74 กาญจนบุรี

Page 1

ฉบับที่ 74 จังหวัดกาญจนบุรี พ.ศ. 2561

วั ด ม ะ ไทย 5 9 1 ร ร ทั่ว งใจ นรู้ธ วัดี่ยวทา ารเรีย งเท างก ท่อ ย์กล ศู น

Magazine

เมืองประวัติศาสตร์ ธรรมชาติอัศจรรย์ สวรรค์นักผจญภัย

KANC HANABURI สัมผัสเมืองกาญจน์ ในมุมมองทีแ ่ ตกต่าง

ขุดพลอยเจอธรรม พบสวรรค์ ในทุกย่างก้าว เข้าใกล้พระนิพพาน บนเส้นทางรถไฟสายมรณะ

591

วั ด ศูนย์กลางการเรียนรู้ ธรรมะ จั ง หวั ด กาญจนบุ รี

EXCLUSIVE ดร.บุญเลิศ โสภา ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงาน พระพุ ทธศาสนา จังหวัดกาญจนบุรี

Vol.9 Issue 74/2018

พระเจดีย์ 84 พรรษา

www.sbl.co.th

.indd 5

วัดท่าขนุน อ�ำเภอทองผาภูมิ

23/7/2561 14:02:27


Things to Do in Kanchanaburi‎ Cultural & Theme Tours Top Things to do Sights & Landmarks Nature & Parks Historical & Heritage Tours Sacred & Religious Sites

.indd 2

23/7/2561 11:30:48


THINGS TO DO IN KANCHANABURI‎

For most visitors the main sight of interest is the Bridge over the River Kwai, as the start of the infamous World War II Death Railway to Burma, as well as the many associated museums. There is an increasingly thriving backpacker scene taking advantage of the chilled-out riverside vibe for those that need to get away from Bangkok. KANCHANABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 3

3

21/7/2561 10:42:02


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดหินแท่นล�ำภาชี

พระครูถาวรกาญจนธรรม ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

วั ด หินแท่นล�ำภาชี ตั้งอยู่ที่บ้านหินแท่น ต�ำบลหนองไผ่ อ�ำเภอด่านมะขามเตี้ย

จั ง หวั ด กาญจนบุ รี เป็ น วั ด ที่ เ ลื่ อ งชื่ อ อุ โ บสถที่ ส วยที่ สุ ด ในจั ง หวั ด กาญจนบุ รี ที่ มี สมเด็ จ พระพุ ฒ าจารย์ (โต พฺ ร หฺ ม รั ง สี ) องค์ ใ หญ่ ป ระดิ ษ ฐานอยู ่ ห น้ า อุ โ บสถ โดยอุ โ บสถ ที่ ส วยงามแห่ ง นี้ เ รี ย กว่ า โบสถ์ ส� ำ เภาแก้ ว ร้ อ ยล้ า น ถู ก สร้ า งขนาบข้ า งด้ ว ยเรื อ อนั น ตนาคราชลั ก ษมี หนึ่ ง เดี ย วในประเทศไทย 4

SBL บันทึกประเทศไทย I KANCHANABURI

.indd 4

20/07/61 13:04:47


วัดหินแท่นล�ำภาชี ถูกสันนิษฐานว่าตัง้ ขึน้ เมื่ อ ปี พ.ศ.2481 ปั จ จุ บั น มี พ ระครู ถ าวร กาญจนธรรม(หลวงพ่อสมคิด) เป็นเจ้าอาวาส โดยแนวคิดในการสร้างโบสถ์แก้วประดิษฐาน อยู่บนเรือหงส์นั้น หลวงพ่อสมคิด กล่าวว่า พระครู ม หาพุ ท ธาภิ รั ก ษ์ ผู ้ ช ่ ว ยเจ้ า อาวาส วัดอินทรวิหารบางขุนพรม ได้นมิ ติ เห็นสถานที่ ที่ จ ะก่ อ สร้ า ง จึ ง น� ำ คณะศรั ท ธาหลวงพ่ อ สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรังสี) มา ช่ ว ยสร้ า ง ใช้ป ัจจัยไปกว่า 100 ล้านบาท ซึ่ ง มาจากศรั ท ธาของหลวงพ่ อ สมเด็ จ พระ พุ ฒ าจารย์ ( โต พฺ ร หฺ ม รั ง สี ) ทั้ ง สิ้ น ภายใน อุโบสถพบกับที่ประดิษฐานพระพุทธรัตนมุนี ศรีโสธร เป็นองค์ประธาน เบื้องหน้าสร้าง พระพุทธรูปและพระอรหันต์ เสมือนพระพุทธเจ้า

28 พระองค์ และพระอรหันต์ 80 พระองค์ โดยความหมายของโบสถ์แก้วที่ประดิษฐาน อยู่บนเรือหงส์นั้น สีขาวของโบสถ์ หมายถึง กระจกขาว ที่ สื่ อ ถึ ง พระพุ ท ธเจ้ า ผู ้ ท รง พระคุณอันประเสริฐเปล่งประกาย ไปทั่วโลก มนุ ษ ย์ แ ละจั ก รวาล ส่ ว นเรื อ สุ พ รรณหงส์ หมายถึง การน�ำพามนุษย์ข้ามวัฏสงสารมุ่งสู่ พุทธภูมดิ า้ นข้างทัง้ 2 ของโบสถ์ มีเรือขนาบข้างด้วย เรื อ อนั น ตนาคราชลั ก ษมี ประดิ ษ ฐาน พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ หลวงพ่อโสธร หลวงพ่อ วัดบ้านแหลม และหลวงพ่อวัดไร่ขิง โดยมี สมเด็จพระพุฒาจารย์(โต พรหมรังสี) องค์ใหญ่ เด่นตั้งตระหง่านอยู่หน้าโบสถ์ และด้านหลัง ของโบสถ์มีท้าวกุเวร หรือท้าวเวสสุวัณ อธิบดี แห่งอสูรหรือยักษ์ เจ้าแห่งผีหนึ่งในบรรดา

ท้ า วจตุ โ ลกบาลทั้ ง สี่ ผู ้ คุ ้ ม ครองและ ดู แ ล โลกมนุษย์ สิงสถิตอยู่บนสวรรค์ นอกจากนีใ้ นบริเวณวัดยังมีหลวงพ่อทันใจ และหลวงพ่อศิลาประดิษฐาน เพือ่ ให้ประชาชน ได้กราบไหว้ขอพร และขอโชคลาภอีกด้วย เนื่ อ งจากวั ด หิ น แท่ น ล� ำ ภาชี เป็ น วั ด ที่ นักท่องเที่ยวนิยมมาสักการบูชา และท�ำพิธี ทางศาสนาพุทธอยูเ่ ป็นประจ�ำ จึงสามารถเข้าชม ได้ทกุ ฤดูกาล ขณะเดียวกันก็เป็นสถานทีท่ สี่ ำ� คัญ ทางศาสนา ดังนั้น นักท่องเที่ยวควรแต่งกาย ให้ สุ ภ าพเรี ย บร้ อ ย เพื่ อ เป็ น การให้ เ กี ย รติ แก่สถานที่ ทางวัด เปิดให้นักท่องเที่ยวเข้าชม ตั้งแต่เวลา 07.00 - 17.00 น. ทุกวัน

KANCHANABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 5

5

20/07/61 14:21:26


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดบ้านเก่า

พระปลัดสมนึก คุณธมฺโม ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

วั ด บ้ า นเก่ า ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 88 ม.1 ต� ำ บลบ้ า นเก่ า อ� ำ เภอเมื อ งกาญจนบุ รี

จั ง หวั ด กาญจนบุ รี ต� ำ บลบ้ า นเก่ า เดิ ม ชื่ อ ว่ า “บ้ า นเก่ า ” เป็ น หมู ่ บ ้ า น หมู ่ ที่ 4 อยู ่ ใ นเขต ต� ำ บลจรเข้ เ ผื อ ก อ� ำ เภอด่ า นมะขามเตี้ ย ได้ แ ยกตั ว ออกจากต� ำ บลจรเข้ เ ผื อ ก จั ด ตั้ ง เป็ น ต� ำ บลบ้ า นเก่ า เมื่ อ ปี พ.ศ.2516 อยู ่ ใ นเขตอ� ำ เภอเมื อ ง โดยแบ่ ง การปกครองออกเป็ น 7 หมู ่ บ ้ า นในขณะนั้ น และมี ก ารแยกหมู ่ บ ้ า นเพิ่ ม ขึ้ น จนกระทั่ ง เป็ น 15 หมู ่ บ ้ า น

ขอเชิญร่วมสร้างเส้นทางบุญกับวัดบ้านเก่า โทร. 06-5597-0624 6

สภาพโดยทั่วไปของต�ำบลบ้านเก่า เป็น ที่ ร าบเชิ ง เขาสลั บ ภู เขาสู ง ปริ ม าณน�้ ำ ฝน ที่ตกลงมาจะไหลผ่านพื้นที่ไปอย่างรวดเร็ว มี แม่น�้ำสายส�ำคัญไหลผ่าน คือ แม่น�้ำแควน้อย มีสภาพป่าไม้ค่อนข้างสมบูรณ์ ในปัจจุบันนี้ ต�ำบลบ้านเก่าได้ชื่อว่าเป็นถิ่นอารยธรรมของ มนุษย์สมัยหินใหม่ โดยเชลยศึกชาวฮอลันดา สมัยสงครามโลกครัง้ ที่ 2 ทัพญีป่ นุ่ เคยตัง้ ฐานทัพ บริเวณที่ตั้งบ้านเก่าในปัจจุบัน เป็นผู้ค้นพบ เครื่องมือเครื่องใช้ของมนุษย์สมัยหินใหม่ ซึ่ง มีความส�ำคัญทางประวัตศิ าสตร์และโบราณคดี เป็นอย่างยิง่ และมีวดั บ้านเก่า เป็นศูนย์รวมจิตใจ ของชาวบ้านในย่านนี้ เป็นสถานที่ปฏิบัติธรรม มีพระสงฆ์เป็นเนื้อนาบุญ ให้ธรรม ให้ปัญญา แก่ชาวบ้านตลอดมาจนถึงปัจจุบัน

SBL บันทึกประเทศไทย I KANCHANABURI

.indd 6

20/07/61 15:52:01


พั ก ผ่ อ นสบายๆ ตามสไตล์ ที่ คุ ณ เลื อ กได้

Eurotel Hotel Kanchanaburi

โรงแรม ยู โ รเทล กาญจนบุ รี ให้ คุ ณ สั ม ผั ส ธรรมชาติ แ ห่ ง ความสุ ข ท่ า มกลางเมื อ ง กาญจนบุรี กับดีไซด์ห้องพักที่คุณมองหา ความเป็น Eurotel Hotel Kanchanaburi ในแบบที่ คุณเลือกได้

เพราะเราพิ ถี พิ ถั น เพื่ อ วั น พิ เ ศษของคุ ณ

E U R O T E L H O T E L

ยู โ รเทล

กาญจนบุ รี

63 ห้องพักในสไตล์ที่คุณชื่นชอบ ทันสมัย สะอาด สะดวก สบาย ด้วยบริการประทับใจ และ อาหารบุฟเฟ่ต์ยามเช้าที่เราพิถีพิถัน เพื่อวันพิเศษของคุณ พร้อมห้องฟิตเนส มาตรฐานสากลให้คุณ ได้ผ่อนคลายกายใจ

หากคุ ณ ก� ำ ลั ง มองที่ พั ก ที่ ส ะดวกสบายชั้ น เลิ ศ ในกาญจนบุ รี เลื อ ก Eurotel Hotel Kanchanaburi .

.indd 7

ตั้งอยู่เลขที่ 9/9 หมู่ ที่ 12 ต�ำบลปากแพรก อ�ำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี ส�ำรองที่พักโทร. 034-540-695 BURI I SBL บันทึกประเทศไทย 7 หรืLOP อ 089-518-2727

19/7/2561 16:51:26


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดพระแท่นดงรังวรวิหาร พุทธสถานพระแท่นดงรัง

พระราชวิสุทธาภรณ์ (ทองด�ำ อิฏฺฐาสโภ ป.ธ.6) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

วัดพระแท่นดงรัง ตั้งอยู่หมู่ที่ 10 ต�ำบลพระแท่น อ�ำเภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี

อยู ่ ใ นเขตเทศบาลต�ำ บลพระแท่น ในบริเ วณพระแท่ น ดงรั ง นี้ ทั้ ง วั ดพระแท่ น ดงรั ง วรวิ ห าร และพุ ท ธสถานพระแท่น ดงรัง ซึ่งตั้งอยู่ใ นอาณาบริ เวณเดี ย วกั น พระแท่ น ดงรั ง นั บ เป็ น เจดี ย ฐาน หรื อ เจดี ย สถาน คื อ ถื อ ว่ า เป็ น ที่ ป ริ นิ พ พานของ พระพุ ท ธเจ้ า และนั บ ว่ า เป็ น สั ง เวชนี ย สถานแห่ ง หนึ่ ง ในสี่ แ ห่ ง ของ พระพุ ท ธเจ้ า คื อ สถานที่ ป ระสู ติ สถานที่ ต รั ส รู ้ สถานที่ แ สดงปฐมเทศนา และสถานที่ ดั บ ขั น ธปริ นิ พ พาน ซึ่ ง สถานที่ ดั ง กล่าวตั้งอยู่ใ นประเทศอิน เดีย ในปัจ จุ บั น 8

SBL บันทึกประเทศไทย I KANCHANABURI

.indd 8

19/07/61 16:17:50


วัดพระแท่นดงรัง หรือพระแท่นดงรัง สันนิษฐานว่าคงจะสร้างขึ้นในสมัยอยุธยา เพราะได้ รับอิทธิพล มาจากศาสนาพุทธในประเทศศรีลังกา เนื่องจากในสมัยพระเจ้าบรมโกศ ได้น�ำพันธุ์ พระศรีมหาโพธิ์มาจากเกาะลังกา และเกิดมีพระพุทธบาทขึ้นที่เมืองสระบุรีและพระแท่นดงรัง ในแขวงเมืองราชบุรี (ปัจจุบันอยู่ในเขตอ�ำเภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี) นับถือกันว่าเป็น บริโภคเจดีย์ โดยมีหลักฐานเก่าแก่ที่สุดคือ จากนิราศพระแท่นดงรังของ สามเณรกลั่น ที่เดินทาง ไปนมัสการพระแท่นดงรังพร้อมสุนทรภู่ เมื่อเดือนสี่ ปีมะเส็ง ปี พ.ศ.2376 ว่า

ถึงพระแท่นแสนสงัดเห็นวัดมี กับต้นรังทั้งคู่ยังอยู่พร้อม ต่างชื่นชมโสมนัสยิ่งศรัทธา เข้าประตูดูแผ่นพระแท่นตั้ง

ทั้งโบสถ์ที่ครอบพระแท่นแผ่นศิลา ดูยอดน้อมมาข้างแท่นที่แผ่นผา ตามบิดาทักษิณด้วยยินดี เหมือนบัลลังก์แลจ�ำรัสรัศมีฯ

สมัยรัชกาลที่ 4 พระบาทสมเด็จพระปิน่ เกล้าเจ้าอยูห่ วั (เจ้าฟ้าจุฑามณี กรมขุนอิศเรศรังสรรค์) ได้เสด็จพระราชด�ำเนินมานมัสการพระแท่นดงรัง เมือ่ เดือนหก ปีมะเมีย พ.ศ.2402 และทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ ให้บูรณปฏิสังขรณ์และสร้างเจดีย์ขึ้นที่หลังพระแท่น 1 องค์ ต่อมา สมัยรัชกาลที่ 5 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงพระราชนิพนธ์เสด็จประพาสไทรโยค ปีฉลู พ.ศ.2420 ได้กล่าวถึงค่ายหลวงพระแท่นดงรัง และทรงเขียนอธิบายถึงพระแท่นดงรังอย่างละเอียด ต่อมา สมัยรัชกาลที่ 6 เมือ่ พ.ศ.2464 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูห่ วั เสด็จพระราชด�ำเนิน ไปซ้อมรบเสือป่า ณ ค่ายหลวงบ้านโป่ง ภายหลังการซ้อมรบเสือป่าแล้วได้เสด็จพระราชด�ำเนิน โดยรถยนต์พระทีน่ งั่ ไปตามถนนและทางเกวียนมาทรงสักการะพระแท่นดงรัง แต่เสด็จเพียงวันเดียว ไม่ได้ประทับแรม

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยา ด� ำ รงราชานุ ภ าพ มี ล ายพระหั ต ถ์ เ ล่ า เรื่ อ ง พระแท่นดงรังถวายพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้า กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ในสาส์นสมเด็จ ภาค 37 ฉบับลงวันที่ 19 และ 26 มีนาคม พ.ศ. 2482 ว่า “ ถึงพระแท่นดงรัง หม่อมฉัน เห็นว่าศักดิ์สิทธิ์ส�ำคัญไม่ได้อยู่ที่ตัวพระแท่น เท่ า กั บ ผ้ า เหลื อ งที่ เ ขาเอาซ้ อ นกองไว้ บนพระแท่ น เป็ น รู ป คล้ า ยกั บ ศพคลุ ม ผ้ า นอนอยู่บนนั้น ผู้ที่ไปพระแท่นดงรังครั้งแรก ล้วนนึกว่าจะไปดูพระแท่น ครั้นไปถึงแต่พอ โผล่ประตูวิหารเข้าไป เห็นรูปกองผ้าเหลือง เหมือนอย่าง “พระพุทธศพ” วางบนพระแท่น ก่อนสิ่งอื่นก็จับใจในทันที บางคนก็สะดุ้งกลัว บางคนยิ่งรู้สึกเลื่อมใส พระแท่นดงรังอัศจรรย์ ด้วยผ้าเหลืองกองนั้นเป็นส�ำคัญ จึงมักกล่าว กั น ว่ า พระแท่ น ศิ ล าอาสน์ ไ ม่ น ่ า เลื่ อ มใส เหมือนพระแท่นดงรัง “ สมั ย รั ช กาลที่ 9 พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช พร้ อ ม สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินนี าถ เสด็จ พระราชด�ำเนินมานมัสการพระแท่นดงรัง 2 ครัง้ กรมศิลปากร ได้ขึ้นทะเบียนพระแท่นดงรัง เป็ น โบราณสถานของชาติ และได้ รั บ การ สถาปนาเป็นพระอารามหลวงชัน้ ตรี ชนิดวรวิหาร เพื่อเฉลิมพระเกียรติในพระราชพิธีสถาปนา สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมงกุฎราชกุมาร วันที่ 28 ธันวาคม พ.ศ.2515

งานนมัสการพระแท่นดงรัง

มหรสพชมฟรี ภาพยนต์ ลิเก ดนตรี วันที่ 13 - 21 มี น าคม 2562 ต� ำ บลพระแท่ น อ�ำเภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี สอบถามโทร 08-9820-2992, 0-3451-0221

KANCHANABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 9

9

20/07/61 13:45:51


Editor’s Talk

ผู้บริหาร คณะที่ปรึกษา

ศ.ดร.กฤช เพิ่มทันจิตต์, พลเอกสรชัช วรปัญญา, ดร.นิเวศน์ กันไทยราษฎร์, ดร.ประยุทธ คงเฉลิมวัฒน์, ดร.ชาญ ธาระวาส, ดร.สุมิท แช่มประสิท, ดร.วัลลภ อารีรบ, ดร.พิชัย ทรัพย์เกิด, ดร.ไอศูรย์ ดีรัตน์, ดร.สุเทษณ์ จันทรุกขา, ดร.อรรถสิทธิ์ ตันติวิรัชกุล

บรรณาธิการอ�ำนวยการ ศุภกิจ ศิลปรังสรรค์

บรรณาธิการบริหาร อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์

บรรณาธิการงานบุคคล

พงษ์ศักดิ์ พรณัฐวุฒิกุล, วนัสกฤษณ์ ศิลปรังสรรค์

ฝ่ายกฎหมาย

สมคิด หวังเชิดชูวงศ์, ทวิช อมรนิมิตร

สะพานมอญ @สังขละบุรี

กองบรรณาธิการ ฝ่ายประสานงานโครงการภาครัฐและเอกชน

ฝ่ายศิลปกรรม

คณะทีมงาน อนุชิต ปะวรรณจะ ภานพ เพิ่มพงษ์วงศ์วาน

กราฟิกดี ไซน์ พิมพ์พิสุทธิ์ พังจูนันท์ วรเชษฐ สมประสงค์ จักรพันธ์ สิงห์ดี

ผู้จัดการ กิตติชัย ศรีสมุทร

ฝ่ายประสานงานข้อมูล ผู้จัดการ นันท์ธนาดา พลพวก

ประสานงาน ศุภญา บุญช่วยชีพ นงลักษณ์ เทียมเกตุทวีโชค นักเขียน ฐิติรัตน์ สุวรรณโรจน์

ฝ่ายประสานงานจังหวัด กชกร รัฐวร

ฝ่ายการตลาด จันทิพย์ กันภัย

Editor’s Talk

.indd 10

ผู้จัดการ พัชรา ค�ำมี

ช่างภาพ ชัยวิชญ์ แสงใส ปณต ปิติจารุวิศาล กิติวัฒน์ ทิศมั่ง วิทยา ประเสริฐสังข์

ทางรถไฟสายมรณะ @ไทรโยค

ตัดต่อวีดีโอ วัชรกรณ์ พรหมจรรย์

ฝ่ายบัญชี/การเงิน บัญชี ปัฐมาภรณ์ แสงบุราณ การเงิน กรรณิการ์ มั่นวงศ์ สุจิตรา แดนแก้วนิต ณภัทร ชื่นสกุล

เมืองมัลลิกา @เมือง

20/07/61 13:46:55


ริมน้ำ�ปิง @เมืองกำ�แพงเพชร

เส้นทาง ประวัติศาสตร์ แหล่งอัญมณี ยอดนิยม

น�้ำตกเอราวัณ @ศรีสวัสดิ์

บริษัท สมาร์ท บิซิเนส ไลน์ จ�ำกัด 9/4-6 ถนนรามอินทรา แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพฯ 10220 โทร. 0-2522-7171 แฟกซ์. 0-2971-7747 FACEBOOK : SBL บันทึกประเทศไทย EMAIL : sbl2553@gmail.com WEBSITE : www.sbl.co.th

นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย ฉบับพิเศษ มีความปีตทิ ไี่ ด้เปิดปูมร่องรอยการเผยแผ่พระพุทธศาสนา จากอิ น เดี ย ถึ ง เมื อ งกาญจนบุ รี จากพระแท่ น ดงรั ง เจดี ย สถาน ที่ เชื่ อ กั น ว่ า เป็ น สถานที่ ป ริ นิ พ พานของ พระพุทธเจ้าอีกแห่งหนึ่งในประวัติศาสตร์ที่ด�ำรงอยู่ ในประเทศไทย หรื อ ดิ น แดนสุ ว รรณภู มิ อั น รุ ่ ม รวย ไปด้วยปัญญาญาณจากพระพุทธองค์ จนถึงวัดต่างๆ ในจังหวัดที่มีลมหายใจของพระอรหันตสาวกต่อเนื่อง มาจนถึงปัจจุบันนี้ เราได้รับการต้อนรับเป็นอย่างดี และมีความสุข ในขณะที่ ไ ด้ นั่ ง รถไฟท่ อ งเที่ ย วช้ า ๆ ไปบนเส้ น ทาง สายมรณะจนท�ำให้เห็นกฎไตรลักษณ์ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา จากอดีตจนถึงปัจจุบัน และพบกัลยาณมิตร มากมายระหว่างการเดิน ทางบันทึกเรื่อ งราว ท�ำให้ มีพลังในการท�ำงานและมีความสมดุลทั้งกายและใจ ไปในท่ามกลางวิถธี รรมทีส่ อดร้อยวัฒนธรรมและเศรษฐกิจ เป็นหนึ่งเดียวอย่างงดงาม ในนามของนิ ต ยสาร SBL ผมขอถื อ โอกาสนี้ กราบขอบพระคุณ ดร.บุญเลิศ โสภา ผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดกาญจนบุรี ตลอดจน ผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต่างๆ ศาสนสถาน บริษัท ห้างร้าน ฯลฯ ซึ่งกรุณาสนับสนุนให้ทีมงาน ด�ำเนินการจัดท�ำนิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย

ติดต่อ คุณศุภกิจ ศิลปรังสรรค์

TEL : 081-442-4445, 084-874-3861 EMAIL : supakit.s@live.com

Editor’s Talk

.indd 11

(นายศุภกิจ ศิลปรังสรรค์) บรรณาธิการอ�ำนวยการ

20/07/61 13:47:27


Contents KANCHANABURI ฉบั บ ที่ 74 จั ง หวั ด กาญจนบุ รี พ.ศ.2561

วัดหิน แท่นล�ำภาชี วัดบ้านเก่า วัดพระแท่นดงรังวรวิ หาร Editor’s Talk วัดท่าขนุน วัดเทพศรัทธาธรรม

04 06 08 10 16 27

28

บันทึกเส้นทางพบ ส�ำนักงานพระพุทธศาสนา ดร.บุญเลิศ โสภา บันทึกเส้นทางความเป็ นมา 34 บันทึกเส้นทางท่อ งเที่ ยว 38 วัดศรีอุปลาราม 58 วัดเขาเม็งอมรเมศร์ 62 วัดเขาจ่าท่าโป่งธรรมไพบู ลย์

64 วัดทุ่งก้างย่าง 66 วัดวังโพธิการาม 70 วัดปางบรรพวัฒนาราม 72 วัดลุ่มสุ่ม 74

วั ด ท่ าขนุ น @ทองผาภู มิ

ส� ำ นั ก สงฆ์ อ าศรมปฏิ บั ติ ธ รรม ปั ทมะประภาสุ ช าโต 76 วั ด แม่ น�้ำน้ อ ย 78 วั ด ทุ ่ ง นาโกลน 80 วั ด ศรี มงคล 8 1 วั ด บึ ง หั ว แหวน 84

28

บันทึกเส้นทางพบ

ส�ำนักงานพระพุทธศาสนา ดร.บุญเลิศ โสภา

สะพานมอญ @สั ง ขละบุ รี

12

Content

วั ด บึ ง หล่ ม วั ด หนองรี วั ด หนองหว้ า วั ด สนามแย้ วั ด ดอนชะเอม วั ด วั ง ขนายทายิ ก าราม

85 86 87 90 92 94

วั ด เขาสามสิ บ หาบ วั ด โพธิ์ ศ รี สุข าราม วั ด ห้ วยนาคราช วั ด บ้ า นถ�้ ำ วั ด ใหญ่ ด งรั ง วั ด วั ง ก์ วิ เวการาม

95 96 100 102 106 112

SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN

.indd 12

18/10/61 14:49:41


“วางใจในการพักผ่อนครั้งพิเศษ วางใจเรา”

บินหลา ราฟท์

B i n l h a

รีสอร์ทแห่งสายน�้ำในอ้อมกอดของภูเขา...

R a f t

พักกายสบายใจไปกับ “บินหลา ราฟท์” ผ่ อ นคลายท่ า มกลางสายน�้ ำ และขุ น เขา เพราะเราคือรีสอร์ทแห่งสายน�้ำที่โอบอุ้ม คุ ณ ไว้ ใ นอ้ อ มกอด รี ส อร์ ท ที่ อ อกแบบ สถาปัตยกรรมผสมผสานระหว่างห้องพัก สไตล์เรียบง่ายกลมกลืนไปกับธรรมชาติท่ี แวดล้อมด้วยสายน�้ำ ภูเขา และห้องพัก สไตล์เรียบหรูที่ถูกออกแบบเป็นลักษณะ โค้งมนสลับกันไปประดุจภูเขาและรูปคลื่น แม่ น�้ ำ ไทรโยคน้ อ ย จากการดี ไ ซน์ ที่ เ ปิ ด โอกาสให้ผู้มาพักได้เลือกห้องพักในสไตล์ ที่ชื่นชอบ ไม่ว่าจะเรียบง่ายหรือเรียบหรู ทั้งสองอย่างถูกรวมมาอยู่ที่นี่ ที่เดียว

“บิ น หลา ราฟท์ ” รี ส อร์ ท ริ ม น�้ ำ ในจั ง หวั ด กาญจนบุ รี หนึ่ ง ในจั ง หวั ด ยอดฮิตที่รวมแหล่งท่องเที่ยวหลากหลายต่างๆ รวมถึงกิจกรรมทั้งทางบก และทางน�้ำต่างๆ ท่ามกลางธรรมชาติ ขุนเขา และ สายน�้ำแห่งความสงบ ตอนนี้“บินหลา ราฟท์” เปิดให้บริการเฉพาะ แพเปียก, พายเรือคายัค, Sup board, ขีช่ า้ ง, อาบน�ำ้ ช้าง และเพลิดเพลินกับการดืม่ ด�ำ่ ในบรรยากาศกลางน�้ำ

รีสอร์ทริมน�้ำ กาญจนบุรี ต้อง “บินหลา ราฟท์” ที่นที่ ี่เดียวครบทุกรสชาติของการท่องเที่ยว

รีสอร์ท บินหลา ราฟท์ (Binlha Raft Resort)

ตั้งอยู่เลขที่ 224 หมู่ 3 ต.วังกระแจะ อ.ไทรโยค จ.กาญจนบุรี 089-925-4063 , 089-058-6001 และ 081-925-5641 rsvn_binlharaft@hotmail.com Binlha Raft Resort Kanchanaburi @BinlhaRaft www.binlharaft.comLOP BURI I SBL บันทึกประเทศไทย 13

1

Binlha Raft Resort.indd 13

19/7/2561 15:44:17


Contents KANCHANABURI

ฉบั บ ที่ 74 จั ง หวั ด กาญจนบุ รี พ.ศ.2561

วัดสมเด็จ วัดกระเจาบ่อยา วัดลาดขาม วัดพังตรุ วัดสระแก้ว วัดวังรักราษฏร์ บ�ำ รุ ง วัดพุทธบูชา วัดตรอกสะเดา วัดบ่อระแหงคุณ าราม วัดนางาม วัดเขาวงพระจันทร์ วัดโพธิ์เอน วัดใหม่ภูมิเจริญ วัดหนองจั่น วัดพระธาตุโป่งนก วัดไทรทอง วัดหนองไม้เอื้อย วัดถ�้ำวังหิน วัดหนองปลาไหล วัดเขาแหลม วัดถ�้ำเนรมิต วัดหนองแกประชาสรรค์ วัดเขาสูงแจ่มฟ้า วัดห้วยกระเจา วัดพรหมนิมิต

114 115 116 118 120 122 124 126 127 128 130 131 132 133 136 138 140 142 144 146 148 149 150 152 154

ทางรถไฟสายมรณะ @ไทรโยก

น�้ ำ ตกเอราวั ณ @ศรี สวั สดิ์

14

Content

ถ�้ ำ กระแซ @ไทรโยก

SBL บันทึกประเทศไทย I SURIN

.indd 14

23/07/61 10:43:23


s a m p r a s o b

สามประสบ

สามประสบ รีสอร์ท รอต้อนรับทุกท่าน ด้วยห้องพักใหม่ พร้อมสระว่ายน�้ำ-จากุชชี่ ท่าน สามารถเห็นวิวสามประสบได้อย่างชัดเจนที่สุด พร้อมอุปกรณ์อ�ำนวยความสะดวกครบครัน สามประสบรี ส อร์ ท …ดิ น แดนแห่ ง แม่ น�้ ำ สามสาย ตั้งอยู่บนเนื้อที่ประมาณ 14 ไร่ บนจุด ชมวิวเหนือเขื่อนวชิราลงกรณ์ (เขื่อนเขาแหลม) และอยู่ติดกับสะพานอุตตมานุสรณ์ สะพานไม้ที่ ยาวที่ สุ ด ในเมื อ งไทย ของอ� ำ เภอสั ง ขละบุ รี จังหวัดกาญจนบุรี เป็นรีสอร์ทที่มีทัศนียภาพที่ สวยงาม อยู่ในจุดที่มองเห็นสะพานมอญในมุม ที่สวยงามที่สุด เป็นบริเวณที่แม่น�้ำทั้ง 3 สาย ไหลมาบรรจบกัน อันได้แก่ แม่น�้ำซองกาเลีย แม่ น�้ ำ รั น ตี และแม่ น�้ ำ บี ค ลี่ ณ รี ส อร์ ท แห่ ง นี้ สามารถเห็ น จุ ด ที่ แ ม่ น�้ ำ ทั้ ง สามสาย ไหลมา บรรจบพบกันอีกด้วย

ทริปพิเศษของคุณ คือ บริการของเรา เราพร้อมต้อนรับนักท่องเที่ยวที่เข้ามาพักผ่อนใน อ�ำเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรีแห่งนี้ รวมไปถึง เรือ่ งของอาหารทีล่ อื ชือ่ ในด้านรสชาติและความอร่อย อย่างเช่น ไข่เจียวสามประสบ, ต้มย�ำปลาคังน�้ำข้น, ผัดผักกูด ที่ปรุงขึ้นมาด้วยสูตรที่คิดค้นขึ้นเอง สามประสบ รีสอร์ท

122 หมู่ 3 ต.หนองลู อ.สังขละบุรี จ.กาญจนบุรี 71240 โทรศัพท์ส�ำรองห้องพักได้ที่ 085-811-8711, (034) 595-050 โทรสาร: (034) 595205

Email: samprasobresort@gmail.com

โปรแกรมขี่จักรยาน – เดินป่า – ล่องแก่ง – นั่งเรือชมวัดใต้น�้ำ ส�ำหรับท่านผู้ที่รักการผจญภัย และต้ อ งการสั ม ผั ส กั บ ธรรมชาติ อ ย่ า งใกล้ ชิ ด สนุกเร้าใจกับการล่องแก่งด้วยเรือยาง

พักสบายทุกฤดูกาลในดินแดนแห่งแม่น�้ำสามสาย

LOP BURI I SBL บันทึกประเทศไทย

1

.indd 15

15

19/7/2561 16:20:00


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดท่าขนุน

พระครูวิลาศกาญจนธรรม ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

วั ด ท่าขนุน ได้ชื่อตามเมืองด่านท่าขนุน สมัยนั้นการสัญจรส่วนมากไปทางเรือ

ที่ ล ่ อ งตามล� ำ น�้ ำ แควน้ อ ย จุ ด ที่ ตั้ ง ของเมื อ งด่ า นท่ า ขนุ น เป็ น ท่ า เรื อ มี ที่ ห มายส� ำ คั ญ คื อ มี ต ้ น ขนุ น อยู ่ ห ลายต้ น จึ ง เรี ย กกั น ง่ า ยๆ ว่ า “ท่ า ขนุ น ” จนกลายเป็ น ชื่ อ บ้ า นนามเมื อ ง ตั้ ง แต่ นั้ น มา

16

SBL บันทึกประเทศไทย I KANCHANABURI

.indd 16

20/07/61 15:00:43


KANCHANABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 17

17

20/07/61 15:00:55


ในหนังสือนิราศท่าดินแดง ซึง่ พระบาทสมเด็จ พระพุ ท ธยอดฟ้ า จุ ฬ าโลกมหาราช ทรง พระราชนิพนธ์ขนึ้ เมือ่ พ.ศ.2329 เมือ่ คราวเสด็จ ไปท�ำศึกกับพม่าซึง่ ยกมารุกรานไทยทีท่ า่ ดินแดง ทรงยกทั พ ไปพร้ อ มกั บ กรมพระราชวั ง บวร มหาสุรสิงหนาท โดยขบวนเรือจากกรุงเทพฯ ไปจนถึงเมืองไทรโยค แล้วจึงเดินทัพทางบกต่อไป จากนิราศท่าดินแดงในครัง้ นัน้ ได้กล่าวถึง จังหวัดกาญจนบุรใี นนามเดิมว่าเมืองปากแพรก ทรงยกทัพเรือขึน้ ไปถึงเมืองไทรโยค แล้วจึงเปลีย่ น เป็นทัพบก ยกไปตัง้ ค่ายทีด่ า่ นท่าขนุน แล้วบุก โจมตีกองทัพพม่าทีท่ า่ ดินแดง จะเห็นได้วา่ ในสมัย รัชกาลที่ 1 นั้น ท่าขนุนก็เป็นเมืองหน้าด่าน อยู่แล้ว จากค่านิยมของชาวพุทธไม่ว่าจะเป็น มอญ พม่า ไทย ลาว ก็คือ มีบ้านที่ไหนก็ต้อง มีวดั ทีน่ นั่ ท�ำให้มนั่ ใจได้วา่ จะต้องมีวดั ท่าขนุน มาตั้งแต่สมัยนั้นแล้ว เพียงแต่ไม่ได้ปรากฏ หลักฐานชัดเจนในเอกสารประวัตศิ าสตร์ตา่ งๆ เท่านั้น หลักฐานการมีวัดท่าขนุนปรากฏชัด เมื่อครั้งที่พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้า อรประพันธร�ำไพ และ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์ เจ้ า อดิ ศั ย สุ ริ ย าภา สองพระธิ ด า ในล้นเกล้ารัชกาลที่ 5 กับเจ้าจอมมารดาอ่อน เสด็จมาประพาสป่าทองผาภูมิ ทัง้ สองพระองค์ ทรงพอพระทัยในสภาพป่าทองผาภูมิ จึงได้เสด็จ มาอีกครั้งหนึ่ง และได้ขอเด็กกะเหรี่ยง 2 คน คือ นังมิ่นกง กับ นอเด่งเฉ่ง จากบ้านปรังกาสี ไปเลี้ยงไว้ในวังอีกด้วย ในการเสด็จประพาส ทองผาภูมิครั้งหลังนี้เอง ทั้งสองพระองค์ได้ ทู ล ขอพระราชทานพระพุ ท ธรู ป รั ช กาล 18

ขนาดหน้าตักประมาณ 1 ศอก 2 องค์ และ ธรรมาสน์ทรงบุษบกฝีมอื ช่างหลวง ถอดประกอบ ได้ทุกชิ้น จากในหลวงรัชกาลที่ 7 มาถวายแก่ หลวงปูพ่ กุ อุตตฺ มปาโล อดีตเจ้าอาวาสวัดท่าขนุน เมื่อ พ.ศ.2472 หลวงปู่พุกซึ่งเป็นพระเถระ เชื้อสายมอญ มีสีลาจารวัตรที่งดงามเป็นที่ เคารพนับถือของชาวบ้านเป็นอย่างมาก ทั้ง สองพระองค์ได้ทราบกิตติศัพท์ จึงเสด็จมา นมัสการพร้อมกับถวายสิ่งของพระราชทาน ดังกล่าว หลวงปู่พุกปกครองวัดท่าขนุนมาจนถึง พ.ศ.2489 ก็มรณภาพลง ชาวบ้านจึงได้นิมนต์ หลวงปู่เต๊อะเน็ง โอภาโส ชาวกะเหรี่ยงนอก มาจากพม่า มาเป็นเจ้าอาวาสวัดท่าขนุนเป็น รูปที่ 2 ช่วงนัน้ พอดีหลวงพ่ออุตตมะ เดินธุดงค์ เข้าไทยมาได้พบกับหลวงปูเ่ ต๊อะเน็ง จึงช่วยกัน สร้ า งมณฑปประดิ ษ ฐานรอยพระพุ ท ธบาท สี่ ร อยจ� ำ ลองให้ กั บ ทางวั ด ท่ า ขนุ น จากนั้ น หลวงปู่เต๊อะเน็ง ปกครองวัดท่าขนุนจนถึง พ.ศ.2494 ก็เดินทางกลับไปพม่า โดยไม่ได้ กลับมาอีก จนกระทั่งวันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ.2495 หลวงปูส่ าย อคฺควํโส เดินธุดงค์มาจากนครสวรรค์ มาปักกลดปฏิบัติธรรมอยู่ที่บริเวณวัดท่าขนุน ชาวบ้านเห็นวัตรปฏิบตั อิ นั น่าเลือ่ มใส จึงให้การ อุปฏั ฐากเป็นอย่างดี จนถึงวันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2496 หลวงปู่สายก็ได้ลาชาวบ้านเดิน ธุดงค์เข้าไปในพม่า จนถึงวันที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ.2496 หลวงปู่สายเดินธุดงค์กลับจากพม่า มาถึงวัดท่าขนุน และได้จ�ำพรรษาที่วัดท่าขนุน

จนถึงวันที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ.2496 ชาวบ้าน ซึ่งน�ำโดย นายบุญธรรม นกเล็ก ได้นิมนต์ให้ หลวงปู ่ ส ายอยู ่ เ ป็ น เจ้ า อาวาสที่ วั ด ท่ า ขนุ น หลวงปู ่ ส ายจึ ง ได้ แ นะน� ำ ให้ นายบุ ญ ธรรม น�ำชาวบ้านไปขอท่านกับหลวงปูน่ อ้ ย เตชปุญโฺ ญ เจ้าอาวาสวัดหนองโพธิ์ จังหวัดนครสวรรค์ ซึง่ เป็นพระกรรมวาจาจารย์ และเป็นเจ้าอาวาส ปกครองดูแลท่าน หลังออกพรรษา พ.ศ.2497 นายบุญธรรมจึงน�ำศรัทธาชาวบ้านเดินทางไป นครสวรรค์ กราบหลวงปู่น้อยขอหลวงปู่สาย มาเป็นเจ้าอาวาสวัดท่าขนุน เมื่อหลวงปู่น้อย อนุญาตแล้ว หลวงปู่สายจึงเดินทางกลับมา พร้อมกับคณะศรัทธาชาวบ้าน ถึงวัดท่าขนุน เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ.2497 และ เริ่มท�ำการบูรณะวัดตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา หลวงปู ่ ส าย นั้ น ได้ รั บ การแต่ ง ตั้ ง จาก พระวิสุทธิรังษี (ดี พุทธโชติมหาเถระ) เจ้า คณะจังหวัดกาญจนบุรีในขณะนั้น ให้ด�ำรง ต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดท่าขนุน หลวงปู่สาย และศรัทธาชาวบ้านได้ชว่ ยกันพัฒนาวัดท่าขนุน จนได้รับรางวัลพัฒนาตัวอย่างในปี พ.ศ.2516 ต่อมาหลวงปู่สาย มรณภาพใน พ.ศ.2535 ท�ำให้เสนาสนะทัง้ หลายได้ทรุดโทรมลง บางส่วน ก็ช�ำรุดจนไม่สามารถที่จะใช้งานได้ จนถึงปี พ.ศ.2545 สมัยพระสมุห์สมพงษ์ เขมจิตฺโต เป็นเจ้าอาวาสวัดท่าขนุน พระราชธรรมโสภณ รักษาการเจ้าคณะจังหวัดกาญจนบุรี ได้มบี ญ ั ชา ให้พระครูวิลาศกาญจนธรรม ในสมัยที่ยังเป็น พระใบฎีกาเล็ก สุธมฺมปญฺโญ มาพัฒนาวัดท่าขนุน ให้มีเสนาสนะที่สมบูรณ์ขึ้นมาอีกครั้งหนึ่ง

SBL บันทึกประเทศไทย I KANCHANABURI

.indd 18

20/07/61 15:01:08


วัดท่าขนุน ศูนย์รวมจิตใจประชาชน

พ.ศ.2516 ได้ รั บ เลื อ กให้ เ ป็ น วั ด พั ฒ นาตั ว อย่ า ง, พ.ศ.2542 หน่วยอบรมประชาชนประจ�ำต�ำบลท่าขนุน, พ.ศ.2551 ศูนย์วฒ ั นธรรมไทย สายใยชุ ม ชนต� ำ บลท่ า ขนุ น , พ.ศ.2552 ศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ธ รรมประจ� ำ จังหวัดกาญจนบุรี แห่งที่ 23, พ.ศ.2553 ศูนย์ปฏิบัติธรรมประจ�ำ จั ง หวั ด ดี เ ด่ น เฉลิ ม พระเกี ย รติ , พ.ศ.2554 ได้ รั บ การประเมิ น จากกระทรวงวัฒนธรรม ให้เป็นโครงการศูนย์วัฒนธรรมไทย สายใยชุมชนระดับ 1, พ.ศ.2555 ศูนย์การเรียนรู้ประจ�ำชุมชน บ้านท่าขนุน, พ.ศ.2556 ศูนย์การศึกษาพระพุทธศาสนา วันอาทิตย์, พ.ศ.2560 ชุมชนคุณธรรมวัดท่าขนุน วัดท่าขนุนได้รบั การแนะน�ำจากการท่องเทีย่ วแห่งประเทศไทย เป็น 1 ใน 9 วัด ในการเดินทางท่องเที่ยวเพื่อไหว้พระ ของจั ง หวั ด กาญจนบุ รี งานท่ อ งเที่ ย วที่ ส� ำคั ญ ได้ แ ก่ การตามประทีป 10,000 ดวง และลอยโคมถวายเป็น พุทธบูชา (Unseen Thailand) เนื่องในวันมาฆบูชา วั น วิ ส าขบู ช า วั น อาสาฬหบู ช า และวั น ลอยกระทง งานอุม้ พระสรงน�ำ้ วันสงกรานต์ (Unseen Thailand) ในวั น ที่ 15 เมษายน ของทุ ก ปี และ งานตักบาตรเทโว ในวันแรม 1 ค�ำ่ เดือน 11 ของทุกปี

พระเจดีย์ 84 พรรษา KANCHANABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 19

19

20/07/61 15:01:20


ท�ำเนียบเจ้าอาวาส 1. หลวงปู่พุก อุตฺตมฺปาโล 2. หลวงปู่เต๊อะเน็ง โอภาโส 3. พระครูสุวรรณเสลาภรณ์ 4. พระอธิการสมเด็จ วราสโย 5. พระสมุห์สมพงษ์ เขมจิตฺโต 6. พระครูวิลาศกาญจนธรรม

พ.ศ.2472 - พ.ศ.2489 พ.ศ.2489 - พ.ศ.2494 พ.ศ.2497 - พ.ศ.2535 พ.ศ.2535 - พ.ศ.2541 พ.ศ.2541 - พ.ศ.2551 พ.ศ.2551 - ปัจจุบัน

สะพานแขวนหลวงปู่สาย

สังขารหลวงปู่สาย อคฺควํโส (พระครูสุวรรณเสลาภรณ์) 20

เป็นสะพานไม้ประกอบลวดสลิง หลวงปู่สาย อคฺควํโส สร้างเมื่อ พ.ศ.2529 ข้ า มแม่ น�้ำ แควน้ อ ย เชื่ อ มระหว่ า งฝั ่ ง วั ด ท่ า ขนุ น กั บ ฝั ่ ง ตลาดทองผาภู มิ ท�ำให้ ส ามารถร่ น เวลาในการเดิ น ทางเข้ า สู ่ ตลาดทองผาภูมิไปได้เป็นอย่างมาก ปัจจุบันยังใช้งานอยู่เป็นปกติ โดยเฉพาะเป็นเส้นทางบิณฑบาตของพระภิกษุสามเณรวัดท่าขนุน

SBL บันทึกประเทศไทย I KANCHANABURI

.indd 20

23/07/61 13:17:25


สิ่งส�ำคัญภายในวัดท่าขนุน 1. พระพุทธรูปรัชกาล 2 องค์ 2. ธรรมาสน์ทรงบุษบก 3. มณฑปไม้ทรงมอญ 4. สังขารหลวงปู่สาย อคฺควํโส (พระครูสุวรรณเสลาภรณ์) 5. พระพุทธบาทสี่รอยจ�ำลอง 6. อุโบสถวัดท่าขนุน 7. สะพานแขวนหลวงปู่สาย 8. พระพุทธรูปจตุรทิศพิทักษ์เมืองไทย 9. พระพุทธเจติยคีรี 10. รูปหล่อหลวงปู่พุก - หลวงปู่สาย ขนาดเท่าองค์จริง 11. พระเจดีย์ 84 พรรษา 12. พระพุทธรูปไพรีพินาศ 13. พระพุทธรูปหยกขาวพิทักษ์ชายแดนตะวันตก 14. พระพุทธรูปสมเด็จองค์ปฐม 8 ศอก 15. พระบรมสารีริกธาตุเขี้ยวแก้ว 16. พระพุทธรูปงาช้างแกะสลัก 17. พระพุทธรูปลีลาประทานพร 84 พรรษาธรรมิกราช 18. พระพุทธรูปสมเด็จองค์ปฐม 21 ศอก

พระพุทธรูปสมเด็จองค์ปฐม หน้าตัก 21 ศอก สร้ างขึ้ น โดยพระครูวิลาศกาญจนธรรม ด้ว ยแม่ แบบ ของพระครูไพโรจน์ภัทรคุณ วัดสระพัง อ�ำเภอก�ำแพงแสน จังหวัดนครปฐม ในวาระฉลอง 2600 ปี พุทธชยันตี เพื่อถวาย เป็ น พระราชกุ ศ ลในวโรกาสที่ ส มเด็ จ พระนางเจ้ า สิ ริ กิ ติ์ พระบรมราชินีนาถ ทรงเจริญพระชนมายุ 80 พรรษา ใต้ฐาน พระพุ ท ธรู ป สมเด็ จ องค์ ป ฐม เป็ น ห้ อ งสมุ ด ขนาดใหญ่ มี ความกว้างถึง 900 ตารางเมตร ด้านข้างห้องสมุดเป็นซุ้ม จ�ำหน่ายสินค้าของตลาดชุมชนวัดท่าขนุน นักท่องเทีย่ วทีผ่ า่ นไป ผ่านมาแวะมาสักการบูชาและถ่ายรูปกันทุกวัน

KANCHANABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 21

21

20/07/61 15:01:57


UNDER HIS GRACIOUSNESS บันทึกเส้นทางใต้ร่มพระบารมี

โครงการศูนย์บริการการพัฒนา และสวนไม้ดอกไม้หอมไทย (จังหวัดกาญจนบุรี) 22

SBL บันทึกประเทศไทย I KANCHANABURI

.indd 22

19/7/2561 16:00:01


“ เป็นการพัฒนาทีด่ นิ ในรูปแบบของ “ศูนย์บริการการพัฒนา” ควบคู่ ไปกับการจัด ท� ำ “สวนไม้ ด อก-ไม้ ห อมไทย” เพื่ อ ให้ ประชาชน หน่วยราชการ เยาวชนและผู้ที่สนใจ ได้ ใช้ประโยชน์ ในการฝึกอบรมด้านต่างๆ เพื่อ เพิ่ ม พู น ความรู ้ ค วามสามารถ และน� ำ ไป ประยุกต์ ใช้ในชีวิตประจ�ำวันของตนเองได้ รวม ทั้ ง เป็ น แหล่ ง รวบรวมอนุ รั ก ษ์ แ ละเผยแพร่ ความรู้แก่บุคคลทั่วไป ให้ ได้รับทราบและใช้ ประโยชน์ จ ากสวนไม้ ด อกไม้ ห อมไทยอย่ า ง ยั่งยืน ”

โครงการศูนย์บริการการพัฒนาและสวนไม้ ดอกไม้หอมไทย ตัง้ อยูท่ ตี่ ำ� บลบ้านเก่า อ�ำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี เป็นหนึง่ โครงการ ในพระราชด�ำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี อันเป็นศูนย์กลางรวบรวมพันธ์ไม้ดอกไม้หอมไทย ของท้องถิน่ เป็นการอนุรกั ษ์มรดกทางวัฒนธรรม ของชาติให้ด�ำรงอยู่สืบไป ประวัติความเป็นมา

โครงการศูนย์บริการการพัฒนาไม้ดอกไม้ หอมไทย ต�ำบลบ้านเก่า อ�ำเภอเมือง จังหวัด กาญจนบุรี ก่อก�ำเนิดเมื่อวันที่ 23 เมษายน 2541 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม ราชกุมารี ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ รับที่ดินที่ ต�ำบลบ้านเก่า อ�ำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี

จ�ำนวน 12 ไร่ 3 งาน 44 ตารางวา ซึง่ พลโท รวม ศักดิ์ ไชยโกมินทร์ น้อมเกล้าฯ ถวายแก่มลู นิธชิ ยั พัฒนา ในครั้งนั้น สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พระราชทานพระราชด�ำริ ให้ ด�ำเนินการพัฒนาทีด่ นิ ในรูปแบบของ “ศูนย์บริการ การพัฒนา” ควบคูไ่ ปกับการจัดท�ำ “สวนไม้ดอกไม้หอมไทย” เพือ่ ให้ประชาชน หน่วยราชการ และ ผูท้ สี่ นใจได้ใช้ประโยชน์ในการฝึกอบรมด้านต่างๆ เพื่ อ เพิ่ ม พู น ความรู ้ ค วามสามารถ และน� ำ ไป ประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจ�ำวันของตนเองได้ รวมทัง้ เป็นแหล่งรวบรวมอนุรักษ์และเผยแพร่ความรู้แก่ บุคคลทั่วไป ให้ได้รับทราบและใช้ประโยชน์จาก สวนไม้ดอกไม้หอมไทย โดยมีหน่วยงานรับผิด ชอบ คือ จังหวัดกาญจนบุรี

ผลการด�ำเนินงาน

ปั จ จุ บั น ได้ ส ่ ง มอบโครงการฯ ให้ จั ง หวั ด กาญจนบุ รี โดยเกษตรและสหกรณ์ จั ง หวั ด กาญจนบุรี เป็นหน่วยงานทีด่ แู ลรับผิดชอบ ซึง่ ใน ปัจจุบันได้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องและมีผู้เข้า มาศึกษาเรียนรู้อย่างไม่ขาดสาย ท�ำให้ประชาชน ได้รบั ความรูเ้ กีย่ วกับดอกไม้ไทย ดอกไม้หอมเป็น อย่างมาก อีกทั้งหลายชนิดยังเป็นสมุนไพรและ อาหารเป็นยาอีกด้วย อาทิ KANCHANABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 23

23

19/7/2561 16:00:09


ชบา (ชื่อวิทยาศาสตร์: Hibiscus rosa-sinensis)

ชบา

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้พุ่มขนาด ปานกลาง เป็นพืชที่มีเนื้อไม้อ่อน เปลือกเหนียว ใบเป็นใบเดี่ยว มีสีเขียวสด ใบรูปไข่ ปลายแหลม ริมใบเป็นจักฟันเลื่อย ดอกมีสีสันแตกต่างกัน มากมายเช่น แดง ชมพู เหลือง ส้ม มีกลีบดอก 5 กลีบ มีเกสรตัวผูจ้ ำ� นวนมาก ก้าน เชือ่ มเป็นหลอด ยาวประมาณ 9 เซนติเมตรล้อมรอบเกสรตัวเมีย อับเรณูติดบริเวณปลายแยกเป็น 5 แฉก โผล่พ้น หลอดเกสรตัวผูไ้ ม่ตดิ ผลในไทย ชบาพันธุล์ กู ผสม มีหลายสี เช่น สีแดง ชมพู ขาว เหลือง ส้ม เป็นต้น ประโยชน์ : รากต�ำสดพอกฝี รับประทานช่วย ขั บ น�้ ำ ย่ อ ย ท� ำ ให้ เ จริ ญ อาหาร ดอกสดใช้ ขั ด รองเท้าให้มัน นมแมว

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ต้นไม้พมุ่ รอเลือ้ ย กิง่ อ่อนมีขนสีนำ�้ ตาลปกคลุมใบ ใบเดีย่ ว เรียงสลับ รูปขอบขนานแกมรูปใบหอก โคนใบมนหรือหยักเว้า ปลายใบแหลม ขอบใบเรียบดอก ดอกเดีย่ ว หรือ ออกเป็นกระจุก 2-4 ดอก ตรงข้ามใบ มีกลิ่นหอมใน ช่วงเย็น กลีบเลี้ยง 3 กลีบ สีเขียว รูปสามเหลี่ยม 24

กลีบดอก 6 กลีบ เรียงเป็นสองวง สีเหลืองนวล รูปไข่แกมสามเหลีย่ ม กลีบหนา กลีบวงในมีขนาด เล็กกว่า ผลเป็น ผลกลุ่ม มีผลย่อย 6-15 ผล ผลรูปรี สีเหลือง แต่ละผลย่อยมี 5-8 เมล็ด การใช้ ป ระโยชน์ : ผลสุ ก รั บ ประทานได้ รสหวาน หรือปลูกเป็นไม้ประดับ สร้อยสุมาลี

ลักษณะพฤกษศาสตร์ : ไม้เลื้อยเนื้อแข็ง ขนาดกลางล�ำต้น กิ่งก้านเลื้อยได้ไกล 3 เมตร ล�ำต้นกลมใบเดี่ยว ออกตรงข้าม รูปไข่หรือรูปรี ขนาด 3-4 x 5-7 เซนติเมตร ปลายแหลม โคนสอบ ขอบใบบิ ด เป็ น คลื่ น แผ่ น ใบสี เ ขี ย วประขาว ดอกออกเป็นช่อแขนงที่ปลายกิ่งและตามซอกใบ ใกล้ปลายกิ่ง ดอกย่อย 30-50 ดอก ดอกเป็น หลอด กลีบดอกสีขาว โคนกลีบเชื่อมติดกันเป็น หลอดสั้น ปลายแยกออกเป็น 5 กลีบ เรียงเวียน ซ้อนเหลื่อมกัน เส้น ผ่านศูนย์กลางดอก 4-5 มิลลิเมตร กลิ่นหอมแรง ออกดอกเดือนตุลาคม ถึงธันวาคม ประโยชน์: ปลูกเป็นซุ้มไม้เลื้อย

สร้อยสุมาลี (ชื่อวิทยาศาสตร์ : Parameria laevigata (Juss.) Moldenke)

หิรัญญิการ์

ลักษณะพฤกษศาสตร์ : ไม้เถาเนื้อแข็ง มีน�้ำ ยางสีขาว ใบ เดี่ยว ออกเป็นคู่ตรงข้าม รูปไข่กลับ ถึงรูปรี กว้าง 3-11 ซม. ยาว 8-29 ซม. ใบอ่อน มีขน ใบแก่มกั เรียบเกลีย้ ง ดอก สีขาวนวล ออกเป็น ช่อสั้นที่ปลายกิ่ง มีกลิ่นหอมอ่อน ดอกย่อยบาน ไม่พร้อมกัน ขนาดบานเต็มที่กว้างถึง 10 ซม. กลีบรองดอกรูปไข่ ปลายแหลม กลีบดอกแผ่กว้าง เชื่อมกันคล้ายรูปล�ำโพง ปลายแยกเป็น 5 กลีบ เกสรผู้ 5 อัน อยู่ในหลอดกลีบดอก รังไข่มีขน ปกคลุม ผล เป็นฝักใหญ่ รูปรี กว้าง 5-6 ซม. ยาว 20-30 ซม. ปลายมนทู่ เมื่อแก่แตกเป็น 2 ซีก เมล็ดมีจ�ำนวนมาก ส่วนปลายมีขนยาวอ่อนนุ่ม ติดอยู่ เป็นกระจุก ประโยชน์ : นิยมน�ำมาปลูกเป็นไม้ประดับ

SBL บันทึกประเทศไทย I KANCHANABURI

.indd 24

19/7/2561 16:00:19


)

“เป้าหมายที่ส�ำคัญคือ เพื่อสงเคราะห์ช่วย เหลือประชาชนให้มีความร่มเย็นเป็นสุข และอยู่ดีกินดี อันจะน�ำไปสู่ความมั่นคง ของประเทศ คือ ชัยชนะแห่งการพัฒนา”

แนวทางงานของมูลนิธิชัยพัฒนา

เป็นไปตามแนวพระราชด�ำริ โดยเน้นกิจกรรม เพื่อการพัฒนาที่ไม่ซ�้ำซ้อนกับแผนงาน โครงการ ของรัฐทีม่ อี ยูแ่ ล้ว แต่จะพยายามสนับสนุน ส่งเสริม และประสานการด�ำเนินงาน เพื่อให้โครงการ ต่างๆ เกิดความสมบูรณ์และสามารถด�ำเนินการ ได้อย่างรวดเร็วและสอดคล้องกับสถานการณ์ โดยเฉพาะในกรณีทโี่ ครงการของรัฐถูกจ�ำกัดด้วย เงื่อนไขของกฎระเบียบต่างๆ อันเป็น ผลท�ำให้ โครงการนั้นๆ ไม่สามารถด�ำเนินการได้อย่างทัน ท่วงที เช่น ในกรณีที่อาจต้องจัดซื้อที่ดินจาก ราษฎรบางส่วนเพือ่ ด�ำเนินงานตามโครงการ หนึง่ แต่รัฐมีปัญหาด้านงบประมาณไม่เพียงพอในการ จัดซื้อ หรือมิได้ตั้งงบประมาณไว้ หรือถูกจ�ำกัด ด้วยเงื่อนไขของระเบียบต่างๆ ท�ำให้ด�ำเนินการ จัดซือ้ ไม่ได้ หรือต้องตัง้ งบประมาณจัดซือ้ ใน 1-2 ปี ข้างหน้า ซึ่งจะท�ำให้โครงการล่าช้าไป เป็นต้น ในกรณีเช่นนี้มูลนิธิชัยพัฒนาจะได้ช่วยเหลือตาม ความเหมาะสมเพือ่ ให้โครงการ นัน้ ๆ ด�ำเนินการ ได้อย่างรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพสูงสุด วิธีการดังตัวอย่างข้างต้นนี้ อาจนับได้ว่าเป็น วิวฒ ั นาการใหม่ของแนวทางการพัฒนาประเทศที่ มีมลู นิธชิ ยั พัฒนาใน ฐานะเป็นนิตบิ คุ คลและเป็น องค์ ก รสาธารณกุ ศ ลที่ จ ะเข้ า มาประสานงาน ร่วมมือ สนับสนุน โครงการพัฒนาของรัฐอย่าง สอดคล้ อ งเป็ น อั น หนึ่ ง อั น เดี ย วกั น เพื่ อ ให้ โครงการทีม่ ปี ญ ั หานัน้ ๆ สามารถด�ำเนินงานไปได้ โดยก่อประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชนและประเทศ ชาติอย่างไม่เคยมีมาก่อนในอดีต “มูลนิธิชัยพัฒนา มิได้มีหน้าที่โดยตรงที่จะ บรรเทาทุกข์แก่ประชาชนให้มกี นิ ให้สามารถทีจ่ ะ ด�ำเนินชีวิตที่สร้างสรรค์ โดยช่วยในการให้มีสิ่งที่ เป็นอุปกรณ์ หรือจะเป็นสิง่ ทีเ่ ป็นปัจจัยให้สามารถ ที่ จ ะท� ำ การท� ำ มาหากิ น โดยมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ

โดยเฉพาะเกี่ ย วข้ อ งกั บ โครงการในด้ า น การเกษตรก็ได้ท�ำมาก และในด้านเกี่ยวข้องกับ สิ่ ง แวดล้ อ มก็ ไ ด้ ท� ำ เพื่ อ ที่ จ ะให้ ป ระชาชนมี คุ ณ ภาพชี วิ ต ดี ที่ สุ ด เป้ า หมายก็ คื อ ความเจริ ญ รุ่งเรืองของประเทศชาติ ซึ่งถือว่าเป็นชัยชนะ” (พระราชด�ำรัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 9 วันที่ 9 พฤศจิกายน 2538) วัตถุประสงค์ เพื่อสนับสนุนการด�ำเนินงาน ตามโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริและ โครงการพัฒนาอื่นๆ ,เพื่อส่งเสริม การพัฒนา สงเคราะห์ แ ละช่ ว ยเหลื อ ประชาชนในด้ า น เศรษฐกิ จ และสั ง คมให้ มี คุ ณ ภาพ ชี วิ ต ที่ ดี ขึ้ น และให้ ส ามารถช่ ว ยตั ว เองและพึ่ ง ตนเองได้ ด�ำเนินการใดๆ อันเป็นประโยชน์ต่อประชาชน

และประเทศชาติเป็นส่วนรวม และ ร่วมมือกับ ส่ ว นราชการและองค์ ก รการกุ ศ ลอื่ น ๆ เพื่ อ สาธารณประโยชน์ หรือด�ำเนินการเพือ่ เน้นในการ สนั บ สนุ น สาธารณประโยชน์ ไ ม่ ด� ำ เนิ น การ เกี่ยวข้องกับการเมือง

KANCHANABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 25

25

19/7/2561 16:00:26


R a c h a s u p a m i t

“วางใจในการพักผ่อนครั้งพิเศษ วางใจเรา”

ราชศุภมิตร

เพียงชั่วโมงเศษจากกรุงเทพ ท่านจะได้พบ กั บ บรรยากาศที่ เ ป็ น ธรรมชาติ ท ่ า มกลาง สวนกล้ ว ยไม้ และสวนหิ น ร่ ม รื่ น เหมาะส� ำ หรั บ การพั ก ผ่ อ น พร้ อ มทั้ ง การบริ ก ารที่ เ ยี่ ย มยอด และสิ่ ง อ� ำ นวยความสะดวกต่ า งๆ ท� ำ ให้ ท ่ า น สามารถวางใจได้ ว ่ า การพั ก ผ่ อ นครั้ ง นี้ จ ะพิ เ ศษ กว่าครั้งใดๆ

เราเป็นโรงแรมชั้นน�ำที่ต้ังอยู่ ใจกลางเมืองกาญจนบุรี บริการห้องพักมาตรฐาน สามารถรองรับการท่องเที่ยวแบบหมู่คณะ โรงแรมอาร์ . เอส. โฮเต็ ล (R.S.Hotel) เป็ น ศู น ย์ ก ารประชุ ม สั ม มนาครบวงจร มี ห ้ อ งประชุ ม ห้องจัดเลีย้ งหลายรูปแบบ ห้องประชุม R.S.Convention Hall จัดประชุม สั ม มนาได้ ม ากกว่ า 1200 ท่ า น ท่ า มกลางบรรยากาศอั น ร่ ม รื่ น ริ ม สระว่ า ยน�้ ำ ขนาดใหญ่ ใ นโรงแรม พร้อมทีจ่ อดรถกว้างขวาง ผ่อนคลาย ในห้องพัก ด้วยสิง่ อ�ำนวยความสะดวก ที่ทางโรงแรมจัดเตรียมไว้บริการท่าน อย่างครบครัน เช่น โต๊ะเขียนหนังสือ ตู ้ เ ย็ น น�้ ำ อุ ่ น เครื่ อ งปรั บ อากาศ ทีวี เคเบิล WiFi ฟรีรับประทานอาหาร ไทยรสเลิ ศ ที่ ไ ด้ รั บ การคั ด สรรใน ห้ อ งอาหาร พร้ อ มคาราโอเกะที่ coffee shop ยามค�่ำคืน

26

โรงแรมราชศุภมิตร ( Rachasupamit Hotel ) อาร์.เอส. โฮเต็ล ( R.S.Hotel ) 264 หมู่ 5 ถ.แสงชูโต ท่ามะขาม เมืองกาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรี 71000 034-625-128-30 , 02- 291- 9953 rshotel โรงแรมอาร์ เอส -ราชศุภมิตร rs.hotel@hotmail.com SBL บันทึกประเทศไทย I LOP BURI

.

.indd 26

19/7/2561 16:06:21


HIST ORY OF BUDDHISM

บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดเทพเทพาศรัทธาธรรม

ประชาชนในทุกหมู่บ้าน มีความยึดมั่นใน พระพุทธศาสนาเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะ วันส�ำคัญทางศาสนาก็เข้าวัดท�ำบุญกันมาก ในแต่ ล ะวั ด และเมื่ อ ช่ ว งเดื อ นเมษายน พ.ศ.2561 ทีผ่ า่ นมา ทางวัดเทพเทพาศรัทธาธรรม ได้จดั งานฉลองพระประธานปางประธานพรขึน้ พร้ อ มทอดผ้ า ป่ า สามั ค คี โ ดยชาวบ้ า นร่ ว ม แรงกายแรงใจด้วยศรัทธาเพือ่ ให้พระพุทธศาสนา คงอยู่คู่สังคมไทยตลอดไป

พระอธิการผ่อน จนฺทาโภ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

วั ด เทพเทพาศรั ท ธาธรรม ตั้ ง อยู ่ ห มู ่ ที่ 4 ต� ำ บลลุ ่ ม สุ ่ ม อ� ำ เภอไทรโยค

จังหวัดกาญจนบุรี แต่เดิมต�ำบลลุ่มสุ่ม เป็นพื้นที่ๆ อยู่ติดแม่น�้ำแควน้อย มีลักษณะเป็นที่ลุ่ม ในช่ ว งฤดู ฝ นจะมี น�้ ำ ท่ ว มขั ง อยู ่ เ ป็ น ประจ� ำ ทุ ก ปี ราษฎรส่ ว นใหญ่ มี อ าชี พ การสานสุ ่ ม เพื่ อ เป็ น เครื่ อ งมื อ ในการจั บ ปลา ครั้ น ยามน�้ ำ ลดก็ จ ะเห็ น สุ ่ ม เป็ น จ� ำ นวนมากอยู ่ ใ นลุ ่ ม จึ ง เรี ย กชื่ อ ต� ำ บลว่ า “ต� ำ บลลุ ่ ม สุ ่ ม ”

ขอเชิญร่วมสร้างเส้นทางบุญกับวัดเทพเทพาศรัทธาธรรม โทร. 06-1313-1913 KANCHANABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 27

27

20/07/61 13:51:59


Director of nakhonsawan Provincial Buddhism Office

28

.

SBL บันทึกประเทศไทย I KANCHANABURI

-

.

.indd 28

20/07/61 16:16:27


E XCL U SIVE INTERVIEW บันทึกเส้นทางพบส�ำนักงานพระพุทธศาสนา

ส่งเสริมและสนับสนุนให้วัดเป็นศูนย์กลาง การเรียนรู้และศูนย์กลางชุมชน เพื่อพัฒนา สุขภาวะและความสงบเย็นแห่งจิตใจ ของชาวเมืองกาญจนบุรี

ดร.บุ ญ เลิ ศ โสภา ผู ้ อ� ำ นวยการส� ำ นั ก งานพระพุ ท ธศาสนา จั ง หวั ด กาญจนบุ รี KANCHANABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.

-

.

.indd 29

29

20/07/61 16:17:01


หน้าที่แห่งธรรม ส� ำ นั ก งานพระพุ ท ธศาสนาจั ง หวั ด กาญจนบุรี มีอ�ำนาจหน้าที่หลักในด้านการ พัฒนาคนและสังคมให้มคี ณ ุ ภาพ และสนองงาน คณะสงฆ์และรัฐ ท�ำนุบ�ำรุง ส่งเสริมกิจการ ด้านพระพุทธศาสนา ให้การอุปถัมภ์ส่งเสริม และพัฒนางานพระพุทธศาสนา ดูแลรักษา จัดการ ศาสนสมบัติและส่งเสริมพัฒนาระบบ งานบริหารด้านพระพุทธศาสนาในจังหวัด ส� ำ นั ก งานพระพุ ท ธศาสนาจั ง หวั ด กาญจนบุรี เป็นหน่วยงานราชการส่วนภูมภิ าค ซึ่ ง มี ห น้ า ที่ ด� ำ เนิ น นโยบายตามกรอบงาน ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ รวมทั้ง ปรั บ ปรุ ง แบบการท� ำ งานให้ มี ลั ก ษณะเชิ ง บูรณาการตามยุทธศาสตร์จังหวัดกาญจนบุรี เพื่ อ ให้ เ กิ ด ผลสั ม ฤทธิ์ ก ารบริ ห ารราชการ แผ่นดินตามนโยบายของรัฐบาล โดยมีการปกครองแบ่งเขตการปกครอง ออกเป็น 13 อ�ำเภอ 95 ต�ำบล 959 หมู่บ้าน ประกอบด้ ว ยวั ด ทั้ ง หมดจ� ำ นวน 591 วั ด จ� ำ แนกเป็ น พระอารามหลวง 3 วั ด คื อ วัดไชยชุมพลชนะสงคราม วัดเทวสังฆาราม และวัดพระแท่นดงรังวรวิหาร วัดราษฎร์ 588 วัด จ�ำแนกตามนิกาย ประกอบด้วย มหานิกาย 562 วัด ธรรมยุต 24 วัด อนัมนิกาย 3 วัด จีนนิกาย 2 วัด (คณะสงฆ์อนัมนิกาย เป็นคณะ สงฆ์นกิ ายมหายานในประเทศไทย ซึง่ สืบมาจาก ประเทศเวียดนาม) และ (คณะสงฆ์จีนนิกาย

แห่งประเทศไทย เป็นคณะสงฆ์นิกายมหายาน ของชาวไทยเชือ้ สายจีน ถือก�ำเนิดมาจากชาวจีน ทีเ่ ข้ามาพึง่ พระบรมโพธิสมภารบนผืนแผ่นดินไทย ได้น�ำเอาวัฒนธรรม ศาสนา และความเชื่อ ดั้งเดิมของตนเข้ามาประพฤติปฏิบัติ แรกเริ่ม ที่ยังไม่มีพระภิกษุ ชาวจีนได้สร้างศาลเจ้าจีน ขึน้ ก่อนเพือ่ เป็นสิง่ ยึดเหนีย่ วและเป็นศูนย์กลาง ในการประกอบพิ ธี ก รรม ต่ อ มาในรั ช สมั ย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ มีพระภิกษุจีนแถบมณฑลกวางตุ้งจาริกเข้ามา ปฏิบตั ศิ าสนกิจมากขึน้ น�ำไปสูก่ ารจัดระเบียบ การบริ ห ารการปกครอง คณะสงฆ์ จี น ได้

ถือก�ำเนิดขึ้นบนแผ่นดินไทยและมีความเจริญ สืบเนื่องมาจวบจนปัจจุบัน) มี พ ระภิ ก ษุ ส ามเณรทั้ ง หมดในจั ง หวั ด กาญจนบุรี 5,872 รูป ประกอบด้วย 1. มหานิกาย พระภิกษุ 5,146 รูป สามเณร 695 รูป 2. ธรรมยุต พระภิกษุ 152 รูป สามเณร 24 รูป 3. จีนนิกาย พระภิกษุ 18 รูป สามเณร 2 รูป 4. อนัมนิกาย พระภิกษุ 32 รูป สามเณร 3 รูป

อุ ป ถัมภ์คุ้มครอง พระพุ ท ธศาสนาให้เ จริญ มั่ง คง และสั ง คมมีความสุข ด้วยหลัก

พุทธธรรม

วิสัยทัศน์

มุ ่งมั่น คิด เร็ว ท� ำเร็ว ถูก ต้อง

ปฏิญญา

30

.

SBL บันทึกประเทศไทย I KANCHANABURI

-

.

.indd 30

20/07/61 16:17:29


ค่านิยม ความรู้คู่คุณธรรม วัฒนธรรมองค์กร รู้ทันโลก ปรับตัวทันเหตุการณ์ สอดคล้องกับความต้องการของสังคม น�ำหลักธรรมมา ประยุกต์ใช้ในการด�ำเนินชีวิต เป้าประสงค์หลัก 1. ให้ประชาชนเป็นพุทธศาสนิกชนที่ดี สังคมมีความเข้มแข็ง 2. พระภิกษุสามเณรและประชาชนได้รับการศึกษาพระบาลีและพระปริยัติธรรม 3. พัฒนาวัดและส่งเสริมการปกครองคณะสงฆ์ให้มีความเข้มแข็ง 4. อุปถัมภ์และพัฒนาการเผยแผ่ศีลธรรมได้กว้างขวาง 5. วัดเป็นสถานที่ท่องเที่ยวและแหล่งความรู้ที่มีคุณภาพมาตรฐาน เกณฑ์พัฒนา (สพศ.) 6. สามารถพัฒนาขีดสมรรถนะโดยใช้เทคโนโลยีสนเทศในการด�ำเนินงาน

ประวัติความเป็นมา เนื่องจากการปฏิรูประบบราชการ ตาม นโยบายส� ำ คั ญ ของรั ฐ บาล ส่ ง ผลให้ มี ก าร ประกาศบั ง คั บ ใช้ พ ระราชบั ญ ญั ติ ป รั บ ปรุ ง กระทรวง ทบวง กรม พ.ศ.2545 และ กฎกระทรวงแบ่ ง ส่ ว นราชการส� ำ นั ก งาน พระพุ ท ธศาสนาแห่ ง ชาติ พ.ศ.2545 ซึ่ ง ก�ำหนดให้มสี ำ� นักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ เป็นส่วนราชการไม่สังกัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวง หรือทบวง มีภารกิจเกี่ยวกับการ ด�ำเนินงาน สอนงานคณะสงฆ์และรัฐ โดย การท�ำนุ บ�ำรุง ส่งเสริมกิจการพระพุทธศาสนา ให้การอุปถัมภ์ คุ้มครอง และส่งเสริมงาน พระพุทธศาสนา ดูแล รักษา จัดการศาสนสมบัติ พั ฒ นาพุ ท ธมณฑลให้ เ ป็ น ศู น ย์ ก ลางทาง พระพุ ท ธศาสนา รวมทั้ ง ให้ ก ารสนั บ สนุ น ส่ ง เสริ ม พั ฒ นาบุ ค ลากรทางศาสนา แต่ เนือ่ งจากโครงสร้างส่วนราชการขาดหน่วยงาน ระดั บ พื้ น ที่ ใ นส่ ว นภู มิ ภ าค จึ ง ไม่ ส ามารถ ปฎิบัติภารกิจรองรับการกระจายอ�ำนาจจาก ส่ ว นกลางในกิ จ การพระพุ ท ธศาสนา และ สนองงานคณะสงฆ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพเต็มที่ ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ได้ ปรับปรุงการแบ่งส่วนราชการในราชการบริหาร ส่ ว นภู มิ ภ าคเมื่ อ ปี 2547 เป็ น ส� ำ นั ก งาน พระพุทธศาสนาจังหวัด เพือ่ รับผิดชอบเกีย่ วกับ การส่งเสริม สนับสนุน ประสานการจัดท�ำ แผนพัฒนากิจการพระพุทธศาสนา การพัฒนา วิชาการพุทธศาสนา การพัฒนาการศึกษาของ คณะสงฆ์ การส่งเสริมการศึกษา ศีลธรรม จริ ย ธรรมในการศึ ก ษาสามั ญ การส่ ง เสริ ม กิจกรรมสร้างเสริมศีลธรรม จริยธรรมตาม แนวพระพุ ท ธศาสนาการรั บ สนองงานและ ประสาน สนั บ สนุ น กิ จ การและการบริ ห าร การปกครองคณะสงฆ์ ข องมหาเถรสมาคม การบริหารจัดการและพัฒนาวัด ศาสนสถาน และศาสนวั ต ถุ ท างพระพุ ท ธศาสนา จั ด ท� ำ มาตรฐานการศึกษาของโรงเรียนปริยัติธรรม ภายในจั ง หวั ด ประสานกั บ ชุ ม ชนในการ พัฒนาวัดให้เป็นศูนย์กลางการเรียนรูข้ องชุมชน และการบริหารจัดการศาสนาสมบัติในพื้นที่ จังหวัดที่รับผิดชอบ KANCHANABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.

-

.

.indd 31

31

20/07/61 16:17:44


32

.

SBL บันทึกประเทศไทย I KANCHANABURI

-

.

.indd 32

23/07/61 12:07:25


รางวัลที่ภาคภูมิ ใจ รางวั ล หน่ ว ยงานลดใช้ ไ ฟฟ้ า ดี เ ด่ น (The Energy Award 2009) จั ง หวั ด กาญจนบุ รี จากกระทรวงพลังงาน โล่ เชิ ด ชู เ กี ย รติ ส� ำ นั ก งานพระพุ ท ธศาสนาจั ง หวั ด กาญจนบุ รี ได้ รั บ ผลการประเมิ น ระดับคุณภาพดีเด่น ประจ�ำปีงบประมาณ 2559 โล่เกียรติคุณ การขับเคลื่อนโครงการ “หมู่บ้านรักษาศีล 5” พุทธศักราช 2560 กิจกรรมส�ำคัญ โครงการบรรพชาอุปสมบทพระภิกษุ - สามเณรและบวชศีลจาริณี หน่ ว ยงานที่ รั บ ผิ ด ชอบ คณะสงฆ์ จั ง หวั ด กาญจนบุ รี แ ละส� ำ นั ก งานพระพุ ท ธศาสนา จังหวัดกาญจนบุรี โดยมีหลักการและเหตุผลคือ ปัจจุบนั สภาวะสังคมไทยประสบปัญหานานัปการ เช่น ปัญหายาเสพติด ปัญหาโรคเอดส์ ปัญหาคอรัปชั่นฉ้อราษฎร์บังหลวง ปัญหาอาชญากรรม โจรผู ้ ร ้ า ยชุ ก ชุ ม ปั ญ หาครอบครั ว และปั ญ หาการไม่ มี ศี ล ธรรมจริ ย ธรรมไม่ รู ้ ห ลั ก ค� ำ สอน ทางศาสนาจึงขาดความส�ำนึกที่ดีงาม ขาดความมีน�้ำใจ ขาดความรับผิดชอบต่อตนเองและ ส่วนรวม ซึ่งปัญหาเหล่านี้ล้วนมีผลกระทบต่อเด็กและเยาวชน อันจะเป็นก�ำลังที่ส�ำคัญของชาติ ในอนาคตการป้องกันการแก้ไขปัญหาต่างๆ จึงเป็นสิ่งที่ทุกฝ่ายจะต้องร่วมแรงร่วมใจช่วยกัน ดังนั้นทางคณะสงฆ์และหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง จึงได้พร้อมใจกันจัดให้มีโครงการภาค ฤดูรอ้ นขึน้ เพือ่ ให้การอบรมให้มคี วามรู้ ความเข้าใจแก่บคุ คลทัว่ ไป เด็กและเยาวชนถึงปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นในสังคมจะได้รู้จักในการป้องกันและแก้ไขปัญหาต่างๆ และไม่ก่อปัญหาใหม่ให้เกิดขึ้น สามารถประพฤติปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้องดีงาม โดยใช้หลักธรรมค�ำสอนทางพระพุทธศาสนา และวิชาการทางโลกที่เหมาะสมเป็นหลักสูตรโดยมีพระสงฆ์ ครู-อาจารย์ และวิทยากร ผู้ทรง คุณวุฒิมาเป็นผู้ให้การอบรม

พิธีเจริญพระพุทธมนต์เฉลิมพระเกียรติ และถวายพระพรชั ย มงคล แด่ สมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว มหาวชิ ร าลงกรณ บดิ น ทร เทพยวรางกูร และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในรัชกาลที่ 9 เมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม พ.ศ.2561 เวลา 16.00 น. โดย นายจีระเกียรติ ภูมิสวัสดิ์ ผู้ว่าราชการจังหวัด กาญจนบุรี เป็นประธานในพิธี โดยมีคณะสงฆ์ ส่วนราชการ ครูอาจารย์ นักเรียน และประชาชน ร่ ว มพิ ธี ณ ศาลาการเปรี ย ญวั ด ไชยชุ ม พล ชนะสงคราม พระอารามหลวง ต�ำบลบ้านใต้ อ� ำ เภอเมื อ งกาญจนบุ รี จั ง หวั ด กาญจนบุ รี ซึ่ ง มหาเถรสมาคมมี ม ติ ใ ห้ ค ณะสงฆ์ จั ง หวั ด กาญจนบุ รี แ ละส� ำ นั ก งานพระพุ ท ธศาสนา จั ง หวั ด กาญจนบุ รี จั ด กิ จ กรรมร่ ว มกั บ ส่วนราชการทุกวันที่ 28 ของทุกเดือน

พิธีแสดงตนเป็นพุทธมามกะและเวียนเทียน เนื่ อ งในเทศกาล วั น วิ ส าขบู ช า ประจ� ำ ปี พ.ศ.2561 ในวันอังคารที่ 29 พฤษภาคม 2561 เวลา 19.00 น. โดยนายจีระเกียรติ ภูมิสวัสดิ์ ผู้ว่าราชการจังหวัดกาญจนบุรี เป็นประธาน ในพิธแี สดงตนเป็นพุทธมามกะและเวียนเทียน เนื่ อ งในเทศกาล วั น วิ ส าขบู ช าพร้ อ มด้ ว ย นางรชยา ภูมิสวัสดิ์ นายกเหล่ากาชาดจังหวัด กาญจนบุรี และหัวหน้าส่วนราชการ ข้าราชการ เจ้าหน้าที่ และประชาชน เข้าร่วมพิธี จ�ำนวนมาก ณ วั ด ไชยชุ ม พลชนะสงคราม (วั ด ใต้ ) อ�ำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี

โครงการนิเทศ ติดตาม ก�ำกับคุณภาพ เพื่อการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ.2561 โดยเมื่ อ วันอังคารที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ.2561 เวลา 08.00 น. ดร.บุญเลิศ โสภา ผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดกาญจนบุรี เป็ น ประธานในการประชุ ม โครงการนิ เ ทศ ติดตาม ก�ำกับคุณภาพเพือ่ การประกันคุณภาพ การศึ ก ษาภายในโรงเรี ย นพระปริ ยั ติ ธ รรม แผนกสามัญศึกษา ประจ�ำปีงบประมาณ 2561 ณ ห้ อ งประชุ ม ส� ำ นั ก งานพระพุ ท ธศาสนา จังหวัดกาญจนบุรี ชั้น 2 ถนนแม่น�้ำแม่กลอง อ�ำเภอเมืองกาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรี

ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดกาญจนบุรี ตั้งอยู่ เลขที่ 28 หมู่ 3 ถนนแม่น�้ำแม่กลอง อ�ำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี 71000 โทรศัพท์ 0-3456-4282 โทรสาร 0-3456-4282 KANCHANABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.

-

.

.indd 33

33

20/07/61 16:19:00


TR AV EL G U ID E

บันทึกเส้นทางความเป็นมาจังหวัดกาญจนบุรี

Kanchanaburi

จากเมืองหน้าด่าน เส้นทางเดินทัพและสมรภูมิรบ สู่เมือ งแห่งการท่องเที่ยว ทางธรรมและปัญ ญา

34

SBL บันทึกประเทศไทย I KANCHANABURI

.indd 34

23/7/2561 14:51:35


ขุ ดพลอยเจอธรรม พบสวรรค์ ใ นทุ ก ย่ า งก้ า ว เข้ า ใกล้ พ ระนิ พ พาน บนเส้ น ทางรถไฟสายมรณะ

KANCHANABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 35

35

23/7/2561 14:51:36


T RAVE L GU I DE

กาญจนบุรี

ดินแดนแห่งผืนป่า โถงถ�ำ้ น�ำ้ ตก พรรณไม้นานาชนิดและวัฒนธรรม อันหลากหลายของผู้คนที่หลายหลากเชื้อชาติ กาญจนบุรี

เป็นเมืองโบราณเก่าแก่มี ประวัติศาสตร์ความเป็น มายาวนาน ตามหลัก ฐานที่พบมาตั้งแต่เริ่ม ก�ำเนิดมีมนุษย์ขึ้นในโลก ด้วยสภาพภูมิศาสตร์ ที่มีภูเขา แม่น�้ำ ป่าไม้ สิงสาราสัตว์มากมาย

36

เหมาะทีจ่ ะเป็นทีต่ งั้ อาศัยของมนุษย์มาตัง้ แต่ในสมัยก่อนประวัตศิ าสตร์ โดยมีการขุดพบหลักฐานทางด้านโบราณคดี มากมายได้แก่ เครื่องมือหินกะเทาะ เครื่องมือสมัยหินใหม่ เครื่องมือสมัยโลหะ โครงกระดูกมนุษย์ ภาชนะดินเผา เครื่องประดับ ภาพเขียนสีที่ผนังถ�้ำ โลงศพ ฯลฯ ตามถ�้ำเพิงผา และตามล�ำน�้ำแควน้อยแควใหญ่ ตลอดไปจน ลุ่มแม่น�้ำแม่กลอง มาจนถึง สมัย ทวาราวดี เมื่ออินเดียเดินทางเข้ามา ค้าขาย และเผยแผ่พระพุทธศาสนายังแคว้นสุวรรณภูมิ ในราวพุทธศตวรรษที่ 11-16 พบหลักฐานศิลปะอินเดีย สมัยคุปตะในสมัยทวาราวดี ตามล�ำน�้ำแควน้อย แควใหญ่ และแม่กลอง ที่บ้านวังปะโท่ บ้านท่าหวี บ้านวังตะเคียน และพงตึก โบราณวัตถุสถานที่พล เช่น ซากเจดีย์ วิหาร พระพุทธรูป พระพิมพ์ เสมาธรรมจักร ระฆังหิน เครื่อง ประดับ ภาชนะดินเผา และพบตะเกียงโรมันส�ำริดที่มีอายุ ราว พ.ศ.600 นับเป็นโบราณวัตถุที่เก่าแก่ที่สุดของไทย

ต่อมาในสมัยอิทธิพลขอม จากหลักฐานทางเอกสาร ที่เก่าแก่ที่สุด ที่กล่าวถึงเมืองกาญจนบุรี คือ พงศาวดาร เหนือ กล่าวว่า “กาญจนบุรีเป็นเมืองพญากง พระราชทาน บิด าของพระยาพาน เป็นเมืองส�ำคัญของแคว้นอู่ท อง หรื อ สุ ว รรณภู มิ มี ผู ้ สั น นิ ษ ฐานว่ า พญากงสร้ า งขึ้ น ราว พ.ศ.1350” ต่อมาขอมได้แผ่อิทธิพลน�ำเอาศาสนาพุทธ มหายานเข้ามาประดิษฐานในเมืองกาญจนบุรี ปรากฏ หลักฐานคือปราสาทเมืองสิงห์ เมืองครุฑ เมืองกลอนโด จนต่อมาอ�ำนาจอิทธิพลขอมเสื่อมลงไป

SBL บันทึกประเทศไทย I KANCHANABURI

.indd 36

23/7/2561 14:51:38


สมัยอยุธยาเป็นราชธานี เมืองกาญจนบุรตี อ้ งกลายมาเป็น เมืองหน้าด่าน เพราะตัง้ อยูต่ ดิ กับประเทศคูส่ งครามคือพม่า กาญจนบุรีจึงเป็นเส้นทางเดินทัพและสมรภูมิ ด้วยเหตุว่า มีช่องทางเดินติดต่อกับพม่า คือ ด่านพระเจดีย์สามองค์ และด่านบ้องตี้ จึงนับว่ามีความส�ำคัญทีส่ ดุ เมืองหนึง่ ในทาง ยุทธศาสตร์ ยังปรากฏชื่อสถานที่ในพงศาวดารหลายแห่ง เช่น ด่านพระเจดีย์สามองค์ สามสบ ท่าดินแดง พุตะไคร้ เมืองด่านต่างๆ เมื อ งกาญจนบุ รี ตั้ ง อยู ่ ใ นช่ อ งเขาริ ม ล� ำ น�้ ำ แควใหญ่ มีล�ำตะเพินอยู่ทางด้านทิศเหนือ ด้านหลังติดเขาชนไก่ ห่างจากที่ตั้งปัจจุบันไปประมาณ 14 กิโลเมตร ชาวบ้าน เรียกกันว่าเมืองกาญจนบุรีเก่ามีผังเมืองเป็นรูปสี่เหลี่ยม ผืนผ้า มีปอ้ มมุมเมืองก่อด้วยดินและหินทับถมกัน ลักษณะ ของการตั้งเมืองเหมาะแก่ยุทธศาสตร์ในสมัยนั้นอย่างยิ่ง ด้วยเป็นซอกเขาที่สกัดกั้นพม่าที่ยกมาทางด่านพระเจดีย์ สามองค์ มุ่งจะไปตีเมืองสุพรรณบุรีและอยุธยาจ�ำเป็นต้อง ตีเมืองกาญจนบุรีให้ได้เสียก่อน หากหลีกเลี่ยงไปอาจจะ ถูกกองทัพที่เมืองกาญจนบุรีตีกระหนาบหลัง ปัจจุบันยังมี ซากก�ำแพงเมือง ป้องปราการ พระปรางค์ เจดีย์ และวัดร้าง ถึง 7 วัดด้วยกัน สมัยอยุธยานี้ไทยต้องท�ำสงครามกับพม่าถึง 24 ครั้ง กาญจนบุรีเป็นสมรภูมิหลายครั้ง และเป็นทางผ่านไปตี อยุธยาจนต้องเสียกรุงครั้งที่ 2 ในปี พ.ศ.2310 และต้อง ย้ายราชธานีใหม่ สมัยธนบุรีเป็นราชธานี จากการกู้เอกราชโดยพระเจ้า กรุ ง ธนบุ รี ในสมั ย นี้ เ กิ ด สงครามกั บ พม่ า ถึ ง 10 ครั้ ง กาญจนบุรีเป็นสมรภูมิอีกหลายครั้ง เช่น สงครามที่บางกุ้ง และที่บางแก้ว ซึ่งมีสมรภูมิรบกันที่บริเวณบ้านหนองขาว

สมัยกรุงรัตนโกสินทร์เป็นราชธานี เมือ่ ไทยย้ายราชธานี มาอยู่ที่กรุงเทพมหานคร เพียง 3 ปี ก็เกิดสงครามใหญ่คือ สงคราม 9 ทัพ แต่ไทยสามารถยันกองทัพพม่าแตกพ่าย ไปได้ ณ สมรภูมิรบเหนือทุ่งลาดหญ้า ในปีต่อมาก็ต้องท�ำ สงครามที่สามสบและท่าดินแดงอีก และไทยตีเมืองทวาย จากนั้นจะเป็นการรบกันเล็กน้อยและมีแต่เพียงข่าวศึก เพราะพม่าต้องไปรบกับอังกฤษในที่สุดก็ตกเป็นเมืองขึ้น และเลิกรบกับไทยตลอดไป ในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ยุทธศาสตร์การรบเปลีย่ นไป โดยเหตุทพี่ ม่าต้องน�ำทัพ ลงมาทางใต้เพื่อเข้าตีกรุงรัตนโกสินทร์ มาตามล�ำน�้ำแคว น้อยผ่านอ�ำเภอไทรโยคมายั ง ปากแพรก ซึ่ ง เป็ น ที่ ร วม ของแม่นำ�้ ทัง้ สองด้วยเหตุนหี้ ลังจากสิน้ สงคราม 9 ทัพแล้ว จึ ง ได้ เ ลื่ อ นที่ตั้งฐานทัพจากเมืองกาญจนบุรีที่ลาดหญ้า มาตั้งที่ต�ำบลปากแพรก ซึ่งเป็นที่รวมของแม่น�้ำทั้ง 2 สาย กลายเป็นแม่น�้ำแม่กลอง KANCHANABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 37

37

23/7/2561 14:51:40


T RAVE L GU I DE

ต่อมา พ.ศ.2374 พระบาทสมเด็จพระนัง่ เกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 3 ได้โปรดให้กอ่ สร้าง ก�ำแพงเมืองและป้อมปราการขึ้นเป็นถาวร ทั้งนี้โดยมีพระราชประสงค์ส่วนใหญ่เพื่อติดต่อ ค้าขายกับเมืองราชบุรี ดังพระราชนิพนธ์เสด็จประพาสไทรโยค กล่าวไว้ตอนหนึ่งว่า “แต่มีเมืองปากแพรกเป็นที่ค้าขาย ด้วยเขาชนไก่เมืองเดิมอยู่เหนือมากมีแก่งถึงสองแก่ง ลูกค้าไปมาล�ำบาก จึงลงมาตั้งเมืองเสียที่ปากแพรกนี้เป็นทางไปมาแก่เมืองราชบุรีง่าย เมืองที่สร้างขึ้นใหม่ กว้าง 5 เส้น ยาว 18 วา มีป้อม 4 มุมเมือง ป้อมย่านกลางด้านยาว ตรงหน้าเมืองทิศตะวันตกเฉียงใต้มีป้อมใหญ่อยู่ตรงเนิน ด้านหลังมีป้อมเล็กตรงกับป้อม ใหญ่ 1 ป้อม” การสร้างเมืองกาญจนบุรใี หม่ ดังปรากฏในศิลาจารึกดังนี้ ในปัจจุบนั ก�ำแพง ถูกท�ำลายลงโดยธรรมชาติและหน่วยราชการเพือ่ ประโยชน์อย่างอืน่ เหลือเพียงประตูเมือง และก�ำแพงเมืองบางส่วน

ต่อมา ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 5 เมื่อมีการจัดรูปแบบการปกครองเป็นมณฑล เทศาภิบาล กาญจนบุรถี กู โอนมาขึน้ กับมณฑลราชบุรี และ ยกฐานะเป็นจังหวัดกาญจนบุรีในปี พ.ศ. 2467 เหตุการณ์ที่ท�ำให้กาญจนบุรีมีชื่อเสียงไปทั่วโลก คือ ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 เมื่อญี่ปุ่นได้ตัดสินใจสร้างทาง รถไฟยุทธศาสตร์ จากชุมทางหนองปลาดุกในประเทศไทย ไปยั ง เมื อ งทั น บู ซ ายั ต ในพม่ า โดยเกณฑ์ เ ชลยศึ ก และ แรงงานจ�ำนวนมากมาเร่งสร้างทางรถไฟอย่างหามรุง่ หามค�ำ่ จนท�ำให้มผี คู้ นล้มตายเป็นจ�ำนวนมาก ทัง้ จากความเป็นอยู่ ที่ยากแค้นและโรคภัยไข้เจ็บที่รุมเร้า ซึ่งภาพและเรื่องราว ของความโหดร้ายในช่วงสงครามโลกครัง้ ที่ 2 ปรากฏอยูใ่ น พิพิธภัณฑ์หลายแห่งในกาญจนบุรี ขณะเดียวกันกาญจนบุรีก็เป็นสายธารแห่งธรรมด้วย พระบารมีแห่งองค์พระมหากษัตริย์ไทยทุกพระองค์ที่เป็น ศาสนูปถัมภกท�ำให้ก่อเกิดพระสุปฏิปันโนมากมายทั้งใน ประเทศและจากประเทศเพือ่ นบ้านทีห่ ลัง่ ไหลหนีรอ้ นมาพึง่ พระบรมโพธิสมภารกันมาตลอดเวลาทีแ่ ต่ละประเทศมีศกึ สงคราม ดังเช่น พระราชอุดมมงคล หรือ “พระมหาอุตตมะ รัมโภภิกขุ” หรือที่รู้จักกันทั่วไปในนามของ “หลวงพ่อ อุตตมะ” พระเกจิอาจารย์ชื่อดังของจังหวัดกาญจนบุรี ทั้ง ยังเป็นพระภิกษุสงฆ์ชาวมอญ ผู้มีบทบาทผู้น�ำคนส�ำคัญ ของชาวมอญพลัดถิ่นที่สังขละบุรี หลวงพ่ออุตตมะ ธุดงค์เข้ามาประเทศไทยครั้งแรก ทางจังหวัดเชียงใหม่ และกลับไปพม่าแล้วเดินทางเข้ามา ประเทศไทยอีกครั้งทางต�ำบลปิล็อก อ�ำเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี ประมาณปี พ.ศ. 249 อันเป็นพรรษาที่ 16 ของท่าน ในปีนั้น พายุไต้ฝุ่นพัดจากทะเลอันดามัน สร้างความเสียหายให้กบั ชาวพม่าอย่างใหญ่หลวง นอกจาก ภัยธรรมชาติแล้ว ชาวบ้านยังต้องประสบเคราะห์กรรมจาก ปั ญ หาความขั ด แย้ ง ในทางการเมื อ งอี ก ด้ ว ย เนื่ อ งจาก

การปกครองของเมืองกาญจนบุรี

ในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นประกอบด้วยเมืองด่าน 8 เมือง อยู่ในแควน้อย 6 เมือง แควใหญ่ 2 เมือง ตั้งขึ้นเพื่อประโยชน์ในทางยุทธศาสตร์ เพราะได้ตั้งให้ชาวมอญอาสา มอญเชลย และกะเหรี่ยง เป็นเจ้าเมืองปกครองกันเอง เพื่อให้มีเกียรติศัพท์ดังออกไป เมืองพม่าว่ามีหัวเมืองแน่นหนาหลายชั้น และมีหน้าที่คอยตระเวนด่านฟังข่าวคราวข้าศึก ติดต่อกันโดยตลอด เมื่อสงครามว่างเว้นลงแล้ว เจ้าเมืองกรมการเหล่านี้ก็มีหน้าที่ส่งส่วย ทองค�ำ ดีบุก และสิ่งอื่นๆ แก่รัฐบาลโดยเหตุที่ในสมัยนั้นมิได้จัดเก็บภาษีอากรจากพวก เหล่านี้แต่อย่างใด 38

SBL บันทึกประเทศไทย I KANCHANABURI

.indd 38

23/7/2561 14:51:44


การปะทะและต่อสูร้ ะหว่างกองทหารของรัฐบาลพม่า กับ กองก�ำลังติดอาวุธกู้ชาติ อีกทั้งกองก�ำลังกู้ชาติบางกลุ่ม แปรตัวเองไปเป็นโจรปล้นสะดมชาวบ้าน ด้วยความเบือ่ หน่ายเรือ่ งการรบราฆ่าฟันกัน ระหว่างชนเผ่า หลวงพ่ออุตตมะ จึงตัดสินใจจากบ้านเกิด มุ่งหน้าสู่ดินแดนประเทศไทย ปรากฏว่าเมือ่ ชาวบ้านรูข้ า่ วต่างเสียใจ ไม่อยากให้ทา่ นจาก ไปพากันร้องไห้ระงมด้วยความอาลัย ซึง่ ท่านได้ชแี้ จงการ ออกเดินทางของท่านว่า “การไปของเราจะเป็นประโยชน์ แก่ผู้อื่น” กาญจนบุรี จึงเป็นพืน้ ทีแ่ ห่งสันติทงั้ ทางโลกและทางธรรม เป็นจังหวัดที่มีป่ามากมาย ตั้งอยู่ในภาคตะวันตก ของ ประเทศไทยมีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 19,473 ตาราง กิโลเมตร มีพนื้ ทีใ่ หญ่เป็นอันดับ3 ของประเทศ มีระยะทาง ห่างจากกรุงเทพมหานครประมาณ 129 กิโลเมตร มี ชายแดนติดต่อกับประเทศพม่าระยะทางประมาณ 370 กิโลเมตร มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดใกล้เคียง ได้แก่ ทิ ศ เหนื อ จดจั ง หวั ด ตากและจั ง หวั ด อุ ทั ย ธานี ทิ ศ ใต้ จดจั ง หวั ด ราชบุรี ทิศตะวันออก จดจังหวัดสุพรรณบุรี และนครปฐม ทิศตะวันตก จดประเทศพม่า

กาญจนบุรีจึงเป็นจังหวัดที่ได้ชื่อว่า “ แคว้นโบราณ ด่านเจดีย์ มณีเมืองกาญจน์ สะพานข้ามแม่น้ำ�แคว แหล่งแร่น้ำ�ตก” ตามคำ�ขวัญนี้ โดยแท้

KANCHANABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 39

39

23/7/2561 14:51:46


TR AV EL G U ID E

บันทึกเส้นทางท่องเที่ยวจังหวัดกาญจนบุรี

“เมืองประวัติศาสตร์ ธรรมชาติอัศจรรย์ สวรรค์นักผจญภัย” สั มผัสเมืองกาญจน์ ในมุมมองที่แตกต่าง

ไหว้ พระ 591 วั ด

อิ่มบุญ อุ่นใจ ในจังหวัดกาญจนบุ รี ท่องเที่ยวทางธรรม สร้างเสริมบุญบารมี ด�ำเนินวิถีจิตบนทางสายกลาง เพื่อความ ไม่ ป ระมาทในชี วิ ต ผ่ า นเส้ น ทางรถไฟ สายมรณะไปยั ง วั ด ต่ า งๆ ในจั ง หวั ด กาญจนบุรี ที่สืบสานปณิธานพระพุทธเจ้า ผ่านพระสุปฏิปันโนมากมายที่ธุดงค์มา พึ่ ง โพธิ ส มภารบู ร พมหากษั ต ริ ย ์ ไ ทย ทุกพระองค์ที่ทรงเป็นศาสนูปถัมภกท�ำให้ ประเทศไทยเป็นดินแดนอันสงบรักสันติ มาจนถึงทุกวันนี้ ชวนเดินเล่นอย่างมีสติ ผ่านสะพานมอญ ใส่บาตรท�ำบุญยามเช้า และแวะพักใจในสถานท่องเที่ยวทาง ธรรมชาติอีกมากมาย

40

SBL บันทึกประเทศไทย I KANCHANABURI

.indd 40

23/7/2561 14:51:47


BUD D HIS M

KANCHANABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 41

41

23/7/2561 14:51:47


B UD D H I SM

เที่ยววัด ประจ�ำจังหวัดกาญจนบุรี วัดไชยชุมพลชนะสงคราม วัดไชยชุมพลชนะสงคราม หรือ วัดใต้ วัดประจ�ำจังหวัดกาญจนบุรี ตัง้ อยู่ เลขที่ถนนไชยชุมพล ต�ำบลบ้านใต้ อ� ำ เภอเมื อ งกาญจนบุ รี เป็ น วั ด พระอารามหลวง สร้างในสมัยกรุงศรี อยุธยาตอนปลาย มีพระเจดีย์เก่าแก่ องค์หนึ่งอยู่ใกล้ พระอุโบสถหลังเก่า ตั้งอยู่ริมตลิ่ง พระเจดีย์องค์นี้มีชื่อ ทางโบราณคดี กรมศิลปากรได้จัดขึ้น ทะเบียนเป็นโบราณสถานไว้ นอกจาก ความส�ำคัญด้านประวัติศาสตร์แล้ว สิง่ ทีโ่ ดดเด่นของวัดใต้กค็ อื เรือเทวดา อันงดงาม ที่ตั้งโดดเด่นอยู่ภายในวัด ซึ่งสร้างเพื่อใช้เป็นเมรุส�ำหรับตั้งศพ ของเจ้าอาวาสองค์เก่า หลังจากพิธศี พ เสร็จสิ้นไป เรือเทวดาจึงกลายเป็น สิ่ ง ก่ อ สร้ า งที่ โ ดดเด่ น ที่ ดึ ง ดู ด ใจให้ นักท่องเที่ยวให้มาเยี่ยมเยือน 42

กราบหลวงพ่ ออุตตมะ เทพเจ้าของชาวมอญ วัดวังก์วิเวการาม วัดวังก์วิเวการาม ตั้งอยู่ในอ�ำเภอสังขละบุรี ประดิษฐานพระพุทธรูปหินอ่อนอันงดงามและเป็นวัดที่จ�ำพรรษาของ พระราชอุดมมงคล หรือ หลวงพ่ออุตตมะ อุตตฺ มรมฺโภ ซึง่ ประชาชนชาวไทยชาวมอญรวมทัง้ กระเหรีย่ ง และพม่า ทีอ่ าศัยอยู่ ในบริเวณนั้นเคารพนับถือ ไม่ไกลจากวัดมีเจดีย์พุทธคยา เป็นที่ประดิษฐาน พระบรมสารีริกธาตุที่หลวงพ่ออุตตมะอัญเชิญ มาจากประเทศศรีลังกา ที่หลวงพ่ออุตตามะให้สร้างจ�ำลองขึ้น เพื่อบรรจุ พระบรมสารีริกธาติ กระดูกนิ้วหัวแม่มือขวาของ พระพุทธเจ้าที่ขนาด เท่าเมล็ดข้าวสาร ไว้เป็นที่ สักการะของพุทธศาสนิกชน

SBL บันทึกประเทศไทย I KANCHANABURI

.indd 42

23/7/2561 14:51:51


กราบพระพุ ทธรูปปางประทานพร ที่วัดถ�้ำเสือ วัดถ�้ำเสือ ตั้งอยู่ในอ�ำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี สิ่งที่สะดุดสายตาของ นักท่องเที่ยวที่มาเที่ยวชมวัด เพื่อกราบนมัสการพระธาตุ ก็คือ ความใหญ่โต กว้างขวางของวั ด และพระพุ ทธรู ปปางประทานพรที่ ใ หญ่ ที่ สุดของจั ง หวั ด กาญจนบุรี เมื่อเดินทางมาถึงชั้นบนสุดของวัดเป็นจุดชมวิวที่สามารถมองเห็น วิวในมุมสูงได้อย่างสวยงาม พร้อมกับสายลมเย็นที่พัดผ่าน หากมาเที่ยวในช่วง ฤดูฝนมองไปด้านล่างเห็นเป็นทุ่งนาเขียวขจีสดชื่น นอกจากนี้ยังมีพระเจดีย์เกศ แก้วปราสาท องค์พระเจดียเ์ ป็นสีอฐิ ทัง้ องค์แบ่งเป็นชัน้ ต่างๆ หลายชัน้ แต่ละชัน้ ประดิ ษ ฐาน พระพุ ท ธรู ป มากมาย จนถึ ง ชั้ น บนสุ ด เป็ น ที่ ป ระดิ ษ ฐานของ พระบรมสารีริกธาตุที่อัญเชิญมาจากประเทศอินเดีย

พระพุ ทธเมตตาแห่งเทือกเขาบามิยัน ที่วัดทิพย์สุคนธาราม วัดทิพย์สคุ นธาราม ตัง้ อยูใ่ น อ.ห้วยกระเจา จ.กาญจนบุรี บนเนือ้ ทีก่ ว่า 300 ไร่ มี “พระพุทธเมตตาประชาไทยไตรโลกนาถ คันธารราฐอนุสรณ์” จัดสร้างเนื่อง ในโอกาสมหามงคลพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชเฉลิม พระชนมพรรษา 84 พรรษาและในโอกาส ที่สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรม ราชินนี าถ ทรงเจริญพระชนมพรรษา 80 พรรษา โดยมีความหมาย 3 ประการ คือ เป็นที่พึ่งของประชาชน เป็นที่พึ่งของ 3 โลกธาตุ โดยสร้างตามแบบพระพุทธรูป องค์ที่อยู่บนเทือกเขาบาบียันอายุกว่า 2,000 ปี ที่ถูกพวกตาลีบันท�ำลายไปให้

.indd 43

กลับปรากฏให้เห็นอีกครัง้ ในประเทศไทย ให้เกิดความร่มเย็นเป็นสุขและเพือ่ แสดงถึง ความมั่นคงของพุทธศาสนาในประเทศไทย พระพุทธเมตตาฯ องค์นเี้ ป็นพระพุทธรูปปางขอฝนเนือ้ ส�ำริดทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ในไทย ตามต�ำนานเล่าว่า “ครัง้ หนึง่ ในสมัยพุทธกาล ฝนแล้งมาก แต่ดว้ ยพระพุทธบารมี ได้ทรงพลิกพืน้ ทีแ่ ห้งแล้งให้มนี ำ�้ ฝนหลัง่ ไปทัว่ ทุกสารทิศ และทีอ่ ำ� เภอห้วยกระเจา คือ อีสานของจังหวัด กาญจนบุรี จึงเป็นที่มาของพระปางขอฝนที่สุดแห่งความ ศรัทธา ผสานกับประติมากรรมทางพุทธศิลป์ก่อเกิดเป็นพระพุทธรูปส�ำริดปาง ขอฝนที่สูงที่สุดในประเทศไทย

23/7/2561 14:51:54


B UD D H I SM

พิ สูจน์แรงศรัทธา สักการบูชาหลวงพ่ อชินราช ที่วัดบ้านถ�้ำ เติมพลังกาย พลังใจ และพลังศรัทธา ชวนขึ้นบันได 269 ขั้น สักการบูชา หลวงพ่อชินราช(หลวงพ่อใหญ่) ในถ้ำ�คูหามังกรสวรรค์ วัดบ้านถ้ำ� ต.เขาน้อย อ.ท่าม่วง จ.กาญจนบุรี เป็นวัดเก่าแก่สมัยสุโขทัย ด้านหลังจรดเขา ด้านหน้าจรด แม่น้ำ�แม่กลอง มีชายหาดสวยงามอยูห่ น้าวัด ภูเขาทีต่ งั้ ถ้ำ�สูงราวๆ 200 กว่าเมตร ภูเขาลูกนีเ้ ป็นเทือกเดียวติดต่อกันหลายยอดต่อเนือ่ งกันไปทางทิศตะวันตกเฉียง เหนือสุดปลายเขาที่เขาแหลมและเขาตกถ้ำ�มังกรทอง รับประกันความแข็งแกร่ง ของกายใจด้วยความศรัทธา แล้วจะพบว่า การเทีย่ วชมถ้ำ�ให้ครบทัง้ หมด วันเดียว รับรองว่าไม่หมดแน่นอน ถ้าไม่อาศัยศรัทธาและที่พักเพื่อเพิ่มพลังในวันรุ่งขึ้น

อุโบสถส�ำเภาแก้วร้อยล้าน ที่วัดหินแท่นล�ำภาชี วัดหินแท่นลำ�ภาชี เป็นวัดทีม่ กี ารสร้างอุโบสถทีส่ วยงาม โดยมีรปู ปัน้ สมเด็จ พระพุฒาจารย์ โต พรหมรังสี องค์ใหญ่เด่นตระหง่านอยูห่ น้าโบสถ์ ส่วนอุโบสถที่ สวยงามนีเ้ รียกว่า โบสถ์สำ�เภาแก้วร้อยล้าน ขนาบข้างด้วยเรืออนันตนาคราชลักษมี หนึ่งเดียวในประเทศไทย ณ วัดหินแท่นลำ�ภาชี ต.หนองไผ่ อ.ด่านมะขามเตี้ย จ.กาญจนบุรี ภายในอุโบสถประดิษฐานพระพุทธรัตนมุนีศรีโสธร เป็นองค์ ประธาน เบื้องหน้าสร้างพระพุทธรูปและพระอรหันต์ เสมือนพระพุทธเจ้า 28 พระองค์ พระอรหันต์ 80 พระองค์ ในบริเวณวัดยังมีหลวงพ่อทันใจ หลวงพ่อศิลา ให้ประชาชนกราบไหว้ขอพรได้อีกด้วย

ชมเรือสุพรรณหงษ์จ�ำลอง ที่ใหญ่ที่สุดในโลก ณ วัดสระลงเรือ วัดสระลงเรือ ตัง้ อยูใ่ นต�ำบลสระลงเรือ อ�ำเภอห้วยกระเจา วัดนีม้ จี ดุ เด่น และเริ่มเป็นที่รู้จักเมื่อมีการสร้างเรือสุพรรณหงษ์จ�ำลองที่ใหญ่ที่สุดในโลก สร้างขึน้ ในสระน�ำ้ ขนาดใหญ่ของวัด มีความสวยงามวิจติ รตระการตา ด้านใน ของเรือสามารถเข้าไปชมได้ โดยบรรจุพระบรมสารีริกธาตุไว้ด้านบนเพื่อ กราบไหว้บูชา เพื่อความเป็นสิริมงคล และยังมีสวรรค์และนรกให้ท่องเที่ยว เรียนรู้วิถีจิตกับการด�ำเนินชีวิตว่าต้องการไปในที่ใด เพื่อความไม่ประมาท ในชีวิต นอกจากนี้ภายในวัดสระลงเรือยังมีสิ่งศักดิ์สิทธิ์ อีกมากมายได้แก่ หลวงพ่อใหญ่องค์ดำ� รวมถึงอุโบสถของวัดซึง่ มี 2 ชัน้ จ�ำลองเมืองนรกในชัน้ ล่าง และทางด้านรอบอุโบสถ ยังมีพระสุปฏิปันโน และเกจิอาจารย์ชื่อดังทุกภาค ของประเทศ พร้อมทั้งเทพเจ้าของจีน และของไทยอีกมากมาย

44

SBL บันทึกประเทศไทย I KANCHANABURI

.indd 44

23/7/2561 14:51:58


สงบจิตฝึกวิปัสสนาที่ “วัดถ�้ำพุ หว้า” วัดป่าในอ้อมกอดแห่งขุนเขา วัดเป็นศิลปะแบบขอมประยุกต์ที่ สวยงาม เป็นวัดป่าอยูใ่ นอ้อมกอดของ ขุนเขา มีบรรยากาศร่มรื่น เงียบสงบ เหมาะแก่การวิปัสสนาและสงบจิตใจ แต่เดิมวัดแห่งนี้มีถำ�้ เป็นอุโบสถ แต่ ปัจจุบันได้รับการ บูรณะให้สวยงาม อลังการด้วยการสร้างอุโบสถหินทราย มีการแกะสลักลวดลายรอบอุโบสถ ได้อ่อนช้อยงดงามครอบตัวถ้ำ�เอาไว้ เมื่อเดินเข้าไปในพระอุโบสถก็จะถึง ปากทางเข้าถ้ำ� ซึ่งภายในถ้ำ�มีหินงอก หิ น ย้ อ ยสวยงามตามธรรมชาติ มี ปล่องแสงภายในถ้ำ�เพื่อให้แสงส่อง ลงมา มีพระพุทธรูปหลายองค์ รวม ถึงพระบรมสารีริกธาตุที่อัญเชิญมา จากสหภาพเมี ย นมาร์ ป ระดิ ษ ฐาน ไว้ให้นักท่องเที่ยวได้สักการบูชา มี พระพุทธรูปปางสมาธิ ประดิษฐาน เป็นองค์ประธาน ใกล้กับพระอุโบสถ ยั ง มี พ ระพุ ท ธรู ป ขนาดใหญ่ เ พื่ อ ให้ พุทธศาสนิกชนได้กราบไหว้อีกด้วย

พระแท่นศักดิ์สิทธิ์ สถานที่ปรินิพพานพระพุ ทธเจ้าจ�ำลอง ณ วัดพระแท่นดงรัง วัดพระแท่นดงรัง ตัง้ อยูใ่ นเขตอำ�เภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี เป็นวัดโบราณซึง่ มีแท่นหินขนาดใหญ่ ทีม่ ตี ำ�นานทีแ่ ต่งขึน้ ในภายหลังเพื่อเป็นเครื่องเจริญศรัทธากล่าวไว้ว่าเป็นพระแท่นศักดิ์สิทธิ์ที่พระพุทธเจ้าเสด็จดับขันธปรินิพพาน หรือเป็น ปูชนียสถานจำ�ลองเครื่องหมายเหตุการณ์ปรินิพพานของพระพุทธเจ้า ณ สาลวโนทยาน ประเทศอินเดีย พระแท่นบรรทมของวัดนี้ จึงเป็นพระแท่นจำ�ลอง สร้างเป็นหินแท่งทึบหน้าลาดรูปคล้ายแท่นหรือเตียงนอน เดิมมีตน้ รัง อยูร่ มิ พระแท่นข้างละต้น โน้มยอดเข้าหากัน ในบริเวณวัดยังมีโบราณสถานทีเ่ กีย่ วข้องกับพุทธประวัติ เช่น บ่อบ้วนพระโอษฐ์ วิหารพระอานนท์ ฯลฯ และยังมีพิพิธภัณฑ์พื้นบ้าน ทุกๆ ปีประมาณกลางเดือน 4 ของไทยจะมีงานนมัสการอย่างยิ่งใหญ่ KANCHANABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 45

45

23/7/2561 14:52:01


B UD D H I SM

กราบ “พระพุ ทธสุทธิมงคล” พระพุ ทธชินราชที่สวยงามที่สุด ณ วัดเทวสังฆาราม วัดเทวสังฆาราม ถนนเจ้า ขุนเณร ตำ�บลบ้านเหนือ อำ�เภอ เมือง จังหวัดกาญจนบุรี ได้รับ พระมหากรุณาธิคุณจากรพระ บาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ภูมพิ ล อดุลยเดช ยกขึน้ เป็นพระอาราม หลวงชั้นตรี ชนิดสามัญ เมื่อวัน ที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ.2505 และวันที่ 26 ตุลาคม พ.ศ.2506 ยั ง ได้ รั บ พระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ เสด็จพระราชดำ�เนินมาทรงทอด พระกฐินต้น ในโอกาสเดียวกันนี้ ยั ง ได้ พ ระราชทานนามพระ ประธานในพระอุ โ บสถว่ า “พระพุทธสุทธิมงคล” ซึง่ ได้ทรง พระสุหร่ายศิลาจารึกพระนาม พระราชทานด้วย

นอกจากนี้ ไ ด้ รั บ พระราชทาน พระบรมราชานุ ญ าตให้ จ ารึ ก พระ ปรมาภิไทย ภปร. เหนือผ้าทิพย์แห่ง พระพุทธรูปปางประทานพรทีว่ ดั สร้าง ขึ้นในโอกาสเสด็จพระราชดำ�เนินครั้ง นี้และได้มีพระมหากรุณาธิคุณ ทรง บรรจุแผ่นทองคำ� เงินนาก ใบเบ้า พิธีหล่อพระทรงปลูกต้นศรีมหาโพธิ์ ซึ่ ง ได้ ม าจากพุ ท ธคยา ประเทศ อิ น เดี ย และทรงเยี่ ย มราษฎร อั น เป็นพระราชกรณียกิจที่ทรงบำ�เพ็ญ ทั้งปวงนี้ เป็นการพระราชทานพระ มหากรุณาธิคุณแก่วัดและพสกนิกร ชาวกาญจนบุรีเป็นอย่างยิ่ง

อธิษฐานจิตที่พระธาตุอินแขวนจ�ำลอง ขอพร หินเทพช้าง ที่วัดทัพศิลา หินเทพช้าง ตั้งอยู่ในวัดทัพศิลา ต�ำบลช่องสะเดาอ�ำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี มีลักษณะเป็นกลุ่มหินมีรูปร่างคล้าย ช้างหมอบอยู่ และจมอยู่ที่พื้นที่เกือบครึ่งตัว ภายใต้อาคารมีหลังคาคลุมทรงแปดเหลี่ยม มีระดับความลึกลงไปจากระดับ พื้นดินปรกติประมาณ 2 เมตร มีความเชื่อต่อๆ กันมาว่า เทพช้างมีความศักดิ์สิทธิ์มาก หากใครที่ได้มีโอกาสมาจุดธูป อธิษฐาน และน�ำผลไม้ที่ช้างชื่นชอบ อาทิ กล้วย อ้อย สัปปะรด ฯลฯ มาถวายแด่ “เทพช้างวัดทัพศิลา” และขอพรที่ตน ปรารถนา ก็จะได้ตามสิ่งที่ปรารถนา

46

SBL บันทึกประเทศไทย I KANCHANABURI

.indd 46

23/7/2561 14:52:04


กราบพระธาตุเจดีย์ และพระนอนอายุหลายร้อยปี ที่วัดนางโน (วัดมโนธรรมาราม) วัดนางโน เป็นวัดเก่าแก่สร้างมาแล้วหลายร้อยปี แต่หลักฐานการก่อสร้าง ไม่ปรากฏชัดว่าสร้างมาตั้งแต่ พ.ศ. ใดหากมีศิลปกรรมภายในวัดคือ พระปรางค์ เป็นสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้น วัดนางโนมีเนือ้ ทีป่ ระมาณ 30 ไร่ดา้ นฝัง่ ตะวันตก ของวั ด ติ ด ลำ�น้ำ� แม่ ก ลอง เขตตำ�บลม่ ว งชุ ม อำ�เภอท่ า ม่ ว ง จ. กาญจนบุ รี สันนิษฐานกันว่าเดิมทีวดั นีม้ คี วามเจริญรุง่ เรืองมาก่อน แต่ครัง้ เกิดสงครามไทยกับ พม่า ชาวบ้านจึงอพยพหลบหนีไปที่อื่น วัดจึงตกอยู่ในสภาพเป็นวัดร้างเช่นเดียว กับอีกหลายๆ วัดในเขตเมืองกาญจนบุรี ครัน้ สงครามสงบลง ชาวบ้าน จึงได้กลับ ถิ่นฐานเดิมและบูรณะซ่อมแซมวัด แล้วจึงนิมนต์พระภิกษุให้มาจำ�พรรษาในครั้ง นัน้ โดยมีอบุ าสิกาท่านหนึง่ ชือ่ “โน” เป็นหัวเรีย่ วหัวแรงในการบูรณปฏิสงั ขรณ์วดั เมื่อทุกอย่างสำ�เร็จลงแล้ว ชาวบ้านจึงได้เรียกวัดนี้ว่า “วัดนางโน” เรื่อยมาจน กระทั่งได้ชื่อเป็นทางการว่า “วัดมโนธรรมาราม”

วัดเมตตาธรรมโพธิญาณ วัดเมตตาธรรมโพธิญาณ เป็น วัดมหายานจีนนิกาย มีชอื่ เรียกภาษา จีนว่า “ฉื่อปุยซ้อผู่ทีเซียมยี่” ชวนไป กราบนมั ส การองค์ พ ระโพธิ สั ต ว์ กวนอิม ปรางค์พันมือ แห่งเดียว ในประเทศไทย ซึ่งประชาชนทั่วไป นิยมเดินทางไปสะเดาะเคราะห์ ต่อ ชะตาและเสริมชะตาบารมี กับองค์ ไท้ส่วยเอี้ย โดยเปิดให้นักท่องเที่ยวและ ประชาชนเยี่ยมชมและสักการะ สิ่งศักดิ์สิทธ์ทุกวันระหว่าง เวลา 08.00-18.00 น.

.indd 47

23/7/2561 14:52:07


TR AV EL G U ID E

บันทึกเส้นทางท่องเที่ยวจังหวัดกาญจนบุรี

ขุดพลอยเจอธรรม พบสวรรค์ในทุกย่างก้าว เข้าใกล้พระนิพพาน บนเส้นทางรถไฟสายมรณะ

48

SBL บันทึกประเทศไทย I KANCHANABURI

.indd 48

23/7/2561 14:52:08


KANCHANABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 49

49

23/7/2561 14:52:09


สังขละบุรี

มนต์เสน่ห์ที่คุณต้องหลงรัก สังขละบุรี อำ�เภอหนึง่ ในจังหวัดกาญจนบุรี เป็นดินแดนแห่งมนต์เสน่ห์ ทีใ่ ครต่างเข้ามาก็เป็นอันต้องหลงรัก ด้วยวิถชี วี ติ ชาวมอญแบบเรียบง่าย ผู้คนเป็นมิตร อากาศดี ใกล้ชิดธรรมชาติ พร้อมสถานที่ท่องเที่ยว อันน่าอัศจรรย์มากมาย เช่น มีแม่น้ำ�ซองกาเรีย เป็นศูนย์รวมความมี ชีวติ ชีวา, พิธตี กั บาตรมอญ ประเพณีเก่าแก่ของชาวบ้าน, สะพานมอญ หรือ สะพานอุตตมานุสรณ์ เป็นสะพานไม้ข้ามแม่น้ำ�ซองกาเรียไปยัง หมู่บ้านมอญ ถือเป็นสะพานไม้ที่ยาวที่สุดในประเทศไทย และเป็น อันดับสองของโลกรองจากสะพานไม้อเู บ็งในพม่าและเป็นสัญลักษณ์ ของอำ�เภอสังขละบุรี เป็นสะพานแห่งศรัทธา ที่เกิดจากการร่วมแรง ร่วมใจของชุมชนที่อาศัยอยู่ในสังขละบุรี 50

SBL บันทึกประเทศไทย I KANCHANABURI

.indd 50

23/7/2561 14:52:13


ด่านเจดีย์สามองค์ ที่สังขละบุรี

ก่อนจะข้ามฝั่งไปพม่าก็แวะที่ “ด่านเจดีย์ สามองค์” ด่านพระเจดียส์ ามองค์ ตัง้ อยูท่ ี่ ต.หนองลู อ.สังขละบุรี จ.กาญจนบุรี เป็นเขตสิน้ สุดชายแดน ตะวันตกของประเทศไทย กั้นพรมแดนระหว่าง ไทยและพม่านั่นเอง ต้องขอบอกว่าสมัยก่อน ที่แห่งนี้เคยเป็นช่องทางเดินทัพที่ส�ำคัญในการ ท�ำสงครามไทย-พม่า เดิมเรียกกันว่า “หินสามกอง” เนื่องจากชาวบ้านผ่านมาบริเวณนี้ ก็จะน�ำหิน มากองไว้เพือ่ สักการะเป็นสิรมิ งคลในการเดินทาง นานวันกองหินก็ได้มขี นาดใหญ่ขนึ้ และต่อมาใน พ.ศ. 2472 พระศรีสวุ รรณคีรี เจ้าเมืองสังขละบุรี ก็ได้นำ� ชาวบ้านมาก่อสร้างเจดียจ์ ากหินกองใหญ่ ซึ่งเป็นเจดีย์สามองค์ในปัจจุบัน

.indd 51

23/7/2561 14:52:20


เที่ยวน�้ำตกเอราวัณ

สวรรค์ชั้น 7 จ.กาญจนบุรี ชมความงามของ น้ำ�ตกเอราวัณ สวรรค์ ชั้น 7 ณ อุทยานแห่งชาติเอราวัณกันต่อ เป็นน้ำ�ตกทีถ่ อื ได้วา่ สวยงามติดอันดับต้นๆ ของเมืองไทย สภาพทางธรณีวิทยาของ พืน้ ทีแ่ ถบฝัง่ ตะวันตกของบ้านเราส่วนใหญ่ เป็นภูเขาหินปูนเกือบตลอดทั้งแนว ทำ�ให้ น้ำ�ตกทีอ่ ยูใ่ นแถบนี้ มีสสี นั เป็นสีเขียวมรกต สวยงามมากๆ ตั้งแต่ น้ำ�ตกเอราวัณ น้ำ�ตก ไทรโยคน้อย ไทรโยคใหญ่ เรื่อยไปจนถึง ทีลอซูและทีลอเร พลาดไม่ได้สกั น้ำ�ตกเดียว

52

SBL บันทึกประเทศไทย I KANCHANABURI

.indd 52

23/7/2561 14:52:23


“ปิล็อก”

หมู่บ้านอีต่อง เมืองขุมทองแห่งธรรมชาติ “ปิล็อก” ต�ำนานแห่งเหมืองอันรุ่งโรจน์ ณ เทือกเขาตะนาวศรี ตั้งอยู่ใน ต�ำบลปิล็อก อ�ำเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี หลังจาก กิจการเหมืองแร่ไม่สู้ดีนัก ทีนี่จึงได้พัฒนา ปรับเปลี่ยนมาเป็นแหล่งท่องเที่ยว พัฒนา กันเป็นรีสอร์ทแบบท้องถิ่น อาทิ “เหมือง สมศักดิ์” ดูแลโดยป้าเกล็น หญิงต่างชาติซึ่ง กลายเป็ น ต� ำ นานและสั ญ ลั ก ษณ์ ดึ ง ดู ด นักท่องเที่ยวให้มาสัมผัสปิล็อก ที่หัวกระได ไม่เคยแห้ง หมูบ่ า้ นอีตอ่ ง เมืองชายแดนสองสัญชาติ ไทย-พม่า เป็นชื่อที่จับพัดจับผลูมาจาก ณัต เอ่งต่อง ที่มีความหมายว่า ภูเขาแห่งเทพเจ้า ทีเ่ ต็มเปีย่ มไปด้วยบรรยากาศแห่งการพักผ่อน เพราะที่นี่คือที่ที่เงียบสงบ อากาศเย็นสบาย และวิวทิวทัศน์ดีเป็นเยี่ยม อีกทั้งมีเส้นทาง เดินชมวิถีชีวิต และมีเส้นทางให้เดินไปชมวิว ยังชายแดน จากมุมสูงเห็นทิวทัศน์ธรรมชาติ งดงาม สัมผัสขุนเขาของฝั่งไทย และฝั่งพม่า นั่งรับลมชมบรรยากาศ จนพระอาทิตย์ลับ ขอบฟ้า KANCHANABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 53

53

23/7/2561 14:52:30


ห่มสไบไปเดินเล่นที่

“เมืองมัลลิกา ร.ศ. 124” ที่เที่ยวแห่งใหม่เมืองกาญจนบุรี ห่มสไบไปเดินเล่นที่ “เมืองมัลลิกา ร.ศ. 124” ที่เที่ยวแห่งใหม่เมืองกาญจนบุรี พักกายพักใจ ไปใช้ชีวิตแบบวิถีไทยใน อดีต แต่งชุดไทย ห่มสไบ เดินเล่นย้อนยุค ที่เมืองมัลลิกา ร.ศ. 124 ที่เที่ยวแห่งใหม่ 54

ของเมืองกาญจนบุรี เมืองจำ�ลองย้อนยุค ของไทยสมัย รัชกาลที่ 5 ได้ใช้ชีวิตแบบ คนในยุคนั้นจริงๆ ทั้งบ้านเรือน อาหาร ของใช้ และภาษาที่ ใ ช้ ก็ แ บบดั ง เดิ ม กั น เมืองมัลลิกา ร.ศ. 124 เป็นเมืองโบราณ

ตั้งอยู่บนพื้นที่ 60 ไร่ จำ�ลองวิถีชีวิต ความ เป็นอยู่ในสมัยอดีต ในรัชกาลที่ 5 หลังการ ประกาศเลิกทาส หากใครทีไ่ ด้เข้ามาก็จะได้ สัมผัสกับวิถชี วี ติ ชาวสยามบริเวณลุม่ แม่น้ำ� เจ้าพระยา เมืองมัลลิกาตั้งอยู่ตรงทางเข้า ประสาทเมืองสิงห์ ติดปั๊มบางจาก ต.สิงห์ อ.ไทรโยค จ.กาญฯ ห่างจากตัวเมืองกาญ 32 กม.

SBL บันทึกประเทศไทย I KANCHANABURI

.indd 54

23/7/2561 14:52:37


สัจธรรม

บนสะพานข้ามแม่น้�ำแคว และทางรถไฟสายมรณะ สะพานข้ า มแม่ น�้ ำ แคว เป็ น สะพานสาย ประวัติศาสตร์ที่สร้างขึ้นสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 เดิมได้รบั ความเสียหาย และรัฐบาลไทยได้ซอ่ มแซม บ�ำรุงขึน้ ใหม่ ภายหลังสงครามสิน้ สุดลง จนสามารถ ใช้งานได้ดังเดิม ปัจจุบัน มีการยกย่องให้สะพาน ข้ า มแม่ น�้ ำ แคว เป็ น สั ญ ลั ก ษณ์ แ ห่ ง สั น ติ ภ าพ แต่ เ ดิ ม สะพานข้ า มแม่ น�้ ำ แคว ไม่ เ คยมี จ ริ ง ใน ประวัตศิ าสตร์ แต่เนือ่ งจากทางอเมริกาได้ทำ� เป็นหนัง ดังนั้นทางจังหวัดจึงมีความเห็นให้ตั้งชื่อสะพาน ที่ท่ามะขามให้เป็นสะพาน ข้ามแม่น�้ำแคว เพื่อให้ เหมือนในหนัง และได้มกี ลุม่ นักท่องเทีย่ วมาตามหา จริ ง ๆ จนกระทั่ ง กลายเป็ น สถานที่ ท ่ อ งเที่ ย ว สร้างรายได้ให้แก่ท้องถิ่นจนปัจจุบัน ณ สะพานข้ามแม่น�้ำแคว ทุกๆ ปีจะมีงาน สัปดาห์สะพานข้ามแม่น�้ำแคว จัดในช่วงปลาย เดือนพฤศจิกายนถึงต้นเดือนธันวาคม เพื่อร�ำลึก ถึงความส�ำคัญของการสร้างทางรถไฟสายมรณะ และสะพานข้ามแม่น�้ำแคว ซึ่งเป็นเหตุการณ์ทาง ประวัตศิ าสตร์ชว่ งสงครามโลกครัง้ ที่ 2 มีการแสดง นิทรรศการในทางประวัติศาสตร์ และโบราณคดี การแสดงพืน้ บ้าน การออกร้านจ�ำหน่ายสินค้าพืน้ เมือง และการแสดงแสง สี เสียง บริเวณสะพานข้าม แม่น�้ำแคว

KANCHANABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 55

55

23/7/2561 14:52:40


REGIONS

OF

KANCHANABURI

สะพานมอญ @อ� ำ เภอสั ง ขละบุ รี

อุ ท ยานแห่ ง ชาติ

เอราวั ณ @อ�ำเภอศรีสวัสดิ์ ธรรมชาติ น�้ ำ ตกเจ็ ด ชั้ น

เส้ น ทางรถไฟ

สายมรณะ @อ� ำ เภอไทรโยค ที่ ค ดเคี้ ย วลั ด เลาะไปตามหน้ า ผา

56

วัด ถ�้ำเสือ @ อ�ำเภอท่า ม่วง สั ก การะพระเจดี ย ์ ง ดงาม

SBL บันทึกประเทศไทย I KANCHANABURI UBON RATCHATHANI

Ads Ubon.indd 56

23/7/2561 13:52:49


อ�ำเภอในจังหวัดกาญจนบุรี

ที่ ตั้ ง และอาณาเขต จั ง หวั ด กาญจนบุ รี เป็ น จั ง หวั ด หนึ่ ง ที่ ตั้ ง อยู ่ ใ นภาค ตะวันตกของประเทศไทย มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 19,473 ตารางกิโลเมตร มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับ 3 ของประเทศ และจังหวัดเชียงใหม่ และมีพื้นที่ใหญ่ที่สุดในภาคตะวันตก มี ร ะยะทางห่ า งจากกรุ ง เทพมหานครประมาณ 129 กิ โ ลเมตร มี ช ายแดนติ ด ต่ อ กั บ ประเทศพม่ า ระยะทาง ประมาณ 370 กิโลเมตร

ทิศเหนือ ติดกับจังหวัดตาก รัฐมอญ และรัฐกะเหรี่ยง ประเทศพม่า ทิศตะวันออก ติดกับจังหวัดอุทัยธานี และจังหวัดสุพรรณบุรี ทิศใต้ ติดกับจังหวัดนครปฐม และจังหวัดราชบุรี ทิศตะวันตก ติดกับรัฐมอญ และเขตตะนาวศรี ประเทศพม่า โดยมี

แนวเขาส�ำคัญแบ่งเขตแดนระหว่างไทยกับพม่าคือทิวเขาถนนธงชัย และ ทิวเขาตะนาวศรี

SNAP IT &

WACTH

เว็บไซต์ส�ำนักงานพุทธศาสนากาญจนบุรี

UBONKANCHANABURI RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

Ads Ubon.indd 57

57

20/7/2561 19:14:20


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดศรีอุปลาราม (วัดหนองบัว) พระครูศรีกาญจนวัฒน์ (พระมหาปิยวัฒน์ จารุธมฺโม ป.ธ.6) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

วั ด ศรี อุ ป ลาราม ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 1 หมู ่ ที่ 3 ต� ำ บลหนองบั ว อ� ำ เภอเมื อ ง

จั ง หวั ดกาญจนบุรี แต่เ ดิม ชื่อ “วัด หนองบัว ” ต่อ มาได้ เปลี่ ย นชื่ อเป็ น “วั ดศรี อุบ ลธาราม” จากนั้ น ได้ ท� ำ การจดทะเบี ย นจั ด ตั้ ง วั ด กั บ กรมการศาสนา จึ ง ได้ ชื่ อ พระราชทานนามว่ า “วัดศรีอุปลาราม” มาจนถึงปัจจุบัน เดิมสันนิษฐานว่ามีมาตั้งแต่ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ สร้างขึ้นใน พ.ศ.2335 - พ.ศ.2352 ตรงกับรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก รั ช กาลที่ 1 แต่ เดิม ยังไม่มีถ าวรวัตถุใ ดๆ 58

ช้างศรีอุบล

SBL บันทึกประเทศไทย I KANCHANABURI

(

) .

.indd 58

19/07/61 15:07:43


ท�ำเนียบเจ้าอาวาสจากอดีตจนถึงปัจจุบนั

จนมาถึงช่วงหลวงปู่เฒ่ายิ้ม จนฺทโชติ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส จึงได้สร้างอุโบสถหลังแรกขึ้น ประมาณ พ.ศ.2422 ได้รบั วิสงุ คามสีมา พ.ศ.2434 และจัดตัง้ เสนาสนะสงฆ์ครบบริบรู ณ์ พ.ศ.2452 หลังจาก หลวงปู่เฒ่ายิ้มมรณภาพ พ.ศ.2455 พระโศภณสมาจาร (หลวงปู่เหรียญ สุวณฺณโชติ) จึงได้ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส ตั้งแต่ปี พ.ศ.2455 จนถึงปี พ.ศ.2503 ต่อมา พ.ศ.2497 อุโบสถ หลังแรกช�ำรุดทรุดโทรม หลวงปู่เหรียญจึงได้รื้อและสร้างอุโบสถหลังใหม่ขึ้น ณ ต�ำแหน่งเดิม โดยใช้เวลาสร้างอุโบสถหลังใหม่ 11 เดือน 20 วัน และในปี พ.ศ.2498 หลวงปู่เหรียญ ได้จัดงาน ฝังลูกนิมิตโดยมีอดีตนายกรัฐมนตรี จอมพล ป. พิบูลสงคราม มาเป็นประธานตัดหวายลูกนิมิต ณ อุโบสถวัดศรีอุปลาราม (วัดหนองบัว) ในขณะนั้น วั ด ศรี อุ ป ลารามเป็ น วั ด เก่ า แก่ ที่ มี ชื่ อ เสี ย งเคี ย งคู ่ ต� ำ บลหนองบั ว และจั ง หวั ด กาญจนบุ รี มายาวนาน จนเป็นที่ทราบโดยทั่วกันตลอดลุ่มน�้ำแม่กลองและจังหวัดใกล้เคียงถึงบุญบารมี ของหลวงปูเฒ่ายิ้ม และหลวงปู่เหรียญจนเป็นที่นับถือกันอย่างกว้างขวางของประชาชนทั่วไป จนถึงปัจจุบัน นับจากวัดได้สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2335 จนถึงปัจจุบันปี พ.ศ.2561 รวมสิริอายุ ของวัดศรีอุปลารามเป็นเวลาราว 226 ปี

1. หลวงปู่จีน 2. หลวงปู่โบย 3. หลวงปู่เหม็น 4. หลวงปู่กลิ่น 5. หลวงปู่เฒ่ายิ้ม จนฺทโชติ 6. พระโศภณสมาจาร (หลวงปู่เหรียญ สุวณฺณโชติ) ด�ำรงต�ำแหน่ง พ.ศ.2455 - 2503 7. พระอธิการเขียน กิตฺติคุโณ ด�ำรงต�ำแหน่ง พ.ศ.2503 - 2504 8. พระครูแหนง กลฺญาโณ ด�ำรงต�ำแหน่ง พ.ศ.2504 - 2513 9. พระใบฎีกาบุญเรือง ปภสฺสโร ด�ำรงต�ำแหน่ง พ.ศ.2513 - 2524 10. พระมงคลสิ ท ธิ คุ ณ (หลวงพ่ อ ล� ำ ไย ปิยวณฺโณ) รักษาการแทน พ.ศ.2524 - 2529 11. พระมหาคมคิ ด อติ เ มโธ (ป.ธ.4) ด�ำรงต�ำแหน่ง พ.ศ.2530 - 2531 12. พระครูสริ กิ าญจโนบล (วิเชียร วชิรปญฺโญ) ด�ำรงต�ำแหน่ง พ.ศ.2531 - 2546 13. พระอธิการเจริญ กนฺตวีโร ด�ำรงต�ำแหน่ง พ.ศ.2546 14. พระราชคุณาธาร (พระมหาถาวร ถาวโร ป.ธ.7) รักษาการแทน พ.ศ.2546 - 2548 15. พระสรรชัย วชิโร รักษาการแทน พ.ศ.2548 - 2550 16. พระครูศรีกาญจนวัฒน์ (พระมหาปิยวัฒน์ จารุธมฺโม ป.ธ.6) ด�ำรงต�ำแหน่ง พ.ศ.2550 ปัจจุบัน

KANCHANABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

(

) .

.indd 59

59

19/07/61 15:08:12


ประวัติต้นโพธิ์

ต้นโพธิเ์ ป็นหน่อจากต้นโพธิเ์ ดิมทีเ่ กิดขึน้ คูก่ บั วัดหนองบัวแห่งนี้ เมือ่ สมัยหลวงปูจ่ นี เดินธุดงค์ มาปักกลดจนเป็นเหตุให้ชาวบ้านหนองบัว นิมนต์ให้อยู่จ�ำพรรษา ต่อมาในปี พ.ศ.2515 ท่านพระใบฎีกาบุญเรือง ปภสฺสโร เจ้าอาวาส ในสมัยนัน้ คิดว่าจะโค่นต้นโพธิน์ แี้ ล้วสร้างศาลา หลังใหม่ ขณะทีก่ ำ� ลังจะโค่นเหตุอศั จรรย์เกิดขึน้ โดยมียักษ์ตนหนึ่งแสดงตนอยู่กลางต้นโพธิ์ ทุกคนทีอ่ ยูใ่ นสถานทีน่ นั้ เห็นด้วยตาเนือ้ ทุกคน เมื่อเป็นดังนี้เจ้าอาวาสและคณะกรรมการวัด จึงล้มเลิกการโค่นต้นโพธิ์ จนเมื่อพ.ศ.2553 ต้นโพธิไ์ ด้แตกหน่อออกมาจากรากของต้นโพธิ์ ต้ น เดิ ม แต่ ก ลั บ มี ใ บสี ไ ม่ เ หมื อ นกั บ ต้ น เดิ ม โดยใบอ่อนเริ่มแรกเป็นสีชมพูเข้มแล้วเปลี่ยน เป็นสีชมพูอ่อนและเป็นสีขาวในที่สุดได้เห็น ตราบเท่าทุกวันนี้

พระพุทธรัตนมณีศรีเมืองกาญจน์

เมื่อปี พ.ศ.2497 อุโบสถหลังเก่าได้ช�ำรุด ทรุ ด โทรมลง หลวงปู ่ เ หรี ย ญจึ ง ด� ำ ริ ส ร้ า ง อุโบสถหลังใหม่ขึ้นและได้น�ำเอาพระประธาน ปางมารวิ ชั ย เนื้ อ ศิ ล าแลงที่ ห ลวงปู ่ เ ฒ่ า ยิ้ ม ได้ร่วมกับชาวหนองบัว อัญเชิญมาจากวัดร้าง เมืองกาญจนบุรเี ก่า (บริเวณเขาชนไก่ในปัจจุบนั ) เป็นพระประธานในอุโบสถโดยชาวบ้านจะนิยม เรียกกันว่า “หลวงพ่อโต” และเมื่อวันที่ 19 สิงหาคม พ.ศ.2553 สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก ทรงประธานนามพระประธานในอุ โ บสถ วั ด ศรี อุ ป ลารามว่ า “พระพุ ท ธรั ต นมณี ศ รี เมืองกาญจน์” เมื่อปี พ.ศ.2555 อันเป็นวาระ ครบ 100 ปี แห่งการมรณภาพพระอุปัชฌาย์ ยิ้ม จนฺทโชติ โดย ท่านพระครูศรีกาญจนวัฒน์ พร้ อ มด้ ว ยคณะกรรมการ คณะศรั ท ธา ชาวบ้านหนองบัว ได้ร่วมกันบูรณะอุโบสถ อีกวาระหนึ่ง 60

ศาลาการเปรียญหลังเก่า-ศาลาหลังใหม่

โรงเรียนปริยัติธรรมสมาจาร

หลวงปู่เหรียญ สุวณฺณโชติ เมื่อครั้งที่ท่าน ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสเป็นพระครูนวิ ฐิ สมาจาร เป็นพระอุปัชฌาย์ และ เจ้าคณะอ�ำเภอเมือง กาญจนบุรี รูปแรกไม่ทราบ พ.ศ. - พ.ศ.2499 กุลบุตร จึงได้มาขอบวชยังวัดหนองบัวแห่งนี้ ปีหนึ่งๆ ประมาณไม่ต�่ำกว่า 200 รูป มาจาก อ�ำเภอศรีสวัสดิ์ อ�ำเภอบ่อพลอย และจาก อ�ำเภอหนองปรือ ในปัจจุบัน หลวงปู่เหรียญ จึงได้สร้างโรงเรียนปริยัติธรรมสมาจารเมื่อปี พ.ศ.2471 เพื่อให้พระภิกษุสามเณรได้ศึกษา เล่าเรียนปริยัติธรรมจนมีชื่อเสียงในสมัยนั้น

ศาลาการเปรียญหลังเก่าสร้างปี พ.ศ.2464 เพือ่ ใช้เป็นทีท่ ำ� บุญในเทศกาลท�ำบุญในวันส�ำคัญ ทางพระพุ ท ธศาสนาและเปิ ด เป็ น โรงเรี ย น ชั้นมูลศึกษาให้แก่พระภิกษุสามเณรได้เรียน อ่านออกเขียนได้ หลวงปู่เหรียญยังเปิดโอกาส ให้ลูกหลานชาวบ้านหนองบัวได้เรียนหนังสือ โดยมีพระเป็นครูสอน ต่อมาเมื่อปี พ.ศ.2515 ศาลาการเปรียญนั้นได้ช�ำรุดทรุดโทรมลงไป พระใบฎี ก าบุ ญ เรื อ ง ปภสฺ ส โร พร้ อ มด้ ว ย คณะกรรมการวัดและชาวบ้านหนองบัวจึงได้ รื้อศาลาหลังเก่าและได้สร้างศาลาการเปรียญ หลังใหม่โดยชื่อศาลาว่า “ศาลายิ้มเหรียญ อนุสรณ์” เริ่มก่อสร้างเมื่อวันที่ 17 เมษายน พ.ศ.2515 ต่อมาศาลาการเปรียญหลังนี้ได้ ช�ำรุดทรุดโทรม ท่านพระครูศรีกาญจนวัฒน์ พร้ อ มด้ ว ยคณะกรรมการวั ด และชาวบ้ า น หนองบัวได้ร่วมกันบริจาคทรัพย์บูรณะเมื่อ วันที่ 14 กันยายน พ.ศ.2560

SBL บันทึกประเทศไทย I KANCHANABURI

(

) .

.indd 60

19/07/61 15:10:51


อัศจรรย์ วิหารครอบพระบาท 4 รอย

เมือ่ สมัยสงครามโลกครัง้ ที่ 2 ทหารพันธมิตร ได้ทิ้งระเบิด สะเก็ดระเบิดถูกก�ำแพงวิหาร ครอบพระบาท 4 รอย ได้เป็นรอยรูระเบิดให้เห็น มาถึงทุกวันนี้ ส่วนวิหารครอบหลวงพ่อโต ซึ่ง อยูด่ า้ นหน้าอุโบสถหลังเก่าข้างขวาสะเก็ดระเบิด ได้ทะลุประตูวิหารไประหว่างหน้าพระพักตร์ บริเวณพระอุระของพระประธาน (หลวงพ่อโต) แล้วทะลุออกด้านหลังเป็นรูทะลุประมาณ 1 ศอก แต่องค์หลวงพ่อโต ไม่เป็นไรเลย ต่อมาภายหลัง หลวงปูเ่ หรียญ จึงได้อญ ั เชิญให้เป็นพระประธาน ในอุโบสถมาจนถึงปัจจุบนั และเมือ่ ปี พ.ศ.2559 พระครูศรีกาญจนวัฒน์และชาวบ้านหนองบัว ได้ร่วมใจกันบูรณะให้ดีดังเดิม

อาคารปฏิบัติธรรมยิ้มเหรียญอนุสรณ์

เมื่อปี พ.ศ.2553 อันเป็นวาระครอบรอบ 50 ปี แห่งการมรณภาพ ของพระโศภณสมาจาร (หลวงปู่เหรียญ สุวณฺณโชติ) และต้นโพธิ์ได้แตกหน่อเป็นโพธิ์เงินโพธิ์ทอง พระครูศรีกาญจนวัฒน์ และท่านนายกปัญญา สัตยกาญจน์ได้ปรึกษากันว่า วัดหนองบัวเป็นวัดใหญ่ซึ่งมีเยาวชน นักเรียน ทีต่ อ้ งมาเข้าค่ายอบรมศีลธรรมประจ�ำ แต่วดั ไม่มสี ถานทีเ่ พือ่ ใช้ในการอบรมและเป็นทีพ่ กั อาศัยเลย จึงเป็นเหตุให้สร้างอาคารปฏิบัติธรรม โดยวางศิลาฤกษ์ในวันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ.2553 และในวันที่ 19 สิงหาคม 2553 สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายกได้ประทานนาม พระประธานที่อาคารปฏิบัติธรรมนี้ว่า “พระพุทธกาญจนประชานาถศาสดา”

อาคารพิบูลโศภณวิทยาคาร

เมื่ อ ปี พ.ศ.2498 พระโศภณสมาจาร (หลวงปู่เหรียญ) ได้จัดงานปิดทองฝังลูกนิมิต อุโบสถหลังใหม่แทนหลังเดิมที่หลวงปู่เฒ่ายิ้ม ได้สร้างไว้ ปัจจัยทีพ่ ทุ ธศาสนิกชนมาร่วมท�ำบุญ กับหลวงปู่เหรียญหักค่าใช้จ่ายแล้วมีปัจจัย คงเหลือประมาณ 1 ล้านบาทเศษ จึงน�ำปัจจัย ที่เหลือนี้ไปสร้างอาคารเรียน 2 ชั้นเพื่อเป็น อาคารเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 - 7 ในปี พ.ศ.2499 มี น ามว่ า “อาคารพิ บู ล โศภณ วิทยาคาร” ซึง่ ท�ำให้ลกู หลานชาวบ้านหนองบัว และใกล้เคียงได้มีโอกาสศึกษาตามหลักสูตร ของกระทรวงศึกษาธิการมาจนถึงปัจจุบันนี้

อาคารนิวิฐพิทยาคาร

เมื่อประมาณปี พ.ศ.2483 พระครูนิวิฐสมาจาร (หลวงปู่เหรียญ สุวณฺณโชติ) ด�ำรงต�ำแหน่ง เจ้าอาวาสและเจ้าคณะอ�ำเภอเมืองกาญจนบุรี ได้มองการณ์ไกลว่าเด็กที่จะต้องเรียนหนังสือนั้น มีทั้งบ้านใกล้และบ้านไกลมาอาศัยวัดเรียนหนังสือกันโดยเด็กบ้านใกล้ให้ไปกลับส่วนเด็กบ้านไกล ที่อยู่อ�ำเภอศรีสวัสดิ์ อ�ำเภอบ่อพลอย อ�ำเภอหนองปรือ ให้อาศัยอยู่ที่วัด หลวงปู่เหรียญ จึงได้ สร้างโรงเรียนประชาบาล เป็นอาคารเรียน 2 ชั้นส�ำหรับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 - 4 เป็นแห่งแรก ของจังหวัดกาญจนบุรี โดยมอบให้กระทรวงศึกษาธิการด�ำเนินการมากระทั่งทุกวันนี้ KANCHANABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

(

) .

.indd 61

61

19/07/61 15:11:13


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดเขาเม็งอมรเมศร์

พระครูกาญจนปัญญาคม (หลวงพ่อบุญส่ง อธิปญฺโญ) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

วั ด เขาเม็ ง อมรเมศร์ หรื อ ที่ ช าวบ้ า นเรี ย กว่ า “วั ด เขาเม็ ง ” ตั้ ง อยู ่ ห มู ่ ที่ 13

ต� ำ บลปากแพรก อ� ำ เภอเมื อ ง จั ง หวั ด กาญจนบุ รี เป็ น วั ด ราษฎร์ สั ง กั ด คณะสงฆ์ มหานิ ก าย มี เ นื้ อ ที่ ป ระมาณ 35 ไร่ - งาน 65 ตารางวา โดยนายทองใบ สวั ส ดิ์ ล าภ เป็ น ผู ้ ย กที่ ดิ น ให้ ส ร้ า งวั ด อย่ า งถู ก ต้ อ งตามกฎหมาย วั ด เขาเม็ ง อมรเมศร์ ไ ด้ รั บ พระราชทาน วิ สุ ง คามสี ม า เมื่ อ วั น ที่ 16 ธั น วาคม พ.ศ.2526

ร่วมสร้างเส้นทางบุญกับวัดเขาเม็งอมรเมศร์

ขณะนี้ พ ระครู ก าญจนปั ญ ญาคม(หลวงพ่ อ บุ ญ ส่ ง อธิ ป ญฺ โ ญ) ก� ำ ลั ง ด� ำ เนิ น การสร้ า ง ศาลาธรรมสังเวช จึงขอเชิญผู้มีจิตศรัทธาร่วมสมทบทุนสร้างที่ โทร. 08-9550-6594 62

SBL บันทึกประเทศไทย I KANCHANABURI

.indd 62

20/07/61 14:32:27


มีประวัตเิ ล่าสืบต่อกันว่า วัดเขาเม็งอมรเมศร์ น่าจะสร้างในสมัยรัชกาลที่ 3 โดยเจ้าเมือง กาญจนบุ รี ใ นสมั ย นั้ น คื อ พระยาประสิ ท ธิ สงคราม นามเต็มว่า พระยาประสิทธิสงคราม รามภักดีศรีพิเศษประเทศนิคม ภิรมย์ราไชย สวรรค์ พระยากาญจนบุรี ไม่ปรากฏชื่อเดิม ว่าอะไร แต่มีฉายาตามที่เรียกกันว่า “พระยา ตาแดง” หรือ “เจ้าเมืองตาแดง” เดิมเป็น พระราชวรินทร์ เจ้ากรมต�ำรวจ และได้รับ แต่งตั้งเป็นผู้ว่าราชการจังหวัดกาญจนบุรีเป็น คนที่ 2 ของเมืองกาญจนบุรี เมื่อ พ.ศ.2368 เป็นผู้สร้าง แต่ไม่ทราบว่าสร้างเมื่อ พ.ศ.ใด ส�ำหรับท่านผูท้ เี่ ดินทางท่องเทีย่ วทางธรรม และปฏิบัติธรรม ขอเชิญชวนเดินอย่างมีสติ ชมยอดเขา วัดเขาเม็งอมรเมศร์ มีวิหาร 1 หลัง มี ส ระน�้ ำ ข้ า งวิ ห าร มี เจดี ย ์ 2 องค์ และมี วัตถุโบราณเก่าแก่สร้างมาก่อนพ.ศ.2484 และ ใน พ.ศ.2484 นี้ เ องมี พ ระภิ ก ษุ รู ป หนึ่ ง ชาวบ้านเรียกท่านว่า หลวงพ่อโต๊ะ มาพักอาศัย อยู่ปีเศษ แล้วอาพาธ ญาติพี่น้องของท่าน จึงรับท่านไปอยูบ่ า้ นหนองขาว และต่อมาท่าน มรณภาพลง จ� ำ เนี ย รกาลล่ ว งมาจนถึ ง พ.ศ.2490 ชาวบ้านห้วยตลุงผู้ยึดมั่นในบวร พระพุทธศาสนา ได้อาราธนาท่านพระอาจารย์ อิ๋ น อิ นฺ ท สโร มาจ� ำ พรรษาอยู ่ บ นยอดเขา

เม็งอมรเมศร์ ท่านอยู่ได้ 2 พรรษา ก็กลับไป จ� ำ พรรษาที่ วั ด อิ น ทาราม (วั ด หนองขาว) ปัจจุบันท่านได้มรณภาพแล้ว เมื่อ พ.ศ.2492 ชาวบ้านได้ไปอาราธนา พระอาจารย์สรอย อินฺทสุวณฺโณ (ขุนอนุกูล ราชากร) กลับมาเป็นเจ้าอาวาส ซึ่งเป็นผู้ที่ สร้างรากฐานวัดเขาเม็งอมรเมศร์ให้เป็นทีพ่ กั สงฆ์ จนมีพระภิกษุจ�ำพรรษาทุกปีตลอดจนมาถึง ปัจจุบัน ต่อมาท่านได้มรณภาพที่โรงพยาบาล จุฬาลงกรณ์ ในปี พ.ศ.2493 พระอาจารย์งว้ น เชียงทอง ซึ่งอยู่ที่ต�ำบลหนองขาว ได้มาจ�ำพรรษาอยู่ จนถึงปี พ.ศ.2505 หลังจากนั้นพระอาจารย์ บุญส่ง อธิปญฺโญ ซึง่ เป็นหลานพระอาจารย์สรอย มาจากวัดศรีอปุ ลาราม (วัดหนองบัว) มาช่วยท�ำ ฌาปนกิจศพให้กับพระอาจารย์สรอย อินฺทสุว ณฺโณ เมื่อท�ำฌาปนกิจศพเสร็จเรียบร้อยแล้ว ชาวบ้านได้นิมนต์ให้พระอาจารย์บุญส่งอยู่ต่อ พระอาจารย์บุญส่งท่านก็รับ เพราะเห็นว่าอยู่ ใกล้บ้านญาติท่านที่หนองขาว จะได้ไปมาหาสู่ เยี่ยมญาติท่านได้สะดวกขึ้น พ.ศ.2506 ได้ยกวัดร้างขึ้นให้เป็นวัดโดย ถู ก ต้ อ งตามกฎหมาย โดยมี พ ระอาจารย์ บุญส่ง อธิปญฺโญ เป็นเจ้าอาวาสจนถึงปัจจุบัน

KANCHANABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 63

63

20/07/61 14:07:24


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดเขาจ่าท่าโป่งธรรมไพบูลย์

พระอธิการญาณชาติ สุชิโต ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

วัดเขาจ่าท่าโป่งธรรมไพบูลย์ ตั้งอยู่ หมู่ที่ 3 ต�ำบลวังด้ง อ�ำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี

สั ง กั ดคณะสงฆ์ม หานิกาย ขอเชิ ญ สาธุ ช นชมโบสถ์ สี ข าวอร่ า มตา ด้ า นหน้ า มี พ ญานาคสี ข าวใหญ่ ด้ า นใน ประดิ ษ ฐานพุ ท ธรู ป พระประธาน ผนั ง โบสถ์ มี ล วดลายเทวดามาฟั ง ธรรมพระพุ ท ธเจ้ า และเมื่ อ เดื อ นเมษายนที่ผ ่านมา ทางวัด เขาจ่าท่า โป่ ง ธรรมไพบู ล ย์ จั ดทอดผ้ า ป่ า สามั ค คี เททองหล่ อ พระเจ้าจักรพรรดิปางอุ้ม บาตร และปั ้ น พระทั น ใจ

64

SBL บันทึกประเทศไทย I KANCHANABURI

.indd 64

20/07/61 11:22:46


ส�ำหรับ พระพุทธรูปปางมหาจักรพรรดิ ตามต�ำนานพุทธประวัตทิ หี่ ลวงปูด่ ู่ พรหมปัญโญ เล่ า ให้ ส านุ ศิ ษ ย์ ฟ ั ง ว่ า ในสมั ย พุ ท ธกาลมี พระมหากษัตริย์ผู้เรืองอ�ำนาจองค์หนึ่งซึ่งเป็น กษัตริยป์ กครองเมืองปัญจาลราษฐ พระนามว่า “พญาชมพูบดี” ในการประสูติของพระองค์ ขุมทองในทีต่ า่ งๆ ก็ผดุ ขึน้ มามากมาย อันแสดงถึง บุญญาธิการของพระองค์ พญาชมพูบดี ทรงมี อาวุธวิเศษสองอย่าง คือ ฉลองพระบาทแก้ว ซึ่งเมื่อสวมเขาไปแล้วก็จะพาพระองค์เหาะไป ในที่ ต ่ า งๆ ได้ ทั้ ง ยั ง ใช้ อ ธิ ษ ฐานแปลงเป็ น นาคราชเข้าประหัตประหารศัตรูได้อีกด้วย อาวุธวิเศษอย่างที่สองคือ ลูกศรวิเศษ จนเมื่อครั้งที่พญาชมพูบดีรุกรานพระเจ้า พิมพิสาร ผู้เป็นพุทธอุบาสกแห่งสมเด็จพระ สัมมาสัมพุทธเจ้า อาวุธวิเศษของพระองค์ก็ ไม่อาจท�ำอันตรายแก่พระเจ้าพิมพิสารได้ ด้วย อาศัยพระพุทธานุภาพ พญาชมพูบดีทรงแค้น พระหฤทัยมาก แม้จะส่งอาวุธอย่างใดมาก็ พ่ า ยแพ้ แ ก่ พุ ท ธจั ก ร และพุ ท ธานุ ภ าพแห่ ง พระพุทธองค์จนหมดสิ้น

เมือ่ พระพุทธองค์ทรงเห็นว่าพญาชมพูบดี ประสบความพ่ายแพ้ มีทิฏฐิมานะเบาบางลง ประกอบกั บ ทรงเล็ ง เห็ น วาสนาปั ญ ญาของ พญาชมพูบดี ที่จะสามารถส�ำเร็จมรรคผลได้ จึ ง มี พุ ท ธฎี ก าตรั ส ใช้ ใ ห้ อ งค์ อิ น ทร์ แ ปลง เป็นราชทูตพาพญาชมพูบดีมาเข้าเฝ้า ส่วน พระพุทธองค์ทรงนิมติ องค์เป็นพระเจ้าจักรพรรดิ ส่วนพระสารีบตุ รและพระโมคคัลลานะเถระเจ้า พร้อมด้วยเหล่าภิกษุสงฆ์สาวกก็เนรมิตกาย เป็นเสนาบดีใหญ่น้อย ล้วนแต่น่าเกรงขาม ทั้ง เนรมิตเวฬุวนั ให้เป็นพระนครใหญ่ประกอบด้วย ก�ำแพงถึง 7 ชั้น เมื่อพญาชมพูบดีเดินทางเข้า เขตพระนครก็ตกตะลึงกับความยิง่ ใหญ่อลังการ แห่ ง พระนครที่ พ ระองค์ ท รงเนรมิ ต แล้ ว พระพุทธองค์แสดงธรรมโปรดพญาชมพูบดี ซึ่งยังไม่หมดทิฎฐิมานะ และเมื่อพระพุทธองค์ เชื้อเชิญให้แสดงฤทธิ์เดชอ�ำนาจและของวิเศษ ทุกสิ่งทุกอย่างออกมา พญาชมพูบดีก็ต้องได้ รับความอัปยศยิง่ ขึน้ ไปอีก ด้วยไม่อาจท�ำอันตราย พระพุทธองค์ได้เลยแม้แต่น้อย เมื่ อ พระพุ ท ธองค์ ท รงพิ จ ารณาเห็ น ว่ า

พญาชมพูคลายทิฎฐิมานะลงมากแล้ว จึงทรง แสดงพระธรรมเทศนาโปรดพญาชมพู บ ดี ให้ เ ห็ น โทษแห่ ง การเวี ย นเกิ ด เวี ย นตาย ในวัฏสงสาร ทั้งให้เห็นคุณแห่งพระนิพพาน พญาชมพูบดีและเหล่าเสนาอ�ำมาตย์ต่าง รู้สึก ปีติโสมนัส ปลดมงกุฎและและเครื่องประดับ ของตนวางแทบพระบาทแห่งพระศาสดา เพื่อ สักการะด้วยความรู้สึกเทิดทูลขออุปสมบทต่อ พระพุทธองค์ จากนั้นพระพุทธองค์พร้อมด้วย พระภิ ก ษุ ส งฆ์ ส าวก เทวดา อิ น ทร์ พรหม คนธรรพ์ และนาคก็คลายฤทธานุภาพกลับสู่ สภาพเดิม พระพุทธองค์ทรงประทานอุปสมบท แก่พญาชมพูบดีพร้อมทั้งเหล่าอ�ำมาตย์และ ทรงแสดงพระธรรมเทศนาให้คลายความลุม่ หลง ในเบญจขันธ์มรี ปู เป็นต้นว่าดัง่ อุปมาดัง่ พยับแดด หาแก่นสารตัวตนที่เที่ยงแท้อันใดมิได้ และ แสดงธรรมเทศนาต่ า งๆ เป็ น เอนกปริ ย าย พญาชมพูบดีและเหล่าเสนาอ�ำมาตย์ก็ดื่มด�่ำ ในพระอมตธรรม สลัดเสียซึ่งตัณหา อุปาทาน จิตของท่านก็เข้าอรหัตผล ส�ำเร็จเป็นพระอริย บุคคลในพระบวรพุทธศาสนา

ร่วมสร้างเส้นทางบุญกับวัดเขาจ่าท่าโป่งธรรมไพบูลย์

ธนาคารกสิกรไทย เลขที่บัญชี 019 3 97880 0 ชื่อบัญชี พระญาณชาติ สุขเริงรื่น, นายยอดชาย อบกลั่น, นายบุญชู สืบสุข และนายบรรพต พวงเงิน 09-8998-4459 (เจ้าอาวาส), 08-3198-4217 พระอธิการญาณชาติ สุชิโต KANCHANABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 65

65

20/07/61 14:34:17


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดทุ่งก้างย่าง พระครูบวรกาญจนรักษ์ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

วัดทุ่งก้างย่าง ตั้งอยู่เลขที่ 2 หมู่ 3 ต�ำบลไทรโยค อ�ำเภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี

สังกัดมหานิกาย พระครูบวรกาญจนรักษ์ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน จ�ำพรรษา มาแล้ ว 25 พรรษา มี เ จ้ า อาวาสมาแล้ ว 4 รู ป รวมปั จ จุ บั น เป็ น 5 รู ป วั ด ทุ ่ ง ก้ า งย่ า ง มี พื้ น ที่ 189 ไร่ เขตวั ด ติ ด ถนน 323 จ� ำ นวน 800 เมตร 66

SBL บันทึกประเทศไทย I KANCHANABURI

.indd 66

20/07/61 10:49:46


พระครูบวรกาญจนรักษ์ เป็นพระนักพัฒนา ด้านการเกษตร มีการปลูกพืชพันธุ์ต่างๆ ไว้ มากมายเช่น ตาลโตนด ปาล์มน�ำ้ มัน มะขามยักษ์ มะตูม และได้สร้างแหล่งเรียนรูท้ างการเกษตร ตามแนวทฤษฎีเศรษฐกิจพอเพียง ให้กบั ชุมชน ท่านได้ส่งเสริมทางด้านการศึกษาให้กับชุมชน ในต� ำ บลไทรโยค หลายๆ โรงเรี ย น อี ก ทั้ ง ช่วยเหลือโรงพยาบาลมากมาย ดั ง เมื่ อ วั น ที่ 31 มกราคม พ.ศ.2561 ที่ผ่านมา รศ.นพ.สุรพงษ์ ตันธนศรีกุล อดีต สมาชิกวุฒิสภาจังหวัดกาญจนบุรี ได้ร่วมพิธี เปิ ด ป้ า ยอาคารตึ ก ผู ้ ป ่ ว ยนอก(อาคารใหม่ ) โรงพยาบาลสมเด็จพระปิยมหาราชรมณียเขต ซึ่ ง อาคารดั ง กล่ า วได้ รั บ ความร่ ว มมื อ จาก หลายภาคส่วน ตั้งแต่พระครูบวรกาญจนรักษ์ เจ้าอาวาสวัดทุง่ ก้างย่าง เทศบาลต�ำบลไทรโยค ผู ้ น� ำ ชุ ม ชน ภาครั ฐ ภาคเอกชน และกลุ ่ ม จิตอาสา ได้ร่วมกันจัดหางบประมาณทั้งการ ทอดผ้าป่ามาหากุศล การขอรับเงินบริจาค ครุภัณฑ์ทางการแพทย์และครุภัณฑ์ส�ำนักงาน รวมทั้งการปรับปรุงภูมิทัศน์ เพื่อให้อาคาร ผู้ป่วยนอกแห่งนี้มีความพร้อมในการเปิดให้ บริการประชาชน โดยมีนายอนุชา วรหาญ รองนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดกาญจนบุรี เป็นผู้กล่าวรายงาน

KANCHANABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 67

67

20/07/61 10:49:59


พระสรรชัย ชยธมโม ดร. รองเจ้าอาวาส (ท�ำการแทนเจ้าอาวาส)

การเผยแผ่ ธ รรม และการสงเคราะห์ สัตว์ โลกเป็นงานของพระสงฆ์

ส�ำหรับการเผยแผ่ธรรมและการสงเคราะห์ ผู้คนและสัตว์โลกของพระสงฆ์ในยุคปัจจุบัน ก็ได้รบั แนวทางมาจากหลักการจากพระพุทธเจ้า นั่นเอง เพราะการเผยแผ่ธรรมนั้น นับว่าเป็น หัวใจของการสืบอายุพระพุทธศาสนา และ เป็นการแสดงเจตนาต่อพุทธประสงค์อย่าง แท้จริง ซึ่งพระพุทธองค์ตรัสฝากวัตถุประสงค์ ที่ส�ำคัญให้แก่พระอรหันต์สาวก 60 องค์ไว้ ตอนหนึ่งว่า “ พวกเธอจงเที่ยวจาริก เพื่อ ประโยชน์ แ ละความสุขแก่ช นหมู่ม าก เพื่อ อนุ เ คราะห์ โ ลก เพื่ อ ประโยชน์ เ กื้ อ กู ล และ ความสุ ข แก่ ท วยเทพและมนุ ษ ย์ พวกเธอ อย่าได้ไปทางเดียวกันสองรูป จงแสดงธรรม งามในเบื้องต้น งามในท่ามกลาง และงาม ในที่สุด จงประกาศพรหมจรรย์พร้อมทั้งอรรถ ทั้งพยัญชนะครบบริบูรณ์ บริสุทธิ์ ” โดยเฉพาะหน้าที่หรือว่าบทบาทในการ เผยแผ่นี้ เป็นบทบาทของพระสงฆ์ทสี่ ำ� คัญมาก ด้วยพระสงฆ์ด�ำรงตนในบทบาทหน้าที่ดังที่ พระพุ ท ธองค์ เ คยด� ำ รงมาแล้ ว เพราะการ เผยแผ่ธรรมนัน้ เป็นการให้ปญ ั ญาแก่พทุ ธบริษทั จ� ำ ต้ อ งตั้ ง ตนอยู ่ บ นพื้ น ฐานความเป็ น ธรรม ผู้แสดงต้องมีภูมิธรรมความรู้จริง ดังพุทธพจน์ ที่ว่าจงเที่ยวจาริกไป เพื่อประโยชน์นั้น คือ การกระท� ำ หน้ า ที่ ห ลั ก ของพระสงฆ์ สิ่ ง ใด ทีเ่ ป็นประโยชน์เกือ้ กูล แม้จะต้องจาริกรอนแรม ไปยังสถานทีไ่ กลๆ ก็ตาม พระสงฆ์ตอ้ งท�ำหน้าที่ เป็นผู้ให้ธรรมะ แจกธรรมะแก่ชนทั้งโลก 68

SBL บันทึกประเทศไทย I KANCHANABURI

.indd 68

20/07/61 10:50:01


หลักธรรมค�ำสอน...รู้ทันโลก รู้ทันธรรม ปากเป็นเอก เลขเป็นโท วิชาเป็นตรี ชั่วดีเป็นตรา

มี ค วามหมายว่ า ในสมั ย ก่ อ นการศึ ก ษาเล่ า เรี ย นเขี ย นอ่ า นยั ง ไม่แพร่หลาย คนที่รู้หนังสือมีน้อย บางคนก็ได้ดีเพราะปาก การคิดเลข หรื อ การค� ำ นวณนั้ น มี ค วามส� ำ คั ญ น้ อ ยลงมาอี ก แม้ เ ดี๋ ย วนี้ ค นที่ มี ความรู้ดีแต่พูดไม่เก่ง ก็เอาดีได้ยาก ส่วนความชั่วความดีนี้ ท�ำลงไปแล้ว ย่อมเป็นเสมือนตราที่ประทับลงไปให้รู้ว่าคนนั้นเป็นคนดี หรือคนชั่ว

KANCHANABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 69

69

20/07/61 10:50:11


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดวังโพธิการาม พระครูโพธิกาญจนธรรม ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าคณะต�ำบลลุ่มสุ่ม และ เจ้าอาวาส

วั ด วั ง โพธิ ก าราม ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 276 หมู ่ ที่ 1 ต� ำ บลลุ ่ ม สุ ่ ม อ� ำ เภอไทรโยค

จั ง หวั ด กาญจนบุ รี ท่ า มกลางขุ น เขาและริ ม แม่ น�้ ำ แควน้ อ ย จากค� ำ บอกเล่ า ตั้ ง ขึ้ น มากว่ า 80 ปี มี ก ารบู ร ณะมาเรื่ อ ยๆ ตามก� ำ ลั ง ศรั ท ธาของญาติ โ ยมและคณะสงฆ์ ขอเชิ ญ สาธุ ช นเดิ น ทางมาท� ำ บุ ญ กราบไหว้ น ้ อ มน� ำ พระรั ต นตรั ย เป็ น ที่ พึ่ ง อั น ประเสริ ฐ ของชี วิ ต เสริ ม บารมี ส ร้ า งอริ ย ทรั พ ย์ เ ป็ น ทุ น ส� ำ หรั บ ภพภู มิ ข ้ า งหน้ า ต่ อ ไปได้ ทุ ก วั น 70

SBL บันทึกประเทศไทย I KANCHANABURI

.indd 70

20/07/61 11:20:34


วัดวังโพธิการาม ได้รับวิสุงคามสีมาเมื่อ วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2504 มีเขตวิสุงคามสีมา กว้าง 20 เมตร ยาว 40 เมตร ในปัจจุบัน พระครู โ พธิ ก าญจนธรรม (ทองยุ ้ ย ) ด� ำ รง ต� ำ แหน่ ง เจ้ า คณะต� ำ บลลุ ่ ม สุ ่ ม (ธ) และ เจ้าอาวาสวัดวังโพธิการาม ปัจจุบันมีพระพุทธชินราชองค์สีขาว มี รัศมีสที องเด่นตระหง่าน เพือ่ ให้พทุ ธศาสนิกชน เดิ น ทางมาสั ก การะบ� ำ เพ็ ญ สมาธิ ภ าวนา พระพุ ท ธชิ น ราชได้ รั บ การยอมรั บ ว่ า เป็ น พระพุ ท ธรู ป ที่ มี พุ ท ธลั ก ษณะงดงามที่ สุ ด องค์หนึ่งในโลก และยังเป็นพระพุทธรูปที่นิยม จ�ำลองกันมากที่สุดในประเทศไทย นอกจากนี้ ยังเป็นพระพุทธรูปทีป่ ระชาชนชาวไทยศรัทธา และนิยมเดินทางมากราบไหว้มากทีส่ ดุ อีกด้วย

ร่วมเส้นทางบุญ

สามารถติดต่อได้ที่ พระครูโพธิกาญจนธรรม เจ้าอาวาสวัดวังโพธิการาม โทรศัพท์ 093-569-5625 รูปปั้นหลวงพ่อมาลัย ที่ผู้คนทั้งใกล้และไกลเดินทางมาสักการบูชาอย่างต่อเนื่อง โดย มีความเชือ่ ว่า เมือ่ มาตัง้ จิตขอพรสิง่ ใดแล้วตัง้ ใจปฏิบตั บิ ชู ารักษาศีล 5 มีสมั มาทิฐใิ นการด�ำเนินชีวติ มีสติรักษากาย วาจา ใจ ไม่เพ่งโทษใครก็จะสมประสงค์ดั่งใจหมาย แต่ทั้งนี้ทั้งนั้นก็ต้องวางจิต ให้ลงในไตรลักษณ์อยู่เสมอว่าทุกอย่างนั้น ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ และเป็นอนัตตา คือไม่มีสิ่งใดที่จะ ยึดมั่นถือมั่นเป็นตัวเรา เป็นของเราได้จริงๆ เมื่อวางจิตใจได้เช่นนี้ ไม่ว่าท�ำสิ่งใด เมื่อมีความหวัง แล้วไม่ได้ดั่งหวังก็จะไม่ทุกข์มาก หรือไม่ทุกข์เลย และถ้าสมหวังก็จะไม่ฟูจนจิตเตลิดควบคุมไม่ได้ แต่จะเข้าใจเหตุและปัจจัยที่เกิดขึ้น จนไม่ท�ำให้เหวี่ยงไปในทางสุดโต่งทั้งสองข้าง จิตก็เดินอยู่ บนทางสายกลาง เมือ่ ฝึกไปเช่นนี้ ต่อไปเรือ่ ยๆ เมือ่ จิตมีกำ� ลังจนถึงขนาดว่าพึง่ ตนเองได้ ก็จะไม่ขอพร หรือขอสิง่ ใดทีเ่ กินก�ำลังตนทีจ่ ะท�ำได้ หรือไม่ขอในสิง่ ใดทีเ่ มือ่ จะได้มาในภายหลัง แล้วก่อทุกข์ให้กไ็ ม่ทำ � เพียรรักษาจิตในแต่ละวันในการท�ำหน้าที่ทุกอย่าง อย่างมีสติ แล้วปล่อยวางในผลนั้น ชีวิตก็นับเป็นพรอันประเสริฐแล้ว

KANCHANABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 71

71

20/07/61 15:47:44


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดปางบรรพวัฒนาราม พระครูประสาทสรธรรม ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

วัดปางบรรพวัฒนาราม ตัง้ อยูห่ มู่ 3 ต�ำบลวังกระแจะ อ�ำเภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี

เดิมสถานที่แห่งนี้มีนายบุญช่วย ปานทอง ได้มอบที่ให้สร้างส�ำนักสงฆ์เขาเขียว เมื่อประมาณ ปี พ .ศ.2532 โดยมี ศ าลาและกุ ฏิ ที่ พั ก สงฆ์ พออาศั ย อยู ่ ไ ด้ ชั่ ว คราว แต่ ไ ด้ ร ้ า งพระสงฆ์ อยู ่ จ� ำ พรรษาหลายปี ต่ อ มาพระธรรมวาจาจารย์ ( ในขณะนั้ น ) ประธานสงฆ์ วั ด สิ ริ น ธร เทพรั ต นาราม ในพระราชู ป ถั ม ภ์ ได้ รั บ มอบที่ ดิ น จากนายธนา โชติ พ นั ง มี ศ รั ท ธา บริ จ าค ที่ ดิ น จ� ำ นวน 20 ไร่ ซึ่ ง เคยเป็ น ส� ำ นั ก สงฆ์ เ ก่ า ที่ ไ ร่ ป างบุ ญ หมู ที่ 3 ต� ำ บลวั ง กระแจะ อ� ำ เภอไทรโยค เพื่ อ สร้ า งวั ด และสวนป่ า เฉลิ ม พระเกี ย รติ พ ระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว 84 พรรษา 5 ธั น วาคม พ.ศ.2554 สมเด็ จ พระญาณสั ง วร สมเด็ จ พระสั ง ฆราช สกลมหาสั ง ฆปริ ณ ายก ทรงประทานชื่ อ ว่ า “วั ด ปางบรรพวั ฒ นาราม” เมื่ อ วั น ที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ.2555 เป็ น ต้ น มา 72

SBL บันทึกประเทศไทย I KANCHANABURI

.indd 72

19/07/61 15:04:53


สาธุชนร่วมจิตศรัทธาสร้าง “พระพุทธบาบิยันชยันตีไตรโลกนาถ” ในโอกาสครบรอบ 5 ปี ที่ ผ ่ า นมาได้ เห็นควรที่จะสร้าง “พระพุทธบาบิยันชยันตี ไตรโลกนาถ” พระพุทธรูปบาบิยนั (จ�ำลอง) เพือ่ ประดิษฐาน ณ เชิงเขาวัดปางบรรพวัฒนาราม ซึ่ ง พระธรรมวนาจารย์ ( ในขณะนั้ น ) ได้ ข อ ประทานชื่ อ จาก สมเด็ จ พระญาณสั ง วร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก เมือ่ วันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2556 แล้วนั้น เป็น พระปูนปั้นสูง 15 เมตร ยังไม่แล้วเสร็จ และ ได้มีพิธีวางศิลาฤกษ์และทอดผ้าป่าสามัคคี เพื่อสืบทอดอายุพระพุทธศาสนา จึงขอเชิญร่วม เป็นเจ้าภาพเพื่อสร้างให้แล้วเสร็จ ประดิษฐาน ไว้เชิงเขา วัดปางบรรพวัฒนาราม เป็นทีเ่ คารพ ของสาธุชนสืบต่อไป

ประวัติ “พระพุทธรูปแห่งบามียัน” โดยสังเขป พระพุทธรูปแห่งบามียนั เป็นพระพุทธรูปยืนจ�ำนวนสององค์ทสี่ ลักอยูบ่ นหน้าผาสูง 2,500 เมตร ในหุบผาบามียัน ณ จังหวัดบามียัน ในพื้นที่ฮาซาราจัตทางตอนกลางของประเทศอัฟกานิสถาน ห่างจากกรุงคาบูลไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือประมาณสองร้อยสามสิบกิโลเมตร หมูพ่ ระพุทธรูป นี้สถาปนาขึ้นในพุทธศตวรรษที่ 10 ตามศิลปะแบบกรีกโบราณ หุบเขาบามียันนี้ตั้งอยู่บนเส้นทาง สายไหมระหว่างจีน อินเดีย ตะวันออกกลาง และยุโรป มีการค้นพบศาสนสถานทางศาสนาพุทธ และฮินดูเป็นจ�ำนวนมากกว่า 1,000 แห่ง เป็นหนึง่ ในจุดศูนย์กลางทางพระพุทธศาสนาในบริเวณนัน้ มาก่อน ซึ่งศาสนสถานที่ส�ำคัญที่สุดในบริเวณนี้คือพระพุทธรูปองค์ใหญ่ 3 องค์ 2 องค์แรกสร้าง ในช่วงปีพ.ศ.1050 มีความสูง 37 เมตร และองค์ที่ 3 สร้างขึ้นในปี พ.ศ.1097 สูง 55 เมตร เป็น “พระพุทธรูปแกะสลักฝาผนังที่ใหญ่ที่สุดในโลก” ซึ่งทั้งหมดนี้คาดกันว่าสร้างโดยพระเถระและ ราชวงศ์แห่งราชวงศ์คุปตะแห่งอินเดีย ตามฝาถ�้ำที่ได้ขุดเจาะกันไว้นั้น มีการวาดภาพ ซึ่งบ่งบอก ถึงการผสมผสานของศิลปะคุปตะ ศิลปะคันธาระ และศิลปะเปอร์เซียได้อย่างชัดเจน และเมื่อ พระถังซ�ำจั๋งได้เดินทางไปชมพูทวีปในปี พ.ศ.1173 ท่านได้เล่าว่าพระพุทธรูปได้เหลืองอร่าม ไปด้วยทองค�ำ และมีพระกว่า 1,000 รูปจ�ำวัดอยู่ มีอารามมากกว่า 10 แห่ง มีพระสงฆ์หลายพันรูป ล้วนเป็นฝ่ายโลกุตตรวาท (โลกุตตรวาทิน) สังกัด นิกายมหายาน พระสงฆ์ที่มีชื่อเสียงของเมืองนี้ คือ พระอารยทูต (Aryaduta) และพระอารยเสน (Aryasena) มีความรูใ้ นพระธรรมวินยั เป็นอย่างดี และในระหว่างช่วงประวัติศาสตร์อันยาวนานกว่า 1,600 ปีของพระพุทธรูปแห่งนี้ ได้พบเจอกับ สงครามและการจู่โจมมาโดยตลอด วันเวลาผ่านไป มาจนถึงเดือนมีนาคม พ.ศ.2544 หมู่พระพุทธ รูปนี้ถูกท�ำลายด้วยระเบิดจนเสียหาย และด้วยหมู่พระพุทธรูปนี้เป็น “มรดกโลก” ต่อมาญี่ปุ่น และสวิตเซอร์แลนด์จึงร่วมใจกันสนับสนุนให้มีการปฏิสังขรณ์พระพุทธรูปนี้อีกครั้งหนึ่ง ส�ำหรับการก่อสร้าง “พระพุทธบาบิยันชยันตีไตรโลกนาถ” พระพุทธรูปบาบิยัน(จ�ำลอง) นี้ก็เพื่อประดิษฐาน ณ เชิงเขาวัดปางบรรพวัฒนา เพื่อเป็นที่สักการบูชาของสาธุชนชาวพุทธ ในการร�ำลึกถึงรากฐานแห่งพระพุทธศาสนาที่ด�ำรงสืบมากว่า 2600 ปี KANCHANABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 73

73

20/07/61 13:29:22


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดลุ่มสุ่ม พระครูกาญจนวุฒิกร ด�ำรงต�ำแหน่งรองเจ้าคณะอ�ำเภอไทรโยค และ เจ้าอาวาส

วั ด ลุ่มสุ่ม ตั้งอยู่หมู่ที่ 10 ต�ำบลลุ่มสุ่ม อ�ำเภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี

สั ง กั ด คณะสงฆ์ ม หานิ ก าย พระสงฆ์ ใ นวั ด ลุ ่ ม สุ ่ ม ได้ มี ส ่ ว นในการพั ฒ นาด้ า นการศึ ก ษา ให้ กั บ เด็ ก และเยาวชนผ่ า นโครงการพระสอนศี ล ธรรมในโรงเรี ย น ซึ่ ง โครงการดั ง กล่ า ว มหาวิ ท ยาลั ย มหาจุ ฬ าลงกรณราชวิ ท ยาลั ย เป็ น เจ้ า ของโครงการ โดยมี พ ระจิ ต อาสา ทั่ ว ประเทศเข้ า ร่ ว มโครงการ ส� ำ หรั บ วั ด ลุ ่ ม สุ ่ ม มี พ ระประสงค์ ชุ ติ นฺ ธ โร เป็ น หนึ่ ง ในครู พ ระ หรื อ พระสอนศี ล ธรรมในโรงเรี ย น

ร่วมบุญกุศลแผ่ไพศาลในการสร้างพระบรมธาตุเจดีย์ โทร. 09-8547-4839

74

SBL บันทึกประเทศไทย I KANCHANABURI

.indd 74

20/07/61 10:56:23


ตามประวัตศิ าสตร์ความเป็นมาของชาติไทย มีความเกี่ยวเนื่องมาด้วยกันกับความเป็นมา ของพระพุ ท ธศาสนา โดยเฉพาะนั บ ตั้ ง แต่ สมัยก่อนที่ชาติไทยจะมีประวัติศาสตร์ก่อตั้ง เป็ น นครรั ฐ ซึ่ ง เริ่ ม ตั้ ง แต่ อ าณาจั ก รสุ โขทั ย เป็นต้นมานัน้ ชาวไทยก็ได้นบั ถือพระพุทธศาสนา ต่อเนื่องตลอด จนกล่าวได้ว่า ประวัติของ ประเทศไทย เป็นประวัติของชนชาติที่นับถือ พระพุทธศาสนา วิถีชีวิตของคนไทยได้ผูกพัน ประสานกลมกลื น กั บ หลั ก ความเชื่ อ และ หลักปฏิบัติในพระพุทธศาสนา วัดจึงเป็นศูนย์กลางการศึกษาของสังคมไทย และเป็นแหล่งค�ำสัง่ สอน การฝึกอบรม ตลอดจน กิจกรรมใหญ่ๆ ที่มีความสําคัญของรัฐก็ดี ของ ชุมชนก็ดี จะมีสว่ นประกอบด้วยพระพุทธศาสนา เป็นหลักของพิธีการ เพื่อเน้นย�้ำความสําคัญ และเสริ มคุ ณ ค่ า ทางจิ ต ใจจนฝั ง ลึ ก ในจิ ต ใจ และวิถีชีวิตของชาวไทย หลักธรรมคําสอน ในทางพระพุ ท ธศาสนานั้ น ได้ ก ลายเป็ น เครื่ อ งหล่ อ หลอมกลั่ น กรองอุ ป นิ สั ย ขั้ น พื้ น ฐานในจิ ต ใจของคนไทยให้ มี ลั ก ษณะ เฉพาะตนทีเ่ รียกว่า“เอกลักษณ์ของสังคมไทย”

จึงสรุปได้อย่างมั่นใจว่า “พระพุทธศาสนา เป็นศาสนาประจําชาติไทย” มาแต่โบราณกาล อย่างไรก็ดีในช่วง 3 - 4 ทศวรรษที่ผ่านมา การเรียนการสอนด้านจริยศึกษาของรัฐ ได้มี แนวโน้มทีจ่ ะหันไปในทิศทางของจริยธรรมสากล ประจวบกับช่วงต่อมามีแนวคิดแบบบูรณาการ ในการเรียนการสอนด้านจริยศึกษา เป็นมูลเหตุ หนึ่งที่นําโรงเรียนออกจากวัด ทําให้พระภิกษุ ไม่ได้มสี ว่ นร่วมในการสอนจริยธรรมในโรงเรียน ดังในปี พ.ศ.2533 ได้มีการปรับปรุงหลักสูตร ทั้ ง ระดั บ ประถมศึ ก ษาและมั ธ ยมศึ ก ษา มี ข้อสังเกตจากองค์กรตลอดจนบุคคลที่หวังดี ต่อพระพุทธศาสนาว่า การปรับปรุงหลักสูตร ครัง้ นีไ้ ด้ตดั ทอนวิชาพระพุทธศาสนาให้ลดน้อย ลงไป ทัง้ คาบวิชาและเนือ้ หา ซึง่ มีผลกระทบต่อ การเรี ย นรู ้ พ ระพุ ท ธศาสนาเป็ น อย่ า งมาก โครงการ โครงการพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน จึงก�ำเนิดขึ้นเพื่อน�ำธรรมะเข้าสู่โรงเรียน และ เข้าสู่เด็ก และเยาวชนในการที่จะด�ำเนินชีวิต อย่างสงบเย็นเป็นประโยชน์ในปัจจุบันและ อนาคตสื บ ไป เพื่ อ ยั ง ความร่ ม เย็ น ให้ แ ก่ แผ่นดินไทยดังที่เคยเป็นมาในอดีตกาล

ร่วมเป็นส่วนหนึ่งของการสร้างพระบรมธาตุเจดีย์ เพื่อความเป็นมงคลของชีวิต

ปัจจุบัน วัดลุ่มสุ่มก�ำลังด�ำเนินการก่อสร้างพระบรมธาตุเจดีย์ ขอเชิญพุทธศาสนิกชนร่วมสร้าง บุญกุศลกับการสร้างพระบรมธาตุเจดีย์ไว้ให้ลูกหลานกราบไหว้บูชาตามก�ำลังศรัทธา เพิ่มศรัทธา ปสาทะในบวรพระพุทธศาสนาให้มั่นคงยิ่งขึ้น ที่ผ่านมา ทางวัดได้ท�ำพิธีเททองพระปางเปิดโลกบัดนี้ส�ำเร็จเรียบร้อยแล้วและมีพระนามว่า “หลวงพ่อสมเด็จพระพุทธไตรมงคล” (ปางเปิดโลก เปิดบารมี) องค์มีความสูง1.99 เมตรเมื่อ เห็นและทุกครั้ง มีคนพูดถึงท่านว่าศักดิ์สิทธิ์มาก อธิษฐานอะไรที่ไม่ผิดธรรม ล้วนแล้วส�ำเร็จหมด โดยในแท่นหลวงพ่อไตรมงคลได้บรรจุพระต่างๆ มากมายแล้ว เพื่อให้รับรู้ว่าแม้เราดับสูญไปแล้ว สิ่งที่ท�ำไว้ก็คงไม่ดับสูญตามเราไป คงยังอยู่ให้คนรุ่นหลังสืบทอดเจตนารมณ์ต่อไปไม่สิ้นสุด นอกจากนี้ ขอเชิญร่วมเป็นเจ้าภาพแผ่นทองค�ำเปลวแท้100% เพื่อน�ำมาลงรักปิดทองค�ำแท้ ที่ฉัตร 5 ชั้นและยอดปลีพระธาตุเจดีย์ที่ได้ท�ำพิธีเททองหล่อไปแล้ว จึงขอบอกบุญมาทางญาติโยม ร่วมท�ำบุญตามก�ำลังศรัทธา เพื่อด�ำเนินการสร้างต่อไป KANCHANABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 75

75

20/07/61 10:56:36


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

อาศรมปฏิบัติธรรมปัทมะประภาสุชาโต

พระอาจารย์บุญแต่ง ฉนฺทชาโต เจ้าส�ำนัก

อาศรม ปฏิบัติธรรมปัทมะประภาสุชาโต ต�ำบลไทรโยค อ�ำเภอไทรโยค

จั ง หวั ด กาญจนบุ รี เกิ ด ขึ้ น จาก คุ ณ นฤมล เชิ ด ชื่ น พร้ อ มบุ ต ร-ธิ ด า มี ศ รั ท ธาถวายที่ ดิ น ให้ แ ก่ พระอาจารย์ บุ ญ แต่ ง ฉนฺ ท ชาโต เมื่ อ วั น ที่ 6 เมษายน พ.ศ.2551 จากนั้ น เจ้ า ส� ำ นั ก ได้พัฒนามาตลอดทั้งในด้านศาสนวัตถุและบุคคล มีการจัดงานปฏิบัติธรรมในวันส�ำคัญ ทางพระพุ ท ธศาสนา งานวิ ส าขบู ช า มาฆบู ช า และมี ง านปฏิ บั ติ ธ รรมประจ� ำ ปี ข องส� ำ นั ก ทุ ก ปี ใ ห้ นั ก เรี ย นได้ ม าแสดงออกถึ ง ความกตั ญ ญู ก ตเวที ให้ รู ้ จั ก พระคุ ณ ของพ่ อ แม่ ครู บ าอาจารย์ ปลู ก ฝั ง ให้ เ ด็ ก มี ศี ล ธรรม และคุ ณ ธรรม 76

SBL บันทึกประเทศไทย I KANCHANABURI

.indd 76

20/07/61 11:30:34


ก�ำหนดการงานปฏิบัติธรรมและวันส�ำคัญต่างๆ ในรอบปี วันที่ 1 มกราคมของทุกปี ท�ำบุญวันปีใหม่, 12-15 มี น าคม งานปฏิ บั ติ ธ รรมประจ� ำ ปี , ขึ้น 13 ค�่ำ-แรม 3 ค�่ำ เดือน 6 งานปฏิบัติธรรม วันวิสาขบูชา, 14 เมษายน ท�ำบุญสรงน�้ำพระ ในประเพณีสงกรานต์ (วัดครอบครัว), ขึ้น 15 ค�่ำ เดือน 8 ท�ำบุญวันอาสาฬหบูชา, แรม 1 ค�่ำ เดือน 8 ท�ำบุญวันเข้าพรรษา (ท�ำบุญทุกวันพระ ภายในพรรษา), ขึ้น 15 ค�่ำ เดือน 11 ท�ำบุญ วั น มหาปวารณา ออกพรรษาตั ก บาตร เทโวโรหณะ, ขึ้น 15 ค�่ำ เดือน 12 ท�ำบุญ วั ด เต็ ม เดื อนเต็ม กลางคืน ท�ำพิธีลอยกระทง รักษาประเพณี กิจวัตรประจ�ำวัน เวลา 03.00 น. ตื่น ฟังธรรมเสียงปลุก, เวลา 04.00 น. ท�ำวัตรเช้า, เวลา 06.00 น. บิณฑบาต, เวลา 13.00 น. ปฏิบตั ธิ รรมภาคบ่าย, เวลา 17.30 น. ท�ำวัตรเย็น,

ทุ ก วั น พระ 8 ค�่ ำ 15 ค�่ ำ เวลา 19.30น. เจริญพระคาถาอุปปาตะสันติ 271 ข้อ หรือ มหาสมัยสูตร กฎระเบียบภิกษุที่อยู่ปฏิบัติธรรม 1.ต้ อ งตั้ ง ตนอยู ่ ใ นพระธรรมวิ นั ย มี ศรัทธาในการอยู่ ประพฤติวัตร ปฏิบัติธรรม 2.ต้ อ งท� ำ กิ จ วั ต รเช้ า เย็ น ทุ ก วั น อยู ่ ด ้ ว ย สาราณิยธรรม 6 ประการเคารพประธานสงฆ์ 3.ต้องปฏิบตั ติ นอยูใ่ นสมณวิสยั เป็นแบบอย่าง ที่ ดี แ ก่ พุ ท ธบริ ษั ท โดยตั้ ง ใจไว้ ว ่ า อยู ่ ใ ห้ เขา รักใคร่ จากไปให้เขาคิดถึง 4.ห้ามสูบบุหรี่ และสิ่ ง อั น เป็ น ที่ ตั้ ง แห่ ง อบายมุ ข ต่ า งๆ 5.ห้ า มน� ำ ที วี เข้ า มาดู ใ นอาศรม ห้ า มจ� ำ วั ด นอนกลางวัน ให้ขวนขวายในการศึกษา และ ปฏิบัติด้วยความจริงใจ 6.ห้ามดูหมอต่อชะตา และประพฤติตน อันเป็นที่ตั้งแห่งความเสื่อม

ศรัทธาแก่พุทธศาสนิกชน 7.ฉันอาหารวันละ มือ้ เดียวเป็นผูม้ กั น้อย สันโดษสงเคราะห์ปจั จัยสี่ ตามเหตุปัจจัย กฎระเบียบการเข้าห้องกรรมฐาน ให้ ป ลี ก ไปอยู ่ รู ป เดี ย ว ไม่ ต ้ อ งคลุ ก คลี หมู ่ ค ณะ ปิ ด วาจา พู ด เฉพาะวั น อุ โ บสถ, ไม่ต้องบิณฑบาต ไม่ต้องมาท�ำกิจวัตร ร่วมกับ หมูค่ ณะ, ปิดโทรศัพท์หา้ มติดต่อ และขอสิง่ ของ ต่างๆ จากบุคคลภายนอก, ห้ามจ�ำวัดกลางวัน กลางคืนนอน 5 ชั่วโมง นอนสี่ทุ่ม ตื่นตีสาม, ฉันมื้อเดียว ที่นั่งเดียว ยินดีในความสันโดษ เข้าห้องปฏิบตั เิ พือ่ ขัดเกลาจริงๆ, ปฏิบตั ติ ามแนว สติ ป ั ฎ ฐานสี่ เดิ ม ตามรอยมรรคมี อ งค์ แ ปด และ ต้ อ งปฏิ บั ติ ใ ห้ ไ ด้ ตามกฎระเบี ย บ ของส�ำนักและกฎในการเข้าห้องอย่างเคร่งครัด ถ้าปฏิบัติไม่ได้ ต้องพิจารณาตนเอง ประวัติเจ้าส�ำนัก พระอาจารย์บญ ุ แต่ง ฉนฺทชาโต อุปสมบท ณ วัดศรีวารีนอ้ ย อ.บางพลี (ปัจจุบนั อ.บางเสาธง) จ.สมุทรปราการ เมื่อวันเสาร์ที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ.2530 ตรงกับวันขึ้น 9 ค�่ำ เดือน 8 ปีเถาะ เวลา 06.26 น. โดยมีพระครูสัทธาสมุทรวัตร เป็นพระอุปชั ฌาย์ พระอธิการนิพนธ์ ทินนฺ าโภ เป็นพระกรรมวาจาจารย์ พระอาจารย์สมศักดิ์ อาภากโร เป็นพระอนุสาวนาจารย์ ปัจจุบัน 31 พรรษา(พ.ศ.2561) ใต้ร่มผ้ากาสาวพัสตร์

KANCHANABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 77

77

20/07/61 11:30:49


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดแม่น�้ำน้อย พระปลัดทรงศักดิ์ ขฺนติพโล ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

วั ด แม่น�้ำน้อย ตั้งอยู่หมู่ 5 บ้านแม่น�้ำน้อย ต�ำบลไทรโยค อ�ำเภอไทรโยค

จังหวัดกาญจนบุรี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย กรมศาสนาประกาศให้เป็นวัดตั้งแต่ปีพ.ศ. 2481 ต�ำบลไทรโยค เป็นต�ำบลที่ตั้งอยู่ในเขตการปกครองของอ�ำเภอไทรโยค มีจ�ำนวนหมู่บ้าน ทั้งสิ้น 8 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ 1 บ้านแก่งประลอม หมู่ 2 บ้านท่าทุ่งนา หมู่ 3 บ้านทุ่งก้างย่าง หมู่ 4 บ้านแก่งจอ หมู่ 5 บ้านแม่น�้ำน้อย หมู่ 6 บ้านดาวดึงส์ หมู่ 7 บ้านวังนกแก้ว หมู่ 8 บ้านท่าเตียน สภาพพื้นที่เป็นที่ราบเชิงเขา ที่ราบลุมแม่น�้ำ อุดมสมบูรณ์ ไปด้วยทรัพยากรป่าไม้ สัตว์ป่า ประชาชนส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ และมีวิถีชีวิตผูกพันกับวัดมาช้านาน 78

SBL บันทึกประเทศไทย I KANCHANABURI

.indd 78

20/07/61 11:04:33


วัดแม่น้�ำน้อย ตั้งอยู่ห่างจากน�้ำตกไทรโยค ประมาณไม่เกิน 3 กิโลเมตร วัดอยู่ติดกับ โรงเรียนต�ำรวจตระเวนชายแดน บ้านแม่นำ�้ น้อย เปิ ด ด� ำ เนิ น การด้ า นการเรี ย นการสอนเมื่ อ วันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ.2520 โดยใช้ศาลาวัด แม่น�้ำน้อยเป็นอาคารเรียนชั่วคราว ผู้ริเริ่ม คือ พระอธิการเถียร ปภาโส ได้ตดิ ต่อประสานงาน กับกองก�ำกับการต�ำรวจตระเวนชายแดนเขต 7 ในสมัยนั้น ให้จัดส่งครูต�ำรวจตระเวนชายแดน ไปท�ำการสอน ต่อมา นายพรหม ชาวลา ราษฎร บ้านแม่น�้ำ ได้มอบที่ดินให้จัดสร้างโรงเรียน ประมาณ 35 ไร่ และกองก�ำกับการต�ำรวจ ตระเวนชายแดนเขต 7 ได้จัดส่งครูต�ำรวจ ตระเวนชายแดน ไปท�ำการสอนเพิ่มเติม และ ต่อมาโรงเรียนได้ย้ายสถานที่เรียนจากศาลา วัดแม่นำ�้ น้อย มาท�ำการเรียนการสอนทีอ่ าคาร หลั ง ใหม่ และตั้ ง ชื่ อ โรงเรี ย นว่ า “โรงเรี ย น ต�ำรวจตระเวนชายแดนบ้านน�้ำน้อย” ที่น่าสนใจก็คือ บนภูเขาหลังโรงเรียนแห่งนี้

มีซากวิหารเก่า ซึ่งคาดคะเนว่าน่าจะมีอายุ ราวคราวเดียวกับปราสาทเมืองสิงห์ เพราะ ค� ำ นวณจากซากพระพุ ท ธรู ป ที่ เ ก็ บ ไว้ ที่ วั ด และซากฐานวิหารที่ยังหลงเหลืออยู่ อีกทั้ง ซากอิฐโบราณ ฐานวิหารเก่าๆ แถวนัน้ มีหลายแห่ง และบริ เวณแห่ ง นี้ มีเหรียญสมัยรัชกาลที่ 5 เต็มไปหมด ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้ า อยู ่ หั ว รั ช กาลที่ 5 พระองค์ ได้ เ สด็ จ ประพาสต้น ทางชลมารค เหนือล�ำน�ำ้ แควน้อย มาถึ ง น�้ ำ ตกไทรโยค ซึ่ ง สมั ย นั้ น ยั ง ไม่ มี ชื่ อ แต่อย่างใด พระองค์ได้ทอดพระเนตรและ เห็นต้นไทรที่ขึ้นอยู่ริมธารน�้ำตก ซึ่งขณะนั้น ถูกกระแสลมทีช่ าวบ้านเรียกว่า “ลมโยกข้าวเบา” พัดโยกไปโยกมา จึงตัง้ ชือ่ น�ำ้ ตกว่าน�ำ้ ตกไทรโยค จากข้อมูลดังกล่าว น่าสันนิษฐานได้ว่า จาก เหตุการณ์ธรรมชาติที่มีลมพัดต้นไทรโยกไป โยกมาจึงเป็นที่มาของน�้ำตกไทรโยค จึงตั้ง ต�ำบลตามชือ่ น�ำ้ ตกไทรโยคว่า “ต�ำบลไทรโยค”

ตามรอยประพาสต้น ร.5 ณ วัดแม่น�้ำน้อย กาญจนบุรี การเสด็จประพาสไทรโยค เมืองกาญจนบุรี การเสด็จครัง้ นีใ้ ช้เวลา 23 วัน เส้นทางเสด็จ เริม่ ต้นจาก พระปฐมเจดีย์ จังหวัดนครปฐม จากนั้นจึงเสด็จพระราชด�ำเนินเข้าเขตจังหวัดกาญจนบุรี โดยทรง แวะนมัสการพระแท่นดงรังเป็นแห่งแรก ก่อนที่จะเสด็จประพาสตามสถานที่ส�ำคัญในเมือง กาญจนบุรหี ลายแห่ง ทรงเสด็จประพาสล�ำน�ำ้ แควน้อย มาถึงปราสาทเมืองสิงห์ ที่อุทยานปราสาท เมืองสิงห์ บนฝั่งแม่น�้ำแควน้อย อ�ำเภอไทรโยค สร้างขึ้นเพื่อเป็นพุทธศาสนสถานในพุทธศาสนา ซึ่งกล่าวว่าสถาปัตยกรรมและปฏิมากรรมของปราสาท คล้ายคลึงกับสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ส�ำหรับวัดแม่น�้ำน้อย เคยเป็นที่ต้ังพลับพลาของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 สมัยประพาสต้นไทรโยค ณ ท่าแม่นำ�้ น้อย คราวนัน้ มีประชาชนในท้องถิน่ เช่น กะเหรีย่ ง มอญ มารอรับเสด็จ ตรงท่าน�้ำวัดแม่น�้ำน้อย โดยมีหลักฐานบันทึกไว้ชัดเจนว่า ร.5 ตั้งพลับพลา ณ ท่าน�ำ้ น้อย คราวนัน้ มีประชาชนท้องถิน่ มารอรับเสด็จ และในหนังสือก็อธิบายถึงภูมศิ าสตร์รมิ แม่นำ�้ ทีม่ ที วิ ทัศน์ มีเงือ้ มผาหินสวยงาม ถัดจากทีต่ งั้ พลับพลา ใกล้ถงึ น�ำ้ ตกไทรโยคใหญ่กม็ ถี ำ�้ ที่ ร.5 เสด็จขึน้ ไป ทอดพระเนตรเรียกว่า “ ถ�ำ้ พระธาตุอศั จรรย์” ภายในถ�ำ้ ปัจจุบนั ยังหลงเหลือพระพุทธรูปเก่าๆ อยู่ และที่เรียกว่า ถ�้ำพระธาตุอัศจรรย์ เพราะหากเข้าไปยืนตรงกลางถ�้ำมองขึ้นไปบนเพดานถ�้ำจะเห็น จุดเล็กๆ ส่องแสงสว่างเข้ามายังถ�้ำ เหมือน พระธาตุลอยอยู่กลางอากาศ KANCHANABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 79

79

20/07/61 14:57:35


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดทุ่งนาโกลน พระครูกาญจนสุทธาภรณ์ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

วั ด ทุ่งนาโกลน ตั้งอยู่เลขที่ 407 ต�ำบลศรีมงคล

อ� ำ เภอไทรโยค จั ง หวั ด กาญจนบุ รี

ร่วมสร้างเส้นทางบุญกับวัดทุ่งนาโกลน

โทร. 08-6163-6428 พระครูกาญจนสุทธาภรณ์ 80

SBL บันทึกประเทศไทย I KANCHANABURI

.indd 80

18/10/61 14:48:05


HIST ORY OF BUDDHISM

บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดศรีมงคล พระครูใบฎีกาธนพร ญาณทีโป ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

วัดศรีมงคล ตัง้ อยูห่ มูท่ ี่ 4 ต�ำบลศรีมงคล อ�ำเภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี

เมื่อประมาณปี พ.ศ.2481 โดย นายก้อน และ นางช�ำเลือง ประทีป ได้เป็นผู้ที่ บริ จ าคที่ ดิ น เพื่ อ เป็ น สถานที่ ใ นการก่ อ สร้ า งวั ด ศรี ม งคล และในการสร้ า งวั ด ครั้งนั้นได้มีการเรียกชื่อวัด ตามชื่อของหมู่บ้าน คือ “วัดหนองศรีมงคล” ต่อมา เพื่อให้เกิดความเป็นศิริมงคลแก่หมู่บ้าน และผู้ที่อาศัยอยู่ในหมู่บ้านแห่งนี้ จึง เปลี่ ย นมาเรี ย ก ชื่ อ หมู ่ บ ้ า น และวั ด ใหม่ โดยเรี ย กว่ า “วั ด ศรี ม งคล”

เช่นเดียวกับที่มาของต�ำบลศรีมงคล เมื่อสมัยก่อน มีการเล่าขานกันว่ามีคน 4 คน 2 ครอบครัว มาอาศัย อยู่ที่หนองน�้ำของหมู่บ้านแห่งนี้ จึงได้เรียกหมู่บ้านนี้ ตาม 2 ครอบครัวนี้ว่า “หมู่บ้านหนองสี่คน” เรื่อยมา แล้วต่อมาเห็นว่าชือ่ หมูบ่ า้ นนีเ้ ป็นชือ่ ทีเ่ รียกยาก จึงเปลีย่ น ให้เป็นศิริมงคลแก่หมู่บ้าน ชาวบ้านจึงได้เปลี่ยนจาก “หนองสีค่ น” มาเป็นหมูบ่ า้ น “หนองศรีมงคล” แต่ตอ่ มา มีชาวบ้านบางส่วนไม่ชอบค�ำว่า “หนอง” เพราะเห็นว่า เป็นค�ำที่ฟังแล้วไม่ค่อยดี จึงได้ตัดค�ำว่า “หนอง” ออก ให้เหลือแต่ค�ำว่า “ศรีมงคล” และเห็นว่าเป็นค�ำศิริมงคล จึงได้เรียกชื่อหมู่บ้านศรีมงคลนี้กันมาตลอด KANCHANABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 81

81

20/07/61 11:39:15


Young Tone Health park Resort

“รีสอร์ทในอุทยานสวนป่าพฤษชาติกลางขุนเขาและแม่น�้ำแควน้อย”

ยังโทน เฮ็ลธ ปาร์ค รีสอร์ท (Young Tone Health park Resort) รีสอร์ทอุทยานสวนป่าพฤษชาติท่ามกลางขุน เขาและแม่น�้ำแควน้อย ในจังหวัดกาญจนบุรี และด้วยความที่ยังโทน เฮ็ลธ ปาร์ค รีสอร์ท มีพื้นที่มากมายหลายร้อยไร่ เจ้าของสถานที่จึงเนรมิตสวนสาธารณะ เป็น เสมือนคล้ายอุทยานสวนป่าที่มีพันธ์ไม้ประดับต่างๆ มากมาย พร้อมบ้านพักแต่ละหลังที่ปลูกสร้างอยู่ท่ามกลางสวนไม้ประดับ

ลานชมดาวกว้ า งใหญ่ ปู ด ้ ว ยหญ้ า ญี่ปุ่นสวยงาม เพื่อการพักผ่อนในยามเย็น หรื อ ยามค�่ ำ คื น ซึ่ ง สามารถมองเ ห็ น วิ ว ทิวทัศน์ต ่า งๆ ของแม่น�้ำ แควน้อยได้อย่ า ง เต็มอิ่ม ยิ่งในช่วงเวลากลางคืนที่ท้องฟ้าเปิด ท่ า นจะได้ เ ห็ น ความสวยงามของดวงจั น ทร์ และดวงดาวนับล้านดวงในท้องฟ้า

กิจกรรมเพื่อความบันเทิงที่คุณอาจไม่เคยสัมผัสมาก่อน การเล่นลอกเลื่อน เป็นเกมกีฬาท้าทายส�ำหรับผู้กล้า ซึ่งหอลอกเลื่อนจะมี 2 ฝั่งเชื่อมโยง ข้ามแม่น�้ำแควน้อย กับระยะทางลอกเลื่อนไม่ต�่ำกว่า 500 เมตร และท่องเที่ยวในแพแม่น�้ำ อีกหนึ่งการพักผ่อนและสร้างสรรค์ความบันเทิงให้กับผู้เข้าพัก ที่รีสอร์ท โดยทางรีสอร์ทจะมีเรือลากจูงแพล่องตามแม่น�้ำแควน้อย เพื่อชมทิวทัศน์ที่สวยงามของ 2 ฝั่งแม่น�้ำ หรือจัดกิจกรรมทางน�้ำได้อย่างสบาย 82 SBL บันทึกประเทศไทย I LOP BURI

2

.indd 82

19/7/2561 16:25:05


สระว่ายน�้ำขนาดใหญ่ที่จัดสร้างขึ้นเพื่อการพักผ่อนในแบบของรีสอร์ทสปา และ สระอาบน�้ำขนาดเล็กที่มีไว้เพื่อการผ่อนคลายสะดวกสบายด้วยห้องอาหารขนาดใหญ่ ที่สามารถจุคนได้นับร้อย ถึง 3 ห้อง ตั้งอยู่ใน 3 โซนของรีสอร์ท ที่สามารถปรับ เปลี่ยนเป็นสถานที่จัดเลี้ยงส�ำหรับกรุ๊ปหรือคณะของผู้เข้าพักได้อย่างเหลือเฟือ

ยังโทน เฮ็ลธ ปาร์ค รีสอร์ท สามารถ รองรับนักท่องเที่ยวได้มากถึง 250 ท่าน ห้อง สัมมนาสามารถรองรับได้ถึง 150 ท่าน มีทั้ง บ้านเดี่ยว ขนาด 1 ห้องนอน 1 ห้องน�้ำ มีหลาย หลัง สามารถเข้าพักได้ ตั้งแต่ หลังละ 2 ท่าน ไปจนถึงหลังละ 8 ท่าน บ้านหลังใหญ่ ขนาด 2 ห้องนอน 2 ห้องน�้ำ 1 ห้องโถง เข้าพักได้ 6 ท่าน บ้านแบบ VIP ขนาด 4 ห้องนอน 3 ห้องน�้ำ 1 ห้องโถง 1 ห้องอาหาร สามารถเข้าพักได้ 10 ท่าน เรือนรวมขนาดใหญ่ สามารถเข้าพัก ได้ 25 ท่าน ขนาด 8 ห้องน�้ำและ เรือนแพ มีทั้ง แบบพักได้ห้องละ 2 ท่านหรือ 3 ท่าน

ห้องพักบนเรือนแพมีมากมายหลายสิบห้อง พร้อมทั้งมุมนั่งพักผ่อนที่กว้างขวางภายนอก ห้องพักสามารถจัดกิจกรรมต่างๆ เช่น สนุกสนานกับการตกปลาในแม่น�้ำ และส�ำหรับผู้ที่ชื่นชอบ กับกีฬาตีกอล์ฟ ยังโทน เฮ็ลธ ปาร์ค รีสอร์ท มีสนามกอล์ฟให้ทุกท่านได้ประลองฝีมือได้อีกด้วย ห้องอาหาร มีห้องอาหาร 3 แห่ง อยู่ติดริมแม่น�้ำ เมนูแนะน�ำ ต้มย�ำเห็ดโคน น�้ำพริกปลาป่น ผักสด ไข่เจียวทรงเครื่อง ลอดช่องน�้ำกะทิ และรับจัดอาหารเป็น แบบกรุ๊ป

ยังโทนเฮ็ลธปาร์ค รีสอร์ท 177 / 1 ม. 3 ต. ศรีมงคล อ. ไทรโยค จ.กาญจนบุรี ส�ำรองที่พักและติดต่อสอบถามได้ที่ 081-9037857 , 081-9875982 , 02 – 747-9039 - 41 , 02-398-9615 Fax : 02 -393-0976 LOP BURI I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 83

83

19/7/2561 16:25:09


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดบึงหัวแหวน พระอดิศักดิ์ ถาวรปญโญ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

วั ด บึงหัวแหวน ตั้งอยู่เลขที่ 99/9 หมู่ที่ 4 ต�ำบลบ่อพลอย อ�ำเภอบ่อพลอย

จั ง หวั ดกาญจนบุรี เป็น วัด ราษฎร์ สังกัด คณะสงฆ์ ม หานิ ก าย ประวั ติ โ ดยสั ง เขปของวั ด สร้ า งเมื่ อ พ.ศ.2517 ได้ รั บ พระราชทานวิ สุ ง คามสี ม า เมื่ อ วั น ที่ 30 ธั น วาคม พ.ศ.2518 โดยมีผู้สร้างหรือผู ้ ส ถาปนา คื อ นายเที ย น การะเกตุ และ นายสุ น ทร แก้ วศรีสุกใส เป็น ผู้ยกที่ดิน ให้สร้างวั ด ต่ อมาชาวบ้ า นมี จิ ต ศรั ท ธาจึ ง ช่ ว ยกั น สร้างเสนาสนะ มีอุโบสถ ศาลาการเปรียญ และกุฏิสงฆ์ เป็นต้น มีเนื้อที่ตั้งวัดจ�ำนวน 31 ไร่ 2 งาน 96 ตารางวา มี ที่ ธ รณี ส งฆ์ จ� ำ นวน 1 แปลง ตั้ ง อยู ่ ห มู ่ ที่ 1 ต� ำ บลบ่ อ พลอย อ� ำ เภอบ่ อ พลอย จังหวัด กาญจนบุรี เนื้อ ที่ 45 ไร่ - งาน 3 ตารางวา 84

ท�ำเนียบเจ้าอาวาส 1.พระครูวัตตสารโสภณ ด�ำรงต�ำแหน่ง พ.ศ.2512 - พ.ศ.2528 2.พระสนม ด�ำรงต�ำแหน่ง พ.ศ.2529 - พ.ศ.2532 3.พระครูวรกาญจนาภรณ์ ด�ำรงต�ำแหน่ง พ.ศ.2532 - พ.ศ.2556 4.พระอดิศักดิ์ ถาวรปญโญ ด�ำรงต�ำแหน่ง พ.ศ.2556 - ปัจจุบัน

SBL บันทึกประเทศไทย I KANCHANABURI

.indd 84

19/07/61 14:55:17


HIST ORY OF BUDDHISM

บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดบึงหล่ม พระครูวาปีกาญจนคุณ (ประจวบ นราสโภ) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

วั ด บึงหล่ม ตั้งอยู่ที่หมู่ 5 ต�ำบลบ่อพลอย อ�ำเภอบ่อพลอย จังหวัดกาญจนบุรี

เดิ ม เป็ น วั ด ร้ างสมัยกรุงศรีอ ยุธยาตอนปลาย ประมาณ 300 กว่ า ปี ม าแล้ ว และได้ บู ร ณะ จากวั ด ร้ า งให้วัด มีพระตั้งแต่วัน ที่ 16 มกราคม พ.ศ.2509 เป็ น ต้ น มา ต� ำ นานบ้านบึงหล่ม จากค�ำ บอกเล่าของภู มิ ป ั ญญาผู ้ สู ง อายุ 2 ท่ า นคื อ นายกุ ญทน รุ ่ ง สว่ า ง และนายธีรพัฒน์ อ�ำ นวยเกียรติ เล่า ว่ า ประวั ติที่ เกี่ ย วข้ องกั บ วั ดบึ ง หล่ ม ที่ เดิ ม น่ า จะไม่ ใ ช่ ชื่ อ บึงหล่ม แต่เ นื่อ งจากอยู่ติด กับ ล�ำตะเพิ น ที่ ใช้ เป็ น เส้ น ทางสั ญจรในอดี ต

มีประเพณีชักพระ มีวัดเก่าแก่ มีประวัติเล่าว่า สมัยก่อนมีวัดทุ่งสมอจะมาขอน�ำพระไปบูชา ซึ่งในขณะนั้นมีสององค์ องค์น้องใหญ่กว่า องค์ พี่ อ งค์ เ ล็ ก กว่ า การเดิ น ทางสมั ย นั้ น มี ล�ำน�้ำล�ำตะเพินไหลผ่านเส้นทางนี้ จึงจะน�ำ พระทั้งสองรูปขึ้นเรือ เมื่อเอาขึ้นเรือชักตาม แม่น�้ำมา แต่พอเดินทางมาถึง บริเวณท้ายวัด เกิดน�้ำในล�ำตะเพินหมุนท�ำให้เรือที่อัญเชิญ พระพุทธรูปมาล่มลง จึงเชื่อว่าเป็นบึงเรือล่ม จมหายไปตรงนั้น เรียกว่า “บึงเรือล่ม” และ เรียกเพี้ยนมาเป็น “บึงหล่ม” KANCHANABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 85

85

20/07/61 11:40:54


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดหนองรี

พระอธิการจนธรรมพิทักษ์ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

วั ด หนองรี เป็นวัดราษฎร์ สังกัด

คณะสงฆ์มหานิกาย มีพนื้ ทีว่ ดั ทัง้ หมด 35 ไร่ 2 งาน 89 ตารางวา ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 288 ห มู ่ ที่ 2 บ ้ า น ห น อ ง รี ต� ำ บ ล ห น อ ง รี อ� ำ เภอบ่ อ พลอย จั ง หวั ด กาญจนบุ รี เริ่มก่อตั้งครั้งแรกในราว ปี พ.ศ.2460 ผู ้ ด� ำ เนิ น การก่ อ สร้ า งในครั้ ง แรก คื อ ก� ำ นั น พี ได้ รั บ พระราชทานวิ สุ ง คามสี ม า เมื่ อ วั น ที่ 12 มกราคม พ.ศ.2549 ต�ำบลหนองรี ประกอบชุมชน 5 ชุมชน คือ1.ชุมชนหนองรีสร้างสรรค์ 2.ชุมชนร่วมใจ สามัคคี 3.ชุมชนพ่อปู่หนองรี 4. ชุมชนพัฒนา ประชาสั น ติ สุ ข และ 5.ชุ ม ชนล� ำ ตะเพิ น ประชากรส่ ว นใหญ่ อ าศั ย อยู ่ ทางตอนกลาง ของพื้นที่ ประชากรส่วนใหญ่ท�ำการเกษตร และนับถือศาสนาพุทธ มีประเพณีส�ำคัญคือ ประเพณีสงกรานต์ไทยๆ และ ประเพณีไทยทรงด�ำ

86

หรื อ ลาวโซ่ ง ซึ่ ง เป็ น ประเพณี ส งกรานต์ ตามแบบฉบับของชาวไทยทรงด�ำทีม่ เี อกลักษณ์ ที่ โ ดดเด่ น โดยมี ก ารร่ ว มท� ำ บุ ญ ตั ก บาตร ถวายผ้าป่า ก่อพระเจดีย์ทราย ชมนิทรรศการ ชาวไทยทรงด�ำ การแสดงคอนฟ้อนแคน ซึ่ง ในงานนีช้ าวไทยทรงด�ำจากต่างพืน้ ที่ ต่างอ�ำเภอ ต่างจังหวัด จะเดินทางมาร่วมกันจ�ำนวนมาก พร้อมต้อนรับทุกท่านด้วยความอบอุ่น และ

ยังมีประเพณีแห่เทียนพรรษาที่จัดเป็นประจ�ำ ทุ ก ปี ด ้ ว ย โดยประเพณี ต ่ า งๆ มี แ ก่ น ของ ศาสนาพุ ท ธเป็ น หลั ก ซึ่ ง สะท้ อ นออกมา ในวิถีชีวิต การประพฤติปฏิบัติ และการรักษา ซึ่ ง ขนบประเพณี ต ่ า งๆ ก็ เ พื่ อ รั ก ษาแก่ น พระพุทธศาสนาไว้ ไม่ให้สูญไปตามกาลเวลา

SBL บันทึกประเทศไทย I KANCHANABURI

.indd 86

20/07/61 11:45:16


HIST ORY OF BUDDH ISM

บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดหนองหว้า

พระอธิการฮอลล์ ปสนฺโน ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

วัดหนองหว้า ตั้งอยู่เลขที่ 131/2 ต�ำบลช่องด่าน อ�ำเภอบ่อพลอย จังหวัดกาญจนบุรี

สั ง กั ดคณะสงฆ์ม หานิกาย ต� ำ บลช่ องด่าน เดิม เป็น หมู่บ ้านหนึ่งอยู่ใ นต� ำ บลบ่ อพลอย ต่ อมาได้ แบ่ ง การปกครอง ออกเป็ น ต� ำ บลช่อ งด่าน เมื่อ ปี พ.ศ.2534 สาเหตุ ที่ ชื่ อต� ำ บลช่ องด่ า น เมื่ อก่ อนเป็ น จุ ดที่ ทางราชการใช้ ส� ำ หรั บ ตั้ ง ด่ า นใหญ่ ต รวจรถทุ ก คั น ที่ วิ่ ง ผ่ า นเพราะเป็ น ทางแยกที่ จ ะไปได้ หลายหมู่บ้าน อ�ำเภอข้างเคียง ชาวบ้านจึงเรียก “ช่องด่าน” มาจนถึงปัจจุบัน โดยชาวบ้าน ในย่ า นนี้ ส่ ว นใหญ่เ ป็น เกษตรกร ท�ำ การเพาะปลู ก เป็ น หลั ก และนั บ ถื อศาสนาพุ ท ธ

ด้วยความที่เป็นเมืองพุทธ และประชาชนในต�ำบลหนองหว้า ซึ่งช่วยกันสร้างวัดหนองหว้าขึ้น เพื่อเป็นศูนย์รวมจิตใจ ส่วนใหญ่ท�ำการเกษตรเป็นหลัก คล้ายกับสังคมอินเดียในสมัยพุทธกาล ที่มาของหนองหว้า อาจมีต้นหว้ามากมาย ท�ำให้เชื่อมโยงไปถึงเมื่อครั้งที่เจ้าชายสิทธัตถะมี พระชนมายุ 7 ปี และทรงประทับนั่งสมาธิอยู่ใต้ต้นไม้ ที่ภาษาปฐมสมโพธิเรียก ว่า “ชมพูพฤกษ์” ซึง่ คนไทยเราเรียกต้นหว้านัน่ เอง เหตุทเี่ จ้าชายมาประทับอยูใ่ ต้ตน้ หว้าแห่งนี้ ก็เพราะพระราชบิดา ทรงจัดให้มพี ระราชพิธจี รดพระนังคัลแรกนาขวัญ ทีท่ งุ่ นานอกเมืองกบิลพัสดุต์ ามพระราชประเพณี พระราชบิดา ซึ่งเสด็จแรกนาด้วยพระองค์เอง หรือจะเรียกว่าทรงเป็นพระยาแรกนาเสียเองก็ได้ โปรดให้เชิญเสด็จเจ้าชายไปด้วย แล้วเจ้าชายทรงปลีกวิเวกไปเพียงล�ำพัง ประทับนั่งขัดสมาธิ อยู่ล�ำพังพระองค์เดียว โดยที่พระสหาย พระพี่เลี้ยง และมหาดเล็กทั้งหมดไปชมพระราชพิธี แรกนากัน เจ้าชายทรงอยู่ล�ำพังพระองค์ภายใต้ต้นหว้า ก�ำหนดสติอยู่กับลมหายใจเข้าและ ลมหายใจออกเรียกว่า อานาปานสติจนพระหทัยบริสุทธิ์ปราศจากความคิดปรุง อย่างวิสัยผู้จะ ส�ำเร็จเป็นพระพุทธเจ้าในภายหน้า ได้รับความวิเวกก็เกิดเป็นสมาธิขั้นแรกที่เรียกว่า “ปฐมฌาน” และนั่นคือจุดเริ่มต้นของการตรัสรู้ในอีก 29 ปีข้างหน้า

ร่วมสร้างเส้นทางบุญกับวัดหนองหว้า โทร. 08-9803-2420 KANCHANABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 87

87

23/07/61 10:40:28


ท่องเที่ยวให้จุใจ แล้วพักผ่อนสบายๆ กับเรา

EURO Resort

ยูโร รีสอร์ท

ยู โ รรี ส อร์ ท รี ส อร์ ท ในสวน โรงแรมขนาดเล็กส�ำหรับทุกท่าน ยินดี ต้อนรับ เปิดบริการห้องพักรายวัน ตลอด 24 ชั่ ว โมง พร้ อ มอาหาร และเครือ่ งอ�ำนวยความสะดวกครบครัน ฟรี WIFi และที่จอดรถกว้างขวาง ท่าน สามารถเดินทางไปยังเมืองกาญจนบุรี ทุกจุดอย่างสะดวกสบาย จากอ�ำเภอบ่อพลอยมากมายไป ด้ ว ยแหล่ ง ชอปปิ ้ ง สองข้ า งทาง สู ่ เ ส้ น ทาง กาญจนบุ รี - บ่ อ พลอย พบเห็น เหมืองพลอยอยู่ทั่วไป ในตัว อ�ำเภอบ่อพลอย เป็น แหล่งร้านขาย พ ล อ ย ที่ ไ ด ้ จ า ก ก า ร ท� ำ เ ห มื อ ง อุตสาหกรรมได้แก่ พลอยไพลิน นิล และบุ ษ ราคั ม ท่ า นสามารถเลื อ กชม อัญมณีในเมืองอย่างมีความสุข พักกับเรา ยูโร รีสอร์ท พร้ อ มต้ อ นรั บ ทุ ก ท่ า นในทุ ก วั น การเดิ น ทาง ในจั ง หวั ดที่ เ งี ย บสงบ แห่งนี้ มีร้านอาหารริมแม่น�้ำที่น่าสนใจ มากมาย ซึ่งกลายเป็นกิจกรรมส�ำคัญ อย่ า งหนึ่ ง ที่ ห ้ า มพลาดเมื่ อ เดิ น ทาง มาถึง 88

2

SBL บันทึกประเทศไทย I LOP BURI

.indd 88

ยูโรรีสอร์ท เราตอบโจทย์การท่องเที่ยวส�ำหรับครอบครัวครบเครื่อง 19/7/2561 16:45:50


เมื่อเด็กๆ อยากให้อาหารยีราฟ เรา อยู่ไม่ไกลจากสวนสัตว์เปิดซาฟารีปาร์ค แอนด์แคมป์ ซึ่งเป็นสวนสัตว์เปิดแห่งแรก ของกาญจนบุ รี ที่ นั ก ท่ อ งเที่ ย วจะได้ สัมผัสกับสัตว์ป่านานาชนิดอย่างใกล้ชิด

พักผ่อนวันสบายๆ กับเรา บริการห้องพักรายวันตลอด 24 ชั่วโมง ทุกการเดินทางของท่าน คือ ความมั่นใจในบริการของเรา หายเหนื่อยทันที เมื่อพักกับเรา ยูโรรีสอร์ท ตากอากาศ ท่ามกลางสวนเขียวขจี มีสนามหญ้าหน้ารีสอร์ท กับมุมถ่ายรูปเก๋ไก๋ ชวนให้เดินเล่น และพักผ่อน ในวันพิเศษของคุณ คือ วันบริการอันประทับใจของเรา

ตั้งอยู่เลขที่ 111/1 หมู่ 7 ต�ำบลหลุมรัง อ�ำเภอบ่อพลอย จังหวัดกาญจนบุรี 71160 ส�ำรองห้องพักได้ที่ โทร. 097-954-6222

LOP BURI I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 89

89

19/7/2561 16:45:58


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดสนามแย้

พระใบฎีกาทม ขนฺติสาโร ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

วั ด สนามแย้ ตั้งอยู่ที่ หมู่ 6 ต�ำบลสนามแย้ อ�ำเภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี

สั ง กั ด คณะสงฆ์ ม หานิ ก าย ต� ำ บลสนามแย้ เป็ น ต� ำ บลที่ ป ระชาชนส่ ว นหนึ่ ง พู ด ภาษาไทย ภาคกลาง และอี ก ส่ ว นจะพู ด ภาษาไทยอี ส านและมี ค นไทยเชื้ อ สายจี น อยู ่ บ างหมู ่ บ ้ า น ประชาชนส่ ว นใหญ่ นั บ ถื อ ศาสนาพุ ท ธ เป็ น ต� ำ บลที่ เ ก่ า แกต� ำ บลหนึ่ ง ของอ� ำ เภอท่ า มะกา อยู ่ ใ นเขตการปกครองของอ� ำ เภอท่ า มะกา ประกอบด้ ว ย 7 หมู ่ บ ้ า น เป็ น พื้ น ที่ ร าบลุ ่ ม มี ล�ำห้วยธรรมชาติไหลผ่านส่วนกลางของต�ำบล มีระบบน�้ำชลประทาน พื้นที่ทั่วไปใช้ ในการ ปลู ก พื ช และเลี้ ย งสั ต ว์ โดยประชาชนมี วั ด สนามแย้ เ ป็ น ที่ พึ่ ง ทางใจ ทุ ก วั น ใส่ บ าตรท� ำ บุ ญ วั น โกน วั น พระมาปฏิ บั ติ ธ รรมที่ วั ด กั น เป็ น ปกติ 90

SBL บันทึกประเทศไทย I KANCHANABURI

.indd 90

20/07/61 11:16:21


ปัจจุบันวัดยังต้องซ่อมบ�ำรุงเสนาสนะอยู่ เนืองๆ ใน สังยุตตนิกาย สคาถวรรค พระพุทธเจ้า ตรั ส ว่ า ผู ้ ใ ดให้ ที่ พั ก อาศั ย ผู ้ นั้ น เชื่ อ ว่ า ให้สิ่งทั้งปวง และในวนโรปสูตร กล่าวว่า ผู้ให้ที่พักอาศัย ฯลฯ ย่อมมีบุญเจริญในกาล ทุกเมื่อ ทั้งกลางวัน ทั้งกลางคืน เขาตั้งอยู่ ในธรรม สมบูรณ์ด้วยศีล เป็นผู้ไปสวรรค์ อีกทั้งในวิหารทานคาถา พระพุทธองค์ ทรงยืนยันให้เห็นชัดเจนว่า การถวายวิหาร (วัด) ทีอ่ ยูอ่ าศัยแก่ภกิ ษุสงฆ์ เป็นสมมติฐานก่อให้เกิด ประโยชน์สุข ทั้งผู้รับผละผู้ถวาย ซึ่งทรงแสดง อานิสงส์ไว้วา่ เป็นยอดของสังฆทาน เป็นปัจจัย ให้ ป ระสบความเกษมศานต์ จนบรรลุ ถึ ง

พระนิพพานเป็นที่สุด โดยตรัสไว้ว่า “ เสนาสนะที่ อ ยู ่ อ าศั ย ย่ อ มบรรเทา ความหนาว ความร้อน ป้องกัน เนื้อร้าย ป้ อ งกั น งู แ ละยุ ง ได้ ป ้ อ งกั น ฝนก็ ไ ด้ แม้ ลมแดดกล้าที่ปรากฏขึ้น ก็บรรเทาได้” ดังนั้นการถวายกุฏิวิหารที่อยู่อาศัยแก่ พระสงฆ์เพื่อเร้นอยู่ของผู้ต้องการความสงบ เพื่อความสุข เพื่อฌานการเพ่ง เพื่อวิปัสสนา การเห็นแจ้ง พระพุทธเจ้าทรงสรรเสริญว่า เป็นทานอันเลิศ และทุกปี วัดสนามแย้ จัดงาน ปริวาสกรรม เป็นประจ�ำในวันที่ 1 มีนาคม โดย นิมนต์พระภิกษุสงฆ์เข้าร่วมปริวาสกรรม ขอเชิ ญ ชวนพุ ท ธศาสนิ ก ชนผู ้ ใ ฝ่ บุ ญ กุ ศ ล

ร่วมปฏิบตั ธิ รรมและร่วมท�ำบุญถวายภัตตาหาร น�้ ำ ปานะ เครื่ อ งบริ ข าร พระสงฆ์ ผู ้ ป ฏิ บั ติ วุฏฐานวิธี ณ วัดสนามแย้ ได้ทุกวัน

ขอเชิญ

ร่วมสร้างเส้นทางบุญ กับวัดสนามแย้ ติดต่อเจ้าอาวาส โทรศัพท์ 08-1193-0965 KANCHANABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 91

91

20/07/61 14:41:50


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดดอนชะเอม

พระะอธิการอัมพร ถิรจิตโต ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

วั ด ดอนชะเอม ตั้งอยู่หมู่ที่ 2 ต�ำบลดอนชะเอม อ�ำเภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี

สั ง กั ด คณะสงฆ์ ม หานิ ก าย มี พื้ น ที่ ทั้ ง หมด 44 ไร่ 3 งาน 80 ตารางวา ตามโฉนด เลขที่ 56366 ก่ อ ตั้ ง เมื่ อ พ.ศ.2466 ได้ รั บ พระราชทานวิ สุ ง คามสี ม า พ.ศ.2472 เขตวิ สุ ง คามสี ม า กว้ า ง 16 เมตร ยาว 28 เมตร ได้ รั บ แต่ ง ตั้ ง ให้ เ ป็ น โรงเรี ย น พระปริ ยั ติ ธ รรมแผนกธรรม เปิ ด สอนมาตั้ ง แต่ ป ี พ.ศ.2470 ต่ อ มาได้ ท� ำ การสร้ า ง อุ โ บสถหลั ง ใหม่ เ มื่ อ วั น ที่ 20 สิ ง หาคม 2553 ได้ รั บ พระราชทานวิ ง สุ ง คามสี ม า วั น ที่ 27 พฤษภาคม 2557 เขตวิ สุ ง คามสี ม า กว้ า ง 28 เมตร ยาว 44 เมตร 92

SBL บันทึกประเทศไทย I KANCHANABURI

.indd 92

20/07/61 15:08:18


น้อมกราบสักการะสิ่งศักดิ์สิทธิ์ภายในวัดชะเอม สมเด็จองค์ปฐม สร้ า งขึ้ น ตามแบบพุ ท ธลั ก ษณะ จาก วัดจันทราราม(วัดท่าซุง) จังหวัดอุทยั ธานี มีขนาด หน้าตักกว้าง 2.90 เมตร ความสูง 3.49 เมตร หล่อด้วยทองสัมฤทธิ์ทั้งองค์ ถึง 200 กิโลกรัม ด้วยแรงศรัทธาของพุทธศาสนิกชนชาวบ้าน ดอนชะเอมและผู้มีจิตศรัทธา พระสีวลีเถระ อี ก หนึ่ ง สิ่ ง ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ที่ ป ระดั บ ด้ ว ยนิ ล แท้ จากแรงศรัทธาของพุทธศาสนิกชน มีความสูง 9 เมตร ซึ่ ง น่ า จะเป็ น องค์ ใ หญ่ ที่ สุ ด ในโลก พระสีวลีเถระ เป็นพระอรหันต์ทไี่ ด้รบั การยกย่อง ในทางผู้มีลาภมากด้วยอ�ำนาจบุญที่ได้บ�ำเพ็ญ สัง่ สมมาตัง้ แต่อดีตชาติ ประวัตขิ องท่านค่อนข้าง แปลกไปกว่าพระมหาเถระองค์อื่นๆ ท่านต้อง อยู่ในครรภ์พระมารดาอยู่ถึง 7 ปี กับอีก 7 วัน ด้ ว ยอ� ำ นาจบุ ร พกรรมตามมาส่ ง ผล และ พระพุ ท ธองค์ ท รงยกย่ อ งให้ เ ป็ น ต� ำ แหน่ ง เอตทัคคะในบรรดาภิกษุผู้เลิศด้วยลาภ และ เลิศด้วยยศทัง้ หลาย ในศาสนาของพระองค์ แม้ พระมารดาคือ พระนางสุปปฺ วาสา ผูเ้ ป็นราชบุตรี ของเจ้ า โกลิ ย ะ ก็ ท รงเป็ น เอตทั ค คะผู ้ ก ว่ า พระสาวิกาทั้งหลายผู้ถวายสิ่งของอันประณีต การทีพ่ ระพุทธองค์ได้ทรงยกย่องท่านในต�ำแหน่ง เอตทัคคะดังกล่าวก็เป็นไปตามความปรารถนา

ของท่านมาแต่ในอดีตเป็นปัจจัยส่งผลให้ท่าน เจริญด้วยลาภสักการะ โดยมีเทพยดา นาค ครุฑ และมนุษย์ทั้งหลาย น�ำมาถวายโดยมิขาดตก บกพร่อง ไม่ว่าท่านจะอยู่ในที่ใดๆ ชาวพุทธ มีความเชื่อว่า ผู้ใดบูชาพระสีวลีแล้วจะท�ำให้ เกิดโชคลาภและความร�่ำรวย หลวงพ่อขาว พระพุทธรูปปางมารวิชัย มีขนาดหน้าตัก กว้าง 5.50 เมตร สูง 8.90 เมตร ปูชนียวัตถุ ทีส่ ำ� คัญของชาวบ้านดอนชะเอมให้ความเคารพ และศรั ท ธา ได้ ร ่ ว มกั น เทปู น หล่ อ องค์ พ ระ แล้วเสร็จภายในวันเดียว พระครูสงั ฆรักษ์สมศักดิ์ (สมศักดิ์ สิริมงฺคโล) เจ้าอาวาสวัดดอนชะเอม กล่าวว่าสร้างหลวงพ่อเพื่อเป็นพุทธบูชา และ เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจ หลวงพ่อโต พระประธานประจ�ำอุโบสถ เป็นพระพุทธรูปปางสมาธิ มีขนาดหน้าตักกว้าง 5.90 เมตร สูง 8.19 เมตร หล่อด้วยทองเหลือง ทัง้ องค์ นับว่าเป็นพระพุทธรูปทีม่ พี ทุ ธลักษณะ ที่งดงามเป็นอย่างมาก ปัจจุบันหลวงพ่อโต แห่งวัดดอนชะเอม ประดิษฐานในอุโบสถหลังใหม่ ซึ่งได้มีการจัดงานสมโภชผูกพัทธสีมา ปิดทอง ฝังลูกนิมิต ระหว่างวันที่ 18 - 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2558 ที่ผ่านมา

งานวัดดอนชะเอมประจ�ำปี นอกจากการจัดกิจกรรมต่างๆ ในวันส�ำคัญทางพระพุทธศาสนาแล้ววัดดอนชะเอม ยังมีกำ� หนด จัดงานประจ�ำปี ดังนี้ งานมุ ทิ ต าจิ ต หลวงปู ่ ป ลื้ ม อดี ต เจ้ า อาวาสวั ด ดอนชะเอม ทอดผ้ า ป่ า สามั ค คี แ ละ เทศกาลสงกรานต์ ระหว่างวันที่ 13 - 17 เมษายน ของทุกปี งานปริวาสกรรม วัดดอนชะเอม ในวันที่ 21 - 30 พฤศจิกายน ของทุกปี ซึ่งในแต่ละปี จะมีพระภิกษุสงฆ์จากทั่วประเทศ ได้เข้ามาประพฤติปริวาสเป็นจ�ำนวนมาก รวมทั้งยังมีสามเณร อุบาสก - อุบาสิกา ได้เข้ามาร่วมปฏิบัติธรรมด้วยเป็นจ�ำนวนมาก พุทธศาสนิกชนจะได้ร่วมท�ำบุญ ตักบาตร ถวายภัตตาหารแด่พระภิกษุสงฆ์ การจัดกิจกรรมสวดมนต์ข้ามปีในวันสิ้นปีเก่า วันที่ 31 ธันวาคม และต้อนรับปีใหม่ วันที่ 1 มกราคม ของทุกปี KANCHANABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 93

93

20/07/61 15:08:02


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดวังขนายทายิการาม

พระครูกาญจนสุตาคม ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

วั ด วังขนายทายิการาม ตั้งอยู่เลขที่ 251 ถนนแสงชูโต บ้านวังขนาย หมู่ที่ 2

ต� ำ บลวั ง ขนาย อ� ำ เภอท่ า ม่ ว ง จั ง หวั ด กาญจนบุ รี

“บ่อน�้ำแร่” วัดวังขนายทายิการาม

ไหว้พระเพื่อความเป็นสิริมงคล แล้วให้ธรรมชาติบ�ำบัด วัดวังขนาย มีบ่อน�้ำแร่ ซึ่งมีอุณหภูมิ 42 องศาเซลเซียส ในน�้ำมีแร่ธาตุอยู่หลายชนิด เหมาะ ส�ำหรับคนที่เป็นอัมพฤกษ์ อัมพาต เหน็บชา แขนขาไม่มีแรง คนเลือดลมเดินไม่สะดวก มีสิว มีฝ้า ปวดตามร่างกาย โรคผิวหนัง โรคปวดกระดูกให้ดีขึ้น จึงได้สร้างบ่อส�ำหรับให้คนใช้อาบ แช่ตัว เป็นจ�ำนวน 57 บ่อ ซึ่งได้รับการรับรองจากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เปิดเวลา 05.00 - 21.00 น. ทุกวัน โทร.08-3544-6695 ไม่มีค่าใช้จ่ายใดๆ ทั้งสิ้น 94

SBL บันทึกประเทศไทย I KANCHANABURI

.indd 94

20/07/61 11:58:29


HIST ORY OF BUDDH ISM

บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดเขาสามสิบหาบ พระครูกิตติกาญจนวงศ์ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

วั ด เขาสามสิบหาบ ตั้งอยู่หมู่ที่ 3 ต�ำบลเขาสามสิบหาบ

อ� ำ เภอท่ า มะกา จั ง หวั ด กาญจนบุ รี สั ง กั ด คณะสงฆ์ ม หานิ ก าย เป็ น ส� ำ นั ก ปฏิ บั ติ ธ รรมประจ� ำ จั ง หวั ด กาญจนบุ รี แห่ ง ที่ 19

ต�ำบลเขาสามสิบหาบ ตามต�ำนานเล่าต่อกันมา ว่ า ในสมั ย ที่ ป ระเทศไทยได้ ท� ำ สงครามกั บ ประเทศพม่าท�ำให้ราษฎรที่อยู่ในเขตเส้นทาง เดินทัพและในเขตสู้รบได้รับความเดือดร้อน ราษฎรในเขตดังกล่าวจึงได้รวมกลุ่มกันอพยพ หนีภัยสงครามและได้น�ำสัมภาระต่างๆ ติดตัว มาโดยเฉพาะทองค�ำกลุ่มที่อพยพได้รวบรวม ได้ ป ระมาณ 30 หาบ และน� ำ มาติ ด ตั ว มา ปลูกสร้างบ้านเรือนอยู่อาศัย ณ บริเวณแห่งนี้ จึงได้เรียกชื่อบริเวณนี้ว่า “บ้านสามสิบหาบ” โดยมีพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบสูง และราบลุ่ม

มี ภู เขาเตี้ ย ๆ และมี ค ลองชลประทานผ่ า น ทุ ก หมู ่ บ ้ า นเหมาะแก่ ก าร ท� ำ การเกษตร ทุ ก ประเภท ประชาชนส่ ว นใหญ่ นั บ ถื อ พระพุทธศาสนา โดยมีวัดเขาสามสิบหาบ ซึ่ง เป็นส�ำนักปฏิบตั ธิ รรมประจ�ำจังหวัดกาญจนบุรี แห่งที่ 19 เป็นหลักใจของชาวบ้านในถิ่นนี้ ส� ำ หรั บ ส� ำ นั ก ปฏิ บั ติ ธ รรมประจ� ำ จั ง หวั ด ก�ำเนิดขึน้ จาก คณะสงฆ์ไทย โดยมหาเถรสมาคม ได้ออกระเบียบมหาเถรสมาคม ว่าด้วยการ จัดตัง้ ส�ำนักปฏิบตั ธิ รรมประจ�ำจังหวัด พ.ศ.2543 ขึ้นเพื่อก�ำหนดกฎเกณฑ์ในการจัดตั้งส�ำนัก

ปฏิบัติธรรมประจ�ำจังหวัด ซึ่งต้องเสนอผ่าน ความเห็ น ชอบตามล� ำ ดั บ เจ้ า คณะปกครอง คณะสงฆ์ โดย คั ด เลื อ กส� ำ นั ก ปฏิ บั ติ ธ รรม ที่ มี อ ยู ่ แ ล้ ว เพื่ อ ได้ รั บ การยกขึ้ น เป็ น ส� ำ นั ก ปฏิบัติธรรมประจ�ำจังหวัด หรือจัดตั้งส�ำนัก ปฏิบตั ธิ รรมขึน้ ใหม่ เพือ่ ประโยชน์ เพือ่ ความสุข ของประชาชนทุ ก พื้ น ที่ ใ นการน� ำ พระธรรม ค�ำสอนขององค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้ามาปฏิบตั ิ ตามหลักศีล สมาธิ ปัญญาจนเห็นกฎไตรลักษณ์ ตามความเป็นจริง คือ อนิจจัง ทุกขัง และ อนัตตา ก็จะพ้นจากทุกข์ทางใจทั้งปวงได้ KANCHANABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 95

95

20/07/61 11:18:43


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดโพธิ์ศรีสุขาราม (วัดโพธิ์เลี้ยว) พระใบฎีกาวินิจ สมจิตฺโต ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

วั ด โพธิ์ศรีสุขาราม (วัดโพธิ์เลี้ยว) ตั้งอยู่หมู่3 ต�ำบลวังศาลา อ�ำเภอท่าม่วง

จั ง หวั ดกาญจนบุรี เดิม ชื่อ วัด หัว พงษ์ ในขณะนั้น มี เจ้ า อาวาสรู ป แรก นามว่ า หลวงตาปั ้ น ต่ อ มาหลวงตาปั ้ น ออกธุ ด งค์ แ สวงหาวิ ช าความรู ้ และท่ า นก็ ไ ม่ ไ ด้ ก ลั บ มาที่ วั ด หั ว พงษ์ อี ก เลย ชาวบ้ า นจึ ง ไปนิ ม นต์ พระครู ว านกาญจนกิ จ (หลวงพ่ อ กริ่ ง ) มาจากวั ด ศี ร ษะทอง จั ง หวั ด นครปฐม เพื่ อ มาบู ร ณะวั ด หั ว พงษ์ จนเจริ ญ รุ ่ ง เรื อ งและเปลี่ ย นชื่ อ จาก วั ด หั ว พงษ์ มาเป็ น วั ด โพธิ์ ศ รี สุ ข าราม (โพธิ์ เ ลี้ ย ว) 96

SBL บันทึกประเทศไทย I KANCHANABURI

.indd 96

19/07/61 16:30:41


ประวัติพระครูวิธานกาญจนกิจ (หลวงพ่อกริ่ง)

พระครูวิธานกาญจนกิจ นามเดิมชื่อ กริ่ง จินดากูล เกิดเมื่อวันที่ 30 มีนาคม พ.ศ.2460 ตรงกับวันเสาร์ ขึ้น 8 ค�่ำเดือน 5 ปีมะเส็ง ที่บ้านทวน ต�ำบลบ้านทวน อ�ำเภอพนมทวน จั ง หวั ด กาญจนบุ รี บิ ด าและมารดาชื่ อ นายนาค และ นางเทียบ จินดากูล อุปสมบท เมื่อวันที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2483 ณ วัดท่าเรือ ต�ำบลท่าเรือ อ�ำเภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี โดยพระครูวรวัตตวิบูลย์ วัดเเสนตอ เป็นพระอุปัชฌาย์, พระอธิการวุ้น พุทธสโร วัดท่าเรือ พระกรรมวาจาจารย์, พระใจ วัดแสนตอ เป็นอนุสาวนาจารย์ สังกัดวัดวังศาลา ต�ำบลวังศาลา อ�ำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี และย้ายไปสังกัด วัดศรีษะทอง อ�ำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม เพื่อศึกษาธรรมและวิทยาคม จาก หลวงพ่ อ น้ อ ย นาวารั ต น์ เจ้ า อาวาส วัดศีรษะทอง เกจิชื่อดังของจังหวัดนครปฐม เจ้าต�ำหรับราหูอมจันทร์และวัวธนู การศึกษา พ.ศ.2490 สอบได้ นธ.เอก สังกัดวัดโพธิ์ศรีสุขาราม

ส่งเสริมการศึกษาแก่พระภิกษุสามเณร จนสามารถสอบได้ เ ปรี ย ญธรรม 6 ประโยค ช่วยสร้างอาคารเรียนวัดโพธิ์ศรีสุขาราม และได้ รั บ อุ บั ติ เ หตุ จ นขาเสี ย และเจ็ บ หลั ง จนถึงวาระสุดท้ายของชีวิต ดูแลอุปการะเด็ก เป็ น จ� ำ นวนหลายคน มรณภาพ วั น ที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ.2535 เวลา 16.30 น. ตลอดชีวติ บรรพชิตและความเป็นพระเถระ ของท่าน ได้สร้างคุณปู การแก่พระพุทธศาสนา ทุกด้าน ทั้งในการเผยแผ่พระธรรมค�ำสอน อย่ า งถู ก ต้ อ งตรงพระธรรมวิ นั ย และการ ช่วยเหลือสงเคราะห์ผู้คน อีกทั้ง มงคลวัตถุที่ ท่านจัดสร้างไว้มากมาย ก็เพื่อเป็นพละ เป็น ก� ำ ลั ง ใจให้ ศิ ษ ยานุ ศิ ษ ย์ แ ละผู ้ ค นที่ เ คารพ ศรั ท ธาในบวรพระพุ ท ธศาสนาได้ มี ที่ พึ่ ง คื อ พระรั ต นตรั ย อั น สู ง สุ ด และมี ต นเป็ น ที่ พึ่ ง แห่งตนในที่สุดนั่นเอง

KANCHANABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 97

97

19/07/61 16:31:06


เปิดกรุหลวงพ่อกริ่ง

ในปี พ.ศ.2547 โดย พระครู พิ ศิ ษ ฎ์ กาญจนาภรณ์(หลวงพ่อเริง) อดีตเจ้าอาวาส วั ด โพธิ์ ศ รี สุ ข าราม ได้ เ ปิ ด กรุ ห ลวงพ่ อ กริ่ ง เพื่อที่จะบูรณะพระอุโบสถ โดยครั้งแรกได้ เปิดที่ช่อฟ้าพระอุโบสถ ต่อมาได้เปิดที่ใต้ฐาน พระประธานในพระอุโบสถและลูกนิมิตเอก ตามล�ำดับส่วนมากพระทีพ่ บจะเป็นพระเนือ้ ดิน พิมพ์ตา่ งๆ พระท่ากระดาน ชินราชเนือ้ ทองเหลือง (หยดน�้ ำ ) โสธรใบโพธิ์ ตะกรุ ด ต่ า งๆ และ 98

พระของเกจิอาจารย์ท่านอื่นๆ อีกมากมาย เช่น หลวงพ่อกวย วัดโฆสิตาราม หลวงปูเ่ หรียญ วัดหนองบัว เป็นต้น และที่ขาดไม่ได้คือ ของ หลวงพ่อน้อย วัดศรีษะทอง พระอาจารย์ของ หลวงพ่อกริ่งเอง โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อต้องการเผยเเพร่ ความรู้พระเกจิอาจารย์ประจ�ำท้องถิ่น ให้ออก สู ่ ส าธารณชนโดยกว้ า ง ไม่ ใช่ ต ้ อ งการที่ จ ะ โอ้อวดเพียงแต่ประการใด เพียงเเค่ต้องการ

ให้ ผู ้ ค นเห็ น คุ ณ ค่ า ของพระพุ ท ธศาสนา โดยกว้าง กล่าวคือ อาจมีพระอาจารย์ที่ปฏิบัติ อยู่ในกฎระเบียบอย่างเคร่งครัด มีญาติโยม เคารพ ศรัทธา นับถือเป็นจ�ำนวนมาก แต่อาจ มีผู้คนมองข้ามไป เพราะ ความที่อยู่ห่างไกล ตัวเมือง จึงต้องการน�ำเสนอถึงความเป็นมา ดั ง จะกล่ า วต่ อ ไป ทั้ ง นี้ ห วั ง ว่ า ผู ้ ที่ ไ ด้ ศึ ก ษา คงได้รบั ประโยชน์ ความรู้ ความเข้าใจมากยิง่ ขึน้ ถ้าเกิดข้อผิดพลาดประการใดต้องขอประทานอภัย ณ โอกาสนี้

SBL บันทึกประเทศไทย I KANCHANABURI

.indd 98

19/07/61 16:31:33


ร�ำลึกถึงพระครูวิธานกาญจนกิจ (หลวงพ่อกริ่ง) “ พระครูเป็นพระสันโดษตามใจท่าน ไม่รบกวนใครจนเกินไป ยินดีในของที่มีอยู่ ทั้งเป็น ผู้เก็บของภายในวัดไม่ให้กระจัดกระจายเรี่ยราด อัฐบริขารเเละของพระซึ่งบวชเเล้ว พอลาสิกขา ท่ า นจะเก็ บ ไว้ เ เล้ ว เเจกจ่ า ยให้ กั บ ผู ้ ที่ มี ค วามต้ อ งการให้ เ ป็ น ประโยชน์ ต ่ อ ไป อนึ่ ง ท่ า นเป็ น พระเถระที่อดทนมั่นคง ซึ่งปรากฏว่าในฤดูเเล้งเกือบทุกปี พระจะลาสิกขาเกือบหมด ท่านจะเฝ้า วัดรูปเดียว ท่านอยู่ของท่านอย่างไม่เดือดร้อน พอใจในสิ่งที่เป็นไป และเวลาที่มีคณะสงฆ์ ไปเยี่ยมเยือนครั้งใด หรือขอความช่วยเหลือใดๆ ท่านช่วยไม่เคยหลบหลีก หรือรังเกียจ อีกทั้ง ยังมีเมตตาเป็นที่ตั้ง โดยที่เห็นเด็กก�ำพร้า หรือ ขาดไร้ผู้อุปการะ ท่านก็จะอุปการะจนเติบใหญ่ กระทั่งเลี้ยงตนเองได้ เมื่อท่านมรณภาพลงจึงขาดพระเถระผู้สืบทอดทายาททางพุทธศาสนาไป อีกองค์หนึ่ง ขอวิญญาณท่านจงไปสู่สุคติ เเละ มีความบริสุทธิ์ผุดผ่องในสัมปรายภพ เทอญ ” พระธรรมคุณาภรณ์ เจ้าคณะจังหวัดกาญจนบุรี

“ นับเเต่กระผมได้มารับใช้บ้านโพธิ์เลี้ยว ตั้งเเต่ พ.ศ.2532 เป็นต้นมาได้มีโอกาสใกล้ชิด กับพระเดชพระคุณท่านหลวงพ่อกริง่ ในฐานะ โรงเรี ย นอยู ่ ใ นความดู เ เลของท่ า น ก็ พ บ ปฏิปทาความเคร่งครัดในจริยาวัตรของหลวงพ่อ น่ า โมทนาบุ ญ โดยยิ่ ง ผู ้ ที่ เ คร่ ง ครั ด ต่ อ งาน ย่ อ มไม่ เ ป็ น ที่ ป รารถนาของผู ้ ที่ ไ ม่ ใ ฝ่ ง าน เป็นธรรมดา เเต่น่าอัศจรรย์มาก หลวงพ่อจาก ไปมีผู้คนหลั่งไหลมาร่วมบุญบูชาคุณหลวงพ่อ กั น อย่ า งทั่ ว หน้ า กระผมขอกราบโมทนา บุญบารมีของพระเดชพระคุณหลวงพ่อไว้ ณ ที่นี้ด้วยความเคารพยิ่ง ” สุทิน อุดม อดีตอาจารย์ใหญ่โรงเรียนวัด

KANCHANABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 99

99

19/07/61 16:32:02


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดห้วยนาคราช

พระอธิการสมศักดิ์ พุทฺธธมฺโม ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

วั ด ห้ ว ยนาคราช ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 1 หมู ่ ที่ 2 ต� ำ บลทุ ่ ง ทอง อ� ำ เภอท่ า ม่ ว ง

จั ง หวั ด กาญจนบุ รี (ติ ด ถนนสายท่ า ม่ ว ง - หนองขาว แยกเข้ า มาข้ า มทางรถไฟ 2 กิ โ ลเมตร กว่ า ถึ ง ทางแยกบ้ า นห้ ว ยนาคราชก็ ถึ ง วั ด ) กระทรวงศึ ก ษาธิ ก ารได้ ป ระกาศ ตั้ ง เป็ น วั ด ในพระพุ ท ธศาสนา ณ วั น ที่ 10 ตุ ล าคม พ.ศ.2510

ร่วมสร้างเส้นทางบุญกับวัดห้วยนาคราช โทร. 09-1010-6533 100

SBL บันทึกประเทศไทย I KANCHANABURI

.indd 100

20/07/61 10:46:24


เริ่มต้นการสร้างวัดโดย นายฮั้ว ซั่วเท้ง เป็นผู้ถวายที่ดินสร้างวัดมีเนื้อที่ 8 ไร่ 2 งาน 59 ตารางวา เดิมตั้งเป็นส�ำนักสงฆ์ ประมาณ พ.ศ.2502 อยู่ใกล้ล�ำห้วย หมู่บ้านทุ่งชิงโค เมื่อก่อนยังไม่ได้สร้างเขื่อนแม่กลอง ล�ำห้วย ซึ่งมีต้นก�ำเนิดน�้ำไหลมาจากแม่น�้ำแม่กลอง ผ่านบ้านท่าล้อ บ้านทุ่งชิงโค และไหลไปถึง จังหวัดนครปฐม ในช่วงฤดูฝนล�ำห้วยจะมีนำ�้ มาก ไหลวน เหมือนมีปล่องลงไปในดิน เชื่อว่าเป็น ปล่องพญานาค จึงตัง้ ชือ่ วัดว่า “วัดห้วยนาคราช” อีกด้านหนึ่งสันนิษฐานว่าตั้งชื่อตามโรงเรียน เพราะโรงเรียนบ้านห้วยนาคราช ตั้งอยู่ก่อนที่ จะสร้างวัด เดิมโรงเรียนบ้านห้วยนาคราชนั้น ตั้งอยู่ที่บ้านห้วยซึ่งอยู่ไม่ไกล ได้ย้ายโรงเรียน มาอยู่บ้านทุ่งชิงโค เพราะมีถนนตัดใหม่ผ่าน บ้านทุ่งชิงโค คือ สายหนองขาว นี้คือความ เป็นมาของชือ่ วัดห้วยนาคราช (หมูบ่ า้ นทุง่ ชิงโค

ก็เปลีย่ นชือ่ ตามวัดไปด้วยคือ “บ้านห้วยนาคราช” ในปัจจุบัน) ก่อนปี พ.ศ.2500 ชาวบ้านทุ่งชิงโค ได้ ปรารภกันทีจ่ ะสร้างวัดขึน้ มา เมือ่ นายฮัว้ ซัว่ เท้ง รูก้ ม็ จี ติ ศรัทธาถวายทีด่ นิ ทีอ่ ยูต่ รงข้ามโรงเรียน บ้านห้วยนาคราชให้สร้างวัด โดยสร้างเป็น ส�ำนักสงฆ์ขนึ้ มาก่อนชาวบ้านทุง่ ชิงโคพร้อมด้วย ชาวบ้านในเขตต�ำบลทุง่ ทองได้รว่ มกันช่วยสร้าง กุ ฏิ ศาลามุ ง ด้ ว ยหญ้ า คา ให้ เ ป็ น ที่ พั ก ของ พระสงฆ์ มาแล้วเสร็จในปี พ.ศ.2503 สมัยทีเ่ ป็นส�ำนักสงฆ์ ประมาณปี พ.ศ.2502 ถึง พ.ศ.2510 มีพระมาอยู่เป็นเจ้าส�ำนักสงฆ์ 3 รูป คือ 1.พระอาจารย์เจิม มาจากวัดเขาดิน 2.หลวงตาปิ ่ น มาจากวั ด ส� ำ นั ก คร้ อ และ 3.พระบุญชู เจ้าอาวาสรูปแรกวัดห้วยนาคราช เมื่อกระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศตั้งเป็นวัด ในพระพุทธศาสนา ณ วันที่ 10 ตุลาคม พ.ศ.

2510 มีเจ้าอาวาสปกครองวัดมาถึงปัจจุบนั 4 รูป เมือ่ พระครูวบิ ลู จิตตารักษ์ (ไล้ จิตตฺ ปาโล) เจ้าอาวาสรูปปัจจุบนั ท่านได้ปฏิสงั ขรณ์บรู ณะ วัดห้วยนาคราชขึ้นมาใหม่เกือบทั้งหมด หลาย โครงการที่ เ ห็ น ในปั จ จุ บั น นี้ เ สร็ จ สมบู ร ณ์ ด้วยวิริยะบารมีของท่านและฆราวาสญาติโยม ช่วยกัน ต่อมาได้มกี ารระดมบุญศรัทธามหากุศล สร้างพระมหาธาตุเจดีย์ 9 บาตร สูง 45 เมตร กับพระท่ากระดานใหญ่หน้าตัก 9 เมตร ซึ่ง ได้วางศิลาฤกษ์ในปี พ.ศ.2557 ไปเรียบร้อยแล้ว การสร้ า งพระเจดี ย ์ เ พื่ อ ประดิ ษ ฐาน พระบรมสารีรกิ ธาตุขององค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ซึง่ ได้รบั ความเมตตาจากสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก ได้ประทานพระบรมสารีริกธาตุ 9 พระองค์ เมื่อวันศุกร์ที่ 17 ตุลาคม พ.ศ.2546 เวลา 16.00 น. ณ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์

KANCHANABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 101

101

20/07/61 14:23:17


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดบ้านถ�้ำ

พระครูกาญจนกิตติชัย ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

วัดบ้านถ�้ำ ตั้งอยู่ในต�ำบลเขาน้อย อ�ำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี ปรากฏ

ตามทะเบี ย นตั้ ง วั ด ที่ ก รมการศาสนาว่ า ขอก่ อ ตั้ ง วั ด เมื่ อ พ.ศ.2325 มี เ นื้ อ ที่ 73 ไร่ 25 ตารางวา ปั จ จุ บั น ตามโฉนด ออกวั น ที่ 26 พฤษภาคม 2548 มี เ นื้ อ ที่ 25 ไร่ 3 งาน 38 ตารางวา ด้านหลังจรดเขา ด้านหน้าจรดแม่น�้ำแม่กลอง มีชายหาดสวยงามอยู่หน้าวัด ภู เ ขาที่ ตั้ ง ถ�้ ำ สู ง ราวๆ 200 กว่ า เมตร ภู เ ขาลู ก นี้ เ ป็ น เทื อ กเดี ย วติ ด ต่ อ กั น หลายยอด ต่ อ เนื่ อ ง ไปทางทิ ศ ตะวั น ตกเฉี ย งเหนื อ สุ ด ปลายเขาที่ เ ขาแหลมและเขาตกถ�้ ำ มั ง กรทอง 102

ท�ำเนียบเจ้าอาวาส 1.หลวงพ่ อ ทอง เป็ น ปฐมเจ้ า อาวาส, 2.หลวงพ่อรอด, 3.หลวงพ่อสาด, 4.หลวงพ่อเบีย้ ว, 5.หลวงพ่อนิล, 6.หลวงพ่อยุ่น, 7.หลวงพ่อนิ่ม, 8.หลวงพ่อแฉ่ง, 9.หลวงพ่อสาย, 10.พระอาจารย์ ป้วน, 11.พระครูกาญจโนภาส (อุ่น ป.ธ. 4), 12.พระอาจารย์ บู ญ พ.ศ.2517 - 2518, 13.พระอาจารย์ อ ารี พ.ศ.2518 - 2521, 14.พระมหาปราโมทย์ ปโมทิ โ ต ป.ธ.7 พ.ศ.2521 - ปัจจุบัน

SBL บันทึกประเทศไทย I KANCHANABURI

.indd 102

23/07/61 09:40:28


ตามประวัติความเป็นมากล่าวว่าสร้าง ในสมัยยุคสุโขทัย มีเรือ่ งเล่าว่า มีเศรษฐีคนหนึง่ ร�่ ำ รวยมากได้ ม าเห็ น ถ�้ ำ ที่ นี่ ใ หญ่ โ ตสวยงาม น่าอาศัย มีปล่องสว่างดีมีลมพัดถ่ายเทอากาศ เข้าออกอยู่เสมอ ท�ำให้เย็นสบายคล้ายเข้าไป อยู่ในห้องปรับอากาศ จึงนิมนต์หลวงพ่อทอง ผูเ้ ป็นปฐมเจ้าอาวาส ซึง่ ปรากฏว่าเป็นผูม้ ชี อื่ เสียง โด่งดังทางด้านพุทธาคมให้มาอยู่จ�ำพรรษา ในถ�้ำนี้ ซึ่งถ�้ำนี้มีเรื่องเล่าเกี่ยวกับเมืองลับแล ที่ชาวบ้านเล่ากันต่อๆ มาว่า เคยมีคนหลง เข้าไปในหมู่บ้านเมืองลับแลก็มีบ่อยๆ อนึ่ง ถ้าปีไหนมีฝนตกชุกมาก ปีนั้นจะมีน�้ำไหลบ่า มาตามหุบเขาไหลลงล�ำธารทีห่ ว้ ย น�ำ้ วิง่ ไหลลง ที่หลังวัดเป็นน�้ำตกที่สวยงาม และปรากฏว่า ในล�ำธารที่น้�ำไหลมานั้นจะเห็นมีเปลือกหมาก เปลือกส้มโอและผลไม้อนื่ ๆ ไหลตามน�ำ้ ลงมาด้วย คนแถบนั้นเชื่อกันว่าเป็นสิ่งของที่ชาวเมือง ลับแลทิ้งแล้วลอยตามน�้ำมา ต่อมาภายหลัง ท่ า นเศรษฐี ไ ด้ สั่ ง ให้ ค นงานท� ำ การสร้ า งวั ด ที่เชิงเขาข้างล่างตรงปากถ�้ำ แล้วขนานนาม เรียกว่า “วัดบ้านถ�้ำ” มาตราบเท่าทุกวันนี้ หลวงพ่อทอง ได้เลี้ยงนกสาริกาตัวหนึ่ง หัดให้พูดภาษาคนได้แม้กระทั่งทุกวันนี้ก็ยังมี นกสาริ ก าอาศั ย อยู ่ ท่ า นเศรษฐี ไ ด้ นิ ม นต์ หลวงพ่อทองมาอยู่จ�ำพรรษาในถ�้ำนี้ก็อาศัย หลวงพ่อช่วยสั่งสอนธรรมะให้ เกิดศรัทธา เลือ่ มใสยิง่ ๆ ขึน้ จึงได้จดั การสร้างพระพุทธรูป ไว้ในถ�ำ้ องค์หนึง่ เป็นพระพุทธชินราช ปางมารวิชยั สมัยยุคสุโขทัย นามว่า “หลวงพ่อใหญ่ชนิ ราช” ซึ่งชาวบ้านทั่วไปเรียกว่า “หลวงพ่อใหญ่” เป็นมิง่ ขวัญของชาวบ้านทัว่ ไป ทัง้ ต�ำบลใกล้เคียง ชาวตลาดท่าม่วงและชาวกาญจนบุรี เมื่อถึง วันทีใ่ กล้ๆ จะมีการเกณฑ์ทหารด้วยแล้ว จะเห็น บรรดาชายหนุ่มวัยเข้าเกณฑ์ต่างพากันไปไหว้ หลวงพ่อใหญ่ในถ�ำ้ บนบานศาลกล่าวขอยกเว้น การเป็นทหารกันอย่างคับคัง่ ปรากฏว่าหลังจาก มี ก ารคั ด เลื อ กการเป็ น ทหารเรี ย บร้ อ ยแล้ ว ต่ า งก็ ขึ้ น ไปแก้ บ นหลวงพ่ อ ด้ ว ยไข่ ต ้ ม และ หัวหมูกันอย่างไม่ขาดสาย

KANCHANABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 103

103

20/07/61 10:40:38


Wat Ban Tham

Phra Maha Pramote Pamothito, The abbot of Wat ban thum Wat Ban Tham is located at Khao Noi sub-district, Tha Muang district, Kanchanaburi province. According to temple-establishing registration of Department of Religious Affairs, this temple was founded in 2325 B.E. which scale of the land is 29.2 acres and 100 square meters. At present, refer to title deed of this temple that issued on 26 May 2548 B.E., scale of its land is 10 acres and 1,352 square meters. The back of this temple is adjacent to mountain, the front reaches Mae Klong River which has a nice beach in front of temple. 104

This mountain is approximately 200 meters in height, it is a mountain range which connected by many peaks of mountains that head to northwest and the end of this mountain is Laem Mountain and mountain where Gold Dragon cave located. According to historical record, this temple was built during the Sukhothai period. There was a story about this temple which is the story of the millionaire who was extremely rich, he passed by this mountain and saw big and attractive cave suited for living because this cave had bright chimney

which air was ventilated in and out of this country constantly, it made weather in this cave was cool like in a air-conditioned room. Thus, locals invited Luang Por Thong, the first abbot of this temple that turned out to be the famous on Buddhism incantation, to stay at this temple. Moreover, there was a story that was told since the past until now about hidden city within this cave which there were a lot of people got lost in hidden city which located in this cave. Furthermore, if some year that amount of rain was high, there will be water flooded along the valley and

SBL บันทึกประเทศไทย I KANCHANABURI

.indd 104

20/07/61 10:40:37


flowed into canal and stream. This stream streamed down to the back of this temple and become gorgeous waterfall which there were shells of ripe areca-nut, pomelo and various kind of fruits appeared in this stream. People in this area believed that these stuffs was discarded by people in hidden city and floated along this stream. After that, the millionaire ordered his workers to build temple at the foothills of this mountain near mouth cave and name it “Wat Ban Tham” which used until today. Luang Por Thong had raised

one magpie which he trained it to speak like human and there are some magpies still live at this place nowadays. Due to the fact that Luang Por Thong had stayed at this temple, the millionaire then got to learn dharma from him which made the faith of millionaire increased incessantly. Then, he led the construction of one Buddha image in this cave which is Phra Buddha Chinnarat in the attitude of subduing Mara from Sukhothai period and its name is “Luang Por Yai Chinnarat” but locals usually called “Luang Por Yai”. This Buddha statue

was esteemed and respected by locals in this area including with people of Tha Muang district and Kanchanaburi province. By the time that conscription is coming closer, there are many young men who reached the age of conscription come to this temple to pay their respect to Luang Por Yai in this cave in order to make a vow to Luang Por Yai so they will not be recruited to be soldier. It turns out that most of the vow was fulfilled, then, there are many people that come to redeem their vows to Luang Por Yai by offer boiled egg and pig head continuously. KANCHANABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 105

105

20/07/61 10:40:49


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดใหญ่ดงรัง (ส้มใหญ่) พระครูวิสิฐกาญจนกิจ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

วัดใหญ่ดงรัง(ส้มใหญ่) ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 11 ต�ำบลหนองขาว อ�ำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี

สั ง กั ด มหานิ ก าย เป็ น วั ด ที่ เ ก่ า แก่ ส ร้ า งมาตั้ ง แต่ ส มั ย กรุ ง สุ โ ขทั ย มาแล้ ว เป็ น วั ด ที่ มี ความเจริ ญ รุ ่ ง เรื อ งมาก่ อ น แต่ เ มื่ อ ครั้ ง กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยาแตกพ่ า ยแพ้ แ ก่ พ ม่ า ท� ำ ให้ วั ด ถู ก เผาท� ำ ลายและพม่ า ได้ ก วาดต้ อ นผู ้ ค นและทรั พ ย์ สิ น ไปเป็ น จ� ำ นวนมาก แต่ ก็ ยั ง มี วั ต ถุ ที่ ยั ง หลงเหลื อ ให้ เ ห็ น อยู ่ ใ นปั จ จุ บั น ดั ง เช่ น พระอุ โ บสถเก่ า พระวิ ห ารเก่ า เจดี ย ์ หอระฆั ง สระน�้ำเก่า เป็นต้น แต่เป็นที่น่าเสียดายที่พระอุโบสถเก่า พระวิหารเก่าที่สร้างด้วยอิฐแดง ก้ อ นใหญ่ ได้ ถู ก รื้ อ ถอนไปสร้ า งวั ด อิ น ทาราม และโรงเรี ย นบ้ า นห้ ว ยตะลุ ง 106

SBL บันทึกประเทศไทย I KANCHANABURI

.indd 106

20/07/61 10:37:21


ส�ำหรับหมู่บ้านหนองขาวเป็นชุมชนที่มีมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา เดิมมี 2 หมู่บ้าน คือ หมูบ่ า้ นดงรังและหมูบ่ า้ นดอนกระเดือ่ ง หมูบ่ า้ นทัง้ สองนีอ้ ยูใ่ นเส้นทางเดินทัพระหว่างด่านเจดียส์ ามองค์ กับกรุงศรีอยุธยา จึงได้รับภัยจากสงครามระหว่างไทยกับพม่าโดยตลอด ในคราวเสียกรุงครั้งที่ 2 ประชาชนในหมูบ่ า้ นทัง้ สองได้รวมตัวกันต่อสูก้ บั พม่า การรบในครัง้ นัน้ ชาวบ้านไม่สามารถต่อสูพ้ ม่าได้ หมูบ่ า้ นดงรังและหมูบ่ า้ นดอนกระเดือ่ งจึงถูกพม่าท�ำลายหมูบ่ า้ นดงรังอยูท่ างทิศใต้ของหมูบ่ า้ นหนองขาว แต่เดิมมีวัดส้มใหญ่หรือวัดใหญ่ดงรังเป็นวัดประจ�ำหมู่บ้าน หลังจากพม่าเผาท�ำลายก็ถูกปล่อยทิ้ง เป็นวัดร้าง ได้รับการบูรณะขึ้นใหม่เมื่อ พ.ศ.2525 ในเสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน มีการกล่าวถึงวัดใหญ่ดงรัก(ส้มใหญ่) ซึ่งเชื่อว่า ขุนไกร (พ่อ ของพลายแก้ว) เคยมาเรียนวิชาที่วัดนี้และพลายแก้วเองก็เคยมาบวชเณรที่วัดนี้ด้วย ดังมี เนื้อความในเสภาเรื่องขุนช้างขุนแผนว่า

ครานั้นทองประศรีผู้มารดา อันสมภารที่ช�ำนาญในทางใน เจ้าคิดนี้ดีแล้วแก้วแม่อา จะได้รู้การณรงค์คงกระพัน ว่าแล้วจึงสั่งพวกบ่าวข้า กูจะบวชลูกชายสายสุดใจ ครั้นว่ามาถึงวัดส้มใหญ่ แม่พาพลายแก้วผู้แววตา ท่านเจ้าขาฉันพาลูกมาบวช ด้วยขุนไกรบิดามาถึงกาล

(เสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน ๒๕๑๓ : ๔๕ - ๔๗)

ได้ฟังลูกว่าหาขัดไม่ ท่านขรัววัดส้มใหญ่แลดีครัน แม่จะพาไปฝากขรัวบุญนั่น ให้เหมือนกันสืบต่อพ่อขุนไกร ชวนกันเร็วหวาอย่าช้าได้ เอ็งจงไปเที่ยวหาผ้าเนื้อดี... เอาข้าวของตั้งไว้ศาลาหน้า ไปกราบไหว้วันทาท่านสมภาร ช่วยเสกสวดสอนให้เป็นแก่นสาร จะได้อธิษฐานให้ส่วนบุญฯ

ต่อมา ปลายปี พ.ศ.2524 คือช่วงกลางเดือนสิบสอง พระอาจารย์คะนึง ซึ่งเคยจ�ำพรรษาที่ วัดโมกมันขันธาราม ได้เดินทางมาจ�ำพรรษาอยู่ที่วัดใหญ่ดงรัง (ส้มใหญ่) ตามค�ำบอกกล่าวของ พระครูวิสิฐกาญจนกิจ (เอี่ยม) ซึ่งสมัยนั้นท่านพระครูวิสิฐกาญจนกิจ ยังเป็นเด็กหนุ่มอายุ 18 ปี ยังไม่ได้อุปสมบท ท่านบอกกับพระอาจารย์คะนึงว่ามีวัดร้างอยู่ที่คลองชลประทาน สายท่าล้อหนองขาว ชาวบ้านนิยมเรียกขานวัดร้างแหล่งนี้ว่า “วัดใหญ่” พระอาจารย์คะนึงได้มาอยู่ จ� ำ พรรษาแรกที่ น่ีใ นปี 2525 ซึ่ ง ตรงกั บปี ส มโภชกรุ ง รั ต นโกสิ น ทร์ 200 ปี พอดี ปัจจุบัน พระครูวิสิฐกาญจนกิจ (เอี่ยม) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส โดยเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ.2559 ได้รับสมณศักดิ์เป็น พระครูสัญญาบัตร เจ้าอาวาสวัดราษฎร์ ชั้นเอก ที่ พระครูวิสิฐกาญจนกิจ

KANCHANABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 107

107

20/07/61 16:02:41


Wat Yai Dong Rang (Som Yai)

Phra Khru Wisit Kanchanakij, The abbot of Wat yai dong rang(Som yai) Wat Yai Dong Rang is located at 11 Nong Khao sub-district, Tha Muang district, Kanchanaburi province. It is an ancient temple which was built during Sukhothai kingdom. This temple was the prosperous temple since a long time ago, but it was burnt off by Burma army due to the fall of Ayutthaya kingdom which they herded a lot of people and looted many properties. However, there are some buildings and objects which still remain since then until now, such as, old ubosot, old Buddha image hall, pagoda, bell tower, old pond and so on. Nevertheless, it is unfortunate that 108

an old ubosot which made of red brick and its scale is 6 inches in width and 12 inches in length, was demolished and brought these bricks to build Wat Intharam and Ban Huai Talung School. Refer to Thai verse “The Tale of Khun Chang Khun Phaen”, Wat Yai Dong Rang (Som Yai) was mentioned in this tale which believe that this is the place where Khun Krai (Khun Phaen’s father) used to study and Khun Phaen became a novice. After that, in late 2524 B.E., Phra Ajarn Khaneung, who used to stay at Wat Mok Man Khantharam had travelled to stay at Wat Yai Dong Rang (Som Yai)

SBL บันทึกประเทศไทย I KANCHANABURI

.indd 108

20/07/61 10:37:34


during the Buddhist lent. According to saying of Phra Khru Wisit Kanchanakij (Aiem), at that time, he was a 18 years old young man and did not went into the monkhood. He told Phra Ajarn Khaneung that there was an abandoned temple at irrigation canal of Tha Lor-Nong Khao course. Locals usually called this abandoned temple as “Wat Yai”. The first time Phra Ajarn Khaneung had stayed at this temple was in 2525 B.E. which is the same year as Bangkok bicentennial celebration. At present, Phra Khru Wisit Kanchanakij (Aiem) takes a position of abbot. KANCHANABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 109

109

20/07/61 10:37:41


พักผ่อนอย่างแท้จริง ที่เมฆคีรี ริเวอร์แคว รีสอร์ท แห่งทองผาภูมิ m e K k i r i

เมฆคีรี ริเวอร์แคว เมฆคีรี ริเวอร์แคว รีสอร์ท (Mek Kiri Riverkwai Resort) ตั้งอยู่ใน บ้านหินแหลม ห่างจากวัดหินแหลมเพียง 30 เมตร ในยามเช้าท่านสามารถ ใส่บาตรพระสงฆ์ซึ่งพายเรือมาบิณฑบาตในบรรยากาศที่สงบเย็น ยามค�่ำ นอนเล่นริมแพอบอุ่นใจ

ที่พักเป็นแพพักริมน�้ำ รวมอาหารเช้า ห้องพักวิวสวย ริมน�้ำ มีเปลญวนให้นอนเล่น ชมวิว อิ่มอร่อยกับอาหารเช้า บุฟเฟต์หอ้ งอาหารในทีพ ่ กั ริมน�ำ ้ เมฆคีรี ริเวอร์แคว รีสอร์ท มีบริการอินเทอร์เน็ตไร้สาย wifi ..ฟรีทวั่ บริเวณพืน้ ทีส่ ว่ นกลาง และ มีที่จอดรถส่วนตัวฟรี มีเรือคายัค มีแพเป่าลม ให้ลงเล่นน�้ำได้อย่างมีความสุข และทางรีสอร์ท เรายังมีบริการแพเปียกด้วย ช่วงเวลา 10.00 - 16.00 น. 110

SBL บันทึกประเทศไทย I LOP BURI

.

.indd 110

23/07/61 09:45:11


เมฆคีรี ริเวอร์แคว รีสอร์ท Mek Kiri River Kwai Resort

ตั้งอยู่เลขที่ 24/2 ม.5 ต.ท่าขนุน บ้านหินแหลม ทองผาภูมิ กาญจนบุรี 71180

“ที่ พั ก แพริ ม น�้ ำ บรรยากาศดี แห่ ง ทองผาภู มิ ”

ส�ำรองทีพ ่ ัก 065-329-6956 mekkiriresort

ร้านคอร์เนอร์ 112 99/9 หมู่ 3 ต.ท่ามะขาม อ.เมือง จ.กาญจนบุรี 71000 ติดต่อส�ำรองห้องพัก Tel. 034-653369-70, 034-653345, 034-551111-2 Mobile. 081-7360044, 081-7802088 จองโปรแกรมทัวร์ Tel. 034-551109, Mobile. 084-8681978 Fax. 034-653346, Email. info@duenshine.com

ท� ำ เลที่ ตั้ ง สะดวก ปลอดภั ย อยู ่ ต รงมุ ม โค้ ง ของแม่ น�้ ำ วิวสวยงาม น�้ำใสมาก ธรรมชาติบริสุทธิ์ เงียบ สงบ เหมาะแก่การ พักผ่อนอย่างแท้จริง อยู่ใกล้สถานที่ท่องเที่ยวหลายแห่ง ไปเที่ยว ระหว่างวันได้ ส�ำคัญอยู่ใกล้ปั้มน�้ำมันและ ร้านค้าสะดวกซื้อ 7-11 LOP BURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.

.indd 111

111

23/07/61 09:44:44


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดวังก์วิเวการาม (วัดหลวงพ่ออุตตมะ)

พระมหาสุชาติ สิริปัญโญ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

วั ด วั ง ก์ วิ เ วการาม หรื อ วั ด หลวงพ่ อ อุ ต ตมะ ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 999 หมู ่ ที่ 2

ต� ำ บลหนองลู อ� ำ เภอสั ง ขละบุ รี จั ง หวั ด กาญจนบุ รี เป็ น วั ด ที่ ห ลวงพ่ อ อุ ต ตมะ ร่ ว มกั บ ชาวบ้ า นอพยพชาวกะเหรี่ ย งและ ชาวมอญ ได้ ร ่ ว มกั น สร้ า งขึ้ น ใน พ.ศ.2496 ที่ บ ้ า น วั ง กะล่ า ง อ� ำ เภอสั ง ขละบุ รี จั ง หวั ด กาญจนบุ รี ใกล้ กั บ ชายแดนไทย-พม่ า ห่ า งจาก อ� ำ เภอเมื อ งกาญจนบุ รี ประมาณ 220 กิ โ ลเมตร ในระยะแรกมีเพียงกุฏิและศาลา มีฐานะ เป็นส�ำนักสงฆ์ แต่ชาวบ้านโดยทั่วไปเรียกว่า วัดหลวงพ่ออุตตมะ ตั้งอยู่บนเนินสูงในบริเวณ ทีเ่ รียกว่า สามประสบ ซึง่ เป็นจุดทีแ่ ม่นำ �้ 3 สาย คือแม่น�้ำซองกาเลีย แม่น�้ำบีคลี่ แม่น�้ำรันตี ไหลมาบรรจบกัน ในพ.ศ.2505 ได้รับอนุญาต จากกรมการศาสนาให้ใช้ชอื่ ว่า วัดวังก์วเิ วการาม ซึง่ ตัง้ ตามชือ่ อ�ำเภอเดิม คืออ�ำเภอวังกะ-สังขละบุรี ต่อมาถูกยุบเป็นกิง่ อ�ำเภอ ก่อนทีจ่ ะยกฐานะเป็น 112

อ� ำ เภอสั ง ขละบุ รี จั ง หวั ด กาญจนบุ รี ใน พ.ศ.2508 วัดวังก์วเิ วการาม ก่อสร้างด้วยศิลปะ แบบมอญ มีพระพุทธรูปหินอ่อน และ งาช้าง แมมมอธ มีเจดีย์พุทธคยาจ�ำลอง สร้างจ�ำลอง แบบจาก เจดีย์พุทธคยา ประเทศอินเดีย โดย เริ่ ม ก่ อ สร้ า งในพ.ศ.2521 แล้ ว เสร็ จ เมื่ อ พ.ศ.2529 และหลวงพ่ออุตตมะยังริเริ่มสร้าง สะพานมอญ เป็ น สะพานไม้ ที่ ย าวที่ สุ ด ในประเทศไทย ยาวประมาณ 450 เมตร

SBL บันทึกประเทศไทย I KANCHANABURI

.indd 112

23/07/61 09:47:50


เมื่อ พ.ศ.2527 การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่ง ประเทศไทยได้ก่อสร้างเขื่อนเขาแหลม หรือ เขื่ อ นวชิ ร าลงกรณ์ ซึ่ ง เมื่ อ กั ก เก็ บ น�้ ำ แล้ ว น�้ ำ ในเขื่ อ นเขาแหลมจะท่ ว มตั ว อ� ำ เภอเก่ า รวมทัง้ บริเวณหมูบ่ า้ นชาวมอญทัง้ หมด ทางวัด จึ ง ได้ ย ้ า ยมาอยู ่ บ นเนิ น เขาในที่ ป ั จ จุ บั น หลวงพ่ อ อุ ต ตมะได้ จั ด สรรที่ ดิ น ของวั ด ให้ ชาวบ้านครอบครัวละ 100 ตารางวา ปัจจุบัน หมู่บ้านชาวมอญมีพื้นที่ราว 600 ไร่เศษ มีผู้ อาศัยราว 1,000 หลังคาเรือน ชาวบ้านเกือบ ทั้งหมดจัดเป็นผู้พลัดถิ่นสัญชาติพม่าซึ่งไม่มี บัตรประชาชน หาเลี้ยงชีพโดยการปลูกพืชผัก สวนครั ว ตามชายน�้ ำ ท� ำ ประมงชายฝั ่ ง คนหนุ ่ ม สาวส่ ว นหนึ่ ง นิ ย มเป็ น ลู ก จ้ า งใน โรงงานเย็บเสื้อที่อยู่ไม่ห่างจากหมู่บ้าน ส่ ว นบริ เ วณวั ด หลวงพ่ อ อุ ต ตมะเดิ ม ปัจจุบันพระอุโบสถหลังเก่าจมอยู่ใต้น�้ำ และ มี ชื่ อ เสี ย งเป็ น สถานที่ ท ่ อ งเที่ ย ว Unseen Thailand เป็นทีร่ จู้ กั ในชือ่ ว่า วัดใต้นำ �้ สังขละบุรี

ประวัติโดยย่อหลวงพ่ออุตตมะ หลวงพ่ออุตตมะ หรือ พระมหาอุตตมะรัมโภภิกขุ พระเกจิอาจารย์ชื่อดัง ปฏิบัติธุดงค์ กรรมฐาน เผยแผ่พระพุทธศาสนา เป็นพระนักพัฒนา ที่มีบทบาทส�ำคัญต่อชาวกะเหรี่ยง และ เป็นที่พึ่งของชาวมอญ ท่านส่งเสริมการสร้างถนน สะพาน อนามัย และโรงเรียนหลายแห่ง ท่านจึงเป็นเสมือนศูนย์รวมแรงศรัทธาของคนในพื้นที่ ให้เป็นชุมชนที่เข้มแข็ง หลวงพ่อตุ ตมะ เดิมท่านชือ่ เอหม่อง เกิดเมือ่ พ.ศ.2453 ในหมูบ่ า้ นโมกกะเนียง ต�ำบลเกลาสะ อ�ำเภอเย จังหวัดมะละแหม่ง ประเทศพม่า อายุได้ 19 ปี บรรพชาเป็นสามเณร ณ วัดเกลาสะ ศึกษาเล่าเรียนทางธรรมจนสามารถสอบได้นักธรรมโท หลังจากนั้นได้ลาสิกขาออกมาดูแลบิดา มารดา และกลับไปอุปสมบทเป็นพระภิกษุอีกครั้งเมื่อพ.ศ.2476 ได้รับฉายานามว่า อุตตมารัมโภ แปลว่า ผู้มีความพากเพียรอันสูงสุด ซึ่งเป็นความตั้งใจของท่านที่จะบวชไม่สึกตลอดชีวิต หลวงพ่ออุตตมะได้ถึงแก่มรณภาพ เมื่อวันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2549 รวมอายุได้ 97 ปี

KANCHANABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 113

113

20/07/61 10:28:08


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดสมเด็จ

พระอธิการผ่อน จนฺทาโภ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

วั ด สมเด็จ ตั้งชื่อตามสมณศักดิ์ของสมเด็จพระวันรัต เจ้าอาวาส

วัดบวรนิเวศวิหาร ซึ่งท่านมาที่นี่ราวปี พ.ศ.2509 และได้ปรารภกับพระราช อุดมมงคล (หลวงพ่ออุตตมะ) ว่าเนินแห่งนี้เป็นท�ำเลดีเหมาะแก่การสร้างวัด วัดจึงได้ถือก�ำเนิดขึ้นในเวลาต่อมา 114

(

วั ด สมเด็ จ ตั้ ง อยู ่ ที่ บ ้ า นไหล่ น�้ ำ ต� ำ บลหนองลู อ�ำเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี ก่อนถึงที่ว่าการ อ� ำ เภอสั ง ขละบุ รี ป ระมาณ 500 เมตร เป็ น วั ด ที่ มี ศิลปวัฒนธรรมไทยรามัญ(มอญ) และพม่าอยูเ่ ป็นจ�ำนวนมาก ในวัดมีศาลาการเปรียญอยู่ด้านหน้า ถัดไปเป็นโบสถ์ เจดีย์ และที่ด้านหลังเป็นพระนอน นอกจากนี้ที่ด้านนอก บริเวณฝัง่ ตรงข้ามของถนนอีกฟากมีศาลาซึง่ มีพระพุทธรูป ปางต่างๆ ตั้งเรียงรายอยู่อย่างโดดเด่น

SBL บันทึกประเทศไทย I KANCHANABURI

).indd 114

20/07/61 13:13:27


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดกระเจาบ่อยา พระมหาเฉลิม สุวณฺณโชโต ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

วัดกระเจาบ่อยา ตั้งอยู่เลขที่ 4 หมู่ 3 ต�ำบลพังตรุ อ�ำเภอพนมทวน

จั ง หวั ด กาญจนบุ รี เมื่ อ ปี พ.ศ.2539 โยมพ่ อ เฒ่ า สี เบ็ ญ พาด พร้ อ ม คณะกรรมการวั ด และท่ า นผู ้ ใ หญ่ ทิ อิ น ทราชา ซึ่ ง เป็ น ผู ้ ใ หญ่ บ ้ า นหมู ่ ที่ 3 ได้ ข ออนุ ญ าตสร้ า งวั ด และช่ ว ยกั น พั ฒ นาวั ด เรื่ อ ยมา

ท�ำเนียบเจ้าอาวาส 1.พระอธิการมัด ฉนฺทธมฺโม พ.ศ.2540 - 2547 2.พระอธิการพเยาว์ อภิชาโต พ.ศ.2552 - 2557 3.พระมหาเฉลิม สุวณฺณโชโต พ.ศ.2558 - ปัจจุบัน พระมหาเฉลิม สุวณฺณโชโต ได้ด�ำเนินการประชุม คณะกรรมการร่ ว มกั น บู ร ณปฏิ สั ง ขรณ์ ต ่ อ เติ ม อาคาร เสนาสนะต่างๆ เช่น หอสวดมนต์ ศาลาธรรมสังเวช ศาลาปฏิบตั ธิ รรม ยังไม่แล้วเสร็จ โดยตลอดเวลาทีผ่ า่ นมา ก็ทั้งพระสงฆ์และฆราวาสญาติโยมก็ร่วมกันพัฒนาวัด จนมีความสะอาดตา สะอาดใจ ร่มรื่นสัปปายะต่อผู้มา บ�ำเพ็ญกุศลทั่วไป เจ้าอาวาสรูปปัจจุบันเป็นคนในท้องที่ มีอัธยาศัยไมตรี มีความสันโดษเป็นกันเองกับคนทั่วไป KANCHANABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 115

115

20/07/61 14:10:22


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดลาดขาม (หลวงพ่อแสนเหรียญ) พระครูปลัดเพลิน เตชธัมโม ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

วัดลาดขาม (หลวงพ่อแสนเหรียญ) ตั้งอยู่เลขที่ 1 หมู่ 9 ต�ำบลพนมทวน อ�ำเภอ

พนมทวน จั ง หวั ด กาญจนบุ รี เป็ น วั ด เก่ า แก่ ที่ ส ร้ า งขึ้ น สมั ย อยุ ธ ยาตอนต้ น ตามประวั ติ เล่ า ขานกั น มาว่ า เมื่ อ ครั้ ง ที่ พ ม่ า ยกกองทั พ เข้ า ตี ก รุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา โดยใช้ เ ส้ น ทางด่ า น เจดี ย ์ ส ามองค์ ใ นสมั ย นั้ น ได้ ตี เ มื อ งทองผาภู มิ (วั ด ดงสั ก ลิ่ น ถิ่ น ) และเมื อ งท่ า กระดาน 116

SBL บันทึกประเทศไทย I KANCHANABURI

.indd 116

20/07/61 10:02:57


ด้วยความหวาดกลัวชาวบ้านได้หนีขึ้นไป หลบอยู่บนเขาส่วนหนึ่ง ณ หมู่บ้านหนองหอย ทัพพม่าเดินทางตามล�ำน�้ำแควน้อย ใช้แพเป็น พาหนะเข้ า ตี ก าญจนบุ รี เ ก่ า ขณะเดี ย วกั น ชาวบ้านแห่งทุง่ ลาดหญ้า หนองขาว ดอนเจดีย์ ทุ่งสมอ หนองสาหร่าย พนมทวน ลาดขาม พั ง ตรุ ได้ ร ่ ว มแรงร่ ว มใจกั น รบกั บ พม่ า อยู ่ หลายเดือน พม่าเห็นว่าคนไทยมีก�ำลังเข้มแข็ง ทัง้ ช้าง ม้า วัว ควาย จึงคิดหากลวิธี โดยการให้ ก�ำลังส่วนหนึง่ ของพม่าปิดกัน้ แม่นำ�้ สายบ้านทวน (ปัจจุบันขุดลอกเป็นคลองจระเข้สามพัน) เพื่อ ให้ชาวบ้านและช้าง ม้า วัว ควาย อดน�้ำจะได้ เกิดความระส�่ำระสาย ง่ายแก่การโจมตี และ อีกส่วนหนึ่งปลอมตัวเข้าไปในหมู่บ้าน ซึ่งรู้มา ว่าคนไทยบางหมูบ่ า้ นไม่ถกู กัน จึงใช้อบุ ายยุยง ท�ำให้คนไทยแตกความสามัคคีให้ง่ายต่อการ เข้ า ตี เ มื อ ง ครั้ น เมื่ อ พม่ า ปิ ด กั้ น แม่ น�้ ำ สาย บ้านทวนแล้ว ได้ยกเข้าตีเมืองและเผาหมู่บ้าน ท� ำ ลายวั ด วาอาราม เอาทรั พ ย์ สิ น มี ค ่ า ไป วัดและบ้านลาดขามจึงร้างนับแต่นั้นมา ต่อมาเมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2542 พระครู ป ลั ด เพลิ น เตชธั ม โม เจ้ า อาวาส วัดลาดขามได้ธุดงค์มาพบซากวัดปรักหักพัง และลงมือบูรณปฏิสังขรณ์วัดแห่งนี้ขึ้นด้วย แรงสนับสนุนจากผูม้ จี ติ ศรัทธาและชาวบ้านจน กระทัง่ กลับมาเป็นศูนย์รวมแห่งพุทธศาสนิกชน ในอ�ำเภอพนมทวนอีกครั้ง “พระพุทธเบญจนวมงคลกาญจน์” (หลวงพ่อแสนเหรียญ) แห่งวัดลาดขาม พระครู ปลัด เพลิน ได้เป็น แกนน�ำพลัง ศรัทธาชาวบ้านสร้าง พระพุทธรูปปางพิชติ มาร มีความสูง 87 นิว้ หน้าตักกว้าง 59 นิว้ มีชอื่ เสียง เลือ่ งลือในปัจจุบนั ทัง้ ในด้านของความศักดิส์ ทิ ธิ์ และความแปลกมหัศจรรย์ดว้ ยข้อเท็จจริงทีว่ า่ องค์พระปฏิมากรนี้ได้ถูกรังสรรค์ขึ้นมาจาก เหรียญเงินตราต่างๆ จ�ำนวนนับแสนเหรียญ ชาวบ้ า นจึ ง พากั น เรี ย กท่ า นว่ า “หลวงพ่ อ แสนเหรียญ” ซึ่งเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์คู่กับอ�ำเภอ พนมทวนและเป็ น ที่ นั บ ถื อ ศรั ท ธาของ พุ ท ธศาสนิ ก ชนทั่ ว ไปอย่ า งกว้ า งขวางใน ปั จ จุ บั น ในการน� ำ เหรี ย ญเงิ น ตราต่ า งๆ

จ� ำ นวนนั บ แสนเหรี ย ญมาติ ด องค์ พ ระนั้ น พระครู ป ลั ด เพลิ น ต้ อ งการสื่ อ ให้ เ ห็ น ว่ า “เงินเหรียญแค่เหรียญสองเหรียญอาจไม่มี ความหมาย แต่วา่ ถ้ามารวมๆ กันมากๆ ก็มคี ณ ุ ค่า ให้รจู้ กั อดออมและนึกถึงคุณค่าของเงินเข้าไว้” จากเหรียญเงินตราหลายรุ่น หลายสมัย จ�ำนวนมากกว่า 9 แสนเหรียญ น�ำมาเรียงกัน อย่ า งละเอี ย ดทุ ก ตารางนิ้ ว จนกลายมาเป็ น องค์พระปฏิมากรขนาดใหญ่ที่งดงามน่าทึ่ง โดยประดิษฐานให้เป็นทีส่ กั การะในวัดลาดขาม ซึง่ เป็นวัดทีม่ คี วามเก่าแก่ของจังหวัดกาญจนบุรี และมีการขุดค้นพบโบราณวัตถุในสมัยทวาราวดี

รวมถึงซากปรักหักพังของเจดีย์ในสมัยอยุธยา ตอนต้นในบริเวณวัด อันแสดงถึงความเป็นมา ที่ยาวนาน หลังจากที่วัดลาดขามเคยถูกทิ้งร้างอย่าง ยาวนานนับร้อยปีจากสงครามสมัยกรุงศรีอยุธยา และได้รับการฟื้นฟูขึ้นมาอีกครั้งโดยพระครู ปลัดเพลิน เตชธัมโม ที่ได้ธุดงค์มาพบซากวัด ปรักหักพังและลงมือบูรณปฏิสังขรณ์วัดแห่งนี้ ขึ้นด้วยแรงสนับสนุนจากผู้มีจิตศรัทธาและ ชาวบ้านจนกระทั่งกลับมาเป็นศูนย์รวมแห่ง พุ ท ธศาสนิ ก ชนในอ� ำ เภอพนมทวนจนถึ ง ปัจจุบัน KANCHANABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 117

117

20/07/61 10:03:13


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดพังตรุ

พระครูกาญจนปัญญาคม (หลวงพ่อบุญส่ง อธิปญฺโญ) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

วั ด พังตรุ ต�ำบลพังตรุ อ�ำเภอพนมทวน จังหวัดกาญจนบุรี ในปัจจุบัน หรือ

เดิ ม เรี ย กกั น ว่ า “วั ด ใต้ ” ในสมั ย อยุ ธ ยาตอนปลาย เป็ น วั ด ที่ เ ก่ า แก่ คู ่ กั บ หมู ่ บ ้ า นพั ง ตรุ มาช้ า นาน จากหลั ก ฐานซากอิ ฐ วั ต ถุ โ บราณที่ ค ้ น พบทั้ ง วั ด เหนื อ (วั ด ร้ า ง) และวั ด ใต้ (วัดพังตรุปัจจุบัน) ซึ่งห่างกันประมาณ 500 เมตร บ่งบอกถึงความเจริญรุ่งเรืองในสมัยนั้น เพราะหมู ่ บ ้ า นที่ มี วั ด อยู ่ 2 แห่ ง นี้ ท� ำ ให้ ท ราบว่ า แถบนี้ เ ป็ น หมู ่ บ ้ า นใหญ่ แ ต่ ดั้ ง เดิ ม แต่ ที่ ท� ำ ให้ ห มู ่ บ ้ า นร้ า งไปเพราะสงครามไทยกั บ พม่ า นั้ น มี ม าตลอด จึ ง ท� ำ ให้ ห มู ่ บ ้ า นและวั ด ต้ อ งร้ า งเป็ น เวลานานประมาณ 300 ปี จากอยุ ธ ยาตอนปลายถึ ง รั ต นโกสิ น ทร์ 118

SBL บันทึกประเทศไทย I KANCHANABURI

.indd 118

19/07/61 16:56:17


จากนั้นต่อมามีชาวบ้านจากบ้านบางหลวง อ�ำเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม เข้ามาอยู่ เป็นรุน่ แรก ได้จบั จองทีด่ นิ ท�ำไร่ทำ� นากันเรือ่ ยมา จนกระทัง่ ถึงบัดนี้ เนือ่ งจากเป็นคนต่างถิน่ มาอยู่ ก็ เ ลยเรี ย กชื่ อ บ้ า นตะพั ง กรุ แต่ เ ดิ ม มาเป็ น “บ้านพังตรุ” มาจนทุกวันนี้ กระทัง่ สมเด็จกรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ เป็ น เสนาบดี ก ระทรวงมหาดไทย ขณะนั้ น ได้มีค�ำสั่งให้เจ้าเมืองกาญจนบุรี สมัยนั้นคือ พระยาประสิทธิสงคราม(นุช) ให้เข้ามาส�ำรวจดู ที่หมู่บ้านพังตรุนี้จะมีพระเจดีย์อยู่ที่นี่หรือไม่ ก็รายงานส่งไปว่าไปถามผู้เฒ่าผู้แก่แล้วไม่เห็น มีพระเจดีย์อยู่ที่นี่เลย แต่เห็นมีอยู่ตามวัดซึ่ง มีอยู่ 2 วัด ชาวบ้านเรียกว่า วัดเหนือ วัดใต้ ซึ่งยังมีพระเจดีย์เหลืออยู่ทั้ง 2 วัดจวบจน บั ด นี้ ตอนนั้ น บ้ า นตระพั ง กรุ ยั ง ขึ้ น อยู ่ กั บ จั ง หวั ด สุ พ รรณบุ รี เพิ่ ง จะมาขึ้ น กั บ เมื อ ง กาญจนบุรีเมื่อรัชกาลที่ 3 นี้เอง

หลังจากนั้นพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า เจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 6 ทรงทราบว่า เจ้าเมืองสุพรรณ ได้ พ บพระเจดี ย ์ ยุ ท ธหั ต ถี อ ยู ่ ที่ ด อนเจดี ย ์ จังหวัดสุพรรณบุรี พระองค์ทรงเสด็จออกจาก พระราชวั ง สนามจั น ทร์ จั ง หวั ด นครปฐม มาประทับที่บ้านหนองตัดสาก แล้วประทับ ที่บ้านบ่อสุพรรณ และมาประทับพักร้อนที่ วัดพังตรุเมื่อวันศุกร์ที่ 23 มกราคม พ.ศ.2456 เมื่อเสด็จไปแล้วชาวบ้านหมู่ทางทิศใต้นี้ (ชาว บ้านพังตรุในปัจจุบนั ) ได้ถอื นิมติ มงคล จึงปลูก กุ ฏิ ใ ห้ พ ระอยู ่ เ มื่ อ พระมาอยู ่ แล้ ว ก็ มี พ ระ มาจ�ำพรรษาอยู่ที่นั่นเรื่อยมา กระทั่งมีพระ จ�ำพรรษาที่วัดเหนือได้มรณภาพลง ชาวบ้าน จึงได้ยุบวัดทางเหนือมารวมเป็นเวลาถึง 91 ปี (นับจาก พ.ศ.2456 - 2547) จากค�ำบอกเล่าของ พระครูนิวิฐชยากร (หลวงพ่อหมุน อคฺคจิตฺโต) เมื่อ พ.ศ.2547

ผ้าป่า “ม้า” สามัคคี สืบสานประเพณีสงกรานต์ วิถีธรรม วิถีไทย ส�ำหรับขบวนแห่ผ้าป่าสามัคคี ในประเพณีสงกรานต์บ้านพังตรุ ได้มีการเชิญกองผ้าป่า ขึ้นขบวนรถม้า และขบวนวัวเทียมเกวียน โดยมีพระมหาธวัชชัย กัลยาโณ เจ้าอาวาสวัดพังตรุ เจ้าคณะอ�ำเภอพนมทวน เป็นประธานน�ำขบวนแห่ จากศาลาอเนกประสงค์ของหมู่บ้าน ไปยัง วัดพังตรุ พร้อมด้วย นายอนุชา หอยสังข์ นายอ�ำเภอพนมทวน และชาวบ้านร่วมขบวนวัวเทียมเกวียน เคลื่อนขบวนผ้าป่าไปยังวัดพังตรุ ตลอดเส้นทาง พระมหาธวัชชัย กัลยาโณ ได้ มีการประพรม น�้ำมนต์แก่ชาวบ้านที่มาร่วมรับขบวนแห่เพื่อความเป็นสิริมงคล ตามด้วยขบวนม้าเต้น ซึ่งชาวบ้าน จากหมู ่ บ ้ า นต่ า งถิ่ น ได้ น� ำ มาร่ ว มงานบุ ญ ในครั้ ง นี้ เพื่ อ ร่ ว มแห่ ก องผ้ า ป่ า และสร้ า งสี สั น และ ความสนุกสนานภายในงาน และปิดท้ายด้วยขบวนนางร�ำ อันเป็นอีกหนึ่งวิถีไทย วิถีธรรม วิถีชีวิต ที่แสดงถึงความร่วมแรงร่วมใจของคนในชุมชนที่เห็นได้ในประเพณีสงกรานต์แบบไทยๆ

KANCHANABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 119

119

20/07/61 13:45:07


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดสระแก้ว

พระอาจารย์ทองแดง โกวิโล รักษาการแทนเจ้าอาวาส

วั ด สระแก้ ว (Wat Sa Kaeo) ตั้ ง อยู ่ ท่ี ต� ำ บลพนมทวน อ� ำ เภอพนมทวน

จั ง หวั ดกาญจนบุรี เดิม เป็น วัด ร้างเก่าแก่ ประวัติไม่ แน่ ชั ดว่ า ท่ า นใดเป็ น ผู ้ ส ร้ า ง ซึ่ ง ในอดี ต เป็ น สถานปฏิ บั ติ ธ รรมของชาวชุ ม ชนสระแก้ ว และชุ ม ชนใกล้ เ คี ย ง โดยมี พระครู ใ บฎี ก า พยากรณ์ (หลวงพ่ อ ท้ ว ม) วั ด แสนสุ ข อ� ำ เภอบางแสน จั ง หวั ด ชลบุ รี บริ จ าคที่ ดิ น บางส่ ว น ให้ กั บ วั ด เพื่ อ สร้ า ง เสนาสนะ ถาวรวั ต ถุ และ เพื่ อ สาธารณะประโยชน์ ใ ห้ กั บ ชาวพนมทวน

อ�ำเภอพนมทวน มีประวัติความเป็นมาเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาอันเป็นหลักธรรมแห่งชีวิต มายาวนาน สมดั ง ค� ำ ขวั ญ ว่ า พนมทวนชวนใจให้ ชื่ น ชม ทวนพนมคมขลั ง ครั้ ง ศึ ก สมั ย พนมมื อ ถื อ ทวนขบวนชั ย ทวนดิ น น�้ ำ ลมไฟทวนใจคน ทวนหั ว ใจมิ ใ ห้ ไ หลไปทางต�่ ำ กระแสธรรมทวนสู่อกุศล พนมทวนพนมธรรมน้อมน�ำคน เติมคุณค่าเข้มข้นคนบ้านทวน 120

SBL บันทึกประเทศไทย I KANCHANABURI

.indd 120

20/07/61 10:10:39


วัดสระแก้ว ได้รับประกาศยกจากวัดร้าง ขึ้นเป็นวัดมีพระภิกษุอยู่จ�ำพรรษา ณ วันที่ 13 มกราคม พ.ศ.2557 เนือ่ งจากเป็นวัดร้างเก่าแก่ อายุกว่าร้อยปีจงึ ยังมีสถูปเจดีย์ อิฐมอญโบราณ ในสมัยพระนเรศวรมหาราช ซึ่งในครั้งนั้นเป็น สถานที่ ใช้ พั ก ทั พ ของสมเด็ จ พระนเรศวร ที่ ยั ง คงหลงเหลื อ ไว้ เ ป็ น ที่ สั ก การบู ช าของ ชาวชุมชนพนมทวน จนถึงทุกวันนี้ วัดสระแก้ว เปรียบเป็นวัดน้องของวัดบ้านทวนทีอ่ ยูใ่ นละแวก ใกล้เคียงกัน ภายในบริ เ วณวั ด เป็ น ที่ ป ระดิ ษ ฐาน เจดี ย ์ วั ด สระแก้ ว หรื อ เจดี ย ์ เ ก่ า ภายใน วัดสระแก้ว ต�ำบลพนมทวน เนือ่ งจากยอดเจดีย์ หักช�ำรุดจากลักษณะและรูปร่างขององค์เจดีย์ และลักษณะของอิฐสันนิษฐานว่าสร้างมาตัง้ แต่ สมัยอยุธยาตอนกลาง - ปลาย ปัจจุบันเจดีย์ มีลักษณะเหลือเพียงครึ่งองค์ สูงประมาณ 3 เมตร แต่ถ้าหากเป็นเจดีย์เต็มองค์คาดการณ์ ว่าจะมีความสูงประมาณ 6 - 10 เมตร วัดสระแก้วได้รบั การปฏิสงั ขรณ์ ท�ำนุบำ� รุง ดูแลรักษา พัฒนาโดยผู้สูงอายุ ปู่ ย่า ตา ยาย ลูกหลานชาวบ้านและบุตรหลาน ทีป่ ระกาศตน เป็นพุทธมามกะ ด้วยวัตถุประสงค์ เจตจ�ำนง ที่ จ ะให้ ภ ายในเขตชุ ม ชนของตนมี ส ถานที่ ปฏิบตั ธิ รรม ฟังธรรม ส�ำหรับตนเอง ครอบครัว และบุตรหลานได้มีที่พึ่งอาศัยพระรัตนตรัย

เป็ น ที่ ยึ ด เหนี่ ย วจิ ต ใจ ศึ ก ษา ปฏิ บั ติ ตาม พระธรรมค�ำสอนของสมเด็จพระพุทธศาสดา สัมมาสัมพุทธเจ้า และ คงรักษาไว้ซึ่งนานา ขนบธรรมเนียมประเพณีอนั ดีงามของชาวพุทธ สืบต่อไป กล่าวได้ว่าวัดสระแก้วเป็นวัดของ ชาวพนมทวนโดยแท้อีกวัดหนึ่งก็ว่าได้

การน้อมรับพระรัตนตรัยเป็นที่พึ่ง คือมงคลอันสูงสุด

การแสดงตนเป็ น พุ ท ธมามกะ เท่ า กั บ ได้ถวายสัญญาใจต่อพระพุทธเจ้าท่ามกลางสงฆ์ ว่าจะเคารพนับถือพระพุทธศาสนาอย่างมัน่ คง และจะด�ำรงตนอยู่ในหลักศีลธรรมตลอดไป ซึ่งเป็นการปฏิบัติที่นิยมปฏิบัติกันมาแต่ครั้ง พระพุทธเจ้ายังมีพระชนม์อยู่ ดังปรากฏใน พุทธประวัติว่า คฤหัสถ์ที่ประกาศตนนับถือ พระพุทธศาสนาครั้งแรกคือ พ่อค้าสองพี่น้อง ชื่อตปุสสะ และภัลลิกะ โดยประกาศรับเอา พระพุทธเจ้าและพระธรรมว่าเป็นสรณะของตน (เพราะยังไม่มพี ระสงฆ์) นับเป็นอุบาสกผูถ้ งึ สรณะ สองชุดแรกในพระพุทธศาสนา ต่อมาบิดามารดา และภรรยาเก่าของพระยสะ ได้ประกาศตน นับถือพระพุทธศาสนา โดยประกาศรับเอา พระพุทธเจ้า พระธรรม และพระสงฆ์ว่าเป็น สรณะของตนนับเป็นอุบาสก อุบาสิกาผู้ถึง พระรัตนตรัยชุดแรกในพุทธศาสนา

KANCHANABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 121

121

20/07/61 10:10:50


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดวังรักราษฎร์บ�ำรุง พระครูกาญจนกิตติชัย ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

วั ด วังรักราษฎร์บ�ำรุง ตั้งอยู่เลขที่ 1/1 บ้านวังรัก หมู่ที่ 7 ต�ำบลหนองโรง

อ� ำ เภอพนมทวน จั ง หวั ด กาญจนบุ รี สั ง กั ด คณะสงฆ์ ม หานิ ก าย ที่ ดิ น ตั้ ง วั ด มี เ นื้ อ ที่ 25 ไร่ 1 งาน 46 ตารางวา ตั้ ง เมื่ อ วั น ที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ.2519 ตั้ ง ชื่ อ วั ด ตามชื่ อ หมู ่ บ ้ า น และราษฎรช่ ว ยกั น บ� ำ รุ ง จึ ง มี ค� ำ ท้ า ยว่ า “ราษฎร์ บ� ำ รุ ง ” 122

การศึ ก ษาส� ำ หรั บ พระเณร มี โรงเรี ย น พระปริ ยั ติ ธ รรมแผนกธรรม เปิ ด สอนเมื่ อ พ.ศ.2519 และศู น ย์ อ บรบเด็ ก ก่ อ นเกณฑ์ ในวัด เปิดสอนเมื่อ พ.ศ.2536 - 2539 ส�ำหรับการศึกษาพระปริยัติธรรมแผนก บาลี ข องคณะสงฆ์ ไ ทย เริ่ ม มี ตั้ ง แต่ ส มั ย ที่ พระพุทธศาสนาเข้ามาสู่ดินแดนประเทศไทย ดั ง หลั ก ฐานทางประวั ติ ศ าสตร์ จ ารึ ก คาถา “เย ธมฺมาฯ” ที่พระปฐมเจดีย์ จากหลักฐาน นี้จึงอาจสันนิษฐานได้ว่า การศึกษาภาษาบาลี และการจารึกพระไตรปิฎกในแถบประเทศไทย น่าจะมีมาตั้งแต่สมัยทวารวดี

SBL บันทึกประเทศไทย I KANCHANABURI

.indd 122

20/07/61 10:16:35


วั ด วั ง รั ก ราษฎร์ บ� ำ รุ ง ในสมั ย ก่ อ นนั้ น ประชาชนจะไปท� ำ บุ ญ ต้ อ งเดิ น ทางไกล เป็ น การล� ำ บาก จึ ง ได้ ร ่ ว มกั น สร้ า งวั ด ขึ้ น น�ำโดยนางพ่วง พุฒเิ อก, นายหมุน หมืน่ ช�ำนาญ และ นายชุบ สุกใส โดยนายชุบได้บริจาคที่ดิน จ�ำนวน 12 ไร่ 2 งาน และ นายยอด-นางจวง พุฒเอก ได้บริจาคที่ดินเพิ่มอีก 2 ไร่ เริ่มสร้าง เป็ น ที่ พั ก สงฆ์ พ.ศ.2516 โดยได้ รั บ การ สนับสนุนการก่อสร้างจาก พ.อ.สัมผัส จาก ค่ายสุรสีห์ ต่อมาในปี พ.ศ.2542 ได้ซื้อที่ดิน เพิ่ ม อี ก 3 ไร่ เพื่ อ ขยายเขตวั ด ปลายปี พ.ศ.2542 นายสนัน่ ดอกเนียม และ นางกรอง ด้วงเดช ได้บริจาคที่ดินทางด้านทิศตะวันตก เพือ่ สร้างศาลาธรรมสังเวช วัดวังรักราษฎร์บำ� รุง ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 24 มิ ถุ น ายน พ.ศ.2522 เขตวิ สุ ง คามสี ม า กว้าง 40 เมตร ยาว 60 เมตร พระคาถา “เย ธมฺมาฯ”หัวใจของพระพุทธศาสนา “เย ธมฺมา เหตุ ปัพฺพวา เตสํ เหตุงฺ ตถาคโต เตสญฺจะ โย นิโรโธ จะ เอวํ วาที มหาสมฺโณ” “ธรรมเหล่าใดเกิดแต่เหตุ พระตถาคตเจ้าทรงแสดงเหตุแห่งธรรมเหล่านั้น และความดับแห่งธรรมเหล่านั้น พระมหาสมณะมีปกติ ทรงสั่งสอนอย่างนี้” ความเป็นมาของพระคาถาบทนีป้ รากฏอยูใ่ นประวัตขิ องพระสารีบตุ ร พระอัครสาวกเบือ้ งขวา มี เ นื้ อ ความโดยย่ อ คื อ หลั ง จากที่ พ ระพุ ท ธเจ้ า ทรงตรั ส รู ้ แ ละแสดงธรรมสั่ ง สอนประกาศ พระศาสนาแล้ว ครั้งหนึ่งได้เสด็จมาประทับอยู่ ณ เวฬุวันมหาวิหาร กรุงราชคฤห์ วันหนึ่ง พระอัสสชิ ผู้เป็นหนึ่งในพระปัญจวัคคีย์ซึ่งตามเสด็จฯ พระพุทธองค์มาด้วย เข้าไปบิณฑบาต

ในกรุงราชคฤห์ ระหว่างทาง อุปติสสะปริพพาชก ซึ่งเดินทางมาจากส�ำนักปริพพาชกได้พบเห็น พระอั ส สชิ มี กิ ริ ย าอาการอั น สงบส� ำ รวม น่าเลื่อมใส จึงอยากทราบว่าใครเป็นศาสดา ของพระอัสสชิและมีคำ� สัง่ สอนเช่นไร พระอัสสชิ จึงแจ้งว่าตนเป็นนักบวชในส�ำนักของ พระ มหาสมณะ ผู้เป็นโอรสแห่งศากยวงศ์ พร้อม กั บ แสดงธรรมอั น ย่ น ย่ อ ของพระพุ ท ธองค์ ซึ่งก็คือพระคาถา เย ธมฺมาฯ นั่นเอง

ท�ำเนียบเจ้าอาวาส 1.พระชม 2.พระสังข์ 3.พระมหาชั่ง อตุโล 4.พระหลอม 5.พระครูพิพัฒน์กาญจนคุณ 6.พระครูกาญจนกิตติชัย

พ.ศ.2516 - 2517 พ.ศ.2517 - 2518 พ.ศ.2518 - 2519 พ.ศ.2519 - 2521 พ.ศ.2521 - 2542 พ.ศ.2542 - ปัจจุบัน

KANCHANABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 123

123

20/07/61 10:16:50


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดพุทธบูชา

พระครูกาญจนปริยัติวิมล(ิตเวโท) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

วั ด พุทธบูชา ตั้งอยู่ เลขที่ 18 หมู่ที่ 1 ต�ำบลดอนตาเพชร อ�ำเภอพนมทวน

จั ง หวั ด กาญจนบุ รี สั ง กั ด คณะสงฆ์ ม หานิ ก าย

124

SBL บันทึกประเทศไทย I KANCHANABURI

.indd 124

19/07/61 17:21:56


ต� ำ บลดอนตาเพชร มี ภู มิ ป ระเทศเป็ น ลั ก ษณะที่ ร าบเชิ ง เขาและที่ ร าบลุ ่ ม และ มี แ หล่ ง อารยธรรมที่ มี ค วามส� ำ คั ญ ทางด้ า น ประวัตศิ าสตร์มากมาย จากตัวจังหวัดกาญจนบุรี ใช้ ท างหลวงหมายเลข 324 (ถนนอู ่ ท อง) มุง่ หน้าอ�ำเภออูท่ อง จังหวัดสุพรรณบุรี ไปตาม ถนนประมาณ 31 กิโลเมตร (ผ่านตัวอ�ำเภอ พนมทวนก่ อ น) พบสี่ แ ยกให้ เ ลี้ ย วซ้ า ยสู ่ ต�ำบลดอนตาเพชร ไปตามถนนอีกประมาณ 2 กิโลเมตร จะพบโรงเรียนวัดสาลวนาราม อยูท่ างซ้ายมือ แหล่งโบราณคดีบา้ นดอนตาเพชร และ “พิพธิ ภัณฑ์บา้ นดอนตาเพชร” อยูภ่ ายใน โรงเรียน เพื่อน�ำเสนอข้อมูลและเรื่องราวก่อน ประวัติศาสตร์ของบ้านดอนตาเพชรที่ได้จาก การด� ำ เนิ น งานด้ า นโบราณคดี ม าตั้ ง แต่ ป ี พ.ศ.2518 ผ่ า นภาพและค� ำ บรรยายต่ า งๆ

รวมทั้งโบราณวัตถุ หลุมขุดค้นจ�ำลอง และ หุ่นจ�ำลองแสดงภาพวิถีชีวิตในอดีต แหล่งโบราณคดีบ้านดอนตาเพชร ค้นพบ ครั้งแรก เมื่อวันที่ 25 กันยายน พ.ศ.2518 เมื่อโรงเรียนวัดสาลวนาราม ได้ให้นักเรียน ช่วยกันขุดหลุมดินเพือ่ ปักเสารัว้ ได้พบหลักฐาน โบราณวัตถุเป็นจ�ำนวนมาก มีโบราณคดีหลายอย่าง ที่เป็นหลักฐานยืนยันว่า “บ้านดอนตาเพชร คือบริเวณทีต่ ะวันตกและตะวันออกมาพบกัน” แบบอย่างที่มาจากทางตะวันออกที่พบที่นี่คือ ตุ้มหูและจี้ห้อยคอ หรือ ลิง-ลิง-โอ เป็นรูปสัตว์ ที่มีเขาสองหัวส�ำหรับห้อยคอ และตุ้มหูที่มี ยอดแหลมประดั บ สามยอด ที่ เ ป็ น เหมื อ น เครื่องประดับทั่วไปในบริเวณเอเชียตะวันออก ซึง่ พบว่าเป็นโบราณวัตถุชนิดนีเ้ ป็นวัตถุชนิ้ หนึง่ ซึ่งชาวซาหวีนในเวียดนามปัจจุบันใช้กันมาก

ซึ่งนี่เองที่เป็นหลักฐานส�ำคัญว่าพื้นที่บริเวณนี้ มีการติดต่อสัมพันธ์กับภายนอกทางทะเลที่มี ความเก่าแก่ นอกจากนี้จี้ห้อยคออีกชนิดหนึ่ง ทีพ่ บคือจีห้ อ้ ยคอรูปสิงห์เผ่น ซึง่ เป็นแบบอย่าง มาจากทางตะวั น ตกคื อ อิ น เดี ย นอกจากนี้ ลูกปัดหินสีที่พบบริเวณนี้ยังพบในแถบอินเดีย อีกด้วย อาจสรุปได้วา่ แหล่งโบราณคดีบา้ นดอนตาเพชร เคยเป็นชุมชนโบราณที่มีการติดต่อทางทะเล กับทั้งอินเดียและทางตะวันออก มีอายุอยู่ที่ ประมาณ 2500 ปีมาแล้วหรืออยู่ในยุคเหล็ก ซึ่งอาจเป็นจุดส�ำคัญในการเผยแผ่พระพุทธ ศาสนาในสมัยพระเจ้าอโศก หลังพุทธกาล ประมาณ 300 ปี มายั ง สุ ว รรณภู มิ และ หนึ่งในนั้นคือประเทศไทย ก็อาจเป็นไปได้ เช่นเดียวกัน

ประตูทางเข้าวัดพุทธบูชา มีภาพ กงล้อพระธรรมจักร อันหมายถึงการช่วยกันขับเคลื่อน พระพุทธศาสนาโดยการปฏิบตั บิ ชู า เป็นการบูชาพระคุณพระพุทธเจ้า พระธรรมเจ้า และพระสังฆเจ้า คือการน้อมรับพระรัตนตรัยเป็นทีพ่ งึ่ อันสูงสุดของชีวติ แล้วด�ำเนินชีวติ อยูบ่ นทางสายกลาง ดังปรากฏ อยู่ใน “ธัมมจักกัปปวัตนสูตร” ซึ่งเป็นปฐมเทศนา เทศนากัณฑ์แรก ที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงแก่ พระปัญจวัคคีย์ เมื่อพระผู้มีพระภาคตรัสธัมมจักกัปปวัตนสูตรนี้อยู่ ดวงตาเห็นธรรม ปราศจาก ธุลปี ราศจากมลทิน ก็ได้เกิดขึน้ แก่พระโกณฑัญญะ นับเป็นพระสงฆ์สาวกองค์แรกในพระพุทธศาสนา วันนั้นเป็นวันเพ็ญกลางเดือนอาสาฬหะหรือเดือน 8 เป็นวันที่พระรัตนตรัยครบบริบูรณ์ บังเกิด ขึ้นในโลกเป็นครั้งแรก คือมี พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ครบบริบูรณ์ ธัมมจักกัปปวัตนสูตร มีเนื้อหาแสดงถึงการปฏิเสธส่วนที่สุดสองอย่าง และเสนอแนวทางด�ำเนินชีวิตโดยสายกลาง อันเป็นแนวทางใหม่ให้มนุษย์ มีเนื้อหาแสดงถึงขั้นตอนและแนวทางในการปฏิบัติเพื่อบรรลุถึง อริยสัจทัง้ 4 คืออริยมรรคมีองค์ 8 โดยเริม่ จากท�ำความเห็นให้ถกู ทางสายกลางก่อน เพือ่ ด�ำเนินตาม ขัน้ ตอนการปฏิบตั ริ เู้ พือ่ ละทุกข์ทงั้ ปวง เพือ่ ความดับทุกข์ อันได้แก่นพิ พาน ซึง่ เป็นจุดมุง่ หมายสูงสุดของ พระพุทธศาสนา โดยแสดงถึง ส่วนทีส่ ดุ สองอย่าง ทีพ่ ระพุทธศาสนาปฏิเสธ อันได้แก่ “กามสุขลั ลิกานุโยค” คือการหมกมุน่ อยูใ่ นกามสุข และ “อัตตกิลมถานุโยค” คือการทรมานตนให้ลำ� บากโดยเปล่าประโยชน์ KANCHANABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 125

125

20/07/61 16:23:06


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดตรอกสะเดา

พระครูสมุห์ธีรพงษ์ นิราสโย ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

วั ด ตรอกสะเดา ตั้งอยู่เลขที่ 87

หมู ่ 5 ต� ำ บลหนองปลิ ง อ� ำ เภอเลาขวั ญ จังหวัดกาญจนบุรี สร้างก่อนพุทธศักราช 2483 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาแล้ว

นอกจากนี้วัดตรอกสะเดาเป็นสถานที่ใช้ใน การอบรมคุณธรรม จริยธรรม แก่นักเรียนและ เยาวชนและประชาชนทั่วไป จากภาพสังคม ไทยในปัจจุบัน มีการแข่งขันทางเศรษฐกิจ อย่างรุนแรง ท�ำให้เกิดผลกระทบต่อสภาวะ ความเป็นอยู่ของบุคคล เด็กและเยาวชนขาด การอบรมสั่งสอนให้มีความรู้ ความเข้าใจใน การศึกษาหลักธรรม คุณธรรม จริยธรรม เพื่อ น�ำไปใช้ในการปฏิบัติหน้าที่ให้อยู่ร่วมกันใน

126

สั ง คมได้ อ ย่ า งมี ค วามสุ ข การแข่ ง ขั น อย่ า ง รุนแรงทางด้านเศรษฐกิจ ท�ำให้คนส่วนใหญ่ เห็นแก่ประโยชน์ส่วนตน ขาดความตระหนัก ในความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คม ประเทศชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ วัดและโรงเรียน จึงช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกันในการช่วย ให้ เ ด็ ก ได้ มี ห ลั ก ธรรมอั น เป็ น หลั ก ใจในการ ด�ำเนินชีวิต ปฏิบัติตามหลักธรรมค�ำสอนของ พระพุทธศาสนา และนึกถึงประโยชน์ส่วนรวม

มากกว่ า ส่ ว นตน เพื่ อ ส่ ง เสริ ม ให้ ผู ้ เรี ย นมี คุณธรรม มีวินัยรวมทั้งจริยธรรมในการเรียน และเพื่ อ ส่ ง เสริ ม นั ก เรี ย นให้ มี ส มาธิ ใ นการ เรียน โดยมีกิจกรรมทางพระพุทธศาสนา และ กิจกรรมการเข้าค่ายด้วยพุทธบุตร หลวงปู ่ ฉ าย ยโสธโร เป็ น พระสงฆ์ ที่ มี ความเมตตา และมีความรู้ทางเรื่องต�ำรายาต้ม เพื่อคอยช่วยเหลือชาวบ้าน

SBL บันทึกประเทศไทย I KANCHANABURI

.indd 126

20/07/61 14:12:12


HIST ORY OF BUDDH ISM

บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดบ่อระแหงคุณาราม

พระปลัดสุทน ฐานทินฺโน ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

วัดบ่อระแหงคุณาราม เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตั้งอยู่

หมู่ที่ 16 ต�ำบลพังตรุ อ�ำเภอพนมทวน จังหวัดกาญจนบุรี ภายในวัดมีพระพุทธรูป ปางปาลิไลยก์ องค์ ใหญ่ให้กราบสักการบูชา เพื่อน้อมน�ำธรรมะมาประพฤติปฏิบัติ ให้จิตใจร่ม เย็น

พระพุทธรูปปางปาลิไลยก์ เป็นพระพุทธรูป อยู่ในท่าอิริยาบถประทับนั่ง พระบาททั้งสอง วางอยู่บนดอกบัว พระหัตถ์ซ้ายขวาวางคว�่ำ บนพระชานุ(เข่า) พระหัตถ์ขวาวางหงายบน พระชานุ มีรูปช้างหมอบใช้งวงจับกระบอกน�้ำ และ อีกด้านหนึ่งมีลิงถือรวงผึ้งถวาย การศึกษาประวัติพระพุทธรูปปางต่างๆ ก็ เพือ่ น้อมจิตใจให้เห็นว่า เวลาเผชิญปัญหาอะไร อย่าย่อท้อต่ออุปสรรค และบางครั้งหากแก้

ปัญหาไม่ได้ก็ต้องปลีกวิเวกบ้าง เพื่อให้ปัญหา คลีค่ ลายไปก่อน และเมือ่ อยูน่ งิ่ ๆ ค่อยๆ ทบทวน ก็จะพบทางออกของปัญหานั้นๆ ในที่สุด ปัจจุบนั พระปลัดสุทน ฐานทินโฺ น เจ้าอาวาส และท่ า นยั ง เป็ น พระในโครงการพระสอน ศีลธรรมในโรงเรียนอีกด้วย เพือ่ ปลูกฝังคุณธรรม และจริ ย ธรรมให้ กั บ นั ก เรี ย นได้ มี ค วามรู ้ ความเข้าใจในหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา อย่างถูกต้องพร้อมกับมีความประพฤติที่ดีงาม

สนใจร่วมเส้นทางบุญกุศล และปฏิบัติธรรมที่วัดบ่อระแหงคุณาราม โทร. 09-2807-2159

KANCHANABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 127

127

20/07/61 14:27:12


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดนางาม พระครูโสภณกาญจนเขต (หลวงพ่อประสาร) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

วั ด นางาม ตั้งอยู่เลขที่ 197 บ้านนางาม ถนนหนองฝ้าย - สระกระโจม หมู่ที่ 2

ต� ำ บลหนองโสน อ� ำ เภอเลาขวั ญ จั ง หวั ด กาญจนบุ รี สั ง กั ด คณะสงฆ์ ม หานิ ก าย ที่ ดิ น ตั้ ง วั ด มี เ นื้ อ ที่ 28 ไร่ 1 งาน 30 ตารางวา ตั้ ง ขึ้ น เมื่ อ พ.ศ.2483 ชาวบ้ า นร่ ว มกั น สร้ า งวั ด ขึ้ น เพื่ อ เป็ น สถานที่ บ� ำ เพ็ ญ ประจ� ำ หมู ่ บ ้ า น ผู ้ น� ำ สร้ า ง คื อ นายพริ้ ง แป้ น เขี ย ว 128

SBL บันทึกประเทศไทย I KANCHANABURI

.indd 128

20/07/61 10:18:10


สืบสานงานประเพณีแห่เทียนเข้าพรรษา เป็ น เวลาทุ ก ปี ที่ วั ด นางาม ร่ ว มกั บ องค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองโสน จัดขบวน ม้ า วั ว ควาย ทรงเครื่ อ งร่ ว มแห่ เ ที ย น เข้าพรรษา โดยในปีทผี่ า่ นมา วันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ.2560 พระครูโสภณ กาญจนเขต เจ้าอาวาส วัดนางาม ได้จดั กิจกรรมสืบสานขนมธรรมเนียม งานประเพณีแห่เทียนเข้าเนือ่ งในวันเข้าพรรษา ประจ� ำ ปี พ.ศ.2560 ซึ่ ง งานประเพณี แ ห่ วัวเทียมเกวียน ขบวนม้าแห่ เริ่มมีมาเมื่อปี พ.ศ.2557 จากนั้ น ประธานในพิ ธี ก ล่ า วเปิ ด งาน พร้อมกับตีฆอ้ ง 3 ครัง้ เสร็จแล้วประธานในพิธี พร้อมคณะได้เดินทางขึ้นหลังม้าเพื่อน�ำขบวน แห่เทียนเข้าพรรษาออกเดินทางจากสนาม หน้าโรงเรียนบ้านหนองโสน ตามด้วยขบวน พระบรมฉายาลักษณ์ของในหลวงรัชกาลที่ 10 ตามด้ ว ยขบวนนางฟ้ า แต่ ง กายแบบไทยๆ

นัง่ บนวัวเกวียนเทียม และ ขบวนม้า ขบวนควาย ที่ ต กแต่ ง ทรงเครื่ อ งสวยงามกว่ า 300 ตั ว เดินทางไปยังวัดนางามเพือ่ น�ำเทียนกว่า 30 ต้น ไปถวายแก่พระภิกษุสงฆ์วัดนางาม เนื่องใน เทศกาลเข้าพรรษา เมือ่ ขบวนแห่เทียนเข้าพรรษาเดินทางมาถึง ยังวัดนางามแล้ว ขบวนแห่ดังกล่าวได้เดิน อย่างมีสติ รอบพระอุโบสถจ�ำนวน 3 รอบ เสร็จแล้วขบวนแห่เทียนของแต่ละหมู่บ้าน ที่ได้น�ำเทียนพรรษามาถวาย โดยการน�ำเทียน ดังกล่าวลงจากวัวเกวียนเทียน แล้วน�ำไปไว้ยัง ภายในศาลาการเปรียญของวัด ต่อจากนั้น ขบวนแห่เทียนได้นำ� ต้นเทียนดังกล่าวถวายแก่ พระภิกษุสงฆ์เพือ่ จะได้นำ� ไปใช้ในช่วงเข้าพรรษา ที่ จ ะมาถึ ง ซึ่ ง ช่ ว ยท� ำ ให้ พ ระภิ ก ษุ ส งฆ์ ไ ด้ มี แสงสว่างในการบ�ำเพ็ญภาวนาตลอดสามเดือน อย่างเต็มก�ำลังในยามค�่ำคืน

อานิสงส์ถวายเทียนพรรษา การถวายเที ย นพรรษา เป็ น โบราณ ประเพณีที่ท�ำสืบๆ มาเป็นเวลาช้านาน เมื่อถึง ฤดู เข้ า พรรษา ภิ ก ษุ ทั้ ง ปวงต้ อ งจ� ำ พรรษา ในอาวาสของตน 3 เดือน พุทธศาสนิกชน ทั้งหลาย จึงได้จัดท�ำให้เป็นกุศลพิธีขึ้น เมื่อ ได้น�ำเทียนไปถวายพระสงฆ์แล้ว ท่านก็จะได้ จุ ด บู ช าต่ อ หน้ า พระประธานในพระอุโ บสถ ผูถ้ วายย่อมได้รบั อานิสงค์ คือ 1.ท�ำให้เกิดปัญญา ทัง้ ชาตินแี้ ละชาติหน้า เปรียบเหมือนแสงสว่าง แห่งเทียน 2.ท�ำให้ชวี ติ สว่างไสวรุง่ เรือง ผูถ้ วาย ย่อมท�ำให้มคี วามรุง่ เรืองด้วย ลาภ ยศ สรรเสริญ 3.ท� ำ ให้ ค ลี่ ค ลายเรื่ อ งราวต่ า งๆ ที่ มี ป ั ญ หา ให้ร้ายกลายเป็นดี 4.เจริญไปด้วยมิตรบริวาร 5.ย่อมเป็นทีร่ กั ของมนุษย์ และเทวดาทัง้ หลาย 6.เมือ่ จากโลกนีไ้ ปย่อมมีกายทิพย์อนั สว่างไสว 7.เมื่อลาลับโลกนี้ไปย่อมไปสู่สุคติสวรรค์ และ 8.หากบารมีมากพอ ย่อมท�ำให้เกิดดวงตาจักษุ คือปัญญารู้แจ้งเข้าสู่พระนิพพาน

KANCHANABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 129

129

20/07/61 10:18:23


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดเขาวงพระจันทร์

พระครูสุชาติกาญจนวงศ์ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

วัดเขาวงพระจันทร์ ตั้งอยู่เลขที่ 289/1 หมู่ 3

ต�ำบลหนองฝ้าย อ�ำเภอเลาขวัญ จังหวัดกาญจนบุรี สั ง กั ด คณะสงฆ์ ม หานิ ก าย และ วั ด เขาวงพระจั น ทร์ ยั ง เป็ น ส� ำ นั ก ปฏิ บั ติ ธ รรมประจ� ำ จั ง หวั ด กาญจนบุ รี แห่ ง ที่ 6 อี ก ด้ ว ย

ส�ำนักปฏิบัติธรรมประจ�ำจังหวัด (ศธจ.)

ปัจจุบนั ส�ำนักปฏิบตั ธิ รรมประจ�ำจังหวัด มีจำ� นวนกว่า 1,510 ส�ำนัก แบ่งเป็นมหานิกาย 1,339 ส�ำนัก และธรรมยุต 171 ส� ำ นั ก กระจายอยู ่ ใ นทุ ก จั ง หวั ด ในประเทศไทย โดยมีส่วนการศึกษาสงเคราะห์ กองพุทธศาสนศึกษา ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ เป็นหน่วยงานหลัก ทีร่ บั สนองงานการด�ำเนินงานสนับสนุนส�ำนักปฏิบตั ธิ รรม ประจ�ำจังหวัด ของมหาเถรสมาคมในปัจจุบัน ซึ่งทาง วัดเขาวงพระจันทร์ ได้รบั การแต่งตัง้ ให้เป็น ส�ำนักปฏิบตั ธิ รรม ประจ�ำจังหวัดกาญจนบุรี แห่งที่ 6 ตั้งแต่ พ.ศ.2550 เป็นต้นมาจนถึงปัจจุบัน

ร่วมสร้างเส้นทางบุญกับวัดเขาวงพระจันทร์ โทร. 08-1705-0159

130

SBL บันทึกประเทศไทย I KANCHANABURI

.indd 130

20/07/61 14:30:16


HIST ORY OF BUDDHISM

บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดโพธิเ์ อน ตัง้ เมือ่ พ.ศ.2483 เป็นวัดเก่าแก่ สงบร่มรืน่ เป็นโบราณสถานทีม่ คี วามสวยงามตามแบบวัดในท้องถิน่ ของชาวพุทธทั่วไป ชาวบ้านเรียกว่า “วัดหนองโพธิ์เอน” ชาวบ้านหนองโพธิเ์ อนร่วมกันสร้างขึน้ โดยมีผบู้ ริจาคทีด่ นิ ในการสร้างวัด คือ นายมา - นางเฉย โพธิ์พันธ์, นายผัน - นางฟัก พานทอง, นายทุน่ - นางบุญธรรม สกุลพราหมณ์, นายเฉียบ - นางจวน โพธิพ์ นั ธ์, นายผวน-นางมะลิ พานทอง จากวันนั้นถึงวันนี้ วัดโพธิ์เอนเป็นศูนย์รวมจิตใจของ ชาวบ้านหนองโพธิ์เอนต�ำบลหนองปลิง ด้วยการจัดการ ปฏิบัติธรรม ส่งเสริม สนับสนุนขนบธรรมเนียมประเพณี วิถีพุทธ วิถีธรรม และวัฒนธรรมท้องถิ่นมาโดยตลอด

วัดโพธิ์เอน

พระอธิการส�ำรวย โชติโก ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

วั ด โพธิ์ เ อน ตั้ ง อยู ่ บ ้ า นเลขที่ 125 บ้ า นหนองโพธิ์ เ อน หมู ่ ที่ 9

ต�ำบลหนองปลิง อ�ำเภอเลาขวัญ จังหวัดกาญจนบุรี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ที่ ดิ น ตั้ ง วั ด มี เ นื้ อ ที่ 22 ไร่ 1 งาน อาณาเขต ทิ ศ เหนื อ จดที่ น ายเฉี ย บ ทิ ศ ใต้ จดถนน รพช. ทิ ศ ตะวั น ออก จดที่ ดิ น เอกชน ทิ ศ ตะวั น ตก จดที่ น ายเฉี ย บ เป็ น วั ด ที่ ตั้ ง อยู ่ ใ นตั ว หมู ่ บ ้ า น สั ม ผั ส ความเป็ น ธรรมชาติ ใ นชุ ม ชนที่ ผสานกั น อย่ า งกลมกลื น และงดงาม KANCHANABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 131

131

23/07/61 10:47:38


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดใหม่ภูมิเจริญ พระอธิการผ่อน จนฺทาโภ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

วัดใหม่ภูมิเจริญ ตั้งอยู่เลขที่ 119 หมู่ 6 ต�ำบลหนองโสน อ�ำเภอเลาขวัญ

จังหวัดกาญจนบุรี สังกัดสงฆ์มหานิกาย โดยมี พระอธิการผ่อน จนฺทาโภ ด�ำรง ต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

ขอเชิญร่วมสร้างเส้นทางบุญกับวัดใหม่ภูมิเจริญ โทร.08-9993-9663 132

ต�ำบลหนองโสน เป็นต�ำบลหนึ่งของอ�ำเภอเลาขวัญ จั ง หวั ด กาญจนบุ รี มี ห มู ่ บ ้ า นทั้ ง สิ้ น 8 หมู ่ บ ้ า น โดย ชาวบ้านยังคงความเป็นชุมชนเกษตรกรรมอยู่มาก และ มีวดั ใหม่ภมู เิ จริญ เป็นทีพ่ งึ่ ทางใจ และในอ�ำเภอ “เลาขวัญ” ส่ ว นใหญ่ นั บ ถื อ ศาสนาพุ ท ธ มี ร าษฎรเชื้ อ สายลาว ที่อพยพมาตั้งถิ่นฐานอยู่บ้านเกาะ บ้านเก่ามากมาย การหลอมรวมชาวบ้านให้เป็นหนึ่ง คือ บวร (บ้าน วัด ชุมชน) วัดใหม่ภูมิเจริญ จึงไม่เพียงเป็นศูนย์รวมจิตใจ ของชาวหนองโสนเท่านั้น หากยังเป็นสถานปฏิบัติธรรม บ�ำเพ็ญกุศล และเจริญวิปสั สนาให้ยงิ่ ขึน้ ไปจนกว่าจะพ้นทุกข์

SBL บันทึกประเทศไทย I KANCHANABURI

.indd 132

20/07/61 14:46:58


วัดหนองจั่น พระฐาปกรณ์ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

วั ด หนองจั่ น ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 158 หมู ่ 4 ต� ำ บลหนองนกแก้ ว อ� ำ เภอเลาขวั ญ

จั ง หวั ด กาญจนบุ รี ต� ำ บลหนองนกแก้ ว อยู ่ ห ่ า งจากตั ว อ� ำ เภอเลาขวั ญ ไปทางทิ ศ ใต้ ระยะทางประมาณ 12 กิ โ ลเมตร ประกอบด้ ว ย 9 หมู ่ บ ้ า น ประชาชนส่ ว นใหญ่ นั บ ถื อ ศาสนาพุ ท ธ และมี พ ระรั ต นตรั ย เป็ น ที่ พึ่ ง ทุ ก เช้ า ชาวบ้ า นใส่ บ าตรท� ำ บุ ญ เป็ น กิ จ วั ต ร และวั น โกนวั น พระก็ ม าปฏิ บั ติธ รรม ถื ออุ โบสถศี ล กั น ที่ วัด

ร่วมสร้างเส้นทางบุญกับทางวัดหนองจั่น โทร. 061-203-8840 การรักษาอุโบสถศีลมีอานิสงส์มาก ศี ล แปด หรื อ อุ โ บสถศี ล เป็ น ศี ล ของ คฤหั ส ถ์ โดยมั ก จะรั บ ศี ล แปดในวั น พระ หากรักษาศีลแปดเป็นเวลา 1 วัน เรียกว่า “ปกติอุโบสถ” และหากรักษา 3 วัน เรียกว่า “ปฏิชาครอุโบสถ” ศีลทั้งแปดข้อประกอบด้วย

เว้นจากการฆ่าสัตว์ เว้นจากการขโมยสิ่งของที่คนอื่นไม่ได้ให้ เว้นจากการประพฤติผิดพรหมจรรย์ เว้นจากการพูดโกหก ไม่พูดหยาบคาย ส่อเสียด เพ้อเจ้อ ซึ่งเป็นสัมมาวาจา เว้ น จากการกิ น เหล้ า ที่ เ ป็ น ที่ ตั้ ง ของ ความไม่ระมัดระวัง

เว้นจากการกินในยามวิกาล (หลังเทีย่ งวัน ถึงรุ่งเช้าของวันใหม่) เว้นจากการฟ้อนร�ำขับร้อง ประโคมดนตรี และประดั บ ร่ า งกายด้ ว ยดอกไม้ ข องหอม เครื่องประดับ เครื่องทา เครื่องย้อม เว้นจากการนั่งนอนเหนือเตียงตั่ง ที่เท้า สูงเกิน ภายในมีนุ่นหรือส�ำลี KANCHANABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 133

133

23/07/61 14:04:39


นั่ ง เล่ น แช่ ข าในน�้ ำ ใสเย็ น ชมวิ ว แม่ น�้ ำ แควใหญ่ บนแพพั ก ริ ม น�้ ำ d u e n s h i n e

เดือนฉายรีสอร์ท ทีพ ่ กั ริมน�ำ้ สะดวกสบาย กระท่อมหลังน้อยในสวน หรือนอนบนแพ เมื่ อ มาเที่ ย วกาญจนบุ รี เ พี ย ง 7 กิ โ ลเมตร จากตั ว เมื อ งกาญจนบุ รี ท่ า นจะได้ พ บกั บ เดื อ นฉายรี ส อร์ ท โรงแรมใกล้ ตั ว เมื อ งกาญจนบุ รี ติดแม่นำ�้ แควใหญ่ บรรยากาศ ธรรมชาติรมิ น�ำ้ แวดล้อมไปด้วยต้นไม้ใหญ่ ร่มรื่นในสวน และสนามหญ้าเขียวจี

เพลิ ดเพลิ น กั บ กิ จ กรรมต่ า งๆ เดิ น เล่ น ออกก� ำ ลั ง กายท่ า มกลางสวนสวย ตกปลา ล่ อ งแพ พายเรื อ คายั ค หรือสระว่ายน�้ำริมแม่น�้ำแควใหญ่ ส�ำหรับหน่วยงานราชการ บริษัท และคณะทัวร์ เดือนฉายรีสอร์ท บริการแนะน�ำสถานที่ ศึ ก ษาดู ง าน ท�ำ กิจกรรม CSR บริก ารจั ด กิ จกรรม walk rally ด้ วยที ม งานที่มี ป ระสบการณ์ 134

2

SBL บันทึกประเทศไทย I LOP BURI

.

.indd 134

19/7/2561 16:16:04


สามารถจั ด โปรแกรมท่ อ งเที่ ย วกาญจนบุ รี พ ร้ อ ม ที ม งานน� ำ เที่ ย ว บริ การท่ า นด้ วยห้ อ งพัก 3 สไตล์โรงแรม บั ง กะโล แพพั ก พร้ อ มสิ่ ง อ� ำ นวยความสะดวก แอร์ ที วี ตู ้ เ ย็ น น�้ ำ อุ ่ น ทุ ก ห้ อ ง เพี ย ง 5 นาที จ ากรี ส อร์ ท สามารถ สั ม ผั ส แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วยามค�่ ำ คื น

เดื อนฉายรี ส อร์ ท กาญฯ พร้ อมบริ ก ารท่า น ด้วย ห้องสัมมนา พร้อมอุปกรณ์มาตรฐาน สถานที่จัดกิจกรรม Walk Rally, แคมป์ไฟ พร้อมทีมวิทยากร งานเลี้ยงสังสรรค์ หรืองานแต่งงาน สระว่ายน�้ำ แพพักที่สะดวกสบายมั่นคง แพพักพร้อมแอร์ ทีวี ตู้เย็น น�้ำอุ่น โ ร ง แ ร ม ริ ม น�้ ำ แ ล ะ โรงแรมในสวนร่มรื่น รี ส อร์ ท บ้ า นพั ก แบบ บังกาโลส่วนตัว ล่องแพเธค คาราโอเกะ ขนาดใหญ่ได้มาตรฐาน ล่องแพกาญจนบุรี ชมสะพานข้ามแม่น�้ำแควสัญลักษณ์ ของกาญจนบุรีอย่างใกล้ชิด จัดโปรแกรมทัวร์กาญจนบุรี จัดโปรแกรมศึกษาดูงาน ในกาญจนบุรีส�ำหรับหน่วยงานต่างๆ

จองโปรแกรมทัวร์ 034-551109, Mobile. 084-8681978 Fax. 034-653346 info@duenshine.com

ร้านคอร์เนอร์ 112 99/9 หมู่ 3 ต.ท่ามะขาม อ.เมือง จ.กาญจนบุรี 71000 ติดต่อส�ำรองห้องพัก Tel. 034-653369-70, 034-653345, 034-551111-2 Mobile. 081-7360044, 081-7802088 จองโปรแกรมทัวร์ Tel. 034-551109, Mobile. 084-8681978 Fax. 034-653346, Email. info@duenshine.com

เดือนฉายรีสอร์ท

99/9 หมู่ 3 ต.ท่ามะขาม อ.เมือง จ.กาญจนบุรี 71000 ติดต่อส�ำรองห้องพัก 034-653369-70, 034-653345, 034-551111-2 Mobile. 081-7360044, 081-7802088 www.duenshine.com LOP BURI I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.

.indd 135

135

19/7/2561 16:16:10


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดพระธาตุโป่งนก พระครูมงคลกาญจนวิจิตร (พระอาจารย์ศิลปจิตร รมฺจิตโต) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

วั ด พระธาตุโป่งนก ตั้งอยู่ที่หมู่ 4 บ้านโป่งนก ต�ำบลด่านมะขามเตี้ย อ�ำเภอ

ด่ า นมะขามเตี้ ย จั ง หวั ด กาญจนบุ รี วั ด อยู ่ ท ่ า มกลางธรรมชาติ โ อบล้ อ มด้ ว ยความร่ ม รื่ น ของแมกไม้ แ ลเห็ น พระสถู ป เจดี ย ์ พ ระมหาจุ ฬ ามณี ศ รี ม หาธาตุ ที่ ตั้ ง อยู ่ บ นเขา ภายใน บรรจุ พ ระบรมสารี ริ ก ธาตุ ที่ ไ ด้ ม าจากหลวงพ่ อ ใหญ่ วั ด พระธาตุ ด อยตุ ง 136

SBL บันทึกประเทศไทย I KANCHANABURI

.indd 136

19/07/61 16:47:56


วัดพระธาตุโป่งนก เดิมเป็นที่พักสงฆ์ถูกทิ้งรกร้างว่างเปล่า ต่อมาภายหลังในปี พ.ศ.2543 พระอาจารย์ศลิ ปะจิตร รมจิตโฺ ต ชาวจังหวัดราชบุรี บวชเป็นภิกษุทวี่ ดั มหาธาตุวรวิหาร จังหวัดราชบุรี เมือ่ บวชได้ 5 พรรษาได้ออกธุดงค์ไปทั่ว ตั้งแต่ราชบุรี เลยขึ้นเหนือสุดที่จังหวัดเชียงราย ใน แผ่นดิน สยามที่อ�ำเภอแม่สาย ได้พักและสร้างส�ำนักสงฆ์บูรณปฏิสังขรณ์ส�ำนักสงฆ์ถ�้ำปุ่ม อยู่ 4 ปี จากนั้นได้เดินทางกลับวัดที่จังหวัดราชบุรี ผ่านที่พักสงฆ์ อ�ำเภอ ด่านมะขามเตี้ย ได้มีญาติโยมนิมนต์ให้อยู่บูรณะที่พักสงฆ์แห่งนี้ และได้เริ่ม บูรณะให้เป็นส�ำนักสงฆ์ ชื่อส�ำนักปฏิบัติธรรมพระอาจารย์ศิลปะจิตร ได้ อบรมศีลธรรมปัญญาให้แก่ กุลบุตรกุลธิดาให้ญาติโยมบริเวณส�ำนักสงฆ์ ได้มีที่พึ่งทางใจตลอดมา ในปี พ.ศ.2543 พระอาจารย์ศิลปะจิตร รมจิตฺโต ได้ อธิฐานจิตว่าถ้าบริเวณนี้มีแหล่งน�้ำ ก็ขออย่าขาดน�้ำใช้ เพื่อจะมาก่อสร้างให้เกิด เป็นวัดได้ส�ำเร็จ จึงน�ำช่างมาขุดเจาะบาดาลจนพบและมีน�้ำใช้ได้ไม่ขาดจนถึง ปัจจุบัน ท่านจึงได้ก่อตั้งวัดขึ้นมา เมื่อวันที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ.2544 ด�ำเนิน การท�ำเรื่องขออนุญาตใช้ที่ดินบริเวณเชิงเขา สร้างเป็นส�ำนักสงฆ์อย่างถาวร ระหว่างนั้นมีพระสงฆ์จ�ำพรรษา 3 รูปต่อมามีบรรพชาสามเณรอีก 5 รูป และ มีอุบาสิกาอีก 3 คน ต่อมาทางองค์การบริหารส่วนต�ำบลได้อนุญาตให้สร้าง ส�ำนักสงฆ์ได้ ท่านจึงได้ด�ำเนินการปรับสถานที่บนเนินเขาเป็นลานวัดแล้ว จึงได้ท�ำเรื่องขอที่ดิน จากส�ำนักงานราชพัสดุและกรมธนารักษ์ ผ่านตาม ขัน้ ตอนสภาต�ำบล อ�ำเภอ และจังหวัดกาญจนบุรแี ละทีส่ ดุ ส�ำนักราชพัสดุ ก็มอบหมายให้กรมธนารักษ์ ส่งช่างวิศวกรรมมาท�ำรังวัดในเนือ้ ที่ ทีว่ ดั ดูแลและครอบครองอยู่ เป็นเนื้อที่ 537 ไร่ 3 งาน 40 ตารางวา แล้ว ออกเอกสารสิทธิให้เป็นที่สร้างวัด กับทั้งอนุรักษ์ป่าและสัตว์ ในปี พ.ศ. 2546 ได้รบั ความเมตตาจากพลเอกธนเดช ปทุมรัตน์ เจ้ากรมการทหารช่าง ได้เมตตาอนุเคราะห์ ปรับพื้นลานวัดและถนน พร้อมทั้งสร้างศาลา เอนกประสงค์จ�ำนวน 1 หลัง และวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ.2547 ได้เริ่ม ก่อสร้างพระมหาสถูปเจดียจ์ ฬุ ามณีศรีมหาธาตุบนยอดดอยเขา องค์พระธาตุ ทรงระฆังคว�่ำ บนยอดเจดีย์มีเศวตฉัตร ศิลปะทวารวดี ถัดไปอีกเขา ลูกหนึง่ ได้สร้างพระเจ้าทันใจ และศาลา 8 เหลีย่ มซึง่ เป็นทีป่ ระดิษฐาน พระพุทธบาทจ�ำลองคู่โบราณที่พบบนวัด เจ้าหน้าที่กรมศิลปากร

มาตรวจดูเป็นยุคหลังพุทธกาล 1000 - 1100 ปี ปัจจุบันอยู่บนยอดเขาโป่งนก และเป็นที่ตั้ง ของสระอโนดาต บนยอดเขา วัดพระธาตุโป่งนก ได้รับหนังสืออนุญาต สร้างวัดเมื่อ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ.2552 และได้รับอนุญาตตั้งวัดเมื่อวันที่ 13 เมษายน พ.ศ.2555 โดยนายณัฐพงศ์ นาครัชตะอมร เป็นผูข้ ออนุญาตตัง้ วัด ทางวัดได้รบั การประกาศ จากส�ำนักพระพุทธศาสนาแห่งชาติให้เป็นวัด ถูกต้องตามกฎหมายเมื่อ พ.ศ.2556 ได้รับ พระเมตตาจากสมเด็จพระญาณสังวรเสด็จ พระสังฆราชสกลมหาสังฆปรินายก พระสังฆราช องค์ที่ 19 ในราชวงศ์จักรีทรงประทานให้วัด พระธาตุโป่งนกได้สร้างอุโบสถดินเพื่อเป็นการ ส่งเสริมพระราชด�ำริ ของในหลวงรัชกาลที่ 9 ในโครงการเศรษฐกิจพอเพียง ช่วยให้วดั ต่าง ๆ ทีส่ ร้างขึน้ แล้วยังไม่มอี โุ บสถ หรือวัดทีส่ ร้างใหม่ ได้มโี อกาสสร้างอุโบสถดินด้วยงบทีจ่ ำ� กัดเพียง 2.3 ล้านบาท ก็สามารถจะมีอุโบสถดินท�ำ สังฆกรรมได้ บัดนี้วัดพระธาตุโป่งนกได้สร้าง อุ โ บสถดิ น ส� ำ เร็ จ แล้ ว และได้ จั ด งานฉลอง อุโบสถดิน เมื่อวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ.2561 แล้ว ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาประกาศส�ำนัก นายกรัฐมนตรี ครั้งที่ 1 ประจ�ำปี 2561 ใน วันพุธที่ 14 มีนาคม พ.ศ.2561 ณ หอประชุม พุทธมณฑลเป็นที่เรียบร้อยแล้ว

ติดต่อปฏิบัติธรรมกับทางวัดที่ พระอาจารย์ศิลปจิตร รมฺจิตโต เจ้าอาวาส โทรศัพท์ 08-1807-9202 ท่านใดมีความประสงค์ร่วมท�ำบุญได้ที่ ธนาคารกรุงไทย สาขากาญจนบุรี บัญชีออมทรัพย์ เลขที่ 713-0-59552-3 หรือ ธนาณัติ : วัดพระธาตุโป่งนก ต�ำบลด่านมะขามเตี้ย อ�ำเภอด่านมะขามเตี้ย จังหวัดกาญจนบุรี 71260 KANCHANABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 137

137

19/07/61 16:49:40


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดไทรทองพัฒนา

พระธรรมธรณรงค์ ปริปุณโน ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

วั ด ไทรทองพั ฒ นา ตั้ ง อยู ่ ห มู ่ ที่ 5 บ้ า นไทรทอง ต� ำ บลจระเข้ เ ผื อ ก

อ� ำ เภอด่ า นมะขามเตี้ ย จั ง หวั ด กาญจนบุ รี ทางทิ ศ ตะวั น ตกเฉี ย งใต้ มี เ นื้ อ ที่ ประมาณ 35 ไร่ เ ศษ ตั้ ง ห่ า งจากตั ว จั ง หวั ด ประมาณ 47 กิ โ ลเมตร การคมนาคม จากตั ว จั ง หวั ด ถึ ง ตั ว อ� ำ เภอเป็ น ถนนลาดยาง ส่ ว นจากตั ว อ� ำ เภอ ถึ ง วั ด เป็ น ถนนลาดยาง ประมาณ 15 กิ โ ลเมตร 138

วั ด ไทรทองพั ฒ นา แต่ เ ดิ ม ในอดี ต ได้ ชื่ อ ว่ า วั ด ราษฎร์ ศ รั ท ธาธรรม ต่ อ มาเปลี่ ย นชื่ อ ใหม่ ว ่ า วัดใหม่ไทรทอง และมาท�ำการเปลี่ยนชื่ออีกครั้งว่า “วัดไทรทองพัฒนา” จนถึงปัจจุบนั วัดไทรทองพัฒนา เป็นวัดเก่าสร้างขึ้นประมารปี พ.ศ.2482 โดยมีนาย สูเ้ ซ้น ตัง้ สุขสันต์ เป็นผูบ้ ริจาคทีด่ นิ จ�ำนวน 19 ไร่เศษ ประมาณปี พ.ศ.2510 โดยมีหลวงปู่หลิว ปณฺณโก เข้ า มาอุ ปถั มภ์ และด� ำ เนิ นการก่อสร้า ง อาคาร เสนาสนะต่างๆ จนมีหลักฐานมัน่ คง ต่อมาหลวงปูห่ ลิว ปณฺ ณ โก และกรรมการวั ด เห็ น ว่ า เนื้ อ ที่ วั ด ยั ง มี พื้นที่คับแคบอยู่ จึงซื้อที่ดินเพิ่มเติมอีก 20 ไร่ ท�ำให้ วั ด มี อ าณาเขตกว้ า งขวาง รองรั บ ผู ้ บ� ำ เพ็ ญ บุ ญ ปฏิบัติธรรมได้มากขึ้นในปัจจุบัน

SBL บันทึกประเทศไทย I KANCHANABURI

.indd 138

23/07/61 14:08:17


หลวงปู่หลิว ปณฺณโก เทพเจ้าพญาเต่าเรือน

หลวงปู่หลิว นับเป็นผู้ทรงอภิญญาและมี พุทธาคมสูงส่ง ท่านเป็นผู้ที่มีเมตตา พร้อมที่ จะช่วยเหลือผู้ตกทุกข์ได้ยาก พร้อมจะเสีย สละให้กับบวรพุทธศาสนาท่านไปอยู่ยังที่แห่ง ใดก็ เ ปรี ย บเหมื อ นดวงประที ป ของที่ นั่ น จน ท่านได้ชื่อว่าเป็น “พุทธบุตร” ที่ทุกคนยกย่อง หลวงปู ่ ห ลิ ว เคยตั้ ง ปณิ ธ านด้ ว ยสั จ จะ 2 ประการ คือ 1.ลดเลิกอบายมุขทุกชนิด 2.เมื่อ มีโอกาสสั่งสมบารมีด้วยการสร้างเสนาสนะ ภายในวั ด เช่ น โบสถ์ วิ ห าร กุ ฏิ ศาลา การเปรี ย ญ จนกว่ า ชี วิ ต จะหาไม่ ความ ปรารถนาอันแรงกล้าของหลวงปู่หลิว เป็นผล ให้อ�ำนาจบารมีของคุณพระศรีรัตนตรัยและ สิ่ ง ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ทั้ ง หลายที่ ส ถิ ต ย์ ทั่ ว จั ก รวาล ดลบั น ดาลให้ ท ่ า นมี “วาจาสิ ท ธิ์ ” กั บ “ญาณทิพย์” มาขจัดปัดเป่าความทุกข์โศก ของเหล่าบรรดาศิษยานุศษิ ย์ ได้อย่างเหลือเชือ่ ประวั ติ พระครู ว ชิ ร กาญจนสาร (หลวงพ่ อ เพชร) พระครูวชิรกาญจนสาร หรือ หลวงพ่อเพชร มีนามเดิมว่า วิเชียร พ่วงโสม เกิดวันที่ 20 มีนาคม พ.ศ.2507 หลวงพ่อเพชรได้ร�่ำเรียนวิชากับหลวงปู่หลิวจนส�ำเร็จ หลวงปู่หลิวจึงได้ ส่งหลวงพ่อเพชร มาจ�ำพรรษา ณ วัดไทรทองพัฒนา เมื่อ พ.ศ.2539 และได้ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้า อาวาส ต่อมาท่านได้สร้างอุโบสถหลังใหญ่ และพัฒนาวัดมาโดยตลอดท�ำให้หลวงพ่อเพชรได้เป็น เจ้าคณะต�ำบลและท่านยังได้รับแต่งตั้งสมณศักดิ์เป็น พระครูวชิรกาญจนสาร เมื่อ วันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ.2548 หลังจากนั้นท่านได้มรณภาพเมื่อวันที่ 25 ตุลาคม 2558 ถือว่าเป็นการสูญ เสียพระเกจิที่ขึ้นชื่อว่าปิดต�ำนาน “ศิษย์เอกหลวงปู่หลิว ปณฺณโก เทพเจ้าพญาเต่าเรือน” ท�ำเนียบเจ้าอาวาส 1. หลวงปู่หลิว ปณฺณโก 2. พระกลุ่ม สุภาจาโร 3. หลวงตาโทน อาทโร 4. พระป๋อง วิจิตโก 5. อาจารย์มานิตย์ ปวทฺฒโน 6. พระเก่ง สุจิตฺโต 7. อาจารย์สุดใจ มหาปุญโญ 8. พระรวม 9. อาจารย์น้อย 10. อาจารย์ฉัตร 11. พระครูวชิรกาญจนสาร(หลวงพ่อเพชร) 12. พระธรรมธรณรงค์ ปริปุณโน

รักษาการเจ้าอาวาส รักษาการเจ้าอาวาส รักษาการเจ้าอาวาส รักษาการเจ้าอาวาส รักษาการเจ้าอาวาส รักษาการเจ้าอาวาส รักษาการเจ้าอาวาส รักษาการเจ้าอาวาส รักษาการเจ้าอาวาส เจ้าอาวาส เจ้าอาวาส เจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน KANCHANABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 139

139

23/07/61 13:36:17


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดหนองไม้เอื้อย

พระครูกาญจนธรรมรัช ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าคณะอ�ำเภอหนองปรือ และเจ้าอาวาสวัดหนองไม้เอื้อย

วั ด หนองไม้เอื้อย ตั้งอยู่ในต�ำบลหนองรี อ�ำเภอบ่อพลอย จังหวัดกาญจนบุรี

ความเป็นมาของวัดตั้งแต่ก่อนปี พ.ศ.2444 โดยโยมจันทร์ อ่อนสนิท และโยมพงษ์ คล้ายเจ๊ก เป็ น ผู ้ ถ วายที่ ดิน ให้สร้างวัด มีเ นื้อ ที่ดิน ทั้งหมด 12 ไร่ 2 งาน สมั ย นั้ น เจ้ า อาวาสองค์ แรก คื อ หลวงพ่ อ เปลื้ อ ง ขุ น ช� ำ นาญ เป็ น ผู ้ ก ่ อ ตั้ ง และสร้ า งขึ้ น มาโดยตั้ ง ชื่ อ วั ด ว่ า วั ด เกาะแก้ ว วารีวงศ์ จนมาถึงปี พ.ศ.2500 หลวงพ่อเปลื้องมรณภาพลง ก็ ได้หลวงพ่อบัวคลี่ สนฺตจิตโต มาเป็นเจ้าอาวาสเป็นรูปที่ 2 ต่อมาชาวบ้านมีความเห็นว่า ชื่อวัดนั้นไม่สอดคล้องกับหมู่บ้าน จึ ง ได้ เ ปลี่ ย นชื่ อ วั ด เสี ย ใหม่ ใ ห้ ส อดคล้ อ งกั บ หมู ่ บ ้ า นโดยให้ ชื่ อ วั ด ว่ า วั ด หนองไม้ เ อื้ อ ย เพื่ อ จะได้ มี ค นรู ้ จั ก มากยิ่ ง ขึ้ น 140

SBL บันทึกประเทศไทย I KANCHANABURI

.indd 140

20/07/61 09:31:20


หลวงพ่อบัวคลี่ สนฺตจิตฺโต ก่อสร้างวัด เรื่ อ ยมาตามแต่ ก� ำ ลั ง ศรั ท ธาของชาวบ้ า น ที่พอท�ำได้ แต่ในปี พ.ศ.2522 สังขารของ หลวงพ่อบัวคลี่ไม่อ�ำนวย ท้ายที่สุดท่านก็ได้ มรณภาพลงสร้างความเสียใจให้กับชาวบ้าน เป็นอย่างมาก ท่านเจ้าคณะอ�ำเภอบ่อพลอย จึ ง ได้ ส ่ ง พระอาจารย์ ป ระพั น ธ์ มาเป็ น เจ้าอาวาสแทน อาจารย์ประพันธ์อยู่ได้ 1 ปี ก็ย้ายไป เป็นเหตุให้ชาวบ้านขาดที่พึ่งทางใจ เวลาจะท�ำบุญก็ไม่มีพระ เวลาจะเอาลูกหลาน มาบวช ก็ไม่มีอาจารย์คอยอบรบสั่งสอนได้ ชาวบ้ า นจึ ง ตกลงกั น ต้ อ งหาพระที่ มี ค วามรู ้ ความสามารถที่ จ ะมาดู แ ล และพั ฒ นาวั ด ให้ เจริ ญ รุ ่ ง เรื อ งต่ อ ไปได้ จึ ง ไปขอนิ ม นต์ พระธงชัย อายุวฑฺฒโก อยู่ที่วัดเนินบรรพต (วัดหลังเขา) มาเป็นเจ้าอาวาส เมื่อปี พ.ศ. 2524 พร้ อ มรั บ ต� ำ แหน่ ง รั ก ษาการแทน เจ้ า อาวาสอยู ่ 1 ปี และขอพระราชทาน วิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2525 ต่อมาเมื่อปี พ.ศ.2526 ได้รับแต่งตั้ง เป็นเจ้าอาวาสวัดหนองไม้เอื้อย ต�ำบลหนองรี อ�ำเภอบ่อพลอย จังหวัดกาญจนบุรี จนถึงปัจจุบนั

ประวั ติ ข องพระครู ก าญจนธรรมรั ช (ธงชั ย อายุ ว ฑฺ ฒ โก) พระครูกาญจนธรรมรัช ฉายา อายุวฒฺฑโก อายุ 54 พรรษา 30 วั ด หนองไม้ เ อื้ อ ย ต.หนองปรือ อ.หนองปรือ จ.กาญจนบุรี ต�ำแหน่งปัจจุบัน เจ้าคณะอ�ำเภอหนองปรือ เจ้าอาวาสวัดหนองไม้เอื้อย เดิมชื่อ ธงชัย ศรีสุพรรณ เกิดวันอังคารที่ 1 เมษายน พ.ศ.2495)ปีมะโรง ที่บ้านหนองบัว ต.จรเข้สามพัน อ.อู่ทอง จ.สุพรรณบุรี สมัย เด็กได้เข้าศึกษาประถมศึกษา ณ โรงเรียนวัด ปทุมวนาราม ด้วยฐานะยากจน(หลวงพ่อ) ก็ สามารถเรียนได้เพียงแค่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ต้องออกจากโรงเรียน เพราะบิดามารดาพา กั น ย้ า ยที่ ท� ำ มาหากิ น มาอยู ่ ที่ บ ้ า นหลั ง เขา ต.หนองกร่าง อ.บ่อพลอย จ.กาญจนบุรี สมัย นั้นหมู่บ้านหลังเขา มีชาวบ้านอยู่เพียง 3-4

หลังคาเรือนเท่านั้น เนื่องจากยังเป็นป่าดงดิบ การด� ำ รงชี วิ ต ในขณะนั้ น (หลวงพ่ อ )จึ ง ประกอบอาชีพด้วยการรับจ้างทั่วไป พออายุ ได้ 15 ปี ทางราชการก็ได้มีโครงการก่อสร้าง โรงเรียนบ้านหลังเขาขึ้นมา ด้วยตัวของ (หลวง พ่ อ )ที่ มี อ ายุ ม ากเกิ น ไปจึ ง ท� ำ ให้ ไ ม่ ส ามารถ กลั บ ไปเรี ย นหนั ง สื อ ได้ อี ก จึ ง ท� ำ ให้ ตั ว ของ หลวงพ่อเองนั้นมีปัญหาในการอ่านหนังสือ และการเขียนเป็นอย่างมาก พอครบอายุบวช (หลวงพ่อ)ก็สนองตอบแทน คุ ณ ค่ า น�้ ำ นมของผู ้ ที่ เ ป็ น มารดา บิ ด า ก็ ไ ด้ บรรพชาอุ ป สมบทเป็ น พระภิ ก ษุ ใ นบวร พระพุทธศาสนา พร้อมได้ศึกษาและปฏิบัติใน พระธรรมวิ นั ย ตามหลั ก ค� ำ สอนขององค์ สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเป็นอย่างดีมา

ตลอดเป็นเวลา 1 พรรษา แต่ก็มีเหตุจ�ำเป็น ต้องลาสิกขาไปรับใช้ชาติเป็นทหารเกณฑ์อยู่ 2 ปี พอออกจากการเป็นทหารก็เดินทางกลับ มาช่ ว ยบิ ด ามารดาประกอบอาชี พ ท� ำ ไร่ ท� ำ สวน อยู่ 1 ปี หลวงพ่อก็เกิดความรู้สึกเบื่อ หน่ายในการใช้ชีวิตเป็นฆราวาส ด้วยจิตอัน เป็นกุศลหลวงพ่อจึงคิดอยากจะบวชใหม่อีก ครั้ง จึงได้อุปสมบทในพระพุทธศาสนาเป็น ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ.2519 ที่วัดเนินบรรพต โดยมี พระครูอดุลย์กาญจน กิจ วัดหนองปรือ เป็นพระอุปัชฌาย์ พระ อาจารย์ยอด วัดหนองแกใน เป็นพระกรรมวา จาจารย์ พระอาจารย์เจริญ วัดหนองรี เป็น อนุสาวนาจารย์

KANCHANABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 141

141

20/07/61 09:31:34


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดถ�้ำวังหิน

พระครูประภาสกาญจนคุณ (สุภาพ ปภาโส) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

วั ด ถ�้ ำ วั ง หิ น ตั้ ง อยู ่ ใ นพื้ น ที่ หมู ่ 4 ต� ำ บลสมเด็ จ เจริ ญ อ� ำ เภอหนองปรื อ

จั ง หวั ด กาญจนบุ รี เดิ ม ที นั้ น วั ด ถ�้ ำ วั ง หิ น เป็ น วั ด ร้ า งเก่ า แก่ เป็ น ที่ อ ยู ่ ข องชาวกระเหรี่ ย ง มาก่ อ น ซึ่ ง ชาวกระเหรี่ ย งอาศั ย อยู ่ ท� ำ มาหากิ น ปลู ก พื ช ไร่ ข้ า วโพด ยาสู บ สภาพป่ า เป็ น ป่ า เสื่ อ มโทรม ก่ อ นที่ ท ่ า น (อดี ต พระเทพสิ ท ธิ ญ าณรั ง สี ) เจ้ า อาวาสวั ด ป่ า ชั ย รั ง สี จั ง หวั ด สมุ ท รสาคร เข้ า มาพั ฒ นาพื้ น ที่ ปลู ก ป่ า จั ด การเรื่ อ งน�้ ำ เรื่ อ งดิ น ให้ ร าษฎร ได้ท�ำการเกษตรปลูกพืช ฟื้นฟูป่าที่ถูกท�ำลาย ให้เป็นสภาพป่าเหมือนเดิม ก็ ได้เริ่มพัฒนา มาเป็ น โครงการห้ว ยองคต อัน เนื่อ งมาจากพระราชด� ำ ริ เริ่ ม ตั้ ง แต่ พ.ศ.2531 เป็ น ต้ น มา ก็ ไ ด้ พั ฒ นามาเรื่ อ ยๆ จนกระทั่ ง ได้ รั บ พระราชทานวิ สุ ง คามสี ม าเมื่ อ พ.ศ.2536 142

SBL บันทึกประเทศไทย I KANCHANABURI

.indd 142

23/07/61 10:13:09


ภายในวัดถ�ำ้ วังหิน มีแปลงปลูกป่าเฉลิมพระเกียรติ 84 พรรษา พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา ภูมพิ ลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 ทรงปลูกเมือ่ วันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ.2555 ในพืน้ ทีแ่ ปลงหน้าวัดถ�ำ้ วังหิน จ�ำนวน 5 ไร่ 2 งาน 400 กว่าต้น ณ วันนี้ สูงท่วมศีรษะแล้ว มีทั้งไม้มะค่าโมง และไม้สักปนกัน เสนาสนะภายในวัดที่ส�ำคัญ มีกุฏิ ท่านเจ้าพระคุณสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก เสด็จมาประทับ 2 ครั้ง ยังรักษาอนุรักษ์ไว้เป็นอย่างดี และมีส�ำนักงาน เจ้ า คณะอ� ำ เภอหนองปรื อ (ธรรมยุ ต ) วั ด ถ�้ ำ วั ง หิ น ต� ำ บลสมเด็ จ เจริ ญ อ� ำ เภอหนองปรื อ จังหวัดกาญจนบุรี (ในโครงการห้วยองคต อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ) โดย ท่านพระครู ประภาสกาญจนคุณ ท่านเจ้าอาวาส เป็นเจ้าคณะอ�ำเภอด้วย เพราะร่มเงาไม้ให้ความเย็นกาย ร่มเงาญาติให้ความเย็นใจ ส่วนร่มเงาพระศาสนา ให้ความเย็น ทั้งใจและกาย พระเณรและฆราวาสญาติโยมจึงมีกิจกรรมร่วมกันปลูกต้นไม้กันเป็นประจ�ำ ปัจจุบันภายในวัดยังคงมีสภาพเป็นป่าเขียวครึ้มเหมาะแก่การภาวนาเป็นอย่างยิ่ง มีต้นไม้ใหญ่ ไม้ป่ามากมาย ทั้งต้นจันผา หน้าผาหิน ถ�้ำป่าไม้แบบฉบับเมืองร้อน แต่เมื่อถึงฤดูหนาวก็หนาวมาก ฤดูกาลภายนอกเป็นเช่นไร หากเราน้อมจิตใจเข้ามาพิจารณากายใจก็จะเห็นเป็นเช่นเดียวกัน ดังธรรมะจากพระครูประภาสกาญจนคุณ (พระอาจารย์สุภาพ ปภาโส) ตอนหนึ่งว่า

จันผา...ถึงจะแห้งแล้งอย่างไร ก็ไม่ทิ้งใบ...ฉันใด บัณฑิต ถึงจะตกทุกข์ ได้ยาก..ก็ไม่ทิ้ง “ธรรม” ท�ำเนียบเจ้าอาวาส 1. พระเทพสิทธิญาณรังสี (อดีต) เจ้าอาวาสวัดป่าชัยรังสี (รักษาการ) เจ้าอาวาสอยู่ 1 ปี 2. พระอาจารย์เชาวรา มหาปุญโญ พ.ศ.2532 - 2540 3. พระอธิการสมศักดิ์ ฐานจาโร พ.ศ.2540 - 2546 4. พระครูประภาสกาญจนคุณ(พระอาจารย์สุภาพ ปภาโส) พ.ศ.2546 - ปัจจุบัน

ร่วมสร้างพระอุโบสถเจดีย์พุทธคยาจ�ำลอง ณ วัดถ�้ำวังหิน

KANCHANABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 143

143

20/07/61 14:51:36


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดหนองปลาไหล

พระครูกาญจนธรรมวุฒิ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

วั ด หนองปลาไหล ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 2 หมู ่ ที่ 4 ต.หนองปลาไหล อ.หนองปรื อ

จ.กาญจนบุ รี สั ง กั ด คณะสงฆ์ ม หานิ ก าย สร้ า งขึ้ น เมื่ อ ปี พ .ศ.2512 โดมี น ายเหลื อ อาจ คงหาญ และ นายปาน พลอยเกลี้ ย ง เป็ น ผู ้ บ ริ จ าคที่ ดิ น จ� ำ นวน 12 ไร่ เพื่ อ สร้ า งวั ด ซึ่ ง ในขณะนั้ น ยั ง เป็ น ที่ พั ก สงฆ์ บ ้ า นหนองปลาไหลอยู ่ ต่ อ มา วั ด หนองปลาไหลได้ รั บ การ ประกาศเป็ น วั ด เมื่ อ ปี พ.ศ.2527 ต� ำ บลหนองปลาไหล เดิ ม เป็ น หมู ่ บ ้ า นหนึ่ ง ในเขตต� ำ บลหนองรี อ� ำ เภอบ่ อ พลอย จังหวัดกาญจนบุรี ต่อมาเมื่อมีการแยกต�ำบลหนองปรือ เป็นกิ่งอ�ำเภอหนองปรือ ออกจาก อ� ำ เภอบ่ อ พลอย ในปี พ.ศ.2535 ต� ำ บลหนองปลาไหล จึ ง แยกมาเป็ น ต� ำ บล ขึ้ น กั บ กิ่ ง อ� ำ เภอหนองปรื อ เหตุ ที่ ไ ด้ ชื่ อ ว่ า ต� ำ บลหนองปลาไหล เนื่ อ งจากสมั ย ก่ อ นเป็ น พื้ น ที่ แห้ ง แล้ ง ป่ า ใหญ่ มี ห นองน�้ ำ ขนาดใหญ่ แ ละปลาไหลชุ ก ชุ ม จึ ง เรี ย กชื่ อ ว่ า “หนองปลาไหล” 144

SBL บันทึกประเทศไทย I KANCHANABURI

.indd 144

20/07/61 09:42:36


บุญกิริยาวัตถุ 10 ฐานอันเป็นก�ำลังส�ำคัญที่น�ำไปสู่ความพ้นทุกข์ ส� ำ หรั บ ในวิ ถี แ ห่ ง บวรพระพุ ท ธศาสนา บุ ญ หรื อ กุ ศ ลเป็ น ฐานที่ ส� ำ คั ญ อั น เป็ น สิ่ ง เชื่ อ ม ร้อยหลอมรวมจิตใจของผู้คนให้รู้จักการเสียสละ ไม่เพียงทรัพย์เท่านั้น หากมีแรงกายแรงใจก็ มาช่วยงานบุญ งานประเพณีวัฒนธรรมต่างๆ อันจะก่อให้เกิดการช่วยเหลือเกื้อกูลกันในชุมชน ในสังคมเข้มแข็ง อันเป็นการสร้างสภาพธรรมทีเ่ ป็นฝ่ายดีให้เกิดร่วมกัน เพราะบุญ เป็นสภาพธรรม ที่ช�ำระจิตให้สะอาด ขณะที่จิตใจเป็นบุญ ขณะนั้นจิตสะอาดจากอกุศล คือ โลภะ โทสะ และโมหะ การท�ำบุญจึงสามารถท�ำได้ถึง 10 วิธี เรียกว่า บุญกิริยาวัตถุมี 10 หมายถึง ที่ตั้งแห่งการกระท�ำ ความดี 10 อย่าง หมายถึง กุศลจิตที่มีก�ำลังจนท�ำให้มีการกระท�ำออกมาทางกาย วาจาหรือทางใจ ได้แก่ 1.ทานมัย บุญส�ำเร็จจากการให้วัตถุเพื่อสงเคราะห์หรือบูชาแก่ผู้อื่น 2.ศีลมัย บุญส�ำเร็จจากการงดเว้นจากทุจริต หรือ ประพฤติสุจริตทางกาย วาจา 3.ภาวนามัย บุญส�ำเร็จจากการอบรมจิตให้สงบจากกิเลส (สมถภาวนา) และการอบรมปัญญา เพื่อละกิเลสทั้งปวง(วิปัสสนาภาวนา) 4.อปจายนมัย บุญส�ำเร็จจากการประพฤติอ่อนน้อมถ่อมตน 5.เวยยาวัจจมัย บุญส�ำเร็จจากการขวนขวายบ�ำเพ็ญประโยชน์ต่อผู้อื่น 6.ปัตติทานมัย บุญส�ำเร็จจากการให้ส่วนบุญที่ได้บ�ำเพ็ญมาแล้ว 7.ปัตตานุโมทนามัย บุญส�ำเร็จจากการยินดีในกุศลที่ผู้อื่นได้กระท�ำแล้ว 8.ธัมมัสสวนมัย บุญส�ำเร็จจากการฟังพระสัทธรรม 9.ธัมมเทสนามัย บุญส�ำเร็จจากการแสดงพระสัทธรรม 10.ทิฏฐุชุกรรม การกระท�ำความเห็นให้ตรงถูกต้องตามความเป็นจริง

ร่ วมสร้ างเส้ น ทางบุ ญ กั บ ทางวั ดหนองปลาไหล

โทร. 09-2761-7493 พระครูกาญจนธรรมวุฒิ (เจ้าอาวาส)

KANCHANABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 145

145

23/07/61 14:07:27


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดเขาแหลม

พระครูสุชาตคีรีเขต (สรสิทธิ์ สุจิตฺโต) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าคณะต�ำบลสมเด็จเจริญ และเจ้าอาวาส

วั ด เขาแหลม ตั้งอยู่เลขที่ 324 หมู่ที่ 3 ต�ำบลสมเด็จเจริญ อ�ำเภอหนองปรือ

จั ง หวั ด กาญจนบุ รี เป็ น วั ด ที่ ตั้ ง มานานมากแล้ ว แต่ ไ ม่ มี บั น ทึ ก ไว้ แ น่ ชั ด เดิ ม บริ เ วณวั ด เคยเป็นป่ารกทึบ วัดตั้งอยู่ในป่า ปัจจุบันได้ย้ายออกมาอยู่ด้านนอก พื้นที่วัดจ�ำนวน 70 ไร่ วั ด เขาแหลม ตั้ ง อยู ่ ใ นบริ เ วณใกล้ ๆ กั บ โครงการพระราชด� ำ ริ ห ้ ว ยองคต ใน ต� ำ บลสมเด็ จ เจริ ญ เดิ น ทางโดยเส้ น ทางจั ง หวั ด กาญจนบุ รี - ด่ า นช้ า ง ถึ ง สี่ แ ยกหนองปรื อ เลี้ ย วซ้ า ยเข้ า มายั ง ตลาดหนองปรื อ แล้ ว แยกออกเส้ น ทางโรงเรี ย นอนุ บ าลหนองปรื อ ไปตามเส้ น ทางที่ มี ป ้ า ยบอกสถานที่ โ ครงการห้ ว ยองคตอั น เนื่ อ งมาจากพระราชด� ำ ริ ระยะทางจากจั ง หวั ด กาญจนบุ รี ถึ ง ต� ำ บลสมเด็ จ เจริ ญ ระยะทาง 104 กิ โ ลเมตร 146

SBL บันทึกประเทศไทย I KANCHANABURI

.indd 146

23/07/61 10:45:52


โครงการห้ ว ยองคตอั น เนื่ อ งมาจาก พระราชด�ำริ อ�ำเภอหนองปรือ จังหวัดกาญจนบุรี ก่อตั้งขึ้นตามแนวพระราชด�ำริของพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โดยมีวัตถุประสงค์ คือ 1. เพื่อด�ำเนินการบริหารทรัพยากรและ สิง่ แวดล้อมอย่างเหมาะสม ให้กลับคืนสูส่ ภาพเดิม ที่มีความอุดมสมบูรณ์โดยการแบ่งแยกพื้นที่ ให้เหมาะสมกับสภาพพืน้ ที่ ทัง้ ในด้านการอนุรกั ษ์ การฟื้นฟูสภาพป่า เป็นแหล่งต้นน�้ำล�ำธาร การจัดสรรทีอ่ ยูอ่ าศัย ทีท่ ำ� กิน และพืน้ ทีส่ ว่ นกลาง ในการก่อสร้างสาธารณูปโภคที่จ�ำเป็นต่างๆ 2. เพื่อด�ำเนินการจัดระเบียบชุมชน ให้ราษฎร ได้เข้าอยู่อาศัยและท�ำกินในพื้นที่ที่ได้ด�ำเนิน การจัดสรรไว้แล้วอย่างเหมาะสมและถูกต้อง 3. เพื่อด�ำเนินการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ให้ราษฎรได้อาศัยท�ำกินในลักษณะพึ่งตนเอง ควบคูไ่ ปกับการบริหารทรัพยากรได้อย่างยัง่ ยืน และข้อ 4. เพื่อด�ำเนินการตามแนวคิดเรื่อง

“บวร” (บ้ า น วั ด ราชการ และโรงเรี ย น) พัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และวิถีชีวิตไทยด้วย ความร่วมมือร่วมใจกันของทุกๆ ฝ่าย ซึ่งท�ำให้ 1. พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในพื้นที่ โครงการให้มีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น 2. ฟื้นฟู ทรั พ ยากรสิ่ ง แวดล้ อ มให้ ก ลั บ คื น สู ่ ค วาม อุดมสมบูรณ์และสร้างความชุ่มชื้น ให้ผืนป่า และข้อ 3. ด�ำเนินการตามแนวพระราชด�ำริ “บวร” ในการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และ วิถีชีวิตของราษฎร วัดเขาแหลม ได้ดำ� เนินรอยตามพระพุทธเจ้า ในข้อวัตรปฏิบตั ติ ามพระธรรมวินยั และตามรอย พระราชด�ำริเพื่อให้เกิด “บวร” ในการพัฒนา เศรษฐกิจ สังคม และวิถีชีวิตของราษฎร ให้ เป็นหนึ่งเดียวกัน มีความสมัครสมานสามัคคี กันเพื่อช่วยกันจรรโลงสังคมให้เกิดสันติสุข จากหลักธรรมในบวรพระพุทธศาสนา “บวร” อันหมายถึง บ้าน วัด โรงเรียน

เป็ น หน่ ว ยงานทางสั ง คมที่ มี ค วามส� ำ คั ญ และความหมายอย่างสูงยิ่งส�ำหรับสังคมเป็น สามเสาหลัก ที่ยึดโยงค�้ำจุน สัมพันธ์กัน อย่าง สมดุ ล แก่ ค นในสั ง คมไทย เป็ น จุ ด เริ่ ม ต้ น ของชีวิตและหลักของการพัฒนา ให้ “เด็ก กลายเป็นผู้ใหญ่” ที่รู้ชอบรู้ธรรม รู้ชีวิตและ โลกเป็นทั้งกระบวนการเรียนรู้ องค์กรแห่ง การเรี ย นรู ้ การคิ ด การปฏิ บั ติ ที่ ท� ำ ให้ เ กิ ด ความรู้สติปัญญาที่ชอบธรรม ท�ำให้มีอิสระ เที่ยงธรรม ในการกินอยู่ท�ำงานได้อย่างเสรี บนล�ำแข็งของตนเอง และพัฒนาได้โดยปัญญา สังคมก็สามารถอยู่รวมหมู่ สัมพันธ์ พึ่งพา อาศั ย กั น และกั น ไปตลอด มี ค วามเคารพ นับถือกัน เข้าใจกัน และศรัทธากันและกัน ในบวรพระพุ ท ธศาสนาอั น ร่ ม เย็ น นี้ และ จากความศรั ท ธาก่ อ เกิ ด เป็ น การท� ำ นุ บ� ำ รุ ง พระพุ ท ธศาสนาในด้ า นต่ า งๆ มี ก ารสร้ า ง อาคารเสนาสนะ ต่างๆ เป็นต้น KANCHANABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 147

147

20/07/61 09:45:19


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดถ�้ำเนรมิต (สมเด็จเจริญ) พระชัชวาล ชวโน ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

วัดถ�้ำเนรมิต ตั้งอยู่ หมู่ที่ 3 ต�ำบลสมเด็จเจริญ อ�ำเภอหนองปรือ จังหวัดกาญจนบุรี

เป็นวัดป่าสายธรรมยุตซึ่งมีพระครูบาอาจารย์ ได้แวะเวียนมาปฏิบัติภายในถ�้ำและมาโปรด ญาติ โ ยมในละแวกจนเป็ น สถานที่ รู ้ จั ก ของพระทั่ ว ไป เป็ น วั ด ที่ ตั้ ง อยู ่ ท ่า มกลางธรรมชาติ มีความร่มเย็น มีล�ำธารไหลผ่าน ต้นไม้ ใหญ่นานาชนิด เงียบสงบ เหมาะแก่การปฏิบัติธรรม เป็ น แหล่ ง เรี ย นรู้ธรรมชาติ ตัว อาคารศาลาท�ำ ด้ ว ยไม้ เข้ า กั บ ธรรมชาติ เป็ น วั ดป่ า ที่ ดึ ง ดู ด ให้ ผู้ ค นเที่ ย วชม พักจิตพักใจ และปฏิบัติธรรม 148

ประวัติความเป็นมา ประมาณ พ.ศ.2520 มี พ ระรู ป หนึ่ ง มาอยู ่ ป ระจ� ำ และมี ช าวบ้ า น มาร่วมกันสร้างเสนาสนะถวายจนเกิดถาวรวัตถุ เช่น ศาลาและกุฏทิ พี่ กั มีพระหลายๆ รูปมาสลับ สับเปลี่ยนกันดูแล จนปี พ.ศ.2546 ได้ท�ำเรื่อง ขอเป็ น วั ด อย่ า งถู ก ต้ อ ง ภายในวั ด เป็ น ป่ า ดั้ ง เดิ ม และท� ำ การปลู ก ต้ น ไม้ เ สริ ม บ้ า ง เพื่อความร่มเย็น วัดถ�้ำเนรมิต เป็นวัดสาขา จากวัดอริยวงศาราม (วัดหนองน�ำ้ ขาว) หนองโพ บ้ า นโป่ ง อ� ำ เภอโพธาราม จั ง หวั ด ราชบุ รี ลูกศิษย์หลวงพ่อบุญเรือง (ลูกศิษย์หลวงพ่อ พระมหาปิ ่ น ) ท่ า นสอนให้ รู ้ จั ก รั ก ษาศี ล ปฏิบัติธรรม เจริญจิตภาวนา

SBL บันทึกประเทศไทย I KANCHANABURI

.indd 148

20/07/61 13:31:18


HIST ORY OF BUDDH ISM

บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดหนองแกประชาสรรค์ พระอธิการขันทอง สุภาจาโร ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

วั ด หนองแกประชาสรรค์ ตั้งอยู่ที่หมู่ 13 ต�ำบลหนองปลาไหล อ�ำเภอหนองปรือ

จั ง หวั ด กาญจนบุ รี สั ง กั ด คณะสงฆ์ ม หานิ ก าย มี เ นื้ อ ที่ ตั้ ง วั ด 14 ไร่ 1 งาน 9 ตารางวา ก่ อ ตั้ ง เมื่ อ พ.ศ.2484 ประวั ติ ค วามเป็ น มา เดิ ม หลวงพ่ อ เที่ ย ง พ� ำ นั ก อยู ่ อ าศั ย เป็ น ที่ พั ก สงฆ์ โดยได้ สร้ า งกุ ฏิ ห ลั ง เล็ ก ๆ พออยู ่ ต่ อ มาชาวบ้ า นเริ่ ม ช่ ว ยกั น สร้ า งวั ด ขึ้ น มา พอมาถึ ง ยุ ค ของ หลวงพ่ อ สุ ภี ร ์ ธมฺ ม วโร ก็ ได้ ส ร้ า งถาวรวั ต ถุ ขึ้ น มาอี ก หลายอย่ า ง จนสามารถตั้ ง เป็ น วั ด หนองแกประชาสรรค์ม าจนถึงทุกวัน นี้

ล�ำดับเจ้าอาวาส

พระอธิการเปิ่น ปริสุทฺโธ พ.ศ.2483 - 2491 พระพะยอม วํสปาโล พ.ศ.2492 - 2499 พระอธิการวิชัย วิชโย พ.ศ.2500 - 2511 พระอธิการเชื่อม ชินวํโส พ.ศ.2512 - 2525 พระใบฎีกาอดุลย์ อนาลโย พ.ศ.2526 - 2529 พระอธิการสุภีร์ ธมฺมวโร พ.ศ.2530 - 2537 พระอธิการบุญมี ฐานธมฺโม พ.ศ.2548 - 2552 พระอธิการขันทอง สุภาจาโร พ.ศ.2553 - ปัจจุบัน KANCHANABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 149

149

20/07/61 13:58:16


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดเขาสูงแจ่มฟ้า พระครูวินัยธรเกรียงไกร ติกุขวิริโย ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

วัดเขาสูงแจ่มฟ้า ตั้งอยู่หมู่ที่ 1 ต�ำบลเขาสามสิบหาบ อ�ำเภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี

บนภูเขาสูง มีจุดชมวิวทิวทัศน์ที่สวยงามในต�ำบลเขาสามสิบหาบ พุทธศาสนิกชนนิยมเดินทาง มากราบนมัสการหลวงปู่ทวดองค์ ใหญ่ องค์พระพิฆเนศวร พระพุทธไสยาสน์ และสิ่งศักดิ์สิทธิ์ อี ก มากมาย ที่ ท างวั ด ได้ จั ด ไว้ ใ ห้ สั ก การบู ช า โดยมี พระครู วิ นั ย ธรเกรี ย งไกร ติ กุ ข วิ ริ โ ย (เกรียงไกร พงษ์ธนจิรายุส น.ธ.เอก, พธ.บ. ,ปริญญาโท) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส รูปปัจจุบัน 150

SBL บันทึกประเทศไทย I KANCHANABURI

.indd 150

20/07/61 09:55:38


วัดเขาสูงแจ่มฟ้า เริม่ ก่อสร้างเป็นส�ำนักสงฆ์ ตั้งแต่ พ.ศ.2522 ได้รับการแต่งตั้งเป็นวัด ขึ้นทะเบียนในพระพุทธศาสนาแห่งชาติ เมื่อ วันที่ 4 มีนนาคม พ.ศ.2558 มีทดี่ นิ ตัง้ วัด 15 ไร่ บนพื้ น ที่ ห มู ่ ที่ 1 ต� ำ บลเขาสามสิ บ หาบ อ� ำ เภอท่ า มะกา จั ง หวั ด กาญจนบุ รี โดย นายการุณ ปุญสิริ ด�ำเนินการขออนุญาตสร้างวัด มีพระครูวินัยธรเกรียงไกร ติกุขวิริโย พงษ์ธน จิรายุส เป็นเจ้าอาวาสรูปแรกจนถึงปัจจุบัน ได้ รั บ พระราชทานวิ สุ ง คามสี ม าใน วั น อั ง คารที่ 1 มี นาคม 2559 ณ วัดไร่ขิง ต�ำบลไร่ขิง จังหวัดนครปฐม พ.ศ.2550 ด�ำเนินการก่อสร้างอุโบสถ แล้วเสร็จในปี พ.ศ.2559 รวมระยะเวลา 9 ปี มีพระพุทธรูปองค์ด�ำปาฏิหาริย์ พระปราน พระพุ ท ธไสยยาสน์ พระนอนองค์ ใ หญ่ หลวงปู่ทวด พระพิฆเนศ พระโพธิสัตว์กวนอิม มี ผู ้ มี จิ ต ศรั ท ธาเลื่ อ มใสในพระพุ ท ธศาสนา มากราบไหว้บูชาทุกๆ วัน ประวัติโดยย่อ พระครูวินัยธรเกรียงไกร พระครู วิ นั ย ธรเกรี ย งไกร ติ กุ ข วิ ริ โ ย (น.ธ.เอก, พธ.บ., ปริญาโท) สถานะเดิมชื่อ เกรียงไกร พงษ์ธนจิรายุส เกิดเมื่อ วันที่ 10 เมษายน 2519 ตรงกับวันเสาร์ ขึ้น 11 ค�่ำ เดือน 5 ปีมะโรง บิดา นายประยูร ตันเถื่อน มารดา นางแจ๋ว ตันเถือ่ น บ้านเขาสูง เลขที่ 6/1 หมูท่ ี่ 1 ต.เขาสามสิบหาบ อ.ท่ามะกา จ.กาญจนบุรี ปั จ จุ บั น ท่ า นก� ำ ลั ง ศึ ก ษา ปริ ญ ญาเอก คณะบริหารการตลาด มหาวิทยาลัยสยาม

“ เป็นคนดี ความดีไม่มีวันจืดจาง อยู่ในที่มืดก็สว่าง อยู่ในที่รกร้างก็เด่น อยู่กลางแดดร้อนก็เย็น อยู่ในที่ไม่มีใครเห็นก็ยังเป็นคนดี ” ปัจจุบัน“วัดเขาสูงแจ่มฟ้า” เป็นแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมที่สัมผัสได้ทั้งธรรมชาติภายนอก และภายในจิตใจไปพร้อมๆ กัน เมื่อได้กราบไหว้หลวงปู่ทวดองค์ใหญ่ ก็สุขกายสบายใจ ถ่ายรูป อย่างมีสติ เป็นของขวัญแห่งชีวติ ไว้เติมพลังใจยามเหนือ่ ยล้า เช็คอินดืม่ กาแฟฟรีทกุ วันเสาร์-วันอาทิตย์ ระยะทางจากกรุงเทพ มาถึงวัดเขาสูงแจ่มฟ้า ต.เขาสามสิบหาบ อ.ท่ามะกา จ.กาญจนบุรี ประมาณ 100 กิโลเมตร ไหว้พระท�ำบุญ ท�ำกุศล กันได้ทุกวัน KANCHANABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 151

151

20/07/61 09:55:59


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดห้วยกระเจา

พระอธิการประทวน ปิยสีโล ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

วั ด ห้วยกระเจา อยู่ในต�ำบลห้วยกระเจา อ�ำเภอห้วยกระเจา จังหวัดกาญจนบุรี

ในอดี ต กาลของวั ด ห้ ว ยกระเจามี ปู ่ ย ่ า ตายายเล่ า ให้ ฟ ั ง ว่ า เดิ ม มี ค นอาศั ย อยู ่ ม าก มาอยู ่ เ พื่ อ ท� ำ เกษตรกรรม และเลี้ ย งวั ว เลี้ ย งควาย ท� ำ มาหากิ น ตามธรรมดา ห้ ว ยกระเจา เป็ น สถานที่ ที่ อุ ด มสมบู ร ณ์ มี ท รั พ ยากรธรมชาติ ม ากกมาย สะดวกสบายในเรื่ อ ง ท� ำ มาหากิ น และได้ ล งหลั ก ปั ก ฐานท� ำ มาหากิ น ตั้ ง แต่ นั้ น เป็ น ต้ น มา

152

SBL บันทึกประเทศไทย I KANCHANABURI

.indd 152

20/07/61 09:19:10


มี ผู ้ เ ฒ่ า คนหนึ่ ง เล่ า ให้ ฟ ั ง ว่ า เมื่ อ ท่ า น ยังเป็นเด็ก มีคนมาตั้งบ้านเรือนอยู่ด้วยกัน 7 ครอบครัว คนที่มาอยู่ก่อนเป็นคนที่มาจาก หมูบ่ า้ นห้วยสะพาน ต่อมามีคนมาอาศัยมากขึน้ เนื่องจากชาวบ้านเหล่านี้นับถือศาสนาพุทธ จึงช่วยกันสร้างวัดขึ้นมา เพื่อเป็นที่พึ่งทางใจ และสถานทีท่ จี่ ะสร้างวัดก็เคยเป็นวัดเก่ามาก่อน มีหลักฐานคือ พระเจดีย์เก่า วิหารเก่า แต่อยู่ ในป่ ารกร้ างมีหญ้าขึ้น ปกคลุม ชาวบ้านจึง ช่ ว ยกั น ปรั บ ปรุง ปลูก กุฏิหลังเล็ก ๆ เอาไว้ พออาศัยอยู่ได้ ไม่ปรากฏหลักฐานว่าพระที่มา จ� ำ พรรษาอยู ่ ก ่ อ นชื่ อ อะไร อยู ่ น านเท่ า ไร ต่อมามีพระจ�ำพรรษาอยูเ่ รือ่ ยๆ ปีละรูป สองรูป และก็มีมาอยู่จ�ำพรรษาอยู่เรื่อยๆ ปู่จัน สืบศักดิ์ เล่าให้ฟังว่า มีพระรูปหนึ่ง ชื่อหลวงพ่อจรูญ มาจากไหนไม่ทราบชัดท่าน ได้ชักชวนชาวบ้านสร้างกุฏิ จ�ำนวน 3 หลัง ฝาไม้กระดาน มุงด้วยหญ้าคาและหอสวดมนต์ จ�ำนวน 1 หลัง แต่หอฉันยังไม่มี ต้องอาศัย

ระเบียงกุฏิไปก่อนในเวลานั้น วัดห้วยกระเจา ไม่มีเจ้าอาวาส ชาวบ้านจึงได้หาเจ้าอาวาส รูปใหม่จากวัดสาลวนาราม(ดอนตาเพชร) คือ พระอาจารย์เจียน ต่อมาท่านก็ได้ลาญาติโยม และกรรมการวัดกลับวัดเดิมของท่าน ต่อมา ได้ ส ร้ า งศาลาการเปรี ย ญขึ้ น มาอี ก 1 หลั ง หอระฆัง 1 หอ และท่านก็จากไปจ�ำพรรษา ที่อื่นโดยไม่มีผู้ใดทราบ ต่ อ มาหลวงพ่ อ สุ ก เป็ น คนชาวบ้ า น ห้วยกระเจา ได้บวชเป็นพระและได้เป็นเจ้า อาวาสในเวลาต่อมา ตั้งใจจะบวชไม่สึกบวช อยู่ไม่นานก็มรณภาพด้วยโรคผอมแห้ง ท่าน ได้บูรณะพระอุโบสถหลังเก่า และได้สร้างกุฏิ จ�ำนวน 2 หลัง และยังได้ชักชวนชาวบ้าน บูรณะสระน�้ำส�ำหรับอุปโภคบริโภคอีกด้วย เจ้าอาวาสรูปต่อมาชื่อ พระอาจารย์ช้วง บวชได้ 6 พรรษา ท่านได้สร้างกุฏิยาว 5 ห้อง ปู ด ้ ว ยไม้ ก ระดาน หลั ง คามุ ง กระเบื้ อ งเมื่ อ พ.ศ.2474 ขณะนั้น ชาวบ้านนักเรียนเดินทาง

ไปมาระหว่างวัดกับหมู่บ้านล�ำบาก มีสะพาน ไม้เก่าๆ แคบ ๆ ไม่สะดวกต่อการสัญจรไปมา ท่านได้ชักชวนชาวบ้านให้สร้างสะพานใหม่ กว้าง 1.5 เมตร ใช้เสายาว 3 เมตร เป็นจ�ำนวน 460 ต้ น ท� ำ ให้ ก ารสั ญ จรมาของชาวบ้ า น สะดวกขึ้น และท่านก็ลาสิกขาในเวลาต่อมา เจ้าอาวาสรูปต่อมา คือ อาจารย์โปร่ง เชื้อทอง ท่านบวชอยู่ถึง 7 พรรษา ท่านได้ สร้ า งกุ ฏิ ส� ำ หรั บ พระภิ ก ษุ จ� ำ นวน 3 หลั ง ฝาไม้กระดาน ยาว 3 ห้อง กว้าง 3.5 เมตร หลังคามุงกระเบื้องต่อมาท่านก็ได้ลาสิกขา ไปประกอบอาชีพอยู่ที่อ�ำเภอทองผาภูมิ ต่ อ มามี ลู ก หลานชาวบ้ า นเข้ า มาบวช มากขึ้นประมาณ 30 รูป แต่วัดห้วยกระเจา ไม่มีเจ้าอาวาส กรรมการวัดและญาติโยมจึง ได้ไปกราบเรียนพระครูอนิ ทสารโสภณ (หลวงพ่อ เสริม) วัดรางหวาย ท่านจึงได้ส่งหลวงพ่อขาว มาเป็นเจ้าอาวาสวัดห้วยกระเจา ตั้งแต่นั้น เป็นต้นมา

KANCHANABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 153

153

20/07/61 13:42:10


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดพรหมนิมิต

พระครูกายจนกิจวิรัตน์ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าคณะต�ำบลสระลงเรือ เขต 2 และ เจ้าอาวาส

วั ด พรหมนิมิต ตั้งอยู่เลขที่ 199 หมู่ที่ 4 ต�ำบลสระลงเรือ อ�ำเภอห้วยกระเจา

จั ง หวั ดกาญจนบุรี

แรกเริ่มวัดพรหมนิมิต เป็นวัดที่อยู่ในถิ่น ทุรกันดาร มีพระอาจารย์สมบูรณ์ รัตนโชโต มาสร้างที่พักสงฆ์ ก่อสร้างด้วยไม้ไผ่ เมื่อวันที่ 25 เมษายน พ.ศ.2525 โดยมีชาวบ้านอุปถัมภ์ เห็นความล�ำบาก ในการประกอบศาสนกิจ พระอาจรย์สมบูรณ์ รัตนโชโต ได้พำ� นักในวัดนี้ และละสังขารไป วัดจึงว่างเว้นเจ้าส�ำนัก วันที่ 11 เมษายน พ.ศ.2530 ชาวบ้านได้นิมนต์ พระครูกาญจนกิจวิวัฒน มาเป็นเจ้าอาวาส และได้ด�ำเนินโครงการ สร้างวัด กุฏิ วิหาร อุโบสถ อีกทั้งยังพัฒนาวัดเรื่อยมา เหมาะเป็น ทีบ่ ำ� เพ็ญกุศลในพระพุทธศาสนา วัดพรหมนิมติ เป็นวัดหนึ่งที่มีการพัฒนา มีรูปแบบสวยงาม 154

จึงเป็นพุทธสถานแห่งหนึ่ง ที่มีความโดดเด่น ในหลายๆ ด้าน ด้านภูมิประเทศอยู่เชิงเขา มี เนือ้ ที่ 30 ไร่ รอบบริเวณวัดเป็นพืน้ ทีท่ ำ� การเกษตร ของชาวไทยทรงด�ำ กลุ่มหนึ่งในแผ่นดินสยาม ประกอบศาสนากิจวัฒนธรรมประเพณีชาวพุทธ บ�ำเพ็ญกุศล ท�ำบุญ ตักบาตร รับฟังพระธรรม รั ก ษาศี ล ปฏิ บั ติ ธ รรม ส่ ง เสริ ม การศึ ก ษา จัดพระสงฆ์ให้ความรู้ตามสถาบันใกล้เคียง เผยแผ่หลักธรรมไปในที่ต่างๆ ตลอดระยะ การสร้างวัด ส่งเสริมวัฒนธรรมท้องถิน่ ไทยทรงด�ำ เชื่อมโยงปฏิสัมพันธ์กับชาติพันธุ์เดียวกัน และ ชาติ พั น ธ์ุ อื่ น ทั่ ว ทุ ก ภู มิ ภ าค เป็ น วั ด หนึ่ ง ที่ กระทรวงวัฒนธรรม การท่องเที่ยวและกีฬา

ให้ ก ารสนั บ สนุ น วั ด พรหมนิ มิ ต เป็ น หนึ่ ง ที่ ก่อร่างสร้างวัด ด้วยพลังศรัทธาพุทธศาสนา เป็นที่พึ่ง เป็นที่เกื้อกูล ของพุทธศาสนิกชน

SBL บันทึกประเทศไทย I KANCHANABURI

.indd 154

23/07/61 09:50:45


สังฆทาน มหาทานแห่งบุญกุศลอันยิ่งใหญ่ สังฆทาน คือ การท�ำทานแก่คณะสงฆ์ โดยไม่เจาะจงว่าจะท�ำทานให้ภกิ ษุรปู ใดรูปหนึง่ โดยไม่เจาะจง ถ้าเจาะจงเมือ่ ไหร่กไ็ ม่ใช่สงั ฆทาน และจะต้องมีพระสงฆ์ตั้งแต่ 4 รูปขึ้นไปมารับ หรือ พระรูปเดียวก็ได้ทไ่ี ด้รบั แต่งตัง้ จากคณะสงฆ์ ในวัดนั้นให้มารับสังฆทาน ดังนั้น การถวาย สังฆทานไม่จ�ำเป็นต้องคิดมากเรื่องพระรูปนี้ ดีไม่ดี เพราะถ้าเราคิดแบบนี้จิตใจจะตก ส่งผล ให้อานิสงส์ที่ได้น้อยลง เพราะการท�ำบุญกุศล เมื่ อ ให้ ด ้ ว ยจิ ต ใจที่ ส ละออก ต้ อ งการให้ อย่างแท้จริง ย่อมน�ำมาซึ่งความสงบใจ และ ความสุขปีติแล้ว การท�ำบุญอีกอย่างที่ได้อานิสงส์มากคือ การรักษาศีล ศีล หมายถึง การควบคุม กาย วาจา ใจ ของตนให้บริสุทธิ์ หรือ มีความสงบ ศีล เป็น เครื่ อ งมื อ ในการฝึ ก จิ ต ให้ ส ามารถควบคุ ม โทสะได้ โดยการให้งดเว้น หรือ ละการกระท�ำ บางอย่าง ซึ่งในภาษาบาลีคือค�ำว่า “วิรัติ” หรือ “เวรมณี” โดย การวิรัติหรือการงดเว้น การกระท�ำที่ท�ำให้เกิดบุญนั้น มี 3 ประเภท ด้วยกัน โดยแต่ละประเภทจะให้ผลของบุญ ต่างๆ กันด้วย ดังนี้ 1. สัมปัตตวิรัติ คือ การงดเว้นที่เกิดขึ้น เฉพาะหน้า โดยไม่มีการรับศีลมาก่อน เช่น เราจะฆ่าสัตว์เพือ่ น�ำมาท�ำอาหาร แต่เกิดสงสาร เลยปล่อยไป แบบนี้ถือว่าได้บุญจากศีล 2. สมาทานวิรัติ หรือ การงดเว้นด้วย การถือศีล หรือในทางปฏิบัติ ก็คือ การถือศีล กับพระด้วยจิตที่ตั้งใจสมาทานจริงๆ และ 3. สมุจเฉทวิรัติ คือ การงดเว้นอย่าง เด็ดขาดด้วยการตั้งจิตของตนเอง ถ้าเราสมาทานศีลแล้ว และในการปฏิบัติ ก็สามารถท�ำได้จริง จะท�ำให้เราได้บญ ุ ตลอดเวลา จนกว่าเราจะขาดจากศีล ก็ต้องเริ่มต้นใหม่ นอกจากนี้ ผ ลของการรั ก ษาศี ล นั้ น ยั ง ให้ อานิสงส์แก่เราอีกมากมายมหาศาล โดยเป็น บาทฐานของสมาธิ และปัญญา อันเป็นเครือ่ งมือ ส�ำคัญในการเจริญจิตตภาวนาไปสูค่ วามพ้นทุกข์ โดยสิ้นเชิง

KANCHANABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 155

155

19/07/61 16:11:43


591

ศูนย์กลางการเรียนรู้ธรรมะ จั ง หวั ด กาญจนบุ รี

156

SBL บันทึกประเทศไทย I KANCHANABURI

.indd 156

23/7/2561 11:14:13


เมืองประวัติศาสตร์ ธรรมชาติอัศจรรย์ สวรรค์นักผจญภัย

KANCHANABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 157

157

23/7/2561 11:14:14


อ�ำเภอเมืองกาญจนบุรี วัดไทยวิวัฒนาราม ม.1 ต�ำบลหนองหญา้ อ�ำเภอเมืองกาญจนบุรี วัดธุดงคนิมิต ม. 5 ต�ำบลปากแพรก เมืองกาญจนบุรี วัดบา้ นยาง ม.4 ต�ำบลทา่ มะขาม เมืองกาญจนบุรี วัดสิริกาญจนาราม ม.3 ต�ำบลทา่ มะขาม เมืองกาญจนบุรี วัดถาวรวราราม บา้ นเหนือ เมืองกาญจนบุรี

เที่ยววัดประจ�ำจังหวัดกาญจนบุรี

วัดไชยชุมพลชนะสงคราม ต�ำบลบา้ นใต้ เมืองกาญจนบุรี

158

วัดเทวสังฆาราม ต�ำบลบา้ นเหนือ เมืองกาญจนบุรี วัดราษฎร์ประชุมชนาราม ม.2 ต�ำบลทา่ มะขาม เมืองกาญจนบุรี วัดอุดมมงคล ม. 4 ต�ำบลปากแพรก เมืองกาญจนบุรี วัดหัวหิน ม. 3 ต�ำบลทา่ มะขาม เมืองกาญจนบุรี วัดทุง่ ลาดหญา้ ม.1 ต�ำบลลาดหญา้ เมืองกาญจนบุรี วัดกาญจนบุรีเกา่ ม. 2 ต�ำบลลาดหญา้ เมืองกาญจนบุรี วัดราษฎร์บ�ำรุงวราราม ม.3 ต�ำบลลาดหญา้ เมืองกาญจนบุรี วัดศรีอุปลาราม ม.3 ต�ำบลหนองบัว เมืองกาญจนบุรี วัดทา่ พะเนียดกุญชร ม.3 ต�ำบลแกง่ เสีย้ น เมืองกาญจนบุรี วัดทา่ น้�ำตื้น ม.1 ต�ำบลแกง่ เสีย้ น

วัดแกง่ หลวง ม. 3 เกาะส�ำโรง เมืองกาญจนบุรี วัดเขาแหลม ม. 2 เกาะส�ำโรง เมืองกาญจนบุรี วัดถ้�ำมังกรทอง ม. 7 เกาะส�ำโรง วัดบา้ นเกา่ ม. 1 บา้ นเกา่ เมืองกาญจนบุรี วัดโป่งเสีย้ ว ม. 5 บา้ นเกา่ เมืองกาญจนบุรี วัดหมอเฒา่ (เกาะแกว้ ) ม. 2 ช่องสะเดา เมืองกาญจนบุรี วัดเขื่อนทา่ ทุง่ นาประชาสรรค์ ม. 3 ช่องสะเดา เมืองกาญจนบุรี วัดทา่ มะนาว ม. 2 วังดง้ เมืองกาญจนบุรี วัดสันติราษฎร์บ�ำรุงวราราม ม.1 วังดง้ เมืองกาญจนบุรี วัดหนองประชุม ม. 6 วังดง้ เมืองกาญจนบุรี

วัดพรหมกิตติยาราม ม. 4 หนองหญา้ เมืองกาญจนบุรี วัดถ้�ำมุนีนาถ ม. 5 เกาะส�ำโรง เมืองกาญจนบุรี วัดเขาเทพนิมิต ม. 7 แกง่ เสีย้ น เมืองกาญจนบุรี วัดพุเลียบ ม. 5 หนองบัว เมืองกาญจนบุรี วัดล�ำทหาร ม. 5 บา้ นเกา่ เมืองกาญจนบุรี วัดเย็นสนิทธรรมาราม ม. 5 ลาดหญา้ เมืองกาญจนบุรี วัดพุประดู่ ม. 7 หนองบัว เมืองกาญจนบุรี วัดถ้�ำพุทธาวาส ม. 4 หนองบัว เมืองกาญจนบุรี วัดบา้ นห้วยน้�ำขาว บา้ นห้วยน้�ำขาว ม. 2 ต�ำบลบา้ นเกา่ วัดหนองบา้ นเกา่ บา้ นหนองเกา่ ม.7

วัดประตูดา่ น ประตูดา่ น ม.7 ต�ำบลบา้ นเกา่ เมืองกาญจนบุรี วัดเขาลา้ นธรรมาราม บา้ นหัวนา ต�ำบลปากแพรก เมืองกาญจนบุรี วัดตะเคียนงามลักคณานุกูล ตะเคียนงาม ม.10 ต�ำบลบา้ นเกา่ เมืองกาญจนบุรี วัดถ้�ำประทุน หุบตาพิน ม.5 ต�ำบลหนองบัว เมืองกาญจนบุรี วัดนากาญจน์ ม.5 ต�ำบลวังเย็น เมืองกาญจนบุรี วัดวังเย็น ม.4 ต�ำบลวังเย็น เมืองกาญจนบุรี วัดถ้�ำพุหวา้ บา้ นหนองหญา้ ม.7 ต�ำบลหนองหญา้ เมืองกาญจนบุรี

วัดป่าในอ้อมกอดแห่งขุนเขา

SBL บันทึกประเทศไทย I KANCHANABURI

.indd 158

23/7/2561 11:14:18


THE IMPORTANT TEMPLES KANCHANABURI

วัดทุ่งนาคราช

วัดทุง่ นาคราช บา้ นทุง่ นาคราช ม.7 ต�ำบลหนองหญา้ เมืองกาญจนบุรี วัดหัวนา บา้ นหัวนา ม.6 ต�ำบลปากแพรก เมืองกาญจนบุรี

กราบพระพุทธรูปอย่างไรให้เกิดปัญญา

วัดทับศิลา บา้ นทับศิลา ม.6 ต�ำบลช่องสะเดา เมืองกาญจนบุรี วัดวังกุม่ บา้ นวังกุม่ ม.3 ต�ำบลลาดหญา้ เมืองกาญจนบุรี วัดช่องกระทิง บา้ นช่องกระทิง ม.4 ต�ำบลช่องสะเดา เมืองกาญจนบุรี วัดถ้�ำขุนไกร บา้ นหนองจอก ม.5 ต�ำบลแกง่ เสีย้ น เมืองกาญจนบุรี

“พระยาตาแดง” หรือ “เจ้าเมืองตาแดง”

วัดเขาเม็งอมรเมศร์ บา้ นเขาเม็ง ม.13 ต�ำบลปากแพรก เมืองกาญจนบุรี วัดถ้�ำสัตบรรคูหา บา้ นหนองหญา้ ม.4 ต�ำบลหนองหญา้ เมืองกาญจนบุรี วัดเขาตองเมืองลับแล บา้ นเขาตอง ม.3 ต�ำบลปากแพรก เมืองกาญจนบุรี วัดถ้�ำเขาปูน บา้ นเขาปูน ม.3 ต�ำบลหนองหญา้ เมืองกาญจนบุรี

วัดทุง่ ศาลา บา้ นทุง่ ศาลา ม.6 ต�ำบลบา้ นเกา่ เมืองกาญจนบุรี วัดเนินพระงาม บา้ นหนองสองตอน ม.4 ต�ำบลแกง่ เสีย้ น เมืองกาญจนบุรี วัดพุนอ้ ย บา้ นพุนอ้ ย ม.4 ต�ำบลบา้ นเกา่ เมืองกาญจนบุรี วัดธรรมประวัติปรียาราม บา้ นพุกระพี้ ม.9 ต�ำบลวังดง้ เมืองกาญจนบุรี วัดเขาจ่าทา่ โป่งธรรมไพบูลย ์ บา้ นทา่ โป่ง ม.3 ต�ำบลวังดง้ เมืองกาญจนบุรี วัดวังจาน บา้ นวังจาน ม.8 ต�ำบลวังดง้ เมืองกาญจนบุรี วัดสามพระยา สามพระยา ม.9 ต�ำบลบา้ นเกา่ เมืองกาญจนบุรี วัดทา่ โป๊ะ บา้ นเกา่ ม.3 ต�ำบลบา้ นเกา่ เมืองกาญจนบุรี วัดเขาคีรีวงค์ บา้ นทา่ ทุม่ ม.11 ต�ำบลวังดง้ เมืองกาญจนบุรี วัดถ้�ำคีรีธรรม พุนกกระจอก ม.7 ต�ำบลหนองหญา้ เมืองกาญจนบุรี วัดล�ำทราย บา้ นล�ำทราย ม.9 ต�ำบลบา้ นเกา่ เมืองกาญจนบุรี วัดพุน้�ำร้อนรัตนคีรี ต�ำบลบา้ นเกา่ เมืองกาญจนบุรี วัดเมตตาธรรมโพธิญาณ ม.7 ต�ำบลหนองหญา้ เมืองกาญจนบุรี วัดโพธิสัตวบ์ รรพต บา้ นหนองหญา้ ม.1 ต�ำบลหนองหญา้ เมืองกาญจนบุรี วัดถ้�ำเจริญธรรม บา้ นนางแอ้ง ม.8 ต�ำบลหนองหญา้ เมืองกาญจนบุรี วัดสุทธิกาญจนาราม บา้ นทา่ หวี ม.4 ต�ำบลลาดหญา้ เมืองกาญจนบุรี วัดเจริญบุญไพศาล บา้ นหนองแฟบ ม3 ต�ำบลทา่ มะขาม เมืองกาญจนบุรี วัดพุทธกาญจนมุณี บา้ นวังปลาหมู ม.6 ต�ำบลเกาะส�ำโรง

วัดพุใหญเ่ จริญธรรม บา้ นหนองแก ม.7 ต�ำบลลาดหญา้ เมืองกาญจนบุรี วัดเขาช่องสเด็จ บา้ นหนองหญา้ ม.1 ต�ำบลหนองหญา้ เมืองกาญจนบุรี วัดป่ากุลสุวรรณณ์ บา้ นหัวนา ม.5 ต�ำบลปากแพรก เมืองกาญจนบุรี วัดวังตะเคียน ม.5 ต�ำบลวังเย็น เมืองกาญจนบุรี

อ�ำเภอไทรโยค วัดน้�ำตก ม. 3 บา้ นทา่ เสา อ�ำเภอไทรโยค วัดช่องแคบ ม. 1 บา้ นทา่ เสา อ�ำเภอไทรโยค วัดเกาะเจริญสุขาราม ม. 3 บา้ นทา่ เสา อ�ำเภอไทรโยค วัดแกง่ สารวัตร ม.2 บา้ นวังกระแจะ อ�ำเภอไทรโยค วัดวังกระแจะ ม. 6 บา้ นวังกระแจะ อ�ำเภอไทรโยค วัดเขาพังเจริญผล ม.3 บา้ นวังกระแจะ อ�ำเภอไทรโยค วัดแกง่ สามัคคี ม.4 บา้ นวังกระแจะ อ�ำเภอไทรโยค วัดยางโทน ม.3 บา้ นศรีมงคล อ�ำเภอไทรโยค วัดถ้�ำมะเดื่อ ม.2 บา้ นศรีมงคล อ�ำเภอไทรโยค วัดทา่ ทุง่ นาฤทธาราม ม.2 ต�ำบลไทรโยค อ�ำเภอไทรโยค

กราบพระพุทธรูปอย่างไรให้เกิดปัญญา

วัดหินดาด ม.1 บา้ นศรีมงคล อ�ำเภอไทรโยค วัดหาดงิว้ ม.5 บา้ นวังกระแจะ อ�ำเภอไทรโยค วัดพุองกะ ม. 4 บา้ นทา่ เสา อ�ำเภอไทรโยค วัดเนรัญชราราม ม.1 ต�ำบลไทรโยค อ�ำเภอไทรโยค วัดแมน้่ �ำนอ้ ย ม.5 ต�ำบลไทรโยค อ�ำเภอไทรโยค วัดดาวดึงส์ ม.6 ต�ำบลไทรโยค อ�ำเภอไทรโยค วัดไทรโยคมณีกาญจน์ ม. 1 ต�ำบลลุม่ สุม่ อ�ำเภอไทรโยค วัดลุม่ สุม่ ม. 2 ต�ำบลลุม่ สุม่ อ�ำเภอไทรโยค วัดไทรทองพัฒนา ม.6 ต�ำบลลุม่ สุม่ อ�ำเภอไทรโยค วัดไตรรัตนาราม ม.1 ต�ำบลลุม่ สุม่ อ�ำเภอไทรโยค วัดวังโพธิการาม ม.1 ต�ำบลลุม่ สุม่ อ�ำเภอไทรโยค วัดพุมุด ม.4 ต�ำบลทา่ เสา อ�ำเภอไทรโยค วัดบอ้ งตีล้ ว้ นพูลผลาราม บา้ นบอ้ งตี้ ม. 1 ต�ำบลบอ้ งตี้ อ�ำเภอไทรโยค วัดหนองขอนเทพมงคล บา้ นหนองขอน ม. 4 ต�ำบลลุม่ สุม่ อ�ำเภอไทรโยค วัดทา่ ตาเสือ บา้ นทา่ ตาเสือ ม. 6 ต�ำบลสิงห์ อ�ำเภอไทรโยค วัดพุพง บา้ นพุพง ม.5 ต�ำบลทา่ เสา อ�ำเภอไทรโยค วัดเขาเขเ้ ทพนิมิตวนาราม ม.8 ต�ำบลไทรโยค อ�ำเภอไทรโยค วัดสิงห์ไพบูลยป์ ระชาสรรค์ บา้ นวังสิงห์ ม.2 ต�ำบลสิงห์ อ�ำเภอไทรโยค วัดวังพระวิเวกวนาราม บา้ นวังพระ ม.4 ต�ำบลไทรโยค อ�ำเภอไทรโยค วัดปากกิเลน บา้ นปากกิเลน ม.1 ต�ำบลสิงห์ อ�ำเภอไทรโยค วัดพุปลู ม.5 ต�ำบลสิงห์ อ�ำเภอไทรโยค วัดหนองแจง บา้ นหนองแจง ม.6 ต�ำบลศรีมงคล อ�ำเภอไทรโยค

วัดไทรโยคใหญ่ บา้ นไทรโยคใหญ่ ม.7 ต�ำบลไทรโยค อ�ำเภอไทรโยค วัดพุนอ้ ย บา้ นพุนอ้ ย ม.7 ต�ำบลลุม่ สุม่ อ�ำเภอไทรโยค วัดเขานอ้ ยชินราช บา้ นลุม่ ผึ้ง ม.3 ต�ำบลลุม่ สุม่ อ�ำเภอไทรโยค วัดสามัคคีธรรม บา้ นสามัคคีธรรม ม.5 ต�ำบลลุม่ สุม่ อ�ำเภอไทรโยค วัดสมานสามัคคีธรรม บา้ นห้วยกะทะทอง ม.5 ต�ำบลศรีมงคล อ�ำเภอไทรโยค วัดพุเตย บา้ นพุนอ้ ย ม.7 ต�ำบลทา่ เสา อ�ำเภอไทรโยค วัดวังใหญ่ บา้ นวังใหญ่ ม.5 ต�ำบลทา่ เสา อ�ำเภอไทรโยค วัดหนองปรือ บา้ นหนองปรือ ม.4 ต�ำบลสิงห์ อ�ำเภอไทรโยค วัดเขาช้างวนาราม บา้ นเขาช้าง ม.1 ต�ำบลวังกระแจะ อ�ำเภอไทรโยค วัดเขาสามชัน้ บา้ นสามชัน้ ม.2 ต�ำบลลุม่ สุม่ อ�ำเภอไทรโยค วัดทุง่ นาโกลน ต�ำบลสิงห์ อ�ำเภอไทรโยค วัดพุตะเคียน ต�ำบลทา่ เสา อ�ำเภอไทรโยค วัดดงพง บา้ นดงพง ม.5 ต�ำบลวังกระแจะ อ�ำเภอไทรโยค วัดหนองปลาซิว บา้ นหนองปลาซิว ม.6 ศรีต�ำบลมงคล อ�ำเภอไทรโยค วัดทุง่ กา้ งยา่ ง บา้ นทุง่ กา้ งยา่ ง ม.3 ต�ำบลไทรโยค อ�ำเภอไทรโยค วัดบอ้ งตีน้ อ้ ย บอ้ งตี้ ม.7 วังกระแจะ อ�ำเภอไทรโยค วัดตน้ มะมว่ ง บา้ นตน้ มะมว่ ง ม.7 ต�ำบลวังกระแจะ อ�ำเภอไทรโยค วัดใหมด่ งสัก บา้ นดงสัก ม.8 ต�ำบลไทรโยค อ�ำเภอไทรโยค

KANCHANABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 159

159

23/7/2561 11:14:25


วัดถ้�ำพรหมโลกเขาใหญ่ บา้ นพุมว่ ง ม.6 ต�ำบลทา่ เสา อ�ำเภอไทรโยค วัดเทพเทพาศรัทธาธรรม บา้ นไอ้เหือด ม.4 วัดทุง่ มะเซอยอ่ บา้ นทุง่ มะเซอยอ่ ม.4 ต�ำบลบอ้ งตี้ อ�ำเภอไทรโยค วัดเครือมิตรสันติธรรม เกาะศรีจันทร์ ม.3 ต�ำบลลุม่ สุม่ อ�ำเภอไทรโยค วัดเนินสวรรคฤ์ ทธาราม ต�ำบลวังกระแจะ อ�ำเภอไทรโยค วัดสวนป่าไผล่ อ้ ม บา้ นพุองกะ ม.4 ต�ำบลทา่ เสา ไทรโยค วัดศรีมงคล บา้ นศรีมงคล ม.4 ต�ำบลศรีมงคล อ�ำเภอไทรโยค วัดถ้�ำเสือดาว บา้ นเนินกรวด ม.2 ต�ำบลสิงห์ อ�ำเภอไทรโยค วัดเวฬุวนาราม บา้ นทา่ ทุง่ นา ม.2 ต�ำบลไทรโยค อ�ำเภอไทรโยค วัดสุนันทวนาราม บา้ นทา่ เตียน ม.8 ต�ำบลไทรโยค อ�ำเภอไทรโยค วัดสุธาสินีวนาราม บา้ นล�ำสมอ ม.4 ต�ำบลบอ้ งตี้ อ�ำเภอไทรโยค วัดป่าธรรมบูชา บา้ นชายทุง่ ม.9 ต�ำบลวังกระแจะ อ�ำเภอไทรโยค วัดป่าหลวงตาบัวญาณสัมปั นโน บา้ นพุไมแ้ ดง ม.5 ต�ำบลสิงห์ อ�ำเภอไทรโยค วัดถ้�ำสมธรรม บา้ นหนองขอน ม.4 ต�ำบลลุม่ สุม่ อ�ำเภอไทรโยค วัดถ้�ำศรีสรรเพชญ บา้ นช่องแคบ ม.1 ต�ำบลทา่ เสา อ�ำเภอไทรโยค วัดทา่ ขา้ มสุด บา้ นศรีมงคล ม.8 ต�ำบลศรีมงคล อ�ำเภอไทรโยค

ต�ำบลหนองรี อ�ำเภอบ่อพลอย

160

อ�ำเภอบ่อพลอย วัดรัชดาภิเษก ม.2 ต�ำบลบอ่ พลอย อ�ำเภอบอ่ พลอย วัดเขาวงจินดาราม ม.2 ต�ำบลบอ่ พลอย อ�ำเภอบอ่ พลอย วัดเขาพระศรีรัตนาราม ม.2 ต�ำบลบอ่ พลอย อ�ำเภอบอ่ พลอย วัดช่องดา่ นราษฎร์บ�ำรุง ม.5 ต�ำบลบอ่ พลอย อ�ำเภอบอ่ พลอย วัดบึงหัวแหวน ม.4 ต�ำบลบอ่ พลอย อ�ำเภอบอ่ พลอย วัดทุง่ มะสัง ม.3 ต�ำบลหนองกุม่ อ�ำเภอบอ่ พลอย วัดเสาหงส์ ม.4 ต�ำบลหนองกุม่ ต�ำบลบอ่ พลอย วัดหนองปลวก ม.8 ต�ำบลหนองกุม่ อ�ำเภอบอ่ พลอย วัดวิเศษสุขาราม ม.1 ต�ำบลหนองกุม่ อ�ำเภอบอ่ พลอย

วัดหนองรี

วัดหนองรี ม.2 ต�ำบลหนองรี อ�ำเภอบอ่ พลอย วัดหนองกร่าง ม.3 ต�ำบลหนองรี อ�ำเภอบอ่ พลอย วัดล�ำอีซู ม.7 ต�ำบลหนองรี อ�ำเภอบอ่ พลอย วัดเนินบรรพต ม.8 ต�ำบลหนองรี อ�ำเภอบอ่ พลอย วัดยางสูง ม.4 ต�ำบลหลุมรัง อ�ำเภอบอ่ พลอย วัดหลุมรัง ม.5 ต�ำบลหลุมรัง อ�ำเภอบอ่ พลอย วัดหนองหมู ม.6 ต�ำบลหลุมรัง อ�ำเภอบอ่ พลอย

วัดล�ำเหย ม.8 ต�ำบลหลุมรัง อ�ำเภอบอ่ พลอย วัดหนองกระทุม่ ม.2 ต�ำบลหนองกุม่ อ�ำเภอบอ่ พลอย วัดหนองแกใน ม.1 ต�ำบลหนองรี อ�ำเภอบอ่ พลอย วัดหนองเตียน บา้ นหนองเตียน ม.8 ต�ำบลบอ่ พลอย อ�ำเภอบอ่ พลอย วัดโป่งรี บา้ นโป่งรี ม.6 ต�ำบลหนองรี อ�ำเภอบอ่ พลอย วัดหนองแดงวนาราม บา้ นหนองแดง ม.5 ต�ำบลหนองกุม่ อ�ำเภอบอ่ พลอย วัดหนองเขจ้ ันทาราม บา้ นหนองเข้ ม.7 ต�ำบลบอ่ พลอย อ�ำเภอบอ่ พลอย วัดหนองโพธิ์ บา้ นหนองโพธิ์ ม.8 ต�ำบลบอ่ พลอย อ�ำเภอบอ่ พลอย วัดถ้�ำผาวังจันทร์ บา้ นหนองไกช่ ุม ม.9 ต�ำบลหลุมรัง อ�ำเภอบอ่ พลอย

วัดถ้�ำเขาเขียว บา้ นบอ่ พลอย ม.1 ต�ำบลบอ่ พลอย อ�ำเภอบอ่ พลอย วัดหนองส�ำโรง หนองส�ำโรง ม.2 ต�ำบลหนองรี อ�ำเภอบอ่ พลอย วัดสลอบวนาราม บา้ นสลอบ ม.10 ต�ำบลหนองกุม่ อ�ำเภอบอ่ พลอย วัดพุพรม บา้ นพุพรม ม.10 ต�ำบลหนองกุม่ อ�ำเภอบอ่ พลอย วัดหนองยา่ งช้าง บา้ นหนองยา่ งช้าง ม.2 ต�ำบลบอ่ พลอย อ�ำเภอบอ่ พลอย วัดพุรวก บา้ นพุรวก ม.9 ต�ำบลหนองกร่าง อ�ำเภอบอ่ พลอย วัดเขาแดง บา้ นเขาแดง ม.6 ต�ำบลช่องดา่ น อ�ำเภอบอ่ พลอย วัดชัฏน้�ำเงิน ม.2 ต�ำบลหนองกรา่ ง อ�ำเภอบอ่ พลอย วัดล�ำตะเพิน บา้ นล�ำตะเพิน ม.5 ต�ำบลหนองรี อ�ำเภอบอ่ พลอย วัดทุง่ กระเพราทอง บา้ นหนองขาม ม.10

วัดเขาจันทร์ศิลาภรณ์ บา้ นสามยอด ม.5 ต�ำบลช่องดา่ น อ�ำเภอบอ่ พลอย วัดเทพนิมิตรโชติการาม ม.7 ต�ำบลหลุมรัง อ�ำเภอบอ่ พลอย วัดป่าญาณคุตโต บา้ นโป่งรี ม.6 ต�ำบลหนองรี อ�ำเภอบอ่ พลอย

“บึงเรือล่ม”

วัดบึงหลม่ ต�ำบลบอ่ พลอย อ�ำเภอบอ่ พลอย วัดหนองหวา้ ม.3 ต�ำบลช่องดา่ น อ�ำเภอบอ่ พลอย วัดรางขาม บา้ นรางขาม ม.8 ต�ำบลหนองกุม่ บอ่ พลอย วัดพระพุทธเมตาอุดมธรรม บา้ นหนองกุม ม11 ต�ำบลหนองกุม่ อ�ำเภอบอ่ พลอย

SBL บันทึกประเทศไทย I KANCHANABURI

.indd 160

23/7/2561 11:14:31


THE IMPORTANT TEMPLES KANCHANABURI

วัดหาดแตง โป่งหวาย ม.5 ต�ำบลดา่ นแมแ่ ฉลบ อ�ำเภอศรีสวัสดิ์ วัดสมเด็จ บา้ นศรีสวัสดิ์ ม.3 ต�ำบลดา่ นแมแ่ ฉลบ อ�ำเภอศรีสวัสดิ์ วัดทุง่ นาวราราม บา้ นทา่ ทุง่ นา ม.4 ต�ำบลหนองเป็ ด อ�ำเภอศรีสวัสดิ์ วัดปลายดินสอ บา้ นปลายดินสอ ม.5 ต�ำบลแมก่ ระบุง่ อ�ำเภอศรีสวัสดิ์ วัดแกง่ แคบ บา้ นแกง่ แคบ ม.4 ต�ำบลทา่ กระดาน อ�ำเภอศรีสวัสดิ์ วัดพุตาเฮียงสามัคคีธรรม บา้ นพุชะนี ม.4 ต�ำบลแมก่ ระบุง่ อ�ำเภอศรีสวัสดิ์ วัดถ้�ำสิริธรรมาราม บา้ นเขาเหล็ก ม.5 ต�ำบลเขาโจด อ�ำเภอศรีสวัสดิ์

วัดดงสัก ม.4 ต�ำบลพงตึก อ�ำเภอทา่ มะกา วัดหนองโตนด ม.6 ต�ำบลพงตึก อ�ำเภอทา่ มะกา วัดเขาใหญ่ ม.3 ต�ำบลโคกตะบอง อ�ำเภอทา่ มะกา วัดเขาตะพัน้ ม.6 ต�ำบลโคกตะบอง อ�ำเภอทา่ มะกา วัดหนองลาน ม.3 ต�ำบลหนองลาน อ�ำเภอทา่ มะกา วัดหนองไมแ้ กน่ ม.6 ต�ำบลหนองลาน อ�ำเภอทา่ มะกา วัดดาปานนิมิต ม.2 ต�ำบลหนองลาน อ�ำเภอทา่ มะกา วัดเขาสะพายแร้ง ม. 2 ต�ำบลสนามแย้ อ�ำเภอทา่ มะกา วัดสนามแย้ ม.6 ต�ำบลสนามแย้ อ�ำเภอทา่ มะกา

อ�ำเภอท่ามะกา “บ้านสามสิบหาบ”

อ�ำเภอศรีสวัสดิ์ วัดศรีสวัสดิ์ ม.3 บา้ นดา่ นแมแ่ ฉลบ อ�ำเภอศรีสวัสดิ์ วัดศรีเกษตราราม ม.2 ต�ำบลนาสวน อ�ำเภอศรีสวัสดิ์ วัดนาสวน ม.1 ต�ำบลนาสวน อ�ำเภอศรีสวัสดิ์ วัดถ้�ำองจุ ม.1 ต�ำบลนาสวน อ�ำเภอศรีสวัสดิ์ วัดเขาโจด ม.4 ต�ำบลเขาโจด อ�ำเภอศรีสวัสดิ์ วัดเกาะบุก ม.1 ต�ำบลหนองเป็ ด อ�ำเภอศรีสวัสดิ์ วัดถ้�ำพระธาตุ ม.3 ต�ำบลทา่ กระดาน อ�ำเภอศรีสวัสดิ์ วัดถ้�ำเนรมิตร ม.6 ต�ำบลหนองเป็ ด อ�ำเภอศรีสวัสดิ์ วัดตน้ มะพร้าว ม.6 ต�ำบลหนองเป็ ด อ�ำเภอศรีสวัสดิ์ วัดบา้ นน้�ำมุด ม.3 ต�ำบลหนองเป็ ด อ�ำเภอศรีสวัสดิ์ วัดองสิต บา้ นองสิต ม.4 ต�ำบลนาสวน อ�ำเภอศรีสวัสดิ์ วัดทา่ กระดาน บา้ นทา่ กระดาน ม.2 ต�ำบลทา่ กระดาน อ�ำเภอศรีสวัสดิ์

วัดภูก�ำแพง บา้ นตีนตก ม.1 ต�ำบลเขาโจด อ�ำเภอศรีสวัสดิ์ วัดน้�ำพุพนาวาส บา้ นน้�ำพุ ม.2 ต�ำบลเขาโจด อ�ำเภอศรีสวัสดิ์ วัดปากล�ำขาแขง้ (ปากล�ำขาแข็ง) บา้ นปากล�ำ ม.1 อ�ำเภอเขาโจด อ�ำเภอศรีสวัสดิ์ วัดไทยชาวเขา บา้ นกลางไทยชาวเขา ม.1 ต�ำบลเขาโจด อ�ำเภอศรีสวัสดิ์ วัดพุน้�ำเปรีย้ ว บา้ นพุน้�ำเปรีย้ ว ม.2 ต�ำบลดา่ นแมแ่ ฉลบ อ�ำเภอศรีสวัสดิ์ วัดบา้ นสามหลัง บา้ นสามหลัง ม.4 ต�ำบลเขาโจด อ�ำเภอศรีสวัสดิ์ วัดเขาเหล็ก บา้ นเขาเหล็ก ม.5 ต�ำบลเขาโจด อ�ำเภอศรีสวัสดิ์ วัดวังผาแดง บา้ นเจาะเลาะ ม.4 ต�ำบลนาสวน อ�ำเภอศรีสวัสดิ์ วัดไตรรงค์ บา้ นไตรรงค์ ม.2 ต�ำบลนาสวน อ�ำเภอศรีสวัสดิ์

วัดถ้�ำผาพิรุณ บา้ นสะมะแก ม.4 ต�ำบลนาสวน อ�ำเภอศรีสวัสดิ์ วัดพอ่ ขุนเณร บา้ นเจ้าเณร ม.3 ต�ำบลทา่ กระดาน อ�ำเภอศรีสวัสดิ์ วัดองหลุ บา้ นองหลุ ม.3 ต�ำบลนาสวน อ�ำเภอศรีสวัสดิ์ วัดถ้�ำพุกุง้ เจริญธรรม บา้ นพุกุง้ ม.2 ต�ำบลทา่ กระดาน อ�ำเภอศรีสวัสดิ์ วัดหมอ่ งกระแทะ บา้ นหมอ่ งกระแทะ ม.3 ต�ำบลทา่ กระดาน อ�ำเภอศรีสวัสดิ์ วัดโป่งหวาย บา้ นโป่งหวาย ม.5 ต�ำบลดา่ นแมแ่ ฉลบ อ�ำเภอศรีสวัสดิ์ วัดดงเสลาเกา่ บา้ นดงเสลา ม.6 ต�ำบลดา่ นแมแ่ ฉลบ อ�ำเภอศรีสวัสดิ์ วัดทา่ สนุน่ บา้ นทา่ สนุน่ ม.4 ต�ำบลดา่ นแมแ่ ฉลบ อ�ำเภอศรีสวัสดิ์ วัดมัชฌิมวนาราม บา้ นดงเสลา ม.6 ต�ำบลนาสวน อ�ำเภอศรีสวัสดิ์

วัดพระแท่นศักดิ์สิทธิ์

วัดพระแทน่ ดงรัง ม.10 ต�ำบลพระแทน่ อ�ำเภอทา่ มะกา วัดหมอสอ (วังคา) ม.8 ต�ำบลพระแทน่ อ�ำเภอทา่ มะกา วัดทา่ มะกา ม.3 ต�ำบลทา่ มะกา อ�ำเภอทา่ มะกา วัดหนองลานราษฎร์บ�ำรุง ม.7 ต�ำบลทา่ มะกา อ�ำเภอทา่ มะกา วัดหวายเหนียว ม.4 ต�ำบลหวายเหนียว อ�ำเภอทา่ มะกา วัดทา่ เรือ ต�ำบลทา่ เรือ อ�ำเภอทา่ มะกา วัดใหมเ่ จริญผล ม.3 ต�ำบลทา่ เรือ อ�ำเภอทา่ มะกา วัดลูกแก ม.7 ต�ำบลดอนขมิน้ อ�ำเภอทา่ มะกา วัดดอนขมิน้ ม.3 ต�ำบลดอนขมิน้ อ�ำเภอทา่ มะกา วัดดอนสามงา่ ม ม.5 ต�ำบลทา่ เสา อ�ำเภอทา่ มะกา วัดปากบาง ม.1 ต�ำบลพงตึก อ�ำเภอทา่ มะกา

วัดเขาสามสิบหาบ ม.3 ต�ำบลเขาสามสิบหาบ อ�ำเภอทา่ มะกา วัดเขากะอาง ม.7 ต�ำบลเขาสามสิบหาบ อ�ำเภอทา่ มะกา วัดคร้อพนัน ม.7 ต�ำบลทา่ ไม้ อ�ำเภอทา่ มะกา วัดกระตา่ ยเตน้ ม.2 ต�ำบลทา่ ไม้ อ�ำเภอทา่ มะกา วัดห้วยตะเคียน ม.3 ต�ำบลยางมว่ ง อ�ำเภอทา่ มะกา วัดหนองโรง ม.6 ต�ำบลยางมว่ ง อ�ำเภอทา่ มะกา

น้อมกราบสักการะสิ่งศักดิ์สิทธิ์

วัดดอนชะเอม ม.2 ต�ำบลดอนชะเอม อ�ำเภอทา่ มะกา วัดทุง่ มะกรูด ม.4 ต�ำบลดอนชะเอม อ�ำเภอทา่ มะกา วัดทุง่ ประทุน ม.5 ต�ำบลดอนชะเอม อ�ำเภอทา่ มะกา

KANCHANABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 161

161

23/7/2561 11:14:37


วัดแสนตอ ม.4 ต�ำบลแสนตอ อ�ำเภอทา่ มะกา วัดทา่ กระทุม่ ม. 1 ต�ำบลแสนตอ อ�ำเภอทา่ มะกา วัดตะคร้�ำเอน ต�ำบลตะคร้�ำเอน อ�ำเภอทา่ มะกา วัดส�ำนักคร้อ ม.2 ต�ำบลตะคร้�ำเอน อ�ำเภอทา่ มะกา วัดรางกระตา่ ยรังสรรค์ ม.8 ต�ำบลตะคร้�ำเอน อ�ำเภอทา่ มะกา วัดโพธิเ์ ย็น ม.7 ต�ำบลดอนขมิน้ อ�ำเภอทา่ มะกา วัดจันทร์ลาดสุขสุวรรณ ม.4 ต�ำบลหนองลาน อ�ำเภอทา่ มะกา วัดหนองพลับ ม.8 ต�ำบลแสนตอ อ�ำเภอทา่ มะกา วัดห้วยกรด ม.1 ต�ำบลตะคร้�ำเอน อ�ำเภอทา่ มะกา วัดเขาพระสิทธิญาณ ม.2 ต�ำบลเขาสามสิบหาบ อ�ำทา่ มะกา วัดกาญจนนิมิต (ใหมร่ างวาลย์ )์ บา้ นรางวาลย์ ม.3 ต�ำบลทา่ เสา อ�ำเภอทา่ มะกา วัดดอนตาลเสีย้ น บา้ นดอนตาลเสีย้ น ม.5 ต�ำบลอุโลกสีห่ มื่น อ�ำเภอทา่ มะกา วัดราษฎร์ศรัทธาธรรม บา้ นบา้ นไร่ 4 ต�ำบลพระแทน่ อ�ำเภอทา่ มะกา วัดเขาช่องพัฒนาราม เขาช่อง ม.8 ต�ำบลสามสิบหาบ อ�ำเภอทา่ มะกา

วัดเขาสูงแจ่มฟ้า

วัดเขาสูงแจ่มฟ้า บา้ นเขาสูงแจ่มฟ้า ม.1 ต�ำบลเขาสูงแจ่มฟ้า อ�ำเภอทา่ มะกา วัดผึ้งหลวง หนองซ่อนผึ้ง ม3 ต�ำบลอุโลกสีห่ มื่น อ�ำเภอทา่ มะกา

กราบพระพุทธรูปอย่างไรให้เกิดปัญญา

162

อ�ำเภอท่าม่วง วัดวังขนายทายิการาม ม.2 ต�ำบลวังขนาย อ�ำเภอทา่ มว่ ง วัดกร่างทองราษฏร์บูรณะ บา้ นกร่างทอง ม.1 ต�ำบลทุง่ ทอง อ�ำเภอทา่ มว่ ง วัดศรีสุวรรณาวาส ม.2 ต�ำบลทุง่ ทอง อ�ำเภอทา่ มว่ ง วัดห้วยนาคราช ม.2 ต�ำบลทุง่ ทอง อ�ำเภอทา่ มว่ ง วัดสันติคีรีศรีปรมธาตุ ม.5 ต�ำบลทา่ ลอ้ อ�ำเภอทา่ มว่ ง วัดบา้ นทอง ม.1 ต�ำบลทา่ ลอ้ อ�ำเภอทา่ มว่ ง วัดอินทาราม ม.1 ต�ำบลหนองขาว อ�ำเภอทา่ มว่ ง วัดใหญด่ งรัง ม.4 ต�ำบลหนองขาว อ�ำเภอทา่ มว่ ง วัดโพธิศ์ รีสุขาราม ม.3 ต�ำบลวังศาลา อ�ำเภอทา่ มว่ ง วัดวังศาลา ม.1 ต�ำบลวังศาลา อ�ำเภอทา่ มว่ ง วัดหนองเสือ ม.4 ต�ำบลวังศาลา อ�ำเภอทา่ มว่ ง วัดศรีโลหะราษฎร์บ�ำรุง ม.1 ต�ำบลทา่ มว่ ง อ�ำเภอทา่ มว่ ง วัดพิไชยธาราม ม.1 ต�ำบลมว่ งชุม อ�ำเภอทา่ มว่ ง

วัดมว่ งชุม ม.5 ต�ำบลมว่ งชุม อ�ำเภอทา่ มว่ ง วัดมโนธรรมมาราม ม.3 ต�ำบลเขานอ้ ย อ�ำเภอทา่ มว่ ง

พิสูจน์แรงศรัทธา สักการบูชาหลวงพ่อชินราช

วัดบา้ นถ้�ำ ม.1 ต�ำบลเขานอ้ ย อ�ำเภอทา่ มว่ ง วัดหนองตะโก ม.4 ต�ำบลเขานอ้ ย อ�ำเภอทา่ มว่ ง วัดบา้ นใหม่ ม.2 ต�ำบลบา้ นใหม่ อ�ำเภอทา่ มว่ ง วัดตน้ ล�ำใย ม.3 ต�ำบลบา้ นใหม่ อ�ำเภอทา่ มว่ ง วัดหนองส�ำรอง ม.4 ต�ำบลบา้ นใหม่ อ�ำเภอทา่ มว่ ง วัดทา่ ตะคร้อ ม.1 ต�ำบลทา่ ตะคร้อ อ�ำเภอทา่ มว่ ง วัดหนองน้�ำขุน่ ม.7 ต�ำบลบา้ นใหม่ อ�ำเภอทา่ มว่ ง วัดราษฎร์ศรัทธาธรรม (หนองอีเห็น) ต�ำบลหนองตากยา อ�ำเภอทา่ มว่ ง

วัดเขาคันหอก ม.7 ต�ำบลพังตรุ อ�ำเภอทา่ มว่ ง วัดสระเศรษฐีปรีชาราษฎร์ ม. 5 ต�ำบลบา้ นใหม่ อ�ำเภอทา่ มว่ ง วัดดอนคราม บา้ นดอนคราม ม.5 ต�ำบลเขานอ้ ย อ�ำเภอทา่ มว่ ง วัดโมกมันขันธาราม บา้ นหนองยายทาด ม.7 ต�ำบลหนองขาว อ�ำเภอทา่ มว่ ง วัดอู่ตะเภา ม.4 ต�ำบลเขานอ้ ย อ�ำเภอทา่ มว่ ง วัดหนองพังตรุ บา้ นหนองพังตรุ ม.2 ต�ำบลพังตรุ อ�ำเภอทา่ มว่ ง

กราบพระพุทธรูปปางประทานพร

วัดถ้�ำเสือ บา้ นมว่ งชุม ม.3 ต�ำบลมว่ งชุม อ�ำเภอทา่ มว่ ง วัดสระกลอย บา้ นสระกลอย ม.5 ต�ำบลรางสาลี่ อ�ำเภอทา่ มว่ ง

วัดถ้�ำแฝด บา้ นดอนคา ม.2 ต�ำบลเขานอ้ ย อ�ำเภอทา่ มว่ ง วัดโกรกตารอด บา้ นโกรกตารอด ม.6 ต�ำบลหนองตากยา อ�ำเภอทา่ มว่ ง วัดขุนไทยธาราม บา้ นล�ำขุนไทย ม.1 ต�ำบลรางสาลี่ อ�ำเภอทา่ มว่ ง วัดหนองสองห้อง บา้ นหนองสองห้อง ม.5 ต�ำบลหนองตากยา อ�ำเภอทา่ มว่ ง วัดตลาดส�ำรองพันธาราม ต�ำบลพังตรุ อ�ำเภอทา่ มว่ ง วัดทะเลสาบ บา้ นทะเลสาบ ม.7 ต�ำบลหนองตากยา อ�ำเภอทา่ มว่ ง วัดหนองตากยาอภัยสัตว์ บา้ นหนองตากยา ม.8 ต�ำบลหนองตากยา อ�ำเภอทา่ มว่ ง วัดเขาธรรมอุทยาน บา้ นคอเขา ม.4 ต�ำบลหนองตากยา อ�ำเภอทา่ มว่ ง วัดเขาเล็ก บา้ นรางสะเดา ม.4 ต�ำบลพังตรุ อ�ำเภอทา่ มว่ ง วัดรางเฆ่ บา้ นรางเฆ่ ม.6 ต�ำบลพังตรุ อ�ำเภอทา่ มว่ ง

SBL บันทึกประเทศไทย I KANCHANABURI

.indd 162

23/7/2561 11:14:44


THE IMPORTANT TEMPLES KANCHANABURI

วัดหินกอง บา้ นเกา้ ห้อง ม.5 ต�ำบลหนองตากยา อ�ำเภอทา่ มว่ ง วัดเขาเพิง บา้ นห้วยไร่ ม.9 ต�ำบลพังตรุ อ�ำเภอทา่ มว่ ง วัดป่าพุทธบาทเขานอ้ ย บา้ นทา่ ลอ้ ม.2 ต�ำบลทา่ ลอ้ อ�ำเภอทา่ มว่ ง วัดเทวธรรม บา้ นทา่ ลอ้ ต�ำบลทา่ ลอ้ อ�ำเภอทา่ มว่ ง วัดหนองกงเกวียน บา้ นหนองเกวียน ม.2 ต�ำบลหนองตากยา อ�ำเภอทา่ มว่ ง วัดเขานางพิมพป์ รีชาราม บา้ นเขานางพิมพ์ ม.10 ต�ำบลเขานอ้ ย อ�ำเภอทา่ มว่ ง วัดหนองตะครอง ต�ำบลหนองตากยา อ�ำเภอทา่ มว่ ง วัดถ้�ำกูปนฬวัน บา้ นวังดุม ม.8 ต�ำบลบา้ นใหม่ อ�ำเภอทา่ มว่ ง วัดเมตตาปิ ตยานนท์ บา้ นหนองตะครอง ม. 2 ต�ำบลหนองตากยา อ�ำเภอทา่ มว่ ง วัดหนองขาว บา้ นหนองขาว ม.2 ต�ำบลหนองขาว อ�ำเภอทา่ มว่ ง

อ�ำเภอทองผาภูมิ

พระเจดีย์ 84 พรรษา วัดท่าขนุน

วัดทา่ ขนุน ม.1 ต�ำบลทา่ ขนุน อ�ำเภอทองผาภูมิ วัดบา้ นไร่ ม.6 ต�ำบลทา่ ขนุน อ�ำเภอทองผาภูมิ วัดปรังกาสี ม.3 ต�ำบลทา่ ขนุน อ�ำเภอทองผาภูมิ วัดหินแหลม ม.5 ต�ำบลทา่ ขนุน อ�ำเภอทองผาภูมิ วัดธารน้�ำร้อน ม.1 ต�ำบลหินดาด อ�ำเภอทองผาภูมิ วัดหินดาด ม.4 ต�ำบลหินดาด อ�ำเภอทองผาภูมิ วัดเชิงเขา ม.2 ต�ำบลลิน่ ถิน่ อ�ำเภอทองผาภูมิ วัดลิน่ ถิน่ ม.4 ต�ำบลลิน่ ถิน่ อ�ำเภอทองผาภูมิ วัดกุยแหย่ ม.2 ต�ำบลลิน่ ถิน่ อ�ำเภอทองผาภูมิ

วัดเหมืองแร่ปิล็อก ม.6 ต�ำบลปิ ลอ๊ ก อ�ำเภอทองผาภูมิ วัดห้วยปากคอก ม.6 ต�ำบลทา่ ขนุน อ�ำเภอทองผาภูมิ วัดดงโคร่ง ม.7 ต�ำบลหินดาด อ�ำเภอทองผาภูมิ วัดทา่ มะเดื่อ ม.7 ต�ำบลหว้ ยเขยง่ อ�ำเภอทองผาภูมิ วัดห้วยเขยง่ ม.10 ต�ำบลทา่ ขนุน อ�ำเภอทองผาภูมิ วัดประจ�ำไม้ ม.11 ต�ำบลทา่ ขนุน อ�ำเภอทองผาภูมิ วัดไร่ป้า ม.12 ต�ำบลทา่ ขนุน อ�ำเภอทองผาภูมิ

วัดปากล�ำปิ ล็อก ม.9 ต�ำบลทา่ ขนุน อ�ำเภอทองผาภูมิ วัดวังปะโท่ ม.8 ต�ำบลหว้ ยเขยง่ อ�ำเภอทองผาภูมิ วัดวังผาตาด ม.8 ต�ำบลหินดาด อ�ำเภอทองผาภูมิ วัดจันทร์หงาย ม.7 ต�ำบลหินดาด อ�ำเภอทองผาภูมิ วัดเวฬุวัน ม.1 ต�ำบลทา่ ขนุน อ�ำเภอทองผาภูมิ วัดทองผาภูมิ ม.1 ต�ำบลทา่ ขนุน อ�ำเภอทองผาภูมิ วัดพุทธบริษัท บา้ นองธิ ม.3 ต�ำบลทา่ ขนุน อ�ำเภอทองผาภูมิ

วัดสะพานลาวประชาสรรค์ บา้ นสะพานลาว ม.2 ต�ำบลสหกรณน์ ิคม อ�ำเภอทองผาภูมิ วัดพุถ่องเจริญธรรม บา้ นพุถ่อง ม.1 ต�ำบลลิน่ ถิน่ อ�ำเภอทองผาภูมิ วัดหนองเจริญศรัทธาธรรม บา้ นหนองเจริญ ม.6 ต�ำบลลิน่ ถิน่ อ�ำเภอทองผาภูมิ วัดนามกุยทายิการาม บา้ นนามกุย ม.2 ต�ำบลลิน่ ถิน่ อ�ำเภอทองผาภูมิ วัดผาสุกิจสุวรรณเขต บา้ นหนองบาง ม.5 ต�ำบลลิน่ ถิน่ อ�ำเภอทองผาภูมิ

KANCHANABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 163

163

23/7/2561 11:14:48


วัดพุทโธภาวนา บา้ นเกริงกระเวีย ม.2 ต�ำบลชะแล อ�ำเภอทองผาภูมิ วัดสอ่ งทอ่ ธรรมสถิตย์ บา้ นภูเตย ม.5 ต�ำบลชะแล อ�ำเภอทองผาภูมิ วัดห้วยเสือผาสุกิจวิปัสนาราม บา้ นห้วยเสือ ม.1 ต�ำบลชะแล อ�ำเภอทองผาภูมิ วัดคลีตีผ้ ลธรรมาราม บา้ นคลีตี้ ม.4 ต�ำบลชะแล อ�ำเภอทองผาภูมิ วัดถ้�ำผาสุกิจวนาราม บา้ นกุยแหย่ ม.2 ต�ำบลลิน่ ถิน่ อ�ำเภอทองผาภูมิ วัดพุทธมณฑลอรัญญิกาวาส บา้ นทุง่ สมอ ม.4 ต�ำบลทา่ ขนุน อ�ำเภอทองผาภูมิ วัดป่าผาตาดธารสวรรค์ บา้ นผาตาด ม.8 ต�ำบลหินดาด อ�ำเภอทองผาภูมิ วัดเขื่อนวชิราลงกรณ บา้ นทา่ ขนุน ม. 1 ต�ำบลทา่ ขนุน อ�ำเภอทองผาภูมิ วัดหินดาดผาสุการาม บา้ นหินดาด ม. 5 ต�ำบลหินดาด อ�ำเภอทองผาภูมิ วัดป่าเขาใหญ่ บา้ นรวมใจ ม. 8 ต�ำบลห้วยเขยง่ อ�ำเภอทองผาภูมิ วัดขุนจิตราธรรมาวาส บา้ นสหกรณน์ ิคม ม.1 ต�ำบลสหกรณน์ ิคม อ�ำเภอทองผาภูมิ วัดป่าบัวแกว้ ญาณสัมปั นนุสรณ์ บา้ นหินแหลม ม.5 ต�ำบลทา่ ขนุน อ�ำเภอทองผาภูมิ

อ�ำเภอสังขละบุรี วัดวังหิน บา้ นวังหิน ม.1 ต�ำบลหินดาด อ�ำเภอทองผาภูมิ วัดห้วยเจริญศรัทธาราม บา้ นห้วยปากคอก ม.7 ต�ำบลห้วยเขยง่ อ�ำเภอทองผาภูมิ วัดอู่ลอง บา้ นอู่ลอง(อพป) ม.4 ต�ำบลทา่ ขนุน อ�ำเภอทองผาภูมิ วัดเกริงกระเวีย บา้ นเกริงกระเวีย ม.2 ต�ำบลชะแล อ�ำเภอทองผาภูมิ วัดองธิ บา้ นองธิ ม.2 ต�ำบลทา่ ขนุน อ�ำเภอทองผาภูมิ

164

วัดห้วยสมจิต บา้ นห้วยสมจิต ม.5 ต�ำบลสหกรณน์ ิคม อ�ำเภอทองผาภูมิ วัดจวบจันทร์วนาราม บา้ นจันเดย์ ม.3 ต�ำบลทา่ ขนุน อ�ำเภอทองผาภูมิ วัดถ้�ำหมอ่ งกะลาคีรีวงศ์ บา้ นหมอ่ งกะลา ม.2 ต�ำบลหินดาด อ�ำเภอทองผาภูมิ วัดทิพุเยโกวิทยาราม บา้ นทิพุเย ม.3 ต�ำบลชะแล อ�ำเภอทองผาภูมิ วัดเสาหงษ์ เสาหงษ์ ม.2 ต�ำบลทา่ ขนุน อ�ำเภอทองผาภูมิ

วัดนพเกา้ ทายิการาม บา้ นบา้ นไร่ ม.6 ต�ำบลห้วยเขยง่ อ�ำเภอทองผาภูมิ วัดธุดงคส์ มเด็จ บา้ นทุง่ นางครวญ ม.1 ต�ำบลชะแล อ�ำเภอทองผาภูมิ วัดชะอีส้ ุวิมลธรรมาราม บา้ นชะอี้ ม.1 ต�ำบลชะแล อ�ำเภอทองผาภูมิ วัดเขาแทงหมูผาสุกิจวนาราม บา้ นวังหิน ม.1 ต�ำบลหินดาด อ�ำเภอทองผาภูมิ วัดเขาถ้�ำสหกรณน์ ิคม บา้ นสหกรณน์ ิคม ม.1 ต�ำบลสหกรณน์ ิคม อ�ำเภอทองผาภูมิ

วัดศรีสุวรรณาราม ม.1 ต�ำบลหนองลู อ�ำเภอสังขละบุรี วัดวังกว์ ิเวการาม ม. 2 ต�ำบลหนองลู อ�ำเภอสังขละบุรี

กราบหลวงพ่ออุตตมะ เทพเจ้าของชาวมอญ

วัดเจดียส์ ามองค์ ม.9 ต�ำบลหนองลู อ�ำเภอสังขละบุรี วัดเวียคะดี้ ม.5 ต�ำบลหนองลู อ�ำเภอสังขละบุรี วัดวังปะโท่ ม.6 ต�ำบลปรังเผล อ�ำเภอสังขละบุรี วัดผาผึ้ง ม.1 ต�ำบลปรังเผล อ�ำเภอสังขละบุรี วัดวังขยาย ม.4 ต�ำบลปรังเผล อ�ำเภอสังขละบุรี วัดเสนห่ ์พอ่ ง ม.1 ต�ำบลไลโ่ ว่ อ�ำเภอสังขละบุรี วัดบา้ นจะแก ม.6 ต�ำบลไลโ่ ว่ อ�ำเภอสังขละบุรี วัดทิไร่ป้า ม.5 ต�ำบลไลโ่ ว่ อ�ำเภอสังขละบุรี วัดใหมพ่ ัฒนา ม.7 ต�ำบลหนองลูอ�ำเภอสังขละบุรี วัดยางขาว ม.4 ต�ำบลปรังเผล อ�ำเภอสังขละบุรี วัดทา่ ดินแดง ม.1 ต�ำบลปรังเผล อ�ำเภอสังขละบุรี วัดห้วยกบ ม.4 ต�ำบลหนองลู อ�ำเภอสังขละบุรี วัดห้วยมาลัย ม.6 ต�ำบลปรังเผล อ�ำเภอสังขละบุรี วัดลิเจีย บา้ นลิเจีย ม.4 ต�ำบลปรังเผล อ�ำเภอสังขละบุรี วัดป่าหิมพานต์ ม.3 ต�ำบลหนองลู อ�ำเภอสังขละบุรี

SBL บันทึกประเทศไทย I KANCHANABURI

.indd 164

23/7/2561 11:14:52


THE IMPORTANT TEMPLES KANCHANABURI

อ�ำเภอพนมทวน วัดดอนเจดีย์ ม.2 ต�ำบลดอนเจดีย์ อ�ำเภอพนมทวน วัดบา้ นนอ้ ย ม.3 ต�ำบลดอนเจดีย์ อ�ำเภอพนมทวน วัดหนองขุย ม.4 ต�ำบลดอนเจดีย์ อ�ำเภอพนมทวน วัดปลักเขวา้ ม.5 ต�ำบลดอนเจดีย์ อ�ำเภอพนมทวน วัดทุง่ สมอ ม.2 ต�ำบลทุง่ สมอ อ�ำเภอพนมทวน

วัดลาดขาม ม.9 ต�ำบลลาดขาม อ�ำเภอพนมทวน วัดหนองจอก ม. 4 ต�ำบลรางหวาย อ�ำเภอพนมทวน วัดรางสมอ บา้ นรางสมอ ม.7 ต�ำบลพังตรุ อ�ำเภอพนมทวน วัดห้วยเจริญธรรม บา้ นห้วยตัน ม.5 ต�ำบลหนองโรง อ�ำเภอพนมทวน

วัดบ่อระแหงคุณาราม กราบพระพุทธรูปอย่างไรให้เกิดปัญญา

วัดพังตรุ ม.1 ต�ำบลพังตรุ อ�ำเภอพนมทวน วัดโป่งกูป ม.4 ต�ำบลพังตรุ อ�ำเภอพนมทวน วัดเบญพาด ม.6 ต�ำบลพังตรุ อ�ำเภอพนมทวน วัดรางหวาย ม.2 ต�ำบลรางหวาย อ�ำเภอพนมทวน วัดสระบา้ นกลว้ ย บา้ นดอนเตาอิฐ ม.6 ต�ำบลรางหวาย อ�ำเภอพนมทวน

วัดบอ่ ระแหงคุณาราม บา้ นบอ่ ระแหง ม.16 ต�ำบลพังตรุ อ�ำเภอพนมทวน วัดเขาคลุกคลีเจริญธรรม ต�ำบลรางหวาย อ�ำเภอพนมทวน วัดหนองโรง บา้ นหนองโรง ม.3 ต�ำบลหนองโรง อ�ำเภอพนมทวน วัดกระเจาบอ่ ยา บา้ นกระเจาบอ่ ยา ม.3 ต�ำบลพังตรุ อ�ำเภอพนมทวน วัดวังกุม่ บา้ นวังกุม่ ม.14 ต�ำบลรางหวาย

วัดบา้ นทวน ม.2 ต�ำบลพนมทวน อ�ำเภอพนมทวน วัดดอนงิว้ บา้ นดอนงิว้ -ดอนดี ม.4 ต�ำบลพนมทวน อ�ำเภอพนมทวน วัดสาลวนาราม ม.6 ต�ำบลพนมทวน อ�ำเภอพนมทวน วัดหนองโพธิ์ ม.9 ต�ำบลพนมทวน อ�ำเภอพนมทวน วัดห้วยสะพาน ม.2 ต�ำบลหนองโรง อ�ำเภอพนมทวน วัดเขาจ�ำศีล ม.4 ต�ำบลหนองโรง อ�ำเภอพนมทวน วัดนาพระยา ม.6 ต�ำบลหนองโรง อ�ำเภอพนมทวน วัดสระส�ำเภาทอง ม.7 ต�ำบลหนองโรง อ�ำเภอพนมทวน วัดวังรักราษฎร์บ�ำรุง ม.7 ต�ำบลหนองโรง อ�ำเภอพนมทวน วัดบอ่ หหวา้ บา้ นบอ่ หวา้ ม.9 ต�ำบลดอนตาเพชร อ�ำเภอพนมทวน วัดตรีมิตรประดิษฐาราม บา้ นไร่ยาพัฒนา ม. 23 ต�ำบลรางหวาย อ�ำเภอพนมทวน วัดห้วยกรด ม.5 ต�ำบลรางหวาย อ�ำเภอพนมทวน วัดคงคา ม.9 ต�ำบลหนองโรง อ�ำเภอพนมทวน วัดสระแกว้ บา้ นพนมทวน ม. 1 ต�ำบลพนมทวน อ�ำเภอพนมทวน

วัดพุทธบูชา ต�ำบลพนมทวน อ�ำเภอพนมทวน วัดขา้ วเบา บา้ นลาดหมู ม. 3 ต�ำบลรางหวาย อ�ำเภอพนมทวน วัดนเรศธรรมาราม บา้ นหนองระหงษ์ ม10 ต�ำบลดอนตาเพชร อ�ำเภอพนมทวน วัดสันติธัมโม บา้ นศรีพนมเขต ม.13 ต�ำบลรางหวาย อ�ำเภอพนมทวน วัดโกซ้ายเจริญธรรม บา้ นโกซ้ายเจริญธรรม ม.8 ต�ำบลรางหวาย อ�ำเภอพนมทวน

KANCHANABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 165

165

23/7/2561 11:15:00


THE IMPORTANT TEMPLES KANCHANABURI

อ�ำเภอเลาขวัญ วัดเลาขวัญ ม.1 ต�ำบลเลาขวัญ อ�ำเภอเลาขวัญ วัดเขากาญจนาเขต ม.6 ต�ำบลเลาขวัญ อ�ำเภอเลาขวัญ วัดแสลบเขต ม.4 ต�ำบลเลาขวัญ อ�ำเภอเลาขวัญ วัดหนองกระทุม่ ม.7 ต�ำบลเลาขวัญ อ�ำเภอเลาขวัญ วัดทุง่ กระบ่�ำ ม.4 ต�ำบลทุง่ กระบ่�ำ อ�ำเภอเลาขวัญ วัดหนองหวาย ม.1 ต�ำบลทุง่ กระบ่�ำ อ�ำเภอเลาขวัญ วัดน้�ำลาด ม.3 ต�ำบลทุง่ กระบ่�ำ อ�ำเภอเลาขวัญ วัดหนองอ�ำเภอจีน ม.2 ต�ำบลทุง่ กระบ่�ำ อ�ำเภอเลาขวัญ วัดสีก่ กั๊ ราษฏร์บ�ำรุง ม.6 ต�ำบลทุง่ กระบ่�ำ อ�ำเภอเลาขวัญ วัดหนองนกแกว้ ม.1 ต�ำบลหนองนกแกว้ อ�ำเภอเลาขวัญ วัดเขาแยง ม.1 ต�ำบลหนองนกแกว้ อ�ำเภอเลาขวัญ วัดหนองไกเ่ หลือง ม.7 ต�ำบลหนองประดู่ อ�ำเภอเลาขวัญ วัดน้�ำโจนกาญจนาราม ม.1 ต�ำบลหนองประดู่ อ�ำเภอเลาขวัญ วัดหนองตากา้ ย บา้ นหนองตากา้ ย ม.1 วัดหนองประดู่ ม.2 ต�ำบลหนองประดู่ อ�ำเภอเลาขวัญ วัดตลุงเหนือ ม.3 ต�ำบลหนองประดู่ อ�ำเภอเลาขวัญ

อ�ำเภอด่านมะขามเตี้ย วัดทา่ พุราษฏร์บ�ำรุง ม.10 ดา่ นมะขามเตีย้ อ�ำเภอดา่ นมะขามเตีย้ วัดถ้�ำเขาชะอางค์ ม.2 ดา่ นมะขามเตีย้ อ�ำเภอดา่ นมะขามเตีย้ วัดหนองหัววัว ม.7 ดา่ นมะขามเตีย้ อ�ำเภอดา่ นมะขามเตีย้ วัดหนองหิน ม.8 ดา่ นมะขามเตีย้ อ�ำเภอดา่ นมะขามเตีย้ วัดไทรทองพัฒนา ม.5 ต�ำบลจรเขเ้ ผือก อ�ำเภอดา่ นมะขามเตีย้ วัดดอนสวา่ ง ต�ำบลกลอนโด อ�ำเภอดา่ นมะขามเตีย้

166

วัดหนองปรือ ม.5 ต�ำบลหนองประดู่ อ�ำเภอเลาขวัญ วัดช่องกลิง้ ม.6 ต�ำบลหนองประดู่ อ�ำเภอเลาขวัญ วัดหนองงูเหลือม ม.3 หนองประดู่ อ�ำเภอเลาขวัญ วัดหนองเค็ด ม.2 หนองนกแกว้ อ�ำเภอเลาขวัญ วัดหนองจัน่ ม.4 ต�ำบลหนองนกแกว้ อ�ำเภอเลาขวัญ วัดหนองปลิง ม.1 ต�ำบลหนองปลิง อ�ำเภอเลาขวัญ วัดพรหมณี ม.6 ต�ำบลหนองปลิง อ�ำเภอเลาขวัญ วัดตรอกสะเดา ม.5 ต�ำบลหนองปลิง อ�ำเภอเลาขวัญ วัดใหมร่ ่งุ เรืองธรรม ม.5 ต�ำบลหนองปลิง อ�ำเภอเลาขวัญ วัดโพธิเ์ อน ม.9 ต�ำบลหนองปลิง อ�ำเภอเลาขวัญ วัดหนองกระหนาก บา้ นหนองกระหนาก ม.2 ต�ำบลหนองปลิง อ�ำเภอเลาขวัญ วัดมะลังกา บา้ นมะลังกา ม.8 ต�ำบลหนองปลิง อ�ำเภอเลาขวัญ วัดหนองใหญ่ ม.4 ต�ำบลหนองปลิง อ�ำเภอเลาขวัญ วัดหนองมะสัง บา้ นหนองมะสัง ม. 3 ต�ำบลหนองปลิง อ�ำเภอเลาขวัญ วัดหนองมว่ ง ม.10 ต�ำบลหนองโสน อ�ำเภอ เลาขวัญ

วัดยางเกาะ ม.7 กลอนโด อ�ำเภอดา่ นมะขามเตีย้ วัดหนองบัว ม.9 ต�ำบลกลอนโด อ�ำเภอดา่ นมะขามเตีย้ วัดแหลมทอง ม.3 ต�ำบลกลอนโด อ�ำเภอดา่ นมะขามเตีย้ วัดเขาปู่คง ม.10 ต�ำบลกลอนโด อ�ำเภอดา่ นมะขามเตีย้ วัดจรเขเ้ ผือก ม.2 ต�ำบลจรเขเ้ ผือก อ�ำเภอดา่ นมะขามเตีย้ วัดถ้�ำอ่างหิน ม.3 ต�ำบลจรเขเ้ ผือก อ�ำเภอดา่ นมะขามเตีย้ วัดมอเจริญธรรม บา้ นมอตาคุย่ ม.3 ต�ำบลจรเขเ้ ผือก

กราบพระพุทธรูปอย่างไรให้เกิดปัญญา

วัดนางาม ม.2 ต�ำบลหนองโสน อ�ำเภอเลาขวัญ วัดโสนงาม ม.1 ต�ำบลหนองโสน อ�ำเภอเลาขวัญ วัดน้�ำคลุง้ ม. 5 หนองโสน เลาขวัญ วัดใหมเ่ จริญสุข ม. 9 หนองโสน อ�ำเภอเลาขวัญ วัดใหมภ่ ูมิเจริญ ม.15 หนองโสน อ�ำเภอเลาขวัญ วัดหนองไกต่ อ่ ม. 7 หนองโสน อ�ำเภอเลาขวัญ วัดเขาวงพระจันทร์ ม. 3 หนองโสน อ�ำเภอเลาขวัญ วัดศรีพนมเทียน ม. 6 หนองโสน อ�ำเภอเลาขวัญ วัดชุมรุมพระ ม. 16 หนองฝ้าย อ�ำเภอเลาขวัญ วัดโป่งไหม ม. 4 หนองประดู่ อ�ำเภอเลาขวัญ วัดผาแดง ผาแดง ม. 3 หนองปลิง วัดกรับใหญ่ กรับใหญ่ ม.11 หนองโสน อ�ำเภอเลาขวัญ

วัดโป่งโก ม.7 ต�ำบลจรเขเ้ ผือก อ�ำเภอดา่ นมะขามเตีย้ วัดดา่ นมะขามเตีย้ ม.1 ดา่ นมะขามเตีย้ อ�ำเภอดา่ นมะขามเตีย้ วัดมโณธรรม บา้ นหนองสะแกรวม ม.11 ต�ำบลดา่ นมะขามเตีย้ อ�ำเภอดา่ นมะขามเตีย้ วัดหนองไผล่ อ้ ม บา้ นหนองไผล่ อ้ ม ม.4 ต�ำบลกลอนโด อ�ำเภอดา่ นมะขามเตีย้ วัดวัดหนองหญา้ ปลอ้ ง บา้ นหนองหญา้ ปลอ้ ง ม.7 ต�ำบลจรเขเ้ ผือก อ�ำเภอดา่ นมะขามเตีย้ วัดหนองปากดง บา้ นหนองปากดง ม.12 ต�ำบลหนองไผ่ อ�ำเภอดา่ นมะขามเตีย้

วัดเขานอ้ ยศรีน้�ำเงิน หนองงูเห่า ม.14 หนองฝ้าย อ�ำเภอเลาขวัญ วัดสุวรรณคีรี(เขาปูน) หนองสระ ม.3 เลาขวัญ อ�ำเภอเลาขวัญ วัดใหมน้่ �ำทรัพยป์ ระชาสรรค์ บา้ นน้�ำทรัพย์ ม.7 หนองปลิง อ�ำเภอเลาขวัญ วัดราษฎร์บ�ำรุงธรรม หนองแกช้างตาย ม.5 ทุง่ กระบ่�ำ อ�ำเภอเลาขวัญ วัดพุบอน พุบอน ม.3 เลาขวัญ อ�ำเภอเลาขวัญ วัดหนองแกแดง หนองแกแดง ม.8 หนองประดู่ อ�ำเภอเลาขวัญ วัดหนองขบ หนองขบ ม.5 หนองนกแกว้ อ�ำเภอเลาขวัญ วัดเฉลิมชัยมงคลสามัคคี หนองปลิง ม.7 ทุง่ กระบ่�ำ อ�ำเภอเลาขวัญ วัดเขื่อนห้วยเทียนวนาราม หนองไมห้ ัก ม.6 หนองโสน อ�ำเภอเลาขวัญ วัดวังไพรศิลาทอง ศิลาทอง ม.4 หนองปลิง อ�ำเภอเลาขวัญ วัดหนองพลอง หนองพลอง ม.7 หนองนกแกว้ อ�ำเภอเลาขวัญ วัดประดูเ่ หลีย่ ม ประดูเ่ หลีย่ ม ม.4 หนองปลิง วัดทา่ แยเ้ จริญธรรม บา้ นทา่ แย้ ม.5 ต�ำบลดา่ นมะขามเตีย้ อ�ำเภอดา่ นมะขามเตีย้ วัดหินแทน่ ล�ำภาชี บา้ นหินแดน้ ม.3 ต�ำบลหนองไผ่ อ�ำเภอดา่ นมะขามเตีย้ วัดขันติเมตตา บา้ นหนองผูเ้ ฒา่ ม.2 ต�ำบลดา่ นมะขามเตีย้ ดา่ นมะขามเตีย้ วัดหนองโสนเทียมจันทร์ บา้ นหนองโสน ม.6 ต�ำบลดา่ นมะขามเตีย้ อ�ำเภอดา่ นมะขามเตีย้ วัดพุตามัน่ บา้ นพุตามัน่ ม.3 ต�ำบลดา่ นมะขามเตีย้ อ�ำเภอดา่ นมะขามเตีย้ วัดทุง่ สกุลทอง บา้ นทุง่ ยาว ม.3 ต�ำบลจรเขเ้ ผือก อ�ำเภอดา่ นมะขามเตีย้

วัดหนองโพธิค์ ีรีเขต หนองโพธิ์ ม.13 เลาขวัญ อ�ำเภอเลาขวัญ วัดใหมค่ ีรีวงษ์ หนา้ เขา ม.4 หนองประดู่ อ�ำเภอเลาขวัญ วัดเขาวัง เขาวัง ม.6 เลาขวัญ อ�ำเภอเลาขวัญ วัดหนองฝ้ายเล็ก หนองฝ้ายเล็ก ม.5 ทุง่ กระบ่�ำ อ�ำเภอเลาขวัญ วัดเขาพอ่ ปู่ราษฎร์บ�ำรุง หนองส�ำโรง ม.4 หนองประดู่ อ�ำเภอเลาขวัญ วัดชัฏดงพลับ ชัฏดงพลับ ม.8 ทุง่ กระบ่�ำ อ�ำเภอเลาขวัญ วัดเกาะแกว้ วนาราม เกาะแกว้ ม.4 หนองโสน อ�ำเภอเลาขวัญ วัดโพธิร์ ่มเย็นเลาขวัญ บา้ นเลาขวัญ ม.1 ต�ำบลเลาขวัญ อ�ำเภอเลาขวัญ วัดหนองตาเกิด บา้ นหนองตาเกิด ม.11 ต�ำบลหนองประดู่ อ�ำเภอเลาขวัญ วัดหนองฝ้าย บา้ นหนองฝ้ายเล็ก ม.1 ต�ำบลหนองฝ้าย ต�ำบลเลาขวัญ

วัดทา่ เสด็จ บา้ นทา่ เสด็จ ม.1 ต�ำบลจรเขเ้ ผือก อ�ำเภอดา่ นมะขามเตีย้ วัดหนองมะคา่ บา้ นหนองหญา้ ปลอ้ ง ม. 7 ต�ำบลจรเขเ้ ผือก อ�ำเภอดา่ นมะขามเตีย้ วัดหนองกวาง บา้ นหนองกวาง ม.8 ต�ำบลจรเขเ้ ผือก อ�ำเภอดา่ นมะขามเตีย้ วัดกุสวาดี บา้ นหนองบัว ม.4 ต�ำบลกลแอนโด อ�ำเภอดา่ นมะขามเตีย้ วัดพระธาตุโป่งนก บา้ นโป่งนก ม.4 ต�ำบลดา่ นมะขามเตีย้ อ�ำเภอดา่ นมะขามเตีย้

SBL บันทึกประเทศไทย I KANCHANABURI

.indd 166

23/7/2561 11:15:02


Buddhism

in Thailand

Everything You Need to Know About Buddhism in Thailand There are some 30,000 Buddhist temples in Thailand.

.indd 167

23/7/2561 11:15:04


THE IMPORTANT TEMPLES KANCHANABURI

อ�ำเภอหนองปรือ วัดหนองปรือ ม.1 ต�ำบลหนองปรือ อ�ำเภอหนองปรือ วัดหนองจอก บา้ นหนองจอก ม. 1 ต�ำบลหนองปรือ อ�ำเภอหนองปรือ วัดหนองไมเ้ อื้อย บา้ นหนองปรือ ม. 2 ต�ำบลหนองปรือ อ�ำเภอหนองปรือ วัดหนองขอน บา้ นหนองขอน ม. 3 ต�ำบลหนองปรือ อ�ำเภอหนองปรือ วัดหนองปลาไหล ม.4 หนองปลาไหล อ�ำเภอหนองปรือ วัดเขามุสิการาม บา้ นเขามุสิ ม.10 ต�ำบลหนองปรือ อ�ำเภอหนองปรือ

กราบพระพุทธรูปอย่างไรให้เกิดปัญญา

วัดถ้�ำวังหิน บา้ นมว่ งเฒา่ ม.13 ต�ำบลหนองปรือ อ�ำเภอหนองปรือ วัดหนองสาหร่าย บา้ นหนองสาหร่าย ม.4 ต�ำบลหนองปรือ อ�ำเภอหนองปรือ วัดเพชรสมบูรณ์ บา้ นวังยาง ม.7 ต�ำบลหนองปรือ อ�ำเภอหนองปรือ วัดหนองขอนเทพพนม ต�ำบลหนองขอนเทพพนม ม.8 ต�ำบลหนองปลาไหล อ�ำเภอหนองปรือ

อ�ำเภอห้วยกระเจา วัดหนองปลิง ม.10 ต�ำบลดอนแสลบ อ�ำเภอหว้ ยกระเจา วัดบา้ นพนมนาง ม.2 ต�ำบลดอนแสลบ อ�ำเภอหว้ ยกระเจา วัดเขารักษ์ ม.5 ต�ำบลดอนแสลบ อ�ำเภอหว้ ยกระเจา วัดสันติคีรี ม.6 ต�ำบลดอนแสลบ อ�ำเภอหว้ ยกระเจา วัดบา้ นกรับ ม.9 ต�ำบลดอนแสลบ อ�ำเภอหว้ ยกระเจา

168

วัดน้�ำทรัพยส์ มบูรณ์ บา้ นน้�ำทรัพย์ ม.14 ต�ำบลหนองปรือ อ�ำเภอหนองปรือ วัดเขารังวนาราม บา้ นเขารัง ม.3 ต�ำบลหนองปรือ อ�ำเภอหนองปรือ วัดหนองตาเดช บา้ นหนองตาเดช ม.14 ต�ำบลหนองปรือ อ�ำเภอหนองปรือ วัดถ้�ำเขามุสิเชิดชูธรรม บา้ นหัวเขามุสิ ม.1 ต�ำบลหนองปรือ อ�ำเภอหนองปรือ วัดหนองใหญเ่ จริญพร บา้ นหนองใหญ่ ม.11 ต�ำบลหนองปรือ อ�ำเภอหนองปรือ วัดห้วยโป่งช้างสามัคคีธรรม บา้ นหนองตาเดช ม.14 ต�ำบลหนองปรือ อ�ำเภอหนองปรือ วัดสันติวนาราม(โป่งช้าง) บา้ นห้วยใหญ่ ม.13 ต�ำบลหนองปรือ อ�ำเภอหนองปรือ วัดห้วยใหญ่ บา้ นห้วยใหญ่ ม.13 ต�ำบลหนองปรือ อ�ำเภอหนองปรือ วัดห้วยแมร่ ะวาง (ห้วยแมร่ ะหวา่ ง) บา้ นห้วยแมร่ ะหวา่ ง ม.2 ต�ำบลสมเด็จเจริญ อ�ำเภอหนองปรือ วัดเขาหินตัง้ บา้ นเขาหินตัง้ ม.2 ต�ำบลสมเด็จเจริญ อ�ำเภอหนองปรือ วัดเขาขามสามัคคีธรรม บา้ นเขาขาม ม.2 ต�ำบลสมเด็จเจริญ อ�ำเภอหนองปรือ วัดทุง่ โป่งบูชาธรรม บา้ นทุง่ โป่ง ม.6 ต�ำบลหนองปรือ อ�ำเภอหนองปรือ วัดหนองไผล่ อ้ ม บา้ นหนองไผล่ อ้ ม ม.7 ต�ำบลหนองปลาไหล อ�ำเภอหนองปรือ

วัดหนองแกประชาสรรค์ บา้ นหนองแกประชาสรรค์ ม.7 ต�ำบลหนองปลาไหล อ�ำเภอหนองปรือ วัดมว่ งเฒา่ บา้ นมว่ งเฒา่ ม.4 ต�ำบลสมเด็จเจริญ อ�ำเภอหนองปรือ วัดสมเด็จเจริญ บา้ นหนองผักแวน่ ม.1 ต�ำบลสมเด็จเจริญ อ�ำเภอหนองปรือ วัดนันทวันมิตรเจริญ บา้ นโป่งช้าง ม.5 ต�ำบลหนองปรือ อ�ำเภอหนองปรือ วัดห้วยหวาย บา้ นห้วยหวาย ม.3 ต�ำบลหนองปลาไหล อ�ำเภอหนองปรือ วัดเขาโสธาราม บา้ นหนองมะคา่ ม.9 ต�ำบลหนองปรือ อ�ำเภอหนองปรือ วัดราษฎร์เจริญธรรม บา้ นกระพร้อย ม.6 ต�ำบลหนองปรือ อ�ำเภอหนองปรือ วัดป่าเขานอ้ ย หนองไมเ้ อื้อย ม.2 หนองปรือ อ�ำเภอหนองปรือ วัดเทพมงคล เทพมงคล ม.12 หนองปลาไหล อ�ำเภอหนองปรือ วัดถ้�ำเนรมิต บา้ นห้วยแมร่ ะวาง ม. 3 ต�ำบลสมเด็จเจริญ อ�ำเภอหนองปรือ

วัดสระลงเรือ(ไผส่ ี) ม.1 ต�ำบลสระลงเรือ อ�ำเภอหว้ ยกระเจา วัดศรีบัวทอง ม.7 ต�ำบลสระลงเรือ อ�ำเภอหว้ ยกระเจา วัดเขากรวด ม.5 ต�ำบลหว้ ยกระเจา อ�ำเภอหว้ ยกระเจา วัดวังไผ่ ม.2 ต�ำบลวังไผ่ อ�ำเภอหว้ ยกระเจา วัดพรหมนิมิต ต�ำบลสระลงเรือ อ�ำเภอหว้ ยกระเจา วัดสระจันทอง บา้ นสระจันทอง ม.5 ต�ำบลสระลงเรือ

วัดสระกระเบื้อง ต�ำบลดอนแสลบ อ�ำเภอหว้ ยกระเจา วัดห้วยกระเจา ม.2 หว้ ยกระเจา อ�ำเภอหว้ ยกระเจา วัดไผง่ าม บา้ นไผง่ าม ม.9 ต�ำบลหว้ ยกระเจา อ�ำเภอหว้ ยกระเจา วัดพงษไ์ พบูลย์ บา้ นทุง่ มังกะหร่า ม.11 ต�ำบลหว้ ยกระเจา อ�ำเภอหว้ ยกระเจา วัดทัพพระยา บา้ นทัพพระยา ม.8 ต�ำบลหว้ ยกระเจา

กราบพระพุทธรูปอย่างไรให้เกิดปัญญา

วัดวังขา้ วใหม่ บา้ นวังขา้ วใหม่ ม.4 ต�ำบลดอนแสลบ อ�ำเภอหว้ ยกระเจา วัดห้วยยาง บา้ นห้วยยาง ม.3 สระลงเรือ ห้วยกระเจา วัดห้วยลึกสามัคคีธรรม บา้ นห้วยลึก ม.6 ต�ำบลสระลงเรือ อ�ำเภอหว้ ยกระเจา วัดไพรงาม บา้ นไพรงาม ม.15 ต�ำบลหว้ ยกระเจา อ�ำเภอหว้ ยกระเจา วัดสุดประเสริฐ บา้ นหนองพญางู ม.4 ต�ำบลสระลงเรือ อ�ำเภอห้วยกระเจา วัดเขาดินสอ บา้ นเขาดินสอ ม.12 ต�ำบลดอนแสลบ อ�ำเภอห้วยกระเจา วัดบอ่ ทอง บา้ นบอ่ ทอง ม.9 ต�ำบลวังไผ่ อ�ำเภอห้วยกระเจา วัดบอ่ เงิน บา้ นบอ่ กระเหรีย่ ง ม.11 ต�ำบลสระลงเรือ อ�ำเภอห้วยกระเจา

วัดนาใหม่ บา้ นนาใหม่ ม.5 ต�ำบลวังไผ่ อ�ำเภอห้วยกระเจา วัดสวนมะมว่ ง บา้ นดอนแสลบ ม.18 ต�ำบลหว้ ยกระเจา อ�ำเภอหว้ ยกระเจา วัดพยอมงาม บา้ นพยอมงาม ม.12 ต�ำบลหว้ ยกระเจา อ�ำเภอหว้ ยกระเจา วัดเขาศาลาพัฒนาราม บา้ นเขาศาลา ม.7 ต�ำบลหว้ ยกระเจา อ�ำเภอหว้ ยกระเจา วัดเขาศาลาศรีธรรมาราม บา้ นเขาศาลานอก ม.7 ต�ำบลหว้ ยกระเจา อ�ำเภอหว้ ยกระเจา วัดหนองนางเลิง้ บา้ นหนองนางเลิง้ ม.8 ต�ำบลดอนแสลบ อ�ำเภอห้วยกระเจา วัดซ้องสาธุการ บา้ นซ่อง ม.13 ต�ำบลห้วยกระเจา อ�ำเภอห้วยกระเจา วัดทิพยส์ ุคนธาราม บา้ นดอนแสลบ ม.13 ต�ำบลดอนแสลบ อ�ำเภอห้วยกระเจา

SBL บันทึกประเทศไทย I KANCHANABURI

.indd 168

23/7/2561 11:15:07


One should understand deeply that one has been almost everything (man, woman, rich, poor, educated, powerful, etc.,etc.). Why be the same this life? We would like to be someone who isn’t birth, ill and die, no suffering no sadness in the Samsara. เราควรจะเข้าใจให้ลึกซึ้งว่า “เราเคยเป็นมาแล้ว แทบทุกอย่าง ไม่ว่าจะเป็น ชาย หญิง คนรวย คนจน คงแก่เรียน เรืองอ�ำนาจ ฯลฯ แล้วชาตินี้ จะเป็นซ�้ำอีกเพื่ออะไรกัน สมควรอย่างยิ่ง ที่จะเป็นในสิ่งที่เป็นแล้ว ไม่ต้องมาเวียนว่ายตายเกิด ไม่ต้องมาทนทุกข์ทรมานในวัฏสงสารอีกต่อไป” ดร. พระมหาอนุ ช น สาสนกิ ตฺ ติ ป.ธ.๙ (นาคหลวง) Ph.D. Phramaha Anuchon Sasanakitti

.indd 169

23/7/2561 11:15:11


โครงการศูนย์บริการการพัฒนา และสวนไม้ดอกไม้หอมไทย การพัฒนาที่ดินในรูปแบบของ “ศูนย์บริการการพัฒนา” ควบคู่ไปกับ การจัดท�ำ “สวนไม้ดอก-ไม้หอมไทย” เพื่อให้ประชาชน หน่วยราชการ เยาวชนและผู้ที่สนใจได้ ใช้ประโยชน์ ในการฝึกอบรมด้านต่างๆ เพื่อเพิ่มพูน ความรู้ความสามารถ และน�ำไปประยุกต์ ใช้ ในชีวิตประจ�ำวันของตนเองได้ รวมทั้งเป็นแหล่งรวบรวมอนุรักษ์และเผยแพร่ความรู้แก่บุคคลทั่วไป ให้ ได้รับทราบและใช้ประโยชน์จากสวนไม้ดอกไม้หอมไทยอย่างยั่งยืน

ฉบับที่ 69 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2561

หนึ่งโครงการ ในพระราชด�ำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

เป้าหมายที่ส�ำคัญคือ เพื่อสงเคราะห์ช่วยเหลือประชาชนให้มีความร่มเย็นเป็นสุข และอยู่ดีกินดี อันจะน�ำไปสู่ความมั่นคงของประเทศ คือ ชัยชนะแห่งการพัฒนา

.indd 170

23/7/2561 11:15:11


Ayutthaya

ฉบับที่ 69 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2561

จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

Vol.9 Issue 69/2018

อดีตราชธานี ไทย แห่งลุ่มแม่น้ำ�เจ้าพระยา ที่มีประวัติศาสตร์ยาวนานเกือบสองพันปี www.sbl.co.th

.indd 171

วัดธรรมิกราช

23/7/2561 11:15:13


“วางใจในการพักผ่อนครั้งพิเศษ วางใจเรา”

Kanchanaburi

@กาญจนบุรี

172

ads.indd 172

SBL บันทึกประเทศไทย I LOP BURI

23/7/2561 10:00:58


#สะพานมอญ “ชีวิตเงียบสงบ เสน่ห์วิถีเรียบง่าย แล้วปล่อยใจไปกับสายหมอก” LOP BURI I SBL บันทึกประเทศไทย

ads.indd 173

173

23/7/2561 10:01:03


.indd 174

23/7/2561 11:30:48


Thai food

i r u b a n a h c n a K In

อิ่มอร่อยไปกับบุฟเฟ่ต์อาหารเที่ยง ณ เมืองมัลลิกา ท่านจะได้ลิ้มลองอาหาร ที่ท่านไม่เคยรับประทานที่ ไหนมาก่อน เช่น แยมหยวก หมูโสร่งแปลง โปรโมชั่นค่าเข้าชม+อาหารกลางวัน(บุฟเฟ่ต์) ผู้ ใหญ่ 450 บาท / เด็ก 250 บาท เปิดให้บริการทุกวันตั้งแต่ 11.00 -14.00 น. (ยกเว้นวันอังคาร)

.indd 175

23/7/2561 11:30:50


Things to Do in Kanchanaburi‎ Cultural & Theme Tours Top Things to do Sights & Landmarks Nature & Parks Historical & Heritage Tours Sacred & Religious Sites

.indd 176

23/7/2561 11:31:00


KANCANABURI สุขทุกวันที่กาญจนบุรี “เมื อ งกาญจน์ ” เต็ ม ไปด้ ว ยเรื่ อ งราวในอดี ต ที่ น ่ า สนใจ แหล่ ง อารยธรรมเก่ า แก่ ยุ ค ก่ อ นประวั ติ ศ าสตร์ และเป็ น สถานที่ ตั้ ง ของสะพานข้ า มแม่ น�้ ำ แคว ซึ่ ง เป็ น สถานที่ ส� ำ คั ญ ทางประวั ติ ศ าสตร์ ข องไทยในสมั ย สงครามโลกครั้ ง ที่ 2 ซึ่ ง มี ชื่ อ เสี ย งโด่ ง ดั ง ไปทั่ ว โลก นอกจากนี้ ยั ง มี แ หล่ ง ท่ อ งเที่ ย วทางธรรมชาติ ที่ อุ ด มสมบู ร ณ์ ดั่ ง ค� ำ ขวั ญ ที่ ว ่ า “แคว้ น โบราณ ด่ า นเจดี ย ์ มณี เ มื อ งกาญจน์ สะพานข้ า มแม่ น�้ ำ แคว แหล่ ง แร่ น�้ ำ ตก”

BINLHA RAFT

DUENSHINE

SAMPRASOB

รีสอร์ท บินหลา ราฟท์

เดื อนฉาย รี ส อร์ ท

สามประสบ รี ส อร์ ท

Facebook : Binlha Raft Resort Kanchanaburi Line : @BinlhaRaft Tel : 08-9925-4063, 08-9058-6001, 08-1925-564

Tel : 0-3465-3369-70, 0-3465-3345, 0-3455-1111-2, 08-1736-0044, 08-1780-2088 www.duenshine.com

Tel : 08-5811-8711, 0-3459-5050 Email : samprasobresort@gmail.com

ที่ นี่ ที่ เ ดี ย วครบทุ ก รสชาติ ข องการท่ อ งเที่ ย ว

เพี ย ง 5 นาที จากรี ส อร์ ท สามารถสั ม ผั ส แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วยามค�่ ำ คื น

พั ก สบายทุ ก ฤดู ก าล ในดิ น แดนแห่ ง แม่ น�้ ำ สามสาย

MEKKIRI RIVER KWAI

RACHASUPAMIT

YOUNG TONE

สุพรเลควิว เซอร์ วิ สอพาร์ ทเมนท์ & โฮมสเตย์

โรงแรมราชศุ ภ มิ ต ร, อาร์ .เอส. โฮเต็ ล

ยั ง โทนเฮ็ ล ธปาร์ ค รี ส อร์ ท

Tel : 06-5329-6956 Line id : mekkiriresort

Tel : 0-3462-5128-30, 0-2291-9953 Facebook : Rshotel โรงแรม อาร์ เอส -ราชศุ ภ มิ ต ร

Tel : 08-1903-7857, 08-1987-5982, 0-2747-903941, 02-398-9615

พั ก ผ่ อ นอย่ า งแท้ จ ริ ง ที่ เ มฆคี รี ริ เ วอร์ แ คว รี ส อร์ ท แห่ ง ทองผาภู มิ

วางใจในการพั ก ผ่ อ นครั้ ง พิ เ ศษ วางใจเรา

รี ส อร์ ท ในอุ ท ยานสวนป่ า พฤษชาติ ก ลางขุ น เขาและ แม่ น�้ ำ แควน้ อ ย

The Best of Kanchanaburi.indd 177

21/07/61 11:48:11


BEST IN TRAVEL 2017

ที่ สุ ด แห่ ง การบั น ทึ ก

ความทรงจ�ำ

www.sbl.co.th

SBL บั นทึ กประเทศไทย น�ำเสนอเรื่องราวของจังหวัดต่างๆ ทั่วประเทศไทย อย่างเจาะลึกและครอบคลุ ม ทุ ก มิ ติ อาทิ มิ ติ ด ้ า น การพั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต และความเป็ น อยู ่ จากหน่ ว ยงานราชการส� ำ คั ญ ในจั ง หวั ด มิ ติ ด ้ า นการท่ อ งเที่ ย วที่ ส ดใหม่ ทั น สมั ย ทั้ งสถานที่เ ที่ ยว ที่พัก ร้านอาหาร ร้านกาแฟ แหล่งช็อปปิ้งใหม่ๆ ฯลฯ มิติด้านอุตสาหกรรม-การค้ า การลงทุ น ที่ เ ป็ น ตั วขั บ เคลื่ อนเศรษฐกิจ ตลอดจนมิติด้านการศึกษา ศาสนา วัฒ นธรรม และวิถีชีวิต ที่มีจุดเด่นและมีเอกลั ก ษณ์ น ่ า สนใจ

.indd 178

21/7/2561 14:04:41


B E S T IN T R AV E L

2017

TOP 10 PHOTOGRAPHS

OF THE YE AR

หนึ่งความทรงจ�ำของการเดินทางในปี 2560 รางวัลพระราชทานฯ “คนรักษ์ป่า ป่ารักชุมชน” โดยได้รับพระราชทานจากสมเด็จพระเทพรัต นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในครั้งนี้ คงเป็นเพียงจุดเริ่มต้นของ ผลงานที่ชาวชุมชนจะต้องร่วมมือร่วมใจ เพื่อรักษา ความงดงามของเรื่ อ งราวในสถานที่ แ ห่ ง นี้ ไ ว้ “อ่างเก็บน�้ำหุบเขาวง ป่าชุมชนบ้านพุน�้ำร้อน”

BEST

.indd 179

IN

TRAVEL

2017 21/7/2561 14:04:42


Magazine

ที่สุดแห่งการบันทึก ความทรงจ�ำ SBL บันทึกประเทศไทย SBL บั น ทึ ก ประเทศไทย น� ำ เสนอเรื่ อ งราวของจั ง หวั ด ต่ า งๆ ทั่ ว ประเทศไทย อย่ า งเจาะลึ ก และครอบคลุ ม ทุ ก มิ ติ อาทิ มิ ติ ด ้ า นการพั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต และ ความเป็นอยู่ จากหน่วยงานราชการส�ำคัญในจังหวัด มิติด้านการท่องเที่ยวที่สดใหม่ ทั น สมั ย ทั้ ง สถานที่ เ ที่ ย ว ที่ พั ก ร้ า นอาหาร ร้ า นกาแฟ แหล่ ง ช็ อ ปปิ ้ ง ใหม่ ๆ ฯลฯ มิ ติ ด ้ า นอุ ต สาหกรรม-การค้ า การลงทุ น ที่ เ ป็ น ตั ว ขั บ เคลื่ อ นเศรษฐกิ จ ตลอดจน มิติด้านการศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม และวิถีชีวิต ที่มีจุดเด่นและมีเอกลักษณ์น่าสนใจ

สะพานมอญ เป็นสะพานไม้ยาว ประมาณ 900 เมตร ถือว่าเป็น สะพานไม้ที่ยาวที่สุดในประเทศไทย และยาวเป็นอันดับที่ 2 ของโลก รองจากสะพานไม้อูเบ็งในพม่า และเป็นสัญลักษณ์ของเมือง สังขละบุรี จ.กาญจนบุรี

www.sbl.co.th

.indd 7

23/7/2561 14:02:09


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.