุ นั น ทะ 5.ครู บ าจั น ทร์ แ ก้ ว 6.ครู บ าก๋ า (เดิ ม อยู ่ วั ด ห้ ว ยต้ ม ) 7.ครูบาอินตุ้ย(เดิมอยู่วัดนาทราย) 8.ครูบาสุยะ (เดิมอยู่วัดแม่หว่าง) 9. พระคร

118

SBL บันทึกประเทศไทย I LAMPHUN

หลังจากนั้นวัดนี้ก็ผุพังรกร้างไปตามกาลเวลา อาจจะด้วยสาเหตุที่ บ้านเมืองระยะนัน้ คงจะเกิดภัยสงคราม จนกระทัง่ ถึงปี 2507 ท่านครูบา เจ้าอภิชัย ขาวปี จึงร่วมกับราษฎรหมู่บ้านผาหนาม (ซึ่งได้อพยพมาจาก อ�ำเภอฮอด อันเนือ่ งมาจากน�ำ้ ท่วมจากการสร้างเขือ่ นภูมพิ ล จังหวัดตาก) และศรัทธาพุทธศาสนิกชนจากทีต่ า่ ง ๆ ช่วยกันสร้างวัดขึน้ จนเจริญรุง่ เรือง ถึงปัจจุบนั นี้ โดยมีพระครูสนุ ทรอรรถการ (ครูบาดร) เจ้าอาวาส เป็นผูด้ แู ล


ท�ำนุบ�ำรุงรักษา ซ่อมแซม ก่อสร้างเพิ่มเติม ตามที่ครูบาเจ้าชัยยะวงศา พัฒนาได้ชี้แนะและชี้น�ำให้ท่าน ตลอดระยะเวลา 10 กว่าปีนี้ เพื่อบูชา คุณครูบาอาจารย์ ท�ำเพื่อครูบาอาจารย์ (ครูบาอภิชัย ขาวปี) จนท�ำให้ชื่อ เสียงครูบาอาจารย์ที่ท่านเคารพรักอย่างยิ่ง รวมทั้งวัดพระพุทธบาทผา หนาม เป็นทีร่ จู้ กั และเลือ่ มใสศรัทธาของพุทธศาสนิกชนเพิม่ มากขึน้ เรือ่ ยๆ

สิ่งที่น่าสนใจภายในวัด

- สรีระร่างทิพย์ครูบาเจ้าอภิชัย ขาวปี (ศิษย์เอกครูบาเจ้าศรีวิชัย ผู้เคยอยู่ พ�ำนักและริเริม่ ก่อสร้างวัดพระพุทธบาทผาหนาม อีกทัง้ เป็นศูนย์รวมจิตใจ ของศรัทธาชาวพุทธทั่วทุกสารทิศ) - โฮงหลวงครูบาเจ้าอภิชัย ขาวปี - อนุสาวรีย์ครูบาเจ้าอภิชัย ขาวปี - พระพุทธบาทผาหนาม - พระธาตุเจดีย์เงิน-พระธาตุเจดีย์ทอง - พระพุทธเมตตา, พระธรรมราชา, พระพุทธเกษตรรักษา, พระมหาจักร พรรดิ - เต่าหิน (ใจ๋วดั หรือสะดือวัด) เป็นศูนย์รวมจิตใจของพระเณรและชาวบ้าน - จุดชมทะเลหมอกและชมวิวที่สวยที่สุดของเมืองลี้

งานประเพณียิ่งใหญ่ประจ�ำปี

วัดพระพุทธบาทผาหนาม ก�ำหนดให้มีประเพณีประจ�ำปีของวัด ซึ่งจะมีศรัทธาจากพุทธศาสนิกชนทั่วทุกสารทิศมาร่วมงานเป็นจ�ำนวน มาก ดังนี้ - งานประเพณีเปลีย่ นผ้าสรีระร่างทิพย์ครูบาเจ้าอภิชยั ขาวปี (1-4 มีนาคม ของทุกปี) - งานประเพณีสรงน�้ำพระพุทธบาท และพระธาตุเจดีย์ ยอดดอยวัด พระพุทธบาทผาหนาม

LAMPHUN I SBL บันทึกประเทศไทย

119


HI S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต

วัดแม่ป้อก วัดแม่ป้อก ตั้งอยู่เลขที่ 528 หมู่ 5 บ้านแม่ป้องเหนือ ต�ำบลศรีวิชัย อ�ำเภอลี้ จังหวัดล�ำพูน เป็น วัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ปัจจุบันมี พระครูอุดมคุณวัฒน์ ธัมมจารี เป็นเจ้าอาวาส และเจ้าคณะต�ำบลแม่ตืน เขต 1 ต�ำบลศรีวิชัย 120

SBL บันทึกประเทศไทย I LAMPHUN


อาณาเขตติดต่อของวัดแม่ป้อก

ทิศเหนือ ทิศใต้ ทิศตะวันออก ทิศตะวันตก

ระยะความยาว 100 วา ติดกับถนนหมู่บ้าน ระยะความยาว 100 วา ติดกับถนนหมู่บ้าน ระยะความยาว 70 วา ติดกับถนนหมู่บ้าน ระยะความยาว 70 วา ติดกับถนนหมู่บ้าน

เสนาสนะส�ำคัญ

ปัจจุบนั วัดแม่ปอ้ กมีถาวรวัตถุทสี่ มบูรณ์สามารถประกอบศาสนกิจได้ อาทิ วิหาร อุโบสถ ศาลาเปรียญ พระเจดีย์ยิ่งชนม์เจริญ หอสรงน�้ำ พระ (มณฑป) กุฏิพระภิกษุ-สามเณร กุฏิเจ้าอาวาส และอื่น ๆ ตามที่เห็น ปัจจุบัน และมีก�ำแพงรอบวัด

ท�ำเนียบเจ้าอาวาส

ประวัติการสร้างวัดแม่ป้อก

สืบเนื่องจากมีการตั้งหมู่บ้านแม่ป้อก อาศัยความศรัทธาในพระพุทธ ศาสนาของชาวบ้าน จึงเป็นที่มาของวัดแม่ป้อก ในปีพุทธศักราช 2470 ชาวบ้านได้ร่วมใจกันแผ้วถางป่าในสมัยนั้น เพื่อสร้างเป็นที่บ�ำเพ็ญบุญ ตามประเพณี และประกอบกิจทางพระพุทธศาสนา ตัง้ อยูบ่ นพืน้ ที่ 17 ไร่ 2 งาน โดยประมาณมีเอกสารสิทธิ์เป็น น.ส.3ก ครุฑด�ำ ออกเมื่อปี พ.ศ.2503 มี นายชืน่ วีรจรรยา เป็นตัวแทนของวัดในฐานะเป็นศึกษาธิการ อ�ำเภอลี้

รายนามเจ้าอาวาสวัดแม่ป้อก ตั้งแต่อดีต-ปัจจุบัน มีดังนี้ พ.ศ. 2471-2473 พระแก้ว ไม่ทราบฉายา พ.ศ. 2473-2483 พระโล อุดขา พ.ศ. 2483-2492 พระมอญ ค�ำมี พ.ศ. 2492-2496 พระบุญมา พุทธวังโส ย่อมค�ำซาว พ.ศ. 2496-2499 พระค�ำปัน ยอดแก้ว พ.ศ. 2499-2502 พระแก้ว รัตนญาโณ พ.ศ. 2502-2507 พระอธิการแก้ว สัจจวโร เรือนอินทร์ พ.ศ. 2507-2510 พระเปรม คัมภีโร ผ่านดอยแดน พ.ศ. 2510-2513 พระบุญยืน รัตนญาโณ วรรณภิละ พ.ศ. 2513 – ปัจจุบัน พระครูอุดมคุณวัฒน์ ธัมมจารี เจ้าอาวาส และ เจ้าคณะต�ำบลแม่ตืน เขต 1 ต�ำบลศรีวิชัย LAMPHUN I SBL บันทึกประเทศไทย

121


การพัฒนาวัดในสมัยพระครูอุดมคุณวัฒน์

ในสมัยพระครูอุดมคุณวัฒน์ ธัมมจารี ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส ได้พัฒนาบูรณะ ปฏิสังขรณ์วัดแม่ป้อก ตามล�ำดับดังนี้ พ.ศ. 2513-2519 สร้างอุโบสถ กว้าง 5 เมตร ยาว 20 เมตร พ.ศ. 2520-2524 สร้างกุฏสิ งฆ์ กว้าง 6 เมตร ยาว 21 เมตร ตึก 2 ชัน้ ก่ออิฐถือปูน พ.ศ. 2525-2529 สร้างก�ำแพงรอบบริเวณวัดทัง้ 4 ด้าน และได้ทำ� การ สร้างหอสรงน�้ำพระ ( มณฑป) พ.ศ. 2530-2533 สร้างศาลาการเปรียญ กว้าง 12.5 เมตร ยาว 31.5 เมตร พ.ศ. 2534-2539 สร้างกุฏทิ รงไทยด้วยไม้เนือ้ แข็งทัง้ หลัง กว้าง 9 เมตร ยาว 12 เมตร สูง 12 ศอก พ.ศ. 2540-2544 บูรณะปฏิสงั ขรณ์วหิ าร กว้าง 10 เมตรยาว 24.5 เมตร พ.ศ.2541-2543 “ตระกูลยิ่งชนม์เจริญ” เป็นเจ้าภาพสร้างเจดีย์ (ยิ่งชนม์เจริญ) จังหวัดยะลา – สิ้นทุนทรัพย์ทั้งหมด 1,697,700 บาท (หนึ่งล้านหกแสนเก้าหมื่นเจ็ดพันเจ็ดร้อยบาทถ้วน) พ.ศ. 2547-2548 สร้างหอพระไตรปิฎก กว้าง 4.5 เมตร ยาว 5.5 เมตร สินทุนทรัพย์ 715,632 บาท (เจ็ดแสนหนึ่งหมื่นห้าพันหกร้อยสามสิบ สองบาทถ้วน) พ.ศ. 2547-2548 สร้างห้องน�ำ ้ ห้องส้วม กว้าง 2 เมตร ยาว 15 เมตร สิ้นทุนทรัพย์ 107,554 บาท (หนึ่งแสนเจ็ดพันห้าร้อยห้าสิบสี่บาท) พ.ศ. 2548 ท�ำการปูสนามวัดทั้งหมด 1,737 เมตร สิ้นทุนทรัพย์ 307,070 บาท (สามแสนเจ็ดพันเจ็ดสิบบาทถ้วน)

122

SBL บันทึกประเทศไทย I LAMPHUN


ต�ำนานชื่อบ้านแม่ป้อก

ย้อนหลังไปในยุคทีป่ ระเทศไทยยังเป็นหัวเมือง มีเจ้านายปกครอง เหตุ ที่หมู่บ้านนี้มีชื่อว่า “แม่ป้อก” ความมีอยู่ว่า...สมัยหนึ่งเมืองลี้เป็นหัวเมือง หนึ่งในอดีต และมีช่วงหนึ่งเมืองลี้ถูกข้าศึกรุกราน เจ้าเมืองลี้ได้ขอความ ร่วมมือขอก�ำลังจากหัวเมืองใกล้เคียงมาช่วย จึงได้ขอความช่วยเหลือจาก เจ้าเมืองหวาย ซึ่งมีพญาจันทร์เป็นเจ้าเมือง พญาจันทร์มีนางแก้วสามสี เป็นมเหสี ( ต�ำนานนางจุติจากดอกบัวแล้วมีฤาษีน�ำมาเลี้ยง) พญาจันทร์มสี หายอยูเ่ มืองหนองหล้อง หรือ หนองล่อง ในปัจจุบนั ชือ่ ว่า พญายี ในคราวที่พระฤาษีหาคู่ให้กับนางแก้วสามสี โดยจัดแข่งความ สามารถ พญาบีพา่ ยแพ้พญาจันทร์ จึงได้นางแก้วสามสีไปครอง แต่พญายี มีความริษยาจึงเก็บไว้ในใจ เมื่อเจ้าเมืองลี้ขอความช่วยเหลือ พญาจันทร์ ได้ชวนให้พญายายีร่วมรบด้วย พญายีได้ร่วมขบวนไปรบช่วยเจ้าเมืองลี้ พอยกขบวนมาถึงฝั่งน�้ำแห่งหนึ่งในเขตใกล้เมืองลี้ ในระหว่างเดินทาง พญายีคิดไม่ซื่อเพราะมีความเสน่หาในตัวนางแก้วสามสี ซึ่งเป็นมเหสี ของพญาจันทร์ กล่าวถึงนางสามสีเป็นนารีที่มีความงดงามเสมือนเทวดา นางฟ้าจุติ พญายีมีความพอใจในตัวนางเป็นทุนอยู่แล้ว พอยกทัพมาถึง ฝั่งน�้ำสายเล็ก ๆ ดังกล่าว จึงได้ออกอุบายเกิดอาการเจ็บป่วยกะทันหัน จึงได้ยกขบวนทัพตนกลับ จึงให้พญาจันทร์นำ� ทัพของตนไปแต่เพียงล�ำพัง ส่วนพญายีได้ยกทัพกลับ พอถึงเมืองหวายจึงน�ำเรือ่ งเท็จไปแจ้งให้แก่นาง แก้วสามสี ว่าพญาจันทร์ถกู ข้าศึกฆ่าตาย นางแก้วสามสีตกใจมาก พญายี จึงหลอกให้ไปเมืองหนองหล้องได้สมใจ ส่วนพญาจันทร์เมื่อช่วยรบข้าศึก ชนะ ก็จึงยกทัพของตนกลับพอถึงเมืองหวายก็ทราบข่าวว่าพญายีได้น�ำ นางแก้วสามสีไปเมืองหนองหล้อง จึงติดตามไป ( เรื่องยังมีอีกมากค้นหา ตามหนังสือวรรณกรรมพระเจ้า 8 เหลี่ยม ) ย้อนถึงล�ำน�้ำที่พญายียกทัพ กลับ ซึ่งกาลต่อมาชาวบ้านเรียกว่า “ห้วยแม่ป้อก” ค�ำว่า “ป้อก” ความ หมายตามภาษาไทยแปลว่า “กลับ” แม่ หมายถึง “แม่ทัพ” ห้วย หมายถึง ล�ำน�้ำสายเล็ก ๆ สายหนึ่งนั่นเอง จึงเป็นที่มาของชื่อหมู่บ้านแม่ป้อกใน อดีตของเมืองหวาย หรือ เวียงหวาย ซึ่งปัจจุบันคือ อ�ำเภอบ้านโฮ่ง ส่วน เมืองหนองหล้อง คือ กิ่งเวียงหนองล่องในปัจจุบัน

ร่วมสร้างเส้นทางบุญ วัดแม่ปอ้ กขอเชิญท่านสาธุชนทัง้ หลาย ร่วมท�ำบุญประเพณีสรงน�ำ้ พระธาตุเจดีย์ ณ วัดแม่ป้อก ต�ำบลศรีวิชัย อ�ำเภอลี้ จังหวัดล�ำพูน ในวันที่ 5-6 มิถนุ ายน 2561 ด้วยสมณะศรัทธาและมูลศรัทธาวัดแม่ปอ้ ก ทั้งภายในและภายนอก ภายในวัดมีพระครูอุดมคุณวัฒน์ เจ้าอาวาส เป็นประธาน ภายนอกมีผใู้ หญ่บา้ น 4 หมูบ่ า้ น เป็นรองประธานด�ำเนินงาน จัดงานประเพณีสรงน�้ำพระธาตุประจ�ำปี เพื่อความเป็นสิริมงคล

LAMPHUN I SBL บันทึกประเทศไทย

123


HIS TO R Y O F BU D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต

วัดห้วยบง วัดห้วยบง เลขที่ 308 บ้านห้วยบง หมู่ที่ 3 ต�ำบลศรีวิชัย อ�ำเภอลี้ จังหวัดล�ำพูน ปัจจุบันมี พระครูวิบูลภาวนานุศาสก์ (สนิท พุทฺธวํโส) เป็นเจ้าอาวาส วัดห้วยบงเป็นวัดพัฒนาตัวอย่างของจังหวัด เป็นทีต่ งั้ ลาน วัด ลานใจ ลานกีฬา และเป็นที่ตั้งของสถานศึกษา ประวัติวัดห้วยบง

วันที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2518 เริ่มสร้างวิหารชั่วคราวขึ้น โดยมีพระ อินสมเป็นผู้ริเริ่มสร้าง วันที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2519 ได้รับพระราชทานพระพุทธรูป “พระพุ ท ธิ ม งคล” ซึ่ ง พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว รั ช กาลที่ 9 ทรงพระราชทานโดยพระราชกุศลแก่วดั ชาวไทยภูเขาได้นำ� มาประดิษฐาน ที่วิหารชั่วคราว วันที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2519 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 9 พร้อมด้วย สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯ ทรงออกเยี่ยมพสกนิกร ณ วิหารชั่วคราว

124

SBL บันทึกประเทศไทย I LAMPHUN

วันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2519 ท่านเจ้าคุณโสภณวชิรธรรม วัดทุง่ สาธิต กรุงเทพฯ ได้น�ำคุณวิเทศ-คุณยุพา ว่องวัฒนสิน มาวางศิลาฤกษ์สร้างวัด ได้สร้างศาลาการเปรียญ และกุฏหิ ลังยาว จ�ำนวน 7 ห้อง จ�ำนวน 1 หลัง ต่อมาได้มีพระภิกษุหลายรูปมาปกครองดูแล แต่ก็อยู่ได้ไม่นาน พ.ศ. 2521 ได้นิมนต์ พระโสภณ ฉิมฺนาลโย มาอยู่ประจ�ำ พ.ศ. 2522 ได้นิมนต์ พระเลาค�ำ จารุธมฺโม มาอยู่ประจ�ำ พ.ศ. 2524 ได้นิมนต์ พระประทีป ผาสุกฺโก มาอยู่ประจ�ำ พ.ศ. 2527 ได้นิมนต์ พระบุญมา ปสนฺโน มาอยู่ประจ�ำ พ.ศ. 2528 ได้นิมนต์ พระครูอนุรักษ์ปัจจันตเขต มาอยูป่ ระจ�ำ พ.ศ. 2529 – ปัจจุบนั ได้นมิ นต์ พระครูวบิ ลู ภาวนานุศาสก์ (ขณะนั้นคือ พระสมุห์สนิท พุทฺธวํโส) จากวัดพระพุทธบาทตากผ้า


ต.มะกอก อ.ป่าซาง จ.ล�ำพูน มาอยู่ประจ�ำ และได้สอนพระกรรมฐาน มีพระภิกษุ – สามเณรร่วมจ�ำพรรษาแต่ละปีมจี ำ� นวนมาก สร้างถาวรวัตถุ ภายในวัด โดยมีคณ ุ วิเทศ – คุณยุพา ว่องวัฒนสิน เป็นผูอ้ ปุ ถัมภ์ มีพระครู เวฬุวันพิทักษ์ เป็นผู้ออกแบบ และควบคุมการก่อสร้างถาวรวัตถุ พร้อม ทั้งศรัทธาสาธุชนผู้มีกุศลเจตนา ได้ร่วมกันทอดกฐินทุกปี เพื่อน�ำปัจจัย สนับสนุนการก่อสร้าง พ.ศ. 2531 ได้รับพระมหากรุณาธิคุณจาก สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ทรงมอบหมายให้ คุณพ่อธนิต ผลประเสริฐ และครอบครัวมาทอดกฐินพระราชทาน ได้ดำ� เนินการขอตรา ตัง้ วัด โดยมี พระเทพญาณเวที อดีตเจ้าคณะจังหวัดล�ำพูน เป็นผูช้ ว่ ยเหลือ วันที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2538 ได้รับแต่งตั้งให้เป็นวัดในพระพุทธ ศาสนา วันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2538 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา วันที่ 6 มิถุนายน พ.ศ. 2539 ได้บูรณะพระอุโบสถ ได้ท�ำการผูก พัทธสีมา ฝังลูกนิมิต พ.ศ. 2542 ได้รบั คัดเลือกให้เป็นวัดพัฒนาตัวอย่างจากกรมการศาสนา ประจ�ำปี 2542 วันที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2542 ได้รบั อนุญาตให้ตงั้ โรงเรียนพระปริยตั ิ ธรรมวัดห้วยบง พ.ศ. 2552 ได้รับยกย่องให้เป็นส�ำนักปฏิบัติธรรมประจ�ำจังหวัดแห่ง ที่ 4 ที่มีผลงานดีเด่น ประจ�ำปี พ.ศ. 2552 ปัจจุบนั มีถาวรวัตถุทที่ ำ� การก่อสร้างแล้วเสร็จ มีดงั นี้ 1.หอระฆัง 1 หลัง 2.ห้องสมุด 1 หลัง 3.อุโบสถ 1 หลัง 4.วิหารจตุรมุขประดิษฐานรอย พระพุทธบาท 1 หลัง 5.ศาลาปฏิบัติธรรม 2 หลัง 6.วิหารพระเจ้าทันใจ 1 หลัง 7.กุฏิพระกรรมฐาน 50 หลัง 8.อาคารเรียน 2 ชั้น 1 หลัง 9.ซุ้ม ประตูโขง 1 ซุม้ 10.ซุม้ ประตูซา้ ย–ขวา 2 ซุม้ 11.แทงค์นำ�้ บาดาล 1 แทงค์

LAMPHUN I SBL บันทึกประเทศไทย

125


ประวัติพระครูวิบูลภาวนานุศาสก์

พระครูวิบูลภาวนานุศาสก์ ฉายา พุทฺธวํโส อายุ 69 ปี 40 พรรษา วิทยฐานะ นักธรรมเอก, วุฒิปริญญาพุทธศาสตร์บัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาพระพุทธศาสนา (พธ.บ. กิตติมศักดิ์) สถานะเดิม นายสนิท จารุวุฒิพงค์ เกิดเมื่อวันที่ 18 เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2492 ทีบ่ า้ นล้อมแรด อ.เถิน จ.ล�ำปาง บิดาชือ่ นายหลอย มารดาชือ่ นางมอนแก้ว มีพี่น้องร่วมกันอยู่ 9 คน เมื่อเติบใหญ่นายสนิทได้ท�ำธุรกิจส่วนตัวด้วย การค้าขาย ที่ อ.ลี้ จ.ล�ำพูน บรรพชา – อุปสมบท เมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2521 อายุ 29 ปี ณ วัดพระพุทธบาท ตากผ้า ได้ฉายาว่า “พุทฺธวํโส” โดยมี พระเดชพระคุณท่านพระครูบา พรหมา หรือ พระเดชพระคุณพระสุพรหมยานเถระ เป็นพระอุปัชฌาย์ พระศรีจันทร์ ขนฺติพโล เป็นพระกรรมวาจาจารย์ พระซือปิง วนฺตมโล เป็นพระอนุสาวนาจารย์ พระเดชพระคุณท่านพระครูบาพรหมาได้เอาใจใส่ให้การอบรมพระ ภิกษุสามเณรด้วยความเมตตาเสมอต้นเสมอปลาย เพื่อให้อยู่ในศีลใน วินัยอย่างเคร่งครัด พร้อมทั้งเน้นคุณค่าในการอบรมตน ด้วยการอบรม ศีล อบรมจิต อบรมปัญญา จนถึงเข้าพรรษาใน พ.ศ. 2522 ได้เข้าอบรม วิปัสสนากรรมฐานตลอดพรรษา พอออกจากปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน แล้ว ก็ได้ปฏิบัติกิจวัตรอย่างที่เคยปฏิบัติมาโดยตลอด ต่อมาท่านครูบาได้ เมตตาให้พระสนิทช่วยสอนกรรมฐาน ช่วยชีแ้ นะแนวทางการปฏิบตั ใิ ห้กบั พระภิกษุสามเณร และอุบาสกอุบาสิกาทีไ่ ปปฏิบตั ธิ รรมกรรมฐาน โดยพระ เดชพระคุณท่านพระครูบาพรหมา ท่านได้คอยให้การแนะน�ำ และให้การ ปรึกษาเมือ่ มีปญ ั หาทุกครัง้ เมือ่ มีเวลาว่างพระสนิทจะขออนุญาตจากท่าน ครูบาเพื่อออกเดินธุดงค์บ้างเป็นบางโอกาส เมือ่ วันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2526 ได้รบั การแต่งตัง้ เป็นพระฐานานุกรม ของ พระสุพรหมยานเถระ เจ้าอาวาสวัดพระพุทธบาทตากผ้า พระอาราม หลวง เป็นพระสมุห์สนิท พุทฺธวํโส วันที่ 17 เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2527 พระเดชพระคุณท่านพระครูบา พรหมาได้ถึงแก่มรณภาพลงท่ามกลางความโศกเศร้าเสียใจอาลัยหาจาก ศิษย์ยานุศิษย์ และศรัทธาญาติโยมทั้งหลาย วันที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2529 ท่านพระครูเวฬุวันพิทักษ์ เจ้าอาวาส วัดพระพุทธบาทตากผ้า ได้นมิ นต์ พระสมุหส์ นิท พุทธฺ วํโส ไปประจ�ำอยูท่ ี่ วัดห้วยบง ต.ศรีวิชัย อ.ลี้ จ.ล�ำพูน เนื่องจากทางวัดไม่มีพระภิกษุปกครอง ดูแล มีแต่สามเณร 12 รูป วันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2529 ท่านจึงได้เดินทางไปประจ�ำอยู่ที่วัด ห้วยบงตั้งแต่นั้นมา ผลงานดีเด่นและเกียรติคุณที่ส�ำคัญ พ.ศ. 2526 ได้รบั การแต่งตัง้ เป็นพระฐานานุกรมของ พระสุพรหมยาน เถระ เจ้าอาวาสวัดพระพุทธบาทตากผ้า พระอารามหลวง เป็น พระสมุหส์ นิท พุทฺธวํโส เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2526 พ.ศ. 2529 ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นพระธรรมฑูตประจ�ำอ�ำเภอลี้ ช่วยออกเผยแผ่หลักธรรมให้กบั ศรัทธาประชาชนตามท้องถิน่ หมูบ่ า้ นต่างๆ ภายในอ�ำเภอ

126

SBL บันทึกประเทศไทย I LAMPHUN

พระครูวิบูลภาวนานุศาสก์ (สนิท พุทฺธวํโส) เจ้าอาวาส วัดห้วยบง

พ.ศ. 2532 ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นประธานหน่วยอบรมประชาชน ประจ�ำต�ำบลแม่ตืน และต�ำบลศรีวิชัย ได้ด�ำเนินงานของหน่วยอบรม ประชาชนประจ�ำต�ำบลตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมาจนถึงปัจจุบัน พ.ศ. 2537 มีการเปิดสอนบาลีขึ้นภายในวัด ได้ออกอบรมประชาชน ตามโครงการพระธรรมฑูตอ�ำเภอ ด�ำรงต�ำแหน่งประธานศูนย์เด็กก่อน เกณฑ์ในวัด พ.ศ. 2538 ได้รับพระราชทานประกาศเกียรติคุณจาก สมเด็จพระ ญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก พ.ศ. 2540 ได้รับการแต่งตั้งเป็น ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดพระพุทธบาท ตากผ้า พระอารามหลวง ต.มะกอก อ.ป่าซาง จ.ล�ำพูน พ.ศ. 2542 ได้รับพระราชทานเสาเสมาธรรมจักรทองค�ำ ผู้ท�ำคุณ ประโยชน์ต่อพระพุทธศาสนา ประจ�ำปี 2542 ในสาขาเผยแผ่พระพุทธ ศาสนาภายในประเทศ และทางวัดได้รบั คัดเลือกให้เป็นวัดพัฒนาตัวอย่าง จากกรมการศาสนา ประจ�ำปี 2542


พ.ศ. 2543 ได้รับพระราชทานแต่งตั้งเป็น พระครูวิบูลภาวนานุ ศาสก์ พระครูผชู้ ว่ ยเจ้าอาวาสพระอารามหลวง วัดพระพุทธบาทตากผ้า เป็นพระครูชั้นเอก ฝ่ายวิปัสสนาธุระ พ.ศ. 2544 ได้รับอาราธนาเป็นพระวิปัสสนาจารย์ ช่วยฝึกสอน วิปสั สนากรรมฐานให้แก่นสิ ติ วิทยาลัยสงฆ์ลำ� พูน ในสังกัดมหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่ พ.ศ. 2546 เป็นพระวิปสั สนาจารย์ อบรมศรัทธาประชาชนในทีต่ า่ ง ๆ โดยทั่วไป พ.ศ. 2549 ได้รับรางวัลหน่วยอบรมประชาชนประจ�ำต�ำบลที่มีผล งานดีเด่น ประจ�ำปี 2548 – 2549 พ.ศ. 2555 ได้ รั บ พระราชทานเลื่ อ นสมณศั ก ดิ์ เ ป็ น พระครู วิ บู ล ภาวนานุ ศ าสก์ พระครู ผู ้ ช ่ ว ยเจ้ า อาวาสพระอารามหลวง วัดพระพุทธบาทตากผ้า เป็นพระครูชั้นพิเศษ ฝ่ายวิปัสสนาธุระ

LAMPHUN I SBL บันทึกประเทศไทย

127


WO R K L I F E

บันทึกเส้นทางพบเทศบาลตำ�บล

ข้อมูลทั่วไป เทศบาลต�ำบลศรีวชิ ยั เดิมเป็นส่วนหนึง่ ของต�ำบลแม่ตนื เมือ่ ปี 2534 ได้ แยกเป็นต�ำบลศรีวิชัย ต่อมาได้มีการยกฐานะเป็นองค์การบริหารส่วนต�ำบล ศรีวิชัย เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2540 ปัจจุบันได้ยกฐานะเป็นเทศบาล ต�ำบลศรีวิชัย เมื่อวันที่ 27 ตุลาคม 2552 และมีศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จ�ำนวน 1 ศูนย์ ตั้งอยู่ภายในส�ำนักงานเทศบาลต�ำบลศรีวิชัย การปกครอง-ประชากร ต�ำบลศรีวิชัยแบ่งการปกครองเป็น 13 หมู่บ้าน จ�ำนวนครัวเรือน 2,920 ครัวเรือน มีประชากรรวมทั้งสิ้น 7,642 คน

นายสมยศ กันทะวัง

นายกเทศมนตรีตำ�บลศรีวิชัย

เทศบาลตำ�บลศรีวิชัย “ ตลาดกลางแม่อีไฮ น�้ำลี้เย็นใส ล�ำไยรสเยี่ยม ทุ่งกระเทียมหอมแดง แหล่งเสาหิน ถิ่นครูบา ป่านกยูง รุ่งเรืองศรีวิชัย ” คือค�ำขวัญประจ�ำต�ำบลศรีวิชัย ซึ่งอยู่ในความดูแลของเทศบาลต�ำบล ศรีวิชัย เลขที่ 399 หมู่ 11 ต�ำบลศรีวิชัย อ�ำเภอลี้ จังหวัดล�ำพูน โดยอยู่ ห่างจากอ�ำเภอลี้ประมาณ 27 กิโลเมตร ปัจจุบันมี นายสมยศ กันทะวัง ด�ำรงต�ำแหน่งนายกเทศมนตรีต�ำบลศรี วิชัย ซึ่งบริหารงานให้บรรลุวิสัยทัศน์การพัฒนาที่ว่า “พัฒนาคน พัฒนาการศึกษา พัฒนาเศรษฐกิจ พัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐาน มุ่งการพัฒนาที่ยั่งยืน”

128

SBL บันทึกประเทศไทย I LAMPHUN


โครงการ/กิจกรรมเด่น งานครบรอบวันคล้ายวันเกิดครูบาเจ้าศรีวิชัย ทุกวันที่ 11 มิถุนายน ของทุกปี เทศบาลต�ำบลศรีวิชัย ร่วมกับวัดบ้าน ปาง จัดให้มีงานฉลองวันคล้ายวันเกิดของครูบาศรีวิชัย ซึ่งท่านเกิดเมื่อวันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ.2421 ที่บ้านปาง อ�ำเภอลี้ จังหวัดล�ำพูน ครูบาศรีวชิ ยั เป็นทีร่ จู้ กั กันทัว่ ไปโดยเฉพาะในเขตล้านนาว่าเป็น “ตนบุญ” หรือ “นักบุญ” อันมีความหมายเชิงยกย่องว่าท่านคือ “นักบุญแห่งล้านนาไทย” ครูบาศรีวชิ ยั จึงเป็นทีเ่ คารพศรัทธาของคนทัว่ ไป ท่านเป็นผูท้ มี่ ศี ลี าจารวัตรที่ งดงามและเคร่งครัด อุปนิสยั สงบเสงีย่ ม ฉันอาหารมังสะวิรตั ิ อีกทัง้ ยังให้การ ท�ำนุบำ� รุงวัดวาอารามต่าง ๆ มากมาย รวมไปถึงการสร้างทางขึน้ ดอยสุเทพที่ เชียงใหม่ดว้ ย ท่านจึงเป็นนักบวชทีเ่ ป็นทีเ่ คารพศรัทธาอย่างยิง่ แม้วา่ ท่านจะ มรณภาพไปแล้ว แต่ชื่อเสียงที่เลื่องลือก็ยังถูกล่าวขานมาถึงยุคของลูกหลาน สืบมาจนปัจจุบัน

ประเพณีตักบาตรเทโว ในเทศกาลออกพรรษาจะมีประเพณีตักบาตรเทโวที่ปฏิบัติสืบต่อกันมา แต่โบราณ ตามความเชื่อของพุทธศาสนิกชนว่า เป็นวันที่พระพุทธเจ้าเสด็จ ลงจากสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ หลังจากเทศนาอภิธรรมปิฎกโปรดพุทธมารดา ซึ่งแต่ละท้องที่จะมีการจัดกิจกรรมที่แตกต่างกันไป เพื่อให้สอดคล้องกับ วัฒนธรรมและขนบธรรมเนียม การตักบาตรเทโวจะมีการอัญเชิญพระพุทธรูป น�ำหน้าขบวนพระภิกษุในการออกบิณฑบาต ซึ่งถือได้ว่าเป็นการปฏิบัติเพื่อ ระลึกถึงความส�ำคัญของวันออกพรรษา ซึ่งทุก ๆ ปี เทศบาลต�ำบลศรีวิชัย จะมีการจัดงานประเพณีตักบาตรเทโว โดยนิมนต์ให้พระสงฆ์เดินบิณฑบาต ตั้งแต่บริเวณบนวัดบ้านปาง ลงทางบันไดนาคฝั่งตะวันออกของวัดบ้านปาง ซึ่งจะเปรียบเสมือนพระพุทธเจ้าเสด็จลงจากสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ ในงานจะ มีนางฟ้าโปรยดอกไม้ทิพย์ เพื่อเป็นการต้อนรับพระพุทธเจ้าที่มารับการ บิณฑบาต จากประชาชนที่รอใส่บาตรอยู่บริเวณด้านล่างของบันได เพื่อ เป็นการส่งเสริมและสืบสานขนบธรรมเนียม ประเพณี และวัฒนธรรมอันดี งามของท้องถิ่นให้คงอยู่สืบไป LAMPHUN I SBL บันทึกประเทศไทย

129


ผลิตภัณฑ์ชุมชน กล้วยฉาบป้ามี กรอบ หอม อร่อย หวานก�ำลังดี ผลิตโดยกลุม่ แม่บา้ น หมู่ที่ 5 ต�ำบลศรีวิชัย โดยใช้ผลผลิตของเกษตรกรในชุมชน เหมาะ ส�ำหรับซื้อเป็นของฝาก โดยจะมีวางจ�ำหน่ายตลอดปี แหล่งท่องเที่ยวส�ำคัญ วัดบ้านปาง หมู่ที่ 1 บ้านเกิดครูบาเจ้าศรีวิชัย นักบุญแห่งล้านนา ครูบาเจ้าศรีวิชัย เป็นที่รู้จักกันทั่วไปโดยเฉพาะในเขตล้านนา ว่า เป็น “ตนบุญ” หรือ “นักบุญ” อันมีความหมายเชิงยกย่องว่าเป็นนักบวช ทีม่ คี ณ ุ สมบัตพิ เิ ศษ อาจพบว่ามีการเรียกอีกว่า ครูบาเจ้าศรีวชิ ยั พระครู บาเจ้าศรีวิชัย ครูบาศีลธรรม หรือ ทุเจ้าสิริ พิพิธภัณฑ์ครูบาเจ้าศรีวิชัย เป็นศูนย์รวมจิตใจของชาวต�ำบลศรีวิชัย เนื่องจากวัดบ้านปาง เป็นสถานที่เกิดของครูบาเจ้าศรีวิชัย นักบุญแห่งล้านนา ซึ่งชั้นบนของ พิพิธภัณฑ์จะมีหุ่นขี้ผึ้งของครูบาเจ้าศรีวิชัย ส่วนชั้นล่างมีเครื่องอัฐ บริขาร และของใช้ต่าง ๆ ของครูบาเจ้าศรีวิชัยตอนที่ท่านยังมีชีวิตอยู่ เช่น รถยนต์ที่ใช้ขึ้นดอยสุเทพ เตียงนอน และเครื่องใช้อื่น ๆ จัดแสดง ไว้ให้ผทู้ ไี่ ปสักการะกราบไหว้ครูบาเจ้าศรีวชิ ยั ได้ชม ดังนัน้ เพือ่ เป็นการ เชิดชูคุณธรรม ความดีงาม และเป็นแบบอย่างในการพัฒนา จึงน�ำรูป พิพิธภัณฑ์มาเป็นสัญลักษณ์ดวงตราของเทศบาลต�ำบลศรีวิชัย

130

SBL บันทึกประเทศไทย I LAMPHUN


การเกษตรกรรม ประชากรส่ ว นใหญ่ ร ้ อ ยละ 80 ประกอบอาชี พ เกษตรกรรม มี พื้ น ที่ เพราะปลูก 8,560 ไร่ และ ปลูกหอมแดง กระเทียม ข้าว ข้าวโพด ส�ำหรับผลผลิต ล�ำไยออกเป็นประจ�ำทุกปี

LAMPHUN I SBL บันทึกประเทศไทย

131


WO R K L I F E

บันทึกเส้นทางพบเทศบาลตำ�บล

นายอัครเดช คัมภีระมนต์ นายกเทศมนตรีตำ�บลป่าไผ่

เทศบาลตำ�บลป่าไผ่ “ต�ำบลในหลวงเสด็จ ถิ่นเศรษฐกิจ ก้าวหน้า การศึกษามีมาตรฐาน ยึดมั่นหลักธรรมาภิบาล สืบสาน ต�ำนานครูบาอภิชัยขาวปี อนุรักษ์ประเพณีและภูมิปัญญา มุ่งพัฒนาคุณภาพชีวิตอย่างยั่งยืน” คือ วิสัยทัศน์ของเทศบาลต�ำบลป่าไผ่

132

SBL บันทึกประเทศไทย I LAMPHUN

ประวัติเทศบาลต�ำบลป่าไผ่ เทศบาลต�ำบลป่าไผ่ ได้รับการยกฐานะจากองค์การบริหารส่วนต�ำบล ป่าไผ่ เมือ่ วันที่ 6 กันยายน 2556 มีการเลือกตัง้ นายกเทศมนตรี และสมาชิก สภาเทศบาลต�ำบลป่าไผ่ เมื่อวันที่ 20 ตุลาคม 2556โดยแบ่งเขตการเลือก ตั้งออกเป็น 2 เขต ข้อมูลทั่วไป ต�ำบลป่าไผ่ มีพนื้ ทีท่ งั้ หมด จ�ำนวน 150.376 ตร.กม. ครอบคลุม จ�ำนวน 12 หมูบ่ า้ น แบ่งเป็นพืน้ ทีท่ ำ� การเกษตร 29,193 ไร่ พืน้ ทีท่ อี่ ยูอ่ าศัย 7,448 ไร่ ที่เหลือเป็นที่สาธารณะ ต�ำบลป่าไผ่แบ่งพื้นที่เขตรับผิดชอบ จ�ำนวน 12 หมู่บ้าน ประชากร เทศบาลต�ำบลป่าไผ่มจี ำ� นวนครัวเรือนทัง้ หมด 3,319 ครัวเรือน และมีจำ� นวน ประชากรทั้งหมด 9,399 คน แยกเป็นชาย 4,731 คน หญิง 4,668 คน ก�ำเนิดมะม่วง มหาชนก สวนวังน�้ำลี้ ต�ำบลป่าไผ่ อ�ำเภอลี้ จังหวัดล�ำพูน เมื่อวันที่ 16 มีนาคม 2535 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรม นาถบพิตร และ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ทรงเสด็จ พระราชด�ำเนิน ด้วยเครื่องบินเฮลิคอปเตอร์พระที่นั่ง ลง ณ สนามโรงเรียน ชุมชนบ้านป่าไผ่ ต�ำบลป่าไผ่ อ�ำเภอลี้ จังหวัดล�ำพูน โดยมีข้าราชการก�ำนัน ผูใ้ หญ่บา้ น ราษฎรต�ำบลป่าไผ่เข้า เฝ้ารับเสด็จอย่างมากมาย ทัง้ สองพระองค์ ทรงมีพระราชปฏิสัณฐานสอบถามความต้องการของราษฎร พร้อมกับ พระราชทานสิ่งของ และทรงงานพื้นที่ก่อสร้างอ่างเก็บน�้ำพระราชด�ำริห้วย แม่ป่าไผ่ ตามหนังสือถวายฎีกาของ ราษฎรต�ำบลป่าไผ่ที่มีความเดือดร้อน ขาดแคลนน�้ำ ส�ำหรับการท�ำการเกษตร โดยการน�ำของ นายอ�ำนวย เมืองใจ ก�ำนันต�ำบลป่าไผ่ในขณะนั้น ผ่านทางคุณเดช ทิวทอง พระสหายในพระองค์


งานเทศกาลวันมะม่วงมหาชนกของดีอ�ำเภอลี้ หลังจากได้ทรงงานยังพืน้ ทีก่ อ่ สร้าง อ่างเก็บน�ำ้ แล้วได้เสด็จเป็นการส่วน พระองค์ เยีย่ มชม สวนวังน�ำ้ ลี้ และสวนทิวทอง คุณเดช ทิวทอง ผูค้ น้ พบ มะม่วงสายพันธุ์ใหม่ ซึ่งเกิดจากการผสมสายพันธุ์ ระหว่างมะม่วงพันธุ์ หนังกลางวัน และ พันธุซ์ นั เซ็ท โดยมีลกั ษณะเด่น ผลยาวคล้ายพันธุห์ นัง กลางวัน ผลสุกมีสีเหลืองอมแดงแก้มแหม่ม กลิ่น สี รสชาดคล้ายพันธุ์ ซันเซ็ท ก�ำเนิดสายพันธุท์ สี่ วนทิวทองเป็นแห่งแรก ก่อนจะขยายไปทีอ่ นื่ ๆ จึงทูลขอพระราชทานนามมะม่วงทีค่ น้ พบเพือ่ เป็นสิรมิ งคล ว่า “มหาชนก” ในการนี้ คุณย่าแย้ม ทิวทอง ได้ได้ทูลเกล้าถวายโฉนดที่ดินของสวน ทิ ว ทองด้ า นติ ด ฝั ่ ง สวนวั ง น�้ ำ ลี้ ใกล้ จุ ด ก� ำ เนิ ด ต้ น มะม่ ว งมหาชนก แด่ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และทั้งสองพระองค์ได้ทรงปลูก มะม่วงพันธุ์ มะม่วงสามปี ในที่ดินแปลงนี้ด้วย จุดก�ำเนิดมะม่วงพันธุ์ มหาชนกจึงเป็นทรัพย์สินส่วนพระองค์ ในนามสวนวังน�้ำลี้ ตั้งแต่นั้นมา

ประเพณีส�ำคัญ ประเพณีแห่ครัวตานหลวง เป็นประเพณีที่สืบต่อกันมาตั้งแต่สมัยครูบาศรีวิชัยสืบต่อมา ซึ่งในพิธีแห่ ครัวตานหลวงที่งานประเพณีเปลี่ยนผ้าครูบาอภิชัยขาวปีนั้น จะแห่ในวันที่ 3 มีนาคม ของทุกปี เวลา 09.00 น. ซึ่งคณะศรัทธาประชาชนเป็นผู้จัดท�ำ แล้วน�ำมาแห่ถวายวัดร่วมกัน

ประเพณีเปลี่ยนผ้าครูบาอภิชัยขาวปี ในอดีตเมื่อครั้งครูบาอภิชัยชาวปีท่านยังมีชีวิตอยู่ ท่านก็มีพิธีเปลี่ยน ผ้า 2 ครั้ง ต่อ 1 ปี โดยยึดเดือนยี่แรม 1 ค�่ำ เพราะเป็นการเปลี่ยนผ้ากฐิน ซึ่งมีความหมายตอนที่ท่านยังมีชีวิตอยู่ท่านปฏิบัติเช่นนี้เรื่อยมา เมื่อท่าน มรณภาพไป ประเพณีการเปลี่ยนผ้า 1 ปี มี 2 ครั้งยังปฏิบัติอยู่ แต่ภายหลัง ได้ยึดวันมรณภาพ คือ วันที่ 3 มีนาคม 2520 ตรงกับ 6 เป็งเหนือ หรือ เป็นวันมาฆบูชาพอดี จึงยึดเป็นประเพณีเปลี่ยนผ้าครูบาสืบต่อมา ในแต่ละปี ผ้าที่เปลี่ยนแล้วพร้อมอัฐบริขารทุกอย่าง จะน�ำไปบรรจุใน เจดีย์ส�ำคัญต่าง ๆ เพื่อให้คณะศรัทธาในแต่ละที่ได้นมัสการ และบางส่วนก็ มอบให้กับเจ้าภาพในการจัดงานเจดีย์ที่มีอัฐบริขารบรรจุอยู่ เช่น เจดีย์ดงด�ำ อ.ฮอด อ.ดอยเต่า บ้านนาเลี่ยง อ.ลี้ พระธาตุศรีเวียงชัย อ.ลี้ วัดหล่ายแก้ว หนองปู วัดม่วงค�ำ อ.ทุ่งหัวช้าง วัดผาปูน อ.ลี้ วัดแม่หว่าง อ.ลี้ เป็นต้น ส่วนที่ แจกให้ศษิ ยานุศษิ ย์และประชาชนนัน้ จะเป็นส่วนหนึง่ จีวร อังสะ และผ้าปูนอน

ติอต่อเทศบาลต�ำบลป่าไผ่ ตั้งอยู่เลขที่ 9 หมู่ที่ 9 ต�ำบลป่าไผ่ อ�ำเภอลี้ จังหวัดล�ำพูน www.PAPHAI.go.th facebook: เทศบาลต�ำบลป่าไผ่ อ.ลี้ จ.ล�ำพูน โทรศัพท์ 053-096 253 โทรสาร 053 536 062 งานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย โทร 085-695 0748, 053-096 254

LAMPHUN I SBL บันทึกประเทศไทย 133


WO R K L I F E

บันทึกเส้นทางพบเทศบาลตำ�บล

นายเปรมมินทร์ เทพอาจ

รองปลัดเทศบาล รักษาราชการแทน ปลัดเทศบาล ปฏิบัติหน้าที่ นายกเทศมนตรีตำ�บลวังดิน

เทศบาลตำ�บลวังดิน เทศบาลต�ำบลวังดิน ตั้งอยู่เลขที่ 540 ถนนบุญยจิต ต�ำบลลี้ อ�ำเภอลี้ จังหวัดล�ำพูน ห่างจากตัวเมืองล�ำพูนไปทางทิศใต้ประมาณ 105 กิโลเมตร ครอบคลุมพืน้ ทีบ่ างส่วนของต�ำบลลี้ คือหมูท่ ี่ 4 หมูท่ ี่ 6 หมูท่ ี่ 14 และหมูท่ ี่ 15 มีพื้นที่รวมทั้งหมด 55.23 ตร.กม. มีประชากรทั้งหมด 4,496 คน มีจ�ำนวนครัวเรือนทั้งหมด 2,638 คน ซึ่งเทศบาลต�ำบลวังดินมีจ�ำนวน บุคลากรทั้งสิ้น 99 คน เป็นพนักงานเทศบาล 15 คน พนักงานครู เทศบาล 2 คน ลูกจ้างประจ�ำ 7 คน พนักงานจ้างตามภารกิจ 9 คน และพนักงานจ้างเหมาบริการ 66 คน บริหารงานโดย นายเปรมมินทร์ เทพอาจ รองปลัดเทศบาล รักษาราชการแทนปลัดเทศบาล ปฏิบัติหน้าที่ นายกเทศมนตรีต�ำบลวังดิน

134

SBL บันทึกประเทศไทย I LAMPHUN

รางวัลแห่งความภาคภูมิใจ เทศบาลต�ำบลวังดิน ได้รับรางวัลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีการ บริหารจัดการทีด่ ี ประจ�ำปี 2559 “รางวัลที่ 2 (เทศบาลต�ำบลประเภททัว่ ไป)” กลุ่มนวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อมและพลังงานทางเลือก โครงการจัดตั้งศูนย์ เรียนรู้การจัดการสิ่งเหลือใช้ให้เป็นพลังงานทางเลือก โดย ส�ำนักงานปลัด ส�ำนักนายกรัฐมนตรี ส�ำนักงานคณะกรรมการกระจายอ�ำนาจให้แก่องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2560


สถานที่-แหล่งท่องเที่ยวส�ำคัญ อนุสาวรีย์สามครูบา อนุสาวรีย์สามครูบา ตั้งอยู่บริเวณลานกว้างตรงข้ามกับที่ว่าการอ�ำเภอลี้ สร้างขึน้ เพือ่ เฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช เนื่องในโอกาสเจริญพระชนมายุครบ 84 พรรษา และในโอกาสที่สถาปนา อ�ำเภอลี้ ครบ 100 ปี อนุสาวรียส์ ามครูบาประดิษฐานรูปเหมือนครูบา 3 องค์ ประกอบด้วย ครูบาเจ้าศรีวชิ ยั (ถือก�ำเนิดทีต่ ำ� บลศรีวชิ ยั อ�ำเภอลี)้ ครูบาเจ้า อภิชยั ขาวปี ศิษย์เอกของครูบาเจ้าศรีวชิ ยั แห่งวัดพระพุทธบาทผาหนาม และ ครูบาชัยวงศาพัฒนา แห่งวัดพระบาทห้วยต้ม นอกจากนี้ในวันที่ 18-20 เมษายน ของทุกปี เทศบาลต�ำบลวังดินได้ จัดกิจกรรมเปลี่ยนผ้าและสรงน�้ำรูปเหมือนสามครูขึ้น เพื่อเปิดโอกาสให้ พุทธศาสนิกชนทุกท่าน ได้มีโอกาสแสดงออกถึงความกตัญญูกตเวที ต่อคุณ งามความดีทคี่ รูบาทัง้ สามท่านได้ทำ� ไว้แก่ประชาชนชาวลีแ้ ละคนล้านนา โดย มีพิธีบวงสรวงชุมนุมเทวดา ขบวนแห่น�้ำศักดิ์สิทธิ์ และแห่สลุงหลวง แล้วท�ำ พิธีเปลี่ยนผ้ารูปเหมือนสามครูบา และสรงน�้ำอนุสาวรีย์สามครูบาสืบเนื่อง กันมาเป็นประจ�ำ ศาลหลักเมืองลี้ ศาลหลักเมืองลี้ ตั้งอยู่ที่ด้านหลังวัดลี้หลวง ถนนศาลหลักเมือง บ้านลี้ หมู่ที่ 6 ต�ำบลลี้ อ�ำเภอลี้ จังหวัด ศาลหลักเมืองลี้แห่งนี้ เป็นศาลที่มีความ ศักดิ์สิทธิ์และส�ำคัญคู่บ้านคู่เมืองของอ�ำเภอลี้มาแต่สมัยโบราณ โดยมีนาม เรียกว่า “องค์หลักเมืองเวียงลี้” ประดิษฐานพระขันธ์ชัยเทวราช รวม 5 พระองค์ คือ พระเจนเมือง, พระเสื้อเมือง, พระทรงเมือง, เจ้าจองสูง และ เจ้ากลางเวียง LAMPHUN I SBL บันทึกประเทศไทย 135


วัดพระธาตุดวงเดียว วัดพระธาตุดวงเดียว (เวียงเจดีย์) ตั้งอยู่ที่บ้านพระธาตุห้าดวง ม.15 ต.ลี้ อ.ลี้ จ.ล� ำ พู น เป็ นวั ด ขนาดเล็ ก อยู ่ บ นเนิ น ไม่ ไ กลจากตั ว เมื อ งลี้ มากนัก ตามต�ำนานกล่าวว่า พระนางจามรีหนีภยั สงครามจากหลวงพระบาง มาสร้างเมืองลี้ โดยช้างมงคลได้ท�ำกิริยา 5 ประการ แล้วล้มลงขาดใจตาย พระนางฯ จึงสัง่ ให้เผาซากช้างแล้วก่อเจดียค์ รอบไว้ แล้วสร้างเมืองลี้ ณ สถาน ที่แห่งนี้คือ วัดพระธาตุดวงเดียว วัดพระธาตุห้าดวง วัดพระธาตุหา้ ดวง (เวียงเจดียห์ า้ หลัง) ห่างจากทีว่ า่ การอ�ำเภอลีป้ ระมาณ 2 กิโลเมตร ทางด้านซ้ายมือจะถึงวัดพระธาตุดวงเดียวก่อน จากนั้นอีก ประมาณห้าร้อยเมตร ก็จะเห็นซุม้ ประตูโขงขนาดใหญ่ของวัดพระธาตุหา้ ดวง ตัง้ เด่นเป็นสง่าอยูบ่ นเนินเขา ด้านซ้ายมือ มีการประดับกระจกหลายหลากสี ที่ซุ้มประตูอย่างสวยงาม สันนิษฐานว่าเป็นบริเวณเวียงเก่าลี้ เพราะมีซากก�ำแพงและคูเมืองตั้ง เป็นแถว วัดนี้เป็นที่ตั้งของหมู่เจดีย์ 5 องค์ ตามต�ำนานกล่าวว่าพระนางเจ้า จามเทวี กษัตริยค์ รองเมืองหริภญ ุ ไชย ได้ยนิ ข่าวจากราษฎรเมืองลี้ ว่ามีดวงแก้ว 5 ดวง ปรากฏเห็นอยูบ่ อ่ ยครัง้ จึงได้เสด็จมาดูดว้ ยพระองค์เอง เวลากลางคืน จึงได้ทอดพระเนตรเห็นแสงสว่างจากดวงแก้วทั้ง 5 ดวง ลอยอยู่บนกองดิน 5 กอง จึงได้สอบถามความเป็นมาทรงทราบว่า คือพระเมโตธาตุ (น�ำ้ ไคลมือ) ขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าที่เคยล้างพระหัตถ์ และน�้ำก็ไหลผ่าน ปลายนิ้วทั้ง 5 ลงพื้นดิน พระนางจึงเกิดศรัทธาสร้างพระธาตุเจดีย์ครอบ กองดินทั้ง 5 กองไว้ และในวันที่ 20 เมษายน ของทุกปี จะมีประเพณี สรงน�้ำพระธาตุห้าดวง

136

SBL บันทึกประเทศไทย I LAMPHUN


HISTORY OF BUDDHISM บันทึกเส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต

วัดดอยก้อม วัดดอยก้อม ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 117 หมูท่ ี่ 6 บ้านดอยก้อม ต.บ้านโฮ่ง อ.บ้านโฮ่ง จ.ล�ำพูน ประวัติวัดดอยก้อม

วัดดอยก้อม มีประวัติความเป็นมายาวนาน โดยมีเรื่องเล่าสืบต่อ ๆ กันมาว่า ที่ตั้งวัดแห่งนี้แต่ก่อนเป็นดอยที่ตั้งเป็นเอกเทศมีบริเวณที่ราบ แวดล้อมเป็นบริเวณกว้าง สมัยนั้นมีพระยาจันทร์ (เจ้าพ่อแปดเหลี่ยม) ผู้ครองเวียงหวาย (บริเวณแถววัดพระเจ้าสะเลียมหวาน) ในปัจจุบันนี้ได้ สละสมบัตมิ าบ�ำเพ็ญรักษาศีลภาวนาอยูบ่ นดอยแห่งนี้ ซึง่ ดอยนีม้ ชี อื่ เรียก อีกอย่างหนึ่งว่า “ดอยอุปค�ำ” ต่อมาคนทั้งหลายเรียกชื่อว่า “ดอยก้อม” เพราะมีลักษณะสั้นและอยู่โดดเดี่ยว เชิงดอยทิศตะวันตกมีทางเกวียน ถนนเดินทางเข้าล�ำพูนและไปอ�ำเภอลี้ผ่านมา จึงท�ำให้มีผู้คนเดิน ผ่าน ไปมาและแวะพักบริเวณเชิงดอย นอกจากนั้นเมื่อก่อนยังไม่มีถนนผ่าน เหมือนปัจจุบัน ล้อมรอบบริเวณที่แห่งนี้เป็นที่พักของผู้คนและวัวควาย จึงเรียกจุดนี้ว่า “ปางควาย” ปัจจุบันถนนสายนี้ใช้เป็นถนนพหลโยธิน ผ่านเชียงใหม่–ล�ำพูน-กรุงเทพฯ นอกจากนั้นบนดอยมักมีพระภิกษุ มาปักกลดอยู่เป็นประจ�ำ วันหนึ่งครูบาเจ้าศรีวิชัยนักบุญแห่งล้านนาได้มาพักที่เชิงดอย และได้ ด�ำริวา่ ควรจะสร้างวัดไว้เป็นทีส่ กั การบูชาแก่พทุ ธศาสนิกชนบนดอยแห่งนี้ ประกอบกับบริเวณดอยมีชาวบ้านประชาชนประมาณ 30 หลังคาเรือน

อาศัยอยู่ ครูบาศรีวิชัยจึงได้ก่อสร้างวัดดอยก้อมขึ้น เมื่อ พ.ศ. 2476 ตรงกับเดือน 6 เหนือแรม 13 ค�่ำ วันอังคาร (วันที่ 13 มีนาคม 2476) โดยได้เริ่มก่อสร้างพระธาตุแล้วเสร็จ เมื่อเดือน 7 เหนือขึ้น 15 ค�่ำ จึงได้ มีงานสรงน�้ำพระธาตุเจดีย์ขึ้นตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา ต่อมาได้มีการก่อสร้างวิหาร ศาลา และระเบียงรอบวัด 4 ด้าน สร้างบันไดนาค 4 ด้าน เสร็จเมื่อเดือน 8 เหนือ ขึ้น 12 ค�่ำ วันพุธที่ 25 เมษายน 2477 ได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา เมือ่ ปี พ.ศ.2512 ต่อมา ได้มกี ารพัฒนาและซ่อมแซมเสนาสนะของวัด โดยปี พ.ศ. 2527 เป็นต้นมา ทางวัดได้มีการสร้างศาลาการเปรียญ ศาลาบ�ำเพ็ญบุญ และอนุสาวรีย์ ครูบาเจ้าศรีวิชัยประดิษฐานในวิหารหลังเล็กด้านหน้าวัด เพื่อเป็นที่ สักการะบูชาต่อไป

ท�ำเนียบเจ้าอาวาส

1. พระดวง 2. พระผัด 3. พระอุ่น 4. พระจันทร์ จนฺทสีโล 5. พระมหาสุพรรณ ธีรธมฺโม 6. พระอธิการบุญฝ้าย ภททฺจารี 7. พระครูบรรพตพัฒนานุยุต

พ.ศ.2478 พ.ศ.2487 พ.ศ.2488- 2495 พ.ศ.2503-2504 พ.ศ.2505-2513 พ.ศ.2514-2522 พ.ศ.2536 – ปัจจุบัน

LAMPHUN I SBL บันทึกประเทศไทย

137


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต

วัดหลวงศรีเตี้ย “วัดหลวงศรีเตี้ยเก่าแก่ น�้ำมันมนต์ครูบาขลัง สรินฺโทเกจิดัง ศีลธรรมน้อมน�ำชุมชน”

คือ ค�ำขวัญวัดหลวงศรีเตีย้ ซึง่ ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 129 หมู่ 7 ต�ำบลศรีเตีย้ อ�ำเภอบ้านโฮ่ง จังหวัดล�ำพูน ปัจจุบนั มี พระครูกลั ยาณธรรมนิวฐิ หรือ ท่านครูบาเสาร์ค�ำ ถาวโร เป็นเจ้าอาวาสวัด และเจ้าคณะต�ำบลศรีเตี้ย

ประวัติวัดหลวงศรีเตี้ย

วัดหลวงศรีเตี้ย เป็นวัดที่เก่าแก่ที่สุดในต�ำบลศรีเตี้ย คาดว่าจะมีอายุ ถึง 1,000 ปี เนื่องจากต�ำนานวัดพระธาตุดอยน้อยได้กล่าวว่า เคยเป็น สถานทีศ่ กึ ษาอักษรรามัญในสมัยของพระนางเจ้าจามเทวี และตามค�ำบอก เล่าที่สืบต่อกันมาหลายชั่วอายุคนกล่าวว่าเป็นวัดที่สร้างขึ้นมาตั้งแต่สมัย พญากอก พญายี กษัตริย์พี่น้องผู้ครองแคว้นเวียงหนองล่อง ซึ่งเป็นสมัย เดียวกันกับยุคของพญาจันทร์(เจ้าพ่อแปดเหลี่ยม) กษัตริย์ผู้ครองแคว้น เวียงหวาย หรืออ�ำเภอบ้านโฮ่งในปัจจุบัน วัดหลวงศรีเตี้ยได้เจริญรุ่งเรือง ขึ้นมาตามล�ำดับ จนกระทั่งในสมัยที่พม่าเข้ามายึดครองหัวเมืองล้านนา ชาวบ้านจึงได้พากันทิ้งบ้านเรือนหนีไปอยู่ที่อื่น วัดจึงร้างในที่สุด เมื่อ พระเจ้ากาวิละสามารถกอบกูล้ า้ นนาคืนจากพม่าได้ในปี พ.ศ. 2317 ชาว บ้านจึงพากันกลับมาอาศัยยังสถานทีเ่ ดิม และบูรณะสร้างวัดขึน้ อีกครัง้ ใน ปี พ.ศ. 2319 แต่พอสร้างได้ไม่ถงึ 10 ปี ก็รา้ งไปอีกครัง้ จนกระทัง่ ปี พ.ศ. 2337 ครูบาเจ้าถาวร ถาวรธมฺโม จากวัดต�ำหนักสวนขวัญ(ข้างสนามบิน เชียงใหม่) ซึ่งท่านเป็นพระที่เก่งกาจมากในเรื่องวิทยาอาคม เรียนรู้ธรรม จนแตกฉาน จึงได้รับการยกย่องและแต่งตั้งจากเจ้าหลวงผู้ครองนครให้

138

SBL บันทึกประเทศไทย I LAMPHUN

เป็นถึงต�ำแหน่งราชครู แต่ท่านไม่ได้สนใจในลาภยศสรรเสริญ จึงได้พา ญาติโยมหนีไกลมาบุกเบิกวัดร้างดังกล่าวอีกครั้ง และได้ตั้งชื่อวัดแห่งนี้ ว่าวัดหลวงศรีเตี้ย เนื่องจากบริเวณใกล้กับวัดมีต้นโพธิ์(ภาษาเหนือเรียก ต้นสะหรีหรือต้นศรี)ต้นหนึ่งที่มีลักษณะใหญ่โตแต่ล�ำต้นต�่ำ กิ่งก้านแผ่ จรดถึงพื้นดิน จึงเป็นที่มาของชื่อ ศรีเตี้ย (โพธิ์เตี้ย) ประกอบกับวัดแห่งนี้ สร้างขึน้ มาเป็นวัดแห่งแรกและมีเพียงวัดเดียวในละแวกนี้ ชาวบ้านหลาย หมู่บ้านจึงพากันมาท�ำบุญกันเป็นจ�ำนวนมาก และเรียกชื่อวัดติดปากกัน ว่า วัดหลวง หรือวัดหลวงศรีเตี้ย มาจนถึงปัจจุบัน


วัดหลวงศรีเตีย้ ได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมาอย่างเป็นทางการเมือ่ ปี พ.ศ. 2402 มีเจ้าอาวาสสืบต่อกันมาหลายรูป มีความเจริญรุ่งเรืองและมี ชือ่ เสียงอย่างยิง่ ในสมัยทีห่ ลวงปูค่ รูบาสุรนิ ทร์ สุรนิ โฺ ท (พระครูวมิ ลศรีลาภรณ์) เป็ น เจ้ า อาวาส ท่ า นเป็ น พระที่ ป ฏิ บั ติ ดี ป ฏิ บั ติ ช อบ มี ภู มิ ธ รรมสู ง และมีความเชี่ยวชาญในเรื่องคาถาอาคมต่างๆ โดยเฉพาะพิธีการหุง น�้ำมันมนต์ซึ่งเป็นน�้ำมันที่สกัดจากงาด�ำบริสุทธิ์ เป็นมรดกสืบทอดมา ตั้งแต่สมัยเจ้าอาวาสรูปแรก มีผู้น�ำไปใช้แล้วได้ผลทั้งเรื่องการรักษาโรค และเมตตามหานิยมป้องกันเภทภัยต่างๆ นอกจากนี้ท่านยังได้พัฒนา วัดหลายด้านทั้ง การสร้างวิหาร ศาลาการเปรียญ พระธาตุเจดีย์ กุฏิ พระอุโบสถ สร้างโรงเรียนบ้านศรีเตี้ย และจัดตั้งส�ำนักเรียนพระปริยัติ ธรรมวัดหลวงศรีเตี้ย เป็นต้น ด้วยเหตุนี้จึงมีลูกศิษย์ลูกหาจากทั่วสารทิศ หลั่งไหลมากราบขอพรและฝากตัวเป็นลูกศิษย์กับท่านอย่างไม่ขาดสาย จนกระทั่งท่านได้มรณภาพลงในปี พ.ศ. 2532 ทางวัดจึงได้มีการสร้าง อนุสาวรียแ์ ละพิพธิ ภัณฑ์ของท่านขึน้ ภายในวัด สามารถมากราบสักการะ เยี่ยมชมได้ทุกวัน ปัจจุบนั วัดหลวงศรีเตีย้ มีทา่ นครูบาเสาร์คำ� ถาวโร (พระครูกลั ยาณธรรมนิวฐิ ) ผู้เป็นศิษย์เอกของหลวงปู่ครูบาสุรินทร์ สุรินฺโท เป็นเจ้าอาวาสสืบต่อมา ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2532 ท่านเป็นพระปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ เจริญรอยตามวัตร ปฏิบัติของหลวงปู่ครูบาสุรินทร์ สุรินฺโท ทุกประการ เป็นผู้สืบทอดต�ำรา การหุงน�้ำมันมนต์เพียงหนึ่งเดียวในล้านนา มีความเชี่ยวชาญในการสวด มนต์ อักขระพื้นเมือง และคาถาอาคมต่างๆ ท่านได้พัฒนาวัดในหลาย ด้าน ทัง้ การสร้างศาลาปฏิบตั ธิ รรม ศาลาการเปรียญ หอระฆัง พิพธิ ภัณฑ์ เป็นต้น นอกจากนี้ท่านยังเป็น ผู้ส่งเสริมมอบทุนการศึกษาแก่พระภิกษุ สามเณรและเด็กนักเรียนในเขตต�ำบลศรีเตีย้ และใกล้เคียงเป็นประจ�ำทุกปี ตลอดจนการสงเคราะห์ช่วยเหลือชุมชนและผู้ยากไร้ ท่านได้พัฒนาวัดให้ เป็นศูนย์กลางในการปฏิบัติธรรมวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน 4 มีอุบาสกอุบาสิกานักปฏิบัติธรรมมาปฏิบัติธรรมที่วัดหลวงศรีเตี้ยเป็น จ�ำนวนมากตลอดทั้งปี จนได้รับแต่งตั้งจากมหาเถรสมาคมให้เป็นส�ำนัก ปฏิบัติธรรมประจ�ำจังหวัดล�ำพูนแห่งที่ 7 จึงนับได้ว่าเป็นท่านครูบาเสาร์ ค�ำ ถาวโร เป็นพระเกจิอาจารย์ที่มีชื่อเสียงอีกรูปหนึ่งของจังหวัดล�ำพูน

ล�ำดับเจ้าอาวาส

1. ครูบาถาวร ถาวรธมฺโม พ.ศ.2337-2415 2. ครูบานันติ นนฺทิโย พ.ศ.2415-2426 3. ครูบาปัญญา ปญฺญาวโร พ.ศ.2426-2432 4. พระอธิการค�ำอ้าย อริยวํโส พ.ศ.2432-2435 5. พระอธิการจักร์ อินฺทจกฺโก พ.ศ.2435-2440 6. ครูบาค�ำปัน มหาวณฺโณ พ.ศ.2440-2445 7. พระอธิการเกี๋ยง ฐานวโร พ.ศ.2445-2448 8. พระอธิการสุภา สุภาจาโร พ.ศ.2448-2450 9. ครูบาตุ้ย ญาณวิชโย พ.ศ.2450-2467 10. ครูบาเฮือน สิริวิชโย พ.ศ.2467-2468 11. พระอธิการวงศ์ ชินฺวํโส พ.ศ.2468-2470 12. พระครูวิมลศรีลาภรณ์ (ครูบาสุรินทร์ สิรินฺโท) พ.ศ.2472-2532 13. พระครูกลั ยาณธรรมนิวฐิ (ครูบาเสาร์คำ� ถาวโร) พ.ศ.2532- ปัจจุบัน

ร่วมสร้างเส้นทางบุญ

ท่านครูบาเสาร์ค�ำ ถาวโร ก�ำลังมีโครงการที่จะพัฒนาวัดวาอารามใน หลายด้าน ได้แก่ การก่อสร้างศาลาปฏิบัติธรรม การบูรณะพระอุโบสถ การบูรณะกุฏิไม้สัก การบูรณะหอธรรมและการปรับปรุงภูมิทัศน์ ซึ่งยัง ขาดปัจจัยในการด�ำเนินการดังกล่าวอีกจ�ำนวนมาก ท่านสาธุชนผู้มีจิต ศรัทธาสามารถร่วมสร้างเส้นทางบุญกับวัดหลวงศรีเตีย้ ได้ โดยติดต่อได้ที่ โทร 053-578-313 , 081-883-1147 LAMPHUN I SBL บันทึกประเทศไทย

139


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต

วัดหนองผาขาว วัดหนองผาขาว ตั้งอยู่ ณ หมู่บ้านหนองผ้าขาว เลขที่ 234 ม.5 ต.น�้ำดิบ อ.ป่าซาง จ.ล�ำพูน 51120 สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ปัจจุบนั มี พระครูสถิตสารคุณ เป็นเจ้าอาวาส ประวัติวัดหนองผาขาว

วัดหนองผาขาว สร้างขึน้ เมือ่ ประมาณ พ.ศ.2460 ตามหนังสือประวัติ วัดทั่วราชอาณาจักร ของกรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ กล่าวไว้ ว่า สมัยทีพ่ ระนางจามเทวีปฐมกษัตรียผ์ คู้ รองนครหริภญ ุ ชัยอยู่ ได้มรี บั สัง่ ให้ข้าราชการไปเอาก้อนหินผาขาวก้อนใหญ่จากทางใต้บรรทุกแพมาตาม ล�ำน�ำ้ แม่ปงิ หวังจะน�ำเข้ามาสูน่ ครหริภญ ุ ชัย แต่เมือ่ แพมาถึงบริเวณทีข่ า้ ง วัดซึง่ แต่กอ่ นสันนิษฐานว่าเป็นแม่นำ�้ ปิง แพได้เกิดล่มท�ำให้หนิ ผาขาวก้อน นั้นได้ตกจมลงน�้ำ และไม่สามารถจะน�ำขึ้นมาได้ และเมื่อเวลาผ่านไปแม่น�้ำปิงได้เปลี่ยนทางเดิน ท�ำให้ล�ำน�้ำปิงเดิมนี้ เป็นเพียงล�ำธารหนองน�ำ้ เท่านัน้ เมือ่ ถึงฤดูรอ้ นน�ำ้ ในล�ำธารได้แห้งลง ชาว บ้านที่มาตั้งถิ่นฐานอยู่ตามล�ำน�้ำแห่งนี้จึงได้พบก้อนหินสีขาว และชาว บ้านเชือ่ ว่าเป็นหินศักดิส์ ทิ ธิ์ เพราะในวันพระชาวบ้านมักจะประสบกับสิง่ มหัศจรรย์อยู่เสมอ เช่น ได้เห็นแสงสว่างเป็นบริเวณกว้าง ณ บริเวณที่หิน ผาสีขาวตั้งอยู่ บางคืนก็จะได้ยินเสียงคล้ายกับน�้ำกระทบฝั่ง หรือใครเอา

140

SBL บันทึกประเทศไทย I LAMPHUN

อะไรใหญ่ ๆ โยนลงไปในน�้ำจนเกิดเสียงดังก้องไปไกล ณ บริเวณล�ำน�้ำที่ มีหนิ ผาสีขาวตัง้ อยู่ ดังนัน้ ชาวบ้านจึงได้พร้อมใจกันสร้างวัดขึน้ ณ บริเวณ ข้างฝัง่ หนองน�ำ้ แห่งนี้ และให้นามวัดแห่งนีว้ า่ “ วัดหนองผาขาว ” แต่เมือ่ มี การตัง้ หมูบ่ า้ นกลับเรียกเพีย้ นจาก “ ผา ” เป็น “ ผ้า ” “ดังปรากฏชือ่ หมูบ่ า้ น ว่า “ หนองผ้าขาว ” ดังกล่าว แต่ชอื่ วัดก็ยงั ใช้ชอื่ เดิมว่า “ วัดหนองผาขาว ” ตามประวัติเดิมของการตั้งวัด อาคารเสนาสนะภายในวัดประกอบด้วย เจดีย์ โบสถ์ วิหาร กุฏิสงฆ์ ศาลาการเปรียญ ศาลาบาตร โรงครัว เวจกุฏิ เป็นต้น

ประวัติพระเจดีย์ธาตุวัดหนองผาขาว

พระเจดีย์ธาตุวัดหนองผาขาว ได้สร้างขึ้นครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2481 โดยมีพระอธิการจัน่ ตา จนฺทโขโต เจ้าอาวาสในขณะนัน้ เป็นประธานฝ่าย สงฆ์ มีแม่อยุ้ ตุด้ หยุมปัญญา เป็นประธานอุปถัมภ์ในการก่อสร้างจนแล้ว เสร็จ ในกาลต่อมาเมื่อประมาณปี พ.ศ. 2516 ได้เกิดอุทกภัยครั้งใหญ่


ขึ้นทั่วอาณาบริเวณ วัดหนองผาขาวก็ได้รับความเสียหายในครั้งนี้ด้วย โดยก�ำแพงวัดถูกน�้ำพัดจนพังไปหลายเมตร ฐานพระเจดีย์ธาตุก็ถูกน�้ำ กัดเซาะจนทรุดท�ำให้พระเจดีย์ธาตุเอียงไปทางทิศตะวันตก แต่ด้วยเหตุ ว่าชาวบ้านในหมู่บ้านมีฐานะค่อนข้างยากจน จึงไม่มีก�ำลังในการจะบูรณ ปฏิสังขรณ์พระเจดีย์ธาตุให้มีสภาพดังเดิมได้ ต่อมาเมื่อปี พ.ศ.2532 พระอธิการณรงศักดิ์ ฐิตสาโร ปัจจุบัน คือ พระครูสถิตสารคุณ เจ้าอาวาสเป็นประธานสงฆ์ พ่อก�ำนันทองค�ำ ดวงทิพย์ เป็นประธานฝ่ายคฤหัสถ์ มีคุณวรวุฒิ, คุณมารศรี ตรีระนันท์ พร้อมด้วย คณะศรัทธาสาธุชนทั้งหลายได้ท�ำการก่อสร้างพระเจดีย์ธาตุขึ้นใหม่ โดยสร้างครอบองค์เดิมไว้ภายใน โดยเจ้าอาวาสพร้อมด้วยคณะศรัทธา บ้านหนองผ้าขาวได้พร้อมใจกันไปขอแบ่งพระอรหันตธาตุจากพระครุอดุ ม อานนโท ปัจจุบนั คือ พระครูสาธุกจิ จานันท์ เจ้าอาวาสวัดพระธาตุดอยน้อย อ�ำเภอดอยหล่อ เพื่อน้อมอัญเชิญมาบรรจุไว้ในพระธาตุเจดีย์องค์ใหม่นี้ เพื่อเป็นสิริมงคลแก่วัดหนองผาขาวและผู้ที่มากราบไหว้สักการบูชา โดยในวันที่ 15 เมษายน ของทุกปี ซึง่ ตรงกับวันพญาวันในประเพณีป่ี ใหม่เมือง หรือเทศกาลสงกรานต์ ทางวัดจะเปิดโอกาสให้ศรัทธาประชาชน ภายในหมูบ่ า้ นและโดยทัว่ ไปได้สรงน�ำ้ พระธาตุเจดียอ์ งค์นี้ พร้อมพระพุทธ รูปส�ำคัญของวัด เช่น พระเสตังคศิลา (หลวงพ่อผาขาว) พระเสตังคมณี ศรีป่าซาง (พระแก้วขาว) เป็นต้น

ประวัติพระเสตังคศิลา ( หลวงพ่อผาขาว)

พระเสตังคสิลา (หลวงพ่อผาขาว) สร้างขึ้นเมื่อ ปี พ.ศ. 2542 เป็น พระพุทธรูปลักษณะศิลปะเชียงแสนสิงห์หนึง่ เกศบัวตูม สร้างจากหินสีขาว (หยกขาว) หน้าตักกว้าง 25 นิ้ว สูงประมาณ 29 นิ้ว โดยทางวัดและชาว บ้านหนองผ้าขาว และศรัทธาโดยทั่วไปได้ร่วมใจกันบริจาคทรัพย์ตาม ก�ำลังศรัทธาของตนเพือ่ สร้างพระพุทธรุปนีข้ นึ้ มาด้วยความเต็มใจอย่างยิง่ วัตถุประสงค์ของการสร้างนอกเหนือจากเพื่อเป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจกราบ ไหว้ สั ก การบูช าน้อ มร�ำลึกเป็น พุทธานุส ติแล้ว ยังมีวัต ถุประสงค์อีก 2 ประการ คือ 1. เพื่อเป็นสัญลักษณ์นามของวัดว่า “ วัดหนองผาขาว ” ตามต�ำนาน ประวัติการสร้างวัดและการตั้งนามวัด 2. เพื่อถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา ภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 ในโอกาสทรงเจริญพระชนมายุครบ 6 รอบ 72 พรรษา

ประวัติพระเสตังคมณีศรีป่าซาง ( พระแก้วขาว)

พระเสตังคมณีศรีป่าซาง (พระแก้วขาว) สร้างขึ้นเมื่อปีพ.ศ. 2554 เป็นพระพุทธรูปลักษณะศิลปะเชียงแสนเกศบัวตูม สร้างจากหินรัตนชาติ ( แก้วจุย่ เจีย ) หน้าตักกว้างประมาณ 6 นิว้ ครึง่ สูงประมาณ 9 นิว้ ( เฉพาะ องค์พระไม่รวมฐาน ) ทรงเครื่องท�ำด้วยเงินชุบทอง ประดับด้วยพลอย นพเก้า โดยมีคณ ุ ยายบุญมี จันกุนะ พร้อมด้วยบุตรธิดา เป็นเจ้าภาพสร้าง องค์พระ คณะศรัทธาประชาชนบ้านหนองผ้าขาว และศรัทธาประชาชน ทั่วไป ร่วมบริจาคทรัพย์สร้างเครื่องทรง และคุณโยมพรสักดิ์ ศรีวรรณา

เป็นช่างท�ำเครื่องประดับพลอยนพเก้าโดยไม่คิดค่าแรง ประดิษฐาน ในมณฑปท�ำจากไม้สักทองปั้นลายปิดทองค�ำเปลว ประดับด้วยกระจก พลอยนพเก้า แก้วโป่งขาม โดยช่างนิวตั ร (แปงค�ำเปลว) โดยมีวตั ถุประสงค์ ในการสร้าง 2 ประการ คือ 1. เพือ่ เป็นทีย่ ดึ เหนีย่ วจิตใจกราบไหว้สกั การบูชาน้อมร�ำลึกเป็นพุทธ านุสติ 2. เพื่อถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา ภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 ในโอกาสทรงเจริญพระชนมายุครบ 7 รอบ 84 พรรษา ดังนั้น พระเสตังคศิลา (หลวงพ่อผาขาว) และ พระเสตังคมณี ศรีป่าซาง (พระแก้วขาว) ทั้ง 2 องค์นี้ จึงเป็นดั่งศูนย์รวมดวงใจและ พลังความสามัคคีของศรัทธาประชาชนในหมู่บ้านหนองผ้าขาว และ พุทธศาสนิกชนโดยทั่วไป ที่มีความเคารพนับถือ จงรักภักดี มีศรัทธา อุทิศตนเพื่อพระพุทธศาสนาและองค์พระมหากษัตริย์ ที่ถือเป็นหลักชัย คอยปกเกล้าคุ้มเกศของประชาชนและประเทศชาติบ้านเมือง ให้ได้อยู่ อย่างสันติสขุ ร่มเย็นมาตัง้ แต่บรรพชนในอดีตมาถึงเราท่านในปัจจุบนั และ สืบสานถึงลูกหลานของเราในอนาคตตราบนานเท่านาน LAMPHUN I SBL บันทึกประเทศไทย

141


WO R K L I F E

บันทึกเส้นทางพบเทศบาลตำ�บล

นายสมบัติ ณ วรรณไทย นายกเทศมนตรีตำ�บลศรีเตี้ย

เทศบาลตำ�บลศรีเตี้ย “ต�ำบลการจัดสวัสดิการชุมชน อย่างทั่วถึงมีประสิทธิภาพ สิ่งแวดล้อม ชุมชนน่าอยู่ ประชาชนมีคุณภาพชีวิตดี อย่างยั่งยืน” คือวิสัยทัศน์ของเทศบาลต�ำบลศรีเตี้ย เลขที่ 279 หมู่ 3 ต�ำบลศรีเตี้ย อ�ำเภอบ้านโฮ่ง จังหวัดล�ำพูน ปัจจุบนั มี นายสมบัติ ณ วรรณไทย ด�ำรงต�ำแหน่ง นายกเทศมนตรี ต�ำบลศรีเตี้ย ต�ำบลศรีเตีย้ เป็นหนึง่ ในอ�ำเภอบ้านโฮ่ง ซึง่ มีกจิ กรรมทีโ่ ดดเด่น มีแหล่ง ท่องเที่ยวที่ส�ำคัญทางวัฒนธรรม น่าสนใจ มากมายดังนี้

142

SBL บันทึกประเทศไทย I LAMPHUN

กิจกรรม/โครงการที่ส�ำคัญภายในต�ำบลศรีเตี้ย โครงการเมืองเป็นมิตรกับผู้สูงอายุ Age-friendly Cities เมืองทีเ่ ป็นมิตรกับผูส้ งู อายุ เป็นการเตรียมการเพือ่ รองรับสังคมผูส้ งู อายุ เพราะการเปลีย่ นแปลงสิง่ แวดล้อมทางกายภาพและสังคม ส่งผลกระทบต่อ ชีวติ ความเป็นอยูแ่ ละสุขภาพของประชาชนโดยเฉพาะวัยผูส้ งู อายุโดยปรับ สภาพแวดล้อมให้เอือ้ ต่อกีมสี ขุ ภาพดี ส่งเสริมให้ผสู้ งู อายุมอี ายุยนื ยาวและ มีคุณภาพชีวิตที่ดีสามารถเข้าถึงบริการทางสังคมและบริการทางสุขภาพ ที่มีคุณภาพอย่างทั่วถึงด้วยการ ปรับปรุงสภาพแวดล้อมของผู้สูงอายุให้ เหมาะสมและปลอดภัย โดยได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากศูนย์ พัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุ (บ้านธรรมปกรณ์เชียงใหม่) และ ส�ำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดล�ำพูนขับเคลื่อน ภารกิจในพื้นที่


ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพชุมชนต�ำบลศรีเตี้ย ต�ำบลศรีเตี้ยเป็นต�ำบลผู้สูงอายุเนื่องจากมีจ�ำนวนของผู้สูงอายุมาก ถึงร้อยละ 23 ของจ�ำนวนประชากรทั้งหมด และจากการส�ำรวจและจัด เก็บคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในต�ำบลก็พบว่าร้อยละ 50 มีอาการปวด เข่านอกจากนี้ยังมีกลุ่มผู้ป่วยเรื้อรัง กองสาธารณสุขและสิง่ แวดล้อมเทศบาลต�ำบลศรีเตีย้ จึงเห็นควรให้มี การจัดตัง้ ศูนย์ฟน้ื ฟูสมรรถภาพชุมชนขึน้ ภายในชุมชน โดยให้องค์กรภาค ประชาชนเป็น ผู้บริหารจัดการ เพื่อให้ประชาชนที่มีความจ�ำเป็นที่ต้อง ได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพสามารถเข้าถึงการบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ได้โดยง่าย และได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพได้ต่อเนื่อง

โครงการดงมะปินหวานกินอยู่รู้ค่า เพิ่มป่าในบ้าน ให้ลูกหลานอยู่เย็น เป็นสุข กิจกรรม “ลดเมืองร้อน ด้วยมือเรา” ถือเป็นหนึ่งในกิจกรรมภายใต้ โครงการโตโยต้าเมืองสีเขียว ที่ได้ด�ำเนินงานอย่างต่อเนื่องมาเป็นเวลากว่า 12 ปี จากความร่วมมือระหว่าง บริษัท โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย จ�ำกัด และมูลนิธสิ ถาบันสิง่ แวดล้อมไทย ทีม่ วี ตั ถุประสงค์เพือ่ ขยายเครือข่ายด้านสิง่ แวดล้อม มีการจัดท�ำแผนงานส่งเข้าประกวด เพือ่ ช่วยสนับสนุนการลดภาวะ โลกร้อนภายในชุมชนของตน โดยชุมชนบ้านดงมะปินหวาน มุ่งเน้นการน�ำ ภูมิปัญญาท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้ในการเพิ่มแหล่งอาหาร ลดขยะ และสร้าง รายได้

LAMPHUN I SBL บันทึกประเทศไทย 143


แหล่งท่องเที่ยวที่ส�ำคัญทางวัฒนธรรม ทางรถไฟสายประวัติศาตร์ (สายเก่า) นับตั้งแต่ ปี พ.ศ.2447 เป็นต้นมา ภายหลังที่รัฐบาลสยาม ได้จัดตั้งกรมป่าไม้ขึ้นและโอนกิจการท�ำไม้ให้เป็นของรัฐบาล การ ขอสัมปทานไม้ต่าง ๆ จากบริษัทต่างชาติจึงต้องขออนุญาตจาก รัฐบาลกลางเพียงแห่งเดียวเท่านั้น บริษัทบอมเบย์เบอร์ม่า ได้ขอ อนุญาตสัมปทานท�ำไม้ในเขตภาคเหนือ โดยเฉพาะในพืน้ ทีจ่ งั หวัด ล�ำพูนทั้งหมด

วัดดอยหลังถ�้ำ ตั้งอยู่เลขที่ 193 หมู่ที่ 6 บ้านศรีเจริญ ต�ำบลศรีเตี้ย อ�ำเภอบ้านโฮ่ง จังหวัดล�ำพูน ในอดีตครูบาอาจาย์เคยมาปฏิบัติธรรมเป็นประจ�ำทุกปี นับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2467 เป็นต้นมา มีท่านครูบาปั๋นแก้ว ธมฺมปญฺโญ วัดปทุมสราราม (วัดสัน ปูเลย) เป็นหัวหน้าคณะ ประกอบด้วย ครูบาเฮือน สิริวิชฺโย อดีตเจ้าอาวาส วัดสันเจดีย์ริมปิง ครูบาสุรินทร์ สุรินฺโท อดีตเจ้าอาวาสวัดศรีเตี้ย พร้อมด้วย ศิษย์โยมมาปฏิบัติธรรมเป็นคณะแรก ต่อมาก็มีครูบาอาจาย์มาปฏิบัติธรรม ด้วยหลายรูป จัดให้มีการเข้ารุกมูล เป็นประจ�ำทุกปี มีประเพณีฟังธรรม รัตนสูตรในวันเดือนเพ็ญ เหนือ เมื่อปี พ.ศ.2501 ครูบาเฮือน สิริวิชโย เป็น ประธานสร้างศาลาขึน้ มา 1 หลัง สร้างพระเจดียบ์ รรจุพระบรมสารีรกิ ธาตุขนึ้ ในเดือนพฤษภาคม ภายหลังครูบาเฮือนก็ถงึ แก่มรณภาพลงในเดือนธันวาคม ของปีนั้น สถานที่นี้ก็เลยรกร้างว่างเปล่า ในช่วงเดือนตุลาคม พ.ศ. 2538 พระอาจาย์สมคิด ปญฺญาวชิโรจากวัด ศรีเตี้ย ได้น�ำคณะศรัทธามาพัฒนา และ ท่านได้จ�ำวัดดอยหลังถ�้ำแห่งนี้มา จวบจนถึงปัจจุบัน

144

SBL บันทึกประเทศไทย I LAMPHUN

วัดปทุมสราราม (วัดสันปูเลย) ตั้งอยู่เลขที่ 62 หมู่ที่ 2 ต�ำบลศรีเตี้ย อ�ำเภอบ้านโฮ่ง จังหวัดล�ำพูน ได้รับอนุญาตตั้งเป็นวัด พ.ศ. 2413 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อ ปี พ.ศ. 2521 ปัจจุบันวัดปทุมสราราม ได้มีกิจกรรมการจัดอบรมการปฏิบัติ ธรรมขึน้ เป็นประจ�ำ โดยมีทา่ นพระอาจาย์สขิ ร จิตตฺ สวโร เจ้าอาวาสวัดปทุมส ราราม องค์ปจั จุบนั เป็นผูฝ้ กึ อบรมให้คณะศรัทธาญาติโยมจากทัว่ ทุกสารทิศ จากหลายแห่งมาปฏิบัติธรรม เฉลี่ยเดือนละ 1 – 3 ครั้ง


ส�ำนักสงฆ์ดอยผาแท่น ตั้ ง อยู ่ บ ้ า นสั น ปู เ ลย หมู ่ ที่ 2 ต� ำ บลศรี เ ตี้ ย อ�ำเภอบ้านโฮ่ง จังหวัดล�ำพูน “ พระพุ ท ธโกมุ ท นวบพิ ต รมิ่ ง มงคล ” ประดิษฐานบนแท่นที่ประทับขององค์สมเด็จพระ ผู้มีพระภาคเจ้า ส�ำนักสงฆ์ดอยผาแท่น ต�ำนานพระเจ้าเลียบโลก กล่าวว่า พระพุทธเจ้า เสด็จมาประทับนัง่ ทีน่ ี่ เรียกว่า “ดอยผาแท่น” ก่อน ทีจ่ ะไปซักผ้าจีวรที่ “วังซักครัว” ริมแม่นำ�้ ปิง แล้วน�ำ ไปตากที่ วัดพระบาทตากผ้า และได้ประทับรอย พระบาทไว้ทนี่ นั่ แล้วกลับมาบรรทมทีว่ ดั พระนอน ม่อนช้าง

วัดพระเจ้าตนเหลวง ตั้งอยู่เลขที่ 228 บ้านหล่ายแก้ว หมู่ที่ 1 ต�ำบลศรีเตี้ย อ�ำเภอ บ้านโฮ่ง จังหวัดล�ำพูน พระเจ้าตนหลวง เป็นพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ส�ำคัญของล้านนา โดยตัง้ ชือ่ ตามลักษณะขององค์พระทีม่ คี วามใหญ่โต ในล้านนาเท่า ที่ทราบมีการเรียกชื่อพระพุทธรูปที่มีความสูงใหญ่ (ตนหลวง) อยู่ เพียงไม่กแี่ ห่ง วัดพระเจ้าตนหลวง ต.ศรีเตีย้ ซึง่ มีพทุ ธลักษณะทีส่ งู ใหญ่ ขนาดหน้าตักกว้าง 7.5 เมตร สูง 9.5 เมตร สันนิษฐานว่า สร้างขึ้นเมื่อ จุลศักราช 728 ตรงกับปี พ.ศ.1909 โดยพระเถระ สิรริ าชวโส เพือ่ หลีกเคราะห์กรรม และ ภัยพิบตั ิ จึงมีฉายานามต่อ มาว่า “พระเจ้าหลีกเคราะห์” อีกชื่อหนึ่ง LAMPHUN I SBL บันทึกประเทศไทย 145


WO R K L I F E

บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนตำ�บล

องค์การบริหารส่วนตำ�บล เหล่ายาว “ แหล่งก�ำเนิดประเพณีแห่แค่หลวง บวงสรวงพระพุทธรูปพันปี มีของดี มะม่วงเขียวมรกต งามสวยสด ดอยสลีเมือง” คือค�ำขวัญต�ำบลเหล่ายาว ซึ่งอยู่ในความดูแลขององค์การบริหารส่วน ต�ำบลเหล่ายาว เลขที่ 117 หมู่ที่ 8 บ้านแพะโป่ง ต�ำบลเหล่ายาว อ�ำเภอ บ้านโฮ่ง จังหวัดล�ำพูน โดยมีระยะห่างจากที่ว่าการอ�ำเภอบ้านโฮ่ง 4 กิโลเมตร ปัจจุบันมี นายวีระพันธ์ วิมลศรี ด�ำรงต�ำแหน่งนายกองค์การบริหาร ส่วนต�ำบลเหล่ายาว มุง่ มัน่ บริหารงานให้บรรลุวสิ ยั ทัศน์การพัฒนาทีว่ า่ “องค์กรทีพ่ ร้อมให้บริการ ยกมาตรฐานคุณภาพชีวติ ผลิตเยาวชนเก่ง กีฬาสู่สากล เตรียมประชาชนเข้าสู่ประชาคมอาเซียน”

146

SBL บันทึกประเทศไทย I LAMPHUN

สภาพเศรษฐกิจ ประชาชนส่วนใหญ่ในต�ำบลเหล่ายาวประกอบอาชีพเกษตรกรรมซึ่ง สามารถสร้างรายได้ให้กบั เกษตรกรตลอดทัง้ ปีพชื เศรษฐกิจทีส่ ำ� คัญของต�ำบล เหล่ายาว คือ ล�ำไย มะม่วง มะม่วงที่ขึ้นชื่อและเป็นต้นต�ำหรับของต�ำบล เหล่ายาว คือ มะม่วงเขียวมรกต ต�ำบลเหล่ายาวมีสถานทีท่ อ่ งเทีย่ วทีส่ ำ� คัญ เช่น หอไตรวัดม่วงโตน หมูท่ ี่ 1 , พระพุทธรูปพันปีและซุม้ ประตูโขง วัดทุง่ โป่ง หมูท่ ี่ 2, โบราณสถานวัดมะคับตอง หมู่ที่ 7, สถานปฏิบัติธรรมดอยสลีเมือง บ้านทุ่งปู่แดง หมู่ที่ 13 เป็นต้น


องค์การบริหารส่วนต�ำบลเหล่ายาว ร่วมกับกระทรวงวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีแห่งประเทศไทย จัดตั้งศูนย์การเรียนรู้ยืดอายุล�ำไยเพื่อการส่งออก เพื่อเป็นศูนย์การเรียนรู้ให้ผู้ประกอบการส่งออกล�ำไยใช้เป็นศูนย์การเรียนรู้ใน กิจกรรมโครงการเด่น การใช้วทิ ยาศาตร์และเทคโนโลยีในการยืดอายุลำ� ไยทีม่ คี ณ ุ ภาพมีความปลอดภัย 1. โครงการพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุและพัฒนาคุณภาพชีวิต และเป็นการช่วยเหลือเกษตรกรชาวสวนล�ำไยแก้ไขปัญหาล�ำไยล้นตลาดด้วยการ ผู้สูงอายุ ผลิตล�ำไยคุณภาพ 2. โครงการแปรรูปผลิตผลทางการเกษตร ติดต่อองค์การบริหารส่วนต�ำบลเหล่ายาว 3. เกียรติบตั รเชิดชูเกียรติ “ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กต�ำบลเหล่ายาว” ได้ผา่ น โทรศัพท์ : 053-980-001 แฟกส์ 053-980-003 การประเมินรับรองมาตรฐานศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กคุณภาพของกรมอนามัย facebook : องค์การบริหารส่วนต�ำบลเหล่ายาว กระทรวงสาธารณสุข ในปีงบประมาณ 2559 LAMPHUN I SBL บันทึกประเทศไทย 147


WO R K LI FE

บันทึกเส้นทางพบนายอำ�เภอ

นางสุพัตรา นิ่มกุล

นายอำ�เภอบ้านธิ จังหวัดลำ�พูน “เมืองคนดี มีศีลธรรม ถิ่นงามไทลื้อ นามระบือไทยองท้องถิ่นคนขยัน มุ่งมั่นพัฒนา สถานศึกษาดีเด่น รวมพลังสามัคคี”

อ�ำเภอบ้านธิ เป็นอ�ำเภอขนาดเล็ก อยู่ทางตอนเหนือสุดของจังหวัดล�ำพูน มีประวัติศาสตร์ที่ยาวนาน มีแหล่ง มรดกทางประวัติศาสตร์โบราณคดีที่น่าสนใจ ทั้งยังมีแหล่งท่องเที่ยวจ�ำนวนไม่น้อยอีกด้วย ข้อมูลทั่วไป อ�ำเภอบ้านธิได้รับการจัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2533 โดยชื่อ “บ้านธิ” ตั้งขึ้นตามล�ำน�้ำแม่ธิที่ไหลผ่านหมู่บ้านต่างๆ ของอ�ำเภอ มีอาณาเขต ดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับอ�ำเภอสันก�ำแพง (จังหวัดเชียงใหม่) ทิศตะวันออก ติดต่อกับอ�ำเภอสันก�ำแพงและอ�ำเภอแม่ออน (จังหวัด เชียงใหม่) ทิศใต้ ติดต่อกับอ�ำเภอเมืองล�ำพูน ทิศตะวันตก ติดต่อกับอ�ำเภอเมืองล�ำพูน อ�ำเภอสารภี และอ�ำเภอ สันก�ำแพง (จังหวัดเชียงใหม่) อ�ำเภอบ้านธิแบ่งพื้นที่การปกครองออกเป็น 2 ต�ำบล 36 หมู่บ้าน

148

SBL บันทึกประเทศไทย I LAMPHUN

มีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 2 แห่ง ได้แก่ เทศบาลต�ำบลบ้านธิ ครอบคลุม พืน้ ทีต่ ำ� บลบ้านธิทงั้ ต�ำบล และองค์การบริหารส่วนต�ำบลห้วยยาบ ครอบคลุม พื้นที่ต�ำบลห้วยยาบทั้งต�ำบล วิสัยทัศน์ “เศรษฐกิจฐานรากมั่นคงและชุมชนพึ่งตนเองได้” อ�ำเภอบ้านธิบรู ณาการความร่วมมือกับทุกภาคส่วน เพือ่ มุง่ ขับเคลือ่ นไปสู่ การปฏิบตั ใิ ห้เกิดประโยชน์ตอ่ ประชาชนอย่างแท้จริง โดยได้ผา่ นกระบวนการ วิเคราะห์ ท�ำให้มีความง่าย ท้าทาย และเป็นไปได้ในการปฏิบัติให้สอดคล้อง กับทิศทางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560


– 2564) ยุทธศาสตร์ของประเทศไทย นโยบายของรัฐบาล สถานการณ์ สภาพแวดล้อมในปัจจุบัน เพื่อให้บุคลากรทุกคนใช้เป็นกรอบทิศทางการ ปฏิบัติงาน โดยสามารถก�ำหนดรูปแบบ น�ำไปประยุกต์สู่การปฏิบัติงานได้ ตามความเหมาะสม พร้อมขับเคลื่อน สัมมาชีพชุมชนเข้มแข็งภายใต้หลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อก้าวไปสู่ “เศรษฐกิจครัวเรือนมีความ มั่นคง ประชาชน ใช้ชีวิตอยู่ในชุมชนอย่างมีความสุข” จุดเด่นและศักยภาพของอ�ำเภอ ประชากรในอ�ำเภอบ้านธิ ประกอบด้วยชาวไทลือ้ ร้อยละ 18 ชาวไทยอง ร้อยละ 60 และชาวไทยวน ร้อยละ 22 เน้นท่องเทีย่ วเชิงเรียนรู้ พักโฮมสเตย์ ชมวิถที อผ้า ทัวร์สวนล�ำไย แหล่งฟาร์มโคนมใหญ่สดุ ในภาคเหนือ พร้อมเปิด ศูนย์แสดงสินค้าและผลิตภัณฑ์ชุมชน อ�ำเภอบ้านธิเป็นชุมชนที่ยังคงอนุรักษ์ ทุนทางวัฒนธรรมไว้ได้อย่างเหนียวแน่น โดยเป็นชุมชนของกลุม่ ชาติพนั ธุ์ ทัง้ ไทลือ้ ไทยอง และไทยวน อันเป็นจุดเด่นและต้นทุนทางวัฒนธรรม ทีส่ ามารถ ต่อยอดและพัฒนาให้เป็นการท่องเทีย่ วเชิงวิถชี วี ติ ทัง้ นีอ้ ำ� เภอบ้านธิมจี ดุ เด่น หลายด้านที่สามารถน�ำมาร้อยเรียงเป็นเรื่องราว พัฒนาและส่งเสริมให้เป็น แหล่งท่องเที่ยว และเป็นจุดหมายปลายทางการท่องเที่ยวของจังหวัดล�ำพูน ได้อีกแห่งหนึ่ง อ�ำเภอบ้านธิจงึ มีนโยบายทีจ่ ะบูรณาการความร่วมมือกับทุกภาคส่วน เพือ่ ร่วมอนุรักษ์ ปรับปรุง พัฒนาและต่อยอด รวมถึงเชื่อมโยงความโดดเด่นด้าน วิถีวัฒนธรรมท้องถิ่นของชุมชน ที่ยังคงร่วมกันรักษาไว้ได้อย่างเข้มแข็ง ซึ่งก็ คือวิถีวัฒนธรรมดั้งเดิม 3 กลุ่มชาติพันธุ์ ได้แก่ ไตลื้อ ไตยอง ไตยวน หรือ “เมืองสามไต” ส�ำหรับการท่องเที่ยวของอ�ำเภอบ้านธิ เป็นการน�ำเสนอสิ่งที่ ชุมชนมีอยูเ่ ป็นจุดขาย เป็นต้นทุนทางวัฒนธรรมทีม่ อี ยูส่ งู ทัง้ ชีวติ ความเป็นอยู่ ของไตลือ้ ไตยอง และไตยวน เน้นการท่องเทีย่ วเชิงเรียนรูพ้ กั โฮมสเตย์กบั ชาว บ้านดูวถิ กี ารทอผ้าทีเ่ ป็นเอกลักษณ์ นอกจากนี้ ยังสามารถเชือ่ มโยงการท่อง เทีย่ วเชิงนวัตวิถเี ข้ากับ วิถีเกษตร ทั้งการท�ำ นา ท�ำสวนล�ำไย และ ฟาร์มโคนม ซึ่งพื้นที่ ต�ำบลห้วยยาบ อ�ำเภอ บ้ า นธิ ถื อ เป็ น แหล่ ง ฟาร์มโคนมทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ในภาคเหนือ

ผลงานที่น่าภาคภูมิใจ อ�ำเภอบ้านธิเป็นอ�ำเภอแรกของประเทศไทย ที่ประกาศเป็น “อ�ำเภอ ปลอดขยะเปียก” เมื่อวันที่ 21 กันยายน 2560 จังหวัดล�ำพูนได้ขยายผลครัวเรือนก�ำจัดขยะเปียกครอบคลุมทุกอ�ำเภอ และได้มีการประกาศอ�ำเภอปลอดขยะเปียกครบทั้ง 8 อ�ำเภอของจังหวัด ล�ำพูนแล้ว โดยจังหวัดล�ำพูนได้ประกาศเป็นจังหวัดปลอดขยะเปียกแห่งแรก ของประเทศ ในวันที่ 3 กันยายน 2560 การขับเคลื่อนโครงการชุมชนท่องเที่ยว “กาดโบสถ” ตลาดท่องเที่ยว เชิงวัฒนธรรม เมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม 2561 บ้านแพะต้นยางงาม หมู่ที่ 11 ต�ำบล บ้านธิ ได้เปิดกาดโบสถ หรือแหล่งจ�ำหน่ายสินค้าชุมชนเป็นครั้งแรก โดยมี ประชาชนทั้งในพื้นที่ และจังหวัดใกล้เคียง ให้ความสนใจและเที่ยมชม ช็อป ชิม แชร์ และจับจ่ายใช้สอยเป็นจ�ำนวนมาก กาดโบสถจึงเป็นแหล่งสร้างรายได้ ให้กบั ชาวบ้าน อีกทัง้ ยังเป็นการสร้างกิจกรรมให้กบั นักท่องเทีย่ ว เพือ่ เตรียม พร้อมสูห่ มูบ่ า้ นท่องเทีย่ วนวัตวิถี โดยกาดโบสถจะจัดทุกวันอาทิตย์ตน้ เดือน สถานที่ท่องเที่ยวส�ำคัญ พระธาตุดอยห้างบาตร ที่ตั้ง ม.8 ต.ห้วยยาบ อ.บ้านธิ พระธาตุดอยเวียง ที่ตั้ง ม.9 ต.บ้านธิ อ.บ้านธิ พระพุทธเฉลิมสิริราช ที่ตั้ง วัดศรีดอนชัย ม.10 ต.บ้านธิ พระธาตุดอยงุ้ม ที่ตั้ง ม.8 ต.ห้วยยาบ อ.บ้านธิ อ่างเก็บน�้ำแม่ธิ ที่ตั้ง ม.9 ต.บ้านธิ จุดชมวิวพระธาตุดอยงุ้ม ม.8 ต.ห้วยยาบ อ.บ้านธิ จ.ล�ำพูน น�้ำตก ห้วยหก ม.9 ต.บ้านธิ อ.บ้านธิ จ.ล�ำพูน น�้ำตกห้วยม่วง ม.16 ต.ห้วยยาบ อ.บ้านธิ จ.ล�ำพูน ผลิตภัณฑ์ขนึ้ ชือ่ ของอ�ำเภอบ้านธิ น�้ ำ ถุ ้ ง เป็ น งานจั ก สานอั น เอกลั ก ษณ์ ข องชาวไตลื้ อ บ้ า นธิ น�้ำถุ้งเป็นภาชนะที่ใช้ตักน�้ำ สาน ด้วยไม้ไผ่ทาด้วยขีย้ า ้ (ชัน) เพือ่ อุด รอยรั่วของการสานน�้ำถุ้ง ถือว่า เป็ น ภู มิ ป ั ญ ญาด้ า นการจั ก สาน ที่สืบทอดกันมาจากรุ่นสู่รุ่น LAMPHUN I SBL บันทึกประเทศไทย 149


WO R K L I F E

บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนตำ�บล

" ไหว้สาพระธาตุ ดอยห้างบาตรเป็นศรี ของดีล�ำไย ผ้าไทยถักทอ ยกยอจักสาน กล่าวขานโคนม ชื่นชมวัฒนธรรม เลิศล�้ำภาษายอง

นายมานพ กาบเปง

นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลห้วยยาบ

นางสาวควรชม ปาลี

ประวัติต�ำบลห้วยยาบ ตามค�ำบอกเล่าของผู้เฒ่าผู้แก่เล่าว่า บรรดาป่าไม้ที่เกิดขึ้นในพื้นที่ นอกจากไม้พันธุ์ต่าง ๆ แล้ว ยังมีไม้อยู่ชนิดหนึ่งเรียกว่า “ไม้ยาบ” หรือ “ปอหยาบ” เป็นไม้ยืนต้นมี ล�ำต้นเรียวยาวคล้ายต้นปอ ไม่มีกิ่งก้านสาขา ประโยชน์คือเอาเปลือกเยื่อใยนอกแกนมาใช้ท�ำเชือกผูกมัดของต่าง ๆ และ เป็นเชือกผูกสัตว์เลี้ยง ซึ่งมีความเหนียวมาก ไม้ยาบจะเจริญเติบโตตาม ล�ำน�้ำห้วยท้องไร่ปลายนา ชาวบ้านจึงเรียกหมู่บ้านที่มีล�ำห้วยไหลผ่านว่า “ห้วยหยาบ” ซึ่งเรียกต่อมาว่า “ห้วยยาบ”

นายบรรดาน ปลามศิลป์

รองนายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลห้วยยาบ

องค์การบริหารส่วนตำ�บล ห้วยยาบ 150

SBL บันทึกประเทศไทย I LAMPHUN

ประวัติ อบต.ห้วยยาบ องค์การบริหารส่วนต�ำบลห้วยยาบ ได้รบั การยกฐานะจากสภาต�ำบล เมือ่ วันที่ 19 มกราคม 2539 โดยมีนายถวิล ปินตาเสน ด�ำรงต�ำแหน่งนายกองค์การ บริหารส่วนต�ำบลห้วยยาบเป็นคนแรก ปัจจุบันมี อาจารย์มานพ กาบเปง ด�ำรงต�ำแหน่ง นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลห้วยยาบ มีรองนายกฯ จ�ำนวน 2 คน ได้แก่ นายบรรดาน ปลามศิลป์ และนางสาวควรชม ปาลี และ มี นายศิรชิ ยั อยูโ่ ต ด�ำรงต�ำแหน่งปลัดองค์การบริหารส่วนต�ำบลห้วยยาบ โดย องค์การบริหารส่วนต�ำบลห้วยยาบมีแนวคิดในการพัฒนาต�ำบล เพือ่ มุง่ สูเ่ ป้า หมายที่ส�ำคัญตามวิสัยทัศน์ของต�ำบลห้วยยาบ คือ “เป็นชุมชนที่เข้มแข็ง โดดเด่นด้านการเกษตร-โคนม น�ำภูมิปัญญา สู่อาเซียน”


2. เกษตรกรดีเด่น นายสุเมธ สุขปรีดาจิตร เมื่อ 50 ปีก่อน นายสุเมธ สุขปรีดาจิตร เริ่มต้นเลี้ยงโคขาวเพื่อใช้งาน ด้านการเกษตร การลากเกวียน ซึง่ โคขาวมีจดุ เด่นทีค่ วามแข็งแรงและทนทาน ต่อ โรคเป็นพิเศษ และเห็นถึงความส�ำคัญว่าเป็นสัตว์มงคลทีส่ ร้างบารมีให้แก่ เจ้าของ มาตั้งแต่อดีต อาทิ ปี 2539 ได้รับโล่เกียรติยศผู้น�ำกลุ่มเลี้ยงสัตว์ดี เด่น(วันพืชมงคล)ระดับประเทศจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ในปี 2545 ได้รบั รางวัลโคขาวสวยงามอับดับหนึง่ ในงานเกษตรแห่งชาติ ปี 2556 จัดถวายพระโคมัน่ -พระโคคง แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั รัชกาล ที่ 9 ปี 2559 ได้รับโล่เกียรติยศผู้เลี้ยงสัตว์ ( โคขาว) ดีเด่น ระดับประเทศ

ความภาคภูมิใจของต�ำบลห้วยยาบ 1. โครงการตวยฮอยครูบา ไหว้สาพระธาตุดอยงุ้ม ประเพณี “ เตียวขึ้นดอย ตวยฮอยคูบา ไหว้สากู่ชี้ฟ้า ที่ผาดอยงุ้ม ” เป็น อีกประเพณีหนึ่งที่ชนรุ่นปัจจุบัน มองเห็นคุณค่าและความส�ำคัญของสถาน ที่อันศักดิ์สิทธิ์ ที่ควรค่าแก่การเคารพและอนุรักษ์ไว้มิให้สูญหาย จากการ ร่วมแรงร่วมใจกันในทุก ๆ ภาคส่วน ที่มุ่งหมายจะอนุรักษ์ “กู่ครูบาเจ้าศรี วิชัย นักบุญแห่งล้านนา” ที่ตั้งอยู่บนดอยสูง ณ จุดที่เป็นเขตรอยต่อระหว่าง จังหวัดเชียงใหม่และจังหวัดลพูน นับเป็นสิง่ ทีน่ า่ ชืน่ ชมและภูมใิ จเป็นทีส่ ดุ กับ สองจังหวัด สองวัฒนธรรมทีเ่ ป็นบ้านพีเ่ มืองน้องกันมาแทบจะแยกกันไม่ออก ตั้งแต่ยุคปู่ ย่า ตา ยาย บรรพบุรุษ ปัจจุบนั จึงมีการอนุรกั ษ์ของดีในท้องถิน่ โดยชุมชนทัง้ สองจังหวัดล�ำพูน กับเชียงใหม่ ได้รว่ มพลังแรงกาย แรงใจ และพลังศรัทธาจัดประเพณีเตียวขึน้ ดอย ตวยฮอยครูบา ไหว้สากู่ชี้ฟ้า ร่วมใจพัฒนา ที่ผาดอยงุ้ม ซึ่งต�ำบลห้วย ยาบร่วมกับต�ำบลออนใต้ จัดขึ้นในวันที่ 20 กุมภาพันธ์ ของทุกปี

3. งานโคนมและของดี ต�ำบลห้วยยาบ จังหวัดล�ำพูนถือได้ว่าเป็นจังหวัดที่มีการเลี้ยงโคนมมากเป็นอันดับ 2 ในพื้นที่ภาคเหนือรองจากเชียงใหม่ ซึ่งมีจ�ำนวนโคนมทั้งหมด 21,920 ตัว ผลิตน�้ำนมดิบได้เฉลี่ยวันละ 109,069 ตัน/วัน โดยเฉพาะที่ต�ำบลห้วยยาบ มีโคนนมมากกว่า 10,428 ตัว (คิดเป็น 52.42% ของจังหวัดล�ำพูน) ท�ำให้ งานโคนมเป็นงานเด่นของพื้นที่ และมีการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมกิจกรรม ปศุสัตว์โคนมขึ้นเป็นงานมหกรรมด้านอาชีพในพื้นที่

LAMPHUN I SBL บันทึกประเทศไทย 151


4. “ โรงเรียนผู้เชี่ยวชาญประสบการณ์ชีวิต” เพื่อเตรียมความพร้อม รับมือ สังคมสูงวัย โรงเรียนผู้สูงวัยต�ำบลห้วยยาบจัดตั้งขึ้นจากฐานข้อมูลประชากรต�ำบล ห้วยยาบปี 2560 ที่มีผลส�ำรวจจ�ำนวนประชากรในกลุ่มผู้สูงอายุและกลุ่ม เตรียมเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ รวมกันมากถึง 3,169 คน คิดเป็นร้อยละ 39.08 ของประชากรทั้งหมด 8,107 คน

เพือ่ ให้ผสู้ งู วัยได้รบั การดูแลทีเ่ หมาะสม ทัง้ การพัฒนาด้านสังคม อารมณ์ จิตใจ ให้ผสู้ งู วัยได้คณ ุ ภาพชีวติ ทีด่ ขี นึ้ โรงเรียนผูส้ งู วัยต�ำบลห้วยยาบจึงได้เริม่ เปิดท�ำการเรียนการสอนเมือ่ วันที่ 9 พฤศจิกายน 2560 มีหลักสูตรการเรียน การสอน ครอบคลุมเนื้อหาด้านประเพณีวัฒนธรรม การสร้างเสริมลักษณะ นิสัย สุขศึกษา พุทธศาสนา หน้าที่พลเมือง ดนตรีบ�ำบัด ศิลปะงดงาม วิถี พอเพียง

152

SBL บันทึกประเทศไทย I LAMPHUN

แหล่งท่องเที่ยวส�ำคัญ พระธาตุดอยงุ้ม ตั้งอยู่หมู่ที่ 8 ต�ำบลห้วยยาบ อ�ำเภอบ้านธิ จังหวัด ล�ำพูน ตามต�ำนานพระเจ้าเลียบโลก กล่าวถึงพระธาตุดอยงุม้ ว่าพระพุทธเจ้า พร้อมด้วยพระอรหันตสาวกเสด็จมาที่นี่ และให้เกศาไว้ในถ�้ำนี้ ต่อมาเมื่อปี พ.ศ.2489 ครูบาอภิชัยขาวปี แห่งวัดผาหนาม อ�ำเภอลี้ และชีปะขาวดวงค�ำ บ้านห้วยไซ พร้อมคณะได้พาคณะศรัทธาญาติโยมอัญเชิญอัฐิธาตุ (กระดูก) ส่วนหน้าผากของท่านครูบาเจ้าศรีวิชัย มาไว้ บนยอดดอยแห่งนี้ ยอดดอย แห่งนี้มีถ�้ำอยู่ตรงกลางหน้าผา ข้างในถ�้ำมีพระธาตุ นมผา บรรจุเกศาธาตุ ของพระพุทธเจ้า และพระพุทธรูปทองค�ำหน้าตัก ประมาณ 9 นิ้ว และมีสิ่ง ศักดิ์สิทธิ์อีกเป็นจ�ำนวนมาก ปากทางเข้าถูกปิดตายแล้ว รอต้นบุญมาเกิดจึง จะเปิดอีกครั้ง

ดอยห้างบาตร ตัง้ อยูห่ มูบ่ า้ นห้วยไซ ต�ำบลห้วยยาบ ต�ำนานกล่าวว่า ครัง้ ทีส่ มเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้เสด็จมายังดอยลูกนีแ้ ละใช้สถานทีบ่ นยอด ดอยท�ำการห้างบาตร(เตรียมบาตร) เพื่อออกบิณฑบาตตามหมู่บ้านบริเวณ นี้ โดยมีหลักฐานรอยก้นบาตรเป็นหลุมลึกบนก้อนหินดินดานและมีมณฑป ครอบไว้ ส่วนพระธาตุดอยห้างบาตรเป็นเจดียท์ รงจัตรุ มุข มีฉตั รทองอยูย่ อด เจดีย์ แต่ถกู ทิง้ ร้างมานานหลายร้อยปี ต่อมาครูบาอัตถะ จากวัดดอยน้อย ได้ ขึน้ ไปบูรณะท่านมีความพยายามทีจ่ ะสร้างวิหาร ก�ำแพงขอบเขตวัด แต่สร้าง อยู่นานหลายปีไม่ส�ำเร็จ จนกระทั่งมีพ่อหนานป๋าระมี ชาวบ้านร้องกองข้าว ได้ไปนิมนต์ครูบาเจ้าศรีวิชัยให้มาเป็นประธานในการก่อสร้างวิหารดอยห้าง บาตรจนแล้วเสร็จ โดยมีชาวบ้านทุกหมู่บ้านได้ร่วมมือกันรับผิดชอบบูรณ สิ่งก่อสร้างที่มีอยู่และใช้เป็นสถานที่จัดท�ำบุญประเพณีร่วมกันเป็นประจ�ำ ทุกปีต่อมา ปี พ.ศ. 2535 –2553 พระเสน่ห์ นาถสีโล ได้มาจ�ำพรรษาและ บูรณะดอยห้างบาตร ให้เป็นศูนย์รวมของประชาชนต�ำบลห้วยยาบ


ป้านกหมูกระจก

กลุ่มผลิตภัณฑ์กระเป๋าและเครื่องครัว

การแสดงฟ้อนยอง ผูฟ้ อ้ นจะแต่งกายแบบกุลสตรีชาวลือ้ เมืองยอง โดยสวมเสือ้ แบบปกป้าย ผูกมัดชายข้าง นุง่ ผ้าซิน่ ลายน�ำ้ ไหล โพกผ้าขาวเคียนรอบศีรษะ เกล้าผมมวย และประดับด้วยเครื่องเงิน ด้วยผู้คนในพื้นที่ของต�ำบลห้วยยาบส่วนใหญ่ เป็นคนไทยยอง ที่อพยพมาจากรัฐฉานประเทศพม่า จึงส่งผลถึงวัฒนธรรม ประเพณีและภาษาของคนในพื้นที่ด้วย

ฝักมีดจากก้านต้าน

ผลิตภัณฑ์ขึ้นชื่อต�ำบลห้วยยาบ 1. ป้านกหมูกระจก วิสาหกิจชุมชนบ้านสันพระเจ้าแดง หมูกระจกป้านกมีจุดเด่นคือมีการน�ำนวัตกรรมในการท�ำแคบหมูทางภาค เหนือมาประยุกต์ใช้ จึงท�ำให้ตวั แคบหมูไม่แข็งและมีรสชาติทอี่ ร่อยไม่เหมือน ที่อื่น ติดต่อคุณเปีย 218 หมู่ 6 ต�ำบลห้วยยาบ โทร 095-446-3397 2. ฝักมีดจากก้านตาน กลุ่มผู้สูงอายุบ้านป่าลาน ผลิตภัณฑ์ ( OTOP) เป็นของดีประจ�ำต�ำบลห้วยยาบ ทีไ่ ด้รบั การขึน้ ทะเบียนในปี 2548 จุดเด่นคือ การสานฝักมีด ทีม่ กี ารตกแต่งลวดลายและเคลือบสีธรรมชาติ โดย ส่งขายให้กับพ่อค้าในราคากลาง และจัดจ�ำหน่ายเองที่กลุ่มจักสานผู้สูงอายุ 33 หมู่ 11 ต�ำบลห้วยยาบ ติดต่อ คุณสุพันธ์ ใจมุก โทร 086-409-2672 3. กลุ่มผลิตภัณฑ์กระเป๋าและเครื่องครัว ผลิตจากผ้าฝ้ายธรรมชาติที่ แต่งสีและลวดลายอย่างสวยงาม น�ำส่งขายทั้งในตลาดชุมชนและตลาดต่าง ประเทศ แหล่งผลิตในบ้านเลขที่ 24/1 หมู่ที่ 6 ต�ำบลห้วยยาบ อ�ำเภอบ้านธิ จังหวัดล�ำพูน 51180 โทร 053-501875

ติอต่อองค์การบริหารส่วนต�ำบลห้วยยาบ โทร 053-984159-60 แฟกซ์ 053-984159 ต่อ 14 Email : huaiyab_lp@hotmail.com WEBSITE : www.huaiyab.go.th FB : www.facebook.com/huaiyap.lp LAMPHUN I SBL บันทึกประเทศไทย 153


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต

วัดกู่ป่าลาน วัดกู่ป่าลาน เลขที่ 196 หมู่ที่ 8 บ้านศรีดอนชัย ต�ำบลบ้านธิ อ�ำเภอบ้านธิ จังหวัดล�ำพูน เนื้อที่วัด 4 ไร่ 3 งาน 40 ตารางวา ประวัติวัดกู่ป่าลาน

วัดกู่ป่าลาน เป็นโบราณสถานที่เก่าแก่ที่สุดในอ�ำเภอบ้านธิ ทางกรม ศิลปากรได้ขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถาน เมื่อสมัยพญามังรายยึดนคร หริภุญชัยได้แล้ว ได้เวนมืองหริภุญชัยให้อ้ายฟ้าปกครองเป็น “ ขุนฟ้า ” ส่วนพญามังรายเสด็จไปสร้างเมืองใหม่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของ นครหริภุญชัยเรียกว่า ทับทานแซ่ (หรือทับบ้านแช่พล) หลังการตีนคร หริภุญชัยได้แล้ว ซึ่งนักโบราณคดีและนักวิชาการส่วนมากมักจะข้ามเลย ไปกล่าวถึงการสร้างเวียงกุงกามเลย ก่อนที่จะย้ายไปตั้งมั่นเป็นการถาวร ทีเ่ วียงเชียงใหม่ในปัจจุบนั ความจริงแล้วเมืองทีพ่ ญามังรายสร้างหลังจาก ตีนครหริภญ ุ ชัยได้เป็นแห่งแรกนัน้ อยูบ่ ริเวณทีร่ าบลุม่ ดอยเวียง มีลำ� น�ำ้ แม่ กวงไหลผ่าน ปัจจุบันอยู่ในเขตอ�ำเภอบ้านธิ จังหวัดล�ำพูน

154

SBL บันทึกประเทศไทย I LAMPHUN

พื้นที่บริเวณนี้มีแหล่งศิลปกรรมสมัยล้านนายุคแรกหลงเหลือกระจัด กระจายเป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่มีคุณค่า คือ “ กู่เรือง ” หรือที่ เรียกในภาท้องถิ่นว่า “ กู่เฮือง ” และ “ กู่ป่าลาน ” พญามังรายประทับ อยูท่ เี่ มืองใหม่แห่งนีไ้ ด้ไม่นานก็เกิดอุทกภัยอย่างหนัก ดังข้อความปรากฏ ในต�ำนานพื้นเมืองเชียงใหม่ว่า


“ …..อยู่ลูนได้ 2 ปี ถึงปีก่าเม็ด ศักราชได้ 645 ตัว เจ้าพญามังราย ปลงบ้านเวนเมืองหื้อขุนฟ้ากินเมืองล�ำพูน แล้วก็ย้ายไปสร้างเมืองแห่ง หนึ่ง ว่าจักสร้างเวียงตั้งอยู่ตังยาวเรือนมากนัก เจ้าพญามังรายหื้อขุด แม่นำ�้ ผ่าบ้าน หือ้ เป็นทีต่ กท่าแห่งคนทัง้ หลาย ลวดเรียกแม่นำ�้ แจวนัน้ แล มีภายหนอีสานแห่งเมืองล�ำพูนอยูท่ นี่ นั้ ได้ 3 ปี น�ำ้ ท่วมเมืองกลางภาษา ช้างม้าวัวควายที่อยู่มิได้ ” พระองค์จงึ ย้ายไปสร้างบ้านเมืองใหม่ที่ “ เวียงกุมกาม ” ในปีจลุ ศักราช 648 ( พ.ศ.1829 ) ก่อนที่จะย้ายหนีอุกทกภัยไปตั้งเมืองใหม่อีกครั้งเป็น ถาวรทีเ่ ชิงดอยสุเทพ คือ เมืองเชียงใหม่ปจั จุบนั นี้ นับแต่นนั้ มานครหริภญ ุ ชั ยก็ถูกผนวกให้เป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรล้านนาไท กู่ป่าลาน หรือ กู่เฮือง อยู่ในบ้านศรีดอนชัย ต�ำบลบ้านธิ เป็นสถูป เจดีย์ศิลปะแบบล้านนาขนาดเล็ก เหนือองค์เจดีย์ท้ังสี่ด้านท�ำเป็นซุ้มโขง แบบกระจังหน้านาง ประดับปูนปั้นเป็นลายเครือเถาที่อ่อนช้อยสวยงาม ใต้ซมุ้ ทัง้ สีด่ า้ นมีลายปูนปัน้ ประดับด้วยลายทีไ่ ม่ซำ�้ กัน ด้านตะวันออกเป็น รูปธรรมจักร ด้านนี้เป็นซุ้มโล่งเข้าไปในองค์เจดีย์ ส่วนอีก 3 ด้าน ท�ำเป็น ผนังเรียบ ภายในองค์เจดีย์สันนิษฐานว่าใช้เป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูป ผนังในซุม้ ด้านเหนือเป็นรูปนกยูง ส่วนซุม้ ด้านใต้และด้านตะวันตกนัน้ ลาย กะเทาะไม่หลงเหลือให้เห็นแล้ว ลายปูนปั้นประดับกู่ป่าลาน มีลักษณะคล้ายกับลายปูนปั้นที่ประดับ เจดีย์วัดบุพพาราม หรือวัดเจ็ดยอด จังหวัดเชียงใหม่ แสดงให้เห็นว่า โบราณสถานทีพ่ บในเขตอ�ำเภอบ้านธินกี้ บั เจดียว์ ดั เจ็ดยอด เป็นศิลปกรรม ล้านนาร่วมสมัยกัน พ.ศ.2520 ราษฎรบ้านศรีดอนชัย จึงได้พร้อมใจกันบูรณะวัดร้าง กู่ป่าลานขึ้นเป็นวัด มีพระสงฆ์จ�ำพรรษาได้อาราธนาพระวัชระ เตชวโร จากวัดป่าตาล มาเป็นผู้บูรณะวัดร้างกู่ป่าลาน วัดกูป่ า่ ลานได้รบั อนุญาตตัง้ เป็นวัด เมือ่ พ.ศ.2525 ได้รบั พระราชทาน วิสุงคามสีมา เมื่อ พ.ศ.2533

LAMPHUN I SBL บันทึกประเทศไทย

155


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต

วัดป่าตาล วั ด ป่ า ตาล ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 139 หมู ่ ที่ 19 ถนนสั น ป่ า ฝ้ า ย-สั น ก� ำ แพง (1147) ต� ำ บลบ้ า นธิ อ�ำเภอบ้านธิ จังหวัดล�ำพูน 51180 วัดป่าตาลเป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีเนื้อที่ 3 ไร่ 2 งาน 43 ตารางวา ปัจจุบันมี พระครูอินทปัญญาวุธ (กมลชัย ก้างออนตา) เป็นเจ้าอาวาส ประวัติวัดป่าตาล

วัดป่าตาลเดิมทีเป็นวัดร้าง มีต้นตาลขึ้นอยู่บริเวณวัดเป็นจ�ำนวนมาก ตามประวัติบอกว่าสร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2357 และถูกทิ้งให้รกร้างว่างเปล่าไป นานจนเหลือให้เห็นแต่ซากอิฐ ต่อมาประมาณปี 120 ให้หลัง ชาวบ้านที่ย้ายเข้ามาตั้งหมู่บ้านป่าตาลได้ช่วยกันบูรณะให้เป็นวัดและได้นิมนต์พระสงฆ์ มาอยู่จ�ำพรรษาและได้ช่วยกันก่อสร้างเสนาสนะและพัฒนาเป็นล�ำดับมาจนถึงปัจจุบัน เนื่องจากวัดป่าตาลถูกสร้างขึ้นก่อนปี พ.ศ.2484 จึงมีการยกเว้นไม่ต้องขออนุญาตก่อตั้งวัด ก็ได้รับการขึ้นทะเบียนให้เป็นวัดที่ถูกต้องตาม พ.ร.บ.คณะสงฆ์ และได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อ วันที่ 4 มีนาคม 2529

บริเวณหน้าวัด

156

SBL บันทึกประเทศไทย I LAMPHUN

พระครูอินทปัญญาวุธ เจ้าอาวาสวัดป่าตาล เจ้าคณะอ�ำเภอบ้านธิ รูปปัจจุบัน


อุโบสถวัดป่าตาล

กุฏิสงฆ์

ศาลาการเปรียญที่ช�ำรุด ปัจจุบนั วัดป่าตาลก�ำลังอยูร่ ะหว่างการก่อก�ำแพงวัดและศาลาปฏิบตั ิ ธรรม เพือ่ ใช้เป็นทีป่ ฏิบตั ธิ รรมของพระภิกษุสามเณรและอุบาสกอุบาสิกา ทางวัดยังมีโครงการที่จะบูรณะหลังคาศาลาการเปรียญทั้งหมด ซึ่งก�ำลัง ช�ำรุดอันเนื่องมาจากปลวกขึ้นไปกัดกินไม้โครงสร้างหลังคา และอีก โครงการคือทางวัดมีโครงการจะซือ้ ทีด่ นิ ตรงข้ามหน้าวัดจ�ำนวน 2 ไร่ เพือ่ ใช้เป็นที่ก่อสร้างเสนาสนะของวัดที่จ�ำเป็นในโอกาสต่อไป แต่ทางวัดยัง

พระประธานภายในอุโบสถ

ศาลาปฏิบัติธรรมที่ก�ำลังก่อสร้าง

ที่ดินของเอกชนอยู่ตรงข้ามหน้าวัด จ�ำนวน 2 ไร่ ขาดปัจจัยที่จะมาด�ำเนินการ จึงใคร่ขอบอกบุญมายังผู้ใจบุญทั้งหลายได้ ร่วมบริจาคสมทบสร้างศาลาปฏิบัติธรรม บูรณะหลังคาศาลาการเปรียญ และซือ้ ทีด่ นิ ถวายวัดป่าตาล โดยติดต่อขอบริจาคได้ที่ พระครูอนิ ทปัญญาวุธ เจ้าอาวาสวัดป่าตาล โทร.084-378-1471 หรือจะโอนเข้าบัญชีของวัด ก็ได้ ชื่อบัญชี “วัดป่าตาล” ธนาคาร ธกส.สาขาบ้านธิ เลขที่บัญชี 01547252692

LAMPHUN I SBL บันทึกประเทศไทย

157


.indd 158

28/6/2561 16:41:52


.indd 159

28/6/2561 16:42:26


WO R K LI FE

บันทึกเส้นทางพบนายอำ�เภอ

นายโยธิน ประสงค์ความดี นายอำ�เภอแม่ทา จังหวัดลำ�พูน

“ดอยขุนตาลสูงตระหง่าน เจ้าพ่อผาด่านเป็นสง่า พระพุทธามหาชัย ล�ำไยรสเยี่ยม กระเทียมลือชื่อ งานฝีมือแกะสลัก”

คือค�ำขวัญของอ�ำเภอแม่ทา ซึ่งตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของจังหวัดล�ำพูน ตามเส้นทางถนน สายเชียงใหม่ – ล�ำปาง กิโลเมตรที่ 48 (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 11) ห่างจากตัวจังหวัดล�ำพูนประมาณ 22 กิโลเมตร ห่างจากกรุงเทพฯ 667 กิโลเมตร ความเป็นมาของอ�ำเภอแม่ทา อ�ำเภอแม่ทาเดิมเป็นพืน้ ทีป่ า่ ไม้ทงั้ หมด ตัง้ อยูเ่ ชิงเทือกเขาขุนตาน ไม่มี ผูค้ นตัง้ บ้านเรือนอาศัยอยูเ่ ลย จนเมือ่ ราว 200 ปีเศษมานี้ ได้มหี วั หน้าไทย ใหญ่คนหนึ่ง ชื่อ นายฮ้อย ค�ำอ่าง เป็นผู้อพยพครอบครัวและบริวารมา ตั้งรกราก ท�ำมาหากินตั้งเป็นหมู่บ้านขึ้นในชั้นแรกมีบ้านศาลาแม่ทาก่อน ต่อมาได้ขยายเป็นชุมชนใหญ่และอยู่ในเขตการปกครองของอ�ำเภอเมือง ล�ำพูน ในปี พ.ศ.2482 ทางราชการได้พิจารณาเห็นว่าชุมชนบ้านศาลา แม่ทาได้ขยายเป็นชุมชนใหญ่มากขึ้น กระทรวงมหาดไทยจึงได้ประกาศ ยกฐานะเป็นกิง่ อ�ำเภอแม่ทา อยูใ่ นเขตการปกครองของอ�ำเภอเมืองล�ำพูน

160

SBL บันทึกประเทศไทย I LAMPHUN

ต่อมาในวันที่ 22 กรกฎาคม 2501 จึงได้ยกฐานะขึ้นเป็นอ�ำเภอแม่ทา โดย เรียกชื่อตามล�ำน�้ำแม่ทา ซึ่งเป็นแม่น�้ำสายใหญ่และส�ำคัญที่สุดของอ�ำเภอ ไหลผ่านทุกต�ำบลในเขตอ�ำเภอแม่ทา ยกเว้นต�ำบลทาแม่ลอบ ดังนั้นจะเห็น ได้ว่า “ทา” น�ำหน้าชื่อต�ำบลทุกต�ำบลของอ�ำเภอแม่ทา มาจนถึงปัจจุบันนี้ การปกครอง อ�ำเภอแม่ทา แบ่งการปกครองออกเป็น 6 ต�ำบล 71 หมูบ่ า้ น มีเทศบาลต�ำบล 7 แห่ง ได้แก่ เทศบาลต�ำบลทาปลาดุก เทศบาลต�ำบลทา สบเส้า เทศบาลต�ำบลทาสบชัย เทศบาลต�ำบลทากาศ เทศบาลต�ำบลทากาศ เหนือ เทศบาลต�ำบลทาขุมเงิน และเทศบาลต�ำบลทุ่งหลวง และมีองค์การ บริหารส่วนต�ำบล 1 แห่ง คือองค์การบริหารส่วนต�ำบลทาแม่ลอบ


ด้านเศรษฐกิจ การเกษตร มีพืชเศรษฐกิจคือ ล�ำไย หอมแดง และกระเทียม รองลง มาได้แก่ พืชผัก ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ โดยอ�ำเภอแม่ทาได้มีการส่งเสริมการท�ำ เกษตรแบบแปลงใหญ่ ซึ่งเป็นแปลงที่มีการปลูกล�ำไยขนาดใหญ่ มีเกษตรกร รวม 491 ราย มีพื้นที่ท�ำการผลิตล�ำไยนอกฤดู 3,786 ไร่ อยู่ในพื้นที่ 4 ต�ำบลคือ ต�ำบลทากาศ ทาขุมเงิน ทาสบเส้า และทาทุ่งหลวง การปศุสัตว์ สัตว์ที่เลี้ยงเป็นส่วนใหญ่ ได้แก่ ไก่พื้นเมือง ไก่ไข่ ไก่เนื้อ สุกร โคเนื้อ และโคนม ผลิตภัณฑ์ชุมชนและท้องถิ่น สินค้า OTOP ที่ท�ำยอดจ�ำหน่ายสูงสุด คือ ผลิตภัณฑ์แปรรูปจากล�ำไย การแกะสลักไม้ และผลิตภัณฑ์ผ้าทอกะเหรี่ยง แหล่งท่องเที่ยวส�ำคัญ อุทยานแห่งชาติดอยขุนตาล อยู่ในเขตพื้นที่อ�ำเภอแม่ทา จังหวัดล�ำพูน และอ�ำเภอห้างฉัตร จังหวัด ล�ำปาง มีสภาพเป็นป่าดิบเขาและป่าสนเขาปกคลุมตามพื้นที่ระดับสูง พื้นที่ ต�่ำลงมาเป็นป่าดิบแล้ง ป่าเบญจพรรณและป่าเต็งรัง ป่าไม้ที่อุดมสมบูรณ์ เหล่านี้เป็นแหล่งต้นน�้ำล�ำธารของแม่น�้ำวัง มีเส้นทางศึกษาธรรมชาติ 4 แห่ง ซึ่งจะพบพันธุ์ไม้ที่สวยงามมากมาย อุโมงค์รถไฟขุนตาน สร้างในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งมีกรม พระก�ำแพงเพชรอัครโยธิน เป็นผู้บัญชาการรถไฟหลวงแห่งกรุงสยาม โดย เริ่มด�ำเนินการสร้างเมื่อปี พ.ศ. 2450 แล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2461 ใช้เวลาใน การก่อสร้าง 11 ปี ค่าใช้จ่ายรวมทั้งสิ้นประมาณ 13,620,500.- บาท โดย วิศวกรชาวเยอรมัน ชื่อ นายเอมิล ไอโชนโฮเฟอร์ เป็นผู้ควบคุมงานก่อสร้าง ขนาดกว้างของอุโมงค์ 5.20 เมตร สูง 5.40 เมตร และยาว 1,352.10 เมตร การเจาะอุโมงค์ซึ่งเป็นหินแกรนิตนี้เป็นการเสี่ยงอันตรายอย่างยิ่ง โดยใช้ แรงงานจากคนงานที่เป็นกรรมกรรับจ้าง บริเวณโดยรอบตกแต่งด้วยดอกไม้ หลายชนิด เป็นทีต่ งั้ ศาลเจ้าพ่อขุนตานเป็นทีเ่ คารพนับถือเป็นอย่างมาก และ อนุสรณ์สถานของวิศวกรชาวเยอรมัน ผู้ควบคุมการก่อสร้างอุโมงค์นี้ โดยมี ระยะทาง ห่างจากที่ว่าการอ�ำเภอ ประมาณ 18 กิโลเมตร ตลาดแม่ทา (ทาดอยแก้ว ต.ทาสบเส้า) เป็นตลาดจ�ำหน่ายสินค้าพื้นเมือง พืชผลทางการเกษตรและพืชผักตาม ธรรมชาติ เช่น เห็ด หน่อไม้ ผักหวาน ไข่มดแดง กบ เขียด อึ่งอ่าง ปลาน�้ำจืด เป็นต้น ซึ่งชาวบ้านน�ำมาจ�ำหน่ายเอง วัดทากู่แก้ว ตั้งอยู่ที่ ม.1 ต�ำบลทาปลาดุก เดิมเป็นวัดร้างอยู่ในป่าดงดิบ คงเหลือแต่ ซากปรักหักพังของก�ำแพง อุโบสถเจดียย์ อดด้วน ค้นพบราวปี พ.ศ.2439 ต่อ มาปี พ.ศ. 2474 เจ้าหน้าทีก่ รมศิลปากรได้มาพิสจู น์แล้วว่า สร้างมานานราว 300 - 400 ปีมาแล้ว (สร้างขึ้นในปี พ.ศ.2074) เดิมชื่อ “วัดกู่แก้วสุขาวดี” เป็นที่ประดิษฐานพระศรีตรีเพชร หรือพระสิงห์สาม ซึ่งเป็นที่เคารพสักการะ ของประชาชนโดยทั่วไป สะพานขาวทาชมภู ตัง้ อยูท่ ี่ หมูท่ ี่ 4 ต�ำบลทาปลาดุก อ�ำเภอแม่ทา ก่อสร้างต่อมาจากอุโมงค์ รถไฟขุนตานซึ่งเป็นเส้นทางสายกรุงเทพฯ - เชียงใหม่ เพื่อให้รถไฟข้ามผ่าน ล�ำน�้ำแม่ทา มีลักษณะรูปทรงโค้งทาสีขาว เริ่มก่อสร้างสะพานราว ปี พ.ศ. 2462 โดยการรถไฟ และได้บ�ำรุงรักษาซ่อมแซมเป็นประจ�ำทุกปี ในสมัย สงครามโลกครัง้ ที่ 2 ฝ่ายพันธมิตรพยายามท�ำลายสะพานขาว แต่ไม่ประสบ ผลส�ำเร็จ ปัจจุบนั เป็นทีร่ จู้ กั ของนักท่องเทีย่ วทัง้ ชาวไทยและชาวต่างประเทศ

หมู่บ้านกะเหรี่ยงแม่ขนาด ตั้งอยู่ที่ หมู่ 8 ต�ำบลทากาศ เป็นหมู่บ้านชาวปกาเกอะญอ มีชีวิตความ เป็นอยู่เรียบง่าย ชาวบ้านยังคงแต่งกายด้วยชุดชนเผ่าที่ผลิตเอง ตั้งแต่ขั้น ตอนการปลูกฝ้าย ปั่นด้าย ทอผ้า และประดับลูกเดือย มีการสืบทอดต่อกัน มาจนถึงรุน่ ลูกหลาน ภายในหมูบ่ า้ นมีกลุม่ ทอผ้าเพือ่ จ�ำหน่ายเป็นผลิตภัณฑ์ จากสิ่งทอทุกชนิด หมู่บ้านแกะสลักไม้ บ้านหนองยางไคล ต�ำบลทาทุ่งหลวง และบริเวณหมู่บ้านใกล้เคียง เป็น แหล่งผลิตไม้แกะสลักรูปแบบต่าง ๆ เช่น รูปคน รูปสัตว์ เครือ่ งใช้ภายในบ้าน เครื่องประดับบ้าน ของเด็กเล่น เป็นอุตสาหกรรมภายในครัวเรือนส่งไปขาย ยังจังหวัดเชียงใหม่และใกล้เคียง อ่างเก็บน�้ำแม่เมย ตั้งอยู่ที่ หมู่ 9 ต�ำบลทาขุมเงิน เป็นอ่างเก็บน�้ำตามโครงการพระราชด�ำริ ซึง่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ภูมพิ ลอดุลยเดช ได้เสด็จพระราชด�ำเนินไป ทรงเยี่ยมราษฎรและทอดพระเนตรพื้นที่ก่อสร้างด้วยพระองค์เอง ปัจจุบัน ราษฎรได้ใช้ประโยชน์ทางเกษตรกรรมอีกทั้งยังเป็นสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ และเป็นสถานที่ท่องเที่ยวของต�ำบล มีร้านอาหารและแหล่งตกปลาตาม ธรรมชาติ เทศกาลและประเพณีส�ำคัญ ประเพณีสรงน�้ำสมเด็จพระพุทธามหาชัย สมเด็จพระพุทธามหาชัย เป็นพระพุทธรูปปางห้ามสมุทรที่ใหญ่ที่สุดใน จังหวัดล�ำพูน ณ วัดศรีบุญเรือง (วัดดอนชัย) ต�ำบลทาสบเส้า อ�ำเภอแม่ทา จังหวัดล�ำพูน โดยจะจัดให้มีงานประเพณีสรงน�้ำสมเด็จพระพุทธามหาชัย และมีงานฉลองสมโภชเป็นประจ�ำทุกปี ในวันขึ้น 15 ค�่ำ เดือน 6 (เดือนหก เป็ง) ซึ่งในงานจะมีขบวนประชาชนทุกหมู่บ้านมาร่วมตั้งขบวนแห่เครื่องสัก การะ เดินขึ้นสู่บริเวณลานพุทธามหาชัย เพื่อประกอบพิธีทางศาสนา และ ร่วมกันสรงน�้ำพระพุทธามหาชัยเพื่อความเป็นสิริมงคล กิจกรรมการจดทะเบียนสมรสวันแห่งความรัก สะพานขาวทาชมภู อ�ำเภอแม่ทา ร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และหน่วยงานต่าง ๆ จัดกิจกรรมการจดทะเบียนสมรสวันแห่งความรัก สะพานขาวทาชมภู ณ สะพานขาวทาชมภู หมู่ที่ 4 ต�ำบลทาปลาดุก อ�ำเภอแม่ทา จังหวัดล�ำพูน ในวันที่ 14 กุมภาพันธ์ ของทุกปี ซึ่งเป็น “วันวาเลนไทน์” เพื่อส่งเสริมและ ประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวในพื้นที่อ�ำเภอแม่ทา ประเพณีตานก๋วยสลาก (กินข้าวสลาก) เป็นพิธีที่จัดท�ำขึ้นเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้แก่ญาติพี่น้อง บุพการี ซึ่งล่วงลับ ไปแล้ว โดยทั่วไปจะเริ่มประมาณวันเพ็ญเดือน 12 เหนือ (กันยายน) สิ้นสุด ในเดือนตุลาคม ซึง่ ชาวล้านนา เชือ่ ว่าเป็นช่วงเวลาทีช่ าวบ้านมีความอดอยาก เนื่องจากข้าวเปลือกที่เก็บไว้ในยุ้งฉางตั้งแต่เดือน 4 ใกล้จะหมด ชาวบ้านจึง คิดถึงพ่อแม่พนี่ อ้ งทีล่ ว่ งลับ ไปแล้วว่าคงจะอดอยากเช่นกัน จึงร่วมกันจัดพิธี สลากภัตเพือ่ อุทศิ ข้าวปลาอาหารของกินของใช้ ให้แก่ญาติพนี่ อ้ งทีล่ ว่ งลับไปแล้ว ประเพณีบวงสรวงเจ้าพ่อผาด่าน ในช่วงเดือนเมษายนของทุกปีจะมีพิธีบวงสรวงเจ้าพ่อผาด่านในงาน ประเพณีสรงน�ำ้ พระพุทธรูป และรูปจ�ำลองเจ้าพ่อผาด่าน ณ ศาลเจ้าพ่อผาด่าน บนอ่างเก็บน�ำ้ แม่กมึ บ้านท้องฝาย ต�ำบลทากาศ อ�ำเภอแม่ทา จังหวัดล�ำพูน งานไม้แกะสลักและของดีอ�ำเภอแม่ทา เป็นงานประจ�ำปีของอ�ำเภอแม่ทาซึ่งจัดขึ้นเป็นประจ�ำทุกปีในสัปดาห์ สุดท้ายของเดือนมกราคม LAMPHUN I SBL บันทึกประเทศไทย 161


WO R K L I F E

บันทึกเส้นทางพบเทศบาลตำ�บล

นายภิรมย์ จามพฤกษ์ นายกเทศมนตรีตำ�บลทาขุมเงิน

เทศบาลตำ�บลทาขุมเงิน “มุ่งสู่ต�ำบลเกษตรอินทรีย์ ส่งเสริม และพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก ยกระดับคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม วัฒนธรรมโดดเด่นควบคู่ การท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์” คือวิสัยทัศน์ของเทศบาลต�ำบลทาขุมเงิน หมู่ที่ 3 ต�ำบลทาขุมเงิน อ�ำเภอแม่ทา จังหวัดล�ำพูน ซึ่งตั้งอยู่ห่างจากจังหวัดล�ำพูนไปทางทิศใต้ 25 กิโลเมตร และห่างจากอ�ำเภอแม่ทา 17 กิโลเมตร

162

SBL บันทึกประเทศไทย I LAMPHUN

รายนามคณะผู้บริหาร นายภิรมย์ จามพฤกษ์ นายกเทศมนตรีต�ำบลทาขุมเงิน นางจิตรา จันทร์ทิพย์ รองนายกเทศมนตรีต�ำบลทาขุมเงิน นางชัชรินทร์ ณ ล�ำพูน รองนายกเทศมนตรีต�ำบลทาขุมเงิน นายบุญเต็ม พรหมกาศ เลขานุการนายกเทศมนตรีตำ� บลทาขุมเงิน นายบุญธรรม วงค์กัญญาณา ที่ปรึกษานายกเทศมนตรีต�ำบลทาขุมเงิน ประวัติต�ำบลทาขุมเงิน ต�ำบลทาขุมเงินเป็นต�ำบลหนึ่งในอ�ำเภอแม่ทา จังหวัดล�ำพูน เดิมชื่อ ต�ำบลทาทุง่ แฝง ซึง่ สมัยนัน้ มี “แสนสุรยิ ะภักดี” เป็นก�ำนัน ต�ำบลทาทุง่ แฝงจึง ยุบโดยปริยายแล้วไปขึ้นกับต�ำบลทากาศ ซึ่งมี “ขุนธนุก ทากาศ” เป็นก�ำนัน และมีนายอรรณพ พงษ์พานิช เป็นปลัดกิง่ อ�ำเภอแม่ทา ต่อมาทางราชการได้ มีการเลือกตั้งก�ำนันขึ้นที่ต�ำบลทาทุ่งแฝงเดิมอีกครั้งหนึ่ง สมัยก่อนการเลือก ตัง้ ก�ำนัน จะให้ผใู้ หญ่บา้ นในหมูบ่ า้ นนัน้ ๆ เป็นผูเ้ ลือก ปรากฏว่าได้นายไทย ไชยชะนะ บ้านทาขุมเงิน หมู่ที่ 1 ได้เป็นก�ำนันต�ำบลทาทุ่งแฝง สมัยต่อมา ร.ต.ท.แก้ว เนตรโยธิน ได้มาเป็นนายอ�ำเภอแม่ทา และเคย ออกเยี่ยมเยียนประชาชน และตรวจเยี่ยมโรงเรียน นายจรัล จันทิมา ซึ่งเป็น ครูใหญ่โรงเรียนบ้านขุมเงิน ซึง่ เป็นผูเ้ ขียนบันทึกประวัตติ ำ� บลทาขุมเงินได้เคย พบปะกับท่านที่บ้านก�ำนันบ่อย เพราะเคยรู้จักกันตั้งแต่สมัยท่านเป็นนาย ต�ำรวจ จึงได้พูดคุยกันถึงชื่อของต�ำบล คืออยากจะเปลี่ยนชื่อต�ำบลให้เป็น ไปตามชื่อบ้านของก�ำนันเพราะก�ำนันอยู่บ้านทาขุมเงิน เพื่อความเหมาะสม และเป็นสิรมิ งคลแก่หมูบ่ า้ นและต�ำบล จึงตกลงกันเปลีย่ นชือ่ ต�ำบลทาทุง่ แฝง มาเป็น “ต�ำบลทาขุมเงิน” ตั้งแต่นั้นมาจนถึงปัจจุบัน ต�ำบลทาขุมเงินมีขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมทีส่ บื ทอดกันมา แต่โบราณ มีภาษาพูดเป็นของตนเอง คือภาษาค�ำเมืองและภาษายอง มีการ สืบทอดประเพณีและวัฒนธรรมจากผู้แก่ผู้เฒ่าจนมาถึงลูกหลานในปัจจุบัน


วัดทาขุมเงิน

วัดถ้าจอมธรรม และภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่ ทีโ่ ดดเด่น อาทิ ดนตรีพนื้ เมือง วิธกี ารแกะสลักไม้ การ จักสานที่ท�ำจากไม้ไผ่ใช้ส�ำหรับขายและใช้ในครัวเรือน การทอผ้ากี่กระตุก ผ้าทอชาวปกากญอ ปราชญ์ชาวบ้าน แหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม วัดทาขุมเงิน ตั้งอยู่เลขที่ 39 หมู่ 1 บ้านทาขุมเงิน ต�ำบลทาขุมเงิน อ�ำเภอแม่ทา จังหวัดล�ำพูน สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย วัดทาขุมเงินเป็นวัดเก่าแก่ สร้างขึน้ เมือ่ ประมาณปี พ.ศ.2209 ด้วยเหตุวา่ สมัยก่อนนัน้ ชาวบ้านต้องเดินข้ามล�ำน�ำ้ แม่ทาไปท�ำบุญทีว่ ดั ดอยแต ซึง่ ตัง้ อยู่ คนละฟากกับล�ำน�้ำแม่ทา เมื่อถึงคราน�้ำหลากก็ไม่สามารถข้ามน�้ำไปท�ำบุญ ได้ ชาวบ้านจึงได้ร่วมกันสร้างอารามเล็ก ๆ ขึ้น และได้นิมนต์พระภิกษุด้วง จากวัดดอยแตมาจ�ำพรรษาเป็นเจ้าอาวาส สิ่งปลูกสร้างในสมัยนั้นมีเพียง กุฏิสร้างด้วยไม้ มุงด้วยหญ้าคา ก�ำแพงและวิหารยังไม่มี ส่วนวิหารหลวงได้ สร้างขึ้นในสมัยพระภิกษุปวน ซึ่งชาวบ้านนิมนต์จากวัดทาทุ่งหลวงมาเป็น เจ้าอาวาส แล้วเสร็จในสมัยพระภิกษุตัน เป็นเจ้าอาวาสแทน ท่านได้สร้าง วิหารหลวงต่อจนแล้วเสร็จ วัดถ�้ำจอมธรรม เป็นวัดร้างมีปูชนียสถานที่ปรักหักพังและร่องรอยสมัยหริภุญชัย ได้แก่ ร่องรอยพระสิบสองท�ำด้วยดินเผาสมัยหริภุญชัย มีซากพญานาคปรักหักพัง บริเวณตีนดอย ซึ่งภายหลังมีหลักฐานเป็นศิลาจารึก (ปัจจุบันถูกเก็บไว้ที่ ศาลหลักเมืองจังหวัดล�ำปางหลังเก่า) กล่าวถึงยุคอาณาจักรล้านนา พระราช

ผลงานดีเด่น

ทีมกูช้ พี เทศบาลต�ำบลทาขุมเงิน เข้าร่วมการแข่งขัน EMS Rally ประจ�ำปี 2561 ได้รางวัลรอง ชนะเลิศ อันดับที่ 1 และได้รับ รางวัลชนะเลิศทีมสันทนาการ

มาตุลาเจ้า ได้ทลู ขอพระบรมราชูปถัมภ์จากพระเมืองแก้วกับพระราชชนนี ซึง่ ทัง้ สองก็ได้รว่ มอนุโมทนาถวายทานทรัพย์และกัลปนา ข้าพระจ�ำนวน 12 ครัว ไว้เป็นสมบัตแิ ก่วดั และได้รว่ มหล่อพระพุทธรูปจอมธรรมเพือ่ ประดิษฐานไว้ เป็นทีส่ กั การบูชา แต่ภายหลังสงครามโลกครัง้ ที่ 2 เจ้าหลวงนรนันทชัยชวลิต เจ้าผูค้ รองนครล�ำปาง ได้นำ� หลักศิลาจารึกไปเก็บทีศ่ าลหลักเมืองล�ำปาง และ ได้ร้างลงอีกครั้งในปี 2537 ผู้ใหญ่บ้านได้ร่วมกันบูรณะและนิมนต์พระสงฆ์ มาจ�ำพรรษาสืบต่อมา

*ติดต่อเทศบาลต�ำบลทาขุมเงิน เลขที่ 299 หมู่ที่ 3 ต�ำบลทาขุมเงิน อ�ำเภอแม่ทา จังหวัดล�ำพูน โทรศัพท์ / โทรสาร 053-506-080 LAMPHUN I SBL บันทึกประเทศไทย 163


WO R K L I F E

บันทึกเส้นทางพบเทศบาลตำ�บล

ข้อมูลทั่วไป เทศบาลต�ำบลทากาศเหนือ ได้รับการจัดตั้งเป็นเทศบาลต�ำบล ตาม ประกาศกระทรวงมหาดไทย เมือ่ วันที่ 27 ตุลาคม พ.ศ. 2552 มีพนื้ ทีใ่ นความ รับผิดชอบจ�ำนวนหมู่บ้าน 13 หมู่บ้าน การตั้งบ้านเรือนส่วนใหญ่จะตั้งใกล้ กับแม่น�้ำและล�ำห้วย โดยมีแม่น�้ำสายส�ำคัญ คือ แม่น�้ำทา ล�ำห้วยแม่ขนาด และมีพื้นที่บางส่วนอยู่ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าดอยผาเมือง

นายดำ�รงค์ จินะกาศ

นายกเทศมนตรีตำ�บลทากาศเหนือ

เทศบาลตำ�บลทากาศเหนือ “เจ้าพ่อผาด่านเป็นศักดิ์ศรี ของดีไม้แกะสลัก งามนักผ้าทอมือ เลื่องระบือด้วยล�ำไย” คือค�ำขวัญของเทศบาลต�ำบลทากาศเหนือ ตั้งอยู่เลขที่ 273 หมู่ที่ 2 ต�ำบลทากาศ อ�ำเภอแม่ทา จังหวัดล�ำพูน โดยตั้งอยู่ทางตอนกลาง ค่อนไป ทางใต้ของอ�ำเภอแม่ทา มีระยะห่างจากอ�ำเภอแม่ทา 16 กิโลเมตร และมี ระยะห่างจากจังหวัดล�ำพูน 30 กิโลเมตร ปัจจุบันมี นายด�ำรงค์ จินะกาศ ด�ำรงต�ำแหน่งนายกเทศมนตรีต�ำบลทากาศเหนือ วิสัยทัศน์

“ พัฒนาทากาศเหนือสู่เมืองแห่งความพอเพียง ” 164

SBL บันทึกประเทศไทย I LAMPHUN

สถานที่ส�ำคัญและแหล่งท่องเที่ยว 1. วัดทาดอยแช่ 2. วัดทาดอยค�ำ 3. ศาลเจ้าพ่อผาด่าน 4. อ่างเก็บน�้ำแม่กึม


สถานที่เด่น สินค้าดี ในเขต ทต.ทากาศเหนือ 1. ศูนย์เรียนรูก้ ารเพิม่ ประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรต�ำบลทากาศ เหนือ เป็นแหล่งเรียนรู้การท�ำสวนล�ำไยแปลงใหญ่ในอ�ำเภอแม่ทา ตั้งอยู่เลขที่ 36 หมู่ที่ 1 บ้านท้องฝาย ต�ำบลทากาศ ซึ่งมีบทบาทส�ำคัญในการสนับสนุน ให้เกษตรกรมีการรวมกลุ่มขึ้นด้วยความสมัครใจ เพื่อการผลิตล�ำไยให้ได้ คุณภาพ ส่งเสริมให้เกษตรกรมีการรวมกลุ่มช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ในการ ประกอบกิจกรรมด้านการเกษตร ส่งเสริมให้เกษตรกรร่วมกันแก้ไขปัญหา การผลิต การแปรรูป และการตลาด เป็นศูนย์กลางรับความรูใ้ นการถ่ายทอด วิชาการไปสู่เกษตรกรอย่างมีประสิทธิภาพ โดยใช้กระบวนการกลุ่มในการ พัฒนาเกษตรกรให้มีความมั่นคงในการประกอบอาชีพ ให้สามารถพึ่งพา ตนเองได้ เพือ่ ให้สมาชิกกลุม่ ฯ ซือ้ ปัจจัยการผลิตในราคาถูก มีอำ� นาจต่อรอง ในการขายผลผลิต รวมถึงเป็นแหล่งเรียนรูใ้ นด้านการผลิตล�ำไยนอกฤดู การ ให้ความรูแ้ ละเทคนิคในการท�ำล�ำไยนอกฤดู การลดต้นทุนการผลิต เพือ่ เพิม่ รายได้ ให้แก่เกษตรกรผู้สนใจ 2. ผ้าทอมือบ้านแม่ขนาด ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ผ ้ า ฝ้ า ยทอมื อ โดยชาวกะเหรี่ ย งบ้ า นแม่ ข นาด หมู ่ ที่ 8 ต�ำบลทากาศ อ�ำเภอแม่ทา จังหวัดล�ำพูน ซึ่งการทอผ้าเป็นอาชีพที่สืบทอด มาแต่ครั้งบรรพบุรุษ ปัจจุบันได้มีการอนุรักษ์ และรักษาผ้าทอลายพื้นเมือง เอาไว้ ผลิตภัณฑ์ที่ทางกลุ่มทอขึ้น จะมีหลากหลายรูปแบบ เช่น เสื้อ ผ้าถุง ผ้าย่าม ผ้าสไบ ผ้าพันคอ ฯลฯ โดยได้รับความนิยมจากนักท่องเที่ยว และ จากร้านค้าในจังหวัดเชียงใหม่รับไปจ�ำหน่าย

จากใจนายกเทศมนตรี

นายด�ำรงค์ จินะกาศ นายกเทศมนตรีต�ำบลทากาศเหนือ ได้ก�ำหนด นโยบายการบริหารราชการของเทศบาลต�ำบลทากาศเหนือ ตามกรอบ แนวทางการพัฒนา รวม 8 ด้าน ประกอบด้วย 1. นโยบายด้านโครงสร้างพื้นฐาน 2. นโยบายด้านเศรษฐกิจ เกษตรและการท่องเที่ยว 3. นโยบายด้านสังคมและคุณภาพชีวิต 4. นโยบายด้านศาสนา ศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น 5. นโยบายด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 6. นโยบายด้านการศึกษาและกีฬา 7. นโยบายด้านสาธารณสุข และการเสริมสร้างสุขภาพประชาชน 8. นโยบายด้านการบริหารจัดการและเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยได้บรู ณาการไปสูก่ ารปฏิบตั ิ โดยการจัดท�ำโครงการหรือกิจกรรมต่าง ๆ เพือ่ พัฒนาและสร้างความเจริญให้กบั ท้องถิน่ เพือ่ ตอบสนองต่อปัญหาความ ต้องการของท้องถิน่ และครอบคลุมภารกิจหน้าทีท่ กี่ ฎหมายก�ำหนดไว้ ซึง่ มุง่ เน้นการแก้ไขปัญหาให้กับราษฎรในพื้นที่ โดยจะมุ่งให้ประชาชนส่วนใหญ่ ได้รับผลประโยชน์มากที่สุด และเป็นรูปธรรม

LAMPHUN I SBL บันทึกประเทศไทย 165


HI S TO R Y O F BU D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต

วัดเกาะกลาง วัดเกาะกลาง ตั้งอยู่เลขที่ 1 หมู่ 8 ถ.จามเทวีอนุสรณ์ บ.บ่อคาว ต.บ้านเรือน อ.ป่าซาง จ.ล�ำพูน สังกัดคณะสงฆ์ ธรรมยุติกนิกาย ปัจจุบันมี พระมหาโกสินทร์ กิตฺติปาโล น.ธ.เอก, ป.ธ. 6, ศน.บ. เป็นเจ้าอาวาส ประวัติวัดเกาะกลาง ตามต�ำนานเล่าขานกันมาช้านานกล่าวว่า วัดเกาะกลางสร้างขึน้ เมือ่ ปี พุทธศักราช 1176 โดยตระกูลท่านเศรษฐีอินตา ซึ่งเป็นบิดาที่แท้จริง ของพระนางจามเทวี ท่านเศรษฐีอินตาเป็นชาวเม็ง มอญ หรือรามัญ แห่งบ้านหนองดู่ (ปัจจุบันแยกเป็นบ้านบ่อคาว) โดยก�ำเนิด สถานที่ตั้งวัดเกาะกลาง ในอดีตเป็นสภาพเกาะอยู่กลางหนองน�้ำ กว้างใหญ่ การไปมาเพื่อติดต่อกับวัดเกาะกลางต้องใช้เรือหรือแพเป็น พาหนะ จึงได้นามเรียกขานว่า “วัดเกาะกลาง” (หนองน�้ำกว้างใหญ่และ ต้นประดู่ใหญ่ เป็นที่มาของชื่อบ้านหนองดู่) จ�ำเนียรกาลผ่านมา วัดเกาะกลางได้ถกู พัฒนาและเจริญรุง่ เรืองสูงสุด เนื่องเพราะเป็นวัดที่ตั้งอยู่ริมทางสัญจร (คือแม่น�้ำปิง) คาดว่าจะเป็นที่ แวะพัก ท�ำบุญ กราบไหว้สงิ่ ศักดิส์ ทิ ธิ์ และค้าขายของประชาชนในสมัยก่อน วัดเกาะกลางได้รบั การดูแลเอาใจใส่ พัฒนา และบูรณปฏิสงั ขรณ์มาหลายยุค

166

SBL บันทึกประเทศไทย I LAMPHUN

หลายสมัย จากรุน่ สูร่ นุ่ และคาดว่าน่าจะเป็นวัดทีม่ คี วามส�ำคัญมาก สังเกต ได้จากซากโบราณสถานภายในวัด ทั้งที่คงสภาพให้เห็นและที่จมอยู่ใต้ แผ่นดิน ซึ่งได้รับการขุดค้นและขึ้นทะเบียนเป็นสมบัติของชาติโดยกรม ศิลปากร เมื่อปี พ.ศ. 2548 วัดเกาะกลางมีผังที่เป็นระเบียบอยู่ภายในก�ำแพงแก้วที่มีซุ้มประตู เข้าออกทั้งสี่ทิศ มีเจดีย์ วิหาร อุโบสถ และใบเสมาคู่ ซึ่งถือกันว่าเป็น พระอารามหลวงมาแต่ในอดีต และลวดลายปูนปั้นฝีมือช่างหลวงชั้นครู ที่อ่อนช้อยงดงามปรากฏอยู่ที่ซุ้มจระน�ำของเจดีย์องค์ประธาน และที่ตก เกลื่อนกลาดอยู่ทั่วบริเวณ เป็นธรรมดาของทุกสิ่งบนโลกนี้ที่ไม่คงทนถาวร วัดเกาะกลางก็เช่น เดียวกัน ไม่สามารถคงความเจริญให้อยูใ่ นสภาพเดิมได้ ในทีส่ ดุ ก็ถกู ปล่อย ให้ร้างไปตามกาลเวลา


การบูรณปฏิสังขรณ์วัด

ในขณะที่เป็นวัดร้างอยู่นั้น ได้มีพระฝ่ายวิปัสสนากรรมฐานเดินธุดงค์ ไปพัก เพื่อบ�ำเพ็ญสมนะธรรมเป็นจ�ำนวนมากหลายรูปหลายครั้ง จนต่อ มาเป็นทีเ่ คารพสักการะของพุทธศาสนิกชนทัว่ ประเทศ เช่น หลวงปูเ่ ทศน์ วัดหินหมากเป้ง จังหวัดหนองคาย หลวงปู่แหวน วัดดอยแม่ปั๋ง จังหวัด เชียงใหม่ พระเทพวิสุทธาจารย์ (โชติ)อดีตเจ้าอาวาส วัดวชิราลงกรณ์ จังหวัดนครราชสีมา เป็นต้น ต่อมาเมื่อ พ.ศ.2517 พระมหาสงวน ปัญญา วัดเจดีย์หลวง จังหวัด เชียงใหม่ พระมหาดวงจันทร์ เขียวพันธ์ วัดพระศรีมหาธาตุ บางเขน กรุงเทพฯ พระอุดม บุญช่วย จังหวัดล�ำพูน ซึง่ ทัง้ สามรูปเป็นชาวมอญแห่ง บ้านหนองดูบ่ อ่ คาวโดยก�ำเนิด ท่านปรึกษากันว่า วัดเกาะกลางเป็นวัดร้าง และมีโบราณสถานอยูเ่ ป็นจ�ำนวนมากสมควรอนุรกั ษ์ บูรณปฏิสงั ขรณ์และ พัฒนาขึ้น เป็น สถานที่พักผ่อนหย่อนใจของชาวบ้านและเป็นที่บ�ำเพ็ญ สมณธรรมของพระสงฆ์ โดยได้รับความเห็นชอบและสนับสนุนจาก พระเดชพระคุณ พระเทพกวี วัดเจดีย์หลวง จังหวัดเชียงใหม่ เจ้าคณะ จังหวัดล�ำพูน (ธรรมยุต) ได้มอบให้พระอุดม บุญช่วย เป็นผู้ด�ำเนินการ พระมหาสงวน ปัญญา พระมหาดวงจันทร์ เขียวพันธ์ เป็นผู้ให้ก�ำลัง สนับสนุน ปลูกสร้างเสนาสนะต่าง ๆ ขึ้น จนกระทั่งเมื่อวันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2522 ทางรัฐบาลโดยกรม ศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ ได้ประกาศยกวัดเกาะกลาง (ร้าง) ขึ้นเป็น วัดที่มีพระสงฆ์อยู่จ�ำพรรษาโดยสมบูรณ์ และทางการคณะสงฆ์ได้แต่งตั้ง พระอุดม อุตตมสาโร(บุญช่วย) เป็นเจ้าอาวาสรูปแรก ได้รบั พระราชทาน วิสุงคามสีมาวันที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2547 ปัจจุบันวัดเกาะกลางมีเนื้อที่ ประมาณ 20 ไร่

ร่วมสร้างเส้นทางบุญ เพื่อสร้างศูนย์ ปฏิบัติธรรมจามเทวี

พิพิธภัณฑ์พระแม่เจ้าจามเทวี

จัดแสดงโบราณวัตถุต่าง ๆ ที่ขุดพบภายในวัดเกาะกลาง

ชื่อบัญชี วัดเกาะกลาง ธนาคารกสิกรไทย สาขาป่าซาง เลขที่ 022-8-49452-6

LAMPHUN I SBL บันทึกประเทศไทย

167


HI S TO R Y O F BU D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต

วัดพระพุทธบาทตากผ้า วัดพระพุทธบาทตากผ้า พระอารามหลวง เลขที่ 279 หมู่ 6 ต.มะกอก อ.ป่าซาง จ.ล�ำพูน เป็นปูชนีย สถานที่ส�ำคัญแห่งหนึ่งในจังหวัดล�ำพูน เป็นที่เคารพสักการะของบรรดาพุทธศาสนิกชนทั่วไป และเป็น สถานที่ซึ่งนักทัศนาจรจากทุกทิศมาเที่ยวชมกันมาก เพราะเป็นสถานที่ซึ่งมีทิวทัศน์สวยงาม อากาศ เย็นสบายดีโดยเฉพาะภายในบริเวณวัดมีสถานที่ส�ำคัญทางพระพุทธศาสนาอยู่หลายแห่ง และทางวัด มีงานประเพณีสรงน�ำ้ เป็นประจ�ำทุกปี ในวันอัฐมีบชู า แรม 8 ค�ำ่ เดือน 8 ซึง่ เป็นวันคล้ายวันถวายพระเพลิง พระสรีระของสมเด็จพระสัมมาสัมมาพุทธเจ้า และในช่วงเทศกาลตรุษสงกรานต์ก็จะเป็นช่วงที่มีนักท่อง เที่ยวและนักแสวงบุญมาชมและนมัสการกันมากนาย ประวัติวัด

วัดพระพุทธบาทตากผ้า แต่เดิมเป็นวัดราษฎร์ ได้รับพระราชทาน วิสงุ คามสีมา เมือ่ วันที่ 25 ตุลาคม พ.ศ. 2516 และได้รบั การยกฐานะเป็น อารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญ ตั้งแต่ 31 เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2521 ตั้งอยู่บนเนื้อที่ประมาณ 175 ไร่ และตั้งอยู่บนเนินเขาระหว่างดอยม่อน ช้างกับดอยเครือ ต�ำบลมะกอก อ�ำเภอป่าซาง จังหวัดล�ำพูน ห่างจากตัว เมืองล�ำพูนไปทางทิศใต้ 22 กิโลเมตร เส้นทางมาวัดนั้นเป็นทางสายตรง ท่านสามารถมองเห็นพระวิหารจัตุรมุขครอบรอยพระพุทธบาท และพระ ธาตุเจดีย์สี่ครูบาบนยอดดอยเครือเด่นเป็นสง่าอยู่อย่างสวยงาม

168

SBL บันทึกประเทศไทย I LAMPHUN

สถานที่ส�ำคัญล�ำดับแรก คือรอยพระพุทธบาทที่ประดิษฐานอยู่ใน พระวิหารจัตุรมุขมีอยู่ 2 รอย คือรอยพระบาทใหญ่กว้าง 1 เมตร ยาว 2 เมตรครึ่ง และรอยพระบาทเล็กกว้าง 32 นิ้ว ยาว 1 เมตร 26 นิ้ว รอย พระพุทธบาทนี้ตามข้อสันนิษฐานตามต�ำนานที่เล่าลือต่อกันมาว่า เป็น รอยพระพุทธบาทที่แท้จริง โดยพระศรีศิลป์สุนทรวาที ได้เรียบเรียงไว้มี ดังนี้ ในอดีตสมัยสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าของเราทั้งหลายยังด�ำรง พระชนม์ชีพอยู่ พระองค์ได้ทรงปฏิบัติพุทธกิจ เพื่อหิตานุหิตประโยชน์ แก่ประชาชนพลโลกทั้งมวลโดยไม่จ�ำกัดชาติชั้นวรรณะ ผู้มีอุปนิสัยที่จะ


บรรลุธรรมได้ย่อมได้รับอนุเคราะห์ในข่ายแห่งเมตตากรุณาของพระองค์ เสมอหน้ากัน ในยามปัจจุบันสมัยใกล้รุ่งวันหนึ่ง พระองค์ทรงแผ่ข่ายพระญาณไป ทั่วทิศานุทิศเพื่อตรวจดูสัตว์โลกผู้ควรแก่พระธรรมาภิสมัย (การบรรลุ ธรรม) ก็ทรงทราบด้วยอนาคตดังสัญญาณว่า สุวรรณภูมิคือดินแดนที่ตั้ง ประเทศไทยในปัจจุบนั จะเป็นทีป่ ระดิษฐานพระพุทธศาสนามัน่ คงต่อไป ในกาลอนาคต สมควรที่พระองค์จะเสด็จไปประดิษฐานพระพุทธศาสนา ไว้ ครัน้ ทรงมีพระด�ำรินนั้ แล้ว พระองค์จงึ ทรงเสด็จมาสูส่ วุ รรณภูมโิ ดยพุทธิ นิมติ มีพระอานนท์เป็นปัจฉาสมณะพร้อมด้วยพระอินทร์ ได้เสด็จมาตาม คาบนิคมชนบทต่าง ๆ จนมาถึงถ�้ำตับเต่า ถ�้ำเชียงดาว พระนอนขอนม่วง พระบาทยัง้ หวีด และพระธาตุทงุ่ ตุม๋ ตามล�ำดับ ได้ทรงเหยียบรอยพระบาท และประทานพระเกศาธาตุประดิษฐานไว้ในที่นั้น ๆ ตามควรแก่พุทธ อัชฌาศัยแล้วเสด็จเลียบลงมาตามฝัง่ แม่นำ�้ ปิง พอเสด็จมาถึงวัง (แอ่งน�ำ้ ) แห่งหนึ่งซึ่งมีน�้ำใสสะอาด มีท่าราบเตียนงาม จึงรับสั่งให้พระอานนท์ น�ำจีวรไปซักในสถานที่แห่งนั้น สถานที่ดังกล่าวจึงถูกขานเรียกกันว่า “วังซักครัว” มาตราบเท่าทุกวันนี้ และวังซักครัวนี้มีอยู่ใต้สบกวนอันเป็นที่ แม่น�้ำปิงและแม่น�้ำกวงไหลมาบรรจบกัน (ปากแม่น�้ำกวง) ต่อจากนัน้ พระองค์กเ็ สด็จข้ามแม่นำ�้ จาริกโดยล�ำดับ บรรลุถงึ บ้านแห่ง หนึ่งซึ่งอยู่ระหว่างทางไม่ห่างไกลจากดอยม่อนช้างเท่าใดนัก พระองค์ก็ ทรงหยุดยืนนิ่ง พร้อมกับทรงยืนพระพักตร์หว่าย (บ่าย) ไปทางทิศตะวัน ตกเฉียงใต้บา้ นทีน่ นั้ ซึง่ ได้ชอื่ ว่า “บ้านหว่าย” (ปัจจุบนั คือบ้านหวาย) แล้ว พระองค์กเ็ สด็จมาถึงลานผาลาด (ปัจจุบนั คือบริเวณทีต่ งั้ วัดพระพุทธบาท ตากผ้า) อันเป็นสถานที่พระองค์ตั้งพระทัยจะประดิษฐานปาทเจดีย์เพื่อ อนุเคราะห์แก่สตั ว์โลกในกาลภายหน้า พระองค์ผทู้ รงพระมหากรุณาธิคณ ุ อันยิ่งใหญ่เสมือนน�้ำในมหาสมุทรสาคร ทรงหวังจะรื้อถอนยังสรรพสัตว์ เวไนยนิกรให้ถงึ ฝัง่ เบือ้ งหน้า จึงทรงอธิษฐานเหยียบพระบาทประดิษฐาน รอยไว้บนผาลาดแห่งนี้ เมื่อพระองค์ทรงประทับรอยพระบาทประดิษฐานไว้แล้ว ก็ทรงตรัส พยากรณ์ท�ำนายไว้ว่า “ดูก่อนอานนท์สถานที่แห่งนี้จะปรากฏชื่อว่า ‘วัดพระพุทธบาลตากผ้า’ โดยนิมิตที่เราตถาคตมาหยุดพักตากผ้ากาสาว พัตร์นี้ และจะเป็นปูชนียสถานทีส่ กั การบูชาของมหาชน ผูม้ ศี รัทธาเลือ่ มใส

ในพระพุทธศาสนา จะอ�ำนวยประโยชน์สขุ แก่ปวงชน 5000 พระพรรษา” ด้วยสาเหตุที่พระพุทธองค์ได้ทรงประทับรอยพระบาทและรอยตากผ้า กาสาวพัตร์นี้ จึงปรากฏวัดแห่งนีไ้ ด้รบั การขนานนามว่า “วัดพระพุทธบาท ตากผ้า” นอกจากนี้ยังมีรอยเท้าเล็ก ๆ 3 รอย กับรอยเท้าโยคีอีก 1 รอย ปรากฏอยู่รอบบริเวณนี้ด้วย และเมื่อเดินออกมาจะพบกับรอยเท้าเล็ก ๆ ทีอ่ ยูท่ างทิศด้านตะวันออกใกล้ ๆ วิหารนัน้ ซึง่ รอยเท้าเล็ก ๆ นัน้ เป็นรอย เท้าทีแ่ ปลกมาก และส�ำคัญมากเพราะมีรอ่ งรอยคล้ายรอยเท้าของคนจริง แต่นั้นมา พระพุทธศาสนาก็ได้แพร่เข้ามาในสุวรรณภูมิและล้านนา ไทย กาลครั้งนั้นวัดพระพุทธบาทตากผ้าแห่งนี้ก็ได้รับการสถาปนาบ�ำรุง รักษา ด้วยแรงศรัทธาปสาทะของมหาชนผู้ได้รับแสงสว่างแห่งพุทธธรรม จนสถานที่ แ ห่ ง นี้ ไ ด้ แ ปรสภาพเป็ น ปู ช นี ย สถานส� ำ คั ญ ประจ� ำ วั น ท้ อ ง ถิ่นมาแต่กาลนั้น กาลเวลาได้ล่วงเลยไปอีกหลายศตวรรษจนกระทั่ง ลุถึงพุทธศักราช 1200 ปีเศษ พระนางจามเทวี ราชบุตรีของเจ้ากรุง ละโว้ (ลพบุรี) ได้เสด็จขึ้นมาครองนครหริภุญชัยตามค�ำทูลเชิญของ สุเทวฤาษี และสุกทันตฤาษี พระนางจามเทวีทรงมีพระราชศรัทธาเลือ่ มใส ในพระพุทธศาสนาเป็นอันมาก ได้ทรงอาราธนาพระสังฆเจ้า 500 รูป มาจากกรุงละโว้ด้วย ได้มาเผยแพร่พุทธศาสนาในล้านนาไทย พระนาง ได้ทรงเป็นองค์อุปถัมภ์ด�ำเนินการสร้างมณฑปครอบรอยพระพุทธบาท ถวายเป็นพุทธบูชา และได้จดั ให้มกี ารเฉลิมฉลองสมโภชเป็นการใหญ่เป็น ที่เคารพสักการะแก่ประชาชนทั่วไป ลุถึง พ.ศ. 2472 คณะสงฆ์จังหวัดล�ำพูน มีพระครูพุทธิวงศ์ธาดา เจ้าคณะอ�ำเภอปากบ่อง (ปัจจุบนั คืออ�ำเภอป่าซาง) วัดฉางข้าวน้อยเหนือ เป็นประธานฝ่ายฆราวาส มีหลวงวิโรจน์รฐั กิจ (เปรือ่ งโรจนกุล) นายอ�ำเภอ ปากบ่อง (ป่าซาง) เป็นประธานพร้อมด้วยศรัทธาประชาชนได้พร้อมใจ กันไปอาราธนานิมนต์ท่านครูบาศรีวิชัย นักบุญแห่งล้านนาไทย ซึ่งอยู่ บ้านปาง อ�ำเภอลี้ จังหวัดล�ำพูน มาเป็นประธานในการก่อสร้างวิหารจัตรุ มุขครอบรอยพระพุทธบาทจนส�ำเร็จ พ.ศ.2375 ครูบาอาจารย์หลายท่าน โดยมีครูบาป๋าปารมี วัดสะปุง๋ หลวง เป็นประธานพร้อมด้วย ทายกทายิกา ได้ก่อสร้างวิหารหลังใหญ่ครอบมณฑปไว้อีกชั้นหนึ่ง

LAMPHUN I SBL บันทึกประเทศไทย

169


HI S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต

พุทธสถานอุโบสถดอนตอง ตั้งอยู่เลขที่ 164 บ้านดอนตอง หมู่ที่ 4 ต�ำบลแม่แรง อ�ำเภอ ป่าซาง จังหวัดล�ำพูน สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย

170

SBL บันทึกประเทศไทย I LAMPHUN


ประวัติพุทธสถานอุโบสถดอนตอง

พระครูบาค�ำ คมฺภิโร อดีตเจ้าอาวาสพุทธสถานอุโบสถดอนตองได้ บันทึกประวัติจากค�ำบอกเล่าของพระครูรัตนวรรณสาทร เจ้าอาวาสวัด หนองเงือก เมื่อปี 2559 ไว้ดังนี้ พุทธสถานอุโบสถดอนตอง สร้างเมื่อปี พ.ศ.2249 โดยครอบครัว ชาวยองที่อพยพมาจากเมืองยอง รัฐฉานในประเทศพม่า มาอาศัยอยู่ บ้านเวียงยองใน เมืองล�ำพูน และได้ย้ายมาจากบ้านเวียงยองล�ำพูน มาตั้งรกรากที่บ้านดอนตอง 10 ครัวเรือน โดยการน�ำของท้าวหมื่นยอง ( ต้นตระกูลธรรมหมื่นยอง ) หมื่นจอมวงค์ ( ต้นตระกูลจอมวงค์ )

แสนธรรมเสนา ( ต้นตระกูลธรรมเสนา ) และได้นิมนต์ครูบาธรรมลังกา วัดร้องหางเมืองยอง มาเป็นประธานสร้างวัด และได้ตั้งชื่อวัดตามชื่อ หมู่บ้านว่า วัดดอนตอง ตามนามเดิมของหมู่บ้านในพม่า ( ชื่อบ้านเดิมคือ บ้านตอง แต่มาอยูท่ นี่ สี่ ถานทีต่ งั้ วัดเป็นทีเ่ นินหรือทีด่ อน จึงได้นามบ้านว่า ดอนตอง ) ครูบาธรรมลังกา ได้อบรมศรัทธาและได้เผยแผ่ธรรม และได้ สร้างถาวรวัตถุสืบศาสนาได้หลายปี คณะศรัทธาวัดร้องหางได้มาขอท่าน เมตตากลับไปเป็นเจ้าอาวาสวัดบ้านเกิดท่าน ต่อมาครูบาอุปนันตา ได้เป็นเจ้าอธิการสมภารสืบต่อมา ท่านได้อบรม ศรัทธาและสร้างกุฎวี หิ ารพัฒนาวัด จวบจนท่านได้มรณภาพลง ครูบากันธา ก็ได้เป็นเจ้าอธิการสมภารสืบมาได้ทา่ นพัฒนาหลายอย่างภายในวัดจนได้ มรณภาพลง กาลต่อมาครูบาปัญโญ ก็ได้เป็นเจ้าอาวาสสืบมา และได้รื้อ กุฎี วิหาร และได้ย้ายวัดไปสร้างใหม่ในชุมชน เพราะเหตุผลว่าวัดเดิมอยู่ กลางทุง่ นา การเดินทางสัญจรไปมาหากันไม่สะดวก จึงได้ยา้ ยวัดไปตัง้ ใน ชุมชน ณ วัดดอนตองปัจจุบัน แล้วได้ปล่อยวัดดอนตองเดิมรกร้างไปตาม กาลเวลา แล้วแต่เจ้าอาวาสแต่ละรูปจะมาพัฒนา ลุจนถึงครูบาศรี อริยวํโส อดีตเจ้าอาวาสวัดป่าบุก ได้มาอุปสมบท ณ อุโบสถวัดร้างดอนตอง จวบจนครูบาได้ริเริ่มบูรณะพระเจดีย์กู่หลวง โดย ก่ออิฐมอญครอบองค์ธาตุเจ้าไว้ และเจดียก์ หู่ น้อยตลอดถึงอุโบสถ จวบจน ครูบาได้มรณภาพด้วยโรคริดสีดวงทวาร โดยเลือดไหลออกทางทวาร หลัง จากครูบาได้มรณภาพลง ครูบาค�ำ คมฺภโิ ร อดีตเจ้าอาวาสวัดดอนตอง พระ ครูพิทักษ์ปัจจันตเขต อดีตเจ้าอาวาสวัดดอยตุง ได้มาบูรณะวัดโดยมีการ มาเปลีย่ นยอดฉัตรพระธาตุกหู่ ลวง นับตัง้ แต่ครูบาเจ้าศรี อริยวํโส ได้บรู ณะ รวมเป็นเวลา 75 ปี ลุถึงวันที่ 17-19 เดือนกันยายน พ.ศ. 2548 เวลา ประมาณ 21.39 น. ปรากฏว่าได้มีฝนตกลงมาอย่างไม่ขาดสาย ตลอดวัน ตลอดคืน จนท�ำให้พระธาตุเจดียก์ หู่ ลวงเกิดการพังและทรุดตัวแตกร้าวไป LAMPHUN I SBL บันทึกประเทศไทย

171


ทัว่ ทัง้ องค์พระธาตุ (แต่เดิมมีรอยแตกร้าวและมีตน้ โพธิเ์ กิดขึน้ บนพระธาตุ กูห่ ลวง เมือ่ ฝนกตกหนักดินในองค์พระธาตุเกิดอิม่ ตัวประกอบกับรากของ ต้นโพธิท์ มี่ ขี นาดใหญ่เท่าขา) ท�ำให้ขวัญของพีน่ อ้ งศรัทธาบ้านดอนตองเสีย ขวัญ และได้มาเฝ้าดูแลรักษากันใช้เวลานานกว่าสองเดือนในการนอนเฝ้า กรมศิลปากรได้ออกมาดูความเสียหายและได้สันนิษฐานว่าเป็นศิลปะ สมัยจามเทวีตอนปลาย และได้รบั การบูรณะจากคณะสงฆ์ในต�ำบลแม่แรง พระอาจารย์ไกรราข รตนวณฺโณ ( พระครูรัตนวรรณสาทร ) เจ้าอาวาสวัด หนองเงือก เป็นประธานสร้าง พระครูจ�ำลอง ฐานวโร เจ้าอาวาสวัดดอน ตอง คณะศิษย์และคณะศรัทธาบ้านดอนตอง ได้รว่ มกันพัฒนามาสืบจนถึง ปัจจุบัน รวมอายุการสร้างจนถึงปัจจุบัน 311 ปี

ประวัติพระครูรัตนวรรณสาทร

พระครูรัตนวรรณสาทร เกิดเมื่อวันพุธที่ 19 กันยาน พ.ศ. 2516 ปี ฉลู ( วัว ) แรม 7 ค�่ำ เดือน 12 เหนือ ปีเป้า เป็นบุตรของนายจรัญและ นางตานิล จินะทอง เกิด ณ บ้านกู่เส้า ต�ำบลเหมืองจี้ อ�ำเภอเมือง จังหวัด ล�ำพูน มีพี่น้องร่วมท้องเดียวกัน 4 คน คือ 1.พระครูรัตนวรรณสาทร 2. เสียชีวิตแต่เล็ก 3. นายจีรนิตย์ 4. นางนิตยา บรรพชา เมื่ออายุ 13 ปี ณ วัดกู่เรือง ( บ้านกู่เส้า ) ต�ำบลเหมืองจี้ อ�ำเภอเมือง จังหวัดล�ำพูน เมื่อวันที่ 31 มีนาคม 2529 ท่านพระครูรัต นวรวิมล(ครูบาปัน๋ ) เป็นเจ้าอาวาสวัดกูเ่ รือง พระครูประจักรธรรมวิจารณ์ (ครูบาข่าย) วัดหมูเปิ้ง เป็นพระอุปัชฌาย์ อุปสมบท เมือ่ อายุ 20 ปี ณ พัทธสีมาวัดกูเ่ รือง เมือ่ วันที่ 22 เมษายน 2536 เวลา 15.14 น.พระครูประจักรธรรมวิจารณ์ ( ครูบาข่าย ) วัดหมูเปิง้

172

SBL บันทึกประเทศไทย I LAMPHUN


บวชท่องจนได้ทั้งเล่ม(ผูก) และอาศัยเสียงดีจนได้บวชเป็นสามเณร ตลอดจนได้ เ รี ย นหั ด เทศน์ กั ณ ฑ์ มั ท รี จ ากเทปเสี ย งพระมหาจ�ำรั ส ทตฺตสิริ สมัยนัน้ และได้ฝกี เทศน์กบั พ่อหนานตา บ้านแป้น ตลอดจนได้ ไปกินอ้อผะหญากับพ่อแก้วตาไหล ทีบ่ า้ นโฮ่ง ซึง่ ท่านพ่อแก้วตาไหลรับ จะสอนซอและได้สอนการเสกอ้อ แต่ดว้ ยระยะทางไกลและเป็นเณรไป มายากล�ำบาก จึงไม่ได้ไปฝึกซอ แต่ได้กนิ อ้อและได้เรียนคาถาเสกอ้อ ได้ เดินไปเรียนหนังสือจากวัดกู่เรืองไปถึงโรงเรียนอินทะวิทยา วัดบ้านรั้ว ต�ำบลหนองหนาม ระยะทางประมาณ 5 กิโลเมตร บางครั้งโชคดีได้ ขึ้นรถไป บางวันฝนตกก็เดินกลางร่มกันไปรวมแล้ว 10 กว่ารูป ทั้งวัด กู่เรือง วัดหนองเหียง วัดต้นปัน วัดหนองหนาม เดินไปด้วยกัน บางที ต้องเดินลัดกลางทุ่งก็จะถูกวัวควายไล่บ้างเป็นบางวัน กระทั่งจบชั้น ม.3 และได้ไปเรียนต่อที่โรงเรียนเมธีวุฒิกร ขณะนั้นได้ไปเรียนสวด เบิกที่พ่อหนานแก้ว ที่บ้านแป้น และไปเรียนเทศน์ระบ�ำท�ำนองยองที่ พ่อหนานมอญ บ้านเหมืองจี้หลวง กับท่านพระครูปัญญา ปญฺญาวโร เจ้าอาวาสวัดเหมืองจี้หลวง ต่อมาท่านได้เป็นหัวหน้าสอนเณรและเด็กวัด และออกเทศน์ในงาน ต่าง ๆ จนได้เกิดความอิจฉาจากพระเณรรุ่นเดียวกัน และถูกพระปู่ ( เณรปู่ ) กัน จนครัง้ หนึง่ กลับจากการเทศน์จะเข้านอน ปรากฏว่ามีงู 2 ตัว อยูใ่ นทีน่ อน ในสมัยนัน้ นอนในศาลาห้องโถงใหญ่เข้าออกได้สบาย ท่าน ได้แจ้งต่อท่านเจ้าอาวาส และได้เรียกพระเณรมาถามก็ได้รบั ความจริง ครั้งต่อมาท่านรับนิมนต์ไปเทศน์ในงานศพ เมื่ออาบน�้ำเสร็จจะเช็ดตัว ปรากฏว่าผ้าเช็ดตัวและที่นอนเต็มไปด้วยหมามุ่ย ( หมาเยื้อง ) จึงเกิดอาการคันไปทั่วตัว คืนนั้นท่านจึงไม่ได้ไปเทศน์ ท่านได้แจ้งต่อ เจ้าอาวาส เมื่อเรียกพระเณรมาสอบถามข้อเท็จจริง ก็ปรากฏว่าเป็น เณรรูปเดิมอีก ต่อมาเณรรูปนัน้ จึงสึกหลังจากนัน้ ปีหนึง่ ก็ถกู รถชนตาย เป็นพระอุปัชฌาย์ พระครูปัญญา ปญฺญาวโร วัดเหมืองจี้หลวง เป็น พระกรรมวาจาจารย์ พระครูวฒ ั นา ญาณรํสี วัดดอยกุศล เป็นพระอนุสานาจารย์ ชีวติ วัยเยาว์ เป็นเด็กทีเ่ ลีย้ งยาก เจ็บออด ๆ แอด ๆ สุขภาพไม่สมบรูณ์ แต่มีร่างกายตุ้ยนุ้ย จึงมักจะถูกเพื่อนบ้านอุ้มไปเลี้ยงเพราะความตุ้ยนุ้ย ต่อมาได้เกิดเป็นไข้ขนึ้ ลมชักและหมดลมหายใจไปแล้วครัง้ หนึง่ และได้ฟน้ื ขึ้นมา นับแต่ฟื้นมาจนเจริญวัยอายุ 7 ปี ได้เข้าศึกษาโรงเรียนบ้านกู่เส้า อายุ 11 ปี เริ่มมีความคิดอยากบวช เพราะวัดอยู่ใกล้โรงเรียน มักได้ยิน เสียงพระเณรเรียนหนังสือสวดมนต์เทศนาธรรม และมักจะเห็นคนเฒ่าคน แก่ถือพานดอกไม้ไปวัด และในตอนบ่ายไปฟังธรรม ประกอบกับเป็นคน ชอบไปวัดกับแม่ ไปถวายขันข้าวตอนเช้าในวันส�ำคัญทางศาสนาตอนเช้าตรู่ และพระเณรมักชวนไปอยู่วัดเป็นเด็ก ( ขะโยม ) ด้วยความอยากจะไปวัด บางทีไปโรงเรียนในวันพระ ซึ่งตอนบ่ายมักจะเห็นคนเฒ่าคนแก่ไปนอน วัดฟังธรรม ก็มักจะหลบไปฟังพระเทศน์และเรียนเสียงท่านอยู่บ่อยครั้ง ต่อมาได้ขอพ่อกับแม่ไปอยู่วัดได้โดยการชักน�ำของสามเณรทิพย์ จี้ก้อน ซึ่งอยู่บ้านติดกัน พ่อกับแม่ได้น�ำไปฝากกับท่านพระครูประพันธ์ รตนปญฺโญ เจ้าอาวาสวัดกูเ่ รือ่ ง และได้เป็นศิษย์รบั การสอนตัวเมืองล้านนา และเรียนสวดมนต์ มีทั้งเณรและเด็กวัดรุ่นเดียวกัน 8 คนและท่านตัวเล็ก กว่าเพือ่ นจึงมักจะโดนรังแกอยูเ่ สมอ เมือ่ ท่องจ�ำบทสวดมนต์หรือบทเทศน์ ไม่ได้ ก็มกั จะถูกเณรใหญ่รงั แกบ้าง โดนไม้ฟาดบ้าง เมือ่ ทนไม่ไหวก็ออกจาก การเป็นเด็กวัด ต่อมาเข้าวัดอีกก็เหมือนเดิม จนครั้งที่สามท่านตั้งหน้าตั้ง ตาท่องบทสวดมนต์และฝึกเทศน์จนมีการแข่งขันภายในวัด เทศน์อานิสงส์

ร่วมสร้างเส้นทางบุญ ขอเชิญร่วมบุญสร้างบารมี “กองทุนมูลนิธิ พรครูบาศรี อริยวํโส” ณ ส�ำนักปฏิบัติธรรม อุโ บสถดอนตอง สาขาวัด พระธาตุหริภุญชัย โดยแบ่งเป็นกองทุนประเภทต่าง ๆ ประกอบ ด้วย กองทุนเพื่อการศึกษาพระภิกษุ-สามเณร, กองทุนเพื่อช่วยเหลือภิกษุ-สามเณร อาพาธมรณภาพ, กองทุนเพื่อการศึกษาเด็กปฐมวัย มัธยม เรียนดี แต่ยากจน และกองทุนเพื่อช่วย เหลือผู้ประสบอัคคีภัย วาตภัย ฯลฯ และร่วม สร้างกุฏิรับรองสงฆ์และแขกที่มาเยือน ซื้อที่ดิน ขยายเขตสร้างสวนป่าปฏิบัติธรรม สมทบทุน สร้างโรงพยาบาลป่าซาง สร้างอนุสาวรีย์ 5 พระ อริยสงฆ์ ไถ่ชีวิตโค กระบือ และเป็นเจ้าภาพ หญ้าเลี้ยงโค-กระบือในวัด ตามแต่จิตศรัทธา โทร 081-960-2509, 097-983-5381

LAMPHUN I SBL บันทึกประเทศไทย

173


HI S TO R Y O F BU D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต

วัดหนองเงือก วัดหนองเงือก ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 240 บ้านหนองเงือก หมูท่ ี่ 5 ต�ำบลแม่แรง อ�ำเภอป่าซาง จังหวัดล�ำพูน สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ทีด่ นิ ตัง้ วัดมีเนือ้ ที่ 6 ไร่ 1 งาน 29 ตารางวา โฉนดทีด่ นิ เลขที่ 12731 อาณาเขต ทิศเหนือจด ทีด่ นิ เอกชน ทิศใต้จดทางสาธารณะ ทิศตะวันออกจดล�ำเหมืองสาธารณะ ทิศตะวันตกจดทางสาธารณะมีที่ธรณีสงฆ์จ�ำนวน 1 แปลง เนื้อที่หนึ่ง งาน 13 ตารางวา โฉนดที่ดินเลขที่ 12783 อาคารเสนาสนะประกอบ ด้วย อุโบสถ วิหาร ศาลาการเปรียญ กุฎีสงฆ์ ศาลาบ�ำเพ็ญกุศล หอพระ ไตรปิฎก หอระฆัง และหอกลอง ปูชนียวัตถุมีพระพุทธรูป และเจดีย์

ประวัติวัดหนองเงือก

วัดหนองเงือก สร้างเมือ่ พ.ศ. 2371 ตามประวัตวิ ดั แจ้งว่า เมือ่ ปี พ.ศ. 2371 ปีกุน เด็กชายอุปะละ บุตรของนายใจ ประสงค์ที่จะบวชเรียนเป็น สามเณรเพื่อศึกษาพระธรรมวินัย แต่ในขณะนั้นหมู่บ้านหนองเงือกยัง ไม่มีวัด นายใจผู้บังเกิดเกล้ามีความคิดขึ้นมาว่าน่าจะสร้างวัดขึ้นประจ�ำ หมู่บ้าน จึงได้นิมนต์ครูบาปาระมีมาเป็นประธานสร้างวัด โดยตั้งชื่อวัด ตามชื่อหมู่บ้านว่า วัดหนองเงือก ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวัน ที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2400 -2416 กว้าง 10 เมตร ยาว 20 เมตร

174

SBL บันทึกประเทศไทย I LAMPHUN


ท�ำเนียบเจ้าอาวาส

การบริหารและการปกครองวัดหนองเงือก มีเจ้าอาวาสเท่าทีท่ ราบนาม คือ รูปที่ 1 ครูบาอุปาระมี พ.ศ. 2371-2400 รูปที่ 2 ครูบาอุปาละ พ.ศ. 2400-2416 รูปที่ 3 ครูบาไชยวงษา พ.ศ. 2416-2430 รูปที่ 4 ครูบาไชยสิทธิ พ.ศ. 2432-2453 รูปที่ 5 ครูบาญาณะ ( ค�ำแสน ) พ.ศ. 2453-2490 รูปที่ 6 พระอธิการพรหมา พรหมเสโน พ.ศ. 2490-2504 รูปที่ 7 พระครูโพธิโสภณ พ.ศ. 2504-2556 รูปที่ 8 พระครูรัตนวรรณสาทร พ.ศ. 2557 -ปัจจุบัน

ประวัติพระธาตุวัดหนองเงือก

พระธาตุบรรจุพระแก้วมรกตและพระบรมสารีริกธาตุ 100 องค์ ปีจุลศักราช 1286 ปีกาบไจ้ ตรงกับ พ.ศ. 2467 ปีชวด ครูบาพ่อเป็ง ครูบาอินทจักร ครูบาพรหมจักรสังวร ( ผู้บอกเล่า ) และครูบาคัมภีระ พร้อมด้วยพระภิกษุหลายรูป ได้ธุดงค์มาพักอยู่ที่วัดร้างป่าหนองเจดีย์ คณะศรัทธาญาติโยมได้มาสร้างอุโบสถชั่วคราวขึ้น และช่วยกันเสาะหา พระพุทธรูปเพื่อน�ำไปเป็นพระประธานในอุโบสถส�ำหรับท�ำสังฆกรรม ช่วงพรรษา พ่อน้อยเมือง พิมสาร ได้ขุดพบพระแก้วมรกตและพระบรม สารีริกธาตุ 100 องค์ ในซากเจดีย์เก่า จึงน�ำไปประดิษฐานไว้ในกุฎีท่าน ครูบาพ่อเป็ง พอตกกลางคืนพระบรมสารีริกธาตุได้แสดงปาฏิหาริย์ โดย เสด็จออกเป็นลูกไฟสุกใส สว่างนวล ลอยขึน้ ไปบนอากาศเป็นเช่นนีท้ กุ คืน ชาวบ้านต่างพากันมาเฝ้าดูจ�ำนวนมาก ครูบาพ่อเป็งเกรงจะไม่ปลอดภัย จึ ง พาคณะน� ำ ไปถวายแก่ ค รู บ าขั ต ติ ย ะ วั ด ป่ า เหี ย ง เพื่ อ บรรจุ ไ ว้ ใ น พระเจดีย์ ครูบาขัตติยะแนะน�ำไปถวายแก่ ครูบาญาณะ วัดหนองเงือก แทน เนื่องจากไม่มีพระเจดีย์ ครูบาญาณะ ได้รบั เอาพระแก้วมรกตและพระบรมสารีรกิ ธาตุไว้โดยยัง ไม่ได้สร้างพระเจดีย์ ข่าวก็รู้ไปถึงเจ้าน้อยจักรค�ำขจรศักดิ์ เจ้านครล�ำพูน ได้บัญชาให้นิมนต์ครูบาญาณะไปพบที่คุ้มเจ้าหลวง ก่อนไปครูบาญาณะ ได้ให้ก่อพระเจดีย์เป็นการด่วน แล้วอัญเชิญพระแก้วมรกต กับพระบรม สารีริกธาตุทั้งหมดเข้าบรรจุไว้ เมื่อเจ้าน้อยจักรค�ำถามถึง จึงบอกว่าได้ บรรจุเข้าไว้ในพระเจดีย์แล้ว เมื่อครูบาญาณะกลับมาถึงวัดได้หานายช่าง มาก่อสร้างเจดียถ์ าวรทันที มีการระดมคนมาช่วยกันทัง้ หมูบ่ า้ นเพือ่ ให้แล้ว เสร็จโดยเร็ว ครัน้ ถึงเวลาจะบรรจุพระแก้วมรกตและพระบรมสารีรกิ ธาตุ ได้ให้ชา่ ง ภาพมาถ่ายรูปพระแก้วมรกตเพือ่ เก็บไว้เป็นทีส่ กั การบูชา แต่ถา่ ยอย่างไร ก็ไม่ติด จึงได้เชิญพ่อน้อยเมือง พิมสาร และคนเฒ่าคนแก่ที่ท�ำการขุดพบ มาอาราธนาขอพระฉายาลักษณ์จึงท�ำการถ่ายภาพได้ พระเจดียอ์ งค์นี้ จึงเป็นทีบ่ รรจุพระแก้วมรกตและองค์พระธาตุ 100 องค์ พระธาตุมกั จะเสด็จออกแสดงปาฏิหาริย์ โดยเสด็จออกเป็นลูกไฟลอยขึน้ ไปเหนือองค์พระธาตุ บางครั้งลอยล่องออกไปลับตา และจะเสด็จกลับ มาอีกครั้งตอนใกล้รุ่ง ปาฏิหาริย์นี้มักเกิดขึ้นก่อนวันพระ 15 ค�่ำ หรือ 15 ค�่ำ ผู้คนจ�ำนวนไม่น้อยที่ได้พบเห็นบ่อย ๆ ท�ำให้เกิดความเลื่อมใส ศรัทธามากยิง่ ขึน้ และได้กำ� หนดประเพณีสรงน�ำ้ ขึน้ ทุกปี ในวันแรม 14 ค�ำ่ เดือน 9 เหนือ ของทุกปี LAMPHUN I SBL บันทึกประเทศไทย

175


HI S TO R Y O F BU D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต

วัดบ้านเหล่าพระเจ้าตาเขียว วัดบ้านเหล่าพระเจ้าตาเขียว เลขที่ 102 หมูท่ ี่ 2 ต�ำบลบ้านเรือน อ�ำเภอป่าซาง จังหวัด ล�ำพูน เป็นวัดเก่าแก่ที่มี “พระเจ้าตาเขียว” เป็นพระพุทธรูปประธานในวิหาร ที่มีอายุ ประมาณ 1,300 ปี ประวัติพระเจ้าตาเขียว

ตามต�ำนานภาคเหนือ ต�ำนานพระเจ้าเลียบโลก ต�ำนานพระเจ้า ห้าร้อยชาติ ต�ำนานท้องถิ่น ได้กล่าวถึงประวัติของพระเจ้าตาเขียวว่า เมือ่ องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้เสด็จประกาศพระพุทธศาสนาสัง่ สอนไปยังทุกหมู่บ้าน พร้อมด้วยสาวก ทุก ๆ แห่งที่พระองค์เสด็จผ่านไป ได้ประทานรอยพระพุทธบาท หรือพระเกศาธาตุไว้ และได้ตรัสพยากรณ์ สถานที่นั้น ๆ ไปด้วย จนเสด็จมาถึงสถานทีแ่ ห่งหนึง่ ทรงพยากรณ์วา่ ภายหน้าจะเป็นนครที่ รุง่ เรืองทางพระพุทธศาสนามาก มีนามว่า “หริภญ ุ ชัยนคร” ณ ทีพ่ ระพุทธ องค์ประทับพักมีชาวลัวะ ชื่อเม็งคบุตร ได้ชวนผู้คนแถวนั้นมาฟังธรรม และรูถ้ งึ อานิสงส์แห่งการสร้างพระพุทธรูป จนเข้าถึงพระรัตนตรัยกันโดย ถ้วนหน้า พระอินทร์ทูลขอพระเกศาธาตุ พระองค์ประทานให้แล้วเสด็จ ต่อไป

176

SBL บันทึกประเทศไทย I LAMPHUN

จากนั้นเม็งคบุตรพร้อมหมู่คนท้องถิ่น ได้พากันขุดอุโมงค์ (ณ วัดบ้าน เหล่าพระเจ้าตาเขียว ต.บ้านเรือน อ.ป่าซาง จ.ล�ำพูน ในปัจจุบัน) เพื่อน�ำ พระเกศาธาตุใส่ผอบทองค�ำ แล้วน�ำไปใส่ในโกฎิเงินอีกชั้นพร้อมทั้ง ของมีค่ามากมาย จากนั้นจึงบรรจุลงในอุโมงค์ดังกล่าว แล้วปิดด้วยอิฐ ขนาดใหญ่ ต่อมาพญานาคได้นำ� ศิลาหินใหญ่จากบาดาลมาปิดทับอุโมงค์ อีกชั้นหนึ่ง พระเกศาธาตุ และพระพุทธรูปพระเจ้าตาเขียว ณ วัดบ้านเหล่า พระเจ้าตาเขียว ต.บ้านเรือน อ.ป่าซาง จ.ล�ำพูน ได้ปรากฏเป็นที่รู้จักกัน มากขึ้น ในปี พ.ศ. 1235 อาณาจักรหริภุญชัยนครมีความรุ่งเรืองทาง ศาสนามาก ผูม้ ศี ลี ธรรมท่านหนึง่ ชือ่ ขันตะคะ ได้ทราบเรือ่ งพระเกศาธาตุ จึงได้พาหมู่คณะขุดขึ้นมา ปรับปรุงถ�้ำใหม่ อัญเชิญพระแม่เจ้าจามเทวี ปฐมกษัตริย์แห่งหริภุญชัยนคร พร้อมด้วยราชโอรส พระเจ้ามหันตยศ และพระเจ้าอนันตยศ เป็นประธานได้คดิ กันสร้างพระพุทธรูปทับปากถ�ำ ้


1 องค์ พอสร้างมาถึงพระพักตร์ ไม่รู้จะเอาแบบไหนกันดี พระอินทร์รู้ ด้วยญาณ จึงแปลงกายเป็น “ชีปะขาว” มารับอาสาช่วยสร้าง โดยได้เอา แก้วมรกตสีเขียวทีน่ ำ� มาด้วยบรรจุในพระเนตรทัง้ สองข้างของพระพุทธรูป ประชาชนในห้องถิ่นนั้นจึงได้ขนานนามว่า “พระเจ้าตาเขียว” ประมาณ 200 ปีมานี้ มีครูบาองค์หนึ่งเดินธุดงค์มาจากประเทศพม่า ท่ามาพักอยูแ่ ถวอ�ำเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ ระหว่างทีท่ า่ นพักอยูใ่ น เขตนัน้ ท่านก็พฒ ั นาวัดวาอารามอยูห่ ลายวัดด้วยกันก่อนทีค่ รูบาจะพัฒนา เป็นวัดอีกครัง้ หนึง่ เดิมวัดบ้านเหล่าชือ่ วัดจันคงพระเจ้านัง่ โขง ครูบาพัฒนา วัดเห็นว่าเป็นป่าเหล่ามาก่อน และท่านได้บรู ณะองค์พระพุทธรูปด้วย โดย ท่านได้น�ำเอาขันสรงน�้ำของท่านซึ่งเป็นสีน�้ำเงินเข้มๆ ให้ช่างเจียรนัยแล้ว น�ำมาครอบพระเนตรเดิมขององค์พระด้วยเพราะท่านคิดว่ากลัวจะเป็นภัย ต่อโจรจึงคิดเอาแก้วของท่านครอบไว้อกี ชัน้ หนึง่ ในระหว่างทีท่ า่ นพัฒนาวัด อยูน่ นั้ เป็นปี พ.ศ.2395 การก่อสร้างท่านได้รอื้ อุโมงครอบองค์พระพุทธรูป แล้วก่อสร้างวิหารแทน และกุฏิ อาคารเสนาสนะอีกหลายอย่าง เมื่อท่าน ครูบาได้บรู ณะวัดบ้านเหล่าให้กลับมาเจริญเพียงนัน้ ท่านครูบาก็จำ� พรรษา อยูว่ ดั บ้านเหล่าเรือ่ ยมาหลายพรรษาด้วยกันจนตลอดอายุสงั ขารของท่าน เข้าสู่วัยชราแลได้มรณะภาพ ณ วัดบ้านเหล่าพระเจ้าตาเขียวแห่งนี้

วัดบ้านเหล่าพระเจ้าตาเขียว นับตั้งแต่ครูบากิ๋งม้า มาพัฒนาสร้างขึ้น เป็นวัดมีเจ้าอาวาสเท่าที่ทราบนาม หนึ่งร้อยปีเศษมานี้ มีดังนี้ 1. ครูบากิ๋งม้า ( ครูบาพลปัญญาอรัญญวาสี) พ.ศ2395-2413 2. พระเทพ พ.ศ.2414-2416 3. พระโล้ พ.ศ.2417-2420 4. พระอุ่น พ.ศ.2421-2423 5. พระแอ้ พ.ศ.2424-2426 6. พระดวงค�ำ พ.ศ.2427-2432 7. พระค�ำมูล พ.ศ.2433-2446 8. พระแก้ว พ.ศ.2447-2456 9. พระแสน วิชโย พ.ศ.2457-2464 10. พระติ๊บ จันทิมา พ.ศ.2465-2469 11. พระก๋องค�ำ ค�ำภีระ พ.ศ.2475-2476 12. พระอธิการค�ำอ้าย อินทวํโส พ.ศ.2477-2407 13. พระอธิการบุญรส ค�ำภีโร พ.ศ.2508-2513 14. พระครูวิธานวรการ (สมาน กตปญโญ) พ.ศ.2414- ปัจจุบัน

LAMPHUN I SBL บันทึกประเทศไทย

177


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต

วัดช้างค�้ำ วัดช้างค�้ำ ตั้งอยู่เลขที่ 278 บ้านพระบาท หมู่ที่ 6 ต�ำบลมะกอก อ�ำเภอป่าซาง จังหวัดล�ำพูน สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ปัจจุบันมีพระมหาประสิทธิ์ ธมฺมาภินนฺโท ปธ.8 เป็นเจ้าอาวาส ที่ดินตั้งวัดมีเนื้อที่ 5 ไร่ 60 ตารางวา น.ส. เลขที่ 1361 อาณาเขตทิศเหนือประมาณ 66 เมตร จดที่ดินสวนล�ำไยเอกชน ทิศใต้ประมาณ 71 เมตร จดล�ำเหมืองและโรงเรียนวัดช้างค�้ำ ทิศตะวันออก 76 เมตร จดที่ดินเอกชน ทิศตะวันตกประมาณ 75 เมตร จดที่ดินเอกชน มีธรณี สงฆ์จ�ำนวน 1 แปลง เนื้อที่ 5 ไร่ 20 ตารางวา ประวัติวัดช้างค�้ำ

วัดช้างค�ำ ้ หรือทีช่ าวบ้านเรียกว่า “กูห่ ลวง” เริม่ ก่อสร้างเมือ่ พุทธศักราช 2400 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อพุทธศักราช 2420 เดิมเป็น บริเวณป่าไม้ไผ่ ต่อมาได้มีศรัทธาชาวบ้านเข้ามาหาของป่าประเภทไม้ไผ่ หน่อไม้ และของป่าเพื่อน�ำไปขายเลี้ยงชีพ ตลอดจนตัดไม้ไผ่ไปท�ำการ สร้างที่อยู่อาศัย ชาวบ้านพบพระพุทธรูปศิลาแรงขนาดใหญ่ไม่มีเศียรองค์ หนึ่ง จึงได้เดินส�ำรวจบริเวณโดยรอบเห็นว่าเป็นอาณาเขตเหมาะในการที่ จะสร้างวัด จึงได้ไปกราบอาราธนาพระครูธรรมวงศ์ เจ้าคณะอ�ำเภอปาก บ่องสมัยนั้น มาเป็นประธานในการก่อสร้างวัด และได้ชักชวนศรัทธาชาว บ้านละแวกนั้น ช่วยกันแผ้วสร้างขึ้นเป็นอาราม และพัฒนามาเป็นวัดให้

178

SBL บันทึกประเทศไทย I LAMPHUN

ถูกต้องตามกฎหมายบ้านเมืองตามล�ำดับ โดยได้ประชุมปรึกษาตกลง กัน แล้วไปกราบอาราธนาท่านครูบาปวน ญาณวีโล แห่งส�ำนักวัดป่าแดด มาเป็นเจ้าอาวาส และได้ร่วมใจกันบูรณปฏิสังขรณ์ต่อพระเศียรพระพุทธ รูปองค์ใหญ่ให้สมบูรณ์ถูกต้องตามสารรูปพระพุทธเจ้า และได้เจาะลงไป พบพระพุทธรูปทองเหลืองสององค์ ขนาดหน้าตัก 3 นิ้ว ปางมารวิชัย โมลีแหลมตามแบบศิลปะสุโขทัย มีรูปช้างชูงวงรอบฐานพระ ฝีมือช่าง โบราณหล่อหัวช้างชูงวง 17 หัว จึงได้เอามาเป็นมังคละ หรือมงคลนามว่า “วัดช้างค�ำ้ ” นับแต่นนั้ มา พระพุทธรูปอีกองค์ สาธุชนร่วมกันถวายพระนาม ว่าพระพุทธรูปฝนแสนห่า ขนาดหน้าตัก 5 นิว้ ทองเหลืองเช่นเดียวกับปาง มารวิชัย โมลีหักหายไปตามกาลสมัย


พระพุทธมงคลช้างค�้ำ วัดช้างค�้ำ อ.ป่าซาง จ.ล�ำพูน

อาคารเสนาสนะ

ประกอบด้วยโรงอุโบสถ วิหาร ศาลาการเปรียญ ศาลาเอนกประสงค์ 9 ห้อง ศาลา อสมท. กุฎิสงฆ์ ศาลามหากัจจายานะ หอฉัน

ปูชนียวัตถุ

พระพุทธรูปก่ออิฐถือปูน พระพุทธรูปฝนแสนห่า พระพุทธรูปทอง เหลือง เจดีย์ทรงล้านนา แผ่นศิลาจารึกบนหลังเต่าปูนปั้นอักษรขอม

กิจกรรมส�ำคัญของวัด

วันที่ 1 มกราคม ของทุกปี พิธีสืบชะตาหลวงแบบล้านนา วันที่ 25 มีนาคม -12 เมษายน ของทุกปี บรรพชาอุปสมบทภาคฤดูรอ้ น วันที่ 13 เมษายน พิธีสืบชะตาหลวงเพื่อรับปีใหม่เมือง วันเดือน 9 เหนือ(ล้านนา) ออก 9 ค�่ำ ของทุกปี ประเพณีสรงน�้ำพระ ธาตุเจดีย์และพระอัฐิบูรพาจารย์วัดช้างค�้ำ วันที่ 27 ธันวาคม-1 มกราคม ของทุกปี ประเพณีฟังเทศน์มหาชาติ แบบล้านนา (ตั้งธรรมหลวง)

ร่วมสร้างเส้นทางบุญ ร่วมบุญการศึกษา-เผยแผ่-บูรณะวัดช้างค�้ำ ธนาคารกรุงไทย สาขาโลตัสป่าซาง-ล�ำพูน เลขบัญชี 798-008-6805 สอบถามโทร 086-187-5325 LAMPHUN I SBL บันทึกประเทศไทย

179


HI S TO R Y O F BU D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต

วัดป่ารกฟ้า วัดป่ารกฟ้า ตั้งอยู่เลขที่ 106 หมู่ 9 บ้านป่ารกฟ้า ต�ำบลน�้ำดิบ อ�ำเภอป่าซาง จังหวัดล�ำพูน สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย โดยมีพระครูสุนทรปัญญารัตน์ เจ้าอาวาสวัด เป็นเจ้าคณะต�ำบลหนองยวง อ�ำเภอเวียงหนองล่อง จังหวัดล�ำพูน ประวัติวัดป่ารกผ้า ในสมัยก่อนคณะศรัทธาหมู่บ้านป่ารกฟ้า ต้องเดินทางไปท�ำบุญที่ วัดหนองผาขาว ซึ่งห่างจากหมู่บ้านประมาณ 2 กิโลเมตร ซึ่งการเดินทาง สัญจรไปมาเป็นไปด้วยความล�ำบากมาก พระบุญมา วัดหนองผาขาว จึงได้ปรึกษาหารือกันกับคณะศรัทธาบ้านป่ารกฟ้า บ้านเหล่าป่าก๋อย และ เจ้าอาวาสวัดหนองผาขาว ว่าสมควรที่จะสร้างวัดป่ารกฟ้าขึ้นที่บริเวณ บ้านป่ารกฟ้า เพื่อใช้เป็นที่สถานที่ท�ำบุญ เมื่อตกลงพร้อมใจกันเป็นอันดีแล้ว ก็เริ่มสร้างอารามใหม่ขึ้น ในปี พ.ศ.2452 จุลศักราช 1271 ตรงกับปีระกา ให้ชื่อตามหมู่บ้านว่า “อารามป่ารกฟ้า” ( เพราะมีหมู่ไม้มะฮกฟ้าเป็นไม้ยืนต้นเนื้อแข็งมาก ตามประวัติความเป็นมาใช้เผาพระรอด และประชุมเพลิงพระนางเจ้าแม่

180

SBL บันทึกประเทศไทย I LAMPHUN

จามเทวีทุกวันนี้เหลือไว้ให้ลูกหลานได้ดูคู่บ้านป่ารกฟ้าเพียงต้นเดียวใน โรงเรียนบ้านป่ารกฟ้า) ต่อมาวัดได้ร้างลง เหลือเพียงอุโบสถเก่าแก่ที่ใช้ กระท�ำอุโบสถกรรม ตั้งแต่ปี พ.ศ.2484 เป็นต้นมา ปัจจุบันได้รับการยก วัดร้าง เป็นวัดที่มีพระสงฆ์ ในวันที่ 12 กรกฎาคม 2555

รายนามเจ้าอาวาส

วัดป่ารกฟ้า มีเจ้าอาวาสเท่าทีท่ ราบนาม ดังนี้ 1. พระแก้ว 2. พระก้อน 3.พระบุญมา (ผูร้ เิ ริม่ สร้างวัด) 4. พระครูอนุ่ เรือน อินทวิชโย 5. พระค�ำปัน สีลสํวโร 6. พระอธิการครุฑ วฑฺฒนจิตโต 7. พระครูสุนทรปัญญารัตน์ พ.ศ.2529- ปัจจุบัน


พระครูสุนทรปัญญารัตน์ เจ้าอาวาสวัด วัดป่ารกฟ้า

เสนาสนะส�ำคัญ

วัดป่ารกฟ้า ได้ก่อสร้างถาวรวัตถุ ได้แก่ วิหาร ศาลาการเปรียญ ศาลาปฏิบัติธรรม กุฏิสงฆ์ หอสวดมนต์ พระอุโบสถแบบล้านนา ห้องน�้ำห้องสุขา อุทยานรูปปั้นศีลห้า อาณาเขตของวัด มีก�ำแพงล้อมรอบอย่าง มั่งคงถาวร บริเวณวัดสงบร่มรื่นไปด้วยต้นไม้ มีศาลาพักร้อนเป็นที่พัก ผ่อนอาศัยของศรัทธาชาวบ้านเมื่อมาท�ำกิจกรรมของหมู่บ้านเป็นประจ�ำ

ประวัติพระครูสุนทรปัญญารัตน์

พระครูสุนทรปัญญารัตน์ ฉายา ปญญาโร อายุ 60 พรรษา 38 วิทยฐานะ นักธรรมเอก ป.ธ.4 ปัจจุบนั ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดป่ารกฟ้า เจ้าคณะต�ำบลหนองยวง เป็นพระอุปชั ฌาย์ตำ� บลหนองยวง เป็นทีป่ รึกษา หน่วยอบรมประชาชนประจ�ำต�ำบลหนองยวง และเป็นครูสอนพุทธศาสนา โรงเรียนบ้านป่ารกฟ้า สถานะเดิม ชือ่ ศิรชิ ยั นามสกุล ปันศรี เกิดวัน 5 ฯ เดือน 8 ขึน้ 15 ค�ำ่ ปีจอ วันที่ 31 เดือนกรกฎาคม พ.ศ.2501 บิดา นายสุคิด มารดา นางค�ำป๊ก ปันศรี บ้านเลขที่ 42 หมู่ที่ 3 ต�ำบลศรีเตี้ย อ�ำเภอบ้านโฮ่ง จังหวัดล�ำพูน บรรพชา วัน 7 ฯ7 ค�่ำ ปีวอก วันที่ 8 เดือนพฤษภาคม พ.ศ.2511 ที่วัดปทุมสราราม (สันปูเลย) ต�ำบลศรีเตี้ย อ�ำเภอบ้านโฮ่ง จังหวัดล�ำพูน พระอุปชั ฌาย์ พระครูเมืองเก้า อินทนนโท วัดประทุมสราราม ต�ำบลศรีเตีย้ อ�ำเภอบ้านโอ่ง จังหวัดล�ำพูน อุปสมบท วัน 2ฯ ขึน้ 8 ค�ำ่ ปีมะเม วันที่ 22 พฤษภาคม 2522 วัดศรีเตีย้ ต�ำบลศรีเตี้ย อ�ำเภอบ้านโฮ่ง จังหวัดล�ำพูน พระอุปัชฌาย์ พระครูโกมุทส ราธิกุล วัดปทุมสราราม ต�ำบลศรีเตี้ย อ�ำเภอบ้านโฮ่ง จังหวัดล�ำพูน

วิทยฐานะ - พ.ศ. 2501 ส�ำเร็จส�ำเร็จชั้นประถมปีที่ 4 โรงเรียนบ้านสันปูเลย ต�ำบลศรีเตี้ย อ�ำเภอบ้านโฮ่ง จังหวัดล�ำพูน - พ.ศ.2530 ส�ำเร็จการศึกษาระดับ 4 ม. 3 ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียน จังหวัดล�ำพูน - พ.ศ. 2523 ส�ำเร็จการศึกษานักธรรมชัน้ เอก ส�ำนักเรียนคณะจังหวัด ล�ำพูน - พ.ศ. 2529 สอบได้เปรียญธรรม 4 ประโยค ส�ำนักเรียนคณะจังหวัด ล�ำพูน การศึกษาพิเศษ มีความรู้แตกฉานในภาษาล้านนาไทย (พื้นเมือง) สามารถอ่ า นออกเสี ย งได้ สอนได้ ร วมทั้ ง มี ค วามรู ้ ใ นด้ า นประเพณี ขนบธรรมเนียมพื้นบ้านเป็นอย่างดี ความช�ำนาญการ มีความช�ำนาญในการเทศน์ธรรมพื้นบ้านล้านนา เป็นทีป่ รึกษาในด้านพิธกี รรม พิธกี ารงานบุญทางพระพุทธศาสนา งานบุญ ต่างๆ เช่น สืบชะตา รดน�้ำด�ำหัว ประเพณีวัฒนธรรมชาวบ้าน ออกแบบ การก่อสร้างด้านนวกรรม ควบคุมการก่อสร้างบูรณปฏิสังขรณ์ภายในวัด นอกวัดทั่วไปได้เป็นอย่างดี งานการปกครอง พ.ศ.2529 เป็นผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาสวัดป่ารกฟ้า พ.ศ.2530 เป็นเจ้าอาวาสวัดป่ารกฟ้า พ.ศ.2532 เป็นเจ้าคณะต�ำบลหนองยวง พ.ศ.2535 เป็นพระอุปัชฌาย์ต�ำบลหนองยวง พ.ศ.2540 เป็นพระวินยาธิการอ�ำเภอป่าซาง วิธีส่งเสริมการศึกษา ให้รางวัลแก่พระภิกษุ-สามเณรผู้สอบไล่ได้เป็น ประจ�ำทุกปี, จัดหาหนังสือนักธรรม-บาลี แจกให้พระภิกษุ-สามเณรทุกรูป, ถวายปัจจัยค่าเล่าเรียน-ค่าอาหาร-ค่ารถรับส่ง-ทุกภาคเรียน, ได้ส่งเสริม ให้พระภิกษุ-สามเณรเรียนพระปริยัติธรรมแผนกนักธรรม ตรี-โท-เอก แผนกบาลี แผนกสามัญ และระดับอุดมศึกษา, ได้เชิญวิทยากรที่เป็น บรรพชิต-คฤหัสถ์ ผู้มีความรู้ทางธรรม และทางโลกมาถวายความรู้แก่ พระภิกษุ-สามเณรเป็นประจ�ำทุกปี, ให้ความอุปถัมภ์อุปกรณ์การเรียน เช่น สมุด ปากกา หนังสือ แก่พระภิกษุ-สามเณรภายในวัดที่เรียนหนังสือ และมอบเงินคณะสงฆ์จังหวัดล�ำพูน เพื่อสมโภชแด่พระภิกษุ-สามเณรที่ สอบผ่านพระปริยัติธรรมแผนกบาลีได้ทุกปี

LAMPHUN I SBL บันทึกประเทศไทย

181


งานเผยแผ่ 1.พ.ศ.2529-2531 เป็นประธานหน่วยอบรมประชาชนประจ�ำต�ำบล หนองยวง พ.ศ. 2532 เป็นพระธรรมทูตเฉพาะกิจเขตทุรกันดารบ้านหัวห้วย ต�ำบลน�้ำดิบ พ.ศ.2533 เป็นพระธรรมทูตประจ�ำอ�ำเภอป่าซาง พ.ศ.2534 เป็นกรรมการทีป่ รึกษาหน่วยอบรมประชาชน ต�ำบลหนองยวง พ.ศ.2536 เป็นวิทยากรหน่วยอบรมประชาชน ต�ำบลหนองยวง 2. มีการท�ำพิธมี าฆบูชา วิสาขบูชา อาสาฬหบูชาโดยจัดให้มกี ารท�ำบุญ ตักบาตรตอนเช้า การเวียนเทียน ฟังเทศน์ 3. มีการอบรมพระภิกษุสามเณรในวันเข้าพรรษา และทุกวันพระ และ ตามโอกาสนั้น ๆ 4. มีการอบรมศีลธรรมแก่ประชาชนทุกวันพระ ในงานมงคลและ งานอวมงคล รวมทัง้ ในโอกาสส�ำคัญทางพระพุทธศาสนา เจริญพุทธมนต์ สวดมนต์ข้ามปี มีการสวดพระปาฏิโมกข์ตลอดปี มีการท�ำวัตร สวดมนต์ เช้า-เย็น ตลอดปี มีระเบียบการปกครองวัด 5. มีกิจกรรมเกี่ยวการเผยแผ่ 5.1 ออกแสดงธรรมและการปาฐกถานอกสถานที่ เทศน์ในงานศพ และงานมงคลอื่น ๆ ทั้งในหมู่บ้าน และใกล้เคียง 5.2 เป็นวิทยากรการอบรมเยาวชนที่ค่ายพุทธบุตรร่วมกับพระปริยัติ นิเทศจังหวัด 5.3 ออกปฏิบัติงานในฐานะพระธรรมฑูต อ�ำเภอป่าซาง เป็นประจ�ำ ทุกปี 5.4 เทศนาอบรมให้ความรู้แก่นักเรียนเป็นประจ�ำ ในโรงเรียนน�้ำดิบ วิทยาคม ต�ำบลน�้ำดิบ และโรงเรียนบ้านป่ารกฟ้า ต�ำบลหนองยวง มีนักเรียนรวมจ�ำนวนกว่า 350 คน 6. มีความร่วมมือกับคณะสงฆ์หรือทางราชการในการเผยแผ่ เช่น ออก เยีย่ มเยียนตามโครงการพระธรรมฑูตสัญจร การออกหน่วยเพือ่ แสดงธรรม ตามนโยบายของหน่วยงาน อบรมประชาชนประจ�ำต�ำบล น�ำชาวบ้าน พัฒนาสถานที่ สิ่งก่อสร้างสาธารณประโยชน์ ตามที่ได้รับประสานงาน จากคณะสงฆ์และทางราชการ

182

SBL บันทึกประเทศไทย I LAMPHUN

ร่วมสร้างเส้นทางบุญ

ปัจจุบนั มีคณะศรัทธาทีอ่ ปุ ถัมภ์บำ� รุงวัดป่ารกฟ้าเป็นประจ�ำ ประมาณ 260-280 หลังคาเรือน วัดมีประเพณีทดี่ งี ามสืบต่อมาถึงรุน่ ลูกหลาน คือ งานวันกตัญญู สรงน�้ำพระธาตุ อนุสาวรีย์อดีตบูรพาจารย์ ในวันเดือน 4 ขึ้น 15 ค�่ำ ของทุกปี และประเพณีสงกรานต์ขนทรายเข้าวัด รดน�้ำด�ำหัว ผู้สูงอายุภายในหมู่บ้าน สืบชะตาเปิดประตูบ้าน ถวายทานไม้ค�้ำต้นโพธิ์ เป็นต้น และงานท�ำบุญวันเพ็ญเดือน 10 อุทิศให้ญาติที่ล่วงลับ สังฆทาน ประจ�ำปีทุกปี สาธุชนท่านใดสนใจร่วมงานประเพณีดังกล่าว สามารถ ติดต่อสอบถามได้ที่ โทรศัพท์ 053- - 529-620, 084-687-2634, 083-861-3649


WORK LIF E

บันทึกเส้นทางพบเทศบาลตำ�บล

นายทวี ณ ลำ�พูน

นายกเทศมนตรีตำ�บลแม่แรง

เทศบาลตำ�บลแม่แรง “ดินแดนหัตถกรรม เลิศล�้ำผ้าทอมือ เลื่องลือบาติกมัดย้อม งามพร้อมประเพณี ของดีล�ำไยหวาน สืบสานต�ำนานไทยอง แผ่นดินทองของหริภุญชัย” คือค�ำขวัญของต�ำบลแม่แรง ซึง่ อยูใ่ นความดูแลของ เทศบาลต�ำบลแม่แรง ตั้งอยู่เลขที่ 199 หมู่ที่ 2 ต�ำบลแม่แรง อ�ำเภอป่าซาง จังหวัดล�ำพูน

วิสัยทัศน์ ส่งเสริมการศึกษาและศาสนา พัฒนาคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจพอเพียง อนุรักษ์วัฒนธรรม ก้าวน�ำหัตถกรรมสิ่งทอ ประวัติความเป็นมา เทศบาลต�ำบลแม่แรง เดิมเป็นสภาต�ำบลแม่แรง และได้รบั การจัดตัง้ เป็น องค์การบริหารส่วนต�ำบลแม่แรง ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2539 และประกาศดังกล่าวได้ลงในราชกิจจานุเบกษา ฉบับทั่วไป เล่ม 113 ตอนพิเศษ 52 ง ลงวันที่ 25 ธันวาคม 2539 โดยมี ผลบังคับตั้งวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2540 เป็นต้นมา ต่อมาได้รับการยกฐานะ จัดตัง้ เป็นเทศบาลต�ำบลแม่แรง ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรือ่ ง จัดตัง้ องค์การบริหารส่วนต�ำบลเป็นเทศบาลต�ำบล มีผลตัง้ แต่วนั ลงนามในประกาศ คือ วันที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2548 เป็นต้นไป ต�ำบลแม่แรง มีเนื้อที่ 16.191 ตารางกิโลเมตร หรือ 10,119 ไร่ 1 งาน สภาพพื้นที่เป็นพื้นที่ราบลุ่ม เหมาะแก่การเพาะปลูกและท�ำการเกษตร ต�ำบลแม่แรงมีประชากร จ�ำนวน 7,361 คน จ�ำนวนหมู่บ้านในเขตเทศบาล ต�ำบลแม่แรง มีทั้งหมด 11 หมู่บ้าน LAMPHUN I SBL บันทึกประเทศไทย 183


งานส�ำคัญของต�ำบลแม่แรง 3 งานใหญ่ “ต�ำบลแม่แรง” อ�ำเภอป่าซาง จังหวัดล�ำพูน มีผลิตภัณฑ์ที่โดดเด่นของ ต�ำบลแม่แรง ได้แก่ ผลิตภัณฑ์จากผ้าบาติกและผ้ามัดย้อม เป็นแหล่งก�ำเนิด ผ้าฝ้ายทอมืออันเลื่องชื่อของจังหวัดล�ำพูนมาแต่โบราณกาล ซึ่งได้รับความ สนใจเป็นอย่างดี สร้างรายได้สชู่ มุ ชนเป็นจ�ำนวนมาก เทศบาลต�ำบลแม่แรงจึง ได้กำ� หนดจัดงานเพือ่ ส่งเสริมการท่องเทีย่ วและส่งเสริมอาชีพให้กบั ประชาชน ในพื้นที่ ดังนี้ “งานบาติกงามพร้อม มัดย้อมงามตา งานผ้ากองงาม” โดยก�ำหนดจัด ขึน้ ในวันศุกร์สดุ ท้ายของเดือนมีนาคม ณ บริเวณหน้าวัดป่าเหียง บ้านกองงาม หมู่ที่ 1 ภายในงานพบกับการเปิดร้านจ�ำหน่ายผ้ามัดย้อมและผ้าบาติกรวม ถึงผลิตภัณฑ์ของดีบ้านกองงาม และหมู่บ้านใกล้เคียง ชมการสาธิตขั้นตอน กระบวนการผลิตจากผ้าบาติกและผ้ามัดย้อม, การประกวดธิดาบาติก และ ชมการแสดงแฟชั่นโชว์หนูน้อยบาติก “งานแต่งสีอวดลาย ผ้าฝ้ายดอนหลวง” วันแรกของการจัดงานคือวันศุกร์ แรกของเดือนเมษายนของทุกปี และก�ำหนดระยะเวลาการจัดงาน จ�ำนวน 5 วัน ในปี 2561 เป็นการจัดงานครั้งที่ 16 แล้ว ณ บริเวณหน้าวัดดอนหลวง บ้านดอนหลวง หมู่ที่ 7 ลักษณะของการจัดงานเป็นแบบ “กาดปื้นเฮือน” ภายในงานมีกิจกรรมต่าง ๆ มากมาย เช่น การสาธิตการทอผ้าฝ้ายพื้น เมืองโดยนักท่องเที่ยวสามารถทดลองทอผ้าฝ้ายตามวิถีของชุมชน ได้แก่

184

SBL บันทึกประเทศไทย I LAMPHUN

ทดลองอีดฝ้าย ปั่นฝ้าย กวักฝ้าย อีกทั้งสัมผัสวัฒนธรรมอันดีงามในการ ต้อนรับแขกผูม้ าเยือน คือ การผูกข้อไม้ขอ้ มือรับศีลรับพรปีใหม่จากผูเ้ ฒ่าผูแ้ ก่ บ้านดอนหลวง มีการจ�ำหน่ายอาหารพื้นเมือง(กาดมั้ว) ลานขันโตกชมการ แสดงพื้นเมืองของชาวบ้านและนักเรียนในต�ำบลแม่แรง รวมถึงการจ�ำหน่าย ผ้าฝ้าย ผ้าทอ ซึ่งเป็นสินค้า OTOP ที่ขึ้นชื่อ ท่ามกลางบรรยากาศกลิ่นอาย แห่งมนต์เสน่ห์แห่งล้านนาด้วยเสียงเพลงสะล้อ ซอ ซึง ที่บรรเลงขับกล่อม ตลอดการจัดงาน “งานสืบสานต�ำนานฝ้ายงามหนองเงือก” ก�ำหนดให้ทุกวันที่ 9 -12 เมษายนของทุกปี จ�ำนวน 4 วัน ในปี 2561 เป็นการจัดงานครัง้ ที่ 12 แล้ว ณ บริเวณหน้าวัดหนองเงือกบ้านหนองเงือก หมูท่ ี่ 5 ส�ำหรับบ้านหนองเงือกได้ รับคัดเลือกเป็นแกนน�ำหลักของเครือข่ายกลุม่ ผ้าทอของจังหวัดล�ำพูนร่วมกับ บ้านดอนหลวง ผลิตภัณฑ์ผ้าฝ้ายทอมือของบ้านหนองเงือกยังคงเอกลักษณ์ ดัง้ เดิม โดยเฉพาะความโดดเด่นทางศิลปหัตถกรรมการทอผ้าฝ้ายทีไ่ ด้รบั การ ถ่ายทอดภูมปิ ญ ั ญาจากบรรพบุรษุ มานานนับ 200 กว่าปี ซึง่ ชาวบ้านหนองเงือก ได้สบื ทอดการทอผ้าฝ้ายและกรรมวิธี พัฒนารูปแบบสีสนั ลวดลายให้ทนั ยุค ทันสมัยเป็นสินค้าหัตถกรรมพื้นบ้านที่ท�ำจากผ้าฝ้ายย้อมด้วยสีธรรมชาติ และยังผลิตส่งไปจ�ำหน่ายยังแหล่งขายของที่ระลึกต่างๆ หลายแห่งโดย การจัดงานดังกล่าวจัดในรูปแบบล้านนาโดยใช้สถานที่บริเวณลานหน้าวัด หนองเงือก หมู่บ้านหนองเงือก หมู่ที่ 5 ในการเล่าขานต�ำนานการทอผ้าฝ้าย ทอมือของบ้านหนองเงือก 12 ขั้นตอนอันเลื่องชื่อ ชมและสัมผัสบรรยากาศ วัฒนธรรมของชาวยองที่เรียบง่าย


สถานที่ส�ำคัญของต�ำบลแม่แรง วัดศรีดอนตัน (กอม่วงร้าง) ตัง้ อยูใ่ นเขตบ้านป่าเบาะ หมูท่ ี่ 8 ต�ำบลแม่แรง อ�ำเภอป่าซาง จังหวัดล�ำพูน โบราณสถานแห่งนีย้ งั ไม่ได้รบั การขุดแต่งศึกษาทางโบราณคดี ปัจจุบนั ปรากฏ หลักฐานเป็นกลุ่มโบราณสถานประกอบด้วย เจดีย์ วิหาร มีแนวก�ำแพง แก้วและก�ำแพงวัดล้อมรั้วเจดีย์เป็นเจดีย์ทรงระฆัง ตั้งอยู่บนฐานปัทม์ลูก แก้วอกไก่ยกเก็จซ้อนกัน 2 ชั้น ระหว่างฐานปัทม์แต่ละชั้นคั่นด้วยฐานหน้า กระดานในผังสี่เหลี่ยมเก็จ เหนือขึ้นไปเป็นฐานเขียงในผังแปดเหลี่ยม ซ้อน ลดหลั่นกันรองรับฐานปัทม์ลูกแก้วอกไก่ในผังกลมซ้อนกัน 2 ชั้น เหนือขึ้น ไปปรักหักพัง สันนิษฐานว่าเป็นชุดฐานรองระฆังกลมด้านตะวันออกของเจดีย์ มีฐานวิหารเตี้ยๆ ปูพ้ืนด้วยอิฐ ปัจจุบันปรากฏหลักฐานเพียงฐานเขียงใน ผังสี่เหลี่ยมผืนผ้ารองรับฐานบัวคล�่ำ บริเวณท้ายวิหารเป็นต�ำแหน่งของฐาน ชุกชีขนาดเล็ก จากรูปแบบสถาปัตยกรรมขององค์เจดีย์ที่ปรากฏในปัจจุบัน สันนิษฐานว่าโบราณสถานแห่งนี้น่าจะมีอายุการสร้างและใช้งานอยู่ในช่วง พุทธศตวรรษที่ 21-22

อัฐิธาตุ ครูบาศรี อริยวังโส วัดป่าบุก อัฐิธาตุของ ครูบาศรี อริยวังโสอดีตเจ้าอาวาสวัดป่าบุก ต�ำบลแม่แรง อ�ำเภอป่าซาง จังหวัดล�ำพูน ท่านได้มรณภาพเมื่อปี พ.ศ. 2594 มีพรรษา 34 พรรษา ขณะที่มรณภาพอายุได้ 54 ปี เก็บศพได้ 7 วันเกิดอภินิหาร เมื่อพระภิกษุสามเณรที่วัดขณะท�ำวัตรเย็นได้ยินเสียงดังขึ้น และมีแสง สว่างไสวไปทั่วกุฏิเป็นที่น่าอัศจรรย์ใจ เมื่อวิ่งออกมาดูพบแสงสีเขียวขาว พุ่งขึ้นสู่อากาศ แล้วลอยไปทางตัวเมืองล�ำพูน ทิศตะวันออกแล้วหายไป พอถึงวันเพ็ญหรือเดือนดับขึน้ 15 ค�ำ่ และแรม 15 ค�ำ ่ ก็มกั จะมีแสงสว่างพุง่ ขึน้ สร้างความประหลาดใจแก่ผู้ที่พบเห็นว่าเป็นธาตุของท่านครูบาศรี ท่านเป็น เกจิอาจารย์ชื่อดัง มีลูกศิษย์ลูกหาทั่วประเทศเลื่อมใสศรัทธา เมื่อท่านได้ มรณภาพไปแล้ว กระดูกของท่านกลายเป็นพระธาตุอฐั สิ ใี ส และสีขาวขุน่ นับได้ 43 เม็ด ชาวบ้านจึงพากันน�ำมาเก็บไว้ ในกุฏโิ ดยการล้อมรัว้ เหล็กทัง้ หมด 7 ชัน้ เก็บรักษาไว้อย่างดี ณ วัดป่าบุกแห่งนี้

พิพิธภัณฑ์ไทยองบ้านหนองเงือก แหล่งเรียนรู้วัฒนธรรม เป็นทีร่ วบรวมอนุรกั ษ์ขอ้ มูลทางประวัตศิ าสตร์ ศิลปวัฒนธรรม ประเพณี โบราณวัตถุ เครื่องมือ เครื่องใช้ในการด�ำเนินชีวิตของบรรพบุรุษหรือบุคคล ของชาวยอง สมัยโบราณแบ่งเป็น 3 หมวด คือ หมวดศาสนา หมวดวิถีชีวิต และกระบวนการผลิตผ้าฝ้ายทอมือ และหมวดโบราณวัตถุสิ่งของเครื่องใช้ เปิดให้ชมฟรีเวลา 09.00-17.00 น. ทุกวัน อนุสรณ์สถานสี่ครูบา ตั้งอยู่ ณ บ้านป่าแพ่ง กองงาม หมู่ที่ 1 ต�ำบลแม่แรง อ�ำเภอป่าซาง จังหวัดล�ำพูน เป็นสถานที่ได้รวบรวมอนุสรณ์สถานสี่ครูบาได้แก่ 1. ครูบาเป็งโพธิโก วัดป่าหนองเจดีย์ (วัดนครเจดีย์) อ�ำเภอป่าซาง จังหวัดล�ำพูน 2. ครู บ าอิ น ทจั ก ร์ รั ก ษา (พระสุ ธ รรมยานเถระ) วั ด น�้ ำ บ่ อ หลวง อ�ำเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ 3. ครูบาพรหมา พรหมจักโก (พระสุพรหมยานเถระ) วัดพระพุทธบาท ตากผ้า อ�ำเภอป่าซาง จังหวัดล�ำพูน 4. ครู บ าคั ม ภี ร ะ (พระสมุ ท รคั ม ภี ร ญาณ) วั ด พระธาตุ ด อยน้ อ ย อ�ำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งเป็นอนุสรณ์สถานที่ส�ำคัญแห่งหนึ่ง ของประชาชนในต�ำบลแม่แรง วัดหนองเงือก วัดหนองเงือกตั้งอยู่ในหมู่บ้านหนองเงือก ต.แม่แรง อ.ป่าซาง จ.ล�ำพูน ตามประวัตกิ ล่าวว่า ในปี 2371 วัดนีม้ คี วามส�ำคัญในฐานะทีม่ โี บราณสถาน ที่มีรูปแบบศิลปกรรมสวยงาม และมีสภาพที่สมบูรณ์ มากทีเดียวนั่นคือ หอไตร ซุ้มประตูวัดดั้งเดิมและพระเจดีย์ หอไตรของวัดตั้งอยู่ทางด้านใต้ เจดีย์เป็นหอไตรก่ออิฐถือปูนทั้งหลัง ผนังของหอไตรชั้นล่างทั้ง 3 ด้านมี ภาพจิตรกรรมฝาผนัง เขียนประดับเอาไว้ ผนังด้านซ้ายมือภาพเลอะเลือน ไปมาก ผนังในสุดซึ่งเป็นพื้นที่กว้างที่สุด แบ่งพื้นที่ ของภาพออกเป็น 2 ส่วน ด้านซ้ายมือเขียนเป็นเรื่องราวขององค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าตอนที่ ทรงน�ำ พระอรหันต์ เสด็จลงมาจากสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ หลังจากที่พระองค์เสด็จขึ้น ไปแสดงพระธรรม เทศนาโปรดพุทธมารดา ส่วนด้านขวามือนั้นเขียนเป็น ภาพ เมืองบาดาลมีพญานาคมารอรับเสด็จ พระพุทธองค์ ด้านขวาสุดเขียน เป็นภาพเจ้าวิธูรบัณฑิต นั่งอยู่ในปราสาท ด้านบนของผนังส่วนนี้ มีข้อความ เขียนด้วยอักขระล้านนามีใจความว่า “ศักราชได้ 1279 ตัว ปีเมืองไส้ เดือน 9 ลง 15 ค�่ำ เม็งวันเสาร์ ไทยกัดเป้า ยามกองแลงได้แต้มข่าวเนื่องพระพุทธ เจ้าโผดสัตว์ ในชั้นฟ้า เมืองคน แลเมืองนาค ถวายค่านี้ 40 แถบ รวมหมด เสี้ยง 58 แล “ส่วนผังด้านขวามือนั้นเขียนเป็นเรื่องราวจากนิทานชาดกเรื่อง “พรหมจักรชาดก” ซึง่ เป็นนิทานพุทธศาสนาทีม่ เี ค้าโครงเรือ่ งมาจากวรรณคดี เรื่องรามเกียรติ์ ลักษณะของภาพจิตรกรรมฝาผนังในหอไตรวัดหนองเงือกนี้ เป็นศิลปกรรมที่ได้รับอิทธิพลของศิลปะแบบพม่าค่อนข้างมาก โดยเฉพาะ เครื่องแต่งกายของคนในภาพ แต่ค�ำอธิบายภาพทั้งหมดเขียนด้วยอักขระ ล้านนาทั้งสิ้น LAMPHUN I SBL บันทึกประเทศไทย 185


WO R K L I F E

บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนตำ�บล

นายมงคล หมื่นอภัย

นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลน้ำ�ดิบ

องค์การบริหารส่วนตำ�บล น้ำ�ดิบ “ล�ำไยสร้างตน ไก่ชนสร้างชื่อ เลื่องลือจักสาน กล่าวขานน�้ำปิง งามยิ่งประเพณี มากมีน�้ำใจ ลือไกลปลาทับทิม” คือค�ำขวัญของต�ำบลน�้ำดิบ อ�ำเภอป่าซาง จังหวัดล�ำพูน ปัจจุบันมี นายมงคล หมื่นอภัย ด�ำรงต�ำแหน่ง นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลน�้ำดิบ

186

SBL บันทึกประเทศไทย I LAMPHUN


ข้อมูลพื้นฐาน องค์การบริหารส่วนต�ำบลน�้ำดิบ ตั้งอยู่เลขที่ 7 หมู่ท่ี 7 ต�ำบลน�้ำดิบ อ�ำเภอป่าซาง จังหวัดล�ำพูน ทิศเหนือติดต่อกับต�ำบลท่าตุ้ม ทิศใต้ติดต่อกับ ต�ำบลวังผาง ต�ำบลหนองยวง ทิศตะวันออกติดต่อกับต�ำบลนครเจดีย์ ทิศ ตะวันตกติดต่อกับต�ำบลดอยหล่อ จังหวัดเชียงใหม่ มีเนื้อที่ 67.896 ตาราง กิโลเมตร ภูมปิ ระเทศเป็นทีร่ าบลุม่ และทีร่ าบเชิงเขา เหมาะแก่การเพาะปลูก และท�ำเกษตรกรรม มีอาณาเขตครอบคลุมทั้งหมด 17 หมู่บ้าน มีประชากร ทั้งหมด 9,513 คน 3,960 ครัวเรือน

รางวัล ศูนย์ อปพร.ดีเด่น และ อปพร. ดีเด่น ประจ�ำปี 2561 องค์การบริหารส่วนต�ำบลน�้ำดิบ ได้รับโล่รางวัลเชิดชูเกียรติ ศูนย์ อปพร. ดีเด่น ประจ�ำปี 2561 และนายกันตพัฒน์ ปันดอน เจ้าหน้าที่ อปพร. ต�ำบล น�้ำดิบ ได้รับรางวัลเข็มเชิดชูเกียรติ อปพร. ดีเด่น ประจ�ำปี 2561 ณ สนาม กีฬา ไทย-ญี่ปุ่น ดินแดง กรุงเทพฯ

ผลงานโดดเด่นของ อบต.น�้ำดิบ รางวัลการแพทย์ฉุกเฉินขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดีเด่นระดับ ชาติ ประจ�ำปี 2560 องค์การบริหารส่วนต�ำบลน�้ำดิบ ได้รับโล่ประกาศเกียรติคุณ “รางวัล การแพทย์ฉุกเฉินขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดีเด่นระดับชาติ ประจ�ำ ปี 2560 ในการประชุมการแพทย์ฉุกเฉินขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ระดับชาติ ครั้งที่ 4 “การแพทย์ฉุกเฉินท้องถิ่นไทยสานสายใยไร้รอยต่อ” ณ องค์การบริหารส่วนจังหวัดสระแก้ว

รางวัล รองชนะเลิศอันดับ 1 ขบวนสงกรานต์ป่าซาง ประจ�ำปี 2561 องค์การบริหารส่วนต�ำบลน�ำ้ ดิบ ได้รบั ถ้วยรางวัลและเงินรางวัลรองชนะ เลิศอันดับ 1 การประกวดขบวนสงการนต์ป่าซาง ประจ�ำปี 2561” ในงาน สงกรานต์ป่าซางและการประกวดสงกรานต์ป่าซาง ประจ�ำปี 2561 ณ เวที กลางงานสงกรานต์ป่าซาง ปี 2561 ที่ว่าการอ�ำเภอป่าซาง จังหวัดล�ำพูน LAMPHUN I SBL บันทึกประเทศไทย 187


ของดีต�ำบลน�้ำดิบ ไก่เหล่าป่าก๋อย หนึ่งเดียวในประเทศไทย ดังไกลทั่วอาเซียน มรดกทางวัฒนธรรมหนึ่งเดียวในประเทศไทย นับตั้งแต่ครั้งอดีตกาลมาจวบ จนถึงปัจจุบัน และเป็นทุนทางวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น วัฒนธรรมของคนกับไก่ “ไก่เหล่าป่าก๋อย” ซึง่ ผสมผสานอยูใ่ นวิถชี วี ติ ของ คนต�ำบลน�้ำดิบที่สืบเนื่องกันมาอย่างยาวนานจากรุ่นปู่สู่รุ่นพ่อ จากรุ่นพ่อสู่ รุ่นลูก จากรุ่นลูกสู่รุ่นหลาน ท�ำให้ภูมิปัญญาการเลี้ยงไก่เหล่าป่าก๋อย ซึมซับ อยู่ในวิถีชีวิตของคนต�ำบลน�้ำดิบเรื่อยมา ซึ่งในปัจจุบันได้กลายเป็นต้นทุน ทางวัฒนธรรมทีส่ ร้างรายได้อย่างมหาศาล มีการเพาะเลีย้ งภายในครอบครัว เป็นอุตสาหกรรมในครัวเรือน ปัจจุบนั มีการรวมกลุม่ ตัง้ ซุม้ ไก่ชนเป็นวิสาหกิจ ชุมชน มีประมาณ 80 ซุ้ม โดยมีองค์การบริหารส่วนต�ำบลน�้ำดิบ และชมรม อนุรักษ์และพัฒนาไก่ชนสายพันธุ์เหล่าป่าก๋อยจังหวัดล�ำพูน ให้การส่งเสริม และสนับสนุนด้านการพัฒนาอาชีพและรายได้ ด้วยเอกลักษณ์ และอัตลักษณ์ อันโดดเด่นของสายพันธุ์ ไก่ชนพื้นเมืองบ้านเหล่าป่าก๋อย หมู่ที่ 1 ต�ำบลน�้ำดิบ อ�ำเภอป่าซาง จังหวัดล�ำพูน ที่มีความสมบูรณ์แข็งแรง มีลีลาการต่อสู้ที่ดุดัน มีชั้นเชิงใน การมุดมัด กัดบ่า ถอนขน กระโดดได้สูง ดีดขาเตะคู่ต่อสู้ได้อย่างหนักหน่วง รุนแรง และแม่นย�ำ ท�ำให้ไก่ชนสายพันธุเ์ หล่าป่าก๋อย เป็นทีต่ อ้ งการของคนใน วงการไก่ชนเพือ่ การกีฬา เป็นทีต่ อ้ งการของคนทีต่ อ้ งการน�ำไปศึกษาเพือ่ การ อนุรักษ์และพัฒนาสายพันธุ์เพื่อการจัดจ�ำหน่าย กลายเป็นสัตว์เศรษฐกิจ เป็นสินค้า OTOP อันดับ 1 ของต�ำบลน�้ำดิบ ไก่ที่สมบูรณ์แข็งแรงต่อสู้ได้ เก่ง ชนะติดต่อกันหลายครั้ง ราคาหลักแสนต้น ๆ ถึงแสนกลาง ๆ รายได้ใน ภาพรวมทัง้ หมดของต�ำบลน�ำ้ ดิบ จากการขายไก่ชนสายพันธุเ์ หล่าป่าก๋อย ปี ละประมาณพันล้านบาท เป็นสัตว์เศรษฐกิจชั้นแนวหน้าของประเทศไทย ที่ ส่งจ�ำหน่ายไปไกลทั่วภูมิภาคอาเซียน และนอกจากคนต�ำบลน�ำ้ ดิบจะมีรายได้จากการเลีย้ งไก่สายพันธุเ์ หล่าป๋า ก๋อยแล้ว ยังมีรายได้จากการสานสุ่มไก่ การผสมและจ�ำหน่ายอาหารไก่ การ ท�ำยาลูกกลอนก�ำลังไก่ชน การจักสานไม้ไผ่ขัดแตะ ท�ำหลังคาและโรงเรือน เพาะเลี้ยง หมุนเวียนกระจายรายได้อย่างทั่วถึงทั้งต�ำบล

สถานที่ติดต่อ องค์การบริหารส่วนต�ำบลน�้ำดิบเลขที่ 7 หมู่ที่ 7 ต�ำบลน�้ำดิบ อ�ำเภอป่าซาง จังหวัดล�ำพูน 51120 โทร. 053-508013 โทรสาร 053-508013 ต่อ 12 www.numdib.go.th Facebook : องค์การบริหารส่วนต�ำบลน�้ำดิบ อ�ำเภอป่าซาง จังหวัดล�ำพูน

188

SBL บันทึกประเทศไทย I LAMPHUN


สถานที่ส�ำคัญในต�ำบลน�้ำดิบ ศูนย์การเรียนรู้โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ ศูนย์การเรียนรู้โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ บ้านสันเจริญ หมู่ ที่ 14 ต.น�้ำดิบ อ.ป่าซาง จ.ล�ำพูน เป็นศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบของต�ำบลน�้ำดิบ

OTOP ขึ้นชื่อของต�ำบลน�้ำดิบ ผลิตภัณฑ์น�้ำผึ้งตราแสงผึ้ง สินค้า OTOP ที่สร้างรายได้ให้กับคนต�ำบล น�้ำดิบ เป็นผลิตภัณฑ์น�้ำผึ้งแท้จากธรรมชาติ ผลิตจากเกสรล�ำไย ผ่านกระบวนการผลิตที่สะอาด ถูกหลักอนามัย ได้ มาตรฐาน GMP มีรูปแบบผลิตภัณฑ์ที่ทันสมัย สวยงาม เหมาะส�ำหรับเป็น ของฝากของที่ระลึก ล�ำไยสดและล�ำไยอบแห้ง ต�ำบลน�ำ้ ดิบเป็นแหล่งผลิตล�ำไยขนาดใหญ่ของ จังหวัดล�ำพูน ทัง้ ล�ำไยสดและล�ำไยแปรรูป (อบแห้ง) มีการรวมกลุม่ วิสาหกิจ ชุมชนผลิตล�ำไยแปลงใหญ่ ทั้งล�ำไยในฤดูและล�ำไยนอกฤดู ส่งขายให้กับ โรงงานล�ำไย และผู้บริโภคได้ตลอดปี โดยได้รับการส่งเสริมและสนับสนุน ทางด้านวิชาการและงบประมาณ จากองค์การบริหารส่วนต�ำบลน�้ำดิบ และ ส�ำนักงานเกษตรจังหวัดล�ำพูน

LAMPHUN I SBL บันทึกประเทศไทย 189


HI S TO R Y O F BU D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต

วัดหนองยวง วัดหนองยวง ตั้งอยู่เลขที่ 265 บ้านหนองยวง หมู่ที่ 3 ต�ำบลหนองยวง อ�ำเภอเวียงหนองล่อง จังหวัดล�ำพูน สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ปัจจุบันมี พระครูเมธานันทกิจ เป็นเจ้าอาวาส

190

SBL บันทึกประเทศไทย I LAMPHUN


ที่ดินที่ตั้งวัด มีเนื้อที่ 6 ไร่ 1 งาน น.ส. 3 เลขที่ 2209 อาณาเขตวัด ทิศเหนือจดถนนสาธารณะ ทิศใต้จดถนนสาธารณะ ทิศตะวันออกจดถนนสาธารณะ ทิศตะวันตกจดโรงเรียนวัดหนองยวง อาคารเสนาสนะ ประกอบด้วย อุโบสถ วิหาร ศาลาการเปรียญ กุฏิสงฆ์ ศาลาอเนกประสงค์ ปู ช นี ย วั ต ถุ พระประธานเป็ น พระพุ ท ธรู ป หล่ อ ทองเหลื อ ง และ พระพุทธรูปก่ออิฐถือปูน

การบริหารและการปกครอง

ประวัติวัดหนองยวง

วัดหนองยวง สร้างเมื่อ พ.ศ. 2455 ตามประวัติวัดแจ้งว่า เดิมเป็นที่ วัดร้าง ประมาณปี พ.ศ. 2452 ศรัทธาชาวบ้านหนองยวงได้ปรึกษากันทีจ่ ะ สร้างวัดขึน้ และได้พจิ ารณาเห็นว่าทีบ่ ริเวณวัดร้างนี้ เหมาะสมทีจ่ ะพัฒนา สร้างขึน้ เป็นวัด และอยูต่ ดิ กับหนองน�ำ้ ซึง่ ตามต�ำนานเล่าว่า เมือ่ ก่อนชาว บ้านได้มาอาศัยอยู่บริเวณใกล้หนองน�้ำ มีอาชีพในการปลูกต้นฝ้ายกันทุก ครัวเรือน ด้วยเหตุนี้หนองแห่งนี้จึงได้ชื่อว่าหนองยวง ซึ่งมาจากยวงฝ้าย อันเป็นสัญลักษณ์ จึงพร้อมใจกันแผ้วถางป่าพง และสร้างเสนาสนะขึ้น ได้รับวิสุงคามสีมา กว้าง 40 เมตร ยาว 40 เมตร

วัดหนองยวงมีเจ้าอาวาสเท่าที่ทราบนาม คือ รูปที่ 1 พระบุญมี ธรรมขนฺโท รูปที่ 2 พระใจ๋ รูปที่ 3 พระเขื่อน รูปที่ 4 พระบุญรส คมฺภีโร รูปที่ 5 พระปวง รูปที่ 6 พระค�ำ รูปที่ 7 พระปวง รูปที่ 8 พระอินสม สิริจนฺโท รูปที่ 9 พระบุญเลิศ โชติธมฺโม รูปที่ 10 พระอธิการประเสริฐ ธมฺมกาโม รูปที่ 11 พระอธิการประกาย สุภาจาโร รูปที่ 12 พระอธิการศุภชัย สุจิตฺโต รูปที่ 13 พระครูเมธานันทกิจ เมื่อวันที่ 30 ถึงปัจจุบัน

พ.ศ. 2461 – 2483 พ.ศ. 2484 – 2485 พ.ศ. 2486 – 2487 พ.ศ. 2488 – 2493 พ.ศ. 2494 – 2496 พ.ศ. 2497 – 2503 พ.ศ. 2504 – 2508 พ.ศ. 2509 – 2515 พ.ศ. 2516 – 2517 พ.ศ. 2519 – 2531 พ.ศ. 2533 – 2540 พ.ศ. 2541 – 2546 ตุลาคม พ.ศ. 2546

LAMPHUN I SBL บันทึกประเทศไทย

191


ประวัติ พระครูเมธานันทกิจ (เจ้าอาวาส)

พระครูเมธานันทกิจ เจ้าอาวาส วัดหนองยวง 192

SBL บันทึกประเทศไทย I LAMPHUN

สถานเดิม ชื่อ สุวิทย์ นามสกุล กันธิยะ เกิดวันเสาร์ แรม 12 ค�่ำ ปีเถาะ วันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2518 ณ บ้านเลขที่ 63 หมู่ที่ 9 ต�ำบล น�้ำดิบ อ�ำเภอป่าซาง จังหวัดล�ำพูน บิดา นายอินสม กันธิยะ มารดา นางค�ำ ศรีเพชร บรรพชา เมือ่ วันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2531 ณ วัดเหล่าดู่ ต�ำบลหนองยวง อ�ำเภอป่าซาง(อ�ำเภอเวียงหนองล่องปัจจุบนั ) จังหวัดล�ำพูน พระอุปชั ฌาย์ พระมหาสงคราม ปญฺญาวุธโธ เจ้าคณะอ�ำเภอป่าซาง วัดบ้านก้อง ต�ำบล ปากบ้อง อ�ำเภอป่าซาง จังหวัดล�ำพูน อุปสมบท เมือ่ วันที่ 29 มิถนุ ายน พ.ศ. 2538 ณ พัทธสีมา วัดหนองยวง ต�ำบลหนองยวง อ�ำเภอป่าซาง (อ�ำเภอเวียงหนองล่องปัจจุบัน) จังหวัด ล�ำพูน พระอุปัชฌาย์ พระครูสุนทรปัญญารัตน์ เจ้าคณะต�ำบลหนองยวง วัดป่ารกฟ้า พระกรรมวาจาจารย์ พระอธิการสิทธิชาติ สุภาจาโร วัดหนอง ยวง พระอนุสาวนาจารย์ พระคนอง อนาลโย รองเจ้าอาวาสวัดป่ารกฟ้า


วิทยฐานะ พ.ศ. 2530 - ส�ำเร็จการศึกษาชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่โรงเรียนบ้าน ป่ารกฟ้า ต�ำบลน�้ำดิบ อ�ำเภอป่าซาง จังหวัดล�ำพูน พ.ศ. 2533 - ส�ำเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่โรงเรียนธรรม สาธิตศึกษา ต�ำบลนครเจดีย์ อ�ำเภอป่าซาง จังหวัดล�ำพูน - สอบได้นกั ธรรมชัน้ เอก ส�ำนักศาสนศึกษาวัดหนองเจดีย์ พ.ศ. 2537 - ส�ำเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่โรงเรียนธรรม สาธิตศึกษา ต�ำบลนครเจดีย์ อ�ำเภอป่าซาง จังหวัดล�ำพูน พ.ศ. 2545 ส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี พุทธศาสตร์บัณฑิต (พธ.บ) เกียรตินิยมอันดับสอง จากมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่ พ.ศ. 2556 ส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท พุทธศาสตร์มหาบัณฑิต (พธ.ม) จากมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่ ปัจจุบนั ก�ำลังศึกษาระดับปริญญาเอก พุทธศาสตรดุษฎีบณ ั ฑิต(พธ.ด.) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่ งานด้านกิจของสงฆ์ ได้รับตราตั้งครูสอนปริยัติธรรมเมื่อปี พ.ศ. 2543 ส�ำนักศาสนศึกษาวัดหนองเจดีย์ ได้รับตราตั้งเจ้าอาวาสเมื่อ วันที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2547 ได้ท�ำการบูรณะอุโบสถ เมื่อ พ.ศ. 2547 บูรณะกุฏสิ งฆ์ เมือ่ พ.ศ. 2548 สร้างศาลาพระเจ้าทันใจและพระเจ้าทันใจ วันเดียวเสร็จ เมื่อ พ.ศ. 2549 สร้างเจดีย์พระธาตุทันใจ เมื่อ พ.ศ. 2550 ได้รับแต่งตั้งให้เป็นศูนย์พุทธศาสนาวันอาทิตย์ในความอุปถัมภ์ของกรม การศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม ได้รบั แต่งตั้งเป็นโครงการวัฒนธรรมไทย สายใยชุมชน และได้จดั อบรมเข้าค่ายคุณธรรม จริยธรรม พัฒนาจิตเยาวชน และชาวบ้านเป็นประจ�ำทุกปี และเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2551 ได้รับ พระราชทานสมณศักดิพ์ ดั ยศให้เป็น พระครูสญ ั ญาบัตรวัดราษฎร์ชนั้ โท ใน ราชทินนามว่า พระครูเมธานันทกิจ เมื่อปีพ.ศ.2556 ได้รับพระราชทาน รางวัลเสมาธรรมจักร ประเภทส่งเสริมการเผยแผ่พระพุทธศาสนา สาขา การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในประเทศ เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ.2558 ได้รับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์พัดยศให้เป็นพระครูสัญญาบัตรวัด ราษฎร์ชั้นเอก ในราชทินนามเดิมว่า พระครูเมธานันทกิจ LAMPHUN I SBL บันทึกประเทศไทย

193


ปูชนียวัตถุส�ำคัญของวัดหนองยวง

วิหาร สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2476 บูรณะต่อเติมเมื่อ ปี พ.ศ.2510 และ บูรณปฏิสังขรณ์ปี พ.ศ.2559 เป็นวิหารศิลปะแบบล้านนา เสาและคานเป็นไม้เนือ้ แข็งทีเ่ ก่าแก่ ผนัง ก่อด้วยอิฐถือปูน โครงหลังคาท�ำด้วยไม้เนื้อแข็งเก่าแก่ มุงด้วยกระเบื้อง เคลือบใบโพธิ์สีน�้ำตาลเข้ม พื้นวิหารเทด้วยคอนกรีตเสริมเหล็ก ปูด้วย กระเบือ้ งเคลือบ หน้าบันประดับด้วยลวดลายการแกะสลักไม้แบบดัง้ เดิม เสาประดับลายปูนปัน้ ทีฐ่ านและประดับด้วยตุงไม้แกะสลัก หลังคาประดับ ด้วยช่อฟ้า ใบระกา ทาสีติดกระจกและยอดฉัตร พระประธานในวิหาร มีชอื่ ว่า “พระพุทธเมตตาสมปรารถนา” เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชยั หรือ ปางสะดุ้งมาร หน้าตัก 70 นิ้ว เป็นพระพุทธรูปที่เก่าแก่คู่วัดหนองยวงมา ตลอด เป็นทีเ่ คารพนับถือของชาวบ้านเป็นอย่างมาก มักจะมาอธิษฐานขอ พรด้านโชคลาภเป็นประจ�ำ เจดีย์พระธาตุทันใจ เป็นพระธาตุเจดีย์ที่สร้างขึ้นด้วยแรงศรัทธาเพียง 9 วัน 9 คืนเท่านั้น ฐานจะเป็นทรงสี่เหลี่ยมจัตุรัสรอบ ๆ ฐานจะประดับด้วยลายปูนปั้นปี นักษัตร 12 ราศีทั้งสี่ด้าน ตัวพระธาตุก่อด้วยอิฐถือปูนทั้งองค์ บริเวณทั้ง สี่มุมประดับด้วยสัปทนแผ่นโลหะฉลุลาย ด้านบนของฐานโดยรอบพระ ธาตุ จะมีพระธาตุองค์เล็กตั้งอยู่ทั้ง 8 ทิศ 8 องค์ และประดับด้วยระฆัง เล็กขนาด 2 นิ้ว ทั้งหมด 32 ลูก บริเวณตรงกลางองค์พระธาตุองค์ใหญ่ จะประดิษฐานพระพุทธรูปหน้าตัก 19 นิ้ว หล่อด้วยปูนทั้ง 4 ทิศ และใต้ ฐานพระบรรจุพระรอดนับหมื่นองค์

194

SBL บันทึกประเทศไทย I LAMPHUN

ขึ้นไปด้านบนที่บนฐานกลีบมะเฟือง บรรจุเจดีย์ธาตุจ�ำนวน 30 องค์ และพระเครือ่ งนับหมืน่ องค์ ทัง้ 8 ทิศประดับด้วยหม้อดินใส่ระฆังเล็กขนาด 2 นิ้ว 32 ลูก ขึ้นไปที่ฐานแปดเหลี่ยมประดับด้วยระฆังเล็กอีก 28 ลูก ขึ้นไปอีกตรงระฆังคว�่ำบรรจุพระบรมสารีริกธาตุและวัตถุมงคลต่าง ๆ มากมาย ขึ้นไปอีกเป็นแท่นแก้ว ตรงนี้จะเห็นได้ชัดเจนว่าจะเบี้ยวไม่ตรง เป็นสี่เหลี่ยมจัตุรัส เนื่องจากว่าการสร้างกระชับตามเวลา เลยเป็นเสน่ห์ ที่เห็นได้ชัดว่าเราสร้างขึ้นด้วยเวลาอันจ�ำกัดจริง ๆ ประดับด้วยระฆังเล็ก 16 ลูก รอบทั้ง 4 ทิศ ขึ้นไปอีกตรงลูกเคี่ยน 9 ชั้นต่อด้วยยอดปลี และ ทั้ง 9 องค์ ยอดปลายจะประดับด้วยยอดฉัตรที่ฉลุลายแบบศิลปะพม่า ท่านพระครูเมธานันทกิจ เจ้าอาวาส มีความประสงค์ที่จะสร้างเจดีย์ ขึน้ เมือ่ พ.ศ.2550 แต่เนือ่ งจากงบประมาณมีนอ้ ย ยิง่ ถ้าให้เวลาในการท�ำ นานเท่าไหร่ ก็ยงิ่ ต้องใช้งบประมาณมากขึน้ จึงมีแนวคิดทีจ่ ะให้สร้างเจดีย์ ทันใจโดยก�ำหนดสร้างขึ้นให้แล้วเสร็จภายใน 9 วัน โดยขอความร่วมมือ จากชาวบ้านแบ่งกันมาท�ำงานทั้งกลางวันกลางคืน อยากให้ชาวบ้านมี ส่วนร่วมในการสร้าง เพื่อที่จะเกิดความศรัทธา รัก เคารพ ปกป้องรักษา ในสิ่งที่ร่วมมือกันสร้างขึ้น เลยส�ำเร็จเป็นเจดีย์พระธาตุทันใจ ที่เป็นศูนย์ รวมความศรัทธาของคนในชุมชน และชาวบ้านเชือ่ ว่ามากราบอธิษฐานขอ พรด้านหน้าที่การงาน ก็จะได้ส�ำเร็จทันใจ พระประจ�ำวันเกิดทันใจ เป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปประจ�ำวันเกิดทันใจทั้ง 10 องค์ สร้าง ขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2556 ซึ่งในปีนั้นท่านเจ้าอาวาสมีความประสงค์ที่จะสร้าง พระพุทธรูปประจ�ำวันเกิดของแต่ละวันขึน้ เพือ่ ให้คนในชุมชนได้กราบไหว้ สักการะ แต่เพื่อให้เกิดความศรัทธาและเป็นการกระตุ้นในคนในชุมชน มีความรักสามัคคีกัน จึงสร้างพระพุทธรูปประจ�ำวันเกิดที่มีขนาดที่ใหญ่ กว่าวัดในละแวกนั้น และก�ำหนดวันให้ช่างปั้นพระพุทธรูปให้แล้วเสร็จ ภายใน 5 วัน โดยที่ชาวบ้านในชุมชนมาร่วมช่วยกันกับช่าง และจัดปฏิบัติ ธรรมสวดมนต์ตลอด 5 วัน โดยมีพระสงฆ์วัดใกล้เคียงทั้งหมด 49 รูป และคนในชุมชนนุ่งขาวห่มขาวเข้าร่วมปฏิบัติธรรมสวดมนต์ตลอด 5 วัน 5 คืน จนแล้วเสร็จ คนในชุมชนนิยมมาท�ำบุญและกราบไหว้ขอพรพระพุทธ รูปประจ�ำวันเกิดของตัวเองเป็นประจ�ำสม�่ำเสมอ


ประเพณีส�ำคัญของวัดหนองยวง

ประเพณี “สืบชะตาหลวง ไหว้สาป๋าระมีพระเจ้าทันใจ” เป็นงานประเพณีประจ�ำปีของวัดหนองยวง จัดขึ้นเป็นประจ�ำทุกปี ทุกวันที่ 1-2 มกราคม ของทุกปี ในงานนีจ้ ะมีการสักการบูชาพระเจ้าทันใจ เจดียพ์ ระธาตุทนั ใจ พิธสี รงน�ำ้ พระบรมธาตุ และมีพธิ กี รรมสะเดาะเคราะห์ ต่อชะตา ท�ำบุญโลงศพ ท�ำบุญอุทิศแด่เจ้ากรรมนายเวร พ่อเกิดแม่เกิด ตามความเชื่อของคนล้านนา และจะมีการออกโรงทานจ�ำนวนเยอะมาก เกือบ 100 โรงทานทุกปี สืบเนือ่ งจากการทีช่ ว่ งปีใหม่เป็นช่วงวันหยุดยาว ลูกหลาน ชาวบ้านในชุมชนที่ไปท�ำงานต่างจังหวัดก็จะกลับมาเยี่ยมพ่อ แม่พี่น้องญาติมิตรที่บ้านเกิด พอจะต้องเดินทางกลับไปท�ำงาน พ่อแม่ ผูเ้ ฒ่าผูแ้ ก่กเ็ ป็นห่วง ท่านเจ้าอาวาสเลยจัดงานประเพณีนขี้ นึ้ เพือ่ เป็นการ เสริมก�ำลังใจ เป็นการปัดเคราะห์ เป็นการต่ออายุ เพื่อให้เกิดความอุ่นใจ สบายใจแก่ผู้อยู่และผู้เดินทางกลับ ถือว่าเป็นกิจกรรมบุญร่วมกันของ ครอบครัว ตามคติความเชื่อของคนล้านนา ซึ่งแต่ละปีก็จะมีคนเข้าร่วม พิธีกรรมนี้และร่วมออกโรงทานเพิ่มขึ้นทุกปี ๆ ประเพณี “ สืบสานป๋าเวณีปี๋ใหม่เมือง” งานสงกรานต์ เป็นอีกหนึ่งประเพณีที่มีคนเข้าร่วมเป็นจ�ำนวนมากทุกปี เนื่องจาก คนในชุมชนที่ไปท�ำงานต่างจังหวัด ต้องกลับมากราบไหว้และรดน�้ำ ด�ำหัวผู้เฒ่าผู้แก่ พ่อแม่ โดยจะมีกิจกรรมขนทรายเข้าวัด ท�ำบุญตักบาตร ฟังเทศน์ สืบชะตาต่ออายุ สรงน�้ำพระพุทธรูป สรงน�้ำเจดีย์พระธาตุ สรง น�ำ้ พระภิกษุสามเณร รดน�ำ้ ด�ำหัวผูส้ งู อายุในชุมชน งานสวดมนต์พธิ ใี จ๋บา้ น หรือกลางหมู่บ้าน แห่ไม้ค�้ำโพธิ์

LAMPHUN I SBL บันทึกประเทศไทย

195


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต

วัดร้องธาร วัดร้องธาร-ท่าลี่ ตั้งอยู่เลขที่ 130 หมู่ที่ 3 บ้านท่าลี่ ต�ำบลวังผาง อ�ำเภอเวียงหนองล่อง จังหวัดล�ำพูน ปัจจุบันมี พระครูประทีปธรรมธาดา (สมศักดิ์ ทีปงฺกโร) เป็นเจ้าอาวาส ประวัติความเป็นมาของวัด

วัดร้องธารแห่งนี้สร้างเมื่อประมาณปี พ.ศ.2328 โดยผู้สูงอายุที่พอ จะรู้เรื่องเกี่ยวกับวัดเพราะเคยบวชเป็นพระเณร และได้ยินท่านครูบาเจ้า อาวาสเล่าให้ฟงั ว่า ทีต่ งั้ วัดนีเ้ คยเป็นวัดร้างมีลกั ษณะเป็นป่าทีป่ กคลุมด้วย ต้นไม้และเถาวัลย์ แล้วมีท่านครูบาองค์แรก ซึ่งไม่มีใครจ�ำชื่อได้ เพียงแต่ ได้ยินชื่อเรียกกันว่าครูบาอุ้ย มาแผ้วถางเป็นที่ปฏิบัติธรรม ส่วนความเป็นมาของชื่อวัดนั้น สันนิษฐานว่าคงเรียกชื่อตามคลอง เพราะทางด้านหลังวัดมีคลองอยู่สายหนึ่ง จะเกิดจากอะไรนั้นไม่มีใคร ทราบ เพราะเป็นคลองตันไม่บรรจบกับแม่น�้ำอะไร ยาวประมาณ 200 เมตรเศษ กว้างประมาณ 10 กว่าเมตร ใต้คลองนัน้ มีหนิ ธารลึกพอสมควร และมีนำ�้ ขังอยูต่ ลอดปี ชาวบ้านเรียกชือ่ คลองแห่งนีว้ า่ “ล้องธาร” ส่วนการ เปลี่ยนชื่อนั้นสังเกตดูตามคัมภีร์พื้นเมือง (ธรรมเมือง) ซึ่งท่านเจ้าอาวาส รูปที่ 3 ท่านเป็นผู้ชอบเขียนและช�ำนาญมาก เคยอ่านพบตอนท้ายคัมภีร์ ท่านเคยเรียกว่า (วัดศรีไจยเลา) หรือสะลีวงั ธาร แต่กไ็ ม่แน่ใจว่าท่านเรียก ของท่านเอง หรือจะเป็นชื่อเดิมก็ยังไม่ยืนยันแน่ชัด

196

SBL บันทึกประเทศไทย I LAMPHUN


วัดนีไ้ ม่เคยย้ายจากทีเ่ ดิมเลย ตัง้ แต่พระรูปแรกก่อตัง้ อารามมาเป็นวัด ที่สมบูรณ์ มาจนถึงสมัย พระคัมภีรปัญโญ ประมาณปี พ.ศ.2440 ท่าน เป็นผู้มุ่งมั่นในการบูรณะเรื่อยมา จนเป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางและเป็น ผู้มีอิทธิพลทางธรรมมากในสมัยนั้น ท่านเคยเป็นพระอุปัชฌาย์และเป็น ช่างผู้ออกแบบแปลนเก่งเสียด้วย นับว่าท่านเป็นผู้ท�ำให้วัดร้องธารแห่งนี้ เจริญรุ่งเรืองมาโดยตลอด และตัวหนังสืออักษรไทยก็เริ่มเปิดสอนที่วัดนี้ เป็นแห่งแรกในถิ่นนี้ โดยโยมที่มาคอยค�้ำจุนอุปถัมภ์ หรือผู้มีฐานะดีใน สมัยนั้นน้อยเหลือเกิน แต่ก็มีคนเล่าให้ฟังว่า ผู้ที่เกี่ยวข้องกับท่านและวัด ก็มพี อ่ น้อยจันทร์ แม่ถดึ พรหมจันทร์ ครอบครัวหนึง่ และพ่อทองแดง แม่ บัวค�ำ ชุติมา อีกครอบครัวหนึ่ง เป็นผู้อุปถัมภ์ และเลื่อมใสมาก วัดร้องธาร ได้รับอนุญาตให้ก่อตั้งเป็นวัด เมื่อ พ.ศ. 2423 และได้ รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2478 เขต วิสุงคามสีมากว้าง 9 เมตร ยาง 18 เมตร

ท�ำเนียบเจ้าอาวาส

วัดร้องธาร มีเจ้าอาวาสปกครองดูแล เท่าที่ทราบนาม ดังนี้ รูปที่ 1 เป็นผู้ริเริ่มสร้างวัดขึ้นแต่ไม่มีใครจ�ำชื่อท่านได้ รูปที่ 2 ครูบายาวิชัย (ตุ้ย) รูปที่ 3 ครูบาค�ำภีระ (นันตา) รูปที่ 4 ครูบานาย (ค�ำตั๋น) รูปที่ 5 พระค�ำ คัมภีโร รูปที่ 6 พระสิงห์ค�ำ สีทัชโย รูปที่ 7 พระครูรัตนสารโสภณ (สิงห์แก้ว) รูปที่ 8 พระครูรัตนวรญาณ (แก้ว ญาณวโร) รูปที่ 9 พระครูประทีปธรรมธาดา (สมศักดิ์ ทีปงฺกโร) ปัจจุบัน LAMPHUN I SBL บันทึกประเทศไทย

197


HI S TO R Y O F BU D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต

วัดบ้านดงหลวง วัดบ้านดงหลวง ตั้งอยู่เลขที่ 426 หมู่ที่ 5 ต�ำบลวังผาง อ�ำเภอเวียงหนองล่อง จังหวัดล�ำพูน สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ปัจจุบนั มี พระครูสตุ กัลยาณกิจ เป็นเจ้าอาวาส และเลขานุการเจ้าคณะอ�ำเภอเวียงหนองล่อง ความเป็นมาของหมู่บ้านดงหลวง

บ้านดงหลวง หรือ บ้านดงสบลี้ เหตุทเี่ รียกเช่นนี้ เพราะในอดีตสภาพ ที่ตั้งเป็นพื้นที่ที่มีอาณาเขตกว้างใหญ่ มีลักษณะภูมิประเทศเป็นป่าดงทึบ มีตน้ ไม้ขนาดใหญ่ปกคลุมทัว่ บริเวณหมูบ่ า้ น เมือ่ น�ำชือ่ หมูบ่ า้ นมาแยกค�ำ ออกจากกันจะท�ำให้ทราบถึงความหมาย ของชื่อหมู่บ้านที่ชัดเจนขึ้น ค�ำว่า “ดง” หมายถึง ป่า ที่มีต้นไม้ใหญ่ขึ้นหนาแน่น ค�ำว่า “หลวง” เป็นภาษาพื้นเมือง หมายถึง ใหญ่ เมื่ อ ค� ำ สองค� ำ มารวมกั น จึ ง หมายถึ ง พื้ น ที่ ที่ มี อ าณาเขตกว้ า งใหญ่ ที่ปกคลุมไปด้วยต้นไม้นานาพันธุ์ ส่วนชื่อ “บ้านดงสบลี้” เป็นอีกชื่อหนึ่ง ที่ใช้เรียกชื่อหมู่บ้าน

198

SBL บันทึกประเทศไทย I LAMPHUN

ค�ำว่า ดง (ตามความหมาย ที่ได้อธิบายแล้วข้างต้น) ค�ำว่า “สบ” เป็น ภาษาพื้นเมือง ความหมาย การบรรจบ ส่วนค�ำว่า “ลี้” หมายถึง ชื่อของ สายแม่น�้ำ ชื่อว่า แม่น�้ำลี้ ดังนั้นลักษณะของพื้นที่บ้านดงหลวง มีแม่น�้ำสองสาย คือ สายน�้ำปิง และสายน�้ำลี้ โดยสายแม่น�้ำลี้ไหลมาบรรจบสายแม่น�้ำปิงบริเวณท้าย หมู่บ้าน จึงเรียกอีกชื่อว่า “บ้านดงสบลี้” การตั้งหมู่บ้าน สันนิษฐานว่าประมาณ ปีพ.ศ.2374 ได้มีราษฎร จากจังหวัดเชียงใหม่อพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานเพื่อท�ำมาหากิน ต่อมา มีราษฎรจากอ�ำเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ เข้ามาจับจองทีด่ นิ เพิม่ ขึน้ อีก ด้วยความอุดมสมบูรณ์ที่มีแม่น�้ำไหลผ่านหมู่บ้านถึงสองสาย เหมาะแก่


การบริหารและการปกครอง

วัดบ้านดงหลวง มีเจ้าอาวาสปกครอง เท่าที่ทราบนาม คือ รูปที่ 1 พระอธิการวงศ์ษา หรือ ครูบาวงศ์ (ไม่ทราบฉายาและปี พ.ศ.ที่ แน่นอน) รูปที่ 2 พระอธิการปัญญา หรือ ครูบาปัญญา (ไม่ทราบฉายาและปี พ.ศ.ที่แน่นอน) รูปที่ 3 ครูบาค�ำ คนฺธิโย หรือ ครูบาค�ำ (มรณภาพปี 2522 รวมอายุ 84 ปี พรรษา 64) รูปที่ 4 พระครูจันทร์ ฉนฺทโสภี ปี 2522-2536 มรณภาพ 2536 อายุ 53 พรรษา 33) รูปที่ 5 พระอธิการศรี สิริธมฺโม ปี 2536 – 2550 มรณภาพ 2550 อายุ 56 พรรษา 36) รูปที่ 6 พระครูถวิล สุจิณฺโณ ปี 2550 – 2553 รูปที่ 7 พระมหาจ�ำลอง กลฺยาณสิริ ปี 2554 – ปัจจุบันเป็น พระครู สุตกัลยาณกิจ เลขานุการเจ้าคณะอ�ำเภอเวียงหนองล่อง

การเกษตรกรรม จึงมีผู้คนเข้ามาอยู่อาศัยมากขึ้น จนกลายเป็นหมู่บ้าน ที่มีประชากรหนาแน่นตามล�ำดับ ปัจจุบันบ้านดงหลวงอยู่ในเขตความ รับผิดชอบของส�ำนักงานเทศบาลต�ำบลวังผาง อ�ำเภอเวียงหนองล่อง จังหวัดล�ำพูน พ่อหนานเฉลิม ปัญญาดง ให้ขอ้ มูลว่า “ในสมัยท่านครูบาค�ำ คันธิโย อดีตเจ้าอาวาสวัดบ้านดงหลวง ท่านได้เล่าให้ฟังว่า มีประชาชนจากบ้าน สันทรายมหาวงศ์ จังหวัดเชียงใหม่ เข้ามาตัง้ ถิน่ ฐานบริเวณบ้านดงหลวง” พระอธิการศรี สิรธิ มั โม ให้ขอ้ มูลว่า “ท่านเคยทราบว่ามีเจ้ามหาวงศ์ เป็นผู้มาก่อตั้งบ้านดงหลวง” พ่อหลวงเฮือน สิงห์หล้า ให้ข้อมูลว่า “บ้านดงหลวงตามที่ผู้เฒ่าผู้แก่ เล่าให้ตนฟังว่า แรกเริ่มเดิมทีนั้นมีบ้านเรือนในบริเวณหมู่บ้านดงหลวง อยู่กระจัดกระจายกันเพียง จ�ำนวน 7 หลังคาเรือนเท่านั้น”

ประวัติวัดบ้านดงหลวง

เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ.2418 ได้มีการก่อตั้งวัด โดยตั้งชื่อว่า “วัดบ้านดงหลวง” ที่ดินตั้งวัดมีเนื้อที่ 12 ไร่ 2 งาน 31 ตารางวา มีที่ ธรณีสงฆ์ จ�ำนวน 2 แปลง เนื้อที่ 9 ไร่ 95 ตาราวา เมื่อปี พ.ศ.2459 คณะศรัทธาชาวบ้านได้ท�ำการสร้างอุโบสถขึ้น โดยมีท่านครูบาอภิวงษ์ เป็นเจ้าอาวาสวัดบ้านดงหลวงในสมัยนั้นได้ร่วม กันสร้างขึ้น

เสนาสนะ-ปูชนียวัตถุส�ำคัญ

อาคารเสนสนะ ประกอบไปด้วย วิหาร ศาลาการเปรียญ กุฏิสงฆ์ ศาลาทรงไทย หอระฆัง หอมณฑป ธาตุเจดีย์ ปูชนียวัตถุส�ำคัญ พระประธานในวิหารเป็นพระพุทธรูปปูนปั้น และ มีพระประธานในศาลาทรงไทยเป็นพระพุทธรูปเนื้อโลหะ LAMPHUN I SBL บันทึกประเทศไทย

199


ประเพณีแห่หลัวผิงไฟพระเจ้า/ประเพณีแห่ไม้ค�้ำสะหลี

ประเพณีจุลกฐิน

ปฏิทินประเพณีส�ำคัญของหมู่บ้าน

เดือนเมือง ประเพณี/วันส�ำคัญ ....................................................................................................................................... เดือนเกี๋ยง ประเพณีการถวายผ้ากฐิน/จุลกฐิน เดือนยี ่ ประเพณียี่เป็ง ตั้งธรรมหลวง หรือเทศน์มหาชาติ เวสสันดรชาดก (เป็นบางปี) เดือนสาม ประเพณีเข้ารุกขมูล/เข้าโสสานกรรม(เข้ากร๋รม) ประเพณีตานส้ายตานแตน เดือนสี ่ ประเพณีตานเข้าใหม่ ตานหลัวหิงไฟพระเจ้า /และสรงน�้ำธาตุเจดีย์ เดือนห้า ประเพณีมาฆบูชา เดือนหก ประเพณีสรงน�้ำกู่อัฐิ ท่านครูบาค�ำ คันธิโย เดือนเจ็ด ประเพณีปีใหม่/ประเพณีแห่ไม้ค�้ำโพธิ์ เดือนแปด ประเพณีปอยแห่ลูกแก้ว (ปัจจุบันปรับเป็นบวช ภาคฤดูร้อน 1-13 เมษายน ของทุกปี) เดือนเก้า ประเพณีเลี้ยงผีปู่ย่า เดือนสิบ ประเพณีการฟังเทศน์ ฟังธรรม (ในพรรษา) เดือนสิบเอ็ด ประเพณีการฟังเทศน์ ฟังธรรม (ในพรรษา) เดือนสิบสอง ประเพณีเดือนสิบสองเป็ง/สลากภัตต์ /เทศน์ปุพพเปตพลี ประเพณีการถวายผ้ากฐิน/จุลกฐิน

200

SBL บันทึกประเทศไทย I LAMPHUN


วั ดราชธานี

ตั้งอยู่เลขที่ 30 ซอยศรีสุโข ต�ำบลธานี อ�ำเภอเมืองสุโขทัย LAMPHUN I SBL บันทึกประเทศไทย

3

.indd 201

201

28/06/61 01:27:34 PM


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วั ดราชธานี วั ด ราชธานี ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 30 ซอยศรี สุ โ ข ต�ำบลธานี อ�ำเภอเมืองสุโขทัย

ความส�ำคัญของวัดราชธานี วัดราชธานีเมื่อประมาณ 70 ปีก่อน ทางราชการ พ่อค้า ประชาชน ถือว่าเป็นวัดส�ำคัญวัดหนึ่ง โดยทาง ราชการได้อาศัยประกอบพิธีที่ส�ำคัญ เช่น พิธีถือน�้ำ พิ พั ฒน์ สั ต ยา ทั้งยังเป็น วัด ที่มีต�ำนานเล่ากัน มาว่า พระยาพิชัยดาบหัก เมื่อครั้งเป็นเด็กเคยมาอาศัยอยู่ กับบิดาที่วัดนี้ พร้อมกันนั้นวัดราชธานีแห่งนี้ยังเคย เป็นสาขาพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เมื่อปี พ.ศ.2497 เนื่องจากวัดแห่งนี้มีการรวบรวมโบราณวัตถุและศิลป วัตถุไว้เป็นจ�ำนวนมาก อีกทั้งเป็นวัดที่ตั้งอยู่ใจกลาง เมือง มีอโุ บสถวิหาร ศาลาการเปรียญ พิพธิ ภัณฑสถาน ศาลาวัด นอกจากจะใช้บ�ำเพ็ญกุศลแล้ว ยังใช้เป็น สถานศึกษาเป็นสถานที่ศึกษาสตรีประจ�ำจังหวัดเคย ตั้งอยู่ และที่ส�ำคัญคือ ชาวเมืองจะให้ความเคารพ นั บ ถื อ พระพุ ท ธรู ป ประธานของวั ด คื อ “หลวงพ่ อ เป๋า” หรือ “หลวงพ่อเป่า” ว่าศักดิ์สิทธิ์เป็นอย่างยิ่ง 202

3

SBL บันทึกประเทศไทย I LAMPHUN

.indd 202

28/06/61 01:27:45 PM


ประวัติความเป็นมา วัดราชธานี เดิมชือ่ ว่า วัดป่าละเมาะ เพราะ ตั้งอยู่บนเกาะเต็มไปด้วยป่าละเมาะ ต่อมา เปลีย่ นชือ่ เป็น “วัดท่านี”้ เพราะมีทา่ เรือข้ามฟาก ไปมาค้าขายจุดทีส่ ำ� คัญระหว่างคลองแม่รำ� พัน จากด้ า นเหนื อ คื อ เมื อ งเชลี ย ง และต่ อ มา เปลีย่ นเป็น “วัดธานี” ตามชือ่ หมูบ่ า้ น ในสมัย ทีพ่ ระราชธานีมาเป็นเจ้าเมืองสุโขทัย ได้ทำ� การ บูรณะปฏิสังขรณ์วัดธานี แล้วจึงเปลี่ยนชื่อว่า “วัดราชธานี” สืบมาจนปัจจุบัน วัดราชธานีเป็นวัดที่เก่าแก่ จากหลักฐาน ทางโบราณวั ต ถุ ที่ ห ลงเหลื อ อยู ่ เ ป็ น ก้ อ นอิ ฐ ทีน่ ำ� มาก่อสร้างเจดียเ์ ก่าแก่ มีขนาดกว้าง 6 นิว้

ยาว 12 นิ้ว หนา 1 นิ้วครึ่ง ซึ่งนักโบราณคดี สันนิษฐานว่าเป็นเจดีย์สมัยสุโขทัย แรกทีเดียว ในวิหารวัดราชธานีมีพระพุทธรูปสมัยสุโขทัย ปางต่างๆ เป็นจ�ำนวนมาก นอกจากนี้ยังมี พระพุทธรูปสมัยอู่ทอง และสมัยลพบุรี เป็น จ�ำนวนมาก ปัจจุบันได้น�ำไปเก็บรักษาไว้ที่ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ภูมิภาคที่ 3 สุโขทัย ทีเ่ หลือนอกนัน้ ได้ถกู เพลิงไหม้พร้อมกับกุฏแิ ละ อุโบสถ เมือ่ ปี พ.ศ.2511 ดังทีป่ รากฏในเนือ้ เพลง “สุโขทัยระทม” ประหนึ่งเป็นเพลงประจ�ำ จังหวัดไป โดยเนื้อเพลงกล่าวถึงเหตุการณ์ ไฟไหม้วดั ด้วย ซึง่ ในปัจจุบนั ยังคงเหลือซากนัน้ ปรากฏอยู่

LAMPHUN I SBL บันทึกประเทศไทย

3

.indd 203

203

28/06/61 01:28:00 PM


WO R K L I F E

บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนตำ�บล

ข้อมูลทั่วไป องค์การบริหารส่วนต�ำบลตะเคียนปม มีพนื้ ทีท่ งั้ หมด 142 ตารางกิโลเมตร หรือ 88,925 ไร่ ลักษณะภูมปิ ระเทศส่วนใหญ่เป็นภูเขาและเนินเขาสลับล้อม รอบอยู่ในเขตป่าสงวนแห่งชาติขุนลี้ เขตอนุรักษ์พันธุ์สัตว์ป่าดอยผาเมือง มีแม่น�้ำลี้และแม่น�้ำแม่หางเป็นแหล่งน�้ำที่ส�ำคัญ มีพื้นที่รับผิดชอบ 12 หมู่บ้าน จ�ำนวน 1,962 ครัวเรือน มีประชากรจ�ำนวน 6,926 คน ประชากร ส่วนใหญ่รอ้ ยละ 80 ประกอบอาชีพเกษตรกรรม รองลงมาคือรับจ้าง ค้าขาย และอาชีพอื่น ๆ เช่น รับราชการ

องค์การบริหารส่วนตำ�บล ตะเคียนปม “ ถิ่นเกษตรกรรม น�ำคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจพอเพียง เมืองอนุรักษ์ธรรมชาติ ” คือวิสัยทัศน์ขององค์การบริหารส่วนต�ำบลตะเคียนปม เลขที่ 146 หมูท่ ี่ 2 ต�ำบลตะเคียนปม อ�ำเภอทุง่ หัวช้าง จังหวัดล�ำพูน โดยตัง้ อยูท่ างตอน เหนือห่างจากอ�ำเภอทุ่งหัวช้าง ระยะทาง 11 กิโลเมตร

204

SBL บันทึกประเทศไทย I LAMPHUN

คณะผู้บริหาร นายนิวัช นายศุภชัย นางผ่องศรี นายบุญศิลป์ นายเกษม นางศศิผกา

วงค์ฝั้น นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลตะเคียนปม หนูวัน รองนายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลตะเคียนปม พิไสย รองนายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลตะเคียนปม ตากาศ ปลัดองค์การบริหารส่วนต�ำบลตะเคียนปม ทีป่ รึกษา ไทยใหม่ เลขานุการนายก อุตตมะ ที่ปรึกษานายก

จากพันธกิจสู่ 12 แหล่งเรียนรู้ พันธกิจส�ำคัญขององค์การบริหารส่วนต�ำบลตะเคียนปม เพื่อมุ่งสู่เป็น เมืองแห่งการท่องเที่ยวทางศิลปวัฒนธรรม หัตถกรรมท้องถิ่น และแห่ง ธรรมชาติที่สวยงามในเชิงอนุรักษ์ควบคู่ไปกับการพัฒนา การส่งเสริมด้าน การเกษตรกรรมอย่างเป็นระบบครบวงจร เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของ ประชาชนให้ดีขึ้น น�ำไปสู่แหล่งเรียนรู้วิถีชีวิต ประเพณีวัฒนธรรม ภูมิปัญญา ท้องถิน่ เศรษฐกิจพอเพียง ซึง่ แต่ละหมูบ่ า้ นของต�ำบลตะเคียนปม จะมีความ โดดเด่นที่แตกต่างกัน ดังนี้


ผลงานที่ภาคภูมิใจ “ วิถีชีวิตคนขุนลี้ ประเพณีแห่ช้างเผือก ” ในปีงบประมาณ 2558 องค์การบริหารส่วนต�ำบลตะเคียนปม ได้ด�ำเนินโครงการ “วิถีชีวิตคนขุนน�้ำลี้ ประเพณีแห่ช้างเผือก” ภายใต้ กิจกรรม 1 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 1 ทุนทางวัฒนธรรม ประเพณีแห่ช้างเผือก เป็นพิธีกรรมที่กระตุ้น สร้างจิตส�ำนึก สร้ า งการมี ส ่ ว นร่ ว ม และถ่ า ยทอดจากรุ ่ น สู ่ รุ ่ น ในการจั ด การ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ แม่น�้ำลี้ การจัดเวทีเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เสนอปัญหา หาแนวทาง แก้ไข วางแผนการท�ำงาน ประสานการท�ำงาน บูรณาการแผนการ ท�ำงานร่วมกันอย่างยั่งยืน กิจกรรมแห่ช้างเผือก กิจกรรมสืบชะตาน�้ำลี้ ทุก ๆ 3 ปี กิจกรรมเข้ากรรมบ้าน (เดือนกุมภาพันธ์ และเดือนพฤษภาคม) กิจกรรม เลี้ยงผีขุนน�้ำ บวชป่า ทุกปี (เดือนพฤษภาคม-มิถุนายน)

การใช้ประโยชน์ อย่างยั่งยืน 1. ธนาคารเมล็ดพันธุ์ (ตลอดปี) 2. การทอผ้า ย้อมสีธรรมชาติ (ตลอดปี) 3. อาหารจากป่า สมุนไพร (ตลอดปี) 4. ส่งเสริมการเลี้ยง หมู/ไก่ (ตลอดปี) 5. หมอเมือง (ตลอดปี) 6. การจักสาน (ตลอดปี) LAMPHUN I SBL บันทึกประเทศไทย 205


HI S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต

พระอุโบสถชัยยะวงศ์ษามหาโพธิสัตว์นุสรณ์อุโบสถไม้สักทอง ประดิษย์ฐานสมเด็จองค์ปฐมทรงเครื่องนิพพาน(พระสิกขีทศพลที่๑)

วัดพระธาตุดอยพญากวางคำ� วัดพระธาตุดอยพญากวางค�ำ ตั้งอยู่ที่บ้านโป่งแดง-สัญชัย ต�ำบลทุ่งหัวช้าง อ�ำเภอทุ่งหัวช้าง จังหวัดล�ำพูน ประวัติพระธาตุดอยพญากวางค�ำ

วัดพระธาตุดอยพญากวางค�ำ สร้างขึ้นโดยพระเดชพระคุณหลวงปู่ ครูบาเจ้าชัยยะวงศา แห่งวัดพระพุทธบาทห้วยต้ม เป็นวัดทีม่ ปี ระวัตคิ วาม เป็นมาเกี่ยวข้องกับต�ำนานพญากวางค�ำโพธิสัตว์เจ้า กล่าวคือ ณ เวลาบ่ายคล้อยบริเวณขุนห้วยโป่งแดง(ในปัจจุบัน) มีกวางฝูงหนึ่ง ประมาณสิบกว่าตัวออกหากิน โดยการน�ำของพญากวางค�ำจ่าฝูง ในขณะ นั้นมีพรานสองกลุ่มออกล่าสัตว์ ด้วยความเป็นจ่าฝูงและมีสัญชาตญาณ แห่งโพธิสัตย์ พญากวางค�ำใช้สติปัญญาและความว่องไวเพื่อช่วยชีวิต บริวาร จึงวิ่งหลอกล่อพวกพรานและมุ่งขึ้นไปบนเขาที่ใกล้ที่สุด ซึ่งเป็นที่ ตั้งของ พระธาตุดอยพญากวางค�ำ ในปัจจุบัน ในขณะนั้นบนจอมเขาขุนห้วยโป่งแดง มีพระมหาเถระรูปหนึ่งมาพัก ปักกลดจ�ำศีลภาวนาและก�ำลังสวดมนต์อยู่ พญากวางค�ำนั้นเมื่อได้ยิน จึงหยุดฟัง และพิจารณาว่าเสียงนี้ไพเราะมาก เหมือนเคยได้ฟังมาก่อน จิตจึงเกิดความเพลิดเพลินหลงใหลติดใจในเสียงสวดมนต์ของพระมหาเถระ

206

SBL บันทึกประเทศไทย I LAMPHUN

จนลืมไปว่าตนเองก�ำลังวิ่งหนีกลุ่มพรานอยู่ พรานล่าเนื้อทั้งสองกลุ่มใช้ ธนูยิ่งใส่พญากวางทันที พญากวางค�ำไม่รู้ว่าถูกยิงเสียชีวิต แต่รู้ว่าเหมือน หลับแล้วตืน่ ขึน้ มา ก็ได้อบุ ตั จิ ตุ เิ กิดเป็นเทพบุตรอยูบ่ นสวรรค์ชนั้ ดาวดึงสา (ดาวดึงส์) มีปราสาทวิมานกว้างได้สิบสองโยชน์ สูงสิบสองโยชน์ และมี เทพธิดานางฟ้าเป็นบริวารอีกเป็นพันองค์ ส่วนพรานทัง้ สองกลุม่ ก็ได้แบ่งเนือ้ กวาง ส่วนหนังของกวางนัน้ พรานได้ เอาไปตากไว้บนก้อนหินใกล้ ๆ กับเขาลูกนี้ (ปัจจุบนั กลายเป็นแท่นหินหนัง กวางอยู่ห่างจากวัดไม่ไกลนัก หลวงปู่เมตตาพาชาวบ้านไปดูและยืนยัน ด้วยองค์ท่านเอง) ส่วนหัวกวางพรานได้น�ำไปคั่ว ปัจจุบันคือบ้านหัวขัว พระมหาเถระนั้ น เมื่ อ สวดมนต์ ไ หว้ พ ระปฏิ บั ติ ก รรมฐานแล้ ว จึงได้มาเทศน์โปรดสั่งสอนบอกกล่าวให้กลุ่มพรานที่ก�ำลังแบ่งเนื้อพญา กวางค�ำ และได้ชี้บอกพรานทั้งหลายว่า “สูทั้งหลายท�ำบาปมากแล้ว สูรู้ไหมว่ากวางที่สูยิงนั้นไม่ใช่กวางธรรมดาทั่วไป แต่เป็นพญากวาง ค�ำโพธิสัตว์บ�ำเพ็ญบารมี ต่อไปภายหน้าจักได้เป็นพระพุทธเจ้าอีกต๋น


(องค์)หนึ่ง” แล้วเทศน์โปรดพรานให้เลิกฆ่าสัตว์ตัดชีวิตหันมาท�ำบุญ รักษาศีล โดยการได้น�ำศีลห้าไปปฏิบัติ พรานทั้งหมดเมื่อได้ฟังพระมหา เถระเทศน์จบก็มจี ติ ศรัทธาเลือ่ มใสในพระรัตนตรัย จึงขอรับศีลห้าไปปฏิบตั ิ และขอให้พระมหาเถระทิ้งอนุสรณ์ไว้ให้สักการบูชาต่อไปในวันข้างหน้า พระมหาเถระจึงได้อธิษฐานจิตเหยียบรอยเท้าไว้บนหิน และได้ขอเอาเขา พญากวางโพธิสตั ว์จากพรานไว้ แล้วได้อธิษฐานจิตฝังเขาพญากวางค�ำไว้ ตรงจุดสูงสุดของจอมเขา และท�ำสัญลักษณ์ไว้โดยการน�ำเอาหินสามก้อน มาวางไว้เป็นรูปสามเหลีย่ ม (ปัจจุบนั หลวงปูไ่ ด้สร้างพระธาตุครอบตรงหิน สามก้อนที่ฝังเขาพญากวางค�ำ) เหตุ ที่ ห ลวงปู ่ ไ ด้ ม าก่ อ สร้ า งบู ร ณะวั ด พระธาตุ ด อยพญากวางค� ำ เพื่อให้ชาวบ้านได้ท�ำบุญท�ำพิธีกรรมในพระพุทธศาสนา สร้างบารมีเพื่อ สาธารณประโยชน์ เพื่อสืบทอดอายุพระพุทธศาสนา ท่านเล่าว่าเมื่อ ประมาณหกสิบปีที่ผ่านมาในสมัยที่ท่านได้ติดตามพระครูบาเจ้าศรีวิชัย มาบูรณะซ่อมแซมวัดพระธาตุหัวขัว ที่อยู่ห่างจากวัดพระธาตุดอยพญา กวางค�ำไปตามทิศตะวันตกประมาณห้ากิโลเมตร วันหนึ่งชาวบ้านหัวขัว ได้ไปเจอรอยเท้าอยู่บนหินบนดอยนั้น นับตั้งแต่นั้นมาถ้าวันไหนว่างจาก งานซ่อมแซมบูรณะวัดพระธาตุหัวขัว องค์หลวงปู่มักจะขึ้นไปกราบรอย พระบาท บางครั้งขึ้นไปกราบที่เดิม แต่หาอย่างไรก็ไม่เจอรอยพระบาท วันหลังขึ้นไปใหม่ไปที่เดิมปรากฏมีรอยพระบาทอยู่ที่เดิม เป็นเช่นนี้อยู่ หลายครั้งเพราะเทวดาที่รักษารอยพระบาทเอาซ่อนคือบังตาไม่ให้เห็น องค์หลวงปู่จึงเกิดแรงบันดาลใจสร้างที่ครอบรอยพระบาทขึ้นมา หลักจากนัน้ มาองค์หลวงปูข่ นึ้ ไปกราบสักการะอีกครัง้ ท่านจึงได้ตงั้ จิต อธิษฐานว่า ถ้ารอยเท้านีเ้ กีย่ วข้องผูกพันกับท่าน เป็นรอยพระบาทจริง ไม่ ได้ถกู สร้างหรือมนุษย์ทำ� ขึน้ และเป็นบุญของท่านทีจ่ ะได้บรู ณะก่อสร้างที่ ครอบรอยพระบาท ก็ขอให้ได้สร้างที่ครอบรอยพระบาทแล้วเสร็จภายใน ระยะเวลาเพียงเจ็ดวันเท่านั้น แล้วก็เป็นจริงท่านได้ก่อสร้างเสร็จภายใน เจ็ดวันพอดี โดยที่ไม่มีใครท�ำช่วยท่านเลย ท่านจึงตั้งชื่อรอยพระบาทว่า “พระบาททันใจ” ถ้าใครมีปัญหาอะไรก็ให้มาอธิษฐานขอที่รอยพระบาท ศักดิ์สิทธิ์นี้ จะเห็นผลเร็วทันใจ

ครูบาเจ้าชัยยะวงศาพัฒนา

รอยพระพุทธบาท

หลังจากสร้างครอบรอยพระบาทและช่วยครูบาเจ้าศรีวิชัยบูรณะวัด พระธาตุหวั ขัวจนแล้วเสร็จ ท่านจึงได้นำ� พาชาวบ้านหัวขัว และบ้านโป่งแดง -สัญชัย ตัดถนนขึน้ สูด่ อยตรงกับทีไ่ ด้สร้างบันไดนาคในปัจจุบนั และได้ขดุ สร้างทางเป็นวงกลม ขึน้ สูด่ อยอีกสายหนึง่ จึงเรียกติดปากชาวบ้านแต่กอ่ น ว่า “วัดดอยวง” เรียกตามลักษณะของถนนที่เป็นวงกลมขึ้นดอย และได้ สร้างพระธาตุขนึ้ หนึง่ องค์ สร้างพระวิหารอีกหนึง่ หลัง เสนาสนะ กุฏพิ ร้อม ต่อประปาภูเขาน�ำมาใช้ในวัดและในหมูบ่ า้ นโป่งแดง-สัญชัย จนถึงปัจจุบนั

พระครูสันตจิตตานุกิจ ( เจ้าอาวาส) ปั จ จุ บั น มี พ ระครู สั น ตจิ ต ตานุ กิ จ อยู ่ จ� ำ พรรษาได้ ย ้ า ยมาจาก วัดพระพุทธบาทห้วยต้มเมื่อปีพุทธศักราช 2543 ดูแลรักษางานก่อสร้าง มาจนถึงปัจจุบัน

LAMPHUN I SBL บันทึกประเทศไทย

207


.indd 208

28/6/2561 16:40:44


.indd 209

28/6/2561 16:39:28


BEST IN TRAVEL 2017

ที่ สุ ด แห่ ง การบั น ทึ ก

ความทรงจ�ำ หนึ่งความทรงจ�ำของการเดินทางในปี 2560 ลานหินปุ่ม ลักษณะลานหินซึ่งเป็นลานกว้างริมหน้าผา มีหิน นู น ขึ้ น เป็ น ปุ ่ ม ไล่ เ ลี่ ย กั น เป็ น จ� ำ นวนมาก บริ เ วณลานหิ น ปุ ่ ม จะ มี ปุ ่ ม หิ น นู น ซึ่ ง มี ข นาดเล็ ก และมี จ� ำ นวนมากกว่ า บริ เ วณลานหิ น แตกเท่ า นั้ น

www.sbl.co.th

SBL บั นทึ กประเทศไทย น�ำเสนอเรื่องราวของจังหวัดต่างๆ ทั่วประเทศไทย อย่างเจาะลึกและครอบคลุ ม ทุ ก มิ ติ อาทิ มิ ติ ด ้ า น การพั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต และความเป็ น อยู ่ จากหน่ ว ยงานราชการส� ำ คั ญ ในจั ง หวั ด มิ ติ ด ้ า นการท่ อ งเที่ ย วที่ ส ดใหม่ ทั น สมั ย ทั้ งสถานที่เ ที่ ยว ที่พัก ร้านอาหาร ร้านกาแฟ แหล่งช็อปปิ้งใหม่ๆ ฯลฯ มิติด้านอุตสาหกรรม-การค้ า การลงทุ น ที่ เ ป็ น ตั วขั บ เคลื่ อนเศรษฐกิจ ตลอดจนมิติด้านการศึกษา ศาสนา วัฒ นธรรม และวิถีชีวิต ที่มีจุดเด่นและมีเอกลั ก ษณ์ น ่ า สนใจ

_

.indd 210

28/6/2561 16:31:07


B E S T IN T R AV E L

2017

TOP 10 PHOTOGRAPHS

OF THE YE AR

BEST

_

.indd 211

IN

TRAVEL

2017 28/6/2561 16:31:08


วัดพระพุทธบาทตากผ้า อ�ำเภอป่าซาง จังหวัดล�ำพูน

212

SBL บันทึกประเทศไทย I LAMPHUN


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.