ัด ราช 1 ว พระ ไทย ว 43 แห่ง ทั่ว เที่ย ือง วัด รมน�ำ สตร์เม ธร ิศา ลิน วัต เพ ยประ อ นร
Magazine
ย้อ
นิตยสารแนะน�ำแหล่งท่องเที่ยวและของดีจังหวัดราชบุรี ประจ�ำปี 2561
า
ฉบับที่ 78 จังหวัดราชบุรี พ.ศ.2561
BREATHING RATCHABURI
สะพายเป้ท่องวัด สัมผัสวิถีชีวิต ศิลปวัฒนธรรม ดื่มด�่ำราชบุรีทุกลมหายใจ
EXCLUSIVE
ย้อนรอยประวัติศาสตร์เมืองแห่งพระราชา พ.ศ. 218 กับพระเจ้าอโศกมหาราช จุดเริ่มต้นการประดิษฐานพระพุทธศาสนา ในดินแดนสุวรรณภูมิ
Ratchaburi ย้ อ นรอยประวัติศาสตร์เมืองแห่งพระราชา
2561
Vol.9 Issue 78/2018
ใต้ร่มพระบารมี
www.sbl.co.th
.indd 5
ท่องพรรณไม้ป่าท้องถิ่นไทย โครงการสวนป่าเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ
10/9/2561 9:22:39
คนทั่วไปอยู ่ บนยอดเขา ด้ ว ยมุ ่ งหมายการแก่ งแย่ งกั นเพื่ อ ‘ค�ำว่าชนะ’ ไม่สามารถยื นอยู ่ ได้ อ ย่ า งเป็ นสุ ข ย่ อ มโดดเดี่ ย ว ย่ อ มเย็น ยะเยือก ด้ ว ยความหนาวเหน็ บ สายตาที่ ส าดส่ องไปเบื้องต�่ำ มี แต่ ความหวาดระแวงทุ กวิ นาที ว่ า จั กมี ผู้ ใดไหมหนอ? ที่ ก�ำ ลั งหมายจะมาแทนที่เ รา. “ส่ ว นทายาทแห่ ง องค์ พ ระสั ม มาสั ม พุ ท ธเจ้ า อยู ่ บ นยอดเขา พึ ง มี ใ จดุ จ ภู เ ขาศิ ล าล้ ว นเป็ น แท่ ง เดี ย ว ดั่ ง ค� ำ สอนแห่ ง องค์ พ ระพุ ท ธบิ ด ร สามารถยื น อยู ่ ไ ด้ อ ย่ า งเป็ น สุ ข ปราศจากความอ้ า งว้ า งโดดเดี่ ย ว และเหน็ บ หนาว มี ‘ไตรลั ก ษณ์ ’ เป็ น อารมณ์ สายตาที่ ส าดส่ อ งไปเบื้ อ งต�่ ำ มี แ ต่ เ มตตาอั น ประมาณมิ ไ ด้ ปรารถนายิ่ ง ยวดว่ า มาเถิ ด ท่ า นทั้ ง หลาย จงขึ้ น มายื น อยู ่ ต รงจุ ด นี้ ร ่ ว มกั บ เรา...” ดร. พระมหาอนุ ช น สาสนกิ ตฺ ติ ป.ธ.๙ (นาคหลวง), Ph.D. Dr. Phramaha Anuchon Sasanakitti
Everything You Need to Know About Buddhism in Thailand
There are some 30,000 Buddhist temples in Thailand.
AD_
.indd 2
5/9/2561 16:52:31
The Harmony Resort
The Harmony Resort
รีสอร์ททีผ่ สานกลมกลืนกับธรรมชาติรมิ แม่นำ�้ ภาชี สายน�ำ้ หลักของอ�ำเภอสวนผึง้ จังหวัดราชบุรี ร่มรื่นด้วยต้นไม้ใหญ่ดั้งเดิม ภายในห้องพักแต่ละห้อง ตกแต่งด้วยสไตล์หลากหลายอารมณ์ แตกต่างกัน ออกแบบได้อย่างลงตัว บริการห้องพักทั้งหมด 12 ห้อง แบ่งเป็นห้องพักส�ำหรับ 2 ท่าน 10 ห้อง ห้องพักส�ำหรับ 4 ท่าน 1 ห้อง และ บ้านเดี่ยวส�ำหรับ 6 ท่าน 1 หลัง ทุกห้องตกแต่งและออกแบบต่างกัน สไตล์บูติค แนววินเทจ บริการอาหารเช้าออร์แกนิคที่คัดสรร ให้คุณจากธรรมชาติ เลือกจากวัตถุดิบที่สดสะอาด ผ่านการปรุงเป็นเมนูแบบคลีนฟู้ด เพื่อได้ทั้ง รสชาติที่อร่อยและดีต่อสุขภาพ บรรยากาศเงียบสงบ ห่างไกลจากความวุ่นวาย ใกล้ชิดธรรมชาติ พืน้ ทีด่ า้ นหลังรีสอร์ทติดแม่นำ�้ ภาชี มีหาดหินแม่นำ�้ ยาวสามารถเดินเล่นน�ำ้ ได้ ลานสนามหญ้ากว้าง ร่มรื่นด้วยต้นจามจุรีใหญ่ มีอาคารห้องสมุดเอนกประสงค์ ท�ำกิจกรรมสนุกๆ ได้มากมาย The Harmony Resort ตั้งอยู่ก่อนถึงตัวอ�ำเภอสวนผึ้งประมาณ 10 กิโลเมตร ใช้เวลาเดินทาง เข้าไปในตลาด และเดินทางไปที่เที่ยวต่างๆ เพียง 10 นาที
ที่พักสไตล์บูติค แนววินเทจ ตั้งอยู่ริมแม่น�้ำภาชี เลขที่ 1/1 หมู่ 2 ต�ำบลป่าหวาย อ�ำเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี ส�ำรองห้องพัก โทร. 092-735-5578, 098-828-4615 SURIN I SBL บันทึกประเทศไทย
The Harmony Resort.indd 3
3
9/5/2018 12:06:30 AM
สแกนรับเส้นทาง
“เลือกที่พักที่ดี เลือกผึ้งหลวง ” โรงแรมผึ้งหลวง มอบความสะอาด สะดวกสบาย และประหยัดให้กับคุณลูกค้าทุกท่านที่มาใช้บริการ เราได้รับการตอบรับ ที่ดีจากลูกค้าที่มาท่องเที่ยว ทั้งชาวไทย และต่างชาติ เรามี WiFi ฟรีทุกจุดทั่วโรงแรม มีเรือน�ำเที่ยวตลาดน�้ำ และนั่งช้าง ที่จอดรถขนาดใหญ่ พนักงานต้อนรับ 24 ชั่วโมง ลานอเนกประสงค์ ส�ำหรับท�ำกิจกรรม ระบบรักษาความปลอดภัย ตลอดเวลา อัตราค่าบริการห้องพัก เริ่มต้นที่ 200 บาท, ห้องพัดลม 300 บาท , ห้องแอร์ 400 – 700 บาท และ ห้อง VIP ราคา 800 – 1000 บาท บรรยากาศ สงบ สะอาด โปร่งสบาย ริมคลอง ปลอดภัย และสะดวกในการเดินทาง เลือกที่พัก เลือกโรงแรมผึ้งหลวง คุ้มค่าส�ำหรับทุกท่านที่มาเยือน อ�ำเภอด�ำเนินสะดวกแห่งนี้ ตั้งอยู่เลขที่ 186/3 หมู่ 8 ถนนหลักห้า-ด�ำเนินสะดวก ต.ศรีสุราษฎร์ อ.ด�ำเนินสะดวก จ.ราชบุรี 70130 www.puengluanghotel.com facebook : puengluang ส�ำรองห้องพักโทร. 0-3225-5128, 085-686-2439 จองห้องพักหมู่คณะ ติดต่อ 095-562-2546
.indd 4
9/9/2018 9:20:21 PM
ดิ แอนธีค ริเวอร์ ไซด์ “ปลุกสเน่ห์ของความโบราณ”
ย้อนเวลาสู่อดีต เมื่อคุณก้าวเข้าสู่ รีสอร์ทไม้สไตล์ โบราณ ท่ามกลางธรรมชาติ ริมแม่น�้ำแม่กลอง แห่งแรกและแห่งเดียวในประเทศไทย ที่ ที่เสน่ห์แห่งเมืองราชบุรีเก่าบรรจบกับการบริการอันแสน อบอุ่นอย่างลงตัว
ที่อยู่ 32/3 หมู่ 4 นครชุมน์, บ้านโป่ง, ราชบุรี ประเทศไทย โทร. 032-297-298, 083-032-9785 www.theantiqueriverside.com RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 5
5
9/5/2018 12:10:12 AM
บ้BAANPHIRIYAPHAN านพิริยะพัRESORT นธ์ รีสอร์ท
6
SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี
.indd 6
9/5/2018 12:11:57 AM
“พักผ่อนท่ามกลางท้องทุ่ง” สัมผัสบรรยากาศห้องพักในท้องทุ่ง กับมุมทันสมัย สไตล์ท้องถิ่น บ้านพิริยะพันธ์ รีสอร์ท BAANPHIRIYAPHAN RESORT ต้อนรับทุกการ พักผ่อน ทั้งรายวันและรายเดือน บริการห้องพัก สุดสร้างสรรค์ สะอาดสงบ ท่ามกลางสีสันห้องพัก ออกแบบสุดจินตนาการ เพลิดเพลิน กับบริการอัน อบอุ่น เฟอร์นิเจอร์ครบครัน เครื่องปรับอากาศ ทีวี ตู้เย็น ห้องน�้ำ พร้อมสรรพ เพื่อคุณพักผ่อน อย่างสบายใจ ตลอดเวลาเราพร้อมดูแลคุณ
บ้านพิริยะพันธ์ รีสอร์ท BAANPHIRIYAPHAN RESORT 317 หมู่ที่ 4 ต�ำบลดอนทราย อ�ำเภอปากท่อ จังหวัดราชบุรี 70140 ช่องทางการติดต่อ โทร 089-2561717, 098-2595568 Line Id : 089-2561717 Facebook : บ้านพิริยะพันธ์ รีสอร์ท บริการห้องพักรายวัน - รายเดือน พักผ่อนท่ามกลางท้องทุ่งนา
“บรรยากาศจ�ำลองใช้ส�ำหรับเพื่อการโฆษณาเท่านั้น“ RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 7
7
9/5/2018 12:12:22 AM
ศูนย์ปฏิบกลางธรรมชาติ ัติธรรม จังหวัดราชบุรี
Baan Pong Inn
บ้านโป่ง อินน์
“เดินทางไกล แวะพัก บ้านโป่ง อินน์ แล้ว คุณจะหายเหนื่อย ” ตั้งอยู่เลขที่ 21 ถนนบ้านปากแรต ต�ำบลบ้านโป่ง อ�ำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี 70110 ส�ำรองห้องพัก โทร. 032-221-923, 089-918-9394,
8
SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี
.indd 8
9/12/2018 8:40:32 PM
Charisma Resort คาริสม่ารีสอร์ท
“ชมป่า ปีนภูเขา ดูดาวจากห้องพักสี่ฤดูที่พร้อมให้คุณหายเหนื่อยทุกการผจญภัย” ยินดีต้อนรับสู่ คาริสม่ารีสอร์ท (Charisma Resort) รีสอร์ทที่ให้บรรยากาศอบอุ่น เป็นกันเอง ใส่ใจการบริการ อยู่ใกล้แหล่งท่องเที่ยวของอ�ำเภอสวนผึ้ง ต้อนรับด้วยห้องพัก 2 ประเภทที่คุณจะประทับใจไม่รู้ลืม Day of Life House มีจ�ำนวนทั้งหมด 6 ห้อง คือ Red Wine, Yelly Yellow, Lady pink, Orange Peel, Baby Blue and Lavender แต่ละห้องตกแต่งภายในไม่ซ�้ำกันด้วยการออกแบบสีและเฟอร์นิเจอร์ตกแต่งต่างๆ ที่บรรจงเลือกสรร มาแล้ว อย่างใส่ใจในการพักผ่อนของคุณในวันพิเศษ ผ้าม่านสบายตาเข้ากับสีของแต่ละห้อง และยังคงสไตล์วินเทจ Season of Love House มีจำ� นวน 4 ห้อง หรือ 4 ฤดู คือ Summer, Winter, Autumn and Spring ด้วยการพิถพ ี ถิ นั ในการตกแต่งด้วยผ้าม่านตามสีของใบไม้ ในแต่ฤดู ท�ำให้แต่ละห้องให้บรรยากาศทีต่ า่ งกันออกไป โดยเฉพาะห้อง Summer มีอ่างอาบน�้ำที่สามารถนอนชมป่าและภูเขาได้จากอ่างอาบน�้ำ อีกทั้งในตอนกลางคืนยังนอนชมดาวได้ อีกด้วย คาริสม่ารีสอร์ท (Charisma Resort) ตั้งอยู่ เลขที่ 777 หมู่ 1 ต.สวนผึ้ง อ.สวนผึ้ง จ.ราชบุรี 70180 ติดต่อจองห้องพัก โทร 080-578-1917 Email : charismaresort@hotmail.com www.tobecharisma.com
.indd 9
9/5/2018 12:16:23 AM
Editor’s Talk
ผู้บริหาร คณะที่ปรึกษา
ศ.ดร.กฤช เพิ่มทันจิตต์, พลเอกสรชัช วรปัญญา, ดร.นิเวศน์ กันไทยราษฎร์, ดร.ประยุทธ คงเฉลิมวัฒน์, ดร.ชาญ ธาระวาส, ดร.สุมิท แช่มประสิท, ดร.วัลลภ อารีรบ, ดร.พิชัย ทรัพย์เกิด, ดร.ไอศูรย์ ดีรัตน์, ดร.สุเทษณ์ จันทรุกขา, ดร.อรรถสิทธิ์ ตันติวิรัชกุล
บรรณาธิการอ�ำนวยการ ศุภกิจ ศิลปรังสรรค์
บรรณาธิการบริหาร อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์
บรรณาธิการงานบุคคล
พงษ์ศักดิ์ พรณัฐวุฒิกุล, วนัสกฤษณ์ ศิลปรังสรรค์
ฝ่ายกฎหมาย
สมคิด หวังเชิดชูวงศ์, ทวิช อมรนิมิตร
อุทยานหินเขางู @เมือง
กองบรรณาธิการ ฝ่ายประสานงานโครงการภาครัฐและเอกชน
ฝ่ายศิลปกรรม
คณะทีมงาน นายวิทยา การินทร์ ภานพ เพิ่มพงษ์วงศ์วาน
กราฟิกดี ไซน์ พิมพ์พิสุทธิ์ พังจูนันท์ วรเชษฐ สมประสงค์ จักรพันธ์ สิงห์ดี
ผู้จัดการ กิตติชัย ศรีสมุทร
ฝ่ายประสานงานข้อมูล ผู้จัดการ นันท์ธนาดา พลพวก
ประสานงาน ศุภญา บุญช่วยชีพ นงลักษณ์ เทียมเกตุทวีโชค นักเขียน ฐิติรัตน์ สุวรรณโรจน์
ฝ่ายประสานงานจังหวัด กชกร รัฐวร
ฝ่ายการตลาด จันทิพย์ กันภัย
Editor’s Talk
.indd 10
ผู้จัดการ พัชรา ค�ำมี
ช่างภาพ ชัยวิชญ์ แสงใส ปณต ปิติจารุวิศาล กิติวัฒน์ ทิศมั่ง วิทยา ประเสริฐสังข์
วัดขนอนหนังใหญ่ @โพธาราม
นักศึกษาฝึกงาน (ช่างภาพ) ฐานันต์ สุภาสาคร ชนเมศ วิลาศ ตัดต่อวีดีโอ วัชรกรณ์ พรหมจรรย์
ฝ่ายบัญชี/การเงิน บัญชี ปัฐมาภรณ์ แสงบุราณ การเงิน สุจิตรา แดนแก้วนิต ณภัทร ชื่นสกุล ชวัลชา นกขุนทอง
ตลาดน�้ำด�ำเนินสะดวก @ด�ำเนินสะดวก
13/9/2561 8:45:44
ริมน้ำ�ปิง @เมืองกำ�แพงเพชร
เพลินธรรม นำ�เที่ยว
422 วัด
ถ�้ำจอมพล @จอมบึง
บริษัท สมาร์ท บิซิเนส ไลน์ จ�ำกัด 9/4-6 ถนนรามอินทรา แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพฯ 10220 โทร. 0-2522-7171 แฟกซ์. 0-2971-7747 FACEBOOK : SBL บันทึกประเทศไทย EMAIL : sbl2553@gmail.com WEBSITE : www.sbl.co.th
นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย ฉบับพิเศษ มี ค วามปี ติ ที่ ไ ด้ เ ดิ น ทางมาท่ อ งลุ ่ ม แม่ น�้ ำ แม่ ก ลองใน จังหวัดราชบุรี “เมืองแห่งพระราชา” จากอดีตทีเ่ คยเป็น เมื อ งหน้ า ด่ า นส� ำ คั ญ ในประวั ติ ศ าสตร์ ร อยต่ อ แห่ ง กรุงศรีอยุธยาสู่รัตนโกสินทร์ ผ่านศึกสงครามเก้าทัพ สู ่ ภู มิ ธ รรมในบวรแห่ ง พระพุ ท ธศาสนาที่ มี อ งค์ บู ร พ มหากษัตริย์ไทยเป็นอัครศาสนูปถัมภกมาโดยตลอด อั น ประดุ จ ร่ ม โพธิ์ ร ่ ม ไทรของมวลประชาราษฎร์ ทุ ก หมู่เหล่ามาจนถึงทุกวันนี้ เราได้รบั การต้อนรับอย่างอบอุน่ อิม่ ใจในทุกบันทึก เส้นทาง พบเพือ่ นใหม่ๆ ผูเ้ ต็มเปีย่ มน�ำ้ ใจเกือ้ กูลระหว่าง การบันทึกภาพและเรือ่ งราวอันงดงาม ดังทีพ่ ระพุทธองค์ ตรัสว่า “การมีกัลยาณมิตร เป็นทั้งหมดของการด�ำเนิน ชีวิตอันประเสริฐ” อย่างแท้จริง ท�ำให้การเดินทาง ท่องเที่ยวกรปรไปด้วยความประทับใจไม่รู้ลืม ในนามของนิ ต ยสาร SBL บั น ทึ ก ประเทศไทย ผมขอถือโอกาสนี้ กราบขอบพระคุณ ท่านผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดราชบุรี นายสนธยา เสนเอีย่ ม ตลอดจนผูบ้ ริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ต่างๆ ศาสนสถาน บริษัท ห้างร้าน ฯลฯ ซึ่งกรุณาสนับสนุนให้ ทีมงานด�ำเนินการจัดท�ำนิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย ฉบับ จังหวัดราชบุรี ส�ำเร็จลุล่วงด้วยดี ได้สัมผัสทุกมิติ การท่องเที่ยวในเมืองแห่งพระราชาอย่างจุใจ
ติดต่อ คุณศุภกิจ ศิลปรังสรรค์
TEL : 08-1442-4445, 08-4874-3861 EMAIL : supakit.s@live.com
Editor’s Talk
.indd 11
(นายศุภกิจ ศิลปรังสรรค์) บรรณาธิการอ�ำนวยการ
13/9/2561 8:46:46
BREATHING
RATCHABURI สะพายเป้ท่องวัด
สัมผัสวิถีชีวิต ศิลปวัฒนธรรม ดื่มด�่ำราชบุรีทุกลมหายใจ Ratchaburi 2018
www.sbl.co.th
.indd 12
SBL บั น ทึ ก ประเทศไทย
@SBL บั น ทึ ก ประเทศไทย
7/9/2561 15:08:30
CO N T E N TS ฉบับที่ 78 จังหวัดราชบุรี พ.ศ.2561
R AT C H A B U R I 2 5 6 1
90
การด�ำรงอยู่ของ “หนังใหญ่วัดขนอน “ และการก้าวย่างสู่ พิ พิธภัณฑ์ท้องถิ่นวัดขนอน
หนังใหญ่วัดขนอนกลับยืนหยัดและด�ำรงอยู่ จนถึงปัจจุบันได้อย่างไร ค�ำตอบดังกล่าว คงสามารถพบเจอหากเพียงหันกลับไปมอง ให้เห็นถึงสายใยความผูกพันระหว่างชุมชน และจิตวิญญาณของคนท�ำหนังกับหนังใหญ่ ของพวกเขา
14
บันทึกเส้นทางความเป็นมา จังหวัดราชบุรี
ต�ำนานการเผยแผ่พระพุทธศาสนา จากอินเดียสมัยพระเจ้าอโศกมหาราช ถึงสุวรรณภูมิ สู่ดินแดนวัฒนธรรมลุ่มน�้ำ แม่กลองและสายหมอกแห่งขุนเขาตะนาวศรี
24
ใต้ร่มพระบารมี
28
บันทึกเส้นทางพบส�ำนักงาน พระพุ ทธศาสนาจังหวัดราชบุรี
.indd 13
บันทึกเส้นทางท่องเที่ยว วัดมหาธาตุ วรวิหาร วัดโสดาประดิษฐาราม วัดเขาน้อยเทียมสวรรค์ วัดเขางู วัดนาหนอง
34 60 62 68 70 72
วัดพญาไม้ วัดบ้านกล้วย วัดเขากรวด วัดไผ่ล้อม วัดพรหมธรรมนิมิต วัดถ�้ำสิงโตทอง
74 76 78 80 82 88
วัดพิ ทักษ์เทพาวาส วัดท่าเรือ
98 100
วัดบ้านกุ่ม วัดใหม่อีจาง วัดบ้านใหม่บุฟผาราม วัดแก้ว วัดหนองม่วง วัดบ้านโป่ง วัดโพธิบัลลังค์ วัดอริยวงศาราม (หนองน�้ำขาว) วัดโป่งเจ็ด วัดบ้านคงคา (วัดป่าพุ ชะเอม) ส�ำนักสงฆ์พุน�้ำร้อน วัดเขาอีส้าน วัดลานคา วัดไทยประจัน วัดเขากูบอินทาราม วัดโพธิ์ศรี วัดมณีลอย (วัดถ�้ำแอบ) วัดเกตุปัญญาประชาสรรค์ วัดเขาถ่านธรรมเสนานี วัดไพรสะเดา วัดบุรีราชวนาราม วัดนาคอก วัดสนามสุทธาราม วัดแจ้งเจริญ
102 104 105 106 107 108 116 118
เพลินธรรมน�ำเที่ยว
148
431
120 121 122 124 126 128 130 132 134 136 137 138 139 140 141 142
วัด
ย้อนรอยประวัติศาสตร์เมืองแห่งพระราชา
พ.ศ. 218 กับพระเจ้าอโศกมหาราช จุดเริ่มต้นการประดิษฐานพระพุทธศาสนาในดินแดนสุวรรณภูมิ
10/9/2561 9:02:10
TRAVELING IN A PREHISTORIC บันทึกเส้นทางความเป็นมาจังหวัดราชบุรี
14
SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี
.indd 14
10/9/2561 11:52:56
Traveling in a Prehistoric
ราชบุรี มีชื่ออันเป็นมงคลยิ่ง หมายถึง “เมืองพระราชา” ต�ำนานการเผยแผ่พระพุทธศาสนาจากอินเดียสมัยพระเจ้าอโศกมหาราชถึงสุวรรณภูมิ สู่ดินแดนวัฒนธรรมลุ่มน�้ำแม่กลองและสายหมอกแห่งขุนเขาตะนาวศรี
RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 15
15
10/9/2561 11:52:57
ราชบุรี เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางด้านตะวันตก ที่มีภูมิประเทศหลากหลาย จากพื้ นที่ที่ราบต�่ำ ลุ่มแม่น�้ำแม่กลองอันอุดม แหล่งเพาะปลูกพื ชผักผลไม้ เศรษฐกิจนานาชนิด สู่ พ้ื นที่สูงทิวเทือกเขาตะนาวศรีทอดตัว ยาวทางทิศตะวันตกจรดชายแดนไทย-พม่า
16
SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี
.indd 16
10/9/2561 11:53:00
จากต�ำนานและหลักฐานทางประวัตศิ าสตร์ ท� ำ ให้ สั น นิ ษ ฐานได้ ว ่ า ราชบุ รี เ ป็ น หั ว เมื อ ง ทีเ่ จริญรุง่ เรืองมากแห่งหนึง่ ของแคว้นสุวรรณภูมิ มาตัง้ แต่สมัยทีพ่ ระเจ้าอโศกมหาราชแห่งอินเดีย ได้เผยแพร่พุทธศาสนาเข้ามาในดินแดนแถบนี้ เมื่อราวปี พ.ศ. 218 โดยแคว้นสุวรรณภูมินี้ มีศูนย์กลางการปกครองอยู่ท่ีนครปฐมหรือที่ สมัยนั้นเรียกกันว่า “ทวาราวดี” ราชบุรียังเป็น แหล่งพบปะของพ่อค้าวาณิชแต่ครั้งโบราณ ทั้ ง ยั ง เป็ น เมื อ งหน้ า ด่ า นที่ ติ ด ต่ อ กั บ พม่ า ราชบุ รี จึ ง เป็ น ดิ น แดนที่ มี ค วามหลากหลาย ทางชาติพันธุ์ที่สุดแห่งหนึ่ง การศึกษาและขุดค้นของนักประวัติศาสตร์ นั ก โบราณคดี พบว่ า ดิ น แดนแถบลุ ่ ม แม่ น�้ ำ แม่กลองแห่งนี้เป็นถิ่นฐานที่อยู่อาศัยของคน หลายยุคหลายสมัย และมีความรุง่ เรืองมาตัง้ แต่
อดีต จากหลักฐานทางโบราณสถานและโบราณ วัตถุมาก ท�ำให้เชื่อได้ว่ามีผู้คนตั้งถิ่นฐานอยู่ใน บริเวณนี้ตั้งแต่ยุคหินกลาง ตลอดจนได้ค้นพบ เมืองโบราณสมัยทวาราวดี ทีต่ ำ� บลคูบวั อ�ำเภอ เมืองราชบุรี พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้า จุฬาโลกมหาราช ปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรี ทรงด�ำรงต�ำแหน่งหลวงยกกระบัตรเมืองราชบุรี ในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย ซึง่ ในช่วงปลาย สมัยกรุงศรีอยุธยาและตอนต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ปรากฏหลักฐานทางประวัตศิ าสตร์พบว่า เมือง ราชบุรีเป็นเมืองหน้าด่านที่ส�ำคัญ เป็นสมรภูมิ การรบหลายสมัย โดยเฉพาะในสมัยสมเด็จ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ได้ยกทัพมาตัง้ รับศึก พม่าในเขตราชบุรหี ลายครัง้ ครัง้ ส�ำคัญทีส่ ดุ คือ สงครามเก้าทัพ
RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 17
17
10/9/2561 11:53:00
ต่อมา พ.ศ. 2360 ในสมัยพระบาทสมเด็จ พระพุ ท ธเลิ ศ หล้ า นภาลั ย รั ช กาลที่ 2 ได้ โปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้สร้างก�ำแพงเมือง ใหม่ทางฝั่งซ้ายของแม่น�้ำแม่กลองตลอดมา จนถึงปัจจุบัน ครั้นถึงสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอม เกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว รั ช กาลที่ 5 ในพ.ศ. 2437 ทรงเปลี่ยนการปกครองส่วนภูมิภาคโดยรวม หัวเมืองต่างๆ ทีอ่ ยูใ่ กล้ชดิ กัน ตัง้ ขึน้ เป็นมณฑล และได้รวมเมืองราชบุรี เมืองกาญจนบุรี เมือง สมุทรสงคราม เมืองเพชรบุรี เมืองปราณบุรี เมืองประจวบคีรีขันธ์ รวม 6 เมือง ตั้งขึ้นเป็น มณฑลราชบุรี ตัง้ ทีบ่ ญ ั ชาการมณฑล ณ ทีเ่ มือง ราชบุรี ทางฝัง่ ขวาของแม่นำ�้ แม่กลอง (ปัจจุบนั คือศาลากลางจังหวัดราชบุรีหลังเก่า) ต่อมาใน พ.ศ. 2440 ได้ย้ายที่บัญชาการเมืองราชบุรี จากฝัง่ ซ้าย กลับมาตัง้ รวมอยูแ่ ห่งเดียวกับศาลา ว่ า การมณฑลราชุ บ รี ทางฝั ่ ง ขวาของแม่ น�้ ำ แม่กลอง จนถึง พ.ศ. 2476 เมือ่ ได้มกี ารยกเลิก การปกครองแบบมณฑลทัง้ หมด มณฑลราชบุรี จึงถูกยกเลิกและคงฐานะเป็นจังหวัดราชุบรี จนถึงปัจจุบัน
18
SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี
.indd 18
10/9/2561 11:53:06
RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 19
19
10/9/2561 11:53:09
โอโซนมากที่สุดติดอันดับของโลก จังหวัดราชบุรี ตั้งอยู่ในเขตที่ได้รับ
อิทธิพลจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ จาก มหาสมุทรอินเดีย แต่การทีม่ เี ทือกเขาตะนาวศรี บังไว้อยู่ ท�ำให้เป็นที่อบฝน คืออ�ำเภอสวนผึ้ง อ�ำเภอบ้านคา และอ�ำเภอจอมบึง มีฝนตก น้ อ ยและเป็ น พื้ น ที่ ห นึ่ ง ที่ มี ฝ นตกน้ อ ยที่ สุ ด ในประเทศ ปริ ม าณน�้ ำ ฝนเฉลี่ ย 1,0001,250 มิ ล ลิ เ มตรต่ อ ปี อุ ณ หภู มิ เ ฉลี่ ย ประมาณ 27 องศาเซลเซี ย ส สู ง สุ ด เดื อ น เมษายน-พฤษภาคม ประมาณ 36 องศา เซลเซี ย ส และต�่ ำ สุ ด ในเดื อ นธั น วาคมมกราคม ประมาณ 18 องศาเซลเซียส ฤ ดู ฝ น เ ริ่ ม ตั้ ง แ ต ่ เ ดื อ น พ ฤ ษ ภ า ค ม พฤศจิ ก ายน โดยตกหนั ก ที่ สุ ด ในเดื อ น กันยายน และทิ้งช่วงในเดือนมิถุนายนและ สิ ง หาคม ฝนส่ ว นใหญ่ จ ะถู ก พั ด เลยไปตก ในแถบลุ่มแม่น�้ำแม่กลอง และด้านตะวันออก ของพื้นที่จังหวัดอุณหภูมิอยู่ระหว่าง 13-38 องศาเซลเซียส แต่ในฤดูหนาวบริเวณเชิงเขา หรือหุบเขาในพื้นที่อ�ำเภอสวนผึ้ง และอ�ำเภอ บ้ า นคาจะมี ส ภาพอากาศหนาวมาก เฉลี่ ย 8-15 องศาเซลเซี ย ส และเป็ น จั ง หวั ด ที่ มี ปริมาณโอโซนมากที่สุดติดอันดับของโลก
อ�ำเภอสวนผึ้ง อ�ำเภอบ้านคา อ�ำเภอจอมบึง โอโซนมากที่สุดติดอันดับของโลก 20
SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี
.indd 20
10/9/2561 11:53:10
ศูนย์กลางอุตสาหกรรม การเกษตร และพลังงาน ปั จ จุ บั น ราชบุ รี เ ป็ น ศู น ย์ ก ลางในด้ า น อุตสาหกรรมแปรรูปสินค้าเกษตร เช่น มะพร้าว ชมพู่ ฝรั่ง มะม่วง และการปศุสัตว์ของประเทศ รวมทั้ ง เป็ น ศู น ย์ ก ลางในด้ า นพลั ง งานของ ประเทศในปั จ จุ บั น โดยมี เ มื อ งราชบุ รี เ ป็ น ศูนย์กลางด้านการปกครอง เศรษฐกิจ และ การคมนาคมในภูมภิ าค ทิศเหนือติดต่อจังหวัด กาญจนบุ รี ทิ ศ ใต้ ติ ด ต่ อ จั ง หวั ด เพชรบุ รี ทิศตะวันออกติดต่อจังหวัดสมุทรสาคร จังหวัด สมุ ท รสงคราม และจั ง หวั ด นครปฐม และ ทิศตะวันตกติดต่อประเทศพม่า จั ง หวั ด ราชบุ รี เป็ น จั ง หวั ด ที่ มี ข นาด เศรษฐกิจใหญ่ที่สุดในภาคตะวันตก จากการ ประมาณในไตรมาสแรกเมื่ อ ปี พ.ศ. 2553 ของคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคม แห่งชาติ ราชบุรีมีผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (GPP) คิดเป็นมูลค่า 120,200 ล้านบาท มากเป็นอันดับ 17 ของประเทศ และมีรายได้ ต่อประชากร (GPP PER CAPITA) สูงถึง 144,062 บาท เป็นอันดับที่ 13 ของประเทศ จังหวัดราชบุรีมีการลงทุนทางอุตสาหกรรมถึง 1,100 โครงการ คิดเป็นเงินลงทุนมากกว่า 100,000 ล้านบาท เป็นศูนย์กลางของภูมภิ าค มี ธุ ร กิ จ การค้ า ประเภทสิ น ค้ า เกษตร และ ผลิตภัณฑ์แปรรูปทางการเกษตร เป็นโครงสร้าง หลักทางเศรษฐกิจ โดยมีศูนย์กลางตลาดผัก ผลไม้ในภูมิภาค โดยเป็นหนึ่งในตลาดกลาง สินค้าเกษตรทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ แห่งหนึง่ ของประเทศไทย อี ก ทั้ ง เป็ น จั ง หวั ด ที่ มี เ ศรษฐกิ จ เติ บ โตสู ง ขึ้ น อย่างต่อเนื่องทุกปี เฉลี่ยปีละประมาณ 5-6 % ท�ำให้มีการลงทุนในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง เช่น ศูนย์การค้า โครงการทีอ่ ยูอ่ าศัย บริษทั ห้างร้าน ต่างๆ เป็นต้น และจังหวัดราชบุรีมีอู่ต่อรถ โดยสารมากประมาณ 50 กว่าอู่ มีชอื่ เสียงมาก ในเรือ่ งการต่อรถโดยสาร เป็นทีแ่ รกๆ ทีก่ ำ� เนิด รถโดยสารของประเทศ อั น เป็ น ยนตกรรม ท�ำด้วยมือก็ว่าได้
RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 21
21
10/9/2561 11:53:12
โรงงานเซรามิค เถ้ า ฮง ไถ่ ก่อตั้งมาเกือบ 80 ปี
22
SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี
.indd 22
10/9/2561 11:53:14
TRAVELING IN A PREHISTORIC บันทึกเส้นทางความเป็นมาจังหวัดราชบุรี
คนสวยโพธาราม คนงามบ้านโป่ ง เมืองโอ่งมังกร วัดขนอนหนังใหญ่ ตื่นใจถ�้ำงาม ตลาดน�้ำด�ำเนิน เพลินค้างคาวร้อยล้าน ย่านยี่สกปลาดี ค�ำขวัญจังหวัดราชบุรี
การปกครองของจังหวัด การปกครองส่ ว นภู มิ ภ าคของจั ง หวั ด ราชบุรี แบ่งออกเป็น 10 อ�ำเภอ, 104 ต�ำบล และ 975 หมู่บ้าน การปกครอง ส่วนท้องถิ่นประกอบด้วยองค์การบริหาร ส่วนจังหวัด 1 แห่ง, เทศบาล 25 แห่ง และ องค์การบริหารส่วนต�ำบล 77 แห่ง
ถนนสู่อันดามัน ความฝันสู่ตลาดการค้าเสรี ราชบุ รี ห่ า งจากกรุ ง เทพมหานคร
เบื้องทิศตะวันตกราว 110 กิโลเมตร เป็นที่ตั้ง ของจั ง หวั ด ราชบุ รี ดิ น แดนอั น เป็ น ที่ ม าของ โอ่งเคลือบลายมังกรและผ้าทอบ้านไร่ หรือ ผ้ า ขาวม้ า อั น ลื อ ชื่ อ ส� ำ หรั บ ผู ้ ไ ม่ ใ ช่ ช าวบ้ า น พื้นถิ่นน้อยคนนักจะเข้าใจว่า อุตสาหกรรม เครื่องปั้นดินเผาและหัตถกรรมทอผ้าพื้นเมือง เป็ น เพี ย ง ผลงานบางส่ ว นที่ ส ะท้ อ นความ หลากหลายของราชบุ รี ที่ ฝ ากร่ อ งรอยทาง ประวัติศาสตร์ สังคม และวัฒนธรรม ดังนั้นการโครงการสร้างถนนจาก จังหวัด ราชบุรี สู่ทะเลอันดามันเป็นไปได้จะก่อให้เกิด การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางการค้าระหว่าง ประเทศไทยกั บ สหภาพพม่ า อย่ า งมหาศาล โดยเฉพาะนักธุร กิจชาวไทยที่มีสินค้าต่างๆ ทุ ก ชนิ ด พร้ อ มที่ จ ะส่ ง ออก แต่ ก็ จ� ำ กั ด ด้ ว ย เส้ น ทางคมนาคม ที่ จ ะน� ำ สิ น ค้ า เข้ า สู ่ เ มื อ ง ส�ำคัญในสหภาพพม่า ยิง่ ไปกว่านัน้ เส้นทางสาย จังหวัดราชบุรี สู่ทะเลอันดามัน จะสามารถร่น ระยะทางที่จะขนสินค้าไปสู่อินเดีย และยุโรป ได้อีกโดยคาดว่า หากได้รับการผลักดันอย่าง จริงจังจากรัฐบาลทัง้ สองประเทศแล้ว โครงการนี้ จะสร้างผลประโยชน์ให้กับไทยและสหภาพ พม่ า และนานาประเทศในภู มิ ภ าคเอเชี ย ตะวันออกเฉียงใต้อย่างมหาศาล
ถิ่นอาศัยของคน 8 ชาติพันธุ์ ชาวไทยที่ เ ป็ น ประชากรของราชบุ รี ตามกลุ่มวัฒนธรรมต่างๆ มีอยู่เป็นกลุ่มๆ ผสานกันอย่างงดงามประดุจดนตรีวงใหญ่ ประกอบด้วย 8 ชาติพันธุ์ คือ 1. ไทยพื้นถิ่นราชบุรี 2. ไทยเชื้อสายจีน 3. ไทยวน (อ่านว่า ไท-ยวน) 4. มอญ 5. เขมร 6. ลาวเวียง 7. กะเหรี่ยง 8. ไทด�ำ (ไทยทรงด�ำ หรือชาวโซ่ง)
ตราประจ�ำจังหวัด “คนสวยโพธาราม คนงามบ้านโป่ง เมืองโอ่งมังกร วั ด ขนอนหนั ง ใหญ่ ตื่ น ใจถ�้ ำ งาม ตลาดน�้ ำ ด� ำ เนิ น เพลิ น ค้ า งคาวร้ อยล้ า น ย่านยี่สกปลาดี”
ความหมายของตราประจ�ำจังหวัด เครื่องราชกกุธภัณฑ์ 2 อย่างคือ ภาพฉลอง พระบาทอยู่บนพานทอง และ ภาพพระแสง ขรรค์ชัยศรี ซึ่งวางอยู่บนพระที่ ทั้งนี้ก็เพราะ ชื่อจังหวัดราชบุรีแปลว่า เมืองของพระราชา
RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 23
23
10/9/2561 11:53:16
H I S TO R Y O F U ND E R H IS G R A C I OU SN E SS บันทึกเส้นทางใต้ร่มพระบารมี
ใต้ร่มพระบารมี
โครงการสวนป่าเฉลิมพระเกียรติสมเด็จ พระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ “จากพระราชปณิธานมากว่า 20 ปี ในการฟื้นฟูพื้นที่ป่าเสื่อมโทรม ส�ำหรับเป็นที่ รวบรวมพรรณไม้ป่าท้องถิ่นของไทยไว้ ในแหล่งเดียวกัน เพื่อให้เยาวชนและประชาชน เป็นแหล่งศึกษาพรรณไม้ป่าของเมืองไทยในอนาคต” โครงการสวนป่าเฉลิมพระเกียรติสมเด็จ พระนางเจ้ า สิ ริ กิ ติ์ พระบรมราชิ นี น าถ จังหวัดราชบุรี เป็นโครงการหนึ่งที่เกิดจาก พระราชปณิธานของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิ ติ์ พระบรมราชินีนาถ ที่จะฟื้นฟูพื้นที่ป่า เสือ่ มโทรมสักแห่งหนึง่ สำ�หรับเป็นทีร่ วบรวม พรรณไม้ปา่ ของไทยทีเ่ ป็นไม้ในถิน่ ธรรมชาติ ดั้งเดิมในท้องถิ่นต่างๆ ไว้ในแหล่งเดียวกัน ให้ ไ ด้ ม ากชนิ ด ที่สุดเท่า ที่จ ะหาได้ เพื่อ ให้ เยาวชนและประชาชนทั่วไป ได้ใช้เป็นแหล่ง ศึกษาพรรณไม้ป่าของเมืองไทยในอนาคต 24
.indd 24
อีกทัง้ เป็นแหล่งขยายพันธุเ์ พือ่ มิให้พรรณ ไม้ปา่ ไทยต้องสูญพันธุ์ และฟืน้ ฟูรกั ษาสภาพ ป่าเดิมทีย่ งั เหลืออยู่ และได้มพี ระราชเสาวนีย์ ไว้ว่า “ขอให้สร้างป่าโดยมีคนอาศัยอยู่ด้วย โดยไม่ทำ�ลายป่า คือ ต้องช่วยเขาเหล่านั้น จริงๆ ให้มีความเป็นอยู่ที่ดีพอสมควรเช่นมี ที่ดินทำ�กิน มีน้ำ� ให้การศึกษา ส่งเสริมงาน ศิลปาชีพต่างๆ ให้มีรายได้เพิ่มขึ้น เมื่อเขา อยู่ได้เขาจะได้ช่วยดูแลป่า” แนวพระราชดำ�ริ สืบเนื่องจากปัจจุบันทรัพยากรป่าไม้ได้
ถูกบุกรุกทำ�ลายลงเป็นจำ�นวนมาก ทำ�ให้ ความสมดุลทางธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เปลี่ยนแปลงไป ซึ่งส่งผลกระทบต่อพันธุ์ไม้ ที่มีค่าบางชนิดที่เริ่มจะหายาก และใกล้จะ สูญพันธุไ์ ป อนุชนรุน่ หลังแทบจะไม่รจู้ กั หรือ พบเห็น ความคิดริเริ่มรวบรวมชนิดพันธุ์ไม้ ท้องถิ่นและพันธุ์ไม้ที่มีค่า นำ�มาปลูกเป็น แหล่งอนุรักษ์พันธุ์จะก่อให้เกิดผลประโยชน์ แก่ ป ระเทศชาติ ห ลายประการทั้ ง ทางตรง และทางอ้อม อันไม่สามารถประเมินมูลค่าได้ โดยการจั ด สร้ า งสวนรวมพั น ธุ์ ไ ม้ ป่ า
SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี
9/4/2018 1:03:45 AM
เฉลิ ม พระเกี ย รติ นั บ เป็ น โครงการหนึ่ ง ที่ มี คุ ณ ค่ า เกิ ด จากการร่ ว มแรงร่ ว มใจของ หน่วยงานภาครัฐ และประชาชนจัดสร้าง ขึ้ น เพื่ อ ถวายแด่ ส มเด็ จ พระนางเจ้ า ฯ พระบรมราชินีนาถ เนื่องในโอกาสที่จะทรง มีพระชนมพรรษาครบ 60 ปี ในพุทธศักราช 2535 หัวใจของโครงการ โครงการสวนป่าเฉลิมพระเกียรติสมเด็จ พระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ จังหวัด ราชบุรี ประกอบด้วย พื้นที่ป่าในเขตอำ�เภอ สวนผึ้งและกิ่งอำ�เภอบ้านคา รวม 6 ตำ�บล 52 หมู่บ้าน มีหัวใจของโครงการ คือ ศูนย์
ศึกษาพรรณไม้ป่าสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ เนื้อที่ 3,000 ไร่ อยู่ในเขตตำ�บลตะนาวศรี อำ�เภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี ต่อมาได้ขยาย พื้นที่ของโครงการออกไปครอบคลุมพื้นที่ ป่าประมาณ 136,000 ไร่ รวมเนื้อที่ของ โครงการสวนป่าเฉลิมพระเกียรติฯ ประมาณ 601,000 ไร่ จากสวนป่าสมเด็จพระนาง เจ้าสิริกิติ์ภาคกลาง ในปี พ.ศ.2533 มาเป็น ศูนย์ศึกษาพรรณไม้ป่า สมเด็จพระนางเจ้า สิริกิติ์ ในปี พ.ศ. 2540 ศูนย์ศกึ ษาพรรณไม้ปา่ สมเด็จพระนางเจ้า สิริกิติ์ แต่เดิมมีชื่อเรียกว่า สวนป่าสมเด็จ พระนางเจ้ า สิ ริ กิ ติ์ พระบรมราชิ นี น าถ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กองทั พ บก จังหวัดราชบุรี และ คณะกรรมพิเศษ เพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจาก พระราชดำ�ริ (สำ�นักงาน กปร.) เพื่อถวาย ในโอกาสที่ ท รงมี พ ระชนมพรรษาครบ 5 รอบ ในครั้ ง นั้ น ท่ า นผู้ ห ญิ ง สุ ป ระภาดา เกษมสันต์ อดีตราชเลขานุการในองค์สมเด็จ พระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ กล่าวไว้ ตอนหนึ่งว่า “สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรม ราชินนี าถ ทรงมีพระราชเสาวนียม์ านานกว่า 10 ปีแล้ว ทีห่ วังจะทรงเห็นพืน้ ทีแ่ ห่งหนึง่ ทีใ่ ช้ เป็นทีร่ วบรวมพันธุไ์ ม้ปา่ ของไทย ทีข่ นึ้ ในท้อง ที่ต่างๆ ไว้ในแหล่งเดียวกันให้ได้มากชนิด ที่สุดเท่าที่จะหามาได้ และสามารถรอดตาย ได้ เพื่อให้เยาวชนและประชาชนทั่วไปได้ใช้ เป็นแหล่งศึกษาพรรณไม้ป่าของเมืองไทยใน อนาคต อีกทัง้ เป็นแหล่งขยายพันธุ์ เพือ่ มิให้ ไม้ไทยของเราต้องสูญพันธุ์ และทีส่ �ำ คัญอย่า ให้มีประชาชนต้องเดือดร้อนให้เป็นที่ระคาย เบื้องพระยุคลบาท” กองพลพัฒนาที่ 1 ในฐานะหน่วยรับ ผิดชอบโครงการฯ ได้เล็งเห็นว่าการพัฒนา จิตใจ เพื่อปลูกจิตสำ�นึกให้กับราษฎรเป็นสิ่ง สำ�คัญลำ�ดับแรกที่จะต้องปฏิบัติ จึงได้จัดทำ� โครงการฝึกอบรมราษฎรอาสาสมัครพิทักษ์ ป่า (รสทป.) ในพืน้ ทีอ่ ทุ ยานเฉลิมพระเกียรติ RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 25
25
9/4/2018 1:04:09 AM
ไทยประจัน เพื่อปลูก ฝังให้ราษฎรรักและ หวงแหนทรัพยากรป่าไม้ และสัตว์ป่าที่มีอยู่ เป็นเจ้าของป่า และสร้างอุดมการณ์ร่วมกัน ซึ่งการอบรมแต่ละรุ่นนั้น ได้รับความสนใจ และความร่ ว มมื อจากราษฎรส่ ว นใหญ่ ใ น พื้นที่เป็นอย่างดี นอกจากนี้ กองพลพัฒนาที่ 1 เล็งเห็น ว่า การปลูกจิตสำ�นึกให้ราษฎรรักธรรมชาติ อย่างเดียวนั้น วันหนึ่ง ราษฎรก็จะต้องกลับ ไปสู่สภาพเดิม หากไม่มีการพัฒนาคุณภาพ ชีวิตความเป็นอยู่ให้กับราษฎรเหล่านั้น จึง ได้ร่วมกับส่วนราชการปฏิบัติตามพระราช เสาวนีย์พระองค์ท่านในการร่วมกันพัฒนา
ชีวิตความเป็นอยู่ของราษฎรให้ดีขึ้น ด้วย การส่งเสริมอาชีพทางการเกษตร การเลี้ยง สัตว์ การประมง ให้กบั ราษฎรเหล่านัน้ มีการ จัดสร้าง ปัจจัยโครงสร้างพื้นฐานที่จำ�เป็น แหล่งน้�ำ เพือ่ การอุปโภคและการเกษตรอย่าง พอเพียงอีกทั้งส่งเสริมงานศิลปาชีพ เพื่อ เป็นอาชีพเสริมให้กับกลุ่มแม่บ้านในโครง การฯ เช่น กลุม่ งานศิลปาชีพประเภทจักสาน ละเอียด มีผลิตภัณฑ์ประเภทแจกัน ตะกร้า หกเหลี่ยม ตะกร้าใหญ่ลายดอกพิกุล และ ลายข้าวหลามตัด กลุ่มงานศีลปาชีพปลูก หม่อนเลี้ยงไหม เป็นต้น ที่ตั้งของโครงการ : ตำ�บลตะนาวศรี อำ�เภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี วัตถุประสงค์ เพื่อเป็นแหล่งรวบรวมพันธุ์ไม้ท้องถิ่น ดั้งเดิม และมีคุณค่าทางเศรษฐกิจ รวมทั้ง พันธุ์ไม้หายาก, เพื่อดำ�รงรักษาสภาพป่า 26
.indd 26
ธรรมชาติในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติสำ�หรับ เป็นแหล่งพันธุกรรมไม้ป่า และเป็นแหล่ง ป้ อ งกั น สภาพแวดล้ อ มทางธรรมชาติ ข อง ประเทศไทยในระยะยาวอย่างต่อเนื่อง, เพื่อ ฟืน้ ฟูสภาพป่าทีไ่ ม่เหมาะสมกับเกษตรกรรม ซึ่งมีสภาพเสื่อมโทรมให้กลับฟื้นคืนสภาพ สมบูรณ์ดังเดิม, เพื่อป้องกันแหล่งสำ�หรับ ศึกษาวิจัย และค้นคว้าทางด้านวิชาการป่า ไม้ , เพื่ อจั ด เป็ น สถานที่ พั ก ผ่ อ นหย่ อ นใจ ควบคู่ไปกับการพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยว ของจังหวัดราชบุรี และ เพื่อทำ�ให้ราษฎรใน พืน้ ทีโ่ ครงการมีรายได้จากการรับจ้างปลูกป่า เพื่อเป็นรายได้เสริมในครอบครัว หน่วยงานผู้ดำ�เนินงาน และหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ , สำ � นั ก วิ ช าการ (ส่ ว นวนวั ฒนวิ จั ย ), กรมป่ า ไม้ , กองทัพบก, จังหวัดราชบุร,ี คณะกรรมพิเศษ
เพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจาก พระราชดำ�ริ (สำ�นักงาน กปร.) ลักษณะโครงการ 1. บำ � รุ ง รั ก ษาสวนเดิ ม เพื่ อ การสาธิ ต และวิจัย 125 ไร่ 2. ดูแลรักษาพลับพลาที่ประทับ และ สถานที่ท่องเที่ยวบริเวณแก่งส้มแมว รวมทั้ง อภิบาลสัตว์ป่าที่ทรงปล่อยในบริเวณพื้นที่ โครงการ 1 งาน 3. งานป้องกันดูแลพื้นที่และสำ�รวจหา พันธุ์ไม้ป่าในโครงการฯ 1 งาน 4. งานปรับปรุงและพัฒนาพื้นที่ให้เป็น แหล่งท่องเที่ยว 1 งาน 5. งานดูแลแปลงทดลองวนเกษตรทฤษฎี ใหม่ 1 งาน ผู้ได้รับประโยชน์ ราษฎรทั่วไป และราษฎรบริเวณพื้นที่ ตำ�บลตะนาวศรี อำ�เภอสวนผึง้ จังหวัดราชบุรี
SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี
9/4/2018 1:04:25 AM
ผลการดำ�เนินงานและกิจกรรมโครงการ สรุปการดำ�เนินงานตั้งแต่ พ.ศ. 2533 พ.ศ.2544 1. ปลูกป่าและบำ�รุงรักษา 3,000 ไร่ 2. บำ�รุงรักษาสวนเดิม อายุ 2-6 ปี 2,000 ไร่ 3. บำ�รุงรักษาสวนเดิม อายุ 7-10 ปี 1,100 ไร่ 4. บำ�รุงรักษาสวนเดิมเพื่อการสาธิตและ วิจยั 125 ไร่ 5. สร้างสวนรวมพันธุไ์ ม้ 1 สวน 6. เพาะชำ�กล้าไม้ 850,000 กล้า 7. งานดูแล รักษาสัตว์ปา่ ทีท่ รงปล่อย 1 งาน 8. งานดูแล รักษาพลับพลาที่ประทับที่ท่องเที่ยวบริเวณ แก่งส้มแมว 1 งาน 9. ดูแลรักษาแปลงไม้ผล 100 ไร่ 10. งานดูแลแปลงทดลองวนเกษตร ทฤษฎีใหม่ 3 งาน 11. งานป้องกันรักษาป่า และควบคุมไฟป่า 3,000 ไร่ 12. ดูแลรักษา ระบบนิเวศวิทยาป่าดิบชื้น 1 โครงการ 13. งานอำ�นวยการ ประชาสัมพันธ์ และติดตาม ผล 1 งาน
14. ป้องกันรักษาพื้นที่ ควบคุมไฟป่า และดู แ ลอภิ บ าลสั ต ว์ ป่ า ที่ ท รงปล่ อ ยไว้ ใ น พืน้ ที่ 15. โครงการฯ 3,000 ไร่ 16. บำ�รุง แปลงสาธิต 400 ไร่ 17. งานอำ�นวยการและ จัดเตรียมรับเสด็จ 1 งาน 18. งานปรับปรุง และพัฒนาพื้นที่ให้เป็นแหล่งท่องเที่ยว 2 งาน 19. ปรับปรุงระบบนิเวศต้นน้ำ� (ปีที่ 2-6) 400 ไร่ 20. งานฝึกอบรมราษฎร 2 รุน่ 21. งานป้องกันดูแลรักษาพืน้ ทีโ่ ครงการ 1 งาน 22. งานป้องกันดูแลรักษาพื้นที่และสำ�รวจ พันธุ์ไม้ป่าในโครงการฯ 1 งาน ความสำ�เร็จของโครงการ การจั ด สร้ า งสวนรวมพั น ธุ์ ไ ม้ ป่ า เฉลิ ม พระเกี ย รติ นั บ เป็ น โครงการหนึ่ ง ที่ มี คุ ณ ค่ า เกิ ด จากการร่ ว มแรงร่ ว มใจของ
หน่ ว ยงานภาครั ฐ และประชาชนจั ด สร้ า ง ขึ้ น เพื่ อ เป็ น แหล่ ง รวบรวมพั น ธุ์ ไ ม้ ท้ อ ง ถิ่ น ดั้ ง เดิ ม และมี คุ ณ ค่ า ทางเศรษฐกิ จ รวมทั้ ง พั น ธุ์ ไ ม้ ห ายาก และดำ � รงรั ก ษา สภาพป่ า ธรร มชาติ ใ นพื้ น ที่ ป่ า สงวน แห่ ง ชาติ สำ � หรั บ เป็ น แหล่ ง พั น ธุ ก รรม ไม้ป่า ทั้งเป็นแหล่งป้องกันสภาพแวดล้อม ทางธรรมชาติของประเทศไทยในระยะยาว อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง สามารถฟื้ น ฟู ส ภาพป่ า ที่ ไม่ เ หมาะสมกั บ เกษตรกรรมซึ่ ง มี ส ภาพ เสื่อมโทรม ให้กลับฟื้นคืนสภาพสมบูรณ์ ดังเดิม และป้องกันแหล่งสำ�หรับศึกษาวิจัย เพื่อค้นคว้าทางด้านวิชาการป่าไม้ และเพื่อ จัดเป็นสถานทีพ่ กั ผ่อนหย่อนใจ ควบคูไ่ ปกับ การพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยวของจังหวัด ราชบุรี ซึ่งทำ�ให้ราษฎรในพื้นที่โครงการ มี รายได้จากการรับจ้างปลูกป่า เพื่อเป็นราย ได้เสริมในครอบครัว ปัจจุบนั ป่าได้รบั การฟืน้ ฟูสภาพสมบูรณ์ ดังเดิม ราษฎรมีความเป็นอยู่ดีขึ้นมีการส่ง เสริมอาชีพทางการเกษตร การเลี้ยงสัตว์ การประมงอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง เยาวชนและ ประชาชนได้เข้ามาศึกษาเรียนรู้สม่ำ�เสมอ บรรลุวัตถุประสงค์ตามแนวพระราชดำ�ริทุก ประการ
ขอขอบคุณข้อมูลจากหนังสือ : ราชบุรี โดย สนง.จังหวัดราชบุรี และ สนง. การท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดราชบุรี RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 27
27
9/4/2018 1:04:45 AM
ส�ำนักงานพระพุ ทธศาสนา จังหวัดราชบุรี “พระพุ ทธศาสนามีความเจริญมั่นคง พุ ทธศาสนิกชนเข้าใจในหลักธรรม ค�ำสั่งสอนพระพุ ทธศาสนาอย่างแท้จริง” วิสัยทัศน์ ส� ำนักงานพระพุ ทธศาสนาจังหวัดราชบุรี
สื บ เนื่ อ งจากการปฏิ รู ป ระบบราชการ ตาม นโยบายส�ำคัญของรัฐบาล ส่งผลให้มีการประกาศ บั ง คั บ ใช้ พ ระราชบั ญ ญั ติ ป รั บ ปรุ ง กระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 และกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการ ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ พ.ศ.2545 ซึ่ง ก� ำ หนดให้ มี ส� ำ นั ก งานพระพุ ท ธศาสนาแห่ ง ชาติ เป็ น ส่ ว นราชการ ไม่ สั ง กั ด ส� ำ นั ก นายกรั ฐ มนตรี กระทรวง หรือทบวง มีภารกิจเกี่ยวกับการด�ำ เนิน งานสนองงานคณะสงฆ์แ ละรัฐ โดยการท�ำนุ บ� ำ รุ ง ส่ ง เสริ ม กิ จ การพระพุ ท ธศาสนา ให้ ก ารอุ ป ถั ม ภ์ คุ ้ ม ครอง และส่ ง เสริ ม งานพระพุ ท ธศาสนา ดู แ ล รักษาจัดการศาสนาสมบัติ พัฒนาพุทธมณฑลให้ เป็นศูนย์กลางทางพระพุทธศาสนา รวมทั้งให้การ สนับสนุน ส่งเสริมพัฒนาบุคลากรทางศาสนา โดย เป็นหน่วยงานที่ขึ้นตรงกับ “นายกรัฐมนตรี” แต่ เ นื่ อ งจากโครงสร้ า งส่ ว นราชการส� ำ นั ก งาน พระพุ ท ธศาสนาแห่ ง ชาติ ขาดหน่ ว ยงานระดั บ พื้ น ที่ ใ นส่ ว นภู มิ ภ าค จึ ง ไม่ ส ามารถปฏิ บั ติ ภ ารกิ จ รองรับการกระจายอ�ำนาจจากส่วนกลางในกิจการ พระพุ ท ธศาสนาและสนองงานคณะสงฆ์ ไ ด้ อ ย่ า ง มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพเต็ ม ที่ ส� ำ นั ก งานพระพุ ท ธศาสนา แห่งชาติ จึงพิจารณาให้จัดตั้งส่วนราชการเป็นการ ภายใน มี ฐ านะเทียบเท่า กอง เรีย กว่า “ส�ำ นักงาน พระพุ ท ธศาสนาจั ง หวั ด ” ปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ใ นระดั บ จั ง หวั ด ตามการแบ่ ง เขตการปกครองส่ ว นภู มิ ภ าค ของกระทรวงมหาดไทย รวม 76 จั ง หวั ด ยกเว้ น กรุ ง เทพมหานคร ขึ้ น ตรงอยู ่ ใ นบั ง คั บ บั ญ ชาของ ผู ้ อ� ำ นวยการส� ำ นั ก งานพระพุ ท ธศาสนาแห่ ง ชาติ มีอ�ำนาจและหน้าที่ในพื้นที่จังหวัดนั้นๆ 28
6
SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี
.indd 28
6/9/2561 17:05:45
ภารกิจของส�ำนักงาน พระพุ ทธศาสนาจังหวัดราชบุรี
มีภารกิจเกีย่ วกับการด�ำเนินงานสนองงานคณะสงฆ์ และรัฐโดยการท�ำนุบ�ำรุง ส่งเสริมกิจการพระพุทธ ศาสนา ให้การอุปถัมภ์ คุ้มครองและส่งเสริมพัฒนา งานพระพุทธศาสนา ดูแล รักษา จัดการศาสนาสมบัติ พัฒนาพุทธมณฑลให้เป็นศูนย์กลางทางพระพุทธ ศาสนา รวมทั้ ง ให้ ก ารสนั บ สนุ น ส่ ง เสริ ม พั ฒนา บุคลากรทางศาสนา โดยมีอ�ำนาจหน้าที่ดังต่อไปนี้ 1. ด� ำ เนิ น การตามกฎหมายว่ า ด้ ว ยการคณะ สงฆ์ กฎหมายว่าด้วยการก�ำหนดวิทยฐานะผู้ส�ำเร็จ วิชาการพระพุทธศาสนา รวมทัง้ กฎหมายและระเบียบ ที่เกี่ยวข้อง
2. รับสนองงาน ประสานงาน และถวายการสนับสนุนกิจการและการบริหาร การปกครอง คณะสงฆ์ 3. เสนอแนวทางการก�ำหนดนโยบายและมาตรการในการคุ้มครองพระพุทธ ศาสนา 4. ส่งเสริม ดูแล รักษา และท�ำนุบำ� รุงศาสนสถาน และ ศาสนวัตถุทางพระพุทธ ศาสนา 5. ดูแลรักษา และจัดการวัดร้างและศาสนสมบัติกลาง 6. พัฒนาพุทธมณฑลให้เป็นศูนย์กลางทางพระพุทธศาสนา 7. ท�ำนุบ�ำรุงพุทธศาสนศึกษา เพื่อพัฒนาความรู้คู่คุณธรรม 8. ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายก�ำหนดให้เป็นอ�ำนาจหน้าที่ของส�ำนักงาน หรือนายกรัฐมนตรีหรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
6
.indd 29
29
6/9/2561 17:05:48
พั นธกิจ
ให้การอุปถัมภ์คุ้มครองพระพุทธศาสนา ส่งเสริม เผยแผ่หลักธรรมในทางพระพุทธศาสนา ยุทธศาสตร์
1. อุปถัมภ์และคุ้มครองพระพุทธศาสนาให้มี ความเข้มแข็ง 2. ส่งเสริมการเผยแผ่หลักธรรมให้แก่ประชาชน น�ำไปปฏิบัติให้เกิดคุณธรรม จริยธรรม เป้าประสงค์
1. กิจการพระพุทธศาสนามีความเจริญมั่นคง 2. วัดและคณะสงฆ์ได้รบั การดูแล พัฒนา ส่งเสริม อย่างต่อเนื่องและทั่วถึง 3. การพัฒนาระบบการจัดการให้มีประสิทธิภาพ ในการท�ำนุ บ�ำรุง อุป ถัมภ์ คุ้มครองพัฒนาวัดและ คณะสงฆ์ 4. ประชาชนได้รบั ความรูด้ า้ นพระพุทธศาสนาอย่าง ถูกต้องและน�ำไปปฏิบัติให้เกิดประโยชน์ได้จริง 30
6
5. ส่งเสริมการเผยแผ่หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจในพระพุทธศาสนาด้วยการปฏิบัติธรรม 6. พัฒนาศักยภาพบุคลากรทางพระพุทธศาสนาให้สูงขึ้น ส�ำนักงานพระพุ ทธศาสนาจังหวัดราชบุรี แบ่งการบริหารภายในออกเป็น 3 กลุ่มงาน ดังนี้
1. กลุม่ อ�ำนวยการและกิจการคณะสงฆ์ มีภารกิจงานเกีย่ วกับงานบริหารทัว่ ไป งานการเงิน-บัญชี-พัสดุ งานการเจ้าหน้าทีแ่ ละบริหารบุคคล งานระเบียบ-กฎหมาย งานประชาสัมพันธ์ งานข้อมูลสารสนเทศ งานเครื่องราชอิสริยาภรณ์และผู้บ�ำเพ็ญ ประโยชน์ งานนโยบายและแผนงานงบประมาณ งานติดตามประเมิน ผลและ รายงานผลงานส่งเสริมการปกครองคณะสงฆ์ งานพัฒนาพระสังฆาธิการ งานนิตยภัต งานขอพระราชทานสมณศักดิ์ งานอุดหนุนเจ้าคณะผู้ปกครองสงฆ์ งานคุ้มครอง พระพุทธศาสนางานศาสนพิธี งานศาสนสัมพันธ์ งานรัฐพิธีราชพิธี งานประสาน และถวายการสนับสนุนคณะสงฆ์ไทยที่ปฏิบัติศาสนกิจต่างประเทศ งานส่งเสริม สนับสนุนองค์กรทางพระพุทธศาสนา 2. กลุม่ ศาสนสถานและศาสนสมบัติ มีภารกิจงานเกีย่ วกับงานสร้างวัด/ตัง้ วัด/ ย้ายวัด/รวมยุบเลิกวัด งานอุดหนุนบูรณะและปฎิสงั ขรณ์พระอารามหลวง งานส่งเสริม ฐานะวัด งานพัฒนาวัด งานจัดการศาสนสมบัติกลางและวัด งานลานวัด ลานใจ ลานกีฬา งานอุทยานการศึกษาภายในวัด งานส่งเสริมแหล่งท่องเที่ยวภายในวัด งานตามพระราโชบายและโครงการพระราชด�ำริ
SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี
.indd 30
6/9/2561 17:05:56
RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
6
.indd 31
31
6/9/2561 17:06:00
32
6
SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี
.indd 32
6/9/2561 17:06:03
เมืองแห่งพระราชา รอยต่อแห่งธรรมจากพระเจ้าอโศกมหาราช
3. กลุ่มศาสนศึกษาและการเผยแผ่ มี ภารกิจงานเกีย่ วกับงานการศึกษาพระปริยตั ิ ธรรมแผนกธรรม-บาลี แผนกอภิธรรมและ แผนกสามัญศึกษา งานโรงเรียนการกุศล ภายในวั ด งานเผยแผ่ พ ระพุ ท ธศาสนา งานอบรมปฏิบัติธ รรม งานหน่วยอบรม ประชาชนประจ�ำต�ำบล งานสอบธรรมสนาม หลวง งานบรรพชาอุปสมบท
ด้วยความที่จังหวัดราชบุรีมีต�ำนานและหลักฐานทางประวัติศาสตร์ยาวนาน ท�ำให้ สันนิษฐานได้ว่า ราชบุรีเป็นหัวเมืองที่เจริญรุ่งเรืองมากแห่งหนึ่ง ของแคว้นสุวรรณภูมิ มาตั้งแต่สมัยที่พระเจ้าอโศกมหาราชแห่งอินเดีย ได้เผยแผ่พุทธศาสนาเข้ามาในดินแดน แถบนี้ เมื่อราวปี พ.ศ. 218 โดยแคว้นสุวรรณภูมิ มีศูนย์กลางการปกครองอยู่ที่นครปฐม หรือที่สมัยนั้นเรียกกันว่า “ทวารวดี” ใน สมัยนั้นราชบุรียังเป็นแหล่งพบปะของพ่อค้าวาณิช แต่ครั้งโบราณ ทั้งยังเป็น เมืองหน้าด่านที่ติดต่อกับพม่า ราชบุ รี จึ ง เป็ น ดิ น แดนที่ มี ห ลากหลาย ชาติ พั น ธุ ์ แ ละกลุ ่ ม ชนมากที่ สุ ด แห่ ง หนึ่ ง ซึ่งกลุ่มชนใดที่มาตั้งถิ่นฐานแล้วก็จะน�ำพระพุทธศาสนามาเป็นที่พึ่งทางใจด้วย จึงเป็นเรื่อง ที่น่าภาคภูมิใจยิ่งที่จังหวัดราชบุรี เมืองแห่งพระราชานี้ ยังเป็นเมืองที่มั่นคงในบวรพระพุทธ ศาสนาอย่างแน่นแฟ้น โดยในปัจจุบนั ทีม่ วี ดั ในจังหวัดราชบุรซี งึ่ มีพระสงฆ์จำ� พรรษาอยูม่ ากถึงจ�ำนวน 422 วัด แบ่งเป็น มหานิกาย 384 วัด ธรรมยุต 37 วัด และ จีนนิกาย อนัมนิกาย 1 วัด ส�ำหรับ พระอารามหลวง 8 วัด แบ่งเป็น มหานิกาย 5 วัด ธรรมยุต 3 วัด วัดราษฎร์ 414 วัด แบ่งเป็น มหานิกาย 379 วัด ธรรมยุต 34 วัด และ อนัมนิกาย 1วัด จ�ำนวนพระภิกษุและสามเณรในจังหวัดราชบุรี มีพระภิกษุทั้งหมด 5,452 รูป แบ่งเป็น มหานิกาย 5,113 รูป และธรรมยุต 339 รูป สามเณร 1,003 รูป แบ่งเป็น มหานิกาย 979 รูป และ ธรรมยุต 24 รูป RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
6
.indd 33
33
6/9/2561 17:06:13
TRAVEL GUIDE
บันทึกเส้นทางท่องเที่ยวจังหวัดราชบุรี
Travel guide
RATCHABURI
เวลาอั น มี ค ่ า ของคุ ณ ฝากความสุ ข และความทรงจ� ำ อั น ประทั บ ใจไว้ ใ นบั น ทึ ก ...ราชบุ รี ท่องแดนพระราชา ศรัทธาในบุญ อิ่มอุ่นใจ กับ 20 สถานที่ท่องเที่ยวในจังหวัดราชบุรี สัมผัสสีสันของธรรมชาติ อันหลากหลามมุมมอง สงบเย็นกับพระธรรมจากพระสุปฏิปันโน ในวัดกว่า 422 วัด และพักผ่อน ในรมณียสถาน โรงแรม รีสอร์ท บ้านพักที่มีให้เลือกครบครัน รับประทานอาหารอร่อยๆ พื้นบ้านราชบุรี แล้วสูดอากาศบริสุทธิ์ในไร่ปลอดสารพิษ
เขาแก่นจันทร์ หรือ เขาจันทร์แดง ยอดเขา ที่สูงที่สุดของจังหวัดราชบุรี มีความสูงประมาณ 141 เมตร เป็นจุดชมวิวชั้นดี สามารถ มองเห็น ตัวเมืองราชบุรี ได้แบบ 360 องศา
34
SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี
.indd 34
10/9/2561 11:53:26
“กราบพระสี่มุมเมือง”
เขาแก่นจันทร์
บนยอดเขาแก่นจันทร์ มีวิหารประดิษฐาน พระพุทธนิโรคันตรายชัยวัฒน์จตุรทิศ หรือ ที่ชาวบ้านเรียกว่า “พระสี่มุมเมือง”
RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 35
35
10/9/2561 11:53:28
36
SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี
.indd 36
10/9/2561 11:53:36
กราบพระอริยสงฆ์ทั่วไทย
อุ ท ยานหุ่ น ขี้ ผึ้ ง สยาม
ทัศนาศูนย์รวมหุ่นขี้ผึ้งพระสุปฏิปันโน บูรพาจารย์ที่งดงามยิ่ง ภายในกุฏิพระสงฆ์ ประดิ ษ ฐานหุ ่ นขี้ ผึ้ ง จ� ำ ลองพระอริ ย สงฆ์ อาทิ สมเด็ จ พระพุ ฒาจารย์ (โต พรหมรัง สี), สมเด็จพระสังฆราช, ครูบาศรีวชิ ยั สิรวิ ชิ โย, หลวงปูแ่ หวน สุจณ ิ โณ, พระอาจารย์มนั่ ภูรทิ ตั โต, หลวงปูเ่ หรียญ วรลาโภ, พระราชมุนสี ามีรามคุณปู มาจารย์ (หลวงปูท่ วด), พระครูวสิ ยั โสภณ (พระอาจารย์ทิม ธัมมธโร) เป็นต้น สัมผัสบรรยากาศร่มรื่น ในสวนพฤกษชาติกว้างใหญ่ถึง 42 ไร่ ของอุทยานหุ่นขี้ผึ้งสยาม ใน ต.วังเย็น อ.บางแพ จ.ราชบุรีที่เกิดขึ้นจากความตั้งใจ ของท่านผู้ก่อตั้งซึ่งมีรากฐานการเริ่มต้นของงานมาจากงานหล่อพระพุทธรูป งานหล่อ ประติ ม ากรรมรู ป ต่ างๆ นั บจากอดี ต จนสู ่ ป ั จ จุ บั น เป็ นระยะเวลากว่า 40 ปีที่ผ่า นมา ด้วยความเชื่อมั่นในการท�ำความดี ความศรัทธาในบุคคล ก�ำลังใจจากครูอาจารย์ เพื่อนมิตร และครอบครั ว ท� ำ ให้ โครงการอุ ท ยานหุ ่ นขี้ ผึ้ ง ได้ มี โอกาสเป็ นส่วนหนึ่ง ของสัง คมไทย นับแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เพื่อสืบทอดสิ่งดีงามเอกลักษณ์ ของไทยให้คงอยู่สืบต่อชนรุ่นหลัง
RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 37
37
10/9/2561 11:53:44
38
SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี
.indd 38
10/9/2561 11:53:58
RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 39
39
10/9/2561 11:54:03
หินงอก หินย้อย ถ�้ำร้อน ถ�้ำเย็น
ท่องถ�้ำด�ำดิน วัดถ�ำ้ สาริกา ความงดงามเหนือค�ำบรรยาย วั ด ถ�้ ำ สาริ ก า เป็ น ถ�้ ำ ที่ มี ค วามงดงาม เหนือค�ำบรรยายมีหินงอก หินย้อยสวยงาม ภายในเป็นห้องโถงใหญ่ แล้วแยกเป็นถ�้ำร้อน ถ�้ ำ เย็ น มี ป ระวั ติ ย าวนานตั้ ง แต่ ส มั ย สมเด็ จ พระเจ้าตากสินมหาราช ครั้งหนึ่งพระองค์ทรง แวะพักพร้อมไพร่พล หากเราเดินทางไปเที่ยว ก็ จ ะได้ สั ม ผั ส บรรยากาศแห่ ง ประวั ติ ศ าสตร์ จนถึงปัจจุบันขณะ เดิมถ�้ำมีชื่อว่า “ถ�้ำตีเหล็ก” เพราะเป็นสถานทีต่ เี หล็กของชาวบ้านในสมัยก่อน และการเปลี่ ย นชื่ อ ก็ เ พราะชาวบ้ า นสมั ย นั้ น เข้าไปในถ�้ำ และพบเห็นนกสาริกาอยู่หลายคู่ จึงเปลีย่ นชือ่ มาเป็น “ถ�ำ้ สาริกา” ส�ำหรับบริเวณ ทางขึ้ น มี พ ระสั ง กั จ จายน์ และพระสี ว ลี ให้ พุทธศาสนิกชนกราบไหว้บูชา ตั้งจิตอธิษฐาน จากการทีเ่ ป็นส�ำนักสงฆ์มาก่อน จึงมีผแู้ วะเวียน มาปฏิบัติธรรมอยู่เป็นประจ�ำ ต่อมาจึงได้รับ อนุญาตให้เป็นวัดถ�้ำสาริกา เมื่อปี พ.ศ. 2530 เงียบสงบเหมาะแก่การปฏิบัติธรรม
อีกหนึ่งวัดถ้ามีโอกาสมาเที่ยวที่จังหวัดราชบุรี ควรหาเวลา และมาเที่ยวในอ�ำเภอโพธาราม เพื่อมากราบไหว้พระ สักการะพระสังกระจายและพระสีวรี ณ วัดถ�้ำสาริกา
วัดถ�้ำสาริกา สถานที่ตั้ง : หมู่ที่ 8 ต� ำ บลธรรมเสน อ� ำ เภอโพธาราม จั งหวั ด ราชบุ รี
40
SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี
.indd 40
10/9/2561 11:54:08
RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 41
41
10/9/2561 11:54:10
“ถ�้ำเขาบิน” ต.หินกอง อ.เมือง ถ�้ำเขาบิน อยู่ในเขตป่าสงวนแห่งชาติ ได้ชื่อมาจากต�ำนานที่เล่าว่า มีพ่อค้าชาวจีน แล่นเรือส�ำเภาใหญ่ผา่ นมา เรือเกิดชนหัวเขาด้านหนึง่ บิน่ ไป เขาบินก็เลยถูกสันนิษฐานว่า เรียกเพี้ยนมาจากเขาบิ่น บ้างก็สันนิษฐานว่า มาจากเอกลักษณ์ภายในห้องๆ หนึ่งของถ�้ำ ซึ่งมีลักษณะหินย้อยสีขาวหม่นยื่นออกมาเหมือนนกเขาก�ำลังกระพือปีกเหมือนก�ำลัง จะบินจึงได้ชอื่ ว่า “เขาบิน” เขาบินมียอดสูงจากระดับน�ำ้ ทะเลประมาณ 272 เมตร ภายในถ�ำ้ ประดับไฟท�ำให้เห็นความสวยงาม ของหินงอก หินย้อย ได้อย่างชัดเจน สวยงามตลอดปี และยังคงเป็นแหล่งท่องเทีย่ วทางธรรมชาติทมี่ คี วามสวยงามยิง่ อยูใ่ นเขตป่าสงวนแห่งชาติ
ถ�้ำเขาบิน เปิดบริการ : 8.00-16.00 น. ทุ กวั น พร้ อ มสิ่ ง อ� ำ นวยความสะดวก อาทิ บ้านพักส�ำหรับนักท่องเที่ยว, ร้านอาหาร, ร้า นสิ นค้ า พื้ นเมื อ ง, สนามเด็ กเล่ น และ แคมป์ ไฟลูกเสือเนตรนารี สอบถามเพิ่มเติด ได้ ที่โทรศั พท์ : 032-391-397
42
SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี
.indd 42
10/9/2561 11:54:15
RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 43
43
10/9/2561 11:54:17
แหล่งท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติ
ท่องแดนโบราณคดี “อุทยานหินเขางู” ทะเลสาบที่ตั้งอยู่กลางหุบเขา อุทยานหินเขางู ตั้งอยู่ที่ต�ำบลเกาะ พลับพลา อ�ำเภอเมือง ห่างจากตัวจังหวัด ราชบุรี 8 กิโลเมตร แต่เดิมเป็นแหล่ง ระเบิดและย่อยหินที่ส�ำคัญของไทยตั้งแต่ สมัยต้นรัตนโกสินทร์ และยังเป็นศาสน สถานอันเก่าแก่อีกด้วย ต่อมา ได้มีการ ยกเลิกสัมปทานการระเบิดและย่อยหิน ที่บริเวณนี้ไป หลังจากยกเลิกสัมปทาน ทางจังหวัดราชบุรีจึงได้พัฒนาเขางูให้เป็น สวนสาธารณะและสถานที่ท่องเที่ยวทาง โบราณคดี มีพระพุทธรูปหินขนาดใหญ่ เต็ ม พื้ น ที่ ห น้ า ผา สร้ า งจากการยิ ง แสง เลเซอร์ลงหน้าผาหิน มีถ�้ำฤาษีที่อยู่บน ภูเขา ถ�้ำฝาโถ และ ถ�้ำจีน-จาม แต่ละถ�้ำ อยู่ไม่ไกลกัน อุทยานหินเขางู เพิง่ เปิดเป็นแหล่งท่อง เที่ยวได้ไม่กี่ปี ผู้คนจึงไม่ค่อยพลุกพล่าน แต่ก็มีมาเรื่อยๆไม่ได้เงียบเหงา ก�ำลังรอ ให้ทุกท่านเข้าไปสัมผัส ถ่ายรูป เช็คอิน เล่าให้เพือ่ นว่าเรามาแล้ว...และด้วยเป็นเขต อภัยทาน บริเวณรอบๆ จึงมีฝงู ลิงอาศัยอยู่ เป็นจ�ำนวนมาก และทีถ่ ำ�้ เขางูแห่งนีม้ งี าน นมัสการเป็นประจ�ำทุกปี ในวันขึ้น 1 ค�่ำ เดือน 11 ของทุกปี
44
ช่วงเวลาแนะน�ำ : ได้ทุกฤดู ฤดูท่องเที่ยวที่แนะน�ำคือ ฝนและหนาว ส�ำหรับฤดูร้อนตอนกลางวันที่นี่อากาศค่อนข้างร้อนจัดเพราะเป็น ภูเขาหินปูน ต้นไม้จะแห้งเปลี่ยนสี ไม่ร่มรื่น แต่ในช่วงเย็นของหน้าร้อน ที่นี่ลมจะดีมากเหมาะแก่การออกก�ำลังกายในตอนเย็น
อุทยานหินเขางู สถานที่ ตั้ง : ต� ำ บลเกาะพลั บ พลา อ� ำ เภอเมื อง จั ง หวั ด ราชบุ รี
SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี
.indd 44
10/9/2561 11:54:20
RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 45
45
10/9/2561 11:54:22
.indd 46
10/9/2561 11:54:29
พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวรเปล่งรัศมีสลักจากหินทราย ไม่มีเศียร ขุดพบจากบริเวณสระโกสินารายณ์ อ.บ้านโป่ง
ศิลปะขอมแบบบายน 1 ใน 5 องค์ที่ขุดพบในประเทศไทย พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติราชบุรี ...มีอะไรดีๆ น่าเรียนรู้
พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวรเปล่งรัศมี เป็นรูปเคารพ ส�ำคัญของลัทธิ “โลเกศวร” ซึ่งแตกออกมาจาก ศาสนาพุทธนิกายวัชรยานตันตระ เป็นคติที่นิยม เฉพาะในช่วงสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 เท่านั้น เขาถือพระโลกเกศวรเปล่งรัศมีว่า
“พระองค์เป็นประหนึ่งวิญญาณของจักรวาล ที่ได้เปล่งประกายสารัตถะแห่งการช่วยเหลือสัตว์ โลก ให้หลุดพ้นจากภาวะทั้งปวง และ ความรอบรู้ ชั้นสูงสุดยอดที่จะเผยแผ่ให้คงอยู่ได้ยาวนานตลอดไป ด้วยจ�ำนวนมากมายที่มีอยู่ของบรรดาพระพุทธองค์ ทั้งหลายอันอยู่รอบพระวรกาย”
พิพธิ ภัณฑสถานแห่งชาติราชบุรี ตัง้ อยูร่ มิ ถนนวรเดช ต�ำบลหน้าเมือง ใกล้กบั หอนาฬิกา ริมแม่น�้ำแม่กลอง สร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 6 เมื่อ พ.ศ.2465 จัดแสดงเกี่ยวกับราชบุรี ในด้านประวัตศิ าสตร์ โบราณคดี ชาติพนั ธุว์ ทิ ยา ธรณีวทิ ยา ศิลปะพืน้ บ้าน เครือ่ งมือเครือ่ งใช้ ในการจับสัตว์น�้ำ วัฒนธรรมความเป็นอยู่ของกลุ่มชนต่างๆ ในจังหวัดราชบุรี เช่น ลาวโซ่ง กะเหรี่ยงและไท-ยวน รวมทั้งแหล่งท่องเที่ยวต่างๆ ในจังหวัด โบราณวัตถุที่โดดเด่น นอกจากพระแสงดาบราชศัสตราประจ�ำมณฑลราชบุรแี ล้ว ยังมีพระโพธิสตั ว์อวโลกิเตศวร เปล่งรัศมี ศิลปะขอมแบบบายน เป็น 1 ใน 5 องค์ที่ขุดพบในประเทศไทยซึ่งมีสภาพสมบูรณ์ งดงามที่สุด เปิดให้เข้าชมทุกวัน : ตั้งแต่เวลา 09.00-16.00 น. ปิดวันจันทร์ วันอังคาร และวันหยุดนักขัตฤกษ์ สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม : โทรศัพท์ 0-3232-1513
RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 47
47
10/9/2561 11:54:33
ตั้ ง อยู ่ ใ นพื้ น ที่ ศู น ย์ ศึ ก ษาพรรณไม้ ป ่ า สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ อยู่บริเวณบ้านห้วย ม่ ว งบนเทื อ กเขาตะนาวศรี ในเขตป่ า สงวน แห่งชาติ เป็นแหล่ง รวมพรรณไม้ปา่ นานาชนิด และยังมีเส้นทางศึกษาธรรมชาติ ภายในสวนป่า มีสวนหย่อม ศูนย์จ�ำหน่ายเครื่องเซรามิคจาก คนในบริเวณหมูบ่ า้ น มีเนือ้ ที่ ประมาณ 3,000 ไร่ เป็นสวนป่าสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ จัดสร้าง ขึ้ น เพื่ อ เฉลิ ม พระเกี ย รติ ส มเด็ จ พระนางเจ้ า สิ ริ กิ ติ์ พระบรมราชิ นี น าถ เนื่ อ งในวโรกาส เจริ ญ พระชนมพรรษา 5 รอบ เป็ น ศู น ย์ ร วม พันธุ์ไม้นานาชนิด อันมีค่าทางเศรษฐกิจ และ เป็นแหล่งศึกษาทาง ธรรมชาติที่ดีเยี่ยม ทั้งยัง มีล�ำน�้ำภาชีไหลผ่านกระทบแก่งหินขนาดใหญ่ ที่ รู ้ จั ก กั น ในนาม “แก่ ง ส้ ม แมว” เข้ า ชมฟรี ต้องการกางเต็นท์นอนติดต่อเจ้าหน้าที่ พร้อม สิ่งอ�ำนวยความสะดวก : ร้านอาหาร เครื่องดื่ม เช่าห่วงยาง จะมีเฉพาะวันหยุดเสาร์-อาทิตย์, ห้องน�้ำ, ศูนย์จ�ำหน่ายเครื่องเซรามิคจากคนใน บริเวณหมู่บ้าน
แก่งส้มแมว
ศูนย์ศึกษาพรรณไม้ปา่ สมเด็จพระนางเจ้าสิรก ิ ต ิ ์ิ
.indd 48
10/9/2561 11:54:36
พิ ชิต “เขารอบพระ”
ณ อุ ท ยานแห่ ง ชาติ เ ฉลิ ม พระเกี ย รติ ไ ทยประจั น ท่องอุทยาน กับการเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงของธรรมชาติตลอดเวลา ท�ำให้นักท่องเที่ยว ได้ตื่นรู้ มีสติ ในการเดินทาง การท่องเที่ยวที่มากกว่าความเพลิดเพลิน คือดูแลรักษาใจ ไปด้วยกัน กับสวยงามใน อุทยานแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติไทยประจัน ตัง้ ขึน้ เนือ่ งในวโรกาส ที่สมเด็จพระนางสิริกิติ พระบรมราชินีนาถทรงมีพระชนมพรรษา 5 รอบ ในปี พ.ศ. 2535 และเพื่อสนองพระราชปณิธานที่ทรงอนุรักษ์ป่าไม้ให้กลับมาสมบูรณ์เช่นวันวาน เมื่อครั้ง ยังไม่ถูกท�ำลายเสียหายจากการสู้รบกับพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย ซึ่งก่อก�ำเนิด ขึ้ น ด้ ว ยความร่ ว มแรงร่ ว มใจจากคนไทยที่ มี ค วามรั ก ป่ า ไม้ แ ละธรรมชาติ อ ย่ า งแท้ จริ ง ครอบคลุมพืน้ ทีป่ ระมาณ 150,000 ไร่ เป็นเทือกเขาสูงสลับซับซ้อนวางตัวในแนวเหนือใต้อยู่ ทางด้านตะวันตกของจังหวัดราชบุรีจรดประเทศพม่า มียอดเขาสูงสุดชื่อ “เขายืด” หรือ “เขา พระรอบ” มีความสูงประมาณ 834 เมตรจากระดับน�้ำทะเลปานกลาง นับเป็นเทือกเขาป่า แม่ประจันและเป็นแหล่งต้นน�้ำของล�ำห้วยหลายสาย ซึ่งเป็นต้นก�ำเนิดของล�ำห้วยต่างๆ ที่ไหลลงสู่แม่น�้ำเพชรบุรี ลุ่มแม่น�้ำภาชี และแม่น�้ำกลอง
ก่อนขึ้นเขาหรือลงเขา อย่าลืม แวะสัน อ่ า งเก็ บ น�้ ำ ไทยประจั น สถานที่ พั ก ผ่ อ น ชมทิวทัศน์ที่นักท่องเที่ยวนิยมมากางเต็นท์ เล่ น น�้ ำ กั น อย่ า งจุ ใ จ เป็ น จุ ด เริ่ ม ต้ น การ อุ่นเครื่อง Warm Up การปีนเขาท่องเที่ยว ภายในอุทยานฯ แห่งนี้อีกด้วย โทรศัพท์ : 08 -7165 -3278 RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 49
49
10/9/2561 11:54:37
.indd 50
10/9/2561 11:54:48
“วัดหนังใหญ่” จึงกลายเป็นชื่อที่เรียกอย่างล�ำลองของวัดขนอนไปโดยปริยายอีกชื่อหนึ่ง ด้วยเหตุที่ว่าทางวัดเป็นเจ้าของตัวหนังใหญ่ 313 ตัว ตกทอดมาตั้งแต่สมัย หลวงปู่กล่อม ในสมัยรัชกาลที่ 5 ซึ่งแต่ละตัวล้วนแสดงฝีมือเชิงช่าง ในการแกะสลักตัวหนังอย่างวิจิตรบรรจง บัดนี้น�ำมาจัดแสดงเป็น พิพิธภัณฑ์หนัง ใหญ่ อยู่ที่เรือนไทยอันร่มรื่นภายในวัด
ความโล่งโปร่งสบายของเรือนไทย ช่วยรักษาตัวหนังใหญ่นับร้อยตัวไว้ให้คนรุ่นหลังได้ชม เรือนไทยอายุ 80 ปี ที่เป็นพิพิธภัณฑ์หนังใหญ่วัดขนอน
นอกจาก วัด จะเป็นสถานที่ ประกอบพิธีกรรมทางศาสนา และที่พ�ำนักของพระสงฆ์แล้ว “วัดขนอน” ยังมีชื่อเสียงในเรื่อง “หนังใหญ่” การแสดงชั้นสูง ของไทยตั้งแต่สมัยโบราณ
ดูหนังใหญ่ท่ี
“วั ด ขนอน”
หนังใหญ่ เป็นสมบัติทางวัฒนธรรมไทย ได้รับการยกย่องว่าเป็นการแสดงชั้นสูง เป็นการ แสดงที่รวมศิลปะที่ทรงคุณค่าหลายแขนงแสดงถึงอัจฉริยภาพของบรรพบุรุษไทยได้เป็น อย่างดี มีมาตั้งแต่สมัยสุโขทัย ส�ำหรับหนังใหญ่วัดขนอน รสร้างในสมัยพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ร.5) ผู้ริเริ่มในการแกะสลักตัวหนังคือ ท่านพระครูศรัทธาสุนทร (หลวงปู่กล่อม) ชุดแรกที่สร้างคือ ชุดหนุมานถวายแหวน ต่อมาได้สร้างเพิ่มอีกรวม 9 ชุด ปัจจุบันมีตัวหนัง 313 ตัว นับเป็นสมบัติวัดที่ได้ร่วมรักษาสืบทอดกันมาเป็นเพียงวัดเดียว ที่มีมหรสพ เป็นของวัด มีตัวหนัง และคณะหนังใหญ่ที่สมบูรณ์อยู่ในความอุปถัมภ์ของวัด ขนอนสืบทอดมาจนถึงทุกวันนี้ RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 51
51
10/9/2561 11:54:55
ใส่ บาตรยามเช้า
ตลาดน�้ ำ ด� ำ เนิ น สะดวก ตลาดน�้ ำ คลาสสิก ตลาดน�้ำด�ำเนิน สะดวก ในอ� ำ เภอด� ำ เนิ นสะดวก จั ง หวั ด ราชบุ รี เก่าแก่นับร้อยกว่าปีของไทยและมีชื่อเสียงไปไกลถึงต่างประเทศ ใช้เป็นฉากหนังหรือถ่าย แบบในหลายครั้ง จนเป็นหนึ่งในค�ำขวัญของราชบุุรี “คนสวยโพธาราม คนงามบ้านโป่ง
เมืองโอ่งมังกร วัดขนอนหนังใหญ่ ตื่นใจถ�้ำงาม ตลาดน�้ำด�ำเนิน เพลินค้างคาว ร้อยล้าน ย่านยี่สกปลาดี” ตลาดน�้ำด�ำเนินสะดวกเชื่อมไปถึง จังหวัดสมุทรสาคร และ จังหวัดสมุทรสงคราม ท�ำให้ประชาชนในสามจังหวัดติดต่อถึงกันโดยสะดวก เปิดตั้งแต่ 05.00-12.00 น. มีสินค้าให้เลือกซื้อมากมายทั้งของกิน ของใช้ และของที่ระลึก สินค้า หัตถกรรม ซึ่งเป็นที่นิยมของชาวต่างชาติ เป็นตลาดน�้ำที่มีมนต์ขลัง มีเสน่ห์ เป็นวิถีชีวิต อย่างแท้จริง ใกล้ ๆ ตลาดน�้ ำ ด� ำ เนิ น สะดวก วั น นี้ ตลาดน�้ ำ เหล่ า ตั๊ ก ลั ก ของชุ ม ชนชาวจี น ตั้ ง แต่ ครั้งเมื่อเริ่มขุดคลองด�ำเนินสะดวก เปิดแล้ว ซึ่งก็คือ ตลาดน�้ำด�ำเนินสะดวกดั้งเดิมนั่นเอง เป็นตลาดน�ำ้ ดัง้ เดิมแห่งแรกของจังหวัดราชบุรี (เหล่าตัก๊ ลัก ภาษาจีนแต้จวิ๋ แปลว่า ตลาดเก่า) มีน้อยคนที่จะทราบเรื่องนี้ว่า ต้นก�ำเนิด “ตลาดน�้ำด�ำเนินสะดวก” ที่มีชื่อเสียงโด่งดัง เป็นที่ รู ้ จั ก ของนั ก ท่อ งเที่ยวทั่วโลก มาจาก “ตลาดน�้ ำ ด� ำ เนิ นสะดวกปากคลองลั ด พลี ” หรื อ “เหล่าตั๊กลัก” แห่งนี้เอง ซึ่งตั้งอยู่บริเวณปากคลองลัดพลี ต.ด�ำเนินสะดวก อ.ด�ำเนินสะดวก จ.ราชบุรี และได้รับการฟื้นฟูให้กลับมามีชีวิตขึ้นอีกครั้ง ต้อนรับนักท่องเที่ยวทุกมุมโลก 52
จังหวัดราชบุรีเก่าแก่นับร้อยกว่าปีของไทยและมีชื่อเสียง ไปไกลถึงต่างประเทศ ใช้เป็นฉากหนังหรือถ่ายแบบ ในหลายครั้ง จนเป็นหนึ่งในค�ำขวัญของราชบุุรี
“คนสวยโพธาราม คนงามบ้านโป่ง เมืองโอ่งมังกร วัดขนอนหนังใหญ่ ตื่นใจถ�้ำงาม ตลาดน�้ำด�ำเนิน เพลินค้างคาวร้อยล้าน ย่านยี่สกปลาดี”
SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี
.indd 52
10/9/2561 11:55:01
วัดป่าพุทธาราม มีพระพุทธรูปหินแกะสลัก ขนาดใหญ่เป็นเนื้อเดียวกับตัวถ�้ำสวยงามเป็น อย่างมาก บรรยากาศวัดเงียบสงบร่มรื่นด้วย พืชพรรณนานาชนิด เหมาะแก่การปฏิบัติธรรม ภายใน “ถ�ำ้ สติ” มีลกั ษณะเป็นห้องโถงขนาดใหญ่ ทีร่ ายล้อมไปด้วยศิลปะภาพวาดจิตรกรรมฝาผนัง ด้วยสีน�้ำมัน และพระพุทธรูปจ�ำนวนมาก แต่ ที่เด่นเป็นจุดสนใจคือ พระพุทธรูปปางธัมมจัก กัปปวัตนสูตร ที่แกะสลักจากหินแบบนูนสูง ลอยออกมาจากซุ้มถ�้ำแกะสลัก เป็นศิลปะร่วม สมัยแบบทวารวดีผสมกับรัตนโกสินทร์ ส่วน บริ เ วณพระบาทวางประทั บ บนดอกบั ว บาน น�ำแบบมาจากหลวงพ่อขาว วัดพระปฐมเจดีย์ จ.นครปฐม โดยพระพุ ท ธรู ป หิ น แกะสลั ก นี้ มีพระนามว่า พระพุทธะมหาคันธาราช หรือ พระนั่ ง เมื อ งแก้ ว เป็ น พระพุ ท ธรู ป หิ น แกะ สลั ก แบบลอยตั ว ติ ด กั บ ตั ว ถ�้ ำ แห่ ง แรกของ ประเทศไทย
ตั้งอยู่ ณ บ้านห้วยตาบุญจันทร์ หมู่ 9 ต�ำบลนางแก้ว อ�ำเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี
ฝึกความรู้ตัว
“ถ�ำ้ สติ” พระนั่งเมืองแก้ว (วัดป่าพุ ทธาราม)
RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 53
53
10/9/2561 11:55:06
กราบพระสี่มุมเมืองบน
“เขาแก่นจันทร์” (เขาจันทร์แดง) เขาแก่นจันทร์ เดิมชื่อ เขาจันทร์แดง ตั้ ง อยู ่ ริ ม ถนนเพชรเกษม ห่ า งจากตั ว จังหวัดประมาณ 2 กิโลเมตร มีความสูง ประมาณ 141 เมตร มีถนนตัดขึ้นไปถึง ยอดเขา บนยอดมี วิ ห ารประดิ ษ ฐาน พระพุ ท ธนิ โ รคั น ตรายชั ย วั ฒ น์ จ ตุ ร ทิ ศ หรือ ที่ชาวบ้านเรียกว่า “พระสี่มุมเมือง” เป็นพระ 1 ใน 4 องค์ที่พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึน้ แล้วพระราชทานไปประดิษฐาน ไว้ ณ เมืองต่างๆ สี่เมืองได้แก่ ราชบุรี ล�ำปาง สระบุรี และพัทลุง ด้านบนสามารถ มองเห็นวิวทิวทัศน์ตัวเมืองราชบุรี บริเวณเชิงเขาเป็นที่ตั้งของพระบรม ราชานุ ส าวรี ย ์ พ ระบาทสมเด็จพระพุทธ ยอดฟ้ า จุ ฬ าโลกมหาราช รั ช กาลที่ 1 ชาวราชบุรีได้พร้อมใจกันสร้างในโอกาส ฉลองกรุง รั ตนโกสินทร์ 200 และสร้าง เป็ น สวนสาธารณะจั ก รี อ นุ ส รณ์ ส ถาน เปิดเข้าชม : 07.00-18.00 น. (ทุกวัน) ฟรี บนยอดเขาแก่ น จั น ทร์ สามารถน� ำ รถ ส่วนตัวขึ้นไปได้ ยกเว้นรถ 6 ล้อขึ้นไป เพราะทางแคบชันและโค้งหักศอก
54
SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี
.indd 54
10/9/2561 11:55:10
RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 55
55
10/9/2561 11:55:18
ช่วงเวลาแนะน�ำ : หลวงตาที่เฝ้าถ�้ำ แนะน�ำว่า “แสงจะส่องลงมาตรงพระพุทธรูปพอดีอยู่ในช่วงเวลา 13.15 น.ของทุกวัน” (แต่บางข้อมูลก็บอกว่า ช่วง 14.00-14.30 น.) และจะสวยมาก ในช่วงเดือน เมษายนและเดือนสิงหาคมของทุกปี
56
SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี
.indd 56
10/9/2561 11:55:24
เที่ยวถ�ำ้ ผาวิจิตร ถ�้ำจอมพล ถ�้ ำ จอมพล เป็ น นามที่ พ ระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล้ า รั ช กาลที่ 5 พระราชทาน ในคราวทีเ่ สด็จประพาสถ�ำ้ ด้วย ทรงจินตนาการ ว่ า หิ น ย้ อ ย ภายในถ�้ ำ ที่ เ รี ย กว่ า “ผาวิ จิ ต ร” มี ลั ก ษณะเป็ น ริ้ ว ไหมคล้ า ยอิ น ทรธนู บ นบ่ า ของทหารยศจอมพลในสมั ย ก่ อ น แต่ เ ดิ ม ถ�้ ำ จอมพล มี ชื่ อ เรี ย กกั น ว่ า “ถ�้ ำ มุ จ ริ น ทร์ ” อากาศข้างในถ�้ำจอมพลไม่ร้อน เพราะบริเวณ กลางถ�้ำจอมพลมีปล่องจึงท�ำให้อากาศถ่ายเท ภายในถ�้ำมีหินงอกหินย้อยวิจิตรงดงามชวนชม อยู ่ หลายแห่ ง ซึ่ ง บางแห่ง ก็คล้ายฉากละคร ในขณะที่ บ างจุ ด ก็ มี รู ป ทรงคล้ า ยตุ ๊ ก ตาหิ น และบัลลังก์ หินงอกหินย้อยที่มีความเด่นและ สวยงาม จนมีผู้ตั้งชื่อเรียกให้ อาทิ “ธารศิลา” “สร้อยระย้า” “แส้จามรี” “ท้องพระโรง” “ประ สิทธิเทวา”และ “เกศาสลวย” ถ�้ำจอมพล ตั้งอยู่ที่ต�ำบลจอมบึง อ�ำเภอ จอมบึง ในบริเวณสวนรุกชาติจอมพล ห่างจาก ตัวเมืองราชบุรีประมาณ 30 กิโลเมตร เป็น สถานที่ ท ่ อ งเที่ ย วที่ ส� ำ คั ญ ของจั ง หวั ด ราชบุ รี ในอดีตมีพระมหากษัตริย์หลายพระองค์ทรง ประพาสและทอดพระเนตรถ�้ำจอมพลนี้เริ่ม ตั้ ง แต่ พ ระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 5 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎ เกล้ า เจ้ า อยู ่ หัว รั ช กาลที่ 6 พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชรัชกาลที่ 9 และ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทร เทพยวรางกูร รัชกาลที่ 10
RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 57
57
10/9/2561 11:55:26
.indd 58
10/9/2561 11:55:35
จากประสบการณ์และความรัก ในการท�ำตุ๊กตามากกว่า 30 ปี
สู่ การสร้างสรรค์ “สุนทรีย์แลนด์ แดนตุ๊กตา” ดินแดนแห่งความฝันของคนรักตุ๊กตา เมืองตุ๊กตา ครอบครัวหมีอารมณ์ดี ยินดีต้อนรับทุกคน
ขอขอบคุณ www.เที่ยวราชบุรี.com www.paiduaykan.com
ขอเชิ ญ นั ก ท่ องเที่ ยวก้ าวสู ่ ดิ นแดนแห่ ง ความฝั นและจิ นตนาการของคนรักตุ๊กตา ด้วยความรักในการท�ำตุก๊ ตามายาวนานกว่า 30 ปี สูก่ ารสร้างสรรค์ ‘สุนทรีแลนด์ แดนตุก๊ ตา’ ที่นี่มีการจ�ำลองบรรยากาศต่างๆ จากทั่วทุกมุมโลกมารวมกับตุ๊กตาน่ารักๆ ของสุนทรี เพื่อเติมเต็มจินตนาการและความสุขให้ผู้ที่มาเยือน เพลิดเพลินกับการเล่าเรื่องบนถ่ายภาพ ทั้งแชร์และ Live สด ไปกับเหล่าตุ๊กตาในบรรยากาศจ�ำลองจากทั่วโลก สนุกกับการท�ำตุ๊กตา ด้ ว ยตนเอง จิ บ กาแฟ และ รั บ ประทานอาหารอร่ อยๆ นานาชาติ และเลือกซื้อตุ๊กตา หลากหลายรูปแบบจากโรงงานที่ผลิตเอง
RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 59
59
10/9/2561 11:55:43
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดมหาธาตุวรวิหาร พระธรรมปัญญาภรณ์ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
วั ด มหาธาตุ ว รวิ ห าร ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 7 ถนนเขางู ต�ำบลหน้าเมือง อ�ำเภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดวรวิหาร สันนิษฐานว่าแรกสร้างขึน้ ตัง้ แต่ สมัยทวารวดี ราวพุทธศตวรรษที่ 13 ต่อมา ในราวพุทธศตวรรษที่ 18 วัฒนธรรมเขมร จากราชอาณาจักรกัมพูชาได้แพร่เข้าสูด่ นิ แดน ราชบุ รี จึ ง ได้ มี ก ารก่ อ สร้ า งและดั ด แปลง ศาสนสถานกลางเมืองราชบุรีขึ้นเป็นปรางค์ (ปราสาท) และสร้างก�ำแพงศิลาแลงล้อมรอบ เพื่อให้เป็นศูนย์กลางของบ้านเมือง ตามคติ ความเชื่ อ เรื่ อ งภู มิ จั ก รวาลของเขมรใน 60
สมัยนัน้ ต่อมาในสมัยอยุธยายุคต้น ราวพุทธ ศตวรรษ ที่ 20 – 21 ได้รื้อปราสาทขอมไป สร้างพระปรางค์ขึ้นด้านหลังที่ตั้งเดิม และ สร้างปรางค์บริวาร 3 องค์บนฐานเดียวกัน ต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จ พระพุทธ เลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ 2 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ย้ายตัว เมืองราชบุรี จากฝั่งตะวันตก ของแม่น�้ำ แม่กลอง มายังฝั่งตะวันออก ซึ่งเป็นค่าย ภาณุรงั ษี ปัจจุบนั ดังนัน้ วัดมหาธาตุจงึ กลาย เป็นวัดร้าง ไม่มีพระสงฆ์จ�ำพรรษา ต่อมา ในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระนัง่ เกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 3 พ.ศ. 2338 หลวงพ่อบุญมา ได้
เดินธุดงค์มาเห็นวัดนี้มีสถานที่ร่มรื่น เหมาะ แก่การปฏิบตั ธิ รรม จึงได้ขอความร่วมมือจาก พุทธศาสนิกชนช่วยกันปัดกวาดซ่อมแซม เสนาสนะต่างๆ วัดมหาธาตุ จึงได้กลับมา เป็นวัดมีพระสงฆ์ และเป็นวัดศูนย์กลางของ เมืองราชบุรีจนถึงปัจจุบัน โบราณสถานที่ส�ำคัญในวัด 1. พระปรางค์ ประกอบด้ ว ยปรางค์ ประธาน และปรางค์บริวาร 3 องค์ ศิลปะ อยุธยายุคต้น เป็นทีบ่ รรจุพระบรมสารีรกิ ธาตุ ทีฐ่ านปรางค์ประธานส่วนบนแล้วประดิษฐาน พระพุ ท ธรู ป ณ จุ ด นั้ น เพื่ อ มิ ใ ห้ ผู ้ ใ ดไป เหยีบย�่ำ
SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี
.indd 60
9/9/2018 9:05:09 PM
และหลวงพ่อ บุญมา ปฐมเจ้าอาวาส พร้อมด้วย ทายก ทายิกาได้บูรณะขึ้นใหม่ จนมีสภาพ สมบูรณ์จนถึงปัจจุบัน พระอุโบสถหลังนี้ ฐานเป็นศิลปะอยุธยา (อ่อนเป็นรูปส�ำเภา) หลังคาเป็นรัตนโกสินทร์ยุคต้น
2. ระเบียงคด เป็นอาคารเก็บพระพุทธรูป โดยทีว่ ดั มหาธาตุ เป็น วัดประจ�ำเมือง เมือ่ เมือง ราชบุรยี า้ ยข้ามฝัง่ แม่นำ�้ แม่กลองไป วัดต่างๆ จึงได้ร้างไป ยกเว้นวัดมหาธาตุ ซึ่งหลวงพ่อ บุญมาได้มาบูรณะ ต่อมาได้รวบรวมพระพุทธรูป จากวัดร้างต่ างๆ มาเก็บไว้ ณ วัดมหาธาตุ ดังนั้น พระพุทธรูปในระเบียงคดจึงหลาก หลายศิลปะ มีทงั้ ศิลปะทวารวดี เขมร สุโขทัย ลพบุรี อยุธยา และรัตนโกสินทร์
สีเ่ หลีย่ มจัตรุ สั ต่อมาเขมรยุคปลาย ได้เปลีย่ น ทับหลังก�ำแพงจากปาลารี หรือบาลี (ปลาย หอก) มาเป็นพระแผง ครัน้ ถึงสมัยอยุธยา ได้ ขยายบริเวณปรางค์เป็นรูปสีเ่ หลีย่ มผืนผ้า ดังนัน้ ก�ำแพงจึงเป็น 2 ยุค คือ ครึ่งท่อนหน้าเป็น เขมร ครึ่งท่อนหลังเป็นอยุธยา
5. มณฑป เป็นทีป่ ระดิษฐานพระพุทธบาท จ�ำลอง สร้างด้วยหินทราย สีชมพู พระมณฑป หลังนี้สันนิษฐาน ว่าสร้างขึ้นในสมัยสมัยต้น รัตนโกสินทร์ 3. พระวิหารหลวง สร้าง ณ ต�ำแหน่งที่ เป็นปราสาทขอมเดิม มีความยาว 9 ห้อง มี มุขเด็จ เป็นทีป่ ระดิษฐานพระพุทธรูปปูนปัน้ สมัยอยุธยายุคต้น เรียก “พระมงคลบุรี และ พระศรีนัคร์” เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย ประทับนั่งหั นพระปฤษฎางค์(หลัง)ชนกัน นอกจากเป็นทีส่ กั การะประจ�ำเมืองแล้ว ยังขอ อาราธนาให้ช่ วยระวังหน้าระวังหลัง ตาม ความเชื่อของคนในสมัยนั้น 4. ก�ำแพงพระป รางค์ สร้างมาแต่สมัย เขมรยุคต้น ล้ อมปรางค์(ปราสาท) มีผังรูป
6. พระอุโบสถ สร้างมาตัง้ แต่สมัยอยุธยา ยุ ค ต้ น ต่ อ มาหลั ง คาพั ง ลง เนื่ อ งมาจาก วัดมหาธาตุได้เคยร้างไปช่วงหนึง่ ตอนย้ายเมือง
7. เจดีย์แถว อยู่ด้านหน้ามณฑป เดิมมี 8 องค์ ถูกรื้อถอนไป 3 องค์ ถูกดัดแปลงไป 1 องค์ สันนิษฐานว่าเป็นเจดีย์บรรจุอัฐิของ บุคคลส�ำคัญของเมืองราชบุรี เพราะเป็นเจดีย์ ใหญ่กว่าเจดีย์บรรจุอัฐิของคนทั่วไป และมี รูปทรงล้อลักษณะเจดีย์ยุคสุโขทัย
8. เจดียห์ มายท่า (ท่าน�ำ้ ) แม่นำ�้ แม่กลอง ทางตอนเหนื อ เมื อ งราชบุ รี ขึ้ น ไป เมื่ อ ถึ ง ฤดูแล้ง น�้ำจะน้อย ตลิ่งจะสูง และปกคลุม ด้วยวัชพืช (มีไว้เพือ่ ป้องกันตลิง่ พัง) ผูท้ สี่ ญ ั จร ทางเรือโดยเฉพาะคนต่างถิน่ จะมองไม่เห็นวัด เขาจึงนิยมสร้างเจดียไ์ ว้ทที่ า่ น�ำ้ วัด เพือ่ เป็นที่ สังเกตโดยเฉพาะวัด ที่ส�ำคัญ และปัจจุบันก็ เหลืออยู่ 3 วัด คือ 1. วัดมหาธาตุวรวิหาร (อยู่ ข้างศาลแป๊ะกง) 2. วัดช่องลม พระอารามหลวง อยู่ข้าง โรงสูบน�้ำ 3. วัดโพธิ์เขียว(ร้าง) บ้าน ท่าแจ่ ติดต่อสอบถามได้ที่ ส�ำนักงานวัดมหาธาตุวรวิหาร ราชบุรี โทร.0 3233 7437, 08 3134 4140 RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 61
61
9/9/2018 9:05:23 PM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
“
พระธาตุบัวทอง
”
วัดโสดาประดิษฐาราม พระครูเกษมขันติคุณ (สมบูรณ์ รัตนพิทักษ์) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
วัดโสดาประดิษฐาราม ตั้งอยู่ในต�ำบล เขาแร้ง อ�ำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี ปัจจุบันมี พระครูเกษมขันติคณ ุ (สมบูรณ์ รัตนพิทกั ษ์) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส วัดโสดาประดิษฐาราม ต.เขาแร้ง อ.เมือง จ.ราชบุ รี ประวั ติ ค วามเป็ น มาของวั ด คื อ ราษฎรผู้ศรัทธาในตัวหลวงพ่อโสดา ซึ่งเป็น พระที่ ถู ก กวาดต้ อ นมาจากเวี ย งจั น ทน์ ในสมัยรัชกาลที่ 1 มีชาวบ้านศรัทธาได้ถวาย ที่ ดิ น เพื่ อ สร้ า งวั ด ซึ่ ง สถานที่ เ ดิ ม แห่ ง นี้ เรียกว่า “หนองโสน” หลังจากนั้นชาวบ้าน 62
เห็ นว่ า ชื่ อวั ด นั้ น สมควรจะเปลี่ ย นในนาม ของหลวงพ่อก็เลยเปลี่ยนชื่อเป็น “วัดโสดา ประดิษฐาราม” เมื่อหลวงพ่อโสดามรณภาพ ลง ได้มเี จ้าอาวาสหลายรูปดูแลวัด จนกระทัง่ มาถึ ง พระครู เ กษมขั น ติ คุ ณ เจ้ า อาวาสรู ป ปัจจุบัน มีความศรัทธาในพระพุทธศาสนา ได้อนุรกั ษ์ประเพณีทสี่ บื ทอดมานานของชาว ต�ำบลเขาแร้ง อ�ำเภอเมืองราชบุรี คืองาน เทศน์ ม หาชาติ และสร้ า งเจดี ย ์ พ ระธาตุ บัวทอง ให้สอดคล้องกับชาวต�ำบลเขาแร้ง ซึ่งอพยพมาจากเวียงจันทน์
SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี
.indd 62
9/4/2018 1:08:25 AM
ประเพณีแห่พระเวสสันดร
พระเวสสันดร ตอนบ�ำเพ็ญพรต ในป่าเขาวงกต
ขบวนแห่อันเชิญพระเวสสันดร
เตรียมแห่พระเวสสันดร
RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 63
63
9/4/2018 1:08:33 AM
ขบวนแห่อันเชิญพระเวสสันดร
พระเวสสันดรทรงฉลองพระองค์ชุดกษัตริย์ นครสีพี
ตั้งขบวนอันเชิญพระเวสสันดร
64
SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี
.indd 64
9/4/2018 1:08:52 AM
พระครูเกษมขันติคุณ แสดงพระเวสนา มหาเวสสันดร
งานเทศน์มหาชาติจะจัดขึ้นทุกปี เริ่ม ตั้งแต่วันขึ้น 15 ค�่ำ เดือน 11 ของทุกปี และ แรม 1 ค�่ำ แรม 2 ค�่ำ ซึ่งเป็นเทศกาล ออกพรรษา หลังจากเทศน์ถึงกัณฑ์ที่ 13 แล้ ว จะมี ก ารอั น เชิ ญ พระเวสสั น ดรเข้ า สู ่ เมืองนครสีพี และจะเทศน์คาถาพัน และ เทศน์กัณฑ์ มาลัยหมื่น มาลัยแสน วันแรม 1 ค�ำ่ เวลาตี 5 จะแห่ขา้ วพันก้อน และเวลา 07.30 น. ตักบาตรเทโวโรหณะ เวลา 13.00 น. จะเริ่มเทศน์พระเวสสันดร กัณฑ์ที่ 1- 7 วันแรม 2 ค�่ำ จะเทศน์พระเวสสันดร กัณฑ์ที่ 8 – 13 เริ่มเทศน์ตั้งแต่เวลา 08.00 น. เป็นต้นไป เวลา 16.00 น. เริ่มจัดขบวนอันเชิญ พระเวสสันดรเข้าสู่พะนครสีพี
เข้าสูพระนคร
RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 65
65
9/4/2018 1:09:14 AM
วังพระภูริทัตนาคราช
66
SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี
.indd 66
9/4/2018 1:09:44 AM
พิธีอันเชิญรอยพระพุทธบาท
พิธอี นั เชิญรอยพระพุทธบาทประดิษฐานกลางสระน�ำ้ มหานที ชาวไทยเชื้อสายลาวเวียง ในต�ำบลเขาแร้ง ห่มขาวแต่งกายชุด โบราณสมมุ ติ เ ป็ น เจ้ า เมื อ ง ทั้ ง 16 แคว้ น จั ด พิ ธี อั ญ เชิ ญ รอย พระพุ ท ธบาทจ� ำ ลองท� ำ ด้ ว ยหิ น ทรายอายุ เ ก่ า แก่ ห ลายร้ อ ยปี ม า ประดิษฐานไว้ที่บริเวณมณฑลพิธีกลางน�้ำ หลังจากทางเจ้าอาวาสวัด ได้ไปอัญเชิญมาจากพระพุทธบาทบัวบก จังหวัดอุดรธานี โดยถือฤกษ์ ดี วันที่ 15 เมษายน หรือวันขึ้นปีใหม่ของไทย จัดพิธีดังกล่าว
ขอเรียนเชิญผู้มีจิตศรัทธาในพระพุทธศาสนา ร่วมสืบสานงานประเพณี เทศน์มหาชาติ แห่พระเวสสันดร ในช่วงเทศกาลออกพรรษา ที่วัดโสดาประดิษฐาราม ต�ำบลเขาแร้ง อ�ำเภอเมือง จังหวัดราชบรี และ ทุกท่านสามารถเข้ามา กราบไหว้ เยี่ยมชม ที่วัดได้ทุกวัน
RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 67
67
9/4/2018 1:10:01 AM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดเขาน้อยเทียมสวรรค์ พระมหานนธรรมพล ขนฺติวโร ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
วัดเขาน้อยเทียมสวรรค์ ตั้งอยู่ที่ต�ำบล อ่างทอง อ�ำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี อยู่ติด ถนนเพชรเกษม ห่างจากตัวจังหวัดประมาณ 7 กิโลเมตร เป็นวัดเก่าแก่อายุราว 1,800 ปี ตั้งอยู่บนเขาทัศนียภาพโดยรอบ สามารถ มองเห็นตัวเมืองราชบุรี เนื่องจากมีความสูง กว่าระดับนํา้ ทะเลประมาณ 200 – 300 เมตร ปัจจุบัน พระมหานนธรรมพล ขนฺติวโร ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส ภายในวัดมีพระอุโบสถหลังเก่าสร้างด้วย ศิลาแลงทั้งหลังตามอย่างศิลปะแบบลพบุรี ในลุม่ แม่นำ�้ เจ้าพระยา สันนิษฐานกันว่าสร้าง 68
มาตั้ ง แต่ ส มั ย ขอมเรื อ งอ� ำ นาจในแหลม สุวรรณภูมิ สอดคล้องกับตามปรากฏชื่อเมือง 6 แห่งในบริเวณภาคกลางที่ได้รับอิทธิพลขอม ซึง่ ราชบุรเี ป็นหนึง่ ในสถานทีเ่ หล่านัน้ ดังปรากฏ ว่า ชยราชปุรี (ราชบุรี) และ ศัมพูกะปัฏฏนะ ซึ่งสันนิษฐานว่า เป็นเมืองโบราณโกสินารายณ์ จังหวัดราชบุรี นับเป็นหลักฐานทางด้านศิลปะ ขอมที่แผ่ขยายเข้ามาในภาคกลาง นอกจากนีย้ งั เชือ่ ว่าพระอุโบสถสร้างตามคติ ของขอมตามแบบอย่างที่สร้างวัดหรือวิหารไว้ หน้าผา เหมือนเขาพระวิหาร เพื่อบูชาเทพเจ้า ของพราหมณ์ และท�ำการฉลองพระอุโบสถใน
SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี
.indd 68
9/9/2018 5:33:34 PM
วันปีใหม่ คือเดือน 5 ขึ้น 1 ค�่ำ (ปีใหม่ไทย) ภายในอุโบสถเป็นที่ประดิษฐานของพระพุทธ รูป 2 องค์ประทับนั่งหันหลังให้กัน ท�ำด้วยศิลา แลง หันหน้าไปทางทิศตะวันออกและทิศตะวัน ตก ชาวบ้านเรียกว่า หลวงพ่อเขาน้อย เชื่อกัน ว่ามีความศักดิ์สิทธิ์ เป็นที่เคารพกราบไหว้ของ ชาวบ้านเรือ่ ยมาจนปัจจุบนั และยังมีศาลหลวง พ่อดํา ที่มีความศักดิ์สิทธิ์ใครเช่นเดียวกัน ท่าน ใดทีบ่ นบานศาลกล่าวแล้วตัง้ ใจประพฤติปฏิบตั ิ รักษาศีลก็จะได้ดงั สมความปรารถนา และด้าน บนมีรอยพระพุทธบาทจ�ำลอง สามารถมองเห็น วิวทิวทัศน์ตัวเมืองราชบุรีจากด้านบนอีกด้วย รอยพระพุทธบาทบนก้อนหิน ณ วัดเขา น้อยเทียมสวรรค์ วันหนึง่ พระโพธิสมั พันธ์ ญาญนสัมปันโน พระลูกวัด วัดเขาน้อยเทียมสวรรค์ ต.อ่างทอง อ.เมือง จ.ราชบุรี ศิษย์สายหลวงปูม่ น่ั ภูรทิ ศั โต บูรพาจารย์พระป่าแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ได้พา พบผูส้ อื่ ข่าวไปดูรอยพระพุทธบาททีป่ รากฏเป็น รอยเท้าอยูบ่ นก้อนหินหลายแห่ง บริเวณรอบวัด เขาน้อยเทียมสวรรค์ ท่านเล่าว่า บวชมาหลาย พรรษา และได้ ป ฏิ บั ติ ธ รรมนั่ ง วิ ป ั ส สนา กรรมฐานตามที่พระอาจารย์ หลวงปู่ดินสอน วั ด ป่ า พระมุ ณี ธ รรม อุ ท ยานไทรโยคใหญ่ จ.กาญจนบุรี จนเห็นภาพในอดีตว่า มีรอย พระพุทธบาทปรากฏอยู่บนก้อนหินหลายครั้ง จึงได้เดินค้นหาหินดังกล่าวทีป่ รากฏให้เห็นเป็น ภาพ พบว่ามีหลายก้อนทีด่ แู ล้วปรากฏเห็นเป็น รอยเท้าพระพุทธบาท บางก้อนเห็นปรากฏเป็น รอยเท้าอย่างชัดเจน “วั ด เขาน้ อ ยเที ย มสวรรค์ เ ป็ น สถานที่ ศักดิ์สิทธิ์ หากพระที่มาจําพรรษาไม่ถือปฏิบัติ จริงจังก็จะมีอันเป็นไปต่างๆ นานา พระที่
ปฏิบัติธรรมจริงๆ เท่านั้นที่สามารถเห็นสิ่ง ต่างๆ ได้ โดยเฉพาะรอยพระพุทธบาท จาก ที่นั่งวิปัสสนากรรมฐานจนเห็นภาพ และ ปรากฏรอยให้เห็น เรื่องเหล่านี้ไม่เชื่อแต่ก็ อย่าไปลบหลู่ ดังนัน้ หากปฏิบตั ไิ ด้ ก็สามารถ เข้าถึงสิง่ ปาฏิหาริยต์ า่ งๆ ทีป่ รากฏให้เห็นถึง อดีตได้ ดังที่พระเกจิอาจารย์พร�่ำสอนไว้ว่า ทุกคนต้องทําดีจะได้ด”ี ส�ำหรับวัดเขาน้อยเทียมสวรรค์ มีผู้เฒ่า ผู้แก่หลายคนเล่าต่อๆ กันมาว่า เมื่อสมัย เด็กๆ เคยวิ่งเล่นบริเวณวัด ก็เห็นมีคนมา สร้างรอยพระพุทธบาทจําลองไว้ยอดบนเขา แล้ว จึงเป็นไปได้ว่าพระองค์ก่อนๆ ได้ถือ ปฏิบัติจนเห็นรอยเท้าพระพุทธบาทมาแล้ว จึงได้สร้างรอยพระพุทธบาทจําลองไว้ ต่อมา มีพระรูปหนึ่งที่มาอยู่จําพรรษาได้สร้างองค์
เจดีย์คล้ายรูประฆังไว้ ก่อนจะลาสิกขาออก ไป จนพระโพธิสมั พันธ์มาจําพรรษา และถือ ปฏิ บั ติ นั่ ง วิ ป ั ส สนากรรมฐานจนเห็ น ภาพ ปรากฏรอยพระพุทธบาทดังกล่าว การเดินทาง : โดยรถยนต์ เส้นทางสาย เก่า สายเพชรเกษม ทางหลวงหมายเลข 4 ห่างตัวเมืองราชบุรี 7 กิโลเมตร หรือเส้นทาง สายใหม่ เส้นทางหลวงหมายเลข 338 จาก กรุงเทพฯ เส้นทางหลวงหมายเลข 338 จาก วังมะนาว มาทางตัวเมืองราชบุรี 15 กิโลเมตร ติดถนนสายเพชรเกษม รถสารประจ�ำทาง จากสถานีขนส่งสายใต้ ไปจังหวัดราชบุรีทุก วัน และ โดยรถไฟ จากสถานีรถไฟหัวล�ำโพง และสถานีรถไฟธนบุรี (บางกอกน้อย) ทุกวัน ใช้เวลาเดินทางประมาณ 2 ชั่วโมง RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 69
69
9/9/2018 5:33:57 PM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดเขางู
พระสมุห์วศิน วิสุทฺโธ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส วัดเขางู ตั้งอยู่ที่บ้านรางไม้แดง หมู่ที่ 6 ต�ำบลเจดีย์หัก อ�ำเภอเมืองราชบุรี จังหวัด ราชบุรี ตัง้ อยูห่ า่ งจากตัวจังหวัดราชบุรมี าทาง ทิศเหนือ แยกจากถนนเพชรเกษมไปทาง
70
ถนนราชบุรี - เบิกไพร เป็นระยะทางประมาณ 3.5 กิโลเมตร ประวัติความเป็นมา เมื่ อ ครั้ ง แรกเริ่ ม ได้ มี พ ระภิ ก ษุ รู ป หนึ่ ง เดินธุดงค์มาอยู่ในถ�้ำบนภูเขา ชื่อ เขางู ท่าน มาอยู่ได้ไม่นานนักก็ลาญาติโยมเดินธุดงค์ ต่อไป ต่อมามีพระภิกษุฮนุ้ บ้านเดิมท่านอยูท่ ี่ จังหวัดกาญจนบุรี ได้มาอยูใ่ นถ�ำ้ บนภูเขานีอ้ กี และท่านก็ธุดงค์ต่อไป ในปี พ.ศ.2506 พระภิกษุชิต จากวัด ช่องลม ต�ำบลหน้าเมือง อ�ำเภอเมืองราชบุรี จั ง หวั ด ราชบุ รี ก็ ไ ด้ ม าอยู ่ ใ นถ�้ ำ นี้ ท่ า น
พระภิกษุชิต ได้เริ่มวางรากฐาน และก่อตั้ง เป็นส�ำนักสงฆ์เขางู โดยร่วมกับชาวบ้านสร้าง ศาลาบ�ำเพ็ญกุศล และกุฏอิ กี หนึง่ หลัง มีพระ มาจ�ำพรรษาอยู่ 3 - 4 รูป เป็นทีเ่ คารพนับถือ ศรัทธาของญาติโยม ต่อมาในปี พ.ศ.2510 พระภิกษุชิต ท่านเดินทางกลับไปจ�ำพรรษา ที่วัดช่องลมตามเดิม พ.ศ.2511 พระภิกษุสวุ รรณ มาจ�ำพรรษา อยู่ ท่านได้สร้างกุฏิที่อยู่ทางขวามือขึ้นถ�้ำอีก 1 หลัง พร้อมสร้างศาลาขึ้นใหม่ให้ใหญ่กว่า เดิม โดยรื้อของเดิมออก ศาลาหลังใหญ่ยัง ไม่ทันเสร็จ ท่านก็เดินธุดงค์ต่อไปอีก แต่ก็
SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี
.indd 70
9/9/2018 7:20:30 PM
ยังมีพระภิกษุจ�ำพรรษาอย่างต่อเนื่อง พ.ศ.2512 พระภิกษุลี้ อายุวฒ ั โก เป็นชาว จังหวัดราชบุรี มาจากวัดพิกลุ ทอง ต�ำบลสาม เรือน อ�ำเภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี มาจ�ำ พรรษาต่อ ก�ำเนิดวัดเขางู จากส�ำนักสงฆ์เขางู กว่าจะมาเป็นวัดเขางู ผู้ที่สร้าง คือ คุณแฉล้ม อุศุภรัตน์ สกุลเดิม ลี้กิมฮุย เป็นชาวราชบุรี สมรสกับคุณธีระ อุศุภรัตน์ ได้ประกอบกิจการค้า ชื่อห้างหุ้น ส่วนจ�ำกัดแฉล้มนิมติ อยูท่ ตี่ ำ� บลสีลม อ�ำเภอ บางรัก จังหวัดกรุงเทพฯ ด้วยความศรัทธา ในพระพุทธศาสนาและยินดีที่มีญาติผู้ใหญ่ อยู ่ ใ นสมณเพศ จึ ง สนั บ สนุ น การสร้ า ง โรงเรียนวัดเขางูสันติธรรม พร้อมกันนั้น ก็บริจาคทรัพย์สร้างกุฏิ และศาสนสถาน หลายอย่าง เพราะต้องการให้ส�ำนักสงฆ์ ถ�้ำเขางูเป็นวัดในพระพุทธศาสนา ต่อมาคุณแฉล้ม อุศุภรัตน์ ได้ขออนุญาต สร้างวัดเขางู ทีบ่ า้ นรางไม้แดง หมูท่ ี่ 6 ต�ำบล เจดีย์หัก อ�ำเภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี เมื่อเดือนพฤศจิกายน พ.ศ.2524 โดยการ ประสานงานของอาจารย์ประดิษฐ์ นาคอ่อน กรมการศาสนาได้อ นุญ าตให้สร้างวัด เมือ่ ปี พ.ศ.2525 ต่อมา พ.ศ.2527 คุณแฉล้ม อุศุภรัตน์ ได้ท�ำรายงานขอตั้ง วัดเขางูสันติ ธรรม ปัจจุบันมี พระสมุห์วศิน วิสุทฺโธ เป็น เจ้าอาวาสวัดเขางู ประวั ติ การก่ อ สร้ า งพระต� ำ หนั ก อาภากร วัดเขางู ความจากผู้ใหญ่พริ้ม ศรีนวลจันทร์ ว่าปี พ.ศ.2519 ที่บริเวณเขางู มีพระสงฆ์ 3-4 รูป โดยพระลี้ อายุ วั ฒ โก เป็ น สมภารของ ส�ำนักสงฆ์เขางูขณะนั้น ต่อมามีคุณแฉล้มคุณีระ อุศุภรัตน์ มาขอสร้างกุฏิถวายให้ โดย น�ำไม้และกระเบื้องมุงหลังคามาจากการรื้อ อาคารไม้ ซึ่งคงรวมทั้งต�ำหนักอาภากรด้วย จากโรงเรียนพาณิชย์การพระนคร (วังนางเลิง้ ) มาสร้างเป็นอาคารส�ำหรับพระสงฆ์ โดยเป็น ผู้ออกค่าใช้จ่ายเองทั้งหมด และตั้งชื่อว่า
ต�ำหนักอาภากร และยังได้น�ำพระรูปของ กรมหลวงชุมพรฯ ซึง่ หล่อด้วยทองสัมฤทธิใ์ น ท่ายืนบนแท่นสูงรวม 20 นิ้ว พระสงัด อภิ ญาโณ ย้ายมาเป็นสมภารที่วัดเขางู ท่านได้ ท�ำความสะอาดพระต�ำหนักจัดโต๊ะหมู่บูชา และพระรูปของเสด็จเตีย่ อย่างสมพระเกียรติ และท่านใช้พระต�ำหนักเป็นกุฏิตั้งแต่วันแรก ปี พ.ศ.2559 ทางท่านเจ้าอาวาสองค์ ปัจจุบนั และคณะกรรมการ ได้มปี ระชามติให้ มีการบูรณะใหม่ ลักษณะอาคารชั้นเดียว มี โครงสร้างเป็นคอนกรีตผสมไม้ซงึ่ ได้นำ� เอาไม้ ขอนเดิมจากพระต�ำหนักเก่ามาใช้เป็นส่วน ประกอบในการบูรณะครั้งนี้ด้วย
RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 71
71
9/9/2018 7:20:46 PM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดนาหนอง
พระครูวินัยธรอ�ำนาจ อนุภทฺโท ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส วัดนาหนอง ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 38 บ้านนาหนอง หมู่ที่ 2 ต�ำบลดอนแร่ อ�ำเภอเมือง จังหวัด ราชบุรี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย สร้างขึ้น และได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาครั้งแรก เมื่อ พ.ศ.2430 โดยนายหล้า นายตั๋น ร่วม กับชาวบ้านนาหนอง เป็น ผู้ริเริ่มสร้าง มี เจ้าอาวาสวัดปกครองมาแล้ว 6 รูป ปัจจุบัน มี พ ระครู วิ นั ย ธรอ� ำ นาจ อนุ ภ ทฺ โ ท เป็ น เจ้าอาวาส การพัฒนาวัดนาหนองมีความต่อเนื่อง ในสมัย พระครูวธิ านศาสนกิจ (หลวงพ่อโห้) 72
เจ้าอาวาสรูปที่ 2 เสนาสนะสมบูรณ์แบบได้ เกิดขึน้ ในยุคของท่าน ได้สร้างมณฑปบนยอด เขาซึ่ ง ติ ด อยู ่ กั บ วั ด ไว้ เ ป็ น ที่ ป ระดิ ษ ฐาน รอยพระพุทธบาท และพระพุทธไสยาสน์ ประดิษฐานไว้ในมณฑปบนยอดเขา ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2481 และได้ก�ำหนดจัดงานปิดทอง พระพุทธบาทประจ�ำปี ในวันขึ้น 15 ค�่ำ เดือน 3 ของทุกปี จนกลายเป็นงานเทศกาล ประจ�ำปีของวัด มาเป็นเวลายาวนานถึง 81 ปี “ตักบาตรข้าวต้มมัด” วันมาฆบูชา หนึง่ เดียว ในราชบุรี
SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี
.indd 72
9/9/2018 9:10:42 PM
วัดนาหนอง เป็นวัดที่นักท่องเที่ยวนิยม เดินทางมาขึ้นดอย ไหว้รอยพระพุทธบาท เป็นจ�ำนวนมาก โดยเฉพาะในวันส�ำคัญทาง พระพุทธศาสนา คือ วันมาฆบูชา ตรงกับ วันขึ้น 15 ค�่ำ เดือน 3 เป็นวันที่พระสัมมา สัมพุทธเจ้าทรงแสดง “โอวาทปาติโมกข์” แก่พระอริยสงฆ์เป็นครั้งแรก หลังจากตรัสรู้ มาแล้วเป็นเวลา 9 เดือน ซึ่งหลักค�ำสอนนี้ เป็นหลักการ และวิธีการปฏิบัติธรรมเพื่อน�ำ จิตไปสู่ความพ้นทุกข์ อันเป็นหัวใจส�ำคัญคือ “ท� ำ ความดี ละเว้ น ความชั่ ว ท� ำ จิ ต ใจให้ บริสทุ ธิ”์ โดยในปีนี้ วันมาฆบูชา ตรงกับวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ.2561 ซึ่งชาวบ้านร่วมกันน�ำ ข้ า วต้ ม มั ด มาใส่ บ าตรพระภิ ก ษุ ส งฆ์ ที่ จ� ำ พรรษาภายในวัดนาหนอง โดยพระครูวนิ ยั ธร อ�ำนาจ อนุภทฺโท เจ้าอาวาสวัดนาหนอง เป็นประธานฝ่ายสงฆ์ เดินบิณฑบาตลงจาก บันไดพญานาคจ�ำนวน 130 ขัน้ จากยอดเขา มณฑปรอยพระพุทธบาทพระพุทธเจ้า ซึ่ง เป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ของวัดนาหนองและ เป็นรอยพระพุทธบาท ทีช่ าวชุมชนวัดนาหนอง ให้ ค วามเคารพนั บ ถื อ มาหลายชั่ ว อายุ ค น ที่มีมาแต่โบราณ อีกทั้งชุมชนวัดนาหนอง ต�ำบลดอนแร่ ยังเป็นชุมชนของชาวไทยยวน ที่ยังคงถือปฏิบัติ ทั้งภาษาที่ใช้และประเพณี การท�ำบุญแบบชาวไทยเชือ้ ไทยยวนด้วยการ ตักบาตรด้วยเข้าต้มมัด โดยในปีนไี้ ด้พลิกฟืน้ เป็นครัง้ แรก ซึง่ ได้รบั ความสนใจจากนักท่อง เที่ยวจากต่างจังหวัด ที่เดินทางมาร่วมการ ท�ำบุญตักบาตรข้าวต้มมัดกันอย่างเนืองแน่น
ในบริ เ วณเชิ ง บั น ไดนาคเขามณฑปรอย พระพุทธบาท ข้างพระอุโบสถ์ วัดนาหนอง ต�ำบลดอนแร่ อ�ำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี พลิกฟืน้ นาว่างเปล่าเป็น “ทุง่ ดอกบัวผัด บานรับบุญ” ชมดอกทานตะวัน นอกจากนี้ ในบริเวณพื้นที่นากว่า 3 ไร่ ของวัดนาหนองในปัจจุบัน ถูกเนรมิตพลิก ฟื้นให้กลายเป็นแหล่งชมความงามของดวง อาทิ ต ย์ ที่ ก� ำ ลั ง จะลั บ ขอบฟ้ า ในช่ ว งเวลา 17.00 - 18.30 น. ซึ่งดวงอาทิตย์จะเปล่ง เป็นสีทองทอดแสงผ่านดอกบัวผัดบานงดงาม หรื อ ดอกทานตะวั น บานภายในท้ อ งทุ ่ ง จากความคิดสร้างสรรค์ของพระครูวินัยธร อ�ำนาจ อนุภทฺโท เจ้าอาวาสวัดนาหนอง ได้รว่ ม กับชาวชุมชนวัดนาหนองในการพลิกฟืน้ ทีน่ า ว่างเปล่าของวัด เพื่อต้อนรับนักท่องเที่ยว ที่อยากมาสัมผัสและเที่ยวชมความสวยงาม ของทุ ่ ง ทานตะวั น โดยทางวั ด ได้ เ ปิ ด ให้ นักท่องเที่ยวได้เข้ามาเที่ยวชมทุกวันตั้งแต่ ช่วงเช้าจนถึงพลบค�่ำ
ภายในทุ ่ ง ดอกบั ว ผั ด บานรั บ บุ ญ ทาง พระภิกษุสงฆ์และญาติโยม ได้ช่วยกันน�ำ ไม้ไผ่มาท�ำเป็นแนวรั้วทางเดินและจัดมุม ส�ำหรับถ่ายภาพซึ่งจะเห็นทุ่งทานตะวันและ แนวเทือกเขาตระนาวศรีที่ทอดยาวได้อย่าง สวยงามด้วย ทั้งนี้ พระครูวินัยธรอ�ำนาจ อนุภทฺโท เจ้าอาวาสวัดนาหนอง กล่าวว่า ดอกทานตะวั น นั้ น ในช่ ว งเช้ า ก็ จ ะบานรั บ แสงอาทิตย์ขึ้น ส่วนในช่วงเย็นจะเป็นช่วงที่ รั บ ลมเย็ น ก็ ท� ำ ให้ ค นที่ ม าท่ อ งเที่ ยวชมทุ ่ ง ทานตะวันได้รับกับความสวยงามและได้รับ ความร่วมเย็นจากธรรมชาติ “อี ก ทั้ ง ท� ำ ให้ ไ ด้ รั บ ความสุ ข ใจ ได้ รั บ ความสุขจากธรรมชาติ หรือจากธรรมะของ พระสั ม มาสั ม พุ ท ธเจ้ า ทางวั ด จึ ง ขอเชิ ญ พุทธศาสนิกชน นักท่องเที่ยวทั้งในจังหวัด และต่ า งจั ง หวั ด มาเที่ ย วชมธรรมชาติ ที่ สวยงามของทางวัดได้ทุกวัน เจริญพร”
RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 73
73
9/9/2018 9:10:58 PM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดพญาไม้
พระอธิการเกรียงศักดิ์ จิตฺตปสาโท ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส วัดพญาไม้ ตั้งอยู่ในเขตหมู่ที่ 2 ต�ำบล โคกหม้อ อ�ำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี ด้าน ทิศตะวันตกติดกับแม่นำ�้ แม่กลอง ทิศตะวันออก ติดกับทางรถไฟ บริเวณวัดนี้เดิมเป็นป่า มี ต้ น ไม้ ขึ้ น ปกคลุ ม จนครึ้ ม ให้ ค วามร่ ม รื่ น แก่ผู้ใฝ่หาความวิเวก อันเหมาะแก่สมณเพศ ทีใ่ ฝ่ศกึ ษาทางธรรมะ วัดจึงอยูอ่ ย่างเงียบสงบ มาโดยตลอดจนถึงปัจจุบันได้รับการพัฒนา จนเป็นที่ศรัทธาของประชาชน วัดพญาไม้ ได้รับการจัดขึ้นทะเบียนให้ เป็นวัดในกรมศาสนา เมื่อพ.ศ.2423 โดยมี 74
หลวงปูจ่ นั ทร์ จฺนทฺ สโร (พระครูธรรมเสนานี) เจ้าคณะแขวงเมืองราชบุรี เป็นเจ้าอาวาสรูป แรกในปี พ.ศ.2423 และมี เ จ้ า อาวาส สืบต่อๆ กันมาอีกหลายรูป บางช่วงก็ขาด หายไปบ้าง จนมาถึง พ.ศ.2549 คณะสงฆ์จังหวัด ราชบุรี แต่งตั้งให้ พระอธิการอดุลย์ สุธมฺโม เป็นเจ้าอาวาส ท่านเป็นชาวท่าราบ จังหวัด ราชบุรี หลังจากที่บวชแล้ว ได้ไปศึกษาธรรม ที่วัดหลวงพ่อสด อ.ด�ำเนินสะดวก ต่อมาได้
จ�ำพรรษาที่วัดคลองโพธิ์เจริญ 8 พรรษา ก่อนที่จะได้รับการแต่งตั้งให้เป็นเจ้าอาวาส วัดพญาไม้ ในช่วงที่ท่านเป็นเจ้าอาวาสได้ พัฒนาวัดมาตามล�ำดับ พระอธิ ก ารเกรี ย งศั ก ดิ์ จิ ตฺ ต ปสาโท เจ้าอาวาสรูปปัจจุบนั ท่านได้มงุ่ สอนพระเณร ในด้านปฏิบตั วิ ปิ สั สนากรรมฐานทัง้ ทางด้าน ปริยัติ ปฏิบัติ และปฏิเวธ และพัฒนาวัดมา อย่างต่อเนื่อง แนะน�ำการรักษาศีล 5 และ จัดปฏิบัติธรรมให้กับประชาชนจนท�ำให้วัด
SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี
.indd 74
9/9/2018 8:23:44 PM
พญาไม้เป็นที่ศรัทธาของประชาชนมาจนถึง ทุกวันนี้ ประวั ติ ค วามเป็ น มา วั ด พญาไม้ เริ่ ม ก่อสร้างขึ้นเมื่อใดไม่มีหลักฐานปรากฏชัด แต่มีการบอกเล่าว่า เมื่อรัชสมัยพระบาท สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 5 มีชาวบ้านท่านหนึ่งไม่ปรากฏนาม ตั้งบ้าน เรือนอยูท่ างทิศเหนือของวัด ได้เข้าไปถวายตัว เป็นมหาดเล็กของพระเจ้าแผ่นดิน จึงทรง พระราชทานบรรดาศักดิ์ให้เป็นเจ้าพระยา ซึ่ ง พระยาท่ า นนี้ รู ้ สึ ก ซาบซึ้ ง ในพระมหา กรุณาธิคุณ จึงคิดสร้างถาวรวัตถุ เพื่อเป็น การสนองพระเดชพระคุณ อีกทั้งเพื่อเป็น
สิริมงคลแก่ตนเอง และครอบครัว จึงได้กลับ มาสร้ า งวั ด ขึ้นวัดหนึ่ง ในภูมิล�ำเนาเดิมที่ ตนเคยอาศัยอยู่ ชาวบ้านจึงพากันเรียกวัดที่ สร้างขึ้นใหม่ว่า “วัดพระยาใหม่” กาลเวลาล่วงเลยไปเป็นเวลานาน ค�ำเรียก ขานก็เพี้ยนเปลี่ยนไปตามยุคตามสมัย ค�ำว่า วัดพระยาใหม่ ก็เปลีย่ นมาเป็น “วัดพญาไม้” และหมูบ่ า้ นในละแวกนัน้ ก็พลอยถูกเรียกว่า บ้านพญาไม้ ไปด้วยจนถึงปัจจุบัน มีเรือ่ งเล่าว่า ในสมัยทีพ่ ระพุทธเจ้าหลวง รัชกาลที่ 5 เสด็จประพาสต้นไปตามล�ำน�้ำ แม่กลอง ขณะผ่านหน้าวัดพญาไม้ ทรงรับสัง่ ให้เรือพระที่นั่งเข้าเทียบจอดที่ศาลาท่าน�้ำ หน้ า วั ด แล้ ว เสด็ จ ประทั บ พั ก ผ่ อ นตาม พระราชอัธยาศัย บนศาลาวัด เมื่อชาวบ้าน ได้ทราบข่าวก็พากันมาเฝ้าถวายบังคมกัน เป็นจ�ำนวนมาก
ต่อมาเมือ่ ประมาณ พ.ศ.2461 พระบาท สมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 เสด็จพระราชด�ำเนินมาซ้อมรบใหญ่ที่ จังหวัด ราชบุรี ก็ใช้บริเวณวัดพญาไม้ เป็นที่ตั้งค่าย พักแรมของกองเสือป่า ปัจจุบนั จังหวัดทหาร บกราชบุรี ได้ใช้บริเวณของวัดเป็นที่ฝึกซ้อม ทหาร และฝึกภาคสนามแก่นักศึกษาวิชา ทหาร หน่วยบัญชาการรักษาดินแดน (รด.) อานุภาพแห่งความเมตตา “หลวงพ่อ ตามใจ” แห่งวัดพญาไม้ “หลวงพ่อตามใจ” คือ พระประธานที่ ประดิษฐานอยูท่ วี่ ดั พญาไม้ เป็นพระพุทธรูป ที่ปั้นได้อย่างถูกสัดส่วน ตามพุทธลักษณะ ทุกประการ ผิวพรรณของท่านสุกใสเปล่งปลัง่ น่าศรัทธาเลื่อมใส พระพักตร์ พระเนตร พระโอษฐ์ สวยงามมาก และถ้ามองดูให้ นานๆ ก็จะเห็นรัศมี (อานุภาพ) ของความ
เมตตาของท่าน แผ่รังสีออกมาจนเห็นว่า ท่านยิ้มให้ ใครก็ตามที่ก�ำลังมีความทุกข์ มีความ ไม่สบายใจ ก�ำลังกลุ้มใจ เดือดเนื้อร้อนใจ หากมีโอกาสได้ไปนั่งสงบจิตสงบใจต่อหน้า พระประธานองค์ นี้ แ ล้ ว ไม่ น านนั ก ก็ จ ะ มี ค วามรู ้ สึ ก สบายใจขึ้ น มาได้ อ ย่ า งน่ า ประหลาดใจทีส่ ดุ และหากอธิษฐานจิต ขอพร จากท่าน ก็จะได้อย่างสมใจปรารถนา ตามที่ ขอไว้ทุกประการ เรื่องนี้มีชาวบ้านหลายคน เคยประสบความส�ำเร็จสมหวังมาแล้ว วัดพญาไม้ อยู่ตรงข้ามบิ๊กซี ราชบุรี RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 75
75
9/9/2018 8:24:08 PM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดบ้านกล้วย ส�ำนักปฏิบัติธรรมประจ�ำจังหวัดราชบุรี แห่งที่ 28 พระครูสุธรรมธิติ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส วั ด บ้ า นกล้ ว ย ตั้ ง อยู ่ ใ นต� ำ บลท่ า ราบ อ�ำเภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี อยูร่ มิ แม่นำ�้ แม่กลองฝัง่ ซ้าย อยูเ่ หนือตัวจังหวัดราชบุรไี ป ทางกรุงเทพฯ ประมาณ 5 กิโลเมตร ถนน เพชรเกษมสายเก่า หลังสถานีรถไฟบ้านกล้วย สะพานข้ามแม่น�้ำแม่กลอง สะพานกอบกุล ร�ำลึก มีเนื้อที่ตั้งวัด 49 ไร่ 2 งาน 43 ตารางวา ปัจจุบันมี พระครูสุธรรมธิติ อายุ 50 ปี พรรษา 23 น.ธ. เอก ด�ำรงต�ำแหน่ง เจ้าอาวาส วัดบ้านกล้วย สันนิษฐานว่าสร้างมาแต่ สมัยอยุธยา เพราะตรงที่สร้างอุโบสถหลัง 76
ใหม่ ขุ ด ได้ ก ระเบื้ อ งดิ น เผามุ ง หลั ง คาสมั ย อยุธยา และที่ตรงนั้นแต่เดิมเป็นโคกวิหาร ได้รับการบอกเล่าว่าแต่เดิมเป็นอุโบสถสมัย อยุธยาตอนปลาย เป็นอุโบสถขนาดเล็กที่ นิยมสร้างแถววัดในชนบท มีพระพุทธรูป สร้างด้วยหินทรายสีชมพูหลายองค์ ซึ่งใน ยุคต่อมาได้มีการบูรณะให้ครบเป็นองค์พระ แต่ไม่ถูกลักษณะเดิม ใต้วัดไปชั่ว 5 หลังคาเรือน มีคลองจาก ล� ำ น�้ ำ แม่ ก ลองออกไปสู ่ ท ้ อ งทุ ่ ง เรี ย กว่ า คลองมอญ จึงสันนิษฐานได้ว่าแถบนี้เป็นถิ่น ของชาวมอญมาแต่เดิม ต่อมามีชาวจีนมาอยู่
เป็นส่วนมาก และได้แต่งงานกับคนในท้องถิน่ ตรงปากคลองมีวังเจ้าอยู่วังหนึ่งเป็นวัง ของเจ้าจอมทับทิม เจ้าจอมในรัชกาลที่ 5 มี ทางจากวังเลียบคลองไปสถานีร ถไฟบ้าน กล้วยซึ่งอยู่ทิศตะวันออกของวัง เรียกว่า ทางเสด็จ ในนิราศพระแท่นดงรังของสามเณรกลั่น (ศิษย์สุนทรภู่) และในบันทึกตรวจราชการ มณฑลราชบุรีของสมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระยา นริศรานุวตั ติวงศ์ ก็มกี ารกล่าวถึงวัดบ้านกล้วย ไว้ด้วยเช่นกัน
SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี
.indd 76
9/9/2018 9:13:29 PM
ความส�ำคัญของวัด พื้นที่ของวัดบ้านกล้วยส่วนหนึ่งกันไว้ เพื่อสาธารณะประโยชน์ คือเป็นที่ตั้งของ รพ.สต.ท่าราบ เป็นทีต่ งั้ ทีท่ ำ� การ อบต.ท่าราบ เป็นที่ตั้งของโรงเรียนประชาบาล โรงเรียน วัดบ้านกล้วย (เฟื้อราษฎร์บ�ำรุง) เป็นที่ตั้ง ของพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น และเป็นที่ตั้งส�ำนัก ปฏิบัติธรรมประจ�ำจังหวัดราชบุรี แห่งที่ 28 วัดบ้านกล้วย ส�ำนักปฏิบัติธรรมประจ�ำ จังหวัดราชบุรี แห่งที่ 28 ส�ำนักปฏิบัติธรรมประจ�ำจังหวัด (ศธจ.) เป็นหน่วยเผยแผ่พระพุทธศาสนาในรูปแบบ การสอนปฏิบัติกรรมฐาน ตามหลักมหาสติ
ปัฏฐานสูตรของคณะสงฆ์ไทย มีการจัดการ สอนการปฏิบัติกรรมฐานตามหลัก “มหาสติ ปัฏฐานสูตร” ในมหาสติปฏั ฐานสูตร พระพุทธองค์ตรัส แก่ภกิ ษุทงั้ หลายว่า “หนทางทีเ่ ป็นไปอันเอกเพือ่ ความบริสทุ ธิข์ องสัตว์ เพือ่ ก้าวล่วงความโศก ความคร�ำ่ ครวญ เพือ่ ให้ความทุกข์กายทุกข์ใจ ตั้งอยู่ไม่ได้ เพื่อบรรลุธรรมที่ถูกต้อง เพื่อท�ำ ให้แจ้งซึง่ พระนิพพาน คือ การตัง้ สติ 4 อย่าง ได้แก่ 1. การตั้งสติพิจารณากายสังขาร ทั้ง กายเนื้อและกายลม 2. การตั้งสติพิจารณา เวทนา ได้แก่ ความรู้สึกขณะกระทบอารมณ์ 3. การตั้งสติพิจารณาจิต คือ จิตรู้อารมณ์
และ 4. การตั้งสติพิจารณาธรรม จนเห็น สภาวธรรมต่างๆ ของกาย เวทนา จิตว่าไม่ เที่ยง เป็นทุกข์ และเป็นอนัตตา ด้วยการ ตั้งสติบนลักษณะพื้นฐาน 4 อย่างนี้อย่างต่อ เนื่อง จัดเป็นเหตุให้เข้ากระแสพระนิพพาน นับแต่ อริยบุคคลเบื้องต้นคือพระโสดาบัน พระสกิทาคามี พระอนาคามี เป็นบุคคล ผู้ประเสริฐ ผู้ไกลจากข้าศึกคือกิเลสมาร จน กระทัง่ เป็นผูห้ กั กงล้อสังสารวัฏได้จนหมดสิน้ แล้ว เป็นผู้ไม่กลับมาเกิดอีกคือ พระอรหันต์ ก็จักพ้นทุกข์ในวัฏฏะสงสารได้ในที่สุด
RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 77
77
9/9/2018 9:13:44 PM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดเขากรวด มหาพุทธาราม
พระอธิการอ�ำนาจ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส วัดเขากรวดมหาพุทธาราม ตัง้ อยูห่ มู่ 15 ต�ำบลเกาะพลับพลา อ�ำเภอเมือง จังหวัด ราชบุรี เริม่ สร้างเป็นส�ำนักสงฆ์เขากรวด เมือ่ พ.ศ. 2492 ต่อมาในปี พ.ศ.2513 ได้รับใบ อนุญาตสร้างวัดเขากรวด โดยมีพระอธิการกลึง มดฺดชโน เป็นเจ้าอาวาส เมือ่ วันที่ 14 กันยายน พ.ศ.2514 ได้ตั้งชื่อวัดว่า วัดเขากรวดมหา พุทธาราม ล�ำดับเจ้าอาวาสในอดีตที่ผ่านมา 1. พระอธิการปลั่ง ฐาธมฺโม 2. พระภิกษุเจ๊ก ปภสฺสโร 78
3. พระภิกษุแป๊ะ ภาวโร 4. พระภิกษุสนั่น วชิญโน ต่ อ มาในปี พ .ศ.2523 มี พ ระอธิ ก าร สุริยวงค์ จิตวิริโย และ พระภิกษุประชุม อติธมฺโม จ�ำพรรษาอยู่ที่วัด พ.ศ.2526 ได้วางศิลาฤกษ์อุโบสถ พ.ศ.2529 พระอธิการประชุม อติธมฺโม ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส ต่อมาได้เป็น เจ้าคณะ ต�ำบลเกาะพลับพลา สมณศักดิ์ ที่ พระครู พิพิธธรรมานุยุต
SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี
.indd 78
9/9/2018 8:53:52 PM
วันที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2534 พระเจ้า วรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทิ นัด ดามาตุ เสด็จมายกช่อฟ้าอุโบสถวัดเขา กรวดมหาพุทธาราม ช่อฟ้า หมายถึง ช่อหรือกิ่งที่ยื่นขึ้นไปบน ท้อ ง ฟ้า เ ป็ นนัยแห่งการบูชาพระรัตนตรัย และปวงเทพเจ้าบนสวรรค์ชนั้ ฟ้าประการหนึง่ ช่ อ ฟ้ า เ ป็ นเ ครื่ อ งสู ง ที่ อ ยู ่ สู ง สุ ด ในงาน สถาปัตยกรรมไทย ที่ประกอบด้วย ช่อฟ้า รวยระกา ใบระกา นาคสะดุง้ หรือ งวงไอยรา และ หางหงส์ ซึง่ รวมเรียกว่า “เครือ่ งล�ำยอง” เป็นกรอบประดับหน้าบัน อันหมายถึงวิมาน แห่ ง ทวย เ ท พ เนื่องด้วยองค์พระตถาคต พระสัมมาสัมพุทธเจ้า และองค์พระมหากษัตริย์ ล้ว น แล้ ว แ ต่ ยังมีพระภาคหนึ่งเป็นเทพเจ้า ตามคติแต่โบราณ
ช่อ ฟ้าข อ ง ไท ย มักพบลักษณะเป็นกิ่ง หรือช่อเดียวยื่นขึ้นไปบนฟ้าเหนือสันหลังคา ดูโดยรวมมีลกั ษณะเป็นหางพญานาคพันกัน เหนือตัวอาคาร ก่อนทีจ่ ะแยกเป็นตัวนาคเลือ้ ย ลงมาตามชายขอบของหน้าบัน แล้วผงกเศียร นาค ตั้ง ขึ้น บริเวณเชิงชายด้านล่างเรียกว่า หาง ห งส์ ส าเ หตุทชี่ า่ งจินตนาการชุดเครือ่ ง ล�ำยองเป็นรูปนาค เนือ่ งจากคติทวี่ า่ พญานาค มีคว า มเกี่ ยว พันและรับหน้าที่ปกป้องดูแล พระพุทธศาสนา เช่น พญานาคนามมุจลินท์ แผ่พั งพานปกป้องพระพุทธเจ้ามิให้ฝนต้อง พระก า ยา จ น กล ายเป็นพระพุทธรูปปาง นาคป ร ก จึ ง นิ ยมน�ำรูปนาคมารายล้อม พระอุ โบส ถ แ ละ ศาสนสถานเพื่อคุ้มครอง พระศาสนา
ช่อฟ้าถือเป็นของสูง นอกจากจะอยูส่ งู สุด เหนื อ องค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมใดๆ แล้ว ยัง เป็นเครื่องหมายแห่งการครบองค์ ประก อ บทา งอาคารส� ำ คั ญ ของศาสนา เนื่ อ งจา กหากยังท�ำโครงสร้างอื่นไม่เสร็จก็ จะยก ช่อฟ้าไม่ได้ นอกจากนั้นด้วยลักษณะ แห่งการเป็นหางพญานาคจึงเป็นเครือ่ งหมาย แห่ง ก ารป กป้องคุ้มครองและขับไล่หมู่มาร ของพ ร ะศา สนา ดังนั้น คนไทยแต่โบราณ จึงถื อกั นว่าการบุญยกช่อฟ้าเป็นการบุญ อันศักดิส์ ทิ ธิแ์ ละยิง่ ใหญ่ ถือกันมาแต่อดีตว่า ผูป้ ระกอบด้วยบุญญาธิการสูงส่งเท่านัน้ จึงจะ ยกช่อฟ้าได้
ต่อมา วันที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2552 ยกเสา ซุ้มประตูหน้าวัดเขากรวด วันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ.2552 ท่านผูห้ ญิง ทัศนาวลั ย ศรสงคราม มาทอดกฐิน ถวาย พระครูพิ พิธธรรมานุยุต (ประชุม อติธมฺโม) ชีวังกูลย์ นามสกุลเดิม ปัจจุ บัน พระอธิการอ�ำนาจ เป็นเจ้า อาวาสวัดเขากรวดมหาพุทธาราม RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 79
79
9/9/2018 8:54:47 PM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดไผ่ล้อม
พระครูใบฎีกาเลอพงษ์ อุตฺตมธมฺโม ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส วัดไผ่ล้อม ตั้งอยู่หมู่ที่ 8 ต�ำบลบางป่า อ�ำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2315 ได้รบั วิสงุ คามสีมาเมือ่ ปี พ.ศ.2457 สังกัดคณะสงฆ์ฝา่ ยมหานิกาย ตัง้ อยูบ่ นเนือ้ ที่ 15 ไร่ 57 ตารางวา สาเหตุทเี่ รียกว่าวัดไผ่ลอ้ ม เนื่ อ งจากบริ เ วณวั ด มี ต ้ น ไผ่ สี สุ ก ขึ้ น เป็ น จ�ำนวนมาก ซึ่งต้นไผ่สีสุกนี้ชาวบ้านนิยมน�ำ ไปสานตะกร้าไว้ใช้และเป็นสินค้าโอทอปอ ย่างหนึ่งในจังหวัดราชบุรี แต่ เ ดิ ม บริ เ วณวั ด แห่ ง นี้ เคยเป็ น ศู น ย์ รวมเส้นทางการจราจรทางน�้ำ มีศาลาริมน�้ำ แบบสามมุข เคยเป็นท่าเรือเก่า ซึ่งสร้างขึ้น 80
โครงการก่อสร้างมหาสมัยเจดีย์ทีมีความกว้าง 72 เมตรสูง109เมตร
มาตัง้ แต่สมัยรัชกาลที่ 5 หน้าวัดมีศาลามหา สมัยเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธธรรมมงคล เป็ น พระพุ ท ธรู ป ปางมารวิ ชั ย องค์ สี ข าว สร้างขึน้ เมือ่ ปี พ.ศ.2550 มีความสูง 8 เมตร ความยาว 5.50 เมตร ต่อมาในปีพ.ศ.2558 ทางวัดได้ซอื้ ทีด่ นิ หน้าวัดตรงหน้าพระพุทธรูป พระพุทธธรรมมงคล และได้ใช้พื้นที่นี้สร้าง มหาสมัยเจดีย์ขึ้นมาเพื่อเป็นที่ประดิษฐาน พระบรมสาริกธาตุ พระพุทธรูปปางมารวิชยั หรือ ปางชนะมาร หรือ ปางสะดุง้ มาร เป็นพระพุทธรูปปางหนึง่ อยู่ในพระอิริยาบถนั่งขัดสมาธิ พระหัตถ์
ซ้ายหงายวางบนพระเพลา พระหัตถ์ขวาวาง คว�ำ่ ลงทีพ่ ระชานุ นิว้ พระหัตถ์ชล้ี งทีพ่ นื้ ธรณี ในคราวที่พระองค์ทรงเอาชนะมารได้ มี ป ระวั ติ ค วามเป็ น มาตั้ ง แต่ เ มื่ อ ครั้ ง พระบรมโพธิสัตว์ (พระพุทธเจ้าก่อนบรรลุ ธรรม) ได้เสด็จไปประทับใต้ต้นมหาโพธิ์ใน เวลาเย็น และนัง่ สมาธิกำ� หนดจิตเจริญสมาธิ ภาวนา เพือ่ การบรรลุพระสัมมาสัมโพธิญาณ ในจิ ต ของพระองค์ ข ณะนั้ น ปรากฎเป็ น สัญญาโลกียสุขตัง้ แต่เมือ่ ครัง้ อยูค่ รองเรือนใน หนหลัง ซึ่งผู้แต่งปฐมสมโพธิกถา ได้แสดง การผจญในโลกียสุขของพระบรมโพธิสัตว์
SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี
.indd 80
9/9/2018 9:08:07 PM
โดยใช้การผจญของมารเป็นสัญลักษณ์ ดังนี้ ว่า เป็นพญาวัสสวดีเทพบุตรมาร ซึ่งคอย ติดตามพระองค์อยู่จึงเข้าขัดขวาง โดยขี่ช้าง คิรีเมขล์ น�ำเหล่าเสนามารจ�ำนวนมากเข้า มารบกวน หวังให้พระองค์เกรงกลัวจะได้ ลุกขึน้ เสด็จหนีไป แต่พระองค์กย็ งั ประทับนิง่ เป็นปกติโดยมิได้ทรงหวั่นไหว พญามารจึง โกรธมาก สัง่ ให้เสนามารรุมกันท�ำร้ายพระองค์ พระองค์จึงทรงนึกถึงบารมี 30 ทัศ ที่ทรง บ�ำเพ็ญสัง่ สมมาทุกชาติ โดยขอให้แม่พระธรณี เป็ น พยาน แม่ พ ระธรณี จึ ง ผุ ด ขึ้ น มาจาก พื้นดิน แล้วบิดมวยผมจนน�้ำท่วม กระแสน�้ำ ก็พัดพาพวกเสนามารไปหมดสิ้น พญาวัส สวดีเทพบุตรมารจึงยอมแพ้หนีไป พระเถรานุเถระแห่งวัดไผ่ล้อมซึ่งเป็นที่ ศรัทธาของประชาชน พระครูเจริญ อินทโชโต เคยด�ำรงต�ำแหน่ง เจ้าอาวาสวัดไผ่ล้อมล�ำดับที่ 5 ท่านเป็น เกจิอาจารย์คนเก่าคนแก่ในพื้นที่ทางราชบุรี และละแวกใกล้เคียง ศาสนสถานและปูชนียวัตถุที่ส�ำคัญ 1. วิ ห ารหลวงปู ่ เ จริ ญ สร้ า งเมื่ อ ปี พ.ศ.2536 2. อุโบสถ เป็นอาคารคอนกรีตเสริม เหล็ก กว้าง 10.75 เมตร ยาว 19.50 เมตร 3. ศาลาสามมุ ข ศิ ล ปะจี น โบราณที่ ก่อสร้างในสมัยรัชกาลที่ 5 เหลืออยูเ่ พียงแห่ง เดียวในจังหวัดราชบุรี
งานประจ�ำปีของวัดไผ่ล้อม เป็นงานปิด ทองหลวงพ่อพระพุทธธรรมมงคล (หลวงพ่อ ใหญ่) และงานอาจาริยบูชาอดีตเจ้าอาวาส จัดขึ้นในช่วงเทศกาลตรุษจีนของทุกปี ขอเชิญพุทธศาสนิกชนเดินทางมาสักการ บูชาหลวงพ่อพระพุทธธรรมมงคลได้ทุกวัน โดยทางวั ด จั ด ให้ มี ก ารสวดมนต์ ที่ ห น้ า พระพุ ท ธรู ป และจั ด กิ จ กรรมพิ เ ศษทาง พระพุ ท ธศาสนา ให้ กั บ ชาวบ้ า นในเวลา 19.00 นาฬิกา ทุกวันพระ อานิสงส์ของการสวดมนต์ ในวิมตุ ติสตู ร กล่าวว่า การสาธยายมนต์คือเหตุหนึ่งใน
วิมตุ ติ 5 ประการ เลยทีเดียว ดังพุทธพจน์วา่ “ดู ก รภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย ...ภิ ก ษุ ย ่ อ มท� ำ การ สาธยายธรรมเท่าที่ได้สดับ เมื่อเธอเข้าใจ อรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์ เมือ่ เกิด ปราโมทย์แล้ว ย่อมเกิดปีติ เมือ่ ใจเกิดปีตกิ าย ย่อมสงบ ผู้มีกายสงบแล้ว ย่อมได้เสวยสุข เมือ่ มีสขุ จิตย่อมตัง้ มัน่ ...นีเ้ ป็นเหตุแห่งวิมตุ ติ ข้อที่ 3 ซึง่ เป็นเหตุให้จติ ของภิกษุผไู้ ม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยว ที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้นไป ย่อมถึง ความสิ้นไป หรือเธอย่อมได้บรรลุธรรมอัน เกษมจากโยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ”
RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 81
81
9/9/2018 9:08:25 PM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
WAT PROM THAM NIMIT
วัดพรหมธรรมนิมิต พระครูปลัดบุญธรรม อภิปุญฺโญ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
เจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน
82
วั ด พรหมธรรมนิ มิต ตั้ง อยู่เ ลขที่ 99 หมูท่ ่ี 16 ตำ�บลด่านทับตะโก อำ�เภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย โดยมี พ ระครู ป ลั ด บุ ญ ธรรม อภิ ปุ ญฺ โ ญ เป็นเจ้าอาวาส พร้อมทัง้ คณะศรัทธาชาวบ้าน ด่านทับตะโก และประชาชนใกล้ไกลร่วมเป็น เจ้าภาพซื้อที่ดินถวาย มีเนื้อที่ 17 ไร่ 1 งาน 92 ตารางวา เมื่ อ ปี พ.ศ.2545 ท่ า นพระอาจารย์ บุญธรรม อภิปญ ุ โฺ ญ และเพือ่ นสหธรรมิก คือ พระอาจารย์วรัญญู อนุภทฺโท ตอนนั้นอยู่
วัดไทรงามธรรมธราราม ตำ�บลดอนมะสัง อำ�เภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี ได้ไปศึกษา หลักธรรมของการปฏิบตั กิ บั หลวงพ่อพระครู ภาวนุศาสก์ (แป้น ธมฺมธโร) วัดไทรงาม จังหวัดสุพรรณบุรี ในหลักของมหาสติปฏั ฐาน เมือ่ ได้ธรรมจากครูบาอาจารย์แล้วจึงเดินทาง หาที่สร้างวัด ไปมาหลายที่หลายอำ�เภอและ มาพบที่สัปปายะที่บ้านหนองคัน ตำ�บลด่าน ทับตะโก อำ�เภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี เมื่อ เห็นภูมปิ ระเทศเหมาะสมในการปฏิบตั ธิ รรม จึงตกลงก่อสร้างสำ�นักปฏิบัติธรรม ตามที่
SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี
.indd 82
9/9/2018 8:50:19 PM
พระครูวินันธรวรัญญูอนุภทฺโทรองเจ้าอาวาส
ปู่โสมได้มานิมิต บอกให้ เมื่ อ วั น ที่ 29 มิ ถุ น ายน พ.ศ.2545 ยกเสาเอกศาลาพืน้ ที่ มีพระประจำ�พรรษาแรก 9 รูป สร้างเสนาสนะที่เป็นรูปธรรม จากนั้น ได้ยื่นเรื่องขอตั้งวัด และได้รับการพิจารณา แต่ ง ตั้ ง เป็ น วั ด พรหมธรรมนิ มิ ต ในบวร พระพุทธศาสนาเมือ่ วันที่ 13 ตุลาคม พ.ศ.2553 โดย ร.ต.ต.สุนทร ธรรมประเสริฐ เป็นผู้ขอ จากนัน้ ได้ท�ำ เรือ่ งขอสร้างถาวรวัตถุ มีเสนาสนะ มีศาลาการเปรียญศาลาพรหมมินทร์ กว้าง 14 เมตร ยาว 38 เมตร 1 หลัง ศาลาปฏิบตั ธิ รรม
1 หลัง กว้าง 9 เมตร ยาว 14 เมตร และ กุฏิพระสงฆ์ จำ�นวน 16 หลัง ที่พักผู้ปฏิบัติ ธรรม 1 หลัง ห้องน้�ำ ห้องสุขา ดำ�เนินการ สร้างวัดมาเป็นเวลา 8 ปี และดำ�เนินการ สร้างอุโบสถต่อไป วัดพรหมธรรมนิมิต มีเจ้าสำ�นักสงฆ์และ เจ้าอาวาสปกครองดูแลวัดเพียงรูปเดียวจนถึง ปัจจุบนั คือ พระครูปลัดบุญธรรม อภิปญ ุ โฺ ญ โดยในปี พ.ศ.2545 – พ.ศ.2552 เป็นประธาน เจ้าสำ�นักที่พักสงฆ์ และตั้งแต่พ.ศ.2553 – ปัจจุบัน เป็น เจ้าอาวาส ประวัติเจ้าอาวาส พระครูปลัดบุญธรรม ฉายา อภิปุญฺโญ นามสกุล แซ่เฮ้ง เกิดวันที่ 24 ธันวาคม พ.ศ.2505 เป็ นบุ ต รคนที่ 6 ของเตี่ ย อู๊ ด แซ่เฮ้ง คุณแม่สวง บัวทอง (ขณะนี้บวชเป็น แม่ชีอยู่ ปัจจุบันอายุ 89 ปี จบการศึกษาชั้น ประถมศึกษาปี ที่ 4 โรงเรียนวัดอุบลวรรณาราม อำ�เภอดำ�เนินสะดวก จังหวัดราชบุรี อาชีพ รับจ้างทำ�สวน) อายุ 21 ปี อุปสมบทเป็น ภิกษุ ณ วัดหลักหกรัตนาราม ต.ศรสุราษฎร์ อำ�เภอดำ�เนินสะดวก จังหวัดราชบุรี เวลา
สถานที่เดินจงกรม
10.45 น. เมื่อวันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2525 ประจำ�พรรษาทีว่ ดั หลักหกรัตนาราม 7 พรรษา แล้วไปศึกษาวิปสั สนากัมมัฏฐานทีว่ ดั ไทรงาม ธรรมธราราม ต.ดอนมะสัง อ.เมือง จ.สุพรรณบุรี พร้อมพระครูวนิ ยั ธรวรัญญู อนุภทฺโท ฝากตัว เป็นศิษย์กับ พระครูภาวนานุศาสก์ (แป้น ธมฺมธโร) ศึกษาวิปัสสนากัมมัฏฐานในหลัก มหาสติปัฏฐาน 4 อริยมรรคมีองค์ 8 ที่ วัดไทรงามธรรมธราราม 14 ปี จึงกลับมา สร้างสำ�นักการปฏิบัติวิปัสสนา ที่บ้านหนอง
มหามุนีรัตนวิหาร
RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 83
83
9/9/2018 8:50:31 PM
ภาพการปฏิบัติธรรมในหลักมหาสติปัฏฐานสี่ในอริยาบถ ยืน-เดิน- นั่งเจริญสติภาวนา
คัน ต.ด่านทับตะโก อ.จอมบึง จ.ราชบุรี และ ได้สร้างเป็นวัดชื่อ วัดพรหมธรรมนิมิต เริ่ม ตั้งแต่ 29 มิถุนายน พ.ศ.2545 ได้ประกาศ เป็นวัดเมื่อ 13 ตุลาคม พ.ศ.2553 โดยมี ร.ต.ต.สุนทร ธรรมประเสริฐ เป็นผู้ขอตั้งวัด ปัจจุบนั พระครูปลัดบุญธรรม อภิปญ ุ โฺ ญ เป็นเจ้าอาวาส และ พระครูวินัยธรวรัญญู อนุภทฺโท รองเจ้าอาวาส ศาสนสถานวัดพรหมธรรมนิมิต เหรียญปฐมอรหันต์ธรรมจักร ในหลัก การปฏิบัติ เส้นผ่าศูนย์กลาง 11 เมตร ด้าน หน้าเหรียญปฐมอรหันต์ธรรมจักร เป็นรูป พระพุทธองค์นงั่ ตรงกลางลวดลายธรรมจักร วงที่ 1 หมายถึงองค์สมเด็จพระสัมมาสัม พุทธเจ้าในภัทรกัปป์นี้ 5 พระองค์ วงที่ 2 หมายถึง พระธรรมทีพ่ ระพุทธองค์ตรัสเทศนา ให้ พ ระพุ ท ธสาวกด้ ว ยธรรมะที่ ว่ า สิ่ ง ใด เกิดแต่เหตุ สิ่งนั้นย่อมดับไปด้วยเหตุ วงที่ 3 หมายถึงนามพระพุทธสาวก คือ พระโสณ มหาเถระ และพระอุตตรมหาเถระ ที่นำ� พระพุทธศาสนาเผยแผ่ ณ ดินแดนสุวรรณภูมิ ด้านหลัง เหรียญปฐมอรหันต์ธรรมจักร เป็น รูปวงล้อธรรมจักร หมายถึง พระพุทธเจ้า องค์น้ันทรงหมุนวงล้อธรรมให้เคลื่อนที่ไป คื อ พระองค์ ท รงแสดงพระธรรมเทศนา 84
เหรียญปฐมอรหันต์พระธรรมจักร
“ธัมมจักกัปปวัตนสูตร” มีอริยสัจสี่ อริยมรรค มีองค์แปด เป็นทางดำ�เนินแห่งการปฏิบัติ สู่มรรคผลพระนิพพาน องค์ทา้ วสหัมบดีมหาพรหมรังสี พระพรหม ผู้กราบทูลอาราธนาพระพุทธเจ้าออกโปรด เวไนยสัตว์ หน้าตัก 8 เมตร วิหารหลวงพ่อทันใจ พระประจำ�วันเกิด และ ตำ�หนักสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ปัจจุบนั กำ�ลังสร้างอุโบสถ กว้าง 14.50 เมตร ยาว 33 เมตร
คำ�อธิษฐานสร้างอุโบสถ นะโม 3 จบ ขอเดชคุณพระศรีรัตนตรัย เป็นที่พึ่งอัน เกษมสูงสุด ด้วยเดชแห่งมหากุศลผลทานบารมี ของข้าพเจ้า...(ชื่อ - นามสกุล) ได้ร่วมเป็น เจ้าภาพทำ�บุญสร้างอุโบสถด้วยเจตนาบริสทุ ธิ์ ในมหากุศลครั้งนี้ ขออานิสงส์ผลบุญ ด้วย เจตนาอันบริสุทธิ์ในกุศลครั้งนี้ ขออานิสงส์ ผลบุ ญ ที่ บั ง เกิ ด จงแผ่ ไ พศาลไปถึ ง พระ แม่ธรณี เจ้าที่ เจ้าทาง เจ้ากรรมนายเวร
พระอาจารย์ธ ัม์มทีโปประธานศูนย์พัฒนาจิตเฉลิมพระเกียรติบ้านวังเมือง จ.พังงาพระอาจารย์สุรพจน์สัท์ธาธิโกพร้อมคณะศิษย์อุปถัมภ์สร้างอุโบสถ
SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี
.indd 84
9/9/2018 8:50:37 PM
ด้านหน้าธรรมจักร
บรรพบุ รุ ษ ของข้ า พเจ้ า ทั้ ง สองฝ่ า ย ที่ ไ ด้ ล่วงลับไปแล้ว ขออำ�นาจบุญกุศลที่ข้าพเจ้าได้ร่วมเป็น เจ้าภาพอุโบสถในครัง้ นีจ้ งเป็นกุศลผลบุญส่ง ให้ขา้ พเจ้าและครอบครัวจงมีความสุข ความ เจริญรุ่งเรืองในหน้าที่การงาน ทำ�กิจการ งาน ค้าขายอันใด ขอให้มีความคล่องตัว ใน เรื่องการเงินขอให้มีโชคลาภทางด้านการเงิน มีศาสนาบารมี มีสุขภาพแข็งแรงปราศจาก โรคภัยด้วยเทอญ (หรือจะอธิษฐานในสิ่งที่ ปรารถนา) อานิสงส์การสร้างอุโบสถ 1. เป็นผู้ถึงพร้อมด้วย อายุ คือ มีอายุ ยาวนาน 2. เป็นผู้ถึงพร้อมด้วย วรรณะ คือ มีผิว พรรณวรรณะผ่องใส เป็นที่เลื่อมใส ศรัทธา แก่ผู้ที่พบเห็น 3. เป็นผูถ้ งึ พร้อมด้วยสุขะ คือ มีความสุข กาย สุขใจ อยู่เป็นนิจ 4. เป็นผู้ถึงพร้อมด้วย พละ คือ มีพละ กำ�ลังแข็งแรง 5. เป็นผู้ถึงพร้อมด้วย ปฏิภาณ คือ สติ ปัญญาเฉลียวฉลาด ปฏิภาณว่องไว 6. เป็นผู้ถึงพร้อมด้วย โภคทรัพย์สมบัติ เพราะได้บริจาคทานไว้ในพระพุทธศาสนา
7. เป็ น ที่ รั ก ของ เทวดา และมนุ ษ ย์ ทั้งหลาย 8. เมื่อสิ้นชีวิตไปแล้ว ย่อมไปสู่สุคติภพ โลกสวรรค์ 9. ทำ�ให้บรรลุ มรรค ผล พระนิพพาน และไปถึงที่สุดแห่งธรรมได้โดยง่าย คำ�บูชาท้าวสหัมบดีมหาพรหมรังสี นะโม 3 จบ โอม เมกะมุอุ สะหัมบดีมหาพรหมรังสี เทวานัง 3 จบ พรหมเอ๋ย พรหมา พรหมทั้งสี่ทิศ พรหม องค์ใดประกาศิต พรหมองค์ประกาศิต ขอ อั ญ เชิ ญ เสด็ จ ลงมาเพิ่ ม อิ ท ธิ ฤ ทธิ์ จิ ต ตะ ฤทธิ์ เทวฤทธิ์ พรหมฤทธิ์ บุญฤทธิ์ ทำ�พิธี เบิกฟ้า เบิกดิน เปิดขุมทรัพย์ เปิดดวงชะตา บารมี เปิดหน้าที่การงาน แก่ข้าพเจ้า (ชื่อ-
อาจารย์นันทนาคุณวิโรจน์กสิบุตรสถาบันกวดวิชา นันทนากรุงเทพมหานครพร้อมครอบครัว ประธานอุปถัมภ์สร้างอุโบสถฝ่ายฆราวาส
นามสกุล) โดยเฉียบพลันฯ พุทธังประสิทธิ์ ธัมมังประสิทธิ์ สังฆังประสิทธิ์ เทวาประสิทธิ์ พรหมมาประสิทธิ์ มหาประสิทธิ์ เม ฯลฯ ข้าพเจ้า (ชื่อ - นามสกุล) ขอน้อมกราบ นมั ส การองค์ ท้ า วสหั ม บดี ม หาพรหมรั ง สี ผู้เป็นใหญ่ ในแดนสรวง ข้าพเจ้าขอน้อม อั ญ เชิ ญ ญาณพระบารมี ข ององค์ ท่ า นท้ า ว สหัมบดีมหาพรหมรังสี ได้โปรดเสด็จลงมา ประทับอยู่ ณ ที่นี้ เพื่ออำ�นวยอวยพรให้ แก่ข้าพเจ้าทำ�การสิ่งใด หากมีกรรมอันใด คอยเหนี่ ยวรั้ ง ไม่ ว่ า จะเป็ น หน้ า ที่ ก ารงาน สุขภาพร่างกาย ข้าพเจ้าขอตั้งจิตอธิษฐาน (ทำ � สมาธิ ตั้ ง จิ ต อธิ ษ ฐานสั ก ครู่ ) ขอให้ คำ � อธิษฐานดังกล่าวสัมฤทธิ์ผลด้วยบุญบารมี ขององค์ ท่ า นท้ า วสหั ม บดี ม หาพรหมรั ง สี ด้วยเทอญ ฯลฯ ( เต ) ให้กับผู้อื่น
สถานที่สร้างอุโบสถ
คุณลดารัตน์พรัดมะลิคุณประสิทธิ์คงจิตงามหจก.พีทีเอส ดีไซน์แอนด์คอนสตรัคชั่นประธานด�ำเนินการสร้างอุโบสถ
RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 85
85
9/9/2018 8:50:50 PM
Wat Prom Tham Nimit Phra Khru Palad Boontham Apipoonyo takes a position of abbot. Wat Prom Tham Nimit is located at 99 village no.16, Dan Thap Tako sub-district, Chom Bueng district, Ratchaburi province. It belongs to Maha Nikai clergy. Scale of this temple’s land is 6.8 acres and 768 square meters which offered by faithful people of Dan Thap Tako together with others from various area who jointly bought this land. Abbot of this temple is Phra Khru Palad Boontham Apipoonyo. In B.E.2545, Phra Ajarn Boontham Apipoonyo and Phra Ajarn Waranyu Anupatto who stayed at Wat Sai Ngam
Thamthararam, Don Ma Sang subdistrict, Mueang district, Suphanburi province at that time, had chance to study dharmic principle and the way of dharma-practicing from Phra Khru Pawwanusat (Paen Thammatharo) of Wat Sai Ngam which this principle is Maha Satipatthana sutta. After he got dharmic principle from his master, he then started his journey to find a place to build temple. He has travelled to many places, then, he found Sappaya place at Ban Nong Khan, Dan Thap Tako sub-district, Chom Bueng district, Ratchaburi province (Sappaya means comfortable), when he saw this landscape which suited for dharma-
practicing, he started the construction of unofficial temple as per the spirit told him in his dream. On 29 June B.E.2545, groundbreaking ceremony was performed and there were 9 monks at this temple when it was established. After that, Police Sub-Lieutenant Soonthorn Thamprasert requested for a permission to establish an official temple which it was granted on 13 October B.E.2553. Then, he also asked for permission to build permanent structures which are the following buildings: Prommin sermon hall - 14 meters in width and 38 meters in length, dharma-practicing hall - 9 meters in width and 14 meters in length, 16 of monk’s house, temporary
86 SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี ต�ำหนักที่ประทับ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
.indd 86
9/9/2018 8:50:59 PM
หลวงพ่อทันใจ
ท้าวสามบดีมหาพรหมรังสีเป็นพระพรหมผู้กราบทูลอาราธนาพระพุทธเจ้าโปรดเวไนยสัตว์
living place for Dhamma practitioner and restroom. The construction has been taken place for 6 years and the construction of ubosot is taking place now. Religious place, Wat Prom Tham Nimit The coin of the first Buddhist saint and the Wheel of the Law, details of this coin is as follows: its diameter is 11 meters, front side of this coin is Lord Buddha sitting in the middle of the Wheel of the Law. The first wheel means 5 Lord Buddha of this eon which are Kakusandha Buddha, Konagum Buddha, Kassapa Buddha, Gautama Buddha, Metteyya Buddha. Second wheel means Buddha’s teaching that Lord Buddha had preached his disciples which is “Anything that happens because of its origin, that thing can be ended by its origin as well”. Third wheel means the name of his disciples which are Sona Mahathera and Uttara Mahathera who propagated Buddhism in Suvarnabhumi. The back side of this coin is the Wheel of the Law which means Lord Buddha had spun Dhamma wheel
which means Lord Buddha gave a sermon “Dhammacakkappavattana Sutta” which has four noble truths, four paths of saintship in Buddhism. Saham Bordi Maha Phrom Rangsi Brahma – The Brahma who respectfully begged Lord Buddha to show clemency to human who still can be an enlightened being. Na Tak of this statue is 8 meters (Na Tak is long measure of the Buddha statue in the posture of meditation) Luang Phor Tan Jai Buddha image hall, Buddha image of the Seven days and King Naresuan’s palace.
At present, the construction of ubosot is taking place which its scale is 14.5 meter in width and 33 meters in length. Result of merit of building ubosot 1. Longevity. 2. Pure and fresh skin which admired by many people. 3. Having a healthy and happy life. 4. Having a strong body. 5. Having wisdom and intelligence. 6. Becoming wealthy because of the virtue of giving an alms to Buddhism. 7. Favored by angles and humans. 8. After passed away, will go to heaven. 9. Causing the enlightenment of the way to the cessation of suffering and can go to nirvana.
สร้างอุโบสถ กว้าง14.50 ม. ยาว 33 ม.
RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 87
87
9/9/2018 8:51:12 PM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดถ�้ำสิงโตทอง
พระครูภาวนาโชติคุณ ชุตินฺธโร ด�ำรงต�ำแหน่ง เจ้าอาวาส ที่ ตั้ ง วั ด ถ้ำ � สิ ง โตทอง ตำ � บลปากช่ อ ง อำ�เภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี เมื่อปีพ.ศ.๒๕๐๙ พระมานิตย์ได้พบกับ หลวงปูโ่ ต๊ะ วัดประดูฉ่ มิ พลี กรุงเทพฯและได้ ชักชวนหลวงปูโ่ ต๊ะมายังถ้�ำ สิงโตทอง หลวงปู่ เล็งเห็นว่าสถานที่นี้สงบเงียบเหมาะสำ�หรับ เป็ น ที่ ป ฏิ บั ติ ธ รรม จนกระทั่ ง มี ลู ก ศิ ษ ย์ รวบรวมทุนทรัพย์ซื้อที่ดินถวายและก่อสร้าง วัดถ้�ำ สิงโตทองแห่งนี้ โดยใช้ชอื่ ว่า “ทีพ่ กั สงฆ์ ถ้ำ�สิงโตทอง” เพื่อเป็นสถานที่ปฏิบัติธรรม ต่อมาได้ดำ�เนินการขอ อนุญาตต่อกรมการ 88
ศาสนา และได้รบั อนุญาตให้กอ่ สร้างวัด เมือ่ วันที่ ๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๒๑ โดยนายวิรัช วงศาโรจน์ เป็น ผู้ขออนุญาตตั้งวัดต่อกรม ศาสนา ได้รับการประกาศตั้งวัดเมื่อวันที่ ๒ พฤษภาคม ๒๕๒๗ โดยใช้ชอ่ื ว่า “วัดเขาถ้�ำ สิงโต” ต่อมาทางวัดได้ขอเปลีย่ นชือ่ วัดเป็นชือ่ “วัดถ้ำ�สิงโตทอง” ตามเดิมในปี พ.ศ. ๒๕๓๓ ศาสตราจารย์ ดร.อุกฤษ ท่านผู้หญิงมณฑินี มงคลนาวิน ดำ�เนินการก่อสร้างอุโบสถ เป็น อุโบสถที่สร้างเพื่อเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จ พระนางเจ้าพระบรมราชินนี าถ ในรัชกาลที่ 9
SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี
.indd 88
9/9/2018 9:01:35 PM
วิชาการ หนังสือกฏหมาย และอีกหลายเล่ม ที่น่าสนใจ บรรยากาศภายในห้องตกแต่งได้ เป็นระเบียบ เงียบสงบ เหมาะกับเป็นที่อ่าน หนังสืออย่างดี ด้านหลังจะมีบันไดและลิฟท์ ขึ้นไปยังชั้นที่สอง ระหว่างทางเดินมีรูปภาพ ติดฝาผนังเป็นภาพพุทธประวัตพิ ระพุทธเจ้า ภายในเป็นห้องของชั้นที่สอง จะจัดแสดง หุน่ ขีผ้ งึ้ อดีตสมเด็จพระสังฆราช 19 พระองค์ และพระอริยสงฆ์ 18 รูป พิพิธภัณฑ์แห่งนี้ สร้างขีน้ โดยมูลนิธศิ าสตราจารย์ ดร.อุกฤษ – ท่านผูห้ ญิง มณฑินี มงคลนาวิน เนือ่ งในโอกาส ครบ 100 ปี พระบาทสมเด็จพระปรเมน ทรมหาวชิราวุธฯ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่พระราชทานนามสกุล “มงคลนาวิน” เมื่อ ครบ ๖๐ พรรษา (พ.ศ.๒๕๓๕) เป็นสถาปัตยกรรม พระราชนิยมสมัยรัชกาลที่ ๓ เน้นความเรียบ ง่ายแต่แข็งแรง สร้างด้วยคอนกรีตเสริมเหล็ก ภายในกรุด้วยไม้สัก เพื่อให้สะดวกแก่การ ดูแลรักษา โดยดัดแปลงจากแบบเดิมของ หลวงปู่โต๊ะ ที่ท่านตั้งใจจะสร้างอุโบสถด้วย ไม้ทั้งหลัง โดยให้เหตุผลว่า “จะสร้างให้คน รุ่นหลังดู ต่อไปจะหาไม้สร้างได้ยาก” ซึ่ง ศาสตราจารย์ ดร.อุกฤษ - ท่านผูห้ ญิงมณฑินี มงคลนาวิน เป็นประธานดำ�เนินการก่อสร้าง จนแล้วเสร็จ ด้วยงบประมาณ ๒๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท (ยี่สิบล้านบาทถ้วน) โดยถือคติว่าไม่ เบียดเบียนใคร และได้สร้าง พระพุทธปฎิมา พระประธาน ในพระอุโบสถ ได้รบั พระราชทาน นามว่า “พระพุทธสิรกิ ติ พิ พิ ฒ ั น์” มีความหมาย ว่า “พระพุทธเจ้าซึ่งทรงไว้ด้วย สิริ และ เกียรติ” ซึง่ สมเด็จพระญาณสังวรสมเด็จพระ สังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก ทรงเป็น ประธานเททอง เมื่อวันเสาร์ที่ ๙ มีนาคม ๒๕๓๕ ตรงกับวันแรม ๙ ค่ำ� เดือน ๔ ณ วัดบวรนิเวศวิหาร ขนาดหน้าตักกว้าง ๒.๙๙ เมตร ฝีมือการออกแบบของ คุณไข่มุกด์ ชูโต ปฏิมากรแห่งราชสำ�นักฯสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินนี าถ ในรัชกาลที่ 9 ทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ พระราชทาน พระราชานุญาตให้
อัญเชิญพระนามาภิไธย “ส.ก.” ประดิษฐาน ที่หน้าบันพระอุโบสถ โดยมีพระราชกระแส รับสัง่ ว่า “เป็นอุโบสถหลังแรกทีม่ นี ามาภิไธย ของพระองค์ท่านประดิษฐานอยู่” พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ฯ รัชกาลที่ 9 เสด็จวัดถ้ำ�สิงโตทอง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ฯ รัชกาลที่ 9 และ สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินนี าถ เสด็จพระราชดำ�เนิน ณ วัดถ้�ำ สิงโตทอง จังหวัด ราชบุรี ทรงยกฉัตรพระประธาน ตัดลูกนิมิต บรรจุ พ ระบรมสารี ริ ก ธาตุ ใ นพระเศี ย ร พระพุทธสิริกิตติพัฒน์ และทรงประกอบพิธี พุทธาภิเษก พระสมเด็จพระนางพญา สก. เมื่อวันที่ ๒๘ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๕๓๕ พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ม งคลนาวิ น เป็ น อาคาร 2 ชั้ น ในชั้ น แรกประดิ ษ ฐานพระบรมรู ป พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าฯ เป็นห้อง สมุด มีหนังสือหลายประเภท เช่น หนังสือ
วั น ที่ 14 ธั นวาคม พ.ศ. 2457-2557 ดำ�เนินการโดย ศาสตราจารย์ ดร.อุกฤษ – ท่านผู้หญิง มณฑินี มงคลนาวิน RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 89
89
9/9/2018 9:03:51 PM
PHOTOGRAPHER : ฐานันต์ สุภาสาคร, ชนเมศ วิลาศ
การด�ำรงอยู่ข อง
หนัง ใหญ่วัดขนอน และการก้า วย่างสู่
พิ พิธ ภัณ ฑ์ท้องถิ่นวัดขนอน 90
SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี
8
.indd 90
6/9/2561 14:41:47
TRAVELING IN A PREHISTORIC บันทึกเส้นทางความเป็นมาจังหวัดราชบุรี
คนสวยโพธาราม คนงามบ้านโป่งเมืองโอ่งมังกร วัดขนอนหนังใหญ่ ตื่นใจถ�้ำงาม ตลาดน�้ำด�ำเนิน เพลินค้างคาวร้อยล้าน ย่านยี่สกปลาดี RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
8
.indd 91
91
6/9/2561 14:41:49
คนสวยโพธาราม คนงามบ้านโป่ง เมืองโอ่งมังกร วัดขนอนหนังใหญ่ ตื่นใจถ�้ำงาม ตลาดน�้ำด�ำเนิน เพลินค้างคาวร้อยล้าน ย่านยี่สกปลาดี ค�ำขวัญประจ�ำจังหวัดราชบุรี
หากค� ำ ขวั ญ ประจ� ำ จั ง หวั ด เปรี ย บเสมื อ นการ แสดงออกหรือแนะน�ำเอกลักษณ์ ของดีของส�ำคัญ และแหล่งท่องเทีย่ วของจังหวัดนัน้ ๆ การที่ ‘วัดขนอน หนั ง ใหญ่ ’ ปรากฏชื่อ อยู่ใ นค�ำขวัญ ประจ�ำจังหวั ด ราชบุรีได้นั้นย่อมสะท้อนให้เห็นถึงความส�ำคัญทาง วั ฒนธรรมและการเป็ น แหล่ ง ท่ อ งเที่ ยวในจั ง หวั ด ราชบุรีของหนังใหญ่วัดขนอนเป็นอย่างดี ย้ อ นกลั บ ไปสู ่ แ รกเริ่ ม ท� ำ ตั ว หนั ง ใหญ่ โ ดยการ น�ำของ พระครูศรัทธาสุนทร (หลวงปู่กล่อม)ตราบ จนวันนี้ จะเห็นว่าหนังใหญ่วัดขนอนด�ำรงอยู่มากว่า ศตวรรษในขณะทีม่ หรสพการละเล่นอืน่ ๆ หลายอย่าง สูญหายไปตามกาลเวลา 92
SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี
8
.indd 92
6/9/2561 14:41:56
หนังใหญ่วดั ขนอนกลับยืนหยัดและด�ำรงอยูจ่ นถึง ปัจจุบนั ได้อย่างไร ค�ำตอบดังกล่าวคงสามารถพบเจอ หากเพียงหันกลับไปมองให้เห็นถึงสายใยความผูกพัน ระหว่างชุมชนและจิตวิญญาณของคนท�ำหนังกับหนัง ใหญ่ของพวกเขา
ถึงความร่วมมือร่วมใจกันของชาวบ้านผ่านสิ่งของจ�ำนวนมาก เมื่อวัวตายชาวบ้าน ก็น�ำหนังมาถวายวัด เด็กๆ หรือคนในชุมชนที่เข้าร่วมแสดงอยู่ในคณะหนังใหญ่ กะลามะพร้าวที่ได้รับมาจากการให้เด็กนักเรียนโรงเรียนศรัทธาสุนทรกล่อมวิริยะ ศึกษาหรือโรงเรียนวัดขนอนในปัจจุบันที่รวบรวมบ้านละหนึ่งกระสอบมามอบไว้ กับทางวัด หนังใหญ่วัดขนอนจึงต้องอาศัยคนทั้งชุมชนร่วมมือกัน
หนั ง ใหญ่ ยั ง เป็ น มหรสพการแสดงที่ ต ้ อ งใช้ ทรัพยากรสูงมาก ไม่ว่าจะเป็นหนังวัวซึ่งต้องใช้ทั้งตัว แกะเป็นตัวหนัง รวมถึงรูปแบบการแสดงหนังใหญ่ที่ ต้องใช้คนกว่า 20 ชีวติ หรือแม้แต่สว่ นประกอบเล็กๆ อย่างกะลามะพร้าวที่ใช้เป็นเชื้อเพลิงให้แสงในการ แสดง ในแต่ละครั้งแสดงกันประมาณ 10 คืน ต่อคืน ต้องใช้กะลาประมาณ 1 กระสอบ สิ่งเหล่านี้สะท้อน
หลังการมรณภาพของหลวงปูก่ ล่อมใน พ.ศ.๒๔๘๕ หนังใหญ่วดั ขนอนหยุดการ แสดงไปกว่าสามทศวรรษ เมื่อกรมศิลปากรเข้ามาฟื้นฟูหนังใหญ่วัดขนอนใน พ.ศ. 2513 และน�ำเอาครูหนังใหญ่ที่ยังมีชีวิตอยู่ อาทิ ครูละออ ทองมีสิทธิ์ ครูสว่าง ชัง เกตุ ครูจาง กลั่นแก้ว กลับมาเป็นแกนน�ำในการฟื้นฟูการแสดงหนังใหญ่ หนังใหญ่ วัดขนอนก็สามารถฟืน้ คืนกลับได้ในระยะเวลาไม่นาน ท�ำให้เห็นถึงจิตวิญญาณของ กลุ่มครูหนังใหญ่เหล่านี้ที่ไม่เคยละทิ้งหนังใหญ่ไปไหน ตลอดจนการตอบรับจาก คนในชุมชนที่พร้อมเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งในการปลุกหนังใหญ่ขึ้นใหม่อีกครั้ง RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
8
.indd 93
93
6/9/2561 14:41:59
หนังใหญ่วัดขนอนกลับยืนหยัดและด�ำรงอยู่จนถึงปัจจุบันได้อย่างไร ค�ำตอบดังกล่าวคงสามารถพบเจอหากเพี ยงหันกลับไปมองให้เห็นถึงสายใยความผูกพั น ระหว่างชุมชนและจิตวิญญาณของคนท�ำหนังกับหนังใหญ่ของพวกเขา สามารถฟืน้ กลับคืนขึน้ มาใหม่ได้ในปัจจุบนั เป็นผลจาก ความพยายามและจิตวิญญาณของกลุ่มคนท�ำหนังใหญ่รุ่น ใหม่ โดยการน�ำของพระครูพิทักษ์ศิลปาคม เจ้าอาวาสวัด ขนอน ที่เริ่มเข้ามาจับงานหนังใหญ่ด้วยจิตใจมุ่งมั่นในการ อนุรกั ษ์และฟืน้ ฟูหนังใหญ่ตงั้ แต่ครัง้ ยังเป็นพระลูกวัด ดังค�ำ กล่าวของหลวงพ่อที่ว่า “เราเห็นหนังใหญ่มาตั้งแต่เด็ก จึง ไม่อยากให้หนังใหญ่สญ ู หายไปไหน มีทางไหนทีท่ ำ� ได้กต็ อ้ ง ท�ำกันไป ซึง่ กว่ามาถึงวันนีพ้ วกเราต้องพยายามกันมามาก” ด้วยความพยายามของกลุ่มคนท�ำหนังใหญ่เหล่านี้ ปรากฏผลขึ้นอย่างเด่นชัด ในพ.ศ.๒๕๓๒ คณะหนังใหญ่วัด ขนอนได้มีโอกาสไปแสดงหน้าพระพักตร์สมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี เมื่อทรงทอดพระเนตร 94
เห็นว่าหนังใหญ่วัดขนอนที่ใช้แสดงอยู่นั้นทั้งเก่าและช�ำรุด ไปมาก ควรอนุรักษ์เก็บรักษาไว้ จนมีการด�ำเนินการจัด ท�ำตัวหนังใหญ่ชุดใหม่ขึ้นใช้ออกแสดงแทนตัวหนังชุดเก่า ด้วยเหตุนพี้ ระองค์จงึ ทรงมีพระมหากรุณาธิคณ ุ รับหนังใหญ่ วัดขนอนเข้าเป็นหนึ่งในโครงการพระราชด�ำริเพื่ออนุรักษ์ ฟื้นฟูหนังใหญ่วัดขนอน ที่ด�ำเนินการจัดท�ำตัวหนังใหญ่ชุด ใหม่ขึ้นโดยคณะมัณฑศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร พร้อม ทั้งจัดสร้างพิพิธภัณฑ์หนังใหญ่วัดขนอนซึ่งมีลักษณะเป็น เรือนไทยที่บูรณะขึ้นจากหอสวดมนต์เก่า เพื่อใช้จัดเก็บ พร้อมทั้งจัดแสดงหนังชุดเก่า ใน พ.ศ.2538 กระทั่งแล้ว เสร็จในพ.ศ.๒๕๔๒ ท�ำให้หนังใหญ่วัดขนอนเริ่มเป็นที่รู้จัก และมีชื่อเสียงมากขึ้นจนกลายเป็นแหล่งท่องเที่ยวทาง วัฒนธรรมที่ส�ำคัญของจังหวัดราชบุรีในปัจจุบัน
SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี
8
.indd 94
6/9/2561 14:42:04
RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
8
.indd 95
95
6/9/2561 14:42:07
96
SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี
8
.indd 96
6/9/2561 14:42:09
PHOTOGRAPHER : ฐานันต์ สุภาสาคร Facebook : Photo by toon PHOTOGRAPHER : ชนเมศ วิลาศ Facebook : PIPE Creativeimage บทความโดย : ปิยชาติ สึงตี มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพั นธ์ุ
ทั้ ง หมดนั้ น เป็ น เพี ย งเศษเสี้ ย วส่ ว นหนึ่ ง ของความพยายามที่กลุ่มคนท�ำหนังใหญ่ วัดขนอนได้ทำ� กันมาด้วยจิตวิญญาณ แห่ง ความรักและความผูกพันกับหนังใหญ่ ดังที่ สะท้อนออกมาจากบอกเล่าของหลวงตาฉลาด (พระฉลาด ถาวรนุ กู ล พงศ์ - อดี ต นาย หนังใหญ่ และผู้ดูแลพิ พิธภัณฑ์หนังใหญ่ วัดขนอนในปัจจุบัน) ที่ว่า “ชีวิตเรามันต้องคู่กับหนังใหญ่ ปฏิญาณ ตนไว้แล้ว ยังเคยพู ดเล่นๆ กับพระด้วยกัน เลยว่า ตายแล้วไม่ไปไหนหรอก จะอยู่ท่ีนี่ จะเป็นผีเฝ้าพิ พิธภัณฑ์อยู่ที่นี่”
นอกเหนือจากพิพิธภัณฑ์หนังใหญ่วัดขนอนที่มีชื่อเสียงอยู่ในปัจจุบันแล้ว ในอนาคตอัน ใกล้ทางวัดขนอนจะมีการก่อตั้งพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นวัดขนอน โดยใช้อาคารทรงไทยที่เคยเป็น กุฏิของหลวงปู่กล่อมหลังเก่าที่ได้มีการขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถานไว้กับกรมศิลปากร เป็น เรือนไทยไม้สบั ขนาด ๗ ห้อง และก�ำลังอยูใ่ นระหว่างการบูรณะเพือ่ ใช้ในการจัดแสดงโบราณ วัตถุ ศิลปวัตถุ ตลอดจนเครือ่ งมือเครือ่ งใช้ทเี่ ป็นภูมปิ ญ ั ญาชาวบ้าน โดยมูลนิธเิ ล็ก – ประไพ วิริยะพันธุ์ ได้เข้าส�ำรวจและขึ้นทะเบียนวัตถุแล้วกว่า 2,000 ชิ้น เรือ่ งทีม่ าทีไ่ ปของสิง่ ของเหล่านี้ จากการลงพืน้ ทีแ่ ละเก็บข้อมูลของผูเ้ ขียนในระหว่างวันที่ 20 – 26 กันยายน 2550 สันนิษฐานเบือ้ งต้นได้วา่ คงมีทมี่ าหลักๆ จาก 2 ทาง คือ ทางแรก จากความเป็นพระสงฆ์ที่เป็นที่นับถือของหลวงปู่กล่อม เพราะจากความทรงจ�ำของชาวบ้าน ที่มีต่อหลวงปู่กล่อมว่าเป็นพระที่มีคาถาอาคม มีความรู้เรื่องยาสมุนไพรในการรักษาโรคภัย ไข้เจ็บ ชาวบ้านยอมรับให้เป็นผู้ตัดสินคดีความเล็กๆ น้อยๆ ในท้องถิ่น ด้วยสถานะดังกล่าว หลวงปูก่ ล่อมย่อมเป็นพระทีม่ ลี กู ศิษย์ลกู หาเคารพนับถืออยูม่ ากทัง้ ในและนอกพืน้ ที่ จึงย่อมมี การน�ำสิง่ ของมาถวายให้กบั หลวงปู่ ส่วนทางทีส่ องอาจเป็นผลจากการทีใ่ นอดีตวัดขนอนเคย ถูกใช้เป็นทีเ่ ก็บรวบรวมอากรส่วยในละแวกพืน้ ทีเ่ พือ่ ส่งเข้ากรุงเทพฯ (สมัยรัตนโกสินทร์ตอน ต้น) จึงอาจเป็นไปได้ที่มีสิ่งของตกหล่นอยู่หรือตั้งใจถวายให้วัดอยู่ได้ หนังใหญ่วัดขนอนด�ำรงอยู่ผ่านเส้นทางการเดินทางที่ยาวไกลมาได้อย่างไรนั้น ค�ำตอบ ย่อมอยู่ที่การผสานกันระหว่างภายนอกกับภายใน ชุมชนและคนท�ำหนังใหญ่ก็เป็นลมที่เข้า โหมต่อให้ดวงไฟที่เกิดขึ้นจากการจุดประกายลุกโชนต่อไปได้ การจัดสร้างพิพิธภัณฑ์ท้อง ถิ่นวัดขนอนก�ำลังเข้าสู่ขั้นตอนสร้างความร่วมมือกับชุมชนผ่านการจัดรวมกลุ่มชาวบ้านเพื่อ สืบรากเหง้าและความสัมพันธ์ภายในชุมชน เพือ่ ให้พวกเขาซึง่ เป็นเจ้าของประวัตศิ าสตร์และ ความทรงจ�ำเป็นผู้ร่วมสร้างประวัติศาสตร์ท้องถิ่นตนเองด้วยการจัดตั้งพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
8
.indd 97
97
6/9/2561 14:42:20
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดพิทักษ์เทพาวาส พระปลัดประชุม ฌานสมฺปนฺโน ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
วั ด พิ ทั ก ษ์ เ ทพาวาส ต� ำ บลขุ น พิ ทั ก ษ์ อ�ำเภอด�ำเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี ได้รับ อนุญาตให้สร้างวัดเมือ่ วันที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ.2505 ได้ รั บ ตั้ ง เป็ นวั ด เมื่ อวั น ที่ 17 มี น าคม พ.ศ.2513 ได้ รั บ พระราชทาน วิสุงคามสีมาเมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2516 มี เ นื้ อ ที่ ก ว้ า ง 80 เมตร และได้ ประกอบพิ ธี ผู ก พั ท ธสี ม าเมื่ อ วั น ที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2523 ประวัตคิ วามเป็นมา ครัง้ เมือ่ ปีพ.ศ.2500 มีบุคคลคณะหนึ่งทั้งบรรพชิตและคฤหัสถ์ โดยฝ่ า ยบรรพชิ ต มี พ ระมหาเทพชิ น วโร 98
มาจากส�ำนักวัดโชติทายิการาม เป็นประธาน ส่วนฝ่ายคฤหัสถ์มนี ายผึง่ แสงทอง, นายชวน วิสวุ รรณ, นายปุย๋ วีระจินตนา เป็นต้น มีความ คิดริเริ่มที่จะสร้างวัดขึ้นในต�ำบลขุนพิทักษ์ ขณะนั้นมีผู้ประสงค์ขายที่ดินจ�ำนวน 16 ไร่ 2 งาน 76 ตารางวา ณ หมูบ่ า้ น หมูท่ ี่ 4 ต�ำบล ขุนพิทกั ษ์ อ�ำเภอด�ำเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี ในราคา 65,000 บาท คณะกรรมการ ดังกล่าวจึงจัดซื้อไว้ โดยช�ำระเงินค่าที่ดินนั้น เป็นงวดๆ เงินที่ซื้อที่ดินนี้ได้มาจากผู้มีจิต ศรัทธาได้บริจาคให้บ้าง คณะกรรมการจัด งานทอดผ้าป่าบ้าง กู้ยืมมาบ้าง จนกระทั่ง
SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี
.indd 98
9/9/2018 8:32:56 PM
ถึงปี พ.ศ.2504 จึงได้จัดการโอนกรรมสิทธิ์ จากผู ้ ข าย มาเป็ น กรรมสิ ท ธิ์ ข องคณะ กรรมการผู ้ ริ เ ริ่ ม สร้ า งวั ด อั น มี น ายผึ่ ง แสงทอง, นายชวน วิสวุ รรณ, นายปุย๋ วีระจินดา ทั้ง 3 ท่าน พร้อมกับการด�ำเนินการหาเงิน ซื้อที่ดินที่ตั้งวัด ก็มีผู้มีจิตศรัทธาได้บริจาค บ้านทรงไทยฝาแฝดไม้สกั 3 หลังๆ ละ 3 ห้อง ให้ แ ก่ วั ด เพื่ อ ให้ ภิ ก ษุ ส ามเณรได้ อ าศั ย จ� ำ พรรษา พร้ อ มกั น นั้ น ทางคณะกรรมการ ได้สร้างศาลาบ�ำเพ็ญกุศลกว้าง 5.80 เมตร ยาว 16 เมตร นอกจากนี้ พระครูพิทักษ์เทพสิทธิ์ได้ จัดซือ้ ทีด่ นิ ให้เป็นสมบัตขิ องวัด (ทีธ่ รณีสงฆ์) อีก 5 แปลง เป็นเนื้อที่ 41 ไร่ 1 งาน 16
ตารางวา นอกจากนี้ยังได้สร้างถนนเข้าวัด เ ชื่ อ ม จ า ก ถ น น ส า ย ด� ำ เ นิ น แ ม ่ ก ล อ ง สมุทรสงคราม ถนนยาว 1,020 เมตร กว้าง 7 เมตร และสะพานคอนกรีตข้ามคลองขุน พิ ทั ก ษ์ และคลองศาลเซี ย งกุ ล รวม 2 สะพาน ที่ดนิ ที่สร้างถนนสายนี้สว่ นมากเป็น ของนางชุนฮวย ตันติอธิมงคล บริจาคเนือ้ ที่ กว้าง 20 เมตร ยาวประมาณ 920 เมตร และวัดนี้ทางกระทรวงศึกษาธิการตั้งให้มีชื่อ ว่า วัดพิทกั ษ์เทพาวาส เมือ่ วันที่ 17 มีนาคม พ.ศ.2513 โดยนายผึ่ง แสงทอง เป็นผู้ขอ อนุญาตตัง้ วัด ส่วนผูอ้ ปุ ถัมภ์บำ� รุงวัดนีม้ มี าก ด้วยกัน แต่ที่จะกล่าวในที่นี้ก็คือ นายเหยม เอี่ยมสะอาด, นายพิชัย ศรีเอี่ยมกุล และ นางชุนฮวย ตันติอธิมงคล ท่านเหล่านี้ได้ อุปถัมภ์บ�ำรุงวัดพิทักษ์เทพาวาส โดยเสีย สละทั้งก�ำลังกายและก�ำลังทรัพย์ด้วยความ ศรัทธาในบวรพระพุทธศาสนาอย่างเต็มหัวใจ ปัจจุบัน พระปลัดประชุม ฌานสมฺปนฺโน ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดพิทักษ์เทพาวาส และเจ้าคณะต�ำบลด�ำเนินสะดวก ประวัติเจ้าอาวาส : พระปลัดประชุม ฉายา ฌานสมฺปนฺโน อายุ 63 พรรษา 43 วิทยฐานะ น.ธ.เอก,ป.ธ.1-2 พุทธศาสตร บัณฑิต(พธ.บ.) คณะพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัย
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ครุศาสตรมหา บัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัย ราชภั ฏ สวนดุ สิ ต ปั จ จุ บั น ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง เจ้ า อาวาสวั ด พิ ทั ก ษ์ เ ทพาวาส ต� ำ บล ขุ น พิ ทั ก ษ์ อ� ำ เภอด� ำ เนิ น สะดวก จั ง หวั ด ราชบุรี เมื่อ พ.ศ.2557 และ เจ้าคณะต�ำบล ด�ำเนินสะดวก อ�ำเภอด�ำเนินสะดวก จังหวัด ราชบุรี เมื่อปี พ.ศ.2557
ปลากัด รุ่นมั่ง มี ศรี สุข
RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 99
99
9/9/2018 8:33:06 PM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดท่าเรือ
พระครูนิวิฐธรรมาภรณ์ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส วัดท่าเรือ ชื่อเดิม วัดเก่าท่าเรือ ตั้งอยู่ เลขที่ 186 หมู่ที่ 2 บ้ านท่าเรือ ต�ำบล แพงพวย อ�ำเภอด�ำเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2451 ได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา เมือ่ วันที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 เขตวิสงุ คามสีมา กว้าง 40 เมตร ยาว 80 เมตร ที่ดินเฉพาะ บริเวณที่ตั้งวัด มีเนื้อที่ 49 ไร่ 3 งาน 75 ตารางวา มีหนังสือแสดงกรรมสิทธิ์ที่ดินเป็น “วัด” ปัจจุบนั พระครูนวิ ฐิ ธรรมาภรณ์ (นิวฒ ั น์ อตฺตคุตโต) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส 100
ประวัตวิ ดั ท่าเรือ เริม่ แรกหลวงพ่อแก้วมา อยูก่ อ่ นตัง้ แต่เป็นส�ำนักสงฆ์ ไม่มใี ครทราบว่า หลวงพ่อแก้วมาจากวัดไหน ต่อมามีภกิ ษุเพิม่ ขึน้ มาเรื่อยๆ หลวงพ่อแก้วเป็นพระปกครอง พระภิกษุในส�ำนักสงฆ์ ต่อมาญาติโยมเกิด เลื่อมใสศรัทธาในตัวของหลวงพ่อแก้ว ท่าน จึงชวนชาวบ้านที่มีจิตศรัทธาร่วมกับบริจาค ปัจจัย ช่วยกันสร้างโบสถ์ขึ้นมาพร้อมพระ ประธานอีก 1 องค์ ส�ำเร็จในปี พ.ศ.2441 จึงตั้งชื่อวัดว่า วัดเก่าท่าเรือ สาเหตุที่ชื่อว่า วัดเก่าท่าเรือ คือ เมื่อสมัยก่อนที่ตรงนี้เป็น
SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี
.indd 100
9/9/2018 8:28:31 PM
ท่าเรือ มีเรือรับส่งมาจอดอยู่มากมายหลาย สิ บ ล� ำ และมี ผู ้ ค นน� ำ สิ น ค้ า มาขายของ กั น มากมาย สั น นิ ษ ฐานว่ า วั ด เก่ า ท่ า เรื อ นี้ เ กิ ด ขึ้ น ในสมั ย รั ช กาลที่ 5 ปั จ จุ บั น พระครูนิวิฐธรรมาภรณ์ (นิวัฒน์ อตฺตคุตโต) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส อาคารเสนาสนะต่างๆ : อุโบสถ สร้างเมือ่ พ.ศ.2499, ศาลาการเปรียญ สร้างเมื่อ พ.ศ. 2534, วิหารจตุรมุข สร้างเมื่อ พ.ศ.2544 ,หอสวดมนต์ สร้างเมื่อ พ.ศ.2537, กุฏิสงฆ์ จ�ำนวน 6 หลัง ,ศาลาเอนกประสงค์ สร้างเมือ่ พ.ศ.2545, ศาลาบ�ำเพ็ญกุศลและเมรุ 1 หลัง นอกจากนี้มีอาคารเสนาสนะต่างๆ อีก คือ ศาลาพักร้อน, หอระฆังและกลอง, เตาเผา ขยะภูมิปัญญาท้องถิ่น, ห้องน�้ำ ห้องสุขา ปู ช นี ย วั ต ถุ แ ละโบราณวั ต ถุ มี ดั ง นี้ 1. หลวงปูแ่ ดง พระหินแดงสมัยปลายอยุธยา 2. พระประธานเป็นหินทรายแดงปางมาร วิชยั 3. พระพุทธรูปเชียงแสน 4.พระพุทธรูป สุโขทัย ปางสมาธิ 5. พระพุทธรูปทรงเครื่อง รัตนโกสินทร์ ปางมารวิชัย 6. พระโพธิสัตว์ กวนอิมไม้แกะสลักอายุมากกว่าร้อยปี ศิลปะ จากจีน 3 องค์ 7.พระพุทธรูปศิลาแลง ปาง ขัดสมาธิ 8.พระพุทธรูปอูท่ อง 9.พระพุทธรูป พระปางลีลาล�ำลึกก�ำแพงศอกเนื้อดินเผา 10. พระพุทธรูปหลวงพ่อบ้านแหลม 11. หลวง พ่อโต วัดระฆัง 12.หลวงพ่อทวด วัดช้างไห้ 13. หลวงพ่อพลับ วัดท่าเรือ การศึกษา ได้มีการเปิดสอน โรงเรียน พระปริยตั ธิ รรมแผนกธรรม ธรรมศึกษา เปิด สอนเมื่อ พ.ศ.2528 ปัจจุบันวัดท่าเรือ - เป็นส�ำนักปฏิบัติธรรมประจ�ำจังหวัด ราชบุรี แห่งที่ 6 - เป็นหน่วยอบรมประชาชนประจ�ำต�ำบล แพงพวย - เป็ น ศู น ย์ ศึ ก ษาพระพุ ท ธศาสนาวั น อาทิตย์ ติดต่อ วัดท่าเรือ ส�ำนักงานเจ้าอาวาส โทรศัพท์ : 0-3226-3479, 081-295-5686 RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 101
101
9/9/2018 8:28:44 PM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดบ้านกุ่ม
ส�ำนักปฏิบัติธรรมประจ�ำจังหวัดราชบุรี แห่งที่ 31 พระครูภาวนาธรรมากร (หลวงพ่อเฟื่อง ฉายา วิชิโต) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส วั ด บ้ า นกุ ่ ม ตั้ ง อยู ่ บ ้ า นกุ ่ ม ถนนสาย บางแพ-ล�ำน�้ำ หมู่ 2 ต�ำบลบางแพ อ�ำเภอ บางแพ จังหวัดราชบุรี สังกัดคณะสงฆ์มหา นิกาย ที่ดินตั้งวัดมีเนื้อที่ 8 ไร่ 1 งาน 72 ตารางวา อาณาเขต ทิศเหนือจดถนนสายบางแพล�ำน�ำ้ ทิศใต้จดที่ดินเอกชน ทิศตะวันออก จากโรงเรียนบ้านกุ่ม ทิศตะวันตกจดที่ดิน เอกชน วัดบ้านกุ่ม ตั้งเมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2537 ผู้ริเริ่มก่อตั้งวัดบ้านกุ่ม คือ พระสมุหเ์ ต๋า กิตติปญ ั โญ ได้รบั พระราชทาน 102
วิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2542 มีโรงเรียนพระปริยตั ธิ รรมแผนกธรรม และศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ ปัจจุบนั พระครูภาวนาธรรมากร (หลวงพ่อ เฟือ่ ง ฉายา วิชโิ ต) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส วัดบ้านกุ่ม (เทียบผู้ช่วยเจ้าอาวาสพระอาราม หลวง ชัน้ เอก ฝ่ายวิปสั สนาธุระ) วุฒิการศึกษา น.ธ.เอก พ.ศ.2560 เป็นเจ้าส�ำนักปฏิบัติ ธรรมประจ�ำจังหวัดราชบุรี แห่งที่ 31 อาคารเสนาสนะ ประกอบด้วย อุโบสถ เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก ศาลาการเปรียญ เป็นอาคารหลังคาโครง
SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี
.indd 102
9/9/2018 8:39:48 PM
เหล็กยกสูง หอสวดมนต์ เป็นอาคารครึ่งตึกครึ่งไม้ กุฏิสงฆ์ เป็นอาคารตึก ศาลาปฏิบัติธรรมเป็นอาคารตึก (ซึ่ง ก�ำลังก่อสร้างยังไม่แล้วเสร็จ) ศาลาเอนกประสงค์ เป็นอาคารคอนกรีต ศาลาบ�ำเพ็ญกุศล สร้างด้วยคอนกรีต
ธรรมต่างๆโดยนัยต่างๆ มีพระวินยั พระสูตร และพระอภิธรรม ย่อมท�ำให้ถึงการปฏิบัติ คือ การระลึกลักษณะของสภาพธรรมทีม่ จี ริง ในขณะนีว้ า่ เป็นธรรมไม่ใช่เรา และเมือ่ ปฏิบตั ิ บ่อยๆ คือ สติและปัญญาเกิดบ่อยๆ ย่อม ถึงการบรรลุธรรม คือ ปฏิเวธ ในที่สุด ดังนั้น เพราะอาศัยปริยัติ การศึกษาพระธรรมที่ ถูกต้อง ย่อมถึงการปฏิบัติ คือ ปัญญาที่รู้ ความจริงในขณะนี้ และถึงปฏิเวธ คือ การดับ กิเลส บรรลุ มรรค ผล นิพพานอันเป็นเป้าหมาย เป็นธงชัยของการอุปสมบทเป็นพระภิกษุสงฆ์ ตามรอยพระพุทธเจ้า เพราะการศึกษาปริยตั ิ ที่ถูกต้อง ย่อมน�ำไปสู่ปฏิบัติที่ถูกต้อง การ ปฏิบัติที่ถูกต้อง ย่อมน�ำไปสู่ปฏิเวธที่ถูกต้อง (รู้แจ้งในอริยสัจธรรม) นอกจากการสอนพระเณรแล้ว หลวงพ่อ เฟื่อง หรือ หลวงเตี่ย ยังใส่ใจในการสอน ฆราวาสญาติโยมให้รธู้ รรมะ เพือ่ ให้นำ� ธรรมะ ไปประพฤติปฏิบัติในชีวิตประจ�ำวันให้จิตใจ เกิดความร่มเย็น มีความสุขในครอบครัว และ สังคม โดยจัดตั้งศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนา วันอาทิตย์ขึ้น ฆราวาสญาติโยมที่มาท�ำบุญ
ใส่บาตร ฟังธรรม ก็มาบ�ำเพ็ญเพียรปฏิบตั ธิ รรม รักษาอุโบสถศีลในวันโกน วันพระเป็นประจ�ำ ท�ำให้ชาวบ้านในชุมชนอยู่ในศีลธรรมมาโดย ตลอด ท่านมักเดินเท้าเปล่าเป็น ผู้น�ำออกเชิญ ชวนประชาชนในหมู่บ้านต่างๆ ให้มาเข้า โครงการหมู่บ้านรักษาศีล 5 มาโดยตลอด ซึง่ เจ้าประคุณสมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ ได้ประทานไว้ อีกทัง้ ท่านมีเมตตาจิตสงเคราะห์ ผูค้ นในทุกด้าน ไม่วา่ จะเป็นการมอบอุปกรณ์ เครื่องมือทางการแพทย์และอุปกรณ์ไว้ใช้ ในการเรี ย นพร้ อ มทั้ ง มอบทุ น การศึ ก ษา แก่โรงเรียนต่างๆ อยู่เป็นประจ�ำ เพราะ เมตตาธรรมจักค�้ำจุนโลกได้อย่างแท้จริง
ปฏิปทา พระครูภาวนาธรรมากร (หลวงพ่อ เฟือ่ ง ฉายา วิชโิ ต) ชาวบ้านมักเรียกท่านว่า หลวงเตี่ย ท่าน เป็นพระเถระชั้น ผู้ใหญ่ที่ใส่ใจในการสอน พระเณร ในการปฏิบตั วิ ปิ สั สนาภาวนา ทัง้ ใน ด้านปริยตั ิ ปฏิบัติ เพื่อให้เกิดผล คือ ปฏิเวธ อันสงบเย็นภายในจิตใจ การตั้งโรงเรียนพระ ปริยัติธรรมแผนกธรรมก็เพื่อให้พระเณรได้ ศึกษาธรรมอย่างถูกต้องตรงในพระธรรมวินยั เพราะอาศั ย ปริ ยั ติ คื อ ค� ำ สอนของ พระพุทธเจ้า ที่แสดงความจริงของสภาพ RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 103
103
9/9/2018 8:40:01 PM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดใหม่อีจาง
พระอธิการสมชาย สมชาโต ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส วัดใหม่อีจาง เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะ สงฆ์มหานิกาย ตั้งอยู่เลขที่ 18 หมู่ที่ 2 ต�ำบลวังเย็น อ�ำเภอบางแพ จังหวัดราชบุรี ทีด่ นิ ตัง้ วัดมีเนือ้ ที่ 11 ไร่ 1 งาน 59 ตารางวา และที่ธรณีสงฆ์ จ�ำนวน 2 แปลง เนื้อที่รวม 1 ไร่ 18 ตารางวา โดยมีอาณาเขตติดต่อ ดังนี้ ทิศเหนือ ยาว 198 เมตร ติดกับถนน สาธารณะ ทิศใต้ ยาว 221 เมตร ติดกับทีด่ นิ เอกชน ทิศตะวันออก ยาว 130 เมตร ติดกับ คลองส่งน�้ำชลประทาน ทิศตะวันตก ยาว 55 เมตร ติดกับถนน เทศบาล 104
ประวัติความเป็นมา “วัดใหม่อีจาง” มี นามตามชื่อหมู่บ้าน เดิมเรียกว่า “วัดใหม่” บางครัง้ ก็เรียกว่า “วัดหนองอีจาง” ไม่ทราบ ว่าสร้างเมื่อใด ครั้งหนึ่งเคยมีสภาพเป็นวัด ร้าง จนกระทัง่ พระอาจารย์อดุ ม ธมฺมาวุฒโฑ ได้มาบูรณปฏิสังขรณ์ จนได้รับประกาศตั้ง เป็นวัดที่มีพระสงฆ์อยู่จ�ำพรรษาเมื่อปี พ.ศ. 2533 เป็นต้นมาจนถึงปัจจุบัน ปู ช นี ย วั ต ถุ ข องวั ด ได้ แ ก่ พระบรม ศาสดา เป็นพระพุทธรูปปูนปัน้ ปางสมาธิราบ ขนาดหน้าตัก 69 นิ้ว ประดิษฐานอยู่กลาง แจ้ง บริเวณหน้าวัด และศาลเจ้าที่เก่า ( ชาว บ้านเรียกว่า ศาลแม่ย่า )
อาคารเสนาสนะ ประกอบด้วย 1.อุโบสถ 2. วิหาร ประดิษฐานพระพุทธชินราช 3. ศาลาบ�ำเพ็ญกุศล 4. ศาลาฌาปนสถาน 5. กุฏิสงฆ์-กุฏิแบบเดี่ยว 5 หลัง การปกครอง มีเจ้าอาวาสเท่าที่ทราบ นาม คือ 1. พระปลัดบุญช่วย กตปุญฺโญ พ.ศ. 2540 – 2541 2. พระอธิการสมชาย สมชาโต พ.ศ. 2546-ปัจจุบัน
SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี
.indd 104
9/9/2018 7:12:24 PM
HIST ORY OF BUDDHISM
บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดบ้านใหม่บุปผาราม หลวงปู่มี วรโท ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส วัดบ้านใหม่บุปผาราม ตั้งอยู่เลขที่ 29 ม.8 ต.วัดแก้ว อ.บางแพ จ.ราชบุรี ตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ.2416 โดยมี หลวงปู่โสม เป็น ผู้ริเริ่ม เหตุที่ใช้ชื่อ “วัดบ้านใหม่บุปผาราม” เพราะ ในขณะนัน้ บริเวณวัดมีตน้ ไม้หลากหลายพันธ์ อยู ่ เ ป็ น จ� ำ นวนมาก ต่ อ มา วั ด บ้ า นใหม่ บุปผาราม ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2505 สังกัด คณะสงฆ์มหานิกาย ปัจจุบนั หลวงปูม่ ี วรโท ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
ปฏิปทาบารมี หลวงปู่มี วรโท เจ้าอาวาส หลวงปู่มี วรโท บวชตั้งแต่สามเณร จน เป็นพระรวม 77 พรรษา อายุ 94 ปี ท่าน เป็นพระสุปฏิปนั โน แตกฉานทัง้ ในด้านปริยตั ิ และปฏิบัติ ท่านเป็นพระสมถะ ไม่สะสมเงิน ทอง เรียบง่าย เมตตาต่อศิษย์ทุกคนอย่าง เสมอต้นเสมอปลายทุกคนไม่เลือกชัน้ วรรณะ หลวงปูเ่ มตตามาก ไม่ปฏิเสธกิจนิมนต์ไกลๆ แม้มีอายุมากแล้ว แต่ท่านก็เมตตาต่อศิษย์ อย่ า งไม่ มี ป ระมาณสงเคราะห์ ค นยากจน ตลอด ท่านมีงานทางด้านต�ำราทางศาสนา เพื่อให้คนรุ่นหลังได้ศึกษาพระพุทธศาสนา อันเป็นศาสนาประจ�ำชาติ และประจ�ำใจของ ชาวไทยทุกคน จะได้มีหลักธรรมจากสมเด็จ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าไว้รักษากาย วาจา
และใจให้ปกติ ฝึกจิตทวนกระแสกิเลส จน สามารถลดละน้อยใหญ่อันจะน�ำไปสู่ความ พ้นทุกข์โดยสิ้นเชิง หลวงปู่มี วรโท ด�ำรง ต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดบ้านใหม่บุป ผาราม ตั้งแต่ พ.ศ.2525 จนถึงปัจจุบัน ศาสนสถานและปูชนียวัตถุที่ส�ำคัญ 1. พระประธานในอุโบสถ ประดิษฐานอยู่ ในอุโบสถที่มีอายุกว่า 135 ปี ได้รับการ บูรณะซ่อมแซมเมื่อปี พ.ศ. 2528 2. วิหารหลวงพ่อเทพมงคล เป็นทีเ่ คารพ สักการะของชาวบ้านเป็นอย่างมาก 3. หอระฆังและกุฏิสงฆ์ หอระฆังสร้าง ในปี พ.ศ.2544 ส่ ว นกุ ฏิ ส งฆ์ เ ป็ น แบบ ทรงไทยประยุกต์จ�ำนวน 2 หลัง RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 105
105
9/9/2018 7:13:19 PM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดแก้ว
พระครูใบฏีกามณฑล คมฺภีโร ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส วัดแก้ว ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 62 บ้านวัดแก้ว ถนน สายบ้า น สิงห์-หัวโพ หมู่ที่ 5 ต�ำบลวัดแก้ว อ�ำเภอบางแพ จังหวัดราชบุรี สังกัดคณะสงฆ์ มหานิกาย ทีด่ นิ ตัง้ วัดมีเนือ้ ที่ 14 ไร่ 3 งาน 94 ตารางวา โฉนดทีด่ นิ เลขที่ 18522 อาณาเขต ทิศเหนือ มีพระพุทธรูปใหญ่ ทิศใต้จดถนนบ้าน
พระครูใบฎีกามณฑล คมฺภีโร เจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน
106
.indd 106
สิงห์-หั วโพ ทิศตะวันออกจดถนนวัดแก้วปากดง ทิศตะวันตกจดคลองสาธารณะ วัดแก้ว เป็นวัดเก่าตั้งมานานแล้วตั้งแต่ปี พ.ศ.242 1 มีสิ่งก่อสร้าง คือ อุโบสถเก่า ก�ำแพง ซุ้มประตู และเจดีย์ อุโบสถหลังเก่า ช� ำ รุ ด ทรุ ด โทรมและพั ง ไป ต่ อ มาในพ.ศ. 2514 จึงสร้างอุโบสถหลังใหม่ วางศิลาฤกษ์ เมื่อ พ.ศ.2515 และฝังลูกนิมิต พ.ศ.2519 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อวันที่ 30 ธันวาคม พ . ศ.2519 ปัจจุบันมี พระครูใบ ฏีกามณฑล คมฺภีโร เป็นเจ้าอาวาส การศึกษาของสงฆ์ มีโรงเรียนพระปริยตั ิ ธรรมแผนกธรรม เปิดสอนเมื่อ พ.ศ.2540 อาคารเสนาสนะ ประกอบด้วย อุโบสถ ศาลาการเป รียญ, หอสวดมนต์, กุฏิสงฆ์
พระพุทธรูปสมเด็จองค์ปฐม ( หลวงพ่อโต)
วิหารหลวงพ่อแดง
จ�ำนวน 3 หลัง วิหาร, ศาลาเอนกประสงค์ เป็นอาคาคอนกรีตเสริมเหล็ก นอกจากนี้ยัง มี ศาลาฌาป น สถาน เป็นอาคารคอนกรีต เสริมเหล็ก ปูชนียวัตถุ มีพระประธานประจ�ำวิหาร นามว่า “หลวงพ่อแดง” ขนาดหน้าตักกว้าง 2.24 เมตร สูง 2.95 เมตร เป็นพระพุทธรูป ปางสมาธิ สร้างด้วยหินศิลาแลง สมัยอู่ทอง เป็นพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ประจ�ำหมู่บ้าน
SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี
9/9/2018 8:59:12 PM
HIST ORY OF BUDDH ISM
บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดหนองม่วง
พระครูประภาสธรรมทัต ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส วัดหนองม่วง ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 91 บ้านหนอง ม่วง หมู่ที่ 9 อ�ำเภอบางแพ จังหวัดราชบุรี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ทีด่ นิ ตัง้ วัดมีเนือ้ ที่ 19 ไร่ 2 งาน 84 ตารางวา ตัง้ เมือ่ พ.ศ.2377 ได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมาเมือ่ พ.ศ.2384 ปัจจุบันมีพระครูประภาสธรรมทัต ด�ำรง ต�ำแหน่งเจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน ปฏิปทากิตติคณ ุ และคุณธรรมของหลวง พ่อสง่า อดีตเจ้าอาวาสวัดหนองม่วง หลวงพ่อสง่า อนุปุพฺโพ อดีตเจ้าอาวาส แห่งวัดหนองม่วง จังหวัดราชบุรี มีนามเดิมว่า สง่า เล่หป์ ะสุวรรณ เกิดเมือ่ วันที่ 11 มีนาคม
พ.ศ.2459 เป็นบุตรของนายเขีย้ ม และนางเม้า เล่หป์ ะสุวรรณ ณ บ้านหม้อ ต�ำบลคลองตาคต อ�ำเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี ชีวิตในวัย เยาว์ของท่านได้รบั การศึกษาจากโรงเรียนวัด บ้านหม้อ โดยมีบรรดาพระภิกษุสงฆ์ เป็น ผูอ้ บรมสัง่ สอนวิทยาวิชาการ อีกทัง้ บางวันยัง ต้องนอนค้างที่วัดเพื่อช่วยปรนนิบัติรับใช้ พระสงฆ์อยู่เสมอๆ จนกระทั่งท่านเรียนจบ ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 4 จึงได้ออกจากโรงเรียน มาช่วยครอบครัวท�ำไร่ท�ำนา ต่อมาในปีพ.ศ. 2481 ท่านตัดสินใจอุปสมบททีว่ ดั บ้านหม้อ จังหวัดราชบุรี ขณะมีอายุได้ 22 ปีโดยมี
พระอธิการกลิ่น วัดคงคาเป็นพระอุปัชฌาย์ พระอาจารย์เกลี้ยง วัดเฉลิมอาสน์ เป็น พระกรรมวาจาจารย์ พระอาจารย์เช้ง และ พระอาจารย์แป๊ะ เป็นพระอนุสาวนาจารย์ (สมัยนั้นใช้พระคู่สวดในพิธีกรรมถึง 3 รูป) ได้รับฉายาว่า อนุปุพฺโพ ด้านวัตถุมงคลของหลวงพ่อสง่า หลวง พ่อท่านได้สร้างไว้มากมายหลายรุ่น ที่ยังคง เหลืออยูท่ วี่ ดั หนองม่วงบางรุน่ คือ เหรียญปัม๊ รูปเหมือนหลวงพ่อสง่า พ.ศ.2530, พ.ศ. 2531, พ.ศ.2533 (รุ่นแจกแม่ครัว), พ.ศ. 2536, พ.ศ.2537 RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 107
107
9/9/2018 8:20:35 PM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัพระครูดสบุ้ธีปริายัตนโป่ ง ิวิธาน (สุภาพ อาตาปโก ป.ธ.6) รองเจ้าคณะอ�ำเภอบ้านโป่ง ด�ำรงต�ำแหน่ง เจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน
วัดบ้านโป่ง ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 1 ตำ�บลบ้านโป่ง อำ�เภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี ในเขตเทศบาล เมืองบ้านโป่ง สังกัดมหานิกาย เป็นวัดราษฎร์ อยู่ ใ นเขตปกครองของคณะสงฆ์ ตำ � บล ปากแรต อำ�เภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี ภาค 15 มีเนื้อที่ธรณีสงฆ์ 3 แปลง มีเนื้อที่ทั้งสิ้น จำ�นวน 58 ไร่ 1 งาน วัดบ้านโป่งสร้างเมื่อ ประมาณ พ.ศ. 2345 ได้รับพระราชทาน วิสุงคามสีมาเมื่อวันที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2444 เนื้อที่กว้าง 16 เมตร ยาว 26 เมตร ได้ประกอบพิธีผูกพัทธสีมาแล้ว 108
ประวัติความเป็นมา คำ�ว่า “โป่ง” มาจากคำ�ว่า “ดินโป่ง” ซึ่ง เป็ น ดิ น ที่ มี ร สเค็ ม และเป็ น อาหารมี ร สอั น โอชะของสั ต ว์ น านาชนิ ด เดิ ม เขตอำ � เภอ บ้ า นโป่ ง นี้ เ ป็ น ป่ า ใหญ่ เ ต็ ม ไปด้ ว ยพั น ธุ์ ไ ม้ นานาชนิด เป็นที่อยู่ของสัตว์น้อยใหญ่ทั้ง หลายและยังมีแม่น้ำ�แม่กลองไหลผ่าน จึง นับได้วา่ ดินแดนแถบนีอ้ ดุ มสมบูรณ์ เมือ่ มีคน มาอาศัยดินแดนแถบนีซ้ งึ่ เป็นทีอ่ ยูอ่ าศัยเป็น หมูบ่ า้ น หมูบ่ า้ นนีจ้ งึ เรียกชือ่ ตามลักษณะดิน ในแถบนีว้ า่ “บ้านโป่ง” และเมือ่ มีวดั เกิดขึน้ ก็
SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี
.indd 108
9/4/2018 11:05:22 PM
เรียกชื่อวัดตามหมู่บ้านนั้นว่า “วัดบ้านโป่ง” วัดบ้านโป่ง เป็นวัดเก่าแก่วัดหนึ่ง ซึ่ง มีอายุนานเกือบ 200 ปี ตั้งอยู่ริมฝั่งตะวัน ออกของแม่น้ำ�แม่กลอง ไม่ห่างจากสถานี รถไฟเท่ า ใดนั ก เนื้ อ ที่ ร อบๆ บริ เ วณวั ด ประมาณ 50 กว่าไร่ มีประวัติความเป็นมา ตามทีผ่ เู้ ฒ่าได้เล่าสืบต่อๆ กันมาพอจะจับใจ ความได้ดังนี้ เดิมทีได้มีพระภิกษุลาวรูปหนึ่ง ได้มาส ร้ า งกระท่ อ มมุ ง ด้ ว ยแฝกและจั ด ตั้ ง เป็ น สำ�นักสงฆ์ขึ้น หากแต่ที่วัดบ้านโป่งนั้นเต็ม ไปด้วยป่าไม้ใบหนา เป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์ นานาชนิด เต็มไปด้วยภัยอันตรายมาก จึง ไม่ มี ผู้ ใ ดอาศั ย อยู่ ต่ อ มาจึ ง เสื่ อ มโทรมลง และไม่มีผู้ใดทราบว่าพระภิกษุลาวรูปนั้นไป ไหนและที่ใด ต่อมาราวพุทธศตวรรษที่ 23 เมืองหงสาวดี เกิ ด ความปั่ น ป่ ว นขึ้ น เนื่ อ งจากภั ย ทาง สงคราม ระหว่างพม่ากับอังกฤษ เป็นเหตุ ให้ชาวรามัญพากันอพยพหลบภัยแล้วข้าม มาพึ่งพระบรมโพธิสมภารพระมหากษัตริย์ ไทย โดยเข้ามาทางด่านเจดีย์สามองค์บ้าง ด่านสิงขรบ้าง และได้เข้ามาตั้งรกรากทำ� มาหากินกันเป็นหมู่ๆ ตามแถบฝั่งแม่น้ำ�แม่ กลอง ในครั้งกระนั้นมีพระภิกษุชาวรามัญ รูปหนึ่งที่ได้อพยพหลบภัยสงครามเข้ามาใน เมืองไทยด้วย พระภิกษุรามัญรูปนั้นชื่อว่า
“พระภิกษุด่าง” หลวงพ่อด่างเข้ามาในสภาพทีเ่ ป็นพระสงฆ์ จึงไม่อาจอยู่ในหมู่บ้านรามัญร่วมกับเขาได้ จึงหาที่พำ�นักใหม่และปลูกกระท่อมมุงแฝก ณ ริมฝัง่ ตะวันออกของแม่น�้ำ แม่กลอง ซึง่ เดิม เป็นสำ�นักสงฆ์เก่าที่รกร้างไปแล้วนั้น หลวง พ่อด่างได้นำ�พระธาตุจากเมืองย่างกุ้งติดตัว มาด้วย และเพื่อเป็นอนุสรณ์แห่งความหลัง ให้ระลึกถึงมาตุภมู เิ ดิม หลวงพ่อด่างจึงสร้าง เจดียข์ นึ้ องค์หนึง่ มี 5 ยอด คล้ายกับเจดียช์ เว ดากองที่เมืองย่างกุ้ง เจดีย์องค์นี้ประชาชน ทั่วๆ ไปเรียกกันว่า “เจดีย์ 5 ยอด” อันเป็น
ปูชนียสถานศักดิ์สิทธิ์เก่าแก่ของวัดบ้านโป่ง นี้ด้วย หลังจากที่พระอาจารย์ด่างมรณภาพลง ได้มีเจ้าอาวาสปกครองวัดบ้านโป่งสืบทอด กันมาอีกหลายรูปล้วนแต่เป็นรามัญทั้งสิ้น ได้แก่ 1.พระอาจารย์เบอร์ 2.พระอาจารย์เดิ่ง 3.พระอาจารย์เกลี้ยง 4.พระอาจารย์สังข์ 5.พระอาจารย์ดี 6.พระอาจารย์คลี่ 7.พระอาจารย์เดช 8.พระครูสังฆกิจบริหาร (ฟัก) 9.พระครูโยคาภิรมย์ (ชื่น) 10.พระครูขันตยาภิรัติ (เลื่อน) RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 109
109
9/4/2018 11:05:38 PM
110
SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี
.indd 110
9/4/2018 11:05:58 PM
11.พระมหาสนิธ เขมจารี ป.ธ.8 (ต่อ มาเป็ น ที่ สมเด็ จ พระธี ร ญาณมุ นี ป.ธ.9) กรรมการมหาเถรสมาคม เจ้าคณะภาค 1 กรุงเทพมหานคร 12.พระครูวจิ ติ รธรรมรส (สุดใจ รุจธิ มฺโม ป.ธ.3) มรณภาพ 17 พฤษภาคม พ.ศ.2529 13. พระครูวิโรจน์ธรรมาภรณ์ (ทอง วิโรจโน ป.ธ.5) ต่อมาดำ�รงสมณศักดิ์ ที่ พระพิศาล พั ฒ นโสภณ 14.พระครู สุ ธี ป ริ ยั ติ วิ ธ าน (สุภาพ อาตาปโก ป.ธ.6) เจ้าอาวาสรูปปัจจุบนั รองเจ้าคณะอำ�เภอบ้านโป่ง ในสมัยของพระครูสังฆกิจบริหาร หรือ หลวงพ่อฟัก เจ้าอาวาสรูปที่ 8 วัดบ้านโป่ง ได้ เ ริ่ ม เข้ า สู่ ค วามเจริ ญ ท่ า นเป็ น อดี ต เจ้ า อาวาสทีเ่ ข้มแข็งรูปหนึง่ และเป็นรูปแรก ทีท่ �ำ วัดบ้านโป่งที่เคยอับเฉามาหลายปี ให้กลาย มาเป็นวัดบ้านโป่งที่สมบูรณ์ โดยที่ท่านได้ พยายามขอพระราชทานวิ สุ ง คามสี ม าจน สำ�เร็จ และได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2444 โดยกว้าง 8 วา ยาว 33 วา
ในสมัยนั้นเข้าใจว่าท่านยังเป็นเจ้าคณะ ตำ�บลอยู่ เพราะในใบพระราชทานวิสงุ คามสีมา ใช้คำ�ว่า เจ้าอธิการวัดบ้านโป่ง หลวงพ่อฟัก ได้พยายามจัดระเบียบประเพณีตา่ งๆ อันเป็น รากฐานความเจริญของวัดสืบต่อมาจนทุก วั น นี้ โดยอาศั ย คุ ณ ความดี บ้ า ง คุ ณ ทาง ไสยศาสตร์บ้าง ท่านได้สร้างศาลาดินขึ้นอีก หนึ่งหลัง และได้สร้างอุโบสถขึ้นคือหลังที่ยัง คงใช้อยูป่ จั จุบนั นี้ และได้มโี อกาสรัง้ ตำ�แหน่ง เจ้ า คณะอำ � เภอมาไว้ ใ นวั ด นี้ เ ป็ น ครั้ ง แรก ต่อมาได้เลื่อนสมณศักดิ์ที่ พระครูสังฆกิจ บริหาร วัดบ้านโป่ง ได้เจริญเรือ่ ยมาทางด้าน ถาวรวัตถุ มาตามลำ�ดับ ต่อมาในสมัยของพระครูโยคาภิรมย์ (ชืน่ ชินอักษร) อดีตเจ้าอาวาสรูปที่ 9 ได้บูรณ ปฏิสงั ขรณ์ และสร้างถาวรวัตถุขน้ึ อีกหลายอย่าง ได้แก่ หอพระไตรปิฎก หอสวดมนต์ เครือ่ งสูบน้�ำ ได้จดั การสร้างถังน้�ำ ประปาใช้ให้เป็นระเบียบ เมื่อปี พ.ศ.2478 ต่อมาเป็นสมัยของพระครูขันตยาภิรัติ (เลื่อน จุโลทัย) ซึ่งเป็นผู้ให้กำ�เนิดการศึกษา RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 111
111
9/4/2018 11:06:11 PM
พระปริยตั ธิ รรม ในอำ�เภอบ้านโป่ง นับว่าสมัย นั้น เป็นสมัยที่เริ่มพัฒนาในด้านการศึกษา สมัยต่อมาคือสมัยของ พระมหาสนิธ เขมจารี (ทั่งจันทร์) ป.ธ.8 (ต่อมาได้รับ พระราชทานสมณศักดิ์เป็น สมเด็จพระธีร ญาณมุนี กรรมการมหาเถรสมาคม เจ้าคณะ ภาค 1 วัดปทุมคงคา) ซึง่ เป็นผูใ้ ห้ก�ำ เนิดการ ศึกษาพระปริยัติธรรมแผนกบาลี มีนักเรียน เป็นจำ�นวนมาก สอบถึงประโยค ป.ธ.6 นับว่า สมัยนั้นการศึกษาภาษาบาลีที่วัดบ้านโป่ง เจริญที่สุด ต่อมาท่านได้ย้ายจากวัดบ้านโป่ง ไปเป็นเจ้าคณะจังหวัดสมุทรสงคราม ต่อมา พระมหาสุดใจ รุจธิ มฺโม (แตงเทีย่ ง) ป.ธ.3 ศิษย์เอกของพระมหาสนิธ ในขณะ นั้นดำ�รงตำ�แหน่งเจ้าอาวาสแทน ต่อมาได้ ดำ�รงตำ�แหน่งเจ้าคณะอำ�เภอบ้านโป่ง ได้รับ พระราชทานสมณศักดิ์เป็น ที่ พระครูวิจิตร ธรรมรส วัดบ้านโป่งได้เริม่ พัฒนาหลายๆ ด้าน สมัย พระครูวิจิตรธรรมรสนี้ ได้ปรับปรุงโยกย้าย กุฏิเสนาสนะเก่า ซึ่งตั้งอยู่ตรงกลางวัด ย้าย
112
มาอยู่อีกด้านหนึ่งให้เป็นหมวดหมู่ จัดระบบ วัดตามแบบแปลนของวัด สร้างกุฏเิ ป็นตัวตึก 2 ชัน้ แบบทรงไทย 11 หลัง สร้างกุฏเิ จ้าอาวาส หลังใหญ่ตรงกลาง สร้างโรงเรียนพระปริยตั ธิ รรม 1 หลัง สร้างฌาปนสถาน และ ศาลาคู่เมรุ 2 หลัง สร้างหอระฆัง ซุ้มประตู กำ�แพงรอบวัด ประปาประจำ�วัด วัดบ้านโป่งได้รบั ยกย่องว่า เป็นวัดพัฒนา ตัวอย่าง เมื่อปี พ.ศ.2521 พระครูวจิ ติ รธรรมรส มองเห็นการณ์ไกล ใฝ่ใจในด้านการศึกษาของเยาวชนมาก จึง ได้จัดตั้งโรงเรียนราษฎร์ของวัดขึ้น เดิมทีใช้ โรงเรียนปริยตั ธิ รรมของวัดบ้านโป่งเป็นสถาน ที่เรียน ต่อมาได้สร้างอาคารขึ้นอีก 3 หลัง ปัจจุบนั มีนกั เรียน 900 คน มีครู 41 คน เก็บ ค่าเล่าเรียนถูกมาก ได้รับเงินอุดหนุนจากรัฐ บ้างแต่ไม่พอจ่าย เพราะเป็นโรงเรียนของวัด ที่มีความประสงค์ช่วยเหลือเด็กที่ยากจน ปี หนึง่ ๆ ทางโรงเรียนต้องขาดเงินทีจ่ ะต้องจ่าย ประมาณ 4-5 หมื่นบาททุกๆ ปี
SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี
.indd 112
9/4/2018 11:06:41 PM
วัดบ้านโป่งยังมีโรงเรียนที่ตั้งอยู่ในวัดอีก 2 โรง คือ โรงเรียนเทศบาลวัดบ้านโป่ง และ โรงเรียนบริหารธุรกิจ เทคโนโลยี นับได้ว่า ท่ า นได้ พั ฒนาการศึ ก ษาของเยาวชนเป็ น อย่างมาก นอกจากนี้ยังได้ปลูกต้นไม้ในวัด ประมาณ 3,000 กว่าต้น ทำ�ให้วัดร่มรื่น ต่ อ มาท่ า นได้ ดำ � ริ ส ร้ า งศาลาการเปรี ย ญ วัดบ้านโป่งให้ใหญ่ที่สุด จุคนได้ประมาณ 3,000 กว่าคน ชัน้ ล่างเป็นห้องต่างๆ 6 ห้อง 2 ห้องใหญ่เป็นห้องประชุมย่อย 2 ห้องเล็ก เป็นสำ�นักงานเจ้าคณะอำ�เภอบ้านโป่ง และ เป็นห้องเก็บพัสดุ 3 ห้อง ยกให้โรงเรียนใช้ เป็นห้องฝึกกีฬา ห้องฝึกงานเย็บปักถักร้อย ห้องวิทยาศาสตร์ของโรงเรียน ศาลาหลังนี้ ยาว 56 เมตร กว้าง 28 เมตร ทำ�พิธวี างศิลา ฤกษ์เมื่อปี พ.ศ.2522 ได้กราบทูลอาราธนา สมเด็จพระสังฆราชมาเป็นองค์ประธานพิธี วางศิลาฤกษ์ พระครูวิจิตรธรรมรส ได้ดำ�เนินก่อสร้าง ศาลาการเปรี ย ญหลั ง นี้ เ ป็ น อย่ า งเร่ ง ด่ ว น เพราะศาลาหลังเก่าผุพังไปตามธรรมชาติ เพราะสร้างมานาน ได้พยายามติดต่อหาเงิน มาดำ�เนินการก่อสร้าง ปัจจุบนั ศาลาหลังนีไ้ ด้ สำ�เร็จเรียบร้อยใช้การได้กม็ หี น่วยข้าราชการ และโรงเรียนมาประชุม เป็นประจำ� ในเรื่อง เกี่ ย วกั บ วั ฒ นธรรม ประเพณี ท้ อ งถิ่ น ใน จังหวัดราชบุรี ต่อมา เนือ่ งจากพระครูวจิ ติ รธรรมรส ซึง่ มีอายุ 74 ปี มุง่ มัน่ ในการก่อสร้างศาลาอย่าง
ไม่หยุดยั้ง บุกงานมากไม่มีเวลาได้พักผ่อน ใช้ความคิดมาก ร่างกายทรุดโทรม อาพาธ เมื่อวันที่ 21 เมษายน พ.ศ.2529 มรณภาพ เมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ.2529 ก่อน มรณภาพ 1 วัน ท่านได้มอบหมายให้ พระครู วิโรจน์ธรรมาภรณ์ รองเจ้าอาวาสและรองเจ้า คณะอำ�เภอบ้านโป่ง ไปรับรางวัลจากสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดา เป็นรางวัลใบประกาศ เกียรติคุณ และเสมาธรรมจักร ต่อมาจากปีพ.ศ.2530 - 2533 พระครู วิโรจน์ธรรมาภรณ์ เจ้าอาวาสวัดบ้านโป่ง เจ้าคณะอำ�เภอบ้านโป่ง ได้รับพระราชทาน สมณศักดิ์ เป็นพระครูสัญญาบัตรเจ้าคณะ อำ�เภอชั้นเอก ที่ พระครูพิทักษ์โลณภูมิ ได้ ทำ�การก่อสร้างต่อเติมศาลาการเปรียญจน แล้วเสร็จ สิ้นเงินทั้งสิ้น 18,184,770 บาท (สิ บ แปดล้ า นหนึ่ ง แสนแปดหมื่ น สี่ พั น เจ็ ด ร้อยเจ็ดสิบบาท) ต่อมาในปีพ.ศ.2539 ได้ รับการแต่งตั้งเป็นพระราชคณะชั้นสามัญที่ พระพิศาลพัฒนโสภณ โครงการใหญ่ ที่ ไ ด้ ดำ � เนิ น การไปแล้ ว อาทิ 1. สร้างสะพานตรงหน้าวัดข้ามไปฝั่ง เบิกไพร เพื่อสะดวกแก่การสัญจรไปมาของ พุ ท ธบริ ษั ท ที่ ม าทำ � บุ ญที่ วั ด บ้ านโป่ ง และ
นักเรียนที่เข้ามาเรียนฝั่งนี้ 2. สร้างอุโบสถหลังใหม่ เพราะอุโบสถ หลังเก่าเล็กและทรุดโทรมไปตามสภาพมาก อนึง่ วัดบ้านโป่ง เป็นวัดประจำ�อำ�เภอ คือ มีชอื่ เป็นสัญลักษณ์ของอำ�เภอ มี 3 โป่ง ดังนี้ 1. วัดบ้านโป่ง 2. ตำ�บลบ้านโป่ง และ 3. อำ�เภอบ้านโป่ง เนื่องจาก วัดบ้านโป่งเป็นวัดที่อยู่ห่าง ถนนใหญ่ ประชาชนมักจะเข้าใจว่าวัดดอนตูม เป็นวัดบ้านโป่งอยู่เสมอ ประชาชนต่างถิ่น มักจะเข้าใจกันอย่างนั้น แต่ความจริงแล้ว วั ด บ้ า นโป่ ง เป็ นวั ด ใหญ่ เป็ นวั ด เจ้ า คณะ อำ�เภอมาหลายสมัย ตั้งแต่ 1.พระครูสังฆกิจบริหาร 2.พระครูขันตยาภิรัติ 3.พระมหาสนิธ เขมจารี ป.ธ.8 (ทัง่ จันทร์) (สมเด็จพระธีรญาณมุนี) RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 113
113
9/4/2018 11:06:55 PM
4.พระครูวิจิตรธรรมรส 5.พระพิศาลพัฒนโสภณ ทุกท่านเป็นที่รู้จักของเจ้าคณะพระสังฆ าธิการเป็นอย่างดี นอกจากนีแ้ ล้ว วัดบ้านโป่ง ยังมีปูชนียวัตถุ และโบราณสถานอีก คือ เจดี ย์ 5 ยอด แบบเจดี ย์ ช เวดากองของ ประเทศพม่า ที่ได้บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ ไว้ เพื่อเป็นที่สักการะของประชาชนทั่วไป เป็นเจดียเ์ ก่าแก่คกู่ บั วัดบ้านโป่งมานาน สร้าง พร้อมกับวัดที่สร้างขึ้นประมาณ 100 กว่าปี ปูชนียวัตถุในวัด 1.หลวงพ่อบ้านแหลม 2.หลวงพ่อวัดไร่ขิง 3.หลวงพ่อวัดเขาตะเครา 114
4.หลวงพ่อโสธร 5.หลวงพ่อโตบางพลี 6. หลวงพ่อพุทธชินราช ซึง่ พระครูวจิ ติ ร ธรรมรส เจ้ า อาวาสร่ ว มกั บ ประชาชนได้ จำ � ลองเท่ า องค์ จริ ง มาประดิ ษ ฐานไว้ ณ วัดบ้านโป่ง เมื่อถึงเทศกาลตรุษจีนแล้ว ก็จัด ให้ มี ง านนมั ส การให้ ป ระชาชนปิ ด ทอง 5 วัน 5 คืน ทุกๆ ปีจนปรากฏเป็นที่รู้จักของ ประชาชนชาวบ้านโป่งในปัจจุบัน วัดบ้านโป่ง เป็นศูนย์รวมของนักเรียน โรงเรียนทีอ่ ยูต่ ดิ กับวัด มีโรงเรียนรัตนราษฎร์ บำ�รุง เป็นโรงเรียนประจำ�อำ�เภอ มีนักเรียน 3,000 กว่าคน โรงเรียนดุสิตวิทยา ซึ่งเป็น โรงเรียนในวัดมี 3 โรงเรียน คือ โรงเรียน
วัดบ้านโป่ง “สามัคคีคุณูปถัมภ์” โรงเรียน บ้ า นโป่ ง บริ ห ารธุ ร กิ จ เทคโนโลยี และ โรงเรียนเทศบาลวัดบ้านโป่ง ประชาชนผู้ โดยสารรถไฟไปทางภาคใต้จึงรู้จักวัดบ้าน โป่งดี วัดบ้านโป่งได้รับการพัฒนาทั้งทางด้าน ปริยัติ ปฏิบัติ และได้รับผลคือ ปฏิเวธในทุก ด้าน เป็นวัดพัฒนาตัวอย่างของกรมการ ศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ ได้รับเลือกให้ เป็นวัดพัฒนาตัวอย่าง ปี พ.ศ.2512 และได้ รับใบประกาศเมื่อวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2531 โดยอธิบดีกรมการศาสนาเป็นผูม้ อบให้ มีพระภิกษุสามเณรจำ�พรรษาปีละ 90 ถึง 100 รูป ทุกปี ประมาณ 20 ปีมาแล้ว จะมีพระภิกษุสามเณรจำ�พรรษากว่า 90 กว่ารูปทุกปี มีสำ�นักเรียนพระปริยัติธรรม ทั้ ง แผนกบาลี แ ละนั ก ธรรม มี โ รงเรี ย น พระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ เมื่อถึงฤดูร้อน ได้ จั ด บรรพชาสามเณรภาคฤดู ร้ อ นทุ ก ปี มีประชาชนบำ�รุงวัดประมาณ 1,500 ครอบครัว วัดบ้านโป่งได้ท�ำ ให้ทดี่ นิ ซึง่ เคยเป็นป่ามา ก่อนบ้าง เป็นที่รกร้างบ้าง ได้กลายสภาพ มาเป็นอาคารกุฏิและอาคารเรียนที่สวยงาม นอกจากนี้ยังได้รื้อถอนกุฏิที่เป็นไม้เก่าคร่ำ� คร่า เพราะชราผุพังออกหมด เปลี่ยนมาเป็น กุฏิที่ก่ออิฐถือปูน และจัดใหม่ให้เข้าระเบียบ สวยงาม จนกระทั่งวัดบ้านโป่งในยุคปัจจุบัน นี้จึงเป็น “วัดบ้านโป่งยุคพัฒนา” เป็นวัดที่ เป็นศูนย์รวมจิตใจของชาวบ้านโป่ง และชาว จังหวัดราชบุรีที่มีฐานรากแห่งบวรพระพุทธ ศาสนาอันมั่นคง
SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี
.indd 114
9/4/2018 11:07:05 PM
.indd 11
3/9/2561 14:41:08
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดโพธิบัลลังก์ พระครูวิสุทธิ์โพธิธรรม ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
วัดโพธิบัลลังก์ ตั้งอยู่บ้านโพธิ์ หมู่ที่ 3 ต�ำบลคุ้งพยอม อ�ำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี
สั ง กั ด คณะสงฆ์ ม หานิ ก าย ที่ ดิ น ตั้ ง วั ด มี เ นื้ อ ที่ 85 ไร่ อาณาเขต ทิ ศ เหนื อ จดทางหลวง ทิ ศ ใต้ จ ดแม่ น�้ ำ แม่ ก ลอง ทิ ศ ตะวั น ออกและทิ ศ ตะวั น ตก จดที่ ดิ น เอกชน อาคารเสนาสนะ ประกอบด้วย อุโบสถ กว้าง 19.5 เมตรยาว 23.50 เมตร เป็นอาคาร คอนกรีตเสริมเหล็ก ศาลาการเปรียญ กว้าง 18.50 เมตร ยาว 30.30 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2510 เป็นอาคารครึ่งตึกครึ่งไม้ หอสวดมนต์ กว้าง 19.00 เมตร ยาว 18.10 เมตร สร้างเมื่อพ.ศ.2530 116
เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก กุฏิสงฆ์ จ�ำนวน 3 หลังเป็นอาคารไม้ หอสมุด 1 หลัง และ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ปู ช นี ย วั ต ถุ มี พระประธานประจ� ำ อุโบสถ 1 องค์ พร้อมด้วยพระโมคคัลลานะ และ พระสารีบุตร รูปเหมือนหลวงพ่อเกิด 1 องค์ รูปเหมือนพระครูเมธาธิการ 1 องค์ สร้างเมือ่ พ.ศ. 2517 และ รูปเหมือนพระครู พิศาลวิสารทกิจ 1 องค์ สร้างเมือ่ พ.ศ.2542 วัดโพธิบัลลังก์ สร้างเมื่อ พ.ศ.2343 ใน สมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ 1 ได้รับ พระราชทานวิ สุ ง คามสี ม า เมื่ อ วั น ที่ 2 ตุลาคม พ.ศ.2532
SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี
.indd 116
10/9/2561 13:49:14
มีเจ้าอาวาสเท่าที่ทราบนามคือ รูปที่ 1 พระหงส์ รูปที่ 2 พระเกิด รูปที่ 3 พระครูเมธาธิการ พ.ศ.2479 -พ.ศ. 2516 รูปที่ 4 พระครูพิศาลวิสารทกิจ พ.ศ.2517 - พ.ศ.2542 รูปที่ 5 พระครูวิสุทธิ์โพธิธรรม พ.ศ.2542 -ปัจจุบัน ด้านการศึกษา มีโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกธรรมเปิด สอนเมื่อพ.ศ. 2478 ศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ ในวัด เปิดสอนเมื่อ พ.ศ. 2527
“วัดโพธิบัลลังก์” จัดบรรพชา
สามเณรภาคฤดูร้อน
แห่นาคบนเรือยาว นอกจากงานเผยแผ่พระพุทธศาสนาและ งานส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมไทย พระครูวิสุทธิ์ โพธิ ธ รรม เจ้ า อาวาสวั ด โพธิ บั ล ลั ง ก์ ยั ง สร้างสรรค์พธิ กี ารบรรพชาสามเณรภาคฤดูรอ้ น ให้น่าสนใจ โดยเมื่อวันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2561 ที่ผ่านมาทางวัดได้ร่วมกับ องค์การ บริหารส่วนต�ำบลคุ้งพยอม อ�ำเภอบ้านโป่ง จั ง หวั ด ราชบุ รี จั ด บรรพชาสามเณรภาค ฤดู ร ้ อ น เพื่ อ ถวายเป็ น พระราชกุ ศ ลและ เฉลิมพระเกียรติเนื่องในโอกาสคล้ายวันพระ ราชสมภพ สมเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุมารี โดยในปีนี้ทางวัดได้น�ำ เรือสมิงโพธิ์ทอง ซึ่งเป็นเรือยาวของทางวัดที่ มีชาวบ้านในพื้นที่น�ำมาถวายให้กับวัดมีอายุ
ไม่ ต�่ ำ กว่ า 50 ปี น� ำ มาจั ด กิ จ กรรมในพิ ธี บรรพชาสามเณรภาคฤดูร้อน เพื่อให้เด็กๆ ใช้ เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ได้เรียนรู้หลักธรรม ค�ำสอนในพระพุทธศาสนากล่อมเกลาจิตใจ เมื่ อ เติ บ โตไปจะได้ เ ป็ น เด็ ก ดี เ ป็ น ก� ำ ลั ง ของ ชาติต่อไปในอนาคต โดยมี ช าวบ้ า นในพื้ น ที่ ซึ่ ง เป็ น ชาวไทย เชื้อสายไทยมอญ ได้น�ำลูกหลานผู้สูงอายุ เด็ก นักเรียนจากศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สวมชุดผ้า ไทยพื้ น ถิ่ น ของชาวไทยมอญ และสวมใส่ เสื้อผ้าไทยย้อนยุคสมัยโบราณ เพื่อสืบสาน ประเพณี แ ละยั ง เป็ น การอนุ รั ก ษ์ ศิ ล ป วัฒนธรรมไทยที่ดีงามให้กลับคืนมา ซึ่งทางวัด ได้มีการรณรงค์ให้ประชาชนร่วมกันลดละเลิก การดื่ ม สุ ร า หั น มารั ก ครอบครั ว จะท� ำ ให้ มี ความสุข ครอบครัวปลอดภัย สังคมก็สงบสุข RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 117
117
6/9/2561 9:20:56
บั น ทึ กเ ส ้ นทา ง ธ ร ร มหนุ นน� ำ ชี วิ ต
วัดอริยวงศาราม (หนองน�้ำขาว) พระอุดมคัมภีรญาณ (พระมหามานพ จาครโต) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
วั ด อริ ย วงศาราม เรี ย กขานตามชื่ อ หมู่บ้านว่า “วัดหนองน�้ำขาว” ตั้งอยู่ที่บ้าน หนองน�้ำขาว ต.ดอนกระเบื้อง อ.บ้านโป่ง จ.ราชบุรี สังกัดธรรมยุตกิ นิกาย ก่อก�ำเนิดโดย พระเดชพระคุณ พระครูวิโรจน์ธรรมาจารย์ (ปิ่น ชลิโต) ผู้เป็นปฐมเจ้าอาวาส ย้อนเวลาไปเมือ่ ปี พ.ศ.2508 หลังจากที่ องค์หลวงพ่อมหาปิน่ ชลิโต เดินทางไปเผยแผ่ ศาสนธรรมร่ ว มกั บ เหล่ า พระคณาจารย์ สายศิษย์หลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต เช่น หลวงปู่ เทสก์ เทสรํสี, หลวงปู่เหรียญ วรลาโภ ฯลฯ ในภาคใต้ แถบจังหวัดชุมพร, ภูเก็ต, พังงา, 118
กระบี่ จนเป็นปึกแผ่นแล้ว ท่านได้จาริกกลับ มาภาคกลางฝัง่ ตะวันตก มาปักกลดทีบ่ ริเวณ วัดในปัจจุบัน แล้วเริ่มเทศนาอบรมชาวบ้าน ในละแวกใกล้เคียงด้วยหัวข้อธรรม แนวทาง ปฏิบัตินานา จนมีผู้ศรัทธาเพิ่มขึ้นเป็นล�ำดับ หนึ่งในกลุ่ม ผู้ศรัทธาเลื่อมใส คือ คุณยาย แก้ว กลั่นแฮม ซึ่งเป็นเจ้าของที่ดินบริเวณที่ องค์หลวงพ่อปักกลดอยู่ มีจิตศรัทธาได้น้อม ถวายที่ดินเพื่อก่อตั้งวัดแห่งนี้ ในกาลต่อมา วัดเจริญขึ้นเป็นล�ำดับ จน กระทั่งปี พ.ศ.2512 คณะศรัทธาจึงด�ำเนิน การขออนุญาตตัง้ วัดและขอนามวัดอย่างเป็น
SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี
(
).indd 118
9/4/2018 11:08:24 PM
ทางการ นับเป็นนิมิตหมายอันเป็นมงคลที่ ยุคนัน้ สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จ พระสั ง ฆราช (จวน อุ ฏ ฺ ฐ ายี ) สมเด็ จ พระสั ง ฆราชพระองค์ ที่ 16 แห่ ง กรุ ง รัตนโกสินทร์ สถิต ณ วัดมกุฏกษัตริยาราม ราชวรวิหาร กรุงเทพฯ ทรงมีชาติภมู เิ ป็นชาว บ้านโป่ง ทุกภาคส่วนจึงเห็นควรให้วัดแห่งนี้ เป็นประหนึง่ วัดเฉลิมพระเกียรติแด่พระองค์ ท่าน ด้วยเหตุนี้ วัดหนองน�้ำขาวจึงได้รับ การขนานนามว่า “วัดอริยวงศาราม”
ต่อมาในปี พ.ศ.2519 องค์หลวงพ่อด�ำริ สร้างโบสถ์ทรงไทยประยุกต์ 2 ชั้น ล้วนด้วย ไม้ทั้งสิ้น เพื่อประโยชน์ในการท�ำสังฆกรรม ของพระสงฆ์ และด�ำเนินการผูกพัทธสีมา ในปี พ.ศ.2521 หลวงพ่อมหาปิ่นได้ให้ความส�ำคัญทั้ง ด้านปริยัติและปฏิบัติ ดังนั้น ท่านจึงจัดให้ มีการเรียนการสอนพระปริยตั ธิ รรมทัง้ แผนก ธรรมและบาลี จนเป็ น ที่ ย อมรั บ กั น ว่ า โรงเรี ย นพระปริ ยั ติ ธ รรมวั ด อริ ยวงศาราม เป็นโรงเรียนพระปริยัติธรรมประจ�ำจังหวัด ราชบุรี โดยตลอดระยะเวลาที่ท่านดูแลวัด แห่งนี้ ท่านได้ทุ่มเทพลังกาย พลังใจ ในการ เทศนาอบรมภิกษุ-สามเณรตลอดจนพุทธ บริษัท โดยไม่เห็นแก่ความเหนื่อยยาก จน กระทั่งในวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ.2524 ท่าน ก็ถึงกาลมรณภาพ ด้วยอาพาธเบียดเบียน วัดอริยวงศาราม เจริญสืบมาด้วยศรัทธา ปสาทะของญาติโยม จึงมีการขยายพื้นที่วัด ขึน้ ตามล�ำดับ ทัง้ ในยุคสมัยของเจ้าอาวาสรูป ที่ 2 คือ พระครูวโิ รจน์ธรรมาจารย์ (หลวงพ่อ บุญเรือง กิตตฺ ปิ ญ ุ โฺ ญ) ตราบจนเจ้าอาวาสรูป ปัจจุบนั ซึง่ เป็นรูปที่ คือ 3 พระอุดมคัมภีรญาณ (พระมหามานพ จาครโต)
ศาสนวัตถุและสิง่ ก่อสร้างส�ำคัญประจ�ำวัด ได้แก่ “อริยชลิตเจดีย์” ขณะนี้อยู่ในระหว่าง การด�ำเนินการก่อสร้าง เป็นทีบ่ รรจุพระบรม สารีริกธาตุและอัฐิธาตุของหลวงพ่อมหาปิ่น ชลิโต รวมถึงเป็นทีเ่ ก็บรักษาบริขาร เครือ่ งใช้ ขององค์หลวงพ่อ และพระพุทธรูปหินอ่อน ปางปฐมเทศนา กาลเวลาด�ำเนินไปตามกฎธรรมชาติ ไม่วา่ ความเจริ ญ ต่ า งๆ จะแผ่ ไ ปในทุ ก วิ ถี แต่ ครรลองแห่ ง การปฏิ บั ติ ต ่ า งๆ ของภิ ก ษุ สามเณรในอาวาสแห่งนี้ ยังคงเป็นไปแบบ เรียบง่ายตามสมณสารูป ตามแนวพระธรรม วินัย แนวปฏิบัติและปฏิปทาที่ครูบาอาจารย์ ก�ำหนดไว้ เมื่อ 40 ปีก่อนเป็นเช่นไร ทุกวัน นีก้ ย็ งั เป็นเช่นเดิมไม่เปลีย่ นแปลง เช่น การฉัน ภัตตาหารครัง้ เดียว การท�ำข้อวัตรต่างๆ ตาม ก�ำหนดเวลา เป็นต้น ศรัทธาญาติโยมทุกท่าน หากต้องการ สัมผัส พบปะศึกษาข้อธรรมหรือแนวปฏิบัติ ใดๆ ขอเชิญได้ทุกวาระโอกาส
ติดต่อเจ้าอาวาส โทร 081-625-0757 Facebook : วัดอริยวงศาราม RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
(
).indd 119
119
9/4/2018 11:08:36 PM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดโป่งเจ็ด
พระมหาสัมฤทธิ์ เตชธโร (ฤทธิ์พริ้ง) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส วัดโป่งเจ็ด ตั้งอยู่ เลขที่ 15 หมู่ 13 บ้านห้วยน�ำ้ ขาว ต�ำบลบ้านคา อ�ำเภอบ้านคา จั ง หวั ด ราชบุ รี เดิ ม ตั้ ง อยู ่ ใ นพื้ น ที่ ห มู ่ 8 ต�ำบลบ้านคา กิง่ อ�ำเภอบ้านคา จังหวัดราชบุรี มีเนื้อที่ทั้งหมด 41 ไร่ 4 งาน เริ่มก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2517 โดยมีพระมหาณรงค์ และชาว บ้านช่วยกันริเริ่มโดยมี “ตาพยุง” เป็นผู้มอบ ที่ดินให้เป็นบางส่วน นอกจากนั้นชาวบ้าน และพระมหาณรงค์กช็ ว่ ยกันซือ้ ทีด่ นิ เพิม่ เติม ในปี พ.ศ. 2523 ก็ได้ใช้ทพี่ กั สงฆ์โป่งเจ็ดเป็น ที่เรียนหนังสือของเด็กๆ ในละแวกนั้นด้วย โดยมีพระมหาณรงค์ เจดีย์ (ปัจจุบันคือ พระครูศรีปริยานุรกั ษ์) เป็นหัวหน้าทีพ่ กั สงฆ์ 120
โป่งเจ็ดเป็นรูปแรก ซึง่ ปัจจุบนั เป็นเจ้าอาวาส วัดก�ำแพงบางจาก กรุงเทพ ฯ หลังจากนั้น ประมาณ 5 ปีผ่านไป ท่านพระมหาณรงค์ ท่านก็ได้มอบหน้าทีท่ างวัดโป่งเจ็ดให้กบั พระ มนัส ซึ่งเป็นพระที่มาอยู่ด้วยกับท่านในขณะ นัน้ ให้เป็นผูด้ แู ลแทนท่าน ต่อมาไม่นานพระ มนัสก็แยกตัวไปเปิดส�ำนักใหม่ (วัดเขาธาร มงคลในปัจจุบัน) ชาวบ้านจึงไปนิมนต์หลวง พ่อล้อมทีว่ ดั โพธิห์ กั อ�ำเภอโพธาราม จังหวัด ราชบุรี มาเป็นเจ้าอาวาส หลวงพ่อล้อมเป็น เจ้าอาวาสอยู่ประมาณ 5 ปี ท่านก็มรณภาพ และต่อมาทางชาวบ้านโป่งเจ็ด ก็ไปนิมนต์ พระรูปใหม่มาอยู่แทนคือ พระครูวินัยธรตี๋
อิสิญาโณ ประวั ติ พระมหาสั ม ฤทธิ์ เตชธโร (ฤทธิ์พริ้ง) เจ้าอาวาสวัดโป่งเจ็ด ปัจจุบนั อายุ ๔๙ พรรษา ๒๗ (๒๕๖๑) น.ธ. เอก, ป.ธ. ๓, ผ่านหลักสูตรสวดพระปาฏิโมกข์ ได้รับแต่งตั้งเป็นพระผู้ทรงปาฏิโมกข์ของ วัดสุทธาวาส, เป็นพระผู้ทรงปาฏิโมกข์ของ จังหวัดเพชรบุรี และคณะสงฆ์ภาค ๑๕ จังหวัดเพชรบุร,ี เป็นวิทยากรอบรมค่ายพุทธ บุตร และเป็นหัวหน้าพระวิทยากรอบรม ผูป้ ฏิบตั ธิ รรม งานด้านปกครอง พ.ศ. ๒๕๕๑ ได้รบั แต่งตัง้ เป็นหัวหน้าทีพ่ กั สงฆ์โป่งเจ็ด และ ปัจจุบนั เป็นเจ้าอาวาส วัดโป่งเจ็ด
SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี
.indd 120
9/9/2018 8:31:24 PM
HIST ORY OF BUDDHISM
บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดบ้านดงคา(ป่าพุชะเอม)
เป็นวัดในสาขาของวัดป่าโป่งกระทิง (ธ) พระครูสันตาจารวัตร ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส วัดบ้านดงคา เดิมชือ่ วัดป่าพุชะเอม ตัง้ อยู่ เลขที่ 1 หมู่ 9 ต�ำบลบ้านบึง อ�ำเภอบ้านคา จังหวัดราชบุรี ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3206 ระหว่าง กม.51-กม.52 ถนนปากท่อโป่งกระทิง เริม่ ก่อตัง้ เป็นส�ำนักสงฆ์ประมาณ พ.ศ.2530ในหมู่บ้านพุชะเอม โดยนายอยู่ อ�ำนวยผล ได้ถวายทีใ่ ห้ตงั้ วัดประมาณ 31 ไร่ ในปี พ.ศ.2537 ได้ย้ายขึ้นไปติดเขาทางทิศ ตะวันออกจากจุดเดิมประมาณ 600 เมตร และ เป็นทีต่ งั้ ปัจจุบนั ต่อมา นายสมนึก ร่มโพรีย์ ซึ่งเป็นก�ำนันต�ำบลบ้านบึง ในขณะนั้นได้ท�ำ เรื่องขอสร้างวัด-ตั้งวัด และได้รับอนุญาตให้ ตั้งวัดขึ้นเมื่อวันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ.2546
ในนามว่า “วัดบ้านดงคา” แต่ชาวบ้านทั่วไป ยังนิยมเรียกกันว่า “วัดป่าพุชะเอม” ได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา เมือ่ วันที่ 12 มกราคม พ.ศ.2549 และจัดงานผูกพัทธ สีมา ปิดทองฝังลูกนิมิตไปเมื่อวันที่ 2-10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554 ปัจจุบนั มี พระครูสนั ตาจารวัตร(ค�ำนึง) เป็นเจ้าอาวาส ความหมายของการฝังลูกนิมิต “ลูกนิมติ ” หมายถึง ลูกทีท่ ำ� กลมๆ ประมาณ เท่าบาตร มักท�ำด้วยหิน ใช้ฝงั เป็นเครือ่ งหมาย เขตอุโบสถ ทีว่ างบอกเขตพัทธสีมาในการท�ำ สังฆกรรม การฝังลูกนิมิต มีชื่อเรียกเป็น ทางการอีกอย่างหนึ่งว่า การผูกพัทธสีมา
แร่เกาะล้าน
ติดต่อวัดบ้านดงคา (ป่าพุชะเอม) โทร 089-258-3452 RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 121
121
9/9/2018 8:25:37 PM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
ที่พักสงฆ์พุน�้ำร้อน พระอาจารย์พนม นรินฺโท ด�ำรงต�ำแหน่ง เจ้าอาวาส
ทีพ่ กั สงฆ์พนุ ำ�้ ร้อน ต�ำบลบ้านบึง อ�ำเภอ บ้านคา จังหวัดราชบุรี ตัง้ อยูท่ ี่ บ้านพุนำ�้ ร้อน หมูที่ 4 ต�ำบลบ้านบึง อ�ำเภอบ้านคา จังหวัด ราชบุรี จัดตั้งเมื่อปี พ.ศ.2521 มีอาจารย์ พระพนม นรินโฺ ท เป็นเจ้าอาวาสรูปปัจจุบนั และมีพระสงฆ์ทพี่ กั ในทีพ่ กั สงฆ์จำ� นวน 14 รูป มีเนื้อที่ของทีพ่ กั สงฆ์ประมาณ 33 ไร่ 2 งาน เป็นป่าสงวนแห่งชาติ ป่าฝั่งซ้าย เป็นแม่น�้ำ ภาชี สถานภาพป่าเป็นพื้นที่ป่าเสื่อโทรม ประกาศเป็นเขตสงวนหวงห้ามปี พ.ศ.2527 ประวัติความเป็นมา เนื่องจากชาวบ้าน 122
น�้ ำ พุ ร ้ อ น ได้ จั ด การประชุ ม เมื่ อ วั น ที่ 4 ธันวาคม พ.ศ.2553 เพื่อพิจารณามติการ อนุญาตให้จดั สร้างวัดพุนำ�้ ร้อน เป็นวัดประจ�ำ หมู่บ้าน ซึ่งที่ประชุมได้ลงมติด้วยคะแนน เสียงเป็นเอกฉันท์ว่าอนุญาตให้ที่พักสงฆ์ พุ น�้ ำ ร้ อ น จากนั้ น จึ ง ยื่ น เรื่ อ งราวค� ำ ร้ อ ง ขออนุ ญ าตจั ด สร้ า งวั ด พุ น�้ ำ ร้ อ นในเขตป่ า สงวนแห่ ง ชาติ ต ่ อ ไป ส� ำ นั ก งานเจ้ า คณะ อ�ำเภอบ้ านคา วั ดโป่ง กระทิงล่าง ต�ำบล บ้านบึง อ�ำเภอบ้านคา จังหวัดราชบุรี ได้ พิจารณาและมีความเห็นสมควรให้จัดสร้าง
SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี
.indd 122
9/9/2018 8:36:36 PM
ที่พักสงฆ์พุน�้ำร้อนเป็นวัดพุน�้ำร้อนได้เมื่อ วันที่ 17 มกราคม พ.ศ.2554 ปัจจุบันที่พักสงฆ์พุน�้ำร้อนตั้งอยู่บนเนิน เขาริมอ่างเก็บน�ำ้ ห้วยท่าเคย มีอโุ บสถ์สขี าวกรุ ด้วยเปลือกหอยทะเลสีขาวทั้งหลัง ด้านหน้า มีพระพุทธเนรมิต องค์ใหญ่หน้าอุโบสถ บันได ทางขึ้น กรุด้วยเปลือกหอยสีขาว อุโบสถ ประดับด้วยลายปูนปั้น ประติมากรรมสีขาว ทุกรายละเอียดมีการตกแต่งสวยงาม และที่ นีเ่ ป็นจุดชุมวิวอ่างเก็บน�ำ้ ท่าเคยทีง่ ดงาม ถัด มาไม่ไกลมีบ่อน�้ำพุร้อนโป่งกระทิง บ่อน�้ำพุ ร้อนธรรมชาติสามารถแช่อาบผ่อนคลายเพือ่ สุขภาพ อาณาเขต ด้านทิศเหนือ จดถนน ด้านทิศใต้ จดอ่างเก็บน�้ำท่าเคย ด้านทิศตะวันออก จดถนน ทิศตะวันตก จดโรงพยาบาลส่งเสริมสุข ภาพบ้านพุน�้ำร้อน ลักษณะภูมิประเทศ มีสภาพเป็นพื้นที่ ราบทุง่ หญ้า มีเนินดินเล็กๆ ไม่สงู มากนัก อยู่ ในเขตชุมชนหมู่บ้านพุน�้ำร้อน เป็นที่อยู่ใกล้ เคียงกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ หมูบ่ า้ น พุน�้ำร้อน มีเส้นทางถนนตัดผ่านด้านหน้าที่
พักสงฆ์พนุ ำ�้ ร้อน และด้านหลังติดกับอ่างเก็บ น�้ ำ ท่ า เคย ที่ พั ก สงฆ์ พุ น�้ ำ ร้ อ นได้ เ ข้ า ร่ ว ม โครงการปลู ก ป่ า เฉลิ ม พระเกี ย รติ 12 สิงหาคม มหาราชินี ปีพุทธศักราช 2553 โดยใช้พื้นที่ ที่พักสงฆ์พุน�้ำร้อน เป็นพื้นที่ ปลูกป่าตามโครงการ สิ่งก่อสร้างในพื้นที่ 1. กุฏิ ขนาดกว้าง 5 เมตร ยาว 6 เมตร จ�ำนวน 7 หลัง 2. ศาลาการเปรียญ ขนาดกว้าง 20 เมตร ยาว 30 เมตร จ�ำนวน 1 หลัง 3. พระอุโบสถ ขนาดกว้าง 8 เมตร ยาว 18 เมตร จ�ำนวน 1 หลัง 4. ห้องสุขา ขนาดกว้าง 5 เมตร ยาว 14 เมตร จ�ำนวน 1 หลัง ล�ำดับประธานที่พักสงฆ์ 1. อาจารย์อ�ำนาจ สุดโต 2. พระอาจารย์พนม นรินฺโท เจ้าอาวาส รูปปัจจุบัน 3. พระปลัดบุญเลิศ กตสีโล การเดินทาง สามารถมาได้ 2 เส้นทาง คือ เส้นทางอ�ำเภอจอมบึง เข้าสู่ตลาดชัฏ ป่ า หวายให้ มุ ่ ง หน้ า ไปทางซ้ า ยมื อ ใช้ ถนนหลวง 3313 ผ่านวัดพระธาตุเขาน้อย
เข้ า สู ่ บ ้ า นโป่ ง กระทิ ง ล่ า งจากนั้ น ใช้ ถ นน 4016 ซึ่งอยู่ทางขวามือ(จุดสังเกต คือเป็น ทางเดียวกับไปน�ำ้ พุรอ้ นโป่งกระทิง) เดินทาง อีก 10 กิโลเมตรก็ถึง และ เส้นทางอ�ำเภอ ปากท่อ ใช้ถนน 3206 ผ่านอุทยานแห่งชาติ เฉลิมพระเกียรติไทยประจัน เข้าสู่บ้านโป่ง กระทิง จากนั้นใช้ถนน 4016 ซึ่งอยู่ทาง ซ้ายมือ เดินทางอีก 10 กิโลเมตรก็จะถึง ส� ำ นั ก สงฆ์ อ ยู ่ บ นเนิ น ริ ม อ่ า งเก็ บ น�้ ำ ห้ ว ย ท่าเคย
RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 123
123
9/9/2018 8:36:47 PM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดเขาอีส้าน (เทพประทาน) พระใบฎีกาก�ำพล อภิปุญโญ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส วัดเขาอีส้าน (เทพประทาน) ตั้งอยู่ติด ถนนใหญ่ ริ ม เชิ ง ภู เ ขาที่ สู ง ตระหง่ า นเป็ น ธรรมชาติยิ่ง และอยู่ห่างจากถนนสายหลัก ถนนเพชรเกษมเส้ น ทางมาจาก กทม. เลี้ยวขวาที่สี่แยกไฟแดง (สี่แยก อ.ปากท่อ จ.ราชบุรี) อยู่เลขที่ 67 หมู่ที่ 6 ต.ดอนทราย อ.ปากท่อ ประมาณ 6.40 กิโลเมตร อ.ปากท่อ จ.ราชบุรี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ที่ดิน ทีต่ งั้ วัด มีเนือ้ ที่ 26 ไร่ ก่อตัง้ สถาปนาเป็นวัด เมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ.2528 ได้รับ พระราชทานวิ สุ ง คามสี ม าเมื่ อ วั น ที่ 13 มกราคม 2538 เขตวิสุงคามสีมา อาณาเขต 124
ทิ ศ เหนื อจดโรงเรี ย นวั ด เขาอี ส ้ า น ทิ ศ ใต้ จดที่ดินเอกชน ทิศตะวันออก จดเขาอีส้าน ทิศตะวันตกจดถนน พระสงฆ์ที่มาบุกเบิกในยุคแรก คือ พระ อาจารย์ตงั้ ธัมมกาโม ท่านได้พฒ ั นาพืน้ ทีว่ ดั แห่งนี้อย่างรุ่งเรืองและสืบเนื่องเรื่อยมาจน เป็นที่รู้จักของผู้แสวงหาธรรมและธรรมชาติ โดยเฉพาะในยุคของพระอาจารย์พระครูวีร ธรรมภิรตั (เอีย่ ว อคฺควิโร) ศาสนสถานได้รบั การท�ำนุบำ� รุงดูแลจากเหล่าศิษยานุศษิ ย์และ พุทธศาสนิกชนอย่างต่อเนื่อง น�ำประชาชน เยาวชน และบุคลากรในหน่วยงานทัง้ ภาครัฐ
และเอกชนมาร่วมท�ำกิจกรรมกับทางวัดโดย เฉพาะการเรี ย นรู ้ ท างธรรม ปฏิ บั ติ ธ รรม และเรียนรู้ชีวิต อาคารเสนาสนะ ประกอบด้วย อุโบสถ เป็นอาคารคอนกรีตพระพุทธชิน ราชพระประธานประจ�ำอุโบสถ ศาลาปฎิบัติธรรม เป็นอาคารคอนกรีต ศาลาปฏิบัติธรรมหลวงพ่อ 6 พี่น้อง เป็นอาคารคอนกรีต วิหารหลวงพ่อแก่นจันทร์ เป็นอาคาร คอนกรีต เมื่ อ ท่ า นเดิ น ทางมาถึ ง หน้ า วั ด ซึ่ ง อยู ่
SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี
.indd 124
9/9/2018 5:41:41 PM
บริเวณเชิงเขาก่อนถึงซุม้ ประตูวดั ก็จะพบกับ พระพุ ท ธโคดม พระพุ ท ธรู ป องค์ ใ หญ่ ประดิษฐานแยกออกไปทางขวามือ ก่อนถึง ซุ้มประตูวัด ขนาดขององค์พระที่ใหญ่มาก ท�ำให้เห็นได้แต่ไกล หลังจากกราบนมัสการ พระพุทธโคดม พระพุทธรูปองค์ใหญ่แล้ว ท่านสามารถเดินทางเข้า วัดอีส้าน โดยผ่าน ซุ้มประตูวัดแบบจีน ก็จะเห็นความโดดเด่น สะดุดตาของ องค์พระโพธิสตั ว์อวโลกิเตศวร หรือ เจ้าแม่กวนอิมองค์ใหญ่ กับ พระสัง กัจจายน์ และเมื่อเข้ามาในซุ้มประตูก็จะถึง ศาลาปฏิบัติธรรมหลวงพ่อ 6 พี่น้อง (หลวง พ่อพุทธโสธร, หลวงพ่อโตบางพลี, หลวงพ่อใหญ่ พระพุทธโคดม,หลวงพ่อพุทธสิหงิ ค์, หลวงพ่อ วัดไร่ขงิ ,หลวงพ่อทองวัดเขาตะเครา) ซึง่ เป็น ทีป่ ระดิษฐานพระพุทธรูปหลายองค์เรียงแถว
กันไปตามแนวของศาลาเป็นสถานที่ส�ำหรับ เข้ามาไหว้พระขอพร ถั ด ออกไปจากศาลาก็ จ ะเป็ น วิ ห าร พระเศรษฐีนวโกฏ อยู่ด้านหลังของศาลา ปฏิบัติธรรมหลวงพ่อ 6 พี่น้อง ในวิหารจะ มีพระเศรษฐีโกฏิ 2 องค์ องค์ใหญ่ประสาน พระหัตถ์ลักษณะปางสมาธิ ส่วนองค์เล็กๆ อยู ่ ด ้ า นหน้ า องค์ ใ หญ่ พ ระหั ต ถ์ ว างบน พระชานุ ลักษณะเหมือนปางสะดุง้ มาร หรือ มารวิชัย ความเชื่อของการบูชาพระเศรษฐี นวโกฏิจะได้ร�่ำรวยเป็นเศรษฐี ถัดจากวิหารพระเศรษฐีนวโกฏิด้านซ้าย มือจะเป็น ลานเทวรูป (พระพรหม,พระ นารายณ์,พระอินทร์,พระศิวะ,พระพิฆเนศ) ถัดจากวิหารพระเศรษฐีนวโกฏิดา้ นขวามือ จะเป็น ลานบูรพกษัตริย์ ถัดจากวิหารพระเศรษฐีนวโกฏิด้านหลัง จะเป็น วิหารแก้วมรกตและหลวงพ่อสด ถัดจากวิหารพระแก้วมรกตและหลวงพ่อ สดด้ า นขวามื อ จะเป็ น ต� ำ หนั ก เง็ ก เซี ย น ฮ่องเต้ ในช่ ว งเทศกาลกิ น เจ,ตรุ ษ จี น ,งาน ประจ�ำปี (ช่วงเดือนมีนาคมของทุกปี) หรือ ในวันหยุดเสาร์-อาทิตย์และวันหยุดนักขัต ฤกษ์วดั เขาอีสา้ นขอเชิญชวนพุทธศาสนิกชน ทุกท่านเข้ามาไหว้พระขอพรได้ทุกวัน RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 125
125
9/9/2018 5:42:54 PM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดลานคาสุทธาวาส
พระอธิการชาญฤทธิ์ ติสาโร ด�ำรงต�ำแหน่ง เจ้าอาวาส เสริมบุญบารมีที่วัด มาแล้วโชคดี ไปแล้ว มีโชค วัดลานคาสุทธาวาส ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นลานคา หมู่ 8 ต.ยางหัก อ.ปากท่อ จ.ราชบุรี เนื้อที่ รวมทัง้ สิน้ 21 ไร่ 2 งาน ปัจจุบนั พระอธิการ ชาญฤทธิ์ ติสาโร เป็นเจ้าอาวาส มีพระสงฆ์ จ�ำพรรษา 6 รูป มีสามเณร 1 รูป วัดลานคาสุทธาวาส ตั้งและเริ่มก่อสร้าง เมื่อ พ.ศ.2534 สมัยเมื่อยังเป็นที่พักสงฆ์ เมื่อปี พ.ศ.2550 พระชาญฤทธิ์ ติสาโร เริ่ม ขอสร้างวัดมาถึงปี พ.ศ.2557 จึงขอตั้งวัด 126
และได้รับตราตั้งวัด เมื่อวันที่ 22 สิงหาคม พ.ศ.2557 ชื่อวัดลานคาสุทธาวาส ตั้งแต่ นั้นมาถึงปัจจุบันนี้ เป็นวัดมาได้ 5 ปีแล้ว เป็นวัดใหม่ เป็นวัดเริ่มต้น ขอเชิญทุกท่าน แวะไปวัดลานคาสุทธาวาส พระอธิการชาญฤทธิ์ ติสาโร เจ้าอาวาส เล่าว่า สมัยก่อนวัดลานคาสุทธาวาสเป็น เพียงที่พักสงฆ์ร้าง จึงได้มาปฏิบัติธรรมและ พัฒนามาจนถึงปัจจุบันก็ร่วม 10 ปี จน กระทัง่ เมือ่ สองปีกอ่ น ชาวบ้านเห็นว่าควรจะ สร้างโบสถ์ จึงได้วางศิลาฤกษ์ และยังคงขาด
SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี
.indd 126
9/9/2018 7:09:57 PM
ปัจจัยอีกมาก จึงอยากชวนญาติโยมคนใจดี มาร่ ว มบริ จ าคทรั พ ย์ ร่ ว มกั น สร้ า งโบสถ์ ให้เสร็จในเร็ววัน การสร้ า งมหาวิ ห าร หรื อ อุ โ บสถมี อานิสงส์มากมาย เพือ่ ถวายแด่สงฆ์ผเู้ ดินทาง มาจากทิศทั้งสี่ และให้ผู้ใคร่ในการปฏิบัติ ธรรมได้ใช้สอย เป็นสิง่ ทีพ่ ระบรมศาสดาทรง ยกย่อง เพราะเป็นเครื่องชี้บ่งว่า พระพุทธ ศาสนาจะปักหลักมั่นคงและเจริญรุ่งเรือง เป็ น ที่ พึ่ ง ของมนุ ษ ย์ แ ละเทวดา น� ำ ความ ร่มเย็นเป็นสุขมาสู่พุทธศาสนิกชน การมี โบสถ์ วิ ห าร ศาลาการเปรี ย ญ แสดงว่ า พระพุ ท ธศาสนาได้เ จริญ รุ่งเรือ งในอาณา บริเวณนัน้ ผูท้ มี่ สี ว่ นในการก่อสร้างถาวรวัตถุ เหล่านี้ แม้จะเป็นเพียงตะปูสกั ตัวหนึง่ ไม้สกั แผ่นหนึง่ อานิสงส์อนั ไพศาลก็ยอ่ มบังเกิดขึน้ จะให้คนแสนคนช่วยกันพรรณนาอานิสงส์
การถวายวิ ห ารจนตลอดชี วิ ต ก็ พ รรณนา ไม่หมด เพราะบุญที่เกิดขึ้นนั้นมากมายเกิน ควรเกินคาดทีเดียว นรชนใดถวายที่ อ ยู ่ แ ก่ ส งฆ์ นรชนนั้ น ท่านกล่าวว่า ชือ่ ว่าให้อายุ วรรณะ สุขะ พละ และปฏิภาณอันประเสริฐ ทีพ่ ระพุทธเจ้าทรง สรรเสริญแล้ว เพราะเหตุทผี่ ถู้ วายทีอ่ ยูอ่ าศัย อันป้องกันอุปัทวะแห่งชีวิต ย่อมรักษาอายุ ของเขาไว้ได้ เพราะฉะนั้น สัตบุรุษจึงเรียก ผู้ถวายวิหารว่า เป็นผู้ให้อายุ วรรณะ สุขะ พละ และปฏิภาณ ผู้ถวายวิหารชื่อว่า ให้สุข เป็นนิตย์แก่ภิกษุสงฆ์ เพราะป้องกันความ ทุกข์ที่เกิดแต่เย็นร้อน สัตว์เลื้อยคลาน ลม แดดเป็นต้น ฉะนัน้ ผูใ้ ห้ยอ่ มได้สขุ ในโลกหน้า
โบสถ์มีความส�ำคัญ คือ 1. เป็นที่ท�ำสังฆกรรมหรือพิธีของสงฆ์ พระภิ ก ษุ ทุ ก รู ป ต้ อ งช� ำ ระศี ล ของตนให้ บริสุทธิ์ก่อนเข้าโบสถ์ 2. โบสถ์ใช้เป็นที่ส�ำหรับบวชพระ ใน พระวินัย ก�ำหนดว่าพระต้องบวชในโบสถ์ บวชนอกโบสถ์ไม่ได้ โบสถ์ จึ ง มี ค วามส� ำ คั ญ มากต่ อ อายุ พระพุทธศาสนา จึงนับเป็นบุญใหญ่ส�ำหรับ ผู้ได้ร่วมสร้างโบสถ์ ส�ำหรับผู้ใจบุญ ใจดีทั้งหลายที่ผ่านมา ทางปากท่อ แวะมาวัดลานคาสุทธาวาส มี สิง่ ศักดิส์ ทิ ธิใ์ ห้กราบไหว้บชู า มีหลวงพ่อพุทธ นิมติ รศักดิส์ ทิ ธิ์ มีเทพราหู พ่อปู่ พ่อแก่ ปูด่ ำ� และปู่ขาว พระราหู องค์พญานาค ใครดวง ชะตาไม่ดีท�ำอะไรก็ติดขัดก็แวะมากราบสิ่ง ศักดิ์สิทธิ์ ตั้งสติ ตั้งใจอธิษฐาน ตั้งจิตให้ดี จากร้ายจะกลายเป็นดี ขอให้การงานทุกท่าน ประสบความส�ำเร็จ วัดมีความร่มรื่น ร่มเย็น ขอเชิญชวนทุก ท่านมาพักใจให้สงบเย็น เมื่อปีที่แล้ว พลเอกภัสสร อิศรางกูร ณ อยุธยา เป็นประธานในพิธีทอดกฐินสามัคคี ณ วั ด ลานคาสุ ท ธาวาส วั น อาทิ ต ย์ ที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ.2559 เวลา 13.00 น. ร่ ว มบุ ญ สร้ า งบารมี กั บ วั ด ลานคา สุ ท ธาวาส ติ ด ต่ อ ท่ า นเจ้ า อาวาสได้ โ ดย ตรงที่ 081-970-7518 ,081-773-7282 RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 127
127
9/9/2018 7:10:15 PM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดไทยประจัน
พระอธิการชัยสิทธิ์ คุณวิจิตฺโต ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส วัดไทยประจัน ตั้งอยู่เลขที่ 95 หมู่ 5 บ้านไทยประจัน ต�ำบลยางหัก อ�ำเภอปากท่อ จังหวัดราชบุรี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย เดิมชือ่ “ส�ำนักสงฆ์แม่ประจัน” ตัง้ อยูท่ คี่ า่ ย ทหารบ้านแม่ประจัน ภายหลังได้ยา้ ยออกมา อยู่ข้างนอกในที่สร้างวัด เป็นที่ดิน 15 ไร่ ที่ธรณีสงฆ์ 27 ไร่ 2 งาน 98 ตารางวา ปัจจุบันมีพระภิกษุสงฆ์จ�ำพรรษาอยู่จ�ำนวน 5 รูป โดยมีพระอธิการชัยสิทธิ์ คุณวิจิตฺโต เป็นเจ้าอาวาสปกครองดูแลอยู่ ในอดีตทีผ่ า่ นมานานนับร้อยกว่าปีมาแล้ว ในต�ำบลยางหัก พืน้ ทีแ่ ห่งนีเ้ ป็นป่า ภูเขา และ 128
แหล่งน�้ำที่อุดมสมบูรณ์มาก อีกทั้งยังเป็น ที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่าใหญ่น้อยที่ชุกชุม และ มีชนกลุม่ น้อยชาวไทยภูเขา เชือ้ สายกระเหรีย่ ง ตั้ ง ถิ่ น ฐานบริ เ วณริ ม ห้ ว ยที่ มี น�้ ำ ไหลอุ ด ม สมบูรณ์ตลอดปี และด้วยบริเวณริมห้วยนี้ มีต้นยางใหญ่มาก เป็นที่นับถือของชาวบ้าน ว่าเป็นสิง่ ศักดิส์ ทิ ธิส์ งิ สถิตอยูว่ นั หนึง่ มีฝนฟ้า คะนองและตกอย่างหนัก น�้ำป่าไหลหลาก อย่างน่ากลัวอย่างยิ่ง และเล่ากันว่าล้มทับ สัตว์ใหญ่ชนิดหนึ่งที่จะมาท�ำร้ายชาวบ้าน จึงได้ชื่อว่า “ยางหัก”
SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี
.indd 128
9/9/2018 5:50:39 PM
ประวัติเจ้าอาวาส พระอธิการชัยสิทธิ์ คุณวิจิตฺโต เกิดที่ ต�ำบลขุนพิทกั ษ์ อ�ำเภอด�ำเนินสะดวก จังหวัด ราชบุรี เกิดวันที่ 29 มีนาคม พ.ศ.2486 ปัจจุบันอายุ 75 ปี พรรษาที่ 26 การศึกษา จบประถมศึ ก ษาปี ที่ 4 จากโรงเรี ย นวั ด บางลี่ใหญ่, จบ ม.6 จากโรงเรียนอัมพวัน วิทยาลัย และจบ ม.8 จากโรงเรียนอ�ำมาตย์ ศึกษา กรุงเทพฯ
อุปสมบทเมื่อวันที่ 16 เมษายน พ.ศ. 2535 ที่ วั ด อั ม พวั น เจติ ย าราม ซึ่ ง เป็ น พระอารามหลวงชั้ น โท ตั้ ง อยู ่ ป ากคลอง อั ม พวาด้ า นเหนื อ เดิ ม เรี ย กกั นว่ า “วั ด อัมพวา” ต่อมาพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้า เจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานนามใหม่ว่า “วัด อัมพวันเจติยาราม” มีความหมายว่า “วัดทีม่ ี เจดี ย ์ แ ละมี ส วนมะม่ ว งเป็ น ที่ รื่ น รมย์ แ ละ เกษมส�ำราญน่าเคารพบูชา” การศึ ก ษาทางธรรม จบนั ก ธรรมเอก พ.ศ.2546 ได้รบั การแต่งตัง้ เป็นเจ้าอาวาสส�ำนักสงฆ์ แม่ประจัน เมือ่ วันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ.2547 ได้รับการแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาสวัดไทย ประจันรูปแรก เมื่อวันที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2554 จนถึ ง ปั จ จุ บั น และท่ า นยั ง ได้ รั บ การแต่ ง ตั้ ง เป็ น ครู พ ระสอนศี ล ธรรมใน โครงการ “พระสอนศีลธรรมในโรงเรียน” จัดโดย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัยด้วย RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 129
129
9/9/2018 5:51:01 PM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดเขากูบอินทาราม พระครูสุนทรสารวาที ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
วั ด เขากู บ อิ น ทาราม ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 63 หมู ่ ที่ 1 ต� ำ บลอ่ า งหิ น อ� ำ เภอปากท่ อ
จั ง หวั ด ราชบุ รี เดิ ม เป็ น ส� ำ นั ก สงฆ์ โดยมี ห ลวงพ่ อ หนู พั ฒ นาเรื่ อ ยมา และสร้ า งเป็ น วัด เมื่อ พ.ศ.2505 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาในพ.ศ.2506 มีพื้นที่สร้างวัดจ�ำนวน 27 ไร่ 90 ตารางวา เดิมชื่อ “วัดป่าไผ่” ชาวบ้านเห็นว่าบริเวณวัดเป็นเขาลูกเล็กๆ เหมือนกูบ จึ ง เรี ย กกั น ว่ า “วั ด เขากู บ ” ต่ อ มามี ต ระกู ล อิ น ช� ำ นาญ และ ตระกู ล อิ น ทะนิ ล ร่ ว มกั น บริ จ าค ที่ ดิ น เพื่ อ สร้ า งวั ด จึ ง เปลี่ ย นชื่ อ วั ด เป็ น วั ด เขากู บ อิ น ทาราม จนถึ ง ปั จ จุ บั น นี้ 130
ท�ำเนียบเจ้าอาวาส รูปที่ 1 พระสมุห์ทองสุข สุวณฺโณ รูปที่ 2 พระอธิการแป๊ะ ญาณวิปุโล รูปที่ 3 พระอธิการอนุพงษ์ โอภาโส รูปที่ 4 พระครูสุนทรสารวาที พ.ศ.2538- ปัจจุบัน
SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี
.indd 130
6/9/2561 9:00:55
พระครูสุนทรสารวาที
พระนักเทศน์แห่งราชบุรี
พระครูสุนทรสารวาที เจ้าอาวาสวัดเขากูบ อินทาราม ท่านได้พัฒนาวัดเรื่อยมา จากที่เคย เป็ น วั ด เก่ า และทรุ ด โทรม ท่ า นได้ ส ร้ า ง กุฏิสงฆ์ ศาลาการเปรียญ อุโบสถ และได้สร้าง สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี) องค์ใหญ่ สูง 16 เมตร 9 เซนติเมตร กว้าง 8 เมตร อยู่ บนยอดเขา ซึ่งสาธุชนสามารถเดินทางมาก ราบสักการบูชาได้ทุกวัน พระครูสุนทรสารวาที นอกจากท่านเป็น พระนักพัฒนาแล้ว ท่านยังเป็นพระนักเทศน์ แห่งจังหวัดราชบุรี เป็นพระธรรมจาริก ปฏิบัติ
งานด้ า นการเผยแผ่ พ ระพุ ท ธศาสนาควบคู ่ ไปกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตชาวบ้าน เป็น พระวิทยากร อบรมให้ความรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรมแก่หน่วยงานทั้งภาครัฐ เอกชน และ ประชาชนทั่วไป เป็นผู้น�ำในการพัฒนาชุมชน ตลอดจนถึงการจัดอบรมต่างๆ ตามที่หน่วย งานนั้ น ๆ ขอความอนุ เ คราะห์ เป็ น พระ วิปสั สนาจารย์ ท�ำการสอนการปฏิบตั กิ รรมฐาน ตามหลักค�ำสอนของพระพุทธศาสนา เป็น พระนักพัฒนา ท�ำงานสงเคราะห์ชมุ ชน ช่วยเหลือ ชาวบ้านด้วยกิจกรรมต่างๆ เพื่อให้ความเป็น อยู ่ ข องชาวบ้ า นดี ขึ้ น ท่ า นท�ำให้ สั ง คมไทย ได้ตระหนักว่า พระนั้นไม่ได้มีบทบาทเฉพาะ
พิธีกรรมแต่เพียงอย่างเดียวเท่านั้น แต่ยังมี บทบาทที่ส�ำคัญในพัฒนาชุมชนและสังคมให้ มีความเป็นอยู่ที่ดีอีกด้วย นอกจากนี้ ท่านยัง อนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณีเกี่ยวกับพระพุทธ ศาสนาไว้อย่างมั่นคง ต่อเนื่อง จัดปฏิบัติธรรม ในวั น ส�ำคั ญ ทางพระพุ ท ธศาสนาให้ กั บ ฆราวาสญาติโยม อีกทั้งจัดบวชชีพราหมณ์ใน วาระต่างๆ ตลอดทั้งปี อาทิ ปฏิบัติธรรม วันวิสาขบูชา ทุกปี ซึ่งเป็น วันแห่งสันติภาพของโลก เป็นวันส�ำคัญทาง ศาสนาพุทธส�ำหรับพุทธศาสนิกชนทุกนิกาย ทั่ ว โลก ทั้ ง เป็ น วั น หยุ ด ราชการในหลาย ประเทศ และวันส�ำคัญในระดับนานาชาติตาม ข้ อ มติ ข องสมั ช ชาใหญ่ แ ห่ ง สหประชาชาติ ทางวั ด เขากู บ อิ น ทาราม จั ด ปฏิ บั ติ ธ รรม ประพฤติพรหมจรรย์ บวชชีพราหมณ์ และ อุปสมบทหมู่เป็นประจ�ำทุกปี สวดมนต์ข้ามปี ท�ำดีข้ามวัน ทุกวันเจริญ รุ่งเรืองด้วยการท�ำดี จัดทุกปี เทศมหาชาติ แสดงพระธรรมเทศนาเรื่อง พระเวสสันดรชาดก 3 ธรรมาสน์ ตั้งแต่กัณฑ์ ที่ 1 ถึงกัณฑ์ที่ 13 จัดทุกปี ประเพณีการตักบาตรเทโว เป็นประเพณี ทางพุทธศาสนาที่อนุรักษ์มาโดยตลอด เทศนาและอบรมศีลธรรม ให้กับหน่วย งานทหาร ข้าราชการพลเรือน นิสิต นักศึกษา ตลอดปี อาทิ บรรยายธรรมให้กับนักศึกษา หลั ก สู ต รวิ ช าชี พ ครู ม หาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ หมู่บ้านจอมบึง เรื่อง สัมมาอาชีพ เพื่อหลัก ปฏิบัติตนส�ำหรับนักศึกษาที่จบหลักสูตร และ อบรมโครงการเสริมสร้างจริยธรรมข้าราชการ กรมการพัฒนาชุมชน สาธุชนสามารถติดต่อ พระครูสุนทรสารวาที ได้ที่โทรศัพท์ 081-763-5428 วัดเขากูบอินทาราม
RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 131
131
6/9/2561 9:02:15
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดโพธิ์ศรี พระครูสิริโพธิรักษ์ ( ยวง อาภสฺสโร) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส วัดโพธิศ์ รี ตัง้ อยูห่ มูท่ ี่ 7 ต�ำบลหนองกระ ทุ่ม อ�ำเภอปากท่อ จังหวัดราชบุรี ในเนื้อที่ 35 ไร่ โดยนายเจ๊ก นายแปลก จันทร เป็น ผู้ถวายที่ดินให้ เริ่ ม สร้ า งวั ด ในปี พ.ศ.2468 โดยมี พระเกิด เป็นหัวหน้าคณะ และพระสงฆ์อีก จ�ำนวน 4 รูป จ�ำพรรษาในปีแรก จนมาถึงปี พ.ศ.2499 ได้มีพระยวง อาภสฺสโร มาเป็น เจ้าส�ำนัก และได้ด�ำเนินการขอเป็นวัดใน ปี พ.ศ.2506 โดยพระยวง อาภสฺสโร รักษาการ เจ้าอาวาส และได้แต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาสในปี 132
พ.ศ.2507 จนถึงปัจจุบัน ประวัติเจ้าอาวาส พระครูสิริโพธิรักษ์ (ยวง อาภสฺสโร) เดิมชือ่ ยวง นามสกุล ชาวนรินทร์ เกิดเมือ่ วันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ.2475 เป็นบุตรของ นายเต้ และนางส่วย ชาวนรินทร์ หมู่บ้านวี ยงทุน อ�ำเภอวัดเพลง จังหวัดราชบุรี ในวัยเยาว์เรียนจบชั้นประถม 4 จากนั้น ออกมาช่วยครอบครัวท�ำนาท�ำไร่ จวบจนอายุ 23 ปี ได้เข้าบรรพชาอุปสมบทเป็นพระภิกษุ เพื่ อ ทดแทนคุ ณ บุ พ การี เมื่ อ วั น ที่ 20
SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี
.indd 132
9/9/2018 6:17:58 PM
พฤษภาคม พ.ศ.2498 ณ พัทธสีมาวัดราษฎร์ สมานฉันท์ ต.หนองกระทุม่ อ.เมือง จ.ราชบุรี โดยมีพระครูขนั ตยาภิรตั เจ้าอาวาสวัดหนอง กระทุ่ม เป็นพระอุปัชฌาย์ พระอาจารย์แห วัดหนองกระทุ่ม เป็นพระอนุสาวนาจารย์ และพระอาจารย์บุญช่วย วัดเขาย้อย เป็น พระกรรมวาจาจารย์ หลังอุปสมบทได้ศกึ ษา พระธรรมวิ นั ย และวิ ท ยาคมกั บ พระเกจิ คณาจารย์หลายท่าน หลวงพ่อยวงสร้างวัดเมื่อปี พ.ศ.2507 ตั้งชื่อวัดว่า “โพธิ์ศรี” ด้วยการเอาต้นโพธิ์มา ตั้ ง เป็ น ชื่ อ ต่ อ มาก็ ไ ด้ น� ำ วิ ช าต่ า งๆ ที่ ไ ด้ ร�่ำเรียนมาจากครูบาอาจารย์ สงเคราะห์ ญาติโยมที่มากราบหรือมาพึ่งบารมีของท่าน ช่วยขจัดปัดเป่าให้บรรเทาเบาบางลงไป ด้วยความที่หลวงพ่อยวงเป็น ผู้ที่มีชาว บ้านให้ความเลื่อมใสศรัทธาเป็นจ�ำนวนมาก และเป็นพระที่มีเมตตา เข้าถึงง่าย จึงเป็นที่ เคารพและศรั ท ธาของคนในพื้ น ที่ แ ละ ใกล้ เ คี ย ง ท่ านไม่ค่อ ยได้สร้า งวัต ถุมงคล สักเท่าไร และถ้าท่านจัดสร้างวัตถุมงคล ส่วนมากก็เพื่อมอบให้ผู้ที่ร่วมท�ำบุญสร้าง โบสถ์และเสนาสนะภายในวัด ดังนั้นที่วัดโพธิ์ศรีจึงมีวัตถุมงคลไม่มาก
และมี อ ยู ่ เ พี ย งรุ ่ น เดี ย วที่ ห ลวงพ่ อ ยวงท� ำ ไว้เพือ่ บูรณะอุโบสถ คือ เหรียญหลวงพ่อยวง วัดโพธิ์ศรี รุ่นแรก พ.ศ.2519 เนื้อฝาบาตร กล่าวขวัญกันว่า วัตถุมงคลของท่านมีพทุ ธคุณ โดดเด่นด้านคงกระพันชาตรี แคล้วคลาด เมตตามหานิยม เพราะหลวงพ่อยวงเป็น พระสุปฏิปันโน ปฏิบัติดี ปฏิบัติชอบ มีวินัย เคร่งครัด มีหลายคนเดินทางไปทีว่ ดั ท่านเดิน ออกมาต้อนรับขับสู้เป็นอย่างดี และเมื่อเอ่ย ปากขอท่านถ่ายรูปท่านก็จะรีบเดินไปห่มผ้า และมาให้ถ่ายในทันทีเช่นกัน หลวงพ่อยวงคือพระสงฆ์ที่เปี่ยมไปด้วย เมตตา มีหัวใจแห่งการสงเคราะห์ญาติโยม ทีม่ ากราบขอความเมตตาอย่างจริงใจ ส�ำหรับ ผู ้ ที่ ไ ด้ รั บ วั ต ถุ ม งคล เครื่ อ งรางของขลั ง ของหลวงพ่อพกติดตัวแล้ว ล้วนกล่าวเป็น เสียงเดียวกันว่ามีพุทธคุณโดนเด่นรอบด้าน ครบเครื่อง ด้ ว ยความเมตตาของท่ า นที่ ค อยช่ ว ย เหลือผู้ตกทุกข์ได้ยากอย่างเต็มที่ ไม่เลือก ทีร่ กั มักทีช่ งั จนชือ่ เสียงโด่งดังขจรขจายไปทัว่ ทุกทิศ อีกทั้งยังได้รับนิมนต์ให้ไปปลุกเสก วัตถุมงคล ในงานวันไหว้ครูของส�ำนักต่างๆ เป็นประจ�ำทุกปี หลวงพ่อยวงปฏิบัติงาน
ศาสนกิจด้วยดี ได้อบรมสั่งสอนพระภิกษุ สามเณร และศิษย์วัด อบรมสั่งสอนศีลธรรม จริยธรรมแก่พุทธบริษัทสม�่ำเสมอ ตลอดจน บ�ำเพ็ญประโยชน์แก่สว่ นรวมมิได้ขาด จึงเป็น พระเกจิ ที่ ค วรค่ า แก่ ก ารนั บ ถื อ กราบไหว้ ได้อย่างสนิทใจ พระครูสริ โิ พธิรกั ษ์ (ยวง อาภสฺสโร) หรือ ทีช่ าวบ้านเรียกท่านว่า หลวงพ่อยวง อาภัสสโร คื อ พระเกจิ อ าจารย์ ที่ มี เ มตตาน่ า เลื่ อ มใส ศรัทธา มักน้อย ถือสันโดษ มีพลังจิตที่เข้ม แข็ง นามของท่านจึงขจรขจายไปไกล ปัจจุบนั สิริอายุ 86 พรรษา 63 ด�ำรงต�ำแหน่งเป็น เจ้าอาวาสวัดโพธิ์ศรี จังหวัดราชบุรี
RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 133
133
9/9/2018 6:18:22 PM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดมณีลอย
พระครูอภิรักษ์รัตนากร ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส วัดมณีลอย ตั้งอยู่หมู่ที่ 7 บ้านมณีลอย ต�ำบลวังมะนาว อ�ำเภอปากท่อ จังหวัดราชบุรี สังกัดคณะสงฆ์ มหานิกาย ทีด่ นิ ตัง้ วัดมีเนือ้ ที่
134
86 ไร่ และที่ธรณีสงฆ์อีก 8 ไร่ 3 งาน ได้รับ การประการตั้ ง เป็ นวั ด ตามประการของ ส�ำนักพระพุทธศาสนาแห่งชาติ เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ.2546 วัดมณีลอยเดิมเป็นทีพ่ กั สงฆ์ชอื่ ทีพ่ กั สงฆ์ ถ�ำ้ หอบ สาเหตุทเี่ รียกเช่นนี้ เพราะในบริเวณ ที่ตั้งวัดมีถ�้ำอยู่ และเป็นถ�้ำที่แปลกจากที่อื่น คือ เป็นถ�้ำที่มีลักษณะเป็นโพรงลงไปในพื้น ดิน ลึกลงไปประมาณหกเมตรเศษ ภายในถ�ำ้ มีอากาศเบาบาง เป็นเหตุให้คนที่ลงไปในถ�้ำ ไม่สามารถหายใจได้สะดวก จึงเรียกชื่อถ�้ำ นี้ว่า “ถ�้ำหอบ”
ที่พักสงฆ์ถ�้ำหอบ ตั้งขึ้นเมื่อประมาณปี พ.ศ.2500 โดยคณะญาติโยมในพื้นที่ได้ไป นิมนต์ พระอธิการพิง กนฺตสีโล อดีตเจ้า อาวาส เจ้าอาวาสวัดมณีเลื่อน เขตต�ำบล หนองชมพลเหนือ อ�ำเภอเขาย้อย จังหวัด เพชรบุรี พร้อมทั้งพระภิกษุอีกจ�ำนวนหนึ่ง มาพ�ำนักอยู่บริเวณสถานที่ดังกล่าว เพื่อ เป็นการรับฉลองศรัทธาแก่คณะญาติโยมใน บริเวณพืน้ ทีต่ งั้ ทีพ่ กั สงฆ์ เพือ่ ประกอบกิจใน ทางพระพุทธศาสนา เป็นศูนย์รวมจิตใจให้ กั บ ชาวบ้ า น พร้ อ มได้ ส ร้ า งถาวรวั ต ถุ เสนาสนะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ มาไว้เป็นที่พักของ
SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี
.indd 134
9/9/2018 8:47:21 PM
สงฆ์ในการท�ำกิจของพระสงฆ์ และกิจทาง พระพุทธศาสนา ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อจากที่พักสงฆ์ถ�้ำหอบ มาเป็ น ที่ พั ก สงฆ์ ม ณี ล อย ทั้ ง นี้ เ พื่ อ เป็ น การให้สอดคล้องกับทีเ่ ดิม ซึง่ ได้ไปนิมนต์พระ จากวัดมณีเลื่อน มาพ�ำนักในครั้งแรก และให้ ถื อว่ า วั ด ทั้ ง สองนี้ เ ป็ น เสมื อ นวั ด พี่ วั ด น้ อ ง ประกอบกับสถานที่ตั้งที่พักสงฆ์นั้นเป็น เขาลาดสูง โดยมีค�ำบอกเล่าจากคนเก่าแก่ใน พืน้ ทีว่ า่ ในเวลากลางคืนวันเพ็ญ จะมีแสงลอย ขึ้นตรงบริเวณที่ตั้งที่พักสงฆ์ จึงได้เปลี่ยนชื่อ เป็น ที่พักสงฆ์มณีลอย ดังที่อธิบายข้างต้น ในปีพ.ศ.2545 จึงได้รบั อนุญาตให้สร้างวัด และประกาศตัง้ เป็นวัด ตามประกาศของส�ำนัก พระพุทธศาสนาแห่งชาติ เมือ่ ปี พ.ศ. 2546 โดย ในครั้งนั้นได้แต่งตั้ง พระปลัดบุญมา อภิวโร เป็ น ปฐมเจ้ า อาวาสวั ด มณี ล อย ปั จ จุ บั น มี พระครูอภิรักษ์รัตนากร (นามเดิม บุญมา ค�ำขัน) เป็นเจ้าอาวาส ภายในวั ด ปั จ จุ บั น นี้ ไ ด้ ท� ำ การก่ อ สร้ า ง เสนาสนะ ถาวรวั ต ถุ มี อุ โ บสถ ศาลา การเปรียญ วิหารพระ และอื่นๆ อีกมากมาย ไว้ประกอบกิจต่างๆ ในทางพระพุทธศาสนา และที่วัดแห่งนี้ยังมีพระพุทธรูปเก่าแก่ ยุค รัตนโกสินทร์ตอนต้น ไว้เป็นที่เคารพศรัทธา แก่พุทธศาสนิกชนทั้งหลาย ประดิษฐานอยู่ที่ วิหารมณีมงคล ขอเชิญพุทธศาสนิกชนเดิน ทางมากราบสักการบูชาได้ทุกวัน
วัดมณีลอยตั้งอยู่บริเวณแนวแดนขอบ จังหวัดราชบุรีกับเพชรบุรี และอยู่ห่างจาก ถนนเพชรเกษม ทางหลวงหมายเลข 4 ประมาณ 6 กิโลเมตร (วัดอยูใ่ กล้สามแยกวัง มะนาว) นอกจากนี้ ทางวัดมณีลอยยังร่วมมือกับ ทางจังหวัดราชบุรใี นโครงการต่างๆ มากมาย อาทิ โครงการ บูรณาการสร้างรอยยิ้มให้กับ ประชาชน หรือจังหวัดเคลือ่ นที่ โดยทางส่วน ราชการ รัฐวิสาหกิจ และภาคเอกชน มาออก หน่ ว ยให้ บ ริ ก ารกั บ ประชาชนในพื้ นที่ เ พื่ อ อ�ำนวยความสะดวก พร้อมทั้งได้รับทราบ
ปัญหาความต้องการของประชาชน และช่วย กันแก้ไขปัญหาให้ประชาชนด้านต่างๆ ซึ่ง หมุนเวียนออกให้บริการประชาชนทุกอ�ำเภอ ตลอดปีงบประมาณ 2561 ภายในงานมี การมอบทุนการศึกษา มอบพันธุป์ ลาแก่ผนู้ ำ� ชุมชน และมอบเครื่องอุปโภค บริโภคแก่ ผู้ด้อยโอกาส การให้บริการตรวจรักษาโรค การให้ความรูเ้ กีย่ วกับการเกษตร ให้คำ� ปรึกษา ด้านกฎหมาย การป้องกันโรคระบาดในสัตว์ การเลือกซื้อสินค้าราคาประหยัด และการ บริการปรึกษาช่องทางการประกอบอาชีพ เป็นต้น ด้วยงานเผยแผ่พระพุทธศาสนามีหลาย ด้าน หนึง่ ในนัน้ คือ งานด้านสังคมสงเคราะห์ ตามแนวพุทธ ก็คือ การสอนให้บุคคลรู้จัก การด�ำเนินชีวิตให้บรรลุประโยชน์ที่เป็นจุด หมายของชีวิต ที่เรียกว่า อัตถะ 3 ประการ ได้แก่ 1.ทิฏฐธัมมิกตั ถะ คือ ประโยชน์ปจั จุบนั 2.สัมปรายิกัตถะ คือ ประโยชน์เบื้องหน้า และ 3. ปรมัตถะ คือ ประโยชน์สูงสุด อัตถะ 3 ประการนี้ เป็นวิธกี ารสังคมสงเคราะห์เพือ่ แก้ไขปัญหาของชีวติ ให้สงั คมมีความสงบสุข เป็นการตอบสนองด้านสังคม เป็นการมุ่ง สงเคราะห์เพื่อให้แก้ปัญหาส่วนสังคม และ เพื่อให้บุคคลมีความมั่นคงสงบสุข RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 135
135
9/9/2018 8:47:29 PM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดเกตุปัญญาประชาสรรค์ พระครูปัญญาภัทราภรณ์ (อุฏฺฐายี) ด�ำรงต�ำแหน่ง เจ้าอาวาส วัดเกตุปัญญาประชาสรรค์ ตั้งอยู่เลขที่ 180 หมู่ที่ 3 ต�ำบลทุ่งหลวง อ�ำเภอปากท่อ จังหวัดราชบุรี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีเนือ้ ทีส่ ร้างวัด 26 ไร่ 1 งาน 55 ตารางวา ได้รับอนุญาตให้สร้างวัด พ.ศ.2498 ได้รับ แต่ ง ตั้ ง เป็ น วั ด เมื่ อ พ.ศ.2500 ได้ รั บ พระราชทานวิสุงคามสีมา พ.ศ.2501 วั ด เกตุ ป ั ญ ญาประชาสรรค์ ตั้งวัดเมื่อ วันที่ 14 กันยายน พ.ศ.2500 เดิมชื่อ “วัด พระเกตุกายาราม” เริ่มสร้างวัดมาตั้งแต่ปี พ.ศ.2494 โดย พระครูสงั ฆรักษ์สดุ ใจ ปญฺญา สิริ เจ้าอาวาสรูปแรก เป็นผู้ริเริ่มน�ำญาติโยม มาสร้างวัดบนที่ดินว่างเปล่า 136
พ.ศ.2495 สร้างกุฏิสงฆ์ ,พ.ศ.2498 สร้างศาลาการเปรียญ 1 หลัง, พ.ศ. 2499 สร้างอุโบสถ 1 หลัง เป็นทรงไทยโบราณ ,พ.ศ.2508 สร้างศาลาเอนกประสงค์ 1 หลัง ,พ.ศ.2515 สร้างห้องน�้ำ 14 ห้อง, พ.ศ. 2535 สร้างศาลาบ�ำเพ็ญกุศล (เมรุ), พ.ศ. 2543 สร้างกุฏิสงฆ์ทรงไทย 3 หลัง, พ.ศ. 2545 สร้างกุฏิสงฆ์ทรงไทย 3 หลัง, พ.ศ. 2547 สร้างวิหารหลวงพ่อสุดใจ 1 หลัง , พ.ศ.2548 บูรณะอุโบสถ, พ.ศ.2549 สร้าง ศาลาเอนกประสงค์ 1 หลัง
SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี
.indd 136
9/9/2018 5:18:52 PM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดเขาถ่านธรรมเสนานี พระครูบุญญาภิรักษ์ (อนุชัย) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
“ปญฺญาชีวีชีวิตมาหุ เสฏฺฐํ ปราชญ์ ก ล่ า วชี วิ ต ของผู ้ เ ป็ น อยู ่ ด ้ ว ย ปัญญาว่าประเสริฐสุด” (พุทธพจน์) วัดเขาถ่านธรรมเสนานี ตั้งอยู่เลขที่ 83 หมู ่ 5 ต�ำบลดอนทราย อ�ำเภอปากท่ อ จังหวัดราชบุรี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ปัจจุบันมี พระครูบุญญาภิรักษ์ (อนุชัย) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส และเจ้าคณะต�ำบล อ่างหิน พระครูบุญญาภิรักษ์ (อนุชัย) เจ้าอาวาส เป็นพระสังฆาธิการ เป็นพระเถระทีป่ กครอง พระเณรด้วยความเมตตากรุณา และเกื้อกูล ชุ ม ชนทุ ก ด้ า น โดยเฉพาะเรื่อ งการศึกษา ท่ า นเป็ น ผู ้ มี อุ ป การคุ ณ ของโรงเรี ย นบ้ า น เขาถ่านมาโดยตลอดในทุกด้าน
โรงเรียนเขาถ่าน ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ.2520 โดยนางปราณี นะสีห์โต เป็นผู้บริจาคที่ดิน จ�ำนวน 3 ไร่ 3 งาน 54 ตารางวา อาคาร เรียนหลังแรกของโรงเรียนเป็นอาคารเรียน ชั่วคราวหลังคาสังกะสีไม่มีฝา สร้างขึ้นโดย คณะกรรมการหมู่บ้านและชาวบ้าน โดยมี นายแสน ปานเนียม เป็นผู้น�ำ โดยไม่ได้ใช้ งบประมาณของทางราชการ เปิดท�ำการสอน เมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ.2520 ตั้งแต่ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-4 มีนักเรียน 64 คน โดยมีนายพีระ นิม่ เดช ท�ำหน้าทีค่ รูใหญ่และ ครูผู้สอนคนแรกของโรงเรียน ปัจจุบนั โรงเรียนบ้านเขาถ่าน มีขา้ ราชการ ครู 9 คน มีท่านพระครูบุญญาภิรักษ์ เจ้า อาวาสวัด เขาถ่านธรรมเสนี เป็นผูอ้ ปุ การคุณ
ของโรงเรียน โดยมี นายศิรชิ ยั ทองหน้าศาล ปฏิบัติหน้าที่ผู้อ�ำนวยการสถานศึกษา เปิด ท�ำการสอนตัง้ แต่ชนั้ อนุบาล 1 ถึงชัน้ ประถม ศึกษาปีที่ 6 และเปิดท�ำการสอนชั้นอนุบาล 3 ขวบ 2 ห้องเรียน โดยได้รับการสนับสนุน งบประมาณจากองค์การบริหารส่วนต�ำบล ดอนทราย ติดต่อ วัดเขาถ่านธรรมเสนานี โทรศัพท์ 081-777-5364 RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 137
137
9/9/2018 8:05:55 PM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดไพรสะเดา
พระครูเกษมธรรมรัตน์ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส “ดูกรภิกษุทั้งหลาย! เธอทั้งหลาย จงเป็น ผู้มีตน เป็นที่พึ่ง มีตนเป็นสรณะ จงเป็นผู้มี ธรรม เป็นทีพ่ งึ่ มีธรรมเป็นสรณะ ไม่มสี งิ่ อืน่ เป็นสรณะ อยู่เถิด” พระพุทธพจน์ วั ด ไพรสะเดา เป็ น วั ด ราษฎร์ สั ง กั ด คณะสงฆ์ ม หานิ ก าย ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 116 บ้านไพรสะเดา หมู่ที่ 2 ถนนไพรสะเดา ต� ำ บลดอนทราย อ�ำ เภอปากท่ อ จั ง หวั ด ราชบุ รี โดยมี พระครู เ กษมธรรมรั ต น์ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน หมู่บ้านไพรสะเดา เดิมเป็นชุมชนเล็กๆ แบ่งเป็นกลุม่ ๆ และเรียกชือ่ ตามหมูบ่ า้ นทีอ่ ยู่ 138
คือ สระสะเดา คือ มีสระน�ำ้ และต้นสะเดาอยู่ บนเนินเพราะเป็นที่สูง และบ้านไพรใหญ่ ไพรน้อย ซึ่งมีต้นไผ่อยู่มาก ต่อมาผู้น�ำแต่ละ กลุ่มบ้าน ได้ปรึกษาหารือ และร่วมกันสร้าง ส� ำ นั ก สงฆ์ ไ พรเจริ ญ และโรงเรี ย นบ้ า น ไพรสะเดา ขึ้นในปี พ.ศ. 2496 ต่อมาจึงได้ ปรึ ก ษาหารื อ เพื่ อ ให้ เ ป็ น ชื่ อ เดี ย วกั น จึ ง เปลี่ยนชื่อส�ำนักสงฆ์ไพรเจริญ เป็น วัดไพร สะเดา และ หมู ่ บ ้ า นไพรสะเดา จนถึ ง ปั จ จุ บั น และขอตั้ ง เป็ นวั ด เมื่ อวั น ที่ 29 เมษายน พ.ศ.2511
SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี
.indd 138
9/9/2018 6:32:13 PM
HIST ORY OF BUDDHISM
บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดบุรีราชวนาราม พระมหาวิเชียร ติกฺขญาโณ (ป.ธ.9 ) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส วั ด บุ รี ร าชวนาราม ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 199 หมู ่ 7 ต� ำ บลดอนทราย อ� ำ เภอปากท่ อ จังหวัดราชบุรี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย เป็น วัดก่อสร้างขึน้ ใหม่ โดยการน�ำของพระธรรม ธีรราชมหามุนี (หลวงพ่อเที่ยง อคฺคธมฺโม ป.ธ.9) เจ้าอาวาสวัดระฆังโฆสิตาราม เพื่อ เป็นที่ประดิษฐานพระมหาพุทธปฏิมากร ปางโปรดอาฬวกยักษ์ (หลวงพ่อใหญ่โปรด ยักษ์) ขนาดความสูง 21 เมตร ตามปณิธาน ของสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) ที่ประสงค์จะสร้างพระปางนี้ขึ้น โดยมีความ ตัง้ ใจจะสร้างพระพุทธรูปไว้ให้ครบทัง้ 108 ปาง
ในสมั ย ของท่ า นได้ ก ่ อ สร้ า งฐานไว้ ที่ วั ด อินทรวิหาร ซึง่ ในสมัยนัน้ เรียกว่า “วัดบางขุน พรหมใน” แต่ ยั ง สร้ า งไม่ แ ล้ ว เสร็ จ ท่ า น มรณภาพเสียก่อน ต่อมาในปี พ.ศ. 2476 มีพระมาสร้างต่อ แต่ได้เปลี่ยนแปลงเป็น พระยืนอุ้มบาตรอย่างที่เห็นอยู่ในปัจจุบันที่ วัดอินทรวิหาร กรุงเทพมหานคร ปัจจุบัน พระมหาวิเชียร ติกฺขญาโณ (ป.ธ.9 ) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส วั ด บุ รี ร าชวนาราม มี เ สนาสนะตาม สมควรแก่การใช้งาน มีอาณาบริเวณร่มรืน่ ไป ด้วยแมกไม้ ชายเขา ทั้งฝูงลิงตามธรรมชาติ
เป็นจ�ำนวนมาก จึงมีประชาชนนิยมมาท�ำบุญ กราบไหว้หลวงพ่อใหญ่โปรดยักษ์ แล้วเลี้ยง อาหารลิง เที่ยวชมธรรมชาติบนยอดเขาเพื่อ พักผ่อนหย่อนใจ และปฏิบัติธรรมเจริญสติ สมาธิ ปัญญาอยู่เป็นประจ�ำ RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 139
139
9/9/2018 6:01:42 PM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดนาคอก
พระใบฎีกาเขียน ปญฺญาทีโป ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส วัดนาคอก ตั้งอยู่หมู่ 4 ต�ำบลอ่างหิน อ� ำ เภอปากท่ อ จั ง หวั ด ราชบุ รี มี เ นื้ อ ที่ ประมาณ 29 ไร่ ทิศเหนือติดต�ำบลน�้ำพุ อ�ำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี ในต�ำบลอ่างหิน เดิมมีอ่างน�้ำอยู่กลางหมู่บ้าน ลักษณะของ อ่างน�ำ้ ประกอบด้วยหินเป็นส่วนใหญ่ ชาวบ้าน ไม่ว่าใกล้หรือไกลต่างพึ่งพาอาศัยแหล่งน�้ำ แห่งนี้ด่ืมใช้ และท�ำการเกษตร ต่อมาทาง ราชการ แต่งตั้งให้เป็นต�ำบล ชาวบ้านจึง พร้อมใจกันใช้ชอื่ “อ่างหิน” เป็นชือ่ ของต�ำบล สืบมาจนถึงปัจจุบัน เริ่มก่อสร้างวัดนาคอกเมื่อปี พ.ศ.2518พ.ศ.2519 โดยพระอธิการเอิบ อายุวฒฺฑโก หรือที่ชาวบ้านเรียกท่านว่า หลวงพ่อเอิบ เป็นพระเกจิอาจารย์ชื่อดังในจังหวัดราชบุรี 140
เป็ น พระนั ก พั ฒนาสงเคราะห์ ช าวบ้ า นใน ทุกด้าน และปฏิบัติเก่งกล้าวิชาอาคม ใคร เดือดร้อนเรือ่ งใด ท่านช่วยคลายความเดือดร้อน นั้นด้วยการให้มาปฏิบัติธรรมรักษาศีล ฝึก สมาธิ ภาวนาจนเกิ ด ปั ญ ญาในการแก้ ไ ข ปัญหาของตนได้ ท่านเป็นพระเถระทีช่ อบเก็บ ตัว วัดนาคอก ได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา เมือ่ วันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ.2525 ปิดทองฝัง ลูกนิมิต เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ.2537 ล�ำดับเจ้าอาวาส 1. พระอธิการเอิบ อายุวฒฺฑโก 2. พระอธิการเที่ยง ปภากโร 3. พระอ�ำนวย ( จ�ำฉายาไม่ได้) 4. พระอธิการสุบิน ( จ�ำฉายาไม่ได้)
5. พระใบฎีกาเขียน ปญฺญาทีโป ด�ำรง ต�ำแหน่งเจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน
SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี
.indd 140
9/9/2018 8:57:18 PM
HIST ORY OF BUDDHISM
บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดสนามสุทธาวาส
พระครูผาสุก วิริยคุณ เจ้าคณะต�ำบลทุ่งหลวง ด�ำรงต�ำแหน่งจ้าอาวาส วัดสนามสุทธาวาส (เขาหลักไก่) ตั้งอยู่ ในต�ำบลทุ่งหลวง อ�ำเภอปากท่อ จังหวัด ราชบุรี เริ่มสร้างเป็นที่พักสงฆ์มาประมาณปี พ.ศ.2438 เดิมเรียกว่า “ถ�ำ้ เขาหลักไก่” วันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2481 ได้รับอนุญาตให้ สร้างเป็นส�ำนักสงฆ์ขนึ้ และได้รบั อนุญาตเปิด โรงเรียนพระปริยตั ธิ รรม วันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2483 ได้รับอนุญาตจากกรมศาสนา เปลี่ ย นชื่ อ จากส� ำ นั ก สงฆ์ ถ�้ ำ เขาหลั ก ไก่ มาเป็ น วั ด สนามสุ ท ธาวาส ได้ แ ต่ ง ตั้ ง พระพรหม(พรหมสร) ปหฏโฐ เป็ น เจ้ า อาวาสเมื่อปี พ.ศ.2487 ทางวั ด ยั ง ไม่ มี โ บสถ์ เจ้ า อาวาสและ
ประชาชนบ้านหนองไร่ก็ไปขอไม้โบสถ์เก่า จากวัดมะซางมาด�ำเนินการสร้างขึ้น และได้ รั บ พระราชทานวิ สุ ง คามสี ม าครั้ ง แรกเมื่ อ วันที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2507 ท่านได้รบั แต่ง ตั้งเป็นเจ้าคณะต�ำบลทุ่งหลวงอีกต�ำแหน่ง เมื่ อ ปี พ .ศ.2510 และได้ รั บ แต่ ง ตั้ ง เป็ น พระอุปัชฌาย์ ท่านเจ้าอธิการพรหมได้รับ แต่งตั้งเป็นพระครูสัญญาบัตรชั้นตรี เป็น พระครู รั ต นสุ ท ธิ คุ ณ ท่ า นได้ รั บ เลื่ อ น สมณศักดิ์จากพระครูสัญญาบัตรชั้นตรีเป็น พระครู สั ญ ญาบั ต รชั้ น โท ในพระราชทิ น นามเดิม อุโบสถหลังเก่าทรุดโทรมพระอธิการ จ�ำลอง ลาภิโก เจ้าอาวาสรูปใหม่ ร่วมกับ
หลวงพ่อยวญ ชินว๋โส และศิษยานุศษิ ย์จงึ ได้ ก่อสร้างอุโบสถหลังใหม่ขนึ้ มา ต่อมาท่านได้ รับพระราชทานสมณศักดิ์ เป็นพระครูสญ ั ญา บัตรชัน้ โท ในราชทินนาม ว่า พระครูรตั นสุทธิ คุณ อยูต่ อ่ มาจนถึงปี พ.ศ.2543 ท่านก็มรณะ ภาพลง ชาวบ้านจึงได้ไปอาราธนาพระสุชิน ผาสุโก จากส�ำนักสงฆ์เขาพระเอก มาเป็นเจ้า อาวาส ต่อมาท่านได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าคณะ ต�ำบลทุง่ หลวง เป็นพระอุปชั ฌาย์ และ เป็น พระครูสัญญาบัตรเจ้าคณะต�ำบลชั้นโท ใน ราชทินนาม พระครูผาสุกวิรยิ คุณ และเลือ่ น เป็นเจ้าคณะต�ำบลชัน้ เอก ในปี พ.ศ. 2559 ถึงปัจจุบนั RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 141
141
9/9/2018 5:24:43 PM
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดแจ้งเจริญ
พระครูศรีธรรมาภรณ์ ที่ปรึกษาเจ้าคณะ อ�ำเภอวัดเพลง ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส วัดแจ้งเจริญ ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 67 หมูท่ ี่ 3 ต�ำบล จอมประทัด อ�ำเภอวัดเพลง จังหวัดราชบุรี มีเนื้อที่ 22 ไร่ 2 งาน เป็นวัดเก่าแก่ จาก การรายงานการส� ำ รวจจิ ต รกรรมฝาผนั ง วัดแจ้งเจริญ ของกรมศิลปากร เมื่อวันที่ 9 กันยายน พ.ศ.2525 ปรากฏว่าอายุการสร้าง วัดประมาณ 257 ปี วัดแจ้งเจริญเคยถูก ไฟไหม้มาครั้งหนึ่ง ประมาณ 60 ปีมาแล้ว แต่ ก็ ไ ด้ ป ฏิ สั ง ขรณ์ เ รื่ อ ยมาจนถึ ง ทุ ก วั น นี้ มีสภาพค่อนข้างดี มีการเปลี่ยนแปลงเป็น ส่วนน้อย 142
การบริหารการปกครองวัดแจ้งเจริญ ไม่ ทราบว่าเคยมีเจ้าอาวาสปกครองมาทั้งหมด กี่รูป แต่เท่าที่คนเฒ่าคนแก่จดจ�ำได้และพอ มีหลักฐานปรากฏอยู่ มีดังนี้ 1. เจ้าอธิการนวม 2. หลวงปู่เถื่อน 3. พระอธิการป๋อง 4. พระอธิการม่วง 5. พระอธิการแหวน 6. พระครูสุจิตรัตนาทร 7. พระครูศรีธรรมาภรณ์ เจ้าอาวาสรูป
SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี
.indd 142
9/9/2018 8:42:40 PM
ปั จ จุ บั น และ ที่ ป รึ ก ษาเจ้ า คณะอ� ำ เภอ วัดเพลง วัดแจ้งเจริญ เป็นวัดที่มีเอกลักษณะต่าง จากวัดอืน่ โดยทัว่ ไป คือ เป็นวัดทีช่ าวกระเหรีย่ ง ซึง่ เป็นชาวเขาอาศัยอยูต่ ามแนวชายแดนภาค ตะวันตกของประเทศไทย ติดต่อกับประเทศ พม่า เคารพนับถือเป็นพิเศษ เนื่องจากอดีต เจ้าอาวาสวัดแจ้งเจริญ คือ เจ้าอธิการนวม ได้ ธุ ด งค์ เ ข้ า ไปในถิ่ น ที่ อ ยู ่ อ าศั ย ของชาว กระเหรีย่ ง ซึง่ ขณะนัน้ ยังคงนับถือภูตผี ปีศาจ และนิยมทางด้านไสยศาสตร์อยู่ ได้มีชาว กระเหรี่ ย งผู ้ เ รื อ งอาคม มาลองอาคมกั บ หลวงพ่อ ปรากฏว่าไม่สามารถท�ำอันตราย ใดๆ ต่อท่านได้ ท�ำให้ชาวกระเหรี่ยงยอมรับ นับถือท่านเป็นอันมาก เมือ่ หลวงพ่อเดินทาง กลับวัดแจ้งเจริญ ก็มีชาวกระเหรี่ยงติดตาม มาสักการะท่านมิได้ขาด แม้เมื่อยามหลวง พ่อมรณภาพไปแล้วก็ยังเดินทางมาสักการะ ปิดทองรูปหล่อของท่านจนกระทั่งทุกวันนี้ ในวันกลางเดือน 5 ของทุกปีจะมีชาว กระเหรี่ยงจากหลายจังหวัด เช่น ราชบุรี กาญจนบุรี เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ ฯลฯ รวมทั้งชาวกระเหรี่ยงซึ่งอาศัยอยู่ในประเทศ พม่า จ�ำนวนหลายพันคน เดินทางมาสักการะ ปิดทองรูปหล่อหลวงพ่อนวม จนกลายเป็น
งานประจ�ำปี เป็นประเพณี “ชุมนุมวันปีใหม่ ขึ้น 15 ค�่ำ เดือน 5” ของวัดแจ้งเจริญมา จนทุกวันนี้ ปฏิปทา หลวงพ่อนวม วัดแจ้งเจริญ “หลวงพ่อนวม” อดีตเจ้าอาวาสวัดแจ้งเจริญ เป็ น ที่ เ คารพนั บ ถื อ ของชาวกะเหรี่ ย ง ใน อ�ำเภอสวนผึง้ กิง่ อ�ำเภอบ้านคา จังหวัดราชบุรี ที่ นั บ ถื อ พุ ท ธศาสนาตามรอยบรรพบุ รุ ษ มายาวนาน นิยมไปท�ำบุญ ถือศีล ปฏิบตั ธิ รรม
ตามปกติ และวันที่ชาวกะเหรี่ยงในจังหวัด ราชบุรีไปท�ำบุญร่วมกันคือ วันขึ้น 15 ค�่ำ เดือน 5 ของทุกปี โดยจะเดินทางไปยังวัด แจ้งเจริญ ต�ำบลจอมประทัด อ�ำเภอวัดเพลง จั ง หวั ด ราชบุ รี เพื่ อ สรงน�้ ำ หลวงพ่ อ นวม (มรณภาพตั้ ง แต่ ป ี พ.ศ.2478) ซึ่ ง ชาว กะเหรี่ ย งทั้ ง ในอดี ต และปั จ จุ บั น ให้ ค วาม เคารพอย่างยิ่ง จนเกิดเป็นประเพณี “ชุมนุม วันปีใหม่ขึ้น 15 ค�่ำ เดือน 5” ของทุกปี ท่านพระครูศรีธรรมาภรณ์ เจ้าอาวาส วัดแจ้งเจริญ และ ที่ปรึกษา เจ้าคณะอ�ำเภอ วัดเพลงในปัจจุบนั เล่าว่า เมือ่ ประมาณ 100 ปีที่ผ่านมา พระอธิการนวม ได้ออกจาริก ธุดงค์ไปตามป่าชายแดนไทย - พม่า ด้วย ประสงค์จะหาความสงบวิเวกปฏิบตั วิ ปิ สั สนา กรรมฐาน ท่านเห็นว่าการที่อยู่วัดนั้น ย่อมมี แต่ความสะดวกสบายทุกประการ แต่ถ้าได้ ออกไปตามป่าเขาล�ำเนาไพรบ้างก็จะเป็นการ ทดสอบความอดทน และคงต้องใช้ความ พยายามอย่างมาก ด้วยจิตใจที่กล้าแกร่ง ไม่ย่อท้อต่ออุปสรรคใดๆ ในที่ สุ ด ท่ า นก็ ไ ปถึ ง ถิ่ น ที่ อ ยู ่ ข องชาว กะเหรีย่ งโพล่วง ซึง่ สมัยนัน้ ยังนับถือผีและสิง่ นอกเหนือธรรมชาติ มีความช�ำนาญเรื่อง
RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 143
143
9/9/2018 8:42:47 PM
ไสยศาสตร์ ปกติแล้วคนแปลกหน้าที่ล่วงล�้ำ เข้าไป มักจะถูกลองของเสมอ หากใครไม่ แน่จริงก็จะมีอันตรายถึงตายทุกรายไป พระภิกษุนวม เข้าไปปักกลดอยู่ในเขต หมูบ่ า้ นกะเหรีย่ ง ตัง้ จิตภาวนาแผ่กศุ ลให้ชาว กะเหรี่ ย งเรื่ อ ยๆ หั ว หน้ า กะเหรี่ ย งคิ ด จะ ปล่อยของให้เข้าตัวพระภิกษุนวม ด้วยวิธกี าร ต่างๆ แต่พระภิกษุนวมได้เข้าฌานตั้งสมาธิ แผ่กุศลให้ชาวกะเหรี่ยงตลอดคืน ด้วยจิตที่ บริ สุ ท ธิ์ มี ส มาธิ แ น่ ว แน่ แ ละมั่ น คง ของที่ หั ว หน้ า กะเหรี่ ย งส่ ง มาจึ ง ไม่ ส ามารถท� ำ อันตรายพระภิกษุนวมได้ ต่อมาหัวหน้ากระเหรี่ยงจึงคิดหาวิธีที่จะ เอาชนะพระภิกษุนวมอีกมากมาย แต่ก็ไม่ สามารถท�ำอะไรท่าน หัวหน้าถึงกับอุทาน “มันเก่ง” เพราะตนได้ท�ำของปล่อยของจน 144
SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี
.indd 144
9/9/2018 8:42:57 PM
หมดภูมแิ ล้ว หัวหน้าจึงเชือ่ ว่า พระภิกษุนวม มีความเก่งกล้าสามารถทางไสยศาสตร์เหนือ พวกตนจริง ถ้าท่านจะลองของพวกตนบ้างก็ คงจะแก้ไม่ตกเป็นแน่ กิตติศัพท์ความเก่งกล้าด้านคาถาอาคม ท�ำให้ชาวกะเหรีย่ งอยากจะมาดูตวั ดังนัน้ ใน วั น หนึ่ ง ชาวกะเหรี่ ย งจึ ง พร้ อ มกั น มาที่ พระภิกษุนวมปักกลดอยู่ ครั้นเห็นท่านนั่ง หลับตาอยู่ในกลดก็คิดว่าท่านก�ำลังฝึกวิชา อาคม แท้จริงแล้วท่านก�ำลังเจริญวิปัสสนา กรรมฐาน ต่างจึงพากันนัง่ รอดูทา่ ทีอย่างสงบ จนเด็กๆ ที่พามานั่งรออยู่ด้วยเกิดหิวน�้ำ จึง ขอน�้ ำ จากพ่ อ แม่ ดื่ ม แต่ แ ล้ ว ต่ า งก็ ต ้ อ ง ประหลาดใจ เมื่อทุกกระบอกน�้ำไม่มีน�้ำเลย สร้างความงุนงงให้กบั ชาวกะเหรีย่ งอย่างมาก พระภิกษุนวม ลืมตามองเห็นเหตุการณ์
เช่นนัน้ ก็สง่ ภาษาใบ้มอื ชีท้ ปี่ ากของท่านแล้ว ชี้มือไปที่กระบอกน�้ำ พอชาวกะเหรี่ยงส่ง กระบอกน�้ำที่เด็กๆ ก�ำลังแย่งกันนั้นให้ท่าน ทั น ที ที่ ท ่ า นเอี ย งปากกระบอกลงในบาตร เท่านัน้ ปรากฏว่ามีนำ�้ ไหลออกมา ท่านจึงส่ง กระบอกน�้ำให้เด็กที่ก�ำลังหิวกระหาย ครั้น เมือ่ ชาวกะเหรีย่ งยกกระบอกอืน่ ขึน้ ดืม่ ก็มนี ำ�้ ไหลทุกกระบอก จึงรู้ว่าก�ำลังถูกหลวงพ่อ ท่านลองวิชา แต่ไม่มีใครสามารถแก้อาคม ของหลวงพ่อได้เลย หลังจากนั้น พระภิกษุนวมได้กลายเป็น ผูเ้ ก่งกล้าของชาวกะเหรีย่ ง ต่างก็หนั มาสนใจ และอยากจะฝึกวิชาอาคมจากพระภิกษุนวม แต่กย็ งั ไม้กล้าแสดงออกนอกหน้า เพราะกลัว หัวหน้าจะโกรธ ครั้นใกล้เทศกาลเข้าพรรษา พระภิ ก ษุ น วมจ� ำ ต้ อ งกลั บ วั ด แจ้ ง เจริ ญ
กะเหรีย่ งซึง่ ต้องการรูว้ า่ ท่านอยูไ่ หนแน่ จึงสัง่ ให้ลูกบ้านสะกดรอยตามพระภิกษุนวมไป ห่างๆ ไม่ให้รู้ตัว คอยน�ำอาหารถวายท่าน ตลอดการเดินธุดงค์กลับถึงวัด ลูกบ้านจึง กลับไปรายงานหัวหน้าว่า ท่านอยู่ที่วัดแจ้ง เจริญ หลังจากนัน้ อีกไม่นาน ก็มชี าวกะเหรีย่ ง สามคนขี่ช้างมาหาพระภิกษุนวม ได้พักที่ ศาลาเมื่อเวลาพลบค�่ำพอดี ชาวบ้านได้เห็น พฤติกรรมการก่อไฟหุงข้าวของกะเหรีย่ งสาม คนนั้น เขาไม่ได้ไปหาไม้ฝืนที่ไหน แต่จะใช้ มีดถากที่หน้าแข้งตนเอง แล้วก็มีสะเก็ดไม้ ปลิวออกมาให้หุงข้าวได้ วันต่อมาชาวบ้าน เห็นว่าเสาศาลาได้แหว่งไปหลายต้น จึงได้นำ� ความไปแจ้งให้พระภิกษุนวมทราบ ท่านจึงรู้ ได้ทันทีว่า ชาวกะเหรี่ยงสามคนได้ใช้วิชา ถากเสาวัด ท่านไม่ได้โกรธเคือง แต่ให้คน RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 145
145
9/9/2018 8:43:08 PM
ที่มาบอกไปหากะลามาสามใบ แล้วท่านก็ หายเข้าไปในกุฏิของท่านพักใหญ่ๆ แล้วก็ ออกมาให้ชาวบ้านคนเดิมน�ำกะลาสามใบไป วางไว้หลังวัด เช้าวันต่อมา ชาวกะเหรี่ยงสามคนก็จะ ก่อไฟหุงข้าวด้วยวิธีเดิม คือใช้มีดถากหน้า แข้งให้ไม้ฟืนปลิวออกมา แต่แล้วก็ต้องตกใจ มากเมื่อมองไม่เห็นช้างสามเชือกของตน จึง รีบไปกราบหลวงพ่อบอกว่า ช้างของตนหาย ไปเสียแล้ว พระภิกษุได้ตักเตือนเรื่องใช้วิชา อาคมถากเสาวัด แล้วบอกให้ไปหากะลาที่ บริเวณหลังวัดแล้วลองเปิดดู กะเหรี่ยงทั้ง สามต้องประหลาดใจมาก เมื่อเห็นช้างของ ตนอยู่ในกะลา จึงรู้ว่าช้างสามเชือกของตน ถูกท่านท�ำพิธีครอบไว้ ด้วยอภินิหารครั้งนี้ ท� ำ ให้ หั ว หน้ า กะเหรี่ ย งยอมรั บ นั บ ถื อ
146
พระภิกษุนวม ชื่อเสียงของท่านได้แพร่หลาย ไปในหมูช่ าวกะเหรีย่ งโพล่วงมาจนถึงปัจจุบนั ด้ ว ยมุ ข ปาฐะที่ สื บ ทอดเรื่ อ งราวของ พระภิกษุนวม หรือพระอธิการนวม จากปาก ต่อปาก ท�ำให้ชื่อเสียงของท่านแพร่หลาย เดิมชาวกะเหรีย่ งมีความเชือ่ เรืองผีมอี ทิ ธิพล ต่อการด�ำรงชีวติ ถ้าท�ำให้ผพี งึ พอใจ ผีกย็ อ่ ม บันดาลความสุขให้แก่ชีวิตได้ แต่ถ้าท�ำให้ผี ไม่พึงพอใจ ผีก็จะลงโทษด้วยวิธีการต่างๆ เช่น ท�ำให้ผู้คนเจ็บไข้ได้ป่วย เกิดโรคระบาด
อากาศวิ ป ริ ต สั ต ว์ เ ลี้ ย งล้ ม ตาย พื ช ผล ทางการเกษตรเสียหาย ที่ส�ำคัญท�ำให้พวก เขาล้มตายได้ แต่หลังจากเลือ่ มใสศรัทธาต่อพระอธิการ นวมแล้ว เมื่อได้รับความเดือดร้อนหรือเจ็บ ไข้ได้ป่วย ก็จะบนบานถึงพระอธิการนวม แทนบนบานกับผี และการทีช่ าวกะเหรีย่ งวน เวียนมากราบไหว้และบวชแก้บนเป็นประจ�ำ จึงเกิดเป็นประเพณีวนั ชุมนุมชาวกะเหรีย่ งขึน้ ทีว่ ดั แจ้งเจริญ โดยยึดเอาวันขึน้ 15 ค�ำ่ เดือน
SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี
.indd 146
9/9/2018 8:43:24 PM
มงคลแก่ตนเองและครอบครัว แม้จะอยู่กัน คนละหมู ่ บ ้ า น แต่ ถื อ ว่ า มี ส ายเลื อ ดทาง วั ฒนธรรมโพล่ ว งร่ ว มกั น การได้ ม าร่ ว ม กิจกรรมและพิธกี รรมเช่นทุกปี เป็นการสร้าง จุ ด ร่ ว มของความเป็ น คนกลุ ่ ม ชาติ พั น ธุ ์ เดียวกัน ลูกหลานได้เห็นถึงที่มาของสังคม “พุทธแบบกะเหรี่ยง” รู้จักโลกทัศน์แบบเก่า ของชาติพนั ธุต์ นเอง และมองเห็นวิถที างทีจ่ ะ ช่วยให้สงั คมกะเหรีย่ งและระบบธรรมชาติอยู่ รอดในสังคมปัจจุบัน งานประจ� ำ ปี ป ิ ด ทองหลวงพ่ อ นวมจั ด ขึ้นในวัน ขึ้น14 - 15 กลางเดือน 5 และพิธี เหยี ย บหลั ง กระเหรี่ ย ง ตอนลงไปสรงน�้ ำ หลวงพ่อ จะมีขนึ้ ในช่วงเช้าของวัน แรม 1 ค�ำ่ ก่ อ นที่ ช าวกระเหรี่ ย ง จะเดิ น ทางกลั บ ภูมิล�ำเนา ขอขอบคุณ หนังสือ ประวัตศิ าสตร์เมือง ราชบุรี โดยรองศาสตราจารย์ยนต์ ชุ่มจิต 5 มาท�ำพิธีสรงน�้ำพระอธิการนวม มานอน ให้ทา่ นเหยียบขณะเดินไป-กลับจากพิธสี รงน�ำ้ นีค่ อื รูปธรรมทีแ่ สดงถึงการเคารพนับถือและ เทิดทูนอย่างสูง จนให้สมญานามพระอธิการ นวมว่า “หลวงพ่อกะเหรี่ยง” แต่นั้นมา แม้ เ มื่ อ หลวงพ่ อ มรณภาพแล้ ว ชาว กะเหรี่ยงก็ยังไปนมัสการสรงน�้ำปิดทองรูป หล่อเหมือนจริงของท่านทุกปี พร้อมกันนั้น ก็ได้ให้ความเคารพนับถือเจ้าอาวาสวัดแจ้ง เจริญทุกรูปต่อมาว่าเป็น “หลวงพ่อกะเหรีย่ ง” เหมือนกัน จนถึงท่านพระครูศรีธรรมาภรณ์ เจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน หลวงพ่ อ นวม คื อ ครู บ าอาจารย์ ผู ้ มี ภูมิปัญญาในพระพุทธศาสนากับภูมิปัญญา ท้องถิน่ กะเหรีย่ ง จึงผลักดันให้ความเชือ่ เรือ่ ง ผีสางดั้งเดิมค่อยๆ คลี่คลาย แล้วบูรณาการ ทางวัฒนธรรม (Integration) กับพระพุทธ ศาสนาด้วยพลังศรัทธายิง่ สืบเนือ่ งจนถึงวันนี้ จึง ยังเห็นคนไทยเชื้อสายกะเหรี่ยงโพล่วง หอบลูกจูงหลานมาพักค้างคืนที่วัดมีจ�ำนวน ถึงปีละร่วม 4,000 คน คณะกรรมการวัด ต้องต้อนรับเลี้ยงดูหุงข้าวมื้อละ 3 กระสอบ
ถึงวันละ 9 กระสอบทีเดียว (ข้อมูลสถิติ ของวัดปี พ.ศ.2538) การที่ลูกหลานชาวกะเหรี่ยงยังมาชุมนุม วันปีใหม่ที่วัดแจ้งเจริญทุกปี ถือเป็นการท�ำ ตาม “ค�ำสั่งบรรพบุรุษ” ชาวกะเหรี่ยงถือว่า การท�ำตามสิ่งที่บรรพบุรุษได้สั่งสอนไว้ ถือ เป็นเรื่องอันศักดิ์สิทธิ์เป็นโลกทัศน์ที่ส�ำคัญ ของชาวกะเหรี่ยง การปฏิบัติตามจึงเป็นสิริ
RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 147
147
9/9/2018 8:43:37 PM
THAI TEMPLE IN RATCHABURI บันทึกเส้นทางวัดทั่วไทยจังหวัดราชบุรี
Thai temple in Ratchaburi
431
วัด
ย้อนรอยประวัติศาสตร์เมืองแห่งพระราชา พ.ศ. 218 กับพระเจ้าอโศกมหาราช จุดเริ่มต้นการประดิษฐานพระพุทธศาสนาในดินแดนสุวรรณภูมิ
148
SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี
.indd 148
7/9/2561 9:58:19
BREATHING RATCHABURI สะพายเป้ท่องวัด
สัมผัสวิถีชีวิต ศิลปวัฒนธรรม ดื่มด�่ำราชบุรีทุกลมหายใจ
RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 149
149
7/9/2561 9:58:20
อ�ำเภอเมืองราชบุรี วัดเขาวัง พระอารามหลวง เพชรเกษมสายเกา่ ต�ำบลหนา้ เมือง อ�ำเภอเมือง วัดช่องลม พระอารามหลวง ถ.ไกรเพชร ต�ำบลหนา้ เมือง อ�ำเภอเมือง
ชิ้นส่วนจ�ำหลักจากหิน
วัดมหาธาตุ พระอารามหลวง ถ.เขางู ต�ำบลหนา้ เมือง อ�ำเภอเมือง วัดศรีสุริยวงศาราม(ศรีสุริยวงศ)์ พระอารามหลวง ถ.อัมรินทร์ ต�ำบล หนา้ เมือง อ�ำเภอเมือง วัดสัตตนารถปริวัตร พระอารามหลวง ถ.วรเดช ต�ำบลหนา้ เมือง อ�ำเภอเมือง วัดสุรชายาราม พระอารามหลวง ม.1 ต�ำบลหลุมดิน อ�ำเภอเมือง
150
วัดหนองหอย พระอารามหลวง ม.2 ต�ำบลเขาแร้ง อ�ำเภอเมือง วัดเกตุนอ้ ยอัมพวัน ม.9 ต�ำบลคุง้ กระถิน อ�ำเภอเมือง วัดเกาะเจริญธรรม ม.6 ต�ำบลสามเรือน อ�ำเภอเมือง วัดเกาะนัมมทาปทวลัญชาราม ถ.มนตรีสุริยวงศ์ ต�ำบลหนา้ เมือง อ�ำเภอเมือง วัดเกาะลอย ม.8 ต�ำบลเกาะพลับพลา อ�ำเภอเมือง วัดเกาะลอยอุดมเอกธาราม ม.7 ต�ำบลคุง้ กระถิน อ�ำเภอเมือง วัดเขากรวด ม.15 ต�ำบลเกาะพลับพลา อ�ำเภอเมือง วัดเขาถ้�ำกรวย ม.7 ต�ำบลเขาแร้ง อ�ำเภอเมือง วัดเขาถ้�ำกุญชร ม.2 ต�ำบลห้วยไผ่ อ�ำเภอเมือง วัดเขานกกระจิบ ม.12 ต�ำบลน้�ำพุ อ�ำเภอเมือง วัดเขาลอย ม.7 ต�ำบลดอนตะโก อ�ำเภอเมือง วัดเขาวังสดึงษ์ ม.1 ต�ำบลเขาแร้ง อ�ำเภอเมือง วัดเขาเหลือ ถ.เขางู ต�ำบลหนา้ เมือง อ�ำเภอเมือง
วัดโขลงสุวรรณคีรี ม.6 ต�ำบลคูบัว อ�ำเภอเมือง วัดคลองโพธิเ์ จริญ ม.4 ต�ำบลทา่ ราบ อ�ำเภอเมือง วัดคุง้ กระถิน ม.1 ต�ำบลคุง้ น้�ำวน อ�ำเภอเมือง วัดคูบัว ม.3 ต�ำบลคูบัว อ�ำเภอเมือง วัดแคทราย ม.13 ต�ำบลคูบัว อ�ำเภอเมือง วัดโคกพิกุลเรียง ม.3 ต�ำบลคุง้ น้�ำวน อ�ำเภอเมือง วัดจันทคาม ม.6 ต�ำบลคุง้ น้�ำวน อ�ำเภอเมือง วัดเจติยาราม (เจดียห์ ัก) ม.3 ต�ำบลเจดียห์ ัก อ�ำเภอเมือง วัดช่องลม ถ.ไกรเพชร ต�ำบลหนา้ เมือง อ�ำเภอเมือง วัดดอนแจง ม.4 ต�ำบลดอนตะโก อ�ำเภอเมือง วัดดอนตลุง ม.2 ต�ำบลเกาะพลับพลา อ�ำเภอเมือง วัดดอนตะโก ม.3 ต�ำบลดอนตะโก อ�ำเภอเมือง วัดเขางู ม.6 ต�ำบลเจดียห์ ัก อ�ำเภอเมือง วัดตรีญาติ ม.6 ต�ำบลพงสวาย อ�ำเภอเมือง
วัดถ้�ำเขาชุมดง เขาชุมดง ม.4 ต�ำบลน้�ำพุ อ�ำเภอเมือง วัดทา่ โขลง ม.2 ต�ำบลหลุมดิน อ�ำเภอเมือง วัดทา่ ช้าง ม.10 ต�ำบลคูบัว อ�ำเภอเมือง วัดทา้ ยเมือง ม.ม. 2 ต�ำบลพงสวาย อ�ำเภอเมือง วัดทา่ สุวรรณ ม.2 ต�ำบลคุง้ น้�ำวน อ�ำเภอเมือง วัดทุง่ ตาล ม.8 ต�ำบลเจดียห์ ัก อ�ำเภอเมือง วัดทุง่ นอ้ ย ม.11 ต�ำบลหินกอง อ�ำเภอเมือง วัดทุง่ ราษฎรศ์ รัทธาธรรม (ตากแดด) ม.1 ต�ำบลคูบัว อ�ำเภอเมือง วัดเขานอ้ ย ม.4 ต�ำบลอ่างทอง อ�ำเภอเมือง
วัดเขาน้อบ
วัดทุง่ หญา้ คมบาง ม.10 ต�ำบลดอนแร่ อ�ำเภอเมือง
วัดทา่ โขลง ม.2 ต�ำบลหลุมดิน อ�ำเภอเมือง วัดทา่ ช้าง ม.10 ต�ำบลคูบัว อ�ำเภอเมือง วัดทา้ ยเมือง ม.ม. 2 ต�ำบลพงสวาย อ�ำเภอเมือง วัดทา่ สุวรรณ ม.2 ต�ำบลคุง้ น้�ำวน อ�ำเภอเมือง วัดทุง่ ตาล ม.8 ต�ำบลเจดียห์ ัก อ�ำเภอเมือง วัดทุง่ นอ้ ย ม.11 ต�ำบลหินกอง อ�ำเภอเมือง วัดทุง่ ราษฎร์ศรัทธาธรรม (ตากแดด) ม.1 ต�ำบลคูบัว อ�ำเภอเมือง วัดทุง่ หญา้ คมบาง ม.10 ต�ำบลดอนแร่ อ�ำเภอเมือง วัดเทพอาวาส ถ.มนตรีสุริยวงศ์ ต�ำบลหนา้ เมือง อ�ำเภอเมือง วัดธรรมวิโรจน์ ม.5 ต�ำบลพงสวาย อ�ำเภอเมือง วัดน้�ำพุไชยสิทธิ์ ม.2 ต�ำบลน้�ำพุ อ�ำเภอเมือง วัดบางกระ ม.1 ต�ำบลหนองกลางนา อ�ำเภอเมือง วัดบางกระ บางกระ ม.4 ต�ำบลทา่ ราบ อ�ำเภอเมือง วัดบางลีเ่ จริญธรรม ม.4 ต�ำบลโคกหมอ้ อ�ำเภอเมือง
SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี
.indd 150
9/9/2018 9:17:15 PM
THE IMPORTANT TEMPLES KANCHANABURI
พระพุทธบาท
วัดนาหนอง ม.2 ต�ำบลดอนแร่ อ�ำเภอเมือง วัดบางศรีเพ็ชร ม.4 ต�ำบลคุง้ กระถิน อ�ำเภอเมือง วัดบางสองร้อย บางสองร้อย ม.4 ต�ำบลหลุมดิน อ�ำเภอเมือง วัดบา้ นกลว้ ย ม.3 ต�ำบลทา่ ราบ อ�ำเภอเมือง วัดบา้ นซ่อง ม.7 ต�ำบลทา่ ราบ อ�ำเภอเมือง วัดบา้ นโพธิ์ ม.11 ต�ำบลคูบัว อ�ำเภอเมือง วัดบา้ นไร่อ่เู รือ ไร่ ม.2 ต�ำบลบา้ นไร่ อ�ำเภอเมือง วัดประเสริฐราษฏร์รังสรรค์ ม.6 ต�ำบลหนองกลางนา อ�ำเภอเมือง วัดไผล่ อ้ ม ดอนงิว้ ม.2 ต�ำบลอ่างทอง อ�ำเภอเมือง วัดพญาไม้ ม.2 ต�ำบลโคกหมอ้ อ�ำเภอเมือง
ท่าน�้ำ วัดพญาไม้
วัดพเนินพลู ม.1 ต�ำบลบางป่า อ�ำเภอเมือง วัดพิกุลทอง ม.3 ต�ำบลพิกุลทอง อ�ำเภอเมือง วัดโพธิด์ ก ม.8 ต�ำบลอ่างทอง อ�ำเภอเมือง วัดโพธิร์ าษฏร์บูรณะ ม.3 ต�ำบลพงสวาย อ�ำเภอเมือง วัดโพธิร์ าษฏร์ศรัทธาธรรม ม.2 ต�ำบลสามเรือน อ�ำเภอเมือง วัดมณีมงคล ม.14 ต�ำบลน้�ำพุ อ�ำเภอเมือง วัดมหาธาตุ ถ.เขางู ต�ำบลหนา้ เมือง อ�ำเภอเมือง วัดราชคาม ม.4 ต�ำบลคุง้ น้�ำวน อ�ำเภอเมือง วัดราชสิงขร ม.2 ต�ำบลเกาะพลับพลา อ�ำเภอเมือง
วัดโรงช้าง ถ.เขางู ต�ำบลหนา้ เมือง อ�ำเภอเมือง วัดลาดเมธังกร(ลาด) ม.6 ต�ำบลบางป่า อ�ำเภอเมือง วัดศาลเจ้า ม.2 ต�ำบลคุง้ กระถิน อ�ำเภอเมือง วัดศิริเจริญเนินหมอ้ ม.3 ต�ำบลโคกหมอ้ อ�ำเภอเมือง วัดหนองกระทุม่ ม.10 ต�ำบลหินกอง อ�ำเภอเมือง วัดหนองแช่เสา หนองแช่เสา ม.5 ต�ำบลน้�ำพุ อ�ำเภอเมือง วัดองตาหลวง ม.3 ต�ำบลหินกอง อ�ำเภอเมือง วัดหนองนางแพรว ม.8 ต�ำบลน้�ำพุ อ�ำเภอเมือง วัดหนองหลวง ม.6 ต�ำบลห้วยไผ่ อ�ำเภอเมือง วัดหนองหอย ม.2 ต�ำบลเขาแร้ง อ�ำเภอเมือง วัดหนามพุงดอ ม.14 ต�ำบลคูบัว อ�ำเภอเมือง วัดห้วยชินสีห์ ม.7 ต�ำบลอ่างทอง อ�ำเภอเมือง วัดห้วยตะแคง ม.5 ต�ำบลเกาะพลับพลา อ�ำเภอเมือง วัดห้วยปลาดุก ม.7 ต�ำบลหินกอง อ�ำเภอเมือง วัดห้วยไผ่ ม.4 ต�ำบลห้วยไผ่ อ�ำเภอเมือง วัดห้วยหมู ม.9 ต�ำบลเจดียห์ ัก อ�ำเภอเมือง วัดหินกอง ม.1 ต�ำบลหินกอง อ�ำเภอเมือง วัดเหนือวน ม.2 ต�ำบลคุง้ น้�ำวน อ�ำเภอเมือง วัดใหญอ่ ่างทอง ม.1 ต�ำบลอ่างทอง อ�ำเภอเมือง วัดใหมน่ ครบาล ม.5 ต�ำบลดอนตะโก อ�ำเภอเมือง วัดโสดาประดิษฐาราม ม.3 ต�ำบลเขาแร้ง อ�ำเภอเมือง
พระธาตุบัวทอง
วัดใหมร่ าษฏร์เจริญธรรม ม.6 ต�ำบลบา้ นไร่ อ�ำเภอเมือง วัดอมรินทราราม โคกหมอ้ ม.1 ต�ำบลโคกหมอ้ อ�ำเภอเมือง วัดอรัญญิกาวาส ม.4 ต�ำบลเจดียห์ ัก อ�ำเภอเมือง วัดอรุณรัตนคีรี ม.3 ต�ำบลห้วยไผ่ อ�ำเภอเมือง วัดอัมพวัน ม.4 ต�ำบลบางป่า อ�ำเภอเมือง วัดไผล่ อ้ ม ดอนงิว้ ม.2 ต�ำบลอ่างทอง อ�ำเภอเมือง วัดโพธิไพโรจน์ ต�ำบลโพธาราม อ�ำเภอโพธาราม
อ�ำเภอโพธาราม วัดกลาง ม.4 ต�ำบลคลองขอ่ ย อ�ำเภอโพธาราม วัดก�ำแพงใต้ ม.9 ต�ำบลบา้ นสิงห์ อ�ำเภอโพธาราม วัดก�ำแพงเหนือ ม.6 ต�ำบลบา้ นสิงห์ อ�ำเภอโพธาราม วัดเกาะ ม.2 ต�ำบลสร้อยฟ้า อ�ำเภอโพธาราม วัดแกว้ ฟ้า ม.2 ต�ำบลธรรมเสน อ�ำเภอโพธาราม วัดขนอน ม.4 ต�ำบลสร้อยฟ้า อ�ำเภอโพธาราม วัดเขาเขียว ม.2 ต�ำบลเขาชะงุม้ อ�ำเภอโพธาราม วัดเขาคา่ ง ม.5 ต�ำบลนางแกว้ อ�ำเภอโพธาราม วัดเขาช่องพราน ม.2 ต�ำบลเตาปูน อ�ำเภอโพธาราม วัดเขาชะงุม้ ม.5 ต�ำบลเขาชะงุม้ อ�ำเภอโพธาราม วัดเขาดินสุวรรณคีรี ม.1 ต�ำบลนางแกว้ อ�ำเภอโพธาราม วัดเขาพระ ม.7 ต�ำบลเตาปูน อ�ำเภอโพธาราม วัดเขาราบ ม.6 ต�ำบลเตาปูน อ�ำเภอโพธาราม วัดเขาสม้ ม.7 ต�ำบลเขาชะงุม้ อ�ำเภอโพธาราม วัดเขาสะแก เขาสะแก ม.1 ต�ำบลเขาชะงุม้ อ�ำเภอโพธาราม วัดเขาแหลม ม.3 ต�ำบลเขาชะงุม้ อ�ำเภอโพธาราม วัดคงคาราม ม.3 ต�ำบลคลองตาคต อ�ำเภอโพธาราม วัดโคกทอง ม.1 ต�ำบลเตาปูน อ�ำเภอโพธาราม
วัดจอมปราสาท ม.4 ต�ำบลคลองขอ่ ย อ�ำเภอโพธาราม วัดเจ็ดเสมียน ม.3 ต�ำบลเจ็ดเสมียน อ�ำเภอโพธาราม วัดเฉลิมอาสน์ ม.2 ต�ำบลทา่ ชุมพล อ�ำเภอโพธาราม วัดชัยรัตน์ ม.4 ต�ำบลทา่ ชุมพล อ�ำเภอโพธาราม วัดโชค ต�ำบลโพธาราม อ�ำเภอโพธาราม วัดดอนกระเบื้อง ม.4 ต�ำบลดอนกระเบื้อง อ�ำเภอโพธาราม วัดดอนทราย ม.5 ต�ำบลดอนทราย อ�ำเภอโพธาราม วัดดีบอน ม.4 ต�ำบลบา้ นฆอ้ ง อ�ำเภอโพธาราม วัดถ้�ำน้�ำ ถ้�ำน้�ำ ม.5 ต�ำบลนางแกว้ อ�ำเภอโพธาราม วัดถ้�ำสาริกา ม.8 ต�ำบลธรรมเสน อ�ำเภอโพธาราม วัดทา่ มะขาม ม.7 ต�ำบลดอนทราย อ�ำเภอโพธาราม วัดทา่ หลวงพล ม.6 ต�ำบลทา่ ชุมพล อ�ำเภอโพธาราม วัดไทรอารีรักษ์ ต�ำบลโพธาราม อ�ำเภอโพธาราม วัดนครทิพย์ เขาน้�ำพุ ม.3 ต�ำบลเตาปูน อ�ำเภอโพธาราม วัดม.3 ต�ำบลนางแกว้ อ�ำเภอโพธาราม วัดเนินมว่ ง ม.7 ต�ำบลธรรมเสน อ�ำเภอโพธาราม วัดบอ่ มะกรูด ม.7 ต�ำบลบา้ นฆอ้ ง อ�ำเภอโพธาราม วัดบางกะโด ม.1 ต�ำบลบา้ นสิงห์ อ�ำเภอโพธาราม วัดบางโตนด ม.4 ต�ำบลบางโตนด อ�ำเภอโพธาราม วัดบางลาน ม.2 ต�ำบลดอนทราย อ�ำเภอโพธาราม วัดบา้ นฆอ้ ง ม.2 ต�ำบลบา้ นฆอ้ ง อ�ำเภอโพธาราม วัดบา้ นเลือก เลือก ม.4 ต�ำบลบา้ นเลือก อ�ำเภอโพธาราม วัดบา้ นสิงห์ ม.4 ต�ำบลบา้ นสิงห์ อ�ำเภอโพธาราม วัดบา้ นหมอ้ ม.6 ต�ำบลคลองตาคต อ�ำเภอโพธาราม วัดโบสถ์ ม.1 ต�ำบลบา้ นเลือก อ�ำเภอโพธาราม วัดป่าไผ่ ม.4 ต�ำบลคลองตาคต อ�ำเภอโพธาราม วัดป่าพุทธาราม ห้วยตาบุญจันทร์ ม.9 ต�ำบลนางแกว้ อ�ำเภอโพธาราม
วัดพระศรีอารย์ ม.9 ต�ำบลบา้ นเลือก อ�ำเภอโพธาราม วัดพุลงุ้ พุลงุ้ ม.9 ต�ำบลเขาชะงุม้ อ�ำเภอ โพธาราม วัดโพธาราม ต�ำบลโพธาราม อ�ำเภอโพธาราม วัดโพธิไพโรจน์ ต�ำบลโพธาราม อ�ำเภอโพธาราม วัดมณีโชติ ม.5 ต�ำบลคลองขอ่ ย อ�ำเภอโพธาราม วัดมว่ ง ม.1 ต�ำบลสร้อยฟ้า อ�ำเภอโพธาราม
หลังคาโบสวัดม่วง
วัดระฆังทอง ม.2 ต�ำบลเขาชะงุม้ อ�ำเภอโพธาราม วัดวิหารสูง ม.3 ต�ำบลคลองขอ่ ย อ�ำเภอโพธาราม วัดศรีประชุมชน ม.1 ต�ำบลบางโตนด อ�ำเภอโพธาราม วัดศรีมฤคทายวัน ม.4 ต�ำบลธรรมเสน อ�ำเภอโพธาราม วัดสนามชัย ม.4 ต�ำบลเจ็ดเสมียน อ�ำเภอโพธาราม วัดสมถะ ม.4 ต�ำบลบางโตนด อ�ำเภอโพธาราม วัดสร้อยฟ้า ม.5 ต�ำบลสร้อยฟ้า อ�ำเภอโพธาราม วัดสันติธรรมาราม ม.10 ต�ำบลคลองตาคต อ�ำเภอโพธาราม วัดหนองกลางดง ม.6 ต�ำบลช�ำแระ อ�ำเภอโพธาราม วัดหนองกวาง ม.1 ต�ำบลหนองกวาง อ�ำเภอโพธาราม วัดหนองกวาง หนองกวาง ม.7 ต�ำบลหนองกวาง อ�ำเภอโพธาราม วัดหนองครึม หนองครึม ม.4 ต�ำบลหนองกวาง อ�ำเภอโพธาราม วัดหนองโพ ม.2 ต�ำบลหนองโพ อ�ำเภอโพธาราม วัดหนองใยบัว ม.5 ต�ำบลเขาชะงุม้ อ�ำเภอโพธาราม วัดหนองรี ม.8 ต�ำบลบา้ นเลือก อ�ำเภอโพธาราม วัดหนองอ้อ หนองอ้อ ม.3 ต�ำบลบา้ นสิงห์ อ�ำเภอโพธาราม
RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 151
151
9/9/2018 9:17:34 PM
วัดหนองปรือใหญพ่ ลายงาม ม.2 ต�ำบลเบิกไพร อ�ำเภอจอมบึง วัดหนองปากชัฎ ม.6 ต�ำบลแกม้ อ้น อ�ำเภอจอมบึง วัดหนองไผ่ ม.8 ต�ำบลปากช่อง อ�ำเภอจอมบึง วัดหนองศาลเจ้า หนองศาลเจ้า ม.5 ต�ำบลเบิกไพร อ�ำเภอจอมบึง วัดหนองสีนวล ม.5 ต�ำบลดา่ นทับตะโก อ�ำเภอจอมบึง วัดอัมพวันอรัญญวิเวก โป่งกก ม.11 ต�ำบลแกม้ อ้น อ�ำเภอจอมบึง
วัดบา้ นไร่ (ใหมเ่ จริญผล) ม.1 ต�ำบลบา้ นไร่ อ�ำเภอด�ำเนินสะดวก วัดปรกเจริญ ม.6 ต�ำบลตาหลวง อ�ำเภอด�ำเนินสะดวก วัดปราสาทสิทธิ์ ม.5 ต�ำบลประสาทสิทธิ์ อ�ำเภอด�ำเนินสะดวก วัดบัวงาม ม.1 ต�ำบลบัวงาม อ�ำเภอด�ำเนินสะดวก
อ�ำเภอด�ำเนินสะดวก
วัดหิรัญราษฎร์ (ตึกหิรัญราษฎร์) 65 ม.4 ต�ำบลเจ็ดเสมียน อ�ำเภอโพธาราม วัดหุบมะกล่�ำ ม.7 ต�ำบลบา้ นเลือก อ�ำเภอโพธาราม วัดใหมช่ �ำนาญ ม.2 ต�ำบลเจ็ดเสมียน อ�ำเภอโพธาราม
อ�ำเภอจอมบึง วัดพรหมธรรมนิมิต หนองคัน ม.16 ต�ำบลดา่ นทับตะโก อ�ำเภอจอมบึง วัดแกม้ อ้น ม.3 ต�ำบลแกม้ อ้น อ�ำเภอจอมบึง วัดโกรกสิงขร ม.8 ต�ำบลดา่ นทับตะโก อ�ำเภอจอมบึง วัดเขาแดน ม.6 ต�ำบลแกม้ อ้น อ�ำเภอจอมบึง วัดเขาปิ่ นทอง ม.6 ต�ำบลปากช่อง อ�ำเภอจอมบึง วัดเขาผึ้ง ม.7 ต�ำบลปากช่อง อ�ำเภอจอมบึง วัดเขารังเสือ ม.11 ต�ำบลปากช่อง อ�ำเภอจอมบึง วัดถ้�ำมงกุฎ เขาถ้�ำมงกุฎ ม.7 ต�ำบลปากช่อง อ�ำเภอจอมบึง วัดจอมบึง ม.3 ต�ำบลจอมบึง อ�ำเภอจอมบึง
152
ต�ำบลหนองรี อ�ำเภอบ่อพลอย
วัดถ้�ำสิงโตทอง ถ้�ำสิงโต ม.11 ต�ำบลปากช่อง อ�ำเภอจอมบึง วัดชัฎใหญ่ ม.3 ต�ำบลรางบัว อ�ำเภอจอมบึง วัดทุง่ กระถิน ม.3 ต�ำบลดา่ นทับตะโก อ�ำเภอจอมบึง วัดทุง่ แฝก ม.1 ต�ำบลแกม้ อ้น อ�ำเภอจอมบึง วัดเทพประทานพร นาสมอ ม.5 ต�ำบลปากช่อง อ�ำเภอจอมบึง วัดนาสมอ ม.3 ต�ำบลปากช่อง อ�ำเภอจอมบึง วัดนิยมธรรมาราม ม.1 ต�ำบลดา่ นทับตะโก อ�ำเภอจอมบึง วัดเบิกไพร เบิกไพร ม.1 ต�ำบลเบิกไพร อ�ำเภอจอมบึง วัดปากช่อง ม.2 ต�ำบลปากช่อง อ�ำเภอจอมบึง
วัดป่าเขาสัมมะงา (หนองตะลุมพุก) หนองตะลุมพุก ม.4 ต�ำบลเบิกไพร อ�ำเภอจอมบึง วัดป่าภาวนาวิเวกหนองเตา่ ด�ำ หนองเตา่ ด�ำ ม.11 ต�ำบลรางบัว อ�ำเภอจอมบึง วัดพุแค พุแค ม.7 ต�ำบลปากช่อง อ�ำเภอจอมบึง วัดรางบัว ม.6 ต�ำบลรางบัว อ�ำเภอจอมบึง วัดรางมว่ ง ม.8 ต�ำบลจอมบึง อ�ำเภอจอมบึง วัดรางบัว ม.6 ต�ำบลรางบัว อ�ำเภอจอมบึง วัดวาปี สุทธาวาส ม.5 ต�ำบลจอมบึง อ�ำเภอจอมบึง วัดสูงเนิน ม.4 ต�ำบลปากช่อง อ�ำเภอจอมบึง วัดหนองกระทุม่ หนองกระทุม่ ม.11 ต�ำบลจอมบึง อ�ำเภอจอมบึง วัดหนองตาเนิด ม.10 ต�ำบลปากช่อง อ�ำเภอจอมบึง วัดหนองนกกะเรียน ม.8 ต�ำบลรางบัว อ�ำเภอจอมบึง วัดหนองนกกะเรียน ม.8 ต�ำบลรางบัว อ�ำเภอจอมบึง วัดหนองบัวคา่ ย ม.2 ต�ำบลรางบัว อ�ำเภอจอมบึง
วัดคูหาสวรรค์ ม.6 ต�ำบลสีห่ มื่น อ�ำเภอด�ำเนินสะดวก วัดโคกตับเป็ ด ม.1 ต�ำบลดอนคลัง อ�ำเภอด�ำเนินสะดวก วัดโคกบ�ำรุงราษฎร์ ม.5 ต�ำบลดอนกรวย อ�ำเภอด�ำเนินสะดวก วัดโคกหลวง ม.1 ต�ำบลแพงพวย อ�ำเภอ ด�ำเนินสะดวก วัดชาวเหนือ ม.7 ต�ำบลบา้ นไร่ อ�ำเภอด�ำเนินสะดวก วัดโชติทายการาม ม.1 ต�ำบลด�ำเนินสะดวก อ�ำเภอด�ำเนินสะดวก วัดดอนคลัง ม.4 ต�ำบลดอนคลัง อ�ำเภอด�ำเนินสะดวก วัดตาลบ�ำรุงกิจ (ตาล) ม.1 ต�ำบลสีห่ มื่น อ�ำเภอด�ำเนินสะดวก วัดตาลเรียง ม.6 ต�ำบลบัวงาม อ�ำเภอด�ำเนินสะดวก วัดใหมส่ หี่ มื่น ม.1 ต�ำบลสีห่ มื่น อ�ำเภอด�ำเนินสะดวก วัดทา่ เรือ ม.2 ต�ำบลแพงพวย อ�ำเภอด�ำเนินสะดวก
“บึงเรือล่ม”
วัดพิทักษเ์ ทพาวาส ม.4 ต�ำบลขุนพิทักษ์ อ�ำเภอด�ำเนินสะดวก วัดราษฎร์เจริญธรรม ม.6 ต�ำบลด�ำเนินสะดวก อ�ำเภอด�ำเนินสะดวก วัดเวฬุวนาราม ม.3 ต�ำบลดอนไผ่ อ�ำเภอด�ำเนินสะดวก วัดสนามไชย ม.4 ต�ำบลดอนกรวย อ�ำเภอด�ำเนินสะดวก วัดสอนประดิษฐ์ (เม็ง) ม.3 ต�ำบลขุนพิทักษ์ อ�ำเภอด�ำเนินสะดวก วัดสีดาราม ม.1 ต�ำบลแพงพวย อ�ำเภอด�ำเนินสะดวก วัดหลวงพอ่ สดธรรมกายาราม ม.7 ต�ำบลแพงพวย อ�ำเภอด�ำเนินสะดวก วัดหลักหกรัตนาราม ม.4 ต�ำบลศรีสุราษฎร์ อ�ำเภอด�ำเนินสะดวก วัดอมรญาติสมาคม ม.3 ต�ำบลทา่ นัด อ�ำเภอด�ำเนินสะดวก วัดอุบลวรรณาราม ม.3 ต�ำบลศรีสุราษฎร์ อ�ำเภอด�ำเนินสะดวก
อ�ำเภอบางแพ “หลวงปู่แดง หลวงพ่อพลับ”
วัดเนกขัมมาราม โคกขาม ม.4 ต�ำบลแพงพวย อ�ำเภอด�ำเนินสะดวก
วัดกลางวังเย็น ม.6 ต�ำบลวังเย็น อ�ำเภอบางแพ วัดเตาอิฐ ม.10 ต�ำบลวังเย็น อ�ำเภอบางแพ
SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี
.indd 152
9/9/2018 9:17:50 PM
THE IMPORTANT TEMPLES KANCHANABURI
วัดดอนคา ม.4 ต�ำบลดอนคา อ�ำเภอบางแพ วัดดอนเซ่ง ม.11 ต�ำบลบางแพ อ�ำเภอบางแพ วัดดอนพรหม ม.2 ต�ำบลดอนคา อ�ำเภอบางแพ วัดดอนมะขามเทศ ม.6 ต�ำบลหัวโพ อ�ำเภอบางแพ วัดดอนใหญ่ ม.5 ต�ำบลดอนใหญ่ อ�ำเภอบางแพ วัดดอนสาลี ม.1 ต�ำบลดอนใหญ่ อ�ำเภอบางแพ วัดตากแดด ม.5 ต�ำบลดอนคา อ�ำเภอบางแพ วัดตาลเตีย้ ม.3 ต�ำบลดอนใหญ่ อ�ำเภอบางแพ วัดทัพโพธิท์ อง ม.2 ต�ำบลโพหัก อ�ำเภอบางแพ วัดทา่ ราบ ม.7 ต�ำบลบางแพ อ�ำเภอบางแพ วัดท�ำนบ ม.1 ต�ำบลวัดแกว้ อ�ำเภอบางแพ วัดบางแพใต้ ม.3 ต�ำบลบางแพ อ�ำเภอบางแพ วัดแกว้ ม.5 ต�ำบลวัดแกว้ อ�ำเภอบางแพ
“หลวงพ่อโต” วัดแก้ว
วัดบา้ นกุม่ กุม่ ม.2 ต�ำบลบางแพ อ�ำเภอบางแพ วัดบา้ นใหมบ่ ุปผาราม ม.8 ต�ำบลวัดแกว้ อ�ำเภอบางแพ วัดบา้ นใหมเ่ หนือ ม.10 ต�ำบลวัดแกว้ อ�ำเภอบางแพ วัดบุญมงคล ดอนใหญ่ ม.5 ต�ำบลดอนใหญ่ อ�ำเภอบางแพ วัดป่าศรีถาวรราชบุรี หนองฟ้าแลบ ม.4 ต�ำบลหัวโพ อ�ำเภอบางแพ วัดล�ำน้�ำ ม.9 ต�ำบลดอนใหญ่ อ�ำเภอบางแพ วัดสามัคคีธรรม ม.11 ต�ำบลโพหัก อ�ำเภอบางแพ วัดหนองมว่ ง ม.9 ต�ำบลวังเย็น อ�ำเภอบางแพ วัดหนองเอีย่ น ม.1 ต�ำบลวัดแกว้ อ�ำเภอบางแพ วัดหลวง ม.3 ต�ำบลวังเย็น อ�ำเภอบางแพ
วัดหัวโพ ม.2 ต�ำบลหัวโพ อ�ำเภอบางแพ วัดเหนือบางแพ ม.1 ต�ำบลบางแพ อ�ำเภอบางแพ วัดแหลมทอง ม.3 ต�ำบลหัวโพ อ�ำเภอบางแพ วัดใหญโ่ พหัก ม.6 ต�ำบลโพหัก อ�ำเภอบางแพ วัดใหมอ่ ีจาง ม.2 ต�ำบลวังเย็น อ�ำเภอบางแพ
“พญานาค 5 เศียร”
วัดบา้ นหลวง บา้ นหลวง 75 ม.4 ต�ำบลวัดแกว้ อ�ำเภอบางแพ
อ�ำเภอบ้านโป่ง วัดโกสินารายณ์ ม.18 ต�ำบลทา่ ผา อ�ำเภอบา้ นโป่ง วัดเขาขลุง ม.5 ต�ำบลเขาขลุง อ�ำเภอบา้ นโป่ง วัดเขาแจง ม.1 ต�ำบลเขาขลุง อ�ำเภอบา้ นโป่ง วัดโคกหมอ้ ม.9 ต�ำบลปากแรต อ�ำเภอบา้ นโป่ง วัดจันทาราม ม.10 ต�ำบลหนองอ้อ อ�ำเภอบา้ นโป่ง วัดเจริญธรรม ม.3 ต�ำบลเขาขลุง อ�ำเภอบา้ นโป่ง วัดชมภูพล ม.6 ต�ำบลหนองปลาหมอ อ�ำเภอบา้ นโป่ง วัดดอนตูม ต�ำบลบา้ นโป่ง อ�ำเภอบา้ นโป่ง วัดดอนเสลา ม.5 ต�ำบลทา่ ผา อ�ำเภอบา้ นโป่ง วัดบัวงาม ม.2 ต�ำบลบา้ นมว่ ง อ�ำเภอบา้ นโป่ง
วัดตาผา ม.8 ต�ำบลนครชุมน์ อ�ำเภอบา้ นโป่ง วัดตาลปากลัด ม.11 ต�ำบลคุง้ พยอม อ�ำเภอบา้ นโป่ง วัดทา่ ผา ม.1 ต�ำบลทา่ ผา อ�ำเภอบา้ นโป่ง วัดนครชุมน์ ม.6 ต�ำบลนครชุมน์ อ�ำเภอบา้ นโป่ง วัดบางพัง บางพัง ม.8 ต�ำบลเบิกไพร อ�ำเภอบา้ นโป่ง วัดบา้ นฆอ้ งนอ้ ย ฆอ้ งนอ้ ย ม.12 ต�ำบลทา่ ผา อ�ำเภอบา้ นโป่ง วัดบึงกระจับ ม.4 ต�ำบลหนองกบ อ�ำเภอบา้ นโป่ง วัดประชารังสรรค์ หลักหก ทุง่ สา้ น ม.10 ต�ำบลทา่ ผา อ�ำเภอบา้ นโป่ง วัดปลักแรต ม.4 ต�ำบลเบิกไพร อ�ำเภอบา้ นโป่ง วัดป่าปลักประดู่ ปลักประดู่ ม.7 ต�ำบลดอนกระเบื้อง อ�ำเภอบา้ นโป่ง วัดป่าสันติพุทธาราม รางเจริญ ม.1 ต�ำบลกรับใหญ่ อ�ำเภอบา้ นโป่ง วัดโป่งยอ ม.8 ต�ำบลเขาขลุง อ�ำเภอบา้ นโป่ง วัดไผส่ ามเกาะ ม.12 ต�ำบลเขาขลุง อ�ำเภอบา้ นโป่ง
วัดโพธิบัลลังก์ ม.3 ต�ำบลคุง้ พยอม อ�ำเภอบา้ นโป่ง วัดโพธิรัตนาราม ม.4 ต�ำบลปากแรต อ�ำเภอบา้ นโป่ง วัดโพธิโสภาราม ม.9 ต�ำบลคุง้ พยอม อ�ำเภอบา้ นโป่ง วัดมว่ ง ม.5 ต�ำบลบา้ นมว่ ง อ�ำเภอบา้ นโป่ง
“ต�ำบลบ้านม่วง อ�ำเภอบ้านโป่ง”
วัดมะขาม ม.8 ต�ำบลคุง้ พยอม อ�ำเภอบา้ นโป่ง วัดมาบแค ม.15 ต�ำบลหนองปลาหมอ อ�ำเภอบา้ นโป่ง วัดยางหัก ม.13 ต�ำบลทา่ ผา อ�ำเภอบา้ นโป่ง วัดรับน้�ำ ม.6 ต�ำบลบา้ นมว่ ง อ�ำเภอบา้ นโป่ง วัดรางวาลย์ ม.7 ต�ำบลลาดบัวขาว อ�ำเภอบา้ นโป่ง วัดลาดบัวขาว ม.4 ต�ำบลลาดบัวขาว อ�ำเภอบา้ นโป่ง
วัดล�ำพยอม ม.6 ต�ำบลคุง้ พยอม อ�ำเภอบา้ นโป่ง วัดสระตะโก ม.13 ต�ำบลหนองปลาหมอ อ�ำเภอบา้ นโป่ง วัดสระสีม่ ุม ม.2 ต�ำบลเขาขลุง อ�ำเภอบา้ นโป่ง วัดสัมมาราม ม.10 ต�ำบลเขาขลุง อ�ำเภอบา้ นโป่ง วัดหนองกบ ม.3 ต�ำบลหนองกบ อ�ำเภอบา้ นโป่ง วัดหนองกลางดา่ น ม.5 ต�ำบลกรับใหญ่ อ�ำเภอบา้ นโป่ง วัดหนองไกข่ ัน ม.9 ต�ำบลเขาขลุง อ�ำเภอบา้ นโป่ง วัดหนองประทุน ม.8 ต�ำบลกรับใหญ่ อ�ำเภอบา้ นโป่ง วัดหนองปลาดุก ม.6 ต�ำบลหนองกบ อ�ำเภอบา้ นโป่ง วัดหนองปลาหมอ ม.5 ต�ำบลหนองปลาหมอ อ�ำเภอบา้ นโป่ง วัดหนองเสือ ม.6 ต�ำบลกรับใหญ่ อ�ำเภอบา้ นโป่ง วัดหนองหญา้ ปลอ้ ง ม.8 ต�ำบลสวนกลว้ ย อ�ำเภอบา้ นโป่ง วัดหนองหิน ม.11 ต�ำบลหนองปลาหมอ อ�ำเภอบา้ นโป่ง
“พระสิวลี” วัดบัวงาม
RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 153
153
9/9/2018 9:18:11 PM
วัดหนองหูช้าง ม.8 ต�ำบลหนองอ้อ อ�ำเภอบา้ นโป่ง วัดหนองอ้อตะวันตก ม.7 ต�ำบลหนองอ้อ อ�ำเภอบา้ นโป่ง วัดหนองอ้อตะวันออก ม.6 ต�ำบลหนองอ้อ อ�ำเภอบา้ นโป่ง วัดหมื่นปี วนาราม บา้ นปากแรต ต�ำบลปากแรต อ�ำเภอบา้ นโป่ง วัดห้วยเจริญผล บา้ นห้วยเจริญผล ม.4 ต�ำบลกรับ ใหญ่ อ�ำเภอบา้ นโป่ง วัดหัวโป่ง ม.2 ต�ำบลหนองอ้อ อ�ำเภอบา้ นโป่ง วัดบา้ นโป่ง ต�ำบลบา้ นโป่ง อ�ำเภอบา้ นโป่ง
งานศิลป์ผนังอุโบสถ วัดบ้านโป่ง
วัดหัวหิน ม.1 ต�ำบลนครชุมน์ อ�ำเภอบา้ นโป่ง วัดหุบกระทิง ม.10 ต�ำบลเบิกไพร อ�ำเภอบา้ นโป่ง วัดอริยวงศาราม ม.3 ต�ำบลดอนกระเบื้อง อ�ำเภอบา้ นโป่ง วัดอ้ออีเขียว บา้ นอ้ออีเขียว ม.2 ต�ำบลกรับใหญ่ อ�ำเภอบา้ นโป่ง วัดอัมพวนาราม ม.12 ต�ำบลนครชุมน์ อ�ำเภอบา้ นโป่ง วัดอุทุมพรทาราม ม.1 ต�ำบลสวนกลว้ ย อ�ำเภอบา้ นโป่ง
อ�ำเภอบ้านคา วัดเกา่ ตน้ มะคา่ บา้ นหนองน้�ำขุน่ ม.2 ต�ำบลบา้ นคา อ�ำเภอบา้ นคา วัดเขาธารมงคล บา้ นโป่งเจ็ด ม.8 ต�ำบลบา้ นคา อ�ำเภอบา้ นคา วัดเจริญธรรมนิมิต บา้ นหนองโก ม.3 ต�ำบลบา้ นบึง อ�ำเภอบา้ นคา วัดช่องลาภ บา้ นช่องลาภ ม.3 ต�ำบลหนองพัน จันทร์ อ�ำเภอบา้ นคา วัดทุง่ ตาลับ บา้ นทุง่ ตาลับ ม.10 ต�ำบลหนองพัน จันทร์ อ�ำเภอบา้ นคา
154
ฝังลูกนิมิต วัดไทยประจัน
วัดบา้ นดงคา บา้ นดงคา ม.9 ต�ำบลบา้ นบึง อ�ำเภอบา้ นคา วัดบา้ นบึง บา้ นบึงเหนือ ม.6 ต�ำบลบา้ นคา อ�ำเภอบา้ นคา วัดป่าโป่งกระทิง บา้ นโป่งกระทิงบน ม.1 ต�ำบล บา้ นบึง อ�ำเภอบา้ นคา วัดป่าพระธาตุเขานอ้ ย บา้ นคา ม.1 ต�ำบลบา้ นคา อ�ำเภอบา้ นคา วัดโป่งกระทิงลา่ ง บา้ นโป่งกระทิงลา่ ง ม.2 ต�ำบล บา้ นบึง อ�ำเภอบา้ นคา วัดโป่งเหาะ บา้ นโป่งเหาะ ม.6 ต�ำบลบา้ นคา อ�ำเภอบา้ นคา วัดล�ำพระ บา้ นล�ำพระ ม.4 ต�ำบลบา้ นคา อ�ำเภอบา้ นคา วัดสุวรรณคีรี บา้ นทุง่ มะลิคร้อเหนือ ม.11 ต�ำบล หนองพันจันทร์ อ�ำเภอบา้ นคา วัดหนองโกเจริญธรรม หนองโก ม.2 ต�ำบลหนองพันจันทร์ อ�ำเภอบา้ นคา วัดหนองจอก บา้ นหนองจอก ม.5 ต�ำบลหนองพัน จันทร์ อ�ำเภอบา้ นคา วัดหนองพันจันทร์ บา้ นหนองพันจันทร์ ม.6 ต�ำบล หนองพันจันทร์ อ�ำเภอบา้ นคา
วัดไทยประจัน บา้ นไทยประจัน ม.5 ต�ำบลยางหัก อ�ำเภอปากทอ่ วัดเขาถ้�ำพระ บา้ นเขาถ้�ำ ม.9 ต�ำบลดอนทราย อ�ำเภอปากทอ่ วัดเขาพระเอก บา้ นเขาพระเอก ม.8 ต�ำบลทุง่ หลวง อ�ำเภอปากทอ่ วัดเขาพุนก บา้ นหนองลังกา ม.3 ต�ำบลห้วยยาง โทน อ�ำเภอปากทอ่ วัดเขาหมอนทอง บา้ นหนองวัวด�ำ ม.11 ต�ำบลทุง่ หลวง อ�ำเภอปากทอ่ วัดเขาหลาว บา้ นเขาหลาว ม.5 ต�ำบลวังมะนาว อ�ำเภอปากทอ่ วัดคุณสารหนองไร่ บา้ นหนองไร่ ม.1 ต�ำบลทุง่ หลวง อ�ำเภอปากทอ่ วัดโคกพระราชธรรมเสนานี บา้ นโคกพระ ม.2 ต�ำบลปากทอ่ อ�ำเภอปากทอ่ วัดเจริญธรรม บา้ นโป่ง ม.3 ต�ำบลอ่างหิน อ�ำเภอปากทอ่ วัดดอนทราย บา้ นดอนทราย ม.1 ต�ำบลดอนทราย อ�ำเภอปากทอ่ วัดดาวลอย บา้ นดงตาล ม.5 ต�ำบลปากทอ่ อ�ำเภอปากทอ่ วัดถ้�ำยอดทอง บา้ นเขาพระเอก ม.8 ต�ำบลทุง่ หลวง อ�ำเภอปากทอ่ วัดถ้�ำกิเลนทอง บา้ นเขากลอย ม.7 ต�ำบลทุง่ หลวง อ�ำเภอปากทอ่ วัดเขาอีสา้ น บา้ นเขาอีสา้ น ม.6 ต�ำบลดอนทราย อ�ำเภอปากทอ่
วัดเขาถ้�ำทะลุ บา้ นถ้�ำทะลุ ม.3 ต�ำบลดอนทราย อ�ำเภอปากทอ่ วัดไทรงาม บา้ นตากแดด ม.2 ต�ำบลยางหัก อ�ำเภอปากทอ่ วัดบุรีราชวนาราม บา้ นรางโบสถ์ ม.7 ต�ำบลดอนทราย อ�ำเภอปากทอ่ วัดปากทอ่ บา้ นตลาดปากทอ่ ม.1 ต�ำบล ปากทอ่ อ�ำเภอปากทอ่ วัดป่าไก่ บา้ นป่าไก่ ม.3 ต�ำบลป่าไก่ อ�ำเภอปากทอ่ วัดนาคอก บา้ นนาคอก ม.4 ต�ำบลอ่างหิน อ�ำเภอปากทอ่
พ่อปู่นาคราชภุชงค์
วัดป่าหนองโกเจริญธรรม บา้ นหนองโก ม.2 ต�ำบลอ่างหิน อ�ำเภอปากทอ่
วัดพิบูลวนาราม บา้ นเขาช้าง ม.6 ต�ำบลหนองกระทุม่ อ�ำเภอปากทอ่ วัดพุเกตุ บา้ นพุเกตุ ม.4 ต�ำบลห้วยยางโทน อ�ำเภอปากทอ่ วัดโพธิศรี ตีนเนิน ม.7 ต�ำบลหนองกระทุม่ อ�ำเภอปากทอ่ วัดไพรสะเดา ม.2 ต�ำบลดอนทราย อ�ำเภอปากทอ่ วัดมณีลอย ม.7 ต�ำบลวังมะนาว อ�ำเภอปากทอ่ วัดยางงาม ม.1 ต�ำบลวัดยางงาม อ�ำเภอปากทอ่ วัดรางโบสถ์ บา้ นรางโบสถ์ ม.7 ต�ำบลดอนทราย อ�ำเภอปากทอ่ วัดราษฎร์สมานฉันท์ บา้ นขา้ งวัด ม.4 ต�ำบลหนองกระทุม่ อ�ำเภอปากทอ่ วัดลานคาสุทธาวาส บา้ นลานคา ม.8 ต�ำบลยางหัก อ�ำเภอปากทอ่ วัดเลิศดุสิตาราม บา้ นป่าขุย ม.5 ต�ำบลหนองกระทุม่ อ�ำเภอปากทอ่ วัดวังปลาช่อน บา้ นวังปลาช่อน ม.1 ต�ำบลยางหัก อ�ำเภอปากทอ่
อ�ำเภอปากท่อ วัดเกตุปัญญาประชาสรรค์ บา้ นทุง่ หลวง ม.3 ต�ำบลทุง่ หลวง อ�ำเภอปากทอ่ วัดเขากูบอินทราราม บา้ นห้วยนอ้ ย ม.1 ต�ำบลอ่างหิน อ�ำเภอปากทอ่ วัดเขาช้างมงคลวนาราม บา้ นเขาช้าง ม.7 ต�ำบลหนองกระทุม่ อ�ำเภอปากทอ่ วัดเขาถ่านธรรมเสนานี บา้ นเขาถ่าน ม.5 ต�ำบลดอนทราย อ�ำเภอปากทอ่
วัดเขาอีส้าน
วัดทา่ ยาง บา้ นทา่ ยาง ม.3 ต�ำบลยางหัก อ�ำเภอปากทอ่ วัดทุง่ หลวง บา้ นหนองขอ่ ย ม.2 ต�ำบลทุง่ หลวง อ�ำเภอปากทอ่
SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี
.indd 154
9/9/2018 9:18:26 PM
THE IMPORTANT TEMPLES KANCHANABURI
วัดวังมะนาว บา้ นวังมะนาว ม.3 ต�ำบลวังมะนาว อ�ำเภอปากทอ่ วัดวันดาว บา้ นท�ำเนียบ ม.1 ต�ำบลวันดาว อ�ำเภอปากทอ่ วัดวิมลมรรคาราม บา้ นบอ่ กระดาน ม.4 ต�ำบลบอ่ กระดาน อ�ำเภอปากทอ่ วัดศรีพุยางวนาราม บา้ นเกา่ พุยาง ม.6 ต�ำบลยางหัก อ�ำเภอปากทอ่ วัดสนามสุทธาวาส บา้ นหนองไร่ ม.1 ต�ำบลทุง่ หลวง อ�ำเภอปากทอ่ วัดสวา่ งอารมณ์ บา้ นไร่กงสี ม.4 ต�ำบลวังมะนาว อ�ำเภอปากทอ่ วัดสันติการาม บา้ นพุคาย ม.4 ต�ำบลทุง่ หลวง อ�ำเภอปากทอ่ วัดสุขวราราม บา้ นหนองแรด ม.2 ต�ำบลบอ่ กระดาน อ�ำเภอปากทอ่ วัดหนองกระทุม่ บา้ นหนองชี ม.2 ต�ำบลหนองกระทุม่ อ�ำเภอปากทอ่ วัดหนองน้�ำใส บา้ นหนองน้�ำใส ม.7 ต�ำบลทุง่ หลวง อ�ำเภอปากทอ่
วัดหนองบัวหิง่ บา้ นหนองบัวหิง่ ม.3 ต�ำบลดอน ทราย อ�ำเภอปากทอ่ วัดหนองระก�ำ บา้ นหนองระก�ำ ม.8 ต�ำบลดอน ทราย อ�ำเภอปากทอ่ วัดหนองสรวง บา้ นหนองสรวง ม.4 ต�ำบลปากทอ่ อ�ำเภอปากทอ่ วัดห้วยยางโหน บา้ นห้วยยางโทน ม.2 ต�ำบลห้วย ยางโทน อ�ำเภอปากทอ่ วัดห้วยศาลา บา้ นห้วยศาลา ม.7 ต�ำบลยางหัก อ�ำเภอปากทอ่ วัดหัวป่าพรหมสราภิรัต บา้ นหัวป่า ม.2 ต�ำบลวัดยางงาม อ�ำเภอปากทอ่ วัดอ่างหิน บา้ นอ่างหิน ม.5 ต�ำบลอ่างหิน อ�ำเภอปากทอ่
อ�ำเภอวัดเพลง วัดเกาะศาลพระ ม.8 ต�ำบลเกาะศาลพระ อ�ำเภอ วัดเพลง วัดคลองขนอน ม.9 ต�ำบลวัดเพลง อ�ำเภอวัดเพลง
วัดแจ้งเจริญ (แจ้ง) ม.3 ต�ำบลจอมประทัด อ�ำเภอ วัดเพลง วัดเพลง ม.5 ต�ำบลวัดเพลง อ�ำเภอวัดเพลง วัดเวียงทุน ม.2 ต�ำบลเกาะศาลพระ อ�ำเภอ วัดเพลง วัดศรัทธาราษฎร์ ม.7 ต�ำบลวัดเพลง อ�ำเภอวัดเพลง วัดหนองเกสร ม.1 ต�ำบลเกาะศาลพระ อ�ำเภอ วัดเพลง
วัดทุง่ แหลม บา้ นทุง่ แหลม ม.3 ต�ำบลป่าหวาย อ�ำเภอสวนผึ้ง วัดบอ่ หวี บา้ นบอ่ หวี ม.4 ต�ำบลตะนาวศรี อ�ำเภอสวนผึ้ง
“ส�ำนักปฏิบัติธรรม วัดบ้านกล้วย”
อ�ำเภอสวนผึ้ง วัดเขาไกแ่ จ้ ม.7 ต�ำบลทา่ เคย อ�ำเภอสวนผึ้ง วัดเขาวงกตเจริญธรรม บา้ นหนองสองห้อง ม.5 ต�ำบลทา่ เคย อ�ำเภอสวนผึ้ง วัดทา่ เคย บา้ นทา่ เคย ม.6 ต�ำบลทา่ เคย อ�ำเภอสวนผึ้ง วัดบา้ นบอ่ ม.1 ต�ำบลสวนผึ้ง อ�ำเภอสวนผึ้ง
วัดบา้ นกลว้ ย ม.2 ต�ำบลป่าหวาย อ�ำเภอสวนผึ้ง วัดประชุมพลแสน นาขุนแสน ม.4 ต�ำบลสวนผึ้ง อ�ำเภอ สวนผึ้ง วัดป่าทา่ มะขาม ทา่ มะขาม ม.2 ต�ำบลตะนาวศรี อ�ำเภอสวนผึ้ง วัดป่าหินสูงเจริญธรรม หินสูง ม.2 ต�ำบลทา่ เคย อ�ำเภอสวนผึ้ง
วัดมะขามเอน มะขามเอน ม.7 ต�ำบลทา่ เคย อ�ำเภอสวนผึ้ง วัดวังน้�ำเขียว วังน้�ำเขียว ม.2 ต�ำบลทา่ เคย อ�ำเภอสวนผึ้ง วัดสวนผึ้ง สวนผึ้ง ม.1 ต�ำบลตะนาวศรี อ�ำเภอสวนผึ้ง วัดหนองขาม หนองขาม ม.5 ต�ำบลป่าหวาย อ�ำเภอสวนผึ้ง วัดหนองหมี ชัฎหนองหมี ม.4 ต�ำบลทา่ เคย อ�ำเภอสวนผึ้ง วัดห้วยทรายทอง ห้วยทรายทอง ม.1 ต�ำบลป่าหวาย อ�ำเภอสวนผึ้ง วัดห้วยผากเทพประทานพร ห้วยผาก ม.7 ต�ำบลสวนผึ้ง อ�ำเภอสวนผึ้ง วัดห้วยมว่ ง ห้วยมว่ ง ม.3 ต�ำบลตะนาวศรี อ�ำเภอสวนผึ้ง
RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 155
155
9/9/2018 9:18:27 PM
REGIONS การปั้นโอ่งมังกร
OF
RATCHABURI
@อ� ำ เภอเมื อ งราชบุ รี
ถ�้ ำ เขาบิ น @อ�ำเภอเมืองราชบุรี ภายในถ�้ ำ เต็ ม ไปด้ ว ยหิ น งอกหิ น ย้ อ ย ที่ มี ค วามสวย
อุ ท ยาน
หิน เขางู
วิถชี วี ติ ชาวบ้าน @ อ�ำเภอด�ำเนินสะดวก ตลาดน�้ ำ ด� ำ เนิ น สะดวก
@อ� ำ เภอเมื อ งราชบุรี พระพุ ท ธรู ป ที่ ส ลั ก หิ น ที่ ฝ าผนั ง ถ�้ ำ อยู ่ ห ลายองค์ 156
Ads
SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุ UBONรี RATCHATHANI
.indd 156
7/9/2561 13:22:40
อ�ำเภอในจังหวัดราชบุรี ที่ ตั้ ง และอาณาเขต
ราชบุรี เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ทางภาคตะวันตก โดยเป็นศูนย์กลางในด้านอุตสาหกรรมแปรรูปสินค้าเกษตร เช่น มะพร้าว ชมพู่ ฝรั่ง มะม่วง และการปศุสัตว์ของประเทศ รวมทั้งเป็นศูนย์กลางในด้านพลังงานของประเทศ ในปัจจุบัน[ต้องการอ้างอิง] โดยมีเมืองราชบุรีเป็นศูนย์กลางด้านการปกครอง เศรษฐกิจ และการคมนาคมใน ภูมิภาค ทิศเหนือติดต่อจังหวัดกาญจนบุรี ทิศใต้ติดต่อจังหวัดเพชรบุรี ทิศตะวันออกติดต่อจังหวัดสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสงคราม และจังหวัดนครปฐม และทิศตะวันตกติดต่อประเทศพม่า
ทิศเหนือ ติดต่อกับอ�ำเภอด่านมะขามเตี้ย อ�ำเภอท่าม่วง และอ�ำเภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี ทิศตะวันออก ติดต่อกับอ�ำเภอก�ำแพงแสน อ�ำเภอเมืองนครปฐม และอ�ำเภอสามพราน จังหวัด นครปฐม; อ� ำ เภอบ้ า นแพ้ ว จั ง หวั ด สมุ ท รสาคร; อ� ำ เภอบางคนที แ ละอ� ำ เภออั ม พวา จั ง หวั ด สมุทรสงคราม ทิศใต้ ติดต่อกับอ�ำเภอเขาย้อยและอ�ำเภอหนองหญ้าปล้อง จังหวัดเพชรบุรี ทิศตะวันตก ติดต่อกับเขตตะนาวศรี ประเทศพม่า
SNAP IT &
WACTH
ส�ำนักงานพุทธศาสนาจังหวัดราชบุรี
UBON RATCHATHANI RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
Ads
.indd 157
157
7/9/2561 13:22:46
BEST IN TRAVEL 2017
ที่ สุ ด แห่ ง การบั น ทึ ก
ความทรงจ�ำ หนึ่งความทรงจ�ำของการเดินทางในปี 2560 ป่าชายเลน ภูเขา ชายหาด ท้องทะเล และหมู่เกาะน้อยใหญ่ ทะเล ชุมพรนั้นชื่อว่างดงามยิ่ง จึงเหมาะส�ำหรับนักท่องเที่ยวที่ชื่นชอบ การด�ำน�้ำชมฝูงปลาและปะการัง พายเรือคายัค ชมสภาพป่าชายเลน
อุ ท ยานแห่งชาติห มู่เกาะชุมพร หาดทรายรี จังหวัดชุมพร
SBL บั นทึ กประเทศไทย น�ำเสนอเรื่องราวของจังหวัดต่างๆ ทั่วประเทศไทย อย่างเจาะลึกและครอบคลุ ม ทุ ก มิ ติ อาทิ มิ ติ ด ้ า น การพั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต และความเป็ น อยู ่ จากหน่ ว ยงานราชการส� ำ คั ญ ในจั ง หวั ด มิ ติ ด ้ า นการท่ อ งเที่ ย วที่ ส ดใหม่ ทั น สมั ย ทั้ งสถานที่เ ที่ ยว ที่พัก ร้านอาหาร ร้านกาแฟ แหล่งช็อปปิ้งใหม่ๆ ฯลฯ มิติด้านอุตสาหกรรม-การค้ า การลงทุ น ที่ เ ป็ น ตั วขั บ เคลื่ อนเศรษฐกิจ ตลอดจนมิติด้านการศึกษา ศาสนา วัฒ นธรรม และวิถีชีวิต ที่มีจุดเด่นและมีเอกลั ก ษณ์ น ่ า สนใจ
AD_
.indd 158
7/9/2561 9:33:23
B E S T IN T R AV E L
2017
TOP 10 PHOTOGRAPHS
OF THE YE AR
www.sbl.co.th
BEST
AD_
.indd 159
IN
TRAVEL
2017 7/9/2561 9:33:24
IMAGE OF CIVILIZATION
Ratchaburi ย้ อ นรอยประวั ติ ศ าสตร์ เ มืองแห่งพระราชา
2018
PHOTOGRAPHER : ชัยวิชญ์ แสงใส Facebook : Apple-Photo วัดขนอนหนังใหญ่ สถานที่ตั้ง : เลขที่ 1 หมู่ที่ 4 ต�ำบลสร้อยฟ้า อ�ำเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี 70120
ย้อนกลับไปสู่แรกเริ่มท�ำตัวหนังใหญ่โดยการน�ำของ พระครูศรัทธาสุนทร (หลวงปู่กล่อม) ตราบจนวันนี้ จะเห็นว่าหนังใหญ่วัดขนอนด�ำรงอยู่มากว่าศตวรรษ ในขณะที่มหรสพการละเล่นอื่นๆ หลายอย่างสูญหาย ไปตามกาลเวลา
.indd 160
7/9/2561 11:30:51
PHOTOGRAPHER : ฐานันต์ สุภาสาคร Facebook : Photo by toon
PHOTOGRAPHER : ชัยวิชญ์ แสงใส Facebook : Apple-Photo
วัดขนอนหนังใหญ่ สถานที่ตั้ง : เลขที่ 1 หมู่ที่ 4 ต�ำบลสร้อยฟ้า อ�ำเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี 70120
แก่งส้มแม้ว (ศูนย์ศึกษาพรรณไม้ป่า สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ ) สถานที่ตั้ง : ศูนย์ศึกษาพรรณไม้ป่า สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ บริเวณบ้านห้วยม่วง ต.ตะนาวศรี อ.สวนผึ้ง จ.ราชบุรี
หนังใหญ่วัดขนอนกลับยืนหยัดและด�ำรงอยู่จนถึงปัจจุบัน ได้อย่างไร ค�ำตอบดังกล่าวคงสามารถพบเจอหากเพียง หันกลับไปมองให้เ ห็นถึงสายใยความผูกพันระหว่างชุมชน และจิตวิญญาณของคนท�ำหนังกับหนังใหญ่ของพวกเขา
เกาะแก่ง ล�ำธาร ธรรมชาติ งดงามไร้การปรุงแต่ง ความสวยงาม ที่ธรรมชาติสร้างสรรค์ โดยไร้การปรุงแต่ง คือ สิ่งที่วิเศษสุดๆ ส�ำหรับสองดวงตาของนักท่องเที่ยวที่ได้มาเห็น
PHOTOGRAPHER : ชนเมศ วิลาศ Facebook : Pipe Creativeimage ถั่วงอกโพธาราม สามารถหาซื้อถั่วงอกโพธารามได้ตามตลาดของอ�ำเภอโพธาราม มี ต ลาดบน ตลาดกลาง และตลาดล่ า งให้ ไ ด้ เ ดิ น ชม ทั้ ง วิ ถี ชี วิ ต ของชาวบ้าน และความเป็นกัน เองของชาวบ้านที่ค่อยต้อนรับเสมอ
ล�ำต้นอวบสั้นขาว รสชาติที่หวาน และความกรอบ เอกลักษณ์ถั่วงอกโพธาราม
ถั่วงอกโพธารามถือว่าเป็นพืชเศรษฐกิจประจ�ำอ�ำเภอโพธารามเลย ด้วยวิธีการปลูกเป็น เอกลักษณ์ของชาวโพธาราม ซึ่งปลูกในถังปี๊บ ที่อัดเต็มไปด้วยขี้เถ้าแกลบจึงท�ำให้ถั่วงอกมีล�ำต้นอ้วนสั้นขาว น่ารับประทานและปลอดสารพิษ
.indd 161
7/9/2561 11:30:58
.indd 11
3/9/2561 14:38:20
Buddhism
in Thailand
Everything You Need to Know About Buddhism in Thailand There are some 30,000 Buddhist temples in Thailand.
AD_Buddhism.indd 3
7/9/2561 10:02:33
Magazine
ที่สุดแห่งการบันทึก ความทรงจ�ำ SBL บันทึกประเทศไทย SBL บันทึกประเทศไทย น�ำเสนอเรื่องราว ของจังหวัดต่างๆ ทั่วประเทศไทย อย่างเจาะลึก และครอบคลุมทุกมิติ อาทิ มิติด้านการพัฒนา คุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ จากหน่วยงาน ราชการส�ำคัญในจังหวัด มิติด้านการท่องเที่ยว ที่ส ดใหม่ ทันสมั ย ทั้งสถานที่ เ ที่ ย ว ที่ พั ก ร้านอาหาร ร้านกาแฟ แหล่งช็อปปิ้งใหม่ๆ ฯลฯ มิติด้านอุตสาหกรรม-การค้ า การลงทุ น ที่เป็นตัวขับเคลื่ อ นเศรษฐกิ จ ตลอดจน มิติด้านการศึก ษา ศาสนา วั ฒ นธรรม และวิถีชีวิต ที่มีจุดเด่นและมีเอกลักษณ์น่าสนใจ
ถ�ำ้ จอมพล
.indd 5
www.sbl.co.th
7/9/2561 13:16:31