นิตยสารแนะน�ำแหล่งท่องเที่ยวและของดีจังหวัดร้อยเอ็ด ประจ�ำปี 2561
Magazine
EXCLUSIVE
ผู้ว่าราชการจังหวัดร้อยเอ็ด
ฉบับที่ 81 จังหวัดร้อยเอ็ด พ.ศ.2561
นายวันชัย คงเกษม
“ในการท�ำงานผมเป็นคนกล้าตัดสินใจ” เน้นลงพื้ นที่ เข้าถึงปัญหา
SPECIAL INTERVIEW
รองผู้ว่าราชการจังหวัดร้อยเอ็ด นายเลิศบุศย์ กองทอง
“ถูกต้อง โปร่งใส เป็นธรรม รวดเร็ว”
ผู้อ�ำนวยการส� ำนักงาน พระพุ ทธศาสนาจังหวัดร้อยเอ็ด นายชัยมงคล ศรีทองแดง “ช่วยกันจรรโลงพระพุ ทธศาสนา ให้เจริญรุ่งเรืองสืบไป”
Vol.9 Issue 81/2018
ROI ET สู่มาตรฐานเกษตรอิ น ทรี ย ์
www.issuu.com
.indd 5
2561
บึงพลาญชัย
20/10/2561 14:23:53
เพื่อนสนิท คือ จิตของฉัน
ดร. พระมหาอนุชน สาสนกิตฺติ ป.ธ.๙ (นาคหลวง), Ph.D. Dr. Phramaha Anuchon Sasanakitti พระธรรมทูตสายต่างประเทศ ปริญญาโทพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิปัสสนาภาวนา ปริญญาเอก Ph.D. (Pali & Buddhism) Dr. Babasaheb Ambedkar Marathwada university เมืองออรังคบาด รัฐมหาราษฏระ ประเทศอินเดีย
ไม่ว่า “ภายนอก” เราจะอยู่กับคนมากแค่ไหน แต่ “ภายใน” เรายังอยู่ตัวคนเดียวเสมอ จงหาวิธีค้นพบความสงบภายในจาก
“เพื่ อนสนิท จิตของฉัน“ ให้เจอ Everything You Need to Know About Buddhism in Thailand There are some 30,000 Buddhist temples in Thailand.
AD_
.indd 2
18/10/2561 18:20:32
แม่อร วิลเลจ รีสอร์ท Mae on Village Resort
เปิดประตูออเจ้าข้ามมิติมาสัม ผัสบรรยากาศห้องพักกลางทุ่งนา (Standard Room) บรรยากาศร่มรื่น สะพานไม้ล้อมรอบ สูดอากาศบริสุทธิ์แบบเต็มๆ ปอด เชิญแวะมาพักผ่อน ที่แม่อร วิลเลจ รีสอร์ท ท่ามกลางธรรมชาติที่สวยงาม แห่งเดียวในจังหวัดร้อยเอ็ด
ส�ำรองห้องพักติดต่อ ที่อยู่ 262 หมู่ 5 ต�ำบลปาผา อ�ำเภอจังหาร จังหวัดร้อยเอ็ด 45000 FB : แม่อร วิลเลจ รีสอร์ท IG : แม่อร วิลเลจ รีสอร์ท โทร. 090-2620101
คาแฟ่ 08.00–19.00 น. ร้านอาหาร 11.00–22.00 น. สถานที่เที่ยวใกล้เคียง วัดหลวงตามหาบัว วัดหลวงพ่อสมชาย บึงพลาญชัย
บริษัท ราชามอเตอร์ร้อยเอ็ด จ�ำกัด “อย่างไรก็ ราชามอเตอร์”
119 หมู่ที่ 16 ถนนแจ้งสนิท ต�ำบลเหนือเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดร้อยเอ็ด 45000
โทร. 043-624-066
เพจเฟสบุ๊ค : Honda Roi-Et ฝ่ายขาย ยินดีให้บริการทุกวัน เวลา 8:00–17:00 น. ศูนย์บริการ เปิดบริการ วันจันทร์ – เสาร์ เวลา 8:00–17:00 น. บริษทั ราชามอเตอร์รอ้ ยเอ็ด จ�ำกัด ด�ำเนินธุรกิจเกีย่ วกับการจ�ำหน่าย และ ให้บริการรถยนต์ฮอนด้า ก่อตัง้ โดยคุณชัย เชาว์สวุ รรณกิจ เมือ่ วันที่ 6 มิถนุ ายน พ.ศ. 2537 จากการด�ำเนินธุรกิจที่ใส่ใจในคุณภาพการบริการ และให้ความ ส�ำคัญต่อการรักษาสิ่งแวดล้อม จึงได้รับความนิยม และเชื่อมั่นจากประชาชน ในพื้นที่ และจังหวัดใกล้เคียง ท�ำให้ได้รับรางวัลการันตีมากมาย ได้แก่ - รางวัลผู้จ�ำหน่ายใหม่ยอดเยี่ยม ประจ�ำปี 2537 - รางวัล HATC–Dealer Ryder Cup ประจ�ำปี 2556 - รางวัลลูกค้าสัมพันธ์ผู้จ�ำหน่ายยอดเยี่ยม ประจ�ำปี 2557 - รางวัลส่วนแบ่งการตลาดชนะคู่แข่งขัน ประจ�ำปี 2558 - รางวัลส่วนแบ่งการตลาดอันดับ 1 ต่อเนื่อง 3 ปี ประจ�ำปี 2560 ทั้งนี้บริษัท ยังมีส่วนร่วมในกิจกรรมตอบแทนสังคมมากมาย เช่น กิจกรรมอบรม เสริมความรู้ด้านการขับขี่ปลอดภัยเชิงป้องกันอุบัติเหตุ, กิจกรรมอนุรักษ์พลังงาน และ กิจกรรมร่วมกับชุมชนอีกมากมาย เพราะราชามอเตอร์ร้อยเอ็ด มุ่งมั่นจะเป็นองค์กร ที่สังคมต้องการให้ด�ำรงอยู่สืบต่อไป
ร้านเนยสด ปาร์ค
• ศูนย์รวมของฝากเมืองร้อยเอ็ด • รับจัดเลี้ยง ประชุมสัมมนาต่างๆ หนึ่งเดียวในจังหวัดร้อยเอ็ด ที่เป็นศูนย์รวมของฝาก นาๆ ชนิด มีความแปลกใหม่และสวยงาม ให้ชาว ร้อยเอ็ดและนักท่องเที่ยวต่างจังหวัดผู้มาเยือน • • • • • •
เราจ�ำหน่าย เค้กเนยสด หลากหลายรสชาติ วุ้นเนยสด ที่หอมกรุ่น นุ่มลิ้น ละลายในปาก ขนมเปี๊ยะเนยสด รสชาติใหม่ๆ ให้คุณลิ้มลอง สุดยอดกุนเชียง หมูหยอง หมูแผ่น หมูแท่ง หมูหวาน สินค้า OTOP ให้คณ ุ ได้เลือกสรรเป็นของฝากอย่างดี ร้านอาหารอีสาน แจ่วฮ้อน และส้มต�ำรสเด็ด
มาช๊อป...มาชิม...มาแชะ ขนม ของฝาก เมืองร้อยเอ็ด ประเภทอาหาร เครื่องดื่ม เบเกอรี่ ของฝาก อาหาร ที่อยู่ 398 หมู่ที่ 19 ต.รอบเมือง จ.ร้อยเอ็ด 45000 เปิดบริการทุกวัน เวลา 08.00-21.00 น. โทร. 085-755-5239, 087-229-4400 Facebook : เนยสด ปาร์ค E-Mail : tjprint@gmail.com Website : www.noeysodpark.com www.aroi.com/noeysod
โรงแรม เดอะทริปเปิ้ลวี The Triple V Hotel
429 หมู่ 15 ต�ำบลเหนือเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดร้อยเอ็ด 45000 โทร. 081-4043179, 043-514722 Facebook : โรงแรมเดอะทริปเปิ้ลวี ร้อยเอ็ด
พักผ่อนสบายๆ ในสไตล์โรงแรมบูทีคผสม กลิ่นอายตะวันตก ห้องพักที่สะดวกสบาย ราคาสุดคุ้ม อุปกรณ์อ�ำนวยความสะดวก ครบครัน ทีจ่ อดรถกว้างขวาง อยูใ่ กล้กบั ห้าง โรบินสัน ห่างจากตัวเมืองเพียง 10 นาที
Talk
EDITOR’S
ROI ET 2018
ที ม งานนิ ต ยสาร SBL บั น ทึ ก ประเทศไทย ฉบับพิเศษ มีความสุขใจ ทุ ก ครั้ ง ที่ ไ ด้ ม าเยื อ นถิ่ น อี ส านกลาง จังหวัดที่มีพื้นที่กว้างใหญ่ ดินแดนแห่ง ขนบธรรมเนี ย มประเพณี ที่ ส วยงาม สื บ ทอดมายาวนาน ดั ง ค� ำ กล่ า วที่ ว ่ า “ท่องเทีย่ วร้อยเอ็ด ประเพณีบญ ุ ผะเหวด เมืองสาเกตนคร” เราได้รับการต้อนรับ ด้วยไมตรีจิตอย่างอิ่มใจในทุกเส้นทาง ระหว่ า งการบั น ทึ ก ภาพและเรื่ อ งราว อั น น่ า สนใจในวิ ถี ชี วิ ต ขนบธรรมเนี ย มประเพณี สถานที่ ท ่ อ งเที่ ยวอั น เป็ น สัญลักษณ์อย่าง “บึงพลาญชัย” สถานที่ส�ำคัญเป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจอย่าง “พระมหาเจดีย์ชัยมงคล” รวมไป ถึงโบราณสถานอันเก่าแก่ แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติอันอุดมสมบูรณ์ ท�ำให้ การเดินทางท่องเที่ยวราบรื่นสนุกสนานน่าประทับใจ ในนามของนิตยสาร SBL ผมขอถือโอกาสนี้ กราบขอบพระคุณท่านผู้ว่า ราชการจังหวัดร้อยเอ็ด “วันชัย คงเกษม” ที่ได้พูดคุยถึงการท�ำงานตั้งเป้าหมาย ให้จงั หวัดร้อยเอ็ด “เป็นแหล่งผลิตข้าวหอมมะลิคณ ุ ภาพสูง ท่องเทีย่ ววัฒนธรรม อีสาน และเมืองสุขภาพในปี พ.ศ. 2564” ท่านรองผู้ว่าราชการจังหวัด ท่าน ผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดร้อยเอ็ด ตลอดจนผูบ้ ริหารองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นต่างๆ ศาสนสถาน บริษัท ห้างร้าน ฯลฯ ซึ่งกรุณาสนับสนุน ให้ทมี งานด�ำเนินการจัดท�ำนิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย ฉบับ จังหวัดร้อยเอ็ด ส�ำเร็จลุล่วงได้ด้วยดี ท้ายนี้ ผมขออาราธนาคุณพระศรีรตั นตรัย ขอให้ธรรมะรักษาทุกท่านประสบ แต่ความสุขความเจริญในธุรกิจการงาน สุขภาพกายใจแข็งแรงสดชืน่ อนาคตสดใส รุง่ เรือง ผ่านพ้นทุกอุปสรรคในทุกสถานการณ์ ร่วมสร้างสรรค์คนรุน่ ใหม่ให้ชมุ ชน ก้าวหน้าต้อนรับ AEC 4.0 ในสังคมไทยต่อไปอย่างมั่นคง
คณะผู้บริหาร
นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย
คณะที่ปรึกษา ศ.ดร.กฤช เพิ่มทันจิตต์ พลเอกสรชัช วรปัญญา ดร.นิเวศน์ กันไทยราษฎร์ ดร.ประยุทธ คงเฉลิมวัฒน์ ดร.ชาญ ธาระวาส ดร.สุมิท แช่มประสิท ดร.วัลลภ อารีรบ ดร.พิชัย ทรัพย์เกิด ดร.ไอศูรย์ ดีรัตน์ ดร.สุเทษณ์ จันทรุกขา ดร.อรรถสิทธิ์ ตันติวิรัชกุล
กองบรรณาธิการ
นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย
ฝ่ายประสานงานโครงการ ภาครัฐและเอกชน
ผู้จัดการ
จิร โกมลทองทิพย์
คณะทีมงาน
ไพรัตน์ กลัดสุขใส มงคล แพร่ศิริพุฒิพงศ์ นิธิรุจน์ บุญอัมพรลักษณ์
ฝ่ายประสานงานข้อมูล
หัวหน้ากองบรรณาธิการ ฝ่ายประสานงานข้อมูล นันท์ธนาดา พลพวก
กองบรรณาธิการ ฝ่ายประสานงานข้อมูล
ศุภญา บุญช่วยชีพ นงลักษณ์ เทียมเกตุทวีโชค คุณศุภกิจ ศิลปรังสรรค์ บรรณาธิการอ�ำนวยการ นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย
Website
Tel : 08-1442-4445, 08-4874-3861 Email : supakit.s@live.com
นักเขียน
ชุติปภา ขาวอ่อน
ฝ่ายประสานงานจังหวัด กชกร รัฐวร
Outsource
บริษัท สมาร์ท บิซิเนส ไลน์ จ�ำกัด 9/4-6 ถนนรามอินทรา แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพฯ 10220 โทร. 0-2522-7171 แฟกซ์. 0-2971-7747 FACEBOOK : SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 10
EMAIL : sbl2553@gmail.com
บรรณาธิการอ�ำนวยการ ศุภกิจ ศิลปรังสรรค์ บรรณาธิการบริหาร อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์ บรรณาธิการงานบุคคล พงษ์ศักดิ์ พรณัฐวุฒิกุล วนัสกฤษณ์ ศิลปรังสรรค์ บรรณาธิการการตลาด ปัณณ์ฐาโชค ธนสานสิทธิโชติ ฝ่ายกฎหมาย สมคิด หวังเชิดชูวงศ์ ทวิช อมรนิมิตร
ณพัชรภัณฑ์ รัชต์เลิศโภคิน
ศิลปกรรม
บรรณาธิการฝ่ายศิลปกรรม พัชรา ค�ำมี
กราฟิกดีไซน์
พิมพ์พิสุทธิ์ พังจูนันท์ วรเชษฐ สมประสงค์ จักรพันธ์ สิงห์ดี
ช่างภาพ
ชัยวิชญ์ แสงใส ปณต ปิติจารุวิศาล กิติวัฒน์ ทิศมั่ง วิทยา ประเสริฐสังข์
ตัดต่อวีดีโอ
วัชรกรณ์ พรหมจรรย์ ฝ่ายบัญชี/การเงิน
บัญชี
ปัฐมาภรณ์ แสงบุราณ
หัวหน้าฝ่ายการเงิน สุจิตรา แดนแก้วนิต
การเงิน
จันทิพย์ กันภัย ณภัทร ชื่นสกุล ชวัลชา นกขุนทอง
www.sbl.co.th
19/10/2561 14:16:58
สวนน�้ ำโพนทองปาร์ ค
สวนน�้ำโพนทองปาร์ค เป็นแหล่ง ท่องเที่ยว เป็นสถานที่พักผ่อนของ คนรั ก ธรรมชาติ พบปะสั ง สรรค์ จัดงานเลี้ยง (งานแต่ง เลี้ยงรุ่นพร้อม ทีพ ่ กั ) ประชุมสัมมนา เข้าค่าย ตัง้ แคมป์ ค่ า ยลู ก เสื อ ตกปลาฟิ ช ชิ่ ง ปาร์ ค และเกษตรทฤษฎี ใ หม่ ต ามรอยพ่ อ อยูอ่ ย่างพอเพียง มีแก้มลิง มีแปลงสวน เกษตรผสมผสาน มีอาคารโล่งบริการ มีหอ้ งประชุมแอร์ 2 ห้อง บ้านพัก 8 หลัง ห้องพักรวม 4 หลัง เครือ่ งเสียงชุดใหญ่ เวที พร้อมให้บริการ ตั้งอยู่ที่ 228 หมู่ 18 ต.โพธิ์ทอง อ.โพนทอง จ.ร้อยเอ็ด
Tel. 085-7563563, 087-9553669 ID Line : 0879553669 FB : สวนน�้ำโพนทองปาร์ค
CONTENTS จั ง หวั ด ร ้ อยเอ็ ด I ROI ET 2018
ใต้ร่มพระบารมี บันทึกเส้นทางพบผู้ว่าราชการจังหวัด “นายวันชัย คงเกษม” บันทึกเส้นทางพบรองผู้ว่าราชการจังหวัด “นายเลิศบุศย์ กองทอง” บันทึกเส้นทางพบส�ำนักงานพระพุทธศาสนา “นายชัยมงคล ศรีทองแดง” บันทึกเส้นทางความเป็นมา บันทึกเส้นทางท่องเที่ยว เทศบาลเมืองร้อยเอ็ด ทต.โนนตาล อบต.สะอาดสมบูรณ์ วัดป่าเรไร วัดอุดมไพรสณฑ์ (วัดป่าบ้านเปลือย) วัดกลางมิ่งเมือง วัดสระทอง วัดป่าทุ่งกุลา ทต.โคกล่าม อบต.น�้ำใส วัดไตรภูมิ ทต.นิเวศน์ วัดประตูชัย วัดปิปผลิวนาราม ทต.ธงธานี ทต.โพนทราย ทต.โคกสูง ทต.โคกกกม่วง ทต.แวง ทต.สามขา ทต.โนนชัยศรี อบต.ศรีสว่าง 12
SBL บันทึกประเทศไทย I ร้อยเอ็ด
22 29 46 50 54 58 80 82 84 88 90 92 96 100 102 104 106 108 110 112 114 117 118 120 122 124 126 127
58
บันทึกเส้นทางท่องเที่ยว วัดกลางมิ่งเมือง
92
เทศบาลเมืองร้อยเอ็ด
อบต.ยางค�ำ ทต.โพนสูง อบต.นานวล อบต.เทอดไทย วัดป่าเมตตาธรรม วัดสระประทุม
80
บันทึกเส้นทาง ผู้ว่าราชการจังหวัดร้อยเอ็ด
29
“นายวันชัย คงเกษม” 128 134 136 140 142 144
รีแลกซ์ โฮเทล
THE RELAX HOTEL
w w w . r eบ l aใจไม่ x r oร i eู้ลt ืม . c o m เมื่อมาเยือนเมืองร้อยเอ็ด แล้วคุณจะประทั
ฟรี! อินเตอร์เน็ต WIFI แอร์ TV DVD ตู้เย็น น�้ำอุ่น ผ้าคลุมรถบริการฟรี!
โทร 081-0582727
CONTENTS จั ง หวั ด ร ้ อยเอ็ ด I ROI ET 2018
วัดบ้านเหล่างิ้ว ทต.โพธิ์ทอง ทต.บ้านบาก อบต.หนองใหญ่ วัดศรีโพธิ์ทอง วัดบ้านผ�ำใหญ่ ทต.หินกอง อบต.สระคู อบต.เมืองทุ่ง อบต.น�้ำค�ำ วัดบ้านเปลือยใหญ่ วัดธาตุนาใหญ่ ทต.บุ่งเลิศ ทต.ขวาว ทต.เกาะแก้ว ทต.เสลภูมิ ทต.นาเมือง ทต.หนองหลวง อบต.โพธิ์ทอง อบต.บึงเกลือ วัดสันติวิเวก วัดทุ่งสว่างอารมณ์ วัดป่าสักดาราม ทต.หนองฮี อบต.ดูกอึ่ง อบต.สาวแห อบต.เด่นราษฎร์ วัดดอนวิเวก วัดราษฎรอุทิศ ทต.โพนเมือง อบต.บ้านดู่ 14
SBL บันทึกประเทศไทย I ร้อยเอ็ด
146 148 150 152 154 155 156 158 160 162 164 166 167 168 170 172 174 176 177 178 180 182 183 184 186 188 190 192 194 195 196
164
วัดบ้านเปลือยใหญ่
วัดสันติวิเวก
180 190
อบต.เด่นราษฎ์
ทต.บุ่งเลิศ
167
โรงแรมบ้านนงนุช (Baan Nongnooch Hotel)
ดื่มด�่ำกับบรรยายกาศร่มรื่น เย็นสบาย มีระดับ ในราคาประหยัด บริการห้องพักสะอาด สถานทีจ่ ดั เลีย้ ง ท่ามกลางธรรมชาติ
“มาเที่ยวเมืองร้อยเอ็ดครั้งใด ให้เราได้บริการคุณ” สิ่งอ�ำนวยความสะดวก : เคเบิ้ลทีวี ตู้เย็น เครื่องท�ำน�้ำอุ่น เฟอร์นิเจอร์ครบชุด ที่อยู่ : บ.เกษตรส�ำราญ ต.ดงลาน อ.เมืองร้อยเอ็ด (หลังห้างโรบินสัน ร้อยเอ็ด) โทร. 084-4209535, 089-7101569, 043-624138 Facebook : โรงแรมบ้านนงนุช ร้อยเอ็ด
ชื่นใจ แมนชั่น
“ห้องพักสะอาด สะดวก บรรยากาศดี ฟรีwifi ที่จอดรถกว้างขวาง” ได้มาตรฐานสถานประกอบการ ประจ�ำปี 2561 ให้คุณมั่นใจในการบริการของเรา ใกล้ตลาดถนนคนเดินสาเกตนคร และสวนสาธารณะบึงพลาญชัย
เมื่อมาเยือนเมืองร้อยเอ็ด แล้วคุณจะประทับใจไม่รู้ลืม สิ่งอ�ำนวยความสะดวก: ทีวี แอร์ ตู้เย็น น�้ำอุ่น กาแฟ และโอวัลติน ฟรีwifi Facebook: ชื่นใจแมนชั่นร้อยเอ็ด ที่อยู่ 70/1 ถ.รณชัยชาญยุทธ ต.ในเมือง อ.เมืองร้อยเอ็ด จ.ร้อยเอ็ด 45000
(ตรงข้ามส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ดเขต1)
โทร 043-515232 089-4185183
พอใจรีสอร์ท
พักที่ไหน ไม่ถูกใจ มาพอใจรีสอร์ท สิคะ...
พอใจรีสอร์ท สัมผัสกับธรรมชาติ ห้องพักสวยหรู สะอาดปลอดภัย ที่จอดรถสะดวกสบาย
ที่อยู่ เลขที่ 40 หมู่ 8 ต.โพธิ์ศรีสว่าง อ.โพนทอง จ.ร้อยเอ็ด 45110
โทร. 065 0851838
Facebook : พอใจรีสอร์ท
สิ่งอ�ำนวยความสะดวก : แอร์ ทีวี ฟรีWi-Fi ห้องพักสะอาด พร้อมที่จอดรถส่วนตัว
โรงแรมเพชรรัชต์การ์เด้น
PETCHARATGARDEN HOTEL
www.petcharatgarden.com Tel. 043-519-000-8 Mobile. 089-417-0812, 086-227-8234, 084-029-0707 Fax.043-519-009
“เพชรน�้ำหนึ่ง แห่งเมืองงาม จังหวัดร้อยเอ็ด” เพชรรัชต์การ์เด้น ขอแนะน�ำส่วนบริการด้านการจัดเลี้ยงงานประชุมสัมมนา การฝึกอบรมหรือการจัดงานมงคลสมรส งานสังสรรค์ ในโอกาส ต่าง ๆ ศูนย์ประชุมระดับมาตรฐาน ท่ามกลางบรรยากาศสวนสวยใจกลางเมือง สัมผัสกับความงดงามของวัฒนธรรมอีสานและความสะดวกสบาย ครบครัน ด้วยห้องพักที่ได้มาตรฐานสากล จ�ำนวน 148 ห้อง ทางโรงแรมยังมีห้องเพื่อรองรับงานเลี้ยงสังสรรค์ งานประชุมสัมมนาขนาดต่าง ๆ ที่สามารถรองรับได้ตั้งแต่ 20 ท่าน จนถึง 3,000 ท่าน และลานจอดรถที่กว้างขวางเพื่อรองรับงานอันส�ำคัญของท่าน ด้วยพนักงานมืออาชีพ ที่พร้อมให้บริการด้วยความเอาใจใส่ และด้วยน�ำ้ ใจไมตรีอันอบอุ่น
ห้องแอร์ ทีวี ตู้เย็น บริการอาหารเช้าแบบบุฟเฟ่ต์ ห้องละ 2 ท่าน ให้บริการสระว่ายน�ำ้ ฟรี
โรงแรมบ้านนันทิยา รีสอร์ท Baan Nantiya
ยิ น ดี ใ ห้ บ ริ ก ารห้ อ งพั ก รายวั น ในบรรยากาศ สบายๆ สไตล์ธรรมชาติ อยู่ใจกลางเมือง ใกล้ห้าง สรรพสินค้า ที่จอดรถกว้างขวาง พร้อมสิ่งอ�ำนวยความสะดวก Free ภายในห้อง เครื่องปรับอากาศทีวี Wi-fi ตูเ้ ย็น เครือ่ งท�ำน�ำ้ อุน่ พร้อมอาหารเช้า
ราคาเริ่มต้นที่คืนละ 500 บาท ส�ำรองห้องพักได้ที่ 043-519459 / 088-5570133 31/42-44 ถ.คุ้มวัดป่าเรไร ต.ในเมือง อ.เมือง จ.ร้อยเอ็ด 45000 Facebook : โรงแรมบ้านนันทิยา
111 ตองหนึ่งแมนชั่น ร่มรื่น ที่จอดรถกว้างขวาง ตรงข้ามเรือนจ�ำร้อยเอ็ด ให้บริการห้องพักรายวัน-รายเดือน โทร.043-515200, 086-5803111 ฟรี ที่จอดรถ ฟรี Wi-fi Facebook : ตองหนึ่งแมนชั่นร้อยเอ็ด Line: 0865803111
ใต้ร่มพระบารมี
โครงการส่งเสริมศิลปาชีพอำ�เภอโพธิ์ชัยฯ บ้านศรีวิลัย ตำ�บลขามเปี้ย อำ�เภอโพธิ์ชัย จังหวัดร้อยเอ็ด เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน 2535 สมเด็จ พระนางเจ้าสิรกิ ติ ิ์ พระบรมราชินนี าถ ในรัชกาล ที่ 9 ได้เสด็จฯ เยีย่ มราษฎรที่ บ้านพลไทย ต�ำบล โพธิศ์ รี อ�ำเภอโพธิช์ ยั จังหวัดร้อยเอ็ด ด้วยความ ห่วงใยความเป็นอยูข่ องราษฎรในพืน้ ที่ พระองค์ ได้พระราชทานความช่วยเหลือ โดยพระราชทาน ทรัพย์ส่วนพระองค์ให้กับราษฎร ทรงมีพระราช เสาวนี ย ์ ใ ห้ ป ลู ก หม่ อ นเลี้ ย งไหม ทอผ้ า ไหม เพื่อเสริมรายได้ในครอบครัว ต่อมากองอ�ำนวย
22
SBL บันทึกประเทศไทย I ร้อยเอ็ด
การรักษาความมั่นคงภายในภาค 2 ส่วนแยก 1 จึงได้ด�ำเนินการจัดตั้งโครงการส่งเสริมศิลป าชีพที่อ�ำเภอโพธิ์ชัย โดยความร่วมมือของส่วน ราชการ พ่อค้า ประชาชน ในพื้นที่ เมื่อวันที่ 18 ธันวาคม 2536 สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในรัชกาลที่ 9 ได้เสด็จฯ เยี่ยมราษฎร และเป็นองค์ประธานในพิธีเปิด ป้ายโครงการส่งเสริมศิลปาชีพอ�ำเภอโพธิ์ชัย ในวโรกาสนีพ้ ระองค์ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ
ให้ผู้บริจาคที่ดินและวัสดุอุปกรณ์ในการสร้าง ได้เข้าเฝ้า ต่อมา กองอ�ำนวยการรักษาความ มั่นคงภายในภาค 2 ส่วนแยก 1 ได้มอบความ รับผิดชอบโครงการให้ กองอ�ำนวยการรักษา ความมั่นคงภายในภาค 2 ส่วนแยก 2 , จังหวัด ทหารบกร้อยเอ็ด และเมื่อปี 2537 กองอ�ำนวย การรักษาความมั่นคงภายในภาค 2 ส่วนแยก 2 จึงมอบให้ กองพันหารราบที่ 1 กรมทหารราบ ที่ 16 เป็นหน่วยรับผิดชอบตามล�ำดับ (ก่อตั้ง
โครงการฯ เมื่อ พ.ศ. 2535) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมงานอาชีพ พัฒนาคุณภาพชีวิต และความเป็นอยู่ราษฎรให้ดีขึ้น, เพื่อให้ราษฎรได้ มีอาชีพเสริมในช่วงที่ว่างจากอาชีพหลัก และเสริมสร้างความมั่นคงใน พื้นที่ ต่อมาในพื้นที่มีปัญหาการขาดแคลนน�้ำอุปโภคบริโภค กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยกรมทรัพยากร น�ำ้ บาดาลซึง่ มีภารกิจในการจัดหาและพัฒนาแหล่งน�ำ้ บาดาล ได้เข้าไป ในพื้นที่และตรวจสอบสภาพทาง อุทกธรณีวิทยาแล้ว พบว่าแหล่งน�้ำ บาดาลในบริเวณดังกล่าว หากได้มีการด�ำเนินการตามหลักวิชาการน�้ำ บาดาล ที่เหมาะสมและทันสมัย เช่น การส�ำรวจทางด้านธรณีฟิสิกส์ เพื่อตรวจสอบชั้นน�้ำบาดาลที่เหมาะสม รวมทั้งการด�ำเนินการเจาะ บ่อน�ำ้ บาดาลด้วยเครือ่ งจักรเจาะบ่อทีท่ นั สมัย ก็จะสามารถจัดหาแหล่ง น�ำ้ บาดาลในบริเวณดังกล่าวและบริเวณใกล้เคียงขึน้ มาใช้ได้อย่างเพียงพอ ด้วยกรมส่งเสริมคุณภาพสิง่ แวดล้อม (สส.) ได้รว่ มกับทีป่ รึกษาโครงการ พัฒนาตามพระราชด�ำริจัดท�ำโครงการหมู่บ้านผลิตอาหาร (Food Bank) เพือ่ พัฒนาคุณภาพชีวติ ของประชาชนในพืน้ ทีท่ เี่ ป็นถิน่ ทุรกันดาร ใน 2 พื้นที่คือ 1. เพื่อจัดหาน�้ำบาดาลไว้ใช้ในการอุปโภคบริโภค และใช้ส�ำหรับ ภายในกิจกรรมของโครงการส่งเสริมศิลปาชีพอ�ำเภอโพธิช์ ยั บ้านศรีวลิ ยั ต�ำบลขามเปี้ย อ�ำเภอโพธิ์ชัย จังหวัดร้อยเอ็ด 2. ทรัพยากรน�้ำบาดาลได้รับการจัดสรรอย่างสมดุลและยั่ง ยืน ให้ประชาชนได้มีน�้ำใช้อย่างเพียงพอ เป็นธรรม และเพิ่มประสิทธิภาพ ในการบริหารจัดการอนุรกั ษ์พฒ ั นาและฟืน้ ฟูแหล่งน�ำ ้ ตลอดจนป้องกัน บรรเทาและแก้ไขปัญหาวิกฤตน�้ำ ROI ET I SBL บันทึกประเทศไทย
23
ปลอดภัยและใช้เพื่อการเกษตรได้ 3. ก่อสร้างระบบประปาบาดาลใช้เพื่อ การอุปโภคบริโภค และจัดท�ำระบบการจ่ายน�้ำ เพื่อใช้การเกษตร ระยะเวลาเริ่มต้นและสิ้นสุดโครงการ ระยะเวลาด�ำเนินการ 120 วัน หลังจากได้ รับการจัดสรรงบประมาณ
กิจกรรมของโครงการ เรียงตามขั้นตอนหรือ วิธีการท�ำงาน 1. วิเคราะห์ข้อมูลทางธรณีวิทยา 2. ส�ำรวจสภาพแหล่งน�ำ้ บาดาลในภาคสนาม 3. ส�ำรวจทางธรณีฟิสิกส์ 4. ส�ำรวจทางอุทกธรณีวิทยา 5. ประมวลข้อมูลเพื่อก�ำหนดจุดเจาะน�้ำ บาดาล 6. ก�ำหนดการใช้ประเภทเครื่องเจาะให้ เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ขุดเจาะบ่อน�้ำบาดาล 7. ท�ำการเจาะส�ำรวจเพื่อวิเคราะห์ชั้นหิน ชั้นดิน และชั้นน�้ำบาดาล
24
SBL บันทึกประเทศไทย I ร้อยเอ็ด
8. ท�ำการหยัง่ ธรณีหลุมเจาะ โดยเครือ่ งมือ E-Log 9. ออกแบบก่อสร้างบ่อน�้ำบาดาล 10. พัฒนาเป่าล้างท�ำความสะอาดบ่อน�้ำ บาดาล 1. ทดสอบปริมาณน�ำ้ ของบ่อ (pumping test) เพื่อให้ทราบถึงคุณสมบัติทางชลศาสตร์ ของระดับน�้ำ ระยะน�ำ้ ลด ภาวะปริมาณน�้ำ เพื่อ น�ำมาใช้ในการออกแบบและก�ำหนดขนาดของ เครื่องสูบน�ำ ้ 2. การวิ เ คราะห์ คุ ณ ภาพน�้ ำ เพื่ อ ให้ ทราบว่าสามารถน�ำน�ำ้ ไปใช้อปุ โภคบริโภคอย่าง
พื้นที่ด�ำเนินการ/วงเงินงบประมาณ โครงการจัดหาน�้ำบาดาลส�ำหรับโครงการ ส่งเสริมศิลปาชีพอ�ำเภอโพธิ์ชัย บ้านศรีวิลัย ต�ำบลขามเปี้ย อ�ำเภอโพธิ์ชัย จังหวัดร้อยเอ็ด ค่าด�ำเนินการรวม 537,200 บาท ความพร้อมของโครงการและผลตอบแทน 1. ความพร้อมด้านวิชาการ มีคณะท�ำงานที่ มีความรูค้ วามสามารถและประสบการณ์ในการ พัฒนาน�ำ้ บาดาลขึ้นมาใช้อย่างถูกวิธีและสมดุล 2. ความพร้อมในด้านเทคนิคในการเจาะ บ่อน�้ำบาดาล ซึ่งมีความช�ำนาญประสบการณ์ และคุณภาพสูง รวมถึงวิธีการปฏิบัติงานอย่าง เป็นระบบ
3. สามารถจัดหาน�้ำบาดาลขึ้นใช้มาอย่าง เพียงพอส�ำหรับอุปโภคบริโภค ระยะเวลาการด�ำเนินงาน การด�ำเนินงาน ใช้ระยะเวลารวมทั้งสิ้น 120 วัน นับตั้งแต่ได้ รับการจัดสรรงบประมาณ การบริหารจัดการโครงการในทุกระดับ 1. ศูนย์ทรัพยากรน�้ำบาดาล ภาค 7 เป็น ผู้รับผิดชอบโครงการ 2. ศู น ย์ ป ระสานงานด้ า นน�้ ำ บาดาลเพื่ อ สนับสนุนโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ ซึ่ ง รั บ ผิ ด ชอบในระดั บ พื้ น ที่ มี ห น้ า ที่ ป ระสาน งานการปฏิบัติงาน ในภาคสนาม ติดตามการ ปฏิบัติงาน การวางระบบการติดตามและประเมินผล การติดตามการประเมินผลโครงการแบ่งเป็น 3 ระยะ ประกอบด้วย ระยะก่อนเริ่มโครงการ ระยะระหว่างปฏิบัติทำ� งานโครงการ และระยะ สิ้นสุดโครงการ การสร้างตัวชี้วัดในการพัฒนา 1. ตั ว ชี้ วั ด เชิ ง ปริ ม าณ สามารถเจาะบ่ อ บาดาลในพืน้ ทีโ่ ครงการส่งเสริมศิลปาชีพอ�ำเภอ
โพธิช์ ยั บ้านศรีวลิ ยั ต�ำบลขามเปีย้ อ�ำเภอโพธิช์ ยั จังหวัดร้อยเอ็ด จ�ำนวน 1 บ่อ 2. ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ ความพึงพอใจของ ราษฎรทีม่ นี ำ�้ บาดาลเพียงพอทีใ่ ช้ในการ อุปโภค บริโภค 3. ตัวชีว้ ดั ค่าใช้จา่ ย จ�ำนวนงบประมาณทีไ่ ด้ รับการสนับสนุนเป็นเงิน 537,200 บาท 4. ตัวชี้วัดเชิงเวลา ระยะเวลาในการด�ำเนิน การ 120 วัน / โครงการ ประโยชน์ที่จะได้รับ 1. ท�ำให้โครงการฯด�ำเนินกิจกรรมได้อย่าง ต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ มากยิ่งขึ้น 2. โครงการฯและราษฎรในพื้นที่ใกล้เคียงมี น�้ำสะอาดใช้เพื่อการอุปโภคบริโภคอย่างทั่วถึง และเพียงพอ
ขอขอบคุณที่มา : ศูนย์ประสานงานด้านน�ำ้ บาดาลเพือ่ สนับสนุน โครงการอันเนื่องจากพระราชด�ำริ
ROI ET I SBL บันทึกประเทศไทย
25
WO R K LI FE
บันทึกประเทศไทย 4.0
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี
และนวัตกรรมดิจิทัล เพื่อชุมชนในชนบท
(depa Digital Transformation Fund for Community) Thailand 4.0 (ไทยแลนด์ 4.0) เป็นวิสัยทัศน์เชิงนโยบายของ รัฐบาล ที่จะเปลี่ยนเศรษฐกิจแบบเดิมไปสู่เศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด้วย นวัตกรรม โดยประเทศไทยนั้นก�ำลังพัฒนาเข้าสู่เศรษฐกิจดิจิทัลแบบ เต็มรูปแบบในอีกไม่ช้านี้ ระบบในการด�ำเนินการต่าง ๆ จะต้องเข้าสู่ ระบบดิจิทัลเกือบทั้งหมดนั่นเอง ดร.ณัฐพล นิมมานพัชรินทร์ ผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจ ดิจทิ ลั (ดีปา้ ) กระทรวงดิจทิ ลั เพือ่ เศรษฐกิจและสังคม กล่าวว่า ดีปา้ เดิน หน้าพันธกิจการให้ความส�ำคัญกับการยกระดับการพัฒนาอุตสาหกรรม ดิจทิ ลั ทัง้ ในส่วนของภาครัฐ และภาคเอกชน มุง่ เน้นการประยุกต์ใช้และ สร้างให้เกิดการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมดิจทิ ลั ของผูป้ ระกอบการ และดิจิทัลสตาร์ทอัพ ดีป้าจึงได้ออกมาตรการส่งเสริมและสนับสนุน อุตสาหกรรมดิจิทัลส�ำหรับภาครัฐและเอกชน หรือ depa - Fund เพื่อเร่งรัดการพัฒนาอุตสาหกรรมดิจิทัลโดยรวมของประเทศ ซึ่งเปิด รับสมัครการสนับสนุนเข้าร่วมโครงการผ่านมาตรการต่างๆ เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพและโอกาสในการด�ำเนินธุรกิจ โดยประกอบไปด้วย
26
SBL บันทึกประเทศไทย I ร้อยเอ็ด
ดร.ณัฐพล นิมมานพัชรินทร์ ผู้อำ� นวยการ ส�ำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล (depa)
มาตรการขับเคลื่อนดิจิทัลด้านเศรษฐกิจ 1. การสร้างให้เกิด ดิจทิ ลั สตาร์ทอัพ (Digital Startup) รุ ่ น ใหม่ ที่ มี ศั ก ยภาพในการก้ า วสู ่ ก ารเป็ น ยู นิ ค อน (Unicorn) ผ่ า นมาตรการช่ ว ยเหลื อ หรื อ การอุ ด หนุ น เพื่อการเริ่มต้นธุรกิจอุตสาหกรรมดิจิทัล (depa Digital Startup Fund) 2. การกระตุ ้ น ให้ เ กิ ด การประยุ ก ต์ ใ ช้ เ ทคโนโลยี และนวัตกรรมดิจิทัลในภาคเอกชน (Digital Transformation) ผ่านมาตรการช่วยเหลือหรือการอุดหนุนการ ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมดิจทิ ลั เพือ่ ภาคธุรกิจ อุตสาหกรรม (depa Digital Transformation Fund) 3. การสร้างองค์ความรู้ผลงานวิจัยและนวัตกรรม ด้ า นดิ จิ ทั ล เพื่ อ การประยุ ก ต์ ใ นอุ ต สาหกรรม ผ่ า น มาตรการช่วยเหลือหรือการอุดหนุนการร่วมวิจัยและ พัฒนาอุตสาหกรรม และนวัตกรรมดิจิทัล (depa Digital Research Development and Innovation Fund) 4. การสร้ า งโอกาสด้ า นการตลาดให้ ธุ ร กิ จ ดิ จิ ทั ล ผ่ า นกิ จ กรรมส่ ง เสริ ม การจั บ คู ่ ธุ ร กิ จ การประกวด การสร้างความตระหนัก โดยอาศัยมาตรการช่วยเหลือ หรือการอุดหนุนการจัดกิจกรรมส่งเสริม หรือประกวดการ สร้างความตระหนัก การจับคู่ธุรกิจ เกี่ยวกับการพัฒนา อุตสาหกรรม และนวัตกรรมดิจิทัล (depa Digital Event and Marketing Fund) มาตรการขับเคลื่อนดิจิทัลด้านสังคม 1.การสร้างก�ำลังคนและบุคลากรดิจทิ ลั (Digital Manpower) ทีส่ อดคล้องกับความต้องการของภาคเอกชน ผ่าน มาตรการช่วยเหลือหรือการอุดหนุนการพัฒนาศักยภาพ ก�ำลังคนและบุคลากรด้านเทคโนโลยี และนวัตกรรมดิจทิ ลั (depa Digital Manpower Fund) ซึ่งแบ่งการสนับสนุน ออกเป็น 2 ส่วน ส่วนแรก Digital Manpower Fund เพื่อ พัฒนาและผลิตก�ำลังคนและบุคลากรให้มีความรู้ความ สามารถด้านดิจิทัล ทั้งในระดับการใช้งานขั้นพื้นฐาน และระดับการใช้งานในสาขาอาชีพ ระดับการใช้งานขั้น ผู้เชี่ยวชาญ ระดับทักษะที่มีความต้องการเร่งด่วน 2. การสร้ า งความเข้ ม แข็ ง ในระดั บ ชุ ม ชนโดยการ ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมดิจทิ ลั ผ่านมาตรการ ช่วยเหลือหรือการอุดหนุน การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี และนวัตกรรมดิจิทัล เพื่อชุมชนในชนบท (depa Digital
Transformation Fund for Community) แบ่งการสนับสนุนออกเป็น ส่วนแรก Conceptual Plan for Community เพือ่ การจัดท�ำแผนงานเบือ้ งต้นเพือ่ ใช้พฒ ั นา ชุมชนด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรมดิจทิ ลั และส่วนทีส่ อง Digital Transformation for Community สนับสนุนการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมดิจทิ ลั ในชุมชน ทั้งนี้ depa เชื่อว่ามาตรการในการสนับสนุนดังกล่าว จะช่วยเปลี่ยนผ่านประเทศ บนฐานความรู้ใหม่ พร้อมกับการยกระดับมาตรฐานเทคโนโลยีและนวัตกรรม ดิจิทัลของประเทศ เพื่อการพัฒนาและวางโครงสร้างพื้นฐานเพื่อขับเคลื่อน เศรษฐกิจดิจิทัลในทุกมิติ เกิดการพัฒนาอย่างบูรณาการ ทั้งภาคเศรษฐกิจ และ สังคม ขอบคุณข้อมูจาก www.depa.or.th
ROI ET I SBL บันทึกประเทศไทย
27
WOR K LI FE
บันทึกเส้นทาง AEC ไทยแลนด์ 4.0
“เมืองร้อยเอ็ด
เมืองข้าวหอมมะลิ 4.0” “พลิ ก โฉมเกษตรด้ ว ยเทคโนโลยี น วั ต กรรม ก้ า วสู ่ เ กษตร 4.0 (Agri-Tech Transformation)” ด้วยการน�ำอาชีพหลักทีค่ นไทยส่วนใหญ่ ประกอบอาชีพอยู่ นั่นคืออาชีพการเกษตร พัฒนาเข้าสู่นวัตกรรม 4.0 ที่ท�ำให้การท�ำเกษตร มีวิธีการที่น่าผลิต ซื้อ ขาย ที่สนใจมากขึ้น รวดเร็ว ขึ้น เข้าถึงได้ง่ายขึ้น ผลผลิตมากขึ้น มีคุณภาพทัดเทียมกับตลาดโลกมาก ขึ้นอีกด้วย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จับมือ เทสโก้ โลตัส ปั้น “ข้าวหอม มะลิประชารัฐ” ซื้อตรงข้าวหอมมะลิคุณภาพจากสหกรณ์ 4 จังหวัดภาค อีสาน ประเดิมปีแรก 5,700 ตัน เพิ่มช่องทางตลาดข้าวให้ชาวนา รับซื้อ ข้าวหอมมะลิคุณภาพดี 100% จากสหกรณ์การเกษตรใน 4 จังหวัดภาค อีสานโดยตรง หวังสร้างช่องทางตลาดเพิ่มเติมให้ชาวนา ลดปัญหาถูกกด ราคาข้าวโดยพ่อค้าคนกลางและโรงสีเอกชน ผู้ผลิตข้าวหอมมะลิคุณภาพดี 4 แห่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นความร่วมมือระหว่างกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กับ เทสโก้ โลตัส ในการสนับสนุนให้ห้างโมเดิร์นเทรดเข้ามารับซื้อข้าวหอมมะลิแท้ 100%
28
SBL บันทึกประเทศไทย I ร้อยเอ็ด
โดยตรงจากสหกรณ์การเกษตรใน 4 จังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้แก่ สหกรณ์การเกษตรเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด สหกรณ์การเกษตร ตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานี สหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาด ลูกค้า ธ.ก.ส. จังหวัดสุรินทร์ และสหกรณ์การเกษตรกันทรลักษณ์ จังหวัด ศรีสะเกษภายใต้โครงการ “ข้าวหอมมะลิประชารัฐ” พร้อมเปิดเผยว่า จากนโยบายประชารัฐที่รัฐบาลต้องการส่งเสริมการประสานพลังระหว่าง ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน ให้เข้ามามีส่วนร่วมในการด�ำเนิน งานโครงการที่ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อประชาชนให้มากยิ่งขึ้นนั้น ที่ผ่านมา กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้รว่ มกับภาคส่วนต่าง ๆ ด�ำเนินตามนโยบาย ประชารัฐมาอย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ ให้เกษตรกรซึง่ เป็นประชากรกลุม่ หลักของ ประเทศได้อยู่ดีกินดีอย่างยั่งยืน และได้ให้ความส�ำคัญในการ พัฒนาการ เกษตรไทยสูย่ คุ ไทยแลนด์ 4.0 คือยกระดับการผลิตตลอดทัง้ กระบวนการ ตั้งแต่การวางแผน การเพาะปลูก การน�ำวิทยาการที่ทันสมัยมาพัฒนา คุณภาพสินค้า การควบคุมความปลอดภัยของสินค้าเกษตร ตลอดจน การหาตลาดที่มั่นคงเพื่อรองรับผลผลิต ที่จะออกสู่ท้องตลาดตลอด ทุกช่วงฤดูกาล ซึ่งนอกจากจะช่วยสร้างรายได้ให้กับเกษตรกรทั่วประเทศ แล้ว ยังท�ำให้เทสโก้ โลตัส สามารถท�ำงานอย่างใกล้ชิดกับเกษตรกรใน การควบคุมมาตรฐานคุณภาพและความปลอดภัยของสินค้า อันก่อให้เกิด ประโยชน์สูงสุดต่อผู้บริโภค ขอบคุณข้อมูลจาก www.aeconlinenews.com
สารผู้ว่าราชการจังหวัดร้อยเอ็ด "สืบสาน รักษา ต่อยอด สร้างสุขปวงประชา"
เนื่ อ งในโอกาสวัน เฉลิมพระชนมพรรษา “สมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว มหาวชิ ร าลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ” ในวันที่ 28 กรกฎาคม 2561 ได้มกี ารจัดกิจกรรม “จิตอาสาท�ำความดี 1,010,101 ซีซี บริจาคโลหิตถวาย 66 พรรษา เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ณ หอประชุมอ�ำเภอเมืองร้อยเอ็ด ทั้งนี้ กิจกรรมมีวัตถุประสงค์เพื่อให้จิตอาสา ได้แสดงออก ถึงความส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ และถวายเป็นพระราชกุศลแด่สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูรและส่งเสริมให้จิตอาสาจากหน่วยงานภาครัฐ เอกชน สถาบั น การศึ ก ษา และประชาชน ทั่ ว ทั้ ง จั ง หวั ด ร้ อ ยเอ็ ด ร่ ว มกิ จ กรรมบริ จ าคโลหิ ต ลดปัญหาโลหิตขาดแคลน และให้มีโลหิตเพียงพอต่อความต้องการ เนื่องในโอกาสมหามงคล วันเฉลิมพระชนมพรรษาสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร 28 กรกฎาคม 2561 ในนามของพสกนิกรจังหวัดร้อยเอ็ด ขอน้อมเกล้าน้อม กระหม่อมถวายพระพรชัยมงคล ขอพระองค์ทรงพระเจริญยิ่งยืนนาน ในส่วนของการพัฒนาจังหวัดร้อยเอ็ดนั้น ผมได้น�ำผลการวิเคราะห์ ข้อมูลสภาพทั่วไป ปัญหาและความต้องการของประชาชนตลอดจน การประเมิ น สถานภาพการพั ฒ นาในปั จ จุ บั น และโอกาสในการ พั ฒนาในอนาคตของจั ง หวั ด โดยมี ก ารส่ ง เสริ ม และพั ฒนาการ ผลิ ต ข้ า วหอมมะลิ เพื่ อ สร้ า งมู ล ค่ า เพิ่ ม ด้ ว ยนวั ต กรรม เพิ่ ม ศั ก ยภาพการบริ ห ารทรั พ ยากรและสิ น ค้ า การเกษตรให้ เ ป็ น เกษตรปลอดภัย เกษตรอินทรีย์เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และเป็น แหล่งผลิตอาหารปลอดภัย พัฒนาให้จังหวัดเป็นศูนย์กลางการ ท่องเทีย่ ว การค้า การลงทุน เชือ่ มโยงการบริการ สินค้า ผลิตภัณฑ์ ชุมชน รวมทัง้ วัฒนธรรม ค่านิยม และประเพณีทดี่ งี าม สามารถผสม ผสานกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมสมัยใหม่ได้อย่างกลมกลืน พัฒนาคนให้มีคุณภาพ สร้างโอกาส สร้างอาชีพ สร้างรายได้ ให้ ป ระชาชน และส่ ง เสริ ม ให้ มี ก ารด� ำ เนิ น ชี วิ ต ตามแนวทาง หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ยกระดับคุณภาพชีวิตให้ มี ค วามมั่ น คง มั่ ง คั่ ง ยั่ ง ยื น เพื่ อ สร้ า งภู มิ คุ ้ ม กั น ให้ ส ามารถ รองรั บ การเปลี่ ย นแปลงอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ให้ ส มกั บ "เป็นจังหวัดที่มีความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและสังคมบนพื้น ฐานแหล่งผลิต และสร้างมูลค่าเพิ่มข้าวหอมมะลิคุณภาพสูง เอื้อต่อการลงทุนของภาคเอกชน และเป็นเมืองน่าเที่ยว น่าอยู่" ผมขอขอบคุณนิตยสาร SBL ที่ให้ผมได้บอกกล่าวเล่าเรื่องการ ท�ำงาน การพัฒนา ความน่าอยู่ น่าท่องเทีย่ วของจังหวัดร้อยเอ็ด และ ขอขอบคุณทุกภาคส่วนราชการ ภาคเอกชน ทีใ่ ห้ความร่วมมือในการจัด ท�ำนิตยสารเป็นอย่างดี ผมหวังเป็นอย่างยิง่ ว่าท่านทัง้ หลายจะประสบพบ เจอแต่ความสุขความเจริญยิ่งๆ ขึ้นไป ขอบคุณครับ
........................................................... (นายวันชัย คงเกษม) ผู้ว่าราชการจังหวัดร้อยเอ็ด ROI ET I SBL บันทึกประเทศไทย
29
S P ECI A L I NT E R V IE W
บันทึกเส้นทางพบผู้ว่าราชการจังหวัดร้อยเอ็ด
“นายวันชัย คงเกษม” ผู้ว่าราชการจังหวัดร้อยเอ็ด เมื่อเอ่ยถึงความแตกต่างในแต่ละภูมิภาคของประเทศไทยเรานั้นไม่ว่าจะเป็น ความเป็นอยู่ วิถีชีวิต ศิลปวัฒนธรรม ความหลากหลายของเชื้อชาติในประเทศไทย ดูจะแตกต่างกันอยูไ่ ม่นอ้ ย ความท้าทายในการท�ำงานต้องเกิดขึน้ อย่างแน่นอน พืน้ ที่ กว้างใหญ่ทสี่ ดุ ในภาคอีสาน จังหวัดเกินร้อยหรือทีเ่ รารูจ้ กั กันดีในชือ่ จังหวัดร้อยเอ็ด “เพราะผมตั้งใจรับราชการ ไม่ว่าจะอยู่ที่ไหนผมคิดว่าก็เหมือนกัน เพียงแต่ ว่าต้องท�ำตรงนั้นให้ดีที่สุด” เป็นค�ำกล่าวที่น่าสนใจ ในการพูดคุยให้แง่คิดและหลัก การท�ำงานของข้าราชการในแบบของท่านอย่างเป็นกันเอง แต่ดจู ริงจังตัง้ ใจ โดยก่อน หน้านี้นั้นท่านด�ำรงแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัดพัทลุง เรียกได้ว่ามีความต่างในด้าน ภูมิภาคมากทีเดียว แต่ด้วยความเป็นพ่อเมือง ถึงจะแตกต่างเพียงใดท่านก็มีสไตล์ ที่เด็ดเดี่ยว ดังค�ำพูดที่ว่า “ในการท�ำงานผมเป็นคนกล้าตัดสินใจ” ทั้งรูปแบบการ ท�ำงานทีเ่ น้นลงพืน้ ที่ เข้าถึงปัญหา และความร่วมมือจากทุกภาคส่วน โดยมีเป้าหมาย การพัฒนาจังหวัดร้อยเอ็ดให้ “เป็นแหล่งผลิตข้าวหอมมะลิคุณภาพสูง ท่องเที่ยว วัฒนธรรมอีสาน และเมืองสุขภาพในปี พ.ศ. 2564” ประเด็นการพัฒนาทีส่ ำ� คัญของ จังหวัด คือ เพิม่ ศักยภาพการผลิตข้าวหอมมะลิและสินค้าเกษตร สูม่ าตรฐานเกษตร อินทรีย์ และอาหารปลอดภัย นิตยสาร SBL ได้รับเกียรติจากท่าน วันชัย คงเกษม ผู้ว่าราชการจังหวัดร้อยเอ็ด คนปัจจุบัน
30
SBL บันทึกประเทศไทย I รร้อ้อยเอ็ ยเอ็ด
ROI ET I SBL บันทึกประเทศไทย
31
32
SBL บันทึกประเทศไทย I ร้อยเอ็ด
ก่ อ นมาด� ำ รงต� ำ แหน่ ง ที่ จั ง หวั ด ร้ อ ยเอ็ ด ผมเคยด�ำรงต�ำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัดพัทลุง ตั้งแต่วันที่ 6 มิถุนายน 2559 – 30 กันยายน 2560 เมื่อทราบว่าจะได้ย้ายมาประจ�ำการ ที่ จั ง หวั ด นี้ ก็ รู ้ สึ ก ดี ใ จครั บ เพราะผมตั้ ง ใจรั บ ราชการ ไม่ว่าจะอยู่ที่ไหนผมก็คิดว่าเหมือนกัน เพียงแต่ว่าต้องท�ำตรงนั้นให้ดีที่สุด พอย้าย มาที่ จั ง หวั ด ร้ อ ยเอ็ ด ก็ จ ะมี ค วามแตกต่ า งไป ในเรื่องของบริบท ในพื้นที่ ในรายละเอียดอื่น เรื่องยุทธศาสตร์ และอื่นๆ ผมเลยต้องไปดู ว่ า สภาพบริ บ ทของพื้ น ที่ ว ่ า เป็ น อย่ า งไร ซึ่งความจริงคือใกล้เคียงกันเลยครับกับจังหวัด พัทลุง คือจะเน้นเรื่องของการเกษตรและการ ท่ อ งเที่ ยวเหมื อ นกั น เลย แต่ จ ะแตกต่ า งกั น ในเรื่องของการท�ำงาน คือจะมีด้วยกันอยู่ 2 ส่วน หนึ่งคือส่วนของการแก้ไขปัญหา สองคือ ส่วนของการพัฒนาพื้นที่ แต่จะบอกอย่างนี้ว่า ในส่วนของการแก้ไขปัญหาภายในพื้นที่จังหวัด ร้อยเอ็ดกับจังหวัดพัทลุงจะแตกต่างกันอยู่บ้าง เพราะจังหวัดพัทลุงนัน้ จะมีพน้ื ทีเ่ รือ่ งของความ
“
เป้าหมายการพัฒนา “เป็นแหล่งผลิตข้าวหอม มะลิคุณภาพสูง ท่องเที่ยววัฒนธรรม อีสาน และเมืองสุขภาพ ในปี พ.ศ. 2564” ประเด็นการพัฒนาที่ สำ�คัญของจังหวัด
”
มั่นคงอยู่ด้วย แต่ในจังหวัดร้อยเอ็ดก็มีนะครับ แต่น้อยและเบาบางกว่ามาก ด้วยข้อแตกต่าง เล็กๆ น้อยๆ เหล่านี้ผมจึงได้ประสานกับทาง
หัวหน้าส�ำนักงานจังหวัดร้อยเอ็ด เพื่อจะได้ ทราบถึงแนวทางในการพัฒนาจังหวัดร้อยเอ็ด เพราะว่าเรามาสานต่อแผนพัฒนาจังหวัด 4 ปี ทีไ่ ด้เริม่ ไปแล้ว คือแผนได้เริม่ ท�ำมาก่อนหน้านัน้ แล้ว ตั้งแต่ปี 60 พอผมมาประจ�ำอยู่ที่นี่ปี 61 ก็เข้ามาท�ำงานอยูใ่ นช่วงของแผนพัฒนาจังหวัด 4 ปี คือปี 2561-2564 ซึ่งจริง ๆ แล้วจะต้อง มาตั้งแต่ต้นปีงบประมาณ 60 ซึ่งอยู่ในรอบ การท�ำแผน ตอนย้ายมาด�ำรงต�ำแหน่งก็มาใช้ แผนทีค่ ณะกรรมการภาคีเครือข่ายในการพัฒนา เขาก็ ไ ปตรวจสอบถึ ง เรื่ อ งจุ ด อ่ อ น จุ ด แข็ ง อุ ป สรรคหรื อ โอกาส แล้ ว ไปดู ว ่ า ท� ำ ไปแล้ ว สอดคล้องหรือไม่ ถ้าวางแผนงานโครงการก็ ต้องสอดคล้อง ไม่ว่าจะเป็นยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 นโยบายจากรัฐบาลนโยบายของ กระทรวงมหาดไทย ยั ง มี ยุ ท ธศาสตร์ ภ าค เหล่ า นี้ สิ่ ง ที่ ผ มพู ด มาคื อ ต้ อ งไปสอดคล้ อ งที่ เขาท�ำไว้แล้ว พอได้เริ่มศึกษาก็เห็นด้วยครับ ว่ า ที่ ผ มบอกไปตั้ ง แต่ ต ้ น ว่ า จะใกล้ เ คี ย ง ROI ET I SBL บันทึกประเทศไทย
33
กั น ในประเด็ น เรื่ อ งของการท่ อ งเที่ ย ว การเกษตร แต่ทจี่ งั หวัดร้อยเอ็ดเรือ่ งของการเกษตรจะเข้มข้นกว่า เพราะ ทั้งผลผลิตข้าว ทั้งจ�ำนวนเกษตรกรก็จะมีจ�ำนวนมากกว่า อีกทั้งพื้นที่ทำ� การเกษตรก็จะมีมากกว่า และผลผลิตที่ออก มาก็มีชื่อเสียงที่โด่งดังที่สุด ในรูปแบบการบริหารงานของผมก็มีแค่ 2 เรื่องคือ เรื่อง การแก้ไขปัญหาและเรื่องการพัฒนาอย่างที่บอกไปแล้ว “ในการท�ำงานผมเป็นคนกล้าตัดสินใจ” ในการท�ำงาน ตัง้ แต่ยา้ ยมาตอนนีก้ ม็ ไี ด้รบั ค�ำชมเชยหลายเรือ่ ง ยกตัวอย่าง เรือ่ งแรกก็เป็นเรือ่ งการจัดการอุทกภัยทีก่ ระทรวงมหาดไทย บอกว่านายกรัฐมนตรีท่านชมเชยการแก้ไขปัญหาน�้ำท่วม ของจังหวัดร้อยเอ็ดซึ่งเป็นปัญหาที่เกิดขึ้นก่อนผมจะย้าย มา ซึ่งก่อนหน้านี้ได้มีการแก้ไขปัญหามาระยะหนึ่งแล้ว แต่ ท�ำได้ไม่เต็มทีเ่ นือ่ งจากติดปัญหาในพืน้ ที่ พอผมย้ายมาน�ำ้ ก็
34
SBL บันทึกประเทศไทย I ร้อยเอ็ด
ยังท่วมเต็มทางน�้ำอยู่ อธิบายอย่างนี้ ถ้าสมมุติ ว่ายังอยู่ในทางน�้ำ น�้ำมีปริมาณไม่มากมันก็ จะอยู่ในทางน�้ำ แต่ถ้าปริมาณน�้ำมากมันก็จะ ออกนอกทางน�้ำ เข้าท่วมบ้านเรือนประชาชน หรือท่วมพื้นที่การเกษตรไร่นาของประชาชน ผมเลยใช้แผนในการแก้ปัญหาให้ใช้เรือในการ ผลั ก ดั น น�้ ำ ซึ่ ง มั น จะมี เ ครื่ อ งผลั ก ดั น น�้ ำของ กรมชลประทานกับเรือผลักดันน�้ำของกองทัพ เรือ ผมใช้ของกองทัพเรือมาที่นี่เลยครับ เพราะ ว่าในส่วนนี้ก็จะต้องใช้เงินงบประมาณในการ ซื้อน�้ำมัน ด�ำเนินการในช่วงระยะเวลา 15 วัน ใช้เงินประมาณ 2-3 ล้านบาท คือน�ำ้ มีประมาณ มากเกินกว่าทางน�้ำอยู่แล้ว แต่เพียงว่าเราผลัก ดันน�้ำเพื่อให้น�้ำไปตามทางน�้ำ ไม่ให้เอ่อล้น
ออกไปนอกทางน�ำ้ ผลักดันน�้ำให้ไหลลงไปทาง โซนใต้ไปถึงจังหวัดยโสธร จังหวัดอุบลราชธานี ลงแม่น�้ำมูล จากแม่น�้ำมูลลงแม่น�้ำโขงได้ง่าย ขึ้น อันนี้ก็จะเป็นภาพในขณะที่น�ำเรือมาซึ่งจะ มีการประสานกับทางกองทัพเรือ กับกองทัพ ภาคที่ 2 ได้น�ำเรียนคณะท่านนายกรัฐมนตรี ให้มาดู เพื่อจะเป็นโมเดลในอนาคต หลังจาก
นั้นแม่ทัพภาคที่ 2 ท่านก็ได้มาตรวจดูท่านก็ บอกเรื่องแนวคิดให้การแก้ปัญหาเรื่องน�้ำว่า ทางน�ำ้ จังหวัดร้อยเอ็ดเป็นจังหวัดที่ไม่ได้ท�ำให้ น�้ำท่วมแต่พอดีว่าเป็นกลางน�้ำ ซึ่งมวลน�้ำนั้น มาจาก 2 เขื่ อ น คื อ เขื่ อ นอุ บ ลรั ตน์ จั ง หวั ด ขอนแก่ น กั บ เขื่ อ นล� ำ ปาวจั ง หวั ด กาฬสิ น ธุ ์ โซนเหนือปล่อยน�้ำมาเข้าเขื่อนจะไม่รับก็ไม่ได้ ROI ET I SBL บันทึกประเทศไทย
35
เขาก็เดือดร้อน ทีนี้เราก็รับมา ซึ่งคุณมีเวลา ในการบริหารจัดการ เราต้องรู้กัน ทางคณะ กรรมการจังหวัดขอนแก่น ผู้ว่าราชการจังหวัด ขอนแก่นก็ต้องรู้ว่าน�้ำหรือมวลน�้ำมันวิ่งยังไง ไประยะทางเท่ า ไหร่ ด้ ว ยปริ ม าณเท่ า ไหร่ ผมได้ ติ ด ต่ อ คุ ย กั บ ท่ า นผู ้ ว ่ า ราชการจั ง หวั ด ขอนแก่น 2 ครั้ง ว่า “พี่อย่าปล่อยน�้ำมาเกิน เท่านี้นะ ถ้าปล่อยมาแล้วมันจะมีปัญหากับ จังหวัดผมมาก เพราะเราอยู่กลางน�้ำ ถ้ามัน อยู่ในล�ำน�้ำก็พอบริหารจัดการได้ แต่ถ้ามันมา มาก มันสูงทีเพิ่มจากเดิมทีละ 10 เซนติเมตร มันรับมือไม่อยู่” อันนี้ก็รายงานท่านไปว่าเป็น แบบนี้ ป ระสานงานกั น ไป ขณะเดี ย วกั น ถ้ า แก้ปัญหาระยะยาวผมก็อยากจะลงไปพัฒนา บึงในพื้นที่ของจังหวัดร้อยเอ็ดเพราะว่ามีบึง หลายแห่งเยอะมาก แต่ในภาคใต้นั้นไม่มีบึง พอไม่มี พืน้ ทีส่ ว่ นใหญ่เป็นอุทยานแห่งชาติ หรือ พืน้ ทีส่ าธารณะ ก็ทำ� อะไรไม่ได้ แต่ทนี่ สี่ ว่ นใหญ่ เป็นพื้นที่สาธารณะ จริงๆ บึงมันเป็นแก้มลิง ทางธรรมชาติที่มีอยู่แล้ว เราควรจะไปพัฒนา บึงให้มันมีความลึกขึ้น กว้างขึ้น ให้ใหญ่ขึ้น เรามีตงั้ หลายบึง เสร็จแล้วเราก็ตอ้ งท�ำทางน�ำ้ เข้า ทางน�ำ้ ออก เพือ่ ทีจ่ ะเอาน�ำ้ ทีเ่ รากักเก็บไว้ในบึง ไปใช้ในฤดูการผลิต ยกตัวอย่างเช่น พอน�ำ้ มันเริม่ ลดระดับลงผมก็ให้เอาเครื่องสูบน�้ำระยะไกล 3 กิโลเมตร ซึ่งสูบน�ำ้ ได้นาทีละ 50,000 ลิตร ซึ่งเราได้รับงบสนับสนุนจากกรมป้องกันและ บรรเทาสาธารณภั ย ด้ ว ย เราท� ำ หนั ง สื อ ขอ ความช่วยเหลือจากจังหวัดขอนแก่น ผมเห็น ในหลายพื้นที่ถ้าตรงไหนเป็นแหล่งน�้ำปิดเรา สามารถที่ จ ะโยกสู บ น�้ ำ จากแหล่ ง น�้ ำ ปิ ด ลง ไปให้แหล่งน�้ำสาธารณะเปิด ถ้าเราปล่อยไว้ น�ำ้ ก็ทว่ มบ้านเรือนประชาชน ประชาชนท�ำไร่นา การเกษตรไม่ได้ ผมไปสูบน�้ำในสวนไร่นาพอ น�ำ้ แห้ง ประชาชนก็สามารถเก็บเกีย่ วผลผลิตได้ ประชาชนสามารถท�ำนาปรังได้ พอแก้ไขปัญหา ตรงจุดนี้ได้ผลประชาชนก็ยกขบวนพากันมา ขอบคุณจังหวัด นี่เป็นอีกหนึ่งผลงานของผม ในการแก้ไขปัญหาเรื่องน�้ำโดยรวมที่ท�ำให้ทาง กระทรวงมหาดไทยชื่ น ชม และผมมี โ อกาส เดินทางลงพืน้ ทีเ่ พือ่ ตรวจเยีย่ ม รับฟังผลการด�ำเนิน งานตามนโยบายของรัฐบาล และมอบนโยบาย
36
SBL บันทึกประเทศไทย I ร้อยเอ็ด
“
เมื่อทราบปัญหา/ความ ต้องการของประชาชน การแก้ไขปัญหาในระยะ ต่อไปจะสามารถดำ�เนิน การได้ตรงจุด บรรเทา ปัญหาความเดือดร้อนได้ ตรงตามความต้องการ ที่แท้จริง
”
ให้ กั บ นายอ� ำ เภอ ผู ้ บ ริ ห ารองค์ ก รปกครอง ส่วนท้องถิ่น ก�ำนัน และผู้ใหญ่บ้าน พร้อมทั้ง รั บ ฟั ง ปั ญ หาความต้ อ งการของประชาชน ในพื้นที่ทั้ง 20 อ�ำเภอ โดยส่วนใหญ่ปัญหาที่ ประชาชนประสบและต้องการแก้ไขคือความ ยากจน โครงสร้างพื้นฐาน น�้ำเพื่อการเกษตร สินค้าทางการเกษตรตกต�ำ่ ทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดล้อมเสือ่ มโทรมและปัญหายาเสพติด เนือ่ งด้วยประชาชนส่วนใหญ่ของจังหวัดร้อยเอ็ด ประกอบอาชีพเกษตรกรรม คือ การท�ำนาข้าว และปลูกพืชเศรษฐกิจ เช่น มันส�ำปะหลัง อ้อย ยางพารา ประกอบกับจังหวัดร้อยเอ็ดเป็นพื้นที่ ที่ประสบปัญหาการขาดแคลนน�้ำและภัยแล้ง แต่ในขณะเดียวกันก็มีพื้นที่ที่ประสบปัญหาน�้ำ
ท่วม น�้ำไม่เพียงพอส�ำหรับการอุปโภค บริโภค รักษาระบบนิเวศ และท�ำการเกษตร ทัง้ น�ำ้ ผิวดิน และน�ำ้ ใต้ดนิ ปัญหาเรือ่ งน�ำ้ จึงเป็นปัญหาทีท่ าง จังหวัดให้ความส�ำคัญเป็นล�ำดับแรก เราได้วาง แนวทางในการช่วยเหลือโดยก�ำหนดแผนงาน โครงการที่จะน�ำมาแก้ไขปัญหาน�้ำแบ่งเป็น 2 ลักษณะตามสถานการณ์ คือ หนึ่งสถานการณ์ ด้านขาดแคลนน�้ำและภัยแล้ง สองสถานการณ์ ด้านน�้ำท่วม ซึ่งมีทั้งการบริหารจัดการทั้ง 2 สถานการณ์ ให้มีความสอดคล้องกัน กล่าว คือ เมื่อแก้ไขหรือบรรเทาปัญหาภัยแล้ง ก็จะมี ส่วนของการบรรเทาปัญหาน�้ำท่วมไปด้วย เช่น โครงการขุดลอกแหล่งน�้ำธรรมชาติเดิมที่มีอยู่ แล้วในพื้นที่ ซึ่งประโยชน์โดยตรงคือปริมาณ น�้ำต้นทุนที่เก็บกักไว้เพื่อกิจกรรมต่างๆ ส่วน ประโยชน์อีกด้านหนึ่งก็คือช่วยลดปริมาณและ ความรุนแรงของภาวะน�ำ้ ท่วมได้อกี ด้วย ส�ำหรับ พื้นที่ที่ไม่มีแหล่งน�้ำธรรมชาติเดิม เราใช้การน�ำ น�้ำใต้ดินมาใช้ในการแก้ไขปัญหาดังกล่าวโดย
การขุ ด เจาะบ่ อ บาดาลส� ำ หรั บ พื้ น ที่ น อกเขต ชลประทานที่ต้องการท�ำการเกษตร ปลูกข้าว มันส�ำปะหลัง และอ้อย โดยในปีงบประมาณ 2561 ทางจังหวัดได้ให้ความส�ำคัญกับการ แก้ไขปัญหานีโ้ ดยใช้งบประมาณตามแผนปฏิบตั ิ ราชการประจ�ำปี จ�ำนวน 122,594,100 บาท หรือประมาณร้อยละ 40 ของงบประมาณตาม แผนปฏิบัติราชการประจ�ำปีของจังหวัด พ.ศ. 2561 จ�ำนวน 300,799,600 บาท อย่างทีผ่ มบอกเอาเรือ่ งของกรอบภารกิจก่อน ภารกิจความเป็นผู้ว่าฯ เหมือนถ้าเราเป็นคน พายเรือ เรามีเรือ ส่วนราชการอื่นจะมานั่งเช่น โยธา ธนารักษ์ ต่างคนก็ตา่ งเป็นฟังก์ชนั่ ตัวเอง ผูว้ า่ ฯ ก็มหี น้าทีบ่ งั คับเรือ ก็ตอ้ งบูรณาการถ้าว่า เขาเป็นแนวตั้งเป็นเส้นตั้งมา ผู้ว่าก็ต้องตัด ขวางบูรณาการให้ หรือว่าถ้าเขาเป็นแนวตั้ง ผู้ว่าก็ต้องท�ำให้เป็นแนวราบ ต้องคุยกันต้อง ประสานสัมพันธ์กนั เพื่อจะให้ไม่ใช่ท�ำงานแต่ หน้าของตัวเอง ต้องเชือ่ มโยง นีม่ นั เป็นหลักคิด
ในการท� ำ งานลงพื้ น ที่ ผมมอบหมายให้ ทางส�ำนักงานจังหวัด ก็คือส่วนราชการที่เรียก ชื่อว่าส�ำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย กับ รองผู้ว่าราชการจังหวัดไปตีตารางว่าผมท�ำงาน เป็นระบบคลัสเตอร์ ถ้าส่วนบนคือส่วนราชการ ผมก็ท�ำเป็นระบบคลัสเตอร์ ถ้าส่วนล่างไปถึง พื้นที่ก็เป็นอ�ำเภอ ผมก็ขอให้ท�ำตารางให้ผม เพื่อผมจะเดินสายมอบแนวทางในการบริหาร ราชการเท่ า กั บว่ า ผมก็ ไ ปทุ ก พื้ น ที่ ทุ กอ� ำ เภอ ในระยะเวลาอันสั้นก็ครบหมดทั้ง 20 อ�ำเภอ คื อ ผมก็ จ ะลงพื้ น ที่ ไ ปที่ อ� ำ เภอนั้ น และเชิ ญ ข้าราชการทั้งหมดมาร่วมฟังแผนงานที่จะท�ำ ร่วมกัน แล้วผมจะถามว่าสิ่งที่ผมอยากจะท�ำ ที่มีข้อมูลของผมมาอย่างนี้ ถ้าพวกท่านซึ่งเป็น คนในพื้นที่ มีข้อคิดเห็น มีข้อเสนอแนะ หรือ มีปัญหาอะไรเพิ่มเติม น�ำเสนอผมมาได้เลย ผมยิ น ดี รั บ ฟั ง ทั้ ง หมด ผมก็ จ ดบั น ทึ ก ปั ญ หา ข้อเสนอแนะมาหมด แล้วผมก็จะน�ำปัญหาทีเ่ ขา บอกทั้งหมดทุกเรื่อง มาใช้งบยุทธศาสตร์การ
ROI ET I SBL บันทึกประเทศไทย
37
พัฒนาจังหวัดมาบริหารจัดการท�ำเรื่องเหล่านี้ เพราะทั้ ง เรื่ อ งการแก้ ไ ขปั ญ หา ทั้ ง เรื่ อ งการ พัฒนา ทั้งพื้นที่ 20 อ�ำเภอ ผมรับฟังปัญหามา ทั้งหมดแล้ว ซึ่งจากการที่ลงพื้นที่เพื่อรับทราบ ปัญหา ก็แก้ไขไปแล้วในบางส่วนแล้วเสร็จไป หลายเรื่อง อีกทั้ง ยังมีเรื่องของการร้องทุกข์ ร้องเรียนที่ศูนย์ด�ำรงธรรม ผมก็ให้แนวทางไป คื อ ความรั บ ผิ ด ชอบของศู น ย์ ด� ำ รงธรรม มี ส� ำ นั ก งานจั ง หวั ด ส� ำ นั ก งานปลั ด กระทรวง มหาดไทยจังหวัดดูแลอยู่ เหนือขึ้นไปอีกชั้นก็ จะมีรองผู้ว่าราชการจังหวัดที่ดูแลภารกิจนี้ก็จะ รับผิดชอบอยู่ ผมก็ให้แนวทางไปว่า เรื่องของ
การแก้ไขปัญหาอย่าปล่อยให้เจ้าหน้าที่ศูนย์ ด�ำรงธรรมเป็นคนคิด ไม่ว่าจะเป็น การโต้ตอบ หนังสือหรือตัดสินใจยังมองไม่ทะลุปัญหาใน บางเรื่อง เช่น ใน 100 เรื่องก็ 80 กว่าเรื่องที่ แก้ไขได้สำ� เร็จ จึงต้องให้ทา่ นรองผูว้ า่ ฯ หรือท่าน หัวหน้าส�ำนักงานจังหวัด ท่านปลัดจังหวัด มาจับ เข่าพูดคุยกันทุกสัปดาห์ในการที่จะย่อยปัญหา ถ้าตัดสินใจในระนาบของท่าน ท่านจะกล้า ตั ด สิ น ใจ ตอนนี้ ก็ แ ก้ ไ ขปั ญ หาอยู ่ ที่ ร ้ อ ยละ 97.32 จาก 4,252 เรื่อง ส่วนเรื่องที่ยังค้างผม ก็ได้บอกท่านรองไว้แล้วว่า แสดงว่ามันหนัก ให้รวบรวมมาให้ผมดู เรื่องนี้จะแก้ไขเป็นไป ในแนวทางนี้จะได้ทะลุปัญหาให้ส�ำเร็จลุล่วง ในส่วนของความร่วมมือเรื่องของการท�ำงาน
38
SBL บันทึกประเทศไทย I ร้อยเอ็ด
การมอบหมายงานจังหวัด โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ปั จ จุ บั น ก็ จ ะเป็ น การมอบหมายงานจั ง หวั ด แบบบูรณาการ คือ แสวงหาความร่วมมือใน องค์รวมของคณะกรรมการก็ประกอบด้วยทุก ภาคส่วนที่มีผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นประธาน มีจากส่วนราชการ หัวหน้าส่วนราชการต่างๆ เกือบจะครบทุกส่วนหัวหน้าส่วนราชการ ซึ่ง เป็น ผู้แทนของกระทรวงต่างๆ ที่มาตั้งอยู่ใน จังหวัด มีรฐั วิสาหกิจ องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ มีภาคเอกชน มีภาคประชาสังคม ภาคีเครือข่าย
ในการพัฒนาเป็นการบูรณาการ เป็นการมีสว่ นร่วม และในเรื่องการพัฒนา แต่ถ้าเรื่องของการที่ ไปประสานสัมพันธ์ในพื้นที่ท�ำอะไรผมเองผม ท�ำงานผมพยายามรับทุกงาน ผมจะเอางาน ลงพื้นที่เป็นส�ำคัญ ถ้ามีงานระหว่างงานจัด ประชุมอยู่บนศาลากลาง จัดงานแก้ไขปัญหา พื้นที่ หรือการพัฒนาในพื้นที่ลงพื้นที่ ผมจะ เลือกงานแก้ไขปัญหาพื้นที่ ลงพื้นที่ พัฒนา พื้นที่ เรื่องการประชุม เรามาเก็บ สาระได้ใน ภายหลัง ก็อาจจะมอบหมายท่านรองผู้ว่าฯ ไป
จึงอยากฝากทุกภาคส่วนให้ความส�ำคัญกับการ ให้ความร่วมมือในการด�ำเนินโครงการเพราะ เป็นโครงการที่จะสามารถบูรณาการ การขับ เคลื่อนงาน โครงการของหน่วยงานต่างๆ ที่ มีเป้าหมายลงพื้นที่ในระดับหมู่บ้าน/ ชุมชน ร่วมกัน ตามแนวทางประชารัฐโดยมุ่งเกิดผล สัมฤทธิ์ สามารถพัฒนาและแก้ไขปัญหาในมิติ ด้านเศรษฐกิจ สังคม และความมัน่ คง และสร้าง ความตระหนักรู้ ถึงบทบาทหน้าทีข่ องประชาชน ในการมีสว่ นร่วมในการพัฒนาประเทศและการ
ROI ET I SBL บันทึกประเทศไทย
39
ปกครองในระบอบประชาธิปไตย เมื่อเราทราบ ปั ญ หาและความต้ อ งการของประชาชนจาก การประชาคมภายใต้โครงการไทยนิยมยั่งยืน ซึง่ เกิดจากความร่วมมือจากทุกภาคส่วนโดยการ บูรณาการขับเคลื่อนการท�ำงานในระดับพื้นที่ ตามแนวทางประชารัฐ การแก้ไขปัญหาในระยะ ต่อไปจะสามารถด�ำเนินการได้ตรงจุด บรรเทา ปัญหาความเดือดร้อนได้ตรงตามความต้องการ ที่แท้จริงของประชาชนท�ำให้เกิดความยั่งยืนใน การพัฒนาต่อไป จังหวัดร้อยเอ็ดเป็นจุดกึ่งกลางของภูมิภาค นี้ และปัจจุบันก็มีระบบโลจิสติกส์ที่ส�ำคัญ คือ มีสนามบิน ต่อไปจะต้องเจริญขึ้นในภูมิภาคนี้ ถ้าในอดีตก็จะพูดถึงว่า อ.บรบือ จ.มหาสารคาม เป็นสะดืออีสานซึ่งอยู่ติดกับ จ.ร้อยเอ็ด เราก็ จะเป็นกึ่งกลางของภาคอีสาน และเป็นเมืองที่ เติบโตขึ้นเรื่อยๆ เราต้องมีทุกอย่าง ทั้งความ เจริญเติบโตในเรื่องของมีตัวตนเดิม ไม่ว่าจะ เป็ น พื้ น ฐานในด้ า นเศรษฐกิ จ ขึ้ น อยู ่ กั บ ภาค การเกษตร มีศิลปะวัฒนธรรมที่เป็นประเพณี ส�ำคัญๆ สืบทอดกันมา ดังค�ำที่ว่า “ฮีตสิบสอง คลองสิบสี่” คือมีงานบุญทุกเดือนที่สืบทอด กันมา ทัศนียภาพในตัวเมืองก็มีความสวยงาม แหล่งท่องเที่ยวต่างๆ มีการพัฒนาความเจริญ เพื่ อ รองรั บ นั ก ท่ อ งเที่ ย วที่ เ ข้ า มาในจั ง หวั ด ร้อยเอ็ดมากขึ้น ในส่วนของการเกษตรนั้น จังหวัดร้อยเอ็ด มีเป้าหมายการพัฒนา คือให้เป็นแหล่งผลิต ข้าวหอมมะลิคุณภาพสูง ท่องเที่ยววัฒนธรรม อีสานและเมืองสุขภาพ ในปี พ.ศ.2564 ดังนั้น ด้วยแนวคิดทีส่ ำ� คัญทีท่ ำ� ให้เป็นไปตามเป้าหมาย ดังกล่าว คือ แนวคิดที่ 1 ร้อยเอ็ดเป็นแหล่งผลิตข้าว หอมมะลิคุณภาพสูง - พัฒนาคุณภาพข้าวหอมมะลิ - พัฒนาผลผลิตต่อไร่ให้สูงขึ้น - น� ำ เทคโนโลยี ม าใช้ ใ นการผลิ ต การ แปรรูป เพื่อลดต้นทุน และสร้างมูลค่าเพิ่มด้วย นวัตกรรมเพิ่มศักยภาพการบริหารทรัพยากร และสินค้าการเกษตรให้เป็นเกษตรปลอดภัย และเพิ่มรายได้มากขึ้น - พัฒนาสินค้า GI ผลิตภัณฑ์ OTOP ให้ได้ มาตรฐานและสร้างแบรนด์สินค้าจังหวัด
40
SBL บันทึกประเทศไทย I ร้อยเอ็ด
*โครงการที่ 1 โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ชุมชน (OTOP) และการเพิม่ ช่องทางการตลาด *โครงการที่ 2 โครงการพัฒนาและยก ระดับขีดความสามารถผูป้ ระกอบการข้าวหอม มะลิสู่สากล
โครงการส�ำคัญของจังหวัด
ในการปฏิบัติราชการของจังหวัดร้อยเอ็ด มี แ นวทางในการด� ำ เนิ น การตามนโยบาย ส�ำคัญของรัฐบาล Agenda และนโยบายของ กระทรวงมหาดไทยและของกระทรวง กรม เพื่อแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน ให้มีคุณภาพชีวิต ที่ดี มั่นคง และยั่งยืน และน�ำ แนวนโยบายแห่งรัฐมาเป็นหลักในการด�ำเนิน งาน ยึดยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี แผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560–2564 และแผนพัฒนาจังหวัด มาเป็นก รอบในการขับเคลือ่ นการด�ำเนินงานการพัฒนา จังหวัด และยกระดับคุณภาพชีวิตประชาชน ให้ มีความมั่นคง มั่นคั่ง และยั่งยืน ตามวิสัยทัศน์ ของประเทศโดยให้ ถื อ ปฏิ บั ติ ต ามกฎหมาย ระเบียบทีเ่ กีย่ วข้อง ในการบริหารภาครัฐต้องยึด หลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ให้บริการ ด้วยความเป็นธรรมเสมอภาคและทั่วถึง โดยมี เป้าหมายการพัฒนา “เป็นแหล่งผลิตข้าวหอม มะลิคณ ุ ภาพสูง ท่องเทีย่ ววัฒนธรรมอีสาน และ เมืองสุขภาพในปี พ.ศ. 2564” ประเด็นการ พัฒนาทีส่ ำ� คัญของจังหวัด คือ เพิม่ ศักยภาพการ
ผลิตข้าวหอมมะลิและสินค้าเกษตร สูม่ าตรฐาน เกษตรอินทรีย์ และอาหารปลอดภัย ซึ่งเป็น จังหวัดหนึ่งที่ส�ำคัญในเขตทุ่งกุลาร้องไห้ โดย ก�ำหนดแผนการพัฒนาทุ่งกุลาร้องไห้พัฒนา พื้นที่ทุ่งกุลาร้องไห้และพื้นที่ที่มีศักยภาพของ จังหวัด เป็นแหล่งผลิตข้าวหอมมะลิคุณภาพสูง ภายใต้เกษตรปลอดภัยและอินทรีย์ จังหวัดร้อยเอ็ด ยึดแนวทางในการปฏิบัติ ราชการตามแนวนโยบายแห่ ง รั ฐ โดยผู ้ ว ่ า ราชการจั ง หวั ด ในฐานะผู ้ บ ริ ห ารสู ง สุ ด ของ จังหวัด เป็นตัวแทนของรัฐบาลในการบริหาร ราชการในส่วนภูมิภาคในจังหวัด ซึ่งมีภารกิจ หน้าที่ส�ำคัญที่จะต้องด�ำเนินการพัฒนาจังหวัด และแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน โดยมีภารกิจหลักประกอบด้วย 1. ขับเคลือ่ นการด�ำเนินงานให้สอดรับและ เชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี แผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560–2564 นโยบายรัฐบาล เป้าหมายการ พัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) ประเทศไทย 4.0 วาระ
การปฏิรูปและบริบทที่เปลี่ยนแปลงไป 2. ขับเคลือ่ นงานในฐานะผูบ้ ญ ั ชาการพืน้ ที่ แทนรัฐบาล (Area Manager) เน้นการท�ำงาน เชิ ง รุ ก เข้ า ถึ ง ปั ญ หาและความต้ อ งการของ ประชาชนในพื้นที่ 3. รอบรู ้ รั บ ผิ ด ชอบภารกิ จ ทั้ ง ในเชิ ง Agenda Function และ Area 4. ใช้ ก ลไกมหาดไทยขั บ เคลื่ อ นภารกิ จ ทั้งท้องที่ ท้องถิ่น มวลชนในพื้นที่ 5. ท�ำงานร่วมกับทุกภาคส่วน ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน/ประชาสังคม โดยกระทรวง ทบวง กรม ได้ด�ำเนินการจัดท�ำ ยุทธศาสตร์ แผนงานด้าน Function และ Area การคิดแผนงานโครงการต่าง ๆ นอกเหนือจาก ที่รัฐบาลก�ำหนดเพื่อให้งานด�ำเนินต่อไป ทั้งนี้ ค�ำนึงถึงมิติข องพื้นที่เป็นส�ำคัญทุกภาคส่วน ในพื้นที่ ไม่ว่าจะเป็นภาครัฐ ภาคเอกชน ภาค ประชาชน ภาคการศึกษา ให้ความส�ำคัญและ ตอบสนองนโยบาย “ประชารัฐ” อยู่ในระดับ ที่ถือว่าให้ความร่วมมือดีมาก ยกตัวอย่างเช่น การพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากให้มีความเข้มแข็ง
ลดความเหลื่อมล�้ำและแก้ไขปัญหาความเดือด ร้อนของประชาชนให้ได้รับโอกาสของอาชีพ ยก ตัวอย่างเช่น 1. การจัดตั้งบริษัท ประชารัฐรักสามัคคี ร้อยเอ็ด (วิสาหกิจเพือ่ สังคม) จ�ำกัด โดยด�ำเนิน การร่วมกับหอการค้าจังหวัดร้อยเอ็ด และ YEC จังหวัดร้อยเอ็ด สร้างช่องทางการตลาดให้กับ กลุม่ วิสาหกิจชุมชนเกษตรกรผูป้ ลูกผักปลอดภัย สามารถจ� ำ หน่ า ยผลผลิ ต จากสวนเกษตรกร สร้างคูค่ า้ กับธุรกิจโรงแรม ร้านอาหารในจังหวัด ร้อยเอ็ดสร้างรายได้หมุนเวียนในตลอดทัง้ เดือน วางแผนการปลูกผักปลอดภัยเพื่อให้ตรงตาม ความต้ อ งการของธุ ร กิ จร้ า นค้ า และโรงแรม ในจังหวัดร้อยเอ็ด จากเดิมสมาชิกเกษตรกร วิสาหกิจชุมชนบ้านเหม้า มีรายได้เฉลี่ย 2,000 ต่อคนต่อเดือน หลังจากกลุ่มเกษตรกรได้เข้า ร่ ว มกลุ ่ ม ผู ้ ป ลู ก ผั กวิ ส าหกิ จ ชุ ม ชนบ้ า นเหม้ า มีรายได้เฉลี่ย 50,000 – 70,000 บาท/เดือน 2. การด�ำเนินการภายใต้ตลาดประชารัฐ 9 ประเภท ท�ำให้ผปู้ ระกอบการในจังหวัดมีสถานที่ ในการจ�ำหน่ายสินค้าเป็นการเพิ่มช่องทางใน
ROI ET I SBL บันทึกประเทศไทย
41
การสร้างรายได้ให้กบั ประชาชน มีผปู้ ระกอบการ ทีล่ งทะเบียน จ�ำนวน 2,072 ราย มีตลาดรองรับ จ�ำนวน 143 แห่ง รายได้สทุ ธิของผูป้ ระกอบการ (ไม่ หั กต้ น ทุ น ) ตั้ ง แต่ วั น เปิ ด ตลาด วั น ที่ 5 ธันวาคม 2560 ถึงวันที่ 1 มีนาคม 2561 จ�ำนวน 3,555,030 บาท การด�ำเนินงานตามนโยบาย “ประชารัฐ” จึงถือว่าประสบความส�ำเร็จในการพัฒนาและ แก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนใน พื้นที่ได้เป็นอย่างดี เมื่อวันที่ 16 มกราคม 2561 คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบตามที่นายก รัฐมนตรีเสนอให้การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และ ยุ ท ธศาสตร์ ก ารพั ฒ นาพื้ น ที่ เ พื่ อ เสริ ม สร้ า ง ความมั่ น คงของชาติ ไ ปสู ่ ก ารปฏิ บั ติ ใ ห้ เ กิ ด ประโยชน์ ต ่ อ การพั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต ของ ประชาชนอย่างเป็นรูปธรรม โดยให้กระทรวง มหาดไทย ร่วมกับกระทรวงการคลัง กระทรวง กลาโหม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง บูรณาการขับเคลื่อนการ ท� ำ งานในระดั บ พื้ น ที่ ต ามแนวทางประชารั ฐ
42
SBL บันทึกประเทศไทย I ร้อยเอ็ด
โดยให้ ส ่ ว นราชการหน่ ว ยงานที่ มี หรื อ จะมี โ ครงการ/กิ จ กรรมลงด� ำ เนิ น การใน พื้นที่ระดับต�ำบล หมู่บ้าน ใช้ทีมขับเคลื่อนฯ การพัฒนาประเทศตามโครงการไทยนิยม ยัง่ ยืน ระดับต�ำบล ซึ่งประกอบด้วยข้าราชการ หน่วย งานความมั่นคง ปราชญ์ชาวบ้าน และจิตอาสา ในพื้นที่ เป็นแกนหลัก และให้ทุกส่วนราชการ หน่วยงาน สนับสนุนกลไกการขับเคลื่อนใน พื้ น ที่ ทุ ก ระดั บ ตั้ ง แต่ จั ง หวั ด อ� ำ เภอ ต� ำ บล และหมู่บ้าน กรอบหลั ก ในการด� ำ เนิ น การเพื่ อ การมี ส่ ว นร่ ว มในการพั ฒ นาประเทศไทยสู ่ ค วาม ยั่งยืน ประกอบด้วย 10 เรื่อง ได้แก่ (1) สัญญา ประชาคมผูกใจไทยเป็นหนึง่ (2) คนไทยไม่ทงิ้ กัน (3) ชุมชนอยู่ดีมีสุข (4) วิถีไทยวิถีพอเพียง (5) รู้สิทธิ รู้หน้าที่ รู้กฎหมาย (6) รู้กลไกการ บริหารราชการ (7) รู้รักประชาธิปไตยไทยนิยม (8) รู้เท่าทันเทคโนโลยี (9) ร่วมแก้ไขปัญหายา เสพติด (10) งานตามภารกิจของทุกหน่วยงาน (Function)
แนวคิดที่ 2 ร้อยเอ็ดเป็นหนึ่งในแหล่ง ท่องเที่ยวในอันดับต้นๆของประเทศ - ส่งเสริมจังหวัดร้อยเอ็ดให้เป็นศูนย์กลาง การท่องเที่ยว การค้า การลงทุน เชื่อมโยง การบริการ สินค้า ผลิตภัณฑ์ชุมชน รวมทั้ง วัฒนธรรมอีสาน ค่านิยม และประเพณีที่ดีงาม สามารถผสมผสานกั บ การเปลี่ ย นแปลงของ สังคมสมัยใหม่ได้อย่างกลมกลืน
สถานที่ท่องเที่ยวส�ำคัญ
จังหวัดร้อยเอ็ดมีสถานทีท่ อ่ งเทีย่ วทีม่ คี วาม ส�ำคัญ ควรค่าแก่การมาเยี่ยมชม สักการะกราบ ไหว้บชู ามากมาย มีทงั้ แหล่งท่องเทีย่ วทีเ่ ป็นศิลป วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ แหล่งท่องเที่ยวเชิง ธรรมชาติ อย่างเช่น 2.1 พระมหาเจดี ย ์ ชั ย มงคล อ� ำ เภอ หนองพอก ตัง้ ตระหง่านบนเขาในเทือกเขาภูพาน บนพื้นที่ 101 ไร่ เป็นเจดีย์ขนาดใหญ่อลังการ และสวยงามที่ สุ ด แห่ ง หนึ่ ง ของประเทศไทย พระเทพวิ สุ ท ธิ ม งคล (หลวงปู ่ ศ รี มหาวี โ ร พระเถระฝ่ายวิปสั สนาธุระศิษย์พระอาจารย์มนั่
ภูรทิ ตฺโต) ได้ดำ� ริสร้างขึน้ เป็นเจดียฐ์ าน 8 เหลีย่ ม รายล้อมด้วยเจดีย์องค์เล็ก 8 ทิศองค์เจดีย์แบ่ง เป็น 6 ชั้น แต่ละชั้นได้ตกแต่งลวดลายที่วิจิตร ของศิลปะ ยุคใหม่และยุคเก่าผสมผสานเป็น ศิลปะร่วมสมัยที่หาดูได้ยาก เจดีย์ชัยมงคลเป็น เจดีย์ที่มีความศักดิ์สิทธิ์เชื่อว่าหากได้ไปกราบ ไหว้สกั การะ ขอพรจะประสบผลส�ำเร็จในหน้าที่ การงานดั่งสมปรารถนา 2.2 กู่กาสิงห์ เส้นทางขอมรุ่งเรืองในอดีต 800 ปี อ�ำเภอเกษตรวิสยั กูก่ าสิงห์ ตัง้ อยูต่ ำ� บล กู่กาสิงห์ อ�ำเภอเกษตรวิสัย เป็นปราสาท 3 หลังตั้งเรียงกันในแนวทิศเหนือใต้ ปราสาทและ อาคารล้อมรอบด้วยก�ำแพงศิลาแลงสี่เหลี่ยม ที่มีโคปุระ (ซุ้มประตู) ทั้ง 4 ด้านประตูเข้าได้ จริงเฉพาะด้านทิศตะวันออก-ตะวันตก นอก เขตก�ำแพงมีคูน�้ำล้อมรอบ สร้างขึ้นในราวพุทธ ศตวรรษที่ 16 เป็นสถาปัตยกรรมลวดลาย สวยงามและประณีต 2.3 เจดีย์หินทราย วัดป่ากุง (บรมพุทโธ ร้ อ ยเอ็ ด ) 1 ใน 7 สิ่ ง มหั ศ จรรย์ ข องโลก องค์จ�ำลองแห่งเดียวของไทย อ�ำเภอศรีสมเด็จ
ตั้งอยู่ที่วัดป่ากุง ต�ำบลศรีสมเด็จ อ�ำเภอศรี สมเด็จ เป็นเจดีย์หินทรายสร้างเลียนแบบเจดีย์ บุโรพุทโธ (Burabudar) ที่เกาะชวา ประเทศ อิ น โดนี เ ซี ย 1 ใน 7 สิ่ ง มหั ศ จรรย์ ข องโลก โดยพระเทพวิสุทธิมงคล (หลวงปู่ศรี มหาวีโร) สร้างด้วยหินธรรมชาติทั้งหลัง เป็นบุโรพุทโธ เจดีย์หินทราย แห่งแรกของไทยมีภาพแกะสลัก
ที่สวยงาม วิจิตร พิสดาร น่าชมมาก ภายนอก เป็นพุทธประวัติ และพระเวสสันดรชาดก ซึง่ ตรง กับงานประเพณีบุญผะเหวดร้อยเอ็ด 2.4 บึงพลาญชัย น�้ำพุดนตรีสวนสมเด็จ พระศรีนครินทร์ร้อยเอ็ด บึงพลาญชัย เป็นส่วน หนึ่งของสวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ร้อยเอ็ด ตั้งอยู่ใจกลางเมืองร้อยเอ็ด บนพื้นที่ 120 ไร่ ROI ET I SBL บันทึกประเทศไทย
43
เกาะกลางเป็ น ที่ ตั้ ง ศาลหลั ก เมื อ งสถานที่ ศักดิ์สิทธิ์คู่บ้าน-คู่เมืองร้อยเอ็ด ภายในมีพระ พุทธโธดม อนุสาวรียพ์ ระยาสุนทรเทพกิจจารักษ์ (เจ้าเมืองร้อยเอ็ดคนแรก) อนุสาวรีย์สมเด็จย่า และอุ ท ยานการเรี ย นรู ้ ท างธรรมชาติ ในบึ ง พลาญชัยมีปลานานาพันธุ์ และน�้ำพุดนตรีแห่ง เดียวในภาคอีสานทีส่ วยงามอลังการณ์รอบนอก จัดเป็นทางเดินวิง่ และทางจักรยาน เป็นสถานที่ ส�ำหรับจัดกิจกรรมส�ำคัญของทางราชการ และ งานประจ� ำ ปี ข องจั ง หวั ด และมี ป ระตู เ มื อ ง สาเกตนคร ที่จ�ำลองทางเข้าเมืองสีพี ของพระ เวสสันดรในนครกัณฑ์ ในงานประเพณีบุญผะ เหวดร้อยเอ็ด สามารถชมทัศนียภาพที่สวยงาม ของเมืองร้อยเอ็ด และยังสามารถส่องกล้อง ทางไกลมองเห็นทุ่งกุลาร้องไห้ และพระมหา เจดีย์ชัยมงคลได้ 2.5 บ่อพันขัน อ�ำเภอหนองฮี ตั้งอยู่ต�ำบล เด่นราษฎร์ อ�ำเภอหนองฮีเป็นบ่อน�้ำธรรมชาติ ขนาดเล็กทีม่ นี ำ�้ ผุดขึน้ มาตลอดทัง้ ปีตกั น�ำ้ ในบ่อ เป็นพันขันก็ไม่หมด ชาวบ้านในแถบนั้นเชื่อว่า เป็นบ่อน�้ำศักดิ์สิทธิ์ เมื่อดื่มจะหายจากโรคภัย และเป็นสิริมงคล และในบริเวณใกล้เคียงกัน มีพระธาตุบ่อพันขันที่ชาวบ้านมีความเชื่อว่า ศักดิ์สิทธิ์ กราบไหว้ขอพรได้สมความตั้งใจ 2.6 ศูนย์วิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมเพื่อ การศึ ก ษาร้ อ ยเอ็ ด แห่ ง แรกของภาคอี ส าน อ� ำ เภอธวั ช บุ รี แ หล่ ง เรี ย นรู ้ ท างวิ ท ยาศาสตร์ ตลอดชีวิต แห่งเดียวในภาคอีสาน ชมท้องฟ้า จ�ำลอง การแสดงทางวิทยาศาสตร์ ดาราศาสตร์ ที่มีความทันสมัย มีนวัตกรรมใหม่ให้ได้ชม เป็น ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาที่ได้มาตรฐาน ของประเทศ และภายในห้องโถงจัดเป็นศูนย์ เรียนรูข้ า้ วหอมมะลิโลก จัดแสดงนิทรรศการข้าว หอมมะลิทงุ่ กุลาร้องไห้ นิทรรศการของพ่อหลวง ทีท่ รงพระราชทานให้กบั ชาวนา แสดงให้เห็นถึง วิถีชีวิตของชาวนาในจังหวัดร้อยเอ็ด อีกด้วย 2.7 ผาหมอกมิวาย ครั้งเดียว เที่ยวได้ 3 จังหวัด อ�ำเภอหนองพอก ตัง้ อยูใ่ กล้กบั พระมหา เจดีย์ชัยมงคล อ�ำเภอหนองพอก เป็นดินแดนที่ มีหมอกตลอดทั้งปี มีผืนป่าที่อุดมสมบูรณ์บน เทือกเขาภูพาน พื้นที่ 151,242 ไร่ เป็นรอย เชื่อมต่อพื้นที่ 3 จังหวัด คือ จังหวัดร้อยเอ็ด
44
SBL บันทึกประเทศไทย I ร้อยเอ็ด
มุกดาหาร และกาฬสินธุ์ เป็นป่าดิบแล้งอากาศ หนาวเย็ น ตลอดทั้ ง ปี ได้ ฉ ายาเป็ น ดิ น แดน “สวิตเซอร์แลนด์รอ้ ยเอ็ด” มีจดุ ชมวิววัดถ�ำ้ โสดา จุดชมพระอาทิตย์ขึ้น ผาภูไทย เส้นทางศึกษา ธรรมชาติ แหล่งต้นน�้ำ สัตว์ป่า พันธุ์ไม้นานา ชนิด รวมทัง้ สมุนไพรต่างๆ โดยมีสำ� นักงานเขต ห้ามล่าสัตว์ป่าถ�ำ้ ผาน�ำ้ ทิพย์ ดูแลรักษา มีที่พัก สถานที่ประชุม เต็นท์ไว้บริการนักท่องเที่ยว
เพราะผมตั้งใจรับ ราชการ ไม่ว่าจะอยู่ที่ไหน ผมคิดว่าก็เหมือนกัน เพียงแต่ว่าต้องทำ�ตรง นั้นให้ดีที่สุด ประเพณีที่ส�ำคัญ
จังหวัดร้อยเอ็ดถือเป็นจังหวัดหนึ่งในภาค อีสานที่มีขนบธรรมเนียมประเพณีที่ถือปฏิบัติ สืบต่อกันมาจนถึงปัจจุบัน ซึ่งเป็นวัฒนธรรมที่ แสดงเอกลักษณ์ของท้องถิ่นชาวอีสาน หรือที่ เรียกกันว่า “ฮีตสิบสอง คองสิบสี่” หมายถึง ประเพณีที่ชาวอีสาน ปฏิบัติกันมาในโอกาส ต่างๆ ทัง้ สิบสองเดือนของแต่ละปี เป็นการผสม ผสานพิธกี รรมทีเ่ กีย่ วกับเรือ่ งพิธกี รรม ทางการ เกษตร พิธกี รรมทางพุทธศาสนา คองสิบสี่ เป็น ค�ำและข้อปฏิบัติคู่กับฮีตสิบสอง คองหมายถึง แนวทาง หรือ ครรลอง ซึ่งหมายถึง ธรรมเนียม ประเพณี ห รื อ แนวทาง และ สิ บ สี่ ห มายถึ ง ข้อวัตรหรือแนวทางปฏิบตั สิ บิ สีข่ อ้ จังหวัดมีการ จัดงานครบทุกเดือนกระจายทุกพื้นที่ ส�ำหรับ งานบุญประเพณีทสี่ ำ� คัญและถือเป็นงานประจ�ำ ปีของจังหวัดร้อยเอ็ดคือ 3.1 งานประเพณีบุญข้าวจี่ ของดีเมือง โพธิ์ชัย เป็นงานบุญฮีตสิบสองของชาวอีสาน ก�ำหนดท�ำบุญ ในวันขึน้ 1 ค�ำ่ เดือน 3 บุญข้าวจี่ นั บ เป็ น งานบุ ญ พิ เ ศษเที ย บเท่ า บุ ญ ผะเหวด และกฐิน อิ่มบุญ อิ่มสุข
3.2 งานประเพณี บุ ญ ผะเหวด หรื อ “บุญมหาชาติ” เป็นงานประเพณีของจังหวัด ร้อยเอ็ด ซึ่งก�ำหนดจัดขึ้นในวันศุกร์ เสาร์ และ อาทิตย์ สัปดาห์ทหี่ นึง่ ของเดือนมีนาคม ของทุกปี ถือเป็นประเพณีบญ ุ เดือน 4 ตามฮีตสิบสองของ ชาวอีสาน กินข้าวปุ้น เอาบุญผะเหวด ฟังเทศน์ มหาชาติ เป็นการท�ำบุญมหาทานบารมี ทีย่ งิ่ ใหญ่ 3.3 งานประเพณีบญ ุ บัง้ ไฟ อ�ำเภอพนมไพร ก�ำหนดจัดขึ้นทุกวันขึ้น 15 ค�ำ่ เดือน 7 ของ ทุกปี เพื่อสืบสานประเพณีของอีสาน ในการ ส่ ง สั ญ ญาณขึ้ น ไปขอฝนจากพญาแถนและ สิ่งศักดิ์สิทธิ์ให้ประทานน�้ำฝนให้ถูกต้องตาม ฤดู ก าล ธั ญ ญาหารอุ ด มสมบู ร ณ์ และเพื่ อ บวงสรวงและถวายเจ้าพ่อจุมค�ำ ซึ่งเป็นเจ้าพ่อ มเหศักดิ์ที่คนรู้จักในนามเจ้าพ่อพระมหาธาตุ วัดกลางอุดมเวชย์ มีขบวนแห่บ้ังไฟที่สวยงาม และมีบั้งไฟหมื่น บั้งไฟแสนบั้งไฟล้าน ร่วมจุด ถวายเจ้าพ่อไม่น้อยกว่า 100 บั้งในแต่ละปี 3.4 งานประเพณีแห่เทียนพรรษา จัดขึน้ ใน วันอาสาฬหบูชาของทุกปี ณ บริเวณสวนสมเด็จ พระศรีนครินทร์ร้อยเอ็ด โดยขบวนแห่ต้นเทียน แต่ละคุม้ วัด ในเขตเทศบาลเมืองร้อยเอ็ด ซึง่ ได้รบั การตกแต่งอย่างสวยงามด้วยดอกไม้สีสวยสด และสาวงาม จะเคลือ่ นขบวนจากคุม้ ต่างๆ ผ่าน ตลาดไปยังบริเวณลานสาเกต ในบริเวณสวน สมเด็จพระศรีนครินทร์ร้อยเอ็ด 3.5 งานสมมาน�้ ำ คื น เพ็ ง เส็ ง ประที ป หรื อ งานประเพณี ล อยกระทง จั ด ขึ้ น ทุ ก วั น ขึ้น 15 ค�่ำเดือน 12 ของทุกปี ณ บึงพลาญชัย ในการจัดงานมีการอัญเชิญประทีปพระราชทาน จากสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว มหาวชิ ร าลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ในหลวงรัชกาลที่ 10 และ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในรัชกาลที่ 9 การประกวดร�ำวง การประกวด กระทงอนุ รั ก ษ์ ธ รรมชาติ (กระทงเล็ ก ) การประกวดกระทงประที ป ใหญ่ ชิ ง ถ้ ว ย พระราชทาน สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี การแสดงหมอล�ำพื้นบ้าน ของศิลปินท้องถิ่น การประกวดธิดาสาเกตนคร (นางนพมาศ) และการแสดงแสง สี เสี ย ง ที่สวยงามมาก
จากใจผู้ว่าฯ นายวันชัย คงเกษม ผมได้มีโอกาสเดินทางไปที่ยอคยาการ์ต้า ประเทศ อินโดนีเซีย เพื่อไปศึกษาดูงาน แล้วได้ไปเห็นบุโรพุทโธ ที่ ยอคยาการ์ต้า พูดจริงๆว่าผมไม่รู้จักเลย ซึ่งเป็นการสร้าง ถาวรวัตถุ ทีด่ แู ล้วผูค้ นให้ความเชือ่ ถือให้ความศรัทธา คือที่ จังหวัดพัทลุงก็กำ� ลังจะมีการสร้างพระเจดีย์ ต้องใช้เงินเป็น จ�ำนวนมากและขาดความต่อเนือ่ งก็เลยยังไม่เสร็จ ทางคณะ สงฆ์ท่านก็จะมาให้ผมช่วย แต่เนื่องจากว่าหาตัวพิมพ์เขียว ให้ผมดูไม่ได้ ถ้าวันรุ่งขึ้นมีข่าวว่าพระเจดีย์ล่มลงไป ผมก็ ต้องรับผิดชอบอย่างที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ อันนี้ก็เลยเป็นข้อที่ สนทนากันที่บุโรพุทโธ ที่อินโดนีเซียบอกว่าถ้าอย่างนั้น เรา มาสร้างบุโรพุทโธที่จังหวัดพัทลุงดีกว่า ผมก็พูดกับหัวหน้า ส่วนที่ตามไปด้วย ว่าถ้าผมไม่ย้าย 30 กันยายน 2560 ก็จะสร้างบุโรพุทโธที่จังหวัดพัทลุง อันนี้เรื่องจริงเลยครับ ปรากฏว่า 25 กรกฎาคม มีมติ ครม. ให้ผมย้ายมาที่จังหวัด ร้อยเอ็ด จริง ๆ แล้วผมรูจ้ กั จังหวัดร้อยเอ็ดมานาน รูจ้ กั พระ มหาเจดียช์ ยั มงคลเคยไปกราบมาแล้ว 2 ครัง้ และก็ตงั้ ใจจะ ไปกราบก่อนเป็นผู้ว่าฯพัทลุง ก็ไม่ได้ไปกราบสักที เพราะ ไม่มีเวลาไป ก็ปรากฏว่าพอค�ำสั่งย้าย ผมก็ไปหาข้อมูลของ จังหวัดร้อยเอ็ด เจอทัง้ พระมหาเจดียช์ ยั มงคล และเจดียบ์ โุ ร พุทโธ ว่ามีอยูท่ จี่ งั หวัดร้อยเอ็ด ผมก็ตกใจ เพราะเราตัง้ ใจว่า ถ้าไม่โดนย้ายจะสร้างทีจ่ งั หวัดพัทลุง กลายเป็นว่าเรามาอยู่ จังหวัดร้อยเอ็ดก็มีอยู่แล้ว ก็อยู่ที่วัดป่ากุง อ�ำเภอศรีสมเด็จ ผมเข้าไปดูว่าจะท�ำอะไรได้บ้าง เช่นถ้ามีความสมบูรณ์อยู่ แล้ว ผมก็จะปรับภูมิทัศน์ให้สวยงาม ก็อยากจะให้มีต้นไม้ ปรับภูมิทัศน์ ท�ำระบบลอจิสติกส์ เส้นทางให้มันดีขึ้น ท�ำ ป้ายบอกทาง ท�ำป้ายท่องเที่ยว แต่ถ้าเราไปสร้างที่พัทลุง นับจากศูนย์ ตรงนี้เขาสมบูรณ์ประมาณ 90% แล้ว ความ มหัศจรรย์ 2 อย่างที่ตั้งใจจะท�ำ คือมาที่จังหวัดร้อยเอ็ด สร้างบุโรพุทโธ อย่างที่2 เราจะไปกราบไหว้พระมหาเจดีย์ ชัยมงคล ผมเรียนด้วยความสัตย์จริง ผมไป 2 ครัง้ แล้ว ตัง้ แต่ มาอยู่ 6 เดือน และได้ไปกราบหลวงปู่ทองอินทร์ซึ่งเป็น ผู้ดูแล 2 วัดนี้จะมีความเกี่ยวเนื่องกัน วัดเจดีย์ชัยมงคล ผู้ สร้าง คือหลวงปูศ่ รี หลวงปูท่ องอินทร์ ซึง่ เป็นลูกศิษย์ทสี่ ร้าง เจดีย์วัดป่ากุงหรือบุโรพุทโธ ที่สร้างก็ต้องการจะให้เห็นว่า ความสามารถของคณะสงฆ์ เท่าที่ฟังค�ำบอกเล่าทราบว่า สร้างแล้วเสร็จในระยะเวลา 1 เดือนเอง สิ่งก่อสร้างที่ใหญ่ ขนาดนี้แล้วใช้เงินจ�ำนวนเป็นร้อยท�ำได้ขนาดนี้ ROI ET I SBL บันทึกประเทศไทย
45
SPECI A L I N TE R V IE W
บันทึกเส้นทางพบรองผู้ว่าราชการจังหวัดร้อยเอ็ด
นายเลิศบุศย์ กองทอง รองผู้ว่าราชการจังหวัดร้อยเอ็ด “จะสนองคุณแผ่นดินเป็นที่ตั้ง จะมุ่งมั่นตั้งจิตคิดกุศล จะด�ำรงในคุณธรรมเพื่อปวงชน จะอุทิศตนเพื่อชาติ ศาสน์ กษัตรา” คือคติพจน์ประจ�ำใจ ในการท�ำงานของท่านรองผูว้ า่ ราชการ จังหวัดร้อยเอ็ด “นายเลิศบุศย์ กองทอง” ท่านได้ให้เกียรติ กับทางนิตยสาร SBL พูดคุยถึงการท�ำงานของท่าน ที่ได้รับ มอบหมายภารกิจต่างๆ จากท่านผู้ว่าราชการจังหวัดร้อยเอ็ด ให้ก�ำกับดูแลในด้านการเมือง การปกครอง ความมั่นคง และ ยาเสพติด
หลักการท�ำงานและบุคคลผู้เป็นแรงบันดาลใจ
ผมยึดมั่นการท�ำงานตามแนวทางการทรงงานของในหลวง รัชกาลที่ 9 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร และ ในหลวงรัชกาลที่ 10 สมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั มหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร หลักการท�ำงาของผมคือ ถูกต้อง โปร่งใส เป็นธรรม รวดเร็ว
ภารกิจที่ก�ำกับดูแลและภารกิจส�ำคัญหรือเร่งด่วน ที่ท่านผู้ว่าราชการจังหวัดมอบหมายให้ก�ำกับดูแล เป็นพิเศษมีด้านใดบ้าง ท่านผู้ว่าราชการจังหวัดร้อยเอ็ด มอบหมายให้ผมดูแลงาน ศูนย์ด�ำรงธรรม ส่วนภารกิจส�ำคัญเร่งด่วน ที่ท่านผู้ว่าราชการ จังหวัดมอบหมายให้ก�ำกับดูแลเป็นพิเศษได้แก่ เรื่องการแก้ไข ปัญหายาเสพติด การลดความเลื่อมล�้ำทางสังคม การแก้ไข ปัญหาของประชาชนผ่านศูนย์ด�ำรงธรรม
46
SBL บันทึกประเทศไทย I ร้อยเอ็ด
ROI ET I SBL บันทึกประเทศไทย
47
ผลการด� ำ เนิ น งานหรื อ โครงการเด่ น ๆ ที่ทำ� ให้ท่านภาคภูมิใจ ผมภูมใิ จทุกการท�ำงานและทุกกิจกรรม ทีท่ ำ� ให้ ประชาชนพอใจ ประชาชนยิ้มได้ เพราะเราเป็น ข้าราชการในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั มีหน้าที่ ท�ำงานตอบแทนบุญคุณแผ่นดิน รับใช้แก้ไขปัญหาให้ ประชาชนและสร้างความเจริญให้แก่ชาติบา้ นเมือง
ในการท�ำงานทีผ่ า่ นมาประชาชนในจังหวัด ร้อยเอ็ดได้เรียกร้องให้ชว่ ยแก้ ไขปัญหาใน เรื่องใดเป็นส่วนใหญ่และแนวทางด�ำเนิน การเป็นอย่างไร
ส่วนใหญ่จะเป็นการบริการของเจ้าหน้าทีข่ องรัฐ การแจ้งเบาะแสเรื่องยาเสพติด การพนัน ความ เดื อ ดร้ อ น ด้ า นการคมนาคมขนส่ ง ได้ เ ร่ ง รั ด ตรวจสอบ แก้ ไ ขและแจ้ ง ผลกลั บ ให้ ผู ้ เ รี ย กร้ อ ง พร้อมเน้นย�้ำให้ทุกคน ทุกองค์กร ทุ่มเทการท�ำงาน เพือ่ ประชาชน และยึดหลักธรรมาภิบาลโดยเคร่งครัด
48
SBL บันทึกประเทศไทย I ร้อยเอ็ด
ข้อมูลส่วนตัว
สิ่ ง ที่ ท ่ า นต้ อ งการฝากไปยั ง ส่ ว นต่ า งๆ รวมถึ ง ประชาชนในจังหวัดร้อยเอ็ดเพื่อการมีส่วนร่วมใน การพัฒนาจังหวัดร้อยเอ็ดให้เจริญก้าวหน้าต่อไป
ประเทศของเราก�ำลังเข้าสูช่ ว่ งปฏิรปู และมีแผนการปฏิรปู ที่ ชัดเจนไปสู่เป้าหมายความมั่นคง มั่งคั่งและยั่งยืน ซึ่งต้องอาศัย ความร่วมมือและการรับรู้ที่ถูกต้องจากทุกคน ขอให้เรามีความ เชื่อมั่นในการบริหารราชการแผ่นดินโดยหลักของกฎหมาย ยึด หลักธรรมาภิบาล เดินตามแผนคุณธรรม คือ พอเพียงวินยั สุจริต และจิตอาสา เป็นคนดี คิดดี ท�ำดี พูดดี สิง่ เหล่านีจ้ ะเป็นพลัง ที่ จะท�ำให้ทกุ สังคม ตัง้ แต่ครอบครัว ชุมชน หมูบ่ า้ น ต�ำบล อ�ำเภอ จังหวัด ตลอดจนประเทศชาติ เกิดความสุขความเจริญรุง่ เรืองได้
ประวัติการศึกษา - ปริญญาตรีรัฐศาสตร์ การปกครอง จากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่, นิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช - ปริญญาโท ศิลปศาสตร์ ด้านพัฒนาสังคม จากมหาวิทยาลัยขอนแก่น - หลักสูตรนายอ�ำเภอ รุน่ ที่ 47 หลักสูตรนักปกครอง ระดับสูง รุ่นที่ 53 - หลักสูตรผู้นำ� การเปลี่ยนแปลง รุ่นที่ 1 ( MOI LP ) ประวัติการท�ำงาน – ปลัดอ�ำเภอ จ่าจังหวัด นายอ�ำเภอ ปลัดจังหวัด รองผู้ว่าราชการจังหวัด
ROI ET I SBL บันทึกประเทศไทย
49
WOR K LI FE
บันทึกเส้นทางพบสำ�นักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดร้อยเอ็ด
นายชัยมงคล ศรีทองแดง
ผู้อำ�นวยการสำ�นักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดร้อยเอ็ด จนถึจังงปัหวัจจุดบร้ันอยเอ็ประชาชนในจั ด เป็นแหล่งอารยธรรมโบราณ ตั้งอยู่ตอนกลางของภาคอีสาน บริเวณลุ่มแม่น�้ำชี ในอดีตมีความเจริญรุ่งเรืองเป็นต้นมา งหวัดร้อยเอ็ด ร้อยละ 99 นับถือศาสนาพุทธ ดังนั้น วัด และพระสงฆ์ จึงมีบทบาทส�ำคัญยิ่งต่อการด�ำรงชีวิต
วัฒนธรรม ประเพณี วิถีชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชน ในท้องถิ่นส่วนใหญ่จะเกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนา โดยมีพระสงฆ์ เป็นผู้สืบทอด เผยแผ่หลักธรรมค�ำสอน และมีวัดเป็นศูนย์กลางของชุมชน
50
SBL บันทึกประเทศไทย I ร้อยเอ็ด
ทุกเวลา โดยวิสัยทัศน์ (Vision) ในการท�ำงาน คือ “เผยแผ่หลักธรรม น�ำพุทธศาสนิกชน ด�ำรง วิถีพุทธ สังคมสงบสุข ” ภายใต้วิสัยทัศน์ในการ ท�ำงานของส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัด ร้อยเอ็ด ที่ก�ำหนดเป้าหมายเอาไว้ ท�ำให้มี พันธกิจ (Mission) ที่ส�ำคัญในการด�ำเนินงาน 3 ประการ คือ 1. สร้างเครือข่ายเพือ่ อุปถัมภ์ คุม้ ครอง และ เผยแผ่พระพุทธศาสนา 2. ส่งเสริมให้ประชาชนน�ำหลักธรรมไปใช้ เป็นแนวทางในการด�ำรงชีวิต 3. สร้างความสงบสุข ให้เกิดขึ้นในสังคม
ผลการด� ำ เนิ น งานที่ โ ดดเด่ น ของ ส� ำ นั ก งานพระพุ ท ธศาสนาจั ง หวั ด ร้อยเอ็ด
โครงการตักบาตรวันอาทิตย์ เป็นโครงการที่ ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดร้อยเอ็ดจัดขึน้ ให้นกั เรียน นักศึกษา ข้าราชการ และประชาชน รวมถึงนักท่องเที่ยวได้ท�ำบุญ ตักบาตรในเช้า วันอาทิตย์ ณ บริเวณลานสาเกตุนคร โดยจะ นิมนต์พระสงฆ์จากวัดต่างๆ มาบิณฑบาตทุก เช้าของวันอาทิตย์ซึ่งโครงการนี้ได้ด�ำเนินการ ต่อเนื่องมาเป็นเวลา 12 ปี จังหวัดร้อยเอ็ด เป็นจังหวัดขนาดใหญ่ มีวัด ทีถ่ กู ต้อง (เป็นวัดทีถ่ กู ต้องตามกฎหมาย มาตรา 31 แห่งพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. 2505) จ�ำนวน 1,581 วัด โดยแยกเป็นวัดในสังกัด มหานิกาย 1,442 วัด สังกัดธรรมยุต 445 วัด มีพระภิกษุสงฆ์ 7,992 รูป สามเณร 1,133 รูป เนื่องจากเป็นจังหวัดที่มีวัดและพระภิกษุ สามเณรจ�ำนวนมาก การสนับสนุน สนองงาน และการอ�ำนวยความสะดวกในด้านต่าง ๆ จึงมี ความส�ำคัญอย่างยิง่ โดยเฉพาะกิจกรรมของวัด และคณะสงฆ์ จะมีในทุกช่วงเวลา เช้า สาย บ่าย เย็น กลางคืน รวมทัง้ วันเสาร์ วันอาทิตย์ ภารกิจ ของส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดร้อยเอ็ด จึงต้องพร้อมตลอดเวลา ซึ่งนโยบายหลักของ ส�ำนักงานคือ สนับสนุน สนองงาน ให้บริการ
ROI ET I SBL บันทึกประเทศไทย
51
วัดมีความส�ำคัญและโดดเด่นในแง่การ ท่องเที่ยวของจังหวัดร้อยเอ็ด “สิบเอ็ดประตูเมืองงาม เรืองนามพระสูงใหญ่ ผ้าไหมสาเกตุ บุญผะเหวดประเพณี มหาเจดีย์ชัยมงคล งามน่ายลบึงพลาญชัย เขตกว้างไกลทุ่งกุลา โลกลือชาข้าวหอมมะลิ”
จากค� ำ ขวั ญ จั ง หวั ด ร้ อ ยเอ็ ด จะปรากฏ สถานที่ส�ำคัญของวัด ซึ่งนักท่องเที่ยวไม่ควร พลาดเมื่อมาเยือนจังหวัดร้อยเอ็ด “เรืองนามพระสูงใหญ่” ในค�ำขวัญจังหวัด ร้อยเอ็ด คือพระพุทธรูปปางประทานพร สีทอง เหลืองอร่าม สูงที่สุดในประเทศไทย มีความสูง 101 ศอก ยืนเด่นเป็นสง่ามองเห็นได้ในระยะ ไกลประดิษฐานที่วัดบูรพาภิราม อ�ำเภอเมือง ร้อยเอ็ด ซึ่งประชาชนในพื้นที่มักจะเรียกว่า “พระเจ้าใหญ่ (พระพุทธรัตนมงคลมหามุนี) โดยที่ฐานพระพุทธรูปมีห้องส�ำหรับใช้ประกอบ ศาสนกิจ และห้องพิพิธภัณฑ์จำ� นวนหลายห้อง มหาเจดี ย ์ ชั ย มงคล เป็ น พระเจดี ย ์ ใ หญ่ อ งค์ หนึ่งของประเทศไทย ตั้งอยู่ในบริเวณวัดเจดีย์ ชัยมงคล ต�ำบลผาน�้ำย้อย อ�ำเภอหนองพอก ออกแบบโดยกรมศิลปากร เป็นสีขาวตกแต่ง ลวดลายตระการตาด้วยสีทองเหลืองอร่าม ล้อม รอบด้วยเจดีย์องค์เล็กทั้ง 8 ทิศ มีความกว้าง 101 เมตร ยาว 101 เมตร สูง 101 เมตร สร้าง ในเนือ้ ที่ 101 ไร่ เป็นพระเจดียท์ บี่ รรจุพระบรม สารีริกธาตุ ตกแต่งด้วยลวดลายศิลปะยุคเก่า ผสมศิลปะร่วมสมัยที่หาดูได้ยาก
โครงการกฐินร้อยเอ็ดร่วมใจเฉลิมพระเกียรติฯ ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดร้อยเอ็ด ร่วม กั บเทศบาลเมื อ งร้อ ยเอ็ดจัดหาเจ้าภาพร่ว ม ท�ำบุญทอดกฐิน ให้กับวัดในจังหวัดร้อยเอ็ด ที่ ไ ม่ มี เ จ้ า ภาพไปทอดกฐิ น โดยในแต่ ล ะปี ก�ำหนดเป้าหมายไม่ต�่ำกว่า 101 วัด จัดพิธี ทอดถวายให้กับวัดในครั้งเดียว พร้อมทั้งเปิด โอกาสให้พทุ ธศาสนิกชนได้รว่ มท�ำบุญกฐิน ครัง้ เดียว 101 กอง โดยก�ำหนดสถานที่ ณ บริเวณ คูเมืองร้อยเอ็ด ฝ่ายพิธีการเทศน์งานบุญผะเหวดร้อยเอ็ด ในงานประเพณี บุ ญ ผะเหวดร้ อ ยเอ็ ด ทุ ก ปี ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดร้อยเอ็ด ได้ รับผิดชอบฝ่ายพิธีเทศน์ โดยการจัดหาตัวแทน
52
SBL บันทึกประเทศไทย I ร้อยเอ็ด
คั ด เลื อ กพระสงฆ์ ม าเทศน์ ใ นกั ณ ฑ์ ต ่ า งๆ เริ่มตั้งแต่เวลา 04.00 น. พร้อมทั้ง ก�ำกับ ดูแล และก�ำหนดขัน้ ตอน ด้านศาสนพิธี อ�ำนวยความ สะดวกคณะสงฆ์ และประชาชนที่มาร่วมงาน ตลอดทั้งวัน
ข้อคิดถึงพุทธศาสนิกชน พระภิกษุ สงฆ์หรือผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อให้ช่วยกัน จรรโลงพระพุ ท ธศาสนาให้ เ จริ ญ รุ่งเรืองสืบไป
ในสถานการณ์ปัจจุบัน ข้อมูลข่าวสารได้รับ การเผยแพร่ อย่างรวดเร็วมาก โดยได้มีการน�ำ เสนอหลายช่องทาง ในส่วนที่เป็นเรื่องราวที่ เกี่ ยวข้อ งกับพระพุทธศาสนาทั้ง ในด้า นบวก และด้ า นลบ อยากให้ ทุ ก ฝ่ า ยได้ พิ จ ารณา ไตร่ตรองอย่างรอบคอบ ทัง้ การรับข้อมูล หรือการ เผยแพร่ต่อไป เนื่องจากเป็นเรื่องละเอียดอ่อน ที่อาจส่งผลต่อความเจริญมั่นคงของพระพุทธ ศาสนา โดยเฉพาะในเรื่องการน�ำเสนอข้อมูล ข่าวสาร ในโลกออนไลน์ ซึ่งสามารถเข้าถึง ประชาชนได้ง่าย จึงอยากขอความร่วมมือจาก ทุกฝ่าย ผู้ปกครอง คณะสงฆ์ เจ้าอาวาส ได้ แนะน�ำ ตรวจสอบพระสงฆ์ สามเณร ในสังกัด รวมถึงพุทธศาสนิกชน หน่วยงาน ส่วนราชการ สถานศึกษาให้ระมัดระวังในการน�ำเสนอเผย แพร่ข้อมูลข่าวสาร ที่เป็นสื่อสาธารณะที่อาจ ส่งผลต่อความมั่นคงของพระพุทธศาสนา และ ให้ช่วยกันปกป้องคุ้มครองพระพุทธศาสนา ให้ มีความเจริญรุ่งเรืองสืบไป
ROI ET I SBL บันทึกประเทศไทย
53
TR AV EL
บันทึกเส้นทางความเป็นมา
54
SBL บันทึกประเทศไทย I ร้อยเอ็ด
ร้อยเอ็ด
“เมืองสาเกตุนคร” "สิบเอ็ดประตูเมืองงาม เรืองนามพระสูงใหญ่ ผ้าไหมสาเกต บุญผะเหวดประเพณี มหาเจดีย์ชัยมงคล งามน่ายลบึงพลาญชัย เขตกว้างไกลทุ่งกุลา โลกลือชาข้าวหอมมะลิ" ร้อยเอ็ด ในอดีตนั้นเคยเป็นเมืองใหญ่ที่มีความ เจริญรุ่งเรืองมาก โดยปรากฏชื่อในต�ำนานอุรังคธาตุ ว่า “สาเกตุนคร” ด้วยความยิ่งใหญ่ของเมือง การ ตั้งชื่อเมืองจึงสันนิษฐานกันว่า เป็นการตั้งเชิงอุปมา อุปไมยเพื่อแสดงถึงความยิ่งใหญ่ความเจริญรุ่งเรือง และความเป็นศิรมิ งคลของเมืองนัน่ เอง อีกทัง้ ยังได้รบั อิทธิพลมาจากเมืองหรืออาณาจักรทีเ่ คยรุง่ เรืองในสมัย โบราณสมัยทวารวดีซึ่งมีความหมายว่าเมืองที่มีประตู ล้อมรอบเป็นก�ำแพง หรือเมืองหงสาวดีทมี่ ปี ระตูเมือง รายล้อมก�ำแพงเมืองอยู่ยี่สิบประตู ซึ่งแต่ละประตูนั้น ถูกตั้งชื่อตามเมืองขึ้นของตนในขณะนั้น ความรุ่งเรือง ของเมือง “ร้อยเอ็ด” แห่งนีแ้ บ่งความเจริญตามช่วงสมัย ดั ง หลั ก ฐานที่ ถู ก ค้ น พบปรากฏตามปราสาทหิ น ข้าวของเครื่องใช้ต่างๆ ในช่วงก่อนประวัติศาสตร์ มีการขุดพบแหล่งโบราณคดีบา้ นเมืองบัวซึง่ สันนิษฐาน ว่า ชุมชนโบราณสมัยก่อนประวัตศิ าสตร์ทคี่ น้ พบมีอายุ ประมาณ 1,800-2,500 ปีมาแล้ว มีหลักฐานสมัย ทวารวดีที่ส�ำคัญ เช่น คูเมืองร้อยเอ็ด เจดีย์เมืองหงส์ ในเขตอ�ำเภอจตุรพักตรพิมาน กลุ่มใบเสมาบริเวณ หนองศิลาเลขในเขตอ�ำเภอพนมไพร และพระพิมพ์ ดินเผาปางนาคปรกที่เมืองไพรในเขตอ�ำเภอเสลภูมิ วัฒนธรรมจากอาณาจักรขอมได้แพร่เข้ามาในพุทธ ศตวรรษที่ 16 ปรากฏหลักฐานอยู่มากมาย เช่น สถาปัตยกรรมในรูปแบบของปราสาทหิน เช่น กูก่ าสิงห์ ในเขตอ�ำเภอเกษตรวิสัย ปรางค์กู่ในเขตอ�ำเภอธวัชบุรี กูพ่ ระโกนาในเขตอ�ำเภอสุวรรณภูมิ และประติมากรรม
ที่ เ ป็ น รู ป เคารพทางศาสนาที่ เ ป็ น เครื่ อ งใช้ ใ นชี วิ ต ประจ�ำวันทีท่ ำ� จากหินทรายและโลหะเป็นจ�ำนวนมาก ประวั ติ เ มื อ งร้ อ ยเอ็ ด แบ่ ง ออกเป็ น 3 สมั ย ได้แก่ สมัยพุทธกาล สมัยผาแดง และสมัยอยุธยา รัตนโกสินทร์ สมั ย พุ ท ธกาลตามต� ำ นานอุ รั ง คธาตุ (หนั ง สื อ ใบลานเขี ย นอั ก ขระไทยน้ อ ยจากหลวงพระบาง ซึ่งเผยเส้นทางแพร่พระพุทธศาสนา มายังสุวรรณภูมิ ซึ่ ง มี น ครใหญ่ อ ยู ่ 4 แห่ ง ได้ แ ก่ เ มื อ งสากลนคร (จังหวัดสกลนคร) เมืองสาเกตนคร(จังหวัดร้อยเอ็ด) เมืองมรุกขนคร (เมืองธาตุพนม) และเมืองอินทรปัฎฐ นคร (พนมเปญ) สาเกตนครเป็นศูนย์กลาง มีพระเจ้า กุลนุ ทะเป็นเจ้าครองนครคนแรก มีเมืองขึน้ 101 เมือง (สิบเอ็ดเมือง) มีทางเข้าเมือง 11 ประตู คือ ด้านทิศเหนือ มีประตูเมืองฟ้าแดด เมืองสีแก้ว เมืองเชียงเหียน ด้ า นทิ ศ ตะวั น ออก มี ป ระตู เ มื อ งเซี ย งขวง เมืองเซียงดี และเมืองไพ ด้านตะวันตก มีประตูเมืองเปือย เมืองทองและ เมืองหงษ์ ด้านทิศใต้ มีประตูเมืองบัว เมืองคอง มีวิหารสูง 6 ชั้น บันได 29 ขั้น มีหน้าต่าง 18 ช่อง ประตู 11 ช่อง อยู่กลางบึงใหญ่ (บึงพลาญชัย) จึงได้ มีค�ำกลอนกล่าวค�ำว่า “เป็นเมืองสิบเอ็ดปักตู สิบแปด ปองเอี้ยม ซาวเก้า แม่คั่นได”
ROI ET I SBL บันทึกประเทศไทย
55
อาณาจักรสาเกตนครเริม่ เสือ่ มจนกลายเป็น เมืองร้าง จนถึง พ.ศ. 2256 เจ้าสร้อยศรีสมุทร พุ ท ธางกู ร ไปปกครองจ� ำ ปาศั ก ดิ์ จึ ง แต่ ง ตั้ ง ให้เจ้าแก้วมงคลคุมคนลาวมาดูแลที่บ้านทุ่ง (อ.สุวรรณภูมิ) เจ้าแก้วถึงแก่กรรม บุตรชาย 2 คน คือ ท้าวมืดและท้าวธน ขึ้นครองเมือง สืบต่อกันตามล�ำดับ และต่อมาตกเป็นเมือง ขึ้นของกรุงศรีอยุธยา ใน พ.ศ. 2315 ตรง กับสมัยพระเจ้าตากสินขึ้นครองราชย์ ได้ย้าย เมืองจากเมืองทุ่งไปตั้งที่ดงข้าวสาร ตั้งเป็น เมืองศรีภูมิ (อ.สุวรรณภูมิ) ในปี พ.ศ. 2318 พระเจ้าตากสินได้โปรดเกล้าให้ตั้งท้าวธน เป็น พระยาขัตยิ ะวงษาเจ้าเมือง ส่วนเมืองสุวรรณภูมิ แต่งตั้งเป็นท้าวโอ้ะเป็นพระยารัตนวงศาเจ้า เมื อ งสุ ว รรณภู มิ ในสมั ย รั ต นโกสิ น ทร์ เ มื อ ง ร้อยเอ็ดรวมอยู่ในมณฑลอีสาน แต่เนื่องจาก เมื อ งร้ อ ยเอ็ ด เป็ น เมื อ งที่ เ จริ ญ มานานและมี ความส�ำคัญจึงเปลี่ยนแปลงจากมณฑลอีสาน เป็นมณฑลร้อยเอ็ดและตั้งเป็นจังหวัดร้อยเอ็ด และเมืองต่างๆ ได้ยุบเป็นอ�ำเภอขึ้นกับจังหวัด ร้อยเอ็ด จังหวัดร้อยเอ็ด เป็นจังหวัดทีต่ งั้ อยูก่ งึ่ กลาง ของภาคอีสานมานานกว่า 200 ปี แต่ปัจจุบัน ได้มีการพัฒนาในด้านต่างๆ มากมาย จังหวัด ร้อยเอ็ดเป็นเมืองแห่งบึงพลาญชัย และมีส่วน หนึ่งของทุ่งกุลาร้องไห้ที่มีชื่อเสียง ซึ่งมีเนื้อที่ กว้างใหญ่ถึงสองล้านไร่เศษ ขณะนี้ก�ำลังได้ รั บ การพั ฒนาเพื่ อ ให้ เ ป็ น แผ่ น ดิ น แห่ ง ความ อุดมสมบูรณ์จนแทบจะหาร่องรอยแห่งอดีต ไม่พบ ทางทิศเหนือ มีอาณาเขตติดกับจังหวัด กาฬสิ น ธุ ์ แ ละมุ ก ดาหาร ทิ ศ ใต้ ติ ด จั ง หวั ด สุรินทร์และศรีสะเกษ ทิศตะวันออกติดจังหวัด ยโสธร และ ทิศตะวันตกติดจังหวัดมหาสารคาม มีพนื้ ทีป่ ระมาณห้าล้านไร่เศษ (5,187,156 ไร่) จัดเป็นจังหวัดใหญ่ล�ำดับที่ 10 ของภาค และ ล�ำดับที่ 23 ของประเทศ แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 20 อ�ำเภอ และมี ป ระชากรประมาณ 1.3 ล้ า นเศษ (1,307,963 คน) ลักษณะภูมิประเทศเป็น ที่ราบสูง สามารถแบ่งลักษณะพื้นที่ออกเป็น 3 ภาคดังนี้ 1. พืน้ ทีท่ างตอนเหนือของจังหวัด มีลกั ษณะ เป็นภูเขาเตี้ยๆ และพื้นที่ป่าส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ ลุ่มน�้ำของล�ำน�้ำยัง สภาพพื้นที่ลาดเทจากทิศ
56
SBL บันทึกประเทศไทย I ร้อยเอ็ด
ตะวั น ออกและ ทิ ศ ตะวั น ตกเข้ า หาล� ำ น�้ ำ ยั ง ในท้องทีอ่ ำ� เภอหนองพอก อ�ำเภอเมยวดี อ�ำเภอ โพนทอง และอ�ำเภอโพธิ์ชัย 2. พื้นที่ตอนกลาง เป็นพื้นที่ราบสูง พื้นที่ ลูกคลื่นลอนตื้น มีแม่นำ�้ ชีไหลผ่าน สภาพพื้นที่ ลาดเทจากทิ ศ ตะวั น ตกไปทางทิ ศ เหนื อ และ ตะวันออกเข้าหาแม่นำ�้ ชี ในท้องทีอ่ ำ� เภอเสลภูมิ อ�ำเภออาจสามารถ อ�ำเภอเมืองสรวง อ�ำเภอ ธวัชบุรี อ�ำเภอจตุรพักตรพิมาน อ�ำเภอเมือง ร้อยเอ็ด อ�ำเภอศรีสมเด็จ อ�ำเภอจังหาร อ�ำเภอ เชียงขวัญ และอ�ำเภอทุ่งเขาหลวง และถือเป็น พื้นที่ส่วนใหญ่ของจังหวัด 3. พื้นที่ทางตอนล่าง สภาพพื้นที่ราบต�่ำ รูปกระทะที่เรียกว่า “ทุ่งกุลาร้องไห้” เป็นแหล่ง ผลิต ข้าวหอมมะลิขนาดใหญ่ สภาพพืน้ ทีล่ าดเท จากทางทิศตะวันตก ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ เข้าหาแม่น�้ำมูล มีล�ำน�้ำเสียวไหลผ่าน และมี แม่น�้ำมูลเป็นเส้นเขตแดนกับจังหวัด สุรินทร์ ในท้องที่อ�ำเภอสุวรรณภูมิ อ�ำเภอเกษตรวิสัย อ� ำ เภอปทุ ม รั ต ต์ อ� ำ เภอพนมไพร อ� ำ เภอ โพนทราย และอ�ำเภอหนองฮี พืชเศรษฐกิจส�ำคัญของจังหวัดประชากร ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกร คือการท�ำนา ข้าว มีการปลูกข้าวเหนียวและข้าวเจ้ารวม 3.3 ล้านไร่เศษ (3,306,697 ไร่) และเป็นจังหวัด ที่มีพื้นที่ปลูกข้าวเป็นอันดับหนึ่งของภาคตะวัน ออกเฉียงเหนือ จังหวัดร้อยเอ็ดอยูห่ า่ งจากกรุงเทพมหานคร ประมาณ 512 กิโลเมตร ใช้ระยะเวลาใน การเดิน ทางโดยประมาณ 6 ชั่วโมง และยังสามารถเดิน ทางไปยังสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชน ลาวและสาธารณรั ฐ สั ง คมนิ ย มเวี ย ดนาม โดยใช้ เ ส้ น ทางผ่ า นไปจั ง หวั ด มุ ก ดาหารและ อุบลราชธานี ส�ำหรับนักท่องเที่ยวและผู้สนใจ ที่จะเดินทางมาจังหวัดร้อยเอ็ด นอกจากเส้น ทางรถยนต์ จังหวัดยังมีท่าอากาศยาน 1 แห่ง มี เ ที่ ยวบิ น ระหว่ า งกรุ ง เทพฯ ดอนเมื อ ง ถึ ง จังหวัดร้อยเอ็ด โดยสายการบินของบริษทั นกแอร์ จ�ำกัด และสายการบินแอร์เอเชีย จ�ำกัด ทัง้ ขาขึน้ และขาล่ อ งรวมทั้ ง สิ้ นวั น ละ 10 เที่ ย วบิ น นอกจากแหล่งท่องเที่ยวที่น่าสนใจแล้ว จังหวัด ร้ อ ยเอ็ ด ถื อ เป็ น จั ง หวั ด หนึ่ ง ในภาคอี ส านที่ มี ขนบธรรมเนี ย มประเพณี ที่ ถื อ ปฏิ บั ติ สื บ ต่ อ กันมาจนถึงปัจจุบัน ซึ่งเป็นวัฒนธรรมที่แสดง
เอกลักษณ์ของท้องถิ่นชาวอีสาน หรือที่เรียก กันว่า “ฮีตสิบสอง คองสิบสี่” ฮีตสิบสอบมา จากค�ำสองค�ำได้แก่ ฮีต คือค�ำว่า จารีต ซึ่ง หมายถึง ความประพฤติ ธรรมเนียม ประเพณี ความประพฤติ ที่ ดี และสิ บ สอง หมายถึ ง สิ บ สองเดื อ น ดั ง นั้ น ฮี ต สิ บ สองจึ ง หมายถึ ง ประเพณีที่ชาวอีสาน ปฏิบัติกันมาในโอกาส ต่างๆ ทัง้ สิบสองเดือนของแต่ละปี เป็นการผสม ผสานพิธกี รรมทีเ่ กีย่ วกับเรือ่ งพิธกี รรม ทางการ เกษตร พิธกี รรมทางพุทธศาสนา คองสิบสี่ เป็น ค�ำและข้อปฏิบัติคู่กับฮีตสิบสอง คองหมายถึง แนวทาง หรือ ครรลอง ซึ่งหมายถึง ธรรมเนียม ประเพณี ห รื อ แนวทาง และ สิ บ สี่ ห มายถึ ง ข้ อ วั ต รหรื อ แนวทางปฏิ บั ติ สิ บ สี่ ข ้ อ ดั ง นั้ น คองสิ บ สี่ จึ ง หมายถึ ง ข้ อวั ต รหรื อ แนวทางที่ ประชาชนทุกระดับถือเป็นแนวปฏิบัติ จังหวัด มี ก ารจั ด งานครบทุ ก เดื อ นกระจายทุ ก พื้ น ที่ ส�ำหรับงานบุญประเพณีทสี่ ำ� คัญและถือเป็นงาน ประจ�ำปีของจังหวัดร้อยเอ็ดคือ 1. งานประเพณีบุญผะเหวด หรือ “บุญ มหาชาติ” เป็นงานประเพณีของจังหวัดร้อยเอ็ด ซึ่งก�ำหนดจัดขึ้นในวันศุกร์ เสาร์ และอาทิตย์ สัปดาห์ที่หนึ่งของเดือนมีนาคม ของทุกปี ถือ เป็นประเพณีบุญเดือน 4 ตามฮีตสิบสองของ ชาวอีสาน กินข้าวปุ้น เอาบุญผะเหวด ฟังเทศน์ มหาชาติ เป็นการท�ำบุญมหาทานบารมี ทีย่ งิ่ ใหญ่ ชมการแสดงขบวนแห่ 13 กัณฑ์ “มหาทานบารมี ต�ำนานพระเวสสันดร” การแสดงแสง สีเสียง ที่อลังการ และร่วมกิจกรรมอิ่มบุญ กินข้าวปุ้น ในสวนฟรีตลอดงาน แห่ถวายกัณฑ์จอบ กัณฑ์ หลอน ถือได้ว่าเป็นงานบุญที่ศักดิ์สิทธิ์หากผู้ ใดได้ฟังเทศน์มหาชาติจบภายในวันเดียวและ บ�ำเพ็ญคุณงามความดีจะได้อานิสงส์ไปถึงภพหน้า 2. งานประเพณีบญ ุ ข้าวจี่ ของดีเมืองโพธิช์ ยั เป็นงานบุญฮีตสิบสองของชาวอีสาน ก�ำหนด ท�ำบุญ ในวันขึ้น 1 ค�ำ่ เดือน 3 บุญข้าวจี่นับ เป็นงานบุญพิเศษเทียบเท่าบุญผะเหวด และ กฐิน อิ่มบุญ อิ่มสุข 3. งานประเพณีบุญบั้งไฟ อ�ำเภอพนมไพร ก�ำหนดจัดขึ้นทุกวันขึ้น 15 ค�ำ่ เดือน 7 ของ ทุกปี เพื่อสืบสานประเพณีของอีสาน ในการ ส่ ง สั ญ ญาณขึ้ น ไปขอฝนจากพญาแถนและ สิ่งศักดิ์สิทธิ์ให้ประทานน�้ำฝนให้ถูกต้องตาม ฤดู ก าล ธั ญ ญาหารอุ ด มสมบู ร ณ์ และเพื่ อ
บวงสรวงและถวายเจ้าพ่อจุมค�ำ ซึ่งเป็นเจ้าพ่อ มเหศักดิ์ที่คนรู้จักในนามเจ้าพ่อพระมหาธาตุ วั ด กลางอุ ด มเวชย์ เป็ น เทพสถิ ต อยู ่ ที่ พ ระ มหาธาตุ มีอ�ำนาจป้องกันวาตภัย อุทกภัยได้ สามารถช่วยเหลือผู้มี ความเดือดร้อน ชาวบ้าน มักไปบนบานขอให้เจ้าพ่อช่วยเหลือ มีขบวนแห่ บั้งไฟที่สวยงาม และมีบั้งไฟหมื่น บั้งไฟแสน บัง้ ไฟล้าน ร่วมจุดถวายเจ้าพ่อไม่นอ้ ยกว่า 100 บั้งในแต่ละปี 4. งานประเพณีแห่เทียนพรรษา จัดขึ้นใน วันอาสาฬหบูชาของทุกปี ณ บริเวณสวนสมเด็จ พระศรีนครินทร์ โดยขบวนแห่ตน้ เทียนแต่ละคุม้ วัด ในเขตเทศบาลเมืองร้อยเอ็ด ซึง่ ได้รบั การตกแต่ง อย่างสวยงามด้วยดอกไม้สสี วยสด และสาวงาม จะเคลื่อนขบวนจากคุ้มต่างๆ ผ่านตลาดไปยัง บริเวณลานสาเกต ในบริเวณสวนสมเด็จพระ ศรีนครินทร์ 5. งานสมมาน�้ำคืนเพ็งเส็งประทีป หรือ งานประเพณีลอยกระทง จัดขึ้นทุกวัน ขึ้น 15 ค�่ำเดือน 12 ของทุกปี ณ บึงพลาญชัย ถึงจะ ไม่ใช่หนึ่งใน ฮีตสิบสองแต่ก็ถือเป็นงานที่มีการ จั ด กิ จ กรรมที่ยิ่ง ใหญ่อีกงานหนึ่ง ของจัง หวัด และถือได้ว่าไม่ควรพลาดที่จะมาชม ในการ จัดงานมีการอัญเชิญประทีปพระราชทาน จาก สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทร
เทพยวรางกูร ในหลวงรัชกาลที่ 10 การประกวด ร�ำวง การประกวดกระทงอนุรักษ์ธรรมชาติ (กระทงเล็ก) การประกวดกระทงประทีปใหญ่ ชิงถ้วยพระราชทาน การแสดงหมอล�ำพื้นบ้าน ของศิลปินท้องถิ่น การประกวดธิดาสาเกตนคร (นางนพมาศ) และการแสดงแสง สี เสี ย ง ที่สวยงามมาก ผลิตภัณฑ์ท้องถิ่นที่น่าสนใจ ข้าวหอมมะลิทุ่งกุลาร้องไห้ เป็นสินค้า OTOP ระดั บ 5 ดาว ของจั ง หวั ด ร้ อ ยเอ็ ด เป็นสินค้าหลักที่สร้างรายได้ให้กับเกษตรกร ข้าวหอมมะลิทุ่งกุลาร้องไห้เป็นข้าวหอมมะลิ คุณภาพสูง มีความหอมมากถึง 2 เท่า (2AP) เป็นที่รู้จักของคนทั่วไปว่าข้าวหอมมะลิทุ่งกุลา ร้องไห้เป็นข้าวที่หอม ยาว ขาว นุ่ม และอร่อย ได้รับการรับรองสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) จากกลุม่ สหภาพยุโรป (EU) มีจำ� หน่ายทัง้ ข้าวขาว ข้าวกล้อง ข้าวไรซ์เบอร์รี่ บรรจุถุงตั้งแต่ขนาด 0.5 - 5 กิโลกรัม ปัจจุบันมีการน�ำข้าวหอมมะลิ ไปแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ นวัตกรรมใหม่ๆ อาทิ แป้งข้าวหอมมะลิ เครื่องส�ำอาง เป็นต้น ถั่ ว ป่ า นทอง เป็ น สิ น ค้ า OTOP ระดั บ 5 ดาว ของจังหวัดร้อยเอ็ด เป็นถั่วทอดเกลือ ที่กรอบ หอม มัน และอร่อย ผลิตโดยกลุ่ม
วิสาหกิจชุมชนถั่วป่านทอง บ้านป่าน หมู่ที่ 17 ต�ำบลดงสิงห์ อ�ำเภอจังหาร จังหวัดร้อยเอ็ด เป็นถั่วที่ได้น�ำไปจ�ำหน่ายที่ร้านศิลปาชีพ 904 น�ำความปลาบปลืม้ และความภาคภูมใิ จแก่พสก นิกรชาวจังหวัดร้อยเอ็ด ถั่วป่านทองปัจจุบันได้ รับการสนับสนุนโดยคณะกรรมการบริหารและ ขับเคลื่อนนโยบายสานพลังประชารัฐร้อยเอ็ด และบริษัทประชารัฐรักสามัคคี (วิสาหกิจเพื่อ สังคม) จ�ำกัด และส่งเสริมช่องทางการจ�ำหน่าย กั บ บริ ษั ท การบิ น ไทย จ� ำ กั ด (ถั่ ว ขึ้ น เครื่ อ ง) ให้เป็นที่รู้จักของบุคคลทั่วไป ทั้งชาวไทยและ ชาวต่างประเทศ ผ้าไหม ผ้าลายสัญลักษณ์ผ้าประจ�ำจังหวัด ร้อยเอ็ด ผ้าลายมงคล 5 อย่าง คือ 1. ลายค�้ ำ เภา หมายถึ ง ความซื่ อ สั ต ย์ การค�้ำ หรือพยุงไว้ 2. ลายคองเอีย้ หมายถึง การเอือ้ อ�ำนวยกัน 3. ลายนาคน้อย หมายถึง น�้ำ ความอุดม สมบูรณ์ 4. ลายโคม หมายถึง ความสว่าง แสงสว่าง 5. ลายหมากจับ หมายถึง ความติดตราตรึงใจ (หมากจับ เป็นพืชชนิดหนึ่งที่ตัดฝักแล้วดึงออก ยากมาก มีสีม่วงหรือชมพู) ขอบคุณข้อมูลจาก : ส�ำนักงานจังหวัดร้อยเอ็ด LAMPHUN57I ROI ET I SBL บันทึกประเทศไทย
57
T R AV EL
บันทึกเส้นทางท่องเที่ยว
เที่ยวร้อยเอ็ด
ประเพณีบุญผะเหวด เมืองสาเกตนคร 58
SBL บันทึกประเทศไทย I ร้อยเอ็ด
ฮีตหนึ่ง พอเถิงเดือนสี่ได้ให้เก็บดอกบุปผา หามาลา ดวงหอมสู่ตนเก็บไว้ อย่าได้ ไลคองนี้เสียศรีสูญเปล่า หาเอาตากแดดไว้ ได้ท�ำแท้สู่คน อย่าได้ ไลหนีเว้นแนวคองตั้งแต่เก่า ไฟทั้งหลายสิแล่นเข้าเผาบ้านสิ เสื่อมสูญเด้.
ประเพณีบุญผะเหวดร้อยเอ็ด
ประเพณีบุญผะเหวดถือเป็นงานบุญที่ยิ่งใหญ่ของจังหวัด ร้อยเอ็ด โดยจังหวัดร้อยเอ็ดได้ก�ำหนดให้เป็นงานประเพณี ประจ� ำ ปี ข องจั ง หวั ด และจั ด ยิ่ ง ใหญ่ ม ากเป็ น ประจ� ำ ทุ ก ปี ตามฮีต 12 หมายถึงเดือนสี่มีการท�ำบุญผะเหวดดังค�ำกล่าว ไว้ ใ นฮี ต ว่ า “ประเพณี บุ ญ ผะเหวด หรื อ งานบุ ญ เดื อ นสี่ ภาพจ�ำลองเรื่องราวมหาชาติชาดก ครั้งที่พระเวสสันดรกลับ เข้าเมือง ที่ยิ่งใหญ่ตระการตา ของขบวนแห่ทั้ง 13 กัณฑ์ ฟังเทศน์มหาชาติ แห่กณ ั ฑ์จอบ กัณฑ์หลอน แห่ขา้ วพันก้อน เทศน์ สั ง กาด บุ ญ ใหญ่ ที่ ส ร้ า งความสุ ข สนุ ก สนานแก่ พุทธศาสนิกชนโดยทั่วกัน” อี ก หนึ่ ง ความน่ า สนใจใช่ เ พี ย งแค่ ชื่ อ เมื อ งเท่ า นั้ น คื อ ความหลากหลายในสถานที่ท่องเที่ยว ประเพณีส�ำคัญต่างๆ ของจังหวัดร้อยเอ็ด ที่รอให้เราได้ปักหมุดมากมาย ทั้งแหล่ง ท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติ ศิลปวัฒนธรรม แหล่งการเรียนรู้ และ ศาสนา สื่อให้เห็นถึงความเจริญรุ่งเรืองความเป็นเมืองใหญ่ใน อดีตและความหลากหลายของเชือ้ ชาติเผ่าพันธ์ทเี่ ข้ามาอิทธิพล ในแต่ละยุค แต่ละสมัย ดังจะเห็นได้จากศิลปวัตถุ โบราณสถาน ที่ยังหลงเหลือให้เราได้ศึกษาต่อไป ROI ET I SBL บันทึกประเทศไทย
59
ท่องเที่ยว...พักผ่อนหย่อนใจ
บึงพลาญชัย ตั้งอยู่ใจกลางเมืองร้อยเอ็ด เป็นส่วนหนึ่ง ของสวนสมเด็จพระศรีนครินทร์รอ้ ยเอ็ด ถือเป็น สัญลักษณ์ของจังหวัดร้อยเอ็ด มีลักษณะเป็น เกาะอยู่กลางบึงน�ำ้ ขนาดใหญ่บนพื้นที่ 120 ไร่ เกาะกลางเป็ น ที่ ตั้ ง ศาลหลั ก เมื อ งสถานที่ ศักดิ์สิทธิ์คู่บ้าน-คู่เมืองร้อยเอ็ด ภายในมีพระ พุทธโธดมอนุสาวรียพ์ ระยาสุนทรเทพกิจจารักษ์ (เจ้าเมืองร้อยเอ็ดคนแรก) ในบึงพลาญชัยมี ปลานานาพันธุ์ และน�ำ้ พุดนตรีแห่งเดียวในภาค อีสานที่สวยงามอลังการณ์รอบนอกจัดเป็นทาง เดินวิ่ง และทางจักรยาน ด้านหน้ามีหอนาฬิกา ที่เป็นเสียงโหวตเครื่องดนตรีพื้นบ้านประจ�ำ จังหวัดร้อยเอ็ด มีลานสาเกตและเวทีกลางแจ้ง มีจอ LCD ขนาดใหญ่ ซึ่งเป็นสถานที่ส�ำหรับจัด กิจกรรมส�ำคัญของทางราชการ และงานประจ�ำปี ของจั ง หวั ด และมี ป ระตู เ มื อ งสาเกตนคร ที่จ�ำลองทางเข้าเมืองสีพีของพระเวสสันดรใน นครกัณฑ์ ในงานประเพณีบุญผะเหวดร้อยเอ็ด ซึ่งจังหวัดร้อยเอ็ด ได้เริ่มฟื้นฟูงาน ประเพณี บุญผะเหวด ขึ้นมาในปี พ.ศ. 2534 ซึ่งได้มีการ
60
SBL บันทึกประเทศไทย I ร้อยเอ็ด
ก�ำหนดจัดงานในวันเสาร์และวันอาทิตย์แรกของ เดือนมีนาคม ณ บึงผลาญชัย และสวนสมเด็จ พระศรี น คริ น ทร์ เริ่ ม ตั นวั น ศุ ก ร์ ด ้ ว ยการแห่ พระอุปคุต วันเสาร์ ขบวนแห่ 13 กัณฑ์ และ วันอาทิตย์ ฟังเทศน์มหาชาติและแห่กัณฑ์จอบ กัณฑ์หลอน ขบวนต่างๆ ล้านเกิดจากความ ร่วมใจของชาวบ้าน ที่แสดงออกถึงจตุปัจจัยที่ ร่วมกัน ถวายแด่พระทีก่ ำ� ลังเทศน์อยูใ่ นขณะนัน้ เข้ า สู ่ ง านประเพณี ชาวร้ อ ยเอ็ ด จะอั ญ เชิ ญ พระอุปคุตแห่รอบเมือง เพื่อปกป้องคุ้มครอง มิให้เกิดภัยพิบตั แิ ละให้ทำ� มาค้าขึน้ จากนัน้ เริม่ พิธี “มหามงคลพุทธมนต์ พระอุปคุตเสริมบารมี” เข้าสู่วันที่สอง ช่วงเช้าแจกสัตสดกมหาทาน บริจาคสิ่งของแด่ผู้ยากไร้ ตามด้วยไฮไลท์ของ งานคือ ขบวนแห่ตำ� นานพระเวสสันดร 13 กัณฑ์ ภาพขบวนแห่ พ ระเวสสั น ดรเข้ า เมื อ งที่ สมจริง งดงามด้วยสีสันและท่วงท่าการร่ายร�ำ พระเวสสันดรทรงช้างมาพร้อมด้วยพระนาง มั ท รี ห้ อ มล้ อ มด้ ว ยเหล่ า ทหารที่ ยิ่ ง ใหญ่ ถึงวันสุดท้าย พิธีแห่ข้าวพันก้อน (ข้าวเหนียว ปั้นเล็กๆ จ�ำนวน 1,000 ก้อน) และเทศน์ สังกาด (เป็นการพรรณนาอายุกาลของพระพุทธ
ศาสนา เริ่มแต่ต้นจนถึงอันตรธาน) ร่วมท�ำบุญ ตักบาตร เคล้าด้วยเสียงของการเทศน์มหาชาติ ทั้ง 13 กัณฑ์ตลอดทั้งวัน ช่วงสาย ๆ ขบวนแห่ ถวายต้นเงิน หรือต้นกัณฑ์จอบ กัณฑ์หลอน ของพุทธศาสนิกชนน�ำมาถวายพระภิกษุภายใน บึ ง ผลาญชั ย นอกจากนั้ น ยั ง มี กิ จ กรรมการ จัดประกวดธงผะเหวด การประกวดภาพวาด ภาพถ่ า ยประเพณี บุ ญ ผะเหวด การแข่ ง กิ น ขนมจีน สร้างความสนุกสนานได้ตลอดงาน และขณะนี้บึงผลาญชัย อยู่ระหว่างการก่อสร้าง หอชมเมืองรูปโหวด ซึ่งมีการออกแบบให้เป็น รูปแท่งสูง รูปทรงโหวด และเป็นเครื่องดนตรี ประจ�ำจังหวัด ตัวอาคารมีความสูง 101 เมตร สอดคล้ อ งกั บ ชื่ อ เมื อ ง เพื่ อ เป็ น การพั ฒ นา อัตลักษณ์ และศูนย์กลางของเมือง เพือ่ เป็นสถานที่ จัดกิจกรรมงานด้านประเพณี วัฒนธรรม รวมถึง กิจกรรมนันทนาการต่าง ๆ เมื่อมองจากมุมสูง นักท่องเทีย่ วจะสามารถชมทัศนียภาพทีส่ วยงาม ของเมืองร้อยเอ็ด และยังสามารถส่องกล้องทาง ไกลมองเห็นทุ่งกุลาร้องไห้ และพระมหาเจดีย์ ชัยมงคลได้ หอชมเมืองรูปโหวดนี้จะสร้างแล้ว แล้วเสร็จในปี 2563
บึงเกลือ อยู่ในเขตต�ำบลเมืองไพร อ�ำเภอเสลภูมิ ห่ า งจากตั ว อ� ำ เภอเสลภู มิ ไ ปทางทิ ศ ตะวั น ออกประมาณ 10 กิ โ ลเมตร เป็ น แหล่ ง น�้ ำ ขนาดใหญ่ มีเนื้อที่ 7,500 ไร่ ในบังน�้ำแห่งนี้ มีน�้ำขังตลอดปี ริมบึงมีหาดทรายขาวสะอาด กว้างขวาง เป็นสถานทีท่ นี่ กั ท่องเทีย่ วมาพักผ่อน หย่อนใจเป็นประจ�ำ เป็นแหล่งเพาะพันธุส์ ตั ว์นำ �้ แหล่งอาหาร แหล่งน�ำ้ อุปโภค-บริโภค ของชุมชน ที่อยู่โดยรอบบึง นอกจากนี้ยังเป็นแหล่งน�้ำเพื่อ การเกษตรโดยมีสถานีสบู น�ำ้ ด้วยไฟฟ้าแจกจ่าย ไปยังพื้นที่การเกษตรกว่า 1,500 ไร่ ส�ำหรับ วั ฒนธรรมที่ ม าจักกิจกรรมที่บึง เกลือ ได้แก่ ประเพณีสงกรานต์ ลอยกระทงและบุญบั้งไฟ
แหลมพยอม อ�ำเภอโพนทอง เป็นแหล่งน�้ำขนาดใหญ่ ลั ก ษณะเป็ น อ่ า งเก็ บ น�้ ำ มี เ นื้ อ ที่ 700 ไร่ โดยเป็ น แหล่ ง เพาะและขยายพั น ธุ ์ ป ลาและ เป็นสถานที่จัดงานประเพณีลอยกระทงอีกด้วย แหลมพยอม มีธรรมชาติที่สวยงามเต็มไปด้วย นก ปลา หลากหลายชนิด จึงเป็นสถานทีพ่ กั ผ่อน หย่อนใจ ของชาวจังหวัดร้อยเอ็ดและจังหวัด ใกล้ เ คี ย ง นั ก ท่ อ งเที่ ย วมั ก นิ ย มมาปิ ก นิ ค ปูเสือ่ ชมธรรมชาติ รวมถึงท�ำอาหารรับประทาน กั น เองในหมู ่ ญ าติ ห รื อ เพื่ อ นฝู ง และในช่ ว ง เทศกาลสงกรานต์ แหลมพยอมจะมีประชาชน มากมายมาเล่นสาดน�้ำสงกรานต์ตามประเพณี อย่างสนุกสนานที่นี่
ROI ET I SBL บันทึกประเทศไทย
61
ท่องเที่ยว...ด้วยศรัทธา
พระมหาเจดีย์ชัยมงคล ตั้ ง ตระหง่ า นบนเขาในเทื อ กเขาภู พ าน บนพื้ น ที่ 101 ไร่ บริ เ วณวั ด ผาน�้ ำ ทิ พ ย์ เ ทพ ประสิทธิว์ ราราม ต�ำบลโคกสว่าง อ�ำเภอหนองพอก เป็นพระเจดีย์ใหญ่องค์หนึ่งของประเทศไทย ศิ ล ปกรรมร่ ว มสมั ย ระหว่ า งภาคกลางและ ภาคอีสาน ซึ่งเป็นการผสมกันระหว่างพระปฐม เจดียแ์ ละพระธาตุพนมขนาดใหญ่อลังการ และ สวยงามทีส่ ดุ แห่งหนึง่ ของประเทศไทย พระเทพ วิสุทธิมงคล (หลวงปู่ศรี มหาวีโร พระเถระฝ่าย วิปัสสนาธุระศิษย์พระอาจารย์มั่น ภูริทตฺโต) ได้ดำ� ริสร้างขึน้ เป็นเจดียฐ์ าน 8 เหลีย่ ม รายล้อม ด้วยเจดียอ์ งค์เล็ก 8 ทิศองค์เจดียแ์ บ่งเป็น 6 ชัน้ แต่ละชั้นได้ตกแต่งลวดลายที่วิจิตรของศิลปะ ยุคใหม่และยุคเก่าผสมผสานเป็นศิลปะร่วม สมั ย ที่ ห าดู ไ ด้ ย าก ชั้ น 3 มี อ งค์ จ� ำ ลองของ เกจิอาจารย์ชื่อดังทั่วประเทศ ตรงกลางห้องโถง เป็นจุดรับพลังจากองค์พระธาตุและพระบรม สารีรกิ ธาตุทบี่ รรจุอยูท่ ชี่ นั้ 6 มหัศจรรย์อย่างยิง่ เจดียช์ ยั มงคลเป็นเจดียท์ มี่ คี วามศักดิส์ ทิ ธิเ์ ชือ่ ว่า หากได้ไปกราบไหว้สกั การะ ขอพรจะมีอานิสงฆ์ ให้ผู้ที่ได้กราบไหว้ท่วมท้นด้วยชัยชนะ ประสบ ผลส�ำเร็จในหน้าที่การงานสมดั่งปรารถนา
62
SBL บันทึกประเทศไทย I ร้อยเอ็ด
วัดประชาคมวนาราม หรือวัดป่ากุง ตัง้ อยูท่ ตี่ ำ� บลศรีสมเด็จ อ�ำเภอ ศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด วัดนี้มีชื่อทางการว่า วัดประชาคมวนาราม สร้างขึ้นโดยหลวงปู่ศรี มหาวี โ ร มี เ จดี ย ์ ข นาดใหญ่ ท� ำ จากหิ น ทราย ธรรมชาติแห่งแรกในประเทศไทย ก่อสร้างขึ้น เพื่อเป็นอนุสรณ์ครบรอบ 90 ปี พรรษา 60 พระเทพวิ สุ ท ธิ ม งคล "หลวงปู ่ ศ รี มหาวี โ ร" พระเกจิอาจารย์ฝ่ายกัมมัฏฐานชื่อดังแห่งภาค
อีสาน เลียนแบบเจดีย์โบโรบูโด (บรมพุทโธ) ที่เกาะชวา ในประเทศอินโดนีเซีย เนื่องจาก เมื่อ พ.ศ. 2531 หลวงปู่ได้ไปปฏิบัติศาสนกิจ ณ มหาเจดีย์บุโรพุทโธ หรือ โบโรบูโดร์ และได้ ประทับใจในความยิง่ ใหญ่อลังการของมหาเจดีย์ แห่งนี้ จึงได้เล่าให้คณะศิษย์ฟัง ต่อมาใน ปี พ.ศ 2535 การก่อสร้างจึงเริ่มขึ้น จนกระทั่งแล้ว เสร็จเมื่อวันที่ 28 ตุลาคม 2547 มีพิธียกยอด เจดี ย ์ ท องค� ำ แท้ ห นั ก 101 ขึ้ น ประดิ ษ ฐาน
ด้วยแรงศรัทธาของคณะศิษยานุศิษย์ เสียสละ ก�ำลังกายก�ำลังทรัพย์ เพื่อเป็นอนุสรณ์แห่ง ความสมัครสมานสามัคคี เทิดทูนความดีทหี่ ลวง ปู่ศรีได้ประพฤติปฏิบัติ ด้วยงบประมาณ 40 ล้านบาท ภายในพระเจดีย์เป็นที่ประดิษฐาน พระบรมสารีรกิ ธาตุซงึ่ อยูจ่ ดุ ศูนย์กลางของเจดีย์ ผนั ง แกะสลั ก เรื่ อ งราวพระพุ ท ธประวั ติ แ ละ เวสสันดรชาดก รวมทั้งประวัติของหลวงปู่ศรี และรูปบูรพาจารย์ ในทุกๆ ปี วัดป่ากุงจะ จั ด พิ ธี ร ะลึ ก ถึ ง พระคุ ณ ของหลวงปู ่ ศ รี ใ นวั น คล้ายวันเกิด มีกิจกรรมการสวดมนต์ จัดตั้งโรง ทาน ตักบาตร ในระว่างวันที่ 1-3 พฤษภาคม ของทุ ก ปี ซึ่ ง ในระหว่ า งระยะเวลาดั ง กล่ า ว จะมีพทุ ธศาสนิกชนหลัง่ ไหลมาร่วมงานในแต่ละ ปีเป็นจ�ำนวนมาก วัดบูรพาภิราม สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2456 เดิมชื่อ วัดหัวรอ ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อมาเป็น วัดบูรพาภิราม เป็น พระอารามหลวงชัน้ ตรี ชนิดสามัญ เมือ่ เดินทาง ถึงตัวเมืองร้อยเอ็ดก็ต้องตื่นตาตื่นใจกับขนาด ขององค์พระเจ้าใหญ่ หรือ พระพุทธรัตนมงคล มหามุนี สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2516 องค์พระนั้น สร้างขึ้นด้วยคอนกรีตเสริมเหล็ก ความสูงของ องค์พระวัดจากพระบาทถึงยอดเกศสูงถึง 59 เมตร 20 เซนติเมตร และมีความสูงทั้งหมด 67 เมตร 85 เซนติเมตร ซึ่งประทับยืนเด่นเป็นสง่า มองเห็นได้จากระยะไกล องค์พระเจ้าใหญ่เป็น ที่เคารพเลื่อมใสของชาวร้อยเอ็ด ซึ่งแสดงถึง ความศรัทธาในพระพุทธศาสนาอันแรงกล้าของ ชาวเมือง ทีไ่ ด้สร้างพระพุทธรูปปางประทานพร ที่กล่าวกันว่าสูงที่สุดในประเทศไทย นอกจาก นี้ อ งค์ พ ระเจ้ า ใหญ่ ยั ง เป็ น สั ญ ลั ก ษณ์ ป ระจ� ำ จังหวัดอีกด้วย นอกจากนี้ ภายในบริเวณวัด ยังเป็นทีต่ งั้ ศูนย์งานพระธรรมทูต โรงเรียนปริยตั ิ ธรรม และมีศาลเจ้าพ่อมเหศักดิ์ ซึง่ เป็นทีเ่ คารพ ของชาวเมืองตั้งอยู่ด้วย วัดกลางมิ่งเมือง เดิมชือ่ วัดกลาง เนือ่ งจากตัง้ อยูใ่ จกลางเมือง ร้อยเอ็ด บนถนนเจริญพาณิชย์ ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดร้อยเอ็ด โดยเป็นวัดเก่าแก่ สันนิษฐานว่าสร้างก่อนตัง้ เมืองร้อยเอ็ด ในขณะนัน้
อยู ่ ใ นการปกครองของขอม ในอดี ต นั้ น เคย ใช้ วั ด กลางมิ่ ง เมื อ งเป็ น สถานที่ ป ระกอบพิ ธี ถือน�ำ ้ พิพฒ ั น์สตั ยา ส่วนในปัจจุบนั เป็นสถานที่ ศึกษาปริยัติธรรมและสถานที่สอบธรรมสถาน ชื่อโรงเรียนสุนทรธรรมปริยัติ สังกัด ส�ำนักงาน พระพุทธศาสนาแห่งชาติ อุโบสถที่สร้างเป็น สถาปัตยกรรมในสมัยอยุธยาตอนปลาย มีขนาด กว้าง 12.50 เมตร ยาว 20 เมตร บริเวณผนัง รอบอุโบสถมีภาพวาดจิตรกรรม แสดงถึงพุทธ ประวัติ ลวดลายสวยงาม และมีคุณ ค่าทาง ศิลปะ โดยภายในพระอุโบสถแห่งนี้ ประดิษฐาน ปู ช นี ย วั ต ถุ ซึ่ ง เป็ น พระประธานในอุ โ บสถ มีนามว่า พระพุทธมิ่งเมือง
วัดสระทอง ตัง้ อยูใ่ นตัวเมือง เป็นทีป่ ระดิษฐานหลวงพ่อ พระสั ง กั จ จายน์ ซึ่ ง เป็ น พระพุ ท ธรู ป ที่ ช าว ร้ อ ยเอ็ ด เคารพสั ก การะ สร้ า งในสมั ย ใดไม่ ปรากฏแน่ชัด ต่อมาเมื่อปี พ.ศ. 2325 พระยา ขัตติยะวงษา(ท้าวธน) ซึ่งเป็นเจ้าเมืองร้อยเอ็ด คนแรก ได้พบพระองค์น้ีเห็นว่ามีความเก่าแก่ และศักดิ์สิทธิ์มาก จึงได้น�ำมาประดิษฐานที่ วัดสระทองและยก ให้เป็นพระคู่บ้านคู่เมือง ในอดีตนั้นข้าราชการทุกคนต้องมาสาบานตน ต่อหน้าหลวงพ่อว่าจะซื่อสัตย์ต่อบ้านเมืองเป็น ประจ�ำทุกปี
ROI ET I SBL บันทึกประเทศไทย
63
ท่องเที่ยว...เพื่อการเรียนรู้
อนุสาวรีย์พระขัติยะวงษา(ทน) ตั้ ง อยู ่ ก ลางวงเวี ย นห้ า แยกสายน�้ ำ ผึ้ ง ใกล้วิทยาลัยนาฏศิลป์ร้อยเอ็ด อ�ำเภอเมือง ร้อยเอ็ด โดยประวัตขิ อง พระขัตยิ ะวงษา (ทน)นัน้ เป็นบุตรท้าวจารย์แก้วได้รับการสถาปนาเป็น เจ้าเมืองร้อยเอ็ดคนแรกเมื่อปี พ.ศ. 2318 ใน รัชสมัยพระเจ้าตากสินมหาราช เป็น ผู้น�ำใน การสร้ า งบ้ า นแปงเมื อ งโดยอพยพผู ้ ค นจาก เมืองท่ง มาตั้งรกรากที่เมืองกุ่มร้าง หรือเมือง ร้อยเอ็ด ถือได้ว่าท่านเป็น ผู้มีความสามารถ ด้านการปกครอง ในการรวบรวม ผู้คนบูรณะ ฟืน้ ฟูและทะนุบำ� รุงเมืองร้อยเอ็ดจนเป็นปึกแผ่น เจริญรุ่งเรืองในที่สุด เทศบาลเมืองร้อยเอ็ดได้ ขออนุญาตก่อสร้างจากกรมศิลปากรและได้ รับอนุญาตให้ก่อสร้างตามแบบแปลนของกรม ศิลปากร ขนาดหนึง่ เท่าครึง่ ของตัวจริง หล่อด้วย ส�ำริด ในลักษณะท่ายืน
สถานแสดงพันธุ์สัตว์น�้ำเทศบาลเมืองร้อยเอ็ด ตัง้ อยูท่ ถี่ นนสุนทรเทพ ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง เป็นอาคาร 2 อาคารเชื่อมต่อกัน อาคารแรกประกอบ ด้วยห้องโถง ห้องบรรยาย ห้องนิทรรศการ ส�ำนักงาน ห้องจ�ำหน่ายบัตรและของที่ระลึก ส่วนอาคารที่ 2 เป็นอาคารสองชั้น ชั้นล่างเป็นส่วนแสดงพันธุ์สัตว์น�้ำ ประกอบด้วยตู้ปลาขนาดเล็กที่ฝังอยู่ในผนังรอบๆ อาคาร จ�ำนวน 24 ตู้ กลางอาคารเป็นตูป้ ลาขนาดใหญ่ 1 ตู้ กว้าง 8 เมตร ยาว 16 เมตร มีอุโมงค์แก้ว ผ่าน กลางตูส้ ำ� หรับให้ผเู้ ข้าชมเดินชมสัตว์นำ�้ ได้อย่างใกล้ชดิ ชั้นบนของอาคารเป็นบ่อพักน�้ำ ถังกรองน�้ำ บ่อพัก และส�ำรองพันธุส์ ตั ว์นำ�้ ไว้สำ� หรับสับเปลีย่ นหมุนเวียน กับตู้แสดงพันธุ์สัตว์นำ�้ ที่ป่วย ด้านนอกของตัวอาคาร จะมีการจัดภูมิทัศน์ให้เหมาะสมแก่ตัวอาคาร โดยจัด เป็นสวนหย่อมและปลูกไม้ดอกไม้ประดับโดยรอบ ของตัวอาคารพร้อมทั้งจัดให้มีลานจอดรถส�ำหรับ ผู้เข้าชมอีก 2 จุด สถานแสดงพันธุ์สัตว์น�้ำเทศบาล เมืองร้อยเอ็ดนี้ เปิดทุกวันยกเว้นวันจันทร์ อังคาร และวันหยุดนักขัตฤกษ์ ระหว่างเวลา 08.30-16.30 น. อัตราค่าเข้าชม เด็ก 5 บาท ผู้ใหญ่ 10 บาท และ ชาวต่างประเทศ 30 บาท
64
SBL บันทึกประเทศไทย I ร้อยเอ็ด
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติร้อยเอ็ด เป็ น พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ส ถานแห่ ง ชาติ ที่ จั ด ตั้ ง ขึ้ น ตามโครงการ การจัดตั้งพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ประจ�ำเมือง เป็นสถานที่จัดแสดงและรวบรวม เรื่องราวน่ารู้ทุกด้านของจังหวัดแห่งนี้ เดิมทีนั้น พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติร้อยเอ็ด จัดตั้งขึ้นตาม ด�ำริของท่านศาสตราจารย์ ดร.ก่อ สวัสดิ์พาณิชย์ ในอันที่จะเป็นพิพิธภัณฑ์ฯ ศิลปหัตถกรรมอีสาน โดยเฉพาะผ้าไหมและผ้าพื้นเมือง ต่อมาเมื่อกรม ศิลปากรมีนโยบายในการจัดตั้งพิพิธภัณฑสถาน แห่งชาติประจ�ำเมือง จึงได้ท�ำการปรับปรุงเพิ่มเติม เนื้ อ หาในการจั ด แสดงให้ ค รอบคลุ ม ข้ อ มู ล เรื่องราวของจังหวัดทุกด้าน ทั้งด้านภูมิศาสตร์ ทรัพยากรธรณี โบราณคดี ประวัติศาสตร์ บุคคล ส�ำคัญ วิถีชีวิต ประเพณี และศิลปหัตถกรรม ศู น ย์ วิ ท ยาศาสตร์ แ ละวั ฒ นธรรมเพื่ อ การ ศึกษาร้อยเอ็ด แห่งแรกของภาคอีสาน อ�ำเภอธวัชบุรีแหล่ง เรียนรูท้ างวิทยาศาสตร์ตลอดชีวติ แห่งเดียวในภาค อีสาน ชมท้องฟ้าจ�ำลอง การแสดงทางวิทยาศาสตร์ ดาราศาสตร์ที่มีความทันสมัย มีนวัตกรรมใหม่ให้ ได้ชม เป็นศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาที่ได้ มาตรฐานของประเทศ และภายในห้องโถงจัดเป็น ศูนย์เรียนรู้ข้าวหอมมะลิโลก จัดแสดงนิทรรศการ ข้ า วหอมมะลิ ทุ ่ ง กุ ล าร้ อ งไห้ นิ ท รรศการของ พ่อหลวงที่ทรงพระราชทานให้กับชาวนา แสดงให้ เห็นถึงวิถชี วี ติ ของชาวนาในจังหวัดร้อยเอ็ด อีกด้วย
ROI ET I SBL บันทึกประเทศไทย
65
ท่องเที่ยว...ท่องไปในอดีต
ปรางค์กู่หรือปราสาทหนองกู่ ตั้งอยู่ที่บ้านยางกู่ ต�ำบลมะอี ปรางค์กู่ คือ กลุ่มอาคารที่มีลักษณะแบบเดียวกันกับอาคาร ที่เชื่อกันว่า คืออโรคยาศาลตามที่ปรากฏใน จารึกปราสาทตาพรหมอันประกอบด้วย ปรางค์ ประธาน บรรณาลัย ก�ำแพงพร้อมซุม้ ประตู และ สระน�ำ้ นอกก�ำแพง โดยทัว่ ไปนับว่าคงสภาพเดิม พอสมควร โดยเฉพาะปรางค์ประธานชัน้ หลังคา คงเหลือ 3 ชั้น และมีฐานบัวยอดปรางค์อยู่ ตอนบน อาคารอืน่ ๆ แม้หกั พังแต่ทางวัดก็ได้จดั บริเวณให้ดูร่มรื่นสะอาดตา นอกจากนี้ภายใน ก� ำ แพงด้ า นหน้ า ทางทิ ศ ตะวั น ออกเฉี ย งใต้
66
SBL บันทึกประเทศไทย I ร้อยเอ็ด
ยั ง พบโบราณวั ต ถุ อี ก หลายชิ้ น วางเก็ บ รักษาไว้ใต้อาคารไม้ ได้แก่ทับหลังหินทราย สลั ก เป็ น ภาพบุ ค คลนั่ ง บนหลั ง ช้ า งหรื อวั ว ภายในซุม้ เรือนแก้วหน้ากาล จากการสอบถาม เจ้าอาวาสวัดศรีรตั นาราม กล่าวว่าเป็นทับหลัง หน้าประตูมุขของปรางค์ประธาน เสากรอบ ประตู 2 ชิ้น ชิ้นหนึ่งมีภาพสลักรูปฤาษีที่โคน เสาศิวลึงค์ขนาดใหญ่พร้อมฐานทีไ่ ด้จากทุง่ นา ด้านนอกออกไป และชิ้นส่วนบัวยอดปรางค์ ซึ่งถูกดัดแปลงเป็นฐานของพระสังกัจจายน์ ปูนปั้น ก�ำหนดอายุว่าสร้างราวพุทธศตวรรษ ที่ 18
ROI ET I SBL บันทึกประเทศไทย
67
กู่กาสิงห์ ตัง้ อยูใ่ นวัดบูรพากูก่ าสิงห์ เป็นสถาปัตยกรรม แบบเขมรอีกแห่งหนึง่ มีขนาดค่อนข้างใหญ่และ ยังอยูใ่ นสภาพดีพอสมควร ประกอบด้วยปรางค์ 3 องค์ ตัง้ อยูบ่ นฐานศิลาแลงเดียวกัน มีวหิ าร หรือ อาคารรูปสี่เหลี่ยมผืน ผ้า ที่เรียกว่าบรรณาลัย อยู่ทางด้านเหนือหน้าทั้งสองข้าง ทั้งหมดล้อม รอบด้วยก�ำแพงซึ่งมีซุ้มประตูทั้ง 4 ทิศ ถัดออก ไปเป็นคูนำ�้ รูปเกือกม้าล้อมรอบ ปรางค์ประธาน หรืออาคารหลักที่มี 3 องค์นั้น ตั้งเรียงอยู่บน ฐานเดียวกันในแนวเหนือ-ใต้ แผนผังเป็นรูป สี่เหลี่ยมจัตุรัส หันหน้าไปทางทิศตะวันออก ปรางค์องค์กลางมีขนาดใหญ่กว่าอีก 2 องค์ที่ ขนาบข้าง และมีมุขยื่นทางด้านหน้าเป็นห้อง ยาวมีประตูทาง เข้า 3 ทางคือด้านหน้าและ ด้านข้างของห้องยาวทั้งสอง ส่วนฐานขององค์ ปรางค์ก่อด้วยศิลาทรายยังคงปรากฏลวดลาย สลั ก เป็ น ชั้ น เป็ น แนว เช่ น ลายกลี บ บั ว และ ลายกนก ผนังก่ออิฐ ที่ห้องในสุดหรือ ส่วน ครรภคฤหะได้ค้นพบศิวลึงค์ ซึ่งเป็นตัวแทน ของเทพสู ง สุ ด (พระอิศ วร) และความอุดม สมบูรณ์ตามลัทธิความเชื่อในศาสนาพราหมณ์ ลั ท ธิ ไ ศวนิ ก าย นอกจากนี้ ยั ง พบทั บ หลั ง อี ก หลายชิ้น ชิ้นหนึ่งสลักเป็นภาพ พระอินทร์ทรง ช้างเอราวัณในซุม้ เรือนแก้ว โดยยืนอยูเ่ หนือหน้า กาลซึง่ มีมอื ยึดจับท่อนพวงมาลัยอีกทีหนึง่ และ ยังได้พบซุ้มหน้าบันสลัก เป็นภาพพระอินทร์ ทรงช้างเอราวัณท่ามกลางลายก้านขดอีกด้วย
68
SBL บันทึกประเทศไทย I ร้อยเอ็ด
ส่วนปรางค์อีก 2 องค์ที่ขนาบนั้น มีขนาดและ ลักษณะเดียวกัน ฐานก่อด้วยศิลาทราย ผนัง ก่ อ อิ ฐ มี ป ระตู เ พี ย งด้ า นหน้ า ภายในมี แ ท่ น รูปเคารพวางอยู่จากลวดลายของศิลปกรรม แบบแผนผังและโบราณวัตถุ ทีพ่ บแสดงให้ทราบ ว่า กูก่ าสิงห์สร้างขึน้ ในแบบศิลปะเขมรทีเ่ รียกว่า "แบบบาปวน" อายุราว พ.ศ. 1560-1630 เพื่อ เป็ น เทวสถานอุ ทิ ศ ถวายแด่ พระอิศวร เทพเจ้าสูงสุดองค์ หนึ่งในศาสนาพราหมณ์ กู่พระโกนา ตัง้ อยูท่ วี่ ดั กูพ่ ระโกนา ต�ำบล สระคู กูพ่ ระโกนา ประกอบด้วย ปรางค์ อิ ฐ 3 องค์ บนฐาน ศิลาทราย เรียงจากเหนือไปใต้ ทัง้ หมดหันหน้าไปทางทิศตะวัน ออก มีกำ� แพงล้อมและซุม้ ประตู เข้า-ออกทั้ง 4 ด้าน ก่อด้วย หิ น ทรายเช่ น กั น ปรางค์ อ งค์ กลางถู ก ดั ด แปลงเมื่ อ ปี พ.ศ. 2417 โดยการฉาบปูนทับและ ก่อขึ้นเป็นชั้นๆ แต่ละชั้นมีซุ้ม พระทั้ ง 4 ทิ ศ หน้ า ปรางค์ องค์กลางชัน้ ล่างสร้างเป็นวิหาร พระพุทธบาทประดับเศียรนาค 6 เศียรของเดิมไว้ดา้ นหน้า ส่วน ปรางค์อีก 2 องค์ ก็ได้รับการ
บูรณะจากทางวัดเช่นกัน แต่ไม่ถึงกับเปลี่ยน รูปทรงอย่างปรางค์องค์กลาง ปรางค์องค์ทิศ เหนือทางวัดสร้างศาลาครอบ ภายในมีหน้า บันสลักเรื่องรามายณะ และทับหลังสลักภาพ พระนารายณ์บรรทมสินธุ์ติดอยู่ที่เดิม คือเหนือ ประตู ท างด้ า นหน้ า ส่ ว นทั บ หลั ง ประตู ด ้ า น ทิศตะวันตก หล่นอยู่บนพื้นเป็นรูปนารายณ์ ทรงครุฑ ปรางค์องค์ทิศใต้ยังคงมีทับหลังของ เดิมเหนือประตูหลอกด้านทิศเหนือเป็นภาพ เทวดานั่งชันเข่าในซุ้มเรือนแก้วเหนือหน้ากาล นอกจากนี้ทางด้านหน้ายังมีทับหลังหล่นอยู่ ที่พื้น เป็นภาพพระอิศวรประทับนั่งบนหลังโค และมีเสานางเรียงวางอยู่ด้วย สันนิษฐานว่า กู่พระโกนาเดิมจะมีสะพานนาคและทางเดิน ประดับเสานางเรียงทอดต่อไปจากซุม้ ประตูหน้า ไปยังสระน�ำ ้ จากรูปแบบลักษณะทางศิลปกรรม ทั้ ง หมดของภาพสลั ก และเสากรอบประตู ซึ่งเป็นศิลปะขอมที่มีอายุในราวปี พ.ศ. 15601630 (แบบบาปวน) สันนิษฐานว่ากู่พระโกนา คงจะสร้างขึ้นในราวพุทธศตวรรษที่ 16
ท่องเที่ยว...ชมพระอาทิตย์ตก
เขตห้ามล่าสัตว์ป่าถ�้ำผาน�ำ้ ทิพย์ ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 151,242 ไร่ โดยสภาพพื้ น ที่ จ ะเป็ น เทื อ กเขาหิ น ทรายสู ง ชันและสลับซับซ้อน ประกอบด้วยป่าดิบแล้ง ป่าเบญจพรรณและป่าเต็งรัง ซึ่งมีความอุดม สมบูรณ์ สัตว์ป่าที่พบในพื้นที่ป่าแห่งนี้ ได้แก่ หมูป่า เก้ง สุนัขจิ้งจอก ลิง กระรอก กระแต เป็นต้น จุดท่องเที่ยวที่น่าสนใจในบริเวณเขตห้าม ล่าสัตว์ป่าถ�้ำผาน�ำ้ ทิพย์ คือ ผาภูไท ซึ่งเป็นจุด ชมพระอาทิตย์ขึ้น และผาหมอกมิวาย เป็นจุด ชมพระอาทิตย์ตก นอกจากนี้ยังมีเส้นทางเดิน ศึกษาธรรมชาติ 2 เส้นทาง ระยะทาง 2 กิโลเมตร และ 3 กิโลเมตร นักท่องเทีย่ วสามารถเดินเองได้ บริ เ วณเขตห้ า มล่ า สั ต ว์ ป ่ า ถ�้ ำ ผาน�้ ำ ทิ พ ย์ มีบริการบ้านพักและสถานที่ส�ำหรับกางเต็นท์ หากต้องการเข้าพักเป็นหมู่คณะ
แหล่งต้นน�้ำ สัตว์ป่า พันธุ์ไม้นานาชนิด รวมทั้ง สมุ น ไพรต่ า ง ๆ โดยมี ส� ำ นั ก งานเขตห้ า ม ล่าสัต ว์ป่าถ�้ำผาน�้ำ ทิพย์ ดูแลรักษา มีที่พัก สถานที่ประชุม เต็นท์ไว้บริการนักท่องเที่ยว
สวนพฤกษศาสตร์วรรณคดี เป็นโครงการสวนพฤกษศาสตร์ในวรรณคดี ประจ� ำ ภาคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ ตั้ ง อยู ่ ใ น บริเวณป่าสงวนแห่งชาติดงมะอี่ ต�ำบลผาน�้ำ ย้ อ ย อ� ำ เภอหนองพอก ห่ า งจากตั ว จั ง หวั ด ประมาณ 85 กิโลเมตร มีเนือ้ ทีป่ ระมาณ 1,000 ไร่ เป็นเนือ้ ทีส่ ำ� หรับปลูกต้นไม้แบ่งตามวรรณคดี เช่น เรื่องพระเวสสันดร ลิลิตพระลอ ลิลิตตะ เบงพ่าย ลานพุทธประวัติ ฯลฯ นอกจากนี้ยังมี สมุนไพรแยกตามสรรพคุณ บริเวณสวนมีสภาพ ภูมิประเทศสวยงาม ขอบคุ ณ ข้ อ มู ล จาก : การท่ อ งเที่ ย วแห่ ง ประเทศไทย,ส�ำนักงานจังหวัดร้อยเอ็ด
ผาหมอกมิวาย ครั้ ง เดี ย ว เที่ ย วได้ 3 จั ง หวั ด อ� ำ เภอ หนองพอก ตั้งอยู่ใกล้กับมหาเจดีย์ชัยมงคล อ�ำเภอหนองพอก เป็นดินแดนที่มีหมอกตลอด ทั้งปี มีผืนป่าที่อุดมสมบูรณ์บนเทือกเขาภูพาน พื้นที่ 151,242 ไร่ เป็นรอยเชื่อมต่อพื้นที่ 3 จังหวัด คือ จังหวัดร้อยเอ็ด มุกดาหาร และ กาฬสิ น ธุ ์ เป็ น ป่ า ดิ บ แล้ ง อากาศหนาวเย็ น ตลอดทั้งปี ได้ฉายาเป็นดินแดน “สวิตเซอร์ แลนด์ร้อยเอ็ด” มีจุดชมวิววัดถ�้ำโสดา จุดชม พระอาทิตย์ขนึ้ ผาภูไทย เส้นทางศึกษาธรรมชาติ ROI ET I SBL บันทึกประเทศไทย
69
บ้านสวนสวยรีสอร์ท
โทรศัพท์ 043-561427 , 089-5692566 ให้บริการห้องพักจ�ำนวน 20 ห้อง (ชั่วคราว/ค้างคืน) ราคาค่าห้องค้างคืน 350 บาท และ 400 บาท ราคาค่าห้องชั่วคราว 180 บาท และ 200บาท
“เราเป็นหนึ่งในด้านความสะอาดและความปลอดภัย” ที่อยู่ : บ้านอ้น ม.13 ถ.ปัทมานนท์ ต.หัวช้าง อ.จตุรพักตรพิมาน จ.ร้อยเอ็ด 45180 กม.22 เส้นทางร้อยเอ็ด-จตุพักตรพิมาน (อยู่ตรงข้ามส�ำนักงานไฟฟ้า อ.จตุรพักตรพิมาน จ.ร้อยเอ็ด)
ฟรี WIFI ที่จอดรถกว้างขวาง ครบครันด้านอุปกรณ์ อ�ำนวยความสะดวกสบาย
สวนอาหาร
นิวอิม่ ออนซอน 101 ที่ตั้งบ้านอ้น ม.13 ถ.ปัทมานนท์ ต.หัวช้าง อ.จตุรพักตรพิมาน จ.ร้อยเอ็ด 45180 กม.22 เส้นทางร้อยเอ็ด-จตุพักตรพิมาน (อยูต่ รงข้ามส�ำนักงานไฟฟ้า อ.จตุรพักตรพิมาน จ.ร้อยเอ็ด) บริการจัดเลี้ยง พบปะสังสรรค์ รับรอง เพื่อนร่วมรุ่น ห้องร้องคาราโอเกะทีท่ นั สมัย ระบบเสียง ดีเยี่ยม ให้บริการทั้งห้องปรับอากาศ และลาน ธรรมชาติ
โทรศัพท์ 043-561427 , 089-5692566 (เปิดบริการ 09.00-22.00 น.ทุกวัน) Facebook : ร้านอาหารนิวอิ่มออนซอน 101 และ บ้านสวนสวยรีสอร์ท ใกล้สถานที่ท่องเที่ยว เช่น บึงพลาญชัย มหาเจดีย์ชัยมงคล กู่พระโกนา กู่กาสิงห์ ฯลฯ บริหารงานโดย : ดร.เสริม เคนโยธา
รุ่งตะวันฉาย รีสอร์ท
บรรยากาศดี ที่พักสะอาด เดินทางสะดวก มีที่จอดรถในตัว ห้องพักราคาไม่แพง เปิดบริการตลอด Free 24ชั่วโมง Wi-fi ส�ำรองห้องพักได้ที่ 208 หมู่ 6 ต.หัวช้าง อ.จตุรพักตรพิมาน จ.ร้อยเอ็ด
โทร. 081-320-6967
โรงแรม บี บี รีสอร์ท
เริ่มต้นที่
350 บาท
ให้คณ ุ ได้พบกับ ห้องพักใหม่ สะอาด สีสนั สดใส ใกล้รมิ ธารน�ำ้ ไหล ท่ามกลาง ธรรมชาติ แห่งเดียวในเมืองร้อยเอ็ด ใกล้ถนนสายหลัก ร้อยเอ็ด-อุบลฯ บริการพิเศษส�ำหรับคุณ : สัญญาณอินเตอร์เน็ตแรง มี บ ริ ก ารทั้ ง เตี ย งเดี่ ย ว เตี ย งคู ่ และห้ อ งครอบครั ว ในราคาที่ คุ ณ พอใจ เริ่มต้นที่ 350 , 450 , 550 , และ 600 บาท พร้อมอาหารเช้า ที่จอดรถสะดวกสบาย หมู่ 7 บ้านประตูชัย ต.นิเวศน์ อ.ธวัชบุรี จ.ร้อยเอ็ด 45170 Facebook : บีบี รีสอร์ท ร้อยเอ็ด
ฟรี WIFI
โทร 081-954-4594 083-344-3553 089-711-5646
เรือนจ�ำปา การ์เด้นรีสอร์ท
พบกับบรรยากาศที่ ร่มรื่น สะดวก สบาย สะอาด ปลอดภัย พักผ่อนได้ทั้งครอบครัว ใกล้อ�ำเภอปทุมรัตต์ และอ่างเก็บน�้ำห้วยจานใต้ Facebook : เรือนจ�ำปา การ์เด้นรีสอร์ท ที่อยู่ 236 บ้านโคกทม หมู่ 10 ต.บัวแดง อ.ปทุมรัตต์ จ.ร้อยเอ็ด 45190
โทร. 093-5379755 สิ่งอ�ำนวยความสะดวก
ห้องธรรมดา - แอร์ พัดลม ทีวี เครื่องท�ำน�้ำอุ่น ราวส�ำหรับแขวนเสื้อผ้า ชุดโต๊ะเก้าอี้ Internet ความเร็วสูง
ห้อง VIP - แอร์ พัดลม ทีวี ตู้เย็น เครื่องท�ำน�ำ้ อุ่น
กาต้มน�้ำ ตู้เสื้อผ้า โต๊ะเครื่องแป้ง ชุดโต๊ะเก้าอี้ Internet ความเร็วสูง พร้อมเครื่องดื่ม นม ขนมขบเคี้ยว กาแฟ โอวัลตินภายในห้อง
ร่มรื่น เย็นสบาย พักผ่อนได้ทั้งครอบครัวที่
เรือนจ�ำปา การ์เด้นรีสอร์ท
โรงแรมมีทิพย์ MEETHIP HOTEL
โรงแรมในตัวอ�ำเภอที่ใหญ่ที่สุดใน อ�ำเภอหนองพอก มีห้องพักพร้อมให้ บริการคุณ มากถึง 60 ห้อง พร้อม ห้องประชุมและห้องอาหาร ห้องพัก สะอาด อุปกรณ์อ�ำนวยความสะดวก ครบครัน ที่จอดรถสะดวกสบาย ส�ำรองห้องพักได้ที่
Free Wi-fi
218 หมู่ 11 ต.หนองพอก อ.หนองพอก จ.ร้อยเอ็ด Facebook : โรงแรม มีทิพย์ โทร. 089-9420701, 094-5146179
โรงแรมเพชรไพลินปาร์ค
PECH PAILIN PARK HOTEL
ห้ อ งพั ก หรู สะอาด มีบริก ารทั้งห้อ งพักเดียวและ ห้องพักคู่ด้วยราคาประหยัด บรรยากาศร่มรื่น เงียบสงบ ด้วยกลิน่ ไอความเป็นไทย ท่ามกลางธรรมชาติใจกลางเมือง ร้อยเอ็ด พร้อมอุปกรณ์อำ� นวยความสะดวกครบครัน อาทิ แอร์ ตู้เย็น ทีวีนำ�้ อุ่น พร้อมที่จอดรถ และที่นั่งเล่นพักผ่อน แยกออกมาจากห้องนอน ที่อยู่ : 4/7 ถ.รอบเมือง ซอย1 ต.ในเมือง อ.เมือง จ.ร้อยเอ็ด 45000 โทรศัพท์ 043-519511, 089-2215131 จากตัวเมืองร้อยเอ็ด ใช้ถนนรอบเมือง ตรงไปจนถึง วัดบูรพา ให้เลยวัดไปประมาณ 50 เมตร จะเห็นโรงแรม เพชรไพลิน อยู่ด้านซ้ายมือ
สะอาด สวยหรู ดูดี
โทร. 043-519511, 089-2215131
อาจนคร วอเตอร์ปาร์ค แอนด์รีสอร์ท
สวนน�้ำอาจสามารถที่ครบวงจรในที่เดียว
• บริการจัดทัศนศึกษา และทัศนาจรจากโรงเรียนต่าง ๆ หรือหน่วยงานต่าง ๆ เพื่อศึกษาดูงาน ทั้งคณะครู นักเรียน หน่วยงานต่าง ๆ หรือเอกชน ทั่วประเทศ • บริการจัดเลี้ยง/อบรม/สัมมนา • บริการจัดงานมงคลสมรส/งานเลี้ยงวันเกิด ทุกประเภท • บริการด้านรีสอร์ท และกาแฟสด • มีรถทัวร์น�ำเที่ยวหรือรับส่งลูกค้าที่สนใจจะน�ำคณะมาเที่ยวชม
ติดต่อสอบถาม
281 ม.15 ต.อาจสามารถ อ.อาจสามารถ จ.ร้อยเอ็ด 45160 Tel. 043-033505 Mobile. 083-421-1092, 081-355-2411 E-Mail : Ar.waterparkandresort@gmail.com Facebook : อาจนครวอเตอร์ปาร์ค แอนด์รีสอร์ท ID LINE : Waterpark101
WO R K L I F E
บันทึกเส้นทางพบมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
ประวัติโดยสังเขป
วิทยาเขตร้อยเอ็ด เป็นเขตการศึกษาของ มหาวิ ท ยาลั ย มหามกุ ฏ ราชวิ ท ยาลั ย ซึ่ ง เป็ น มหาวิทยาลัยของรัฐ ในก�ำกับกระทรวงศึกษาธิการ ขออนุมตั จิ ดั ตัง้ โดยพระราชธรรมานุวตั ร (ขณะด�ำรง สมณศักดิ์ที่พระประภัสสรมุนี) เจ้าคณะจังหวัด ร้อยเอ็ด (ธ) และพระธรรมฐิติญาณ (ขณะด�ำรง สมณศักดิ์ที่พระราชสารสุธี) เมื่อปี พ.ศ. 2535 และ ต่อมาได้รบั อนุมตั ใิ ห้จดั ตัง้ เป็นวิทยาเขตชือ่ “วิทยาเขตร้อยเอ็ด” เมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ.2537 เดิมมีที่ทำ� การชั่วคราวอยู่ที่วัดเหนือ และในช่วงปี พ.ศ. 2537 พระเทพวิสุทธิมงคล (หลวงปู ่ ศ รี มหาวี โ ร) ซึ่ ง เป็ น เจ้ า อาวาสวั ด ประชาคมวนาราม (วัดป่ากุง)ได้มาเห็นสภาพ อาคารเรียน และห้องเรียนที่วัดเหนือคับแคบ แออั ด ไม่ เ พี ย งพอและไม่ เ อื้ อ อ� ำ นวยต่ อ การ จั ด การเรี ย นการสอน จึ ง ได้ อ นุ ญ าต และ ท� ำ สั ญ ญายิ น ยอมให้ ใ ช้ ที่ ดิ น เนื้ อ ที่ 101 ไร่ 98 ตารางวา ซึ่ ง สมเด็ จ พระญาณสั ง วร สมเด็ จ พระสั ง ฆราช สกลมหาสั ง ฆปริ น ายก (เจริญ สุวฑฺฒโน) ขณะด�ำรงสมณศักดิ์เป็นที่ พระสาสนโสภณ เจ้าคณะใหญ่คณะธรรมยุต เป็ น องค์ รั บ มอบ ที่ วั ด บ้ า นเหล่ า สมบู ร ณ์ (วัดศรีทองไพบูลย์วรารามในปัจจุบัน) ให้กับ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขต ร้ อ ยเอ็ ด เข้ า ไปท� ำ ประโยชน์ ใ ช้ ส อยจั ด การ ศาสนศึกษาแก่พระภิกษุสามเณรและคฤหัสถ์ ทั่วไป พร้อมทั้งให้อ�ำนาจจัดการเกี่ยวกับการใช้ ทีด่ นิ ถมดินปลูกสร้างสิง่ ก่อสร้างต่าง ๆ และให้
78
SBL บันทึกประเทศไทย I ร้อยเอ็ด
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด Mahamakut Buddhist University Roi Et Campus
เป็นที่ตั้งถาวรของวิทยาเขตร้อยเอ็ดในปัจจุบัน ในปี พ.ศ. 2541 วิทยาเขตร้อยเอ็ดได้ขออนุมตั ิ ขยายห้ อ งเรี ย นไปเปิ ด ท� ำ การเรี ย นการสอน ณ วัดศรีธรรมาราม ถนนวิทยธ�ำรงค์ ต�ำบลในเมือง อ� ำ เภอเมื อ งยโสธร จั ง หวั ด ยโสธร ปั จ จุ บั น เรียกว่า “ศูนย์การศึกษายโสธร” ต่อมาในปี พ.ศ.2550 ได้ รั บ อนุ มั ติ ใ ห้ ย กฐานะขึ้ น เป็ น วิทยาลัย เรียกว่า “วิทยาลัยศาสนศาสตร์ยโสธร” ในปี พ.ศ. 2544 ได้รบั อนุมตั ใิ ห้ขยายห้องเรียน ไปเปิดท�ำการเรียนการสอน ณ วัดประชานิยม ถนนถีนานนท์ ต�ำบลกาฬสินธุ์ อ�ำเภอเมืองกาฬสินธุ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ ปัจจุบนั เรียกว่า “ศูนย์การศึกษา กาฬสินธุ”์ ต่อมาในปีพ.ศ. 2550 ได้รับอนุมัติให้ ยกฐานะเป็นวิทยาลัย เรียกว่า “วิทยาลัยศาสน ศาสตร์เฉลิมพระเกียรติกาฬสินธุ์” ในปี พ.ศ. 2549 วิ ท ยาเขตร้ อ ยเอ็ ด ได้ ขออนุ มั ติ ข ยายห้ อ งเรี ย นไปเปิ ด ท� ำ การเรี ย น การสอน ณ วัดหลวงสุมงั คลาราม ต�ำบลเมืองใต้ อ�ำเภอเมืองศรีสะเกษ จังหวัดศรีสะเกษ เรียกว่า “ศู น ย์ ก ารศึ ก ษาศรี ส ะเกษ” ซึ่ ง ในระยะเริ่ ม ต้นทางท่านเจ้าอาวาสได้ยินยอมและอนุญาต ให้ ใ ช้ อ าคารเรี ย น 1 หลั ง ซึ่ ง ประกอบด้ ว ย ห้องเรียนส�ำนักงานบริหารห้องสมุด ในปี พ.ศ. 2553 วิทยาเขตร้อยเอ็ด ได้ ขออนุ มั ติ ข ยายห้ อ งเรี ย นไปเปิ ด ท� ำ การเรี ย น การสอน ณ วัดป่าโยธาประสิทธิ์ ต�ำบลนอกเมือง อ�ำเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ เรียกว่า “ห้องเรียนสุรินทร์”
สถานที่ตั้งวิทยาเขตร้อยเอ็ด
วิทยาเขตร้อยเอ็ด ตั้งอยู่ ณ ถนนเลี่ยงเมือง ต�ำบลดงลาน อ�ำเภอเมืองร้อยเอ็ด จังหวัดร้อยเอ็ด 45000 โทร.0-4351-8364,0-4351-6076 โทรสาร 0-4351-4618 อยู่ห่างจากตัวจังหวัด ประมาณ 3 กิโลเมตร มีพื้นที่ทั้งหมด 101 ไร่ 98 ตารางวา ติ ด กั บ ถนนสายเลี่ ย งเมื อ ง ร้ อ ยเอ็ ด -ยโสธร และร้ อ ยเอ็ ด -มหาสารคาม Website http://www.rec.mbu.ac.th Facebook: MBU Present Roi Et PR
เปิดรับสมัครนักศึกษา บรรพชิตและคฤหัสถ์ ระดับปริญญาตรี 1. คณะศาสนาและปรัชญา - สาขาวิชาปรัชญา 2. คณะสังคมศาสตร์ - สาขาวิชาการปกครอง 3. คณะศึกษาศาสตร์ - สาขาวิชาการสอนภาษาไทย - สาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษ - สาขาวิชาการประถมศึกษา - สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย ระดับปริญญาโท - สาขาวิชาพุทธศาสนาและปรัชญา - สาขาวิชาการบริหารการศึกษา ระดับปริญญาเอก - สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
ทุ่งกุลาร้องไห้ จังหวัดร้อยเอ็ด
แขวงทางหลวงชนบทร้ อ ยเอ็ ด กรมทางหลวงชนบท กระทรวงคมนาคม
โดย นายก้องพิภพ อารยรังศรี ผูอ้ ำ� นวยการแขวงทางหลวง ชนบทร้ อ ยเอ็ ด ด� ำ เนิ น โครงการป้ อ งกั น และลดอุ บั ติ เ หตุ ทางถนน ประจ�ำปีงบประมาณ 2561 ตามนโยบายรัฐบาล จัดกิจกรรมโครงการ รักษ์ทาง – รักถิน่ “ขับขีป่ ลอดภัย ร่วมสร้าง วัฒนธรรมความปลอดภัยทางถนนกับ ทช.” โดยเชิญวิทยากร จาก สภ.ธวัชบุรี, สนง.คปภ.จ.ร้อยเอ็ด, สนง.ขนส่งจังหวัด ร้อยเอ็ด, บริษทั กลางคุม้ ครองผูป้ ระสบภัยจากรถ สาขาร้อยเอ็ด ร่วมรณรงค์และบรรยายให้ความรู้ “ขับขี่ปลอดภัย รักษาวินัย จราจร” เพื่อปลูกจิตส�ำนึกการใช้ร ถใช้ถนนอย่างปลอดภัย แก่คณะครู นักเรียน และประชาชนในพื้นที่ โดยด�ำเนินการ ณ โรงเรียนบ้านปอภาร (ปอภารราษฎร์บำ� รุง) อ.เมือง, โรงเรียน ท่าม่วงวิทยาคม อ.เสลภูม,ิ โรงเรียนไตรมิตรวิทยา อ.หนองพอก, โรงเรียนห้วยหินลาด อ.สุวรรณภูมิ และโรงเรียนรัฐประชา วิทยาคาร อ.จตุรพักตรพิมาน พร้อมเร่งรัดปรับปรุงแก้ไขบริเวณ จุดเสีย่ งอันตรายในโครงข่ายทางหลวงชนบท เพือ่ ให้ผใู้ ช้เส้นทาง ได้รับความสะดวกและปลอดภัยในการเดินทาง
แขวงทางหลวงชนบทร้อยเอ็ด สำ�นักงานทางหลวงชนบทที่ 6 (ขอนแก่น)
ที่ตั้ง : แขวงทางหลวงชนบทร้อยเอ็ด บ.หนองเทิง ต.หนองแวง อ.เมือง จ.ร้อยเอ็ด 45000 Facebook : แขวงทางหลวงชนบทร้อยเอ็ด โทรศัพท์ 0-4362-4164 โทรสาร 0-4362-4165
WO R K L I F E
บันทึกเส้นทางพบเทศบาลเมือง
เทศบาลเมืองร้อยเอ็ด “บ้านเมืองน่าอยู่ ผู้คนน่ารัก ฟูมฟักต�ำนานเมือง ลือเลื่องวัฒนธรรม”
@ ที่นี่ บึงพลาญชัยร้อยเอ็ด
นายบรรจง โฆษิตจิรนันท์ นายกเทศมนตรีเมืองร้อยเอ็ด
- โครงการก่อสร้างอาคารหอชมเมือง
80
SBL บันทึกประเทศไทย I ร้อยเอ็ด
ในการพัฒนาเมืองร้อยเอ็ดให้น่าอยู่ ผู้บริหารจึงให้ความส�ำคัญในการเสริม สร้างเครือข่าย รัฐ เอกชนและประชา สังคม โดยเปิดโอกาสให้ทกุ ภาคส่วนเข้า มามีส่วนร่วมเพื่อภาคีเครือข่ายในการ พัฒนาเมือง โดยมีการก�ำหนดโครงสร้าง และการบริหารจัดการเครือข่ายทีช่ ดั เจน พร้อมทั้งมีสถานะเป็นเครือข่ายความ ร่วมมือกับทุกภาคส่วน ได้แก่ ด้านการ ศึกษา ด้านเศรษฐกิจ ด้านสาธารณสุข ด้ า นการอนุ รั ก ษ์ ท รั พ ยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม และด้านการอนุรักษ์ ฟื้นฟูศิลปวัฒนธรรม ด้วยความมุ่งมั่น และท�ำงานร่วมกันในทุกกอง/ฝ่าย/งาน
จึ ง ท� ำ ให้ เ ทศบาลเมื อ งร้ อ ยเอ็ ด มี ก าร พัฒนาเมืองอย่างมีประสิทธิภาพ โดย เทศบาลเมืองร้อยเอ็ดมีรางวัลที่ได้รับ การรับรองจากองค์กรต่างๆ จึงเป็นสิ่ง ที่ยืนยันถึงความเป็นเลิศในด้านต่าง ๆ อย่างมากมาย ด้วยตระหนักว่าเทศบาลเป็นองค์กร ปกครองส่วนท้องถิน่ ทีม่ คี วามใกล้ชดิ กับ ประชาชนมีบทบาทหน้าทีใ่ นการ “บ�ำบัด ทุกข์ บำ� รุงสุข” และสร้างความเจริญต่างๆ ให้ แ ก่ ท ้ อ งถิ่ น เพื่ อ ตอบสนองความ ต้องการของประชาชนในท้องถิน่ ได้อย่าง ทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ
- โครงการก่อสร้างระบบบริหารการจัดการขยะเพื่อผลิตเป็นเชื้อเพลิง (RDF) และปุ๋ยอินทรีย์
@ ที่นี่ร้อยเอ็ด เร็ว ๆ นี้
- โครงการก่อสร้างอาคารหอชมเมือง (รูปทรงโหวด) อยู่ระหว่างการลงมือก่อสร้าง
รางวัลแห่งความภาคภูมิใจ ROI ET I SBL บันทึกประเทศไทย
81
WO R K L I F E
บันทึกเส้นทางพบเทศบาลตำ�บล
เทศบาลตำ�บลโนนตาล
วิสัยทัศน์
นายวุฒิชัย บุญชิต
นายกเทศมนตรีตำ�บลโนนตาล
ปรัชญาในการทำ�งาน “คิดได้ คิดท�ำ คิดแทน ฝังแน่น สูค่ วามยัง่ ยืน” ข้อมูลพื้นฐาน/ทั่วไป ต� ำ บลโนนตาลเดิ ม ขึ้ น อยู ่ กั บ ต� ำ บลโนนรั ง เทศบาลต� ำ บลโนนตาล เป็ น เทศบาลต� ำ บล ขนาดกลาง การบริหารงานเดิม เป็นสภาต�ำบล นิติบุคคล ได้ประกาศจัดตั้ง จากสภาต�ำบลเป็น องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บล เมื่ อ วั น ที่ 23 กุมภาพันธ์ 2540 และได้ดำ� เนินการเปลีย่ นแปลง ฐานะจากองค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บลเป็ น เทศบาลต�ำบล เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2550 ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน 2550 เป็นแห่งแรกของจังหวัด ร้อยเอ็ด มีระยะทางห่างจาก อ�ำเภอเมืองร้อยเอ็ด จังหวัดร้อยเอ็ด ประมาณ 9.5 กิโลเมตร มีพื้นที่ 20.23 ตารางกิโลเมตร หรือ 12,643 ไร่ จ�ำนวน หมูบ่ า้ น/ชุมชน/ 10 หมูบ่ า้ น ประชากร 5,212 คน
82
SBL บันทึกประเทศไทย I ร้อยเอ็ด
โนนตาลชุมชนน่าอยู่ บริหารควบคู่คุณธรรม เน้นเศรษฐกิจพอเพียง สืบสานประเพณีวัฒนธรรมเด่น เน้นคนเป็นศูนย์กลาง สิ่งแวดล้อมไม่เป็นพิษ พัฒนาคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจสดใส ร่วมใจพัฒนายั่งยืนแบบบูรณาการ (ชาย/ 2,624 คน หญิง/2,588 คน) (ข้อมูล กั น ยายน 2561) จ� ำ นวนครั ว เรื อ น 1,382 ครั ว เรื อ น ประชาชนส่ ว นใหญ่ ป ระกอบอาชี พ เกษตรกร ท�ำนาปลูกข้าว รับจ้างทั่วไป ค้าขาย เป็นต้น เทศบาลต�ำบลโนนตาล โดยนายวุฒชิ ยั บุญชิต นายกเทศมนตรี ได้ตระหนัก และเล็งเห็นความ ส� ำ คั ญ ของการพั ฒ นาส่ ง เสริ ม คุ ณ ภาพชี วิ ต และแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน ให้ ป ระชาชนมี ชี วิ ต ความเป็ น อยู ่ ที่ ดี แ ละ พอเพียง พึ่งตนเองได้ โดยใช้หลักธรรมาภิบาล ในการบริหารงาน ตามนโยบายหลักยุทธศาสตร์ พั ฒ นาชาติ จั ง หวั ด และชุ ม ชน ทั้ ง ทางด้ า น โครงสร้างพื้นฐาน เศรษฐกิจ สังคมสิ่งแวดล้อม การศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม การท่องเที่ยว การบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี และการพัฒนา ประชาธิปไตยในชุมชน เพือ่ รองรับการพัฒนาของ สังคมไทยและสังคมโลกในอนาคต
การบริหารจัดการองค์กร เป็นองค์กรปกครองท้องถิ่นที่มีหน้าที่หลัก ที่ จ ะต้ อ งปฏิ บั ติ ใ ห้ เ ป็ น ไปตามหลั ก กฎหมาย ตามระเบียบแบบแผนของราชการทั้งภาคส่วน ผู ้ บ ริ ห าร พนั ก งาน ข้ า ราชการ และพี่ น ้ อ ง ประชาชน ให้เป็นไปด้วยความรวดเร็ว คล่องตัว ทันเหตุการณ์ ยึดหลักค่านิยมสร้างสรรค์ เพื่อ รักษาประโยชน์สว่ นรวม อ�ำนวยความสะดวกและ ให้การบริการประชาชนโดยเสมอภาคตามหลัก ธรรมาภิบาล และมาตรฐานคุณธรรมจริยธรรม ที่พึงปฏิบัติ การบริการชุมชนเพือ่ ส่งเสริมพัฒนาคุณภาพชีวติ การบริการชุมชนเพื่อส่งเสริมพัฒนาคุณภาพ ชีวิตประชาชนให้อยู่เย็นเป็นสุข บนพื้นฐานของ ความพอเพียง เอื้ออาทรต่อกันของคนในชุมชน ให้ได้รับการบริการสาธารณะอย่างเพียงพอและ ทั่วถึง ธรรมนูญสุขภาพชุมชนตำ�บลโนนตาล ธรรมนูญสุขภาพชุมชนต�ำบลโนนตาล ไม่ใช่ กฎหมาย แต่เป็นกติการ่วม ข้อตกลง ภาพฝันร่วม กฎร่วม เป้าหมายร่วมและศีลธรรมร่วม ที่ก�ำหนด ขึน้ มาเป็นกติการ่วมกันของคนโนนตาล ทีอ่ ยากเห็น อยากเป็น อยากมี ลักษณะอันพึงประสงค์ของ ชุมชน อันน�ำไปสู่ การมีประชาชนที่มีสุขภาพดี ทั้งทางร่างกาย ทางจิตใจ ทางสังคม และทางสติ ปัญญาภายใต้ค�ำขวัญที่ว่า “โนนตาลอยู่ดีมีแฮง ตามวิถีพอเพียง” ผลิตภัณฑ์ของชุมชน กลุ ่ ม ทอเสื่ อ กก/กลุ ่ ม ทอธงผะเหวด/กลุ ่ ม ทอผ้าไหม/ฝ้าย/ผลิตภัณฑ์จากเศษผ้า ด้านการ ส่ ง เสริ ม ภู มิ ป ั ญ ญาท้ อ งถิ่ น ที่ ย ากต่ อ การเลี ย น แบบ เพราะเกิดจากความคิดค้นการประดิษฐ์ ที่สร้างสรรค์ของภูมิปัญญาคนอีสาน โดยเน้น การใช้วัสดุจากธรรมชาติ เป็นนวัตกรรมที่น�ำมา สรรสร้ า งได้ อ ย่ า งสวยงาม สร้ า งความภู มิ ใ จ เป็ น การเพิ่ ม พู น รายได้ สู ่ ค รอบครั ว และชุ ม ชน (โทร. 093-486-8612 คุณอภิชติ ) nontan.aunchan @gmail.com Tel. 043-030327 "ท้องถิน่ ยุคใหม่" ซือ่ สัตย์ สุจริต มุง่ มัน่ ผลสัมฤทธิ์ ของงาน ยึดมัน่ มาตรฐาน บริการด้วยใจเป็นธรรม
ROI ET I SBL บันทึกประเทศไทย
83
WORK LIFE
บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนตำ�บล
องค์การบริหารส่วนตำ�บลสะอาดสมบูรณ์
“ต�ำบลน่าอยู่ เฟื่องฟูวัฒนธรรม ท�ำเกษตรอินทรีย์ มากมีกลุ่มอาชีพ”
นายเข็มชาติ โภคาเทพ นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลสะอาดสมบูรณ์
84
SBL บันทึกประเทศไทย I ร้อยเอ็ด
ตั้งอยู่ที่ 129 หมู่ 5 ต�ำบลสะอาด สมบูรณ์ อ�ำเภอเมือง จังหวัดร้อยเอ็ด 45000 นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลสะอาด สมบูรณ์ มีหมู่บ้านที่อยู่ในการปกครอง ประวัติความเป็นมา ทั้งหมด จ�ำนวน 16 หมู่บ้านมีจ�ำนวนครัว ปี พ.ศ.2505 ได้ แ ยกออกมาจาก เรือนรวม 2,602 ครัวเรือน ประชากร ต�ำบลนาโพธิ์ มีก�ำนันคนแรกอยู่ที่บ้าน 8,596 คน มีพื้นที่ทั้งหมด 37.6 ตาราง สะอาดสมบูรณ์ จึงมีชื่อต�ำบลว่า “ต�ำบล กิโลเมตร ประชากรมีวิถีชีวิตที่เรียบง่าย สะอาดสมบู ร ณ์ ” ก� ำ นั น คนแรก คื อ เป็นสังคมเกษตรกรรม มีความเอื้อเฟื้อต่อ นายสากล รัตนตรัยวงศ์ และในปัจจุบันมี กันเป็นชุมชนทีอ่ ยูก่ นั ในลักษณะเครือญาติ นายจักรพงษ์ กุนันท์ เป็นก�ำนันต�ำบล ให้ความเคารพต่อผู้มีอาวุโส มีประเพณี สะอาดสมบู ร ณ์ จากนั้ น ได้ ย กฐานะ วัฒนธรรมที่ดีงามตามฮีต 12 คอง 14 เป็ น องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต�ำ บลสะอาด ประเพณีอีสาน ด้วยปรัชญาและแนวคิดที่ สมบูรณ์ ในปี พ.ศ. 2539 ซึ่งในปัจจุบันมี ว่า “ครอบครัวอบอุน่ ชุมชนน่าอยู่ มีความรู้ นายเข็มชาติ โภคาเทพ ด�ำรงต�ำแหน่ง คู่คุณธรรม น้อมน�ำวิถีชีวิตพอเพียง”
ศิลปวัฒนธรรม ประเพณีบุญบั้งไฟ ชาวต�ำบลสะอาดสมบูรณ์ ได้ จั ด ขึ้ น ทุ ก 3 ปี ป ระมาณเดื อ นพฤษภาคม ณ วัดวารีอุดม บ้านสังข์ หมู่ 15 ต�ำบลสะอาด สมบูรณ์ รางวัลแห่งความภาคภูมิใจ - รับรางวัลธรรมาภิบาล ประจ�ำปี 2546 - รับรางวัลธรรมาภิบาล ประจ�ำปี 2547 - รับรางวัลธรรมาภิบาล ประจ�ำปี 2548 - รับรางวัลธรรมาภิบาล ประจ�ำปี 2549 - รับรางวัลธรรมาภิบาล ประจ�ำปี 2551 1. ได้รับรางวัลต�ำบลพัฒนาดีเด่นชนะเลิศ ระดับจังหวัด ปี 2546 2. ได้รับรางวัลศูนย์พัฒนาเด็กเล็กต้นแบบ จังหวัดร้อยเอ็ด ปี 2548 3. ได้รับรางวัลกองทุนหลักประกันสุขภาพ ต�ำบลดีเด่นระดับชาติ ปี 2552 4. ได้รับรางวัลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่ส่งเสริมกีฬาและนันทนาการดีเด่นระดับชาติ ปี 2552 5. ได้รับรางวัลศูนย์พัฒนาเด็กเล็กคุณภาพ ระดับประเทศ ปี 2557 6. ได้ ร างวั ล หน่ ว ยกู ้ ชี พ ดี เ ด่ น ระดั บ ชาติ ปี 2557 7. ผ่านการประเมินเป็นศูนย์จัดการเครือข่าย ชุมชนน่าอยู่สู่การขับเคลื่อนสุขภาวะอย่างยั่งยืน ปี 2561 จากส�ำนักงานกองทุนสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
ROI ET I SBL บันทึกประเทศไทย
85
สถานที่ท่องเที่ยว วัดสระพังทอง บ้านดอนทอง หมู่ 1 มี (พระธาตุพนมจ�ำลอง) เป็นวัดที่เก่าแก่มีวัตถุ โบราณต่ า งๆ มากมาย มี ห นองน�้ ำ ซึ่ ง เป็ น ที่พักผ่อนหย่อนใจ มีงานประเพณีต่างๆ เช่น บุญเดือนสาม (ระหว่างเดือนกุมภาพันธ์-มีนาคม ของทุกปี) จะมีการตักบาตรรอบพระอุโบสถ เป็นเวลา 7 วัน และบุญเดือนหก (ระหว่าง เดือนพฤษภาคม ของทุกปี) จะมีการสรงน�้ำ พระสระพังทองและพระโคดม ภายในงานจะมี โรงทานอาหาร เครือ่ งดืม่ จากทีต่ า่ ง ๆ มากมายมา ให้ประชาชนได้กินฟรี และหลวงพ่อสระพังทอง เป็ น สิ่ ง ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ที่ ป ระชาชนต� ำ บลสะอาด สมบูรณ์ให้ความเคารพนับถือ สินค้า OTOP ต� ำ บลสะอาดสมบู ร ณ์ มี สิ น ค้ า ที่ ผ ลิ ต โดย คนในชุมชนซึ่งใช้วัตถุดิบจากท้องถิ่นที่มีอยู่น�ำ มาแปรรูปเป็น ผลิตภัณฑ์สินค้าที่หลากหลาย ได้แก่ ตะกร้าไม้ไผ่จากบ้านป่าเพิม่ หมู่ 11 โดยจุด เด่นคือมีความสวยงาม คงทน แข็งแรง ไม่ขึ้นรา ซึง่ คณะกรรมการกลุม่ เป็นผูก้ ำ� หนดราคาเองกับ
86
SBL บันทึกประเทศไทย I ร้อยเอ็ด
พ่อค้าคนกลาง โดยการน�ำของ นายอ่อนจันทร์ นิลทะวงษ์ ปราชญ์ชาวบ้าน ได้รับการยกย่อง ประกาศเกียรติคุณ ภูมิปัญญาไทยด้านการ จักสาน จากพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา ภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร
ช่องทางการติดต่อ โทรศัพท์.0-4365-1526 โทรสาร.0-4365-152 ต่อ 14 www.sa-adsomboon.go.th E-mail : a.adsomboon001@gmail.com
.indd 87
16/10/2561 11:11:43
HI S TO R Y O F BU D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดป่าเรไร วัดป่าเรไร
ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 91 ถนนเทวาภิ บ าล ต� ำ บ ล ใ น เ มื อ ง อ� ำ เ ภ อ เ มื อ ง ร ้ อ ย เ อ็ ด จังหวัดร้อยเอ็ด วัดป่าเรไรมีเนื้อที่ 12 ไร่ 3 งาน 17 ตารางวา มีพระสงฆ์อยู่จำ� พรรษา มาตลอดทุกปี ก่อสร้างวัด เมื่อปี พ.ศ. 2461 เป็ นวั ด พั ฒนาที่ มี ผ ลงานดี เ ด่ น คั ด เลื อ ก เมื่อปี พ.ศ. 2539
ล�ำดับเจ้าอาวาส
88
SBL บันทึกประเทศไทย I ร้อยเอ็ด
1. หลวงปู่เลี้ยง สุจิณโณ 2. พระครูบุญญสิทธิโสภณ 3. พระครูประสิทธิอัตถาถาร 4. พระครูสันติปัญญาคุณ รูปปัจจุบัน
สิ่งก่อสร้างภายในวัด
1. อุโบสถ ก่อสร้างเมื่อปี พ.ศ. 2482 กว้าง 9 เมตร ยาว 15 เมตร แล้วเสร็จสมบูรณ์ ผูกพัทธสีมา ท�ำสังฆกรรมได้เมือ่ ปี พ.ศ. 2500 2. วิ ห ารก่ อ สร้ า งเมื่ อ ปี พ.ศ. 2518 แล้ ว เสร็ จ สมบู ร ณ์ เ มื่ อ วั น ที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2519 เป็นที่อยู่รูปหล่อรูปเหมือนอดีต เจ้าอาวาส 3. ศาลาการเปรี ย ญก่ อ สร้ า งเมื่ อ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2530 แล้วเสร็จเมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2537 เป็นศาลาโรงธรรม และหอฉัน 4. ปัจจุบันมีกุฏิสงฆ์ 7 หลัง
พระธาตุเจดีย์ พระธาตุพนมจ�ำลอง
ก่อสร้างเมือ่ วันที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 แล้วเสร็จสมบูรณ์ เมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558 ความกว้างฐาน 7 เมตร สูง 21 เมตร บรรจุพระบรม สารี ริ ก ธาตุ ไว้ บ นยอดพระธาตุ เ จดี ย ์ มี ก� ำ แพงพญานาคล้ อ มรอบ ด้ า นใน มีปน้ั รูปเหมือนพุทธประวัติ มีลานปฏิบตั ิ ธรรมกัมมัฏฐาน
ROI ET I SBL บันทึกประเทศไทย
89
HI S TO R Y O F BU D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดอุดมไพรสณฑ์ วัดอุดมไพรสณฑ์
พระครูคัมภีรอุดมคุณ (หลวงปู่เณรแก้ว คัมภีโร) เจ้าอาวาสวัดอุดมไพรสณฑ์
90
SBL บันทึกประเทศไทย I ร้อยเอ็ด
วัดอุดมไพรสณฑ์ หรือ วัดบ้านเปลือย ตั้งอยู่ที่ ม.8 ต.รอบเมือง อ.เมืองร้อยเอ็ด จ.ร้อยเอ็ด เป็นวัดส�ำนักปฏิบัติธรรมประจ�ำ จั ง หวั ด ร้ อ ยเอ็ ด แห่ ง ที่ 1 เป็ น ศู น ย์ ฝ ึ ก พระวิปสั สนาจารย์ประจ�ำหนตะวันออก โดยมี เจ้าประคุณสมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสภ มหาเถร) ทรงเป็นประธานโครงการปฏิบตั ธิ รรม ประจ�ำจังหวัดร้อยเอ็ด ณ วัดอุดมไพรสณฑ์ และได้ ม อบหมายให้ พ ระครู ภ าวนาภิ รั ก ษ์ (หนอปัญญาสาโร) อดีตเจ้าอาวาสวัดอุดมไพร สณฑ์อดีตรองเจ้าคณะอ�ำเภอเมืองร้อยเอ็ด อดีตพระวิปัสสนาจารย์ประจ�ำหนตะวันออก
ให้ด�ำเนินกิจกรรมโครงการปฏิบัติธรรม และ เข้ า ปริ ว าสกรรมเป็ น ประจ� ำ ในวั น ที่ 9-19 มกราคม ของทุกปี วั ด อุ ด มไพรสณฑ์ มี เ นื้ อ ที่ 85 ไร่ เ ศษ มีป่าไม้ขึ้นโดยธรรมชาติมีต้นไม้นานาพรรณ บรรยากาศร่มรื่น เหมาะแก่การปฏิบัติธรรม เจริญกรรมฐาน ปัจจุบนั มี พระครูคมั ภีรอุดมคุณ ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง เจ้ า อาวาสต่ อ จากพระครู ภาวนาภิ รั ก ษ์ ได้ พั ฒ นาพื้ น ที่ ภ ายในวั ด บูรณปฏิสังขรณ์เสนาสนะต่างๆ ภายในวัดที่ ทรุดโทรมตามกาลเวลา และจัดระเบียบให้ เหมาะแก่การปฏิบัติธรรมยิ่งขึ้น ทั้งยังด�ำเนิน การจัดกิจกรรมต่างๆ ที่อดีตเจ้าอาวาสได้เคย
จัดไว้ และได้บูรณาการงานต่างๆ ให้เหมาะ กับยุคสมัยยิ่งขึ้น เพื่อให้พุทธศาสนิกชนได้เข้า ใกล้วัดวาอาราม ร่วมกิจกรรมกับทางวัดมาก ขึ้นกว่าในอดีต
สิ่งศักดิ์สิทธิ์ภายในวัด
ภายในวัดอุดมไพรสณฑ์ยังมีสิ่งศักดิ์สิทธิ์ คูว่ ดั คือ พระพุทธมงคลสันติวนั (หลวงพ่อทอง) เป็นพระพุทธรูปศักดิส์ ทิ ธิต์ งั้ แต่สมัยสร้างวัด มี พระธาตุเขีย้ วแก้ว ซึง่ ได้อญ ั เชิญมาจากประเทศ สิงคโปร์ มาประดิษฐาน ณ อุโบสถ และยังมี พระบรมสารีริกธาตุ พระอรหันตธาตุ ให้ได้ กราบไหว้บูชา ปัจจุบนั โดยพระครูคมั ภีรอุดมคุณ (หลวงปู่ เณรแก้ว คัมภีโร) เจ้าอาวาสวัดอุดมไพรสณฑ์ ยังได้มีการจัดสร้างวัตถุมงคลเทพเจ้าสาลิกา ปากดี เพื่อให้ศิษยานุศิษย์ได้เช่าบูชา เพื่อหา รายได้สมทบทุนบูรณปฏิสังขรณ์วัดวาอาราม เป็นต้น
ROI ET I SBL บันทึกประเทศไทย
91
HI S TO R Y O F BU D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดกลางมิ่งเมือง พระอารามหลวง ประวัติ
พระครูกิตติคุณวัฒน์ (สมพร กิตฺติโสภโณ น.ธ.เอก ป.ธ.4) เจ้าอาวาสวัดกลางมิ่งเมือง พระอารามหลวง
92
SBL บันทึกประเทศไทย I ร้อยเอ็ด
วัดกลางมิ่งเมือง เป็นพระอารามหลวง ชั้นตรี ชนิดสามัญ ตั้งอยู่ในเขตเทศบาลเมือง ร้อยเอ็ด ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมืองร้อยเอ็ด จังหวัดร้อยเอ็ด เดิมชื่อว่า “วัดกลาง” เป็นวัด เก่าแก่ไม่ปรากฏหลักฐานที่แน่ชัดสร้างเมื่อใด และใครเป็นคนสร้าง มีเพียงข้อสันนิษฐานว่า สร้างมาตั้งแต่สมัยเมืองร้อยเอ็ดยังอยู่ในการ ปกครองของขอมจากพื้นที่ตั้งของวัดอยู่กลาง เมืองร้อยเอ็ด และมีพนื้ ทีส่ งู กว่าบริเวณโดยรอบ ประมาณ 2 เมตร ท�ำให้เพิ่มขอสันนิษฐานว่า บุ ค คลธรรมดาทั่ ว ไปคงไม่ ส ามารถสร้ า งได้ นอกจากผู้มีอ�ำนาจบารมีเท่านั้น
วัดกลางมิ่งเมือง มีเนื้อที่ 7 ไร่ 3 งาน 68 ตารางวา สี่ เ หลี่ ย มผื น ผ้ า นอกจากนี้ ต าม ประวัตกิ ารบูรณปฏิสงั ขรณ์วดั วัดได้บนั ทึกเผย แพร่สบื ต่อกันมาว่า เมือ่ วันที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2519 วัดได้ปรับพืน้ ทีข่ ดุ ดิน เพือ่ จะท�ำก�ำแพง แก้วรอบพระอุโบสถใหม่ได้พบแผ่นอิฐจารึก บริเวณแนวก�ำแพงแก้ว ขนาดนิ้วเศษ กว้าง 6 นิ้ว ยาว 10 นิ้ว มีอักษรธรรมจารึกไว้ว่า “ซาสิม ปั้นดินจี่ สร้างสิมวัดกลาง ปี 2090” ค� ำ ว่ า “ซาสิ ม ” หมายถึ ง พระภิ ก ษุ ชื่ อ สิ ม (ทางภาคอีสานโบราณมีพิธีเถราภิเษกเลื่อน ฐานะพระภิกษุให้สูงขึ้น) เมื่อสันนิษฐานจาก หลักฐานแผ่นอิฐที่จารึกอักษรธรรมไว้จะเห็น
ได้ว่า “วัดกลางมิ่งเมือง” คงจะสร้างมานาน ประมาณช่วงสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย แผ่นจารึกนี้ปัจจุบันเก็บรักษาไว้ที่พระวิหาร สุ น ทรธรรมประพุ ท ธตรงส่ ว นฐานรู ป หล่ อ พระสุ น ทรธรรมประพุ ท ธ อดี ต เจ้ า อาวาส วัดกลางมิ่งเมือง และอดีตเจ้าคณะจังหวัด ร้อยเอ็ด
เสนาสนะทีส่ ำ� คัญภายในวัดกลาง มิ่ ง เมื อ ง พระอารามหลวง ประกอบด้วย
1. พระอุโบสถ เป็นอาคารทรงไทยก่ออิฐ ถือปูนขนาดกว้าง 12.50 เมตร ยาว 18 เมตร ดัดแปลงจากสิมหรือโบสถ์แบบอีสานเดิม สิม ของวัด เป็นสิง่ แรกทีเ่ ห็นเด่นชัดเมือ่ ผ่านประตู วัดเข้ามา เป็นอาคารก่ออิฐถือปูน หลังคาลด สามชั้น มีเสารับชายคาเฉลียงโดยรอบ ขนาด ของสิมนัน้ ใหญ่โตเป็นพิเศษ เนือ่ งจากใช้เป็นที่ ประกอบพิธกี รรมส�ำคัญของเมือง ใต้หน้าบัน มี แผงไม้รสู้ ามเหลีย่ มทีเ่ รียกว่า รวงผึง้ โครงสร้าง หลังคาแกะสลักลวดลายพรรณพฤกษาฝีมือ ดั้งเดิมโดยคงโครงสร้างหลังคาไม้ตะเคียนไว้ ถื อ ตามหลั ก ฐานที่ พ บแผ่ น อิ ฐ พระอุ โ บสถ สร้างตัง้ แต่ พ.ศ. 2090 สมัยกรุงศรีอยุธยาตอน ปลาย ผนังอุโบสถ ตามข้อมูลของกรมศิลปากร ระบุไว้ว่า ฮูปแต้มของสิมวัดกลางมิ่งเมืองนั้น วาดเป็นเรือ่ ง พุทธประวัติ สินไซ พระลักพระลาม และเทพเทวดา วาดบนผนั ง ด้ า นนอกทั้ ง สี่ ด้าน กล่าวกันว่า ฝีมือสวยงามมาก การลงสี
กลมกลืนกันอย่างพอดี แต่ทว่า ในปีพ.ศ.2483 หรือตรงกับสมัยรัชกาลที่ 8 ได้มีการบูรณะสิม ครั้งใหญ่โดย นายซ่งปิ๊ด และในครั้งนั้น ได้มี การวาดซ่อมฮูปแต้มทัง้ หมด ฮูปแต้มยังอยู่ แต่ ปรากฏว่า เนือ้ หาทีว่ าดเปลีย่ นแปลงไปทัง้ หมด หนึ่งในนั้น คือการปรากฏตัวของ “ศิลปะไทย ภาคกลาง” ภายในอุโบสถมีพระพุทธรูปเก่าแก่ ที่ประชาชนทั่วไปให้ความเคารพนับถือกราบ ไหว้ องค์พระประธานในพระอุโบสถ นามว่า “พระพุทธมิง่ เมือง” ประดิษฐานในอุโบสถและ ในอดีตเคยใช้เป็นสถานที่ถือน�้ำพิพัฒน์สัตยา ของข้าราชการเมืองร้อยเอ็ด 2. หอไตร “พุทธมิ่งเมือง” ขนาดกว้าง ด้านละ 12.50 เมตร สูง 29 เมตร ชั้นที่ 5 บนสุดกึ่งกลางเป็นมณฑป ประดิษฐานพระ สารีริกธาตุ ของพระอรหันต์ มีบันไดรอบนอก พลสิงห์ บันไดแต่งเป็น มกรคายพญานาค
5 เศียรทุกชั้น และชั้นบนสุดใช้เป็นสถานที่ชม ทัศนียภาพเมืองร้อยเอ็ด 3. วิหาร “พระพุทธมิ่งเมืองมงคล” ขนาด 5x8 เมตร ทรงไทย สร้างเมื่อ พ.ศ. 2553 เป็น พระประจ�ำจังหวัดร้อยเอ็ดในสมัย นายธวัชชัย ฟักอังกูร เป็นผู้ว่าราชการจังหวัดร้อยเอ็ดร่วม กับคณะสงฆ์ และข้าราชการพ่อค้าประชาชน ร่วมกันจัดสร้าง 4. “โรงเรียนสุนทรธรรมปริยัติ” หลังใหม่ ขนาด 10.50x35.00 เมตร 3 ชัน้ 13 ห้องเรียน สร้างด้วยคอนกรีตเสริมเหล็ก วัดสร้างเมือ่ พ.ศ. 2545 โดยพระครูกติ ติคณ ุ วัฒน์ ใช้งบประมาณ ในการก่อสร้างทั้งสิ้น 4,845,250 บาท เพื่อ ใช้เป็นสถานที่ศึกษาเล่าเรียนของพระภิกษุ สามเณรทั้งแผนกธรรม-บาลี และแผนกสามัญ ม.1-6 ควบคู่กันไป
ROI ET I SBL บันทึกประเทศไทย
93
ล�ำดับเจ้าอาวาสวัดกลางมิง่ เมือง
1. พระครูหลักค�ำวา พ.ศ. 2360 ก่อน-หลัง จากนั้นมีแต่ไม่ปรากฏหลักฐาน 2. พระครูหลักค�ำสุทธวงศา 3. พระครูเพ็ง 4. พระครูตา พ.ศ. 2446 5. พระครูเพ็ญธรรมคุณ พ.ศ.2446-2490 6. พระสุนทรธรรมประพุทธ (หล้า สีลวํโส น.ธ.เอก ป.ธ.5) พ.ศ.2490-2528 7. พระสุ น ทรธรรมประพุ ท ธ (ประดิ ษ ฐ์ อิสฺสโร) พ.ศ.2529-2539 8. พระครูกิตติคุณวัฒน์ (สมพร กิตฺติโสภโณ น.ธ.เอก ป.ธ.4) พ.ศ.2542-ปัจจุบัน
94
SBL บันทึกประเทศไทย I ร้อยเอ็ด
.indd 11
10/10/2561 10:55:56
HI S TO R Y O F BU D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดสระทอง
พระครูสุวรรณสรานุกิจ เจ้าอาวาสวัดสระทอง เจ้าคณะอ�ำเภอเมืองร้อยเอ็ด
96
SBL บันทึกประเทศไทย I ร้อยเอ็ด
“วัดสระทอง” ตั้งอยู่ในตัวเมืองร้อยเอ็ด เป็ น ที่ ป ระดิ ษ ฐาน “พระสั ง กั จ จายน์ ” ซึ่ ง เป็นพระพุทธรูปที่ชาวร้อยเอ็ดเคารพศรัทธา แต่ ก ารสร้ า งในสมั ย ใดนั้ น ไม่ ป รากฏแน่ ชั ด แต่ปรากฏหลักฐาน เมื่อปี พ.ศ.2325 พระยา ขั ต ติ ย ะวงษา (ท้ า วทน) ซึ่ ง เป็ น เจ้ า เมื อ ง ร้อยเอ็ดคนแรก ได้พบพระพุทธรูปองค์นี้ เห็น ว่ามีความเก่าแก่และศักดิส์ ทิ ธิม์ าก จึงได้นำ� มา ประดิษฐานที่วัดสระทองและยกให้เป็นพระคู่ บ้านคู่เมือง ในอดีตข้าราชการทุกคนต้องมา สาบานตนต่อหน้าหลวงพ่อ ว่าจะซื่อสัตย์ต่อ บ้านเมืองเป็นประจ�ำทุกปี ปัจจุบันใครจะมา รับต�ำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัด ก่อนจะเข้าไป ที่ จ วนหรื อ ที่ ท� ำ งานจะต้ อ งมากราบคารวะ
เสียก่อน จึงจะเข้าท�ำงาน และเมือ่ จะย้ายก็ตอ้ ง มากราบลา และทุกวันนี้ก็ยังมีประชาชนมา ประกอบพิธีดื่มน�้ำสาบานตนอยู่มิได้ขาด บาง ครัง้ มีคดีความ ไม่ตอ้ งขึน้ โรงขึน้ ศาลมาสาบาน ต่อองค์พระสังกัจจายน์แล้วก็เลิกกันไป หลวง พ่อพระสังกัจจายน์กไ็ ด้ชว่ ยเหลือให้สงั คมสงบ สุขส่วนหนึ่งด้วย
การสร้างวิหารพระสังกัจจายน์ และอุโบสถ
สมัยแรกทางวัดไม่ได้สร้างขึ้น เพราะตาม ประวั ติ วั ด มี ก ารสร้ า งวิ ห ารหลวงพ่ อ พระสั ง กั จ จายน์ โดยปลู ก สร้ า งเป็ น ศาลา มุงแฝก เพื่อกันแดดคุ้มฝนให้องค์หลวงพ่อ
พระสังกัจจายน์ ต่อมาปี พ.ศ. 2477 คุณแม่ตว่ น ศรีเลนวัฒน์ ได้สละทุนทรัพย์สร้างวิหารถาวร หลวงพ่ อ พระสั ง กั จ จายน์ ขึ้ น เป็ น หลั ง คา มุ ง กระเบื้ อ งซี เ มนต์ เป็ นวิ ห ารทรงมะนิ ล า เพื่ออุทิศให้นายตุ่น ผู้เป็นสามีที่วายชนม์ พ.ศ. 2480 คุณแม่เอี่ยม วุฒินง พร้อมด้วยหลาน ได้มศี รัทธาเลือ่ มใสสร้างเป็นอุโบสถ ฝาผนังก่อ อิฐถือปูนครอบองค์พระสังกัจจายน์ เป็นพระ ประธานในอุโบสถ ฝังลูกนิมติ ผูกพัทธสีมาตาม ประเพณีทางพระพุทธศาสนา ในวันอังคารที่ 15 กันยายน 2480 ต่อมา เมื่อวันที่ 13 สิงหาคม 2495 เวลา ประมาณ 22.30 น. ได้เกิดเพลิงไหม้อุโบสถ ช� ำ รุ ด เสี ย หายมาก เหลื อ แต่ อ งค์ ห ลวงพ่ อ พระสังกัจจายน์ ซึ่งอยู่ในสภาพเดิมมีรอยร้าว เล็กน้อย พระมงคลญาณเณร (ผาย ขันติโก) เจ้าอาวาสวัดสระทอง พร้อมด้วยคณะสงฆ์ ภิ ก ษุ ส ามเณรและทายกทายิ ก า ได้ ใ ห้ ช ่ า ง บูรณะตกแต่งหลวงพ่อพระสังกัจจายน์ ให้อยู่ ในสภาพปกติเหมือนองค์เดิมทุกประการ และ ได้ซ่อมแซมอุโบสถให้เป็นพระวิหารหลวงพ่อ
พระสังกัจจายน์ หลังจากนั้นพระครูภาวนา วิหารคุณ เจ้าอาวาสวัดสระทองในขณะนัน้ ได้ มอบหมายให้พระครูสุวรรณสรานุกิจ รองเจ้า อาวาสวัดสระทองในขณะนัน้ เป็นผูด้ ำ� เนินการ ชักชวนญาติโยมผู้มีจิตศรัทธา ปรับปรุงวิหาร พระสังกัจจายน์ให้สวยงามยิ่งขึ้น ดังปรากฏ อยู่จนทุกวันนี้ พระสั ง กั จ จายน์ มี พุ ท ธลั ก ษณะอ้ ว น พุงพลุ้ย มีความหมายถึงความอุดมสมบูรณ์ มีโชคลาภ เป็นหนึ่งในพระสาวกผู้ใหญ่ จัดอยู่ ในเอตทัคคะ ผูใ้ ดบูชาผูน้ นั้ ได้ลาภประเสริฐแล
ธาตุบรรจุอัฐิพระยาขัติยวงษา (เหลา ณ ร้ อ ยเอ็ ด ) เจ้ า เมื อ ง คนสุดท้าย ของเมืองร้อยเอ็ด และ เป็นผู้ได้รบั นามสกุลพระราชทาน ณ ร้อยเอ็ด สืบมาถึงทุกวันนี้) ตั้งอยู่ที่วัดสระทอง
ROI ET I SBL บันทึกประเทศไทย
97
พระสังกัจจายน์ พระแห่งโชคลาภ
เป็นผูม้ รี ปู งาม ผิวเหลืองดุจทอง มีตำ� นาน เล่าว่าครั้งหนึ่งมีโสเรยยะบุตรเศรษฐี คะนอง เห็ น พระสั ง กั จ จายน์ จึ ง ปากพล่ อ ยกล่ า วว่ า ถ้าเราได้ภรรยามีรูปกายงดงามเยี่ยงท่านนี้ จักพอใจ พลันปรากฏว่า โสเรยยะบุตรมหา เศรษฐีหนุม่ คะนองปาก ได้กลายเพศเป็นหญิง ในทันทีจึงหลบหนีไป ต่อมาได้สามีและบุตร สองคน จึงกลับมาขอขมากับพระสังกัจจายน์ โสเรยยะจึงกลับคืนสู่เพศชายเช่นเดิม นับว่า พระสั ง กั จ จายน์ มี ฤ ทธิ์ อ� ำ นาจยิ่ ง รู ป หนึ่ ง ใน พุทธสาวก แต่ด้วยรูปกายอันงดงามของพระ สังกัจจายน์สร้างความปั่นป่วนแก่สตรีเพศ อย่างยิ่ง จึงได้เนรมิตกายใหม่ให้อ้วนพุงพลุ้ย น่าเกลียด เพื่อความสงบแห่งจิตและกิเลส เรือ่ งราวของพระสังกัจจายน์ พอสรุปได้วา่ เป็น พระพุทธสาวกทีม่ คี วามเฉลียวฉลาด มีความรู้ และเป็นที่โปรดของพระพุทธองค์ยิ่ง มีบารมี มีอทิ ธิฤ์ ทธิ์ ผูใ้ ดบูชาพระสังกัจจายน์จงึ ได้รบั พร จากพุทธสาวกอันเป็นเอตทัคคะอย่างสมบูรณ์
98
SBL บันทึกประเทศไทย I ร้อยเอ็ด
.indd 99
16/10/2561 11:28:41
HI S TO R Y O F BU D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดป่าทุ่งกุลา ประวัติความเป็นมา
พระครูวินัยธรธีระพงษ์ ธีรปัญโญ เจ้าอาวาสวัดป่าทุ่งกุลา
100
SBL บันทึกประเทศไทย I ร้อยเอ็ด
วัดป่าทุ่งกุลา ตั้งอยู่บ้านเลขที่ 5 หมู่ที่ 5บ้านโพนตูม ต�ำบลทุง่ ทอง อ�ำเภอเกษตรวิสยั จังหวัดร้อยเอ็ด เดิมเป็นสันดอนขนาดใหญ่ พื้นที่หลายร้อยไร่เป็นป่าโปร่ง เรียกสันดอน นี้ว่า ดอนหนามแท่ง หรือ โนนหนามแท่ง ปีพ.ศ.2529 ชาวบ้านเริ่มวิตกกลัวมีผู้บุกรุก จากนัน้ ชาวบ้านในชุมชนพร้อมคณะกรรมการ จึ ง ได้ เ ดิ น ทางเข้ า ไปกราบเรี ย นปรึ ก ษา พระศีลวิสุทธาจารย์ เจ้าคณะจังหวัดร้อยเอ็ด (ธรรมยุต) ณ วัดบึงพระลานชัย ในขณะนั้น (ปัจจุบันด�ำรงสมณศักดิ์ที่พระธรรมฐิติญาณ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าคณะภาค 10 ธรรมยุต) เมื่อพระศีลวิสุทธาจารย์รับทราบ จึงได้รับ
สันดอนโนนหนามแท่งไว้ในความอนุเคราะห์ ดูแล โดยตั้งเป้าประสงค์ว่าจะปลูกป่าถาวร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ฯ และจัดตั้งให้เป็นวัดป่าในคณะธรรมยุตต่อไป ในเวลาต่ อ มา พระศี ล าวิ สุ ท ธาจารย์ เป็น ผู้น�ำด�ำเนินการก่อสร้างวัดเป็นปฐมฤกษ์ เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ.2530 ตรงกับวัน เฉลิมพระชนมพรรษา 60 พรรษาของพระบาท สมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช มหิ ต ลาธิ เ บศรรามาธิ บ ดี จั ก รี น ฤบดิ น ทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร ในหลวง รั ช กาลที่ 9 และพร้ อ มใจกั น ให้ ชื่ อ วั ด ว่ า “วัดป่าทุ่งกุลาเฉลิมราช” ตามท�ำเลที่ตั้งซึ่งอยู่ ในบริเวณทุ่งกุลาร้องไห้
ล�ำดับการก่อสร้างวัดป่าทุ่งกุลา โครงการสร้ า งพระมหาธาตุ เฉลิมราช เจดีย์ศรีทศพลญาณเฉลิมราช พ.ศ. 2550 พระอาจารย์ ต ้ น บุ ญ ชัยมงคล ติ ก ขปั ญ โญ ได้ เ ข้ า มาด� ำ เนิ น การก่ อ สร้ า ง ส� ำ นั ก สงฆ์ วั ด ป่ า ทุ ่ ง กุ ล าเฉลิ มราช สานต่ อ ตามวั ต ถุ ป ระสงค์ ห ลั ก ที่ พ ระธรรมฐิ ติ ญ าณ เจ้าคณะภาค 10 (ธ.) คือการท�ำให้วดั ป่าทุง่ กุลา เป็ น ศู น ย์ ก ลางเผยแพร่ พ ระพุ ท ธศาสนา ให้ แ ก่ พุ ท ธศาสนิ ก ชน เป็ น สถานที่ อ บรม เยาวชนให้มีความรู้ความเข้าใจในหลักธรรม ค�ำสอนของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เป็น สถานที่ปฏิบัติธรรมของพระภิกษุ สามเณร อุ บาสก อุบาสิกา รวมทั้ง เป็น ศาสนสถาน ศักดิ์สิทธิ์ส�ำคัญของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และได้มีการก่อสร้างพระมหาธาตุเจดีย์ขึ้นใน เขตส�ำนักสงฆ์วัดป่าทุ่งกุลาเฉลิมราชด้วย ส� ำ นั ก สงฆ์ วั ด ป่ า ทุ ่ ง กุ ล าเฉลิ ม ราช ได้รับประกาศตั้งวัดจากส�ำนักงานพระพุทธ ศาสนาแห่งชาติขนึ้ อย่างเป็นทางการ มีนามว่า วัดป่าทุ่งกุลา ณ วันที่ 9 มีนาคม พ.ศ.2558 ภายหลังพระอาจารย์ต้นบุญ ติกขปัญโญ มอบหมายให้ลกู ศิษย์คอื พระครูวนิ ยั ธรธีระพงษ์ ธีรปัญโญ รับต�ำแหน่งเจ้าอาวาส ปัจจุบนั พระครูวนิ ยั ธรธีระพงษ์ ธีรปัญโญ ซึ่งมีต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดป่าทุ่งกุลา ยังคง สืบทอดเจตนารมณ์จากพระอาจารย์ต้นบุญ เพื่อพัฒนาให้วัดป่าทุ่งกุลาให้เป็นศูนย์กลาง เผยแผ่ พ ระพุ ท ธศาสนาแก่ พุ ท ธศาสนิ ก ชน ทุกกลุ่ม รวมทั้งเป็นศาสนสถานที่ส�ำคัญของ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือสืบไป
เพื่ อ บรรจุ พ ระบรมสารี ริ ก ธาตุ ที่ ส มเด็ จ พ ร ะ ญ า ณ สั ง ว ร ส ม เ ด็ จ พ ร ะ สั ง ฆ ร า ช สกลมหาสั ง ฆปริ น ายก ประทานให้ เ มื่ อ วั น ที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ.2550 เพื่ อ ให้ พุทธศาสนิกชน พุทธบริษัททั้งหลายได้กราบ สักการะบูชา และพระบรมสารีริกธาตุที่ได้ อัญเชิญมาจากทั่วโลก เป็นพระมหาธาตุเจดีย์ รู ป ทรงเดี ย วกั น กั บ พระธาตุ พ นม มี ค วาม กว้างฐาน 9.9 x 9.9 เมตร ความสูง 54 เมตร โดยในวันที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2529 พระเจ้ า วรวงศ์ เ ธอ พระองค์ เ จ้ า โสมสวลี พระวรราชาธินดั ดามาตุ เสด็จมาทรงประกอบ
พิ ธี อั ญ เชิ ญ พระบรมสารี ริ ก ธาตุ บนบุ ษ บก ภายในพระมหาธาตุเจดีย์ ปั จ จุ บั น ทางวั ด ยั ง เปิ ด เป็ น ศู น ย์ อ บรม พัฒนาคุณธรรม จริยธรรมให้แ ก่ นักเรียน นักศึกษา เยาวชน โดยมีโรงเรียน และหน่วยงาน ต่างๆ ได้น�ำนักเรียน นักศึกษา เจ้าหน้าที่ เข้ามารับการอบรมเป็นประจ�ำ
ROI ET I SBL บันทึกประเทศไทย
101
WO R K L I F E
บันทึกเส้นทางพบเทศบาลตำ�บล
เทศบาลตำ�บลโคกล่าม
ค�ำขวัญ เทศบาลต�ำบลโคกล่าม
นายสราวุธ หงส์วิไล
นายกเทศมนตรีตำ�บลโคกล่าม ประวัติความเป็นมา คนเฒ่าคนแก่ได้เล่าความเป็นมาของการตั้ง บ้านโคกล่ามว่า เมื่อ 200 กว่าปีล่วงมาแล้ว บ้าน โคกล่ามได้แยกออกมาจากบ้านเมืองหงส์ ต�ำบล เมืองหงส์ ซึ่งตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของอ�ำเภอ จตุรพักตรพิมาน เหตุที่ต้องย้ายอพยพเนื่องมา จากเกิดโรคระบาดท�ำให้ผู้คนล้มตายเป็นจ�ำนวน มากจึงได้ย้ายบ้านเรือนมาตั้งอยู่ ณ บ้านโคกล่าม ซึง่ เรียกตามภูมปิ ระเทศทีเ่ ป็นโคกสูงลาดลงไปทุก ทางว่า “โคกล่าม” และต่อมาได้ประกาศจัดตัง้ เป็น องค์การบริหารส่วนต�ำบล เมื่อวันที่ 31 มีนาคม 2539 และได้ยกฐานะเป็นเทศบาลต�ำบลโคกล่าม เมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม 2551
โคกล่ามงามแสน ดินแดนน่าอยู่ หมู่บ้านช่างศิลป์ ท้องถิ่นกลองยาว ต�ำนานเก่าค่ายหนองไผ่ ผ้าไหมออนซอน เกษตรกรก้าวหน้า การศึกษาลือเลื่อง รุ่งเรืองประเพณี สามัคคีพัฒนา ชาวประชาสดใส น�้ำใจเป็นเอกลักษณ์
หมู่ที่ 1 บ้านโคกล่าม หมู่ที่ 2 บ้านโคกล่าม หมู่ที่ 3 บ้านหนองสิม หมู่ที่ 4 บ้านหนองผือน้อย หมู่ที่ 5 บ้านหนองคูบอน หมู่ที่ 6 บ้านเหล่ายูง หมู่ที่ 7 บ้านเหล่ายูง หมู่ที่ 8 บ้านหนองครอง หมู่ที่ 9 บ้านหนองกระเดา หมู่ที่ 10 บ้านหนองคูบอน หมู่ที่ 11 บ้านหนองพวง หมู่ที่ 12 บ้านหนองผือน้อย ข้อมูลทั่วไป หมู่ที่ 13 บ้านหนองบัวเลิง เทศบาลต� ำ บลโคกล่ า ม มี เ นื้ อ ที่ ป ระมาณ หมู่ที่ 14 บ้านโคกล่าม 45.88 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 27,377 ไร่ หมู่ที่ 15 บ้านหนองคูบอน มีจ�ำนวนหมู่บ้านในเขตเทศบาลต�ำบลโคกล่าม หมู่ที่ 16 บ้านหนองโพ่น ทั้งหมด 16 หมู่บ้าน ได้แก่
102
SBL บันทึกประเทศไทย I ร้อยเอ็ด
ประชากร ประชากรทัง้ สิน้ 7,403 คน แยกเป็น ประชากร ชาย 3,678 คน ประชากรหญิง 3,725 คน มีความ หนาแน่นเฉลี่ย 161 คน/ตารางกิโลเมตร จ�ำนวน ครัวเรือนทั้งหมด 1,994 ครัวเรือน สภาพทางเศรษฐกิจ ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ได้แก่ การท�ำนา นอกจากนี้ยังท�ำการเลี้ยงสัตว์ เป็นอาชีพเสริม เช่น เลี้ยงโค กระบือ สุกร เป็ด ไก่ และประกอบอาชีพอื่นๆ เช่นอาชีพ รับราชการ ค้ า ขาย รั บ จ้ า ง หลั ง ฤดู เ ก็ บ เกี่ ย ว ประชากร ท�ำการปลูกยาสูบ และยังมีประชากรบางส่วน ประกอบอาชีพท�ำฟาร์มเลี้ยงไก่พันธุ์ไข่ ฟาร์ม เลี้ยงสุกร ฯลฯ
กลุ่มอาชีพในต�ำบล 1. กลุม่ โรงสีชมุ ชนต�ำบลโคกล่าม โดยการรับ ซื้อข้าวจากเกษตรกรในต�ำบล และสีข้าวกล้อง จ�ำหน่าย จนได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นสินค้า OTOP ประจ�ำต�ำบล ระดับ 3 ดาว 2. กลุม่ วิสาหกิจชุมชนท�ำปุย๋ อินทรียช์ วี ภาพ อัดเม็ดบ้านหนองพวง หมูท่ ี่ 11 เชิญร่วมคืนชีวติ ให้ผืนดิน ร่วมกันใช้ปุ๋ยอินทรีย์ในการเกษตร 3. กลุม่ วิสาหกิจชุมชนผลิตน�ำ้ ดืม่ ครองทิพย์ บ้านหนองครอง หมู่ที่ 8 4. กลุ่มทอผ้าขิต บ้านโคกล่าม หมู่ที่ 2 5. กลุ ่ ม ทอเสื่ อ กกลายขิ ต บ้ า นเหล่ า ยู ง หมู่ที่ 6 และหมู่ที่ 13 รางวั ล แห่ ง ความภาคภู มิ ใ จของชาวต� ำ บล โคกล่าม เมื่อครั้งที่ยังเป็นองค์การบริหารส่วนต�ำบล โคกล่าม ได้รบั รางวัลการบริหารจัดการทีด่ ี หรือ รางวัลธรรมาภิบาล 3 ปีซ้อน คือ ปี พ.ศ.2546 พ.ศ. 2547 และปี พ.ศ. 2548 ต่ อ มาเมื่ อ ยกฐานะเป็ น เทศบาลต� ำ บล โคกล่าม ได้รับรางวัลการบริหารจัดการที่ดีหรือ รางวัลธรรมาภิบาล ปี พ.ศ.2550
ปี พ.ศ. 2552 ได้รบั รางวัลการบริหารจัดการ ภารกิจถ่ายโอนทีด่ ี ด้านแหล่งน�ำ้ เพือ่ การเกษตร และรางวัลชมเชยด้านทีอ่ า่ นหนังสือพิมพ์ประจ�ำ หมู่บ้าน ปี พ.ศ. 2557 ได้รบั รางวัลการบริหารจัดการ ที่ดี หรือรางวัลธรรมาภิบาลด้านการส่งเสริม อาชีพ ระดับดีเลิศ นับเป็นความภาคภูมิใจของ ชาวต�ำบลโคกล่าม ทีไ่ ด้มสี ว่ นร่วมในการพัฒนา และสร้างชื่อเสียงให้เป็นที่รู้จักในระดับประเทศ กิจกรรมส�ำคัญของเทศบาลต�ำบลโคกล่าม - พิธีรับมอบรางวัลองค์กรปกครองส่วน ท้องถิน่ ทีม่ กี ารบริหารจัดการภารกิจถ่ายโอนทีด่ ี ด้านการส่งเสริมอาชีพ ระดับดีเลิศ (โครงการส่ง เสริมอาชีพการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพอัดเม็ด)
- ประเพณีลอยกระทง ประจ�ำปี 2560 - โครงการการป้องกันและแก้ไขปัญหาการ ตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น - โครงการเด็ ก และเยาวชนวั ย ใสขั บ ขี่ ปลอดภัยใส่ใจกฎจราจร - โครงการจิตอาสา เราท�ำความดีดว้ ยหัวใจ - โครงการโคกล่ามร่วมใจปั่นเพื่อสุขภาพ ลดการใช้พลังงาน เฉลิมพระเกียรติ รัชกาลที่ 10 - โครงการลงแขก ลงขัน ลงคลอง ก�ำจัดผัก ตบชวา ตามวิถีประชารัฐ - ด้านโครงสร้างพืน้ ฐานจัดให้มกี ารก่อสร้าง /ซ่ อ มแซมถนนเพื่ อ ให้ ค มนาคมสั ญ จรไปมา สะดวกและปลอดภัย - โครงการถนนประชา-รัฐสามัคคี ถนนทวี จิตอาสา-ประชารัฐสามัคคี ROI ET I SBL บันทึกประเทศไทย
103
WOR K LI FE
บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนตำ�บล
องค์การบริหารส่วนตำ�บลน้ำ�ใส
นายเสถียร ภาชนะวรรณ์ นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลน�้ำใส
104
SBL บันทึกประเทศไทย I ร้อยเอ็ด
ประวัติต�ำบลน�้ำใส ต� ำ บลน�้ ำ ใส อ� ำ เภอจตุ ร พั กตรพิ ม าน จังหวัดร้อยเอ็ด เดิมได้มีกลุ่มคนแตกศึก มาด้วยกันทั้งหมดรวม 12 ครอบครัว ซึ่งได้อพยพมาตามล�ำน�้ำโขง มาตั้งอยู่ ที่ข้างล�ำห้วย ชื่อห้วยว่ากุดน�้ำใส ผู้คนอพยพตามมาอาศัยอยู่เรื่อยๆ เป็นจ�ำนวนมากและหลายเผ่าพันธุ์ อาทิ เช่น ชนเผ่าข่าขอม จีน ลาว และเขมร เป็นต้น และอาชี พ ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น อาชี พ ท� ำ นา และเพาะปลูกพืช จึงได้รวมตัวกัน ก่อตั้ง หมู่บ้าน เมื่อปี พ.ศ. 1828 และ ได้น�ำชื่อ ล�ำห้วยนี้ มาตัง้ ชือ่ หมูบ่ า้ นว่า บ้านกุดน�ำ้ ใส โดยมีพ่อขุนศรีเป็นหัวหน้า หมู่บ้านคน แรกของหมู ่ บ ้ า น ซึ่ ง หลั ง จาก นั้ น มา ชือ่ หมูบ่ า้ นก็ได้เปลีย่ นมาเป็นชือ่ บ้านน�ำ้ ใส ปัจจุบันต�ำบลน�้ำใสมีจ�ำนวน ทั้งหมด 10 หมู่บ้าน โดยการน�ำของนายธนู สุตนนท์ ก�ำนันต�ำบลน�้ำใส
วิสัยทัศน์การพัฒนา ต�ำบลน�้ำใส พั ฒ นาโครงสร้ า งพื้ น ฐาน สื บ สาน ประเพณี ดั้ ง เดิ ม ส่ ง เสริ ม กลุ ่ ม อาชี พ เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี สภาพทั่ ว ไปของ องค์ ก ารบริ ห าร ส่วนต�ำบลน�้ำใส ต�ำบลน�้ำใสเป็นหนึ่งในสิบสองต�ำบล ของอ� ำ เภอจตุ ร พั ก ตรพิ ม าน จั ง หวั ด ร้อยเอ็ด อยู่ห่างจากที่ว่าการอ�ำเภอไป ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ประมาณ 8 กิโลเมตร อยูห่ า่ งจากตัวจังหวัดร้อยเอ็ด โดยทางถนนปัทมานนท์ ประมาณ 18 กิ โ ลเมตร ต� ำ บลน�้ ำ ใส มี ข นาดเนื้ อ ที่ ประมาณ 16.75 ตารางกิโลเมตร หรือ ประมาณ 10,468.75 ไร่
ข้อมูลทั่วไป ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น ที่ ร าบ ลั ก ษณะเป็ น ดิ น ร่ ว น ปนทราย ลักษณะพื้นที่เป็นที่ราบโล่ง ซึ่งเหมาะ กับการท�ำเกษตรกรรม โดยมีแหล่งน�้ำที่ส�ำคัญ คือ ห้วยกุดน�ำ้ ใส หนองขุมดิน หนองทุม่ หนองแก และหนองนกเขียน องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บลน�้ ำ ใสมี จ� ำ นวน หมู่บ้านในเขต อบต. เต็มทั้งหมู่บ้าน 10 หมู่บ้าน ประชากร มี ป ระชากรทั้ง สิ้น 4,941 คน แยกเป็ น ชาย 2,480 คน หญิ ง 2,461 คน มีความหนาแน่นเฉลีย่ 309 คน / ตารางกิโลเมตร
สืบสานงานประเพณีบุญบั้งไฟ ประเพณี บุ ญ บั้ ง ไฟของชาวต� ำ บลน�้ ำ ใส จัดขึน้ ทุกๆ สามปี ณ วัดบ้านน�ำ้ ใสหมูท่ ี่ 1 ระหว่าง เดือน 6 ถึงเดือน 7 ชมขบวนแห่จากสิบหมู่บ้าน และการจุดบัง้ ไฟถวายหลวงปูพ่ ระครูลกู แก้ว ตาม ที่ลูกหลานได้บนบานไว้และประสบความส�ำเร็จ ไม่ต�่ำกว่าร้อยบั้ง
งานใหญ่บุญสรงกู่ ประเพณีบญ ุ สรงกู่ ถือว่าเป็นประเพณีทสี่ ำ� คัญ ของชาวต�ำบลน�ำ้ ใสและถือสืบปฏิบตั กิ นั มาช้านาน จัดขึ้นทุกวันขึ้น 15 ค�่ำ เดือน 6 ของทุกๆ ปี ณ วัดบ้านน�้ำใส หมู่ที่ 1 ซึ่งเป็นศูนย์รวมจิตใจ ของชาวน�้ำใส และผู้ที่เคารพศรัทธาได้มากราบ บูชาสรงน�้ำหลวงปู่ แห่ข้าวพันก้อน ร่วมท�ำบุญ สืบสานงานประเพณีให้คงอยู่สืบไป
ประเพณีทอดเทียนรวม เป็ น ประเพณี ที่ ช าวต� ำ บลน�้ ำ ใส และสภา วัฒนธรรมต�ำบลน�้ำใส ร่วมกันฟื้นฟูให้คงอยู่ตาม ฮีต 12 คลอง 14 ของชาวอีสาน และลูกหลาน สืบไป จัดขึ้นในเดือนสิงหาคมของทุกๆ ปี และจะ จัดเวียนไป ทุกวัดในต�ำบลน�ำ้ ใส รอบที่ 7 ครัง้ ที่ 5 เป็นปีที่ 33 กิจกรรมประกวดต้นเทียน ถวายต้น เทียน ประกวดสรภัญญะ ประกวดร้องเพลง ฯลฯ ROI ET I SBL บันทึกประเทศไทย
105
HI S TO R Y O F BU D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดไตรภูมิ
ตั้งอยู่ที่บ้านผือฮี หมู่ที่11 ต�ำบลดงแดง อ�ำเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด เป็นวัด ที่มีความเก่าแก่ มีหอไตรกลางน�้ำ อายุกว่า 200 ปี ซึ่งหอไตรกลางน�้ำนี้ เป็นที่เก็บหนังสือ ผู ก ใบลานอั ก ษรตั ว ธรรมซึ่ ง เป็ น ตั ว หนั ง สื อ ภาษาขอมโบราณ บางครั้งก็เรียกกันว่า “ตัว ธรรม” โดยผู้เฒ่าผู้แก่ในหมู่บ้านที่อ่านออกได้ บอกเล่าว่าเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับระไตรปิฎก ต� ำ ราทางพระพุ ท ธศาสนา นิ ท านพื้ น บ้ า น ต�ำรายา ต�ำราโหราศาสตร์ ต�ำราอาคม และ ยังมีอุโบสถเก่าอีก1หลัง ซึ่งหอพระไตรปิฎก
106
SBL บันทึกประเทศไทย I ร้อยเอ็ด
หลังนี้นั้น ได้ช�ำรุดเสียหายไปบางส่วน และ ได้ มี ก ารบู ร ณะซ่ อ มแซมมาหลายครั้ ง ครั้ ง สุดท้ายเมื่อปี พ.ศ. 2554 กรมศิลปากร ได้ ท� ำ ซ่ อ มแซมใหม่ อี ก ครั้ ง พร้ อ มอุ โ บสถเก่ า หรือสิมโบราณของวัด ซึ่งมีอายุกว่า 200 ปี เหมือนกัน กรมศิลปากรก็ได้ บูรณะซ่อมแซม ใหม่ เ มื่ อ ปี พ.ศ. 2555 ปั จ จุ บั น มี พ ระครู ศุภจริยาภิวัตน์ (สมพิษ สวโจ) เป็นเจ้าอาวาส และด�ำรงต�ำแหน่งเป็นรองเจ้าคณะอ�ำเภอจตุร พักตรพิมาน ปัจจุบนั วัดไตรภูมเิ ป็นสถานทีป่ ฏิบตั ธิ รรม ของนักเรียนนักศึกษาทีส่ นใจศึกษาด้านธรรมะ อีกทั้งมีหน่วยงานของภาครัฐและเอกชนมาใช้ ศาลาการเปรียญวัดไตรภูมิ เป็นสถานทีป่ ฏิบตั ิ ธรรมและอบรมกิจกรรมต่างๆ อยู่เป็นประจ�ำ และในตอนนี้พระเดชพระคุณท่านเจ้าอาวาส ได้ก�ำลังก่อสร้างศาลาปฏิบัติธรรมขึ้นอีกหนึ่ง หลัง เพื่อเป็นสถานที่ปฏิบัติธรรม ตลอดทั้ง ใช้ประชุมพระสังฆาธิการ และอบรมเยาวชน ทั้งในอ�ำเภอจตุรพักตรพิมานเองและอ�ำเภอ
ใกล้ เ คี ย ง และทางวั ด ก็ ยั ง เป็ น ศู น ย์ ศึ ก ษา พระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ ซึ่งมีนักเรียนอยู่ ประมาณ 300 คน หอไตรกลางน�้ำ พืน้ ทีเ่ ป็น สีเ่ หลีย่ มจัตรุ สั หลังคาทรงมณฑป ซ้อนกัน 2 ชัน้ สูงขึน้ อีกเป็นทรงมณฑปผสมทรง จัว่ มุขยืน่ ทัง้ 4 ด้านซ้อนกัน 2 ชัน้ ประดับช่อฟ้า ใบระกา หน้าบัน แกะสลักไม้ลายไทยประดับ ทั้ง 4 ด้าน ผนังเป็นไม้ท�ำ ลวดลายปิดทอง จั ด เก็ บ คั ม ภี ร ์ ใ บลานด้ ว ยการห่ อ ผ้ า ขาวไว้ เมื่อได้ด�ำเนินการจัดระบบ พบว่า คัมภีร์ใบ ลานที่หอผ้าขาวไว้ ส่วนมากจะผุ กรอบ ชื้น มี ประมาณ 70 มัดที่สมบูรณ์
.indd 127
8/10/2561 17:20:04
WO R K L I F E
บันทึกเส้นทางพบเทศบาลตำ�บล
เทศบาลตำ�บลนิเวศน์
นายเยี่ยมเพชร พลเยี่ยม นายกเทศมนตรีตำ�บลนิเวศน์
ประวัติ ต�ำบลนิเวศน์เป็นต�ำบลเก่าแก่ มีประวัตคิ วาม เป็นมายาวนาน ตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2456 จนถึง ปัจจุบันเป็นเวลา 105 ปี ประชากรส่วนใหญ่ เป็นคนอีสาน พูดภาษาท้องถิ่น นับถือศาสนา พุทธ เป็นต�ำบลหนึ่งในอ�ำเภอธวัชบุรี พื้นที่ส่วน ใหญ่ของต�ำบลนิเวศน์จะเป็นที่สาธารณะป่าดอน แดงกว่า 2,000 ไร่ เต็มไปด้วยป่าไม้เกือบทุก หมู่บ้านของต�ำบลนิเวศน์ มีการอนุรักษ์สถานที่ เรียกว่า “ดอนปู่ตา” มีลักษณะเป็นป่าไม้หนาทึบ ปกคลุมทั่วบริเวณ ชาวบ้านไม่กล้าเข้าไปตัดฟัน ต้นไม้ เพราะมีความเชื่อว่า หากรุกล�้ำจะท�ำให้ เกิดการเจ็บป่วยและตายได้ เพราะถือว่าไปลบหลู่ สถานที่ศักดิ์สิทธิ์ของบรรพบุรุษที่เชื่อว่าเป็นเทพ คุ้มครอง ให้ความร่มเย็นเป็นสุข อุดมสมบูรณ์ ด้วยพืชพันธุ์ธัญญาหาร พื้นที่ส่วนใหญ่คงไว้ซึ่ง ความเป็นธรรมชาติอยู่มาก จึงเป็นที่มาของตรา สัญลักษณ์
108
SBL บันทึกประเทศไทย I ร้อยเอ็ด
เทศบาลต�ำบลนิเวศน์ เทศบาลต�ำบลนิเวศน์ มีพื้นที่ทั้งหมด 27.82 ตารางกิ โ ลเมตร หรื อ จ� ำ นวน 17,387.05 ไร่ ประชากรในพื้ น ที่ ป ระกอบอาชี พ ทางด้ า น เกษตรกรรม สถานที่ส�ำคัญ สิมวัดบ้านประตูชัย ตั้งอยู่หมู่ที่ 7 บ้านประตู ชัย ต�ำบลนิเวศน์ อ�ำเภอธวัชบุรี จังหวัดร้อยเอ็ด วัดบ้านประตูชัย เดิมชื่อ วัดบ้านค�ำไฮ ตั้งเมื่อราว พ.ศ. 2441 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อ วันที่ 10 มิถุนายน พ.ศ.2525 เป็นวัดราษฎร์ใน สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย เนื้อที่ 7 ไร่ 3 งาน 20 ตารางวา ซึ่งสิมวัดบ้านประตูชัยเป็นอาคาร สถาปัตยกรรมพื้นถิ่นอีสาน อิทธิพลศิลปะลาว และศิลปะรัตนโกสินทร์ทกี่ อ่ สร้างขึน้ ตามคติความ เชื่อในพระพุทธศาสนา วัฒนธรรมประเพณีและ ภูมิปัญญาท้องถิ่น สิมเดิมก่อสร้างด้วยไม้ ต่อ
มาราวปี พ.ศ. 2461 ได้มีการปฏิสังขรณ์ขึ้นใหม่ ลักษณะอาคารเป็นสิมทึบ ขนาดกว้าง 4 เมตร ยาว 15 เมตร เป็นอาคารก่ออิฐ ท�ำฐานยกสูง หลังคาทรงจั่วซ้อนลดหลั่นกันสามชั้น มีระเบียง แคบๆ ระหว่างผนังและเสาพาไลรองรับหลังคา ปีกนก ที่คลุมด้านล่างและด้านหลังของวิหาร ซึ่ ง แต่ เ ดิ ม มุ ง ด้ ว ยแป้ น เกล็ ด ต่ อ มาจึ ง เปลี่ ย น เป็นสังกะสี จิตรกรรมของสิมแห่งนี้ เขียนภาพ จิตรกรรมที่ฝาผนังทั้งภายในและภายนอก เป็น ภาพวรรณกรรมพื้นบ้า นและชาดก เช่น พระ เวสสันดร พระมาลัย สังข์ศิลป์ชัย (สินไช) ภาพ อดีตพระพุทธเจ้าหรือพระปัจเจกพุทธและวิถชี วี ติ ของชาวร้อยเอ็ดโดยนายสี สะมุด และนายสุย สุ่ม มาตย์ ส่วนฮูปแต้มนัน้ เขียนขึน้ ใน พ.ศ. 2464 กรม ศิลปากรได้ประกาศขึน้ ทะเบียนเป็นโบราณสถาน ของชาติ ในพระราชกิจจานุเบกษา เล่ม 115 ตอน พิเศษ 4 ง วันที่ 14 มกราคม 2541
สินค้า (OTOP) ขนมอบแห้ง ผ้าลายขิตใช้กี่พื้นบ้านในการทอ ผ้าห่มลายซิ่ง ผ้าไหมบาติก
ROI ET I SBL บันทึกประเทศไทย
109
HI S TO R Y O F BU D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดประตูชัย ตั้งอยู่ที่ บ้านประตูชัย ต�ำบลนิเวศน์ อ�ำเภอธวัชบุรี จังหวัดร้อยเอ็ด ห่างจากถนนสายร้อยเอ็ด – ธวัชบุรี ไปทางทิศเหนือประมาณ 1 กิโลเมตร ประวัติหมู่บ้าน
พระครูสังฆรักษ์เด่นชัย เขมธโร (พันธัง) เจ้าอาวาสวัดประตูชัย
110
SBL บันทึกประเทศไทย I ร้อยเอ็ด
จากค� ำ บอกเล่ า ของอาจารย์ ป ระดิ ษ ฐ์ ขันธ์ดวง อดีตครูใหญ่โรงเรียนบ้านประตูชัย บ้านประตูชยั ก่อตัง้ ขึน้ มาราว 200 ปี โดยเฒ่า แสนเมืองจากมหาสารคาม ได้พาผู้คนอพยพ มาตั้งบ้านเรือนอยู่ก่อน ในบริเวณที่เป็นน�้ำค�ำ (น�้ำซึมจากใต้ดิน) และมี ต ้ น ไฮ (ต้ น ไทร) ขึ้ น อยู ่ จึ ง ตั้ ง ชื่ อว่ า
บ้านค�ำไฮ ตามสถานทีต่ งั้ ต่อมา นายอ�ำเภอวาสนา วงษ์สุวรรณ เห็นว่าเป็นเหมือนประตูเข้าสู่ ตัวเมืองร้อยเอ็ด จึงเปลีย่ นชือ่ เป็น บ้านประตูชยั ค�ำขวัญหมูบ่ า้ น ประตูชยั พัฒนา กองทุนก้าวหน้า ลานตาผ้ า ลายชิ ด งามวิ จิ ต รภาพฝาผนั ง กลองยาวดังสะท้าน หมู่บ้านประชาธิปไตย บุ ญ ใหญ่ ง านประเพณี สั ก การะพระบรม สารีริกธาตุ ในเดือนสาม
ประวัติวัด
วัดประตูชัย คาดว่าสร้างขึ้นราว ปี 2441 สันนิษฐานว่าสิมเดิมสร้างด้วยไม้ ต่อมา ได้มี การบูรณะขึ้นใหม่เป็นอาคารก่ออิฐถือปูนใน พ.ศ. 2461 ตั้งอยู่ทางทิศเหนือของหมู่บ้าน ประกอบด้วยอุโบสถ กว้าง 20 เมตร ยาว 40 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2515 ศาลาการเปรียญ กว้าง 15 เมตร ยาว 32 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2530 กุฏิสงฆ์ จ�ำนวน 3 หลัง เป็นอาคาร ไม้ และศาลาบ�ำเพ็ญกุศล จ�ำนวน 1 หลัง สร้างด้วยไม้ ปูชนียวัตถุมีพระประธานในอุโบสถ เป็น พระพุทธรูปปางมารวิชัยสมัยเชียงแสน ขนาด หน้าตักกว้าง 2 ศอก สูง 3 ศอก มีพระอธิการผู้ปกครองวัดสืบต่อกันมาที่ ส�ำคัญคือ หลวงปูส่ มงาม ซึง่ เป็นทีเ่ คารพนับถือ ของชาวบ้านสืบต่อกันมาจนปัจจุบันนอกจาก นัน้ ยังมีหลวงปูส่ งิ ห์ สุภทฺโท, หลวงปูท่ า รสฺสโก, หลวงปู่เคน ธมฺมทินโน, หลวงพ่อปลัดสาย ธมฺมวโร, หลวงปู่ล้า สีลวณฺโต, เจ้าอาวาสรูป ปัจจุบันคือ พระครูสังฆรักษ์เด่นชัย เขมธโร
ประวัติเจ้าอาวาส
ประวัติเจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน ชื่อ พระครู สังฆรักษ์เด่นชัย เขมธโร (พันธัง) อายุ 32 ปี พรรษา 9 อุปสมบทเมื่อวันที่ 7 เมษายน 2552 โดยมีพระอุปัชฌาย์ ชื่อ พระครูโพธิ วุฒิธรรม อุปสมบทที่พัทธสีมาวัดโพธิ์ศรีทอง ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง เจ้ า อาวาสวั ด ประตู ชั ย เมื่ อ ปี 2559 เป็นต้นมา การศึกษานักธรรมชั้นเอก จบปริ ญ ญาโท หลั ก สู ต รพุ ท ธศาสตรมหา บัณฑิต (พธ.ม.) สาขาวิชา รัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
สิ่งปลูกสร้างส�ำคัญ
1. สิมเก่า มีลกั ษณะเป็นสิมทึบ ก่อด้วยอิฐ โบกปูน (บูรณะขึน้ ใหม่เป็นอาคารก่ออิฐถือปูน ใน พ.ศ. 2461) มุงด้วยสังกะสี มีระเบียงแคบ ๆ โดยรอบ ด้านใน มีภาพเขียนสีเป็นภาพพุทธ ประวัติพระเจ้า 500 ชาติ ด้านนอกเป็นภาพ เรือ่ งราว เรือ่ งสังข์ศลิ ป์ชยั ( “สินไซ”วรรณกรรม พืน้ บ้านทีไ่ ด้รบั ความนิยมสูงสุดของชาวอีสาน ) สิมเก่าหลังนี้ กรมศิลปากรได้ขึ้นทะเบียน เป็นโบราณสถาน เมื่อวันที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2541 2. อุโบสถหลังใหม่ ก่อสร้างด้วยช่างฝีมือ ดีจากอุบลราชธานี ใช้เป็นสถานที่ประกอบ สังฆกรรม 3. กุฏิสงฆ์ จ�ำนวน 3 หลัง 4. ศาลาการเปรียญเป็นอาคารคอนกรีต ขนาดใหญ่ ใ ช้ เ ป็ น สถานที่ ป ระชุ ม อบรม ประกอบศาสนกิจ และเป็นที่ร่วมท�ำบุญของ ชาวบ้านในงานบุญประเพณีต่างๆ
5. มณฑปกลางน�้ ำ มี ลั ก ษณะอาคาร หลังคาทรงจัตุรมุข ยอดปลีของมณฑป คล้าย พระธาตุพนมจ�ำลอง มียอดฉัตรประดิษฐาน พระบรมสารีรกิ ธาตุ ด้านในบุษบกประดิษฐาน พระบรมสารรีริกธาตุ และอรหันตธาตุซึ่งได้ รับมอบจาก หลวงพ่อพระครูวิมลบุญโกศล เมือ่ ปี 2556 วัดประตูชยั จะมีงานบุญประเพณี ถวายสักการะพระบรมสารีรกิ ธาตุ ในวันขึน้ 1 ค�ำ่ เดือน 3 เป็นประจ�ำทุกปี
ROI ET I SBL บันทึกประเทศไทย
111
HI S TO R Y O F BU D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดปิปผลิวนาราม ประวัติวัดปิปผลิวนาราม
พระครูประวิทย์สารกิจ เจ้าคณะต�ำบลธวัชบุรี และเจ้าอาวาสวัดปิปผลิวนาราม
112
SBL บันทึกประเทศไทย I ร้อยเอ็ด
วั ด ปิ ป ผลิ ว นาราม สั ง กั ด มหานิ ก าย เป็นวัดราษฎร์ ตั้งอยู่เลขที่ 49 บ้านดู่อีโต้ หมู่ที่ 11 ต�ำบลธวัชบุรี อ�ำเภอธวัชบุรี จังหวัด ร้อยเอ็ด 45170 ระยะทางจากจังหวัดร้อยเอ็ด ถึงวัดปิปผลิวนาราม 18 กิโลเมตร นามเจ้าอาวาส พระครูประวิทย์สารกิจ (บุญแสน มหาปญฺโญ) ได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาส เมื่อ พ.ศ. 2537 ได้รับอนุญาตให้ตั้งเป็นวัด เมื่อ พ.ศ. 2439 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อ พ.ศ. 2530 ที่ดิน ที่ตั้งวัดเนื้อที่ จ�ำนวน 7 ไร่ 1 งาน 93 ตารางวาที่ ธ รณี ส งฆ์ จ� ำ นวน 4 ไร่ 3 งาน 85 ตารางวา เขตที่ตั้งและอุปจารของ วัด บริเวณรอบทั้ง 4 ทิศ เป็นถนนสาธารณะ
ประโยชน์ เขตที่ธรณีสงฆ์วัด อยู่ทางทิศเหนือ วัดติดถนนสาธารณะประโยชน์รอบวัด
ประวัตคิ วามเป็นมา/ความส�ำคัญ (ศาสนสถาน,ศาสนวัตถุ)
วัดนี้ได้ย้ายมาจากวัดเก่าที่อยู่ทิศใต้ของ หมู ่ บ ้ า นเมื่ อ ปี พ.ศ. 2398 ซึ่ ง ขณะนี้ ยั ง
ท�ำเนียบเจ้าอาวาส หลงเหลือเป็นที่ว่างเปล่า มีต้นโพธิ์ใหญ่เป็น สั ญ ลั ก ษณ์ แ ละต่ อ มาชาวบ้ า นได้ จั ด สร้ า ง น�้ำประปาชุมชน และบริเวณหนองสิม (โบสถ์ กลางน�ำ้ ) ขณะนีช้ าวบ้านได้ถมเป็นทีส่ าธารณะ ตั้งเป็นสวนสาธารณะ สนามเด็กเล่น และ ตลาดนัดชุมชน สาเหตุทยี่ า้ ยวัด เพราะบริเวณเนือ้ ทีข่ องวัด มีจ�ำนวนไม่มาก เมื่อมีผู้ศรัทธาในพระพุทธ ศาสนาได้เสนอบริจาคเนื้อที่เพื่อสร้างวัดใหม่ พระสงฆ์และชาวบ้านได้เห็นพ้องต้องกันแล้ว จึงได้ย้ายวัดมาอยู่ทางทิศเหนือของหมู่บ้าน เมื่อ ปี พ.ศ. 2398 โดยชาวบ้านและพระสงฆ์ ได้ตั้งชื่อวัดว่า “วัดบูรพาวนาราม” ต่ อ มาเมื่อ ปี พ.ศ. 2519 ท่า นพระครู ธวั ช ชั ย คุ ณ อดี ต เจ้ า คณะอ� ำ เภอธวั ช บุ รี วั ด โกศลรัง สฤษฏิ์ ท่า นเห็นว่า “วัดบูร พา” มีหลายวัดแล้ว ท่านจึงเปลีย่ นชือ่ วัดใหม่ให้เป็น “วัดปิปผลิวนาราม” ศาสนวัตถุที่เก่าแก่ คือ พระพุทธรูปไม้ แกะสลักแบบโบราณ ช่างผู้แกะคือ “ท่านขุน หลวงบริบาล” เมื่อท่านได้ตรวจการผ่านมา และท่านได้แวะมาพักที่วัดแห่งนี้ เพื่อพบปะ กับชาวบ้าน ท่านได้สังเกตเห็นว่าวัดยังไม่มี พระพุ ท ธรู ป องค์ ใ หญ่ ที่ เ ป็ น พระประธาน ในวัด ท่านก็ได้เกิดศรัทธาจึงได้ลงมือหาไม้มา
แกะเป็นพระพุทธรูป ซึง่ มีหน้าตักกว้าง 16 ซ.ม. สูงจากแท่นนั่งถึงเกศ 49 ซ.ม. แท่นบัวนั่งสูง 14 ซ.ม. รวมความสู ง จากพื้ น ถึ ง พระเกศ 63 ซ.ม. โดยใช้ระยะเวลาแกะอยู่ 3 วัน เมือ่ เสร็จ เรียบร้อยแล้วท่านได้ชักชวนชาวบ้านท�ำบุญ ฉลองสมโภช แล้วน้อมถวายเป็นพระประธาน ที่วัดให้ประชาชนได้สักการะกราบไหว้ อีกองค์คือ พระพุทธรูปปรางค์มารวิชัย เชียงแสน ซึ่งเป็นพระพุทธรูปที่ศักดิ์สิทธิ์ ได้ จั ด พิ ธี เ ททองหล่ อ ขึ้ น ที่ วั ด บางขั น หรื อ วั ด คลองหนึ่ง จังหวัดปทุมธานี โดยหลวงพ่อเฮง เจ้าอาวาสวัดคลองหนึง่ สมัยนัน้ ในปี พ.ศ. 2488 ซึ่งในช่วงเวลานั้นเป็นสงครามโลกครั้งที่สอง หลวงพ่อสมบูรณ์ อินฺทวํโส ท่านได้หนีภัย สงคราม มาจ�ำพรรษาอยู่ที่วัดบูรพาราม ขณะ นัน้ หลังจากทีส่ งครามสงบลง หลวงพ่อสมบูรณ์ อินฺทวํโส จึงส่งข่าวไปบอกให้หลวงพ่อเฮง ทราบว่า วัดทีจ่ ำ� พรรษาอยูย่ งั ไม่มพี ระพุทธรูป ต่อมาเมื่อปี พ.ศ. 2490 หลวงพ่อเฮง พร้อม ญาติโยม ก็ได้นำ� เอาพระพุทธรูปปรางค์มารวิชยั เชี ย งแสนขึ้ น มาถวายและประดิ ษ ฐานไว้ ที่ วัดบูรพาราม เพือ่ ให้พทุ ธศาสนิกชนได้สกั การะ กราบไหว้ จ นถึ ง ปั จ จุ บั น นอกจากนั้ น ยั ง มี พระพุทธรูปไม้แกะสลักหน้าตัก 2,3,5 นิ้ว อีกจ�ำนวนมากแต่ปัจจุบันยังเหลืออยู่ไม่กี่องค์
1. พระค�ำ กตปุญฺโญ พ.ศ. 2435 - 2447 2. พระบัว ปญฺญโชโต (ศีลพันธ์) พ.ศ. 2447 – 2450 3. หลวงปู่ก�ำนันพรมมา อินฺทวํโส (ศีลสัตย์) พ.ศ. 2452 – 2470 4. พระโหล่ คมฺภีรปญฺโญ (โพธิ์ชัย) พ.ศ. 2452 – 2470 5. พระน้อย สีลวณฺโน (นิติคุณ) พ.ศ. 2488 – 2495 6. พระเผิ่ง กุสลธมฺโม พ.ศ. 2496 – 2502 7. พระไตร ตปสีโล พ.ศ. 2502 – 2505 8. พระประพงษ์ ปภากโร พ.ศ. 2506 – 2510 9. พระนวน กนฺตสีโล พ.ศ. 2511 – 2514 10. พระยศ ยโสธร พ.ศ. 2515 – 2516 11. พระพรม ปภสฺสโร พ.ศ. 2516 – 2522 12. พระเสาร์ ตปสีโล (สพลาภ) พ.ศ. 2522 – 2528 13. พระครูประวิทย์สารกิจ (บุญแสน มหาปญฺโญ) พ.ศ. 2532 – ปัจจุบัน ROI ET I SBL บันทึกประเทศไทย
113
WO R K L I F E
บันทึกเส้นทางพบเทศบาลตำ�บล
เทศบาลตำ�บลธงธานี
ค�ำขวัญ เทศบาลต�ำบลธงธานี
นายสุราช เสนารัตน์ นายกเทศมนตรีตำ�บลธงธานี
ประวัติความเป็นมา เทศบาลต�ำบลธงธานี ตั้งอยู่ในเขตอ�ำเภอ ธวัชบุรี จังหวัดร้อยเอ็ด เปลี่ยนแปลงฐานะมา จากสุขาภิบาล เป็นเทศบาลต�ำบล เมื่อปี พ.ศ. 2542 ประกาศราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 116 ตอน 9 ก ลงวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2542 และ ได้ยุบรวมกับสภาเทศบาลต�ำบลธงธานี ตาม ประกาศกระทรวงมหาดไทย ซึ่งประกาศในราช กิจจานุเบกษา เล่มที่ 121 ตอนพิเศษ 102 ลงวันที่ 15 กันยายน 2542 มีพื้นที่ประมาณ 20 ตารางกิโลเมตร แบ่งเขตการปกครองเป็น 2 ต�ำบล 14 หมู่บ้าน สภาพพื้นที่เป็นที่ราบลุ่ม ดินร่วนปนทราย มีแม่น�้ำชีไหลผ่าน อาชีพหลัก ของชาวบ้านส่วนใหญ่คือ ท�ำนา อาชีพเสริม คือ หัตถกรรม ปลูกพืช เลี้ยงสัตว์
114
SBL บันทึกประเทศไทย I ร้อยเอ็ด
“ธงธานีเมืองน่าอยู่ เชิดชูคุณธรรม งามล�่ำประเพณี แม่น�้ำชีไหลผ่าน ต�ำนานเมืองเชียงดี ปลาน�้ำชีเลิศรส ตลาดสดน่าชื้อ เลื่องลือวัฒนธรรม”
ของดีต�ำบลธงธานี “ตลาดสดเทศบาลต� ำ บลธงธานี ” ตั้ ง อยู ่ ในพื้นที่บ้านธวัชดินแดง พื้นที่ตลาดห่างจาก สะพานข้ามแม่น�้ำชี ประมาณ 50 เมตร ตาม เส้ น ทางสายร้ อ ยเอ็ ด –อ� ำ เภอโพนทอง เป็ น ตลาดสดทีร่ วบรวมผลผลิตทางการเกษตรของพี่ น้องประชาชนในเขตพืน้ ที่ จุดทีส่ ำ� คัญของตลาด แห่งนี้คือ เป็นตลาดปลา ซึ่งมีปลาหลากหลาย ชนิดมาจ�ำหน่ายไม่ว่าจะเป็นปลาจากแม่น�้ำชีที่ ประชาชนมีอาชีพจับปลาน�ำมาขาย และภายใน ตลาดยังมีแผงจ�ำหน่ายสินค้ามากมายหลาก หลายชนิดให้ประชาชนได้เลือกชื้อ ผลิตภัณฑ์ ปลาร้าบอง, น�ำ้ จิ้มเนื้อย่างเกาหลี ROI ET I SBL บันทึกประเทศไทย
115
116
SBL บันทึกประเทศไทย I ร้อยเอ็ด
WORK LIF E
บันทึกเส้นทางพบเทศบาลตำ�บล
เทศบาลตำ�บลโพนทราย
นายอุดม วงบุดดา
นายกเทศมนตรีตำ�บลโพนทราย
ประวัติความเป็นมา ต� ำ บลโพนทรายเดิ ม อยู ่ ใ นเขต ก า ร ป ก ค ร อ ง ข อ ง ต� ำ บ ล ส า ม ข า ซึง่ เป็นต�ำบลหนึง่ ของอ�ำเภอสุวรรณภูมิ จั ง หวั ด ร้ อ ยเอ็ ด เทศบาลต� ำ บล โพนทรายได้ จั ด ตั้ ง ขึ้ น เป็ น เทศบาล ตามพระราชบัญญัตเิ ปลีย่ นแปลงฐานะ
มีพนื้ ที่ 12.70 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพืน้ ที่ 1 ต�ำบล 11 หมู่บ้าน โดยแบ่งเขตการปกครอง ออกเป็น หมู่ที่ 1,2,4,6,7,8,9,11,12,13,14 เทศบาลต�ำบลโพนทราย ตั้งอยู่ห่างจากจังหวัด ร้อยเอ็ดประมาณ 79 กิโลเมตร พื้ น ที่ ข องต� ำ บลโพนทรายเป็ น ที่ ร าบ และ ที่ราบลุ่ม บริเวณพื้นที่รอบ ๆ ชุมชนจะเป็นพื้นที่ ประกอบกสิกรรม และไม่มีแหล่งน�้ำธรรมชาติ ไหลผ่าน สภาพดินเป็นดินร่วนปนทราย
กิจกรรมที่สำ� คัญ ประจ�ำปี 2561 เทศบาลต� ำ บลโพนทรายผ่ า นการประเมิ น ม า ต ร ฐ า น คุ ณ ภ า พ ร ะ บ บ บ ริ ก า ร อ น า มั ย สิ่ ง แวดล้ อ มองค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น (Environmental Health Accreditation : EHA) ประจ�ำปี 2561 ระดับเกียรติบัตรรับรอง ด้านการจัดการขยะมูลฝอยทัว่ ไป จากกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข จากโครงการโพนทราย เมืองปลอดขยะ (ZERO WASTE CITY)
วิสัยทัศน์ Vision ประชากรอยู ่ กิ น ดี มี ค วามรู ้ คู ่ คุ ณ ธรรม ก้าวน�ำคุณภาพชีวิติ เศรษฐกิจพอเพียง
ประเพณีที่สำ� คัญ - ประเพณี บุ ญ บั้ ง ไฟ ซึ่ ง ได้ ก� ำ หนดเป็ น ประเพณี ป ระจ� ำ อ� ำ เภอโพนทราย โดยจั ด ขึ้ น ในเดือนมิถุนายนของทุกปี โดยมีชุมชนในเขต เทศบาลและหมู่บ้านใกล้เคียงนอกเขตเทศบาล บริ ษั ท ห้ า งร้ า นต่ า งๆ จะน� ำ ขบวนแห่ บั้ ง ไฟ สวยงาม หรือขบวนแห่บั้งไฟโบราณ ซึ่งในขบวน แห่แต่ละขบวนจะประกอบไปด้วย บั้งไฟ ขบวน ฟ้อน ดนตรีประกอบ และสาวงามผู้ถือป้ายเพื่อ เข้าร่วมขบวนแห่บั้งไฟ
ของสุขาภิบาลเป็นเทศบาล พ.ศ. 2542 เมื่ อ วั น ที่ 25 พฤษภาคม 2542 มีส�ำนักงานตั้งอยู่เลขที่ 177 หมู่ที่ 9 ถนนเทศบาล 1 ต� ำ บลโพนทราย อ� ำ เภอโพนทราย จั ง หวั ด ร้ อ ยเอ็ ด ซึ่งห่างจากจังหวัดร้อยเอ็ด ประมาณ 79 กิโลเมตร
สินค้าที่น่าสนใจ 1.ข้าวหอมมะลิ 100% ตราทุ่งกุลา 101 2.ดอกไม้จากรังไหม เป็นดอกไม้ที่ประดิษฐ์จาก รังไหม เป็นรูปดอกไม้ต่างๆ หลากแบบหลายสี สวยงาม แต่งเลียนแบบธรรมชาติได้ประณีตที่สุด ROI ET I SBL บันทึกประเทศไทย
117
WO R K L I F E
บันทึกเส้นทางพบเทศบาลตำ�บล
เทศบาลตำ�บลโคกสูง
พนักงานเทศบาลตำ�บลโคกสูง
ว่าที่ร้อยโทบุญเกิด เมืองแวง ปลัดเทศบาล ปฏิบัติหน้าที่ นายกเทศมนตรีตำ�บลโคกสูง
ประวัติความเป็นมา ต�ำบลโคกสูง เดิมเป็นส่วนหนึ่งของต�ำบล โพธิ์ศรีสว่าง อ�ำเภอโพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด เมื่ อ ประมาณปี พ .ศ.2538 ได้ รั บ การจั ด ตั้ ง เป็ น ต� ำ บลตามประกาศกระทรวงมหาดไทย ลงวันที่ 2 สิงหาคม พ.ศ.2538 ใช้ชื่อต�ำบลว่า " โคกสูง " โดยตั้งชื่อตามสภาพภูมิประเทศ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นพื้นที่สูงมีป่าเป็นจ�ำนวนมาก โดยเฉพาะป่าโคกสูง – ดงหัน เทศบาลต�ำบล โคกสูง ตัง้ อยูท่ างด้านทิศใต้ของอ�ำเภอโพนทอง อยู่ห่างจากที่ว่าการอ�ำเภอโพนทอง ระยะทาง ประมาณ 14 กิโลเมตร และ ห่างจากตัวจังหวัด ร้อยเอ็ด ประมาณ 32 กิโลเมตร มีพื้นที่ทั้งหมด ประมาณ 33.50 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 20,937.50 ไร่ ลักษณะภูมิประเทศ เป็นที่ ดอนสลับที่ลุ่ม ส่วนมากพื้นที่จะอยู่ในที่ดอน มีป่าโคกสูง-ดงหัน ประมาณ 5,000 ไร่ พื้นที่ อยู่นอกเขตชลประทาน มีพื้นที่ท�ำการเกษตร จ�ำนวน 13,740 ไร่
118
SBL บันทึกประเทศไทย I ร้อยเอ็ด
มีทงั้ หมด 13 หมูบ่ า้ นอยูใ่ นเขตเทศบาลเต็ม พื้นที่ทุกหมู่บ้าน ดังนี้ หมู่ที่ 1 บ้านศรีวิไล หมู่ที่ 2 บ้านหนองดง หมู่ที่ 3 บ้านหนองหิน หมู่ที่ 4 บ้านแฝกค�ำพัฒนา หมู่ที่ 5 บ้านหนองตอ หมู่ที่ 6 บ้านแฝก หมู่ที่ 7 บ้านหนองดง หมู่ที่ 8 บ้านสองห้อง หมู่ที่ 9 บ้านโคกสูง หมู่ที่ 10 บ้านหนองสิม หมู่ที่ 11 บ้านแฝกนคร หมู่ที่ 12 บ้านแฝกค�ำพัฒนา 2 หมู่ที่ 13 บ้านสองห้อง 2 อาชีพ ราษฎรส่วนใหญ่ในเขตเทศบาลต�ำบลโคกสูง ประกอบอาชีพหลัก คือท�ำการเกษตร โดยเฉพาะ
สมาชิกสภาเทศบาลตำ�บลโคกสูง
การท�ำนา ท�ำไร่ ควบคูไ่ ปกับอาชีพรับจ้างทัว่ ไป และอาชีพค้าขาย ผลผลิต - การปลูกข้าว พืน้ ทีส่ ว่ นใหญ่ประมาณ 8,200 ไร่ ข้าวเป็นพืชหลักทีส่ ำ� คัญ เกษตรกรปลูกข้าว ไว้บริโภคในปีตอ่ ไป ส่วนใหญ่เป็นข้าวพันธ์ กข. 6 ข้าวหอมมะลิ 105 ผลผลิตเฉลีย่ 400 กก./ไร่ - การท� ำ ไร่ พื้ น ที่ ป ระมาณ 5,500 ไร่ พื ช ที่ ป ลู ก มั น ส� ำ ประหลั ง อ้ อ ย ยางพารา ผลผลิตเฉลี่ย 3,500 กก./ไร่ - การเลี้ยงสัตว์ ส่วนมากจะเลี้ยงไว้เพื่อ การบริโภค เช่น เป็ด ไก่ ปลา และเลีย้ งไว้เพือ่ การเกษตรและไว้ขาย เช่น โค กระบือ สุกร เป็นต้น - การประมง เป็นแบบดัง้ เดิมตามห้วยหนอง ถ้าเลี้ยง เลี้ยงเฉพาะที่เป็นน�้ำขัง ในช่วงหน้าฝน โดยอาศัยปลาธรรมชาติ ซึ่งในปัจจุบันมีการ ขุดบ่อเลี้ยงปลา หาซื้อพันธ์ปลามาเลี้ยง เช่น ปลาดุก ปลานิล ปลาตะเพียน เป็นต้น
สถานที่ส�ำ คัญทางศาสนาและที่เที่ยว ชมของเทศบาลตำ�บลโคกสูง มีดังนี้ - โบสถ์ วัดบ้านสองห้อง สถานทีต่ งั้ ชุมชนบ้านสองห้อง หมู่ 1 - หลวงพ่อพระใหญ่ สถานทีต่ งั้ ชุมชน บ้านแฝก หมู่ 6 - วัดป่าค�ำบัง้ ไฟ สถานทีต่ งั้ บ้านหนอง ตอ หมู่ 5
สินค้าที่น่าสนใจ 1.เขียงไม้มะขาม เป็นเขียงไม้เนื้อละเอียด เนื้อไม่ล่อนติดกับ อาหาร มีทงั้ ชนิดกลมและสีเ่ หลีย่ มขนาด เส้นผ่าศูนย์กลาง 5 นิว้ – 24 นิว้ และสีเ่ หลีย่ ม ขนาด 5 - 20 นิว้ 2.เสือ่ กก 3.ไม้กวาดทางมะพร้าวและพรมเช็ดเท้า 4.ไม้กวาดดอกหญ้า
ประเพณีและกิจกรรมของเทศบาลตำ�บลโคกสูง - ประเพณีวนั ลอยกระทง - ประเพณีบญ ุ บัง้ ไฟ - ประเพณีการแข่งขันเรือพาย - กิจกรรมสักการะ - กิจกรรมรดน�ำ้ ขอพรผูส้ งู อายุ - กิจกรรมวันเด็กแห่งชาติ
กลุ่มอาชีพ • กลุม่ อาชีพการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากไม้มะขาม ตัง้ อยูท่ ี่ บ้าน หนองหิน หมู่ 3 ต�ำบลโคกสูง อ�ำเภอโพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด • กลุม่ อาชีพทอเสือ่ กก ตัง้ อยูท่ ี่ บ้านแฝก หมู่ 6 ต�ำบลโคกสูง อ�ำเภอโพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด • กลุม่ อาชีพไม้ กวาดทางมะพร้าวและพรม เช็ดเท้า ตัง้ อยูท่ ี่ บ้านสองห้อง หมู่ 8 ต�ำบลโคกสูง อ�ำเภอโพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด • กลุม่ อาชีพไม้กวาดดอกหญ้า ตัง้ อยูท่ ี่ บ้านแฝกค�ำพัฒนา หมู่ 12 ต�ำบลโคกสูง อ�ำเภอโพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด ROI ET I SBL บันทึกประเทศไทย
119
WO R K L I F E
บันทึกเส้นทางพบเทศบาลตำ�บล
เทศบาลตำ�บลโคกกกม่วง
ค�ำขวัญ เทศบาลต�ำบลโคกกกม่วง
นายสุพจน์ ไชยคำ�
นายกเทศมนตรีตำ�บลโคกกกม่วง ประวัติความเป็นมา องค์การบริหารส่วนต�ำบลโคกกกม่วง จัดตัง้ ขึ้นเมื่อวันที่ 25 ธันวาคม 2539 (ประกาศใน ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 113 ตอนพิเศษ 52 ง ฉบับลงวันที่ 25 ธันวาคม 2539) และได้ยก ฐานะเป็นเทศบาลต�ำบลโคกกกม่วง เมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน 2552 ตามประกาศกระทรวง มหาดไทย เรือ่ งจัดตัง้ องค์การบริหารส่วนต�ำบล โคกกกม่ ว ง เป็ น เทศบาลต� ำ บลโคกกกม่ ว ง ลงวันที่ 4 พฤศจิกายน 2552 จนถึงปัจจุบัน ตัง้ อยูท่ ี่ ต�ำบลโคกกกม่วง อ.โพนทอง จ.ร้อยเอ็ด มีพนื้ ทีท่ งั้ หมด 74 ตารางกิโลเมตร (25,000 ไร่) แบ่งเป็นพืน้ ทีก่ ารเกษตร 36.26 ตารางกิโลเมตร พื้นที่สาธารณประโยชน์ 19.6 ตารางกิโลเมตร พื้นที่อยู่อาศัย 17.8 ตารางกิโลเมตร ประกอบ ด้วย 13 หมู่บ้าน จ�ำนวนประชากร ทั้งหมด 6,070 คน ชาย 3,060 คน หญิง 3,010 คน จ�ำนวนครัวเรือนทั้งหมด 1,182 ครัวเรือน
120
SBL บันทึกประเทศไทย I ร้อยเอ็ด
โคกกกม่วงถิ่นน่าอยู่ เชิดชูหลวงปู่เพชรเกรียงไกร หอพระไตรล�ำ้ ค่า แห่เทียนพรรษายิ่งใหญ่ ทอเสื่อกกสร้างก�ำไร เกษตรกรยุคใหม่ยางพารา ชุมชนร่วมใจพัฒนา น�ำพาเศรษฐกิจพอเพียง
รายชื่อคณะผู้บริหาร 1. นายสุพจน์ ไชยค�ำ นายกเทศมนตรี 2. นายดาวรุ่ง ปิยมาตย์ รองนายกเทศมนตรี 3. นายถาวร กาสิทธิขวา รองนายกเทศมนตรี 4. นายอุไร สอนมะณี เลขานุการนายกเทศมนตรี 5. นายอุดม ฉ�ำ่ มณี ที่ปรึกษานายกเทศมนตรี 6. ส.ต.ท.สงวน เย็นวัฒนา ปลัดเทศบาล สมาชิกสภาเทศบาลต�ำบลโคกกกม่วง 1. นายเชย สารบรรณ ประธานสภาเทศบาล 2. นางวัชรียา ไกยวรรณ รองประธานสภาเทศบาล
3. นายสุพัฒ บุตรภกดี สมาชิกสภาเทศบาล 4. นายยุรชัย บุตรภักดี สมาชิกสภาเทศบาล 5. นายวาสนา สมนึก สมาชิกสภาเทศบาล 6. นายณรงค์ บุตรภักดี สมาชิกสภาเทศบาล 7. นายมานพ ธิมาชัย สมาชิกสภาเทศบาล 8. นายสมพงษ์ สาหนองหม้อ สมาชิกสภาเทศบาล 9. นายค�ำพันธ์ แห้วดี สมาชิกสภาเทศบาล 10. นายถาวร ประเสริฐก้านตง สมาชิกสภาเทศบาล 11. นายประกาศ ศรีพล สมาชิกสภาเทศบาล 12. นางสมจิตร บุตรภักดี สมาชิกสภาเทศบาล
สินค้า ผลิตภัณฑ์จากเส้นกก เป็นผลิตภัณฑ์จกั สาน จากเส้นกก มีน�้ำหนักเบา แข็งแรง ทนทาน ท�ำความสะอาดง่าย เคลื่อนย้ายสะดวก มีให้ เลือกหลายประเภท เช่น เสือ่ พับ, ชุดรับประทาน อาหาร ฯลฯ
ROI ET I SBL บันทึกประเทศไทย
121
WO R K L I F E
บันทึกเส้นทางพบเทศบาลตำ�บล
เทศบาลตำ�บลแวง
วิสัยทัศน์การพัฒนา
นายประเสริฐ วิชาเดช นายกเทศมนตรีตำ�บลแวง
ประวัติความเป็นมา ต�ำบลแวง เป็นต�ำบลเก่าแก่เป็นสถานที่ตั้ง อ�ำเภอโพนทองมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2463 จนถึง ปัจจุบัน ตั้งอยู่ที่ ต�ำบลแวง อ�ำเภอโพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด อยู่ทางทิศเหนือของ อ�ำเภอ โพนทอง โดยส� ำ นั ก งานเทศบาลต� ำ บลแวง ตัง้ อยูห่ มูท่ ี่ 9 บ้านหนองแสงท่า และอยูห่ า่ งจาก ที่ว่าการอ�ำเภอโพนทอง 4 กิโลเมตร มีเนื้อที่ 38 ตารางกิโลเมตร หรือ ประมาณ 23,750 ไร่ ภูมิประเทศ มีลักษณะเป็นที่ดอน สลับกับที่ลุ่ม ที่ลุ่มใช้ท�ำนา ที่ดอนใช้ท�ำไร่ ยุทธศาสตร์การพัฒนา ด้านโครงสร้างพื้นฐาน 1. ก่อสร้าง ปรับปรุง บ�ำรุงรักษา สะพาน ทางเท้า ท่อระบายน�้ำ ร่องระบายน�้ำ 2 . จั ด ใ ห ้ มี ป รั บ ป รุ ง แ ล ะ บ� ำ รุ ง รั ก ษ า สาธารณูปโภค สาธารณูปการ ให้มีอย่างทั่วถึง และเพียงพอ
122
SBL บันทึกประเทศไทย I ร้อยเอ็ด
“ชุมชนแวงน่าอยู่ มุ่งสู่เศรษฐกิจพอเพียง พัฒนาคุณภาพชีวิต สิง่ แวดล้อมไม่เป็นพิษ เศรษฐกิจมั่นคง ด�ำรงไว้ซึ่งวัฒนธรรม” 3. จัดให้มีการวางผังเมืองรวม 4. จัดให้มีพัฒนา ปรับปรุงและบ�ำรุงรักษา พื้นที่สาธารณะประโยชน์ของชุมชน ด้านส่งเสริมคุณภาพชีวิต 1. งานด้านสวัสดิการสังคม การส่งเสริม และพัฒนาคุณภาพชีวิต สุขอนามัยและ สภาพ แวดล้อมผู้สูงอายุ ผู้พิการ เด็ก เยาวชน ผู้ด้อย โอกาส 2. งานด้านการสาธารณสุข ส่งเสริมสุขภาพ พลานามัยของประชาชนการป้องกันและระงับ การระบาดของโรคติดต่อ และการเข้าถึงการ รักษาของผูด้ อ้ ยโอกาสทางสังคมและประชาชน ทั่วไป 3. การแก้ไขปัญหายาเสพติด และป้องกัน กลุ ่ ม เสี่ ย งและประชาชนทั่ ว ไปไม่ ใ ห้ เ ข้ า ไป เกีย่ วข้องยาเสพติด ด้วยการรวมพลังทุกภาคส่วน ด้านเศรษฐกิจ 1. พัฒนาและส่งเสริมอาชีพให้แก่ประชาชน 2. การส่งเสริมการเกษตร
3. ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์และ เชิงเกษตร ด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม 1. ส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพจิตที่ดีมี ร่างกายสมบูรณ์ แข็งแรงปลอดภัยจากโรคภัย ไข้เจ็บ 2. พั ฒ นาและส่ ง เสริ ม ให้ ป ระชาชนมี สวั ส ดิ ก าร นั น ทนาการ ตลอดจนมี ค วาม ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน 3. ส่งเสริมและสนับสนุนการสร้างจิตส�ำนึก ให้ตระหนักถึงการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ด้านการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 1. เพิม่ ช่องทางการรับรูข้ อ้ มูลข่าวสาร ให้แก่ ประชาชน 2. ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษา ทุกระดับ 3. ส่งเสริมให้มกี ารจัดตัง้ ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก ที่มีมาตรฐาน
4. ส่ ง เสริ ม ให้ ป ระชาชนอนุ รั ก ษ์ วัฒนธรรมประเพณี กิจกรรมทางศาสนา และภูมิปัญญาท้องถิ่น 5. ส่ ง เสริ ม และสนั บ สนุ น การด� ำ รง ชีวิตแบบวิถีชุมชน ตามแนวพระราชด�ำริ เศรษฐกิจพอเพียง 6. การส่ ง เสริ ม และสนั บ สนุ น กี ฬ า ทุกระดับ ด้านการเมืองการบริหารจัดการทีด่ ี 1. ส ่ ง เสริ ม และพั ฒนาบุ ค ลากรของ ท้องถิ่นให้มีความรู้ คุณธรรม จริยธรรมใน การปฏิบัติงาน
2. ปรั บ ปรุ ง และพั ฒ นาการจั ด เก็ บ รายได้ 3. ส่ ง เสริ ม และสนั บ สนุ น ให้ อ งค์ ก ร ปกครองส่วนท้องถิ่นมีความเข้มแข็ง 4. จดั หาและปรับปรุงเครือ่ งมือ เครือ่ งใช้ และสถานที่ ใ ห้ เ หมาะสมต่ อ ภารกิ จ ของ เทศบาล สถานที่ส�ำคัญ 1. ศาลเจ้าปูฮ่ ตั ม.8 บ้านหนองแสงทุง่ 2. ศาลเจ้ า ปู ่ ห นองไคร่ นุ ่ น ม.9 บ้านหนองแสงท่า
สินค้า 1. หมอนขิต 2. ข้ า วซ้ อ มมื อ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ข ้ า วซ้ อ มมื อ ท�ำมาจากข้าวหอมมะลิ 105 หุงขึน้ หม้อ สะอาด อร่อย เม็ดข้าวสวย ให้คุณค่าทางอาหารสูง ROI ET I SBL บันทึกประเทศไทย
123
WO R K L I F E
บันทึกเส้นทางพบเทศบาลตำ�บล
เทศบาลตำ�บลสามขา
วิสัยทัศน์ เทศบาลต�ำบลสามขา
นายสกาว เมฆา
เป็นเมืองน่าอยู่ เชิดชูคุณธรรม ก้าวน�ำคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจสดใส การศึกษาไกลก้าวหน้า พัฒนาข้าวหอมมะลิสู่ตลาดโลก
นายกเทศมนตรีตำ�บลสามขา
ตามที่ ได้แถลงนโยบายต่อสภาท้องถิ่น ตามทีผ่ มได้รบั การเลือกตัง้ ให้มาด�ำรงต�ำแหน่ง นายกเทศมนตรี ต� ำ บลสามขา เมื่ อ วั น ที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 ซึง่ ระยะเวลาในการด�ำรง ต�ำแหน่งมาแล้ว 4 ปีเต็ม กระผมได้ปฏิบัติหน้าที่ เต็มก�ำลังความสามารถ ตามที่ได้แถลงนโยบาย ไว้ ทั้ง 8 ด้าน มีจุดมุ่งหมายสูงสุดเพื่อประโยชน์ สุขของพี่น้องประชาชนต�ำบลสามขาทุกๆ ด้าน บัดนี้การด�ำเนินงานในรอบปีงบประมาณ 2561 ได้ส�ำเร็จลุล่วง กระผมพร้อมด้วยสมาชิกเทศบาล ต�ำบลสามขา ขอขอบคุณพี่น้องประชาชนที่ได้มี ส่วนร่วมในการพัฒนาเทศบาลต�ำบลสามขา ให้ มีความเจริญก้าวหน้าและประสบผลส�ำเร็จตาม นโยบายที่ได้วางไว้ กระผมพร้อมที่จะมุ่งมั่น และ ทุ่มเทในการท�ำงานอย่างเต็มความสามารถและ พร้อมทีจ่ ะแก้ไขปัญหาทุกปัญหาเพือ่ ประโยชน์สขุ ของพี่น้องประชาชนต่อไป
124
SBL บันทึกประเทศไทย I ร้อยเอ็ด
ประวัติความเป็นมา ต�ำบลสามขา เดิมอยู่ในเขตการปกครองของ อ�ำเภอสุวรรณภูมิ ต่อมาได้แยกเป็นกิ่งอ�ำเภอ โพนทราย โดยต�ำบลสามขาได้ข้ึนกับกิ่งอ�ำเภอ โพนทราย และต่อมาเป็นอ�ำเภอโพนทรายใน ปัจจุบัน ต�ำบลสามขามีหมู่บ้านในการปกครอง จ�ำนวน 8 หมู่บ้าน ต�ำบลสามขา ตั้งอยู่เลขที่ 73 หมู่ 5 ต�ำบล สามขา อ�ำเภอโพนทราย จังหวัดร้อยเอ็ด ทางทิศ ตะวันตกเฉียงใต้ของอ�ำเภอโพนทราย ห่างจากที่ ว่าการอ�ำเภอประมาณ 8 กม. ซึ่งติดกับแม่น�้ำมูล ด้านการท่องเที่ยว การด� ำ เนิ น งานส่ ง เสริ ม กิ จ กรร มตาม ยุ ท ธศาสตร์ ด้ า นการท่ อ งเที่ ย ว เพื่ อ กระตุ ้ น เศรษฐกิจ สร้างรายได้ ให้กับชุมชนต�ำบลสามขา ตามโครงการประเพณีแข่งเรือเล็ก และมีสถานที่ ท่องเที่ยวท่าแพบริเวณแม่นำ�้ มูล
กิจกรรมด�ำเนินการบริหารบ้านเมืองที่ดี นายกเทศมนตรีรว่ มกิจกรรมโครงการเทศบาล เคลื่อนที่พบปะประชาชน ให้บริการด้านต่างๆ ร่วมกับสถานีต�ำรวจภูธรโพนทราย ให้บริการ รั บ แจ้ ง เอกสารหาย และให้ ค วามรู ้ เ กี่ ย วกั บ ยาเสพติด ปศุสัตว์อ�ำเภอโพนทราย ให้คำ� ปรึกษา การดูแลสัตว์เลีย้ ง เช่น ฉีดวัคซีนพิษสุนขั บ้า และการ ดูแลสัตว์เลี้ยงอื่นๆ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ต�ำบลสามขา บริการตรวจสุขภาพ บริการนวด แผนไทยเพื่อสุขภาพ และให้ค�ำปรึกษาเกี่ยวกับ สุขภาพ หน่วยงานเอกชน ให้บริการตัดผมฟรี กิจกรรมด�ำเนินการตามยุทธศาสตร์การพัฒนา ด้านสังคมและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน คณะผู้บริหาร สมาชิกสภาเทศบาล พนักงาน เทศบาล ลูกจ้าง พนักงานจ้างได้ด�ำเนินกิจกรรม บ�ำเพ็ญประโยชน์ โดยการปรับปรุงภูมทิ ศั น์สถานที่ ราชการบริ เ วณหน้ า ส� ำ นั ก งานเทศบาลต� ำ บล สามขา ตามโครงการจิตอาสา เราท�ำความดีด้วย หัวใจ เพื่อเทิดพระเกียรติสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร รัชกาลที ่ 10 และบริการจัดการขยะอย่างยั่งยืน สินค้าที่น่าสนใจ 1.ผ้าฝ้ายลายสาเกตุ 2.ผ้าไหมมัดหมี่ เป็น ผ้าไหมลายมัดหมี่สวยงาม มีหลายลาย หลายสี สวยงามฝี มือปราณีต สีไม่ตก
ROI ET I SBL บันทึกประเทศไทย
125
WO R K L I F E
บันทึกเส้นทางพบเทศบาลตำ�บล
เทศบาลตำ�บลโนนชัยศรี
นายสนิท อามาตย์
นายกเทศมนตรีตำ�บลโนนชัยศรี โดยในปี ง บประมาณ 2560 เทศบาลต� ำ บล โนนชัยศรี ได้จดั ท�ำ “โครงการต�ำบลโนนชัยศรีปลอด ขยะ Zero Waste” โดยมีการจัดอบรมและศึกษา ดูงานในสถานที่จริง ให้แก่ประชาชน ผู้น�ำชุมชน สมาชิกสภา คณะบริหาร และพนักงาน ข้าราชการ เทศบาลต� ำ บลโนนชั ย ศรี ในเรื่ อ งการบริ ห าร จัดการขยะ หลังจากนั้นจึงมีการถอดบทเรียน จากการศึกษาดูงานและจัดท�ำประชาคมในการ จัดตัง้ “กองทุนขยะสะสมเงินทองคุม้ ครองสุขภาพ เทศบาลต�ำบลโนนชัยศรี” โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ การบริหารจัดการขยะมูลฝอยในชุมชน น�ำขยะมา สร้างรายได้และสวัสดิการฌาปนกิจสงเคราะห์ศพ ให้กับสมาชิกกองทุนขยะฯ ที่ได้รับการคุ้มครอง โดยสมาชิกที่จะได้รับการคุ้มครอง ครัวเรือนนั้น จะต้องมีการน�ำขยะมาขายกับกองทุนฯมาแล้ว ไม่น้อยกว่า 6 เดือน ในระยะเวลา 6 เดือน ต้องไม่ขาดการขายติดต่อกันเกิน 2 ครัง้ และต้องมี เงินฝากจากการขายขยะไม่ตำ�่ กว่า 300 บาท ซึง่ ถ้า หากสมาชิกได้รับการคุ้มครองแล้วจะมีการหักค่า ฌาปนกิจสงเคราะห์ศพรายละ 10 บาท
126
SBL บันทึกประเทศไทย I ร้อยเอ็ด
ประวัตคิ วามเป็นมา ต�ำบลโนนชัยศรีตงั้ อยูท่ างทิศใต้ของ อ�ำเภอโพนทอง โดยมีระยะทางห่าง จากทีว่ า่ การอ�ำเภอโพนทอง ประมาณ 12 กิ โ ลเมตร มี เ นื้ อ ที่ 42 ตร.กม. มีประชากร 7,626 คน ประชาชนอาศัย กันอยูแ่ บบเครือญาติ มีการพึง่ พาอาศัย ซึง่ กันและกัน ต�ำบลโนนชัยศรี มีสภาพ พื้นที่เป็นที่ดอน มีแหล่งน�้ำธรรมชาติ จ�ำนวนน้อย ไม่เพียงพอในด้านท�ำการ เกษตร ประชาชนส่วนใหญ่มอี าชีพหลัก ในปีงบประมาณ 2561 ได้จดั ท�ำ “โครงการ ต�ำบลโนนชัยศรีปลอดขยะถวายพระราชกุศล” ซึ่งเป็นโครงการที่ต่อเนื่องกับโครงการต�ำบลโนน ชัยศรีปลอดขยะ Zero Waste โดย โครงการ ต� ำ บลโนนชั ย ศรี ป ลอดขยะถวายพระราชกุ ศ ล จะเป็นโครงการทีเ่ น้นการบริหารจัดการขยะมูลฝอย ด้านขยะอินทรีย์ในครัวเรือน โดยมีการอบรม และสาธิตการจัดท�ำปุ๋ยชีวภาพ น�้ำหมักชีวภาพ และการจัดท�ำถังหมักปุย๋ ชีวภาพภายในครัวเรือน รางวัล - ได้รบั รางวัลชนะเลิศอันดับที่ 1 หมูบ่ า้ นชุมชน สะอาด ระดับอ�ำเภอ ตามโครงการประกวดการ บริหารจัดการขยะมูลฝอยชุมชน “จังหวัดสะอาด” ประจ�ำปีงบประมาณ 2560 - ได้รบั รางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 1 หมูบ่ า้ น ชุมชนสะอาด ระดับจังหวัด ตามโครงการประกวด การบริหารจัดการขยะมูล ฝอยชุมชน “จังหวัด สะอาด” ประจ�ำปีงบประมาณ 2560
คื อ การท� ำ นา และพื้ น ที่ บ างส่ ว น ปลูกพืชไร่และพืชสวนเป็นอาชีพรอง มีแหล่งน�้ำธรรมชาติที่เป็นหัวใจของ ต�ำบล คือ ล�ำน�ำ้ ยัง ผลงานเด่น เทศบาลต�ำบลโนนชัยศรี อ�ำเภอ โพนทอง จั ง หวั ด ร้ อ ยเอ็ ด ได้ มี ก าร ขับเคลื่อนนโยบายการบริหารจัดการ ขยะตามนโยบาย “จังหวัดสะอาด” ของ กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น
สินค้าทีน่ า่ สนใจ ผลิตภัณฑ์จากเสื่อกก เสื่อกก เป็นของใช้ ภายในเรือน ที่คนทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ นิ ย มมี ไ ว้ ใ ช้ ใ นบ้ า น เนื่ อ งจากมี ร าคาถู ก และ สามารถใช้ประโยชน์ได้หลายอย่าง คือ ใช้ปูบ้าน ส� ำ หรั บ ต้ อ นรั บ แขก ปู นั่ ง เล่ น ตามสนามหญ้ า ทั่ ว ไป ส� ำ หรั บ ไปปิ ก นิ ก หรื อ ท� ำ เป็ น ของฝาก และสามารถแปรรูปเป็นเครือ่ งใช้ตา่ ง ๆ ได้ เช่น ท�ำทีร่ องจาน รองช้อน รองแก้วน�ำ้ เสือ่ พับ กระเป๋า และเครือ่ งใช้อนื่ ๆ ในบ้าน เป็นต้น
WORK LIF E
บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนตำ�บล
องค์การบริหารส่วนตำ�บลศรีสว่าง
ไปแล้วเช่นเดียวกันกับกลุ่มคนไทยอื่นๆ แต่แตกต่างกันในขัน้ ตอนพิธกี รรม ปัจจุบนั งานแซนโฎนตามี ก ารปฏิ บั ติ กั น ทั้ ง ใน ครอบครัว จะท�ำพิธใี นวันแรม 14 ค�ำ่ เดือน 10 ของทุกปี เชือ่ ว่าวิญญาณของบรรพบุรษุ จะกลับมาเยีย่ มลูกหลาน หรือญาติพนี่ อ้ งที่ ยังมีชวี ติ อยู่ สมาชิกในครอบครัวทีอ่ าศัยอยู่ นายประชัน ทองแก้ว ที่อื่นหรือที่แยกครอบครัวจะกลับมาเยี่ยม ปลัดองค์การบริหารส่วนต�ำบล ปฏิบัติหน้าที่ บ้าน ลูกสาวหรือลูกสะใภ้จะต้องเตรียม นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลศรีสว่าง ของฝาก “กันจือเบ็น” (กระเฌอส�ำหรับจัดเตรียมเครื่อง เซ่นไหว้) เป็นเสื้อผ้าเครื่องใช้มาส่งครอบครัวใหญ่ และ ข้อมูลทั่วไป จะช่วยกันจัดเตรียมเครื่องเซ่นไหว้ เช่น อาหาร เครื่องดื่ม องค์การบริหารส่วนต�ำบลศรีสว่าง ตั้งอยู่บ้าน ขนม ผลไม้ เสื้ อ ผ้ า เครื่ อ งใช้ เพื่ อ ใช้ ใ นการเซ่ น ไหว้ บ่อแก้ว หมูท่ ี่ 11 ต�ำบลศรีสว่าง อ�ำเภอโพนทราย บรรพบุรุษของครอบครัว จังหวัดร้อยเอ็ด มีเนื้อที่ 100.39 ตารางกิโลเมตร แข่งขันเรือยาว ประเพณี “แซนโฎนตา” หรือ 62,743.75 ไร่ จะถือเอาวันวันแรม 15 ค�่ำ เดือน 10 ของทุกปี ลักษณะภูมิประเทศต�ำบลศรีสว่าง อยู่ทาง ถัดจากวัน แซนโฎนตา หรือหลังจากประชาชนต�ำบล ทิศใต้ของจังหวัดร้อยเอ็ดจะเป็นที่ราบทุ่งนาโล่ง ศรีสว่างซึ่งมีเชื้อสายเขมรจัดประเพณี “แซนโฎนตา” หรือ ซึ่ ง เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของทุ ่ ง กุ ล าร้ อ งไห้ ประชากร วันบูชาบรรพบุรุษแล้ว ในวันรุ่งเช้าเป็นพิธีขอพรบูชาที่ ส่วนใหญ่นิยมเลี้ยงสัตว์เพื่อท�ำงานในนาข้าว เช่น ศาลเจ้าปู่พิพฤติเทวราช ถวายภัตราหารเช้าแด่พระสงฆ์ โค กระบือ พืน้ ทีส่ ว่ นใหญ่เป็นทีร่ าบ สภาพดินเป็น ดินร่วนปนทราย และดินเหนียวปนทราย ได้แก่ ล�ำน�้ำเสียว กุดจงอาง หนองคู หนองใหญ่และ หนองน�้ำธรรมชาติอยู่ทั่วทั้งต�ำบล
เพื่ออุทิศส่วนกุศลให้บรรพบุรุษผู้ล่วงลับ และความเป็นสิริมงคลแก่ตนเองและญาติ พี่น้อง และในตอนสายจะร่วมกันละเล่น แข่งขันพายเรือซึง่ เป็นประเพณีซงึ่ ถือปฏิบตั ิ กันมานาน เนือ่ งจากชุมชนนัน้ ตัง้ อยูต่ ดิ กับ ล�ำน�้ำเสียว จนกลายเป็นประเพณีแข่งขัน เรือยาวประเพณี “แซนโฎนตา” ในปัจจุบนั
ศิลปวัฒนธรรม ประเพณีแซนโฎนตา (สารทชาวไทยเชือ้ สาย เขมร) ประชาชนเชื้ อ สายเขมรในต� ำ บลศรี ส ว่ า ง มีประเพณีงานบุญเดือน 10 หรืองานสารท เพื่อ ท�ำบุญบูชา ร�ำลึก และอุทศิ อาหาร ข้าวของเครือ่ งใช้ แก่บรรพบุรุษ ปู่ย่า ตายาย หรือบุพการีผู้ล่วงลับ ROI ET I SBL บันทึกประเทศไทย
127
WORK LIFE
บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนตำ�บล
องค์การบริหารส่วนตำ�บลยางคำ�
นายสุพจน์ สิงหลสาย นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลยางค�ำ
128
SBL บันทึกประเทศไทย I ร้อยเอ็ด
องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บลยางค� ำ ประกอบด้วยเขตการปกครอง 6 ต�ำบล ประกอบด้ ว ย ต� ำ บลยางค� ำ อ� ำ เภอ โพนทราย จังหวัดร้อยเอ็ด โดยต�ำบล ยางค�ำ มีจ�ำนวน 10 หมู่บ้าน ต�ำบล โพนทราย จ�ำนวน 3 หมู่บ้าน ซึ่งเป็น พื้นที่นอกเขตเทศบาลต�ำบลโพนทราย เดิมต�ำบลโพนทราย 3 หมู่บ้านดังกล่าว
เรียกชื่อว่า องค์การบริหารส่วนต�ำบล โพนทราย มีการยุบรวมเข้ากับองค์การ บริ ห ารส่ ว นต� ำ บลยางค� ำ ตามประกาศ กระทรวงมหาดไทย เมือ่ วันที่ 6 กันยายน 2547 องค์การบริหารส่วนต�ำบลยางค�ำ มี ลั ก ษณะภู มิ ป ระเทศเป็ น ที่ ร าบลุ ่ ม ฝั ่ ง แม่น�้ำมูลซึ่งอยู่ทางทิศใต้ และฝั่งล�ำน�้ำ เสี ยวทางด้ า นทิ ศ ตะวั น ออก หนองน�้ ำ
คลอง บึง คิดเป็นร้อยละ 40 ส่วนพื้นที่ที่เป็น ที่ราบสูงคิดเป็นร้อยละ 60 ส่วนมากเป็นดินร่วน ปนทราย พื้นที่แห้งแล้งหลังฤดูเก็บเกี่ยว เขต บริการขององค์การบริหารส่วนต�ำบลยางค�ำ มี เนื้อที่ประมาณ 37 ตารางกิโลเมตร มีจ�ำนวน ครัวเรือน 1,213 ครัวเรือน จ�ำนวนประชากรรวม 5,307 คน ชาย 2,660 คน หญิง 2,647 คน ระบบเศรษฐกิจ ประชากรส่ ว นใหญ่ ป ระกอบอาชี พ ด้ า น การเกษตรกรรมเป็นหลัก โดยเฉพาะการท�ำนา ซึง่ มีผลผลิต 400 กิโลกรัมต่อไร่ และมีการปลูกพืช ผักสวนครัวเพือ่ ใช้บริโภคในครัวเรือน ในการท�ำนา ของประชากรในพื้นที่จะเป็นการอาศัยธรรมชาติ เป็นหลัก ส่วนการชลประทานมีเป็นส่วนน้อย นอกจากอาชีพหลักแล้วประชากรส่วนใหญ่ยงั ประกอบอาชีพเลี้ยงสัตว์ โดยปล่อยให้หาอาหาร กินตามธรรมชาติ แต่นับเป็นสัตว์เลี้ยงที่มีมูลค่า ทางเศรษฐกิจสูง ได้แก่ วัว กระบือ สุกร ส่วนสัตว์ เลี้ยงที่เลี้ยงเป็นปกติประจ�ำวัน โดยปล่อยให้หา อาหารกินเองตามธรรมชาติ แต่เป็นอาหารพื้น บ้านและใช้เป็นอาหารประจ�ำวัน โดยไม่ตอ้ งซือ้ หา ได้แก่ ไก่ เป็ด เป็นต้น ประชากรส่ ว นหนึ่ ง ประกอบอาชี พ การท� ำ หัตถกรรมพื้นบ้าน เช่น เย็บผ้า สานเสื่อจากต้น กก ทอผ้าไหม เป็นต้น ส่วนการค้าขายมีบ้าง โดย มากจะตัง้ เป็นกลุม่ ร้านค้าชุมชนและมีการตัง้ กลุม่ อาชีพ แต่ยงั ไม่มกี จิ กรรมด�ำเนินการของกลุม่ อย่าง ต่อเนื่องหน่วยธุรกิจ/รัฐวิสาหกิจในเขตองค์การ บริหารส่วนต�ำบลยางค�ำ
ROI ET I SBL บันทึกประเทศไทย
129
130
SBL บันทึกประเทศไทย I ร้อยเอ็ด
การท่องเที่ยว องค์การบริหารส่วนต�ำบลยางค�ำ มีแหล่ง โบราณสถานเก่าแก่คือ ปรางค์กู่ท้าวคันธนาม ตั้งอยู่ที่วัดกู่คันธนาม บ้านกู่คันธนาม หมู่ที่ 9 ต�ำบลยางค�ำ อ�ำเภอโพนทราย จังหวัดร้อยเอ็ด จากลักษณะทางสถาปัตยกรรมสันนิษฐานว่า เป็ น ศาสนสถานเนื่ อ งในพุ ท ธศาสนาลั ท ธิ มหายานที่ ส ร้ า งขึ้ น ตามรั บ สั่ ง ของ พระเจ้ า ชัยวรมันที่ 7 เพื่อใช้เป็นศาสนสถานประจ�ำ อโรคยศาลา มีโบราณวัตถุเก่าแก่อยู่ในยุคสมัย พุทธศตวรรษที่ 18 ซึ่งส�ำนักงานโบราณคดี และพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติที่ 8 อุบลราชธานี ได้ด�ำเนินการขุดแต่งเมื่อปีพุทธศักราช 2545 พบศิลปวัตถุ โบราณวัตถุ จ�ำนวน 7 รายการ
ROI ET I SBL บันทึกประเทศไทย
131
ศิลปวัฒนธรรมชุมชน ด้านศิลปวัฒนธรรม ดนตรี เพลงพื้นบ้าน ศิลปวัฒนธรรมที่ยังมีอยู่ ได้แก่ ธรรมาสน์ใหญ่ ใช้เป็นทีแ่ สดงธรรมอยูท่ ศี่ าลาการเปรียญวัดสวรรค์ คงคาบ้านยางค�ำ เป็นฝีมือของหลวงพ่อพระครู วิจักษ์โคจรคุณ เจ้าอาวาสวัดบ้านโนน ต�ำบล ขามป้อม อ�ำเภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม ได้พาทายกทายิกาชาวบ้านโนน น�ำมาทอด ถวายไว้ที่วัดสวรรค์คงคาบ้านยางค�ำ เมื่อวันที่ 18 เมษายน พ.ศ. 2514 จนถึงบัดนี้เป็นเวลา 32 ปี แต่ยังมีสภาพแข็งแรงและสวยงามอยู่ เหมื อ นเดิ ม นอกจากนี้ ยั ง มี พ ระพุ ท ธรู ป ไม้ ประมาณ 4 องค์ กลองยาวจ�ำนวน 12 ลูก ระฆัง ใหญ่เท่าๆ กัน 3 ลูก ที่ยังคงมีอยู่ในวัดสวรรค์ คงคาบ้านยางค�ำจนทุกวันนี้ ส่วนด้านดนตรีที่มี อยู่ในหมู่บ้านต่างๆ มีทั้งคณะกลองยาว คณะ ดนตรีหมอล�ำซิ่ง หมอแคนคณะต่างๆ ที่ยังคง สืบสานการละเล่นดนตรีเหล่านี้อยู่
132
SBL บันทึกประเทศไทย I ร้อยเอ็ด
องค์การบริหารส่วนต�ำบลยางค�ำ ตั้งอยู่ ในพื้นที่ชนบทห่างไกลจากตัวจังหวัดแต่การ คมนาคมสะดวก มีแหล่งโบราณวัตถุแต่ยงั ไม่ได้ รับการพัฒนาเป็นแหล่งท่องเทีย่ วเท่าทีค่ วร หาก มีการพัฒนาให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวแล้ว คาดว่า จะเป็ น สถานที่ ที่ ค วรค่ า แก่ ก ารเป็ น แหล่ ง ท่องเทีย่ วเพือ่ ศึกษาทางประวัตศิ าสตร์ นอกจาก นี้ยังมีพื้นที่ที่เป็นป่าดงดิบแต่ยังไม่ได้รับการ อนุรักษ์และฟื้นฟู หากมีการฟื้นฟูให้คงสภาพ ดังเดิมแล้ว จะต้องเป็นแหล่งอาหารธรรมชาติ ที่อุดมสมบูรณ์อย่างมากแน่นอน
ROI ET I SBL บันทึกประเทศไทย
133
WO R K L I F E
บันทึกเส้นทางพบเทศบาลตำ�บล
เทศบาลตำ�บลโพนสูง
นายสฤษดิ์ พลหนองหลวง นายกเทศมนตรีตำ�บลโพนสูง
ประวัติ เทศบาลต�ำบลโพนสูง ได้รับการยกฐานะจาก องค์การบริหารส่วนต�ำบล เป็นเทศบาลต�ำบลโพนสูง เมื่อวันที่ 24 เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2555 ตั้งอยู่ ทิศตะวันออกของอ�ำเภอปทุมรัตต์ ห่างจากอ�ำเภอ ประมาณ 14 กิโลเมตร ห่างจากจังหวัดร้อยเอ็ด ประมาณ 57 กิโลเมตร มีเนือ้ ทีป่ ระมาณ 19,740 ไร่ หรือประมาณ 30.42 ตารางกิโลเมตร เป็นพืน้ ที่ การเกษตรประมาณ 17,661 ไร่ เป็นที่อยู่อาศัย ประมาณ 879 ไร่ พืน้ ทีส่ าธารณะประมาณ 480 ไร่ พืน้ ทีโ่ ดยทัว่ ไปเป็นทีร่ าบริมฝัง่ ล�ำน�ำ้ เสียวใหญ่ รูป แอ่งกระทะ ซึ่งอยู่ทางตอนเหนือของต�ำบล ในฤดู แล้งน�้ำน้อยมาก บางช่วงน�้ำแห้งขอด แต่ในฤดูฝน น�้ำจะท่วมถึงฝั่งทุกปี ต�ำบลโพนสูงมีหมู่บ้านในเขตการปกครอง จ�ำนวน 9 หมูบ่ า้ น คือ บ้านโพนสูงหมูท่ ี่ 1 บ้านสาม ขาหมู่ที่ 2 บ้านท่าม่วงหมู่ที่ 3 บ้านจานใต้หมู่ที่ 4
134
SBL บันทึกประเทศไทย I ร้อยเอ็ด
“ถิ่นล�ำเสียวใหญ่ ตุ๊กตาไหมส่งนอก งดงามดอกไม้ประดิษฐ์ แหล่งผลิตน�้ำผึ้งห้าดาว ข้าวมะลิหอมไกล กลุ่มเย็บผ้าสร้างรายได้ โลกลือไกลศูนย์ไอซีที ” ที่ตั้ง หมู่ที่ 1 ต�ำบลโพนสูง อ�ำเภอปทุมรัตต์ จังหวัดร้อยเอ็ด
บ้านโคกก่องหมู่ที่ 5 บ้านโพธิ์น้อยหมู่ที่ 6 บ้าน โพธิ์ศรีสวัสดิ์หมู่ท่ี 7 บ้านข่าน้อยหมู่ที่ 8 และ บ้านจานใต้หมูท่ ี่ 9 มีประชากร จ�ำนวน 5,060 คน 1,023 ครัวเรือน ประกอบอาชีพเกษตรกรท�ำนาข้าว มีชื่อเสียงจากการปลูกข้าวหอมมะลิ ซึ่งมีพื้นที่ ติดต่อกับเขตทุ่งกุลาร้องไห้ วัฒนธรรม ประเพณี ประเพณีบญ ุ ทอดเทียนโฮม ณ วัดโพธิการาม ฮีตสิบสอง คองสิบสี่ บุญประเพณีทอดเทียนโฮม เทศบาลต� ำ บลโพนสู ง น� ำ โดยนายสฤษดิ์ พลหนองหลวง นายกเทศมนตรีต�ำบลโพนสูง พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร สมาชิกสภาเทศบาล พนักงาน เทศบาลต�ำบลโพนสูง ร่วมกิจกรรม ประเพณีบุญทอดเทียนโฮมเพื่อสืบสานประเพณี วัฒนธรรมท้องถิน่ ณ วัดโพธิการาม ต�ำบลโพนสูง อ�ำเภอปทุมรัตต์ จังหวัดร้อยเอ็ด
สภาพสังคม มีศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 4 แห่ง โรงเรียนประถม ศึกษา 4 แห่ง โรงเรียนมัธยมศึกษา 1 แห่ง โรงพยาบาลส่ ง เสริ ม สุ ข ภาพต� ำ บล 2 แห่ ง วัด 7 แห่ง และวัดโพธิการาม เป็นวัด 1 ใน 7 ของ ต�ำบลโพนสูง ซึง่ เป็นวัดทีม่ ชี อื่ เสียงด้านวัดของพระ นักพัฒนา โดยพระครูโพธิวีรคุณเจ้าคณะอ�ำเภอ ปทุมรัตต์ และเป็นที่ตั้งของ ศูนย์ดิจิตัลต�ำบลของ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภารกิจหลักของเทศบาลต�ำบลโพนสูง คือ การให้บริการสาธารณะทุกชุมชนให้ทวั่ ถึง ในด้านโครงสร้างพื้นฐาน ซึ่งจัดให้มีการสร้างเพิ่ม และบ�ำรุงรักษาให้สามารถใช้ประโยชน์ได้ตอ่ เนือ่ ง สวัสดิการในสิทธิประโยชน์ต่างๆ ตามนโยบาย แห่งรัฐแล้ว ยังมีกิจกรรมเด่นของเทศบาลต�ำบล โพนสูง อาทิ
โครงการกองทุนคัดแยกขยะคุ้มครองชีวิต เป็ น โครงการที่ ชุ ม ชนมี ส ่ ว นร่ ว มในการจั ด การ ขยะในชุมชนอย่างยั่งยืนและมีสวัสดิการร่วมกัน โดยมี จุ ด เด่ น คื อ ไม่ ต ้ อ งใช้ ง บประมาณสู ง ๆ ในการจัดการเกีย่ วกับขยะมูลฝอย (ไม่มรี ถขนขยะ ที่ใช้งบประมาณเป็นล้านๆ ไม่ต้องเพิ่มบุคลากร ซึ่งต้องใช้งบประมาณต่อเนื่องฯ) โครงการ อปพร.ช่ ว ยงานบุ ญ งานศพ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในงานศพ โดยทัว่ ไปเจ้าภาพจะ ไม่มเี วลาเตรียมตัวในการจัดงาน และอยูใ่ นสภาวะ ทีส่ ญ ู เสีย เศร้าโศก อปพร.ของเทศบาลต�ำบลโพนสูง ซึ่งเป็นนโยบายของนายกเทศมนตรี สั่งการให้ เข้าร่วมช่วยงานดังกล่าว โดยให้บริการตั้งแต่บ้าน เรือนเจ้าภาพ จนถึงฌาปนสถาน และ ก�ำกับดูแล การจอดรถ ให้ได้รับความสะดวกในการเข้าออก บริเวณงานฯ “ คุณธรรม น�ำปัญญา ร่วมพัฒนาท้องถิ่นเรา ” สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม โทรศัพท์/แฟกซ์ 043-671201 งานป้องกัน 043-671202 www.phonsung.com E-mail : ponsoong101@gmail.com Facebook : เทศบาลต�ำบลโพนสูง ROI ET I SBL บันทึกประเทศไทย
135
WORK LIFE
บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนตำ�บล
องค์การบริหารส่วนตำ�บลนานวล
นางบุญเพ็ง โวท นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลนานวล
แหล่งเครื่องปั้นดินเผา ผลิตภัณฑ์เตาคุณภาพ กราบกู่เก่าวัฒนธรรม น�ำแห่เทียนพรรษา พัฒนากลุ่มแม่บ้าน สืบสานวัฒนธรรม น้อมน�ำพุทธศาสน์ คณะผู้บริหาร ซ้ายสุด นายสุวัฒน์ สาระบุตร (เลขาฯนายก) นายส�ำรวย ก�ำใลทอง (รองนายก) นายกบุญเพ็ง โวท (นายก) นายเกียรติศักดิ์ พินพาทย์ (รองนายก)
องค์การบริหารส่วนต�ำบลนานวล โดยมีนางบุญเพ็ง โวท รัฐศาสตรมหาบัณฑิต และว่าที่ดร.รัฐประศาสนศาสตรดุษฎี บัณฑิต เป็นนายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลนานวล มีพื้นที่รับ ผิดชอบ 13 หมู่บ้าน พื้นที่ประมาณ 41.46 ตารางกิโลเมตร มีจ�ำนวนประชากรประมาณ 4,648 คน ห่างจากตัวจังหวัด ร้อยเอ็ดประมาณ 70 กิโลเมตร และห่างจากอ�ำเภอพนมไพร ประมาณ 4 กิโลเมตร
136
SBL บันทึกประเทศไทย I ร้อยเอ็ด
องค์การบริหารส่วนต�ำบลนานวล มีความ โดดเด่ น เป็ น อั ต ลั ก ษณ์ ข องตนเองคื อ วิ ถี ชี วิ ต ชุมชนคนนานวล ซึ่งประชากรส่วนใหญ่มีอาชีพ เกษตรกรรมและอาชีพเสริมคือ กลุ่มอาชีพที่มี ความหลากหลายไม่ว่าจะเป็น กลุ่มปั้นเตา ซึ่งมี ประมาณ 369 ครัวเรือน เป็นอาชีพที่สร้างงาน สร้างรายได้ให้กบั ชุมชนเป็นกอบเป็นก�ำ เนือ่ งจาก ผลิตภัณฑ์เตาซึ่งเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่น ได้รับการ ถ่ายทอดจากบรรพบุรุษของต�ำบลนานวลจากรุ่น สูร่ นุ่ อันเนือ่ งมาจากพืน้ ทีต่ ำ� บลนานวลมีแหล่งดิน ที่มีแร่เหล็ก เมื่อน�ำมาปั้นเตาแล้วมีความเหนียว และคงทนเป็นพิเศษ ปัจจุบันมีการประยุกต์เตา ให้เป็นเตาประหยัดพลังงานหลากหลายรูปแบบ และเตาเอนกประสงค์ ต ามความต้ อ งการของ ตลาด โดยมีการจ�ำหน่ายทั้งในและต่างประเทศ โดยเฉพาะประเทศเพื่อนบ้าน เช่น ลาว กัมพูชา เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีกลุ่มอาชีพที่มีความเข้มแข็ง สร้างชือ่ เสียงและรายได้ให้แก่ชมุ ชน เช่น กลุม่ ผ้าไหม มัดหมี่ หมู่ที่ 6, 7, 13 กลุ่มทอเสื่อกก จักสาน หมู่ 2, 9 กลุม่ ทอเสือ่ และกระเป๋า หมู่ 5,10 และกลุม่ เพาะเห็ด หมู่ 4, 11 นอกจากนั้นต�ำบลนานวล ยังเป็นหนึ่งใน 69 ต�ำบลของจังหวัดร้อยเอ็ดและ 1 ใน 3 ของอ�ำเภอพนมไพร ที่ได้รับการคัดเลือก ให้เป็นหมูบ่ า้ นท่องเทีย่ ว OTOP นวัตวิถหี มู่ 12 ที่ มีความหลากหลายด้านผลิตภัณฑ์ชมุ ชนซึง่ มีความ โดดเด่นเป็นเสน่ห์ (ตาออนซอน) ของผู้มาเยือน กลุ่มสานกระติ๊บข้าว
ทอเสื่อกก
ปั้นเตา
ผ้าไหม
เพาะเห็ด ROI ET I SBL บันทึกประเทศไทย
137
หนองนาม่ อ งเป็ น หนองน�้ ำ ขนาดใหญ่ มี ค วามอุ ด มสมบรู ณ ์ เ ชิ ง นิ เ วศ จะพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ในอนาคต
การคมนาคมสะดวกทุกเส้นทาง
138
SBL บันทึกประเทศไทย I ร้อยเอ็ด
นอกจากผลิตภัณฑ์ทมี่ หี ลากหลายในต�ำบล นานวลแล้วเรายังมีกู่เก่าแก่อายุนับพันปีที่เป็น โบราณสถานที่พี่น้องในชุมชนให้ความเคารพ บูชา 2 แห่ง คือ 1.กู่บ้านค�ำพระ ตัง้ อยูว่ ดั กูค่ ำ� พระ หมู่ 2 เป็นกูท่ ขี่ นึ้ ทะเบียน เป็นโบราณสถานเมื่อปี 2516 เป็นรูปปรางกู่ ก่อด้วยอิฐคือปูนยอดเหลี่ยมฐานกว้าง 9 ศอก 10 นิ้ว ยาว 3 วา สูง 3 วา 10 นิ้ว ชาวบ้านจะ มีการเคารพบูชาสรงกู่ในวันขึ้น 15 ค�่ำ เดือน 6 ของทุกปี 2.กู่โนนม่วง ตั้งอยู่บ้านโนนม่วง หมู่3 ลักษณะก่อด้วย อิฐถือปูนอยู่ในแผนผังรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสธาตุมี ฐานบัวรองรับ มีการประดับปูนปั้นรูปกลีบบัว บริเวณย่อมุมส่วนของเรือนธาตุทกุ มุม ชาวบ้าน จะมีการเคารพบูชา สรงกูโ่ นนม่วงในวันขึน้ 8 ค�ำ่ เดือน 6 ของทุกปี องค์การบริหารส่วนต�ำบลนานวล นอกจาก ให้ความส�ำคัญสนับสนุน กลุ่มอาชีพต่างๆจนมี ความเข้มแข็งตาม ค�ำกล่าวที่ว่า “ชุมชนน่าอยู่ มุ่งสู่ความก้าวหน้า พัฒนาแบบยั่งยืน” ยังให้ ความส�ำคัญกับผู้สูงอายุในเขตองค์การบริหาร ส่ ว นต� ำ บลนานวล ได้ จั ด ตั้ ง โรงเรี ย นพั ฒนา คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขึ้น เพื่อพัฒนาคุณภาพ ชี วิ ต ให้ ผู ้ สู ง อายุ ไ ด้ แ ลกเปลี่ ย นเรี ย นรู ้ ซึ่ ง กั น และกัน โดยปัจจุบันมีนักเรียนทั้งหมด 230 คน โดยท�ำการเรียนการสอนทุกวันพฤหัสบดี
นอกจากที่ ไ ด้ ก ล่ า วมาข้ า งต้ น เรายั ง มี ประเพณี ที่สืบทอดกันมาแต่โบราณ คืองาน ประเพณีแห่เทียนพรรษาประจ�ำทุกปี โดยมีการ อนุรักษ์แกะลายต้นเทียนแบบโบราณ ซึ่งเป็น เอกลักษณ์เด่นของชุมชนคนนานวล
พวกเราชุมชนคนนานวล จึงขอเรียนเชิญ ทุ ก ท่ า นมาเยี่ ย มชมผลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ละสั ม ผั ส วิ ถี ชีวิตชุมชนคนนานวลแล้วท่านจะประทับใจไม่มี วันลืม ท่านสามารถติดต่อข้อมูลและสอบถามได้ที่ www.nanual.go.th หมายเลขโทรศัพท์/แฟกซ์ 043-590362 E-mail : nanual129@gmail.com
ROI ET I SBL บันทึกประเทศไทย
139
WORK LIFE
บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนตำ�บล
องค์การบริหารส่วนตำ�บลเทอดไทย
วิสัยทัศน์
นายสมพร ผันอากาศ นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลเทอดไทย ข้อมูลทั่วไป ที่ตั้ง องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บลเทอดไทยเป็ น เขตการปกครองของอ�ำเภอทุ่งเขาหลวงจังหวัด ร้อยเอ็ด ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของอ�ำเภอทุ่งเขาหลวง ประมาณ 2 กิโลเมตร ห่างจากจังหวัดร้อยเอ็ด ประมาณ 32 กิโลเมตร พื้นที่ องค์การบริหารส่วนต�ำบลเทอดไทย มีพื้นที่ โดยประมาณ 23 ตารางกิโลเมตรหรือประมาณ 14,360 ไร่ เขตการปกครอง องค์การบริหารส่วนต�ำบลเทอดไทย มีจำ� นวน 10 หมู่บ้าน ได้แก่ บ้านเทอดไทย บ้านตลาดใหญ่ บ้านปอหู บ้านยางด่อ บ้านขมิ้น บ้านยางใต้ บ้านยางโทน บ้านหนาด บ้านอีโก่ม บ้านเปลือยน้อย
140
SBL บันทึกประเทศไทย I ร้อยเอ็ด
“พัฒนาท้องถิ่นให้ก้าวไกล เน้นความโปร่งใส และการมีส่วนร่วมของประชาชน”
สถานที่ท่องเที่ยว วัดป่าโนนสวรรค์ ตั้งอยู่ที่บ้านยางด่อ ต�ำบล เทอดไทย อ�ำเภอทุ่งเขาหลวง จังหวัดร้อยเอ็ด วัดป่าโนนสวรรค์ เป็นวัดขนาดใหญ่ทสี่ ร้างจากนิมติ ฝันของหลวงพ่อเจ้าอาวาส พระครูจนั ทสุวรรณคุณ หรือ หลวงปู่ค�ำปั่นจันทฺโชโต วัดป่าโนนสวรรค์ มีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า วัดหม้อดิน หรือชื่อภาษา อังกฤษว่า THE CLAY POTS TEMPLE ทั้งนี้ เนือ่ งจากทางวัดแห่งนีไ้ ด้ใช้หม้อดินทีช่ าวบ้านบริเวณ บ้านยางต่อปั้นเป็นอาชีพ น�ำมาประดับตกแต่ง แทบทุ ก ส่ ว นของวั ด จึ ง มี ค วามสวยงามแปลก ประหลาดยิ่งนัก ถึงแม้จะมีหม้อดินและรูปปั้นที่ แปลกตาพิสดาร แต่ก็เป็นการตกแต่งที่แฝงไป ด้วยหลักธรรมต่างๆในส่วนของทางเข้าจะเป็น ปากหนุมาน เจดียป์ ระธานมีหลายชัน้ แต่ละชัน้ จะ มีจติ รกรรมฝาผนังเกีย่ วกับพุทธประวัติ ซุม้ ประตูวดั มีเต่ายักษ์ 2 ตัว มีความแปลกตาเป็นอย่างมาก รู ป แบบศิ ล ปะดู ค ล้ า ยกั บ ศิ ล ปะทางขอมและ อินเดีย แต่กไ็ ม่สามารถบ่งบอกถึงทีม่ าของศิลปะได้ หม้อดินทีน่ ำ� มาใช้ตกแต่งจ�ำนวนมากมายมหาศาล สามารถกลมกลืนเข้ากับส่วนต่าง ๆ ของวัดแห่งนี้ ได้อย่างเหมาะสมอลังการ จึงเป็นวัดอีกแห่งหนึ่ง ในจังหวัดร้อยเอ็ดที่น่าไปเที่ยวชม
สิมวัดศรีฐาน บ้านหนาด วัดศรีฐาน ตั้งอยู่ที่ ต�ำบลเทอดไทย อ�ำเภอทุง่ เขาหลวง จังหวัดร้อยเอ็ด เอกสารกล่าวว่าสร้างในปี พ.ศ.2369 ภายใน วัดศรีฐานมีโบราณสถานส�ำคัญ คือ สิมที่สร้าง ระหว่ า งปี พ.ศ.2369-2398 สิ ม มี ลั ก ษณะ สถาปัตยกรรมเป็นทรงพื้นถิ่นอีสาน ตั้งบนฐาน เอวขั น สร้ า งก่ อ อิ ฐ ถื อ ปู น หั น หน้ า ไปทางทิ ศ ตะวันออกในผังสี่เหลี่ยมผืน ผ้าเป็นสิมขนาด 3 ห้ อ งมี ก� ำ แพงแก้ ว ล้ อ มรอบ ตรงกลางผนั ง ด้านทิศตะวันออกเป็นประตูทางเข้าไม่มีมุขโถง ด้านหน้า โครงสร้างอาคารใช้เสาและผนังรับ โครงสร้างหลังคาจัว่ ทีซ่ อ้ นกัน 3 ชัน้ มุงแป้นเกล็ด ซึ่ ง ได้ รั บ อิ ท ธิ พ ลจากสถาปั ต ยกรรมแบบพม่ า ตกแต่งจั่วหลังคาด้วยโหง่ ใบระกาแบบนาคสะดุ้ง และหางหงส์แบบกนกหัวม้วน หน้าบันตีไม้ลาย แสงตาเวน(ตะวั น ) รวงผึ้ ง เป็ น ลายกนกเครื อ
ในส่ ว นปลายโค้ ง แหลมของรวงผึ้ ง ด้ า นใต้ แกะเป็นรูปพระอินทร์ทรงช้างเอราวัณ ด้านเหนือ แกะเป็นครุฑยุดนาค มีรปู นิทานพืน้ บ้านแทรก เช่น หงส์หามเตา หรือหัวล้านชนกัน ประตูแกะเป็น ลายเครือเถาพื้นถิ่นอีสาน ด้านล่างประตูบาน หนึ่งแกะรูปบุคคลแผลงศร อีกบานหนึ่งแกะรูป ยักษ์ถือตรีศูล คันทวยเป็นไม้แกะสลักรูปนาค บางชิ้นแต่งเป็นรูปบุคคลเล็กๆเหนือนาค บริเวณ บันไดทางขึน้ ประดับไม้แกะสลักทีย่ า้ ยมาจากด้าน หน้าศาลาหอแจก (ศาลาการเปรียญ) หลังเก่า เป็นรูปพระเวสสันดรแบกชาลี และนางมัทรีอุ้ม กัณหา เดิมรอบสิมด้านนอกมีใบเสมาปักอยูท่ มี่ มุ สิม เรียงซ้อนกัน 3 ใบ (ปัจจุบันเหลือ 2 ใบ) และ เหลือเพียงด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือและทิศ ตะวันออกเฉียงใต้เท่านั้น
ROI ET I SBL บันทึกประเทศไทย
141
HI S TO R Y O F BU D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดป่าเมตตาธรรม ประวัติ
พระครูวิมลสังวรคุณ เจ้าอาวาสวัดป่าเมตตาธรรม
142
SBL บันทึกประเทศไทย I ร้อยเอ็ด
วั ด ป่ า เมตตาธรรม ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 103 บ้านหนองอึ่ง หมู่ที่ 4 ต�ำบลเชียงใหม่ อ�ำเภอ โพธิ์ชัย จังหวัดร้อยเอ็ด สถานภาพวัดเป็น วัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย กระทรวง ศึกษาธิการประกาศตั้งวัดเมื่อ พ.ศ. 2400 คนส่ ว นมากจะเรี ย กว่ า “วั ด ป่ า หนองอึ่ ง ” แต่ก่อนเคยเป็นวัดร้างประมาณ 65 ปี ได้รับ พระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อปี พ.ศ.2531 เป็นวัดพัฒนาตัวอย่าง พ.ศ.2541 เป็นวัด พัฒนาตัวอย่างดีเด่นที่มีผลงาน พ.ศ.2543 ปัจจุบนั วัดป่าเมตตาธรรม เป็นศูนย์ศกึ ษา พระพุทธศาสนาวันอาทิตย์, ศูนย์สงเคราะห์ ผูอ้ ยากเลิกอบายมุข, ส�ำนักปฏิบตั ธิ รรมแห่งที่ 8
ค�ำขวัญประจ�ำวัด
ล�ำดับเจ้าอาวาส ยุคที่ 2
พระอธิการจันทร์ กตปุญโญ 1 มี.ค. 2525–1 ม.ค. 2528 พระอ่อนสา วรโภ 1 ก.พ. 2528–1 พ.ย. 2528 (รักษาการ) พระอธิการสอน โสนชโย 1 ธ.ค. 2528–12 ส.ค. 2529 ส.ณ.แดง ใจภักดี 13 ส.ค. 2529–16 ก.ย. 2530 (รักษาการ) ส.ณ.สุรชัย เพชรโต 17 ก.ย. 2530–15 ส.ค. 2531 (รักษาการ) พระครูสุกิจมงคล 9 ม.ค. 2532–16 ม.ค. 2534 (รักษาการ) พระครูวิมลสังวรคุณ 19 ม.ค. 2534 ถึงปัจจุบัน
วัตถุมงคล-เครื่องรางดี พระเจดีย์ศรีเมตตา พระพุทธเมตตาประทานพร ลือขจรสมุนไพร ตั้งศูนย์ ไว้ช่วยปวงชนเป็นคนดีฯ
ROI ET I SBL บันทึกประเทศไทย
143
HI S TO R Y O F BU D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดสระประทุม ประวัติความเป็นมา
พระครูประทุมสราภิรักษ์ เจ้าอาวาสวัดสระประทุม
144
SBL บันทึกประเทศไทย I ร้อยเอ็ด
วั ด สระประทุ ม ตั้ ง อยู ่ ที่ บ ้ า นหนองบั ว หมู่ที่ 7 ต�ำบลอัดคะค�ำ อ�ำเภอโพธิ์ชัย จังหวัด ร้อยเอ็ด สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ทีด่ นิ ตัง้ วัด มีเนื้อที่ 4 ไร่ ส.ค.1 เลขที่ 218 อาณาเขต ทิศเหนือประมาณ 2 เส้น จดหมู่บ้าน ทิศใต้ ประมาณ 2 เส้ น จดหมู ่ บ ้ า น ทิ ศ ตะวั น ออกประมาณ 2 เส้น จดถนนทิศตะวันตก ประมาณ 2 เส้น จดหมู่บ้าน อาคารเสนาสนะ ประกอบด้วยศาลาการเปรียญ กว้าง 18 เมตร ยาว 20 เมตร หอสวดมนต์ กว้าง 12 เมตร ยาว 24 เมตร กุ ฏิ ส งฆ์ จ� ำ นวน 1 หลั ง เป็นอาคารไม้ และวิหาร 1 หลัง กว้าง 12 เมตร
ยาว 14 เมตร ปูชนียวัตถุมีพระพุทธรูปใหญ่ 2 องค์ และวิหาร 1 หลัง กว้าง 12 เมตร ยาว 14 เมตร กุฏิสงฆ์ ปูชนียวัตถุมีพระพุทธ รูปใหญ่ 2 องค์และพระพุทธรูปขนาดเล็กอีก 20 องค์ วัดสระประทุมตัง้ เมือ่ พ.ศ. 2473 ชาวบ้าน เรียกว่า วัดหนองบัว เนื่องจากบริเวณตั้งวัด มี ห นองน�้ ำ ภายในมี บั ว ออกดอกใหญ่ เมือ่ ชาวบ้านตัง้ หมูบ่ า้ นอยูแ่ ถบนีไ้ ด้ชอื่ หมูบ่ า้ น ว่า บ้านหนองบัวและตั้งวัดใกล้กับหนองน�้ำ ก็ เ รี ย กชื่ อ วั ด ว่ า วั ด หนองบั ว จนปั จ จุ บั น การบริ ห ารและการปกครองมี เ จ้ า อาวาส เท่าที่ทราบนาม คือ รูปที่ 1 พระอธิการด�ำ
รูปที่ 2 พระอธิการดาว รูปที่ 3 พระอธิการบาง รูปที่ 4 พระอธิการค�ำ รูปที่ 5 พระอธิการค�ำยา รูปที่ 6 พระอธิการจันทร์ รูปที่ 7 พระอธิการปิน่ รูปที่ 8 พระอธิการชาลี รูปที่ 9 พระอธิการค�ำโพธิ์ รูปที่ 10 พระอธิ ก ารบุ ญ รู ป ที่ 11 พระครู ประทุมสราภิรักษ์ รูปปัจจุบัน ขอเชิญชวนพุทธศาสนิกชน ร่วมท�ำบุญ และกราบสักการะบูชาพระพุทธสัตตนาคา พระพุทธรูปปางนาคปรก องค์ใหญทีส่ ดุ ในโลก สอบถามเพิ่มเติมได้ที่ 093-5498981 พระครูประทุมสราภิรักษ์ (เจ้าอาวาส)
ROI ET I SBL บันทึกประเทศไทย
145
HI S TO R Y O F BU D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดบ้านเหล่างิ้ว ประวัติความเป็นมา
พระครูปลัดธนากร ฉายา ญาณกาโร เจ้าอาวาสวัดบ้านเหล่างิ้ว, เจ้าคณะต�ำบลจังหาร เขต 2, เลขานุการเจ้าคณะอ�ำเภอจังหาร
146
SBL บันทึกประเทศไทย I ร้อยเอ็ด
(บ้านเกิดหลวงปู่สมชาย ฐิตวิริโย) วัดบ้านเหล่างิ้ว ตั้งอยู่เลขที่ 108 หมู่ 1 บ้านเหล่างิ้ว ถนนวิสุทธิญาณ ต�ำบลจังหาร อ�ำเภอจังหาร จังหวัดร้อยเอ็ด สังกัดคณะสงฆ์ มหานิกาย ที่ดินตั้งวัดมีเนื้อที่ 5 ไร่ 2 งาน 54 ตารางวา โฉนดที่ดิน เลขที่ 6687 วัดบ้านเหล่างิ้ว ได้ก่อตั้งวัดขึ้นมา เมื่อปี พ.ศ.2319 นามเดิมว่า วัดตาลทุ่งศรีสะอาด เพราะที่ตั้งวัดมีแต่ต้นตาลอยู่เป็นจ�ำนวนมาก มีผบู้ ริจาคทีด่ นิ ให้สร้างวัดคือ พ่อใหญ่จารย์ครูบวั ภูผาด�ำ และชาวบ้านผู้มีจิตศรัทธาร่วมกัน สร้างวัดขึน้ มา โดยปัจจุบนั นามวัดทางราชการ คือวัดบ้านเหล่างิว้ ได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา
เมื่อวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2513 เขตวิสุงคาม สีมา กว้าง 20 เมตร ยาว 40 เมตร พระครูปลัดธนากร ญาณกาโร ด�ำรงต�ำแหน่ง เจ้าอาวาสวัดบ้านเหล่างิว้ , เจ้าคณะต�ำบลจังหาร เขต 2, เลขานุการเจ้าคณะอ�ำเภอจังหาร
ประวัติเจ้าอาวาส
พระครู ป ลั ด ธนากร ฉายา ญาณกาโร นามสกุล โรจวีรกร ชือ่ (เดิม) ธนากร นามสกุล โรจวีรกร อายุ 40 ปี พรรษา 12 วิทยฐานะ ทางธรรม น.ธ.เอก ทางโลก ปริญญาตรี คบ., (การบริหารการศึกษา),ปริญญาโท ศน.ม., (รัฐศาสตร์การปกครอง) สังกัดวัดบ้านเหล่างิว้ 108 หมู่ที่ 1 ต�ำบลจังหาร อ�ำเภอจังหาร จั ง หวั ด ร้ อ ยเอ็ ด 45000 โทรศั พ ท์ 0810601189
หน้ า ที่ ก ารงานที่ รั บ ผิ ด ชอบใน ปัจจุบัน
พ.ศ. 2554 ได้รับแต่งตั้งเป็นครูสอนพระ ศีลธรรมในโรงเรียน พ.ศ. 2555 ได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาส วัดบ้านเหล่างิ้ว ต�ำบลจังหาร อ�ำเภอจังหาร จังหวัดร้อยเอ็ด พ.ศ. 2555 ได้รบั แต่งตัง้ เป็นผูอ้ ำ� นวยการ ศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์วัดบ้าน เหล่างิ้ว พ.ศ. 2555 ได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าส�ำนัก ศาสนศึกษาวัดบ้านเหล่างิ้ว อ�ำเภอจังหาร จังหวัดร้อยเอ็ด พ.ศ. 2558 ได้รับแต่งตั้งเป็นเลขานุการ รองเจ้าคณะอ�ำเภอจังหาร พ.ศ. 2559 ได้ รั บ แต่ ง ตั้ ง เป็ น กองงาน เลขานุการเจ้าคณะจังหวัดร้อยเอ็ด พ.ศ. 2559 ได้รบั แต่งตัง้ เป็นพระธรรมทูต จังหวัดร้อยเอ็ด สายที่ 5 พ.ศ. 2559 ได้รบั แต่งตัง้ เป็นครูสอนปริยตั ิ ธรรม แผนกธรรม พ.ศ. 2559 ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการ สนามหลวงแผนกธรรรม พ.ศ. 2560 ได้ รั บ แต่ ง ตั้ ง เป็ น เจ้ า คณะ ต�ำบลจังหาร เขต 2 พ.ศ. 2560 ได้รับแต่งตั้งเป็นเลขานุการ เจ้าคณะอ�ำเภอจังหาร พ.ศ. 2561 ได้รับแต่งตั้งเป็นวินยาธิการ จังหวัดร้อยเอ็ด พ.ศ. 2561 ได้รับการอบรมพระคิลานุ ปัฏฐาก ( พอสว. )
ROI ET I SBL บันทึกประเทศไทย
147
WO R K L I F E
บันทึกเส้นทางพบเทศบาลตำ�บล
เทศบาลตำ�บลโพธิ์ทอง
นายนิพนธ์ วิเชียรลม นายกเทศมนตรีตำ�บลโพธิ์ทอง
ข้อมูลทั่วไป ต�ำบลโพธิท์ อง แยกออกจากต�ำบลขอนแก่น จังหวัดร้อยเอ็ด ประมาณปี 2520 ปัจจุบันอยู่ ในเขตการปกครองของอ�ำเภอศรีสมเด็จ เป็น ที่ราบ ที่ตั้งต�ำบลโพธิ์ทองตั้งอยู่ทางทิศตะวัน ออกของอ� ำ เภอศรี ส มเด็ จ ห่ า งจากที่ ว ่ า การ อ�ำเภอศรีสมเด็จ ประมาณ 8 กิโลเมตร ห่างจาก จังหวัดร้อยเอ็ด ประมาณ 17 กิโลเมตร มีเนื้อที่ ประมาณ 11,156.25 ไร่ เฉลีย่ ประมาณ 17.85 ตารางกิโลเมตร
148
SBL บันทึกประเทศไทย I ร้อยเอ็ด
จำ�นวนหมู่บา้ น จ� ำ นวนหมู ่ บ ้ า นในเขตเทศบาลต� ำ บล โพธิ์ทอง 7 หมู่บ้าน ประกอบด้วย หมู่ที่ 1 บ้านศรีโพธิ์ทอง หมู่ที่ 2 บ้านเขวาน้อย หมู่ที่ 3 บ้านหนองไหล หมู่ที่ 4 บ้านเหล่าใหญ่ หมู่ที่ 5 บ้านเหล่ายาว หมู่ที่ 6 บ้านเหล่ากาชาด หมู่ที่ 7 บ้านหนองเจริญ
นางเข็มทิศ ศรีรับขวา ปลัดเทศบาลต�ำบลโพธิ์ทอง
งานประเพณีและกิจกรรมต่างๆ • งานประเพณีลอยกระทง • งานประเพณี ส รงพระธาตุ รั ต นมงคล (วัดบ้านหนองไหล) • พิธีปล่อยปลาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน • การจัดกิจกรรมปั่นจักรยานรณรงค์ต้านยาเสพติด • พิธีมอบบ้านแก้ผู้ยากไร้ • งานก่ อ สร้ า งโครงสร้ า งพื้ น ฐาน เงิ น อุ ด หนุ น เฉพาะกิจ • กิจกรรมขับเคลื่อนโรงเรียนผู้สูงอายุ • กิจกรรมขับเคลื่อนสภาเด็กและเยาวชน สินค้าที่น่าสนใจ ผ้ า ไหมมั ด หมี่ เป็ น ผ้ า ไหมที่ ท อด้ ว ยลายมั ด หมี่ หลายลาย หลายสี ลวดลายและสีสวยงามมาก สถานที่สำ�คัญ วัดบ้านหนองไหล ณ วั ด บ้ า นหนองไหล ต.โพธิ์ ท อง อ.ศรี ส มเด็ จ จ.ร้ อ ยเอ็ ด มี พ ระธาตุ รั ต นมงคล เป็ น ที่ ป ระดิ ษ ฐาน พระบรมสารีริกธาตุองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า และพระอรหันตธาตุ
ROI ET I SBL บันทึกประเทศไทย
149
WO R K L I F E
บันทึกเส้นทางพบเทศบาลตำ�บล
เทศบาลตำ�บลบ้านบาก
นายศราวุฒิ สวัสดิผล นายกเทศมนตรีตำ�บลบ้านบาก
ประวัติความเป็นมา ต� ำ บลบ้ า นบากเดิ ม การปกครองขึ้ น อยู ่ กั บ ต�ำบลศรีสมเด็จ ต่อมา ต�ำบลบ้านบาก อ�ำเภอ ศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด ได้มีการจัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2530 โดยแยกออกมาจากต�ำบลศรีสมเด็จ มีหมู่บ้านที่รับผิดชอบทั้งหมด 8 หมู่บ้าน อยู่ใน ทิศตะวันตกเฉียงใต้ของอ�ำเภอศรีสมเด็จ ห่างจาก ที่ท�ำการอ�ำเภอศรีสมเด็จ ประมาณ 3 กิโลเมตร มีพื้นที่ประมาณ 18.31 ตารางกิโลเมตร หรือ ประมาณ 11,443.75 ไร่ เป็ น พื้ น ที่ เ กษตร 11,000 ไร่ ลักษณะภูมิประเทศเป็นที่ดอนและ ที่ราบบางส่วนเป็นดินทราย เขตการปกครองและบริการ ต�ำบลบ้านบากแบ่งเขตการปกครองออกเป็น 8 หมู่บ้าน ดังนี้ หมู่ที่ 1 บ้านหนองผักตบ หมู่ที่ 2 บ้านโนนทัน
150
SBL บันทึกประเทศไทย I ร้อยเอ็ด
หมู่ที่ 3 บ้านโนนเลี่ยม หมูท่ ี่ 4 บ้านหนองคูยาง หมูท่ ี่ 5 บ้านโดนน้อย
หมู่ที่ 6 บ้านหนองแซง หมูท่ ี่ 7 บ้านบาก หมูท่ ี่ 8 บ้านบากหนองแดง
โครงการกิจกรรมของเทศบาล โครงการกิจกรรมรดน�ำ้ ด�ำหัวผูส้ งู อายุ ประจ�ำปี งบประมาณ พ.ศ. 2561 ประเพณี วัฒนธรรม โครงการประเพณีบุญบั้งไฟ เพื่อเป็นการสืบสานประเพณีวัฒนธรรมให้ ควบคูไ่ ปกับการด�ำรงชีวติ ของชาวบ้านบาก อีกทัง้ เป็ น ความเชื่ อ ของชาวบ้ า นบากในเรื่ อ งการ แห่ บั้ ง ไฟ เพื่ อ ขอฝนให้ ต กต้ อ งตามฤดู ก าลซึ่ ง ชาวบ้านบากได้มีการจัดงานประเพณีบุญบั้งไฟ เป็นประจ�ำทุกปี โดยมีวัตถุประสงค์ของโครงการ เพื่อเป็นการอนุรักษ์และสืบสานวัฒนธรรมและ ประเพณีของชาวบ้านบาก โครงการเข้าปริวาสกรรมวัดเวฬุวัน ศาสนาพุทธ เป็นศาสนาประจ�ำชาติไทย และ คนไทยส่วนใหญ่ต่างนับถือศาสนาพุทธ การเข้า ปริวาสกรรม เป็นกิจกรรมหนึง่ ทีส่ ำ� คัญในพระพุทธ ศาสนา โดยเฉพาะวัดเวฬุวันบ้านบาก หมู่ที่ 7 มีศูนย์ปริวาสกรรม และสถานที่ๆ เหมาะสม ในการจั ด กิ จ กรรมดั ง กล่ า ว โดยโครงการนี้ มี วัตถุประสงค์ เพื่อเป็นที่ให้พระภิกษุ สามเณร อุบาสก อุบาสิกา เยาวชน นักเรียน นักศึกษา ได้เข้าปฏิบัติธรรมร่วมกัน กลุ่มอาชีพ โครงการจัดท�ำปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนผู้ผลิตสินค้าการเกษตร บ้านบาก กลุม่ วิสาหกิจชุมชนผลิตสินค้าเกษตรบ้านบาก ได้ด�ำเนินการผลิตปุ๋ยชีวภาพขึ้นใช้เองในหมู่บ้าน ติดต่อกันมาเป็นเวลาหลายปี และมีแนวคิดที่จะ ท�ำกิจกรรมนีไ้ ปตลอดเพราะมองเห็นประโยชน์อนั มากมายของปุย๋ อินทรียช์ วี ภาพ โดยมีวตั ถุประสงค์ เพื่อให้สมาชิกในกลุ่มได้มีโอกาสผลิตปุ๋ยอินทรีย์ ชีวภาพใช้เองและเป็นการลดต้นทุนการผลิตใน ด้านการเกษตรกรรม ซึ่งมีสมาชิกในกลุ่มเข้าร่วม กิจกรรม ประมาณ 50 คน สินค้าที่น่าสนใจ 1. ผ้ า ห่ ม ไหมพรม เป็ น ผ้ า ห่ ม ที่ ท อจาก ไหมพรม มีหลายลาย หลายสี สวยงาม 2. เห็ ด เป็ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ ห็ ด บรรจุ ถุ ง และ ดอกเห็ด
ROI ET I SBL บันทึกประเทศไทย
151
WORK LIFE
บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนตำ�บล
องค์การบริหารส่วนตำ�บลหนองใหญ่
นายกอง มูลนิกร นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองใหญ่
นายอ�ำนวย ไกยสวน ปลัดองค์การบริหารส่วนต�ำบล หนองใหญ่
152
SBL บันทึกประเทศไทย I ร้อยเอ็ด
ประวัติความเป็นมา องค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองใหญ่ แบ่งเขตการปกครองเป็น 10 หมู่บ้าน คือ หมู่ที่ 1 บ้านหนองใหญ่, หมู่ที่ 2 บ้านดอนทราย, หมู่ที่ 3 บ้านกลาง, หมู ่ ที่ 4 บ้ า นหนองม่ ว ง, หมู ่ ที่ 5
บ้านหนองม่วง, หมู่ที่ 6 บ้านเหล่ากลาง, หมูท่ ี่ 7 บ้านโนนขวาง, หมูท่ ี่ 8 บ้านดงขวาง, หมู ่ ที่ 9 บ้ า นหนองใหญ่ และหมู ่ ที่ 10 บ้านหนองใหญ่ มีประชากรทั้งสิ้น 3,937 คน เป็นชาย 1,408 คน หญิง 1,437 คน
ประเพณีและงานประจ�ำปี • ประเพณีลอยกระทง จัดในเดือนพฤศจิกายน ของทุกปี • ประเพณีสงกรานต์/วัน ผู้สูงอายุ จัดในเดือน เมษายนของทุกปี • ประเพณีสรงน�ำ้ พระใหญ่ชยั มงคล จัดในเดือน เมษายนของทุกปี ณ วัดบ้านหนองใหญ่ สินค้าพื้นเมืองและของที่ระลึก • เสื่อกก • ผลิตภัณฑ์จากผ้าไหม ผ้าฝ้าย เช่น ผ้าพันคอฯ องค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองใหญ่ 72 หมู่ 6 ต�ำบลหนองใหญ่ อ�ำเภอศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด 45000 โทรศัพท์ 0-4361-1010, 0-4350-1663
ROI ET I SBL บันทึกประเทศไทย
153
HI S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดศรีโพธิ์ทอง (วัดศรีมงคล) ประวัติความเป็นมา
วัดศรีโพธิ์ทอง ตั้งอยู่ที่ บ้านศรีโพธิ์ทอง หมู่ 1 ต�ำบลโพธิท์ อง อ�ำเภอศรีสมเด็จ จังหวัด ร้อยเอ็ด ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ.2517 โดยการน�ำ ของหลวงพ่อพระครูอดุลวิหารกิจ เป็นประธาน ฝ่ายสงฆ์ และมีนายเปลีย่ น ไตรนาคม ผูใ้ หญ่บา้ น ในสมัยนั้น เป็นประธานฝ่ายฆราวาส ซึ่งมี พ่อบุญ สมมงคล แม่งเหล่ง จันทร์เสถียร บริจาค ทีด่ นิ จ�ำนวน 6 ไร่เศษ ให้เป็นทีก่ อ่ สร้าง ริมถนน สายร้ อ ยเอ็ ด -ศรี ส มเด็ จ ทางด้ า นตะวั น ตก ของหมูบ่ า้ นในขณะนัน้ มีหลวงพ่อห�ำ เพ็งอารีย์ เป็นรักษาการเจ้าอาวาสและสามเณรบัญชา สีดาเสถียร เป็นพระลูกวัด มีพอ่ แก้ว แดงวิบลู ย์ เป็นไวยาวัจกร สาเหตุทชี่ อื่ วัดศรีมงคล เพราะ ผู้บริจาคที่ดินมีนามสกุลว่า “สมมงคล” และ ผู้มาตั้งหมู่บ้านชื่อ “สีทา” จึงน�ำเอานามสกุล สมมงคล กบั ชือ่ สีทา มารวมกันเป็นชือ่ “วัดสีมงคล”
154
SBL บันทึกประเทศไทย I ร้อยเอ็ด
แต่ เ พื่ อ ความหมายที่ ดี เ ป็ น ศิ ริ ม งคล จึ ง ได้ เปลี่ยนชื่อเป็น “วัดศรีมงคล” ตั้งแต่นั้นมา ทุ ก วั น นี้ ช าวบ้ า นและบุ ค คลทั่ ว ไปจึ ง นิ ย ม เรีย กว่า วัด ศรีม งคล แต่ในทะเบียนส�ำนัก พระพุทธศาสนา ชื่อวัดเป็น “วัดศรีโพธิ์ทอง” ต่อมาในปี พ.ศ. 2520 หลวงพ่อห�ำ เพ็งอารีย์ ท่านไปจ�ำพรรษาที่วัดอื่น ชาวบ้านจึงนิมนต์ พระกิมธง (ไม่ทราบฉายา) มาเป็นผูร้ กั ษาการ เจ้าอาวาสแทน และมีพระภิกษุสามเณรหลาย รูปจ�ำพรรษาอยู่ด้วย ครั้นต่อมา พระกิมธง ลาสิกขาบท ชาวบ้านจึงได้นมิ นต์ พระอาจารย์เชย จากบ้านป่าเม้า มาเป็นรักษาการเจ้าอาวาส และในปี พ.ศ. 2525 พระอาจารย์เชย ก็ได้ ลาสิกขาบท ชาวบ้านก็ได้นมิ นต์ หลวงปูห่ น่าย จากวั ด บ้ า นหนองขุ ม ดิ น มาจ�ำวั ด และทาง คณะสงฆ์ ไ ด้ แ ต่ ง ตั้ ง เป็ น เจ้ า อาวาส ต่ อ มา หลวงปู ่ ห น่ า ย ก็ ส ละต� ำ แหน่ ง เจ้ า อาวาส กลับไปอยู่วัดบ้านหนองขุมดินเหมือนเดิม หลังจากนั้นชาวบ้านได้นิมนต์ พระบุญดา กิตฺติภทฺโท มาเป็นเจ้าอาวาสแทน ต่อมาวันที่
พระครูประทีปปัญญาทร เจ้าอาวาสวัดศรีโพธิ์ทอง 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2553 ทางคณะสงฆ์อ�ำเภอ ศรีสมเด็จได้เลื่อนสมณศักดิ์เป็นพระครูชั้นโท มีนามสัญญาบัตรว่า พระครูกิตติภัทรธรรม หลั ง จากเลื่ อ นสมณศั ก ดิ์ ไ ด้ ไ ม่ น านท่ า นก็ ล้มป่วยลง และในวันที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2553 ท่ า นก็ ม รณภาพ ปั จ จุ บั น ชาวบ้ า น ได้นมิ นต์ พระครูประทีปปัญญาทร มารักษาการ เจ้าอาวาสอยู่จนถึงปัจจุบัน
HISTORY OF BUDDH ISM บันทึกเส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดบ้านผ�ำใหญ่ เดิมประมาณ 6 เส้น ตั้งอยู่ที่แห่งใหม่ได้ 8 ปี ก็ ย ้ า ยกลั บ มาตั้ ง ที่ เ ดิ ม คื อ ที่ วั ด ตั้ ง อยู ่ ใ น ปัจจุบันนี้นั่นเอง โดยมีเจ้าอาวาสรูปแรก คือ หลวงปู่พรหม และมีพระครูวรธรรมโมภาส (ไสว ฤทธาพรม) จกฺกวโร เป็นเจ้าอาวาส รูปปัจจุบนั
ประวัติเจ้าอาวาส ประวัติความเป็นมา
ตั้งอยู่เลขที่ 156 หมู่ที่ 7 ต.เมืองสรวง อ.เมื อ งสรวง จ.ร้ อ ยเอ็ ด สั ง กั ด คณะสงฆ์ มหานิกาย สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ.2372 มีพื้นที่ ตั้งวัดทั้งสิ้น 9 ไร่ 1 งาน 81 ตารางวา ได้รับ บริจาคทีด่ นิ จาก นายวิเชียรและนายทองจันทร์ มีหลวงปู่พรหมเป็นประธานก่อสร้างฝ่ายสงฆ์ มีนายบุญมาเป็นประธานฝ่ายฆราวาสตั้งอยู่ ที่นี่ได้ 4 ปี ก็ย้ายวัดไปตั้งที่ใหม่ ห่างจากที่
พระครูวรธรรมโมภาส (ไสว ฤทธาพรม) ฉายา จกฺกวโร อายุ 71 ปี พรรษา 51 น.ธ.เอก ป.ธ.4 ป.บส. ปัจจุบนั ด�ำรงต�ำแหน่ง เจ้าอาวาส วัดบ้านผ�ำใหญ่ และเป็นรองเจ้าคณะอ�ำเภอ เมืองสรวง
ค�ำขวัญบ้านผ�ำ
“บ้านผ�ำวัฒนธรรมงดงาม เรืองนามบ้าน ปราชญ์ องอาจท่านพระครู ดอนเจ้าปู่คู่บ้าน งามตระการทุ่งตากล้า ออกพรรษาประเพณี กีฬาดีรว่ มกันจัด ตลาดนัดวันอาทิตย์ ร่วมคิด งานปีใหม่ ร่วมใจสามัคคี” ROI ET I SBL บันทึกประเทศไทย
155
WO R K L I F E
บันทึกเส้นทางพบเทศบาลตำ�บล
เทศบาลตำ�บลหินกอง
ค�ำขวัญต�ำบลหินกอง
นายกฤษณะ แสนสำ�โรง
“ หินกองเมืองน่าอยู่ ปราสาทกู่ศิลาขอม ถิ่นข้าวหอมที่กล่าวขาน คูโบราณมีหนึ่งเดียว ล�ำน�้ำเสียวน้อยใหญ่ ผ้าไหมอันล�้ำค่า ปวงประชาสามัคคี ”
นายกเทศมนตรีตำ�บลหินกอง
ต�ำนานและที่มาของต�ำบลหินกอง มีต�ำนานเล่าว่า ในสมัยขอมมีการแข่งขัน ระหว่างหญิงกับชาย โดยครั้งหนึ่งได้แข่งขัน ในการสร้างกู่ให้เสร็จภายในคืนเดียว ถ้าดาว ประกายพรึกขึน้ ให้หยุดก่อสร้างทันทีโดยให้ฝา่ ย ชายสร้างกู่กาสิงห์ (ปัจจุบันอยู่ที่บ้านกู่กาสิงห์ อ�ำเภอเกษตรวิสัย) ฝ่ายหญิงสร้างกู่พระโกนา (ปัจจุบนั อยูท่ บี่ า้ นกูพ่ ระโกนา อ�ำเภอสุวรรณภูม)ิ พอสร้างไปถึงเที่ยงคืนฝ่ายหญิงได้ใช้กลอุบาย โดยท�ำโคมไฟจุดบนต้นไม้ ฝ่ายชายคิดว่าเป็น ดาวประกายพรึกจึงหยุดสร้างโดยทิ้งหินกอง เอาไว้ รุ่งเช้าฝ่ายหญิงสร้างเสร็จแต่ฝ่ายชาย สร้างไม่เสร็จ จุดที่ฝ่ายชายทิ้งหินกองไว้นั้น คือ บ้านหินกองต�ำบลหินกองในปัจจุบันนั่นเอง ประวัติต�ำบลหินกอง เมือ่ ราวปีพทุ ธศักราช 2440 มีนายน้อย มุง่ ดี เป็ น ชาวจั ง หวั ด นครราชสี ม า ได้ อ พยพพา
156
SBL บันทึกประเทศไทย I ร้อยเอ็ด
ครอบครั ว มาก่ อ ตั้ ง บ้ า นเรื อ นเป็ น ครอบครั ว แรกที่บ้านหินกองในปัจจุบัน และต่อมามีผู้คน อพยพมาอยู่อาศัยเพิ่มขึ้นอีก จึงได้ก่อตั้งเป็น หมู่บ้าน ชื่อบ้านหินกองอยู่ในเขตการปกครอง ของต�ำบลสระคู อ�ำเภอสุวรรณภูมิในขณะนั้น ต่ อ มามี ก ารก่ อ สร้ า งบ้ า นเรื อ นเพิ่ ม ขึ้ น มี ประชากรเพิ่มขึ้นรวมกันเป็นกลุ่ม และมีหลาย หมู่บ้าน จึงได้มีการแบ่งเขตการปกครองออก จากต�ำบลสระคูและจัดตั้งเป็นต�ำบลหินกอง โดยมี ก� ำ นั น คนแรกชื่ อ นายเพ็ ง สนามพล คนต่อมาชื่อนายน้อย ธรรมเสนา นายบุญตา โพธิ์ส�ำโรง นายเรียบ ศักดิ์แสง นายสมชาย กุลวงค์ นายทองจันทร์ บุญดีตามล�ำดับและ ก�ำนันคนปัจจุบนั ชือ่ นายสมชาย กุลวงค์ ปัจจุบนั ต�ำบลหินกองอยู่ในเขตการปกครองของอ�ำเภอ สุวรรณภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด แบ่งการปกครอง ออกเป็น 16 หมู่บ้าน เทศบาลต�ำบลหินกอง มีภูมิประเทศเป็น
ที่ราบมีล�ำน�้ำเสียวไหลผ่านตลอดปี มีเนื้อที่ ทั้งหมด 66,875 ไร่ หรือประมาณ 87 ตาราง กิโลเมตร สถานที่ส�ำคัญ ปราสาทบ้านหินกอง ปัจจุบันมีสภาพเป็นเนินดิน มีชิ้นส่วนศิลา แลงและอิฐหล่นกระจายทั่วๆ บริเวณเนินดิน องค์ ป รางค์ หั น หน้ า ไปทางทิ ศ ตะวั น ออก บนอาคารมีทับหลังตกอยู่ 1 ชิ้น ขนาดกว้าง ประมาณ 52 ซม. ยาว 125 ซม. หนา 30 ซม. ตรงกลางภาพสลักเป็นรูปบุคคลยืดตัวสิงห์ที่ หันออกไปคาบลายท่อนพวงมาลัยทั้งสองข้าง ซึ่งหมายถึงพระกฤษณะปางหนึ่งของพระวิษณุ ก�ำลังประลองก�ำลังกับสัตว์ซึ่งมีฤทธานุภาพ รูปแบบของทับหลังชิน้ นีก้ ำ� หนดอายุอยูใ่ นศิลปะ ขอมแบบบาปวน ราวพุทธศตวรรษที่ 16 นอก เนินดิน มีคูน�้ำล้อมรอบตัวโบราณสถานเป็น
รูปตัว U ปัจจุบันมีสภาพตื้นเขิน อายุสมัยราว พุทธศตวรรษที่ 16-18 การประกาศขึน้ ทะเบียน โบราณสถาน และก�ำหนดเขตทีด่ นิ โบราณสถาน ในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 114 ตอนที่ 75 ศิลปวัฒนธรรม ประชากรในต�ำบลหินกอง แต่ละหมู่บ้าน จะนับถือกันแบบเครือญาติ การตั้งบ้านเรือน จะนิยมอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม ส่วนใหญ่ประกอบ อาชี พ ท� ำ นา เลี้ ย งสั ต ว์ แ ละรั บ จ้ า งทั่ ว ไป การนับถือศาสนาส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ขนบธรรมเนียมประเพณีจะมีการท�ำบุญต่าง ๆ ตามประเพณีสิบสองเดือน ซึ่งจะเป็นปัจจัย ส�ำคัญที่ช่วยรักษาสภาพสังคม ให้คงอยู่และ เป็นเครื่องมือเสริมสร้างความรู้สึกเป็นอันหนึ่ง อันเดียวกันในหมู่บ้าน ซึ่งหมู่บ้านทั่วไปเรียก กันว่าฮีต 12 หรือ จารีตประเพณี 12 ประการ เช่น บุญเดือนอ้าย บุญเข้ากรรมหรือปริวาส กรรมบุญเดือนยี่ บุญคุณลาน บุญเดือนสามบุญ บุญข้าวกี่ บุญเดือนสี่ บุญผะเหวด บุญเดือนห้าบุญ สงกรานต์ บุญเดือนหกบุญบั้งไฟ บุญเดือนเจ็ด บุญเดือนแปด บุญเข้าพรรษา บุญเดือนเก้า บุ ญ ข้ า วประดั บ ดิ น บุ ญ เดื อ นสิ บ บุ ญ ข้ า ว กระยาสารท บุญเดือนสิบเอ็ดบุญออกพรรษา บุญเดือนสิบสองบุญกฐิน ผลิตภัณฑ์ (OTOP) ข้าวหอมมะลิ 105, กระเป๋าจักสานจากกก, ข้าวฮางงอก 3 สี 6 สายพันธุ์,ผ้าไหมมัดหมี่ ROI ET I SBL บันทึกประเทศไทย
157
WORK LIFE
บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนตำ�บล
องค์การบริหารส่วนตำ�บลสระคู
นายสุพรรณ โตหนองหว้า นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลสระคู ประวัติความเป็นมา ต�ำบลสระคู เป็นทีต่ ง้ั ของอ�ำเภอสุวรรณภูมิ หรือเมืองศรีภูมิเดิมมาช้านาน ตั้งแต่ประมาณ ปี พ.ศ. 2117 ซึ่งขณะนั้นเรียกว่า “อาณาจักร ศรีภูมิ” มีอาณาเขตครอบคลุมพื้นที่ในหลาย อ�ำเภอ จนกระทั่ง พ.ศ. 2440 บ้านเมืองจัด ระเบียบการปกครองใหม่ให้ยกเลิกต�ำแหน่ง เจ้ า เมื อ งในอดี ตองค์การบริหารส่ว นต�ำบล สระคู ตั้งอยู่ หมู่ที่ 2 ต�ำบลสระคู อ�ำเภอ สุวรรณภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด มีเนื้อที่ทั้งหมด 142.18 ตารางกิโลเมตร มีหมู่บ้านในเขต การปกครองทั้งหมด 21 หมู่บ้าน มีจ�ำนวน ประชากรทั้งหมด 9,630 คน มีจ�ำนวนครัว เรือนทั้งหมด 2,967 ครัวเรือน แหล่งท่องเที่ยว/โบราณสถานที่ส�ำคัญ 1.วัดกู่พระโกนา ตั้งอยู่ในเขตบ้านกู่ หมู่ที่ 12 ต�ำบลสระคู อ�ำเภอสุวรรณภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด ประกาศ ขึน้ ทะเบียนโบราณสถานในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 52 ตอนที่ 75 วันที่ 8 มีนาคม 2478
158
SBL บันทึกประเทศไทย I ร้อยเอ็ด
ค�ำขวัญ
“สระคูแดนกู่พระโกนา บึงท่าศาลากว้างใหญ่ ล�ำน�้ำเสียวสดใส พระเจ้าใหญ่ดงบ้านข่า งามตาไหมมัดหมี่ เศรษฐกิจดีอิฐแดง แหล่งหอยหินล้านปี เห็ดมากมีดงขวาง”
พื้ น ที่ ประมาณ 8-2-16 ไร่ โบราณสถาน กู่พระโกนา เป็นโบราณสถานที่รับอิทธิพลศิลปะ เขมร สันนิษฐานว่ากู่พระโกนาคงจะสร้างขึ้นใน ราวพุทธศตวรรษที่ 16 (ประมาณ พ.ศ. 15611630) เทียบเคียงได้กับศิลปะเขมรแบบบาปวน สร้างตามคติพราหมณ์หรือฮินดู 2. วิสาหกิจชุมชนกลุม่ ส่งเสริมอาชีพบ้านเหม้า วิสาหกิจชุมชนกลุ่มส่งเสริมอาชีพบ้านเหม้า สถานที่ตั้ง เลขที่ 189 หมู่ที่ 7 บ้านเหม้า ต�ำบล สระคู อ�ำเภอสุวรรณภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด 45130 ได้รวมกลุ่มจัดตั้งวิสาหกิจชุมชน เมื่อปี 2558 ถึ ง ปั จ จุ บั น มี ส มาชิ ก ทั้ ง หมด 73 คน มี พื้ น ที่
ท�ำการเกษตร จ�ำนวน 1,200ไร่ มีนางกอบแก้ว ระวิเรือง เป็นประธานกลุ่ม ปัจจุบันวิสาหกิจชุมชนกลุ่มส่งเสริมอาชีพ บ้านเหม้าได้ด�ำเนินงานเป็น ศูนย์เรียนรู้การ เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (ศพก. ขยาย) โครงการแปลงใหญ่ ข ้ า วหอมมะลิ ข้าวอินทรีย์ การท่องเทีย่ วชุมชนวิถเี กษตรอินทรีย์ ซึ่งกลุ่มได้ท�ำการเกษตรแบบผสมผสานและได้ น�ำเอาภูมิปัญญาพื้นถิ่นมารวมกับกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ (งานวิจัย) มาสร้างมูลค่าให้ กั บ ผลผลิ ต ประเภทข้ า วหอมมะลิ แ ปรรู ป เป็ น เครือ่ งดืม่ ชาใบข้าวหอมมะลิ ครีมผงข้าวหอมมะลิ
เครื่องดื่มข้าวหอมมะลิ การปลูกพืชปลอดภัย สู่วิถีอินทรีย์ การปลูกพืชสมุนไพร และการผลิต ปลาร้าอบทรงเครือ่ งสมุนไพร เป็นต้น เพือ่ มุง่ หวัง การสร้างงาน สร้างอาชีพการผลิต เพื่อลดต้นทุน การเพิ่ม ผลผลิต การแปรรูป ให้เกษตรกรสร้าง มาตรฐานการผลิตสินค้าการเกษตรแบบมืออาชีพ ตั้งแต่ต้นน�้ำ กลางน�้ำ ปลายน�้ำ เพี่อยกระดับ สินค้าการเกษตรให้สามารถแข่งขันกับในและต่าง ประเทศได้ อย่างมั่งคง มั่นคั่งและยั่งยืนภายใต้ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 3. ชุมชนท่องเทีย่ ว OTOP นวัตวิถี บ้านเหม้า หมู่ที่ 7 ต�ำบลสระคู อ�ำเภอสุวรรณภูมิ จังหวัด ร้อยเอ็ด - วิสาหกิจชุมชนกลุ่มส่งเสริมอาชีพบ้านเหม้า - โฮมสเตย์บ้านเหม้า - ดงขวาง เป็นแหล่งอาหารของชุมชนบ้านเห ม้าและชุมชนข้างเคียง มีเห็ดธรรมชาตินานาชนิด - ผักปลอดสารพิษ จ�ำหน่ายตลอดทั้งปี - อาชีพการเลี้ยงจิ้งหรีด เลี้ยงหนู เลี้ยงกบ เลี้ยงปลา และเลี้ยงแมงป่องช้าง 4. ชุมชนท่องเทีย่ ว OTOP นวัตวิถี บ้านหนองหว้า หมู่ที่ 14 ต�ำบลสระคู อ�ำเภอสุวรรณภูมิ จังหวัด ร้อยเอ็ด - เป็นหมูบ่ า้ นท่องเทีย่ วเชิงวัฒนธรรม มีโบราณ สถานวัดกู่พระโกนา อยู่ใกล้กับชุมชน - กลุ่มปลูกเห็ด - กลุ่มทอผ้าไหมลายศรีภูมิ - โฮมสเตย์ ช่องทางการติดต่อ เว็บไซต์ : http://srakoo.go.th/ Facebook : องค์การบริหารส่วนต�ำบลสระคู อ�ำเภอสุวรรณภูมิ โทรศัพท์ : 0-4358-0458 ,0-4353-2535 แฟกซ์ : 0-4358-0458 ,0-4353-2535 ต่อ 108
ROI ET I SBL บันทึกประเทศไทย
159
WORK LIFE
บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนตำ�บล
องค์การบริหารส่วนตำ�บลเมืองทุ่ง
นายสวาท ค�ำสระคู นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลเมืองทุ่ง เขตการปกครอง ต�ำบลเมืองทุ่ง ประกอบ ด้วยจ�ำนวนหมู่บ้าน 8 หมู่บ้าน ดังนี้ หมู่ที่ 1 บ้านหนองควายอีน้อย หมู่ที่ 2 บ้านยางเครือ หมู่ที่ 3 บ้านหนองโค้ง หมู่ที่ 4 บ้านด่านน้อย หมู่ที่ 5 บ้านหนองสิม หมู่ที่ 6 บ้านหนองพันมูล หมู่ที่ 7 บ้านดงเมือง หมู่ที่ 8 บ้านยางสวรรค์ กิจกรรมและโครงการเด่น กิจกรรมรดน�้ำด�ำหัวผู้สูงอายุ, กิจกรรม ปลูกป่าเฉลิมพระเกียรติ, กิจกรรมวันแม่แห่งชาติ, กิ จ กรรมส่ ง เสริ ม สุ ข ภาพ ผู ้ สู ง อายุ แ ละ ผู้ด้อยโอกาส, กิจกรรมแข่งกีฬาชุมชนต�ำบล เมืองทุ่งต้านยาเสพติด
160
SBL บันทึกประเทศไทย I ร้อยเอ็ด
ประวัติความเป็นมา ต�ำบลเมืองทุ่ง ได้แยกออกมาจาก ต�ำบลสระคูเมื่อปี พ.ศ.2509 โดยได้ตั้ง ชื่อต�ำบลตามลักษณะสภาพพื้นที่ซึ่งเป็น ที่ราบลุ่ม ที่ท�ำการองค์การบริหารส่วน ต�ำบลเมืองทุง่ ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นยางเครือ หมูท่ ี่ 2
ห่างจากอ�ำเภอสุวรรณภูมิ ประมาณ 7 กิโลเมตร และอยูห่ า่ งจากจังหวัดร้อยเอ็ด ประมาณ 55 กิโลเมตร พื้นที่ประมาณ 28.58 ตารางกิโลเมตร มีประชากรทัง้ สิน้ จ�ำนวน 5,179 คน แยกเป็นชาย 2,633 คน หญิง 2,546 คน
โครงการฝึ ก อบรมเข้ า ค่ า ยธรรมะแก่ เ ด็ ก เยาวชนและประชาชนทั่วไปในเขตต�ำบลเมืองทุ่ง ระหว่ า งวั น ที่ 18-19 กั น ยายน 2561 ณ วัดป่ายางเครือ ม.2 บ้านยางเครือ ต�ำบลเมืองทุ่ง อ�ำเภอสุวรรณภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด ประเพณีและงานประจ�ำปี ประเพณีบญ ุ ข้าวจี,่ ประเพณีบญ ุ ผะเหวดฟังเทศน์ มหาชาติ , ประเพณี ส งกรานต์ งานนมั ส การ พระเจ้าใหญ่, ประเพณีบุญบั้งไฟ, ประเพณีวัน เข้ า พรรษา, ประเพณี บุ ญ ข้ า วกระยาสารท, ประเพณี บุ ญ ข้ า วประดั บ ดิ น , ประเพณี วั น ออกพรรษา, ประเพณีลอยกระทง, ประเพณี งานบุญมหากฐิน
สถานที่ส�ำคัญ วัดบ้านยางเครือ พระเจ้าใหญ่วดั บ้านยางเครือ ม.2 ต.เมืองทุง่ อ.สุวรรณภูมิ จ.ร้อยเอ็ด หลวงปูใ่ หญ่ หรือพระเจ้า ใหญ่องค์ศักดิ์สิทธิ์ วัดบ้านยางเครือนี้ มีความ ผูกพันในวิถีชีวิตผู้คนในแถบนี้มาช้านาน ถือได้ ว่าเป็นศูนย์รวมจิตใจ ความเชือ่ จิตวิญญาณ และ วัฒนธรรมประเพณีของผูค้ นจากรุน่ สูร่ นุ่ ตราบจน ปัจจุบัน ด้วยความเชื่อว่าบารมีและพุทธคุณของ หลวงปู่ใหญ่ จะดลบันดาลให้สมหวัง และหมด เคราะห์หมดทุกข์หมดโศกไปในทุก ๆ ครัง้ หลวง ปู่ใหญ่หรือพระเจ้าใหญ่วัดบ้านยางเครือ เกิดขึ้น พ.ศ. ใดไม่มปี รากฏในหลักฐาน ในต�ำนานกล่าวไว้วา่ มีอยู่วันหนึ่งมีชาวบ้านชื่อตาจัน ได้เข้าป่ายางหา
ตัดไม้ แต่พอจะเดินออกจากป่าเดินไปทางไหน ก็หาทางออกจากป่าไม่เจอ เพราะป่าดงยางนั้น มีเถาวัลย์ท่ีชาวบ้านเรียกว่าเครือเขาหลง อยู่เต็ม ป่าไปหมด ตาจันเดินหลงป่าอยู่ 3 วัน เมื่อหมด สิ้นหนทาง จึงพนมมือขอพรกับเจ้าป่าเจ้าเขา และสิ่งศักดิ์สักสิทธิ์ ทันใดนั้นเป็นที่น่าอัศจรรย์ มีแสงสว่างเกิดขึ้น แกเดินตามแสงไป ปรากฏว่า แสงสว่างเกิดจากองค์พระเทวรูปองค์หนึ่ง ซึ่งตั้ง อยู่กลางป่า ตาจันเห็นดังนั้น จึงหาเก็บดอกไม้น�ำ ไปไหว้สักการะพระเทวรูปและอธิษฐานขอพรขอ ให้แกหาทางกลับบ้านได้ หลังจากวันนั้น ตาจัน ก็แวะเวียนน�ำดอกไม้ธูปเทียนมากราบไหว้พระ เทวรูปองค์นี้ทุกวัน และมีอยู่วันหนึ่งตาจันได้พบ กับหลวงตารูปหนึ่ง หลวงตารูปนั้นได้บอกกับตา จันว่าแกชื่อว่าหลวงตามีดตอกและเป็น ผู้สร้าง พระเทวรูปองค์นี้ เป็นชาวกัมพูชาจ�ำพรรษาอยู่ที่ ภูเขาเขาควาย ริมแม่นำ�้ งืม่ ในประเทศลาว ท่านฝาก ตาจันให้ดูแลและรักษาพระเทวรูป ตาจันและ ชาวบ้านจึงช่วยกันดูแลรักษา บูรณะเรือ่ ยมา จนมา ได้เป็นพระเจ้าใหญ่วดั บ้านยางเครือองค์ศกั ดิส์ ทิ ธิ์ จนถึงทุกวันนี้ วัดบ้านยางเครือ ก่อตั้งวัดเมื่อปี พ.ศ.2250 โดยมีเจ้าอาวาสองค์แรกคือ องค์ที่ 1 หลวงพ่อดี จันทร์ภูมิ องค์ที่2 หลวงพ่ออินตา เสาศิริ องค์ท3ี่ หลวงพ่อทองแดง ยะโสธโร องค์ที่ 4 หลวงพ่อโสภา ขันติโก และปัจจุบัน พระท่าน เจ้าคุณโสภณ ปริยตั ยิ าภรณ์ (ถาวร อัมโร) รองเจ้า คณะจังหวัดร้อยเอ็ด สินค้าที่น่าสนใจ 1.ผ้าไหมมัดหมี่ ผ้าไหมพื้น เป็น ผ้าไหม มีลาย สวยงาม เนื่อผ้าเรียบ สีไม่ตก
ROI ET I SBL บันทึกประเทศไทย
161
WORK LIFE
บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนตำ�บล
องค์การบริหารส่วนตำ�บลน้ำ�คำ�
นายอ�ำนาจ ลาสนาม นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลน�ำ้ ค�ำ
ประวัติความเป็นมา องค์การบริหา รส่ วนต�ำบลน�้ำค�ำ ตั้งอยู่ใน หมู่ที่ 15 ต�ำ บลน�้ำค�ำ อ�ำเภอสุวรรณภูมิ จังหวัด ร้อยเอ็ด มีเนือ้ ทีป่ ระมาณ 64.89 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 40,556.25 ไร่ อยู่ห่างจากอ�ำเภอ สุวรรณภูมิ ประ มาณ 16 กิโลเมตร ห่างจาก จังหวัดร้อยเอ็ดประมาณ 56 กิโลเมตร ด้านการปกครองและประชากร การปกครอง มีจ�ำนวนหมู่บ้านในเขตการ ปกครอง ทั้งหมด 16 หมู่บ้าน หมู่ที่ 1 บ้านน�้ำค�ำใหญ่ หมู่ที่ 2 บ้านหนองบัว หมู่ที่ 3 บ้านกวางโตน หมู่ที่ 4 บ้านผักเผ็ด หมู่ที่ 5 บ้านจ้อก้อ หมู่ที่ 6 บ้านเหว่อ หมู่ที่ 7 บ้านโนนหมากแงว หมู่ที่ 8 บ้านสวนมอญ
162
SBL บันทึกประเทศไทย I ร้อยเอ็ด
หมู่ที่ 9 บ้านโนนสระพังยาง หมู่ที่ 10 บ้านดงสวนผึ้ง หมู่ที่ 11 บ้านเก่าน้อย หมู่ที่ 12 บ้านน้อยคูขาม หมู่ที่ 13 บ้านน�ำ้ ค�ำ หมู่ที่ 14 บ้านหนองบัวลอง หมู่ที่ 15 บ้านน�ำ้ ค�ำ หมู่ที่ 16 บ้านผักเผ็ด จ�ำนวนประชากรทั้งสิ้น 9,487 คน ชาย 4,702 คน หญิง 4,785 คน ผลิตภัณฑ์ชุมชน (OTOP) - เครื่องจักสาน - ผ้าไหม ผ้าฝ้าย - ข้าวหอมมะลิ
แหล่งท่องเที่ยวที่ส�ำคัญ สิมวัดสระเกตุ คือโบสถ์เก่าแก่ที่ชาวอีสาน เรียกว่าสิม ปกติจะมีขนาดเล็กเพราะสร้างเมื่อ หลายร้อยปีก่อน มักจะมีอยู่หลังเดียวใน 1 วัด ส่วนสิมคู่ ที่อยู่ในวัดสระเกตุ บ้านน�้ำค�ำ ต.น�้ำค�ำ อ.สุวรรณภูมิ จ.ร้อยเอ็ด หมายถึง โบสถ์ 1 หลัง และวิหาร 1 หลัง วัดสระเกตุสร้างขึ้นสมัยกรุงศรี อยุธยาตอนปลาย ช่วงทีก่ ลุม่ ชนวัฒนธรรมไท-ลาว เข้ามาตัง้ ถิน่ ฐานอยูใ่ นพืน้ ทีจ่ งั หวัดร้อยเอ็ด บริเวณ เมืองท่ง หรือเมืองทุ่ง คืออ�ำเภอสุวรรณภูมิใน ปัจจุบัน วิหารที่เห็นในปัจจุบัน เดิมใช้เป็นสิม (โบสถ์ ) เป็ น อาคารทึ บ ฐานเป็ น แบบเอวขั น มุขหน้าท�ำเป็นเครือ่ งไม้ประดับ แกะสลักลวดลาย รูปราหูอมจันทร์ และลายพรรณพฤกษางดงาม ตามแบบพื้นถิ่น ส่วนสิมตั้งอยู่ทางทิศเหนือคู่กับ วิหาร สร้างในช่วงปลายรัชกาลที่ 4 เป็นอาคาร โปร่งฐานสูง มุขหน้าแกะสลักลายเหมือนกับวิหาร ต่อมากรมศิลปากรได้เข้ามาบูรณะวิหารและสิม วัดสระเกตุในปี 2543 ด้วยเหตุที่วิหารเดิมทีเป็น โบสถ์มาก่อน ท�ำให้ทั้งสองหลังดูเหมือนกันมาก อย่างทีเ่ ห็นในทุกวันนี้ หลายๆ คนจึงเรียกว่า สิมคู่ กิจกรรมส�ำคัญที่ อบต. ร่วมกันกับชุมชน - ประเพณีตักบาตรเทโว - ประเพณีสรงกู่หลวงปู่เสือ - ประเพณีบุญผะเหวด - ประเพณีบุญบั้งไฟ - โครงการโรงเรียนชราบาล - โครงการร่องระบายน�้ำไร้ท่อและธนาคารน�้ำ ROI ET I SBL บันทึกประเทศไทย
163
HI S TO R Y O F BU D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดบ้านเปลือยใหญ่ (วัดพัทธสีมามังคลาราม)
ประวัติความเป็นมา
วัดบ้านเปลือยใหญ่ (วัดพัทธสีมามังคลาราม) ไม่พบหลักฐานการสร้างวัดที่แน่ชัด ภายในมี โบราณสถานส�ำคัญ คือ สิม ที่สร้างขึ้นในปี พ.ศ.2471 แล้วเสร็จในปี พ.ศ.2475 โดยช่าง ชาวญวน ชื่อใจ และจิตรกรรมภายในสิมวาด โดยช่างชาวญวน ชื่อค�ำกาบ สิมมีลักษณะ สถาปัตยกรรมเป็นทรงพื้นถิ่นอีสาน อิทธิพล ศิลปะญวน ตามหลักฐานทีป่ รากฏในลวดลาย ตกแต่งอาคาร เช่น การตกแต่งด้วยกรอบเส้นคิว้ วงโค้งเหนือซุ้มประตู และรูปนาค เป็นต้น ตัวสิมสร้างก่ออิฐถือปูนขนาด 3 ห้อง ในผัง
164
SBL บันทึกประเทศไทย I ร้อยเอ็ด
สี่เหลี่ยมผืน ผ้า หันหน้าไปทางทิศตะวันออก ตั้งบนฐานบัวสูง มีประตูตอนกลางด้านหน้า บานประตู เ ป็ น ไม้ แ กะสลั ก ลายเครื อ เถา เหนือบานประตูประดับพระพุทธรูปปูนปั้น ประทับนัง่ ผนังด้านข้างประตูทำ� เป็นซุม้ หลอก ภายในซุม้ ปัน้ ปูนเป็นรูปพระพุทธเจ้าประทับยืน มีหน้าต่างด้านละ 2 บาน บานหน้าต่างเป็นไม้ แกะสลักลายเครือเถา แต่งกรอบหน้าต่างด้วย การเขียนภาพให้เป็นซุ้มพระ ห้องสุดท้ายไม่มี หน้าต่าง แต่แต่งผนังด้วยซุม้ หลอก ประดิษฐาน พระพุ ท ธรู ป ประทั บ นั่ ง เช่ น เดี ย วกั บ ผนั ง ด้ า นหลั ง ที่ ท� ำ เป็ น ซุ ้ ม หลอกจ� ำ นวน 2 ซุ ้ ม ประดิษฐานพระพุทธรูปยืน มีบันไดทางขึ้น ด้านหน้ายื่นออกมาจากอาคารถึงก�ำแพงแก้ว ราวบันไดแต่งนาคปูนปั้น โครงสร้างอาคาร
ใช้เสาและผนังรับน�้ำหนักโครงสร้างหลังคา แบบจั่ว ในตอนกลางยกหลังคาจั่วขนาดเล็ก ซ้อนลดหลั่นกัน 2 ชั้น ต่อหลังคาปีกนกทั้ง สองข้าง หลังคาประดับโหง่ ใบระกา หางหงส์ สั น หลั ง คาตอนกลางประดั บ ช่ อ ฟ้ า เป็ น บั ว ซ้อนกัน 6 ชัน้ หน้าบันทัง้ ด้านหน้าและด้านหลัง ประดั บ ปู น ปั ้ น รู ป ครุ ฑ กั บ นาค ภายใน ประดิษฐานพระประธานบนฐานชุกชี ฝีมอื ช่าง พื้นถิ่นอีสาน ผนังด้านในเขียนภาพจิตรกรรม ในส่วนเหนือหน้าต่างขึ้นไป เป็นภาพเกี่ยว กับพระเวสสันดรชาดก และเรื่องนรกสวรรค์ รอบสิมมีใบเสมาหินทรายสีแดง ปักอยู่ทาง ทิศเหนือและทิศใต้ ด้านละ 3 ใบ ล้อมรอบ ด้วยก�ำแพงแก้วทีม่ ยี อดเสาก�ำแพงตกแต่งเป็น รูปกระเปาะคล้ายดอกบัว มีทางเข้า 3 ด้าน ยกเว้นด้านทิศตะวันตก เอกลักษณะของสิม วัดพัทธสีมามังคลาราม คือ การเป็นสิมพืน้ ถิน่ อีสานที่ได้รับอิทธิพลการตกแต่งประดับจาก ศิลปะญวนในรุน่ ปลายพุทธศตวรรษที่ 25 ผูใ้ ด บุกรุกท�ำลายโบราณสถานมีความผิดกฏหมาย
ROI ET I SBL บันทึกประเทศไทย
165
HI S TO R Y O F BU D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดธาตุนาใหญ่ พระพุทธธัญญราช วัดธาตุนาใหญ่ ตั้งอยู่เลขที่ 96 หมู่ที่ 1 บ้านนาใหญ่ ต�ำบลนาใหญ่ อ�ำเภอสุวรรณภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด ตัง้ ขึน้ ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2415 วัดนีม้ ี พระธาตุอนั เก่าแก่มนี ามว่า “พระธาตุนาใหญ่” สร้างมาได้ 700 ปี และมีพระพุทธรูปองค์ ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ มี น ามว่ า “พระพุ ท ธธั ญ ญราช” ประดิษฐาน ในวิหารพระพุทธธัญญราช พระครูปริยัติกิจจารักษ์ (พระมหาอุเทน อุฏฺฐานผโล (อ้วนสูงยาง) อายุ 53 พรรษา 33 (น.ธ.เอก, ป.ธ.4, ศน.บ.) ด�ำรงต�ำแหน่งเป็นเจ้า อาวาสวัดธาตุนาใหญ่และรองเจ้าคณะอ�ำเภอ สุวรรณภูมิฝ่ายเผยแผ่
166
SBL บันทึกประเทศไทย I ร้อยเอ็ด
พระมหาทรงฤทธิ์ โฆสิตสทฺโท (หินจันทร์) น.ธ.เอก, ป.ธ.3, พธ.บ., เป็นผูช้ ว่ ยเจ้าอาวาสวัด ธาตุนาใหญ่และเป็นเลขาฯรองเจ้าคณะอ�ำเภอ สุวรรณภูมิ พระมหาธวัชชัย อินฺทโชโต (พลพฤกษ์) น.ธ.เอก, ป.ธ.3, พธ.บ., เป็นผู้ช่วยเจ้าอาวาส วัดธาตุนาใหญ่และเป็นเลขาฯเจ้าคณะต�ำบล นาใหญ่เขต 2 มีนายวีระ อะทาโส และนายบุญ อะทาโส เป็นไวยาวัจกรวัดธาตุนาใหญ่
พระครูปริยัติกิจจารักษ์ พระมหาทรงฤทธิ์ โฆสิตสทฺโท พระมหาธวัชชัย อินฺทโชโต
WORK LIF E
บันทึกเส้นทางพบเทศบาลตำ�บล
เทศบาลตำ�บลบุ่งเลิศ
นายบัญทัย สุวรรณไตร นายกเทศมนตรีตำ�บลบุ่งเลิศ
ประวัติความเป็นมา ต�ำบลบุ่งเลิศ เป็นต�ำบลที่ตั้งอยู่ในเขตการ ปกครองของอ�ำเภอเมยวดี ตั้งอยู่หมู่ท่ี 4 ต�ำบล บุ่งเลิศ อ�ำเภอเมยวดี จังหวัดร้อยเอ็ด ปัจจุบัน ต�ำบลบุ่งเลิศแบ่งเขตการปกครองเป็น 9 หมู่บา้ น แบ่งลักษณะของประชาชนเป็น 2 เชือ้ สายหลัก คือ ภูไท ซึง่ อาศัยหนาแน่นในหมูท่ ี่ 1,2,7 และ 9 และ ชาวภูลาว ในพื้นที่หมู่ที่ 3,4,5,6 และ 8 สินค้า OTOP กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบ้านบุ่งเลิศเหนือ หมู่ที่ 7 ต�ำบลบุ่งเลิศ อ�ำเภอเมยวดี จังหวัดร้อยเอ็ด 45250 โทร. 084-8287202, 081-0551031 • ผ้าคลุมไหล่ ผกาฝ้าย • ผ้าขาวม้า ผกาฝ้าย • ผ้าห่มฝ้ายทอมือ
ROI ET I SBL บันทึกประเทศไทย
167
WO R K L I F E
บันทึกเส้นทางพบเทศบาลตำ�บล
เทศบาลตำ�บลขวาว
นายชัยภัทร ตั้งหลัก นายกเทศมนตรีตำ�บลขวาว
ประวัติความเป็นมา เดิมต�ำบลขวาวเป็นต�ำบลที่เก่าแก่ มีผู้ใหญ่ ผู้เฒ่าเล่าสืบต่อกันมา เมื่อสมัยกรุงศรีอยุธยา ตอนปลาย สมั ย พระเพทราชาครองสมบั ติ เจ้าควาญท่อฟ้า (ควาญช้าง) มาจากเมืองยโสธร ได้ น� ำ ช้า งมาเลี้ ย งที่ค�ำ หมากเว อ�ำ เภอเสลภูมิ พบว่ามีความอุดมสมบูรณ์จึงได้มาตั้งบ้านเรือน และมีต้นขวาวเป็นจ�ำนวนมาก จึงตั้งชื่อว่าบ้าน ขวาว อีกกลุ่มหนึ่งไปตั้งที่บ้านเมืองไพรจึงเรียก สองหมู ่ บ ้ า นว่ า “ขวาวใหญ่ - เมื อ งไพร” และ หัวหน้าหมู่บ้านคนแรกชื่อ “ขุนขวาวขันธรักษ์” เดิ ม เทศบาลต� ำ บลขวาวเป็ น องค์ ก รปกครอง ท้ อ งถิ่ น ในรู ป แบบองค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บล ต่อมาได้เปลี่ยนแปลงฐานะจากองค์การบริหาร ส่วนต�ำบลขวาวเป็นเทศบาลต�ำบลขวาว เมือ่ วันที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2551
ตารางกิ โ ลเมตร หรื อ ประมาณ 24,967 ไร่ โดยครอบคลุมพื้นที่ทั้งหมด 16 หมู่บ้าน ตั้งอยู่ ห่างจากอ�ำเภอเสลภูมิ เป็นระยะทางประมาณ 8 กิโลเมตร อยูห่ า่ งจากจังหวัดร้อยเอ็ด 38 กิโลเมตร ลั ก ษณะภู มิ ป ระเทศทั่ ว ไปของต� ำ บลขวาว ส่วนมากเป็นที่ราบลุ่มน�้ำท่วมขัง มีแม่นำ�้ ยังกัน้ เขตแดนระหว่างจังหวัดร้อยเอ็ด และจังหวัดยโสธร ทิศเหนือ ติดกับ ต.นาเลิง ต.เมืองไพร จ.ร้อยเอ็ด ทิศใต้ ติดกับ ต.นางาม อ.เสลภูมิ จ.ร้อยเอ็ด ทิศตะวันออก ติดกับ ต.เดิด อ.เมือง จ.ยโสธร ทิศตะวันตก ติดกับ ต.นาเลิง อ.เสลภูมิ จ.ร้อยเอ็ด
ข้อมูลทั่วไป เทศบาลต�ำบลขวาวมีพื้นที่ทั้งหมด 57.50
ประชากร ในเขตเทศบาลต�ำบลขวาว มีจำ� นวนประชากร
168
SBL บันทึกประเทศไทย I ร้อยเอ็ด
ทัง้ สิน้ 9,090 คน เป็นชายจ�ำนวน 4,514 คน เป็น หญิงจ�ำนวน 4,576 คน มีจ�ำนวนครัวเรือนทั้งสิ้น 2,418 ครัวเรือน การพัฒนาและแก้ ไขปัญหาอย่างยั่งยืน เนื่องจากประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ เกษตรกรรม ท�ำนา ท�ำสวน เลีย้ งสัตว์ โดยลักษณะ ทางภูมปิ ระเทศ ต�ำบลขวาวเป็นทีร่ าบลุม่ แม่น�้ำ มี แม่นำ�้ ยังและแม่นำ�้ ชีหลงไหลผ่าน มีความเสีย่ งต่อ การประสบภัยธรรมชาติ ในฤดูฝน หากปีใดมีฝน ตกชุกต่อเนือ่ ง มวลน�ำ้ ยังก็จะไหลบ่าเข้าท่วมพืน้ ที่ การเกษตรอย่างรวดเร็ว ส่งผลให้ข้าวที่ปลูกถูก น�้ ำ ท่ ว มเสี ย หายทั้ ง หมด ในการนี้ เทศบาล ต� ำ บลขวาวจึ ง เร่ ง ผลั ก ดั น ขอรั บ การสนั บ สนุ น งบประมาณจากหน่ ว ยงานรั ฐ อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง เพื่ อ ก่ อ สร้ า งคั น พนั ง กั้ น น�้ ำ บ้ า นทรายมู ล ให้สามารถป้องกันปัญหาน�้ำท่วมซ�้ำซากที่เกิดขึ้น ในทุกๆ ปีได้อย่างยั่งยืนสืบไป
วัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่นที่สำ� คัญ เทศบาลต�ำบลขวาวก�ำหนดยุทธศาสตร์การ ส่ ง เสริมการท่อ งเที่ยว ในหลายๆ ด้ าน อาทิ ประเพณีบุญบั้งไฟ จะจัดวันเสาร์ที่สองของเดือน มิถุนายนของทุกปี ซึ่งจะจัดที่บ้านขวาว โดยงาน บุญบั้งไฟประจ�ำปี จะมีจุดเด่นที่การ “เซิ้งผ้าหมี่” สั น นิ ษ ฐานว่ า ได้ รู ป แบบมาจากประเทศลาว โดยผู ้ เ ซิ้ ง จะต้ อ งเป็ น ผู ้ ช ายเท่ า นั้ น ไม่ จ� ำ กั ด ว่ า อายุเท่าไหร่และการเซิ้งจะเซิ้งในงานประเพณี บุญบั้งไฟโดยเซิ้งก่อนวันงาน 3 วันแต่ปัจจุบันเซิ้ง ก่อนวันงาน 1 วันจุดมุง่ หมายของการเซิง้ ผ้าหมีน่ นั้ เพื่ อ เป็ น การร� ำ เซิ้ ง ถวายแด่ พ ญาแถนบน สรวงสรรค์ ให้ ป ระทานฝนแก่ ช าวไร่ ชาวนา และเพื่อถวายสิ่งศักดิ์สิทธิ์ในหมู่บ้านให้ปกป้อง รั ก ษาหมู่บ้า น ชาวบ้านได้อ ยู่อ ย่างมีค วามสุข อุดมสมบูรณ์ ซึ่งมีที่นี่ที่เดียวในประเทศไทย ถือ เป็นอัตลักษณ์หนึ่งเดียวในโลกที่บ้านขวาวแห่งนี้ อี ก ทั้ ง นั ก ท่ อ งเที่ ย วจะได้ รั บ ชมสี สั น ความ สนุกสนานกับการแสดงหมอล�ำซิง่ มากกว่า 8 เวที ในวันจุดบัง้ ไฟขึน้ สูง และอีกหนึง่ ประเพณีทสี่ ำ� คัญ คือ งานประเพณีลอยกระทง ในแต่ละปีจะได้ชม สีสันการประกวดขบวนแห่กระทงสวยงามจาก ทุกชุมชนและการประกวดสาวงามนางนพมาศ บนเวที มีหมอล�ำคณะใหญ่ๆ ดังๆ มาแสดงโชว์ เป็นประจ�ำทุกปี ROI ET I SBL บันทึกประเทศไทย
169
WO R K L I F E
บันทึกเส้นทางพบเทศบาลตำ�บล
เทศบาลตำ�บลเกาะแก้ว
วิสัยทัศน์
นายธนาธิป โครตประทุม ปลัดเทศบาล ปฏิบัติหน้าที่ นายกเทศมนตรีตำ�บลเกาะแก้ว
ข้อมูลทั่วไป เทศบาลต�ำบลเกาะแก้ว เดิมได้รับการยก ฐานะจากองค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บลขึ้ น เป็ น เทศบาลต�ำบลเกาะแก้ว เมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 โดยมี อ าคารส� ำ นั ก งานตั้ ง อยู ่ เลขที่ 159 หมูท่ ี่ 6 บ้านเหล่าแขม ต�ำบลเกาะแก้ว อ�ำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด บนเนื้อที่ 4 ไร่ ตั้งอยู่ทางด้านทิศเหนือของอ�ำเภอเสลภูมิ อยู่ห่าง จากทีว่ า่ การอ�ำเภอเสลภูมิ ระยะทางประมาณ 20 กิโลเมตร และห่างจากตัวเมืองจังหวัดร้อยเอ็ด ประมาณ 25 กิโลเมตร การปกครอง ในเขตเทศบาลต� ำ บลเกาะแก้ ว มี ห มู ่ บ ้ า น ทั้งหมด 14 หมู่บ้านประกอบด้วย บ้านตลาดค้อ หมูท่ ี่ 1,บ้านนิคมพัฒนา หมูท่ ี่ 2, บ้านท่าสี หมูท่ ี่ 3, บ้านโคกกุง หมู่ที่ 4, บ้านดงกลาง หมู่ที่ 5, บ้านเหล่าแขม หมู่ที่ 6, บ้านโสกแสง หมู่ที่ 7,
170
SBL บันทึกประเทศไทย I ร้อยเอ็ด
การบริหารงานโปร่งใส ชุมชนปลอดภัยห่างไกลยาเสพติด บ้านเมืองน่าอยู่ มุ่งสู่ความเป็นเลิศทางการศึกษา พัฒนาคุณภาพชีวิต ใส่ใจสิ่งแวดล้อม
บ้านดงหวาย หมูท่ ี่ 8, บ้านโคกกลางหมูท่ ี่ 9, บ้านดอนกอก หมู่ที่ 10, บ้านหนองเม็ก หมูท่ ี่ 11, บ้านดงสว่าง หมูท่ ี่ 12, บ้านหนอง ส�ำราญ หมูท่ ี่ 13 และบ้านเหล่าไพรงาม หมู่ที่ 14 ประชากร มีประชากรทั้งสิ้น 9,319 คน แยกเป็น ชาย 4,201 คน หญิง 5,118 คน มีจำ� นวน 2,535 หลังคาเรือน แหล่งท่องเที่ยวที่ส�ำคัญของต�ำบลเกาะแก้ว วัดเกาะแก้ววนาราม วัดเกาะแก้ววนาราม ตั้งอยู่บ้านเหล่าแขม หมู่ที่ 6 ต�ำบลเกาะแก้ว อ�ำเภอเสลภูมิ จังหวัด ร้อยเอ็ด สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ที่ดินตั้งวัด มีเนื้อที่ 18 ไร่ ตั้งเมื่อ พ.ศ. 2480 โดยมีพระครู วินัยธรบัว เป็นผู้ริเริ่มสร้างวัดขึ้น
วัดสว่างท่าสี วั ด สว่ า งท่ า สี ตั้ ง อยู ่ ที่ บ ้ า นท่ า สี หมู ่ ที่ 3 ต�ำบลเกาะแก้ว อ�ำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด วัดนิคมพัฒนาราม วัดนิคมพัฒนาราม ตั้งอยู่บ้านนิคมพัฒนา หมู่ที่ 2 ต�ำบลเกาะแก้ว อ�ำเภอเสลภูมิ จังหวัด ร้อยเอ็ด
วัดเกาะแก้ววนาราม
วัดสว่างท่าสี
โครงการส่งเสริมการมีสว่ นร่วมของชุมชนคัดแยก ขยะที่ต้นทาง ต�ำบลเกาะแก้วก�ำลังประสบปัญหาในด้านการ บริหารจัดการขยะ ไม่วา่ จะเป็นปริมาณขยะทีเ่ พิม่ มากขึน้ ตามจ�ำนวนประชากร ปัญหาการทิง้ ขยะไม่ เป็นที่ไม่เป็นทางเวลามีปัญหาขยะตกค้างต่างๆ ดั ง นั้ น แนวทางแก้ ไ ขปั ญ หาขยะมู ล ฝอยใน ระยะยาวจะต้ อ งสนั บ สนุ น และขยายผล ให้ประชาชนลดปริมาณการเกิดขยะมูลฝอยจาก บ้านเรือนโดยหลักการ 3Rs (Reduce Reuse and Recycle) เป็นการสร้างแรงจูงใจด้านรายได้ ให้กบั ประชาชนในการร่วมกันคัดแยกขยะมูลฝอย ตั้งแต่บ้านเรือนเป็นต้น เทศบาลต�ำบลเกาะแก้วจึงได้จัดท�ำโครงการ รณรงค์ ป ระชาชนร่ ว มใจคั ด แยกขยะที่ ต ้ น ทาง แบบชุ ม ชนมี ส ่ ว นร่ ว มในครั ว เรื อ นขึ้ น สร้ า ง ความตระหนักและการมีส่วนร่วมของประชาชน ในการลดปริ ม าณขยะมู ล ฝอยและอนุ รั ก ษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม เพือ่ แก้ปญ ั หา ด้านการสาธารณสุขและอนามัยสิ่งแวดล้อมให้ ประชาชนมีสุขภาพอนามัยที่ดีขึ้น รวมถึงเป็นการ สร้างรายได้และความคุ้มครองให้กับสมาชิกใน ครัวเรือนด้วย
วัดนิคมพัฒนาราม
ROI ET I SBL บันทึกประเทศไทย
171
WO R K L I F E
บันทึกเส้นทางพบเทศบาลตำ�บล
เทศบาลตำ�บลเสลภูมิ
“การศึกษาได้มาตรฐาน สืบสานปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มีชื่อเสียงเรื่องหลักธรรมาภิบาล บริการเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน” นายธนวัฒน์ อรัญภูมิ นายกเทศมนตรีตำ�บลเสลภูมิ
คื อวิ สั ย ทั ศ น์ ข องการพัฒนาเทศบาลต�ำบล เสลภูมิ เทศบาลเป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่ มี ค วามใกล้ ชิ ด กั บ ประชาชนมากที่ สุ ด โดยมี บทบาทหน้าที่ในการ “บ�ำบัดทุกข์ บ�ำรุงสุข” และ ความเจริ ญ ต่ า งๆ ให้ แ ก่ ป ระชาชนในท้ อ งถิ่ น มีการให้บริการสาธารณะต่างๆ และก่อให้เกิด ประโยชน์ตอบสนองความต้องการของประชาชน ในท้องถิน่ อย่างรวดเร็วและทัว่ ถึง ภายใต้ขอบข่าย ที่กฎหมายก�ำหนด ตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 นอกจากการดูแลพี่น้องอย่างใกล้ชิด แล้ว เทศบาลต�ำบลเสลภูมิ ยังได้สง่ เสริมประเพณี และวั ฒนธรรมต่ า งๆ เพื่อ ให้พี่น ้อ งประชาชน ได้มีส่วนร่วมในการสืบสานประเพณีวัฒนธรรม อันดีงามแบบนี้ให้คงไว้ - วันขึ้นปีใหม่ ประจ�ำปี 2561 - ประเพณีสงกรานต์ ประจ�ำปี 2561 - ประเพณีแห่เทียน ประจ�ำปี 2561
172
SBL บันทึกประเทศไทย I ร้อยเอ็ด
- ประเพณีลอยกระทง ประจ�ำปี 2560 - งานส่งเสริมพระพุทธศาสนาวัดมิ่งเมือง - งานเทศกาลประจ�ำปีวัดมิ่งเมือง - โครงการจิตอาสาเราท�ำความดีด้วยหัวใจ - รั บ โล่ ป ระกาศเกี ย รติ คุ ณ ในฐานะ อปท. ที่สนับสนุนการด�ำเนินงานพัฒนาคุณภาพชีวิต คนพิการผู้สูงอายุและครอบครัวดีเด่น
สถานที่สำ� คัญ เทศบาลต�ำบลเสลภูมิ มีแหล่งท่องเที่ยวที่ ส�ำคัญคือ สระศาลาลอย เป็นสถานที่ออกก�ำลัง กายพั ก ผ่ อ นหย่ อ นใจของชาวอ� ำ เภอเสลภู มิ บึงโดน เป็นบึงขนาดใหญ่ ก�ำลังพัฒนาเป็นแหล่ง ท่องเที่ยวที่ส�ำคัญของอ�ำเภอเสลภูมิ ความมุ ่ ง มั่ น ในการท�ำงานเพื่อ พัฒนาพื้น ที่ ในเขตเทศบาลต�ำบลเสลภูมิ ได้รับรางวัลในด้าน ต่าง ๆ ซึ่งเป็นความภาคภูมิใจและการันตีในผล งานของเราชาวเทศบาลต�ำบลเสลภูมิ เทศบาลต�ำบลเสลภูมิ มีการพัฒนาอย่างต่อ เนื่อง โดยมีแนวทางพัฒนาเทศบาลต�ำบลเสลภูมิ แบ่งออกเป็น 6 ยุทธศาสตร์ ดังนี้ 1. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านโครงสร้างพืน้ ฐาน 2.ยุ ท ธศาสตร์ ก ารพั ฒนาด้ า นการส่ ง เสริ ม พัฒนาคนให้มีความรู้ มีคุณภาพชีวิตที่ดี สร้าง สังคมแห่งความมั่นคงปลอดภัย 3.ยุทธศาสตร์การพัฒนาปรับปรุงประสิทธิภาพ และคุ ณ ภาพการให้ บ ริ ก าร อ� ำ นวยความเป็ น ธรรมภาครัฐ เพื่อตอบสนองความต้องการของ ประชาชน 4. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการวางแผนการ ส่งเสริมการลงทุน พาณิชยกรรมและการท่องเทีย่ ว 5. ยุ ท ธศาสตร์การพัฒนาด้านการบริหาร จัดการและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ง แวดล้อม 6. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการศึกษา ศิลปะ วัฒนธรรม จารีตประเพณีและภูมิปัญญาท้องถิ่น ROI ET I SBL บันทึกประเทศไทย
173
WO R K L I F E
บันทึกเส้นทางพบเทศบาลตำ�บล
เทศบาลตำ�บลนาเมือง
นายประมวล ฮุยสุสดี นายกเทศมนตรีตำ�บลนาเมือง
สถานที่ตั้ง ตั้ ง อยู ่ ท างทิ ศ เหนื อ ของอ� ำ เภอเสลภู มิ ห่างจากตัวอ�ำเภอเสลภูมิ ประมาณ 6 กิโลเมตร ห่างจากจังหวัดร้อยเอ็ด 40 กิโลเมตร มีพื้นที่ 55 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 34,375 ไร่ พื้ น ที่ ส ่ ว นใหญ่ เ ป็ น ที่ โ คกและหิ น แม่ รั ง เป็ น จ�ำนวนมาก มีหมูบ่ า้ น 20 หมูบ่ า้ น ประชากรทัง้ สิน้ 9,753 คน แยกเป็นชาย 4,917 คน หญิง 4,836 คน จ�ำนวนครัวเรือน 2,434 ครัวเรือน คณะผู้บริหาร/ฝ่ายสภา/หัวหน้าส่วนราชการ นายประมวล ฮุยสุสดี นายกเทศมนตรีต�ำบลนาเมือง นายส�ำรวย สวัสดิ์นะที รองนายกเทศมนตรีตำ� บลนาเมือง นายสมควร ค�ำโคตรสูนย์ รองนายกเทศมนตรีตำ� บลนาเมือง นายอุดร บัวลี ประธานสภาเทศบาล นายมนตรี บุญไชย ปลัดเทศบาล
174
SBL บันทึกประเทศไทย I ร้อยเอ็ด
“นาเมืองถิ่นศิลา พัฒนาก้าวไกล ประชาธิปไตยฟูเฟื่อง รุ่งเรืองทางวัฒนธรรม น้อมน�ำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง”
คือค�ำขวัญของเทศบาลต�ำบลนาเมือง อ�ำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด ยุทธศาสตร์ เทศบาลต�ำบลนาเมืองได้กำ� หนดยุทธศาสตร์ การพัฒนาไว้ 6 ด้าน ดังนี้ 1.ยุทธศาสตร์ด้านโครงสร้างพื้นฐาน ท�ำการปรับปรุง บ�ำรุงรักษาถนน ระบบส่ง น�้ำระบายน�้ำ ไฟฟ้าส่องสว่าง และอื่นๆ เพื่อ อ�ำนวยความสะดวกแก่พี่น้องประชาชน ตลอด จนมีการบ�ำรุงรักษาสาธารณูปโภคอื่นๆ ให้ สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ส�ำหรับ การบริการประชาชน 2.ยุทธศาสตร์ด้านเศรษฐกิจ ส่งเสริมการด�ำเนินงานตามหลักเศรษฐกิจ พอเพียง ตลอดจนพัฒนาและส่งเสริมอาชีพ เพื่อให้ประชาชนมีรายได้เสริม 3.ยุทธศาสตร์ด้านสังคม พัฒนาศักยภาพชุมชนให้เกิดความเข้มแข็ง
แก้ ไ ขปั ญ หายาเสพติ ด จั ด สรรสวั ส ดิ ก าร สั ง คมสงเคราะห์ ใ ห้ กั บ เด็ ก สตรี ผู ้ สู ง อายุ คนพิการ ผูป้ ว่ ยเอดส์ ผูป้ ระสบภัยต่าง ๆ ผูด้ อ้ ย โอกาส และครอบครัว 4.ยุทธศาสตร์ด้านการศึกษา ศาสนาและ วัฒนธรรม ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษาใน ระบบ นอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย ให้ มี คุ ณ ภาพเป็ น ไปตามเกณฑ์ ม าตรฐาน ส่งเสริมสนับสนุน ชุมชน ภาคีเครือข่ายในระดับ ต�ำบล อ�ำเภอ จังหวัด ให้เข้ามามีส่วนร่วมใน การจัดการศึกษา ส่งเสริมและสนับสนุนการ อนุรักษ์ ศาสนา ศิลปวัฒธรรม จารีต ประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่น ภายใต้หลักของการมี ส่วนร่วม “ร่วมคิด ร่วมท�ำ ร่วมตรวจสอบ และ ร่วมประเมินผล”
5.ยุทธศาสตร์ด้านสาธารณสุข ส่งเสริมและสนับสนุนงานสุขาภิบาล งาน อนามัยและสิง่ แวดล้อม งานรักษาความสะอาด งานส่งเสริมและป้องกันโรคติดต่อ พร้อมรณรงค์ สร้างเสริมสุขภาพของประชาชน พัฒนาเครือข่าย ด้านสุขภาพเพือ่ ให้แกนน�ำและประชาชนมีความ รู้ความเข้าใจและการมีส่วนร่วมในการด�ำเนิน งานเพื่อเป็นรากฐานในการพัฒนาอย่างยั่งยืน 6.ยุทธศาสตร์ด้านสังคมสงเคราะห์ จัดสรรสวัสดิการสังคมสงเคราะห์ให้กบั เด็ก สตรี ผูส้ งู อายุ คนพิการ ผูป้ ว่ ยเอดส์ ผูป้ ระสบภัย ต่าง ๆ ผู้ด้อยโอกาส และครอบครัว
ที่อยู่/สถานที่ติดต่อ ส�ำนักงานเทศบาลต�ำบลนาเมือง 155 หมู่ 5 ถนนนาเมือง-ดงกลาง ต�ำบลนาเมือง อ�ำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด 45120 หมายเลขโทรศัพท์/ โทรสาร 0-4350-1633 www.namuang.go.th facebook :เทศบาลต�ำบลนาเมือง อ�ำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด ROI ET I SBL บันทึกประเทศไทย
175
WO R K L I F E
บันทึกเส้นทางพบเทศบาลตำ�บล
เทศบาลตำ�บลหนองหลวง
วิสัยทัศน์
นายสวน ศรีระชัย
นายกเทศมนตรีตำ�บลหนองหลวง ข้อมูลทั่วไป เทศบาลต�ำบลหนองหลวงตัง้ อยูท่ างทิศเหนือ ของอ�ำเภอเสลภูมิประมาณ 14 กิโลเมตร และ ห่างจากจังหวัดร้อยเอ็ด ประมาณ 46 กิโลเมตร ส่ ว นใหญ่ ป ระกอบอาชี พ ด้ า นการเกษตร ชาวต�ำบลหนองหลวงนอกเหนือจากเว้นว่างจาก ฤดูทำ� นาแล้ว ชาวต�ำบลหนองหลวงยังมีการท�ำการ เกษตรเพือ่ บริโภคในครัวเรือน ซึง่ สามารถเก็บเกีย่ ว เพื่ อ น� ำ ไปขายและสร้ า งรายได้ อี ก ทางหนึ่ ง ให้กบั ชาวต�ำบลหนองหลวง ซึง่ พืชทีส่ ามารถสร้าง รายได้ให้ชาวต�ำบลหนองหลวงคือหน่อไม้ฝรั่ง ผักสวนครัวต่างๆ เป็นต้น สถานที่สำ� คัญ วัดบ้านหนองเรือ หมู่ที่ 5 ต�ำบลหนองหลวง อ�ำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด เป็นวัดที่ได้ขึ้นชื่อ ว่าเป็นอัตลักษณ์ของต�ำบลหนองหลวง นอกจาก นี้ยังมีศาสนิกชนชาวจังหวัดร้อยเอ็ดและจังหวัด ใกล้เคียงหลั่งไหลเข้ามาสักการะบูชาเป็นที่ยึด เหนีย่ วจิตใจของชาวพุทธและเป็นแหล่งเรียนรูแ้ ห่ง
176
SBL บันทึกประเทศไทย I ร้อยเอ็ด
“ต�ำบลหนองหลวงเป็นต�ำบลที่นา่ อยู่ การบริหารกิจการภายในต�ำบลทุกภาคส่วน ทุกองค์กรมีความร่วมมือกันเป็นอย่างยิ่ง โดยชุมชนมีความเข้มแข็ง ทุกครอบครัวมีความสงบร่มเย็น เน้นคุณธรรม จริยธรรม ในการอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุขและยั่งยืน” พระพุทธศาสนา โดยพระครูปญ ั ญามหาสาร(พระ อาจารย์พุทธ) เป็นเจ้าอาวาสวัดบ้านหนองเรือ วัดทุ่งดอนสีสุก บ้านดอกสีสุก หมู่ที่ 3 ต�ำบล หนองหลวง อ�ำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด อีก หนึ่ ง ที่ ยึ ด เหนี่ ย วจิ ต ใจที่ มี ศ าสนิ ก ชนชาวพุ ท ธ มากมายให้ความสนใจ วัดดอนสีสุกเป็นแหล่ง เรียนรู้ทางพระพุทธศาสนา ด้านศิลปวัฒนธรรม รวมถึงทางด้านยาสมุนไพรและภูมิปัญญาชาว บ้าน โดยมีพระอาจารย์สมบูรณ์ วรปัญโญ เป็น เจ้าอาวาสวัดทุ่งดอนสีสุก โครงการส�ำคัญ โรงเรียนผู้สูงอายุ โรงเรียนผู้สูงอายุ เป็นรูปแบบหนึ่งของการ จัดกิจกรรมที่ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต การพัฒนาทักษะ และการศึกษาตามอัธยาศัย ของผู้สูงอายุ กิจกรรมของโรงเรียนผู้สูงอายุจะ เป็ น เรื่ อ งที่ ผู ้ สู ง อายุ ใ ห้ ค วามสนใจและมี ค วาม ส� ำ คั ญ ต่ อ การด� ำ เนิ น ชี วิ ต ช่ ว ยเพิ่ ม พู น ความรู ้ ทักษะชีวิตที่จ�ำเป็น โดยวิทยากรจิตอาสาหรือ
จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ขณะเดียวกันก็เป็น พื้ น ที่ ที่ ผู ้ สู ง อายุ จ ะได้ แ สดงศั ก ยภาพ โดยการ ถ่ายทอดภูมิความรู้ประสบการณ์ที่สั่งสมมาแก่ บุ ค คลอื่ น เพื่ อ สื บ สานภู มิ ป ั ญ ญาให้ ค งคุ ณ ค่ า คู่กับชุมชน
WORK LIF E
บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนตำ�บล
องค์การบริหารส่วนตำ�บลโพธิ์ทอง
นายชุมพล มาโยธา นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลโพธิ์ทอง ประวัติความเป็นมา องค์การบริหารส่วนต�ำบลโพธิ์ทอง ได้แยก ออกจากต�ำบลเมืองไพร และได้ยกฐานะจากสภา ต�ำบลเป็นองค์การบริหารส่วนต�ำบล ตามประกาศ กระทรวงมหาดไทยเมื่อวันที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2539 และมีผลใช้บังคับเมื่อพ้นหกสิบวันนับแต่ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ซึ่งจะมีผลบังคับใช้ ในวันที่ 30 มีนาคม พ.ศ.2539 ปัจจุบันองค์การ บริหารส่วนต�ำบลโพธิท์ อง ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 189 หมูท่ ี่ 4 บ้ า นนาโพธิ์ อ� ำ เภอเสลภู มิ จั ง หวั ด ร้ อ ยเอ็ ด อยูห่ า่ งจากอ�ำเภอเสลภูมิ 25 กิโลเมตร และอยูห่ า่ ง จากจังหวัดร้อยเอ็ด 56 กิโลเมตร โดยมีเส้นทาง คมนาคม สาย เสลภูมิ – ค�ำโพนสูง องค์การบริหาร ส่ ว นต� ำ บลโพธิ์ ท องมี เ นื้ อ ที่ ทั้ ง หมดประมาณ 37.23 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 23,226.90 ไร่ มีพื้นที่การปกครอง จ�ำนวน 14 หมู่บ้าน จ�ำนวนประชากร (ตามทะเบียนราษฎร์) มีทั้งสิ้น 8,073 คน แยกเป็น ชาย 4,011 คน หญิง 4,062 คน ผลิตภัณฑ์ประจ�ำต�ำบล เสื่อกก พระพุทธรูป ผ้าขาวม้า ตะกร้าสาน พลาสติกฯ
โทรศัพท์ 043-501820 Website : phothonglocal.go.th Facebook : องค์การบริหารส่วนต�ำบลโพธิ์ทอง ROI ET I SBL บันทึกประเทศไทย
177
WOR K L I F E
บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนตำ�บล
องค์การบริหารส่วนตำ�บลบึงเกลือ
ค�ำขวัญต�ำบลบึงเกลือ
นายสมศรี อ่างรี นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลบึงเกลือ
ประวัติความเป็นมา เมือ่ ประมาณ 200 ปีกอ่ น บึงเกลือเป็นทีร่ าบต�ำ่ มีห้วยหนองเป็นจ�ำนวนมาก ในฤดูแล้งพื้นดิน จะแห้งแล้งและมีเกร็ดเกลือขึ้นไปทั่ว ชาวบ้าน จึงน�ำมาต้มสกัดเอาเกลือไว้บริโภคในครัวเรือน จึงเรียกบริเวณนีว้ า่ “บึงเกลือ” องค์การบริหารส่วน ต�ำบลบึงเกลือ ตั้งอยู่ในเขตอ�ำเภอเสลภูมิ จังหวัด ร้อยเอ็ด อยู่ทางด้านตะวันออกของอ�ำเภอเสลภูมิ ห่างจากอ�ำเภอเสลภูมปิ ระมาณ 10 กิโลเมตร โดย เดินทางไปตามเส้นทางหลวงหมายเลข 23 ถนน แจ้งสนิท (เสลภูมิ-ยโสธร) จากอ�ำเภอเสลภูมิ ประมาณ 2.4 กิโลเมตร เลี้ยวซ้ายไปประมาณ 8 กิโลเมตร มีลกั ษณะเป็นทีร่ าบลุม่ น�ำ้ ท่วมถึงสลับ กับทีด่ อน ดินเป็นดินร่วนปนทรายส่วนใหญ่ โดยมี อาณาเขตทิศเหนือติดกับต�ำบลนาเมือง ต�ำบลวังหลวง และเหล่าน้อย ทิศใต้ตดิ กับต�ำบลขวาวและเมืองไพร ทิศตะวันออก ติดกับต�ำบลภูเงิน และต�ำบลเดิด อ�ำเภอเมือง จังหวัดยโสธร ทิศตะวันตกติดกับ ต� ำ บลเมื อ งไพร มี พื้ น ที่ โ ดยประมาณ 37.89 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 23,681 ไร่
178
SBL บันทึกประเทศไทย I ร้อยเอ็ด
บึงเกลือทะเลอีสาน เลิศล�ำ้ ภูมิปัญญา มากมายนกเป็ดน�้ำ
สินค้าพื้นบ้านและของที่ระลึก ประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนต�ำบล บึ ง เกลื อ ได้ อ นุ รั ก ษ์ ภู มิ ป ั ญ ญาท้ อ งถิ่ น ได้ แ ก่ วิ ธี ก ารท� ำ เครื่ อ งจั ก สานใช้ ส� ำ หรั บ ในครั ว เรื อ น วิธกี ารเลีย้ งไหมและการทอผ้าไหม วิธกี ารทอเสือ่
หมู่บ้านวัฒนธรรม แหล่งปลาหลากหลาย แกนน�ำพืชเศรษฐกิจ
จากต้นกก และวิธกี ารจับปลาธรรมชาติ ประชาชน ในเขตเทศบาลได้ผลิตของใช้พื้นเมืองขึ้นใช้ใน ครัวเรือนและเหลือเอาไว้จ�ำ หน่ายบ้าง ได้แ ก่ เสือ่ ทีท่ อจากต้นกก ผ้าทีท่ อจากผ้าฝ้ายและผ้าไหม เครื่องจักสานที่ทำ� จากไม้ไผ่
สถานที่ท่องเที่ยว จังหวัดร้อยเอ็ดมีนโยบายส่งเสริมการท่องเทีย่ ว และพัฒนาอ่างเก็บน�ำ้ บึงเกลือเป็นแหล่งท่องเทีย่ ว ประจ�ำจังหวัดร้อยเอ็ด เพื่อให้นักท่องเที่ยวที่มา เที่ ย วบึ ง เกลื อ ได้ รั บ ความประทั บ ใจจากการ ท่องเที่ยวช่วงวันหยุดและช่วงเทศกาลต่างๆ ซึ่ง บึงเกลือจะมีร้านอาหาร แพอาหาร บริการตลอด วัน มีอากาศบริสทุ ธิ์ ทิวทัศน์ทสี่ วยงาม มีกจิ กรรม ที่น่าสนใจมากมายเช่น บานาน่าโบท จักรยานน�้ำ เรือพาย ไว้บริการ จนได้ชอื่ ว่า “บึงเกลือทะเลอีสาน” องค์การบริหารส่วนต�ำบลบึงเกลือ ม.8 ต.บึงเกลือ อ.เสลภูมิ จ.ร้อยเอ็ด 45120 www.bungklue-bk.go.th โทรศัพท์ 0-4303-0441
ROI ET I SBL บันทึกประเทศไทย
179
HI S TO R Y O F BU D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดสันติวิเวก ประวัติความเป็นมา
พระมหาปุณชัย ญาณเมธี เจ้าอาวาสวัดสันติวิเวก
180
SBL บันทึกประเทศไทย I ร้อยเอ็ด
วัดสันติวิเวก ตั้งอยู่เลขที่ 152 หมู่ที่ 6 บ้านโนนค�ำ ต�ำบลเมืองไพร อ�ำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด มีเนื้อที่ 26 ไร่ 60 ตารางวา เดิมเป็นที่ว่างเปล่าของหมู่บ้านโนนค�ำ โดย พระปลัดมา ญาณวโร เจ้าอาวาสวัดสมาน สามัคคีธรรม ในขณะนั้น ได้จับจองเอาไว้เป็น สถานทีป่ ฏิบตั ธิ รรมยามบัน้ ปลายของชีวติ โดย มีหนังสือการจับจองเป็นหลักฐานเก็บรักษาไว้ ที่ว่าการอ�ำเภอเสลภูมิ หลวงปู่ได้ย้ายไปเป็น เจ้าอาวาสวัดบ้านนาทม และเจ้าอาวาส วัดป่า วิเวกอาศรม บ้านท่าลาด ต�ำบลภูเงิน อ�ำเภอ เสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด ต่อมาได้เกิดเหตุการณ์ ไฟไหม้ที่ว่าการอ�ำเภอเสลภูมิ หลักฐานการ
จับจองได้สูญหายไป ที่บริเวณดังกล่าวจึงได้ กลายเป็นที่ว่างเปล่าอีกครั้ง บางส่วนได้สร้าง เป็นโรงเรียนบ้านโนนค�ำน�้ำจั้นใหญ่ บางส่วน ได้สร้างเป็นสถานีอนามัยบ้านน�ำ้ จัน้ ใหญ่โนนค�ำ บางส่ ว นเป็ น ที่ จั ด ประโยชน์ ร ่ ว มกั น ของ ชาวบ้าน ส่วนบริเวณที่เป็นวัดในขณะนี้ เดิมที เป็นบริเวณดอนเจ้าปู่ของบ้านโนนค�ำชื่อว่า ดอนสะอาด เมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน 2531 พระครู สารธรรมนิเทศ หลวงปูม่ า ญาณวโร สมณศักดิ์ ในขณะนั้น (พระมงคลญาณเถร) ได้เดินธุดงค์ จากวัดป่าวิเวกอาศรม บ้านท่าลาด ต�ำบล ภูเงิน อ�ำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด มาปัก กลดจ�ำพรรษาที่นี่ ตามความตั้งใจเดิมที่ตั้ง
เอาไว้ตอนด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดสมาน สามั ค คี ธ รรม จึ ง ได้ จั ด ตั้ ง เป็ น ส� ำ นั ก สงฆ์ ชื่อว่า ส�ำนักสันติวิเวก เมื่อวันที่ 14 กันยายน 2541 ได้รับการอนุญาตตั้งวัดในพระพุทธ ศาสนา ชื่อว่า วัดสันติวิเวก แต่ชาวบ้านทั่วไป มักเรียกกันจนติดปากว่า วัดป่าสันติวเิ วก และ ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 23 มกราคม 2542
ล�ำดับเจ้าอาวาส
1. พระครูวิเวกสุตาภรณ์ (ทรงเดช ฐานวโร) พ.ศ.2542-2550 2. พระมงคลญาณเถร (หลวงปู่มา ญาณวโร) พ.ศ.2551-2552 3. พระมหากรุงศรี ญาณเมธี รักษาการเจ้า อาวาส 4. พระอธิการชาติชาย โชติธมฺโม พ.ศ.25532556 5. พระมหาปุณชัย ญาณเมธี พ.ศ.2556ปัจจุบัน
ROI ET I SBL บันทึกประเทศไทย
181
HI S TO R Y O F BU D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดทุ่งสว่างอารมณ์ วัดทุ่งสว่างอารมณ์ ม.4 บ้านพันขาง ต.นางาม อ.เสลภูมิ จ.ร้อยเอ็ด มีพระครูรัตนวิบูลย์กิจ รตนปญฺโญ เป็นเจ้าอาวาสวัดทุ่งสว่างอารมณ์
พระครูรัตนวิบูลย์กิจ รตนปญฺโญ เจ้าอาวาสวัดทุ่งสว่างอารมณ์
182
SBL บันทึกประเทศไทย I ร้อยเอ็ด
HISTORY OF BUDDH ISM บันทึกเส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดป่าสักดาราม
ประวัติพระครูสีลสาราภรณ์
สมณศักดิ์ พระครูสีลสาราภรณ์ (สมสิทธิ์ รฺกขิตสีโล) นามเดิม สมสิทธิ์ สุริโย เกิดเมื่อ 1 พฤษภาคม 2500 อายุ 59 ปี พรรษา 38 พระครูสีลสาราภรณ์ เป็นพระสงฆ์ที่มี ความรู ้ ค วามสามารถ ด้ า นการบ� ำ รุ ง พุ ท ธ ศาสนาและสืบสานประเพณีอีสานให้เป็นที่ ประจักษ์มากมายอย่างต่อเนื่อง โดยท่านมี
ปณิธานจะสร้างคัมภีรใ์ บลาน เช่น นิทานพืน้ บ้าน ฮี ต คองประเพณี ต� ำ นานพระพุ ท ธศาสนา จ� ำ นวน 100 เรื่ อ งที่ จ ารเป็ น ใบลานแล้ ว จ�ำนวน 50 เรื่อง เช่น ด�ำผะเหวด ท้าวลิ้นทอง แทนน�ำ้ นมแม่ รามราช มูลนิพาน ปัญญาบารมี เป็นต้น นอกจากนัน้ ท่านยังอบรมสัง่ สอนศิษย์ ให้ ส ามารถอ่ า นจารด้ ว ยตั ว อั ก ษรไทยน้ อ ย ตัวธรรมและตัวขอมได้อีกด้วย พระครู สี ล สาราภรณ์ มี ผ ลงานด้ า น การก่ อ สร้ า งและศาสนสถานได้ แ ก่ พระ ธาตุพนมจ�ำลองอุโบสถทรงด้านข้าง พิพธิ ภัณฑ์ ภูมิปัญญาอีสาน สร้างระเบียนคตลวดลาย จิตกรรม ฝาผนังลงรักปิดทองพระเวสสันดร ชาดก พระเจ้าสิบชาติ ผลงานที่โดดเด่นที่ฝาก ฝีมือให้กับแผ่นดิน คือ เป็นช่างสร้างนกหัสดี ลิงค์ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2535-2540 จ�ำนวน 9 ตัว โดยเฉพาะตัวที่มีความโดดเด่นสวยงามที่สุด คือ นกหัสดีลงิ ค์ในงานพระราชทานเพลิงพระศพ พระอริยานุวตั ร (อารีย์ เขมจารี) ณ เมรุชวั่ คราว สนามมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ต�ำบลตลาด
อ�ำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม นอกจากนี้ ท ่ า นยั ง สนใจศึ ก ษาวิ ท ยาคม เพื่อเป็นที่พึ่งด้านการรักษาทางเลือกให้กับ ผู้ป่วยที่มารับการรักษาจ�ำนวนมาก รวมถึง การท�ำพิธีความเชื่ออื่นๆ เช่น ต�ำราเลขยันต์ คาถาลงตระกรุดเมตตามหานิยม และพระพิธี ธรรมพุทธาภิเษก เป็นต้น โดยท่านได้รับการ สืบทอดวิชาอาคมจาก หลวงปู่ทองมา ถาวโร พระเกจิดังของภาคอีสาน
ROI ET I SBL บันทึกประเทศไทย
183
WO R K L I F E
บันทึกเส้นทางพบเทศบาลตำ�บล
เทศบาลตำ�บลหนองฮี
นายฉลอง กมลเลิศ นายกเทศมนตรีตำ�บลหนองฮี
ประวัติความเป็นมา ต� ำ บลหนองฮี แยกการปกครองออกจาก อ�ำเภอพนมไพร เมือ่ วันที่ 1 เมษายน พ.ศ.2538ได้ รับการแต่งตัง้ เป็นเทศบาลตามประกาศกระทรวง มหาดไทย ณ วั น ที่ 27 ตุ ล าคม พ.ศ.2552 ตั้งอยู่เลขที่ 98 หมู่ที่ 10 ต.หนองฮี อ.หนองฮี จ.ร้อยเอ็ด 45140 โทร 043-506105 มีพื้นที่ 52.26 ตารางกิโลเมตร หรือ 32,668 ไร่ เขต ปกครอง 17 หมู่บ้าน มีประชากร 6,081 คน ประชากรประกอบอาชีพเกษตรกร (ท�ำนา) สถานที่ส�ำ คัญ - ดอนปู่ตา - ศาลเจ้าพ่อภูเงิน ศูนย์รวมจิตใจของชาวบ้าน หนองฮี - พระบรมธาตุเจดีย์โพธิ์ฐานพระ
184
SBL บันทึกประเทศไทย I ร้อยเอ็ด
สถานที่ท่องเที่ยว - เกาะกลางน�้ำหนองฮี-สวนสุขภาพ - ป่าสมุนไพรป่าเป็ดก่า - ประเพณีบญ ุ บัง้ ไฟประจ�ำปี จัดขึน้ ในเดือน 6 – เดือน 7 ของทุกปี - ประเพณี แ ข่ ง เรื อ และลอยกระทง ณ เกาะกลางน�้ำหนองฮี - ประเพณี ขั บ ร้ อ งสรภั ญ ญะ บ้ า นขวาว บุญเดือน 11 (พฤศจิกายน) - ประเพณีสงกรานต์ บ้านดอนกลอย 13-15 เมษายน ผลงานแห่งความภาคภูมิใจ - หน่วยงานระดับดีเยี่ยม ด้านบริการอนามัย สิ่งแวดล้อม ปี 2561 - หน่วยงานบริหารจัดการขยะดีเด่น หมู่ 8 บ้านโคกกลาง ปี 2561 - ศูนย์ อปพร.ดีเด่น ประเภทเทศบาล ปี 2558 - ศูนย์เรียนรู้โรงเรียนผู้สูงอายุเทศบาลต�ำบล หนองฮี ปี 2559-ปัจจุบัน
ซื่อสัตย์ สุจริต มุ่งสัมฤทธิ์ของงาน ยึดมั่นมาตรฐาน บริการด้วยใจเป็นธรรม
ROI ET I SBL บันทึกประเทศไทย
185
WOR K L I F E
บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนตำ�บล
องค์การบริหารส่วนตำ�บลดูกอึ่ง
ค�ำขวัญต�ำบลดูกอึ่ง
นายจรูญ เวียงแก้ว นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบล
ประวัติความเป็นมา องค์การบริหารส่วนต�ำบลดูกอึง่ ตัง้ อยูห่ มูท่ ี่ 2 บ้านวารีเกษม ต�ำบลดูกอึง่ อ�ำเภอหนองฮี จังหวัด ร้อยเอ็ด อยู่ห่างจากอ�ำเภอหนองฮี ประมาณ 10 กิโลเมตร อยู่ห่างจากจังหวัดร้อยเอ็ด ประมาณ 90 กิโลเมตร เป็น 1 ใน 4 ต�ำบลในเขตอ�ำเภอ หนองฮี จังหวัดร้อยเอ็ด มีอาณาเขตพื้นที่อยู่ติด กับท้องถิน่ ใกล้เคียง 4 ส่วน คือ เขตเทศบาลต�ำบล หนองฮี, องค์การบริหารส่วนต�ำบลเด่นราษฎร์, องค์การบริหารส่วนต�ำบลสาวแห และเขตองค์การ บริหารส่วนต�ำบลยางค�ำ อ�ำเภอโพนทราย มีเนือ้ ที่ ประมาณ 92.6 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 57,875 ไร่ พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบ ประกอบด้วย ทุ่งนา และป่าไม้ เป็นที่ราบลุ่ม มีล�ำน�้ำเสียวเป็นแหล่ง น�้ำที่มีความส�ำคัญ ลักษณะพื้นที่เป็นดินร่วนปน ทรายเหมาะแก่การเพาะปลูก โดยเฉพาะฤดูฝน ต้องอาศัยน�้ำจากธรรมชาติ คือ น�้ำฝน เท่านั้น ล�ำน�้ำเสียว เป็นเส้นกั้นเขตแดนระหว่างอ�ำเภอ หนองฮี และอ� ำ เภอโพนทราย ซึ่ ง ไหลผ่ า น
186
SBL บันทึกประเทศไทย I ร้อยเอ็ด
ดูกอึ่งแดนคุณธรรม มากมีแมงจี่นูน แหล่งท่องเที่ยวดูฝูงลิง พงไพรเห็ดมากมี
หมู่บ้านที่เป็นพื้นที่บริการดังนี้ คือบ้านหนองไศล หมู่ 7 บ้านหนองจานหมู่ 8 บ้านราษฎร์รังสีหมู่ 12 บ้านวารีเกษม หมู่ที่ 2 บ้านสีสุก หมู่ 5 และ บ้านธาตุจอมศรี หมู่ 4 มีความส�ำคัญในด้านการ ท�ำประมงน�ำ้ จืด การเกษตรกรรม จ�ำนวนครัวเรือน และจ�ำนวนประชากรของต�ำบลดูกอึ่ง มีจ�ำนวน ทั้งสิ้น 8,476 คน จ�ำแนกเป็น ชาย 4,308 คน หญิง 4,168 คน
งามล�้ำสงกรานต์ประเพณี สมบูรณ์ล�ำน�้ำเสียว งามจริงพระธาตุวัดใหญ่ ชาวประชาอยู่ดีมีความสุข
เศรษฐกิจพอเพียงท้องถิ่น (ด้านการเกษตรและ แหล่งน�ำ้ ) ล�ำน�้ำเสียวใหญ่ ซึ่งไหลผ่านเกือบทุกหมู่บ้าน ในพืน้ ทีต่ ำ� บล ในปัจจุบนั แหล่งน�ำ้ นีม้ สี ภาพตืน้ เขิน บางส่วน ยังไม่ได้รบั การพัฒนาปรับปรุง ซึง่ ในอนาคต จะพัฒนาปรับปรุงให้เป็นแหล่งท่องเที่ยว และ การท�ำประมงหมู่บ้าน เพื่อใช้ประโยชน์ในการท�ำ ประมงหาเลีย้ งชีพและรายได้ของราษฎรในท้องถิน่
วัฒนธรรมประเพณี ประเพณี แ ละวั ฒ นธรรมที่ ส� ำ คั ญ ของชาว ต�ำบลดูกอึ่งคือ ฮีตพ่อ ครองแม่ เผื่อแผ่ลูกหลาน สงกรานต์ ช าวดู ก อึ่ ง ขึ้ น เป็ น ประเพณี ที่ ท าง องค์ การบริหารส่ว นต�ำ บล ด� ำเนิน การให้เ ป็น ประเพณีประจ�ำต�ำบล จัดท�ำทุกปีและได้ด�ำเนิน การมาแล้วในปีงบประมาณ 2559 ประชาชน ให้ความร่วมมือและให้ความสนใจเป็นอย่างดี และองค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บลดู ก อึ่ ง ยั ง คง สื บ สานวั ฒนธรรมพื้ น บ้ า นของแต่ ล ะหมู ่ บ ้ า น เช่น ประเพณีบุญบั้งไฟ แห่กันหลอน สงกรานต์ สรงน�ำ้ ดอนธาตุ ฯลฯ ไว้เป็นอย่างดี และจะให้การ ส่งเสริมสนับสนุนต่อไปให้คงอยู่คู่ท้องถิ่น สถานที่สำ� คัญ • ป่าโนนหนามแท่ง และป่าสงวนแห่งชาติ ดงเป็ดก่า ที่อุดมสมบูรณ์ เป็นแหล่งอาหารของ คนในท้องถิ่น
สถานที่ท่องเที่ยว • ป่าดงลิง ซึ่งอยู่ในพื้นที่ หมู่ที่ 1 และหมู่ที่ 11 เป็นป่าทีม่ คี วามอุดมสมบูรณ์และมีลงิ อาศัยอยู่ เป็นจ�ำนวนมาก ซึ่งเป็นแหล่งท่องเที่ยวของคนใน พื้นที่ต�ำบลดูกอึ่งและพื้นที่ต�ำบลใกล้เคียงได้มา เยี่ยมชมและให้อาหารลิงเป็นอย่างดี ROI ET I SBL บันทึกประเทศไทย
187
WOR K L I F E
บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนตำ�บล
องค์การบริหารส่วนตำ�บลสาวแห “สาวแห ดินแดนถิ่นอารยธรรม มากล�้ำประเพณี ผ้าไหมชั้นดี ข้าวหอมมะลิมีค่า ปูปลาตัวใหญ่ สิ่งแวดล้อมสดใส ปลอดภัยด้วยปุ๋ยอินทรีย์”
นายชนะชาญ ศรีปัญญา นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลสาวแห
ประวัติ องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บลสาวแห เดิ ม มี ฐานะเป็ น สภาต� ำ บลและได้ รั บ การจั ด ตั้ ง เป็ น องค์การบริหารส่วนต�ำบล เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2539 มี พื้ น ที่ ท้ั ง หมดประมาณ 24 ตาราง กิโลเมตร หรือประมาณ 15,000 ไร่ มีพื้นที่ การปกครองจ� ำ นวน 7 หมู ่ บ ้ า น จ� ำ นวนครั ว เรือน 756 ครัวเรือน มีประชากรทั้งสิ้น 2,879 คน แยกเป็นประชากรชาย จ�ำนวน 1,462 คน ประชากรหญิง จ�ำนวน 1,417 คนซึ่งพื้นที่ต�ำบล สาวแหส่วนใหญ่เป็นที่ราบสลับป่า ส�ำหรับที่ราบ ส่วนใหญ่ ใช้ประโยชน์ในการท�ำนาข้าว ประชากร ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ได้แก่ การ ท�ำนา ท�ำไร่ ท�ำสวน นอกจากนี้ยังมีอาชีพเสริม ต่าง ๆ เช่น การทอผ้าไหม การปลูกเห็ด เลี้ยง สัตว์ ซึ่งอาชีพเสริมส่วนใหญ่ได้รับการสนับสนุน จากองค์การบริหารส่วนต�ำบลสาวแห ในเรือ่ งของ การให้ความรูจ้ ดั ตัง้ เป็นกลุม่ อาชีพ ท�ำให้ประชาชน ในต�ำบลสาวแหมีอาชีพเสริม เพิ่มรายได้สามารถ สร้างรายได้ให้กับครอบครัวได้เป็นอย่างดี
188
SBL บันทึกประเทศไทย I ร้อยเอ็ด
สินค้า OTOP องค์การบริหารส่วนต�ำบลสาวแห มีผลิตภัณฑ์ OTOP ที่ขึ้นชื่อ คือ ผ้าไหมทอมือ และผลิตภัณฑ์ เครื่องจักสาน เช่น ตะกร้า หมวก กระด้ง สุ่มไก่ ก่องข้าวเหนียวนึ่ง เป็นต้น
ประเพณี ประเพณีวัฒนธรรมที่โดดเด่นที่ควรแก่การ อนุรักษ์ไว้ ได้แก่ ประเพณีบุญบั้งไฟ ประเพณี บุ ญ เส็ ง กลอง ซึ่ ง องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บล สาวแห ก็ได้เป็นส่วนหนึ่งในการสนับสนุนการ อนุรกั ษ์ประเพณีวฒ ั นธรรมอันดีงามเหล่านีเ้ อาไว้
โครงการรักน�ำ้ รักป่า รักษาแผ่นดิน
โครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม พนักงานส่วนต�ำบล พนักงานจ้าง คณะผู้บริหารและสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนต�ำบลสาวแห
การท่องเที่ยว ต�ำบลสาวแห มีสถานที่ท่องเที่ยวที่เป็นศูนย์ รวมจิตใจของชาวต�ำบลสาวแหให้เป็นอันหนึ่ง อันเดียวกัน คือ วัดบ้านหนองแคน ที่มีศาลา การเปรียญไม้หลังใหญ่ ศาลากลางน�้ำ และยัง เป็นสถานที่ที่ประชาชนในต�ำบลสาวแห ได้ใช้ ด�ำเนินกิจกรรมต่างๆ ของชุมชน และมีพระศรี อริยเมตไตรยพระพุทธรูปองค์ใหญ่ประจ�ำวัดบ้าน สาวแห พิธีเปิดโรงเรียนผู้สูงอายุต�ำบลสาวแหตามโครงการต�ำบลต้นแบบ การจัดสวัสดิการสังคมแก่ผู้สูงอายุแบบบูรณาการ
ศาลากลางน�ำ้ วัดบ้านหนองแคน
ศาลาการเปรียญไม้ วัดบ้านหนองแคน
โครงการพัฒนาแรงงานเพื่อยกระดับศักยภาพแรงงานให้ ได้มาตรฐาน เพื่อพัฒนาศักยภาพ “ผู้ขับแท็กซี่” ให้เป็นทูตวัฒนธรรมด้านการท่องเที่ยวของจังหวัดร้อยเอ็ด
กิจกรรมจิตอาสาท�ำความสะอาดรอบๆ ส�ำนักงาน อบต.สาวแห
สินค้า OTOP ต�ำบลสาวแห ROI ET I SBL บันทึกประเทศไทย
189
WOR K L I F E
บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนตำ�บล
องค์การบริหารส่วนตำ�บลเด่นราษฎร์ สภาพทั่วไป องค์การบริหารส่วนต�ำบลเด่นราษฎร์ จัดตัง้ ขึน้ ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เมื่อวันที่ 16 เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2539 โดยอาศัยอ�ำนาจตามพระราชบัญญัตสิ ภา ต�ำบล และองค์การบริหารส่วนต�ำบล พ.ศ. 2537 สถานที่ตั้งของที่ทำ� การ องค์การบริหารส่วนต�ำบลเด่นราษฎร์ มี ส�ำนักงานตั้งอยู่ หมู่ 5 ต�ำบลเด่นราษฎร์ อ�ำเภอหนองฮี จังหวัดร้อยเอ็ด เป็นอาคาร สองชั้น บนเนื้อที่ 30 ไร่
หมู่ที่ 5 บ้านหนองเหล็ก หมู่ที่ 6 บ้านเด่นราษฎร์ หมู่ที่ 7 บ้านหนองคูณ หมู่ที่ 8 บ้านหนองคูณน้อย หมู่ที่ 9 บ้านดอนแคน หมู่ที่ 10 บ้านหนองคูณกลาง หมู่ที่ 11 บ้านเด่นราษฎร์ หมู่ที่ 12 บ้านม่วงหวาน หมู่ที่ 13 บ้านขมิ้น
เขตการปกครอง ต�ำบลเด่นราษฎร์ เป็นต�ำบลหนึ่งใน จ�ำนวนหมู่บ้านในเขตต�ำบลเด่นราษฎร์ 4 ต� ำ บลของอ� ำ เภอหนองฮี ต� ำ บลเด่ น ราษฎร์ ห่างจากตัวอ�ำเภอหนองฮีประมาณ มีทั้งหมด 13 หมู่ 6 กิ โ ลเมตรไปทางทิ ศ ใต้ และห่ า งจาก หมู่ที่ 1 บ้านกอกแก้ว จังหวัดร้อยเอ็ด 75 กิโลเมตร มีอาณาเขต หมู่ที่ 2 บ้านขมิ้น พื้นที่ ดังนี้ หมู่ที่ 3 บ้านผึ้ง หมู่ที่ 4 บ้านดงเย็น นายนิลยุทธ หนองหาร นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลเด่นราษฎร์
องค์การบริหารส่วนตำ�บลเด่นราษฎร์
190
SBL บันทึกประเทศไทย I ร้อยเอ็ด
ทิศเหนือ จรด ต�ำบลหนองฮี อ�ำเภอหนองฮี จังหวัดร้อยเอ็ด ทิศใต้ จรด ต�ำบลศรีสว่าง อ�ำเภอโพนทราย จังหวัดร้อยเอ็ด ทิศตะวันออก จรด ต�ำบลดูกอึง่ อ�ำเภอหนองฮี จังหวัดร้อยเอ็ด ทิศตะวันตก จรด ต�ำบลจ�ำปาขัน อ�ำเภอ สุวรรณภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด แหล่งท่องเที่ยว บ่อพันขัน เป็ น สิ่ ง มหั ศ จรรย์ ล� ำ ดั บ แรกๆ ที่ จั ง หวั ด ร้อยเอ็ดให้ความส�ำคัญเป็นอย่างมาก ได้มีการ ปรับปรุงขึน้ มาให้กลายเป็นสถานทีท่ อ่ งเทีย่ ว หนึง่ ในจังหวัดร้อยเอ็ด ซึง่ มีความเชือ่ ต่าง ๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง กับบ่อพันขันนี้อยู่หลายประการ เป็นจุดเด่นของ ต�ำบลเด่นราษฎร์ อ�ำเภอหนองฮี จังหวัดร้อยเอ็ด ที่ใครไปแล้วเป็นต้องเดินทางไปท่องเที่ยว ให้ได้ ไปเห็นบ่อพันขันกับตาตัวเอง ในบริเวณบ่อพัน ขันจะปรากฏพื้นที่ลักษณะพิเศษ คือมีบ่อน�้ำจืด ธรรมชาติ ที่มีน�้ำผุดขึ้นมาอยู่ตลอดเวลามีขนาด กว้างประมาณ 6-8 นิ้ว ลึก 6-8 นิ้ว ตักเป็นพันขัน ก็ไม่หมด จึงเป็นทีม่ าของชือ่ “บ่อพันขัน” ชาวบ้าน เรียกอีกอย่างว่า “น�ำ้ สร่างครก” เพราะมีลักษณะ คล้ายครกต�ำข้าว ในฤดูน�้ำหลาก พื้นที่บริเวณบ่อ พันขันบางส่วนจมอยู่ใต้พื้นน�้ำ แต่ในฤดูแล้งพื้นที่ บริเวณบ่อพันขันจะปรากฏแนวพืน้ หินทรายกว้าง ใหญ่ครอบคลุมพื้นที่บริเวณกว้างและมีร่องรอย ความเค็มของดินปรากฏอยู่
สถานที่ส�ำคัญ - บ่อพันขัน มีลักษณะเป็นบ่อกลมเล็ก ๆ ที่มี รูขนาดประมาณ 6-8 นิ้ว ที่จะมีน�้ำจืดผุด ออกมา อยู่ตลอดเวลา - วัดเกาะบ่อพันขันรัตนโสภณ ซึ่งภายใน พื้นที่แห่งนี้เป็นพื้นที่แห่งการศึกษา เป็นอุทยาน การศึกษาเฉลิมพระเกียรติ 50 ปี ตั้งอยู่ในเขตวัด เกาะบ่อพันขันรัตนโสภณ และเป็นที่ประดิษฐาน พระพุทธสหัสขันธมหามุนนี าถ ซึง่ มีความสวยงาม เป็นทีเ่ คารพบูชาของชาวบ้านในต�ำบลเด่นราษฎร์ สถานที่ส�ำคัญ - ศาลเจ้าปูผ่ า่ นเจ้าพ่อบ่อพันขัน สิง่ ศักดิส์ ทิ ธิ์ ที่ชาวบ้านให้ความเคารพบูชา มาสักการะขอพร - แก่นขามพันปี เป็นแก่นของต้นมะขามทีต่ าย แล้วเปลือกนอกย่อยสลายไปตามกาลเวลาเหลือ เพียงแก่นตรงกลางอยูบ่ นเนินดินสูงล้อมรอบด้วย ต้นมะขามทีข่ นึ้ อยูจ่ ำ� นวนมากแก่นขามนัน้ เดิมล้ม อยู่กับพื้นดินหลายชั่วอายุคน กิจกรรมส�ำคัญที่จัดท�ำทุก ๆ ปี - พิธีส�ำคัญที่จัดท�ำทุกปี พิธีท�ำบุญตักบาตร บูชาพญานาคตามความเชื่อของชาวบ้านในพื้นที่
- ประเพณีแข่งขันเรือยาวชิงถ้วยพระราชทาน สมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช กุมารี และพิธบี วงสรวงเจ้าพ่อปูผ่ า่ น เพือ่ เป็นการ อนุ รั ก ษ์ ศิ ล ปวั ฒนธรรมและประเพณี อั น ดี ง าม ของท้องถิน่ อีกทัง้ ยังเป็นการส่งเสริมการท่องเทีย่ ว ตามยุทธศาสตร์จังหวัดร้อยเอ็ด สินค้าพื้นเมืองและของที่ระลึก - ผลิตภัณฑ์สนิ ค้าชุมชน เครือ่ งจักสานเสือ่ ทอ จากต้นกก ผ้าไหม ผ้าฝ้าย ของชาวบ้านในท้องถิน่ - สวนเกษตรประจ�ำต�ำบล ได้ด�ำเนินการปลูก ต้นหอม หัวหอม ในพื้นที่บ่อพันขัน หมู่ที่ 12 บ้านม่วงหวาน - ขนมปัน้ ขลิบ ของชุมชน หมูท่ ี่ 9 บ้านดอนแคน
ROI ET I SBL บันทึกประเทศไทย
191
HI S TO R Y O F BU D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดดอนวิเวก ตั้งอยู่ที่ บ้านประตูชัย ต�ำบลนิเวศน์ อ�ำเภอธวัชบุรี จังหวัดร้อยเอ็ด ห่างจากถนนสายร้อยเอ็ด – ธวัชบุรี ไปทางทิศเหนือประมาณ 1 กิโลเมตร เขตที่ตั้งวัดและอุปจารของวัด (บริเวณรอบๆ วัด)
เขตที่ ตั้ ง วั ด มี ก� ำ แพงวั ด แสดงแนวเขต ของวัดและที่ดินข้างเคียง
ประวัติความเป็นมา พระครูวิเวกธรรมานุศาสก์ เจ้าอาวาสวัดดอนวิเวก
192
SBL บันทึกประเทศไทย I ร้อยเอ็ด
วัดดอนวิเวก ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นดอนวิเวก หมูท่ ี่ 4 ต� ำ บลพระธาตุ อ� ำ เภอเชี ย งขวั ญ จั ง หวั ด ร้อยเอ็ด
เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ที่ ดิ น ที่ ตั้ ง วั ด มี เ นื้ อ ที่ 8 ไร่ 75 ตารางวา อยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของหมู่บ้าน วัดบ้านดอนวิเวก ตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2559 โดยการน�ำของท่านยาครูอ๋อง ท่านยาครูบัว ท่านญาซาดี ท่านญาซาแสง ในการอุปถัมภ์ของ ชาวบ้านดอนวิเวก โดยมีนายน้อย เอกวงษา ผู้ใหญ่บ้าน ในขณะนั้นเป็น ผู้น�ำฝ่ายฆราวาส ให้ ก ารช่ ว ยเหลื อ ในการก่ อ สร้ า งวั ด แห่ ง นี้
มีพระภิกษุสามเณรได้มาอยู่จ�ำพรรษาทุกปี ตลอดมามิได้ขาด เป็นวัดที่ชาวบ้านดอนวิเวก ตั้งขึ้นและอุปถัมภ์ตลอดมา ได้รับอนุญาตให้ตั้งเป็นวัด เมื่อวันที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2451 และได้รับพระราชทาน วิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2521
เสนาสนะภายในวัด
• อุโบสถ 1 หลัง • กุฏิ 3 หลัง • ศาลาการเปรียญ 1 หลัง • โรงครัว 1 หลัง • หอพระ 2 หลัง • เมรุ 1 หลัง • ศาลาธรรมสังเวช 1 หลัง • ห้องสุขาของพระภิกษุสงฆ์ 5 ห้อง ของ อุบาสกอุบาสิกา 6 ห้อง
ประวัติเจ้าอาวาส
พระครูวิเวกธรรมานุศาสก์ (จ�ำรัส) ฉายา อตฺตทนฺโต อายุ 50 ปี พรรษา 28 ด�ำรง ต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดดอนวิเวก เมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2545 ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าคณะ ต�ำบลพระธาตุ เมื่อวันที่ 13 เมษายน พ.ศ. 2539 และด�ำรงต�ำแหน่งรองเจ้าคณะอ�ำเภอ เชียงขวัญ เมื่อวันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2552 ROI ET I SBL บันทึกประเทศไทย
193
HI S TO R Y O F BU D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดราษฎรอุทิศ พระอธิการทองสิน ปภสฺสโร เจ้าอาวาสวัดราษฎรอุทิศ
ประวัติความเป็นมา
วัดราษฎรอุทิศ ตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2480 ตัง้ อยูท่ ี่ บ้านบึงงาม หมูท่ ี่ 1 ต�ำบลบึงงาม อ�ำเภอ หนองพอก จังหวัดร้อยเอ็ด สังกัดคณะสงฆ์ มหานิกาย มีเนื้อที่ทั้งหมด 12 ไร่ 8 ตารางวา ทิศเหนือ จดบึงฉวะแข ด้านนี้มีความยาว ประมาณ 91.5 วา ทิศใต้ จดหมูบ่ า้ นบึงงาม ด้านนีม้ คี วามยาว ประมาณ 69.5 วา ทิศตะวันออก จดถนนสาธารณะ ด้านนี้มี ความยาวประมาณ 60 วา ทิศตะวันตก จดหมู่บ้านบึงงาม ด้านนี้มี ความยาวประมาณ 40 วา อาคารเสนาสนะประกอบด้ ว ย ศาลา การเปรียญ จ�ำนวน 2 หลัง คือ 1. หลั ง เก่ า สร้ า งเมื่ อ ปี พ.ศ. 2514 มีลกั ษณะเป็นบ้าน 2 ชัน้ มีความกว้าง 16 เมตร
194
SBL บันทึกประเทศไทย I ร้อยเอ็ด
10 เซนติเมตร ยาว 21 เมตร 93 เซนติเมตร 2. หลัง ใหม่ สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2537 กว้างประมาณ 14 เมตร 80 เซนติเมตร ยาว ประมาณ 30 เมตร 35 เซนติเมตร มี กุ ฏิ ส งฆ์ จ� ำ นวน 4 หลั ง สร้ า งเมื่ อ ปี พ.ศ. 2515 หลังใหญ่ในจ�ำนวน 4 หลัง กว้างประมาณ 12 เมตร 25 เซนติเมตร ยาวประมาณ 21 เมตร 3 เซนติเมตร ปูชนียวัตถุมีพระพุทธรูปปางต่าง ๆ วัดราษฎรอุทิศ มีการบริหารงานและการ ปกครองอย่างเป็นระบบและถูกต้อง มีเจ้าอาวาส
ตัง้ แต่อดีตจนถึงปัจจุบนั ซึง่ เรียงล�ำดับดังนี้ 1.พระอธิการมิ่ง 2.พระอธิการชาลี 3.พระอธิการพรม 4.พระอธิการแสง 5.พระอธิการอ่อน 6.พระอธิการพัน 7.พระอธิการเสือ 8.พระอธิการจันทร์ 9.พระอธิการทองสิน ปภสฺสโร เจ้าอาวาส องค์ปัจจุบัน
WORK LIF E
บันทึกเส้นทางพบเทศบาลตำ�บล
เทศบาลตำ�บลโพนเมือง
นายขวัญชัย กุลสุวรรณ นายกเทศมนตรีตำ�บลโพนเมือง
สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐาน เดิมเป็นองค์การบริหารส่วนต�ำบลโพนเมือง และได้เปลี่ยนแปลงฐานะองค์การบริหารส่วน ต�ำบลเป็นเทศบาลต�ำบลตามประกาศกระทรวง มหาดไทย เรื่อง การจัดตั้งองค์การบริหารส่วน ต� ำ บลโพนเมื อ ง อ� ำ เภออาจสามารถจั ง หวั ด ร้อยเอ็ด เป็นเทศบาลต�ำบลโพนเมือง ในวันที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2555 อยู่ห่างจากตัวจังหวัด ร้อยเอ็ด ประมาณ 40 กิโลเมตร มีพื้นที่ประมาณ 49 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 30,625 ไร่ มีหมู่บ้านในเขตบริการทั้งหมด 17 หมู่บ้าน อาณาเขตของเทศบาลต�ำบลโพนเมือง ทิ ศ เหนื อ จดต� ำ บลเหล่ า อ� ำ เภอทุ ่ ง เขาหลวง ทิศใต้ จดต�ำบลอาจสามารถ อ�ำเภออาจสามารถ ทิศตะวันออก จดต�ำบลแจ้ง อ�ำเภออาจสามารถ ทิศตะวันตก จดต�ำบลขีเ้ หล็ก อ�ำเภออาจสามารถ
สถานที่ส�ำคัญและแหล่งท่องเที่ยว - ศาลหลวงปู่เสือ ตัง้ อยูบ่ า้ นโพนเมือง หมู ่ ที่ 1 ต� ำ บล โพนเมื อ ง อ� ำ เภอ อาจสามารถ จั ง หวั ด ร้ อ ยเอ็ ด เป็นสถานที่เคารพ สักการะของคนในต�ำบลและอ�ำเภอ - พระธาตุสีไคล ตัง้ อยูใ่ นวัดบ้านธาตุ หมู ่ ที่ 10 ต� ำ บล โพนเมื อ ง อ� ำ เภอ อาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด เป็นพระธาตุที่ เคารพ สักการะของคนในหมู่บ้านและต�ำบล
- วัดบ้านสนามชัย ตั้งอยู่บ้านสนามชัย หมู ่ ที่ 17 ต� ำ บล โพนเมื อ ง อ� ำ เภอ อาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด เป็นวัดที่มีสิ่งก่อสร้างที่วิจิตร งดงาม และมีพุทธศาสนิกชนเดินทางมาปฏิบัติ ธรรมอยู่เป็นประจ�ำ ประเพณีที่ส�ำคัญในต�ำบล - ประเพณี บุ ญ บั้งไฟ ทางเทศบาล ต�ำบลโพนเมือง ได้ จั ด ขึ้ น เป็ น ประจ� ำ เพือ่ สืบสานอนุรกั ษ์ ประเพณีอันดีงามของท้องถิ่น
ROI ET I SBL บันทึกประเทศไทย
195
WOR K LI FE
บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนตำ�บล
องค์การบริหารส่วนตำ�บลบ้านดู่
นายบรรยง บุดดาพันธ์ นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลบ้านดู่
ประวัติความเป็นมา ต�ำบลบ้านดู่ เดิมขึ้นกับต�ำบลขี้เหล็ก อ�ำเภอ อาจสามารถ ต่อมามีหมูบ่ า้ นทีจ่ ดั ตัง้ ขึน้ ใหม่มากขึน้ ดังนั้นเมื่อปี 2500 จึงแยกการปกครองออกมา เป็นต�ำบลบ้านดู่ อ�ำเภออาจสามารถ จังหวัด ร้อยเอ็ด มีหมู่บ้านในการปกครอง 11 หมู่บ้าน องค์การบริหารส่วนต�ำบลบ้านดู่ ตั้งอยู่ห่างจาก ที่ว่าการอ�ำเภออาจสามารถ ประมาณ 19.50 กิโลเมตร มีพนื้ ที่ ทัง้ หมดประมาณ 26,937.50 ไร่ หรือประมาณ 43.10 ตารางกิโลเมตร พื้นที่ตั้ง อยู่บนที่ราบสูง สภาพดินเป็นดินทราย มีคลอง อีสานเขียวไหลผ่าน ซึ่งต�ำบลบ้านดู่ แบ่งเป็น 11 หมู่บ้าน ดังนี้ หมู่ที่ 1 บ้านดู่ หมู่ที่ 2 บ้านดู่ หมู่ที่ 3 บ้านหนองอาราม หมู่ที่ 4 บ้านเหล่าลิง หมู่ที่ 5 บ้านดงเมืองจอก หมู่ที่ 6 บ้านดงเมืองจอก
196
SBL บันทึกประเทศไทย I ร้อยเอ็ด
“ โนนเมืองเก่านามเคยอ้าง ถิ่นผู้สร้างเมืองสาเกตุ อยู่ขอบเขตทุ่งขะหมุม แหล่งชุมนุมแมลงทอด งามสุดยอดไหมมัดหมี่ พระบรมสารีเชิญแวะไหว้ งานยิ่งใหญ่บุญทอดเทียนโฮม ” หมู่ที่ 7 บ้านส�ำโรง หมู่ที่ 8 บ้านหว่านไฟ หมู่ที่ 9 บ้านลิ้นฟ้า หมู่ที่ 10 บ้านโหง่ หมู่ที่ 11 บ้านลิ้นฟ้า มีประชากรทั้งสิ้น 5,590 คน แยกเป็นชาย 2,822 คน หญิง 2,768 คน จ�ำนวน 1,367 ครัวเรือน การส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ การด� ำ เนิ น งานด้ า นเศรษฐกิ จ มี ก ารรวม กลุ ่ ม ท� ำ กิ จ กรรมร่ ว มกั น เพื่ อ เป็ น อาชี พ เสริ ม ของครอบครั ว ลดรายจ่ า ย เพิ่ ม รายได้ เช่ น กลุ ่ ม วิ ส าหกิ จ ชุ ม ชนปลู ก หม่ อ นเลี้ ย งไหมและ ทอผ้ากี่กระตุก หมู่ 8 กลุ่มทอเสื่อกกลายขิต กลุ่มจักสาน กลุ่มโรงเรียนชาวนา กลุ่มแปรรูป ผลิตภัณฑ์ขา้ วหอมมะลิ และร้านค้าชุมชน เป็นต้น ส�ำนักงานเกษตรอ�ำเภออาจสามารถได้ให้ค�ำ แนะน�ำส่งเสริมสนับสนุนการปลูกหม่อน เลี้ยง ไหม การทอผ้าและการรวมกลุม่ เพือ่ สืบทอดและ อนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นให้คงอยู่สืบไป
พ.ศ. 2527 – 2539 ได้รวมตัวกันก่อตั้งกลุ่ม ปลูกหม่อนเลี้ยงไหม โดยนายใบ นันทวงษ์ มีการ ก่อตัง้ กลุม่ ทอผ้าโดยใช้สถานทีศ่ าลาอเนกประสงค์ กลางหมู่บ้าน และได้รับการสนับสนุนกี่กระตุก จากศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรม ภาคที่ 5 ขอนแก่น จ�ำนวน 5 หลัง และให้การสนับสนุนวิทยากรใน การฟอก ย้อม การทอผ้า ผ้าไหมด้วยกี่กระตุก พ . ศ . 2 54 7 ไ ด ้ รั บ ก า ร คั ด เ ลื อ ก ใ ห ้ เป็ น หมู ่ บ ้ า นไหมไทยเฉลิ ม พระเกี ย รติ ส มเด็ จ พระนางเจ้าสิรกิ ติ ิ์ รวมถึงได้รบั เลือกให้เป็นกลุม่ ผู้ ผลิตสินค้า OTOP มีการรับสมัครสมาชิกเพิม่ เป็น 64 คน และขอยื่นจดทะเบียนเป็นวิสาหกิจชุมชน ผลงานที่ภาคภูมิใจ ปี 2559 กลุ ่ ม ได้ ฝ ึ ก สอนการสาวไหม ให้ เ ยาวชนเพื่ อ เข้ า แข่ ง ขั น ในงานตรานกยู ง พระราชทานสื บ สานต� ำ นานไหมไทยประจ� ำ ปี 2559 จัดโดย กรมหม่อนไหม ณ ศูนย์การประชุม แห่งชาติสิริกิติ์ ได้รับรางวัลชนะเลิศ ประเภท เส้นไหมหลืบสาวมือ ระดับประถมศึกษาและยังได้ รับรางวัลพระราชทานการแข่งขันไหมไทยพืน้ ฐาน ประเภทเส้นไหมน้อยสาวมือ อีกด้วย
กลุ่มทอเสื่อกกลายขิต แนวความคิดมาจากการที่ชาวบ้านในพื้นที่มี ต้นกกเป็นของตนเองที่บ้าน จึงน�ำแนวความคิด การด� ำ เนิ น งานจากการรวมกลุ ่ ม ของแม่ บ ้ า น เป็นการผลิตเสื่อกกลายขิต เพราะส่วนใหญ่ว่าง งานหลังจากฤดูท�ำนา เมื่อรวมกลุ่มกันจึงท�ำให้ เกิดงาน สามารถจ�ำหน่ายกับผู้ที่สนใจ ก่อให้เกิด รายได้ภายในครอบครัวและชุมชน เกิดการแลก เปลี่ ย นความรู ้ ใ หม่ ๆ ระหว่ า งสมาชิ ก ในกลุ ่ ม ทัง้ เป็นการอนุรกั ษ์ภมู ปิ ญ ั ญาท้องถิน่ ไม่ให้สญ ู หาย ซึ่งจะบ่งบอกถึงความเป็นมาของท้องถิ่นนั้นๆ ได้เป็นอย่างดี กลุ่มจักสาน เป็นการรวมกลุ่มในชุมชนของผู้สูงอายุ หรือ ใช้เวลาว่างจากการท�ำนา มาสานตะกร้าไม้ไผ่ และตะกร้าเส้นพลาสติก สานกระติบข้าวเหนียว ทอเสือ่ แบบพับ และแบบม้วน การท�ำไม้กวาดทาง มะพร้าว เดิมเป็นการท�ำขึ้นเพื่อใช้ในครอบครัว ลดรายจ่ า ย แต่ ป ั จ จุ บั น มี ก ารรวมกลุ ่ ม และ จัดจ�ำหน่ายทีก่ ลุม่ และส่งขายให้หมูบ่ า้ นใกล้เคียง ท�ำให้เกิดรายได้เสริมอีกทางหนึ่ง กลุ่มร้านค้าชุมชน แ น ว ค ว า ม คิ ด ม า จ า ก ก า ร แ ก ้ ป ั ญ ห า ของหมู ่ บ ้ า น ซึ่ ง หมู ่ บ ้ า นอยู ่ ห ่ า งไกลจาก ตัวเมือง ประชาชนมีความจ�ำเป็นต้องใช้สินค้า เพื่อการอุปโภคบริโภค ส�ำหรับการยังชีพในชีวิต ประจ�ำวัน จึงเกิดการรวมกลุ่มเพื่อให้สมาชิกได้ มีสินค้าอุปโภคบริโภคในชุมชน สะท้อนถึงความ เข้มแข็งของการรวมกลุ่มร้านค้าเศรษฐกิจชุมชน
กระบวนการท�ำงานของกลุ่มเป็นการสร้างการ มีส่วนร่วม การสร้างข้อตกลงร่วมกันเพื่อเป็น ระเบียบปฏิบัติภายในกลุ่มให้ความช่วยเหลือ จัด สวัสดิการให้แก่สมาชิก โดยมี 2 ลักษณะการ ท�ำงาน ได้แก่ 1. การจัดการเงิน มีการกู้ยืมเงิน ปันผลคืนให้แก่สมาชิก และการจัดสวัสดิการเมื่อ สมาชิกกลุ่มเสียชีวิต 2. มีองค์กรที่หนุนเสริมการ ท�ำงานได้แก่ องค์การบริหารส่วนต�ำบลบ้านดู่ ท�ำให้เกิดผลลัพธ์ ได้แก่ เสริมสร้างรายได้แก่ชมุ ชน เกิดความมัน่ คงทางการเงิน เกิดแกนน�ำคนรุน่ ใหม่ โรงเรียนชาวนาบ้านหว่านไฟ จากสถานการณ์ ป ั ญ หาผลผลิ ต ทางการ เกษตรตกต�่ำ เมล็ดข้าวไม่มีคุณภาพ เบา เมล็ด เล็ก ขายไม่ได้ราคา พ่อค้าคนกลางกดราคาและ โกงตาชั่ง เกษตรกรไม่ได้รับความเป็นธรรมใน การผลิตรวมถึงต้นทุนในการผลิตสูงขึ้น ไม่คุ้มกับ การลงทุน เกษตรกรประสบปัญหาดังกล่าวเลยได้ รวมตัวเป็น “กลุ่มโรงเรียนชาวนาบ้านหว่านไฟ” เพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว ปัจจุบันกลุ่ม ผลิตและ จ�ำหน่ายเมล็ดพันธุ์ข้าว ส่งขายให้ศูนย์เพาะพันธุ์ ข้าวร้อยเอ็ด
กลุ่มแปรรูปผลิตภัณฑ์ข้าวหอมมะลิ นอกจากกลุ่มโรงเรียนชาวนาจะผลิตเมล็ด พันธุ์ข้าวจ�ำหน่ายแล้ว กลุ่มแม่บ้านยังได้น�ำข้าว หอมมะลิมาแปรรูป เป็นขนมเพื่อจ�ำหน่ายสร้าง รายได้เสริมอีกทางหนึ่ง วัฒนธรรมประเพณี ประเพณีงานบุญทอดเทียนโฮม องค์การบริหารส่วนต�ำบลบ้านดู่ได้จัดงาน ประเพณีบุญทอดเทียนโฮมขึ้น เป็นประจ�ำทุกปี ในช่วงเข้าพรรษา เพือ่ เป็นการส่งเสริมอนุรกั ษ์และ สืบสานประเพณีวัฒนธรรมอันดีงาม ของชุมชน ให้คงอยู่สืบไป ในงานมีกิจกรรม การประกวดต้น เทียนสวยงาม ธิดาเทียน ขบวนแห่ ขบวนฟ้อนร�ำ และร้องสรภัญญะ เป็นต้น ROI ET I SBL บันทึกประเทศไทย
197
82
Ads
SBL บันทึกประเทศไทย I LOP BURI
.indd 82
8/10/2561 8:52:35
LOP BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
Ads
.indd 83
83
8/10/2561 8:52:37
â¡ÅºÍÅàÎŒ Ò Ê “Èٹ ÃÇÁÇÑÊ´Ø¡‹ÍÊÌҧ ààÅТͧµ¡àോ§ºŒÒ¹”
à» ´·Ø¡Çѹ 8.30-19.00¹.
ÁÒ·Õè¹Õè...
“·Õèà´ÕÂǨº ¤ÃºàÃ×èͧºŒÒ¹” ¤Ãº¨ÃÔ§ ¶Ù¡¨ÃÔ§
Èٹ ÃÇÁÊÔ¹¤ŒÒÇÑÊ´Ø¡‹ÍÊÌҧáÅТͧµ¡áµ‹§ºŒÒ¹ à¾×èͤ¹ÃÑ¡ºŒÒ¹¨Ðä´Œà¾ÅÔ´à¾ÅԹ㨡Ѻ¡Òà àÅ×Í¡«×éÍàÅ×Í¡ËÒ ÊÔ¹¤ŒÒÇÑÊ´Ø¡‹ÍÊÌҧ äÁ‹Ç‹Ò¨Ð໚¹ »Ù¹ àËÅç¡àÊŒ¹ ËÅѧ¤Ò ¡ÃÐàº×éͧà«ÃÒÁÔ¤ à¤Ã×èͧÁ×ͪ‹Ò§ à¤Ã×èͧ㪌俿‡Ò ¢Í§µ¡áµ‹§ºŒÒ¹áÅÐÊǹ “¤Ãº¨ÃÔ§¶Ù¡¨ÃÔ§ ¤ØŒÁ¤‹Ò¤ØŒÁÃÒ¤Ò” ´ŒÇÂÊÔ¹¤ŒÒ¡Ç‹Ò 100,000 ÃÒ¡Òà ¹ÑºÅŒÒ¹ªÔé¹ ¾ÃŒÍÁÃкº¢¹Ê‹§ÊÔ¹¤ŒÒÍѹ·Ñ¹ÊÁÑ ÊдǡʺÒ º¹¾×é¹·Õè¡Ç‹Ò 50 äË
“਌ҢͧºŒÒ¹ÍØ‹¹ã¨ ª‹Ò§ä·ÂàÅ×Í¡ àËÅ硵ÑÇ C àËÅç¡á»ˆº àËÅç¡¡ÑÅÇÒ乫
0¹.
”
¡ÒÃ ÁÔ¤ Ò”
äÁ‹µŒÍ§·ÒÊÕ Å´µŒ¹·Ø¹ »ÃÐËÂÑ´àÇÅÒµÔ´µÑé§
¤Ø³ÀÒ¾´Õ á¢ç§áç ·¹Ê¹ÔÁ
Èٹ ÃÇÁ àËÅç¡àÊŒ¹ àËÅç¡ÃÙ»¾Ãó ·Ø¡ª¹Ô´
.indd 202
16/10/2561 11:58:32
.indd 11
16/10/2561 11:04:00
สั กการะบูชาพระมหาธาตุเจดีย์
วั ด ป่ า ทุ่ ง กุ ล า บ้านโพนตูม ต�ำบลทุ่งทอง อ�ำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด
พระมหาธาตุเจดีย์ศรีทศพลญาณเฉลิมราชชัยมงคล บรรจุพระบรมสารีริกธาตุที่สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายกทรงประธาน
.indd 204
16/10/2561 18:17:06