79 เพชรบุรี

Page 1

นิตยสารแนะน�ำแหล่งท่องเที่ยวและของดีจังหวัดเพชรบุรี ประจ�ำปี 2561

อุทยานประวัติศาสตร์พระนครคีรี Magazine

ฉบับที่ 79 จังหวัดเพชรบุรี พ.ศ.2561

Phetchaburi 2561 เมื องพริบพรี ศรีชัยวัชรบุรี

EXCLUSIVE

“Travel for all”

เพชรบุรีเที่ยวได้ทุกเพศทุกวัย

ท่านฉัตรพร ราษฎร์ดุษดี

ผู้ว่าราชการจังหวัดผู้หญิงคนแรก ของจังหวัดเพชรบุรี

Vol.9 Issue 79/2018

www.sbl.co.th

.indd 5

พระนครคีรี... ศรีเ มืองเพชร 19/9/2561 17:37:23


S P ECI A L INT E R V IE W

บันทึกเส้นทางพบมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

“เรียนรู้แบบมืออาชีพ ที่มหาวิทยาลัย ราชภัฏเพชรบุรี” มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ด�ำเนินงาน ตามพระราโชบาย รัชกาลที่ 10 มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ด�ำเนินงานภาย ใต้ปรัชญา “คุณธรรมน�ำความรู้ มุง่ สูส่ ากล” โดย น้อมน�ำหลักการทรงงานแนวคิดทฤษฎีใหม่และ หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถ บพิ ต ร พระราโชบายสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว มหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร เป็นหลัก ในการปฏิบตั งิ าน ตลอดจนได้พฒ ั นามหาวิทยาลัย ตามยุทธศาสตร์ ใหม่มหาวิทยาลัยราชภัฏ เพื่อ การพัฒนาท้องถิ่นตามพระราโชบาย ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2560 – 2579) ซึ่ ง ประกอบด้ ว ย 4 ยุทธศาสตร์ ได้แก่ การพัฒนาท้องถิ่น การผลิต และพัฒนาครู การยกระดับคุณภาพการศึกษา และการพัฒนาระบบบริหารจัดการ

ผศ.ดร. เสนาะ กลิ่นงาม

อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรีกับการด�ำเนินงาน ตามพระราโชบาย รัชกาลที่ 10 มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ด�ำเนินงานภายใต้ ปรัชญา คุณธรรมน�ำความรู้ มุ่งสู่สากล โดยน้อมน�ำ หลักการทรงงานแนวคิดทฤษฎีใหม่และหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรม หาภูมพิ ลอดุลยเดช พระราโชบายสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั มหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร เป็นหลักใน การปฏิบตั งิ าน ตลอดจนได้พฒ ั นามหาวิทยาลัยตาม ยุทธศาสตร์ใหม่มหาวิทยาลัยราชภัฏ เพือ่ การพัฒนา ท้องถิ่นตามพระราโชบาย ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2560 – 2579) ซึง่ ประกอบด้วย 4 ยุทธศาสตร์ ได้แก่ การ พัฒนาท้องถิน่ การผลิตและพัฒนาครู การยกระดับคุณภาพ การศึกษา และการพัฒนาระบบบริหารจัดการ 2

ส�ำหรับการพัฒนาท้องถิน่ มหาวิทยาลัยราชภัฏ เพชรบุรีได้จัดท�ำราชภัฏเพชรบุรีเป็นโมเดลในการ พัฒนาท้องถิ่นอย่างยั่ง ยืน มีพื้นที่รับผิดชอบ 2 จังหวัด คือจังหวัดเพชรบุรแี ละจังหวัดประจวบคีรขี นั ธ์ ซึ่งผลการด�ำเนินงาน หลังจากที่มหาวิทยาลัยได้ ลงพื้นที่รับผิดชอบสามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดี ขึ้น คนในชุมชนมีรายได้เพิ่มขึ้น เกิดการพัฒนา ตนเองไปสู่ชุมชนแห่งการพัฒนา เช่น ชุมชนโค้งตา บาง คือ การแก้ไขปัญหาความยากจน โดยน้อมน�ำ ศาสตร์พระราชา เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา เป็นหลักใน การพัฒนา ส่งผลให้ชุมชนมีคุณภาพชีวิตความเป็น อยู่ที่ดีขึ้น หมู่บ้านไร่มะขาม ชุมชนที่ประสบปัญหาราคา ข้าวตกต�ำ ่ ต้นทุนการผลิตสูง มีการใช้สารเคมีในการ

เพาะปลูก มหาวิทยาลัยได้นอ้ มน�ำศาสตร์พระราโชบาย ระเบิดจากข้างใน มาปฏิบตั ริ ว่ มกันกับชุมชนจนเกิด การพัฒนาอย่างเป็นระบบ กลับมาสูห่ มูบ่ า้ นต้นแบบ ในการพัฒนาเกษตรอินทรีย์ มีการแปรรูปสินค้าจาก ข้าวไรซ์เบอร์รี่ สร้างรายได้เพิม่ ให้กบั ชุมชน เป็นการ ผลิตแบบครบวงจรตัง้ แต่กระบวนการผลิตจนถึงการ จ�ำหน่าย รวมถึงการพัฒนาโปรแกรมซื้อขายสินค้า ชุมชนออนไลน์ และทีส่ ำ� คัญจากการทีม่ หาวิทยาลัย ได้ เ ข้ า ไปถ่ า ยทอดองค์ ค วามรู ้ เ กี่ ยวกั บ การแก้ ไ ข ปัญหาการปลูกข้าวด้วยการน้อมน�ำหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง ท�ำให้ชุมชนไร่มะขามมีโรงสีข้าว เป็นของตนเอง ภายใต้ชื่อ “โรงสีแห่งความสุข”

SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบุรี

(4

).indd 2

19/9/2561 15:29:08


บ้านในดง อ�ำเภอท่ายาง มีการขับเคลื่อนให้ ความรู ้ แ ละการผลิ ต สิ น ค้ า เกษตรปลอดภั ย สู่การพัฒนาต่อยอดให้เป็นเกษตรอินทรีย์มากขึ้น จนเกิ ด เป็ น ตลาดสี เ ขี ย วของดี บ ้ า นในดงใน รูปแบบตลาดเคลื่อนที่ (Mobile Market) หมูบ่ า้ นพลังงานทางเลือกเพือ่ วิถชี วี ติ เกษตรกร บ้านป่าเด็ง อ�ำเภอแก่งกระจาน มหาวิทยาลัยได้ เข้าไปให้ความรู้เรื่องการใช้งานระบบไฟฟ้าพลังงาน แสงอาทิตย์และการซ่อมแซมอุปกรณ์ไฟฟ้าเบื้องต้น จนท�ำให้เกษตรกรลดค่าใช้จา่ ยเฉลีย่ 1,000 – 2,000 บาทต่อครัวเรือนต่อเดือน ส่งผลให้มีคุณภาพชีวิต และความเป็นอยูท่ ดี่ ขี นึ้ จากการใช้เทคโนโลยีพลังงาน ทางเลือก ยุทธศาสตร์การผลิตและพัฒนาครู มหาวิทยาลัย ราชภั ฏ เพชรบุ รี เป็ น สถาบั น การศึ ก ษาเพื่ อ การ พัฒนาท้องถิ่น ได้มีการจัดตั้งคลัชเตอร์ครูหลักสูตร ครุ ศ าสตรบั ณ ฑิ ต มี โ รงเรี ย นอยู ่ ใ นการดู แ ล 2 ประเภท ในจังหวัดเพชรบุรแี ละจังหวัดประจวบคีรขี นั ธ์ ได้แก่ โรงเรียนต�ำรวจตระเวนชายแดน 11 แห่ง จัด ตั้งขึ้นเพื่อจัดการเรียนการสอนให้เด็กสามารถพูด

อ่านและเขียนได้ รวมทัง้ คิดเลขเป็น ซึง่ ทางมหาวิทยาลัย ได้ เ ข้ า ไปจั ด กิ จ กรรมอบรมเชิ ง ปฏิ บั ติ ก ารเพื่ อ พั ฒนาการเรี ย นการสอนของครู โ รงเรี ย นต�ำ รวจ ตระเวนชายแดน ท�ำให้การสอบวัดผลระดับชาติใน โรงเรียนต�ำรวจตระเวนชายแดนมีแนวโน้มดีขนึ้ ทุกปี เกิดโรงเรียนต้นแบบเทคโนโลยีการเรียนการสอน โรงเรียนต้นแบบการใช้ภาษาอังกฤษ ตลอดจนเกิด ศูนย์การเรียนรูส้ บื สานวิถชี วี ติ กลุม่ ชาติพนั ธุก์ ะเหรีย่ ง นอกจากนี้ยังมีโรงเรียนกองทุนการศึกษาที่อยู่ ในการดูแล 14 แห่ง มหาวิทยาลัยท�ำหน้าที่เป็น ศูนย์กลางของภาคีเครือข่ายในการแก้ไขปัญหาให้กบั โรงเรียนกองทุน มีการจัดสรรทุนการศึกษาในระดับ ปริญญาตรีให้กบั นักเรียนที่เรียนในวิชาชีพครู จัดส่ง นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตร์บณ ั ฑิตไปฝึกปฏิบตั กิ าร สอน เพื่อแก้ไขปัญหาการขาดแคลนครูในเบื้องต้น อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา เตรียมความพร้อมในการสอบ O – NET ซึง่ ผลจาก การด� ำ เนิ น งานท� ำ ให้ เ กิ ด โรงเรี ย นและเครื อ ข่ า ย คุ ณ ธรรม จริ ย ธรรม และมี ผ ลคะแนนการสอบ O - NET ที่ดีขึ้น

ขณะที่การบริหารจัดการเพื่อยกระดับคุณภาพ นักศึกษาสายวิชาชีพครู ซึ่งขณะนี้มีทั้งหมด 13 สาขาวิชา ใน 5 คณะ ประกอบด้วย คณะครุศาสตร์ คณะมนุ ษ ยศาสตร์ แ ละสั ง คมศาสตร์ คณะ วิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี คณะเทคโนโลยี สารสนเทศ และคณะเทคโนโลยีการเกษตร

แนวทางในการพัฒนามหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรตี อ่ ไป คือ การจัดตัง้ สถาบันเกลือทะเลไทย, จัดตัง้ ศูนย์ ทดสอบมาตรฐานอาหาร, พัฒนาโรงเรียนการอาหารนานาชาติ, จัดท�ำสมาร์ทฟาร์ม, สถาบันการจัดการ โลจิสติกส์, สถาบันช่างเมืองเพชร, ศูนย์ข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data), ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตทุกช่วงวัย, ศูนย์พัฒนาวิชาชีพครู, โรงผลิตยาสมุนไพร, ศูนย์ทดสอบการประหยัดพลังงานไฟฟ้า และได้รับการจัดอันดับ เป็นมหาวิทยาลัยสีเขียวโลก มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี มุ่งเน้นบัณฑิตที่มีคุณภาพมุ่งสู่สากล สร้างอัตลักษณ์ให้เป็นที่ยอมรับของ ผูใ้ ช้บณ ั ฑิตและสังคม โดยค�ำนึงถึงหลักกระจายโอกาสทางการศึกษาอย่างเท่าเทียม ให้สมกับเป็นมหาวิทยาลัย เพื่อพัฒนาท้องถิ่นที่เสริมสร้างพลังปัญญาของแผ่นดิน LOP BURI I SBL บันทึกประเทศไทย

(4

).indd 3

3

19/9/2561 15:29:18


มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี จัดโครงการ “จิตอาสาปลูกป่า และอนุรักษ์ฟื้นฟูป่าโป่งสลอด” เนื่องใน วันเฉลิมพระชนมพรรษา สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี เป็นมหาวิทยาลัย เพือ่ การพัฒนาท้องถิน่ และได้รบั อนุญาตจากกรมป่า ไม้ให้ใช้พื้นที่โป่งสลอด จ�ำนวน 1,300 ไร่ เพื่อเป็น ศูนย์วิจัยและทดสอบทางการเกษตร ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2537 โดยด�ำเนินการพัฒนาพื้นที่ด้วยการพัฒนา แหล่งน�้ำ ปลูกพืชเศรษฐกิจ ปลูกพืชสมุนไพร และ ก่อสร้างอาคารจ�ำนวน 1 หลัง เพื่อเป็นส�ำนักงาน ส�ำหรับปัญหาส�ำคัญของการพัฒนาประการหนึง่ คือ สภาพพื้นที่มีความแห้งแล้งและยากต่อการเจริญ เติบโตของพันธุ์ไม้ ในโอกาสมหามงคลเฉลิ ม พระชนมพรรษา สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทร เทพยวรางกูร มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ได้รวม พลั ง กั บ ประชาชนจาก 18 ต� ำ บล 15 องค์ ก ร 4

ปกครองส่วนท้องถิน่ ของอ�ำเภอบ้านลาด ข้าราชการ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม คณาจารย์ และนักศึกษา ของมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ด�ำเนินโครงการจิต อาสาปลูกป่าและอนุรักษ์ฟื้นฟูป่าโป่งสลอด เพื่อ เฉลิมพระเกียรติพร้อมแสดงความจงรักภักดีแด่ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทร เทพยวรางกูร เนื่องในโอกาสวันคล้ายวันพระราช สมภพ ประกอบด้วย ต้นรวงผึ้ง ต้นราชพฤกษ์ และ ต้นไม้พื้นถิ่น อาทิ ขี้เหล็ก มะขาม หว้า พะยูง ขนุน มะขามป้อม สะเดา ประดู่ ส�ำมะโรง สัก มะค่า

ไม้แดง และต้นตะเคียน รวม 2,866 ต้น และตลอด ทั้ งปี มีเ ป้ า หมายการปลู กอยู ่ ที่ 6,628 ต้ น เป็ น การเพิ่ มพื้ น ที่ ป ่ า สี เ ขี ยวให้ เ ป็ น พื้ น ที่ ป ่ า ที่ มี ค วาม อุดมสมบูรณ์อย่างยั่งยืน

โดยมีเป้าหมายคือให้พื้นที่แห่งนี้เป็น ป่าชุมชนและเป็นป่าการเรียนรู้ ด้านการ ท่องเที่ยว การอาหาร และยาสมุนไพร ของจังหวัดเพชรบุรี

SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบุรี

(4

).indd 4

19/9/2561 15:29:23


LOP BURI I SBL บันทึกประเทศไทย

(4

).indd 5

5

19/9/2561 15:29:28


“บรรยากาศสบายๆ ริมสระน�ำ้ และสวนที่ร่มรื่น”

P’ Private Resort Cha Am

รีสอร์ท สไตล์บูทิค บริการห้องพัก 18 ห้องสุพีเรีย เตียงเดี่ยว/คู่ 20 ตรม. 15 ห้องดีลักษ์ คู่ 20 ตรม. 1 ห้องแฟมิลี่ 2 ห้องนอน 1 ห้องนั่งเล่น สระน�้ำเปิดบริการ เวลา 07.00-23.00น.

บริการรับจัดงานเลี้ยง งานสังสรรค์ และงานแต่ง

พี ไพร เวท รีสอร์ท ชะอ�ำ อยู่บนถนนเพชรเกษม เพียง 10 นาที จากชายทะเลหาดชะอ�ำ อยู่ใกล้ใจกลาง สถานที่ท่องเที่ยว เช่น สวนน�้ำซันโตรินี สวิสชิฟฟาร์ม คาเมล รีพลับลิค พันธ์สุข และ พระราชวังมฤคทายวัน

www.facebook.com/Pprivateresortchaam

2

.indd 6

19/9/2561 11:07:07


WWW.PPRIVATERESORTCHAAM.COM 298 ม.3 บ้านนิคมพัฒนาตนเอง ต.เขาใหญ่ อ.ชะอ�ำ จ.เพชรบุรี โทร : 032-472-898 092-742-6968 ID Line : Pprivateresort

มีห้องประชุมสัมมนา มีห้องประชุมสัมมนา รองรับผู้เข้าร่วมประชุม จ�ำนวน 30 - 100 ท่าน แบ่งเป็นห้อง ประชุมใหญ่และห้องประชุมเล็กพร้อมอุปกรณ์ เช่น จอโปรเจคเตอร์ เครื่องเสียง ไมโครโฟน ไวท์บอร์ด ฯลฯ

2

.indd 7

19/9/2561 11:07:14


Juntima Boutique

จันทิมา บูติก

“จันทิ ม า บู ติ ก เงี ย บสงบ ล้ อ มรอบด้ ว ยไออุ ่ น ธรรมชาติ มองเห็ นวิ ว ของภู เขา” จันทิมา บูติก บริการห้องพัก พร้อม สิ่งอ�ำนวยความสะดวก เคเบิล ทีวีจอแบน เครื่ อ งปรั บ อากาศ และระบบน�้ ำ อุ ่ น พลังงานความร้อนจากเครือ่ งปรับอากาศ เป็ น มิ ต รต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ ม ฟรี Wi-Fi ทุกห้องและพื้นที่สาธารณะ แผนกต้อนรับ 24 ชัว่ โมง ทีจ่ อดรถ บริการรับฝากสัมภาระ และบริการรถรับ - ส่งถึงสนามบิน

8

SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบุรี

(2

).indd 8

19/9/2561 15:47:23


จั น ทิ ม า บู ติ ก มี ส ระว่ า ยน�้ ำ กลางแจ้ ง และมี จั ก รยานให้ ป ั ่ น ฟรี เพี ย ง 9 กิ โ ลเมตร จากตั ว เมื อ งชะอ� ำ และเพี ย ง 4 กิ โ ลเมตร จากซานโตริ นี พ าร์ ค ***บริ ก ารห้ อ งประชุ ม พร้ อ มรองรั บ ทุ ก การอบรม สัมมนา กว่า 500 ท่าน*** จันทิมา บูติก

225 ม.6 ต.ดอนขุนห้วย อ.ชะอ�ำ จ.เพชรบุรี 76120 094-551-4622, 090-328-9365 ,095-828-9398 juntima-b@hotmail.com Juntima. Boutique

LOP BURI I SBL บันทึกประเทศไทย

(2

).indd 9

9

19/9/2561 15:47:30


Ruentara Resort

“เรือนธารา” ที่พักสะอาด บรรยากาศดี ราคาเป็นกัน เอง

“เรือนธารารีสอร์ท” บริการห้องพัก ห้องประชุม สัมมนา รับน้อง จัดงานแต่งงาน งานเลี้ยงพบปะสังสรรค์ต่างๆ เรือนธารารีสอร์ท บ้านพักส่วนตัวริมน�ำ้ ตกแต่งแบบสไตล์เรียบง่าย บรรยากาศร่มรืน่ สะดวกสบาย ใกล้ชดิ กับธรรมชาติ เหมาะส�ำหรับการพักผ่อนกับครอบครัว เพื่อนฝูง เพื่อท�ำกิจกรรมสังสรรค์ โดยสามารถน�ำอาหารเข้ามาท�ำทานได้

10

SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบุรี

(2

).indd 10

19/9/2561 16:06:36


บริการ คาราโอเกะ เตาปิ้งย่าง เรือปั่นเล่นในน�้ำส�ำหรับลูกค้าจะได้ออกก�ำลังกาย พาลูกหลาน นั่งเรือเป็ด เรือฉลาม รอบรีสอร์ทมีศาลานั่งเล่นสัมผัสบรรยากาศ และรับ ลมยามค�่ำคืน สถานที่ใกล้เคียง หาดปึกเตียน หาดเจ้าส�ำราญ หาดชะอ�ำ ลูกค้าสามารถขับรถไป เทีย่ วได้สะดวก แล้วกับมาพักทีร่ สี อร์ท ทีจ่ ะท�ำให้คณ ุ หลับสบายไปถึงเช้า ตืน่ มาสูดอากาศ บริสุทธิ์ ที่โอบล้อมไปด้วยไอน�้ำและท้องทุ่งนา สัมผัสวิถีชีวิตของคนชนบท แบบเรียบง่าย สบายๆ สไตล์ เรือนธารารีสอร์ท เพชรบุรี

เรือนธารารีสอร์ท 99 หมู่.8 ต�ำบลหนองจอก อ�ำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี kawta 0813784002 เรือนธารารีสอร์ท เพชรบุรี 099-0940707 , 081-3570273

LOP BURI I SBL บันทึกประเทศไทย

(2

).indd 11

11

19/9/2561 16:06:49


bangtaboon Homestay

“บางตะบูน”

“ยินดีต้อนรับสู่บางตะบูนโฮมสเตย์ ที่พักโฮมสเตย์กึ่งรีสอร์ท กับบรรยากาศติดแม่น�้ำเพชรบุรี ปากแม่น�้ำบางตะบูน”

“บางตะบู น โฮมสเตย์ ” ที่ พั ก ที่ จะท�ำให้คุณได้ผ่อนคลาย สัมผัสกับ ความอิสระ หลีกหนีจากความวุน่ วาย สั ม ผั ส วิ ถี ชี วิ ต แบบเรี ย บง่ า ย กั บ บรรยากาศและกลิ่นอายทะเลในอีกรูป แบบที่ คุ ณ จะต้ อ งประทั บ ใจ พร้ อ ม สิ่งอ�ำนวยความสะดวก แอร์ Wi-Fi ทีวี พัดลม

คุ ณ จ ะ ไ ด ้ ลิ้ ม ล อ ง อ า ห า ร อร่อยๆ และสามารถเลือกซื้อของ ฝากถูกใจ เช่น ข้าวหลามบ้านกุม่ ฮ่อยจ้อเจ๊แดง ขนมหวานสูตรต้น ต�ำรับเมืองเพชร 12

SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบุรี

(2

).indd 12

19/9/2561 16:14:03


บันทึกเส้นทางพักผ่อน

บางตะบูนโฮมสเตย์ มีอาหารทะเลสดๆ ปรุง เป็นอาหารจานเด็ด โดยเจ๊แดงแม่ครัวฝีมือดี เจ้าของบางตะบูนโฮมสเตย์ ทีก่ ล้าการันตีในความ อร่อย ราคาไม่แพง พร้อมรับจัดท�ำอาหารตาม สั่งทุกเมนู (แจ้งล่วงหน้า) และบริการจัดอาหาร ชุดส�ำหรับแขกที่เข้าพัก บางตะบูนโฮมสเตย์ มีร้านอาหารไว้บริการ นั ก ท่ อ งเที่ ย วทั่ ว ไป โดยไม่ จ� ำ เป็ น ต้ อ งเข้ า พั ก มี อ าหารทะเลสดใหม่ ทุ ก วั น ราคาเป็ น กั น เอง เปิดเฉพาะเสาร์-อาทิตย์ สถานที่ท่องเที่ยวใกล้เคียง ไหว้พระหลวงพ่อทองวัดเขาตะเครา อัมพวา ฟาร์มหอยแครง

บางตะบูนโฮมสเตย์ 160/2 หมู่ 2 ต�ำบลบางตะบูน อ�ำเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี 76110 032-489070 084-1607879 LOP BURI I SBL บันทึกประเทศไทย

(2

).indd 13

13

19/9/2561 16:14:12


กนกพร รีสอร์ท จะมาเป็ นคู่ เป็ นแก๊ง หรือหมู่คณะ เรายินดีต้อนรับ ทุกรูปแบบ

14

SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบุรี

.indd 14

19/09/61 15:12:27


กนกพร รีสอร์ท บริการห้องพัก พร้อมสิ่งอ�ำนวยความสะดวก ตู้เย็น ทีวี เครื่ อ งท� ำ น�้ ำ อุ ่ น กาน�้ ำ ร้ อ น WiFi อาหารเช้ า บริการเป็นกันเอง ในราคาย่อมเยา

กิจกรรม

ตกปลา ปิ้ งย่าง จัดปาร์ตี ้

สถานที่ท่องเที่ยวใกล้เคียง

ล่องเรือดูปลาวาฬ วัดเขาตะเครา นั่งเรือไหว้พระชมวิถช ี ว ี ต ิ ชาวประมง

กนกพร รีสอร์ท

ตั้งอยู่ 47/8 หมู่ 4 ต�ำบลบางตะบูน อ�ำเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี

โทรศัพท์ ป้ าเล็ก 08-5299-4985 06-4727-1738

Go Ahead

Scan Me

PHPHETCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 15

15

19/09/61 15:12:22


Talk

EDITOR’S

PHETCHABURI 2018

คณะผู้บริหาร

นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย

คุณศุภกิจ ศิลปรังสรรค์

บรรณาธิการอ�ำนวยการ นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย

Tel : 08-1442-4445, 08-4874-3861 Email : supakit.s@live.com

หลายท่ า นคงเคยได้ ยิ น ประโยคที่ ว่า “หน้ า หวานเหมื อ นน� ำ้ ตาล เมื อ งเพชร” ค� ำชื่ น ชมหญิ ง สาวที่ มี ห น้ า ตาสวยหวานเปรี ยบดังน� ำ้ ตาล เมืองเพชร ท�ำไมต้ องเปรี ยบน� ้ำตาลเมืองเพชร น� ้ำตาลจังหวัดอื่นไม่หวาน หรื ออย่างไร ตอบเลยครับว่าน� ้ำตาลที่ไหนก็หวานเหมือนกัน แต่คงเพราะ จังหวัดเพชรบุรีเป็ นแหล่งผลิตน�ำ้ ตาลและขนมหวานมากจังหวัดหนึ่งใน ประเทศไทย จึงมีค�ำเปรี ยบเปรยเช่นนี ้ จังหวัดเพชรบุรี ไม่ได้ มีของดีแค่น� ้ำตาลและขนมหวาน นอกจากจะเป็ น เมืองที่มีความส�ำคัญทางประวัติศาสตร์ มาตังแต่ ้ ครัง้ อดีต จังหวัดเพชรบุรี ยัง เคยเป็ น สถานที่ ป ระทับ ของพระมหากษั ต ริ ย์ ใ นราชวงศ์ จัก รี ห ลาย พระองค์ มี แ หล่ ง ท่ อ งเที่ ย วทางธรรมชาติ ที่ น าทึ่ ง อยู่ จ� ำ นวนมาก เป็ น “เมือง 3 วัง 3 ทะเล 3 รส” ที่เป็ นจุดแข็งด้ านการท่องเที่ยวซึง่ ท่านฉัตรพร ราษฎร์ ดษุ ดี ผู้ว่าราชการจังหวัดหญิงคนแกร่ ง ก�ำลังท�ำหน้ าที่ขบั เคลื่อนให้ จังหวัดเพชรบุรีเป็ นเมือง “Travel for all” เพชรบุรีเที่ยวได้ ทกุ เพศทุกวัย เพื่ อให้ สอดคล้ องกับวิสัยทัศน์ การพัฒนาจังหวัดที่ ว่า “เมื องเศรษฐกิจ พอเพียงต้ นแบบ และเมืองน่ าอยู่ น่ ากิน น่ าเที่ยวระดับประเทศ” ผมขอขอบพระคุณท่านผู้วา่ ราชการจังหวัดเพชรบุรี หน่วยงานทังภาครั ้ ฐ และเอกชน ที่มอบโอกาสให้ นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย ได้ บนั ทึก เรื่ อ งราวความประทับ ใจในหลายมุม มองของจัง หวัด เพชรบุ รี หากมี ข้ อผิดพลาดประการใดทีมงานขอน้ อมรั บค�ำติชมจากทุกท่านด้ วยความ เคารพไว้ ณ โอกาสนี ้ครับ

คณะที่ปรึกษา ศ.ดร.กฤช เพิ่มทันจิตต์ พลเอกสรชัช วรปัญญา ดร.นิเวศน์ กันไทยราษฎร์ ดร.ประยุทธ คงเฉลิมวัฒน์ ดร.ชาญ ธาระวาส ดร.สุมิท แช่มประสิท ดร.วัลลภ อารีรบ ดร.พิชัย ทรัพย์เกิด ดร.ไอศูรย์ ดีรัตน์ ดร.สุเทษณ์ จันทรุกขา ดร.อรรถสิทธิ์ ตันติวิรัชกุล

9/4-6 ถนนรามอินทรา แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพฯ 10220 โทร. 0-2522-7171 แฟกซ์. 0-2971-7747 FACEBOOK : SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 16

EMAIL : sbl2553@gmail.com

บรรณาธิการบริหาร อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์

บรรณาธิการงานบุคคล พงษ์ศักดิ์ พรณัฐวุฒิกุล วนัสกฤษณ์ ศิลปรังสรรค์ ฝ่ายกฎหมาย สมคิด หวังเชิดชูวงศ์ ทวิช อมรนิมิตร

กองบรรณาธิการ

นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย

ฝ่ายประสานงานจังหวัด กชกร รัฐวร

ศิลปกรรม

บรรณาธิการฝ่ายศิลปกรรม พัชรา ค�ำมี

ฝ่ายประสานงานโครงการ ภาครัฐและเอกชน

ผู้จัดการ

นายอัครกฤษ หวานวงษ์

คณะทีมงาน

นางสาวสุษฎา พรหมคีรี นายนิรุจน์ แก้วเล็ก คุณศรัญย์ ภิระบรรณ์

กราฟิกดีไซน์

พิมพ์พิสุทธิ์ พังจูนันท์ วรเชษฐ สมประสงค์ จักรพันธ์ สิงห์ดี

ช่างภาพ

ชัยวิชญ์ แสงใส ปณต ปิติจารุวิศาล กิติวัฒน์ ทิศมั่ง วิทยา ประเสริฐสังข์

ตัดต่อวีดีโอ ฝ่ายประสานงานข้อมูล

หัวหน้ากองบรรณาธิการ ฝ่ายประสานงานข้อมูล นันท์ธนาดา พลพวก

กองบรรณาธิการ ฝ่ายประสานงานข้อมูล

ศุภญา บุญช่วยชีพ นงลักษณ์ เทียมเกตุทวีโชค

บริษัท สมาร์ท บิซิเนส ไลน์ จ�ำกัด

บรรณาธิการอ�ำนวยการ ศุภกิจ ศิลปรังสรรค์

นักเขียน

คุณิตา สุวรรณโรจน์

วัชรกรณ์ พรหมจรรย์ ฝ่ายบัญชี/การเงิน

บัญชี

ปัฐมาภรณ์ แสงบุราณ

การเงิน

สุจิตรา แดนแก้วนิต จันทิพย์ กันภัย ณภัทร ชื่นสกุล ชวัลชา นกขุนทอง

www.sbl.co.th

15/9/2561 11:54:14


“เก็บความทรงจ�ำ ความสนุก ความสุข เวลาที่คุณจะปล่อยวางในทุกสิ่ง...”

ชะอ�ำวิลล่ากรุ๊ป

บริการ

บริการรับ – ส่งในบริเวณใกล้เคียง บริการเช่ารถจักรยานยนต์ และรถจักรยาน บริการแท็กซี่ จองตั๋วรถไฟ รถทัวร์ รถตู้ และ รถรับส่งไป – กลับสนามบิน ช่วยจองตั๋วเครื่องบินภายในประเทศ/ระหว่าง ประเทศ และเรือเฟอรี่หัวหิน - พัทยา เช่ า บานาน่ า โบ๊ ท เจ็ ท สกี ห่ ว งยาง ขี่ ม ้ า และ อุปกรณ์สันทนาการริมหาดอื่นๆ

ชะอ�ำวิลล่ากรุ๊ป ที่พักติดชายหาดชะอ�ำ ที่มี ห้องพักหลากหลายให้ทุกท่านได้เลือกสรร ตามความต้องการ ห้องพักแบบมาตรฐาน ห้องพักแบบวีไอพี บ้านหลังส�ำหรับครอบครัวใหญ่ พูลวิลล่า ห้องพักริมสระน�้ำ ห้องพัก พร้อมอาหารเช้า ที่ พั ก ส� ำ หรั บ หมู ่ ค ณะ พร้ อ มห้ อ งสั ม มนา และห้องประชุมพร้อมสิง่ อ�ำนวยความสะดวก ครบครัน โรงแรมชะอ�ำวิลล่ากรุ๊ป 241/2 ถนนร่วมจิตต์ ต�ำบลชะอ�ำ อ�ำเภอชะอ�ำ จังหวัดเพชรบุรี 76120 www.chaamvillagroup.com #ชะอ�ำวิลล่า 080 – 6529918 (โรงแรมชะอ�ำวิลล่าบีช) 090 – 4412926 (โรงแรมชะอ�ำวิลล่าซัน) 099 – 5537866 (โรงแรมชะอ�ำวิลล่า) LOP BURI I SBL บันทึกประเทศไทย

(1

).indd 17

17

19/9/2561 16:17:52


CONTENTS P H E TC H A B U R I

2561

ฉบับที่ 79 จังหวัดเพชรบุรี พ.ศ.2561

22

ใต้ร่มพระบารมี “โครงการชั่งหัวมัน ตามพระราชด�ำริ”

ด้วยพระบารมีของพระบาทสมเด็จพระปริมินทรมหาภูมพลอดุลยเดช บรมนามบพิตร ท�ำให้ประชาชนในพื้นที่จังหวัดเพชรบุรี และจังหวัดใกล้เคียงได้ศึกษาเรียนรู้วิธีการท�ำเกษตร ในแบบเศรษฐกิจพอเพียง วิถีเกษตรที่จะท�ำให้เกษตรกรอยู่ได้อย่างยั่งยืน

29

EXCLUSIVE

บันทึกเส้นทางพบผู้ว่าราชการจังหวัดเพชรบุรี “Travel for all” เพชรบุรีเที่ยวได้ทุกเพศทุกวัย

ท่านฉัตรพร ราษฎร์ดุษดี

ผู้ว่าราชการจังหวัดผู้หญิงคนแรกของจังหวัดเพชรบุรี และเป็นผู้ว่าราชการจังหวัดที่เป็นผู้หญิงคนเดียวของประเทศไทย ในปี 2561

50 54

บันทึกเส้นทางพบท้องถิ่นจังหวัด บันทึกเส้นทางพบส�ำนักงาน พระพุ ทธศาสนาจังหวัดเพชรบุรี

90 94

โรงเรียนชะอ�ำคุณหญิงเนื่องบุรี ขนมหม้อแกงแม่กิมไล้

@อุทยานประวัติศาสตร์พระนครคีรี

98

วัดใหญ่สุวรรณาราม ชมความคลาสสิกของวัดเก่าแก่ที่เป็นพระอารามหลวง วัดใหญ่สุวรรณาราม วัดในสมัยของพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5

104

วัดพระรูป เจดีย์องค์นี้น่าจะได้แบบอย่างรูปทรงพระปฐมเจดีย์ แต่มีลักษณะพิเศษที่ไม่เหมือนวัดอื่น คือส่วนยอด ของเจดีย์ทำ� เป็นปล้องไฉน

60

บันทึกเส้นทางความเป็นมา ของจังหวัดเพชรบุรี

68

บันทึกเส้นทางท่องเที่ยว ของจังหวัดเพชรบุรี

86

นายกสมาคมศิษย์เก่า โรงเรียนพรหมานุสรณ์

.indd 18

บานประตูศาลาการเปรียญ สลักงามเป็นลายก้านขดปิดทองอย่างวิจิตร และมีรอยขวานหรือรอยมีดฟันอยู่ 1-2 แห่ง

พระเจดีย์ใหญ่หลังอุโบสถ

18/9/2561 15:57:39


.indd 19

15/9/2561 13:32:46


P H E TC H A B U R I

2561

อักษรย่อจังหวัดเพชรบุรี

ฉบับที่ 79 จังหวัดเพชรบุรี พ.ศ.2561

ร่องรอยของผู้คนในอดีตในเขต จังหวัดเพชรบุรี ปรากฏหลักฐาน ในรูปของโบราณวัตถุ โบราณสถาน แหล่งที่อยู่อาศัยหลงเหลืออยู่ทั่วไป ตั้งแต่ในช่วงที่เป็นชุมชนสมัยก่อน ประวัติศาสตร์พบหลักฐาน แถบภูเขา ทางตะวันตกในเขตอ�ำเภอ ท่ายาง จวบจนสังคมพัฒนาขึ้นภายใต้ วัฒนธรรมแบบทวารวดี ก็พบร่องรอย ของชุมชนเหล่านี้ในหลายพื้นที่ เช่น กลุ่มผลิตรูปเคารพหนองปรง ในเขต อ�ำเภอเขาย้อย กลุ่มบ้านหนองพระ เนินโพธิ์ใหญ่ เนินดินแดง วัดป่าแป้น ในเขต อ�ำเภอบ้านลาด กลุม่ เขากระจิว ในเขตอ�ำเภอท่ายาง กลุ่มทุ่งเศรษฐี ในเขตอ�ำเภอชะอ�ำ แต่ในลุ่มแม่น�้ำ เพชรบุรีก็ยังไม่พบ หลักฐานของเมือง ที่มีคูน�้ำคันดินล้อมรอบแบบเมือง ทวารวดีที่ พบทั่วไปใน ลุ่มแม่น�้ำ ส�ำคัญอื่นๆ ในแถบภาคกลางของไทย แต่ก็พบหลักฐานโบราณวัตถุแบบ ทวารวดี คือธรรมจักรหินในบริเวณ ชุมชนเก่าทางฝั่งตะวันออกของแม่น�้ำ เพชรบุรี

110

วัดโพธิ์ทัยมณี “พระบรมสารีริกธาตุทัยมณี” พระบรมอัฐธิ าตุขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ที่แท้จริง ประดิษฐาน ณ มณฑปวัดโพธิ์ทัยมณี ต.บางจาน อ.เมืองเพชรบุรี จ.เพชรบุรี

116

วัดหาดเจ้าส�ำราญ “พระพุทธศรีศักดิ์สิทธิ์เป็นที่กล่าวขาน กระดูกโครงปลาวาฬใหญ่ หลวงตาไก่เทศน์ให้ฟัง ชมภาพผนังอุโบสถ อาหารสด ทะเลงาม”

134

122

วัดเขาย้อย

วัดถ�้ำแก้ว บริเวณที่ตั้งวัดอาจจะมีถ�้ำ ชาวบ้านต่างเล่าขานกันมาว่า ภายในถ�ำ้ มีนำ�้ แข็งตลอดปีอกี ด้วย ไม่แน่วา่ น�ำ้ เย็นจนแข็งตัว หรือน�้ำเป็นน�้ำแข็งแบบมหัศจรรย์ ถ้ามีอยู่จริงน่าจะมี การพิสูจน์ค้นหาร่องลอย เพื่อพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยว

ครั้งเมื่อพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 ทรงผนวช ก่อน พ.ศ.2394 พระองค์ได้เสด็จธุดงค์วัตร มาปักกลดวิปัสสนา ที่หน้าเขาย้อยและทรงมาประทัพ นั่งกรรมฐานในถ�้ำเข้าย้อย ซึ่งภายในถ�้ำเป็นที่ประดิษฐาน พระพุทธไสยาสน์ พระพุทธบาทจ�ำลอง พระพุทธรูปปางต่างๆ

146

วัดหุบกะพง

148

วัดโพธิ์สุวรรณ

150

วัดไตรรัตน์เจริญผล

152

วัดชลธราราม

154

วัดพระพุ ทธบาทเขาลูกช้าง

156

วัดตาลกง

158

วัดหนองเตียน

160

วัดแม่ประจันต์

165

วัดห้วยตาแกละ

166

วัดท่ากระเทียม

168

วัดห้วยเสือ

170

วัดเขาทะโมน

172

วัดท่าไชยศิริ

173

วัดยางน�้ำกลัดเหนือ

174

วัดบางหอ

179

วัดเขาพระ

138

วัดป่าเขารักษ์

180

วัดห้วยทรายใต้

140

วัดวังพุ ไทร

183

วัดหนองเผาถ่าน

145

วัดพุ ตะเคียน

184

124

วัดหนองควง

126

วัดท้ายตลาด

วัดช้าง

128

วัดเพรียง

130

วัดหนองปืนแตก

133

.indd 20

วัดนายาง

136

วัดกุฎีดาว

“พบ”

เพชรบุรีในวัฒนธรรมเขมรโบราณ เมื่อชุมชนในแถบลุ่มแม่น�้ำเพชรบุรี ได้รับอิทธิพลวัฒนธรรมเขมรโบราณ ในช่วงเวลานี้น่าจะมีการพัฒนาขึ้น ในระดับหนึ่ง คงมีการสร้างเมือง ในรูปแบบของวัฒนธรรมเขมร โบราณ เป็นรูปสี่เหลี่ยมขึ้นที่ทางฝั่งตะวันออก ของแม่น�้ำเพชรบุรี (ปัจจุบันอยู่ในเขต ต�ำบลช่องสะแก อ�ำเภอเมืองเพชรบุรี) ผลจากการศึกษาจากภาพถ่ายทาง อากาศ (โดยผ่องศรี วนาสิน และ ทิวา ศุภจรรยา) พบว่าบริเวณเมือง เพชรบุรีมีร่องรอยของแนวคูเมืองและ ก�ำแพงเมือง ที่มีผังเป็นรูปสี่เหลี่ยม ที่ใกล้จะเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสมากกว่า สี่เหลี่ยมผืนผ้า ความยาวของแนว คูเมืองก�ำแพงเมืองแต่ละด้านกว่า 1 กิโลเมตร เมืองนี้ใช้แม่น�้ำเพชรบุรี เป็นคูเมืองด้านทิศตะวันตก ลักษณะ ของผังเมืองที่เป็นรูปสี่เหลี่ยมแบบ สม�่ำเสมอเป็นเมือง ที่มีอายุหลัง สมัยทวารวดีมักพบมากในช่วงที่ได้รับ อิทธิพลวัฒนธรรมเขมรโบราณลงมา จนถึงสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้น จึงอาจกล่าวได้ว่าร่องรอยของแนว คูเมืองก�ำแพงเมืองที่หลงเหลืออยู่นี้ เป็นร่องรอยของเมืองตัง้ แต่ในช่วงทีไ่ ด้รบั อิทธิพลวัฒนธรรมเขมร หลักฐาน ที่เป็นเครื่องสนับสนุนความเป็นบ้าน เป็นเมืองในช่วงเวลานี้คือ โบราณ สถานที่วัด ก�ำแพงแลง อันได้แก่ ปรางค์ศิลาแลง 5 องค์ ลักษณะทาง สถาปัตยกรรมและรูปเคารพที่ได้จาก บริเวณนี้ล้วนมีอิทธิพล ศิลปเขมร โบราณแบบบายน ที่มีอายุอยู่ในราว พุทธศตวรรษที่ 18-19 และถ้าหาก เชื่อว่าเมืองนี้คือหนึ่งในเมืองที่ พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 แห่งราช อาณาจักรกัมพูชาได้ทรงประดิษฐาน พระชัยพุทธมหานาถไว้ เมืองนี้ ก็คือ เมืองศรีชัยวัชรบุรี

“เขาวังคู่บ้าน ขนมหวาน เมืองพระ เลิศล�้ำศิลปะ แดนธรรมะ ทะเลงาม” ค�ำขวัญของจังหวัดเพชรบุรี

CO N T E N TS

18/9/2561 15:57:49


สี่ร้อยวา รีสอร์ท SeeroiwaaResort

“สีร่ อ้ ยวา รีสอร์ท” หนองหญ้าปล้อง แก่ ง กระจาน รี ส อร์ ท เล็ ก ๆ บนเนื้ อ ที่ 1 ไร่ ห้องพักสะอาด ติดถนนเข้า – ออก เดินทาง สะดวกสบาย บริการแบบเป็นกันเอง ห้องพัก เปิดให้บริการทั้งหมด 14 ห้อง เป็นห้องพัก เตียงเดี่ยว และห้องสองเตียงเตียงคู่ รวมไป ถึงบ้านหลังใหญ่ พักรวมแบบครอบครัว ราคาเริ่มต้น 500 – 1000 บาท

ห้องพักใกล้แหล่งสถานที่ท่องเที่ยว แบบใกล้ชิดธรรมชาติ และการมา สักการะ สิ่งศักดิ์สิทธิ์ในต�ำบล บ้านท่าตะคร้อ ติดถนนทางหลวง แผ่นดิน 3349 อ�ำนวยความ สะดวกด้วย ทีวี แอร์ น�้ำอุ่น free-wifi และเครื่องดื่ม ชา กาแฟ โอวั ล ติ น ฟรี เปิ ด ให้ บริการทุกวันตลอด 24 ชม. สถานที่ท่องเที่ยวใกล้เคียง • น�้ำตก-ตลาดน�้ำกวางโจว • พุน�้ำร้อนหนองหญ้าปล้อง • เจ้าแม่กวนอิมพันมือ • พระรูปขนาดใหญ่หลวงพ่อโต (สมเด็จพระพุฒาจารย์ โต พรหมรังสี) วัดยางน�้ำกลัดใต้

สี่ร้อยวา รีสอร์ท 47 ม.8 ต�ำบลท่าตะคร้อ อ�ำเภอ หนองหญ้าปล้อง จังหวัดเพชรบุรี 061-1628025 SeeroiwaaResort LOP BURI I SBL บันทึกประเทศไทย

(1

).indd 21

21

14/9/2561 15:08:16


UNDER HIS GRACIOUSNESS บันทึกเส้นทางใต้ร่มพระบารมี

“ พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทร มหาภูมพ ิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงซือ้ ทีด่ นิ จากราษฎร ประมาณ 120 ไร่ ณ บริเวณอ่างเก็บน�้ำหนองเสือ บ้าน หนองคอไก่ หมู่ที่ 5 ต�ำบล เขากระปุก อ�ำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี ต่อมา ปี พ.ศ. 2552 ทรงซือ้ ทีด่ นิ แปลงติดกัน เพิ่มอีก 130 ไร่ รวมทั้งหมด 250 ไร่ จากนั้นทรงมีด�ำริให้ท�ำเป็นโครงการ ตั ว อย่ า งด้ า นการเกษตร รวบรวม พั น ธุ ์ พื ช เศรษฐกิ จ ในพื้ น ที่ จั ง หวั ด เพชรบุรีและพื้นที่ใกล้เคียง มาปลูกไว้ ที่นี่ โดยเริ่มด�ำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 13 กรกฎาคม 2552 เป็นต้นมา”

22

SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบุรี

.indd 22

19/9/2561 13:55:34


โครงการชั ่ ง หั ว มั น ตามพระราชด�ำริ (จังหวัดเพชรบุรี)

สภาพพืน้ ทีโ่ ดยทัว่ ไป แห้งแล้ง เป็นดินปนทรายและหินลูกรัง เจ้าของทีด่ นิ เดิมปลูกต้น ยูคาลิปตัสไว้ตดั ขาย ซึง่ เหลือแต่ตน้ ทีง่ อก มาจากต้นตอเดิมเต็มพืน้ ที่ มีแปลงมะนาวเดิมอยูป่ ระมาณ 35 ไร่ และแปลงปลูกอ้อย 30 ไร่ จึงได้พฒ ั นาพืน้ ทีใ่ ห้เป็นแปลงปลูกพืช เศรษฐกิจ ซึ่งมีทั้งพืชผักสวนครัว นาข้าว สวนผลไม้ ยางพารา มะพร้าว สับปะรด พืชไร่ ฯลฯ โดยปรับปรุงพัฒนาพื้นที่ เช่น การท�ำถนนเข้าโครงการ ขุดสระเก็บน�ำ ้ ท�ำรัว้ รอบโครงการ ก่อสร้าง อาคาร และสาธารณูปโภค ติดตัง้ ระบบไฟฟ้าแสงสว่าง ขุดเจาะ บ่อน�้ำบาดาล ท�ำระบบชลประทาน ท�ำให้พื้นที่โครงการ และ หมูบ่ า้ นใกล้เคียงมีความเจริญขึน้ อย่างรวดเร็ว

PHETCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 23

23

19/9/2561 13:55:45


เกิดเหตุการณ์ความคิดเห็นต่างกันทางการ เมื อ งในปี พ.ศ. 2551 สร้ า งความไม่ ส งบ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงน�ำหัวมันเทศวางไว้บน ตาชัง่ ทีต่ งั้ อยูบ่ นโต๊ะทรงงาน เพือ่ เป็นคติเตือนใจ “ชัง่ หัวมัน” หัวมันเทศเมือ่ วางอยูน่ านก็งอกแตก ต้นและใบออกมา ทรงให้นำ� ต้นมันนั้นไปเพาะ เลี้ยงไว้ในเรือนเพาะช�ำ แล้วน�ำมันเทศหัวใหม่ มาวางไว้บนตาชั่งแทน ท�ำให้ในเรือนเพาะช�ำมี แต่ตน้ มันเทศ ทรงมีดำ� ริวา่ หัวมันเทศวางไว้บน ตาชั่งไม่มีดินและน�้ำยังงอกได้ แต่ที่ดินแปลงนี้ มีดินและพอมีน�้ำอยู่บ้างก็น่าจะปลูกมันเทศได้ จึงทรงพระราชทานต้นมันเทศจากเรือนเพาะช�ำ มาปลูกไว้ทนี่ ี่ และพระราชทานชือ่ โครงการนีว้ า่ “โครงการชั่งหัวมัน ตามพระราชด�ำริ”

วัตถุประสงค์

1. เพื่ อ ให้ เ ป็ น แหล่ ง รวบรวมพั น ธุ ์ พื ช เศรษฐกิจ พืชพันธุด์ ขี องอ�ำเภอท่ายาง และของ จังหวัดเพชรบุรี

24

2. เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านการเกษตรแก่ เกษตรกร 3. เพือ่ ให้ประชาชนในพืน้ ทีเ่ ข้ามามีสว่ นร่วม ในการจัดท�ำแปลงหรือมาช่วยงานพระองค์ เป้าหมาย

โครงการชั่ ง หั ว มั น ตามพระราชด� ำ ริ มี เป้าหมายในการสนองพระราชประสงค์และ พระราชด�ำริของพระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ให้เป็น ศูนย์รวมพันธุ์พืชเศรษฐกิจของอ�ำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี และพื้นที่ใกล้เคียงรวมทั้งการ จัดการฟาร์มโคนม และโรงเลี้ยงไก่ไข่ โรงงาน แปรรูปผลิตภัณฑ์นม ซึ่งมีผลิตภัณฑ์นมพาส เจอร์ไรส์ และสเตอริไรส์ ตลอดจนมีหน่วย ทดลองพลังงานทดแทน เช่น ทุ่งกันหันลม พลังงานแสงอาทิตย์ และไบโอดีเซล ทัง้ นีห้ น่วย งานทั้งภาครัฐและเอกชน รวมถึงชาวบ้านที่อยู่ พื้นที่ใกล้เคียงได้เข้ามาร่วมกันบ�ำรุงดูแลรักษา และแลกเปลีย่ นความรูค้ วามคิดเห็นตามวิถกี าร ด� ำ รงชี วิ ต เกษตรกรรมตามหลั ก ปรั ช ญาของ เศรษฐกิจพอเพียง

“...โครงการชั่งหัวมันตามพระราชด�ำริ ได้ ด�ำเนินการผลิตผลิตภัณฑ์เกษตรที่ปลอดภัย จากสารพิษ ภายใต้การควบคุมก�ำกับดูแลขั้น ตอนการผลิ ต อย่ า งใกล้ ชิ ด โดยนั ก วิ ช าการ เกษตรทีม่ คี วามช�ำนาญเพือ่ ให้ได้ผลิตภัณฑ์ทมี่ ี คุณภาพผ่านการเก็บเกีย่ วรวบรวมผลิตภัณฑ์ที่ ถูกต้องตามหลักวิชาการ การคัดเลือก คัดแยก และบรรจุ เพื่อส่งถึงผู้บริโภค ให้มั่นใจได้ว่า ผู้บริโภคจะได้รับผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพ...” ปัจจุบนั โครงการชัง่ หัวมัน ตามพระราชด�ำริ ได้กา้ วเข้าสูก่ ารเป็นแหล่งเรียนรูท้ างการเกษตร อีกแห่งหนึ่ง ที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช บรมนาถบพิ ต ร ทรง พระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระบรม ราชานุญาต ให้ผู้ที่สนใจเข้าศึกษาดูงาน และ

SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบุรี

.indd 24

19/9/2561 11:21:38


“ด้วยพระบารมีของพระบาทสมเด็จ พระปริมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ท�ำให้ประชาชนในพื้นที่ จังหวัดเพชรบุรีและจังหวัดใกล้เคียง ได้ศึกษาเรียนรู้วิธีการท�ำเกษตรในแบบ เศรษฐกิจพอเพียง วิถีเกษตรที่จะท�ำให้ เกษตรกรอยู่ได้อย่างยั่งยืน”

เปิดให้เข้าชมได้จากจุดเริม่ ต้นทีม่ าจากพืน้ ที่ ที่แห้งแล้งและเสื่อมโทรม กลับกลายเป็นพื้นที่ สีเขียว ที่สามารถเพาะปลูกพืชสวนครัวและ พันธุ์พืชต่างๆ รวมทั้งการปศุสัตว์ การแปรรูป ผลิตภัณฑ์นม และหน่วยพลังงานทดแทน ซึ่งมี ทั้งนักเรียน นิสิต นักศึกษา เกษตรกร และ ประชาชนทั่วไป รวมทั้งหน่วยงานต่างๆ ทั้ง ภาครัฐ และเอกชน ภิกษุ สามเณร ตลอดจน ชาวต่างชาติ เข้าเยีย่ มชมกิจกรรมของโครงการฯ เพิ่มมากขึ้นเป็นล�ำดับ กิจกรรมโครงการ

การใช้กงั หันลมผลิตไฟฟ้าเพือ่ เป็นพลังงาน ทดแทน การผลิตพืชปลอดภัยจากสารพิษ การสาธิตการปลูกสบู่ดำ� การปลูกข้าวสายพันธุ์ต่างๆ แปลงศึกษาและส่งเสริมการผลิตชมพูเ่ พชร สายรุ้ง แปลงศึกษาและส่งเสริมการผลิตหน่อไม้ ฝรั่ง การท�ำปุ๋ยหมัก การปลู ก ไม้ ผ ล พื ช ไร่ ประกอบด้ ว ย แก้วมังกร กล้วยน�้ำว้า กล้วยหักมุก มะละกอ มะนาว ฟักทอง กล้วย อ้อย มะพร้าวน�ำ้ หอม มะพร้าวห้าว ฯลฯ การปลู ก พื ช ผั ก ประกอบด้ ว ย มั น เทศ กระเพรา โหระพา พริ ก พั น ธุ ์ ซุ ป เปอร์ ฮ อต มะเขือเทศราชินี กระเจี๊ยบเขียว วอเตอร์เครส มะระขี้นก ผักหวานบ้าน ฯลฯ

ผลิตภัณฑ์

โครงการชั่งหัวมัน ตามพระราชด�ำริ ได้ ด�ำเนินการผลิต ผลิตภัณฑ์เกษตรที่ปลอดภัย จากสารพิษ ภายใต้การควบคุมก�ำกับดูแลขั้น ตอนการผลิ ต อย่ า งใกล้ ชิ ด โดยนั กวิ ช าการ เกษตรที่มีความช�ำนาญ เพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ที่ มีคณ ุ ภาพ ผ่านการเก็บเกีย่ วรวบรวมผลิตภัณฑ์ ทีถ่ กู ต้องตามหลักวิชาการ การคัดเลือก คัดแยก และบรรจุ เพื่อส่งถึงผู้บ ริโ ภคให้มั่นใจได้ว่า ผู ้ บ ริ โ ภคจะได้ รั บ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ มี คุ ณ ภาพ โดยผลิ ต ภั ณ ฑ์ จ ากโครงการชั่ ง หั ว มั น ตาม พระราชด�ำริ จะมีวางจ�ำหน่ายเฉพาะที่ร้าน โกลเด้น เพลซ ขอบคุณข้อมูล : ส�ำนักงาน กปร. PHETCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 25

25

19/9/2561 11:21:44


รายาราชพฤกษ์ Raya Ratchapruek Boutique Raya Ratchapruek Boutique Hotel บริ การห้ อ งพั กพร้อมสิ่งอ�ำนวยความ สะดวก อาทิ เครือ่ งปรับอากาศ โทรทัศน์ จอแบน ฟรี WiFi พืน้ ทีจ่ อดรถส่วนตัวฟรี แผนกต้อนรับเปิดตลอด 24 ชัว่ โมง ราคา 500 บาทพร้อมอาหารเช้าเตียงเดีย่ ว ราคา 600 บาทพร้อมอาหารเช้าเตียงคู่

Raya Ratchapruek Boutique Hotel อยู่ ในตัวเมืองเพชรบุรี

ห่างจากอุทยานประวัติศาสตร์ พระนครคีรี 6 กม. ห่างจากพระรามราชนิเวศน์ (พระราชวังบ้านปืน) 3.5 กม. ห่างจากวัดก�ำแพงแลง 4.1 กม. สถานที่ใกล้เคียง เขาวัง หาดเจ้าส�ำราญ

โรงแรมรายาราชพฤกษ์

102 ม.4 ต�ำบลโพไร่หวาน อ�ำเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี 76000 032-405581-2 , 099-2585588 Jariya.boonphon@gmail.com 26

.

SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบุรี

.indd 26

19/9/2561 16:22:13


ไหมทองธารา MAITHONG TARA

Maithong TARA บริ ก ารห้ อ งพั ก สบายๆ บรรยากาศ เรียบง่าย สไตล์โมเดิร์น มีสระว่ายน�้ำระบบ เกลือให้บริการ ไม่ท�ำให้เกิดการระคายเคือง ต่อผิวหนัง เหมาะส�ำหรับลูกค้าที่มาเป็นหมู่ คณะหรือพนักงานบริษัท ที่มาติดต่องานใน ตั ว เมืองจังหวัดเพชรบุรี สะดวกสบายใน การเดินทาง Maithong TARA 27 หมู่ 1 ต�ำบลบ้านหม้อ อ�ำเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี 095-978-2914 , 089-897-3021

ไหมทองริเวอร์ไซด์ MAITHONG RIVERSIDE รี ส อร์ ท สะอาด บรรยากาศริ ม แม่ น�้ ำ เน้นบรรยากาศทีส่ งบร่มรืน่ ใกล้ชดิ ธรรมชาติ มีระเบียงส�ำหรับรับลมชมวิวริมแม่นำ�้ เพชรบุรี เหมาะส� ำ หรั บ ลู ก ค้ า ที่ ต ้ อ งการมาพั ก ผ่ อ น อย่างเต็มที่ ไม่ไกลจากใจกลางเมืองเพชรบุรี ใช้เวลาเดินทางเพียง 10-15 นาที Maithong Riverside 168 หมู่ 1 ต�ำบลบ้านหม้อ อ�ำเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี 095-978-2914 , 089-897-3021 LOP BURI I SBL บันทึกประเทศไทย

&

.indd 27

27

14/9/2561 15:13:46


1

.indd 28

19/9/2561 11:12:35


เพชรบุรีเที่ยวได้ทุกเพศทุกวัย

“Travel for all”

สารผู้ว่าราชการจังหวัด

เพชรบุรี

ผู้ว่า ราชการจัง หวัดผู้หญิงคนแรกของจังหวัดเพชรบุรี และเป็นผู้ว่า ราชการจัง หวัดที่เป็นผู้หญิงคนเดียว ของประเทศไทย ในปี 2561

นางฉัตรพร ราษฎร์ดุษดี

หากกล่ า วถึ ง เพชรบุ รี มั่ น ใจว่ า หลายท่ า นต้ อ งนึ ก ถึ ง น�้ ำ ตาล และ มักจะได้ยินประโยคที่ชื่นชมหญิงสาวว่า “หน้าหวานเหมือนน�้ำตาลเมืองเพชร”

ซึ่ ง ก็ เ ป็ น หลากหลายมุ ม มองของคน ทัว่ ไปทีม่ องจังหวัดเพชรบุรี แต่จริงๆ แล้ว เพชรบุรีเป็นเมืองท่องเที่ยวทางทะเล ที่ใกล้ที่สุดถ้านับจากกรุงเทพมหานคร มีสถานที่ท่องเที่ยว ให้ทั้งชาวไทยและ ชาวต่างชาติได้ประทับใจ เช่น มีวัดวา อาราม มีพระราชวังเก่าแก่ที่ทรงคุณค่า ทางประวัติศาสตร์ถึง 3 แห่ง มีชายหาด

ดังนั้นจึงเชื่อได้ว่าหลายท่านที่ได้ เคยมาเทีย่ วจังหวัดเพชรบุรแี ล้ว ยังอยาก จะกลั บ มาเยื อ นอี ก ครั้ ง โดยเฉพาะ วันหยุดสุดสัปดาห์ และวันเสาร์-อาทิตย์ ขั บ รถสั ก 2-3 ชั่ ว โมง มารับประทาน ข้ า วแช่ ก๋ ว ยเตี๋ ย วเจ๊ ก เม้ ง ลอดช่ อ ง น�้ำตาลโตนด เมืองเพชร ที่ส�ำคัญถ้าจะ พักค้างแรม สามารถเลือกได้ตามความ ต้องการ จากทีด่ ฉิ นั มาอยูท่ เี่ พชรบุรี 2 ปี สามารถกล่าวยืนยัน ได้ว่าเพชรบุรี เป็น เมืองท่องเที่ยว “Travel for all” คือ รองรับนักท่องเที่ยวได้ทุกคน ทุกเพศ ทุกวัย และทุกระดับ ไม่ว่านักท่องเที่ยว จะชอบแบบไหนเรารองรับได้ทกุ รูปแบบ คือ “ชม ชิม ช้อป” นี่คือสิ่งที่เป็นจุดแข็ง ของจังหวัดเพชรบุรี ที่อยากจะฝากไว้ กับคนไทยทุกคน ดิฉันขอขอบคุณทุกๆ หน่วยงาน ทุกภาคส่วน ทั้งภาครัฐ เอกชน และ ประชาชน ที่ร่วมมือกันเป็นอย่างดีใน การพั ฒนาด้ า นการท่ อ งเที่ ยวและอี ก หลายด้านของจังหวัดเพชรบุรดี ว้ ยความ สามัคคี และขอขอบคุณนิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย ทีช่ ว่ ยประชาสัมพันธ์ ให้จั ง หวั ด เพชรบุ รี นั้ น ได้ เ ป็ น ที่ รู ้ จั ก อย่ า งกว้างขวางต่อไป

ที่งดงาม มีอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ น�้ ำ ตก ภู เ ขา ป่ า ไม้ ป่ า ชายเลน เรี ย กได้ ว ่ า ครบทุ ก รส ดั ง ค� ำ ขวั ญ ประจ� ำ จั ง หวั ด “เขาวั ง คู่ บ้ า น ขนมหวานเมื อ งพระ เลิ ศ ล�้ ำ ศิ ล ปะ แดนธรรมะ ทะเลงาม”

นอกจากนี้ยังมีแหล่งท่องเที่ยวที่ สร้างขึน้ มาส�ำหรับเด็ก วัยรุน่ และทุกคน ในครอบครัว เช่น Camel Republic

ซานโตริ นี่ พาร์ ค Swiss Sheep Farm เป็นต้น

(นางฉัตรพร ราษฎร์ดุษดี) ผู้ว่าราชการจังหวัดเพชรบุรี

SBL บั น ทึ กประเทศไทย จั งหวั ดเพชรบุ รี พ.ศ. 2561

.indd 29

19/9/2561 17:21:30


EXCLU S IV E INT E R V IE W

บันทึกเส้นทางพบผู้ว่าราชการจังหวัดเพชรบุรี

ผู้ว่าราชการจังหวัดผู้หญิงคนแรก ของจั ง หวั ด เพชรบุรี และเป็นผู้ว่าราชการจังหวัด ที่ เ ป็ น ผู้ หญิ ง คนเดียว ของประเทศไทย ในปี 2561 นางฉัตรพร ราษฎร์ดุษดี 30

SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบุรี

.indd 30

17/9/2561 17:01:41


ผู้ว่าราชการจังหวัดเพชรบุรี

“Travel for all”

เพชรบุรีเที่ยวได้ทุกเพศทุกวัย

ผู้ว่าราชการจังหวัดเพชรบุรี นางฉัตรพร ราษฎร์ดุษดี

ในรอบ 25 ปี ที่ ผ ่ า นมา เมื อ งไทยของเรามี ผู้ ว ่ า ราชการจั ง หวั ด หญิ ง เป็ น คนแรก

เมื่อปี พ.ศ. 2536 คือ คุ ณหญิ ง จรั ส ศรี ที ปิ รั ช ผู ้ ว ่ า ราชการจั ง หวั ดนครนายก แสดงให้ เ ห็ น ถึ ง สิ ท ธิ ความเท่าเทียมกันว่า ผู ้ ห ญิ ง ก็ ส ามารถก้ า วเข้ า มามี บทบาทในการท�ำ หน้ า ที่ เป็ น ผู ้ น�ำ และบริ ห าร บ้ า นเมื อ งได้ ดี ไ ม่ แ พ้ ผู้ ช ายอกสามศอก จากนั้ น ผู ้ ห ญิ ง เริ่ ม มี บ ทบาทในฐานะการเป็ น ผู ้ น� ำ ระดั บ ผู้ว่าราชการจังหวัด หลายต่อหลายท่านเพิ่มมากขึ้น แต่ถ้าจะกล่าวถึง ผู้หญิงเก่งและแกร่ง ที่มีบทบาท ในฐานะ ผู้ว่าราชการจังหวัดในยุคนี้ คงหนี้ไม่พ้น นางฉัตรพร ราษฎร์ดุษดี ผู้ว่าราชการจังหวัดเพชรบุรี ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดเพชรบุรี วิสัยทัศน์ (Vision) พันธกิจ (Mission) “Travel for all” เพชรบุรีเที่ยวได้ทุกเพศทุกวัย

เพชรบุรี เมือง 3 วัง ชม ชิม ช้อป เมือง 3 รส มารู้จัก รักเมือง 3 ทะเล เทศกาลงานประเพณี แหล่งท่องเที่ยวศึกษาหาความรู้ ในโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ กิจกรรมท่านผู้ว่าฯ ประวัติการศึกษา ประวัติการรับราชการ

ท่านผูว้ า่ ฯ ฉัตรพร ราษฎร์ดษุ ดี คือ ผูว้ า่ ราชการจังหวัดหญิงหนึง่ เดียวของไทยในปัจจุบนั ปฏิบัติหน้าที่ผู้ว่าราชการจังหวัดครั้งแรก ที่จังหวัดพิจิตร เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2558 และ รับหน้าที่ผู้ว่าราชการจังหวัดเพชรบุรี เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2559 ตลอดระยะเวลา 2 ปี ที่ผ่านมาท่านผู้ว่าฯ ฉัตรพร ได้เปิดมุมมองการเป็นเมือง “Travel for all” เพชรบุรี เทีย่ วได้ทกุ เพศทุกวัย ส่งเสริมด้านการท่องเทีย่ วซึง่ ถือเป็นจุดแข็งของจังหวัดเพชรบุรี และ การเป็น “เมือง 3 วัง 3 ทะเล 3 รส” ซึ่งสอดคล้องกับวิสัยทัศน์การพัฒนาจังหวัดที่ว่า “เมืองเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ และเมืองน่าอยู่ น่ากิน น่าเที่ยว ระดับประเทศ” โอกาสนี้ นิ ต ยสาร SBL บั น ทึ ก ประเทศไทย กราบขอบพระคุ ณ ท่ า นฉั ต รพร ผู ้ ว ่ า ราชการจั ง หวั ด เพชรบุ รี ที่ ใ ห้ เ กี ย รติ ส ละเวลาสั ม ภาษณ์ พิ เ ศษ เกี่ ยวกั บ นโยบาย การบริ ห ารและยุ ท ธศาสตร์ ก ารพั ฒ นาไปสู ่ มิ ติ ข องการเปลี่ ย นแปลงที่ ดี ข องจั ง หวั ด เพชรบุรี รวมถึงการดูแล ทุกข์สุข ของพี่น้องประชาชน

PHETCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 31

31

17/9/2561 17:01:41


EXCL US I V E INT E R V IE W

เมืองเศรษฐกิจ พอเพียงต้นแบบ และเมืองน่าอยู่ น่ากิน น่าเที่ยว ระดับประเทศ วิสัยทัศน์ (Vision)

ยุทธศาสตร์การพั ฒนา จังหวัดเพชรบุรี

เมืองเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ

1. การเสริมสร้างความมั่นคงสันติสุข และสังคมคุณภาพทีย่ งั่ ยืนด้วยหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง 2. การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลและยั่งยืน 3. การเสริมสร้างความมัน่ คงทางอาหาร และให้เติบโตจากฐานการเกษตรแบบครบวงจร 4. การพัฒนาเมือง การค้า การผลิต การบริการ และอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว ที่มีคุณภาพ “ เมืองเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ และเมืองน่าอยู่ น่ากิน น่าเที่ยว ระดับประเทศ ”

ทั้งนี้ ได้ก�ำหนดนิยามของวิสัยทัศน์ใน รอบปี พ.ศ. 2561-2564 ดังนี้

32

วิสัยทัศน์ (VISION)

หมายถึง จังหวัดเพชรบุรีมีการเติบโต ของรายได้จากการเพิ่มขึ้นของอุตสาหกรรม การท่องเที่ยว การเกษตร การค้าการลงทุน การบริการ เศรษฐกิจฐานรากในระดับชุมชน เติบโตอย่างต่อเนื่อง ประชาชนมีงาน อาชีพ รายได้ โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นฐาน มีตน้ แบบธุรกิจพอเพียงทัว่ ทัง้ จังหวัด เมืองน่าอยู่

หมายถึง ทรัพยากรธรรมชาติมีความ อุดมสมบูรณ์ ดินและน�้ำเหมาะกับการเกษตร เป็นเมืองสิ่งแวดล้อมดี อากาศบริสุทธิ์ น่าอยู่ และมีสังคมที่ดีคือ สังคมอุดมปัญญา สังคม เอือ้ อาทรต่อกันสังคมแห่งโอกาสส�ำหรับทุกคน สังคมเป็นธรรมและเท่าเทียม สังคมคุณธรรม เข้มแข็ง และเป็นสังคมแห่งความเกือ้ กูลแบ่งปัน เป็นต้นแบบสังคมแห่งสุขภาวะที่มีคุณภาพ

SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบุรี

.indd 32

17/9/2561 17:01:43


ผู้ว่าราชการจังหวัดเพชรบุรี

ระดับประเทศ ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี ด้วยหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและ พึ่งตนเองได้

จังหวัดเพชรบุรมี สี ภาพทางธรรมชาติและภูมปิ ระเทศอันสวยงามหลากหลายทัง้ ภูเขา ป่าทึบ ที่ราบลุ่มแม่น�้ำ ตลอดจนชายฝั่งทะเลด้านอ่าวไทย จึงส่งผลให้จังหวัดเพชรบุรีมีสถานที่ท่องเที่ยว มากมายและสมบูรณ์กว่าจังหวัดอื่นไม่ว่าจะเป็นชายหาด ทะเลอันสวยงาม น�้ำตก ถ�้ำ ป่า เขา ทีย่ งั คงธรรมชาติอนั งดงาม ตลอดจนทะเลสาบน�ำ้ จืด ขนาดใหญ่ทอี่ ยูท่ า่ มกลางธรรมชาติของแมกไม้

เมืองน่ากิน

หมายถึง จังหวัดมีความอุดมสมบูรณ์ ของแหล่งอาหาร ชุมชน ประชาชนมีความ มั่นคงทางอาหารสูง วัฒนธรรมและอาหาร การกินสามารถสร้างรายได้ สร้างงานอาชีพ ให้กับชุมชน เมืองน่าเที่ยว

หมายถึง จังหวัดเพชรบุรมี คี วามโดดเด่น ของการจั ด การอุ ต สาหกรรมการท่ อ งเที่ ยว แบบครบวงจร เป็นเมืองทีน่ า่ เทีย่ วของประเทศ ในด้านการท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ทางทะเลและ ป่าเขา การท่องเที่ยวเชิงการเรียนรู้โครงการ อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ การท่องเที่ยว เชิ ง สุ ข ภาพ การท่ อ งเที่ ย วเชิ ง วั ฒ นธรรม ประวัติศาสตร์ และศาสนา

พั นธกิจ (MISSION)

1. เสริ ม สร้ า งขี ด ความสามารถของ จังหวัดรองรับการแข่งขัน รองรับการพัฒนา ตามทิศทางการพัฒนาประเทศไทยที่มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว 2. เสริมสร้างความพร้อมของอุตสาหกรรม การท่องเทีย่ วทีเ่ ข้มแข็ง เป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม และสร้ า งรายได้ สู ่ ชุ ม ชน สร้ า งงาน อาชี พ แก่ประชาชน สร้างเศรษฐกิจจังหวัด 3. ส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนาการ เกษตร และเกษตรอุตสาหกรรมก้าวหน้าแบบ ครบวงจรให้มศี กั ยภาพในการผลิตทีม่ คี ณ ุ ภาพ 4. เสริ ม สร้ า งสั ง คมคุ ณ ภาพ ให้ มี สุขภาวะ เรียนรู้ และปรับตัวได้อย่างมีศกั ยภาพ

ในการจั ด การตนเองเป็ น ชุ ม ชนพอเพี ย ง ประชาชนมี ค วามมั่ น คงในชี วิ ต เป็ น ชุ ม ชน ปลอดภัย อบอุ่น น่าอยู่ 5. อนุ รั ก ษ์ ท รั พ ยากรธรรมชาติ แ ละ สิ่งแวดล้อม และการบริหารจัดการ โดยการมี ส่วนร่วมของทุกภาคส่วน 6. พั ฒนาโครงสร้ า งพื้ น ฐานทางการ คมนาคม และระบบโลจิ ส ติ ก ส์ ร องรั บ การ พั ฒ นาเศรษฐกิ จ สั ง คมความมั่ น คง และ คุณภาพชีวิต 7. พัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ให้มีความทันสมัย ธรรมาภิบาล พัฒนาขีด สมรรถนะ บุคลากรภาครัฐทุกระดับให้มคี วาม พร้อมรองรับยุทธศาสตร์จังหวัด และทิศทาง การพัฒนา

PHETCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 33

33

17/9/2561 17:01:43


EXCL US I V E INT E R V IE W

TRAVEL FOR ALL เพชรบุรีเที่ยวได้ทุกเพศทุกวัย

การเดิ น ทางมาจั ง หวั ด เพชรบุ รี นั้ น สะดวกทุกเส้นทาง ทัง้ ขับรถยนต์สว่ นตัวมาเอง นั่งรถไฟ รถโดยสารประจ�ำทาง หรือรถตู้ โดยสาร เมื่อมาถึงเพชรบุรีส�ำหรับผู้ใหญ่ คนเฒ่ า คนแก่ ที่ ต ้ อ งการความเงี ย บสงบ ท�ำบุญช�ำระจิตใจ สามารถเดินทางไปยังวัด ต่างๆ มากมาย เช่น วัดใหญ่สุวรรณาราม วัดก�ำแพงแลง วัดมหาธาตุ วัดข่อย โดย

เฉพาะวั ด ใหญ่ สุ ว รรณาราม วั ด เก่ า แก่ สมัยกรุงศรีอยุธยา มีศาลาการเปรียญหรือ พระต�ำหนักเก่าแก่ทรงคุณค่า สร้างด้วยไม้ สถาปัตยกรรมสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย สอดคล้ อ งกั บ ละครบุ พ เพสั น นิ ว าสที่ ก�ำลังโด่งดัง โดยในอดีตเป็นพระต�ำหนัก “พระสรรเพชญ์ที่ 8” หรือ “พระเจ้าเสือ” ได้ มอบให้กบั “พระสังฆราชแตงโม” พระอาจารย์ ของท่ านซึ่ ง อยู ่ ที่ เ พชรบุรี ถ้า แต่ง ชุด ไทย (ออเจ้ า ) มาเที่ ย วก็ จ ะได้ อ รรถรสและ บรรยากาศของสมัยกรุงศรีอยุธยาอยูไ่ ม่นอ้ ย

เพชรบุรี...เมือง 3 วัง เมืองสามวัง สามรส สามทะเล เมือ่ คุณปูค่ ณ ุ ย่า คุณตาคุณยาย เข้าวัด แล้ว ก็พาคุณพ่อคุณแม่ไปขึน้ เขาวัง จังหวัด เพชรบุรีมีพระราชวังโบราณทั้งหมด 3 วัง ได้แก่ “พระนครคีรี” หรือที่คนไทยรู้จักกัน มานานในนาม “เขาวัง” ซึง่ พระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 ท่าน ทรงสร้ า งขึ้ น ปัจ จุบัน มีอ ายุ 159 ปีแล้ว คือ ถ้ามาเพชรบุรีต้องแวะมาขึ้นเขาวัง โดย เฉพาะในช่วงการจัดงานประจ�ำปีเขาวัง 10 วัน 10 คืน ในวันงานให้แต่งชุดไทย และเปิดให้ขึ้นเขาวังในช่วงเวลากลางคืน ซึง่ นักท่องเทีย่ วจะได้ชมความงดงามของไฟ ประดับกว่า 4 หมืน่ ดวง และพลุทจี่ ะจุดให้ชม ในทุกค�่ำคืนตลอดทั้ง 10 คืน เมื่อเข้าเขต เพชรบุรี ก็จะเห็นแสงสว่างอยู่บนยอดเขา ทีเ่ ปรียบเหมือน “สวรรค์ลอยดิน” มาแต่ไกล

34

ซึง่ สวยงามมาก ส�ำหรับผูส้ งู อายุหรือผูพ้ กิ าร เราก็ มี ลิ ฟ ท์ โ ดยสารไว้ ค อยบริ ก าร ซึ่ ง สามารถน�ำวีลแชร์ขึ้นไปบนเขาวังได้ วังที่ 2 “พระรามราชนิเวศน์” หรือ “พระราชวังบ้านปืน” ที่ประทับแปรพระ ราชฐานทีพ่ ระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 5 โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึน้ เมื่ อ เสด็ จ ประพาสจั ง หวั ด เพชรบุ รี เป็ น สถาปั ต ยกรรมแบบยุ โรป ออกแบบโดย วิศวกรชาวเยอรมัน ปัจจุบนั อยูใ่ นความดูแล ของมณฑลทหารบกที่ 15 ซึ่งสวยงามมาก วังที่ 3 “พระราชนิเวศน์มฤคทายวัน” สร้างตามพระราชประสงค์ของพระบาท สมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 6 ส�ำหรับเป็นที่ประทับแปรพระราชฐานใน ฤดูรอ้ น เป็นสถาปัตยกรรมแบบไทยประยุกต์

คือ ไทยผสมยุโรป สร้างด้วยไม้สักทอง หลังใหญ่ทสี่ ดุ ในประเทศไทย เพราะฉะนัน้ เพชรบุรีจึงได้ชื่อว่า เป็นเมือง 3 วัง นอกจากนีย้ งั มีแหล่งท่องเทีย่ วทีส่ ร้าง ขึ้ น มาส� ำ หรั บ เด็ ก วั ย รุ ่ น และทุ ก คนใน ครอบครัว เช่น Camel Republic ซานโตรินี่ พาร์ค Swiss Sheep Farm เป็นต้น

SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบุรี

.indd 34

17/9/2561 17:01:49


“พระรามราชนิเวศน์” พระราชวังบ้านปืน

ที่ประทับแปรพระราชฐาน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเมื่อเสด็จประพาสจังหวัด เพชรบุรี เป็นสถาปัตยกรรมแบบยุโรป

PHETCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 35

35

17/9/2561 17:01:51


EXCL US I V E INT E R V IE W

36

ผูว้ า่ ราชการจังหวัดเพชรบุรี นางฉัตรพร ราษฎร์ดุษดี

SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบุรี

.indd 36

17/9/2561 17:01:51


เพชรบุรีไม่ได้มีแต่ รสหวานจากน�้ำตาล เพียงอย่างเดียว เรายังมีรสเปรี้ยว จากมะนาวเพชร และ รสเค็มจากเกลือสมุทร จึงได้เชื่อว่า เป็นเมือง 3 รส เพชรบุรี เมืองสามวัง สามรส สามทะเล

เมือง 3 รส สุขสุดๆ กับการ ชม ชิม ช้อป เมือ่ พ่อแม่ ปูย่ า่ ตายาย และลูกหลาน ได้เที่ยวกันครบตามความสนใจของแต่ละ ท่าน ท้องเริ่มร้องรู้สึกหิว ก็ได้เวลามาลิ้ม ชิ ม รสความอร่ อ ยของอาหารเมื อ งเพชร ซึ่งก็มี “ข้าวแช่” ต�ำหรับ “ชาววัง” สมัย รั ช กาล ที่ 4 ซึ่ ง ต้ อ งรู ้ จั ก วิ ธี รั บ ประทาน ที่ถูกต้องจึงจะได้อรรถรสความเป็นข้าวแช่ ชาววัง ถัดจากข้าวแช่ ก็ต้องยกให้ “ขนม หม้อแกง” ขนมหม้อแกงเป็นขนมหวานที่ มีชื่อเสียงของเมืองเพชรบุรีมานาน เพราะ ท�ำจากน�้ำตาลโตนด เป็นน�้ำตาลสด ซึ่ง จั ง หวั ด เพชรบุ รี บ ้ า นเรามี ต ้ น ตาลโตนด จ�ำนวนมาก นอกจากขนมหม้อแกง ยังมี ขนมหวานและผลิ ต ภั ณ ฑ์ ห ลากหลายที่ แปรรูปจากน�้ำตาลโตนด เช่น ขนมบ้าบิ่น ทองหยิบ ทองหยอด ซึ่งใช้ส่วนผสมต่างๆ จากเมืองเพชรแท้ๆ

เพชรบุ รี ไ ม่ ไ ด้ มี แ ต่ “รสหวานจาก น�้ำตาล” เพียงอย่างเดียว เรามี “รสเปรี้ยว จากมะนาวเพชร” มะนาวเปลือกบางมีนำ�้ เยอะ หอม น�ำมาท�ำน�้ำพริก ท�ำกับข้าว หรือท�ำ น�ำ้ จิม้ ซีฟดู้ ก็หอมอร่อยละมุนลิน้ นอกจากนี้ เพชรบุรียังมี “รสเค็ม” ซึ่งหมายถึง “เกลือ” เพราะมี ก ารท� ำ เกลื อ สมุ ท รมากที่ สุ ด ใน ประเทศไทย โดยเฉพาะทีอ่ ำ� เภอบ้านแหลม อ� ำเภอเมื อง และอ�ำ เภอชะอ�ำ ส่วนหนึ่ง น�ำไปขายส่ง บางส่วนน�ำมาแปรรูปเป็น เครื่องส�ำอาง หรือมาท�ำสปาเกลือ ท�ำสบู่ เกลือ เป็นต้น เราจึงได้ชื่อว่าเป็น “เมือง 3 รส”

PHETCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 37

37

17/9/2561 17:01:52


EXCL US I V E INT E R V IE W

เมือง 3 ทะเล มารู้จัก...รักเมือง 3 ทะเล จากเมื อ ง 3 วั ง ดั ง ปั ง เมื อ ง 3 รส ยั ง ไม่ ห มดเมื อ งเลข 3 เพชรบุ รี มี พื้ น ที่ ติดทะเล ปกตินักท่องเที่ยวทั่วไปจะรู้จัก ชายหาดชะอ�ำ หาดเจ้าส�ำราญ หาดปึกเตียน ซึ่งจะเป็น “หาดทรายริมทะเลธรรมดา” แต่เชื่อหรือไม่ว่าจังหวัดเพชรบุรี ยังมีอีก 2 ทะเล ที่ หลายทุกคนอาจจะทึ่งและยัง ไม่รจู้ กั นัน่ ก็คอื “ทะเลโคลน” บริเวณต�ำบล บางตะบูน เขตติดต่อจังหวัดสมุทรสงคราม ซึ่งบริเวณนี้จะมีลักษณะเป็นทะเลโคลน และเป็นที่อาศัยของหอยชนิดต่างๆ เช่น หอยแครง หอยตลับ หอยเสียบ เราจะเห็น วิถีชีวิตของชาวบ้านที่สไลด์กระดานไปบน โคลนเพือ่ เก็บหอย และสุดท้าย แทบไม่เคย มีใครทราบมาก่อนว่าเพชรบุรี เรามี “ทะเล หมอก” ซึ่ ง เป็ น หมอกบริ เ วณยอดเขา พะเนินทุ่ง ที่อยู่ในเขตอุทยานแก่งกระจาน ซึ่งเป็นจุดที่สูงที่สุด ท�ำให้ในช่วงเช้าเกิด ปรากฏการณ์ทะเลหมอก นอกจากนี้ยัง ได้ชมผีเสื้อ โขลงช้างป่า และสัม ผัสกับ 38

อากาศเย็นสบาย นี่จึงเป็นที่มาของ “เมือง 3 ทะเล” ดังนั้น “เมือง 3 วัง 3 รส 3 ทะเล” จึ ง เป็ น ค� ำ นิ ย ามที่ ดี ข องจั ง หวั ด เพชรบุ รี ในมุมมองของจังหวัดที่มีแหล่งท่องเที่ยว อยูค่ รบ พร้อมให้นกั ท่องเทีย่ วได้มาพักผ่อน ได้ “ชม ชิม ช้อป” ผลิตภัณฑ์ OTOP ต่างๆ จากไม้ตาล ต้นตาล ใบตาล เครือ่ งเบญจรงค์ น�้ ำ ตาลปึ ก น�้ ำ ตาลโตนด ขนมหวาน ที่การันตีความอร่อย เช่น ขนมหม้อแกง สมัยก่อนเห็นอยูใ่ นกระบะสีเ่ หลีย่ ม ปัจจุบนั พัฒนาบรรจุภณ ั ฑ์สยู่ คุ 4.0 แต่ยงั คงรสชาติ ความเอร็ดอร่อยเหมือนเช่นเดิม มาเที่ยว เมื องเพชรบุ รี รั บ รองเรามี ทุ กอย่ างครบ จะมาเช้ า -เย็ น กลั บ หรื อ ว่ า พั ก ค้ า งคื น เพชรบุรีมีโรงแรม รีสอร์ท ที่พักมากกว่า 200 แห่ง ไว้คอยบริการ จึงขอฝากจังหวัด เพชรบุรีไว้กับคนไทยทุกคนได้มาเยือนสัก ครั้งค่ะ

SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบุรี

.indd 38

17/9/2561 17:01:53


ผูว้ า่ ราชการจังหวัดเพชรบุรี นางฉัตรพร ราษฎร์ดุษดี

PHETCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 39

39

17/9/2561 17:01:54


EXCL US I V E INT E R V IE W

1

กิจกรรมที่ 1 ผู้ว่าราชการจังหวัดเพชรบุรี มอบเงิน แก่ผู้ยากไร้ ในโครงการ

“เพชรบุรีเข้มแข็ง รัก เทิดทูน ชาติ ศาสน์ กษั ตริย์”

เมือ่ วันที่ 27 มีนาคม 2561 วัดหนองจอก หมู ่ ที่ 3 ต� ำ บลห้ ว ยลึ ก อ� ำ เภอบ้ า นลาด จั ง หวั ด เพชรบุ รี นางฉั ต รพร ราษฎร์ ดุ ษ ดี ผูว้ า่ ราชการจังหวัดเพชรบุรี เป็นประธาน พร้อม ด้วย นายสมชาย บ�ำรุงทรัพย์ รองผู้ว่าราชการ จังหวัดเพชรบุรี นายกฤษฎา แก้วสองเมือง ปลัดจังหวัดเพชรบุรี นางสาวสุนีย์รัตน์ ภู่ข�ำ นายอ� ำ เภอบ้ า นลาด เหล่ า กาชาดจั ง หวั ด เพชรบุรี หัวหน้าส่วนราชการจังหวัด หน่วยงาน รัฐวิสาหกิจ / องค์กรเอกชน หัวหน้าส่วน ราชการประจ� ำ อ� ำ เภอ ก� ำ นั น ผู ้ ใ หญ่ บ ้ า น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รวมทั้งประชาชน ผู้รับบริการ ผู้ด้อยโอกาส คนชรา คนพิการ คนยากไร้

40

ผู้ว่าราชการจังหวัดเพชรบุรี ชี้แจงว่า หน่วยงานต่างๆ ได้ออกหน่วยบริการประชาชน ถึงที่เพื่ออ�ำนวยความสะดวก และยังได้รับฟัง ปัญหาความเดือนร้อนและรับรู้ความต้องการ ของประชาชน เพื่อร่วมกันหาแนวทางแก้ไข จากนั้นได้มอบพระบรมฉายาลักษณ์สมเด็จ พระเจ้าอยูห่ วั ฯ ให้กบั ตัวแทนหมูบ่ า้ น มอบเงิน สวั ส ดิ ก ารแก่ เ ด็ ก นั ก เรี ย นยากจน จ� ำ นวน 20 ราย มอบเครื่ อ งอุ ป โภคบริ โ ภค ให้ กั บ ผู้ด้อยโอกาส คนชรา ผู้พิการ คนยากไร้ และ ออกเยี่ยมการให้บริการของหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ และเอกชน

SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบุรี

.indd 40

17/9/2561 17:01:59


ผู้ว่าราชการจังหวัดเพชรบุรี

2

กิจกรรมที่ 2 ผู้ว่าราชการจังหวัดเพชรบุรี ชื่นชมโรงเรียนเอกชนท�ำประโยชน์ให้บ้านเมือง

“100 ปี ครูดีศรีเอกชน” ประจ�ำปี 2561

ผู ้ ว ่ า ราชการจั ง หวั ด เพชรบุ รี ชื่ น ชม โรงเรี ย นเอกชนท� ำ ประโยชน์ ใ ห้ บ ้ า นเมื อ ง ผ่านทางนักเรียน เปรียบความเหมือน ความต่าง ของการศึกษาเอกชน หลังขับเคลือ่ น ครบ 100 ปี เมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2561 นางฉัตรพร ราษฎร์ ดุ ษ ดี ผู ้ ว ่ า ราชการจั ง หวั ด เพชรบุ รี นายกนก ปิ ่ น ตบแต่ ง ศึ ก ษาธิ ก ารจั ง หวั ด เพชรบุรี หัวหน้าส่วนราชการ คณะครูโรงเรียน เอกชน จ�ำนวน 200 คน ร่วมพิธีมอบรางวัล ผูป้ ระกอบวิชาชีพทางการศึกษา “100 ปี ครูดี ศรี เ อกชน” ประจ� ำ ปี 2561 เนื่ อ งในงาน วั น การศึ ก ษาเอกชน จั ง หวั ด เพชรบุ รี ณ หอประชุมเทศบาลเมืองเพชรบุรี

นางฉัตรพร ราษฎร์ดุษดี ผู้ว่าราชการ จังหวัดเพชรบุรีได้กล่าวว่าการศึกษาเอกชน สนั บ สนุ น นโยบายการศึ ก ษาของภาครั ฐ ทางเลือก สนับสนุนในเรื่องบางเรื่องที่ทาง ภาครัฐท�ำได้ไม่เต็มที่ มีทั้งความเหมือนและ ความต่าง ความต่างของโรงเรียนเอกชนไม่ได้ สอบเข้า แต่ความเหมือนทางด้าน คุณภาพ ของครู บุคลากร คุณค่าเหมือนกัน ที่สร้าง คุณภาพของนักเรียน ขอชืน่ ชมโรงเรียนเอกชน ส่งเสริมทักษะนักเรียน ทางด้านภาษาอังกฤษ ดนตรี โรงเรียนเอกชนสามารถท�ำได้ บุคลากร ที่เกี่ยวข้องท�ำประโยชน์ให้บ้านเมืองผ่านทาง นักเรียน เป็นที่เชิดหน้าชูตา การประยุกต์แต่ง เติมต่อยอดการศึกษาสมัยใหม่เข้าสู่ยุคไทย แลนด์ 4.0

PHETCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 41

41

17/9/2561 17:01:59


EXCL US I V E INT E R V IE W

3

กิจกรรมที่ 3 เพชรบุรีจัดงาน โครงการจิตอาสา

“เราท�ำความดีด้วยหัวใจ”

เพชรบุ รี จั ด โครงการจิ ต อาสา “เรา ท� ำ ความดี ด ้ ว ยหั ว ใจ” เพื่ อ น้ อ มถวายเป็ น พระราชกุศลแด่สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว วันที่ 2 กรกฎาคม 2561 ที่ วั ด เนรั ญ ชราราม อ.ชะอ�ำ จ.เพชรบุรี นางฉัตรพร ราษฎร์ดุษดี ผู ้ ว ่ า ราชการจั ง หวั ด เพชรบุ รี เป็ น ประธาน เปิดโครงการจิตอาสา เราท�ำความดี ด้วยหัวใจ เพื่อน้อมถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระบาท

สมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั เนือ่ งในวโรกาสวันเฉลิม พระชนมพรรษา 28 กรกฎาคม 2561 โดยมี นายณัฐวุฒิ เพ็ชรพรหมศร รองผู้ว่าราชการ จังหวัดเพชรบุรี นายทรงรัฐ รัฐปัตย์ นายอ�ำเภอ ชะอ�ำ คณะผู้บริหาร หน่วยงาน องค์กรภาครัฐ ภาคเอกชน ข้าราชการ ต�ำรวจ ตชด. และคณะ ครูนักเรียน เข้าร่วมโครงจ�ำนวนมาก

กิจกรรมที่ 4 ฝึกการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจากอุทกภัย

“ถอดบทเรียนการช่วยเหลือเด็กทั้ง 13 คน รวมทั้งโค้ช ที่ถ�้ำเขาหลวงนางนอน” ฝึกการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย จากอุ ท กภั ย จั ง หวั ด เพชรบุ รี เมื่ อวั น ที่ 3 กรกฎาคม 2561 นางฉัตรพร ราษฎร์ดุษดี ผู ้ ว ่ า ราชการจั ง หวั ด เพชรบุ รี นายณั ฐ วุ ฒิ เพ็ชรพรหมศร รองผูว้ า่ ราชการจังหวัดเพชรบุรี นายวิรัช เพ็ญจันทร์ วิศวกรโยธาช�ำนาญการ พิเศษรักษาราชการแทน หัวหน้าส�ำนักงาน ปภ.จั ง หวั ด เพชรบุ รี นายอ� ำ เภอ และผู ้ รั บ ผิดชอบ ร่วมการฝึกการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยจากอุทกภัย จังหวัดเพชรบุรี ณ ห้องนพรัตน์ โรงแรมรอยัล ไดมอน อ�ำเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี นางฉัตรพร ราษฎร์ดุษดี ผู้ว่าราชการ จังหวัดเพชรบุรีได้กล่าวว่า การฝึกวันนี้ส่วน หนึง่ คือการฝึกบนโต๊ะ แต่เป็นการฝึกเสมือนจริง

42

4

โดยคณะกรรมการและคณะท�ำงานทีเ่ กีย่ วข้อง ได้เตรียมการฝึกยกร่างว่าเราจะฝึกอย่างไร ที่จะแก้ไขปัญหาได้รวดเร็วและเป็นประโยชน์ กับประชาชนให้มากที่สุด เพราะการเกิดเหตุ ภัยพิบัติมีผลกระทบทั้งนั้น การฝึกเสมือนจริง ช่วยเตรียมความพร้อมให้ไปในทิศทางเดียวกัน มีประสิทธิผลมากขึ้น และที่ส�ำคัญที่เราได้ใช้ โอกาส จากการ “ถอดบทเรียนการช่วยเหลือ เด็กทั้ง 13 คนรวมทั้งโค้ช ที่ถ�้ำเขาหลวงนาง นอน” เป็นเรื่องที่ทุกคนไม่พูดถึงไม่ได้ ทุกคน ก็มีส่วนร่วมงานนี้เป็นงานบูรณาการ ทั้งด้าน แรงกายและแรงใจเป็ น เรื่ อ งมหั ศ จรรย์ ข อง ประเทศไทย แล้วก็เป็นเรื่องมหัศจรรย์ของ โลก แต่เป็นตัวอย่างทีก่ รมป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยต้องน�ำเป็นกรณีศึกษาว่าเขาท�ำ กันอย่างไร

SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบุรี

.indd 42

17/9/2561 17:01:59


แหล่งท่องเที่ยวศึ กษาหาความรู้ ในโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ 1. โครงการตามพระราชประสงค์หุบกะพง 2. โครงการตามพระราชประสงค์ดอนขุนห้วย 3. โครงการจัดการพัฒนาที่ดินตามพระราชประสงค์หนองพลับ-กลัดหลวง 4. โครงการหมู่บ้านสหกรณ์ห้วยสัตว์ใหญ่ ป่าเด็ง - ป่าละอู 5. โครงการดูแลรักษาป่าไม้บริเวณป่าละอูบนและเขาพะเนินทุ่งอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ 6. โครงการพัฒนาห้วยแม่เพรียงตามพระราชด�ำริ 7. โครงการศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ 8. โครงการสวนสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี 9. โครงการศึกษาวิจัยและพัฒนาสิ่งแวดล้อมแหลมผักเบี้ยอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ 10. โครงการที่ดินของมูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถบ้านท่ากะทุ่ม 11. โครงการศูนย์สาธิตพืชไร่และพืชสวนอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ 12. โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูสภาพพื้นที่บริเวณเขานางพันธุรัต (เขาเจ้าลายใหญ่) อันเนื่องมาจาก พระราชด�ำริ 13. โครงการอ่างเก็บ ห่วยแม่ประจันต์อันเนื่อง มาจากพระราชด�ำริ 14. โครงการอ่างเก็บน�ำ้ ห้วยผาก อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ 15. โครงการเครือข่ายอ่างเก็บน�ำ้ (อ่างพวง) อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ 16. โครงการพัฒนาแหล่งน�ำ้ บริเวณมหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี(งานขุดลอกอ่างเก็บน�้ำหนองจิก) 17. โครงการขุดลอกอ่างเก็บน�้ำห้วยสงสัย อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ 18. โครงการป้องกันแก้ไขปัญหาน�ำ้ ท่วมพื้นที่จังหวัดเพชรบุรี อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ 19. โครงการอ่างเก็บน�ำ้ ผาน�้ำหยดอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ 20. โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนบ้านบางกลอย และบ้านโป่งลึก 21. โครงการฟาร์มทะเลตัวอย่างแบบผสมผสานตามพระราชด�ำริ ในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ 22. โครงการชั่งหัวมันตามพระราชด�ำริ 23. อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร 24. โครงการปลูกป่าชัยพัฒนา-แม่ฟ้าหลวง 25. โครงการจัดตั้งโรงงานสกัดน�้ำมันพืชและผลิตไบโอดีเซลครบวงจร

PHETCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 43

43

17/9/2561 17:01:59


EXCL US I V E INT E R V IE W

ผู้ว่าราชการจังหวัดเพชรบุรี

นางฉัตรพร ราษฎร์ดุษดี

เพชรบุรี

พ.ศ.2561

ประวัติการศึกษา รัฐศาสตรบัณฑิต

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (รุ่น 27) รัฐศาสตรมหาบัณฑิต

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (EPA 12)

ประวัติการรับราชการ นักการข่าว 3

ส�ำนักงานจังหวัดหนองคาย (พ.ศ.2522) เจ้าหน้าที่วิเทศสั มพั นธ์ 3-5

กองการข่าวและการต่างประเทศ ส�ำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย (พ.ศ.2524) หัวหน้าฝ่ายติดตาม/ ส่ วนติดตามและประเมิน

ส�ำนักนโยบายและแผน (พ.ศ. 2542)

เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบาย และแผน 8ว

สถาบันด�ำรงราชานุภาพ (พ.ศ.2545)

ผู้อ�ำนวยการกองการต่างประเทศ

ส�ำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย (พ.ศ.2547)

หัวหน้าส� ำนักงานจังหวัดตราด

ระดับ 9 (พ.ศ.2550)

หัวหน้าส� ำนักงานจังหวัดเพชรบูรณ์

ระดับ 9 (พ.ศ.2553)

รองผู้ว่าราชการจังหวัดพิ จิตร

7 ธันวาคม 2555 ถึง 27 ตุลาคม 2556 รองผู้ว่าราชการจังหวัดก�ำแพงเพชร

28 ตุลาคม 2556 ถึง 30 พฤศจิกายน 2557 รองผู้ว่าราชการจังหวัดเพชรบูรณ์

1 ธันวาคม 2557 ถึง 30 กันยายน 2558 ผู้ว่าราชการจังหวัดพิ จิตร

1 ตุลาคม 2558 ถึง 30 กันยายน 2559 ผู้ว่าราชการจังหวัดเพชรบุรี

1 ต.ค.2559 - ปัจจุบัน 44

SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบุรี

.indd 44

17/9/2561 17:02:02


“Travel for all”

เพชรบุรีเที่ยวได้ทุกเพศทุกวัย

PHETCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 45

45

17/9/2561 17:02:04


เมย์มิ้นท์

MAY MINT OUTLET

.indd 46

19/9/2561 15:39:53


โทร : 089-127877 / 084-6455888 เลขที่ 34/1 ถนนเพชรเกษม ต�ำบลเขาใหญ่ อ�ำเภอชะอ�ำ จังหวัดเพชรบุรี

.indd 47

19/9/2561 15:40:00


2

.indd 48

15/9/2561 11:27:26


หมู่บ้านเกื้อนภา โครงการใหม่ บ้านสไตล์ โมเดิร์น บนท�ำเลที่ ใกล้ห้างสรรพสินค้า

ราคาเริ่มต้นที่

บนเนื้อที่ 110 ตารางวา

-ถนนหลักภายในสวยหรู กว้าง 14 เมตร

-สวนสาธารณะ,สโมสร,สนามกีฬาภายใน

-การคมนาคมสะดวกสบาย

สนใจติดต่อ

2

4.39 ล้าน

.indd 49

เลขที่ 68 ม.3 ต.สมอพลือ อ.บ้านลาด จ.เพชรบุรี คุณเกื้อ กู ล (หนุ ่ ย เมย์ มิ้น ท์ ) 081-9324527 คุณสุธินี (มิ้ น ท์ ) 084-6455888

15/9/2561 11:27:34


S P ECI A L INT E R V IE W

บันทึกเส้นทางพบส�ำนักงานท้องถิ่นจังหวัด

“มุ่งสร้างท้องถิ่นไทยให้ เข้มแข็ง โปร่งใส ก้าวสู่ ประเทศไทย 4.0 อย่าง มั่นคง ตามแนวปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง” ส� ำ นั ก งานส่ ง เสริ ม การปกครอง ท้ อ งถิ่ น จั ง หวั ด มี ภ ารกิ จ ในความรั บ ผิดชอบ คือ การส่งเสริมและสนับสนุน ให้ อ งค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น มี ความเข้ ม แข็ ง มี ศั ก ยภาพในการให้ บริ ก ารสาธารณะ โดยการพั ฒ นาและ ให้ ค� ำ ปรึ ก ษาแนะน� ำ องค์ ก รปกครอง ส่ ว นท้ อ งถิ่ น ในด้ า นการบริ ห ารงาน บุ ค คล การจั ด ท� ำ แผนพั ฒ นาท้ อ งถิ่ น การเงิ น การคลั ง และการบริ ห าร จั ด การ ให้ เ ป็ น ไปตามกฎหมายและ ระเบี ย บต่ า งๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง

ท้องถิ่นจังหวัดเพชรบุรี

นายบรเมศร์ ธีระค�ำศรี อ�ำนาจหน้าที่ของส�ำนักงาน ส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น จังหวัด

1. ด�ำเนินการเกี่ยวกับอ�ำนาจหน้าที่ของ กรมในเขตพื้นที่จังหวัด

50

2. อ�ำนวยการ ประสาน ปฏิบัติงาน และ สนั บ สนุ น งานอั น เป็ น อ� ำ นาจหน้ า ที่ ข อง ผูว้ า่ ราชการจังหวัดและนายอ�ำเภอด้านการ ก�ำกับดูแลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

3. ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการ ปฏิ บั ติ ง านของหน่ ว ยงานอื่ น ที่ เ กี่ ยวข้ อ ง หรือที่ได้รับมอบหมาย

SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบุรี

.indd 50

19/9/2561 15:00:17


ส� ำ หรั บ ภาพรวมในการบริ ห าร งานของส� ำ นั ก งานส่ ง เสริ ม การปกครอง ส่ ว นท้ อ งถิ่ น จั ง หวั ด เพชรบุ รี ปั จ จุ บั น นายบรเมศร์ ธีระค�ำศรี ท้องถิ่นจังหวัด เพชรบุรี ได้ด�ำเนินการสร้างความเข้าใจ ให้ อปท.ในจังหวัดเพชรบุรี ได้ตระหนักถึง หน้าที่ที่ต้องท�ำตามกฎหมายฉบับต่างๆ ที่ก�ำหนดไว้ให้สมบูรณ์ครบถ้วน โดยใช้ หลักการบริหารที่มี “ประสิทธิภาพ สุจริต โปร่ ง ใส” ซึ่ ง ได้ อ อกไปเยี่ ย มเยี ย นและ มอบหมายนโยบายต่างๆ ให้กับ อปท.ใน จังหวัดเพชรบุรี เพื่อให้ด�ำเนินตามแผน และนโยบายของ กระทรวงมหาดไทย กรมส่ ง เสริ ม การปกครองท้ อ งถิ่ น และ จังหวัดเพชรบุรี เช่น นโยบายการก�ำจัดขยะ มูลฝอยชุมชน โดยให้เน้น ด้านการรักษา ความสะอาด การบริหารจัดการขยะมูลฝอย และงานเฉพาะกิจอื่นๆ เช่น นโยบายการ ป้องกันปัญหาอุทกภัยน�้ำท่วม

นอกจากนี้ นายบรเมศร์ ธี ร ะ ค� ำ ศ รี ท ้ อ ง ถิ่ น จั ง ห วั ด เพชรบุรี ได้เน้นย�้ำและฝากไปยัง ผู้บริหาร สภา และผู้ปฏิบัติงาน ของ อปท. ต่ า งๆ ในจั ง หวั ด เพชรบุ รี ในการปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ตามกฎหมายที่ ก� ำ หนดไว้ ใ ห้ มีประสิทธิภาพ มีความซื่อสัตย์ สุ จ ริ ต อย่ า งครบถ้ ว น มี ค วาม สมั ค รสมานสามั ค คี ร่ ว มแรง ร่ ว มใจ กั น ท� ำ งานอย่ า งเ ต็ ม ก�ำลังความสามารถ เพื่อพี่น้อง ประชาชนชาวจังหวัดเพชรบุรี

PHETCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 51

51

19/9/2561 15:00:24


กิจกรรมของท้องถิ่นจังหวัด เพชรบุรี

1. สถจ.เพชรบุรี ประชุมคณะกรรมการ จัดการสิง่ ปฏิกลู และมูลฝอยจังหวัดเพชรบุรี เพือ่ พิจารณาผลการด�ำเนินงานการจัดการ ขยะมูลฝอยชุมชน 2. สถจ.เพชรบุรี จัดประชุมข้าราชการ ในสังกัด เพื่อติดตามซักซ้อม และรับฟัง ปัญหาอุปสรรคในการปฏิบัติราชการตาม นโยบายของ สถจ. และจังหวัด ในวันพุธที่ 4 เมษายน 2561 ณ ห้องประชุมส�ำนักงาน ส่งเสริมการปกครองท้องถิน่ จังหวัดเพชรบุรี

52

3. สถจ.เพชรบุรี จัดพิธีมอบประกาศ เกี ย ติ คุ ณ โครงการประกวดการพั ฒนา และอนุรักษ์แม่นำ�้ เพชรบุรี ปี 2560 และ โครงการท้องถิ่นเพชรบุรีสวยด้วยมือเรา ปี 2560 ในวันที่ 26 มกราคม 2561 ณ ห้องประชุมพริบพรี ศาลากลางจังหวัด ชั้น 2 อ�ำเภอเมืองเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี 4. ผู้ว่าราชการจังหวัดเพชรบุรี เป็น ประธานเปิดงานที่ อปท.ทั้ง 6 แห่งในเขต อ�ำเภอแก่งกระจาน จัดพร้อมกันทุกแห่ง เพื่ อ อบรมให้ ค วามรู ้ แ ละปลุ ก จิ ต ส� ำ นึ ก ประชาชน ในเขต อ.แก่งกระจาน ในการ จัดการขยะอินทรีย์ที่เกิดขึ้นในครัวเรือน

SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบุรี

.indd 52

19/9/2561 15:00:31


ส�ำนักงานส่งเสริมการ ปกครองท้องถิ่นจังหวัด เพชรบุรี

ศาลากลางจังหวัดเพชรบุรี ชั้น 3 ถนน ราชวิถี ต�ำบลคลองกระแชง อ�ำเภอเมือง เพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี 76000 โทรศัพท์ : 0-3242-4518, 0-3242-4519 โทรสาร : 0-3242-4518, 0-3242-4519 E-Mail : admin@petchaburilocal.go.th

PHETCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 53

53

19/9/2561 15:00:45


S P ECI A L INT E R V IE W

บันทึกเส้นทางพบส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัด

เป็นองค์กรขับเคลื่อน กิจการพระพุทธศาสนา สู่ความมั่นคง สังคมด�ำรง ศีลธรรม น�ำสันติสุข อย่างยั่งยืน นับเป็นเกียรติอย่างยิ่งที่ นายสาธิต เกียรติ์สุพิมล ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงาน พระพุ ท ธศาสนาจั ง หวั ด เพชรบุ รี กรุณาให้สัมภาษณ์ กับนิตยสาร SBL บั น ทึ ก ประเทศไทย ถึ ง สถานการณ์ โดยรวมของพระพุ ท ธศาสนาและ แนวทางการบริหารงานของส�ำนักงาน พระพุ ท ธศาสนาจั ง หวั ด เพชรบุ รี ที่ มี ผลต่อการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม และจิตใจของพุทธศาสนิกชนในจัง หวัด เพชรบุ รี

ผู้อ�ำนวยการ ส� ำนักงานพระพุ ทธศาสนาจังหวัดเพชรบุรี นายสาธิต เกียรติ์สุพิมล จังหวัดเพชรบุรี สภาพสังคมโดย

รวมส่วนใหญ่เป็นแบบชนบท ประชากร ประกอบอาชี พ เกษตรกรรม ปศุ สั ต ว์ การประมง และท�ำไร่ทำ� นา จังหวัดเพชรบุรี มี ชื่ อ เสี ย งในฐานะแหล่ ง ผลิ ต น�้ ำ ตาล เนื่ อ งจากมี ต ้ น ตาลหนาแน่ น เป็ น เมื อ ง 54

4

เก่าแก่มีประวัติศาสตร์ยาวนาน เพชรบุรี เคยเป็นเมืองที่เจริญรุ่งเรืองมาตั้งแต่สมัย โบราณ พระสงฆ์และวัดยังคงมีบทบาท เป็นผู้น�ำทางจิตวิญญาณและศูนย์รวมการ จัดกิจกรรมต่างๆของหน่วยงานทั้งภาครัฐ ภาคเอกชนและเป็นศูนย์กลางของชุมชน

ในหมูบ่ า้ น เหมือนในอดีตทีผ่ า่ นมา ปัจจุบนั จังหวัดเพชรบุรมี จี ำ� นวนวัดทัง้ หมด 275 วัด แบ่ ง เป็ นมหานิ ก าย 250 วัด และสัง กัด ธรรมยุกตินกิ าย 25 วัด วัดทีม่ คี วามส�ำคัญ และโดดเด่นในแง่ของการท่องเที่ยวทาง พระพุทธศาสนา ได้แก่

SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบุรี

.indd 54

19/9/2561 15:15:11


1. วัดมหาสมณารามราชวรวิหาร (เขาวัง) 2. วัดมหาธาตุวรวิหาร 3. วัดใหญ่สุวรรณาราม 4. วัดก�ำแพงแลง 5. วัดเกาะ 6. วัดบันไดอิฐ 7. วัดพระพุทธไสยาสน์ 8. วัดเขาพระ 9. วัดพระพุทธบาทเขาลูกช้าง 10. วัดกุฏิ(บางเค็ม) 11. วัดเนรัญชราราม 12. วัดวังพุไทร 13. วัดเขาตระเครา 14. วัดเพชรพลี 15. วัดทองนพคุณ 16. วัดนอกปากทะเล 17. วัดเขากระปุก 18. วัดบันไดทอง 19. วัดโพธิ์ลอย

แนวทางการบริหารงาน

แ น ว ท า ง ก า ร บ ริ ห า ร ง า น ข อ ง ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดเพชรบุรี คงยึ ด ถื อ แนวทางนโยบายของรั ฐ บาล นโยบายของกรมเป็นหลักในการก�ำหนด วิสยั ทัศน์ พันธกิจ กลยุทธ์ และยุทธศาสตร์ ในการบริ ห ารงานโดยมี แ นวคิ ด หลั ก ใน การบริ ห ารจั ด การเพื่ อ ประโยชน์ สุ ข ของ ประชาชน ดังค�ำขวัญที่ว่า

ชี้ให้เห็น ดูให้เป็น เห็นแล้วท�ำ น�ำเป็น ตัวอย่าง ชี้ทางสว่าง ให้ประชาชน ทุกคนสงบสุข สังคมมั่นคงและยั่งยืน

พันธกิจ

1. เสริ ม สร้ างให้ ส ถาบั นและกิ จ การ ทางพระพุทธศาสนามีความมั่นคงยั่งยืน 2. สนับสนุนส่งเสริมและจัดการ การ ศึกษาสงฆ์และการเผยแผ่พระพุทธศาสนา เพื่อพัฒนาให้มีความรู้คู่คุณธรรม 3. จั ด การศึ ก ษาสงฆ์ เ พื่ อ ผลิ ต และ พัฒนาศาสนทายาทที่เปี่ยมปัญญาพุทธ ธรรม เผยแผ่ท�ำนุบ�ำรุงพระพุทธศาสนา ให้เจริญงอกงาม และร่วมสร้างสังคมพุทธ ธรรมที่มีความเข้มแข็ง 4. ส่งเสริมสนับสนุนให้ประเทศไทย เป็นศูนย์กลางทางพระพุทธศาสนาโลก 5. พัฒนาการดูแลรักษาและจัดการ ศาสนสมบัติให้เป็นประโยชน์ต่อพระพุทธ ศาสนาและสังคม

ยุทธศาสตร์

1. การเสริ ม สร้ า งเอกภาพให้ กั บ สถาบันและกิจการทางพระพุทธศาสนา อย่างเป็นระบบ 2. การส่งเสริมการพัฒนาระบบการ ศึ ก ษาสงฆ์ และการเผยแผ่ พ ระพุ ท ธ ศาสนาอย่างเป็น ระบบและครบวงจร 3. การเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับ ศาสนทายาท 4. การเสริ ม สร้ า งศั ก ยภาพให้ ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางทางพระพุทธ ศาสนาโลก 5. การพัฒนานโยบายและเสริมสร้าง ศักยภาพระบบบริหารจัดการศาสนสมบัติ 6. การเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับ ข้าราชการส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่ง ชาติให้เป็นมืออาชีพ

PHETCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

4

.indd 55

55

20/9/2561 14:52:40


ผลการด�ำเนินงานที่โดดเด่น

1. โครงการจัดพิธีเจริญพระพุทธมนต์ เฉลิ ม พระเกี ย รติ ส มเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว มหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรม ราชินีนาถ ในรัชกาลที่ 9 ในทุกวันที่ 28 ของเดือนตลอดปี 2. โครงการ เพชรบุ รี เ ข้ ม แข็ ง รั ก เทิดทูน ชาติ ศาสน์กษัตริย์ 3. โ ค ร ง ก า ร อ บ ร ม บั น ทึ ก ข ้ อ มู ล สารสนเทศการพั ฒ นางานและจั ด เก็ บ ข้อมูลการเผยแผ่พระพุทธศาสนา 4. โครงการสัมมนาพระวิทยากรค่าย พุทธบุตรในจังหวัดเพชรบุรี 5. โครงการเงินอุดหนุนบูรณปฏิสงั ขรณ์ วัดและการพัฒนาวัด

ผลงานที่ภาคภูมิใจ

1. โล่เชิดชูเกียรติส�ำนักงานที่ได้รับผล การประเมิน ระดับคุณภาพดีเด่น ประจ�ำ ปี 2559 จากส�ำนักงานพระพุทธศาสนา แห่งชาติ 2. โล่ เ กี ย รติ คุ ณ ส� ำ นั ก งานที่ ไ ด้ ร ่ ว ม ด�ำเนินงานตามยุทธศาสตร์พลังแผ่นดิน เอาชนะยาเสพติด ประจ�ำปี 2555 จาก กระทรวงมหาดไทย 3. เกี ย รติ บั ต รส� ำ นั ก งานที่ ใ ห้ ก าร สนั บ สนุ น การป้ อ งกั น และแก้ ไ ขปั ญ หา ยาเสพติดในระบบสมัครใจ รูปแบบค่าย ปรับเปลีย่ นพฤติกรรมมาตรฐานใหม่ ประจ�ำปี 2558 จากจังหวัดเพชรบุรี 4. เกียรติบัตรส�ำนักงานที่เสริมสร้าง สุขภาพพระสงฆ์และประชาชนประจ�ำปี 2555 จากมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช เพชรบุรี

5. เกี ย รติ บั ต รส� ำ นั ก งานที่ มี ร ะดั บ ความส� ำ เร็ จ ของการด� ำ เนิ น งานตาม มาตรฐานการประหยัดพลังงาน ประจ�ำปี 2553 จากจังหวัดเพชรบุรี

56

4

SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบุรี

.indd 56

19/9/2561 15:09:17


นายสาธิต เกียรติ์สุพิมล ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงาน พระพุ ทธศาสนาจังหวัดเพชรบุรี

ฝากไปยังพุทธศาสนิกชน การน�ำหลักธรรมไปใช้ในชีวติ ประจ�ำวัน โดยเฉพาะการรักษาศีล 5 คือ ไม่เจตนาจะฆ่า ไม่เจตนาจะลักทรัพย์ ไม่เจตนากระท�ำผิดในกาม ไม่เจตนาพูดโกหกหลอกลวง และไม่เจตนา เสพสุรา ยาเสพติด อันเป็นหลักธรรมทีม่ นุษย์ ทุ ก คนพึ ง ปฏิ บั ติ ไ ด้ มิ ใ ช่ ว ่ า เป็ น ผู ้ นั บ ถื อ ศาสนาพุทธแต่เพียงในทะเบียนบ้าน ในชีวติ จริง ของคนเราควรต้องประพฤติปฏิบตั ติ ามหลักธรรม ค�ำสอนขององค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทีไ่ ด้ ผ่านล่วงกาลเวลามาถึงสองพันห้าร้อยกว่า ปีแล้ว ส่วนพระภิกษุสงฆ์ผู้ปฏิบัติดี ปฏิบัติ โดยชอบแล้ว ย่อมจะเป็นแบบอย่างและ ผู้น�ำทางจิตวิญญาณที่ดีตลอดไป ผู้มีส่วน เกี่ยวข้องทุกฝ่ายจะต้องหันหน้าเข้าหากัน ยึดถือปฏิบัติตามหลักธรรมคือ

“คิดดี พูดดี ท�ำดี มีจติ ใจร่าเริง แจ่มใส” ง่ า ยๆ เพี ย งเท่ า นี้ จะท� ำ ให้ ค นในสั ง คม อยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขโดยทั่วถึงกันครับ

PHETCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

4

.indd 57

57

19/9/2561 15:15:49


Bryde

Phetchaburi

บรูด้า เพชรบุรี เชิงสะพานเฉลิมพระเกียรติ ปากอ่าวบางตะบูน

บรูด้า

เพชรบุรี ร้านอาหารวิวอ่าว บางตะบูน บริการอาหารทะเลสดๆ รสชาติแบบ ท้องถิน่ แท้ๆ สถานทีก่ ว้างขวาง มีทงั้ โซนจัดเลีย้ ง โซนนั่งชิลล์ โซนบาร์ สามารถรองรับได้ทั้งกรุ๊ป เล็ก กรุป๊ ใหญ่ และส่วนตัว ในบรรยากาศห้องแอร์ เย็นสบาย บริการระดับโรงแรมห้าดาว ในราคาที่ แสนย่อมเยา เปิดทุกวัน 09.00 - 21.00 น.

บริษัท วาฬบรูด้า (ไทยแลนด์) จ�ำกัด หากจะเดินทางลงสู่ภาคใต้ หรือไปท่องเที่ยว ชะอ�ำ - หัวหิน ลองใช้เส้นทางเลียบชายฝัง่ ทะเลอ่าวไทย ฝัง่ ตะวันตก ซึง่ เป็นอีกหนึง่ เส้นทางทีส่ วยงามและเปีย่ ม ไปด้วยเสน่ห์น่าค้นหา เพราะนอกจากจะมีทัศนียภาพ ที่สวยงาม เช่น นาเกลือ แล้ว ยังมีร้านอาหารทะเล อร่อยๆ ให้แวะชิมได้ตลอดทาง โดยเฉพาะที่ปากอ่าว บางตะบูน แลนด์มาร์คแห่งใหม่ที่มีทั้งร้านของฝาก ร้านกาแฟ และร้านอาหาร ซึ่งมีทั้งอาหารซีฟู้ดสดๆ อาหารไทยรสเด็ด และอาหารฝรั่งโดยเชฟฝีมือดีมาก ประสบการณ์ ไว้คอยบริการ โซนด้านล่างเป็นร้านกาแฟและร้านของฝาก ของดีเพชรบุรี อาหารทะเลคัดเกรดมาให้เลือกช้อปปิง้ ติดไม้ตดิ มือกลับบ้าน แถมมีมมุ ถ่ายรูปเก๋ๆ กระจายอยู่ทั่วทุกโซน เรียกได้ ว่าแวะทีเ่ ดียวครบทุกความ ต้องการจริงๆ

บรูด้า เพชรบุรี 254/2 หมู่ 7 ต.บางตะบูน อ.บ้านแหลม จ.เพชรบุรี 087-770-7077 , 095-236-9636 บรูด้า เพชรบุรี – Bryde Phetchaburi 58

SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบุรี

(

)

(1

).indd 58

14/9/2561 16:10:58


โรงเรียนวิภาวดีบริบาล ในความควบคุมของกระทรวงศึกษาธิการเป็นสถาบันการ ศึกษาอาชีพระดับแนวหน้าของประเทศ ที่เปิดสอนหลักสูตรการดูแลเด็ก การดูแลผู้สูงอายุ และการดูแลผู้ป่วยเบื้องต้น ก่อตั้งเมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม 2546 ณ ถนนวิภาวดี เขต ดอนเมือง กรุงเทพมหานคร โดยอาจารย์ชัยเวียง เวียงใน ซึ่งท่านเป็นผู้บริหารโรงเรียนการ บริบาลไม่กี่แห่งที่เชี่ยวชาญสาขาการพยาบาลและการศึกษา

โรงเรียนวิภาวดีบริบาล วิชาการเป็น เลิศ เชิดชูคุณธรรม น�ำสู่อนาคต

หลักสูตรผู้ช่วยการบริบาล(การดูแล เด็ก,การดูแลผู้สูงอายุ) งานรองรั บ มี ง านโรงพยาบาลทั่ ว ไป โรงพยาบาลสูงอายุ โรงเรียนอนุบาล และ สถานประกอบการต่ า งรองรั บ ทั้ ง ในและ ต่างประเทศ อัตราจ้างในประเทศ 12,000-20,000 บาท ต่างประเทศเช่นญี่ปุ่น สิงคโปร์ 60,000 บาท

1

.indd 59

ที่นี้เป็นอีกทางเลือกหนึ่งของคุณ ที่จะน�ำพาคุณก้าวไปสู่ฝั่งฝันในอนาคต ตามแนวทาง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของในหลวงรัชกาลที่ 9 เรียนหลักสูตรระยะสัน้ ลงทุนน้อย หางานง่าย มีรายได้เพียงพอแล้วศึกษาต่อมหาวิทยาลัย โรงเรียนวิภาวดีบริบาลเพชรบุรีและบ้านผู้สูงอายุเพชรบุรี (ข้างโรงพยาบาลกรุงเทพเพชรบุรี) ที่ตั้ง 146/1 ม.6 ถ.เพชรเกษม ต.ต้นมะม่วง อ.เมือง จ.เพชรบุรี 032-402585 , 092-2867835 LOP BURI I SBL บันทึกประเทศไทย 59 viphavadeephet

19/9/2561 14:00:15


TRAVELING IN A PREHISTORIC บันทึกเส้นทางความเป็นมาจังหวัดเพชรบุรี

Traveling in a Prehistoric

จังหวัดเพชรบุรี หรือที่เรามักเรียกกันสั้นๆ ติดปากว่า “เมืองเพชร” เดิมสะกดว่า “เพ็ชร์บุรี” เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางตอนล่าง หรือติดกับภาคใต้ตอนบน ภูมิประเทศเป็นทั้งที่สูงติดเทือกเขาและที่ราบชายฝั่งทะเล จังหวัดเพชรบุรี เป็นแหล่งผลิตน�ำ้ ตาลโตนด และขนมหวานที่มีชื่อเสียง เป็นเมืองเก่าแก่ที่มีประวัติศาสตร์ความรุ่งเรืองมาตั้งแต่สมัยโบราณ และเป็นเมืองหน้าด่านที่ส�ำคัญของไทยในกลุ่มหัวเมืองฝ่ายตะวันตก 60

SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบุรี

.indd 60

17/9/2561 11:44:27


เมืองพริบพรี...ศรีชัยวัชรบุรี

PHETCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 61

61

17/9/2561 11:44:27


เพชรบุรีใ นสมัย โบราณ มีการติดต่อ ค้าขาย กับต่างประเทศ โดยมีหลักฐานการเรียกชื่อปรากฏ ในหนั ง สื อ ชาวฮอลั น ดาเรี ย กว่ า เมื อ งเพชรบุ รี ว ่ า “พิพรีย์” ส่วนชาวฝรั่งเศสเรียกว่า “พิพพีล์” และ “ฟิฟรี” จึงสันนิษฐานกันว่าชื่อ “เมืองพริบพรี” เป็น ชือ่ เดิมของเมืองเพชรบุรี ซึง่ สอดคล้องกับชือ่ “วัดพริบพลี” ที่เป็นวัดเก่าแก่และเป็นสถานที่ตั้งเสาชิงช้าอีกด้วย เพชรบุรี หรือ “ศรีชัยวัชรบุรี” คือเมืองโบราณ ในอาณาจักรเล็กๆ อาณาจักรหนึ่ง บางสมัยมีเจ้า ผู้ครองนครหรือกษัตริย์ปกครองเป็นอิสระ บางสมัย ตกเป็นเมืองขึน้ ของอาณาจักรทีเ่ ข้มแข็งกว่าเจ้าผูค้ รอง นครได้สง่ เครือ่ งบรรณาการไปยังเมืองจีนเป็นประจ�ำ 62

เพชรบุรี เมืองเก่าแก่ท่น ี ่าหลงใหล ทั้งความสวยงามของท้องทะเล ศิลปวัฒนธรรม และประวัติศาสตร์ท่ส ี ำ� คัญ

เพชรบุ รี มี ห ลั ก ฐานปรากฏมาตั้ ง แต่ ส มั ย พระเจ้ า ชั ย วรมั น ที่ 7

เช่ น พระปรางค์ 5 ยอด ณ วั ด มหาธาตุ ว รวิ ห าร และปราสาทหิ น ศิ ล าแลง ณ วัดก�ำแพงแลง เป็นต้น ที่มาของชื่อเมืองนั้นอาจเรียกตามต�ำนานที่เล่าขาน สืบกันมา ว่าในสมัยโบราณเคยมีแสงระยิบระยับในเวลาค�ำ่ คืนที่ “เขาแด่น” ท�ำให้ ชาวบ้านเข้าใจว่ามีเพชรพลอยบนเขาแห่งนัน้ จึงพากันไปค้นหาแต่กไ็ ม่พบ จึงออก ค้นหาในเวลากลางคืน โดยใช้ปนู ส�ำหรับกินหมากไปป้ายเป็นต�ำหนิไว้เพือ่ มาค้นหา ในเวลากลางวัน ซึ่งก็ไม่พบ บ้างก็ว่าเรียกตามชื่อของแม่นำ�้ เพชรบุรี

SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบุรี

.indd 62

17/9/2561 11:44:29


เมืองเพชรบุรีมีศิลปวัตถุมากมาย เป็นหลักฐาน ที่แสดงว่าเพชรบุรีเคยเป็นบ้านเมืองที่มีผู้คน อาศั ยอยู่เป็นชุมชนถาวร มาตั้งแต่สมัยทวารวดี เช่น ศิ ลปะปูนปั้น

เพชรบุรีในสมัยสุโขทัย

ในสมัยพ่อขุนรามค�ำแหง อาณาจักรสุโขทัย แม้จะมีอ�ำนาจครอบคลุมมาถึงเพชรบุรี แต่เพชรบุรี ก็ มี อิ ส ระอยู ่ ม าก อี ก ทั้ ง สามารถส่ ง ทู ต ไปจี น ได้ กษั ต ริ ย ์ เ พชรบุ รี ใ นช่ ว งสมั ย สุ โ ขทั ย คื อ พระพนม ทะเลศิริ เชื้อสายของพระเจ้าพรหม แห่งเวียงไชย ปราการ ราชวงศ์นี้ได้ครองเมืองเพชรบุรี จนถึงสมัย พระเจ้าอู่ทอง

PHETCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 63

63

17/9/2561 11:44:33


เพชรบุรี เมืองเก่าแก่ท่น ี ่าหลงใหล ทั้งความสวยงามของท้องทะเล ศิลปวัฒนธรรม และประวัติศาสตร์ท่ส ี ำ� คัญ เพชรบุรีในสมัยกรุงศรีอยุธยา

สมัยอยุธยาตอนต้น เพชรบุรขี นึ้ ต่อกรุงศรีอยุธยา มีขนุ นาง ควบคุ ม แต่ ห ลั ง จากการเปลี่ ย นแปลงการปกครองในสมั ย พระบรมไตรโลกนาถ อ�ำนาจในส่วนกลางมีมากขึ้น เพชรบุรี ยังมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับกรุงศรีอยุธยา ดังนั้นอ�ำนาจจาก ส่วนกลางจึงมีส่วนในการปกครองเพชรบุรีมากกว่าเดิม พ.ศ. 2113 สมั ย พระมหาธรรมราชา พระยาละแวก เจ้าเมืองเขมร ยกกองทัพมาต่อสู้กับอยุธยา แต่แตกพ่ายหนีไป จากนั้นอีก 5 ปี ถัดมา พระยาละแวกได้ยกทัพเรือมาที่อยุธยา อีกครั้ง แต่ก็ต้องพ่ายกลับไป พ.ศ. 2121 ทางเขมร ให้ พ ระยาจี น จั น ตุ ยกทั พ มาตี เมืองเพชรบุรี แต่ชาวเพชรบุรชี ว่ ยกันป้องกันเมืองไว้ได้ พ.ศ. 2124 อยุธยาติดสู้รบกับกบฏ พระยาละแวก จึงชิงยกกองทัพเรือ 64

ก�ำลังประมาณ 7,000 คน มาตีเมืองเพชรบุรี จนถึงสมัยสมเด็จ พระนเรศวรมหาราชทรงตีเขมรชนะ เพชรบุรีจึงเป็นอิสระ และ เนื่องจากทรงโปรดปรานเมืองเพชรบุรีเป็นพิเศษ จึงได้เสด็จมา ประทับทีเ่ มืองเพชรบุรี เป็นเวลาถึง 5 ปี ก่อนจะทรงยกทัพใหญ่ ไปปราบพม่า เมืองเพชรบุรแี ละชาวเมืองเพชรบุรไี ด้รว่ มเป็นก�ำลังส�ำคัญ ในการต่อสูก้ บั ข้าศึกหลายครัง้ นับตัง้ แต่สมัยสมเด็จพระนเรศวร มหาราช สมเด็จพระเชษฐาธิราชและสมัยพระเจ้าเอกทัศน์ โดยเฉพาะในสมัยพระเทพราชานั้น การปราบปรามเจ้าเมือง นครศรีธรรมราช ซึ่งแข็งเมือง พระยาเพชรบุรี เป็นก�ำลังส�ำคัญ ในการส่งเสบียงให้แก่กองทัพฝ่ายราชส�ำนักอยุธยา อย่างไรก็ดี เมืองเพชรบุรี ถูกตีแตกอีกครั้ง เมื่อพม่าโดย มังมหานรธรา ยกมาตีไทย จนต้องเสียกรุงศรีอยุธยาแก่พม่าเป็นครั้งที่ 2

SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบุรี

.indd 64

17/9/2561 11:44:38


PHETCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 65

65

17/9/2561 11:44:40


66

SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบุรี

.indd 66

17/9/2561 11:44:41


เขาวังคู่บ้าน ขนมหวาน เมืองพระ เลิศล�้ำศิ ลปะ แดนธรรมะ ทะเลงาม

เพชรบุรีในสมัยกรุงธนบุรี

สมัยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช จนถึงแผ่นดินสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ไทยและพม่ายังคงสู้รบและท�ำสงครามกันมาโดยตลอด เจ้าเมืองและชาวเมืองเพชรบุรี ยังคงมีสว่ นในการท�ำสงครามดังกล่าว กระทัง่ พม่าตกเป็นเมืองขึน้ ของอังกฤษ บทบาทของ เมืองเพชรบุรีที่มีต่อเมืองหลวงและราชส�ำนักจึงค่อยๆ เปลี่ยนไป

เพชรบุรีในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์

ตราสั ญญาลักษณ์ ประจ�ำจังหวัด ต้นตาลโตนดมีมากในจังหวัดนี้มาแต่โบราณ ให้นำ�้ ตาลที่มีรสหวานแหลม เป็นที่ขึ้นชื่อ ผืนนาปลูกข้าว หมายถึง ข้าวพั นธุ์ดี อาชีพและความอุดมสมบูรณ์ของจังหวัด ส่วนเทือกเขาสามยอดเบื้องหลัง คือ เขาวัง

พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 ทรงโปรดปรานเมืองเพชรบุรี มาตั้งแต่ครั้งยังผนวชอยู่ เมื่อขึ้นครองราชย์โปรดให้สร้างพระราชวัง วัด และพระเจดีย์ ใหญ่ขึ้นบนเขาเตี้ยๆ ใกล้กับตัวเมืองและพระราชทานนามว่า “พระนครคีรี” ต่อมาในสมัย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 โปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระราชวัง อีกแห่งหนึง่ ในตัวเมืองเพชรบุรี คือ “พระรามราชนิเวศน์” หรือ “วังบ้านปืน” ด้วยความเชือ่ ที่ ว ่ า อากาศชายทะเลและน�้ ำ ทะเลอาจบรรเทาอาการเจ็ บ ป่ ว ยได้ พระบาทสมเด็ จ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 จึงโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระราชวัง “พระราชนิเวศน์ มฤคทายวัน” ขึ้นที่ชายหาดชะอ�ำ เพื่อใช้เป็นที่ประทับรักษาพระองค์ PHETCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 67

67

17/9/2561 11:44:47


TRAVELING TO PHETCHABURI บันทึกเส้นทางท่องเที่ยวจังหวัดเพชรบุรี

พระอภัยมณี | แลนด์มาร์คส�ำคัญของหาดปึกเตียน “หาดปึ กเตียน” อยูใ่ นเขตต�ำบลปึ กเตียน อ�ำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี ห่ า งจากตัว เมื อ งเพชรบุรี 21 กิ โ ลเมตร เป็ น หาดที่ ส วยงามและเงี ย บสงบ เหมาะกับการพักผ่อนหย่อนใจ ผ่านสายลมและเสียงคลื่นซัดของทะเล แม้ หาดปึ กเตียนจะมีหาดทรายสีขาวไม่มากแต่นกั ท่องเที่ยวก็สามารถลงเล่นน� ้ำได้ และอิ่มอร่ อยกับอาหารหลากหลายร้ าน นอกจากนี ้ยังมีรูปปั น้ นางยักษ์ ผีเสือ้ สมุทร พระอภัยมณี สินสมุทร และนางเงือก ตัวละครเอกในวรรณคดีเรื่ อง “พระอภัยมณี” ของท่านสุนทรภู่ กวีเอกของไทย ซึ่งเป็ นแลนด์มาร์ คส�ำคัญ ของหาดปึ กเตียนอีกด้ วย

Traveling to Phetchaburi “พระนครคีรี ศรีเมืองเพชร” เมืองเก่าแก่ที่น่าหลงใหล

เพชรบุรี ถือเป็นเมืองด่านส�ำคัญระหว่างภาคกลางและภาคใต้ อีกทั้งยังขึ้นชื่อในเรื่อง ของแหล่งผลิตน�้ำตาล เนื่องจากมีต้นตาลหนาแน่น สังเกตได้จากร้านของฝากข้างทางที่น�ำผลผลิต จากต้นตาลมาวางจ�ำหน่ายให้เห็นกันหนาตา นอกจากนี้ยังมีแหล่งท่องเที่ยวเด็ด ๆ ที่มีชื่อเสียงมากมาย 68

SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบุรี

.indd 68

17/9/2561 11:45:28


บันทึกเส้นทางท่องเที่ยวจังหวัดเพชรบุรี

PHETCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 69

69

17/9/2561 11:45:28


TRAVELING TO PHETCHABURI

กาแฟบ้านร้อยปี | รู้เรื่อง ณ เพ็ ชร์บุรี ชวนไปจิบกาแฟในบรรยากาศย้ อนยุคที่ “กาแฟบ้ านร้ อยปี ” ร้ านกาแฟ โบราณสุดเก๋ ตกแต่งสไตล์วินเทจ ในตัวเมืองเพชรบุรี เยื ้องกับโรงพยาบาล เมืองเพชรบุรี ร้ านกาแฟที่แฝงตัวอยู่ในบ้ านไม้ โบราณ 2 ชัน้ อายุเกือบ 100 ปี เจ้ าของร้ านพยายามปรั บปรุ งและซ่อมแซมใหม่ให้ ใกล้ เคียงกับสภาพบ้ าน หลัง เดิ ม ให้ ม ากที่ สุด แน่ น อนภายในตกแต่ง ด้ ว ยของสะสมโบราณเก่ า แก่ หาชมยาก ชัน้ ล่างเป็ นร้ านกาแฟ ชัน้ 2 เป็ นมุมนั่งเล่นสบายๆ และเป็ นที่ รวบรวมและเก็บของโบราณต่างๆ มากมาย ใครที่ชื่นชอบบรรยากาศย้ อนยุค แบบนี ้ต้ องแวะไปแช๊ ะแล้ วแชร์ ภาพกันหน่อยแล้ ว

70

SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบุรี

.indd 70

17/9/2561 11:45:30


บันทึกเส้นทางท่องเที่ยวจังหวัดเพชรบุรี

PHETCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 71

71

17/9/2561 11:45:38


TRAVELING TO PHETCHABURI

เขื่อนแก่งกระจาน | อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน “เขื่อนแก่ งกระจาน” ตังอยู ้ ่ในพื ้นที่ของอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน ต�ำบลแก่งกระจาน อ�ำเภอแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี เป็ นเขื่อนดินที่เรี ยกได้ ว่าเป็ นทะเลสาบน� ้ำจืดขนาดใหญ่ เหมาะส�ำหรับท่องเที่ยวที่ต้องการพักผ่อน หย่อนใจกับธรรมชาติของอ่างเก็บน� ้ำ ด้ วยการมาแค้ มป์ ปิ ง้ และท�ำกิจกรรม ด้ วยความเพลิดเพลิน เช่น ตกปลา ชมผีเสื ้อ หรื อนัง่ เรื อหางยาวชมทัศนียภาพ รอบอ่างเก็ บน� ำ้ แก่ ง กระจาน โดยเฉพาะอย่างยิ่ ง ในช่ว งเย็น ที่ ส ามารถชม ความงามของพระอาทิตย์ตกที่อ่างเก็บน� ้ำได้ อย่างสวยงาม

72

SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบุรี

.indd 72

17/9/2561 11:45:39


บันทึกเส้นทางท่องเที่ยวจังหวัดเพชรบุรี

PHETCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 73

73

17/9/2561 11:45:40


TRAVELING TO PHETCHABURI

ถ�้ำเขาหลวง | ชมแสงอาทิตย์สาดรอดจากเพดานถ�้ำ “ถ�ำ้ เขาหลวง” ตังอยู ้ ่บนเขาหลวง ห่างจากเขาวังประมาณ 5 กิโลเมตร เป็ น ถ� ำ้ ขนาดใหญ่ แ ละมี ค วามส� ำ คัญ ที่ สุด ในเมื อ งเพชรบุรี ม าตัง้ แต่ ส มัย พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้ าเจ้ าอยู่หวั รั ชกาลที่ 4 ที่ทรงโปรดฯให้ บูรณะ พระพุทธรู ปโบราณที่ประดิษฐานอยู่ภายในถ� ้ำแห่งนี ้ ต่อมาสมัยของพระบาท สมเด็จพระจุลจอมเกล้ าเจ้ าอยู่หวั รัชกาลที่ 5 ได้ ทรงสร้ างพระพุทธรู ปและ อารามขึ ้นภายในถ� ้ำเขาหลวง เพื่อถวายเป็ นพระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้ าเจ้ าอยู่หวั รัชกาลที่ 4 ส่วนความงดงามของถ� ้ำหลวงนอกจาก หินงอกหินย้ อย นักท่องเที่ยวไม่ควรพลาดชมแสงอาทิตย์ที่สาดรอดลงมาจาก ปล่องเพดานถ�ำ้ สู่พื ้นเบื ้องล่างคล้ ายกับว่ามีใครน�ำไฟ Spotlight สาดลงมา ซึง่ ช่วงเวลาที่เหมาะกับการชมความมหัศจรรย์ของธรรมภาพชาตินี ้ คือ เวลา ประมาณ 9.30 -10.30 น.

74

SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบุรี

.indd 74

17/9/2561 11:45:41


บันทึกเส้นทางท่องเที่ยวจังหวัดเพชรบุรี

เขาวัง | อุทยานประวัติศาสตร์พระนครคีรี เมื่ อ เข้ าสู่ จั ง หวัด เพชรบุ รี ไม่ มี ใ ครไม่ ร้ ู จั ก “เขาวั ง ” หรื อ อุ ท ยาน ประวัติ ศ าสตร์ พ ระนครคี รี เพราะเป็ น สถานที่ ท่ อ งเที่ ย วส� ำ คัญ และเป็ น สัญลักษณ์ของเมืองเพชรบุรี ที่สามารถมองเห็นเจดีย์และอาคารสีขาวโดดเด่น เป็ นสง่าอยู่บนยอดเขาวัง นับเป็ นโบราณสถานที่เก่าแก่ค่บู ้ านคู่เมืองเพชรบุรี โดยด้ านบนมีทงพระที ั้ ่นงั่ พระต�ำหนัก วัด และอาคารต่างๆ ที่ส่วนใหญ่เป็ น สถาปั ตยกรรมตะวันตกผสมสถาปั ตยกรรมจี น ส�ำหรั บการขึน้ เขาวังก็ มีทัง้ เดินเท้ าขึน้ บัน ไดเพื่ อชมวิ ว ทิ ว ทัศ น์ ร ะหว่า งทาง ส่ว นใครที่ ข้ อ เข่า ไม่ดี เป็ น ผู้พิการหรื อผู้สงู อายุก็สามารถขึน้ ลิฟท์โดยสาร เพื่อขึน้ ไปชมความสวยงาม ของเขาวังได้ เช่นกัน

ศูนย์วัฒนธรรมไทยทรงด�ำหรือลาวโซ่ง | อาศัยผืนแผ่นดินไทยมายาวนานกว่า 200 ปี

“ศู น ย์ วั ฒ นธรรมไทยทรงด�ำ หรื อ ลาวโซ่ ง ” ตัง้ อยู่ที่ ห มู่ 5 ต� ำ บล เขาย้ อย อ�ำเภอเขาย้ อย จังหวัดเพชรบุรี เป็ นศูนย์เรี ยนรู้ วฒ ั นธรรมและวิถีชีวิต ของชาวไทยทรงด�ำหรื อลาวโซ่ง ที่อาศัยอยู่ในจังหวัดเพชรบุรี ซึง่ อพยพเข้ ามา อาศัยผืนแผ่นดินไทยมายาวนานกว่า 200 ปี มีเอกลักษณ์ การแต่งกายด้ วย เสื ้อผ้ าสีด�ำ มีภาษาพูดและเขียนเป็ นของตัวเอง ศูนย์ วฒ ั นธรรมไทยทรงด�ำ จึง เป็ น สถานที่ เ ก็ บ รวบรวมภาพชี วิ ต ความเป็ น อยู่ใ นอดี ต ของชาวลาวโซ่ง ให้ คนรุ่ นหลังได้ ศึกษา จัดแสดงข้ าวของเครื่ องใช้ ในชี วิตประจ� ำวัน รู ปแบบ บ้ านเรื อน อักษรดังเดิ ้ ม และการสาธิตการทอผ้ า รวมทังจ� ้ ำหน่ายสินค้ าที่ระลึก ให้ แก่นกั ท่องเที่ยว

PHETCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 75

75

19/9/2561 14:45:37


TRAVELING TO PHETCHABURI

ตลาดน�้ำกวางโจว |

ตลาดน�้ำแห่งแรกและหนึ่งเดียวของไทย

“ตลาดกวางโจว” ตลาดน�ำ้ แห่งแรกและหนึ่งเดียวของไทย ตังอยู ้ ่บน น� ้ำตกกวางโจว เป็ นน� ้ำตกขนาดเล็กทีเ่ กิดจากการท�ำแก้ มลิงตามแนวพระราชด�ำริ ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชบรมนาถบพิตร นักท่องเที่ยวสามารถจับจ่ายสินค้ าชุมชนที่ชาวบ้ านน�ำมาค้ าขายกั น อย่ า ง คึ ก คัก เช่ น พื ช ผัก ผลไม้ และอาหารท้ อ งถิ่ น ที่ ห าชิ ม ยาก เช่น ห่อหมก กระบอกไม้ ไผ่ ขนมหม้ อแกงกระบอกไม้ ไผ่ ก๋วยเตี๋ยวเรื อหม้ อดินไก๋ตนุ๋ น� ้ำแว่น แก้ วปั่ น หมูยอห่อไผ่สตู รต้ นต�ำรับเมืองกวางโจว และผัดไทยม้ ง และกิจกรรม ที่สร้ างความเพลิดเพลินอีกมากมาย

76

SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบุรี

.indd 76

17/9/2561 11:45:46


บันทึกเส้นทางท่องเที่ยวจังหวัดเพชรบุรี

PHETCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 77

77

17/9/2561 11:45:50


TRAVELING TO PHETCHABURI นาเกลือบ้านแหลม | แหล่งผลิตเกลือสมุทร “นาเกลือบ้ านแหลม” คือแหล่งผลิตเกลือสมุทรที่ส�ำคัญของจังหวัด เพชรบุ รี แ ละดี ที่ สุด ของเมื อ งไทย ตัง้ อยู่ บ นถนนคลองโคน-บางตะบู น บ้ านแหลม เป็ นถนนสองเลนโครงข่ายเลียบชายทะเลที่สวยงาม ตัดผ่านไป ตามนาเกลือ ระหว่างทางท�ำให้ เห็นโรงเกลือจ�ำนวนมากเรี ยงรายไปตามถนน มี ทัง้ นาเกลื อ ที่ ยัง มี น� ำ้ ทะเลขัง รอการระเหยและตกผลึ ก และกองเกลื อ ที่ตกผลึกเป็ นเม็ดเรี ยงรายอยู่ในผืนนา รอการขนส่งเพื่อน�ำไปจ�ำหน่าย ซึ่งก็ ดูสวยแปลกตาไปอีกแบบหนึ่ง

78

SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบุรี

.indd 78

17/9/2561 11:45:51


บันทึกเส้นทางท่องเที่ยวจังหวัดเพชรบุรี

ขนมหม้อแกง | ของฝากจังหวัดเพชรบุรี ปั จจุบนั หากคุณมีโอกาสไปท่องเที่ยวจังหวัดใดๆ ก็ตาม หลายๆ ครั ง้ คงจะรู้สกึ ได้ วา่ ของฝากจากจังหวัดไหนๆ ก็หน้ าตาละม้ ายคล้ ายคลึงกันเกือบทุก จังหวัดไปซะหมด ไม่ว่าจะเป็ นผลไม้ แช่อิ่ม, โมจิหลากรส, ขนมเปี๊ ยะหลายไส้ , เค้ กชนิดต่างๆ, ของทะเลแห้ ง ฯลฯ บางครัง้ ไปเที่ยวภาคใต้ ก็พบเห็นของฝาก จากภาคเหนือ บางครัง้ ไปเที่ยวภาคเหนือก็เจอของฝากจากภาคใต้ คละเคล้ า ผสมปนเปกัน ไปทั่ว แต่ห ากคุณ ตัด สิ น ใจเลื อ กซื อ้ ของฝากซึ่ง เป็ น ผลผลิ ต ภายในท้ องถิ่น หรื อของฝากต้ นต�ำรับของจังหวัดนันๆ ้ โอกาสที่จะได้ ของฝาก คุณภาพดี สด ใหม่ และราคาไม่แพงก็ย่อมมากกว่าเป็ นธรรมดา

PHETCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 79

79

17/9/2561 11:45:57


TRAVELING TO PHETCHABURI

หาดชะอ�ำ | ชายหาดที่สวยงามและมีชื่อเสียง “หาดชะอ�ำ” เป็ นชายหาดที่สวยงามและมี ชื่อเสียงมากของจังหวัด เพชรบุรี อยู่ห่างจากตัวเมืองเพชรบุรี 41 กิโลเมตร ชายหาดชะอ�ำเป็ นที่นิยม ของนักท่องเที่ ยวทัง้ ชาวไทยและต่างชาติ ที่ นิยมมาพัก ผ่อ นหย่อ นใจ และ ท� ำ กิ จ กรรมต่า งๆ อย่ า งไม่ ข าดสาย เช่ น ปั่ น จัก รยานรั บ ลมเรี ย บชายหาด เล่น เรื อ กล้ ว ย หรื อ กิ จ กรรมขี่ ม้ า ที่ มี ไ ว้ ใ ห้ บ ริ ก ารแก่ นัก ท่ อ งเที่ ย วที่ ชื่ น ชอบ ความตื่นเต้ น

80

SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบุรี

.indd 80

17/9/2561 11:45:58


บันทึกเส้นทางท่องเที่ยวจังหวัดเพชรบุรี

PHETCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 81

81

17/9/2561 11:46:01


TRAVELING TO PHETCHABURI

Swiss Sheep Farm | ฟาร์มแกะชะอ�ำ ฟาร์ ม แกะชะอ� ำ “Swiss Sheep Farm” ควงคู่ ห นุ่ ม สาวหรื อ คู่ รั ก หวานแหววไปสั ม ผั ส บรรยากาศฟาร์ ม เลี ย้ งแกะสไตล์ ส วิ ส เซอร์ แ ลนด์ ท่ามกลางหุบเขาแห่งความรัก ฟาร์ มแกะที่จะท�ำให้ ครู ักและครอบครัวของคุณ ได้ เพลิดเพลินไปกับการขี่ม้าชมวิว เลี ้ยงแกะ ท่ามกลางทุ่งหญ้ า และคูร่ ักจะได้ สนุกอย่างเต็มอิ่มกับกิจกรรมพิสจู น์รักแท้ ที่สนุกสนานโรแมนติก โดยเชื่อกันว่า คู่รักคู่ไหนที่ ได้ มาคล้ องกุญแจแห่งรั กร่ วมกันที่ Swiss Sheep Farm แห่งนี ้ จะครองรั ก แบบหวานชื่ น และนิ รั น ดร์ ต ลอดไป รู้ แบบนี แ้ ล้ ว คู่รั ก ทัง้ หลาย จะรออะไร

82

SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบุรี

.indd 82

17/9/2561 11:46:03


บันทึกเส้นทางท่องเที่ยวจังหวัดเพชรบุรี

PHETCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 83

83

17/9/2561 11:46:09


BREATHING

PHETCHABURI สะพายเป้พระนครคีรี ศรีเมืองเพชร สัมผัสวิถีชีวิต ศิลปวัฒนธรรม ดื่มด�่ำเพชรบุรีทุกลมหายใจ Phetchaburi 2018

www.sbl.co.th

P. 84-85.indd 84

SBL บั น ทึ ก ประเทศไทย

@SBL บั น ทึ ก ประเทศไทย

18/9/2561 13:50:50


KAENGKRACHAN

Photo : Nimit Khumtong

P. 84-85.indd 85

18/9/2561 13:50:51


S P ECI A L INT E R V IE W

บันทึกเส้นทางพบนายสุกิจ ปวีณะปกรณ์

“การท� ำ โทษนั ก เรี ย นเรา จะไม่ท�ำด้วยอารมณ์ แต่จะท�ำด้วยเหตุผล เมื่อเด็กนักเรียนเข้าใจ ครูจะปกครองง่ายขึ้น” ...ครูหยง ถ้ า เคยเป็ น ศิ ษ ย์ เ ก่ า โรงเรี ย น พรหมานุ ส รณ์ จั ง หวั ด เพชรบุ รี คง ไม่ มี ลู ก ศิ ษ ย์ ค นไหนไม่ รู ้ จั ก “ครู ห ยง” หรือ คุณครูสุกิจ ปวีณะปกรณ์ ครูฝ่าย ปกครองที่ ลู ก ศิ ษ ย์ ต ่ า งพู ด เป็ น เสี ย ง เดียวกันว่า “ดุมาก” ปัจจุบัน แม้ครูหยง จะเกษียณราชการไปแล้วกว่า 10 ปี แต่ ยั ง อยู ่ ใ นแวดวงของการศึ ก ษา โดยยั ง รั บ หน้ า ที่ น ายกสมาคมนั ก เรี ย นเก่ า พรหมานุสรณ์จังหวัดเพชรบุรี

นายกสมาคม

นักเรียนเก่าพรหมานุสรณ์ จังหวัดเพชรบุรี นายสุกิจ ปวีณะปกรณ์

86

คุ ณ ครู สุ กิ จ ปวี ณ ะปกรณ์ หรื อ ครู ห ยง คนไทยเชื้ อ สายจี น เรี ย นระดั บ ประถมศึ ก ษาที่ โรงเรียนอรุณประดิษฐ และโรงเรียนปริยัติรังสรรค์ เรียนระดับมัธยมศึกษาที่โรงเรียนคงคาราม และ โรงเรียนพรหมานุสรณ์ อ�ำเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี อนุปริญญา วิทยาลัยพลศึกษา ส่วนกลาง ปริญญาตรี วิทยาลัยครูเพชรบุรี และมีโอกาสรับราชการครูฝ่าย ปกครองทีโ่ รงเรียนพรหมานุสรณ์ คอยดูแลเด็กเรียน ให้อยู่ในระเบียบวินัย

SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบุรี

(

.

)4

.indd 86

19/9/2561 15:21:05


เป็นครูฝ่ายปกครอง ต้องดุ...?

เด็กเขาว่าดุนะครับ แต่จริงๆ แล้ว การดุนั้นเรามีเหตุผล ส่วนใหญ่จะให้ ข้ อ คิ ด เขาไปในการท� ำ โทษแต่ ล ะครั้ ง ถ้าไม่ท�ำอย่างนั้นเขาจะไม่รู้ว่าเขาผิด อะไร การท�ำโทษนักเรียนเราจะไม่ท�ำ ด้วยอารมณ์ แต่จะท�ำด้วยเหตุผล เมื่อ เด็กนักเรียนเข้าใจ ครูจะปกครองง่ายขึน้ นอกจากเป็ น ครู ฝ ่ า ยปกครองของ โรงเรียนแล้ว ในด้านสังคมยังรับหน้าที่ ด้านกีฬาคือเป็นประธานชมรมฟุตบอล ให้ กั บ จั ง หวั ด เพชรบุ รี จ นถึ ง เกษี ย ณ ราชการ

มุมมองการศึกษาและกีฬา จังหวัดเพชรบุรี

ในจังหวัดเพชรบุรีมีการส่งเสริมการ ศึกษาที่ดี โดยเฉพาะโรงเรียนใหญ่ๆ มี การพัฒนา แต่ในภาพรวมเราไม่อยาก ให้ นั ก เรี ย นมากระจุ ก อยู ่ แ ค่ ใ นเมื อ ง ซึ่ ง ควรกระจายอยู ่ ใ นท้ อ งถิ่ น นั้ น คื อ อยู่ที่ไหนควรจะเรียนที่นั้น ซึ่งปัจจุบัน ท�ำให้เด็กประถมต้องตื่นแต่เช้า นั่งรถ มาเพื่อเข้าไปเรียนในเมือง เด็กบางคน ตื่นตั้งแต่ตี 5 แล้วมานั่งหลับในรถ เสี่ยง อันตรายในการนั่งรถ บางคนติดอยู่ใน รถเสียชีวิตก็มี ฉะนั้นจะท�ำอย่างไรให้ โรงเรี ย นประถมที่ อ ยู ่ น อกเมื อ งมี ก าร พัฒนาเทียบเท่าโรงเรียนในเมือง

PHETCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

(

.

)4

.indd 87

87

19/9/2561 15:21:12


ในด้ า นกีฬ าโดยทั่วไปก็มีสมาคม กี ฬ าและชมรมกี ฬ าแต่ ล ะที่ ที่ เ ขารั บ ผิดชอบอยู่แล้ว เรื่องใหญ่ คือ เรื่อง งบประมาณอุดหนุนซึ่งมีไม่เพียงพอ ส่วนใหญ่ ชมรมคนที่รักกีฬ าต้อ งเสีย สละลงทุ น ลงแรงท� ำ กั น เอง ซึ่ ง เป็ น จุ ด หนึ่ ง ที่ ท� ำ ให้ ก ารกี ฬ าของจั ง หวั ด

88

เพชรบุ รี ไ ม่ ค ่ อ ยพั ฒนา ถ้ า กี ฬ าชนิ ด ไหนมีโค้ชเอาใจใส่ดี มีการส่งเสริมดี มักจะมีศักยภาพดี ดังนั้นหลักๆ จึง เป็นเรื่องของงบประมาณ สมัยก่อน กี ฬ าหลายชนิ ด เช่ น เซปั ก ตะกร้ อ จังหวัดเพชรบุรี มีการส่งเสริมกันมาก จนสามารถเข้าไปเล่นในระดับทีมชาติ หลายคน

”ท� ำ อย่ า งไรให้ โ รงเรี ย น ประถมที่ อ ยู ่ น อกเมื อ ง มี ก ารพั ฒ นาเที ย บเท่ า โรงเรียนในเมือง” ...ครูหยง

SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบุรี

(

.

)4

.indd 88

19/9/2561 15:21:18


รับหน้าที่นายกสมาคม นักเรียนเก่าพรหมานุสรณ์ จังหวัดเพชรบุรี

บรรดาศิษย์เก่าเขาเลือกให้เป็นนายก สมาคมนักเรียนเก่าพรหมานุสรณ์จังหวัด เพชรบุรี ซึ่งต้องส่งเสริมเกี่ยวกับกิจกรรม ของโรงเรียนตามสภาพของสมาคม เรื่อง ที่โรงเรียนท�ำ สมาคมก็จะชี้แจงให้ศิษย์เก่า

เขารับทราบ ซึง่ ก็ได้รบั การสนับสนุนอย่างดี ท�ำหน้าทีเ่ ป็นผูป้ ระสานงานให้กบั เด็กๆ จึง เป็นที่รู้จักของคนทั่วไป จังหวัดเพชรบุรี มีสถานทีท่ อ่ งเทีย่ วครบ มีวัง 3 วัง มีน�้ำตก น�้ำพุร้อน มีทะเลโคลน และทะเลทราย คิดว่าเป็นเมืองที่น่าเที่ยว และไม่ไกลจากกรุงเทพฯมากนัก การเดิน

ทางสะดวก ขอเชิญชวนพี่น้องชาวไทยให้ มาเที่ยวจังหวัดเพชรบุรีของเรา ของกิน ก็มเี ยอะ ดังค�ำขวัญของจังหวัดเพชรบุรี “เขา วังคูบ่ า้ น ขนมหวานเมืองพระ เลิศล�ำ้ ศิลปะ แดนธรรมะ ทะเลงาม” ที่เป็นแดนธรรมะ เพราะว่าจังหวัดเพชรบุรมี วี ดั มากกว่า 200 วัด วัดสวยทั้งนั้นเลยครับ ก็ขอเชิญชวน ถ้ามี โอกาสก็มาเที่ยวนะครับ

PHETCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

(

.

)4

.indd 89

89

19/9/2561 15:21:24


S P ECI A L INT E R V IE W บันทึกเส้นทางพบนายสมชาย ครืกครื้น

... “ผู้ที่น�ำองค์กร คือ ผู้อ�ำนวยการโรงเรียน ครูอาจารย์หรือกรรมการ สถานศึกษาเขาต้องฟังเรา และเราก็ต้องฟังเขาด้วย”

ผู้อ�ำนวยการ เชี่ยวชาญโรงเรียนชะอ�ำคุณหญิงเนื่องบุรี นายสมชาย ครึกครื้น นายสมชาย ครึ ก ครื้ น เกิ ด เมื่ อ

วันที่ 17 ธันวาคม พ.ศ.2500 วุฒกิ ารศึกษา ระดับปริญญาโท สาขาการบริหารการศึกษา ประสบการณ์ ก ารท� ำ งานเป็ น ผู ้ บ ริ ห าร โรงเรียนช่วงชั้นที่ 1-2 ตั้งแต่ปี พ.ศ.2532

90

บริ ห ารโรงเรี ย นช่ ว งชั้ น ที่ 1 -3 ตั้ ง แต่ ป ี พ.ศ.2542 บริหารโรงเรียนช่วงชั้นที่ 3-4 ตัง้ แต่ปี พ.ศ.2550 จนถึงปัจจุบนั บิดาชือ่ นายกลาง ครึกครืน้ มารดาชือ่ นางปิม่ ครึกครืน้ คูส่ มรส นางอาภาภรณ์ ครึกครืน้ อาชีพแม่บา้ น

บุตร นางสาวนพวรรณ ครึกครื้น ปัจจุบัน อยู่บ้านเลขที่ 59 หมู่ 5 ต.หนองศาลา อ.ชะอ�ำ จ.เพชรบุรี สถานทีท่ ำ� งาน โรงเรียน ชะอ�ำคุณหญิงเนื่องบุรี ต.ชะอ� ำ อ.ชะอ� ำ จ.เพชรบุรี

SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบุรี

.indd 90

19/9/2561 15:27:15


ประวัติการรับราชการ

• 21 พ.ค. พ.ศ.2521 เริ่ ม รั บ ราชการต�ำแหน่งครู 2 โรงเรียนบ้านไร่ โคก (อินทรประชาสรรค์) อ.บ้านลาด จ.เพชรบุรี • 1 เม.ย. พ.ศ.2523 รับราชการครูที่ โรงเรียนบ้านบ่อไร่ อ.ชะอ�ำ จ.เพชรบุรี • 1 พ.ค. พ.ศ.2532 ด�ำรงต�ำแหน่ง ครูใหญ่โรงเรียนบ้านบางเกตุ อ.ชะอ�ำ จ.เพชรบุร ี • 1 ธ.ค. พ.ศ.2542 ด�ำรงต�ำแหน่ง ผู ้ อ�ำ นวยการโรงเรีย นบ้า นหุบกะพง อ.ชะอ�ำ จ.เพชรบุรี • 2 พ.ย. พ.ศ.2550 ด�ำรงต�ำแหน่งผู้ อ�ำนวยการโรงเรียนโตนดหลวงวิทยา อ.ชะอ�ำ จ.เพชรบุรี สังกัดส�ำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาเพชรบุรี เขต 2 • 1 ก.ค. พ.ศ.2552 - ปั จ จุ บั น ด�ำรงต�ำแหน่ง ผู้อ�ำนวยการเชี่ยวชาญ โรงเรี ย นชะอ� ำ เนื่ อ งบุ รี อ.ชะอ� ำ จ.เพชรบุรี สังกัดส�ำนักงานเขตพื้นที่ มัธยมศึกษา เขต 10

นั บ เป็ น ความโชคดี ที่ ผ มมี โอกาสถวายงานให้กบั สมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี หลั ง จากนั้ น ก็ มี โ อกาสมารั บ หน้ า ที่ ผู้อ�ำนวยการโรงเรียนมัธยม ซึ่งใน ยุคสมัยนั้นไม่สามารถย้ายได้ เพราะ เป็ น คนละสายกั น ประถมก็ ตั้ ง แต่ อนุบาล - ป.6 มัธยมก็ตงั้ แต่ ม.1 - ม.6

ผมน่ า จะเป็ น คนแรกๆ ที่ ย ้ า ยจาก ประถมมามัธยม

PHETCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 91

91

19/9/2561 15:27:23


มุมมองด้านการศึกษา ในอดีต – ปัจจุบัน

โรงเรียนถือเป็นหน่วยปฏิบัติ ระดับ กระทรวง ระดั บ กรม คื อ ผู ้ ก� ำ หนด นโยบาย แต่ ฝ ่ า ยที่ ท� ำ จริ ง ๆนั่ น คื อ โรงเรี ย น ส่วนผู้ที่ก�ำ หนดนโยบายของ โรงเรี ย นก็ คื อ ผู ้ อ� ำ นวยการโรงเรี ย น เพราะฉะนั้ น โรงเรี ย นจึ ง ส� ำ คั ญที่ สุ ด ใน เรื่ อ งของการขั บ เคลื่ อ นการศึ ก ษาไป สู่เป้าหมายที่เราต้องการ

92

SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบุรี

.indd 92

19/9/2561 15:27:31


นายสมชาย ครึกครื้น ผู้อ�ำนวยการเชี่ยวชาญ โรงเรียนชะอ�ำคุณหญิงเนื่องบุรี

เป้าหมายของเรา คือ การเดินไปข้าง หน้าห้ามหยุดอยู่กับที่ ย้อนกลับไปในอดีต ที่ผ่านมา เราอาจย�่ำอยู่กับที่จึงไม่มีการ พัฒนา นี่คือมุมมองของผม ผู้ที่น�ำองค์กร คือ ผู้อ�ำนวยการโรงเรียน ครูอาจารย์หรือ กรรมการสถานศึกษาเขาต้องฟังเราและ เราก็ต้องฟังเขาด้วย เมือ่ ประมาณปี พ.ศ. 2547 นายชินวรณ์ บุณยเกียรติ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวง ศึกษาธิการ เคยเดินทางมาที่ชะอ�ำ โดย ไม่ได้แจ้งล่วงหน้า เพื่อคัดเลือกโรงเรียน ดี เ ด่ น เขาบอกว่ า โรงเรี ย นที่ ช ะอ� ำ เราดี มีชื่อเสียง เขาก็ชื่นชม ตอนนี้โรงเรียนที่ ชะอ�ำจึงได้มาตรฐานสากล คือ เด็กต้อง เน้นเรียนภาษาอังกฤษเป็นหลัก เพราะ ภาษาอังกฤษเป็นภาษาสากล โรงเรียนยัง ต้องสอนบางวิชาเป็นภาษาอังกฤษ เด็ก ชะอ�ำจึงเก่งภาษาอังกฤษ คือ สามารถสนทนา กั บ ชาวต่ า งชาติ ไ ด้ เ ลย เพราะส่ ว นหนึ่ ง เด็กเขาต้องค้าขาย ท่านอดีตรัฐมนตรีถามผมว่า ในฐานะ ที่ท่านเป็น ผู้อ�ำนวยการโรงเรียนนี้ ท่าน มีนโยบายอย่างไร ผมจึงบอกไปว่าโรงเรียน ของผมเป็นโรงเรียนทีอ่ ยูใ่ นแหล่งท่องเทีย่ ว จึ ง จ� ำ เป็ น ต้ อ งใช้ ภ าษาอั ง กฤษเป็ น หลั ก เพราะฉะนั้นผมจึงต้องเน้นให้เด็กนักเรียน สามารถพู ด ภาษาอั ง กฤษได้ แล้ ว ท่ า น บอกว่ า ท� ำ ถู ก ต้ อ งแล้ ว แม้ ใ นเรื่ อ งของ วิชาการทั้งหมดเราจะสู้กับโรงเรียนอื่นๆ ไม่ได้ แต่ภาษาอังกฤษเราสู้ได้ เราจะเป็น โรงเรียนมาตรฐานสากล เป็นโรงเรียนในฝัน โรงเรียนพระราชทาน ซึ่งถือว่าเป็นสุดยอด รางวัลของการศึกษา

PHETCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 93

93

19/9/2561 15:27:35


ขนมหม้อแกง แม่กิมไล้

ต้นต�ำหรับ

ขนมหม้อแกง เมืองเพชรบุรี

94

SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบุรี

(4

).indd 94

15/9/2561 13:29:23


... “แม่กิมไล้ 3 ค�ำ จ�ำไว้เถิด ดังระเบิดฟูเฟื่อง เรื่องขนม สังคมยอมรับ ประดับนิยม เป็นขนมโบราณ แต่กาลมา”

ประวัติแม่กิมไล้ คุ ณ แม่ กิ ม ไล้ หรื อ ไล้ บุ ญ ประเสริ ฐ ปัจจุบัน อายุ 88 ปี ภูมิล�ำเนาเดิม อยู่ที่ตำ� บล บางตะบูน อ�ำเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี จบการศึกษาประถมศึกษาปีที่ 4 ปัจจุบันท�ำ ขนมหม้อแกงและขนมหวานมากมายหลาย ชนิดจ�ำหน่ายจนได้รบั ความไว้วางใจจากลูกค้า เป็นจ�ำนวนมาก ในอดีตแม่กิมไล้พายเรือขาย ขนมกับคุณแม่แดง ตะบูรณ์พงศ์ จากบางตะบูน ไปอ�ำเภอบ้านแหลม หลังจากแต่งงานกับสามี

จ่าสิบต�ำรวจ กลม บุญประเสริฐ จึงเริ่มขยับ ขยายมาเช่าบ้านอยู่ในตลาดแถววัดมหาธาตุ ขนมที่แม่กิมไล้ขายส่วนใหญ่เป็นขนมห่อจาก ใบตอง เช่น ข้าวต้มมัด ขนมตาล ขนมกล้วย จนได้รับฉาย “แม่กิมไล้ รวยด้วยกล้วย” ด้วยความทีเ่ คยเป็นแม่คา้ ขนมหวานและ ช่วยคุณแม่ท�ำขนมหวานมาตั้งแต่อายุ 7 ขวบ จึงคิดน�ำประสบการณ์ที่มีมาอย่างยาวนาน ท� ำ ขนมขาย แต่ ใ นขณะนั้ น เงิ น ลงทุ น น้ อ ย

เงิ น เดื อ นจากข้ า ราชการต� ำ รวจของสามี ก็ไม่เพียงพอ จึงต้องไปหยิบเงินผู้อื่นมาลงทุน ก่อน ซึ่งหลายคนก็ใจดียื่นมือเข้ามาช่วยเหลือ จึงเริ่มท�ำขนมขายไปทั่วตลาดเมืองเพชรบุรี ทั้งขนมหม้อแกง ทองหยิบ ทองหยอด ได้รับ ค�ำติชมจากลูกค้าและน�ำมาพัฒนา บางวันขาย บางวันน�ำไปแจกฟรีเพื่อให้ลูกค้าลองชิมก่อน ชิมไปชิมมา จนได้สูตรที่พอดีอร่อยเป็นที่ถูกใจ ของลูกค้า LOP BURI I SBL บันทึกประเทศไทย

(4

).indd 95

95

19/9/2561 14:40:28


เป็นขนมในต�ำนานคู่เมืองเพชรบุรีไปแล้ว

สมัยก่อนชาวบ้านที่สูงอายุหน่อยมักจะ เรียกแม่กมิ ไล้วา่ “อีไล้” มีคนจีนท่านหนึง่ บอก ว่าชื่อไล้ไม่ดี จึงเติม “กิม” ให้ ซึ่งกิม แปลว่า “ทอง” ส่วนไล้ แปลว่า “มา” ชื่อ“กิมไล้” จึง แปลว่า “เงินทองไหลมาเทมา” เมื่อมีลูก แม่ กิมไล้จะสอนลูกๆเสมอว่าต้องมีความอดทน มี มานะอุตสาหะ ทุกอย่าง และอย่าโกงลูกค้า ไม่ น�ำขนมค้างคืนไปขาย รับฟังค�ำติชมแล้วน�ำไป พัฒนาใหม่ สมัยก่อน แม่กมิ ไล้จะได้รบั ความไว้วางใจ จากร้านค้าที่ขายไข่ ขายน�้ำตาล หรืออุปกรณ์ การท�ำขนมให้ไปใช้กอ่ น ขายได้เงินแล้วจึงค่อย น�ำมาให้ ที่เป็นเช่นนี้ก็เพราะเห็นว่าแม่กิมไล้ เป็นคนขยันท�ำมาหากินและซื่อสัตย์ ประกอบ กับสามี “จ่ากลม” ข้าราชการต�ำรวจ ก็มคี วาม ซื่อสัตย์สุจริต จนได้รับฉายา “มือไม่ถือคันไถ กับเตารีด” จ่ากลมไม่เคยรีดไถเพือ่ รับเงินจากใคร และสอนลูกเสมอไม่ให้ไปรับสินบนใคร เป็น ต�ำรวจหรือรับราชการต้องซื่อสัตย์ ปฏิบัติตาม ค�ำสอนของในหลวงรัชกาลที่ 9 มาโดยตลอด

ค�ำสอนของจ่ากลมฝากถึงลูก

“เมาเพศ หมดค่า เมาสุรา หมดความส�ำคัญ เมาการพนั น หมดตั ว เมาเพื่อนชั่ว หมดดี”

96

SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบุรี

(4

).indd 96

15/9/2561 13:29:42


ขนมหม้อแกงแม่กิมไล้ ยุครุน ่ ลูก (ปรีดา บุญประเสริฐ) ปัจจุบัน ร้านขนมหวานแม่กิมไล้ของเรา มีชื่อเสียง เราประยุกต์จากขนมหม้อแกง ขนม ชั้น บ้าบิ่น ทองหยิบ ทองหยอด ฝอยทอง ส่วน ข้าวเหนียวหน้านวล วันนีเ้ ราเรียก “ข้าวเหนียวตัด” คนเมืองเพชรบุรีมักเรียก “ไอ้ตื้อ” เพราะกิน แล้วอิ่มตื้อ ใครมาเพชรบุรีส่วนใหญ่จะซื้อขนม หม้อแกง ซึง่ แล้วแต่ความชืน่ ชอบ ส่วนขนมของแม่ ลูกค้าอายุตั้งแต่ 70 – 80 ปี เพราะว่าบางท่าน จะกินมาตั้งแต่สาวๆ แม้ตอนนี้คุณแม่จะอายุ 88 ปีแล้วแต่รสชาติขนมหวานของเรายังคงเดิม ไม่เปลี่ยนแปลง เพราะคุณแม้จะบอกไว้เสมอ ว่า น�้ำตาลที่ใช้ในการท�ำขนม ต้องเป็นน�้ำตาล โตนดที่มาจากอ�ำเภอบ้านลาดเท่านั้น ส่วนไข่ ก็ต้องเป็นไข่เป็ดจากอ�ำเภอบ้านแหลม เพราะ เขาน�ำเศษปลา กุ้ง ปลาหมึก ที่หาได้จากทะเล มาโม่ ใ ห้ เ ป็ ด กิ น ซึ่ ง มั น จะท� ำ ให้ ไข่ แ ดงมาก ส่ ว นกะทิ ก็ ต ้ อ งเป็ น มะพร้ า วที่ จ ากอ� ำ เภอ ทับสะแก จังหวัดประจวบคีรขี นั ธ์ ซึง่ เป็นเคล็ดลับ ของคุณแม่ครับ อีกอย่าง คือ น�้ำประปา ถ้ามีคลอรีนมาก จะท�ำให้ขนมมีรสชาติเฝื่อน แต่แม่น�้ำเพชรบุรี ของเราเป็นน�้ำสะอาด แม้แต่รัชกาลที่ 5 ท่าน ยังทรงใช้เสวย แต่สิ่งที่ส�ำคัญที่สุด คือ ความ สะอาด หลังจากผสมส่วนผสมทุกอย่างเรียบร้อย ก็ตอ้ งชิมตอนดิบๆก่อนจะน�ำไปใส่เตาอบ ก่อน ไปหยอดลงแม่พมิ พ์ ขาดเหลืออะไรต้องปรุงให้ ได้รสชาติที่ดีก่อนที่ขนมจะสุกจากเตา ดังนั้น ขนมทุ ก อย่ า งของแม่ กิ ม ไล้ จึ ง มี ม าตรฐาน มีคุณภาพ สมกับความอร่อยคู่เมืองเพชรบุรี

ค�ำสอนของแม่กิมไล้ฝากถึงลูก

“นอนนาน งานน้อย ใช้บอ่ ย เงินหมด มีเงิน หน้าสด เงินหมด หน้าแห้ง”

LOP BURI I SBL บันทึกประเทศไทย

(4

).indd 97

97

15/9/2561 13:29:48


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

ชมความคลาสสิกของวัดเก่าแก่ ที่เป็นพระอารามหลวง ในสมัยของ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5

วัดใหญ่สุวรรณาราม พระอารามหลวง พระครูวัชรสุวรรณาทร ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดใหญ่สุวรรณาราม เจ้าคณะอ�ำเภอเมืองเพชรบุรี 98

SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบุรี

6

.indd 98

19/9/2561 14:19:51


HIST ORY OF BUDDH ISM

บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

“ภาพและลายในพระอุโบสถนี้ ้ ไป” คงเขียนมาก่อน 300 ปีขึน จากหลักฐานตามพระราชหัตถเลขา ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5

วัดใหญ่สุวรรณาราม พระอารามหลวง

พระครูวัชรสุวรรณาทร เจ้าอาวาสวัดใหญ่สุวรรณาราม เจ้าคณะอ�ำเภอเมืองเพชรบุรี

วัดใหญ่สวุ รรณาราม พระอารามหลวง ตั้งอยู่ที่ต�ำบลท่าราบ อ�ำเภอเมือง จังหวัด เพชรบุรี อยู่ในเขตเทศบาล ห่างจากศาลา กลางจังหวัดประมาณครึ่งกิโลเมตร มีถนน พงษ์สุริยาผ่านข้างวัดไปยังที่ต้ังตัวอ�ำเภอ บ้านแหลมชายทะเลโคลน มีเนื้อที่อาณาเขต วัดประมาณ 20 ไร่ เศษ วัดใหญ่สวุ รรณาราม ชาวบ้ า นมั ก จะเรี ย กสั้ น ๆ ว่ า “วั ด ใหญ่ ” เดิมตั้งอยู่ ต�ำบลหน้าพระลาน เมื่อเทศบาล รวมเขตเข้ากับ ต�ำบลท่าราบ ปัจจุบันจึง อยู ่ ใ นต� ำ บลท่ า ราบ อ� ำ เภอเมื อ ง จั ง หวั ด เพชรบุ รี จากสะพานพระจอมเกล้ า ที่ ท� ำ ข้ า มแม่ น�้ ำ เพชรบุ รี อยู ่ ห ่ า งจากย่ า น ใจกลางตลาดวัดใหญ่สุวรรณาราม ไม่ถึง 1 กิโลเมตร

วัดใหญ่สุวรรณาราม มีมาตั้งแต่สมัย อยุธยาหรืออาจมากกว่านั้น ด้วยมีใบเสมา คู่พระอุโบสถเป็นหลักฐานอยู่ นอกจากนี้ ยั ง มี โ บราณสถานและโบราณวั ต ถุ ล�้ำ ค่ า อยูอ่ กี หลายอย่าง ส่วนมากยังอยูใ่ นสภาพดี เพราะได้รับการบ�ำรุงรักษาสืบต่อกันมา หลายอายุคน อาจารย์ แ ตงโม พระราชาคณะที่ สุวรรณมุนี (ปรากฏในท�ำเนียบสมณศักดิ์ และคณะสงฆ์ครั้งกรุงเก่าว่า เป็นต�ำแหน่ง พระครูสุวรรณมุนีเมืองเพชรบุรีที่เป็นสังฆ ราชา) ซึ่งเรียกกันว่า “สมเด็จเจ้าแตงโม” เมื่อท่านมั่งคั่งด้วยพระสมณศักดิ์ฐานันดร แล้ว ภายหลังต่อมาท่านคิดถึงภูมิล�ำเนา บ้านเกิดเดิม และวัดอันเป็นสถานมูลศึกษา ของท่ า น จึ ง ได้ ถ วายพระพรลาสมเด็ จ พระเจ้าแผ่นดิน ว่าจะออกไป

บู ร ณปฏิ สั ง ขรณ์ พ ระอารามที่ เ คยพ� ำ นั ก อาศั ย เป็ น การบ� ำ เพ็ ญ พุ ท ธบู ช า ก็ ท รง อนุญาตอนุโมทนาแล้วถวายท้องพระโรง ในพระราชฐานองค์หนึง่ เป็นการช่วย เจ้าคุณ อาจารย์แตงโมท่านได้น�ำมาประดิษฐาน เป็ น ศาลาการเปรี ย ญไว้ ใ นวั ด ใหญ่ นั้ น ตัวไม้และเสาไม้ใหญ่งดงามมาก ลวดลาย ที่ เ ขี ย นและลายสลั ก ก็ เ ป็ น ฝี มื อ โบราณ บานประตูศาลาการเปรียญสลักงามเป็น ลายก้านขดปิดทองอย่างวิจิตร และมีรอย ขวานหรือรอยมีดฟันอยู่ 1-2 แห่ง ได้กล่าว กันว่าเมือ่ ครัง้ ศึกพม่าหรือมอญเข้ามาท�ำศึก ในเมื อ งเพชรบุ รี สู ้ ไ ม่ ไ ด้ พ ากั น หนี ข้าศึก จึงพากันไล่ตามจับ พวกที่หนีพากัน เข้ า ศาลาการเปรี ย ญนี้ พ วกข้ า ศึ ก จึ ง ได้ ฟันฝ่าประตูเข้าไปหมายจะจับแต่ไม่เป็น ผลส�ำเร็จ เพราะมีผู้มาช่วย จึงได้พากัน หนีไป และ

PHETCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

6

.indd 99

99

14/9/2561 16:58:05


บานประตูศาลาการเปรียญสลักงามเป็นลายก้านขดปิดทองอย่างวิจิตร และมีรอยขวานหรือรอยมีดฟันอยู่ 1-2 แห่ง

เสาและเพดาน มีการตกแต่ง ด้วยลายทองบนพื้นแดงอย่างวิจิตร

ศาลาการเปรียญ ทรงไทย สร้างด้วยไม้สักทั้งหลัง วัดใหญ่สุวรรณาราม

100

เมื่อสมเด็จเจ้าแตงโมมาถึงแล้วเขา เล่าว่าท่านได้หล่อรูปท่านไว้รูปหนึ่ง เรื่อง หล่อรูปนี้หาช่างปั้นหุ่นแสนยาก ไม่มีใคร ท�ำได้เหมือน จนมาได้ตาแป๊ะหลังโกงคนหนึง่ ซึ่งเป็นช่างปั้น ฝีมือดีหล่อได้เหมือนมิผิด เพี้ยน ท่านจึงได้หล่อรูปตาแป๊ะไว้เป็นที่ ระลึกด้วย ประดิษฐานไว้ในโบสถ์วัดใหญ่ ยังอยูต่ ราบเท่าทุกวันนี้ มีเจ้านาย ข้าราชการ พ่อค้าชาวต่างประเทศ เมื่อไปเที่ยวเมือง เพชรบุรีได้ไปชมศาลาการเปรียญและรูป สมเด็ จ เจ้ า แตงโมมิ ไ ด้ ข าด สมเด็ จ พระ สังฆราช (แตงโม) ได้ปฏิสังขรณ์วัดใหญ่ สุวรรณาราม เสร็จเรียบร้อยแล้ว สมเด็จฯ ท่านไม่ได้อยู่ครองวัดเป็นเจ้าอาวาส แต่ได้ กลับไปยังกรุงศรีอยุธยาดังเดิม

ท�ำเนียบเจ้าอาวาส

1. พระอธิการโศกหรือโลก 2. พระอธิการฉิม 3. พระอธิการเกิด 4. พระอธิการเลียบ พ.ศ.2409-2415 5. พระครูมหาวิหาราภิรักษ์(พุก) พ.ศ.2411-2446

6. พระครูญาณสาคร (มุ้ย) พ.ศ.2454-2467 7. พระครูญาณวิมล (แดะ) พ.ศ.2460-2474 8. พระครูมหาวิหาราภิรักษ์ (นาค) พ.ศ.2474-2499

9. พระครูสุวรรณศิลปาคม (สม) พ.ศ.2499-2542

10. พระมงคลวรญาณ (นิตย์ จตฺตาวิโล) พ.ศ.2542-2553

11. พระครูวัชรสุวรรณาทร (ลูกชุบ ธมมฺโชโต) พ.ศ.2553 - ปัจจุบัน

SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบุรี

6

.indd 100

19/9/2561 14:20:17


PHETCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

6

.indd 101

101

14/9/2561 16:58:35


พระประธานวัดใหญ่สุวรรณาราม

102

SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบุรี

6

.indd 102

14/9/2561 16:58:46


พระครูวัชรสุวรรณาทร ฉายา ธมฺมโชโต

อายุ 65 พรรษา 45 น.ธ.เอก วัดใหญ่สุวรรณาราม (พระอารามหลวง ชั้นตรี) ต�ำบลท่าราบ อ�ำเภอเมืองเพชรบุรี ปัจจุบันด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส วัดใหญ่ สุวรรณาราม เจ้าคณะ อ�ำเภอเมืองเพชรบุรี

วิทยฐานะ • พ.ศ.2507 ส� ำ เร็ จ การศึ ก ษาสามั ญ ชั้นประถมปีที่ 4 โรงเรียนวัดดอนผิงแดด อ�ำเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี • พ.ศ.2520 เป็นผูท้ รงจ�ำพระปาฏิโมกข์ • พ.ศ.2526 สอบได้ นั ก ธรรมชั้ น เอก ส�ำนักเรียนวัดไตรโลก อ�ำเภอเมืองเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี • พ.ศ.2548 ส�ำเร็จการศึกษาหลักสูตร ประกาศนียบัตร การบริหารกิจการคณะสงฆ์ (ป.บส.) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัย หน่วยบริการ วัดหลวงพ่อสดธรรม กายาราม อ�ำเภอด�ำเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี • พ.ศ.2552 ส�ำเร็จการศึกษาหลักสูตร พุทธศาสตรบัณฑิต สาขาจัดการเชิงพุทธ หน่ ว ยวิ ท ยาบริ ก าร คณะสั ง คมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย • พ.ศ.2555 ส�ำเร็จการศึกษาหลักสูตร พุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาจัดการเชิง พุทธหน่วยวิทยบริการ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

บันทึก

วัดใหญ่สุวรรณาราม

“ภาพและลายในพระอุโบสถนี้ คงเขียนมาก่อน 300 ปีขึ้นไป” จากหลักฐานตามพระราชหัตถเลขา ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอม เกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5

PHETCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

6

.indd 103

103

14/9/2561 16:58:51


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

104

.indd 104

SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบุรี

18/09/61 09:48:37


HIST ORY OF BUDDH ISM

บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

่ ีมานาน “สันนิษฐานว่าเป็นวัดทีม ้ แต่สมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี” ตัง หลักฐานมากมายภายในวัดสามารถบ่งบอกอายุของวัดได้

วัดพระรูป

ในอดีต เป็นวัดที่ตั้งโดดเด่นในทุ่งนา ป่าสะแก และต้นตาล

พระพิพิธพัชโรดม เจ้าอาวาสวัดพระรูป รองเจ้าคณะจังหวัดเพชรบุรี

วัดพระรูป เป็นวัดราษฎร์ สังกัดมหานิกาย คณะสงฆ์ ภ าค 15 อยู ่ น อกเขตเทศบาล ปั จ จุ บั น ตั้ ง อยู ่ 65 ม.6 บ้ า นโตนดหลาย ต� ำ บลช่ อ งสะแก อ� ำ เภอเมื อ งเพชรบุ รี จั ง หวั ด เพชรบุ รี มี เ นื้ อ ที่ ป ระมาณ 28 ไร่ ในอดี ต เป็ น วั ด ที่ ต้ั ง โดดเด่ น ในทุ ่ ง นา ป่าสะแก และต้นตาล ห่างจากหมู่บ้านต่างๆ แต่เดิมมีวัดเกาะกลุ่มกันอยู่หลายวัด เช่ น วัดยาง วัดนก วัดโตนดหลาย วัดท่าเรือ วั ด เสื อ ข้ า ม วั ด โคกหม้ อ วั ด บ้ า นไผ่ วัดท่าเรือ รวมแล้ว 8 วัด ในกลุ่มนี้ล้วนเป็น วัดอยู่นอกก�ำแพงเมืองทางทิศตะวันออก ปั จ จุ บั น วั ด ดั ง กล่ า วได้ ร ้ า งไปหมดแล้ ว คงเหลือวัดพระรูปเพียงวัดเดียว

วัดพระรูป สันนิษฐานว่าเป็นวัดที่มี มานานตัง้ แต่สมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี ดังจะเห็นได้จากหลักฐานทีห่ ลงเหลืออยูบ่ า้ ง พอเป็นแนวทางให้สันนิษฐานได้หลักฐาน ส�ำคัญที่น�ำมาประกอบการคาดคะเนอายุ ของวัด ได้แก่ 1. ใบเสมารอบอุ โ บสถ 6 คู ่ กั บ ใบเดี่ยวอีก 2 ใบ 2. พระพุ ท ธรู ป หิ น ทราย อยู ่ ด ้ า น เบื้องขวาของพระประธาน ในพระอุโบสถ สันนิษฐานว่า สร้างในสมัยอยุธยาตอนปลาย แต่เป็นฝีมือช่างเมืองเพชร 3. เศี ย รพระพุ ท ธรู ป หิ น ทราย ใน พระอุโบสถ จ�ำนวน 6 เศียร 4. ฐานเจดียห์ ลังอุโบสถ ทีฐ่ านเจดีย์ องค์ ใ หญ่ เ ฉพาะส่ ว นที่ อ ยู ่ ต�่ ำ กว่ า ผิ ว ดิ น จะเรียงอิฐคล้ายสมัยอยุธยา

ปูชนียวัตถุโดดเด่น

นอกจากปูชนียวัตถุที่กล่าวมาแล้ว ข้างต้น วัดพระรูปยังมีปชู นียวัตถุทโี่ ดดเด่น และน่าสนใจเป็นพิเศษ คือ 1. สมุ ด ข่ อ ยพระมาลั ย ซึ่ ง ท� ำ ขึ้ น อย่างประณีต ลายมือสวยมาก มีภาพเขียนสี ประกอบใช้ตวั อักษรขอม มีขอ้ ความทีเ่ ขียน ด้วยอักษรไทย 2. พระเจดียใ์ หญ่หลังอุโบสถ เจดีย์ องค์นี้น่าจะได้แบบอย่างรูปทรงพระปฐม เจดีย์ แต่มลี กั ษณะพิเศษทีไ่ ม่เหมือนวัดอืน่ คื อ ส่ ว นยอดของเจดี ย ์ ท� ำ เป็ น ปล้ อ งไฉน จ�ำนวน 25 ปล้อง 3. หมู่เจดีย์ทรงระฆัง ที่หน้าพระ อุโบสถเจดีย์ทรงระฆังขนาดเล็ก จ�ำนวน 3 องค์ ตั้งอยู่บนฐานเดียวกัน ส่วนยอด ท�ำเป็นปล้องไฉนลูกแก้ว

PHETCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 105

105

18/09/61 09:48:42


อาคารสามัคคีรังสรรค์ ที่ตั้งวิทยาลัยสงฆ์ เพชรบุรี การบูรณะและก่อสร้างปูชนียวัตถุ

ในอดี ต วั ด พระรู ป อยู ่ ใ นสภาพใกล้ จะเป็ นวั ด ร้ า ง เหมื อ นกั บ วั ด ข้ า งเคี ย ง แต่เจ้าอาวาสทุกรูปได้ใช้ความพยายาม ที่ จ ะกอบกู ้ ส ถานะของวั ด อย่ า งเต็ ม ที่ เต็ ม ก� ำ ลั ง และเต็ ม ความสามารถ โดย ได้ ท�ำการบูรณะซ่อ มแซมเสนาสนะและ ถาวรวั ต ถุ ใ ห้ ค งอยู ่ ใ นสภาพเดิ ม บ้ า ง ก่อสร้างขึ้นมาใหม่บ้าง ดังต่อไปนี้

1. อุโบสถ หลังดัง้ เดิมสร้างขึน้ เมือ่ ใด รูปทรงอย่างใด ไม่ปรากฏ ประวัติของวัด บันทึกไว้ว่า หลวงพ่อแสง ได้ท�ำการบูรณะ แต่ไม่เป็น ผลส�ำเร็จ อุโบสถจึงอยู่ในสภาพ หักพังมาช้านาน 2. ก�ำแพงบริเวณวัด พระอธิการหนู เจ้าอาวาส ได้สร้างก�ำแพงบริเวณวัดเป็น ผลส�ำเร็จ เมือ่ พ.ศ.2434 (สมัยรัชกาลที่ 5) 3. เจดียห์ ลังพระอุโบสถ เจดียอ์ งค์นี้ รูปทรงเดิมเป็นอย่างไรไม่ปรากฏ แต่เชือ่ ว่า สร้ า งในสมั ย อยุ ธ ยา พระอธิ ก ารหนู เจ้าอาวาส ได้ท�ำการปฏิสังขรณ์ให้เป็น ทรงระฆั ง คว�่ ำ คล้ า ยพระปฐมเจดี ย ์ สันนิษฐานว่า พระอธิการหนู เลียนแบบ มาจากพระปฐมเจดี ย ์ ซึ่ ง รั ช กาลที่ 4

106

.indd 106

ทรงสร้างครอบองค์เดิมให้เป็นทรงระฆังคว�ำ่ และในขณะนั้ น การซ่ อ มสร้ า งยั ง ค้ า งอยู ่ แต่ปัจจุบันการบูรณะส�ำเร็จแล้ว 4. ศาลาการเปรียญ หลังปัจจุบัน พระครู เ หลี่ ย ม จนฺ ท โชโต เจ้ า อาวาส ได้ ส ร้ า งขึ้ น เมื่ อ พ.ศ.2476 ชาวบ้ า น ผู้ใกล้ชิดกับวัดคนหนึ่งยืนยันว่า การสร้าง ศาลาการเปรียญหลังนี้เป็นไปโดยราบรื่น ไม่ มี อุ ป สรรคใดๆ มาขั ด ขวาง จึ ง ได้ ท� ำ การสร้ า งติ ด ต่ อ กั น โดยตลอด เมื่ อ สร้างเสร็จก็เกิดสงครามมหาเอเชียบูรพา (วันที่ 8 ธันวาคม 2484) ดังนั้น จึงเป็น ปั ญ หาว่ า สร้ า งเมื่ อ ใดแน่ เพราะเวลา แตกต่างกันเพียง 7 ปี ไม่สามารถจะเห็น บันทึก

ความแตกต่างกันในเชิงศิลปะของแต่ละ สมัยได้ 5. พระประธาน เนื่องจากองค์เดิม สร้ า งด้ ว ยอิ ฐ และปู น เชื่ อว่ า ได้ ส ร้ า งขึ้ น พร้ อ มกั บ วั ด และสมั ย พ.ศ.2412 คงตากแดดตากฝนมาเป็นเวลาหลายสิบปี จึงช�ำรุดหักพัง สมัยที่พระครูเหลี่ยมเป็น เจ้ า อาวาส ได้ ท� ำ การซ่ อ มหนึ่ ง ครั้ ง แต่ ไม่ น านหั ก พั ก ลงมาอี ก ต่ อ มา พระครู ปัญญาวัชรโสภณ ได้รอื้ พระประธานองค์เก่า ท�ำพิธีหล่อพระประธานองค์ใหม่เป็นแบบ พระพุทธชินราชพิษณุโลก แทนองค์เดิม แล้วประดิษฐานเป็นพระประธานต่อมาเมือ่ พ.ศ.2500

รายนามเจ้าอาวาส

1. พระอธิการแสง 2. พระอธิการเมือง 3. พระอธิการหนู ธมฺมสโร พ.ศ.2432 - พ.ศ.2476 4. พระครูเหลี่ยม จนฺทโชโต พ.ศ.2476 - พ.ศ.2488 5. พระครูปัญญาวัชรโสภณ พ.ศ.2488 - พ.ศ.2527 6. พระพิพธิ พัชโรดม เจ้าอาวาสรูปปัจจุบนั และรองเจ้าคณะจังหวัดเพชรบุรี

SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบุรี

18/09/61 09:48:49


PHETCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 107

107

18/09/61 09:48:55


สรรพสิ่งทั้งหลายเป็ น ไปตามก�ำ ลั ง ศรั ท ธาทั้ ง นั้ น ประวัติเจ้าอาวาส

พระพิพธิ พัชโรดม เจ้าอาวาสวัดพระรูป ต�ำบลช่องสะแก และรองเจ้าคณะจังหวัดเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี เดิมชือ่ “อ�ำนวย เฟือ่ งฟู” เกิดเมือ่ วันที่ 12 มิถนุ ายน พ.ศ.2492 มีภมู ลิ ำ� เนาเดิม ที่บ้านนอกไร่ โตนดหลาย เลขที่ 9 ม.6 ต�ำบลช่องสะแก อ�ำเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี ซึ่ง อยู่ใกล้กับวัดพระรูปนั่นเอง บิดาชื่อ นายนอง เฟื่องฟู มารดาชื่อ นางคลัง เฟื่องฟู โทรศัพท์ 08-1942-2204, 0-3242-6691 วิทยฐานะ

• พ.ศ.2502 ส�ำเร็จการศึกษาระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนวัดพระรูป ต�ำบลช่องสะแก อ�ำเภอเมืองเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี • พ.ศ.2519 สอบได้นกั ธรรมชัน้ เอก ส�ำนักศาสนศึกษาวัดพระรูป การศึกษาพิเศษ พระพิพิธพัชโรดม (อ�ำนวย อินฺทวณฺโณ) มีความสนใจด้านการศึกษาหาความรู้ใหม่ๆ อยู่เสมอ โดยเรียนเพิ่มเติมในระดับชั้นมัธยมศึกษาที่โรงเรียนศึกษาผู้ใหญ่วัดมหาธาตุฯ เทียบเท่ามัธยมศึกษาปีที่ 3 วิชาเลขานุการ นวกรรม คอมพิวเตอร์ ภาษาอังกฤษ การแพทย์

108

.indd 108

แผนโบราณ และอักษรภาษาขอมในขณะ บวชเป็นพระ พ.ศ.2558 จบปริ ญ ญาโท พธม. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย มจร. วัดพระรูป

การศึกษา เป็นการเดินสูค่ วามก้าวหน้า ความเจริญ ความสุขในชีวติ เพราะการศึกษา จะท�ำให้เกิดความเข้าใจ ให้ทกุ คนมีวสิ ยั ทัศน์ ทีด่ งี าม และสร้างความเจริญให้กบั หมูค่ ณะ คณะสงฆ์เป็นส่วนใหญ่ให้การศึกษาในทาง จิตวิทยาที่ดีงาม

SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบุรี

18/09/61 09:49:00


การศึกษาเป็นเรื่องจ�ำเป็นและส�ำคัญ จึ ง ได้ คิ ด หาหนทางจั ด การศึ ก ษาให้ กั บ พระสงฆ์และลูกหลานของพุทธศาสนิกชน ให้ มี ก ารศึ ก ษาในระดั บ วิ ช าการชั้ น สู ง เริม่ ต้นจากการจัดการศึกษาให้แก่พระสงฆ์ ให้มคี วามรูเ้ รือ่ งการปกครองคณะสงฆ์ และ การเผยแผ่ เปิดการเรียนการสอนครั้งแรก ใช้ บ ริ เ วณวั ด สอนระดั บ ประกาศนี ย บั ต ร ให้พระสงฆ์ ต่อมาได้เปิดระดับมหาวิทยาลัย การตั้งมหาวิทยาลัยสงฆ์ แม้จะจัด การศึ ก ษาในลั ก ษณะเดี ย วกั บ ทางโลก แต่ ก ารจั ด ตั้ ง คณะก็ เ ป็ น คณะที่ เ น้ น ทางด้านพระพุทธศาสนา และปัญญา เช่น

คณะพุทธศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ และครุศาสตร์ โดยวัตถุประสงค์เพือ่ พัฒนาพระภิกษุสงฆ์ ให้ได้ร�่ำเรียนภาษาบาลีและพระไตรปิฎกเป็นหลัก มหาวิทยาลัยสงฆ์พัฒนาคนบนฐาน คุณธรรม จริยธรรม เจ้าอาวาสและพระเถระผู้ใหญ่ในเมืองเพชรบุรี ได้มีโอกาสเข้ามาศึกษา จนจบปริญญาชั้นสูง การเปิดเรียนระดับมหาวิทยาลัยของวัดพระรูป ก็เริ่มจากการเป็นหน่วยวิทยบริการ เรียนอยูท่ ชี่ นั้ ล่างของกุฏิ ต่อมาได้พฒ ั นาจัดสร้างอาคารเรียน 4 ชัน้ ในทีต่ งั้ ใหม่เพือ่ ยกระดับ เป็นวิทยาลัยสงฆ์ อันเป็นการขยายการศึกษาสงฆ์ให้กว้างขวางในระดับภาค ความพยายามในการจัดตั้งวิทยาลัยสงฆ์ไม่ใช่เรื่องง่าย การจัดสร้างเป็นไปตามก�ำลัง ศรัทธาของสาธุชนโดยเฉพาะความพร้อมเพรียงในหมู่คณะสงฆ์จังหวัดเพชรบุรี พระนิสิต ที่ได้ศึกษาและเรียนจบที่หน่วยวิทยบริการวัดพระรูป ร่วมใจกัน พร้อมเพรียงกัน จัดการ ครั้งแรกจึงไม่มีงบประมาณจากรัฐบาล สรรพสิ่งทั้งหลายเป็นไปตามก�ำลังศรัทธาทั้งนั้น นาลันทา วัดพระรูป จะเป็นไปได้แค่ไหนขึน้ อยูก่ บั แรงศรัทธาของพุทธศาสนิกชน ท่ามกลาง บ้านเมืองทีม่ ปี ญ ั หา อุปสรรคอันเป็นขวากหนามมากมาย คนเมืองเพชรบุรจี ะท�ำให้วทิ ยาลัยสงฆ์ แห่งนี้เกิดขึ้นให้ได้ นาลันทา แห่งเมืองเพชรบุรี ณ วัดพระรูป

PHETCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 109

109

18/09/61 09:49:12


“พระบรมสารีริกธาตุทัยมณี”

พระบรมอัฐิธาตุขององค์สมเด็จ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าที่แท้จริง ประดิษฐาน ณ มณฑปวัดโพธิ์ทัยมณี ต.บางจาน อ.เมืองเพชรบุรี จ.เพชรบุรี

110

6

SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบุรี

.indd 110

14/9/2561 17:08:00


HIST ORY OF BUDDH ISM

บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

“พระบรมสารีริกธาตุทัยมณี” พระบรมอัฐิธาตุขององค์ ่ ท้จริง สมเด็จพระสัมมาสัมพุ ทธเจ้าทีแ ประดิษฐาน ณ มณฑปวัดโพธิ์ทัยมณี ต.บางจาน อ.เมืองเพชรบุรี จ.เพชรบุรี

วัดโพธิท ์ ัยมณี

“พระบรมสารีริกธาตุทัยมณี” พระครูกิตติวัชราภรณ์ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดโพธิ์ทัยมณี เจ้าคณะต�ำบลบางจาน - หนองโสน ในสมัย “กษัตริย์สิงหลวัติ” ปกครอง เมื อ งราชปุ ล ะนคร ได้ เ สด็ จ ทางชลมารค พร้อมเหล่าขุนนางเสนาบดี เพื่อไปนมัสการ พระบรมสารี ริ ก ธาตุ ที่ เ มื อ งศรี ธ รรมมา โศกราช (นครศรี ธ รรมราช) เสด็ จ ผ่ า น เมื อ งชั ย ยะการ (ชั ย นาท) เมื อ งสองพั น (สุพรรณบุรี) เมืองรัตนมณี (เพชรบุรี) เมื่อ เรื อ พระที่ นั่ ง ได้ ผ ่ า นปากอ่ า วเกาะกลาง ขณะนั้นมีเรือชาวจีนฮ่อค้าขายเครื่องปั้น จอดอยู ่ นายท้ า ยเรื อ พระที่ นั่ ง ได้ ดื่ ม สุ ร า เข้ า ไปเกิ ด มึ น เมา ไม่ ส ามารถบั ง คั บ เรื อ พระที่ นั่ ง ได้ จึ ง ชนส� ำ เภาจี น ฮ่ อ แตก ส่ ว น เรื อ พระที่ นั่ งโขนหัก พระองค์จึงตรัสถาม เหล่าขุนนาง เหล่าขุนนางจึงแสร้งทูลเท็จ กล่าวร้ายจีนฮ่อว่าเป็นขบถ จึงให้ประหาร จีนฮ่อ ทั้งล�ำเรือ 12 คน ทิ้งไว้ ณ เกาะกลาง

อ่าวแห่งนี้ แล้วเสด็จต่อไปเพื่อไหว้พระบรม สารีริกธาตุที่เมืองศรีธรรมาโศกราช เมื่อรู้ ว่าเสนาบดีทูลเท็จ จึงให้ประหารขุนนางและ ประหารนายท้ายในที่นี้เป็นการถ่ายโทษ และ มีรับสั่งให้สร้างเก๋งจีน พร้อมเจดีย์บรรจุ อั ฐิ จี น ฮ่ อ ไว้ เ ป็ น อนุ ส รณ์ ส ถาน เป็ น การ ถ่ายบาปถ่ายกรรม ที่เกาะ กลางอ่าว ในปี พ.ศ.1319 วิหารเก๋งจีน (อุโบสถปัจจุบนั ) ภายใน ประดิ ษ ฐานองค์ พ ระประธานสร้ า งด้ ว ย ศิลาแดง หน้าตัก 5 ศอกเศษ มีพทุ ธลักษณะ งดงาม (ในสมัยหลังมานี้ได้บูรณะ ตกแต่ง ปิดทองสมัยรัตน์โกสินทร์ จึงมองไม่เห็น องค์จริงเดิมด้วยหุม้ ปูนและทองไว้) ภายใน องค์พระประธานประดิษฐานผอบบรรจุ พระบรมสารี ริ ก ธาตุ ไ ว้ ซึ่ ง พระองค์ ไ ด้ อัญเชิญจากประเทศศรีลงั กา พร้อมหน่อต้น

พระศรีมหาโพธิ์ มาประดิษฐานไว้ ณ เกาะ กลางอ่าวแห่งนี้ เพื่อไถ่บาปกรรมที่กระท�ำ ลงไปโดยมิได้ไตร่ตรองความจริงให้ถ่องแท้ และพระองค์ได้แต่งตั้งท่านเจ้าคุณตามืด และคุณหญิงปุกพร้อมทหารดูแลอีก 10 นาย คอยดูแลปฏิบัติบ�ำรุงรักษาให้เป็นอนุสรณ์ สถาน ที่ช�ำระล้างมลทิน และเป็นสถานที่ ศักดิ์สิทธิ์ตั้งแต่นั้นมา ส่วนต้นพระศรีมหาโพธิ์ ได้ทรงปลูก ไว้ใกล้กับองค์พระเจดีย์ เจริญงอกงามและ โปรดให้ ถ วายการสมโภชสถานที่ แ ห่ ง นี้ เป็นเวลาเจ็ดวัน เท่าพระคัมภีร์ พระองค์ ทรงเปิดฤกษ์มหามงคลพิธใี นวันขึน้ 15 ค�ำ่ กลางเดื อ น 6 แห่ ง วิ ส าขมาศ วั น จั น ทร์ ปีมะเส็งในปีพุทธศักราช 1325 ตั้งแต่นั้น เป็นต้นมา รวมอายุวัดโพธิ์ทัยมณี ตั้งแต่ เริ่มสร้างมาจนถึงปัจจุบัน (พ.ศ.2561) 1,242 ปี

PHETCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

6

.indd 111

111

14/9/2561 17:08:05


รายนามเจ้าอาวาส

ชานหมาก พระครูกิตติวัชราภรณ์ (หลวงพ่อน้อย) วัดโพธิ์ทัยมณี จ.เพชรบุรี

112

6

1. หลวงพ่อก้อง พ.ศ.1914-1934 2. หลวงปู่ดี พ.ศ.1934-1956 3. หลวงปู่มั่น พ.ศ.1956-1999 4. หลวงพ่อทอง พ.ศ.1999-2034 5. หลวงพ่อนิล พ.ศ.2034-2059 6. หลวงพ่อทิม พ.ศ.2059-2089 7. หลวงปู่รวย พ.ศ.2089-2104 8. หลวงปู่โพธิ์ พ.ศ.2104-2115 9. ท่านปู่คง พ.ศ.2115-2135 10. ท่านขรัวคุณตามืด พ.ศ.2135-2160 11. ท่านขรัวผาน พ.ศ.2160-2178 12. พระอธิการอินทร์ พ.ศ.2178-2199 13. พระอาจารย์ไทย พ.ศ.2199-2214

14. คุณตาขรัวขลุ่ย พ.ศ.2214-2245 15. พระอาจารย์สังข์ พ.ศ.2245-2265 16. พระอธิการพาน พ.ศ.2265-2295 17. พระอธิการเหลือ พ.ศ.2295-2320 18. หลวงปู่จันทร์ พ.ศ.2320-2365 19. ท่านขรัวอิ่ม พ.ศ.2365-2370 20. หลวงปู่แก้ว พ.ศ.2370-2416 21. หลวงพ่อนาก พ.ศ.2416-2456 22. พระครูพุฒ พ.ศ.2456-2487 23. พระครูวัชรศีลคุณ พ.ศ.2487-2530 24. พระครูกิตติวัชราภรณ์ พ.ศ.2533-ปัจจุบัน

SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบุรี

.indd 112

14/9/2561 17:08:15


พระครูกิตติวัชราภรณ์ อายุ 63 ปี พรรษา 43 น.ธ.เอก. วัดโพธิ์ทัยมณี ต.บางจาน อ.เมืองเพชรบุรี จ.เพชรบุรี ปัจจุบันด�ำรงต�ำแหน่ง เจ้าอาวาสวัดโพธิ์ ทัยมณีและเจ้าคณะต�ำบลบางจาน-หนองโสน สถานะเดิม ชือ่ นายมานพ ชูศรี เกิดเมือ่ วันที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ.2498

บรรพชา เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ.2511 ณ วั ด โพธิ์ ทั ย มณี ต.บางจาน อ.เมื อ ง เพชรบุรี จ.เพชรบุรี พระอุปัชฌาย์ คือ พระ สุวรรณมุนี (ผัน) เจ้าคณะจังหวัดเพชรบุรี วัดมหาธาตุวรวิหาร จ.เพชรบุรี อุปสมบท เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ.2518 ณ วั ด โพธิ์ ทั ย มณี ต.บางจาน อ.เมื อ ง เพชรบุ รี จ.เพชรบุ รี พระอุปัชฌาย์ คือ พระครู วัชรศีลคุณ เจ้าคณะต�ำบลบางจานหนองโสน ณ วั ด โพธิ์ ทั ย มณี ต.บางจาน อ.เมืองเพชรบุรี จ.เพชรบุรี วิทยฐานะ • พ.ศ.2508 ส�ำเร็จการศึกษาภาค บังคับชั้นประถมศึกษา 4 จากโรงเรียนวัด โพธิ์ทัยมณี (ศิริพรรณพิทยา) ต.บางจาน อ.เมืองเพชรบุรี จ.เพชรบุรี • พ.ศ.2522 ส�ำเร็จการศึกษา แผนก ธรรม ชั้ น น.ธ.เอก จากส� ำ นั ก เรี ย นวั ด โพธิ์ทัยมณี ต.บางจาน อ.เมืองเพชรบุรี จ.เพชรบุรี PHETCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

6

.indd 113

113

14/9/2561 17:08:24


ประวัติพระบรมสารีริกธาตุทัยมณี

“พระบรมสารี ริ ก ธาตุ ทั ย มณี ” พระบรมอัฐิธาตุขององค์สมเด็จพระสัมมา สัมพุทธเจ้าทีแ่ ท้จริง ประดิษฐาน ณ มณฑป วัดโพธิ์ทัยมณี ต.บางจาน อ.เมืองเพชรบุรี จ.เพชรบุรี ในสมัย “พระครูพฒ ุ ” อดีตเจ้าอาวาส อดีตพระอุปัชฌาย์ รูปที่ 22 ของวัดโพธิ์ ทั ย มณี มี เ หตุ อั ศ จรรย์ ห ลายอย่ า ง เช่ น ต้ น ไม้ ใ หญ่ ร อบอุ โ บสถ ต่ า งเอนเข้ า มา หาอุโบสถให้ความร่มเย็นเป็นสุขแด่เขต พุทธสถาน ผู้เฒ่าเก่าแก่ชาวบ้านได้พูดกัน ว่าทุกวันขึ้น 15 ค�่ำ จะเห็นแสงดวงนวล ใหญ่ขนาดเท่าดวงจันทร์ ล้อมรอบอุโบสถ ประทักษิณ 3 รอบ จนเป็นที่โจษขานกัน และในบางโอกาสก็เห็นแสงดังกล่าวลอย ไปทั่วๆ ในเขตหมู่บ้าน พร้อมกับมีเสียง ดังบนหลังคาเกรียวกราว ดุจดังเม็ดทราย โปรยปรายลงบนหลังคาบ้านและหลังคากุฏิ

114

6

วัดทัว่ ๆ ไป ต่อมาองค์พระพุทธประธานใน อุโบสถ บริเวณหน้าอกร้าวแตกช�ำรุด ปูนที่ ตกแต่งปิดทองไว้หลุดออกมา หลวงปู่พุฒ เจ้าอาวาสปรึกษาคณะกรรมการจัดด�ำเนิน งานบูรณะซ่อมแซมองค์พระประธาน โดย ให้นายช่างอยู่ มาปั้นปิดทองและตั้งขาหยั่ง ยกองค์พระประธานให้สูงเพื่อเสริมฐาน ชุกชีให้สูง และท�ำฐานพระประธานใหม่ให้ เรียบร้อยและสวยงามยิ่งขึ้น เมื่อเริ่มด�ำเนินการปฏิสังขรณ์บูรณะ องค์ พ ระพุ ท ธประธานในอุ โ บสถ จึ ง ได้ ทราบว่าพระประธานเนื้อภายในเป็นศิลา ทรายแดงโบราณ และยังพบผอบลายคราม ประดิษฐานอยู่ภายในองค์พระส่วนด้าน หน้าอกเบื้องขวา หลวงปู่พุฒท่านเล่าว่าที่ ฐานชุกชี ใต้องค์พระประธานที่นั่งประทับ อยู่นั้น นายช่างอยู่บอกหลวงปู่พุฒว่ามี ทองค�ำแท่งมากมายฝังอยูภ่ ายใน เมือ่ หลวง ปู ่ พุ ฒทราบ จึ ง สั่ ง การให้ ช ่ า งอยู ่ ป ิ ด เนื้ อ

ความและให้น�ำปูนก่อเสริมฐานปิดทองค�ำ นั้นอย่างมั่นคงมิดชิด และอยู่ในการดูแล ของหลวงปู่อย่างใกล้ชิดด้วยกลัวสูญหาย จนการสร้างเสริมเสร็จสมบูรณ์ทุกอย่าง การจัดงานสรงน�ำ้ พระบรมสารีรกิ ธาตุ หลวงปู่พุฒ ได้ด�ำเนินการจัดท�ำในสมัยนั้น โดยจัดงาน 1 วัน ต่อมาเพิ่มเป็น 2 วัน ถือ ปฏิบัติมาโดยตลอด ต่อมาในสมัยพระครู วัชรศีลคุณ (เชื้อ ภทุทสีโล) อดีตเจ้าอาวาส รูปที่ 23 ได้ขยายงานเป็น 3 วัน และ 5 วัน แต่ต่อมาก็กลับมาจัดงาน 3 วันเช่นเดิม เพราะไม่มีรายได้อะไร ต่อมาในสมัยพระ ครู กิ ต ติ วั ช ราภรณ์ (มานพ กิ ตฺ ติ ว ณฺ โ ณ) เจ้าอาวาสรูปปัจจุบนั รูปที่ 24 ได้รบั หน้าที่ จัดด�ำเนินงานจากเดิม 3 วัน มาเป็น 6 วัน และปัจจุบัน เริ่มจัดงานถึง 9 วัน ตั้งแต่ปี พ.ศ.2536 เป็นต้นมา

SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบุรี

.indd 114

14/9/2561 17:08:31


PHETCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

6

.indd 115

115

14/9/2561 17:08:39


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

116

SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบุรี

.indd 116

18/09/61 09:37:31


HIST ORY OF BUDDH ISM

บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

่ ล่าวขาน “พระพุ ทธศรีศักดิ์สิทธิ์เป็นทีก กระดูกโครงปลาวาฬใหญ่ หลวงตาไก่เทศน์ให้ฟง ั ชมภาพผนังอุโบสถ อาหารสด ทะเลงาม” ค�ำขวัญประจ�ำวัดหาดเจ้าส�ำราญ

วัดหาดเจ้าส�ำราญ

วิสัยทัศน์ : ส่งเสริมปัญญา พั ฒนาศีลธรรม น�ำสู่ความดี วิถีชีวิตพอเพี ยง

พระครูปลัดมหาเถรานุวัตร (ศรัณภิรมย์ จุลทกาล) (หลวงตาไก่) เจ้าอาวาสวัดหาดเจ้าส�ำราญ เจ้าคณะต�ำบลหาดเจ้าส�ำราญ

วัดหาดเจ้าส�ำราญ ตั้งอยู่เลขที่ 80 หมู ่ 2 เทศบาลต� ำ บลหาดเจ้ า ส� ำ ราญ อ� ำ เภอเมื อ งจั ง หวั ด เพชรบุ รี ห่ า งจาก ตั ว เมื อ งเพชรบุ รี ป ระมาณ 16 กิ โ ลเมตร สร้ า งเมื่ อ พ.ศ.2497 โดยพระครู ป ลั ด มหาเถรานุ วั ต ร (ศรั ณ ภิ ร มย์ จุ ล ทกาล) (หลวงตาไก่ ) และนายเอิ บ - นางเยื่ อ คชพั น ธ์ บริ จ าคที่ ดิ น 2 ไร่ 3 งาน 55 ตารางวา นายบุตร คล้อยดี บริจาคที่ดิน สร้ า งอุ โ บสถ 4 ไร่ 7 ตารางวา นายเส็ง สุขเสงี่ยมและนางสาย คล้อยดี บริจาคที่ดิน ประมาณ 2 ไร่ เ ศษ นายเอิ บ - นางเยื่ อ บริ จ าคเป็ น ธรณี ส งฆ์ อี ก จ� ำ นวน 21 ไร่ (ธรณีสงฆ์) รวมที่ดินทั้งหมด 38 ไร่เศษ วั ด หาดเจ้ า ส� ำ ราญ เป็ น วั ด ราษฎร์ ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา พ.ศ.2510 และเป็นที่รักษาโรคแพทย์แผนไทยอีกด้วย

วั ด หาดเจ้ า ส� ำ ราญ มี “หลวงพ่ อ พระพุทธศรีมณีรัตน์” ซึ่งเป็นพระพุทธรูป ศักดิ์สิทธิ์ โดยเชื่อกันว่า เมื่อขอสิ่งใดแล้ว จะประสบความส�ำเร็จ มีสาธุชนจ�ำนวนมาก ที่มาขอหลายอย่างโดยเฉพาะขอเรื่องยศ เรื่องต�ำแหน่ง เรื่องการงาน ที่ส�ำคัญคือ คนที่ มี ลู ก ยากขอลู ก ได้ เ ป็ น จ� ำ นวนมาก เรื่ อ งการค้ า ขาย เมตตามหานิ ย ม เมื่ อ มาขอแล้วอีกวันสองวันก็ประสบความส�ำเร็จ ทีผ่ า่ นมามีเด็กๆ สอบเข้ามหาวิทยาลัยมหิดล ได้ประมาณ 30 กว่าคน ก็มาขอพรหลวงพ่อ หรือการจับใบด�ำใบแดงของทหาร ปีนี้ที่ ต�ำบลหาดเจ้าส�ำราญ ไม่มใี ครถูกทหารเลย นอกเหนือจากการสมัครด้วยความเต็มใจ นีค่ อื ความศักดิส์ ทิ ธิ์ ของหลวงพ่อพระพุทธ ศรีมณีรัตน์ อดี ต เจ้ า อาวาส หลวงพ่ อ พระครู วชิรสุขารมย์ หรือหลวงพ่อย้ง ตลอดชีวิต ของท่านตัง้ แต่ดำ� รงสมณเพศ ท่านก็เดินทาง

สายวิปสั สนา แล้วก็สร้างวัด ท่านอายุ 95 ปี 58 วัน ถือว่าเป็นพระเกจิอาจารย์รูปหนึ่ง ในจังหวัดเพชรบุรี และเป็นพระที่ชาวบ้าน ในย่านนี้ให้ความเคารพนับถือ มีพระบรมสารีริกธาตุ ประดิษฐาน อยู ่ ใ นอุ โ บสถวิ ห ารพุ ท ธรั ก ษ์ และที่ กุ ฏิ เจ้ า อาวาสองค์ ป ั จ จุ บั น นอกจากนี้ ยั ง มี “หลวงพ่อใหญ่” ซึง่ เป็นพระคูว่ ดั หาดเจ้าส�ำราญ มาตั้ ง แต่ เ ริ่ ม ต้ น เป็ น พระที่ ช าวบ้ า นให้ ความเคารพนับถือ รองลงมาจากหลวงพ่อ พระพุทธศรีมณีรีตน์ นอกจากภายในวัดจะมีสว่ นหย่อมให้ ได้พักผ่อนแล้ว ยังมีโครงกระดูกวาฬบรูด้า ซึง่ เสียชีวติ มาเกยตืน้ ทีห่ น้าโรงแรมทหารบก เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2518 ความยาว เฉพาะท่ อ นหั ว พบที่ วั ด หาดเจ้ า ส� ำ ราญ ยาว 10 เมตร 69 เซนติเมตร ส่วนท่อนหาง ไปพบทีจ่ งั หวัดสมุทรสงคราม เป็นปลาวาฬ ที่มีความยาวและใหญ่ที่สุดในโลก

PHETCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 117

117

18/09/61 09:37:33


วัดหาดเจ้าส�ำราญ ห่างจากตัวเมืองเพียง 16 กิโลเมตร เดินทางไปหาดเจ้าส�ำราญเพียง 15 นาที

ความยาวเฉพาะท่อนหัว ยาว 10 เมตร 69 เซนติเมตร

118

ส�ำหรับเจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน พระครู ปลัดมหาเถรานุวตั ร(ศรัณย์ภริ มย์ จุลทกาล) (หลวงตาไก่ ) เป็ น นั ก เผยแผ่ แ ละได้ รั บ พระราชทานเสาเสมาธรรมจั ก รจาก สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาเป็นรูปแรก ของจั ง หวั ด เพชรบุ รี ในปี พ .ศ. 2547 ในการเผยแผ่และบรรยายธรรม ใครมาที่ วั ด หาดเจ้ า ส� ำ ราญ เมื่ อ พบหลวงตาไก่ ต้องได้ฟังธรรม ถ้าไม่ได้ฟังธรรมถือว่า มาไม่ถึงวัดหาดเจ้าส�ำราญ อุโบสถหลังปัจจุบัน สร้างเมื่อ พ.ศ. 2500 ภายในอุโบสถมีภาพจิตกรรมฝาผนัง แบ่งเป็น 3 ส่วน คือ เป็นเรือ่ งของพุทธประวัติ เรื่องของสาวก สาวิกา องค์ส�ำคัญๆ ใน พระพุ ท ธศาสนา และภาพวิ ถี ชี วิ ต ของ

ชุมชนคนหาดเจ้าส�ำราญ วัดหาดเจ้าส�ำราญ อยูห่ า่ งจากทะเลประมาณ150 เมตร ยืนอยู่ หน้ า อุ โ บสถก็ ส ามารถมองเห็ น ทะเล ดังสโลแกนที่ว่า “พระพุทธศรีศักดิ์สิทธ์ เป็นทีก่ ล่าวขาน กระดูกโครงปลาวาฬใหญ่ หลวงตาไก่เทศน์ให้ฟงั ชมภาพผนังอุโบสถ อาหารสด ทะเลงาม” ปัจจุบันวัดหาดเจ้าส�ำราญ ได้เป็น แหล่งศึกษาศีลธรรม เป็นศูนย์พฒ ั นาด้านจิตใจ และเป็นแหล่งท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยว ทั้ ง ในประเทศ และต่ า งประเทศ เป็ น รมณียสถาน มีต้นไม้ ป่าไม้สดชื่นร่มเย็น สมกั บ เป็ น อาราม และพั ก ผ่ อ นจิ ต ใจ ของสาธุชนทั่วไป

SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบุรี

.indd 118

18/09/61 09:37:43


รายนามเจ้าอาวาส

1. พระครูวชิรสุขารมย์ (ย้ง ชิโนรโส) เจียรพันธ์ พ.ศ.2497 - 2549 2. พระครูปลัดมหาเถรานุวตั ร (ศรัณภิรมย์ จุลทกาล) (หลวงตาไก่) พ.ศ.2549 - ปัจจุบนั บันทึก

กิจกรรมของวัด 1. เป็นแหล่งศึกษาศีลธรรมของประชาชนและเยาวชน มีการแสดงธรรม และ บรรยายธรรมตลอดทั้งปี 2. จัดนิทรรศการทางพระพุทธศาสนาในวันส�ำคัญทางพระพุทธศาสนาต่างๆ และ วันส�ำคัญของชาติ 3. รณรงค์ให้ประชาชนลด ละ เลิก อบายมุขทุกชนิด และจัดวัดเป็นเขตปลอดอบายมุข 4. เป็นศูนย์ปฏิบัติธรรมวันอาทิตย์ (ตามแนวมหาสติปัฏฐาน 4) ทุกอาทิตย์ 5. รณรงค์ให้ประชาชนด�ำเนินชีวติ ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง ใช้ชวี ติ แบบเรียบง่ายเข้าใจธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ใช้จ่ายอย่างประหยัด มีประโยชน์ เน้นคุณภาพมากกว่าปริมาณ 6. เป็นแหล่งศึกษาสัตว์น�้ำทะเล (พิพิธภัณฑ์โครงกระดูกปลาวาฬ) วัดหาดเจ้าส�ำราญ อยู่ห่างจากตัวเมืองเพชรบุรี ประมาณ 16 กิโลเมตร ถนนทางหลวง เลขที่ 3317 เพชรบุรีหาดเจ้าส�ำราญ (ราดยางตลอดสาย) ใช้เวลาเดินทางจากเมืองเพชรบุรี - หาดเจ้าส�ำราญ ประมาณ 15 นาที

พระพุทธศรีมณีรัตน์ พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ ขอสิ่งใด จะประสบความส�ำเร็จ

PHETCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 119

119

18/09/61 09:37:45


พระครูปลัดมหาเถรานุวัตร (ศรัณภิรมย์ จุลทกาล) (หลวงตาไก่)

อายุ 54 พรรษา 34 ศึกษา พ.ศ.2559 จบการศึกษา พุทธศาสตร์มหาบัณฑิต(พธ.ม.) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลง กรณราชวิทยาลัย ก�ำลังศึกษาอยู่ในระดุษฎีณฑิต(พธ.ด.) มจร.ปีสุดท้าย บรรพชา 15 มิถน ุ ายน พ.ศ.2527 ณ วัดสมุทธาราม ต�ำบลแหลมผักเบีย้ อ�ำเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี โดยมี พระปลัดบุญส่ง ธมฺมปาโล (พระครูโสภณพัฒนกิจ) วัดเขาบันไดอิฐ ต�ำบลไร่ส้ม อ�ำเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี เป็นพระอุปัชฌาย์ อุปสมบท 15 มิถน ุ ายน พ.ศ.2527 ณ วัดสมุทธาราม ต�ำบลแหลมผักเบีย้ อ�ำเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี โดยมี พระครูโสภณพัชรกิจ วัดโคมนาราม เป็นพระอุปัชฌาย์ วิทยฐานะ

• พ.ศ.2545 ส�ำเร็จการศึกษา ม.6 จากศูนย์การศึกษานอกโรงเรียน อ�ำเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี • พ.ศ.2530 สอบไล่ได้นกั ธรรมชัน้ เอก ส�ำนักเรียนวัดสมุทธาราม ต�ำบลแหลมผักเบีย้ อ�ำเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี • การศึกษาพิเศษ วิชาการเทศน์ จากกรมการศาสนากระทรวงศึกษาธิการ และ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย • ความช�ำนาญพิเศษ เป็นวิทยากรให้ความรู้เรื่องศีลธรรมบรรยายอภิปลาย และ ผู้ด�ำเนินรายการทางสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย จังหวัดเพชรบุรี

120

งานด้านปกครอง

• พ.ศ.2532 เป็นผู้ช่วยเจ้าอาวาส วัดสมุทธาราม • พ.ศ.2533 เป็นกรรมวาจาจารย์ • พ.ศ.2535 เป็นรองเจ้าอาวาส วัดหาดเจ้าส�ำราญ • พ.ศ.2549 เป็ น เจ้ า อาวาสวั ด หาดเจ้าส�ำราญ • พ.ศ.2555 เป็นเจ้าคณะต�ำบล หาดเจ้าส�ำราญ • พ.ศ.2558 เป็นพระอุปัชฌาย์ เกียรติประวัติ และรางวัล

• พ.ศ.2547 ได้รับพระราชทาน เสาเสมาธรรมจักร จากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สาขา การเผยแผ่พระพุทธศาสนาภายในไทย • รางวัล “ครูสอนพระปริยัติธรรม ดีเด่น” จากสภาครูสอนพระปริยัติธรรม อ�ำเภอเมืองเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี • ประกาศเกียรติคณ ุ บัตร และวุฒบิ ตั ร

SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบุรี

.indd 120

18/09/61 09:37:50


• ประกาศเกียรติคุณบัตรจาก สภากาชาดไทย • ประกาศเกียรติคณ ุ บัตรกระทรวง ศึกษาธิการ • ประกาศเกี ย รติ คุ ณ บั ต รกรม ประชาสัมพันธ์ • ประกาศเกียรติคณ ุ บัตรส�ำนักงาน คณะกรรมการป้ อ งกั น และปราบปราม ยาเสพติด • ประกาศเกียรติคุณบัตรโรงเรียน หาดเจ้าส�ำราญ ผูบ้ ำ� เพ็ญประโยชน์ให้สงั คม • ประกาศเกียรติคุณบัตรโรงเรียน บ้านบางกุฬา เป็นวิทยากรอบรมจริยธรรม • ประกาศเกียรติคุณบัตรโรงเรียน บ้านโตลดน้อย ผูบ้ ำ� เพ็ญคุณประโยชน์ตอ่ สังคม • ประกาศเกียรติคุณบัตรโรงเรียน สมุทธารามครูผู้สอนวิชาพระพุทธศาสนา ในโรงเรียนดีเด่น • ประกาศเกี ย รติ คุ ณ บั ต รและ บั ต รจั ด รายการธรรมะ ทางสถานี วิ ท ยุ

กระจายเสียงแห่งประเทศไทย กรมการประชาสัมพันธ์

• บัตรผู้ประกาศวิทยุกระจายเสียง และโทรทั ศ น์ แ ห่ ง ประเทศไทย กรม ประชาสัมพันธ์ • ประกาศเกี ย รติ คุ ณ บั ต ร ผู ้ ท� ำ คุ ณ ประโยชน์ ต ่ อ พระพุ ท ธศาสนา จาก สมเด็จพระญาณสังวรสมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก • เกียรติบัตร “นักจัดรายการธรรม ทางสถานีวทิ ยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย ยอดเยี่ ย ม” ประจ� ำ ปี 2547 จากกรม ประชาสัมพันธ์ • วุ ฒิ บั ต ร ชมรมพุ ท ธศาสนา องค์การปกป้องพระพุทธศาสนา • วุ ฒิ บั ต ร วิ ท ยาลั ย ครู เ พชรบุ รี หลักสูตร “การบริหารทั่วไป” • วุ ฒิ บั ต ร วิ ท ยาลั ย ครู เ พชรบุ รี หลักสูตร “การสอนพระปริยัติธรรม” • วุ ฒิ บั ต ร กรมการศาสนาและ

ส� ำ นั ก งานสถาบั น ราชภั ฏ หลั ก สู ต ร “การบริหารและการจัดการวัด” • วุฒบิ ตั ร กรมการศาสนา กระทรวง ศึกษาธิการ หลักสูตร“พระวิปัสสนาจารย์” • วุฒิบัตร สถาบันราชภัฏเพชรบุรี การพั ฒ นาคุ ณ ธรรมเยาวชนไทยในยุ ค โลกาภิวัตน์ • วุฒิบัตร ศูนย์ส่งเสริมพระพุทธ ศาสนาแห่งชาติ หลักสูตร “พระวิทยากร และครูผู้สอนวิชา พระพุทธศาสนา” • วุ ฒิ บั ต ร สถาบั น ราชภั ฏ และ คณะสงฆ์จังหวัดเพชรบุรี บทบาทพระสงฆ์ ตามพระราชบั ญ ญั ติ ก ารศึ ก ษาแห่ ง ชาติ พ.ศ.2542 • วุฒิบัตร สถาบันราชภัฏเพชรบุรี และคณะสงฆ์จังหวัดเพชรบุรี หลักสูตร “การพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมแก่เยาวชน” • วุ ฒิบั ต ร พระนักเทศน์แ ม่แ บบ ยอดเยี่ ย ม กรมการศาสนา กระทรวง ศึกษาธิการ • วุฒิบัตร พระนักเผยแผ่พระพุทธ ศาสนา กรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ • วุ ฒิ บั ต ร ครู พ ระสอนศี ล ธรรม ในโรงเรี ย น กรมการศาสนา กระทรวง วัฒนธรรม • วุ ฒิ บั ต ร การผลิ ต สื่ อ การเรี ย น การสอนพระพุ ท ธศาสนา โครงการครู พระสอนศี ล ธรรมในโรงเรี ย นเนื่ อ งจาก โอกาสการจั ด งานฉลองสิ ริ ร าชสมบั ติ ครบ 60 ปี กรมการศาสนา กระทรวง วัฒนธรรม ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา เพชรบุรเี ขต 1 และคณะสงฆ์จงั หวัดเพชรบุรี PHETCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 121

121

18/09/61 09:37:58


122

2

SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบุรี

.indd 122

19/9/2561 9:09:56


HIST ORY OF BUDDH ISM

วัดถ�้ำแก้ว

บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

เดิมชื่อว่า “วัดคูหามณี” พระครูสมุห์อ�ำนวย ปภากโร ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดถ�้ำแก้ว วั ด ถ�้ ำ แก้ ว ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 60 ถนนเพชรเกษม ต� ำ บลคลอง กระแชง อ�ำเภอเมือง จังหวัดเพชรบุ รี เดิ ม ชื่ อ ว่ า “วั ด คู ห ามณี ” ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น “วัดถ�้ำแก้ว” ที่ใช้ค�ำว่าถ�้ำแก้ว เพราะว่าใน บริเวณที่ตั้งวัดอาจจะมีถ�้ำ ชาวบ้านต่างเล่าขานกันมาว่าภายใน ถ�้ ำ มี น�้ ำ แข็ ง ตลอดปีอีกด้วย ไม่ทราบว่าน�้ำเย็นจนแข็งตัวหรือน�้ำ เป็นน�้ำแข็งแบบมหัศจรรย์ ถ้ามีอยู่จริงน่าจะมีการพิสูจน์ค้นหาร่อง ลอย เพื่อพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยว จึงฝากหน่วยงานที่สนใจค้นหา วัดถ�้ำแก้วได้รับ วิสุงคามสีมาเมื่อปี พ.ศ. 2533

รายนามเจ้าอาวาส 1. พระอธิการจุ้ย 2. พระอธิการแย้ม 3. พระอธิการทองอยู่ อินฺทวิริโย 4. พระครูสีลวัชรสาร 5. พระครูสมุห์อ�ำนวย ปภากโร เจ้าอาวาส รูปปัจจุบัน อดีตเจ้าอาวาสทุกรูปต่างพัฒนาวัดกันอย่างต่อเนือ่ งมิได้ขาด เร็วช้า แล้วแต่ก�ำลังศรัทธาของประชาชน การพัฒนาวัดในยุคเฟื่องฟู คือยุค ของพระครูสีลวัชรสาร อดีตเจ้าอาวาส จนได้รับรางวัลพัฒนาดีเด่นถึง สองปีซอ้ นต่อมาท่านมรณภาพ พระครูสมุหอ์ ำ� นวยปภากโร พระลูกศิษย์ ได้รับการแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาส

พระครูสมุหอ์ ำ� นวย ปภากโร เป็นบุตรของพ่อจิต - แม่อนงค์ ข�ำทวี ภูมิล�ำเนา เป็นคนบ้านไร่ส้ม เป็นบุตรคนโต มีพี่น้อง 3 คน ในอดีต พ่อมีอาชีพเลีย้ งวัวและรับจ้างทัว่ ไป แม่เป็นช่างปูนและรับจ้างทัว่ ไปเช่น กัน โยมท�ำงานทุกอย่างเพื่อไม่ให้ลูกๆ อด เพราะฐานะยากจน เมื่อพระครูสมุห์อ�ำนวย ปภากโร เรียนจบประถมศึกษาปีที่ 6 ไม่ได้เรียนต่อเพราะเห็นว่าพ่อแม่ล�ำบาก จึงเลี้ยงวัวแทนพ่อ ส่วนพ่อ ก็ไปรับจ้าง เมื่อโตเป็นหนุ่มก็รับจ้างทั่วไปไม่เลือกงาน เข้ารับการเกณฑ์ ทหารแต่ จั บ ได้ ใ บด� ำ หลั ง จากนั้ น พ่ อ แม่ จึ ง ให้ บ วช เมื่ อ อายุ 21 ปี ที่วัดถ�้ำแก้ว พระสุธีวัชโรดม เป็นอุปัชฌาย์ พระครูสีลวัชรสาร เป็น พระกรรมวาจาจารย์ จบนักธรรมเอกและอยู่ที่วัดถ�้ำแก้วมาตลอดจนถึงปัจจุบัน ได้รับ การแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาสเมื่อปี พ.ศ. 2547 และได้รับการแต่งตั้งเป็น เจ้าคณะต�ำบล เมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ.2560

PHETCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 123

123

19/9/2561 9:10:08


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดกุฎีดาว

สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย พระครูวชิรปัญญานุโยค ดร.บุญเรือง แสงดี ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดกุฎีดาว วั ด กุ ฎี ด าว ตั้ง อยู่เ ลขที่ 57 ถนนราชด�ำเนิน ต�ำบลคลองกะแชง อ�ำเภอเมืองเพชรบุรี จั ง หวั ด เพชรบุรี สัง กัด คณะสงฆ์มหานิกาย ที่ดินตั้งวัดมีเนื้อที่ 9 ไร่ 68 ตารางวา

124

2

ศาลาการเปรียญ สร้างเมื่อ พ.ศ.2510 กว้าง 9 เมตร ยาว 16.90 เมตร

SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบุรี

.indd 124

15/9/2561 8:45:54


อาคารเสนาสนะ ประกอบด้วย อุโบสถ กว้าง 6 เมตร ยาว 8.60 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ.2440 เป็นอาคาร คอนกรีตเสริมเหล็ก ศาลาการเปรียญกว้าง 9 เมตร ยาว 16.90 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2510 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก กุฏสิ งฆ์ จ�ำนวน 12 หลัง เป็นอาคารไม้ วิหาร กว้าง19 เมตร ยาว 30 เมตร เป็นอาคารไม้ สร้างเมื่อ พ.ศ. 2479

รายนามเจ้าอาวาส 1.พระอธิการเย็น 2.พระศรีพัชราจารย์ (บุษย์) 3.พระอธิการบุญมี รักษาการเจ้าอาวาส 4.พระมหาชัยวัฒน์ รักษาการเจ้าอาวาส 5.พระอธิการเสมอ เจ้าอาวาส 6.พระครูวชิรปัญญานุโยค ดร.บุญเรือง แสงดี พ.ศ.2530-ปัจจุบัน

พระครูวชิรปัญญานุโยค ดร.บุญเรือง แสงดี เกิด วันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2493 สถานที่ เกิด 29 ต�ำบลช่องสะแก อ�ำเภอเมืองเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี

การศึกษา พ.ศ.2552 ปริญญาพุทธศาสตรบัณฑิต (พธ.บ.) สาขาวิ ช าการจั ด การเชิ ง พุ ท ธ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย หน่วยวิทยบริการวัดหลวงพ่อสดธรรมกายาราม ต.แพงพวย อ.ด�ำเนินสะดวก จ.ราชบุรี รุน่ ที่ 1

อุปสมบท ณ พัทธสีมา วัดพระรูป ต�ำบลช่องสะแก อ�ำเภอเมืองเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี ต�ำแหน่ง เจ้าอาวาสวัดกุฎีดาว ผู้รับใบอนุญาตโรงเรียน ปริยัติรังสรรค์ จังหวัดเพชรบุรี บันทึก

วัดกุฎีดาว วัดกุฎีดาว ตั้งอยู่เลขที่ 57 ถนนราชด�ำเนิน ต�ำบลคลองกะแชง อ�ำเภอเมืองเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี พระครูวชิรปัญญานุโยค ดร.บุญเรือง แสงดี ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดกุฎีดาว โทรศัพท์ 081-8581051

PHETCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 125

125

19/9/2561 14:23:27


พระพุทธเมตตาพัขรมหามงคลขัย ( หลวงพ่อ ก�ำไร )

โบสถ์มหาอุตต์

วัดหนองควง เดิมชื่อ “วัดน่องควง”

พรครูโสภิต วัชรากร ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดหนองควง วัดหนองควง ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 114 หมู่ 1 ต�ำบลต้นมะพร้าว อ�ำเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี มีที่ดินประมาณ 28 ไร่ ส่วนชื่อวัด “หนองควง” จากค�ำ บอกเล่าของ ผู้เฒ่าผู้แก่ที่เล่าสืบต่อกันมาว่ามีพระพุทธรูปองค์หนึ่ง ซึ่งตั้งอยู่บนศาลาการเปรียญ ท่อนขาข้างหนึ่งสามารถหมุนหรือควง ได้ จึงเรียกกันว่า “พระน่องควง” และเรียกชื่อวัดว่า “วัดน่องควง” จากนั้นเพี้ยนมาเป็น “วัดหนองควง” ในปัจจุบัน

รายนามเจ้าอาวาส 1. หลวงพ่อเพน 2. พระอธิการเอี่ยม สุทโธ พ.ศ.2472 - 2494 3. พระครูโสภณวัชรากร พุทธสรมหาเถร (ซ้อน พุทธสโร) พ.ศ.2494 - 2540 4. พระครูโสภิตวัชรากร ปริสุทโธ พ.ศ.2540 - ปัจจุบัน บันทึก

พระครูโสภิตวัชรากร ปริสุทโธ เกิดวันศุกร์ที่ 30 มิถนุ ายน พ.ศ.2515 ปีชวด จบการศึกษา เบื้องต้น ณ โรงเรียนวัดเขมาภิรัติการาม อ�ำเภอเมือง จังหวัด เพชรบุรี จบปริญญาตรี มจร. อุปสมบท เมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ.2536 ณ วัดเขมา ภิรตั กิ าราม พระครูโสภณวัชรากร (ซ้อน พุทธฺ สโร) เป็นพระอุปชั ฌาย์ พระอธิ ก ารชั้ น เขมิ โ ก วั ด เขมาภิ รั ติ ก าราม เป็ น พระกรรม วาจาจารย์ พระหมืน่ ถาวโร วัดเขาชมพู ต�ำบลท่าตะคร้อ อ�ำเภอ หนองหญ้าปล้อง จังหวัดเพชรบุรี เป็นอนุสาวนาจารย์ หน้าที่ การงานฝ่ายสงฆ์ รับต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดหนองควง ต�ำบล ต้นมะพร้าว อ�ำเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี ตั้งแต่ พ.ศ.2540

126

1

SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบุรี

.indd 126

15/9/2561 8:59:21


.indd 127

15/9/2561 13:34:39


พระพุทธมงคลมหาชนอภิปูชนีย์

วัดช้าง

128

2

SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบุรี

.indd 128

15/9/2561 14:14:17


HIST ORY OF BUDDH ISM

บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดช้าง

โบสถ์ไม้สัก หนึ่งเดียวในเพชรบุรี พระปลัดฐิติวัสส์ ฐิตวฑฺฒโน ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดช้าง รายนามเจ้าอาวาส 1. พระน้อย 2. พระเกลี้ยง 3. พระสุมน 4. พระอธิการเรียม 5. พระครูวัชรกิจจาภรณ์ 6. พระปลัดฐิติวัสส์ ฐิตวฑฺฒโน เจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน

พระปลัดฐิติวัสส์ ฐิตวฑฺฒโน เจ้าอาวาสวัดช้าง ต�ำบลคลองกระแชง อ�ำเภอเมืองเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี ชื่อพระ ปลัดฐิตวิ สั ส์ ฉายา ฐิตวฑฺฒโน อายุ 53 พรรษา 13 วิทยฐานะ น.ธ.เอก วัดช้าง ต�ำบลคลอง กระแชง อ�ำเภอเมืองเพชรบุร ี จังหวัดเพชรบุร ี ปัจจุบันด�ำรงต�ำแหน่ง เจ้าอาวาสวัดช้าง

อุปสมบท วันที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2548 ที่วัด เขาตะเครา ต�ำบลบางครก อ�ำเภอบ้านแหลม จั ง หวั ด เพชรบุ รี พระอุ ป ั ช ฌาย์ พระมงคล วชิราจารย์ เจ้าอาวาสวัดเขาตะเครา ต�ำบลบางครก อ�ำเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี

โบสถ์ ไม้สัก หนึ่งเดียวในเพชรบุรี

วิทยฐานะ • พ.ศ.2555 สอบได้นักธรรมชั้นเอก ส�ำนักเรียน วัดเขาตะเครา • พ.ศ.2557 ส�ำเร็จการศึกษา หลักสูตร ประกาศนียบัตร การบริหารคณะสงฆ์ (ป.บส) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย หน่ ว ยวิ ท ยบริ ก ารวั ด พระรู ป อ� ำ เภอเมื อ ง เพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี

งานปกครอง • พ.ศ.2559 เป็นรักษาการเจ้าอาวาส วั ด ช้ า ง ต� ำ บลคลองกระแชง อ� ำ เภอเมื อ ง เพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี • พ.ศ.2559 เจ้าอาวาสวัดช้าง ต�ำบล คลองกระแชง จังหวัดเพชรบุรี

บันทึก

วัดช้าง

วัดช้าง ตั้งอยู่เลขที่ 236 ถนนบันไดอิฐ ต�ำบลคลองกระแชง อ�ำเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี มีเนื้อที่วัด 6 ไร่ 13 ตารางวา เขตติดต่อทิศเหนือ จดที่ดินโรงเรียน พรหมานุสรณ์จังหวัดเพชรบุรี ทิศใต้จดที่ดิน ถนนบันไดอิฐ ทิศตะวันออก จดที่ดินเอกชน (นางปราณี ประกาศิตานนท์) ทิศตะวันตกจดที่ดินวัดช้างใหญ่ (โรงเรียนพรหมานุสรณ์ฯ ใช้ประโยชน์ในการศึกษา)

PHETCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 129

129

15/9/2561 14:14:20


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดเพรียง

ศูนย์การเรียนรู้ศิลปวัฒนธรรม พระปลัดสนธยา มหพฺพโล ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดเพรียง วั ด เพรี ย ง ตั้ ง เมื่ อ พ.ศ. 2450 เดิ ม ตั้ ง เป็ น ส� ำ นั ก สงฆ์ โดย พระเหล็ ก และพระเทพ เป็ น ผู ้ ริ เ ริ่ ม การก่ อ สร้ า ง หน้ า อุ โ บสถ มีสระน�ำ้ ใหญ่ ซึง่ ชาวบ้านใช้สำ� หรับอุปโภค-บริโภค มีตำ� นานเล่าสืบต่อ กั น มาหลายเรื่ อ งเกี่ ย วกั บ สระน�้ ำ แห่ ง นี้ กั บ หลวงพ่ อ ปลั่ ง อดี ต เจ้าอาวาสซึ่งเป็นที่เคารพศรัทธาเสื่อมใสของชาวบ้าน ทั้งยังเป็น ผู้ปรับปรุงและพัฒนาวัดเพรียง จนเป็นวัดที่มีชื่อเสียงเลื่องลื่อไปทั่ว ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2545 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 30 เมตร ยาว 50 เมตร 130

2

SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบุรี

.indd 130

19/9/2561 15:08:08


อาคารเสนาสนะ ประกอบด้วย อุโบสถ กว้าง 6.30 เมตร ยาว 12.80 เมตร สร้างเมือ่ พ.ศ. 2440 เป็นอาคารทรงไทย ศาลาการเปรียญ กว้าง 15.35 เมตร ยาว 32.10 เมตร สร้างเมือ่ พ.ศ. 2463 เป็นอาคารไม้ทรงไทย หอสวดมนต์ กว้าง 19.50 เมตร ยาว 31.70 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2525 เป็นอาคาร ไม้ทรงไทย กุฏิสงฆ์ จ�ำนวน 3 หลัง เป็นอาคารครึ่งตึกครึ่งไม้ ศาลา อเนกประสงค์ กว้าง 18 เมตร ยาว 32 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2441 เป็นอาคารไม้ชั้นเดียว ศาลาบ�ำเพ็ญกุศล จ�ำนวน 1 หลัง สร้างด้วย คอนกรี ต เสริ ม เหล็ ก นอกจากนี้ มี หอกลอง หอระฆั ง เตาเผาศพ ก�ำแพงแก้วรอบอุโบสถ ซุ้มประตู

ปูชนียวัตถุ มีพระประธานประจ�ำอุโบสถ เป็นปูนปั้น ขนาดหน้าตักกว้าง 2.30 เมตร พระพุทธรูปนาคปรก 1 องค์ พระพุทธรูปอื่นๆ อีก 4 องค์ ในเสมาหินทรายแดง สมัยอยุธยา ธรรมาสน์ รูปปั้นหลวงพ่อปลั่ง

ซุม้ ปรกสีม่ มุ ตัง้ อยูม่ มุ ก�ำแพงแก้วทัง้ สีท่ ศิ เข้าใจว่าสร้างมาแล้วในสมัยกรุงศรีอยุธยา ลักษณะเป็นสถูปหรือซุม้ ยอดเจดีย์ สร้างด้วยอิฐถือปูน ภายในโปร่ง ส�ำหรับพระสงฆ์ เข้าไปนั่งกรรมฐานได้

รายนามเจ้าอาวาส • รูปที่ 1 พระอธิการเหล็ก พ.ศ. 2348 • รูปที่ 2 พระอธิการเทพ พ.ศ. 2395-2417 • รูปที่ 3 พระอธิการพวง พ.ศ. 2417-2433 • รูปที่ 4 พระอธิการปลั่ง พ.ศ. 2433-2477 • รูปที่ 5 พระอธิการประสงค์ พ.ศ. 2477-2479 • รูปที่ 6 พระครูปั่น วฑฒโน พ.ศ. 2479-2522 • รูปที่ 7 พระครูสถิต พจนสุนทร พ.ศ. 2523 • รูปที่ 8 พระปลัดสนธยา มหพฺพโล รูปปัจจุบัน

บันทึก

วัดเพรียง ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 37 หมู่ 4 บ้านเพรียง ต�ำบลโพไร่หวาน อ�ำเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัด 17 ไร่ 64 ตารางวา อาณาเขต ทิศเหนือจดทางหลวงแผ่นดิน ทิศใต้ จดสถาบันราชภัฏ ทิศตะวันออกจดทีด่ นิ เอกชน ทิศตะวันตกจด ถนนหาดเจ้าส�ำราญ มีทธี่ รณีสงฆ์ จ�ำนวน 1 แปลง เนือ้ ที่ 10 ไร่ 29 ตารางวา โฉนดที่ดิน เลขที่ 12270

PHETCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 131

131

19/9/2561 15:08:15


า ้ ค ร า ก ู ต ะ ร ป ม เช่ือ

ฝั่งอันดามัน ระนอง – เกาะสอง ประธานหอการค้าจังหวัดระนอง นายธีระพล ชลิศราพงศ์ เผยว่าจังหวัดระนอง มีชายแดนติดต่อกับจังหวัดเกาะสองของ เมียนมา ท�ำการติดต่อค้าขายกันทั้งทางบกและทางน�้ำ โดยมี มูลค่าประมาณปีละ 2 หมื่นล้านบาท อีกทั้งมีท่าเรือที่สามารถ รองรับการค้าระหว่างประเทศได้ จึงท�ำให้มีศักยภาพสามารถ เป็นจุดเชื่อมโยงและเป็นประตูการค้าจากหลายๆ จังหวัดของ ไทยในพื้ น ที่ ภ าคใต้ ฝ ั ่ ง อั น ดามั น สู ่ ป ระเทศเมี ย นมา และกลุ ่ ม ประเทศเอเชียใต้ ได้

ไท ร่วม

นอกจากนี้จังหวัดระนอง ยังได้จัดงานมหกรรมแสดงและจ�ำหน่ายสินค้าไทย - เมียนมา ขึ้นมา โดยเชิญประธานหอการค้าสาธารณรัฐ แห่งสหภาพเมียนมา พร้อมคณะหอการค้าจากจังหวัดเกาะสอง มะริดและทวาย เข้าร่วมด้วย เพื่อส่งเสริมสนับสนุนและสร้างโอกาสให้แก่ ผู้ประกอบการทั้งของไทยและเมียนมา ได้สร้างเครือข่ายและมองหาลู่ทางการค้าการลงทุนระหว่างกัน เพื่อให้สอดรับกับนโยบายสนับสนุนการค้าการลงทุนของไทย ให้ก้าวสู่ความเป็นไทยแลนด์ 4.0 นี่จึงเป็นโอกาสที่ดีของจังหวัดระนอง ที่ต้องพัฒนาคุณภาพและส่งเสริมช่องทางการตลาด ผลิตภัณฑ์ ใหม่ๆ ที่เป็นเอกลักษณ์ของจังหวัด รวมถึงการสร้างเครือข่ายพันธมิตร กับประเทศเพื่อนบ้าน เพื่อเพิ่มโอกาสในการแข่งขันทางธุรกิจ

132 SBL Magazine บันทึกประเทศไทย 1.

-

.indd 132

17/9/2561 9:02:37


HIST ORY OF BUDDH ISM

บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

พระครูปุญญาวัชรากร หรือ “หลวงพ่อบุญเชิด” เกิดเมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2504 เมื่ออายุ 23 ปี

อุปสมบท เมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2526 มี พระครูสริ พิ ชั รานุโยค วัดบันไดทอง ต�ำบลธงชัย อ�ำเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี เป็นพระอุปชั ฌาย์ พระครูสมุทรวรกิจ วัดวิหารโบสถ์ ต�ำบลธงชัย อ�ำเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรพี ระกรรมวาจาจารย์ และพระอธิการช�ำนิ วัดวิหารโบสถ์ ต�ำบลธงชัย อ�ำเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี พระอนุสาวนาจารย์

วิทยฐานะ

วัดหนองปืนแตก วัดเก่าแก่อายุกว่า 70 ปี

พระครูปุญญาวัชรากร ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดหนองปืนแตก วั ด หนองปื น แตกเริ่ ม ก่ อ สร้ า งเมื่ อ 70 กว่ า ปี ก ่ อ น เป็ น วั ด เก่ า แก่ วั ด หนึ่ ง มี เ นื้ อ ที่ ประมาณ 4 ไร่ เ ศษ เดิ ม ชาวบ้ า นเรี ย กกั น ว่ า “วั ด ตายุ ้ ย ” เล่า กันมาว่า หลวงตายุ้ยเป็นผู้ สร้างขึ้น อยู่ใกล้ล�ำห้วยทางทิศใต้ของหมู่บ้าน ซึ่ ง สมั ย ก่ อ นช่ ว งฤดู น�้ ำ หลาก น�้ ำ จะท่ ว มวั ด ชาวบ้านจึงได้พร้อมใจกันย้ายวัดตายุ้ยมาทาง ทิ ศ เหนื อ ของหมู ่ บ ้ า น และร่ ว มใจกั น สร้ า งวั ด ขึ้นมาใหม่

133

1

วั ด หนองปื น แตก ตั้ ง เมื่ อ วั น ที่ 27 เมษายน พ.ศ.2545 สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย อยูใ่ นเขตปกครองของ ต�ำบลสองพีน่ อ้ ง อ�ำเภอ แก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี โดยมีพระครู ปุญญษวัชรากร หรือ หลวงพ่อบุญเชิด ฐาน ปุญฺโญ อายุ 57 ปี พรรษา 36 วิทยฐาน น.ธ.เอก เป็นเจ้าอาวาส ตั้งแต่ พ.ศ. 2545ปัจจุบัน การศึกษา มีโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกธรรม เปิดสอนเมื่อ พ.ศ.2541

• พ.ศ.2517 ส� ำ เร็ จ การศึ ก ษาชั้ น ประถมศึกษาปีที่ 7 โรงเรียนบ้านแหลมทอง ต.ไร่โคก อ.บ้านลาด จ.เพชรบุรี • พ.ศ.2527 สอบนักธรรมชั้นตรีได้ ในส�ำนักศาสนศึกษาวัดชีสระอินทร์ ต.คลอง กระแชง อ.เมือง จ.เพชรบุรี • พ.ศ.2528 สอบนักธรรมชั้นโทได้ ในส�ำนักศาสนศึกษาวัดชีสระอินทร์ ต.คลอง กระแชง อ.เมือง จ.เพชรบุรี • พ.ศ.2529 สอบนักธรรมชั้นเอกได้ ในส�ำนักศาสนศึกษา วัดไตรมิตร จ.สุราษฎร์ธานี

สมณศักดิ์ • พ.ศ.2545 ได้รบั แต่งตัง้ เป็น พระสมุห์ ในฐานานุ ก รมของพระครู ป ั ญ ญาวั ช ราธร เจ้าคณะอ�ำเภอแก่งกระจาน จ.เพชรบุรี • พ.ศ 2552 ได้รบั พระราชทานสมณศักดิ์ พัดยศ เป็น “พระครูปุญญาวัชรากร” บันทึก

วัดเก่าแก่ 70 ปี

วัดหนองปืนแตก ตั้งอยู่ที่ 99 หมู่ 4 ต�ำบลสองพี่น้อง อ�ำเภอแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี พระครูปุญญาวัชรากร หรือ “หลวงพ่อบุญเชิด” ด�ำรงต�ำแหน่ง เจ้าอาวาสวัดหนองปืน

SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบุรี

.indd 133

19/9/2561 16:36:01


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดเขาย้อย

Wat Khao Yoi

พระครูไพบูลย์พัฒนาโสภณ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดเขาย้อย

วัดถ�้ำเขาย้อย ตั้งอยู่ที่ต�ำบลเขาย้อย อ�ำเภอเขาย้อย จังหวัดเพชรบุรี ตามประวัติกล่าว ว่าในสมัยกรุงศรีอยุธยา พระเจ้าอู่ทอง (พ.ศ.1893-1912) เคยเสด็จมาตั้งทัพในบริเวณถ�้ำ แห่งนี้ และครั้งเมื่อพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 ทรงผนวช ก่อน พ.ศ. 2394 พระองค์ ได้เสด็จธุดงค์วัตรมาปักกลด วิป ัสสนา ที่ห น้าเขาย้อยและทรงมา ประทัพนั่ง กรรมฐานในถ�้ำเข้าย้อย ซึ่งภายในถ�้ำเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธไสยาสน์ พระพุทธ บาทจ�ำลอง และพระพุทธรูปปางต่างๆ นอกจากนี้ยังมีหินงอกหินย้อยที่สวยงาม และมีช่องเล็กๆ ด้านบนมี แสงสว่างส่องลงมาในถ�้ำ จึงตั้งชื่อตามลักษณะที่เห็น เช่น ถ�้ำดาว ถ�้ำพระจันทร์ เป็นต้น

รายนามเจ้าอาวาส รูปที่ 1 พระอธิการเจ้ย เทสโก พ.ศ. 2460-2503 รูปที่ 2 พระบุญช่วย ปุณฺณโก พ.ศ. 2505-2532 รูปที่ 3 พระครูไพบูลย์พัฒนาโสภณ พ.ศ.2532-ปัจจุบัน

134

2

โบสถ์ ติ ด อั ก ษรเบรลล์ ช่ ว ยผู ้ พิ ก าร สายตาเที่ยวแบบสัมผัส ปัจจุบนั จ.เพชรบุรี หรือ “เมืองพริบพรี” ในสมั ย โบราณ ได้ ชื่ อว่ า เป็ น เมื อ งเก่ า แก่ ที่ น่าหลงใหล เต็มไปด้วยความสวยงามของท้องทะเล และกลิ่นอายศิลปวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ที่ มีความส�ำคัญของประเทศ นอกจากนี้ยังเป็นแหล่งรวมของวิถีชีวิต ผู้คนที่สำ� คัญยังได้รับการยกย่องว่าเป็น “เมือง แห่งศิลปะเชิงช่าง” เนื่องจากการเป็นแหล่ง รวมช่างฝีมือหลายสาขาประเภท ที่สร้างชื่อ เสียงให้จนเป็นที่ยอมรับทั้งในระดับประเทศ และระดับสากล

SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบุรี

new.indd 134

15/9/2561 9:28:10


ทางเข้าประตูสู่ตัวถ�้ำเพื่อไปสักการะ “พระพุทธไสยาสน์ หรือพระนอน” และ “พระพุทธบาท”

บันทึก

วัดเขาย้อย

วัดเขาย้อยสังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตั้งเมื่อ พ.ศ.2471 โดยมีพระอธิการเจ้ย เทสโก เป็น ผู้ด�ำเนินการจัดสร้างเสนาสนะต่างๆ อย่าง มั่นคงถาวร จากส�ำนักสงฆ์จนกลายเป็นวัดที่ ถูกต้องจนถึงปัจจุบัน

โดยเฉพาะสาขาช่ า งปู น ปั ้ น ช่ า งไม้ ช่างลายรดน�ำ้ ของ จ.เพชรบุรี ล้วนแล้วแต่รงั สรรค์ ผลงานที่มีความสวยงาม ปรากฏอยู่ในสถาน ที่ต่างๆจ�ำนวนมาก และงานด้านพุทธศิลป์ ภายในวัดต่างๆ ทั่วทั้งจังหวัดที่มีอยู่มากกว่า 200 แห่ง ส่วนที่โดดเด่นเวลานี้อยู่ภายใน วัดเขาย้อย หมู่ 5 อ.เขาย้อย จ.เพชรบุรี ทีส่ ำ� คัญเป็นการน�ำ อักษรเบรลล์ ตัวอักษร ที่ผู้พิการทางสายตา (ตาบอด) ใช้สื่อสารจาก การสัม ผัสมาติดไว้บนผลงานประติมากรรม ปูนปั้น เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้พิการทางสายตา ได้ รั บ ทราบถึ ง ความหมายของรู ป ลั ก ษณ์ ประติ ม ากรรมและเรื่ อ งราวต่ า งๆที่ บ อกไว้ ด้วยตนเอง

“พระพุทธไสยาสน์ หรือพระนอน” พระประธาน

พระมหานิธกิ าญจน์ นิธวิ โํ ส ผูอ้ ำ� นวยการ โรงเรียนวัดเขาย้อยไพบูลย์อุปถัมภ์ (แสงส่อง หล้า 5) ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดเขาย้อย กล่าวว่า “โบสถ์แกะสลักไม้” วัดเขาย้อย แห่งนี้ เป็น โบสถ์ที่ถูกสร้างขึ้นใหม่ตามรูปแบบโบสถ์เก่า ซึ่ ง สร้ า งด้ ว ยศิ ล ปะสมั ย นิ ย มในรั ช กาลที่ 3 แต่ได้ช�ำรุดทรุดโทรมไปตามกาลเวลา ดังนั้น พระครูไพบูลพัฒนโสภณ (สุด นงนุช) เจ้าอาวาส วัด เขาย้อย จึงด�ำริให้สร้างขึ้นใหม่ ใช้เวลา ประมาณ 3 ปี ด้วยงบประมาณกว่า 25 ล้านบาท จึงแล้วเสร็จ จากนั้ น หากเข้ า ไปภายในอุ โ บสถ จะพบกั บ งานไม้ แ กะสลั ก เป็ น ลวดลายใน พุทธประวัตทิ งั้ หลัง โดยบริเวณเหนือเศียรองค์

บรรยากาศภายในถ�้ำเขาย้อย และเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปปางต่างๆ

พระประธาน จะโดดเด่นด้วยฉัตรไม้ 3 ชั้น ฝีมือการออกแบบของ ช่างธานินทร์ ชื่นใจ ช่างเขียนลายรดน�ำ้ ชื่อดังเมืองเพชรบุรี ปั จ จุ บั น นี้ วั ด เขาย้ อ ยจึ ง ได้ รั บ การ คัดเลือกจาก จ.เพชรบุรี ให้เป็นวัดชนะเลิศ ในโครงการการประกวดในระดับจังหวัด ตาม โครงการ “พระนครคีรี เมืองประวัติศาสตร์ วั ด ร่ ม รื่ น ” ด้ ว ยการเป็ น วั ด ที่ มี ศิ ล ปกรรม ด้ า นพุ ท ธศิ ล ป์ ยุ ค ใหม่ ที่ ท รงคุ ณ ค่ า และเอื้ อ ประโยชน์ให้กับผู้คนทุกชนชั้น สมกับเป็นบวรพระพุทธศาสนาทีค่ วรค่า การเป็นแบบอย่างและต้นแบบแห่งการปฏิบัติ อย่างแท้จริง.

PHETCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

2

new.indd 135

135

15/9/2561 9:28:22


H I S TOR Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

บันทึก

ประเพณี ป ิ ด ทองนมั ส การองค์ พ ระ

เมื่อเทศกาลสงกรานต์ ชาวบ้านทั่วสารทิศจะเดินทางไป นมัสการองค์พระที่ถ�้ำเขาหลวงในอ�ำเภอเมือง หลวงพ่ออ่อน เห็นว่าหนทางไกล และมีความยากล�ำบากต่อการเดินทาง จึงได้ ชักชวนพระลูกวัด ชาวบ้าน และลูกศิษย์ ไปร่วมกันถางป่าขุด ถ�้ำเขาย้อย ซึ่งเดิมมีทางเข้า เพียงคนรอดได้เท่านั้น และมี พระพุทธไสยาสน์เก่าอยู่เพียงองค์เดียว ศิษยานุศิษย์ได้ท�ำกัน อย่างขยันขันแข็งจนปี พ.ศ.2447 หลวงพ่อได้ก�ำหนดให้มี ประเพณีปิดทองนมัสการองค์พระขึ้นที่ถ�้ำเขาย้อยเป็นต้นมา ในช่วงเทศกาลสงกรานต์ของทุกปี

136

2

SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบุรี

.indd 136

15/9/2561 9:39:56


ต�ำนานหลวงพ่ อศักดิ์สิทธิ์ ควรแก่การยกย่องเชิดชู

วัดท้ายตลาด พระครูอ่อน พรหมฺโชติ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส วัดท้ายตลาดรูปแรก เมื่อปี พ.ศ. 2430

วัดท้ายตลาด ตั้งอยู่เลขที่ 47 หมู่ 4 ต�ำบลเขาย้อย

อ�ำเภอเขาย้อย จังหวัดเพชรบุรี เป็นวัดเก่าแก่ประจ�ำชุมชน บ้านน้อย เดิมเป็นวัดร้างแต่ได้รับการบูรณะเมื่อราวปี พ.ศ. 2430 โดยพระครูอ่อน พรหมฺโชติ เจ้าอาวาสรูปแรก ภายในวัด มี สิ่ ง ที่ น ่ า สนใจมากมาย อาทิ หลวงพ่ อ รวย พระพุ ท ธรู ป ศักดิ์สิทธิ์ของชุมชน เป็นพระพุทธรูปสัมฤทธิ์ ลงรัก ปิดทอง ทรงจีวรลายดอกพิกุล สันนิษฐานว่าสร้างในสมัยรัชกาลที่ 3 ภาพจิตรกรรมฝาผนังภายในโบสถ์ ฝีมอื เขียนของนายช่างอยู่ อิ น ทร์ มี ศิ ล ปิ น ที่ มี ชื่ อ เสี ย งของเมื อ งเพชรบุ รี หนึ่ ง ใน คณะช่ า งเขี ย นภาพจิ ต รกรรม ณ ระเบี ย งคต พระอุ โ บสถ วั ด พระศรี รั ต นศาสดาราม (วั ด พระแก้ ว ) และพิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ พื้นบ้านวัดท้ายตลาดที่จัดแสดงศิลปวัตถุ และเครื่องมือเครื่อง ใช้ของชาวบ้านภายในชุมชน

ภายในวัดมีส่ิงทีน ่ ่าสนใจมากมาย อาทิ หลวงพ่ อรวย พระพุ ทธรูปศักดิ์สิทธิ์ ของชุมชน เป็นพระพุ ทธรูปสัมฤทธิ์ ลงรัก ปิดทอง ทรงจีวรลายดอกพิ กุล สันนิษฐานว่าสร้างในสมัยรัชกาลที่ 3

ต�ำนานหลวงพ่อศักดิ์สิทธิ์

หลวงพ่อศักดิส์ ทิ ธิว์ ดั ท้ายตลาด ไม่ปรากฏชือ่ เดิมตามคตินยิ ม การสร้างพระ แต่เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัยเนื้อสัมฤทธิ์แก่ทอง พุทธศิลป์สมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์ สังเกตได้จากลวดลายบนองค์ ทีผ่ สมผสานระหว่างสมัยสุโขทัยและอยุธยาเข้าด้วยกันอย่างลงตัว ผ้าจีวรประดับด้วยลายดอกพิกุล อันเป็นเอกลักษณ์อันทรงโปรด ในช่วงรัชกาลที่ 3 ถือเป็นความลงตัวของยุคอย่างโดดเด่น หลวงพ่อ ศักดิ์สิทธิ์องค์นี้เป็นของเก่าแก่ที่สุดของวัด 1 ใน 4อย่าง ซึ่งเดิม ถูกเก็บซ่อนไว้เพราะองค์อื่นๆเคยถูกโจรกรรมไปในสมัยต่างชาติ นิยมประดับเศียรพระพุทธโบราณ เมื่อวันเวลาผ่านไปจึงท�ำให้ถูก หลงลืมเรื่องราวและต�ำนานของท่าน จนเมื่อมีการสืบค้นประวัติ และต�ำนานสิ่งของเก่าแก่จึงได้พบเรื่องราวควรแก่การยกย่องเชิดชู หลวงพ่อศักดิ์สิทธิ์ดังเดิม

พระครูอ่อน พรหฺมโชติ

หลวงพ่ออ่อน หรือ พระครูออ่ น พรหฺมโชติ (ตามลายมือการ จดบันทึกของหลวงพ่อพิมพ์เจ้าอาวาสองค์ต่อมาเป็นลูกศิษย์ของ หลวงพ่อท่าน) ไม่ปรากฏปีเกิด เป็นบุตรของนายทองและนางหน่าย สกุลทองอยู่ บวชจ�ำพรรษาอยู่ที่วัดสวนทุ่ง ต�ำบลบางครก อ�ำเภอ บ้ านแหลม จั ง หวั ด เพชรบุ รี ถึ ง พรรษา 5 ปี เมื่อปีพ.ศ.2430 นายภู่ ชาวบ้านน้อย ได้ไปอาราธนาท่านพร้อมกับพระภิกษุอีก 4 รูป มาอยู่ส�ำนักสงฆ์ที่ตั้งอยู่ท้ายตลาด เพื่อเป็นการบูรณะและ ยกฐานะขึ้นเป็นวัด ซึ่งแต่เดิมได้ถูกปล่อยรกร้างเหลือเพียงแต่ สิ่งปลูกสร้างไว้ ส่วนประวัติใดๆ ไม่มีให้สืบค้น โดยหลวงพ่ออ่อน ท�ำได้ดีเสมอมาทัดเทียมกับวัดอื่นๆ ในเวลาไม่นาน

2

.indd 137

15/9/2561 9:40:12


รายนามเจ้าอาวาส

วัดเขาพระ

ขอพรพระศักดิส ์ ิทธิใ์ ช้ชีวิตท�ำดี

1. พระครูภาวนาวิริยาจารย์ (สุธรรม) 2. พระอธิการน้อย วณฺณวฑฺฒโก 3. พระครูสมุห์สมบัติ ปภสฺสโร เจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน

พระครูสมุห์สมบัติ ปภสฺสโร ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดเขาพระ วั ด เขาพระ ตั้ ง อยู ่ ที่ ต� ำ บลทั บ คาง อ�ำเภอเขาย้อย จังหวัดเพชรบุรี เริ่มสร้าง เมื่อประมาณปี พ.ศ.2501 ได้รับอนุญาต ให้ตั้งเป็นวัดเมื่อวันที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2510 วั ด เขาพระตั้ ง อยู ่ บ นที่ ร าบเชิ ง เขา ครอบคลุ ม พื้ น ที่ จ นถึ ง ยอดเขาซึ่ ง เป็ น ที่ ตั้ง ของอุ โ บสถที่มีค วามส�ำ คัญยิ่งเป็น ที่ ภาคภูมิใจของประชาชนชาวจังหวัดเพชรบุรี และประชาชนที่ได้มาเยือนอยู่มิได้ขาด ตั้งแต่ เริ่มก่อสร้างอุโบสถ เมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ.2511 โดยสมเด็ จ พระนางเจ้ า ร� ำ ไพ พรรณี เสด็ จ พระราชด� ำ เนิ น มาเป็ น องค์ ประธานในการวางศิ ล าฤกษ์ และต่ อ มา เมือ่ การก่อสร้างอุโบสถแล้วเสร็จ วัดเขาพระ 138

2

ก็ ได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากพระบาท สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร เสด็จพระราชด�ำเนินพร้อม ด้วยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยาม บรมราชกุมารี และสมเด็ จ พระเจ้ า ลู ก เธอ เจ้ า ฟ้ า จุ ฬ าภรณ วลั ย ลั ก ษณ์ ฯ มายั ง วั ด เขาพระ เมื่ อ วั น ที่ 29 พฤษภาคม พ.ศ.2516 เพื่ อ ประกอบพิธียกช่อฟ้า อุโบสถ ทรงกดปุ่มไฟฟ้าตีระฆัง ทรงปลูก ต้ น โพธิ์ ศ รี ลั ง กา ไว้ เ ป็ น ที่ ร ะลึ ก ณ สวน พฤกษศาสตร์ บ ริ เ วณด้ า นหน้ า ของวั ด และทรงมีพระราชปฏิสันถารกับประชาชน ที่มารอเฝ้าฯรับเสด็จอย่างเนืองแน่น

พระครูสมุห์สมบัติ ปภสฺสโร ท่านเจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน ได้พัฒนา บู ร ณะปรั บ ปรุ ง วั ด ตามรอยอดี ต เจ้ า อาวาส ในด้านต่างๆ ทีส่ ำ� คัญได้แก่ จัดการน�ำ้ ดืม่ น�ำ้ ใช้ ให้เพียงพอ พัฒนาอุทยานพระพุทธศาสนา สร้างศาลาท�ำบุญและหอฉัน และจัดกิจกรรม บวชเนกขัมมะ ปฏิบัติธรรม ตามวันส�ำคัญ ต่างๆ พระครูสมุห์สมบัติ ปภสฺสโร เจ้าอาวาส วั ด เขาพระ ต� ำ บลทั บ คาง อ� ำ เภอเขาย้ อ ย จังหวัดเพชรบุรี โทรศัพท์ 098-5989595

SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบุรี

.indd 138

19/9/2561 17:06:47


วั ด เขาพระก็ ไ ด้ รั บ พระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ จาก พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิ ต ร เสด็ จ พระราชด� ำ เนิ น พร้ อ มด้ ว ย สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ฯ มายังวัดเขาพระ เมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม พ.ศ.2516 เพื่อประกอบพิธียกช่อฟ้าอุโบสถ ทรงกดปุ่มไฟฟ้า ตี ร ะฆั ง ทรงปลู ก ต้ น โพธิ์ ศ รี ลั ง กา ไว้ เ ป็ น ที่ ร ะลึ ก ณ สวนพฤกษศาสตร์บริเวณด้านหน้าของวัด

สร้างเส้นทางบุญ

บันทึก

วัดเขาพระ ขอเชิญชวนผู้มี จิ ต ศรั ท ธาทุ ก ท่ า น ร่ ว มเป็ น เจ้ า ภาพสร้า งพระพุทธรูป ปาง ปรินิพพาน เพื่อเป็นพุทธบูชา และเพือ่ ฟืน้ ฟูศาสนสถานให้เป็น แหล่งการศึกษาเรียนรู้ ณ บริเวณ ลานโพธิ์ อุ ท ยานการศึ ก ษา วั ด เขาพระ ซึ่ ง เป็ น สถานที่ ที่ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา ภูมพิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงปลูกต้นโพธิ์ศรีลังกาไว้เป็น ที่ระลึก

PHETCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 139

139

15/9/2561 14:17:22


H I S TOR Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

Wat Huai Sai Tai

Phra Khru Chanwatcharaphorn (Venerable Huai Chakawaroe) The abbot of Wat Huai Sai Tai and the ecclesiastical of Cha-am district officer. ร่วมสร้าง “พระรัตนเจดีย์ศรีมหาธาตุ”

วัดห้วยทรายใต้

ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ และรูปหล่อหลวงพ่ อทองสุข อินทฺโชโต

วัดห้วยทรายใต้ ตั้งอยู่ที่บ้านห้วยทรายใต้ ต�ำบลชะอ�ำ อ�ำเภอชะอ�ำ จังหวัด เพชรบุรี ก่อตั้งเมื่อ ปี พ.ศ.2510 โดยหลวงพ่อโต (น้อย จุนฺโท) และความร่วมแรง ร่วมใจของชาวบ้านห้วยทรายใต้ บนเนื้อที่ดิน 32 ไร่ ซึ่งโยมมารดาของหลวงพ่อโต ได้มีมอบให้สร้างวัด หลวงพ่อโต ได้ปลูกสร้างเสนาสนะและถาวรวัตถุต่างๆ เพื่อใช้ เป็นที่บ�ำเพ็ญกุศลของชาวบ้าน ต่อมาได้สร้างกุฏิสงฆ์ 1 หลัง และอุโบสถส�ำหรับ บรรพชาและอุปสมบท แก่เหล่ากุลบุตรผู้มีศรัทธาเข้ามาบวชในพระพุทธศาสนา ปัจจุบัน วัดห้วยทรายใต้ โดยการน�ำของพระครูฌานวัชราภรณ์ (หลวงพ่อ ห่วย จกฺกวโร) ได้ก่อสร้างอาคารเสนาสนะถาวรวัตถุต่างๆ ที่จ�ำเป็นมากมาย เช่น ศาลาการเปรียญ กุฏิสงฆ์ตึก สูง 4 ชั้น โรงเรียนพระปริยัติธรรม สหบาลีศึกษา อุโบสถปูพื้นด้วยหินอ่อน ประดิษฐานพระพุทธรูปหลวงพ่ออู่แสนสุข ซึ่งเป็นพระ ประธานประจ�ำอุโบสถ พร้อมด้วยพระอัครสาวกซ้าย – ขวา คือ พระโมคคัลลา นะและพระสารีบุตร วิหารหลวงพ่อหยกขาว วิหารเจ้าแม่กวนอิม อุโบสถกลางน�้ำ ศูนย์ปฏิบัติธรรมหลวงพ่อโต (วัดห้วยทรายใต้) เป็นต้นฯ

Wat Huai Sai Tai was the temple at Huai Sai village, Cha-am Sub-district, Cha-am district, Phetchaburi. This temple was established in 2510 (buddhist calendar) by Venerable Toh and the cooperation of villager of Huai Sai village and set up the temple in area about 32 acres. Venerable Toh’s mother gave this land to created the temple and he had built sleeping and sitting place and some permanent structures, especially those built of stones for villager to made the merits. At this time, by leading of Phra Khru Chanwatcharaphorn (Venerable Huai Chakawaroe), he succeeded to established many essential sitting place and some permanent structures such as preaching hall, 4 floors parsonage, moral Buddha school, cooperative pali school, observance with marble floor and enshrined Venerable Ooh Sansook statue as the principle Buddha image of the observance, Venerable Yokkhao monastery, Guan Yin monastery, The Church in the middle of the water. and Venerable Toh dharma practice place (Wat Huai Sai Tai).

Wat Huai Sai Tai 140

5

SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบุรี

.indd 140

15/9/2561 9:46:02


PHETCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

5

.indd 141

141

15/9/2561 9:46:08


บั น ทึ ก เส้ น ทางธรรมหนุ น น� ำ ชี วิ ต วัดห้วยทรายใต้

“จกฺกวโร” “ผู้ทรงไว้ซึ่งธรรมของ องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุ ทธเจ้า”

หลวงพ่อพระครูฌานวัชราภรณ์ (หลวงพ่อห่วย จกฺกวโร)

ที่ปรึกษาเจ้าคณะอ�ำเภอชะอ�ำ เจ้าอาวาสวัดห้วยทรายใต้ สถานะเดิม ชือ่ “ห่วย ประมงกิจ” เกิด พ.ศ.2479 บ้านบางเก่า ต�ำบลบางเก่า อ�ำเภอชะอ�ำ จังหวัดเพชรบุรี เป็นบุตรของนายก่อง และนางทน ประมงกิจ บรรพชาและอุปสมบท เมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ.2499 อายุ 20 ปี บริบูรณ์ ณ พัทธสีมา วัดโตนดหลวง ต�ำบลบางเก่า อ�ำเภอชะอ�ำ จังหวัดเพชรบุรี โดยมีพระครูพินิต สุตคุณ (หลวงพ่อทองสุข อินฺทโชโต) อดีตเจ้าอาวาสวัดโตนดหลวง เป็นพระอุปัชฌาย์ พระครูวชิรรังสี (หลวงพ่อจันทร์ ธมฺมสโร) อดีตเจ้าอาวาสวัดมฤคทายวัน เป็นพระกรรม วาจาจารย์ และพระครูพินิจสมณคุณ (หลวงพ่อหล่อ) อดีตเจ้าอาวาสวัดหนองศาลา เป็นพระอนุสาวนาจารย์ ได้รบั ฉายาภาษาบาลีวา่ “จกฺกวโร” ซึง่ หมายถึง “ผูท้ รงไว้ซงึ่ ธรรม ขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า” Phra Khru Chanwatcharaphorn (Venerable Huai Chakawaroe), The abbot of Wat Huai Sai Tai and the ecclesiastical District officer Advisor Cha-am. His old name is Huai Pramongkit and his birth day is 2479 BC at Bang Kao Village, Bang Kao Sub-district, Cha-am district, Phetchaburi. He is the son of Mr. Kong and Mrs. Thon Pramongkit. When Phra Khru Chanwatcharaphorn was completely 20-year-old, he decided to Buddhist ordained on 24th May 2499 BC at the grounds of Tanod Luang temple, Bang Kao Subdistrict, Cha-am district, Phetchaburi. The preceptor was Phra Khru Phinitsuttakhun (Venerable Thongsuk Intha Shotoh), first ordination teacher was Phra Khru Wachira Rungsri (Venerable Chan Thummasaroe) and second ordination teacher was Phra Khru Phinic Samanakhun (Venerable Lo). Phra Khru Chanwatcharaphorn received a pali designation called Chakawaroe. This word means the maintainer of dharma of Buddha.

142

5

การศึ ก ษาทางโลก จบการศึ ก ษา ชั้ น ประถมศึ ก ษาปี ที่ 4 จากโรงเรี ย น ประชาบาล บ้านบางเก่า ต�ำบลบางเก่า อ�ำเภอชะอ�ำ จังหวัดเพชรบุรี เมื่อปี พ.ศ. 2492 การศึกษาทางธรรม สอบได้นกั ธรรม ชัน้ ตรีและนักธรรมชัน้ โท จาก ส�ำนักศาสน ศึกษาวัดโตนดหลวง ต�ำบลบางเก่า อ�ำเภอ ชะอ�ำ จังหวัดเพชรบุรี เมื่อปี พ.ศ.2500 และย้ายมาเป็นเจ้าอาวาสวัดห้วยทรายใต้ เมื่อปี พ.ศ.2501 Phra Khru Chanwatcharaphorn finished elementary education grade 4 from local school of Bang Kao Village, Bang Kao Sub-district, Cha-am district, Phetchaburi in 2492 BC. For dharma education, he passed the third grade and second-grade doctrine-knower of Tanod Luang Buddha school, Bang Kao Sub-district, Cha-am district, Phetchaburi in 2500 BC and he shifted to be the abbot of Wat Huai Sai Tai at 2501 BC.

SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบุรี

.indd 142

15/9/2561 9:46:17


PHETCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

5

.indd 143

143

19/9/2561 16:49:32


144

5

SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบุรี

.indd 144

19/9/2561 16:49:42


วัดหนองเผาถ่าน วัดเก่าแก่สร้างเมื่อ พ.ศ. 2478

พระครูพิพิธพัชโรภาส ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดหนองเผาถ่าน วัดหนองเผาถ่าน เริ่มแรกเป็นเพียงที่พักของพระสงฆ์ชั่วคราว มีเพียงศาลาเล็กๆ ประชาชนได้ไปอาราธนา หลวงพ่อนิด เรืองอร่าม เดิมเป็นชาวบ้านโคกเศรษฐี มาบวชอยูท่ วี่ ดั ชะอ�ำ ขณะนัน้ ท่านบวชมาได้ 15 พรรษา ท่านเกิดปีฉลู พ.ศ.2441 ทราบว่าท่านไปศึกษาที่วัดเพรียง จังหวัด เพชรบุรี และมีญาติอยู่ที่นั้น ท่านมาอยู่ที่วัดหนองเผาถ่าน เมื่อปีกุน พ.ศ.2478 เริ่ม สร้างวัด ที่สระลูกบน ทราบจากโยมหร่าย บุตรโยมจีบว่า หลวงพ่อนิด ท่านไม่ชอบที่ตรงนั้น ท่านเที่ยวเดินดูจนทั่ว ท่านชอบทีอ่ ยูป่ จั จุบนั ว่าเหมาะสม อยูต่ ดิ สระลูกล่าง สระนัน้ อยูส่ ดุ เขตวัด (ปัจจุบันได้ท�ำเป็นโฉนดของวัดแล้วเมื่อ พ.ศ.2511 เฉพาะสระลูกล่าง)

รายนามเจ้าอาวาส

บันทึก

วัดหนองเผาถ่าน ตั้งอยู่เลขที่ 129 หมู่ที่ 3 ต�ำบลดอนขุนห้วย อ�ำเภอชะอ�ำ จังหวัดเพชรบุรี เริ่มสร้างเมื่อ พ.ศ.2478 ปีกุน สมัยก่อนมี ลักษณะเป็นป่าใหญ่เป็นทีอ่ าศัยของสัตว์นานาชนิด มีประชาชน มาอาศัยอยูไ่ ม่มากนัก มีหนองน�ำ้ ทีป่ ระชาชนใช้เผาถ่าน ห่างจาก วัดไปทางตะวันตก ประมาณ 200 เมตร

1. พระอธิการนิด เรืองอร่าม เป็นเจ้าอาวาส 17 ปี 2. พระอธิการทองหล่อ สีลสุทฺโธ นาคประดับ เป็นผู้รักษาการและเจ้าอาวาส พ.ศ.2488 - 2495 รวม 7 ปี 3. พระอาจารย์อเนก ยโสธโร วัดชะอ�ำ รักษาการ พ.ศ.2495 - 2500 4. พระอธิการพิง สิริมงฺคโล รักษาการ พ.ศ.2500 - 2504 เจ้าอาวาส พ.ศ.2506 รวม 6 ปี 5. พระเจิม นนฺทเทโว (อินทะนิน) พรรษา 8 รักษาการ 2 ปี พ.ศ.2506 - 2508 6. พระครูพิพิธพัชโรภาส (เหวี่ยน เนียมทอง) อายุ 28 พรรษา 8 เป็นเจ้าอาวาสตัง้ แต่ 8 เมษายน พ.ศ.2508 - ปัจจุบนั PHETCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

1

.indd 145

145

15/9/2561 9:51:51


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

พระพิ ฆเนศ สร้างเมื่อปี พ.ศ.2560

วัดนายาง

เดิมชื่อ “วัดสุวรรณอ�ำพาราม” พระครูพิพัฒน์วชิรปัญญาวุฒิ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดนายาง

ปิดทองเมื่อ ปี พ.ศ.2551 งบประมาณการก่อสร้าง 20 ล้านบาท

146

2

วั ด นายาง ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 73 ม.3 หมู ่ บ ้ า นนายาง อ.ชะอ� ำ จ.เพชรบุรี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตั้งวัดเมื่อ พ.ศ. 2380 เดิมชื่อ “วัดสุวรรณอ�ำพาราม” สร้างขึ้นเมื่อใดไม่ปรากฏ แต่สันนิษฐานว่า สร้างขึ้นในสมัยอยุธยา ชาวบ้านมักเรียกว่า “วัดนายาง” เพราะ บริเวณที่ตั้งวัดมีต้นยางจ�ำนวนมาก

SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบุรี

.indd 146

15/9/2561 9:56:55


สันนิษฐานว่าสร้างขึ้นในสมัยพระนครศรีอยุธยา เป็นวัดที่ค่อนข้าง เก่าแก่ ภายในประดิษฐานหลวงปู่ศุข (วัดปากคลองมะขามเฒ่า) องค์ ใหญ่ที่สุดในโลกและยังมีพระพุทธรูปอายุหลายร้อยปี ประดิษฐานอยู่ภายในใต้โบสถ์ วัดนายางเดิมชื่อว่า วัดสุวรรณอ�ำพาราม

วัดนายาง ปิดทองฝังลูกนิมติ มา 3 ครัง้ ครัง้ แรกไม่ปรากฏว่าเมือ่ ใด ครัง้ ที่ 2 ได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา เมือ่ วันที่ 2 กันยายน พ.ศ.2501 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 40 เมตร ยาว 80 เมตร ได้ผูกพัทสีมาเมื่อ พ.ศ. 2502 ครัง้ ที่ 3 ได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา เมือ่ วันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2548 และได้ผูกพัทสีมา ในวันที่ 6-14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551 เดิ ม มี ที่ ดิ นวั ด อยู ่ 12 ไร่ 2 งาน 57 ตารางวา และพระครู พิ พั ฒน์ วชิรปัญญาวุฒิ พร้อมด้วยคณะกรรมการ ได้จดั ซือ้ ขยายออกไปอีกจ�ำนวน 24 ไร่ 2 งาน 87 ตารางวา และที่เขาถวายไว้เดิมอีก 3 ไร่ ปัจจุบันรวม ที่ดินตั้งวัดทั้งหมดจ�ำนวน 37 ไร่ 2งาน 44 ตารางวา

บันทึก

พระครูพิพัฒน์วชิรปัญญาวุฒิ สมั ย พระครู พิ พั ฒ น์ ว ชิ ร าปั ญ ญาวุ ฒิ มี ก ารพั ฒ นา เสนาสนะหลายอย่าง อาทิ เช่น กุฏิสงฆ์ใหม่ทั้งหมด ปรับปรุง ฌาปนสถาน สร้างโรงอาหาร สร้างศาลาการเปรียญใหม่ สร้าง โบสถ์หลังใหม่ ลาดยางภายในบริเวณวัด สร้างห้องสมุด สร้าง ศาลาริมน�้ำ สร้างศูนย์การศึกษานอกโรงเรียน ปัจจุบันเปลี่ยน มาเป็น โรงปรุงยาสมุนไพร สร้างซุ้มประตู สร้างหลวงปู่ศุข หน้าตัก 9 เมตร 9 นิ้ว พร้อมอาคาร สร้างอาคารกลางสระ ขุดสระอีก 1 ลูก เนื้อที่ 1 ไร่ 2 งาน ทางเข้าวัดทรงไทย สร้าง พิพิธภัณฑ์ย้อนอดีต และซื้อที่ดินขยายเข้าวัดอีกจ�ำนวน 16 ไร่ เพื่อปลูกป่าลดภาวะโลกร้อนและท�ำนา ซึ่งก�ำลังด�ำเนินการอยู่ ในขณะนี้ รวมที่ดินตั้งวัดทั้งหมด 37 ไร่ 2 งาน 44 ตารางวา

รายนามเจ้าอาวาส 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.

หลวงพ่อ เทีย น พ.ศ.2417 - 2423 หลวงพ่อ กลัด พ.ศ.2423 - 2443 เจ้ าอธิการแช่ม พ.ศ.2443 - 2483 หลวงพ่อ ทิพย์ พ.ศ.2483 - 2485 หลวงพ่อ เทีย บ พ.ศ.2485 - 2493 หลวงพ่อ สมพงษ์ พ.ศ.2493 - 2495 พระครูว ชิร นัน ทคุณ พ.ศ.2495 - 2530 พระครูพิพัฒน์ว ชิร ปัญญาวุฒิ พ.ศ.2530 - ปัจ จุบัน

PHETCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 147

147

15/9/2561 9:57:03


สมเด็จพระพุทธศรีอริยเมตตรัยชัยมงคลจักรีภูมิพัชรบดิทร์ (สามกษัตริย์)

วัดหุบกะพง

ครบรอบ 48 ปี สมโภชต้นโพธิ์ พระครูวิธานวัชรพงศ์(เสน่ห์ สิริวฑฺฒโน) เจ้าอาวาสวัดหุบกะพง และเป็นปฏิมากรปั้นพระประธานประจ�ำอุโบสถ วั ด หุ บ กะพง ตั้ ง อยู ่ ที่ บ ้ า นหุ บ กะพง หมู ่ ที่ 8 ต� ำ บลเขาใหญ่ อ� ำ เภอชะอ� ำ จั ง หวั ด เพชรบุ รี มี เ นื้ อ ที่ 58 ไร่ ห่ า งจาก ถนนเพชรเกษม ระยะทาง 5 กิ โ ลเมตร วั ด หุ บ กะพง ตั้ ง เมื่ อ พ.ศ.2530 ด้ ว ยส� ำ นึ ก ในพระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ โ ค ร ง ก า ร ส ดุ ดี ม ห า ร า ช า ร ่ ว ม กั บ วั ด หุ บ กะพง สมาชิ ก สหกรณ์ ก ารเกษตร หุ บ กะพง ศู น ย์ ส าธิ ต สหกรณ์ โ ครงการ หุ บ กะพง โรงเรี ย นบ้ า นหุ บ กะพง และ ประชาชน ในโครงการตามพระราช ป ร ะ ส ง ค ์ หุ บ ก ะ พ ง จั ง ห วั ด เ พ ช ร บุ รี จึ ง พ ร ้ อ ม ใ จ กั น จั ด พิ ธี อั ญ เ ชิ ญ ภ า พ พระราชทาน และสมโภชต้นโพธิ์ทรงปลูก

148

.indd 148

และสมโภชต้นโพธิ์ในวาระครบรอบ 48 ปี ซึ่ง ต้ น โพธิ์ดัง กล่ า ว เป็น หน่ อที่ ได้ม าจาก ต้ น พระศรี ม หาโพธิ์ ณ พุ ท ธคยาที่ ประเทศอิ น เดี ย สถานที่ ที่ ส มเด็ จ พระ สั ม ม า สั ม พุ ท ธ เ จ ้ า ท ร ง ต รั ส รู ้ โ ด ย พระเทพวงศาจารย์ เจ้ า คณะจั ง หวั ด เพชรบุ รี ในขณะนั้ น เป็ น ผู ้ น� ำ มา

SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบุรี

18/09/61 09:32:14


อาคารเสนาสนะ อุ โ บสถ ศาลาการเปรี ย ญ ศาลา อเนกประสงค์ ศาลาหอพระธาตุ นอกจากนี้ ภายในวัดหุบกะพง มีตน้ โพธิ์ ซึง่ ได้รบั พระราชทาน จากพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดช บรมนาถบพิตร ในหลวงรัชกาลที่ 9 ทรงปลูก เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ.2513

บันทึก

กิจกรรมด้านวัฒนธรรม ที่น่าสนใจ กิจกรรมทางด้านวัฒนธรรม ทีน่ า่ สนใจของวัดทีจ่ ดั เป็นประจ�ำ ทุกๆ ปี ได้แก่ งานสงกรานต์ จัดระหว่างวันที่ 15 - 16 เม.ย. เทศน์มหาชาติ แห่พระ สรงน�ำ้ พระ ขอพรผูส้ งู อายุ บวชต้นไม้ ประจ�ำปี สงกรานต์ 23 - 25 พ.ค. บูชาครู สวดนพเคราะห์ ครอบ พระธาตุ งานท� ำ บุ ญ กตั ญ ญู (เจดีย์อดีตเจ้าอาวาส) และคณะ ญาติ โ ยม ผู ้ มี พ ระคุ ณ ต่ อ วั ด ปฏิ บั ติ ธ รรมเฉลิ ม พระเกี ย รติ โดยผู ้ ร ่ ว มกิ จ กรรมไม่ ต ้ อ งเสี ย ค่าใช้จ่ายใดๆ ทั้งสิ้น

ศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ ครูพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน

13, 23 ตุลาคม และ 5 ธันวาคม ปฏิบัติเฉพาะกิจถวายเสด็จปู่รัชกาลที่ 5 และ เสด็จพ่อรัชกาลที่ 9 พระบรมวงศานุวงศ์ ราชจักรีวงศ์

สมเด็จพระพุฒาจารย์ (สนิท ชวนปญฺโญ) เจ้าคณะหนตะวันออกวัดไตรมิตร(กรุงเทพฯ) (พรมน�ำ้ มนต์ศาลพรหมเงินประจ�ำวัด)

ส�ำนักปฏิบัติธรรม ประจ�ำจังหวัดล�ำดับที่ 20

PHETCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 149

149

18/09/61 09:32:19


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดโพธิ์สุวรรณ พระสมุห์สังกาศ สุทฺธิญาโณ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดโพธิ์สุวรรณ

วัดโพธิ์สุวรรณ ตั้งอยู่เลขที่1440 ถนนคลองชลประทาน (ทรายใต้) ต�ำบลชะอ�ำ อ�ำเภอ ชะอ�ำ จังหวัดเพชรบุรี สังกัดมหา นิกาย ได้รับอนุญาตให้สร้างวัด เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน พ.ศ.2538 และกระทรวงศึกษาธิการประกาศตั้งเป็นวัด เมื่อวันที่ 19 กันยายน พ.ศ.2543 ขณะนี้อยู่ในระหว่างสร้างอุโบสถ ยังไม่ได้รับพระราชทาน วิสุงคามสีมา ที่ดินบริเวณที่ตั้งวัดมีเนื้อที่ 15ไร่ กรรมสิทธิ์ที่ดินเป็น ของกรมป่าไม้ วัดโพธิ์สุวรรณ ตั้งอยู่ในเขตป่าสงวนและได้รับอนุญาตจาก กรมป่าไม้ ให้เข้ามาใช้ประโยชน์ ในการสร้างวัดโพธิ์สุวรรณเมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม พ.ศ.2536

อาคารเสนาสนะ 1. ศาลาเอนกประสงค์ เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก มีความกว้าง 12 เมตร ยาว 19 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ.2533 2. โรงครัว เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก มีความกว้าง 8 เมตร ยาว 14 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ.2545 ใต้พื้นโรงครัวเป็นถังเก็บน�้ำ คอนกรีต ความจุน�้ำ 100,000 ลิตร 3. อุโบสถ เริ่มก่อสร้างเมื่อ ปี พ.ศ.2552 ขนาดกว้าง 7.86 เมตร ยาว 25.86 เมตร อยู่ในระหว่างการก่อสร้าง 4. กุฏิสงฆ์ ขนาดกว้าง 2.5 เมตร ยาว 3 เมตร จ�ำนวน 14 หลัง 5. ห้องสุขา ขนาดกว้าง 2 เมตร ยาว 3 เมตร จ�ำนวน 12 ห้อง

150

2

SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบุรี

.indd 150

15/9/2561 10:01:50


PHETCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 151

151

15/9/2561 10:02:01


พระประธาน หน้าตักกว้าง 1 เมตร 30 เซนติเมตร สูง 175 เซนติเมตร

วัดไตรรัตน์เจริญผล ชาวบ้านเรียกว่า “วัดร่องระก�ำ”

พระปลัดอนุพงษ์ อินฺทาโณ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดไตรรัตน์เจริญผล วัดไตรรัตน์เจริญผล ตั้งอยู่เลขที่ 99 ม.2 ต.ดอนขุนห้วย อ�ำเภอชะอ�ำ จังหวัดเพชรบุรี ชาวบ้ า นเรี ย กว่ า “วั ด ร่ อ งระก� ำ ” สั ง กั ด มหานิ ก าย อยู ่ ใ นเขตปกครองคณะสงฆ์ ต� ำ บลชะอ� ำ เขต 2 อ�ำเภอชะอ�ำ จังหวัดเพชรบุรี มีเนื้อที่ 21 ไร่ 2 งาน 76 ตารางวา หนังสือแสดงกรรมสิทธิ์ โฉนดเลขที่ 1 1 ได้ รั บ อนุ ญ าตให้ ส ร้ า งวั ด เมื่ อ วั น ที่ 16 มี น าคม 2514 กระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร ประกาศตั้งเป็นวัด เมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2516 ได้รับพระราชทานวิสงุคามสีมา เมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม 2529 เนื้อที่กว้าง 30 เมตร ยาว 45 เมตร และได้รับประกอบพิธีผูกพัทธสีมา เมื่อ วันที่ 4 กรกฎาคม 2529 พิธีผูกพัทธสีมาวันที่ 21 มกราคม 2544 ความเป็นมาของวัด เนื่องจากญาติโยม ในหมู่บ้านนี้ อยู่ไกลวัดวัดที่มีอยู่ก่อน เช่น วัด นายาง ในฤดูฝนทางสัญจรไปมาไม่สะดวก (เดิมบ้านร่องระก�ำนี้ ขึ้นอยู่กับต�ำบลนายาง

152

อ�ำเภอนายาง) เมื่อ พ.ศ.2535 มีการย้าย ที่ ท� ำ การอ� ำ เภอมาอยู ่ ใ นท้ อ งที่ ต� ำ บลชะอ� ำ และแต่งตัง้ เป็นอ�ำเภอชะอ�ำในปัจจุบนั ชาวบ้าน ได้ประชุมปรึกษาหารือกัน และช่วยกันสร้าง

ศาลาบ� ำ เพ็ ญ กุ ศ ลขึ้ น ในสถานที่ วั ด เพื่ อ ให้ พระภิกษุพักอาศัย เริ่มแรกมีพระภิกษุจาก จังหวัดสุโขทัย 3 รูป มาพักอาศัย เมื่อปี พ.ศ.2502 มีพระบุญช่วย มา อาศัยอยู่ระยะหนึ่ง ต่อมานายเภา น่วมอ่อน เป็นผูน้ ำ� ในการช่วยกันบูรณะตามก�ำลัง นายอู๋ น่วมอ่อน ซึ่งเป็นเจ้าของที่ดินอนุญาตให้สร้าง ที่พักอาศัยจนถึงปัจจุบันนี้ ต่อมาเมื่อปี พ.ศ. 2504 “พระอาจารย์เดช อาภสฺสโร” จากวัด นาล้อม อ�ำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรขี นั ธ์ ได้มาบูรณะขึน้ ใหม่ นายต๊อด มีนาม ผูใ้ หญ่บา้ น ในขณะนั้น ได้อาราธนาให้พระอาจารย์เดช อยู ่ เ ป็ น ผู ้ อุ ป ถั ม ภ์ ต่ อ มาทางคณะสงฆ์ ใ ห้ นายต๊ อ ด มี น าม ขออนุ ญ าตสร้ า งวั ด จาก กระทรวงศึกษาธิการ

SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบุรี

2

.indd 152

15/9/2561 10:05:45


ล�ำดับเจ้าอาวาส รูปที่ 1 พระอธิการเดช อาภสฺสโร พ.ศ. 2516-2526 รูปที่ 2 พระอธิการทองหล่อ สีลสฺทโธ พ.ศ. 2529-2556 รูปที่ 3 พระปลัดอนุพงษ์ อินฺทาโณ พ.ศ.2556-ปัจจุบัน

บันทึก

วัดไตรรัตน์เจริญผล

ตั้งอยู่เลขที่ 99 ม.2 ต.ดอนขุนห้วย อ�ำเภอชะอ�ำ จังหวัดเพชรบุรี ชาวบ้านเรียกว่า “วัดร่องระก�ำ” สังกัดมหานิกาย อยู่ในเขตปกครอง คณะสงฆ์ ต�ำบลเขาใหญ่ อ�ำเภอชะอ�ำ จังหวัดเพชรบุรี

PHETCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 153

153

15/9/2561 10:05:56


วัดชลธราราม

เดิมวัดนี้ตั้งอยู่ริมแม่น้ำ� เพชรบุรี พระครูวัชรชลธรรม ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดชลธราราม เจ้าคณะอ�ำเภอท่ายาง วั ด ชลธราราม (ท่ า ชิ ก ) ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 93 บ้ า นท่ า ซิ ก หมู ่ 6 ต� ำ บลท่า คอย อ� ำ เภอท่า ยาง จั ง หวั ดเพชรบุรี สัง กัดคณะสงฆ์ มหานิ ก าย ที่ ดิ น ตั้ ง วั ด มี เ นื้ อ ที่ 16 ไร่ 2 งาน 80 ตารางวา โฉนดที่ ดิน เลขที่ 70 อาณาเขตทิ ศ เหนื อ ทิ ศใต้และทิศตะวันออก จดที่ เ อกชน ทิ ศ ตะวั น ตกจดถนน มี ที่ ธ รณี ส งฆ์ มี ประมาณ 5 ไร่ กว่ า ๆ 1 งาน 83 ตารางวา โฉนดที่ ดิ น เลขที่ 20 และ 52 ปู ช นี ย วั ต ถุ มี พ ระประธานประจ� ำ อุ โ บสถ วั ด ชลธราราม ตั้ ง เมื่ อ พ.ศ. 2484 เดิ ม วั ด นี้ ตั้ ง อยู ่ ริ ม แม่ น�้ ำ เพชรบุ รี แ ละมี กรมชลประทานมาสร้ า งเขื่ อ น จึ ง ตั้ ง ชื่ อ วั ด ว่ า “วั ด ชลธราราม” 154

2

SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบุรี

.indd 154

15/9/2561 10:15:28


HIST ORY OF BUDDHISM

บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

อาคารเสนาสนะ • อุโบสถ กว้าง 8 เมตร ยาว 23 เมตร เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเล็ก • ศาลาการเปรียญ สร้างเมื่อ พ.ศ.2546 • หอสวดมนต์ กว้าง 10 เมตร ยาว 33.20 เมตร เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก 2 ชั้น • กุฏิสงฆ์ จ�ำนวน 4 หลัง เป็นอาคารไม้ 3 หลัง ครึ่งตึกครึ่งไม้ 1 หลัง • ศาลาอเนกประสงค์ กว้าง 8 เมตร ยาว 20 เมตร เป็นอาคารไม้ • ศาลาบ�ำเพ็ญกุศล จ�ำนวน 1 หลัง สร้างด้วยคอนกรีตเสริมเหล็ก

รายนามเจ้าอาวาส 1. พระครูพพิ ฒ ั น์วชั รากร 2. พระครูวชั รชลธรรม พ.ศ.2537-ปัจจุบนั

บันทึก

พระครูวัชรชลธรรม ฉายา เขมปญฺโญ อายุ 61 พรรษา 40 วิทยฐานะ นักธรรม ชั้นเอก, ศิลปะศาสตร์บัณทิต พุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขา การจัดการเชิงพุทธ ครุศาสตร มหาบัณฑิต วัดชลธราราม ต�ำบล ท่าคอย อ�ำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี ปัจจุบันด�ำรงต�ำแหน่ง เจ้าอาวาสวัดชลธราราม เมื่อ พ.ศ.2537 และเจ้าคณะอ�ำเภอ ท่ายาง เมื่อ พ.ศ.2554 สถานะเดิม ชือ่ ปัญญา มามีสขุ เกิดวันที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2499 บิดาชื่อ นายใหญ่ มารดาชื่อ นางป่อง บ้านเลขที่ 259 ต�ำบลธงชัย อ�ำเภอบางสะพานใหญ่ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ อุปสมบท วันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ.2520 ณ วัดเขื่อนเพชร ต�ำบลท่าคอย อ�ำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี พระอุปัชฌาย์ พระครูสนุ ทรวชิรเวท วัดเขือ่ นเพชร ต�ำบลท่าคอย อ�ำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี พระกรรมวาจาจารย์ พระมหาประเสริฐ ปญฺญาทีโป วัดเขื่อนเพชร ต�ำบลท่าคอย อ�ำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี

PHETCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 155

155

15/9/2561 10:15:33


วัดพระพุ ทธบาทเขาลูกช้าง พระพุ ทธบาทอันเป็นโบราณวัตถุส�ำคัญ

พระครูสิริพัชรศาสน์ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดพระพุทธบาทเขาลูกช้าง วั ด หุ บ กะพง ตั้ ง อยู ่ ห มู ่ ที่ 6 ต� ำ บล ท่าไม้รวก อ�ำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี จ า ก ที่ น า ย ชั้ ว ไ ด ้ รั บ ก า ร บู ร ณ ะ พระพุ ท ธบาทเขาลู ก ช้ า ง เมื่ อ ประมาณปี พ.ศ.2470 ทางวัดโตนดหลวง อ�ำเภอชะอ�ำ ได้ ส ่ ง พระสงฆ์ ให้ ไปอยู ่ จ� ำ พรรษาและ สร้างสังฆารามขึ้น แต่ขณะนั้นเขาลูกช้าง อยู่ในสภาพทุรกันดาร เต็มไปด้วยโรคภัย ไข้เจ็บ พระสงฆ์ที่ไปจ�ำพรรษาจึงป่วยเป็นไข้ มาเลเรียและมรณภาพ สังฆารามที่สร้างไว้ คื อ กุ ฏิ 3 หลั ง จึ ง รื้ อ ถอนให้ วั ด ท่ า ข้ า ม และวั ด สาระเห็ ด ตั้ ง แต่ บั ด นั้ น เป็ น ต้ น มา จนถึงปี พ.ศ.2494 มีการฟื้นฟูท�ำนุบ�ำรุง พระพุ ท ธบาทเขาลู ก ช้ า งครั้ ง ใหญ่ จึ ง ได้ ส ร้ า งส� ำ นั ก สงฆ์ ขึ้ น เพื่ อ ช่ ว ยดู แ ล พระพุ ท ธบาทอั น เป็ น โบราณวั ต ถุ ส� ำ คั ญ 156

ทางศาสนา และพิ จ ารณาว่ า พระสงฆ์ ที่จะไปจ�ำพรรษาต้องคัดเลือกให้ถี่ถ้วนว่า เป็ น ผู ้ เ คร่ ง ในธรรมวิ นั ย เอาใจใส่ ใ นการ ท�ำนุบ�ำรุงในพระศาสนาด้วยความเสียสละ โดยแท้จริง ฉะนัน้ จะไม่บงั เกิดผล จึงพิจารณา ให้พระอาจารย์จ้วน จนทสิริ ซึ่งเป็นภิกษุ วั ด ท่ า คอย ศิ ษ ย์ ข องพระครู ทั ศ นี ย คุ ณ เป็นพระสงฆ์ที่มีคุณลักษณะและคุณธรรม เหมาะสม ไปอยู ่ ณ เขาลู ก ช้ า ง ตั้ ง แต่ ป ี พ.ศ.2494 ขณะนัน้ ทีเ่ ขาลูกช้างมีศาลาเล็กๆ

หน้าเขาเพียงหลังเดียว เมือ่ พระอาจารย์จว้ น ไปจ�ำพรรษาอยู่ได้ 1 ปี ได้พยายามจัดงาน และบอกบุ ญ จากผู ้ มี ใ จกุ ศ ลให้ ช ่ ว ยสร้ า ง วั ด พระพุ ท ธบาทเขาลู ก ช้ า ง ด้ ว ยการ ตรากตร� ำ ท� ำ งานหนั ก จึ ง ล้ ม ป่ ว ยเป็ น ไข้ ม าเลเรี ย ร้ า ยแรงเกื อ บมรณภาพในปี พ.ศ.2495 ครั้ น หายป่ ว ยไข้ ก็ มิ ไ ด้ ย ่ อ ท้ อ ท่ า นพยายามบู ร ณะพระพุ ท ธบาทและ สร้างสังฆารามสืบมา

SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบุรี

.indd 156

20/09/61 08:59:55


ล�ำดับเจ้าอาวาส 1. พระครูพิพิธพัชรศาสน์ (จ้วน จนทสิริ) ด�ำรงต�ำแหน่ง พ.ศ.2494 - 2525 2. พระปลั ด อ� ำ นวย (ลาสิ ก ขาแล้ ว ) ด�ำรงต�ำแหน่ง พ.ศ.2527 - 2528 3. พระครูสริ พิ ชั รศาสน์ (พระมหาทองเลือ่ น สิรวิ ณโณ) ด�ำรงต�ำแหน่ง พ.ศ.2529 - ปัจจุบนั

อาคารเสนาสนะ •พ.ศ.2495 โรงครัว 1 หลัง •พ.ศ.2497 ศาลาการเปรียญ 1 หลัง •พ.ศ.2498 กุฏิสงฆ์ขนาดเล็ก 6 หลัง •พ.ศ.2499 กุฏิสงฆ์ขนาดใหญ่ 1 หลัง •พ.ศ.2500 อาคารกองอ�ำนวยการ 1 หลัง และบันไดปูนซีเมนต์ขึ้นพระพุทธบาท •พ.ศ.2501 พระอุโบสถและถังน�้ำ •พ.ศ.2502 หอสวดมนต์ และเริม่ ท�ำถนน จากศรีชุมแสงถึงเขาลูกช้าง เป็นระยะทาง 11 กิโลเมตรเศษ •พ.ศ.2503 ท� ำ ถนนให้ ถ าวรดี ขึ้ น โดย เรียงหินใหญ่และโรยลูกรัง

บันทึก

เสด็จประพาสพระพุทธบาทเขาลูกช้าง รัชกาลที่ 5 เสด็จประพาสพระพุทธบาทเขาลูกช้าง เวลาย�่ำรุ่งเศษ เสด็จไป ประพาสเขาลูกช้าง ทางแต่พลับพลาที่ประทับไป 30 เส้น ถึง ต�ำบลเขาลูกช้าง เป็นป่าแลเนินดินท�ำนองพระแท่นดงรัง มีหอนเป็นเขามอซ้อนกันเป็นรูปต่างๆ แต่ที่ส�ำคัญนั้นมีรอยพระพุทธบาท ทรงพระราชด�ำริว่าจะให้ปฏิสังขรณ์เป็น มณฑปสวมเสีย ประพาสอยู่จน 4โมงเศษ ก็เสด็จกลับที่ประทับ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ได้เสด็จ ประพาสเขาหัวแก้วหัวแหวนในท้องที่ ต�ำบลท่าไม้รวก อ�ำเภอท่ายาง จังหวัด เพชรบุรี ได้ทรงทราบเรื่องพระบาทเขาลูกช้าง ทรงสนพระทัย จึงเสด็จแวะ นมัสการ เมื่อวันที่ 9 มกราคม พ.ศ.2498 และพระราชทานเงินในการท�ำนุ บ�ำรุงพระพุทธบาท

PHETCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 157

157

20/09/61 09:00:14


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดตาลกง

อุโบสถวัดตาลกงหลังเดิมสันนิษฐานสร้างประมาณ พ.ศ.2415

วัดเก่าแก่สมัย พ.ศ.2390 (150 ปีกว่า) พระครูวัชรกิจจานุกูล ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดตาลกง เพชรบุ รี เมื อ งเก่ า ประวั ติ ศ าสตร์ ที่ มี เ อกลั ก ษณ์ ท างศิ ล ปวั ฒ นธรรมโบราณสถาน โบราณวั ต ถุ วัด วาอาราม เจริญรุ่ง เรือ ง สืบทอดอารยธรรมกัน มากหลายยุคสมัย จนได้รับ สมญาว่ า “อยุธยาที่ยังมีชีวิต ” นอกจากความเจริญทางศิลปวัฒนธรรมแล้ว เพชรบุรียังเป็นเมืองคนเก่ง คนจริง คนดี เมื อ งธรรมพระเกจิอ าจารย์ดัง ที่สืบทอดพุทธาคมจากครูบ าอาจารย์อย่างไม่ขาดสาย ในยุค ปั จ จุ บั น ฯ พระเกจิ ที่ มี ชื่ อ เสี ย งเลื่ อ งลื อ กิ ต ติ คุ ณ เป็ น ที่ เ ลื่ อ มใสนั บ ถื อ ของพุ ท ธศาสนิ ก ชน อี ก รู ป หนึ่ ง คือ หลวงพ่อ อุ้น สุขกาโม ซึ่ง อยู่ใ นความนิยมศรัท ธาระดับ แนวหน้าของเมืองไทย

วัดตาลกง ตั้งอยู่ เลขที่ 53 หมู่ที่ 3 ต�ำบลมาบปลาเค้า อ�ำเภอท่ายาง จังหวัด เพชรบุรี สังกัดวัดมหานิกาย เนื้อที่ 13 ไร่เศษ สันนิษฐานว่าวัดตาลกง เริม่ แรกเป็นส�ำนักสงฆ์ ชื่อ “ส�ำนักสงฆ์ตาลโก่ง” ประมาณพ.ศ.2390 (150 ปีกว่า) ตามประวัติที่คนเฒ่าคนแก่เล่า สืบๆ กันมา ณ บริเวณทีต่ งั้ ส�ำนักสงฆ์ มีตน้ ตาล ต้นหนึ่งลักษณะออกยอดอยู่ประมาณ 7 ยอด ล�ำต้นโก่ง เรียกกันว่า”ตาลโก่ง”

หลวงพ่ออุน้ สุขกาโม หรือพระครูวนิ ยั วัชรกิจ เจ้าอาวาสวัดตาลกง ต.มาบปลาเค้า อ.ท่ายาง จ.เพชรบุรี เป็นพระนักพัฒนา พระนักปฏิบัติ เคร่งครัดพระธรรมวินัย มีบุคลิกลักษณะผิวพรรณ ผ่องใส อัธยาศัยเปี่ยมด้วยความเมตตากรุณา ใครไปหากราบไหว้ ท่านต้อนรับทุกคนไม่เลือก ชั้นวรรณะด้วยไมตรีจิต สมเป็นสมณพุทธบุตรธรรมทายาท เนื้อนาบุญอย่างแท้จริง

ครั้นต่อมาได้มีการพัฒนาปรับปรุงยก ฐานะขึ้นเป็นวัดโดยสมบูรณ์ จากชื่อเดิมตาล โก่งทีเ่ คยเรียกขานกันมาก ก็เหน่อกลายมาเป็น “ตาลกง” ซึ่งเป็นชื่อ วัดตาลกง ในปัจจุบัน

158

2

SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบุรี

.indd 158

19/9/2561 15:12:51


วัดตาลกง มีเจ้าอาวาสปกครองดูแล สืบทอดกันมาหลายรูป แต่ไม่ปรากฎหลักฐาน พ.ศ.ชัดเจนนัก ส�ำหรับเจ้าอาวาสที่มีชื่อเสียง รู้จักกันดีในอดีต คือหลวงพ่อตุ้ม มีเรื่องราว เกีย่ วกับประวัตคิ วามส�ำคัญทีเ่ ล่ากันว่า ภายใน อุ โ บสถวั ด ตาลกงหลั ง เดิ ม สั น นิ ษ ฐานสร้ า ง ประมาณ พ.ศ.2415 มีผงพุทธคุณ เสน่ห์ เมตตานิยมสูงบรรจุไว้ เป็นของหลวงพ่อแก้ว วัดเครือวัลย์ ชลบุรี ในสมัยที่หลวงพ่อตุ้มเป็น เจ้าอาวาส เจ้าอาวาสอีกรูปหนึ่งคือ หลวงพ่อผิว (ผู ้ เ ป็ น ลุ ง ของหลวงพ่อ อุ้น ) เป็น พระกรรม วาจาจารย์ทเี่ ชีย่ วชาญด้านไสยศาสตร์เวทมนต์ คาถาอาคมรุน่ เดียวกับหลวงพ่อเพลิน วัดหนอง ไม้ เ หลื อ ง ทั้ ง มี ค วามสนิ ท สนมคุ ้ น เคยกั บ หลวงปู ่ น าค วั ด หั ว หิ น (พระอุ ป ั ช ฌาย์ ข อง หลวงปู่ค�ำ วัดหนองแก) จนมาถึงยุคสมัยของ หลวงพ่ออุ้น สุขกาโม ได้เป็นเจ้าอาวาสวัด

ตาลกง พ.ศ. 2504 ซึ่งท่านได้พัฒนาผลงาน ก่อสร้างเสนาสนะสงฆ์ตลอดถาวร วัตถุเจริญ รุ่งเรืองเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน

พระครูวัชรกิจจานุกูล ฉายา พระครู วั ช รกิ จ จานุ กู ล สั ง กั ด นิ ก าย มหานิกาย อุปสมบท เมื่อวันที่ 3 มิถุนายน พ.ศ.2514 ณ วัดตาลกง ต�ำบลมาบปลาเค้า อ�ำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี ชื่อพระถนอม ฉายารมณีโย พระอุปชั ฌาย์ พระครูนนั ทศีลวัตร พระกรรมวาจาจารย์ พระอธิการเย็น พระอนุ สาวนาจารย์ พระครูสังฆรักษ์-พระปลัดพิชัย สั ง กั ด วั ด ตาลกง ต� ำ บลมาบปลาเค้ า อ�ำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี ณ วันที่ 3 มิถุนายน พ.ศ.2514 ลงลายมือชื่อ พระครู สังฆรักษ์ เจ้าอาวาส การเปลีย่ นชือ่ - นามสกุล ได้ รั บ พระราชทานสมศั ก ดิ์ ในราชทิ น นาม ที่พระครูวัชรกิจจานุกุล เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ.2551

บันทึก

ประสบการณ์วัตถุมงคล

หลวงพ่ออุ้น สุขกาโม เป็นพระสุฏิปันโน ที่สมบูรณ์แบบด้วยปฏิปทาศีลวัตร สัจคุณ นอบน้อมถ่อมตน ไม่โอ้อวดถือตัว มีเมตตา บารมีสูง เป็นที่พึ่งของศิษยานุศิษย์และ ญาติโยมสาธุชนทั่วไป ในด้านวัตถุมงคล ของท่านมากประสบการณ์ทั้งด้านเมตตา มหานิยม มหาเสน่ห์ คงกระพันชาตรี แคล้วคลาด ปราบคุณไสย ได้ผลประจักษ์ชัด ท่านสร้างขึ้นเพื่อเน้นพุทธคุณ ด้านคุ้มครอง ป้องกันภัย แม้จะเป็นพระใหม่ที่มีการสร้าง เพียงไม่กี่ปี ก็จัดว่าเป็นพระใหม่มาแรง พุทธคุณสูงได้รับความนิยมมาก ผู้ที่น�ำไป บูชาต่างยืนยันถึงประสบการณ์ ดังเรื่องที่ รวบรวมน�ำเสนอต่อไปนี้

ยิงไม่เข้า ยิงไม่ออก สิบโทมานะ เป็นต�ำรวจตะเวนชายแดน จังหวัดยะลา ได้เดินทางไปกราบนมัสการ หลวงพ่ออุ้น พร้อมกับเล่าประสบการณ์ของ ตนเองให้ถึงเหรียญรุ่นแรกของหลวงพ่ออุ้น ที่ห้อยคออยู่เป็นประจ�ำให้ หลวงพี่แดง วัดตาลกงฟัง เมื่อต้นเดือนมิถุนายน 2541

PHETCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 159

159

19/9/2561 15:12:55


H I S TOR Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

160

5

SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบุรี

.indd 160

15/9/2561 11:02:16


วัดหนองเตียน

“ส�ำนักสงฆ์สันติการาม” ศูนย์รวมความศรัทธาของชาวต�ำบลท่าไม้รวก

พระครูวัชรกิจโกศล ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดหนองเตียน

วั ด หนองเตี ย น ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 329 หมู ่ 2 ต� ำ บลท่ า ไม้ ร วก อ� ำ เภอท่ า ยาง จังหวัดเพชรบุรีเริ่มสร้างเมื่อปี พ.ศ.2515 โดยมีผู้ริเริ่ม คือ นายเพิ่ม เกตุรัตน์ (อดีต ผู ้ ใ หญ่ บ ้ า น) นายปิ ่ น น้ อ ยนารายณ์ นายทองหล่ อ พุ ก คุ ่ ย (ผู ้ ใ หญ่ บ ้ า นในสมั ย ตอนนั้น) นายเจษฎา (นอง) เจตนานุศาสน์ หลวงตาน้อย เตชปุญโญ (เกตุรัตน์) หลวงตาหมอ ปิยธมฺโม (อุ่นจิตร์) หลวงตาเทียน ปิยสีโล (แช่มเทศ) พร้อมกับคณะ กรรมการหมู่บ้านในสมัยนั้น และหลวงพ่อจ้วน จนิทสิริ (พระครูพิพิธพัชรศาสน์) เจ้าอาวาสวัดพระพุทธเขาลูกช้าง ให้การสนับสนุนอุปถัมภ์ ในด้านพระภิกษุสงฆ์ สามเณร เครื่องอุปโภคบริโภคและอีกหลายเรื่องหลายอย่าง

PHETCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

5

.indd 161

161

19/9/2561 14:38:32


คนทุกคนพร้อมใจกันว่า สมควรสร้างวัดกันขึ้น เพื่อเป็นที่พึ่ง ของผู้คนในขณะนั้น ให้มีพระสงฆ์ช่วยอบรมศีลธรรม จริยธรรม และ สงเคราะห์อนุเคราะห์ญาติโยมเมื่อยามมีทุกข์ หรือตกทุกข์ ได้ยาก และเมื่อมีการเกิดแก่เจ็บตาย โดยซื้อที่ดินของนายซ้อน แช่มเทศ จ�ำนวน 6 ไร่ 2งาน 70 ตารางวา ซึ่งติดกับด้านหลังของโรงเรียน บ้านหนองเตียนในปัจจุบัน ในอดีตโรงเรียนบ้านหนองเตียน อยู่ติด กับแม่น�้ำเพชรบุรีทางด้านทิศตะวันออกของหมู่บ้าน ปัจจุบันย้าย มาตั้งอยู่ทิศตะวันตกของหมู่บ้าน ซึ่งติดกับทุ่งนา จากนั้นได้มีมติ สมควรตั้งชื่อวัดว่า “ส�ำนักสงฆ์สันติการาม” เพื่อให้หมู่บ้านอยู่ อย่างร่มเย็นเป็นสุข หมดเคราะห์หมดโศกกับเรื่องราวความวุ่นวาย ที่เกิดขึ้นภายในหมู่บ้าน 162

5

ท�ำเนียบเจ้าอาวาส

1. หลวงพ่อทองเลื่อน ปญญาทีโป พ.ศ.2516 - 2521 2. พระอาจารย์ทองสุก ฉนฺทกาโม พ.ศ.2522 3. พระอาจารย์ติ่ง เตชปญโญ พ.ศ.2523 4. พระอาจารย์สงัด สุภทฺโท พ.ศ.2524 5. พระอาจารย์พงษ์ อาวุฒฺโฑ พ.ศ.2525 6. พระอาจารย์สนอง รตนวณฺโณ พ.ศ.2526 - 2527 7. พระอาจารย์เพิ่มศักดิ์ โชติญาโณ พ.ศ.2528 8. พระอาจารย์ภานุวัฒน์ ปภาธโร พ.ศ.2529 9. หลวงพ่อบุญล้อม ธมฺมปาโล พ.ศ.2530 - 2531 10. พระอาจารย์นัทธี นิภาธโร พ.ศ.2532 - 2534 11. พระครูวชั รกิจโกศล (เพิม่ ศักดิ์ โชติญาโณ) พ.ศ.2534 – ปัจจุบัน

SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบุรี

.indd 162

15/9/2561 11:02:35


เสนาสนะ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12.

หอฉัน-หอสวดมนต์ 1 หลัง กุฏิสงฆ์ 4 หลัง ศาลาปฏิบัติธรรม 1 หลัง ศาลาอเนกประสงค์ 1 หลัง ศาลาฌาปนสถาน 1 หลัง หอระฆัง 1 หลัง ห้องน�้ำ-สุขา 16 ห้อง อาคารศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ในวัด 1 หลัง อาคารศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวัดอาทิตย์ 1 หลัง ศาลาโรงครัว 1 หลัง ประปาในวัด 1 ถัง อาคารกลุ่มสตรีหมู่บ้านหนองเตียน 1 หลัง

**ท่านใดสนใจจะร่วมเป็นเจ้าภาพสร้างอุโบสถเฉลิมพระเกียรติ และสร้างพระพุทธวัชรเดชวิสุทธิมงคลมุนี(หลวงพ่อเมตตา) ชื่อบัญชีธนาคารกรุงไทย 704-0-144662 วัดหนองเตียน โทรศัทพ์ 081-7955596 พระครูวชั รกิจโกศล เจ้าอาวาสวัดหนองเตียน PHETCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

5

.indd 163

163

15/9/2561 11:02:46


ได้รับพระราชทานรางวัลเสาเสมาธรรมทองค�ำ ผู้ท�ำคุณประโยชน์ต่อพระพุ ทธศาสนา สาขาการศึ กษาศู นย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ในวัด จากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ปีพ.ศ. 2549

พระครูวัชรกิจโกศล ภูโต ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดหนองเตียน พระครูวัชรกิจโกศล ภูโต อุปสมบท เมื่อวันที่ 29 เมษายน พ.ศ.2525 วัดชลธราราม ต�ำบลท่าคอย อ�ำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี พระอุปัชฌาย์ พระครูพิพัฒน์วัชรากร วัดชลธราราม ต�ำบลท่าคอย อ�ำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี การศึกษาทางโลก

ต�ำแหน่งการปกครอง

พ.ศ. 2516

พ.ศ. 2534

ส�ำเร็จการศึกษาชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านหนองเตียน ต.ท่าไม้รวก อ.ท่ายาง จ.เพชรบุรี พ.ศ. 2532

ส�ำเร็จการศึกษามัธยมศึกษาตอนต้น ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียน อ.เมือง จ.สุโขทัย พ.ศ. 2534

ได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาสวัดหนองเตียน พ.ศ. 2535

ได้รับการแต่งตั้งให้ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดหนองเตียน สมณศักดิ์ พ.ศ. 2542

ส�ำเร็จการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลายศูนย์การศึกษานอกโรงเรียน อ.เมือง จ.สุโขทัย

ได้รับพระมหากรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานสมณศักดิ์ ที่พระครูวัชรกิจโกศล จร.ชท.

พ.ศ. 2548

พ.ศ. 2549

ส�ำเร็จการศึกษา จบหลักสูตรใบประกาศนียบัตรวิชาชีพครู (ปวศ.) คณะครุศาสตร์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ได้รับเลื่อนสมณศักดิ์เป็นพระครูสัญญาบัตร ชั้นเอก (พระครูวัชรกิจโกศล จร.ชอ.)

พ.ศ. 2548

พ.ศ. 2549

ส� ำ เร็ จ การศึ ก ษา จบหลั ก สู ต รพุ ท ธศาสตร์ บั ณ ฑิ ต (พรบ.) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย การศึกษาทางธรรม พ.ศ. 2525

สอบได้นกั ธรรมชัน้ ตรี ส�ำนักศาสนศึกษาวัดพระพุทธบาทเขาลูกช้าง ต.ท่าไม้รวก อ.ท่ายาง จ.เพชรบุรี พ.ศ. 2526

สอบได้นกั ธรรมชัน้ โท ส�ำนักศาสนาศึกษาวัดเขาปากช่อง ต.ท่าแลง อ.ท่ายาง จ.เพชรบุรี พ.ศ. 2527

สอบได้นักธรรมชั้นเอก ส�ำนักศาสนศึกษาวัดคลองกระจง ต.คลองกระจง อ.สวรรคโลก จ.สุโขทัย 164

5

ได้รับพระราชทานรางวัลเสาเสมาธรรมทองค�ำ ผู้ท�ำคุณประโยชน์ ต่อพระพุทธศาสนา สาขาการศึกษาศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ในวัด จากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี บันทึก

วัดหนองเตียน

ตั้งอยู่เลขที่ 329 หมู่ 2 ต�ำบลท่าไม้รวก อ�ำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี เริ่มสร้างเมื่อปี พ.ศ.2515 พระครูวัชรกิจโกศล ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดหนองเตียน วัดหนองเตียน เริ่มพัฒนามาตามล�ำดับ ได้รับอนุญาตให้สร้างวัด จากอธิบดีกรมการศาสนา เมื่อวันที่ 30 กันยายน พ.ศ.2528 และได้รับอนุญาตให้ตั้งวัดจากกรมการศาสนา โดยรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2531 โดยมีผู้ใหญ่อรัญ อินทร์แย้ม เป็นผู้ท�ำเรื่องขออนุญาตสร้างวัด

SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบุรี

.indd 164

15/9/2561 11:02:48


HIST ORY OF BUDDH ISM

บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

อุโบสถ “วัดแม่ประจันต์”

วัดแม่ประจันต์ ตั้งอยู่ หมู่ที่ 9 บ้าน แม่ ป ระจั น ต์ ต� ำ บลวั ง ไคร้ อ� ำ เภอท่ า ยาง จังหวัดเพชรบุรี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ได้ รั บ อนุ ญ าตให้ ส ร้ า งวั ด เมื่ อ ปี พ.ศ. 2519 ได้ รั บ ประกาศให้ ตั้ ง ชื่ อ วั ด ว่ า “วั ด แม่ ป ระจั น ต์ ” ตามชื่ อ ของหมู ่ บ ้ า น เมื่ อ วั น ที่ 8 เมษายน พ.ศ.2529 บันทึก

วัดแม่ประจันต์

พระมหาบุญเทิน สิริสาโร ได้รับต�ำแหน่งเจ้าอาวาส เมื่อวันที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2559

อุปสมบท เมื่อวันที่ 16 เมษายน พ.ศ.2518 ณ วัดธรรมาราม ต�ำบลยางหย่อง อ�ำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี

วัดแม่ประจันต์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย

พระมหาบุญเทิน สิริสาโร ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดแม่ประจันต์

PHETCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

1

.indd 165

165

15/9/2561 14:22:12


“วัดห้วยตะแกละ อยู่ร่มเย็นเป็นสุข ทุกค�่ำเช้า ลืมความเหงา เศร้าหมองแสนผ่องใส หลายภาคส่วนล้วนเสริม เติมห่วงใย เลื่องลือไกล ไปถึงซึ่งต่างแดน”

166

2

SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบุรี

.indd 166

15/9/2561 10:51:40


HIST ORY OF BUDDH ISM

บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดห้วยตะแกละ “ลานบุญแห่งเนื้อธรรม” พระครูใบฎีกาอนันต์ เขมานนฺโท ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดห้วยตะแกละ

วัดห้วยตะแกละ ตั้งอยู่ที่ต�ำบลท่าแลง อ�ำเภอท่ายาง จังหวัด เพชรบุรี ในอดีตชาวบ้านนิยมเรียกว่า “วัดเขาหมู” เพราะวัดอยู่ติด กั บ ภู เ ขายาวลู ก หนึ่ ง ซึ่ ง มี หิ น ก้ อ นใหญ่ ลั ก ษณะคล้ า ยคางหมู ชาวบ้านจึงนิยมเรียกว่าวัดเขาหมู มาตั้งแต่ก่อตั้งส�ำนักสงฆ์ ปัจจุบัน ชื่ อ ทางราชการชื่ อ ว่ า “วั ด ห้ ว ยตะแกละ” ซึ่ ง ตั้ ง ตามชื่ อ หมู ่ บ ้ า น เดิมตั้งอยู่เลขที่ 166 หมู่ 5 ต�ำบลท่าแลง อ�ำเภอท่ายาง จังหวัด เพชรบุรี มีเนื้อที่รอบวัดประมาณ 43 ไร่ ทิศเหนือ ติดทางสาธารณะ ทิศตะวันออก ติดทางสาธารณะ ทิศใต้ ติดทีด่ นิ ชาวบ้าน ทิศตะวันตก ติดเขาและทางสาธารณะ

พระครูใบฎีกาอนันต์ เขมานนฺโท เมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2552 ได้ย้ายจาก “วัดแม่ประจันต์” มาจ�ำพรรษาที่ “วัดห้วยตะแกละ” และเรียนพระธรรมวินัย จนถึง พ.ศ. 2554 ได้รับการแต่งตั้งให้รักษาการแทนเจ้าอาวาส วัดห้วยตะแกละ ต� ำ บลท่ า แลง อ� ำ เภอท่ า ยาง จั ง หวั ด เพชรบุ รี ซึ่ ง ในขณะนั้ น บวชได้ 2 พรรษา อายุ 24 ปี เมือ่ วันที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557 ได้รบั แต่งตัง้ ให้ดำ� รงต�ำแหน่ง เจ้าอาวาส วัดห้วยตะแกละ ต�ำบลท่าแลง อ�ำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี ขณะนั้นครบ 5 พรรษา อายุ 27 ปี และท�ำหน้าที่เรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน ต่อมาเมื่อวันที่ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2557 ได้รับความเมตตาจาก พระราชวิรยิ สุนทร เจ้าอาวาสวัดชัยชนะสงคราม พระอารามหลวง กทม. มอบตราตั้งฐานานุกรม ที่ “พระครูใบฎีกา” บันทึก

ลานบุญแห่งเนื้อธรรม ตอกย�้ำหลักค�ำสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า บ่งชี้ทางสว่าง หลุดพ้นจากห่วงทุกข์ ด้วยการปฏิบัติธรรม ท่ามกลางธรรมชาติ กับสถานธรรมที่ผูกยึดไว้ด้วยความดีงาม จากอดีตที่พักสงฆ์เล็กๆ ได้บูรณปฏิสังขรณ์ ให้เป็นสถานที่พึ่ง ทางด้านจิตใจ และเป็นศูนย์รวมจิตใจ ความดีงามของญาติโยม

PHETCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 167

167

15/9/2561 10:51:50


วัดท่ากระเทียม

ขอพรพระศักดิส ์ ิทธิใ์ ช้ชีวิตท�ำดี พระวินัยธรธนวัฒน์ ญาณวุฑฺโฒ (หลวงพ่อแดง ) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดท่ากระเทียม วั ด ท่ า กระเที ย ม ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 93 หมู ่ 3 บ้ า นท่ า กระเที ย ม ต� ำ บลท่ า ยาง อ� ำ เภอท่ า ยาง จั ง หวั ด เพชรบุ รี สั ง กั ด คณะสงฆ์ ม หานิ ก าย สถานที่ ตั้ ง เคยเป็ น ป่ า ช้ า ของหมู ่ บ ้ า นท่ า กระเที ย มมาก่ อ น ในปี พ.ศ.2499 ผู้ ใหญ่คำ� ภูเ่ ต็ง ได้อาราธนา พระครูวิบูลย์ญานประยุต (เรียน สมัครบ) ซึ่ ง เป็ น เจ้ า อาวาสวั ด ต� ำ รุ ต� ำ บลต� ำ หรุ อ� ำ เภอบ้ า นลาด จั ง หวั ด เพชรบุ รี มาอยู ่ ที่ ส� ำ นั ก วั ด ท่ า กระเที ย ม หลวงพ่ อ ได้ พัฒนาสร้างโบสถ์ เมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2510 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา และวางศิ ล าฤกษ์ พ ระอุ โ บสถ โดยกราบ อาราธนาสมเด็จธีราจารย์ เจ้าคณะภาค 15 วั ด ประทุ ม คงคา กรุ ง เทพมหานคร

168

2

มาเป็ น ประธาน และในปี พ.ศ.2511 ได้ จั ด งานหล่ อ พระประธาน โดยเรี ย นเชิ ญ จอมพลถนอม กิตติขจร มาเป็นประธาน สร้ า งอุ โ บสถเป็ น เวลา 2 ปี จึ ง แล้ ว เสร็ จ และได้ ส ร้ า งเสนาสนะ อย่ า งอื่ น อี ก เช่ น หอระฆั ง ศาลาการเปรี ย ญ หอสวดมนต์ กุ ฏิส งฆ์ โรงครั ว เป็ น ต้ น

SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบุรี

.indd 168

15/9/2561 10:31:16


รายนามเจ้าอาวาส 1. พระครูวิบูลย์ ญาณประยุต (เรียน พุฒญาโณ) 2. พระครูวิบูลย์พัชราภรณ์ (บุญเลี่ยม จิตตปาโล) เจ้าคณะต�ำบลท่ายาง - ท่าคอย 3. พระวินัยธรธนวัฒน์ ญาณวุฒโฑ (หลวงพ่อแดง ) เจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน บันทึก

พระวินัยธร ญาณวุฒโธ พระวินัยธรธนวัฒน์ ญาณวุฒโฑ (หลวงพ่อแดง ) เดิมชื่อ นาย ธนวัฒณ์ ไร่หินถ่วง อายุ 50 ปี อุปสมบท เมื่อวันที่ 16 เมษายน พ.ศ.2543 จบนักธรรมเอก ด�ำรงต�ำแหน่ง เจ้าอาวาสวัดท่ากระเทียม เมื่อปี พ.ศ. 2549 ได้รับต�ำแหน่งฐานานุกรมเป็น พระวินัยธร เมื่อปี พ.ศ. 2552 จากพระราชสุวรรณมุนี อดีตเจ้าคณะจังหวัดเพชรบุรี รวมใจสร้างอนุสรณ์สถาน

มิตร ชัยบัญชา

พร้อมหุ่นไฟเบอร์กลาส ไว้ที่วัดท่ากระเทียม

เป็นวัดบ้านเกิดมิตร ชัยบัญชา ติดต่อเจ้าอาวาส โทร. 084-3941877

PHETCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 169

169

15/9/2561 10:31:26


H I S TOR Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

170

2

SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบุรี

.indd 170

15/9/2561 10:55:54


วัดห้วยเสือ

วัดเก่าแก่ ก่อนกรุงรัตนโกสินทร์ พระครูไพศาลพัฒนานุกูล ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดห้วยเสือ วั ด ห้ ว ยเสื อ ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 76 บ้ า นห้ ว ยเสื อ หมู ่ ที่ 5 ต� ำ บล สมอพลือ อ�ำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี สร้างเมื่อ พ.ศ.2342 เป็นวัดเก่าแก่ สันนิษฐานว่าสร้างมาก่อนกรุงรัตนโกสินทร์ ในสมัย กรุงศรีอยุธยา พม่ายกทัพมาตีกรุงศรีอยุธยาผ่านมาทางเพชรบุรี ประชาชนต้องหลบหนีเพื่อเอาตัวรอดจากภัยสงคราม วัดห้วยเสือ จึงกลายเป็นวัดร้าง เริ่มมีการบูรณปฏิสังขรณ์ขึ้นมาใหม่ ในสมัยต้นรัชกาลที่ 4 โดยมี ปูส่ ี่ ปูร่ อด ย่าคง ผูเ้ ฒ่า 3 พีน่ อ้ งชาวบ้านห้วยเสือ ยกทีด่ นิ ของตนแบ่งเป็น เขตวัดทางด้านตะวันตกยาว 2 เส้น 15 วา ด้านตะวันออกยาว 2 เส้น 9 วา ด้านเหนือยาว 3 เส้น 14 วา ด้านใต้ยาว 2 เส้น 19 วา เพื่อปลูก กุฏิ หลังจากนั้นจึงได้นิมนต์พระสงฆ์ จากวัดท่าไชยศิริ มาอยู่จ�ำพรรษา

บันทึก

พระครูอมรวชิรารักษ์ (หลวงพ่อตุ้ม)

รายนามเจ้าอาวาส 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.

พระอธิการน้อย พระภิกษุนุด พระภิกษุด�ำ พระภิกษุล�่ำ พระอธิการรอด พระครูอมรวชิรารักษ์ พระครูไพศาลพัฒนานุกูล เจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน

พระครูไพศาลพัฒนานุกูล เจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน วัดห้วยเสือ นามเดิมว่า พัว ภูมิ เกิด วันเสาร์ที่ 3 ตุลาคม พ.ศ.2480 ปีฉลู ต�ำบลท่าเสน อ�ำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี บิดาชือ่ คุณพ่อดา มารดา ชือ่ คุณแม่พวงภูมิ ปัจจุบนั เจ้าอาวาส อายุ 80 ปี พรรษาที่ 60 พรรษา หลวงพ่อพระครูไพศาลพัฒนานุกูล อุปสมบท เมื่อวันที่ 3 มิถุนายน พ.ศ.2500 ที่วัดห้วยเสือ ต�ำบล สมอพลื อ อ� ำ เภอบ้ า นลาด จั ง หวั ด เพชรบุ รี ซึ่ ง มี พระเดชพระคุณ พระวิสุทธิเมธี เจ้าอาวาสวัดใหม่ ประเสริฐ เจ้าคณะอ�ำเภอบ้านลาด เป็นพระอุปัชฌาย์ พระครูอมรวชิรารักษ์ เจ้าอาวาสวัดห้วยเสือ เป็น พระกรรมวาจาจารย์ มีพระสมุหท์ องปาน วัดยาง เป็น พระอนุสาวนาจารย์ หลวงพ่อได้ร่วมกระท�ำศาสนกิจต่างๆ ให้เป็น ประโยชน์แก่พระศาสนาและประชาชนหลายอย่าง ด้วยกัน อาทิ บูรณปฏิสังขรณ์เจดีย์เก่า 5 ยอด ของ พระยาปริยัติธรรมธาดาแพ ตาละลักษณ์

PHETCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 171

171

15/9/2561 10:55:57


H I S TO R Y O F B U D D H IS M

บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดเขาทะโมน

เขาลูกวัด เขาบ่อนไก่ และเขาทโมน ต�ำบลท่าเสน อ�ำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี วัดเขาทะโมน ตัง้ อยูห่ มูท่ ี่ 9 ต�ำบลท่าเสน อ�ำเภอบ้านลาด จังหวัด เพชรบุรี อยู่ห่างจากที่ว่าการอ�ำเภอบ้านลาดและศาลากลางจังหวัด เพชรบุรีเท่ากัน คือประมาณ 6 กิโลเมตร เดินทางโดยรถยนต์จาก ตัวจังหวัดไปทางทิศใต้ ตามถนนเพชรเกษมระหว่างหลักกิโลเมตรที่ 173-174 ทางด้านซ้ายมือจะมองเห็นภูเขาลูกหนึ่งตั้งอยู่ทางทิศตะวัน ออก แต่เมือ่ เข้าไปในระยะใกล้จะเห็นว่ามีภเู ขาอยู่ 3 ลูกติดต่อกันเรียกว่า เขาลูกวัด เขาบ่อนไก่ และเขาทโมน ทางรถไฟ จากสถานีเขาทโมน เดิน ตามถนนทางทิศตะวันตก ระยะทางประมาณ 1 กิโลเมตร ก็ถงึ วัดเขาทะโมน วัดเขาทะโมน ตัง้ อยูเ่ ชิงเขาด้านทิศเหนือของเขาลูกวัด ซึง่ มีบนั ได ขึน้ ไปบนเขา 49 ขัน้ ด้านบนมีบริเวณกว้าง และมีถำ�้ พระบาท (บางท่าน เรียกว่าถ�้ำพระยาแกรก) บริเวณปากถ�้ำมีรูปปั้นตายาย 2 คน ของเดิม แกะสลักด้วยไม้ เมื่อทรุดโทรมจึงมีการปั้นขึ้นมาใหม่ด้วยปูนซีเมนต์ รูปปัน้ ตายายนีม้ เี รือ่ งเล่าสืบต่อกันมาว่าเป็นตายายซึง่ ชุบเลีย้ งพระยาแกรก เมือ่ เสียชีวติ มีคนสร้างรูปปัน้ ตายายไว้ ประชาชนให้ความเคารพนับถือมาก มีผไู้ ปบวงสรวงขอพรเสีย่ งโชคแล้วได้รบั โชคกันบ่อยครัง้ ความศักดิส์ ทิ ธิ์ อีกประการหนึ่งคือ ใครปวดเมื่อยร่างกายตรงส่วนใด เมื่อไปบีบนวด รูปปัน้ ตายายตรงส่วนนัน้ แล้วตัง้ จิตอธิษฐานให้ตายายช่วย อาการปวดเมือ่ ย จะหายไปอย่ า งน่ า ประหลาด เมื่ อ เข้ า ไปในถ�้ ำ พระบาท รอบๆ มี พระพุทธรูปปางต่างๆ ทีง่ ดงาม ประมาณ 30 องค์ ตรงกลางถ�ำ้ มีบษุ บก ประดิษฐานรอยพระพุทธบาท

172

1

บันทึก

เขาลูกวัด เขาบ่อนไก่ และเขาทโมน จากเขาลู ก วั ด เป็ น เขาทโมน อยู ่ ห ่ า งจากเขาลู ก วั ด ประมาณ 200 เมตร ในเขาลูกนีม้ ถี ำ�้ หลายถ�ำ้ เช่น ถ�ำ้ พระนอน เมือ่ เข้าไปในถ�ำ้ ขวามือริมผนังถ�ำ้ มีเศียรพระพุทธรูปขนาดใหญ่ และเก่าแก่มาก มีพระนอนที่งดงามขนาดใหญ่ประดิษฐานอยู่ ด้านซ้ายมือ ชั้นบนเป็นลานกว้าง ผนัง เป็ น หิ น สลั บ ซั บ ซ้ อน มี พ ระพุ ท ธบาทจ� ำ ลอง ลั ก ษณะและขนาดเท่ า กั บ รอย พระพุทธบาทจ�ำลองที่วัดมหาธาตุวรวิหาร จังหวัดเพชรบุรี ภายในถ�้ ำ มี แ สงสว่ า งจากส่ ว นบนของถ�้ ำ ส่ อ งลงมากระทบ องค์พระและเห็นหินงอกหินย้อย ดูแล้วเจริญตาเจริญใจยิ่งนัก และควรอนุรักษ์อย่างยิ่ง

SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบุรี

.indd 172

15/9/2561 10:23:11


HIST ORY OF BUDDH ISM

บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

“วั ด ท่ า ไชยศิ ริ ” เดิ ม เรี ย กกั น ว่ า

“วัดใต้” เพราะอยูท่ างด้านใต้ของแม่นำ�้ เพชร เหนื อ น�้ ำ ขึ้ น ไปเป็ น ที่ ตั้ ง ของวั ด กลางและ วัดเหนือทัง้ 3 วัด วัดนีม้ อี าณาเขตติดต่อกัน ปัจจุบันวัดเหนือและวัดกลางร้างไปนานแล้ว ส่วนวัดท่าไชยศิริ ยังคงมีพระภิกษุจำ� พรรษา อยู่ถึงปัจจุบัน

สิ่งศักดิ์สิทธิ์และสถานที่ส�ำคัญ 1. พระประธานในอุโบสถ เป็น “พระพุทธรูป ปางยืนห้ามพยาธิ (ห้ามโรคภัย) หรือปางประทานพร สวมเทริด” พระกรรณแบบพระพุทธรูปยอดป้าน ศิลปะสมัยลพบุรี อายุกว่า 700 ปี ขนาดความสูง 2.75 เมตร ซึ่งเป็นพระพุทธรูปที่แปลกไม่เหมือน วัดทั่วไป พบว่ามีเพียง 3 แห่ง คือ พระประธาน ในอุโบสถ “วัดท่าไชยศิริ” จังหวัดเพชรบุรี พระ ประธานในอุโบสถ “วัดเสาธงทอง” จังหวัดลพบุรี ศิลปะสมัยอยุธยาตอนต้น และพระประธานใน อุโบสถ “วัดเครือวัลย์วรวิหาร” กรุงเทพมหานคร ศิลปะสมัยสุโขทัย 2. ท่าน�ำ้ ศักดิส์ ทิ ธิ์ บริเวณท่าน�ำ้ วัดท่าไชยศิริ เป็ น สถานที่ ตั ก น�้ ำ เพื่ อ น� ำ ไปใช้ ใ นพระราชพิ ธี ศักดิ์สิทธิ์ต่างๆ เช่น ในพิธีบรมราชาภิเษก ซึ่งตาม ธรรมเนียมพระราชพิธขี องไทยนิยมใช้นำ�้ ศักดิส์ ทิ ธิ์ จากสระทั้ง 4 และแม่น�้ำทั้ง 5 ได้แก่ แม่น�้ำป่าสัก แม่น�้ำเจ้าพระยา แม่นำ�้ แม่กลอง แม่น�้ำบางปะกง และแม่ น�้ ำ เพชรบุ รี นอกจากนี้ บ ริ เ วณท่ า น�้ ำ วัดท่าไชยศิริ ยังเป็นสถานที่ตักน�้ำส�ำหรับสรงและ เสวยของรัชกาลที่ 3 รัชกาลที่ 4 รัชกาลที่ 5 และ รัชกาลที่ 6 บันทึก

วัดท่าไชยศิริ

ตั้งอยู่ หมู่1 ต�ำบลสมอพลือ อ�ำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี มีเนื้อที่ 21 ไร่ 18 ตารางวา ที่ธรณีสงฆ์ 8 ไร่ 3 งาน 64 ตารางวา โทร 032-454304, 082-2440005 Facebook : วัดท่าไชยศิริ จังหวัดเพชรบุรี

วัดท่าไชยศิริ

สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย พระครูเกษมวัชรดิตถ์ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดท่าไชยศิริ

E-mail : watthachaisiri@gmail.com

PHETCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

1

.indd 173

173

14/9/2561 16:52:50


H I S TOR Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดยางน�้ำกลัดเหนือ ป่าเบญจพรรณ แนวเทือกเขาตะนาวศรี

พระใบฎีกาฉลวย ปิยสีโล ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดยางน�้ำกลัดเหนือ วัดยางน�้ำกลัดเหนือ ตั้งอยู่เลขที่ 143 บ้านยางน�้ำกลัดเหนือ หมู่ 2 ต�ำบลยางน�้ำกลัดเหนือ อ�ำเภอหนองหญ้าปล้อง จังหวัด เพชรบุรี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย เดิมเป็นที่พักสงฆ์ เริ่มก่อตั้ง เมื่อปี พ.ศ.2490 สภาพภูมิประเทศจดเนินเขา เป็นป่าเบญจพรรณ อยู่ในแนวเทือกเขาตะนาวศรี รอยติดต่อกับประเทศเมียนมา ในอดีต ถูกก�ำหนดให้เป็นพื้นที่อันตราย (พื้นที่สีชมพู ปี 2521) ประชากร ที่อาศัยอยู่รอบบริเวณวัดเป็นชาวไทยภูเขาเผ่ากระเหรี่ยง ประกอบ อาชีพเกษตรกรรม (ท�ำไร่ปลูกพริกระเหรี่ยง) ซึ่งมีวัฒนธรรมและ ประเพณี เ ป็ น ของตนเอง เช่ น ประเพณี เ วี ย นศาลา ประเพณี ก่อเจดีย์ทราย ประเพณีกินข้าวห่อกระเหรี่ยง ถือเป็นวันขึ้นปีใหม่ ของชาวกระเหรี่ยง มีการเรียกขวัญขอพรจากผู้ ใหญ่ และรอการ ออกเที่ยวป่า

174

SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบุรี

5

.indd 174

15/9/2561 14:20:41


PHETCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

5

.indd 175

175

15/9/2561 14:20:42


บั น ทึ ก เส้ น ทางธรรมหนุ น น� ำ ชี วิ ต วัดยางน�้ำกลัดเหนือ

พ.ศ.2542 พระครูบรรพตประชาวสัย (หลวงพ่อหมี) เจ้าคณะ อ�ำเภอหนองหญ้าปล้อง ได้รบั การร้องขอจากชาวบ้าน ต�ำบลยางน�ำ้ กลัดเหนือ ให้ช่วยจัดหาพระมาอยู่จ�ำพรรษาที่ส�ำนักสงฆ์ เพราะที่ส�ำนักสงฆ์ไม่มี พระสงฆ์อยู่จ�ำพรรษาเลย หลวงพ่อหมี จึงนิมนต์พระฉลวย ปิยสีโล มาจ�ำพรรษา พ.ศ.2543 พระฉลวย ปิยสีโล ร่วมกับชาวบ้าน ต�ำบลยางน�้ำ กลัดเหนือ ได้ด�ำเนินการบูรณะและสร้างเสนาสนะ พร้อมด�ำเนินการ ขออนุญาตตั้งวัด พ.ศ.2545 ได้รบั อนุญาตตัง้ เป็นวัด ในวันที่ 27 เมษายน พ.ศ.2545 โดยมีพระใบฎีกาฉลวย ปิยสีโล เป็นเจ้าอาวาส ดูแลบริหารงานปกครอง มาจนถึงปัจจุบัน พ.ศ.2549 ได้สร้างอุโบสถเป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก เพือ่ เป็น ทีส่ ำ� หรับท�ำสังฆกรรม และได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา เมือ่ วันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2554

176

อาคารเสนาสนะ - อุโบสถ กว้าง 7.4 เมตร ยาว 23 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ.2549 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก - ศาลาการเปรียญ กว้าง 12 เมตร ยาว 25 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2534 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก - กุฏิสงฆ์ จ�ำนวน 4 หลัง เป็นอาคารไม้ทั้ง 4 หลัง - ศาลาอเนกประสงค์ 2 หลัง กว้าง 11 เมตร ยาว 20 เมตร สร้างเมือ่ พ.ศ.2498 เป็นอาคารไม้ 1 หลัง และกว้าง 12 เมตร ยาว 26 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ.2571 เป็นอาคารครึ่งตึกครึ่งไม้ 1 หลัง - ศาลาฌาปนกิจ กว้าง 21 เมตร ยาว 36 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2545 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก - หอระฆัง 1 หลัง - ห้องน�้ำ 8 ห้อง 1 หลัง / ห้องน�้ำ 3 ห้อง 1หลัง

SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบุรี

5

.indd 176

15/9/2561 14:20:44


PHETCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

5

.indd 177

177

15/9/2561 14:20:45


บั น ทึ ก เส้ น ทางธรรมหนุ น น� ำ ชี วิ ต วัดยางน�้ำกลัดเหนือ

วัดยางน�้ำกลัดเหนือ

บันทึก

มีที่ดินตั้งวัดมีเนื้อที่ 26 ไร่ 1 งาน 98 ตารางวา อาณาเขต ทิศเหนือ จดเนิ น เขาพระพุ ท ธบาท ทิ ศ ตะวั น ออก จดที่ ดิ น ของนายชิ น ริ น ทร์ พั น เต ทิศใต้ จดทางสาธารณประโยชน์ ทิศตะวันตก จดโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ประจ�ำต�ำบล

ภายในวัดยางน�ำ้ กลัดเหนือ เป็นแหล่งเรียนรูแ้ ละให้การศึกษาด้าน การเรียนการสอนธรรมมะ และท�ำกิจกรรมต่างๆ เป็นการพัฒนาให้เกิด ความรู้ความเข้าใจและสามารถพัฒนาตนเองให้มีความรู้ความสามารถ พั ฒ นาการด� ำ เนิ น ชี วิ ต อยู ่ ใ นสั ง คมได้ อ ย่ า งมี ค วามสุ ข ในเรื่ อ งของ พระธรรมวินัย และช่วยท�ำนุบ�ำรุงพระพุทธศาสนาให้ด�ำรงคงอยู่สืบไป

พระใบฎีกาฉลวย ปิยสีโล เจ้าอาวาสรูปแรก จนถึงปัจจุบนั อุปสมบท เมือ่ วันที่ 29 พฤษภาคม พ.ศ.2539 ทีว่ ดั เขาชมพู ต�ำบลท่าตะคร้อ อ�ำเภอหนองหญ้าปล้อง จังหวัด เพชรบุรี พระอุปชั ฌาย์ พระครูพชั รเสลคุณ วัดเขาชมพู ต�ำบลท่าตะคร้อ อ�ำเภอหนองหญ้าปล้อง จังหวัดเพชรบุรี พระกรรมวาจาจารย์ พระสมุหห์ มืน่ ถาวโร วัดหนองหญ้าปล้อง ต�ำบลหนองหญ้าปล้อง อ�ำเภอหนองหญ้าปล้อง จังหวัดเพชรบุรี

178

วิทยฐานะ - พ.ศ.2506 วุฒิการศึกษาระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 - พ.ศ.2546 สอบได้ นั ก ธรรมชั้ น เอก ส� ำ นั ก ศาสนศึ ก ษาวั ด หนองหญ้าปล้อง

ต�ำแหน่งหน้าที่ - พ.ศ.2545 ด�ำรงต�ำแหน่งรักษาการเจ้าอาวาสวัดยางน�ำ้ กลัดเหนือ - พ.ศ.2545 ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดยางน�้ำกลัดเหนือ - พ.ศ.2545 เป็นพระใบฎีกา ในฐานานุกรมของพระครูสลี วัชรสาร อดีตเจ้าคณะ อ�ำเภอหนองหญ้าปล้อง - พ.ศ.2549 เป็นพระกรรมวาจาจารย์

SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบุรี

5

.indd 178

15/9/2561 14:20:49


หลวงพ่ อธาราทิพย์ (หลวงพ่ อใหญ่)

วัดบางหอ

สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย พระใบฎีกาชุบ ฉายา ยติธัมฺโม ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดบางหอ

179

1

บันทึก

วัดบางหอ

วัดบางหอเป็นวัดที่มีบรรยากาศ เงียบสงบร่มรื่น เหมาะแก่การมาท�ำบุญ ปัจจุบันมีพระใบฎีกาชุบ ฉายา ยติธัมฺโม ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน เลขที่ 49/1 หมู่11 ต�ำบลบางครก อ�ำเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี โทรศัพท์ 081-3785948, 0-3240-9187

SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบุรี

.indd 179

14/9/2561 16:48:26


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดป่าเขารักษ์

พุ ทธศาสนิกชนนิยมมาปฏิบัติธรรม ท�ำสมาธิ พระอธิการพงษ์ษา มนุญโญ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดป่าเขารักษ์ วั ดป่าเขารักษ์ ตั้งอยู่ที่ หมู่ 6 ต�ำ บลท่า ตะคร้ อ อ� ำ เภอหนองหญ้าปล้ อง จั ง หวั ด เพชรบุ รี ก่ อตั้งขึ้น เมื่อ ปลายปี พ.ศ.2533 พื้น ที่ วั ดมี ป ระมาณ 200 ไร่ บริ เวณที่ ตั้ง วั ด ค่ อ นข้างห่างไกล จากชาวบ้าน เวลาพระออกบิ ณ ฑบาตต้ องเดิ น ไป-กลั บ ประมาณ 8 กิ โ ลเมตร น�้ ำ ส� ำ หรั บ อุ ป โภค-บริ โ ภคต้ อ งอาศั ย น�้ ำ จากล� ำ ธาร เริ่ ม แรกการสร้ า งวั ด จึ ง ปลู ก เป็ น ศาลาเล็กๆ ก่อ น หลังจากนั้น จึงค่อ ยๆ ปรั บ พื้ น ที่ และเริ่ ม ก่ อสร้า งวั ดจากการ บริ จาคของประชาชนที่ศ รัท ธา จนปัจจุบัน เป็นวั ดป่าเขารั กษ์ ที่ พุ ท ธศาสนิ ก ชนนิ ย มมา ปฏิ บั ติธ รรม ท�ำ สมาธิ ภาวนา 180

2

บันทึก

ศูนย์ปฏิบัติธรรม

ศูนย์ปฏิบัติธรรม วัดป่าเขารักษ์ ต�ำบลท่าตะคร้อ อ�ำเภอหนอง หญ้าปล้อง จังหวัดเพชรบุรี 76160 โทรศัพท์ 087-1637474 การเดินทางจาก กทม. ทั้งพระราม 2 และเพชรเกษม จะผ่าน อ�ำเภอเขาย้อย จังหวัดเพชรบุรี ไปประมาณ 15 กิโลเมตร สังเกต ซ้ายมือจะมีสะพาน ข้ามไปยังเส้นทาง อ�ำเภอหนองหญ้าปล้อง อีกประมาณ 11 กิโลเมตร (แต่ถา้ ขับเลยสะพาน ไปให้หาจุดกลับรถไม่ไกล จากสะพาน) เจอทางแยกเลีย้ วซ้าย ไปอีก 3 กิโลเมตร

SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบุรี

.indd 180

19/9/2561 14:31:36


วัดป่าเขารักษ์ ต�ำบลท่าตะคร้อ อ�ำเภอหนองหญ้าปล้อง จังหวัดเพชรบุรี โทรศัพท์ 087-163-7474

พระอธิการพงษ์ษา มนุญโญ พรรษาที่ 40 เกิดเมื่อวันที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2496 175 ต�ำบลคลองกะแชง อ�ำเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี

การศึกษา ศึกษาศาสตร์บณ ั ฑิต (ศศบ) สาขาการสอน วิชาศิลปศาสตร์ พ.ศ. 2518 มหาวิ ท ยาลั ย เชียงใหม่ นักธรรมชั้นเอก ปีพ.ศ. 2531

อุปสมบท ณ พั ท ธสี ม า วั ด ชลธราราม ต� ำ บล ท่ า ทราย อ� ำ เภอท่ า ยาง จั ง หวั ด เพชรบุ รี สังกัดวัดป่าเขารักษ์ ต�ำบลท่าตะคร้อ อ�ำเภอ หนองหญ้าปล้อง จังหวัดเพชรบุรี ต�ำแหน่ง เจ้าอาวาสวัดป่าเขารักษ์

พระอธิการพงษ์ษา มนุญโญ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดป่าเขารักษ์

PHETCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 181

181

19/9/2561 14:31:47


“HE WHO SEES ME SEES THE TEACHING AND HE WHO SEES THE TEACHING SEES ME.”

ดร. พระมหาอนุชน สาสนกิตฺติ ป.ธ.๙ (นาคหลวง), Ph.D. Dr. Phramaha Anuchon Sasanakitti พระธรรมทูตสายต่างประเทศ ปริญญาโทพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิปัสสนาภาวนา ปริญญาเอก Ph.D. (Pali & Buddhism) Dr. Babasaheb Ambedkar Marathwada university เมืองออรังคบาด รัฐมหาราษฏระ ประเทศอินเดีย

หากเปรียบชีวิตเหมือนกับการเดินทาง ภูเขาลูกใหญ่คืออุปสรรคที่ขวางกั้น ไม่ให้เราเดินทางได้อย่างราบรื่น สะดวกสบาย ถ้าต้องการไปถึงจุดหมายนั้น เราก็ต้องข้ามภูเขาลูกใหญ่นั้นไปให้ ได้ ภูเขาที่อันตรายที่สุด และส�ำคัญที่สุด แต่พวกเรามักไม่รู้ตัวว่าเป็นภูเขา คือความเห็นผิด และการยึดถือแบบผิดๆ ต้องข้ามให้ ได้ด้วยการก�ำจัดออกด้วย ความเห็นถูก น�ำไปสู่ความตื่นรู้ เห็นจริง เหมือนค�ำที่พระพุทธองค์ตรัสไว้ว่า

“ผู้ใดเห็นเรา ผู้น้น ั เห็นธรรม ผู้ใดเห็นธรรม ผู้น้น ั เห็นเรา”

Everything You Need to Know About Buddhism in Thailand There are some 30,000 Buddhist temples in Thailand.

AD_

.indd 182

17/9/2561 15:29:47


HIST ORY OF BUDDH ISM

บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดวังพุ ไทร ศูนย์รวมศรัทธารวมใจ พระศรีวิสุทฺธิกวี ด�ำรงต�ำแหน่งด�ำรงต�ำแหน่งรักษาการ เจ้าอาวาสวัดวังพุไทร

วั ด วั ง พุ ไ ทร ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 34 หมู ่ 6 ต�ำบลหนองหญ้าปล้อง อ�ำเภอหนองหญ้าปล้อง จั ง หวั ด เพชรบุ รี โทรศั พ ท์ 032-494 234 ห่างจากถนนเพชรเกษมทางแยกหลักกิโลเมตร ที่ 148 บ้ า นหนองควง ต� ำ บลต้ น มะพร้ า ว อ� ำ เภอเมื อ งเพชรบุ รี เข้ า ไปทางทิ ศ ตะวั น ตก ถึงวัดวังพุไทร ประมาณ 27 กิโลเมตร บริเวณ วัดตั้งอยู่บนเนินเขาขนาดย่อม ล้อมรอบด้วย ผืนป่าเบญจพรรณ และเทือกเขาบริเวณกว้าง

บันทึก

ศูนย์รวมศรัทธารวมใจ

วัดวังพุไทร สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2516 เป็นส�ำนักปฏิบัติสมณธรรมของพระภิกษุ สามเณร ทั้งเป็นศูนย์รวมศรัทธารวมใจ เป็นที่อาศัยบ�ำเพ็ญกุศลของพุทธศาสนิกชน สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก ได้ทรงพระเมตตา รับการก่อสร้างวัดวังพุไทรไว้ในพระอุปถัมภ์ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดช บรมนาถบพิตร ได้ทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 10 (เมื่อครั้งด�ำรงต�ำแหน่ง พระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมงกุฎราชกุมาร ในครั้งนั้น) เสด็จพระราชด�ำเนินแทนพระองค์ ทรงประกอบพิธีบรรจุพระบรมสารีริกธาตุใน พระเจดีย์ และทรงตัดลูกนิมติ อุโบสถวัดวังพุไทร คณะสงฆ์ มีเจ้าพระคุณสมเด็จ พระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก ทรงเป็นประธาน ได้ประกอบพิธีสมมิตสีมาเป็นที่เรียบร้อย นับเป็นพระมหากรุณาธิคุณล้นเกล้าล้น กระหม่อมหาที่สุดมิได้ และเป็นสิริมงคล แก่วัดวังพุไทรและพสกนิกรพุทธศาสนิกชน ชาวจังหวัดเพชรบุรี

PHETCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

1

.indd 183

183

14/9/2561 16:39:44


H I S TO R Y O F B U D D H IS M

บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

“พระศรีอริยเมตตรัย” องค์ ใหญ่ตั้งตระหง่านเป็นจุดเด่นของวัดพุตะเคียน

184

2

SBL บันทึกประเทศไทย I เพชรบุรี

.indd 184

14/9/2561 16:35:42


วัดพุตะเคียน ตั้งอยู่ที่ หมู่ 1 ต�ำบล หนองหญ้าปล้อง อ�ำเภอหนองหญ้าปล้อง จังหวัดเพชรบุรี สังกัดคณะสงฆ์ธรรมยุต เป็นส�ำนักปฏิบตั ธิ รรมประจ�ำจังหวัดเพชรบุรี แห่งที่ 4 วัดพุตะเคียน เริ่มสร้างเมื่อปี พ.ศ. 2526 ซึ่งในสมัยก่อนเป็นป่า โดยเริ่มจาก การเป็นส�ำนักสงฆ์ก่อนที่จะพัฒนามาเป็น วัดพุตะเคียน มีพระอธิการมนตรี มนโชโต เป็นเจ้าอาวาสรูปแรก จนถึงปัจจุบัน ด้วย ความมีวิสัยทัศน์ของท่านเจ้าอาวาส วัดพุ ตะเคียนจึงเป็นวัดที่มีชื่อเสียงรวดเร็ว โดย เฉพาะ “พระหยกขาว” ซึ่งเป็นหยกขาวจาก พม่า โดยโยมชาวไต้หวัน น�ำมาถวายให้ สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสั ง ฆปริณายก ในวาระครบ 90 ชันษา ซึ่งเป็นที่สักการะของคนใน ต�ำบล หนองหญ้าปล้องและมีชื่อเสียงไปทั่วโลก นอกจากนั้ น ยั ง มี อ งค์ “พระทั น ใจ” เป็นรูปทองอร่าม และ “พระศรีอริยเมตตรัย” องค์ ใ หญ่ ตั้ง ตระหง่านเป็น จุด เด่น ของวัด พุตะเคียน

วัดพุ ตะเคียน “พระศรีอริยเมตตรัย”

วัดพุตะเคียน ต.หนองหญ้าปล้อง อ.หนองหญ้าปล้อง จ.เพชรบุรี

PHETCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 185

185

14/9/2561 16:35:54


2.indd 187

18/9/2561 13:58:40


Thai food

In Phetchaburi

“หน้าหวานเหมือนน�้ำตาลเมืองเพชร”

ค�ำชื่นชมหญิงสาวที่มีหน้าตาสวยหวานเปรียบดังน�้ำตาลเมืองเพชร ท�ำไมต้องเปรียบกับน�้ำตาลเมืองเพชร น�้ำตาลจังหวัดอื่นไม่หวานหรืออย่างไร ตอบเลยครับว่าน�้ำตาลที่ ไหนก็หวานเหมือนกัน แต่คงเพราะจังหวัดเพชรบุรี เป็นแหล่งผลิตน�้ำตาลและขนมหวานมากจังหวัดหนึ่งในประเทศไทย

AD_Thai food.indd 187

18/9/2561 14:06:53


สั ม ผั ส วั ด เก่ า แก่ อ ายุ 160 ปี วั ด จั น ทาราม อาคารไม้ท รงไทย ศู น ย์ ร วมศรั ท ธาของชาวเพชรบุ รี

วัดจันทาราม ตั้งเมื่อ พ.ศ. 2400 หลวงพ่อเริกอยู่วัดโพธิ์เรียงเห็นสถานที่เหมาะสมต่อการสร้างวัด จึงมอบที่ดินให้สร้างวัด และนิมนต์พระลิบมา อยู่จำ� พรรษา พระลิบได้ก่อสร้างเสนาสนะต่าง ๆ เช่น กุฏิ อุโบสถ ศาลาการเปรียญ หอสวดมนต์ ท่านเป็นเจ้าคณะต�ำบลท่าช้าง ต่อมาท่านได้มรณภาพลง พอถึงพระอธิการไล ได้สร้างอาคารเรียนประถมศึกษา แต่ได้รื้อโดยไปซื้อที่ดิน 2 แปลง ย้ายโรงเรียนไปอยู่ส่วนหนึ่ง ต่อมากุฏิทรุดโทรมจึงย้ายมาปลูก ในที่ปัจจุบันนี้ ปี พ.ศ. 2540 ไฟไหม้กุฏิ จ�ำนวน 12 ห้อง ส่วนที่เหลือย้ายมาสร้างเป็นศาลาบ�ำเพ็ญกุศล 1 หลัง ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อ พ.ศ. 2442 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 7.20 เมตร ยาว 16.30 เมตร อุโบสถหลังใหม่ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาวันที่10กรกฎาคม พ.ศ.2550 อาคารเสนาสนะ ประกอบด้วย อุโบสถ กว้าง 7.30 เมตร ยาว 16.30 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2442 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก มีจิตรกรรมฝาผนัง มีภาพลายเส้นเพียงเล็ก ๆ อยู่ในสภาพช�ำรุด หอสวดมนต์ กว้าง 4.80 เมตร ยาว 13.30 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2542 เป็นอาคารไม้ทรงไทย กุฏิสงฆ์ จ� ำ นวน 4 หลั ง เป็ น อาคารไม้ ท รงไทย สร้ า งเมื่ อ พ.ศ. 2540 ได้ ย ้ า ยที่ ตั้ ง เดิ ม เพราะพื้ น ที่ เ อี ย งมาก ศาลาอเนกประสงค์ กว้ า ง 17.50 เมตร ยาว 37.20 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2545 เป็น อาคารไม้ท รงไทย ศาลาบ�ำเพ็ญกุศล จ�ำนวน 1 หลัง เป็น อาคารครึ่ง ตึกครึ่ง ไม้ นอกจากนี้มี คือ ศาลาฌาปนสถาน 1 หลัง ศาลาพักร้อน 2 หลัง และศาลาเก็บศพ 1 หลัง ปูชนียวัตถุ มีพระประธานประจ�ำอุโบสถ ปั้นด้วยปูน สร้างพร้อมกับอุโบสถ เจดีย์และพระพุทธรูป 1 องค์

สัมผัสวัดเก่าแก่อายุ 160 ปี

วัดจันทาราม

สถานที่ตั้ง : เลขที่ 60 หมู่ที่ 1 ตำ�บลบ้านทาน อำ�เภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี ติดต่อสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม โทร : 087-9026524

วั ด จั น ทาราม เลขที่ 60 หมู ่ ที่ 1 ต� ำ บลบ้ า นทาน อ� ำ เภอบ้ า นลาด จั ง หวั ด เพชรบุ รี .indd 189

I

โทร : 087-9026524

14/9/2561 16:33:52


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.