80 ฉะเชิงเทรา

Page 1

ัด 5ว ไทย 36 ิจ ทั่ว รรม ษฐก วัดวทางธื่อนเศร ี่ย ล งเท เค ท่อ ขับ

นิตยสารแนะน�ำแหล่งท่องเที่ยวและของดีจังหวัดฉะเชิงเทรา ประจ�ำปี 2561

Magazine

ฉบับที่ 80 จังหวัดฉะเชิงเทรา พ.ศ.2561

Chachoengsao พลังชีวิตและจิตวิญ ญาณจากลุ ่ ม น�้ ำ บางปะกง

EXCLUSIVE

2561

UNSEEN

อุโบสถกลางน�้ำ

นายสุทธิรักษ์ หนูฉ้ง ผอ.พศจ.ฉะเชิงเทรา

หน่วยงานสนองงานพระสงฆ์ ในการ ส่งเสริมพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม ให้สังคมมีความสุขด้วยหลักพุทธธรรม

Vol.9 Issue 80/2018

www.issuu.com

.indd 5

พลังชีวิตและจิตวิญญาณจากลุ่มน�้ำบางปะกง บริสุทธิ์ – ศักดิ์สิทธิ์ หลวงพ่อพุทธโสธร

9/10/2561 16:51:42


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วิ ห ารหลั ง นี้ สร้ า งขึ้ น ระหว่ า งปี พ.ศ.2310-2315 สมั ย กรุ ง ธนบุ รี รู ป ทรงแบบเดิ ม เป็ น แบบเก๋ ง จี น จตุ ร มุ ข ภายใน ประดิ ษ ฐานพระพุ ท ธรู ป ปางไสยาสน์ ต่ อ มาส่ ว นบนของวิ ห ารได้ ช� ำ รุ ดและพั ง ลง เหลื อ เพี ย งก� ำ แพงวิ หารที่ เ ห็นอยู่นี้ ซึ่งปัจ จุบันได้ สร้ างส่ ว นบนเพื่ อ รั ก ษาของเดิ ม ที่ เ หลื อ ไว้ อ่า นต่อ ...หน้า 32

วัดโพธิ์บางคล้า

ใต้ ้นโพธิพ ์ งเทราฤกษ์ ท่องวัดเก่า เรียนรู้ธรรมะจากค้างคาวแม่ไก่ 2 SBLต บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิ .indd 2

9/10/2561 11:46:24


ปฏิ ป ทา “หลวงพ่ อ เหลื อ ” พระอริ ย คณาจารย์ 1 ใน 21 รู ป ของเมื อ งไทย พระครูนันทธีราจารย์ (หลวงพ่อเหลือ นันทสาโร) อดีตเจ้าอาวาส วัดสาวชะโงก นามเดิม เหลือ นามสกุล รุ่งสะอาด เกิดวันพุธที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ.2405 ขึ้น 13 ค�่ำ เดือน 8 (ปีจอ) อุปสมบทเมื่อวันศุกร์ที่ 12 มีนาคม พ.ศ.2428 ขึ้น 8 ค�่ำเดือน 4 (ปีระกา) ณ พัทธสีมาวัดสาวชะโงก อ�ำเภอ บางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทรา หลวงพ่อเหลือ เป็นพระภิกษุทเี่ คร่งครัดในพระธรรมวินยั มัน่ คงในศีลา จารวัตรและวิปสั สนากรรมฐานอย่างเคร่งครัด ท่านมีเมตตาธรรมต่อคนทุก ชัน้ วรรณะ แก่กล้าวิชาอาคมจนได้รบั การยอมรับให้เป็นพระอริยคณาจารย์

1 ใน 21 รูปของเมืองไทยทีไ่ ด้รบั นิมนต์เข้าร่วมพิธปี ลุกเสกทีว่ ดั ราชบพิตร เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ.2481 หลวงพ่อเหลือเป็นที่เคารพศรัทธา แก่ชนทุกชั้นท่านได้ประกอบคุณงามความดีให้แก่บวรพุทธศาสนาและ ชาวบ้านสาวชะโงกเป็นอย่างมาก จนยากทีจ่ ะลืมเลือนจากความทรงจ�ำได้ อ่านต่อหน้า 117.... ร่วมสร้างเส้นทางบุญร่วมสร้างวิหารหลวงพ่อเหลือหลังใหม่ สอบถามเพิ่มเติม ติดต่อ 089-096-8899 คุณชัยวัฒน์ (กรรมการวัด) CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย

2

2

.indd 3

3

9/10/2561 17:32:26


เย็ น จิ ต รี ส อร์ ท - Yenjit Bungalow and Resort -

เย็ น จิ ต รี ส อร์ ท (Yenjit Bungalow and Resort) ที่ พั ก ทั น สมั ย สไตล์ ไ ทยๆ ผสมผสาน ตะวั น ออกและตะวั น ตก ประดั บ ด้ ว ยไม้ ด อก มากมาย ในสวนเล็ ก ๆ สี เ ขี ย วสบายตา ตรงกลาง รีสอร์ท มีสวนสวยๆ ริมสระน�้ำ จัดเป็นมุมของว่าง วางเครื่องดื่มชา กาแฟ ขนมต่างๆ ส�ำหรับรองท้อง ในมื้อเช้า เย็นจิต รีสอร์ท อยู ่ ในท� ำ เลที่ ดี ม าก ใกล้ ชุ ม ชน ใจกลางเมื อ ง เยื้ อ งสถานี ร ถไฟ ตั้ ง อยู ่ บ นถนน มหาจักรพรรดิ์ ฝั่งตรงข้ามสถานีรถไฟฉะเชิงเทรา แล้วเดินเข้าซอยจากถนนใหญ่ ไปราว 100 เมตร พร้ อ มต้ อ นรั บ ทุ ก ท่ า นด้ ว ยห้ อ งพั ก 60 ห้ อ ง หลากสไตล์ ทั้ ง บ้ า นพั ก ชั้ น เดี ย วเป็ น หลั ง ๆ และ อาคารพร้ อ มสิ่ ง อ� ำ นวยความสะดวกครบถ้ ว น แอร์ ทีวี ตู้เย็น เครื่ องท� ำ น�้ ำ ร้ อน ส� ำ หรั บ ชงกาแฟ เครื่องท�ำน�้ำอุ่น น�้ ำ ดื่ ม ฟรี และ Free WiFi ภายใน บริเวณห้องพัก

พั ก สบายๆ หอมกรุ่ น ดอกไม้ ในเย็ น จิ ต รี ส อร์ ท

เย็ น จิ ต รี ส อร์ ท ตั้ ง อยู ่ ใ นจั ง หวั ด ฉะเชิ ง เทรา ห่ า งจากวั ด โสธรวรารามวรวิ ห ารเพี ย ง 4.9 กิ โ ลเมตร และบ้ า นบางปะกง 17.1 กิ โ ลเมตร ส่ ว นวั ด ปากน�้ ำ และ วั ด โพธิ์ บ างคล้ า อยู ่ ห ่ า งจากโรงแรมไปไม่ เ กิ น 32 กิ โ ลเมตร สามารถเดิ น ไปยั ง สถานี ร ถไฟชุ ม ทางฉะเชิ ง เทราได้ เ พี ย ง 6 นาที และสถานี แ ปดริ้ ว , ฉะเชิ ง เทรา ได้ เ พี ย ง 24 นาที

เย็ น จิ ต รี ส อร์ ท - Yenjit Bungalow and Resort -

4

247/40 ถ.มหาจั ก รพรรดิ์ ต.หน้ า เมื อ ง อ.เมื อ ง จ.ฉะเชิ ง เทรา

SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา

.indd 4

10/10/2561 8:50:59


ห้ อ งพั ก โซน D

บ้ า นพั ก โซน A B C

ชุดห้องพักราคาประหยัด Standard Room เป็ น อาคารแฝด 2 ชั้ น ตั้ ง อยู ่ ใ นส่ ว นด้ า นใน ห้ อ งพั ก มี ทั้ ง ชั้ น บนและชั้ น ล่ า ง ทางเข้ า ตั ว ตึ ก แต่ ง เป็ น ซุ ้ ม ไม้ เ ลื้ อ ย ระหว่ า งอาคารจั ด ด้ ว ย ไม้ ด อกไม้ ป ระดั บ มากมาย เป็ น สวนหย่ อ ม เล็ ก ๆ ดู ส วยงาม

ห้ อ งแบบ Deluxe Room บ้ า นเดี่ ย ว ชั้ น เดี ย วแยกเป็ น หลั ง ๆ แบบไม่ ติ ด กั น เพื่ อ ความเป็ น ส่ ว นตั ว น� ำ รถเข้ า มาจอดด้ า นข้ า ง บ้ า นพั ก ได้ เ ลย หน้ า ห้ อ งพั ก มี ร ะเบี ย งเล็ ก ๆ ให้ นั่ ง เล่ น ได้ ภายในห้ อ งมี ข นาดก� ำ ลั ง ดี พร้ อ มสิ่ ง อ� ำ นวยความสะดวกครบ

เรื อ นคุ ณ ตา

ห้ อ งพั ก ตึ ก K&Q

ห้ อ งพั ก อยู ่ บ นอาคารตึ ก 3 ชั้ น ภายใน ห้ อ งพั ก กว้ า ง ตกแต่ ง ด้ ว ยสไตล์ ทั น สมั ย มี ห ้ อ งขนาดทั่ ว ไป (Superior Room) และ ห้ อ งมุ ม เป็ น ห้ อ งสู ท ขนาดกว้ า ง จั ด ให้ เ ป็ น มุ ม ห้ อ งนั่ ง เล่ น อยู ่ ภ ายในห้ อ ง ห้ อ งพั ก มี สิ่ ง อ� ำ นวยความสะดวกครบครั น

บ้ า นเดี่ ย วชั้ น เดี ย วหลั ง ใหญ่ หน้ า บ้ า น มี ร ะเบี ย งส่ ว นตั ว ข้ า งบ้ า นน� ำ รถมาจอด ติ ด กั บ ตั ว บ้ า นได้ ภายในบ้ า นกว้ า งขวาง เน้ น การจั ด แต่ ง ด้ ว ยเฟอร์ นิ เ จอร์ ไ ม้ พร้ อ ม สิ่ ง อ� ำ นวยความสะดวกครบครั น

24 ชั่ ว โมง

ฝ่ า ยประชาสั ม พั น ธ์ พ ร้ อ มต้ อ นรั บ สิ่ ง อ� ำ นวยความสะดวกในโรงแรม บริ ก ารอาหารเช้ า แบบบุ ฟ เฟต์ ฟ รี , ฟิ ต เนสมาตรฐาน, ห้ อ งประชุ ม , บริ ก ารซั ก แห้ ง , ที่ จ อดรถ, Free WiFi ในพื้ น ที่ ส าธารณะ, และกล่ อ งนิ ร ภั ย ที่ ฝ ่ า ยต้ อ นรั บ

R

ติ ด ต่ อ และส� ำ รองห้ อ งพั ก

08-6803-2070 0-3851-1200

CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 5

5

10/10/2561 8:51:11


โรงแรมแกรนด์ รอยั ล พลาซ่ า

(Grand Royal Plaza Hotel) เต็ ม อิ่ ม ทุ ก การเดิ น ทาง และงานเลี ย้ ง

โรงแรมแกรนด์ รอยัล พลาซ่า ฉะเชิงเทรา อีกหนึ่งทางเลือกที่น่าสนใจ ส�ำหรับผู้ที่ก�ำลังมองหาที่พักสบายๆ ในตัวเมืองแปดริ้ว ด้วยท�ำเลที่เดินทาง สะดวก ห้องพักกว้างขวาง พร้อมสิ่งอ�ำนวยความสะดวกครบครัน พร้อมต้อนรับนักเดินทางทุกรูปแบบไม่วา่ จะเป็นนักธุรกิจ หรือนักท่องเทีย่ ว จากโรงแรม ท่านสามารถเดินทางไปในตัวเมืองฉะเชิงเทรา และ สถานที่ที่ น่าสนใจมากมายได้อย่างง่ายดาย ที่พักอยู่ใกล้วัดสมานรัตนาราม (วัด พระพิฆเนศ องค์ ใหญ่สีชมพู)/ สวนปาล์ม ฟาร์มนก และ วัดหลวงพ่อโสธร

โรงแรมแกรนด์ รอยั ล พลาซ่ า ฉะเชิ ง เทรา ให้ บ ริ ก ารห้ อ งพั ก ที่ ม ากกว่ า ความสะดวกสบาย ทันสมัย ทุกห้องปูพรม อย่างดี หอมสะอาด มีสงิ่ อ�ำนวยความสะดวก ที่จ�ำเป็นครบครัน อาทิ เครื่องปรับอากาศ, ตู้เย็น, ทีวี ระบบเคเบิ้ลทีวี , ห้องอาบน�้ำแบบ อ่ า งและฝั ก บั ว น�้ำร้อ นและน�้ำอุ่น , บริการ ซักรีดรวดเร็วทันใจ โรงแรมแกรนด์ รอยัล พลาซ่ า ที่ตงั ้ 1110 ถ.สุขประยูร ต.หน้ าเมือง อ.เมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา Tel: 0-3898-1561

: grandroyalplazahotel

6

2

SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา

.indd 6

9/10/2561 9:36:51


โรงแรมวี เ วิ ร์ บ เซอร์ วิ ส อพาร์ ท เมนท์ (V-Verve Service Apartment)

ยิ น ดี ต้ อนรั บ สู่ โรงแรม วี เ วิ ร์ บ เซอร์ วิ ส อพาร์ ทเมนท์

โรงแรมใหม่ ใจกลางเมื อ งฉะเชิ ง เทรา ใกล้ กั บ สถานี ข นส่ ง ฉะเชิ ง เทรา เดิ น ทาง สะดวก ให้บริการห้องพัก จ�ำนวน 90 ห้อง รับจัดเลี้ยง ประชุมสัมมนา โรงแรมมีบริการ สระว่ายน�้ำกลางแจ้ง ห้องพักตกแต่งสไตล์ โมเดิ ร ์ น และแบบไทย กว้ า งขวาง พร้ อ ม สิ่ ง อ� ำ นวยความสะดวกครบครั น อาทิ ห้องพักปรับอากาศ และห้องน�ำ้ ในตัว, ห้องประชุม สัมมนา ห้องอาหาร ห้องฟิตเนส สระน�้ำ และ สปา ร้านอาหารและเครื่องดื่มบริการ

โรงแรมวีเวิร์บ เซอร์ วสิ อพาร์ ทเมนท์ 9/7-9 ถ.ฉะเชิงเทรา - บางปะกง อ.เมือง จ.ฉะเชิงเทรา 24000 Tel: 038-535641-52 Facebook : v vervehotel

CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 7

7

9/10/2561 9:36:59


.indd 11

8/10/2561 13:37:05


โรงแรมซันไรส์ ลากูน โฮเทลแอนด์กอล์ฟ พร้อมต้อนรับทุกท่านด้วย สถาปตั ยกรรมอาคารห้องพักสไตล์โมเดิรน์ พร้อมด้วยสิง่ อ�ำนวยความ สะดวก อาหารเลิศรสจากห้องอาหารราชาวดี สปา ฟิตเนส สระว่ายน�้ำ และห้องประชุมสัมมนา จัดเลีย้ ง พร้อมวิวสนามกอล์ฟสีเขียวสุดสายตา ทีจ่ ะเติมความสดชืน่ ให้การพักผ่อนของท่าน ไม่วา่ ท่านจะเป็นนักกอล์ฟ หรือไม่กต็ าม ให้เราได้เป็นส่วนหนึง่ ในการพักผ่อนทีส่ มบูรณ์แบบของท่าน

sunrise

.indd 9

โรงแรมซันไรส์ ลากูน โฮเทลแอนด์กอล์ฟ ให้บริการห้องพักระดับ 4 ดาว พร้ อ มศู น ย์ อ อกก� ำ ลัง กายและลานระเบีย ง อยู่ ห่ า งจากจัง หวัด ฉะเชิงเทรา 19 กิโลเมตร และห่างจากลาดกระบัง 49 กิโลเมตร ส่ ว นสนามบิ น ที่ ใ กล้ ท่ี สุ ด คื อ สนามบิ น นานาชาติ สุ ว รรณภู ม ิ ซึง่ อยูห่ า่ งจากทีพ่ กั 52 กิโลเมตร ทีพ่ กั แห่งนี้ได้รบั การลงความเห็นว่ามีทำ� เลดีทส่ี ดุ ในบางคล้า! ผูเ้ ข้าพัก ชอบท�ำเลทีน่ ่ีมากกว่าเมือ่ เปรียบเทียบกับทีพ่ กั อืน่ ๆ ในย่านนี้ และได้ รับการลงความเห็นว่าคุม้ ค่าเงินทีส่ ดุ ในบางคล้า! เมือ่ เปรียบเทียบกับ ทีพ่ กั อืน่ ๆ ในเมืองนี้

11/10/2561 11:19:43


นิ ต ยสาร SBL บัน ทึก ประเทศไทย ฉบับ พิ เ ศษ มี ค วามสุข ใจที่ ไ ด้ เ ดิ น ทาง มาล่องแม่น� ้ำบางปะกงในจังหวัดฉะเชิงเทรา กราบสักการบูชาพระพุทธโสธรศักดิ์สิทธิ์ คูบ่ ้ านคูเ่ มืองแปดริ ว้ ศูนย์รวมศรัทธาของ ชาวไทยทังแผ่ ้ นดิน ท่ามกลางผู้ค นที่ เ ดิ น ทางจากทุ ก สารทิ ศ อย่ า งเนื อ งแน่ น ก ลิ่ น ธู ป ห อ ม ร า ว กั บ เ ดิ น อ ยู่ ใ น อาณาจัก รสมัย พระนารายณ์ ม หาราช ยุ ค ป ล า ย ก รุ ง ศรี อยุ ธ ยา ใน ต ลา ด บ้ านใหม่ริมน�ำ้ ร้ อยปี ในยุครั ตนโกสินทร์ ที่พรั่ งพร้ อมไปด้ วยอาหารท้ องถิ่นนานาชนิดชวนให้ ขับรถมาเที่ยวกินได้ ทุกวัน เราได้ รั บ การต้ อนรั บ ด้ วยไมตรี จิ ต อย่ า งอิ่ ม ใจในทุ ก เส้ นทาง ระหว่ า ง การบั น ทึ ก ภาพและเรื่ องราวอั น งดงามในดิ น แดนอั น รุ่ มรวยในบวร พระพุ ท ธศาสนาที่ อ ยู่ ใ นวิ ถี ชี วิ ต วั น นี อ้ ย่ า งกลมกลื น ท� ำ ให้ การเดิ น ทาง ท่ อ งเที่ ย วราบรื่ น สนุก สนานทุก ย่ า งก้ า ว ในนามของนิ ต ยสาร SBL บั น ทึ ก ประเทศไทย ผมขอถื อ โอกาสนี ้ กราบขอบพระคุณ ท่ า นผู้ ว่ า ราชการจัง หวัด ฉะเชิ ง เทรา “นายสุวิ ท ย์ ค� ำ ดี ” ท่านผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดฉะเชิงเทรา “นายสุทธิ รักษ์ หนู ฉ้ ง” ตลอดจนผู้ บริ ห ารองค์ ก รปกครองส่ ว นท้ องถิ่ น ต่ า งๆ ศาสนสถาน บริ ษั ท ห้ า งร้ าน ฯลฯ ซึ่ง กรุ ณ าสนับ สนุน ให้ ที ม งานด� ำ เนิ น การจัด ท� ำ นิ ต ยสาร SBL บัน ทึ ก ประเทศไทย ฉบับ จัง หวัด ฉะเชิ ง เทรา ส� ำ เร็ จ ลุล่ ว งด้ ว ยดี ท้ า ยนี ้ ผมขออาราธนาคุณ พระศรี รั ต นตรั ย ขอให้ ธ รรมะรั ก ษาทุก ท่ า น ประสบแต่ความสุขความเจริ ญในธุรกิ จการงาน สุขภาพกายใจแข็งแรงสดชื่ น อนาคตสดใสรุ่ ง เรื อ ง ผ่ า นพ้ น ทุก อุป สรรคในทุก สถานการณ์ ร่ ว มสร้ างสรรค์ คนรุ่ นใหม่ให้ ชุมชนก้ าวหน้ าต้ อนรั บ AEC 4.0 ในสังคมไทยต่อไปอย่างมั่นคง

แม่น�้ำบางปะกง @อ�ำเภอเมือง

คุณศุภกิจ ศิลปรังสรรค์

บรรณาธิการอ�ำนวยการ นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย

Website

Facebook

Tel : 08-1442-4445, 08-4874-3861 Email : supakit.s@live.com

บริษัท สมาร์ท บิซิเนส ไลน์ จ�ำกัด 9/4-6 ถนนรามอินทรา แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพฯ 10220 โทร. 0-2522-7171 แฟกซ์. 0-2971-7747 FACEBOOK : SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 10

EMAIL : sbl2553@gmail.com

ตลาดน�้ำบางคล้า @อ�ำเภอบางคล้า

11/10/61 11:20:52


Talk

EDITOR’S

CHACHOENGSAO 2018

คณะผู้บริหาร

นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย

คณะที่ปรึกษา ศ.ดร.กฤช เพิ่มทันจิตต์ พลเอกสรชัช วรปัญญา ดร.นิเวศน์ กันไทยราษฎร์ ดร.ประยุทธ คงเฉลิมวัฒน์ ดร.ชาญ ธาระวาส ดร.สุมิท แช่มประสิท ดร.วัลลภ อารีรบ ดร.พิชัย ทรัพย์เกิด ดร.ไอศูรย์ ดีรัตน์ ดร.สุเทษณ์ จันทรุกขา ดร.อรรถสิทธิ์ ตันติวิรัชกุล

บรรณาธิการอ�ำนวยการ ศุภกิจ ศิลปรังสรรค์ บรรณาธิการบริหาร อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์

บรรณาธิการงานบุคคล พงษ์ศักดิ์ พรณัฐวุฒิกุล วนัสกฤษณ์ ศิลปรังสรรค์ ฝ่ายกฎหมาย สมคิด หวังเชิดชูวงศ์ ทวิช อมรนิมิตร

กองบรรณาธิการ

นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย

ฝ่ายประสานงานโครงการ ภาครัฐและเอกชน

ผู้จัดการ

ทวัชร์ ศรีธามาศ

คณะทีมงาน

ธนิน ตั้งธ�ำรงจิต ถาวร เวปุละ

ฝ่ายประสานงานข้อมูล

หัวหน้ากองบรรณาธิการ ฝ่ายประสานงานข้อมูล นันท์ธนาดา พลพวก

กองบรรณาธิการ ฝ่ายประสานงานข้อมูล

ศุภญา บุญช่วยชีพ นงลักษณ์ เทียมเกตุทวีโชค

นักเขียน

คุณิตา สุวรรณโรจน์

ฝ่ายประสานงานจังหวัด กชกร รัฐวร

ศิลปกรรม

บรรณาธิการฝ่ายศิลปกรรม พัชรา ค�ำมี

กราฟิกดีไซน์

พิมพ์พิสุทธิ์ พังจูนันท์ วรเชษฐ สมประสงค์ จักรพันธ์ สิงห์ดี

ช่างภาพ

ชัยวิชญ์ แสงใส ปณต ปิติจารุวิศาล กิติวัฒน์ ทิศมั่ง วิทยา ประเสริฐสังข์

ตัดต่อวีดีโอ

วัชรกรณ์ พรหมจรรย์ ฝ่ายบัญชี / การเงิน

บัญชี

ปัฐมาภรณ์ แสงบุราณ

ผู้จัดการการเงิน

สุจิตรา แดนแก้วนิต

การเงิน

จันทิพย์ กันภัย ณภัทร ชื่นสกุล ชวัลชา นกขุนทอง วัดเขาดิน @อ�ำเภอบางปะกง

.indd 11

www.sbl.co.th

10/10/61 09:55:16


CONTE NTS C H A C H O E N G S AO

2018

ฉบับที่ 80 จังหวัดฉะเชิงเทรา พ.ศ.2561

issuu จังหวัดฉะเชิงเทรา

ย้อนรอยประวัติศาสตร์ “แปดริ้ว” ก่อนสมัยพุทธกาล อู่อารยธรรมที่มีชีวิตชีวามากว่า 5000 ปี

16

ใต้ร่มพระบารมี “ศูนย์ศึกษาการพั ฒนาเขาหินซ้อน อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ”

เพื่อช่วยเกษตรกรให้มีที่ดินท�ำกินจากผืนดินเสื่อมโทรมไม่สามารถท�ำการเกษตร โดยเปลี่ยนจากการสร้างต�ำหนัก มาเป็นศูนย์ศึกษาพัฒนาการเกษตรเพื่อชุมชน

22

บันทึกเส้นทางความเป็นมา

ย้อนรอยประวัติศาสตร์ “แปดริ้ว” ก่อนสมัยพุทธกาล อู่อารยธรรมที่มีชีวิตชีวามากว่า 5000 ปี

64

วัดโสธรวรารามวรวิหาร

32

EXCLUSIVE

บันทึกเส้นทางพบส�ำนักพระพุ ทธศาสนาจังหวัด “Sacred & Religious sites” แปดริ้วเมืองแห่งพระศักดิ์สิทธิ์ 365 วัด

นายสุทธิรักษ์ หนูฉ้ง

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดฉะเชิงเทรา

.indd 12

40

คณะสงฆ์จังหวัดฉะเชิงเทรา ขับเคลื่อนธรรม ตามรอยพระพุทธเจ้า จากหมู่บ้านรักษาศีลห้า สู่ ต้นกล้าคุณธรรม “ฅนกล้าดี ศรีแปดริ้ว”

11/10/61 11:24:54


64

88

วัดโสธร หลวงพ่ อโสธรเป็นพระพุ ทธรูปคู่บ้านคู่เมืองแปดริว้ หรือจังหวัดฉะเชิงเทรา

วัดอุภัยภาติการาม

ที่มาของชื่อ “วัดหงส์” มาจากลักษณะเด่นของวัดที่มีเสาสูงใหญ่ มีหงส์เป็นเครื่องหมาย อยูบ่ นยอดเสาต่อมาเกิดพายุใหญ่พดั ตัวหงส์บนยอดเสาหักตกลงมาเหลือแต่ตวั เสา ชาวบ้าน จึงเอาธงขึ้นไปแขวนแทน และเปลี่ยนมาเรียกว่า “วัดเสาธง” แทน ส�ำหรับค�ำว่า “โสธร” ที่ปรากฏในปัจจุบันนั้น มีความหมายว่า “บริสุทธิ์” หรือ “ศักดิ์สิทธิ์” สันนิษฐานว่า มาจากการที่หลวงพ่อโสธรเป็นพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์และมีรูปทรงสวยงาม นอกจากนี้ยังมีผู้รู้บางท่านวิเคราะห์ว่า “โสธร” เป็นนามศักดิ์สิทธิ์ ตลาดบ้านใหม่ร้อยปี

44

72 76

วัดบางปรงธรรมโชติการาม

บันทึกเส้นทางท่องเที่ยว

ย้อนยุควันวานเพื่ออนาคต

ชุมชนริมน�้ำชาวไทยวัฒนธรรมเชื้อสายไทย-จีน

บานประตูศาลาการเปรียญ .indd 13

วัดปิตุลาธิราชรังสฤษฎิ์

80 84

วัดบ้านนาเทพธาราม วัดราษฎร์บ�ำรุงวนาราม

92 96

วัดนาคูโมทนามัย วัดอุดมมงคล

11/10/61 11:24:59


CO N T E N TS ฉบั บ ที่ 80 จั ง หวั ด ฉะเชิ ง เทรา พ.ศ.2561

100

วัดเทพนิมิตร “พระบรมสารีริกธาตุทัยมณี” พระบรมอัฐธิ าตุขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ที่แท้จริง ประดิษฐาน ณ มณฑปวัดโพธิ์ทัยมณี ต.บางจาน อ.เมืองเพชรบุรี จ.เพชรบุรี

102

วัดวีระโชติธรรมาราม “พระพุทธศรีศักดิ์สิทธิ์เป็นที่กล่าวขาน กระดูกโครงปลาวาฬใหญ่ หลวงตาไก่เทศน์ให้ฟัง ชมภาพผนังอุโบสถ อาหารสด ทะเลงาม”

วัดหงษ์ทอง ทต.นครเนื่องเขต

106

วัดโพธิ์บางคล้า

110

วัดหัวไทร

112

(วัดเปี่ ยมนิโครธาราม) วัดสาวชะโงก

117

118

วัดมงคลเทพ รักษาศีล ปฏิบัติธรรม และสร้างบุญบารมี

104

วัดไชยพฤฒาราม “คนล่วงทุกข์ได้เพราะความเพียร” ตามประวัติเล่าว่าสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชสมัยที่เป็นพระยาตาก ได้ยกทัพไปตีเมืองจันทบุรี ได้ผ่านมาทางวัดนี้จึงได้ท�ำการบูรณะซ่อมแซม ก่อนที่จะเดินทัพต่อไปเมืองจันทบุรี

.indd 14

พระประธานประจ�ำสวนป่าพระนามว่า “พระจอมจักรพรรดิ องค์ต้นธาตุต้นธรรม ในอนันตจักรวาล

11/10/61 11:25:07


ส า ร บั ญ จั ง หวั ด ฉะเชิ ง เทรา

CHACHOENGSAO 2018

162

วัดหัวสวน

วัดโพรงอากาศ วัดประศาสน์โสภณ

140

วัดสนามจันทร์

144

วัดหนองว่านเหลือง

145

วัดธารพู ด

146

วัดเกาะแก้วสุวรรณาราม

148

วัดห้วยน�้ำทรัพย์

150

โบสถ์สเตนเลส ด้วยแรงแห่งศรัทธา ในบวรพระพุทธศาสนา ตลอดกาล จุดเด่นของวัดหัวสวนคือ โบสถ์สเตนเลส ซึ่ง พระครูภาวนาจริยคุณท่านเจ้าอาวาสหวังให้โบสถ์มีอายุยาว เป็นพันปี

120 วัดแจ้ง

กราบพระพุทธบาทจ�ำลอง ชืน่ ชม พระอุโบสถทีม่ คี วามงดงาม แห่งสถาปัตยกรรมศิลปะไทย-จีน หนึ่งเดียวในบางคล้า

วัดคลองเจ้า

122

วัดหงษ์ทอง

126

วัดบางผึ้ง

132

ทต.พิ มพา

134

.indd 15

152

วัดวังเย็น

กราบสักการะ “หลวงพ่อโสธรประจ�ำวันเกิด” ที่นี่ที่เดียว ส�ำนักปฏิบัติธรรมประจ�ำจังหวัดฉะเชิงเทรา แห่งที่ 10

วัดสัมปทวนนอก

11/10/61 11:25:15


KHAO HIN SORN

ROYAL DEVELOPMENT STUDY CENTER

ศูนย์ศึกษาการพั ฒนาเขาหินซ้อน อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อน อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ ตั้งอยู่เลขที่ 7 หมู่ 2 ต� ำ บลเขาหิ น ซ้ อ น อ� ำ เภอพนมสารคาม จั ง หวั ด ฉะเชิ ง เทรา ได้ รั บ การสถาปนาจาก พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช รั ช กาลที่ 9 เมื่ อ วั น ที่ 8 สิ ง หาคม พ.ศ. 2522 ในคราวเสด็จพระราชด�ำเนินมาเปิดศาลพระบวรราชานุสาวรีย์ ของพระบาท สมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ณ ต�ำบลเขาหินซ้อน อ�ำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา ณ ที่นั้น ราษฎร 7 ราย ได้น้อมเกล้าฯ ถวายที่ดินบริเวณหมู่ 2 ต�ำบลเขาหินซ้อน อ�ำเภอ พนมสารคาม จั ง หวั ด ฉะเชิ ง เทรา จ� ำ นวน 264 ไร่ เพื่ อ ต้ อ งการให้ ส ร้ า งพระต� ำ หนั ก ด้วยเห็นว่า พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จไปที่ ไหนก็พยายามที่จะพัฒนาท�ำให้ที่ดิน เจริญขึ้น เนื่องจากผืนดินเสื่อมโทรมไม่สามารถท�ำการเกษตรได้ ดั ง พระราชด� ำ รั ส “…ประวั ติ มี ว ่ า ตอนแรกมี ที่ ดิ น 264 ไร่ ที่ ผู ้ ใ หญ่ บ ้ า นให้ เ พื่ อ สร้ า ง พระต�ำหนักในปี 2522 ทีเ่ ชิงเขาหินซ้อนใกล้วดั เขาหินซ้อน ตอนแรกก็ตอ้ งค้นคว้าว่าทีต่ รง นั้นคือตรงไหน ก็พยายามสืบถาม ก็ได้พบบนแผนที่พอดีอยู่มุมบนของระวางของแผนที่ จึงต้องต่อแผนที่ 4 ระวาง ส�ำหรับให้ได้ทราบว่าสถานที่ตรงนั้น อยู่ตรงไหน ก็เลยถาม ผู้ที่ให้นั้นนะ ถ้าหากไม่สร้างต�ำหนัก แต่ว่าสร้างเป็นสถานที่จะศึกษาเกี่ยวกับการเกษตร จะเอาไหม เขาก็บอกยินดีก็เลยเริ่มท�ำในที่นั้น” 16

SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา

.indd 16

10/10/2561 16:41:45


“เพื่อช่วยเกษตรกรให้มีที่ดินท�ำกินจาก ผืนดินเสื่อมโทรมไม่สามารถท�ำการเกษตร โดยเปลี่ยนจากการสร้างต�ำหนัก มาเป็น ศูนย์ศึกษาพัฒนาการเกษตรเพื่อชุมชน”

CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 17

17

10/10/2561 16:41:46


พืน้ ทีบ่ ริเวณดังกล่าวมีสภาพเสือ่ มโทรม ดิ น ขาดความอุ ด มสมบู ร ณ์ เนื้ อ ดิ น เป็ น ทราย มีการชะล้างการพังทลายของดินสูง ดินรองรับน�้ำได้เพียง 30 มิลลิเมตร มีการ ปลูกพืชชนิดเดียว (มันส�ำปะหลัง) ติดต่อ กั น เป็ น เวลานาน โดยไม่ มี ก ารปรั บ ปรุ ง บ�ำรุงดิน ผลผลิตพืชที่ได้รับต�่ำ ดังพระราช ด�ำรัส “…ปัญหาที่ 1.ศูนย์ศึกษาการพัฒนา เขาหินซ้อน อ�ำเภอพนมสารคาม จังหวัด ฉะเชิงเทรา : พ.ศ.2522 …มีการตัดป่า แล้ ว ปลู ก พื ช ไร่ เช่ น ข้ า วโพด และมั น ส�ำปะหลัง ซึ่งท�ำให้ดินจืดและกลายเป็น ดินทราย มีแร่ธาตุน้อย ในฤดูแล้งจะมีการ ชะล้างเนื่องจากลมพัด (Wind Erosion) ในฤดูฝนจะมีการชะล้างเนื่องจากน�้ำเซาะ (Water Erosion) …”

และ “... ตอนศึกษาดูพนื้ ทีน่ นั้ พัฒนายากมากเพราะว่ามีแต่หนิ แล้วก็เขาปลูกมันส�ำปะหลัง ก็เลยนึกว่าอาจจะสาธิตการปลูกมัน ส�ำปะหลัง มันส�ำปะหลังนั้นแม้จะไม่มีน�้ำ ก็ยังพอปลูกได้โดยง่าย แต่ทนี่ เี่ ขาปลูกมันส�ำปะหลังไม่ขนึ้ หมายความว่าอะไร ปุย๋ ไม่มี น�ำ้ ไม่มี มีแต่ทราย ก็เลยว่าจะต้องพัฒนาที่นี่ให้เป็นที่ที่สามารถปลูก แม้แต่มนั ส�ำปะหลังอย่างนี้ การปลูกมันส�ำปะหลังก็ตอ้ งรูก้ ารสร้างดิน ไม่ใช่ทราย มีแต่ทราย แล้วก็สร้างน�ำ้ เพือ่ ทีจ่ ะให้มคี วามชุม่ ชืน้ หน่อย มันส�ำปะหลังนี้เขาเข้มแข็งมาก ไม่ต้องน�้ำเท่าไร แต่ที่นั่นมันไม่ ขึ้น ก็ถามก�ำนันคนที่ให้ ที่เขายอมรับว่าเขาให้เพราะเขาท�ำไม่ได้ เพราะเขาปลูกมันส�ำปะหลังไม่ได้ มหัศจรรย์ แต่เขาก็ยินดีถวาย แล้วก็ 264 ไร่ เห็นว่าน้อยเกินไป เลยบอกว่าที่ตรงนั้นขอซื้อเพิ่ม เติมหน่อยได้ไหม เขาก็ขาย ขายตรงนั้น เขาเตรียมส�ำหรับปลูกมัน ส�ำปะหลังแล้ว แต่ว่าเขาไม่ได้ปลูก...” 18

เมื่ อ ท� ำ การส� ำ รวจสภาพปั ญ หาของพื้ น ที่ พระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานข้อเท็จจริงแก่เจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง ณ ศาลาดุสดิ าลัย เมือ่ วันที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2531 ความตอนหนึง่ ว่า “...อันแรกก็ได้ให้กรมชลประทานได้สร้างเป็นอ่างเก็บน�้ำ ซึ่งดูๆ ไปแล้วก็แปลก เพราะว่าอ่างเก็บน�้ำนั้นเท่ากับกินที่ของที่ที่ได้มา เกือบทัง้ หมดจะเหลือเพียงไม่กไี่ ร่ทจี่ ะใช้สำ� หรับการเพาะปลูก โดย ใช้นำ�้ ชลประทานก็เริม่ ต้นอย่างนัน้ คือ ไม่ถอื ว่าผิดหลักวิชา ความจริง ก็ผิดหลักวิชา มีที่เท่าไรก็มาใช้ ส่วนใหญ่เป็นอ่างเก็บน�้ำ แล้วก็ มาใช้ประโยชน์ส�ำหรับการเพาะปลูกเพียงไม่กี่ไร แต่ถือว่าท�ำเป็น ตัวอย่างแล้ว ผลประโยชน์ทจี่ ะได้กไ็ ม่ใช่เฉพาะในทีข่ องเรา เป็นใน ที่ที่ลงไป ข้างล่างคงได้รับประโยชน์ส�ำหรับสถานที่ก่อสร้างนั้น...”

SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา

.indd 18

10/10/2561 16:41:49


และ “...ก่อนอื่นได้สร้างเขื่อนกั้นห้วยเจ๊ก ซึ่งมีน�้ำซับ (พิกัด QR.715208) เมื่อไปท�ำพิธีเปิดพระบรมรูปสมเด็จพระปิ่นเกล้าฯ ที่ วั ด เขาหิ น ซ้ อ น ได้ ไ ปส� ำ รวจพื้ น ที่ แ ละก� ำ หนดที่ ท� ำ เขื่ อ น (8 สิงหาคม พ.ศ. 2522) ต่อจากนั้นได้สร้างอ่างเก็บน�้ำเพิ่มเติม (นอกเขต) คือ อ่างห้วยส�ำโรงเหนือ และห้วยส�ำโรงใต้...” และ “...เมือ่ พัฒนาน�ำ้ ขึน้ มาบ้างแล้ว ก็เริม่ ปลูกพืชไร่และเลีย้ งปลาในทีล่ มุ่ ส่วนที่อยู่บนเนินก็เลี้ยงปศุสัตว์ ปลูกหญ้า และต้นไม้ผลและป่า การเลีย้ งปศุสตั ว์ ปลูกหญ้าและต้นไม้นี้ จะท�ำให้ดนิ มีคณ ุ ภาพดีขนึ้ ในที่สุดจะใช้ดินได้ทั้งหมด กรรมวิธีนี้อาจต้องใช้เวลานาน จะ สามารถเปลี่ยนจากกระบวนการที่ไปทางเสื่อมมาเป็นทางพัฒนา ให้เป็นพืน้ ทีส่ มบูรณ์ เมือ่ จ�ำแนกชัน้ สมรรถนะของดินส�ำหรับพืชไร่ และการปลูกป่าแล้วก็สมควรทีจ่ ะมีการปลูกพันธุไ์ ม้ ซึง่ นอกจากจะ เป็นประโยชน์ต่อการรักษาผิวดิน และความชุ่มชื้นของอากาศแล้ว ยังมีประโยชน์ต่อการใช้ในครัวเรือน อาทิ ไม้เพื่อท�ำฟืน ไม้เพื่อท�ำ บ้าน และไม้ผล เป็นต้น...” ่ นต�ำหนักเป็นศูนย์ศึกษาพั ฒนาการ เปลีย เกษตรเพื่ อชุมชน จากนัน้ ทรงพระราชทานพระราชด�ำริในการจัดตัง้ ศูนย์ศกึ ษาการ พัฒนา อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ กล่าวคือ “…ด้านหนึ่งก็เป็นจุด ประสงค์ของศูนย์ศึกษา เป็นสถานที่ส�ำหรับค้นคว้าวิจัยในท้องที่ เพราะว่าแต่ละท้องที่สภาพฝนฟ้าอากาศและประชาชนในท้องที่ ต่างๆก็มีลักษณะแตกต่างกันมากเหมือนกัน...” และ “...เป็นการ สาธิตการพัฒนาเบ็ดเสร็จ หมายถึง ทุกสิง่ ทุกอย่าง ทุกด้านของชีวติ ประชาชนจะหาเลี้ ย งชี พ ในท้ อ งที่ จะท� ำ อย่ า งไร และได้ เ ห็ น วิทยาการแผนใหม่ จะสามารถที่จะหาดูวิธีการจะท�ำมาหากินให้ มีประสิทธิภาพ...” ทีส่ ำ� คัญคือ “...ศูนย์ศกึ ษาการพัฒนาฯ เป็นศูนย์ทรี่ วบรวมก�ำลัง ทัง้ หมดของเจ้าหน้าทีท่ กุ กรมกองทัง้ ในด้านการเกษตรหรือในด้าน สังคม ทั้งในด้านหางานการส่งเสริมการศึกษามาอยู่ด้วยกัน ก็ หมายความว่าประชาชนซึง่ จะต้องการทัง้ หลายก็สามารถทีจ่ ะมาดู ส่วนเจ้าหน้าทีจ่ ะให้ความอนุเคราะห์แก่ประชาชน ก็มาอยูพ่ ร้อมกัน ในที่เดียวกันซึ่งเป็นสองด้าน ก็หมายความถึงว่า ส�ำคัญปลายทาง คือ ประชาชนจะได้รับประโยชน์ และต้นทางของผู้เป็นเจ้าหน้าที่ จะให้ประโยชน์”

CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 19

19

10/10/2561 16:41:55


“ศูนย์ศึกษาการพั ฒนาเขาหินซ้อนอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ ตามแนวพระราชด�ำริ สู่การพั ฒนาอาชีพและสิ่งแวดล้อมให้ยั่งยืนตามวิถีพอเพี ยง” สร้างสรรค์พื้นที่ท�ำกินเพื่ อความเป็นอยู่ที่ดีข้น ึ ของราษฎร การพัฒนาดิน การวางแผนปลูกพืช และเลี้ยงสัตว์ที่เกษตรกร และผู้สนใจสามารถเข้ามาชมศึกษาค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติมและ น�ำไปปฏิบัติตามได้ เพื่อพัฒนาอาชีพและพื้นที่ท�ำกินของตนให้ เพิ่มผลผลิตมีฐานะความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น พร้อมทั้งส่งเสริมงานศิลป หัตถกรรมพืน้ บ้านเป็นอาชีพเสริมเพิม่ ฐานะความเป็นอยูท่ ดี่ ขี นึ้ เพิม่ รายได้จากอาชีพหลักอีกทางหนึง่ เป็นการพัฒนาพืน้ ทีร่ อบนอกศูนย์ ศึกษาฯ บริเวณลุ่มน�้ำโจนให้มีความเจริญขึ้น เป็นตัวอย่างแก่การ พัฒนาพื้นที่อื่นๆต่อไปให้น�ำวิธีการที่ได้ผลมาแล้วถูกต้อง ประหยัด และเกิดประโยชน์สูงสุดมาด�ำเนินการ ต่อมาราษฎรได้น้อมเกล้าฯ ถวายที่ดินเพิ่มเติมอีก 497 ไร่ ผนวกกับที่ดินบริเวณสวนรุกขชาติและสวนพฤกษศาสตร์ และได้ ทรงซื้อที่ดินที่อยู่ติดกับศูนย์ฯ เพิ่มเติมเพื่อจัดท�ำโครงการพัฒนา ส่วนพระองค์เขาหินซ้อน เนื้อที่ 655 ไร่ รวมเนื้อที่ทั้งหมดของศูนย์

20

1,895 ไร่ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้ชื่อว่า “ศูนย์ศึกษาการ พัฒนาเขาหินซ้อนอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ” นับเป็นศูนย์ศึกษา การพัฒนาอันเนื่องมากจากพะราชด�ำริแห่งแรกในจ�ำนวน 6 ศูนย์ ทั่วประเทศ มีพื้นที่ด�ำเนินการดังนี้ 1. พืน้ ที่ศนู ย์ศกึ ษาการพัฒนาเขาหินซ้อนฯ อ�ำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา มีเนื้อที่ประมาณ 1,240 ไร่ 2. โครงการส่วนพระองค์เขาหินซ้อนฯ อ�ำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา มีเนื้อที่ 655 ไร่ 3. หมู่บ้านขยายผลรอบศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อนฯ จ�ำนวน 33 หมู่บ้าน ในเขตต�ำบลเขาหินซ้อน ต�ำบลบ้านช่อง และ ต�ำบลเกาะขนุน มีเนื้อที่ประมาณ 178,897 ไร่ 4. พืน้ ทีร่ าษฎรน้อมเกล้าฯ ถวาย บ้านบ้านธารพูด ต�ำบลปากช่อง อ�ำเภอพนมสารคาม มีเนื้อที่ 33 ไร่ 5. โครงการส่วนพระองค์บางคล้า ต�ำบลเสม็ดเหนือ อ�ำเภอ บางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทรา มีเนื้อที่ประมาณ 114 ไร่

SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา

.indd 20

10/10/2561 16:41:59


ขอเชิญชม พิ พิธภัณฑ์ดิน ศูนย์ศึกษาการพั ฒนาเขาหินซ้อนอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ จัดสร้างขึน้ โดยมีวตั ถุประสงค์ เพือ่ ให้เป็นสถานทีส่ ำ� หรับเรียนรูเ้ รือ่ งราวเกีย่ วกับทรัพยากรดิน การส�ำรวจ จ�ำแนกดิน ภาพปัญหาและการ จัดการดินของประเทศไทย เพือ่ การใข้ประโยชน์อย่างยัง่ ยืน ภายในพิพธิ ภัณฑ์มกี ารจัดแสดงตัวอย่างหน้าตัดดินจ�ำลองของชุดดิน , สภาพพืน้ ที่ โดยทั่วๆ ไป บริเวณจังหวัดฉะเชิงเทรา จันทบุรี และตราด ลักษณะของดินที่มีปัญหาต่อการใช้ประโยชน์ทางการเกษตร พร้อมทั้งแนวทาง การปรับปรุงแก้ไข แนะน�ำการใช้ปุ๋ย รวมถึงข้อมูลทางวิชาการด้านอื่นๆ สามารถเข้าชมและสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ ศูนย์ศึกษา การพัฒนาเขาหินซ้อนอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ ตั้งอยู่เลขที่ 7 หมู่ 2 ต�ำบลเขาหินซ้อน อ�ำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา โทรศัพท์ 038-599105-6, 038-599117

CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 21

21

10/10/2561 16:42:02


จังหวัดฉะเชิงเทรา เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกของประเทศไทย มีอาณาเขตติดกับกรุงเทพมหานคร จังหวัดปทุมธานี จังหวัดนครนายก จังหวัดปราจีนบุรี จังหวัดสระแก้ว จังหวัดจันทบุรี จังหวัดชลบุรี และ จังหวัดสมุทรปราการ รวมถึงมีอาณาเขตติดกับอ่าวไทยเป็นระยะสั้น ประมาณ 12 กิโลเมตร

Chachoengsao

ยุคสมัยแห่งการเปลี่ยนผ่าน

ฉะเชิงเทราหรือที่นิยมเรียกกันว่า “แปดริ้ว” เคยเป็นเมืองหนึ่ง ที่อยู่ในอ�ำนาจการปกครองของขอมมาก่อนในสมัยอิทธิพลของ อาณาจักรลพบุรี (ขอม) เมืองฉะเชิงเทราตัง้ อยูส่ องฝัง่ แม่นำ�้ บางปะกง เป็นไปได้ว่าชาวเมืองสมัยโบราณอาจจะเรียกชื่อแม่น�้ำบางปะกงว่า คลองลึกหรือคลองใหญ่ ตามลักษณะทีม่ องเห็น แต่ดว้ ยอิทธิพลเขมร จึงได้เรียกชื่อแม่น�้ำ เป็นภาษาเขมรว่า “สตึงเตรง หรือ ฉทรึงเทรา” ซึ่งแปลว่า คลองลึก นั่นเอง ครั้นเรียกกันไปนานๆ เสียงเลยเพี้ยน กลายเป็น “ฉะเชิงเทรา” แต่กม็ คี วามเห็นอืน่ ทีแ่ ตกต่างออกไปว่าชือ่ “ฉะเชิงเทรา” น่าจะ เพี้ยนมาจาก “แสงเชรา” หรือ “แซงเซา” หรือ “แสงเซา” อันเป็นชื่อ เมื อ งที่ ส มเด็ จ พระบรมราชาธิ ร าช เสด็ จ ไปตี ไ ด้ ต ามที่ พ ระราช พงศาวดารฉบับหลวงประเสริฐกล่าวไว้มากกว่า

ย้อนรอยประวัติศาสตร์ “แปดริ้ว” ก่อนสมัยพุทธกาล อู่อารยธรรมที่มีชีวิตชีวามากว่า 5000 ปี 22

SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา

.indd 22

10/10/2561 9:48:20


ย้อนรอยประวัติศาสตร์ “แปดริ้ว” ก่อนสมัยพุทธกาล อู่อารยธรรมที่มีชีวิตชีวามากว่า 5000 ปี ส่วนความเป็นมาของชื่อ “แปดริ้ว” ก็มีเล่าขานกันมาหลาย กระแส บ้างก็ว่าที่ได้ชื่อว่าเมืองแปดริ้ว ก็เพราะขนาดอันใหญ่โตของ ปลาช่อนที่ชุกชุมเมื่อน�ำมาแล่ จะต้องแล่ถึงแปดริ้ว หรือไม่ก็ว่ามา จากนิทานพื้นบ้านเรื่อง “พระรถเมรี” เล่าว่ายักษ์ฆ่านางสิบสองแล้ว ช�ำแหละศพออกเป็นชิ้นๆ รวมแปดริ้ว ทิ้งลอยไปตามล�ำน�้ำท่าลาด ส�ำหรับข้อสันนิษฐานการตั้งเมืองฉะเชิงเทรา ปรากฏครั้งแรก ในสมัยกรุงศรีอยุธยา ในฐานะหัวเมืองชัน้ ในหรือเมืองจัตวา ในแผ่นดิน ของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ (พ.ศ.1991-2031) แต่ส�ำหรับ หลั ก ฐานทางประวัติศาสตร์ ปรากฏชัดเจนในสมั ย พระนเรศวร มหาราชที่ใช้ เมืองฉะเชิงเทราเป็นที่รวบรวมไพร่พล เมื่อ พ.ศ.2136

ด้ ว ยชั ย ภู มิ ข องเมื อ งที่ เ หมาะแก่ ก ารท� ำ สงครามกองโจร ท� ำ ให้ ฉะเชิงเทราเป็นเมืองหน้าด่านที่ใช้ป้องกันศัตรู ปกป้องเมืองหลวง จวบจนสู่การปกครองระบบประชาธิปไตยในปี พ.ศ.2475 และในปี พ.ศ.2476 มีการกระจายอ�ำนาจจากส่วนกลางสู่ส่วนภูมิภาค ค�ำว่า เมื องเปลี่ ย นเป็ นจั ง หวั ด มี ผู ้ ว ่ าราชการจั งหวัด เป็น ผู้ครองเมือง หลังจากนั้นในปี พ.ศ. 2495 ซึ่งเป็นปีที่มีการตั้งภาคครั้งสุดท้ายของ ไทย ฉะเชิงเทราได้รับเลือกเป็นสถานที่ภาคมีเขตความรับผิดชอบ 8 จังหวัด ซึ่งนับเป็นบทบาทที่ส�ำคัญทางประวัติศาสตร์การปกครอง ของจังหวัดฉะเชิงเทรา

CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 23

23

10/10/2561 9:48:23


มัยพุทธกาล อู่อารยธรรมที่มีชีวิตชีวามากว่า 5000 ปี

“ฉะเชิงเทรา” กับ “แปดริว้ ” “ฉะเชิงเทรา” กับ “แปดริ้ว” คือสองชื่อที่เรียกขานเมืองนี้ “ฉะเชิงเทรา” เป็นชื่อที่ใช้ในทางราชการ ส่วน “แปดริ้ว” เป็นภาษาท้องถิ่นที่ชาวบ้านใช้เรียกกันมาช้านาน ซึ่งทั้งสองชื่อต่างก็มีเรื่องเล่าขานถึง ความเป็นมาอย่างหลากหลายและมีสีสัน “ฉะเชิงเทรา” มีต้นเค้านึ่งมาจากหนังสือชุมนุมพระนิพนธ์ภาคปกิณกะ ภาค 1 ในพระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งมีความพาดพิงถึงเมืองฉะเชิงเทราว่า “...ชื่อบ้านเมืองเหล่านี้เป็นชื่อไทยบ้าง ชื่อเขมรบ้าง เป็นสองชื่อทั้งไทยทั้งเขมรบ้าง อย่างเมืองฉะเชิงเทราเป็นชื่อเขมร แปดริ้วเป็นชื่อไทย...” ส่วนความเป็นมาของชื่อ “แปดริ้ว” ก็มีต�ำนานเล่าขานกันมาหลายกระแสไม่แพ้กัน บ้างก็ว่าเมืองนี้ แต่ไหนแต่ไรมาเป็นเมืองอูข่ า้ วอูน่ ำ�้ ในล�ำน�ำ้ อุดมสมบูรณ์ดว้ นสัตว์นำ�้ นานาชนิด โดยเฉพาะปลาช่อนซึง่ เป็น ปลาน�้ำจืดรสดีนั้นมีชุกชุมและขนาดใหญ่กว่าในท้องถิ่นอื่นๆ จนเมื่อน�ำมาแล่เนื้อท�ำปลาตากแห้ง จะแล่เพียงสีร่ วิ้ หรือห้าริว้ ตามปกติไม่ได้ ต้องแล่ออกถึง “แปดริว้ ” เมืองนีจ้ งึ ได้ชอื่ ว่า “แปดริว้ ” ตามขนาด ใหญ่โตของปลาช่อนซึ่งเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวของเมือง นอกจากเรื่องปากท้องซึ่งเป็นเรื่องใหญ่และ มี อิ ท ธิ พ ลต่ อ ความคิ ด ของชาว บ้ า นอย่ า งมากแล้ ว นิ ท านพื้ น บ้ า นซึ่ ง มี เ นื้ อ เรื่ อ งค่ อ นข้ า งผาดโผน ก็มสี ว่ นสร้างความเชือ่ ถือใน เรือ่ งชือ่ เมืองได้เหมือนกัน คนในท้องถิน่ พนมสารคามเล่าถึงเรือ่ ง “พระรถ-เมรี” ซึง่ เป็นนิทานเรือ่ งหนึง่ ในปัญญาสชาดกว่า ยักษ์ได้ฆา่ นางสิบสองแล้วลากศพไปยังท่าน�ำ้ ในบริเวณทีเ่ ป็น คลอง”ท่าลาด” แล้วช�ำแหละศพออกเป็นริว้ ๆ รวมแปดริว้ แล้วทิง้ ลอยไปตามล�ำน�ำ้ ท่าลาด ริว้ เนือ้ ริว้ หนัง ของนางสิบสองลอยมาออกยังแม่น�้ำบางปะกง ไปจนถึงฉะเชิงเทรา เมืองนี้จึงได้ชื่อว่า “แปดริ้ว”

24

SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา

.indd 24

10/10/2561 9:48:24


CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 25

25

10/10/2561 9:48:25


26

SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา

.indd 26

10/10/2561 9:48:26


พื้นที่และแผ่นดินฉะเชิงเทรา มีเนื้อที่กว่า 5,000 ตาราง กิโลเมตรหรือกว่า 3 ล้านไร่ กว้างใหญ่กว่าเมืองอืน่ ใดในแผ่นดินภาค ตะวันออกของไทยนอกจากจันทบุรี อาณาเขตของจังหวัดแผ่ไปจน จรดนครนายกและปราจีนบุรีทางทิศเหนือ ชลบุรีและจันทบุรีทาง ทิ ศ ใต้ ปราจี น บุ รี ท างทิ ศ ตะวั น ออก และกรุ ง เทพมหานคร สมุ ท รปราการ และปทุ ม ธานี ท างทิ ศ ตะวั น ตก พื้ น ที่ ทั่ ว ไปของ ฉะเชิงเทราเป็นที่ราบลุ่ม เว้นแต่เพียงบางส่วนที่เป็นที่ราบลูกฟูก ที่ดอนและภูเขาเตี้ยๆ พื้นที่ราบนั้นสมบูรณ์เหมาะแก่การเพาะปลูก ส่วนบริเวณเทือกเขาปกคลุมด้วยป่าไม้อันอุดมไปด้วยไม้มีค่า และ สัตว์ป่าหายาก ทั้งยังเป็นแหล่งต้นน�้ำล�ำธาร

แม่น�้ำบางปะกง เส้นเลือดใหญ่ของฉะเชิงเทราก็ถือก�ำเนิด จากเทือกเขาเหล่านี้ แล้วไหลลงสู่เบื้องล่างเพื่อหล่อเลี้ยงให้ความ สมบูรณ์กับผืนดินก่อนลงสู่ ทะเลที่อ่าวไทย สายน�้ำบางปะกงอัน คดเคี้ยวแบ่งพื้นดินออกเป็นสองส่วน ฟากหนึ่งคือความเป็นเมือง อันทันสมัย อาคาร บ้านเรือนและโรงงานก�ำลังผุดขึน้ ตามความเจริญ เติบโตทางเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม ส่วนอีกฟากหนึ่งเขียวชอุ่มไป ด้ ว ยป่ า และพื้ น ที่ เ กษตรอั น ดารดาษด้ ว ยนากุ ้ ง สวนผลไม้ แ ละ นาข้าวออกรวงสีทองอร่าม ตลอดสองฝัง่ น�ำ้ ป่าจากอันเป็นพืชดัง้ เดิม คูล่ ำ� น�ำ้ บางปะกงยังคงหนาทึบ ใบสีเขียวเข้มเอนลูไ่ หวไปมาเสียดสีกนั ยามต้องสายลม ฉะเชิงเทราเป็นเมืองใกล้ทะเล มีส่วนที่ติดกับชายฝั่งยาวถึง 12 กิโลเมตรที่อ�ำเภอบางปะกง ตลอดแนวชายฝั่งคือป่าชายเลน ที่ยังคงสภาพสมบูรณ์ พื้นที่ติดทะเลท�ำให้เมืองนี้ได้รับอิทธิพลจาก ลมบกและลมทะเลอย่างเต็มที่ และด้วยลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ และตะวันตกเฉียงใต้ ฉะเชิงเทราจึงชุ่มชื้นด้วยฝนที่ตกต้องตาม ฤดูกาล อันน�ำพาพืชพรรณธัญญาหารให้ผลิดอกออกผลสะพรั่ง ตลอดปี

CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 27

27

10/10/2561 9:48:27


อู่อารยธรรมกว่า 5000 ปี ฉะเชิงเทราในอดีต เมืองฉะเชิงเทราถือก�ำเนิดขึ้นเมื่อใด ไม่มี ผู้ยืนยันได้แน่ชัด แต่จากที่ตั้งของเมือง นักโบราณคดีสันนิษฐานว่า ริมฝั่งแม่น�้ำบางปะกงแห่งนี้ เมื่อหลายพันปีก่อน น่าจะเป็นแหล่ง อารยธรรมส�ำคัญแห่งหนึ่งเช่นเดียวกับที่ราบลุ่มแม่นำ�้ อื่นๆ ซึ่งเป็น แหล่งพักพิงอาศัยของผู้คนมาแต่โบราณ และเมื่อมีการขุดค้นพบ โครงกระดูกและเครื่องประดับมีค่าอายุกว่า 5,000 ปี ณ แหล่ง โบราณคดีโคกพนมดี อ�ำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี ซึ่งเชื่อว่าอยู่ใน เขตการปกครองของเมืองฉะเชิงเทรามาก่อน จึงเกิดเป็นหลักฐานว่า ผู้ที่เคยอาศัยอยู่ในบริเวณนี้ในครั้งนั้น น่าจะเป็นมนุษย์โบราณสมัย ก่อนประวัติศาสตร์ทั้งหลายก็น่าจะตั้งรกรากอยู่ ใกล้เคียงกันตาม ชายฝั่งทะเลแถบนี้ จึงมีความเป็นไปได้ว่า เจ้าของอารยธรรมที่โคก พนมดีอาจจะเป็นบรรพชนของผูส้ ร้างอารยธรรมยุคส�ำริด อันเลือ่ งชือ่ ที่บ้านเชียง จังหวัดอุดรธานีก็ได้ เมื่อล่วงเข้าสู่สมัยประวัติศาสตร์ แหล่งอารยธรรมลุ่มแม่น�้ำ บางปะกงดูจะมีหลักฐานชัดเจนขึ้น แต่บ้านเมืองในยุคต้นพุทธกาล นี้ก็ยังมิได้รวมเป็นลักษณะ “อาณาจักร” ที่มีราชธานี ณ ที่ใดที่หนึ่ง เป็นศูนย์กลางการปกครอง คงเป็นเพียงการรวมกลุม่ ขึน้ เป็น “แคว้น” หรื อ “นครรั ฐ ” เล็กๆ กระนั้น บทบาทส�ำคัญทางเศรษฐกิ จ ก็ ไ ด้ เริ่มขึ้นแล้ว หากพิจารณาจากสภาพภูมิศาสตร์ ชุมชนศูนย์กลาง ของอารยธรรมกลุ่มแม่น�้ำบางปะกงนั้น น่าจะเป็นทางออกสู่ทะเล ซึ่งสามารถติดต่อซื้อขายหรือแลกเปลี่ยนสินค้าและ วัฒนธรรมกับ ดินแดนโพ้นทะเล และในขณะเดียวกัน ก็สามารถน�ำพาสินค้าและ วัฒนธรรมเหล่านั้นไปยังดินแดนภายในแผ่นดินใหญ่ ซึ่งอยู่บริเวณ ที่ ร าบสู ง ในภาคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ และที่ ร าบต�่ ำ ในกั ม พู ช า อันถือได้ว่าเป็นบ่อเกิดแห่งอารยธรรมสมัยโบราณของภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ได้อย่างสะดวก หลักฐานทางโบราณคดีที่ค้นพบ ได้ในบริเวณนั้น ไม่ว่าจะเป็นสถาปัตยกรรมหรือประติมากรรม ล้วน แสดงว่าชุมชนแห่งนี้มีอายุต่อเนื่องยืนยาวหลายพันปี และมีมนุษย์ อาศัยสืบเนื่องมาไม่ขาดสายตั้งแต่ยุคบรรพกาลจนถึงปัจจุบัน ปัจจุบันจังหวัดฉะเชิงเทรามีองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น ทั้งหมด 110 แห่ง แบ่งออกเป็น 1 เทศบาลเมือง 33 เทศบาลต�ำบล 1 องค์การบริหารส่วนจังหวัด และ 74 องค์การบริหารส่วนต�ำบล

28

SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา

.indd 28

10/10/2561 9:48:28


CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 29

29

10/10/2561 9:48:29


ซอกแซกเมืองแปดริว้ ที่ซุกซ่อนความงามตระการตาอย่างคาดไม่ถึง

.indd 30

10/10/2561 9:48:30


.indd 31

10/10/2561 9:48:31


EXCL USIV E INT E R V IE W

บันทึกเส้นทางพบส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดฉะเชิงเทรา

32

SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา

6

.indd 32

9/10/2561 18:21:43


EXCLUSIVE INTERVIEW

Chachoengsao Provincial Office of

BUDDHISM ผู้อ�ำนวยการส�ำนั ก งานพระพุ ทธศาสนาจั งหวั ด ฉะเชิ งเทรา

นายสุท ธิรัก ษ์ หนูฉ ้ง

นิ ต ยสาร SBL บั น ทึ ก ประเทศไทย มี ค วามยิ น ดี เ ป็ น อย่ า งยิ่ ง ที่ ท ่ า นสุ ท ธิ รั ก ษ์ หนู ฉ ้ ง ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานพระพุทธศาสนา จังหวัดฉะเชิงเทรา ให้โอกาสอันพิเศษในการสนทนาถึง บทบาทหน้าที่ วิสัยทัศน์ พันธกิจตลอดจนน�ำเสนอวัดทั้งหมดในจังหวัด และวัดที่น่าเดินทางมา ท่องเที่ยว ทางธรรมน้อมน�ำธรรมะกลับไปใช้ ในชีวิตประจ�ำวัน อีกทั้งแนะน�ำพระสุปฏิปันโนที่ส�ำคัญ ในจังหวัด เพื่ อ ให้ นั ก เดิ น ทางท่ อ งเที่ ย วสามารถไปท� ำ บุ ญ ใส่ บ าตรฟั ง ธรรม และปฏิ บั ติ ธ รรมในวั ด ต่ า งๆ ทุ ก ฤดูกาลในจังหวัดฉะเชิงเทรา

CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย

6

.indd 33

33

9/10/2561 18:21:45


EXCLUSIVE INTERVIEW

“เรามีวัดโสธร ใครที่ไหนก็รู้จัก ถ้าพูดถึงแปดริ้วก็รู้จักหลวงพ่อโสธร เป็นหลวงพ่อศักดิ์สิทธิ์ ประจ�ำจังหวัดฉะเชิงเทรา ประจ�ำเมือง ประจ�ำประเทศของเรา” ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดฉะเชิงเทรา ธรรมะ

สร้างพระสติ สู่ AEC ในอนาคตอย่างมั่นคง นอกจากวัดแล้วก็มสี ถานทีท่ อ่ งเทีย่ วอืน่ ๆ อีกมากมาย มีประเพณีอื่นๆ ของชาวมอญ ชาวรามัญของเราก็มี บางปะกงก็ดี หลาย อ�ำเภอ หลายต�ำบล เรามีผลิตภัณฑ์ทาง เกษตรที่มีชื่อเสียง อาทิ มะม่วงของจังหวัด ฉะเชิงเทรา งานประจ�ำปีกม็ งี านมะม่วงทุกปี แล้วก็ไปทางอ�ำเภอท่าตะเกียบ จะมีอา่ งเก็บน�ำ้ มีเขือ่ น ไปเทีย่ วได้ แล้วก็มสี บั ปะรดคุณภาพ ดีอย่างหนึง่ ของ จังหวัดฉะเชิงเทรา มีอำ� เภอ สนามชัยเขตทางท่าตะเกียบ ที่ส�ำคัญต่อไปใน จังหวัดฉะเชิงเทรา เป็นเมืองส�ำคัญ เมือง AEC หรือว่าระเบียง เศรษฐกิจซึ่งก�ำลังจะพัฒนาซึ่งเป็นนโยบาย ที่ส�ำคัญของรัฐบาลอีกด้วยนะครับ

ส�ำนักงานพระพุทธศาสนา

จังหวัดฉะเชิงเทรา ตั้ ง แต่ รั ฐ บาลประกาศใช้ พ ระราช บั ญ ญั ติ ร ะเบี ย บบริ ห ารราชกาลแผ่ น ดิ น (ฉบับที่5) พ.ศ.2545 ประกาศในราชกิจ จานุเบกษา เมื่อวันที่ 2 ตุลาคม พ.ศ.2545 เป็นต้นมา โดยมีฐานะเป็นหน่วยงานระดับกรม ขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี เพื่อให้สอดคล้อง 34

กับบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติระเบียบ บริหารราชการแผ่นดิน นายกรัฐมนตรีจึงได้ ออกกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการส�ำนักงาน พระพุ ท ธศาสนาแห่ ง ชาติ เมื่ อ วั น ที่ 8 ตุ ล าคม พ.ศ.2545 ซึ่ ง คณะกรรมการ ก� ำ หนดเป้ า หมายและนโยบายก� ำ ลั ง คน ภาครัฐส�ำนักงานคณะกรรมการข้าราชการ พลเรือน มีมติอนุมัติให้ก�ำหนดต�ำแหน่งใน ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ จ�ำนวน 222 ต�ำแหน่ง โดยนายสุทธิวงศ์ ตันตยา พิศาลสุทธิ์ เป็นผูด้ ำ� รงต�ำแหน่งผูอ้ ำ� นวยการ ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติในขณะนัน้ จึงแต่งตั้งข้าราชการให้ด�ำรงต�ำแหน่งตามที่ คณะกรรมการข้าราชการพลเรือนก�ำหนด ตั้งแต่วันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ.2545 ต่อมาเมื่อวันที่ 7 มีนาคม พ.ศ.2549 ได้ยกเลิกกฎกระทรวงแบ่งส่วนส�ำนักงาน พระพุทธศาสนาแห่งชาติ พ.ศ.2545 และ ได้ อ อกกฎกระทรวงแบ่ ง ส่ ว นส� ำ นั ก งาน พระพุทธศาสนาแห่งชาติ พ.ศ.2549 โดย มีผลให้ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัด ฉะเชิ ง เทราเป็ น หน่ ว ยงานสั ง กั ด ราชการ บริหารส่วนภูมิภาคอยู่ในบังคับบัญชาของ ผู้ว่าราชการจังหวัด

ส� ำ นั ก งานพระพุ ท ธศาสนาจั ง หวั ด ฉะเชิ ง เทรา เมื่ อ ครั้ ง แรกเริ่ ม มี ส� ำ นั ก งาน ตั้งอยู่ที่อาคารส�ำนักงานศึกษาธิการจังหวัด ฉะเชิงเทรา ต่อมาได้รบั เมตตาจากพระธรรม ปริยัติมุนี (พระเทพปัญญาเมธี ในขณะนั้น) ปัจจุบันด�ำรงต�ำแหน่ง ที่ปรึกษาเจ้าคณะ ภาค 12 เจ้าอาวาสวัดปิตุลาธิราชรังสฤษฎิ์ (วั ด เมื อ ง) พระอารามหลวง อนุ ญ าตให้ ใช้ อ าคารส่ ว นหนึ่ ง ของศาลาการเปรี ย ญ วัดปิตลุ าธิราชรังสฤษฎิ์ เป็นทีป่ ฏิบตั ริ าชการ ซึ่งตั้งอยู่ที่ ถนนมรุพงษ์ ต�ำบลหน้าเมือง อ�ำเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา ต่อมาได้ยา้ ยมาอยูใ่ นอาคารศาลากลางจังหวัด ฉะเชิงเทรา ถนนเรืองวุฒิ ต�ำบลหน้าเมือง อ�ำเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา “ ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดฉะเชิงเทรา เป็นหน่วยงานสนองงานคณะสงฆ์ ในการส่งเสริม พั ฒ นาคุ ณ ธรรมจริ ย ธรรม ให้ สั ง คมมี ค วามสุ ข ด้วยหลักพุทธธรรม ” วิสัยทัศน์ ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดฉะเชิงเทรา

SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา

6

.indd 34

9/10/2561 18:21:45


พันธกิจ

“ส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนาบุคลากร ด้านคุณธรรมจริยธรรม เพื่อน�ำหลักธรรมสู่ สังคมและประชาชนอย่างมีคุณภาพ”

อ�ำนาจหน้าที่

1. ศึกษา วิเคราะห์ และรายงานข้อมูล สารสนเทศด้านพระพุทธศาสนาเพือ่ ก�ำหนด นโยบายในระดับจังหวัดรวมทัง้ เสนอแนะแนว ทางแก้ไข 2. ติดตามและประเมินผลการด�ำเนิน งานตามนโยบาย แผนงาน โครงการของ หน่วยงานในความดูแลของส�ำนักงานพระพุทธ ศาสนาจังหวัด รวมทัง้ รายงานผลการด�ำเนิน งาน ปั ญ หาและอุ ป สรรคให้ ห น่ ว ยงานที่ เกี่ยวข้องทราบ 3. ส่งเสริม ดูแล รักษา และท�ำนุบ�ำรุง ศาสนสถาน และศาสนวัตถุทางพระพุทธ ศาสนา รวมทัง้ ดูแลรักษา และจัดการวัดร้าง และศาสนสมบัติกลางในจังหวัด

4. ส่งเสริมและสนับสนุนให้วัดเป็น ศูนย์กลางการเรียนรู้ และแหล่งภูมิปัญญา ของชุมชน รวมทั้งส่งเสริมให้มีศูนย์กลางใน การจัดกิจกรรมทางพระพุทธศาสนาของ จังหวัด

ยุทธศาสตร์

1. ท�ำนุบ�ำรุงส่งเสริมพระพุทธศาสนา 2. ส่งเสริมสนับสนุนการเผยแผ่ หลักธรรมพระพุทธศาสนา 3. ส่งเสริมสนับสนุนการศึกษา พระปริยัติธรรม

การด�ำเนินงาน

ส� ำ นั ก งานพระพุ ท ธศาสนาจั ง หวั ด ฉะเชิงเทรามีภารกิจ ตามกฎกระทรวงแบ่ง ส่วนราชการ พ.ศ.2549 และด�ำเนินการใน ภารกิจระดับพื้นที่ ได้แก่ 1. ด้านศาสนพิธี ด�ำเนินการและช่วย เหลือด้านศาสนพิธี

2. ด้านศาสนธรรม ส่งเสริมการเผยแผ่ ตามหลั ก ธรรมทางพระพุ ท ธศาสนาทุ ก ช่องทาง 3. ด้านศาสนสมบัติ ดูแลรักษาศาสน วัตถุ 4. ด้านศาสนสถาน สนองงานการขอ อนุ ญ าตสร้ า งวั ด การตั้ ง วั ด การขอพระ ราชทานวิสุงคามสีมา เป็นต้น 5. ด้านศาสนบุคคล สนองงานคณะสงฆ์ 6. ด้านศาสนศึกษา สนองงานด้านการ ส่งเสริมการศึกษาของคณะสงฆ์ การศึกษา ในโรงเรียนพระปริยัติธรรม การสอบแผนก ธรรม บาลี เป็นต้น CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย

6

.indd 35

35

9/10/2561 18:21:48


EXCL USIV E INT E R V IE W

บันทึกเส้นทางพบส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดฉะเชิงเทรา

Religious Sites in Chachoengsao Province

SACRED & RELIGIOUS SITES แปดริ้วเมืองแห่งพระศักดิ์สิทธิ์ 365 วัด

จังหวัดฉะเชิงเทรามี จ� ำ นวนวั ด ทั้ ง หมด 365 วั ด ซึ่ ง กระจายอยู ่ ทั่ ว ทั้ ง 11 อ� ำ เภอ ที่นี่มีวัดต่างๆ ที่กระจายกันอยู่ มีวัดที่น่าสนใจและวัดที่ส�ำคัญมากมายหลายวัดเลยทีเดียว โดยวัดในจังหวัดฉะเชิงเทรานี้ มีทั้งเถรวาท และมหายาน ส�ำหรับเถรวาท ประกอบด้วย คณะสงฆ์ธรรมยุต และมหานิกาย ส่วนมหานิกายมี คณะสงฆ์จีนนิกาย คณะสงฆ์อนัมนิกาย (เป็นคณะสงฆ์นิกายมหายานในประเทศไทย ซึ่งสืบมาจากประเทศเวียดนาม) ในจังหวัด ของเรามีครบหมดเลย เพราะฉะนัน้ มาทีแ่ ปดริว้ ก็สามารถไปวัดส�ำคัญๆ ซึง่ มีอยูท่ วั่ ทัง้ จังหวัด คือทุกวัดนั่นเอง

36

SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา

6

.indd 36

9/10/2561 18:21:49


ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดฉะเชิงเทรา

365

Sacred & Religious Sites แปดริ้วเมืองแห่งพระศักดิ์สิทธิ์

WAT

THINGS TO DO IN CHACHOENGSAO PROVINCE‎

“วัดโสธรวรารามวรวิหาร” เป็นวัดที่ส�ำคัญ อยู่ในค�ำขวัญ ของจังหวัดฉะเชิงเทรา

วัดแรกก็ตอ้ งรูจ้ กั วัดหลวงพ่อพระพุทธ โสธร หรือ หลวงพ่อโสธร คือวัดโสธรวราราม วรวิหาร เป็นวัดที่ส�ำคัญ อยู่ในค�ำขวัญของ จังหวัดฉะเชิงเทราว่า “แม่น�้ำบางปะกงแหล่งชีวิตพระศักดิ์สิทธิ์ หลวงพ่ อ โสธร พระยาศรีสุนทรปราชญ์ ภาษาไทย อ่างฤๅไนป่าสมบูรณ์ ”

“วัดหัวสวน” พระอุโบสถสเตนเลส จุดประสงค์ที่สร้างเป็นสเตนเลสทั้งหลัง เพื่อหวังให้โบสถ์มีอายุยาวเป็นพันปี

“วัดปากน�้ำโจ้ โล้” พระอุโบสถทองค�ำสีทองสวยงาม หนึ่งเดียวในประเทศไทย

วัดหลวงพ่อโสธรเป็นพระอารามหลวง และก็อกี วัดหนึง่ ทีเ่ ป็นพระอารามหลวงก็คอื วัดปิตลุ าธิราชรังสฤษฎิ์ หรือ วัดเมือง ซึง่ อยู่ ใจกลางเมืองนีเ่ อง เป็นวัดทีเ่ ก่าแก่สร้างมานาน มี พ ระพุ ท ธรู ป ประจ� ำ พระอุ โ บสถอยู ่ ใ กล้ แม่น�้ำบางประกงของเรา ส่วนวัดในรอบเมืองก็มมี ากมายไปหมด เช่น ไปที่อ�ำเภอบางคล้าก็มวี ัดหัวสวน ซึ่งมี พระอุโบสถสเตนเลส สวยงามมากทีเดียว จุดประสงค์ทสี่ ร้างเป็นสเตนเลสทัง้ หลังก็เพือ่ หวังให้โบสถ์มีอายุยาวเป็นพันปี ตั้งอยู่ใน ต�ำบลเสม็ดเหนือ

อีกวัดหนึง่ คือ วัดโพธิบ์ างคล้า อยากให้ มากราบไหว้บูชาพระพุทธรูปปางไสยาสน์ ในโบสถ์เก่าซึ่งยังคงเป็นของดั้งเดิมตั้งแต่ สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย และสันนิษฐาน ว่าที่วัดแห่งนี้เคยเป็นที่พักทัพของสมเด็จ พระเจ้าตากสินมหาราช เมื่อครั้งยกทัพไป ต่อสูก้ บั พม่า ทีบ่ ริเวณปากน�ำ้ โจ้โล้ (ห่างจาก วัดประมาณ 1 กิโลเมตร) เมื่อราวๆ ปี พ.ศ. 2309 ปัจจุบันวัดนี้เป็นเขตอภัยทานก็ว่าได้ เป็นที่อยู่ของค้างคาวแม่ไก่เต็มไปหมดเลย ตอนกลางวันค้างคาวแม่ไก่กม็ านอนเกาะอยู่ บนต้นไม้ที่บริเวณวัดเห็นชัดเจน รอบนอก นี่ไม่อยู่ มีต้นไม้เยอะๆ ก็ไม่อยู่ จะอยู่ที่ใน บริเวณวัดคงเห็นว่าปลอดภัย แล้วก็กลางคืน จะออกหากินตามที่ต่างๆ วัดปากน�ำ้ โจ้โล้กอ็ ยูท่ บี่ างคล้าเช่นเดียวกัน มีอโุ บสถทองค�ำสีทองสวยงามมาก เป็นพระ อุโบสถหนึ่งเดียวในประเทศไทยที่ทาสีทอง ทั้ ง หลั ง ไม่ ว ่ า จะเป็ น ภายในหรื อ นอกตั ว อุโบสถ ที่งดงามตระการตาเป็นอย่างมาก

CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย

6

.indd 37

37

9/10/2561 18:21:55


EXCL USIV E INT E R V IE W

365

บันทึกเส้นทางพบส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดฉะเชิงเทรา

WAT

Sacred & Religious Sites แปดริ้วเมืองแห่งพระศักดิ์สิทธิ์

RELIGIOUS SITES IN CHACHOENGSAO PROVINCE‎ กล่าวชื่อวัดไปเรื่อยๆ เพื่อให้พี่น้องได้ รู้จัก วัดสมานรัตนาราม ก็เป็นอีกวัดหนึ่ง เป็นวัดประชารัฐจะมีพนี่ อ้ งไปท�ำการค้าขาย แลกเปลี่ยนสินค้า อาหารพืชผักสวนครัว อาหารพื้นเมืองของ จ.ฉะเชิงเทรา วัดแห่งนี้ เป็นวัดที่มีสิ่งศักดิ์สิทธิ์ถึง 10 อย่างด้วยกัน มีผคู้ นนิยมมาขอพร และท�ำบุญกันมากมาย เช่น หลวงพ่อโต พระประธานในอุโบสถหลังใหม่ หลวงพ่ อ องค์ ด� ำ พระพุ ท ธรู ป ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ หลวงพ่อประทานพร พระโพธิสัตว์กวนอิม ปางประทานบุตร เป็นต้น และก็มสี งิ่ ศักดิส์ ทิ ธิ์ ที่เคารพสักการบูชาอีกหลายอย่าง พี่น้องที่ เคารพนับถือหลวงพ่อมากมายหลายอย่าง

38

ในวัดสมานรัตนารามมีให้เคารพบูชาครบเลย ปัจจุบันวัดสมานรัตนารามก�ำลังก่อสร้าง โรงพยาบาลขนาด 700 กว่าล้าน มีหลวงพ่อ พระพิฆเนศให้พี่น้องได้สักการะด้วย วัดอุดมมงคล เป็นวัดทีห่ ลวงพ่ออุตตมะ พระเถระเชือ้ สายมอญจากประเทศพม่าหรือ เมียนมาในปัจจุบนั ท่านเป็นพระทีม่ เี มตตาสูง ผูก้ อ่ ตัง้ วัดวังก์วเิ วการาม ในจังหวัดกาญจนบุรี และช่วยเหลือชาวบ้านในทุกด้านจนได้รับ ฉายาว่าเทพเจ้าแห่งสังขละบุรี ท่านให้สร้าง วัดอุดมมงคลขึ้นที่แปดริ้วเป็นสถานปฏิบัติ ธรรมสุดท้ายก่อนทีท่ า่ นจะมรณภาพ นีก่ อ็ ยู่ ในอ�ำเภอเมืองนี่เอง

SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา

6

.indd 38

9/10/2561 18:21:59


POINTS OF INTEREST & LANDMARKS IN CHACHOENGSAO PROVINCE‎ วั ด หงษ์ ท อง นี่ เ ป็ น อุ โ บสถกลางน�้ ำ เมื่อก่อนนี่เป็นพื้นดิน แต่ตอนนี้น�้ำทะเลรุก เข้ามาและก็ลอ้ มรอบพระอุโบสถไว้ ส่วนอีก วั ด หนึ่ ง ที่ มี พ ระอุ โ บสถแก้ ว กลางน�้ ำ ก็ คื อ วัดวีระโชติธรรมาราม นีก่ อ็ ยูใ่ นเขตอ�ำเภอเมือง เช่นเดียวกัน แล้วก็มวี ดั ทีเ่ กีย่ วข้องกับหลวงปู่ เกจิอาจารย์ เช่น วัดอุสภาราม หรือวัดบางวัว นีเ่ ป็นวัดหลวงพ่อเกจิชอื่ ดังก็คอื หลวงพ่อดิง่ แล้วก็วัดบางสมัคร ก็มีหลวงพ่อเกจิดัง คือ หลวงปู่ฟู อติภทฺโท ปัจจุบันท่านมีอายุ 90 กว่าแล้ว ท่านยังแข็งแรงมากเป็นเกจิชื่อดัง ทีเ่ ป็นทีเ่ คารพนับถือของพีน่ อ้ งพุทธศาสนิกชน ทั้งใกล้ทั้งไกล

ส�ำหรับวัดอนัมนิกาย หรือว่าวัดญวน ในจั ง หวั ด ก็ คื อ วั ด อุ ภั ย ภาติ ก าราม วั ด นี้ เป็นที่ประดิษฐาน หลวงพ่อซ�ำปอกง หรือ หลวงพ่อโต ซึง่ ในประเทศไทยมี หลวงพ่อโต หรือ ซ�ำปอกง เพียงแค่ 3 วัดเท่านั้น คือ วัดพนัญเชิง อยุธยา, วัดกัลยาณมิตร ฝัง่ ธนบุรี และวัดอุภัยภาติการาม จ.ฉะเชิงเทรา นี้เอง ถือได้ว่าเป็นพระพุทธรูปที่ศักดิ์สิทธิ์ และ เป็นทีเ่ คารพบูชาแก่ประชาชนเป็นอย่างมาก เมื่อครั้งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า รัชกาลที่ 5 เสด็จพระราชด�ำเนินมาที่นี่และ ทรงทราบว่า พระพุทธรูปได้มีการจ�ำลอง แบบมาจากอยุธยาเช่นเดียวกับทีว่ ดั พนัญเชิง จึงพระราชทานนามพระพุทธรูปองค์นี้ว่า “พระพุทธไตรรัตนายก”

ส่วนวัดจีนนิกาย ก็มีวัดจีนประชาสโมสร หรือ วัดเล่งฮกยี่ เป็นวัดจีนเก่าแก่ของจังหวัด ฉะเชิงเทรา เป็นวัดพุทธนิกายมหายาน ที่มีคุณค่าด้านศิลปกรรมแบบจีน เมื่อปี พ.ศ. 2450 รัชกาลที่ 5 เสด็จพระราชด�ำเนินมาเปิดเส้นทางรถไฟ สาย กรุงเทพฯ-ฉะเชิงเทรา ทีเ่ มืองแปดริว้ และเสด็จมาทีว่ ดั นี้ ทรงมีพระมหากรุณาธิคณ ุ โปรดเกล้าฯ เปลีย่ นชือ่ จากเดิมคือ “วัดเล่งฮกยี่ เป็น “วัดจีนประชาสโมสร” พร้อมป้ายชื่อพระราชทานวัดนี้ก็เป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่ส�ำคัญ ทีพ่ นี่ อ้ งพุทธศาสนิกชนเชือ้ สายจีนก็จะไปเคารพนับถือกราบไหว้กนั มากในวัดจีนนิกายของเรา ฉะเชิงเทราเรามีครบ มาเที่ยววัดได้ตลอดไม่ว่าจะเป็นฤดูไหน ฤดูร้อน ฝน หนาว ได้หมด

CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย

6

.indd 39

39

10/10/2561 17:29:12


ขับเคลื่อนธรรม ตามรอยพระพุทธเจ้า

คณะสงฆ์จังหวัดฉะเชิงเทรา จากหมู่บ้านรักษาศีลห้า สู่ ต้นกล้าคุณธรรม “ฅนกล้าดี ศรีแปดริ้ว” คณะสงฆ์จังหวัดฉะเชิงเทรา ประกอบ ด้วยคณะสงฆ์มหานิกาย 345 วัด 64 ต�ำบล 11 อ�ำเภอ คณะสงฆ์ธรรมยุต 20 วัด 3 ต�ำบล 2 อ�ำเภอ คณะสงฆ์มหายาน 2 วัด หน่วยอบรม ประชาชนประจ�ำต�ำบล 25 แห่ง ส�ำนัก ปฏิบัติธรรม 33 แห่ง ตลอดเวลาที่ ผ ่ า นมามี กิ จ กรรมทาง พระพุทธศาสนามากมาย ทุกวัน ทุกเวลา ทุกนาที หรือ ทุกลมหายใจเข้า-ออกก็ว่าได้ เพราะงานของคณะสงฆ์คือมุ่งบ�ำเพ็ญจิต ภาวนาส่วนตนเพื่อความหลุดพ้นจากกอง ทุกข์ทั้งปวงและช่วยเหลือผู้คนให้พ้นทุกข์ ด้วยตามรอยธรรมที่พระพุทธเจ้าทีไ่ ด้วางไว้ อย่างมีนยั ส�ำคัญ ดังมีกจิ กรรมทีผ่ า่ นมาดังนี้

40

การด�ำเนินงานหมู่บ้านรักษาศีล 5 ของ จังหวัดฉะเชิงเทรา ได้ขับเคลื่อนมาตั้งแต่ปี พ.ศ.2557 ซึง่ มีการด�ำเนินการตามแนวทาง ที่ส�ำนักงานโครงการหมู่บ้านรักษาศีล 5 ส่วนกลาง ก�ำหนดให้มีการสมัครสมาชิก หมู ่ บ ้ า นรั ก ษาศี ล 5 การประชาสั ม พั น ธ์ เชิญชวนเข้าร่วมโครงการฯ การด�ำเนินการ ขั บ เคลื่ อ นเชิ ง คุ ณ ภาพ คั ด เลื อ กหมู ่ บ ้ า น รักษาศีล 5 “ต้นแบบ” ส�ำหรับการด�ำเนิน งานหมูบ่ า้ นรักษาศีล 5 ประจ�ำปี พ.ศ.2561 เป็นการขับเคลื่อนโครงการตามแผนยุทธ ศาสตร์ฯ หมู่บ้านรักษาศีล 5 (พ.ศ.25612565) ในภาพรวมจั ง หวั ด ฉะเชิ ง เทรา คณะสงฆ์จังหวัดฉะเชิงเทรา และส�ำนักงาน พระพุ ท ธศาสนาจั ง หวั ด ฉะเชิ ง เทรา ได้ ด�ำเนินการ ดังนี้

1. จั ด ตั้ ง ศู น ย์ ป ระสานงานหมู ่ บ ้ า น รั ก ษาศี ล 5 ระดั บ จั ง หวั ด ฉะเชิ ง เทรา ณ วัดบางปรงธรรมโชติการาม อําเภอเมือง ฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา โดยมีพระครู โชติพัฒนากรเป็นประธานศูนย์ ฯ 2. จั ด ตั้ ง ศู น ย์ ป ระสานงานหมู ่ บ ้ า น รักษาศีล 5 ระดับอ�ำเภอ จัดตั้งที่วัด ซึ่งเป็น ศูนย์อบรมประชาชนประจ�ำต�ำบล (อปต.) จ�ำนวน 25 แห่ง โดยมีเจ้าคณะอ�ำเภอแต่ละ อ�ำเภอเป็นประธานศูนย์ 3. แต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการขั บ เคลื่ อ น โครงการสร้างความปรองดองสมานฉันท์ โดยใช้ ห ลั ก ธรรมทางพระพุ ท ธศาสนา หมูบ่ า้ นรักษาศีล 5 ระดับจังหวัดฉะเชิงเทรา และระดับอ�ำเภอ

SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา

.indd 40

10/10/2561 17:20:25


4. คณะสงฆ์ จั ง หวั ด ฉะเชิ ง เทรา ให้ นโยบายในการขับเคลื่อนศีล 5 โดยมอบ หมายให้วดั ทุกวัด มีการท�ำบุญ ตักบาตร ใน วันพระทุกวันพระ ให้มีการแสดงพระธรรม เทศนาที่เกี่ยวกับการรักษาศีล 5 เป็นหลัก เพือ่ ส่งเสริมให้พทุ ธศาสนิกชนเข้าวัด ฟังธรรม รักษาศีล 5. คณะสงฆ์จงั หวัดฉะเชิงเทรามอบหมาย ให้วทิ ยาลัยสงฆ์พทุ ธโสธร เป็นศูนย์ประสาน งานพระวิทยากร ในการอบรมให้ความรู้ เรื่องศีล 5 แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สถานศึ ก ษา สถานประกอบการ และ ประชาชนทั่วไป นอกจากนี้ยังด�ำเนินการ โครงการคุ ณ ธรรมสั ญ จรในสถานศึ ก ษา จังหวัดฉะเชิงเทรา 6. คณะสงฆ์ จั ง หวั ด ฉะเชิ ง เทรามอบ หมายให้วิทยาลัยสงฆ์พุทธโสธร เป็นศูนย์ ประสานงาน ด� ำ เนิ น โครงการ ต้ น กล้ า คุณธรรม “คนกล้าดีศรีแปดริ้ว” โดยอบรม กลุ่มแกนนักเรียนจากโรงเรียนต่างๆให้ท�ำ กิจกรรมเกี่ยวกับการรักษาศีล 5 เช่น งาน จิตอาสาพัฒนาท้องถิ่น ชุมชน บ้าน วัด โรงเรี ย น ลงพื้ น ที่ เ ยี่ ย มให้ ก� ำ ลั ง ใจ มอบ สิ่งของ แก่ผู้ป่วย คนชรา และผู้ประสบภัย เป็นต้น 7. คณะสงฆ์ร่วมกับส่วนราชการจังหวัด ฉะเชิงเทรา จัดโครงการเจริญพระพุทธมนต์ (สัญจร) เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั มหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร และ สมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ติ ิ์ พระบรมราชินนี าถ ในรัชกาลที่ 9 โดยสัญจรไปแต่ละอ�ำเภอ ซึ่ง ได้ด�ำเนินการไปแล้ว 9 อ�ำเภอ มีผู้เข้าร่วม โครงการจ�ำนวน 11,514 รูป/คน และจะ ด�ำเนินการต่อไปจนครบ 11 อ�ำเภอ คาด ว่าจะมีผู้เข้าร่วมโครงการทั้งหมด 15,000 รูป/คน 8. ผู้ว่าราชการจังหวัดฉะเชิงเทรา โดย นายสุวิทย์ ค�ำดี ร่วมกับคณะสงฆ์ ได้จัดท�ำ โครงการตักบาตร “ถนนสายบุญ” ก�ำหนด จัดกิจกรรม 2 กิจกรรม ดังนี้ 1) ท� ำ บุ ญ ตั ก บาตร แบบวิ ถี ช นคน ฉะเชิงเทรา 11 อ�ำเภอ รวม 11 ครั้ง

2) ท�ำบุญ ตักบาตรข้าวสาร อาหารแห้ง ณ บริ เ วณหน้ า วั ด โสธรวรารามวรวิ ห าร ทุกวันอังคาร ในสัปดาห์แรกของเดือน ช่วง สัปดาห์ส่งเสริมพระพุทธศาสนา สู่อาเซียน ได้จัดพิธีมอบประกาศนียบัตรธรรมศึกษา และแสดงตนเป็นพุทธมามะกะ หล่อเทียน เข้าพรรษา เป็นต้น 9. คณะสงฆ์ร่วมกับหมู่บ้าน “ต้นแบบ” บ้านบางปรงหมู่ 9 ต�ำบลบางพระ อ�ำเภอ เมื อ งฉะเชิ ง เทรา ด� ำ เนิ น กิ จ กรรมของ หมู่บ้านแบบมีส่วนร่วม ตามวิถีวัฒนธรรม เชิงพุทธ โดยมุ่งเน้น ให้วัด พระสงฆ์ ภาครัฐ

ภาคเอกชน และสถานศึกษา ลงพื้นที่เยี่ยม ให้กำ� ลังใจ มอบเครือ่ งอุปโภค บริโภค แก่ผปู้ ว่ ย คนชรา และผู้ประสบภัย เป็นต้น นอกจากนี้ ยั ง ขยายผลต่ อ เนื่ อ งจาก หมูบ่ า้ นต้นแบบ บ้านบางปรง ต�ำบลบางพระ ไปสูศ่ นู ย์การเรียนรู้ “ทัศนพัฒน์” บ้านแพรก ชุมรุม ต�ำบลบางเตย โดยเน้นการด�ำรงชีวิต แบบเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง และพั ฒนาเป็ น หมู่บ้านต้นแบบ ตามศาสตร์พระราชา เช่น การปลูกผักปลอดสารพิษ ส่งเสริมสัมมาชีพ โดยการเลี้ยงไส้เดือนเพื่อน�ำไปใช้เป็นปุ๋ยใน การเกษตร เป็นต้น

CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 41

41

10/10/2561 17:20:30


รายนามเจ้าคณะปกครอง และพระเลขานุการ คณะสงฆ์จังหวัดฉะเชิงเทรา

ส�ำนักงานเจ้าคณะจังหวัดฉะเชิงเทรา ตัง้ อยู่ ณ วัดโสธรวรารามวรวิหาร พระอารามหลวง ต�ำบลหน้าเมือง อ�ำเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา 1. พระราชปริยตั สิ นุ ทร เจ้าคณะจังหวัด ฉะเชิงเทรา วัดโสธรวรารามวรวิหาร ต�ำบล หน้าเมืองอ�ำเภอเมืองฉะเชิงเทรา 2. พระราชภาวนาพิธาน รองเจ้าคณะ จังหวัดฉะเชิงเทรา วัดโสธรวรารามวรวิหาร ต�ำบลหน้าเมืองอ�ำเภอเมืองฉะเชิงเทรา 3. พระครูโชติพฒ ั นากร เจ้าคณะอ�ำเภอ เมืองฉะเชิงเทรา วัดบางปรงธรรมโชติการาม ต�ำบลบางพระ อ�ำเภอเมืองฉะเชิงเทรา 42

4. พระครูวิจิตรธรรมสโมธาน เจ้าคณะ อ�ำเภอบางน�้ำเปรี้ยว วัดเกตุสโมสร ต�ำบล บางขนาก อ�ำเภอบางน�้ำเปรี้ยว 5. พระครู วิ บู ล โชติ ธ รรม เจ้ า คณะ อ�ำเภอราชสาส์น วัดไผ่ขวาง ต�ำบลเมืองใหม่ อ�ำเภอราชสาส์น 6. พระครู พิ ม ลปั ญ ญาคุ ณ เจ้ า คณะ อ�ำเภอแปลงยาว วัดไทรทอง ต�ำบลหนอง ไม้แก่น อ�ำเภอแปลงยาว 7. พระครู วิ จิ ต รธรรมวิ ภั ช เจ้ า คณะ อ� ำ เภอบางปะกง วั ด นฤภั ย ประชาบ� ำ รุ ง ต�ำบลสองคลอง อ�ำเภอบางปะกง 8. พระครู ภ าวนาจริ ย คุ ณ เจ้ า คณะ อ�ำเภอบางคล้า วัดหัวสวน ต�ำบลเสม็ดใต้ อ�ำเภอบางคล้า

9. พระครูสุพัฒนพิมล เจ้าคณะอ�ำเภอ คลองเขื่อน วัดบางกระเจ็ด ต�ำบลบางกระ เจ็ด อ�ำเภอคลองเขื่อน 10. พ ระครู ป ริ ยั ติ ธ รรมกิ จ เจ้ า คณะ อ� ำ เภอท่ า ตะเกี ย บ วั ด ปิ ตุ ลิ ร าชรั ง สฤษฎิ์ ต�ำบลหน้าเมือง อ�ำเภอเมืองฉะเชิงเทรา 11. พระครูปริยัติปุณณเขตคณารักษ์ เจ้าคณะอ�ำเภอสนามชัยเขต วัดมาบนาดี ต�ำบลหน้าเมืองอ�ำเภอสนามชัยเขต 12. พระครูสุตวรญาณ เจ้าคณะอ�ำเภอ พนมสารคาม วั ด ท่ า เกวี ย น ต� ำ บลพนม อ�ำเภอพนมสารคาม 13. พระครูธรรมประยุต เจ้าคณะอ�ำเภอ บ้านโพธิ์ วัดผาณิตาราม ต�ำบลเทพราช อ�ำเภอ บ้านโพธิ์

SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา

.indd 42

10/10/2561 17:20:35


14. พระครูสตุ ภาวนาพิธาน เลขานุการ เจ้าคณะจังหวัดฉะเชิงเทรา วัดโสธรวราราม วรวิ ห าร ต� ำ บลหน้ า เมื อ ง อ� ำ เภอเมื อ ง ฉะเชิงเทรา 15. พระครูสันติกิจจานุการ เลขานุการ รองเจ้าคณะจังหวัดฉะเชิงเทรา วัดบางสมัคร ต�ำบลบางสมัคร อ�ำเภอบางปะกง 16. พระครูวิมลธรรมธาร เลขานุการ เจ้าคณะอ�ำเภอพนมสารคาม วัดธารพูด ต�ำบลบ้านซ่อง อ�ำเภอพนมสารคาม 17. พระครูใบฎีกาแสงทอง จน์ทสุวณฺโณ เลขานุการเจ้าคณะอ�ำเภอบ้านโพธิ์ วัดมงคล โสภิต ต�ำบลเทพราช อ�ำเภอบ้านโพธิ์ 18. พ ระครู วิ นั ย ธร สุ ร ชั ย สิ ริ นฺ ธ โร เลขานุการเจ้าคณะอ�ำเภอบางคล้า วัดหัวสวน ต�ำบลเสม็ดใต้อ�ำเภอบางคล้า 19. พระครูวนิ ยั ธร พูนพิพฒ ั น์ วรปญฺโญ เลขานุการเจ้าคณะอ�ำเภอบางปะกง วัดอุสภาราม (บางวัว) ต�ำบลบางวัว อ�ำเภอบางปะกง 20. พระมหาเทวฤทธิ์ จนฺทเมธี เลขานุการ เจ้าคณะอ�ำเภอสนามชัยเขต วัดห้วยน�ำ้ ทรัพย์ ต�ำบลลาดกระทิง อ�ำเภอสนามชัยเขต 21. พระปลัดธงชัย ธนวิโส เลขานุการ เจ้าคณะอ�ำเภอแปลงยาว วัดไทรทอง ต�ำบล หนองไม้แก่นอ�ำเภอแปลงยาว 22. พระมหาวิญญู กิตตฺ เิ มธี เลขานุการ เจ้าคณะอ�ำเภอคลองเขื่อน วัดโสธรวราราม วรวิหาร ต�ำบลหน้าเมือง อ�ำเภอคลองเขื่อน 23. พระสมุห์เหม สิริธมฺโม เลขานุการ เจ้าคณะอ�ำเภอราชสาส์น วัดไผ่ขวาง ต�ำบล เมืองใหม่ อ�ำเภอราชสาส์น 24. พระพงศกร กิตฺติโก เลขานุ ก าร เจ้าคณะอ�ำเภอบางน�้ำเปรี้ยว วัดเกตุสโมสร ต�ำบลบางขนากอ�ำเภอบางน�้ำเปรี้ยว 25. พระครูสมุห์ประเสริฐ ปญฺญาวโร เลขานุ ก ารรองเจ้ า คณะอ� ำ เภอเมื อ ง ฉะเชิ ง เทรา วั ด บางปรงธรรมโชติ ก าราม ต�ำบลบางพระ อ�ำเภอเมืองฉะเชิงเทรา 26. พระมหารัชชานนท์ ธมฺมานนฺโท เลขานุการเจ้าคณะอ�ำเภอท่าตะเกียบ วัดปิตลุ ิ ราชรังสฤษฎิ์ต�ำบลหน้าเมือง อ�ำเภอเมือง ฉะเชิงเทรา

CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 43

43

10/10/2561 17:20:42


TRAVEL GUIDE

บันทึกเส้นทางท่องเที่ยวจังหวัดฉะเชิงเทรา

CHACHOENGSAO TRAVEL GUIDE

ซอกแซกเมืองแปดริ้ว ที่ซุกซ่อนความงามตระการตาอย่างคาดไม่ถึง

เพียงไม่ถึง 100 กิโลเมตรจากกรุงเทพฯ ที่จะท�ำให้นักท่องเที่ยวเดินทางหยุดใจไว้ไม่อยู่ เพื่อท่องไป ในดินแดนแห่งความฝัน จินตนาการไม่รู้จบ และสร้างแรงบันดาลใจในชีวิตจากความสุขในวิถีไทย วิถีพุทธ ที่ประดิษฐานพระพุทธศาสนาไว้ในใจชาวแปดริ้วมาหลายศตวรรษ ผ่านร้อนหนาวมายาวนาน หลายพันปี ที่สอดร้อยผสานอยู่ในวิถีชีวิตพื้นบ้าน วัดวาอาราม และสิ่งศักดิ์สิทธิ์มากมายให้เคารพ สักการะ โดยเฉพาะชื่อเสียงของวัดหลวงพ่อโสธรที่ท�ำให้เมืองแปดริ้ว คือจุดหมายปลายทางของ SBL บันทึกประเทศไทย ฉบับนี้ ที่นี่ ที่เดียว ...ฉะเชิงเทรา

วัดโสธรวรารามวรวิหารตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น�้ำบางปะกง ต�ำบล หน้าเมือง อ�ำเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา เดิมมีชื่อว่า “วัดหงส์” เป็นวัดเก่าแก่คู่บ้านคู่เมืองฉะเชิงเทรา เป็นที่ประดิษฐาน หลวงพ่อพุทธโสธร พระพุทธรูปอันเป็นที่เคารพสักการะของชาว แปดริ้ว และคนต่างบ้านต่างเมืองมาแต่อดีตกาล ตั้งอยู่บนถนนสาย มรุพงษ์ (หน้าเมือง) ห่างจากตลาดกลางเมืองประมาณ 2 กิโลเมตร “วัดโสธร” มีความหมายว่า “บริสุทธิ์” และ “ศักดิ์สิทธิ์” ภายหลังวัด โสธรได้รบั พระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ล อดุลยเดช รัชกาลที่ 9 ยกขึน้ เป็นพระอารามหลวงชัน้ ตรี ชนิดวรวิหาร มีนามว่า “วัดโสธรวรารามวรวิหาร” ต่อมาพระอุโบสถหลังเก่าของวัด มีสภาพทรุดโทรมและคับแคบ ซึ่งหลวงพ่อพุทธโสธรประทับอยู่ใน โบสถ์หลังเก่าที่มีขนาดเล็ก รวมกับพระพุทธรูปอื่นๆ 18 องค์ ในปี พ.ศ. 2509 ในหลวงรัชกาลที่ 9 เสด็จพระราชด�ำเนินมาที่วัดแห่งนี้ ทรงมีพระราชปรารภเรื่องความคับแคบของพระอุโบสถเดิม ซึ่งพระ พรหมคุณาภรณ์ (จิรปุญโญ ด.เจียม กุลละวณิชย์) อดีตเจ้าอาวาส จึงได้รวบรวมเงินบริจาค เพื่อจัดซื้อที่ดินส�ำหรับสร้างพระอุโบสถ หลังใหม่เป็นแบบรัตนโกสินทร์ประยุกต์ นับเป็นที่ปลื้มปิติของชาว ฉะเชิงเทรา อย่างหาที่เปรียบมิได้ ทั้งนี้ทุนทรัพย์ที่ใช้ในการก่อสร้าง อุโบสถหลังใหม่นี้ เป็นเงินบริจาคจากประชาชนทั้งหมด ไม่ได้ใช้งบ ประมาณแผ่นดินแต่ประการใด 44

SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา

.indd 44

10/10/2561 17:26:50


บริสุทธิ์-ศักดิ์สิทธิ์ วัดโสธรวรารามวรวิหาร คู่บ้านคู่เมืองฉะเชิงเทรา

CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 45

45

10/10/2561 17:26:50


ปัญญา-ศรัทธา วัดโพรงอากาศ อุทยานพระพิ ฆเนศ ตั้ ง อยู ่ ใ นต� ำ บลโพรงอากาศ อ� ำ เภอบางน�้ ำ เปรี้ ย ว จั ง หวั ด ฉะเชิงเทรา เป็นอีกหนึ่งวัดที่สวยงามเป็นที่เลื่อมใสศรัทธาของ ประชาชน สิง่ โดดเด่นของวัดก็คอื พระอุโบสถมหาเจดียส์ ที องอร่าม ซึ่งหลวงพ่อสมชาย พุทธสโร เจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน ตั้งใจสร้างเพื่อ ให้เป็นสถานที่ส�ำคัญของเมืองแปดริ้ว ด้วยท่านเป็นที่เคารพแก่ ชาวบ้านแถวนี้เป็นอย่างยิ่ง ตั้งแต่เมื่อครั้งที่ท่านได้ธุดงค์ผ่านมา ชาวบ้านเกิดความศรัทธา จึงได้รวมกันถวายที่ดินเพื่อสร้างวัดให้ ท่านอยู่ภาวนาจนเป็นที่ศรัทธาของมหาชนมาจนถึงทุกวันนี้ รวมถึงอุทยานพระพิฆเนศ ของวัดโพรงอากาศ หลวงพ่อสมชาย ก็มดี ำ� ริให้สร้างขึน้ มีองค์พระพิฆเนศ ปางนัง่ ประธานพร องค์ใหญ่ ตั้งอยู่ภายในบริเวณวัดมองเห็นโดดเด่นมาแต่ไกล และที่วัดแห่งนี้ ยังเป็นทีป่ ระดิษฐานพระบรมสารีรกิ ธาตุจากประเทศอินเดีย อีกทัง้ ยังมีพระพุทธรูปจ�ำลองหลวงพ่อโสธร หลวงพ่อวัดบ้านแหลม หลวงพ่อโต หลวงพ่อวัดไร่ขิง และหลวงพ่อวัดเขาตะเครา ให้พุทธ ศาสนิกชนกราบไหว้บูชาเพื่อความสงบใจ เย็นใจทั้งไปและกลับ

สังเวชนียสถานแห่งความไม่ประมาท วัดชมโพธยาราม วัดชมโพธยาราม ตัง้ อยูท่ ตี่ ำ� บลโสธร อ�ำเภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา เป็นวัดแห่งเดียวในแปดริว้ ทีม่ สี งั เวชนียสถานจ�ำลองให้พทุ ธศาสนิกชน ได้นมัสการครบทั้ง 4 ต�ำบลจากประเทศอินเดียและเนปาล คือ ลุมพินี สถานที่ ป ระสู ติ ข องเจ้ า ชายสิ ท ธั ต ถะ พุ ท ธคยาเจดี ย ์ สถานที่ พระพุทธเจ้าตรัสรู้ เจดียป์ ฐมเทศนา จ�ำลองเหมือนจริงเจดียเ์ ป็นรูปทรง ตัวโอคว�ำ่ หรือบาตรคว�ำ่ เรียกว่า ธัมเมกขสถูป เป็นสถานทีแ่ สดง ธรรม จักกัปปวัตนสูตร พระสูตรแห่งการเดินทางสายกลางที่น�ำไปสู่ความ

46

SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา

.indd 46

10/10/2561 17:26:58


พระธาตุกลางน�ำ้ - อุโบสถกลางทะเล วัดหงษ์ทอง พ้นทุกข์ และ สถานที่ปรินิพพาน สร้างเป็นอาคารโดมขนาดใหญ่ ภายในเป็นพระพุทธรูปปูนปัน้ ปางไสยาสน์ขนาดใหญ่ เพือ่ ให้ชาวพุทธ ได้มีโอกาสเดินทางมานมัสการอย่างสะดวก ปลอดภัย ไม่ต้อง เดินทางไกลไปถึงอินเดีย แล้วน้อมจิตใจระลึกถึงพระคุณพระรัตน ตรัยไปถึงสังเวชนียสถานคือสถานที่อันเป็นที่ตั้งแห่งความสังเวช โดยเมือ่ ดูแล้วท�ำให้จติ หันมาคิดถึงสิง่ ทีด่ งี าม เกิดความไม่ประมาท และเพียรพยายามท�ำสิ่งที่ดีงาม

วัดหงษ์ทอง หรือ วัดกลางน�้ำ ตั้งอยู่ที่ อ�ำเภอบางปะกง ในบริเวณพืน้ ทีช่ ายทะเลทีเ่ ป็นป่าชายเลน มีทางเดินเชือ่ มจาก บริเวณวัดทีช่ ายฝัง่ ไปยัง พระธาตุคงคามหาเจดีย์ และอุโบสถ ซึ่งอยู่ในทะเล เจดีย์มี 5 ชั้นมีภาพวาดเกี่ยว กับพระพุทธ ศาสนาและพระมหากษัตริย์ไทย ประดิษฐานพระพุทธรูป ต่างๆ ไว้ให้บูชา ส่วนชั้นบนสุดเป็นเจดีย์สีทองอร่ามบรรจุ พระอรหันต์ธาตุ สามารถมองเห็นทัศนียภาพท้องทะเลและ แผ่นดินในมุมสูงได้สวยงาม มีทางเดินที่ทอดยาวไปในทะเล ไปยัง “พระธาตุคงคามหาเจดีย์” ระหว่างทางเดินมีพุทธพจน์ และคติเตือนใจให้พิจารณา อีกทั้งมีรูปปั้นพระอภัยมณี มี นางยักษ์ พระอภัย และตัวละครอีกมากมายในวรรณคดีไทย โดยสามารถเดินเล่นบนสะพานไม้รอบๆ ชมวิวทิวทัศน์ได้ ภายใน“พระธาตุคงคามหาเจดีย์” ชั้นล่างประดิษฐานหลวง พ่อพุทธโสธรจ�ำลอง และพระพุทธรูปอื่นๆอีกมากมายไว้ให้ ผู้มีจิตศรัทธา ได้สักการะ และทางวัดได้มีการจัดให้มีการ ตักบาตรพระร้อย คือการตักบาตรโดยใช้เงินเหรียญ (สามารถ แลกเหรียญได้กบั ทางวัด) ซึง่ มีพระพุทธรูปเป็นร้อยๆ รูปตัง้ อยู่ สามารถเดินได้โดยรอบสุดของ“พระธาตุคงคามหาเจดีย์” วัดหงษ์ทองเปิดตั้งแต่เวลา 06.00-20.00 น. หากท่านใด สนใจบวชเนกขัมมะ (บวชชีพราหมณ์) สามารถติดต่อกับทาง วัดได้โดยตรง โทร. 038-528- 367

CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 47

47

10/10/2561 17:27:07


หลวงพ่ อพุ ทธโสธรจ�ำลอง องค์ใหญ่ทส ี่ ุดในโลก วัดเขาดิน วัดเขาดิน หรือ วัดปัฎฐวีปัพพตาราม ตั้งอยู่ที่ต�ำบลเขาดิน อ� ำ เภอบางปะกง เป็ น วั ด ที่ ตั้ ง อยู ่ บ นภู เ ขาเล็ ก ๆ แห่ ง เดี ย วใน อ�ำเภอบางปะกง มีธรรมชาติแวดล้อมเป็นป่าเขาสวยงามแห่งหนึ่ง ในจังหวัดฉะเชิงเทรา ซึ่งส�ำนักพระพุทธศาสนาแห่งชาติได้ขึ้น ทะเบียนจัดเป็นส�ำนักงานปฏิบัติธรรม เจริญวิปัสสนากรรมฐาน ประจ�ำอ�ำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา เมื่อปี พ.ศ.2546 ภายในวัดเขาดินจะประกอบด้วย พระอุโบสถสองชั้น ชั้นบนเป็น พระอุโบสถส�ำหรับพระสงฆ์ท�ำกิจของสงฆ์ มีพระมหาธาตุเจดีย์ เป็นเจดีย์เฉลิมพระเกียรติ ส่วนในอาคารยานภัณฑ์ศรัทธา ชั้นล่างประดิษฐานพระพุทธ อภัยทาน ชั้นที่สองประดิษฐานองค์หลวงพ่อพุทธโสธรจ�ำลอง องค์ใหญ่ที่สุดในโลกอยู่บนยอดเขา ให้พุทธศาสนิกชนผู้ที่มีความ ศรัทธาได้มากราบสักการะเพื่อความเป็นสิริมงคล และยังมีถ�้ำ เชื่อกันว่าเป็นถ�้ำที่พระเจ้าตากสินมหาราช ใช้พักทัพเมื่อเดินทาง ผ่านมา ปัจจุบันภายในถ�้ำยังสามารถลงไปได้ ทางวัดติดไฟให้ ความสว่างตลอดทาง และมีศาลเจ้าแม่สร้อยดอกหมาก เป็นศาลที่ ศักดิ์สิทธิ์ชาวบ้านแถวนี้ให้ความเคารพนับถือมาก

ขอให้อายุยืนเป็นพั นปี โบสถ์สเตนเลส วัดหัวสวน วัดหัวสวน ตั้งอยู่ในต�ำบลเสม็ดเหนือ อ�ำเภอบางคล้า จังหวัด ฉะเชิงเทรา สร้างด้วยสเตนเลสทั้งหลัง จากความคิดของพระครู ภาวนาจริยกุลท่านเจ้าอาวาสวัด ที่เห็นว่าโบสถ์หลังเก่ามีความ ช�ำรุดทรุดโทรมมากแล้ว อยากจะสร้างขึน้ มาใหม่ให้คงอยูย่ าวนาน จากการศึกษาพบว่าสเตนเลส เป็นวัสดุที่สามารถอยู่ได้เป็นพันปี ในขณะทีป่ นู จะมีอายุอยูเ่ ป็นร้อยปี ท่านจึงตัดสินใจออกแบบโบสถ์ สแตนเลส และควบคุมการก่อสร้างเองอย่างใกล้ชดิ ใช้งบประมาณ 50 ล้านบาท ทีม่ าจากแรงศรัทธาของพุทธศาสนิกชน ซึง่ มาบริจาค เงินโดยทางวัดไม่ได้บอกบุญเรี่ยไรใดๆ ทั้งสิ้น

48

SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา

.indd 48

10/10/2561 17:27:17


่ งราวชีวิตชาวแปดริ้ว ต�ำนานพระพี่ น้องสามองค์ ปูนปั้นเล่าเรือ วัดสัมปทวนนอก

วัดสัมปทวนนอก ตัง้ อยูท่ ตี่ ำ� บลบางแก้ว อ�ำเภอเมืองฉะเชิงเทรา ที่นี่มีภาพปูนปั้นเล่าเรื่องความเป็นมาของชาวฉะเชิงเทรา ผู้ที่ด�ำริ เรื่องนี้คือ ท่านเจ้าอาวาสวัดสัมปทวน พระพุทธิรังสีมุนีวงศ์ (ฮ้อ) ภาพปูนปั้นที่เล่าเรื่องเมืองฉะเชิงเทรานี้อยู่ทางทิศใต้ของพระ อุโบสถ บอกเล่าสภาพพืน้ ทีข่ องเมืองฉะเชิงเทรา บริเวณหมูบ่ า้ นที่ สร้างวัด ตลอดจนสภาพชีวิตของผู้คนสองฝั่งแม่น�้ำบางปะกง เช่น การตั้งบ้านเรือน การแต่งกาย การคมนาคม เครื่องมือเครื่องใช้ และการด�ำรงชีวิตประจ�ำวัน ฯลฯ ปูนปั้นนี้ต้องให้เครดิตกับเซียนกี่ แซ่โหง้ว ช่างปั้นท้องถิ่นกับ ลูกๆ อีก 4 คนเป็นผู้ช่วย ปั้นรูปตามที่ท่านเจ้าอาวาสบอกเล่าด้วย ปากเปล่า โดยไม่มกี ารเขียนแบบก่อนแต่อย่างใด ซึง่ ผลงานออกมา สามารถสะท้อนวิถชี วี ติ ชาวเมืองฉะเชิงเทราในช่วง 150 ปีทผี่ า่ นมา ในยุครัตนโกสินทร์อย่างงดงามและมีนัยส�ำคัญ

เหตุทเี่ รียกว่าวัดสัมปทวนนัน้ ชาวบ้านมีเรือ่ งเล่าว่า อดีตมีพระ พี่น้องสามองค์ ได้แก่ หลวงพ่อโสธร หลวงพ่อวัดบ้านแหลม และ หลวงพ่อโตวัดบางพลีใหญ่ ได้แสดงปาฏิหาริย์ลอยมาตามน�้ำจาก ทิศเหนือ (ล้านนา) ลงสูท่ ศิ ใต้ แล้วมาผุดทีแ่ ม่นำ�้ บางปะกง บริเวณ บ้านสวนพริก ทั้งสามองค์แสดงอภินิหารโดยการลอยทวนน�้ำ ชาวบ้านพยายามดึงขึ้นจากน�้ำแต่ไม่ส�ำเร็จ พระทั้งสามองค์ก็ จมน�้ำหายไป จากนั้นชาวบ้านจึงเรียกบ้านสวนพริก บริเวณที่พระ ทัง้ สามองค์ลอยทวนน�ำ้ ว่า บ้านสามพระทวน ต่อมาจึงเพีย้ นมาเป็น วัดสัมปทวนดังในปัจจุบัน

CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 49

49

10/10/2561 17:27:24


เพราะจิตศรัทธาจึงก�ำเนิดโบสถ์ทองค�ำ วัดปากน�้ำโจ้โล้ ชมพระอุโบสถหนึ่งเดียวในประเทศไทย ที่ทาสีทองทั้งหลัง ไม่ ว ่ า จะเป็ น ภายในหรื อ นอกตั ว อุ โ บสถ ที่ ง ดงามตระการตา เป็นอย่างมากที่ วัดปากน�้ำโจ้โล้ ตั้งอยู่ในอ�ำเภอบางคล้า จังหวัด ฉะเชิงเทรา ภายนอกวัดมีเรือโบราณในยุคสมเด็จพระจ้าตากสิน มหาราช ภายในอุโบสถยังสามารถลอดใต้ฐานพระประธานเพื่อ ความเป็นสิริมงคล แต่เดิม วัดปากน�้ำโจ้โล้เป็นส�ำนักสงฆ์ ในอดีต บริเวณนี้เป็นที่ตั้งของทัพพม่าซึ่งยกทัพบกทัพเรือไปปะทะกับ กองทัพสมเด็จพระเจ้าตากสิน ต่อมาพระองค์ทรงมีชัยชนะจึงมี พระราชด�ำริให้สร้างเจดีย์ไว้เป็นอนุสรณ์ ซึ่งปัจจุบันได้มีการสร้าง อุโบสถหลังใหม่เป็นสีทองทั้งหลังให้สาธุชนได้เรียนรู้ถึงศรัทธา ปสาทะของชาวพุทธในบวรพระพุทธศาสนาที่พบความร่มเย็นใน ใจแล้วสะท้อนออกมาในถาวรวัตถุทกุ ด้านเพือ่ ปลูกศรัทธาไว้ในใจ ของผู้คนตลอดกาลนาน

เสวยสุข ส�ำเร็จ ดังใจหวัง พระพิ ฆเนศองค์ใหญ่ทส ี่ ุดในประเทศไทย วัดสมานรัตนาราม วัดสมานรัตนาราม ตั้งอยู่ระหว่างอ�ำเภอบางคล้า และอ�ำเภอ คลองเขื่อน ริมแม่น�้ำบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา เป็นวัดที่มีพระ พิฆเนศปางนอนเสวยสุขที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทยจนนักท่องเที่ยว ทั้งหลายเรียกกันว่า วัดพระพิฆเนศ ฉะเชิงเทรา เพราะพระพิฆเนศ ปางนอนเสวยสุขนี้เอง ที่ท�ำให้วัดสมานรัตนารามแห่งนี้มีช่ือเสียง และเป็นที่รู้จักแก่คนทั่วไปอย่างกว้างขวาง ด้วยความศักดิ์สิทธิ์ เมื่อ มีผู้ใดมาขอพรก็มักจะส�ำเร็จสมดังใจหวัง จนท�ำให้เป็นที่นับถือของ คนทัว่ ไปอย่างรวดเร็ว พระพิฆเนศปางนอนเสวยสุของค์นี้ มีเนือ้ องค์ เป็นสีชมพูโดดเด่น

50

SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา

.indd 50

10/10/2561 17:27:30


ปางนอนเสวยสุขนั้นมีความหมายว่า เป็นปางที่ประทานความ มีกินมีใช้ เงินทองไม่ขาดมือ อยู่อย่างสุขสบาย อิ่มหน�ำส�ำราญ ขจัด ปัญหา ไม่มีเรื่องให้วุ่นวายใจ รอบฐานมีปางต่างๆ ถึง 32 ปางให้ชม และภายใต้ฐานพระพิฆเนศเป็นพิพธิ ภัณฑ์แสดงเกีย่ วกับพระพิฆเนศ ปางต่างๆ พร้อมทั้งเปิดให้ประชาชนทั่วไปเช่าพระพิฆเนศไปบูชาที่ บ้าน นอกจากนี้ยังมีองค์เจ้าแม่กวนอิม พระอินทร์ทรงช้างเอราวัณ (หรือช้างสามเศียร) พระราหู ท้าวมหาพรหม นิยมกราบไหว้ขอพร ในเรือ่ งหน้าทีก่ ารงาน ให้ประสบความส�ำเร็จ ปัจจุบนั วัดสมานรัตนาราม ไม่ได้รู้จัก เฉพาะในหมู่คนไทยในประเทศ แม้แต่ต่างประเทศทั่วโลก ด้วยแรงศรัทธาของพระหนุ่มนักพัฒนาคือ พระครูธรรมธรไพรัตน์ ปัญญาธโร ทีท่ ำ� ให้วดั สมานรัตนารามในปัจจุบนั กลายเป็นแหล่งท่องเทีย่ ว ที่ส�ำคัญอีกแห่งของจังหวัดฉะเชิงเทรา สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม วัดสมานรัตนาราม โทร 081-9830400

่ มีศรีสุข มังกรแห่งโชค มัง วัดจีนประชาสโมสร

วัดจีนประชาสโมสร เดิมชื่อว่า วัดเล่งฮกยี่ ตั้งอยู่ที่ถนนศุภกิจ ต�ำบลบ้านใหม่ ห่างจากศาลากลางจังหวัด 4 กิโลเมตร เป็นวัดพุทธ ศาสนาฝ่ายมหายาน ผู้สร้างคือหลวงจีนชกเฮง ซึ่งเป็นศิษย์ของวัด มังกรกมลาวาส หรือวัดเล่งเน่ยยี่ กรุงเทพมหานคร ในสมัยรัชกาล ที่ 5 พ.ศ.2449 เมื่อครั้งพระองค์เสด็จประพาสมณฑลปราจีนบุรี เพือ่ เปิดทางรถไฟ สายกรุงเทพฯ-ฉะเชิงเทรา ได้ทรงพระราชทานนาม วัดว่า วัดจีนประชา พร้อมพระราชทานแผ่นป้ายชื่อ ซึ่งยังคงประทับ เป็นสง่าในวัดจนกระทั่งทุกวันนี้

ส่วนชือ่ ภาษาจีนของวัด ค�ำว่า ฮก แปลว่า วาสนา โชคลาภ ความ มั่งมีศรีสุข เล้ง หรือ เล่ง หมายถึง มังกร จึงมีผู้เรียกวัดนี้ว่า มังกร วาสนา หรือ มังกรแห่งโชค ตามหลักฮวงจุ้ยจีนกล่าวว่า วัดนี้ถือเป็น ต�ำแหน่งท้องมังกร ส่วนต�ำแหน่งหัวมังกรอยู่ที่วัดเล่งเน่ยยี่ จังหวัด กรุงเทพฯ และหางมังกรนั้นอยู่ที่ วัดเล่งฮัวยี่ จังหวัดจันทบุรี ทั้งสาม ต�ำแหน่งของมังกรพาด ผ่านดินแดนของความมั่งคั่ง อุดมสมบูรณ์ เยาวราช ดินแดนแห่งการค้าขาย เมืองแปดริว้ ดินแดนแห่งความอุดม สมบูรณ์ดว้ ยพืชพันธุธ์ ญ ั ญาหาร และจังหวัดจันทบุรี เมืองแห่งอัญมณี พลอย ภายในวัดมีสิ่งที่น่าสนใจมากมาย เช่น ท้าวจตุโลกบาลขนาด ใหญ่ พระประธาน 3 องค์และ 18 อรหันต์ และยังมีเทพเจ้าอีก หลายองค์ตามคติจีน ระฆังใบใหญ่ น�้ำหนักกว่า 1 ตัน ซึ่งเป็น 1 ใน 3 ใบในโลกที่รอบระฆังมีอักษรมหาปรัชญาปารมิตราสูตรถือกันว่า ผูใ้ ดได้ตรี ะฆังด้วยจิตทีเ่ ป็นหนึง่ คือจิตสงบ ก็เหมือนกับการสวดมนต์ เป็นการท�ำสมาธิในขณะตีระฆังนั้นแล

CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 51

51

10/10/2561 17:27:38


52

SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา

.indd 52

10/10/2561 17:27:40


มีนกมาร์คอว์เป็นเพื่อน

SUANPALM FARMNOK เพลิดเพลินกับการชมนกแก้วมาคอว์สายพันธุ์ต่างๆ และให้อาหารนกแก้วมาคอว์กัน ที่ ส วนปาล์ ม ฟาร์ ม นก รี ส อร์ ท ตั้ ง อยู ่ บ นเนื้ อ ที่ ม ากกว่ า 100 ไร่ เลขที่ 25 หมู ่ 6 ต� ำ บล บางตลาด อ�ำเภอคลองเขื่อน จังหวัดฉะเชิงเทรา สวนปาร์มฟาร์มนกแห่งนี้ เริ่มต้นจากท่าน ดร.โภคิน พลกุล เป็น ผู้ก่อตั้ง วัตถุประสงค์คือ เพื่อเป็นศูนย์การเรียนรู้ และอนุรักษ์สายพันธุ์ นกแก้วมาคอว์ รวมทั้งสัตว์ปีกสวยงาม สายพันธุ์ ต่างๆ ที่หาดูได้ยากจากทั่วโลก โดยท่านมีความ ชอบส่วนตัวในนกแก้วมาคอว์ สายพันธุ์จากต่าง ประเทศเป็นทุนเดิม จึงเลีย้ งไว้ดเู ล่นเป็นการส่วน ตัวที่บ้าน จนวันหนึ่งท่านเห็นในความน่ารักและ แสนรูข้ องนกเหล่านี้ จึงอยากจะเปิดเป็นศูนย์การ เรียนรู้และอนุรักษ์ รวมถึงเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ ไว้ให้หลายๆ คนได้ชื่นชมเช่นเดียวกัน ปัจจุบัน ทางสวนปาล์มฟาร์มนก รีสอร์ท ยังมีสวนหงส์ และห่าน, สวนกวางและไก่, สวนเป็ด บ้านแพะ แกะ โซนสวนปาล์ม และโซนรีสอร์ทอีกด้วย

ในส่วนของสวนปาล์ม หรือ palm garden zone นัน้ มีตน้ ปาล์มสายพันธุจ์ ากต่างประเทศมากมาย นานาชนิดนับหมืน่ ต้น ทีน่ ำ� มาปลูกและจัดตกแต่ง ไว้อย่างสวยงาม ซึ่งท�ำให้รู้สึกสดชื่น เป็นธรรม ชาติจริงๆ นักท่องเที่ยวสามารถแวะพักผ่อน หรือแวะถ่ายรูปกับต้นปาล์มและเลี้ยงอาหารนก ท่ามกลางบรรยากาศสวนปาล์มที่ร่มรื่นได้ทุกวัน ติดต่อได้ที่ โทร. 081-868-1174, 099-090-9663, 080-587-1911

CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 53

53

10/10/2561 17:27:43


54

SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา

.indd 54

10/10/2561 17:27:51


MINI MURRAH

FARM ฟาร์มควายนม

แห่งเดียวในประเทศไทย ท่องเที่ยวเชิงเกษตรกับฟาร์มควายนม แห่งเดียวในประเทศไทย มินิมูร่าห์ฟาร์ม ตั้งอยู่ในต�ำบลสิบเอ็ดศอก อ�ำเภอบ้านโพธิ์ จังหวัดฉะเชิงเทรา เป็นฟาร์มสาธิตการท�ำ ฟาร์มควายนม และเปิดเป็นแหล่งท่องเที่ยว เชิงเกษตร ที่มีการจัดสรรพื้นที่เพื่อเลี้ยงสัตว์ การท�ำเกษตรแบบสาธิต รวมทั้งมีร้านอาหาร สไตล์ Farmmade เป็นดินแดนแสนสนุกส�ำหรับ เด็กๆ เพราะจะมีสัตว์ต่างๆ ให้เด็กๆได้ดู และใกล้ชิด แบบไม่อันตรายและมีการสอนท�ำ workshop ต่างๆ เช่น การท�ำพิซซ่า การท�ำ ไอติมจากนมมูร่าห์ การปลูกพืชสวนครัว และการด�ำนา เป็นต้น ซึ่งกิจกรรมต่างๆ เหล่านี้เป็นที่ชื่นชอบส�ำหรับน้องๆ ที่มาเที่ยว เป็นอย่างมาก เปิดบริการทุกวัน 11.00-21.00 น. สนใจติดต่อสอบถาม โทร. 081-81902819

CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 55

55

10/10/2561 17:27:52


56

SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา

.indd 56

10/10/2561 17:27:54


BANGKLA

FLOATING MARKET ช้อปปิ้งริมน�้ำ ตลาดน�้ำบางคล้า ตั้งอยู่ที่อ�ำเภอบางคล้า จังหวัด ฉะเชิงเทรา เป็นตลาดน�้ำเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวแห่ง ใหม่เมื่อสิบปีที่แล้ว ปัจจุบันเป็นที่รู้จักกันกว้างขวาง โดยได้ รั บ การสนั บ สนุ น จากเทศบาลอ� ำ เภอ บางคล้ า เปิ ด บริ ก ารทุ ก วั น เสาร์ แ ละอาทิ ต ย์ ตั้ ง แต่ เวลา 08.00 -17.00 น. เป็นตลาดที่มีโป๊ะยื่นลงสู่แม่น�้ำ บางปะกง โดยมี พ ่ อ ค้ า แม่ ค ้ า พายเรื อ ขายของอยู ่ ริ ม ชายฝั่งแม่น�้ำ และทางเทศบาล ได้จัดพื้นที่โดยจัดโป๊ะ ยื่นลงไปในแม่น�้ำมีทั้งหมด 9 แพด้วยกัน เพื่อบริการนัก ท่องเที่ยว ตลาดน�้ำบางคล้าอยู่บริเวณด้านหน้าของที่ ว่าการอ�ำเภอบางคล้า และอยู่ติดกับสถานีต�ำรวจอ�ำเภอ บางคล้า สินค้าส่วนใหญ่มีอาหาร ของฝาก และของที่ ระลึก หรือสินค้าโอทอปที่มีชื่อเสียงของ อ�ำเภอบางคล้า มาจัดซุ้มจ�ำหน่ายให้กับนักท่องเที่ยว น�้ำตาลสด มะม่วง รวมถึงผักและผลไม้ตามฤดูกาล ฯลฯ

CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 57

57

10/10/2561 17:28:01


58

SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา

.indd 58

10/10/2561 17:28:02


ย้อนยุควันวานเพื่ออนาคต

BAN MAI MARKET ตลาดบ้านใหม่ร้อยปี

ตลาดบ้านใหม่ร้อยปี ฉะเชิงเทรา เป็นชุมชนริมน�้ำชาย ไทยวัฒนธรรมเชื้อสายไทย-จีน จากอดีตจนถึงปัจจุบัน ที่ แห่งนี้มีประวัติศาสตร์มายาวนานกว่า 100 ปี นับตั้งแต่รุ่น อากงอาม่า หรือเรียกได้ว่าตั้งแต่สมัยคุณตาคุณยายยังสาว เมื่อครั้งก่อนที่นี่เป็นแหล่งชุมชนที่มีการค้าขายทางน�้ำอย่าง คึกคัก แต่เมื่อกาลเวลาเปลี่ยนไป ความส�ำคัญของที่นี่กลับ ลดลง เพราะเมื่อถนนตัดผ่าน ผู้คนเริ่มใช้เส้นทางคมนาคม ทางบกมากขึน้ การคมนาคมทางเรือจึงได้เงียบเหงา ชาวบ้าน ชุ ม ชนตลาดบ้ า นใหม่ ส ่ ว นหนึ่ ง จึ ง มี ค วามคิ ด ที่ จ ะพั ฒ นา ตลาดบ้ า นใหม่ ใ ห้ ก ลั บ คึ ก คั ก ดั ง เดิ ม จึ ง ได้ ร วมตั ว กั น จั ด ตลาดในรูปแบบของการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ประกอบ ด้ ว ย 2 ชุ มชนคื อ ชุ มชนตลาดบ้ า นใหม่ และชุ ม ชนตลาด บน เพียงแค่ข้ามสะพานไปมาเท่านั้น ท่านก็จะพบกับความ งดงามย้ อ นยุ ค และมองไปถึ ง อนาคตอั น สดใสมั่ น คงได้ เช่นกัน

CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 59

59

10/10/2561 17:28:04


60

SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา

.indd 60

10/10/2561 17:28:06


ขอให้โชคดี

SOMPOKONG TEMPLE หลวงพ่อโต ซ�ำปอกง ณ วัดอุภัยภาติการาม

หลวงพ่ อ โต ซ� ำ ปอกง ณ วั ด อุ ภั ย ภาติ ก าราม อ�ำเภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา เป็นวัดพระพุทธศาสนา นิ ก ายมหายาน จึ ง มี ค วามเชื่ อ แบบจี น ภายในวิ ห าร มี พ ระโพธิ สั ต ว์ ก วนอิ ม , พระอรหั น ต์ และเทพเจ้ า ที่ ส�ำคัญของชาวจีนให้กราบไหว้บูชาอธิษฐานจิต ความ ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ข องหลวงพ่ อ โตที่ เ ป็ น ที่ ก ล่ า วขวั ญ ถึ ง คื อ การน� ำ โชคดี ม าให้ แ ก่ ค นท� ำ มาค้ า ขาย ตามประวั ติ เล่ า ว่ า เมื่ อ อดี ต ตั้ ง แต่ ส มั ย รั ช กาลที่ 5 ในชุ ม ชนชาว ตลาดบ้านใหม่ล่าง มีเศรษฐีชาวจีน 2 พ่อลูก คือ หลง จู๊ฮี้ (พ่อ) และ หลงจู๊แดง (ลูก) ได้ ไปสักการะหลวงพ่อโต ที่ วั ด พนั ญ เชิ ง จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา และเกิ ด ความศรั ท ธาเลื่ อ มใสเป็ น อย่ า งมาก จึ ง ท� ำ ให้ ทั้ ง สอง สละทรัพย์ส่วนตัวสร้างหลวงพ่อโต หรือ พระซ�ำปอกง ไว้ที่เมืองแปดริ้ว โดยหลงจู๊แดง ภายหลังได้รับการแต่งตั้ง เป็นขุนพิพิธพานิชกรรม ได้สละที่ดินส่วนตัว บริเวณ ต�ำบลบ้านใหม่ จังหวัดฉะเชิงเทรา เพื่อสร้างวิหารด้วย หลวงพ่ อ โต หรื อ พระซ� ำ ปอกงนี้ เป็ น พระพุ ท ธ รูปปูนปั้น ข้างในองค์พระเป็นโพรง โดยสมัยก่อนจะใช้ กระบุง หรือภาชนะที่สานด้วยไม้ ไผ่ เอามาก่อซ้อนกัน เป็นรูปองค์พระ ต่อมาจึงเอาปูนฉาบ แล้วจึงค่อยลงรัก ปิดทองภายหลัง ครั้นพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 5 ทรงทราบว่า พระพุทธรูปได้มีการ จ� ำ ลองแบบมาจากอยุ ธ ยา จึ ง ทรงพระราชทานนาม พระพุ ท ธรู ป องค์ นี้ ว ่ า “พระพุ ท ธไตรรั ต นายก” เช่ น เดียวกับที่วัดพนัญเชิง อยุธยา

ขอขอบคุณข้อมูล : https://thai.tourismthailand.org

www.paiduaykan.com www.sawasdee-padriew.com CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 61

61

10/10/2561 17:28:11


62

SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา

.indd 62

10/10/2561 17:28:12


แปดริว ้

ซอกแซกเมือง

ที่ซก ุ ซ่อนความงาม ตระการตาอย่างคาดไม่ถึง

CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 63

63

10/10/2561 17:28:13


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

“วัดโสธรวรารามวรวิหาร”

เป็นวัดเก่าแก่คู่บ้านคู่เมืองฉะเชิงเทรา เป็นที่ประดิษฐานหลวงพ่อพุทธโสธร พระพุทธรูป อันเป็นที่เคารพสักการะของชาวแปดริ้ว และคนต่างบ้านต่างเมืองมาแต่อดีตกาล

วัดโสธรวรารามวรวิหาร “หลวงพ่ อ โสธร” พระพุ ท ธรู ป ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ศู น ย์ ร วมศรั ท ธาแห่ ง ลุ ่ ม น�้ ำ บางปะกง

วัดโสธรวรารามวรวิหาร เป็นวัดเก่าที่มีประวัติความเป็นมานับร้อยปี แต่จะสร้างขึ้นเมื่อปีใดนั้นไม่ปรากฏหลักฐาน ที่แน่ชัด หากอิงตามบันทึกในพงศาวดารท�ำให้ เชื่อได้ว่าน่าจะสร้างขึ้นตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา ตอนปลายโดยใช้ชื่อว่า “วัดหงส์” มีที่ตั้งเดิม อยู่ชิดริมฝั่งแม่น�้ำบางปะกงทางด้านตะวันตก ต่อมาโดนแม่น�้ำไหลกัดเซาะจนตลิ่งพังลงมา วัดเดิมจึงหายไป ครั้นเมื่อมีการสร้างวัดขึ้นใหม่ แทนที่ จึงถอยร่นเข้ามาจากที่ตั้งเดิมพอสมควร

64

6

SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา

.indd 64

9/10/2561 15:41:34


WAT SOTHONWARARAM WORAWIHAN

“วั ด หลวงพ่ อ โสธร”

WAT SOTHONWARARAM WORAWIHAN

หลวงพ่อโสธรเป็นพระพุทธรูปที่มีรูปลักษณ์งดงามมาก มีผู้เกรงว่าจะเป็นอันตรายอาจจะมีผู้ ใจบาปมากระท�ำไม่ดี จึงจัดการสร้าง พระพุทธรูปปูนปั้นขึ้นใหม่ แล้วเอาองค์จริงของหลวงพ่อโสธรประดิษฐานไว้ข้างในไม่ให้ ใครเห็นจนบัดนี้

วัดโสธรวรารามวรวิหาร หลวงพ่อโสธรเป็นพระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมืองแปดริ้ว หรือจังหวัดฉะเชิงเทราโดยแท้จริงตลอดมา หลวงพ่อพุทธโสธร หรือหลวงพ่อโสธร หน้าตักกว้าง 1.65 เมตร สูง1.48 เมตร เท่าที่มองเห็นองค์หลวงพ่อโสธรอยู่ในปัจจุบันนี้

ที่ ม าของชื่ อ “วั ด หงส์ ” มาจากลักษณะเด่นของวัด ที่มีเสาสูงใหญ่ มีหงส์เป็น เครื่องหมายอยู่บนยอดเสา ต่อมาเกิดพายุใหญ่พัดตัวหงส์ บนยอดเสาหักตกลงมาเหลือแต่ ตัวเสา ชาวบ้านจึงเอาธงขึ้นไป แขวนแทน และเปลี่ยนมาเรียกว่า “วัดเสาธง” แทน

ครั้นเมื่อเกิดพายุพัดเสาธงหักอีกครั้ง ชาวบ้านจึงพากันเรียกว่า “วัดเสาธงทอน” บ้าง “เสาทอน” บ้าง แต่ เ นื่ อ งจากเป็ น ค� ำ ที่ ไ ม่ ไ พเราะ กอปรกั บ เป็ น ช่ ว งเวลาเดี ยวกั บ ที่ ช าวบ้ า นได้ อั ญ เชิ ญ พระพุ ท ธโสธรหรื อ หลวงพ่อโสธรให้มาประดิษฐานอยู่ที่วัดนี้ ในขณะที่วัดยังมีชื่อเรียกไม่แน่นอน ชาวบ้านจึงพร้อมใจกันเปลี่ยน ชื่อใหม่เป็น “วัดศรีโสทร” ซึ่งสันนิษฐานว่ามาจากชื่อเดิมขององค์พระสมัยที่อยู่วัดศรีเมือง ทางภาคเหนือ แต่บางต�ำราก็กล่าวว่าชื่อ “วัดโสทร” อันหมายถึงพระพุทธรูป 3 องค์ ซึ่งพี่น้องร่วมอุทร 3 คน ร่วมกันสร้างขึ้น และลอยน�ำ้ มาด้วยกันดังต�ำนาน (ความหมายของค�ำว่า “โสทร” ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน แปลว่า พี่น้องร่วมท้องกัน) ส�ำหรับค�ำว่า “โสธร” ที่ปรากฏในปัจจุบันนั้น มีความหมายว่า “บริสุทธิ์” หรือ “ศักดิ์สิทธิ์” สันนิษฐานว่า มากจากการทีห่ ลวงพ่อโสธรเป็นพระพุทธรูปศักดิส์ ทิ ธิแ์ ละมีรปู ทรงสวยงาม นอกจากนีย้ งั มีผรู้ บู้ างท่านวิเคราะห์ ว่า “โสธร” เป็นนามศักดิ์สิทธิ์ “โส” เป็นอักษรส�ำเร็จรูป ป้องกันสรรพทุกข์ สรรพโศก สรรพโรค และสรรพภัยทั้งปวง “ธ” เป็นพยัญชนะอ�ำนาจ มีตบะเดชานุภาพ “ร” เป็นอักษรมหานิยม อันเป็นที่ชื่นชมของเทวดาและมนุษย์ CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย

6

.indd 65

65

9/10/2561 15:41:38


เมื่อครั้งที่สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส เสด็จไปตรวจราชการคณะสงฆ์ที่จังหวัดฉะเชิงเทราเมื่อปี พ.ศ. 2458 และได้เสด็จที่วัดโสธรฯ ยังทรงวินิจฉัยว่า “ผู้ที่ให้ชื่อวัดนี้ว่า วัดโสธร นั้น ไม่ใช่เป็นคนไม่มีความรู้ เพราะชื่อนี้เป็นชื่อที่ไพเราะ ทั้งแปลได้ความหมายดีด้วย” วัดโสธรวรารามวรวิหาร ถือว่าเป็นวัดทีม่ ลี กั ษณะดี ด้วยมีทำ� เล ที่ตั้งที่เป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์และเป็นที่ธรณีสงฆ์ในการรักษาศาสนา สืบต่อไป เพราะตัง้ อยูบ่ นแหลม มีแม่นำ�้ บางปะกงโอบล้อมทางทิศใต้ ตามความเชือ่ เรือ่ ง “ฮวงจุย้ ” ในธรรมเนียมจีนเรียกท�ำเลลักษณะนีว้ า่ “ที่มังกร” โดยเฉพาะที่ประดิษฐานหลวงพ่อโสธรประทับอยู่ทุกวันนี้ ถือว่าเป็นส่วนหัวมังกรซึ่งมีค�ำท�ำนายทายทักว่า หากพระพุทธรูปใด ประทับ ณ สถานที่แห่งนี้จะเกิดรัศมีบารมีและความศักดิ์สิทธิ์ในอัน ทีจ่ ะรักษาบ้านเมืองและสืบทอดพระพุทธศาสนาสืบต่อไป จนน�ำมา สูค่ วามเชือ่ ทีว่ า่ ห้ามเคลือ่ นย้ายองค์หลวงพ่อจากทีเ่ ดิมอย่างเด็ดขาด เพราะเชื่อว่าหากเคลื่อนย้ายไป ย่อมท�ำให้เสื่อมความศักดิ์สิทธิ์ กระทบกระเทือนถึงชาติและพระพุทธศาสนา ซึ่งในอดีตที่ผ่านมา เจ้าอาวาสรูปก่อนๆ มีความคิดที่จะย้ายที่ประทับขององค์หลวงพ่อ เพือ่ ทีจ่ ะสร้างพระอุโบสถใหม่ถวาย แต่ปรากฏว่าไม่สำ� เร็จเลยแม้แต่ ครั้งเดียว เพราะมีเหตุให้เป็นไปต่างๆ นานา บันทึกวัดโสธรฯ

วัดโสธรฯ ในสมัยแรกๆ นั้น ก็เหมือนวัดต่างจังหวัดทั่วๆ ไป ไม่มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จัก อยู่ห่างไกลความเจริญ อีกทั้งพื้นที่ใกล้เคียง ก็มีเพียงหมู่บ้านเล็กๆ และป่าเท่านั้น ถนนหนทางก็ยังเข้าไม่ถึง เดินทางไปมาไม่สะดวก จุดเปลี่ยนที่ส�ำคัญของวัดโสธรฯ เกิดขึ้นในสมัยต้นกรุงธนบุรี ราวพ.ศ.2313 หลังจากที่ชาวบ้านได้อัญเชิญ “หลวงพ่อโสธร” ขึ้นจากล�ำน�้ำบางปะกงมาประดิษฐานอยู่ที่วัด ต่อมาไม่นานนัก หลวงพ่อก็แสดงอิทธิปาฏิหาริย์ จนชื่อเสียงเริ่มเป็นที่ประจักษ์ เสียง ร�่ำลือถึงความศักดิ์สิทธิ์เริ่มขจรขจายจากปากต่อปาก หมู่บ้านสู่ หมู่บ้าน เมืองสู่เมือง จนเป็นที่โจษขานลือเลื่องไปทั่วทุกหัวระแหง ประชาชนจากทั่วทุกสารทิศพากันหลั่งไหลมานมัสการกันอย่างไม่ ขาดสายส่งผลให้ชุมชนรอบๆ วัด พลอยได้รับอานิสงส์และเจริญขึ้น อย่างรวดเร็ว เมืองแปดริ้วที่เคยเป็นเมืองเล็กๆ เงียบๆ ก็เริ่มคึกคัก ไปด้วยผู้คนและมีเศรษฐกิจที่ดีขึ้นเป็นล�ำดับ จากวันนั้นถึงวันนี้

กว่า 200 ปีแล้ว ที่วัดโสธรฯ และหลวงพ่อโสธร สถิตอยู่เป็น มงคลคูเ่ มืองแปดริว้ และผูกพันกับชาวแปดริว้ อย่างแนบแน่นจนมิอาจ แยกจากกันได้ มิใช่เพียงแค่ในด้านความเชือ่ และความศรัทธาเท่านัน้ แต่หลวงพ่อโสธรได้สอดแทรกอยู่ในแทบทุกจังหวะชีวิต ทุกแง่มุม ทั้งด้านสังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม เห็นได้ชัดเจนที่สุดจากชื่อ สถานทีส่ ำ� คัญต่างๆ ภายในจังหวัดทัง้ โรงเรียน โรงพยาบาล ค่ายทหาร ถนน ต�ำบล หมู่บ้าน ตรอก ซอย คลอง ร้านค้า ฯลฯ ไม่ว่าจะหันไป ทางไหนก็มักจะปรากฏชื่อ “โสธร” อยู่ทั่วทุกแห่งหน 66

6

SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา

.indd 66

9/10/2561 15:41:44


แม้ แ ต่ สั ญ ลั ก ษณ์ ท างราชการ อย่ า งเช่ น ตราประจ� ำ จั ง หวั ด ฉะเชิงเทรา ยังเลือกใช้ภาพพระอุโบสถอันสื่อความหมายถึงสถานที่ ประดิษฐานพระพุทธโสธร นอกจากนี้ ค�ำขวัญประจ�ำจังหวัดไม่ว่าจะ เป็นค�ำขวัญในอดีต เช่น “เมืองธรรมะ พระศักดิ์สิทธิ์ ชิดเมืองหลวง มะม่วงหวาน ข้าวสารขาว มะพร้าวหอม” หรือค�ำขวัญในปัจจุบันที่ว่า “แม่นำ�้ บางปะกงแหล่งชีวติ พระศักดิส์ ทิ ธิห์ ลวงพ่อโสธร พระยาศรีสนุ ทร ปราชญ์ภาษาไทย อ่างฤๅไนป่าสมบูรณ์” ล้วนแต่มคี วามหมายทีเ่ กีย่ วข้อง สัมพันธ์กับ “วัด” และ “องค์หลวงพ่อ” ทั้งสิ้น ไม่เฉพาะกับชาวแปดริ้วเท่านั้น “วัดโสธรฯ” และ “หลวงพ่อโสธร” ยังเป็นที่เคารพนับถือและเป็น “ศูนย์รวมแห่งศรัทธา” ของพุทธมามกะ ทั่วประเทศ ยิ่งไปกว่านั้น ยังเป็นที่เคารพศรัทธาของพระมหากษัตริย์ และได้รับการอุปถัมภ์ค�้ำจุนเป็นอย่างดีตลอดมา โดยเฉพาะในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 ถือเป็น ยุคที่วัดโสธรฯ ได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากสถาบันพระมหากษัตริย์ มากกว่าทีเ่ คยเป็นมาในยุคใด นับตัง้ แต่การทีพ่ ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ทรงพระมหากรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ยกฐานะวัดโสธรฯ จาก “วัดราษฎร์” เป็น “พระอารามหลวงชั้นตรีชนิดวรวิหาร” และพระราชทานนามว่า “วัด โสธรวรารามวรวิหาร” เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ.2501 และทรงให้การ อุปถัมภ์อย่างสม�่ำเสมอตลอดมาจวบจนรัชสมัยของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร รัชกาลที่ 10 ในปัจจุบัน

ต�ำนานพระพุ ทธโสธร

พระพุทธโสธร มีประวัติความเป็นมาที่เล่าขานเป็นต�ำนานเฉกเช่น เดียวกับพระพุทธปฏิมาศักดิ์สิทธิ์อีกหลายองค์ ต�ำนานได้เก็บรวบรวม เรื่องราวต่างๆ ในความทรงจ�ำของผู้คนเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ที่ เกิดขึ้นจริงเข้ามาประมวลกับความศักดิ์สิทธิ์ อภินิหารต่างๆ สิ่งเหล่านี้ แสดงให้เห็นถึงความศรัทธาที่มีต่อพระพุทธโสธรของพุทธศาสนิกชนไทย ต�ำนานของหลวงพ่อพุทธโสธร มีการเล่าขานกันสืบต่อมาว่า ในสมัย ล้านช้าง-ล้านนา เศรษฐีพี่น้อง 3 คน ซึ่งอาศัยอยู่ทางเหนือ มีจิตเลื่อมใส ศรัทธาจะสร้างพระพุทธรูปเพื่อเสริมสร้างบารมีและเพิ่มพูน ผลานิสงส์ จึงได้เชิญพราหมณ์มาท�ำพิธีหล่อพระพุทธรูปปางต่างๆ ตามวันเกิด ของแต่ละคนอันมีปางสมาธิ ปางมารวิชัย และปางอุ้มบาตร แล้วท�ำพิธี บวงสรวงชุมนุมเทวดาตามพิธีกรรมทางโหราศาสตร์ เพื่อปลุกเสกแล้ว อัญเชิญไปประดิษฐานในวัด กาลต่อมาได้เกิดยุคเข็ญขึ้น โดยพม่าได้ยกทัพมาตีไทยหลายครั้ง หลายหน จนครั้งสุดท้าย คือครั้งที่ 7 ก็ตีเมืองแตก และได้เผาบ้านเผา เมืองตลอดจนวัดวาอารามต่างๆ หลวงพ่อหรือพระพุทธรูป 3 พี่น้องได้ ปรึกษากันเห็นว่าเป็นสถานการณ์คับขัน จึงได้แสดงอภินิหารเคลื่อนย้าย องค์สู่แม่น�้ำปิง แล้วล่องมาทางใต้ตลอด 7 วัน จนกระทั่ง มาถึงแม่น�้ำ เจ้าพระยา ตรงบริเวณที่ปัจจุบันเรียกว่า “สามเสน” ก็ได้แสดงอภินิหาร ลอยให้ชาวบ้านชาวเมืองเห็น ชาวบ้านนับแสนๆ คน ได้ทำ� การฉุดหลวงพ่อ ทั้ง 3 องค์ ถึง 3 วัน 3 คืน ก็ฉุดไม่ขึ้น ต�ำบลนั้นจึงได้ชื่อว่า “สามแสน” ซึ่งได้เพี้ยนเป็น “สามเสน” ในภายหลัง

CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย

6

.indd 67

67

9/10/2561 15:41:48


ประวัติเจ้าอาวาส

พระธรรมมังคลาจารย์ วิ. (ประยงค์ ปิยวณฺโณ) ชาติภูมิ พระธรรมมังคลาจารย์ วิ. มีนามเดิมว่า ประยงค์ วรรณประดิษฐ์ เกิดเมื่อวันที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2468 ที่หมู่ 3 ต�ำบลท่าสะอ้าน อ�ำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา ในช่วงวัยเยาว์จบการศึกษา ชั้นประถมปีที่ 4 โรงเรียนวัดแสน ภูดาษ อ�ำเภอบ้านโพธิ์ จังหวัด ฉะเชิงเทรา หลังจากเรียนจบชัน้ ประถมศึกษาจากโรงเรียนในหมูบ่ า้ น ได้ไปใช้ชวี ติ ฆราวาส แต่อปุ นิสยั เป็นผูม้ จี ติ ใจโน้มเอียงเข้าหาพระธรรม เวลาว่างจากงาน ได้พยายามศึกษาเรือ่ งราวเกีย่ วกับพระพุทธศาสนา รวมทั้งแนวทางปฏิบัติของ พระสายกัมมัฏฐาน อุปสมบท เข้าพิธีอุปสมบทเมื่อวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2510 ที่วัดท่า สะอ้าน ต�ำบลท่าสะอ้าน อ�ำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา โดย มีพระธรรมกิจจานุรักษ์ วัดอุสภาราม ต�ำบลบางวัว อ�ำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา เป็นพระอุปัชฌาย์ พระสมุห์แจ่ม ทันตธัมโม วัด อุสภาราม ต�ำบลบางวัว เป็นพระกรรมวาจาจารย์ และพระครูบัวโรย สีลเตโช วัดท่าสะอ้าน เป็นพระอนุสาวนาจารย์ ได้รบั ฉายา ปิยวัณโณ

ต�ำแหน่ง ฝ่ายปกครอง พ.ศ. 2521 เป็นรองเจ้าอาวาสวัดท่าสะอ้าน พ.ศ. 2528 เป็นเจ้าคณะต�ำบลบางวัว พ.ศ. 2529 เป็นพระอุปัชฌาย์ พ.ศ. 2532 เป็นเจ้าอาวาสวัดท่าสะอ้าน พ.ศ. 2546 เป็นเจ้าคณะอ�ำเภอบางปะกง พ.ศ. 2552 เป็นเจ้าอาวาสวัดโสธรวรารามวรวิหาร พ.ศ. 2556 เป็นที่ปรึกษาเจ้าคณะอ�ำเภอบางปะกง พ.ศ. 2559 เป็นที่ปรึกษาเจ้าคณะภาค 12 สมณศักดิ์ พ.ศ. 2519 เป็นพระครูประทวนสมณศักดิ์ พ.ศ. 2533 เป็นพระครูสัญญาบัตร เจ้าคณะต�ำบล ชั้นตรี ที่ พระครูประยุตพัฒนาภรณ์ พ.ศ. 2538 เป็นพระครูสัญญาบัตร เจ้าคณะต�ำบล ชั้นโท ในราชทินนามเดิม พ.ศ. 2543 เป็นพระครูสัญญาบัตร เจ้าคณะต�ำบล ชั้นเอก ในราชทินนามเดิม พ.ศ. 2546 เป็นพระครูสัญญาบัตร เจ้าคณะอ�ำเภอ ชั้นโท ในราชทินนามเดิม 12 สิงหาคม พ.ศ. 2547 เป็นพระราชาคณะชั้นสามัญ ที่ พระพิพิธ กิจจาภิวัฒน์ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2552 เป็นพระราชาคณะชัน้ ราช ฝ่ายวิปสั สนาธุระ ที่ พระราชมงคลรังสี โมลีภาวนาวรกิจ มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี 5 ธันวาคม พ.ศ. 2556 เป็นพระราชาคณะชั้นเทพ ฝ่ายวิปัสสนา ธุระ ที่ พระเทพสิทธิญาณรังษี โมลีภาวนาวรกิจ สิทธิธรรมาลงกรณ์ มหา คณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี 5 ธันวาคม พ.ศ. 2559 เป็นพระราชาคณะชั้นธรรม ฝ่ายวิปัสสนา ธุระ ที่ พระธรรมมังคลาจารย์ ภาวนาวิธานประคุณ วิบูลธรรมสโมธาน วิปัสสนาบรรหารธุราทร มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี

เกียรติคุณ พ.ศ. 2553 ได้รับปริญญาพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จากมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย 68

6

SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา

.indd 68

9/10/2561 15:41:49


พิ ธีเปิดมหาวิหาร วันพฤหัสบดีที่ 6 กันยายน 2561 เจ้าพระคุณ สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก เสด็จ ณ วัดโสธรวราราม อ�ำเภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา ในพิธีเปิดอาคาร พระมหาวิหารหลวงพ่อโสธร การนี้ ทรงนมัสการ พระพุทธโสธร ทรงถวายพัดรองอักษรพระนาม ออป ไตรและย่ามอักษรพระนาม ออป เป็นพุทธบูชา แล้ว เสด็จไปยังพระมหาวิหารหลวงพ่อโสธร ทรงปิดทอง พระพุทธโสธรจ�ำลอง แล้วทรงกดปุ่มเปิดแพรคลุม ป้ายนามอาคาร

CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย

6

.indd 69

69

9/10/2561 15:41:50


70

6

SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา

.indd 70

9/10/2561 15:41:57


พระพรหมคุณาภรณ์ (หลวงปู่เจียม) พระนักพั ฒนา

ล�ำดับเจ้าอาวาส

1. พระอาจารย์อ้น ตั้งแต่ พ.ศ.2405-2412 2. พระอาจารย์จู ตั้งแต่ พ.ศ.2412-2418 3. พระอาจารย์ปาน ตั้งแต่ พ.ศ.2418-2450 4. พระอาจารย์หลิน ตั้งแต่ พ.ศ.2458-2452 5. พระอาจารย์กาด รักษาการตั้งแต่ พ.ศ.2482-2484 6. พระครูอุดมสมณคุณ ตั้งแต่ พ.ศ.2484-2488 7. พระมหาก่อ เขมทสฺสี ตั้งแต่ พ.ศ.2488-2492 8. พระเขมารามมุนี ตั้งแต่ พ.ศ.2492-2502 9. พระราชเขมากร ตั้งแต่ พ.ศ.2502-2506 10. สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ปุ่น ปุณฺณสิริ) วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร รักษาการตั้งแต่ พ.ศ. 2506-2507 11. พระพรหมคุณาภรณ์ (เจียม) ตั้งแต่ พ.ศ.2507-2540 12. พระราชมงคลวุฒาจารย์ (สุธีร์) ตั้งแต่ พ.ศ.2541-2547 13. พระพรหมสุธี (เสนาะ ปญฺญาวชิโร) วัดสระเกศราชวรมหาวิหาร รักษาการตั้งแต่ พ.ศ.2547-2552 14. พระธรรมมังคลาจารย์ วิ. (ประยงค์ ปิยวณฺโณ) ที่ปรึกษา เจ้าคณะภาค 12 ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสตัง้ แต่ พ.ศ. 2552-ปัจจุบนั สิริอายุ 93 ปี พรรษา 51

วัดโสธรฯ ได้พัฒนาจนรุ่งเรืองเป็นอย่างยิ่ง ด้วยผลงานของพระพรหม คุณาภรณ์ (จิรปุญฺโญ ด.เจียม กุลละวณิชย์) หรือหลวงปู่เจียม ของชาวแปดริ้ว สาธารณประโยชน์ทงั้ ปวงทีไ่ ด้กล่าวมาแล้วล้วนเกิดขึน้ จากการริเริม่ ของหลวงปูเ่ จียม ในขณะที่ท่านเป็นเจ้าอาวาสครองวัดนับแต่ พ.ศ.2508 จนถึง พ.ศ.2540 หลวงปู่เจียม เป็นพระสงฆ์ผู้ปฏิบัติดี ปฏิบัติชอบ มีความกตัญญูกตเวทีต่อ พระศาสนาโดยการปฏิบัติรักษาศีล รักษาพระธรรมวินัย ที่พระพุทธเจ้าทรง บัญญัติและประทานไว้อย่างไม่มีราคีเศร้าหมองใดๆ มีความกตัญญูกตเวทีต่อ ผูม้ พี ระคุณ เช่น การขอพระราชทานนามสกุล “กุลละวณิชย์” แก่บดิ าและตนเอง และการบวชให้แก่บิดามารดา เป็นต้น หลวงปู่เจียม มีจิตวิญญาณของนักพัฒนาและนักสังคมสงเคราะห์สิ่งที่ส่ง เสริมจิตวิญญาณในการพัฒนาและการเกือ้ กูลสงเคราะห์ตอ่ ประชาชนของท่าน ประการหนึง่ น่าจะได้แก่ประสบการณ์ในการศึกษา คือการศึกษาบาลีไวยากรณ์ เมื่อเป็นเด็กวัด การเรียนภาษาจีนและอังกฤษที่โรงเรียนพาณิชยการแห่งหนึ่ง การเป็นนักเรียนแพทย์เสือป่าหลวงและการเป็นนักเรียนนายดาบสมัยรัชกาล ที่ 6 การงานได้แก่การเป็นนายดาบ และการท�ำงานที่แผนกบัญชีรถไฟหลวงที่ หัวล�ำโพงและธนาคารฮ่องกง ก่อนที่จะมาเป็นเจ้าอาวาสวัดโสธรฯ หลวงปู่เจียม ได้ครองวัดลาดขวาง (วัดพิพิธประสาทสุนทร) อ�ำเภอบ้านโพธิ์ อ�ำเภอบ้านเกิดมาก่อน ท่านได้สร้าง โรงเรียน พัฒนาวัด และสร้างสุขศาลา เป็นต้น ให้แก่วัดลาดขวาง ซึ่งต่อมา โรงเรียนวัดลาดขวางได้เปลี่ยนชื่อเป็น “โรงเรียนพุทธิรังสีพิบูล” ในปีที่ท่านได้ รับพระราชทานสมณศักดิ์เป็นพระพุทธิรังสี จนเมื่อ พ.ศ. 2508 หลวงปู่เจียม ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นเจ้าอาวาสวัดโส ธรวรารามวรวิหาร พระอารามหลวง (ชั้นตรี) ท่านได้ปฏิบัติภารกิจมากมาย นานัปการ ผลงานของท่านปรากฏทั้งการบริหารวัด การพัฒนาวัด การพัฒนา การศึกษา และการประชาสงเคราะห์ เป็นคุณประโยชน์อย่างมากมายและ กว้างขวาง วัดเจริญรุ่งเรือง เด่นตาด้วยรูปลักษณ์ และข้อปฏิบัติอันงดงามใน พระพุทธศาสนา เยาวชนในโรงเรียนของวัดได้มีโอกาสในการศึกษาตามองค์ ประกอบส�ำคัญ คือ พุทธิศึกษา จริยศึกษา และพลศึกษา ประชาชนทั่วไปได้ รับการสงเคราะห์ให้พ้นทุกข์ และมีความเป็นอยู่ที่ดีมีสุขมากขึ้น ผลงานของพระพรหมคุณาภรณ์ ที่วัดโสธรฯ ในช่วงเวลา 32 ปี ที่ท่าน เจ้าอาวาสครองวัดมีมากมายมหาศาลนัก ผลงานของท่านทีย่ งั ค้างอยูน่ บั แต่ทา่ น ได้ถึงแก่มรณภาพเมื่อวันที่ 2 มกราคม พ.ศ.2540 ขณะอายุได้ 94 ปี ก็ได้รับ การสานต่อให้ส�ำเร็จลุล่วงตามที่ท่านได้วางรากฐานไว้ ส�ำหรับแนวคิดในการ พัฒนา และการสงเคราะห์สังคมของท่านก็ได้รับการสืบทอด โดยเจ้าอาวาส รูปต่อๆ มาจนถึงปัจจุบัน พระพรหมคุณาภรณ์ เป็นพระสงฆ์สุปฏิปันโนผู้ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ เป็น อัศจรรย์น่าเลื่อมใสนัก เป็นพุทธบริษัทที่เป็นเนื้อนาบุญของพุทธศาสนิกชน และบวรพุทธศาสนาอย่างแท้จริง

CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย

6

.indd 71

71

9/10/2561 15:42:01


H I S TO R Y O F B U D D H IS M เส้นทางธรรมหนุ HบันI ทึSกTO R Y O F นBนำ�UชีวDิตD H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

พระมหาธาตุเจดีย์ “ศรีพุทธวรญาณ” วัดบางปรงธรรมโชติการาม หนึง ่ เดียวในภาคตะวันออก

72

SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา

5

.indd 72

9/10/2561 17:57:31


HIST ORY OF BUDDH ISM

บันทึกเส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต

วัดบางปรงธรรมโชติการาม พระครูโชติพัฒนากร ดำ�รงตำ�แหน่งเจ้าอาวาสวัดบางปรง และเจ้าคณะอำ�เภอเมืองฉะเชิงเทรา หลวงพ่ออู่ทอง ความเป็นมาสร้างมาพร้อมกับอุโบสถอายุราว 300 กว่าปี ปลาย กรุงศรีอยุธยา เป็นพระพุทธรูปแบบศิลปะสมัยอู่ทอง เป็นเนื้อสำ�ริด ประชาชนเรียกว่า “หลวงพ่ออู่ทอง” ได้ประดิษฐานอยู่ในอุโบสถหลังเก่า ของวัดบางปรงธรรมโชติการาม ซึ่งขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถานเป็นที่ เรียบร้อย วัดบางปรงธรรมโชติการาม ตัง้ อยูท่ หี่ มู่ 9 บ้านบางปรง ต�ำบลบางพระ อ�ำเภอเมื อ งฉะเชิ ง เทรา เป็ น วั ด ที่ มี ค วามส�ำคั ญ ของจั ง หวั ด และเป็ น วั ด ประจ�ำบ้ า นบางปรง ได้ รั บ การเคารพสั ก การะและท�ำนุ บ�ำรุ ง จาก พุทธศาสนิกชนเรื่อยมา โดยวัดบางปรงได้รับการประกาศขึ้นทะเบียน โบราณสถานในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 119 ตอนพิเศษ 129ง วันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ.2545 เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถานและก�ำหนดเขตที่ดิน โบราณสถาน (โบราณสถานวัดบางปรง) ซึ่งอุโบสถหลังเก่าที่เป็นโบราณ สถานมีสภาพมั่นคงแข็งแรง เป็นที่ประดิษฐานหลวงพ่ออู่ทอง พระประธาน ในอุโบสถ เป็นที่เคารพสักการะของชาวบางปรงเป็นอย่างมาก ได้รับการ บูรณะเรื่อยมาจนปัจจุบันมีสภาพงดงามสมบูรณ์ ขอเชิ ญ พุ ท ธศาสนิ ก ชนกราบสั ก การะพระมหาธาตุ เ จดี ย์ “ศรี พุ ท ธวรญาณ” ภายในมี ทั้ ง หมด 3 ชั้ น อั ญ เชิ ญ พระสารี ริ ก ธาตุ พระพุทธเจ้า ประดิษฐานบนยอดของพระมหาธาตุเจดีย์ รวมทัง้ พระพุทธ รูปหยกขาว หยกเขียว งดงามที่สุดในประเทศ ทั้งยังมีพระพุทธรูปจำ�ลอง หลวงพ่อพุทธโสธร หุ่นสีผึ้งพระอริยสงฆ์ของประเทศไทยเกือบร้อยองค์ อาทิ สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี)

บันทึก

วัดบางปรงธรรมโชติการาม

ภายในชั้นที่ 3 ซึ่งเป็นชั้นบนสุดมีจุดให้สักการะ 5 จุด ด้วยกัน คือ 1. สักการะพระบรมสารีริกธาตุ 2. สักการะพระหยก 4 ภาค 3. หมอชีวกโกมารภัจจ์ 4. เทวดาอารักษ์ 5. ถวายผ้าห่มพระธาตุ พระมหาธาตุเจดีย์ เป็นต้น พระมหาธาตุเจดีย์ “ศรีพทุ ธวรญาณ” เปิดทุกวัน เวลา 08.00 น. – 17.00 น.

CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย

5

.indd 73

73

9/10/2561 17:57:34


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

ประวัติเจ้าอาวาส

หลวงพ่ออยู่ ท่านอุปัชฌาย์หมวด(อยู่) บ้านเกิดอยู่ตำ�บลโสธร อำ�เภอเมือง จังหวัด ฉะเชิงเทรา บิดาชื่อ ไหม มารดาชื่อ แป้น เกิดเมื่อปีฉลู เดือน 8 วันพฤหัสบดี พ.ศ.2384 ได้อุปสมบทที่วดั บางปรง ยายเป็นผูอ้ ปุ การะในการอุปสมบท เมือ่ ปีระกา พ.ศ.2405 ครัง้ อุปสมบทแล้วได้ปฏิบตั ใิ นสมณะกิจตลอดมาจนมีความรู้ เพียงพอแล้วจึงได้รับหน้าที่เป็นคู่สวด ครั้นต่อมาก็ได้รับหน้าที่เป็นเจ้าอาวาส อยู่วัดบางปรง รวมพรรษาได้ประมาณ 40 เศษ จึงได้รับหน้าที่เป็นอุปัชฌาย์ ครั้งเมื่อวันที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2461 ก็ได้รับหน้าที่เป็นเจ้าคณะหมวด ครั้งถึง พ.ศ. 2466 ก็อาพาธเป็นโรคชรากระเสาะกระแสมา ได้ถึงมรณภาพ เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2466 ตรงกับวันพุธ แรม 14 ค่ำ� เดือน 5 ปีกุน รวมพรรษาได้ 62 พรรษา อายุ 83 ปี ท่านเป็นผูม้ อี ธั ยาศัยแลน�ำ้ ใจดีโอบอ้อมอารีแก่สานุศษิ ย์ แลพุทธศาสนิกชน ทั่วไป ด้วยพรหมวิหารทั้ง 4 ซึ่งสมมุติว่าเป็นพรหมของศิษยานุศิษย์ทั้งหลาย แลได้บ�ำรุงวัดวาอาราม ปกครองคณะสงฆ์มาโดยเรียบร้อยฉะนี้ ควรชาวเราที่ เป็นศิษยานุศษิ ย์ จงระลึกถึงคุณปการะของท่านผู้เป็นอุปฌายาจารย์ของเรา ท่านทั้งหลายเทอญ 74

พระครูโชติพัฒนากร (เสนีย์) ฉายา รุจิธมฺโม อายุ 64 พรรษา 44 วิทยฐานะ น.ธ.เอก ปัจจุบันดำ�รงตำ�แหน่งเจ้าอาวาสวัดบางปรงธรรม โชติการาม และเจ้าคณะอำ�เภอเมืองฉะเชิงเทรา วิทยฐานะ พ.ศ.2509 สำ�เร็จการศึกษาชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จากโรงเรียนวัด บางปรง ตำ�บลบางพระ อำ�เภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา พ.ศ.2522 สอบได้ น.ธ.เอก วัดบางปรงธรรมโชติการาม สำ�นักเรียน คณะจังหวัดฉะเชิงเทรา พ.ศ.2552 ได้รับปริญญาพุทธศาสตร์บัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชา พระพุทธศาสนา จากมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย สมณศักดิ์ พ.ศ.2545 ได้พระราชทานสมณศักดิ์ เป็นพระครูสญ ั ญาบัตรเจ้าคณะ ตำ�บล ชั้นโท ในราชทินนามที่ พระครูโชติพัฒนากร พ.ศ.2552 เป็นพระครูสัญญาบัตรรองเจ้าคณะอำ�เภอ ชั้นโท พ.ศ.2555 ได้พระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์ เป็นพระครูสัญญาบัตร เทียบเท่าเจ้าคณะอำ�เภอชั้นเอก

SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา

PB

SBL5บันทึก.indd ประเทศไทย I เพชรบุรี 74

9/10/2561 17:57:40


ปรองดองสมานฉั น ท์ โดยใช้ ห ลั ก ธรรมทางพระพุ ท ธ ศาสนา “หมู่บ้านรักษาศีล 5” การขับเคลื่อนโครงการสร้างความปรองดองสมานฉันท์ โดยใช้หลัก ธรรมทางพระพุทธศาสนา “หมูบ่ า้ นรักษาศีล 5” ได้มกี ารจัดกิจกรรมโดย ลำ�ดับ โดยมีการแต่งตัง้ คณะกรรมการโครงการส่งเสริมหมูบ่ า้ นรักษาศีล 5 จังหวัดฉะเชิงเทรา ประกอบด้วยคณะสงฆ์มพี ระราชปริยตั สิ นุ ทร เจ้าคณะ จังหวัดฉะเชิงเทรา เป็นประธานฝ่ายสงฆ์ ฝ่ายฆราวาส ประกอบด้วย นายสุวทิ ย์ คำ�ดี ผูว้ า่ ราชการจังหวัด เป็นประธานกรรมการ พร้อมด้วยส่วน ราชการในจังหวัดที่เกี่ยวข้อง มีผู้อำ�นวยการสำ�นักงานพระพุทธศาสนา จังหวัดเป็นรองประธานกรรมการ เลขานุการฝ่ายการเผยแผ่คณะสงฆ์ จังหวัดฉะเชิงเทรา เป็นกรรมการและเลขานุการ และเจ้าหน้าที่ส�ำ นักงาน พระพุทธศาสนาจังหวัดฉะเชิงเทรา เป็นกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ โดยได้ประชุมคณะกรรมการเพื่อชี้แจงแนวทางการดำ�เนินงาน พร้อมทัง้ ได้แจ้งมติมหาเถรสมาคมไปยังวัดและอำ�เภอ องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ เพื่อ ให้การสนับสนุนและให้การดำ�เนินงานเป็นไปในทิศทางเดียวกัน ในการดำ�เนินโครงการหมูบ่ า้ นรักษาศีล 5 จังหวัดฉะเชิงเทราทีผ่ า่ นมา ได้รับความร่วมมือ ร่วมแรง ร่วมใจอย่างดีเยี่ยม จากทางคณะสงฆ์และ ส่วนราชการตลอดจนภาคส่วนอืน่ ๆ ทำ�ให้โครงการขับเคลือ่ นไปได้อย่างรวดเร็ว ด้วยความเข้มแข็ง และความสามัคคีของคณะสงฆ์จงั หวัดฉะเชิงเทรา นำ�โดย พระราชปริยตั สิ นุ ทร เจ้าคณะจังหวัดฉะเชิงเทรา และพระราชภาวนาพิธาน

รองเจ้าคณะจังหวัดฉะเชิงเทรา ทีม่ งุ่ มัน่ น�ำพาคณะสงฆ์ขบั เคลือ่ นโครงการ ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบัน สามารถก้าวข้ามปัญหาและ อุปสรรคต่างๆที่เกิดขึ้น ท�ำให้โครงการหมู่บ้านรักษาศีล 5 ของจังหวัด ฉะเชิงเทราประสบความส�ำเร็จเป็นทีห่ น้าพอใจ และขยายเพิม่ มากขึน้ ต่อไป พ.ศ.2560 จังหวัดฉะเชิงเทรา พิจารณาคัดเลือก บ้านบางปรง หมู่ 9 ต�ำบลบางพระ อ�ำเภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา เป็นหมูบ่ า้ นต้นแบบระดับ จังหวัด โดยมีพระครูโ ชติพัฒนากร เจ้าคณะอ�ำเภอเมืองฉะเชิงเทรา เจ้าอาวาสวัดบางปรง และก�ำนันอาทร ช่วยณรงค์ ก�ำนันต�ำบลบางพระ นายปราโมทย์ ชูทบั ทิม ประธานกรรมการบริหารวัดบางปรง พร้อมด้วย ผูน้ �ำชุมชน และ คณะกรรมการหน่วยอบรมประชาชนประจ�ำต�ำบลบางพระ เป็นผูด้ �ำเนินการขับเคลือ่ นกิจกรรมต่างๆ โดยมี วัดบางปรงธรรมโชติการาม ต�ำบลบางพระ อ�ำเภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา เป็นศูนย์กลางในการ ประสานงานต่างๆ ของจังหวัดฉะเชิงเทรา

การลงพื้นที่ตรวจเยี่ยมและติดตามดำ�เนินงาน โครงการสร้างความปรองดองสมานฉันท์ โดยใช้หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา

นายปราโมทย์ ชูทับทิม ผู้พิพากษาศาลเยาวชน และประธาน กรรมการวัดบางปรง ผู้ร่วมเป็นกำ�ลังหลัก และเป็นผู้นำ�รวบรวมชาวบ้าน ในการร่วมกับท่านเจ้าอาวาสในการบูรณะปฏิสงั ขรวัดครัง้ ใหญ่ ซึง่ นำ�ความ เจริญรุ่งเรืองมาสู่วัดบางปรงจนถึง ณ ปัจจุบันนี้ CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย

5

.indd 75

75

9/10/2561 17:57:45


H I S TO R Y O F B U D D H IS M เส้นทางธรรมหนุ HบันI ทึSกTO R Y O F นBนำ�UชีวDิตD H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดปิตุลาธิราชรังสฤษฎิ์ พระธรรมปริยัติมุนี (ประยนต์ อจฺจาทโร ป.ธ.9) ดำ�รงตำ�แหน่งเจ้าอาวาส 76

SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา

4

.indd 76

8/10/2561 17:55:36


HIST ORY OF BUDDH ISM

บันทึกเส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต

วัดปิตลุ าธิราชรังสฤษฎิ์ หรือวัดเมือง เป็นพระอารามหลวงชัน้ ตรี ชนิ ด สามั ญ ตั้ ง อยู ่ ริ ม แม่ น�้ ำ บางปะกงฝั ่ ง ตะวั น ตก เลขที่ 156 ถนนมรุพงษ์ ต�ำบลหน้าเมือง อ�ำเภอเมืองฉะเชิงเทรา สร้างในสมัย พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3 โดยโปรดให้ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าไกรสร กรมหลวงรักษ์รณเรศ ซึ่งเป็นพระราชโอรสองค์ที่ 33 ในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้า จุฬาโลก รัชกาลที่ 1 ต้นราชสกุล “พึ่งบุญ” สร้างวัดพร้อมๆ กับการ สร้างก�ำแพงเมืองฉะเชิงเทรา ดังในพระราชนิพนธ์ ในพระบาทสมเด็จฯ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว แสดงไว้ว่า “แล้วโปรดให้กรมหลวง รักษรณเรศออกไปสร้างป้อมก�ำแพงที่เมืองฉเชิงเทราอีกต�ำบล 1 โปรดให้สร้างวัดไว้ในกลางเมือง ซึ่งพระราชทานนามในบัดนี้ว่า วัดปิตุลาธิราชรังสฤษดิ” (จากหนังสือ ประชุมพงศาวดารภาคที่ 33 บุรพภาคพระธรรมเทศนาเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จฯ พระนัง่ เกล้า เจ้าอยู่หัว พระราชนิพนธ์ ในพระบาทสมเด็จฯ พระจุลจอมเกล้า เจ้าอยูห่ วั พระวิมาดาเธอฯ กรมพระสุทธาสินนี าฎ ปิยมหาราชปดิวรัดา โปรดให้พิมพ์ในงานพระชนมายุสมมงคล เมื่อ ปีขาล พ.ศ.2469 พิมพ์ที่โรงพิมพ์โสภณพิพรรฒธนากร หน้า 89 และใน https:// th.wikisource.org/wiki/ประชุมพงศาวดาร_ภาคที่_33)

พุทธาวาสของวัดปิตลุ าธิราชรังสฤษฎิ์ มีพระอุโบสถและพระวิหาร ล้ อ มรอบด้ ว ยก� ำ แพงแก้ ว ประกอบด้ ว ยพระปรางค์ ห ลายองค์ ที่บริเวณมุมของก�ำแพงแก้ว มีลักษณะคล้ายกับพระปรางค์ในวัด พระศรีรัตนศาสดาราม (วัดพระแก้ว) จึงเป็นที่ยอมรับเชื่อถือกันว่า คงจะเป็นช่างฝีมอื จากเมืองหลวงเป็นผูก้ อ่ สร้าง ต่อมาทรุดโทรมมาก ปัจจุบันได้มีการบูรณปฏิสังขรณ์จนอยู่ในสภาพที่สมบูรณ์ วัดนี้ แต่เดิมเรียกชื่อกันว่า วัดเมือง เพราะเป็นวัดส�ำคัญกลางใจเมือง ต่อมาได้รับพระราชทานนามวัดอย่างเป็นทางการในสมัยพระบาท สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ว่า “วัดปิตุลาธิราช รังสฤษฎิ์” วัดปิตุลาธิราชรังสฤษฎิ์ มีชื่ออยู่ในทะเบียนวัดของส�ำนักงาน พระพุทธศาสนาแห่งชาติ และมีสภาพเป็นวัดตามมาตรา 31 แห่ง พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ.2505 แก้ไขเพิ่มเติมแห่งพระราช บัญญัติคณะสงฆ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2535 ว่า ตั้งเมื่อ พ.ศ. 2385 และ ได้รบั วิสงุ คามสีมาเมือ่ พ.ศ. 2395 ซึง่ มีเจ้าคณะปกครองฝ่ายสงฆ์ได้ ปกครองดูแลตลอดมาจนถึงปัจจุบัน

CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย

4

.indd 77

77

8/10/2561 17:55:39


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

ท�ำเนียบ เจ้าอาวาสวัดปิตุลาธิราชรังสฤษฎิ์ พระอาราม

หลวงชั้นตรี ชนิดสามัญ

วัดปิตุลาธิราชรังสฤษฎิ์ เดิมเป็นวัดราษฎร์ ตั้งแต่สร้างวัดมาตาม หลักฐาน ทีป่ รากฏ มีพระภิกษุผดู้ ำ� รงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสทีพ่ อสืบค้นได้ ดังนี้ 1. พระอธิการแก้ว 2. พระครูธรรมภาณีวรคุณ (ช่วย แย้มจินดา) พ.ศ.2454-2485 3. พระครูอุดมสมณคุณ (เติม ทองเสริม) พ.ศ.2485-2514 4. พระครูจินดาภิรมย์ (ชด แย้มจินดา) พ.ศ.2514-2524 5. พระครูไพโรจน์ธรรมาภิวัฒน์ (สง่า ธมฺมโสภโณ) พ.ศ.2524 -2545 6. พระสมุห์พงษ์พันธ์ วีรธมฺโม (ปัจจุบัน พระครูวีรศรัทธาธรรม เจ้าอาวาสวัดสุนีย์ศรัทธาธรรม)รักษาการเจ้าอาวาส วันที่ 15 มิถุนายน 2545 ถึงวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2546 7. พระเทพปัญญาเมธี (ประยนต์ อจฺจาทโร ป.ธ.9) พ.ศ.2547 (20 กุมภาพันธ์ 2547 ) ถึง พ.ศ.2552 ต่อมาวัดปิตลุ าธิราชรังสฤษฎิ์ ได้รบั พระมหากรุณาธิคณ ุ โปรดเกล้าฯ ให้ยกเป็นพระอารามหลวง ชัน้ ตรี ชนิดสามัญ เมือ่ วันที่ 29 มิถนุ ายน 2551 เนื่องใน โอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร รัชกาลที่ 9 วันที่ 5 ธันวาคม 2550 นับแต่ วัดปิตุลาธิราชรังสฤษฎิ์ เป็นพระอารามหลวง มีเจ้าอาวาสปกครองวัด ดังนี้ 1. พระธรรมปริยัติมุนี (ประยนต์ อจฺจาทโร ป.ธ.9) พ.ศ.2552 (4 มีนาคม 2552) - ปัจจุบัน (พ.ศ.2561)

กิจการงานคณะสงฆ์ 6 ด้าน

1.ด้านการปกครอง วัด มีระเบียบการปกครองวัดเป็นไปตามพระธรรมวินัย พระราช บัญญัติ คณะสงฆ์ และกฎมหาเถรสมาคม จัดท�ำทะเบียนพระภิกษุ สามเณร และศิษย์วัดไว้เป็นหลักฐานครบถ้วน ท�ำเนียบพระสังฆาธิการ วัดปิตลุ าธิราชรังสฤษฎิ์ (พระอารามหลวง) พุทธศักราช 2561 1. พระธรรมปริยัติมุนี (ประยนต์ อจฺจาทโร ป.ธ.9) เจ้าอาวาส วัดปิตุลาธิราชรังสฤษฎิ์ และที่ปรึกษาเจ้าคณะภาค 12 2. พระครูสุตธรรมาภรณ์ (ส�ำราญ ญาณวุฑฺโฒ ป.ธ.4, พธ.บ., Ph.D.) รองเจ้าอาวาสวัดปิตุลาธิราชรังสฤษฎิ์ 3. พระครูปริยัติธรรมกิจ (มาโนชญ์ มหาปุญฺโญ ป.ธ.3, พธ.ม.) ผูช้ ว่ ยเจ้าอาวาสวัดปิตลุ าธิราชรังสฤษฎิ์ และเจ้าคณะอ�ำเภอท่าตะเกียบ 4. พระครูปรีชากิจจานุวัฒน์ (บัณฑิต ฐิตปญฺโญ พธ.บ.) ผู้ช่วย เจ้าอาวาสวัดปิตุลาธิราชรังสฤษฎิ์ 5. พระครูธรรมธรพิชยั วิชชฺ าธโร ผูช้ ว่ ยเจ้าอาวาสวัดปิตลุ าธิราช รังสฤษฎิ์

78

SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา

PB

SBL บั4 นทึกประเทศไทย I .indd เพชรบุ78รี

8/10/2561 17:55:44


6. พระมหาวิเชียร วชิรวํโส ป.ธ.9, ศษ.บ. ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดปิตุ ลาธิราชรังสฤษฎิ์ 7. พระครูปลัดวิมลปริยัติวัฒน์ (ปัญญา ปญฺญาวชิโร ป.ธ.4, พธ.ม.) ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดปิตุลาธิราชรังสฤษฎิ์ 2. ด้านการศาสนศึกษา มีโรงเรียนพระปริยตั ธิ รรม แผนกสามัญศึกษา อยูใ่ นความผิดชอบ ของ กองพุทธศาสนศึกษา ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ด�ำเนินการจัดการศึกษาทางวิชาการพระพุทธศาสนา แผนกนักธรรมภาษาบาลี และหลักสูตรการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ในระดับ มัธยมศึกษา (ม.1-ม.6) การศึกษา แผนกธรรม นักธรรม (ตรี-โท-เอก), ธรรมศึกษา (ตรี-โท-เอก) การศึกษาแผนกบาลี เปรียญธรรม 1-2 ถึง 9 การศึกษาแผนกสามัญ ในระดับมัธยมศึกษา (ม.1-ม.6) 3. ด้านสาธารณูปการ งานสาธารณูปการ ได้แก่การก่อสร้างและการบูรณปฏิสังขรณ์ ศาสนสถานภายในวัด เช่น โบสถ์ วิหาร ศาลา กุฎิ การพัฒนาวัดใน ด้านวัตถุทุกอย่าง ไม่เฉพาะแต่ศาสนสถานเท่านั้น ยังรวมไปถึงการ ท�ำวัดให้สะอาด ร่มรืน่ สะดวก สบาย การท�ำถนนทางเดินในวัด และ การตบแต่งวัดให้ดูสวยงามให้สบายตาแก่ผู้พบเห็นด้วย

4. ด้านการเผยแผ่ 1. มีการท�ำบุญ และแสดงธรรมทุกวันพระ และวันส�ำคัญในทาง พระพุทธศาสนา 2. มีวิทยากรเพื่ออบรมสั่งสอนศีลธรรม ตามโอกาส 3. จัดสวดมนต์นพเคราะห์ทุกวันพระ 15 ค�่ำ และวันอาทิตย์ 4. จัดบวชเนกขัมจาริณี ทุกวันศุกร์-วันอาทิตย์ ต้นเดือน 5. จัดบรรพชาสามเณรช่วงปิดเทอม ปีละ 2 ครั้ง 6. จัดโครงการอุปสมบทหมู่ ในโอกาสต่างๆ 7. จัดกิจกรรมวันส�ำคัญทางศาสนา วันส�ำคัญต่างๆ 5. ด้านการสาธารณสงเคราะห์ 1. อนุเคราะห์สถานทีแ่ ละวิทยากร อบรมสัง่ สอน ศีลธรรมจริยธรรม 2. อนุเคราะห์สถานที่ จัดกิจกรรมด้านพิธีกรรมต่าง 3. อนุเคราะห์ให้ยืม วัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ ต่างๆ 4. เป็นที่จอดรถ ของ ข้าราชการ นักเรียน และผู้ปกครอง 5. แจกเครื่องอุปโภคบริโภค แก่ประชาชน หรือผู้ประสบภัย 6. ด้านการศึกษาสงเคราะห์ 1. มอบทุนการศึกษาแก่นักเรียนนักศึกษา วันอายุวัฒนมงคล เจ้าอาวาส 2. จัดการเรียนและสอบธรรมศึกษาในโรงเรียน 3. มอบทุนเพื่อจัดการเรียนนธรรมศึกษาแก่โรงเรียน 4. แจกเครือ่ งอุปโภคบริโภค แก่นกั เรียนทีร่ อ้ งขอมา ตามวาระโอกาส

CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย

4

.indd 79

79

8/10/2561 17:55:48


H I S TO R Y O F B U D D H IS M เส้นทางธรรมหนุ HบันI ทึSกTO R Y O F นBนำ�UชีวDิตD H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

80

SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา

4

.indd 80

9/10/2561 17:05:00


HIST ORY OF BUDDH ISM

บันทึกเส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต

วัดบ้านนาเทพธาราม พระครูวิโรจน์กิตติภัทร ธมฺมวโร ดำ�รงตำ�แหน่งเจ้าอาวาส

วัดบ้านนาเทพธาราม ตั้งอยู่เลขที่ 2 บ้านนาหมู่ที่ 5 ตำ�บลบางกะไห อำ�เภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา สังกัดคณะ สงฆ์มหานิกาย เริ่มสร้างเมื่อ พ.ศ.2400 โดยนายอินทร์ และ นางพลัด จันทร์ประภา ตำ�บลบางกะไห อำ�เภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา เป็นผู้มอบที่ดินถวายสร้างวัดจำ�นวน 14 ไร่ 3 งาน 31 ตารางวา ได้รับอนุญาตให้สร้างวัด เมื่อ พ.ศ.2400 เนื้อที่เขตได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา กว้าง 16 เมตร ยาว 30 เมตร เมือ่ พ.ศ.2492 ปัจจุบนั นีว้ ดั บ้านนา เทพธารามมีเนือ้ ทีต่ ง้ั วัดทัง้ หมด 14 ไร่ 3 งาน 31 ตารางวา โฉนดเลขที่ 6590 เลขที่ดิน 253 มีที่ธรณีสงฆ์จำ�นวน 1 แปลง เนื้อที่ 11 ไร่

อาคารเสนาสนะประกอบด้วย อุโบสถ กว้าง 8 เมตร ยาว 16 เมตร ขนาดกลาง ศาลาการเปรียญ กว้าง 12 เมตร ยาว 30 เมตร เป็นอาคารไม้ สร้างเมือ่ พ.ศ.2517 กุฏสิ งฆ์ จำ�นวน 6 หลัง เป็นอาคารครึง่ ตึกครึง่ ไม้ 6 หลัง สร้าง เมือ่ พ.ศ.2539 ศาลาอเนกประสงค์ กว้าง 12 เมตร ยาว 30 เมตร สร้างเมือ่ พ.ศ.2529 เป็นอาคารครึง่ ตึกครึง่ ไม้ ศาลาบำ�เพ็ญกุศล จำ�นวน 1 หลัง สร้างด้วยคอนกรีตเสริมเหล็ก ฌาปนสถาน กว้าง 8 เมตร ยาว 26 เมตร สร้างเมือ่ พ.ศ.2521 หอระฆัง กว้าง 1.50 เมตร สูง 6 เมตร ขนาดกลาง สร้างเมือ่ พ.ศ.2500 โรงครัวชัน้ เดียวพร้อมถังน้�ำ 1 หลัง สร้างเมือ่ พ.ศ.2539 เขือ่ นหน้าวัด เทคอนกรีตยาว 200 เมตร สร้างเมือ่ พ.ศ.2543

ปูชนียวัตถุ

มีพระประธานประจำ�อุโบสถ “หลวงพ่อสามพีน่ อ้ ง”

CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย

4

.indd 81

81

9/10/2561 17:05:04


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

การบริหารและการปกครองมีเจ้าอาวาส เท่าที่ทราบนามคือ

รูปที่ 1 หลวงพ่อปาน ไม่ทราบประวัติ รูปที่ 2 หลวงพ่อมั่น ไม่ทราบประวัติ รูปที่ 3 หลวงพ่อพุธ ไม่ทราบประวัติ รูปที่ 4 พระครูสมณวัตรรังสี (บัว) นามสกุล โหมดศิริ รูปที่ 5 พระครูอนุวัตรสาธุกิจ(ทองหล่อ กมโล) นามสกุล เภาพงษ์ รูปที่ 6 พระครูใบฎีกาจรัญ ขนฺติพโล นามสกุล พุกมงคล รูปที่ 7 พระครูวโิ รจน์กติ ติภทั ร ธมฺมวโร นามสกุล โหมดศิริ เจ้าอาวาส รูปปัจจุบัน

ประวัติท่านเจ้าอาวาสโดยสังเขป

พระครูวิโรจน์กิตติภัทร (ยิ่งยง โหมดศิริ) ฉายา ธมฺมวโร อายุ 47 ปี

พรรษาที่ 27 วิทยาฐานะ น.ธ.เอก วัดนาคูโมทนามัย อำ�เภอเมือง จังหวัด ฉะเชิงเทรา ปัจจุบนั ดำ�รงตำ�แหน่ง เจ้าอาวาสวัดบ้านนาเทพธาราม ตำ�บล บางกะไห อำ�เภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา นามเดิม ยิ่งยง โหมดศิริ เกิดวันที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ.2514 ปีกุน เป็นบุตรของนายจรัญ และ นางลำ�ยอง โหมดศิริ บ้านเลขที่ 2 หมู่ที่ 5 ตำ�บลบางกะไห อำ�เภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา อุปสมบทเมื่อวันที่ 14 มิถุนายน พ.ศ.2534 วัดนาคูโมทนามัย ตำ�บล บางกะไห อำ�เภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา พระอุปัชฌาย์ พระครูอนุวัตร สาธุกิจ วัดบ้านนาเทพธาราม พระกรรมวาจาจารย์ พระครูสังฆรักษ์สวิง ฉวิวณโณ วัดนาคูโมทนามัย และพระอนุสาวนาจารย์ พระครูสมุห์สมพิศ ธมมธโร วัดนาคูโมทนามัย

วิทยาฐานะ

พ.ศ.2526 สำ�เร็จการศึกษาชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดนาคู โมทนามัย ตำ�บลบางกะไห อำ�เภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา พ.ศ.2529 สำ�เร็จการศึกษาชั้นมัธยมปีที่ 3 โรงเรียนพุทธโสธร ตำ�บล หน้าเมือง อำ�เภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา พ.ศ.2532 สำ�เร็จการศึกษาชัน้ มัธยมปีท่ี 6 โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์ ตำ�บลหน้าเมือง อำ�เภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา พ.ศ.2532 สอบไล่ได้นักธรรมตร วัดนาคูโมทนามัย สำ�นักเรียนคณะ จังหวัดฉะเชิงเทรา พ.ศ.2533 สอบไล่ได้นักธรรมโท วัดนาคูโมทนามัย สำ�นักเรียนคณะ จังหวัดฉะเชิงเทรา พ.ศ.2535 สอบไล่ได้นกั ธรรมเอก วัดนาคูโมทนามัย สำ�นักเรียนคณะ จังหวัดฉะเชิงเทรา

งานปกครอง

พ.ศ.2537 ได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดนาคูโมทนามัย พ.ศ.2543 ได้รับการแต่งตั้งเป็นพระกรรมวาจาจารย์ วัดบ้านนาเทพ ธาราม พ.ศ.2546 ได้รบั การแต่งตัง้ เป็นผูช้ ว่ ยเจ้าอาวาสวัดบ้านนาเทพธาราม พ.ศ.2547 ได้รับการแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาสวัดบ้านนาเทพธาราม พ.ศ.2548 วัดบ้านนาเทพธาราม มีพระภิกษุจำ�พรรษา 15 รูป สามเณร 1 รูป ศิษย์วัด 2 คน 82

SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา

PB 4 SBL.indd บันทึก82 ประเทศไทย I

เพชรบุรี

9/10/2561 17:05:09


การปฏิบัติธรรม และกิจกรรมทางพระพุทธศาสนา

มีการทำ�วัตรสวดมนต์เช้า – เย็น ตลอดปี มีการทำ�อุโบสถสังฆกรรม (สวดพระปาฏิโมกข์) ทุกกึ่งเดือน มีระเบียบการปกครองวัดเป็นไปตามพระธรรมวินัย พระราชบัญญัติ คณะสงฆ์ และกฎมหาเถรสมาคม

งานการศึกษา

พ.ศ.2536 – พ.ศ.2543 เป็นครูสอนพระปริยัติธรรมแผนกธรรม สำ�นักศาสนศึกษาวัดนาคูโมทนามัย ตำ�บลบางพระ อำ�เภอเมือง จังหวัด ฉะเชิงเทรา พ.ศ.2544 – ปัจจุบัน เป็นครูสอนพระปริยัติธรรมแผนกธรรม สำ�นัก ศาสนศึกษาวัดบ้านนาเทพธาราม พ.ศ.2538 – ปัจจุบัน เป็นกรรมการคุมห้องสอบธรรมชั้นนวกะภูมิ ในเขตอำ�เภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา พ.ศ.2539 – ปัจจุบัน เป็นกรรมการคุมห้องสอบธรรมสนามหลวง ในเขตอำ�เภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา พ.ศ.2538 – ปัจจุบนั เป็นกรรมการตรวจข้อสอบแผนกธรรมชัน้ นวกะ ในเขตอำ�เภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา พ.ศ.2547 – ปัจจุบัน เป็นกรรมการตรวจข้อสอบแผนกธรรมสนาม หลวง นักธรรมตรี ณ วัดประสิทธิเวช ตำ�บลบางปลากด อำ�เภอองครักษ์ จังหวัดนครนายก พ.ศ.2550 – พ.ศ.2555 ศึกษามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัย ห้องเรียนวัดโสธรวราราม จังหวัดฉะเชิงเทรา คณะครุศาสตร์ สาขาการบริหารการศึกษา ปี 5 รุ่น 57 พ.ศ.2551 เป็นพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน พ.ศ.2555 จบการศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลง กรณราชวิทยาลัย พ.ศ.2556 จบการศึ ก ษาปริ ญ ญาโท สาขารั ฐ ประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ.2559 เป็นพระครูสัญญาบัตรเจ้าอาวาสชั้นโท พ.ศ.2559 เป็นเจ้าคณะตำ�บลบางพระ พ.ศ.2560 เป็นพระอุปัชฌาย์

ความสำ�คัญของการเรียนภาษาบาลี

พุทฺธวจนํ เตปิฏกํ ปาเลตีติ ปาลิ : ภาษาใด รักษาไว้ซึ่งพระดำ�รัสของ พระพุทธเจ้าคือพระไตรปิฎก ภาษานัน้ ชือ่ ว่า ภาษาบาลี ดังนัน้ ภาษาบาลี จึงมีความสำ�คัญต่อพระพุทธศาสนา ตัง้ แต่อดีตจนถึงปัจจุบนั ด้วยคำ�สอน ของพระพุทธเจ้า ได้รบั การรักษาและสืบต่อกันมาในรูปแบบของภาษาบาลี เพราะบางครั้งคำ�สอนของพระพุทธเจ้าที่แปลเป็นภาษาท้องถิ่นนั้น ความหมายอาจจะแปรเปลี่ ย นไปและไม่ ต รงกั บ ความเป็ น จริ ง ดั ง ที่ พระพุทธเจ้าตรัสสอนไว้ก็ได้ ดังนั้นถ้ามีต้นฉบับบาลีไว้ คนยุคต่อๆ ไป สามารถศึกษาและตรวจทานกับต้นฉบับบาลีได้เสมอ ท�ำให้ความรู้ต่างๆ ทางพระพุทธศาสนามีความมั่นคงและแน่นอนกว่าการรักษาค�ำสอนของ พระพุทธเจ้าด้วยภาษาท้องถิ่นเพียงอย่างเดียว เช่น ทุนฺนิคฺคหสฺส ลหุโน ยตฺถกามนิปาติโน จิตฺตสฺส ทมโถ สาธุ จิตฺตํ ทนฺตํ สุขาวหํ การฝึกจิต (อัน ข่มได้ยาก,เกิดและดับเร็ว, มีธรรมชาติไหลไปตามความอยากในสิ่งต่างๆ เป็นสิ่งดี, จิตที่ได้รับการฝึกแล้ว น�ำความสุขมาให้ เห็นได้ว่า ค�ำแปลนั้น คนในท้องถิ่นนั้นๆ จะแปลออกเป็นส�ำนวนอย่างไรก็ได้ แต่ต้นฉบับ ค�ำสอนของพระพุทธเจ้าทีเ่ ป็นภาษาบาลีนนั้ ยังคงเดิมไม่มกี ารเปลีย่ นแปลง CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย

4

.indd 83

83

9/10/2561 17:05:13


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดราษฎร์บำ� รุงวนาราม (วัดเกาะ) สักการบูชาหอพระรัตนตรัยธรรมวาที (เฉลิมพระเกียรติรัชกาลที่ 9)

พระครูถาวรพัฒนาคุณ (หลวงพ่อสนิท) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดราษฎร์บ�ำรุงวนาราม

วัดราษฎร์บ�ำรุงวนาราม(วัดเกาะ) เป็นวัดราษฎร์ ตั้งอยู่เลขที่ 72 หมู่ 4 ต�ำบลบางเตย อ�ำเภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ที่ดินตั้งวัดมีเนื้อที่ 43 ไร่ 3 งาน ได้รับอนุญาตให้ตั้งวัดเมื่อปี พ.ศ.2447 เดิมชาวบ้านเรียกว่า วัดเกาะ ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 30 ธันวาคม พ.ศ.2518 เขตวิสุงคามสีมากว้าง 40 เมตร ยาว 80 เมตร ปัจจุบัน พระครูถาวรพัฒนาคุณ(หลวงพ่อสนิท) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

บันทึกความเป็นมา

ในอดีตกาล ณ บริเวณแห่งนี้ เดิมมีวิหารร้างหลังหนึ่งตั้งอยู่ ระหว่างทางบ้านนาคูกบั บ้านแพรกนกเอีย้ ง ซึง่ เป็นทีพ่ กั ของเด็กเลีย้ งควาย ในสมัยนัน้ บริเวณดังกล่าวมีเสาใหญ่ตน้ หนึง่ ตัง้ ตระหง่าน ชาวบ้านในละแวก นัน้ เรียกสถานทีแ่ ห่งนีว้ า่ “เสาเดีย่ ว” และในบริเวณนัน้ ได้มกี ารขุดพบวัตถุ โบราณ กองอิฐเก่า ถ้วยชามแตกหัก เสาที่ขาดอยู่ใต้ดินเป็นจ�ำนวนมาก และยังขุดพบเศียรพระจ�ำนวน 3 เศียร จนกลายมาเป็นต�ำนานจระเข้กิน พระมาถึงทุกวันนี้ ปัจจุบนั เหลืออยูเ่ พียงเศียรเดียว อีก 2 เศียรถูกขโมยไป ต่อมา ทางวัดได้ติดต่อให้ส�ำนักศิลปากรที่ 5 ปราจีนบุรีมาตรวจสอบพบ ว่าเป็นเศียรพระหินทรายสมัยอยุธยาตอนปลาย เพราะมีการลงรักปิดทอง ซึง่ เป็นทีน่ ยิ มในช่วงเวลานัน้ จึงสันนิษฐานได้วา่ ทีบ่ ริเวณวิหารร้างเสาเดีย่ ว แห่งนี้ น่าจะเป็นวัดและชุมชนเก่าของคนในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย 84

ต่อมาในราวสมัยรัตนโกสินทร์ประมาณปีพ.ศ. 2438 ได้มีคณะผู้มี จิตศรัทธารวบรวมกันจัดซื้อที่ดินเพื่อสร้างวัดขึ้นมาใหม่ เพื่อเป็นเครื่อง ยึดเหนี่ยวจิตใจส�ำหรับชาวบ้านในแถบนี้ โดยสร้างวัดบริเวณใกล้เคียงกับ วิหารร้างเสาเดี่ยว มีนายโหมด (หลวงนครธานี ต้นสกุล”โหมดศิริ”) นาย หรัง่ ต้นสกุล “หรัง่ สิโย” และ นายพยอม เขยมา จากหอมสิน เป็นหัวหน้า ชาวบ้านช่วยกันจัดสร้าง โดยซือ้ ทีด่ นิ จากนางหงส์ ซึง่ ทีด่ นิ อยูบ่ ริเวณวิหาร ร้างเสาเดีย่ ว พืน้ ทีโ่ ดยรอบมีลำ� คลองล้อมรอบ ชาวบ้านจึงเรียกกันว่า “วัด เกาะ” หลังจากสร้างได้พอประมาณ วัดยังคงเป็นส�ำนักสงฆ์อยู่หลายปี และส�ำนักสงฆ์แห่งนี้ มี “หลวงปู่นาค” ซึ่งได้ธุดงค์ผ่านมา แล้วชาวบ้าน ได้นิมนต์ท่านให้อยู่โปรดญาติโยมในบริเวณนี้ เมื่อหลวงปู่นาคมรณภาพ ลงในปี พ.ศ.2447 นายแตง นางสาร ได้ไปนิมนต์ พระศุข ปุณฺณสิริ

SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา

4

.indd 84

9/10/2561 17:03:38


จากวัดบ้านนามาเป็นเจ้าอาวาส ปีพ.ศ.2453 จึงได้เปลี่ยนชื่อเป็น “วัดราษฎร์บำ� รุงวนาราม” เพราะอาศัยความร่วมแรงร่วมใจของชาวบ้าน ช่วยกันสร้างสิ่งต่างๆ ขึ้นมาเพื่อเป็นถาวรวัตถุของพระพุทธศาสนา สืบต่อไป แต่ชาวบ้านก็ยังคงเรียกว่า “วัดเกาะ” อยู่จนทุกวันนี้ ในปี พ.ศ.2477 หลวงพ่อศุขได้รบั การแต่งตัง้ สมณศักดิเ์ ป็น พระครู สัญญาบัตรชั้นตรี ที่ พระครูประสิทธิธรรมวาที ท่านได้สร้างถาวรวัตถุ และวางรากฐานแบบแผนการปฏิบตั ธิ รรม และการศึกษาพระเณรให้กบั วั ด ราษฎร์ บ� ำ รุ ง วนาราม(วั ด เกาะ) จนเป็ น ศู น ย์ ร วมจิ ต ใจของ พุทธศาสนิกชนในพื้นที่สืบมาจนถึงเจ้าอาวาสรูปปัจจุบันเป็นรูปที่ 8 คือ พระครูถาวรพัฒนาคุณ(สนิท) เจ้าอาวาสวัดราษฎร์บ�ำรุงวนาราม (วัดเกาะ) เจ้าคณะต�ำบลบางเตย โดยมี ผู้ใหญ่สุขันธ์ โลหิตกุล เป็น ประธานอุปถัมภ์ และ คุณจ�ำรุณ เพ็งพานิช เป็นไวยาวัจกร รุ่นที่ 4 ของตระกูลเพ็งพานิช และพี่น้องชาววัดเกาะทุกท่านได้ช่วยกันดูแลวัด ให้เจริญรุ่งเรืองมาจนถึงทุกวันนี้ ในสมัยพระครูถาวรพัฒนาคุณยังได้ สร้างอาคารเสนาสนะหลายอย่าง เช่น พระอุโบสถ มีพระประธานชื่อ “พระพุทธอุดมมงคล” และได้นำ� เม็ดต้นพระศรีมหาโพธิ์ ต้นอานันทโพธิ์ มาจากประเทศอินเดีย และได้สั่ง “ต้นสาละอินเดีย” ที่หาได้ยากมาก มาปลู ก เป็ น คู ่ แ รกและเป็ นวั ด แรกของจั ง หวั ด ฉะเชิ ง เทราอี ก ด้ ว ย ในปี พ.ศ.2560

ประวัติและปฏิปทา พระครูประสิทธิ์ธรรมวาที (ศุข ปุญฺณสิริ. จินาพั นธ์ )

อดีตเจ้าอาวาสวัดราษฎร์บ�ำรุงวนาราม (วัดเกาะ) พระครูประสิทธิ์ ธรรมวาที (ศุข ปุญณ ฺ สิร.ิ จินาพันธ์) เกิดเมือ่ วันที่ 21 เมษายน พ.ศ.2413 หมู่ 9 ต�ำบลบางเตย อ�ำเภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทราเป็นคนละแวก วัดบ้านนา-นาคู โดยก�ำเนิด บิดาชื่อนายจีน จินาพันธ์ มารดาชื่อนาง แช่ม จินาพันธ์ มีพนี่ อ้ งร่วมบิดามารดา 7 คน ท่านเป็นคนที่ 6 อุปสมบท เมือ่ วันที่ 17 เมษายน พ.ศ.2434 ณ วัดบางปรงธรรมโชติการาม โดยมี พระอุปชั ฌาย์อยู่ จากวัดบางปรง เป็นพระอุปชั ฌาย์พระเล็ก วัดบางปรง เป็นพระกรรมวาจาจารย์ พระหลง วัดเทพราช เป็นพระอนุสาวนาจารย์ ท่ า นได้ เ ดิ น ทางไปศึ ก ษาวิ ท ยาคมจากหลวงพ่ อ อุ ป ั ช ฌาย์ อ ยู ่ วัดบางปรง หลวงพ่อบัว วัดบ้านนา หลวงปูศ่ ขุ วัดปากคลองมะขามเฒ่า และวัดจุกเฌอ ตักศิลาแห่งลุ่มน�้ำบางปะกง ท่านเป็นสมภารครอง วัดราษฎร์บำ� รุงวนาราม(วัดเกาะ) เคร่งครัดในพระธรรมวินยั และเข้มขลัง ในวิทยาคมเป็นที่เคารพศรัทธาของชาวบ้านไทยพุทธ ไทยมุสลิมใน ละแวกนั้น และประชาชนชาวแปดริ้วเป็นอันมาก อีกทั้งเป็นพระเกจิ ยุคเก่าของเมืองแปดริ้ว วิชาทีโ่ ด่งดังของท่านมีหลายวิชา เช่น วิชากระสุนทางคต ทีเ่ รียนมา จากหลวงปู่ศุข วัดปากคลองมะขามเฒ่า (เป็น 1 ใน 5 วิชาที่ไม่สอนให้ กรมหลวงชุมพล) วิชาตะกรุดโทน ตะกรุดสามกษัตริย์ เรียนมาจากหลวง พ่ออยู่ วัดบางปรง วิชาด�ำน�้ำท�ำตะกรุดโสฬส 16 ดอก เรียนมาจาก วัดจุกเฌอ ท่านยังเป็นพระหมอยาแผนโบราณ และมีความรู้ด้าน โหราศาสตร์เป็นอย่างดี วัตถุมงคลผ้ายันต์ยันต์เฑาะว์ตัวเดียว ปี พ.ศ. 2477 ที่ระลึกในการเลื่อนสมณศักดิ์ พระครูประสิทธิ์ธรรมวาที ยันต์ขาวแดงของท่าน ว่ากันว่าเหนียวกันปืนดีนัก เคยมีคนแถว วัดเกาะโดนยิงด้วยปืนลูกซอง จนล้มคว�ำ ่ แต่มเี พียงรอยจ�ำ้ ๆ ซ�ำ้ ๆ ตาม หน้าอกเท่านั้น เหรียญของท่านพระครูประสิทธิ์ธรรมวาที รุ่นแรกสร้าง ประมาณปี พ.ศ.2482 สร้างโดยการน�ำทองแดงทีเ่ หลือจากการหล่อรูป เหมือนแล้วน�ำไปปั้มเป็นเหรียญ ถือว่าเป็นเหรียญเก่าเมืองแปดริ้วที่หา ยาก ดีเด่นด้านเหนียวคงกระพันและแคล้วคลาดอีกเหรียญหนึง่ ของเมือง แปดริว้ (ปัจจุบนั เหรียญสวยๆ รุน่ แรกส่วนมากจะพบอยูก่ บั แขกเกาะไร่ที่ มีอายุมากแล้วเสียเป็นส่วนใหญ่) ของท่านเขาว่าเหนียวแคล้วคลาดกัน ปืนดีนกั เคยมีคนแถววัดเกาะยิงปืนลูกซองใส่แมวทีแ่ ขวนหลวงพ่อศุขมา ลักไข่ไก่กิน จนล้มคว�่ำกระเด็นตกน�้ำเช้ามาแมวก็ไม่เป็นอะไร ลูกศิษย์ แขวนเหรียญรุ่นแรกโจรมาปล้นเรือใช้ปืน 11 มม.จ่อยิงก็ไม่ถูก เป็นต้น หลวงพ่อศุข มรณภาพเมื่อวันที่ 6 ธันวาคม พ.ศ.2479 ดังปรากฏ หลักฐานในผ้ายันต์หมึกจีน และมีรูปท่านพร้อมระบุ พระราชทาน เพลิงศพปี พ.ศ.2479 เป็นวัตถุมงคล ที่แม้ไม่ทันท่านแต่หายากและมี ประสบการณ์ดี ด้วยได้รบั การปลุกเสก จากเกจิยคุ สงครามอินโดจีน ของ เมืองแปดริ้วที่เข้มขลังหลายรูป นอกจากนี้ วัตถุมงคล รุ่นปีพ.ศ.2516 ก็เป็นวัตถุมงคลอีกรุน่ ของท่านทีม่ ปี ระสบการณ์ดมี าก เพราะได้รบั ปลุก เสกจากหลวงพ่อทอง วัดก้อนแก้ว หลวงพ่อชู วัดนาคู หลวงพ่อถึกวัด สนามช้าง หลวงพ่อเที่ยง วัดโพธาราม และอีกเกจิผู้ทรงวิทยาคมอีก หลายรูป ซึ่งลูกศิษย์ในสายหลวงพ่อศุขก็หาไว้ใช้กันนัก (เรียบเรียงโดยพระครูใบฎีกาพิเชษฐ์ มหาปุญโญ เลขานุการเจ้า อาวาสวัดราษฎร์บ�ำรุงวนาราม(วัดเกาะ)) CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย

4

.indd 85

85

9/10/2561 17:03:43


พระครูถาวรพัฒนาคุณ (หลวงพ่อสนิท) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดราษฎร์บ�ำรุงวนาราม

86

SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา

4

.indd 86

9/10/2561 17:03:53


งานบุญประเพณีประจ�ำปี

1. งานสวดเสริมดวงชะตารับปีใหม่ ทุกวันที่ 1 มกราคม 2. งานเทศมหาชาติประจ�ำปี ทุกวันแรม 15 ค�่ำ เดือน 4 3. งานสรงน�ำ้ ถวายดอกบัวหลวงพ่อศุข วัดเกาะ แห่รอบต�ำบลบางเตย ทุกวันที่ 13 เมษายน ออกเดินทางเวลา 12.30 น. ของทุกปี 4. งานวันอัฐมีบชู า แห่งเดียวของเมืองแปดริว้ ทุกวันแรม 8 ค�ำ ่ เดือน 6 (หลังวันวิสาขบูชา 8 วัน) 5.งานท�ำบุญอดีตเจ้าอาวาสและบรรพบุรุตวัด (ท�ำบุญหลวงพ่อศุข) ทุกวันแรม 14 ค�่ำ เดือน 10 6.งานบุญพิเศษ ตักบาตรเที่ยงคืน ทุกคืนวันอังคาร ขึ้น 14 ค�่ำ ที่เช้า ตรงกลับวันพระ 15 ค�่ำ

ร่วมสร้างเส้นทางบุญ

เหตุสร้างหอพระรัตนตรัยธรรมวาที(เฉลิมพระเกียรติ)

ด้วยทางวัดราษฎร์บำ� รุงวนาราม(วัดเกาะ) ได้ทำ� เรือ่ งขอวัสดุอปุ กรณ์ อาคารพระจิต กาธานและอาคารเหล็กพระเมรุจ�ำลอง รัชกาลที่ 9 ของจั ง หวั ด ฉะเชิ ง เทรา เพื่ อ มาต่ อ เติ ม อาคารเสนาสนะภายในวั ด แต่ทา่ นพระครูถาวรพัฒนาคุณ ผูใ้ หญ่สขุ นั ธ์ โลหิตกุล ประธานจัดสร้าง หอพระรัตนตรัยธรรมวาที และพีน่ อ้ งชาววัดเกาะทุกท่าน ได้ปรึกษากัน ว่าเป็นการไม่สมควรอย่างยิ่ง เพื่อให้สมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 เราควรสร้างอาคารที่ เป็นทีร่ ะลึกถึงพระองค์ทา่ นของพีน่ อ้ งชาวจังหวัดฉะเชิงเทราและพีน่ อ้ ง ชาวไทยทุกท่าน พร้อมเป็นทีป่ ระดิษฐานพระพุทธรูปของทางวัดราษฎร์ บ�ำรุงวนาราม(วัด เกาะ) เพื่อให้พี่น้องพุทธศาสนิกชนได้กราบไหว้ สืบต่อไป

วัดราษฎร์บำ� รุงวนาราม(วัดเกาะ) ต�ำบลบางเตย อ�ำเภอเมือง จังหวัด ฉะเชิงเทรา ยินดีตอ้ นรับพุทธศาสนิกชนทุกท่านได้เข้ามาไหว้พระขอพรต่อสิง่ ศักดิส์ ทิ ธิภ์ ายในวัดหรือเข้ามาร่วมกิจกรรมกับทางวัดเราได้ทกุ วัน ติดตาม ได้ทาง Facebook ที่ เพจวัดราษฎร์บ�ำรุงวนาราม จังหวัดฉะเชิงเทรา โทร 091-702-6168 วัดราษฎร์บ�ำรุงวนาราม

บันทึก

วัดราษฎร์บำ� รุงวนาราม เป็นสถานทีท่ ชี่ าวบ้านต�ำบลบางเตย และ ต�ำบลใกล้เคียงมาประกอบพิธกี รรมทางศาสนา จัดงานวัฒนธรรมประเพณี เช่น ประเพณีสงกรานต์ ประเพณีตักบาตรเทโว ซึ่งจัดได้ยิ่งใหญ่งดงาม ทุกปี นอกจากนี้ ทางวัดได้เข้าร่วมโครงการลานบุญ ลานปัญญา ของ กรมศาสนาตั้งแต่ปี พ.ศ.2554 เป็นต้นมาจนถึงปัจจุบัน

รายนามเจ้าอาวาส

1.หลวงปู่นาค 2.พระคณูประสิทธิ์ธรรมวาที(หลวงพ่อศุข) 3.พระ ปลัดสุอนิ อินทโชโต 4.พระอธิการเล็ก สิรธิ มฺโม 5.พระบุญเกิด เขมทตฺโต 6.พระสวิง ฉวิวณฺโณ(รักษาการ) 7.พระอาจารย์ไพโรจน์ ธมฺมปาโล 8.พระครูถาวรพัฒนาคุณ(หลวงพ่อสนิท)-รูปปัจจุบัน

CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย

4

.indd 87

87

9/10/2561 17:03:57


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

พระพุทธไตรรัตนนายก (ซ�ำปอกง)

ในประเทศไทยมีพระพุทธไตรรัตนนายก (หลวงพ่อโต ซ�ำปอกง) อยู่ 3 องค์ ประดิษฐานในพระอาราม 3 แห่ง 88

SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา

(

)4

.indd 88

9/10/2561 14:23:34


PHRADECHPHRAKHUN CHIENES MASTER MONK WUNG SAMATHIWAT (KUAY NGO MAHA THERA)

WAT UPHAIPHATIKARAM Ong Palad Tham Panyathiwat (Theerayut Thienkhai), the abbot

วัดอุภัยภาติการาม (ซ�ำปอกง) เป็นพระอารามของพระพุทธศาสนาฝ่ายมหายาน สังกัดคณะสงฆ์อนัมนิกาย โดยมี พระพุทธไตรรัตนนายก (หลวงพ่อโตซ�ำปอกง) องค์ที่ 3 ของประเทศไทย ประดิษฐานเป็นพระประธานภายในอุโบสถ มีความเชื่อกันว่ามีความศักดิ์สิทธิ์ ให้โชคลาภ เงินทอง ค้าขาย และสุขภาพแข็งแรง

วัดอุภัยภาติการาม หรือคนส่วนใหญ่จะรู้จักในนาม วัดซ�ำปอ กง เนือ่ งจากมีพระพุทธไตรรัตนนายก(หลวงพ่อโต ซ�ำปอกง) มาจาก หลวงพ่อโต วัดพนัญเชิงวรวิหาร พระนครศรีอยุธยา มาประดิษฐาน เป็นพระประธานในอุโบสถ ซึ่งแต่เดิมเป็นวิหาร ต่อมาได้บูรณะ ปฏิสังขรณ์และได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา ในปี พ.ศ. 2513 วั ด อุ ภั ย ภาติ ก าราม (ซ� ำ ปอกง) สร้ า งขึ้ น เมื่ อ ปี ร.ศ.125 (พ.ศ.2449) และนามวัดอุภัยภาติการามเป็นนามพระราชทานจาก พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 เมื่อครั้งที่ พระองค์เสด็จประพาสจังหวัดฉะเชิงเทรา

Wat Uphaiphatikaram or most people will know as Wat Sam po kong Because of the Buddhist monastery of Mahayana (Luang Pho to Sam Po kong) from Luang Pho To Wat Phanan Choeng, Ayutthaya It is enshrined in the temple Originally a temple. It was restored and renovated in 1970. Wat Uphaiphatikaram (Sam po kong) was built in 125 Rattanakosin era (2449 Buddhist era) and acquired name form King Chulalongkorn (Rama V) called Wat Uphaiphatikaram since the king was toured to Chachoengsao province. CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย

(

)4

.indd 89

89

9/10/2561 14:23:37


ล�ำดับเจ้าอาวาส

รูปที่ 1 พระอาจารย์จีนวังสมาธิวัตร (เซี่ยงหงี) รูปที่ 2 พระอธิการฮกฮี วาเยิง รูปที่ 3 องอนันตสรนาท (ซือเจา ถ่อเหยี่ยว) รูปที่ 4 องอนันตสรนาท (ประดิษฐ์ อี๊สี) รูปที่ 5 องปลัดธรรมปัญญาธิวัตร (ธีระยุทธ เถี่ยนคาย) เจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน เลขานุการเจ้าคณะใหญ่อนัมนิกาย

NOW, ONG PALAD THAM PANYATHIWAT (THEERAYUT THIENKHAI) TAKE A POSITION OF ABBOT AND SECRETARY OF ANAMNIKAYA MONK DEAN.

There are three Buddha Trai Rattana Nayok statues (Luang Pho Tho Sam po kong) that enshrined in three Buddha image halls. 1. Wat Phanan Choeng, Phra Nakhon Si Ayutthaya. 2. Wat Kalayanamitr Varamahavihara, Khet Thon Buri, Krung Thep Maha Nakhon. 3. Wat Uphaiphatikaram (Sam po kong), Chachoengsao province.

90

SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา

(

)4

.indd 90

9/10/2561 14:23:47


“พระพุทธไตรรัตนนายก (ซ�ำปอกง)”

ในประเทศไทยมีพระพุทธไตรรัตนนายก (หลวงพ่อโต ซ�ำปอกง) อยู่ 3 องค์ ประดิษฐานในพระอาราม 3 แห่ง 1. พระพุทธไตรรัตนนายก (หลวงพ่อโต ซ�ำปอกง) วัดพนัญเชิงวรวิหาร พระนครศรีอยุธยา

ตามต�ำนานกล่าวว่า พระเจ้าสายน�้ำผึ้ง ทรงสร้างขึ้น ณ บริเวณ ทีพ่ ระราชทานเพลิงศพพระนางสร้อยดอกหมาก และตามพงศาวดาร กล่ า วว่ า พระพุ ท ธรู ป องค์ นี้ ส ร้ า งขึ้ น เมื่ อ ปี พ.ศ.1867

2. พระพุทธไตรรัตนนายก (หลวงพ่อโต ซ�ำปอกง) วัดกัลยาณมิตร วรมหาวิหาร ฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานคร

เจ้าพระยานิกรบดินทร์ (โต) ต้นสกุลกัลยาณมิตร ว่าทีส่ มุหนายก ได้อทุ ศิ บ้านและทีด่ นิ บริเวณใกล้เคียง ซึง่ แต่เดิมเป็นหมูบ่ า้ นทีม่ ภี กิ ษุ จีนพ�ำนักอยู่ และเรียกกันต่อมาว่า “หมู่บ้านกุฎีจีน” สร้ า งเป็ น วั ด ขึ้ น เมื่ อ พ.ศ.2368 และน้ อ มเกล้ า น้ อ ม กระหม่ อ มถวายเป็นพระอารามหลวง พระบาทสมเด็จพระนัง่ เกล้า เจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3 พระราชทานนามว่า “วัดกัลยาณมิตร” ทรง สร้างพระวิหารหลวงและพระประธานพระราชทาน เป็นพระพุทธรูป องค์ใหญ่ชื่อ พระพุทธไตรรัตนนายก หรือหลวงพ่อโต

3.พระพุทธไตรรัตนนายก (หลวงพ่อโต ซ�ำปอกง) วัดอุภัยภาติการาม (ซ�ำปอกง) จังหวัดฉะเชิงเทรา

ในร.ศ.126 (พ.ศ.2450) พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ทรงพระกรุณาเสด็จพระราชด�ำเนินมายัง วัดซ�ำปอกง ทรงบ�ำเพ็ญพระราชกุศลบูชาหลวงพ่อซ�ำปอกง พร้อมกับ ทรงพระราชทานนามหลวงพ่อซ�ำปอกงว่า “พระพุทธไตรรัตนนายก” เช่นเดียวกับหลวงพ่อซ�ำปอกง ทีว่ ดั พนัญเชิงวรวิหาร พระนครศรีอยุธยา และหลวงพ่อซ�ำปอกงทีว่ ดั กัลยาณมิตร วรมหาวิหาร กรุงเทพมหานคร และทรงพระราชทานทรัพย์ส่วนพระองค์ จ�ำนวน 200 บาท เพื่อ ปฏิสังขรณ์หลวงพ่อซ�ำปอกง

เม็ดยาหลวงพ่อโต

อธิษฐานขอพรหลวงพ่อโต เรื่องสุขภาพให้หมดโรคภัยไข้เจ็บ เอามือขวาลูบที่เม็ดยาแล้วเอามาลูบที่ตัว หลวงพ่อโตช่วยรักษาให้ หายจากโรคภัยนั้นๆ CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย

(

)4

.indd 91

91

9/10/2561 14:23:54


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

92

SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา

4

.indd 92

9/10/2561 15:12:23


วัดนาคูโมทนามัยปุญญาราม พระครูประโชติวุฒิคุณ

ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดนาคูโมทนามัยปุญญาราม

วัดนาคูโมทนามัย เดิมชื่อ วัดนาคู มีประวัติว่าท่านขุนสโมสร ซึ่งเป็นเจ้าแขวงในสมัยนั้น ได้ขุดคูลัดข้างวัดไปคลองบางกะไหเพื่อสะดวกในการสัญจรไปมาของชาวบ้าน คนทั้งหลายจึงเรียกกันว่า “วัดนาคู” ต่อมาได้มีการเปลี่ยนชื่อเพื่อความเหมาะสม จึงได้ตั้งชื่อใหม่เป็นทางการว่า “วัดนาคูโมทนามัยปุญญาราม” ปัจจุบันตั้งอยู่ ณ เลขที่ 9 หมู่ 2 ต�ำบลบางกะไห อ�ำเภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา

ประวัติวัดนาคูโมทนามัย

เดิ ม เป็ น ส� ำ นั ก สงฆ์ ม าก่ อ นเมื่ อ ปี พ.ศ.2442 ตรงกั บ ปี ม ะเส็ ง จุลศักราช 1242 สมัยรัชกาลที่ 5 ต่อมาในปีพ.ศ.2430 ได้รับเนื้อที่ พระราชทานวิสุงคามสีมา กว้าง 40 เมตร ยาว 80 เมตร เพื่อจัดสร้าง เป็นวัด และเริ่มสร้างเป็นวัดเมื่อพ.ศ.2482 โดยมีหลวงนครเป็น ผู้เริ่ม ก่อสร้าง พร้อมกับถวายที่ดินเพิ่มเติม ปัจจุบันวัดมีเนื้อที่เป็นโฉนดที่ดิน เลขที่ 5431 และมีที่ดินที่ยังไม่ได้หักโอนโฉนดอีก 2 แปลง คือที่ดินซึ่ง นายพวง นางเหลือ จินดางาม เป็นผู้ถวายจ�ำนวน 2 ไร่ 1 งาน และ นายปาน นางไทย เป็นผู้ถวายอีกจ�ำนวน 2 ไร่ เพื่อให้บริเวณวัดเป็นพื้นที่ รูปสีเ่ หลีย่ ม บริเวณพืน้ ทีโ่ ดยรอบวัดนาคูโมทนามัยส่วนใหญ่ชาวบ้านใช้ใน การกสิกรรมและเกษตรกรรม

เสนาสนะและถาวรวัตถุ ประกอบด้วย พระอุโบสถ ศาลาการเปรียญ กุฏิ พระประธานประจ�ำพระอุโบสถ เมรุ โรงเรียนปริยัติธรรม โรงเรียน ประชาบาล และโรงเรียนมัธยม อีกทั้งยังมีปูชนียสถาน คือ เจดีย์ 3 องค์ ซึ่งนายเผือก นางอิ่ม สร้าง 1 องค์ นายหรั่ง นางเป้า สร้าง 1 องค์ และ อีก 1 องค์ คงสร้างในสมัยเดียวกัน โดยในสมั ย พระอาจารย์ โ พร้ ง เป็ น เจ้ า อาวาส ได้ ส ร้ า งศาลา การเปรียญขึ้นเมื่อพ.ศ.2429 โดยนายพุฒ นางแสง เป็นประธานพร้อม ด้วยประชาชนทัว่ ไปร่วมกันก่อสร้าง ต่อมาพ.ศ.2433 ได้สร้างพระอุโบสถ ชั่วคราวขึ้น ด้วยในสมัยนั้นการศึกษาเล่าเรียนของพระเณร เน้นทางด้าน การสวดมนต์เป็นส่วนใหญ่

CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย

4

.indd 93

93

9/10/2561 15:12:26


ต่อมาสมัยพระอาจารย์ชื้น เป็นเจ้าอาวาส ได้ก่อฝาผนังโบสถ์ด้วย อิฐเผา ฉาบด้วยปูน หลังคามุงกระเบื้อง มีช่อฟ้าใบระกา ตัวอุโบสถ ยาว 12 เมตร กว้าง 7 เมตร โดยมีนายแพ นางบู่ เป็นเจ้าภาพสร้างพระประธาน ปางสะดุ้งมาร ประจ�ำพระอุโบสถ มีหน้าตักกว้าง 115 เซนติเมตร สร้าง เมื่อปีเถาะ พ.ศ. 2434 ตรงกับ ร.ศ.110 ปีที่ 24 ในรัชกาลที่ 5 ในปี พ.ศ.2436 ได้สร้างศาลาการเปรียญ 1 หลัง กว้าง 5 วา ยาว 8 วา เป็นทีส่ ำ� หรับบ�ำเพ็ญกุศลของประชาชนทัว่ ไป และต่อมา นายจอน นางจวง ได้สร้างศาลาหลังย่อม กว้าง 8 ศอก ยาว 4 วา ด้านหน้าศาลาการเปรียญ อีก 1 หลัง ในพ.ศ.2441 ต่อมาพ.ศ.2450 นางเสงี่ยม จันทวัฒน์ พร้อม ด้วยบุตรและญาติพี่น้อง สร้างศาลาขึ้นอีก 1 หลัง สมัยพระอาจารย์บวั เป็นเจ้าอาวาส ในปีพ.ศ.2457 จัดการย้ายกุฏใิ หม่ จัดแถวให้เป็นแนวตามคลองบางกะไห ไม่มกี ารเปลีย่ นรูปทรงกุฏิ เพียงแต่ มุงสังกะสี ซึ่งมีนางชื้น นางเสงี่ยม เป็นผู้อุปถัมภ์ ปี พ.ศ.2474 พระครูเฟื่อง เป็นเจ้าอาวาส เริ่มมีการเรียนพระปริยัติ ธรรมส�ำหรับพระภิกษุสามเณร โดยมีพระอาจารย์ไวย์ สุนทรโชติ เป็นครู สอนอยู่ 1 ปี และพระอาจารย์เพีย้ น นิลพันธ์ มาเป็นครูสอนอีก 2 ปี ท่าน ทั้งสองได้ส�ำเร็จภูมินักธรรมชั้นโท เมือ่ พ.ศ.2478 ท่านพระครูเฟือ่ ง ได้นมิ นต์ พระอาจารย์บญ ุ ชู นิจเจริญ จากวัดนครเนื่องเขต ซึ่งส�ำเร็จนักธรรมชั้นเอก มาเป็นครูสอนปริยัติธรรม

94

และในปี พ.ศ.2479 ท่านได้สร้างโรงเรียนปริยตั ธิ รรมขึน้ 1 หลัง มีนายด�ำ นางตาบ รัตนพงษ์ พร้อมบุตรธิดา และญาติมิตรเป็น ผู้ออกทุนทรัพย์ ซื้อบ้านทรงปั้นหยา 2 ชั้น ยาว 10 เมตร 50 เซนติเมตร กว้าง 6 เมตร 50 เซนติเมตร มุงสังกะสี โดยท่านเป็นหัวหน้าในการก่อสร้าง ตั้งชื่อว่า “โรงเรียนรัตนวิทยาราม” และในปีนั้น นายด�ำ นางตาบ พร้อมญาติพี่น้อง ก็ได้สร้างหอระฆังบนถังน�้ำอีก 1 หลัง และพระอาจารย์ไวย์ สุนทรโชติ ได้จัดสร้างโรงเรียนประชาบาลชั่วคราวอีก 1 หลัง ในสมัยของ พระครูธรรมกิจนิเทศก์ (หลวงพ่อบุญชู นิจเจริญ) การ ศึกษาปริยัติธรรมได้เจริญรุ่งเรืองมาก มีการสอนนักธรรมตรี โท เอก และ ส่งนักเรียนเข้าสอบธรรมสนามหลวง โดยท่านพระครูธรรมกิจนิเทศก์ ยังได้ เป็นประธานในการสร้างโรงเรียนประชาบาลถาวรขึน้ อีก 1 หลัง กว้าง 4 วา 2 ศอก ยาว 10 วา 2 ศอก ทรงปั้นหยา 2 ชั้น มุงกระเบื้อง ตามแบบ แปลนของกระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของพระอุโบสถ มี นายจวง นางเขียน แจ้งกระจ่าง, นายทอง นางเหลือง จินดางาม, นายฟ้อน นางบุญมา จันทวัฒน์ และประชาชนในท้องถิน่ ออกทุนทรัพย์ชว่ ยกันสร้าง ในปีพ.ศ. 2484 และได้สร้างถังน�ำ้ เทคอนกรีต 1 ถัง กว้าง 4 เมตร ยาว 16 เมตร สูง 1 เมตร สร้างถนนเทคอนกรีตอีก 1 สาย กว้าง 3 ศอก ยาว 50 วา

SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา

4

.indd 94

9/10/2561 15:12:30


บันทึก

ล�ำดับเจ้าอาวาส

1. หลวงพ่อชื้น พ.ศ. 2435 2. หลวงพ่อโพร้ง พ.ศ. 2440 3. หลวงพ่อบัว พ.ศ. 2473 4. หลวงพ่อพระครูเฟื่อง พ.ศ. 2473 5. พระครูธรรมกิจนิเทศก์ (หลวงพ่อบุญชู นิจเจริญ ) พ.ศ. 2485 6. พระครูสมุห์สมพิศ ธมฺมธโร พ.ศ. 2531 7. พระครูประโชติวุฒิคุณ (พระครูวินัยธรประสาน ชุติวณฺโณ) พ.ศ. 2537 –ปัจจุบัน

บ้านจะดี มีหลักฐาน เพราะบ้านช่วย บ้านจะสวย เพราะมีวัด ดัดนิสัย บ้านกับวัด ผลัดกันช่วย ยิ่งอวยชัย ถ้าขัดกัน ก็บรรลัย ทั้งสองทางฯ CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย

4

.indd 95

95

9/10/2561 15:12:37


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

ถ�้ำใต้อุโบสถ

96

3

พระหันได้

SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา

.indd 96

9/10/2561 17:59:36


วัดอุดมมงคล พระเดชพระคุณพระราชอุดมมงคล หรือหลวงพ่ ออุตตมะ พระครูวิจิตรสรคุณ (สิทธิพงษ์ ธีรธมฺโม) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดอุดมมงคล

วัดอุดมมงคล เป็นวัดราษฎร์ สังกัดมหานิกาย ตั้งอยู่เลขที่ 30 หมู่ 4 ต�ำบลท่าไข่ อ�ำเภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา มีเนื้อที่ 26 ไร่ 1 งาน 20 ตารางวา ได้รับวิสุงคามสีมาในปี พ.ศ.2552 วัดแห่งนี้พระเดชพระคุณ พระราชอุ ด มมงคล หรื อ หลวงพ่ อ อุ ต ตมะ พร้ อ มด้ ว ย พลเอกมงคล อัมพรพิสิฏฐ์ ได้ริเริ่มสร้างขึ้นเมื่อปีพ.ศ.2542 ซึ่งในช่วงแรกนั้นเป็นเพียง ส� ำ นั ก สงฆ์ เ ล็ ก ๆ ปี ต ่ อ มาจึ ง สร้ า งศาลารั บ รองญาติ โ ยม และสร้ า ง อุโบสถเป็นรูปทรงเรือ พร้อมด้วยกุฏิที่พักสงฆ์ 2 ชั้น จ�ำนวน 10 ห้อง มีการพัฒนาถนนทางเข้าวัดให้สะดวกสบายขึ้น และท�ำซุ้มประตู โดยมี ศิษยานุศิษย์ร่วมสร้างถวายหลวงพ่ออุตตมะในปี พ.ศ.2548 จึงได้รับ การตั้งเป็นวัดอุดมมงคลอย่างถูกต้อง

ในปีต่อมาหลังจากที่หลวงพ่ออุตตมะมรณภาพลง ท�ำให้วัดขาด พระจ�ำพรรษา จนถึงวันที่ 14 กุม ภาพันธ์ พ.ศ.2550 คณะสงฆ์แ ละ ชาวบ้ า นจึ ง ได้ นิ ม นต์ พระครู วิ จิ ต รสรคุ ณ ซึ่ ง ในขณะนั้ น ท่ า นได้ เ ป็ น พระใบฎีกา สิทธิพงษ์ ธีรธมฺโม จากวัดนครเนื่องเขต (วัดต้นตาล) มา รักษาการเจ้าอาวาส และเป็นเจ้าอาวาสในปีเดียวกัน ภายในบริเวณวัด เมื่อเข้าไปถึงนักท่องเที่ยวจะได้เห็นรูปเหมือน ของหลวงพ่ออุตตมะที่ใหญ่ที่สุดในภาคพื้นตะวันออก ประดิษฐานบน ศาลาปฏิบัติธรรม ซึ่งภายในมีพระบรมสารีริกธาตุให้ประชาชนชาวพุทธ ได้สักการะ เพื่อความเป็นสิริมงคล นอกจากนี้ก็มีพระหันได้ หรือพระสามมิติ คือเป็นพระพุท ธรูป ที่สร้างให้มีลักษณะเว้าเข้าไปข้างใน แต่เมื่อถ่ายรูปออกมาจะเห็นว่า พระมีลักษณะนูนขึ้นมา เมื่อนักท่องเที่ยวยืนทางขวาพระท่านจะหันมา ทางขวา เมื่อเรายืนทางซ้ายพระท่านจะหันมาทางซ้าย เป็นความงดงาม มากเมื่อไหว้พระท�ำบุญกันเสร็จแล้วทางวัดมีโรงทาน มีอาหารส�ำหรับ ผู ้ ที่ ม าท� ำ บุ ญ ได้ รั บ ประทานกั น ตามอั ธ ยาศั ย เมื่ อ รั บ ประทานเสร็ จ ก็ท�ำบุญตามศรัทธาเพื่อเป็นการจุดเทียนแห่งบุญกุศลให้ทุกท่านที่มา ท�ำบุญได้รับประทานกันต่อไปไม่สิ้นสุด เพราะทานเป็นต้นทุนแห่งการ เพียรเผากิเลส บันทึก

กราบสักการบูชาหลวงพ่ ออุตตมะ ณ วัดอุดมมงคล

เมื่อได้ยินชื่อของหลวงพ่ออุตตมะ เชื่อว่าหลายๆ ท่าน คงนึกไปวัดวังก์วิเวการาม แห่งอ�ำเภอสังขละบุรี จังหวัด กาญจนบุรี ซึ่งหลวงพ่อและชาวบ้านช่วยกันก่อตั้งขึ้น แต่ ปัจจุบันกลายเป็นอดีตที่จมอยู่ใต้น�้ำ ยังความเศร้าเสียใจมาสู่ ชาวไทยเชื้อสายมอญและพุทธศาสนิกชนทั่วไป แต่ความจริง แล้ว หลวงพ่ออุตตมะ หรือพระราชอุดมมงคล ยังได้ริเริ่ม สร้ า งวั ด ที่ อ ยู ่ ไ ม่ ใ กล้ ไ ม่ ไ กลจากกรุ ง เทพมากนั ก เพื่ อ ให้ พุทธศาสนิกชน ที่เคารพศรัทธาท่านได้มีโอกาสฟังพระธรรม ค�ำสอนจากท่าน วัดที่ว่านี้คือ “วัดอุดมมงคล”

CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย

3

.indd 97

97

9/10/2561 17:59:39


หลวงพ่ อโสธรสานด้วยไม้ไผ่ พระครูวิจิตรสรคุณ (สิทธิพงษ์ ธีรธมฺโม) เจ้าอาวาสวัดอุดมมงคล และเลขาเจ้าคณะต�ำบลนครเนื่องเขต

เกิดเมื่อวันที่ 21 ตุลาคม พ.ศ.2515 ภูมิล�ำเนาเดิมอยู่บ้านเลขที่ 27 หมูท่ ี่ 3 ต�ำบลเนือ่ งเขต อ�ำเภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา อุปสมบทเมือ่ อายุ 20 ปี วันที่ 25 เมษายน พ.ศ.2535 วิทยฐานะ น.ธ.เอก ปริญญาตรี พุทธศาสตร์บัณฑิต ปริญญาโท มหาบัณฑิต หลักสูตรศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยปทุมธานี การพั ฒนาวัด พ.ศ.2550

- สานงานต่อจากหลวงพ่ออุตตมะ และซ่อมแซมเสนาสนะต่างๆ ภายในวัด พ.ศ.2551

- หล่อรูปเหมือนหลวงพ่ออุตตมะด้วยทองเหลือง หน้าตักกว้าง 36 นิว้ เพื่อร�ำลึกถึงเกียรติคุณของหลวงพ่ออุตตมะ - หล่อรูปเหมือนหลวงพ่อพุทธโสธร เพือ่ ให้พทุ ธศาสนิกชนสักการบูชา - สร้างศาลาแปดเหลีย่ ม พร้อมทัง้ เทยางลาดลานหน้าศาลาแปดเหลีย่ ม เพื่อใช้เป็นที่ประดิษฐานรูปหล่อหลวงพ่อทั้ง 2 องค์

พ.ศ.2552

- ซื้อที่ดินเพิ่มอีก 6 ไร่ เพื่อใช้ในการสร้างศาลาธรรมสังเวช และ ฌาปนสถาน - คิ ด ริ เ ริ่ ม สร้ า งรู ป เหมื อ นหลวงพ่ อ อุ ต ตมะขนาดใหญ่ ที่ สุ ด ใน ประเทศไทย มีหน้าตักกว้าง 10 เมตร 9 นิ้ว สูง 12 เมตร 9 นิ้ว โดย สร้างเป็น 2 ชั้น ชั้นล่างใช้เป็นที่ปฏิบัติธรรม และเป็นศาลาเอนกประสงค์ ชั้นบนส�ำหรับญาติโยมได้ปิดทองและสักการบูชาองค์หลวงพ่อพุทธโสธร และรูปเหมือนหลวงพ่ออุตตมะ พ.ศ.2553

- มีพิธีวางศิลาฤกษ์สร้างรูปเหมือนหลวงพ่ออุตตมะ เมื่อวันที่ 30 ตุลาคม พ.ศ.2553 พ.ศ.2554

- เปิดให้ประชาชนทั่วไปกราบไหว้บูชาปิดทองเมื่อวันที่ 29 ตุลาคม พ.ศ.2554 พ.ศ.2555

- ริเริม่ พัฒนาวัดอุดมมงคล ให้เป็นแหล่งท่องเทีย่ วทางศาสนสถานที่ ส�ำคัญของจังหวัดฉะเชิงเทรา ค�ำสอนหลวงพ่ ออุตตมะ

“ผูม้ ปี ญ ั ญา ไม่ควรให้สงิ่ ล่วงไปแล้วมาตาม ไม่ควรหวังสิง่ ซึง่ ยังมา ไม่ถึง เพราะว่าสิ่งใดล่วงพ้นไปแล้ว สิ่งนั้นอันเราละเสียแล้ว อนึ่ง สิ่งใด ซึ่งไม่มาถึงเล่าสิ่งนั้นก็ยังไม่มาถึง เพราะฉะนั้น ผู้มีปัญญาจึงไม่ควรให้ สิ่งที่ล่วงไปแล้วมาตาม ไม่ควรหวังสิ่งที่ยังมาไม่ถึง ก็ผู้มีปัญญาได้มา เห็นธรรมเป็นปัจจุบันเกิดขึ้นเฉพาะหน้าแจ้งชัดอยู่ในที่นั้นๆ ใครจะพึง รู้ว่าความตายจักไม่มีในวันพรุ่งนี้ เพราะว่าสู้ความหน่วงเหนี่ยว ความ ผูกพันด้วยมฤตยูความตายซึง่ มีเสนาใหญ่นนั้ มิได้เลย ฉะนัน้ ความเพียร เผากิเลสทีเ่ ร่าร้อน อันผูม้ ปี ญ ั ญาควรท�ำเสียในวันนีเ้ ลยทีเดียว ไม่มคี วาม เกียจคร้าน ขยันหมัน่ เพียรทัง้ กลางวันและกลางคืนอย่างนี้ ผูน้ นั้ แลเป็น ผู้มีราตรีเดียวเจริญดังนี้ ” 98

3

SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา

.indd 98

9/10/2561 17:59:42


สิทธิชัย

Sittichai Apartment ห้ องพั ก สะอาด บริ ก ารเป็ นกั น เอง แวะมาพั ก แล้ วจะติ ด ใจ

สิทธิชัย อพาร์ทเม้นท์ ห้องพักใจกลางเมืองแปดริ้ว บริการทั้งรายวัน และรายเดือน คุม้ ค่า ราคาประหยัด ปลอดภัย สะอาด ห้องสวย ทันสมัย พร้อม สิ่งอ�ำนวยความสะดวกครบครัน ติดถนนใหญ่ ใกล้ห้างสรรพสินค้า และ สถานที่ท่องเที่ยว ใกล้วัดหลวงพ่อโสธร วัดสมานรัตนาราม ตลาด 100 ปี บ้านใหม่ และ มินิมูล่าฟาร์ม เป็นต้น

เพราะเราเข้าใจทุกท่านที่ต้องการห้องพักแบบประหยัด และดีมาก สิทธิชยั อพาร์ทเม้นท์ ต้อนรับทุกท่าน บริการตลอด 24 ชัว่ โมง ห้องพักสวย ถูกใจ ราคาประหยัดกว่าที่คิด ด้วยมิตรภาพ

สะอาด ราคาถู ก นึ ก ถึ ง ห้ องพั ก นึ ก ถึ ง สิ ท ธิ ชั ย อพาร์ ทเม้ นท์ สิทธิชัย อพาร์ ทเม้ นท์ ที่ตงั ้ 703/13 ถนนศุขประยูร ต�ำบลหน้ าเมือง อ�ำเภอ เมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา 24000 Tel: 084-782 -6664, 081-792-8894 สิทธิชยั อพาร์ ทเม้ นท์ jirapron6664 CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย 99

1

.indd 99

9/10/2561 9:42:08


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดเทพนิมิตร

สักการะพระนอนกระจก อายุ 142 ปี พระครูศิริปัญญามุนี (อ่อน เทวนิโภ) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดเทพนิมิตร รูปแรก

ค�ำว่า วัดเทพนิมิตรนี้กล่าวกันว่า เนื่องมาจากการก่อสร้างเสร็จ โดยเร็ว เปรียบประหนึ่งว่ามีเทวดามาช่วยสร้างให้หรือหมายเอาฉายา ของท่านพระครูศิริปัญญมุนี ว่า เทวนิโภ ผู้ก่อสร้างวัดเป็นได้ หรืออีก นัยหนึ่ง ได้ทราบว่า เมื่อแรกลงมือสร้างวัดนี้มีเทวดามาเข้าฝันท่านพระครู บอกให้ท�ำไปเถิดจะช่วยให้ส�ำเร็จ ตามความปรารถนา จึงขนานนามวัดว่า เทพนิมิตร

100

2

ประวัติพระนอนกระจก

พระนอนองค์นี้ สร้างขึน้ โดย ท่านพระครูศริ ปิ ญ ั ญามุนี (อ่อน เทวนิโภ) ในราวปี พ.ศ.2419 แต่ ยั ง ไม่ ไ ด้ ท� ำ การสร้ า งวิ ห ารเพื่ อ ประดิ ษ ฐาน องค์พระนอน แต่เมื่อท่านกลับมาเป็นเจ้าอาวาสใน พ.ศ.2457 ได้ลงมือ สร้างวิหารเพือ่ ประดิษฐานพระนอนวิหารทีส่ ร้างครัง้ แรกได้ชำ� รุดทรุดโทรมลง และในปี พ.ศ.2511 ได้ทำ� การสร้างวิหารหลังใหม่ทดแทนหลังเดิมทีช่ ำ� รุด ทรุดโทรม โดย นายบ�ำรุง นางเพิม่ โรจนวิศษิ ฐ์ ร่วมกับผูม้ จี ติ ศรัทธา เปลีย่ น รูปแบบเป็นทรงไทย มีช่อฟ้า มีมุขยื่นออกด้านหน้าตามส่วน ดังนี้ กว้าง 3 วา 1 ศอก ยาว 6 วา 1 ศอก คืบ 5 นิ้ว การสร้างวิหารพระนอน ในครั้งนั้น คิดเป็นเงิน 90,000 บาทเศษ และท�ำพิธียกช่อฟ้า ในวันที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2512 เวลา 13.00น. โดย นายจาด อุรัสยะนันทน์ ผูว้ า่ ราชการจังหวัดฉะเชิงเทรา และท�ำการฉลองวิหารพระนอน พร้อมกับ ท�ำการฉลองวัดเทพนิมิตรครบ 100 ปี ในคราวนั้นด้วย

SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา

_ .

.indd 100

8/10/2561 9:16:12


วัดเทพนิมิตร ตั้งอยู่เลขที่ 533 ต�ำบลหน้าเมือง อ�ำเภอเมือง ฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา สร้างขึน้ เมือ่ พ.ศ. 2411 โดยมีทา่ นพระครู ศิ ริ ป ั ญ ญามุ นี (อ่ อ น เทวนิ โ ภ) นามสกุ ล (ตงติ๊ ด ) โดยท่ า นเป็ น พระ มาจากวัดสัมพันธวงศาราม (วัดเกาะ) กรุงเทพมหานคร ได้ธุดงค์ผ่านมา ญาติโยมเกิดความศรัทธา โดยมีอุบาสิกาอิ่ม อุบาสิกาข�ำ อุบาสิกาหนู อุบาสิกาแมว อุบาสิกาอิน อุบาสิกาง่วน และคนอื่นๆ ได้ซื้อที่ดินจาก อุบาสิกาเล็ก เป็นราคา 3 ชั่ง (250 บาท) ส่วนอุบาสิกาเล็กเจ้าของที่ดิน ช่วยออก 20 บาท พร้อมกับยกเหย้าเรือนถวายเพื่อสร้างวัดท่านอ่อน เทวนิโภ เมื่อได้รับถวายที่ดิน ได้ลงมือสร้างกุฏิสงฆ์ ส�ำหรับเป็นที่พัก ส�ำหรับพระภิกษุสามเณร ปลูกเป็นหมูก่ ฏุ ลิ อ้ มหอฉัน มีทสี่ วดมนต์อยูต่ รง กลางปลูกตามแนวริมคลองบ้านใหม่ต่อมาสร้างศาลาการเปรียญ 1 หลัง กว้าง 5 วา ยาว 7 วา 2 ศอก มุงด้วยกระเบื้องมอญมีศาลาเล็กด้านหน้า 2 หลัง แต่ศาลาเล็ก กว้าง 3 วา 3 ศอก ยาว 7 วา ส่วนมากใช้ไม้สัก มุงกระเบือ้ งมอญ เสร็จเรียบร้อยในปี พ.ศ. 2421-2422 แล้วขนานนามว่า วัดเทพนิมิตรและมอบให้ พระท้วม ปกครองวัด

CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย

2

_ .

.indd 101

101

8/10/2561 9:16:22


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดวีระโชติธรรมาราม ชม ...อุโบสถแก้วกลางน�้ำพระราชพรหมยานอุปถัมภ์

พระภาวนาประชานุกูล (องอาจ อาภากโร) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดวีระโชติธรรมาราม

วั ด วี ร ะโชติ ธ รรมาราม ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 32 หมู ่ ที่ 4 บ้ า นบึ ง บางคา ต� ำ บลคลองหลวงแพ่ ง (คลองอุ ด มชลจร) อ� ำ เภอเมื อ งฉะเชิ ง เทรา จั ง หวั ด ฉะเชิ ง เทรา ความเป็นมา วัด วีระโชติธรรมาราม แห่งนี้ เดิม ชื่อ ส� ำ นั ก สงฆ์ “ทองธรรมโชติ” โดยมีคุณแม่ระเบียบ โชติบ รรยง (ปัจจุบัน ถึ ง แก่ ก รรมแล้ ว ) คุ ณ พ่ อ ทวี (ซึ่ ง เป็ น น้ อ งชายคุ ณ แม่ ร ะเบี ย บ) คุ ณ แม่ ลออ โชติบรรยง ได้มีจิตศรัทธาถวายที่ดิน เพื่อท�ำการก่อสร้างให้เป็น วั ด ขึ้ น ตามเจตนารมณ์ที่ศรัทธา 102

2

ต่อมาได้ขออนุญาตด�ำเนินให้สร้างวัดเมื่อวันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2540 และได้รับอนุญาตให้สร้างวัด จากท่านอธิบดีกรมการศาสนา (ภายในก�ำหนดตั้งแต่ วันที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2540 ถึงวันที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2545 เป็นเวลา 5 ปี) เปลีย่ นชือ่ ส�ำนักสงฆ์ทองธรรมโชติ เป็นส�ำนักสงฆ์วีระโชติธรรมาราม จนกระทั่งในปีพ.ศ.2545 คุณพ่อทวี คุณแม่ลออ โชติบรรยง ซึง่ เป็นเจ้าของที่ ทีม่ จี ติ ศรัทธาถวาย ได้มากราบ พระอาจารย์องอาจ อาภากโร ซึ่งในขณะนั้นอยู่จ�ำพรรษาอยู่ที่วัด กระทุ่มเสือปลา แขวงประเวศ เขตประเวศ กรุงเทพมหานคร ได้ ปรารถนาเรือ่ งสร้างวัดให้ฟงั ถึงความยากล�ำบากในการพัฒนา จึงมากราบ อาราธนา พระอาจารย์องอาจ อาภากโร ไปดูสถานที่ เมื่อมาดูแล้วเห็น ว่าภายภาคหน้าสถานที่นี้จะเป็นที่รุ่งเรืองได้ จึงรับปากจะช่วยพัฒนา ตามก�ำลังที่พึงจะมี

SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา

.indd 102

8/10/2561 17:11:21


ในเบือ้ งต้น พระอาจารย์องอาจ อาภากโร กล่าวกับคุณพ่อทวี คุณแม่ ลออ โชติบรรยง ที่ว่าจะต้องเปลี่ยนชื่อใหม่เพื่อให้เหมาะสมกับสถานที่ วันนัน้ ตรงกับวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2545 เวลาประมาณ เวลา 17.00 น. ภายในพระอุโบสถวัดสระเกศ เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร จึงได้ไปกราบทูลรายงานต่อเจ้าประคุณสมเด็จพระพุฒาจารย์ ประธาน คณะผู ้ ป ฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ส มเด็ จ พระสั ง ฆราช กรรมการมหาเถรสมาคม เจ้าคณะใหญ่หนตะวันออก เจ้าอาวาสวัดสระเกศ ราชวรวิหาร ถึงการ เปลี่ยนชื่อ เจ้าประคุณสมเด็จพระพุฒาจารย์ จึงประทานชื่อให้โดยน�ำชื่อ เจ้าของทีด่ นิ ทัง้ 2 ท่าน และนามสกุลมาตัง้ ให้สมกับทีเ่ จริญศรัทธาแก่ทา่ น เจ้าของที่ โดยใช้ชื่อใหม่ว่า “ส�ำนักสงฆ์วีระโชติธรรมาราม” ที่มาของค�ำว่า ส�ำนักสงฆ์วีระโชติธรรมาราม ซึ่งแยกออกเป็นดังนี้ ค�ำ ว่า “วีระ” หมายความถึงชื่อของคุณแม่ระเบียบ โชติบรรยง (พี่สาวคุณพ่อ ทวี โชติ บรรยง) และ ชื่อจริง ของพระเดชพระคุณพระราชพรหมยาน (หลวงพ่อฤาษีลิงด�ำ) หรือ พระมหาวีระ ถาวโร วัดจันทาราม (ท่าซุง) ต�ำบลน�้ำซึม อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุทัยธานี ซึ่งเป็นครูบาอาจารย์ ของท่าน พระอาจารย์ องอาจ อาภากโร ค�ำว่า “โชติ” หมายความถึง ค�ำน�ำหน้า นามสกุลของคุณแม่ระเบียบ คุณพ่อทวี คุณแม่ลออ โชติบรรยง ดังนัน้ แล้ว จึงริเริ่มพัฒนามาโดยล�ำดับ ตามก�ำลังตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา ต่อมาคุณแม่ ระเบียบ คุณพ่อทวี คุณแม่ลออ โชติบรรยง ถวายที่ดินให้กับทางวัดเมื่อ วันที่ 25 มีนาคม พ.ศ.2545 เป็นจ�ำนวน 30 ไร่ พร้อมกันกับจ�ำนวนอีก 14 ไร่ และต่อมา ทางวัดได้จดั ซือ้ ทีด่ นิ เพิม่ จากคุณพ่อทวี โชติบรรยง เป็น จ�ำนวน 4 ไร่ ได้รบั การโอนให้เป็นทีด่ นิ ของวัด เมือ่ วันที่ 12 มิถนุ ายน พ.ศ. 2557 ต่อมาคุณแม่ประเสริฐ ชัยนิยม(ชูจนั ทร์) ได้ถวายทีด่ นิ ให้กบั ทางวัด โอนเมือ่ วันที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ.2557 เป็นจ�ำนวน 35 ไร่ 86 ตารางวา ปัจจุบนั ทางวัดมีทดี่ นิ ตัง้ วัด เป็นจ�ำนวนเนือ้ ที่ 83 ไร่ 86 ตารางวา ได้ รับการตั้งเป็นวัดวีระโชติธรรมาราม เมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2552 ตามประกาศส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ และ ได้รับประกาศ มหาเถรสมาคมเป็นส�ำนักปฏิบตั ธิ รรมประจ�ำจังหวัดฉะเชิงเทรา แห่งที่ 28 เมือ่ วันที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ.2553 โดยอนุมตั ขิ องมหาเถรสมาคม ในการ ประชุมครั้งที่ 5/2553 เมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2553 และได้รับ ประกาศพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม พ.ศ.2560 สถานทีแ่ ละสิง่ ศักดิส์ ทิ ธิส์ ำ� คัญของวัด : อุโบสถแก้วกลางน�ำ้ พระราชพรหมยาน อุปถัมภ์ 1 หลัง ก่ออิฐ ถือปูน หลังคามีมุข 2 ด้าน อยู่ในบ่อกลางน�้ำ มีสะพานทางขึน้ 2 ด้านทางทิศใต้ ประดับกระจกเงาทัง้ หลัง และพ่นสีขาว ด้านนอก

ประวัติ พระภาวนาประชานุกูล (องอาจ อาภากโร)

พระภาวนาประชานุกูล วิ. (องอาจ) ฉายา อาภากโร อายุ 49 ปี พรรษา 29 วิทยฐานะ น.ธ.เอก, พธ.ด.(กิตต์) วัดวีระโชติธรรมาราม ต�ำบลคลองหลวงแพ่ง (คลองอุดมชลจร) อ�ำเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัด ฉะเชิงเทรา ปัจจุบันด�ำรงต�ำแหน่ง เจ้าอาวาสวัดวีระโชติธรรมาราม และ เจ้าส�ำนักปฏิบัติธรรมประจ�ำจังหวัดฉะเชิงเทรา แห่งที่ 28 งานปกครอง : พ.ศ.2552 เป็นเจ้าอาวาสวัดวีระโชติธรรมาราม, พ.ศ.2553 เป็นเจ้าส�ำนักปฏิบตั ธิ รรมประจ�ำจังหวัดฉะเชิงเทรา แห่งที่ 28, พ.ศ.2561 เป็นรองประธาน สมณศักดิ์ : พ.ศ.2548 ได้รบั แต่งตัง้ เป็นพระครูฐานานุกรม ที่ พระครู วินัยธร ของ พระพรหมเวที กรรมการมหาเถรสมาคม เจ้าคณะภาค 8 เจ้าอาวาสวัดไตรมิตรวิทยาราม วรวิหาร ,พ.ศ.2555 ได้รับแต่งตั้ง เป็น พระครูฐานานุกรม ที่ พระครูปลัดกิตติวัฒน์ ของ พระธรรมกิตติโสภณ รองเจ้าอาวาสวัดสระเกศราชวรมหาวิหาร ,พ.ศ.2556 ได้รับแต่งตั้งเป็น พระครูสัญญาบัตร เทียบผู้ช่วยเจ้าอาวาสพระอารามหลวง ชั้นพิเศษ ฝ่ายวิปัสสนาธุระ ที่ พระครูภาวนาวีรคุณ วิ. (ทผจล.ชพ.วิ.) ,พ.ศ.2559 ได้รับพระราชทานกรุณาโปรดเกล้า แต่งตั้งเป็น พระราชาคณะ สามัญยก ฝ่ายวิปัสสนา ในราชทินนาม พระภาวนาประชานุกูล วิ. โทรศัพท์ : 084-977-3339, 087-922-4888 CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 103

103

8/10/2561 17:11:26


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วั ด ไชยพฤฒาราม ตั้ ง อยู่

หมู ่ 2 ตำ� บลบ้า นใหม่ อำ�เภอเมือ ง ฉะเชิ ง เทรา จั ง หวั ด ฉะเชิ ง เทรา สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ที่ด ินตั้ง วัดมีเนื ้อที่ 10 ไร่ ได้รับพระราชทาน วิสุงคามสีมาเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ.2526 เขตวิสุงคามสีมา กว้า ง 20 เมตร ยาว 36 เมตร ตั้ ง เมื ่ อ พ.ศ.2260 แต่เดิมชาวบ้านเรียกว่า วั ด สั ม ปทวน ตามประวั ติ เ ล่ า ว่ า สมเด็ จ พระเจ้ า ตากสิ น มหาราช สมั ย ที ่ เ ป็ น พระยาตาก ได้ย กทัพไป ตี เ มื อ งจั น ทบุรี ได้ผ ่า นมาทางวัด นี้ จึงได้ท ำ�การบูรณะซ่อมแซม ก่อนที่ เดิ น ทั พต่ อไปเมือ งจัน ทบุรี

เจ้าอาวาส เท่าที่ทราบนามคือ

1. พระอธิการเป้า 2. พระอธิการเจริญ 3. พระมหาเทวิน 4. พระอธิการนุช 5.พระอธิการบุญธรรม ขนฺติธโร 6.พระอธิการเทียนชัย โฆสธมฺโม 7.พระอธิการกัณหา อภิวณฺโญ 8.พระอธิการบุญนำ� 9.พระอธิการสมัย ธมฺมธโร รูปปัจจุบัน

บันทึก

พระอธิการกัณหา อภิวณฺโญ

เจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน เดิมชื่อ พระสมัย ฉายา ธมฺมธโร อุปสมบทเมื่ออายุ 63 ปี เมื่อวันที่ 27 ตุลาคม พ.ศ.2544 โดยมี พระอุปัชฌาย์ เจ้าอธิการโกวิทย์ สุตธโร พระกรรมวาจาจารย์ พระฉลวย ขนฺติพโล พระอนุสาวนาจารย์ พระอธิการสมยศ โชติธมฺโม อุปสมบท ณ วัดไชยพฤฒาราม ต.บางแก้ว อ.เมือง จ.ฉะเชิงเทรา

104

1

วัดไชยพฤฒาราม

วิริเยน ทุกฺขมจฺเจติ : คนล่วงทุกข์ได้เพราะความเพียร (พุทธพจน์)

พระอธิการสมัย ธมฺมธโร ดำ�รงตำ�แหน่งเจ้าอาวาสวัดไชยพฤฒาราม

SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา

.indd 104

5/10/2561 14:34:32


ใช้ ชี วิ ต เรี ย บง่ า ยแต่ มี STYLE ท่ า มกลางธรรมชาติ

บ้ า นนายถึ ก โฮมสเตย์ รี ส อร์ ท

ที่พักสบายๆ ริมแม่น�้ำบางปะกง ในเมืองฉะเชิงเทรา แปดริ้ว มีพร้อมทั้งพายเรือคายัค ชูชพี ส�ำหรับใส่เล่นน�ำ้ หรือจะตกปลา ตกกุง้ ทางเรามีเหยือ่ จ�ำหน่าย แต่ตอ้ งน�ำเบ็ดและอุปกรณ์ มาเอง บ้านพักส�ำหรับท่านที่เหน็ดเหนื่อยจากการท�ำงาน แวะมาพักผ่อนสมอง รับอากาศดีๆ เข้าปอดสักนิด ใช้ชีวิตเรียบง่ายแต่มี STYLE ท่ามกลางธรรมชาติ ตกเย็นนั่งเล่นริมน�้ำ พร้อม ก่อเตาปิ้ง ย่าง ท�ำอาหารเย็นนั่งรับประทาน สังสรรค์เฮฮากับเพื่อนๆ ของคุณครับ ทางรีสอร์ท มีกิจกรรมอีกมากมาย สนุกสนานท่ามกลางธรรมชาติ พร้อมต้อนรับทุกท่าน รั บ จั ด งานพิ ธี ม งคลสมรส (wedding) คู่บ่าวสาวที่ประสงค์จะถ่ายรูป pre wedding สวยๆ อิงแอบธรรมชาติ หรือจะจัดงานพิธีมงคล สมรส ทางเรามีสถานที่ และอาหารให้บริการอย่าง ประทับใจ บริ ก ารห้ อ งประชุ ม (Meeting Room) ส�ำหรับกลุม่ องค์กร จะประชุม สัมมนา เราก็มที พี่ กั ห้องประชุม ห้องคาราโอเกะ และอาหารให้บริการ ด้วยนะครับ

ใช้เวลาเพียงแค่ 1 ชั่วโมงครึ่ง จากกรุงเทพฯ สามารถนั่งรถประจ�ำทาง หรือ รถตู้โดยสาร มาลงที่ขนส่งจังหวัดฉะเชิงเทรา มีบริการรถรับ-ส่ง ถึงที่พัก เข้าพักวันอาทิตย์ - พฤหัสบดี ราคาเริ่มต้น 800 บาท เข้าพักวันศุกร์ - เสาร์ และวันหยุด นักขัตฤกษ์ ราคาเริ่มต้น 1,000 บาท หากผู้เข้าพัก น�ำเต็นท์มาเอง ราคาท่านละ 300 บาท พร้อมอาหารเช้า

บ้ านนายถึก โฮมสเตย์ รี สอร์ ท ที่ตงั ้ 28 หมู่ 2 ต�ำบลคลองนา อ�ำเภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา 24000 Tel: 094-864-0999, 089-936-2211 Email: chattip2000@yahoo.co.th bannaituek

CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 105

105

9/10/2561 9:49:05


W O R K LI F E

บันทึกเส้นทางพบเทศบาลต�ำบล

เทศบาลตำ�บลนครเนื่องเขต “ชุมชนพอเพี ยง เคียงคู่ภูมิปัญญา พั ฒนาคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจมั่นคง”

วิสัยทัศน์การพัฒนาเทศบาลตำ�บลนครเนื่องเขต

เทศบาลต�ำบลนครเนื่องเขต ตั้งอยู่เลขที่ 5/1 หมู่ 9 ต�ำบลคลองนครเนื่องเขต อ�ำเภอ เมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา มีพื้นที่ 1.5 ตารางกิโลเมตร ตั้งอยู่ในต�ำบลคลองนคร เนื่องเขต อยู่ในพื้นที่บางส่วนของหมู่ 6, 7, 8, 9, 10, 11, 12, 13 และ 14 ทางทิศเหนือของ อ�ำเภอเมืองฉะเชิงเทรา ใกล้กับถนนสุวินทวงศ์ (สายมีนบุรี - ฉะเชิงเทรา) โดยแยกจากถนน สุวนิ ทวงศ์เข้าไปประมาณ 800 เมตร การสัญจร ไปมา สามารถเดินทางติดต่อกับอ�ำเภอเมือง ฉะเชิงเทราและกรุงเทพฯ ได้โดยทางรถยนต์ ระยะห่างจากเทศบาลฯ ถึงเมืองฉะเชิงเทรา ประมาณ 15 กิโลเมตรและห่างจากกรุงเทพฯ ประมาณ 40 กิโลเมตร การคมนาคมทางน�้ำ มีลำ� คลองสายส�ำคัญๆ ทีไ่ หลผ่าน ได้แก่ คลอง นครเนื่องเขต คลองขวางบน คลองขวางล่าง การคมนาคม ถนนสายหลักทีส่ ำ� คัญ ได้แก่ ถนน สุขาภิบาล 1 และ ถนนสุขาภิบาล 2

นายเลอสรร สายวาณิชย์ นายกเทศมนตรีตำ�บลนครเนื่องเขต

นายพงษ์พันธุ์ สายวาณิชย์ รองนายกเทศมนตรีตำ�บลนครเนื่องเขต

106

4

นายมโนช พูนสุข

รองนายกเทศมนตรีตำ�บลนครเนื่องเขต

SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา

.indd 106

9/10/2561 11:30:12


ประวัติความเป็นมา

ปัจจุบัน เทศบาลต�ำบลนครเนื่องเขตได้รับ การยกฐานะจากสุขาภิบาลเป็นเทศบาลต�ำบล ตามพระราชบัญญัตกิ ารเปลีย่ นแปลงฐานะของ สุขาภิบาลเป็นเทศบาล พ.ศ.2542 ประกาศใน พระราชกิจจานุเบกษา ฉบับฎีกา เล่มที่ 116 ตอนที่ 9 ก. วันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2542 โดยมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ.2542 ปัจจุบันเป็นเทศบาลขนาดเล็ก ต� ำ บลคลองนครเนื่ อ งเขต เกิ ด ขึ้ น จาก พระราชด�ำริของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 มีประวัติที่น่าสนใจดัง ปรากฏในพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เรื่อง เสด็จประพาส คลองแสนแสบ เมื่อพ.ศ.2451 เสด็จเปิดทาง รถไฟสายเหนือตั้งแต่ทางปากน�้ำโพถึงเมือง พิษณุโลก สายตะวันออกถึงเมืองฉะเชิงเทรา ท�ำ พิธีเปิดในบริเวณสถานีกรุงเทพฯ เสร็จแล้วเลย เสด็จไปประพาสเมืองฉะเชิงเทรา ในการเสด็จครัง้ นีพ้ ระองค์ตงั้ พระหฤทัยว่า ถ้าเสด็จประพาสเมืองฉะเชิงเทราเสร็จแล้วจะ เสด็จกลับทางรถไฟเหมือนขาไป แต่เมื่อเสด็จ ไปประทับอยู่ที่เมืองฉะเชิงเทรา เกิดมีพระราช ประสงค์ทอดพระเนตรคลองแสนแสบจึงโปรด เปลี่ยนเป็นเสด็จกลับทางเรือ ให้จัดขบวนเรือที่ เสด็จกลับขึน้ ทีเ่ มืองฉะเชิงเทรา ครัง้ นัน้ ทรงเรือ มาดยอดไชยาของกรมหลวงด�ำรงราชานุภาพ เสนาบดีกระทรวงมหาดไทยเป็นเรือพระที่นั่ง เสด็ จ กลั บ จากเมื อ งฉะเชิ ง เทรามาประทั บ กลางทาง 2 คืน เสด็จกลับเข้ากรุงเทพฯ

สภาพภูมิประเทศ

เทศบาลต�ำบลนครเนื่องเขต เป็นที่ราบลุ่ม เหมาะแก่การเพาะปลูก มีล�ำคลองไหลผ่าน กลางพื้นที่เทศบาล คือ ล�ำคลองนครเนื่องเขต และคลองขวาง สภาพภูมิอากาศ

ในเขตพื้นที่เทศบาลต�ำบลนครเนื่องเขต มีลักษณะทั้ง 3 ฤดู คือ ในฤดูร้อนมีอุณหภูมิ ค่อนข้างสูง ในฤดูฝนมีฝนตกชุกและลมแรง ในฤดูหนาวมีอากาศหนาว ที่ดินในเขตส่วนใหญ่ใช้ในการเกษตรกรรม ได้แก่ ท�ำนา ท�ำสวน ปลูกพืชผักสวนครัว เลี้ยง ปลา เลี้ยงกบ เลี้ยงไก่และเป็ด ประชาชนใน พื้นที่ส่วนใหญ่ไม่มีที่ดินท�ำกินเป็นของตนเอง

มีพื้นที่ใช้สอยเป็นจ�ำนวนน้อย เนื่องจากพื้นที่ ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ของบุคคลเพียงไม่กี่ราย ลักษณะของแหล่งน�้ำ

สถานที่ตั้งลุ่มน�้ำหลัก แม่น�้ำบางปะกง ลุ่มน�้ำสาขา คลองนครเนื่องเขต บริเวณ หมู่ 6,7,8,9,10,11,12,13 ต�ำบลคลองนครเนื่อง เขต อ�ำเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา ยาวประมาณ 1,400 เมตร กว้างเฉลีย่ ประมาณ 30-40 เมตร ลุม่ น�ำ้ สาขา คลองขวาง บริเวณ หมู่ 10,11, 13,14 ต�ำบลคลองนครเนื่องเขต อ�ำเภอเมือง ฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา ยาวประมาณ 1,080 เมตร กว้างเฉลีย่ ประมาณ 30-40 เมตร CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย

4

.indd 107

107

9/10/2561 11:30:14


พั นธกิจ

1.พั ฒ นาคนและสั ง คมในชุ ม ชนให้ มี ประสิทธิภาพและคุณภาพ ทั้งด้านการศึกษา ศาสนา สาธารณสุข สังคมและเศรษฐกิจควบคู่ คุณธรรม จริยธรรม มีวินัย มีความรับผิดชอบ มีจิตส�ำนึก มีคุณภาพชีวิตที่ดี มีสภาพแวดล้อม ที่ดีและมีความเอื้ออาทรสมานฉันท์ต่อกัน 2.ส่ ง เสริ ม กิ จ กรรมทางศาสนาให้ สั ง คม เข้าใจหลักการสอนในพุทธศาสนา 3.สนับสนุนและส่งเสริมขีดความสามารถ การผลิตพืชผลทางการเกษตรและอุตสาหกรรม ในพื้นที่ ให้มีคุณภาพและได้มาตรฐานสากล 4.เพิ่มปริมาณและประสิทธิภาพของระบบ สาธารณูปโภคให้เพียงพอต่อความต้องการของ ประชาชน และรองรับการขยายตัวในอนาคต 5.พัฒนาสภาพแวดล้อม ปรับปรุงภูมิทัศน์ ให้สวยงาม 6.พัฒนาระบบอุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้ ให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งานและทันสมัย 7.พัฒนาเศรษฐกิจ ชุมชนและภูมิปัญญา ท้องถิ่นให้เข้มแข้ง

108

4

8.น�ำหลักธรรมาภิบาลมาใช้ในการบริหาร องค์กร ประชากร

ในเขตเทศบาลต� ำ บลนครเนื่ อ งเขต มี จ�ำนวนบ้านทัง้ หมด 489 หลังคาเรือน มีจำ� นวน ประชากรทัง้ สิน้ 1,487 คน ชาย 696 คน หญิง 791 คน หมู่บ้านในเขตเทศบาลต�ำบลนครเนื่องเขต ทั้งหมด 9 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ที่ 6 บ้านคลองนครเนื่องเขต หมู่ที่ 7 บ้านวัดชนะสงสาร หมู่ที่ 8 บ้านคลองนครเนื่องเขต หมู่ที่ 9 บ้านคลองนครเนื่องเขต หมู่ที่ 10 บ้านคลองขวางล่างหมู่ที่ หมู่ที่ 11 บ้านคลองนครเนื่องเขต หมู่ที่ 12 บ้านสี่แยกท่าไข่ หมู่ที่ 13 บ้านสี่แยกท่าไข่ หมู่ที่ 14 บ้านคลองนครเนื่องเขต มีการแบ่งชุมชนออกเป็น 4 ชุมชน ได้แก่ 1.ชุมชนนครเนื่องเขต ได้แก่ หมู่ 7 และหมู่ 9

2.ชุมชน สวนมะม่วง ได้แก่ หมู่ 10 และหมู่ 11 3.ชุมชนโรงหมู ได้แก่ หมู่ 6 หมู่8 และหมู่ 12 4.ชุมชนคลองขวางบน ได้แก่ หมู่ 13 และ หมู่ 14 ระบบเศรษฐกิจ

ประชากรในเขตเทศบาลต�ำบลนครเนือ่ งเขต ส่วนใหญ่ตั้งบ้านเรือนอยู่ริมสองฝั่งคลองนคร เนื่องเขตซึ่ง เดิมเคยเป็นจุดศูนย์กลางทางการ ค้าขายทางเรือ ในปัจจุบนั ใช้รถยนต์เป็นพาหนะ แทนเรือ ร้านค้าทีต่ งั้ อยูร่ มิ สองฝัง่ คลองจึงเหลือ น้อยลง มีแต่ผอู้ ยูอ่ าศัย ประชากรส่วนใหญ่ออก ไปท�ำงานโรงงานอุตสาหกรรมและไปท�ำงาน ใน เมืองและมีประชากรจากที่อื่นมาตั้งบ้านเรือน อาศัยอยู่ไม่มากนัก การเกษตร

การประกอบอาชีพของประชาชนในเขต เทศบาลต�ำบลนครเนื่องเขตส่วนใหญ่มีอาชีพ ค้าขาย รับจ้างและท�ำการเกษตร จ�ำนวนที่นา หรือพื้นที่การเกษตร 169 ไร่

SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา

.indd 108

9/10/2561 11:30:16


วัฒนธรรมประเพณี

ประชาชนในเขตเทศบาลต�ำบลนครเนื่อง เขต มี ง านและประเพณี ที่ ส� ำ คั ญ ของทาง ศาสนาและเทศกาลประจ� ำ ปี ยั ง ถื อ ปฏิ บั ติ เป็ น ประจ� ำ เช่ น งานประเพณี ล อยกระทง งานประเพณี วั น ขึ้ น ปี ใ หม่ งานประเพณี สงกรานต์ งานประเพณี ห ล่ อ เที ย นและแห่ เที ย นจ� ำ น� ำ พรรษา ประเพณี วั น สงกรานต์ เดื อ นเมษายน ประเพณี ห ล่ อ เที ย นและ แห่เทียนพรรษา เดือนกรกฎาคม ประเพณี วันออกพรรษา (ตักบาตรเทโว) เดือนตุลาคม ประเพณี วั น ลอยกระทง เดื อ นพฤศจิ ก ายน ประเพณีบวชนาค ตลอดทัง้ ปี ยกเว้นระยะเวลา เข้าพรรษา 3 เดือน การท่องเที่ยว

ตลาดโบราณนครเนือ่ งเขต เป็นตลาดเก่าแก่ ทางวัฒนธรรมที่มีชีวิตอยู่ริมสองฟากฝั่งคลอง นครเนื่องเขตที่มีมาตั้งแต่สมัยพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 5 ลักษณะ เป็นบ้านเรือนไม้และตลาดของชุมขนไทย-จีน ขนานไปกับริมคลอง และมีทางเดินเท้าและ สะพานเชือ่ มถึงกัน เทศบาลต�ำบลนครเนือ่ งเขต ได้ ฟ ื ้ น ฟู ภ าพวิ ถี ชี วิ ต ของชุ ม ชนชาวตลาดริ ม คลองขึ้นมาใหม่ โดยจัดให้มีการจ�ำหน่ายสินค้า พืน้ บ้านอาหาร พืน้ เมืองนานาชนิด อาทิ ข้าวแกง ก๋ ว ยเตี๋ ย ว ขนม กาแฟโบราณ ผลไม้ และ พื ช ผั ก มี ทั้ ง ร้ า นค้ า บนบกและเรื อ พายขาย อาหารในล�ำคลอง เป็นต้น

CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย

4

.indd 109

109

9/10/2561 11:30:19


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดโพธิ์บางคล้า

ใต้ต้นโพธิ์พฤกษ์ ท่องวัดเก่า เรียนรู้ธรรมะจากค้างคาวแม่ไก่

พระปลัดลำ�ยวง เปมสีโล ดำ�รงตำ�แหน่งเจ้าอาวาสวัดโพธิ์บางคล้า ตามประวัติความเป็นมา วัดโพธิ์บางคล้าเริ่มมีมาตั้งแต่เมื่อใดไม่ ปรากฏหลักฐานแน่ชดั แต่จากหลักฐานบางอย่างอาจสันนิษฐานได้วา่ มีมา ตั้งแต่ครั้งสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย และเมื่อปี พ.ศ.2309 คราว พระเจ้าตากสินน�ำกองก�ำลังตีฝ่าวงล้อมกองทัพพม่าจากกรุงศรีอยุธยา และได้สู้รบกับกองก�ำลังของพม่าครั้งสุดท้ายที่ปากน�้ำโจ้โล้ (ห่างจากวัด ประมาณ 1 กิโลเมตร) ก่อนเดินทัพไปเมืองจันทบูรณ์ได้มาพักทัพที่วัด แห่งนี้ก็อาจเป็นไปได้ จากค�ำบอกเล่าของพระครูโพธิคุณวัฒน์ และผู้สูงอายุในท้องถิ่นว่า วัดแห่งนีแ้ ต่เดิมเคยเห็นมีกฏุ ไิ ม้ใต้ถนุ สูงหลังคามุงจาก ตัง้ อยูท่ า่ น�ำ้ บางปะกง ใกล้กบั ต้นโพธิใ์ หญ่ มีโบสถ์ลกั ษณะคล้ายเก๋งจีนหลังคาซ้อน 2 ชัน้ มุงด้วย กระเบื้องกาบกล้วย ช่อฟ้าเป็นรูปหัวมังกร ผนังก่ออิฐฉาบปูนขาวผสม น�้ำอ้อย ล้อมรอบด้วยใบเสมา และมีวิหารทรงจัตุรมุขศิลปะแบบอยุธยา ตอนปลาย หลังคามุงด้วยกระเบือ้ งเกล็ดเต่า ซึง่ ปัจจุบนั คงมีเฉพาะฝาผนัง และพระพุทธรูปปางไสยาสน์ ภายในวิหารเท่านั้นที่เป็นของเดิม ส่วนกุฏิ และโบสถ์หลังดังกล่าวได้รื้อถอนไปแล้ว

ด้านการเผยแผ่พระพุทธศาสนา และด้านการศึกษา

เป็นผูบ้ ริหารโรงเรียนพระปริยตั ธิ รรม พระนักเทศน์ และ ครูพระสอน ศีลธรรม

ธรรมะจาก “ค้างคาว” วัดโพธิ์บางคล้า

ค้างคาววัดโพธิ์ ทีว่ ดั โพธิบ์ างคล้า เป็นทีช่ นื่ ชอบของนักท่องเทีย่ ว มีชอื่ ว่า “ค้างคาวแม่ไก่” เป็นค้างคาวที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก มีลักษณะหน้าตา คล้ายสุนัขจิ้งจอก มีจมูกและใบหูเล็ก ตาโต ขนสีน�้ำตาลแกมแดง ปีกเป็น พังผืดบางๆ สีดำ� เชือ่ มติดระหว่างนิว้ มีเล็บแหลมคมส�ำหรับเกาะกิง่ ไม้บนิ ได้เหมือนนกอย่างแท้จริง โตเต็มที่หนักประมาณ 800 กรัม กางปีกกว้าง ประมาณ 3 ฟุต ออกลูกคราวละ 1 ตัว เลี้ยงลูกด้วยนม กลางวันจะนอน ห้อยหัวลงเกาะกับกิง่ ไม้ เวลาพลบค�ำ่ จะออกไปหากินและจะกลับมาเวลา ใกล้สาง อาหารทีช่ อบได้แก่ ผลและใบอ่อนของต้นโพธิ์ ไทร มะม่วง มะขาม นุ่น ฝรั่ง ฯลฯ โดยจะเคี้ยวกลืนกินแต่นำ�้ แล้วคายกากทิ้ง และถ่ายมูลเป็น ของเหลว ค้างคาวแม่ไก่เหล่านี้มีความผูกพันกับวัดโพธิ์บางคล้ามาก มาอาศัย อยูน่ านเท่าไรไม่มใี ครทราบ มีเรือ่ งน่าอัศจรรย์เล่าว่า ในปี พ.ศ.2500 ทาง วัดได้จัดงานฝังลูกนิมิตเป็นเวลา 9 วัน 9 คืน ค้างคาวเหล่านี้จะไปอาศัย อยู่ที่อื่น โดยไม่มาสร้างความเดือดร้อนแก่ผู้มาท�ำบุญเลย และในปี พ.ศ. 2509 พระครูสตุ าลงกต อดีตเจ้าอาวาสวัดแห่งนีไ้ ด้มรณภาพลง ค้างคาว เหล่านี้บางส่วนได้ตกลงมาตาย และส่วนใหญ่จะไม่ออกหากินเป็นเวลา หลายวัน ปรากฏการณ์นี้ได้สร้างความประหลาดใจให้แก่ผู้พบเห็นเป็น อย่างยิ่ง

ล�ำดับเจ้าอาวาสมีดังนี้

1.พระอธิการอิน 2.พระอธิการจ้อย 3.พระอธิการข�ำ 4.พระอธิการทิด 5.พระอธิการคล้อย 6.พระอธิการมาก 7.พระอธิการมาก 8.พระอาจารย์ อ๋วง 9.พระครูสตุ าลงกต 10.พระครูโพธิคณ ุ วัฒน์ 11.พระครูโพธิญาณวัฒน์ 12.พระปลัดล�ำยวง เปมสีโล เจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน

ประวัติเจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน

พระปลัดล�ำยวง เปมสีโล เดิมชื่อ ล�ำยวง เจริญวงษ์ เกิดเมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2486 อุปสมบท ณ วัดโค้งวิลัย ต�ำบลคลองขลุง อ�ำเภอ คลองขลุง จังหวัดก�ำแพงเพชร เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ.2526 วิทยฐานะ นักธรรมเอก การศึกษาสามัญ ป.4 โรงเรียนวัดโพธิ์ บ้านนา นครนายก เป็นเจ้าอาวาสวัดโพธิบ์ างคล้า ตัง้ แต่วนั ที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2556 จนถึงปัจจุบัน

บันทึก

พระปลัดลำ�ยวง เปมสีโล

วัดโพธิ์บางคล้า

วัดโพธิ์บางคล้า ตั้งอยู่เลขที่ 236 ต�ำบลบางคล้า อ�ำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทรา ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2495 และประกอบพิธีผูกพัทธสีมาฝังลูกนิมิตเมื่อ วันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2500

110

SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา

.indd 110

8/10/2561 9:40:23


ส�ำหรับวิหารโบราณหลังนี้ สร้างขึน้ ระหว่างปี พ.ศ.2310 – พ.ศ.2315 สมัยกรุงธนบุรี รูปทรงแบบเดิมเป็นแบบเก๋งจีนจัตรุ มุข ภายในประดิษฐาน พระพุทธรูปปางไสยาสน์ ต่อมาส่วนบนของวิหารได้ชำ� รุดและพังลง เหลือ เพียงก�ำแพงวิหาร ปัจจุบันได้สร้างส่วนบนเพื่อรักษาของเดิมที่เหลือไว้ พระพุทธรูปปางไสยาสน์ เป็นพระพุทธรูปอยูใ่ นอิรยิ าบถนอนตะแคงขวา พระบาททัง้ สองข้างซ้อนทับเสมอกัน พระหัตถ์ซา้ ยทาบไปตามพระวรกาย พระหัตถ์ขวาตัง้ ขึน้ รับพระเศียรและมีพระเขนย (หมอน) รองรับ บางแบบ พระเขนยวางอยู่ใต้พระกัจฉะ (รักแร้) มีประวัติย่อว่า สมัยหนึ่ง เมื่อ พระพุทธองค์ประทับอยู่ ณ วัดเชตวันวิหาร ในพระนครสาวัตถี ครั้งนั้น อสุรินทราหูจอมอสูร ซึ่งส�ำคัญว่ามีร่างโตใหญ่กว่าพระพุทธเจ้า ไม่ยอม แสดงความอ่อนน้อม พระพุทธองค์ทรงประสงค์จะลดทิฐจิ อมอสูร จึงทรง เนรมิตกายให้ใหญ่โตกว่าจอมอสูร จอมอสูรจึงละทิฐิยอมอ่อนน้อมต่อ พระพุทธองค์ในที่สุด ภายในวิหารที่ประดิษฐานพระพุทธรูปปางไสยาสน์ 1 องค์นี้ แต่เดิม เคยมีระเบียงคดล้อมรอบและภายในระเบียงคดนั้นเดิมมีพระพุทธรูปปูน ปั้นปางมารวิชัย 9 องค์ ประดิษฐานอยู่โดยรอบ ต่อมาในปี พ.ศ.2485 ได้ มีผมู้ จี ติ ศรัทธาบูรณปฏิสงั ขรณ์วหิ าร โดยซ่อมเปลีย่ นหลังคาเป็นกระเบือ้ ง เกล็ดเต่าสีเขียว ประดับด้วยช่อฟ้ารูปหัวพญานาคและมีใบระกา หน้าจั่ว ทางทิศตะวันตกปั้นเป็นรูปพระอินทร์ทรงช้างเอราวัณ ประดับด้วยลาย เครือเถา หน้าจั่วด้านทิศเหนือปั้นเป็นรูปดอกบัว 5 ดอก ประดับแจกัน ต่อมาหลังคาพังลงมาท�ำให้พญานาคและใบระกาช�ำรุดเสียหาย ในปีพ.ศ. 2541 ชาวอ�ำเภอบางคล้าร่วมกันบริจาคทุนทรัพย์เป็นเงิน 350,000 บาท บูรณปฏิสังขรณ์วิหารในส่วนของโครงสร้างหลังคา โดยคงรูปแบบเดิมไว้ และได้ตั้งเสาขึ้น 8 ต้น เสริมความแข็งแรงของหลังคาทั้งสี่ด้าน พื้นรอบ วิหารปูด้วยศิลาแลง ผนังภายในก่ออิฐฉาบปูน และเปลี่ยนเพดานใหม่ พร้อมติดตั้งโคมไฟ ปูพื้นด้วยหินอ่อน หลวงพ่อโตวัดโพธิ์บางคล้า ในวิหารวัดโพธิ์ สันนิษฐานว่าสร้างขึ้น ระหว่างปี พ.ศ.2310 – พ.ศ.2315 ในรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าตากสิน มหาราช หลังคาเป็นทรงจัตรุ มุข มุงด้วยกระเบือ้ งดินเผาเกล็ดเต่า ประดับ ช่อฟ้าใบระกา หน้าบันไม่มลี วดลาย มีประตูทางเข้า 2 ด้านคือ ทางทิศเหนือ และทิศตะวันตก เหนือประตูประดับด้วยเครื่องถ้วยจีนเรียงเป็นรูปกลม มีหน้าต่าง 1 ช่องทางทิศตะวันออก ภายในมีพระพุทธรูปปางบ�ำเพ็ญทุกรกิรยิ า เป็นพระพุทธรูปทีไ่ ม่คอ่ ย ได้เห็นบ่อย สร้างความประทับใจให้กับนักท่องเที่ยวเดินทางมากที่ได้มา นมัสการพระพุทธรูปปางนี้ ท�ำให้นึกถึงการบ�ำเพ็ญเพียรผ่านความทุกข์ ยากล�ำบากทั้งปวงของพระพุทธเจ้ากว่าจะพบทางสว่างแห่งการพ้นทุกข์ เวลาทีใ่ ครมีปญ ั หาอะไรขอให้ระลึกถึงพระพุทธรูปปางนีเ้ สมอ จักมีกำ� ลังใจ ไม่นอ้ ยในการเผชิญกับอุปสรรคทัง้ ปวงไปจนกว่าจะพบทางออกได้ในทีส่ ดุ

CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 111

111

8/10/2561 9:40:30


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดหัวไทร

(วัดเปี่ ยมนิโครธาราม) อารามแห่งความบ�ำเพ็ ญเพี ยรธรรมตามรอยพระพุ ทธเจ้า

พระอธิการกิตติพงษ์ประคอง สุมงฺคโล

ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดวัดหัวไทร (วัดเปี่ยมนิโครธาราม)

112

4

วั ด หั ว ไทร (วั ด เปี ่ ย มนิ โ ครธาราม) ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 23 บ้ า นหั ว ไทร หมู่ที่ 1 ต�ำบลหัวไทร อ�ำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทรา สังกัดคณะสงฆ์ มหานิกาย ที่ดิน ตั้งวัดมีเนื้อที่ 15 ไร่ 3 งาน 42 ตารางวา และมีที่ธ รณี สงฆ์ จ�ำ นวน 2 แปลง เนื้อที่ 31 ไร่ 2 งาน 30 ตารางวา

SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา

.indd 112

9/10/2561 13:30:55


บันทึกประวัติความเป็นมา วัดหัวไทร ตัง้ เมือ่ พ.ศ. 2428 ตามทีเ่ ล่าสืบกันมาว่ามีพระผูใ้ หญ่ซงึ่ จ�ำ พรรษาอยูว่ ดั บ้านกล้วยได้ดำ� เนินการก่อสร้างวัด และได้ชกั ชวนราษฎรทีม่ ี จิตศรัทธาร่วมกันบริจาคทรัพย์กอ่ สร้างเสนาสนะ ผูบ้ ริจาคทีด่ นิ ให้สร้างวัด คือนายฮั่น-แม่ผึ้ง ศรีภุมศร ที่ชื่อว่าวัดหัวไทร เพราะอยู่ที่บ้านหัวไทร และ มีต้นไทรใหญ่อยู่ริมแม่น�้ำบางประกง เมื่อปี พ.ศ. 2514 ได้มีพิธีผูกพัทธสีมาอุโบสถหลังใหม่แทนหลังเก่า ที่ช�ำรุดทรุดโทรม และได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 และ สมเด็จพระนางเจ้า พระบรมราชินีนาถ ทรงประกอบพิธีตัดลูกนิมิตวัดเปี่ยมนิโครธาราม

(วัดหัวไทร) เพื่อเป็นมิ่งขวัญศิริมงคลแก่พสกนิกรบ้านหัวไทร อ�ำเภอ บางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทรา เมื่อวันที่ 14 มีนาคม พ.ศ.2514 เวลา ประมาณ 15.30 น. เป็นที่ปลื้มปีติแก่พสกนิกรบ้านหัวไทรเป็นอย่างสูง จากนั้นราษฎรบ้านหัวไทรก็ได้ทำ� นุบ�ำรุงและอุปถัมภ์วัดมาโดยตลอด วัดหัวไทรได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมาเมือ่ วันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2504 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 40 เมตร ยาว 80 เมตร

CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย

4

.indd 113

113

9/10/2561 13:30:56


การศึกษา มีโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกธรรม เปิดสอนเมื่อ พ.ศ. 2475 และมีโรงเรียนประชาบาล “วีรปัญญานุสรณ์” ซึ่งพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าพระบรม ราชินีนาถ เสด็จมาประกอบพิธีเปิดอาคารเรียน “วีรปัญญานุสรณ์” เมื่อ วันที่ 14 มีนาคม พ.ศ.2514 โดยโรงเรียนก่อตัง้ ขึน้ เมือ่ วันที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2475 โดยใช้ศาลาการเปรียญของวัดเป็นสถานที่อาศัยการศึกษา เล่าเรียนในเบื้องต้น จนกระทั่งครั้นกาลต่อมาได้มีนักเรียนทวีมากขึ้นโดย ล�ำดับจึงได้ขยายการศึกษาและอาคารเรียนเพือ่ รองรับนักเรียนให้ทวั่ ถึงใน ปัจจุบัน

อาณาเขต วัดเปี่ยมนิโครธาราม (วัดหัวไทร) ตั้งอยู่บนฝั่งตะวันออกของแม่น�้ำ บางปะกง ซึง่ เป็นศูนย์กลางของการคมนาคม ทัง้ ทางบกและทางน�ำ ้ ระยะ ทางใกล้ทสี่ ดุ จากวัดหัวไทร ถึงกรุงเทพฯ ประมาณ 90 กิโลเมตร โดยผ่าน อ�ำเภอมีนบุรี ทิศเหนือ รดคลองคูมอญ ทิศใต้ จรดคลองชลประทาน และ ทีด่ นิ ของนายย้ง นางเหมีย่ ว คงแสนไขย ทิศตะวันออก จรดโรงเรียนวัดหัวไทร(คงรัตน์ประชานุกูล) ทิศตะวันตก จรดแม่น�้ำบางปะกง อาคารเสนาสนะ อุโบสถ กว้าง 16.80 เมตร ยาว 23.80 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ.2514 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก ศาลาการเปรียญ กว้าง 16 เมตร ยาว 36 เมตร สร้างเมือ่ พ.ศ.2515 เป็นอาคารคอนกรีตเสริม หอสวดมนต์ กว้าง 11.58 เมตร ยาว 26.90 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2537 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 ชั้น กุฏิสงฆ์ จ�ำนวน 6 หลัง เป็นอาคารไม้ 1 หลัง ครึ่งตึกครึ่งไม้ 5 หลัง ศาลาอเนกประสงค์ กว้าง 17 เมตร ยาว 24 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2465 เป็นอาคารไม้ ศาลาบ�ำเพ็ญกุศล จ�ำนวน 1 หลัง สร้างด้วย คอนกรีตเสริมเหล็ก นอกจากนี้ มีอาคารเสนาสนะต่างๆ ดังนี้ คือ ศาลาตักบาตร สร้าง ด้วยคอนกรีตเสริมเหล็ก 1 หลัง และ ฌาปนสถาน 1 หลัง 114

4

SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา

.indd 114

9/10/2561 13:31:01


ล�ำดับเจ้าอาวาส รูปที่ 1 หลักฐานสูญหาย รูปที่ 2 พระอาจารย์เที่ยง รูปที่ 3 พระอาจารย์แจ่ม รูปที่ 4 พระครูพุทธสราธิคุณ (ผิน พุทธสโร คงรัตน์) พ.ศ. 2492 – พ.ศ.2517 รูปที่ 5 พระครูพิพัฒน์วรากร (สว่าง พุทธญาโณ) พ.ศ. 2517 – พ.ศ.2555 รูปที่ 6 พระครูสุพัฒนพิมล เจ้าคณะอ�ำเภอคลองเขื่อน เจ้าอาวาสวัด บางกระเจ็ด รักษาการแทนเจ้าอาวาส ตั้งแต่ พ.ศ. 2555 – พ.ศ.2556 รูปที่ 7 พระครูบริหารปริยัติกิจ ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดโปรดเกศเชษฐา ราม รักษาการแทนเจ้าอาวาส ตัง้ แต่เดือนตุลาคม พ.ศ.2555 – วันที ่ 22 เมษายน พ.ศ.2556 รูปที่ 8 พระอธิการกิตติพงษ์ประคอง สุมงฺคโล รักษาการเจ้าอาวาส ตั้งแต่ 23 เมษายน 2556 จนกระทั่งวันที่ 24 เมษายน พ.ศ.2558 เป็น เจ้าอาวาสวัดหัวไทรจนถึงปัจจุบัน

ประวัติเจ้าอาวาสโดยสังเขป พระอธิการกิตติพงษ์ประคอง สุมงฺคโล เดิมชือ่ ประคอง หัวละชัย เกิด เมื่อวันที่ 7 เมษายน พ.ศ.2508 อุปสมบท ณ วัด วัดหัวไทร ต�ำบลหัวไทร อ�ำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทรา เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน พ.ศ.2548 พระอุปชั ฌาย์ พระครูพพิ ฒ ั น์สตุ ากร วัดลาดบัวขาว ต�ำบลบางกระเจ็ด อ�ำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทรา พระกรรมวาจาจารย์ พระอธิการสว่าง วัดทางข้ามน้อย ต�ำบลหัวไทร อ�ำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทรา และ พระอนุสาวนาจารย์ พระอาจารย์บญ ุ เหลือ วัดลาดบัวขาว ต�ำบลบางกระเจ็ด อ�ำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทรา การศึกษาทางธรรม นักธรรม เอก การศึกษาสามัญ จบชั้นประถมปีที่ 4 โรงเรียนวังหัวไทร อ�ำเภอ บางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทรา ต�ำแหน่งทางการปกครองสงฆ์ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดหัวไทร ตั้งแต่วันที่ 24 เมษายน พ.ศ.2558 จนถึงปัจจุบัน ต�ำแหน่งด้านการเผยแผ่พระพุทธศาสนา และด้านการศึกษา เป็นครูสอนพระปริยัติธรรม แผนกธรรม และพระนักเทศน์

CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย

4

.indd 115

115

9/10/2561 13:31:08


.indd 11

10/10/2561 10:55:56


วัดสาวชะโงก ร่วมสร้างเส้นทางบุญ

ร่วมสร้าง“วิหารหลวงพ่ อเหลือ” หลังใหม่ พระอธิการธีรศักดิ์ ธาตุกามโม ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดสาวชะโงก

วั ด สาวชะโงก ตั้ ง อยู ่ ใ นต� ำ บลสาวชะโงก อ� ำ เภอบางคล้ า จั ง หวั ด ฉะเชิงเทรา เป็นวัดเก่าแก่แห่งหนึ่งของจังหวัดฉะเชิงเทรา สังกัดคณะสงฆ์ มหานิ ก าย ปั จ จุ บั น พระอธิ ก ารธี ร ศั ก ดิ์ ธาตุ ก ามโม เป็ น เจ้ า อาวาส วัดก่อสร้างตั้งแต่ พ.ศ.2356 ตรงกับรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธ เลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ 2 โดยการบริจาคที่ดิน 6 ไร่ ของนายนุช และ นางยั ง ผู ้ เ ป็ น พ่ อ แม่ ข องหญิ ง สาวที่ ก� ำ ลั ง จะแต่ ง งาน และบั ง เอิ ญ ให้ เสี ย ชี วิ ต ก่ อ น จนเป็ น เหตุ ใ ห้ วิ ว าห์ ล ่ ม ก่ อ เกิ ด เป็ น วั ด สาวชะโงก ตาม ประวัติที่เล่าสืบต่อกันมาจนถึงวันนี้

บันทึกต�ำนาน : วัดสาวชะโงกมีมาแต่โบราณกล่าวถึง เรื่องราว ความรักของหนุ่ม สาวคู่ห นึ่ง ฝ่ายเจ้าบ่าวได้มีการจัดงานแต่งงาน ฝ่ายเจ้าสาวเป็นหญิงงาม และเจ้าบ่าวก็เป็นชายรูปงาม เจ้าบ่าวบ้านอยู่ ในเขตอ�ำเภอบ้านสร้าง จังหวัดปราจีนบุรี ในวันที่เจ้าบ่าวยกขันหมาก มาสู่ขอฝ่ายหญิง ได้ล่องเรือล�ำใหญ่กางร่มในเรือไว้สามคัน จัดขบวน ขันหมาก จัดขนม นมเนย จอดเรือรอเวลาฤกษ์งามยามดี เดินทางมา ตั้งขบวนอยู่บริเวณคุ้งแม่นำ�้ ใกล้กับบ้านเจ้าสาว ครอบครัวของเจ้าสาว ก็ดีใจ ที่ขบวนเรือของเจ้าบ่าวนั้นจัดมาใหญ่โต ดูคึกคักสนุกสนาน เจ้าสาวเห็นเรือเจ้าบ่าวตั้งขบวนเรือมาใกล้ถึงบ้านแล้ว อยากจะดูหน้า เจ้าบ่าวจึงได้ชะโงกหน้าต่างออกมาดู แต่ด้วยเหตุบังเอิญ เจ้าสาวได้ พลัดตกจากเรือนไทยโบราณใต้ถนุ สูง ท�ำให้เจ้าสาวเสียชีวติ ฝ่ายพ่อแม่ ของเจ้าสาวก็เสียใจเป็นอย่างมาก ในการสูญเสียครั้งนี้ จึงได้ยกที่ดิน ผืนนี้ ซึ่งมีเนื้อที่ประมาณ 6 ไร่ ถวายวัดสร้างวัด และตั้งชื่อเพื่อเป็น อนุสรณ์ให้แก่เจ้าสาวว่า “วัดสาวชะโงก” ตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมา ส่วน ฝ่ายเจ้าบ่าวเสียใจทีง่ านแต่งต้องมาล่ม ต้องเดินทางกลับบ้านด้วยความ เศร้าโศกได้ทงิ้ ขนมนมเนยไว้บริเวณโค้งแม่นำ�้ นัน้ จึงได้เรียกต่อกันมาว่า “โค้งขนมบูด” ต่อมาภายหลังบริเวณคุ้งแม่น�้ำที่เจ้าบ่าวจัดขบวนเรือขันหมาก คนโบราณเห็นว่าบริเวณนี้ก็ยังไม่มีวัดจึงได้เรี่ยไรรวบรวมทุนทรัพย์ สร้างวัดขึน้ มาให้ชอื่ ว่า “วัดสามร่ม” เพือ่ เป็นอนุสรณ์แห่งความรักให้แก่ เจ้าบ่าว วัดสาวชะโงก จึงเป็นทีม่ าแห่งสัจธรรมให้คนรุน่ หลังได้พจิ ารณา ใคร่ครวญชีวิตที่อยู่บนความไม่แน่นอน เป็นทุกข์ และเป็นอนัตตา CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย

2

2

.indd 117

117

8/10/2561 9:27:22


วัดมงคลเทพ ต.ปากน�้ำ อ.บางคล้า จ.ฉะเชิงเทรา ส�ำนักปฏิบัติธรรม ประจ�ำจังหวัดฉะเชิงเทรา แห่งที่ 27

พระครูภาวนาสิทธิคุณ ชพ. วิ. ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดมงคลเทพ

จุดเด่นที่พุทธศาสนิกชนควรมาที่วัด

อุโบสถ ภายในประดิษฐานพระประธาน “พระพุทธเจ้าองค์ ต้นธาตุต้นธรรม” พื้นและผนังด้านในทั้งสี่ด้านปูด้วยหินอ่อน สู ง จรดเพดาน หน้ า บั น พระสี ท องจ� ำ นวนนั บ ร้ อ ยองค์ แ ละ สถาปั ต ยกรรมรอบอุ โ บสถแฝงไว้ ด ้ ว ยปริ ศ นาธรรม ขอเชิ ญ พุ ท ธศาสนิ ก ชนและผู ้ ส นใจเข้ า กราบสั ก การะพระประธาน นั่งสมาธิ อธิษฐานจิต และพิสูจน์ความศักดิ์สิทธิ์ด้วยตัวท่านเอง

118

2

SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา

_ .

.indd 118

8/10/2561 15:46:54


HIST ORY O F BUDDHISM

บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

รักษาศีล ปฏิบัติธรรม และสร้างบุญบารมี

ปัจจุบันวัดมีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 75 ไร่ และได้แบ่ง พื้นที่ส่วนหนึ่งจ�ำนวน 22 ไร่ สร้างเป็นเขตสวนป่า เพื่อ ปรั บ ภู มิ ทั ศ น์ จ ากผื น ดิ น แห้ ง แล้ ง ให้ ก ลั บ มาอุ ด มสมบู ร ณ์ เพิ่มความสงบร่มรื่นของธรรมชาติให้แก่ชุมชน และใช้เป็น สถานที่พักผ่อน รักษาศีล ปฏิบัติธรรม สร้างบุญบารมีของ พุทธศาสนิกชนทุกท่าน ภายใต้ชื่อว่า “สวนป่านานาจักรวาล” (Enlightened Cosmos) โดยจัดสร้างองค์พระประธานประจ�ำ สวนป่าพระนามว่า “พระจอมจักรพรรดิ องค์ตน้ ธาตุตน้ ธรรม ในอนันตจักรวาล” ขนาดหน้าตักกว้าง 7 เมตร สูง 13 เมตร เพื่อเป็นสิริมงคลแก่ผู้มาเยือนทุกท่านจะได้มีโอกาสสักการะ และเพื่อเป็นศูนย์กลางแห่งการเรียนรู้ การปฏิบัติธรรม มุ่งสู่ มรรคผล นิพพาน สูงขึ้นไปตามล�ำดับ

ภาพจ�ำลอง “พระจอมจักรพรรดิฯ” ณ สวนป่านานาจักรวาล วัดมงคลเทพ

ส�ำนักงานสวนป่านานาจักรวาล วัดมงคลเทพ - จุดเยี่ยมชมและร่วมสร้างพระ

บันทึก ติดตามกิจกรรมของวัดมงคลเทพ

เลขที่ 20/1 หมู่ 2 ต.ปากน�ำ ้ อ.บางคล้า จ.ฉะเชิงเทรา 24110 โทรศัพท์ : 038-088-000, 08-3598-6877 สอบถามข้อมูล-ร่วมสร้างวัด-ท�ำบุญสร้างพระจอมจักรพรรดิฯ Facebook : วัดมงคลเทพ Line: Watmongkolthep CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย

2

_ .

.indd 119

119

8/10/2561 15:46:57

ส�ำนัก


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดแจ้ง พระมหาปิยะบุตร ปญฺญาวฑฺฒโน ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดแจ้ง

วั ด แจ้ ง ตั้ ง อยู่ที่ต� ำบลบางคล้า อ�ำ เภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทรา เป็ น วั ด ราษฎร์ สั ง กั ด คณะสงฆ์ ม หานิ ก าย สร้ า งขึ้ น ในปี ใ ดไม่ ป รากฏ ตามประวั ติ ค วามเป็ น มาจากการบอกเล่ า ของชาวบ้ า นเล่ า ต่ อ กั น มา ว่าในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่ 1 ยกทั พ ไปตี เ ขมรได้ เ ดิ น ทั พ มาสว่ า งบริ เ วณนี้ จึ ง ทรงอนุ ญ าตให้ ส ร้ า ง วั ด ขึ้ น และขนานนามว่า “วัด แจ้ง” 120

2

กราบพระพุ ทธบาทจ�ำลอง ชื่นชม พระอุโบสถที่มีความงดงาม แห่งสถาปัตยกรรมศิลปะไทยจีน หนึ่งเดียวในบางคล้า

SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา

.indd 120

10/10/2561 17:24:05


บันทึก

ความส�ำคัญของวัดแจ้ง

วัดนีอ้ ยูท่ พี่ ระอุโบสถ ซึง่ โบสถ์เดิมตัง้ อยูฝ่ ง่ั โรงเรียนวัดแจ้ง สร้าง เมื่อ พ.ศ. 2475 โดยหลวงประกาศคดี ต่อมาได้มีการสร้างพระ อุโบสถใหม่ขนึ้ พ.ศ.2479 โดยศรัทธาของคุณยายเจียม เงีย่ มอือ๊ ด้วย เงิน 70,000 บาท ภายในพระอุโบสถด้านหน้าประดิษฐานพระบรม ฉายาลักษณ์ รัชกาลที่ 8 จารึกว่าอานันทมหิดล สยามินทร์ ด้านข้าง มีพระพุทธบาทจ�ำลอง การก่อสร้างได้ใช้ช่างสิบหมู่จัดท�ำ วัดจึงมี สถาปัตยกรรมเหมือนวัดหลวงศิลปะแบบไทยผสมจีนทีม่ คี วามงามมาก หน้าบรรณเป็นรูปนารายณ์ทรงครุฑ ประตูดา้ นหน้ามี 3 ประตู ท�ำด้วย ไม้แกะสลักประตูดา้ นซ้าย ด้านขวา แกะสลักเป็นสัตว์ในป่าหิมพานต์ ประตูกลางแกะลวดลายทศชาติและปีนักษัตร เหนือซุ้มประตูกลาง ท�ำเป็นรูปทรงมงกุฎหน้าต่างท�ำด้วยไม้สักเขียนเป็นรูปเทวดา ลงรัก ปิดทอง ผนังรอบอุโบสถประดับลายไทยและรูปปัน้ เทพพนม ปัจจุบนั มีการสร้างรูปปัน้ ยักษ์ไว้ขา้ งโบสถ์เป็น “ยักษ์วดั แจ้ง” ประวัติผู้สร้างโบสถ์

คุณยายเจียม เงี่ยมอื๊อ เกิดเมื่อวันพุธ ขึ้น 11 ค�่ำ เดือน 7 ปีมะโรง ตรงกับปี พ.ศ. 2411 ที่บ้านต�ำบลบ้านส�ำโรง อ�ำเภอบางคล้า จังหวัด ฉะเชิงเทรา เป็นบุตรของนายบุน๊ และนางชอ ศรีสวัสดิ์ เมือ่ อายุครบ 20 ปี ได้ ท� ำ การสมรสกั บ นายกิ ม ท้ ง เงี่ ย มอื๊ อ อาชี พ ที่ ท� ำ ในสมั ย นั้ น ก็ คื อ การค้าขาย ข้าวเปลือก ซึ่งก็ได้สร้างความส�ำเร็จให้กับคุณยายเจียมเป็น อย่างดี จนกระทั่งมีฐานะอยูใ่ นขั้นคหบดีครอบครัวหนึ่ง เวลาล่วงมาจนถึง ปี พ.ศ. 2464 นายกิ ม ท้ ง สามี ก็ ถึ ง แก่ ก รรมลง คุ ณ ยายเจี ย มซึ่ ง ใน ขณะนั้นมีอายุได้ 53 ปี จึงต้องรับ หน้าที่เป็น ผู้น� ำครอบครัวต่อมา อย่างเด็ดเดี่ยว นายกิมท้งและคุณยายเจียมมีบุตรธิดารวม 3 คน และ ธิดาบุญธรรมอีก 3 คน เมือ่ ครัง้ ทีท่ า่ นยังมีชวี ติ อยู่ คุณยายเจียมได้ประกอบบุญทานการกุศล อยูเ่ ป็นนิจสิน สิง่ ต่างๆ ทีท่ า่ นได้เสียสละทรัพย์จากแรงศรัทธาอันบริสทุ ธิ์ และแก่กล้าของท่านสร้างมอบให้แก่สาธารณะถาวรวัตถุ มีดังนี้ สร้าง สาธารณะถาวรวัตถุ ที่วัดปากน�้ำโจ้โล้ อ�ำเภอบางคล้า, สร้างสะพาน ข้ามคลองวัดปากน�้ำ, สร้างสะพานข้ามคลองมะกอกและสะพานข้าม คลองท่าทองหลาง, สร้างองค์พระประธานให้เป็นพระประจ�ำโบสถ์วดั ส�ำโรง อ�ำเภอบางคล้า, สร้างโรงเรียนประชาบาลประจ�ำอ�ำเภอบางคล้า ทางราชการ ให้ชื่อว่า “เงี่ยมอื๊อประชานุกูล” แต่ปัจจุบันเปลี่ยนเป็นโรงเรียนเทศบาล 1 (วัดแจ้ง), สร้างเรือนคนไข้พิเศษ มอบให้แก่สุขศาลาประจ�ำจังหวัด ฉะเชิ ง เทรา และในปี พ.ศ. 2490 ได้ ส ร้ า งศาลาการเปรี ย ญขึ้ น ที่ วัดแจ้ง อ�ำเภอบางคล้า ขึ้นแทนศาลาการเปรียญเก่าที่ช�ำรุดทรุดโทรม ลงไปนอกจากนี้ ท่านยังได้สร้างถังน�ำ้ คอนกรีตขนาดใหญ่ โรงครัว ถนน สะพานท่าน�ำ ้ รวมไปกับศาลาการเปรียญอีกด้วย

CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 121

121

10/10/2561 17:24:10


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

WORSHIPPING LUANG POR PHRA CHAO TAN JAI AND ANY WISH WILL BE FULFILLED.

WAT KLONG CHAO สักการะหลวงพ่อพระเจ้าทันใจ สมหวังทุกประการ พระมหากฤษณ์ธนินต์ เสฏฺฐเมธี (ป.ธ.9, Ph.D.) รักษาการเจ้าอาวาส

วัดคลองเจ้า ตั้งอยู่เลขที่ 29 หมู่ 16 ถนนสุวินทวงศ์ ต�ำบลศาลาแดง อ�ำเภอบางน�้ำเปรี้ยว จังหวัดฉะเชิงเทรา มีเนื้อที่จ�ำนวน 19 ไร่ 3 งาน ได้รับพระราชทาน วิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ.2559 (ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับประกาศทั่วไป เล่มที่ 133 ตอนพิเศษ 178 เมื่อวันที่ 16 สิงหาคม พ.ศ.2559) บันทึกวัดคลองเจ้า

เมื่อประมาณ พ.ศ. 2409 คุณตาคล้อย และยายหลุ่น เจริญข�ำ ได้ย้ายจากวัด ต้นตาล นครเนื่องเขต จังหวัดฉะเชิงเทรามาอยู่ปากคลองเจ้า ด้วยความที่มีสถานะ เป็นก�ำนันและเศรษฐีในหมู่บ้าน อีกทั้งชอบเข้าวัดฟังธรรมเป็นประจ�ำ เกิดความ ศรัทธาในพระพุทธศาสนาอย่างมาก มีความด�ำริในการพัฒนาส�ำนักสงฆ์ให้เป็นวัดขึน้ โดยในขณะนั้น คุณตาสด อินแบน และนางบ่าย จันทรศรี ได้มีศรัทธาถวายที่ดิน มีโฉนดจ�ำนวน 14 ไร่ สร้างวัดขึ้นมา เรียกว่า “วัดคลองเจ้า” ให้สอดคล้องกับชื่อ คลองทีพ่ ระองค์เจ้าไชยานุชติ พระโอรสในรัชกาลที่ 5 เป็นผูส้ ร้างคลองนีข้ นึ้ มา และ ต่อมาผู้ใหญ่ประดิษฐ์ ฟักทองพรรณก็ได้ถวายที่ดินเพิ่มเติมอีก 1 ไร่ ในภายหลัง จากพระอุโบสถหลังเดิม ถึงพระอุโบสถหลังใหม่

ต่อมา พระอาจารย์น้อย ฐิตคุโณ เจ้าอาวาสรูปที่ 2 ของวัดคลองเจ้า ได้มีด�ำริ ในการสร้างพระอุโบสถหลังเดิมนี้ขึ้นมาโดยความพร้อมใจของศรัทธาสาธุชนซึ่งมี อุบาสกชื่อตาวงษ์เป็นผู้น�ำ และได้น�ำเรื่องนี้ไปปรึกษากับพระเดชพระคุณหลวงพ่อ พระพรหมคุณาภรณ์ (จิรปุญโญ ด.เจียม กุลละวณิชย์) อดีตเจ้าอาวาสวัดโสธร วรารามวรวิหาร จังหวัดฉะเชิงเทราในสมัยนัน้ โดยพระเดชพระคุณได้มเี จตนาปรารภ อุปถัมภ์การก่อสร้างพระอุโบสถจนแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2538 Record of Wat Klong Chao Approximately B.E.2409, Mr.Khloi abd Mrs.Lun Charoenkham moved from Wat Ton Tarn at Nakhon Neuang Khet, Chachoengsao province, to Pak Klong Chao. Due to their status as head of a group of villages and wealthy man of this village plus with the behavior that like to listen to sermon at the temple every time they got a chance. It caused the faith in Buddhism build up in their minds considerably which is the reason why they offered land at the end of their farmland to build temple so called “Wat Klong Chao” which is consistent with canal’s name that Royal prince Chaiyanuchit, son of King Rama V, who built this canal. From former ubosot to new ubosot Next, Phra Ajarn Noi Thitakuno, second abbot of Wat Klong Chao, he planned to build the former ubosot by accordance of faithful people which led by Mr.Wong. Then, he brought this idea to consult Phra Det Phra Khun Luang Phor Phra Phrom Kunaphon (Jirapunyo D.Jiem Kullawanit), former abbot of Wat Sothornwararam Worawiharn, Chachoengsao province at that time, which he intended to support the building of this ubosot until it was completed in B.E.2538.

122

4

2

SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา

.indd 122

9/10/2561 17:14:00


CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย

4

2

.indd 123

123

9/10/2561 17:14:01


จากนั้น พระครูนันทประภากร(เสน่ห์ อาภากโร) เจ้าอาวาสรูปที่ 3 ของวัดคลองเจ้า ได้ซื้อที่ดินเพิ่มเติมจ�ำนวน 1 ไร่ จากคุณตาประดิษฐ์ ฟักทองสุวรรณ พร้อมกับได้รับบริจาคเพิ่มอีก 1 ไร่ รวม 2 ไร่จึงได้ริเริ่ม ก่อสร้างพระอุโบสถหลังใหม่ มีความยาว 300 เมตร กว้าง 40 เมตร โดย งบประมาณในการก่อสร้างประมาณ 20 ล้านบาทเศษ แล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2559 ในยุคของหลวงพ่อพระครูปริยัติธรรมกิจ เจ้าคณะอ�ำเภอ ท่าตะเกียบ มาเป็นรักษาการเจ้าอาวาส ภายในพระอุโบสถ ประดิษฐานหลวงพ่อพระพุทธโสธร ขนาดหน้าตัก 7 เมตร สูง 9 เมตร มีความงดงามตามเอกลักษณ์ดั้งเดิมของหลวงพ่อ พระพุทธโสธร คือ แบบปิดตา เด่นสง่า และเป็นพระพุทธรูปที่ส�ำคัญ ภายในพระอุโบสถหลังใหม่ของวัดคลองเจ้า หลวงพ่อพระเจ้าทันใจ

ในยุคของพระครูนันทประภากร เจ้าอาวาสรูปที่ 3 ของวัดคลองเจ้า ท่ า นได้ มี ด� ำ ริ ใ นการสร้ า งหลวงพ่ อ พระเจ้ า ทั น ใจ จึ ง ได้ พ ร้ อ มใจกั บ พุทธศาสนิกชนซึง่ เป็นศิษยานุศษิ ย์ได้รว่ มกันสร้างแล้วเสร็จภายในวันเดียว เพื่อเป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจของญาติโยม นักท่องเที่ยวเดินทางมาไหว้พระ ขอพรให้เกิดความเป็นศิริมงคล มีเรื่องเล่าเกี่ยวกับความศักดิ์สิทธิ์ของหลวงพ่อทันใจมากมายโดย ส่วนใหญ่จะส�ำเร็จทุกอย่าง ไม่ว่าจะเป็นการงาน ความรัก ความส�ำเร็จ ความสมหวังความไม่มีโรคไม่มีภัยและได้ทันใจปรารถนา ฯลฯ

After that, Phra Khru Nantaprapakorn (Sane Apakaro), third abbot of Wat Klong Chao, he bought land from Mr.Pradit Fakthong which the scale of this land is 0.4 acres and he had donated more 0.4 acres which is 0.8 in total. Then, he started the construction of new ubosot that 300 meters in length and 40 meters in width. The budget for this construction was approximately 20 million baht which it was completed in B.E.2559 during Luang Phor Phra Khru Pariyat Dhammakit, Tha Takiap district monk dean, acted for abbot of this temple. Inside this ubosot, there is Luang Phor Phra Phuttha Sothorn established which this Buddha statue is 9 meters height and Na Tak is 7 meters (Na Tak means long measure of the Buddha statue in the posture of meditation). This Buddha statue has splendor as original trait of Luang Phor Phra Phuttha Sothorn which is eye-closing and majestic. Moreover, it is the significant Buddha image in new ubosot of Wat Klong Chao. Luang Por Phra Chao Tan Jai During the time that Phra Khru Nantaprapakorn, third abbot of Wat Klong Chao, was an abbot, he planned to build Luang Por Phra Chao Tan Jai, thus, he cooperated with Buddhists which are his disciples and completed the making of this Buddha statue in one day. This Buddha statue was made to be spiritual anchor for people. Many travelers travelled to this temple in order to pay respect to Buddha images and asked for blessing to get fortune for their lives. There are many stories about the holiness of Luang Por Tan Jai which most of all things that people wished will be accomplish regardless of work, love, accomplishment, healthy lives and so on.

124

4

2

SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา

.indd 124

9/10/2561 17:14:07


ลำ�ดับเจ้าอาวาส

1. พระอาจารย์ชด พ.ศ. 2491 – พ.ศ.2520 2. พระอาจารย์น้อย ฐิตคุโณ พ.ศ. 2521 – พ.ศ.2530 3. พระครูนันทประภากร(เสน่ห์ อาภากโร) พ.ศ. 2531 – พ.ศ.2554 4. พระครูอุดมโชติรัตน์ (รักษาการ) พ.ศ. 2554 – พ.ศ.2556 5. พระปลัดสมเจตน์ เขมปญฺโญ (รักษาการ) พ.ศ. 2557 – พ.ศ.2558 6. พระครูปริยัติธรรมกิจ (รักษาการ) พ.ศ. 2558 – พ.ศ.2561 7. พระมหากฤษณ์ธนินต์ เสฏฺฐเมธี (รักษาการ) พ.ศ. 2561 – ปัจจุบัน

พระมหากฤษณ์ธนินต์ เสฏฺฐเมธี (ป.ธ.9, Ph.D.) รักษาการเจ้าอาวาส ประวัติ พระมหากฤษณ์ธนินต์ เสฏฺฐเมธี รักษาการเจ้าอาวาสวัดคลองเจ้า

พระมหากฤษณ์ธนินต์ ฉายา เสฏฺฐเมธี (เดชจักร์บดินทร์) อายุ 39 ปี พรรษา 17 น.ธ.เอก, ป.ธ.9, Ph.D. ภูมิล�ำเนา บ้านโนนประเสริฐ ต�ำบล พระบาทนาสิงห์ อ�ำเภอรัตนวาปี จังหวัดหนองคาย การศึกษา พ.ศ. 2544 เปรียญธรรม 9 ประโยค(ขณะเป็นสามเณร) วัดชนะสงคราม ราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2546 ปริญญาตรีพุทธศาสตรบัณฑิต (พธ.บ.) สาขาวิชาบริหาร รัฐกิจ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. 2549 ปริญญาโทรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต(นโยบาย สาธารณะ) มหาวิ ท ยาลั ย ศรี น คริ น ทรวิ โ รฒ ส� ำ นั ก เรี ย นวั ด บางแก้ ว จังหวัดฉะเชิงเทรา พ.ศ. 2557 ปริญญาเอกด้านรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยปูเน่ ประเทศอินเดีย พ.ศ. 2560 ปริญญาตรีรฐั ศาสตรบัณฑิต(การปกครอง) มหาวิทยาลัย รามค�ำแหง กรุงเทพมหานคร การท�ำงาน อาจารย์สอนบาลี ส�ำนักเรียนวัดบางแก้ว จ.ฉะเชิงเทรา / กองงาน เลขานุการเจ้าคณะจังหวัดฉะเชิงเทรา / พระปริยัตินิเทศประจ�ำจังหวัด ฉะเชิงเทรา / ประธานสาขาวิชารัฐศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ วิทยาลัย สงฆ์พุทธโสธร มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย งานปกครอง พ.ศ. 2560 – ปัจจุบัน ได้รับการแต่งตั้งเป็นกองงานเลขานุการ เจ้าคณะจังหวัดฉะเชิงเทรา พ.ศ. 2561 ได้ รั บ การแต่ ง ตั้ ง ให้ ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง ผู ้ รั ก ษาการแทน เจ้าอาวาสวัดคลองเจ้า ต�ำบลศาลาแดง อ�ำเภอบางน�้ำเปรี้ยว จังหวัด ฉะเชิงเทรา

Phramaha Kritthanin Setthamethi(Pali IX, Ph.D.) Acting Abbot Of Wat Klong Chao Background of Phramaha Kritthanin Setthamethi, Acting Aboot of Wat Klong Chao

Phramaha Kritthanin Setthamethi(Detchakbodin), age 39 years old, has been a monk for 17 years, Dhamma scholar advanced level and graduated the highest level of Buddhist dharma. His native habitat was Ban Non Prasert, Phra Bat Na Sing sub-district, Rattanawapi district, Nong Khai province. Education B.E.2544 graduated the highest level of Buddhist dharma (when he was novice) at Wat Chana Songkram Ratcha Worawiharn, Bangkok. B.E.2546 graduated Bachelor of Arts (B.A.) Program in Public Administration, Mahachulalongkornrajavidyalaya University. B.E.2549 graduated Master of Public Administration Program, Srinakharinwirot University. B.E.2557 graduated Ph.D.’s degree of Politics and Public Administration from University of Pune, India B.E.2560 graduated Bachelor of Political Science (Government), Ramkhamhaeng University, Bangkok. Work He is Pali teacher at Wat Bang Kaew institute, Chachoengsao province / Worked in secretary division of Provincial Sangha Governor of Chachoengsao province, Phrapariyatnithet of Chachoengsao, Curriculum Director of Political Science Program, Faculty of Social Sciences, Buddhasothorn Buddhist College, Mahachulalongkornrajavidyalaya University. Administrative work B.E.2560 until now, he has been appointed to work in secretary division of Provincial Sangha Governor of Chachoengsao Province. B.E.2561 he was appointed to take a position of an acting abbot at Wat Klong Chao, Saladaeng Sub District, Bang Nam Priao District, Chachoengsao Province. CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย

4

2

.indd 125

125

11/10/2561 11:21:15


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

TEMPLE AT MIDDLE OF THE SEA, TEMPLE OF LORD BUDDHA.

WAT HONG THONG

วัดกลางทางทะเล วัดของพระพุทธเจ้า ต้อนรับทุกท่านไม่หวงห้าม วัดหงษ์ทองตั้งอยู่กลางทะเล มีเสนาสนะและสิ่งปลูกสร้างงดงามมั่นคงถึง 3 หลัง ตั้งตระหง่านไม่หวั่นต่อคลื่นลมที่ซัดสาดจนที่ดิน ณ ที่นั้นทลายลงทะเลไปกว่า 10 ไร่ ในช่วงเวลาเพียงไม่ถึงสองทศวรรษที่ผ่านมา

โดยตั้งอยู่กลางทะเลในเขตต�ำบลคลองสอง อ�ำเภอบางปะกง จังหวัด ฉะเชิงเทรา จากปากซอยทางเข้าแล่นตรงจนสุดทางเลี้ยวซ้ายไปตามทางที่ แล่นลัดเลาะผ่านสองข้างทางบ่อเลีย้ งหอยแครงของชาวบ้านย่านนี้ เป็นวัดน่าสนใจ ชวนไปเที่ยวและไปปฏิบัติธรรมทุกวันและในวันหยุดสุดสัปดาห์ เมือ่ ท่านมาถึงจะสัมผัสได้ดว้ ยบรรยากาศแห่งความสงบท่ามกลางคลืน่ ลม เพราะโดดเด่นอยู่กลางทะเล วัดนี้เปิดให้เป็นที่ส�ำหรับพุทธศาสนิกชนทั่วไป มาปฏิบัติธรรม ถึงแม้สถานที่จะไม่กว้างขวางนักในการรองรับผู้เข้ามาปฏิบัติ กัมมัฏฐาน แต่พระครูปรีชาประภากร (พระอธิการปราชญ์ ปภากโร(ศรนิล)) หลวงพ่อเจ้าอาวาสก็ยินดี และตั้งใจที่จะให้วัดหงษ์ทองนี้เป็นศูนย์รวมจิตใจ ของผูค้ นทีต่ อ้ งการจะมุง่ ไปสูค่ วามพ้นทุกข์ และช่วยกันส่งเสริมพระพุทธศาสนา โดยมีหลักการปฏิบัติตามแนวทางขององค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าเป็นที่ตั้ง ถ้าเดินทางมาเป็นหมูค่ ณะ ทางวัดก็มพี ระอาจารย์ พระพีเ่ ลีย้ ง และแม่ชี เป็นครู อาจารย์คอยชี้แนะการปฏิบัติให้ด้วยความเมตตา ส�ำหรับ “คลองหงษ์ทอง” ในพืน้ ทีน่ ี้ เดิมเป็นคลองชายฝัง่ ทะเลทีข่ ดุ เลียบ แนวตะเข็บ ระหว่างอ�ำเภอบางปะกงของฉะเชิงเทรา กับอ�ำเภอบางบ่อของ สมุทรปราการ นัน่ คือจากถนนสุขมุ วิทสายเก่า หากไม่เลีย้ วซ้ายเข้าวัดหงษ์ทอง ตรงไปอีกนิดเดียวก็เข้าเขตจังหวัดสมุทรปราการ หรือประมาณ 27 กิโลเมตร ก็ถึงสถานตากอากาศบางปูอันลือลั่นมาแต่อดีตนั่นเอง

Wat Hong Thong is located at middle of the sea. There are three stable and gorgeous buildings at this temple which stand loftily and prevail against wind or wave that ruined the land at this location for 4 acres in last 2 decades. It is located at middle of the sea in Khlong Song sub-district, Bang Pra Kong district, Chachoengsao province. Although this area is almost not vast enough for people to practice meditation, but Phra Khru Preechaprapakorn (Phra Athikarn Prat Paphakaro(Sornnin)), The abbot who is glad and intend to make Wat Hong Thong to be spiritual center of people who aim at nirvana and jointly support Buddhism by following the Lord Buddha’s principle. If you travel to this temple as a group, there are monks and nuns who are instructors and trainers which they will kindly advise the way of meditation to everyone..

126

6

SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา

.indd 126

9/10/2561 18:02:37


CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย

6

.indd 127

127

9/10/2561 18:02:39


พระครูปรีชาประภากร เจ้าอาวาสวัดหงษ์ทอง ย้อนอดีตให้ฟังถึง ความเป็นมาที่สิ่งปลูกสร้างส�ำคัญของวัดล้วนปลูกสร้างอยู่ “ในทะเล” จนถือเป็น “UNSEEN ของแปดริ้ว” ว่า สมัยที่ตัวท่านเองยังเป็นฆราวาส ชื่ อ นายปราชญ์ ศรนิ ล ประกอบอาชี พ เกษตรกรรมอยู ่ ที่ บ ้ า นเกิ ด นี้ เมือ่ ถึงวันพระหรือวันส�ำคัญทางศาสนา ชาวบ้านหงษ์ทองต้องเดินลุยโคลน สูงท่วมเข่า ลุยป่าชายเลนไปท�ำบุญที่วัด ซึ่งอยู่ไกลออกไปหลายกิโลเมตร สถานที่แห่งนี้ หลวงปู่ปาน วัดบางเหี้ย ต�ำบลคลองด่าน อ�ำเภอบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ ได้ธุดงค์ผ่านมาเป็นประจ�ำทุกปี และ ได้เริ่มตั้ง ส�ำนักสงฆ์ขึ้น ณ ทีต่ งั้ วัดปัจจุบนั นี้ โดย ก�ำนันสนใจ ภิญโญ บอกยกทีด่ นิ ให้ วัดด้วยปากเปล่า เพื่อชาวบ้านจะได้ประกอบศาสนกิจได้สะดวกขึ้น ต่อมา มีบริษทั เอกชนแห่งหนึง่ มารวบรวมซือ้ ทีด่ นิ ละแวกคลองหงษ์ ทองและคลองขุดจากชาวบ้าน ที่ดินตรงนี้ถูกขายไปด้วย จนกระทั่งในปี พ.ศ.2522 นายปราชญ์ ได้รับเลือกเป็นผู้ใหญ่บ้าน ขณะนั้นพระอาจารย์ โพธิ์ วรธรรมโม (แก้วขาว) เป็นหัวหน้าส�ำนักสงฆ์แห่งนี้อยู่ ผู้ใหญ่ปราชญ์ ศรนิล ได้เป็นก�ำลังส�ำคัญท�ำหน้าทีเ่ ป็นตัวแทนของชาวบ้าน และส�ำนักสงฆ์ ไปเจรจาขอซือ้ ทีด่ นิ บริเวณทีต่ งั้ ส�ำนักสงฆ์ 21 ไร่ 2 งาน จากบริษทั เอกชน รายดังกล่าว จนบริษัทยอมขายให้ในราคา 120,000 บาท โดยขอเวลา ผ่อนช�ำระ 3 ปี ซึ่งกว่าจะช�ำระเงินได้ครบถ้วน ผู้ใหญ่ปราชญ์ ต้องวิ่งเต้น ประสานงาน และประสานความร่วมแรงร่วมใจของชาวบ้านเป็นอย่างมาก ในช่วงปี พ.ศ.2522-2527 นี่เอง ที่ได้พัฒนาส�ำนักสงฆ์จนเป็นวัดแต่แรก จะตั้งชื่อว่าวัดพระปฐมหลวงปู่ปานอุปถัมภ์ แต่ทางส�ำนักงานพระพุทธ ศาสนาแนะน�ำให้ใช้ชื่อ “หงษ์ทอง” ตามชื่อคลองหงษ์ทอง จึงเป็นวัดโดย สมบูรณ์นับจากนั้นมา Phra Khru Preechaprapakorn, abbot of Wat Hong Thong had told a story about the background of important building which was built “in the sea” and it was considered as “UNSEEN of Pad Riw” (Pad Riw is the other name of ChaChoengsao) as follows : when he was layman known as Mr.Prat Sornnin who made a living by working as a farmer at his homeland. When Buddhist holy day or significant day of Buddhism had arrived, locals of Hong Thong area had to walk through mud which overflowed their knees and mangrove forest to temple which far from village for many kilometers to make merit. After that, there was a private company who wanted to buy the land around Hong Thong canal and Khut canal from locals which the land where temple located has been bought as well. Until B.E.2522, Mr.Prat got elected as village headman, in the meantime, Phra Ajarn Poh Worathammo (Kaewkhao) took a position of leader of this house of priest. Mr.Prat Sornnin was the main man who acted as representative of villagers and house of priest in order to negotiate with this private company to buy the land of house of priest which its scale was 8.4 acres and 800 square meters, till this company willing to sell this land by the price 120,000 THB that he asked them to pay by installments for 3 years which before they can paid the total amount, Mr.Prat had to pull the wires and united all locals in action and spirit. During B.E.2522 - B.E.2527 that this house of priest had developed to temple which the first name of this temple was “Wat Phra Pathom Luang Phu Pan Uppatham” but National office of Buddhism suggested the name “Wat Hong Thong” followed the name of Hong Thong canal, thus, it became an official temple since then.

128

6

SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา

.indd 128

9/10/2561 18:02:45


“พระธาตุคงคามหาเจดีย์”

ปรีชาประภากร ปราชญ์ ศรนิลอนุสรณ์ สร้างขึ้น ในปี พ.ศ.2542 เจดีย์สีเหลืองทอง ด้านในมีแท่นบรรจุพระธาตุ พระอรหันต์ในทะเล เป็นแห่งแรกในโลก Phra That Kongkamahachedi Preechaprapakorn Prat Sornnin monument – was built in B.E.2542.

กล่าวได้ว่า ผู้ใหญ่ปราชญ์ ศรนิล เป็นฆราวาสคนส�ำคัญในการ ฝ่าฟันอุปสรรค บุกเบิกสร้างวัดนีม้ ากับมือ ต่อมาในปีพ.ศ.2526 ขณะ ที่ผู้ใหญ่ปราชญ์ ศรนิล อายุได้ 57 ปี ได้ตัดสินใจอุปสมบท จากนั้น ก็กราบลาเจ้าอาวาสออกธุดงค์เป็นเวลา 6 ปี เมือ่ เจ้าอาวาสมรณภาพ ชาวบ้านได้นิมนต์ให้ท่านกลับมารับต�ำแหน่งเจ้าอาวาสนับแต่นั้นมา ปั จ จุ บั น ท่ า นมี ส มณศั ก ดิ์ เ ป็ น พระครู ป รี ช าประภากร พระอธิการปราชญ์ ปภากโร ได้บรู ณะพัฒนาวัดหงษ์ทอง และศาสนสถาน ยืน่ ลงไปในทะเล เมือ่ มารับต�ำแหน่งเจ้าอาวาส ท่านพบว่าทีด่ นิ ของวัด ถูกน�ำ้ ทะเลกัดเซาะ จาก 21 ไร่เศษ เหลือเพียง 8 ไร่ จึงเร่งบูรณะ พัฒนาวัดทั้งด้านสถานที่และระเบียบวินัย เริ่มจากการท�ำเขื่อน ยุ ติ ป ั ญ หาน�้ ำ เซาะที่ ดิ น ซึ่ ง ในระยะแรกท่ า นต้ อ งลงแรงท� ำ ด้ ว ย ตัวเองด้วย ปรับปรุงทางคมนาคมเข้าวัดและหมูบ่ า้ นให้มคี วามสะดวก เป็นอย่างมาก

ด้านกฎระเบียบของวัดท่านก็ให้ตรงกับหลักพระธรรมวินยั ท่าน ห้ามจัดมหรสพ ห้ามเล่นการพนัน เสพของมึนเมา ภายในบริเวณวัด เคร่งครัดในการปกครองสงฆ์ และห้ามออกเรี่ยไรชาวบ้านทุกด้าน ไม่ว่าจะปลูกสร้างศาสนวัตถุอะไรก็ตาม พระครูปรีชาประภากรไม่มี นโยบายในการเรี่ยไร หรือให้ลูกศิษย์ไปรับบริจาคนอกสถานที่แต่ อย่างใด ท่านถือว่าผู้ที่มีจิตศรัทธาที่เข้ามาเยี่ยมชมวัดหงส์ทองนั้น จะร่วมช่วยกันสมทบท�ำบุญตามศรัทธาหรือตามก�ำลังเพียงเท่านั้น ท่านบอกว่า วัดนี้เป็นวัดของพระพุทธเจ้า ดังนั้นสถานที่นี้จึงเป็นวัด เปิด ต้อนรับแขกทุกท่าน ไม่หวงห้ามทุกห้อง ทุกหลังเข้าชมได้หมด หลังจากที่ท่านได้ก่อสร้างถาวรวัตถุของวัดในอาณาบริเวณ เดิมซึ่งที่ดินถูกกัดเซาะลงไปในทะเล สิ่งปลูกสร้างเหล่านี้จึงเสมือน ปลูกสร้างอยู่ในทะเล ทว่าล้วนตั้งอยู่ในพิกัดโฉนดที่ดินของวัดทั้งสิ้น

CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย

6

.indd 129

129

9/10/2561 18:02:49


แท่นบรรจุพระธาตุ พระอรหันต์ ในทะเล เป็นแห่งแรกในโลก พระธาตุคงคามหาเจดีย์ ปรีชาประภากร ปราชญ์ ศรนิลอนุสรณ์ 130

6

SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา

.indd 130

9/10/2561 18:02:53


ถาวรวัตถุและสิ่งก่อสร้างในวัดประกอบด้วย

ศูนย์พัฒนาจิต ศาลาปฏิบัติธรรมกรรมฐาน ศรนิลอนุสรณ์ สร้างเมือ่ ปีพ.ศ.2537-2541 กว้าง 18 วา ยาว 30 วา ซึง่ ปัจจัยทัง้ หมด ได้ ม าจากการบริ จ าคด้ ว ยความศรั ท ธาของประชาชนซึ่ ง เป็ น พุทธศาสนิกชน เป็นพสกนิกรของพระเจ้าแผ่นดิน ร่วมสร้างถวาย เป็ น พระราชกุศล เทิดพระเกีย รติพระบาทสมเด็ จ พระปรมิ นทร มหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 เนื่องในปีกาญจนาภิเษก ฉลอง ศิริราชสมบัติครบ 50 ปี พระธาตุคงคามหาเจดีย์ ปรีชาประภากร ปราชญ์ ศรนิลอนุสรณ์ สร้างขึ้นในปี พ.ศ.2542 พระธาตุคงคามหาเจดีย์ ฯ มีด้วยกัน 3 ชั้น แต่ ล ะชั้ น มี ภ าพวาดฝาผนั ง แสดงเรื่ อ งราวเกี่ ย วกั บ พุ ท ธศาสนา เช่นภาพพุทธประวัติภาพพระโพธิสัตว์ปางอวตารต่างๆ ภาพวาด พระมหากษัตริย์ และพระบรมวงศานุวงศ์ นอกจากนีย้ งั มีพระพุทธรูป ปางต่างๆ ที่เป็นที่เคารพสักการะที่ส�ำคัญ โรงทาน “อาคารเหลียนฉี” เป็นอาคารสองชัน้ ทรงสีเ่ หลีย่ มจตุรสั โปร่งโล่ง ลมพัดเข้าทัว่ ถึง เสาเข็มทีฝ่ งั ลงในทะเล หลวงพ่อเจ้าอาวาส ท่านค�ำนวณอย่างดีเพราะต้องท�ำเพือ่ ป้องกันการกัดเซาะของน�ำ้ ทะเล ชั้นล่างใช้ส�ำหรับรับแขกผู้มาเที่ยวที่วัด และใช้เป็นที่ประกอบอาหาร ส�ำหรับทีม่ ผี ใู้ จบุญในการจัดเลีย้ งพระท�ำบุญ ส่วนชัน้ สองใช้เป็นทีฝ่ กึ กรรมฐาน ส�ำหรับพระภิกษุ สามเณร แม่ชี รวมถึงพุทธศาสนิกชน ทั่วไป

Mural that tells a story about Buddhism such as painting of Bodhisattvas in various reincarnation, painting of the King and member of the royal family. Moreover, there are Buddha statutes in many postures which is respected and worshipped by people who come to this temple.

ปัจจุบัน วัดหงษ์ทองได้พัฒนาศาสนสถาน สิ่งปลูกสร้างไป มากมาย และเช่นเดียวกัน ยังมีสิ่งปลูกสร้างอีกหลายอย่างที่ก�ำลัง ด�ำเนินการไปตามแผนพัฒนาที่วางไว้ เพื่อให้เป็นสถานที่รวมจิตใจ ของพุทธศาสนิกได้ชนช่วยกันท�ำนุบำ� รุงพุทธศาสนาให้ดำ� รงอยูต่ อ่ ไป พร้อมทัง้ เป็นสถานทีท่ อ่ งเทีย่ วเชิงอนุรกั ษ์ และส่งเสริมวัฒนธรรมไทย ให้อยู่คู่ประเทศไทยตลอดไป

Permanent structure and building in this temple

Mind Development Center, Meditation and dharma-practicing hall, Sornnin monument - was built during B.E.2537 - B.E.2541 which the fund of construction were donated by people whom were faithful Buddhists. They jointly built these structures in order to honor and offer this merit as a royal merit to King Rama IX due to it was the year of golden jubilee of King Rama IX. Phra That Kongkamahachedi Preechaprapakorn Prat Sornnin monument-was built in B.E.2542. This construction is a 3-storey which each floor has mural that tells a story about Buddhism such as painting of Bodhisattvas in various reincarnation, painting of the King and member of the royal family. Moreover, there are Buddha statutes in many postures which is respected and worshipped by people who come to this temple. CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย

6

.indd 131

131

9/10/2561 18:02:59


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดบางผึ้ง พระครูศุภมงคล(หลวงปู่หุน)

ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดบางผึ้ง

วัดบางผึง้ ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นบางผึง้ หมูท่ ี่ 1 ต�ำบลบางผึง้ อ�ำเภอบางปะกง

จังหวัดฉะเชิงเทรา สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย โดยมีขุนประชา พูนศิริ เป็นผู้มอบที่ดินถวาย จ�ำนวน 8 ไร่ 1 งาน 35 ตารางวา ได้รับ พระราชทานวิสงุ คามสีมา เมือ่ พ.ศ. 2416 ด้านการศึกษามีโรงเรียน พระปริยตั ธิ รรมแผนกธรรม เปิดสอนเมือ่ พ.ศ. 2484 เจ้าอาวาสองค์ ปัจจุบัน คือพระครูศุภมงคล(หลวงปู่หุน)

พระครูศุภมงคล(หลวงปู่หุน) อายุ 100 ปี

พระสุปฏิปันโนแห่งภาคตะวันออก พระที่เคยช่วยม้วนและ

พันตะกรุดให้หลวงพ่อจาด วัดบางกระเบา พระที่เรียนวิชากับ หลวงพ่อทอง วัดก้อนแก้ว นานถึง 7 ปี พระที่ใช้พระเวทย์ เสกมนต์คาถาลูบตะขาบให้กลายเป็นท่อนฟืนได้ พระที่เคย ช่วยคนล้มละลายให้กลายเป็นเศรษฐีร้อยล้าน และพระผู้รู้ เหตุการณ์ล่วงหน้าได้ 132

2

SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา

.indd 132

9/10/2561 9:56:20


นมัสการสิ่งศักดิ์สิทธิ์ (หลวงพ่อโต)

หลวงพ่ อ โต พระคู ่ ต� ำ บลบางผึ้ ง ได้ ป ระดิ ษ ฐานอยู ่ ณ วัดบางผึ้ง ต�ำบลบางผึ้ง อ�ำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา ซึง่ อยูห่ ลังโรงไฟฟ้าบางปะกง ซึง่ มีประวัตมิ ายาวนานกว่า 200 ปี มีค�ำกล่าวขานกันมาอย่างยาวนานว่า หลวงพ่อโตได้ลอยน�้ำมา ที่คนรุ่นหลังเราทราบเรื่องนี้ได้เพราะบรรพบุรุษได้เล่าต่อๆ กั น มาว่ า มี ช าวบ้ า นได้ พ บเห็ น พระพุ ท ธรู ป ลอยน�้ ำ มาจึ ง ได้ พร้อมใจกัน เอาเชือกผูกและฉุดพระพุทธรูปเพื่อน�ำพระพุทธ รูปขึ้นมา แต่ไม่เป็นผลส�ำเร็จเพราะเชือกเกิดขาดเสียก่อน ด้วย เหตุนี้จึงมีเณรองค์หนึ่งมาเป็นผู้น�ำท�ำพิธีบวงสรวงเพื่ออัญเชิญ พระพุทธรูปขึ้นจากน�้ำ พระพุทธรูปขึ้นจากน�้ำได้โดยใช้สายสิน เพียงเส้นเดียว

สถานที่ท่องเที่ยวใกล้เคียง

คลองสายอ้อม คลองสายอ้อม เป็นคลองธรรมชาติที่เชื่อมต่อกับแม่น�้ำ บางปะกง มีเส้นทางล่องเรือผ่านป่าชายเลนและป่าจากทีข่ นึ้ อยู่ ตามริมล�ำน�้ำ เป็นแหล่งอาศัยของสัตว์และนกนานาชนิด อาทิ นกกาน�้ำ นกแสก นกกระยาง นกนางนวล นกกระเต็น ลิงแสม และลิงอืน่ ๆ เป็นต้น ในยามค�ำ่ คืนจะมีหงิ่ ห้อยเกาะตามต้นล�ำพู มากบ้าง น้อยบ้าง คลองสายอ้อมจึงเป็นสถานที่ท่องเที่ยวตาม ธรรมชาติที่นา่ สนใจแก่นักท่องเที่ยว

วัตถุมงคลของวัดบางผึ้ง

CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 133

133

9/10/2561 9:56:26


W O R K L IF E

บันทึกเส้นทางพบเทศบาลต�ำบล

เทศบาลต�ำบลพิมพา เป็นองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น ตั้งอยู่เลขที่ 9/2 หมู่ที่ 3 ต�ำบล พิมพา อ�ำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา อยู่ห่างไปทางทิศเหนือของอ�ำเภอบางปะกง ประมาณ 15 กิโลเมตร และห่างจากจังหวัด ฉะเชิ ง เทราประมาณ 25 กิ โ ลเมตร พื้ น ที่ รวมประมาณ 16.4 ตารางกิโลเมตร หรือคิดเป็น เนื้ อ ที่ ป ระมาณ 12,600 ไร่ กึ่ ง หนึ่ ง เป็ น เขตอุ ต สาหกรรม และอี ก กึ่ ง หนึ่ ง เป็ น พื้ น ที่ เกษตรกรรม เทศบาลต�ำบลพิมพา ได้รับการยกฐานะ จากองค์การบริหารส่วนต�ำบลพิมพา ขึ้นเป็น เทศบาลต�ำบลพิมพา ตามประกาศกระทรวง มหาดไทย เมื่อวันที่ 30 สิงหาคม 2550 จัดให้ มีการเลือกตั้งครั้งแรก เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2551 มีนายสมชาย เอี่ยมอ่อน ได้รับเลือก เป็นนายกเทศมนตรีต�ำบลพิมพาคนแรก และ นายลือชัย พรหมศรี เป็นประธานสภาเทศบาล ต�ำบลพิมพาคนแรก

ประวัติความเป็นมา

ต�ำบลพิมพา เกิดจากการรวมกันของ หมู่บ้านในต�ำบลต่างๆ ของอ�ำเภอบางปะกง จ�ำนวน 3 ต�ำบลประกอบด้วย ต�ำบลหนองจอก ต�ำบลบางวัว และต�ำบลบางสมัคร แล้วมาจัดตัง้ เป็นต�ำบลพิมพา เมื่อราวปี พ.ศ. 2523 โดย

134

3

เทศบาลตำ�บลพิมพา

นายพศิน ภูแสน ปลัดเทศบาลตำ�บลพิมพา ปฏิบัติหน้าที่ นายกเทศมนตรีตำ�บลพิมพา

ประชาชนส่วนใหญ่สืบเชื้อสายมาจากชาวมอญ ที่มีประเพณีและวัฒนธรรมเป็นของตนเองเช่น เดี ย วกั บ ชาวต� ำ บลคลองนิ ย มยาตรา ฝั ่ ง สมุทรปราการ มีประเพณีแห่ธงตะขาบทีย่ งั คงมี การสืบสานอยู่เป็นประจ�ำทุกปี

แรกเริ่มเดิมทีประชาชนส่วนใหญ่ประกอบ อาชีพท�ำนา ท�ำสวนและเลี้ยงสัตว์น�้ำ ปัจจุบัน พืน้ ทีบ่ างส่วนได้ถกู สร้างเป็นนิคมอุตสาหกรรม และบริเวณโดยรอบมีการเกิดขึ้นของโรงงาน อุตสาหกรรมจ�ำนวนมาก ท�ำให้พื้นที่ท�ำการ เกษตรและปศุสัตว์ลดน้อยลง และเพิ่มอาชีพ รับจ้างในสถานประกอบการเพิ่มขึ้น

SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา

.indd 134

9/10/2561 9:22:07


ประเพณีที่สำ� คัญ

ประเพณีแห่ธงตะขาบ เป็นวัฒนธรรมของ ชาวรามัญ (มอญ) ทีต่ ง้ั รกรากอยูใ่ นต�ำบลพิมพา จั ด ขึ้ น ในช่ ว งเทศกาลสงกรานต์ ข องทุ ก ปี เป็นการสืบสานงานหัตถกรรมอันแสดงถึงความ ละเอียดอ่อนและเป็นเอกลักษณ์ของชาวรามัญ คือ การท�ำธงกระดาษ ซึ่งผู้ที่จะท�ำได้จะต้อง เป็นผู้มีความรู้และสืบทอดการท�ำธงตะขาบมา ตั้งแต่ครั้งบรรพบุรุษ มิเช่นนั้นจะไม่สามารถท�ำ ธงตะขาบได้อย่างถูกต้องตามประเพณี ในวัน พิธีแห่ธงตะขาบ ชาวบ้านจะน�ำธงตะขาบซึ่งมี ลักษณะส�ำคัญคือ ตะขาบ 1 ตัว จะมีราวนม 9 ราวนม นมละ 14 ช่วง นมนีม้ ลี กั ษณะเป็นนมคู่ หากเป็นตะขาบตัวเมียจะมีปากเพียงปากเดียว หากเป็นตัวผู้ต้องมี 2 ปาก เมื่อท�ำเสร็จแล้วจะ น�ำแป้ง หวี กระจก ปอยผม 1 ปอย และ ผ้าเช็ดหน้าแขวนไว้ที่ปากตะขาบ จากนั้นน�ำไป ตั้งถวายที่ศาลเจ้าพ่อช้างพัน ก่อนจะแห่ธง ตะขาบไปถวายทีว่ ดั เมือ่ ถึงวัดชาวบ้านจะน�ำธง ตะขาบไปผูกไว้กบั ต้นเสาในศาลาวัดเพือ่ ท�ำพิธี เมือ่ ถึงเวลาพระสงฆ์จะน�ำสายสิญจน์มาวงรอบ ธง จากนั้นพิธีถวายจะเริ่มขึ้นด้วยการกล่าวบท นมัสการคุณพระศรีรตั นตรัย ตามด้วยการสรงน�ำ้ พระพุทธรูปและพระสงฆ์ เสร็จแล้วชาวบ้านจะ น�ำธงตะขาบขึ้นไปไว้บนเสาหงส์ เชื่อกันว่าทุก ครั้ ง ที่ ธ งตะขาบส่ า ยเพราะแรงลม จะท� ำ ให้ บรรพบุรษุ ทีล่ ว่ งลับไปแล้วได้ขนึ้ สวรรค์ (จัดงาน วันที่ 15 เมษายนของทุกปี)

CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย

3

.indd 135

135

9/10/2561 9:22:14


สถานที่ส�ำคัญ

วัดพิมพาวาส (เหนือ) เป็นวัดสังกัดคณะ สงฆ์มหานิกาย ภายในอุโบสถวัดประดิษฐาน หลวงพ่อพระพุทธโสธรจ�ำลอง หล่อด้วยเงินยวง มีศลิ ปวัตถุได้แก่ หงส์หล่อด้วยทองสัมฤทธิจ์ าก เมืองหงสาวดี ประเทศเมียนมาร์ วัดพิมพาวาส (ใต้) สังกัดคณะสงฆ์ธรรมยุติ ภายในวัดมีพระเจดีย์บรรจุพระไตรปิฎกภาษา รามัญ และเป็นสถานทีจ่ ำ� พรรษาของหลวงพ่อแก้ว หรือพระสุมงคลมุนี (ชม ชินวโํ ส) พระเกจิคณาจารย์ แห่งลุม่ น�ำ้ บางปะกง ทีเ่ ป็นทีเ่ คารพเลือ่ มใสของ ชาวไทย ทั้งเชื้อสายไทย และรามัญ รวมทั้ง ชาวต่างชาติ วัดสุนยี ศ์ รัทธาธรรม เป็นวัดสังกัดคณะสงฆ์ มหานิกาย ภายในวัดมีอโุ บสถกลางน�ำ้ ทีส่ วยงาม เปิดให้พุทธศาสนิกชนเข้าไปกราบไหว้สักการะ ทุกวัน

136

3

SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา

.indd 136

9/10/2561 9:22:21


คนเราที่เจอกัน...ไม่ใช่เรื่อง “บังเอิญ” อยู่ที่ “บุญ” ที่เคยร่วม ท�ำกันมา

ดร. พระมหาอนุชน สาสนกิตฺติ ป.ธ.๙ (นาคหลวง), Ph.D. Dr. Phramaha Anuchon Sasanakitti พระธรรมทูตสายต่างประเทศ ปริญญาโทพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิปัสสนาภาวนา ปริญญาเอก Ph.D. (Pali & Buddhism) Dr. Babasaheb Ambedkar Marathwada university เมืองออรังคบาด รัฐมหาราษฏระ ประเทศอินเดีย

เมื่อมีวาสนา.....ไม่ต้องเรียกร้อง.....ถึงเวลาก็มาเจอกัน เมื่อสิ้นวาสนา.....ก็ต้องจากกันไป.....รั้งอย่างไรก็ไม่อยู่ ดังนั้น..... ในตอนที่เรา ยังไม่จากกัน เราได้กระท�ำดีต่อคนที่แวดล้อมเราแล้วหรือยัง ? เพราะเมื่อหมด “สัญญากรรม” แล้ว ไม่ว่าเราจะมีเงิน หรือ มีอ�ำนาจจนล้นฟ้า ก็ไม่สามารถเรียกร้องกลับคืนมาได้ และไม่รู้ว่าจะกี่ภพกี่ชาติ ถึงจะได้เวียนมาเจอกันอีก

Everything You Need to Know About Buddhism in Thailand There are some 30,000 Buddhist temples in Thailand.

AD_

.indd 137

10/10/2561 9:22:46


Buddhism

in Thailand

Everything You Need to Know About Buddhism in Thailand There are some 30,000 Buddhist temples in Thailand.

.indd 138

10/10/2561 9:46:26


.indd 139

10/10/2561 9:46:31


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดประศาสน์โสภณ (วัดบางกรูด)

วัดแรกแห่งต้อนรับหลวงพ่ อพุ ทธโสธรทางชลมารค ขอเชิญสักการบูชาหลวงพ่ อโสธรองค์ใหญ่ 140

4

SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา

.indd 140

10/10/2561 10:02:58


พระครูใบฎีกาสมยศ ปิยธมฺโม

ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดประศาสน์โสภณ (วัดบางกรูด)

วัดประศาสน์โสภณ (วัดบางกรูด) เป็นวัดราษฎร์ชนิดสามัญ ตั้งอยู่ในท้องที่ตำ� บลท่าพลับ อ�ำเภอบ้านโพธิ์ จังหวัดฉะเชิงเทรา เนื้อที่เขตของวัด ทิศตะวันตกจด ล�ำแม่น�้ำบางปะกง ทิศเหนือจดคลองบางกรูด ทางทิศตะวันออกมีทางรถยนต์เป็นเขต ทิศใต้มีคูเป็นเขต เนื้อที่ของวัดด้านตะวันตกยาว 120 เมตร ตะวันออก 202 เมตร ทิศเหนือระยะยาว 250 เมตร ทิศใต้ 212 เมตร เนื้อที่ 27 ไร่ 2 งาน

ประวัติวัดประศาสน์โสภณ

“วัดบางกรูด” เดิมมีชื่อว่า “วัดบางกรูดวิสุทธาราม” ต่อมาได้เปลี่ยน ชือ่ เป็น “วัดประศาสน์โสภณ” แต่ผคู้ นยังคงเรียกวัดนีว้ า่ วัดบางกรูด ตาม นามเดิม เป็นวัดเก่าปลายกรุงศรีอยุธยา สร้างขึน้ เมือ่ ปี พ.ศ.2304 ตรงกับ สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย เมื่อนับอายุถึงปัจจุบันอายุ 257 ปี ส�ำหรับค�ำว่า “บางกรูด” เป็นชื่อต�ำบลๆ หนึ่ง ตั้งอยู่คนละฝั่งของ แม่นำ�้ บางปะกง ตรงกันข้ามกับทีต่ งั้ วัด ส่วนต�ำบลทีต่ งั้ อยูน่ นั้ ชือ่ ว่าต�ำบล ท่าพลับ ชือ่ วัดกับชือ่ ต�ำบลเป็นคนละอย่าง จึงไม่สามารถสันนิษฐานได้วา่ อาศัยหลักอะไร จึงได้เรียกชือ่ เช่นนัน้ แต่ตามทัศนะของพระครูใบฎีกาสมยศ ปิยธมฺโม เจ้าอาวาสรูปปัจจุบนั ท่านอธิบายว่า ด้วยวัดทีต่ งั้ อยูน่ มี้ ลี ำ� คลอง ติดเขตวัดทางทิศเหนืออยู่ข้างโบสถ์ ล�ำคลองนี้ชื่อว่าคลองบางกรูด “สมัยโน้นว่ากันว่าคลองนีใ้ หญ่โตมาก ขนาดเรือล�ำโตๆ หรือเรือใบแข็ง แล่นเข้าไปได้อย่างสะดวก แต่บัดนี้คลองนั้นได้ตื้นเขินกลายเป็นคลอง เล็กๆ หรืออีกอย่างหนึ่งเรียกว่า คู ก็ได้ และก็ยังทิ้งแนวทางเอาไว้ให้คน รุ่นหลังๆ ได้พิจารณา ด้วยเหตุนี้กระมัง จึงได้ชื่อว่า วัดบางกรูด” อีกทัง้ การตัง้ ชุมชนของคนในสมัยโบราณมักเลือกท�ำเลอยูใ่ กล้แหล่งน�ำ้ เมื่อชาวบ้านตั้งบ้านเรือนมากขึ้นในที่ใดก็เกิดเป็นหมู่บ้าน แล้วจึงสร้างวัด หรือ ศาสนสถานเอาไว้ประกอบพิธีกรรมทางศาสนา ถ้าหากจะคะเนว่า ชุมชนใดมีอายุเท่าใด หลักฐานที่พอจะเป็นที่เชื่อถือได้ก็คืออายุของวัด นั่นเอง CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย

4

.indd 141

141

11/10/2561 11:26:17


มาถึงสมัย พระใบฎีกาซุน่ ฮวด เป็นเจ้าอาวาสท่านจึงได้เปลีย่ นชือ่ ในยุค พระครูโสภณญาณวิจิตร ท่านเลยได้เปลี่ยนนามของวัดจาก วัดบางกรูด มาเป็น วัดประศาสน์โสภณ อย่างไรก็ตามประชาชนส่วนมากยังคงเรียกวัดนีว้ า่ วัดบางกรูด เช่นเดิม แม้ว่าได้เปลี่ยนนามของวัดใหม่เป็นวัดประศาสน์โสภณก็ตาม และวัดก็มี ความเจริญมาเป็นล�ำดับ ได้ตงั้ ส�ำนักเรียนนักธรรมและบาลี เป็นสนามสอบ นักธรรม ปีหนึง่ ๆ มีพระภิกษุสามเณรสอบธรรมกันประมาณ 300-400 รูป มาย้ายสนามสอบเมือ่ พ.ศ. 2494 เพราะพระครูโสภณญาณวิจติ ร ได้ลาสิกขา การศึกษาเล่าเรียนทางพระพุทธศาสนาในวัดประศาสน์โสภณ การ เรียนนักธรรมได้ตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ.2464 ส่วนหนังสือไทยในวัด เปิดสอน เป็นโรงเรียนราษฎร์แต่ปี พ.ศ.2452 ตอนนั้นมีนักเรียนไม่มากนัก ต่อมา เมือ่ พ.ศ 2465 ได้เปลีย่ นสถานะของโรงเรียนเป็นโรงเรียนประชาบาลของ รัฐบาล โรงเรียนจึงเจริญขึ้นเป็นล�ำดับจนถึงปัจจุบันนี้

ล�ำดับเจ้าอาวาส

142

4

1. พระอาจารย์เนียม 2. พระอาจารย์แก้ว 3. พระอาจารย์มา 4. พระอาจารย์หล�ำ 5. อุปัชฌาย์แย้ม พ.ศ. - ถึง พ.ศ.2440 6. เจ้าอธิการหล�ำ พ.ศ.2440 ถึง พ.ศ.2467 7. เจ้าอธิการจ้อย พ.ศ.2467 ถึง พ.ศ.2470 8. พระอธิการโชติ พ.ศ.2470 ถึง พ.ศ.2472 9. พระครูโสภณญาณวิจิตร พ.ศ.2472 ถึง พ.ศ.2494 10. พระครูวินัยธร(เหลี่ยม) พ.ศ.2494 ถึง พ.ศ.2521 11. พระครูประสาทสรคุณ พ.ศ.2522 ถึง พ.ศ. 12. พระครูสุภัทรกิจโสภณ พ.ศ. - ถึง พ.ศ.2553 13. พระครูใบฎีกาสมยศ ปิยธมฺโม เจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน

SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา

.indd 142

10/10/2561 10:03:11


เหตุที่สร้างพ่อโสธรองค์ ใหญ่

เหตุที่สร้างหลวงพ่อโสธรองค์ใหญ่นี้ เพราะว่าบริเวณนี้เป็นชุมชน ชาวจีน มีความศรัทธาในองค์หลวงพ่อโสธร และในวันขึ้น 14 ค�ำ่ เดือน 12 ก่อนวันลอยกระทง 1 วัน การแห่หลวงพ่อพุทธโสธรทางชลมารคก็ จะมาขึ้นที่วัดประศาสน์โสภณนี้เป็นวัดแรก โดยให้ญาติโยมได้มาปิดทอง หลวงพ่อโสธรทางน�ำ้ หนึ่งปีมีหนึ่งครั้ง นี่คือมูลเหตุที่สร้างหลวงพ่อโสธร องค์ใหญ่ คือการรับหลวงพ่อโสธรทีม่ าล่องทางชลมารคนีเ้ อง โดยในทุกปี มี ญาติโยมมาร่วมปิดทองหลวงพ่อโสธรในเรือทีแ่ ห่มาทางน�ำ้ เป็นจ�ำนวนมาก จึงได้สร้างหลวงพ่อโสธรองค์ใหญ่นไี้ ว้ตอ้ นรับหลวงพ่อโสธรทีแ่ ห่มาทางเรือ ในวันขึ้น 14 ค�ำ่ เดือน 12 ของทุกปี ก่อนวันลอยกระทง 1 วัน

หลวงพ่อโสธรองค์ ใหญ่ที่สุดในโลก

หลวงพ่อโสธรองค์ใหญ่ทสี่ ดุ ในโลก มีขนาดหน้าตักกว้าง 16.33 เมตร สูง 25.80 เมตร ณ วัดประศาสน์โสภณ (วัดบางกรูด) ต�ำบลท่าพลับ อ�ำเภอบ้านโพธิ์ จังหวัดฉะเชิงเทรา เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2559 ได้มี พิ ธี อั ญ เชิ ญ พระเกศองค์ ห ลวงพ่ อ โสธร โดยมี ผู ้ ร ่ ว มอั ญ เชิ ญ พระเกศ องค์ ห ลวงพ่ อ โสธรขึ้ น สวมบนองค์ พ ระ คุ ณ อนุ กู ล ตั ง ขณานุ กู ล ชั ย ผูว้ า่ ราชการจังหวัดฉะเชิงเทรา, อาจารย์หนู กันภัย, ดร.รัตนา สมสกุลรุง่ เรือง ประธานมูลนิธิร่วมกตัญญู, นายห้าง ดร.ทวีชัย จริยะเอี่ยมอุม กรรมการ ผู้จัดการ บริษัท ท็อปไลน์มิวสิค จ�ำกัด (ค่ายเพลง ท็อปไลน์-ไดมอนด์), อาจารย์ชณ ุ วัฒน์ ลาภานุพฒ ั น์, คุณบิณฑ์ บรรลือฤทธิ,์ คุณอนุพนั ธุ์ พุทธา, คุณสมจิตร เจริญเนาวรัตน์ เป็นประธานฝ่ายฆราวาส ขอเชิญชวนพุทธศาสนิกทั้งหลายมาร่วมปิดทอง กราบไหว้ขอพร องค์หลวงพ่อโสธรที่ใหญ่ที่สุดในโลกได้ตลอดทุกวัน

CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย

4

.indd 143

143

10/10/2561 10:03:18


วัดสนามจันทร์

ส�ำนักปฏิบัติธรรมประจ�ำจังหวัดฉะเชิงเทราแห่งที่ 4

พระครู โ สภิต สุต คุณ (หลวงพ่อมหาวิท ยา ญาณวโร) ที่ ป รึ ก ษาเจ้ า คณะอ� ำ เภอบ้ า นโพธิ์ , เจ้ า อาวาสวั ด สนามจั น ทร์

วั ด ส น า ม จั น ท ร ์ ตั้ ง อ ยู ่ ห มู ่ ที่ 1 ต� ำ บ ล บ ้ า น โ พ ธิ์ อ� ำ เ ภ อ บ ้ า น โ พ ธิ์ จั ง ห วั ด ฉ ะ เ ชิ ง เ ท ร า ส ร ้ า ง เ มื่ อ ป ล า ย กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา

ประวั ติ ความเป็น มา ในประวัติทางราชการ วัดสนามจันทร์ตั้งเป็นวัด เมื่อพ.ศ.2400 เป็นวัดประจ�ำอ�ำเภอเพราะอยู่ติดกับอ�ำเภอบ้านโพธิ์ ซึ่งเดิมเรียกว่า อ� ำ เภอสนามจั น ทร์ แต่ ไ ปตรงกั บ พระราชวั ง สนามจั น ทร์ ซึ่ ง เป็ น ที่ประทับของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 ที่จังหวัดนครปฐม จึงเปลี่ยนชื่อเป็นอ�ำเภอบ้านโพธิ์ วัดสนามจันทร์ เป็ น ศู น ย์ ก ลางการปกครองและการศึ ก ษาของทางคณะสงฆ์ สมเด็จกรมพระยาวชิรญาณวโรรส เคยเสด็จมาตรวจงานและพักแรมอยู่ 1 คืน ประมาณปี พ.ศ.2460 และวัดเจริญรุ่งเรืองสมัยขุนแพทย์มงคล และนายซ่าน นางเปลี่ยน ประเสริฐศิลป์ ได้เป็น ผู้อุปถัมภ์ก่อสร้าง 144

เสนาสนะถาวรวัตถุเป็นจ�ำนานมาก ต่อมาในสมัยหลวงพ่ออุปชั ฌาย์คำ � พรฺหมสุวณฺณ สร้างศาลาการเปรียญ และอุโบสถ วัดสนามจันทร์ได้ พระราชทานวิสุงคามสีมาครั้งแรกเมื่อปีพ.ศ.2477 มีการฝังลูกนิมิต พ.ศ.2481 ได้ทำ� การบูรณะเมือ่ ปี พ.ศ.2553 พร้อมได้รบั พระราชทานสีมา อีกครั้ง พ.ศ.2555 วัดสนามจันทร์เจริญสูงสุดในสมัยหลวงพ่อพระครูโสภิตสุตคุณ ได้ปั้นหลวงพ่อโสธรจ�ำลอง พระสังกัจจายนะ สร้างหอฉัน กุฏิสงฆ์ และเสนาสนะอีกมากมาย ท�ำการบูรณะศาลาการเปรียญ อุโบสถ ฌาปนสถาน สร้างโรงเรียนมัธยมประจ�ำอ�ำเภอชื่อ โรงเรียนวิทยา ราษฎร์ รั ง สรรค์ สร้ า งโรงเรี ย นปริ ยั ติ ธ รรมวิ ท ยาราษฎร์ รั ง สรรค์ สร้างศาลาปฏิบตั ธิ รรมศรีเรืองกิจ วัดสนามจันทร์เป็นส�ำนักปฏิบตั ธิ รรม ประจ�ำจังหวัดฉะเชิงเทราแห่งที่ 4 และเคยเป็นสถานทีส่ อบธรรมสนามหลวง ประจ�ำอ�ำเภอบ้านโพธิ์ตั้งแต่ปี พ.ศ.2502 ถึง พ.ศ.2559 นับเป็น วัดส�ำคัญทางการปกครอง การศึกษา และการท่องเที่ยว ปัจจุบันทางวัดสนามจันทร์ก�ำลังสร้างอุทยานพระโพธิ์สัตว์ หรือ อนาคตวงศ์ โดยจะบอกเล่าถึงพระโพธิส์ ตั ว์ทจี่ ะมาตรัสรูใ้ นอนาคต 10 องค์ ดังนี้ 1.วิหารพระศรีอริยะเมตไตรยโพธิ์สัตว์ 2.วิหารพระรามโพธิสัตว์ 3.วิหารพระเจ้าปเสนทิโกศลโพธิสตั ว์ 4.วิหารพระยามาราธิราชโพธิสตั ว์ 5.วิหารพระอสุรนิ ทราหูโพธิสตั ว์ 6.พระโสณโพธิสตั ว์ 7.พระสุภะโพธิสตั ว์ 8.พระโตเทยยโพธิสัตว์ 9.พระนาฬาคิรีโพธิสัตว์ 10.พระปาลิไลย กะโพธิสัตว์

SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา

.indd 144

09/10/61 10:49:02


ทุกข์ มีไว้ ให้แก้ ไม่ใช่มีไว้ ให้กลุ้ม ทุกข์กาย ทุกข์ ใจ ทุกข์ภายนอก ทุกข์ภายใน

ตรวจดวงชะตาโหราศาสตร์ ไทย 09.00 - 17.00 น. ทุ กวั น เว้ น วั น พระ CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย 145 หลวงตาพิศ าล 096-8296535 , 063-7988178

1

.indd 145

11/10/2561 11:24:46


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดธารพู ด

สัมผัสอุโบสถเก่าแก่สมัยรัตนโกสินทร์ 111 (พ.ศ.2435)

พระครูวิมลธรรมธาร (เด่นชัย ธมฺมสโร) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดธารพูด

วัดธารพูด ตั้งอยู่เลขที่ 130 บ้านธารพูด หมู่ที่ 7 ต�ำบลบ้านช่อง อ�ำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ที่ดินตั้งวัดมีเนื้อที่ 36 ไร่ 1 งาน 2 ตารางวา ประวัติความเป็นมา สันนิษฐานว่ามาจากการตั้งหมู่บ้านแล้วจึงมีการเริ่มสร้างวัดในราว พ.ศ.2315 ซึ่งแต่เดิมตั้งเป็นเพียงที่พักสงฆ์ชั่วคราว ส�ำหรับพระสงฆ์ ที่เดินเท้าผ่านหมู่บ้านธารพูดไปยังวัดต้นโพธิ์ อ�ำเภอศรีมหาโพธิ์ ต่ อ มาได้ ส ร้ า งเป็ น ส� ำ นั ก สงฆ์ แ ทน โดยความคิ ด ริ เ ริ่ ม ของ พระอาจารย์เผือน ซึง่ ได้ปรึกษากับคุณตาสี คุณตาหมี และคุณตาเถียน ผู้น�ำชาวบ้านสมัยนั้นมาร่วมกันสร้างเป็นวัด โดยกรมการศาสนา ได้ประกาศว่าวัดธารพูดตั้งเป็นวัดเมื่อ พ.ศ.2375 ชื่อว่า“วัดเวฬุวัน จันทาราม” เพราะที่ตั้งนั้นมีป่าไม้เป็นป่าไผ่อยู่จ�ำนวนมาก และมี ล�ำธารที่ใสสะอาดไหลผ่าน แต่ชาวบ้านใกล้เคียงก็เรียกว่าวัดธารพูด 146

2

“จิตรกรรมฝาผนัง ภาพพระเจ้า 10 ชาติ ”

อุโบสถประดับลวดลายปูนปั้นพร้อมติดกระจกช่อฟ้าใบระกา หางหงส์ ทาสีทอง ภายในวาดจิตรกรรมฝาผนัง ต่อมาคณะกรรมการชาวบ้านจึงได้เสนอขอเปลีย่ นชือ่ วัดใหม่ ให้เหมือน หมู่บ้านธารพูดเป็น “วัดธารพูด” ตามชื่อของหมู่บ้าน จากหลักฐานในหนังสือเก่า วัดธารพูด ได้ขอพระราชทาน วิสงุ คามสีมาอุโบสถครัง้ แรกเมือ่ วันที่ 14 มีนาคม รัตนโกสินทร์ 111 (พ.ศ.2435) ต่อมาช�ำรุดทรุดโทรม และได้สร้างอุโบสถหลังทีส่ องขึน้ และขอพระราชทานวิสุงคามสีมาเป็นครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ.2502 ต่อมาช�ำรุดทรุดโทรมอีกจึงได้สร้างอุโบสถหลังที่สามขึ้น ได้ขอพระราชทานวิสงุ คามสีมาเป็นครัง้ ที่ 3 เมือ่ วันที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2537 กว้าง 24 เมตร ยาว 36 เมตร ที่ดินตั้งวัดมีเนื้อที่ 36 ไร่ 1งาน 2 ตารางวา

SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา

.indd 146

9/10/2561 17:24:08


1. พระพุทธไตรรัตนนายก (หลวงพ่อโต ซ�ำปอกง) วัดพนัญเชิงวรวิหาร พระนครศรีอยุธยา

ตามต�ำนานกล่าวว่า พระเจ้าสายน�ำ้ ผึง้ ทรงสร้างขึน้ ณ บริเวณที่ พระราชทานเพลิงศพพระนางสร้อยดอกหมาก และตามพงศาวดาร กล่ า วว่ า พระพุ ท ธรู ป องค์ นี้ ส ร้ า งขึ้ น เมื่ อ ปี พ.ศ.1867 ก่ อ นที่ พระเจ้าอู่ทองจะสร้างกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี 26 ปี ครั้นสมัย กรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานีแล้ว พระมหากษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา ได้บรู ณะซ่อมแซมให้อยูใ่ นสภาพดีมาโดยตลอด กล่าวกันว่าเมือ่ คราว จะเสี ย กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา ได้ ป รากฏมี น�้ ำ พระเนตรไหลออกมาจาก พระเนตรทั้งสองข้างเป็นที่น่าอัศจรรย์

2. พระพุทธไตรรัตนนายก (หลวงพ่อโต ซ�ำปอกง) วัดกัลยาณมิตร วรมหาวิหาร ฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานคร

เจ้าพระยานิกรบดินทร์ (โต) ต้นสกุลกัลยาณมิตร ว่าทีส่ มุหนายก ได้อทุ ศิ บ้านและทีด่ นิ บริเวณใกล้เคียง ซึง่ แต่เดิมเป็นหมูบ่ า้ นทีม่ ภี กิ ษุ จีนพ�ำนักอยู่ และเรียกกันต่อมาว่า “หมู่บ้านกุฎีจีน”

อาคารเสนาสนะ

1.อุโบสถ เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก มุงกระเบื้องเคลือบ ประดั บ ลวดลายปู นปั ้ นพร้ อมติ ด กระจกช่อฟ้า ใบระกาหางหงส์ ทาสี ท อง ภายในวาดจิ ต รกรรมฝาผนั ง 2.วิ ห าร เป็ น อาคาร คอนกรีตเสริมเหล็ก มุงกระเบื้องเคลือบ ประดับลวดลายปูนปั้น พร้ อ มติ ด กระจกช่ อ ฟ้ า ใบระกาหางหงส์ ทาสี ท อง ภายในวาด จิตรกรรมฝาผนัง ภาพพระเจ้า 10 ชาติ 3.ศาลาการเปรียญ สร้างเสร็จ เมื่อ พ.ศ.2551 เป็นอาคารไม้ทรงไทยคอนกรีตเสริมเหล็ก ก่ออิฐ ถือปูน 2 ชั้น ประดับลวดลายปูนปั้นพร้อมช่อฟ้าใบระกาหางหงส์ ชั้นล่างปูหินแกรนิต มีโรงครัว 4.หอสวดมนต์ สร้างเมื่อ พ.ศ.2525 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก มุงกระเบื้อง 5.หอระฆัง เป็นอาคาร คอนกรีตเสริมเหล็ก ประดับลวดลายติดกระจกสีทอง 6.กุฏิสงฆ์ จ�ำนวน 5 หลัง เป็นอาคารไม้ 2 หลัง ครึ่งตึกครึ่งไม้ 2 หลัง และตึก 1 หลัง 7.ศาลาอเนกประสงค์ สร้างเมื่อ พ.ศ. 2531 เป็นอาคารไม้ ทรงไทยมุงกระเบื้อง 8. ศาลาบ�ำเพ็ญกุศล จ�ำนวน 1 หลัง สร้างด้วย คอนกรีตเสริมเหล็ก 1 หลัง มีโรงครัว การบริหารและการปกครอง มีเจ้าอาวาสตัง้ แต่อดีตจนถึงปัจจุบนั ดังนี้ รูปที่ 1 พระอาจารย์เผื่อน รูปที่ 2 พระอาจารย์เปลี่ยน รูปที่ 3 พระอธิการเย็น รูปที่ 4 พระอธิการหรุ่ม รูปที่ 5 พระอธิการสนธิ์ อินทฺ สโร รูปที่ 6 พระอธิการจ�ำรัส รูปที่ 7 พระอธิการกัน รูปที่ 8 พระครูธำ� รงสารคุณ (แม้น ปริปณ ุ โฺ ณ) พ.ศ.2490 - พ.ศ.2540 และ รูปที่ 9 พระครู วิ ม ลธรรมธาร (เด่ นชั ย ธมฺมสโร) ด�ำรงต�ำแหน่ง เจ้าอาวาสวัดธารพูดตั้งแต่ พ.ศ.2540 จนถึงปัจจุบัน เป็นเจ้าคณะ ต�ำบลพนมสารคาม เขต 2 และเป็นเลขานุการเจ้าคณะอ�ำเภอพนมสารคาม

การศึกษา

มีโรงเรียนพระปริยตั ธิ รรมแผนธรรม โรงเรียนวัดธารพูด และศูนย์ อบรมเด็กเล็กก่อเกณฑ์ในวัด เปิดสอนเมือ่ พ.ศ.2525 จนถึงปัจจุบนั สถาปัตยกรรมต่างๆ ภายในวัด อุโบสถ ด้านหน้าทางทิศตะวันออก ประกอบด้วยส่วนประกอบ ของช่อฟ้า ใบระกา หางหงส์ ตีนผีแบบต่างๆ กระจังฐานพระ แผงแล คอสอง ( คือแผ่นไม้อยู่ระหว่างแปรับกลอนหลังคา กับคอสองรับ ปีกนกด้านข้าง) ลายสาหร่าย รวงผึ้ง ซุ้มประตูทางเข้า หน้าบันเป็น ลายปูนปัน้ และมีพระพุทธรูปปางลีลาเป็นพระประธานแห่งหน้าบัน ด้านหน้าอุโบสถ และด้านหลังอุโบสถทางทิศตะวันตก ประกอบด้วย ส่วนประกอบของช่อฟ้า ใบระกา หางหงส์ ตีนผีแบบต่างๆ กระจัง ฐานพระ แผงแรคอสอง ลายสาหร่าย รวงผึ้ง ซุ้มประตูทางเข้า ซุ้ม หน้าต่าง คันทวยหน้าบันนั้นเป็นลายปูนปั้น และมีพระพุทธรูปปาง ถวายเนตร เป็นพระประธานแห่งหน้าบันด้านหน้าอุโบสถ ศาลาการเปรียญ เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก สูง 2 ชั้น ศิลปกรรมของศาลาการเปรียญ ด้านบนนั้นประกอบด้วยช่อฟ้า ใบระกา หางหงส์ มีหน้าบัน 3 มุข เป็นลวดลายปูนปัน้ ประดับงดงาม หอระฆัง เป็นคอนกรีตเสริมเหล็ก สูง 2 ชั้น เป็นรูปทรงของ มณฑป มีส่วนประกอบต่างๆ เช่น คันทวย เป็นต้น CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 147

147

9/10/2561 17:24:13


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดเกาะแก้วสุวรรณาราม ศีล สมาธิ และปัญญา เพื่ อสังคมที่มีความสุข

วัดเกาะแก้วสุวรรณราม เป็นวัดราษฎร์ ตั้งอยู่เลขที่ 5/1 หมู่ 4 ต้นส�ำโรง ต�ำบลบ้านซ่อง อ�ำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2515 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 40 เมตร ยาว 80 เมตร ผูกพัทธสีมาในปีพ.ศ.2516 มีที่ดินเขตตั้งวัด เนื้อที่ 13 ไร่ 2 งาน 17 ตารางวา โฉนดเลขที่ 34781 และได้ซื้อที่ขยายวัดเพิ่มเติม อีก 2 แปลง แปลงที่ 1 มีเนื้อที่ 2 ไร่ 3 งาน 15 ตารางวา โฉนดเลขที่ 30870 และอีกแปลงมีเนื้อที่ 6 ไร่ 3 งาน 27 ตารางวา โฉนดที่ดินเลขที่ 1528 รวมเนื้อที่ทั้งหมด 22 ไร่ 3 งาน 49 ตารางวา พื้นที่ตั้งวัดเป็นเนิน มีลกั ษณะเป็นเกาะล้อมรอบด้วยทางสาธารณะผ่านและเป็นทีท่ ำ� นาของ ชาวนา ปัจจุบันมีพระภิกษุจำ� พรรษา 9 รูป 148

2

มีคนเล่ากันต่อๆ มาว่า

วัดมีก้อนหินปาฏิหาริย์ลูกกลมสวยงามมาก เมื่อก่อนนั้น กล่าวกันว่า ก้อนหินนี้ วันดีคืนดีจะลอยขึ้นมา โดยสามารถกลิ้ง ไปไหนมาไหนเองได้ วัดเกาะแก้วสุวรรณาราม เดิมชื่อ วัดหนองคอกควาย เริ่มสร้างเมื่อ ประมาณปีพ.ศ.2374 ตามหนังสือรับรองสภาพวัดที่ 0014/045 ให้ไว้ ณ วันที่ 16 สิงหาคม พ.ศ.2548 โดยนายทูลธรรม วรรณค�ำ ผูอ้ ำ� นวยการ ส�ำนักงานพระพุทธศาสนา จังหวัดฉะเชิงเทรา โดยมีอาณาเขตของวัด : ทิศเหนือ จดทีน่ ายบุญลือ - นางพะยอม พึง่ เกษม ทิศใต้ จดทีน่ างเกด บุญยะรักษ์ และ ร้อยตรีบุญโถม มั่นเจริญ ทิศตะวันออก จดที่นายประพันธ์ - นางภิรมย์ เจริญสุข ทิศตะวันตก จดที่นายปลื้ม - นางส�ำเนา ภูมินทร์

SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา

.indd 148

10/10/2561 8:52:11


ปฏิปทาหลวงพ่ออิด ผู้สร้างวัด สร้างพระ สร้างชุมชน

นายต่วน ทองขาว ลูกหลานหลวงพ่ออิด อยูท่ บี่ า้ นไม้สามเรือน อ�ำเภอ บ้านสร้าง จังหวัดปราจีนบุรี เล่าประวัติความเป็นมาของหลวงพ่ออิด ผู้ก่อตั้งวัดเกาะแก้วสุวรรณารามว่า หลวงพ่ออิด เกิดที่อ�ำเภอศรีมหาโพธิ์ จังหวัดปราจีนบุรี เมื่ออายุครบบวช ก็บวชตามประเพณี เพื่อทดแทน คุณบิดามารดา แต่แท้จริงเป้าหมายคือ เพื่อสืบต่ออายุพระพุทธศาสนา เมื่ออุปสมบทแล้ว หลังออกพรรษา ท่านได้ลาพระอาจารย์เพื่อออก ธุดงค์ และเรียนพระธรรมวินัยที่สำ� คัญคือ วิปัสสนากัมมัฏฐาน ที่จังหวัด พระนครศรีอยุธยา ซึง่ ในสมัยนัน้ มีพระอาจารย์ทมี่ ชี อื่ เสียงโด่งดังมากมาย ท่านใช้เวลาศึกษาหลายปี แล้วเดินทางกลับมาจ�ำพรรษาที่วัดบ้านซ่องนี้ หลวงพ่ออิดเป็นพระที่ใส่ใจในการนั่งสมาธิญาณ ไม่ปรารถนายศถา บรรดาศักดิ์ ท่านเห็นความส�ำคัญของพระพุทธศาสนา หลักธรรมค�ำสั่ง สอนของพระพุทธเจ้า จะต้องน�ำออกเผยแผ่ให้ประชาชนได้รบั รูแ้ ละน�ำไป ประพฤติปฏิบัติยึดมั่นในหลักไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ และปัญญา เพื่อ สังคมที่มีความสุข นอกจากเอาหลักธรรมมาสอนประชาชนแล้ว ท่านยัง เป็นก�ำลังส�ำคัญในการน�ำประชาชนมาร่วมสร้างวัดไว้รวมถึง 2 วัด คือ 1.วัดต้นโพธิ์ศรีมหาโพธิ์ 2371 และ 2.วัดเกาะแก้วสุวรรณาราม (หนอง คอกควาย) 2374 วัดเกาะแก้วสุวรรณาราม ชาวบ้านรูจ้ กั ในนามว่า “วัดหนองคอกควาย” เหตุที่ชื่อนี้ เนื่องจากเดิมเป็นที่เลี้ยงควายของชาวบ้าน พื้นที่โดยรอบมี ลักษณะเป็นเนินดิน เป็นเกาะป่าทึบมีต้นไม้ใบใหญ่ โดยเฉพาะป่าไผ่ไม้ ศรีสุข มีลักษณะเป็นเนินดิน จึงเหมาะที่ชาวบ้านเอาควายมาปล่อยเลี้ยง รอบๆ เกาะ ซึง่ เป็นทีท่ ำ� นาและมีนำ�้ มากในฤดูทำ� นา จนแอ่งน�ำ้ ขยายใหญ่ ขึ้นเป็นเกาะมีหนองน�้ำ และมีทางสาธารณะผ่าน

หลวงพ่ออิดท่านมาส�ำรวจพื้นที่โดยรอบ และบอกว่า เป็นเกาะที่ เหมาะมากในการสร้างวัด ท่านจึงเลือกที่จะสร้างโบสถ์บริเวณตรงที่เป็น แอ่งน�ำ้ ทีเ่ ป็นปลักควายนอน ท่านจึงได้ขอร้องชาวบ้านช่วยกันเอาดินมาถม พื้นที่ตรงที่เป็นปลักควายนอน เพื่อใช้ในการก่อสร้างวัด โดยการสร้างวัด สมัยก่อนนิยมสร้างโบสถ์ก่อนเป็นหลัก เสาที่ใช้ก็เป็นเสาไม้ ดังนั้น โบสถ์ จึงใช้ไม้เกือบทัง้ หลัง ทัง้ ประตูหน้าต่าง ยกเว้นหลังคาโบสถ์ทใี่ ช้กระเบือ้ ง ดิ น เผาแบบโบราณ เพราะไม้ ใ นสมั ย นั้ น หาได้ ง ่ า ย ภายในโบสถ์ มี พระประธานปูนปั้นอยู่ 1 องค์ คือ พระพุทธชินราช ขนาดหน้าตัก 69 นิ้ว ถ้ามองพระพักตร์ของพระองค์ด้วยการพิจารณาจะเห็นลักษณะสวยงาม อมยิ้มนิดๆ ในการสร้างโบสถ์ครัง้ นัน้ หลวงพ่ออิดท่านสร้างเอาไว้โดยไม่ได้บอกบุญ เรีย่ ไรเงินทองจากใครๆ เลย นอกจากขอความร่วมมือแรงงานจากชาวบ้าน ช่วยกันท�ำให้การสร้างโบสถ์ให้ส�ำเร็จลุล่วงไปด้วยดี ท่านเอาทรัพย์ในดิน สินในน�ำ้ มาเป็นทุนในการก่อสร้าง มีคนเล่ากันต่อๆ มาว่า วัดมีก้อนหินปาฏิหาริย์ลูกกลมสวยงามมาก เมื่อก่อนนั้นกล่าวกันว่า ก้อนหินนี้ วันดีคืนดีจะลอยขึ้นมา โดยสามารถ กลิ้งไปไหนมาไหนเองได้ มายุคหลังไม่ปรากฏให้เห็น ชาวบ้านจึงเข้าใจ ว่าอยู่ภายใต้โบสถ์หลังเก่า ซึ่งปัจจุบันได้ท�ำการสร้างวิหารหลวงพ่ออิด เป็นที่ประดิษฐานพระพุทธชินราชปูนปั้นไว้สักการบูชา นอกจากนี้ท่าน ยังได้สร้างรอยพระพุทธบาทจ�ำลองไว้ ซึ่งเก่าแก่มาก และได้น�ำมาไว้ใน พระอุโบสถ์หลังเก่าหรือวิหารหลวงพ่ออิด เพือ่ ให้ทางวัดได้จดั งานประจ�ำปี โดยก�ำหนดเอาวันขึ้น 15 ค�่ำ เดือน 3 ของทุกปี เป็นงานประจ�ำปีกลาง เดือน 3 ปิดทองหลวงพ่ออิด และรอยพระพุทธบาทจ�ำลอง เป็นเวลา 3 วัน 3 คืน จนถึงปัจจุบัน CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 149

149

10/10/2561 8:52:16


“ไหว้พระเพื่ อสิริมงคล S TO R Y O F อBใหญ่ U D DปHระทานพร IS M นมัHสIการหลวงพ่ บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต ขอพรหลวงพ่ อปลดหนี้ สัมฤทธิผ ์ ลทันทีปิดทองหลวงพ่ อทันใจ สักการะท่านพ่ อแสนค�ำฟ้า”

วัดห้วยน�ำ้ ทรัพย์ (พระธาตุวาโย) วัดห้วยน�้ำทรัพย์ หรือที่เรียกกันว่า “วัดพระธาตุวาโย” ตั้งอยู่หมู่ที่ 2 ต�ำบลลาดกระทิง อ�ำเภอสนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทรา เป็นวัดที่มีพื้นที่ กว้างไปจรดบริเวณอ่างเก็บน�้ำลาดกระทิง โดยรอบมีต้นไม้ร่มรื่น ภายในวัด มีสิ่งศักดิ์สิทธิ์มากมายหลายอย่างให้ชม ส่วนที่โดดเด่นที่สุดภายในวัด คือ พระมหาเจดีย์พระธาตุวาโย ซึ่งมีชื่อเสียงและศักดิ์สิทธิ์เป็นที่ศรัทธาของ ประชาชน เป็นพระมหาเจดีย์ 3 สีงดงามมีพลังแห่งพุทธานุภาพ ธรรมานุภาพ และสังฆานุภาพเต็มเปี่ยม ภายในมีลวดลายวิจิตรสวยงาม ขอเชิญสาธุชน กราบสักการะพระพุทธเจ้าห้าพระองค์ และขึ้นไปยังชั้นบนขององค์เจดีย์เพื่อ ชมวิวทิวทัศน์อ่างเก็บน�ำ้ ลาดกระทิง

150

2

พระมหาเจดีย์พระธาตุวาโย

พระมหาเจดีย์พระธาตุวาโย เป็นเจดีย์ทรงระฆังคว�ำ่ ขนาดใหญ่สูง 39 เมตร ฐานเจดีย์มีเส้นผ่าศูนย์กลางกว้าง 20 เมตร เนื้อที่ภายใน องค์เจดียม์ ปี ระมาณ 400 ตารางวา (1 ไร่) โดยได้รบั ความเมตตาอย่าง สูงจากหลวงปู่ครูบาชัยยะ วงศาพัฒนา(พระครูพัฒนากิจจานุรักษ์) วัดพระพุทธบาทห้วยต้ม ต�ำบลนาทราย อ�ำเภอลี้ จังหวัดล�ำพูน เป็น ประธานวางศิลาฤกษ์ก่อสร้างพระมหาเจดีย์พระธาตุวาโยเมื่อปี พ.ศ. 2532 ใช้งบประมาณทั้งสิ้นกว่า 40 ล้านบาทภายในประดิษฐาน พระพุทธเจ้า 5 พระองค์ (เปิดสักการะทุกวัน ตั้งแต่เวลา 8.00-17.00 น. สอบถามเพิม่ เติม โทร.089-999-7167 เจ้าอาวาสวัดห้วยน�ำ้ ทรัพย์)

SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา

.indd 150

9/10/2561 11:33:34


หลวงพ่อใหญ่ประทานพร

หลวงพ่ อ ใหญ่ ป ระทานพร เป็ น พระพุ ท ธรู ป ปางประทานพร ขนาดใหญ่ สร้างในปี พ.ศ.2535 - 2537 องค์พระหน้าตักกว้าง 20 เมตร มีความสูง 29 เมตร ใช้งบประมาณในการสร้าง 15 ล้านบาท โดยการน�ำของคุณแม่สุจิตรา พานทอง พร้อมด้วยศิษยานุศิษย์และ พุทธศาสนิกชนทั้งหลาย หลวงพ่อใหญ่ประทานพร ประดิษฐานอยูก่ ลางแจ้ง พุทธศาสนิกชน สามารถขึ้นไปกราบสักการะได้ตลอด สาธุ

พระพุทธไสยาสน์ (พระนอน)

พระพุทธไสยาสน์ (พระนอน) สร้างในช่วงปี พ.ศ.2539 – พ.ศ. 2541 มีความยาว 20 เมตร ประดิษฐานอยู่ภายในวิหารพระพุทธ ไสยาสน์ (พระนอน) ใต้ฐานองค์พระนอนบรรจุสรีระสังขารคุณแม่ สุจติ รา พานทอง ผูร้ เิ ริม่ ในการก่อสร้างวัดห้วยน�ำ้ ทรัพย์ (พระธาตุวาโย) พร้อมด้วยถาวรวัตถุภายในอารามอย่างงดงาม สงบเงียบสัปปายะ เหมาะแก่การเจริญวิปัสสนากรรมฐาน เพื่อให้ศิษยานุศิษย์ได้เจริญ มรณานุสติ และพิจารณากฎไตรลักษณ์ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ตาม สัจธรรมค�ำสอนพุทธองค์

หลวงพ่อปลดหนี้

หลวงพ่อปลดหนี้ เป็นพระพุทธรูปศักดิส์ ทิ ธิค์ กู่ บั วัดห้วยน�ำ้ ทรัพย์ (พระธาตุวาโย) ตัง้ แต่เริม่ สร้างวัดประมาณปี พ.ศ.2528 หลวงพ่อปลด หนี้เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย(ชนะมาร) ประดิษฐานอยู่ในวิหาร มีพทุ ธศาสนิกชน ผูค้ นให้ความศรัทธามากราบสักการะมากมาย ขอพร เพื่อความสิริมงคลแก่ชีวิตและครอบครัว การเดินทางไปวัดห้วยน�้ำทรัพย์ ตั้งอยู่ริมอ่างเก็บน�้ำลาดกระทิง ในอ�ำเภอสนามชัยเขต หากเดินทางจากตัวเมืองฉะเชิงเทรา ใช้เส้นทาง เข้าสูอ่ ำ� เภอท่าตะเกียบ (ทางทีจ่ ะเข้าสูเ่ ขตรักษาพันธุส์ ตั ว์ปา่ เขาอ่างฤาไน) วัดห้วยน�้ำทรัพย์ หรือวัดพระธาตุวาโย จะถึงก่อน

อนุสาวรีย์ท่านพ่อแสนค�ำฟ้า

อนุสาวรีย์ท่านพ่อแสนค�ำฟ้า ตั้งอยู่ด้านหน้าของหลวงพ่อใหญ่ ประทานพร เชือ่ กันว่าท่านพ่อแสนค�ำฟ้าเป็นผูส้ ร้างเมืองวาโยนาคราช ในอดีต ดูแลไพร่ฟา้ ประชาชนให้มคี วามสุขสมบูรณ์กนั ถ้วนหน้า ต่อมา เมืองวาโยนาคราชได้ถงึ กาลสลายลงด้วยภัยธรรมชาติ ท่านพ่อแสนค�ำฟ้า ได้ให้ลกู หลานสร้างเมืองขึน้ มาใหม่อกี ครัง้ โดยเริม่ สร้างพระมหาเจดีย์ พระธาตุวาโย และพัฒนาถาวรวัตถุ พร้อมด้วยลูกหลานวาโยร่วมใจกัน สร้างอนุสาวรีย์นี้ไว้เพื่อเป็นอนุสรณ์สถาน เพื่อกราบระลึกถึงพระคุณ ของท่าน

CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 151

151

9/10/2561 11:33:39


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดวังเย็น

ส�ำนักปฏิบัติธรรมประจ�ำจังหวัดฉะเชิงเทรา แห่งที่ 10

กราบสักการะ “หลวงพ่ อโสธรประจ�ำวันเกิด” ที่นี่ที่เดียว

พระครูวีรปัญโญภาส

เจ้าอาวาสวัดวังเย็นและเจ้าคณะต�ำบลวังเย็น

วัดวังเย็น ตั้งอยู่เลขที่ 1 หมู่ 3 ต�ำบลวังเย็น อ�ำเภอแปลงยาว จังหวัด ฉะเชิ ง เทรา สั ง กัด คณะสงฆ์มหานิกาย ได้รับอนุญาตให้ตั้งวัดเมื่อวัน ที่ 20 มี น าคม พ.ศ.2420 ก่ อ นที่ จ ะมาตั้ ง อยู ่ ณ สถานที่ ป ั จ จุ บั น อดี ต เคยตั้ ง อยู ่ ค นละฝั ่ ง คลองห่ า งไปประมาณ 500 เมตร สมั ย นั้ น ได้ เ กิ ด โรคระบาด “โรคฝีด าษ” คนตายเป็นจ� ำนวนมาก จนบรรยากาศในวัด วั ง เวง ผู ้ ค นหวาดกลั ว อดี ต ก� ำ นั น ลี้ เมรสนั ด ซึ่ ง ขณะนั้ น ได้ บ วชเป็ น พระ จึ ง ได้ พ าญาติโ ยมย้า ยวัด จากที่เ ดิมมาสร้า งวัด ณ ที่แ ห่งใหม่ ซึ่ง ก็ คือ วั ด วั ง เย็ น ณ ที่ป ัจ จุบันนั่นเอง

เทรา รากฏ กั น มา ลที่ 1 สร้ า ง

152

2

ความเป็นมาของบ้านวังเย็น มีค�ำเล่าขานว่าสมัยก่อนเป็นจุดพักทัพ ของพระเจ้าตากสิน เมื่อครั้งยกทัพไปตีเมืองจันทบุรี และบ้านวังเย็น เป็นที่ทิ้งศพเชลยที่ถูกฆ่า และด้วยความที่วังเย็นเป็นป่าดงดิบมีล�ำคลอง ธรรมชาติผา่ น และน�ำ้ ในคลองไม่เคยโดนแดดเลยจึงมีความเย็นมาก หาก ใครลงไปในคลองอาจหนาวเย็นถึงตายได้ นีเ้ ป็นค�ำบอกเล่าของคนเฒ่าคน แก่ของหมู่บ้าน “วังเย็น” ในส่วนของวัดวังเย็นได้มีการพัฒนามาต่อเนื่อง จนถึงปัจจุบัน โดยเฉพาะยุคของหลวงพ่อจามหรือ พระครูสันติธรรมาทร ได้มกี ารซือ้ ทีด่ นิ ขยายบริเวณวัด และสร้างโรงเรียน ก่อสร้างเสนาสนะแทน ของเก่าที่ชำ� รุดทรุดโทรม อาทิ อุโบสถ ศาลา กุฏิ ห้องน�้ำ เมรุ ที่ส�ำคัญคือ ท่านได้ขายที่อันเป็นมรดกของท่านเพื่อมาซื้อที่ขยายบริเวณวัด และสร้าง โรงเรียน จากการมุง่ มัน่ ในการพัฒนาวัดและชุมชนของท่านให้มคี วามเจริญ ก้าวหน้านีเ้ อง ท�ำให้ได้รบั พระราชทานสมณศักดิ์ เป็นพระครูสญ ั ญาบัตรที่ “พระครูสันติธรรมาทร” ในปี พ.ศ.2522 และได้รับต�ำแหน่งในทาง ปกครองของคณะสงฆ์ เป็นเจ้าคณะต�ำบลวังเย็น ในปี พ.ศ.2529 เป็น เจ้าคณะอ�ำเภอแปลงยาว ในปี พ.ศ. 2532 พระครูสนั ติธรรมาทร (หลวงพ่อจาม )อดีตเจ้าอาวาส ถึงแก่มรณภาพ ในปี พ.ศ.2540

SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา

.indd 152

5/10/2561 14:47:00


ล�ำดับเจ้าอาวาส

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. บันทึก

พระอาจารย์ลี้ หลวงปู่มาก หลวงปู่ไพ่ หลวงปู่อ่อง อาจารย์ฉุย อาจารย์เกตุ อาจารย์จ้อย พระครูสันติธรรมาทร (หลวงพ่อจาม) พ.ศ.2509 – พ.ศ.2540 พระครูวีรปัญโญภาส (ธีระ วีรธมฺโม) พ.ศ. 2540-ปัจจุบัน จาริกธรรมในวัดวังเย็น

เมือ่ ก้าวเข้ามาในบริเวณวัด สิ่งแรกทีส่ มั ผัสได้คอื บรรยากาศ ภายในวัดร่มรืน่ ด้วยต้นไม้นานาพันธุ์ อุโบสถหลังเก่า-อุโบสถหลัง ใหม่ ประดิษฐาน พระประธาน “หลวงพ่อชนะมาร” เมือ่ เดินเข้าไป ยังวิหารหลวงพ่อโสธร ซึ่งประดิษฐาน “หลวงพ่อโสธรประจ�ำวัน เกิด” นัง่ พักสักครู่ แล้วกราบสักการะหลวงพ่อโสธรประจ�ำวันเกิด ซึ่งมีที่นี่ที่เดียว และหากพอมีเวลา กิจกรรมภายในวัด มีการสวด มนต์ทำ� วัตรทุกเย็นวันเสาร์ สวดธัมมจักกัปปวัตตนสูตรทุกวันพระ และจัดปริวาสกรรมหลังออกพรรษา (แรม 4 ค�่ำ ถึง แรม 13 ค�่ำ เดือน 11 ของทุกปี) วัตถุมงคล จากพลังจิต สู่พลังธรรม

เหรียญหลวงพ่อพระครูสันติธรรมาทร หลวงพ่อจาม ท่านสร้างเอง เมื่อครั้งได้รับสัญญาบัตรพัดยศและเหรียญรุ่นอื่น เช่น รุ่นฝังนิมิต เสือ, ท้าวเวสสุวรรณ,ขุนแผน จัดสร้างโดย พระครูวีรปัญโญภาส

CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 153

153

5/10/2561 14:47:07


แปดริ้ว 4.0

เชื่อมโลกอย่างมีพลัง ดิจิทัลอัจฉริยะ สร้างชุมชนอัจฉริยะ ยุทธศาสตร์ Thailand 4.0 และการพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor Development หรือ EEC) เชื่อมโยมกับการก้าวไปกับ AEC ในทุกภาคส่วนของประเทศไทย เป็นสิ่งที่ รัฐบาลชุดปัจจุบนั บอกคนไทยและชาวโลกว่า ประเทศไทยก�ำลังเปลีย่ นแปลงไปสูต่ ำ� แหน่งทางยุทธศาสตร์การค้าและ การลงทุนที่โดดเด่นใน AEC และไทยจะอยู่ในสถานะที่ดีกว่าเดิมในอนาคตอันใกล้ เพื่อมุ่งไปสู่ประเทศที่พัฒนาแล้ว ภายใน 20 ปีข้างหน้า แปดริ้ว 4.0 ได้พัฒนาและสนับสนุนการน�ำเทคโนโลยีดิจิทัลที่เหมาะสมมาใช้งานกับหน่วยงานทั้งจากภาครัฐและ เอกชน ในจังหวัดฉะเชิงเทรา เพื่อส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัลอัจฉริยะ (Smart Economy) และสร้างชุมชน อัจฉริยะ (Smart Living Community) ด้วยระบบเมืองอัจฉริยะ (Smart City) โดยการลงนามความร่วมมือกับ ระหว่าง จังหวัดฉะเชิงเทรา กับ บริษัท กสท โทรคมนาคม จ�ำกัด (มหาชน ) หรือ CAT ในครั้งนี้ ถือเป็นจังหวัดแรก ในประเทศไทย เพื่อแสดงเจตจ�ำนงในการร่วมกันวางแผนพัฒนาและสนับสนุนการใช้งานนวัตกรรมดิจิทัล และอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาจังหวัดฉะเชิงเทรา ให้เป็นเมืองอัจฉริยะ (Smart City ) ซึ่งเป็นหนึ่งในกลไกขับเคลื่อน เศรษฐกิจของประเทศ ตามนโยบาย “ไทยแลนด์ 4.0” เพือ่ ส่งเสริมให้เกิดการใช้งานเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั ในพืน้ ทีร่ ะเบียง เศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) ของจังหวัดฉะเชิงเทราอย่างเป็นรูปธรรม เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพการให้บริการ และการบริหารจัดการให้น่าอยู่อย่างยั่งยืนด้วยเทคโนโลยี และนวัตกรรม โดยเป้าหมายหลักในการขับเคลื่อน โครงการนี้ เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ให้กับประชาชนในจังหวัดฉะเชิงเทรา พัฒนาเศรษฐกิจท้องถิ่น โดยจะ ส่งเสริมการเกษตร การแปรรูป สินค้า การบริการ และการท่องเที่ยวผ่านระบบดิจิตัล ซึ่งการด�ำเนินการจะรักษา ระดับความมั่นคงในปีพ.ศ.2561- พ.ศ.2562 และจะยกระดับไปสู่ความยั่งยืนในปีพ.ศ.2563 ต่อไป

โรงเรือนอัจฉริยะ ท่องเที่ยวเชิงเกษตร “ฟาร์มล้านนา เจ้านาย” พบเกษตรยุค 4.0 ตัวจริง สร้าง Smart Farm ด้วยเทคโนโลยี ลดการใช้แรงงานเพิ่มรายได้ ในครัวเรือน ต่อยอดในเชิงธุรกิจได้อย่างหลากหลายทั้งจ�ำหน่ายสินค้าเกษตร จากโรงเรือนอัจฉริยะ และบริการท่องเที่ยวเชิงเกษตร

4

SBL บันทึกประเทศไทย I LOP BURI

.indd 4

9/10/2561 11:46:25


ตลาดประชารัฐ อัจฉริยะ จุดส�ำคัญทีจ่ ะขับเคลือ่ นแปดริว้ 4.0 ไปได้อย่างยัง่ ยืนและมัน่ คง ก็คอื ฐานการเกษตรทีม่ โี รงเรือนอัจฉริยะแล้ว ตลาด ระบายสินค้า ซึ่งเป็นจุดเชื่อมให้เกิดการขับเคลื่อนเศรษฐกิจก็เป็นสิ่งส�ำคัญมาก อีกทั้งอาศัยปัญญาประดิษฐ์ใน ระบบดิจทิ ลั ทุกโครงข่ายก็จะท�ำผลผลิตเกษตรแปรรูปเป็นอาหารไปบริการชาวโลกได้อย่างครอบคลุมมากขึน้ โดย เมื่อปลายปีที่แล้วนี้ ณ ที่ว่าการอ�ำเภอบ้านโพธิ์ นายสุวิทย์ ค�ำดี ผู้ว่าราชการจังหวัดฉะเชิงเทรา เป็นประธานเปิด ตลาดประชารัฐ คนไทยยิ้มได้ ของดีอ�ำเภอบ้านโพธิ์ โดยมีนายอ�ำเภอบ้านโพธิ์ พร้อมด้วยหัวหน้าส่วนราชการ อ�ำเภอ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ก�ำนัน ผู้ใหญ่บ้าน กลุ่มสตรีกลุ่มองค์กรเครือข่ายภาคี รวมถึงพ่อค้า แม่ค้าผู้ มาจ�ำหน่ายสินค้ากว่า 300 คน เข้าร่วมกิจกรรมและน�ำสินค้ามาจ�ำหน่าย ทั้งนี้ จากการที่คณะรัฐมนตรีให้ด�ำเนิน โครงการตลาดประชารัฐ โดยมีวัตถุประสงค์ส่งเสริมตลาดชุมชนที่มีอยู่เดิมและให้ขยายพื้นที่จ�ำหน่าย เพื่อให้ เกษตรกร พ่อค้าแม่คา้ ได้มพ ี น้ื ทีข่ ายมากขึน้ เกิดการพัฒนาให้เศรษฐกิจฐานรากมีความเข้มแข็ง สร้างโอกาสสร้าง อาชีพ สร้างรายได้ให้กับประชาชนทุกคน โดยไม่ผ่านพ่อค้าคนกลาง ซึ่งท�ำให้ผู้บริโภคได้รับสินค้าที่มีคุณภาพและ ราคาไม่แพง อีกทั้งเป็นจุดเชื่อมต่อในการที่จะเปิดตลาดให้กับคนรุ่นใหม่ที่ขายสินค้าออนไลน์ด้วยเพื่อเชื่อมโลกให้ เป็นหนึ่งเดียวอย่างมีพลัง ในยุค แปดริ้ว 4.0

ขอขอบคุณข้อมูล : ส�ำนักงานประชาสัมพันธ์จังหวัดฉะเชิงเทรา www.aeconlinenews.com www.ryt9.com LOP BURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 5

5

9/10/2561 11:46:27


[ ๑๐ ดอกไม้มงคล ความหมายดี ] นอกจากความสวยงามของดอกไม้แล้ว ดอกไม้นั้น ยังมีความหมายดีๆที่เป็นสิริมงคล เหมาะแก่การปลูกประดับบ้าน และน�ำมาบูชาสิ่งศักดิ์สิทธิ์

2

.indd 8

10/10/2561 10:39:53


[ ๑๐ ดอกไม้มงคล ความหมายดี ]

2

.indd 9

10/10/2561 10:39:54


Chachoengsao

THE IMPORTANT TEMPLES CHACHOENGSAO

ท่ อ งเที่ ย วทางใจ

365 วัด ลุ่มแม่น�้ำบางปะกง

Chachoengsao จั ง หวั ด ฉะเชิ ง เทรา

อ�ำเภอเมืองฉะเชิงเทรา วัดขวัญสะอาด บาน ้ ปลายประเวศ ม.8 ต�ำบลคลองอุดมชลจร อ�ำเภอเมืองฉะเชิงเทรา วัดจุกเฌอ ม.4 ต�ำบลคลองจุกกระเฌอ อ�ำเภอเมืองฉะเชิงเทรา วัดไชยธาราประชาบ�ำรุง ม.6 ต�ำบลคลองอุดมชลจร อ�ำเภอเมืองฉะเชิงเทรา วัดไชยภูมิธาราม ม.2 ต�ำบลบางพระ อ�ำเภอเมืองฉะเชิงเทรา วัดเทีย่ งพิมลมุข ม.4 ต�ำบลบางขวัญ อ�ำเภอเมืองฉะเชิงเทรา วัดนาคูโมทนามัยปุญญาราม ม.2 ต�ำบลบางกะไห อ�ำเภอเมืองฉะเชิงเทรา วัดนิโครธาราม ม.15 ต�ำบลทา่ ไข่ อ�ำเภอเมืองฉะเชิงเทรา วัดบางแกว้ ม.8 ต�ำบลบางแกว้ อ�ำเภอเมืองฉะเชิงเทรา วัดบางปลานัก ม.10 ต�ำบลบางเตย อ�ำเภอเมืองฉะเชิงเทรา วัดบานนา เทพธาราม ้ ม.5 ต�ำบลบางกะไห อ�ำเภอเมืองฉะเชิงเทรา วัดประตูน้�ำทา่ ไข่ ม.1 ต�ำบลทา่ ไข่ อ�ำเภอเมืองฉะเชิงเทรา วัดเปร็งไพบูลยธ์ ัญญาหาร บาน ้ ตาหลิม่ ม.7 ต�ำบลคลองเปรง อ�ำเภอเมืองฉะเชิงเทรา

158

วัดพยัคฆอินทาราม ม.2 ต�ำบลบาน ้ ใหม่ อ�ำเภอเมืองฉะเชิงเทรา วัดพรหมสุวรรณ บาน ้ คลองนา ม.2 ต�ำบลคลองนา อ�ำเภอเมืองฉะเชิงเทรา วัดแพรกนกเอีย้ ง ม.5 ต�ำบลบางเตย อ�ำเภอเมืองฉะเชิงเทรา วัดแพรกวังตะเคียน ม.5 ต�ำบลวังตะเคียน อ�ำเภอเมืองฉะเชิงเทรา วัดราษฏร์บ�ำรุงวนาราม ม.4 ต�ำบลบางเตย อ�ำเภอเมืองฉะเชิงเทรา วัดราษฏร์ศรัทธาท�ำ ม.2 ต�ำบลบางขวัญ อ�ำเภอเมืองฉะเชิงเทรา วัดวีระโชติธรรมาราม บาน ้ บึงบางคา ม.4 ต�ำบลคลองหลวงแพง่ อ�ำเภอเมืองฉะเชิงเทรา วัดสัมปทวน ม.2 ต�ำบลบางแกว้ อ�ำเภอเมืองฉะเชิงเทรา วัดสุทธาวาส ม.13 ต�ำบลคลองหลวงแพง่ อ�ำเภอเมืองฉะเชิงเทรา วัดสุวรรณมาตร ม.3 ต�ำบลคลองอุดมชลจร อ�ำเภอเมืองฉะเชิงเทรา วัดสุวรรณาราม ม.12 ต�ำบลบางตีนเป็ ด อ�ำเภอเมืองฉะเชิงเทรา วัดหนามแดง ม.2 ต�ำบลหนามแดง อ�ำเภอเมืองฉะเชิงเทรา วัดอุดมมงคล บาน ้ ทา่ ไข่ ม.4 ต�ำบลทา่ ไข่ อ�ำเภอเมืองฉะเชิงเทรา

วัดคลองนา ม.2 ต�ำบลคลองนา อ�ำเภอเมืองฉะเชิงเทรา วัดเกาะจันทาราม ม.5 ต�ำบลบางแกว้ อ�ำเภอเมืองฉะเชิงเทรา วัดคลองวังอ้ายเนื้อ ม.6 ต�ำบลบางแกว้ อ�ำเภอเมืองฉะเชิงเทรา วัดจรเขน้ อ้ ย ม.4 ต�ำบลคลองเปรง อ�ำเภอเมืองฉะเชิงเทรา วัดชมโพธยาราม บาน ้ คลองโสธร ม.1 ต�ำบลโสธร อ�ำเภอเมืองฉะเชิงเทรา วัดถวิลศิลามงคล ม.8 ต�ำบลทา่ ไข่ อ�ำเภอเมืองฉะเชิงเทรา วัดนครเนื่องเขต ม.8 ต�ำบลวังตะเคียน อ�ำเภอเมืองฉะเชิงเทรา วัดบางปรงธรรมโชติการาม ม.9 ต�ำบลบางพระ อ�ำเภอเมืองฉะเชิงเทรา วัดบางพระ ม.5 ต�ำบลบางพระ อ�ำเภอเมืองฉะเชิงเทรา วัดโพธาราม ม.7 ต�ำบลบางพระ อ�ำเภอเมืองฉะเชิงเทรา วัดแหลมบน ม.2 ต�ำบลบาน ้ ใหม่ อ�ำเภอเมืองฉะเชิงเทรา วัดจีนประชาสโมสร (เลง่ ฮกยี)่ ต�ำบลหนา้ เมือง อ�ำเภอเมืองฉะเชิงเทรา วัดชนะสงสารพิทยาธร ม.7 ต�ำบลคลองนครเนื่องเขต อ�ำเภอเมืองฉะเชิงเทรา

วัดไชยพฤฒาราม ม.2 ต�ำบลบาน ้ ใหม่ อ�ำเภอเมืองฉะเชิงเทรา วัดทดราษฏร์เจริญมณีฤทธิ์ ม.7 ต�ำบลบางไผ่ อ�ำเภอเมืองฉะเชิงเทรา วัดเทพนิมิตร ต�ำบลหนา้ เมือง อ�ำเภอเมืองฉะเชิงเทรา วัดปิ ตุลาธิราชรังสฤษฏิ์ ต�ำบลหนา้ เมือง อ�ำเภอเมืองฉะเชิงเทรา วัดวิเวกอาคม บาน ้ คลองกลาง ม.3 ต�ำบลบางขวัญ อ�ำเภอเมืองฉะเชิงเทรา วัดสมานรัตนาราม ม.11 ต�ำบลบางแกว้ อ�ำเภอเมืองฉะเชิงเทรา วัดโสธรวรารามวรวิหาร ต�ำบลหนา้ เมือง อ�ำเภอเมืองฉะเชิงเทรา วัดแหลมใต้ ต�ำบลหนา้ เมือง อ�ำเภอเมืองฉะเชิงเทรา วัดอุภัยภาติการาม ต�ำบลหนา้ เมือง อ�ำเภอเมืองฉะเชิงเทรา

อ�ำเภอบางคล้า วัดกกสับ ม.4 ต�ำบลปากน้�ำ อ�ำเภอบางคลา้ วัดบางกระเจ็ด ม.4 ต�ำบลบางกระเจ็ด อ�ำเภอบางคลา้ วัดบางกระดาน ม.6 ต�ำบลบางกระเจ็ด อ�ำเภอบางคลา้ วัดบางกระพอ้ ม.6 ต�ำบลเสม็ดเหนือ อ�ำเภอบางคลา้

วัดปากน้�ำ ม.7 ต�ำบลปากน้�ำ อ�ำเภอบางคลา้ วัดโพธิ์ ต�ำบลบางคลา้ อ�ำเภอบางคลา้ วัดมงคลเทพ บาน ้ หนองชุมพร ม.2 ต�ำบลปากน้�ำ อ�ำเภอบางคลา้ วัดราษฎร์ศรัทธาธรรม บาน ้ สามแยก ม.2 ต�ำบล บางกระเจ็ด อ�ำเภอบางคลา้ วัดลาดบัวขาว ม.5 ต�ำบลหัวไทร อ�ำเภอบางคลา้ วัดหนองปลาตะเพียน ม.5 ต�ำบลทา่ ทองหลวง อ�ำเภอบางคลา้ วัดหัวไทร ม.1 ต�ำบลหัวไทร อ�ำเภอบางคลา้ วัดแจ้ง ต�ำบลบางคลา้ อ�ำเภอบางคลา้ วัดสาวชะโงก ม.1 ต�ำบลสาวชะโงก อ�ำเภอบางคลา้ วัดเสม็ดใต้ ม.1 ต�ำบลเสม็ดใต้ อ�ำเภอบางคลา้ วัดเสม็ดเหนือ (ราษฏร์ยินดี) ม.1 ต�ำบลเสม็ดเหนือ อ�ำเภอบางคลา้ วัดใหมค่ ูมอญ บาน ้ คูมอญ ม.3 ต�ำบลหัวไทร อ�ำเภอบางคลา้ วัดใหมบ่ างคลา้ ม.1 ต�ำบลบางสวน อ�ำเภอบางคลา้ วัดทางขา้ มนอ้ ย ม.4 ต�ำบลหัวไทร อ�ำเภอบางคลา้ วัดศรีสุตาราม ม.3 ต�ำบลเสม็ดเหนือ อ�ำเภอบางคลา้ วัดสนามช้าง ม.4 ต�ำบลเสม็ดใต้ อ�ำเภอบางคลา้ วัดหัวสวน ม.4 ต�ำบลเสม็ดใต้ อ�ำเภอบางคลา้

SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา

.indd 158

09/10/61 18:15:22


THE IMPORTANT TEMPLES CHACHOENGSAO

อ�ำเภอบางน�้ำเปรี้ยว วัดคลองสิบแปด ม.3 ต�ำบลหมอนทอง อ�ำเภอบางน้�ำเปรีย้ ว วัดคลองหกวา ม.12 ต�ำบลโยธะกา อ�ำเภอบางน้�ำเปรีย้ ว วัดญาณรังษาราม ม.13 ต�ำบลโพรงอากาศ อ�ำเภอบางน้�ำเปรีย้ ว วัดนีลราษฎร์ศรัทธาบ�ำรุง ม.1 ต�ำบลโพรงอากาศ อ�ำเภอบางน้�ำเปรีย้ ว วัดบางไทร ม.9 ต�ำบลโยธะกา อ�ำเภอบางน้�ำเปรีย้ ว วัดบางน้�ำเปรีย้ ว บาน ้ บางน้�ำเปรีย้ ว ม.1 ต�ำบลบางน้�ำเปรีย้ ว อ�ำเภอบางน้�ำเปรีย้ ว วัดบางสาย ม.3 ต�ำบลโพรงอากาศ อ�ำเภอบางน้�ำเปรีย้ ว วัดบางอ้อราษฎร์บ�ำรุง บาน ้ บางอ้อ ม.5 ต�ำบลบางขนาก อ�ำเภอบางน้�ำเปรีย้ ว วัดบึงตาหอม บาน ้ บึงตาหอม ม.7 ต�ำบลโยธะกา อ�ำเภอบางน้�ำเปรีย้ ว วัดบึงทองหลาง บาน ้ บึงทองหลาง ม.10 ต�ำบลศาลาแดง อ�ำเภอบางน้�ำเปรีย้ ว วัดบึงน้�ำรักษ์ ม.8 ต�ำบลบึงน้�ำรักษ์ อ�ำเภอบางน้�ำเปรีย้ ว วัดประจ�ำรัง ม.10 ต�ำบลบางขนาก อ�ำเภอบางน้�ำเปรีย้ ว วัดประชาบ�ำรุง ม.3 ต�ำบลบางขนาก อ�ำเภอบางน้�ำเปรีย้ ว วัดปากคลองบางขนาก ม.1 ต�ำบลบางขนาก อ�ำเภอบางน้�ำเปรีย้ ว วัดปากคลองหลวงแพง่ ม.13 ต�ำบลศาลาแดง อ�ำเภอบางน้�ำเปรีย้ ว วัดไผด่ �ำเจริญศุข ม.4 ต�ำบลศาลาแดง อ�ำเภอบางน้�ำเปรีย้ ว วัดพุทธอุดมวิหาร ม.2 ต�ำบลสิงโตทอง อ�ำเภอบางน้�ำเปรีย้ ว วัดโพธิเ์ ฉลิมรักษ์ ม.2 ต�ำบลดอนเกาะกา อ�ำเภอบางน้�ำเปรีย้ ว

วัดโพธิเ์ ย็น ม.6 ต�ำบลบางน้�ำเปรีย้ ว อ�ำเภอบางน้�ำเปรีย้ ว วัดโพธิแ์ สงกาญจนราษฏร์ ม.3 ต�ำบลสิงโตทอง อ�ำเภอบางน้�ำเปรีย้ ว วัดราษฎร์บ�ำรุงศักดิ์ ม.8 ต�ำบลดอนเกาะกา อ�ำเภอบางน้�ำเปรีย้ ว วัดลาดบางกระเบน (เกาะมะขาม) ม.14 ต�ำบลโพรงอากาศ อ�ำเภอบางน้�ำเปรีย้ ว วัดวิเวกวนาราม ม.14 ต�ำบลบึงน้�ำรักษ์ อ�ำเภอบางน้�ำเปรีย้ ว วัดสุวรรณเตมีย์ ม.11 ต�ำบลดอนฉิมพลี อ�ำเภอบางน้�ำเปรีย้ ว วัดหอคอย บาน ้ หอคอย ม.4 ต�ำบลบางน้�ำเปรีย้ ว อ�ำเภอบางน้�ำเปรีย้ ว วัดอาคมสิทธาภรณ์ บาน ้ บางเชือก ม.1 ต�ำบลโยธะกา อ�ำเภอบางน้�ำเปรีย้ ว วัดคลองเจ้า ม.16 ต�ำบลศาลาแดง อ�ำเภอบางน้�ำเปรีย้ ว วัดแครายวงศม์ ณี ม.2 ต�ำบลศาลาแดง อ�ำเภอบางน้�ำเปรีย้ ว วัดตีตะเรด บาน ้ ปากคลอง ม.2 ต�ำบลดอนฉิมพลี อ�ำเภอบางน้�ำเปรีย้ ว วัดบัวลิม้ ราษฎร์บ�ำรุง บานนา คา ม.2 ้ ต�ำบลโยธะกา อ�ำเภอบางน้�ำเปรีย้ ว วัดโพรงอากาศ ม.9 ต�ำบลโพรงอากาศ อ�ำเภอบางน้�ำเปรีย้ ว วัดรามัญคลองสิบเจ็ด ม.10 ต�ำบลดอนฉิมพลี อ�ำเภอบางน้�ำเปรีย้ ว วัดเกตุสโมสร ม.8 ต�ำบลบางขนาก อ�ำเภอบางน้�ำเปรีย้ ว วัดตะพังคี ม.17 ต�ำบลโพรงอากาศ อ�ำเภอบางน้�ำเปรีย้ ว วัดสวา่ งอารมณ์ ม.19 ต�ำบลศาลาแดง อ�ำเภอบางน้�ำเปรีย้ ว

อ�ำเภอบางปะกง วัดกลางบางปะกง (กลาง) ม.8 ต�ำบลบางปะกง อ�ำเภอบางปะกง วัดเขาดิน บาน ้ คลองอ้อม ม.7 ต�ำบลเขาดิน อ�ำเภอบางปะกง วัดคงคาราม ม.2 ต�ำบลบางปะกง อ�ำเภอบางปะกง วัดทา่ ขา้ มเจริญศรัทธา ม.3 ต�ำบลทา่ ขา้ ม อ�ำเภอบางปะกง วัดนฤภัยประชาบ�ำรุง บาน ้ คลองตาเอีย่ ม ม.5 ต�ำบลหอมศิล อ�ำเภอบางปะกง วัดบางเกลือ ม.2 ต�ำบลบางเกลือ อ�ำเภอบางปะกง วัดบางผึ้ง บาน ้ แมน้่ �ำ ม.1 ต�ำบลบางผึ้ง อ�ำเภอบางปะกง วัดบางสมัคร ม.6 ต�ำบลบางสมัคร อ�ำเภอบางปะกง วัดบ�ำรุงธรรมราษฏร์ศรัทธาราม ม.9 ต�ำบลบางปะกง อ�ำเภอบางปะกง วัดพิมพาวาส (ใต)้ ม.2 ต�ำบลพิมพา อ�ำเภอบางปะกง วัดพิมพาวาส (เหนือ) ม.2 ต�ำบลพิมพา อ�ำเภอบางปะกง วัดลาดยาว บาน ้ ลาดยาว ม.5 ต�ำบลบางเกลือ อ�ำเภอบางปะกง วัดสุคันธศิลาราม(หอมสิน) ม.3 ต�ำบลหอมศิล อ�ำเภอบางปะกง วัดอุสภาราม ม.6 ต�ำบลบางวัว อ�ำเภอบางปะกง วัดทองนพคุณ ม.6 ต�ำบลทา่ ขา้ ม อ�ำเภอบางปะกง วัดทา่ สะอ้าน ม.5 ต�ำบลทา่ สะอ้าน อ�ำเภอบางปะกง วัดแสมขาวเจริญราษฏร์ศรัทธาราม ม.2 ต�ำบลสองคลอง อ�ำเภอบางปะกง วัดหลอ่ เจริญราษฏร์วราราม ม.5 ต�ำบลหอมศิล อ�ำเภอบางปะกง วัดไตรสรณาคม ม.8 ต�ำบลสองคลอง อ�ำเภอบางปะกง วัดสุขาราม (สามแยก) ม.6 ต�ำบลหนองจอก อ�ำเภอบางปะกง วัดสุนียศ์ รัทธาธรรม ม.1 ต�ำบลพิมพา อ�ำเภอบางปะกง วัดหงษท์ อง ม.9 ต�ำบลสองคลอง อ�ำเภอบางปะกง วัดใหมส่ งเคราะห์ราษฏร์ ม.15 ต�ำบลบางปะกง อ�ำเภอบางปะกง

อ�ำเภอบ้านโพธิ์ วัดบาน ้ โพธิ์ ม.1 ต�ำบลคลองบาน ้ โพธิ์ อ�ำเภอบาน ้ โพธิ์ วัดประชาบ�ำรุงกิจ ม.5 ต�ำบลสิบเอ็ดศอก อ�ำเภอบาน ้ โพธิ์ วัดประเวศวัฒนาราม ม.4 ต�ำบลคลองประเวศ อ�ำเภอบาน ้ โพธิ์ วัดพนมพนาวาส ม.3 ต�ำบลคลองขุด อ�ำเภอบาน ้ โพธิ์ วัดพิพิธประสาทสุนทร ม.2 ต�ำบลลาดขวาง อ�ำเภอบาน ้ โพธิ์ วัดมงคลโสภิต ม.3 ต�ำบลบางกรูด อ�ำเภอบาน ้ โพธิ์ วัดราษฎร์ศรัทธาธรรม ม.3 ต�ำบลคลองขุด อ�ำเภอบาน ้ โพธิ์ วัดลาดน้�ำเค็ม ม.3 ต�ำบลคลองบาน ้ โพธิ์ อ�ำเภอบาน ้ โพธิ์ วัดลาดบัว ม.4 ต�ำบลคลองขุด อ�ำเภอบาน ้ โพธิ์ วัดสามกอ บาน ้ สามกอ ม.2 ต�ำบลสิบเอ็ดศอก อ�ำเภอบาน ้ โพธิ์ วัดอินทาราม ม.1 ต�ำบลหนองตีนนก อ�ำเภอบาน ้ โพธิ์ วัดเทพราชปวราราม(เทพราช) ม.2 ต�ำบลเทพราช อ�ำเภอบาน ้ โพธิ์ วัดประศาสนโ์ สภณ ม.1 ต�ำบลทา่ พลับ อ�ำเภอบาน ้ โพธิ์ วัดสนามจันทร์ ม.1 ต�ำบลบาน ้ โพธิ์ อ�ำเภอบาน ้ โพธิ์

วัดสมานสามัคคี บาน ้ หนองหนา้ บาน ้ ม.3 ต�ำบลสิบเอ็ดศอก อ�ำเภอบาน ้ โพธิ์ วัดแสนภูดาษ ม.2 ต�ำบลแสนภูดาษ อ�ำเภอบาน ้ โพธิ์ วัดอรัญญิการาม ม.1 ต�ำบลแหลมประดู่ อ�ำเภอบาน ้ โพธิ์ วัดกระทุม่ บาน ้ ปากคลองทา่ ถัว่ ม.1 ต�ำบลสนามจันทร์ อ�ำเภอบาน ้ โพธิ์ วัดกลางราษฎร์บ�ำรุง ม.3 ต�ำบลเทพราช อ�ำเภอบาน ้ โพธิ์ วัดเกาะชัน บาน ้ เกาะชัน ม.3 ต�ำบลทา่ พลับ อ�ำเภอบาน ้ โพธิ์ วัดคลองสวน ม.4 ต�ำบลเกาะไร่ อ�ำเภอบาน ้ โพธิ์ วัดดอนทราย ม.4 ต�ำบลดอนทราย อ�ำเภอบาน ้ โพธิ์ วัดดอนสีนนท์ ม.3 ต�ำบลหนองบัว อ�ำเภอบาน ้ โพธิ์ วัดผาณิตาราม ม.2 ต�ำบลบางกรูด อ�ำเภอบาน ้ โพธิ์ วัดวังอู่ ม.5 ต�ำบลแหลมประดู่ อ�ำเภอบาน ้ โพธิ์ วัดศรีมงคล ม.4 ต�ำบลแหลมประดู่ อ�ำเภอบาน ้ โพธิ์ วัดหนองกระสังสามัคคี ม.3 ต�ำบลแหลมประดู่ อ�ำเภอบาน ้ โพธิ์ วัดหัวเนิน ม.3 ต�ำบลลาดขวาง อ�ำเภอบาน ้ โพธิ์

CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 159

159

09/10/61 18:15:26


ท่องเที่ยวทางใจ 365 วัด ลุ่มแม่น�้ำบางปะกง

อ�ำเภอพนมสารคาม วัดเกาะแกว้ สุวรรณาราม ม.4 ต�ำบลบาน ้ ซ่อง อ�ำเภอพนมสารคาม

วัดเขาเจริญสุข ม.10 ต�ำบลเขาหินซ้อน อ�ำเภอพนมสารคาม

วัดเขาหินซ้อนนันทวัฒนาราม ม.2 ต�ำบลเขาหินซ้อน อ�ำเภอพนมสารคาม

วัดคชวรรณวนาราม บาน ้ วังยาง ม.1 ต�ำบลเขาหินซ้อน อ�ำเภอพนมสารคาม

วัดจอมมณี ม.4 ต�ำบลเมืองเกา่ อ�ำเภอพนมสารคาม

วัดช�ำขวาง ม.1 ต�ำบลเขาหินซ้อน อ�ำเภอพนมสารคาม

วัดธารพูด ม.7 ต�ำบลบาน ้ ซ่อง อ�ำเภอพนมสารคาม

วัดนาเหลา่ น้�ำ(สุวรรณรังสรรค)์ ม.2 ต�ำบลเมืองเกา่ อ�ำเภอพนมสารคาม

วัดนาเหลา่ บก ม.6 ต�ำบลหนองยาว อ�ำเภอพนมสารคาม

วัดบรรยงสุวรรณาราม บาน ้ มว่ งโพรง ม.1 ต�ำบลเขาหินซ้อน อ�ำเภอพนมสารคาม

วัดบอ่ เงินบอ่ ทอง บาน ้ หนองเค็ด ม.15 ต�ำบลหนองแหน อ�ำเภอพนมสารคาม

วัดบาน ้ ซ่อง ม.8 ต�ำบลบาน ้ ซ่อง อ�ำเภอพนมสารคาม

วัดบาน ้ เลอ้ บาน ้ เลอ้ ม.2 ต�ำบลเมืองเกา่ อ�ำเภอพนมสารคาม

วัดบาน ้ แลง้ ม.5 ต�ำบลหนองยาว อ�ำเภอพนมสารคาม

วัดบึงกระจับ ม.10 ต�ำบลหนองแหน อ�ำเภอพนมสารคาม

วัดบึงตาจันทร์ บาน ้ บึงตาจันทร์ ม.1 ต�ำบลเขาหินซ้อน อ�ำเภอพนมสารคาม

วัดบุญญาราม บาน ้ หนองกลางดง ม.9 ต�ำบลเขาหินซ้อน อ�ำเภอพนมสารคาม

วัดพงษาราม ม.2 ต�ำบลเกาะขนุน อ�ำเภอพนมสารคาม

วัดพนมชัย เหลา่ ตามี-ห้วยเจริญ-บึงตะเข้ ม.6 ต�ำบลเกาะขนุน อ�ำเภอพนมสารคาม

วัดพระพุทธทักษิณดิตถมงคล ม.5 ต�ำบลทา่ ถ่าน อ�ำเภอพนมสารคาม

วัดโพธิใ์ หญ่ ม.4 ต�ำบลเมืองเกา่ อ�ำเภอพนมสารคาม

วัดมหาเจดีย์ ม.3 ต�ำบลพนมสารคาม อ�ำเภอพนมสารคาม

วัดเมืองกาย ม.2 ต�ำบลพนมสารคาม อ�ำเภอพนมสารคาม

วัดไร่ดอน ม.8 ต�ำบลเกาะขนุน อ�ำเภอพนมสารคาม

160

วัดล�ำมหาชัย

วัดห้วยพลู

วัดเตาอิฐ

วัดโป่งเจริญ

ม.7 ต�ำบลเขาหินซ้อน อ�ำเภอพนมสารคาม

ม.10 ต�ำบลเกาะขนุน อ�ำเภอพนมสารคาม

ม.4 ต�ำบลบางคา อ�ำเภอราชสาสน์

วัดสระสองตอน

วัดเกาะมะมว่ ง

วัดหินดาษ

บาน ้ โป่งเจริญ ม.12 ต�ำบลทา่ กระดาน อ�ำเภอสนามชัยเขต

ม.5 ต�ำบลหนองแหน อ�ำเภอพนมสารคาม

บาน ้ เกาะมะมว่ ง ม.3

ม.14 ต�ำบลดงนอ้ ย อ�ำเภอราชสาสน์

วัดสุวรรณคีรี

วัดโปร่งเกตุ

ต�ำบลเกาะขนุน อ�ำเภอพนมสารคาม

ม.7 ต�ำบลหนองแหน อ�ำเภอพนมสารคาม

วัดจอมศรีมงคล

วัดหนองบอน

ม.1 ต�ำบลเมืองเกา่ อ�ำเภอพนมสารคาม

ม.4 ต�ำบลเขาหินซ้อน อ�ำเภอพนมสารคาม

วัดดงยาง

วัดกระบกหวาน

วัดหนองบัว

ม.3 ต�ำบลหนองแหน อ�ำเภอพนมสารคาม

ม.8 ต�ำบลหนองแหน อ�ำเภอพนมสารคาม

วัดดอนขีเ้ หล็ก

บาน ้ กระบกหวาน ม.2 ต�ำบลทุง่ พระยา อ�ำเภอสนามชัยเขต

วัดหนองปลิง

ม.13 ต�ำบลเกาะขนุน อ�ำเภอพนมสารคาม

วัดเขาจันทร์

บาน ้ หนองปลิง ม.6

วัดตน้ ตาล

ต�ำบลหนองแหน อ�ำเภอพนมสารคาม

ม.8 ต�ำบลหนองยาว อ�ำเภอพนมสารคาม

บาน ้ เขาจันทร์ ม.9 ต�ำบลทุง่ พระยา อ�ำเภอสนามชัยเขต

วัดหนองปาตอง

วัดเตาเหล็ก

วัดคลองเตย

ม.2 ต�ำบลหนองยาว อ�ำเภอพนมสารคาม

ม.3 ต�ำบลพนมสารคาม

วัดหนองยาว

อ�ำเภอพนมสารคาม

บาน ้ คลองเตย ม.7 ต�ำบลทา่ กระดาน อ�ำเภอสนามชัยเขต

ม.7 ต�ำบลหนองยาว อ�ำเภอพนมสารคาม

วัดทา่ เกวียน

วัดคลองยายสร้อย

วัดหนองรี

ม.1 ต�ำบลพนมสารคาม

ม.1 ต�ำบลพนมสารคาม อ�ำเภอพนมสารคาม

อ�ำเภอพนมสารคาม

บาน ้ คลองยายสรอ้ ย ม.10 ต�ำบลทุง่ พระยา อ�ำเภอสนามชัยเขต

วัดหนองวาน ่ เหลือง

วัดทา่ ไมแ้ ดง

วัดทา่ ซุงเกา่

ม.5 ต�ำบลเขาหินซ้อน อ�ำเภอพนมสารคาม

ม.3 ต�ำบลเขาหินซ้อน อ�ำเภอพนมสารคาม

วัดหนองเสือ

วัดทา่ ลาดเหนือ

ม.4 ต�ำบลเกาะขนุน อ�ำเภอพนมสารคาม

ม.1 ต�ำบลทา่ ถ่าน อ�ำเภอพนมสารคาม

วัดทา่ มว่ ง

บาน ้ วังน้�ำใส ม.9 ต�ำบลลาดกระทิง อ�ำเภอสนามชัยเขต

วัดหนองหวา้

วัดเมืองแมด

ม.9 ต�ำบลคูย้ ายหมี อ�ำเภอสนามชัยเขต

ม.3 ต�ำบลเมืองเกา่ อ�ำเภอพนมสารคาม

วัดนายาว

วัดสระไมแ้ ดง

บาน ้ หนองหวา้ ม.3 ต�ำบลบาน ้ ซ่อง อ�ำเภอพนมสารคาม

วัดหนองเค็ด

ม.15 ต�ำบลทา่ กระดาน อ�ำเภอสนามชัยเขต

วัดหนองเหียง

บาน ้ หนองเค็ด ม.4 ต�ำบลทา่ ถ่าน

วัดนาอิสาน

ม.13 ต�ำบลเขาหินซ้อน อ�ำเภอพนมสารคาม

อ�ำเภอพนมสารคาม

วัดหินดาษ

วัดหนองแสง

บานนา อิสาน ม.16 ้ ต�ำบลทา่ กระดาน อ�ำเภอสนามชัยเขต

บาน ้ หินดาษ ม.11

บาน ้ หนองแสง ม.6

วัดเนินสวา่ งพัฒนา

ต�ำบลเกาะขนุน อ�ำเภอพนมสารคาม

ต�ำบลเขาหินซ้อน อ�ำเภอพนมสารคาม

ม.8 ต�ำบลคูย้ ายหมี อ�ำเภอสนามชัยเขต

วัดแหลมไผศ่ รี

วัดหัวกระสังข์

เนินสวา่ งพัฒนา ม.2 ต�ำบลทา่ กระดาน อ�ำเภอสนามชัยเขต

ม.3 ต�ำบลหนองยาว อ�ำเภอพนมสารคาม

ม.5 ต�ำบลบาน ้ ซ่อง อ�ำเภอพนมสารคาม

วัดโนนสะอาด

บาน ้ หนองใหญ่ ม.14 ต�ำบลทุง่ พระยา อ�ำเภอสนามชัยเขต

วัดอ่าวสีเสียด ม.4 ต�ำบลหนองยาว อ�ำเภอพนมสารคาม

วัดเกาะไมแ้ ดง

อ�ำเภอราชสาส์น

อ�ำเภอสนามชัยเขต

บาน ้ ทา่ ซุง ม.3 ต�ำบลลาดกระทิง อ�ำเภอสนามชัยเขต

บาน ้ โนนสะอาด ม.11 ต�ำบลทา่ กระดาน อ�ำเภอสนามชัยเขต

วัดบางพะเนียง บาน ้ บางพะเนียง ม.2 ต�ำบลคูย้ ายหมี อ�ำเภอสนามชัยเขต

บาน ้ โปรง่ เกตุ ม.10 ต�ำบลทา่ กระดาน อ�ำเภอสนามชัยเขต

วัดพัฒนาป่าไม้ บาน ้ พัฒนาป่าไม้ ม.5 ต�ำบลลาดกระทิง อ�ำเภอสนามชัยเขต

วัดโพธิท์ อง บาน ้ โพธิท์ อง ม.13 ต�ำบลคูย้ ายหมี อ�ำเภอสนามชัยเขต

วัดโพนงาม บาน ้ โพนงาม ม.4 ต�ำบลคูย้ ายหมี อ�ำเภอสนามชัยเขต

วัดมาบนาดี บาน ้ มาบนาดี ม.5 ต�ำบลทุง่ พระยา อ�ำเภอสนามชัยเขต

วัดยางแดง ม.6 ต�ำบลคูย้ ายหมี อ�ำเภอสนามชัยเขต

วัดวังน้�ำใส

บาน ้ สระไมแ้ ดง ม.5 ต�ำบลคูย้ ายหมี อ�ำเภอสนามชัยเขต

วัดแสงธรรมวนาราม บานนา ยาว ม.15 ้ ต�ำบลทา่ กระดาน อ�ำเภอสนามชัยเขต

วัดหนองยางโพธาราม วัดหนองใหญร่ าษฎร์บ�ำรุง

วัดอัมพวัน ก.ม. 7 บาน ้ ก.ม.7 ม.6 ต�ำบลลาดกระทิง อ�ำเภอสนามชัยเขต

ม.6 ต�ำบลบาน ้ ซ่อง อ�ำเภอพนมสารคาม

วัดจรเขต้ าย

วัดโคกหัวขา้ ว บาน ้ โคกหัวขา้ ว ม.3

บาน ้ จรเขต้ าย ม.6 ต�ำบลบางคา อ�ำเภอราชสาสน์

ต�ำบลทา่ ถ่าน อ�ำเภอพนมสารคาม

วัดน้�ำฉ่า

วัดชายเคืองวนาราม

ม.10 ต�ำบลดงนอ้ ย อ�ำเภอราชสาสน์

วัดบาน ้ หัวนา

ม.7 ต�ำบลเกาะขนุน อ�ำเภอพนมสารคาม

วัดบางคา

ม.4 ต�ำบลทุง่ พระยา อ�ำเภอสนามชัยเขต

วัดเชียงใต้

ม.1 ต�ำบลเมืองใหม่ อ�ำเภอราชสาสน์

บาน ้ หัวนา ม.4 ต�ำบลคูย้ ายหมี อ�ำเภอสนามชัยเขต

วัดปั ญญามณีโชติ

ม.8 ต�ำบลทา่ กระดาน อ�ำเภอสนามชัยเขต

วัดบางมะเฟื อง ม.1 ต�ำบลคูย้ ายหมี อ�ำเภอสนามชัยเขต

ม.3 ต�ำบลพนมสารคาม อ�ำเภอพนมสารคาม

วัดไผข่ วาง

วัดดอนทอง ม.2 ต�ำบลทา่ ถ่าน อ�ำเภอพนมสารคาม

บาน ้ ไผข่ วาง ม.3 ต�ำบลเมืองใหม่ อ�ำเภอราชสาสน์

วัดแถวธาร

วัดเมืองใหม่

ม.2 ต�ำบลบาน ้ ซ่อง อ�ำเภอพนมสารคาม

ม.5 ต�ำบลเมืองใหม่ อ�ำเภอราชสาสน์

วัดนานอ้ ย

วัดแสนภุมราวาส

โคกผาสุก ม.12 ต�ำบลทุง่ พระยา อ�ำเภอสนามชัยเขต

ม.6 ต�ำบลเกาะขนุน อ�ำเภอพนมสารคาม

ม.4 ต�ำบลเมืองใหม่ อ�ำเภอราชสาสน์

วัดป่าทุง่ วัว

วัดราชฮ้วง

วัดเกาะแกว้ เวฬุวัน

ม.3 ต�ำบลพนมสารคาม อ�ำเภอพนมสารคาม

วัดหนองปรือ

บาน ้ ดงนอ้ ย ม.5 ต�ำบลดงนอ้ ย อ�ำเภอราชสาสน์

บาน ้ ทุง่ วัว ม.13 ต�ำบลทุง่ พระยา อ�ำเภอสนามชัยเขต

ม.6 ต�ำบลเขาหินซ้อน อ�ำเภอพนมสารคาม

วัดเกาะราษฏร์ศรัทธาราม

วัดหนองยีโ่ ถน ม.12 ต�ำบลเกาะขนุน อ�ำเภอพนมสารคาม

บาน ้ ปกปาก ม.9 ต�ำบลเมืองใหม่ อ�ำเภอราชสาสน์

วัดหนองแหน

วัดสะแกงาม

ม.12 ต�ำบลหนองแหน อ�ำเภอพนมสารคาม

ม.8 ต�ำบลดงนอ้ ย อ�ำเภอราชสาสน์

บาน ้ อา่ งตาผึง้ ม.11 ต�ำบลคูย้ ายหมี อ�ำเภอสนามชัยเขต

วัดป่าโคกผาสุก

วัดป่าหนองปรือ บาน ้ หนองยา่ กลอ่ ม ม.11 ต�ำบลทุง่ พระยา อ�ำเภอสนามชัยเขต

วัดแปลงไผ่ บาน ้ แปลงไผ-่ ขุนคลัง ม.10 ต�ำบลลาดกระทิง อ�ำเภอสนามชัยเขต

วัดอ่างตะแบก บาน ้ อา่ งตะแบก ม.1 ต�ำบลทุง่ พระยา อ�ำเภอสนามชัยเขต

วัดคลองอุดม วัดช�ำป่างาม วัดทุง่ เหียง บาน ้ ทุง่ เหียง ม.18 ต�ำบลทา่ กระดาน อ�ำเภอสนามชัยเขต

วัดโป่งตาสา บาน ้ โป่งตาสา ม.7 ต�ำบลทุง่ พระยา อ�ำเภอสนามชัยเขต

วัดลาดกระทิง ม.7 ต�ำบลลาดกระทิง อ�ำเภอสนามชัยเขต

วัดวังคู บาน ้ วังคู ม.8 ต�ำบลทุง่ พระยา อ�ำเภอสนามชัยเขต

วัดวังไทร บาน ้ วังไทร ม.7 ต�ำบลคูย้ ายหมี อ�ำเภอสนามชัยเขต

SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา

.indd 160

09/10/61 18:15:27


THE IMPORTANT TEMPLES CHACHOENGSAO

วัดหนองยา่ กลอ่ ม

วัดเนินไร่

บาน ้ หนองยา่ กลอ่ ม ม.11 ต�ำบลทุง่ พระยา อ�ำเภอสนามชัยเขต

ม.8 ต�ำบลแปลงยาว อ�ำเภอแปลงยาว

วัดเขาตลาด

วัดห้วยน้�ำใส

วัดป่าบุญคุม้ เกลา้ บาน ้ หนองตะเภา ม.9 ต�ำบลหัวส�ำโรง อ�ำเภอแปลงยาว

เขาตลาด ม.15 ต�ำบลทา่ ตะเกียบ อ�ำเภอทา่ ตะเกียบ

บาน ้ หว้ ยน้�ำใส ม.13 ต�ำบลคูย้ ายหมี อ�ำเภอสนามชัยเขต

วัดกระบกเตีย้

วัดป่ามากดวงเทียน ม.11 ต�ำบลแปลงยาว อ�ำเภอแปลงยาว

อ�ำเภอท่าตะเกียบ

วัดเขาถ้�ำแรต

ม.5 ต�ำบลทา่ กระดาน อ�ำเภอสนามชัยเขต

วัดแปลงยาว

วัดโคกตะเคียนงาม

บาน ้ หว้ ยตะปอก ม.9 ต�ำบลคลองตะเกรา อ�ำเภอทา่ ตะเกียบ

ม.3 ต�ำบลแปลงยาว อ�ำเภอแปลงยาว

วัดเขาพริก

บาน ้ โคกตะเคียนงาม ม.3 ต�ำบลทุง่ พระยา อ�ำเภอสนามชัยเขต

วัดวังกะจะ

วัดดอนทานา ่

วัดหนองน้�ำขาว

บาน ้ หนองขาหยัง่ ม.5 ต�ำบลคลองตะเกรา อ�ำเภอทา่ ตะเกียบ

ม.3 ต�ำบลคูย้ ายหมี อ�ำเภอสนามชัยเขต

วัดทา่ ซุง

ม.5 ต�ำบลหนองไมแ้ กน่ อ�ำเภอแปลงยาว

ม.3 ต�ำบลลาดกระทิง อ�ำเภอสนามชัยเขต

วัดหนองปรือไมแ้ กว้

วัดทา้ วอู่ไท

ม.2 ต�ำบลวังเย็น อ�ำเภอแปลงยาว

ม.6 ต�ำบลวังเย็น อ�ำเภอแปลงยาว

ม.3 ต�ำบลทา่ กระดาน อ�ำเภอสนามชัยเขต

วัดหนองปลาไหล

วัดทุง่ สอ่ หงษา

ม.1 ต�ำบลหนองไมแ้ กน่ อ�ำเภอแปลงยาว

บาน ้ ทุง่ สอ่ หงษา ม.11 ต�ำบลทา่ กระดาน อ�ำเภอสนามชัยเขต

วัดนางาม บานนา งาม ม.19 ้ ต�ำบลทา่ กระดาน อ�ำเภอสนามชัยเขต

วัดสุง่ เจริญ บาน ้ สุง่ เจริญ ม.9 ต�ำบลทา่ กระดาน อ�ำเภอสนามชัยเขต

วัดหนองกระทิง บาน ้ หนองกระทิง ม.12 ต�ำบลทา่ กระดาน อ�ำเภอสนามชัยเขต

วัดหนองตานาค บาน ้ หนองตานาค ม.17 ต�ำบลทา่ กระดาน อ�ำเภอสนามชัยเขต

วัดห้วยน้�ำทรัพย์

วัดหนองไมแ้ กน่ บาน ้ หนองไมแ้ กน่ ม.2 ต�ำบลหนองไมแ้ กน่ อ�ำเภอแปลงยาว

วัดหนองสร้อยติง่ บาน ้ หนองสรอ้ ยติง่ ม.2 ต�ำบลหนองไมแ้ กน่ อ�ำเภอแปลงยาว

วัดหนองสองห้อง บาน ้ หนองสองหอ้ ง ม.13 ต�ำบลหนองไมแ้ กน่ อ�ำเภอแปลงยาว

วัดโกรกแกว้ วงพระจันทร์ ม.6 ต�ำบลหนองไมแ้ กน่ อ�ำเภอแปลงยาว

วัดป่าพรหมยาน

ม.2 ต�ำบลลาดกระทิง อ�ำเภอสนามชัยเขต

บาน ้ หนองน้�ำซู่ ม.6 ต�ำบลวังเย็น อ�ำเภอแปลงยาว

วัดห้วยหิน

วัดวังเย็น

ม.1 ต�ำบลลาดกระทิง อ�ำเภอสนามชัยเขต

วัดหินแร่

บาน ้ วังเย็น ม.3 ต�ำบลวังเย็น อ�ำเภอแปลงยาว

ม.7 ต�ำบลทา่ กระดาน อ�ำเภอสนามชัยเขต

วัดสวรรคน์ ิมิต

วัดอ่างทอง ม.10 ต�ำบลคูย้ ายหมี อ�ำเภอสนามชัยเขต

อ�ำเภอแปลงยาว

บาน ้ คลอง ม.2 ต�ำบลแปลงยาว อ�ำเภอแปลงยาว

วัดทา่ กลอย บาน ้ คลองสียดั ม.18 ต�ำบลทา่ ตะเกียบ อ�ำเภอทา่ ตะเกียบ

วัดทา่ มะนาว บาน ้ หว้ ยตะบอก ม.23 ต�ำบลคลองตะเกรา อ�ำเภอทา่ ตะเกียบ

วัดทุง่ ยายด�ำ บาน ้ ทุง่ ยายด�ำ ม.4 ต�ำบลทา่ ตะเกียบ อ�ำเภอทา่ ตะเกียบ

วัดไทรงาม บาน ้ ไทรงาม ม.11 ต�ำบลคลองตะเกรา อ�ำเภอทา่ ตะเกียบ

วัดธรรมรัตนใ์ น บาน ้ ธรรมรัตนใ์ น ม.6 ต�ำบลคลองตะเกรา อ�ำเภอทา่ ตะเกียบ

วัดประชานิมิตร บาน ้ ทุง่ สา่ ย ม.12 ต�ำบลคลองตะเกรา อ�ำเภอทา่ ตะเกียบ

วัดป่าเขานอ้ ย บาน ้ เกาะลอย ม.3 ต�ำบลคลองตะเกรา อ�ำเภอทา่ ตะเกียบ

วัดป่าเขาลอ้ ม บาน ้ หว้ ยนา ม.20 ต�ำบลคลองตะเกรา อ�ำเภอทา่ ตะเกียบ

วัดป่าเขาหวาย

วัดหนองศิลาราม ม.3 ต�ำบลวังเย็น อ�ำเภอแปลงยาว

วัดป่าทุง่ สา่ ย

วัดอ่าวช้างไล่ ม.4 ต�ำบลหัวส�ำโรง อ�ำเภอแปลงยาว

บาน ้ เกาะลอย ม.7 ต�ำบลหัวส�ำโรง อ�ำเภอแปลงยาว

ม.4 ต�ำบลแปลงยาว อ�ำเภอแปลงยาว

บาน ้ เขาสะทอ้ น ม.10 ต�ำบลหนองไมแ้ กน่ อ�ำเภอแปลงยาว

บาน ้ เขาวงค์ ม.22 ต�ำบลทา่ ตะเกียบ อ�ำเภอทา่ ตะเกียบ

บาน ้ เขาหวาย ม.22 ต�ำบลทา่ ตะเกียบ อ�ำเภอทา่ ตะเกียบ

วัดเกาะลอย

วัดเขาสะทอ้ น

วัดเขาวงค์

วัดดาน ่ เงิน วัดไทรทอง บาน ้ ไทรทอง ม.11 ต�ำบลวังเย็น อ�ำเภอแปลงยาว

บาน ้ ทุง่ สา่ ย ม.12 ต�ำบลคลองตะเกรา อ�ำเภอทา่ ตะเกียบ

วัดแปลงเสมา บาน ้ แปลงเสมา ม.19 ต�ำบลทา่ ตะเกียบ อ�ำเภอทา่ ตะเกียบ

วัดโพธิน์ ิมิต

วัดคลองหนึ่ง

วัดไผแ่ กว้

บาน ้ รม่ โพธิท์ อง ม.7 ต�ำบลคลองตะเกรา อ�ำเภอทา่ ตะเกียบ

บาน ้ คลองหนึง่ ม.13 ต�ำบลแปลงยาว อ�ำเภอแปลงยาว

ม.7 ต�ำบลแปลงยาว อ�ำเภอแปลงยาว

วัดหัวส�ำโรง

วัดร่มโพธิท์ อง

วัดทุง่ สะเดา

ม.2 ต�ำบลหัวส�ำโรง อ�ำเภอแปลงยาว

บาน ้ รม่ โพธิท์ อง ม.7 ต�ำบลคลองตะเกรา อ�ำเภอทา่ ตะเกียบ

วัดหนองเรือ

วัดแปลงราษฎร์สามัคคี

บาน ้ หนองเรือ ม.10 ต�ำบลทา่ ตะเกียบ อ�ำเภอทา่ ตะเกียบ

บาน ้ แปลง ม.4 ต�ำบลคลองตะเกรา อ�ำเภอทา่ ตะเกียบ

วัดหนองใหญ่

วัดวังวุง้

บาน ้ หนองใหญ่ ม.15 ต�ำบลคลองตะเกรา อ�ำเภอทา่ ตะเกียบ

บาน ้ วังวุง้ ม.1 ต�ำบลทา่ ตะเกียบ อ�ำเภอทา่ ตะเกียบ

วัดห้วยโสม

วัดศรีเจริญทอง

บาน ้ หว้ ยโสม ม.11 ต�ำบลคลองตะเกรา อ�ำเภอทา่ ตะเกียบ

บาน ้ ศรีเจริญทอง ม.10 ต�ำบลคลองตะเกรา อ�ำเภอทา่ ตะเกียบ

วัดใหมช่ ัยมงคล บาน ้ หว้ ยนา ม.20 ต�ำบลคลองตะเกรา อ�ำเภอทา่ ตะเกียบ

วัดอ่างเตย ม.9 ต�ำบลทา่ ตะเกียบ อ�ำเภอทา่ ตะเกียบ

วัดหนองขาหยัง่ บาน ้ หนองขาหยัง่ ม.5 ต�ำบลคลองตะเกรา อ�ำเภอทา่ ตะเกียบ

วัดอ่างเสือด�ำ บาน ้ อา่ งเสือด�ำ ม.7 ต�ำบลทา่ ตะเกียบ อ�ำเภอทา่ ตะเกียบ

วัดกรอกสะแก ม.1 ต�ำบลคลองตะเกรา อ�ำเภอทา่ ตะเกียบ

วัดทา่ คาน บาน ้ ทา่ คาน ม.2 ต�ำบลทา่ ตะเกียบ อ�ำเภอทา่ ตะเกียบ

วัดเทพประทาน บาน ้ เทพประทาน ม.8 ต�ำบลคลองตะเกรา อ�ำเภอทา่ ตะเกียบ

วัดนอ้ ยนาดี บานน ้ อ้ ยนาดี ม.11 ต�ำบลทา่ ตะเกียบ อ�ำเภอทา่ ตะเกียบ

อ�ำเภอคลองเขื่อน วัดคลองเขื่อน ม.3 ต�ำบลคลองเขื่อน อ�ำเภอคลองเขื่อน

วัดบางตลาด

วัดเนินสามทหาร

ม.5 ต�ำบลบางตลาด อ�ำเภอคลองเขื่อน

บาน ้ เนินสามทหาร ม.2 ต�ำบลคลองตะเกรา อ�ำเภอทา่ ตะเกียบ

วัดบางโรง ม.1 ต�ำบลบางโรง อ�ำเภอคลองเขื่อน

วัดวังหิน (เขาชะเอมอินทร์ธาราม)

วัดบาน ้ กลว้ ย

บาน ้ วังหิน ม.4 ต�ำบลคลองตะเกรา อ�ำเภอทา่ ตะเกียบ

ม.1 ต�ำบลคลองเขื่อน อ�ำเภอคลองเขื่อน

วัดวีระชัยโชติการาม

วัดพุทธพรหมยาน

บาน ้ เนินนอ้ ย ม.20 ต�ำบลทา่ ตะเกียบ อ�ำเภอทา่ ตะเกียบ

บาน ้ เกาะลัด ม.2 ต�ำบลบางตลาด อ�ำเภอคลองเขื่อน

วัดหนองคอก

วัดวังขอน

ม.2 ต�ำบลคลองตะเกรา อ�ำเภอทา่ ตะเกียบ

ม.6 ต�ำบลบางโรง อ�ำเภอคลองเขื่อน

วัดเกาะกระทิง

ม.4 ต�ำบลบางเลา่ อ�ำเภอคลองเขื่อน

บาน ้ เกาะกระทิง ม.13 ต�ำบลคลองตะเกรา อ�ำเภอทา่ ตะเกียบ

วัดกอ้ นแกว้

วัดสามร่ม

วัดเขากลว้ ยไม้ เขากลว้ ยไม้ ม.14 ต�ำบลคลองตะเกรา อ�ำเภอทา่ ตะเกียบ

วัดคลองตะเคียน บาน ้ คลองตะเคียน ม.13 ต�ำบลทา่ ตะเกียบ อ�ำเภอทา่ ตะเกียบ

ม.4 ต�ำบลกอ้ นแกว้ อ�ำเภอคลองเขื่อน

วัดคุง้ กร่าง บาน ้ คุง้ กรา่ ง ม.1 ต�ำบลบางตลาด อ�ำเภอคลองเขื่อน

วัดคูเ้ กษมสโมสร

วัดทุง่ ยายชี

ม.3 ต�ำบลบางตลาด อ�ำเภอคลองเขื่อน

ม.3 ต�ำบลทา่ ตะเกียบ อ�ำเภอทา่ ตะเกียบ

ม.3 ต�ำบลบางโรง อ�ำเภอคลองเขื่อน

วัดดอนสนาม

ม.7 ต�ำบลวังเย็น อ�ำเภอแปลงยาว

วัดหนองประโยชน์

วัดนพเกตุวนาราม

ม.6 ต�ำบลทา่ ตะเกียบ อ�ำเภอทา่ ตะเกียบ

วัดเทพพนาราม

วัดเทวารุทธาราม

บาน ้ หนองตะเกา ม.9 ต�ำบลหัวส�ำโรง อ�ำเภอแปลงยาว

วัดหนองปรือนอ้ ย ม.16 ต�ำบลทา่ ตะเกียบ อ�ำเภอทา่ ตะเกียบ

ซอย 5 ม.17 ต�ำบลคลองตะเกรา อ�ำเภอทา่ ตะเกียบ

ม.5 ต�ำบลคลองเขื่อน อ�ำเภอคลองเขื่อน

CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 161

161

09/10/61 18:15:30


วัดหัวสวน

ส�ำนักปฏิบัติธรรมประจ�ำจังหวัดฉะเชิงเทรา แห่งที่ 20 โบสถ์สเตนเลส ด้วยแรงแห่งศรัทธา ในบวรพระพุ ทธศาสนาตลอดกาล พระครูภาวนาจริยคุณ (ประยงค์ คุณจโร) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดหัวสวน

วัดหัวสวน ตั้งอยู่ที่ต�ำบลเสม็ดเหนือ อ�ำเภอบางคล้า ติดต่อกับเขต อ�ำเภอเมืองฉะเชิงเทรา วัดเริ่มสร้างเมื่อ พ.ศ. 2440 อนุญาตให้ตั้งวัด เมื่อ พ.ศ.2443 มีนายทอง นายแสง นายพุ่ม และนายปั่น ร่วมกันบริจาค ที่ดินของตนสร้างวัด ได้รับวิสุงคามสีมาครั้งแรกเมื่อวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2471 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 40 เมตร ยาว 80 เมตร ได้รับพระราชทาน วิสุงคามสีมาครั้งสองเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม พ.ศ.2553 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 24 เมตร ยาว 32 เมตร ปัจจุบัน พระครูภาวนาจริยคุณ (ประยงค์ คุณจโร) เป็นเจ้าอาวาส จุดเด่นของวัดหัวสวนคือ โบสถ์สเตนเลส ซึ่งพระครูภาวนาจริยคุณ ท่านเจ้าอาวาสหวังให้โบสถ์มอี ายุยาวเป็นพันปี และอุโบสถสเตนเลสหลังนี้ ส�ำเร็จได้ด้วยแรงศรัทธาของพุทธศาสนิกชน

ล�ำดับเจ้าอาวาส รูปที่ 1 พระอาจารย์ปลัง่ รูปที่ 2 พระอาจารย์พรม รูปที่ 3 พระอาจารย์เพล

รูปที่ 4 พระอาจารย์จอ้ ย รูปที่ 5 พระอาจารย์บญ ุ รูปที่ 6 พระอาจารย์สกุ รูปที่ 7 พระอาจารย์สาย รูปที่ 8 พระอธิการใย อุตฺตโม รูปที่ 9 พระครู วิธุรกิจโกศล(ละม่อม) วิธุโร ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2504 – พ.ศ.2546 รูปที่ 10 พระครูภาวนาจริยคุณ(ประยงค์) คุณจโร ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2546 – ปัจจุบัน

ประวัติท่านเจ้าอาวาส พระครูภาวนาจริยคุณ ฉายา คุณจโร วิทยฐานะ นักธรรมเอก เดิมชือ่ ประยงค์ ฮอกุย่ เกิดเมือ่ วันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2500 บิดา นายหนู มารดา นางสุน่ บ้านเลขที่ 21 หมู่ 4 ต�ำบลเสม็ดใต้ อ�ำเภอบางคล้า จังหวัด ฉะเชิงเทรา อุปสมบท เมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ.2521 ณ วัดหัวสวน ต�ำบลเสม็ดใต้ อ�ำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทรา ปัจจุบันด�ำรงต�ำแหน่ง เจ้าอาวาสวัดหัวสวน เจ้าคณะต�ำบลเสม็ด และ เจ้าส�ำนักปฏิบัติธรรม ประจ�ำจังหวัดฉะเชิงเทรา แห่งที่ 20

ติดต่อท่านเจ้าอาวาส โทรศัพท์ 089-0990791 แฟกซ์ 038-584-236 162

2

SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา

.indd 162

9/10/2561 17:22:14


วัดหัวสวน

“โบสถ์ ส แตนเลส”

ด้ ว ยแรงแห่ ง ศรั ท ธา ในบวรพระพุ ท ธศาสนาตลอดกาล

CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 163

163

8/10/2561 17:31:35


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

164

SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา

5

.indd 164

8/10/2561 15:54:09


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.