SBL บันทึกประเทศไทย | ฉบับที่ 99 - จังหวัดเชียงใหม่ (วัดทั่วไทย)

Page 1

่ ง รู ป แห 75 22 5,2 ไทย ์ 1,4 ว่า ทั่ว สงฆ งฆ์ก วัด ส�ำนัก พระส ละ ับ ัดแ ้าก ร์ว มเช ทัว รยา าต

วัดทัวไทย

SBL บันทึกประเทศไทย

ใส่บ

นิตยสารแนะน�ำแหล่งท่องเที่ยวและของดีจังหวัดเชียงใหม่ ประจ�ำปี 2562

Chiang Mai เพชรแห่งธรรม...สยามเมืองเหนือ

หลวงพ่ อทันใจ เปิดผอบพระบรมสารีริกธาตุ ไขต�ำนานพระนางจามเทวี ณ พระธาตุดอยค�ำ (วัดสุวรรณบรรพต) สัมผัสความศั กดิ์สิทธิ์ของพระเจ้าทันใจ ไม่ไปไม่รู้...

Vol.9 Issue 99/2019

EXCLUSIVE

“การพั ฒนาจิตคือการพั ฒนาชาติ” ธีรพงษ์ อินทร์พันธุ์ ผอ.ส�ำนักงานพระพุ ทธศาสนาจังหวัดเชียงใหม่

.indd 5

www.issuu.com

29/11/2562 9:21:46


History of buddhism....

วัดถ�้ำตับเตำ เปิดตำนานพระพุทธเจ้าก่อนดับขันธปรินิพพาน เรื่องเล่าพื้นบ้านแห่งความศรัทธาในพระพุทธศาสนา

วัดถ�้าตับเตา ศาสนสถานศักดิ์สิทธิ์ของชุมชนในแอ่งที่ราบโล่ง เมืองไชยปราการ - ฝาง จังหวัดเชียงใหม่ มีอายุเก่าแก่ที่ปัจจุบัน นักท่องเที่ยวทั่วโลกนิยมเดินทางมาเรียนรู้ โดยมีต�านานที่ผูกเรื่องราว พื้นบ้านเข้ากับความศรัทธาในพระพุทธศาสนาว่า... ในสมัยพุทธกาล ขณะที่สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงใกล้ จะปรินิพพาน หลังจากทรงตรากตร�าพระวรกายในการประกาศ พระศาสนาในถิ่นฐานต่างๆ เมื่อจวนได้เวลาเสด็จดับขันธ์ปรินิพพาน ตามค� า ทู ล อาราธนาของพญามาร พระพุ ท ธองค์ ไ ด้ รั บ บิ ณ ฑบาต อาหารที่ประกอบด้วยสุกรมัทวะจากนายจุนนะ หลังจากรับอาหาร

จากบิ ณ ฑบาตแล้ ว พระพุ ท ธองค์ ก็ ท รงประชวรและอาเจี ย น เนื่ อ งจากอาหารเป็ น พิ ษ ขณะที่ ท รงประชวรอยู ่ ก็ ท รงประทั บ ที่ ถ�้าแห่งหนึ่ง ถ�้านั้นคือถ�้าตับเตา นี้เอง ต�านานแห่งพระพุทธเจ้าในปัจฉิมวัย ท�าให้ระลึกถึงปัจฉิมโอวาท ที่พระพุทธองค์ทรงฝากไว้ครั้งสุดท้าย “ภิกษุทั้งหลาย บัดนี้เราขอเตือนท่านทั้งหลายว่า สังขารทั้งหลาย มี ค วามเสื่ อ มความสิ้ น ไปเป็ น ธรรมดา ท่ า นทั้ ง หลาย จงบ� า เพ็ ญ ไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ ปัญญา ให้บริบูรณ์ด้วยความไม่ประมาทเถิด” *** อ่านต่อหน้า 154***

2

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


History of buddhism....

พระแม่ธรณี วัดสันต้นเปา (บ้านอ่าย) ตั้งอยู่เลขที่ 171 บ้านอ่าย ถนนโชตนา หมู่ที่ 5 ตําบลศรีดงเย็น อําเภอไชยปราการ จังหวัดเชียงใหม่ *อ่านต่อหน้า 150

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

3


History of buddhism....

วัดป่าดาราภิรมย์ จากป่ า ช้ า ร้ า งใกล้ พ ระต� า หนั ก ดาราภิ ร มย์ ข องพระราชชายา เจ้าดารารัศมี ในรัชกาลที่ 5 ณ ที่แห่งนี้ เป็นที่ซึ่งพระอาจารย์มั่น ภูริทตฺโต ได้มาเจริญสมณธรรม อธิษฐานจิตภาวนา บ�าเพ็ญเพียร เผาผลาญกิเลสจนบรรลุถึงอริยมรรคอริยผล จนก่อเกิดเป็นวัดป่า ดาราภิรมย์ในปัจจุบัน จุดเริ่มต้นของวัดป่าดาราภิรมย์ เกิดขึ้นเมื่อปีพ.ศ. 2473 โดย พระอาจารย์มนั่ ภูรทิ ตฺโต ผูย้ ดึ มัน่ ในการถือธุดงควัตร มักน้อย สันโดษ เจริญรอยตามปฏิปทาของพระมหากัสสปเถรเจ้า พระอริยสาวกของ พระพุทธเจ้า ผู้เป็นเอตทัตคะทางด้านธุดงควัตร นับแต่สมัยพุทธกาล เป็นต้นมา ในปีนนั้ เองท่านพระอาจารย์มนั่ ได้รบั อาราธนาจากพระเดชพระคุณ พระอุบาลีคณ ุ ปู จาจารย์(จันทร์ สิรจิ นฺโท) ให้มาเผยแผ่พระพุทธศาสนา ในจังหวัดเชียงใหม่ โดยเริม่ แรกทีว่ ดั เจดียห์ ลวง วรวิหาร ต�าบลพระสิงห์ อ�าเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ ต่อมาปีพ.ศ. 2473 ท่านได้จาริกมาทางอ�าเภอแม่ริม พักอยู่ที่ ป่าช้าร้างบ้านต้นกอก ซึ่งในขณะนั้นเต็มไปด้วยป่าไม้สัก และป่าไม้ เบญจพรรณ อยู่ติดกับบริเวณสวนเจ้าสบาย พระต�าหนักดาราภิรมย์ ของพระราชชายาเจ้าดารารัศมี ในรัชกาลที่ 5 จากสถานทีท่ เี่ ป็นป่าช้าร้างนัน้ พระอาจารย์มนั่ ภูรทิ ตฺโต ผูบ้ า� เพ็ญ เผาผลาญกิเลสจนบรรลุถึงอริยมรรคอริยผล ได้มาเจริญสมณธรรม อธิษฐานจิตภาวนา ท�าให้สถานที่แห่งนี้ได้รับการพัฒนาก่อสร้างขึ้น เป็นเสนาสนะ ด้วยกุฏิศาลา แบบชั่วคราว และมีพระธุดงค์กรรมฐาน ผูเ้ ป็นศิษย์แห่งพระอาจารย์มนั่ มาพ�านักอยูจ่ าริกอาศัยบ�าเพ็ญสมณธรรม ตามวิถีแห่งธุดงคกรรมฐานเป็นครั้งคราวจนถึงปัจจุบัน ปีพ.ศ. 2484 ทายาทของพระราชชายาเจ้าดารารัศมี น�าโดย เจ้าหญิงลดาค�า ณ เชียงใหม่ เป็นหัวหน้า ได้น้อมถวายที่ดินอันเป็น เขตพระราชฐานทีต่ งั้ ของพระต�าหนักดาราภิรมย์ สวนเจ้าสบายให้แก่วดั เพือ่ ถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระราชชายาเจ้าดารารัศมี จ�านวน 6 ไร่ และพร้อมใจกันถวายนามให้แก่อารามแห่งนี้ว่า “วัดป่าดาราภิรมย์” ทั้งนี้เพื่อเป็นอนุสรณ์แก่พระกรรมฐาน และถวายพระราชกุศลแก่ พระราชชายาเจ้าดารารัศมี ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 5 ผู้มีคุณูปการต่อเมืองนพบุรีศรีนครพิงค์เชียงใหม่ ***อ่านต่อหน้า 268*** 4

SBL บันทึกประเทศไทย II เชียงใหม่


CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

5


History of buddhism....

วัดหนองก๋าย พระครูไพสิฐ ธรรมโชติ เจ้าอาวาส

วัดหนองก๋าย ตั้งอยู่เลขที่ 99 หมู่ที่ 4 ต�าบลสันป่ายาง อ�าเภอ แม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ เป็นวัดที่มีอายุเก่าแก่แห่งหนึ่งในอ�าเภอ แม่แตง มีวิหารทรงล้านนา ด�าเนินการบูรณะต่อเติมจากครูบาเจ้า ศรีวิชัย และชาวบ้าน โดยมีสล่า (“สล่า” เป็นค�าสรรพนามที่ใช้ เรียกขานกันในภาษาท้องถิ่นภาคเหนือ ความหมายเหมือนกับค�า ว่า “ช่าง” หมายถึง ผู้ที่ท�างานเกี่ยวกับสาขาอาชีพ ตามแขนงงาน ของตนอันได้แก่ สล่าจ่างไม้ สล่าจ่างปูน สล่าจ่างปั้น เป็นต้น) เป็น ผู้ควบคุมดูแลก่อสร้าง ในช่วงพ.ศ.2480 ที่มีการบูรณะต่อเติมที่ โดดเด่นคือ โครงสร้างทั้งหลังไม่มีการใช้ตะปูหรือเหล็กในการตอก ยึด โดยท�าไม้เป็นรูและช่องเพื่อน�าไม้อีกชิ้นมาประกบโดยการสอด ระหว่างแต่ละชิ้น มีโครงสร้างที่มั่นคงแข็งแรง วัดหนองก๋าย เป็นที่ประดิษฐาน หลวงพ่อใหญ่ชัยมงคล ซึ่งเป็น พระประธานที่ประดิษฐานอยู่บนวิหาร มีอายุเก่าแก่กว่า 1,300 ปี เป็ น ที่ เ คารพบู ช าของชาวบ้ า นในหมู ่ บ ้ า นอย่ า งมาก ซึ่ ง องค์ ข อง หลวงพ่อใหญ่ได้ท�าการเคลื่อนย้ายมาแล้วทั้งหมด 3 ครั้งด้วยกัน ครั้ ง แรกนั้ น ประดิ ษ ฐานที่ ตั้ ง วั ด เก่ า ปั จ จุ บั น เป็ น ศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ธรรมของวัดหนองก๋าย แต่เนื่องด้วยเป็นที่ลุ่มท�าให้มีน�้าท่วมเป็น ประจ�า จึงได้ท�าการย้ายไปประดิษฐานอีกที่หนึ่ง ซึ่งปัจจุบันเป็น ศูนย์ปฏิบัติธรรมแม่ชี แต่ไม่มีหมู่บ้านอยู่แถวนั้นท�าให้ร้างไป ชาว บ้านหนองก๋ายจึงได้ท�าการย้ายมาประดิษฐานไว้ ณ หมู่บ้านหนอง ก๋าย จนถึงปัจจุบัน

6

SBL บันทึกประเทศไทย II เชียงใหม่


CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

7


หลวงพ่อใหญ่ชัยมงคล พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ ประดิษฐาน ณ พระวิหารวัดหนองก๋าย องค์พระใหญ่ที่มีต�านานอันยาวนานนับพันปี สั่งสมบารมีด้วยแรงแห่ง ศรัทธาจากรุ่นสู่รุ่น บันดาลความสุขสมหวังให้ผู้ที่ศรัทธากราบไหว้ และขอพร เป็นสถานที่อันดับต้นๆ ของเชียงใหม่ที่ศรัทธาสาธุชนเดิน ทางมากราบไหว้สักการะเพื่อเป็นสิริมงคลแก่ชีวิต เมื่อมาถึงวัดหนองก๋ายควรที่จะเข้าสู่วิหารเยี่ยมชมความยิ่งใหญ่ อานุภาพแห่งพลังความศักดิ์สิทธิ์จากองค์หลวงพ่อใหญ่ซึ่งได้ท�าการ บูรณะโดยช่างฝีมือดีจากกรมศิลปากร และที่ประดิษฐานขององค์ 8

SBL บันทึกประเทศไทย II เชียงใหม่

พระหลวงพ่อใหญ่ตอนนี้ไม่ใช่สถานที่ปัจจุบัน องค์พระหลวงพ่อใหญ่ ประดิษฐานครั้งแรก ณ ศูนย์ปฏิบัติธรรมของวัดหนองก๋าย แต่เนื่อง ด้วยเป็นพื้นที่ลุ่ม ท�าให้เกิดน�้าท่วม ชาวบ้านในสมัยนั้นจึงได้ท�าการ ย้ายองค์พระหลวงพ่อใหญ่มายังวัดแห่งที่ 2 คือที่ศูนย์ปฏิบัติธรรม แม่ชีวัดหนองก๋าย แต่การขยายหมู่บ้านไปไม่ถึง ท�าให้ศรัทธาไม่เข้า มากราบไหว้บูชา จึงได้ท�าการย้ายอีกครั้งมาประดิษฐานไว้ ณ พระ วิหารของวัดหนองก๋ายจนถึงปัจจุบัน จากการบอกเล่าจากผู้คนที่ได้ มาขอพรกับหลวงพ่อใหญ่ชัยมงคลว่า “บอกได้เลยว่ารวดเร็วทันใจ ได้รับความสุขสมหวังกันถ้วนหน้า”


ความสวยงามภายในวัดหนองก๋าย ภาพวาดโบราณ เป็นภาพวาดเก่าแก่ติดที่ผนังของวิหาร หน้าบัน ลวดลายวิจิตรงดงาม ประทับใจตั้งแต่แรกเข้า เสาหลวง ไม้มงคลทั้งต้นน�ามากลึงลงรักปิดทองลายรดน�้า พระวิหาร เป็นวิหารแบบล้านนา โดยโครงสร้างจะไม่ใช้ตะปูในการยึดติด แต่จะใช้ล่ิมให้ไม้เชื่อมติดกันโดยวางเรียงซ้อนสามระดับ และจัดให้ สมดุลกันเป็นชั้นที่สวยงามมีเสาหลวง เป็นเสาไม้ขนาดใหญ่รองรับ น�้าหนัก ซึ่งเสาหลวงมีลักษณะทรงกลม ทาพื้นสีด�าและเขียนลวดลาย รดน�้ า ปิ ด ทองตลอดทั้ ง ต้ น และหน้ า บั น (หน้ า แหนบ) เป็ น ส่ ว น ทีส่ วยงามโดดเด่นเป็นทีส่ ดุ ท�าการแกะสลักอย่างสุดฝีมอื ตามจินตนาการ ของช่างสกุลล้านนา ด้านในของพระวิหารวัดหนองก๋ายมีภาพวาดโบราณบนฝาผนัง ที่ไม่สามารถประเมินค่าได้รวมกันอยู่ในพระวิหาร ต้องมาเห็นด้วยตา ของตัวเองในงานแบบล้านนาขนานแท้ ที่พระวิหารวัดหนองก๋าย วัดหนองก๋าย ก�าลังท�าการก่อสร้างอุโบสถทรงเจดีย์พุทธคยา (จ�าลอง) เพื่อใช้เป็นที่ท�าสังฆกรรม สร้างพระภิกษุหน่อเนื้อนาบุญ สืบต่อพระพุทธศาสนา ซึ่งการสร้างอุโบสถนั้น เป็นบุญที่หาท�าได้ยาก เป็ น บุ ญ ใหญ่ มี ม หาอานิ ส งส์ ก ่ อ ให้ เ กิ ด ความสงบร่ ม เย็ น ในชี วิ ต ครอบครัว เปรียบเสมือนการสร้างบ้านที่อยู่อาศัยและก่อให้เกิด ความเจริญก้าวหน้าในทรัพย์สิน เจริญรุ่งเรืองและเป็นที่เจริญด้วย อายุ วรรณะ สุขะ พละ ปฏิภาณ สามารถท�าให้เข้าถึงฐานะแห่งความ เป็นมหาเศรษฐี ที่ถึงพร้อมด้วยโภคทรัพย์อันมากมาย เพราะได้ บริจาคทรัพย์ไว้ในพระพุทธศาสนา และเนื้อนาบุญอันเลิศ ซึ่งเป็น มงคลอันสูงสุดทั้งชาติน้ีและชาติหน้าให้ผู้สร้างได้ความปลื้มปีติสุข อย่างสูง รวมถึงอานิสงส์สู่ภพชาติต่อๆ ไป ให้ไปก�าเนิดในที่ๆ ดี วิธีการบริจาคสร้างพระอุโบสถ สามารถร่วมบุญผ่านบัญชีได้ที่ กองทุนพระอุโบสถวัดหนองก๋าย ธนาคารกสิกรไทย สาขาแม่ริม เลขที่บัญชี : 087-200-700-8 โทรศัพท์ : 08-1765-6469, 06-2424-9659 Account Name : FUND PHA UBOSOK WAT NONGKAI Account Number : 087-200-700-8 Swift Code : KASITHBK Bank : Kasikorn Bank PCL, Thailand Branch : Maerim watnonggai www.watnonggai.com ***อ่านต่อหน้า 264*** CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

9


สัมผัสภูเขำหวำนปำนน�้ำผึ้ง

เพรำะเรำให้บริกำรมำกกว่ำห้องพัก FEEL THE SWEETNESS OF MOUNTAIN WHICH SWEET LIKE HONEY BECAUSE WE SERVICE MORE THAN JUST HOTEL ROOM

W W W. H O N E Y H I L L C O F F E E V I L L A . C O M

10

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


ฮั น นี่ ฮิ ล ล์ วิ ล ล่ า แม่ ริ ม ที่ พั ก ท่ า มกลาง ธรรมชาติ สั ม ผั ส บรรยากาศที่ ส ดชื่ น กลางขุ น เขา ชมวิ ว สวยตลอดทั้ ง วั น และ สั ม ผั ส ดวงดาวอย่ า งใกล้ ชิ ด ในยามค�่ า คื น บริ ก าร ครบวงจร ความสุ ข ท่ า มกลางสระว่ า ยน�้ า สุ ด หรู โอบล้ อ มด้ ว ยขุ น เขา ศาลากาแฟ พร้ อ มกาแฟสด เกรดพรีเมี่ยม บริการอาหารไทย จีน ยุโรป พร้อมเสิร์ฟร้อนๆ กับรอยยิ้มของพนักงานต้อนรับอันอบอุ่น ห้องประชุมสัมมนา ขนาดกลางที่กะทัดรัด ขยับใจ ให้ใกล้ชิดในทุกการสนทนา Honey Hills Villa Maerim. The recreation place which is situated among nature. You can feel the fresh air at the middle of the mountain and see gorgeous view for daylong which you can also feel the touch of stars closely in the nighttime.

HERE A GREAT STAY! รี ส อร์ ท ที่ ม ากกว่ า ห้ อ งพั ก เหมาะกั บ ทุ ก คนทุ ก เพศทุ ก วั ย ท่ามกลางธรรมชาติสดใส วิวสวย เดินทางสะดวกสบาย จาก ตัวเมืองเชียงใหม่เพียง 15 นาทีเท่านั้น ใกล้แหล่งท่องเที่ยว อาทิ ม่อนแจ่ม และ น�้าตกแม่สา Resort that is more than just hotel room, suitable for every person regardless of age and gender. It is located among vivid nature, splendid view and it is easy to reach which took only 15 minutes from Chiang Mai downtown. It is also located near various tourist attractions such as Mon Cham and Mae Sa Waterfall.

296/1 Ban Mae Nai Pattana, Mae Raem sub-district, Mae Rim district, Chiang Mai province 50180 09-1852-1235 / 08-5736-7398 honeyhillsvilla.cm@gmail.com www.honeyhillcoffeevilla.com Honey Hills Villa Honey Hills Villa 0918521235 Honey Hills Villa CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

11


History of buddhism....

วัดพระพุทธบาทตะเมาะ กราบรอยพระพุทธบาทพระพุทธเจ้า 4 พระองค์ในภัทรกัป พระมหานพดล สิริวฑฺฒโน ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาส

วัดพระพุทธบาทตะเมาะ ตัง้ อยูท่ บ่ี า้ นแม่ตบู หมู่ 9 ถนนฮอด–แม่ตน่ื ต�าบลโปงทุ่ง อ�าเภอดอยเต่า จังหวัดเชียงใหม่ ค�าว่า “ตะเมาะ” นั้น เป็นค�าพูดที่เพี้ยนมาจากค�าว่า “เต่าหมอบ” เพราะที่วัดมีก้อนหินที่มี ลักษณะคล้ายเต่าหมอบอยู่เป็นจ�านวนมาก เมื่อพูดค�าว่าเต่าหมอบ นานเข้าจึงเพี้ยนเป็น ตะเมาะ ในที่สุด ต�านานรอยพระพุทธบาทพระพุทธเจ้า 4 พระองค์ วัดพระพุทธบาทตะเมาะ เป็นวัดเก่าแก่ที่มีความส�าคัญมาตั้งแต่ อดีตกาลเพราะเป็นสถานที่ ที่พระพุทธเจ้า 4 พระองค์แห่งกัปนี้ คือ พระพุทธเจ้ากกุสันโธ พระพุทธเจ้าโกนาคม พระพุทธเจ้ากัสสปะ และ พระพุทธเจ้าสมณโคดม เคยเสด็จมาโปรดเวไนยสัตว์ และประทับรอย พระพุทธบาทไว้ นอกจากนัน้ ยังมีพทุ ธสาวกอีกหลายองค์มาปฏิบตั ธิ รรม และบรรลุธรรม ณ สถานที่แห่งนี้ 12

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


เมื่ อ ปี พ.ศ. 2522 ครู บ าชั ย ยะวงศาได้ พ าคณะศิ ษ ย์ ไ ปที่ วั ด พระพุทธบาทตะเมาะ ซึ่งขณะนั้นมีพระชาวต่างชาติมาจ�าพรรษาอยู ่ ท่านได้เล่าให้ฟงั ว่า ครูบาอภิชยั ขาวปี เป็นผูส้ ร้างวัดแห่งนี ้ และจ�าพรรษา อยู่ที่วัดนี้ ตั้งแต่ประมาณปี พ.ศ.2467 รวมเวลาที่ท่านจ�าพรรษาอยู่ที่ วัดนี้ 33 ปี ครูบาชัยยะวงศาได้บูรณะสถานที่ส�าคัญหลายแห่งภายในวัด เช่น มณฑป 9 ยอดครอบรอยพระพุทธบาท ฯลฯ และท่านได้มาช่วย ครูบาอภิชยั ขาวปีกอ่ สร้างเป็นเวลา 5 ปี สิง่ ก่อสร้างทีเ่ หลือไว้ให้อนุชน รุ่นหลังได้ชื่นชมอีกอย่างก็คือ ก�าแพงซึ่งท�าจากหินล้วน ไม่มีการใช้ปูน แต่อย่างใด ก�าแพงหินดังกล่าวเป็นแนวยาว 2 ชั้น แต่ละชั้นยาว ประมาณ 100 เมตร นอกจากแนวก�าแพงหินแล้ว ในปี พ.ศ. 2500 ครูบาชัยยะวงศายังได้สร้างมณฑปไม้รูปทรงล้านนา และท�าจากไม้ ในอดีต วัดพระพุทธบาทตะเมาะเป็นวัดที่มีความเจริญรุ่งเรือง อย่างมาก โดยเฉพาะสมัยครูบาอภิชัยขาวปีได้มาจ�าพรรษา มีคณะ ศรัทธาญาติโยมทั้งชาวไทยและชาวเขากระเหรี่ยง มาร่วมกันท�าบุญ เป็นจ�านวนมาก มีการก่อวิหาร ทีพ่ กั ของพระสงฆ์ และเสนาสนะอืน่ ๆ ภายในวัด นอกจากนี้ ครูบาอภิชัยขาวปียังได้รับนิมนต์ไปก่อสร้าง สาธารณประโยชน์ที่อื่นอีกมาก ต่อมาเมื่อปี พ.ศ. 2500 ครูบาอภิชัย ขาวปีไปจ�าพรรษาอยู่ที่วัดอื่น ซึ่งภายหลังที่ท่านจากวัดพระพุทธบาท ตะเมาะไปแล้ว วัดก็ค่อย ๆ เสื่อมโทรมลงจนกลายเป็นวัดร้างในที่สุด ปั จ จุ บั น มี พ ระมหานพดล สิ ริ ว ฑฺ ฒ โน เป็ น เจ้ า อาวาสที่ วั ด พระพุทธบาทตะเมาะได้ 37 ปี ตอนนี้ทางวัดมีโครงการที่จะจัดท�า ส�านักปฏิบัติธรรมนานาชาติ ซึ่งปัจจุบันมีพระภิกษุชาวญี่ปุ่นอยู่ 5 รูป ภายในวัดยังมีสถานที่ศักดิ์สิทธิ์หลายแห่ง เช่น มณฑป 9 ยอด ครอบรอยพระพุทธบาท ปัจจุบนั อยูใ่ นสภาพทีช่ า� รุดมาก, พระเจดียห์ นิ ทราย 3 ครูบา สร้างเพือ่ เป็นอนุสรณ์แด่ 1. ครูบาศรีวชิ ยั 2.ครูบาอภิชยั ขาวปี และ 3.ครูบาชัยยะวงศาพัฒนา, มณฑป 84 ยอด ครอบรอยพระพุทธบาท เป็นมณฑปที่สวยงามมาก, มณฑปไม้และทิวทัศน์ ซึ่งครูบาชัยะวงศา ได้พาศรัทธาสร้าง เมื่อปี พ.ศ. 2500 และ พระเจดีย์ที่ท�าจากหินทราย เป็นหนึง่ ในรัตนโกสินทร์ ตามทีอ่ าจารย์ปรีชา เถาทอง ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (จิตรกรรม) ประจ�าปีพทุ ธศักราช 2552ได้กล่าวเชิดชูไว้ พระเจดียห์ นิ ทราย 3 ครูบา ได้สร้างเสร็จและท�าบุญฉลองไปเมือ่ วันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2562 โดยมี พระพรหมมงคล (หลวงปูท่ อง สิรมิ งฺคโล) เป็นประธาน ฝ่ายสงฆ์ และ พลเอกกัมปนาท รุดดิษฐ์ องคมนตรีเป็นประธานฝ่ายฆราวาส

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

13


History of buddhism....

วัดพระธาตุดอยค�า วัดพระธาตุดอยค�า ตั้งอยู่ที่หมู่ 3 เมืองแม่เหียะ อ�าเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ เป็นวัดส�าคัญในจังหวัดเชียงใหม่ อายุเก่าแก่กว่า 1,300 ปี ตั้งอยู่บริเวณดอยค�า ด้านหลังอุทยานหลวงราชพฤกษ์ ห่าง จากตั ว เมื อ งประมาณ 10 กิ โ ลเมตร มี ค วามสู ง จากระดั บ ที่ ร าบ เชียงใหม่ราว 140 เมตร และมีความสูงจากระดับน�้าทะเลปานกลาง 465 เมตร และมีลานชมวิวที่สามารถมองเห็นวิวทิวทัศน์รอบเมือง เชียงใหม่ อีกทั้งยังเป็นที่ประดิษฐานพระเจ้าทันใจซึ่งมีอายุเก่าแก่กว่า ห้าร้อยปี *** อ่านต่อหน้า 54 *** 14

SBL บันทึกประเทศไทย II เชียงใหม่


พระธาตุดอยค�า เป็นหนึ่งในศาสนสถานเก่าแก่คู่เมืองเชียงใหม่ ซึ่งไม่เพียงแต่เป็นศูนย์รวมศรัทธาของพุทธศาสนิกชนเท่านั้น ยังเป็นสถานที่ที่เต็มไปด้วยคุณค่าทางประวัติศาสตร์ และแหล่งรวม ภาพจ�าลองคติความเชื่อพื้นเมืองของเชียงใหม่ผ่านรูปแบบสถาปัตยกรรม และประติมากรรมที่สวยงามรอให้นักท่องเที่ยวมาชื่นชม และยังเป็น สัญลักษณ์อีกแห่งหนึ่งของการบินไทยที่ใช้ก�าหนดพื้นที่ทางสายตา ก่อนที่จะน�าเครื่องบินลงจอดที่สนามบินเชียงใหม่

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

15


EDITOR’S TALK พระพุทธองค์ตรัสว่า “ใจเป็นใหญ่ ใจเป็นประธาน ทุกอย่างส�าเร็จได้ด้วยใจ” ในความรับผิดชอบของบรรณาธิการงานบุคคล ทีมงานจึงเป็นสิ่งส�าคัญมากในการท�าให้ นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย ฉบับพิเศษ “วัดทั่วไทย” ในจังหวัดเชียงใหม่ เล่มนี้ออกมา สู่สายตาท่านผู้อ่านอย่างงดงามด้วยพลัง แห่งศรัทธาอย่างเต็มเปี่ยมในพระรัตนตรัย อัน เป็นที่พึ่งสูงสุดของชาวพุทธเรา ด้วยความทุ่มเท อย่างสุดหัวใจ ร่วมแรงกายแรงใจเป็นหนึ่งเดียว การเดินทางท่องเที่ยวแต่ละครั้งของท่านผู้อ่าน ก็เช่นกัน กระผมเชื่อว่า แรงบันดาลใจในการไป เที่ยววัดแต่ละแห่งนั้นมีหมุดหมายที่มากไปกว่า การท่องเที่ยวทุกครั้งที่ออกเดินทาง เพราะ ในส่วนลึกของหัวใจเราทุกคนนั้น เรียกร้องการ ค้นพบอะไรบางอย่างในตนเองเสมอ แต่การที่เรา จะบอกว่า ปฏิบัติธรรมที่ไหนก็ ได้ เพื่อให้เกิดสติ สมาธิ และปัญญาในการแก้ ไขปัญหาชีวติ ทุกด้าน หากทว่า บางครั้งเราก็ ไม่สามารถที่จะนิ่งใน สถานการณ์ที่ต้องแก้ปัญหาได้ การปลีกวิเวก ชวนคนรัก หรือเพื่อนฝูง ไปวัดสักครั้ง กราบ สักการบูชาสิง่ ศักดิส์ ทิ ธิส์ งู สุดเพือ่ น้อมจิตให้สงบ สิ่งที่พบก็คือ ธรรมะจากพระพุทธองค์ ที่จะสอน เราให้กลับมาหาตัวเราอีกครั้งหนึ่งอย่างมีสติและ ปัญญาในการแก้ ไขปัญหาทุกอย่าง

อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์

บรรณาธิการอ�านวยการ นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย

www.sbl.co.th


9/4-6 ถนนรามอินทรา แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพฯ 10220 โทร. 0-2522-7171

www.sbl.co.th

คณะผู้บริหาร นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย คณะที่ปรึกษา ศ.ดร.กฤช เพิ่มทันจิตต์, พลเอกสรชัช วรปัญญา ดร.นิเวศน์ กันไทยราษฎร์, ดร.ประยุทธ คงเฉลิมวัฒน์ ดร.ชาญ ธาระวาส, ดร.สุมิท แช่มประสิท ดร.วัลลภ อารีรบ, ดร.พิชัย ทรัพย์เกิด ดร.ไอศูรย์ ดีรัตน์,ดร.สุเทษณ์ จันทรุกขา ดร.อรรถสิทธิ์ ตันติวิรัชกุล

บรรณาธิการอ�านวยการ อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์

บรรณาธิการงานบุคคล พงษ์ศักดิ์ พรณัฐวุฒิกุล วนัสกฤษณ์ ศิลปรังสรรค์

บรรณาธิการการตลาด ปัณณ์ฐาโชค ธนสานสิทธิโชติ

ฝ่ายกฎหมาย สมคิด หวังเชิดชูวงศ์ ทวิช อมรนิมิตร

กองบรรณาธิการ นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย ฝ่ายประสานงานโครงการ ภาครัฐและเอกชน ผู้จัดการ ทวัชร์ ศรีธามาศ, กิตติชัย ศรีสมุทร, อัครกฤษ หวานวงศ์, ภูษิต วิทยา

คณะทีมงาน ธนิน ตั้งธ�ารงจิต, ถาวร เวปุละ, พุฒิธร จันทร์หอม, ธีระพงษ์ ธรรมเจริญ, อมร อนันต์รัตนสุข, นิรุจน์ แก้วเล็ก, สุษฎา พรหมคีรี, พร้อมพงศ์ สืบด้วง, สรวิชญ์ อังกูรศุภเศรษฐ์

EDITOR’S letter เดินทางบุญได้ปัญญา เชียงใหม่ วันนี้ ผมขอชวนทุกท่านเปิด ประสบการณ์ ในการท่องเที่ยว ทางธรรม สูดอากาศบริสุทธิ์ รับสายลมเย็นๆ แบบท้าทายความสูง หมู่เมฆ และฝูงนกที่โบยบินในยามเช้า กับการใส่บาตรอย่างมีความสุข ทุกย่างก้าวที่ได้เดินเข้าไปกราบ พระพุทธรูป และน้อมจิตฟังธรรม จากพระสุปฏิปนั โน สัมผัสกับร่องรอย อารยธรรมล้านนาที่จะท�าให้ ได้ ไอเดียใหม่ๆ ในการกลับมาท�างาน อย่างสร้างสรรค์ และใช้ชีวิต

อย่างเต็มที่ ขณะเดียวกับก็พร้อม จะปล่อยวาง ผมว่า นี่คือนวัตกรรม การเดินทางท่องเที่ยวที่เราได้จาก การเยือนเชียงใหม่ในครั้งนี้ ที่ไม่เหมือนเดิมครับ

ปัณณ์ฐาโชค ธนสานสิทธิโชติ

บรรณาธิการการตลาด นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย


สวนสนบ่อแก้ว SUANSON BORKAEW

ที่เที่ยวสุดคูลท่ามกลางไอหมอก แห่งเมืองเชียงใหม่ สวนสนบ่อแก้วจะติดกับถนน สาย 108 ถนนถนนฮอด-แม่สะเรียง ต�าบลบ่อหลวง อ�าเภอฮอด จังหวัดเชียงใหม่


EDITOR’S note 9/4-6 ถนนรามอินทรา แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพฯ 10220 โทร. 0-2522-7171

www.sbl.co.th

ในภัทเทกรัตตคาถา พระพุทธเจ้าตรัสว่า บุคคลไม่ควรค�านึงถึงสิ่งที่ล่วงแล้วด้วย อาลัย ไม่ควรมุ่งหวังสิ่งที่ยังไม่มาถึง ปัจจุบันเท่านั้นที่มีอยู่จริง ผมอยากจะ บอกเคล็ดไม่ลับจากการค้นพบ มหัศจรรย์แห่งปัจจุบันขณะ จะท�าให้ การเดินทางของเราสดชื่น ใหม่ สดเสมอ และจะเป็นพลังชีวิตให้กับเราตลอดไป “ เช่นเดียวกับผมและทีมงานทุกคน เรา ค้นพบเชียงใหม่ ในมุมใหม่ ทุกลมหายใจ

เข้าออกที่ท�าให้การเดินทางท่องเที่ยววัด เป็นการเดินเข้าไปส�ารวจภายในใจอย่าง กระจ่างแจ้งจนเหนือกาลเวลาและพร้อม ที่จะมอบรอยยิ้มแห่งความสุขให้กับ ผู้ที่อยู่ข้างหน้าเรา ไม่ว่าเขาจะเป็นใคร”

ฝ่ายประสานงานข้อมูล ผู้จัดการฝ่ายประสานงานข้อมูล นันท์ธนาดา พลพวก ฝ่ายประสานงานข้อมูล ศุภญา บุญช่วยชีพ นลัชนันท์ เทียมเกตุทวีโชค นักเขียน คุณิตา สุวรรณโรจน์

วนัสกฤษณ์ ศิลปรังสรรค์

บรรณาธิการงานบุคคล นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย

ฝ่ายศิลปกรรม ผู้จัดการฝ่ายศิลปกรรม พัชรา ค�ามี กราฟิกดี ไซน์ พิมพ์พิสุทธิ์ พังจูนันท์ วรเชษฐ สมประสงค์ ธีระวัฒน์ ระวาดชัย ช่างภาพ ปณต ปิติจารุวิศาล กิติวัฒน์ ทิศมั่ง วิทยา ประเสริฐสังข์ ตัดต่อวีดีโอ วัชรกรณ์ พรหมจรรย์

ฝ่ายบัญชี / การเงิน บัญชี ปัฐมาภรณ์ แสงบุราณ ผู้จัดการฝ่ายการเงิน สุจิตรา แดนแก้วนิต การเงิน ชวัลชา นกขุนทอง, วนิดา ศรีปัญญา

Website

Facebook


CONTENTS สำรบัญจังหวัดเชียงใหม่ ฉบับที่ 99 จังหวัดเชียงใหม่ พ.ศ. 2562

วัดพระธาตุดอยสุเทพ

12

46

78

วัดพระพุทธบาทตะเมาะ

บันทึกเส้นทางท่องเที่ยว

วัดศรีเกิด

24

| อ�ำเภอเมือง |

82

52

86

วัดสวนดอก พระอารามหลวง

วัดสันติธรรม

30

54

90

บันทึกเส้นทางพบเจ้าคณะจังหวัดเชียงใหม่

วัดพระธาตุดอยค�า

วัดป่าแดงมหาวิหาร

60

92

วัดร�่าเปิง

วัดผาลาด

บันทึกเส้นทางพบส�านักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดเชียงใหม่ นายธีรพงษ์ อินทร์พันธุ์

พระเทพปริยัติ (สะอาด ขนฺติโก ป.ธ.7)

วัดพันเตา

32

38

66

94

วัดเจ็ดยอด (วัดโพธารามมหาวิหาร)

บันทึกเส้นทางความเป็นมา

วัดกู่เต้า

วัดแสนเมืองมาหลวง

34

42

72

96

ระเบียบการแต่งกาย

วัดบุพพาราม

วัดเสาหิน

วัดพระสิงห์วรวิหาร

20

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


98

150

วัดหนองป่าครั่ง

วัดสันต้นเปา

100

154

วัดดาวดึงษ์

วัดถ�้าตับเตา

102

90 124

140

วัดหม้อค�าตวง

| อ�ำเภอเชียงดำว |

104

158

วัดศรีโขง

วัดป่าธาราภิรมย์

106

160

วัดดวงดี

วัดพระนอนสบคาบ

108

162

วัดบวกครกน้อย

วัดวังมะริว

110

164

วัดป่าพร้าวนอก

วัดป่าถ�้าแกลบ

112

165

วัดดับภัย

วัดอุตตาราม

| อ�ำเภอจอมทอง |

166

118

167

วัดน�้าต้อง

วัดแม่อีด

124 วัดบ้านแปะ

| อ�ำเภอดอยสะเก็ด |

130

168

วัดพุทธนิมิตร

วัดพระธาตุดอยสะเก็ดพระอารามหลวง

132

178

วัดพระบาทห้วยอี่ลิ่ง

วัดวารีสุทธาวาส

134

184

วัดขะแมด

วัดปางอั้น

136

190

วัดห้วยตองสัก

วัดศรีดอนดู่

138 วัดท่าหลุก

168

วัดปางมะกง

| อ�ำเภอดอยหล่อ |

| อ�ำเภอไชยปรำกำร |

192

140

196

วัดป่าไม้แดง

วัดพระธาตุดอยน้อย

วัดอรัญญาวาส

146 วัดปงต�า CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

21


ดอยอ่างขาง อยู่ใ นเขตอ� าเภอฝางตอนบนของจั งหวั ด เชี ย งใหม่ เป็น หุบเขาล้ อ มรอบพื้ น ที่ แ อ่ งตรงกลางลั ก ษณะคล้ายสี่เ หลี่ยม ซึ่งแต่เ ดิ ม พื้ น ที่ ต รงกลางนี้ เป็ น ภู เขาหิ น ปู น แต่ เมื่ อ ถูกน�้าฝนชะล้าง มาเป็น เวลานาน จึ งเป็ น โพรง และ ยุ บตั วลงเป็ น แอ่ ง พื้นที่ราบ ค�า ว่า อ่างขาง จึ งหมายถึ งอ่ างสี่ เหลี่ ย มในภาษาเหนื อนั่นเอง

22

| อ�ำเภอฝำง |

| อ�ำเภอพร้ำว |

| อ�ำเภอแม่วำง |

200

228

244

วัดพระบาทอุดม

วัดทุ่งหลวง

วัดดอยสัพพัญญู

206

232

วัดพระธาตุเฉลิมพระเกียรติฯ

วัดสันปง

| อ�ำเภอแม่แตง |

| อ�ำเภอแม่ริม |

212

236

251

268

วัดศรีบุญเรือง (สองแคว)

วัดกลางเวียง

วัดสันปูเลย

วัดป่าดาราภิรมย์

218

238

252

270

วัดสันต้นเปา

วัดป่างิ้ว

วัดทุ่งหลวง

วัดคุณาสรณ์

222

240

258

271

วัดนันทาราม

วัดกู่เบี้ย

วัดหนองบัว (เมืองนพพาน)

วัดป่าดอยวิเวก

226

242

262

272

วัดป่าดอยธรรมประทีป

วัดพระธาตุดอยเวียงชัยมงคล

วัดสันป่ายาง

ที่พักสงฆ์วัดป่าเทพขันติยาราม

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

264 วัดหนองก๋าย

266 วัดป่าอรัญญาวิเวก


ฉบับที่ 99 จังหวัดเชียงใหม่ พ.ศ. 2562

274 วัดพระธาตุจอมแตง

276 วัดโสภณาราม

278 วัดป่าโป่งแยงพัฒนาราม

280 วัดโป่งแยงเฉลิมพระกียรติ

| อ�ำเภอแม่อำย |

282

| อ�ำเภอสันทรำย |

| อ�ำเภอหำงดง |

| อ�ำเภอฮอด |

326

362

370

วัดข้าวแท่นหลวง

วัดเขตคิชฌาวาส

วัดบ้านขุน

328

364

376

วัดสันคะยอม

วัดศรีสุพรรณ

วัดกิ่วลม

332

366

382

วัดเจดีย์แม่ครัว

วัดหางดง

วัดพระเจ้าโท้

334

368

384

วัดท่าเกวียน

วัดท้าวค�าวัง

วัดพระพุทธบาทแก้วข้าว

337

386

วัดร้องเม็ง

รายชื่อวัดทั้งหมดในจังหวัดเชียงใหม่

วัดแม่อายหลวง

288 วัดป่าดอยแสงธรรมญาณสัมปันโน

292 วัดส้มสุข

296 วัดเมืองหนอง

| อ�ำเภอสันป่ำตอง |

338 วัดศรีนวรัฐ

344 วัดโรงวัว

346

| อ�ำเภอสันก�ำแพง |

วัดอินทวิชัย

298

วัดร้องขุ้ม

วัดป่าตึง

310 วัดน�้าจ�า

314 วัดบ้านมอญ

316 วัดสีมาราม

318 วัดสันกลางเหนือ

320 วัดสันก้างปลา

322 วัดป่าตาล

298

348 350 วัดคันธาราม

352 วัดป่างิ้ว

354 วัดหัวริน

356

EBOOK CHIANG MAI

วัดท่าจ�าปี

358 วัดศรีบุญเรือง

| อ�ำเภอสำรภี |

360 วัดหวลการณ์

WWW.SBL.CO.TH บริษัท สมาร์ท บิซิเนส ไลน์ จ�ากัด 9/4-6 ถนนรามอินทรา แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพฯ 10220 โทร. 0-2522-7171 แฟกซ์. 0-2971-7747 CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

23


EXC LU SI VE

CHIANG MAI PROVINCIAL OFFICE OF BUDDHISM ผู้อ�ำนวยกำรส�ำนักงำนพระพุทธศำสนำจังหวัดเชียงใหม่

นายธี ร พงษ์ อิ น ทร์ พั น ธุ ์

24

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

อนุสรณ์สถานท้าวสุรนารี (ย่าโม) อ�าเภอเมือง


พระธาตุดอยสุเทพ

ณ อุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ-ปุย

ตั้งอยู่ในอุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ-ปุย มีความสูงจากระดับที่ราบเชียงใหม่ราว 689 เมตร และมีความสูงจากระดับน�้าทะเลปานกลาง 1,046 เมตร เป็นหนึ่งในวัดที่มีความส�าคัญมากที่สุดของจังหวัดเชียงใหม่ ก่อสร้างตามแบบศิลปะล้านนา มีเจดีย์ทรงเชียงแสน ฐานสูงย่อมุมระฆังทรงแปดเหลี่ยมปิดด้วยทองจังโก 2 ชั้น ลานเจดีย์เป็นจุดชมทิวทัศน์เมืองเชียงใหม่ ทางขึ้นเป็นบันไดนาคเจ็ดเศียรก่อปูน ที่ต้ัง | ถนนศรีวิชัย ต�าบลสุเทพ อ�าเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

25


กิจกรรมของส�านักงานพระพุทธศาสนา จังหวัดเชียงใหม่

26

ส�านักงานพระพุทธศาสนา จังหวัดเชียงใหม่ ร่วมกับคณะสงฆ์ บริจาคโลหิตช่วยชีวิตเพื่อนมนุษย์

ส�านักงานพระพุทธศาสนา จังหวัดเชียงใหม่ ร่วมกับคณะสงฆ์ ปลูกป่ารักษาต้นน�้า

ส�านักงานพระพุทธศาสนา จังหวัดเชียงใหม่ ร่วมกับคณะสงฆ์และ ส่วนราชการจังหวัดเชียงใหม่ ได้ลงนาม ความร่วมมือวัดประชารัฐสร้างสุข

ส�านักงานพระพุทธศาสนา จังหวัดเชียงใหม่ ร่วมกิจกรรม ท�าบุญปล่อยปลาลงสู่แม่น�้า

ส�านักงานพระพุทธศาสนา จังหวัดเชียงใหม่ สนองงานนโยบาย ของรัฐตามโครงการหมู่บ้านรักษาศีล 5

ส�านักงานพระพุทธศาสนา สืบสานประเพณีของชุมชน จังหวัดเชียงใหม่

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


ส�านักงานพระพุทธศาสนา จังหวัดเชียงใหม่ เป็นศูนย์กลางในการ ขับเคลื่อนพระพุทธศาสนา แห่งดินแดน ล้านนาและอนุภูมิภาคลุ่มน�้าโขง ให้มี ความมั่นคง ยั่งยืน และสังคมมีความสุข ด้วยหลักพุทธธรรม - วิสัยทัศน์

“ก่อเกิด” เป็นแนวทางการท�างานของส�านักงาน พระพุทธศาสนาเชิงรุกในจังหวัดเพือ่ พัฒนาชีวติ การท�างาน และสังคมสันติสุข ดังนี้ ผมมองว่า “ทรัพยากรมนุษย์” คือ เป้าหมาย หลักของการท�างาน การจะพัฒนาชีวติ การท�างาน และให้สังคมเกิดสันติสุข ปัจจัยพื้นฐานที่ส�าคัญ คือ การพัฒนาจิตใจของตนให้เป็นผูท้ มี่ คี ณ ุ ธรรม และจริยธรรม โดยในช่วงเวลาทีผ่ า่ นมาประชากร ส่วนใหญ่ยงั มีปญ ั หาด้านคุณธรรม จริยธรรม ดังที่ ปรากฏในผลการส�ารวจคุณธรรมจริยธรรมต่างๆ อาทิ การส�ารวจโดยศูนย์คณ ุ ธรรม (องค์การมหาชน) เมื่อปี พ.ศ. 2561 พบว่า ปัญหาความซื่อสัตย์ ทุจริตคอร์รัปชัน ยังเป็นปัญหาที่มีความรุนแรง มากทีส่ ดุ ซึง่ อาจสะท้อนการเปลีย่ นไปของวัฒนธรรม และวิ ถี ชี วิ ต ที่ มี ค ่ า นิ ย มยึ ด ตนเองเป็ น หลั ก มากกว่าการค�านึงถึงสังคม ด้วยเหตุนี้ การท�างานพระพุทธศาสนาจึง ต้องปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และ การเสริมสร้างจิตสาธารณะและการเป็นพลเมืองทีด่ ี โดยน้อมน�าเอาหลักศีล 5 มาเป็นแนวทางใน การปฏิบัติตน ซึ่งส�านักงานพระพุทธศาสนา จังหวัดเชียงใหม่ได้จัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมและ สนับสนุนให้ประชาชนชาวเชียงใหม่น้อมน�าเอา หลักศีล 5 มาใช้ในการด�าเนินชีวติ อยูเ่ ป็นประจ�า โดยคาดว่าจะช่วยพัฒนาชีวิต การท�างาน และ ท�าให้เกิดสังคมสันติสุขได้

“บทบาทหน้าที”่ ของส�านักงานพระพุทธศาสนา จังหวัดเชียงใหม่ บทบาทหน้าที่ของส�านักงาน พระพุทธศาสนาจังหวัดเชียงใหม่มองได้เป็น 2 ประเด็น คือ ประเด็นแรก บทบาทหน้าที่ที่มีต่อพระสงฆ์ ส�านักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดเชียงใหม่เป็น หน่วยงานที่สนองงานคณะสงฆ์ โดยการท�างาน เพือ่ สนับสนุนภารกิจของคณะสงฆ์ในทุกด้านทัง้ ทางด้านการปกครองสงฆ์ ด้านการศาสนศึกษา ด้านการเผยแผ่ ด้านการสาธารณูปการ ด้านการ ศึกษาสงเคราะห์ และด้านการสาธารณสงเคราะห์ ประเด็นที่สอง บทบาทที่มีต่อประชาชน ในพืน้ ที ่ ส�านักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดเชียงใหม่ เป็นหน่วยงานทีส่ ง่ เสริมคุณธรรม จริยธรรม และ ค่านิยมที่ดี โดยการน้อมน�าเอาหลักธรรมทาง พระพุทธศาสนามาใช้เป็นแนวทางในการด�าเนินชีวติ นอกจากนี้การสร้างภาพลักษณ์ของสงฆ์ในเชิง สร้างสรรค์ เช่น การเป็นผู้น�าทางสาธารณกุศล การอนุรกั ษ์สงิ่ แวดล้อม การเผยแผ่พระพุทธศาสนา เป็นสิ่งที่ควรส่งเสริมเช่นกัน

“ภาพรวมของวัดและพระสงฆ์ในจังหวัด” พร้ อ มแนะน� า วั ด และสถานปฏิ บั ติ ธ รรม ในจังหวัดเชียงใหม่ เมืองเชียงใหม่เป็นเมืองที่มีประวัติศาสตร์ อันยาวนานกว่า 700 ปี เคยเป็นเมืองหลวงของ อาณาจักรล้านนา เป็นเมืองศูนย์กลางความเจริญ ในทุกด้าน โดยเฉพาะอย่างยิ่งความเจริญทาง พระพุทธศาสนา การสังคายนาพระไตรปิฎก ครัง้ แรกของไทยก็เกิดขึน้ ในเมืองเชียงใหม่แห่งนี้ ปัจจุบนั จังหวัดเชียงใหม่มวี ดั จ�านวนกว่า 1,400 แห่ง มีพระภิกษุสามเณรรวมกันกว่า 12,000 รูป และยังรักษาประเพณีทสี่ า� คัญทางพระพุทธศาสนา ให้คงอยูเ่ ฉกเช่นทีเ่ คยเป็นมา โดยวัดทีม่ คี วามส�าคัญ เช่น วัดพระธาตุดอยสุเทพ ราชวรวิหาร วัดพระสิงห์ วรมหาวิหาร วัดเจ็ดยอด พระอารามหลวง เป็นต้น หากท่านใดสนใจจะปฏิบัติธรรมสามารถเข้ามา ปฏิบัติธรรมยังส�านักปฏิบัติธรรมประจ�าจังหวัด เชียงใหม่ทั้ง 31 แห่งได้ โดยส�านักปฏิบัติธรรม ประจ�าจังหวัดเชียงใหม่ที่ส�าคัญๆ

“แนะน�าการท่องเที่ยวทางธรรม” ในจังหวัดเชียงใหม่ หากท่านใดสนใจประสงค์จะเข้ามาสัมผัสบรรยายวัฒนธรรมทางพระพุทธศาสนาสามารถเข้ามาไหว้พระ ขอพรหรืออบรมปฏิบตั ธิ รรมได้ยงั วัดส�าคัญๆ หลายวัด เช่น วัดพระธาตุศรีจอมทอง วรวิหาร อ�าเภอจอมทอง, วัดเจ็ดยอด พระอารามหลวง, วัดสวนดอก พระอารามหลวง, วัดเจดียห์ ลวง วรวิหาร, วัดพระสิงห์ วรวิหาร, วัดพระธาตุดอยสุเทพ ราชวรวิหาร, วัดเชียงมั่น วัดร�่าเปิง (ตโปทาราม) เป็นต้น CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

27


ท�ำเนียบกำรบริหำรงำน

คณะสงฆ์จังหวัดจังหวัดเชียงใหม่-ล�ำพูน-แม่ฮ่องสอน (มหำนิกำย)

พระธรรมเสนำบดี (ธงชัย สุวณฺณสิริ ป.ธ.๗)

พระพรหมมงคล วิ. (ทอง สิริมงฺคโล) ที่ปรึกษาเจ้าคณะภาค ๗

ที่ปรึกษาเจ้าคณะภาค ๗

รองเจ้าคณะภาค ๗

พระรำชรัชมุนี

รองเจ้าคณะจังหวัดเชียงใหม่

พระเทพสิงหวรำจำรย์ ดร. (โสภณ โสภโณ)

(นิมิต สิขรสุวณฺโณ ป.ธ.๙)

เจ้าคณะจังหวัดเชียงใหม่

พระเทพมังคลำจำรย์ (สมำน กิตฺติโสภโณ)

รองเจ้าคณะจังหวัดเชียงใหม่

เจ้าคณะอ�าเภอเมืองเชียงใหม่

พระครูบุรีตำรกำนุรักษ์ (บุญทำ วชิรปำโล)

พระครูอำทรวิสุทธิคุณ (บุญตัน)

พระครูสุนทรธรรมำนุโยค (สมพงษ์ เกสโร)

พระเทพปริยัติ (สะอำด ขนฺติโก ป.ธ.๗)

เจ้าคณะอ�าเภอเชียงดาว

เจ้าคณะอ�าเภอหางดง

พระรำชโพธิวรคุณ (พำยัพ ฐิตปุญฺโญ ป.ธ.๖ ,ดร.)

พระวิมลมุนี (นนทพันธ์ ปภสฺสโร ป.ธ.๕)

พระครูสุจิตธรรมสำร (สุใจ เขมจำโร)

พระครูวินิจสุภำจำร (ชัยวรรณ สุภำจำโร)

พระครูอินทญำณรังษี (มำ)

เจ้าคณะอ�าเภอแม่ออน

พระครูสุนทรวิภำต (สมบูรณ์ ธมฺมนนฺโท)

เจ้าคณะอ�าเภอดอยหล่อ

พระครูกัลยำณวัตรสุนทร (ไมตรี)

พระครูสำทรกิจโกศล (ชำญ ชวนปญฺโญ)

พระครูกันตศีลำนุยุต เจ้าคณะอ�าเภอเวียงแหง

พระครูวิมลธรรมำนุศำสน์ (สุนันท์ สุนนฺโท)

พระครูมงคลวิสิฐ (วิศิษฐ์ )

พระครูสุทธิญำณรังษี

พระครูวรญำณมงคล

พระครูสุวัฒน์วรธรรม

พระครูโกศลธรรมวิจัย (สุวรรณ ธมฺมวิจำโร)

พระครูปัญญำวิเชียร (ถำวร)

พระครูวิมลญำณประยุต (บุญชู ปญฺญำปชฺโชโต ,ดร.)

พระครูสถิตธรรมำภิรักษ์ (คมฺภีรธมฺโม)

พระครูสุจิตตำนุรักษ์ (แก้ว ทนฺตจิตฺโต)

พระครูวิธำนธรรมโสภณ ค�ำอ้ำย ป.ธ.๔)

เจ้าคณะอ�าเภอสันทราย

เจ้าคณะอ�าเภอไชยปราการ

28

SBL บันทึกประเทศไทย

เจ้าคณะอ�าเภอแม่ริม

เจ้าคณะอ�าเภอฝาง

อุดรธานี

พระเทพโกศล (สังวำลย์ พฺรหฺมวณฺโณ ป.ธ.๖)

เจ้าคณะอ�าเภอสันก�าแพง

เจ้าคณะอ�าเภอแม่อาย

เจ้าคณะอ�าเภอสารภี

พระครูสุนทรขันติรัต (ค�ำนึง ขนฺติพโล)

เจ้าคณะอ�าเภอสันป่าตอง

เจ้าคณะอ�าเภอดอยสะเก็ด

เจ้าคณะอ�าเภอแม่แตง

เจ้าคณะอ�าเภอแม่วาง

เจ้าคณะอ�าเภอกัลยาณิวัฒนา

เจ้าคณะอ�าเภอจอมทอง

เจ้าคณะอ�าเภอพร้าว

เจ้าคณะอ�าเภอฮอด

เจ้าคณะอ�าเภอดอยเต่า

เจ้าคณะอ�าเภออมก๋อย

เจ้าคณะอ�าเภอแม่แจ่ม

เจ้าคณะอ�าเภอสะเมิง


ท�ำเนียบกำรบริหำรงำน

คณะสงฆ์จังหวัดเชียงใหม่-ล�ำพูน-แม่ฮ่องสอน (ธรรมยุต) พระรำชวิสุทธิญำณ (ฤทธิรงค์ ญำณวโร)

เจ้ำคณะจังหวัดเชียงใหม่-ล�ำพูน-แม่ฮ่องสอน (ธรรมยุต) วัดป่ำดำรำภิรมย์ พระอำรำมหลวง

พระครูปลัดธนำคำร ธนำกโร

พระกิตติวิมล (อัมพร กตปุญฺโญ)

เลขำนุกำรเจ้ำคณะจังหวัดเชียงใหม่-ล�ำพูน-แม่ฮ่องสอน (ธรรมยุต) วัดป่ำดำรำภิรมย์ พระอำรำมหลวง

เจ้ำคณะอ�ำเภอเมืองเชียงใหม่-หำงดง (ธรรมยุต) วัดเจดีย์หลวง วรวิหำร

พระครูจิตตภัทรำภรณ์ (บุญฤทธิ์ จิตฺตสุโภ)

เจ้ำคณะอ�ำเภอสันก�ำแพง (ธรรมยุต) วัดโรงธรรมสำมัคคี

พระครูธรรมวำรีนุรักษ์ (ค�ำหล้ำ วรสุวณฺโณ) เจ้ำคณะอ�ำเภอแม่ริม-สะเมิง (ธรรมยุต) วัดป่ำน�้ำริน

พระครูธรรมวิวัฒนคุณ (เจริญ จตฺตสลฺโล)

พระมหำอุดร ทีปว�โส

เลขำนุกำรเจ้ำคณะอ�ำเภอเมืองเชียงใหม่-หำงดง (ธรรมยุต) วัดเจดีย์หลวง วรวิหำร

พระครูสังฆรักษ์ก�ำธร เขมจิตฺโต

เลขำนุกำรเจ้ำคณะอ�ำเภอสันก�ำแพง (ธรรมยุต) วัดโรงธรรมสำมัคคี

พระครูใบฏีกำไพรวัล จิรชโย

เจ้ำคณะอ�ำเภอแม่แตง (ธรรมยุต) วัดอรัญญวิเวก

เลขำนุกำรเจ้ำคณะอ�ำเภอแม่ริม-สะเมิง (ธรรมยุต) วัดป่ำดำรำภิรมย์ วัดพระอำรำมหลวง

พระครูสุเมธปัญญำคุณ (สุเมธ สุเมโธ)

พระศรำวุธ สติสมฺปนฺโน

เจ้ำคณะอ�ำเภอฝำง (ธรรมยุต) วัดสันติวนำรำม

เลขำนุกำรเจ้ำคณะอ�ำเภอแม่แตง (ธรรมยุต) วัดอรัญญวิเวก

พระครูสิริบุญญวัฒน์ (เสวต สุกฺกสิริ)

พระใบฎีกำธีระศักดิ์ ธีรปญฺโญ

เจ้ำคณะอ�ำเภอพร้ำว-เชียงดำว (ธรรมยุต) วัดเจติยบรรพต

เลขำนุกำรเจ้ำคณะอ�ำเภอฝำง-แม่อำย-ไชยปรำกำร (ธรรมยุต) วัดสันติวนำรำม

พระครูโสภณธรรมประทีป (ประทีป ฐิตทีโป) เจ้ำคณะอ�ำเภอจอมทอง-สันป่ำตอง (ธรรมยุต) วัดป่ำห้วยปำงเม็งเฉลิมพระเกียรติ

พระธีรวัฒน์ กตปุญฺโญ

เลขำนุกำรเจ้ำคณะอ�ำเภอพร้ำว- เชียงดำว (ธรรมยุต) วัดเจติยบรรพต

พระอภิเดช อภิญำโณ

พระครูวิมลธรรมรัต (ศรีนวล วิมโล) เจ้ำคณะอ�ำเภอจังหวัดล�ำพูน (ธรรมยุต) วัดสันติธรรม

เลขำนุกำรเจ้ำคณะอ�ำเภอจอมทอง-สันป่ำตอง (ธรรมยุต) วัดสันติธรรม

พระครูประสิทธิคณำรักษ์ (ถนอม ญำณปำโล)

พระมหำอมรเทพ อมรเทโว

เจ้ำคณะอ�ำเภอจังหวัดแม่ฮ่องสอน (ธรรมยุต) วัดแม่ปำง

เลขำนุกำรเจ้ำคณะอ�ำเภอจังหวัดล�ำพูน (ธรรมยุต) วัดสันติธรรม

พระมหำจักรกฤช อภิจกฺโก

เลขำนุกำรเจ้ำคณะอ�ำเภอจังหวัดแม่ฮ่องสอน (ธรรมยุต) วัดป่ำดำรำภิรมย์ พระอำรำมหลวง SBL บันทึกประเทศไทย

29


พระเทพปริยัติ (สะอาด ขนฺติโก ป.ธ.7) เจ้าคณะจังหวัดเชียงใหม่ และ เจ้าอาวาสวัดเจ็ดยอด (วัดโพธารามมหาวิหาร) 30

SBL บันทึกประเทศไทย II เชียงใหม่


ประวัติและปฏิปทาท่านเจ้าอาวาส พระเทพปริยัติ (สะอาด ขนฺติโก ป.ธ.7) เจ้าอาวาสวัดเจ็ดยอด พระอารามหลวง และ เจ้าคณะจังหวัดเชียงใหม่ พระเทพปริยตั ิ มีนามเดิมว่า สะอาด ธนะสาร เกิดวันที ่ 28 กันยายน พ.ศ. 2485 บิดาชื่อ นายอ้าย มารดาชื่อ นางนวล ภูมิล�าเนาเดิม บ้านเลขที่ 56 หมู่ที่ 1 ต�าบลโหล่งขอด อ�าเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ บรรพชาและอุปสมบท บรรพชา เมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2499 ณ วัดทุ่งแดง ต�าบลโหล่งขอด อ�าเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ โดยมีพระอุปัชฌาย์ คือ พระครูโสภณสารคุณ วัดประตูโขง ต�าบลโหล่งขอด อ�าเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ อุปสมบท เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2505 ณ วัดพันตอง ต�าบลช้างคลาน อ�าเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ โดยมี พระอุปัชฌาย์คือ พระอุดมวุฒิคุณ วัดส�าเภา ต�าบลศรีภูมิ อ�าเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ การศึกษา พ.ศ. 2498 ส�าเร็จการศึกษาชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านทุ่งแดง ต�าบลโหล่งขอด อ�าเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่, พ.ศ. 2505 สอบได้นกั ธรรมชัน้ เอก ส�านักเรียนวัดพันตอง ต�าบลช้างคลาน อ�าเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่, พ.ศ. 2521 ส�าเร็จการศึกษา จากโรงเรียนพระสังฆาธิการ ระดับปกครองจังหวัด และระดับอ�าเภอ จากโรงเรียนพระสังฆาธิการ ส่วนกลางกรุงเทพมหานคร, พ.ศ. 2528 สอบได้เปรียญธรรม 7 ประโยค ส�านักเรียนวัดพันตอง ต�าบลช้างคลาน อ�าเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ งานการศึกษา พ.ศ. 2547 เปิดสอนบาลี-นักธรรมและพุทธศาสนา วันอาทิตย์ ส�าหรับนักเรียนวัดเจ็ดยอด อ�าเภอเมืองเชียงใหม่ และ งานเผยแผ่ พ.ศ. 2547 จนถึงปัจจุบัน เป็นวิทยากรโครงการต่างๆ ของคณะสงฆ์จังหวัดเชียงใหม่ สมณศักดิ์ พ.ศ. 2516 เป็น พระครูสัญญาบัตร รองเจ้าคณะอ�าเภอ ชั้นเอก ที่พระครูประสิทธิ์พุทธศาสน์ พ.ศ. 2528 เป็น เปรียญธรรม 7 ประโยค 5 ธันวาคม พ.ศ. 2535 เป็น พระราชาคณะชั้นสามัญเปรียญ ที่ พระวิมลญาณมุนี 5 ธันวาคม พ.ศ. 2545 เป็น พระราชาคณะชั้นราช ที่ พระราช เขมากร ตรีปิฎกวราลงกรณ์ มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี 5 ธันวาคม พ.ศ. 2554 เป็น พระราชาคณะชัน้ เทพ ที ่ พระเทพปริยตั ิ พิพัฒน์ศาสนกิจดิลก ตรีปิฎกวราลงกรณ์ มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี วัดเจ็ดยอด (พระอารามหลวง) ตั้งอยู่เลขที่ 90 ถนนซุปเปอร์ ไฮเวย์ (เชี ย งใหม่ - ล� า ปาง) หมู ่ 2 ต� า บลช้ า งเผื อ ก อ� า เภอเมื อ ง จังหวัดเชียงใหม่ 52000 CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

31


History of buddhism....

วัดเจ็ดยอด (วัดโพธารามมหาวิหาร) ประวัติศาสตร์การสังคายนาพระไตรปิฎก นับเป็นอัฐมะสังคายนาครั้งที่ 8 ของโลก พระอารามหลวง มหาเจดีย์พุทธคยา พระธาตุประจำปีเกิดของคนปีมะเส็ง

พระเทพปริยัติ (สะอาด ขนฺติโก ป.ธ.7) เจ้าคณะจังหวัดเชียงใหม่ และ เจ้าอาวาส

วัดเจ็ดยอด(พระอารามหลวง) ตั้งอยู่ที่ต�าบลช้างเผือก อ�าเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ อยู่นอก ก�าแพงเมืองเชียงใหม่ออกไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ มีเนื้อที่ เป็นบริเวณวัดในปัจจุบันประมาณ 37 ไร่ 3 งาน 61 ตารางวา ทาง ทิศตะวันออกเฉียงใต้ของวัดอยู่ติดกับถนนซุปเปอร์ไฮเวย์ ซึ่งเป็นทาง คมนาคมส�าหรับผูท้ ปี่ ระสงค์จะเดินทางไปชมปูชนียวัตถุและโบราณสถาน ของวัดเจ็ดยอดได้สะดวก 32

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

ประวัติความเป็นมาของวัด วัดเจ็ดยอด(พระอารามหลวง) เป็นวัดโบราณและมีความส�าคัญ ทางด้านประวัติศาสตร์วัดหนึ่งของอาณาจักรล้านนาไทย กล่าวคือ เป็นวัดที่สมเด็จพระเจ้าติโลกราช รัชกาลที่ 10 แห่งราชวงศ์มังราย ทรงโปรดเกล้าให้สร้างขึ้นเมื่อพ.ศ. 1998 โปรดให้หมื่นด้ามพร้าคต หรือ สีหโคตรเสนาบดี เป็นนายช่างท�าการก่อสร้างศาสนสถานและ เสนาสนะขึ้นเป็นพระอาราม โปรดฯ ให้นิมนต์พระมหาเถระชื่อ พระอุตตมปัญญา มาสถิตเป็นอธิบดีสงฆ์องค์แรกในพระอารามนี้ ที่ได้เทศนาแก่พระเจ้าสมเด็จติโลกราชจนเกิดให้ศรัทธา และเชื่อ ในเรื่องอานิสงส์ปลูกต้นโพธิ์ในเวลาต่อมา


โบราณสถานที่ส�าคัญของวัด 1.ซุ้มประตูโขงทางเข้าวัด ศิลปกรรมของซุ้มประตูโข่งที่น่าสนใจ และดูชม คือ ลวดลายปั้น ประดับตกแต่งกรอบวงโค้งและหางซุ้ม ที่เป็นส่วนประกอบซุ้มประตูสองข้าง 2.มหาวิหาร เป็นโบราณสถานที่มีความส�าคัญอย่างยิ่งในวัดนี้ สมเด็จพระเจ้าติโลกราชโปรดให้ใช้เป็นสถานที่ประชุมพระมหาเถระ ทัว่ ราชอาณาจักรล้านนาไทย ในการท�าสังคายนาพระไตรปิฎกนับเป็น อัฐมะสังคายนา ครัง้ ที ่ 8 ของโลก มหาวิหารแห่งนีไ้ ด้รบั การสถาปนาขึน้ เมื่อปีพ.ศ. 2020 3.พระอุโบสถ หลังแรกของวัดเจ็ดยอดพระเมืองแก้ว พระราชาธิบดี ล�าดับที่ 12 แห่งราชวงศ์มังรายทรงเป็นพระราชนัดดาในสมเด็จ พระเจ้าติโลกราช โปรดให้สร้างขึน้ ตรงบริเวณทีถ่ วายพระเพลิงพระศพ พระเจ้ายอดเชียงราย พระราชบิดาของพระองค์ในวัดนี ้ เมือ่ ปีพ.ศ. 2045 เป็นปีที่ 7 ในรัชกาล พระอุโบสถหลังนี้ทรงอุสภลักษณ์ กว้าง 32 ศอก กับ 1 คืบ ส่วนยาว 78 ศอก กับ 1 คืบ ทีต่ งั้ ปาสาณนิมติ ของพระอุโบสถ กว้าง 41 ศอก ยาว 116 ศอก 4.พระสถูปเจดียอ์ นุสาวรียส์ มเด็จพระเจ้าติโลกราช พระยอดเชียง พระราชาธิบดีลา� ดับที ่ 11 แห่งราชวงศ์มงั รายเป็นพระนัดดาในสมเด็จ พระเจ้ า ติ โ ลกราช โปรดให้ ส ถาปนาขึ้ น เป็ น พระราชอนุ ส าวรี ย ์ ที่ ประดิษฐานพระอัฐพิ ระราชอัยการ คือ พระเจ้าสิรธิ รรมจักรพรรดิตลิ ภ หรือสมเด็จพระเจ้าติโลกราช เมื่อ พ.ศ. 2031 5.สัตตมหาสถาน คือ สถานที่ส�าคัญเนื่องในพระพุทธประวัติ 7 แห่ง คือ ปฐมโพธิบลั ลังก์ คือ สถานทีพ่ ระพุทธเจ้าทรงประทับนัง่ ขัดสมาธิ ณ ควงไม้ศรีมหาโพธิ์ด้านทิศตะวันออก ทรงตั้งวิริยอธิษฐานปฏิญาณ พระองค์ว่า “ตราบใดที่ยังไม่บรรลุอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณเพียงใด ก็จะไม่ลุกขึ้นเพียงนั้น แม้มังสะและโลหิตจะเหือดแห้งสูญสิ้นไป จะคงเหลืออยู่แต่หนังเส้นเอ็นก็ตามทีเถิด”

อนิมสิ เจดีย์ คือ สถานทีพ่ ระพุทธเจ้าเสด็จประทับยืนทอดพระเนตร ปฐมโพธิบัลลังก์ที่พระองค์ได้ตรัสรู้ ณ ที่นั้นเป็นเวลา 7 วัน รัตนฆรเจดีย์ คือ สถานทีพ่ ระพุทธเจ้าเสด็จประทับนัง่ ทรงพิจารณา พระอภิธรรมปิฎก เป็นเวลา 7 วัน ภายหลังที่ตรัสรู้ภายในเรือนแก้ว ที่เทวดานิรมิตถวาย มุจจลินทเจดีย์ คือ สถานที่พระพุทธเจ้าเสด็จประทับเสวย วิมุตติสุขผลสมาบัติใต้ต้นจิกสระมุจจลินท์ ภายหลังตรัสรู้แล้ว เป็น เวลา 7 วัน รัตนจงกรมเจดีย์ คือ สถานที่พระพุทธเจ้าเสด็จพุทธด�าเนิน จงกรมเป็นเวลา 7 วัน อชปาลนิโครธเจดีย์ คือ สถานที่พระพุทธเจ้าเสด็จประทับนั่ง ขัดสมาธิ ณ บัลลังก์ภายใต้ร่มอชปาลนิโครธ (ไม้ไทร) อันเป็นที่อาศัย ของคนเลี้ยงแพะ และเป็นสถานที่พระพุทธเจ้าทรงชนะมาร ราชาตนเจดีย์ คือ สถานที่พระพุทธเจ้าเสด็จประทับนั่งเสวย วิมุตติสุขสมาบัติ ณ ภายใต้ร่มไม้ราชายนพฤกษ์ ทรงยื่นพระหัตถ์ขวา รับผลสมอจากพระอินทร์ เป็นเวลา 7 วัน 6.หอไตร คือ สถานทีเ่ ก็บรักษาพระคัมภีรพ์ ระไตรปิฎกในวัดเจ็ดยอด เมื่อครั้งสมเด็จพระเจ้าติโลกราช ทรงคัดเลือกพระมหาเถระ ผู้เจนจัด ในพระบาลีมาช�าระอักษรไตรปิฎก ซึ่งเรียกว่า อัฐมสังคายนา ครั้งที่ 8 ของโลก ทรงอบรมสมโภช หอไตรแห่งนี้เป็นการใหญ่ เพื่อใช้เป็นที่ เก็บพระไตรปิฎกฉบับที่ช�าระแล้ว การเดินทางไปวัดเจ็ดยอด วั ด เจ็ ด ยอด ตั้ ง อยู ่ ที่ ต� า บลช้ า งเผื อ ก อ� า เภอเมื อ งเชี ย งใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ หากมาจากตัวเมืองด้วยถนนห้วยแก้วเมือ่ ถึงสีแ่ ยกรินค�า (ที่มีห้างเมญ่า) ให้เลี้ยวขวาไปทางถนนไฮเวย์ ไปไม่ไกลจะเจอไฟแดง ณ จุดนี้ให้เลี้ยวซ้ายตรงแยกนี้ พอเลี้ยวแล้วก็ชิดขวาเข้าวัดพอดี CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

33


History of buddhism....

วัดพระสิงห์วรมหาวิหาร ลมหายใจ “พระพุทธสิหิงค์” พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ คู่เมืองเชียงใหม่และแผ่นดินล้านนา

พระเทพสิงหวราจารย์ (โสภณ โสภโณ)

เจ้าอาวาส และรองเจ้าคณะจังหวัดเชียงใหม่

วัดพระสิงห์ มีชอื่ เต็มว่า วัดพระสิงห์วรมหาวิหาร พระอารามหลวง ชัน้ เอก ชนิดวรมหาวิหาร ตัง้ อยูใ่ นเขตก�าแพงเมืองชัน้ ใน เมืองเชียงใหม่ ถนนสามล้าน ต�าบลพระสิงห์ อ�าเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ เป็นวัดส�าคัญวัดหนึ่งของเมืองเชียงใหม่ เป็นที่ประดิษฐานพระสิงห์ (พระพุทธสิหงิ ค์) พระพุทธรูปศักดิส์ ทิ ธิค์ เู่ มืองเชียงใหม่และแผ่นดินล้านนา พระพุทธรูปเป็นศิลปะเชียงแสนรู้จักกันในชื่อ “พระสิงห์หนึ่ง” 34

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


พระพุทธสิหิงค์ หรือ พระสิงห์ เป็นพระพุทธรูปหล่อส�าริดลงรักปิดทอง หน้าตักกว้าง 1 เมตร สกุลช่างแบบเชียงแสน สร้างขึ้นในสมัย พุทธศตวรรษที่ 8 หรือประมาณ พ.ศ. 700 ประดิษฐานในวิหารลายค�า

พระมหาเจดีย ์ หรือ พระธาตุหลวง สูง 25 วา ฐานสีเ่ หลีย่ มยาวด้านละ 16 วา 1 ศอก 6 นิว้ พญาผายู โ ปรดให้ ส ร้ า งขึ้ น พ.ศ. 1888 และครู บ าศรี วิ ชั ย ได้ บู ร ณปฏิ สั ง ขรณ์ ใ น พ.ศ. 2469 ซึ่งเป็นพระธาตุเจดีย์ประจ�า ปีนักษัตรปีมะโรง

พระเจ้าทองทิพย์ หรือ พระสิงห์นอ้ ย ในสมัย พระเจ้าติโลกราช กษัตริย์องค์ที่ 12 แห่ง ราชวงศ์มงั ราย โปรดให้สร้างขึน้ พ.ศ. 2020 หน้าตัก 14.5 นิว้ สูง 21 นิว้ หนัก 27 กิโลกรัม ฝังอัญมณีมคี า่ ต่างๆ รอบฐาน ซึง่ ประดิษฐาน ในพระอุโบสถ

พระวิหารลายค�า เป็นสถาปัตยกรรมทีด่ เี ด่น ของล้ า นนาไทย ขนาดกว้ า ง 8 เมตร ยาว 30 เมตร สร้างแต่สมัยราชวงศ์มังราย และได้ รั บ การบู ร ณปฏิ สั ง ขรณ์ เรื่ อ ยมา ตามล�าดับ

พระอุโบสถสองสงฆ์แห่งเดียวในโลก มี รูปลักษณะเป็นแบบพิเศษ แตกต่างกับอุโบสถ โดยทั่วไป เรียกว่าอุโบสถสองสงฆ์ เป็น โบราณสถานเก่ า แก่ พญาแสนเมื อ งมา กษัตริย์องค์ที่ 10 แห่งราชวงศ์มังรายทรง สร้างไว้ ประมาณ พ.ศ. 1931 - 1954 และได้รบั การบูรณปฏิสังขรณ์เรื่อยมาตามล�าดับ

หอพระไตรปิฎก ที่เก่าแก่งดงาม ในสมัย พระเจ้ากาวิละ เจ้าหลวงเชียงใหม่องค์ที่ 1 โปรดให้สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2354

พระพุทธไสยาสน์ 500 ปี พระพุทธไสยาสน์ (พระนอน) เป็นพระพุทธรูปปูนปั้นเก่าแก่ สร้างเมื่อ พ.ศ. 2094 และได้มีการบูรณะ หลายครั้ง

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

35


กราบสรีระสังขารหลวงปู่ครูบาธรรมชัย ในดินแดนพระนิพพาน

WAT PHRA SINGH WORAMAHAWIHAN Breath of “Phra Buddha Sihing”, invaluable and sacred Buddha image of Chiang Mai and Lanna

The full name of Wat Phra Singh is Wat Phra Singh Woramahawihan, royal monastery. It is located at the area of old city moat in Chiang Mai, Samlan road, Phra Singh sub-district, Mueang Chiang Mai district. It is one of an important temple of Chiang Mai, the place where Phra Singh (Phra Buddha Sihing), invaluable and sacred Buddha image of Chiang Mai and Lanna, is established. This Buddha image was built in Chiang Saen style which is also renowned in the name “Chiang Saen Singh Neung”. 36

SBL บันทึกประเทศไทย II เชียงใหม่


HISTORY OF THE TEMPLE During the reign of Phraya Phayu, ruler of Chiang Mai ordered craftsmen to build this temple in order to contain relics of Phraya Khamfu who was his father. The former name of this temple was “Wat Li Chiang Phra”. There was a market at the front area of this temple which locals called it Li market. There is an interesting building in Wat Singh which is “Tripitaka hall”, a half-wood, half-concrete building that its external wall is decorated with stucco angles which is decked out exquisitely. These stuccoworks were built in the reign of Phra Mueang Kaew. After that, this hall was reconstructed around B.E.2467 during the reign of Chao Kaew Nawarat. The base of this hall was mold in Thai shape that called Lukfak Lodbua which inside of this pattern, there are mystical creatures in Himmapan forest and four petals pattern which its appearance is similar with pattern in Ming dynasty of China. Apart from that, there is “Vihara Lai Kham” which is small vihara in local Lanna style. Phra Buddha Sihing is placed inside this building. There are paintings on all sides of its wall which north wall is the tale of Sang Thong and south wall is classic literature, Suwannahong. These paintings have quite a lot of interestedness especially tale of Sang Thong that can be found in this place only.

Unique trait of painting that discovered in Lanna, Ajarn Sin Pheelasri had summarized about it as follows: “Most of Painting in northern of Thailand is painting of daily life which is the portrait of real life. If we look at gorgeous painting of tale of Sang Thong in vihara Lai Kham, we will feel we are integrating into the actual scenario of livelihood in 100 years ago”. WAT PHRA SINGH WORAMAHAWIHAN ADDRESS : 2 SAMLAN ROAD, PHRA SINGH SUB-DISTRICT, MUEANG DISTRICT, CHIANG MAI PROVINCE, 50200. TEL : 0-5341-6027 CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

37


เชียงใหม่

บันทึกเส้นทำงควำมเป็นมำ ในร่มเงาแห่งพระพุ ทธศาสนา

จั ง หวั ด เชี ย งใหม่ เป็ น จั ง หวั ด หนึ่ ง ทางภาคเหนื อ ของ ประเทศไทย ซึ่ ง ใหญ่ เ ป็ น อั น ดั บ 2 ของประเทศรองจาก กรุงเทพมหานคร ทิศเหนือติดต่อกับรัฐชาน ประเทศพม่า แบ่งการ ปกครองออกเป็น 25 อ�าเภอ โดยมีอ�าเภอเมืองเชียงใหม่เป็น ศูนย์กลางของจังหวัด เมื่อพ.ศ.2552 และมีการจัดตั้งอ�าเภอ กัลยาณิวัฒนาเป็นอ�าเภอล�าดับที่ 25 ของจังหวัด และล�าดับที่ 878 ของประเทศ ซึ่งเป็นอ�าเภอล่าสุดของไทย เชียงใหม่มีประวัติศาสตร์อันยาวนาน เคยเป็นเมืองหลวง ของอาณาจักรล้านนาแต่โบราณ มี “ค�าเมือง” เป็นภาษาท้องถิน่ มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวทั้งด้านประเพณีวัฒนธรรม และมีแหล่ง ท่องเทีย่ วจ�านวนมาก โดยเริม่ วางตัวเป็นนครสร้างสรรค์ และได้รบั การประกาศเป็นเมืองสร้างสรรค์ของโลกทางด้านหัตถกรรมและ ศิลปะพื้นบ้านเมื่อปี พ.ศ. 2560 ปัจจุบันก�าลังอยู่ในระหว่างการ พิจารณาให้เป็นเมืองมรดกโลกจากองค์การยูเนสโก นอกจากนี้ เชียงใหม่ยังเป็นศูนย์กลางด้านดาราศาสตร์ของเอเชียตะวันออก เฉี ย งใต้ โดยเป็ น ที่ ตั้ ง ของหอดู ด าวแห่ ง ชาติ แ ละอุ ท ยาน ดาราศาสตร์แห่งชาติ เวียงเชียงใหม่ มีชื่อปรากฏในต�านานพื้นเมืองเชียงใหม่ว่า “นพบุรีศรีนครพิงค์เชียงใหม่” พญามังรายทรงสถาปนาขึ้นเมื่อ วันที ่ 12 เมษายน (ตามปฏิทนิ จูเลียน) หรือ 19 เมษายน (ตามปฏิ ทินกริกอเรียน) พ.ศ. 1839 มีฐานะเป็นเมืองหลวงของราช อาณาจักรนครรัฐอิสระ ชื่อว่าอาณาจักรล้านนา ภายใต้การ ปกครองของราชวงศ์มังรายยาวนานประมาณ 261 ปี (ระหว่าง พ.ศ. 1839-2101) กระทั่งในปี พ.ศ. 2101 เชียงใหม่ได้เสียเมือง ให้แก่พระเจ้าบุเรงนองแห่งกรุงหงสาวดี และภายใต้การปกครอง ของพม่านานกว่าสองร้อยปี ถึงรัชสมัยสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี จึงได้มีการท�าสงครามเพื่อขับไล่พม่าออกจากเมืองเชียงใหม่และ เชียงแสนได้ส�าเร็จ โดยการน�าของเจ้ากาวิละและพระยาจ่าบ้าน (บุญมา) จากนั้น เปลี่ยนชื่อเป็น เมืองรัตตนติงสาอภินวปุรี หลั ง จากนั้ น พระบาทสมเด็ จ พระพุ ท ธยอดฟ้ า จุ ฬ าโลก มหาราช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาพระยากาวิละขึ้น เป็นพระบรมราชาธิบดี ปกครองนครเชียงใหม่และเป็นประมุข แห่งราชวงศ์ทิพย์จักร (ราชวงศ์เจ้าเจ็ดตน) และต่อมาเจ้านายซึ่ง เป็นเชื้อสายของพระเจ้ากาวิละ ก็ได้ปกครองเมืองเชียงใหม่และ หัวเมืองต่างๆ สืบต่อมา 38

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

39


ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้มีการ ปฏิรูปการปกครองหัวเมืองประเทศราช โดยมีการจัดตั้งการปกครอง แบบมณฑลเทศาภิบาล เรียกว่า “มณฑลพายัพ” ต่อมาเชียงใหม่ได้ มีการปรับปรุงการปกครองและยกฐานะขึ้นเป็น “จังหวัด” ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2476 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวจนถึง ปัจจุบัน ปัจจุบันทางการไทยได้เสนอเมืองเชียงใหม่ขึ้นเป็นบัญชีรายชื่อ เบื้องต้นเพื่อเตรียมความพร้อมขึ้นเป็นมรดกโลกทางวัฒนธรรมโดยใช้ ชื่อว่าอนุสรณ์สถานแหล่งต่างๆ และภูมิทัศน์วัฒนธรรมของเชียงใหม่ นครหลวงล้านนา

เมืองอันอุดมสมบูรณ์ไปด้วยป่าไม้

จังหวัดเชียงใหม่มีป่าไม้หลายประเภท ประกอบด้วย ป่าดิบเขา ป่าดิบแล้ง ป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง และป่าเต็งรังผสมป่าสนเขา และ ป่าแดง เป็นต้น พื้นที่ป่าไม้ ประกอบด้วย ป่าธรรมชาติ สวนป่า และ ป่ า ฟื ้ น ฟู ต ามธรรมชาติ โดยมี พื้ น ที่ ป ่ า ไม้ อ ยู ่ ใ นจั ง หวั ด เชี ย งใหม่ 12,222,395 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 69.93 ของพืน้ ทีท่ งั้ จังหวัด แบ่งเป็นป่า สงวนแห่งชาติ จ�านวน 25 แห่ง อุทยานแห่งชาติ 14 แห่ง เขตรักษา พันธุ์สัตว์ป่า 4 แห่ง วนอุทยานแห่งชาติ 2 แห่ง และเขตห้ามล่าสัตว์ป่า 1 แห่ง และจังหวัดเชียงใหม่ยังเป็นจังหวัดที่ถือได้ว่ามีพื้นที่เขตเมือง ใกล้กับเขตอุทยานแห่งชาติมากที่สุดในประเทศอีกด้วย 40

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


เมืองแห่งบวรพระพุทธศาสนา รุ่มรวยด้วยวัฒนธรรมประเพณีลา้ นนา

จากการที่เป็นเมืองท็อปฮิตติดอันดับของนักท่องเที่ยวทั่วโลก ทีโ่ หวดกัน แท้จริงแล้วเบือ้ งหลังความประทับใจในมิตรไมตรีอนั งดงาม และน�้าใจของชาวเชียงใหม่ต้องยกให้รากแก้วอันแข็งแรงจากการ ประพฤติ ป ฏิ บั ติ ต ามรอยบู ร พาจารย์ ใ นบวรพระพุ ท ธศาสนาที่ มี ประวัติศาสตร์ที่ยาวนาน ซึ่งสั่งสมวัฒนธรรมประเพณีสืบทอดมาจาก บรรพบุรษุ อย่างต่อเนือ่ งเป็นความผูกพันกับพุทธศาสนาและความเชือ่ ดั้งเดิม ก่อเกิดเป็นประเพณีที่ส�าคัญ อาทิ ปีใหม่เมือง (สงกรานต์) จัดขึน้ ระหว่างวันที ่ 13-15 เมษายนของทุกปี เป็นประเพณีทสี่ า� คัญและ ยิ่งใหญ่ของชาวเชียงใหม่, ประเพณียี่เป็ง จัดขึ้นในช่วงวันลอยกระทง ของทุกปี ราวเดือนพฤศจิกายน มีการตกแต่งบ้านเรือนและสถานที่ ต่างๆ ด้วยโคมและมีการปล่อยโคมเป็นสัญลักษณ์ของงาน, ประเพณี เข้าอินทขิล จัดขึ้นในช่วงเดือนพฤษภาคมถึงมิถุนายน ที่วัดเจดีย์หลวง เป็นการบูชาเสาหลักเมือง ,เทศกาลร่มบ่อสร้าง จัดขึน้ ในเดือนมกราคม ของทุกปี ที่ศูนย์หัตถกรรมท�าร่มบ่อสร้าง อ�าเภอสันก�าแพง และ ประเพณีแห่ไม้ค�้าโพธิ์ จัดขึ้นในเดือนเมษายน ในวันที่ 15 เป็นต้นไป ของทุกปี ทีบ่ ริเวณตัวเมืองจอมทอง แล้วแห่ขบวนไปตามเมืองจอมทอง จนถึงวัดพระธาตุศรีจอมทองวรวิหาร ซึ่งเป็นประเพณีที่สืบทอดกันมา นานกว่า 200 ปี ตามต�านานเกิดขึ้นที่อ�าเภอเภอจอมทอง ถือเป็นแห่ง แรกของประเทศไทยและแห่งเดียวในโลก ประเพณีแห่ไม้คา�้ โพธิ์ กลายเป็นต้นแบบของการแห่ไม้คา�้ สะหลี ของชาวล้านนา จนได้รับความนิยมไปทั่วภาคเหนือ และเป็นประเพณี ที่เริ่มมีชื่อเสียงโด่งดัง และได้รับความนิยมอย่างมากจนถึงปัจจุบัน ทัง้ นี ้ ในจังหวัดเชียงใหม่มรี ม่ เงาแห่งธรรมน�าความร่มเย็นสูจ่ ติ ใจ ท�าให้ชวี ติ ผ่องใส ผ่านวัดและส�านักสงฆ์ทน่ี กั ท่องเทีย่ วสามารถไปท�าบุญ ใส่บาตรไหว้พระ สวดมนต์ ฟังธรรม และปฏิบัติธรรมมากถึง 1,422 แห่ง โดยมีพระสงฆ์ผู้เป็นเนื้อนาบุญถึง 5,275 รูป และสามเณรผู้เดิน ตามรอยบาทพระบรมศาสดาสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าอีก 6,570 รูป บนแผ่นดินที่ยังคงสงบเย็นไปด้วยรสพระธรรมน�าทางชีวิตผู้คนไปบน หนทางแห่งปัญญา ดังที่ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ตรัสว่า “เมืองเชียงใหม่นี้เหมือนหนึ่งเป็นเพชรซึ่งประดับมงกุฎของเมืองไทย ถ้ามงกุฎปราศจากเพชรประดับก็จะไม่ผ่องใสงดงามได้...” CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

41


ข้อควรและไม่ควรปฏิบัติของชาวพุทธเมื่อเข้าวัด Things that SHOULD and SHOULDN’T be done when visiting temples. 寺庙礼仪的规定

ไม่ควรสวมใส่เครือ่ งประดับราคาแพง เช่น แหวนเพชร นาฬิกาเรือนทอง หรือสร้อยทองคำา ฯลฯ Expensive accessories (e.g. diamond rings, gold watches, gold necklaces etc.) SHOULD NOT be worn. 不要戴昂贵的珠宝,如钻石戒指,金手表或金手链。

ทรงผมทรงสุภาพทั้งสุภาพบุรุษและสุภาพสตรี Hair styles (of both men and women) SHOULD be polite. 男士和女士的发型应得体。

เสื้อผ้าควรเป็นสีสุภาพทั้งชุด ยกเว้นเครื่องแบบของข้าราชการ Clothes color (except government officer uniforms) SHOULD BE polite. 服装应整套得体,公务装除外。

เนื้อผ้า ไม่ควรโปร่งบาง และดูหรูหรามีราคาเกินความจำาเป็น Cloth fabric SHOULD NOT BE see-through or transparent, or too fancy. 服装避免轻薄透,不宜过于花哨。

การตัดเย็บควรให้หลวมพอสมควร ไม่รัดรูป เพื่อสะดวกในการกราบไหว้พระ และนั่งสมาธิ ผู้หญิงไม่ควรนุ่งกระโปรงสั้น หรือผ่าหน้าผ่าหลัง การแต่งหน้า เขียนคิ้ว ทาปาก ทาเล็บ ฯลฯ จนเกินงามไม่ควรกระทำา Make-up color (e.g. eyebrow, lip, and nail etc.) SHOULD NOT be too much. 妆容得体,不化浓妆。

Clothes SHOULD BE slightly loose (not too fit or not too tight) so that it is more convenient to prostrate to Buddha images and monks, and for meditation. Women SHOULD NOT wear short skirts or skirts with slits at the front or at the back. 服装应宽松适当,不宜过于紧身,女性不宜穿短裙或短裤。

สุภาพสตรีที่นุ่งกระโปรงสั้น/กางเกงขาสั้น ควรนำาผ้าคลุมเข่าไปด้วย เพื่อใช้ คลุมเข่าขณะนั่งพับเพียบหรือนั่งสมาธิ Women wearing short skirts or shorts SHOULD bring shawls to cover knees while sitting on the floor or while meditating. 如有穿短裙或短裤的女性,打坐冥想的时候应用布遮住膝盖。

ไม่ควรใช้นำ้ามันใส่ผม หรือนำ้าหอม ที่มีกลิ่นแรงเกินไป เพราะจะเป็นการรบกวนผู้อื่น Hair oil or perfume scent SHOULD NOT be too strong as they might disturb others 为不影响他人,不宜使用味道浓烈的发胶或香水。

หมายเหตุ: ข้อห้าม/ข้อควรปฏิบัตินี้เป็นเพียงข้อเสนอแนะแนวทางสำาหรับพุทธศาสนิกชนทั่วไป ที่สามารถเลือกใช้เป็นแนวทางการปฏิบัติได้ตามความเหมาะสม


ข้อควรและไม่ควรปฏิบัติของชาวพุทธต่อพระสงฆ์ Things that SHOULD and SHOULDN’T be done when interacting with a monk. 教徒应遵守的规则

ใส่ข้าวก่อนเสมอ Rice SHOULD always be placed first in a monk’s alms bowl. 布施时应先放米饭

ผู้หญิงไม่ควรอยู่ตามลำาพังหรือแตะตัวพระสงฆ์

ไม่ทานอาหารที่เตรียมไว้ ใส่บาตร

A woman SHOULD NOT touch a monk and/or be with a monk alone.

Food to be offered to a monk SHOULD NOT be eaten.

女性不应单独与僧侣相处或触碰僧人。

布施的食物不应自己先食用。

ถอดรองเท้า

ควรนั่งพับเพียบและใช้ถ้อยคำาสุภาพ ในการสนทนากับพระสงฆ์ Utterances SHOULD BE polite and the proper way to sit on the floor SHOULD BE observed at all times when conversing with a monk. 与僧侣交流时坐姿应得体用语应礼貌。

Always take off your shoes. 脱鞋

อาหารที่ ไม่เหมาะสมสำาหรับการนำาไปถวายพระสงฆ์ Inappropriate food SHOULD NOT be offered to a monk. 不宜布施给僧侣的食物。

การประเคนของแด่พระสงฆ์ Making an offering to a monk. 向僧侣布施

การกราบพระสงฆ์ Prostrating to a monk. 叩拜僧侣

การแสดงความเคารพ พระสงฆ์ขณะยืน Showing respect to a monk while standing. 站立式叩拜

หมายเหตุ: ข้อห้าม/ข้อควรปฏิบัตินี้เป็นเพียงข้อเสนอแนะแนวทางสำาหรับพุทธศาสนิกชนทั่วไป ที่สามารถเลือกใช้เป็นแนวทางการปฏิบัติได้ตามความเหมาะสม


ข้อควรและไม่ควรปฏิบัติในศาสนพิธี Things that SHOULD and SHOULDN’T be done in any Buddhist ceremony 参加佛教仪式时的注意事项

กราบพระประธานก่อนเสมอ The principal Buddha image SHOULD be prostrated first. 应先拜佛

ทิ้งขยะให้เป็นที่ All rubbish SHOULD be disposed properly. 禁止乱放垃圾

ไม่ควรทะเลาะวิวาท Any quarrels and fights SHOULD NOT take place. 禁止吵架

ไม่ควรใช้เสียงดัง Voice used SHOULD be soft and gentle. 禁止大声喧哗

ควรเปล่งเสียงอย่างชัดเจนโดยพร้อมเพรียงกัน ในการประกอบศาสนพิธี All utterances SHOULD be pronounced clearly and simultaneously during any Buddhist ceremony. 佛教仪式诵经时不宜标新立异,应与他人保持一致

หมายเหตุ: ข้อห้าม/ข้อควรปฏิบัตินี้เป็นเพียงข้อเสนอแนะแนวทางสำาหรับพุทธศาสนิกชนทั่วไป ที่สามารถเลือกใช้เป็นแนวทางการปฏิบัติได้ตามความเหมาะสม


ถ้อยคำาและสรรพนามที่ใช้กับพระสงฆ์ Words and pronouns used with a buddhist monk.

คำาที่ใช้กับพระภิกษุสงฆ์ Words that always used with a Buddhist monks คำา Word เจริญพร Ja-roen-porn อาตมา At-ta-ma โยม Yome

ความหมาย คำารับ เหมือน “ครับ” คำาแทนตัวของพระ คำาที่พระ ใช้เรียกฆราวาส

meaning Yes (for a monk) I (for a monk) You (for a monk)

offer a thing ถวาย to to a monk สวดมนต์ถวายพระพร to pray and bless Ta-waiar-di-rek พระเจ้าแผ่นดิน the king Chan รับประทาน to eat Jum-wat นอน to sleep Ar-part ป่วย be sick Song-num อาบน้ำา to take a shower Mor-ra-na-parp ตาย to pass away

ประเคน Pra-ken ถวายอดิเรก ฉัน จำาวัด อาพาธ สรงน้ำา มรณภาพ

คำา Word อาราธนา A-rat-ta-na นิมนต์ Ni-mon ปลงผม ทำาวัตร นมัสการ ครองผ้า ปัจจัย

Plong-pom Tum-wat Na-mas-karn Krong-paa Pat-jai

ความหมาย เชิญ (ใช้ ในกรณี ขอให้แสดงธรรม) เชิญ (ใช้กรณี ทั่วไป) โกนผม สวดมนต์ ไหว้ แต่งตัว เงิน

meaning to invite a monk to deliver a sermon to invite (for general situations) to shave one’s hair to pray to worship to get dressed money

คำาที่ใช้ ในการเขียนจดหมายถึงพระภิกษุสงฆ์ Word used in a written letter for a Buddhist monk ผู้รับหนังสือ

คำาขึ้นต้น

คำาสรรพนาม

คำาลงท้าย

คำาจ่าหน้าซอง

Recipient

Salutations

Pronoun

Postscript

Addressing words

นมัสการ (ระบุนาม)

พระคุณเจ้า, กระผม, ดิฉัน

ขอนมัสการด้วย ความเคารพอย่างยิ่ง

นมัสการ (ระบุนาม)

You and I

Yours respectfully,

Dear (name)

นมัสการ (ระบุนาม)

พระคุณท่าน, กระผม, ดิฉัน

ขอนมัสการด้วย ความเคารพอย่างสูง

นมัสการ (ระบุนาม)

Dear (name)

You and I

Yours respectfully,

Dear (name)

ท่าน, ผม, ดิฉัน

ขอนมัสการด้วย ความเคารพ

นมัสการ (ระบุนาม)

Yours respectfully,

Dear (name)

สมเด็จพระราชาคณะ A highest Buddhist ecclesiastical dignitary

พระราชาคณะ / เจ้าคณะรอง

A high Buddhist ecclesiastical dignitary Dear (name) Lord Abbot of a Buddhist monastery

พระราชาคณะ A highest Buddhist ecclesiastical dignitary

พระภิกษุทั่วไป A general monk

นมัสการ (ระบุนามw) Dear (name)

You and I

หมายเหตุ: ข้อห้าม/ข้อควรปฏิบัตินี้เป็นเพียงข้อเสนอแนะแนวทางสำาหรับพุทธศาสนิกชนทั่วไป ที่สามารถเลือกใช้เป็นแนวทางการปฏิบัติได้ตามความเหมาะสม


ย้อนอดีตสั มผัส ลมหายใจวันวาน ของการสั งคายนา พระไตรปิฎก

SBL บันทึกประเทศไทย ฉบับพิ เศษ วัดทั่วไทย ฉบับวัดในเชียงใหม่ เล่มนี้ มีวัดมากมายที่ขอเชิญชวนทุกท่าน เดินสายบุญและปฏิบัติธรรม โดย เฉพาะเส้นทางธรรมที่ไม่อยากให้ท่าน พลาดแม้แต่เพียงวัดเดียว มาวัดใจกัน ด้วยพลังกายในการตะลุยท่องเที่ยว ทางธรรมตามแบบฉบับของคนอิม ่ บุญ ในเมืองที่ประวัติศาสตร์ยาวนาน มี ศิ ลปวัฒนธรรมประเพณีล้านนา ที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว รุ่มรวย ไปด้วยอรรถรสแห่งประวัติศาสตร์ นับเนื่องมาจากสมัยพุ ทธกาล จาก การเดินทางของพระบรมสารีริกธาตุ ในประเทศอินเดีย สู่การประดิษฐาน พระพุ ทธศาสนาจนเกิดความมั่นคง ในพระรั ตนตรั ยในหั วใจของ ชาวเชีย งใหม่ จ นถึ งทุ ก วั นนี้

46

SBL บันทึกประเทศไทย II เชีเชียยงใหม่ งใหม่


“เดินเท้าอย่างมีสติ 10 วัดในเชียงใหม่ อย่างตืน ่ รู้ ดูจิตใจตน มองจนเห็นธรรม” CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

47


เดินเท้าอย่างมีสติ 10 วัดในเชียงใหม่ อย่างตื่นรู้ ดูจิตใจตน มองจนเห็นธรรม

1.

วัดพระธาตุดอยสุเทพ

มาถึงเมืองเชียงใหม่ ต้องมาวัดพระธาตุดอย สุเทพ ซึ่งตั้งอยู่บนยอดดอยสุเทพ สร้างขึ้นเมื่อต้น พุ ทธศตวรรษที่ 19 ในสมัยพระเจ้ากือนาธรรมิกราช เจ้ า หลวงเมื อ งเชี ย งใหม่ อ งค์ ท่ี 6 เพื่ อ ประดิ ษ ฐาน พระบรมสารี ริ ก ธาตุ ท่ี ไ ด้ ท รงอั ญ เชิ ญ มาจากเมื อ ง ศรีสัชนาลัย วัดพระธาตุดอยสุเทพถือเป็นพระอาราม หลวง ชั้นโท ชนิดราชวรวิหารและเป็นปูชนียสถานคู่ เมื อ งเชี ย งใหม่ นั บ ตั้ ง แต่ โ บราณกาล ถ้ า หากใครที่ มาเยือนเมืองเชียงใหม่แล้วไม่ได้ขน ึ้ ไปนมัสการถือเสมือน ว่ายังมาไม่ถึงเชียงใหม่ วัดพระธาตุดอยสุเทพ มีบน ั ไดนาคเจ็ดเศียรก่อปูน ประมาณ 300 ขั้น หรือสามารถใช้บริการกระเช้า รถไฟฟ้า เพื่ อขึ้นไปสักการะพระธาตุ ภายในวัดมีเจดีย์ ทรงเชียงแสน ฐานสูงย่อมุมระฆังทรงแปดเหลี่ยมปิด ด้วยทองจังโก 2 ชัน ่ ก่อสร้างตามแบบศิลปะล้านนา ้ ซึง และจากด้ า นบนจะสามารถมองเห็ น ทิ ว ทั ศ น์ เ มื อ ง เชียงใหม่ได้ชัดเจน

48

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


วัดพระสิงห์วรวิหาร เป็นวัดส�าคัญในประวัติศาสตร์ แห่งแผ่นดินล้านนานับแต่อดีต เป็นพระ อารามหลวงชั้นเอก ชนิดวรมหาวิหาร ตั้งอยู่ในบริเวณคูเมืองเชียงใหม่ ถนน สามล้าน ต�าบลพระสิงห์ อ�าเภอเมือง วัดพระสิงห์วรวิหาร นับเป็นวัดส�าคัญ วั ด หนึ่ ง ของเมื อ งเชี ย งใหม่ ภายในมี พระสิงห์หรื อพระพุ ทธสิ หิ งค์ ซึ่ งเป็ น พระพุ ทธรู ป โบราณศิ ล ปะเชี ย งแสน โบราณ ปางมารวิ ชั ย ขั ด สมาธิ เ พชร สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ.700 และเป็นที่รู้จัก กันในชื่อ “เชียงแสนสิงห์หนึ่ง” อีกทั้ง ิ ธิค เป็นพระพุ ทธรูปศักดิส ์ เู่ มืองเชียงใหม่ ์ ท และแผ่นดินล้านนาประดิษฐานอยู่

2.

วัดพั นเตา วัดพั นเตา วัดเก่าแก่ใจกลางเมือง ตั้งอยู่ท่ี ถนนพระปกเกล้า ต�าบลพระสิงห์ อ�าเภอเมือง เดิมเป็น เขตสังฆาวาสและพื้ นที่หล่อพระอัฎฐารสของ วัด เจดีย์หลวง ต่อมาได้สร้างเป็นวัดพั นเตา แต่เดิม คนเชียงใหม่เรียกที่น่ว ี ่าวัด “ปันเต้า” (พั นเท่า) อัน หมายถึงการที่มาท�าบุญเพี ยงหนึ่งจะได้บุญกลับ ไปเป็นพั นเท่า ภายหลังเพี้ ยนเป็น “พั นเตา” อีก ที่ ม าหนึ่ ง น่ า จะมาจากการใช้ วั ด นี้ เ ป็ น แหล่ ง สร้ า ง เตาหล่อพระนับร้อยนับพั นเตา จึงได้ช่อ ื ว่า “วัดพั น เตา” นั่นเอง

4.

3.

วั ด เจดี ย์ ห ลวงวรวิ ห าร เป็ น พระอารามหลวงใน

จังหวัดเชียงใหม่ มีชอ ่ื เรียกหลายชือ ่ ได้แก่ราชกุฏาคาร วั ด โชติ ก าราม สร้ า งขึ้ น ในรั ช สมั ย พญาแสนเมื อ งมา พระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 7 แห่งราชวงศ์มังราย ไม่ปรากฏ ปีท่ส ี ร้างแน่ชัด สันนิษฐานว่าวัดแห่งนี้น่าจะสร้างในปี พ.ศ. 1928-1945 และมีการบูรณะมาหลายสมัย โดยเฉพาะพระ เจดีย์ ทีป ่ จ ั จุบน ั มีขนาดความกว้างด้านละ 60 เมตร เป็นองค์ พระเจดียท ์ ม ่ี ค ี วามส�าคัญอีกองค์หนึง ่ ของจังหวัดเชียงใหม่ วัดเจดีย์หลวงสร้างอยู่กลางใจเมืองเชียงใหม่ ซึ่งแต่เดิม ถือว่าเป็นศูนย์กลางทางการปกครองของอาณาจักรล้านนา ตั้งอยู่เลขที่ 103 ถนนพระปกเกล้า ต�าบลพระสิงห์ อ�าเภอ เมือง จังหวัดเชียงใหม่ CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

49


5.

วัดเชียงมั่น

เป็นวัดทีเ่ ก่าแก่ทส ่ี ด ุ ในตัวเมือง เชียงใหม่ มีมาตัง ้ แต่สมัยแรกสร้างเมือง เมื่อ พ.ศ.1839 พญามังราย ได้ทรง ยกพระต�าหนักเชียงมัน ่ ถวายเป็นพระ อารามให้ช่อ ื ว่า วัดเชียงมั่น และโปรด เกล้าฯ ให้สร้างเจดียช ์ า้ งล้อม บริเวณ พื้ นที่หอประทับของพระองค์ พระวิหารของวัดเชียงมัน ่ มี 2 วิหาร คือ วิหารใหญ่ท่ีสร้างในสมัยปัจจุบัน ระหว่างช่องหน้าต่างของวิหารหลังนี้ มี ภ าพจิ ต รกรรมฝาผนั ง เขี ย นสี ท อง บนพื้ นแดงงามวิจิตร บอกเล่าเรื่อง ราวการสร้ า งเมื อ งและวั ด ของพญา มั ง ราย ทั้ ง เวี ย งกุ ม กาม และเมื อ ง เชียงใหม่

วัดสวนดอก ในอดีตวัดสวนดอกนี้ พระเจ้ากือนาธรรมิกราช ได้พระราชทานนามชือ ่ ไว้วา่ “วัดบุปผาราม” ซึง ่ หมายถึง วัดแห่งสวนดอกไม้ เป็นอุทยานสวนดอกไม้ ต่อมาคน ส่วนใหญ่มักเรียกเพี ยงสั้นๆ ว่าวัดสวนดอก จึงได้ใช้ ชื่ อ นี้ เ ป็ น ทางการมาจนถึ ง ทุ ก วั น นี้ ต่ อ มาได้ เ ป็ น พระ อารามหลวงเนื่ อ งจากเป็ น วั ด ที่ มี ก ารพั ฒ นาทุ ก ด้ า น อย่างสม�า่ เสมอ

7.

วัดอุโมงค์ สร้างขึ้นในสมัยพญามังรายราวปี พ.ศ.1839 เพื่ อให้ ฝ่ายอรัญวาสีจา� พรรษา ต่อมาพระเจ้ากือนาธรรมิกราชทรง สร้างอุโมงค์ขึ้นเพื่ อให้พระมหาเถระจันทร์ใช้เป็นที่วิปัสสนา กรรมฐาน อุโมงค์นม ้ี ล ี ก ั ษณะเป็นก�าแพงภายในเป็นทางเดิน หลายช่องทะลุกันได้ ภายในอุโมงค์เคยมีภาพจิตรกรรมฝาผนัง สันนิษฐาน ว่าวาดในระหว่าง พ.ศ.1900-2000 แต่เดิมคงเป็นภาพ จิตรกรรมเต็มบริเวณของทุกห้อง

6.

50

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


วัดโลกโมฬี โบราณสถานที่ ป รากฏอยู่ คื อ พระเจดีย์ท่ม ี ีอายุประมาณ 491 ปี ฐาน พระอุโบสถ ซึ่งทางกรมศิลปากรได้ขึ้น ทะเบียนไว้ หลังจากได้ยกขึน ้ เป็นวัด ได้ สร้างพระวิหาร และก�าแพง ตามแบบ สถาปัตยกรรมล้านนา สร้างกุฏิสงฆ์ พร้อมกันนั้นได้หล่อพระพุ ทธรูปปฏิมา ประธานประจ�าพระวิหาร ชื่อ “พระพุ ทธ สั น ติ จิ ร บรมโลกนาถ” และได้ บ รรจุ พระบรมสารี ริ ก ธาตุ ไ ว้ บ นพระเมาลี เมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546 และยังได้หล่อพระรูปของพระนางจิระ ประภามหาเทวี ซึ่ ง พระองค์ ไ ด้ ท รง อุ ป ถั ม ภ์ วั ด โลกโมฬี ค รั้ ง เสวยราชย์ ครองเมืองเชียงใหม่ไว้ให้คนรุ่นหลังได้ สักการะร�าลึกถึงคุณความดีของพระองค์

8.

9.

วัดเจ็ดยอด

เป็ น วั ด ที่ ส� า คั ญ และเก่ า แก่ แ ห่ ง หนึ่ ง ของ เชียงใหม่ ลั ก ษณะคล้ ายกั บ มหาวิ ห ารโพธิท่ี พุ ทธ คยาในประเทศอินเดีย ที่ฐานเจดีย์ประดับปูนปั้นรูป เทวดา ด้านนอกพระเจดีย์ ประดับงานปูนปั้นรูป ่ งทีม ่ ล ี วดลาย เทวดาทัง ่ ขัดสมาธิและยืนทรงเครือ ้ นัง ต่างกันไปดูงามน่าชม นอกจากนี้ ยั ง เป็ น วั ด ที่ มี ก ารสั ง คายนาพระ ไตรปิฎกครั้งที่ 8 ของโลก เป็นครั้งแรกของไทย และถือเป็นหลักปฏิบต ั ข ิ องสงฆ์ในล้านนา วัดเจ็ดยอด เป็นวัดที่มีความส�าคัญทางประวัติศาสตร์อย่างยิ่ง อีกทั้งสถาปัตยกรรมภายในวัดก็ยิ่งใหญ่งดงาม ควรค่าแก่การเคารพบูชาและไปเยี่ยมเยือน

10.

วัดพระธาตุดอยค�า เดิมชื่อวัดสุวรรณบรรพต แต่ชาวบ้านเรียกว่า “วั ด ดอยค� า ” เป็ น วั ด ที่ มี ค วามส� า คั ญ ในจั ง หวั ด เชี ย งใหม่ อายุเก่าแก่กว่า 1,300 ปี ตั้งอยู่บริเวณดอยค�า ด้านหลัง อุ ท ยานหลวงราชพฤกษ์ ห่ า งจากตั ว เมื อ งประมาณ 10 กิโลเมตร วัดพระธาตุดอยค�าสร้างในสมัยพระนางจามเทวี กษัตริย์แห่งหริภุญชัย โดยพระโอรสทั้ง 2 เป็นผู้สร้างในปี พ.ศ.1230 ประกอบด้วยเจดียบ ์ รรจุพระบรมสารีรก ิ ธาตุของ พระพุ ทธเจ้า ศาลาการเปรียญกุฏส ิ งฆ์ และพระพุ ทธรูปปูน ปั้นในปี พ.ศ. 2509 ขณะนั้นวัดดอยค�าเป็นวัดร้าง ต่อมา กรุแตกชาวบ้านพบโบราณวัตถุหลายชิน ้ เช่น พระรอดหลวง พระหินทรายปิดทององค์ใหญ่ พระสามหมอ (เนื้อดิน) ซึ่ง น�ามาประดิษฐานไว้ ณ วัดพระธาตุดอยค�า CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

51


วัดสวนดอก เป็นวัดพระอารามหลวง ชั้นตรี ชนิดสามัญ ตั้งอยู่ใน เวียงสวนดอก ทางทิศตะวันตกของเวียงเชียงใหม่ เลขที่ 139 ถนนสุเทพ ต�าบลสุเทพ อ�าเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ สังกัดคณะสงฆ์ มหานิกาย มีเนือ้ ทีท่ งั้ หมด 35 ไร่ 2 งาน 44 ตารางวา สร้างโดย พญากือนา กษัตริย์ล�าดับที่ 6 แห่งราชวงศ์มังราย (พ.ศ. 1898 – พ.ศ. 1928)

History of buddhism....

วัดสวนดอก พระอารามหลวง สวนดอกไม้ อุทยานธรรม ปาฏิหาริย์แห่งพระบรมสารีริกธาตุ พระบรมธาตุเจดีย์ พระราชรัชมุนี (นิมิต สิขรสุวณฺโณ ป.ธ.9) เจ้าคณะอ�าเภอเมืองเชียงใหม่ ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาส

บันทึกความเป็นมา ปี พ.ศ. 1912 พญากือนา ทรงส่งราชทูตไปกราบนิมนต์พระมหา สุมนเถร วัดอัมพวนาราม (วัดป่ามะม่วง) กรุงสุโขทัย เพื่อมาเผยแผ่ พระพุทธศาสนาลัทธิลงั กาวงศ์ในพิงคนครเชียงใหม่ โดยพระมหาสุมน เถรได้อัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุที่ขุดได้จากเจดีย์ร้างเมืองปางจา ศรีสัชนาลัย มาถวายแก่พญากือนา ต่อมาในปี พ.ศ. 1914 พระองค์ได้ถวายพระราชอุทยานสวน ไม้ พ ะยอมให้ แก่ พ ระมหาสุ มนเถร เพื่อ สร้ างวัด โดยมีขนาดเท่า พระเชตวันมหาวิหาร พระราชทานนามวัดว่า “วัดบุปผาราม” หมายถึง วัดสวนดอกไม้ (พะยอม) 52

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


พระบรมธาตุเจดีย์ ในวันพุธ เดือน 9 ปี พ.ศ. 1916 (จ.ศ. 735) พระมหาสุมนเถร ซึ่งมีพญากือนาทรงอุปถัมภ์ ได้ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุนั้น ก่อนพิธีบรรจุ พระบรมสารีริกธาตุได้แสดงปฏิหาริย์ แบ่งออกเป็น สององค์ องค์หนึ่งเล็ก อีกองค์หนึ่งเป็นดั่งปกติ จึงอัญเชิญองค์ดั่งปกติ มีสัณฐานเท่าเมล็ดถั่วเขียว ประดิษฐานไว้ในพระบรมธาตุเจดีย์ “พระเจ้าค่าคิง” พระประธานในพระวิหารหลวง พญากือนาได้ถวายเรือนหลวงของพระองค์เพื่อสร้างมหาวิหาร ต่อมาพระองค์ทรงพระประชวรหนัก พระมารดา จึงมีพระบัญชาให้ หล่อพระพุทธรูปองค์หนึ่งด้วยทองส�าริดไว้ในมหาวิหารเพื่อถวายไว้ เป็นพระราชกุศลแด่พญากือนา ปรากฏนามว่า “พระเจ้าค่าคิง” ในปี พ.ศ. 1916 (จ.ศ.736) “พระเจ้าเก้าตื้อ” พระพุทธปฏิมากรองค์ใหญ่ ลุป ี พ.ศ. 2047 (จ.ศ. 866) พระเจ้าเมืองแก้ว ได้ทรงหล่อพระพุทธ ปฏิมากรองค์ใหญ่ หน้าตักกว้าง 3 เมตร สูงแต่ฐานถึงยอดพระโมฬี 4.7 เมตร ในวันพฤหัสบดี เดือน 5 เหนือ ขึ้น 8 ค�่า พระจันทร์เสวย ปุนัพพสุฤกษ์ มีที่ต่อ 8 แห่ง นับเป็นท่อนได้ 9 ท่อน มีน�้าหนัก 9 ตื้อ อันชนทั้งหลายเรียกว่า “พระเจ้าเก้าตื้อ” นั้นแล กู่เจ้านายฝ่ายเหนือ เมือ่ เดือนตุลาคม พ.ศ. 2452 (จ.ศ. 1271) พระราชชายาเจ้าดารารัศมี มีพระด�าริให้ย้ายอัฐิเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ เจ้านายฝ่ายเหนือ และ พระประยูรญาติในตระกูล ณ เชียงใหม่ จากบริเวณข่วงเมรุ (ตลาดวโรรส) มาสร้างรวมกันไว้ที่วัดบุปผารามแห่งนี้ พระวิหารหลวง สมัยเจ้าแก้วนวรัฐฯ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่องค์สุดท้าย และ พระราชชายาเจ้าดารารัศมี ได้ทรงทราบข่าวการปฏิบัติเคร่งครัดใน ศีลาจารวัตรของครูบาศรีวิชัย จึงไปกราบนิมนต์ท่านมาเป็นประธาน ในการสร้างพระวิหารหลวง เมื่อวันแรม 10 ค�่า เดือน 8 จ.ศ. 1293 (ตรงกับวันพฤหัสบดี ที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2474) ได้ฤกษ์ปุณณาดิถี จึงเริ่มลงมือขุดรากฐานพระวิหารยาว 33 วา กว้าง 12 วา กับ 2 ศอก จ�านวนเสา 56 ต้น ด้วยบุญญาบารมีของครูบาศรีวิชัย ผู้เป็นนักบุญ แห่งล้านนา จึงได้ทา� การสร้างพระวิหารหลวงเสร็จในระยะเวลาเพียง 8 เดือน ต่อมา คณะสงฆ์ได้ท�าการส�ารวจบัญชีวัด วัดบุปผาราม จึงถูก เรียกชื่อเป็น “วัดสวนดอก” ตามสมัยนิยมตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา และได้ รับการสถาปนาเป็นวัดพระอารามหลวง ชั้นตรี ชนิดสามัญ เมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2533

ปัจจุบนั วัดสวนดอก พระอารามหลวง มีอายุ 644 ปี (พ.ศ. 2558) มีพระราชรัชมุน ี (นิมติ สิขรสุวณฺโณ ป.ธ.9) เจ้าคณะอ�าเภอเมืองเชียงใหม่ ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาส ประวัติท่านเจ้าอาวาสโดยสังเขป พระราชรัชมุนี (นิมิต สิขรสุวณฺโณ ป.ธ.9 ) เจ้าคณะอ�าเภอเมือง เชียงใหม่ เจ้าอาวาสวัดสวนดอก พระอารามหลวง เกิดเมื่อวันที่ 17 มีนาคม พ.ศ.2508 อายุ 54 ปี พรรษา 35 พ.ศ. ๒๕๕๒ เป็นเจ้าอาวาส วัดสวนดอก พระอารามหลวง สมณศักดิ์ พ.ศ. 2537 เป็น เปรียญธรรม 9 ประโยค 5 ธันวาคม พ.ศ. 2545 เป็น พระราชาคณะชั้นสามัญเปรียญ ที่ พระศรีสิทธิเมธี 5 ธันวาคม พ.ศ. 2557 เป็น พระราชาคณะชั้นราช ที ่ พระราชรัชมุน ี ตรีปฎิ กบัณฑิต มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

53


History of buddhism....

วัดพระธาตุดอยค�า ตำนานการไหลบ่าของทองคำบนยอดดอย สู่การกำเนิด “วัดพระธาตุดอยคำ” พระครูสุนทร เจติยารักษ์ (ครูบาพิณ) เจ้าอาวาส

วัดพระธาตุดอยค�า ตั้งอยู่ที่หมู่ 3 เมืองแม่เหียะ อ�าเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ เป็นวัดส�าคัญในจังหวัดเชียงใหม่ อายุเก่าแก่กว่า 1,300 ปี ตั้งอยู่บริเวณดอยค�า ด้านหลังอุทยานหลวงราชพฤกษ์ ห่างจากตัวเมืองประมาณ 10 กิโลเมตร มีความสูงจากระดับที่ราบ เชียงใหม่ราว 140 เมตร และมีความสูงจากระดับน�้าทะเลปานกลาง 465 เมตร และมีลานชมวิวที่สามารถมองเห็นวิวทิวทัศน์รอบเมือง เชียงใหม่ อีกทั้งยังเป็นที่ประดิษฐานพระเจ้าทันใจซึ่งมีอายุเก่าแก่กว่า ห้าร้อยปี 54

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

อนุสรณ์สถานท้าวสุรนารี (ย่าโม) อ�าเภอเมือง


หลวงพ่อทันใจ แห่งวัดพระธาตุดอยค�า สร้างขึ้นในรัชสมัยพญากือนา กษัตริย์แห่งอาณาจักรล้านนา ปัจจุบนั มีชอื่ เสียงอย่างมากในเรือ่ งของความศักดิส์ ทิ ธิ ์ หลายต่อหลายครัง้ ที่มีผู้เดินทางมาขอพรแล้วประสบความส�าเร็จ และได้เดินทางกลับมา ถวายดอกมะลิเพือ่ แก้บน แม้เป็นความเชือ่ ส่วนบุคคล หากเมือ่ ได้มาสัมผัส อย่างใกล้ชิด กราบสักการะองค์ท่านด้วยจิตที่เป็นกุศลและเกิดสมาธิ ก็จะท�าให้พบความโล่งโปร่งเบาภายในใจขณะนั้น ซึ่งอาจเรียกว่าเป็น ความศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ข องหลวงพ่ อ ทั น ใจที่ ด ลบั น ดาลให้ กิ เ ลสภายในใจ ไม่มารบกวนก็เป็นได้ และเมื่อผู้มีจิตศรัทธากราบด้วยจิตที่เป็นกุศล ย่อมท�าให้ใจเบิกบาน คิดอ่านอะไรก็ส�าเร็จเป็นธรรมดา

การขอพรจาก “หลวงพ่อทันใจ” ก็คือการอธิษฐาน จะต้องใช้ ดอกมะลิสด 50 พวงขึ้นไป และสิ่งที่ส�าคัญมากๆ ในการให้อธิษฐาน ขอพร คือ ขอได้เพียง “อย่างเดียวเท่านั้น” ปัจจุบันมีผู้คนที่มาอธิฐาน และขอพรหรือบนบานศาลกล่าวกันเป็นจ�านวนมาก พอได้โชคลาภ โชคดีดังที่ขอก็จะน�าดอกมะลิมากราบไหว้อีกเป็นจ�านวนมาก ซึ่ง ในแต่ละวันจะมีคนน�าดอกมะลิมากราบไหว้ไม่น้อยกว่าหลายพันพวง เลยทีเดียว “หลวงพ่อทันใจ” เป็นพระวัดคูบ่ า้ นคูเ่ มืองของชาวเชียงใหม่ มากว่า 1,400 ปี และถือว่าเป็นวัดที่เก่าแก่ที่สุดในจังหวัดเชียงใหม่ เป็นสถานอันศักดิ์สิทธิ์ของผู้ที่นับถือศาสนาพุทธเลยก็ว่าได้ CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

55


ต�านานแห่งความศรัทธา วัดพระธาตุดอยค�าสร้างในปีพ.ศ. 1230 รัชสมัยพระนางจามเทวี กษัตริย์แห่งหริภุญชัย โดยพระโอรสทั้ง 2 เป็นผู้สร้าง ประกอบด้วย เจดีย์บรรจุพระบรมสารีริกธาตุของพระพุทธเจ้า ศาลาการเปรียญ กุฏิสงฆ์ และพระพุทธรูปปูนปั้น ตามต�านานเล่าว่า ณ เทือกเขาถนนธงชัย ด้านทิศตะวันตก บนเทื อ กเขาเหล่ า นั้ น เป็ น ที่ ป ระดิ ษ ฐานขององค์ พ ระเจดี ย ์ ส� า คั ญ และเก่าแก่คู่บ้านคู่เมืองเชียงใหม่ถึง 2 องค์พระเจดีย์ แต่ละแห่ง ถูกสถาปนาขึ้นโดยพระมหากษัตริย์ในสมัยหริภุญชัยและล้านนา ตามล�าดับ หนึ่งในนั้นคือพระธาตุดอยค�า อยู่บนยอดเขาเล็กๆ ทาง ทิศตะวันตกเฉียงใต้ของตัวเมืองเชียงใหม่ เรียกว่า “พระธาตุดอยค�า” ซึ่งเคยเป็นที่อยู่อาศัยของยักษ์สองผัวเมีย ชื่อ จิค�า และ ตาเขียว มาก่อน ต่อมาชาวบ้านเรียกยักษ์ทั้งสองนี้ว่า “ปู่แสะ - ย่าแสะ” ปู่แสะ ย่าแสะมีลูก 1 คน ชื่อว่า “สุเทวฤๅษี” เนื่องจากทั้งคู่ท�าหน้าที่ปกป้อง ดูแลป่าในอาณาบริเวณดอยค�า จึงเป็นที่แห่งแรกที่ใครที่จะมาวัด จ� า เป็ น ต้ อ งให้ ค วามเคารพผู ้ ป กปั ก รั ก ษาผื น ดิ น ผื น ป่ า บริ เวณนี้ ก่อนเดินทางขึ้นสู่วัด โดยสิ่งของบูชาสามารถจัดซื้อได้ตามซุ้มร้านค้า บริเวณนั้น มีทั้งสิ่งของที่จัดเตรียมเพื่อบูชาปู่แสะและย่าแสะ รวมถึง 56

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

ดอกมะลิเพือ่ น�าไปสักการะสิง่ ศักดิส์ ทิ ธิเ์ มือ่ เดินทางถึงวัด ส่งผลให้เกิด การค้าขายในช่วงทางขึ้นดอย ทั้งร้านค้า รถบริการขึ้นดอย และ จุดจอดรถส�าหรับผูท้ ม่ี แี รงศรัทธาในการเดินขึน้ ไปจนถึงวัดทีม่ คี วามสูง จากระดับน�้าทะเลประมาณ 200 เมตร เหตุ ที่ ไ ด้ ชื่ อ ว่ า ดอยค� า เนื่ อ งจากศุ ภ นิ มิ ต ที่ ยั ก ษ์ ทั้ ง สองได้ รั บ พระเกศาธาตุจากพระพุทธเจ้า ท�าให้เกิดฝนตกหนักหลายวัน ท�าให้ น�า้ ฝนเซาะและพัดพาแร่ทองค�าบนไหล่เขา และล�าห้วยไหลลงสูป่ ากถ�า้ เป็นจ�านวนมาก จึงเรียกภูเขาลูกนี้ว่า “ดอยค�า” จากต�านานหลายฉบับได้กล่าวว่า เทวดาได้น�าพระเกศาธาตุที่ พระพุทธเจ้าได้ประทานแก่ปู่แสะและย่าแสะ น�าขึ้นมาฝังและก่อสถูป ไว้บนดอยแห่งนี ้ ต่อมาในปีพ.ศ. 1230 เจ้ามหันตยศ และ เจ้าอนันตยศ 2 พระโอรสแฝดของพระนางจามเทวี แห่งหริภญ ุ ชัยนครได้ขนึ้ มาก่อเจดีย์ ครอบพระสถูปเกศานั้นไว้ ส่วนพระเจดีย์แห่งที่ 2 ตั้งอยู่บนยอดเขาสูง ทางทิศเหนือของดอยค�า คือ พระธาตุดอยสุเทพ “วัดพระธาตุดอยค�า” เดิมชือ่ วัดสุวรรณบรรพต แต่ชาวบ้านเรียกว่า “วัดดอยค�า” พ.ศ. 2509 ขณะนั้นวัดดอยค�าเป็นวัดร้าง ต่อมากรุแตกชาวบ้านพบโบราณวัตถุ หลายชิน้ เช่น พระรอดหลวง พระหินทรายปิดทององค์ใหญ่ พระสามหมอ (เนื้อดิน) ซึ่งน�ามาประดิษฐานไว้ ณ วัดพระธาตุดอยค�า


กิจกรรมวันส�าคัญทางพระพุทธศาสนาและวัฒนธรรม วันสรงน�้าพระธาตุ วัดพระธาตุดอยค�าจัดงานบุญเป็นประจ�าทุกปี โดยยึดถือเอาวันแรม 8 ค�่า หลังวั น วิ ส าขบู ช าทุ ก ปี เป็ น วั น สรงน�้ า พระธาตุ ซึ่ง ถื อ ว่ า เป็ น วั น ถวายพระเพลิงพระพุท ธสรีระ ของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า (หลังเสด็จดับขันธปรินิพพานได้ 8 วัน) คือวันอัฏฐมีบูชา ถือเป็น วันส�าคัญในพระพุทธศาสนาวันหนึ่ง ตรงกับวันแรม 8 ค�่า เดือนวิสาขะ (เดือน 6 ของไทย) นอกจากนัน้ วันอัฏฐมีบชู ายังเป็นวันคล้ายวันทีพ่ ระนางสิรมิ หามายา พระพุทธมารดาสิน้ พระชนม์ (หลังประสูติ) และเป็นวันคล้ายวันที่พระพุทธองค์เสวยวิมุตติสุขตลอด 7 วัน (หลังตรัสรู้) อีกด้วย ถือเป็นวันส�าคัญในพระพุทธศาสนาวันหนึ่ง ตรงกับวันแรม 8 ค�่า เดือนวิสาขะ (เดือน 6 ของไทย) ทางวัดพระธาตุดอยค�า จึงยึดถือเอาวันนี้จัดงาน และพิธีสรงน�้าเพื่อร�าลึกนึกถึง พระพุทธคุณ พระธรรมคุณ และสังฆคุณ ที่ท่านได้สร้างเผยแพร่พระพุทธศาสนาเอาไว้ด้วย

สักการะ

“องค์พระพูดได้” กลางแดด สักการบูชา “หลวงพ่อทันใจ” ด้วยใจสงบ พบปัญญา แก้ ไขปัญหาชีวิต

“องค์ พ ระพู ด ได้ ” แห่ ง วั ด พระธาตุดอยค�าที่ไม่เคยปริปากบ่น แม้โดนแดดแรงหรือพายุฝน พระองค์แรก ที่นักท่องเที่ยวจะได้นมัสการ ตั้งอยู่ ด้านหน้าทางเข้าของวัดพระธาตุดอยค�า เป็นองค์พระทีส่ ร้างขึน้ เพือ่ เป็นคติธรรม แก่ชาวบ้าน โดยสร้างเป็นองค์พระใหญ่ ทีต่ อ้ งตากแดดตากลมฝน ทว่าองค์พระ ก็ไม่ปริปากบ่น ใช้ความนิ่งเป็นการ สอนสั่ ง และเตื อ นใจประชาชนที่ ม า กราบไหว้ให้มีความอดทนต่อความ ยากล�าบาก และที่ใกล้ๆ กับองค์พระ พูดได้นี้เอง มีรูปปั้นพญาช้างสองตัว ที่ ยื น ให้ ป ระชาชนซึ่ ง มาเยื อ นวั ด พระธาตุดอยค�าสามารถเดินลอดท้องช้าง เพื่อสะเดาะเคราะห์ได้ เนื่องจากมีคติ ความเชือ่ ในเมืองเชียงใหม่โบราณ ว่าช้าง เป็นสัตว์ศักดิ์สิทธิ์คู่บ้านคู่เมืองและ เป็นสัตว์ที่อุปถัมภ์พระพุทธศาสนา มาหลายต่อหลายสมัย

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

57


นมัสการพระยืนและพระนอนองค์ ใหญ่ นอกจากหลวงพ่อทันใจและองค์พระพูดได้แล้ว ทางออกมายัง ลานกว้างที่อยู่ด้านหลังของวัด จะพบกับองค์พระที่งดงามอีกสององค์ คื อ พระยื น องค์ ใ หญ่ (ปางห้ า มญาติ ) และองค์ พ ระนอน (ปาง ไสยาสน์) ซึ่งแม้จะเป็นพระที่สร้างขึ้นในสมัยหลัง แต่ด้วยลักษณะ งานพุ ท ธศิ ล ป์ ที่ ง ดงามและประณี ต ก็ ท� า ให้ เ ป็ น ที่ ศ รั ท ธาของ ประชาชนเช่นกัน ความเป็นมาของ “พระพุทธรูปปางห้ามญาติ” ครั้งหนึ่งเมื่อเหล่ากษัตริย์ตระกูลศากยวงศ์ พระญาติฝ่ายพุทธบิดา และเหล่ากษัตริย์ตระกูลโกลิยวงศ์ พระญาติฝ่ายพุทธมารดา เกิดการ ทะเลาะวิวาทกันเพราะเรื่องแย่งน�้าในแม่น�้าโรหิณีเนื่องจากฝนแล้ง น�้าไม่เพียงพอ ท�าให้การทะเลาะวิวาทลุกลามไป จนเกือบกลายเป็น ศึกสงครามระหว่างกัน พระพุทธเจ้าทรงทราบเหตุด้วยพระญาณ จึง เสด็จไปห้ามสงคราม โดยตรัสให้เห็นถึงความไม่สมควรที่กษัตริย์ต้อง มาฆ่าฟันกันด้วยสาเหตุเพียงแค่การแย่งน�้าเข้านา และได้ตรัสเตือน สติว่า ระหว่างน�้ากับความเป็นพี่น้อง อะไรส�าคัญยิ่งกว่ากัน ทั้งสอง ฝ่ายจึงได้สติ คืนดีกัน และขอพระราชทานอภัยโทษต่อเบื้องพระ พักตร์พระพุทธองค์ 58

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


ประวัติและปฏิปทาท่านเจ้าอาวาส พระครู สุ น ทร เจติ ย ารั ก ษ์ หรื อ “ครู บ าพิ ณ ” ปั จ จุ บั น อายุ 65 ปี 44 พรรษา ท่านเป็นพระที่เต็มเปี่ยมไปด้วยความเมตตา กรุณาต่อศิษยานุศิษย์และประชาชนทั่วไป อย่างกว้างขวาง ท่านมักช่วยงานสงเคราะห์ต่างๆ อย่างสม�่าเสมอ และเมื่อวันที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2562 ที่ผ่านมา ณ วัดพระธาตุดอยค�า ศิษยานุศิษย์และประชาชน ได้ร่วมท�าบุญสืบชะตาอายุวัฒนมงคล ถวายพระครูสุนทร เจติยารักษ์ ในฐานะที่ปรึกษา เจ้าคณะต�าบลแม่เหียะ โดยมีพระเทพปริยัติ เจ้าคณะจังหวัดเชียงใหม่ พระราชรัชมุนี เจ้าคณะอ�าเภอเมืองเชียงใหม่ และพระสงฆ์รวม 27 รูปท�าพิธี พร้อมเจริญพระพุทธมนต์ โดยมีนายธีรพงษ์ อินทร์พันธุ์ ผู้อ�านวยการส�านักงานพระพุทธศาสนา จังหวัดเชียงใหม่ นายธวัชชัย กูลนรา เลขานุการนายกเทศมนตรีต�าบลแม่เหียะ นางศิวณัฐ รัชตด�ารงรัตน์ หรือ ป้าอ้วยดอยค�า กรรมการและเหรัญญิกวัด พร้อมคณะกรรมการ ศิษยานุศิษย์ ประชาชน และนักท่องเที่ยวเข้าร่วมจ�านวนมาก ต่ อ มาพระพรหมมงคล หรื อ หลวงปู ่ ท อง เจ้ า อาวาสวั ด พระธาตุ ศ รี จ อมทอง อ�าเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ ในฐานะที่ปรึกษาเจ้าคณะภาค 7 ได้ท�าพิธีสืบชะตา แก่ พ ระครู สุ น ทรเจติ ย ารั ก ษ์ หรื อ ครู บ าพิ ณ จากนั้ น ทุ ก คนที่ ม าร่ ว มงานได้ รั บ พร จากหลวงปู่ทอง ปะพรมน�้าพุทธมนต์ และโบกพัดเคาะศีรษะแก่ศิษยานุศิษย์ และ ผู้มาร่วมงานทุกคนเพื่อความเป็นสิริมงคลกับชีวิต ขอขอบคุณแหล่งอ้างอิง www.museumthailand.com www.lanla.com www.talknewsonline.com CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

59


วัดร�่ำเปิง (ตโปทำรำม) สํานักปฏิบตั ธิ รรมประจําจังหวัดเชียงใหม่ แห่งที่ 2 ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 1 หมู่ 5 ตําบลสุเทพ อําเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ 0-5327-8620 | 60

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

watrampoeng@hotmail.com


History of buddhism.... วัดร�่าเปิง (ตโปทาราม) พระอารามหลวง เป็นส�านักวิปัสสนา กรรมฐานประจ�าจังหวัดเชียงใหม่ที่ส�าคัญแห่งหนึ่งของภาคเหนือ ท�าการอบรมพระกรรมฐานในแนวสติปัฏฐาน 4 มีชาวไทย และ ชาวต่างประเทศ เข้ารับการอบรมปฏิบัติธรรมต่อเนื่องกันตลอดปี ไม่ขาดสาย และเป็นวัดแห่งแรกที่มีพระไตรปิฎกฉบับล้านนา อีกทั้ง ยังเป็นวัดที่มีพระไตรปิฎกฉบับต่างๆ ถึง 16 ภาษาอีกด้วย ปัจจุบัน วัดตั้งอยู่เลขที่ 1 หมู่ 5 ถนนคันคลองชลประทาน ต�าบลสุเทพ อ�าเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ ในเขตเทศบาลต�าบลสุเทพ มีที่ดินตั้งวัด ประมาณ 24 ไร่ 78 ตารางวา สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ประวัติความเป็นมา ในพงศาวดารโยนกและชินกาลมาลีปกรณ์ กล่าวว่า พระเจ้า ยอดเชียงราย โปรดให้สร้าง วัดตโปทารามในปี พ.ศ. 2035 จาก หลักศิลาจารึกที่ขุดค้นพบ มีใจความว่า พระเจ้าติโลกราช กษัตริย์ ราชวงศ์ มั ง ราย ครองเมื อ งเชี ย งใหม่ อ งค์ ที่ 12 จ.ศ. 804 มี พระราชโอรสอั น ประสู ติ จ ากพระมเหสี เ พี ย งพระองค์ เ ดี ย ว คื อ ท้าวศรีบุญเรือง เมื่อท้าวศรีบุญเรืองพระชนม์ได้ 20 พรรษามีคน เพ็ดทูลพระเจ้าติโลกราชว่า ท้าวศรีบุญเรืองเตรียมการจะคิดกบฏ ท�าให้ทรงคลางแคลงพระทัย จึงทรงโปรดให้ไปครองเมืองเชียงแสน และเชียงราย ซึง่ เป็นเมืองหน้าด่านในขณะนัน้ ต่อมา ณ เมืองเชียงราย นี้ เ อง ได้ เ ป็ น ที่ ป ระสู ติ ข องพระเจ้ า ยอดเชี ย งราย และโดยเหตุ ที่ ประสูติบนยอดเขาสูงในเชียงราย (ยอดดอกบัว) ท้าวศรีบุญเรือง จึง ประทานนามพระโอรสว่า “ยอดเชียงราย” ต่อมา พระเจ้าติโลกราช ถูกเพ็ดทูลจากนางหอมุข พระสนมเอกว่าท้าวศรีบุญเรืองเตรียมการ ก่อกบฏอีก จึงมีพระกระแสรับสั่งให้ปลงพระชนม์พระราชโอรสเสีย และหลังจากนั้นทรงโปรดให้ราชนัดดา คือ พระเจ้ายอดเชียงราย ครองเมืองเชียงรายสืบต่อมา ครั้นถึง พ.ศ. 2030 พระเจ้าติโลกราชเสด็จสวรรคต ราษฎรได้ พร้อมใจกันอัญเชิญพระเจ้ายอดเชียงรายขึ้นครองเมืองเชียงใหม่ หลัง จากทีจ่ ดั การบ้านเมืองเป็นทีเ่ รียบร้อยแล้ว ทรงด�าเนินการสอบสวนหา ผู้ที่เป็นต้นเหตุยุแหย่ให้ท้าวศรีบุญเรือง พระราชบิดาต้องสิ้นพระชนม์ จนท�าให้พระราชมารดาของพระองค์ ตรอมพระทัย ถึงกับเสียพระสติ พระองค์ทรงก�าหนดโทษให้ประหารชีวิตแก่ผู้ที่เป็นต้นเหตุ แต่โดยที่ พระองค์ทรงเลื่อมใสในพระบวรพุทธศาสนาอย่างยิ่ง ภายหลังที่ได้สั่ง ให้ส�าเร็จโทษผู้กระท�าผิดไปแล้ว ทรงเกรงจะเป็นเวรกรรมจึงทรงด�าริ ที่จะหาทางผ่อนคลายมิให้เป็นบาปกรรมต่อกันสืบต่อไป

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

“วัดปางอั้น” เป็นวัดหนึ่งที่มีนักท่องเที่ยวและศรัทธาพุทธศาสนิกชนมาเยี่ยมชมวัด พร้อมขอพรองค์หลวงพ่อพุทธโสธร (จ�าลอง) มากมาย

61


ครั้งนั้นมีพระธุดงค์รูปหนึ่งมาจากต่างเมือง ได้ปักกลดอยู่ที่เชิง ดอยค�าต�าบลสุเทพ ทีต่ งั้ วัดร�า่ เปิงเวลานี ้ ได้ทลู พระเจ้ายอดเชียงรายว่า ณ ต้นมะเดื่อไม่ห่างจากที่ท่านปักกลดอยู่เท่าใดนัก ได้มีรัศมีพวยพุง ขึ้นในยามราตรี สงสัยว่า จะมีพระธาตุประดิษฐานอยู่ ณ ที่ใดที่หนึ่ง พระเจ้ายอดเชียงรายจึงทรงช้างพระที่นั่ง อธิษฐานเสี่ยงทายว่า ถ้ามี พระบรมธาตุฝังอยู่จริง และพระองค์จะได้ท�านุบ�ารุงพระพุทธศาสนา ไปแล้ว ก็ขอให้ช้างพระที่นั่งไปหยุด ณ ที่แห่งนั้น ทรงอธิษฐานแล้ว ก็ทรงช้างเสด็จไป ช้างนั้นก็ได้พาพระองค์มาหยุดอยู่ใต้ต้นมะเดื่อ พระองค์จึงให้ขุดรอบๆ ต้นมะเดื่อนั้นก็ทรงพบพระบรมธาตุพระเขี้ยว แก้วบรรจุอยู่ในผอบดินแบบเชียงแสน พระองค์จึงทรงท�าพิธีสมโภช และอธิษฐานขอเห็นอภินิหารของพระบรมสารีริกธาตุนั้นจากนั้นจึง บรรจุลงในผอบทอง แล้วน�าไปบรรจุไว้ในพระเจดีย์ที่สร้างขึ้นใหม่ใน บริเวณนั้น พระองค์ได้จารึกประวัติการสร้างวัดนี้ลงในศิลาจารึก ซึ่งเรียกว่า ศิลาฝักขาม(ตัวหนังสือฝักขาม) พร้อมทัง้ สร้างพระพุทธรูปเป็นประธาน และพระพุทธรูปตามซุ้มที่พระธาตุเจดีย์ อีกทั้งได้สร้างพระไตรปิฎก และพระราชทานทรัพย์ (นา) เงิน (เบี้ย) ดังปรากฏในศิลาจารึกว่า “มีราชเขตทั้งหลายอันกฎหมายไว้กับอารามนี้นาสามล้านห้าหมื่นพัน ไว้กับเจดีย์สี่ด้าน สี่แสนเบี้ยไว้กับพระเจ้า (พระประธาน) ในวิหาร ห้าแสนเบี้ยไว้กับอุโบสถ สี่แสนเบี้ยไว้เป็นจังหัน (ค่าภัตตาหาร) ล้าน ห้าแสนห้าหมื่นพันเบี้ยไว้ให้ผู้รักษากิน สองแสนเบี้ยให้ชาวบ้านยี่สิบ ครัวเรือนไว้เป็นผู้ดูแลและอุปัฏฐากรักษาวัด”

62

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

ต่อมา วัดร�า่ เปิง หรือ วัดตโปทาราม อยูใ่ นสภาพวัดร้างมาหลายยุค หลายสมัย ครั้นในปี พ.ศ. 2484 คณะสงฆ์จังหวัดเชียงใหม่ จึงได้ ประชุมตกลงกันให้อัญเชิญพระประธานไปประดิษฐานไว้ ณ ด้านหลัง พระวิหารวัดพระสิงห์ในตัวเมืองจังหวัดเชียงใหม่ และได้ร่วมกับ กรรมการวัดทัง้ ผูม้ จี ติ ศรัทธาทัง้ หลาย ท�าการก่อสร้างพระวิหารขึน้ ใหม่ เมื่อปี พ.ศ. 2514 แล้วจึงได้อาราธนาพระภิกษุชาวบ้านร�า่ เปิงรูปหนึ่ง ชื่อ หลวงปู่จันทร์สม หรือ ครูบาสม มาปกครองดูแลวัดได้ระยะหนึ่ง ท�าให้วิหารแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2516 ต่อมา ท่านถึงแก่มรณภาพ วัดก็ขาดพระจ�าพรรษาไปจนถึงปลายปี 2517 ต่อมา พระเดชพระคุณพระครูพิพัฒน์คณาภิบาล (ทอง สิริมงฺคโล มหาเถระ ปัจจุบันคือ พระพรหมมงคล วิ. ที่ปรึกษาเจ้าคณะภาค 7 เจ้าอาวาสวัดพระธาตุศรีจอมทอง อ�าเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่) มาพั ฒ นาวั ด ร�่ า เปิ ง เป็ น ส� า นั ก ปฏิ บั ติ วิ ป ั ส สนากรรมฐาน จากนั้ น พระปลั ด สุ พั น ธ์ อาจิ ณฺ ณ สี โ ล หรื อ พระภาวนาธรรมาภิ รั ช วิ . เจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน ได้ส่งเสริมทั้งด้านปริยัติและปฏิบัติ ด้วยการ สร้างอาคารโรงเรียนพระปริยัติธรรมสูง 3 ชั้น 1 หลัง เพื่อการเรียน นักธรรม ภาษาบาลีและพระอภิธรรม อีกทัง้ สร้างอาคารศูนย์พฒ ั นาจิต เฉลิมพระเกียรติสูง 4 ชั้น 1 หลัง เพื่อการปฏิบัติธรรมกลุ่มใหญ่ ของ คณะนักเรียน นิสิต นักศึกษา ข้าราชการ ประชาชน ต่อมาได้สร้าง อุ โ บสถศาลาบาตร กุ ฏิก รรมฐาน อาคารที่พักพระภิกษุส ามเณร อยู่ประจ�า ตลอดจนพัฒนาปรับปรุงภายในบริเวณวัดอยู่เสมอ


เกียรติคุณวัดร�่าเปิง (ตโปทาราม) ได้รับคัดเลือกให้เป็น ศูนย์พัฒนา จิตเฉลิมพระเกียรติฯ ประจ�าจังหวัดเชียงใหม่ ปีพ.ศ.2542, ส�านัก ปฏิบัติธรรมประจ�าจังหวัดเชียงใหม่ แห่งที่ 2 พ.ศ. 2547, อุทยาน การศึกษา พ.ศ. 2554 ,วัดพัฒนาตัวอย่าง พ.ศ. 2555 และ วัดพัฒนา ตัวอย่างที่มีผลงานดีเด่น พ.ศ. 2559 ประวัติท่านเจ้าอาวาสโดยสังเขป พระภาวนาธรรมาภิรัช วิ. รองเจ้าคณะอ�าเภอเมืองเชียงใหม่ เจ้าอาวาสวัดร�่าเปิง (ตโปทาราม) ต�าบลสุเทพ อ�าเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ นามเดิม สุพันธ์ จินาต๊ะ เกิดเมื่อวันจันทร์ท่ี 23 มกราคม พ.ศ. 2504 บ้านเลขที่ 71 หมู่ 1 บ้านวังหม้อ ต�าบลทุ่งศรี อ�าเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่ บุตรของ พ่อวงศ์ แม่เฮือน จินาต๊ะ มีพนี่ อ้ ง ด้วยกัน 9 คน เป็นผู้ชาย 5 คน ผู้หญิง 4 คน เป็นบุตรคนที่ 5 ของ ครอบครั ว จิ น าต๊ ะ บรรพชา เป็ น สามเณร วั น ที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2518 ณ วัดวังหม้อ ต�าบลทุ่งศรี อ�าเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่ โดยมี พระครูรัตนปัญญาภรณ์ เป็น พระอุปัชฌาย์

สติมโต สทา ภทฺทํ.

คนผู้มีสติ มีความเจริญทุกเมื่อ

อุปสมบท วันที่ 29 เมษายน พ.ศ. 2525 ณ พัทธสีมาวัดวังหม้อ จังหวัดแพร่ โดยมี พระครูสวุ รรณวรคุณ อดีตเจ้าคณะอ�าเภอร้องกวาง เป็น พระอุปชั ฌาย์ พระครูรตั นปัญญาภรณ์ รองเจ้าคณะอ�าเภอร้องกวาง เป็ น พระกรรมวาจาจารย์ พระครู สุ น ธรธรรมสาร วั ด บุ ญ ภาค ต�าบลแม่ยางร้อง อ�าเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่ เป็น พระอนุสาวนาจารย์

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

63


History of buddhism....

WAT RAM POENG Wat Ram Poeng (Tapotaram), the first temple with a Lanna Buddhist Scriptures and other Buddhist Scripture in 16 different languages. Wat Ram Poeng (Tapotaram) is one of the important meditation centers of Chiang Mai province in the north of Thailand. Wat Ram Poeng, The Northern Insight Meditation Center, welcomes to all people for Vipassana meditation practice. Contact information : +66 5327 8620 Email : watrampoeng@hotmail.com

64

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

Wat Ram Poeng or the Tapotaram Temple was established during the reign of King Yod Chiang Rai in the year 1492 A.D. After that temple was deserted for many years till 1941 A.D. Chiang Mai clergy faculty together with the temple committee and many faithful Buddhist begin to build a new temple in the year 1971 A.D., then Invited a monk who came from Ram Poeng village name Reverend Grandfather Jansom or Teacher Som to govern the temple for a period, the temple completed in the year 1973 A.D. the same year he passed away. After his death the temple went without an active monk until the end of the year 1974 A.D. Then most venerable Phiphatkanaphiban. (Thong Sirimangalo Mahathera and now name Phra Phrom Mongkol Wi. He is the advisor of the 7th region faculty and the abbot of Phra That Si Chom Thong Temple, Chom Thong District, Chiang Mai Province). He developed the temple as a meditation center. After that the venerable Suphan Achinnasilo or Phrabhavanadhammabhirach. The current abbot supported both the learning and practices of the Dharma as well as the improvement within the temple area. Wat Ram Poeng (Tapotaram) has been selected as the Chiang Mai Chalermprakiet Development Center in year 1999 A.D. The 2nd Meditation Center of Chiangmai Province, 2004 A.D., Education Park 2011 A.D. Wat Ram Poeng (Tapotaram) was name as a model temple to follow 2012 A.D., and was name Example Temple the with outstanding results 2016 A.D.


然木朋寺庙

是第一座有兰纳大藏还有十六个外语大藏的寺庙。

然木朋寺庙是在泰国北方清迈是很重要打坐冥想的地方。在 这座地方的教育方式是四个方法正念的打坐冥想。一年以内有很 多的泰国人和外国人来参加。而且然木朋寺庙是第一座有兰纳大 藏还有十六个外语大藏。 现在然木朋寺庙位于泰国清迈诉特区看孔从啦葩滩路5号乡1 号在这座寺庙的区内有24莱78平方属于僧侣领属。

家人到1975年。 后来,由于屁葩卡那屁吧儿老师的恩典(同思日末空卡咯吗 哈特啦)(Thongsiri Mongkhalo Maha Thera) 现在是葩破门末空老师他当泰国清迈葩他思家同寺庙(Phra That Si Chom Thong temple)7号的大主教他帮助然木朋寺庙当 一座兰纳大藏而且很发达的一座寺庙。

然木朋寺庙(塔普塔然木寺庙)建于1492年那时候是兰纳的大

然后诉葩安阿金那思咯秘书长或者(Pha palad Suphan Aji-

国王正在即位他叫教友清莱府但是那时候这座寺庙被遗弃了很多年。

nasilo)帕瓦纳坦玛匹热威 (Phra Phawana Thammabhirajwic) 出

后来1971 年,有很多僧侣和人员还有有信仰的人一起来装

家人也来拥护而且来保护这座寺庙。

修和一起重建神殿,索取一位出家人叫咱安索祖父牧师或者叫吧

现时然木朋寺庙1999年在清迈被选为精神发展中心,2004年

索老师当这座寺庙的主持人,所以这座寺庙已在1973经完成创修

被选为清迈第二家佛法练习室,2011年被选为教育园区,2012年

了,后来1974年咱安索祖父牧师去世了。这座寺庙一直都没有出

被选为样本寺庙,2016年被选为优秀寺庙。 CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

65


History of buddhism....

วัดกู่เต้า UNSEEN พระธาตุเจดีย์ “กู่เต้า” เครื่องหมายความศรัทธาในพระพุทธเจ้า 5 พระองค์

วัดกู่เต้า มีชื่อเดิมว่า วัดเวฬุวนาราม ตั้งอยู่เลขที่ 60 ถนนกู่เต้า ต�าบลศรีภูมิ อ�าเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ สร้างขึ้นมาเมื่อ พ.ศ. 1893 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา พ.ศ. 1895 ชื่อวัดกู่เต้า เวฬุวนารามนี้ ปรากฏในพงศาวดารโยนก ในรั ช กาลของพระเจ้ า ยอดเชี ย งราย ระหว่าง พ.ศ. 2030 - พ.ศ. 2038 ว่าในแผ่นดินพระเจ้าเชียงใหม่องค์นี้ มีพระราชบุตร พระยาเมืองใต้องค์หนึ่ง ชื่อ สุริยะวงศ์ บวชเป็น พระภิกษุ ขึ้นมาอยู่วัดเวฬุวนรามวิหาร กู่เต้า หัวเวียงเชียงใหม่ 66

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


ประวัติความเป็นมา ในพงศาวดารโยนกกล่าวว่า จุลศักราช 941 (พ.ศ. 2122) พระเจ้า กรุงหงสาวดี ทรงตั้งให้พระเจ้าเม็งซานรธามังคุย ผู้ครองเมืองสารวดี (เมืองหนึ่งในเขตพะโค หรือ เมืองหงสาวดี) มาครองเมืองเชียงใหม่ จนถึ ง พ.ศ. 2124 พระเจ้ า หงสาวดี บุ เรงนอง เสด็ จ สวรรคต พระมหาอุปราชานันทบุเรง ราชบุตร ได้ครองราชย์แทน เกิดความ ระส�่าระสายขึ้นในอาณาจักรพม่า พวกเจ้าประเทศราชเริ่มแข็งข้อขึ้น ต่ อ มาอี ก สามปี สมเด็ จ พระมหาธรรมราชาแห่ ง กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา ก็สลัดแอกพม่าออกบ้าง มีการรบพุ่งระหว่างไทยกับพม่า ที่เคยสงบ มากว่า 15 ปี ก็อุบัติขึ้น พระมหาราชเชียงใหม่ เม็งซานรธามังคุย (สมเด็จกรมราชานุภาพ ทรงเรียก นรธามังช่อ) ถูกกษัตริย์พม่าผู้เป็น เชษฐาต่างพระชนนีบังคับให้ยกกองทัพมาตีกรุงศรีอยุธยา แต่ถูก พระนเรศวรตี แ ตกพ่ า ยทุ ก ครั้ ง เป็ น เหตุ ใ ห้ เ กิ ด ความแตกร้ า วขึ้ น ระหว่างพระเจ้ากรุงหงสาวดีกับเจ้าเมืองเชียงใหม่ จนกระทั่ง พ.ศ.2139 พระเจ้าเม็งซานรธามังคุย ยอมสวามิภักดิ์ ต่อสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เป็นการตัดญาติกับพระเจ้านันทบุเรง และไม่อาจเสด็จกลับคืนปิตุภูมิได้ พงศาวดารโยนกกล่าวว่า พระเจ้า เม็งซานรธามังคุย พิราลัย เมื่อจุลศักราช 969 (พ.ศ.2150) ผู้ที่ ได้ปกครองดินแดนล้านนาต่อจากพระเจ้าเม็งซานรธามังคุย หรือ มังซวยเทา ผู้เป็นราชอนุชา พระมหาราชมังซวยเทา ทรงจัดถวาย พระเพลิงพระศพ พระเชษฐาธิราช แล้วทรงโปรดให้สร้างพระธาตุเจดีย์ ขึ้นมาภายหลัง เพื่อเป็นที่บรรจุพระบรมสารีริกธาตุของพระพุทธเจ้า เพื่ อ ถวายเป็ น พุ ท ธบู ช าแก่ พ ระศาสนา และเพื่ อ เป็ น อนุ ส รณ์ แ ก่ พระเชษฐาธิราช พระธาตุเจดีย์ “กู่เต้า” สร้างเมื่อ พ.ศ. 2150 ตามรูปร่างของ องค์พระเจดีย์ มีลักษณะที่แปลกที่สุด ไม่มีเจดีย์องค์ใดเหมือน เท่าที่ เคยพบเห็ น คื อ เป็ น รู ป บาตรพระเจ้ า 5 พระองค์ ซ ้ อ นกั น แทน พระพุทธเจ้า 5 พระองค์คือ พระพุทธเจ้ากะกุสันโท พระพุทธเจ้า โกนาคะมะโน พระพุทธเจ้ากัสสะโป พระพุทธเจ้าโคตะโม และ พระศรีอริยเมตไตรย เป็นชั้นซ้อนกัน 5 ชั้นมีซุ้มโดยรอบ 4 ทิศ รวมเป็น 20 ซุ้ม

เมื่อ พ.ศ. 2414 พระเจ้าอินทวิชยานนท์ ครองเมืองเชียงใหม่ ได้ทา� การบูรณะปฏิสงั ขร วัดกูเ่ ต้า โดยท�าการบูรณะพระวิหารหลังเก่า ให้ดีขึ้น และได้จ�าลองพระพุทธรูปพระเจ้าระแข่งจากเมืองมัณฑเลย์ ประเทศพม่า เป็นพระประธานองค์โตในพระวิหาร นอกจากนี้ ท่าน ได้บรู ณะปฏิสงั ขรณ์ วัดเชียงมัน่ อ.เมืองเชียงใหม่ วัดพระนอนขอนม่วง อ.แม่รมิ วัดสุรนิ ทราราษฏร์ (ป่าแง) อ.แม่รมิ ต่อมาเมือ่ กระทัง่ พ.ศ. 2475 ท่านครูบาเจ้าศรีวชิ ยั นักบุญแห่งล้านนาไทย ท่านได้มาบูรณปฏิสงั ขรณ์ พระธาตุเจดีย์ และได้มีการบรรจุองค์พระพุทธรูปตามชุ้มต่างๆ รวม จ�านวน 20 องค์ รวมทั้งได้ด�าเนินการก่อสร้างพระวิหารไว้หลังหนึ่ง เพื่อเป็นสถานที่ส�าหรับท�าบุญของศรัทธาสาธุชนทั้งหลาย พระเจดีย์ องค์ นี้ มีลัก ษณะศิ ล ปะที่ไ ม่ เ หมื อ นกั บพระเจดีย์องค์อ่ืน อีกทั้งยัง คงสภาพที่สมบูรณ์เหมือนเดิมทุกประการ บางคนเข้าใจว่าพระเจดีย์ องค์นเี้ ป็นศิลปะของพม่า แต่ความจริงแล้วพระเจดีย์องค์นี้มีรูปแบบ ไม่เหมือนกับพระเจดีย์ในพม่าเลย แม้แต่เมืองพุกามที่ได้ชื่อว่าเป็น เมืองแห่งทะเลเจดีย์ หรือดินแดนแห่งพระเจดีย์นับหมื่นนับแสน ก็ยังไม่มีพระเจดีย์ที่มีลักษณะเหมือนดั่งพระเจดีย์กู่เต้าเลย จึงกล่าว ได้ว่าเป็นพระเจดีย์หนึ่งเดียวที่ที่มีความแปลกที่สุดในโลกก็ว่าได้ (อายุประมาณเดียวกับวัด) ประวัตพิ ระเจ้าระแข่ง พระพุทธรูปทรงเครือ่ ง “ปางปราบพยะยาชมพู” เมื่อพระยาชมพูได้พาบริวารมาถามตอบโจทย์ปัญหาธรรมกับ พระพุทธเจ้า พระพุทธองค์ทรงได้แสดงพระธรรมเทศนาสั่งสอน พระยาชมพูและบริวารจ�านวน 3,000 คน เหลือแต่พระยาชมพูผมู้ มี านะ ทิฏฐิอนั แรงกล้าไม่ยอ่ มรับฟังการสัง่ สอนพระพุทธเจ้า พระพุทธองค์จงึ ทรงเนรมิตให้รปู ร่างของพระองค์เป็นดุจเทพเทวดา ให้พระยาชมพูได้เห็น ส่วนพระยาชมพูได้เห็นดัง่ นัน้ ก็เกิดความเลือ่ มใส่ศรัทธาต่อพระพุทธเจ้า และได้สร้างพระพุทธรูปปางนีข้ น้ึ มาเพือ่ เป็นพุทธบูชา ด้วยเหตุนจ้ี งึ เรียก พระพุทธรูปปางนี้กันว่า “ปางปราบพระยาชมพูหรือพระเจ้าระแข่ง” แปลว่า การมีชยั ชนะปราบศัตรูหมูม่ ารทัง้ หลาย ผูใ้ ดได้มากราบไหว้บชู า ย่อมจักมีโชคลาภ มีชัยชนะต่อปัญหาอุปสรรค สิ่งชั่วร้ายทั้งปวง เพราะด้วยบารมีของพระพุทธรูปองค์น้ี (คนทางเหนือ เรียกกันว่า พระเจ้าระแข่ง หมายถึง ลักแข่งขันให้มีชัยชนะจากศัตรูทั้งปวง) CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

“วัดปางอั้น” เป็นวัดหนึ่งที่มีนักท่องเที่ยวและศรัทธาพุทธศาสนิกชนมาเยี่ยมชมวัด พร้อมขอพรองค์หลวงพ่อพุทธโสธร (จ�าลอง) มากมาย

67


History of buddhism....

KU TAO TEMPLE UNSEEN Pagoda “Ku Tao” of faith in 5 Buddha. Ku Tao Temple, formerly known as Weru Wanaram Temple, is located at 60 Khu Tao Tao Road, Si Phum Sub district, Mueang District, Chiang Mai Province. The temple was built 1993 A.D. was conferred with the royal permission in 1452 A.D. Named Wat Ku Tao Welu Wanaram appeared in the Yonok annals in the reign of King Yod Chiang Rai around 1487 -1495 A.D. during the reign of this King of Chiang Mai, his son a royal prince of the southern city named Suriyawong was ordained as a monk at Waan Ram Temple, Ku Tao, Hua Wiang, Chiang Mai.

Chronicles of Yonok says King Meng San Ratham Mungkui pass away on 1607 A.D. The next ruler of Lanna territory after King Meng San Ratham Mungkui or Mang Shu Thao, who is the younger brother of the Great Mang Shu Thao has provided the cremation of the former king. The king’s son then order the building of a pagoda later to store the relics of the Lord Buddha to be worship and to commemorate the king’s son. 68

SBL บันทึกประเทศไทย II เชียงใหม่


Pagoda “Ku Tao” was built in 1607 A.D. the shape of the pagoda has the strangest characteristics that no other pagoda has. It is an oval shape rock stake on top of each other from small to large to represent the 5 Lord Buddhas.1. Buddha Kakusaktho 2.Buddha Konakamano 3. Buddha Kasapo 4. Buddha Kotamo 5. Buddha Metteyya. The pagoda are stacked in 5 layers, with arches in 4 directions, for a total of 20. In the year 1932 A.D. Sir Kruba Sriwichai, the saint of Lanna Thai came to renovate the pagoda then fill it with 20 Buddha statues in various arches. Built a temple to be a place of merit for all saints. The pagoda and remains intact till this day. Some people believe that it is a Burmese style pagoda, but in reality throughout Myanmar even in Burma a place that have tens of thousands of pagodas not been one have a similar built as this Ku Tao pagoda. You can even say that this is the strangest pagoda in the world. History of Phra Rach Kheng the adorned Buddha statue “Pangprab Phraya Chompoo” When Phraya Chompoo brought the followers to question the Lord Buddha about Dharma, the Buddha preached the Dharma to Phraya Chomphu and the followers of 3,000 people, all obeying the Buddha except Phraya Chomphu he became rebellious so the Buddha turn into an angel, Phraya Chomphu then was shocked and believed and was devoted to the Lord Buddha, therefore Phraya Chomphu created this Buddha statue to be worship. This is why this statue was name. “Pangprab Phraya Chomphu” which means the defeat of Phraya Chompoo by the Buddha. The chapel was granted royal establishment on 1452 A.D. the temple has been restored many times until the year 1449 A.D. it was rebuilt by Sir Kruba Chandarangsi, the abbot who is the president of the construction. Built with glass walls surrounded by teak wood according to the Lanna architecture. It was used as a place of worship for monks, such as chanting of the fundamental precepts, chanting ceremony presenting robes to Buddhist monks and ordination of monks. Inside the glass wall or holy temple is considered a sacred place, women are not allowed. According to the traditions of the northern Lanna Thai. CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

69


古道寺

看不见的佛帝 “古道” 对五佛的信仰

古道寺原来的名字是韦鲁瓦纳兰寺,位于清迈府清迈县城西

兰叻差进行统治,当时缅甸王国动乱,底下王室慢慢强盛,三年

普区古道路门牌号60, 建立于佛历1993年,并在佛历1995年获

后,大城王朝国王Somdet Phra Maha Thammaracha也突出缅甸

得皇室许可,取名古道寺。在清莱国王荣的Phra Chao Yod Chiang

封围,泰国和缅甸之间的斗争进行超过了15年以上才最终和平,

Rai统治期间 在佛历2030年至2038年之间,古道韦鲁瓦纳兰寺出

然后称王于清迈。孟圣拉瑟姆说(胜利称王为殿下叫那拉哈孟

现在爱奥尼亚纪事报中,存在并记载在清迈国王的土地这片上。

卓)被缅甸君主奉称作为兄弟姐妹强迫部队击败大城府,但是每

有一位皇太子叫苏立翁Suriyawong出家当了和尚,来到清迈古道

次都被纳瑞宣Naresuan国王打败。直到佛历2139年,孟山都拉罕

的韦鲁瓦纳兰寺。

国王 投降给纳雷苏安国王 与南都灵国王切断亲戚关系,而且无 法回到他的祖国 ,爱奥尼亚纪事孟山都拉罕国王于佛历2150年

在《爱奥尼亚纪事》的历史中记载,佛历2122年,洪萨瓦迪 国

去世。孟山·拉塔姆国王,也是玛硕涛皇家兄弟后来统治兰纳的

王任命孟圣·拉瑟姆国王为 砂拉越统治者。(帕库Pego地区或虹

人。玛硕涛Nemtao大和尚 组织火化的火化查提拉Phra Chettha

萨瓦力Hongsawadee市中的一个城市)占领统治清迈市直到佛历

Thirat 和尚后来并诚建起一座宝塔。为了收藏佛陀遗物的容器

2124年。虹萨瓦力迪部玲国王去世后,帕玛哈·乌帕拉恰南塔布

,作为佛教祭品和为了纪念查提拉Phra Chettha Thirat 和尚。

70

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


佛像装饰“粉色王子庞制服” 拉凯国王历史 当粉色王子Phra ya Chomphat将他的追随者一起带入佛陀佛 法时,佛陀向粉色王子Phra ya Chomphun和3,000位追随者讲授佛 学,所有人都服从佛陀,至于粉色王子Phra ya Chomphi有自己的 想法他不愿服从佛陀,佛陀让他看到像天使形状一样,使他感到 震惊,因此崇拜于佛陀,才建此佛陀佛像来敬拜,因此,这座佛 像被称为“粉色王子庞制服”。

ครูบาจันทรังษี วัดกู่เต้า ต�าบลศรีภูมิ อ�าเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่

“古道”宝塔建于佛历2150年,按照宝塔的形状看起来是最 奇怪的,没有见过像这样的塔,就是有5位全能僧侣佛像代表5位 佛陀佛像,包括卡库苏陀佛陀,科纳卡马诺佛陀,卡萨博佛陀, 哥打摩佛陀,和弥勒佛陀,是由5层的层叠堆在一起,在4个方向 上都有拱门,总共20个拱门。 直到佛历2475年 ,司伟材大师Kruba Srivichai 是泰国•兰 纳的圣徒前来翻修改造宝塔。各种拱门一共有20尊佛像,包括建 造这个圣殿作为所有信徒行善表达信仰,该宝塔看上去与其他宝 塔不同,并保留完好无损。有人认为这是缅甸风格的宝塔,但其 实实际上整个缅甸的宝塔,即使在蒲甘,也有数以万计的宝塔, 没有一座像古道那样的佛塔,可以说是世界上最奇怪的宝塔。 “古道佛寺”一词的“ 古”在北方语言的意思是:纪念碑或 骨灰容器,“道”的意思是西瓜(槟榔),或者是 像西瓜一样 的纪念碑,另一个意思是 纪念碑包含骨灰 (北部称器道),因 此俗称古道寺或者因为这座寺庙在竹林中 因此被命名为古道韦 鲁瓦纳兰寺Wat Ku Tao Welu Wanaram。 CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

71


History of buddhism....

วัดบุพพาราม พระพุทธรูปไม้สักแห่งเมืองล้านนา อายุกว่า 400 ปี พระมหาดวงรัตน์ ฐิตรตโน เจ้าอาวาส

วัดบุพพาราม ตั้งอยู่เลขที่ 143 ถนนท่าแพ ต�าบลช้างคลาน อ�าเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ ความเป็นมา ตามต�านานพืน้ เมืองเชียงใหม่และชินกาลมาลีปกรณ์ กล่าวว่าวัดนี้เดิมเป็นพระราชอุทยานของพระเจ้าติโลกราช กษัตริย์ ผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 9 ต่อมาพระเจ้าติลกปนัดดาธิราช หรือ พระเมืองแก้ว ซึง่ เป็นเหลนของพระองค์ได้สร้างเป็นวัดในปี พ.ศ. 2040 แล้วได้นมิ นต์พระมหาสังฆราชาปุสสะเทวะมาเป็นเจ้าอาวาส ในขณะที่ ก�าลังถวายอารามอยูน่ นั้ เกิดแผ่นดินไหวเป็นอัศจรรย์อย่างยิง่ พระองค์ จึงให้สร้างพระพุทธรูปเงินองค์หนึ่งไว้ที่วัดนี้ ถัดมาอีก 2 ปี จึงสร้าง ปราสาทขึน้ องค์หนึง่ ท่ามกลางวัดเพือ่ เป็นทีป่ ระดิษฐานพระพุทธรูปและ พระไตรปิฎกฉบับลงทองของล้านนา เมือ่ เสร็จแล้วได้ฉลองเป็นการใหญ่ ชาวบ้านทัว่ ไปเรียกวัดนีว้ า่ “วัดอุปปา” หรือ “อุปาเม็ง” เนือ่ งจาก เมื่อพม่าเข้ามาปกครองเมืองเชียงใหม่ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2101 เป็นต้นมา ได้มีพวกมอญ(เม็ง) เข้ามาอยู่บริเวณรอบๆ วัดเป็นจ�านวนมาก ได้ 72

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

ให้การอุปถัมภ์บา� รุงวัดเป็นอย่างดี และลูกหลานได้เข้ามาบวชอยูใ่ นวัด ท�าให้ศาสนวัตถุถูกเปลี่ยนแปลงเป็นศิลปะแบบมอญ ปี พ.ศ.2499 คณะศรัทธาได้อาราธนาพระปลัดกุศล คนฺธวโร (พระเทพวิสทุ ธิคณ ุ ) จากวัดเชตวันมาเป็นเจ้าอาวาส ท่านได้ทา� การเปิด ส�านักศาสนศึกษาภาษาบาลี นักธรรม ศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนา วันอาทิตย์ และพัฒนาศาสนสถานต่างๆ จนกระทั่งกรมศิลปากร ได้ขึ้นทะเบียนโบราณสถานของวัดไว้ได้แก่ พระเจดีย์ วิหารใหญ่ วิหารเล็ก โดยมีสิ่งก่อสร้างใหม่ในสมัยของท่าน คือ กุฏิสงฆ์ หอฉัน หอมณเฑียรธรรม อาคารเรียนพระปริยตั ธิ รรม และอาคารเฉลิมพระเกียรติ มหาราชินี รวมเวลาที่ท่านพัฒนาวัด 60 ปี วัดบุพพารามจึงมีความ สวยงามเป็ น สง่ า ของนครเชี ย งใหม่ เป็ น อุ ท ยานการศึ ก ษาเพื่ อ ให้อนุชนได้ศึกษา


ปูชนียสถานและปูชนียวัตถุที่ส�าคัญ 1. พระเจดีย์ (บรรจุพระเกศาธาตุ) 2. วิหารหลังเล็ก มีการสร้างประมาณ 300 กว่าปี ถูกบูรณะมา หลายครั้ ง หลายครา การบู ร ณะครั้ ง หลั ง สุ ด คื อ เจ้ า แม่ ทิ พ ผสม ณ เชียงใหม่ ได้ท�าการบูรณะจากของเดิมประมาณ พ.ศ. 2445 เป็นศิลปกรรมแบบล้านนาไทย 3. วิหารหลังใหญ่ เป็นที่ประดิษฐานพระมหาพุทธปฏิมากร ซึ่ง หล่อด้วยทองแดงล้วน เป็นแบบศิลปะล้านนา 4. บ่อน�้าทิพย์ มีก่อนสร้างวัด (จ.ศ. 854) แล้ว เป็นบ่อน�้าที่ อยู ่ ใ นพระราชอุ ท ยานของพระเจ้ า ติ โ ลกราช เป็ น น�้ า ส� า หรั บ สรง พระบรมสารีรกิ ธาตุ และใช้ในพิธสี า� คัญ เช่น ร่วมท�าน�า้ อภิเษก รัชกาลที ่ 10 5. พระอุโบสถ มีอายุประมาณ 200 กว่าปี ภายในประดิษฐาน พระพุทธรูปสิงห์หนึ่งทรงเชียงแสน เป็นพระประธาน 6. วิหารพระเจ้าทันใจ เมือ่ ประมาณเกือบ 200 ปีมาแล้ว พ่อน้อยสุข สุขเกษม และลูกหลานผู้มีจิตศรัทธาได้สร้างถวายพร้อมทั้งสร้าง พระเจ้าทันใจ 1 องค์ สร้างวันเดียวส�าเร็จ สมโภชใหญ่โต ปัจจุบัน เป็นที่สักการบูชาของศรัทธาประชาชนทั่วไป 7. หอมณเฑียรธรรม เป็นที่ประดิษฐาน พระพุทธบุพพาภิมงคล และพระพุทธนเรศสักไชยไพรีพินาศ สิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ส�าคัญภายในวัด 1. พระมหาพุทธรูป พระมหาพุทธรูปเป็นประธานบนวิหารใหญ่ 2. พระพุทธรูปสิงห์หนึง่ ทรงเชียงแสน เป็นพระประธานในอุโบสถ 3. พระพุทธรูปไชยลาภประสิทธิโชค พระประธานในพระวิหารเล็ก มีอายุประมาณ 300 กว่าปี 4. พระเจ้าทันใจ 5. พระพุทธนเรศสักไชยไพรีพินาศ 6. พระพุทธบุพพาภิมงคล ภ.ป.ร. ถวายเป็นพระราชกุศลแด่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที ่ 9 ซึง่ เมืองเหนือเรียกว่า พระค่าคิง ประดิษฐานอยู่บนหอมณเฑียรธรรมพระพักตร์หันไปทางทิศเหนือ ล�าดับเจ้าอาวาสตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ตามหลักฐานทีป่ รากฏหลังจากสร้างวัดแล้ว พระเจ้าดิลกปนัดดาธิราช ได้นมิ นต์พระมหาสังฆราชาปุสสะเทวะมาเป็นเจ้าอาวาส จนกระทัง่ เมือ่ พระเทพวิสุทธคุณได้สืบค้นจึงได้รายนามเจ้าอาวาสมาเป็นล�าดับ คือ 1. พระครูบาโป๊ก 2. พระครูบาหลาน 3. พระครูบาชาญ 4. พระครูบาด้วง 5. พระครูบาเก๋ขาว 6. พระครูเก๋ด�า 7. พระเทพวิสุทธคุณ ตั้งแต่ พ.ศ. 2499 - พ.ศ. 2559 8. พระมหาดวงรัตน์ ฐิตรตโน พ.ศ. 2559 - ปัจจุบัน CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

73


กราบสรีระสังขารหลวงปู่ครูบาธรรมชัย

History of buddhism....

WAT BUPPHARAM Wat Bupparam is located at 143 Ta Pae road, Chang Klan sub-district, Mueang Chiang Mai district, Chiang Mai province. History - According to local legend of Chiang Mai and Jinakalamali, it states that this temple was a Royal park of Phra Chao Tilokaraj, the ninth king of Chiang Mai city. After that, Phra Chao Tilokpanuddaraj or Phra Mueang Kaew which is his great-grandchild, had built this temple in B.E.2040. Then, he invited Phra Maha Sangkaracha Pussathewa to be an abbot at this temple. During the time he was an abbot, there was an earthquake occurred which is truly miraculous. He then ordered craftsmen to build silver Buddha image at this temple. Two years after, he built a palace in the middle of the temple for placing Buddha image and Tripitaka that covered with gold leaf of Lanna which he had held big celebration when the construction was completed. Locals call this temple “Wat 74

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

Uppama” or “Uppameng” because when Myanmar had ruled over Chiang Mai since B.E.2101 which Mon people (Meng) had moved to live around temple’s area and supported this temple nicely which many of their descendants had been ordained in this temple and it made religious objects of this temple changed to Mon art style. In B.E.2499, group of faithful people respectfully engaged Phra Palad Kusol Kanthawaro (Phra Thep Wishutthikhun) from Wat Chetawa to be an abbot at this temple. Then, he opened religious education institute in Pali language for religious student and Sunday Buddhist education center. He also developed many religious places until Fine Arts Department registered this temple’s historic site. It took him 60 years in order to develop this temple which make it has gorgeousness that is the magnificent of Chiang Mai province. It is also an education park for young generation to study history of Thailand and all kings of Rattanakosin kingdom.


IMPORTANT SACRED PLACE AND SACRED OBJECT 1. Phra Chedi (Containing Lord Buddha’s hair). 2. Small Vihara (Buhdda image hall) - The period of construction is approximately 300 years. It was restored many times which the latest was done by Chao Mae Thipphasom Na Chiang Mai who restored it from the old one in B.E.2445. It was built in Lanna-Thai art style. 3. Great Vihara - The place where Phra Maha Phuttha Patimakon which is casted from copper only. It is Buddha image in Lanna style. 4. Holy pond - It existed before the origin of this temple (B.E.2035). It is the pond in Royal park of Phra Chao Tilokaraj which water in this pond is used for sprinkling onto Buddha’s relic. 5. Ubosot (Buddhist sanctuary) - It is 200 years old building which is the place where Chiang Saen Singh Neung Buddha image, the principle Buddha image of this ubosot is enshrined. 6. Vihara of Phra Chao Tan Jai - Around 200 years ago, Luang Phor Noisuk Sukkasem and his faithful descendants built this building and offered both to this temple. They also built Phra Chao Tan Jai which is finished in 1 day and had huge celebration. At present, it is faithfully worshipped by many people. 7. The palace - Tripitaka that covered with gold leaf of Lanna is enshrined in this building. This palace is made of teakwood for the whole building and it was built and delicately decorated in Lanna art style.

IMPORTANT SACRED OBJECTS IN THIS TEMPLE ARE AS FOLLOWING : 1. The great Buddha statue - It is principle Buddha image in the main vihara. 2. Chiang Saen Singh Neung Buddha image – It is principle Buddha image in ubosot. 3. Chai Lap Prasitthichok Buddha image – It is principle Buddha image in small viara which its age is around 300 years old. 4. Phra Chao Tan Jai. 5. Phra Phuttha Naret Sakchai Phairiphinat – It is Buddha image which is made of teakwood. 6. Phra Phuttha Bupphaphimongkol with the late king Rama IX’s title carved on it. It was built to offer the merit of making it to the late king Rama IX which northern people called this Buddha image as Phra Kha King. It is enshrined in the palace and its face turned to the north. CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

75


布帕拉姆佛寺 兰纳市柚木佛像,已有400多年的历史。

佛教教育原始公园 Burapha泰国国王 和国家历史。

布帕拉姆佛寺,位于清迈府清迈县城常康区塔 佩路门牌号143 。于佛历2499年,信徒们收到了 来 自 ( 查 婉 佛 寺 Wa t C h e ta w a n ) 刊 瓦 瓦 罗 Kanwawaro(泰宇苏提坤大师Phra Thep Wisuthikun) 住持常任秘书长的邀请。大师开设了梵文宗教研 究,举办星期日佛法佛教研究中心,并改进建筑

76

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

宗教场所;直到美术部门注册佛寺为考古遗址, 一共用了大师一生六十年时间来改进完善。布帕 拉姆佛寺因此具有清迈的优雅与美丽,是一个让 后人学习国家历史,王室和包括清迈统治者,泰 国历史及拉达那哥欣国王的教育公园。


重要的礼拜场所和圣物 1. 佛塔Chedi(存放佛祖头发) 2. 小庙宇有三百多年的历史,经很多次修复改 造,最后一次修复改造是清迈提普女神组合于佛 历2445年从原有的建筑改造为兰纳泰国艺术。 3. 大庙是为了供奉的佛像,完全是用铜铸成兰 纳的艺术风格。 4. 庭水井 Bo Nam Thip 是在建佛寺之前就有的, (佳.苏854)提洛科特国王皇家公园有一个池塘 是用于沐浴佛陀的遗物。 5. 佛教寺庙建筑有大概200多年历史,内供奉 着一尊清盛僧伽佛像, 是主佛像。 6. 急速神殿大约有200多年了,快乐的父亲, 树盖森Suk Kasem和心爱的孩子们创建并建造了 即时神一尊,修建一天完成,是完美的构想。现 在已成为广大民众的朝拜之神。 7. 蒙天大厅是由启蒙的大藏经兰纳黄金版兰纳 泰国艺术,完全由柚木制成,经过装饰精美的兰 纳风格。

佛教神殿中重要的神圣佛像 如下: 1. 玛哈佛像 是佛教神殿大堂的主佛地位 2. 狮大师Chiang Saen Singha佛像清盛风格是 佛教神殿的主要佛像 3. 材亚拉巴兴提崇Chaiyaprawprasittichok佛像 是小佛教神殿的主要佛像大约有300年的历史。 4. 即时佛神 5. 佛陀纳瑞斯·萨差猜佛那 是全身柚木佛像 6. 拉玛九世国王帕佛(Phra Buddha)Bu Phapimongkol 是拉玛九世国王下的皇家慈善机构,在这座北方 城市被称为帕哈金(Phra Kha King),供奉在朝 北的蒙天佛法殿中。

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

77


History of buddhism....

วัดศรีเกิด สักการะ “พระเจ้าแค่งคม” พระพุทธรูปที่พระเจ้าติโลกราช ทรงโปรดให้สร้างขึ้นในปีพุทธศักราช 2030 พระครูสุนทรขันติรัต (ค�านึง ขนติพ โล) เจ้าอาวาส

วัดศรีเกิด ตั้งอยู่ที่ถนนราชด�าเนิน ต�าบลพระสิงห์ อ�าเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ มีชื่อเรียกอีกหนึ่งชื่อว่า "วัดพิชชาราม" ความหมาย ของชื่อวัด ค�าว่า "ศรี" พื้นเมืองออกเสียงเป็น "สะหลี" หมายถึง ต้นโพธิ์ "ศรี หรือ สะหลี" ย่อมาจาก ต้นไม้ศรีมหาโพธิ์ ล�าดับเจ้าอาวาสเท่าที่ทราบนาม มีดังนี้ 1. พระมหาสมเด็ จ ปวั ต ตสี ห ลวงมหาโพธิ์ รุ ก ขาพิ ช าราม (ศิลาจารึกวัดศรีเกิด) 2. ครูบาพรหม (ลาสิกขา) 3. พระอธิการแก้ว (ลาสิกขา) 4. พระอธิการเมะ (ลาสิกขา) 78

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

5. พระครูเชียรปัญญา (เป็ก ปญญาวโร) พ.ศ.2459 - พ.ศ.2498 6. พระครูขันติยาภรณ์ (ค�า ขนติโก) พ.ศ.2500 - พ.ศ.2537 7. พระครูสุนทรขันติรัต (ค�านึง ขนติพ โล) พ.ศ. 2539 - ปัจจุบัน


"ศรีเกิด" อ่านว่า "สะหลีเกิด" หมายถึง ต้นโพธิ์ที่เกิดขึ้นเอง ต� านานเล่ าไว้ว ่า ต้น โพธิ์ที่ม องเห็น ข้างประตูวัด นั้ น เป็ น ต้ น โพธิ์ ที่พระเจ้ากาวิละได้เอาเมล็ดพันธุ์มาจากพุทธคยาแล้วน�ามาปลูกไว้ ที่วัดแห่งนี้ พระอารามแห่ ง นี้ ส ร้ า งขึ้ น เมื่ อ ไรไม่ มี ป ระวั ติ บั น ทึ ก ไว้ แ น่ ชั ด แต่คาดกันว่าน่าจะมีมาตั้งแต่ก่อนพญามังรายสร้างเมืองเชียงใหม่ ตั้ ง อยู ่ บ ริ เวณก� า แพงเวี ย งชั้ น ใน หลั ง จากพญามั ง รายสร้ า งเวี ย ง เสร็จแล้ว ก็ได้รบั ยกย่องฐานะให้เท่ากับเป็นเมืองหลวง บรรดาเมืองต่างๆ ก็เกรงเดชานุภาพ พากันน�าเครื่องราชบรรณาการมาขอสวามิภักดิ ์ พญามังรายประทับอยู่นครพิงค์จนสวรรคต ในปีพ.ศ. 1855 จากนั้น เชือ้ พระวงศ์สบื สมบัตสิ นั ติวงศ์ดา� รงราช ต่อๆ กันมา ดังนี ้ พระเจ้าคราม พระเจ้าแสนภู พ่อขุนน�้าท่วม พระเจ้าค�าฟู พระเจ้าผายู พระเจ้ากือนา พระเจ้าแสนเมืองมา พระเจ้าสามฝั่งแกน พระยาติโลกราช พระยอด เชียงราย เสวยราชตั้งแต่ พ.ศ. 2030 ปีมะแม ถึง พ.ศ. 2039 พระเจ้า ปนัดดาติโลกราช (พระเมืองแก้ว) เสวยราชตั้งแต่ พ.ศ. 2040 - 2069 ปีมะโรงในระหว่างนี้ มีนักกวีแต่งโคลงนิราศหริภุญชัย ปรากฏชื่อ “วัดศรีเกิด” ในบทโคลงที ่ 12 ตามที ่ ศาสตราจารย์ ดร.ประเสริฐ ณ นคร อธิบายว่า โคลงนิราศหริภญ ุ ชัยแต่งขึน้ ประมาณ พ.ศ. 2025 - พ.ศ.2060 เป็นเอกสารแสดงว่า วัดศรีเกิด มีอายุนานหลายร้อยปี ยังไม่มหี ลักฐาน ชัดเจนว่าใครเป็นผู้สร้าง ในวันเดือนปีไหนและเมื่อไหร่

ประวัติพระเจ้าแข้งคม โดยสังเขป ลักษณะความส�าคัญของ“พระเจ้าแข้งคม” หรือ “พระเจ้าแค่งคม” เนื่องจากพระชงฆ์ (แข้ง) เป็นสันแหลมยาวแตกต่างจากพระพุทธรูป องค์อื่นๆ ลักษณะคล้ายศิลปะแบบอู่ทอง พระเจ้าติโลกราชทรงโปรด ให้ ส ร้ า งขึ้ น เมื่ อ พุ ท ธศั ก ราช 2030 นอกจากนี้ ที่ วั ด ศรี เ กิ ด ยั ง มี ศิลาจารึกอักษรพื้นเมืองและอักษรฝักขามที่น่าศึกษาอีกด้วย ดังบันทึกตอนหนึ่งว่า ปีพ.ศ. 2027 วันพุธขึ้น 3 ค�่า เดือน 8 จันทร์เสวยสตภิสฤกษ์ พระเจ้าสิริธรรมจักรพรรดิพิกลราชาธิราช (พระเจ้าติโลกราช) กษัตริย์เชียงใหม่ล้านนา รัชกาลที่ 10 แห่ง ราชวงศ์มงั รายทรงมอบภาระให้ สีหโคตรเสนาบดีและอาณากิจจาธิบดี มหาอ�ามาตย์ หล่อพระพุทธรูปทองสัมฤทธิ์องค์ใหญ่ ขนาดหน้าตัก กว้าง 94 นิ้ว สูง 112 นิ้ว น�้าหนัก 3,960 กิโลกรัม ให้มีลักษณะ เหมือนพระพุทธรูปแบบลวปุระ (ศิลปะแบบลพบุรี) หล่อที่วัดป่าตาล มหาวิหาร ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ราชธานีเชียงใหม่ครั้น หล่อเสร็จแล้ว พระมหากษัตริย์ทรงอัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุ ประมาณ 500 องค์กับพระพุทธรูปแก้วทองและเงินจากหอพระธาตุ ส่วนพระองค์มาบรรจุไว้ในเศียรพระพุทธรูปองค์ใหญ่นี้ วัดป่าตาลมหาวิหาร มีพระมหาเถระชือ่ ธรรมทินนะ เป็นเจ้าอาวาส เป็นเจ้าคณะ และเป็นพระอุปัชฌาย์ด้วย พระเจ้าธรรมจักรพรรดิ พิกลราชาธิราช ครองราชย์สมบัติได้ 45 ปี ก็สวรรคตในปีมะแม รวมสิริอายุพระองค์ได้ 78 ปี พระพุทธรูปแค่งคม ประดิษฐานอยู่ที่ วัดป่าตาลมหาวิหารนานได้ 316 ปี (ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2027 - พ.ศ. 2342) ต่อมาในปีพ.ศ. 2342 สมเด็จปวัตตสีหลวงมหาโพธิรุกขาพิชชาราม (ครูบานันทา) เจ้าอาวาสวัดศรีเกิด ร่วมกับสมเด็จเสฐาบรมบพิตราธิราช พระเป็นเจ้า (เจ้าหนานกาวิละ) เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ ตนได้น�้า มูรธาภิเษกว่า มหาสุรยวังสกษัตราธิราชเจ้า พร้อมด้วยพระสงฆ์ พระวงศานุวงศ์ ไพร่ฟ้าพลเมืองได้อาราธนา(นิมนต์) พระพุทธรูปเจ้า “แค่งคม” จากวัดร้างป่าตาลมหาวิหาร มาประดิษฐานในวิหารวัดศรีเกิด ต�าบลพระสิงห์ อ�าเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ จนถึงปัจจุบัน CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

79


กราบสรีระสังขารหลวงปู่ครูบาธรรมชัย ในดินแดนพระนิพพาน

History of buddhism....

WAT SRI KERD Paying homage to “Phra Chao Kang Khom”, Buddha statue that king Tilokaraj ordered craftsman to build in B.E.2030.

Wat Sri Kerd is located at Ratchadamnoen road, Phra Sing sub-district, Mueang district, Chiang Mai province, this temple is also called “Wat Pitch Cha Ram”. The meaning of temple’s name “Sri Kerd” which is pronounce “Sa Lee Kerd”, is Bodhi tree that rise itself up. Legend stated that Bodhi tree at the temple’s gate is the Bodhi tree that Phra Chao Kawila brought its seed from Bodh Gaya and planted it here at this temple. There is no clear evidence about when this monastery was built, but there is an estimation that it was established before Phraya Mangrai had built Chiang Mai city which it is located inside the city wall. After Phraya Mangrai finished the construction of city, it was valued as a capital. At the same time, other cities were in awe of this city’s might, they then brought their tributes and pledged allegiance to him. He resided at Nakornping until he passed away in B.E.1855. After that, the royalty had been succeeded to the throne as the following order: Phra Chao Khram, Phra Chao Saen Phu, 80

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

Phor Khun Nam Thuam, Phra Chao Kham Fu, Phra Chao Pha Yu, Phra Chao Keu Na, Phra Chao Saen Mueang Ma, Phra Chao Sam Fang Kaen, Phraya Tilokaraj, Phra Yod Chiang Rai who occupied the throne from B.E.2030, years of the goat, to B.E.2039, Phra Chao Panudda Tilokaraj (Phra Mueang Kaew) who succeeded to the throne from B.E.2040 to B.E.2069, year of the dragon. Moreover, during Phra Mueang Kaew’s reign, there was a poet who composed a poetry “Khlong Nirat Hariphunchai” which the name “Wat Sri Kerd” was mentioned in twelfth chapter of this poetry. According to information from Prof.Dr.Prasert Na Nakhon, Khlong Nirat Hariphunchai was composed approximately in B.E.2025 – B.E.2060. Therefore, it is the document that proofed an existence of Wat Sri Kerd which has been situated for hundreds of years. However, there is no clear evidence about who is the founder of this temple, including when it was built. At present, Phra Khru Sunthorn Kantirat (Khamneung Khantipalo) takes a position of abbot.


喜咯庙

崇拜“康空佛像” 是“帕雅弟罗格啦”兰那国王在1487年恩赐铸造的。 喜咯庙位于拉差当能路, 帕行分区, 蒙区, 清迈。

也叫 “必查啦玛庙” , “喜咯庙”的来源是从 “沙莉咯”词为野生菩提树, 自古传说 ,从旁门看 见的那颗菩提树是嘎威伊啦国王从菩提伽耶带来的种 子,种植在此庙。 此皇家修道院不知何时建成, 来源不明。 但当地人民猜测,从孟萊王建筑清迈城市之前就有了 这座寺庙, 此庙位于寨城之内,自从孟萊王建筑围墙 后,“平哪空”城市的地位几乎跟首都平等,也使其 他城市对皇家的尊重。 为了加强关系,环绕的城市 之王都给孟萊王皇家进贡礼物。 孟萊王居住在 “平哪空”城市到1312 年驾崩。

皇家后代继承人如下:

可啦母王,僧普王,珀酷喃谭王,康夫王,耙玉王, 咯纳王,申门玛王,三芳艮王,帕雅弟罗格啦王。 帕唷清莱王从1487 年,属羊年登基,到 1496 年。霸 那哒弟罗格啦王从 1497 年,属龙年登基到1526 年。 这段时间,有一位诗人作“尼啦哈利普蔡”诗。 有“喜咯庙”的名称出现在这首诗的第十二节。 根据博士巴甚教授的记载,“尼啦哈利普蔡”诗大概 从1482年到1517年写作的,证明这座寺庙有几百年的 历史,此庙的建筑者来历不明。目前顺通刊弟罗师父 (刊能 卡纳弟帕 咯)当法师。

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

81


History of buddhism....

วัดพันเตา สืบสานและอนุรักษ์ประเพณีวัฒนธรรมอันดีงามของล้านนา เสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมอันดีงามสมกับเป็น สถานศึกษาธรรมวินัย

พระครูบุณยากรวิโรจน์ (อุทัย ปุญฺญสมฺภโว) เจ้าอาวาส และเจ้าคณะต�าบลพระสิงห์ เขต 2

วัดพันเตา เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตั้งอยู่ เลขที่ 105 ถนนพระปกเกล้า ต�าบลพระสิงห์ อ�าเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ มีพื้นที่ทั้งหมด 2 ไร่ 3 งาน 86 ตารางวา สร้างเมื่อ พ.ศ. 1934 มีอายุร่ว มสมัยเดียวกัน กับ วัด เจดี ย ์ ห ลวง เนื่ อ งจาก อดี ต เคยเป็ น เขตสั ง ฆาวาสของวั ด โชติ ก าราม หรื อ วั ด เจดี ย ์ ห ลวง ในปัจจุบันมาก่อน ล�าดับเจ้าอาวาสวัดพันเตา 1. พระมหาคัมภีระ พระสวามิสังฆราชา (เลขานุการสมเด็จ พระสังฆราชเมืองเชียงใหม่) 2. พระครูบากันทา 3. พระครูบาบุญเป็ง 4. พระครู บ าปิ น ตา 5. พระครู บ ากาวี ล ะ 6. พระครู บ าค� า มู ล 7. พระครูบาบุญมี 8. เจ้าอธิการอินศวร สุวณฺโณ (ไม่ทราบปี พ.ศ. - พ.ศ. 2518) 9. พระมหาสร้อย ฐานวโร (พ.ศ. 2519 - พ.ศ. 2540) 10. พระครูบุณยากรวิโรจน์ (พ.ศ. 2540 - ปัจจุบัน) 82

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


ศาสนสถาน และ ศาสนวัตถุภายในวัด วิ ห ารหอค� า เป็ น วิ ห ารที่ ส ร้ า งด้ ว ยไม้ สั ก เดิ ม เป็ น หอค� า ของ พระเจ้ามโหตรประเทศ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 5 ตามต�านาน เล่าว่า พระยาอุปราชมหาวงศ์ ได้สร้างขึ้นถวายเป็นพุทธบูชาเมื่อ จุลศักราช 1209 ตรงกับพ.ศ.2390 เนือ่ งจากท่านได้เลือ่ นฐานันดรศักดิ์ และต�าแหน่งหน้าทีจ่ ากพระยาอุปราชขึน้ เป็นพระยาเชียงใหม่มหาวงศ์ จึงได้สร้างหอค�าขึ้นไว้เป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูป และต่อมาท่าน ได้ รั บ พระราชทานเลื่ อ นฐานั น ดรศั ก ดิ์ ขึ้ น เป็ น เจ้ า มี พ ระนามใน สุพรรณบัฏเป็น “พระเจ้ามโหตรประเทศราชาธิบดินทร์นพีสิทร มหานคราธิษฐาน” เมื่อปี พ.ศ. 2396 ปัจจุบันวิหารหอค�าวัดพันเตา ได้รบั การขึน้ ทะเบียนให้เป็นโบราณสถานส�าคัญของชาติ โดยกรมศิลปากร ซึ่งประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 97 ตอนที่ 41 วันที่ 14 มีนาคม พ.ศ. 2523 พระเจ้าปันเต้า (พันเท่า) คือ พระพุทธปฏิมา พระประธานใน วิหารหอค�าวัดพันเตา มีนามว่า พระเจ้าปันเต้า หรือ พระเจ้าพันเท่า มีความหมายเป็นมงคลว่า “มีความส�าเร็จเพิม่ พูนเป็นร้อยเท่าพันเท่า” ธรรมาสน์โบราณ สร้างโดย “พระเจ้าอินทวิชยานนท์” เจ้าผู้ ครองนครเชียงใหม่องค์ที่ 7 เมื่อปี พ.ศ. 2416 สร้างคู่กับองค์พระ ประธานในพระวิหารหอค�า โรงเรียนธรรมเมธีศึกษา วัดพันเตา เป็นโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา สังกัดส�านักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ที่เปิด โอกาสให้พระภิกษุสามเณรได้ศึกษาในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 - 6 ยั ง มี ก ารจั ด การศึ ก ษาพระปริ ยั ติ ธ รรม แผนกธรรม ในระดั บ ประโยคนักธรรมชั้นตรี - ชั้นเอก โดยมี พระครูบุณยากรวิโรจน์ (อุทัย ปุญฺญสมฺภโว) เป็นผู้รับใบอนุญาต และเป็นผู้จัดการ และมี พระครูสังฆรักษ์สุทัศน์ สุวฑฺฒโน เจ้าอาวาสวัดทรายมูลเมือง เป็น ผู้อ�านวยการ กิจกรรมที่จัดขึ้นในวัดพันเตา เพื่อเป็นการท�านุบ�ารุงพระพุทธศาสนา ตลอดถึ ง การอนุ รั ก ษ์ ป ระเพณี วั ฒ นธรรมอั น ดี ง ามของล้ า นนา มีกิจกรรมดังนี้ 1. จุดประทีปโคมไฟ น้อมถวายเป็นพุทธบูชา เนื่องในวันส�าคัญ ทางพระพุทธศาสนา คือ วันวิสาขบูชา วันอาสาฬหบูชา วันมาฆบูชา เป็นประจ�าทุกปี 2. “จุดประทีปส่องฟ้า ยี่เป็งล้านนา ณ วัดพันเตา กลางเวียง เชียงใหม่” เป็นการสืบสานและอนุรักษ์ประเพณียี่เป็ง หรือ ประเพณี ลอยกระทง ของชาวล้านนา ในวันขึ้น 15 ค�่า เดือน 12 ของทุกปี 3. เคาท์ดาวน์ธรรม สวดมนต์ข้ามปี ในคืนวันที่ 31 ธันวาคม ของทุกปี 4. ประดับตุง 12 ราศี ก่อเจดีย์ทรายเนื่องในประเพณีปีใหม่เมือง หรือเทศกาลสงกรานต์ เป็นประจ�าทุกปี CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

83


กราบสรีระสังขารหลวงปู่ครูบาธรรมชัย ในดินแดนพระนิพพาน

ประวัติความเป็นมา ชาวเมืองเชียงใหม่ดั้งเดิม เรียกชื่อว่า “วัดปันเต้า (พันเท่า)” ซึ่ง มีความหมายว่า มีปริมาณทีเ่ พิม่ พูนขึน้ เป็นพันเท่า ตามต�านานนิทานปฐม เหตุการณ์ตั้งเมืองเชียงใหม่ สมัยลัวะ ปกครอง โดยมีเศรษฐี 9 ตระกูล ท�าหน้าที่ปกครองตามค�าสั่งของสุเทวฤๅษี โดยมีความตอนหนึ่งเล่าว่า “เศรษฐีผู้หนึ่งหื้ออยู่กลางเวียง มีชื่อว่า เศรษฐีพันเท่า เขาก็ได้ตั้งคุ้ม อยู่ตามค�าเจ้าระสีแล” ดังนั้น จึงสันนิษฐานว่าแต่เดิมวัดพันเตา เป็น บริเวณบ้านของเศรษฐีคนดังกล่าว ต่อมาเมื่อสร้างเป็นวัด จึงได้ตั้งชื่อ ว่าวัดพันเท่า ออกเสียงเป็นภาษาล้านนาว่า “ปันเต้า” นอกจากนี ้ วัดพันเตา ยังเคยใช้เป็นสถานทีต่ งั้ เตาหลอมทองสัมฤทธิ์ ที่ใช้ในการหล่อพระพุทธปฏิมา คือ “พระอัฏฐารส” พร้อมด้วย พระอัครสาวก ประดิษฐานไว้ ณ พระวิหารวัดเจดีย์หลวง โดยมี พระนางติโลกจุฑามหาเทวี พระมเหสีของพระเจ้าแสนเมืองมา ทรงเป็น ประธานจัดสร้าง เนื่องจากองค์พระพุทธปฏิมามีขนาดใหญ่ จึงต้อง ตั้ ง เตาหลอมทองพร้ อ มกั น ให้ เ สร็ จ ซึ่ ง ได้ ใช้ เ ตาหลอมทองเป็ น จ�านวนนับพัน ต่อมาก็มีการขนานนามวัดนี้ว่า “วัดพันเตา” วัดพันเตา ได้รับการฟื้นฟูอีกครั้งในสมัยพระเจ้ากาวีละ เจ้าผู้ ครองนครเชียงใหม่องค์ที่ 1 ประมาณปีพ.ศ. 2349 โดยมีพระมหา คัมภีระ เป็นเจ้าอาวาสรูปแรก และเป็นพระสวามิสังฆราชาเมือง เชียงใหม่ ในสมัยนั้น

84

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

ประวัติและปฏิปทาท่านเจ้าอาวาสวัดพันเตาพอสังเขป พระครูบณ ุ ยากรวิโรจน์ (อุทยั ปุญญฺ สมฺภโว) วิทยฐานะ นักธรรมชัน้ เอก จากส�านักศาสนศึกษา วัดพระบรมธาตุ อ�าเภอบ้านตาก จังหวัดตาก, ศาสนศาสตรบัณฑิต (ศน.บ.) จากมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา ปัจจุบนั ด�ารงต�าแหน่ง เจ้าอาวาสวัดพันเตา ต�าบลพระสิงห์ อ�าเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ และเจ้าคณะต�าบลพระสิงห์ เขต 2 นับตั้งแต่พระครูบุณยากรวิโรจน์ได้ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาส เมื่อ ปี พ.ศ. 2540 เป็นต้นมา ท่านได้ด�าเนินการพัฒนาวัดอย่างต่อเนื่อง มาโดยตลอด ทัง้ ด้านสาธารณูปการ ด้านการบริหารวัด ด้านการเผยแผ่ ด้านการศึกษา และด้านสาธารณสงเคราะห์ เป็นต้น ท�าให้วัดพันเตา มีความสะอาดร่มรื่นสวยงาม เป็นระเบียบเรียบร้อย สมกับเป็น ศูนย์กลางของชุมชน อีกทัง้ มีการสืบสานและอนุรกั ษ์ประเพณีวฒ ั นธรรม อันดีงามของล้านนาไว้ ตลอดถึงเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมอันดีงาม สมกับเป็นสถานศึกษาธรรมวินยั ซึง่ เป็นแบบอย่างทีด่ ใี นการสร้างสรรค์ และพัฒนาของสังคมต่อไป


In B.C. 1954, Wat Phan Tao used to be the place to mold the bronze. There were many crucibles for molding images of the Buddha. This images include “Phra Attharod”. The images of the Buddha were placed in the Wiharn or Chapel at Wat Chedi Luang. As the time passes by, Wat Phan Tao was renovated again during the reign of King Kawila (the First reign King of Chaing Mai). In B.C. 2416, Phra Chao Intawichayanon was the Seventh King of Chiang Mai dismantled the royal residence (Hor Kum Luang). It was rebuilt to the most beautiful teak Wiharn of Chiang Mai and donated to Wat Phan Tao. The teak woods from Hor Kum Luang were used to build this Wiharn. It is belived that it is the only one teak Wiharn that still in perfect condition in Lanna.

WAT PHAN TAO Wat Phan Tao is a beautiful wooden temple with a decorated garden area. Setting next to the famous Wat Chedi Luang this temple is often overlooked but worth a visit. Especially when the more famous religious complexes in the area are overrun with tourists in the high season. Wat Phan Tao is located at 105 Phra Pok Klao Rd., Phra Singh sub-district, Mueng Chiang Mai. Wat Phan Tao was built in the 19th Buddhist Era at the beginning of 1934. The temple has the total area around 2 Rai 3 Arn 86 Ta Rang Va. In the past historical record of Wat Phan Tao, it has the same time period as Wat Chedi Luang, which locates in North East of Chedi Luang Pagoda. At the old time, the word “Phan Tao” is not the original name. The local people (Lanna people) used to call the name of this temple in their local accent, which is very much different in pronunciation. As the time changes, the name has been changed to “Phan Tao”. This is to make everyone easy to understand. The meaning of this original name is “increasing a thousand times”.

FESTIVALS IN WAT PHAN TAO There are many festivals in a year; such as New Year cerebetion, Buddhist holiday, Thai’s New Year or Songkran Fastival, and Loy Kratong Festival. All of these Buddhist holiday are match with full moon day. The monks and the novice in Wat Phan Tao will decorated the temple with Buddhist flags and lid candle pots around under Bodhi tree. There are 3 Buddhist holidays celebrate in the temple consists of Magha Puja day (around February), Visakha Puja day (around May), and Arsalha Puja day (around July). Around November there is Loy Kratong Festival which matches to the full moon day. The monks and the novice in Wat Phan Tao will decorate the temple area and float the lantern to sky. In summer around March - May, the monks and the novice in Wat Phan Tao will built “Sand Pagoda” and decorated them with colorful paper flags for celebrate Thai’s New Year or Songkran Fastival (13 - 15 April).

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

85


History of buddhism....

วัดสันติธรรม สันติในเรือนใจ หลังสงครามโลกครั้งที่สอง พระครูวิมลธรรมรัต (ศรีนวล วิมโล) เจ้าคณะอ�าเภอจังหวัดล�าพูน (ธ) และเจ้าส�านักปฏิบัติธรรม ประจ�าจังหวัดเชียงใหม่ แห่งที่ 3 (ธ)

วัดสันติธรรม เป็นวัดราษฎร์ ตั้งอยู่เลขที่ 13 ถนนหัสดิเสวี ต�าบลช้างเผือก อ�าเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ มีเนื้อที่ 10 ไร่ 1 งาน 81 ตารางวา ธรณีสงฆ์ 1 ไร่ 1 งาน 55 ตารางวา ได้รับใบอนุญาต กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม ให้สร้างวัดตามหนังสือราชการ เลขที่ 1/2496 ลงวันที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2496 อนุญาตให้ นางสาวหนิมคิม้ แซ่เฮ้ง อายุ 45 ปี สัญชาติไทย เชือ้ ชาติไทย ศาสนาพุทธ อาชีพพานิชกรรม ตั้งบ้านเรือนอยู่บ้านเลขที่ 578 ต�าบลช้างม่อย อ�าเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ท�าการสร้างวัดขึน้ ณ บ้านแจ่งหัวรินนอก ถนนสันติธรรม ต�าบลช้างเผือก อ�าเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ และ ขนานนามว่า “วัดสันติธรรม นครเชียงใหม่” ตามพระราชบัญญัติ คณะสงฆ์ พุทธศักราช 2484 ได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา เมือ่ วันที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2500 ผูกพัทธสีมา เมื่อวันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2513 ตามประกาศของกระทรวงวัฒนธรรม 86

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


ประวัติความเป็นมา เมื่อครั้งที่ พระครูสันติวรญาณ (สิม พุทฺธาจาโร) ได้ธุดงค์ไป ในหลายจังหวัด อาทิ เช่น วัดป่าสระคงคา อ�าเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์ ส�านักสงฆ์หมูบ่ า้ นแม่กอย (ต่อมาได้พฒ ั นาเป็นวัด ชือ่ ว่า วัดป่าอาจารย์มนั่ ) อ�าเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ (ณ ทีน่ หี้ ลวงปูไ่ ด้พบ หลวงปูม่ นั่ ภูรทิ ตั โฺ ต และได้รับค�าแนะน�าเพิ่มเติมจากหลวงปู่มั่น จนการปฏิบัติธรรม ของ หลวงปู่ก้าวหน้าขึ้นอย่างมาก) เมื่อแยกจากหลวงปู่มั่นแล้ว หลวงปู่ ได้เดินธุดงค์ ไปทางอ�าเภอสันก�าแพง เข้าพักที ่ วัดโรงธรรมนานถึงห้าปี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2483 ถึงปี พ.ศ. 2487 ซึ่งขณะนั้น ยังเป็นส�านักชั่วคราว ที่วัดโรงธรรมสามัคคีนี้ เคยเป็นสถานที่ที่ครูอาจารย์หลายท่านเคย ใช้พักจ�าพรรษา อาทิ หลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต, หลวงปู่ชอบ ฐานสโม, หลวงปู่แหวน สุจิณฺโณ, พระอาจารย์กู่ ธมฺมทินฺโน และ หลวงปู่ตื้อ อจลธมฺโม เป็นต้น หลั ง จากนั้ น ย้ า ยไปจ� า พรรษาที่ ถ�้ า ผาผั ว ะ อ� า เภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ ซึง่ เป็นช่วงเวลาทีบ่ า้ นเมืองอยูใ่ นสภาพหลังสงครามโลก ครัง้ ที ่ 2 ในระหว่างนัน้ หลวงปูไ่ ด้รบั รูค้ วามคับจิตคับใจของบรรดาชาวบ้าน ทั้งหลาย หลวงปู่ได้ปลุกปลอบใจของชาวบ้านที่ก�าลังสิ้นหวังให้กลับ มีชีวิตชีวาขึ้น ด้วยการหยั่งพระสัทธรรมลงสู่จิตของพวกเขา ในระหว่างออกพรรษา หลวงปู่สิม ได้จาริกธุดงค์ไปบ�าเพ็ญเพียร ณ สถานทีว่ เิ วกหลายแห่งในเขตจังหวัดเชียงใหม่ ศิษย์อาวุโสชาวเชียงใหม่ ท่านหนึง่ คือ เจ้าชืน่ สิโรรส (วัย 96 ปี) โดยในปี พ.ศ. 2488 เจ้าชืน่ สิโรรส

ได้อพยพครอบครัวหลบภัยสงครามไปอยูท่ ถี่ า�้ ผาผัวะ ขณะทีห่ ลวงปูธ่ ดุ งค์ ไปจ� า พรรษาที่ ถ�้ า ผาผั ว ะนี้ ท่ า นเปรี ย บเสมื อ นที่ พึ่ ง อั น สู ง สุ ด ที่ มี ความหมายมาก ส� า หรั บ คนที่ อ ยู ่ ใ นสภาพบ้ า นแตกสาแหรกขาด เนื่องจากสงคราม ปลายปี พ.ศ. 2489 เมื่อสงครามมหาเอเชียบูรพาใกล้จะยุติ เจ้าชื่น สิโรรส อพยพจากถ�้าผาผัวะ กลับคืนตัวเมืองเชียงใหม่ ได้ กราบอาราธนาหลวงปู ่ สิ ม ให้ ย ้ า ยเข้ า มาพั ก จ� า พรรษาที่ ตึ ก ของ แม่เลีย้ งดอกจันทร์ กีรติปาล (คิวริเปอร์) อยูต่ ดิ กับถนนสุเทพ ตรงกันข้าม กับถนนไปสนามบิน เมืองเชียงใหม่ (ปัจจุบันคือที่ตั้งของ ศูนย์ส่งเสริม ศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่) ยังเป็นตึกที่ว่างไม่มีใครอยู่ นอกจากคนที่อยู่เฝ้าคอยดูแลรักษา เนื่องจากแม่เลี้ยงดอกจันทร์และ ลูกหลานได้อพยพหนีภยั สงครามไปอยูท่ อี่ นื่ และ ณ ทีน่ เี้ อง หลวงปูส่ มิ ได้พบกับลูกศิษย์คนแรกทีอ่ ปุ สมบททีเ่ ชียงใหม่คอื พระมหาทองอินทร์ กุสลจิตฺโต ซึ่งต่อมาก็ได้เป็นเจ้าอาวาสองค์ที่สองของวัด "สันติธรรม" CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

87


ต่อมาแม่เลี้ยงดอกจันทร์ ต้องการจะกลับมาอยู่ที่บ้านของตน คณะของหลวงปู่สิม พุทฺธาจาโร จึงได้ย้ายออกมาสร้างวัดสันติธรรม แห่งใหม่ ในที่ดินของคุณพระอาสาสงคราม (ต๋อย หัสดิเสวี) บริเวณ ด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือของก�าแพงเมืองเชียงใหม่(แจ่งหัวริน) โดย คณะศิษย์มีคุณแม่นิ่มนวล สุภางวงศ์เป็นหัวหน้า ได้มาก่อสร้างสร้าง กุฏิเสนาสนะต่างๆ ถวายให้คณะสงฆ์ได้เข้ามาพักอาศัย ท�าการ เปิดป้ายวัดสันติธรรมนครเชียงใหม่ เมื่อวันที่ 13 มกราคม 2492 วัดสันติธรรม จึงค่อยๆ ได้รับการพัฒนาเป็นวัดของคณะสงฆ์ธรรมยุต ฝ่ายกรรมฐาน มาตามล�าดับ มีเจ้าอาวาส มา 3 รูป คือ 1.พระญาณสิทธาจารย์(หลวงปูส่ มิ พุทธฺ าจาโร) พ.ศ. 2492 - 2508 2.พระนพีสีพิศาลคุณ (ทองอินทร์ กุสลจิตฺโต) พ.ศ. 2508 - 2547 3.พระครูวิมลธรรมรัต (ศรีนวล วิมโล) พ.ศ. 2547 - ปัจจุบัน ด้วยแรงแห่งศรัทธา พระพุทธรูป “หลวงพ่ออนันตญาณมุนี” ภายในอุโบสถวัดสันติธรรม มีพระพุทธรูปส�าคัญคูว่ ดั อยู ่ 2 องค์ คือ 88

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

พระประธานองค์รอง มีขนาด 29 นิ้ว ศิลปะเชียงแสนสิงห์ 3 เป็น องค์แรกของวัดสันติธรรม มีพระนามว่า “พระอนันตญาณมุนี” เมื่อ พ.ศ. 2495 เจ้าน้อยเมืองชุมและพระแสง ยโสธโร ชาวหลวงพระบาง ได้ ไ ปน� า พระเศี ย รพระพุ ท ธรู ป โบราณ มาจากต� า บลเมื อ งคอง อ�าเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ มาถวายหลวงปูส่ มิ ท่านขุนเจริญจรรยา ได้มีศรัทธาเป็นเจ้าภาพต่อพระเศียร 36 อารามได้ถวายทองกว่า 540 กิโลกรัม เพื่อร่วมใช้หล่อต่อองค์พระ เมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม 2497 เวลา 14.35 น. มีทองที่เหลือกว่า 334 กิโลกรัม ได้น�ามาหล่อ พระพุทธรูปปางเปิดโลก อีก 2 องค์ มีพระนามว่าพระศากยมุนี และ พระศรีสรรเพชร พระประธานองค์ใหญ่ มีขนาด 59 นิว้ สูง 4 ศอก ศิลปะเชียงแสนสิงห์ มีพระนามว่า “พระพุทธบรรจงนิมติ ” สร้างถวายโดยนายแพทย์บรรจง โดยการน�าของพระธรรมจินดาภรณ์ (สมเด็จพระพุทธปาพจนบดี) วัดราชบพิตรสถิตมหาสีมาราม น�ามาถวายไว้ในอุโบสถ เมือ่ พ.ศ. 2503


พิพิธภัณฑ์พระธาตุวัดสันติธรรม เป็นที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุจาก 5 ประเทศ ไทย - อินเดีย - ศรีลังกา - พม่า - ลาว พิพิธภัณฑ์พระธาตุบูรพาจารย์ พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ แ ห่ ง นี้ ส ร้ า งขึ้ น เพื่ อ ให้ ส าธุ ช นทั้ ง หลายสามารถเข้ า ไป สั ก การบู ช าพระบรมสารี ริ ก ธาตุ พระอรหั น ต์ ธ าตุ พระธาตุ พ ระ สุปฏิปันโน กว่า 200 รายการ เปิดให้ประชาชนทัว่ ไปเข้าชมได้ทกุ วัน ตัง้ แต่ 08.00 น. - 20.00 น.

วัดสันติธรรม จะท�าการฉลองสมโภช องค์พระธาตุสันติเจดีย์ และเสนาสนะภายในวัด

ระหว่างวันที่ 22 - 23 กุมภาพันธ์ 2563 ขอเชิญพุทธศาสนิกชนผู้ส่นใจได้มาร่วม อนุโมทนาในพิธีดังกล่าวพร้อมเพียงกัน

Designed by Pngtree

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

89


History of buddhism....

วัดป่าแดงมหาวิหาร โบราณสถานสำคัญของวัดป่าแดงมหาวิหาร เจดีย์วัดป่าแดงมหาวิหาร พระครูโฆสิตปริยัตยาภรณ์ เจ้าอาวาส

วัดป่าแดงมหาวิหาร ตัง้ อยูเ่ ลขที ่ 71 หมู ่ 14 ถนนสุเทพ อ�าเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินทั้งหมด 3 แปลง เนื้อที่ 17 ไร่ 66 ตารางวา สถาปนาขึ้นเมื่อ พ.ศ. 1974 โดยพระเจ้า ติโลกราช กษัตริยแ์ ห่งราชวงศ์มงั รายเพือ่ เป็นทีพ่ า� นักของพระญาณคัมภีร์ และคณะสงฆ์ที่เดินทางกลับมาจากลังกาเพื่อเผยแผ่ลัทธินิกายลังกา วงศ์ ใ หม่ ห รื อ นิ ก ายสิ ง หล ในขณะนั้ น พระญาณคั ม ภี ร ์ ไ ด้ อั ญ เชิ ญ พระไตรปิ ฎ ก พระพุ ท ธรู ป และต้ น โพธิ์ ลั ง กามาปลู ก ไว้ ในสมั ย พระเจ้าติโลกราช พระองค์ทรงเลื่อมใสและท�านุบ�ารุงพุทธศาสนา นิกายลังกาวงศ์ใหม่ อีกทัง้ ทรงผนวชทีว่ ดั ป่าแดงมหาวิหาร การสนับสนุน คณะสงฆ์นกิ ายสีหลท�าให้พทุ ธศาสนานิกายลังกาวงศ์ใหม่เจริญรุง่ เรือง เป็ น อย่ า งมากเป็ น ที่ เ ลื่ อ มใสของผู ้ ค น วั ด ป่ า แดงมหาวิ ห ารเป็ น ศู น ย์ ก ลางทางพุ ท ธศาสนาสายลั ง กาวงศ์ ใ หม่ พระเจ้ า ติ โ ลกราช ได้ถวายพระเพลิงพระบรมศพพระราชบิดาและพระราชมารดาที่วัด แห่งนีท้ งั้ ยังได้สร้างเจดียบ์ รรจุพระบรมอัฐพิ ระราชบิดาและพระราชมารดา ซึ่งยังคงมีหลักฐานหลงเหลือมาจนถึงปัจจุบัน 90

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

ปูชนียวัตถุที่ส�าคัญ อาทิ พระพุทธสิริธัมมจักกวัตติติโลกราช เป็นพระพุทธรูปเชียงแสนทรงเครื่อง สร้างเมื่อ พ.ศ. 2524 ในยอด พระเกตุ โ มลี บ รรจุ พ ระบรมสารี ริ ก ธาตุ , พระพุ ท ธพิ ชิ ต ชั ย อดิ สั ย ป่าแดงมิง่ มงคล เป็นพระพุทธรูปศิลปะเชียงแสนปางมารวิชยั สร้างเมือ่ พ.ศ. 2525 พระพุทธสิรมิ งคลชัย เป็นพุทธศิลป์แบบญีป่ นุ่ ประดิษฐาน ใต้ต้นโพธิ์ลังกา สร้างเมื่อ พ.ศ. 2520, สมเด็จพระโลกนาถศาสดา บรมบพิตรสถิตรัตตะวัน เป็นพระพุทธรูปศิลปะเชียงแสน สร้างเมื่อ พ.ศ. 2543 ประดิษฐาน ณ ศาลาเฉลิมพระเกียรติฯ 72 พรรษา โบราณสถาน เช่น วิหารล้านนา, อุโบสถ, เจดีย์ทรงระฆัง และ เจดี ย ์ ท รงปราสาท ปั จ จุ บั น เป็ น อาคารที่ ใช้ เ ป็ น หอธรรม หรื อ เก็บคัมภีร์ใบลาน


PADAENG MAHA WIHAN TEMPLE Provost Kosit Pariyayaporn reside as the abbot. Padaeng Maha Wihan Temple is located at 71 Moo 14, Suthep Road, Mueang District, Chiang Mai Province, under the Mahanikai Discipleship. In 1431 A.D. King Tiloklard, the monarch of the Mangrai dynasty set the temple as the residence of Master Phra Yarn Kumpe and clergies that returned from spreading a new Langkawi Buddhist Denomination or Si Hong Sect. Master Phra Yarn Kumpe also brought the Buddha statue called Phra Tripedok and Bodhi trees to the temple. During the reign of King Tilokkot. He worshiped and upholds the new Langkawi Buddhism. The king also was ordinate as a monk at this temple. At Padaeng Maha Vihara temple, the support of the Si Hong sect led to the prosperity of the new Langkawi Buddhist denomination and highly respected by the people. Padaeng Maha Vihara temple became the center Langkawi Buddhist Denomination. King Tiloklard also cremated his father and mother at this temple and also built a pagoda containing both his father and mother remains. Evidences remain till today.

ศาลาเฉลิมพระเกียรติฯ 72 พรรษา

พระพุทธสิริมงคลชัย และ ต้นโพธิ์ลังกา

巴丹麻哈维汉寺庙 巴丹麻哈维汉寺庙位于泰国,清迈,清迈市suthep 路,第14村71 号。在玛哈依佛教神职人员的统治下。1431年是兰纳的国王建立 来的。他是非常重要的人,他建立这座寺庙为了放好经文而且是 从锡兰回来的僧侣的住所。这些位僧侣去锡兰为了教大家宗教、 锡兰、僧伽。 当时,在这所寺庙有大藏经、佛堂和菩提树。曼格莱王朝很佩服 副教所以他非常保护锡兰的东西和教育而且还在巴丹麻哈维汉寺 庙出家。 由于支持僧伽神职人员对锡兰副教发展非常快而且非常受大家的 欢迎。所以巴丹麻哈维汉寺庙是一座锡兰佛教中心。 曼格莱王朝的母亲葬礼和曼格莱王朝的父亲的葬礼也是在这里举 办的,所以这座寺庙有他们的舍利塔在里面。 CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

91


History of buddhism....

วัดผาลาด รมณียสถานแห่งการบําเพ็ญธรรม พระครูธีรสุตพจน์ (พระมหาสง่า ธีรส�วโร) เจ้าอาวาส

วัดผาลาด หรือ วัดสกทาคามี ตั้งอยู่เชิงดอยสุเทพ ต�าบลสุเทพ จั ง หวั ด เชี ย งใหม่ โดยบริ เวณของวั ด อยู ่ ใ นพื้ น ที่ ซึ่ ง ได้ รั บ การกั น ออกจากเขตอุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ-ปุย จังหวัดเชียงใหม่ ตาม พระราชกฤษฎีกาปี พ.ศ. 2524 จ�านวน 29 ไร่ ประมาณกิโลเมตร ที่ 6 บนถนนศรีวิชัย ประวั ติ ค วามเป็ น มา วั ด ผาลาดเดิ ม สร้ า งขึ้ น ในรั ช สมั ย ของ พระเจ้ากือนา เพื่อเป็นอนุสรณ์ในการเสี่ยงทายเพื่อหาสถานที่ส�าหรับ ประดิ ษ ฐานพระบรมธาตุ ตามต� า นานสร้ า งพระธาตุ ด อยสุ เ ทพ ช้ า งที่ อั ญ เชิ ญ พระบรมสารี ริ ก ธาตุ นั้ น ได้ เ ดิ น ทางมุ ่ ง ตรงไปทาง ดอยอ้อยช้าง ทิศตะวันตกของเมือง ในครั้งนั้น พระเจ้ากือนาพร้อมทั้งพญาลิไทยจากเมืองสุโขทัย และเหล่าเสนาอ�ามาตย์ แห่ฆ้อง กลองตามหลังช้างไป เมื่อไปถึง 92

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

ยอดดอยแห่งหนึ่งช้างก็หยุดและย่อเข่าลง พระเจ้ากือนาพร้อมทั้ง บริวารต่างเห็นพ้องกันว่าควรประดิษฐานพระบรมสารีรกิ ธาตุ ณ ทีน่ น้ั เอง ขณะที่ ทุ ก คนก� า ลั ง สนทนากั น อยู ่ นั้ น ช้ า งก็ ลุ ก ขึ้ น เดิ น และ หยุ ด ย่ อ เข่ า ลงอี ก (ภาษาเหนื อ เรี ย กอาการของช้ า งว่ า ยอบลง) ช้างท�ากิริยาอย่างนี้ 3 ครั้ง แล้วเดินต่อไปถึงผาลาดหรือห้วยผีบ้า ข้างธารน�้าตกมีที่ราบเป็นบริเวณกว้าง จึงหยุดพักอยู่ชั่วระยะหนึ่ง แล้วเดินทางต่อไปจนกระทั่งถึงดอยอ้อยช้าง และท�าการอัญเชิญ พระบรมสารีรกิ ธาตุ ณ สถานทีน่ นั้ คือ วัดพระธาตุดอยสุเทพในปัจจุบนั วัดผาลาดได้ขึ้นทะเบียนและก�าหนดเขตที่ดินโบราณสถานของ กรมศิลาปากร มีพ้ืนที่โบราณสถานประมาณ 4 ไร่ 1 งาน 96.50 ตารางวา ประกาศเมื่อวันที่ 21 ธันวาคม 2544 มีโบราณสถานทีส่ า� คัญ คือ วิหาร เจดีย ์ หอพระพุทธรูปริมน�า้ ตก บ่อน�า้


โครงการบูรณะและพัฒนาวัดผาลาด (สกทาคามี) รมณียสถานแห่งการบ�าเพ็ญธรรม สะอาดตา สง่างาม สงบเงียบ และเรียบง่าย วัดผาลาด ตั้งอยู่ในเขตอุทยานดอยสุเทพ-ปุย ท่ามกลางขุนเขา ป่าไม้ สายน�า้ และโบราณสถานมากมายทัง้ ยังเป็นสถานทีป่ ฏิบตั ธิ รรม มายาวนานกว่า 1,200 ปี และเป็น 1 ใน 4 วัดส�าคัญบนเส้นทางสู่ วัดพระธาตุดอยสุเทพราชวรวิหาร ในปี พ.ศ. 2542 วัดผาลาด ได้เริ่มมีการบูรณปฏิสังขรณ์เสนานะ ภายในวัด จนถึงปี พ.ศ. 2557 ทางวัดมีความประสงค์จะมีแบบแผน ในการพัฒนาวัด จึงได้ไปปรึกษาขอค�าแนะน�าจากอาจารย์นคร พงษ์นอ้ ย อาจารย์อดุลย์ เหรัญญะ และ อาจารย์วิลักษณ์ ศรีป่าซาง จึงก่อเกิด “โครงการบูรณะและพัฒนาวัดผาลาด (สกทาคามี)” ภายใต้แนวคิด ของการพัฒนาว่า “สะอาด สง่า สงบ เรียบง่าย” โดยแบ่งเป็น 3 ส่วน คือ 1. การบูรณปฏิสังขรณ์โบราณสถานภายในวัด 2. การปรับปรุงเสนาสนะเดิมให้เข้ากับรูปแบบสถาปัตยกรรม ภายในวัด 3. การปรับปรุงภูมทิ ศั น์ภายในวัดและการก่อสร้างเสนาสนะใหม่ เพิ่มเติม

วัตถุประสงค์ของโครงการวัดผาลาดต้องการที่จะอนุรักษ์พ้ืนที่ป่า สายน�า้ ความเป็นธรรมชาติ พรรณไม้ ความสงบ ความเป็นรมณียสถาน แห่งการปฏิบัติธรรม ซึ่งเป็นเสน่ห์ของวัดให้สืบทอดยาวนานต่อไป ถึงอนุชนรุ่นต่อไป ในตั ว ของโครงการการอนุ รั ก ษ์ ไว้ ซึ่ ง ศิ ล ปะแขนงต่ า งๆ ทั้ ง ประติมากรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น แหล่งเรียนรู้และถ่ายทอดศิลป วัฒนธรรมได้เป็นอย่างดีและที่ส�าคัญ เพื่อให้วัดผาลาดมีแผนแม่บท ในการพั ฒ นา มี ตั ว อย่ า งในการบู ร ณะและการปรั บ ปรุ ง ภู มิ ทั ศ น์ เพื่อให้วัดผาลาดกลับมาเป็น “รมณียสถานแห่งการปฏิบัติธรรม ที่เสริมสร้างจิตวิญญาณที่ดีงามของมนุษย์และเทวดาทั้งหลายสืบไป” CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

93


History of buddhism....

วัดแสนเมืองมาหลวง ตามรอยประวัติศาสตร์ พระเจดีย์บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ สมัยพระเจ้าเมืองแก้ว พระครูสุวัตถิ์ปัญญาโสภิต ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาส

วั ด แสนเมือ งมาหลวง หรือ “วัด หัว ข่ว ง” ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 175 ถนนพระปกเกล้ า ต� า บลศรี ภู มิ อ� า เภอเมื อ ง จั ง หวั ด เชี ย งใหม่ ซึ่ ง พระเจ้ า แสนเมื อ งมาโปรดให้ ส ร้ า งขึ้ น ในอุ ท ยานของพระองค์ เมื่ อ พ.ศ. 1928 และโปรดให้ชื่อว่า ลัก ขปุร าคมาราม ที่ ตั้ง อยู ่ ภายในเขตก�าแพงเมืองเชียงใหม่ ด้านติดประตูช้างเผือก หรือประตู หั ว เวี ย งในทางทิ ศ เหนื อ กล่ า วกั น ว่ า เดิ ม ที เ คยเป็ น วั ด ที่ ส� า คั ญ มี อ าณาบริ เวณที่ ก ว้ า งขวางถึ ง 94 ไร่ รวมอยู ่ กั บ ข่ ว งหลวงหรื อ สนามหลวงของเมื อ งเชี ย งใหม่ ใกล้ ชิ ด กั บ เขตพระราชฐานของ กษัตริย์ผู้ครองเมืองเชียงใหม่ และคุ้มหลวงของเจ้านครเชียงใหม่ ในสมั ย หลั ง ปั จ จุ บั น บริ เ วณโดยรอบวั ด ถู ก ล้ อ มรอบไปด้ ว ย อาคารพาณิ ช ย์ แ ละบ้ า นเรื อ นราษฎร เหลื อ ที่ ดิ น ที่ เ ป็ น บริ เวณ ของวัดเพียง 4 ไร่กว่าเท่านั้น

ประวั ติ ก ารก่ อ สร้ า งวั ด หั ว ข่ ว งหรื อ หั ว ข่ ว งแสงเมื อ งมาหลวง เมืองเชียงใหม่นนั้ ยังเป็นปัญหาทีไ่ ม่ชดั เจน เพราะไม่ปรากฏหลักฐาน ที่แน่ชัดในเอกสารต�านานฉบับอื่นใด จะมีก็จากผลงานการค้นคว้า เรี ย บเรี ย งของ สงวน โชติ สุ ข รั ต น์ ที่ ก ล่ า วถึ ง ประวั ติ วั ด หั ว ข่ ว ง เมืองเชียงใหม่ไว้ว่า “ในจุลศักราช 882 ตัว (พ.ศ. 2063) ปีมะโรง ไทยว่าปีกดสี เดือน 6 ออก 10 ค�่า วันศุกร์ พระเมืองแก้วให้ขุด รากมหาเจดีย์วัดลักขปุราคมาราม คือ วัดหัวข่วง ตราบถึงเดือน 7 ออก 10 ค�่า วันอาทิตย์ จึงได้ลงมือก่อพระมหาเจดีย์ฐานกว้าง 8 วา สูง 14 วา 2 ศอก ถึงจุลศักราช 883 (พ.ศ. 2064) ปีมะเส็ง ไทย ว่าปีร้วงไส้ เดือน 11 ออก 13 ค�่า วันพุธ บุพสาธฤกษ์ดางสัปคับช้าง พระเมืองแก้วกับพระราชมารดา พร้อมพระสงฆ์ 3 คณะ มีพระราชครู เป็นประธานบรรจุพระบรมธาตุ ในมหาเจดีย์วัดลักขปุราคมาราม คือ วัดหัวข่วงบัดนี้ฯ” อย่ า งไรก็ ต าม มี ข ้ อ ความหนึ่ ง ปรากฏในหนั ง สื อ ชิ น กาลมาลี ปกรณ์ มีรายละเอียดที่ใกล้เคียงกับข้อความที่กล่าวมาแล้ว ดังนี้ “ณ วันศุกร์ ขึ้น 10 ค�่า เดือน 4 (จุลศักราช 883) พระราชา ตรั ส สั่ ง ให้ ขุ ด รากฐานเจดี ย ์ ห ลวงในวั ด พระเจ้ า แสนเมื อ งมา 94

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


ครั้น แล้วโปรดให้ ก่ อ ตั้ ง แต่ฐานขึ้นไป เมื่อวันอาทิตย์ข้ึน 10 ค�่า เดือน 5 องค์ เจดี ย์ ก ว้ า งด้านละ 8 วา 2 ศอก สูง 14 วา 2 ศอก พระราชาและพระราชเทวี พร้อมด้วยพระมาตุจฉาเทวี และคณะสงฆ์ 3 นิก าย มีพ ระมหาเถรราชครูเป็นประมุข ทรงบรรจุพระบรม สารีริกธาตุ ไ ว้ ใ นองค์ เ จดี ย์หลวง ในวัดที่พระเจ้าแสนเมืองมาทรง สร้างเมื่อวั นพุ ธ ขึ้ น 13 ค�่า เดือน 9 จันทร์เสวยบุบพาสาฬหะ นักษัตร สิงคยาม” และมี ข ้ อ ความอี ก ส่ ว นหนึ่ ง ที่ ป รากฎในพงศาวดารโยนก คื อ “วันศุกร์ เดือ นสี่ ขึ้นสิบค�่า ให้ขุดท�ารากเจดีย์ลักษณบุราคมาราม (เจดีย์หลวง) ครั้นถึงวันอาทิตย์ เดือนห้า ขึ้นสิบค�่า ปีมะเส็ง ตรีศก จุ ล ศั ก ราช 883 ลงมือก่อเจดีย์ก ว้าง 8 วา สู ง 14 วา สองศอก แล้วให้สร้างคัมภีร์พระไตรปิฎกไว้ส�าหรับหอมณเฑียรธรรมด้วย” ต่อมาอาจารย์สุ ร พล ด�าริกุล ได้มาตรวจสอบรายละเอียดของ โบราณ วั ต ถุ แ ละ โ บ ร าณสถานที่ ป รากฏมี อ ยู ่ ใ นวั ด หั ว ข่ ว งแล้ ว สั น นิ ษ ฐานว่ า วั ด พระเจ้ า แสนเมื อ งมา หรื อวัดลักขปุราคมาราม ทีก่ ล่าวในต�านานนัน้ ควรจะหมายถึงวัดหัวข่วงตามทีส่ งวน โชติสขุ รัตน์ ได้เสนอไว้ ทั้งนี้เพราะวัดดังกล่าวนี้มีช่ือเรียกเป็นสามัญว่า วัดหัวข่วง แสนเมืองมาหลวง หรือแสนเมืองมาหลวงหัวข่วง และภายในพระอุโบสถ มีพระ พุทธรูปส�าริ ด ที่งดงามมีชื่อ “พระเจ้าแสนเมืองมาหลวง” พระพุ ทธรูปองค์นี้ น่ าจะสะท้อนให้เห็นว่า วัดหัวข่วงต้องมีความ สั ม พั นธ์ เ กี่ ย วข้ อ ง กั บ พระเจ้ า แสนเมื อ งมาแต่ ต ้ น ขณะเดี ย วกั น องค์ พ ระธาตุ เจดี ย ์ ที่ ป รากฏอยู ่ ก็ มี ข นาดใกล้ เ คี ย งกั บ ที่ ร ะบุ ไว้ ใ น ต�านานดังที่กล่าวมาแล้ว ด้วยเหตุนี้เรื่อ งราวของวัดหัวข่วง เมืองเชียงใหม่จึงเริ่มมีความ กระจ่า งชัดมากขึ้น อ ย่ างน้อยที่สุดก็ท�าให้ทราบว่าวัดแห่งนี้คงมี ความส�า คัญเกี่ยวข้ อ ง กับพระเจ้าแสนเมืองมาก่อน และภายหลัง พระเจ้า เมืองแก้วทรงโปรดให้สร้างพระเจดีย์ เพื่อบรรจุพระบรม สารีริกธาตุไว้เป็นที่สักการบูชาสืบไป

จะเห็นได้ว่า ข้อความทั้งสามแห่งดังที่ได้ยกมานั้นเป็นเหตุการณ์ เดียวกันที่ พ ระเจ้ าเมืองแก้ว กษัตริย์เมืองเชียงใหม่ ได้โปรดให้มี การบู รณะพระ เจดี ย์ วัดลักษณปุราคมาราม หรือวัดพระเจ้าแสน เมืองมา ในจุลศักราช 883 เมื่อเสร็จแล้วพระเจดีย์นั้นมีขนาดฐาน กว้าง 8 วา 2 ศอก และสูง 14 วา 2 ศอก ข้อความทั้งหมดแทบ จะตรงกัน มีข้อแตกต่างเล็กน้อยในส่วนที่เกี่ยวกับปี และเดือนของ ข้อความส่วนแรกเท่านั้น CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

95


History of buddhism....

วัดเสาหิน เรียนรู้เรื่องราวพุทธประวัติในวิหาร วัดเสาหินโบราณที่งดงามเหนือคำบรรยาย พระครูกันตบุญโญปถัมภ์ ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาส

วัดเสาหิน ตั้งอยู่เลขที่ 98 หมู่ 3 ต�าบลหนองหอย อ�าเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ห่างจากตัวเมืองเชียงใหม่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ระยะทางเฉลี่ย 5 กิโลเมตร บริเวณวัดตั้งอยู่บนเนินที่มีพื้นที่ราบลุ่ม ทางด้านทิศเหนือ และสองข้างด้านตะวันตก และตะวันออก ปัจจุบนั พระครูกันตบุญโญปถัมภ์ ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาส ถาวรวัตถุประกอบด้วย วิหาร ,เจดียป์ ระธานศิลปะพม่าผสมล้านนา, พระอุโบสถพญาสามฝัง่ แกน ,อาคารศาลาการเปรียญ, กุฏิสงฆ์, วิหารพระเจ้าเปิดโลกและ ท้าว อสุรินทราหู (เทพแห่งโชคลาภ) จุดเด่น วัดเสาหิน พระวิหารวัดเสาหิน ก่อสร้างขึน้ เมือ่ ใด ใครเป็นผูก้ อ่ สร้างไม่ปรากฏ หลักฐาน พระวิหารหลังนี้เป็นอาคารขนาดย่อม มีข้อพิเศษที่นอกจาก หันหน้าไปในทิศที่ยังหาความหมายไม่ได้ขณะนี้แล้วยกพื้นส่วนฐาน ท�าสูงมากเป็นการป้องกันน�้าท่วมถึง ตัวบันไดเป็นรูปนกหัสดีลิงค์ที่มี หงอนคล้ายนาค ซึง่ เป็นสัตว์ในนิยายหรือชาดกในพระพุทธศาสนาทีใ่ ช้ เป็นพาหนะขึ้นสู่สรวงสวรรค์ หรือแดนพุทธภูมิ ตามความเชื่อบันได

96

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

แบบนีก้ ไ็ ม่เป็นทีน่ ยิ มน�ามาก่อสร้างเป็นบันไดในอาคารทางพุทธศาสนา ซึ่งมีข้อสังเกตว่าช่างนั้นมีอิสระทางความคิดออกแบบอันมีแนวทางที่ แตกต่างออกไปจากกระแสหลักทัว่ ไปทีน่ ยิ มท�าเป็นรูปนาคและตัวหาง วั น เป็ น ส่ ว นใหญ่ ที่ อ าจต้ อ งการให้ ห มายถึ ง การที่ ค นได้ เข้ า มาใน พระวิหารหลังนี้ก็เหมือนเดินทางไปสู่แดนพุทธภูมิ นอกจากนี้ด้าน โครงสร้างส่วนฐานก่ออิฐสอปูน ย่อส่วนลักษณะทรงสะเปาค�า (ส�าเภา) คือ ส่วนกลางใหญ่ ส่วนหัวและท้ายเล็กดูคล้ายเรือส�าเภา ส่วนเสาและ โครงสร้างหลังคาท�าด้วยไม้เนื้อแข็งทั้งหลัง มุงด้วยกระเบื้องดินขอ ป้านลมท�าด้วยไม้แกะสลักเป็นรูปพญานาคติดกระจกสีช่อฟ้าไม้ ติดกระจก (ของเดิมยังเก็บรักษาไว้เป็นของคนรุน่ หลัง) โครงสร้างหน้า แหนบเรือหน้าจัว่ แบบม้าตัง่ ไหม ตกแต่งลายไม้แกะสลักปิดทองประดับ กระจกเป็นรูปดอกประจ�ายาม ภายในพระวิหารในส่วนของฐานชุกชี (ฐานพระ) มีลกั ษณะเด่นทีส่ ร้างเป็นสีช่ นั้ แต่ละชัน้ ความกว้าง ความสูง ก็ลดหลั่นกันไปประดับกระจกและปิดทองรูปดอกกลม ประจ�ายาม


กระจังแทรกด้วยลายก้ามปูก้านขดอย่างสวยงาม ส่วนพระพุทธรูปที่ ประดิษฐานบนฐานนี้มีอยู่จ�านวน 11 องค์ มีทั้งที่เป็นพระส�าริดและ พระศิลา แต่ได้ถูกขโมยไปหมด ทางวัดจึงได้สร้างพระปูนปั้นที่มี ลักษณะเหมือนองค์เดิมมาประดิษฐานแทน ในส่วนของฐานชุกชีนตี้ าม ความเชือ่ ของศรัทธาและตามค�าบอกเล่าของคนโบราณทีเ่ ล่าสืบกันว่า มีเสาหินอยู่ใต้ฐานชุกชีนี้ เสาหินนี้คติความเชื่อเดียวกับเสาอินทขิลที่ เป็นเสาหินทีพ่ ระอินทร์ ทีป่ ระทานลงมาเพือ่ ให้เกิดความสุข สงบลงใน บ้านเมือง และมีธรรมาสน์หลวงส�าหรับใช้เทศน์ธรรมพื้นเมืองที่มี ศรัทธานางค�าหน้อย พร้อมบุตรหลานได้มจี ติ ศรัทธาสร้างไว้ในพระพุทธ ศาสนาเมื่อวันขึ้น 8 ค�่าเดือนยี่ หรือปีมะเส็ง พ.ศ. 2412 อายุ 134 ปี และผนังยังเขียนภาพจิตรกรรมเรื่องพระเวสสันดรชาดก 13 กันฑ์ ลักษณะฝีมอื ช่างภาคกลางประมาณรัชกาลที ่ 3-4 ดูได้จากรูปปราสาท ราชวัง ประตูและก�าแพง และการแต่งกายในราชส�านัก มีภาพชาวยุโรป

ต่างชาติเป็นทหารหรือขุนนาง คนนุ่งโจงกระเบน และสอดแทรกภาพ ผู้หญิงคนพื้นบ้านนุ่งผ้าถุงไม่สวมเสื้อคล้องผ้าปิดส่วนสงวนถือไม้คาน หาบเปี้ยด (กระบุง) รูปกระท่อม ฯลฯ การที่มีภาพจิตรกรรมที่ผนัง แสดงถึงความส�าคัญของพระวิหารนีใ้ นอดีต ทีเ่ จ้าศรัทธาหรือเจ้าอาวาส วัดมีทนุ ทรัพย์จา้ งช่างจากกรุงเทพฯ หรือช่างในเขตภาคกลางมาท�างาน ได้ในครั้งนั้น วิหารหลังนี้สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ และพระเจ้า ลูกเธอเจ้าฟ้าจุฬาภรณ์วลัยลักษณ์ ได้เสด็จมาทอดพระเนตรภาพ จิตรกรรมนีแ้ ละได้ทรงให้อนุรกั ษ์ภาพนีไ้ ว้เพือ่ เป็นแหล่งข้อมูลของผูท้ ี่ สนใจได้ศกึ ษา วัดนีย้ งั มีหนองสระบริเวณหน้าพระวิหารและพระอุโบสถเดิม

เป็นสระดินที่มีขนาดกว้างมีน�้าใสเย็น ตามค�าบอกเล่าของคนโบราณ ว่าหนองสระนี้เป็นที่พญานาคขึ้นมาเล่นน�า้ ในวันเดือนเป็ง (วันเพ็ญ ขึ้น 15 ค�่า) ปัจจุบันหนองสระนี้มีขนาดเล็กและทางวัดได้ก่ออิฐและ ปรับภูมิทัศน์โดยรอบ และยังมีศาลาการเปรียญและอาคารอื่นอีก จ�านวนหนึง่ และทีก่ อ่ สร้างใหม่คอื วิหารเสาหินจ�าลอง เพือ่ ประดิษฐาน เสาหินจ�าลองทีส่ ร้างขึน้ มาเพือ่ เป็นสัญลักษณ์ของวัดและเป็นที่สักการ บูชาตามความเชื่อว่าเสาหินเดิมอยู่ใต้ฐานประดิษฐานในพระวิหาร ท�าให้บ้านเมืองล่มสลาย เมื่อใดมีเสาหินปรากฏในบริเวณวัดนี้ เมือง ที่ล่มสลายไปจะกลับฟื้นขึ้นมามีความเจริญรุ่งเรืองอีกครั้ง CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

97


History of buddhism....

วัดหนองป่าครั่ง “สพฺพตถ ทุกฺขสฺส สุขํ ปหานํ ละเหตุทุกข์ได้เป็นสุขในที่ทั้งปวง” ( พุทธพจน์) พระครูสุพัฒนกิจโสภณ (สุทิศ กุลวฑฺฒโน) เกษพรม ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาส

วั ด หนองป่ า ครั่ ง ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 18 ถนนวั ด หนองป่ า ครั่ ง ต� า บลหนองป่ า ครั่ ง อ� า เภอเมื อ งเชี ย งใหม่ จั ง หวั ด เชี ย งใหม่ เป็ น วั ด ราษฎร์ มี เ นื้ อ ที่ 4 ไร่ 83 ตารางวา ประวัติความเป็นมา วัดหนองป่าครัง่ สันนิษฐานน่าจะก่อสร้างขึน้ ประมาณ พ.ศ. 2395 ซึ่งพอมีหลักฐานแสดงให้เห็นก่อนที่จะมีการบูรณะซ่อมแซมคือเดิม มีองค์พระธาตุ สูงประมาณ 4-5 เมตร มีเครือเถาวัลย์และต้นไม้ ต้ น หญ้ า ขึ้ น ปกคลุ ม อยู ่ ต ลอดถึ ง กุ ฏิ และมี วิ ห ารสิ่ ง ปลู ก สร้ า ง อย่างเรียบง่ายหลังคามุงด้วยใบคา ปูพื้นด้วยไม้ไผ่จากนั้น พระปัญญา จากวั ด สั น ป่ า ข่ อ ย ได้ รั บ อาราธนามาปฏิ สั ง ขรณ์ ซึ่ ง ในขณะนั้ น 98

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


เข้ า ใจว่ า เป็ น วั ด ร้ า ง มาเป็ น องค์ โ ปรดเมตตาบุ ก เบิ ก ปฏิ สั ง ขรณ์ บูรณะซ่อมแซม องค์พระธาตุขึ้นมาใหม่ โดยพระธาตุมีความกว้าง 8 เมตร สูง 9.50 เมตร พร้อมทั้งบูรณะซ่อมแซม วิหารขึ้นมาใหม่ และก�าหนดให้มีการฉลองสมโภชสรงน�้าพระธาตุขึ้น โดยก�าหนดเอา วันขึ้น 15 ค�่า เดือน 9 เหนือของทุกๆ ปี เป็นงานท�าบุญจากนั้น ก็ ไ ด้ รั บ การบู ร ณปฏิ สั ง ขรณ์ จ ากท่ า นเจ้ า อาวาสรู ป ต่ อ ๆมาจนถึ ง รูปปัจจุบัน คือ ท่านพระครู สุพัฒนกิจโสภณ (สุทัศน์ กุลวฑฺฒโน) เกษพรม ซึง่ ท่านด�ารงต�าแหน่งเจ้าคณะต�าบลท่าศาลา-หนองป่าครัง่ ด้วย นอกจากนี้ทางวัดยังมีกู่อัฐิครูบาเจ้าศรีวิชัย ประดิษฐานอยู่หลัง อุโบสถ ซึ่งขอแบ่งมาจากวัดสวนดอก อ�าเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ เมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2549 โดยการน�าของ พระอธิการ อินสม โสรโต เจ้าอาวาสในขณะนั้น กับผ้าขาวดวงตาราม (หมายถึงอุบาสก ผู้รักษาศีลแปด) และคณะศรัทธาชาวบ้าน โดยมีการก�าหนดให้มี ประเพณีสรงน�้าพระธาตุ และกู่อัฐิครูบาเจ้าศรีวิชัยในวันขึ้น 15 ค�่า เดือน 9 เหนือ ของทุกปี แต่ เ ดิ ม นั้น วัด หนองป่าครั่ง มีเนื้อที่ต ามแนวก� า แพงประมาณ 2 ไร่เศษ ซึง่ เป็นเนือ้ ที ่ ทีค่ บั แคบประกอบกับความเจริญของบ้านเมือง ทางวัด โดยมีพระอธิการบุญทา โสริจนฺโท (ศรีพมิ พ์ชยั ) เป็นเจ้าอาวาส ได้ ท� า การขยายพื้ น ที่ อ อกไปทางทิ ศ ตะวั น ออกและทิ ศ ตะวั น ตก ตลอดจนถึงทางทิศเหนือ พร้อมทั้งท�าการบูรณะซ่อมแซมก่อสร้าง เสนาสนะต่างๆ เช่น วิหาร ศาลาการเปรียญ โรงครัว กุฏสิ งฆ์ หอระฆัง และอาคารเรี ย นของโรงเรี ย นประชาบาล จนกระทั่ ง เป็ น วั ด ที่ สมบู ร ณ์ ทั้ ง ทางด้ า นเสนาสนะเพี ย บพร้ อ มไปด้ ว ยวั ต รปฏิ บั ติ ข อง คณะสงฆ์อันงดงามตามพระธรรมวินัยแห่งองค์สมเด็จพระสัมมา สัมพุทธเจ้ามาจนถึงทุกวันนี้

ล�าดับเจ้าอาวาสเท่าที่ทราบนาม 1.พระปั ญ ญา (ไม่ ท ราบฉายา) มาจากส� า นั ก วั ด สั น ป่ า ข่ อ ย, 2.พระค� า ฝน, 3.พระอิ่ น แก้ ว , 4.พระบุ ญ หลง, 5.พระบุ ญ มา, 6.พระเมืองใจ๋, 7.พระอธิการอินสม โสรโต (สุยะใจ) ถึง พ.ศ. 2492 8.พระอธิ ก ารอิ น ทร ธมฺ ม วงฺ โ ส (วุ ฒ ศิ เ ฟย) พ.ศ. 2492–2497, 9.พระอธิการสมบูรณ์ สุภทฺโท (ต�่าแก้ว) พ.ศ. 2497 ถึง 26 มิถุนายน พ.ศ. 2509, 10. พระอธิการบุญทา สิรจิ นฺโท ( ศรีพมิ พ์ชยั ) 26 มิถนุ ายน พ.ศ. 2509 ถึง 19 มิถนุ ายน พ.ศ. 2520, 11.พระอธิการอนุกลู อุคคฺ เตโช ( กันทะวงศ์ ) 19 มิถุนายน พ.ศ. 2520 ถึง 9 มิถุนายน พ.ศ. 2525, 12.พระบุ ญ ชั ย ธมฺ ม าลโย (ชั ย ค� า ) 9 มิ ถุ น ายน พ.ศ. 2525 ถึ ง 3 ตุลาคม พ.ศ. 2525, 13. พระสินธุ์สวัสดิ์ ภูริวฑฺฒโน (ตุ่นแก้ว) 3 ตุลาคม พ.ศ. 2525 ถึง 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2526, 14. พระอธิการ สุทศั น์ กุลวฑฺฒโน (เกษพรม) 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2526 ถึงปัจจุบัน

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

99


History of buddhism....

วัดดาวดึงษ์ “ข้อปฏิบัติอันเป็นทางสายกลางนั้น คือข้อปฏิบัติอันเป็นหนทางอันประเสริฐ” พุทธพจน์ พระใบฎีกาชัชวาลย์ อริยะเมธี ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาส

100

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

วัดดาวดึงษ์ ตั้งอยู่เลขที่ 20 บ้านดาวดึงส์ ถนนราชเชียงแสน ต�าบลหายยา อ�าเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ เป็นวัดราษฎร์ สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2040 เดิมชื่อ วัดเมืองสาบ ชาวบ้านเรียกกันว่า วั ด บ้ า นดาวดึ ง ษ์ สั ง กั ด คณะสงฆ์ ม หานิ ก าย ได้ รั บ พระราชทาน วิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2516 เขตวิสุงคามสีมา กว้ า ง 20 เมตร ยาว 40 เมตร ที่ ดิ น ตั้ ง วั ด มี เ นื้ อ ที่ 4 ไร่ 1 งาน 10 ตารางวา ปัจจุบัน พระใบฎีกาชัชวาลย์ อริยะเมธี เป็นเจ้าอาวาส


อาณาเขต ทิศเหนือ ประมาณ 2 เส้น จดทางสาธารณะ ทิศใต้ประมาณ 1 เส้น 10 วา จดทางสาธารณะ ทิศตะวันออกประมาณ 1 เส้น 19 วา จดทางสาธารณะ ทิศตะวันตกประมาณ 3 เส้น 3 วา จดทางสาธารณะ อาคารเสนาสนะประกอบด้วย อุโบสถ ศาลาการเปรียญ กุฏิสงฆ์ และวิหาร

และมี อ านาปานสติ เ ป็ น เครื่ อ งอยู ่ คื อ มี ส ติ อ ยู ่ กั บ ลมหายใจเพื่ อ ขั ด เกลากิ เ ลสจนกว่ า จะถึ ง ที่ ห มายคื อ การดั บ ทุ ก ข์ โ ดยสิ้ น เชิ ง ดังพุทธพจน์ว่า ภิกษุทั้งหลาย! ข้อปฏิบัติเป็นทางสายกลาง (มัชฌิมาปฏิปทา) ที่ไม่ดิ่งไปหาสิ่งสุ ด โต่ ง สองอย่ า งนั้ น เป็ น ข้ อ ปฏิ บั ติ ที่ ต ถาคตได้ ตรั ส รู ้ เ ฉพาะแล้ ว เป็นข้อปฏิบัติท�าให้เกิดจักษุ เป็นข้อปฏิบัติท�าให้ เกิดญาณ เป็นไปเพือ่ ความสงบ เพือ่ ความรูอ้ นั ยิง่ เพือ่ ความตรัสรูพ้ ร้อม เพื่อนิพพาน ภิกษุทงั้ หลาย! ข้อปฏิบตั ทิ เี่ ป็นทางสายกลาง ทีไ่ ม่ดงิ่ ไปหาทีส่ ดุ โต่ง สองอย่างนั้น เป็นอย่างไรเล่า? ภิกษุทั้งหลาย! ข้อปฏิบัติอันเป็นทาง สายกลางนัน้ คือ ข้อปฏิบตั อิ นั เป็นหนทางอันประเสริฐ ประกอบอยูด่ ว้ ย องค์แปดประการ นี่เอง แปดประการ คืออะไรเล่า? คือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. (บาลี มหาวาร. ส�. ๑๙/๕๒๘/๑๖๖๔.) ปูชนียวัตถุ มีพระประธานก่อด้วยอิฐเป็นของโบราณ พระพุทธรูปทองเหลือง ปางมารวิชัย และเจดีย์ทรงล้านนา ปฏิปทาท่านเจ้าอาวาส พระใบฎีกาชัชวาลย์ อริยะเมธี เจ้าอาวาส เป็นพระปฏิบัติที่มุ่งสู่ ความพ้นทุกข์ตามรอยองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ท่านให้ ด�าเนินชีวติ ตามรอยอริยมรรคมีองค์แปดประการ หมัน่ พิจารณากายใจ

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

101


History of buddhism....

วัดหม้อคำ�ตวง สักการบูชา “พระเจ้าทันใจ” อายุกว่า 700 ปี รักษาศีล 5 สมปรารถนาทุกประการ พระครูประภัศร์สุตกิจ ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาส

102

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

วั ด หม้ อ ค� า ตวง ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 119 ต� า บลศรี ภู มิ อ� า เภอเมื อ ง จังหวัดเชียงใหม่ สร้างขึ้นเมื่อประมาณปี พ.ศ. 2019 ในรัชสมัย พระเจ้ า ติ โ ลกราช กษั ต ริ ย ์ ล ้ า นนา องค์ ท่ี 9 แห่งราชวงศ์มังราย ซึ่งถือเป็นยุคทองของล้านนาในทุกเรื่อง อาทิ เช่น การพระศาสนา การเมือง การปกครอง และศิลปวัฒนธรรม เป็นวัดราษฎร์ สังกัด คณะสงฆ์ “มหานิ ก าย” ที่ดิน ตั้ง วั ด มี 2 ไร่ 2 งาน 53 ตารางวา ทิ ศ เหนื อ จดถนนศรี ภู มิ ทิ ศ ใต้ จ ดทางสาธารณะ ทิ ศ ตะวั น ออก จดถนนศรีภูมิ ซอย 5 ทิศตะวันตกจดถนนศรีภูมิ ซอย 6 อาคารเสนาสนะ ประกอบด้วยอุโบสถ เจดีย์ วิหาร กุฏิสงฆ์ 2 ชั้น ศาลาการเปรียญ 2 หลัง ศาลาสรงน�้าพระเจ้าทันใจ ศาลาราย ปูชนียวัตถุที่ส�าคัญ ของวัด คือ พระพุทธรูปชื่อ “ กิตติลาภมงคล” สร้างด้วยอิฐถือปูน หน้าตักกว้างประมาณ 5 ศอก สูงประมาณ 8 ศอก ปางมารวิชัย ประดิษฐานอยู่ในวิหาร มีอายุ 200 กว่าปี


ประวัติความเป็นมา เดิมวัดแห่งนีช้ อื่ “วัดหมืน่ ตวงค�า” หรือ วัดหมืน่ ค�าตวง ตัง้ ชือ่ ตาม ฐานันดรศักดิข์ องผูส้ ร้าง เพราะผูส้ ร้างมีฐานันดรศักดิย์ ศระดับชัน้ หมืน่ มีหน้าที่ตีทอง หลอมทอง เพื่อถวายแก่กษัตริย์ล้านนา ต่อมาได้มีการ เปลี่ยนแปลงชื่อวัดจากเดิมมาเป็นชื่อ “วัดหม้อค�าตวง” จนมาถึง ปัจจุบัน ซึ่งค�าว่า “หม้อค�าตวง” หมายถึง “หมื้อทองค�า” ส�าหรับ ตวงเงินตวงทอง ปูชนียสถานที่ส�าคัญภายในวัด 1. พระอุโบสถ ทางเข้าขนาบด้วยนาคปูนปั้น หน้าบันปูพื้นด้วย กระจกสีฟ้า 2. พระวิหารหลวง สถาปัตยกรรมล้านนา หน้าบันประดับด้วย ลายพรรณพฤกษาสีทองได้อย่างงดงาม ภายในเป็นที่ประดิษฐาน ของพระพุทธรูปประธานปางมารวิชัย 3. พระเจดีย์ฐานทางแปดเหลี่ยม ศิลปะแบบล้านนาในยุคหลัง

จุดเด่น วัดหม้อค�าตวง (Wat Mo Kham Tuang) พระพุทธรูปทันใจ (พระเจ้าทันใจ) มีทงั้ หมด 3 องค์ เป็นพระพุทธรูป ทีม่ ลี กั ษณะงดงามมากตามศิลปะอันเก่าแก่ ปางมารวิชยั องค์พระหุม้ ด้วย ทองค�า องค์ใหญ่หน้าตักกว้าง 4 นิว้ สูงจากฐานล่างถึงยอดโมลี 12 นิว้ องค์กลางหน้าตักกว้าง 3 นิ้ว สูงจากฐานล่างถึงยอดโมลี 7.5 นิ้ว เป็นพระเก่าแก่ มีอายุราว 700 ปี ศักดิ์สิทธิ์มาก ผู้ใดได้มากราบไหว้ สักการบูชา แล้วปรารถนาสิง่ หนึง่ ประการใด อันไม่ผดิ จากท�านองคลองธรรม จะสมปรารถนาทันอกทันใจทุกประการ วัดหม้อค�าตวง เป็นวัดนามมงคล ภายใต้โครงการพัฒนาแหล่งท่องเทีย่ ว เพื่อส่งเสริมการขยายตลาดการท่องเที่ยวปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 จังหวัดเชียงใหม่ กิจกรรมปรับภูมิทัศน์แหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

103


History of buddhism....

วัดศรีโขง ใต้ร่มโพธิ์พฤกษ์แห่งพระมหากรุณา ขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระครูใบฎีกาสมพร โอภาโส ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาส

วัดศรีโขง สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2410 จนถึงปัจจุบัน ปีพ.ศ. 2562 มีอายุรวม 152 ปี ตั้งอยู่เลขที่ 264 ถนนเจริญราษฎร์ ต�าบลวัดเกต อ�าเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีเนื้อที่ 2 ไร่ 71 ตารางวา โดยมีพระครูใบฎีกาสมพร โอภาโส เป็นเจ้าอาวาส ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2559-ปัจจุบัน

104

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


อาณาเขต ส่วนตรงข้ามกับประตูวดั ทางทิศตะวันตก ซึง่ เป็นหลังวัด มีท่าน�้าใหญ่ติดกับน�้าแม่ปิง ผู้คนเรียกว่า ท่าศรีโขง ด้านเหนือติดกับ คุ้มเจ้าราชบุตร (วงศ์ตะวัน) เดิมทิศใต้ติดกับที่ชาวบ้านเดิมเป็นที่ขึ้น ขอนไม้สักที่ไหลมาตามน�้าแม่ปิงจุดหนึ่ง ปัจจุบันเอกชนสัมปทานเป็น ท่าเรือเพือ่ การท่องเทีย่ วใช้ชอื่ ว่า ท่าเรือหางแมงป่อง ปัจจุบนั เปลีย่ นเป็น ท่าเรือปิงนาคา (จากหนังสือ “วัดส�าคัญของนครเชียงใหม่” เล่ม 3 จัดพิมพ์โดย ศูนย์ศิลปวัฒนธรรมสถาบันราชภัฎเชียงใหม่ ร่วมกับ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ และ หน่วยอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ศิ ล ปกรรมท้องถิ่น จัง หวัด เชียงใหม่ เมื่อปี พ.ศ. 2536 หน้ า 83) ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2499 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 10 เมตร ยาว 14 เมตร

ประวัติความเป็นมา ค�าว่า ศรีโขง เล่ากันว่า เนื่องมาจากเดิมบริเวณที่เป็นพระเจดีย์ ของวัดศรีโขงนี ้ เคยมีตน้ ไม้สรีหลวง คือ ต้นโพธิใ์ หญ่ขนาดทีค่ น 20 คน สามารถเข้าไปหลบฝนได้เลยทีเดียว ความจริงค�าว่า สรี หมายถึง ต้นโพธิ์นี้ คนเมืองเขียนตามหลัก ภาษาบาลี อ่านออกเสียงว่า สะ-หลี ภายหลังเขียนตามรูปภาษา สันสกฤตเป็น ศรี จึงท�าให้ความหมายเปลี่ยนไป ต่อมามีการสร้างวัด ขึน้ มาและมีโยมอุปฏั ฐากท่านหนึง่ ในบรรดาหลายๆ ท่าน คือ แม่บญ ุ ศรี กระแสชัย ภรรยาของนายเตีย๋ เช้ง กระแสชัย (แซ่ตนั ) ลูกสาวคนสุดท้าย ของหลวงสุนทรโวหารกิจ (บุญถึง แซ่โค้ว) กับนายยิม้ ลูกหลานแม่บญุ ศรี ใช้นามสกุลกระแสชัย สุรยิ า มีชกู ลุ ศิรพิ งษ์ และหนึง่ ในบรรดาลูกๆ ของท่าน คือ อาจารย์วทิ ยา กระแสชัย เทศมนตรีเทศบาลนครเชียงใหม่ ในอดีต

ในยุคหลวงตาป้อมเป็นเจ้าอาวาส มีการสอนพระพุทธศาสนา วันอาทิตย์ โดยสอนบาลี มีพระมหาพร รตนวณโณ (อาจารย์พร รัตนสุวรรณ) พระมหาเฉวียงเป็นผู้สอน มีนางสาวสมบุญ เธียรสิริ เป็นผู้ให้การ สนับสนุน มีพระมหาวิเชียร มาสอนวิปัสสนา จนถึงเจ้าอาวาสพระครู สุภัทร์รัตนโชติ (ครูบาอิ่นแก้ว โพธิ) มรณภาพลง ปัจจุบันในยุคของ พระครูใบฏีกาสมพร โอภาโส เป็นเจ้าอาวาส ท่านได้บา� เพ็ญสมณธรรมตามพระธรรมวินยั ขององค์พระสัมมาสัมพุทธ เจ้ามาโดยตลอด และได้สร้างพระเณรเป็นพุทธบุตรพุทธบูชาแด่องค์ สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ในการปฏิบัติขัดเกลาตนเป็นแบบอย่าง ให้กบั ญาติโยมทีม่ าท�าบุญ ปฏิบตั ธิ รรม ได้ดา� เนินรอยตามครูบาอาจารย์ และพระพุทธองค์ไปจนกว่าจะสิ้นทุกข์ในสังสารวัฏ ผูอ้ า� นวยการโรงเรียนเชตุพนศึกษา (ในพระสังฆราชูปถัมภ์) มอบทุนการศึกษา

ติดต่อเจ้าอาวาสวัดศรีโขง โทร 081 746 8783, 089 956 8993 CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

105


History of buddhism....

วัดดวงดี “วัดงามนามมงคล อยู่เย็นเป็นสุข” พระปลัดอาทิตย์ เจ้าคณะต�าบลศรีภูมิ เขต 2 , เจ้าอาวาสวัดดวงดี

วัดดวงดี ตัง้ อยูบ่ า้ นเลขที่ 228 ถนนพระปกเกล้า ต�าบลศรีภมู ิ อ�าเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ มีเนือ้ ทีป่ ระมาณ 2 ไร่ 1 งาน 26 ตารางวา เป็นวัดที่ มีสถาปัตยกรรมไม้แกะสลักทีส่ วยงาม ประวัตขิ องวัดไม่เป็นทีป่ รากฏแน่ชดั นัก แต่ตามหลักฐานทีท่ างอดีตเจ้าอาวาส (พระอธิการบุญชู อภิปญ ุ โฺ ญ) ได้ขอให้คุณปวงค�า ตุ้ยเขียว ค้นคว้าและเรียบเรียงประวัติวัดดวงดี เพราะเป็นวัดเก่าแก่แห่งหนึ่งของนครเชียงใหม่ ในปี พ.ศ. 2513 คุณปวงค�า ได้เป็นผูช้ ว่ ยวิจยั ในโครงการวิจยั ค�าจารึกบนฐานพระพุทธรูป ในต�าบลศรีภมู กิ บั ต�าบลพระสิงห์ โดยมี ดร.ฮันส์ เพนธ์ เป็นหัวหน้า ซึง่ ได้พบค�าจารึก บนฐานพระพุทธรูปโลหะองค์หนึ่ง ประดิษฐานอยู่ในวิหาร จารึกด้วยอักษรไทยยวน มีความว่า “สกราชได้ 859 ปีวายสี พระเจ้าตนนีแสนนืงไว้วัดต้นมกเหนือ”(จ.ศ.858 พ.ศ.2039 สมัยพระเจ้ายอดเชียงรายครองเมืองเชียงใหม่) วัดดวงดีมชี อื่ เรียกอีกอย่างคือ วัดต้นมกเหนือ หรือวัดต้นหมากเหนือ สร้างขึ้นภายหลังที่พญามังรายสร้างเมืองเชียงใหม่แล้ว และคงมี เจ้านายเมืองเชียงใหม่คนหนึ่งเป็นผู้สร้าง ต�านานพื้นเมืองเชียงใหม่ กล่าวถึงวัดดวงดี เมือ่ พ.ศ.2304 พระภิกษุวดั นี ้ ได้รบั นิมนต์ให้ขนึ้ ครอง เมืองเชียงใหม่ ซึ่งเป็นช่วงเวลาสั้นๆ ที่เชียงใหม่เป็นอิสระ ก่อนที่พม่า จะกลับเข้ามาปกครองอีกครั้งหนึ่ง (พ.ศ. 2306-2317) ลุจุลศักราช 1136 ในปีพ.ศ. 2317 พระเจ้ากาวิละ ซึ่งได้รับการสนับสนุนจาก

106

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

กองทัพพระเจ้ากรุงธนบุร ี สามารถยึดเมืองเชียงใหม่คนื จากพม่าได้ เมือ่ วันอาทิตย์ขึ้น 15 ค�่า เดือนห้าเหนือ เมืองเชียงใหม่จึงเจริญรุ่งเรือง จนถึงปัจจุบัน วัดนี้เคยใช้เป็นส�านักเรียนส�าหรับลูกเจ้าขุนมูลนายใน สมั ย ก่ อ น และยั ง เคยถู ก ใช้ เ ป็ น สถานที่เรี ย นของนักเรียนยุพราช วิทยาลัยก่อนที่จะมีการก่อสร้างแล้วเสร็จอีกด้วย (ในปีพ.ศ. 2362 วัดดวงดีได้มกี ารบูรณะเสนาสนะภายในวัดและฉลองสมโภช ซึง่ ตรงกับ สมัยพระญาธรรมลังกา เจ้าหลวงเชียงใหม่องค์ที่ 2)


ปูชนียสถานทีส่ า� คัญของวัดซึง่ เป็นมรดกล�า้ ค่า โดยกรมศิลปกร ได้ประกาศขึน้ ทะเบียน เป็นโบราณสถานแห่งชาติ ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 76 ตอนที่ 108 ลงวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2522 รวม 4 รายการ คือ 1. วิหาร จากหนังสือประวัตวิ ดั ดวงดี พิมพ์เมือ่ พ.ศ. 2515 กล่าวว่า แม่เจ้าจันทน์หอมเป็นผูค้ ดิ สร้าง แต่ไม่ทราบปีทสี่ ร้าง แต่พระเทพวรสิทธาจารย์ อดีตเจ้าคณะเชียงใหม่ รูปที ่ 8 เมือ่ ครัง้ ด�ารงสมศักดิเ์ ป็น เจ้าคุณอุดมวุฒคิ ณ ุ รองเจ้าคณะเชียงใหม่ บอกว่าเจ้าอินทรวโรรสสุรยิ วงศ์ (น้อยสุรยิ ะ) เป็น ผูส้ ร้าง แต่ไม่ปรากฏปีสร้างแน่ชดั ในปี พ.ศ. 2549 กรมศิลปกร ได้ทา� การ บูรณปฏิสังขรณ์ตามรูปแบบเดิม เพื่อถวายเป็นพระราชกุศลเนื่องใน วโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงครองสิริราชย์ครบ 60 ปี และทรงพระชนมายุครบ 80 พรรษา ในปี พ.ศ. 2550 ลักษณะวิหาร เป็นวิหารแบบล้านนา ที่ได้รับอิทธิพล สถาปัตยกรรมต้นรัตนโกสินทร์ คุณค่าของวิหารแห่งนีอ้ ยูท่ ลี่ วดลายแกะสลักไม้ประดับสถาปัตยกรรม เช่น ค�้ายันหูช้างแกะเป็นลวดลายสวยงาม รวมทั้งลวดลายแกะสลัก เหนือกรอบประตูทางสถาปัตยกรรม 2. อุโบสถ ไม่ปรากฏปีทสี่ ร้างและผูท้ สี่ ร้าง ลักษณะเป็นแบบพืน้ เมือง ล้านนาที่มีแบบอย่างทางสถาปัตยกรรมและลวดลายประดับตกแต่ง ที่งดงาม รูปทรงโบสถ์มีขนาดเล็กหลังคาซ้อนชั้นแบบล้านนา 2 ชั้น หน้าบันและลวดลายตกแต่งแกะสลักปิดทองประดับกระจก ค�้ายัน หูช้างแกะสลักไม้เป็นลวดลาย มีใบเสมาปักโดยรอบ 3. พระเจดีย ์ หนังสือประวัตวิ ดั ดวงดีพมิ พ์เมือ่ พ.ศ. 2515 กล่าว ว่าพระมหาเกสระอดีตเจ้าอาวาสเป็นผู้คิดสร้างไม่ปรากฏปีที่สร้าง ลักษณะส�าคัญของพระเจดีย์องค์นี้คือ ฐานสี่เหลี่ยมย่อเก็จมีช้างที่มุม ทั้ง 4 แต่เข้าใจว่ามาเพิ่มเติมทีหลังเพราะลักษณะไม่สัมพันธ์กับองค์ เจดีย ์ ถัดฐานสีเ่ หลีย่ มย่อเก็จขึน้ ไปเป็นชีพมาลัยเถา ๘ เหลีย่ ม องค์ระฆังกลม บัลลังก์ ปล้องไฉน และปลียอด

4. หอไตร ท�าเป็นทรงแบบมณฑป มีหลังคาย่อ ซ้อนกัน 3 ชั้น หน้าต่างท�าเป็นซุม้ อยูโ่ ดยรอบ จากสมุดข่อย “ปับ๊ หลัน่ ” ทีบ่ นั ทึกด้วย อักษรไทยยวนกล่าวว่าเจ้ามหาอุปราชมหาวงศ์ เป็นผูส้ ร้างเมือ่ จ.ศ. 1191 (พ.ศ. 2372) สร้างเดือน 7เหนือ แรม 11ค�า่ หลังจากสร้างหอไตรถวาย วัดดวงดีเสร็จ ก็ได้รบั การแต่งตัง้ ให้เป็นเจ้าเมืองเชียงใหม่ องค์ท ี่ 5 ของ เชื้อเจ้า 7 องค์ ลักษณะทรวดทรงเป็นหอไตรทรงมณฑปที่เป็นแบบ พื้นเมืองล้านนา ตัวหอไตรทรงสี่เหลี่ยมก่ออิฐถือปูน ส่วนหลังคาหรือ ยอดเป็นทรงมณฑปหลังคาซ้อนลดหลัน่ กัน 3 ชัน้ ประดับด้วยลวดลาย ตรงบริเวณสันหลังคา นอกจากนัน้ อาคารกุฏคิ รึง่ ปูนครึง่ ไม้ เป็นอาคารเก่าทีม่ คี ณ ุ ค่าอีก อาคาร สร้างใน ปี พ.ศ. 2473 โดยพระอธิการอินตา วัดดวงดีมีพระพุทธรูปซึ่งถือว่าเก่าแก่อยู่คู่กับวัด สันนิษฐานว่า สร้างขึ้นโดยเจ้านายเมืองเชียงใหม่คนใดคนหนึ่ง แต่ไม่ทราบนามโดย ชัดเจน ประมาณในปี พ.ศ. 2039 โดยความที่ พระพุทธรูปองค์นี้อยู่คู่ กับวัดดวงดีมาเป็นเวลาช้านาน จึงเป็นที่เคารพสักการะของคนทั่วไป โดยมักเข้ามากราบนมัสการขอพร ตามคติความเชื่อที่ว่าจะให้การ ด�าเนินชีวติ เป็นไปอย่างปกติสขุ จึงได้ชอื่ ว่าพระพุทธรูปดวงดี ตามนาม ของวัด ประวัติเจ้าอาวาส พอสังเขป พระปลัดอาทิตย์ ฉายา อภิวฑฺฒโน อายุ 52 พรรษา 31 น.ธ. เอก วุฒิการศึกษา ศาสนศาสตรบัณฑิต วัดดวงดี ต�าบลศรีภูมิ เขต 2 อ�าเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ ปัจจุบันด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาสวัดดวงดี, เจ้าคณะต�าบลศรีภูมิ เขต 2

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

107


History of buddhism....

วัดบวกครกน้อย “ลานวัด ลานใจ ลานบุญ” วัดแห่งการพัฒนาเพื่อชุมชน พระสมุห์กฤษฎา ฉายา ปภสฺสโร เจ้าอาวาส

วั ด บวกครกน้ อ ย ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 1 หมู ่ 2 ต� า บลหนองป่ า ครั่ ง อ�าเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ สร้างขึน้ เมือ่ ประมาณปี พ.ศ. 2345 จากหลักฐานจารึกที่ปรากฏในคัมภีร์ใบลานเก่า เดิมมีเนื้อที่ 4 ไร่ 3 งาน 56 ตารางวา ต่อมาขยายเพิ่มใหม่อีก 1 ไร่ 1 งาน 16 ตารางวา รวมทั้งหมด 6 ไร่ 32 ตารางวา โดย วัดบวกครกน้อยแยกออกมาสร้าง ใหม่จากวัดเดิมคือ “วัดบวกครกหลวง” โดยมีสภาพพื้นที่เป็นแอ่งลึก คล้ายก้นครกและเป็นท้องทุง่ นากระจัดกระจายไปด้วยทีน่ อนพักผ่อน ของวัวควายเรียกว่าปรัก ภาษาเหนือเรียกว่า บวก จึงเรียกว่า บวกครกน้อย และเป็นวัดพี่วัดน้องกัน ปัจจุบนั วัดบวกครกน้อย เป็นศูนย์ปฏิบตั ธิ รรมเพือ่ อนุรกั ษ์ประเพณี วัฒนธรรม สืบสาน ภูมปิ ญั ญาท้องถิน่ ธรรมชาติสงิ่ แวดล้อม ค่ายจริยธรรม สภาวัฒนธรรม เศรษฐกิจพอเพียง ชุมชนเข้มแข็ง ชมรมผู้สูงอายุ ศูนย์พัฒนาครอบครัว ซึ่งประสานความร่วมมือกันกับเทศบาลต�าบล หนองป่าครั่ง ปูชนียสถานและปูชนียวัตถุส�าคัญ พระเจดียเ์ อนไม่ลม้ (เจดียเ์ อียง) องค์เดิมมีอายุประมาณ 200 กว่าปี แล้วช�ารุดทรุดโทรมปลักหักพังไปตามกาลเวลา ต่อมาได้สร้างพระเจดีย์ องค์ใหม่ครอบไว้เมือ่ ปี พ.ศ. 2458 ศิลปะช่างล้านนาสกุลช่างหริภญ ุ ชัย ทรงระฆังคว�า่ ก่ออิฐทึบ ฐานไม้ยอ่ มุม 12 กลางองค์พระเจดียท์ งั้ 4 ด้าน 108

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

มีช่องประดิษฐานพระพุทธรูปปางห้ามญาติปูนปั้น 4 องค์ มีดวงไฟ พระธาตุปรากฏในวันส�าคัญทางศาสนาศักดิ์สิทธิ์ อัศจรรย์มาก พระเจ้าแสนสุข (มหาสิทธิโชค) เป็นพระพุทธรูปปูนปัน้ ลงรักปิดทองแท้ ศิลปะเชียงใหม่สิงห์สาม พระประธานเก่าแก่ศักดิ์สิทธิ์อายุประมาณ 300 กว่าปี มีพระพักตร์ยิ้ม สวยสดงดงามเอิบอิ่มยิ้มแย้มแจ่มใส เล่าลือกันว่าเมื่อผู้ใดได้มากราบไหว้สวดมนต์ ปฏิบัติธรรมน้อมน�า ภาวนาอธิษฐานจิตขอพรโชคลาภก็จะประสบสุขสมหวังทุกอย่าง พระเจ้าฝนแสนห่า (พระเจ้าจุม้ เนือ้ เย็นใจ๋) เป็นพระพุทธรูปโบราณ เนื้อโลหะทองเหลือง ศิลปะเชียงใหม่สิงห์สามหน้าตักกว้าง 7 นิ้ว สูง 16 นิ้ว เก่าแก่ ศักดิ์สิทธิ์ คู่วัดวามาดั้งเดิม จะอัญเชิญประดิษฐาน บนบุษบกขบวนรถแห่รอบหมู่บ้าน ต�าบลในงานประเพณีสงกรานต์ วันที่ 13-15 เมษายน ของทุกปี


พระเจ้าทันใจ เป็นพระพุทธรูปหล่อใหม่เนือ้ โลหะทองเหลืองลงรัก ปิดทองประดิษฐานในวิหารเล็กใต้ต้นโพธิ์อินเดีย ติดบ่อน�้าเก่าแก่ โบราณ เปิดโอกาสสาธุชนมากราบไหว้สักการบูชา เสนาสนะภายในวัด มีดังนี้ วิหารพระเจ้าแสนสุขหรือมหาสิทธิโชค, อุโบสถวิมุติธรรม, ศาลา การเปรียญ, ศาลาครูบาศรีวชิ ยั , พลับพลาสมเด็จพระนเรศวรมหาราช, เทวาลัยพระพิฆเนศ, ซุ้มประตูโขงเอกยิ่งใหญ่อลังการในประเทศไทย, วิหารไม้สกั สามมุขรวมศิลปะครูบาเจ้าศรีวชิ ยั , กุฏสิ งฆ์ จ�านวน 3 หลัง, โรงครัว และ ห้องสุขา ประวัติท่านเจ้าอาวาสพอสังเขป พระสมุหก์ ฤษฎา ฉายา ปภสฺสโร เกิดวันที ่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2502 อายุ 61 พรรษา 41 น.ธ.เอก วิทยฐานะ ปริญาตรี ได้รับการแต่งตั้ง เป็นเจ้าอาวาสวัดบวกครกน้อยเมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2561 ความช�านาญพิเศษ 1. เทศนา (แบบพืน้ เมืองเหนือ) 2. ช�านาญพิธกี รรมล้านนา 3. ช�านาญการโหราศาสตร์ 4. ปาฐกถาธรรม (เทศน์บรรยาย) 5. ด้านการสอนภาษาอักขระล้านนา 6. เป็นองค์สวดพระปาติโมกข์ 7. เป็นพระกรรมวาจาจารย์ ประจ�าต�าบลท่าศาลา-หนองป่าครัง่ งานการปกครอง พ.ศ. 2559 เป็ น ผู ้ รัก ษาการแทนเจ้ า อาวาสวัดบวกครกน้อย ต�าบลหนองป่าครั่ง อ�าเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ งานด้านการศึกษา พ.ศ. 2559 เป็นคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนชุมชน บ้านบวกครกน้อย พ.ศ. 2559 เป็นคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนอนุบาล หนองป่าครั่ง (ครั้งที่ 1-2) พ.ศ. 2559 เป็นกรรมการคุมสอบธรรมสนามหลวง ณ วัดดอนจั่น ต�าบลท่าศาลา อ�าเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ งานประเพณีประจ�าปีวัดบวกครกน้อย 1. บวชสามเณรภาคฤดูร้อนเดือน มีนาคม–เมษายน 2. ประเพณีสงกรานต์ วันที่ 13–16 เมษายน 3. ประเพณีกวนข้าวมธุปรายาส เดือน 6 ใต้ เดือน 8 เหนือ 4. ประเพณีสรงน�้าพระธาตุ เดือน 7 ใต้ เดือน 9 เหนือ 5. เข้าพรรษา–ออกพรรษา 6. ประเพณียี่เป็ง (เทศน์มหาชาติ) 7. สวดมนต์ข้ามปี ส่งท้ายปีเก่า ต้อนรับปีใหม่ ท�าบุญตักบาตร 8. ประเพณี ตักบาตรเทโว 9. ประเพณีตักบาตรเป็งปุ๊ด CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

109


History of buddhism....

วัดป่าพร้าวนอก สักการบูชา “หลวงพ่อสำเร็จ พระพุทธสิทธิผลมงคลมุนี” พลังแห่งความสำเร็จในชีวิต พระครูศรีธรรมคุณ (นรินทร์ ชุตนิ ธฺ โร ป.ธ.7) ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาส

วัดป่าพร้าวนอก ตั้งอยู่เลขที่ 111 บ้านป่าพร้าวนอก หมู่ที่ 2 ต�าบลป่าแดด อ�าเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ สังกัดคณะสงฆ์ มหานิกาย ที่ดินตั้งวัดมีเนื้อที่ 5 ไร่ 17 ตารางวา โฉนดเลขที่ 34665 สร้างเมื่อพ.ศ. 2390 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อวันที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2491 เขตวิสุคามสีมากว้าง 40 เมตร ยาว 80 เมตร อาคารเสนาสนะ อุโบสถ ศาลาการเปรียญ กุฏิสงฆ์ วิหาร และหอไตร ปูชนียวัตถุมี เจดีย์ ศิลปะล้านนาผสมพม่า และพระพุทธรูปก่ออิฐ การบริหารและการปกครอง มีเจ้าอาวาสเท่าที่ทราบนามคือ รูปที่ 1 พระครูบาโปธา, รูปที่ 2 พระครูบาญาณะ, รูปที่ 3 พระครูบาค�าปัน, รูปที่ 4 พระครูบากันธิยะ, รูปที ่ 5 พระอินทนนท์ (พระค�าหล้า)} รูปที ่ 6 พระอินทจักร (พระเป๊ก), รูปที่ 7 พระครูสุคนธ์จันทนคุณ (จันทร์แก้ว คนฺโธ) พ.ศ.2477–2530, รูปที่ 8 พระใบฎีกาโสภณ กิตฺติภทฺโท พ.ศ.2531–2538 ,รูปที่ 9 พระครูศรีธรรมคุณ (นรินทร์ ชุตินฺธโร ป.ธ.7) พ.ศ.2539–ปัจจุบัน 110

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

ประวัติความเป็นมา ตามค�าบอกเล่าของคนเฒ่าคนแก่วา่ บ้านป่าพร้าว เริม่ มีมาตัง้ แต่สมัย พระยากาวิละ และ พระมหาอุปราชธรรมลังกา ไปเกณฑ์เอาไพร่พล และชาวบ้านชาวไตลือ้ ชาวไตเขินมาพักไว้ในเชียงใหม่ในยุค “เก็บผักใส่ซา้ เก็บข้าใส่เมือง” ราวปีจุลศักราช 1160 ตรงกับปี พ.ศ. 2341 ชาวบ้าน ในสมัยนัน้ ส่วนใหญ่เป็นชาวเขินและมีชาวเงีย้ ว (ไทยใหญ่) ปะปนอยูด่ ว้ ย ไม่กี่คน มาอาศัยอยู่บริเวณที่ลาบลุ่มป่าต้นมะพร้าว ด้านทิศตะวันตก ของแม่นา�้ ปิง มีอาชีพหลักคือการท�านา ท�าสวน อาชีพรองคือ ปัน้ หม้อดิน ปั้นโอ่งขายเป็นอาชีพเสริม จึงมีชื่อเรียกว่าบ้านป่าพร้าวช่างหม้อ หลังจากมาตั้งรกรากอยู่บริเวณนี้ไม่นาน เมื่อชาวบ้านมีที่อยู่ที่ท�า กินมั่นคงแล้ว ด้วยความเป็นผู้มีศรัทธามั่นคงในพระพุทธศาสนาจึงมี ความคิดริเริม่ สร้างวัดเป็นจุดศูนย์รวมจิตใจ โดยมีนายกวาด ยีป่ ว้ิ ชาวเงีย้ ว


พ.ศ. 2500 สมัยพระครูสุคนธ์จันทนคุณ เจ้าอาวาสรูปที่ 7 วิหารและ พระประธานได้ช�ารุดทรุดโทรมไปตามกาลเวลา จึงได้มีการบูรณะ ปฏิสงั ขรณ์วหิ ารครัง้ ใหญ่ ต่อมาปี พ.ศ. 2530 ได้ทา� การบูรณปฏิสงั ขรณ์ เป็นครั้งที่ 2 มาจนถึงปัจจุบัน (ไทยใหญ่) เป็นผู้ชักชวนชาวบ้านเลือกบริเวณที่รกร้างป่าต้นมะพร้าว ทีไ่ ปขุดเอาดินมาปัน้ หม้อปัน้ โอ่งขาย ช่วยกันท�าการโค่นล้มต้นมะพร้าว และแผ้วถางที่รกร้างแล้วสร้างเป็นวัดขึ้นมา (จากการสันนิฐานและ ค�าบอกเล่าของคนเฒ่าคนแก่ว่า วัดสร้างมาก่อนพ.ศ. 2390) เรียกว่า วัดขุมค�าก็มี วัดป่าพร้าวขุมค�าก็มี สาเหตุทตี่ อ้ งเรียกว่า “วัดป่าพร้าวแล้วมีชอื่ สร้อยตามว่า ขุมค�าหรือ ช่างหม้อ” นัน้ เพราะยังมีบา้ นป่าพร้าวและวัดป่าพร้าวอีกวัดหนึง่ ในเขต ก�าแพงเมืองชั้นใน ในเริ่มแรกสร้างวัดมีเพียงกุฏิ วิหาร และพระพุทธรูปประธานใน วิหารองค์ใหญ่องค์เดียว ประดิษฐานภายในซุม้ ดอกไม้ ศิลปะไทยใหญ่ โดยช่างชาวไทยใหญ่ เมื่อก่อสร้างวัดเสร็จ ชาวบ้านจึงพร้อมใจกันไป กราบนิมนต์พระครูบาโปธา (ไม่ปรากฏว่านิมนต์มาจากทีใ่ ด) มาอยูป่ ระจ�า และเป็นเจ้าอาวาสรูปแรกเรื่อยมาเป็นเวลานานกว่าจะได้ขึ้นทะเบียน เป็นวัดในเวลาต่อมา และเมื่อมีการจัดระเบียบการปกครองบ้านเมือง เป็นระบบมากขึน้ มีการแบ่งเขตการปกครองเป็นในเขตเมืองและนอก เขตเมือง เพราะเหตุทวี่ ดั ป่าพร้าวขุมค�าหรือวัดป่าพร้าวช่างหม้อตัง้ อยู่ ภายนอกเขตก�าแพงเมือง จึงถูกขึน้ ทะเบียนและใช้เรียกเป็นทางการว่า วัดป่าพร้าวนอก มาจวบจนถึงปัจจุบัน วิหารหลังปัจบุ นั นีก้ อ่ สร้างขึน้ ในรัชสมัยของพระเจ้าอินทวิชยานนท์ เจ้าผูค้ รองนครเชียงใหม่องค์ท ี่ 7 (พ.ศ. 2416–2440) ได้จดั ถวายหอวัง ของพระชายาเจ้าแม่บัวทิพย์ (เจ้าทิพย์เกสรหรือเทพไกรสร) 1 หลัง เพือ่ ให้นา� มาสร้างวิหารแทนหลังเก่าทีน่ ายกวาด ยีป่ ว้ิ ได้สร้างไว้ ต่อมา

“หลวงพ่อส�าเร็จ พระพุทธสิทธิผลมงคลมุนี” พระพุทธรูปผู้ยังประโยชน์ให้ส�าเร็จ พระพุทธประธานภายในวิหาร คือ หลวงพ่อส�าเร็จ เป็นพระพุทธรูป ก่ออิฐถือปูนทาสีขาวทั้งองค์ ศิลปะแบบไทยประดิษฐานอยู่ด้านหน้า ซุ้มดอกไม้ปูนปั้นศิลปะแบบไทยใหญ่ที่มีมาแต่เดิมเมื่อครั้งก่อสร้าง วิหารหลังเก่า ส่วนองค์พระพุทธรูปชาวบ้านเล่าว่า ได้ท�าการบูรณะ แก้ไขตกแต่งใหม่ เพือ่ ให้มพี ระพักตร์งดงามกว่าเดิม มีพระเนตรทีเ่ ปีย่ ม ด้วยเมตตา เมื่อครั้งปฏิสังขรณ์วิหารในปี พ.ศ.2500 ทีม่ าของชือ่ ทีเ่ รียกว่า “หลวงพ่อส�าเร็จ” เนือ่ งจากความเชือ่ ถือของ คณะศรัทธาชาวบ้าน เวลามีปัญหาหรือคิดอ่านท�าการสิ่งใดก็จะ มากราบไหว้ขอพรขอให้ส�าเร็จสมปรารถนาในสิ่งที่คิดที่ท�า ก็มักจะ ประสบความส�าเร็จ แล้วน�าดอกไม้ ผลไม้มาสักการบูชา แต่ก็เป็นที่รู้ นับถือกันเฉพาะชาวบ้านเท่านั้น เพราะวัดอยู่นอกเมือง เมื่อพระครูศรีธรรมคุณ (นรินทร์ ชุตินฺธโร ) เจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน ซึ่งเกิดและเติบโตอยู่วัดมาตั้งแต่เป็นลูกศิษย์วัด บวชเป็นสามเณรและ เป็นพระภิกษุอยู่วัดนี้มาค่อนชีวิตจนได้ขึ้นด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาส ได้ยินได้ฟังค�าบอกเล่าของคนเฒ่าคนแก่ และได้รู้เห็นถึงความเชื่อมั่น ศรัทธาในความศักดิ์สิทธิ์ขององค์พระพุทธประธานในวิหาร จากผู้คน ทีม่ ากราบไหว้สกั การบูชา จึงได้ปรึกษาหารือกับคนเฒ่าคนแก่ทม่ี านอน วัดรักษาอุโบสถศีลและคณะศรัทธาชาวบ้าน มีความเห็นร่วมกันในการ ถวายชือ่ พระพุทธรูปประธานภายในวิหารให้เป็นสิรมิ งคลมิง่ ขวัญก�าลังใจ ให้กบั คณะศรัทธาชาวบ้านว่า “หลวงพ่อส�าเร็จ พระพุทธสิทธิผลมงคลมุน”ี CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

111


History of buddhism....

วัดดับภัย สักการบูชา “พระเจ้าดับภัย” หมดภัยสมดังปรารถนา พระครูโอภาสปัญญาคม รองเจ้าคณะอ�าเภอสะเมิง / เจ้าอาวาสวัดดับภัย

วั ด ดั บ ภั ย ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 15/14 ถนนสิ ง หราช ต� า บลศรี ภู มิ อ� า เภอเมื อ งเชี ย งใหม่ จั ง หวั ด เชี ย งใหม่ เ ดิ ม ชื่ อ “วั ด อภั ย ” หรื อ “วัดกระด้าง” สร้างเมื่อ พ.ศ. 2021 เป็นวัดสังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ปั จ จุ บั น พระครู โ อภาสปั ญ ญาคม รองเจ้ า คณะอ� า เภอสะเมิ ง ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาส ประวัติความเป็นมา ในอาณาจักรล้านนา ยุคราชวงศ์มงั ราย ทีเ่ คยมีความเจริญรุง่ เรือง ตามต�านานดั้งเดิมของเวียงเชียงใหม่ บันทึกว่าพระยาอภัยมีจิตใจ ศรัทธาในพระพุทธศาสนาเป็นอย่างยิง่ ได้สร้างพระพุทธปฏิมาเพือ่ เป็น ทีส่ กั การบูชา มีชอื่ ว่าพระเจ้าดับภัย ไม่วา่ ท่านจะไปอยู ่ ณ สถานทีแ่ ห่งใด ท่านจะท�าการอัญเชิญอาราธนามาพระดับภัยไปด้วยทุกครั้ง เพื่อให้ เกิดความเป็นสิริมงคลแก่ตนเองและข้าราชบริพาร ต่อมาพระยาอภัย ล้มป่วยอย่างหนัก รักษาอย่างไรก็ไม่หาย จึงได้ท�าการอธิษฐานจิตต่อ หน้าพระเจ้าดับภัย ว่าขอบุญบารมีของพระเจ้าดับภัย จงช่วยอภิบาล ปกปักษ์รักษาให้หายจากการป่วยด้วยเถิด จากนั้นพระยาอภัยก็หาย จากการเจ็บป่วยลงได้อย่างน่าอัศจรรย์ยงิ่ ต่อมาท่านได้พาข้าราชบริพาร 112

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

มาตัง้ บ้านเรือนอยูข่ า้ งวัดตุงกระด้าง และได้ทา� การบูรณปฏิสงั ขรณ์วดั นีใ้ ห้มสี ภาพดีขนึ้ พร้อมได้อญ ั เชิญพระเจ้าดับภัยมาประดิษฐานทีว่ ดั ตุง กระด้าง วัดนี้จึงได้รับขนานนามว่า “วัดดับภัย” พระเจ้าดับภัย เป็นพระพุทธรูปศิลปะเชียงแสน ที่มีความงดงาม และเก่าแก่มาก หล่อด้วยทองส�าริด มีขนาดหน้าตักกว้าง 23 นิว้ มีความสูง จากฐานถึงยอดพระโมลี มีความศักดิส์ ทิ ธิแ์ ละคูบ่ า้ นคูเ่ มือง ทางคณะสงฆ์ และคณะศรัทธาของวัดดับภัย ได้ท�าพิธีการสวดเบิก สวดสมโภชเพื่อ ความเป็นสิรมิ งคล โดยท�าพิธสี วดมนต์ตนั๋ (สวดเต็มทุกบท) และพิธกี าร สวดสืบชะตาสะเดาะเคราะห์ เป็นประจ�าทุกปีในช่วงวันแรม 8 ค�่า เดือน 8 เหนือ เป็นระยะเวลา 89 ปีล่วงมาแล้ว


หอพระพุทธรูปหยก ตั้งอยู่ด้านข้างของวิหารหลวงวัดดับภัย เป็น หอที่สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2551 เพื่อประดิษฐานพระพุทธรูปหยกซึ่ง เป็นพระหยกทีง่ ดงามและศักดิส์ ทิ ธิม์ ากองค์หนึง่ เพือ่ ให้เกิดความเป็น วัดมงคลแก่พทุ ธศาสนิกชนทีเ่ ข้าท�าการสักการบูชา หอระฆังได้สร้างขึน้ เมื่อปี พ.ศ. 2548 ตั้งอยู่ตรงบริเวณด้านข้างวิหารหลวงวัดดับภัย พระอุโบสถ ก่อสร้างเมื่อปี พ.ศ. 2548 เป็นผลงานสถาปัตยกรรม ล้านนา ที่มีลวดลายปูนปั้นแบบล้านนา ภายในอุโบสถ มีภาพวาดที่ งดงามยิ่งแห่งหนึ่ง ศาสนสถานและปูชนียวัตถุที่ส�าคัญ พระวิหารหลวงเจ้าดับภัย เป็นวิหารที่เก่าแก่ เป็นที่ประดิษฐาน พระเจ้าดับภัย พระวิหารโดดเด่นไปด้วยผลงานด้านสถาปัตยกรรม ที่ทรงคุณค่า มีลวดลายปูนปั้นแบบล้านนาที่งดงามมากแห่งหนึ่ง ครูบาเจ้าศรีวิชัย ได้ท�าการบูรณปฏิสังขรณ์ เมื่อปี พ.ศ. 2474 และใน ปีพ.ศ. 2536 ทางคณะสงฆ์ได้ท�าการเปลี่ยนหลังคากระเบื้องทั้งหมด เป็นหลังคาไม้แป้นเกร็ดทั้งหลัง พระเจดีย ์ เป็นเจดีย์ทรงกลมที่ฐานบัวลูกแก้วย่อเก็จมาลัยเถาเป็น เหลีย่ มองค์ระฆัง ในปี พ.ศ.2551 ทางคณะสงฆ์และคณะศรัทธาของวัด ดับภัย ได้ท�าพิธีบูรณปฏิสังขรณ์องค์เจดีย์ โดยหุ้มด้วยทองจังโกองค์ เจดีย์ทั้งหมด เพื่อเป็นพุทธบูชาและเป็นพุทธานุสติแก่พุทธศาสนิกชน ทั่วไป

พระครูโอภาสปัญญาคม รองเจ้าคณะอ�าเภอสะเมิง / เจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน อาคารอเนกประสงค์ เป็นศาลาบ�าเพ็ญกุศลส�าหรับใช้ประกอบพิธีทั้งงานมงคลและงาน อวมงคล และใช้เป็นสถานที่ท�าการศึกษาเล่าเรียนของพระภิกษุ สามเณรในวัดดับภัย อาคารกุฏิสงฆ์ ส�าหรับเจ้าอาวาสและพระภิกษุสามเณรจ�านวน 110 รูป ล�าดับเจ้าอาวาส จากอดีตจนถึงปัจจุบัน รูปที่ 1 ครูบาจันต๊ะ พ.ศ. 2120–2180 รูปที่ 2 ครูบาอภิวงศ์ พ.ศ. 2181–2241 รูปที่ 3 ครูบาอินตา พ.ศ. 2231–2242 รูปที่ 4 ครูบาดวงค�า พ.ศ. 2371–2436 รูปที่ 5 ครูบาอริยะ พ.ศ. 2438–2443 รูปที่ 6 ครูบาแก้ว อินทจักร์ พ.ศ. 2450–2472 รูปที่ 7 พระอธิการจันทร์ตา พ.ศ. 2473–2501 รูปที่ 8 พระมหาอดุลย์ พ.ศ. 2502–2511 รูปที่ 9 พระครูโอภาสปัญญาคุณ พ.ศ. 2511–ปัจจุบัน CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

113


S P E CI A L P R O V INC IA L บันทึกเส้นทางพิเศษของจังหวัดเชียงใหม่

? TRAVEL Beautiful Place CHIANG MAI

114

SBL บันทึกประเทศไทย I บึงกาฬ

ภูลา� ดวน อ�าเภอปากชม


CHIANG MAI MAP แผนที่จังหวัดเชียงใหม่

LOCATION 1 2 3 4

พระธาตุดอยสุเทพ อ�าเภอเมืองเชียงใหม่ ดอยอินทนนท์ อ�าเภอจอมทอง ประตูท่าแพ อ�าเภอเมืองเชียงใหม่ ม่อนแจ่ม อ�าเภอแม่ริม

5 สวนพฤกษศาสตร์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ อ�าเภอแม่ริม

7

6 บ้านป่าบงเปียง อ�าเภอแม่แจ่ม 7 ดอยหลวงเชียงดาว อ�าเภอเชียงดาว 8 บ้านแม่ก�าปอง อ�าเภอแม่ออน 4 5 8

2 6

1 3

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

115


116

SBL บันทึกประเทศไทย I บึงกาฬ


" อย่ามัวแต่หาเงิน จนไม่มีเวลาหาตัวเอง " ชยสาโร ภิกขุ

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

117


History of buddhism....

วัดน�้ำต้อง “วัดงามตาประชาชื่นใจ” วัดพัฒนา 5 ส. รางวัลจากคณะสงฆ์จังหวัดเชียงใหม่ ปีพ.ศ. 2552 พระใบฎีกาบุญรัตน์ รตนวณฺโณ เจ้าอาวาส

วัดน�้าต้อง ตั้งอยู่ที่บ้านแม่หอย ต�าบลบ้านหลวง อ�าเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ ตั้งอยู่ใกล้ๆ น�้าตกแม่กลาง เป็นวัดที่มีสถาปัตยกรรม ล้านนาสวยงามแห่งหนึง่ ของจอมทอง สาเหตุทใี่ ช้ชอื่ วัดว่า “วัดน�า้ ต้อง” เพราะด้านตะวันตกของวัดอยูต่ ดิ กับล�าน�า้ แม่กลางใกล้ตน้ น�า้ ทีไ่ หลมา จากยอดดอยอินทนนท์ แม่น�้าไหลเชี่ยวมากระทบฝั่งวัดจึงมีชื่อว่า “วัดน�้าต้อง” 118

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


ประวั ติค วามเป็น มา วัด น�้าต้อง สัน นิษฐานได้ ว ่ า สร้ า งขึ้ น ใน ยุ ค สมั ย ของพระนางเจ้ า จามเทวี ซึ่ ง ที่ ตั้ ง ณ ปั จ จุ บั น เคยเป็ น ค่ายทหารของอารวีนคร(เมืองกาง) เดิมชื่อวัดอรัญญวาส แล้วรกร้าง ไปเป็นเวลานานจนถึงปี พ.ศ. 2475 ได้มีประชากรมาอาศัยอยู่ เพิ่มมากขึ้น จึงได้มีการบูรณปฏิสังขรณ์วัดขึ้นมาใหม่ ในครั้งนั้นมี หลวงปู่ตื้อ อจลธมฺโม ได้เดินทางมาจ�าพรรษา ต่อมาในปีพ.ศ. 2477 หลวงพ่อสุดได้มาจ�าพรรษา ในขณะนั้น วัดเป็นป่ารก ไม่สะดวก ในการมาท�าบุญของญาติโยม จวบจนมีไข้ป่าชุกชุม พ.ศ. 2478 จึง ได้ย้ายวัดไปสร้างใหม่ คือวัดน�้าตกแม่กลาง ในปัจจุบัน วัดน�้าต้อง จึงได้ร้างไปอีกนาน และเมื่อสิบกว่าปีที่ผ่านมา พระใบฎีกาบุญรัตน์ รตนวณฺโณ ได้มาจ�าพรรษา พร้อมปรับปรุงพัฒนาวัดเรื่อยมาจนถึง ปัจจุบัน นับเป็นวัดที่มีความสะอาดสวยงาม เมื่อนักท่องเที่ยวเดินทาง เข้ า สู ่ อุ ท ยานแห่ ง ชาติ ด อยอิ น ทนนท์ ก็ จ ะแวะท� า บุ ญ ที่ วั ด แห่ ง นี้ เป็นประจ�า เป็นศูนย์ศึกษาพุทธศาสนาวันอาทิตย์ เป็นหน่วยอบรมประชาชน ประจ�าต�าบลบ้านหลวง วัดน�้าต้องได้รับรางวัล “วัดงามตาประชาชื่นใจ” วัดพัฒนา 5 ส. จากคณะสงฆ์จังหวัดเชียงใหม่ ปีพ.ศ. 2552 วัดพัฒนา 5 ส. หมายถึง สะสาง สะดวก สะอาด สร้างมาตรฐาน

และสร้างวินยั ลงสูบ่ ริบทของวัด เพือ่ ส่งเสริมให้วดั เป็นพืน้ ทีแ่ บบอย่าง ทั้งด้านกายภาพและด้านจิตใจ อันเป็นการขยายผลแนวคิดของ 5 ส. สูป่ ระชาชนทัว่ ไปโดยมีวดั เป็นศูนย์กลางในการถ่ายทอด เพือ่ ให้สงั คมไทย ตื่นตัวเรื่องการช่วยเหลือสังคม ท�าให้เกิดสังคมสุขภาวะ ส่งเสริม ให้เกิดการเรียนรู้กระบวนการจัดการเพื่อน�าไปสู่สังคมที่มีความสุข “พระธาตุเจดีย์สิริวัฒนาน�้าต้อง” ปฏิปทาและการสร้างบารมี พระใบฎีกาบุญรัตน์ รตนวัณโณ เจ้าอาวาสวัดน�า้ ต้อง บ้านแม่หอย ต�าบลบ้านหลวง อ�าเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ มีปฏิปทาในการสร้าง “พระธาตุเจดียส์ ริ วิ ฒ ั นาน�า้ ต้อง” เป็นอาคารสองชัน้ ซึง่ ได้วางศิลาฤกษ์ เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 โดยพระธรรมมังคลาจารย์ ที่ ปรึกษาเจ้าคณะภาค 7 เจ้าอาวาสวัดพระธาตุศรีจอมทองวรวิหาร จังหวัดเชียงใหม่ เป็นประธานในพิธีอันเป็นสิริมงคล หลังจากนั้นได้ ด�าเนินการสร้างเรือ่ ยมา ด้วยบารมีของพระใบฎีกาบุญรัตน์ รตนวัณโณ อดีตเคยเป็นอาจารย์มัคคุเทศก์ มีลูกศิษย์ในวงการการท่องเที่ยว เป็นอันมาก นอกจากนั้นท่านยังมีวัตรปฏิบัติดีงาม เจริญรอยตาม พระอุปัชฌาย์ คือ พระธรรมมังคลาจารย์ ท�าให้การฟื้นฟูบูรณะ วั ด คื บ หน้ า เรื่ อ ยมาเป็ น สถานที่ ป ฏิ บั ติ ธ รรมส� า หรั บ พระเณรและ ประชาชนทั่วไปจนถึงปัจจุบัน

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

119

“วัดปางอั้น” เป็นวัดหนึ่งที่มีนักท่องเที่ยวและศรัทธาพุทธศาสนิกชนมาเยี่ยมชมวัด พร้อมขอพรองค์หลวงพ่อพุทธโสธร (จ�าลอง) มากมาย


History of buddhism....

WAT NAM TONG Paying homage to “Luang Phor Phuttha Sothon” for the fortune, from light of faith to wisdom and unity Wat nam Tong is located at Ban Mae Hoi, Ban Luang sub-district, Chom Thong district. Chiang Mai province. It is situated near Mae Klang waterfall. It is one of the temple in Chom Thong that has gorgeous Lanna architecture. This temple was named “Wat Nam Tong” because the west of this temple is adjacent to Mae Klang River, near river source that flowed down from the top of Doi Inthanon. This strong current flowed hitting temple’s canal bank, that’s why this temple was named “Wat Nam Tong” (Nam Tong means hitting by water).

120

SBL บันทึกประเทศไทย II เชียงใหม่


BACKGROUND OF THE TEMPLE Wat Nam Tong, there is an assumption that it was built during the reign of Her Majesty Cham Dhevi which its current location was military camp of Arawee Nakhon (Kang city) when Pha Chao Mueang Kaew ruled this city. Its former name was Wat Aranyawas. It was abandoned for a long period of time until decades ago, Phra Baideka Boonrat Rattanawanno came to live at this temple. He has been developing and improving it till today. It can be considered as a clean and gorgeous temple. Then, when tourists visit Doi Inthanon National Park, they will always stop by this temple to make merit. Education - There is Tripitaka-studying school, Dharma department, which it was opened in B.E.2516. Apart from that, there is also pre-school child learning center in this temple and it was opened in B.E.2524. Wat Nam Tong was awarded “Exquisite temple, people rejoice”, Temple that developed five aspects award from Chiang Mai province clergy in B.E.2552. Temple that developed five aspects, these five aspects are clearing up, comfortable, clean, building standard and building discipline which all are put in to temple’s context in order to support and elevate this temple into model of developed temple for both physical and mental aspects. These actions are executed for extending results of five aspects-concept to general people by temple is the center of broadcasting in order to awake Thai society on social assistance which is made healthy society and encourage the learning on management process to occur in society in order to lead it to ecstatic society.

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

121


“PHRA THAT CHEDI SIRIWATTHANA NAM TONG” MODE OF PRACTICES AND VIRTUE-BUILDING Phra Baideka Boonrat Rattanawanno, abbot of Wat Nam Tong, Ban Mae Hoi, Ban Luang sub-district, Chom Thong district. Chiang Mai province, intended to build “Phra That Chedi Siriwatthana Nam Tong”, the two-story building which foundation stone-laying ceremony was performed on 16 November B.E.2556 by Phra Thammangkalajarn, consultant of division 7 monk dean and abbot of Wat Phra That Sri Jom Thong Worawihan, Chiang Mai province, which he is the president in this auspicious ceremony. After that, this building had been constructed continuously due to virtue of Phra Baideka Boonrat Rattanawanno who was guide’s teacher that has many disciples in tourism industry. Moreover, he also behave himself finely as Buddhist monk should do like his preceptor which is Phra Thammangkalajarn. Therefore, all aforementioned factors make the restoration of this temple progressing continually until it becomes dharma-practicing place for monks, novices and general people as it is now.

122

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


楠董佛寺

于佛历 2552 年被清迈佛教团体评为“人民心愿所向佛寺美貌”五个评级由泰国规定的先进佛寺

楠董佛寺位于清迈府宗通县班銮分区麦惠村,离中母瀑布很

并冲击对岸,所以起名为“楠董佛寺”。

过来佛寺行善布施。 于佛历2516 年开始举办有帕里亚提单玛Phrapari yattidhamma佛法学院教学,除此之外,佛历2524年在 寺庙开办了学前幼儿培训。

历史来源 : 楠董寺传说建于查玛得玉Chamadevi女王 时代,位处于现在的阿拉语那孔Arrawi Nakorn军营( 传播之城)。于在孟较Muang Kaew国王的统治时期, 佛寺名称是阿兰亚旺Aranyawat寺,然后荒废一段很长 时间,自十几年来,文腊 他那瓦侬Boonrat Thanawano 上任大师来佛寺修行度过守夏节,直到现在还在不断 并进行清理改进,被承认是一个干净美貌的寺庙。如 果有游客过来旅游,进入茵他侬国家公园,就会经常

于佛历2552年被清迈佛教团体评为“人民心愿所向 佛寺美貌”五个评级由泰国规定的先进佛寺 五个评级由泰国规定的内容如下:有条理,方便,清 洁,创造标准和有纪律,传达到佛寺为了让佛寺作为 榜样,包括身体上和精神上。这是五个评级由泰国规 定概念的延伸到人民群众去。以寺庙为传播中心,让 泰国社会人民觉醒回报社会,创造一个健康的社会, 促进学习和管理过程,引领达到幸福的社会。

近。佛寺是宗通县美丽的兰纳建筑之一,起名为楠董佛寺的原由 是佛寺的西边靠着中母河的源头,从他侬山顶流下来,河流很急

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

123


History of buddhism....

วัดบ้านแปะ วัดบ้านแปะ (วัดราชวิสุทธาราม) ตั้งอยู่เลขที่ 83 หมู่ที่ 4 บ้ า นแปะ ต� า บลบ้ า นแปะ อ� า เภอจอมทอง จั ง หวั ด เชี ย งใหม่ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ที่ดินตั้งวัดมีเนื้อที่ 3 ไร่ 1 งาน 64 ตารางวา ตามโฉนดเลขที่ 37713 มีที่ธรณีสงฆ์ 2 แปลง เนื้อที่ 5 ไร่ 1 งาน 13 ตารางวา ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อวันที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2514 เขตวิสุคามสีมากว้าง 40 เมตร ยาว 80 เมตร ประวัติความเป็นมา วัดบ้านแปะ ตามประวัติวัดแจ้งว่า สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2110 มี ชื่ อ เรี ย กแต่ เ ดิ ม อี ก ชื่ อ หนึ่ ง ว่ า “ วั ด ราชวิ สุ ท ธาราม” ผู ้ ส ถาปนา วัดราชวิสุทาราม (วัดบ้านแปะ) ก็คือ พระนางวิสุทธเทวี เป็นกษัตริย์ ล�าดับที่ 18 องค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์มังราย ทรงโปรดเกล้าฯ สร้าง พลับพลาใกล้กับเวียงหิน ที่ประทับเสด็จไปและกลับกรุงหงสาวดี และได้สร้างวัดประจ�าหมู่บ้านนี้ชื่อว่า วัดราชวิสุทธาราม เมื่อปี พ.ศ. 2110 ซึ่ ง มี บั น ทึ ก ในใบลานอั ก ษรแบบสุ โขทั ย เมื่ อ ปี เ ถาะ นพศกจุลศักราช 929 (ตรงกับ พ.ศ. 2110) เดือน 9 เหนือขึ้น 15 ค�่า 124

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

ว่าได้โปรดเกล้าฯ ให้ทา� ตราหลวงหลาบเงินนีไ้ ว้เพือ่ คุม้ ครองชาวบ้านแปะ อมขูด ฮากฮาน กองกูน ป่ารวก ทั้งคนลัวะ คนไทย ให้เขาเหล่านั้น เป็ น ข้ า ทาสในวั ด และได้ ท รงหลั่ ง น�้ า พระราชทานไว้ ใ ห้ เ ฝ้ า ดู แ ล วั ด ราชวิ สุ ท ธารามให้ เจริ ญ มั่ น คงสื บ ต่ อ ไป พร้ อ มกั บ ทรงสร้ า ง หน้าจิตราชลัญจกรและสังฆราชลัญจกร เพื่อพระราชทานแก่ชาว วัดราชสิทธาราม(บ้านแปะ) เพื่อไม่ให้เดือดร้อนและเป็นข้าทาสวัด ได้อย่างสมบูรณ์ วัดราชสิทธาราม (บ้านแปะ) แห่งนี้ในอดีตมีความ เจริญรุ่งเรือง และได้รับการพัฒนาทะนุบ�ารุงสืบต่อๆ กันมารุ่นต่อรุ่น


เสนาสนะ อุโบสถ วิหาร ศาลาการเปรียญ และกุฏิสงฆ์ ปูชนียวัตถุ พระพุ ท ธรู ป พระบรมสารี ริ ก ธาตุ และของมี ค ่ า ที่ บ รรจุ ในพระเจดีย์ ปัจจุบันได้รับการบูรณปฏิสังขรณ์แล้วเมื่อปีพ.ศ. 2533

การบริหารและการปกครอง มีเจ้าอาวาสเท่าที่ทราบนามมีดังนี้ รูปที่ 1. พระไชย รูปที่ 20. พระดวงตา ยาวิไชย รูปที่ 2. พระครูบากันทา รูปที่ 21. พระกันทะวัง รูปที่ 3. พระเกว๋ละ รูปที่ 22. พระจันทร์ รูปที่ 4. พระตัสสนะ รูปที่ 23. พระติ๊บ รูปที่ 5. พระตะนะ รูปที่ 24. พระต๋า รูปที่ 6. พระชัยยมงคล รูปที่ 25. พระตั๋น รูปที่ 7. พระคัมภีระ รูปที่ 26. พระบุญเป็ง รูปที่ 8. พระมหาวรรณ รูปที่ 27. พระจอม ขันติโก รูปที่ 9. พระค�า รูปที่ 28. พระดวงตา ฐานิสสโร รูปที่ 10. พระเตบิน รูปที่ 29. พระชุมพล โชติโก รูปที่ 11. พระไจย รูปที่ 30. พระณรงค์ สุวโจ รูปที่ 12. พระอุตตมะ รูปที่ 31. พระนพดล สันตจิตโต รูปที่ 13. พระดวงค�า รูปที่ 32. พระสุรนิ ทร์ วชิรญาโณ รูปที่ 14. พระเสาร์ พ.ศ. 2522 - พ.ศ. 2528 รูปที่ 15. พระทองค�า รูปที่ 33. พระสุธรรม สุธมฺโม รูปที่ 16. พระอินตายศ พ.ศ. 2528 - พ.ศ. 2530 รูปที่ 17. พระแก้ว รูปที่ 34. พระครูสจุ ติ ปัญญารัตน์ รูปที่ 18. พระเป็ง พ.ศ. 2530 - ปัจจุบัน รูปที่ 19. พระจันทร์ CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

125


กราบสรีระสังขารหลวงปู่ครูบาธรรมชัย

ประวัติท่านเจ้าอาวาสโดยสังเขป พระครูสจุ ติ ปัญญารัตน์ (นิกร จิตตฺ ปญฺโญ, นักธรรมเอก, พธ.บ., รป.ม.) เจ้าอาวาสวัดบ้านแปะ และ เจ้าคณะต�าบลบ้านแปะ เขต 1 ฉายา จิตฺตปญฺโญ นามเดิม นิกร นามสกุล แสนค�าเพีย อายุ 52 พรรษา 32 เกิดวันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2510 บิดา นายค�าปัน แสนค�าเพีย มารดา นางจัน๋ แสนค�าเพีย บ้านเลขที ่ 35 หมู ่ 4 ต�าบลบ้านแปะ อ�าเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ บรรพชา เมือ่ วันที ่ 29 เดือน เมษายน พ.ศ. 2523 ณ วัดบ้านแปะ ต�าบลบ้านแปะ อ�าเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ โดยมี พระครูสิริบุญญาภินันท์ วัดข่วงเปาใต้ ต�าบลบ้านแปะ อ�าเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ เป็น พระอุปัชฌาย์ อุปสมบท เมื่อวันที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2530 ณ พัทธสีมา วัดบ้านแปะ ต�าบลบ้านแปะ อ�าเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ โดยมี พระครูดวงค�า ถาวโร วัดสบแจ่ม ต�าบลบ้านแปะ อ�าเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ เป็นพระอุปชั ฌาย์ พระอธิการอิน่ ค�า จารุวณฺโณ วัดท่าข้าม ต�าบลบ้านแปะ อ�าเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ เป็น พระกรรมวาจาจารย์ และ พระสุนทร ภทฺทจาโร วัดห้วยทราย ต�าบลบ้านแปะ อ�าเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ เป็น พระอนุสาวนาจารย์ การศึกษา พ.ศ. 2527 สอบไล่ได้นักธรรมชั้น เอก จากส�านักศาสนศึกษา วัดหนองเจดีย์ อ�าเภอป่าซาง จังหวัดล�าพูน ,พ.ศ. 2530 จบการศึกษา ระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 6 จากศู น ย์ ก ารศึ ก ษานอกโรงเรี ย นแม่ ริ ม อ� า เภอแม่ ริ ม จั ง หวั ด เชี ย งใหม่ , พ.ศ. 2546 ส� า เร็ จ การศึ ก ษา ระดับปริญญาตรี พุทธศาสตรบัณฑิต (พธ.บ.) จากมหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, พ.ศ. 2552 ส�าเร็จการศึกษาระดับ ปริญญาโท รัฐปศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (รป.ม.) จากมหาวิทยาลัย รามค�าแหง การศึกษาดูงาน พ.ศ. 2551 ศึกษาดูงานวัฒนธรรมประเพณี ประเทศสาธารณรัฐ ประชาชนจีน พ.ศ. 2554 ศึกษาดูงานวัฒนธรรมประเพณี ประเทศสาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว พ.ศ. 2555 ศึกษาดูงานวัฒนธรรมประเพณี ประเทศสาธารณรัฐ แห่งสหภาพพม่า พ.ศ. 2555 ศึกษาดูงานวัฒนธรรมประเพณี ประเทศสาธารณรัฐ ประชาชนจีน 126

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

พ.ศ. 2556 ศึกษาดูงานสังเวชนียสถาน ประเทศสาธรณรัฐอินเดีย และ สหพันธ์สาธารณรัฐประชาธิปไตยเนปาล พ.ศ. 2556 ศึกษาดูงานวัฒนธรรมประเพณี ประเทศสาธารณรัฐ สังคมนิยมประชาธิปไตยศรีลังกา พ.ศ. 2557 ศึกษาดูงานวัฒนธรรมประเพณี ประเทศสาธารณรัฐ ประชาชนจีน พ.ศ. 2558 ศึกษาดูงานวัฒนธรรมประเพณี ประเทศสาธารณรัฐ สังคมนิยมเวียดนาม พ.ศ. 2559 ศึ ก ษาดู ง านสั ง เวชนี ย สถาน ประเทศสาธรณรั ฐ อินเดีย และ สหพันธ์สาธารณรัฐประชาธิปไตยเนปาล พ.ศ. 2560 ศึกษาดูงานวัฒนธรรมประเพณี ประเทศสาธารณรัฐ สังคมนิยมเวียดนาม พ.ศ. 2560 ศึกษาดูงานวัฒนธรรมประเพณี ประเทศสาธารณรัฐ แห่งสหภาพพม่า พ.ศ. 2561 ศึกษาดูงานวัฒนธรรมประเพณี ประเทศญี่ปุ่น พ.ศ. 2562 ศึกษาดูงานวัฒนธรรมประเพณี ประเทศสาธารณรัฐ สังคมนิยมเวียดนาม การปกครอง พ.ศ. 2535 เป็นเจ้าอาวาสวัดบ้านแปะ ต�าบลบ้านแปะ อ�าเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ พ.ศ. 2543 เป็นเจ้าคณะต�าบลบ้านแปะ เขต 1 อ�าเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่


เจดีย์วัดบ้านแปะ พิธีประเพณีที่มีประจำตั้งแต่บรรพบุรุษ จนถึงปัจจุบันนี้ก็คือ งานประเพณีสรงน้ำพระบรมสารีริกธาตุ (ตรงกับเดือน 9 เป็งเหนือ) และทุก 3 ปี ทางชาวบ้านจะทำพลีกรรมตราหลวงหลาบเงิน เหมือนสมัยโบราณตามที่ได้ทำมา CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

127


Pa Ruak, both Lua people and Thai people, make them slaves of the temple, look after and be patronage to support the temple. Then Her Majesty bestowed water to bless the Rajavithutharam Temple. At present, the temple has been undergoing restoration continuously, with 34 monks supporting the restoration of this temple. From the history of the temple which began before 1977 A.D. in which Teacher Kraisri Nimmanhaemin is the person who finds the equipment and translator of the palm leaf to open the history. As is known, there are ancient remains and tombs of concubines. For this ancient remains the walls are stack with stones so the people call it “Wiang Hin” The traditional ritual that has been carried out from ancestors to the present is the tradition of bathing the Buddha’s relics (corresponding to the 9th month of Peng Nuea) and every 3 years, the villagers will perform the Royal Silver Seal sacrifice as in the past. Provost Sujit Panyarat has been abbot since 1987 A.D.

History of buddhism....

BAN PAE TEMPLE Ban Pae Temple (Ratchawisuttharam Temple) located at 83 Moo 4, Ban Pae, Ban Pae Sub district, Chom Thong District, Chiang Mai Province. Under the jurisdiction of the Mahanikai Clergy. The land for the area is 5,456 square meter, according to the title deed no. 2 plots of land, 8,452 square meter. The temple was establish by the royal family on June 23, 1971 A.D. Royal establishment area is 40 meters wide and 80 meters long. HISTORY OF BAN PAE TEMPLE According to the history it was formerly known as “Ratchawisuttharam Temple” as according to Her Majesty Wisut Dhevi Royal Silver Seal, also it was recorded in a palm leaf script in the Sukhothai style in 929 Thai minor year corresponding to the year 1567 A.D. Her Majesty was pleased to have the Royal Silver Seal made to protect the villagers of Ban Pae, Hom Kuk, Hak Han, Gong Goon, 128

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


班佩寺庙 班佩寺庙(热茶威苏塔拉姆)位于泰国清迈 Chomthong 区班佩乡班佩4号村83号在教神职人员 统治下。土地是3莱1纳米64方华。 根据契据第37713号,1971年6月23日得了2块土 地和5莱113平方米的国王授予僧侣专门用于建造 寺庙的区域。这个地方宽40米,长80米。

历史 根据班佩寺庙的历史,班佩寺庙原名是“ Wat Ratchawisuttharam”(热茶威苏塔拉姆) 从1977年,根据这座寺庙的历史34位僧侣帮助 修复和翻新这座神庙。克赖斯里·宁曼海明老师 是负责寻找设备和翻译圣经叶,所以让我们知道 这座寺庙仍然城墙的废墟,女人的坟墓。这里的 城墙的废墟村民称“威昂石头”。

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

129


History of buddhism....

วัดพุทธนิมิตร พระครูอินทญาณรังษี (มา) เจ้าคณะอ�าเภอจอมทอง และเจ้าอาวาส

วั ด พุ ท ธนิ มิ ต ร เดิ ม ตั้ ง อยู ่ บ นดอยทิ ศ ตะวั น ตก เดิ ม ชื่ อ ว่ า “วั ด พระบาทห้ ว ยอี่ ลิ ง ” ต่ อ มา ได้ ย ้ า ยลงมาตั้ ง อยู ่ ที่ ป ั จ จุ บั น หมู ่ ที่ 6 บ้ า นแท่ น ดอกไม้ ต� า บลสบเตี๊ ย ะ อ� า เภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ เมื่อปี พ.ศ. 2480 โดยท่านพระครูอินทญาณรังษี (อินตา) เป็นเจ้าอาวาสรูปแรก และได้เปลี่ยนชื่อเป็น วัดพุทธนิมิตร เพราะได้สร้างพระประธานองค์ใหญ่ประดิษฐานไว้ในวิหาร ต่อมา ปี พ.ศ. 2513 ท่ า นพระครู อิ น ทญาณรั ง ษี (อิ น ตา) มรณภาพ พระครูอินทญาณรังษี (มา) ได้เป็นเจ้าอาวาสเป็นล�าดับต่อมาจนถึง ปัจจุบัน ท่านมีอายุได้ 80 ปี

130

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

131


History of buddhism....

วัดพระบาทห้วยอี่ลิง สักการบูชา “พระบาทห้วยอี่ลิง”กับอานิสงส์ใหญ่ในชีวิต พระครูอินทญาณรังษี (มา) เจ้าคณะอ�าเภอจอมทอง และเจ้าอาวาส

วัดพระบาทห้วยอี่ลิง ตั้งอยู่บ้านแท่นดอกไม้ ต�าบลสบเตี๊ยะ อ� า เภอจอมทอง จั ง หวั ด เชี ย งใหม่ พระพุ ท ธบาทองค์ นี้ เ ป็ น พระพุ ท ธบาทเบื้ อ งขวาขององค์ ส มเด็ จ พระสั ม มาสั ม พุ ท ธเจ้ า ครั้งเสด็จโปรดสัตว์ พบโดยครูบาเจ้าศรีวิชัย(นักบุญแห่งล้านนา) เมื่อพ.ศ. 2370 และได้ท�าการสร้างศาลา และเพิงครอบพระบาทไว้ ต่อมาศรัทธาชาวบ้านและชาวเขาช่วยกันหาก้อนหินจากภูเขา เพื่อสร้างก�าแพงหินท�าด้วยมือ เพื่อสร้างเขตอภัยทาน ร่วมจัดสร้าง วิหารเพื่อครอบพระบาทดังกล่าว เมื่อ พ.ศ. 2465 132

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


สักการบูชา “พระบาทห้วยอี่ลิง”กับอานิสงส์ใหญ่ในชีวิต

และในปีพ.ศ. 2510 คณะศรัทธาญาติโยมก็ได้สร้างพญานาค หน้าวัดพระบาท ซึง่ มีเพียงเศียรพญานาคเท่านัน้ ผ่านมาหลายปี ศาลา และวิหารได้ทรุดโทรมไปตามกาลเวลา ปัจจุบนั พระครูอนิ ทญาณรังษี(มา) เจ้าคณะอ�าเภอจอมทอง เจ้าอาวาสวัดพุทธนิมิตร และชาวบ้าน ได้ช่วยกันบูรณปฏิสังขรณ์จนสมบูรณ์ สาธุชนสามารถเดินทางมา สักการกราบไหว้บูชาเพื่อเป็นสิริมงคลแก่ชีวิตได้ทุกวัน การแสดงความเคารพสักการบูชารอยพระพุทธบาทนั้น เป็น บุญใหญ่ เพราะเป็นเครื่องระลึกที่จะท�าให้เรานึกถึงสมเด็จพระสัมมา สัมพุทธเจ้า เมื่อสักการบูชาบ่อยๆ ก็ย่อมมีพระพุทธเจ้าประดิษฐาน อยูใ่ นใจ ซึง่ ก็คอื พุทธะ ผูร้ ู้ ผูต้ นื่ ผูเ้ บิกบาน ทีป่ รากฏในใจเราผูก้ ราบไหว้ บูชารอบพระพุทธบาทด้วยสติสมั ปชัญญะเต็มเปีย่ ม สมาธิอนั อ่อนโยน ควรแก่การงานก็เกิดขึ้นเป็นปัญญาในการเพียรเผากิเลสภายในใจ ให้เบาบางลงนั่นเอง เพราะรอยพระบาทของพระพุทธองค์ เป็นสิ่ง ที่ เ กี่ ย วเนื่ อ งกั บ พระองค์ เวลาเราบู ช าก็ ห มายความว่ า เรามี ใจ ที่ผูกพันกับพระพุทธองค์ ใจอยู่ในบุญ อยู่กับความบริสุทธิ์ การกระท�า อย่างนี้มีอานิสงส์ใหญ่ไม่มีประมาณ ดังนั้น ให้ทุกท่านหมั่นตรึกระลึก นึกถึงพระพุทธองค์เสมอๆ กาย วาจา ใจของเราจะได้สะอาดบริสุทธิ์ ขึ้นทุกๆ วัน

การเดินทางไปพระบาทห้วยอี่ลิง ใช้เส้นทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 108 (ถนนเชียงใหม่-ฮอด) มุ่งหน้าสู่อ�าเภอจอมทอง ผ่านวัดพระธาตุศรีจอมทอง ประมาณ 8.25 กิโลเมตร เส้นทางสายบ้านแท่นดอกไม้ พระบาทห้วยอี่ลิง อยู่บริเวณทางเข้าวัดพุทธนิมิตรด้านซ้ายมือของถนนอย่างชัดเจน CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

133


History of buddhism....

วัดขะแมด สักการบูชาพระเจดีย์ ศิลปะความงดงามของชาวล้านนา พระครูวิมลจันทรังษี เจ้าคณะต�าบลข่วงเปา ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาส

วัดขะแมด ตั้งอยู่เลขที่ 209 บ้านห้วยน�้าดิบ ถนนเชียงใหม่-ฮอด หมูท่ ี่ 2 ต�าบลข่วงเปา อ�าเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีเนื้อที่ 10 ไร่ 1 งาน 3 ตารางวา น.ส.3 ประวัติความเป็นมา วัดขะแมด เดิมตัง้ อยูร่ มิ แม่นา�้ เปิง โดยมีพระยาขะแมด เป็นผูส้ ร้างวัด จึงได้ตั้งชื่อวัดตามชื่อผู้สร้าง ต่อมาวัดร้างลงไปในปี พ.ศ. 2460 ได้มี พระตา เมฆสุรนิ ทร์ มาท�าการบูรณะและสร้างเสนาสนะขึน้ ใหม่ เมือ่ ได้ สร้างเขื่อนภูมิพลขึ้น บริเวณที่ตั้งวัดถูกน�้าท่วมทุกปี พระแก้ว เขมวีโร เจ้าอาวาสรูปทีส่ าม จึงได้ทา� การย้ายวัดขึน้ ไปตัง้ อยูใ่ นปัจจุบนั ซึง่ กระทรวง ศึกษาธิการประกาศอนุญาตให้ยา้ ยวัดเมือ่ วันที ่ 9 มิถนุ ายน พ.ศ. 2499 ได้รับพระราชทาน วิสุงคามสีมาเมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2527 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 14 เมตร ยาว 29 เมตร

134

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


การบริหารการปกครอง มีเจ้าอาวาสเท่าที่ทราบนาม คือ รูปที่ 1 พระตา เมฆสุรินทร์ รูปที่ 2 พระบุญปั๋น เมฆสุรินทร์ รูปที่ 3 พระแก้ว เขมวีโร รูปที่ 4 พระมา รูปที่ 5 พระใจ รูปที่ 6 พระปกรณ์ ปญฺญาวโร รูปที่ 7 พระบุญลือ นรินฺโท รูปที ่ 8 พระครูวมิ ลจันทรังษี เจ้าคณะต�าบลข่วงเปา ตัง้ แต่ พ.ศ. 2517 เป็นต้นมา จนถึงปัจจุบัน

ปูชนียสถานที่ส�าคัญ สักการบูชาพระเจดีย ์ ศิลปะความงดงามของชาวล้านนา วัดขะแมด จอมทองได้ทุกวัน อานิสงส์จากการสร้างพระเจดียม์ มี าตัง้ แต่สมัยพุทธกาล โดยพระเจ้า ปเสนทิโกศลทรงมีพระหฤทัยเลื่อมใสอย่างแรงกล้าในพระรัตนตรัย ทรงก่อกองทรายให้เป็นรูปเจดีย์ถึง 84,000 องค์ เพื่อเป็นพุทธบูชา ธรรมบูชา สังฆบูชา พระพุทธเจ้าตรัสว่า ขอถวายพระพรมหาบพิตร ผูม้ ศี รัทธาแรงกล้าได้กอ่ เจดียท์ รายถึง 84,000 องค์ หรือแม้แต่องค์เดียว ก็ยอ่ มได้รบั อานิสงส์มาก จะไม่ตกนรกตลอดร้อยชาติถา้ เกิดเป็นมนุษย์ จะอุดมสมบูรณ์ทกุ อย่าง มีชอื่ เสียงเกียรติยศไปทัว่ ทุกทิศ จากนัน้ จะได้ ไปสวรรค์เสวยทิพย์สมบัติ แม้พระตถาคตเองก็เคยท�ามาแล้วในครั้ง เป็นพระโพธิสัตว์ในครั้งนั้นตถาคตยากจนมาก มีอาชีพตัดฟืนขาย วันหนึ่งได้พบทรายขาวสะอาดมากในราวป่า ก็มีจิตใจศรัทธาผ่องใส วันนั้นได้หยุดตัดฟืนทั้งวัน ได้กวาดทรายก่อเป็นเจดีย์โดยไม่เห็นแก่ ความเหนือ่ ยยาก แล้วเปลือ้ งผ้าห่มของตน ฉีกท�าเป็นธงประดับไว้ เพือ่ บูชาพระติสสะสัมมาสัมพุทธเจ้า แล้วอธิษฐานจิตขอให้เป็นปัจจัยแห่ง พระโพธิญาณในอนาคตกาล ครั้นเมื่อตายไปแล้วได้ไปเกิดในสวรรค์ ชั้ น ดาวดึ ง ส์ อ ยู ่ ส องพั น ปี ทิ พ ย์ เมื่ อ สิ้ น อายุ ขั ย ได้ อุ บั ติ ม าเกิ ด เป็ น พระตถาคตนี้เอง ร่วมสร้างเส้นทางบุญ ท�านุบ�ารุงพระพุทธศาสนา กับวัดขะแมด โทร. 053-826-775

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

135


History of buddhism....

วัดห้วยตองสัก ขอเชิญทุกท่านร่วมปฏิบตั ธิ รรมในวันหยุด และส่งบุตรหลานร่วมอบรมในโครงการต่างๆ เพือ่ สร้างและ สนับสนุนส่งเสริมศีลธรรมให้เยาวชนไทยทำความดี เป็นลูกทีด่ ขี องครอบครัว เป็นคนดีของสังคมไทย” พระครูวาปีวรมานิต ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาส

วัดห้วยตองสัก สร้างด้วยคณะศรัทธาประชาชน ได้รวมใจกันบริจาคที่ดินกว่า 21 ไร่เพื่อด�าเนินการสร้างวัดห้วยตองสัก ปัจจุบันตั้งอยู่เลขที่ 34 หมู่ 15 ต�าบลข่วงเป่า อ�าเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ กระทรวงศึกษาธิการได้อนุญาตให้สร้างวัดเมือ่ วันที่ 4 ตุลาคม พ.ศ.2522 และประกาศ ตั้งเป็นวัด เมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ.2531 ในเนื้อที่จ�านวนที่ดิน 21 ไร่ ด้านหน้าติดถนนจอมทอง –อินทนนท์ ตั้งแต่อดีตมาถึงปัจจุบันได้มี เจ้าอาวาสหลายรูป จนกระทั่งปี พ.ศ.2544 พระครูวาปีวรมานิต ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาสมาจนถึงปัจจุบัน

136

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


กิจกรรมภายในวัดห้วยตองสัก จัดงานประเพณีงานในบุญวันศีล วันพระ และงานประเพณี จัดโครงการบรรพชาสามเณรภาคฤดูร้อนประจ�าปีกว่า 18 ปี จัดโครงการอุปสมบทหมู่เข้าพรรษา ประจ�าทุกปี จัดโครงการอบรมส่งเสริมศีลธรรมให้กับเยาวชนทุกเดือน จัดโครงการเทศน์สอน ตามโรงเรียนในจังหวัดเชียงใหม่ จัดโครงการเทศน์สอนอบรมประชาชน บนพื้นที่ราบสูง จัดโครงการปฏิบัติธรรม วันหยุด ศุกร์ เสาร์ อาทิตย์

วัดห้วยตองสัก ขอเชิญ ทุ ก ท่านร่วมส่งบุตรหลานเข้ารับการอบรม ในโครงการต่างๆ เพือ่ สร้างและสนับสนุนส่งเสริมศีลธรรมให้เยาวชนไทย ท�าความดี เป็นลูกที่ดีของครอบครัว เป็นคนดีของโรงเรียน เป็นผู้ใหญ่ ที่มีคุณภาพ ในชุมชนและสั ง คมไทย และขอเชิญผู้ปกครองได้เข้ามา ปฏิบัติธรร มในช่วงวันหยุ ด ไ ด้ตลอดปี มีอาหารและสถานที่พักแบบ สบายๆ อ�านวยความสะดวกตลอดเวลาโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย การร่วมบุญเป็นค่าใช้จ่ายวัด ตามจิตศรัทธา ติดต่อส�านักงาน วัดห้วยตองสัก โทร. 062-405-7072 ID.Line 0624057072

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

137


History of buddhism....

วัดท่าหลุกวังปลาสร้อย ศาสนสถานเพือ่ ความพ้นทุกข์ ศูนย์รวมจิตใจของชุมชน และสงเคราะห์อุปการะเด็กชาวเขา พระครูสุคนธ์สีลาภิรม (สิงห์แก้ว) ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาส

วัดท่าหลุกวังปลาสร้อย มีชอื่ เป็นทางการว่า วัดพระธาตุวงั ปลาสร้อย ตั้งอยู่เลขที่ 528 หมู่ 4 บ้านท่าหลุก ต�าบลสบเตี๊ยะ อ�าเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2522 สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ติดต่อเจ้าอาวาสโทร 084 805 2719 ประวัติความเป็นมา ในการก่อสร้างวัดแต่เริม่ แรก ได้อาศัยก�าลังจากชาวบ้านได้รว่ มกัน บริจาคก�าลังทรัพย์ปจั จัยต่างๆ ด้วยพลังศรัทธา บางคนไม่มเี งินก็จะน�า เอาข้าวสารมาบริจาคแทนเงิน โดยมีหลวงปู่พระครูบาสุรินทร์ สุรินโท เจ้าอาวาสวัดหลวงศรีเตี้ย และ หลวงปู่ครูบากันทา คันโท เจ้าอาวาส วัดวังจ�าปา ได้เมตตาเป็นประธานในการสร้างวัดดังกล่าว โดยมี นายแก้ว ปินค�าตา ผูใ้ หญ่บา้ นในขณะนัน้ ได้ชว่ ยกันสร้างเป็นอารามเล็กๆ เพื่ อ ให้ เ ป็ น ที่ พั ก อาศั ย ของพระสงฆ์ สามเณร และที่ บ� า เพ็ ญ บุ ญ เป็นสถานปฏิบตั ธิ รรม ในพืน้ ทีจ่ า� นวน 3 งาน ปัจจุบนั พืน้ ทีไ่ ด้ถกู ขยาย เพิ่มขึ้น จึงมีเนื้อที่ 8 ไร่ 1 งาน 7 วา

138

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

วัดท่าหลุกวังปลาสร้อย อยู่ติดแม่น�้าปิง สาเหตุที่ถูกขนานนาม ชื่อวัดว่า “วัดพระธาตุวังปลาสร้อย” โดยหม่อมเจ้าฑิฆัมพร ยุคล ได้เดินทางมาชมปลาท่าน�้าเขตอนุรักษ์พันธุ์สัตว์น�้า และตรวจเยี่ยม ให้ก�าลังใจเด็กๆ ชาวเขา ที่ทางวัดได้ท�าโครงการสงเคราะห์อุปการะ ช่วยเหลือเด็กชาวเขาเพื่อส่งเสริมการศึกษา ได้กล่าวตั้งชื่อวัดว่า วัดพระธาตุวังปลาสร้อย หมายถึงองศ์พระสารีริกธาตุจากสมเด็จ พระสั ง ฆราชเจ้ า กรมหลวงวชิ ร ญาณสั ง วร (เจริ ญ สุ ว ฑฺ ฒ โน) สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายกพระองค์ที่ 19 ประธานให้ ค�าว่า “สร้อย” หมายถึง นามพระมารดาของหม่อมท่าน มีพระนาม สร้อยระย้า “ปลา” คือ ปลาท่าน�า้ ของวัดทีม่ าอาศัยเป็นจ�านวนมาก จึงเรียกว่า “วัดพระธาตุวังปลาสร้อย” หรือ “วัดท่าหลุก” มาจนถึงทุกวันนี้


ประวัตท่านเจ้าอาวาสโดยสังเขป พระครูสุคนธ์สีลาภิรม (สิงห์แก้ว) ได้รับการแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาส มาตัง้ แต่ป ี พ.ศ. 2525 จนถึงปัจจุบนั สมณศักดิ์ เมือ่ วันที ่ 5 ธันวาคม พ.ศ.2558 เป็น พระครูสญ ั ญาบัตร เจ้าอาวาส วัดราษฎร์ ชั้นโท ที่ พระครูสุคนธ์สีลาภิรม ผลงาน สร้างวิหารหลวง, สร้างศาลาไม้สกั ทอง 2 ชัน้ , กุฏหิ อ้ งแถวยาวเพือ่ ทีพ่ กั อาศัย, หอระฆัง, หอสรงน�า้ , พระธาตุ, ถ�า้ ประดิษฐานพระประจ�าวันเกิด, หอประชุม, ศาลาพระเจ้าทันใจ, ห้องน�้า-สุขา และ โรงอาหาร เป็นต้น

เสนาสนะส�าคัญของวัด 1. วิหารหลวง เป็นทีป่ ระดิษฐานองค์พระพุทธรูป “พระเจ้าเก้าตือ้ ” และ พระสารีริกธาตุ ซึ่งได้รับพระเมตตาจากสมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณสังวร (เจริญ สุวฑฺฒโน) สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสั ง ฆปริ ณ ายกพระองค์ ที่ 19 ประทานมอบให้ ม าในปี พ.ศ. 2541 2. ศาลาการเปรียญ สร้างโดยไม้สักทองทั้งหลังศิลปะแบบล้านนา 3. ศาลาพระเจ้าทันใจ (พระสมปรารถนา ) 4. ถ�้ าพระจ�าลองพระประจ�าวัน เกิด อีก ทั้ง หอระฆั ง ห้ อ งน�้ า ห้องสุขา และมีที่พักอาศัยส�าหรับพระภิกษุสามเณร

ผลงานด้านสังคมสงเคราะห์ 1. โครงการสงเคราะห์เด็กชาวเขาด้านการศึกษา 2. เป็นประธานหน่วยอบรมประชาชนประจ�าต�าบล 3. เป็นกรรมการวัฒนธรรมประจ�าต�าบล 4. เป็นพระวินยาธิการประจ�าต�าบล 5. โครงการ “ศาลาอาศรมเผยแผ่พระพุทธศาสนา” จ�านวน 6 หมูบ่ า้ น 6. โครงการอนุรักษ์พืชพันธุ์สัตว์

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

139


History of buddhism....

วัดป่าไม้แดง สักการะพระเจ้าพรหมมหาราช อนุสรณ์สถานเทิดพระเกียรติแด่วีรกษัตริย์ผู้ยิ่งใหญ่ พระครูสถิตธรรมาภิรักษ์ เจ้าอาวาส และเจ้าคณะอ�าเภอไชยปราการ

วัดป่าไม้แดง ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 119 หมู่ 9 บ้านป่าไม้แดง ต�าบลหนองบัว อ�าเภอไชยปราการ จังหวัดเชียงใหม่ หรืออีกชื่อหนึ่งว่า “วัดพระเจ้า พรหมมหาราช” ตั้งอยู่ในอ�าเภอไชยปราการ อยู่ห่างจากตัวเมือง เชียงใหม่ 130 กิโลเมตร บริเวณวัดมีเนื้อที่ 49 ไร่ ปัจจุบัน พระครู สถิตธรรมาภิรักษ์ เป็นเจ้าอาวาส และเจ้าคณะอ�าเภอไชยปราการ

140

SBL บันทึกประเทศไทย II เชียงใหม่


ประวัติความเป็นมา วัดป่าไม้แดง เดิมทีเป็นวัดร้าง เต็มไปด้วย ซากปรักหักพัง ท่ามกลาง “ต้นไม้แดง” ที่ปกคลุมจนเนืองแน่น จึงได้น�ามาตั้งเป็นชื่อวัด จากต�านานสร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 1599 ในสมัยพระเจ้าพรหมมหาราช พระมหากษัตริย์ผู้ทรงสถาปนา สร้างเมืองไชยปราการ ทางวัดจึงได้สร้าง พระบรมราชานุสาวรีย์ พระเจ้าพรหมมหาราชขึ้นเป็นอนุสรณ์สถานแด่พระเจ้า พรหมมหาราช เพื่อเทิดพระเกียรติแด่วีรกษัตริย์ผู้ยิ่งใหญ่

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

141


ต�านานการกู้ชาติ “พระเจ้าพรหมมหาราช” ในรัชสมัยพระเจ้าพรหมมหาราชทรงครองราชย์อยู่ ณ เมือง ไชยปราการนัน้ บ้านเมืองในแว่นแคว้นโยนกเจริญรุง่ เรืองปรากฏไปทัว่ ทุกทิศ เหล่ า ปั จ จามิ ต รก็ มิ อ าจกล้ า มาราวี ด้ ว ยเกรงในพระบรม เดชานุภาพและบุญญาธิการของพระองค์ พระองค์ทรงถือก�าเนิด มาเพื่อปราบยุคเข็ญในยามที่บ้านเมืองก�าลังตกอยู่ในเงื้อมมือของ คนต่างชาติ และเพื่อกอบกู้อิสรภาพของชาติไทยโดยแท้ พระองค์ประสูติในปี พ.ศ. 1461 พระเจ้าพังคราชพระราชบิดา และพระมเหสีผู้เป็นมารดาของพระองค์ต้องถูกพวกขอมเนรเทศ ให้ออกจากอาณาจักรโยนก ไปอยูเ่ มืองเล็กๆ เมืองหนึง่ ชือ่ ว่า เวียงสีทวง (ปัจจุบันคือ บ้านเวียงแก้ว อยู่ในท้องที่อ�าเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย ใกล้ๆ ชายแดนพม่า) เหตุอัศจรรย์ คือขณะที่พระมเหสีทรงตั้งครรภ์ ราชโอรสองค์นี้ได้ 7 เดือน ได้กราบทูลพระสวามีว่า ขอให้น�าเอา ศาสตราวุธ มาให้ดูว่ามีอะไรบ้าง ที่ใช้ในราชการสงคราม พระสวามี ก็แสวงหามาตกแต่งไว้ในห้องให้พระมเหสีทอดพระเนตรทุกวัน ในทีส่ ดุ ก็ประสูติพระราชโอรส ในต�านานโยนกได้ กล่าวถึงอิทธิปาฏิหาริย์ อันเกิดจากบุญญาบารมีของพระองค์ว่า เมื่อพระชนม์ได้ 7 พรรษา ทรงมี น�้ า พระทั ย องอาจกล้ า หาญ ชอบเรี ย นวิ ช าเพลงอาวุ ธ และ ต�ารับยุทธวิธีสงคราม เมื่อพระราชกุมารทรงพระเจริญวัยขึ้นมีพระชนม์ได้ 13 พรรษา คืนหนึง่ ทรงพระสุบนิ ว่ามีเทวดามาบอกพระองค์วา่ ถ้าอยากได้ชา้ งเผือก คู่พระบารมีส�าหรับท�าศึกสงครามแล้วไซร้ วันพรุ่งนี้ตอนเช้าก่อน ดวงอาทิตย์ขนึ้ ให้ออกไปทีฝ่ ง่ั แม่นา�้ โขงแล้วคอยดูจะมีชา้ งเผือกล่องน�า้ มาตามแม่น�้าโขง 3 เชือกด้วยกัน ถ้าจับได้เชือกใดเชือกหนึ่ง ก็จะใช้ เป็นพาหนะท�าศึกสงคราม ถ้าจับได้ตวั หนึง่ จะปราบได้ทงั้ สีท่ วีป ถ้าจับ

142

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

ได้ตัวที่สองจะปราบได้ทั่วชมพูทวีป ถ้าจับได้ตัวที่สามจะปราบได้ ทั่วดินแดนแคว้นลานนาไทย สิน้ สุบนิ นิมติ แล้ว เจ้าพรหมราชกุมารตืน่ จากบรรทมไม่ทันสรงพระพักตร์ ก็ทรงเรียกมหาดเล็กของท่าน ซึ่ง เป็นลูกทหารแม่ทพั นายกองจ�านวน 50 คน ให้ไปตัดไม้รวกเป็นขอตาม ค�าเทวดาบอก แล้วในที่สุดก็น�าช้างขึ้นฝั่งได้ และเจ้าพรหมกุมารก็น�า ช้างเข้าเมือง พระราชบิดาก็สร้างโรงช้างเผือกเข้าเลี้ยงบ�ารุงไว้ที่นั่น ช้างก็เลยได้ชื่อว่า ช้างเผือกพางค�า และทรงใช้เวียงพางค�านี้เป็น แหล่งชุมชนไพร่พล เพราะเวียงพางค�ามีอาณาเขตเป็นที่ราบกว้าง อุดมสมบูรณ์ด้วยพืชพันธุ์ธัญญาหารเหมาะแก่การประชุมพล นับแต่นั้นมา พระองค์ก็ฝึกซ้อมทหารให้ช�านาญในยุทธวิธี และ สะสมเครื่องอาวุธยุทโธปกรณ์ไว้มากมาย ทราบว่าบ้านเมืองของ พระองค์ถกู พวกขอมย�า่ ยีจนต้องตกเป็นประเทศราช พระบิดาต้องส่งส่วย ให้ขอมทุกปี ก็ทรงด�าริที่จะกอบกู้เอกราช โดยประกาศแข็งเมืองไม่ส่ง เครือ่ งบรรณาการให้แก่กษัตริยข์ อมด�า การสงครามระหว่างไทยกับขอมด�า ก็เริ่มขึ้น อีกครั้งหนึ่ง แต่ปรากฏว่า คราวนี้ขอมพ่ายแพ้แก่กองทัพไทย ตีหัวเมืองที่อยู่ในอ�านาจของขอมกลับคืนหมด แล้วพระองค์จึงเสด็จ หาที่ตั้งราชธานีใหม่ ในที่สุดก็เสด็จมาถึงบริเวณแม่น�้าฝาง เห็นเป็น ท�าเลทีเ่ หมาะดี ก็ทรงสร้างนครขึน้ ทีน่ นั่ เมือ่ สร้างเสร็จแล้วจึงขนานนาม เมืองว่า เมืองไชยปราการ แล้วพระองค์เสด็จขึน้ ครองราชย์สมบัตใิ นปี พ.ศ. 1480 เมืองนัน้ อยูห่ า่ งจากเมืองชัยบุรเี ชียงแสน ระยะทางประมาณ 300 กม. (คือเชียงแสนกับฝางปัจจุบัน) พระเจ้าพรหมมหาราช มี ราชโอรสองค์เดียว คือ พระเจ้าสิรไิ ชยหรือไชยสิร ิ พระองค์ทรงปกครอง ราชบัลลังก์ได้ 60 ปี ก็เสด็จสวรรคต


ปฏิปทา พระครูสถิตธรรมาภิรกั ษ์(ครูบาดวงค�า) พระผูใ้ ช้นา�้ แลกป่า ฤดู ฝ นปี พ.ศ. 2558 มี พ ายุ โซนร้ อ นหรื อ ดี เ ปรสชั่ น เข้ า ไทย เพียงลูกเดียว ส่งผลให้ปริมาณน�า้ เก็บกักตามเขือ่ นและอ่างเก็บน�า้ ต่างๆ ทางตอนบนของประเทศมีน้อยที่สุดในรอบหลายสิบปี โดยเฉพาะ จังหวัดเชียงใหม่ แต่กบั ครูบาดวงค�า ท่านมีความคิดว่าในฐานะพระสงฆ์ ที่มีโอกาสในการน�าชาวบ้านพัฒนาเพื่อให้สามารถพึ่งพาตัวเองและ อยู่กับธรรมชาติสิ่งแวดล้อมได้อย่างยั่งยืน ท่านว่าภัยแล้งที่เกิดขึ้น ในฤดูแล้งทุกปี เป็นไปตามธรรมชาติอาจมีน�้าน้อยลง แต่ขอเพียง อย่ า ท� า ลายป่ า ในพื้ น ที่ ที่ อ ยู ่ มั่ น ใจว่ า จะไม่ รุ น แรงโดยเฉพาะที่ ไชยปราการ ท่านได้เข้าไปท�าความเข้าใจให้ชาวบ้านรักษ์ป่า รักษ์น�้า และป่าก็จะกลั่น น�้า ออกมาชุบชีวิตคน ให้มีน�้ากินน�้าใช้ตลอดทั้งปี ข้อส�าคัญเมื่อร่วมกันรักษาป่าก็อย่าได้บุกรุกเพิ่ม และห้ามตัดไม้ อย่างเด็ดขาด ครูบาดวงค�า ฐานิสฺสโร หรือ พระครูสถิตธรรมาภิรักษ์ เจ้าอาวาส วัดป่าไม้แดง(วัดพระเจ้าพรหมมหาราช) และเจ้าคณะอ�าเภอไชยปราการ ปัจจุบัน อายุ 60 ปี มีอุดมการณ์รักษ์น�้ารักษ์ป่า จึงเป็นที่ยอมรับ และศรัทธาของประชาชนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่หลากหลายเผ่าพันธุ์ ทัง้ คนพืน้ เมืองพืน้ ราบ คนบนดอยสูง ชาวจีนอ่อ กองพล 93 เดิมจนถึง ชาวม้ง ไทใหญ่ และปะหล่อง ผลงานของพระครูสถิตธรรมาภิรักษ์ เจ้าอาวาสวัดป่าไม้แดง ประธานโครงการธรรมตามแนวพระราชด�าริ อ�าเภอไชยปราการ

จังหวัดเชียงใหม่ ได้น�าแนวปฏิบัติมาจาก พระแม่หลวงของแผ่นดิน ครัง้ เมือ่ สมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ติ ิ์ พระบรมราชินนี าถ พระบรมราชชนนี พั น ปี ห ลวง เสด็ จ ฯเยี่ ย มโครงการหลวงดอยอ่ า งขาง อ� า เภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ เมื่อเดือนมกราคม พ.ศ. 2535 น�ามาสู่การดูแล อนุรกั ษ์ปา่ ท�าให้เกิดน�า้ กินน�า้ ใช้และกลายเป็น โครงการธรรม ตามแนว พระราชด�าริ น�้าแลกป่า เป็นผลส�าเร็จอย่างเป็นรูปธรรม จึงเป็น แรงบันดาลใจให้ท่านคิดค้นโครงการ น�้าแลกป่า ในเวลาต่อมา โครงการน�า้ แลกป่า ก็คอื การจัดการระบบประปาในหมูบ่ า้ น และ ประปาภูเขาทุกโครงการ มาจากผู้มีจิตศรัทธาร่วมสมทบงบประมาณ แรงงานชาวบ้าน ทหารกองก�าลังผาเมือง และเดินท่อน�า้ สร้างถังพักน�า้ ไว้เป็นจุดๆ ระดับสูง เพื่อเพิ่มแรงดันน�้าท�าให้ระบบประปาหมู่บ้าน และประปาภูเขา สามารถส่งน�้าเข้าถึงครัวเรือนได้อย่างสะดวก ทั้ง ประหยัดกระแสไฟฟ้า ลดค่าใช้จ่ายที่ไม่จ�าเป็นลง ขณะเดียวกันก็มี คณะกรรมการชุมชน หมู่บ้านคอยดูแลควบคุมความสะอาดของ น�้าประปา ค่าคลอรีน รวมทั้งเรื่องการบ�ารุงรักษา ถือว่าโครงการ ทัง้ หมดนีเ้ กิดความส�าเร็จแล้วในทุกๆ พืน้ ทีท่ กี่ ล่าวมา ท�าให้ประชาชน มีความสุขกับการได้ใช้น�้าประปา ซึ่งไม่ต่างจากคนในเมืองที่ได้ใช้ น�้าประปานครหลวงหรือประปาส่วนภูมิภาค ที่ส�าคัญสามารถเพิ่ม คุ ณ ภาพชี วิ ต ขจั ด ความทุ ก ข์ ย ากที่ เ คยมี อ ยู ่ เ ดิ ม ที่ ไ ม่ ต ้ อ งเดิ น ไป ตักน�้าไกลๆ อีกแล้ว

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

143


History of buddhism....

WAT PA MAI DANG Phra Chao Phrom Maharaj, the monument for honoring the great and heroic king Wat Pa Mai Dang is located at 119 village no.9, Ban Pa Mai Dang, Nong Bua sub-district, Chai Prakan district, Chiang Mai province. Its other name is “Wat Phra Chao Prom Maharaj”. This temple is 130 kilometers from downtown of Chiang Mai. The scale of this temple’s land is 19.6 acres. At present, Phra Khru Sathit Thammaphirak (Khruba Duangkham) takes a position of abbot which he is also Chai Prakan district monk dean. History of Wat Pa Mai Dang – This temple was an abandoned temple which is full of ruins among “Red trees” that covered this area entirely (Red tree is Mai Dang in Thais). Then, people named this temple after this red tree. According to historical record, it was built in B.E.1599, during the reign of Phra Chao Prom Maharaj, the great king who established Chai Prakan city. This temple then built Phra Chao Prom Maharaj monument in order to make his memorial monument for honoring the great king. MODE OF PRACTICES OF PHRA KHRU SATHIT THAMMAPHIRAK (KHRUBA DUANGKHAM), THE MONK WHO EXCHANGES WATER WITH FOREST Khruba Duangkham Thanitsaro or Phra Khru Sathit Thammaphirak, abbot of Wat Pa Mai Dang (Wat Pra Chao Prom Maharaj) and Chai Prakan district monk dean. He is now 60 years old. He has an ideology of forest and water conservation which made him be accepted and believed in by various ethnic groups who reside in an area around this temple like native, hill tribe, Chinese descendant of old 93rd Kuomintang division, Hmong people, Tai Yai and Palong hill tribe. Works of Phra Khru Sathit Thammaphirak, abbot of Wat Pa Mai Dang, chief of Royal Initiative Dharma project, Chai Prakan district, Chiang Mai province. He brought the 144

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

mode of practice from Her Majesty Queen Sirikit the Queen Mother when she visited Doi Ang Kang Royal project at Fang district, Chiang Mai in January, B.E.2535 which lead to forest conservation and made locals had an available water for drinking and utilizing. After that, it turned into Royal Initiative Dharma project “Exchanging water with forest” that became successful concrete project which this project had inspired him to initiate an exchanging water with forest project afterwards. Exchanging water with forest project is the management of waterworks in villages and mountain area which this project is occurred due to cooperation of faithful people, locals and Pha Muang task force. They laid the water pipes and built water-holding tanks at many high location in order to increase water pressure which cause Pipeline System in the village and mountain area can be comfortably delivered to every household. Moreover, it also saved electricity and reduced an unnecessary expenses. At the same time, there is community and village committee that has been taking care and controlling cleanness of water supply, chlorine level and maintenance. It can be considered that this project is succeeded in every aforementioned area.


野红木寺庙 帕龙玛哈啦王, 伟大英雄的纪念堂。

野红木寺庙位于 119号,第9村,野红木小村,农博分区,

族 和德昂族)

蔡巴甘区,清迈。此庙名称也叫“帕龙玛哈啦王王庙”。此庙原

砂梯摊玛啦克师父,遵照皇家的指示,1992 年 1 月,诗丽

来是被遗弃的寺庙。据记载野红木寺庙是从1056年,帕龙玛哈啦

吉 吉滴耶功皇后访问清迈安康山,师父遵照皇后关于保护大自

王的时代建的,皇上建立蔡巴甘城市。为了纪念伟大国王的英

然环境的方针,来改革清迈蔡巴甘区,当时师父是这发展项目的

雄, 野红木庙还建设帕龙玛哈啦王的纪念碑。

主席。改革后,使当地人民拥有饮用水,项目成功了,后来有信 心继续创造更多的”以水交换森林”的项目。

巴弟巴嗒 砂梯摊玛匹啦克 (枯巴端咔)师父, 用水交换森林。

“以水交换森林”项目,就是当地小区和高山上所有的自来

砂梯摊玛匹啦克 (枯巴端咔) 师父当寺庙法师和“蔡巴甘

水系统,是由当地志愿者捐款,劳动人民和军人同心协力安装水

区”的主持。梯摊玛匹啦克师父 (枯巴端咔 嗒尼砂咯)。当年

管,建设固定水箱,提高水压,捷便供水,节约用电,降低成

年龄60周岁。师父有保护大自然的理想,所以受到当地和周围人

本。同时也为小区委员会负责控制供水的氯值, 卫生管理。完

民的崇拜 (包括当地人民,高山人民,回族,93师,孟族,掸

成了所有的项目。

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

145


History of buddhism....

วัดปงต�ำ สติ โลกสฺมิ ชาคโร สติเป็นธรรมเครื่องตื่นอยู่ในโลก พระครูสิริธรรมวิฑิต สิริธมฺโม รองจ้าคณะอ�าเภอไชยปราการ, พระอุปัชฌาย์ รุ่นที่ 45 และ เจ้าอาวาส

วั ด ปงต� า เป็ น วั ด ราษฎร์ ตั้ ง อยู ่ ที่ บ ้ า นปงต� า ถนนโชตนา (สายเชี ย งใหม่ - ฝาง) หมู ่ ที่ 1 ต� า บลปงต� า อ� า เภอไชยปราการ จังหวัดเชียงใหม่ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ที่ดินตั้งวัดมีเนื้อที่ 2 ไร่ 1 งาน 94 ตารางวา กว่าจะมาเป็นวัดปงต�า วัดปงต�าสร้างเมื่อไหร่ไม่ปรากฏ เดิมที่ตั้งวัดอยู่กลางหมู่บ้าน ต่อมาได้เกิดเพลิงไหม้อาคารและสิ่งปลูกสร้างของวัดเสียหายหมด พระจินา กิติญาโณ จึงได้ประชุมคณะกรรมการ พร้อมด้วยศรัทธา ญาติโยมว่าเห็นสมควรย้ายวัด ศรัทธาญาติโยมจึงได้ช่วยกันแผ้วถาง

146

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

ที่จากวัดเก่าประมาณ 700 เมตร แล้วช่วยกันสร้างเสนาสนะขึ้น และ ใช้ชื่อวัดเดิมคือ วัดปงต�า ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ.2512 เขตวิสุงคามสีมากว้าง 20 เมตร ยาว 40 เมตร


การบริหารและการปกครอง 1. พระจินา กิติญาโณ 2. พระปัญญา ญาณวโร 3. พระพรหมมินทร์ กลฺยาโณ 4. พระค�ามูล เขมกาโม 5. พระค�าอ้าย สุตินธโร 6. พระบุญรัตน์ กตปญฺโญ 7. พระค�ามูล ธมฺมธโร 8. พระบุญมี โชติธมฺโม 9. พระแสวง สิรินธโร 10. พระก๋อง ญาณส�วโร 11. พระครูสิริธรรมวิฑิต สิริธมฺโม

พ.ศ. 2461 - พ.ศ. 2479 พ.ศ. 2479 - พ.ศ. 2486 พ.ศ. 2486 - พ.ศ. 2493 พ.ศ. 2493 - พ.ศ. 2498 พ.ศ. 2498 - พ.ศ. 2504 พ.ศ. 2504 - พ.ศ. 2507 พ.ศ. 2507 - พ.ศ. 2514 พ.ศ. 2514 - พ.ศ. 2520 พ.ศ. 2520 - พ.ศ. 2524 พ.ศ. 2524 - พ.ศ. 2529 พ.ศ. 2529 - ปัจจุบัน

ประวัติท่านเจ้าอาวาสพอสังเขป พระครูสิริธรรมวิฑิต สิริธมฺโม อายุ 62 พรรษา 42 วิทยฐานะ น.ธ.เอก ปัจจุบันด�ารงต�าแหน่ง รองเจ้าคณะอ�าเภอไชยปราการ, พระอุปัชฌาย์ รุ่นที่ 45 และเจ้าอาวาสวัดปงต�า สถานะเดิมชือ่ อ�านวย ไชยราษฎร์ เกิดวันที ่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 ภูมิล�าเนาเดิม บ้านเลขที่ 18 ม.6 บ้านดงป่าซาง ต�าบลมะขุนหวาน อ�าเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ บรรพชา เมื่ออายุ 11 ปี วันที่ 6 มิถนุ ายน พ.ศ. 2511 ณ วัดดงป่าซาง พระอุปชั ฌาย์ พระครูคา� ปณฺโญ วัดมะขุนหวาน อุ ป สมบท เมื่ อ อายุ 20 ปี วั น ที่ 2 มี น าคม พ.ศ. 2520 ณ วัดสันคอช้าง พระอุปัชฌาย์ พระครูฉัฐไชย ฐานจาโร วัดมะขุนหวาน พระกรรมวาจาจารย์ พระอธิการศรีเนียม อภินนฺโท วัดดงป่างิ้ว พระอนุสาวนาจารย์ พระอธิการอินผล อินทปญฺโญ วัดดงป่าซาง อ�าเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

147


กราบสรีระสังขารหลวงปู่ครูบาธรรมชัย ในดินแดนพระนิพพาน

History of buddhism....

WAT PONG TAM Sati Lokasami Jakaro, Mindfulness produces an awakened condition in the world

Wat Pong Tam is Wat Rat (temple that its land was bestowed from royal family but it is not royal temple), it is located at Ban Pong Tam, Chotana road (Chiang Mai – Fang route), village no.1, Pong Tam sub-district, Chai Prakarn district, Chiang Mai province. It belongs to Maha Nikaya clergy. The scale of this temple’s land is 0.8 acres and 776 square meters. Before origin of Wat Pong Tam until today Wat Pong Tam was formerly located in the middle of village. After that, there was conflagration occurred and 148

SBL บันทึกประเทศไทย II เชียงใหม่

completely burned buildings and structures of this temple down. Then, Phra Jina Kitiyano had a meeting with committee together with faithful folks which all of them agreed to move the location of this temple. Folks then jointly cleared the land of old temple’s location which its scale was around 700 meters. They built this temple again and named it by its former name which is Wat Pong Tam. This temple was granted Wisungkhamsima (Land granted from Royal family to build temple or other religious buildings) on 24th March B.E.2512, the scale of this land is 20 meters in width and 40 meters in length.


BRIEF BIOGRAPHY OF ABBOT Phra Khru Sirithamwithit Sirithammo - Age 62 years old, has been a monk for 42 years, Dhamma scholar advanced level. Presently, he taking a position of Chai Prakarn district vice monk dean and abbot at Wat Pong Tam.

Former status - His former name was Amnuay Chairat. He was born on 4th February B.E.2500. His former address was 18 village no.6, Ban Dong Pa Sang, Makhunwan sub-district, Sanpatong district, Chiang Mai province. He was ordained as a novice on 6th June B.E.2511 when

he was 11 years old at Wat Dong Pa Sang which the preceptor was Phra Khru Kham Panyo of Wat Makhunwan. He was ordained as a monk on 2nd March B.E.2520 when he was 20 years old at Wat San Kho Chang. The preceptor was Phra Khru Chatchai Thanajaro of Wat Makhunwan. Pair of monks who chant the ordination service of his ordination were Phra Athikarn Sriniem Apinanto of Wat Dong Pa Ngiu and Phra Athikarn Inphon Inthapanyo of Wat Dong Pa Sang, Sanpatong district, Chiang Mai province.

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

149


History of buddhism....

วัดสันต้นเปา ตํานานเก่าแก่ “ท้าวเสมอใจ” ณ วัดบ้านอ่าย ที่รู้จักมหาชนทั่วไป และลูกหลานท้าวเสมอใจ พระครูวิมลบุญญาคม เจ้าคณะต�าบลศรีดงเย็น เขต 2 และเจ้าอาวาส

วัดสันต้นเปา(บ้านอ่าย) ตั้งอยู่เลขที่ 171 บ้านอ่าย ถนนโชตนา หมู ่ ที่ 5 ต� า บลศรี ด งเย็ น อ� า เภอไชยปราการ จั ง หวั ด เชี ย งใหม่ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ที่ดินที่ตั้งวัด มีเนื้อที่ 6 ไร่ 18 ตารางวา ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2539 150

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


ประวัติเจ้าอาวาสโดยสังเขป พระครูวิมลบุญญาคม ฉายา อคฺคปุญโญ ชื่อเดิม จรัญ ศิริสมหมู บรรพชาที่ วัดศรีบุญเรือง อ�าเภอแม่อาย จังหวัดเชียงใหม่ เมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2519 โดยมี เจ้าอธิการค�าบาง ฉายา อชิโต วัดธัมมิกาวาส(คายใน) ต�าบลแม่นาวาง อ�าเภอแม่อาย จังหวัดเชียงใหม่ เป็นพระอุปัชฌาย์ อุปสมบท ณ วัดศรีดอนแก้ว อ�าเภอแม่อาย จังหวัดเชียงใหม่ เมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2527 โดยมี พระครู วุฒิญาณพิศิษฏ์ วัดปัณณาราม จังหวัดเชียงใหม่ เป็นพระอุปัชฌาย์ พระปลัดวิชาธร อภิชาโต วัดศรีดอนชัย จังหวัดเชียงใหม่ เป็นพระกรรม วาจาจารย์ และ เจ้าอธิการศรีนวล สุภาจาโร วัดแม่สาว จังหวัด เชียงใหม่ เป็นพระอนุสาวนาจารย์

ตามประวัติเก่าแก่เล่าว่า สถานที่ตั้งวัดในปัจจุบัน เดิมเป็นที่ตั้ง ด่านตรวจคนเข้าเมืองฝาง โดยในสมัยนั้นเจ้าเมืองฝางได้ส่งคนสนิท คือ ท้าวเสมอใจ มาประจ�าอยู่ที่บ้านอ่าย หรือบ้านด่าน (ค�าว่า “อ่าย” หมายถึง “ด่าน”) เพื่อให้ส่งข่าวสารต่างๆ ให้แก่เจ้าเมืองได้รู้ จนเป็น ที่รู้จักมหาชนทั่วไป และลูกหลานท้าวเสมอใจ ก็ยังคงอยู่ในบ้านอ่าย จนถึงปัจจุบัน วัดสันต้นเปา(บ้านอ่าย) สร้างเมื่อพ.ศ. 2482 โดยแยกออกจาก วัดเดิมมาคือวัดทรายขาว ในขณะนั้นมีพระสมจิตร์ สุจิตโต เจ้าอาวาส วัดทรายขาว พร้อมทัง้ นายก�าธร แก้วปัญญา ผูใ้ หญ่บา้ น, ส.อ. สิงห์คา� อินต๊ะแก้ว ผูช้ ว่ ยผูใ้ หญ่บา้ น, นายถา แก้วมาลา ไวยาวัจกร, นายสิทธิสาร สว่างทิศ มัคนายก ได้ปรึกษาหารือกันว่า วัดเดิมทีต่ งั้ อยูน่ นั้ เป็นทีล่ มุ่ ต�า่ จะไปไหนมาไหนก็ ไ ม่ ส ะดวกโดยเฉพาะฤดู ฝ นล� า บากมากเพราะ น�้าท่วม จึงพร้อมด้วยชาวบ้านอีกประมาณ 37 หลังเรือน ชวนกัน มาสร้างวัดใหม่ขึ้นห่างจากวัดเดิมประมาณ 3 กิโลเมตร โดยใช้ชื่อ อย่างเป็นทางการว่า “วัดสันต้นเปา” แต่คนนิยมเรียกชือ่ ว่า “วัดบ้านอ่าย” เลยติดค�าว่าบ้านอ่าย ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

151


WAT SAN TON PAO (BAN AI) Phra Kru Wimon Bunyakhom, Dean of Si Dong Yen Sub district, District 2, reside as the abbot. Wat San Ton Pao (Ban Ai), located at 171 Ban Ai, Chotana Road, Village No. 5, Si Dong Yen Sub district, Chaiprakarn District, Chiang Mai Province, under the Mahanikai Sangha, the land of the temple has an area of 604.5 square meters, was granted by royal family on May 19, 1996, according to old history. At present, it was the location of Fang immigration checkpoint. In those days, the governor of Fang had sent a close friend, Thao Samueng Jai, to stay at Ban Ai or Ban Dan (the word “Ai” means “Checkpoint”). In order to send news to the governor. Thao Samueng Jai was known to the general public and the descendants of Thao always remain in Ban Ai until today.

San Ton Pao Temple (Ban Ai) was built in 1939 by separating from the old temple which is called the White Sand Temple. The reason is because the original temple which is located in a lowland and was not easy to travel, especially during the rainy season because of the heavy flood. Department satraYardYom and with about 37 neighboring houses together help built the new temple about 3 kilometers away from the original temple by using the official name “Watson Ton Pao”, but people popularly call it “Ban Aai Temple”. The temple include education training center to prepare children to become novice monks. The temple opened on May. 1995 and the Non-Formal Education Center (Srinakharinwirot), Si Dong Yen Sub district, is a brief history of the abbot’s community.

152

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


圣通宝佛寺(班爱) 圣通宝佛寺(班爱)位于清迈府柴普拉坎县东颜 街道5村乔塔纳路班爱门牌号171。在大乘佛教玛 哈教派的统治下,该佛寺的土地面积为6莱18平方 哇,于佛历2539年5月19号获得皇室许可。 按照古代历史,目前佛寺位置 以前是检查芳移民 的所在地。那个时候,方省长派了一个密友涛萨 孟宅驻在班爱或班丹。(“ 爱”一词的意思是 “检查点”)为了传递各种新闻给州长,直到为大 众所熟知和涛萨孟宅的孩子们还在班爱迄今为止。

圣通宝佛寺(班爱)建于佛历2482年,与原佛 寺分开,即白沙佛寺,由于原来的佛寺处于低 地,所以要去任何地方都不方便。尤其是在雨 季,洪灾非常严重出入很困难。由信仰的信徒及 村名们大约37户人家互相帮忙建起一座新佛寺, 离原来佛寺大概3公里,通过官方起名为 “圣通 宝寺”,但人们称呼 “班爱佛寺”因此从那时候 就一直有“班爱”一词 。 自佛历2538年,佛寺教育 拥有一个幼儿儿童 培训中心,佛寺里还开办成年教育非正规教育中 心(成年非正规教育)东颜街道,是一个社区学 习中心。

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

153


History of buddhism....

วัดถ�้ำตับเตำ จากตํานานพระพุทธเจ้าก่อนปรินิพพาน ถึงพระธุดงค์กรรมฐานในยุครัตนโกสินทร์ พระอาจารย์อวยชัย ฐานจาโร เจ้าอาวาส

วัดถ�้าตับเตา ตั้งอยู่ท่ี ต�าบลศรีดงเย็น อ�าเภอไชยปราการ จังหวัด เชียงใหม่ ตามทะเบียนวัดทั่วประเทศ สร้างเมื่อ ปีพ.ศ.2300 แต่อาจ เก่าแก่มากกว่านั้น เพราะมีศาสนวัตถุอยู่ เช่น โบสถ์ร้าง ในบริเวณ วัด และพระพุทธรูปปางปรินิพพานในถ�้าแจ้ง อีกทั้งพระเจดีย์ในถ�้า มืดเดิมเรียกวัดนี้ว่า วัดถ�้าทับเท้า ตามต�านานโบราณทางเหนือต่อมา เรียกวัดถ�้าตับเตาจนถึงทุกวันนี้ 154

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


“ถ�้าตับเตา” เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ บริเวณโดยรอบถ�้า ตับเตาอุดมสมบูรณ์ไปด้วยป่าไม้นานาพรรณ เป็นถ�้าหินปูนกว้างและ สูงประมาณ 6 เมตร เป็นวัดที่ร่มรื่นและยังคงความเป็นธรรมชาติ ถ�้าตับเตาตั้งอยู่ในพื้นที่ของวัด ตัวถ�้าเป็นแนวเขาหินปูนกั้นเขตอ�าเภอ ไชยปราการกับอ�าเภอเมืองเชียงดาว ภายในถ�า้ มีพระพุทธรูปประดิษฐาน มีวิหารพระนอนองค์ใหญ่ กับพระพุทธรูปองค์ใหญ่ บริเวณหน้าถ�้ามี กุฏิและศาลาส�าหรับพักผ่อน ภายในบริเวณวัดยังมีหอพระไตรปิฎก สร้างอยู่กลางน�้าอีกด้วย ประวัติท่านเจ้าอาวาสโดยสังเขป พระอาจารย์อวยชัย ฐานจาโร เดิมเป็นชาวบางกอกน้อย กรุงเทพฯ บวชที่ ต�าบลบ้านเพ อ�าเภอเมือง จังหวัดระยอง เมื่อปีพ.ศ. 2530 และได้เดินทางธุดงค์มาทางภาคเหนือและปฏิบตั ธิ รรม ณ วัดถ�า้ ตับเตา ตัง้ แต่ พ.ศ. 2534 และรับต�าแหน่งเจ้าอาวาสในปี พ.ศ. 2549 จนถึงปัจจุบนั พระพุทธรูปปางปรินิพพาน” แห่งถ�้าแจ้ง กับต�านานการตั้งทัพ ของพระเอกาทศรถ “ถ�้าแจ้ง” เป็นถ�้าใหญ่กว้าง มีปล่องด้านบน แสงสว่างส่งเข้ามาได้ภายในถ�้ามีพระพุทธรูปปางมารวิชัยองค์ใหญ่ อายุประมาณ 100 ปี สร้างโดยพระส�าเร็จประภาซึ่งเป็นพระจาก

ประเทศลาวและมีพระพุทธรูปปางปรินิพพาน ยาวประมาณ 9 เมตร อยู่ภายในถ�้า นักโบราณคดี สันนิษฐานว่าเป็นศิลปะอยุธยา ตาม ต�านานเดิมกล่าวว่า พระเอกาทศรถได้มาตั้งทัพที่วัดถ�้าตับเตานี้ เพื่อ ไปตีพม่าพร้อมกับพระนเรศวรมหาราชที่ยกกองทัพไปทางเวียงแหง เพื่อไปตึกรุงอังวะ พระเอกาทศรถคงให้ทหารปั้นพระพุทธรูปปาง ปรินิพพานประดิษฐานไว้ ณ ถ�้านี้ “ถ�้ามืด” ถ�้าแห่งการตื่นรู้ เป็นถ�้าลึกมีหินงอกหินย้อยสวยงาม เข้าไปประมาณ 250 เมตร ภายในมีช่องเล็กๆ เรียกว่า “ช่องรอบาป” พอคนเดินลอดได้ไปอีก ประมาณ 250 เมตร มีพระเจดีย์อยู่ในห้องโถงใหญ่ภายในถ�้ายังมีถ�้า อีก 2-3 ถ�้า เช่น ถ�้าเกล็ดแก้ว มีหินปูนแวววาวทั้งถ�้า และมีถ�้าบาดาล ซึ่งพระบางรูปที่ธุดงค์มาถึงที่นี่ ท่านว่าเดินทะลุถ�้าเชียงดาวได้ วัดถ�า้ ตับเตาเป็นโบราณสถานของ อ�าเภอไชยปราการ วัดอยูต่ ดิ ป่า เขาและมีล�าธารผ่านกลางวัดน�้าไม่แห้งตลอดปี แต่เดิมเป็นที่พักและ ปฏิ บั ติ ธ รรมของพระธุ ด งค์ ทั่ ว ประเทศและพระที่ มี ชื่ อ เสี ย งของ ประเทศไทยหลายท่านก็จาริกมาปฏิบตั วิ ปิ สั สนากรรมฐาน ณ ถ�า้ แห่งนี้

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

155


History of buddhism....

THAM TAB TAO TEMPLE From the legend of the Lord Buddha before death to the pilgrimage in the Rattanakosin period. Master Monk Ungchai Thanjaro is the abbot of Tham Tab Tao Temple, located in Si Dong Yen Sub district, Chai Prakan District, Chiang Mai. Built in 1757 A.D. but may possibly be much older according to artifacts such as an abandoned temple in the area and Buddha statue call Pang Pri Nip Pran in the lighted cave (Buddha entering nirvana statue). Also a pagoda in the dark cave with an original name of “Tham Tab Thao Temple”. According to the ancient north then later called” Tah Tab Tao Temple” to this day.

“THAM TAB TAO” IS AN ECOTOURISM TOURIST ATTRACTION. The area around Tham Tab Tao is abundant with various kinds of vegetation. It is a limestone cave about 6 meters wide. It is a temple that have a nice relax environment combine with nature natural setting. Tham Tab Tao cave is located in the area of the temple. This limestone cave separate boundary between Chai Prakan and Muang Chiang Dao district. Inside the cave is a large Buddha statue. In front of the cave there a cloister and a pavilion for resting. Also there is also a Buddhist Scriptures Hall built in the middle of the water. 156

SBL บันทึกประเทศไทย II เชียงใหม่


HISTORY OF THE ABBOT IN BRIEF Master Monk Xwychai Thanaroad was originally a Bangkok Noi resident, ordained in Ban Phe Sub district, Mueang District, Rayong Province in 1987 A.D. Then he travel to the north and practice dharma at Tah Tab Tao temple since 1991 A.D. and accepted the position of Abbot in 2006 A.D. until now. “Buddha entering nirvana statues” of the lighted cave and the legend of the army of Phra Ektosot. “Tham Chaeng” is a large cave with a chimney above where the light descend into the cave. There is a large Parnmavichai Buddha statue age about 100 years old built by Phra Preapprapa, a monk from Laos and a Buddha status Pang Pri Nip Pran about 9 meters in length inside the cave. Archaeologists have assumed that it is Ayutthaya artistic. Former legend has said that King Ekatot had set up his army at Tham Tab Tao Temple to attack Burma, along with King Naresuan the Great, who raised his army towards Wiang Haeng to attack city of Angwa. King Ekatot probably had his soldiers’ mold a Buddha entering nirvana statue in this cave. DARK CAVE ALSO KNOWN AS “CAVE OF AWAKENING” The Cave of Awakening is a deep cave with beautiful stalactites and stalagmites about 250 meters. Inside there is a channel called “Waiting for Sin”. At about 250 meters walking distance there is a pagoda in the main hall. Inside the cave, there are 2-3 more caves, one called “Glass Cave” which have sparkling limestone and another cave called “Underground Cave”, some of the monks that have pilgrimage here says you can walk through the cave of Chiang Dao from here. Tham Tab Tao Temple is an archaeological site of Chai Prakan District, the temple adjacent to the forest and has streams through the middle of the dry season throughout the year. It was originally a camping area and a place to practice dharma for monks throughout the country and also many of famous monks travel to practice meditation at this cave. CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

157


History of buddhism....

วัดป่าธาราภิรมย์ “พระธาตุธรรมจักรพรรดิเจดีย์” เจดีย์กึ่งอุโบสถแห่งแรกในเมืองไทย

พระครูโสภณพัฒนกิจ ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาส

วัดป่าธาราภิรมย์ ตั้งอยู่ที่บ้านไตรสภาวคาม (แยกเมืองงาย) ต�าบลปิงโค้ง อ�าเภอเชียงดาว เดิมเป็นวัดเก่าชื่อ วัดปิง (ร้าง) มีแม่น�้า 2 สาย โอบล้อมวัด คือ แม่น�้าปิง และ แม่น�้าป๋าม มีลักษณะพื้นที่ เป็ น รู ป ใบโพธิ์ มีเจดีย์อยู่ต รงกลางวัด ได้จดทะเบี ย นเป็ น วั ด ร้ า ง เมือ่ ปี พ.ศ. 2543 ต่อมาพ.ศ. 2547 ทางวัดป่าดาราภิรมย์ได้สง่ พระครูโสภณพัฒนกิจ (พระโยธิน ชยานนฺโท) มาบูรณะวัด มีดา� ริสร้างพระธาตุธรรมจักรพรรดิเจดีย์ เป็นเจดียก์ งึ่ อุโบสถเป็นอันดับแรก โดยการอนุเคราะห์และให้คา� ปรึกษา จาก พระราชวิสทุ ธิญาณ (ฤทธิรงค์ ญาณวโร) เจ้าอาวาสวัดป่าดาราภิรมย์ และหลวงตาม้า (พระอาจารย์วรงคต วิรยิ ธโร) เจ้าอาวาสวัดพุทธพรหมปัญโญ (วัดถ�า้ เมืองนะ) อ�าเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ ซึง่ เป็นศิษย์หลวงปูด่ ู่ พฺรหฺมปัญโญ แห่งวัดสะแก จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พระอริยะผู้ เปีย่ มไปด้วยเมตตา หลวงปูด่ ู่ มีหลักธรรมค�าสอนทีม่ งุ่ ให้ปฏิบตั ขิ ดั เกลา ตนอย่างเต็มก�าลัง ท่านให้เอาพระ “สติ” พระ “ปัญญา” ทีฝ่ กึ ฝนอบรม มาดีแล้ว เท่านั้นที่จะช่วยให้ผู้ปฏิบัติรู้เท่าทันและพร้อมที่จะเผชิญกับ ปัญหาและสิ่งกระทบต่างๆ ที่ เข้ามาในชีวิต อย่างไม่ทุกข์ใจ ดุจว่า สิ่ ง เหล่ า นั้ น เป็ น เสมื อ นฤดู ก าลที่ ผ ่ า นเข้ า มาในชี วิ ต บางครั้ ง ร้ อ น บางครั้งหนาว ทุกสิ่งทุกอย่างล้วนเป็นไปตามธรรมดาของโลก ท่านว่า ให้ปฏิบตั เิ อาของจริงดีกว่าคือ “ พุทธังฯ ธัมมังฯ สังฆังฯ สรณัง คัจฉามิ นี่แหละของแท้” 158

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


กิจกรรมการเผยแพร่ศาสนา เจ้ าอาวาสได้จัด กิจกรรมอบรมเยาวชนและบรรพชาสามเณร ฤดูร้อนทุกปี ทั้งนี้ยังมีการอบรมกรรมฐานตามแนวทางหลวงปู่ดู ่ พฺรหฺมปัญโญ และ หลวงตาม้า ซึ่งเป็นลูกศิษย์หลวงปู่ด ู่ (ตาอยู่ที่ภาพ จิตอยู่ที่พระ) ระหว่างวันที่ 7,8,9 ของทุกเดือน โดยเฉพาะทุกวันที่ 8 ของทุกเดือนมีกิจกรรมหล่อพระ และร่วมกันหิ้วปูนสร้างพระโดยมี หลวงตาม้า (วัดถ�้าเมืองนะ) มาเป็นประธานและแสดงธรรมเวลา 19.00 – 21.00 น. ในวันนั้น ทางวัดมีโครงการแจกพระหลวงปู่ดู่ และ หลวงปูท่ วด พร้อมบทสวดคาถามหาจักรพรรดิ (แจกฟรี) และมีการจัด สร้างเสนาสนะต่างๆ เพื่อใช้ประกอบกิจกรรมในทางพระพุทธศาสนา เช่น วิหารธรรมพรหมปัญโญ หรือสมเด็จองค์ปฐม พุทธวิริยธโรเมตตา ธรรมหน้าตัก 10 เมตร และ เสาอโศก เป็นต้น

ขอเชิญชวนพุทธศาสนิกชนร่วมบุญสร้างศาสนสมบัติ ได้ที่ ธนาคารกรุงไทย 516-0-31660-4 ชื่อบัญชี วัดป่าธาราภิรมย์ ติดต่อปฏิบัติธรรม และ ติดต่อร่วมบุญ ได้ที่ โทร.063-232-9299, 092-362-8924 Facebook เทียนจักรพรรดิวัดป่าธาราภิรมย์

พระธาตุธรรมจักรพรรดิเจดีย์

หลวงปู่ทวด

ลานพุทธจักราพระเจ้า 5 พระองค์

หลวงปู่ดู่ พรหมปัญโญ

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

159

ครูบาโย-หลวงตาม้า


History of buddhism....

วัดพระนอนสบคาบ ปาฏิหาริย์แห่งความศรัทธา “พระนอนจอมปิงศรีพิงค์นครอุดมมงคล” พระครูโกศลสังฆพิทักษ์(มนตรี ญาณเมธี) ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาส

วัดพระนอนสบคาบ ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นสบคาบหมู่ 6 ต�าบลแม่นะ อ�าเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ ปัจจุบนั พระครูโกศลสังฆพิทกั ษ์ (มนตรี ญาณเมธี) เป็นเจ้าอาวาส ตามค�าบอกกล่าวของชาวบ้านผู้สูงอายุเล่าว่า วัดเดิมนั้นชาวไทยใหญ่เป็นผู้สร้างราวก่อนปีพุทธศักราช 2470 แต่ได้ร้างไป เป็นเวลานาน เพราะขาดพระสงฆ์มาจ�าพรรษา แต่ยังคงเหลือหลักฐานปรากฎอยู่คือพระนอนซึ่งประดิษฐานอยู่ตรงกลางลานวัด ซึ่งสภาพวัด ในครั้งนั้นมีวิหารสร้างด้วยไม้สภาพช�ารุดทรุดโทรม 1 หลัง ส�าหรับครอบพระนอน, ศาลาไม้ 1 หลัง กุฏิไม้ 1 หลัง, ห้องน�้า 1 ห้อง, บ่อน�้าโบราณ 1 บ่อ ต่อมาในปีพ.ศ. 2479 ชาวบ้านจึงได้มีการประชุมปรึกษาหารือ เพื่อที่จะช่วยกันพัฒนาปรับปรุงฟื้นฟูวัดแห่งนี้ให้มีความสมบูรณ์ดังเดิม จึงได้พากันไปนิมนต์ครูบารส จากวัดถ�้าเชียงดาวมาจ�าพรรษาและรักษาการเจ้าอาวาส “พระนอนจอมปิงค์ศรีพิงค์นครอุดมมงคล” พระนอนศักดิ์สิทธิ์แห่งบ้านสบคาบ ในปี พ.ศ. 2512 พระครูมหาพุทธาภิบาล (ครูบาอินถา) แห่งวัดสัน คอกช้างพุทธสันติปารังกรศรีพงิ ค์นครมงคล หรือ วัดพระเจ้าตนหลวง ต�าบลแม่ก๊า อ�าเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ มาเป็นประธานใน การบูรณะพระนอน และสร้างวิหารจตุรมุขครอบองค์พระ แล้วเสร็จ ในปี พ.ศ. 2514 และให้ชื่อพระนอนองค์นี้ว่า “พระนอนจอมปิงค์ ศรีพิงค์นครอุดมมงคล” ตามต�านานที่ผู้เฒ่าผู้แก่ได้เล่าไว้ว่า ได้บรรจุ พระพุทธรูปเก่าแก่โบราณจ�านวนมากไว้ในองค์พระนอนฯ และได้ เล่าไว้ว่าทุกวันขึ้น 15 ค�่า แรม 14 ค�่า หรือ แรม 15 ค�่า (วันพระใหญ่) จะมีแสงประหลาดสีเขียวบ้าง เหลืองบ้าง ลอยออกจากองค์พระนอนฯ 160

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

ลอยขึ้ น เหนื อ วิ ห าร ซึ่ ง ชาวบ้ า นเห็ น กั น เป็ น ประจ� า สร้ า งความ ประหลาดใจให้แก่ผู้พบเห็นเป็นจ�านวนมากและเป็นที่เคารพศรัทธา ของผู้คนในท้องถิ่นอย่างแพร่หลาย และด้วยเหตุที่ว่าพระนอนฯ องค์นี้ประดิษฐาน ณ บ้านสบคาบ ชาวบ้านจึงพากันเรียกชื่อวัดแห่งนี้ ตามชื่อหมู่บ้านว่า วัดพระนอนสบคาบ ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมาจนถึง ปัจจุบันวัดแห่งนี้ก็ได้มีการพัฒนาปรับปรุงมาเป็นล�าดับโดยอาศัย ความร่วมมือจากทางพระสงฆ์ คณะศรัทธาชาวบ้านทั้งในหมู่บ้าน ในอ�าเภอและต่างจังหวัด จึงนับได้วา่ วัดแห่งนีม้ คี วามเก่าแก่มีเสนาสนะ ที่มั่นคง และมีพระภิกษุอยู่เป็นประจ�ามาจนถึงปัจจุบัน


ล�าดับเจ้าอาวาสจากอดีตถึงปัจจุบัน 1. ครูบารส พ.ศ. 2485–2500 2. พระศรี พ.ศ. 2500–2512 3. พระอิ่น พ.ศ. 2512–2515 4. พระเหลา พ.ศ. 2515–2520 5. พระจู พ.ศ. 2520–2524 6. พระใจ๋ พ.ศ. 2524–2527 7. พระแก้ว พ.ศ. 2527–2529 8. พระครูสถิตบุญญาภิรมย์ พ.ศ. 2529–2541 9. พระอธิการถวิล สุจิตฺโต พ.ศ. 2541–2547 10. พระครูโกศลสังฆพิทักษ์ (มนตรี ญาณเมธี) พ.ศ. 2547–ปัจจุบัน ประวัติเจ้าอาวาสวัดพระนอนสบคาบโดยสังเขป พระครูโกศลสังฆพิทักษ์ ฉายา ญาณเมธี อายุ 39 ปี พรรษา 20 น.ธ. เอก ปัจจุบัน ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาสวัดพระนอนสบคาบ จังหวัดเชียงใหม่ และเจ้าคณะต�าบลแม่นะ เขต 2 อีกทั้งเป็นผู้อ�านวย การโรงเรียนวัดอินทารามวิทยา สถานะเดิม ชื่อ มนตรี นามสกุล สุวรรณเลิศ เกิดวันที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2523 บิดา นายเสงี่ยม มารดา นางเสาร์ค�า ณ บ้านหมู่ที่ 6 ต�าบลแม่นะ อ�าเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ บรรพชา วันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2535 ณ วัดพระนอนสบคาบ จังหวัดเชียงใหม่ พระอุปัชฌาย์พระครูบุรีตารการุรักษ์ วัดอินทาราม ต�าบลเชียงดาว อ�าเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ อุปสมบท วันที ่ 1 เมษายน พ.ศ. 2543 ณ วัดศรีดอนชัย ต�าบลแม่นะ อ�าเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ พระอุปัชฌาย์พระครูบุญญาภิวัฒน์ วัดอุตตาราม ต�าบลเชียงดาว อ�าเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ วิทยฐานะ พ.ศ. 2538 สอบได้ นักธรรมชั้นเอก ส�านักเรียนวัดอินทาราม อ�าเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่, พ.ศ. 2547 ส�าเร็จการศึกษาระดับ ปริญญาตรี (พธ.บ.) จากมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย อ�าเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ และ พ.ศ. 2554 ส�าเร็จการศึกษาระดับ ปริญญาโท (ศษ.ม.) จากมหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี แขวงทวีวัฒนา เขตทวีวัฒนา กรุงเทพฯ การศึกษาพิเศษ วรรณกรรมล้านนา ความช�านาญพิเศษ อ่านเขียนภาษาล้านนา ต�าแหน่งทางคณะสงฆ์ 1. พ.ศ.2551 เป็นเจ้าคณะต�าบลแม่นะ เขต 2 2. พ.ศ.2562 เป็นเจ้าอาวาสวัดพระนอนสบคาบ สมณศักดิ์ พ.ศ.2553 เป็นพระครูสัญญาบัตร เจ้าคณะต�าบลชั้นโท ที่ พระครูโกศลสังฆพิทักษ์ พ.ศ.2559 เลื่อนสมณะศักดิ์เป็นเจ้าคณะต�าบลชั้นเอก ในรำชทินนำมเดิม CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

161


History of buddhism....

วัดวังมะริว กราบสักการะพระสิวลี พระอริยสาวกผู้มีลาภมาก

พระครูปลัดนพดล กุสลจิตโต ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาส

วัดวังมะริว ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 189 หมู่ 2 ต�าบลเมืองคอง อ�าเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่เดิมทีที่แห่งนี้เป็นที่พักสงฆ์ เป็นเมืองลับแลเก่า และ เป็นเนินเขาในอ�าเภอเชียงดาว ไม่มีถนนหนทาง ขึ้นลงล�าบากมาก เป็นเขตติดต่อของอ�าเภอเวียงแห แต่กอ่ นมีลา� ธารแม่นา�้ ไหลผ่าน 2 สาย ติดกับอุทยานห้วยน�้าดังเป็นหุบเขา ต่อมาในปี พ.ศ. 2541 ได้มีการ พัฒนาและสร้างเป็น “วัดวังมะริว” ชาวบ้านและเจ้าอาวาส ได้รว่ มกัน พัฒนาและสร้างอาคารเสนาสนะต่างๆ ขึ้นมาจนถึงทุกวันนี้ โดยมี พระครูปลัดนพดล กุสลจิตโต ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาสในปัจจุบัน

162

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

ซึ่ ง ต� า บลเมื อ งคอง เป็ น ต� า บลที่ต้ัง อยู ่ ใ นเขตการปกครองของ อ�าเภอเชียงดาว ประชากรประกอบด้วยชนหลายเผ่า ได้แก่ ไทยใหญ่ ลีซอ มูเซอ กะเหรี่ยง และคนพื้นเมือง ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ วัดวังมะริว จึงเป็นศูนย์รวมแห่งจิตใจของผู้คนในท้องถิ่นนี้ และเมื่อวันศุกร์ ที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 ขึ้น 15 ค�่า เดือน 6 ซึง่ ตรงกับวันวิสาขบูชา ทางวัดวังมะริว ร่วมกันศรัทธาญาติโยมทัง้ หลาย ได้รว่ มเททองหล่อพระ หลวงพ่อโสธร หลวงพ่อโต วัดบางพลีใหญ่ และ หลวงพ่อวัดบ้านแหลม ซึ่งประดิษฐานในวิหารหลวง ปูชนียวัตถุที่ส�าคัญภายในวัด เช่น พระมหาเจดีย์ สร้างถวาย พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ในหลวงรัชกาลที่ 9 , วิหารสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมร�สี) และ มีพระสีวลีองค์ใหญ่อยู่ด้านหน้าของพระมหาเจดีย์ ส�าหรับให้สาธุชนมากราบไหว้บูชาเพื่อเป็นสิริมงคลให้กับชีวิต


ประวัติพระสิวลีเถระ พระอรหันต์ผู้มากด้วยลาภสักการะ พระสีวลี เป็นเป็นโอรสของพระนางสุปปวาสา ผู้เป็นพระราชธิดา ของพระเจ้ากรุงโกลิยะ จ�าเดิมแต่พระราชโอรสมาถือปฏิสนธิในครรภ์ พระมารดา ท�าพระมารดาให้สมบูรณ์ด้วยลาภสักการะเป็นอันมาก แต่อยูใ่ นครรภ์พระมารดาถึง 7 ปี 7 เดือน 7 วัน จึงประสูต ิ เวลาประสูติ ก็ประสูติง่ายที่สุด เปรียบประดุจน�้าไหลออกจากหม้อ ด้วยอ�านาจ แห่งพุทธานุภาพคือ เมื่อพระนางมีครรภ์แก่ครบก�าหนดประสูติแล้ว ได้เสวยทุกขเวทนาล�าบากมาก พระนางจึงให้พระสวามีบังคมทูล พระบรมศาสดา พระองค์ตรัสพระราชทานให้พรว่า พระนางสุปปวาสา ผู้เป็นพระราชธิดาของพระเจ้ากรุงโกลิยะ จงเป็นหญิงมีความสุข ปราศจากโรคาพยาธิ ประสูตพิ ระราชบุตรผูห้ าโรคมิได้เถิด พระนางก็ได้

เมือ่ สีวลีกมุ ารเจริญวัยขึน้ แล้ว ได้ออกผนวชในส�านักของพระสารีบตุ ร ได้บรรลุผลสมตามความปรารถนา คือ ได้บรรลุพระอรหัตผล เป็นพระ อเสขบุคคลของพระพุทธเจ้า นัยว่าท่านได้บรรลุมรรคผลตัง้ แต่เมือ่ เวลา ปลงผม คือ เมือ่ เวลามีดโกนจรดลงศีรษะครัง้ ทีห่ นึง่ ได้บรรลุโสดาปัตติผล ครั้งที่สองได้บรรลุสกทาคามี ครั้งที่สามได้บรรลุอนาคามิผล ปลงผม เสร็จก็ได้บรรลุพระอรหัตผล ตั้งต้นแต่นั้นมาท่านเป็นผู้สมบูรณ์ด้วย ปัจจัยสี ่ ทัง้ ภิกษุทงั้ หลายก็พลอยไม่ขดั ข้องด้วยปัจจัยลาภเพราะอาศัย ท่าน เพราะเหตุนนั้ พระบรมศาสดาจึงทรงยกย่องว่า เป็นผูเ้ ลิศกว่าภิกษุ ทั้งหลาย ฝ่ายข้างผู้มีลาภมาก ท่านพระสีวลีนั้น ด�ารงเบญจขันธ์อยู่ โดยสมควรแก่กาลแล้ว ก็ดับขันธปรินิพพาน

ประสูติพระราชบุตรพร้อมกับขณะที่พระศาสดาตรัสพระราชทานพร เมื่ อประสู ติแ ล้ว พระญาติไ ด้ขนานพระนามว่า “สีวลีกุมาร” ส่วนพระนางสุปปาวาสานึกถึงเหตุการณ์ที่เป็นมาแล้ว มีความ ปรารถนาจะถวายมหาทานสัก 7 วัน จึงให้พระสวามีไปอาราธนานิมนต์ พระภิกษุสงฆ์ มีพระพุทธเจ้าเป็นประธานเพื่อรับภัตตาหารในบ้าน 7 วัน พระราชสามีกไ็ ปตามความประสงค์ของนาง แล้วได้ถวายมหาทาน ตลอด 7 วัน (สีวลีกุมารนั้น นับตั้งแต่วันที่ประสูติ ได้ถือธมกรกกรอง น�้าถวายพระตลอด 7 วัน) CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

163


History of buddhism....

วัดป่าถ้ำาแกลบ วัดป่าถ�า้ แกลบ ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 154 หมูท่ ี่ 7 ต�าบลปิงโค้ง อ�าเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ ติดกับถนนสาย 107 หรือโชตนา หลักกิโลเมตรที่ 100 จากจังหวัดเชียงใหม่ข้ึนไปทางทิศเหนือ สูอ่ า� เภอแม่จนั จังหวัดเชียงราย เป็นเส้นทางหลักสามารถเดินทางได้สะดวก ประวั ติ ค วามเป็ น มา เดิ ม ถ�้ า แกลบเคยเป็ น ที่ จ� า พรรษาของ หลวงปู ่ มั่ น ภู ริ ทั ต โต เมื่ อ ครั้ ง ที่ ท ่ า นธุ ด งค์ ม าในเขตพื้ น ที่ จั ง หวั ด เชียงใหม่ ต่อมาในปี พ.ศ. 2514 มีชาวบ้านมาอาศัยบริเวณหน้าถ�า้ แกลบ เพิ่มมากขึ้น ได้มีนายถา ธรรมวงศ์ บริจาคที่ดินเพื่อให้เป็นที่พักสงฆ์ และสร้างเป็นวัดป่าถ�้าแกลบ เพื่อเป็นสถานที่ปฏิบัติธรรมและที่พักสงฆ์ ต่อมาได้มีการก่อสร้างปรับปรุง ขยายเสนาสนะต่างๆ ดังนี้ ศาลา การเปรียญ, วิหารแบบล้านนาประยุกต์, หอระฆังโบราณ, โรงครัว อเนกประสงค์, อาคารที่พักสามเณรและผู้ปฏิบัติธรรม, ห้องน�้าแบบ มาตรฐาน, กุฏิพักสงฆ์ 7 หลัง, สร้างสวนท�าดี-สุขใจ (สวนต้นไม้สอน ธรรมะ), สร้างถนนคอนกรีตภายในวัดทั้งหมด โดยได้ด�าเนินการเรื่อย มาตั้งแต่พระอุดม สุธมฺโม เข้ามาด�าเนินการ ตั้งแต่ 2556 เป็นต้นมา ซึ่งการพัฒนาวัดดังกล่าวเป็นไปตามแนวนโยบาย 3 ประการ คือ 1. ให้เป็นวัดเพือ่ วัตร ของบรรพชิต จึงมีพระภิกษุ-สามเณร จ�าพรรษา รวมปีละ 6-8 รูป ทุกปี โดยเน้นการเรียนรูธ้ รรมะชัดเจน เน้นการปฏิบตั ิ ข้อวัตรดี วัดสะอาดน่าอยู่ แหล่งรู้ธรรม สามัคคีธรรม 2. ให้เป็นวัดเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต ของศรัทธาประชาชนจึงมี โครงการปฏิบัติธรรมในโอกาสต่างๆ ทั้งวันส�าคัญและจัดเป็นหลักสูตร ปฏิบัติธรรม ทุกๆ ปี ละ 3-4 รุ่น 3. ให้เป็นวัดเพือ่ สืบทอดพระพุทธศาสนา จึงมีโครงการบรรพชาสามเณร จ�านวนมากๆ ชื่อว่าโครงการสามเณรอนุรักษ์ถิ่นไทยวัดป่าถ�้าแกลบ โดยรับเยาวชนจากทุกท้องที่ให้เข้ามาบวช และได้รับการสนับสนุน ด้ า นวิ ช าการและกิ จ กรรมเรี ย นรู ้ จากมหาวิ ท ยาลั ย ต่ า งๆ คื อ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงใหม่, มหาวิทยาลัยแม่โจ้ และมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นต้น ปัจจุบันจัดมาเป็นปีที่ 5 แล้ว 164

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

พระอาจารย์อุดม สุธมฺโม (ธรรมวงศ์) เจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน


History of buddhism....

วัดอุตตาราม “สุโข ปุญญ ฺ สฺส อุจจฺ โย ความสัง่ สมบุญ นำสุขมาให้” พุทธพจน์ พระครูบุญญาภิวัฒน์ กตปุญฺโญ ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาส

วัดอุตตาราม (วังจ๊อม) ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 32 หมู่ 4 บ้านวังจ๊อม ถนนโชตนา ต�าบลเชียงดาว อ�าเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ทีด่ นิ ตัง้ วัด มีเนือ้ ที่ 5 ไร่ 1 งาน 74 ตารางวา นส.3ก. เลขที่ 321 ทิศเหนือ ติดหมูบ่ า้ น ทิศใต้จดทุง่ นาและบ้านเรือนราษฎร ทิศตะวันออกจดถนน โชตนา เชียงใหม่-ฝาง ทิศตะวันตกจดทุ่งนาและล�าคลอง ประวัติความเป็นมา วัดอุตตาราม สร้างเมื่อพ.ศ. 2460 เดิมมีชื่อวัดตามหมู่บ้านว่า “วัดบ้านวังจ๊อม” โดยเริ่มแรกมีนายอ้าย หน่อค�า เป็นผู้ออกความคิด ในการสร้ า งวั ด เพื่ อ เป็ น ศู น ย์ ก ลางการปฏิ บั ติ ธ รรมในหมู ่ บ ้ า น จึ ง ชั ก ชวนประชาชนมาสร้ า งวั ด ขึ้ น มาด้ ว ยความศรั ท ธาปสาทะ ในพระพุทธศาสนาเพื่อความสงบสุขของสังคม

อาคารเสนาสนะประกอบด้วย วิหาร ภายในมีจติ รกรรมฝาผนัง ภาพพุทธประวัต ิ พระเจ้าสิบชาติ , ศาลาการเปรียญทรงไทย ภายในวัดวาดภาพพาหุง-เวสสันดรชาดก และ กุฏิสงฆ์ ส�าหรับ ปูชนียวัตถุ มีพระพุทธรูปก่ออิฐถือปูน พระพุทธ รูปสิงห์สอง สมัยสุโขทัยเนื้อทองสัมฤทธิ์ และพระพุทธรูปสิงห์หนึ่ง สมัยเชียงแสน เนื้อทองเหลือง การบริหารและการปกครอง มีเจ้าอาวาสเท่าที่ทราบนาม คือ รูปที่ 1 พระปัญโญ พ.ศ. 2460–2470 รูปที่ 2 พระปัญญา พ.ศ. 2470–2485 รูปที่ 3 พระอินสม จิตฺตปาโล พ.ศ. 2485–2500 รูปที่ 4 พระครูบุญญาภิวัฒน์ ตั้งแต่ พ.ศ. 2500 ถึงปัจจุบัน CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

165


History of buddhism....

วัดปางมะกง “ครูบาบอกว่า ถ้าไม่มีสัจจะ มันก็ไม่ศักดิ์สิทธิ์ ของทุกอย่างจะศักดิ์สิทธิ์ มันอยู่ที่เรารักษาสัจจะ” ที่ พั ก สงฆ์ วั ด ปางมะกง ต� า บลปิ ง โค้ ง อ�าเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ ตั้งขึ้นเมื่อ ปี พ.ศ. 2505 ในหมูบ่ า้ นปางมะกง ต�าบลปิงโค้ง อ�าเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ โดยศรัทธา ประชาชนชาวบ้านในหมูบ่ า้ นนับถือพระพุทธ ศาสนามีความประสงค์ที่จะมีวัดไว้ส�าหรับ การประกอบพิธกี รรมในทางพระพุทธศาสนา และเป็นที่ยึดเหนี่ยวทางจิตใจจึงได้ช่วยกัน สร้ า งที่ พั ก สงฆ์ วั ด ปางมะกงขึ้ น มาและได้ นิมนต์พระสงฆ์จากอ�าเภอพร้าวมาจ�าพรรษา ต่อมาก็ได้มีการพัฒนาขึ้นตามล�าดับ และมี พระสงฆ์สามเณรจ�าพรรษามาโดยตลอด

166

SBL บันทึกประเทศไทย II เชียงใหม่

พระครูเกษมจริยานุกูล (ครูบากิตติชัย) เจ้าคณะต�าบลปิงโค้ง เจ้าอาวาสวัดปางมะกง

ที่พักสงฆ์ปางมะกงตั้งอยู่ในเขตเทศบาล ต�าบลปิงโค้ง และอยู่ภายใต้การปกครอง คณะสงฆ์อา� เภอเชียงดาว ปัจจุบนั ได้สร้างมา แล้วประมาณ 54 ปี มีพระครูเกษมจริยานุกลู (กิตติชยั เขมจารี) เจ้าคณะต�าบลปิงโค้ง เขต 1 เป็นเจ้าส�านักสงฆ์ มีพระภิกษุจา� พรรษา 5 รูป เมือ่ ปี พ.ศ. 2553 คุณนวลแข เจริญขจรกุล พร้อมด้วยญาติมิตร ได้สร้างเจดีย์ ส�าหรับ ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุถวายเพื่อ เป็นทีย่ ดึ เหนีย่ วจิตใจของพุทธศาสนิกชนและ เป็นที่กราบไหว้สักการบูชาอีกทั้งเป็นการ น้อมร�าลึกถึงองค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าแล้ว เสร็จในปี พ.ศ. 2554 ได้รับพระเมตตาจาก สมเด็จพระญาณสังวรสมเด็จพระสังฆราช ทรงประทานพระบรมสารี ริ ก ธาตุ เ พื่ อ ประดิ ษ ฐานไว้ ใ นเจดี ย ์ อ งค์ ดั ง กล่ า วและ ได้ ท รงประทานนามพระเจดี ย ์ อ งค์ นี้ ว ่ า “พระบรมธาตุเจดีย ์ มณีนวลเจริญ” เพือ่ เป็น ทีก่ ราบไหว้สักการบูชาของพุทธศาสนิกชน สืบต่อไป


History of buddhism....

วัดแม่อีด สํานักปฏิบัติธรรมประจําจังหวัดเชียงใหม่ แห่งที่ 26 พระครูปลัดรัฐกร สนฺตจิตฺโต ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาส

วัดแม่อดี ตัง้ อยูบ่ า้ นแม่อดี หมูท่ ี่ 6 ต�าบลเชียงดาว อ�าเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ได้รับการแต่งตั้งจากการ ประชุมมหาเถรสมาคม ครั้งที่ 14/2560 เมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2560 โดยเลขาธิการมหาเถรสมาคมเสนอว่า พระพรหมเสนาบดี เจ้าคณะภาค 7 ได้มีลิขิต ที่ จภฉ. 051/2560 ลงวันที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2560 แจ้งว่า พระเทพปริยัติ เจ้าคณะจังหวัดเชียงใหม่ ประธาน คณะกรรมการส�านักปฏิบัติธรรมประจ�าจังหวัด ขออนุมัติจัดตั้งส�านัก ปฏิบัติธรรมประจ�าจังหวัดเชียงใหม่ จ�านวน 10 แห่ง โดยวัดแม่อีด คือ หนึง่ ในส�านักปฏิบตั ธิ รรมประจ�าจังหวัดเชียงใหม่ในปีนนั้ เป็นแห่งที่ 26 ปัจจุบนั พระครูปลัดรัฐกร สนฺตจิตโฺ ต อายุ 37 พรรษา 13 น.ธ. เอก พธ.ม. ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาส เสนาสนะ พระอุโบสถ วิหาร ไตรปิฎก ศาลาทรงไทย ศาลา ศาลาการเปรียญ หอพระ โรงฉัน หอระฆัง และ กุฏิสงฆ์

กิจกรรมของวัด ทุกปีจะมีการจัดงานประเพณีส�าคัญทางพระพุทธศาสนา เป็นต้น ว่าการบรรพชาอุปสมบทพระภิกษุสามเณร และงานท�าบุญตักบาตร ในวันส�าคัญทางพระพุทธศาสนาเพือ่ เป็นการสืบทอดพระพุทธศาสนา ให้ยืนยาวสืบไปเพื่อช่วยเหลือคนทุกข์ให้พ้นจากทุกข์ทั้งปวงในที่สุด และช่วยให้สังคมสงบร่มเย็นตลอดกาลนาน ดังพุทธพจน์ว่า “สนาถา วิหรถ มา อนาถา :จงอยู่อย่างมีหลักยึดเหนี่ยวใจ อย่าเป็นคนไร้ที่พึ่ง” CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

167


History of buddhism....

วัดพระธาตุดอยสะเก็ด พระอารามหลวง พระโพธิรังษี (พายัพ ฐิตปุญโญ)

เจ้าคณะอ�าเภอดอยสะเก็ด และเจ้าอาวาส

วัดพระธาตุดอยสะเก็ด พระอารามหลวง ตั้งอยู่บนดอยสะเก็ด ได้ รั บ การแต่ ง ตั้ ง ให้ เ ป็ น วั ด ประจ� า อ� า เภอดอยสะเก็ ด เป็ น วั ด ที่ มี ประวัติความเป็นมายาวนาน มีเรื่องราวกล่าวขานมากมายเกิด การโยงใยเป็นต�านานที่ผูกกับประวัติของเมืองเชียงใหม่ ประวัติ ของพระธาตุในเมืองเชียงใหม่ รวมถึงประวัติศาสตร์ของแผ่นดิน ล้านนา จึงขอกล่าวถึงความเชื่อมโยงจากต�านานที่เป็นต้นก�าเนิด ของวัดพระธาตุดอยสะเก็ดแห่งนี้พอสังเขป

168

SBL บันทึกประเทศไทย II เชียงใหม่


นมัสการเจดีย์พระเกศาธาตุพระพุทธเจ้า เพื่อความเป็นสิริมงคลแห่งชีวิต ปริศนาธรรมและคติธรรมจากจิตกรรมฝาผนังพุทธประวัติ

ต� า นานวั ด พระธาตุ ด อยสะเก็ ด ได้ ถู ก บั น ทึ ก ไว้ ม าตั้ ง แต่ สมัยพุทธกาล เมื่อองค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้ตรัสรู้ธรรมแล้ว พระองค์ ไ ด้ ม าปรากฏกายทิ พ ย์ บ นดอยแห่ ง หนึ่ ง ใกล้ ๆ กั น มีหนองน�า้ ซึง่ เป็นทีอ่ ยูข่ องพญานาคสองตน พญานาคทัง้ สองได้เห็น องค์พระพุทธเจ้าทรงเปล่งแสงแสดงปาฏิหาริยเ์ ป็นอัศจรรย์ยง่ิ พญานาค เกิดความเลือ่ มใสศรัทธา จึงได้แปลงกายเป็นมนุษย์ แล้วน�าดอกบัว ในหนองน�้าไปถวายแด่พระพุทธองค์เป็นพุทธบูชา พระองค์ทรง รับดอกบัวแล้วได้ประทานพระเกศาธาตุแก่พญานาคคูน่ นั้ พญานาค จึงได้กอ่ กองหินขึน้ มาเพือ่ บรรจุพระเกศาธาตุประดิษฐานไว้บนดอย แห่งนี้ กาลเวลาเลยผ่าน ต่อมาได้มีนายพรานมาพบเห็นกองหินที่ ภายในบรรจุพระเกศาธาตุ เกิดความศรัทธาอัศจรรย์ใจ จึงได้ บอกกล่าวชักชวนให้มวลมหาประชาชนคนในละแวกนั้นขึ้นไป สั ก การบู ช า และให้ ช ่ ว ยกั น ก่ อ ร่า งสร้ า งเป็ น พระเจดี ย ์ ขึ้ น ใหม่ ให้ ดูดีก ว่ า กองหิ น ที่มีอยู ่ เ ดิ ม ขณะนั้น เอง ชาวบ้า นได้ช ่วยกัน ตั้งชื่อดอยแห่งนี้ ผลสรุปออกมาเป็นเอกฉันท์ว่า “ดอยเส้นเกศ” เหตุ ผ ลเพราะว่ า เป็ น ดอยที่ บ รรจุ เ ส้ น ผม หรื อ เส้ น เกศของ พระพุทธเจ้านั้นเอง จึงได้สันนิษฐานต่อไปว่า ค�าว่าดอยเส้นเกศ ได้ถูกเรียกเพี้ยนมาเป็น “ดอยสะเก็ด” CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

169


ประวัติเจ้าอาวาสโดยสังเขป พระโพธิรังษี (พายัพ ฐิตปุญโญ) นามเดิม พายัพ กาวิยศ ฉายา ฐิตปุญโฺ ญ น.ธ.เอก ป.ธ.6 ศศ.ด.(กิตติ)์ ปัจจุบันด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาสวัดพระธาตุดอยสะเก็ด เจ้าคณะ อ�าเภอดอยสะเก็ด เกิดเมือ่ วันที ่ 10 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2488 ปีระกา เป็ น บุ ต รของนายศรี นางลั ย ภู มิ ล� า เนาเดิ ม บ้ า นเลขที่ 12/1 ถนนสุมนเทวราช ต�าบลในเวียง อ�าเภอเมืองน่าน จังหวัดน่าน บรรพชาและอุปสมบท เมื่อวันที่ 30 เดือน มีนาคม พ.ศ. 2509 ปีมะเมีย ณ วัดพระเนตร ต�าบลเวียงเหนือ อ�าเภอเมืองน่าน จังหวัดน่าน โดยมี พระครูอรรถธรรมวิภชั วัดพญาภู ต�าบลในเวียง อ�าเภอเมืองน่าน จังหวัดน่าน (พระเทพนันนาจารย์ อดีตเจ้าคณะจังหวัดน่าน) เป็น พระอุปัชฌาย์ พระสมุห์บุญเลื่อน ติลโก วัดพระเนตร ต�าบลในเวียง อ�าเภอเมือง จังหวัดน่าน (พระครูบุญกิจสุนทร อดีตเจ้าคณะต�าบล ในเวียง เขต 1 อดีตเจ้าอาวาสวัดพระเนตร) เป็นพระกรรมวาจาจารย์ พระมหาพรศักดิ์ ธมฺมวาที วัดพระธาตุช้างค�้าวรวิหาร ต�าบลในเวียง อ�าเภอเมืองน่าน จังหวัดน่าน (พระเทพนันทาจารย์ อดีตเจ้าคณะ จังหวัดน่าน) เป็นพระอนุสาวนาจารย์ ผลงานที่ได้รับการเชิดชูเกียรติ พ.ศ. 2529 ได้รับโล่เจ้าส�านักเรียนดีเด่น พ.ศ. 2530 ได้รับโล่เกียรติคุณผู้ท�าคุณประโยชน์ต่อการศึกษา จากคุรุสภาอ�าเภอดอยสะเก็ด พ.ศ. 2535 รางวัลนอร์มา เรื่องการสนับสนุนการศึกษาเด็ก ก่อนเกณฑ์จากยูเนสโก ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียน จังหวัดเชียงใหม่ พ.ศ. 2535 ประกาศเกี ย รติ คุ ณ เจ้ า คณะอ� า เภอดี เ ด่ น จาก เจ้าคณะจังหวัดเชียงใหม่ พ.ศ. 2536 รางวัลเสาเสมาธรรมจักรทองค�าสาขาการศึกษา ศู น ย์ อ บรมเด็ ก ก่ อ นเกณฑ์ จากสมเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุมารี พ.ศ. 2537 ประกาศเชิดชูเกียรติ เดินตามรอยครูบาเจ้าศรีวิชัย นักบุญนักพัฒนาแห่งล้านนาไทย พ.ศ. 2537 รั บ รางวั ล เจ้ า ส� า นั ก เรี ย น ผู ้ บ ริ ห ารการศึ ก ษา พระปริยัติธรรมดีเด่นจากเจ้าคณะจังหวัดเชียงใหม่ พ.ศ. 2538 ได้รับโล่รางวัลคนดีศรีสังคม พ.ศ. 2543 ได้รบั โล่เจ้าอาวาสวัดพัฒนาตัวอย่างทีม่ ผี ลงานดีเด่น พ.ศ. 2545 ได้รับโล่วัดส่งเสริมสุขภาพ พ.ศ. 2548 ได้รับรางวัลคนต้นแบบเฉลิมพระเกียรติ พ.ศ. 2549 ได้รับโล่ศูนย์พระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ดีเด่น

170

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

เจดีย์พิพิธภัณฑ์พระเครื่อง สมเด็จพุฒาจารย์(โต) พรหมรังสี


วัดดอยสะเก็ด14 หรือ อีกข้อสันนิษฐานหนึ่ง ขณะที่พญานาคได้ แปลงร่างกลายเป็นมนุษย์เพือ่ น�าดอกบัวไปถวายพระพุทธเจ้า พญานาค ต้อง สละเกล็ด ออกเพือ่ ให้ผวิ เรียบเนียน ชาวบ้านจึงเรียกดอยแห่งนีว้ า่ “ดอยสละเกล็ด” เมือ่ เวลาผ่านไปจนถูกเรียกเพีย้ นมาเป็น “ดอยสะเก็ด” ไม่ว่าจะด้วยข้อสันนิษฐานถึงที่มาประการใด พระธาตุดอยสะเก็ด แห่งนี้ได้มีพุทธศาสนิกชนขึ้นมานมัสการเจดีย์เกศาธาตุจ�านวนมาก ในทุกยุคทุกสมัย เมื่อมีชาวบ้านเริ่มมาอาศัยอยู่บริเวณเชิงดอยเป็น จ�านวนมาก ทางหน่วยงานราชการโดยกระทรวงมหาดไทย จึงได้ จัดตั้งขึ้นเป็นอ�าเภอ โดยใช้ชื่อว่า “อ�าเภอดอยสะเก็ด” ดั่งชื่อของ พระธาตุอันศักดิ์สิทธิ์ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2445 เป็นต้นมา พระเจดียอ์ งค์เดิมทีส่ ร้างไว้เป็นรูปแบบล้านนา ต่อมาได้มกี ารบูรณะ สร้างขึน้ ใหม่เมือ่ ปี พ.ศ. 2536 สร้างด้วยคอนกรีตเสริมเหล็กสูง 30 เมตร ครอบองค์เดิมเพื่อให้มีลักษณะสูงเด่นเป็นสง่า วิหารจตุรมุขภายใน

มี จิ ต รกรรมฝาผนั ง ปริ ศ นาธรรม บ่ ง บอกเรื่ อ งราวของพระสั ม มา สัมพุทธเจ้าที่เป็นคติธรรม เพื่อให้ศรัทธาสาธุชนได้น�าไปประยุกต์ใช้ ในการด�าเนินชีวิตต่อไปในอนาคต พบรอยพระพุทธบาทจากแสงแห่งนิมิต เมื่อปี พ.ศ. 2557 ได้มีเรื่องอัศจรรย์เกิดขึ้น เมื่อพระโพธิรังษี (พายั พ ฐิ ต ปุ ญ โญ) เจ้ า คณะอ� า เภอดอยสะเก็ ด และเจ้ า อาวาส วัดพระธาตุดอยสะเก็ด ได้นิมิตเห็นแสงขึ้นที่ยอดเขาแห่งนี้ จึงพา คนงานของวัดไปเสาะหาที่มาของแสง โดยเดินขึ้นดอยแล้วถือร่มแทง ไปตามใบไม้แห้งที่ทับถมกัน พบมีรอยพระพุทธบาทของพระพุทธเจ้า ในเนื้ อ หิ น ป่ า ไม้ จึ ง ให้ ค นงานเอาน�้ า มาล้ า ง ปรากฏว่ า เป็ น รอย พระพุทธบาทที่สมบูรณ์มาก จึงได้เล่าให้สาธุชนศรัทธาที่มาท�าบุญฟัง กระทั่งญาติโยมไปเล่ากันปากต่อปาก จึงได้สร้างมณฑปครอบไว้ ชั่ ว คราว ต่ อ มาได้ รับเงิ น บริ จ าคสนั บสนุ น เพิ่มมากขึ้นจึงได้ส ร้า ง มณฑปสวยงามไว้ให้ประชาชนขึ้นไปกราบสักการบูชา

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

171


ต�าหนักพระจอมเกล้าฯ

เจดีย์พระเกศาธาตุ วัดพระธาตุดอยสะเก็ด แวะพักใจ ณ จุดชมวิววัดดอยสะเก็ด วัดดอยสะเก็ดตั้งอยู่บนเขา ท�าให้ภายในวัดมีจุดชมวิวหลายจุด มองเห็นเมืองเชียงใหม่และชุมชนด้านล่างวัด นอกจากนี้ภายในวัด ยังมีสิ่งน่าสนใจหลายอย่างเช่น พระเจดีย์ เป็นที่บรรจุพระเกศาธาตุ อายุร่วม 1,000 ปี เป็นเจดีย์องค์ใหญ่ สูง สวย สง่า สร้างครอบองค์เก่าไว้ ภายในมีพระบรมสารีริกธาตุ เป็น ปูชนียวัตถุศกั ดิส์ ทิ ธิ ์ เป็นทีส่ กั การะเคารพบูชาของชาวอ�าเภอดอยสะเก็ด ทุกปีในเดือน 8 เป็ง (ขึ้น 15 ค�่า เดือน 6 ใต้) ทางวัดจะอัญเชิญ พระบรมสารีริกธาตุลงมาจากที่ประดิษฐานให้พุทธศาสนิกชนสรงน�้า และจะมี ป รากฏสิ่ ง อั น เป็ น ปาฏิ ห าริ ย ์ ทุ ก ครั้ ง นอกจากนั้ น ยั ง มี พระพุทธรูปบูชาทองค�า พระพุทธรูปทองส�าริดอีกจ�านวนมากเพื่อให้ พุทธศาสนิกชนได้สักการบูชาสืบไป วิหารจตุรมุข สร้ า งเมื่ อ ปี พ.ศ. 2520 ด้ า นหน้ า มี รู ป ปั ้ น หนุ ม านอมจั น ทร์ ติดบันได ภายในมีจิตรกรรมฝาผนังปริศนาธรรมที่มีชื่อเสียง บอกเล่า 172

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

เรื่องราวแห่งพระสัมมาสัมพุทธเจ้าที่เป็นคติธรรม เพื่อให้ศรัทธา สาธุชนได้น�าไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาจิตใจ และด�าเนินชีวิตได้ ปัจจุบันเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปพระเจ้า 5 พระองค์เป็น พระประธานในวิหารจตุรมุข ต้นศรีมหาโพธิ์ จากหน่อกล้าที่มาจากสองแห่งที่ส�าคัญ หน่ อ กล้ า จากพุ ท ธคยา ประเทศอิ น เดี ย อั ญ เชิ ญ มาโดย พระเทพวิสุทธิคุณ เจ้าคณะจังหวัดเชียงใหม่รูปปัจจุบัน ทรงปลูกโดย สมเด็ จ พระสั ง ฆราชเจ้ า กรมหลวงชิ น วราลงกรณ สกลมหาสั ง ฆ ปรินายก (วาส วาสนมหาเถระ) วัดราชบพิตร กรุงเทพมหานคร, พระอุดมวุฒคิ ณ ุ อดีตเจ้าคณะจังหวัดเชียงใหม่ และ พระครูมงคลศีลวงศ์ อดีตเจ้าคณะอ�าเภอดอยสะเก็ด หรือพระเทพวิสุทธิคุณเจ้าคณะ จังหวัดเชียงใหม่ ทรงปลูกร่วมกันเมื่อ วันที่ 29 ธันวาคม พ.ศ.2524 หน่อกล้าจากประเทศศรีลังกา โดย คุณพงษ์พันธ์ พรหมขัติแก้ว อุปทูตไทยประจ�าประเทศศรีลังกา ทรงปลูกโดยสมเด็จพระมหา นากะภัตตันตะเถระ สังฆราชประเทศศรีลงั กา เมือ่ วันที ่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2529


พระพุทธเกศทองทิพย์

พระวิหารจตุรมุข อุโบสถ ลักษณะทรงไทยล้านนา ได้บูรณปฏิสังขรณ์ใหม่ เมื่อปีพ.ศ. 2538 ก่อสร้างด้วยคอนกรีตโบราณ ก่ออิฐถือปูน ขนาดกว้าง 6 เมตร ยาว 22 เมตร ลานโพธิ์ ลานกิจกรรมทางวัฒนธรรมและประเพณีส�าคัญต่างๆ ของวัด มีการปลูกต้นพระศรีมหาโพธิ ์ หน่อกล้าจากพุทธคยาจากประเทศอินเดีย และต้นพระศรีมหาโพธิ์ หล่อกล้าจากพุทธคยาจากประเทศศรีลังกา เป็นภูมิทัศน์สัญลักษณ์ทางพุทธศาสนา นอกจากนี้ยังมีบ่อน�้าโบราณ ที่ มี ม าแต่ อ ดี ต พระพุ ท ธรู ป ปางนาคปรก และระฆั ง โบราณแขวน ประดับไว้ ณ ลานด้านหน้าอาคารสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต) พรหมรังสี ศาลารายบนลานโพธิ์ เป็นศาลาแบบเรียบง่าย สร้างด้วยคอนกรีตเสริมเหล็กทรงไทย ชั้นเดียว กว้าง 4 เมตร ยาว 15 เมตร หลังคามุงกระเบื้องเคลือบสี ส้มอิฐ ยกช่อฟ้า เป็นประดิษฐานพระพุทธรูปประจ�าวันทัง้ เจ็ด พระพุทธรูป สั ม ฤทธิ์ ผ ล หรื อ หลวงพ่ อ พระเจ้ า ทั น ใจ พระพุ ท ธสิ หิ ง ค์ จ� า ลอง หล่อด้วยทองเหลือง ปางมารวิชัย ศิลปะเชียงแสน ฯลฯ

อาคารสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต) พรหมรังสี สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2541 - พ.ศ. 2542 ลักษณะคอนกรีตเสริมเหล็ก ก่ออิฐถือปูน 2 ชั้น ขนาดกว้าง 25 เมตร ยาว 40 เมตร ด้านล่าง ประดิ ษ ฐานรู ป เหมื อ นพระพุ ฒ าจารย์ (โต) พรหมรั ง สี เพื่ อ ให้ พุทธศาสนิกชนทั่วไปได้กราบไหว้บูชา ด้านบนเป็นส�านักคณะสงฆ์ ส� า นั ก งานเจ้ า คณะอ� า เภอดอยสะเก็ ด ห้ อ งประชุ ม เล็ ก และ ห้องประชุมใหญ่ การเดินทางไปวัดพระธาตุดอยสะเก็ด จากตัวเมืองเชียงใหม่ใช้เส้นทางหมายเลข 118 (เชียงใหม่ - ดอยสะเก็ด) เส้นที่อยู่ติดห้างเซนทรัลเฟสติวัล ขับออกนอกเมืองไป 16 กิโลเมตร จะสังเกตเห็นวัดอยูบ่ นเขา และมีทางแยกขวาเข้าไปครับ โดยขับผ่านตลาดและลัดเลาะขึ้นตามแนวเขาเข้าไปบนยอด ทีต่ งั้ : เลขที ่ 304 หมู ่ 3 บ้านเชิงดอย ต�าบลเชิงดอย อ�าเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ รหัสไปรษณีย์ 50220 โทร : 053-865-709

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

173


History of buddhism....

WAT PHRA THAT DOI SAKET Phra That Doi Saket Temple, was a temple that was built by the King of Chiang Mai. The worship this Buddha’s relics says to bring prosperity. On the wall are fill with riddles and moral principles of the Buddha’s life. (Payap Thitipanyo) Doi Saket District Dean and Abbot of Phra That Doi Saket Temple. Phra That Doi Saket Temple, a royal temple located on Doi Saket, has been appointed as

the main temple of Doi Saket District, a temple with a long history. Many legendary tales that ties with the history of Chiang Mai, including relics in Chiang Mai, including the history of the land of Lanna. Therefore, would like to mention the connection from the legendary origin of Phra That Doi Saket Temple and the land of Lanna.

To travel to Phra That Doi Saket Temple from Chiang Mai city, use Route 118 (Chiang Mai - Doi Saket). The road where Central Festival Shopping Center is located, drive 16 kilometers outside the city and look for the temple which sits on the hill and enter where there is a junction split to the right, drive through the market and traversing up the hill to the top. Location: No. 304, Moo 3, Ban Choeng Doi, Choeng Doi Sub district, Doi Saket District, Chiang Mai Postal Code 50220 Tel: 053-865-709 174

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


In brief, the legend of Phra That Doi Saket Temple has been recorded since the Buddha’s era, when the Lord Buddha had enlightened the Dharma. Appeared on a mountain nearby where there were swamps which were home to two serpents. Both serpents saw the Lord Buddha miraculously performed a miracle. The serpents became faithful, then both transformed into humans and then brought lotus flowers in the swamp to offer the Buddha and worship the Buddha. He accepted the lotus flowers and gave them a piece of his hair. Then the serpents built a pile of stones on top of the Buddha’s hair to be a shrine on the hill. After a time, there was a hunter who saw a pile of stones that contained the hair element and became amaze then he persuade the masses of the people in the neighborhood to worship and to help them build a new pagoda to look better than the existing stone piles. Then the people helped to name this mountain. The results were unanimous: The reason is because the mountain contains the hair or the hair of the Lord Buddha. It is therefore assumed that the word “Doi Saket” is distorted to be “Doi Saket”, Doi Saket Temple 14, or another assumption while the Serpent transformed into a human being, in order to bring the lotus flower to the Lord Buddha, the serpent had to molt off its scales in order to make the skin smooth. The people called the place “Doi Salatsaket” (Molting Hills), over time it has been distorted to “ Doi Saket”, regardless of the assumption one way or the other, the relic That sits on top of Doi Saket has many Buddhists worshipers gather to come and worship from all era. When the villagers began to live in the area, the government by the Ministry of Interior established a district under the name “Doi Saket District. “As the name suggests of sacred relics since the year 1902 A.D. onwards. The original pagoda is built in Lanna style. Then it was rebuilt in the year 1993 A.D.. Built in 30 meters of reinforced concrete to cover the original one for a distinctive and majestic look. The tetrahedron’s wall are fill with the story of the Lord Buddha’s teachings for the faithful people to apply.

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

175


RESTING AREA AND THE VIEWPOINT OF WAT DOI SAKET. Doi Saket Temple is located on a hill, which makes it a great location to view many scenery including Chiang Mai city and the community below the temple. In addition, the temple also has many interesting things such as 1. The pagoda that’s fill with the Lord Buddha’s relic age 1,000 years. It’s a large beautiful pagoda, built over the original. Inside contain the sacred relic. The sacred relic is a sacred object that is worshiped by the people of Doi Saket District. 2. The tetrahedron hall was built in year 1977 A.D. In front stands the Hanuman Om Chan statue was attached to the stairs. Inside, there is a famous Dharma mural painting telling the story of the Lord Buddha’s motto. 3. Sri Mahapho tree sprouting seedlings coming from two important places. Sprouting sprouts. From Bodh Gaya, India Buds from Sri Lanka 176

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

4. The Lanna-style Thai-style chapel was renovated in 1995 A.D. Built with ancient concrete with the measurement of 6 meters in width and 22 meters in length. 5. Lan Pho courtyard is use for important cultural and traditional events of the temple. 6. The pavilion on Lan Pho courtyard is a simple pavilion constructed with a single layer Thai-style reinforced concrete. Enshrined with 7 Buddha statues, one for each day of the week. Bronze Statue of god of instant. Buddha Sihing statue, cast with brass. Built by the artist of Saen Saen etc. 7. Somdet Phra Putthachan (Toh) Phromrangsri Building, built in 1998-1999 A.D. Bottom floor locate a statue of Phra Phutthchan (Toh) Phrommangsri for Buddhist worshiper to pay respects. Above floor locate the office of clergy, Doi Saket District Office, a small meeting room and a large meeting room.



History of buddhism....

วัดวารีสุทธาวาส พระรัตนเจดีย์ศรีสุทธาวาสมิ่งมงคลแห่งลานนา บรรจุพระบรมสารีริกธาตุของพระพุทธเจ้า พระอธิการอ�านวย ฐานวีโร เจ้าอาวาส

วั ด วารี สุ ท ธาวาส ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 67 บ้ า นร้ อ งขุ ่ น หมู ่ ที่ 10 ต�าบลสันปูเลย อ�าเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2408 ชาวบ้านเรียกกันว่า วัดร้องขุ่น เดิมชื่อ วัดสันกู่ สังกัด คณะสงฆ์มหานิกาย ที่ดินตั้งวัดมีเนื้อที่ 1 ไร่ 3 งาน มีที่ธรณีสงฆ์ จ�านวน 1 แปลง เนื้อที่ 1 ไร่ 50 ตารางวา วัดวารีสุทธาวาส มีพระธาตุเจดีย์ที่บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ ของพระพุทธเจ้า พระวิหารใช้ส�าหรับกิจกรรมทางศาสนา มีศาลา การเปรียญ มีความเป็นพื้นบ้านที่มีการรักษาศิลปวัฒนธรรมได้เป็น อย่างดี ชุมชนมีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน รู้จักการ มีส่วนร่วมมีความสามัคคีกันในหมู่บ้านอย่างดี 178

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

การศึกษา มีศูนย์ศึกษาพระศาสนาวันอาทิตย์ เปิดสอนตั้งแต่ปี พ.ศ. 2520 เป็นต้นมาจนถึงปัจจุบัน


สิ่งส�าคัญภายในวัดวารีสุทธาวาส พระรัตนเจดีย์ศรีสุทธาวาสมิ่งมงคลแห่งลานนา เป็นชื่อที่ได้รับ พระราชทานจาก สมเด็จพระสังฆราชเจ้ากรมหลวงวชิรญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก พระองค์ที่ 19 แห่งกรุง รัตนโกสินทร์ และบนยอดพระธาตุเจดีย์บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ ที่ ได้รับพระราชทานจากพระองค์ สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2557 ที่มาของ พระพุทธรูป 60 องค์ คือ มาจากพระธรรมทูตชุดแรกที่พระพุทธเจ้า ทรงส่งไปประกาศพระพุทธศาสนา พระพุทธปฏิมากรปางประทานพรธรรมจักร สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2559 ที่พระหัตถ์เบื้องซ้ายของพระองค์มีเลขเก้าเป็นสัญลักษณ์ ของโลกุตระ 9 เพือ่ ให้พทุ ธศาสนิกชนทีไ่ ด้มาสักการบูชาและบูชาขอพร พระนอนแสนสุข สร้างขึน้ เมือ่ ปี พ.ศ. 2557 เพือ่ ให้พทุ ธศาสนิกชน ที่ได้มาสักการบูชามีความสุข ความเจริญ วิหารแก้วลายค�า(ทอง) สร้างขึน้ เมือ่ ปี พ.ศ. 2545 เป็นการบูรณะ จากหลังเดิมซึ่งหลังที่เห็นในปัจจุบันนี้เป็นหลังที่ 3 แห่งการบูรณะ ในวิหารนัน้ ประดิษฐานพระพุทธปฏิมากร 5 องค์ เรียกว่าพระเจ้า 5 องค์ พระเจ้าทันใจสมปรารถนา สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2556 เพื่อให้ พุทธศาสนิกชนที่ได้มาสักการบูชาได้ขอพรจะคิดท�าสิ่งใดก็ส�าเร็จ ดังปรารถนาทุกอย่าง หอไตรทรงล้านนาประยุกต์ สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2552 ชั้นบนสุด ส�าหรับบรรจุพระคัมภีร์โบราณ วัดวารีสุทธาวาสเป็นศูนย์รวมจิตใจของประชาชนในหมู่บ้านให้ รู้จักมีความรักความสามัคคีซึ่งกันและกัน และให้รู้จักการเสียสละ การมีส่วนร่วมในหมู่คณะหรือชุมชน เป็นวัดเก่าแก่ที่ราษฎรให้ความ เคารพนับถือ เป็นศูนย์รวมจิตใจให้ชุมชนอยู่ร่วมกันด้วยความสันติ ให้ไว้เป็นศาสนสมบัติทางพระพุทธศาสนาต่อไป

พ่อหนาน ถนอมศักดิ์ นวลหล้า มรรคนายก

การบริหารและการปกครอง มีเจ้าอาวาสเท่าที่ทราบนาม รูปที่ 1 พระอินตา รูปที่ 2 พระอินต๊ะ รูปที่ 3 พระพรหมา รูปที่ 4 พระจันทร์ตา รูปที่ 5 พระดาวแก้ว รูปที่ 6 พระอธิการเต้ง ปินต๊ะ รูปที่ 7 พระอธิการอินทร ยานรงฺษี รูปที่ 8 พระอธิการอินถา คุณธมฺโม รูปที่ 9 พระอธิการดาวจันทร์ กนฺตสีโร รูปที่ 10 พระอินถา อภิปุญฺโญ รูปที่ 11 พระครูสุเทพ ขนฺติโก รูปที่ 12 พระอธิการอ�านวย ฐานวีโร รูปปัจจุบัน CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

179


กราบสรีระสังขารหลวงปู่ครูบาธรรมชัย ในดินแดนพระนิพพาน

History of buddhism....

WAT WARI SUTTHAWAT Phra Rattana Chedi Sri Sutthawat, the grace of Lanna which contains Lord Buddha’s relics Wat Wari Sutthawat is located at 67 Ban Rong Khun, village no.10, San Pu Loei sub-district, Doi Saket district, Chiang Mai province. It was built in B.E.2408, locals call this temple “Wat Rong Khun”. Its former name was Wat San Ku. It belongs to Maha Nikaya clergy. Total scale of this temple’s land is 2,800 square meters which 1 plot of this land is monastery land and its scale is 1,800 square meters. Wat Wari Sutthawat has pagoda that contains Lord Buddha’s relics, Buddha image hall for performing religious activities and sermon hall. This temple also has localness which conserving art and cultural excellently together. Moreover, it is the part of community that has generousness, willingness on helping others and excellent understanding on participation and unity in community.

180

SBL บันทึกประเทศไทย II เชียงใหม่


IMPORTANT BUILDING IN WAT WARI SUTTHAWAT Phra Rattana Chedi Sri Sutthawat, the grace of Lanna, it is the name was bestowed by Somdet Phra Sangharaja Chao Kromma Luang Vajirañāṇasaṃvara, the 19th supreme patriarch of Rattanakosin kingdom. On top of this pagoda contains Lord Buddha’s relics that was granted from him. This pagoda was built in B.E.2557. Origin of 60 Buddha statues was from the first group of Buddhist missionaries that Lord Buddha sent to propagate Buddhism.

Image of Lord Buddha in attitude of giving the first sermon – It was built in B.E.2559, there is number nine on the left hand of this Buddha image which is symbol of the nine supramundane states, this symbol is for Buddhists that come to this temple can pay their respect to this Buddha image and prayed for fortunate lives. Saen Suk reclining Buddha image - It was built in B.E.2557 for Buddhists that come to pay respect to this Buddha image will be happy and prosperous. Vihara Kaew Lai Kham (Thong) - It was built in B.E.2545. It was reconstructed from former vihara which the current vihara is the third. Inside this building, five images of Lord Buddha were enshrined which all images are called five Lord Buddha. Phra Chao Tan Jai Som Pratthana - It was built B.E.2556 in order to bless and grant all kinds of wishes to Buddhists that come this temple to pay homage to this Buddha statue. Hall in Lanna applied art for keeping the scriptures - It was built in B.E2552. The highest floor contains ancient scriptures. Wat Wari Sutthawat is the spiritual center of people in community near this temple which make love and unity occurred in community, including with sacrifice and participation in group or community. It is an ancient temple that people show great respect and the spiritual center for community to cohabit peacefully. CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

181


沃里苏萨瓦佛寺 拉塔纳苏萨瓦宝塔兰纳福明 储存佛陀的遗物

沃里苏萨瓦佛寺位于清迈府堆沙革县三浦乐区10村龙坤门牌号67。 建于佛历2408年,村民称之为 “龙坤佛寺”,原名“三古佛寺”, 是大乘佛教玛哈教派,占用土地1莱3颜,有1块土地1莱50平方 哇,在佛寺里文物宝塔储存着佛陀遗物。 佛寺用于举办宗教活动,有布道厅,保留着完好的民间文化。 社区很友好善良,互相帮助,懂得如何让村子里团结一致, 并有星期天的宗教学习中心,自佛历2520年开始举办教 学。

182

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


沃里苏萨瓦佛寺里的重要之处

苏萨瓦佛寺拉达纳佛主宝塔,是琅勃拉邦先祖皇室 给予的名称。 萨康玛哈(Sakon Maha Sangkhathanri)陛下,是 拉达那哥欣王朝第19位国王,在宝塔的顶部储存着佛 陀遗物,是经过皇室批准的。建于佛历2557年,60尊 佛像的起源来自于第一套宣教士佛陀派传佛教。

幸福和繁荣。考礼金寺(金)建于佛历2545年是从旧 的进行改修,现在看到的是经过改修三次的,在圣殿 内供奉着五尊佛像,称为五佛神。 即时佛神,建于佛历2556年为了让佛教徒来礼拜, 祈求祝福祈求任何事成功所愿。 兰纳风格荷里堂建于佛历2552年,顶层存藏古代经文。

普罗维登斯Thammachak庞佛护身符建于佛历2559 年,在陛下的左手,以数字9代表9个世界,为了佛教 徒来朝拜许愿祈祷。 快乐睡佛建于佛历2557年,为了佛教徒来朝拜祈祷

沃里苏萨瓦佛寺是让村里人互相了解,拥有爱心, 团结互助的中心,了解有关无私奉献和参加团体或社 区活动,是人民尊敬的佛寺,是让社区和平共处的思 想中心。

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

183


History of buddhism....

วัดปางอั้น สักการบูชา ไหว้พระขอพร “หลวงพ่อพุทธโสธร” จากแสงแห่งศรัทธา สู่พลังปัญญาและความสามัคคี พระอธิการพิศาล ธัมมทีโป เจ้าอาวาส

วัดปางอั้น ตั้งอยู่ ณ บ้านปางอั้น เลขที่ 31 หมู่ 1 ต�าบลป่าเมี่ยง อ� า เภอดอยสะเก็ ด จั ง หวั ด เชี ย งใหม่ สร้ า งขึ้ น ในปี พ.ศ. 2541 ภูมิประเทศเป็นหุบเขาล้อมรอบไปด้วยป่าไม้ที่อุดมสมบูรณ์ เขียวชอุ่ม ตลอดทั้ ง ปี อ ยู ่ ห ่ า งจากทางหลวงหมายเลข 118 ถนนเชี ย งใหม่ เชียงราย กิโลเมตรที่ 50-51 ประมาณ 1.5 กิโลเมตร 184

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


ประวัตคิ วามเป็นมา จากค�าบอกเล่าของผูเ้ ฒ่าผูแ้ ก่เล่าสืบกันมาว่า หมูบ่ า้ นปางอัน้ เป็นหมูบ่ า้ นเล็กๆ มีประชากรเพียง 20 กว่าหลังคาเรือน จึงได้สร้างวัดเล็กๆ ขึ้นมา มีพระสงฆ์อยู่จ�าพรรษาเพียงรูปเดียว มาโดยตลอด มีเสนาสนะวัตถุเพียงวิหาร 1 หลัง ศาลาอเนกประสงค์ 1 หลัง และกุฏิสงฆ์ 1 หลัง ปี พ.ศ. 2542 เริ่มต้นพัฒนาวัดปางอั้น โดยพระอธิการพิศาล ธัมมทีโป ได้มาจ�าพรรษาทีว่ ดั ปางอัน้ และได้รบั การแต่งตัง้ เป็นเจ้าอาวาส ท่านจึงได้เริ่มพัฒนาวัดโดยการสร้างกุฏิสงฆ์หลังใหม่ และปรับปรุง ภูมิทัศน์ของวัดให้สัปปายะมากขึ้นเหมาะแก่การบ�าเพ็ญสมณธรรม ส� า หรั บ พระภิ ก ษุ ส งฆ์ และส� า หรั บ ฆราวาสญาติ โ ยมมาท� า บุ ญ สวดมนต์ท�าวัตรเช้าเย็น ฟังธรรมและถือศีลปฏิบัติธรรม กระทั่งปีพ.ศ. 2544 ได้มีญาติโยมจากกรุงเทพฯ ประกอบด้วย คุณพ่อซ่งหยู แซ่โอ๊ว, คุณแม่อรวรรณ พรวณิชกิจ, คุณชยพล(มนต์ชัย) - คุณนัทธมน พรวณิชกิจ, คุณยงยุทธ-คุณวิภากร เพียวทองค�า ซึ่งเป็น สานุศษิ ย์ทศี่ รัทธา เคารพนับถือองค์หลวงพ่อพุทธโสธร วัดโสธรวราราม วรวิหารจังหวัดฉะเชิงเทราเป็นอย่างยิ่งมาโดยตลอด ซึ่งครั้งหนึ่งเมื่อปี พ.ศ. 2532 สานุศิษย์พร้อมกับคณะได้ร่วมกันเป็นเจ้าภาพถวายกฐิน พระราชทานโดยการน� า ของคุ ณ เสริ ม เสริ ม มี พ ลั ง แด่ พ ระสงฆ์ วัดโสธรวราราม วรวิหาร จังหวัดฉะเชิงเทรา ได้ทราบถึงประวัตหิ ลวงพ่อ พุทธโสธร ว่าเป็นพระเก่าแก่ที่แสดงอภินิหาร ลอยในแม่น้�าปิงจาก

ล้านช้าง-ล้านนา ถึงแม่น�้าบางปะกง และชาวบ้านได้อัญเชิญไป ประดิษฐานที่วัดโสธรวราราม จนมีชื่อเสียงโด่งดัง มีคนเคารพนับถือ มากมายทั้งชาวไทยทั่วไปตลอดชาวต่างประเทศ จึงได้มีความคิด ทีจ่ ะสร้างพระพุทธรูปหลวงพ่อโสธร (จ�าลอง) ถวายไว้กบั วัดใดวัดหนึง่ ในถิ่นล้านช้าง - ล้านนา ซึ่งเป็นถิ่นก�าเนิดของหลวงพ่อพุทธโสธร จึง เริ่มสืบเสาะหาวัดดังกล่าว กระทั่งปี พ.ศ. 2544 จึงมีมติกันทั้งคณะว่าจะสร้างองค์หลวงพ่อ พุทธโสธร(จ�าลอง) ถวายไว้กับ วัดปางอั้น ซึ่งเป็นวัดที่อยู่ใกล้เคียงกับ แหล่งก�าเนิดต้นน�้า ขุนน�้าแม่กวง ซึ่งไหลลงสู่แม่น�้าปิง ต่อมาวันที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2544 คณะศิษยานุศิษย์ หลวงพ่อพุทธโสธร จึงได้ อัญเชิญองค์หลวงพ่อพุทธโสธร(จ�าลอง) ซึง่ ได้รว่ มกันสร้างขนาดหน้าตัก 34 นิ้ ว ปิ ด ทองทั้ ง องค์ ถวายไว้ ณ วิ ห ารวั ด ปางอั้ น พร้ อ มทั้ ง ตั้ ง ปณิ ธ านไว้ ว ่ า ทั้ ง คณะจะร่ ว มกั น สร้ า งอุ โ บสถมหาอุ ต ม์ เพื่ อ ประดิษฐานองค์หลวงพ่อพุทธโสธร(จ�าลอง) ดังกล่าวเป็นพระประธาน นับจากนั้นมา คณะศิษยานุศิษย์หลวงพ่อพุทธโสธรโดยการน�า ของ ห้างเพชรทองศรีสวัสดิ ์ วงเวียนใหญ่ กรุงเทพ พร้อมคณะทีก่ ล่าวมา ข้างต้น จึงได้จัดตั้งองค์กฐินทอดถวาย ณ วัดปางอั้น ตลอดทุกปี ติดต่อกันมาเพื่อเป็นทุนการก่อสร้างอุโบสถมหาอุตม์ และรับอุปถัมภ์ อุปัฏฐากการก่อสร้าง เสนาสนะ ถาวรวัตถุของวัดปางอั้นตลอดไป

“วัดปางอั้น” เป็นวัดหนึ่งที่มีนักท่องเที่ยวและศรัทธาพุทธศาสนิกชนมาเยี่ยมชมวัด พร้อมขอพรองค์หลวงพ่อพุทธโสธร (จ�าลอง) มากมาย ขอเชิญพุทธศาสนิกชน ญาติธรรม ทุกท่านแวะไหว้พระ ขอพร ที่วัดปางอั้นได้ทุกวัน และ ร่วมสร้างเส้นทางบุญกับวัดได้โดย โทร. 08-9059-3909 (ท่านเจ้าอาวาส) CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

185


History of buddhism....

WAT PANG AN Paying homage to “Luang Phor Phuttha Sothon” for the fortune, from light of faith to wisdom and unity Wat Pang An is located at Ban Pang An, 31 village no.1, Pa Miang sub-district, Doi Saket district, Chiang Mai province. It was built in B.E.2541, its landscape is the valley surrounded by plentiful forest which is verdant for whole year. It is 1.5 kilometers from 50th51st kilometers of highway no.118, Chiang Mai-Chiang Rai route. In B.E.2542, the development of Wat Pang An was started when Phra Athikarn Pisan Thammathipo came to this temple to stay during the Buddhist Lent and he was appointed abbot of this temple. He then began to develop this temple by building new monk’s house and adjusted landscape in order to make it into the place that monks can practice the dharma and meditate more conveniently. In addition, he also did it for laymen and laywomen who came to this temple to make merit, pray in the morning and evening, listen to sermon, observe religious precepts and do the meditation. Until B.E.2544, there are folks from Bangkok came to this temple which consist of Mr.Songyu Sae-Ow, Mrs. Orawan Phonwanitchakit, Mr.Chaiphon (Monchai) - Mrs. Nattamon Phonwanitchakit, Mr.Youngyuth- Mrs.Wipakorn Phiaothongkham which all of them are faithful disciples who have always been deeply respected Luang Phor Phuttha Sothon, famous Buddha image of Wat Sothon Wararam Worawihan in Chachoengsao province, which in B.E.2532, Mr.Soem Soemmephalang was a host of ceremony which offering the annual robe to the monks at Wat Sothon Wararam Worawihan and it was sponsored by Thai Royal family. He and others then learnt about Luang Phor Phuttha Sothon’s history that it was ancient Buddha image which displayed its miracle by floating in Ping River from Lan Chang-Lanna until it reached Bang Pakong River. 186

SBL บันทึกประเทศไทย II เชียงใหม่


Locals then respectfully engaged it to be enshrined at Wat Sothon Wararam until it became famous and there are many people respect this Buddha image regardless Thais or foreigners. Therefore, it made them had an idea on building Luang Phor Phuttha Sothon (imitation) and offered it to any temple in Lan Chang-Lanna area which is the native land of Luang Phor Phuttha Sothon. They then started searching for that temple until B.E.2544, they came to the conclusion that they will build Luang Phor Phuttha Sothon (imitation) and offered it to Wat Pang An which is the temple that is located near origin of water source, Khun Nam Mae Kuang which flow into Piang River. After that, on 29 August B.E.2544, group of disciple of Luang Phor Phuttha Sothon respectfully engaged Luang Phor Phuttha Sothon (imitation) which they have jointly built, the Na Tak of this Buddha image is 34 inches and its entire body is covered with gold leaves (Na Tak is long measure of the Buddha statue in the posture of meditation). They offered this Buddha image to Wat Pang An and placed it in the vihara of this temple together with determination that the whole group will jointly build Maha-ut ubosot for establishing Luang Phor Phuttha Sothon (imitation) as principle Buddha image of this temple. Then, the group of disciples by the leading of Srisawad gold shop of Wongwian Yai, Bangkok, together with aforementioned group of people. They then held a religious ceremony in which yellow robes are presented to the monks at Wat Pang An annually and consecutively. Moreover, they also be an attendant of a monk on construction of important buildings and permanent structure, until “Wat Pang An” becomes one of a temple that lots of tourist and faithful Buddhists have visited and begged for fortune from Luang Phor Phuttha Sothon (imitation) which there is Phra Athikarn Pisan Thammathipo who have been taking a position of abbot at this temple since B.E.2542 till today. WE WOULD LIKE TO INVITE EVERY RELIGION FOLLOWER, BUDDHISTS TO PAY HOMAGE AND ASK FOR FORTUNE AT WAT PANG AN EVERYDAY. IN ADDITION, YOU CAN JOINTLY BUILD VIRTUE PATH WITH US BY CONTACTING ABBOT DIRECTLY: TEL.08-9059-3909. CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

187


邦韩佛寺

敬拜礼佛“菩塔索通大师” 信仰之光,赋予智慧与和谐的力量,佛教校长皮桑·塔

邦韩佛寺位于清迈府堆沙革县巴棉区一村帮安门牌号31,建于佛

索通大师佛像Luang Phor Sothon(模型),供奉给佛寺。兰兰-兰

历2541年。以前帮安村是一个小小的村庄,人口只有20多户,所

纳地区的佛寺之一,是索通大师的出生地,经过所有信徒开会协

以建起了小小的佛寺,一直整个佛寺守夏节只有一位和尚。佛寺

商建造索通大师佛像Luang Phor Sothon(模型)供奉给邦韩佛

只有一座佛教建筑标志,一座多功能凉亭和一间和尚住的房子。

寺,于佛寺在接近水坤光河的源头,流入槟河。从此,于佛历

接下来于佛历2542年佛教校长皮桑•塔玛蒂波(Pisan Tham-

2544年8月29号索通大师Luang Phor Sothon的全体子弟邀请索通

mathipo)来邦韩佛寺度过守夏节并任命为主持。

大师佛像Luang Phor Sothon(模型)全心合力建34寸高全身金身 供奉给邦韩佛寺,以让全体信徒将共同建造礼堂的决心达成心

直到佛历2544年,来自曼谷的佛教徒包括胡宋裕男信徒,翁拉

愿,将索通大师佛像Luang Phor Sothon(模型)供奉为主神佛像。

婉•彭娜婉尼查吉女信徒Orawan Pornavanitchakit,查亚鹏男信 徒Chayapol(孟买)-娜塔农鹏•彭娜婉尼查吉女信徒Natamonporn

自从菩塔索通大师的全体子弟将从曼谷文原冉Wongwian Yai,西

Wanitchak,永儒男信徒KhunYong yut-艺帕恭女信徒Wipakorn

萨婉Si Sawat Thong钻石专卖店供奉全体信徒主持凯西娜祭给邦

Purethong 飘通康是一直敬重北柳府索通 婉拉廊 翁拉艺韩Sothon

韩佛寺,每年都是如此,一年接一年,并一直对邦韩佛寺建设进

Wararam Worawihan寺,菩塔索通大师的信徒 。于佛历2532年

行支持和赞助。直到现在邦韩佛寺有很多游客和信徒来参观祭拜

全体信徒主持凯西娜祭王室仪式以盛先生的信物,传播力量,献

并向菩塔索通大师佛像Luang Phor Sothon(模型)许愿祈祷,并

于北柳府索通 婉拉廊 翁拉艺韩Sothon Wararam Worawihan寺。

由佛教校长皮桑•塔玛蒂波(Pisan Thammathipo)任命为主持

得知菩塔索通大师的来历,是一位创造奇迹的古代大师,兰兰-兰

从佛历2542年一直到现在。

纳地区能飞浮于槟河到邦帕孔河,然后人民邀请并供奉大师于索 通 婉拉廊 翁拉艺韩Sothon Wararam Worawihan寺,直到有名

邀请宗教信徒来邦韩佛寺供奉许愿,与住持一起建立一条功绩之路。

声,得到很多人敬重,包括泰国人和外国人。因此,建造了一座

联系电话:089-059-3909

188

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


Buddhism

in Thailand

SBL บันทึกประเทศไทย น�าเสนอเรื่องราวของจังหวัดต่างๆ ทั่วประเทศไทย อย่างเจาะลึกและครอบคลุมทุกมิติ อาทิ มิติด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ จากหน่วยงานราชการส�าคัญในจังหวัด มิติด้านการท่องเที่ยวที่สดใหม่ทันสมัย ทั้งสถานที่เที่ยว ที่พัก ร้านอาหาร ร้านกาแฟ แหล่งช็อปปิ้งใหม่ๆ ฯลฯ มิติด้านอุตสาหกรรม-การค้าการลงทุนที่เป็นตัวขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ตลอดจนมิติด้านการศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม และวิถีชีวิต ที่มีจุดเด่นและมีเอกลักษณ์น่าสนใจ


History of buddhism....

วัดศรีดอนดู่ “อนุรกั ษ์และสืบสานประเพณีศลิ ปวัฒนธรรมไทยใหญ่ หนึ่งเดียวในอำเภอดอยสะเก็ด” พระครูสังฆรักษ์อานนท์ อานนฺโท ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาส

วัดศรีดอนดู่ ตั้งอยู่เลขที่ 258 หมู่ที่ 2 บ้านแม่ก๊ะ ถนนสาย ดอยสะเก็ ด -บ่ อ สร้ า ง ต� า บลตลาดใหญ่ อ� า เภอดอยสะเก็ ด จั ง หวั ด เชี ย งใหม่ ที่ ดิ น ตั้ ง วั ด มี เ นื้ อ จ� า นวน 3 ไร่ 29 ตารางวา

190

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


ประวัติความเป็นมา เดิมวัดศรีดอนดู ่ มีชอื่ เรียกว่า “จองแม่กะ๊ ” สร้างขึน้ ในปี พ.ศ. 2463 โดยมีพ่อค้าชาวไทใหญ่ที่มาค้าขายในพื้นที่ได้รวบรวมเงินซื้อที่ดิน สร้างวัดแทนวัดเดิม ซึ่งตั้งอยู่บริเวณบ้านแม่จ้อง แล้วได้ร่วมกัน อัญเชิญพระพุทธรูปส�าคัญและพระบรมสารีริกธาตุมาประดิษฐานไว้

พระพุทธรูปที่อัญเชิญมามีนามว่า หลวงพ่อพุทธเมตตาหลวง และมีพระไม้แกะสลักลงรักปิดทอง ลักษณะเป็นศิลปะแบบพม่า ซึ่ ง ทางวั ด ศรี ด อนดู ่ นี้ เ ป็ น วั ด ที่ มี ป ระเพณี แ ละศิ ล ปวั ฒ นธรรมไทย ใหญ่หนึ่งเดียวในอ�าเภอดอยสะเก็ด อาคารเสนาสนะ ประกอบด้วย วิหาร กุฏิสงฆ์ ศาลาอเนกประสงค์ และศาลาเล็ก ปูชนียวัตถุ มีพระพุทธรูปท�าด้วยไม้ และไม้สานลงรักปิดทอง พระบัวเข็ม ท�าด้วยเกสรแบบพม่า พระพุทธรูปหินอ่อน แบบพม่า พระพุทธรูป ก่ออิฐโบกปูน และพระพุทธรูปโลหะปางต่างๆ ขอเชิญสาธุชนร่วมสร้างบุญใหญ่ ด้ ว ยทางวัด ได้มีด�าริในการสร้างพระเจดีย์ศ รี รุ่ ง เรื อ งชั ย มงคล เพื่ อ จะใช้ บ รรจุ พ ระบรมสารี ริ ก ธาตุ ทางวั ด จึ ง ขอเรี ย นเชิ ญ แจ้ ง ความประสงค์ร่วมท�าบุญ ติดต่อได้ท ี่ พระครูสังฆรักษ์อานนท์ อานนฺโท เจ้าอาวาสวัดศรีดอนดู่ โทรศัพท์ 096-836-1478

อานิสงส์การร่วมบุญสร้างพระธาตุเจดีย์ การสร้างเจดีย์เพื่อบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ หรือ อัฐิธาตุของ บุ ค คลที่ ค วรบู ช าได้ แ ก่ พระพุ ท ธเจ้ า พระปั จ เจกพุ ท ธเจ้ า พระ อรหันต์ และพระเจ้าจักรพรรดิ เป็นการสร้างมงคลให้กับตนเอง เมื่ อ ตายไปย่ อ มไปสู ่ สุ ค ติ โ ลกสวรรค์ ย ่ อ มได้ ด วงตาเห็ น ธรรมและ บรรลุมรรคผลนิพพานโดยง่าย การมีส่วนร่วมสร้าง พระเจดีย์จะ มากหรือน้อย ถ้าท�าด้วยความเลื่อมใส ก็ย่อมได้อานิสงส์มากมาย

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

191


History of buddhism....

วัดอรัญญวาส “ผู้มีสติตื่นตัวอยู่เนืองนิตย์ มีจิตเป็นอิสระ จากราคะและโทสะ ย่อมไม่กลัวอะไร” พุทธพจน์ พระครูวิภาตวรคุณ ธมฺมวโร เจ้าอาวาส

วัดอรัญญวาส ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 235 บ้านดงป่าหวาย ถนนสายเชียงใหม่ - ฮอด หมู่ที่ 8 ต�าบลดอยหล่อ อ�าเภอดอยหล่อ จังหวัดเชียงใหม่ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ที่ดินตั้งวัดมีเนื้อที่ 5 ไร่ 3 งาน 5 ตารางวา น.ส. 3 เลขที่ 438 อาณาเขต ทิศเหนือจดทางสาธารณะ ทิศใต้ จดที่ดินเอกชน ทิศตะวันออกจดถนนสายเชียงใหม่ ทิศตะวันตก จดที่ดินเอกชน มีที่ธรณีสงฆ์จ�านวน 1 แปลง เนื้อที่ 3 งาน อาคาร เสนาสนะประกอบด้วย ศาลาการเปรียญ กุฏิสงฆ์ อุโบสถ และวิหาร ศาลาปฏิบัติธรรม 192

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

ประวัติความเป็นมา วัดอรัญญวาส สร้างขึน้ เมือ่ ประมาณพ.ศ. 2482 โดยมีพระอธิการสม ผู้ริเริ่ม เป็นประธานฝ่ายสงฆ์ และมีนายเขียว กิติตาล ร่วมกับชาวบ้าน ได้ ช ่ ว ยกั น สร้ า งเสนาสนะขึ้ น จากการตรวจสอบหลั ก ฐานของ กรมการศาสนา วัดอรัญญวาส ได้ขออนุญาตย้ายวัดซึง่ กระทรวงศึกษาธิการ ประกาศอนุญาตให้ย้ายวัดเมื่อวันที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2502


การบริหารและการปกครองมีเจ้าอาวาสเท่าที่ทราบนาม คือ 1. พระโท๊ะ ปญญาธโร พ.ศ. 2471 - พ.ศ. 2473 2. พระดก กนฺตฺสีโร พ.ศ. 2473 - พ.ศ. 2474 3. พระอธิการสม สมภมิต พ.ศ. 2474 - พ.ศ. 2480 4. พระใจ๋ อินฺทจกฺ พ.ศ. 2480 - พ.ศ. 2487 5. พระนวล ขนฺติโก พ.ศ. 2487 - พ.ศ. 2488 6. พระสิงห์ จนฺทโชโต พ.ศ. 2488 - พ.ศ. 2489 7. พระดี เขมโก พ.ศ. 2489 - พ.ศ. 2491 8. พระวิโรจน์ วิโรจโน พ.ศ. 2491 - พ.ศ. 2498 9. พระอธิการปั๋นแก้ว โชติธม.โม พ.ศ. 2498 - พ.ศ. 2502 10. พระครูวิมลธรรมนิเทศก์ คุณสม.ปน.โน พ.ศ. 2502 - พ.ศ. 2532 11. พระครูวิภาตวรคุณ ธมฺมวโร พ.ศ. 2532 - ปัจจุบัน

ประวัติท่านเจ้าอาวาสโดยสังเขป พระครูวิภาตวรคุณ ฉายา ธมฺมวโร อายุ 60 พรรษา 25 วิทยฐานะ นธ.เอก บรรพชา วันที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2518 วัดอรัญญวาส จั ง หวั ด เชี ย งใหม่ พระอุ ป ั ช ฌาย์ พระครู ว รวุ ฒิ คุ ณ วั ด ฟ้ า หลั่ ง อ�าเภอดอยหล่อ จังหวัดเชียงใหม่ อุปสมบท วันที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2522 ณ วั ด อรั ญ ญวาส จั ง หวั ด เชี ย งใหม่ พระอุ ป ั ช ฌาย์ พระครูวรวุฒิคุณ วัดฟ้าหลั่ง จังหวัดเชียงใหม่ พระครูวุฒิธรรมวิมล วัดพระธาตุดอยหล่อ เป็นพระกรรมวาจาจารย์ พระครูวมิ ลธรรมนิเทศก์ เจ้าอาวาสวัดอรัญญวาส เป็นพระอนุสาวนาจารย์ ผลงาน อาทิ พ.ศ. 2535 สร้างพระวิหาร, พ.ศ. 2543 สร้างอุโบสถ สร้างก�าแพงวัด, พ.ศ. 2546 สร้างกุฏิสงฆ์ สร้างป้ายวัด, พ.ศ. 2547 สร้างศาลาปฏิบัติธรรม, พ.ศ. 2550 สร้างหอระฆัง ศาสนสถาน มีดังนี้ 1.กุฏิ 7 หลัง, 2.โรงอาหาร 1 หลัง, 3.วิหาร 1 หลัง,

4.อุโบสถ 1 หลัง, 5.ศาลาการเปรียญ 1 หลัง, 6.หอระฆัง 1 หลัง, 7.ศาลาเก้าห้อง 1 หลัง, 8.ห้องสมุด 1 หลัง, 9.วิหารมณฑปครูบาค�า 1 หลัง, 10.ศาลาพระเจ้าทันใจ 1 หลัง, 11.ห้องน�้า 29 ห้อง CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

193


กราบสรีระสังขารหลวงปู่ครูบาธรรมชัย ในดินแดนพระนิพพาน

History of buddhism....

WAT ARANYAWATI “A person who is awakened constantly and has a mind of sensuality and anger is not afraid of anything” Phutthaphot Provost Vipatworakhun Thammavaro is the abbot of Aranyawat Temple, located at 235 Ban Dong Pa Wai, Chiang Mai Road, Village No. 8, Doi Lo Sub district, Doi Lo District, Chiang Mai Province under the Mahanikai Land Clergy Council. The temple with an area 12,820 square meters. Title S.3, No. 438. There are 1 plot of land in an area of 3 ngan, consisting of a sermon hall, a Buddhist monk hall, a chapel and a natural practice hall. The temple was built around 2439 A.D., with the initiative Rector Somchai as president of the clergy, and Mr Kheaw Kititan, together with the villagers helped build cubicles for monks. From the examination of evidence from the Religious Department. Aranyawat Temple asked permission to relocate the temple. Which the Ministry of Education announced the permission to relocate the temple on 20 January 1959. Currently, Provost Vipatworakhun Thammawaro is the abbot.

194

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

Abbot’s brief history. Provost Vipatworakhun aka Thammawaro 45 years old ordain as a monk for 8 years and 4 months. Formal study of elementary 4th grade with advanced level in dhamma scholar study. Currently is the abbot of Aranyawats Temple, formerly known as Somboon Punka born on July 3, 1959. The Son of Mr. Inkaew and Mrs. Moi Panka House No. 102, Village No. 8, Doi Lor Sub district, District Doi Lo, Chiang Mai Province. Ordination dated on 24 April 1975. Aranyawat Temple, Chiang Mai Province. Ordinated by Provost Worawutkhun, Fah Samak Temple, Doi Lo District, Chiang Mai. Ordination on June 28, 1979 at Oran Temple. 2nd Ordination by Provost Worawutkhun, Fa Lueng Temple, Chiang Mai Province. Provost Wutthamvimol, Phra That Doi Lo Temple is the lecturer. Provost Wimonthamnitate, Abbot of Aranyawat Temple was the 2nd ordination teacher. The abbot works include 1992 A.D. building a temple. 2000 A.D. building a temple and a wall for the temple. In the year of 2003 built cubicles for monks and temple sign. 2004 A.D. Building a practice hall. 2007 A.D. built religious bell tower. Temple include 7 cubicles, 2. 1 cafeteria, 3. 1 Cathedral, 4. 1 Buddhist chapel, 5. 1 Sermon Hall, 6. 1 bell tower, 7. 1 Pavilion name (Nine Room), 8. 1 Library, 9. 1 Temple Sanctuary name Kruba Kam, 10. 1 Temple named PharaJao Tunjai, 11. 29 Restrooms.


Hip Home@Hod ฮิพโฮมแอดฮอด

บ้านพักแนวๆ ในอ� าเภอฮอด

Hip Home at Hod ที่ พั ก สไตล์ ค็ อ ทเทจ กับบรรยากาศเงียบสงบ เหมาะแก่การพักผ่อนของ ลูกค้าทีต่ อ้ งการความเป็นส่วนตัว พร้อมเครือ่ งอ�านวย ความสะดวกภายในห้องครบครัน ฟรีอนิ เตอร์เน็ตไร้สาย ( WiFi Free) Hip Home at Hod ตั้ ง อยู ่ ห ่ า งจากอุ ท ยาน แห่งชาติออบหลวงประมาณ 30 นาที ห่างจากสวนสน บ่อแก้ว และห่างจากผาสิงห์เหลียวประมาณ 30 นาที หากเดิ น ทางโดยรถยนต์ ส่ ว นสนามบิ น นานาชาติ เชียงใหม่อยู่ห่างจากที่พักเป็นระยะทาง 75 กม.

สอบถำมข้อมูลเพิ่มเติมและส�ำรองห้องพักได้ที่ Hip Home@Hod (ฮิพโฮมแอดฮอด)

ตั้งอยู่เลขที่ 144 หมู่ 9 ต.หางดง อ.ฮอด จ.เชียงใหม่ 50240 Hip Home@Hod hiphomeathod9

Tel. 098-158-8241

091-071-9571195 CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย


History of buddhism....

วัดพระธาตุดอยน้อย ตามรอยพระนางจามเทวี กว่า 1300 ปีแห่งการสร้างวัด พระครูสาธุกิจจานันท์ เจ้าอาวาส

วัดพระธาตุดอยน้อย ตั้งอยู่ที่ต�าบลดอยหล่อ อ�าเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ ตามทางหลวงหมายเลข 108 ระหว่างกิโลเมตรที่ 43-44 หากมาจากเชี ย งใหม่ จ ะอยู ่ ฝ ั ่ ง ซ้ า ยมื อ เป็ น วั ด ราษฎร์ ใ น พระพุทธศาสนา มีพื้นที่ 134 ไร่ 3 งาน 7 ตารางวา ที่ธรณีสงฆ์ รวม 9 ไร่ 2 งาน 82 ตารางวา รวมที่ดินวัด 144 ไร่ 1 งาน 889 ตาราง วา 196

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


ตามรอยพระนางจามเทวี วัดพระธาตุดอยน้อย ตามประวัติเล่าว่าสร้างขึ้นเมื่อปีพ.ศ. 1201 อายุจนถึงปัจจุบนั ก็ราว 1,300 กว่าปีมาแล้ว สร้างโดยพระนางจามเทวี เมือ่ คราวเสด็จจากเมืองละโว้(ลพบุร)ี เพือ่ มาครองเมืองหริภญ ุ ชัย(ล�าพูน) โดยเสด็จทางเรือตามล�าน�า้ แม่ปงิ พร้อมกับข้าราชบริพาร เมือ่ วันขึน้ 2 ค�า่ เดือน 3 ปีมะเส็ง พ.ศ. 1201 ทรงสร้างพระเจดียบ์ รรจุพระบรมสารีรกิ ธาตุ และของมีค่าต่างๆ ที่น�ามาจากเมืองละโว้ พร้อมกันนี้ทรงสร้างโบสถ์ โขงพระ (กรุพระ) ด้วย โดยการก่อสร้างแล้วเสร็จวันขึ้น 8 ค�่า เดือน 4 ปีมะเส็ง พ.ศ. 1201 (ใช้เวลา 1 เดือน 6 วัน) และท�าพิธีอบรมสมโภช 3 วั น 3 คื น จากนั้ น พระนางจามเทวี ก็ เ สด็ จ ไปนครหริ ภุ ญ ชั ย ดังบันทึกตอนหนึ่งว่า “สิริศุภมัสดุ พระพุทธศักราช 1201 ปีมะเส็ง เดือน 3 ขึ้น 2 ค�่า วันพระผู้มีพระภาคเจ้าธัมมิกราชแห่งต�านานพระธาตุเจ้าดอยน้อย บนดอยจุลคีรีด้วยเดชะพระนางจามเทวี ได้มาสถาปนาไว้ โดยโอกาส หยาดน�้ามอบหมายแก่ศรัทธาผู้ข้าทั้งหลาย แล พระผู้อันเป็นเชื้อชาติ แห่งพระพุทธศาสนาอยู่อุปถากรักษาพระบรมเจดีย์เจ้าดอยน้อย บนสุวรรณคีรีแห่งนี้” ต่อมา พ.ศ. 2097 พระเมืองแก้ว ผู้ครองนครเชียงใหม่ค้นพบ ต� า นานเจดี ย ์ ข องพระนางจามเทวี ซึ่ ง ขณะนั้ น พระเจดี ย ์ ช� า รุ ด ทรุดโทรมมาก จึงมอบให้ขุนดาบเรือนพร้อมกับข้าราชบริพารบูรณ ปฏิสงั ขรณ์ หลังจาก พ.ศ. 2300 วัดร้างไประยะหนึง่ ด้วยเหตุภยั สงคราม กับพม่า ราษฎรอพยพย้ายถิน่ ฐาน จึงท�าให้ขาดการดูแลรักษา ปี พ.ศ. 2475 ครูบาอินทจักร, ครูบาพรหมา, ครูบาคัมภีระ ได้ร่วมกันบูรณะและ ยกฐานะขึ้นเป็นวัดจนถึงปัจจุบันนี้

เจดีย์โขง 9 ยอด หรือ (เจดีย์โขงพระ) สร้ า งโดยพระนางจามเทวี พ ร้ อ มเดี ย วกั บ เจดี ย ์ อ งค์ ใ หญ่ ใ น พ.ศ. 1201 รูปเดิมเป็นฐานสี่เหลี่ยมยกฐานขึ้นมาจากพื้นดินนิดหน่อย เป็นโขงสีด่ า้ นมีศลิ ปะทีง่ ดงาม มีเสาตรงกลางเดินรอบได้ มีพระพุทธรูป 4 องค์ หันพระพักตร์ไปสี่ทิศ มีเรื่องเกี่ยวกับฤาษี 4 ตน อยู่ทางทิศใด ก็สร้างพระพุทธรูปหันพระพักตร์ไปทางทิศนั้น นอกจากนั้นยังเป็น สถานทีเ่ ก็บพระเครือ่ งองค์ใหญ่ องค์เล็กจ�านวนมาก ต่อมาในปีพ.ศ. 2550 เจดีย์โขงพระได้ช�ารุดพระครูสาธุกิจจานันท์เจ้าอาวาสได้บูรณะ โดย มีแม่ชี รัชดา อมาตยกุล, คุณเกช, คุณเพ็ญศรี, นางสาวยาใจ บุนนาค พร้อมด้วยญาติธรรมทั้งหลายเป็นเจ้าภาพ ยกฉัตรวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2550

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

197


พระเจ้าทันใจ สร้างตามแบบล้านนาในวันขึ้น 15 ค�่า เดือน 8 เหนือ ตรงกับวัน อาทิตย์ ที่ 10 พฤษภาคม 2542 เริ่มเวลา 03.29 น. และท�าพิธีพุทธ าภิเษกในวันเดียวกัน พระครูสาธุกิจจานันท์ เป็นประธานด�าเนิน ก่อสร้าง คณะศิษยานุศิษย์พร้อมทั้งพุทธศาสนิกชนทั่วไปร่วมสร้าง พระบรมสารีริกธาตุ มีขนาดเท่าเมล็ดถั่วเขียว สีดอกพิกุลแห้งสัญฐานกลมเกลี้ยง ซึ่ง ได้อัญเชิญมาจากวัดพระธาตุศรีจอมทองเมื่อพ.ศ.2457 โดยท่าน ครูบาศรีวิชัยได้ขอกับท่านครูบามหาวรรณไว้ เพราะในขณะนั้นวัด พระธาตุศรีจอมทอง มีพระบรมสารีริกธาตุประดิษฐานอยู่สององค์ ด้วยกัน คือ เป็นของเดิมองค์หนึ่งและเป็นของพุทธสาสนิกชนชาว พม่า น�ามาประดิษฐานไว้เมื่อพ.ศ.2457 อีกองค์หนึ่ง ต่อมาครูบาศรี วิชัยจึงให้พระปวน พรหมเสโน สามเณรแสน เรือป้อม และ สามเณร จุ ไปรับพระบรมสารีริกธาตุท่ีวัดพระธาตุศรีจอมทอง ปัจจุบันทางวัด พระธาตุดอยน้อยจึงได้เอาวันเพ็ญขึ้น 15 ค�่า เดือน 8 เหนือ เป็นงาน ประเพณีสรงน�้าพระธาตุหรืองานประจ�าปีของวัด ตามที่เคยปฏิบัติ มาตั้งแต่อดีตกาล และหลังออกพรรษา วันแรม 1 ค�่า ก็มีงานประจ�า ปีตักบาตรเทโวโรหณะเป็นประจ�าทุกๆ ปีด้วยเช่นกัน ศิลาด้านข้างเจดีย์องค์ใหญ่ (ข้างวิหารสามมุข) บันทึกประวัติพระนางจามเทวีกับการสร้างวัดพระธาตุดอนน้อย ศูนย์หัตถกรรมท�าฉัตร เป็นสถานที่สร้างสรรค์งานศิลปะล้านนาโดยฉลุทองเหลือง สแตน เลสและโลหะต่างๆ โดยมีการท�าฉัตรทรงไทย ทรงล้านนา และศิลปะ พม่า เป็นต้น ท�าส่งทั้งในประเทศและต่างประเทศ นอกจากนี้ยังท�า เครื่องสักการะทางพระพุทธศาสนา ธรรมมาสเทศน์แบบโบราณ บุษบก ฉัตตภัณฑ์ เครื่องสักการะล้านนาท�าด้วยไม้สักทอง ทั้งหมด เป็นการส่งเสริมอนุรักษ์ศิลปะทางพระพุทธศาสนา และได้ส่งเสริม สร้างงานให้กับศรัทธาพุทธศาสนิกชนที่ว่างงานได้มีงานท�าในท้องถิ่น

198

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


Phetchabun เพชรบูรณ์

ดินแดน สวิตเซอร์แลนด์เมืองไทย ธรรมะ(ชาติ) กลางขุนเขา ณ วัดพระธาตุผาซ่อนแก้ว

www.sbl.co.th SBL บันทึกประเทศไทย

SBL MAGAZINE

SBL บันทึกประเทศไทย


History of buddhism....

วัดพระบาทอุดม พระครูสุจิตตานุรักษ์ ดร. เจ้าอาวาส และ เจ้าคณะอ�าเภอฝาง

วัดพระบาทอุดม (น�้าบ่อซาววา) ตั้งอยู่เลขที่ 450 บ้านหนอง อึ่ง หมู่ที่ 3 ต�าบลเวียง อ�าเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ สังกัดคณะสงฆ์ มหานิกาย ที่ดินตั้งวัดมีเนื้อที่ 12 ไร่ 2 งาน 44 ตารางวา โฉนดเลข ที่ 15965 เลขที่ดิน 495 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2512 เขตวิสุงคามสีมากว้าง 40 เมตร ยาว 80 เมตร

สํานักวิปัสสนากรรมฐานน้ําบ่อซาววาแห่งแรกของ 3 อําเภอ ส่งเสริมการศึกษาของพระเณรเพื่อสืบทอดพระศาสนา 200

SBL บันทึกประเทศไทย II เชียงใหม่


ประวัติความเป็นมา

วัดพระบาทอุดม(บ่อน�้าซาววา) ตั้งเมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2424 สร้างในสมัยพระเจ้าฝางอุดมสิน ต่อมาได้ร้างไปจนถึง พ.ศ. 2420 พระยามหามหิทธิวงศา (เจ้าน้อยมหาวงศ์ บุญทาวงศา) เจ้าเมืองฝาง ได้ท�าการบูรณะเสนาสนะ แล้วได้อาราธนาพระครูบาเก๋ จากวัดดับภัย อ�าเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ มาเป็นเจ้าอาวาส ชาวบ้านเรียกว่า “วัดดอย” CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

201


กราบสรีระสังขารหลวงปู่ครูบาธรรมชัย

การศึกษา มีโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกธรรม เปิดสอนพ.ศ. 2531และ แผนกสามั ญ (ม.1-ม.6) นอกจากนี้ มี ส� า นั ก วิ ป ั ส สนากรรมฐาน น�้าบ่อซาววาเป็นแห่งแรกของ 3 อ�าเภอ คือ ฝาง แม่อาย ไชยปราการ มีอนุสาวรีย์ครูบาศรีวิชัย มีอนุสาวรีย์พระเจ้าฝาง-พระนางสามผิว มีสถานีวิทยุพระพุทธศาสนาคณะสงฆ์อ�าเภอฝาง สิ่งส�าคัญในวัด พระธาตุเจดีย์ วิหาร อุโบสถ กิจกรรมที่ด�าเนินการ โรงเรียนพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ และ โรงเรียนพระปริยัติธรรม ประวัติเจ้าอาวาสโดยสังเขป พระครู สุ จิ ต ตานุ รั ก ษ์ ดร. ฉายา ทนฺ ต จิ ตฺ โ ต อายุ 65 ปี พรรษา 44 น.ธ.เอก วุฒิปริญญาเอก ปัจจุบันด�ารงต�าแหน่ง เจ้า อาวาสวัดพระบาทอุดม ต�าบลเวียง อ�าเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่, เจ้า คณะอ�าเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ และ พระอุปัชฌาย์

202

SBL บันทึกประเทศไทย II เชียงใหม่

สถานะเดิม ชื่อ แก้ว เกรียงไกรวิโรจน์ บิดา นายอุ่น มารดา นางป้อ เกิดวันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2495 บ้านเลขที่ 39 หมู่ 9 ต�าบลแม่สาว อ�าเภอแม่อาย จังหวัดเชียงใหม่ บรรพชา สามเณรแก้ว เกรียงไกรวิโรจน์ เมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ.2509 ณ วัดศรีบุญเรือง ต�าบลแม่สาว อ�าเภอแม่อาย พระอุปัชฌาย์ พระครูวิทิตธรรมรส อุปสมบท พระครูสจุ ติ ตานุรกั ษ์ ฉายา ทนฺตจิตโฺ ต เมือ่ วันที ่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2516 ณ วัดพระบาท ต�าบลเวียง อ�าเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ พระอุปัชฌาย์ พระครูวิทิตธรรมรส พระกรรมวาจาจารย์ พระครูวุฒิญาณพิศิษฎ์ พระอนุสาวนาจารย์ พระครูเทพวุฒิคุณ การศึกษาพิเศษ ภาษาอังกฤษ - ภาษาล้านนา ความช�านาญการ ในด้านการก่อสร้าง นวกรรม ปาฐกถาธรรม เทศนาธรรมบรรยาย เทศนาธรรมมหาชาติกัณฑ์มหาราช ผลงาน อาทิ เจ้าคณะอ�าเภอฝาง, พระอุปัชฌาย์, พระธรรมทูต, ผอ.อปอ.ฝาง, ผู้จัดการและประธานกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน


โรงเรียนวัดพระบาทอุดม ส่งเสริมการศึกษาของพระเณร ช่วยจัดหาเด็กนักเรียนที่ตั้งใจเรียน แต่มีฐานะยากจนมาบรรพชา เพื่ อ ศึ ก ษาต่ อ และมอบทุ น การศึ ก ษา ทั้ ง นั ก ธรรมและบาลี แ ละ แผนกสามั ญ ศึ ก ษา ส� า รวจความต้ อ งการของนั ก เรี ย นเมื่ อ จบชั้ น มัธยมศึกษาปีที่ 3 แล้ว ถ้าต้องการเรียนที่ไหนจะเป็นธุระในการจัดหา ทีพ่ กั ให้ ถ้าพบว่านักเรียนทีเ่ รียนดีแต่ยากจน หรือมีปญ ั หาทางครอบครัว เช่น หย่าร้าง หรือบิดา มารดาเสียชีวิต จะแนะน�าให้เรียนแผนกบาลี และส่งไปศึกษาที่ ส�านักเรียนในกรุงเทพมหานคร เพื่อให้พระเณร ได้มโี อกาสศึกษาเล่าเรียนมีความรู ้ สามารถน�าเอาวิชาความรูท้ ไี่ ด้ศกึ ษา น�ามาใช้ให้เป็นประโยชน์ต่อพระศาสนา ประเทศชาติบ้านเมือง และ เป็นคนดีของประเทศชาติบ้านเมือง

วัตรปฏิบัติและกิจกรรมของวัด มีสวดพระปาฏิโมกข์ทกุ กึง่ เดือน มีพระภิกษุสวดปาฏิโมกข์ได้ 1 รูป มีการท�าวัตรสวดมนต์เป็นประจ�าตลอดปี มีระเบียบการปกครองวัด โดยสามัคคีธรรม และให้เป็นไป ตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ์

การบริหารและการปกครองมีเจ้าอาวาสเท่าที่ทราบนาม คือ 1. พระเกสรปรมัตถาจารย์ (ครูบาเก๋) พ.ศ. 2424 - พ.ศ. 2454 2. พระยาวิชัย พ.ศ. 2454 - พ.ศ. 2480 3. พระใบฎีกาสุวรรณ สุวรรณโณ พ.ศ. 2480 - พ.ศ. 2481 4. พระครูธรรมทิน (ครูบาคันธิยา) พ.ศ. 2482 - พ.ศ. 2506 5. พระครูวิทิตธรรมรส พ.ศ. 2506 - พ.ศ. 2530 6. พระครูสุจิตตานุรักษ์ (แก้ว ทนฺตจิตฺโต) พ.ศ. 2530 - ปัจจุบัน CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

203


WAT PHRA BAT UDOM (NAM BO SAO WA)

Wat Phra Bat Udom (Nam Bo Sao Wa) is located at 450 Ban Nong Eung, viallge no.3, Wiang sub-district, Fang district, Chiang Mai province. It belongs to Maha Nikaya clergy. The scale of this temple’s land is 4.8 acres and 976 square meters. Title deed no.15965, land no.495. It was granted Wisungkhamsima (Land granted from Royal family to build temple or other religious buildings) on 24 March B.E.2512 which its scale is 40 meters in width and 80 meters in length. TEMPLE’S BACKGROUND Wat Phra Bat Udom (Sao Wa pond) was established on 10 July B.E.2424, during the reign of Phra Chao Fang Udomsin. This temple was abandoned until B.E.2420, Phraya Maha Mahitthiwongsa (Chao Noi Mahawong Boonthawongsa), the ruler of Fang at that time, restored this temple and respectfully invited Phra Khru Ba Ke from

204

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

Wat Dap Phai, Mueang district in Chiang Mai, to be abbot of this temple. Locals call this temple “Wat Doi”. At present, Phra Khru Sujittanurak, PhD, (Kaew Thantajinto), taking a position of abbot. Education - There is Phra Pariyattitham School, Dharma department, opened in B.E.2531 including general education department (7th grade to 12th grade). Moreover, there is Nam Bo Sao Wa Meditation Institute, the first institute in 3 districts which are Fang, Mae Ai, Chai Prakan. Apart from that, there are Khruba Sri Wichai monument, Phra Chao Fang-Phra Nang Sam Phio monument, Buddhist radio station of Fang district monk dean. Other important structures in Wat Phra Bat Udom (Nam Bo Sao Wa) are pagoda for remains, vihara and ubosot. Active activities of this temple are Buddhist Sunday school and Phra Pariyattitham School.


帕巴吴东寺庙 莎哇水井三区第一修道院

帕巴吴东寺庙 (莎哇水井)位于 450号,农 嗯小区,第3村,嗡分区,芳区,清迈 泰国。 属于大乘佛教,1969年 3月 24 号 国王恩赐一片 地 ,面积为3200 平方米 帕巴吴东寺庙 的来源 帕巴吴东寺庙 (莎哇水井)建于1881年 7月 10号

芳吴东鑫王时代,后来被遗弃到1877年。 帕雅玛 哈玛合题嗡莎 (造内玛哈嗡捕嗒嗡莎)芳市长重 新修建修道院,完成之后,恩赐巴咯师父从哒拍 寺庙 孟区 清迈 来帕巴吴东寺庙当法师。 帕巴吴东寺庙被当地人民称呼为“顶山庙”。 目前的法师为 “博士酥吉哒努啦克师父” (嘎喔 弹哒吉哒喔)。

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

205


History of buddhism....

วัดพระธาตุเฉลิมพระเกียรติ บุญใหญ่ ไหว้พระ สักการะพระธาตุ เพราะเรามีราก เรียนรู้ประวัติศาสตร์ สร้างอาชีพในชุมชน พระราชกิตติสุนทร (บุญเลิศ ธมฺมกาโม) เจ้าอาวาส

วัดพระธาตุเฉลิมพระเกียรติ หรือ วัดเวียงนางค�าเอ้ย ตั้งอยู่ที่ บ้านเวียงหวาย หมู่ที่ 9 ต�าบลม่อนปิ่น อ�าเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ เป็นวัดเก่าแก่ สร้างขึ้นตั้งแต่สมัยพระเจ้าฝางเป็นผู้ปกครองเมือง (พ.ศ. 2155) มีองค์พระธาตุเจดียพ์ ระเจ้า 5 พระองค์ตงั้ อยูอ่ ย่างโดดเด่น ในปี พ .ศ. 2537 พระมหาบุ ญ เลิ ศ ธั มฺ ม กาโม (ปั จ จุ บั น เป็ น พระราชกิตติสุนทร) เจ้าอาวาสวัดเจดีย์งาม ได้รับอาราธนาจาก คณะศรัทธา ส�ารวจพืน้ ทีเ่ พือ่ จัดตัง้ เป็นทีพ่ กั สงฆ์ เพือ่ เป็นการช่วยเหลือ พนักงานเจ้าหน้าที่ในการอนุรักษ์รักษาฟื้นฟูสภาพป่า ซึ่งถูกชาวบ้าน บุกรุกตัดต้นไม้ทา� ลายป่า ท�าไร่เลือ่ นรอย ได้มกี ารปลูกป่าขึน้ มาทดแทน และรักษาป่าที่มีอยู่แล้วไม่ให้ถูกท�าลาย ปัจจุบันได้ขยายพื้นที่ออกไป โดยการซื้อพื้นที่ ส่วนหนึ่งได้รับการถวายคืนจากชาวบ้าน ปัจจุบัน มีพื้นที่ประมาณ 165 ไร่เศษ และได้มีการพัฒนาปลูกป่าทดแทน จนมีสมบูรณ์ได้ด้วยไม้เบญจพรรณหลากหลายชนิด พระ ราช กิตติ สุนทร

206

ว่าพระผู้เลิศด้วย ว่าราชสถาปนา ว่าเกียรติเลิศพา ว่างามแพร้วเพริศ

SBL บันทึกประเทศไทย II เชียงใหม่

ปุญญา ยศเลิศ เกริกก้อง ด้วยเลิศกรรมดี


CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

207


History of buddhism....

WAT PHRA THAT CHALOEM PHRA KIAT Great merit, paying homage to Buddha’s relic, learning history and building career in community Wat Phra That Chaloem Phra Kiat or Wat Waing Nang Kham Oei is located at Ban Wiang Wai, village no.9, Mon Pin sub-district, Fang district, Chiang Mai province. It is an ancient temple that was built when Phra Chao Fang was ruler of city (B.E.2155). There is a pagoda that contains five Buddha’s relic which is located outstandingly in this temple.

In B.E.2537, Phra Maha Boonlerd Thammakamo (he currently is Phra Ratcha Kittisunthorn), abbot of Wat Chedi Ngam, was respectfully invited by group of faithful folks to explore the land with them in order to establish monk’s dwelling for the sake of helping officer on forest conservation and rehabilitation which it was invaded and cut down by villagers to do the shifting cultivation. This group of people started the reforestation and conserved remaining forest to prevent it from its destruction. At present, the land of monk’s dwelling has been expanded by buying the land which some of it was offered by villagers. The total scale of current land is approximately 66 acres. Moreover, due to the reforestation, forest’s area becomes abundant forest with many varieties of trees.

208

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


查棱帕格 默斌庙

大规模行善 ,朝拜佛陀骨灰, 因为是我们曾经学过的历史基础 ,给当地人民创造职业。

查棱帕格庙 或 翁纳康欸庙 位于翁外小区,第九村,默斌 分区,芳区,清迈,泰国。 此庙为古庙, 是从方王那时建立 (1612年), 寺庙内有5座显著 的优秀塔。 1994 年,布乐斯 踏閁伽摸大法师 (目前为帕啦查格帝顺 通法师)寺庙法师, 受到崇拜者的邀请,来探索地方是否适合成

为了帮助工作人员保持森林原状,防止当地村民侵蚀毁坏森 林,同时也防止没固定种植,然后种树取代。 为了保护大自然原状,矿大面积,一部分地是买的,另一部 分是当地村民捐给寺庙的。 大概总面积为 265000 平方米, 种植各种各样的树苗,现在 已经成为一片完美的森林。

修道院。

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

209


“กาแฟท่านเจ้าคุณ ที่ไม่ใช่แค่กาแฟ”

สัมผัสกลิ่นหอม ที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะของกาแฟท่านเจ้าคุณ ชมวิวดอยผ้าห่มปก ณ วัดพระธาตุเฉลิมพระเกียรติ ภายในวัดยังมีกาแฟไว้คอยบริการโดยใช้ช่ือกาแฟว่า กาแฟท่าน เจ้ า คุ ณ เป็ น กาแฟที่ ป ลู ก และเก็ บ ผลผลิ ต เอง แล้ ว น� า มาคั่ ว เป็ น ผลิตภัณฑ์ ซึ่งสามารถใช้เป็นแหล่งสร้างงานสร้างรายได้แก่วัด ภาย ใต้สโลแกน “ดื่มแล้วได้บุญ คนมีงานท�า” มาไหว้พระที่วัดพระธาตุเฉลิมพระเกียรติ ได้ทั้งบุญใหญ่ มีแหล่ง เรียนรู้เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ชาวไทย และได้ช่วยคนให้มีอาชีพ

“Than Chao Khun coffee, coffee that is not just a coffee” SMELLING GREAT FRAGRANCE, THE UNIQUE TRAIT OF THAN CHAO KHUN COFFEE. TAKING IN SCENERY OF DOI PHA PHOM POK AT WAT PHRA THAT CHALOEM PHRA KIAT

Inside this temple also has a coffee to service every person that come to this temple which its name is Than Chao Khun coffee, the coffee that have been grown and harvested by locals, then, roasted it to make it a product which can be the source of career-building and profit-making for temple under slogan “Drink the coffee, gain merit, people are employed”. Coming to pay respect to Buddha image at Wat Phra That Chaloem Phra Kiat, you will gain great merit, get an opportunity to learn more about history of Thailand and help people to be employed at the same time. “法师咖啡不只是普通咖啡” 在查棱帕格庙, 一边欣赏咖啡的香味,一边享受山顶美好 的风景 寺庙内提供着咖啡, “法师咖啡” ,是寺庙自产 的咖啡豆,是寺庙的经济来源 寺庙口号 “喝法师咖啡功 德无量,解决失业” 来寺庙崇拜, 功德无量, 学会泰国 历史, 同时也解决失业问题。

210

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


Let’s Go Thailand With SBL บันทึกประเทศไทย

HISTORY OF THE PROVINCE

TOURIST ATTRACTIONS SBL บันทึกประเทศไทย

www.sbl.co.th SBL MAGAZINE

THE VILLAGERS IN THE PROVINCE SBL บันทึกประเทศไทย


History of buddhism....

วัดศรีบุญเรือง สํานักปฏิบัติธรรมประจําจังหวัดเชียงใหม่ แห่งที่ 13 (ศูนย์ปฏิบัติธรรมนานาชาติ พุทธรักษา)

พระครูศรีสิทธิพิมล,ดร.(อภิสิทธิ์ วิสุทฺธิเมธี ป.ธ.7) เจ้าอาวาส

วัดศรีบญ ุ เรือง เป็นวัดราษฎร์ ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 1 หมูท่ ี่ 7 ต�าบลสันทราย อ�าเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ เดิมมีเนื้อที่ 15 ไร่ 3 งาน 25 ตารางวา โดย พระครูศรีสิทธิพิมล,ดร. (อภิสิทธิ์ วิสุทฺธิเมธี ป.ธ.7) เจ้าอาวาส รูปปัจจุบันและญาติโยมร่วมกันซื้อไว้เพื่อท�าศูนย์ปฏิบัติธรรม และ ส่วนสาธารณะเพิ่มอีก 101 ไร่ ประวัติความเป็นมา วัดศรีบุญเรือง เดิมเป็นวัดร้างที่สันนิษฐาน ว่าน่าจะสร้างขึ้นเมื่อประมาณปี พ.ศ. 2100 - พ.ศ. 2130 เป็น วัดขนาดกลางทีอ่ ยูใ่ นชุมชนบ้านล้องงิว้ เฒ่า หรือ ฮ่องงิว้ เฒ่า ใจกลาง 212

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

หมูบ่ า้ นมีแม่น�้าล้อง สาขาน�้าฝางไหลผ่าน จากหลักฐานที่ปรากฏใต้ พระพุทธรูปที่ขุดพบสันนิษฐานได้ว่า เจ้าผู้ครองเมืองฝางในสมัยนั้น ได้ เ สด็ จ มาเพื่ อ ปฏิ บั ติ ศ าสนกิ จ ตลอด และได้ ส ร้ า งพระพุ ท ธรู ป ประจ�าพระองค์ประดิษฐาน ณ วัดศรีบุญเรืองแห่งนี้ (ในตอนนั้นไม่ได้ ชือ่ ศรีบญุ เรือง แต่มาทราบภายหลังว่า ชือ่ วัดพระแก้ว เพราะพบหลักฐาน จากฐานพระเก่า) ต่อมาได้ร้างลง สันนิษฐานว่า น่าจะเริ่มร้างเมื่อ เมืองฝางถูกยึด ในสมัยพระเจ้าบุเรงนอง เมื่อปี พ.ศ. 2175 เป็นต้นมา (เพราะจารีตที่แตกต่างกันจึงท�าให้ผู้ครองเมืองไม่ได้ให้ความสนใจ) จึงท�าให้วัดร้างลงในที่สุด


ศิริสุภนามพุทธศักราชได้ 2467 นับแต่ปรินิพพานมาแห่งองค์ สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระนามว่าโคตมะ ในครั้งนั้นท่าน เจ้ า อธิ ก ารนั น ตา นนฺ ต าธโร ได้ เ ดิ น ธุ ด งค์ ม าจากบ้ า นสองแคว อ�าเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ มาปฏิบัติธรรมที่เมืองฝางและเห็น ว่าที่นี่มีความอุดมสมบูรณ์ เป็นอย่างมาก ครั้นได้กลับไปยังบ้านเดิม แล้วก็บอกข่าวนีก้ บั ญาติพนี่ อ้ ง และได้ชกั ชวนกันอพยพจากวัดหัวข่วง บ้านสองแคว ต�าบลสองแคว อ�าเภอดอยหล่อ จังหวัดเชียงใหม่ พร้อมด้วยศิษย์และทายก ทายิกา มาตั้งอารามชื่อ “วัดศรีบุญเรือง” ซึ่งตั้งอยู่ในหมู่บ้าน ล้องงิ้วเฒ่า หรือ ฮ่องงิ้วเฒ่า เดิม ในแคว้นห้วยงู ต่อมาเป็นต�าบลแม่มาว และปัจจุบันเป็นต�าบลสันทราย อ�าเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ หลังจากที่ได้ปรับปรุง และพร้อมใจกันสร้างวัดนี้ขึ้น ได้ก�าหนด สถานที่ ท�าการแผ้วถาง ขุดหลุมเพื่อท�ากุฏิ และวิหารชั่วคราว แต่ ในขณะที่ ขุ ด ไม่ ลึ ก เท่ า ไร ชาวบ้ า นก็ ไ ด้ พ บพระพุ ท ธรู ป ปางต่ า งๆ

มากมาย เก็บได้มากกว่าสิบตะกร้า ทั้งองค์เล็กและองค์ใหญ่ ซึ่ง บางองค์ได้จารึกไว้ที่ฐานพระด้วย ทั้งยังพบซากอิฐเก่าแก่ จ�านวนมาก พอสมควร และโครงสร้างคล้ายโบราณสถาน จึงได้ก�าหนดเอาที่ดิน ตรงนี้ และบริเวณรอบ หลายสิบไร่ เป็นบริเวณวัดศรีบุญเรือง (จาก จารึกฐานพระพุทธรูป นับตาม พ.ศ.ที่ถวาย วัดนี้อายุกว่า 426 ปี) จากนั้นก็พัฒนามาโดยตลอด จนมีพระสงฆ์อยู่จ�าพรรษาหลายรูป โดยท่านพระครูวัดศรีบุญเรือง (วัดแม่ฮ่าง) อ�าเภอฝาง สมัยนั้น (ปัจจุบันเป็นอ�าเภอแม่อาย) ได้ให้ชื่อวัดนี้ว่า “วัดศรีบุญเรือง” วัดศรีบุญเรือง ได้เริ่มลงมือสร้างในดิถีวันเดือน 7 เหนือ แรม 8 ค�่า ปีกัดเป้า (ฉลู) ตรงกับวันที่ 15 เมษายน พุทธศักราช 2468 (วันพญาวัน) ส่วนชื่อบ้านก็เอานามบ้านเก่ามาตั้ง (บ้านสองแคว อ�าเภอดอยหล่อ) จึงเรียกกันว่า “บ้านสองแคว” ตราบเท่าทุกวันนี้ และปั จ จุ บั น ได้ แ ยกเป็ น 3 หมู ่ บ ้ า น คื อ บ้ า นสองแคว หมู ่ ท่ี 7 บ้านสันหนองเขียว หมู่ที่ 13 และบ้านใหม่เหนือ หมู่ที่ 14 เป็นหลัก

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

213


ล�าดับเจ้าอาวาสวัดศรีบุญเรือง 1. พ.ศ. 2467 - พ.ศ. 2479 เจ้าอธิการนันตา นนฺตาธโร 2. พ.ศ. 2479 - พ.ศ. 2486 เจ้าอธิการทิพย์ ญาณวโร 3. พ.ศ. 2486 - พ.ศ. 2475 เจ้าอธิการอินหวัน ปญฺญาธโร 4. พ.ศ. 2495 - พ.ศ. 2497 เจ้าอธิการวรรณ สุภโร 5. พ.ศ. 2497 - พ.ศ. 2499 พระอธิการปัญญา ภทฺทญาโณ 6. พ.ศ. 2499 - พ.ศ. 2507 เจ้าอธิการอินถา เขมวีโร 7. พ.ศ. 2507 - พ.ศ. 2544 พระครูธรรมทิน (บุญตัน รตนสุวณฺโณ) อดีตเจ้าคณะอ�าเภอฝาง 8 พ.ศ. 2544 - ปัจจุบัน พระครูศรีสิทธิพิมล,ดร. *ข้อมูลนี้ได้รับจาก เอกสารประวัติวัติศรีบุญเรือง(จากรุ่นสู่รุ่น) โดย เจ้าอธิการบุญตัน รตนสุวณฺโณ (ไม่ระบุ พ.ศ.ที่พิมพ์)

ปูชนียสถานและปูชนียวัตถุที่ส�าคัญ พระเจดีย์ สร้างขึน้ สร้างเมือ่ พ.ศ. 2501 สร้างเสร็จเมือ่ พ.ศ.2502 เป็นเจดีย์ทรงพุกามผสมล้านนา องค์เจดีย์ตั้งสง่าอยู่ในเขตพุทธาวาส ซึ่งจัดเป็นสัดส่วนในยุคของพระครูธรรมทิน และเมื่อปี พ.ศ. 2545 พระมหาอภิสิทธิ์ วิสุทธิเมธี และญาติโยมวัดศรีบุญเรือง ได้ร่วมกัน บูรณะเจดีย์ที่ช�ารุดใหม่อีกครั้ง วิหาร ทรงไทยล้านนา (สร้างแทนหลังเก่าทีท่ รุดโทรม แล้วท�าการ รื้อถอนเพื่อสร้างใหม่) เริ่มสร้างตั้งแต่ พ.ศ. 2524 เสร็จเมื่อพ.ศ. 2530 (ฉลองวันเฉลิมพระพระชนมพรรษาครบ 5 รอบ 60 พรรษา) พระบาท สมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมพิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร รัชกาลที่ 9 (โดยโปรดเกล้าฯ ให้หม่อมเจ้าภีศเดช รัชนี เสด็จแทน พระองค์) จารึกอักษรย่อ ภปร. หน้าบันวิหาร และพระราชทานพระนาม พระประธานในวิหารด้วย พระประธานในวิหาร เป็นพระพุทธชินราช จ�าลอง ลงรักปิดทอง ลักษณะสง่างาม น�ามาถวายโดยคณะของ

หลวงพ่อสมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสโภ) สมัยหลวงพ่อพระครู ธรรมทิน (บุญตัน รตนสุวณฺโณ) ภายในวิหาร บานประตูแกะสลัก ด้วยไม้สักทองรูปพุทธประวัติตอนผจญมาร ลงรัก ปิดทอง หน้าต่าง ไม้สักทอง ลงรัก ปิดทองแกะสลักพระเจ้า 10 ชาติ เสาและซุ้มประตู ติดเซรามิคลวดลายดอกไม้ ท�าถวายโดย คุณชัยณรินทร์ หุตะสิงห์ ปูพื้นด้วยไม้สักและหินแกรนิต - หินอ่อน ใช้เป็นสถานที่ท�ากิจกรรม ทางพระพุทธศาสนา มีการท�าวัตร สวดมนต์ และกิจกรรมวันส�าคัญ ทางพระพุทธศาสนา สมเด็จพระศรีสวุ รรณมุนี เป็นพระพุทธรูป ขนาดหน้าตัก 11 เมตร ความสูง 24 เมตร ตั้งอยู่บนอาคาร ขนาด 25x35 เมตร เริ่มการ ก่อสร้างโดย พันเอกนายแพทย์พงษ์ศกั ดิ ์ ตัง้ คณา และอาจารย์บญ ุ หนา ทวีวิจิตร (ศิษย์ในหลวงปู่เทพโลกอุดร) เป็นเจ้าภาพองค์พระใหญ่ ทัง้ หมด ส่วนอาคาร และศาลารอบองค์พระ คณะศรัทธาวัดศรีบญ ุ เรือง ร่วมกันสร้าง ตอนนี้อยู่ในระหว่างการก่อสร้าง ยังไม่เสร็จ ส�านักปฏิบตั ธิ รรมประจ�าจังหวัดเชียงใหม่ แห่งที่ 13 (ศูนย์ปฏิบตั ธิ รรม นานาชาติ พุทธรักษา) เป็นศูนย์ปฏิบตั ธิ รรมนานาชาติ เริม่ เป็นศูนย์ปฏิบตั ธิ รรมนานาชาติ มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2552 และได้ประกาศเป็นส�านักปฏิบัติธรรมประจ�า จังหวัดเชียงใหม่ แห่งที่ 13 ตามมติมหาเถรสมาคมที่ 375/2559 วันที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2559 โรงเรียนพระปริยตั ธิ รรมแผนกสามัญศึกษา (โรงเรียนฝางธรรมศึกษา) เป็นโรงเรียนที่ด�าเนินการก่อตั้งมาโดยหลวงพ่อพระครูธรรมทิน เจ้าอาวาสรูปที่ 7 เมื่อปี พ.ศ. 2535 มีการเรียนการสอนระดับ ม.1 ถึง ม.6 ปัจจุบนั มีนกั เรียนในเขตอ�าเภอฝางเข้ามาศึกษาจ�านวน 153 รูป โดยมีพระครูศรีสิทธิพิมล (ป.ธ. 7 / Ph.D) เป็นผู้จัดการ มีพระครู สมุห์สามารถ ฐิตเวที (พ.ธ.บ. / คม.) เป็นผู้อ�านวยการ

214

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


SRIBOONRUANG TEMPLE Office of Chiang Mai’s Dharma Practice Center #13 (Phuttharaksa International Dharma Practice Center) Sriboonruang Temple was built by the people in the area. Located at 1 Village #7, San Sai Sub-district, Fang District, Chiang Mai Province, originally having an area of 25,300 square meters. Phrakru Srisitthipimon (Dr. Apisit Wisutthimethee) the current Abbot and kindred together bought additional land to build a Dharma practice center and meeting area of 161,000 square meters. Sriboonruang Temple was an abandoned temple presumed to have been built around 1557 A.D. to 1587 A.D. it is a medium sized temple in the Ban Long Ngiew Tao community or Hong Ngiew Tao. In the center of the village there is a river named Long (branch of Fang liver) which flows through the center of the village. The ruler of Fang in that period came to practice religiously and built a Buddha image of his own enshrined at Wat Sriboonruang (The temple was not called Sriboonruang but Phra Kaew temple based on evidence from an old

Buddha statue). The temple was abandoned and deserted when Fang was seized in the reign of King Bureng Nong in 1632 A.D. In 1924 A.D. the Chief Monk Nanta Nantatharo went exploring and found an abundance of land, he returned and told his family members the news. He convinced his family members to migrate from Hao Kwong Temple, Ban Song Quare, Song Quare Sub-district, Doi lor District, Chiang Mai Province. Disciples and alms givers came together to set up a monastery located in the village of Long Ngiew Tao or Hong Ngiew Tao named Wat Sriboonruang.

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

215


IMPORTANT PLACES OF WORSHIP, HOLY OBJECTS AND NECESSARY The majestic pagoda stands in an area that was divided by Phrakhru Thamathin. Construction on the pagoda was started in 1958 A.D. and was completed in 1959 A.D., the pagoda was constructed in a mixture of the Pukam and Lana styles. In 2002 A.D. Phramaha Dr. Apisit and kindred of Wat Sriboonruang helped restore the damaged pagoda. The new Vihara was built to replace the old, dilapidated Vihara that was demolished. Construction of the new Vihara commenced in 1981 A.D. and was completed in 1987 A.D. to celebrate His Majesty the Kings 60th anniversary, the 5th anniversary of the 12 year cycle. His Majesty King Bhumibol Adulyadech the 9th King of Thailand, commanded Consort Phisadej Ratchanee inscribed the mark for the King in front of the Vihara and bestowed the name of the principal Buddha image inside as Buddha Chinnarach. The Buddha Chinnarach is lacquered with gilded gold and was presented by the faculty of Somdej Phraputthachan (Arj asapho) during the tenure of Phrakru Thammarin (Boontan Ratanasuwanno). The doors of the Vihara are carved with golden teak Buddha statues that are lacquered with gilded gold and depict the history of the Buddha. The windows of the Vihara are lacquered teak carved depicting the 10 lives of the Buddha covered with gold leaf, the pillars and arches are adorned with floral patterned ceramics offered

216

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

by Miss Chainarin Hutasing. The flooring is teak, granite and marble. The Vihara is used as a place for religious activities, prayer ceremonies and important Buddhist activities. Somdej Phra Suwanmuni is a Buddha statue with a lap of 11 meters and a height of 24 meters, located on a building measuring 25 x 35 meters. The Buddha statue was graciously and generously donated by Colonel Pongsak Tangkhana and Professor Boonna Taweejit, (Disciple of Loungpor Thep Lok-Udon). The buildings and pavilions are donated and constructed by the devotees of Wat Sriboonruang. Chiang Mai Office of Dharma Practice No.13 (International Dharma Practice Center Buddharaksa) is an international Dharma practice center founded in 2009 A.D. and was announced as a Dharma practice center of Chiang Mai No.13 by the Sangha Synod Association No.375/2016 on 10 June 2016 A.D. The School of Dharma Studies named Phrapariyattidam General Education Department, (Fang Dhammasuksa School) was founded by Phrakru Thammatin, the 7th Abbot in 1992 A.D. as a high school grade levels 7th to 12th grade. There are currently 153 students from Fang District enrolled at the school. With Phrakru Srisittipomon (Dr. Apisit Wisutthimethee P.7, Ph.D.) as the manager Phrakru Samu Samart thitawethee (M.Ed.) as the director.



ดอยสุเทพเป็นศรี ประเพณีเป็นสง่า บุปผชาติล้วนงามตา นามล�้าค่านครพิงค์

218

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

219


History of buddhism....

วัดสันต้นเปา อลังการมหาเจดีย์พุทธนิรมิต ศักดิ์สิทธิ์พระเจ้าทันใจ กราบไหว้หลวงพ่อปั๋นโชค ไร้ทุกข์โศก ลอดฐานพระประธาน นามพุทธสถาน “วัดสันต้นเปา”

แบบจ�าลอง เจดีย์พุทธนิรมิต วัดสันต้นเปา

พระมหาณัฏฐานันท์ อนาลโย (กุลจรัสโภคิน) เจ้าอาวาส

วัดสันต้นเปา ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 130 บ้านสันต้นเปา หมูท่ ี่ 7 ต�าบลแม่ขา่ อ�าเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีเนื้อที่ 3 ไร่ 3 งาน 61 ตารางวา ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันศุกร์ที่ 18 มิถนุ ายน พ.ศ. 2536 แรม 14 ค�า่ ปีระกา เขตวิสงุ คามสีมา กว้าง 15 เมตร ยาว 22 เมตร สร้างขึน้ เมือ่ วันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2483 โดยในสมัยนัน้ มีพระอธิการบุญญยวง เตชปญฺโญ เจ้าอาวาสวัดศรีบวั เงิน เป็นประธานสงฆ์ และนายเถิง กุลต๊ะ เป็นประธานฝ่ายฆราวาส ด�าเนินการสร้างวัด

220

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

ขณะนี้ทางวัดก�าลังท�าการก่อสร้าง “พระมหาเจดีย์พุทธนิรมิต” ขนาด 14 x 14 เมตร สูง 32 เมตร โดยน�าแบบเจดียว์ ดั ไทยกุสนิ าราเฉลิมราชย์ ประเทศอินเดีย มาประยุกต์ให้เป็นแบบศิลปะล้านนาประยุกต์ ซึง่ เป็น เอกลั ก ษณ์ ข องทางภาคเหนื อ ภายในเจดี ย ์จะมีห ลวงพ่อปั๋นโชค (ปางประทานพร) และสามารถลอดใต้ฐานพระประธานในพระมหาเจดีย์ เพือ่ เป็นศิรมิ งคล นับว่าเป็นมหาเจดียท์ ใี่ หญ่อนั ดับต้นๆของอ�าเภอฝาง เป็นศูนย์รวมจิตใจของชาวบ้านสันต้นเปา และพุทธบริษัททั้ง 4 ที่แวะเวียนมากราบไหว้สักการะที่วัดสันต้นเปาแห่งนี้


พระมหาณัฏฐานันท์ อนาลโย (กุลจรัสโภคิน) เจ้าอาวาส นักธรรมชัน้ เอก, เปรียญธรรม 6 ประโยค รัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยแม่โจ้เชียงใหม่ พุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการพัฒนาสังคม มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ปัจจุบันก�าลังศึกษาปริญญาเอก พุทธศาสตรดุษฎิบัณฑิต ประสบการณ์ การท�างาน ประธานกองทุนอนาลโยเพื่อการศึกษา ภาษาบาลี ภาษาล้านนา จังหวัดล�าปาง (องค์กรสาธารณประโยชน์ สังกัดกระทรวงพัฒนาสังคม และความมั่นคงของมนุษย์), ครูพระสอนศีลธรรม ส�านักการศึกษา กรุงเทพมหานคร, ครูพระสอนศีลธรรม สังกัดมหาวิทยาลัยมหามกุฎ ราชวิทยาลัย, พระธรรมทูตสายต่างประเทศรุ่นที่ 22 ปฏิบัติศาสนกิจ ที่ประเทศสหรัฐอเมริกา เยอรมนี สวิตเซอร์แลนด์ และเดนมาร์ก, พระธรรมวิทยากร กรมการศาสนา, เลขานุการ วัดทองศาลางาม เขตภาษี เจริ ญ กรุ ง เทพฯ, เจ้ า อาวาสวั ด สั น ต้ น เปา อ� า เภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ และ ผู้ช่วยเลขานุการเจ้าคณะอ�าเภอฝาง CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

221


History of buddhism....

วัดนันทาราม นมัสการ “พระพุทธโลเกศวร บวรอุดมมงคล เชียงใหม่ ศุภสิริสถิต” พระเจ้าเก้าตื้อจำลองที่งดงามในล้านนา พระครูวิสิฐปุญญาภรณ์ เจ้าอาวาส

วั ด นั น ทาราม ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 155 หมู ่ ที่ 2 ต� า บลสั น ทราย อ�าเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ หลักกิโลเมตรที่ 149 ถนนเชียงใหม่-ฝาง ห่างจากตัวอ�าเภอฝาง 3 กิโลเมตร อยู่ในเขตเทศบาลต�าบลสันทราย ปัจจุบันวัดนันทาราม มีเนื้อที่ประมาณ 9 ไร่ ที่ดินมีอยู่ 3 แปลง

222

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


ประวัติความเป็นมา วัดนันทาราม สร้างเมือ่ พ.ศ. 2460 ถึงปัจจุบนั มีอายุได้รวม 102 ปี เดิมชื่อว่า “วัดต้นตึง” ตั้งอยู่ป่าตึง-ดอนนา ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ของวัดที่ตั้งอยู่ในปัจจุบันนี้ แต่ตั้งได้ไม่นานก็ต้องย้ายเพราะวัดเดิม ไม่สะดวกต่อการคมนาคม เนือ่ งจากเป็นทีล่ มุ่ ในตอนนัน้ อีกประการหนึง่ ต้องการสร้างโรงเรียนวัดนันทารามให้อยู่ใกล้กัน เพราะคนจีนหลาย ครอบครัวที่มีฐานะดีซึ่งไม่ทราบนาม ได้บริจาคที่ดินให้สร้างโรงเรียน วัดนันทาราม ติดถนนสายเดียวกัน แต่อยู่ห่างกันประมาณ 300 เมตร คนละฟากถนน ที่ตั้งวัดแรกเริ่มแต่เดิมเป็นที่ของพ่อปา สิงห์แก้ว และ พ่อวงศ์ ฟองมณี บริจาค บางส่วนพ่อทา ใจบุญได้แลกที่เดิมให้ได้สัดส่วนดัง เช่ น ปั จ จุ บั น พ.ศ. 2530 ได้ ซื้ อ ที่ น าของนางค� า ฟองมณี และ นายสวรรค์ ฟองมณี อีก 4 ไร่ เจ้าของที่ดินได้บริจาคอีกคนละ 1 งาน รวมเป็น 4 ไร่กับ 2 งาน ปัจจุบันได้ผนวกที่ดินเป็นผืนเดียวกันเพราะ ติดต่อกับที่ตั้งวัดเดิมอยู่แล้ว ในปี พ.ศ. 2532 ภายหลังจากได้ที่ดินมาผนวกกันนี้เอง ทางวัด ได้เริ่มปรับปรุงวัดเป็นการใหญ่ หลังจากปีนั้น ทางวัดได้สร้างเจดีย์ ศรีนันทาบุญญาฤทธิ์ มี 2 ชั้น ชั้นล่างเป็นห้องโถง ส�าหรับบ�าเพ็ญบุญ และปฏิบัติสวดมนต์ภาวนา ต่อมาทางวัดได้สร้างอุโบสถประดิษฐาน “พระพุทธโลเกศวร บวรอุดมมงคล เชียงใหม่ ศุภสิริสถิต” หรือ พระเจ้าเก้าตื้อ (ได้รับ

การยกย่ อ งว่ า เป็ น พระพุ ท ธรู ป ที่ มี พ ระพุ ท ธลั ก ษณะงดงามที่ สุ ด ในล้านนา) ซึ่งจ�าลองมาจากวัดเก้าตื้อ ผนวกกับวัดสวนดอก โดยเลขา สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก พระสังฆราชองค์ที่ 19 ในสมัยนั้นได้น�าโยมชื่อ สุกิจ รุ่งรัตนธนากร จากเชี ย งใหม่ เข้ า เฝ้ า และประทานพระนามพระพุ ท ธรู ป ในนาม “พระพุทธโลเกศวร บวรอุดมมงคล เชียงใหม่ ศุภสิรสิ ถิต” ประดิษฐาน อยูใ่ นพระอุโบสถ จากนัน้ ทางวัดจึงก�าหนดเป็นโครงการก่อสร้างมาเรือ่ ยๆ และโครงการก่อสร้างหลังสุด คือ สร้างวิหารพระเจ้าแก้วมรกตจ�าลอง คาดว่ า จะส� า เร็ จ ในปี พ .ศ. 2562 ควบคู ่ กั บ การเผยแผ่ ศี ล ธรรม แบบสมัยใหม่ประยุกต์กับแบบเดิมทุกรูปแบบ ล�าดับเจ้าอาวาส 1. พระอธิการคันธา ญาณวโร(ครูบาคันธา) พ.ศ. 2460 - พ.ศ. 2484 2. พระค�าอ้าย กาวิชัย พ.ศ. 2484 - พ.ศ. 2486 3. พระสุข บุญจู พ.ศ. 2484 - พ.ศ. 2487 4. พระนิกร บุญวัตร(พระก๋อง ทะเล) พ.ศ. 2487 - พ.ศ.2488 5. พระค�ามูล อินต๊ะวงศ์ พ.ศ. 2488 - พ.ศ. 2489 6. พระสมุห์ปิง เกตุธรรม พ.ศ. 2489 - พ.ศ. 2493 7. พระอธิการอินสม อตฺตคุตฺโต(ทะเล) พ.ศ.2493 - พ.ศ.2499 8. พระบุญทา ปวฑฒโน (สัพไพร) พ.ศ. 2500 - พ.ศ. 2502 9. พระไสว อตฺตสนฺโต (ปัจจนา) พ.ศ. 2502 - พ.ศ. 2504 10. พระสมบูรณ์ นรินฺโท (ปันที) พ.ศ. 2504 - พ.ศ. 2509 11. พระครูวิสิฐปุญญาภรณ์ พ.ศ. 2516 - ปัจจุบัน

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

223

“วัดปางอั้น” เป็นวัดหนึ่งที่มีนักท่องเที่ยวและศรัทธาพุทธศาสนิกชนมาเยี่ยมชมวัด พร้อมขอพรองค์หลวงพ่อพุทธโสธร (จ�าลอง) มากมาย


History of buddhism....

NANTHARAM TEMPLE Worship “Phra Phuth Loketswor Bwarnudommongkol Chiang Mai Supasiri Sathit” Nantharam Temple located at #155 Moo #2 Sansai Sub district, Fang District, Chiang Mai Province. At the 149 kilometer main road, Chiang Mai-Fang Road, 3 kilometers away from the Fang District, in the municipality of San Sai Sub district. Nantaram Temple currently has an area of approximately 14,400 square meters split in 3 plots of land.

224

SBL บันทึกประเทศไทย II เชียงใหม่


HISTORY OF NANTHARAM TEMPLE Built in 1917 A.D. to the present, the total age of 102 years old. Formerly known as “Ton Tung Temple” located in Pa Tung Donna forest on the southeast of the temple that is currently located, but not long it had to move because the original temple lowland was not convenient to travel to. Another reason was to build a school near Nantharam Temple because many unknown wealthy Chinese families who donated land to the construction of a school name after the temple. Both are on the same road but about 300 meters apart on each side of the road. The original temple was the land own by Father Pa Sing Kaew and Father Wong Fongmani additional land was then added on by Father Tha for his pious contribution. In the year 1987 A.D. 6,400 square meter of land was bought from Mrs. Kham Fongmanee and Mr. Sawan Fongmanee and they donated 800 square meters. Currently, the land is combined as one piece because it is connected with the original temple location. In the year1989 A.D. after the land was added together the temple began to big renovation. After that year a 2-story Sri Nuntha Bunyarit Pagoda was built. The ground floor is a hall for performing merit and praying. Then the chapel was built inside the temple to enshrined “ Phra Phuth Loketswor Bwarnudommongkol Chiang Mai Supasiri Sathit “ or Phra Chao Kao Tue (Regarded as the most beautiful Buddha statue in Lanna), which is modeled from Kao Tue Temple combined with Suan Dok Temple by the secretary of the Supreme Patriarch Somdej Sangkhan Sangkhavan Sangkana (the 19th Supreme Patriarch). During that period the secretary brought a man named Sukit Rungrattanathanakorn from Chiang Mai came to appear before the Supreme Patriarch and he gave him a Buddha statue name “Phra Phuth Loketswor Bwarnudommongkol Chiang Mai Supasiri Sathit” to be place in the temple. From then on the construction projects continue and the last construction project up to date is the building of the sanctuary of the Emerald Buddha mold. It is expected to be completed in the year 2019 A.D., coupled with modern moral propagation applied to all forms of original traditions. CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

225


History of buddhism....

วัดป่าดอยธรรมประทีป วัดปฏิบัติสายหลวงพ่อชา สุภัทโท (วัดสาขาลําดับที่ 70 ของวัดหนองป่าพง)

พระครูวิจารณ์ศุภวัตร เตชปญฺโญ ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาส

วัดแม่ใจใต้ หรือ วัดป่าดอยธรรมประทีป (วัดสาขาล�าดับที่ 70 ของวัดหนองป่าพง) ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 356 หมู่ 18 บ้านศรีดอนชัย ต�าบลเวียง อ�าเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ เป็นวัดปฏิบัติสายหลวงพ่อชา สุภัทโท ได้รับอนุญาตจากกระทรวงศึกษาธิการในการก่อสร้างเสนาสนะและ ถาวรวัตถุในวัดอย่างถูกต้อง และได้รับใบตั้งวัดไว้เป็นที่เรียบร้อยแล้ว เมื่อวันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2538 มีนามว่า วัดแม่ใจใต้ มีพื้นที่ ทั้งหมดรวม 163 ไร่ 1 งาน 82 ตรว. มีโฉนดแล้วทั้งสิ้น ปัจจุบัน พระครูวจิ ารณ์ศภุ วัตร (พระอาจารย์บณ ั ฑิต เตชปญฺโญ) เป็นเจ้าอาวาส

226

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

เสนาสนะและถาวรวัตถุในวัด ศาลาโรงธรรม 1 หลัง, กุฏิเจ้าอาวาส 1 หลัง, กุฏิภิกษุ สามเณร 16 หลัง, ศาลา ค.ส.ล. 2 ชั้น 1 หลัง, โรงย้อมผ้าจีวร 1 หลัง, ห้องน�้า ห้องส้วม 5 แห่ง รวม 38 ห้อง, บ่อน�้าขนาดใหญ่เส้นผ่าศูนย์กลาง 5 เมตร 1 บ่อ และ พระอุโบสถ จุดก�าเนิดวัด เมื่อปลายปี พ.ศ. 2525 ได้มีคณะศรัทธาชมรมธรรม อ�าเภอฝางมีความเลื่อมใสในพระพุทธศาสนา ต่างพากันแสวงหา ครูบาอาจารย์ เพื่อให้มาน�าพาปฏิบัติ ทางคณะศรัทธาฯ จึงเรียนเชิญ นายอ�าเภอในสมัยนั้นคือ นายเรืองวิทย์ จารุจารีต มาร่วมประชุม ปรึกษาหารือถึงการสร้างวัดปฏิบัติ และได้รับค�าแนะน�าว่าควรนิมนต์ พระมาก่อนแล้วจึงค่อยปรึกษาครูบาอาจารย์ภายหลัง คุณบุญเลิศ เจริ ญ กุ ศ ลโสภา จึ ง เป็ น ผู ้ รั บ อาสาเดิ น ทางไปอี ส าน เพื่ อ นิ ม นต์ ครูบาอาจารย์สายหลวงพ่อชา สุภัทโท (พระโพธิญาณเถร) เมื่อไปถึง วัดหนองป่าพง จังหวัดอุบลราชธานี ก็พบว่าหลวงพ่อชา สุภัทโท ก�าลังอาพาธอย่างหนัก ไม่สามารถรับโยมได้ และได้รับค�าแนะน�า จากครูบาอาจารย์ภายในวัดว่าควรจะไปปรึกษาหลวงพ่อพระมหาอมร


(ท่านเจ้าครูพระมงคล กิตติธาดา) และ หลวงพ่อจันทร์ อินทวีโร ซึ่ ง เป็ น พระเถระผู้ใหญ่ทางสายหนองป่าพง แต่ ห ลวงพ่ อ เจ้ า คุ ณ พระมงคล กิตติธาดา ท่านไม่ตอบรับ เพราะมีพระน้อยและพระที่มี พรรษาความสามารถที่พอจะเป็นผู้น�านั้นไม่มี จากนั้น คุณบุญเลิศก็เดินทางมาวัดป่าบึงเขาหลวง อ�าเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี ซึ่งมีหลวงพ่อจันทร์ อินทวีโร เป็นเจ้าอาวาส แต่ท่านก็ไม่อยู่วัด จึงได้อัดเทปบันทึกเสียงนิมนต์ท่านไว้แล้วเดินทาง กลับอ�าเภอฝาง แจ้งเรื่องราวต่างๆ ให้ชาวคณะศรัทธาทราบ ต่อมา หลวงพ่อจันทร์ ได้น�าคณะสงฆ์มาดูสถานที่แลเพื่อเป็นก�าลังใจแก่ ชาวชมรมศรัทธาธรรม เมื่อวันที่ 29 มกราคม พ.ศ.2526 ซึ่งมีพระ ภิกษุสามเณร ติดตามมาด้วยดังนี้ คือ พระอาจารย์บัณฑิต เตชปัญโญ พระอาจารย์ถาวร ถาวโร (ปัจจุบันเป็นเจ้าอาวาสวัดหนองไผ่ อ�าเภอ เลิงนกทา จังหวัดยโสธร) ,พระอาจารย์บุญมี ปิยธมฺโม และ สามเณร ธงชัย ภูมิแสง ต่อมา คุณบุญเลิศ และคณะศรัทธาชมรมธรรม ได้เตรียมสถานที่ ที่บริเวณเนินเขาหนองช้างเฒ่าและท�าที่พักชั่วคราวขึ้นที่นั่น ได้สร้าง บ่อน�า้ ห้องน�า้ ห้องส้วม เสร็จจึงนิมนต์ หลวงพ่อจันทร์ พร้อมทัง้ คณะสงฆ์ มาพักเมือ่ วันที ่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2526 โดยมี คุณแม่กลั ยา นันทรัตนพันธ์ และคุณสุพจน์ บุตรชายพร้อมด้วยครอบครัว ได้ถวายที่ดินแปลงแรก มีเนื้อที่ประมาณ 9 ไร่ ระยะแรกพระเณรต้องปักกลดอยู่ตามป่า กลางวันโยมมาช่วยท�า ศาลาชั่ ว คราว จั ด สถานที่ ก ลางคื น ญาติ โ ยมมาฟั ง ธรรมกั น มาก ประกอบกับอากาศหนาวจัดในปีนั้น โยมต้องก่อไฟผิงด้วย ฟังธรรม ไปด้วย มีเรื่องเล่าจากหลวงพ่อจันทร์ว่า “มาเมืองฝางครั้งแรกมาปัก กลดอยู่ นอนไม่ได้ทั้งคืน นั่งภาวนาไปได้ยินเสียงโยมคุยกันที่กองไฟ ว่าน่าสงสารพระท่านนะ ท่านปฏิบัติเคร่ง ผ้าห่มท่านก็ไม่มีห่ม เราทั้ง ห่มผ้าทัง้ ผิงไฟ ก็ยงั หนาวขนาดนี ้ มีโยมคนหนึง่ พูดว่าท่านไม่เป็นไรหรอก ท่านมีขันติมากพระวัดป่านี้ เราคนนั่งฟังที่กลดได้ยินแล้ว จะว่าหนาว

ก็ไม่ใช่ คงจะร้อนเพราะลูกยอโยมกระมัง” วันที ่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2526 ศาลาชัว่ คราวเสร็จพอดี หลวงพ่อจันทร์ ก็ต้องเดินทางกลับอุบลราชธานี และได้มอบหมายให้พระอาจารย์ บัณฑิต เตชปัญโญ ดูแลต่อไป ต่อมาคุณบุญเลิศ เจริญกุศลโสภา พร้อมครอบครัว ได้ซ้ือที่ดิน แปลงหนึง่ เพือ่ สร้างกุฏทิ บ่ี ริเวณป่าช้าเป็นจ�านวน 5 ไร่ คุณมา สุรนิ ทร์วนั บริจาคทีด่ นิ เพือ่ ถนนเข้าวัด คุณแม่จนั ดี อินทวงศ์ ได้สร้างศาลาโรงครัว พร้อมทัง้ กุฏ ิ ชัว่ คราวหนึง่ หลัง คุณพ่อเสนอและคุณแม่ชะลอ วุทธานนท์ ได้ ส ร้ า งกุ ฏิ ท รงไทยขึ้ น หนึ่ ง หลั ง คุ ณ ประกอบชั ย พรชั ย เจริ ญ พร้อมครอบครัว ถวายที่ดิน 5 ไร่ คุณประกอบชัย พรชัยเจริญ พร้อมครอบครัว ถวายที่ดิน 4 ไร่ คุณวรพงษ์ เกียรติรุ่งวิไลกุล พร้ อ มครอบครั ว ถวายที่ดิน 5 ไร่ คุ ณ พ่ อ พงษ์ศักดิ์ แม่ค�า หล้า ปัญทะภูรีเวท พร้อมครอบครัว ถวายที่ดิน 3 ไร่ และ คณะผ้าป่า ของคุณแม่ใหญ่ทองค�า พึงผล ได้มาถวายที่ดินและได้น�าผ้าป่ามา ถวายทุกปี แม้คุณแม่ใหญ่ถึงแก่กรรมไปแล้ว คณะลูกศิษย์ของคุณ แม่ใหญ่ก็ด�าเนินตามวัตถุประสงค์มิได้ขาดมาจนถึงปัจจุบัน

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

227


History of buddhism....

วัดทุ่งหลวง “เมตตาธรรมค้ำจุนโลก” ศูนย์กู้ชีพ-กู้ภัยพร้าววังหิน พระครูปรีชาภิวัฒน์ เจ้าอาวาส

วัดทุ่งหลวง ตั้งอยู่เลขที่ 33 บ้านสันมะนะ หมู่ 3 ถนนสันทราย - พร้าว ต�าบลทุ่งหลวง อ�าเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ สังกัดคณะสงฆ์ มหานิกาย ที่ดินตั้งวัดมีเนื้อที่ 3 ไร่ 62 ตารางวา ประวัติความเป็นมา วัดทุ่งหลวงเดิมตั้งอยู่ที่สถานีอนามัยต�าบลทุ่งหลวง ปัจจุบัน เนื่องจากที่ตั้งวัดเก่าคับแคบคณะศรัทธาจึงได้ไปสร้างวัดใหม่ ใกล้ ทีท่ า� การไปรษณียโ์ ทรเลข และอาคารชุมสายองค์การโทรศัพท์ สาขาพร้าว ปัจจุบัน แต่วัดที่สร้างขึ้นมาใหม่อาจไม่ถูกต้องตามหลักการกฎเกณฑ์ และวิชาการดัง้ เดิมของโบราณาจารย์ จึงได้โยกย้ายวัดมาสร้างขึน้ ใหม่ ณ เลขที ่ 33 บ้านสันมะนะ ถนนสันทราย - พร้าว หมูท่ ี่ 3 ต�าบลทุง่ หลวง อ�าเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ โดยมีพ่อหมอสิทธิ แม่อุ้ยลูน สิทธิปวง 228

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

เป็นผู้มอบถวายที่ดิน มีเนื้อที่ 2 ไร่ 33 ตารางวาให้สร้างวัดใหม่ โดยมี ครูบาเจ้าอินต๊ะ เป็นผู้ด�าริเริ่มก่อสร้างเมื่อปี พ.ศ. 2426 เป็นต้นมา โดยเมื่อปี พ.ศ. 2540 กรมที่ดินได้ออกมารางวัดออกโฉนดที่ดิน ให้ โฉนดที่ ดิ น เลขที่ 17983 เล่ ม 180 หน้ า 83 อ� า เภอพร้ า ว จังหวัดเชียงใหม่ มีเนื้อที่ประมาณ 3 ไร่ 62 ตารางวา มีที่ธรณีสงฆ์ จ�านวน 1 แปลง เนื้อที่ 34 ตารางวา น.ส.3 เลขที่ 33


ล�าดับเจ้าอาวาสตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน 1. ท่านครูบาเจ้าอินต๊ะ พ.ศ. 2426 - พ.ศ. 2432 2. เจ้าอธิการบุญทา พ.ศ. 2432 - พ.ศ. 2482 3. พระบุญเป็ง พ.ศ. 2482 - พ.ศ. 2488 4. พระค�าปวน พ.ศ. 2488 - พ.ศ. 2491 5. พระอิ่นค�า เกสโล พ.ศ. 2491 - พ.ศ. 2495 6. พระดวงดี พ.ศ. 2495 - พ.ศ. 2498 7. พระแก้ว อภิวณฺโณ พ.ศ. 2498 - พ.ศ. 2501 8. เจ้าอธิการบุญทา สิกฺขาสโภ พ.ศ. 2501 - พ.ศ. 2513 9. พระเกษม ขนฺติโก พ.ศ. 2513 - พ.ศ. 2516 10. พระบุญศรี พ.ศ. 2516 - พ.ศ. 2517 11. พระอุดม พ.ศ. 2517 - พ.ศ. 2521 12. พระขจร พ.ศ. 2521 - พ.ศ. 2523 13. พระป่าง ธมฺมทินฺโท พ.ศ. 2523 - พ.ศ. 2527 14. พระปฐม ปญฺญาธโร พ.ศ. 2527 - พ.ศ. 2530 15. พระอธิการค�าอ้าย โชติปญฺโญ พ.ศ. 2530 - พ.ศ. 2537 16. พระอธิการอภิชิต อภิวฑฺฒโน พ.ศ. 2538 - ปัจจุบัน ปัจจุบันได้รับแต่งตั้งเป็น พระครูปรีชาภิวัฒน์ จร.ชอ. (เจ้าอาวาส วัดราษฎร์ ชั้นโท)

ก�าเนิด “ศูนย์กู้ชีพ - กู้ภัยพร้าววังหิน” “อุ่นอก อุ่นใจ๋ มีกู้ภัย พร้อมฮับใจ้ประชา” สืบเนื่องจากเมื่อวันที่ 13 สิงหาคม พ.ศ. 2548 และวันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2548 ได้เกิดอุทกภัย (น�้าท่วม) ครั้งใหญ่ในรอบ 20 ปี ของอ�าเภอพร้าว ทางชมรมวิทยุสมัครเล่นอ�าเภอพร้าว และประชาชน ทั่วไปที่มีความเห็นอกเห็นใจผู้ท่ีประสบภัย ได้น�าวิทยุส่ือสารและ อุปกรณ์ต่างๆ อาทิ เรือยนต์, ท�าอาหาร, น�้าดื่ม ให้การช่วยเหลือ ผู้ประสบอุทกภัย ในคราวครั้งนั้นเป็นอย่างดี โดยมีอุดมคติแนวคิด ที่เหมือนกันคือ เมตตาธรรมค�้าจุนโลก หลังจากนั้นจึงได้รวมกลุ่มกัน ด้วยความสมัครใจว่า อ�าเภอพร้าว สมควรที่จะมีศูนย์กู้ภัยขึ้นเพื่อที่ จะได้ให้ความช่วยเหลือพี่น้องชาวอ�าเภอพร้าว ในยามเกิดอุบัติภัย ต่างๆ โดยมี พระครูสมุหอ์ ภิชติ อภิวฑฺฒโน ปัจจุบนั พระครูปรีชาภิวฒ ั น์ เจ้าอาวาสวัดทุ่งหลวง ได้ท�าหน้าที่ผู้ประสานงาน และได้รับเลือก ให้เป็นประธานศูนย์กู้ชีพ-กู้ภัยพร้าววังหิน โดยมีพันธกิจ คือ ให้การบริการพี่น้องประชาชนในเรื่องอุบัติเหตุ - อุบัติภัย เจ็บป่วยฉุกเฉิน บริการฟรีตลอด 24 ชั่วโมง โดยไม่เสีย ค่าใช้จ่ายใดๆ ทั้งสิ้น ค�าขวัญประจ�าใจ ตานบ่า ตานแฮง ด้วยแรงใจ ท�าความดีตอบแทนแผ่นดินเกิด ความทุกข์ของท่าน คืองานบริการของเรา เจ็บเมื่อไหร่ก็โทรมา

โทรด่วน 1669 ศูนย์กู้ชีพเวียงพิงค์

(สนง. ระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินจังหวัดเชียงใหม่) เบอร์ตรงถึงศูนย์กู้ภัย 09-5178-9899 ศูนย์กู้ภัยพร้าววังหิน วิทยุมือถือ ว.2 ว.8 ความถี่ช่อง 162.375. CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

229


กราบสรีระสังขารหลวงปู่ครูบาธรรมชัย ในดินแดนพระนิพพาน

History of buddhism....

WAT THUNG LUANG “Love makes the world go round” Phrao Wanghin Emergency Medical service center

Wat Thung Luang is located at 33 Ban San mana, village no.3, San Sai-Phrao road, Thung Luang sub-district, Phrao district, Chiang Mai province. It belongs to Maha Nikaya clergy. The scale of this temple’s land is 1.2 acres and 248 square meters. At present, Phra Khru Preechaphiwat is current abbot of this temple. History of this temple Formerly, Wat Thung Luang was located at the location of current Thung Luang sub-district Health center. Because an old location was quite narrow, group of faithful people then built new temple near the location of current post office and telephone exchange building, Phrao branch. However, that new temple was not built correctly as the principle and original academic of ancient professor, they then moved to other location and built new temple 230

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

up again which an address of new location is the present address. In addition, Mr. Sitthi and Mr.Auilun Sitthipuang offered the 0.8 acres and 132 square meters of land to build the temple which Khruba Chao Inta was the initiator of this temple’s construction that started in B.E.2426 onward. Until B.E.2540, Department of Lands surveyed this land and issued title deed of this land which it was title deed at Phrao district, Chaing Mai province, detail of this title deed are as follows: Number 17983, Volume 180, Page 83. Total scale of this land is approximately 1.2 acres and 248 square meters, 1 plot of land is monastery land which its scale is 136 square meters, title deed N.S.3, Number 33. Phra Athikarn Apichit Apiwattano has been taking a position of abbot since B.E.2538 - now.


THE BEGINNING OF PHRAO WANGHIN EMERGENCY MEDICAL SERVICE CENTER Due to the flood that occurred on August 13 and September 28, 2005, it was one of the biggest disaster of Phrao District in 20 years, Phrao Amateur Radio Club and volunteers gathered together to bring food, water, utensils, cooking stuffs and motor boat to the flood victims. After that disaster all the volunteers had an idea to create the group to help people in their districts, later on became Phrao Wanghin Recuse Team which lead by Phra Khru Samu Apichit Apiwattano, abbot of Wat Thung Luang. The rescue team has 24 hours service with no charge to support people in the district and help people who get to the accidents, patient who cannot go to the hospital by themselves, and all kinds of emergency incidents.

BECAUSE YOUR SUFFERING IS WHAT WE CARE AND WE ARE READY TO BRING THE BEST SERVICE TO HELP YOU 24 HOUR A DAY 7 DAY A WEEK, GET HURT OR NEED HELP, PLEASE CALL 09-5178-9899 , 1669 WE ARE ALWAYS HERE FOR YOU. CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

231


History of buddhism....

วัดสันปง สักการะพระธาตุเกศแก้วจุฬามณี พระพุทธญาณมงคลชัยโสภิต (หลวงพ่อดับภัย) และ พระพุทธชินราช ศูนย์รวมแห่งจิตใจของพุทธศาสนิกชน พระครูโสภิตมันตาภรณ์ เจ้าคณะต�าบลสันทราย และเจ้าอาวาส

วัดสันปง ตั้งอยู่เลขที่ 152 บ้านสันปง หมู่ที่ 5 ต�าบลสันทราย อ�าเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ที่ดินตั้งวัด มี เ นื้ อ ที่ ร วมทั้ ง หมด 7 ไร่ 38 ตารางวา มี อ าณาเขตติ ด ต่ อ ดั ง นี้ ทิศเหนือ จดถนนสาธารณะ ทิศใต้ จดถนนสาธารณะ ทิศตะวันออก จดที่ของนายภิเดช บุญมา ทิศตะวันตก จดล�าเหมืองสาธารณะ

232

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

อนุสรณ์สถานท้าวสุรนารี (ย่าโม) อ�าเภอเมือง


ประวัติความเป็นมา วัดสันปง สร้างเมื่อพ.ศ.2422 โดยการบูรณปฏิสังขรณ์ขึ้นจาก วัดร้างที่ชื่อว่า “วัดหัวกาดนา” ซึ่งชาวบ้านส่วนใหญ่อพยพมาจาก อ�าเภอดอยสะเก็ด สันก�าแพง และสันทราย ได้ชว่ ยกันบูรณปฏิสงั ขรณ์ ขึ้ น เพื่ อ เป็ น ศู น ย์ ร วมจิ ต ใจพุ ท ธศาสนิ ก ชนในการบ� า เพ็ ญ เพี ย ร ปฏิบัติธรรมเพื่อความพ้นทุกข์จึงได้อาราธนานิมนต์ พระปัญญา จาก อ�าเภอดอยสะเก็ดมาจ�าพรรษา เป็นเจ้าอาวาสรูปแรก ต่อมาเมื่อวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ.2423 วัดสันปงได้รับพระราชทาน วิสงุ คามสีมา เขตวิสงุ คามสีมา กว้าง 5 เมตร ยาว 10 เมตร หลังจากนัน้ มีเจ้าอาวาสสืบต่อกันมาอีกหลายรูปจนถึงปัจจุบัน

ล�าดับเจ้าอาวาส เท่าที่มีบันทึกไว้

1 พระปัญญา พ.ศ. 2422 2 พระอภิวงศ์(ดี) หม่อนแก้ว 3 พระหมู 4 พระอริยา(ตัน พวงมาลัย) พ.ศ. 2473 - พ.ศ. 2477 5 พระโปธิ(สม อุปชาค�า) พ.ศ. 2477 - พ.ศ. 2490 6 พระใบฎีกาแปง คุณาสโก พ.ศ. 2490 - พ.ศ. 2497 7 พระขัน ฐิตทินฺโน พ.ศ. 2497 - พ.ศ. 2502 8 พระค�ามูล ขนฺติโก พ.ศ. 2504 - พ.ศ. 2506 9 พระดวงตา อภิวณฺโณ พ.ศ. 2507 - พ.ศ. 2512 10 พระครูใบฎีกานิกร ธมฺมวาที พ.ศ. 2512 - พ.ศ. 2534 11 พระครูโสภิตมันตาภรณ์ พ.ศ. 2535 - ปัจจุบัน ปัจจุบันปี พ.ศ. 2562 มีพระภิกษุจ�าพรรษา จ�านวนทั้งหมด 4 รูป

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

233


ปูชนียวัตถุที่ส�าคัญแห่งวัดสันปง ที่พุทธศาสนิกชนมาสักการบูชา

พระธาตุเกศแก้วจุฬามณีเจดียสถาน เป็นพระเจดีย์ที่ออกแบบก่อสร้างในปี พ.ศ. 2519 โดย พระครูใบฎีกานิกร ธมฺมวาที เจ้ า อาวาสในขณะนั้ น มี อ งค์ พ ระเจดี ย ์ ประกอบด้วยเจดีย์องค์กลางและ พระเจดีย์ องค์บริวารอีก 8 องค์ โดย พระเจดียอ์ งค์กลาง บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ(จ�าลอง) อัญเชิญ มาจากประเทศอินเดีย และศรีลังกา รอบๆ พระเจดีย์ยังมีซุ้มพระประจ�าวันเกิด 8 ซุ้ม และ เทวรูปต่างๆ เช่น ท้าวจตุโลกบาลทั้ง 4 เทวดาพ่อเกิด แม่เกิด ตามคติความเชื่อของ ชาวล้านนา และยังเป็นพระเจดีย์ประจ�าปี เกิดของผู้ที่เกิดในปีจออีกด้วย

234

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

พระพุทธญาณมงคลชัยโสภิต (หลวงพ่อดับภัย) พระพุทธรูปหล่อปูน ปางมารวิชยั หน้าตัก กว้าง 6 เมตร เกิดขึน้ จากความร่วมมือร่วมแรง ทั้ ง ก� า ลั ง ทรั พ ย์ และก� า ลั ง ศรั ท ธาของ พุทธศาสนิกชนชาวไทยและมาเลเซีย ร่วมกัน สร้างขึ้นเพื่อเป็นอนุสรณ์แห่งสายสัมพันธ์ ของพี่น้องชาวพุทธสองประเทศ องค์พระ ได้รับการบรรจุพระหทัยพระพุทธเจ้า จารึก อักขระ อักษรล้านนาว่า “พุทฺโธ เสฏฺโฐ ติ โลกสฺสมึ” สร้างจากเงินแท้ หนัก 9 กิโลกรัม เป็นศูนย์รวมแห่งความศรัทธา และ เป็นที่ สักการบูชากราบไหว้ของพุทธศาสนิกชนทัว่ ไป

หลวงพ่อพระพุทธชินราช เป็นพระประธานในวิหารของวัดสันปง หล่อด้วยทองสัมฤทธิ์ หน้าตักกว้าง 79 นิ้ว ประดั บ เรื อ นแก้ ว สวยงาม อั ญ เชิ ญ และ ถวายมาประดิษฐานในวิหารของวัด ตั้งแต่ ปีพ.ศ. 2530 โดยคณะศรัทธาสายใจบุญ จากกรุงเทพมหานครเพื่อฉลองวิหารใหม่ ของวัด นอกจากนี้ ยั ง มี พ ระพุ ท ธรู ป ปู น ปั ้ น สามพี่น้อง ซึ่งบูรณะขึ้นจากองค์เก่าที่ได้รับ ความเสี ย หายจากแผ่ น ดิ น ไหวใหญ่ ใ นปี พ.ศ. 2526 ประดิษฐานในวิหารแห่งนีอ้ กี ด้วย


ประวัติพระครูโสภิตมันตาภรณ์ โดยสังเขป พระครู โ สภิ ต มั น ตาภรณ์ ( วั ล ลภ มนฺ ต สิ ริ ) เกิ ด เมื่ อ วั น ที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2503 ปีชวด ณ บ้านเลขที่ 119 บ้านสันปง หมู่ที่ 5 ต�าบลสันทราย อ�าเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ อายุ 59 พรรษา 39 บรรพชา-อุปสมบท เมื่อวันที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2523 ตรงกับ วันเสาร์ เดือน 4 เหนือ แรม 14 ค�่า ปีวอก ณ พัทธสีมาวัดสันปง ต�าบลสันทราย อ�าเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ โดยมีพระครูวตั ตกิจโกศล วัดบ้านเหล่า ต�าบลป่าไหน่ อ�าเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ เป็น พระอุปัชฌาย์ พระครูวรญาณโสภิต วัดท่ามะเกี๋ยง ต�าบลสันทราย อ�าเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ เป็นพระกรรมวาจาจารย์ และ พระครู วาปีสนุ ทรกิจ วัดหนองปิด ต�าบลสันทราย อ�าเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ เป็นพระอนุสาวนาจารย์ ปัจจุบนั ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาสวัดสันปง และเจ้าคณะต�าบลสันทราย วิทยฐานะ พ.ศ. 2519 ส�าเร็จชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนพร้าววิทยาคม ต�าบลเขื่อนผาก อ�าเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ พ.ศ. 2527 Diploma in Buddhism จาก Sri Jinratana Academy Colombo 2, Srilanka พ.ศ. 2528 Diploma in English จาก Aquinas College Of Higher Studies Colombo 2, Srilanka พ.ศ. 2539 สอบไล่ได้ น.ธ.เอก ส�านักเรียนวัดกลางเวียง ต�าบล เวียง อ�าเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ พ.ศ. 2546 ส�าเร็จการศึกษาปริญญาตรี(พธ.บ.) จากมหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. 2553 ส�าเร็จการศึกษาปริญญาโท(รป.ม.) จากมหาวิทยาลัย รามค�าแหง

การศึกษาพิเศษ มีความรู้พิเศษทางภาษาอังกฤษ, อ่านและเขียนภาษาล้านนาได้ สมณศักดิ์ พ.ศ. 2544 ได้รบั พระราชทานตัง้ สมณศักดิ ์ เป็นพระครูสญ ั ญาบัตร เจ้าอาวาสวัดราษฎร์ชนั้ โท ในราชทินนามที ่ “พระครูโสภิตมันตาภรณ์” (จร.ชท.) พ.ศ. 2549 ได้รบั พระราชทานเลือ่ นสมณศักดิเ์ ป็นพระครูสญั ญาบัตร เจ้าอาวาสวัดราษฎร์ชั้นเอก (จร.ชอ.) ในราชทินนามเดิม พ.ศ. 2551 ได้รบั การปรับพัดยศเป็นเจ้าคณะต�าบลชัน้ โท(จต.ชท.) พ.ศ. 2554 ได้รบั พระราชทานเลือ่ นสมณศักดิเ์ ป็นพระครูสญั ญาบัตร เจ้าคณะต�าบลชั้นเอก(จต.ชอ.) งานเผยแผ่และรางวัล พ.ศ. 2537 - ปัจจุบนั เป็นพระธรรมทูตสายที ่ 4 ประจ�าอ�าเภอพร้าว, เป็นพระวิทยากรอบรมศีลธรรมประจ�าโรงเรียนบ้านสันปงต�าบลสันทราย อ�าเภอพร้าว พ.ศ. 2548 - ปัจจุบัน เป็นนักเผยแผ่พระพุทธศาสนาทางสถานี วิทยุชุมชนสหกรณ์การเกษตรพร้าวจ�ากัด พ.ศ. 2539 ได้รับรางวัลผู้ท�าคุณประโยชน์ต่อพระพุทธศาสนา ระดับอ�าเภอ พ.ศ. 2540 ได้รบั โล่เกียรติคณ ุ น�าธรรมะเข้าสูเ่ ยาวชนในโครงการ บรรพชาสามเณรภาคฤดูร้อน พ.ศ. 2552 เป็นพระสังฆาธิการดีเด่น ประจ�าปีพ.ศ. 2552 ของ คณะสงฆ์จังหวัดเชียงใหม่ พ.ศ. 2555 ได้รับรางวัลผู้ท�าคุณประโยชน์ต่อพระพุทธศาสนา ระดับจังหวัด พ.ศ. 2556 ได้รับรางวัลเสาเสมาธรรมจักร ผู้ท�าคุณประโยชน์ ต่อพระพุทธศาสนา สาขา การศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

235


History of buddhism....

วัดกลางเวียง ขอเชิญชวนมากราบไหว้ขอพร “พระเจ้าฝนแสนห่า” เพื่อความเป็นศิริมงคล พระครูประสิทธิ์พุทธศาสน์ (กฤษดา ป.ธ.3) ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาส

วัดกลางเวียง (วัดศรีบญ ุ เรืองกลางเวียง) สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตั้งอยู่บ้านขามสุ่ม เลขที่ 74 หมู่ที่ 2 ถนนเขื่อนเพชร ต�าบลเวียง อ�าเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ ได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา เมือ่ วันที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2436 เป็นปีที่ 14 ในรัชกาลพระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ ๖ โดยมีเขตวิสงุ คามสีมากว้าง 1 เส้น 7 วา 3 ศอก ยาว 1 เส้น 13 วา 2 ศอก ปัจจุบนั พระครูประสิทธิพ์ ทุ ธศาสน์ (กฤษดา ป.ธ.3) ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาส ประวัติความเป็นมา ในปีพทุ ธศักราช 2411 พญาเขือ่ นเมือง ผูป้ กครองเวียงพร้าววังหิน ในฐานะเมืองลูกหลวงของนพบุรศี รีนครพิงค์เชียงใหม่ ได้รวบรวมผูค้ น ที่ อยู ่ กัน อย่ า งกระจัด กระจายประมาณ 6,000 คน จากเมื อ งร้ า ง มาร่วมกันสร้างเวียงพร้าวขึ้นมาใหม่ โดยพญาเขื่อนเมืองได้ร่วมกับ พระครูบาคัมภีระ เจ้าคณะแขวงพร้าว ท�าการสถาปนาก่อสร้าง “วัดศรีบุญเรืองกลางเวียง” หรือ “วัดกลางเวียง” ขึ้นเป็นวัดประจ�า แขวงพร้ า ว แล้ ว ท� า การอั ญ เชิ ญ พระพุ ท ธรู ป ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ 3 องค์ ปางมารวิชัยขัดสมาธิเพชร เนื้อส�าริดมีพุทธลักษณะงดงาม ไม่ปรากฏ ปีที่สร้าง มีจารึกอักษรฝักขามใต้ฐานองค์พระ ได้รับการขึ้นทะเบียน 236

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

จากกรมศิลปากรอยู่ในยุคพุทธศตวรรษที่ 20 ซึ่งหนึ่งใน 3 องค์นั้น ชาวบ้านนิยมเรียกขานว่า “พระเจ้าฝนแสนห่า” ซึ่งเมื่อเกิดภัยแล้ง มักจะอัญเชิญออกแห่เพื่อขอฝน ฝนก็จะตกต้องตามฤดูกาล ปัจจุบัน น�าออกแห่ในช่วงงานประเพณีใส่ขันดอกบูชาอินทขิลอ�าเภอพร้าว ราวเดือนพฤษภาคมหรือมิถุนายน (เดือน 8 เข้า 9 ออก เหนือ) นอกจากนัน้ พญาเขือ่ นเมืองได้ทา� การหล่อสร้างมหาคัณโฑ (ระฆัง) 2 ใบ เนือ้ ส�าริด อุทศิ ถวายไว้ในพระพุทธศาสนา ณ วัดศรีบญุ เรืองกลางเวียง หรือวัดกลางเวียง เพือ่ แสดงออกถึงความเลือ่ มใสและตัง้ มัน่ ในบวรพุทธ ศาสนาของพญาเขื่อนเมือง มีจารึกการสร้างในตัวมหาคัณโฑ (ระฆัง) เป็นอักษรล้านนา


พญาเขื่อนเมืองปกครองเวียงพร้าววังหินราวปี พ.ศ. 2411–2444 ได้รับการสถาปนาอิสริยยศจากเจ้าผู้ครองนพบุรีศรีนครพิงค์เชียงใหม่ จากแสนอินต๊ะวิจยั อักษร และพญาเขือ่ นเมืองโดยล�าดับได้รบั พระราชทาน หมวกจิกค�า และดาบหลูบเงินเป็นเครื่องประกอบอิสริยยศ “วัดกลางเวียง” ศูนย์กลางคณะสงฆ์และการศึกษาพระปริยตั ธิ รรม แต่เดิมผูด้ า� รงต�าแหน่งทางคณะสงฆ์ ต้องมาประจ�าการทีว่ ดั กลางเวียง เช่น พระครูบาคัมภีระ เจ้าคณะแขวงพร้าว ปฐมเจ้าอาวาสวัดกลางเวียง , พระครูมนูญธรรมาภรณ์ วัดมหาวัน อ�าเภอเมืองเชียงใหม่ (เจ้าคณะ อ�าเภอพร้าวในสมัยนัน้ ) พระโพธิรงั สี วัดพันตอง อ�าเภอเมืองเชียงใหม่ (เจ้าคณะอ�าเภอพร้าวในสมัยนัน้ ), พระวิมลญาณมุน ี (สอาด) วัดกลางเวียง อ� า เภอพร้ า ว (เจ้ า คณะอ� า เภอพร้ า วในสมั ย นั้ น ) ปั จ จุ บั น ได้ รั บ พระราชทานสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะชั้นเทพ ที่พระเทพปริยัติ (สอาด) เจ้าคณะจังหวัดเชียงใหม่ วัดเจ็ดยอดพระอารามหลวง เป็นต้น ทางด้านการศึกษาแต่เดิมเป็นสถานที่ตั้งของโรงเรียนพระปริยัติธรรม 1 ใน 37 แห่งทั่วประเทศ จัดท�าการเรียนการสอนพระปริยัติธรรม แผนกธรรมและบาลีแก่พระสงฆ์สามเณร และสามารถสอบผ่านใน สนามหลวงได้เป็นจ�านวนมาก เกียรติคุณของวัด พ.ศ. 2513–2515 ได้รบั การยกฐานะจากกรมการศาสนา กระทรวง ศึกษาธิการให้เป็น “วัดพัฒนาตัวอย่าง”, พ.ศ. 2551 ได้รบั การยกฐานะ จากกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ให้เป็น “วัดส่งเสริมสุขภาพชุมชน” , พ.ศ. 2555 ได้รบั การยกฐานะจาก ส�านักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ให้เป็น “วัดพัฒนาตัวอย่างที่มีผลงานดีเด่น” ศาสนาสถานที่ส�าคัญ วั ด กลางเวี ย งมี ศ าสนสถาน ประกอบด้ ว ย วิ ห าร, อุ โ บสถ, ศาลเจ้าพ่อหลักเมืองพร้าว, กุฏิสงฆ์, อาคารเรียนพระปริยัติธรรม, หอระฆัง, ศาลาการเปรียญ, โรงครัว และก�าลังด�าเนินการก่อสร้าง อุโบสถเจดีย์ เพื่อเป็นที่ท�าสังฆกรรมของพระสงฆ์ ทดแทนอุโบสถ หลังเดิมที่ช�ารุดทรุมโทรม วัดกลางเวียงยังเป็นที่ตั้งของศาลเจ้าพ่อหลักเมืองพร้าว ซึ่งถือได้ ว่ า เป็ น สิ่ ง ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ป ระจ� า อ� า เภอพร้ า ว ประชาชนทั่ ว ไปมากราบ

ไหว้ขอพร และมักประสบความส�าเร็จตามที่ขอทุกครั้ง ในราวเดือน พฤษภาคม-มิถนุ ายนของทุกปี ทางวัดร่วมกับเทศบาลต�าบลเวียงพร้าว และ องค์กรภาคีเครือข่าย ได้จัดงานประเพณีใส่ขันดอกบูชาเสาอินทขิล (หลักเมืองพร้าว) ขึน้ เป็นการสมโภชเสาหลักเมือง เพือ่ ความเป็นสิรมิ งคล แก่บ้านเมืองและประชาชนโดยทั่วไป

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

237


History of buddhism....

วัดป่างิ้ว “สติเป็นธรรมเครื่องปลุกให้ตื่นจากทุกข์” พุทธพจน์ พระปริญญา อินฺทจกฺโก รักษาการแทนเจ้าอาวาส

วัดป่างิ้ว ได้รับอนุญาตตั้งเป็นวัด พ.ศ. 2420 ตั้งอยู่เลขที่ 211 หมู่ที่ 2 ต�าบลน�้าแพร่ อ�าเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ สังกัดคณะสงฆ์ มหานิกาย ที่ดินตั้งวัด มีเนื้อที่ 2 ไร่ 44 ตารางวา น.ส.3 099 อาณาเขต ทิศเหนือประมาณ 3 เส้น ทิศใต้ประมาณ 2 เส้น ทิศตะวันออก ประมาณ 2 เส้ น 14 วา ทิ ศ ตะวั น ตกประมาณ 2 เส้ น 7 วา มี ที่ ธรณี ส งฆ์ 1 แปลง เนื้อที่ 1 ไร่ ปัจจุบันมี พระปริญญา อินฺทจกฺโก รักษาการแทนเจ้าอาวาส เสนาสนะภายในวัด อาทิ วิหารหลวง, กุฏิสงฆ์, ศาลาการเปรียญ 238

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

หอฉัน, ศาลาบาตร, หอเสื้อวัด และ ห้องน�้า

ปูชนียวัตถุที่ส�าคัญ พระประธานในวิหาร, รูปเหมือนหลวงปูแ่ หวน สุจณ ิ โฺ ณ, รูปเหมือน ครูบาเจ้าศรีวิชัย และ รูปหล่อสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี)


ล�าดับเจ้าอาวาส อดีตถึงปัจจุบัน 1. พระดวงแก้ว ไม่ทราบปี พ.ศ. ที่แน่นอน 2. พระอิ่นค�า ไม่ทราบปี พ.ศ. ที่แน่นอน 3. พระดวงจันทร์ ไม่ทราบปี พ.ศ. ที่แน่นอน 4. พระบุญมา ปญฺญวโร พ.ศ. 2484–2486 5. พระต๋าค�า คนฺธว�โส พ.ศ. 2487–2489 6. พระประสิทธิ์ จิตตะสาโร พ.ศ. 2500–2503 7. พระเจริญ วรปญฺโญ พ.ศ. 2504–2508 8. พระดวงค�า ระวิวนฺโณ พ.ศ. 2509–2512 9. พระอธิการคนงค์ อตฺถกาโม พ.ศ. 2520–2555 10. พระอินชัย เขมทตฺโต พ.ศ. 2555–2557 11. พระปรีดา ขนฺติวโร พ.ศ. 2557–2559 12. พระครูปิยกิจจาภรณ์ พ.ศ. 2559–2561 13. พระปริญญา อินฺทจกฺโก พ.ศ. 2561-ปัจจุบัน ประวัติเจ้าอาวาสโดยสังเขป พระปริญญา อินฺทจกฺโก (อินทจักร์) น.ธ.เอก ปัจจุบัน อายุ 21 ปี พรรษา 1 บรรพชา เมือ่ ปี พ.ศ. 2553 ได้ยา้ ยมาจ�าพรรษา ณ วัดป่างิว้ เมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2558 ได้เข้ารับการอุปสมบท เมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2561 ณ พัทธสีมาวัดหนองปลามัน ต�าบลน�า้ แพร่ โดยมี พระครูวชิรปัญญาวิมล เป็นพระอุปัชฌาย์ วันที ่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2562 ได้รบั แต่งตัง้ เป็นรักษาการแทนเจ้าอาวาส พ.ศ. 2559 พระปริญญา ได้ปฏิบตั หิ น้าทีแ่ ทนเจ้าอาวาส ตัง้ แต่เป็น สามเณรโดยมี พระครูปยิ กิจจาภรณ์ เจ้าคณะต�าบลน�า้ แพร่ เป็นรักษาการ แทนเจ้าอาวาส ได้บูรณปฏิสังขรณ์โฮงหลวง (กุฏิสงฆ์) 1 หลัง แล้วเสร็จปี พ.ศ. 2561 และในวันที่ 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2561 ได้วางศิลาฤกษ์ เริม่ ก่อสร้างศาลาการเปรียญทรงล้านนา จนถึงปัจจุบนั พ.ศ. 2556 ได้รบั คัดเลือกเป็นนักเรียนทุนการศึกษาเฉลิมราชกุมารี พ.ศ. 2557 ได้รับคัดเลือกเป็น สามเณรธรรมาสน์ทอง ปัจจุบนั ก�าลังศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิชาพระพุทธศาสนา ปี 4 มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่

ประเพณีส�าคัญประจ�าวัด ทุกวันที่ 15 เมษายน วัดป่างิ้วจะอาราธนาพระพุทธสิหิงส์เก่าแก่ ประจ�าวัด ออกให้ศรัทธาสาธุชนสรงน�า้ ในช่วงปีใหม่เมือง (สงกรานต์) เป็นประจ�าทุกปี งานประชาสัมพันธ์ของวัดป่างิ้ว ปัจจุบนั ทางวัดป่างิว้ ได้เริม่ สร้างศาลาการเปรียญทรงล้านนาขนาด ความกว้าง 12 เมตร ยาว 28 เมตร 2 ชั้น จึงขอเชิญชวนศรัทธา พุทธศาสนิกชนร่วมท�าบุญสร้างศาลาการเปรียญในครัง้ นีข้ ออนุโมทนา ติดต่อสอบถาม วัดป่างิ้ว ต�าบลน�้าแพร่ อ�าเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ โทรศัพท์ 093-2292320, 096-6973928, 087-1791809 facebook : วัดป่างิ้ว @watpangiw ร่วมท�าบุญผ่านบัญชีธนาคารออมสิน สาขาพร้าว ชื่อบัญชี วัดป่างิ้ว (สมทบทุนสร้างศาลาการเปรียญ) เลขที่บัญชี 020-2-45161-433 พระพุทธเจ้าตรัสว่า “การถวายวิหารทานมีอานิสงส์มาก” (วิหารทาน คือการท�าบุญถวายหรือร่วมสร้างเสนาสนะต่างๆ ถวายไว้เป็นสมบัติพระศาสนา เช่น การสร้างพระอุโบสถ กุฏิ ศาลา วิหาร หอฉัน หอระฆัง ห้องน�้า เป็นต้น) CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

239


History of buddhism....

วัดกู่เบี้ย “การให้ธรรมะ ชนะการให้ทง้ั ปวง” พุทธพจน์ พระอธิการณธนพงศ์ กตปญฺโญ ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาส

วัดกูเ่ บีย้ เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์ฝา่ ยธรรมยุตกิ นิกาย ตัง้ อยู่ บ้านปางอัน้ หมู่ 4 ต�าบลบ้านโป่ง อ�าเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ มีเนือ้ ที่ 37 ไร่ อยูใ่ นต�าบลบ้านโป่ง ซึง่ พืน้ ทีส่ ว่ นใหญ่เป็นป่าไม้และภูเขา และมี พืน้ ทีเ่ พาะปลูกของชาวบ้าน เป็นพืน้ ทีร่ าบอยูต่ ดิ กับภูเขา มีลา� น�า้ ไหล ผ่านหลายสาย และพืน้ ทีร่ าบลาดเอียงไปทางทิศตะวันตกของต�าบล

240

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


ประวัติความเป็นมา เดิมวัดกู่เบี้ย เคยเป็นวัดร้างมายาวนาน เห็นได้จากเจดีย์เก่า และมีหอยเบี้ยอยู่ในฐานเจดีย์เดิมจึงได้ปรากฏเป็นวัดกู่เบี้ย ต่อมาใน ปีพ.ศ. 2533 พระอาจารย์บรรจง ได้ธุดงค์ผ่านมาแวะพักอาศัย ปฏิบัติธรรม โปรดศรัทธาชาวบ้าน ต่อมามีครูบาณธนพงศ์ กตปญฺโญ ได้เข้ามาอาศัยและพาศรัทธาชาวบ้านร่วมกันพัฒนา จากวัดร้างพัฒนา ช่วยกัน สร้างกุฏิ ศาลา ศาสนสงฆ์ และได้บูรณะเจดีย์ขึ้นใหม่ในปี พ.ศ. 2538 จนเสร็จสิ้น ปี พ.ศ. 2559 ได้ยกฐานะวัดร้าง ซึ่งขณะนั้นยังเป็น “ส�านักสงฆ์ พระธาตุเจดีย์เบี้ย” มาเป็นวัดกู่เบี้ยในปัจจุบัน (วันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2559) โดยมีครูบาณธนพงศ์ กตปญฺโญ เป็นเจ้าอาวาสจนถึง ปัจจุบัน การฝึกกรรมฐานในชีวิตประจ�าวัน เป็นการใช้สติสัมปชัญญะพิจารณาอารมณ์ที่มากระทบอย่าง ระมัดระวัง ไม่ให้บาปเกิดขึ้น เพียรหมั่นระลึกถึงกุศล และรักษากุศล นั้นอยู่มิให้เสื่อมไป กรรมฐานคืออะไร กรรมฐาน เป็นค�าเรียกโดยรวมในหมวดของการปฏิบัติธรรม ประเภทหนึ่งในพระพุทธศาสนา หมวดกรรมฐาน ประกอบด้ ว ย ตัวกรรมฐาน และโยคาวจร ตัวกรรมฐาน คือ สิง่ ทีถ่ กู เพ่ง ถูกพิจารณา ได้แก่ อารมณ์ต่าง ๆ ส่วนโยคาวจร คือ ผู้เพ่งหรือผู้พิจารณา ได้แก่ สติสัมปชัญญะและความเพียร การฝึ ก กรรมฐานว่ า โดยธรรมาธิ ษ ฐานจึ ง หมายถึ ง การใช้ สติสัมปชัญญะพิจารณาอารมณ์ ที่มากระทบ อย่างระมัดระวังไม่ให้ บาปเกิดขึ้น เพียรหมั่นระลึกถึงกุศลและรักษากุศลนั้นอยู่มิให้เสื่อมไป ดังพุทธพจน์ว่า กมฺมเมว วิเสสาธิคมนสฺส ฐานนฺติ กมฺมฐาน

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

241


History of buddhism....

วัดพระธาตุดอยเวียงชัยมงคล พระธาตุศักดิ์สิทธิ์ ที่ตั้งทัพ 739 ปี วัดแรกของอําเภอพร้าว พระครูวรวรรณวิวัฒน์ ดร. ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาส และ เจ้าคณะต�าบลโหล่งขอด

วั ด พระธาตุ ด อยเวี ย งชั ย มงคล ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 467หมู ่ ที่ 6 ต� าบลโหล่ ง ขอด อ�าเภอพร้าว จัง หวัด เชียงใหม่ เป็ น วั ด ต้ น แบบ แห่ ง การอนุ รัก ษ์ป ่าไม้ 878,558 ไร่ ในโครงการคนพร้ า วรั ก ษ์ ป่ า ร่ ว มดู แลรั ก ษาป่าไม้ในเขตอุทยานแห่งชาติศรี ล านนา 2 จั ง หวั ด 6 อ� าเภอ

242

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

ประวัติความเป็นมา ยุคที่ 1 อ้างในต�านานพระเจ้าเลียบโลก ว่าเมื่อครั้งพระพุทธเจ้า เสด็จมายังสุวรรณภูมิเขตล้านนาไทยพร้อมพระอานนท์พุทธอุปัฏฐาก ได้เสร็จขึน้ มาพักบนพระธาตุดอยเวียงแล้วประทานเส้นพระเกสา 3 เส้น ให้แก่มหาชนที่มาฟังธรรมเพื่อบรรจุไว้ใน พระธาตุดอยเวียงชัยมงคล สืบมาจนถึงปัจจุบัน ยุคที่ 2 สมัยราชวงศ์มังราย พ.ศ. 1824 พญามังรายมหาราชได้ สร้างเมืองพร้าวขึ้นเพื่อเป็นที่ตั้งทัพ และสะสมเสบียงอาหารก่อน ออกจากเมืองพร้าวได้พักทัพบริเวณม่อนพระธาตุดอยเวียงชัยมงคล และชุมชนบ้านหลวงในปัจจุบัน ยังมีหลักฐานคือ แนวคูค่ายและ การขุดแนวก�าแพง ประกอบกับที่มาตั้งทัพบนพระธาตุดอยเวียง


เพราะเป็นชัยภูมทิ ดี่ ี เนือ่ งจากสามารถมองเห็นทิวทัศน์ของต�าบลโหล่งขอด ได้ทั้งหมด เวลาข้าศึกยกทัพมาก็จะสามารถมองเห็นได้โดยง่าย ยุคที่ 3 เมื่อครั้งพระยาปราบสงคราม (พญาผาบ) ผู้ปกครอง แขวงหนองจ๊อม จากอ�าเภอสันทราย ได้มาตั้งทัพเมื่อ พ.ศ. 2432 เป็นทัพสุดท้ายที่มาตั้งทัพ พักทัพบนวัดพระธาตุดอยเวียงชัยมงคล ยุ ค ที่ 4 ครู บ าเจ้ า ศรี วิ ชั ย เดิ น ทางมาที่ ต� า บลโหล่ ง ขอดเมื่ อ ปี พ.ศ. 2473 ใกล้พลบค�่าครูบาได้เดินทางขึ้นไปบนพระธาตุม่วงเนิ้ง และได้กล่าวไว้ว่ายังมีพระธาตุศักดิ์สิทธิ์อีก คือ พระธาตุดอยเวียง ที่ ตั้ ง เวี ย งเก่ า ในสมั ย อดี ต และพระธาตุ ด อยสามเหลี่ ย ม เรี ย กว่ า

พระธาตุสามดวง วันเวลาใดก็ตามทีพ่ ระธาตุสามดวงนีส้ ร้างเสร็จสมบูรณ์ ชาวโหล่งขอดจะท�านาเป็นข้าวสาร และผู้ร่วมสร้างจะร�่ารวยด้วย โภคทรัพย์ อยู่เย็นเป็นสุข หลังจากนั้นครูบาได้เดินทางลงมาพักที่ วัดบ้านหลวงอีกสามวัน แล้วเดินทางออกจากต�าบลโหล่งขอดมุ่งหน้า เข้าสู่วัดพระสิงห์วรมหาวิหาร ค�าพูดปริศนาของครูบาเจ้าศรีวิชัยนี้ ยังคงมีมาจนถึงปัจจุบัน ยุคที่ 5 ยุคปัจจุบัน โดยพระครูวรวรรณวิวัฒน์ ดร. และชาวบ้าน ค้นพบเมื่อวันที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2546 และเริ่มบูรณปฏิสังขรณ์ สร้างวัดพระธาตุดอยเวียงชัยมงคลจนถึงปัจจุบัน

วัดบ้านหลวง หมู่บ้านรักษาศีล 5 ต้นแบบ, ชุมชนคุณธรรมขับเคลื่อนด้วยพลังบวรต้นแบบ

พระครูใบฎีกาองอาจ จิรธัมโม ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาส

วัดบ้านหลวง ในสมัยอดีตมีชื่อว่า วัดโหล่งขอด ตั้งอยู่ที่บริเวณ โรงเรียนบ้านหลวงในปัจจุบัน เมื่อประมาณปี พ.ศ. 2416 ในสมัย ครูบาหลวงถาวิระได้ท�าการย้ายมาสร้างวัดใหม่ ณ สถานที่ปัจจุบัน ชื่อว่า “วัดบ้านหลวงศรีดอนชัย” ต่อมาปี พ.ศ. 2517ได้เปลี่ยนชื่อ มาเป็น “วัดบ้านโหล่งขอด” และปี พ.ศ. 2527 ได้ท�าการเปลี่ยนชื่อ วัดอีกครั้งหนึ่งเป็น “วัดบ้านหลวง” จนถึงปัจจุบัน ได้รับวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2532 ขอเชิญศรัทธาสาธุชนทัง้ หลาย ไหว้หลวงพ่อโตทันใจ พระเจ้าหลวง เมืองพร้าว กราบนมัสการหลวงพ่อโมลีไพรีพนิ าศ หลวงพ่อแสนแส้ แสนสุข พระพุทธรูปศักดิส์ ทิ ธิเ์ ก่าแก่อายุ 600 ปี คูว่ ดั บ้านหลวงมาจนถึงปัจจุบนั CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

243


History of buddhism....

วัดดอยสัพพัญญู สักการบูชาเจดีย์ลอยฟ้า นมัสการพระพุทธรูป 4 ทิศ อุทยานการศึกษาธรรม อนุรักษ์ป่าไม้ และพืชสมุนไพรต่างๆ พระครูสุตกิจจาภิรม เจ้าคณะต�าบลดอนเปา เขต 2 เจ้าอาวาส

วัดดอยสัพพัญญู ตั้งอยู่ที่บ้านห้วยเนียม หมู่ 6 ต�าบลดอนเปา อ�าเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่ เดิมมีเนื้อที่ประมาณ 76 ไร่ ปัจจุบัน ซือ้ เพิม่ เติมรวมแล้วประมาณ 120 ไร่ มีพนื้ ทีป่ า่ ทีใ่ ห้ทางวัดดูแลทีไ่ ว้ได้ ประมาณอีก 500 ไร่ เดิมเป็นวัดร้างชื่อ วัดน�้าบ่อติ๊บ (น�้าบ่อทิพย์) ไม่ปรากฏ ปี พ.ศ.ในการสร้าง และนามผู้สร้าง แต่ยังปรากฏหลักฐาน เป็นศาสนวัตถุ คือ น�า้ บ่อทิพย์ และอุโบสถหลังเก่า ซึง่ มีสภาพภูมทิ ศั น์ โดยทั่วไปเป็นที่ราบสูง สภาพป่าเป็นป่าเสื่อมโทรมไม่มีแหล่งน�้าใดๆ ในพืน้ ที่ สถานทีแ่ ห่งนีจ้ งึ เหมาะสมทีจ่ ะเป็นสถานทีป่ ลูกป่าและบูรณะ พัฒนาวัดให้เป็นที่มีพระสงฆ์จ�าพรรษาเพื่อดูแลรักษาป่าไปด้วย ในปี พ.ศ. 2537 พระเดชพระคุณหลวงพ่อพระราชรัตนากร อดีตเจ้าอาวาสวัดพระธาตุดอยสุเทพ และพระเดชพระคุณหลวงพ่อ พระธรรมเสนาบดี ได้ร่ว มกัน ฟื้น ฟูบูรณปฏิสัง ขรณ์ วัด ร้ า งแห่ ง นี้ 244

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

ให้เป็นวัดมีพระสงฆ์สามเณรอยูจ่ า� พรรษา และเพือ่ ถวายเป็นพระราชกุศล แด่พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมพิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ที่ทรงครองสิริราชสมบัติครบ 50 ปี พ.ศ. 2539 ล�าดับเจ้าอาวาส 1. พระราชรัตนากร (ค�า ธมฺมจาโร ป.ธ.4) พ.ศ. 2539 - พ.ศ. 2541 (ผู้ริเริ่มสร้าง) อดีตเจ้าคณะอ�าเภอดอยเต่า อดีตเจ้าอาวาสวัดพระธาตุ ดอยสุเทพราชวรวิหาร 2. พระญาณสมโพธิ (ธงชัย สุวณฺณสิร ิ ป.ธ.7) พ.ศ. 2541 - พ.ศ. 2546 เจ้าคณะอ�าเภอแม่วาง เจ้าอาวาสวัดพระธาตุดอยสุเทพวรวิหาร (รักษาการเจ้าอาวาส) 3. พระครูสุตกิจจาภิรม (อุทัย อาทิจฺโจ ป.ธ.3) เจ้าคณะต�าบล ดอนเปา เขต 2 ตั้งแต่ พ.ศ.2546 - ปัจจุบัน


วัดได้แบ่งกิจกรรมเป็น 2 ส่วน ประกอบด้วย 1. การวางศิลาฤกษ์พระวิหาร โดยส่วนราชการ มีนายวีระชัย แนวบุญเนียร ผูว้ า่ ราชการจังหวัดเชียงใหม่เป็นประธาน โดยฝ่ายคณะสงฆ์ มีพระธรรมสิทธาจารย์ (หนู ถาวโร ป.ธ.5) เจ้าคณะจังหวัดเชียงใหม่ เป็ น ประธาน พร้ อ มทั้ ง พระราชรั ต นากร (ค� า ธมฺ ม จาโร ป.ธ.4) เจ้าอาวาสวัดพระธาตุดอยสุเทพ ราชวรวิหาร คณะสงฆ์คณะศรัทธา ประชาชนทุ ก หมู ่ เ หล่ า ร่ ว มกั น วางศิ ล าฤกษ์ ส ร้ า งวิ ห าร ขึ้ น เมื่ อ วันที่ 7 สิงหาคม 2537 2. โครงการอนุรักษ์การปลูกป่าต้นไม้เฉลิมพระเกียรติฯ โดยมี นายช�านาญ จันทพิรกั ษ์ ป่าไม้เขตเชียงใหม่เป็นประธาน การด�าเนินการ ยกวัดร้างน�้าบ่อติ๊บได้พัฒนามาพร้อมๆ กับการอนุรักษ์ป่า โดยได้ส่ง พระภิกษุจากวัดพระธาตุดอยสุเทพฯ มาอยู่จ�าพรรษาเป็นชุดแรก จ�านวน 4 รูป ด้วยกัน การพัฒนาก้าวหน้ามาเป็นล�าดับ จนเมื่อวันที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2539 จึงได้ท�าการยกช่อฟ้า วิหารเฉลิมพระเกียรติข้ึน โดยฝ่ายคณะสงฆ์มีพระธรรมสิทธาจารย์ เจ้าคณะจังหวัดเชียงใหม่เป็นประธาน ฝ่ายคฤหัสถ์มีนายวีระชัย แนวบุญเนียร ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นประธาน ได้จัดงานบุญฉลอง ถวายเป็นพระราชกุศลในวโรกาสครองราชย์ 50 ปี การพัฒนาวัดได้พัฒนามาอย่างต่อเนื่องโดยตลอดจนถึงวันที ่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2543 ก็ได้ยกวัดร้างขึ้นเป็นวัดที่มีพระภิกษุอยู่ จ�าพรรษา และได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2544 และเปลีย่ นชือ่ ให้เป็นมงคลนามอันสอดคล้องกับปัจจุบนั ว่า วัดดอยสัพพัญญู วัดดอยสัพพัญญูเป็นสถานที่บ�าเพ็ญประโยชน์หลายประการ ดังนี้ 1. เป็นสถานที่ประกอบพิธีกรรมทางพระพุทธศาสนา 2. เป็นสถานศึกษาแก่พระสงฆ์สามเณรทั้งฝ่ายปริยัติธรรมแผนก นักธรรมและบาลี และปริยัติธรรมแผนกสามัญ (ม.1 - ม.6) 3. เป็นสถานทีอ่ บรมคุณธรรมและจริยธรรมแก่หน่วยงานภาครัฐและ เอกชน ตลอดถึงศรัทธาประชาชน นักเรียน นักศึกษาจากสถานศึกษาต่างๆ 4. ใช้เป็นสถานที่อบรมโครงการสามเณรภาคฤดูร้อนทุกๆ ปี 5. ใช้เป็นสถานที่เปิดสอนโรงเรียนพุทธศาสนาวันอาทิตย์ 6. เป็นศูนย์กลางในการศึกษาธรรมชาติในลักษณะอุทยานการศึกษา อันเป็นสถานที่อนุรักษ์ป่าไม้ และพืชสมุนไพรต่างๆ 7. เป็นสถานที่อบรมบาลีก่อนสอบสนามหลวงประโยค ป.ธ. 1-2 ถึง ป.ธ.9 ประจ�าภาค 7 โดยงานอบรมบาลีก่อนสอบคณะสงฆ์ ภาค 7 จะเริ่ ม ตั้ ง แต่ เ ดื อ นพฤศจิ ก ายน หลั ง สอบนั ก ธรรมชั้ น โท ชั้นเอก จนถึงเดือนมกราคม ก่อนสอบบาลี เป็นประจ�าทุกปี 8. เป็นสถานที่ด�าเนินกิจกรรมของคณะสงฆ์ CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

245


กราบสรีระสังขารหลวงปู่ครูบาธรรมชัย ในดินแดนพระนิพพาน

History of buddhism....

WAT DOI SAPPHANYU Paying homage to sky-high pagoda and Buddha image on four directions. Dharma-studying Park, preserving forest and various kinds of medicinal plant.

WAT DOI SAPPHANYU is located at Ban Huai Niam, village no.6, Don Pao sub-district, Mae Wang district, Chiang Mai province. Formerly, its area was approximately 30.4 acres which it is around 48 acres now. There is approximately 200 acres of land which is forest area that under the care of this temple. This temple was an abandoned temple which its name was Wat Nam Bor Tip (Nam Bor Thip). The date of its establishment and name of the founder were unknown. However, there were evidences which are religious objects as follows: sacred wellhouse and old ubosot which its landscape was a highland and state of the forest was decadent without any water source. Therefore, this place was suitable for afforesting and temple establishment which is to make this temple a place where monk can live and take care the forest at the same time. At present, Phra Khru Sutkitjaphirom (Uthai Artidjo, graduation in third level of Buddhist theology),

246

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


In B.E.2537, Phra Det Phra Khun Luang Phor Phra Ratcharattanakon, former abbot of Wat Phra That Doi Suthep and Phra Det Phra Khun Luang Phor Phra Thamsenabordi, jointly reconstructed this abandoned temple to the temple where monks and novices can live or stay during Buddhist lent which they had offered the merit from this construction to late King Rama IX on 9 June B.E.2539 which is the year of 50th anniversary of his reign. They had divided activities that they performed into two parts as following: 1. Foundation stone of Buddha image hall-laying ceremony which is performed on 7 August B.E.2537. 2. Afforesting and forest conservation for the glorification on Royal family project The development of this temple has been operating continuously until 30 June B.E.2543, it was elevated from an abandoned temple to livable temple for monks. Moreover, it was granted Wisungkhamsima (Land granted from Royal family to build temple or other religious buildings) on 12 April B.E.2544. Then, its name was changed to auspicious name which is the current name, Wat Doi Sapphanyu.

Wat Doi Sapphanyu is the place that can be utilized in various ways such as place for performing religious rites of general people. School for monks and novices whether tripitaka-studying faction, Dhamma student department, Pali department and general education department (7th grade – 12th grade). The place for teaching virtue and morality to government sector and private sector, including general people, students and university students from various schools and universities. The place for arranging novice ordination project in summer annually. It is the Sunday school for teaching Buddhism. It is the center of nature education in the form of education Park which is forest and medicinal plants conservation place. It is the place of Western Thailand that teaching Pali language to monks and novices before they take an exam regarding Buddhist theology, but only first level – fifth level of Buddhist theology. Lastly, it is the place for performing activities of clergy which there is test-grading of aforementioned exam and the meeting of clergy is usually held here. Paying homage to sky-high pagoda of Wat Doi Sapphanyu At view point on the hill which tower with panoramic view, bottom is the view of Don Pao sub-district. Paying respect to Buddha image on four directions. Wat Doi Sapphanyu always arrange Buddhist activities for the whole year. There is also cultural ceremony on the end of Buddhist lent annually which is Tak Bat Devorohana. CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

247


土井三番宇寺庙 人们喜欢朝拜天佛塔,朝着四个方向朝拜佛像, 寺庙内有佛法研究公园,森林保护区和各种药用植物。

土井三番宇寺庙 (Doi Sampan yu Temple) 位于清迈 mae wang区 Don Pao街道 6号 Ban Hua y Niem。本来 的面积大概有76莱,目前已额外购买,总计大概120 莱。拥有大概500莱的森林面积。以前是空无一人的 寺庙叫圣水寺庙,没有创作年份和创作者。

248

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

但仍然是宗教文物出现是圣水和旧教堂,具有高原 的总体景观 森林是退化的森林,该地区没有任何水 源,因此这个地方适合种植森林和翻新寺庙,所以要 有僧侣为了保护森林。目前, Sutakitchapirom大师傅 是第2区Don Pao街道的院长,担任住持。


1994年,凭借ratcharatnakorn大师傅,Phra That Doi Suthep 寺庙的住持和 Dhammakdi大师傅。 他们一起 修理了这座寺庙,成为僧侣可以居住的寺庙。1996年 6月9日,并向拥有50年宝座的国王普密蓬·阿杜德 (Bhumibol Adulyadej)进行皇家慈善,该活动分为两 个部分,第一个部分,1994年8月7日寺庙的仪式。 第二个部分,荣誉林木保护项目。

寺庙的发展一直在不断发展,直到2000年6月30 日,这座废弃的寺庙名为和尚。 并于2001年4月 12日获得了荣誉,并更改名称 ”土井三番宇寺 庙”。

这个寺庙有很多好处,例如,佛教信仰,风俗 和家庭的礼拜场所,以及佛法和达利和巴利教区 的新僧侣的学习中心。 通识教育科(M.1-M.6) 是公共和私人机构培训道德的地方,来自各个教 育机构的学生每年都在这里训练暑期沙弥课程。 是学习自然的中心。学习公园是森林保护的地 方 和各种药用植物,神职人员活动的地方。 可以在土井三番宇寺庙敬拜天塔 360度丘陵塔 的视点下,下面是Don Pao街道的风景和朝四个方 向拜佛。土井三番宇寺庙全年有佛教活动,并且 有一年一度的功绩典礼。

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

249


ทีส ่ ด ุ แห่งการบันทึก ความทรงจ�า SBL บันทึกประเทศไทย SBL บันทึกประเทศไทย น�าเสนอเรื่องราวของจังหวัดต่างๆ ทั่วประเทศไทย อย่างเจาะลึก และครอบคลุมทุกมิติ อาทิ มิติด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ จากหน่วยงาน ราชการส�าคัญในจังหวัด มิติด้านการท่องเที่ยวที่สดใหม่ ทันสมัย ทั้งสถานที่เที่ยว ที่พัก ร้านอาหาร ร้านกาแฟ ฯลฯ มิติด้านอุตสาหกรรม-การค้าการลงทุนที่เป็นตัวขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ตลอดจนมิติด้านการศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม และวิถีชีวิต ที่มีจุดเด่นและมีเอกลักษณ์น่าสนใจ

Magazine

www.sbl.co.th


History of buddhism....

วัดสันปูเลย วัดพัฒนาตัวอย่าง ที่มีผลงานดีเด่น ประจําปี 2558 พระครูกัลยาณวัตรสุนทร (ไมตรี) เจ้าคณะอ�าเภอแม่แตง เจ้าอาวาสวัดสันปูเลย

วัดสันปูเลย เดิมชื่อวัดสะหรีบุญนาค ตั้งอยู่เลขที่ 121/1 หมู่ 6 ต�าบลแม่แตง อ�าเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย วั ด สั น ปู เ ลย สร้างขึ้น เมื่อปี พ.ศ. 2420 ได้ รั บพระราชทาน วิสุงคามสีมา พ.ศ. 2541 วัดสันปูเลยเป็นวัดที่ได้รับคัดเลือกจาก ส� า นั ก งานพระพุ ท ธศาสนาแห่ ง ชาติ ให้ เ ป็ น วั ด พั ฒ นาตั ว อย่ า ง ที่มีผลงานดีเด่น ประจ�าปี พ.ศ. 2558 CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

251


History of buddhism....

วัดทุ่งหลวง กราบสรีระสังขารหลวงปู่ครูบาธรรมชัย ในดินแดนพระนิพพาน

ปรากฏเป็นหลักฐานจากหนังสือกรมการศาสนา ว่าก่อตั้งขึ้นเมื่อ ปี พ.ศ. 2482 ชือ่ วัดทุง่ หลวง 119 หมูท่ ี่ 1 ต�าบลแม่แตง อ�าเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ ตั้งอยู่บนถนนสายเชียงใหม่-ฝาง กม.42 เลี้ยวซ้าย เข้าถนนซอยสายบ้านทุ่งหลวง 3 กม. แต่เดิมเป็นเพียงอารามสงฆ์ พื้ น ที่ 5 ไร่ เ ศษ มี ศ าลาส� า หรั บ ประกอบศาสนกิ จ ที่ ส� า คั ญ เป็ น โครงสร้างไม้ หลังคามุงใบตองตึง พระสงฆ์มาจ�าพรรษาชั่วคราว ไม่แน่นอน 252

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


ปี พ.ศ. 2497 ผู้น�าชาวบ้านบ้านทุ่งหลวงทราบกิตติศัพท์ คุณ ความดีของครูบาธรรมชัย ธมฺมชโย อายุ 40 ซึ่งจ�าพรรษาที่วัดถ�้าตับ เต่า อ�าเภอไชยปราการ ทุกคนพร้อมใจกันมากราบอาราธนาท่านมา ช่วยเป็นหลักชัยในการพัฒนาศาสนบุคคลและศาสนสถานให้เจริญ มั่นคงถาวร เมื่อวันที่ 15 เมษายน พ.ศ. 2497 บนพื้นที่ 19 ไร่ 90 ตารางวาในปัจจุบัน ปี พ.ศ. 2531 ได้รับการยกย่องเป็นวัดพัฒนาตัวอย่าง ปี พ.ศ. 2537 ได้รับการยกย่องเป็นอุทยานการศึกษา ปี พ.ศ. 2540 ได้รบั การยกย่องเป็นวัดพัฒนาดีเด่นประจ�าจังหวัด ปณิธานหลวงปูฯ่ ตัง้ ใจให้วดั ทุง่ หลวงเป็นสถานสงเคราะห์ชาวบ้าน ทั่วไปด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่นแพทย์แผนไทย ด้วยการจัดตั้งโรงอบยา สมุนไพร และยาสมุนไพรบ�าบัดโรคภัยไข้เจ็บขั้นพื้นฐาน จารึกต�ารา ยาต่างๆ รอบก�าแพงวัดเพือ่ เป็นแหล่งเรียนรูค้ าถาอาคมต่างๆ บนวิหาร และศาลาเพื่อรักษาไว้เป็นมรดกภูมิปัญญาท้องถิ่น หลวงปูไ่ ด้สร้างสถานปฏิบตั ธิ รรมชือ่ เมืองนิพพาน พืน้ ที ่ 14 ไร่เศษ ปัจจุบันเป็นวัดหนองบัว (เมืองนิพพาน) ห่างจากวัดทุ่งหลวง 1 กม. เมื่อปี พ.ศ. 2522 บรรยากาศร่มรื่นเป็นธรรมชาติ เหมาะส�าหรับ อบรมขัดเกลาจิตใจให้เข้าถึงมรรค ผล นิพพานตามความสามารถ ของปัจเจกบุคคล หลวงปูฯ่ อาพาธด้วยโรคเส้นเลือดหัวใจตีบ แต่ดว้ ยความเด็ดเดีย่ ว มั่นคงของท่านได้เดินทางไปกรุงเทพมหานครเป็นครั้งสุดท้ายเพื่อร่วม ถวายพระพรแด่ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที ่ 9 ครบ 60 พรรษา ท่านได้เข้ารับการรักษาทีโ่ รงพยาบาลจุฬา ห้องผู้ป่วยฉุกเฉิน หลวงปู่ฯ ประคองร่างกายด้วยลมหายใจสุดท้าย สวดถวายในหลวงจนเสร็จสิ้นภารกิจ เพื่อชาติ ศาสน์ กษัตริย์ สม เจตนารมณ์ เมื่อคืนวันเสาร์ที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2530 สิริอายุ 73 ปี 6 เดือน ปัจจุบันสรีระหลวงปู่ฯ ตั้งไว้ที่ศาลาวรเวทย์ เพื่อให้ศิษยานุศิษย์ ได้กราบไหว้แสดงความกตัญญูกตเวทีตอ่ บุรพาจารย์ ก�าหนดบ�าเพ็ญกุศล ปลายเดือนธันวาคมของทุกปี

เสนาสนะ ณ วัดทุ่งหลวง วิหารหลวง ใช้ประกอบศาสนพิธีส�าคัญต่างๆ โรงอบยาสมุนไพร ศาลาเภสั ช พระธาตุ กุ ฏิส งฆ์ เรื อ นพั ก ต่ า งๆ เพื่อประโยชน์ต่อ พุทธศาสนิกชนทั่วไป อุโบสถ ประดิษฐานหน้าบัน ภปร. ประกอบพิธี ผูกพัทธสีมา-ฝังลูกนิมิต 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2538 ประกอบสังฆกรรม ที่ส�าคัญ เช่น บรรพชา-อุปสมบท กฐินกรรม ปริวาสกรรม ภายใน อุโบสถมีภาพเขียนอัตชีวประวัติ 15 ภาพ สีน�้าอะครีลิค โดย อ.โอภาส นาคบัลลังก์ พร้อมงานศิลปกรรมลายปูนปั้นแบบล้านนา มีวิหารคด รายรอบ 3 ด้าน ผู้มีจิตศรัทธาร่วมรักษาศาสนสมบัติ เพื่อถวายเป็นพุทธบูชา ธรรมบูชา สังฆบูชาได้ที่ ธนาคารกรุงเทพ สาขาตลาดแม่มาลัย ชื่อบัญชี วัดทุ่งหลวง เลขที่ 458-038-6177 ขออนุโมทนา สาธุเป็นอย่างยิ่ง CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

253


กราบสรีระสังขารหลวงปู่ครูบาธรรมชัย

History of buddhism....

WAT THUNG LUANG Paying homage to body of Luang Pu Khruba Thammachai in the land of nirvana

Story of Wat Thung Luang Mae Taeng, Chiang Mai, Thailand According to evidence in the document of department of religious affairs, this temple was built in B.E.2482, its name was Wat Thung Luang. It is located at 119 village no.1, Mae Taeng sub-district, Mae Taeng district, Chiang Mai province, 42nd kilometers of Chiang Mai-Fang road, turning left to access Sai Ban Thung Luang road and travel to 3 kilometers to reach the temple. Formerly, this place was just a small temple without royal bound Buddhist stone which is situated on approximately 2 acres of land. There was only one wooden pavilion that roofed with Tong Teung leaves, used for performing significant religious 254

SBL บันทึกประเทศไทย II เชียงใหม่

ceremony. Buddhist monks sometime came to this temple to stay temporarily. B.E.2497 – Leader of villagers of Ban Thung Luang heard of Khruba Thammachai Thammachaiyo’s prestige, who stayed at Wat Tham Tub Tao, Chai Prakan district, which he was 40 years old at that time. The leader and others jointly invited him to be spiritual center on monk and religious place development to make it prosper permanently. They invited him to this temple on 15 April B.E.2497. At present, the scale of temple’s area is 7.6 acres and 360 square meters.


B.E.2531 – It was honored to be the model temple of development. B.E.2537 – It was honored to be park of education. B.E.2540 – It was honored to be excellent temple on development of Chiang Mai Luang Pu Khruba Thammachai’s determination is to make Wat Thung Luang become locals-supporting place by using folk wisdom of Thai traditional medicine by establishing herbal medicine steaming building which provide herbal medicine to locals for curing general sickness. There are various kind of medicinal formulas inscribed on temple’s wall to be a learning center for anyone who want to study these formulas including the studying on many incantations in vihara and pavilion in order to preserve this local knowledge. Luang Pu established dharma-practicing place name Land of Nirvana in B.E.2522. Total scale of this temple’s land is around 5.6 acres which it currently is Wat Nong Bua (Land of Nirvana), it is 1 kilometer from Wat Thung Luang. An environment in this area is shady and natural which is suit for training one’s mind to reach an enlightenment and nirvana but it depends on each person’s potential. Luang Pu was sick due to Ischemic heart disease, but his steady determination had supported him to travel to Bangkok for one last time in order to bless to the late king Rama IX on the king’s 60th anniversary. Luang Pu was hospitalize at emergency room of Chulalongkorn hospital. Luang Pu sustained himself with his last breath until he finished his chanting for the late king like he had completed the mission for nation, religion and monarch on Saturday’s night of 5 December B.E.2530. He passed away when he was 73 years and 6 months old. At present, body of Luang Pu Khruba Thammachai is placed at Woravet pavilion for his disciples can pay their respect to him and express their gratitude. The schedule of merit-making for Luang Phu is set on end of December annually.

IMPORTANT BUILDINGS AT WAT THUNG LUANG

Great Buddha image hall – It is the place for performing significant religious ceremonies. Herbal medicine steaming building, pharmaceutical pavilion, pagoda for remains, monk’s houses, resting building for every Buddhist and Ubosot, the place where gable with king’s title carved on it, is enshrined. The monastic boundary-demarcating ceremony for this place was performed on 1 May B.E.2538. It is used for performing important religious rites such as ordination ceremony of monk and novice, ceremony of presenting robes to the Buddhist monks and for the monk to stay while under penalty of infringement on the Buddhist ruling. There are 15 acrylic paintings of Luang Pu Khruba Thammachai’s biography inside this ubosot, these paintings were painted by Mr.Opart Nakbanlang. There also is stuccowork in Lanna style in the ubosot. Lastly, an L-shaped Buddha image hall that surround 3 sides of this ubosot. LET US REJOICE IN YOUR MERIT AND GREATLY SALUTE YOU

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

255


通廊寺庙

佟路昂寺庙泰国清迈Mae Taeng 区

从宗教事务书籍中的证据出现这座寺庙,这座 寺庙建于1939年。佟路昂寺庙位于泰国清迈Mae Taeng 区第一村119 号,清迈-苏木路42公里,往 左边进去Soi ban tung luang 3 公里。 本来这个寺庙只是一家修道院5莱多还有一家 宝殿用来做很重要的事情。偶尔才有僧侣来记住。

256

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

1954年,村民领导知道吧他彩他吗彩哟老师(Ba tham chai thum ma chai yo) 的美德和善良、那 时候他在另外一座寺庙出家,知道他以后每个人 都在一起向他致敬,让他帮助大家都很顺利。 1988年,佟路昂寺庙被选为佛法练习室。 1994年,佟路昂寺庙被选为教育园区。 1997年,佟路昂寺庙被选为优秀寺庙。


大师傅的愿望是把佟路昂寺庙作为提供传统泰 药给当地人的地方,让大家一起建立药房和制作 草药、记住食谱。寺庙周围的墙壁上会有很多药 物配方和保护自己的经文咒语。 1979年,大师傅建立了一个叫作冥想中心的地 方,面积为14莱(22,400平方米),现在称为Nong Bua 寺庙。离佟路昂寺庙1公里。这里自然阴凉, 适合根据个人能力训练心灵进入涅磐的道路。 1987年12月5日星期六,大师傅患冠状动脉疾病 但是他坚持决定最后一次去曼谷,以纪念60岁的 普密蓬·阿杜德·拉玛九世国王。 最后呼吸支撑身体,祈祷直到国王国的任务结 束。为国家,宗教,国王做事。总年龄73岁零6个 月。 现时,大师傅的现身留在萨拉·沃拉威特 (Sala Worawet)每年的12月底会让学生对老师 表示感谢。

佟路昂庙宇的重要活动。

大教堂用于执行重要活动。草药医院,萨拉, 药房,佛塔,莲房,空房间为了普通佛教徒的利 益 1995年5月1日,佛堂用于执行镀金和执行重要 活动,例如圣训,圣贤,因果报应,自省。佛堂 里面有15本压克力水彩画画大师傅的自传,周围 有3个寺庙。

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

257


History of buddhism....

วัดหนองบัว สถานที่ปฏิบัติธรรมอันมั่นคง จรรโลงไว้ซึ่งศาสนสมบัติทางพระพุทธศาสนา พระอธิการสถิตย์ สิริวิชโย เจ้าอาวาส

วัดหนองบัว (เมืองนิพพาน) ตั้งอยู่ ต�าบลแม่แตง อ�าเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ เดิมเป็นที่รกร้างเขตป่าเสื่อมโทรม ชาวบ้านได้ใช้ ปลู ก พื ช ไร่ ห มุ น เวี ย นแต่ ล ะปี ตามค� า บอกเล่ า ว่ า เป็ น ที่ ตั้ ง ของ วัดสามเศรษฐีในอดีต ปรากฏเป็นซากปรักหักพังบนเนินเขาทิศตะวันออก ต่อมาพระครูวรเวทย์วิสิฐ (ครูบาธรรมชัย ธมฺมชโย) เจ้าอาวาส วั ด ทุ ่ ง หลวงได้ ป รารภมู ล เหตุ ก ารณ์ ส ร้ า งสถานปฏิ บั ติ ธ รรม “เมืองนิพพาน” บนพื้นที่ 14 ไร่ ดังนี้ 258

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

อนุสรณ์สถานท้าวสุรนารี (ย่าโม) อ�าเภอเมือง


ปี พ.ศ. 2516 พระสุธรรมยานเถร (ครูบาอินทจักร อินทจกฺโก) วัดวนารามน�้าบ่อหลวง อ�าเภอสันป่าตอง ซึ่งเป็นที่เคารพบูชาของ หลวงปู่ครูบาธรรมชัยเป็นอย่างยิ่ง ท่านได้ร่วมงานปฏิบัติธรรม อยู่ รุกขมูล เข้าโสสาป่าช้า ปริวาสกรรม ณ วัดน�้าบ่อหลวงเป็นประจ�า และยังได้ดูแลรักษาครูบาอินจักรในคราวที่อาพาธจากคุณไสยศาสตร์ จนหายเป็นปกติ ขณะที่แพทย์ทางโรงพยาบาลปฏิเสธ ครูบาอินทจักร มีสุขภาพดีขึ้นตามล�าดับ อยู่เป็นร่มโพธิ์ของคณะศรัทธาหลายปี ปี พ.ศ. 2521 ครูบาอินทจักรก็อาพาธอีกครั้ง ท่านได้พักรักษา ทีโ่ รงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ หลวงปูฯ่ ได้พาคณะศิษย์เดินทาง ไปเยี่ยมและดูแลรักษาสุดความสามารถด้วยภูมิปัญญาของท่าน จน ครูบาฯ ได้ขอให้หยุดการช่วยเหลือครั้งนี้ด้วยเหตุแห่งสังขารร่างกาย ย่อมเสือ่ มไปเป็นธรรมดา ท่านครูบาได้มรณภาพเมือ่ อายุ 85 ปี คณะศิษย์ ได้จัดงานบ�าเพ็ญกุศลศพครบ 7 วัน อนุญาตปิดทองค�าเปลวสรีระ ท่านทัง้ องค์ ขณะนัน้ คณะศิษย์ตา่ งได้ปรารภถึงดวงจิตของท่านครูบาสถิต ณ ที่วัดหลวงปู่ครูบาธรรมชัยได้ตั้งสัตยาธิษฐานในคราวครั้งนี้ต่อหน้า สรีระในโลงแก้ว ภาพถ่ายปรากฏเป็นอัศจรรย์ เห็นเพียงศีรษะครูบาฯ ส่วนร่างนั้นหายไปกลับปรากฏเป็นปราสาท สายน�้า ต้นไม้แทนที่ ในโลงแก้วนั้น หลวงปู่ครูบาฯ จึงเชื่อมั่นว่าท่านครูบาอินทจักรสถิต ในชั้นนิพพาน พ้นจากวัฏสงสาร จุดมุ่งหมาย เมืองนิพพาน เพื่อเป็นสถานที่ปฏิบัติธรรมของพุทธบริษัทตามความเหมาะสม เพื่อความตั้งมั่น เจริญศรัทธาของพุทธบริษัท เพื่อจรรโลงไว้ซึ่งศาสนสมบัติสืบไป เพื่อความหลุดพ้นจากทุกข์ภัยในวัฏสงสารจากผลการปฏิบัติ

สถานปฏิบัติธรรม “เมืองนิพพาน” ประกอบด้วย สถูปสูง 40 เมตร บรรจุพระบรมสารีริกธาตุยอดบน คูน�้ารอบสถูป ความยาว 180 เมตร สะพานข้ามคูนา�้ 3 สะพาน หมายถึง ข้ามพ้นความโลภ ความโกรธ และความหลง เรือนไม้สัก ศาลาบ�าเพ็ญบุญ ศาลาพระไสยาสน์ ก�าแพงรอบวัด ไม้ยืนต้น ไม้ดอก ไม้ประดับ เพื่อให้บรรยากาศร่มรื่นเป็นที่ สัปปายะเหมาะแก่การปฏิบัติธรรม นิพพิททาสูตร ธรรมที่อ�านวยผลไม้ให้บรรลุนิพพาน 1. พิจารณาเห็นความไม่งามในกาย 2. พิจารณาเห็นความเป็นปฏิกูลในอาคาร 3. พิจารณาเห็นความไม่ยินดีในโลก 4. พิจารณาเห็นความไม่เที่ยงในสังขาร 5. เข้าไปตั้งมรณะสัญญาไว้ภายใน ทิฏฐิสูตร ธรรมเป็นเหตุให้สิ้นอาสวะ 4 ประการ 1. เนกขัมมวิตก ความตรึกในการออกจากกาม 2. อพยาบาทวิตก ความตรึกในความไม่ปรามาส 3. อวิหิงสาวิตก ความตรึกในความไม่เบียดเบียน 4. สัมมาทิฏฐิ ความเห็นชอบ CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

259


260

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


พิธีวางศิลาฤกษ์ก่อสร้างเมืองนิพพาน วันที่ 7 มิถุนายน พ.ศ.2522 ประกอบพิธีวางศิลาฤกษ์สร้างพระสถูป เมืองนิพพานโดยมี สมเด็จพระพุฒาจารย์(อาจ อาสโก) วัดมหาธาตุ กรุงเทพฯ พระธรรมโมลี เจ้าคณะภาค 7 วัดพระธาตุหริภญ ุ ชัย จังหวัดล�าพูน พระสุพรหมยานเถระ(ครูบาพรหมมา) วัดพระพุทธบาทตากผ้า จังหวัดล�าพูน ครูบา วัดห้วยเกี๋ยง หลวงปู่พล วัดหนองคณฑี พระภาวนาปัญญาวิสุทธิ์ วัดเทพศิรินทร์ กรุงเทพฯ พระครูชัยวงศ์วิวัฒน์(ครูบาหน้อย) วัดบ้านปง อ�าเภอแม่แตง ครู บ าชั ย วงศพั ฒ นา(ครู บ าวงศ์ ) วั ด พระพุ ท ธบาทห้ ว ยต้ ม จังหวัดล�าพูน พระสุธรรมยานเถร(หลวงพ่อฤาษีลิงด�า ) วัดท่าซุง อ�าเภอเมือง จังหวัดอุทัยธานี พระครูวรเวทย์วิสิฐ(ครูบาธรรมชัย ธมฺมชโย) ประธานฝ่ายสงฆ์ พล.อ.ทวนทอง สุวรรณทัต ประธานฝ่ายฆราวาส คุณประดิษฐ์ วิชาพาณิชย์ รองประธาน พล.ท. โสวัจ แพ่งสภา สถาปนิก และคณะศิษยานุศิษย์ทั่วไป จัดหาทุน

ท�าเนียบเจ้าอาวาส 1. พระครูวรเวทย์วิสิฐ 2. พระครูถวิล ชินวโร 3. พระแหลมไทย ชยธมฺโม 4. พระครูอาทรธรรมประโชติ 5. พระอธิการสถิตย์ สิริวิชโย

พ.ศ. 2522 - 2530 พ.ศ. 2532 - 2543 พ.ศ. 2543 - 2545 พ.ศ. 2545 - 2558 พ.ศ. 2558 - ปัจจุบัน

ร่วมสร้างเส้นทางบุญ ร่วมรักษาศาสนสมบัติกับวัดหนองบัว (เมืองนิพพาน) ได้ที่ ธนาคารกรุงเทพ สาขาตลาดแม่มาลัย ชื่อบัญชี วัดหนองบัว เลขบัญชี 458-0-74389-8 CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

261


History of buddhism....

วัดสันป่ายาง “การสั่งสมบุญที่ยิ่งใหญ่ การสร้างความดีให้มั่นคง ต้องใช้ความพยายาม ความอุตสาหะเป็นอย่างยิ่ง ทุกสิ่งสำเร็จได้ด้วยความเพียร ความอดทน อดกลั้นต่ออุปสรรคทั้งปวง”

พระเอกรัตน์ เอกรกฺขณเมธี เจ้าอาวาส

พระอินทร์สาน (สานด้วยไม้ไผ่ทั้งองค์) วัดสันป่ายาง ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 277 บ้านสันป่ายาง หมูท่ ี่ 2 ต�าบลสันป่ายาง อ�าเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ที่ดินตั้งวัด มีเนื้อที่ 5 ไร่ 3 งาน 66 ตารางวา วัดสันป่ายาง สร้างเมื่อ พ.ศ. 2275 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อวันที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2498 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 40 เมตร ยาว 80 เมตร

รูปวาดพระเวสสันดรบนผืนผ้าโบราณหนึ่งเดียวในล้านนา 262

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

อาคารเสนาสนะประกอบด้วย วิหารทางเมืองเหนือโบราณ ศาลาการเปรียญท�าด้วยไม้สัก กุฏิสงฆ์


ปูชนียวัตถุ วัดสันป่ายาง พระอินทร์สาน (สานด้วยไม้ไผ่ทั้งองค์) ธรรมาสน์โบราณ สัตตภัณฑ์ ภาพวาดลงบนผ้าเรื่องพระเวสสันดร การปกครองมีเจ้าอาวาสที่ทราบนามคือ รูปที่ 1 ครูบายาวิชัย ได้เป็นเจ้าอาวาส ปี พ.ศ. 2298 ถึงปี พ.ศ. 2338 ได้รับพระราชทาน เมื่อวันที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2298 ในเขตวิสงุ คามสีมา กว้าง 40 เมตร ยาว 80 เมตร, สมัยนัน้ มีพอ่ ขุนท้าว ปัญญาปวน เป็นผูป้ กครองหมูบ่ า้ นสันป่ายาง มีราษฎรอยู ่ 45 หลังคาเรือน รูปที่ 2 ครูบาศรีวิชัย ได้เป็นเจ้าอาวาส ปี พ.ศ. 2338 ได้เป็น เจ้าอาวาส ถึงปี พ.ศ. 2398 โดยมีพ่อขุนท้าวพญาพินิจ เป็นผู้ปกครอง หมู่บ้านสันป่ายาง มีราษฎรอยู่ 50 หลังคาเรือน รูปที่ 3 ครูบาศิริ จันโญ ได้เป็นเจ้าอาวาส ปี พ.ศ. 2398 ถึงปี พ.ศ. 2460 โดยมีพอ่ ขุนแก้วประชุมเป็นก�านันผูใ้ หญ่บา้ น ต�าบลสันป่ายาง อ�าเภอสันมหาพน จังหวัดเชียงใหม่ มีราษฎรบ้านสันป่ายาง 65 หลังคาเรือน รูปที่ 4 ครูบาดวงทิพย์ นนฺโท ได้รักษาการแทน ปี พ.ศ. 2460 ถึง ปี พ.ศ. 2461 ได้รับต�าแหน่งเป็นเจ้าอาวาส มีอายุ 32 ปี โดยมี เจ้าคณะจังหวัดเชียงใหม่ ได้แต่งตั้งครูบาดวงทิพย์ เป็นเจ้าอาวาส วัดสันป่ายาง ถึงปี พ.ศ. 2410 ครูบาก็ได้ถึงแก่มรณภาพไป รูปที่ 5 พระครูอดุ ม ธรรมพิลาส คือ พระอินทร อนุตตฺ โร ได้สบื ทอด จากครูบาดวงทิพย์ เมือ่ ปี พ.ศ. 2560 และได้เป็นเจ้าอาวาสวัดสันป่ายาง ถึงปี พ.ศ. 2535 ได้ย้ายออกไป รูปที่ 6 พระจ�านง กนฺตจารี ตัง้ แต่ป ี พ.ศ. 2535 และเป็นเจ้าอาวาส วัดสันป่ายาง ถึงปี พ.ศ. 2544 และได้ลาสิกขาออกไป

รูปที ่ 7 พระปรีชา คมฺภรี ปญฺโญ ตัง้ แต่ป ี พ.ศ. 2544 ได้เป็นเจ้าอาวาส วัดสันป่ายาง ถึงปี พ.ศ. 2550 และได้ลาสิกขาไป รูปที่ 8 พระประพันธ์ ฐานวโร ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2550-2560 รูปที่ 9 พระเอกรัตน์ เอกรกฺขณเมธี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2560 ได้เป็น เจ้าอาวาสวัดสันป่ายาง จนถึงปัจจุบัน

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

263


History of buddhism....

วัดหนองก๋าย พระครูไพสิฐ ธรรมโชติ เจ้าอาวาส

ศูนย์ปฏิบัติธรรมวัดหนองก๋าย อยู่ห่างจากวัดไปทางทิศใต้ประมาณ 600 เมตร มีพระภิกษุ จากทั่วสารทิศมาร่วมปฏิบัติธรรม เสริมสร้างบารมีกัน ณ ที่แห่งนี้ เป็นสถานที่เงียบสงบเหมาะแก่การปฏิบัติธรรม รวมถึงการเจริญ วิปสั สนากรรมฐาน ณ ศูนย์ปฏิบตั ธิ รรมวัดหนองก๋ายแห่งนี้ ยังเป็นสถานที่ จัดโครงการอบรมคุณธรรมสัญจร ปีการศึกษา 2562 ตามหลักสูตร ค่ายธรรมาวุธ “พัฒนาแกนน�าเด็กและเยาวชน” เพื่อถวายเป็น พระราชกุศล สมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ติ ิ์ พระบรมราชินนี าถ พระบรม ราชชนนีพันปีหลวง ตลอดทั้งปีอีกด้วย

264

SBL บันทึกประเทศไทย II เชียงใหม่


อนุสาวรีย์ครูบาศรีวิชัย ด้านหน้าวัดหนองก๋าย ลานครูบาศรีวชิ ยั ในบริเวณตัง้ อนุสาวรียค์ รูบาศรีวชิ ยั ตามประวัติ กล่าวไว้วา่ เมือ่ ปี พ.ศ. 2472 ครูบาศรีวชิ ยั ได้เดินทางมาพักตรงบริเวณนี้ เพื่อจะเดินทางไปกราบรอยพระพุทธบาทสี่รอยและก่อสร้างมณฑป (พระวิหาร) ครอบพระบาทสี่รอย การก่อสร้างต้องขนปูน เหล็กและ วัสดุก่อสร้างจากตรงนี้ เดินลัดป่าเขาขึ้นสู่วัดพระบาทสี่รอย หลังจาก ก่อสร้างทางขึ้นพระธาตุดอยสุเทพแล้ว ก็เลยเดินทางกลับบ้านเกิด ทีจ่ งั หวัดล�าพูน จึงไม่ดา� เนินการก่อสร้างทางขึน้ วัดพระพุทธบาทสีร่ อย ทางวัดพระพุทธบาทสี่รอยจึงได้ด�าเนินการก่อสร้างถนนขึ้นสู่วัดเอง โดยได้รับความร่วมมือจากกองทัพภาคที่ 3 และสาธุชนทั่วไป หลังจากที่ครูบาศรีวิชัยได้ท�าบุญฉลองวิหารครอบรอยพระบาท สี่รอยแล้ว ได้สั่งให้ท�าบุญสรงน�้า พระพุทธบาทฯ เป็นประจ�าทุกปี ในวันเพ็ญ 15 ค�่า เดือน 8 (ตรงกับเดือน 6 เหนือ) โดยให้มีการแห่ฆ้อง พร้อมเครื่องสังฆทานในเย็น - ค�่า วันเพ็ญ 14 ค�่า เรียกว่าเป็น ประเพณีเตียว (ภาษากลางแปลว่าเดิน) ซึ่งได้สืบสานกันต่อมาเรื่อยๆ จนกว่าจะมีพระศรีอริยเมตไตรยมาประทับรอยพระพุทธบาทสี่รอย เป็นรอยที่ 5 โดยรูปเหมือนของครูบาศรีวิชัยนี้จะอัญเชิญขึ้นพระธาตุ ดอยสุเทพก่อนวันวิสาขบูชาหนึง่ คืนและอัญเชิญขึน้ วัดพระพุทธบาทสีร่ อย ในเย็นวันขึน้ 14 ค�า่ ก่อนวันเพ็ญ 15 ค�า่ เดือน 8 (เดือน 6 เหนือ) 1 คืน

หลวงพ่อใจดี ด้านหน้าวัดหนองก๋าย มีน�้าหยดจากนิ้วเสมอ บ่อน�้าศักดิ์สิทธิ์ ไม่เคยแห้งเป็นที่มา อีกอย่างของหนองก๋าย

watnonggai

www.watnonggai.com

watnonggai@hotmail.com

0-5337-4095-6, 08-1765-6469 CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

265


History of buddhism....

วัดอรัญญวิเวก รำลึกปฏิปทา “พระอาจารย์เปลี่ยน ปัญญาปทีโป” อริยสงฆ์แห่งอรัญญวิเวก พระครูธรรมวิวัฒนคุณ ( เจริญ จตฺตสลฺโล ) ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาส

วัดอรัญญวิเวก ตั้งอยู่ที่หมู่บ้านปง ต�าบลอินทขิล อ�าเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ สังกัดคณะสงฆ์ธรรมยุติกนิกาย เดิมเป็นส�านักสงฆ์ เก่ า แก่ ม าแต่ อ ดี ต กาล ได้ มี ก ารจั ด ตั้ ง ขึ้ น จากบุ ค คลผู ้ ใ ฝ่ ใ นทาง พระพุทธศาสนาหลายตระกูลในหมู่บ้านปง ซึ่งล้วนแต่เป็นผู้ที่มีความ เชื่อ ความเลื่อมใสในบวรพุทธศาสนา ได้ประชุมปรึกษาหารือกันว่า พวกเราควรที่จะหานิมนต์พระครูบาอาจารย์ กัมมัฏฐานผู้มีคุณธรรม ให้มาอยู่ในที่ใดที่หนึ่งในหมู่บ้าน เพื่อฟังธรรมในค�าสั่งสอนของพระ สัมมาสัมพุทธเจ้า ต่ อ มาได้ ยิ น ข่ า วคราวว่ า มี พ ระกั ม มั ฏ ฐานมาพั ก อยู ่ ที่ วั ด เงี้ ย ว อ�าเภอแม่แตง จึงขออาราธนานิมนต์พระคุณเจ้าพระอาจารย์มั่น ภู ริ ทั ต ตเถระ มาภาวนาในช่ ว งเข้ า พรรษา เมื่ อ ออกพรรษาแล้ ว หลวงปู่มั่นจึงได้ชักชวนศิษยานุศิษย์ ปรารภจะออกจากที่นี่ไปเที่ยว ธุดงค์ตอ่ ไป จึงได้สงั่ คณะศรัทธาบ้านปงทีม่ าอุปฏั ฐากไว้วา่ สถานทีแ่ ห่งนี้ เราได้ตั้งชื่อว่า “ส�านักสงฆ์อรัญญวิเวก” ส�านักสงฆ์แห่งนี้จึงได้ชื่อว่า ส�านักสงฆ์อรัญญวิเวก ตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมา

266

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

ในส�านักนี้ได้มีพระอาจารย์กัมมัฏฐานหลายท่านหลายองค์มา จ�าพรรษา อาทิเช่น หลวงปูข่ าว อนาลโย วัดถ�า้ กลองเพล จังหวัดอุดรธานี หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี วัดหินหมากเป้ง จังหวัดหนองคาย หลวงปู่ชอบ ฐานสโม วัดป่าสัมมานุสรณ์ จังหวัดเลย หลวงปู่ตื้อ อจลธัมโม และ หลวงปูพ่ รหม จิรปุญโญ จังหวัดอุดรธานี หลวงปูค่ า� แสน คุณาลังกาโร, หลวงปู่โค่ง และ หลวงปู่ค�าอ้าย จังหวัดเชียงใหม่ เป็นต้น ต่อมาประมาณปี พ.ศ. 2495 หลวงปู่แหวน สุจิณโณ ได้กลับมา จ�าพรรษาอยู่ที่ส�านักนี้อีก 10 ปีและครูบาอาจารย์อีกหลายท่านก็ กลับมาแวะเวียนจ�าพรรษาเป็นช่วงๆ เมื่อออกพรรษาแล้วต่างก็พา กันเดินธุดงค์กันหมด ในภายหลังต่อมาหลวงพ่อเปลี่ยน ปัญญาปทีโป ท่านเป็นลูกศิษย์หลวงปู่พรหม หลวงปู่แหวน หลวงปู่ตื้อ ท่านได้ธุดงค์ มาพักอยู่องค์เดียวในปี พ.ศ. 2509 และจ�าพรรษาอยู่ในส�านักสงฆ์ แห่งนีจ้ นมรณภาพ เมือ่ เวลา 15.03 น. วันที ่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561 ด้วยอายุ 85 ปี ประวัติและปฏิปทา “พระอาจารย์เปลี่ยน ปญฺญาปทีโป” พระอาจารย์เปลี่ยน ปัญญาปทีโป เป็นพระภิกษุฝ่ายอรัญวาสี อดี ต เจ้ า อาวาสวั ด อรั ญ ญวิ เวก สั ง กั ด คณะสงฆ์ ธ รรมยุ ติ ก นิ ก าย นามสกุลเดิม วงษาจันทร์ เกิดเมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 ตรงกับวันพฤหัสบดี ปีระกา ณ บ้านโคกคอน ต�าบลโคกสี อ�าเภอ สว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร บิดาชื่อ กิ่ง มารดาชื่อ อรดี สกุลเดิม จุนราชภักดี บิดามารดาท�าการค้าขาย มีฐานะดี คุณตาเป็นก�านันอยู่ ที่ต�าบลโคกสี ชื่อ ขุน จุนราชภักดี และคุณยายรักท่านมากจึงรับท่าน มาเลี้ยงดูตั้งแต่ยังเล็ก ๆ ท่านมีพี่น้องร่วมบิดามารดา 6 คน


อุปสมบท พระอาจารย์เปลี่ยนเข้าพิธีอุปสมบทที่วัดธาตุมีชัย บ้านโคกคอน ต�าบลโคกสี อ�าเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร เมือ่ วันที ่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2502 พระอุปชั ฌาย์ชอื่ พระครูอดุลย์สงั ฆกิจ พระกรรมวาจาจารย์ ชือ่ พระครูพพิ ธิ ธรรมสุนทร ได้ฉายาว่า ปญฺญาปทีโป เนือ่ งจากวัดธาตุมชี ยั เป็นวัดฝ่ายมหานิกาย ดังนัน้ เมือ่ พระอาจารย์เปลีย่ นบวชแล้วจึงได้ยา้ ย ไปอยูว่ ดั ทุง่ สว่าง จังหวัดสกลนคร แสวงหาโมกขธรรม ด้วยความมุง่ มัน่ ของพระอาจารย์เปลี่ยนที่จะศึกษาธรรมะ ให้ถึงจุดหมายปลายทาง ของศาสนา ท่านได้พบกับพระอาจารย์ทไี่ ด้ยนิ กิตติศพั ท์ ทัง้ ภาคอีสาน ภาคใต้ และภาคเหนือ แต่ทพี่ ระอาจารย์เปลีย่ นอยูฝ่ กึ ปฏิบตั ธิ รรมด้วย นานๆ และรับใช้ใกล้ชิดอย่างสนิทสนมคือ หลวงปู่พรหม จิรปุญฺโญ, หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี, หลวงปู่ตื้อ อจลธมฺโม และ หลวงปู่แหวน สุจิณโณ ส่วนองค์อื่น ๆ เช่น อาจารย์จวน กุลเชฏโฐ ,หลวงปู่ขาว อนาลโย, หลวงปูค่ า� ดี ปภาโส, หลวงปูช่ อบ ฐานสโม, พระสุธรรมยานเถร (อินถา อินฺทจกฺโก), หลวงปู่สาม อกิญฺจโน, พระอุดมสังวรวิสุทธิเถร (วัน อุตฺตโม), หลวงปู่แว่น ธนปาโล และ หลวงพ่อผาง จิตฺตคุตฺโต ซึง่ เป็นพระอาจารย์ทที่ า่ นได้พบนัน้ ต่างมีเมตตาเทศน์อบรม ท�าให้ทา่ น มีความก้าวหน้าในการปฏิบัติธรรมยิ่งขึ้นไปเป็นล�าดับ

พระอาจารย์เปลี่ยนเป็นเจ้าอาวาสวัดอรัญญวิเวก อ�าเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2509 เป็นต้นมาจนกระทั่งละสังขาร เมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561 ด้วยอายุ 85 ปี ท่านได้รับการ ยอมรับในหมูน่ กั ปฏิบตั วิ า่ เป็นพระป่ากรรมฐานผูเ้ คร่งครัดในธรรมวินยั มีความเพียรอันยิ่งในการปฏิบัติ เป็นพระสุปฏิปันโนและเป็นพระแท้ ที่เปี่ยมด้วยความเมตตา ท่านเขียนหนังสือหลายเล่มเพื่อถ่ายทอด ธรรมะต่อสาธุชนแบบไม่มีค่าใช้จ่าย ธรรมบรรยายของท่านนั้นล้วน เป็นสิ่งที่ถูกต้องตรงกับพระธรรมวินัยและสามารถน�าไปใช้ในการ พัฒนาการปฏิบัติของตนเองได้เป็นอย่างดี การสอนของพระอาจารย์ เปลีย่ นทีส่ า� คัญนัน้ มุง่ เน้นการปฏิบตั ทิ นี่ า� ไปสูน่ พิ พานซึง่ เป็นจุดหมาย ปลายทางของการปฏิบัติในพระพุทธศาสนา วัดอรัญญวิเวก ตั้งอยู่ที่บ้านปง ต�าบลอินทขิล อ�าเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ รหัสไปรษณีย์ 50150 โทรศัพท์ (053) 857-544 , (053) 857-991 เวลาโทร. 7.30-8.30 น. CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

267


History of buddhism....

วัดป่าดาราภิรมย์ จากธุดงควัตรในป่าช้าครัง้ สำคัญของ พระอาจารย์มน่ั ภูรทิ ตฺโต ก่อกำเนิดวัดป่าดาราภิรมย์ โดย พระราชชายา เจ้าดารารัศมี ในรัชกาลที่ 5

วัดป่าดาราภิรมย์ พระอารามหลวง สังกัดธรรมยุตินิกาย ตั้งอยู่ เลขที่ 514 หมู่ที่ 1 ต�าบลริมใต้ อ�าเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ มีเนื้อที่ อาณาเขตของวัด 26 ไร่ ประกาศกระทรวงศึกษาธิการตั้งเป็นวัด ลง วันที่ 21 ธันวาคม พุทธศักราช 2481 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พุทธศักราช 2522 เนื้อที่กว้าง 17 เมตร ยาว 30 เมตร และได้ประกอบพิธีผูกพัทธสีมา เมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ พุทธศักราช 2523 ได้รับพระบรมราชานุญาต ให้ยกเป็นพระอาราม หลวงชั้นตรี ชนิดสามัญ เมื่อวันที่ 11 ธันวาคม พุทธศักราช 2542 อันเป็นปีเฉลิมฉลองพระชนมายุครบ 6 รอบ ของพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร รัชกาลที่ 9 ปัจจุบัน วัดป่าดาราภิรมย์ศูนย์กลางของการศึกษาพระปริยัติ ธรรมที่ส�าคัญวัดหนึ่งของ คณะสงฆ์ไทย โดยในปีพุทธศักราช 2517 ได้รบั การประกาศแต่งตัง้ เป็นโรงเรียนพระปริยตั ธิ รรม ประจ�าจังหวัด และ วัดป่าดาราภิรมย์ยังมีความส�าคัญในการเผยแผ่ศาสนธรรมอีกด้วย

268

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

พระอุโบสถ “พระราชชายา เจ้าดารารัศมี” ศาสนสถานส�าคัญแห่งวัดป่าดาราภิรมย์ สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆ ปริณายก(จวน อุฏฐายี) วัดมกุฏกษัตริยารามราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร เสด็จวางศิลาฤกษ์ เมือ่ วันที ่ 5 มกราคม พ.ศ. 2510 ได้เริม่ ก่อสร้างเมือ่ พ.ศ. 2521 ตั ว อุ โ บสถสร้ า งเป็ น ศิ ล ปล้ า นนา พระประธานเป็ น พระพุ ท ธรู ป ปางสมาธิ ศิ ล ปสุ โขทั ย ลงรั ก ปิ ด ทอง พระนามว่ า “พระสยัมภูโลกนาถ” พระบาทสมเด็จพระมหาภูมพิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชด�าเนิน พร้อมด้วย สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมพระศรีสวางควัฒน วรขัตติยราชนารี ทรงตัดลูกนิมิตอุโบสถ เมื่อ วันเสาร์ท ี่ 9 กุมภาพันธ์ พุทธศักราช 2523 พร้อมทัง้ ลงพระปรมาภิไธย และพระนามาภิไธยในแผ่นหินอ่อน โดยมีสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็ จ พระสั ง ฆราช สกลมหาสั ง ฆปริ ณ ายก (วาสน์ วาสโน) วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร เสด็จเป็น ประธานสงฆ์ในการเจริญชัยมงคลคาถารับเสด็จในครั้งนั้น


大兰壁隆林中寺庙

从曼师父到墓地严格修行那时, 大兰壁隆寺林中寺庙是拉玛五世国王的皇妃大兰拉色迷建立的。

大兰壁隆皇家修道院属于一种佛教教派叫做塔母 宇地教派,位于 514 第一村 林代分区 湄林区 清 迈 泰国。 1979年6月24号 国王恩赐地面积为 510平方米。 1980年2月9号 举行仪式 (琶提喜玛绑仪式)。 1999年 12 月11号,庆祝拉玛九世国王 (泰王 普密蓬)七十二周年圣诞, 国王恩赐大兰壁隆林 中寺庙为三等级的皇家修道院。 大兰壁隆林中寺庙目前是泰国僧伽的佛陀佛法 中心之一。 从1974年起,大兰壁隆林中寺庙被称为清迈的 佛陀佛法学校,还成为主要的佛教传教学校。

“大兰拉色迷佛殿” 为大兰壁隆寺庙的崇拜场所。 1967 年1月5号 泰国曼谷萌谷可拉萨利亚庙 二 等级皇家修道院的僧皇(专 吴塔易)奠定了基石, 1978 年成立寺庙。 佛殿建筑为兰那艺术, 佛像建筑为素可泰艺术 的冥想佛叫做“自成道佛”。 CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

269


History of buddhism....

วัดคุณานุสรณ์ โบราณสถานศักดิ์สิทธิ์สมัยขอมโบราณ พระครูโกวิทคุณานุสรณ์ เจ้าอาวาส

วัดคุณานุสรณ์ ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 21 บ้านสันคะยอม หมู่ 2 ต�าบลขีเ้ หล็ก อ�าเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดิน 6 ไร่ 2 งาน วั ด คุ ณ านุ ส รณ์ สร้ า งเมื่อ ปี พ.ศ. 2461 ชาวบ้า นเรียกว่า วัดสันคะยอม เดิมเป็นที่ร้างกลางทุ่งนา ครูบาคุณา คุณวโร และ พ่อแก่นอ้ ยปวน เป็นผูน้ า� ประชาชนย้ายวัดมาตัง้ ทีป่ จั จุบนั นีเ้ ป็นเนินป่า และร่วมกันกับคณะศรัทธาชาวบ้าน ช่วยกันพัฒนาวัดเรื่อยมาจนถึง ปัจจุบนั ได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมาเมือ่ วันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2517 เขตวิสุงคามสีมากว้าง 50 เมตร ยาว 80 เมตร อาคารเสนาสนะ ศาลาการเปรียญ กุฏิสงฆ์ วิหาร แบบไทยล้านนา

ศาลาบ�าเพ็ญกุศล โรงครัว โรงเก็บพัสดุ

ปูชนียวัตถุ พระพุทธรูปก่ออิฐถือปูน พระพุทธรูปสัมฤทธิ์ สมัยเชียงแสน และสัตตะภัณฑ์ 270

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


History of buddhism....

สำ�นักสงฆ์ วัดป่�ดอยวิเวก ศาสนสถานแห่งการปฏิบัติธรรม พระอาจารย์สมชาย น�สโภ ด�ารงต�าแหน่ง เจ้าอาวาสส�านักปฏิบัติธรรม

ส�านักสงฆ์วัดป่าดอยวิเวก เป็นวัดสาย พระกรรมฐาน ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นป่าม่วง ต�าบลแม่แรม อ�าเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ เดิมเป็นที่ของ ชาวบ้าน ต่อมาเกิดศรัทธา ได้น้อมถวายและ กราบอาราธนานิมนต์ พระอาจารย์สมชาย น� ส โภ สานุ ศิ ษ ย์ ใ นองค์ ห ลวงปู ่ เ ปลี่ ย น ปญฺญาปทีโป และเป็นลูกศิษย์หลวงปูบ่ วั เกต ปทุมสีโล ได้มาจ�าพรรษาและก่อสร้างวัดขึ้น ในปี พ.ศ. 2558 ซึ่งในอดีต บริเวณพื้นที่ ดังกล่าวเคยเป็นวัดเก่าแก่แต่เดิมก่อนที่จะ ล่ ม สลายไปตามกาลเวลาและเมื่ อ ก่ อ นนี้ นอกจากเสนาสนะแล้ ว ภายในวั ด ยั ง มี อุโมงค์ถ้�าที่พระกรรมฐานในยุคนั้นได้ใช้เป็น ที่ปฏิบัติธรรม แต่ในปัจจุบันชั้นหินผนังถ�้า ได้เกิดการยุบตัวลงปิดอุโมงค์ถ�้าจนไม่พบ ร่องรอยใดๆ คงเหลือเพียงค�าบอกเล่าจาก คนเฒ่าคนแก่สืบต่อกันมาเท่านั้น นอกจากนี้ ในพื้ น ที่ ต ามแนวเชิ ง เขาบริ เวณใกล้ เ คี ย ง ยังพบซากก้อนอิฐฐานเจดีย์เก่าที่ตกส�ารวจ หลายจุด ซึ่งสันนิษฐานได้ว่าในอดีตพื้นที่ ดังกล่าวนี้เคยเป็นเขตชุมชนมาก่อน และมี ความเจริญรุ่งเรืองมาก่อนหน้านี้แล้ว ในช่วง สมัยล้านนายุคต้นซึ่งมีอายุประมาณ 500 ปี และในปั จ จุ บั น ทางพระอาจารย์ ส มชาย น� ส โภ ได้ มี ก ารก่ อ สร้ า งศาลาขึ้ น เพื่ อ ให้ ญาติโยมได้มาปฏิบัติธรรมและมีการหล่อ พระพุทธรูปขึ้นซึ่งนามว่า พระพุทธเมตตา ในพรรษามีญาติโยมมาสวดมนต์ นั่งภาวนา ทุกวันพระ CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

271


History of buddhism....

วัดป่าเทพขันติการาม “สติเป็นธรรมเครื่องปลุกให้ตื่นจากทุกข์” พุทธพจน์ พระอาจารย์ภูเมธ สุเมโธ ดร. (หลวงพ่อปาน) ด�ารงต�าแหน่งประธานที่พักสงฆ์วัดป่าเทพขันติการาม (พระเมืองแก้ว)

ศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ธ รรม (ที่ พั ก สงฆ์ วั ด ป่ า เทพขั น ติ ก าราม) หรื อ วัดป่าเทพขันติการาม (พระเมืองแก้ว) ตั้งอยู่ที่หมู่ 3 ต�าบลห้วยทราย อ�าเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ โทร 087 837 5447 272

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


เดิ ม ในบริ เวณนี้ มี วั ด ร้ า งเก่ า แก่ อ ายุ ห ลายร้ อ ยปี อ ยู ่ 1 วั ด ชื่อวัดพระเมืองแก้ว ซึ่งทางชุมชนและคณะสงฆ์ซึ่งมีพระเทพปริยัต ิ (สะอาด ขนฺ ติ โ ก ป.ธ.7) เจ้ า คณะจั ง หวั ด เชี ย งใหม่ เจ้ า อาวาส วั ด เจ็ ด ยอด (พระอารามหลวง) และส� า นั ก งานพระพุ ท ธศาสนา จังหวัดเชียงใหม่ ได้ร่วมกันด�าเนินการส�ารวจแล้ว เมื่อวันที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2555 ในการนีไ้ ด้มคี วามเห็นว่าสถานทีน่ เี้ หมาะส�าหรับ ที่ จ ะยกฐานะจากวั ด ร้ า งให้ เ ป็ น วั ด ที่ มี พ ระภิ ก ษุ ส งฆ์ จ� า พรรษา จึงได้มอบหมายให้ พระอาจารย์ภูเมธ สุเมโธ ดร. (หลวงพ่อปาน) จากวัดสวนดอก (พระอารามหลวง) เป็นประธานที่พักสงฆ์ป่าเทพ ขั น ติ ก าราม(พระเมื อ งแก้ ว ) เพื่ อ ดู แ ลและด� า เนิ น การจั ด สร้ า ง ถาวรวัตถุในสถานที่แห่งนี้ ให้มีความพร้อมส�าหรับการยกฐานะจาก วัดร้างเป็นวัดที่ถูกต้องตามกฎหมายต่อไป จากนั้น หลวงพ่อปานได้นา� คณะศิษย์และศรัทธาญาติโยม ทั้งจาก ชุ ม ชนบ้ า นห้ ว ยทรายและที่ อ่ื น ๆ ได้ ด� า เนิ น การจั ด สร้ า งอาคาร เสนาสนะที่จ�าเป็นขึ้นเป็นการชั่วคราวโดยน�าวัสดุจากไม้ไผ่และวัตถุ ที่หาได้ในท้องถิ่นมาใช้ เพื่อให้พระภิกษุสงฆ์สามารถอยู่จ�าพรรษา และท�ากิจของสงฆ์พร้อมโปรดศรัทธาสาธุชนได้ต่อไป ปัจจุบนั พระอาจารย์ภเู มธ สุเมโธ ดร. (หลวงพ่อปาน) ด�ารงต�าแหน่ง ประธานที่พักสงฆ์วัดป่าเทพขันติการาม ท่านได้น�าคณะสงฆ์บ�าเพ็ญ สมณธรรมตามพระธรรมวินัยอย่างเคร่งครัด และสอนสาธุชนให้ บ�าเพ็ญบุญ ท�าทาน เจริญวิปัสสนากรรมฐานทุกวัน จนกระทั่งศูนย์ ปฏิบัติธรรม (ที่พักสงฆ์วัดป่าเทพขันติการาม) เป็นศูนย์กลางการ ปฏิบัติธรรมในต�าบลห้วยทรายและอยู่ในหัวใจของลูกศิษย์ รวมไปถึง คณะศรัทธาเพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง ด้วยหลวงพ่อจะให้เวลาเต็มทีใ่ นการ พาสาธุชนไปบ�าเพ็ญบุญตามวัดต่างๆ ที่ขาดจตุปัจจัยในทุกด้านเสมอ และทุกวันหลังการสวดมนต์ท�าวัตรเช้า- เย็นแล้ว หลวงพ่อปาน ก็จะแสดงธรรม ให้น้อมน�าธรรมะไปปฏิบัติในชีวิตประจ�าวันอย่างต่อ เนื่องเพื่อให้พบความร่มเย็นแห่งจิตใจอันจะเป็นต้นทุนที่ส�าคัญในการ ด�าเนินชีวิตอย่างมีสติสัมปชัญญะพร้อมรับกับทุกสถานการณ์ ดังนี้... “ขอให้หลับฝันดี ในกระแสบุญที่ได้ท�ามาดีแล้ว ทั้งในอดีตและปัจจุบัน ก่อนนอนภาวนา นะโมพุทธเมตตา ตื่นมาขอให้พบแต่ความสุขเทอญ”

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

273


History of buddhism.... วัดพระธาตุจอมแตง หรือ วัดพระธาตุดอยจอมแตง ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 50 หมู่ที่ 11 ต�าบลสันโป่ง อ�าเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ มีเนื้อที่จ�านวน 23 ไร่ 3 งาน 25 ตารางวา ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 10 มกราคม 2528 และทางกรมศิลปกรได้มาส�ารวจขึ้นทะเบียนเป็น โบราณสถาน เป็นเจดียพ์ ระธาตุจอมแตงเป็นปูชนียสถาน ประกาศขึน้ ทะเบียนในราชกิจจานุเบกษา วันที่ 5 มกราคม พ.ศ. 2497 พืน้ ทีข่ องวัดตัง้ อยูบ่ นเนินเขาเล็กๆ โดยมีเจดียพ์ ระธาตุจอมแตงและ อุโบสถเป็นศูนย์กลางบนยอดดอย มีปูชนียวัตถุเจดีย์ 2 องค์ องค์ใหญ่ และองค์เล็ก ตั้งอยู่บนฐานเดียวกัน มีฐานกว้าง 8 เมตร ยาว 8 เมตร สูง 15 เมตร ลักษณะปูนปั้นแบบโบราณ มีฐานเจดีย์ขึ้นไปถึงฐานยอด เจดียม์ ี 9 ชัน้ ทรงระฆังคว�า่ มียอดพระเจดียป์ ลายแหลมทรงกลม มียอด ฉัตรทองเหลือง ๗ ชัน้ ยอดฉัตรหุม้ ด้วยทองค�าแก้วกอ แบบศิลปะล้านนา เจดียอ์ งค์เล็กซุม้ พระอยูด่ า้ นทิศตะวันตก ประดิษฐานพระพุทธรูปอายุ 1,000 ปีหนั พระพักตร์ไปทิศตะวันตก เจดียอ์ งค์ใหญ่บรรจุพระเกศาธาตุ พระพุทธเจ้าไว้ภายในลูกแตงกวา วัดนี้จึงได้ชื่อว่า พระธาตุจอมแตง และเป็นสถานที่ส�าคัญอันศักดิ์สิทธิ์ของชาวอ�าเภอแม่ริม ต�านานพระธาตุจอมแตง ตามต�านานกล่าวไว้วา่ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าพร้อมเหล่าพระสาวก เสด็จมาโปรดเวไนยสัตว์ เสด็จลงมาตามล�าน�้าแม่ระมิงค์จนเสด็จ ถึงบริเวณดอยแห่งนี้ เป็นดอยขี้แรด มีชาวลั๊วตายายสองคนได้น�า ลูกแตงกวามาถวายพระพุทธเจ้า พร้อมด้วยเหล่าสาวกทั้งหลาย เมื่อพระพุทธเจ้าเสด็จไปแล้ว พระพุทธเจ้าได้ประทานพระเกษา ไว้ในแตงกวาให้กับสองตายาย ชาวลั๊วะสองตายายจึงได้น�าลูกแตง พร้อมพระเกษาธาตุจากพระพุทธเจ้าไว้เป็นทีส่ กั การบูชา จึงได้รว่ มกัน สร้างสถูปธาตุไว้ ณ บริเวณดอยแห่งนี ้ จึงได้ชอื่ ว่า พระธาตุดอยจอมแตง 274

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

วัดพระธาตุจอมแตง กราบไหว้บชู าสักการะพระเกษาธาตุพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระครูวสิ ทุ ธิเจติยาภิบาล (สุระ วิสทุ ธฺ ญ ิ าโณ) ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาส

ประวัติความเป็นมา ไม่ปรากฏหลักฐานผู้สร้างวัดชัดเจน สันนิษฐานกันว่าประมาณปี พ.ศ. 2275 มีพระมหาเถระ 2 รูป เดินทางมาจากประเทศพม่า ได้มา บ�าเพ็ญบารมีธรรม ณ ที่แห่งนี้ ได้ชักชวนชาวบ้านที่อยู่ไม่ไกลจากที่น ี่ ร่วมกันสร้างเจดีย์ครอบมณฑปเดิมที่มีความช�ารุดทรุดโทรม โดยองค์ เจดีย์มีขนาดความกว้าง 2 เมตร ยาว 2 เมตร สูง 4 เมตร ติดกระจก แบบศิลปะพม่า มีประตูโขงทั้ง 4 ด้าน แต่ละด้านจะมีรูปเทพพนม นางกินรี รูปสิงห์ รูปมอม ก่อเป็นรูปทรงเจดียอ์ ยูด่ า้ นบน ประดับไปด้วย แก้ววิจติ รงดงาม ตามค�าบอกเล่าของพ่อหนานอินทร์จกั ร ถาวร จนเมือ่


ปี พ.ศ. 2445 ได้มาร่วมกันบูรณปฏิสงั ขรณ์พระธาตุ และได้สร้างวิหาร ศาลา กุฎสิ งฆ์ ถนนหนทาง บันไดขึน้ สูบ่ นพระธาตุ และได้บรู ณะเรือ่ ยมา จนเป็นเช่นปัจจุบันนี้ ประมาณปี พ.ศ. 2470 เป็นต้นมาได้มีการจัดงานบุญประเพณี สรงน�า้ พระธาตุ ตักบาตรข้าวสารเป็นประจ�าทุกๆ ปี ในวันเพ็ญ ขึน้ 15 ค�า่ เดือน 3 ใต้ หรือเดือน 5 เหนือ เรียกว่า “ป๋ะเวณีสรงน�้าพระธาตุ เดือน 5 เป็ง” ตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นจนถึงปัจจุบัน สถานที่อันสัปปายะนี้ ได้มีพระมหาเถระอริยสงฆ์ ได้เดินทางจาริก ธุดงควัตร ได้มาเจริญจิตภาวนากัมมัฏฐาน ณ พระธาตุดอยจอมแตง แห่งนี้ ดังเช่น หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต หลวงปู่ฝั้น อาจาโร หลวงปู่แหวน สุจิณโณ ตลอดถึงครูบาอาจารย์ และหลวงปู่ค�าปัน สุภัทโท (พระครู สุภัทรคุณ) เป็นต้น พ.ศ. 2560 พระธาตุจอมแตงมีความทรุดโทรมเป็นอันมาก ได้มี สมณะศรัทธาและคณะศรัทธา ร่วมกับเจ้าอาวาสวัดพระธาตุจอมแตง ได้ร่วมบริจาคทรัพย์ด�าเนินการบูรณปฎิสังขรณ์ให้มีความแข็งแรง สวยงาม เพื่อให้ศรัทธาสาธุชนได้กราบไหว้ดังเช่นปัจจุบันนี้ CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

275


History of buddhism....

วัดโสภณาราม พระครูวรธรรมวิรัช ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาส

วัดโสภณาราม เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์ฝ่ายมหานิกาย ตั้งอยู่หมู่ที่ 3 บ้านศาลา อ�าเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ เริ่มสร้างเมื่อ พ.ศ. 2438 ได้รับอนุญาตให้สร้างเป็นวัดประมาณปี พ.ศ. 2479 และ ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อ 20 มีนาคม พ.ศ. 2515 ปัจจุบัน พระครูวรธรรมวิรัช ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาส ประวัติความเป็นมา เมือ่ ประมาณปี พ.ศ. 2438 ได้มพี ระธุดงค์รปู หนึง่ คือ ครูบานันตา ได้จาริกเดินทางมาปักกลดอยูท่ างทิศเหนือของวัด (ปัจจุบนั นีเ้ ป็นทีต่ งั้ ของกองพันสัตว์ตา่ ง) ชาวบ้านต่างมีความเลือ่ มใสศรัทธาในครูบารูปนีม้ าก จึงได้นิมนต์ท่านอยู่จ�าพรรษา และเริ่มสร้างอารามชั่วคราวให้ท่านอยู่ ต่อมาอารามที่สร้างขึ้นในครั้งนั้น เมื่อถึงฤดูฝน มักจะถูกน�้าป่าไหลมา ท่วมทุกปี ชาวบ้านจึงได้ท�าการย้ายจากสถานที่เดิม มาก่อสร้างยัง สถานที่ใหม่ใน (คือบริเวณที่ตั้งวัดในปัจจุบันนี้) ต่อมาในปีพ.ศ. 2479 ทางวัดและชาวบ้าน ได้จัดตั้งโรงเรียนประชาบาลขึ้น เพื่อให้กุลบุตร กุลธิดาในละแวกนี้ ได้มีโอกาสได้รับการศึกษาเล่าเรียนหนังสือภาษา ไทย โดยอาศัยศาลาวัดเป็นอาคารเรียน มีพระภิกษุสามเณรภายในวัด เป็นครูสอนชั่วคราว จนได้รับความสนใจจากชาวบ้านบริเวณนี้ ได้ส่ง ลูกหลานมาศึกษาเล่าเรียนมากขึ้นตามล�าดับเรื่อยมา ทางวัดจึงย้าย โรงเรียนออกไปตั้งสถานที่แห่งใหม่ โดยทางวัดอนุญาตให้ใช้ที่ดินบาง ส่วนของวัดสร้างโรงเรียนเพิ่มเติม ปัจจุบันคือโรงเรียนบ้านศาลา 276

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

พ.ศ. 2488 ทางกรมการศาสนามีนโยบายให้วัดต่าง ๆ ทั่วราช อาณาจักร ได้เปลี่ยนชื่อใหม่ให้เกิดความเหมาะสมตามกาลสมัย เจ้าอาวาสในขณะนัน้ คือ พระอธิการด�ารงค์ คนฺธโิ ย จึงได้ยนื่ ค�าร้องขอ เปลีย่ นชือ่ วัดใหม่วา่ “วัดโสภณาราม” ด้วยเหตุผลคือ อุบาสกท่านหนึง่ นามว่ า “พ่ อ น้ อ ยโสภา” มี ค วามเลื่อ มใสในบวรพระพุท ธศาสนา ได้ มี จิ ต ศรั ท ธาบริ จ าคบ้ า นไม้ ห ลั ง หนึ่ ง ให้ แ ก่ ท างวั ด เพื่ อ ทางวั ด จะได้ น� า มาก่ อ สร้ า งกุ ฏิ ส งฆ์ ซึ่ ง ในตอนนั้ น มี พ ระครู อุ ด มวุ ฒิ คุ ณ (พระเทพวรสิทธาจารย์ อดีตเจ้าคณะจังหวัดเชียงใหม่ วัดส�าเภา ต�าบลศรีภูมิ อ�าเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่) เป็นเจ้าคณะ อ�าเภอแม่ริมในสมัยนั้น เป็นผู้ตั้งชื่อวัดเพื่อเป็นอนุสรณ์แก่พ่อน้อย โสภา มาจนถึงปัจจุบันนี้


สงเคราะห์โลงศพเพื่อคนยากจน เพื่ อ เป็ น การแบ่ ง เบาภาระทางสั ง คมที่ ย ากจนของคนไทย ทางวัดโสภณาราม ได้จดั ท�าโครงการ “ โลงศพเพือ่ คนจน ” ขึน้ มาเพือ่ รับบริจาคโลงศพ และจัดท�าโรงงานท�าโลงศพขึน้ ภายในวัด และมอบให้ แก่ญาติผู้ตายที่ยากจนทั่วไป โดยไม่เลือกศาสนา หรือจ�ากัดเขตพื้นที่ ทีม่ าขอรับโลงศพ ทางวัดจะมอบโลงศพให้ พร้อมอุปกรณ์การท�าพิธศี พ บางอย่าง เช่น ธูป เทียน ผ้าบังสุกุล สังฆทาน ตะเกียงไฟน�้ามัน ฯลฯ ส�าหรับศพที่ยากจน ไร้ญาติขาดมิตร ทางวัดก็จัดการบ�าเพ็ญกุศล ตลอดถึงการฌาปนกิจศพให้ โดยพิจารณาเป็นราย ๆ ไป และทางวัด ได้ออกค่าใช้จา่ ยให้ทงั้ หมด เฉพาะครอบครัวทีย่ ากจนจริง ๆ เดือนหนึง่ ๆ จะมีผม้ ู าขอรับโลงศพประมาณ ๒๐ โลง โครงการนี ้ เริม่ ตัง้ แต่ป ี พ.ศ. ๒๕๒๙ วัดโสภณาราม ตั้งอยู่ในพื้นที่ชุมชนหนาแน่น และใกล้หน่วยงาน ราชการหลายหน่วยงาน จึงได้มีผู้มาขออนุญาต ใช้สถานที่เพื่อจัด กิจกรรม อยูเ่ ป็นประจ�าตลอดปี เช่น การจัดประชุมสัมมนา การอบรม

การบ�าเพ็ญกุศล และยังเป็นสถานทีพ่ กั ของนักเรียน นักกีฬา ข้าราชการ และประชาชนทัว่ ไป ทางวัดก็ได้ชว่ ยอ�านวยความสะดวกให้ ไม่วา่ จะเป็น เครือ่ งกระจายเสียง ไฟฟ้า น�า้ ห้องน�า้ และวัสดุอปุ กรณ์ตา่ ง ๆ พร้อมทัง้ บุคลากรช่วยงาน พระวิทยากร พระพิธกี ร พระนักเทศน์ วัดโสภณาราม ได้มองเห็นถึงความส�าคัญของการศึกษาเล่าเรียน จึงร่วมมือกับการศึกษา นอกโรงเรียนให้เป็นสถานทีเ่ รียนของนักศึกษาในวันพุธและวันอาทิตย์ อีกทั้งยังได้จัดท�าโครงการ “ความรู้สู่ชนบท” โดยรับบริจาคหนังสือ วารสารต�าราเรียน หนังสือที่ระลึก หนังสือพิมพ์ หนังสือธรรม รวมทั้ง สื่อการเรียนการสอนทุกชนิด เมื่อมีผู้มาบริจาค ทางวัดก็จัดส่วนหนึ่ง ไว้ทหี่ อ้ งสมุดประจ�าวัด บางส่วนเอาไว้แจกในวิหาร ซึง่ เป็นสถานทีม่ ผี มู้ า ท�าบุญเป็นประจ�าทุกวัน บางส่วนได้นา� ไปมอบให้หมูบ่ า้ น วัด โรงเรียน ที่มีความต้องการซึ่งอยู่ในถิ่นทุรกันดาร คนไทยในสังคมปัจจุบนั มีการต่อสูเ้ กีย่ วกับค่าครองชีพ และปัญหา ในชีวติ ประจ�าวัน ท�าให้เกิดมีความเครียด หรือการสะสมปัญหา ท�าให้ เกิดความไม่สบายในด้านร่างกายและจิตใจ ก็มักจะมาอาศัยความ เมตตาจากพระสงฆ์ให้ชว่ ยในการแก้ไขปัญหา บางคนก็มาขอเมตตาให้ พระสงฆ์เป็นผูป้ ระกอบพิธกี รรม ทางวัดก็จดั พิธสี บื ชาตา พิธสี ะเดาะเคราะห์ พิธีบังสุกุลเป็น และท�าบุญโลงศพเพื่อคนยากจนพระสงฆ์ ก็อาศัย โอกาสสอดแทรก อธิบายหลักธรรม ค�าสัง่ สอนในทางพระพุทธศาสนา ให้พทุ ธศาสนิกชนได้นา� ไปใช้ในชีวติ ประจ�าวัน ซึง่ เป็นความเชือ่ ทีใ่ ช้เหตุ ใช้ผล ไม่ใช่มุ่งแต่พิธีกรรมอย่างเดียว

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

277


History of buddhism....

วัดป่าโป่งแยงพัฒนาราม หนึ่งในสาขาวัดป่าบ้านค้อ สถานปฏิบัติธรรมเพื่อพัฒนาจิตให้เกิดความเห็นจริงตามความเป็นจริง พระอาจารย์พัฒน์ พัทธธัมโม (เกษทอง) ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาส

วัดป่าโป่งแยงพัฒนาราม ตั้งอยู่หมู่ที่ 2 ต�าบลโป่งแยง อ�าเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ บนดอยสุเทพ-ดอยปุย เริ่มแรกเป็นส�านักสงฆ์ โป่ ง แยงพั ฒ นา ตั้ ง ขึ้ น เมื่ อ ปี พ.ศ. 2550 ที่ดินผืนนี้เป็นเอกสารสิทธิ์ นส.3ก. จ�านวน 5 ไร่ 48 ตร.วา เจ้าของเดิมคือ คุณโยมสุดา ปัจจักขภัติ อดีตอาจารย์คณะพาณิชยศาสตร์ และการบั ญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และคุณเวฬุรยี ์ ลีลานุช ผูเ้ ป็นบุตรสาว ได้ถวาย ให้พระอาจารย์พัฒน์ พัทธธัมโม (เกษทอง) จากวัดป่าบ้านค้อ ต�าบลเขือน�า้ อ�าเภอบ้านผือ จั ง หวั ด อุ ด รธานี เป็ น ผู ้ เริ่ ม บุ ก เบิ ก ท� า การ ก่อสร้างให้เป็น “ส�านักสงฆ์โป่งแยงพัฒนา” สาขาของ วัดป่าบ้านค้อ จังหวัดอุดรธานี เพื่อวัตถุประสงค์สร้างวัด เป็นสมบัติของ พระพุทธศาสนา

278

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

ช่วงก่อนปี พ.ศ. 2550 พระอาจารย์พัฒน์ พัทธธัมโม ได้ปฏิบัติศาสนกิจเป็นพระธรรมทูต ประจ� า วั ด พุ ท ธดั ล ลั ส เมื อ งดั ล ลั ส มลรั ฐเท็ ก ซั ส ประเทศสหรั ฐอเมริกา หลังจากนั้นท่า น กลั บ มาเพื่ อ เริ่ ม ก่ อ สร้ า งส� า นั ก สงฆ์ โ ป่ ง แยงพั ฒ นา ให้ เ ป็ น ส� า นั ก สาขาของวั ด ป่ า บ้ า นค้ อ จังหวัดอุดรธานี จากปี พ.ศ. 2500–2562 รวมเป็นเวลา 12 ปี


ในเดื อนกัน ยายน พ.ศ. 2561 ส�านัก สงฆ์โป่ ง แยงพั ฒ นาได้ รับ การแต่ ง ตั้ ง เป็ น วั ด ที่ ถู ก ต้ อ งสมบู ร ณ์ ใ นพระพุ ท ธศาสนา ชื่ อ ว่ า วั ด ป่ า โป่ ง แยงพั ฒ นาราม สั ง กั ด คณะสงฆ์ ธ รรมยุ ต และแต่ ง ตั้ ง พระอาจารย์พฒ ั น์ พัทธธัมโม เป็นเจ้าอาวาส จากส�านักพระพุทธศาสนา แห่งชาติ เมื่อปีที่แล้ว พ.ศ. 2561 ทางวัดได้ซื้อที่ดินที่ติดกับวัดเพิ่ม อีก 1 ไร่ 2 งาน 15 ตารางวา รวมทีด่ นิ วัดทัง้ หมด 6 ไร่ 2 งาน 62 ตารางวา เสนาสนะภายในวัด เช่น ศาลาอเนกประสงค์อนุสรณ์หลวงพ่อทูล ชิปปปัญโญ, กุฏิ พระภิกษุ 10 หลัง, เรือนพักของผูม้ าปฏิบตั ธิ รรม 3 หลังใหญ่, อาคาร โรงครัว และอื่นๆ อีกหลายหลัง และได้ปลูกต้นไม้นานาพันธุ์ ซึ่งส่วน ใหญ่ได้รับอนุเคราะห์จาก ดร.วีระชัย ณ นคร อดีตผู้อ�านวยการสวน พฤกษศาสตร์สมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ติ ิ์ จังหวัดเชียงใหม่ ได้ถวายต้นไม้ ยืนต้นทีห่ ายากมาปลูกให้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งได้รับต้นพระศรีมหาโพธิ์ ทีเ่ ป็นแขนงจากต้นใหญ่ทพี่ ทุ ธคยา สถานทีซ่ งึ่ สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธ เจ้าทรงตรัสรู้ จนปัจจุบันพื้นที่วัดทั้งหมดเป็นป่าไม้นานาพันธุ์

สถานปฏิบัติธรรมเพื่อการพ้นทุกข์ วัดป่าโป่งแยงพัฒนาราม เป็นวัดเปิดรับญาติธรรมที่สนใจมา ปฏิบัติธรรมและประพฤติธรรม ทางวัดมีอาคารที่พัก มีโรงครัว ที่นี่มี ท�าวัตรเช้า และสวดมนต์เวลา 05.30 น. และช่วงเย็นมีท�าวัตรเย็น และสวดมนต์เวลา 18.00 น. ทุกวัน ประวัติท่านเจ้าอาวาสโดยสังเขป ปัจจุบนั ข้าพเจ้า พระอาจารย์พฒ ั น์ พัทธธัมโม (เกษทอง) เป็นเจ้าอาวาส อายุ 69 ปี 27 พรรษา อุปสมบทที่วัดป่าบ้านค้อ จังหวัดอุดรธานี เมื่ อ ปี พ.ศ. 2536 และปี พ.ศ. 2543 ได้ เดินทางไปปฏิบัติเป็น พระธรรมทูต ณ วัดพุทธดัลลัส มลรัฐเท็กซัส ประเทศสหรัฐอเมริกา หลังจากกลับมาก็มาพัฒนา “ส�านักสงฆ์โป่งแยงพัฒนา” จนเป็น “วัดป่าโป่งแยงพัฒนาราม” อันเป็นสถานที่ปฏิบัติธรรมของพระภิกษุ สามเณร ตลอดทั้ง ฆราวาสญาติโยม ที่สนใจในการปฏิบัติ เพื่อพัฒนา จิตของตนให้เกิดความเห็นจริงตามความเป็นจริง หรือที่เรียกว่า สัมมาทิฏฐิ คือ วางความเห็นของตนเองให้ถูกต้องตามความเป็นจริง หรือสัจธรรม อันประกอบด้วยการปฏิบัติทั้งสมถะหรือสมาธิและ วิปัสสนาหรือปัญญา ควบคู่กันไป

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

279


History of buddhism....

วัดโป่งแยงฉลิมพระเกียรติ พระครูวิสิฐปัญญาวัฒน์ ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาส

วัดโป่งแยงเฉลิมพระเกียรติ ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 96 หมู่ 2 ต�าบลโป่งแยง อ�าเภอแม่รมิ จังหวัดเชียงใหม่ ขึน้ ทะเบียนเป็นวัดเมือ่ พ.ศ.2450 พืน้ ที่ ตัง้ วัดทัง้ หมด 19 ไร่ 1 งาน 96 ตารางวา มีทธี่ รณีสงฆ์ –ไร่ 2 งาน 59 ตารางวา ได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมาในปี พ.ศ.2539 ปัจจุบนั มีพระ ภิกษุ และสามเณร รวม 5 รูป โดยมี พระครูวสิ ฐิ ปัญญาวัฒน์ เป็นเจ้า อาวาส และเจ้าคณะต�าบลโป่งแยง

ประวัติความเป็นมา วัดโป่งแยงเฉลิมพระเกียรติ เดิมชื่อ วัดโป่งแยง ชาวบ้านเรียกว่า “โป่งแยงนอก” ได้รับอนุญาตจากกระทรวงศึกษาธิการสมัยนั้นให้ เปลี่ยนชื่อเป็น “วัดโป่งแยงเฉลิมพระเกียรติ” เมื่อวันที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2544 เพื่อน้อมถวายแด่พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร โดย สมเด็จพระเจ้า น้องนางเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี กรมพระศรี สวางควัฒน วรขัตติยราชนารี เสด็จทรงเปิดป้ายศาลาปฏิบัติธรรม และทรงสุหร่าย ทรงเจิมพระพุทธรูปประจ�าพระชนมวาร 48 พรรษา เมื่อวันที่ 11 กันยายน พ.ศ.2552 ทรงพระด�ารัสรับวัดโป่งแยง เฉลิมพระเกียรติไว้ในอุปถัมภ์ และ สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้า ทีปงั กรรัศมีโชติ มหาวชิโรตตมางกูร สิรวิ บิ ลู ยราชกุมาร ทรงรับวัดโป่งแยง เฉลิมพระเกียรติไว้ในพระอุปถัมภ์เมื่อวันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2555

280

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


เสนาสนะที่ส�าคัญ 1. วิ ห ารเฉลิ ม พระเกี ย รติ และหอไตรปิ ฏ กเฉลิ ม พระเกี ย รติ สมเด็ จ พระกนิ ษ ฐาธิ ร าชเจ้ า กรมสมเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุมารี ในวโรกาสทรงเจริญพระชนมพรรษา 36 พรรษา ได้รับพระราชทานพระนามย่อ “สธ” ประดิษฐานที่หน้าบันวิหาร ในปีพ.ศ. 2536 2. อุ โ บสถเฉลิ ม พระเกี ย รติ ฉ ลองสิ ริ ร าชสมบั ติ ครบ 50 ปี พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิ ต ร ได้ รั บ อนุ ญ าตให้ อั ญ เชิ ญ ตราสั ญ ลั ก ษณ์ ฉ ลองสิริ ราชสมบัติ 50 ปี ประดิษฐานที่หน้าอุโบสถ ในปี พ.ศ. 2539 3. วิหารจตุรมุขเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดชมหาราช บรมนาถบพิ ต ร ทรงพระเจริ ญ พระชนมพรรษาครบ 6 รอบ เป็นที่ประดิษฐานรูปหล่อหลวงพ่อ พระมงคลเทพมุนี (หลวงพ่อสด วัดปากน�้า) ได้รับอนุญาตให้อัญเชิญ ตราสัญลักษณ์ 6 รอบในปีพ.ศ.2542 พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า โสมสวลี กรมหมื่นสุทธนารีนาถ ทรงประทานพระอนุญาตให้อัญเชิญ พระนามย่อ “สส” ประดิษฐานที่หน้าบันอาคารเรียนคอมพิวเตอร์ (ปัจจุบันเปลี่ยนเป็นห้องประชุมฯ ) เมื่อวันที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2546 4. โรงเรียนพระปริยัติธรรมเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้า สิรกิ ติ ิ์ พระบรมราชินนี าถ พระบรมราชชนนีพนั ปีหลวง ทรงพระเจริญ พระชนมพรรษาครบ 6 รอบได้รับอนุญาตให้อัญเชิญตราสัญลักษณ์ มหามงคล ดังกล่าวขึน้ ประดิษฐานทีห่ น้าบันอาคารเรียนในปี พ.ศ.2548 5. ศาลาปฏิบัติธรรมเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเจ้าน้องนางเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี กรมพระศรีสวางควัฒน วรขัตติยราชนารี ในวโรกาสทรงพระเจริญพระชนมายุครบ 4 รอบ 48 พรรษาทรงพระมหากรุณา ทรงพระสุหร่าย ทรงเจิมแผ่นศิลาฤกษ์ ให้กับทางวัดโป่งแยงเฉลิมพระเกียรติ ทรงพระราชทานพระนามย่อ “จภ” เมื่อวันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ.2550 ได้รับอัญเชิญประดิษฐานที่

ด้านหน้าศาลาปฏิบัติธรรมฯ และพระราชทานฉายาลักษณ์ ในการ ทรงพระกรณียกิจในด้านต่างๆ ให้ประดิษฐานในศาลาปฏิบตั ธิ รรมฯ ด้วย 6. อาคารเรียนเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้า ทีปังกรรัศมีโชติ มหาวชิโรตตมางกูร สิริวิบูลยราชกุมาร ในวโรกาส คล้ายวันประสูติ เมษายน พ.ศ. 2533 และได้รับพระราชทานพระนาม ย่อ “ทป” ให้อญ ั เชิญประดิษฐานทีห่ น้าบันอาคารเรียน เพือ่ ใช้เป็นที่ ศึกษาเล่าเรียนของลูกหลานชาวโป่งแยงนอก และใกล้เคียงสืบไป 7. พระพุทธสิรชิ ยั มงคลมหาบารมี พระพุทธรูปประจ�าพระชนมวาร เฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทร มหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเจริญพระราชทาน พระนามย่อ “มวก” เมือ่ ครัง้ ยังทรงพระยศ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ประดิษฐานทีป่ า้ ยชือ่ องค์พระและองค์พระพุทธรูป

ประวัติท่านเจ้าอาวาสโดยสังเขป พระครูวิสิฐปัญญาวัฒน์ เจ้าอาวาสวัดโป่งแยงเฉลิมพระเกียรติ ปัจจุบันอายุ 57 ปี พรรษา 38 การศึกษาทางโลก ม.6 , ศน.บ, กศ.ม, พธ.ม, Ph.D การศึกษาทางธรรม นธ.เอก,ปธ.4, จต, การบริหาร การปกครอง เป็ น พระอุ ป ั ช ฌาย์ และพระครู สั ญ ญาบั ต รชั้ น เอก และมี ป ั ญ ญาในการมองเห็ น กายใจตามความเป็ น จริ ง ของชี วิ ต คือ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

281


History of buddhism....

วัดแม่อายหลวง เสน่ห์ศิลป์อารยธรรมไทใหญ่ประดับวัด ลอยพระอุปคุต ณ วัดแม่อายหลวง พระครูวิธานธรรมโสภณ เจ้าอาวาส และเจ้าคณะอ�าเภอแม่อาย

วัดแม่อายหลวง ตั้งอยู่ในต�าบลแม่อาย เขต 2 อ�าเภอแม่อาย จังหวัดเชียงใหม่ เป็นวัดเก่าแก่มีอายุประมาณ 100 ปี สร้างขึ้น ราวปี พ.ศ. 2469 โดยพ่อหนานซอ มหาวัน เป็นผู้น�าคณะศรัทธา และอุปถัมภ์ก่อสร้างวัดในขณะนั้น มีสิ่งปลูกสร้างเพียงกุฏิไม้ไผ่ มุงหญ้าคา ใช้เป็นสถานที่ประกอบศาสนพิธีประจ�าหมู่บ้าน และ ได้อาราธนาพระศรีวงศ์(ครูบาศรีวงศ์) เป็นเจ้าอาวาสรูปแรก พร้อมกับน�าชื่อหมู่บ้านมาใช้เรียกชื่อวัดมาจนถึงปัจจุบัน แต่ส�าหรับผู้เฒ่าผู้แก่หมู่บ้านแม่อายหลวงจะเรียกวัดแห่งนี้ว่า “วัดแม่อายป่าเปอะ” ที่เรียกเช่นนี้ เพราะว่าในอดีตถนนหนทาง เป็นป่าเต็มไปด้วยขี้โคลน มีเพียงเกวียนเป็นพาหนะหลักในการ สัญจรไปมา ล้อเกวียนมักจะมาติดหล่มตรงหน้าวัดพอดี (ขี้เปอะ ภาษาเหนือ หมายถึง ขี้โคลน) ช่วงปีพ.ศ. 2479 วัดได้ขาดเจ้าอาวาสด้วยเพราะพระพรหมา (หวุ่นเจ้าอุ้ย) เจ้าอาวาสในล�าดับต่อมาได้ลาศรัทธากลับเมืองพม่า มีเพียงพระเตจามาอยูเ่ พียงพรรษาเดียว คณะศรัทธาโดยการน�าของ พ่อหนานซอ มหาวัน จึงได้กราบอาราธนาเจ้าอธิการสิงห์แก้ว สิรวิ ฑฺฒโน ซึ่งท่านได้อุปสมบทอยู่กับครูบากัญจนะ(ครูบาก๋องค�า กญฺจโน) วัดมาตุการาม(บ้านเด่น) มาเป็นเจ้าอาวาสตัง้ แต่สมัยนัน้ เป็นต้นมา พร้อมกับชักชวนคณะศรัทธาญาติโยมของหมู่บ้านแม่อายหลวง ร่วมกันพัฒนาปูชนียสถานภายในวัด ด้วยการสร้างวิหารให้ใหญ่ขนึ้ กว่าเดิม 1 หลัง เป็นอาคารแบบถาวร ด้านกว้างและด้านยาวเท่ากัน คือ 22.5 เมตร สร้างจากไม้สักทั้งหลัง ได้รับอิทธิพลศิลปะไทใหญ่ ผสมผสานศิลปะล้านนา หลังคาจั่วซ้อนชั้นสูงขึ้นเป็นชั้นแบบ ปราสาท มุงด้วยแป้นเกล็ด เพดานประดับประดาด้วยกระจกสี ลวดลายวิจิตรสวยงาม ศาสนสถานที่ น ่ า สนใจภายในวั ด แม่ อ ายหลวง(แม่ อ าย) แบ่งออกเป็น 2 ส่วนคือ 1. เขตพุทธาวาส พื้นที่ส�าหรับพระสงฆ์ มีเสนาสนะต่างๆ เช่นศาลาการเปรียญ อาคารเรียนพระปริยตั ธิ รรม อุโบสถ และกุฏสิ งฆ์ ใช้ประกอบพิธกี รรมทางศาสนา และ 2. สวนป่า ปฏิบัติธรรม ซึ่งก็มีผู้สนใจทั้งบรรพชิตและฆราวาส ได้แวะเวียน มารับการฝึกฝนอบรมอยู่อย่างสม�่าเสมอ ตามหลักแนวสติปัฏฐาน 4 โดยวิธีการ “ก�าหนดรู้ด้วยการบริกรรม พองหนอ ยุบหนอ” 282

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

283


สืบสานเสน่ห์ศิลป์อารยธรรมไทใหญ่ “ลอยจองพระอุปคุต” ในวันขึ้น 15 ค�่า เดือน 10 (เดือน 12 เหนือ) ของทุกปี หนึ่งใน ประเพณีส�าคัญของชาวอ�าเภอแม่อายและชาวไทใหญ่ ที่เชื่อกันว่า พระอุปคุตนั้นสิงสถิตอยู่ที่ใต้แม่น้�า หรือ สะดือทะเลและมีอิทธิฤทธิ์ มากมาย การลอยจองพระอุปคุตนั้นก็คือการบูชาท่าน ถือกันว่า พระอุปคุตนั้นมีอยู่ 8 องค์ นิพพานไปแล้ว 4 องค์ที่ยังเหลืออยู่ 4 องค์ การลอยบูชาจึงต้องจัดให้มกี ารปัน้ ดินเป็นรูปร่างพระอุปคุต ขึน้ 8 องค์ ใส่ในมณฑปที่สร้างขึ้นส�าหรับแต่ละองค์ ซึ่งจะเริ่มพิธีบูชาตั้งแต่ขึ้น 14 ค�่า เดือน 10 (เดือน 12 เหนือ) และในวันขึ้น 15 ค�่า เดือน 10 (เดือน 12 เหนือ) โดยขบวนแห่พระอุปคุตเริ่มตั้งแต่วัดแม่อายหลวง แล้วจึงท�าพิธีอาราธนาลอยในแม่น�้ากก ณ ท่าเรือบ้านท่าตอน หมู่ 3 ต�าบลท่าตอน อ�าเภอแม่อาย จังหวัดเชียงใหม่ วัดแม่อายหลวง(แม่อาย) เป็นศูนย์รวมวัฒนธรรมประเพณีและ การประกอบพิ ธี ก รรมทางศาสนาระหว่ า งพี่ น ้ อ งชาวไทใหญ่ แ ละ ชาวไทยพื้นเมืองใช้ร่วมกัน เป็นวัดที่มีความสวยงามโดดเด่นด้วย ศิลปะแบบไทใหญ่ ทรงคุณค่ามีเอกลักษณ์เฉพาะตัวหนึ่งเดียวของ อ�าเภอแม่อาย ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 18 เดือน มิถุนายน พ.ศ. 2536 โดยมีพระครูวิธานธรรมโสภณเป็นเจ้าอาวาส และเป็นเจ้าคณะอ�าเภอแม่อายจวบจนปัจจุบัน

284

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


ประวัติท่านเจ้าอาวาสโดยสังเขป พระครูวธิ านธรรมโสภณ ฉายา สิรธิ มฺโม อายุ 66 พรรษา 46 น.ธ. เอก วัดแม่อายหลวง ต�าบลแม่อาย เขต 2 อ�าเภอแม่อาย จังหวัดเชียงใหม่ ปัจจุบัน เจ้าอาวาสวัดแม่อายหลวง พระอุปัชฌาย์ และ เจ้าคณะอ�าเภอแม่อาย สถานะเดิม ชือ่ ค�าอ้าย นามสกุล สักกินา เกิดเมือ่ วันที ่ 8 กรกฎาคม พ.ศ.2493 บิดา นายติบ๊ สักกินา มารดา นางเตียม สักกินา บ้านเลขที่ 40 หมู่ที่ 5 ต�าบลแม่อาย อ�าเภอแม่อาย จังหวัดเชียงใหม่ บรรพชา เมื่อวันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2508 ณ วัดมาตุการาม ต�าบลแม่อาย อ�าเภอแม่อาย จังหวัดเชียงใหม่ พระอุปชั ฌาย์ เจ้าอธิการสิงห์แก้ว สิ ริ ว ฒฺ ฑ โน วั ด แม่ อ ายหลวง ต� า บลแม่ อ าย อ�าเภอแม่อาย จังหวัดเชียงใหม่ อุปสมบท วันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2513 วั ด แม่ อ ายหลวง ต�าบลแม่อาย อ�าเภอแม่อาย จังหวัดเชียงใหม่ พระอุปัชฌาย์ พระครูสีลนันทคุณ วัดสีลาอาสน์ ต�าบลแม่นาวาง อ�าเภอแม่อาย จังหวัดเชียงใหม่ วิทยฐานะ พ.ศ. 2505 ส�าเร็จชั้นประถมศึกษา ปี ที่ 4 จากโรงเรี ย นบ้ า นเอก อ� า เภอแม่ อ าย จังหวัดเชียงใหม่ พ.ศ. 2516 สอบไล่ได้นักธรรม ชัน้ เอก จากส�านักเรียนวัดนิวาสถาน อ�าเภอแม่อาย จังหวัดเชียงใหม่ การศึกษาพิเศษ ภาษาล้านนา และ ความ ช�านาญการ งานนวกรรม ปาฐกถาธรรม และ เทศนาธรรมบรรยาย งานเผยแผ่ อาทิ พ.ศ. 2527 เป็นพระธรรม ทายาท รุ่นที่ 4, พ.ศ. 2531 เป็นประธานศูนย์ พระพุ ท ธศาสนาวั น อาทิ ต ย์ ที่ วั ด แม่ อ ายหลวง ต�าบลแม่อาย เขต 2 อ�าเภอแม่อาย จังหวัดเชียงใหม่, พ.ศ. 2542 เป็นที่ปรึกษาหน่วยอบรมประชาชน ประจ� า ต� า บลแม่ อ าย เขต 1-2, พ.ศ. 2552 เป็นประธานหน่วยอ�านวยการอบรมประชาชน ประจ�าอ�าเภอแม่อาย จังหวัดเชียงใหม่ อีกทั้ง จัดกิจกรรมท�าบุญตักบาตร ฟังธรรม และปฏิบัติ ธรรมตลอดทั้งปี CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

285


History of buddhism....

WAT MAE AI LUANG Artistic charm of Tai Yai civilization that decorated this temple Loi Phra Upakut at Wat Mae Ai Luang

Wat Mae Ai Luang is located at area 2 of Mae Ai sub-district, Mae Ai district, Chiang Mai province. It is an ancient temple that its age was approximately one hundred years, it was built around B.E.2469 by Mr.Nhansor Mahawan who was leader of faithful party that assisted on building this temple at that time. At first, there was only monk’s house roofed with lalang which is used for performing religious rite for nearby village. They also invited Phra Sriwong (Khruba Sriwong) to be the first abbot of this temple and called this temple by village’s name where this temple is located until today. However, elders in the village called this temple “Wat Mae Ai Per” instead, due to the road to this temple was full of mud which only a cart used as main vehicle to transport from and to this temple. Nevertheless, cart’s wheels usually stuck in mud in front of the temple (Ke Per in northern Thai language means mud).

286

SBL บันทึกประเทศไทย II เชียงใหม่

Around B.E.2479, there was no abbot at this temple due to Phra Phromma (Wun Chao Aui), the next abbot in line at that time, moved back to Myanmar. Therefore, there was only Phra Teja stayed at this temple which he had stayed only one year. Then, the faithful party led by Mr.Nhansor Mahawan respectfully invited Chao athikarn Singkaew Siriwatthano which he was a monk under Kjruba Kanchana (Khruba Kongkham Kanjano) of Wat Matukaram (Ban Den), to be an abbot at this temple at that time. They also invited faithful folks of Mae Ai Luang village to jointly developed sacred places in this temple by starting with construction of Buddha image hall and made it into permanent building which its scale is 22.5 meters for both width and length. The whole building of Buddha image hall is made of teakwood. It was influenced by Tai Yai art integrated with Lanna art. Its roof is layered gable-roof like a castle, roofed with wooden shingles, ceiling was decorated with colorful mirror which has gorgeous and exquisite pattern on it.


nteresting religious places inside Wat Mae Ai Luang (Mae Ai) are separated into two areas as follows: First, shrine area, an area for monk, this area have many important buildings such as sermon hall, Tripitaka-studying building, ubosot and monk’s dwelling which is used for performing religious rite. Another area is Dharma-practicing park, both monk and lay person take an interested in this area which they usually come to practice and learn the dharma be following the means of Satipatthana Sutta which is “Sensing one’s mind by internally chanting falling-rising”.

INHERITING THE ARTISTIC CHARM OF TAI YAI CIVILIZATION “LOI JONG PHRA UPAKUT” On full moon day of the tenth lunar month (Twelfth month for northern region of Thailand) every year, one of an significant tradition for people of Mae Ai and Tai Yai people who believe that Phra Upakut dwells under the river or sea vortex and he has abundant supernatural power. Loi Jong Phra Upakut is Phra Upakut-worshipping ceremony, there was a belief that there were 8 of Phra Upakut which four have already gone to nirvana and only four remaining. The worshipping ceremony, then, need to be arranged by molding clay into eight statue in the shape of Phra Upakut and put each statue in small mondop (square hall with a pyramidal roof) that was built for each statue. The worshipping-ceremony started on the day before full moon day of the tenth lunar month. After that, on the full moon day, the parade of Phra Upakut will start from Wat Mae Ai Luang, then, perform an inviting ceremony to float Phra Upakut in Kok River at Ban Tha

Ton pier, village no.3, Tha Ton sub-district, Mae Ai district, Chiang Mai province. Wat Mae Ai Luang (Mae Ai) is the center of culture, tradition and religious ceremony-performing where Tai Yai and Thais have shared this place. It is the gorgeous temple that has outstanding Tai Yai art, valuable and unique, one-of-a-kind of Mae Ai district. It was granted Wisungkhamsima (Land granted from Royal family to build temple or other religious buildings) on 18 June B.E.2536 which Phra Khru Withan Thamsophon has been taking a position of abbot at this temple and Mae Ai district monk dean since then until today. CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

287


History of a Buddhist temple

วัดป่าดอยแสงธรรมญาณสัมปันโน พระครูนิรมิตวิทยากร เจ้าอาวาส, เจ้าคณะต�าบลแม่คะ (ธ.) และพระอุปัชฌาย์

วัดป่าดอยแสงธรรมญาณสัมปันโน ตั้งอยู่เลขที่ 136 หมู่ 8 ต�าบลแม่นาวาง อ�าเภอแม่อาย จังหวัดเชียงใหม่ ภูมิประเทศที่ตั้งวัด มีลักษณะเป็นดอยไม่สูงนัก บริเวณยอดดอยเป็นที่ราบกว้างขวาง ใช้ เ ป็ น สถานที่ ป ลู ก กุ ฏิ พ� า นั ก ของภิ ก ษุ ส ามเณร มี ป ่ า ไม้ จ� า พวก ไม้เต็ง ไม้รัง ไม้รัก ไม้ประดู่ ไม้กุง และอื่น ๆ คละเคล้าปะปนกันไป มีความสงบร่มเย็น ภายในเนื้อที่โดยรวม 100 ไร่

เมื่อแสงแห่งธรรม สว่างรุ่งโรจน์กลางใจ คนบนดอย 288

SBL บันทึกประเทศไทย II เชียงใหม่

จุดก�าเนิดวัด วัดได้ก�าเนิดขึ้นตั้งแต่ปี พ.ศ. 2493 เป็นที่รู้กันว่า ที่ดิน เนินเขาลูกนี้ เนื้อที่โดยประมาณ 61 ไร่ ได้ถูกกันไว้ให้เป็นที่สร้างวัด ไม่มีชาวบ้านคนใดจะกล้าบุกรุกเข้ามาหักร้างถางพง ยึดถือเป็นที่ดิน ท�ากิน เพราะต้องมีอันเป็นไปทุกราย แม้ในบางปี จะไม่มีพระสงฆ์ อยู่จ�าพรรษาเลยก็ตาม ดังจะเห็นได้จากการที่บริเวณรอบ ๆ วัดใน ปัจจุบัน ได้กลายเป็นเรือกสวนไร่นาของชาวบ้านไปหมดสิ้นแล้ว คง เหลือแต่ที่เป็นป่าเฉพาะบริเวณที่ดินอันเป็นที่ตั้งวัดเท่านั้น นอกนั้น ก็เป็นป่าที่ชาวบ้านกันไว้เป็นป่าชุมชนเพื่อให้ชาวบ้านใช้ประโยชน์ ร่วมกัน ในการแสวงหาของป่าเพื่อยังชีพ


ในปี พ.ศ. 2538 เมื่อพระวิทยา กิจฺจวิชฺโช หรือในราชทินนาม พระครูนิรมิตวิทยากร เจ้าอาวาสรูปปัจจุบันได้เข้ามาบูรณปฏิสังขรณ์ จึงค่อยปรากฏเสนาสนะต่าง ๆ อันเป็นถาวรวัตถุเพิ่มขึ้น ในตอนนั้น ชาวบ้านใช้ชื่อวัดว่า “วัดป่าหนองบัวทอง” เพราะมีสระน�้า หนองบัว อยู่ภายในหมู่บ้าน ชาวบ้านจึงถือเอาหนองบัวนั้น เป็นนิมิตหมาย ตั้งชื่อวัดในตอนเริ่มแรก ความเป็นอยู่ในระยะบุกเบิกนั้น ค่อนข้างจะแร้นแค้นกันดาร เป็นอย่างมากทีเดียว มีเพียงกุฏมิ งุ หญ้าคาหลังเล็ก ๆ ปูพนื้ ด้วยฟากไม้ไผ่ ฝากุฏิก็ใช้ใบตองกุงถักสานพอกันลมและฝน น�้าใช้ก็ต้องอาศัยหิ้วจาก บ่อซึ่งขุดไว้เชิงดอย เอาไปใช้ที่กุฏิซึ่งอยู่บนดอย ส้วมก็ให้ศรัทธา ญาติโยมช่วยกันขุดหลุมไว้ในป่า เอาใบตองกุงถักเป็นฝาพอเป็น เครือ่ งบังตา การภิกขาจารบิณฑบาต ก็ตอ้ งเดินบิณฑบาตไปกลับวันละ 8 กิโลเมตร บนเส้นทางลูกรัง สมัยนั้นยังไม่มีถนนลาดยาง อาหารที่ได้ จากการบิณฑบาตก็ตามแต่ศรัทธาชาวบ้านจะใส่บาตรมา พออาศัย ขบฉันเพื่อประทังชีวิตอยู่รอดไปวันหนึ่ง ๆ เท่านั้น เครื่องยังชีพ นอกจากบริขาร 8 กับการประกอบความเพียรเพื่อความหลุดพ้นแล้ว อย่างอื่นดูเหมือนจะไม่มีอะไร หลังจากได้เริม่ ปลูกฝังศรัทธาปสาทะในหมูญ ่ าติโยมได้พอสมควรแล้ว ก็ระดมก�าลังชาวบ้านช่วยกันปรับปรุงศาลาอเนกประสงค์ที่มีอยู่ ในตอนนัน้ ซึง่ เป็นอาคารไม้ชนั้ เดียว หลังแคบ ๆ สภาพช�ารุดทรุดโทรม ด�าเนินการต่อเติมให้กว้างขึน้ เป็นขนาด 8x15 เมตร หลังทีใ่ ช้อยูใ่ นปัจจุบนั ในปี พ.ศ. 2539 ได้ลงมือก่อสร้างกุฏิเจ้าอาวาส ขนาด 4x12 เมตร 1 หลัง มีทางเดินจงกรมบนกุฏ ิ และสร้างกุฏพิ ระเณร ขนาด 3x3 เมตร อีก 4 หลัง พอให้พระเณรอยู่จ�าพรรษาได้ 5 รูป พร้อมท�าห้องน�้า ส�าหรับญาติโยม 4 ห้อง และท�าแท็งก์น�้าฝน ขนาด 4x1.2 เมตร อีก 5 แท็งก์ พออาศัยเก็บน�้าฝนไว้ฉัน ในปี พ.ศ. 2540 อัญเชิญพระพุทธรูป พระพุทธชินราช ปางมารวิชยั หน้าตัก 39 นิ้ว พร้อมอัครสาวก ซ้าย-ขวา พ่นสีทอง มาประดิษฐาน เป็นพระประธานในศาลา

สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (สุชนิ อคฺคชิโน) ปฏิบตั หิ น้าทีแ่ ทนเจ้าคณะใหญ่ คณะธรรมยุต สวดสมมติสมานสังวาสสีมา และติจีวราวิปปวาสสีมา ณ อุโบสถวัดป่าดอยแสงธรรมญาณสัมปันโน 10 กุมภาพันธ์ 2562

“หลวงตาพระมหาบัว ญาณสัมปันโน” แสงสว่างแห่งธรรมกลางยอดดอย ต่อมาเมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ.2545 กระทรวงศึกษาธิการ ด้วยความเห็นชอบของมหาเถรสมาคม ประกาศตั้งที่นี่ เป็นวัดขึ้นใน พระพุทธศาสนา มีนามว่า “วัดป่าหนองบัวทอง” หลังจากนั้น ศรัทธา ญาติโยม จึงเห็นพ้องต้องกันว่า ควรเปลีย่ นชือ่ วัดเสียใหม่ เพือ่ ความเป็น สิริมงคลแก่หมู่บ้าน โดยพิจารณาเห็นว่าชื่อ วัดป่าดอยแสงธรรม นี้ เหมาะสมกับสภาพภูมิประเทศอันเป็นที่ตั้งวัด ซึ่งมีสภาพเป็นป่า และ อยู่บนดอย ทั้งเข้ากับค�ากล่าวขานของชาวบ้าน ที่คนเฒ่าคนแก่ ได้ เคยเห็นแสงสว่างเป็นดวงกลมลอยสว่างไสวอยู่ในบริเวณดอย เป็น นิมิตหมายในแง่ของธรรมว่า แสงธรรมจะสว่างรุ่งโรจน์ขึ้นในบริเวณ ดอยแห่งนี้ ประจวบกับช่วงเวลาดังกล่าว ท่านอาจารย์หลวงตา พระมหาบัว ญาณสัมปันโน หรือในราชทินนามที ่ พระธรรมวิสทุ ธิมงคล ได้เมตตามาแสดงธรรมโปรดญาติโยม ในเขตอ�าเภอฝาง-แม่อายไชยปราการ โดยมาพักจ�าวัดที่นี่ เป็นเวลาสองคืน คือ วันที่ 30-31 มกราคม พ.ศ. 2545 และเมตตาอนุญาตให้ใช้นามฉายาของท่าน มาประกอบชือ่ วัดได้ จึงเห็นควรท�าเรือ่ งขอเปลีย่ นแปลงชือ่ วัดเสียใหม่ เพือ่ ความเหมาะสม และเพือ่ ความเป็นสิรมิ งคลอย่างสูง ว่า “วัดป่าดอย แสงธรรมญาณสัมปันโน” วันที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2545 ส�านักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ด้วยความเห็นชอบของมหาเถรสมาคม ประกาศเปลี่ยนแปลงชื่อ “วัดป่าหนองบัวทอง” เป็น “วัดป่าดอยแสงธรรมญาณสัมปันโน” เพราะตั้งตามฉายา ของพระธรรมวิสุทธิมงคล ตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมา กระทั่งในปีนี้ เมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562 ได้ประกอบพิธี ผู ก พั ท ธสี ม าฝั ง ลู ก นิ มิ ต โดยผู ้ แ ทนเจ้ า คณะใหญ่ ค ณะธรรมยุ ต พระพรหมมุน ี วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร เป็นผูต้ งั้ ญัตติ สวดสมมติสมานสังวาสสีมา และตัง้ ญัตติสวดสมมติตจิ วี ราวิปปวาสสีมา เป็นเหตุให้วัดป่าดอยแสงธรรมญาณสัมปันโน ส�าเร็จเป็นวัดพัทธสีมา ที่สมบูรณ์ถูกต้องทั้งในทางกฎหมายและในทางพระธรรมวินัย เมื่อ เสร็จพิธีแล้ว ได้ประกอบพิธีอุปสมบทพระภิกษุฉลองสมโภชอุโบสถ จ�านวน 5 รูป โดยมีพระครูนิรมิตวิทยากร เป็นพระอุปัชฌายะ มี พระธนาพัฒน์ พนฺธโุ ล เป็นพระกรรมวาจาจารย์ และ พระครูอดุ มวรคุณ เป็นพระอนุสาวนาจารย์ มีพระภิกษุนั่งในหัตถบาส จ�านวน 10 รูป CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

289


กราบสรีระสังขารหลวงปู่ครูบาธรรมชัย ในดินแดนพระนิพพาน

WAT PA DOI SAENG DHAM YANASAMPANNO Where the light of Dhamma shines brightly in the hill people’s hearts.

Located at 136 Village No. 8, Mae Na Wang Sub-district, Mae Ai District, Chiang Mai Province, Wat Pa Doi Saeng Dham Yanasampanno sits peacefully on a hilltop with a wide plain where monks’ quarters are situated. Amidst a forest containing Burma sal, dark red meranti, black-varnish, padauk, large timbers and other kinds of trees in an area of nearly 100 rai (40 acres), the temple serves as the heart of the hill community, where the light of Dhamma shines brightly in the hill people’s hearts.

290

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

THE ORIGIN OF THE TEMPLE This temple was established in B.E. 2493. It was known that the sixty-one-rai parcel of land (approximately 24 acres) demarcated for the temple establishment was sacred. No villager dared to trespass or clear the land for farming, even in some periods in which no monks stayed at the temple, since anyone who did so would suffer a misfortune or calamity. This is witnessed by the fact that the areas around the temple have now become the farmlands of nearby villagers, with the remaining forest located only in the monastery area and on the land claimed by the locals as community forest land for people to gather non-timber forest products in order to make a living.


“VENERABLE LUANG TA MAHA BUA YANASAMPANNO” BRIGHT LIGHT OF DHAMMA IN THE MIDDLE OF THE HILL On May 2nd, B.E. 2545, the Ministry of Education, with the consent of the Sangha Supreme Council of Thailand, proclaimed this area to be a place for establishing a Buddhist temple, which was named “Wat Pa Nong Bua Thong”. However, a group of faithful Buddhists thought that a name like “Wat Pa Doi Saeng Dham” would be more appropriate considering the location of the monastery, which is located amidst a forest and hill landscape. This idea was coupled with a myth among some elder villagers who said they had seen a ball of light floating and shining brightly around the hill area, which was believed to be an auspicious “vision of Dhamma” meaning that the light of Dhamma would shine brightly over the entire hill. At the same time, Venerable Luang Ta Maha Bua Yanasampanno, or in his holy title Phra Dham

พระสงฆ์จา� นวน 314 รูป มาร่วมในพิธสี วดถอนติจวี ราวิปปวาสสีมา และสมานสังวาสสีมา 9 กุมภาพันธ์ 2562

Wisutdhimongkol, coincidentally came to this temple to preach to people in the Fang, Mae Ai, and Chai Prakarn districts and stayed two nights at the temple on January 30th and 31st B.E. 2545. He became aware of the issue concerning the temple’s name and was kind enough to allow the temple to be named in part after him. Consequently, the temple issued a request to change its name to “Wat Pa Doi Saeng Dham Yanasampanno” as a matter of appropriateness and auspiciousness. On September 4th, B.E. 2545, the National Office of Buddhism, with the consent of the Sangha Supreme Council of Thailand, announced an alteration of the temple’s name from “Wat Pa Nong Bua Thong” to “Wat Pa Doi Saeng Dham Yanasampanno”, and it has been named after the venerable priest to the present day.

พิธีบรรจุพระบรมสารีริกธาตุในเศียรพระประธาน “พระพุทธ รัชมหามงคลธรรมบดี” โดย พระอาจารย์อินทร์ถวาย สันตุสสโก และ พระครูนิรมิตวิทยากร เจ้าอาวาส 9 กุมภาพันธ์ 2562

โครงการฝึกอบรม “นักเรียนคุณธรรม ดีเด่น” รุ่นที่ 1/2562 ครั้งที่ 4 ณ วั ด ป่ า ดอยแสงธรรมญาณสั มปั น โน โดยความร่วมมือกับ ส�านักงานเขต พืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 3 มีนักเรียน 100 คน จาก 20 โรงเรียน และคณะครู 50 คน เข้าร่วม การฝึ ก อบรมในครั้ ง นี้ พร้ อ มมอบ ทุนการศึกษาให้แก่นักเรียนทุกคน ๆ ละ 500 บาท ทุกครั้งที่เข้าอบรม CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

291


History of buddhism....

วัดส้มสุข (วัดพระธาตุดงส้มสุก) ตำนานแห่งความศรัทธาในบวรพระพุทธศาสนา ของบูรพมหากษัตริย์แห่งเวียงไชยปราการ

วั ด ส้ ม สุ ข (วั ด พระธาตุ ด งส้ ม สุ ก ) ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 292 หมู ่ 6 ต�าบลมะลิกา อ�าเภอแม่อาย จังหวัดเชียงใหม่ เดิมเป็นวัดร้างเรียก แต่เดิมว่า วัดพระธาตุดงส้มสุก อยูห่ า่ งจากแม่นา�้ ฝางประมาณ 400 เมตร เนื้อที่ดินตามโฉนดเลขที่ 10819 เล่มที่ 109 หน้า 19 เลขที่ดิน 220 ตั้งอยู่ในต�าบลแม่อาย(ปัจจุบันเปลี่ยนเป็นต�าบลมะลิกา) ต�านานวัดพระธาตุดงส้มสุก ต�านานบอกว่าพระเจ้าพรหมมหาราชได้ทรงสถาปนาเวียงไชยปราการ ในพุทธศตวรรษที ่ 9 (พ.ศ. 919) ต่อมาพระองค์ได้ทรงสร้างวัดประจ�าเมือง คือวัดเวียงไชย ในปี พ.ศ. 923 จากนั้นก็มาสร้างวัดพระธาตุดงส้มสุก และวัดพระธาตุสบฝางตามล�าดับ ต�านานดังกล่าวข้างต้นได้บอกว่า กองทัพพญาขอมด�า จากอุโมงค เสลานคร ซึ่งเป็นชนชาติขอมเชื้อสายพาหิรพราหมณ์ทั้งสิ้น ได้เข้ามา ยึดนครโยนกและขับไล่กษัตริย์โยนกและพระมเหสีไปอยูเวียงสี่ตวง เป็นผลส�าเร็จเด็ดขาด วันอาทิตย์ เดือน 5 แรม 1 ค�่า 292

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


ปี พ.ศ. 900 พระเจ้าพังคราชกษัตริย์นครโยนก องค์ที่ 45 และ เพิ่งจะครองนครโยนกได้เพียง 2 ปี ขณะนั้นพระองค์มีพระชนม์ได้ 20 พรรษาพอดี พระองค์ พ ร้ อ มพระมเหสี แ ละเหล่ า รั ช ทายาท ทั้ ง หลายได้ ย ้ า ยไปอยู ่ เ วี ย งสี่ ต วง (ปั จ จุ บั น คื อ บ้ า นเวี ย งแก้ ว ต�าบลป่าสักน้อย อ�าเภอเชียงแสน) พระองค์อยู่เวียงสี่ตวงได้ 3 ปี จึงได้พระโอรสองค์หนึ่ง เมื่อแรกประสูติพระโอรสมีผิวพรรณผุดผ่อง สิริโฉมงดงามดั่งพรหม พระองค์พังคราช ผู้เป็นบิดาจึงได้ขนาน พระนามกุมารน้อยองค์นี้ว่า พระเจ้าพรหมกุมาร ครั้นพระเจ้าพรหมกุมาร มีพระชนม์ได้ 13 พรรษา พระองค์ จึงได้ช้างเผือกคู่บารมีจากล�าน�้าโขง 1 เชือก ตั้งชื่อว่า “ช้างเผือก แก้วพานค�า” จากนั้นพระองค์ได้กราบทูลพระราชบิดาออกไปสร้าง เมืองใหม่ทอี่ า� เภอแม่สาย ตัง้ ชือ่ เมืองว่า เวียงพานค�า ภายหลังเรียกเพีย้ น เป็นเวียงพางค�า พระองค์ไปประทับอยู่ที่เวียงพานค�าเป็นเวลา 3 ปี ได้ซ่องสุมก�าลังพลเข้มแข็งดีแล้วจึงได้ยกทัพออกไปขับไล่พญาขอม ด�าที่โยนกนคร จนประสบผลส�าเร็จและได้ไล่ติดตามขอมไปถึงเมือง ละโว้ ใช้เวลาขับไล่ขอมไป-กลับ ถึง 50 วัน หลังจากได้กลับมาถึง เวียงโยนกแล้ว พระองค์กไ็ ด้ไปทูลเชิญพระราชบิดา (พระองค์พงั คราช) ให้กลับมาครองเมืองโยนกอีกเป็นครั้งที่ 2 โดยเปลี่ยนชื่อ โยนกนคร เป็นเวียงไชยบุรี

ในช่ ว งแรกที่ พ ระเจ้ าพั ง คราชขึ้ น ครองเมื อ งโยนก ระหว่ างปี พ.ศ. 898 - พ.ศ. 900 มีพระภิกษุรูปหนึ่ง ชื่อว่า พระพุทธโฆษาจารย์ ซึง่ ส�าเร็จการศึกษาด้านพระพุทธศาสนาจากประเทศศรีลงั กา ท่านกลับมา พร้อมกับได้นา� เอาคัมภีรพ์ ระไตรปิฎกมาถวายแด่พระเจ้าพังคราช 1 ชุด พร้อมกับพระบรมธาตุสว่ นพระนลาฏ(กระดูกหน้าผาก) ของพระพุทธเจ้า อีก 16 องค์ โดยพระเจ้าพังคราชได้แบ่งพระบรมธาตุเหล่านั้นให้แก่ พระยาเรือนแก้ว แห่งนครไชยนารายณ์(เชียงราย) จ�านวน 5 องค์ แล้วพระยาเรือนแก้ว ได้อัญเชิญพระบรมธาตุดังกล่าวไปบรรจุไว้ใน พระเจดีย์บนยอดดอยจอมทอง เขตพะเยา ส่วนที่เหลืออีก 11 องค์ พระองค์ได้อัญเชิญไว้ในโกศทองเพื่อเก็บรักษาไว้ ต่อมาภายหลัง พระองค์ได้มอบโกศทองทีบ่ รรจุพระบรมธาตุนนั้ ให้แก่พระเจ้าพรหมกุมาร พระราชโอรสเพื่อน�าไปบรรจุในเจดีย์บนยอดดอยน้อย (จอมกิตติ) พระบรมธาตุที่แท้จริงจะส�าแดงนิมิตปาฏิหาริย์ได้ จะมีสีแสงโชติช่วง ในเวลากลางคืน จะมีพลังอ�านาจในตัวเองสามารถจะแยกธาตุ รวมธาตุ และสลายธาตุ (หายไป) โดยพลังอ�านาจฉับพลันราวกับปาฏิหาริย์

ต่อมาชาวเทศบาลต�าบลแม่อาย และคณะสงฆ์อา� เภอแม่อาย เห็นพ้องต้องกันทีจ่ ะฟืน้ ฟูวดั พระธาตุดงส้มสุกให้เป็นวัดปกติทม่ี ี พระภิกษุอยู่จ�าพรรษา จึงได้ตั้งคณะท�างานขึ้นคณะหนึ่งเพื่อสืบ ค้นหาต�านานวัดพระธาตุดงส้มสุกประกอบด้วย รองอินปัน๋ มะโนน้อม เป็นหัวหน้าคณะท�างาน รองปลัดวิเชียร บุตรศรี, รองปลัดอนุภทั ร จ�าเริญรัตนากร, นายอธิศักดิ์ ทองค�า, นายประมวล เสนสุข และ นายองอาจ ปันชัย เป็นคณะท�างาน และได้เริ่มประสานงานกับ ส�านักศิลปากรที ่ 8 เชียงใหม่ ซึง่ ทางส�านักศิลปากรได้สง่ เจ้าหน้าที่ มาส�ารวจพืน้ ทีต่ งั้ ขอวัด เมือ่ วันที ่ 18 กันยายน 2552 ประกอบด้วย นายพรรษพล ขันแก้ว นายช่างศิลปกรรมช�านายงานและคณะ ได้พบว่าวัดพระธาตุดงส้มสุก เป็นแหล่งโบราณคดียคุ ประวัตศิ าสตร์ วัดดงส้มสุกเป็นวัดร้าง อายุการก่อสร้างประมาณ 400 - 500 ปี (สมัยพญาเมืองแก้ว) และจากการเข้าไปส�ารวจเชิงลึกอีกครัง้ หนึง่ เมือ่ วันที ่ 22 ตุลาคม 2552 ของนายสายกลาง จินดาสุ นักโบราณคดี กลุม่ อนุรกั ษ์โบรารสถาน ส�านักศิลปากร ที ่ 8 เชียงใหม่และคณะ ได้พบว่าวัดพระธาตุดงส้มสุก เป็นเนินโบราณสถาน ขนาดใหญ่ มีความสูงจากพื้นที่โดยรอบประมาณ 1.60 - 2.00 เมตร พื้นที่ บนเนินโบราณสถานมีขนาดประมาณ 40 - 70 เมตร เจดีย์ อยู่ด้านใต้ห่างจากวิหารประมาณ 12 เมตร ลักษณะเป็นเจดีย์ ทรงแปดเหลีย่ ม ก่ออิฐถือปูน ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางฐานประมาณ 10 เมตร ส่วนวิหารลักษณะเป็นวิหารขนาดใหญ่ยาวประมาณ 31 เมตร ส่วนด้านโบราณวัตถุ ได้พบวัตถุโบราณหลายชิ้น CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

293


และเมื่อวันที่ 18 กันยายน 2552 ได้ติดต่อขอค�าแนะน�าจาก ส�านักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดเชียงใหม่ก็ได้รับความร่วมมือด้วยดี โดยได้แนะน�าวิธีการและขั้นตอนการขอยกวัดร้างขึ้นเป็นวัดปกติที่มี พระภิกษุอยู่จ�าพรรษาและได้ทราบรายละเอียดอีกว่า วัดร้างแห่งนี้ มีโฉนดที่ดิน เลขที่ 10819 เล่มที่ 109 หน้า 19 ต�าแหน่งที่ดินระวาง 4849/3612 เลขทีด่ นิ 220 ต�าบลแม่อาย ( ปัจจุบนั เป็นต�าบลมะลิกา) มีเนื้อที่ 9-1-20 ไร่ ต� า นานท้ อ งถิ่ น แจ้ ง ว่ า พระเจ้ า พรหมกุ ม ารได้ น� า โกศทองที่ พระเจ้าพังคราชได้บรรจุพระบรมธาตุจา� นวน 11 องค์ ขึน้ ไปบรรจุไว้ที่ พระธาตุจอมกิตติ ปรากฏเป็นทีม่ หัศจรรย์ยงิ่ ทีพ่ ระบรมธาตุในโกศทอง นั้นได้แสดงนิมิตปาฏิหาริย์แยกพระบรมธาตุออกเป็นจ�านวนมาก พระเจ้าพรหมกุมารจึงคัดเอาเฉพาะพระบรมธาตุ 11 องค์แรกเท่านั้น บรรจุในพระเจดีย์จอมกิตติ ส่วนที่เหลือเป็นพระบรมธาตุที่แยกธาตุ เสด็จเพิ่มขึ้นใหม่ พระองค์จึงทรงบรรจุพระบรมธาตุเหล่านั้นไว้ใน โกศทองนั้ น เหมื อ นเดิ ม เพื่ อ หาที่ ป ระดิ ษ ฐานไว้ ใ นที่ เ หมาะสมใน โอกาสต่อไป เมื่อภารกิจที่ส�าคัญและยิ่งใหญ่ได้ส�าเร็จลุล่วงไปด้วยดี พระเจ้า พังคราชจึงได้ไปขอพระนางแก้วสุภา พระธิดาของพระยาเรือนแก้ว แห่งเวียงไชยนารายณ์มาท�าพิธีอาวามงคลกรรมให้เป็นคู่ครองของ พระเจ้าพรหมกุมารพระราชโอรสของพระองค์เอง จากนั้นพระเจ้า พรหมกุมารก็พาพระนางแก้วสุภา พระมเหสี พร้อมองครักษ์เข้า 294

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

กราบทูลลาพระเจ้าพังคราช เพือ่ ออกไปสร้างเมืองกันชนใหม่ทตี่ น้ น�า้ กก ป้องกันข้าศึกจากมองโกลและขอมด�าไม่ให้เข้ามารบกวนนครโยนก อีกต่อไปโดยตั้งชื่อเมืองว่า เวียงไชยปราการ อยู่ห่างจากตัวอ�าเภอ ฝางไปทางทิศใต้ประมาณ 30 กม. พระองค์ประทับอยู่เวียงไชย ปราการได้ 4 ปี จวบจน พ.ศ. 923 ท่านได้สร้างวัดต่างๆ ไว้ในเวียง และนอกเวียง เขตเมืองไชยปราการถึง 6 วัด คือ วัดเวียงไชย วัดพระธาตุ ดงส้มสุก วัดพระธาตุสบฝาง วัดเก้าตือ้ วัดป่าแดง และวัดดอกบุญนาค เมื่อพระองค์ได้สร้างวัดประจ�าเมืองเรียบร้อยแล้ว(วัดเวียงไชย) พระองค์จงึ ประทับเรือเข้าไปตามล�าน�า้ ฝาง จึงได้พบพืน้ ทีเ่ หมาะสมอยู่ บนฝั่งแม่น�้าฝาง ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นต้นส้มสุก พระองค์จึงได้สร้างวัด ขึน้ ตรงบริเวณนีแ้ ละตัง้ ชือ่ ว่า วัดพระธาตุดงส้มสุก จากนัน้ ก็ได้ลงเรือเสด็จ ไปถึงปากน�า้ กก และพระองค์ขน้ึ ไปก่อเจดียบ์ นยอดเขาตรงนัน้ ภายหลัง เรียกว่า วัดพระธาตุสบฝาง จนถึงทุกวันนี้ วั ด พระธาตุ ด งส้ มสุ ก ถื อ ว่ า เป็ น หนึ่ง ในพระอารามหลวงของ ไชยปราการยุคนั้น สันนิษฐาน น่าจะเจริญรุ่งเรืองดี พระเจ้าพรหม กุมารผู้สถาปนาวัดนี้ ได้เสวยราชสมบัติอยู่เวียงไชยปราการนี้จนถึงปี พ.ศ. 980 จึงเสด็จสวรรคตสิริพระชนมายุได้ 77 พรรษา ช่วงพระองค์ ไชยสิ ริ พระโอรสของพระพรหมกุ ม าร ได้ ขึ้ น เสวยเมื อ งต่ อ จาก พระราชบิดา ก็ได้เจริญรอยตามกุศโลบายของพระราชบิดาว่าด้วย การบ�ารุงพระพุทธศาสนามาโดยตลอดจนกระทั่งกลายเป็นวัดร้าง อยู่ช่วงหนึ่ง


ฟื้นฟูวัดร้างดงส้มสุกให้มีพระจ�าพรรษา เมื่อได้ไปศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับวัดพระธาตุดงส้มสุกจากวัดต่างๆ ในเขตพื้นที่เวียงไชยปราการแล้วคณะกรรมการสืบค้นหาต�านานก็ได้ ขึ้นไปกราบนมัสการพระเทพวรสิทธาจารย์ เจ้าอาวาสวัดพระธาตุ ดอยสุเทพราชวรวิหาร เชียงใหม่ และรองเจ้าคณะภาค 7 ในเชียงใหม่ โดยขอนิมนต์ท่านเป็นประธานที่ปรึกษาคณะกรรมการฟื้นฟูบูรณะ วัดพระธาตุดงส้มสุก เพือ่ คอยให้คา� ปรึกษาและแนะน�าในการด�าเนินงาน ดังกล่าวโดยท่านได้เมตตารับหน้าที่และในชั้นแรก ท่านได้แนะน�าให้ ด�าเนินการดังนี ้ 1.ท�าพิธบี วงสรวงสังเวยแด่ดวงวิญญาณ บูรพมหากษัตริย์ แห่งเวียงไชยปราการผู้สถาปนาวัดพระธาตุดงส้มสุก 2.จัดกิจกรรม ปฏิ บั ติ ธ รรมโดยวิ ธี ก ารเข้ า รุ ก ขมู ล กรรมในบริ เวณวั ด ร้ า งแห่ ง นี ้ 3.จัดหาพระเข้าไปอยู่ชั่วคราวก่อนการเริ่มพัฒนา 4.จัดท�าต�านานวัด ออกประชาสัมพันธ์สื่อสารมวลชนเพื่อแสวงหาความร่วมมือเกี่ยวกับ การระดมทุนเพือ่ การพัฒนาต่อไป จากนัน้ คณะกรรมการได้ดา� เนินการ ตามที่ท่านประธานที่ปรึกษาแนะน�ามาครบถ้วนเรียบร้อยแล้ว เมื่อ ปลายปี พ.ศ. 2552 ซึ่งประสบความส�าเร็จเป็นที่น่าพอใจยิ่ง จากนั้นคณะท�างานก็ได้เดินทางไปวัดสีลาอาสน์ (วัดคายนอก)

เพื่อนมัสการพระธาตุส้มสุก และได้พบกับพระครูสมเพชร ปภัสสโร เจ้าอาวาสวัด ลีลาอาสน์ จึงทราบรายละเอียดว่าพระธาตุส้มสุก ที่ วัดสีลาอาสน์นี้ สร้างในสมัยพระอธิการกิตติ อติคุโณ เป็นเจ้าอาวาส (ปัจจุบันท่านจ�าพรรษาอยู่ที่วัดโลกโมฬี อ�าเภอเมืองเชียงใหม่) ในปี พ.ศ. 2538 ความเป็นมาของหัวใจพระธาตุส้มสุก หัวใจพระธาตุส้มสุก คือพระธาตุจ�าลองเป็นสถูป ท�าด้วยโลหะ สูงประมาณ 10 นิ้ว ซึ่งก�านันจู ( บุญชู ช่างไม้) ก�านันต�าบลแม่นาวาง ได้มาจากบริเวณวัดร้างส้มสุก ( วัดพระธาตุดงส้มสุก) โดยก�านันบุญชู ช่างไม้ ได้เก็บพระธาตุจา� ลององค์นไี้ ว้ทบี่ า้ นของท่านเอง ต่อมาพระอาจารย์ อินทนนท์ (พระครูศลี นันทคุณ) วัดสีลาอาสน์ เจ้าคณะต�าบลแม่นาวาง ได้แนะน�าก�านันบุญชู ให้นา� หัวใจพระธาตุมาเก็บรักษาไว้ทว่ี ดั สีลาอาสน์ ซึ่งท่านก�านันก็ไม่ขัดข้องและได้ด�าเนินการตามที่ท่านพระครูแนะน�า ต่อมาในสมัยของพระอธิการกิตติ อติคุโณ เป็นเจ้าอาวาส จึงได้ สร้างเจดียบ์ รรจุหวั ใจพระธาตุดงั กล่าวและตัง้ ชือ่ เจดียว์ า่ พระธาตุสม้ สุก ดังปรากฏให้เห็นอยู่ทุกวันนี้ ประวัติเจ้าอาวาส พระฉลองวุฒ ิ จิตตฺ วุฑโฺ ฒ อายุ 33 พรรษา 6 ปริญญาตรีครุศาสตร์บณ ั ฑิต ก่อนทีท่ า่ นจะมาเป็นเจ้าอาวาส วัดส้มสุข ท่านได้นมิ ติ เห็นวัดเก่าแก่ ที่ร้างอยู่ในป่า ด้านหน้ามีแม่น�้าใหญ่ ท่านจึงได้ออกตามหา จนกระทั่ง พ่อสนัน่ -แม่เขียว ธงชัย ซึง่ เป็นญาติ ทีอ่ าศัยอยูท่ บี่ า้ นเด่น ต�าบลมะลิกา อ�าเภอแม่อาย ได้ทราบเรื่องและได้พาท่านมาดูวัด ซึ่งในขณะนั้นไม่มี พระอยู่ประจ�า พ่อสนั่นจึงได้พาเข้าไปกราบพระครูวิธานธรรมโสภณ เจ้าคณะอ�าเภอแม่อาย ซึ่งวัดพระธาตุส้มสุก อยู่ในความดูแลของท่าน จากนั้นหลวงพ่อเจ้าคณะอ�าเภอแม่อาย และนายพิรุณ ธงชัยสุวรรณ นายกเทศมนตรีเทศบาลต�าบลแม่อาย พร้อมคณะ และสภาวัฒนธรรม ได้นมิ นต์ พระฉลองวุฒ ิ จิตตฺ วุฑโฺ ฒ มาจ�าพรรษา และได้รบั การแต่งตัง้ เป็นเจ้าอาวาส องค์แรก ของวัดพระธาตุดงส้มสุก

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

295


History of buddhism....

วัดเมืองหนอง ดูกรภิกษุทงั้ หลาย! เมือ่ พระอาทิตย์จะขึน้ สิง่ ทีข่ นึ้ ก่อน คือ แสงเงินแสงทอง ฉันใด สิ่งที่เป็นเบื้องต้น แห่งการตรัสรู้อริยสัจสี่ตามความเป็นจริง คือ สัมมาทิฏฐิ ฉะนั้นเหมือนกัน” พุทธพจน์

พระอธิการแสงหงส์ โสภิโต ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาส

วัดเมืองหนอง ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 140 บ้านเมืองหนอง ถนนฝาง-ท่าตอน ต� า บลแม่ ส าว อ� า ภอแม่ อ าย จั ง หวั ด เชี ย งใหม่ สั ง กั ด คณะสงฆ์ มหานิกาย ที่ดินที่ตั้งวัดมีเนื้อที่ 9 ไร่ 3 งาน 62 ตารางวา เริ่มก่อสร้าง เมื่อปี พ.ศ.2462 โดยการน�าของ พระครูบาปิ่งหญ่า ในครั้งนั้น ปัจจุบัน พระอธิการแสงหงส์ โสภิโต ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาส

296

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


คณะศรัทธาพร้อมครอบครัว มีประมาณ 50 หลังคาเรือน ปัจจุบันที่ ยังมีชีวิตอยู่ คือ พ่อเฒ่าก้างหมั้น, พ่อเฒ่าก้างมู ,พ่อเฒ่าหญ่าอุ๊ก , พ่อเฒ่าค�าเฮือง, พ่อเฒ่าก้างต๊ะ, พ่อเฒ่าค�าชื่น, พ่อเฒ่าก้างอุ้ย, พ่อเฒ่าฟั่น, พ่อเฒ่าหมอกค�า, พ่อเฒ่าใส่, พ่อเฒ่าค�าอู๋, พ่อเฒ่าซอ, พ่อเฒ่าลากวิหลิ่ง, พ่อเฒ่าหลอยก้าง, พ่อเฒ่าหลอยเจ้าวัว และ พ่อเฒ่าหลอยลายค�า ซึ่งเป็นชาวไทยใหญ่ อยู่อ�าเภอเมืองหนอง ประเทศพม่า ได้อพยพมาตั้งถิ่นฐานที่บ้านแม่สาว หมู่ที่ 1 โดยตาม ที่เคยเป็นเมืองหนอง ประเทศพม่า คนทั่วไปจึงเรียกว่า บ้านแม่สาว เมืองหนอง วัดเมืองหนอง พร้อมทั้งอัญเชิญพระพุทธรูปลงรักปิดทอง มาจากกรุงย่างกุ้ง ประเทศพม่า มาประดิษฐานที่วัด จนถึงปัจจุบัน

ล�าดับเจ้าอาวาส เท่าที่ทราบนาม 1. พระครูบาปิงหญ่า 2. พระอธิการส่วยหลู่ สุมโณ 3. พระวีระ ปัญฺญาทีโป 4. พระณรงค์เดช อคฺคธมฺโม 5. พระอธิการแสงหงส์ โสภิโต

พ.ศ.2462–2492 พ.ศ.2500–2541 พ.ศ.2541–2549 พ.ศ.2549–2550 พ.ศ.2550–ปัจจุบัน

กรรมการวัดเมืองหนอง 1. นายกวี ยอดแสง ก�านันต�าบลแม่สาว ประธานที่ปรึกษา 2. นายวุฒินันท์ วรพันธ์ ผรส.บ้านเมืองหนอง ม.10 3. นางธัญญาลักษณ์ ดวงศรี ผช.บ้านเมืองหนอง ม.10 4. นายประสงค์ ยอดแสง ไวยาวัจกร 5. นายอนันต์ ก้างจาย มัคนายก 6. นายตุ๋น ยอดแสง กรรมการ 7. นายแหลง ใจดี กรรมการ 8. นายทองสุข จะเรวงศ์ กรรมการ 9. นายปันจิ่ง จะเรวงศ์ กรรมการ 10. นายสมชาย วิทยาปัญญากุล กรรมการ 11. นายค�า นันตา กรรมการ 12. นายจรุณ ยอดแสง กรรมการ 13. นายมุ้ง อินต๊ะ กรรมการ 14. นายวีระ อินต๊ะ กรรมการ 15. นายเติน ต๋าค�า กรรมการ 16. นายธวัชชัย สุรพันธ์ กรรมการ 17. นายยอดชาย ค�าชื่น กรรมการ 18. นายดี บุญทา กรรมการ 19. นายบุญทิตย์ แหลงค�า กรรมการ

พระอธิการแสงหงส์ โสภิโต ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาส CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

297


History of buddhism....

วัดป่าตึง บารมีหลวงปู่หล้า พระอริยสงฆ์ผู้เต็มเปี่ยม ไปด้วยความเมตตาต่อผู้ยากไร้ พระครูวิสุทธเขมรัต รองเจ้าคณะอ�าเภอสันก�าแพง, เจ้าอาวาสวัดป่าตึง

วัดป่าตึง ตัง้ อยูห่ มูท่ ี่ 7 บ้านป่าตึง ต�าบลออนใต้ อ�าเภอสันก�าแพง จังหวัดเชียงใหม่ มีเนื้อที่ 15 ไร่ 3 งาน 94 ตารางวา ได้รับแต่งตั้ง จากกระทรวงศึกษาธิการ ลงวันที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2427 มี เสนาสนะและถาวรวั ต ถุ เ ป็ น หลั ก ฐานมั่ น คง มี พ ระภิ ก ษุ - สามเณรอยู่จ�าพรรษามาโดยตลอด ปัจจุบันมี พระครูวิสุทธเขมรัต เป็นเจ้าอาวาส วัดป่าตึง เป็นวัดที่พระครูจันทสมานคุณ (หลวงปู่หล้า จนฺโท) เคยเป็นเจ้าอาวาสอยู่ในสมัยก่อน จนกระทั้งท่านละสังขารในปี พ.ศ. 2536 ชื่อเสียงของหลวงปู่หล้า เป็นที่รู้จักของคนทั่วไปก็ เนื่องด้วยท่านเป็นพระที่ประพฤติปฏิบัติตนอยู่ในหลักศีลธรรม อันงดงามตลอดเวลา มีความเมตตาต่อทุกๆ คนที่เข้าหาท่าน หลวงปูห่ ล้าท่านได้รบั สมญานามจากศรัทธาญาติโยมว่ามีญาณวิเศษ ที่ ส ามารถล่วงรู้เหตุก ารณ์ข้างหน้าได้ จนชาวบ้ า นทั่ ว ไปเรี ย ก ท่านว่า “หลวงปู่หล้าตาทิพย์”

298

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

299


ประวัติความเป็นมาของวัดป่าตึง (ห้วยหม้อ) บริเวณที่ตั้งวัดป่าตึง เดิมที่นั้นเป็นป่าไม้แน่นหนา ทางภาคเหนือ เรียกว่าไม้ตึง ภาคกลางเรียกว่าไม้พลวง ไม้ตึงมีล�าต้นสูงใหญ่ ใบใช้ มุงหลังคาและห่อของได้ ป่าตึงนัน้ เดิมทีเป็นเมืองเก่าประมาณอายุไม่ได้ เพราะมีซากปรักหักพังของเจดียว์ ดั ร้างอยู ่ มีเตาเผาเครือ่ งถ้วยสังคโลก ตามที่เจ้าหน้าที่กรมศิลปากรมาส�ารวจมีประมาณ 320 เตา จาก หมู ่ บ ้ า นป่ า ตึ ง ถึ ง ป่ า ห้ ว ยลาน ปั จ จุ บั น เป็ น อ่ า งเก็ บ น�้ า ห้ ว ยลาน โครงการพระราชด�าริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ถ้าขุดตรงไหน ที่เป็นบริเวณเตาเผา เครื่องถ้วยสังคโลกก็จะพบถ้วย โถ ชาม แจกัน และพระเครื่อง ของใช้ต่างๆ ที่เป็นทองสัมฤทธิ์ และทองค�าบ้าง ห่างจากวัดป่าตึงประมาณ 2 กิโลเมตร จะพบวัดร้างอีกวัดหนึ่ง ชื่ อ ว่ า “วั ด สารกั ล ญาณมหั น ตาราม” (วั ด เชี ย งแสน) ซึ่ ง พระครู จันทสมานคุณ (หลวงปู่หล้า) อดีตเจ้าอาวาสวัดป่าตึงได้ขุดพบหลัก ศิลาจารึก พระพุทธรูป และเจดีย์ ปัจจุบันนี้อยู่ที่พิพิธภัณฑ์วัดป่าตึง บริเวณวัดป่าตึง ในอดีตเป็นที่วัดร้าง ต่อมาได้มีนายค�า ซึ่งอาศัย อยู่ใกล้กับบริเวณวัดร้างได้มาแผ้วถางท�าไร่ ขณะที่นั่งพักได้พบผอบ ซึ่ ง ข้ า งในได้ บ รรจุ พ ระบรมสารี ริ ก ธาตุ จึ ง น� า ไปถวายครู บ าปิ น ตา ซึ่ ง เป็ น พระอุ ป ั ช ฌาย์ ข องหลวงปู ่ ห ล้ า อดี ต เจ้ า อาวาสวั ด ป่ า ตึ ง ขณะนั้นจ�าพรรษาอยู่วัดบ้านหลวง (วัดแม่ผาแหน) ปัจจุบัน ในกาลนั้น ท่านครูบาปินตาจึงเห็นสมควรที่จะสร้างวัดขึ้นเพราะ สถานที่แห่งนี้ เดิมทีเป็นวัดมาก่อน พร้อมทั้งมีชาวบ้านอาศัยอยู่ใน บริเวณหมู่บ้านคือ บ้านป่าตึง บ้านปง และบ้านเหล่า จึงเห็นสมควร ที่จะสร้างวัดขึ้นมา วัดป่าตึงเริ่มก่อสร้างเมื่อวันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2425 ในพื้นที่ หมู่ 7 บ้านป่าตึง ต�าบลออนใต้ อ�าเภอสันก�าแพง จังหวัดเชียงใหม่ มีเนื้อที่ 15 ไร่ 3 งาน 94 ตารางวา และได้รับแต่งตั้งจากกระทรวง ศึกษาธิการ ลงวันที่ 9 มกราคม 2427 มีเสนาสนะและถาวรวัตถุ เป็นหลักฐานมั่นคง มีพระภิกษุ - สามเณรอยู่จ�าพรรษาตลอดมา

300

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


บารมีหลวงปู่หล้า ถ้ า จะกล่ า วว่ า วั ด ป่ า ตึ ง อ� า เภอสั น ก� า แพง จั ง หวั ด เชี ย งใหม่ มี ชื่ อ เสี ย งเป็ น ที่ รู ้ จั ก กั น อย่ า งกว้ า งขวาง เนื่ อ งด้ ว ยชื่ อ เสี ย งและ ศรัทธาบารมีของ หลวงปู่หล้า จนฺโท เจ้าอาวาสองค์ที่สอง ก็คง จะเป็นค�ากล่าวที่ไม่ผิดนัก ด้วยกิตติศัพท์โด่งดังเป็นที่เลื่องลือถึงการ รู้เหตุการณ์ล่วงหน้าในอนาคตได้อย่างแม่นย�า จึงได้รับฉายานามว่า หลวงปู่หล้าตาทิพย์ และที่ส�าคัญท่านเป็นผู้มีบทบาทในการพัฒนา วั ด ป่ า ตึ ง จนมี ค วามเจริ ญ รุ ่ ง เรื อ งเป็ น มรดกอั น มี คุ ณ ค่ า ทาง พุทธศาสนาสืบทอดจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ย้อนกลับไปในอดีตครูบาปินตา เป็นผู้สร้างวัดป่าตึงและเป็น เจ้าอาวาสวัดป่าตึงองค์แรก หลวงปู่หล้าเป็นเจ้าอาวาสองค์ท่ีสอง

โดยชื่อของวัดน�ามาจากชื่อต้นไม้ที่มีชื่อว่า ตึง ซึ่งขึ้นอยู่หนาแน่น ในบริ เ วณนั้ น ต้ น ตึ ง มี ล� า ต้ น สู ง และมี ใ บขนาดใหญ่ ซึ่ ง น� า มา ใช้ประโยชน์ในการมุงหลังคาได้เป็นอย่างดี ครูบาปินตาเริ่มสร้างวิหารเมื่อปี พ.ศ.2453 ท่านได้ไปขออนุญาต เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่เพื่อตัดไม้สักมาสร้างวิหารด้วยตนเอง ซึ่ง แสดงให้เห็นถึงความทุ่มเทและศรัทธาต่อพระพุทธศาสนาของท่าน ได้อย่างน่ายกย่อง ในช่วงที่หลวงปู่หล้าเป็นเจ้าอาวาสสืบต่อมา ท่านได้บูรณะวิหารหลังนี้ในปี พ.ศ.2493 ต่อมาได้ท�าการปฏิสังขรณ์ ครั้งใหญ่เมื่อปี พ.ศ.2504 ซึ่งเป็นปีที่พระอธิการหล้า จนฺโท ได้เป็น พระครูจันทสมานคุณ CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

301


พระผู้สร้าง “วิจิตรศิลป์” แห่งวัดป่าตึง ส�าหรับความวิจิตรงดงามภายในวัดป่าตึง มีงานที่แสดงถึงฝีมือ ของหลวงปู่หล้ามากมาย ถึงแม้ท่านจะไม่ได้รา�่ เรียนทางด้านนี้มาก่อน แต่ก็มีฝีมือทางด้านช่าง ท่านจึงได้พัฒนาสิ่งต่างๆ ภายในวัดด้วย ตัวของท่านเอง เช่น หน้าบันประกอบลายไม้แกะสลักของวิหารซึ่ง อยู่ที่ประตูทิศตะวันตกทางเข้าวิหาร นอกจากนั้นภายในวิหาร หลวงปู่หล้ายังได้เขียนภาพสีน�้ามัน ซึ่ง เป็นภาพพุทธประวัตลิ งบนผนังด้านใต้ และภาพเขียนของครูบาปินตา ซึ่ ง เป็ น เจ้ า อาวาสองค์ แรกของวั ด ป่ า ตึ ง และเป็ น พระอุ ป ั ช ฌาย์ อาจารย์ที่เลี้ยงดูสั่งสอนหลวงปู่หล้ามาตั้งแต่อายุ 9 ขวบ ส่วนบนฝาผนังด้านตะวันตกหลังองค์พระประธาน ท่านก็ได้เขียนภาพ สีน�้ามันเป็นภาพของเทวดานางฟ้าประนมหัตถ์อยู่เบื้องบนลงมา จนถึงบาดาลซึง่ มีนาคราชหรือพญานาคแบบล้านนาไทยข้างละ 5 เศียร นอกจากนี้ หลวงปู่หล้ายังได้สร้างสิ่งต่างๆ ซึ่งบ่งบอกได้ว่าท่าน เป็นทั้งช่างปูน ช่างไม้ ช่างแกะสลัก หรือเรียกรวมๆ ได้ว่าท่านเป็น สารพัดช่าง เห็นได้จากงานที่ท่านได้แสดงฝีมือ เช่น ธรรมาสน์แบบ ล้านนาไทย ที่มีลักษณะคล้ายกับบุษบก หรือเรือนยอดขนาดเล็ก ที่ ท่านได้สร้างไว้เมื่อ พ.ศ. 2473 รวมทั้งในวิหารและหอธรรม ท่านได้ สร้างลูกกรง รวมทัง้ ประดับกระจกหุงทีแ่ ท่นพระประธาน และทีด่ า้ นหน้า ของหอธรรมด้วย แม้แต่งานเบ็ดเตล็ดต่างๆ ภายในวัด หลวงปูห่ ล้าได้ให้ความเอาใจใส่ ดูแลงานด้วยตัวเอง เช่น การสร้างกุฏ ิ การท�าโต๊ะหมูบ่ ชู า เพือ่ ให้ชาวบ้าน ยืมใช้เมื่อมีผู้เสียชีวิต นับว่าเป็นความเมตตาต่อผู้ยากไร้ เป็นอย่างยิ่ง ความทุ ่ ม เทของหลวงปู ่ ห ล้ า เพื่ อ พั ฒ นาวั ด ยั ง เห็ น ได้ จ ากกุ ฏิ ไม้สักทองหลังงาม ซึ่งถือเป็นมรดกล�้าค่าที่ท่านได้ทิ้งไว้ให้ลูกหลาน รุ่นหลัง โดยใช้งบประมาณในการก่อสร้างถึง 21 ล้านบาท เนื่องจาก ไม้สักทองเป็นไม้ที่มีราคาสูง และด้วยจิตส�านึกของหลวงปู่หล้าที่มี ความเคารพต่อกฎหมายบ้านเมือง ท่านจึงไปขออนุญาตจากคุ้มเจ้า ทางเหนือด้วยตัวเอง

302

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

303


เจ้าภาพงานทอดกฐินสามัคคี และ เจ้าภาพถวายปัจจัยในการจัดทำนิตยสาร

304

SBL บันทึกประเทศไทย (คุณแม่I เชีจยันงใหม่ ทร์เพ็ญ,

คุณวิรัช, คุณฉวี, คุณลั่นทม, คุณกฤษณะ, คุณกฤษดา - สัญวุฒิ พร้อมครอบครัว)


พระครูจันทสมานคุณ (หลวงปู่หล้า จนฺโท)

สมญานามจากศรัทธาญาติโยมว่ามีญาณวิเศษที่สามารถล่วงรู้ เหตุการณ์ข้างหน้าได้ จนชาวบ้านทั่วไปเรียกท่านว่า “หลวงปู่หล้าตาทิพย์” พระครูจันทสมานคุณ (หลวงปู่หล้า จนฺโท) เกิดในรัชสมัยของ พระบาทสมเด็จพระพุทธเจ้าหลวง รัชกาลที ่ 5 ซึง่ อยูใ่ นช่วงผลัดเปลีย่ น เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่สมัยของเจ้าอินทวิชยานนท์ เจ้าผู้ครอง นครเชียงใหม่องค์ที่ 7 (พ.ศ. 2426 - พ.ศ. 2439) กับ เจ้าอินทวโรรส สุริยวงศ์ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่องค์ที่ 8 (พ.ศ. 2442 - พ.ศ. 2452) หลวงปู่หล้าเกิดเมื่อวันพฤหัสบดี ขึ้น 7 ค�่าเดือน 11 ตรงกับวันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2441 ที่บ้านปง ต�าบลออนใต้ อ�าเภอสันก�าแพง จังหวัดเชียงใหม่ โยมพ่อชื่อ นายเงิน โยมแม่ชื่อ นางแก้ว บุญมาค�า เหตุที่มีนามสกุลนี้ หลวงปู่หล้าเล่าว่า “เพราะพ่ออุ๊ย(ปู่) ชื่อบุญมา แม่อยุ้ (ย่า) ชือ่ ค�า เมือ่ มีการตัง้ นามสกุล ก�านันจึงตัง้ ให้เป็น บุญมาค�า” หลวงปู่หล้าเป็นบุตรคนสุดท้องของครอบครัวจากจ�านวนพี่น้อง 4 คน เมื่ออายุได้ 1 ขวบ ต้องก�าพร้าพ่อ โยมแม่จึงได้เลี้ยงดูลูก ทั้งหมดเพียงล�าพัง หลวงปู่หล้าเล่าให้ฟังว่า “การเลี้ยงลูกสมัยก่อน ต้องช่วยกันท�างาน ช่วยเลี้ยงวัว หากใครท�าผิดก็จะถูกเฆี่ยน ท�าพลาด ก็ถูกเอ็ด” เมื่อหลวงปู่หล้าอายุได้ 8 ขวบ โยมแม่ก็น�าไปฝากกับครูบาปินตา เจ้าอาวาสวัดป่าตึงให้เป็นเด็กวัด หลวงปูห่ ล้าจึงได้มโี อกาสเรียนหนังสือ เป็นครั้งแรกกับครูบาอินตา ซึ่งสมัยนั้นจะเรียนหนังสือพื้นเมืองก็ต้อง อายุได้ 11 ขวบและได้บวชเป็นสามเณรในช่วงเข้ารุกขมูล เข้ากรรม อยู่ในป่า การอยู่กรรมของพระสงฆ์ มีจุดมุ่งหมายต้องการที่จะให้ พระสงฆ์ได้รู้จักความทุกข์ยากล�าบาก ให้เป็นผู้รู้จักช่วยเหลือสังคม โดยเฉพาะได้เป็นผู้น�าในด้านการพัฒนาต่อไป การเข้ากรรม หรือ อยู่กรรม เรียกว่า ประเพณีเข้าโสสานกรรม ซึ่งเป็นประเพณีท่ีส�าคัญอย่างหนึ่งของพระพุทธศาสนาที่พระสงฆ์ จะต้องถือปฏิบัติอย่างเคร่งครัด ซึ่งมักจะกระท�ากันในบริเวณป่าช้า ทีอ่ ยูน่ อกวัด พระสงฆ์และผูท้ เ่ี ข้าบ�าเพ็ญโสสานกรรมจะต้องถือปฏิบตั ิ เคร่งครัดเพื่อต้องการบรรเทากิเลสตัณหา CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

305


ขณะที่บวชเป็นสามเณรอยู่นั้น หลวงปู่หล้าไม่ได้เรียนแต่เพียง หนังสือพื้นเมืองเท่านั้น แต่ยังได้เรียนหนังสือไทยไปด้วย โดยเรียน กับพระอุ่นซึ่งเคยไปจ�าพรรษาที่วัดอู่ทรายค�าในเมืองเชียงใหม่ และ เรียนหนังสือไทยที่โรงเรียนประจ�ามณฑลพายัพ ปัจจุบันคือโรงเรียน ยุพราชวิทยาลัย แต่ครูบาปินตาไม่สนับสนุนให้พระเณรเรียนหนังสือไทย ในที่สุดพระอุ่นจึงต้องเลิกสอน หลวงปู่หล้าศึกษาเล่าเรียนทั้งอักขรวิธี และธรรมปฏิบตั กิ บั ครูบาปินตาเรือ่ ยมาจนกระทัง่ อายุได้ 18 ปี จึงเดินทาง เข้าไปจ�าพรรษาอยู่ในเมืองเชียงใหม่ เพื่อเรียนนักธรรมที่วัดเชตุพน หลวงปู่หล้าเรียนนักธรรมที่วัดเชตุพนเพียง 1 ปี ยังไม่ทันส�าเร็จก็ต้อง เดินทางกลับวัดป่าตึง เพื่อปรนนิบัติครูบาปินตาที่ชราภาพ หลวงปู่หล้าอยู่อุปัฏฐากปรนนิบัติครูบาปินตาจนกระทั่งล่วงเข้าปี พ.ศ. 2467 ครูบาปินตาก็มรณภาพด้วยวัย 74 ปี ซึง่ ขณะนัน้ หลวงปูห่ ล้า อายุ 27 ปีเท่านั้น หลวงปู่หล้ารับต�าแหน่งเจ้าอาวาสวัดป่าตึงต่อจาก ครูบาปินตา เมือ่ ปี พ.ศ. 2467 และได้รบั การแต่งตัง้ เป็นเจ้าคณะต�าบล ออนใต้เมื่อปี พ.ศ. 2476 ปี พ.ศ. 2477 เมื่อครูบาศรีวิชัย ได้สร้างถนนขึ้นสู่ดอยสุเทพ โดย เริ่มสร้างตั้งแต่วันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ.2477 จนถึงวันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2478 รวมเป็นเวลา 5 เดือนกับ 22 วัน ในครั้งนั้นหลวงปู่หล้า

306

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

ได้เดินทางไปร่วมสร้างถนนขึ้นดอยสุเทพด้วย หลวงปู่หล้าเล่าถึง ความยากล�าบากในการสร้างถนนไว้ในหนังสือ ประวัติวัดป่าตึงว่า “การสร้างถนนมีการแบ่งงานกันตามก�าลังของคน ผู้คนที่ไปร่วมเป็น ชาวบ้านจากวัดป่าตึงท�าได้ 5 วาใช้เวลา 14 วัน ส่วนพวกที่มาจาก เมืองพานท�าได้ 60 วา” จนเมื่อปี พ.ศ. 2504 หลวงปู่หล้าได้รับการแต่งตั้งสมณศักดิ์เป็น พระครูจันทสมานคุณ ซึ่งขณะนั้นท่านอายุ 63 ปี มีคนพากันยกย่อง หลวงปูห่ ล้าว่าท่านสามารถรูเ้ ห็นเหตุการณ์ลว่ งหน้าได้ ดังมีเรือ่ งเล่าว่า วันหนึ่งฝนตั้งเค้าจะตกหนัก หลวงปู่บอกให้พระเณรรีบออกจากกุฏิ เพราะกุฏิเก่าและทรุดโทรมมากและมีต้นลานขนาดใหญ่อยู่ข้างกุฏิ ปรากฏว่าวันนั้นฝนตกหนักกิ่งต้นลานก็หักโค่นลงมาทับกุฏิพัง พระ เณรที่อยู่ในวัดทุกคนปลอดภัยและพากันสรรเสริญว่า ท่านมีตาทิพย์ นอกจากนั้นยังมีเรื่องเล่าอีกว่า เช้าวันหนึ่งเวลาประมาณตี 5 หลวงปู ่ ห ล้ า ให้ พ ระเณรรี บ ท� า ความสะอาดวิ ห ารเพราะจะมี แขก มาหาที่วัด ครั้นพอถึงเวลา 6 โมงเช้า พระศรีธรรมนิเทศ เจ้าอาวาส วัดสันป่าข่อยน�าญาติโยมมาหา ด้วยเหตุน้ีชาวบ้านจึงพากันเรียก ท่านว่า “หลวงปู่หล้าตาทิพย์”


หลวงปู ่ ห ล้ า เจริ ญ อายุ ม าถึ ง 97 ปี ก็ ถึ ง แก่ ม รณภาพเมื่ อ วันที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2536 ยังความเศร้าสลดใจมาสู่พระสงฆ์ สามเณร ศรัทธาญาติโยมทั่วไป และต่างก็มาเคารพศพตั้งแต่ วั น ที่ ท ่ า นมรณภาพ จวบจนปั จ จุ บั น นี้ ศ พของหลวงปู ่ ห ล้ า ถูกบรรจุไว้ในโลงแก้วที่ประดับประดาด้วยดอกไม้ ตั้งอยู่ บนกุฏิไม้สักที่งดงามในวัดป่าตึง หลวงปู่หล้าท่านเป็นพระผู้ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ ท่ า นถื อ ปฏิ บั ติ พ ระธรรมวิ นั ย อย่ า งเคร่ ง ครั ด แม้ แ ต่ พ ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และ สมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ

ได้โปรดฯ เกล้าพระราชทานน�้าสรง ซึ่งยังความปลาบปลื้มปีติ ยินดีมาสู่ศิษยานุศิษย์ แม้ว่าหลวงปู่หล้า จะมรณภาพจากไปแล้ว ก็ เ ป็ น เพี ย งการจากไปแต่ ส รี ร ะร่ า งกายเท่ า นั้ น ส่ ว นคุ ณ งาม ความดีที่ท่านได้สร้างเอาไว้หาได้ดับไปด้วยไม่ ในท้ า ยนี้ คุ ณ งามความดี ที่ ห ลวงปู ่ ห ล้ า ได้ บ� า เพ็ ญ มาก็ ดี คุณงามความดีที่ศิษยานุศิษย์ทั้งหลายได้บ�าเพ็ญมาก็ดี และคณะศรัทธาญาติโยมบ�าเพ็ญมาก็ดี ขอจงเป็น พลวะปั จ จั ย ให้ ด วงวิ ญญาณของหลวงปู่น้ันได้ ประสบสุขในสัมปรายภพนั้นด้วย

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

307


พิพิธภัณฑ์โบราณวัตถุ เรียนรู้รากประวัติศาสตร์ไทย วัดป่าตึงไม่เพียงแต่จะท�าหน้าที่เผยแผ่พระพุทธศาสนาเท่านั้น แต่ยังให้ความส�าคัญต่อประวัติศาสตร์ไทยอีกด้วย ภายในบริเวณวัด ได้สร้างพิพิธภัณฑ์แสดงโบราณวัตถุ โดยได้รับการสนับสนุนจาก เจ้ า หน้ า ที่ ก รมศิ ล ปากร และอาจารย์ ไ กรศรี นิ ม มานเหมิ น ทร์ เนื่องจากพบเตาเผาโบราณจ�านวนมากในบริเวณใกล้เคียงกับวัด บริเวณดังกล่าวนั้นก็คือ ห้วยผาแหน ห้วยแม่ลาน ห้วยหม้อ และใน ช่วงหลังสงครามโลก (พ.ศ. 2495) มีการขุดเครื่องปั้นดินเผาจ�านวน มากไปเผยแพร่ในนามเครื่องถ้วยสันก�าแพง ชาวบ้านที่ช่วยในการ ขุดครั้งนั้นได้น�าเครื่องปั้นดินเผา และสิ่งของวัตถุโบราณที่พบบาง ส่วนถวายวัดจึงได้น�ามาจัดรวบรวมไว้ในพิพิธภัณฑ์ด้วย

หลักศิลาจารึก แต่ละด้าน

รือ พระฝนแสนห่า หอง ท น พระฝนแส

ในหลวงรัชกาลที่ 9 พร้อมด้วยพระราชินีฯ ทรงยกช่อฟ้า ตัดลูกนิมิต และปลูกต้นพิกุล ในวันที่ 10 มีนาคม 2532 และได้รับ อนุญาตให้ใช้สัญลักษณ์ พระปรมาภิไธย ติดหน้าอุโบสถ

308

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


ประวัติและปฏิปทา “พระครูวิสุทธเขมรัต” รองเจ้าคณะอ�าเภอสันก�าแพง, เจ้าอาวาสวัดป่าตึง พระครูวสิ ทุ ธเขมรัต เจ้าอาวาสวัดป่าตึงในปัจจุบนั ท่ า นเป็ น ชาวเชี ย งใหม่ โ ดยก� า เนิ ด มี บ ้ า นเดิ ม อยู ่ อ�าเภอสันก�าแพง ถือได้ว่าท่านได้ท�าความเจริญให้แก่ ถิ่นก�าเนิด นอกจากท่านจะปฏิบัติกิจของสงฆ์ในการ เผยแผ่ พ ระพุ ท ธศาสนาแล้ ว ท่ า นยั ง ได้ บ� า เพ็ ญ ประโยชน์ต่างๆ เช่น จัดทุนการศึกษาให้กับพระและ นักเรียนที่เรียนดีแต่ขาดทุนทรัพย์ ไถ่ชีวิตโคกระบือ แจกผ้าห่ม เสื้อผ้า ข้าวสาร อาหารแห้ง ยารักษาโรค ให้แก่ทหารและประชาชนในถิน่ ทุรกันดารทัว่ ภาคเหนือ เป็นต้น

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

309


History of buddhism....

วัดน�้ำจ�ำ ศึกษาชาติพันธุ์และประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา ในพิพิธภัณฑ์พื้นบ้านศูนย์เรียนรู้ทางวัฒนธรรมของชุมชน

พระครูพิศาลเจติยารักษ์ เจ้าอาวาส

วัดน�า้ จ�า ตัง้ อยูต่ า� บลร้องวัวแดง อ�าเภอสันก�าแพง จังหวัดเชียงใหม่ ตามโบราณประวัติที่คนผู้เฒ่าเล่าสืบๆ กันมาหลายชั่วอายุคนว่า เดิมมีบ่อน�้าตื้นบ่อหนึ่ง อยู่ทางทิศตะวันออกแห่งหมู่บ้านนี้ มีน�้าขัง อยู่ตลอดปี ทุกฤดูกาลใช้เป็นน�้าดื่มกินของชาวบ้านและสัตว์เลี้ยง นานาชนิด ดังนั้นชาวบ้านที่อยู่อาศัยในหมู่บ้านนี้ จึงพากันเรียก หมู่บ้านนี้ว่า “บ้านน�้าจ�า” มาจนกระทั่งทุกวันนี้ 310

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


ประวัติความเป็นมา วัดน�า้ จ�า เริม่ สร้างมาเป็นเวลานานประมาณ 350 ปี ในสมัยโบราณ ไม่มกี ารขออนุญาตให้สร้างวัด แล้วแต่ผคู้ นทีม่ จี ติ ศรัทธาในหมูบ่ า้ นไหน จะสร้างขึ้นเพื่อเป็นสิ่งที่ยึดเหนี่ยวจิตใจและเป็นที่ปฏิบัติศาสนกิจของ คนในหมู่บ้าน โดยเริ่มแรกมีหลวงพ่อเตจ๊ะ ได้มาด�ารงต�าแหน่งเป็น เจ้าอาวาส รูปที่ 1 ได้สร้างพระวิหารขึ้นหนึ่งหลัง แต่ไม่มีใครบันทึก หลักฐานไว้ ต่อมาหลวงพ่อคณะมาด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาสรูปที่ 2 ในต�านานก็ไม่ปรากฏว่าท่านได้สร้างอะไรไว้ จนกระทั่งหลวงพ่อคณะ ได้จาริกไปต่างแดน ทางวัดน�า้ จ�าไม่มพี ระเณรดูแลรักษา ทางคณะศรัทธา จึ ง ไปขออาราธนากราบนิ ม นต์ หลวงปู ่ พ ระครู แ ก้ ว ชยเสโน ซึ่ ง ไปศึ ก ษาพระธรรมวิ นั ย อยู ่ ที่ วั ด ชั ย สถานสั น ต้ น คู ่ ต� า บลสั น ปู เ ลย อ� า เภอดอยสะเก็ ด ให้ ก ลั บ มาดู แ ลรั ก ษาวั ด และอบรมสั่ ง สอน ญาติโยมแทนหลวงพ่อคณะ เมื่อวันอังคารที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2442 ท่านเมตตาอยู่ดูแลรักษาวัดรอหลวงพ่อคณะนาน 4 พรรษา หลวงพ่อ ก็ยงั ไม่กลับ ต่อมาเมือ่ ปีเถาะ พ.ศ.2446 ท่านเจ้าคุณอภัยสาระทะ เจ้าคณะ จังหวัดเชียงใหม่ วัดฝายหิน อ�าเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ได้เรียกไปพบ และได้แต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาสวัดน�้าจ�าตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา ล�าดับเจ้าอาวาส 1. หลวงปู่เตจ๊ะ 2. หลวงปู่คุณะ 3. หลวงปู่พระครุแก้ว ชยเสโน 4. พระอธิการบุญเป็ง ปิยวณฺโณ 5. พระอธิการจันทร์ทิพย์ จินทญาโน 6. พระครูพิศาลเจติยารักษ์

พ.ศ. 2442 - พ.ศ. 2508 พ.ศ. 2508 - พ.ศ. 2515 พ.ศ. 2517 - พ.ศ. 2526 พ.ศ. 2529 - ปัจจุบัน

พิพิธภัณฑ์วัดน�้าจ�า ท่านพระครูพศิ าลเจติยารักษ์ เจ้าอาวาสวัดน�า้ จ�า เป็นพระนักพัฒนา ได้เล็งเห็นความส�าคัญในเรื่องเครื่องใช้ทางการเกษตร และเครื่องใช้ ไม้สอย ในปีพ.ศ. 2549 ท่านจึงได้ด�าริสร้างพิพิธภัณฑ์ เพื่อยังคงไว้ ซึง่ เพือ่ การสืบทอดปัญญาดัง้ เดิมของชาติพนั ธุบ์ า้ นน�า้ จ�า เพราะบ้านน�า้ จ�ามีทนุ ทางสังคมซึง่ เหมาะกับกิจกรรมการท่องเทีย่ วโดยชุมชนเพือ่ ชุมชน ซึง่ ได้ยกประเด็นชาติพนั ธุไ์ ทพวนเป็นหลัก วัตถุประสงค์เพือ่ เป็นจุดเด่น ที่น่าสนใจแก่แขกผู้มาเยือน จากการสืบค้นประวัติและค�าบอกเล่า ของครูผาย พื้นก�าเนิดดั้งเดิมของขุนห้วยทรายทรงยศ นั้นมาจาก บ้านทุ่งโฮ้ง จังหวัดแพร่ ซึ่งเป็นถิ่นของชุมชนไทพวน ชุมชนน�้าจ�าจึง มีอาชีพใกล้เคียงไทพวน ปัจจุบนั พระครูพศิ าลเจติยารักษ์ ได้สร้างอาคาร พิ พิธ ภั ณ ฑ์ ขึ้ น เพื่อ จั ด แสดงโบราณวั ต ถุ และสิ่งของเครื่องใช้ต่า งๆ ทั้งที่เป็นของวัดน�้าจ�ามาแต่เดิม และได้รับการบริจาคจากศรัทธา ประชาชนทัว่ ไป ให้เป็นศูนย์เรียนรูท้ างวัฒนธรรมของชุมชน แก่ผสู้ นใจ ทั่วไปได้เยี่ยมชม โดยมีคัมภีร์ใบลานและพับสาจ�านวนหนึ่งด้วย

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

311


กราบสรีระสังขารหลวงปู่ครูบาธรรมชัย ในดินแดนพระนิพพาน

History of buddhism....

NAM CHAM TEMPLE Learning about ethnic and history of Buddhism In local museum, the cultural learning center of community

Wat Nam Cham is located at Rong Wua Dang sub-district, San Kamphaeng district, Chiang Mai province. It was built around 350 years ago by faithful villagers in order to make a place for performing religious rites and be a spiritual center of people in community. 312

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


THE HISTORY OF NAM CHAM TEMPLE At first, Luang Phor Taeja was the first monk who took a position of abbot at this temple. Next, second monk was Luang Phor Kanamadamrong until he made a pilgrimage to foreign country, then, there was no monk or novice lived at this temple. Therefore, group of faithful people respectfully invited Luang Pu Phra Khru Kaew Chaiseno who was studying Buddhist discipline at Wat Chai Sathan Santonku, San Pu Loei sub-district, Doi Saket district, Chiang Mai province, to be an abbot in order to take care this temple and instruct folks instead of Luang Phor Kana, on Tuesday, 20 March B.E.2442. He was kind enough to take care this temple for 4 years but Lyang Phor Kana still did not came back. Then, in year of the rabbit which is B.E.2446, Than Chao Khun Apaisaratha, Chiang Mai province monk dean of Wat Fai Hin, Mueang district, Chiang Mai, had called and appointed him as abbot of Wat Nam Cham at that time. Luang Pu Phra Khru Kaew Chaiseno, former abbot of Wat Nam Cham, had invited faithful folks to build permanent objects for remaining in Buddhism forever. Until he passed away on 16 July B.E.2504, at 17:55 hrs., when he was 94 years old and had been ordained for 73 years. After that, Phra Khru Pisan Jetiyanurak has been taking a position of abbot since B.E.2529 until now. NAM CHAM TEMPLE MUSEUM Phra Khru Pisan Jetiyanurak, abbot of Wat Nam Cham, is monk who is skilled in development which he saw an importance of agricultural equipment and other kind of utensil. Then, in B.E.2549, he contemplated the construction of museum for remaining an inheritance of traditional wisdom of Ban Nam Cham’s people because this community has social capital which is suitable for community tourism by community and for community which they raise an issue about Tai Puan tribe as main issue with an objective to be interesting prominent point for every visitor. This place’s finance was supported by the donation from many people which they intended to make this place a culture-studying center of community for anyone who interested in this issue which this place has ancient palm leaf manuscripts carrying Buddhist scriptures and mulberry paper carrying ancient stories. CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

313


History of buddhism....

วัดบ้านมอญ “ลานวัด ลานใจ ลานบุญ” วัดแห่งการพัฒนาเพื่อชุมชน พระอธิการรัตน์ติพงศ์ มหาคมฺภีรว�โส ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาส

สิ่งส�าคัญภายในวัด ต้นพระศรีมหาโพธิค์ แู่ ฝด อายุราวประมาณ 200 กว่าปี มีลักษณะล�าต้น 2 ต้น ติดกันด้านล่างมีโพรงคล้ายอุโมงค์ สามารถเดินลอดผ่ า นได้ และมีพ ระพุทธรูป 9 ปาง ล้อมรอบทั้ง หมด 14 องค์ และ วิหาร อายุประมาณ 200 กว่ า ปี นับตั้งแต่ตั้งวัดมา ด้านบนของวิหารท�าจาก เครือ่ งไม้ทงั้ หมด เสาวิหารและธรรมาสน์หลวงมีการเขียน ลายค�าศิ ลปะดั้ งเดิ ม โดยช่างสมัยโบราณอย่างสวยงาม และภายในประดิษ ฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ศิลปะ ทรงไทเขินล้านนา สวยงาม

314

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

ประเพณีและวัฒนธรรม พิธีการบูชาเทวดาบวงสรวงต้นพระศรี ม หาโพธิ์ คู่ แ ฝด และสรงน�า้ พระธาตุ ประจ�าปี ในทุกๆ วันเพ็ญ 15 ค�า่ เดือน 6 เหนือ ของทุกปีซงึ่ จะอยูใ่ นช่วงเดือน มีนาคม และ ประเพณีการใส่ขนั ดอกสักการบูชาเสาบรรพชนไทเขิน ซึง่ จะจัดในวันที่ 12 เมษายน ของทุกปี


ต้นพระศรีมหาโพธิ์คู่แฝดศักดิ์สิทธิ์ วัดบ้านมอญ 93 หมู่ที่ 1 ต�าบลสันกลาง อ�าเภอสันก�าแพง จังหวัดเชียงใหม่ 50130 เบอร์โทรศัพท์ 08-8956-9266

พระอธิการรัตน์ติพงศ์ มหาคมฺภีรว�โส ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาส CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

315


History of buddhism....

วัดสีมาราม ความรุ่งเรืองแห่งอดีตกาล...พิพิธภัณฑ์บ้านล้านนา และศูนย์การเรียนรู้วิถีชุมชนไทยเขิน ความรุ่งเรืองของชุมชนปัจจุบันและอนาคต คือการศึกษาและปฏิบัติธรรม พระครูวสิ ฐิ ธรรมากร เจ้าคณะต�าบลสันกลาง ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาส

316

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

วัดสีมาราม ในปัจจุบนั แต่เดิมเป็นเขตทีธ่ รณีสงฆ์ของวัดบ้านมอญ หมูท่ ี่ 1 ต�าบลสันกลาง ตัง้ อยูห่ า่ งจากวัดบ้านมอญ ประมาณ 1 กิโลเมตร มีเนือ้ ที่ 1 ไร่ 3 งาน 65 ตารางวา สภาพเป็นป่ารกร้าง มีอโุ บสถซึง่ สร้าง ในราว พ.ศ. 2400 ตั้งอยู่หนึ่งหลัง โดยที่พระวิบาล ฐิตธมฺโม เป็นพระ นักพัฒ นาแ ละมีวิ สั ย ทั ศน์ กว้างไก ล จึงได้เป็นผู้น�าชาวบ้านร่วมกัน พัฒนาเขตที่ธรณี ส งฆ์ แ ห่ง นี้มาอย่างต่อเนื่อง กระทั่งมีที่ดินเพิ่มขึ้น รวมจ�านวน 8 ไร่ 3 งาน 73 ตารางวา ก่อสร้างเสนาสนะ วิหาร ศาลาบาตร ก�าแพง เจดีย์ กุฏิ ศาลาเอนกประสงค์ พิพิธภัณฑ์บ้านล้านนา และ ศูนย์การเรียนรู้วิถีชุมชนไทยเขิน เพื่อบอกเล่าประวัติศาสตร์ท้องถิ่น ให้ชุมชนมีค วามรั ก สามั ค คีแ ละศึกษาปฏิบัติธรรมน�าชีวิตให้อยู่เย็น เป็นสุขโดยทั่วหน้ากัน


หลังจากทีเ่ สนาสนะภายในวัดได้กอ่ สร้างไปตามเกณฑ์ ต่อมาจึงได้ รับยกฐานะเป็นวัดทีถ่ กู ต้องจากกรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ เมื่อวัน ที่ 29 กั น ยายน พ.ศ. 2532 ภายใต้การบริหารของพระวิบาล ฐิตธมฺโม ซึ่งได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาสวัดสีมารามรูปแรก เมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2533 แล้ ว ได้เลื่อนเป็นพระฐานานุกรมของพระครู ธรรมโกศล เจ้าคณะอ�าเภอสันก�าแพง และเป็นพระสมุหว์ บิ าล ฐิตธมฺโม เมื่อปี พ.ศ. 2535 ต่อมาได้เลือ่ นสมณศักดิ์เป็นพระครูชั้นประทวนเมื่อ ปี พ.ศ.2537 ได้รบั แต่งตัง้ ให้ดา� รงต�าแหน่งเป็นเจ้าคณะต�าบลสันกลาง เมือ่ วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2542 และในปี พ.ศ. 2546 ได้เลื่อนเป็นสมณศักดิ์ สัญญาบัตรพัดยศนามว่า “พระครูวสิ ฐิ ธรรมากร” ต่อมาในปีพ.ศ. 2550

ประวัติท่านเจ้าอาวาสโดยสังเขป พระครูวสิ ฐิ ธรรมากร เจ้าคณะต�าบลสันกลาง เจ้าอาวาสวัดสีมาราม สถานะเดิมชือ่ วิบาล อินสาม เกิดเมือ่ วันพุธที ่ 13 มกราคม พ.ศ. 2497 ปีมะเมีย ณ บ้านเลขที่ 85 หมู่ที่ 2 ต�าบลสันกลาง อ�าเภอสันก�าแพง จังหวัดเชียงใหม่ พระครูวสิ ฐิ ธรรมากร (วิบาล ฐิตธมฺโม) เป็นลูกหลานของชาวบ้านมอญ หมู่ที่ 2 ต�าบลสันกลาง อ�าเภอสันก�าแพง บรรพชาเป็นสามเณรอยู่ที่ วัดท่าทุ่ม ต�าบลสันพระเนตร อ�าเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ เมื่อ อายุ 12 ปี วันที ่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2511 โดยมีพระครูมงคลคุณาธร วัดสันทรายมูล ต�าบลสันทรายน้อย อ�าเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ เป็นพระอุปชั ฌาย์ และศึกษาต่อทีว่ ดั ชัยศรีภมู ิ อ�าเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่

ได้เข้ารับการอบรมสอบพระอุปัชฌาย์ แต่งตั้งเป็นพระอุปัชฌาย์ และ ในปี พ.ศ. 2555 ได้เลื่อนสมณศักดิ์เป็นเจ้าคณะต�าบลสันกลางชั้นเอก พระครูวสิ ฐิ ธรรมากรได้พฒ ั นาวัดสีมารามมาโดยตลอด ท�าให้วดั สีมาราม มีความโดดเด่นในทุกด้าน มีความพร้อมทั้งถาวรวัตถุ แหล่งการเรียนรู้ และด้านการพัฒนาศักยภาพของพุทธศาสนิกชน เช่น อุโบสถ วิหาร ศาลา พิพิธภัณฑ์บ้านล้านนา องค์พระเจ้าทันใจ หอพระไตรปิฎก ได้รับความสนใจทั้งบุคคลทั่วไปและเยาวชนเข้าเยี่ยมอย่างต่อเนื่อง ปี พ.ศ. 2542 ได้รับยกย่องเป็นวัดพัฒนาเฉลิมพระเกียรติโครงการ คณะสงฆ์ อ�าเภอสัน ก�าแพง และปี พ.ศ. 2547 เป็ น วั ด โครงการ หนึ่งวัดหนึ่งต�าบล

ต่อมาอุปสมบทที่วัดบ้านมอญ เมื่ออายุ 20 ปี วันที่ 18 มีนาคม พ.ศ. 2518 ณ พัทธสีมา วัดสีมาราม โดยมีพระครูวิศาลนวกิจ เจ้า คณะอ�าเภอสันก�าแพง วัดบวกเป็ด เป็นพระอุปชั ฌาย์ พระครูวศิ าลนวกิจ วัดสันฮกฟ้า เป็น พระกรรมวาจาจารย์ และ พระสุวรรณ์ วัดบวกเป็ด เป็นพระอนุสาวนาจารย์ หลังจากนั้น พระครูวิสิฐธรรมากร (วิบาล ฐิตธมฺโม) จ�าพรรษาอยู่ ที่วัดสีมารามมาโดยตลอดจนถึงปัจจุบัน ด�ารงต�าแหน่งเป็นเจ้าอาวาส และเจ้าคณะต�าบลสันกลาง ท่านเป็นพระสุปฏิปนั โนทีเ่ ต็มเปีย่ มไปด้วย ความเมตตาของผู้คนอย่างไม่มีประมาณ นอกจากวัตรปฏิบัติตามพระธรรมวินัยแห่งองค์สมเด็จพระสัมมา สัมพุทธเจ้าแล้ว ในด้านการเผยแผ่พระพุทธศาสนาทัง้ หกด้าน ตามมติ มหาเถรสมาคม ท่านก็ท�าทุกด้านอย่างเสียสละตนในการสงเคราะห์ ชุมชน ท่านได้สร้างสถานพักฟื้นส�าหรับผู้ป่วยเป็นอัมพฤกษ์อัมพาต ให้ช่วยเหลือตัวเองได้ โดยทุกวันพฤหัสบดี จะมีเเพทย์เเผนจีนมา ท�าการฝังเข็ม และรักษาตามก�าลังศรัทธาของญาติโยม CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

317


History of buddhism....

วัดสันกลางเหนือ นมัสการพระเจ้ายิ้ม (พระพุทธะตุงคะสะหรี๋มงคลอุดมสถิตเจ้า) ศูนย์รวมแห่งดวงใจ พระอธิการศราวุธ สุนฺทโร ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาส

วัดสั นกลางเหนื อ ตั้งอยู่เลขที่ 61 หมู่ที่ 4 บ้านสันกลางเหนือ ต�าบลสั นกลาง อ�า เภอสั นก�า แพง จัง หวัดเชียงใหม่ สังกัดคณะสงฆ์ มหานิกาย ที่ ดินวั ด มี เ นื้อ ที่ 3 ไร่ 2 งาน 14 ตารางวา มีที่ธรณีสงฆ์ จ�านวน 1 แปลง เนื้อที่ 2 งาน ส.ค. 1 ปัจจุบันมีชาวบ้านสามหมู่บ้าน เป็นที่ศ รัท ธาร่วมกั น อุ ปถัม ภ์ค�้าชู จนวัดเจริญขึ้นมาตราบเท่าบัดนี้ โดยมีพระประธานวัด สั น กลางเหนือ คือ “พระพุทธะตุงคะสะหรี๋ มงคลอุดมสถิ ตเจ้า” (พระเจ้า ยิ้ม) เป็นศูนย์รวมแห่งดวงใจ และมี พระอธิการศราวุธ สุนฺทโร เป็นเจ้าอาวาส ประวัติความเป็นมา วัดสันกลางเหนือ สร้างขึน้ เมือ่ ประมาณ พ.ศ. 2275 ตรงกับรัชสมัย พระเจ้าอยูห่ วั ท้ายสระ (พ.ศ. 2251–2275) แห่งกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย ก่อนเสีย กรุ งศรีอยุธยาครั้งที่ 2 แก่พม่าเมื่อพ.ศ. 2310 (45 ปีต่อมา) และตรงกั บรั ชสมัยพระเจ้าหอคา (เจ้าองค์นก พ.ศ. 2270–2304) แห่งราชวงศ์เม็งรายที่ปกครองล้านนาไทย (นครเชียงใหม่) 318

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

วัดสันกลางเหนือ และ บ้านสันกลางเหนือนี ้ เดิมชือ่ “สะหลีตงุ เงิน” อันเกิดขึน้ จากการทีไ่ ด้มชี มุ ชนกลุม่ หนึง่ ซึง่ เป็นชนกลุม่ ไทยเขิน ได้โยกย้าย มาเพื่อท�ามา หา กินใ นถิ่นที่พอจะเลี้ยงชีพได้ด้วยความอุดมสมบูรณ์ ในการเกษตรและการหาเลีย้ งชีพตน ชนกลุม่ ไทยเขินนีจ้ งึ ได้มาลงหลัก ปักฐานในถิน่ นี ้ ตัง้ แต่เมือ่ กาลนัน้ ซึง่ เป็นป่าไม้ไผ่ใหญ่อดุ มสมบูรณ์โดย ป่าไม้ทุ่งหญ้า พืชพันธุ์ หลายหลากมากมาย ชนกลุ่มนี้จึงได้ปักหลัก ตั้งอยู่โดยการน�าของผู้ที่มีชื่อว่า ขะหนานสะละวะ ผู้เคยบวชเรียน มาก่อน ในประมาณ พ.ศ. 2275 มีเนื้อที่ที่อยู่อาศัยถากถางประมาณ 11 ไร่ ก ว่ า ต่ อ มาจึ ง ได้ มีแนวคิ ด ที่จ ะหาที่ยึดเหนี่ยวทางจิตใจขึ้น


ดังนั้นขะหนานสะละวะ จึงปรึกษาหารือ กับผู้อยู่ร่วมอาศัยทั้งหมดว่า เราควรร่วมใจกันจัดสร้างหอชัยขึ้นในกลุ่มบ้าน เพื่อเป็นที่สักการบูชา ให้เป็นสิรมิ งคลต่อทีอ่ ยูอ่ าศัย ตลอดจนบุคคลในกลุม่ ทีม่ าอยูร่ ว่ มกันนัน้ เมือ่ ชาวกลุม่ ได้ตกลงกันแล้วก็จงึ ได้สร้างหอชัยขึน้ เพือ่ เป็นการสักการบูชา ต่อมาได้ไม่นานนัก ขะหนานสะละวะก็เล็งเห็นว่า ตนเองแก่ตัวลง ประกอบกับผูค้ นทีม่ าอยูอ่ าศัยก็มมี ากขึน้ จึงเกิดความคิดทีจ่ ะยึดเหนีย่ ว ผู้คนให้อยู่ถาวร ณ ที่นี้ จึงมีจิตใจที่จะบวชอีกครั้งและได้ตัดสินใจบวช แล้วอยู่ปฏิบัติธรรมกัมมัฏฐาน เป็นที่ศรัทธากราบไหว้ของกลุ่ม ณ ที่นี้ โดยท่านสร้างกุฏิเล็กอยู่ตรงทิศใต้หอชัย แล้วปฏิบัติกัมมัฏฐานมา โดยตลอด จนอยูม่ าวันหนึง่ เกิดความอัศจรรย์ขนึ้ ทีข่ า้ งหอชัย คือ ไม้ไผ่ ทีแ่ ผ้วถางได้งอกขึน้ มามีใบเป็นลักษณะใบสีเขียวแซมขาว และประกอบกับ ต้ น สะหลี (ต้น โพธิ์) ออกมานั้น ดัง นั้น ทาง (พระ) ตุ ๊ เจ้ า สะละวะ ก็เลยบอกกล่าวให้ชาวกลุ่มมาดูและพิจารณาว่า เราควรร่วมกันตั้งชื่อ และยกหอชัยนี้เป็นที่ปฏิบัติกัมมัฏฐาน และที่สั่งสอนกลุ่มชนตลอด จนถึงการรักษาโรคภัย ซึง่ ตุเ๊ จ้าสะละวะ ท่านก็ชา� นาญการหมอโบราณ ได้ดี ก็จึงได้ตกลงกันตั้งชื่อว่า “ส�านักหอชัยสะหลีตุงเงิน” ต่อมาหลังจากได้ตงั้ ชือ่ แล้วไม่นานตุเ๊ จ้าสะละวะ ก็มศี ษิ ย์เข้ามาบวช เพิ่มอีกสองรูป ชื่อว่า ตุ๊เจ้าสามแก้วและสามเณรดา เมื่อมีจ�านวน พระเณรเพิม่ ขึน้ สถานทีอ่ ยูป่ ฏิบตั กิ จิ วัตรก็แคบไป จึงได้รว่ มกันปรึกษา

หารือชาวกลุ่ มว่ า จะส ร้างวิหารขึ้น โดยอาศัยชาวกลุ่มและไม้ไผ่ ที่ใกล้เคียงสร้างขึน้ จนส�าเร็จพออยูอ่ าศัย แล้วต่อมาตุเ๊ จ้าสามแก้วและ สามเณรดาก็มา เกิ ด เศร้าโศกเสียใจยิ่ง เมื่อเช้าวันหนึ่งสามเณรดาวิ่ง หน้าตืน่ มาบอกตุเ๊ จ้าสาสะละวะนัน้ นอนตัวแข็งอยู ่ ดังนัน้ ตุเ๊ จ้าสามแก้ว จึงไปดูและรู้ว่ า ตุ๊ เจ้าสะละวะหมดบุญเสียแล้ว ก็จึงได้บอกกล่าวแก่ ชาวกลุ่ม เมื่อ ทราบแล้วก็ช่วยกันจัดตั้งศพตุ๊เจ้าสะละวะบ�าเพ็ญกุศล ไว้หนึง่ วันและหนึง่ คืนก็ได้ชว่ ยกันเผาศพ แล้วก็ได้ตเุ๊ จ้าสามแก้วอยูแ่ ทน ต่อมาไม่นานนักตุ๊เจ้าสามแก้วธุดงค์ ไปๆมาๆ โดยมีสามเณรดาเฝ้าอยู่ ส�านักหอชัยสะหลีตุงเงิน ล�าดับเจ้าอาวาสวัดสันกลางเหนือ 1. พระสะละวะ 2. พระสามแก้ว 3. พระค�าปัน 4. พระค�าหน้อย 5. พระกันธา วงศ์ทิพย์ 6. พระเมืองแก้ว อินทฺทวณฺโณ 7. พระสมัย วรมงฺคโล 8. พระค�าตัน๋ 9. พระเสาร์ ถาวโร 10. พระอธิการประเสริฐ อภินนฺโท (พ.ศ. 2511–2525) 11. พระจันทร์ มนฺตสิริ (พ.ศ. 2526-2527) 12. พระอธิการสุทัศน์ วชิรญาโณ (พ.ศ. 2527–2535) 13. พระอธิการนิกร ญาณวโร (พ.ศ. 2536–2538) 14. พระมงคล ชาคโร (พ.ศ. 2539–2540) 15. พระสมบัติ ยุตฺตโยโค (พ.ศ. 2541–2542) 16. พระสมบูรณ์ จนฺทสาโร (พ.ศ. 2543–2544) 17. พระสมุห์วีระพงษ์ วิริยธมฺโม (พ.ศ. 2544–2552) 18. พระอธิการศราวุธ สุนฺทโร (พ.ศ. 2553–ปัจจุบนั )

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

319


History of buddhism....

วัดสันก้างปลา สํานักปฏิบัติธรรมประจําจังหวัดแห่งที่ 14 ของจังหวัดเชียงใหม่ “ส่งเสริมการศึกษา พัฒนาคนนำหน้าวัตถุ บรรลุด้วยการปฏิบัติธรรม”

พระอาจารย์ปลัดธวัชชัย ขตฺติยเมธี เจ้าอาวาสวัดสันก้างปลา

“วัดสันก้างปลา” เป็นวัดในพระพุทธศาสนา สังกัดมหานิกาย ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 1/2 หมู ่ ที่ 6 ต� า บลทรายมู ล อ� า เภอสั น ก� า แพง จั ง หวั ด เชี ย งใหม่ ก่ อ สร้ า งขึ้ น เมื่ อ วั น ที่ 5 ธั น วาคม พ.ศ. 2527 บนพื้นที่ 21 ไร่ เกิดขึ้นด้วยความเห็นชอบของคณะศรัทธาประชาชน ในหมู่บ้าน อาศัยความเสียสละ ความสามัคคี ร่วมแรงร่วมใจกัน อย่างแข็งขันของชาวบ้าน ได้รวบรวมทุนปัจจัยร่วมกันซือ้ พืน้ ทีน่ าแล้ว พั ฒ นาขึ้ น มาให้ เ ป็ น วั ด ในพระพุ ท ธศาสนา ได้ รั บ พระราชทาน วิสุงคามสีมาในวันที่ 27 ตุลาคม พ.ศ. 2538 การจัดปฏิบัติธรรมตามแนวทางอยู่ในบารมีธรรม เนือ่ งจากวัดสันก้างปลาได้ทา� การสอนธรรมะและการปฏิบตั ธิ รรม แก่ญาติธรรมและบุคคลทัว่ ไปทีส่ นใจมาตัง้ แต่ป ี พ.ศ. 2545 เป็นต้นมา ซึง่ มีผใู้ ห้ความสนใจจากทัว่ ทุกภาคของประเทศไทยเข้าปฏิบตั ธิ รรมเพือ่ พัฒนาจิตให้ตนเองมีความสุขเพิ่มขึ้นและเข้าใจแก่นแท้ธรรมะของ พระพุทธศาสนาเพื่อน�าไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ�าวันของตนเอง เป็นคนดี มีความสุขและเลื่อมใสศรัทธาในธรรมะค�าสอนขององค์ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ตามแนวทางการปฏิบัติธรรมอยู่ในบารมีธรรม ซึ่งมีจ�านวนญาติธรรมผู้เข้าร่วมเรียนรู้และปฏิบัติธรรมกับทางวัด เพิ่มจ�านวนมากขึ้นเรื่อยๆ ทั้งจากประชาชนในท้องถิ่น และที่มาจาก ต่างจังหวัดทั่วประเทศ 320

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


อีกทัง้ จากการที ่ “หลวงพ่อพระครูสทิ ธิปญั ญาภรณ์” อดีตเจ้าอาวาส วัดสันก้างปลา ได้ท�าการเผยแพร่พระพุทธศาสนาไปในต่างประเทศ จนมีการจัดตั้งสาขาขึ้นที่ประเทศเยอรมนี และก�าลังเผยแพร่ไปยังอีก หลายประเทศในยุโรป เอเชีย และออสเตรเลีย ท�าให้มญ ี าติธรรมทีเ่ ป็น ทัง้ คนไทยและชาวต่างชาติทเี่ ข้ามาร่วมศึกษาเรียนรูธ้ รรมะค�าสอน และ ปฏิบตั ธิ รรมมากขึน้ จึงเห็นสมควรทีจ่ ะให้มกี ารรวบรวมจัดท�าหลักสูตร การสอนธรรมะและแนวทางปฏิบัติธรรมอยู่ในบารมีธรรมให้เป็น มาตรฐานชัดเจนและปรับปรุงให้เข้ากับสภาวการณ์ปจั จุบนั เพือ่ สามารถ ใช้อ้างอิงได้อย่างถูกต้องทันสมัยอยู่เสมอ เพื่อใช้เป็นแนวทางเผยแพร่ ทั้งในประเทศและต่างประเทศที่นับวันได้ขยายขอบเขตกว้างขวาง ออกไปเรื่อยๆ ต่อไป ปั จ จุ บั นพระอาจารย์ป ลัด ธวัช ชัย ขตฺติยเมธี ด� า รงต� า แหน่ ง เจ้าอาวาสวัดสันก้างปลา เจ้าส�านักปฏิบัติธรรมประจ�าจังหวัดแห่งที่ 14 องค์ปัจจุบัน รูปแบบการปฏิบัติธรรมของวัดสันก้างปลา 1. การปฏิบัติธรรม “อยู่ในบารมีธรรม” จะจัดปฏิบัติธรรมขึ้น ทุกๆ 3 เดือน

แนวทางการปฏิบัติธรรม ‘อยู่ในบารมีธรรม’ มีดังนี้ 1) เป็นการปฏิบัติธรรมโดยมีองค์สัมมาสัมพุทธเจ้าเป็นประธาน 2) เป็นการปฏิบตั ธิ รรมทีเ่ น้นการปฏิบตั ทิ จี่ ติ วิญญาณ เพือ่ ให้เข้าใจ ธรรมชาติของจิตวิญญาณ ซึ่งผู้ปฏิบัติธรรมสามารถรู้แจ้งเห็นจริงได้ ด้วยตนเอง 3) เป็นการปฏิบตั ธิ รรมเพือ่ ให้เข้าใจเรือ่ งกฎแห่งกรรม รูว้ า่ กรรมมีจริง สิ่งศักดิ์สิทธิ์มีจริง และสามารถพิสูจน์ได้ด้วยตนเอง 2. การปฏิบตั ธิ รรมหลักสูตรวิปสั สนากรรมฐาน แบ่งเป็น 3 หลักสูตร ดังนี้ คือ หลักสูตรธรรมะน�าชีวิต (3 วัน) หลักสูตรเมตตาภาวนา (5 วัน) หลักสูตรจิตตภาวนา (7 วัน) โดยมุง่ เน้นปฏิบตั ธิ รรมตามแนว “สติปฏั ฐาน 4” คือ กาย เวทนา จิต ธรรม เป็นหลักสูตรทุกๆ วันศุกร์ เสาร์และอาทิตย์แรกของต้นเดือนของ ทุกเดือน (หากผู้ปฏิบัติธรรมท่านใดประสงค์เข้าร่วมปฏิบัติธรรมใน วัน-เวลาอื่น แบบเดี่ยวหรือหมู่คณะ สามารถแจ้งความประสงค์ได้ท่ี ส�านักงานส�านักปฏิบตั ธิ รรม โทร. 053-332-041, มือถือ 089-951-8510 การปฏิบัติธรรมหลักสูตรธรรมาจารย์ (เสวนาธรรมสมดุลโลกสมดุลธรรม) เป็นหลักสูตรการต่อยอดธรรมเรื่องจิตและกรรม ซึ่งเปิดสอน ทุกวันอาทิตย์ ตั้งแต่เวลา 9.00-15.00 น. ติดตามข่าวสารของทางวัดสันก้างปลาได้ที่ Facebook : ส�านักสื่อสารองค์กร วัดสันก้างปลาเชียงใหม่ Youtube : วัดสันก้างปลาเชียงใหม่

Website : www.watsonkangpla.com CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย 321 Telephone : 053-332-041


History of buddhism....

วัดป่าตาล สักการบูชา “พระสิงห์ยอง” พระพุทธเมตตามหามงคลบารมี ด้วยแรงแห่งศรัทธาในพระพุทธเจ้าตราบกาลนาน พระอาจารย์มงคล ฐิตมงคโล ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาส

วัดป่าตาล ตั้งอยู่เลขที่ 49 บ้านป่าตาล หมู่ที่ 4 ต�าบลบวกค้าง อ�าเภอสันก�าแพง จังหวัดเชียงใหม่ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ทีด่ นิ ที่ ตัง้ วัดมีเนือ้ ที ่ 2 ไร่ 3 งาน 37 ตารางวา สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ.2325 ได้รับ พระราชทานวิสงุ คามสีมาเมือ่ วันที ่ 8 กันยายน พ.ศ. 2487

322

SBL บันทึกประเทศไทย II เชียงใหม่


ประวัติความเป็นมา วัดป่าตาล เริม่ สร้างขึน้ ในคราวทีช่ นพม่า ไตยยองได้อพยพมาจากเมืองสิบสองปันนา ในปี พ.ศ. 2348 มาอยูเ่ มืองล�าพูน และบางส่วน ได้มาตัง้ ถิน่ ฐานอยูต่ ามชายแดนเมืองเชียงใหม่ ด้านทิศใต้ วัดป่าตาล เป็นวัดเก่าแก่ทมี่ อี ายุกว่า 200 ปี มีประวัตกิ ารสร้างมายาวนานอีกวัดหนึง่ ของชุมชนชายองในต�าบลบวกค้าง ซึง่ ภายใน วัดยังมีพระพุทธรูปสิงห์ 1 เก่าแก่ศักดิ์สิทธิ์ คู่วัดมานาน คือ องค์หลวงพ่อเมตตา และมี พระพุทธรูปองค์ประธานในพระวิหารปูนปัน้ ที่งดงามยิ่ง สักการบูชา “พระสิงห์ยอง” พระพุทธเมตตามหามงคลบารมี พระพุทธเมตตามหามงคลบารมี (พระ สิงห์ยอง) เป็นพระพุทธรูปสิงห์ 1 ศิลปะ เชียงแสนแบบเชียงแสนหรือยุคล้านนาตอนต้น ปัจจุบันมีอายุ 400 กว่าปี เป็นพระพุทธรูป เก่าแก่ศกั ดิส์ ทิ ธิข์ องวัดป่าตาล ต�าบลบวกค้าง อ�าเภอสันก�าแพง จังหวัดเชียงใหม่ ในสมัยก่อนนัน้ อดีตเจ้าอาวาส เจ้าอธิการค�าอ้าย ปุญญทินโน ท่ า นได้ ดู แ ลอุ ป ั ฏ ฐากพระพุ ท ธรู ป เหมื อ น พระพุทธรูปมีชีวิตอยู่ ตื่นเช้ามาตี 4 ก่อน ท�าวัตรเช้า ท่านจะให้โยมหรือเด็กวัดและ สามเณรเปลี่ยนเวรกันต้มน�้าอุ่นมาเช็ดล้าง หน้าพระพุทธรูปทุกเช้า มีไม้สฟี นั และพัดหาง นกยูงพัดพระพุทธรูป 3 ครั้งก่อนท�าวัตรเช้า ทุกวัน เหมือนได้ดูแลอุปัฏฐากพระพุทธเจ้า และในอดีตพระพุทธรูปองค์นี้ทางราชการ อ�าเภอสันก�าแพงน�าไปแห่สรงน�า้ พระประจ�าปี เพื่อให้ฝนตกต้องตามฤดูกาล หลังจากนั้นใน ช่วงหนึง่ มีขา่ วการขโมยพระพุทธรูปหลายวัด และวัดใกล้เคียง เจ้าอาวาสองค์ต่อมาจึงได้ เก็บพระพุทธรูปไว้อย่างมิดชิดโดยไม่มีผู้ใด ได้เห็นอีก จนเวลาผ่านไปเกือบ 70 ปี ท่านเจ้าอาวาส รูปปัจจุบัน พระอาจารย์มงคล ฐิตมงคโล เจ้าอาวาสวัดป่าตาลล�าดับเจ้าอาวาสองค์ท ี่ 9 ของวั ด ป่ า ตาล มี ค วามคิ ด อยากจะน� า พระพุทธรูปองค์นี้ให้ศรัทธาประชาชนทั่วไป ได้ สั ก การบู ช าและเห็ น ความส� า คั ญ ของ พระสิงห์ยอง ซึง่ เป็นพระพุทธรูปเก่าแก่ ศักดิส์ ทิ ธิ์ ของวัด จึงได้สร้างวิหารพุทธมงคลขึ้นเพื่อ ประดิษฐานพระพุทธเมตตามหามงคลบารมี CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

323


วิหารพุทธมงคลได้กอ่ สร้างเสร็จเรียบร้อยแล้ว จึงได้อญั เชิญพระพุทธ เมตตามหามงคลบารมี พระสิงห์ยองประดิษฐานไว้ในซุ้มโขงเรือนแก้ว ภายในวิหารพุทธมงคลจึงได้เปิดให้คณะศรัทธาสาธุชนทัว่ ไปได้มากราบ ไหว้สกั การบูชาทุกวัน ตัง้ แต่เวลา 08.00–18.00 น. ทุกวัน ปัจจุบันทางวัดป่าตาลเปิดเป็นแหล่งการเรียนรู้ศาสนาศิลปะและ วัฒนธรรม มีเด็ก นักเรียน นักศึกษา กลุ่มต่างๆและผู้สูงอายุมาเรียนรู้ เกี่ยวกับธรรมะ จัดอบรมธรรมะ เข้าค่ายคุณธรรม และแหล่งเรียนรู้ ภู มิ ป ั ญ ญาพื้ น บ้ า นต่ า งๆ ทางวั ด ยั ง เปิ ด เป็ น แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วเชิ ง วัฒนธรรมด้วย มีพิพิธภัณฑ์ชาวยอง พิพิธภัณธ์ปั๊บสา-ใบลาน ของเก่า จัดแสดงให้ผู้คนมาเที่ยวชมเปิดทุกวันตั้งแต่เวลา 08.00-17.00 น. ประวัติท่านเจ้าอาวาสโดยสังเขป ท่านพระอาจารย์มงคล ฐิตมงฺคโล ถือก�าเนิด ณ บ้านป่าตาล หมู ่ 4 ต�าบลบวกค้าง อ�าเภอสันก�าแพง จังหวัดเชียงใหม่ โยมมารดาชื่อ พัชรินทร์ ปิมปา โยมบิดาชื่อ มนู ปิมปา ในปีนักษัตรจอ ปี พ.ศ. 2525 ตรงกับวันพุทธที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2525 ชีวิตในวัยเยาว์ของท่าน เป็นเด็กว่านอนสอนง่าย อัธยาศัยดี เป็นทีร่ กั ใคร่เมตตาแก่ผทู้ ไี่ ด้พบเห็น เป็นเด็กที่สนใจในการเรียนและสนใจด้านธรรมะเป็นพิเศษ ด้วยความ สนใจในธรรมะของท่านนี้เอง และด้วยรากบุญรากกุศล ที่ท่านเคย

324

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

บ�าเพ็ญความดีมา ท่านได้บรรพชาสามเณร เมื่อวันที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2538 ณ วัดป่าตาล ได้เข้าสู่ร่มกาสาวพัตร์ สร้างประโยชน์ให้แก่ พุทธศาสนาสืบไป จนกระทั่งปี พ.ศ. 2545 ท่านได้รับการอุปสมบท ณ วัดป่าตาล ใน วันที ่ 8 มิถนุ ายน โดยมีทา่ นพระครูพมิ ลธรรมรัต ิ (ครูบาตัน๋ ) วัดย่าพาย เป็นพระอุปชั ฌาย์ พระอธิการจ�าลอง กนฺตสีโล เป็นพระกรรมวาจาจารย์ พระอธิการไพสาล พิมพฺสริ วิ ณฺโณ เป็นพระอนุสาวนาจารย์ ได้รบั ฉายา ทางพระพุทธศาสนานามมงคลว่า “ฐิตมงฺคโล” แปลว่า ผูม้ มี งคลเป็นทีต่ ง้ั ในขณะที่ท่านอุปสมบทอยู่นี้ ท่านได้ศึกษาพระธรรมวินัย ท่านส�าเร็จ นักธรรมชัน้ เอก ณ ส�านักเรียนวัดเชตุพน จังหวัดเชียงใหม่ และท่านได้ ศึกษาค้นคว้า ต�ารับต�าราวิชาการต่างๆ หลายแขนงควบคูก่ นั ไป เพราะ ท่านใฝ่ร ู้ และต้องการศึกษาคุณวิชาอยูต่ ลอดเวลา รวมถึงท่านได้ศกึ ษา เกี่ยวกับพิธีกรรมโบราณต่างๆ ตามจารีตประเพณีโบราณของล้านนา ปัจจุบนั ท่านด�ารงต�าแหน่งเป็นเจ้าอาวาสวัดป่าตาล ท่านได้พฒ ั นา วัดให้เจริญด้วยการสร้างถาวรวัตถุตา่ งๆ ภายในวัดเพือ่ ให้เกิดประโยชน์ ต่อสาธารณกุศล เป็นอนุสรณ์สถานสืบต่อบรรพชนรุ่นหลังให้ได้กราบ ไหว้บูชาและปฏิบัติธรรมเพื่อการพ้นทุกข์ในอนาคตกาลต่อไป


If you love

HISTORY OF THAILAND you'll adore SBL MAGAZINE www.sbl.co.th

SBL บันทึกประเทศไทย SBL MAGAZINE SBL บันทึกประเทศไทย

วั ด ภู เ ขาพระอั ง คาร ตั้งอยู่ในท้องที่ อ�าเภอเฉลิมพระเกียรติ

และเขตของอ� า เภอนางรอง จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ เป็ น ภู เ ขาไฟที่ ดั บ สนิ ท แล้ ว ห่ า งจากภู เ ขาพนมรุ ้ ง ไปทางทิ ศ ตะวั น ตกประมาณ 10 กิ โ ลเมตร ห่ า งจาก จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ ป ระมาณ 72 กิ โ ลเมตร ตามเส้ น ทางบุ รี รั ม ย์ - นางรอง


เที่ยวชมศาสนสถาน ไหว้พระ ขอพร วัดประจำาอำาเภอสันทราย วัดข้าวแท่นหลวง ต�าบลสันทรายหลวง อ�าเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ โดยมีพระครูโกศลธรรมวิจัย (สุวรรณ ธัมมวิจาโร) เจ้าคณะอ�าเภอสันทราย เจ้าอาวาสวัดข้าวแท่นหลวง

วัดเจดียแ์ ม่ครัว ต�าบลแม่แฝกใหม่ อ�าเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ โดยมี พระครูสถิตเจติยารักษ์ เจ้าคณะต�าบลแม่แฝก เขต ๒ เจ้าอาวาสวัดเจดีย์แม่ครัว

วัดสันคะยอม ต�าบลสันทรายน้อย อ�าเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ โดยมี พระครูโอภาสวิหารกิจ รองเจ้าคณะอ�าเภอสันทราย เจ้าอาวาสวัดสันคะยอม

วัดท่าเกวียน ต�าบลหนองจ๊อม อ�าเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ โดยมี พระครูประภากรกิจโกศล เจ้าคณะต�าบลหนองจ๊อม เจ้าอาวาสวัดท่าเกวียน

วัดร้องเม็ง ถ.เชียงใหม่-ดอยสะเก็ด เลขที่ 1 หมู่ 2 ต.หนองแหย่ง อ.สันทราย จ.เชียงใหม่ โดยมี พระครูโกวิทธรรมโสภณ เจ้าคณะต�าบลหนองแหย่ง / เจ้าอาวาสวัดร้องเม็ง

326

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


History of buddhism....

วัดข้าวแท่นหลวง วัดพัฒนาตัวอย่าง ปี พ.ศ. 2544 พระครูโกศลธรรมวิจัย (สุวรรณ ธัมมวิจาโร) เจ้าคณะอ�าเภอสันทราย เจ้าอาวาสวัดข้าวแท่นหลวง

วัดข้าวแท่นหลวง ตั้งอยู่เลขที่ 78 หมู่ที่ 3 ต�าบลสันทรายหลวง อ�าเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ สร้างเมื่อ พ.ศ. 2115 เดิมชื่อ วัดยางหมอก ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อวันที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2466 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 42 เมตร ยาว 50 เมตร ประวัติความเป็นมา วัดข้าวแท่นหลวงมีประวัติที่ยาวนาน เล่ากันว่า วัดนี้แต่เดิมชื่อ “วัดยางหมอก” ที่ตั้งวัดนี้ชื่อบ้านยางหมอก พระพุทธเจ้าได้เสด็จมา บิณฑบาตในหมู่บ้านยางหมอกแห่งนี้ ขณะนั้นพ่อนาซึ่งก�าลังเก็บ เกี่ยวข้าวอยู่ในนา เห็นพระพุทธเจ้าเสด็จมาจึงวางธุระในการเก็บ เกี่ยวข้าวของตนเอง ตรงเข้าไปกราบนมัสการพระพุทธเจ้าพร้อมกับ น�าฟ่อนข้าวถือติดมือไปปูเพื่อให้พระพุทธองค์ประทับนั่งและถวาย บิณฑบาต พระพุทธองค์ทรงตรัสกับพ่อนาว่า “ ที่บ้านยางหมอก แห่งนี้ต่อไปภายภาคหน้าจะได้ชื่อว่าบ้านข้าวแท่น ” เพราะว่าพ่อนา น�าฟ่อนข้าวมาท�าเป็นบัลลังก์ให้พระพุทธองค์ประทับนั่ง ที่เรียกว่า วัดข้าวแท่นหลวง เพราะในหมูบ่ า้ นแห่งนีม้ อี ยู ่ 2 วัด คือ วัดข้าวแท่นหลวง และ วัดข้าวแท่นน้อย ปูชนียวัตถุของวัดข้าวแท่นหลวง พระธาตุ เจดี ย ์ ได้ ส ร้ า งครอบฟ่ อ นข้ า วและเส้ น พระเกศาที่ พระพุทธองค์ได้ประทานให้พ่อนาแม่นาที่น�าฟ่อนข้าวมาถวายเพื่อปู เป็นแท่นบัลลังก์ถวายพระพุทธองค์ประทับนั่งและพร้อมของที่มีค่า ต่างๆ ได้ท�าการบูรณะมาถึง 2 ครั้งและครั้งที่ 3 ในสมัยพระครูโกศล ธรรมวิจัย เป็นเจ้าอาวาส พระพุทธปฏิมา องค์ประธานซึ่งประดิษฐานอยู่ในวิหาร สร้าง ขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2441 เป็นพระขนาดใหญ่พอสมควรมีหน้าตักกว้าง 3.99 เมตร สูง 4.99 เมตร อุโบสถ สร้างขึ้นด้วยทุนทรัพย์ของแม่สุนา เมื่อปี พ.ศ. 2465 ได้บรู ณะขึน้ ใหม่เมือ่ ปี พ.ศ. 2520 ในสมัยหลวงพ่อพระครูสนั ติยานุสาสน์ เป็นเจ้าอาวาส วิหาร สร้างขึน้ เมือ่ ปี พ.ศ. 2490 ได้บรู ณะขึน้ ใหม่เมือ่ ปี พ.ศ. 2525 ในสมัยหลวงพ่อพระครูสันติยานุสาสน์ เป็นเจ้าอาวาส ค�าขวัญของวัด “วัดเจริญดี เป็นศรีบ้าน ถ้าเกียจคร้าน ก็หมดดี ศรีก็หาย ช่วยทนุ บูรณะ ไม่ดูดาย ประโยชน์ผาย แผ่ถึงบ้าน สะคราญตา”

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

327


History of buddhism....

วัดสันคะยอม ศักดิ์สิทธิ์ หลวงพ่อพระประธาน อลังการ วิหารไม้สักทอง อุโบสถ ประดุจทิพยสถานเรืองรอง นามวัด “สันคะยอม” พระครูโอภาสวิหารกิจ (บุญเลิศ อาสโภ)

รองเจ้าคณะอ�าเภอสันทราย, เจ้าอาวาส

วั ด สั น คะยอม ตั้ ง อยู ่ บ ้ า นสั น คะยอม เลขที่ 148 หมู ่ ที่ 8 ต�าบลสันทรายน้อย อ�าเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ สังกัดคณะสงฆ์ มหานิกาย ที่ดินตั้งวัดมีเนื้อที่ 6 ไร่ 44 ตารางวา น.ส. 3 เลขที่ 304 ได้ รับ พระราชทานวิสุง คามสีม าวัน ที่ 9 กุม ภาพั น ธ์ พ.ศ. 2516 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 32 เมตร ยาว 78 เมตร ประวัติความเป็นมา วัดสันคะยอม เดิมชื่อ “วัดศรีดอนชัย” สร้างเมื่อ พ.ศ. 2343 เป็นวัดที่เก่าแก่มากกว่า 200 ปี โดยเฉพาะสัญลักษณ์ที่เป็นนามวัด คือ “ต้นพะยอม” ผู้ริเริ่มสร้างวัดคือ พระครูบาปัญญา ซึ่งเป็นราชครู เมืองเชียงใหม่ในสมัยนั้น 328

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

อนุสรณ์สถานท้าวสุรนารี (ย่าโม) อ�าเภอเมือง


“วัดสันคะยอม” ศูนย์กลางการเรียนรู้ของชุมชน ปัจจุบนั วัดสันคะยอมภายใต้การบริหารงานของพระครูโอภาสวิหารกิจ (บุญเลิศ อาสโภ) ท่านเจ้าอาวาส ได้มีการพัฒนาวัดในด้านต่างๆ เพื่อให้เป็นศูนย์การเรียนรู้ของชุมชนในทุกๆ ด้าน อาทิเช่น ด้านการอนุรักษ์ศิลปะ มีการสร้างวิหารไม้สักทรงล้านนา เรือนไม้สักทั้งหลัง อุโบสถ ทรงไทยประยุกต์ หอพระไตรปิฎกเรือนไทยโบราณ และศาลาการเปรียญ แบบทรงไทยล้านนาโบราณ มีการจัดสร้างพระธาตุเจดีย์ซึ่งมีต้นแบบ มาจากพระบรมธาตุดอยสุเทพที่งดงามยิ่ง นอกจากนั้นยังมีพระพุทธรูปที่เก่าแก่เป็นศิลปะแบบเชียงแสน ที่งดงามวิจิตรซึ่งมีการอ้างในคัมภีร์ใบลานของวัด และแผ่นจารึก ไว้เป็นหลักฐาน มีนามว่า “หลวงพ่อพระศากยะมุนีสะหรีชัยมงคล” โดยมีการประดิษฐานไว้ในวิหารของวัดเป็นทีส่ กั การบูชาเพือ่ ความเป็น สิริมงคลแก่ชีวิต ด้านการอนุรักษ์ศิลปะการแสดงแบบล้านนา ได้แก่ การสืบทอดการตีกลองสะบัดชัย การแสดงการฟ้อนเล็บ และการประกอบพิธีกรรมต่างๆ แบบล้านนา เพื่อสืบทอดวิถีจารีต และประเพณีอันดีงามของบรรพบุรุษ มีพิพิธภัณฑ์ล้านนา “อนุรักษ์สืบสาน ประเพณี ของดีล้านนา ช่วยส่งเสริมการศึกษา พัฒนาอาราม วิหารไม้สักทอง สวยเป็นหนึ่งในสยาม พิศเพลิดแพร้ว อุโบสถงาม นามวัดสันคะยอม” ด้านการบริหารคณะสงฆ์และการเผยแผ่ธรรม ท่านเจ้าอาวาสในฐานะเจ้าคณะต�าบลสันทรายน้อย - ต�าบล สันพระเนตร ได้มกี จิ กรรมการอบรมศีลธรรมประจ�าต�าบลแก่ประชาชน กิจกรรมอบรมผู้สูงอายุ จัดตั้งโรงเรียนพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ เพื่ อ สอนพระพุ ท ธศาสนาแก่ เ ยาวชน เปิ ด อบรมนั ก ศึ ก ษาของ ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียน อ�าเภอสันทราย และเปิดศูนย์การเรียน รู้ชุมชนวัดสันคะยอม เพื่อส่งเสริมภูมิปัญญาพื้นบ้านและเสริมสร้าง ความรู้วิชาชีพแก่ชุมชน อีกทั้งจัดปฏิบัติธรรมเนื่องในวันส�าคัญทาง พุทธศาสนาตลอดทั้งปี

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

329


ประวัติพระสังฆาธิการโดยสังเขป พระครูโอภาสวิหารกิจ (บุญเลิศ อาสโภ) ปัจจุบนั อายุ 71 พรรษา 49 น.ธ. เอก วุฒิปริญญา พุทธศาสตรบัณฑิต (พธ.บ.) วัดสันคะยอม ต�าบลสันทรายน้อย อ�าเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ ปัจจุบันด�ารงต�าแหน่ง เจ้าอาวาสวัดสันคะยอม รองเจ้าคณะ อ�าเภอสันทราย และพระอุปัชฌาย์ ความช�านาญการ การแสดงพระธรรมเทศนาแบบพืน้ เมืองล้านนา เรือ่ งล้านนาคดีศกึ ษา และเรือ่ งพิธกี รรมล้านนา และ งานนวกรรม ควบคุมการก่อสร้างถาวรวัตถุ งานบริหารและการปกครอง พ.ศ. 2515 เป็นผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาสวัดสันคะยอม พ.ศ. 2517 เป็นเจ้าอาวาสวัดสันคะยอม พ.ศ. 2538 เป็นเจ้าคณะต�าบลสันทรายน้อย-สันพระเนตร พ.ศ. 2543 เป็นพระอุปัชฌาย์ พ.ศ. 2551 เป็นรองเจ้าคณะอ�าเภอสันทราย รางวัลที่ได้รับ พ.ศ.2542 พ.ศ.2556 พ.ศ.2558 พ.ศ.2561

ได้รบั รางวัลเสาเสมาธรรมจักร “สาขาอนุรกั ษ์วฒั นธรรม” ได้รบั รางวัลอุทยานการศึกษาในวัด ส�านักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ได้รับรางวัลวัดพัฒนาตัวอย่าง ส�านักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ได้รับรางวัลวัดพัฒนาตัวอย่างที่มีผลงานดีเด่น

สมณศักดิ์ พ.ศ. 2530 ได้รบั พระราชทานสมณศักดิ ์ เป็นพระครูชนั้ ประทวน พ.ศ. 2536 ได้รบั พระราชทานตัง้ สมณศักดิ ์ เป็นพระครูสญ ั ญาบัตร เจ้าอาวาสวัดราษฎร์ชั้นโท ราชทินนามที่ “พระครูโอภาสวิหารกิจ” พ.ศ. 2542 ได้รบั พระราชทานเลือ่ นสมณศักดิ ์ เป็นพระครูสญั ญาบัตร เจ้าคณะต�าบลชั้นโท (จต.ชท.) ราชทินนามเดิม พ.ศ. 2547 ได้รบั พระราชทานเลือ่ นสมณศักดิ ์ เป็นพระครูสญั ญาบัตร เจ้าคณะต�าบลชั้นเอก (จต.ชอ.) ราชทินนามเดิม พ.ศ. 2551 ได้รบั พระราชทานเลือ่ นสมณศักดิ ์ (ปรับเปลีย่ นพัดยศ) เป็นพระครูสญั ญาบัตรรองเจ้าคณะอ�าเภอชัน้ โท(รจอ.ชท.) ราชทินนามเดิม พ.ศ. 2554 ได้รบั พระราชทานเลือ่ นสมณศักดิเ์ ป็นพระครูสญั ญาบัตร รองเจ้าคณะอ�าเภอชั้นโท (รจอ.ชอ.) ราชทินนามเดิม พ.ศ. 2562 ได้รบั พระราชทานเลือ่ นสมณะศักดิเ์ ป็นพระครูสญั ญาบัตร เทียบเจ้าคณะอ�าเภอชั้นเอก (ทจอ.ชอ.) ราชทินนามเดิม “ คณะศรัทธาวัดสันคะยอมรวมพลังเป็นหนึ่งเดียวกัน เหมือนตะวันที่มีดวงเดียว ” 330

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


History of buddhism....

WAT SANKAYOM Paying respect to “Luang Phor Phra Sakyamuni Sari Chaimongkol” for a great fortune in life Wat Sankayom is located at Ban Sankayom, 148 village no.8, San Sai Noi sub-district, San Sai district, Chiang Mai province. It belongs to Maha Nikaya clergy. Scale of this temple’s area is 2.4 acres and 176 square meters, title deed N.S.3 no.304. It was granted Wisungkhamsima (Land granted from Royal family to build temple or other religious buildings) on 9 February B.E.2516 and scale of this land is 32 meters in width and 78 meters in length. Former name of Wat Sankayom was “Wat Sri Don Chai”. It was built in B.E.2343. It is an ancient temple which age more than 200 years especially the symbol that become temple’s name which is “Phayom tree” (Shorea). The founder of this temple was Phra Khruba Panya who was the Brahman ceremonial head of Chiang Mai at that time.

ART CONSERVATION FIELD There are construction of wooden vihara in Lanna style, the whole building is made of teakwood, ubosot in Thai applied art style, tripitaka hall in ancient Thai building style and sermon hall in ancient Thai-Lanna style. In addition, there is pagoda for Buddha’s relics which is imitated from gorgeous Phra Borommathat Doi Suthep, in the process of constructing. Moreover, there is also ancient Buddha image in Chiang Saen exquisite art style which is mentioned in ancient palm leaf manuscripts of this temple and record in the tablet that its name is “Luang Phor Phra Sakyamuni Sari Chaimongkol”. This Buddha image is placed in vihara of this temple, it is sacred Buddha image that people worship for great fortune in their lives. LANNA PERFORMING ART CONSERVATION FIELD For example, the inheritance of Klong Sabadchai-drumming, nail-covered dance and Lanna rituals-performing. The purpose of the conservation is for inheriting fine custom and tradition of an ancestor. Lastly, there is Lanna museum in this temple.

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

331


History of buddhism....

วัดเจดีย์แม่ครัว ธรรมะคือธรรมชาติ ธรรมะคือความถูกต้อง และความดี ปฏิบัติถูก ปฏิบัติดี มีแต่ความสุข พระครูสถิตเจติยารักษ์ (ธงชัย ฐิตเมธี) เจ้าคณะต�าบลแม่แฝก เขต 2, เจ้าอาวาส

วั ด เจดี ย ์ แ ม่ ค รั ว ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 94 หมู ่ 3 ต� า บลแม่ แ ฝกใหม่ อ�าเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย เมื่อ ในอดีตนัน้ ทีต่ งั้ วัดและหมูบ่ า้ นเจดียแ์ ม่ครัวเป็นป่าลึกไม่มผี คู้ นอาศัยอยู่ ต่อมาได้มีผู้คนเข้ามาบุกเบิกป่า ให้เป็นที่อยู่อาศัยและที่ท�ามาหากิน และได้พบซากสิ่งก่อสร้างต่างๆ เป็นที่ธรณีสงฆ์ปัจจุบัน ห่างจากวัด ไปทางทิศตะวันออกประมาณ 500 เมตร ที่แสดงให้เห็นว่าเคยเป็น วัดมาก่อน เช่น ฐานพระเจดีย์ถูกขุด เป็นต้น ต่อมาในปี พ.ศ. 2480 ทางสหกรณ์การเกษตรเข้ามาจัดสรรทีด่ นิ เป็น “สหกรณ์นคิ ม” ปี พ.ศ. 2491 ราษฎรเห็นทีต่ งั้ ของวัดเดิมนัน้ ว่า การไปบ�าเพ็ญบุญเส้นทางไป-กลับขณะนั้นล�าบากมาก ประกอบด้วย มีความเชือ่ เรือ่ งอาถรรพ์ จึงได้ตกลงกันย้ายวัดเดิมมาสร้างวัดแห่งใหม่ 332

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

ในทีด่ นิ ของสหกรณ์ ซึง่ อยูต่ ดิ กับเขตทางหลวง ย้ายมาทางทิศตะวันตก 500 เมตร ข้ามคลองส่งน�้าชลประทานแม่แฝก โดยรื้อสิ่งปลูกสร้าง มาสร้างวัดใหม่ คงเหลือแต่องค์พระเจดีย์ในที่วัดเดิมซึ่งเป็นธรณีสงฆ์ ในปัจจุบนั


วัดเจดีย์แม่ครัว มีคณะศรัทธา ร่วมกันทั้งหมด 6 หมู่บ้านด้วยกันคือ 1. บ้านเจดีย์แม่ครัว หมู่ที่ 3 2. บ้านแพะเจดีย์ หมู่ที่ 6 3. บ้านกลางพัฒนา หมู่ที่ 9 4. บ้านเจดีย์พัฒนา หมู่ที่ 11 5. บ้านพระธาตุเจดีย์ หมู่ที่ 13 6. บ้านเจดีย์เจริญ หมู่ที่ 14

ศูนย์กลางการศึกษาของชุมชน และการศึกษาพระพุทธศาสนา วันอาทิตย์ วัดเจดีย์แม่ครัว ยังเป็นศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ ด�าเนินกิจกรรมเผยแผ่ในรูปแบบต่างๆ เพื่อป้องกัน แก้ไขปัญหา พัฒนาเด็ก เยาวชน หนุ่มสาวในรูปแบบต่างๆ เช่น การกีฬา เข้าค่าย บวชสามเณรภาคฤดูร้อน ศิลปวัฒนธรรมการแสดง-ขับร้องท้องถิ่น ฝึกหัดประกอบอาชีพ รวมกลุ่มท�ากิจกรรมบ�าเพ็ญประโยชน์ เป็นต้น นอกจากนี้ ยังส่งเสริมกิจการชมรมผู้สูงอายุต�าบลฯ ช่วยเหลือ ชุมชน คนด้อยโอกาส โดยเฉพาะการซ่อมแซม สร้างที่อยู่อาศัย และ

การแก้ไขปัญหาคนไร้สัญชาติ มีปัญหาสถานะทางทะเบียนราษฎร อีกทั้งยังช่วยเหลือกลุ่มผู้ติดเชื้อฯ เด็ก เยาวชน และครอบครัวที่ได้ รับผลกระทบจากโรคเอดส์ ขณะเดียวกันก็มีการให้การศึกษาการ ป้องกันแก้ไขปัญหาเอดส์ด้วยวิถีพุทธวิถีธรรม และความเข้าใจตนเอง อีกทัง้ ยังจัดกิจกรรมวันส�าคัญทางชาติ ศาสนา และประเพณีทอ้ งถิน่ ฯ ร่วมกับหน่วยงานของรัฐและเอกชน องค์กรต่างๆ จัดงาน กิจกรรม และมหกรรมสร้างการเรียนรู้ต่างๆ อย่างสร้างสรรค์เสมอ เพื่อให้ เยาวชนมีกิจกรรมสร้างสรรค์แบบมีส่วนร่วม จะได้ใช้เวลาว่างให้เกิด ประโยชน์ต่อตนเอง ครอบครัวและสังคม

“เราทุกคน ปรารถนา ให้ผู้ที่เรารัก พ้นจากทุกข์ พบแต่ความสุข” คติธรรม จากพระครูสถิตเจติยารักษ์ (ธงชัย ฐิตเมธี) เจ้าอาวาส “ยอมรับความจริงได้ ใจสบาย ความจริงคืออะไร คือ แก่เจ็บตาย นั้นแหละ ความจริง” CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

333


History of buddhism....

วัดท่าเกวียน “จงมีพระรัตนตรัยเป็นที่พึ่ง มีศีลคุ้มครอง มีสติรักษาตน มีสมาธิตั้งมั่นและมีปัญญาในการดับทุกข์ ภายในกายใจตนเอง คือ มีตนเป็นที่พึ่ง” พระครูประภากรกิจโกศล (อิ่นค�า ปามา) ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาส และ เจ้าคณะต�าบลหนองจ๊อม

วัดท่าเกวียน ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 83 หมู่ 4 วัดท่าเกวียน ต�าบลหนองจ๊อม อ�าเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ได้รบั อนุญาต ให้ตั้งเป็นวัดเมื่อปี พ.ศ.2330 และได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา พ.ศ.2466 ปัจจุบัน พระครูประภากรกิจโกศล (อิ่นค�า ปามา) เจ้าคณะต�าบล หนองจ๊อม ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาสวัดท่าเกวียน ประวัติความเป็นมาของต�าบลหนองจ๊อม ตามต�านานเล่าว่า พระนางเจ้าจามเทวี เจ้าผู้ครองนครล�าพูนได้ เสด็จมาสรงน�้า ในสระแห่งหนึ่งในต�าบลหนองจ๊อม เมื่อเสด็จกลับ พระนางได้ลืมจ๊อมปักผมไว้ที่สระน�้านั้น ตามภาษาพื้นเมือง ค�าว่า “สระ” หมายถึง หนอง และค�าว่า “จ๊อม”หมายถึง ปิ่นปักผม สระน�้า แห่งนั้นจึงได้ชื่อว่า หนองจ๊อม และได้เป็นชื่อเรียก ต�าบลหนองจ๊อม มาจนถึงปัจจุบัน

334

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

ปูชนียวัตถุที่ส�าคัญ เจดีย์งดงามด้วยลายไม้ฉลุสลักอ่อนช้อยที่มีความเก่าแก่ถึง 229 ปี และพระประธานในวิหาร ที่มีความงดงามอ่อนโยน อีกทั้งยังมีรูปปั้น ครูบาศรีวิชัย ค�าไหว้ครูบาศรีวิชัย อะยัง วุจจะติ สิริวิชะโย นามะ มหาเถโร อุตตะมะสีโล นะระเทเวหิ ปูชิโต โส ระโห ปัจจะยาทีนัง มะหะลาภา ภะวันตุ เม อะหัง วันทามิ สัพพะทา อะหัง วันทามิ สิระสา อะหัง วันทามิ สัพพะโส สาธุ สาธุ สาธุ อนุโมทามิฯ ส่วนค�าแปลที่ว่านั้น มีความหมายดังนี้ พระมหาเถระรูปนี ้ ซึง่ พุทธศาสนิกชนพากันเรียกขานว่า พระมหาเถระ ศรีวชิ ยั ผูม้ ศี ลี อันอุดม ผูอ้ นั เหล่านรชนและเทวดาพากันบูชา ท่านเป็น ผู ้ ส มควรแก่ เ ครื่ อ งสั ก การะบู ช าอั น มี ป ั จ จั ย สี่ เ ป็ น ต้ น ขอให้ ล าภ เป็นอันมากจงเกิดมีแก่ข้าพเจ้า ข้าพเจ้าขออภิวาทซึ่งพระเถระเจ้า รูปนัน้ ตลอดเวลา ขอกราบไหว้ดว้ ยเศียรเกล้า ขอกราบไหว้ดว้ ยอาการ ทัง้ ปวง ขอให้สา� เร็จประโยชน์ ขอให้สา� เร็จประโยชน์ ขอให้สา� เร็จประโยชน์ ข้าพเจ้าขออนุโมทนาฯ


ครูบาศรีวิชัย หรือ พระสีวิไชย พระมหาเถระซึ่ ง เป็ น ที่ รู ้ จั ก ในฐานะผู ้ ส ร้ า งถนนทางขึ้ น วั ด พระธาตุดอยสุเทพราชวรวิหาร จังหวัดเชียงใหม่ เมื่อปี พ.ศ. 2477 ได้รับการขนานนามว่า ตนบุญแห่งล้านนา

ประวัติท่านเจ้าอาวาสโดยสังเขป พระครูประภากรกิจโกศล (อิ่นค�า ปามา) อายุ 63 ปี พรรษา 42 การศึกษาทางโลก มัธยมศึกษาปีท ี่ 6 การศึกษาทางธรรม นักธรรมเอก ปัจจุบันเป็นเจ้าคณะต�าบลหนองจ๊อม และเป็นพระธรรมทูตประจ�า อ�าเภอ ท�างานเผยแผ่พระพุทธศาสนาทั้งหกด้านด้วยความเมตตา ต่อประชาชนเป็นอย่างยิ่ง ด้วยหวังจะให้ชาวบ้านและประชาชนมี พระรัตนตรัยเป็นที่พึ่ง คือมีศีลคุ้มครอง มีสติรักษาตน มีสมาธิตั้งมั่น และมี ป ั ญ ญาในการมองเห็ น กายใจตามความเป็ น จริ ง ของชี วิ ต คือ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

335


SBL บันทึกประเทศไทย

Website : www.sbl.co.th


พิพิธภัณฑ์วัดร้องเม็ง 2 รางวัลพระราชทาน 11 พฤษภาคม 2543 ได้รบั พระราชทานรางวัลเสาเสมาธรรมจักร ประเภทอนุรกั ษ์ฯ จากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ณ ท้องสนามหลวง กรุงเทพฯ พิพิธภัณฑ์วัดร้องเม็ง ก่อตั้งเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2527 โดย พระครูโกวิทธรรมโสภณ (ศรีผอ่ ง โกวิโท บุญเป็ง) เจ้าคณะต�าบลหนองแหย่ง เจ้าอาวาสวัดร้องเม็ง อ�าเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ พิพิธภัณฑ์วัดร้องเม็ง มีโบราณวัตถุและศิลปวัตถุซึ่งทุกชิ้นได้รับ มาจากผูม้ จี ติ ศรัทธาทัว่ ไป บริจาคให้กบั ทางพิพธิ ภัณฑ์มากกว่า 7,000 ชิน้

สลากกินแบ่ง กุบเศิ้กและดาบออกเศิ้ก (หมวกและดาบใช้สวมใส่และอาวุธ ส�าหรับการต่อสู)้ ได้รบั มอบจาก พลตรี ดร.วัลลภ, ดร.เสาวภา มณีเชษฐา เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2541 ทีม่ าบ้านเลขที ่ 99219 หมูท่ ี่ 12 ต�าบลสันนาเม็ง อ�าเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่

ใบส�าคัญการสมรส พ.ศ.2480 วิทยุโบราณใช้ถ่าน 80 ก้อน พ.ศ.2490 ติดต่อและเยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์วัดร้องเม็งได้ที่ เลขที่ 1 หมู่ 2 ต�าบลหนองแหย่ง อ�าเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 08-1960-3698, 0-5325-5182 watrongmeng@gmail.com www.watronmengmuseum.com พิพิธภัณฑ์วัดร้องเม็ง จ.เชียงใหม่ 0819603698 เปิดท�าการ เวลา 09.00-18.00 น.ทุกวัน

ก๊อบแก๊บ (รองเท้า) ท�าจากไม้สักอายุกว่า 100 ปี CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

337


History of buddhism....

วัดศรีนวรัฐ เปิดคาถาบูชา “พระเจ้าสักคงตัน (พระเจ้าอกล้ง)” สู่หนทางแห่งการพ้นทุกข์ พระครูถาวรนพรัฐ เจ้าอาวาส

วัดศรีนวรัฐ ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นทุง่ เสีย้ ว ต�าบลบ้านกลาง อ�าเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ บริเวณวัดมีพื้นที่ทั้งหมด 9 ไร่ 2 งาน 40 ตารางวา ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2489 ใน ชื่อ “วัดศรีนวรัฐ” เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 10 เมตร ยาว 18 เมตร วัดศรีนวรัฐ ถูกสร้างขึ้นเมื่อพ.ศ.2145 เดิมชื่อ วัดหลวงทุ่งเสี้ยว ชาวบ้านเรียกขานกันสั้นๆ ว่า วัดทุ่งเสี้ยว โดยมีกลุ่มชาวไทเขินเป็น ผู้สร้างวัดในยุคที่อาณาจักรล้านนายังเป็นเมืองภายในการปกครอง ของพม่า ซึง่ ใช้นโยบายยึดถือจารีตท้องถิน่ เพือ่ ปกครองและท�านุบา� รุง จึงมิได้มีการทอดทิ้งหรือท�าลายพระพุทธศาสนาแต่อย่างใด ทั้งยังมี การอุปถัมภ์วัดที่ส�าคัญในเวียงเชียงใหม่อยู่หลายวัดอีกด้วย เมื่อถึงยุค “ฟื้นม่าน” หรือยุคก่อนการสิ้นสุดการครอบครองพม่า มีเหตุการณ์ไม่สงบทั้งเกิดการจลาจลทั่วทุกแห่ง ซึ่งเป็นสาเหตุหลัก ที่ท�าให้วัดได้กลายสภาพเป็นวัดร้างไปตามสภาพของบ้านเมือง และ ได้รับการฟื้นฟูก่อสร้างขึ้นใหม่ในปีพ.ศ. 2370 ตรงกับสมัยเจ้าหลวง พุทธวงศ์ เจ้าหลวงเชียงใหม่องค์ที่ 4 (พ.ศ.2369 - พ.ศ.2389) โดย ศรัทธาชาวทุ่งเสี้ยวที่สืบเชื้อสายมาจากไทเขินได้ร่วมกันสร้างวิหาร หลังใหม่อยู่ทางทิศตะวันตกของวิหารหลังเดิม มีด้านหลังใกล้กับ ล�าน�้าขาน และหลังเกิดน�้าท่วมใหญ่จนก�าแพงด้านหลังของวิหารทรุด 338

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

และพังลง พบว่ามีของมีค่าบรรจุอยู่ในพระประธานที่เสียหาย โดย เฉพาะลานหูทองค�าซึ่งมีค�าจารึก ถอดความได้ว่า “มีสามเณรเป็น เจ้าศรัทธาสร้างพระประธานเมื่อปีพ.ศ. 2370” “ทุ่งเสี้ยว” ชุมชนหนึ่งในลุ่มน�้าแม่ขานและสายสัมพันธ์กับคุ้ม หลวงเชียงใหม่ บ้านทุ่งเสี้ยว เป็นหมู่บ้านหนึ่งในจ�านวน 14 หมู่บ้านของเทศบาล ต�าบลบ้านกลาง เขตอ�าเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ ตั้งอยู่ทาง ทิศใต้ของจังหวัดเชียงใหม่ บนทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 108 เชียงใหม่ - ฮอด ห่างจากตัวจังหวัดเชียงใหม่ประมาณ 30 กิโลเมตร จากร่องรอยและหลักฐานทางประวัตศิ าสตร์อนั ยาวนานท�าให้ทราบว่า บ้านทุง่ เสีย้ วเป็นชุมชนโบราณแห่งหนึง่ ในแอ่งทีร่ าบเชียงใหม่ - ล�าพูน ที่ มี พื้ น ที่ โ ดยรอบเป็ น แหล่ ง ปลู ก ข้ า ว จึ ง เป็ น อู ่ ข ้ า วอู ่ น�้ า ที่ ส� า คั ญ มาแต่โบราณ นับตั้งแต่สมัยหริภุญไชยจนมาถึงสมัยพญามังราย


ปูชนียวัตถุส�าคัญในวัด พระเจ้าสักคงตัน (พระเจ้าอกล้ง) พระพุทธรูปเจ้าองค์นี้สร้างด้วยไม้สักเก่าแก่ เป็นพระพุทธรูป ปางมารวิชัยมีลักษณะที่สมบูรณ์ตามแบบของศิลปะล้านนาที่มีอายุ หลายร้อยปี ในช่วงสร้างพระวิหารหลังใหม่ในปีพ.ศ. 2464 เจ้าแก้วนวรัฐ เจ้ า ผู ้ ค รองนครเชี ย งใหม่ ไ ด้ เข้ า มาจั ด การร่ ว มกั บ พระคุ ณ เจ้ า เถิ้ ม (ตุ๊เจ้าเถิ้ม) จากวัดแสนฝางเชียงใหม่ “คุ้มเจ้าแก้วนวรัฐ” เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 9 คุ้มแห่งนี้ได้สร้างเมื่อปี พ.ศ.2460 ปัจจุบันคุ้มเจ้าแก้วนวรัฐแห่งนี้ มิได้เป็นของทายาทตระกูล ณ เชียงใหม่ โดยปรับเปลี่ยนเป็นของ ทายาทคุณหญิงณพรัตน์ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ทัง้ นีล้ กู หลานของท่านมิได้ มีการดัดแปลงหรือปรับเปลี่ยนใดๆ ยังคงไว้ซึ่งรูปแบบเดิม และยังมี การท�าบุญอุทิศถวายองค์เจ้าแก้วนวรัฐเป็นประจ�า ซึ่งทางทายาทของ คุณหญิงณพรัตน์ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ก�าลังปรับปรุงสถานทีใ่ ห้เหมาะสม และสมพระเกียรติของพระองค์เพื่อจัดท�าเป็น “พิพิธภัณฑ์คุ้มเจ้า แก้ ว นวรั ฐ ” และจะเปิ ด ให้ นั ก ท่ อ งเที่ ย วหรื อ ผู ้ ท่ี ส นใจได้ เข้ า ชม ในอนาคตต่อไป โครงการพิพิธภัณฑ์ของชุมชน จากด�าริของพระครูวินัยธรสุเทพ ฐานวโร เจ้าอาวาสวัดศรีนวรัฐ และเจ้าคณะศรัทธาเห็นสมควรจัดให้มีแหล่งรวบรวมเรื่องการศึกษา ประวัติศาสตร์บ้านเสี้ยวเพื่ออนุรักษ์และเผยแพร่สืบทอดกันต่อไป จึงเห็นควรให้จัดตั้งหอศิลปวัฒนธรรมประจ�าท้องถิ่น โดยใช้อาคาร ศาลาการเปรี ย ญส่ ว นหนึ่ ง จั ด ให้ เ ป็ น ศู น ย์ ก ลางการอนุ รั ก ษ์ แ ละ จัดแสดงโบราณวัตถุและศิลปวัตถุของวัดและของท้องถิ่น เพื่อจะได้ ช่วยให้ชุมชนและผู้มาเยือนได้รับความรู้ และตระหนักในคุณค่าแห่ง มรดกศิลปวัฒนธรรมทีไ่ ด้สร้างสรรค์ขนึ้ มาอันเป็นสิง่ ทีส่ ามารถบอกเล่า เรื่องราวความเป็นมาในอดีต กาดก้อม กองเตียว ตลาดเล็กๆ ในชุมชนเล็กๆ ด้วยแนวคิดเพื่อส่งเสริมการสร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ ให้แก่คนในชุมชนรวมไปถึงชุมชนใกล้เคียง เพื่อสืบทอดและสานต่อทุนทางวัฒนธรรมในชุมชน สร้างแหล่งเรียนรู้ และแหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมให้เกิดในชุมชน อีกทั้งยังรณรงค์ ร่วมกันแต่งกายชุดพื้นเมือง เพื่อเป็นการอนุรักษ์เอกลักษณ์พื้นบ้าน ซึ่งหาชมได้ยากในปัจจุบัน ตัง้ อยูห่ ลังพิพธิ ภัณฑ์เฮือนไทเขินวัดศรีนวรัฐ เลียบล�าน�า้ แม่ขาน เปิดจ�าหน่ายสินค้าจากภายในชุมชนและ ชุมชนใกล้เคียง มีสนิ ค้า พื้นบ้าน พืชผักสวนครัว กับข้าว อาหารพื้นบ้าน สินค้าหัตถกรรม สินค้าภูมิปัญญา มุ่งเน้นใช้ภาชนะจากวัสดุธรรมชาติ ทุกวันอาทิตย์ เวลา 15.00 น. - 20.00 น. CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

339


กราบสรีระสังขารหลวงปู่ครูบาธรรมชัย ในดินแดนพระนิพพาน

History of buddhism....

WAT SRI NAWARAT

Wat Sri Nawarat is located at Ban Thung Siao, Ban Klang sub-dsitrict, San Pa Tong district, Chiang Mai province. Total scale of this temple’s area is 3.6 acres and 960 square meters. It was granted Wisungkhamsima (Land granted from Royal family to build temple or other religious buildings) on 2 August B.E.2489 in the name “Wat Sri Nawarat”. History of the temple Wat Sri Nawarat was built in B.E.2415. Its former name was Wat Luang Thung Siao, locals called it shortly as Wat Thung Siao. It was built by Thai Khoen tribe during the time when Lanna kingdom was under the administration of Myanmar. After that, when an era “Fuen Man” or era before the end of colonization of Myanmar on Lanna kingdom arrived, there were riots everywhere which is 340

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

the main reason why this temple became abandoned temple along with state of the kingdom. It was reconstructed in B.E.2370 during the reign of Chao Luang Phutthawong, the fourth ruler of Chiang Mai (B.E.2369 - B.E.2389), by faithful people of Thung Siao who descended from Thai Khoen tribe, they jointly built new vihara which is located on the west of former vihara and the back is next to Khan Canal. After that, there was a great flood in this area which made the back wall of this vihara collapsed, but people discovered valuables which contained in the damaged principle Buddha image, especially an ancient gold earring with inscription on it which is translated as follows: “There was a novice who was the faithful leader on the construction of principle Buddha image in B.E.2370”.


IMPORTANT SACRED OBJECT IN THE TEMPLE Phra Chao Kong Sak Ton (Phra Chao Ok Long) - It is made of ancient teakwood, it is Buddha image in attitude of subduing Mara. It has the perfection of Lanna art which age hundreds of years. The reason why it was named Phra Chao Ok Long was that it was not taken care of for quite some time which made ants and termites bit the its base up until it reached this its armpit, then, to the left hand until fall apart, even on the inside of its bosom became hollow. Therefore, locals has been calling this Buddha image “Phra Chao Ok Long” since that time till now. (Ok means bosom in Thai language). “KHUM CHAO KAEW NAWARAT” THE NINTH RULER OF CHIANG MAI The cause of construction of Khum in front of Wat Sri Nawarat was due to Mother of Chao Kaew Nawarat was people of Ban Dong Kam, Thung Satok sub-district which shared borders with Ban Thung Siao. He then built granary at the Khum in front of Wat Sri Nawarat in order to store paddy that he got from harvesting before transported it to Khum Luang Wiang Chiang Mai. This building was built in B.E.2460. At present, Khum Chao Kaew Nawarat is not belong to descendant of Na Chiang Mai family which it now belongs to descendant of Khun Ying Nopparat Sanitwong Na Ayutthaya. However, her descendant did not make any modification, they remain the same form

of this building and always making merit to offer the merit to Chao Kaew Nawarat. At the present moment, descendant of Khun Ying Nawarat is adjusting this place to make it the proper and honorable place for Chao Kaew Nawarat which they make it a “Khum Chao Kaew Nawarat museum” and will open for tourist or anyone who interested in this place to visit in the near future. (Khum is residence of a prince in the north of Thailand in the past, Khum Luang is residence of ruler of the city or kingdom) COMMUNITY MUSEUM PROJECT From an intention of Phra Khru Winaithorasuthep Thanawaro, abbot of Wat Sri Nawarat and the leader of the group of faithful people viewed as proper that there should be a place for collecting educational material for studying history of Ban Siao in order to preserve and inherit the history to younger generation. Then, they approved of the construction of local art and cultural center by using one part of sermon hall in Wat Sri Nawarat, then, adjusted it to be the center of conservation and exhibition of this temple and local community’s ancient object and artifact in order for providing knowledge to community and visitors and make them realize the value of cultural heritage that were created and be a thing that can tell history in order for descendants of Thais will never forget their roots. CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

341


斯那瓦拉佛寺 佟路昂寺庙泰国清迈Mae Taeng 区

斯那瓦拉佛寺位于清迈府新霸塘县班纲区通萧 村,佛寺总面积为9莱2颜40平方哇,佛历2489年8 月2号获得皇室许可,“斯那瓦拉佛寺”的皇室封 给大师的区域长18米宽10米。

342

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

佛寺里重要的圣物 纹身佛神 (长寿佛神)用旧柚木建造玛丽彩 Marichai佛像,具有数百年历史兰纳艺术的完美 特征,起名长寿佛神的原因是因为一段时期缺乏 照顾而让白蚁蚂蚁咬佛坛,咬至佛神的头部(腋 下),咬断左手,咬至佛神的胸部,胸腔。因 此,从那以后村民称佛像为“长寿佛神”。


历史来源 斯那瓦拉佛寺建于佛历2145年,原来的名字是琅 通晓佛寺,村民简称为通晓佛寺,与一群泰坤人 一起建造,在兰纳王国时代是缅甸统治范围内的 城市。当“重现帷幕”时代或者缅甸结束统治时 期,到处都有动乱。这是由于该国的状况让佛寺 成为荒废的佛寺的主要原因,后来得以恢复。从 新建起来于佛历2370年,恰逢皇太子皇帝的时代 为 第四届清迈统治者(佛历2369-2389),相信 大孝族的通孝人共同建造一座新佛寺,在原佛寺 西侧,背靠汗河,大洪水过后,佛寺的后墙下陷 倒塌了,发现贵重物品在佛像中有损坏的,尤其 是带有铭文的金耳,那意思是 “有一个小和尚忠 实地建造的主佛像于佛历2370年” 社区博物馆项目 斯那瓦拉佛寺威奈索恩•素贴比瓦罗佛寺主持的 意愿,及忠实的信徒认为应该搜集做的班萧历史 研究并继续传播,因此同意建立当地的艺术文化 馆,使用布道的一部分设立作为保护中心,并展 示古董和佛寺的藏品,及当地的物品, 为了帮助 社区也让游客获得知识,并实现创造的艺术和文 化遗产的价值,那是应该讲述先前故事,为了让 未来泰国后代孩子不要忘记我们的根源。

“坤昭较纳瓦拉特” 清迈第9位统治者 建在萨立瓦兰佛寺Wat Srinawarat前面的原因, 由于萨立瓦兰大王Chao Kaew Nawarat的母亲, 是吞萨托区董纲人 ,跟通孝村比邻,于是他建立 了一个谷仓,为了保存和储存收割水稻,在萨立 瓦兰佛寺的前面,将大米运送到清迈威昂之前, 这个仓库建于佛历2460年。目前,萨立瓦兰大王 (Khum Chao Kaew Nawarat)的仓库不属于他们 家庭成员继承人,于清迈改变继承人身份为夫人 纳塔拉特·桑尼旺·大城,她的孩子没有任何修改 或调整,保持原来的传统,此外,还有定期举行 萨立瓦兰大王的行善继承功绩,夫人纳塔拉特• 桑尼旺•大城的传人改修让地点适合大王的荣 誉,为作为 “萨立瓦兰大王博物馆” 并将对游客 开放或是那些有兴趣的人来参观。

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

343


History of buddhism....

วัดโรงวัว สุกรํ สาธุนา สาธุ ความดี อันคนดีทำง่าย สาธุ ปาเปน ทุกฺกรํ ความดี อันคนชั่วทำยาก พระครูสริ วิ ฒ ุ กิ ร รองเจ้าคณะอ�าเภอสันป่าตอง ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาส

ก่อนที่จะมาเป็น “วัดโรงวัว” ในที่ตั้งปัจจุบัน เดิมวัดโรงวัว ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นต้นแก้วรัตนาราม หมูท่ ี่ 1 ต�าบลสันกลาง อ�าเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ (อยู่ในหมู่บ้านเดียวกัน) สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2292 โดยมีทา่ นพระครูบาสม โสภา เป็นประธานในการก่อสร้างวัด ขณะนัน้ ยังไม่มีคลองชลประทาน (แม่แตง) ในฤดูน�้าหลาก น�้าป่าได้เข้าไป ท่วมหมู่บ้าน และบริเวณวัดเป็นประจ�าทุกปี ชาวบ้านจึงอพยพ และย้ายวัดมาตั้งอยู่ ณ ที่ตั้งวัดปัจจุบัน ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2511 โดยน�า เอาวัสดุ เช่น อิฐ ไม้ ฯลฯ มาสร้างวัดในที่ตั้งวัดใหม่ด้วย 344

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

ปัจจุบันวัดโรงวัว ตั้งอยู่เลขที่ 144 หมู่ 1 ต�าบลน�้าบ่อหลวง อ�าเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ โดยมี พระครูสริ วิ ฒ ุ กิ ร รองเจ้าคณะ อ�าเภอสันป่าตอง เป็นเจ้าอาวาส มีเนื้อที่ประมาณ 6 ไร่ มีที่ธรณีสงฆ์ 2 แปลง มีเสนาสนะ คือ อุโบสถ วิหาร กุฏิ 2 หลัง เจดีย์ หอระฆัง ห้องน�้า และ โรงครัว


ครูบาศรีวชิ ยั

พระมงคลเทพมุนี (สด จันทสโร) หลวงพ่อวัดปากน�า้

หลวงพ่อทวด

สมเด็จพุฒาจารย์ (โต) พรหมรังสี

ถาวรวัตถุที่ส�าคัญ คือ พระเจ้าจักรพรรดิ แกะสลักได้สวยงามมาก , หุ่นขี้ผึ้งพระมงคล เทพมุนี (สด จันทสโร) หลวงพ่อวัดปากน�้า, สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต) พรหมรังสี, หลวงพ่อทวด และครูบาเจ้าศรีวิชัย แห่งล้านนาไทย งานประเพณีประจ�าปี 1. งานสรงน�า้ พระบรมสารีรกิ ธาตุ ทุกวันที ่ 13 พฤษภาคม ของทุกปี และท�าบุญถวายอดีตเจ้าอาวาส พระภิกษุ-สามเณรและบรรพชน 2. งานสรงน�า้ พระพุทธรูป และครูบาอาจารย์ มีรปู เหมือนหลวงพ่อ วัดปากน�้า เป็นต้น ในวันที่ 15 เมษายน ของทุกปี 3. งานวันส�าคัญทางศาสนา 4. งานถวายทานสลากภัตร ก�าหนดขึ้นในแต่ละปี ปฏิปทาท่านเจ้าอาวาส พระครูสิริวุฒิกร รองเจ้าคณะอ�าเภอสันป่าตอง และเจ้าอาวาส ให้ข้อคิดจากพุทธสุภาษิตว่า นิมิตฺต� สาธุรูปาน�, กตญฺญูกตเวทิตา, ความกตัญญูกตเวที เป็นเครื่องหมายของคนดี กิจกรรมทางพระพุทธ ศาสนาทุ ก อย่ า งที่ วั ด โรงวั ว จึ ง มี ร ากฐานจากความกตั ญ ญู ใ น พระพุทธเจ้า พระธรรม และอริยสงฆ์ หมายรวมอยู่ในพระรัตนตรัย อันเป็นเครื่องระลึก เครื่องอยู่ทั้งฝ่ายบรรพชิตและคฤหัสถ์ให้มีก�าลัง ใจในการประพฤติปฏิบัติขัดเกลาตนไปจนกว่าจะสิ้นทุกข์ในสังสารวัฏ

พระจักรพรรดิ CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

345


History of buddhism....

วัดอินทวิชัย ฝึกจิต พัฒนาชีวิต และปัญญา สร้างสรรค์คุณค่าเศรษฐกิจชุมชนเข้มแข็งด้วยคุณธรรม

พระครูสถิตธรรมาภินันท์ ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาส

วัดอินทวิชยั (แม่ขอ่ ง) สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 129 หมู่ที่ 9 ต�าบลแม่ก๊า อ�าเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ มีเนื้อที่ 4 ไร่ 97 ตารางวา โดยมี พระครูสถิตธรรมาภินนั ท์ รองเจ้าคณะอ�าเภอสันป่าตอง และ พระอุปัชฌาย์ ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาส ในปัจจุบัน

346

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

ประวัติความเป็นมา วัดอินทวิชัย (แม่ข่อง) เดิมมีชื่อว่า “วัดชัยชนะมงคล” เมื่อก่อน ปีพ .ศ. 2445 เจ้ า อธิ ก าร อิ นฺ ท วิ ชฺโ ย เจ้ า อาวาสวัดเด่นกระต่า ย ต�าบลหนองตอง อ�าเภอสันป่าตอง (ในสมัยนั้น) จังหวัดเชียงใหม่ และ พ่ อ หนานใจ ชั ย ชนะวงศ์ (ขณะยั ง บวชเป็ น พระ) พร้ อ มด้ ว ย ศิษยานุศิษย์และศรัทธาผู้อุปถัมภ์วัด ได้ย้ายจากวัดเด่นกระต่าย มาสร้างวัดในที่ดินปัจจุบัน ซึ่งเป็นวัดร้างมีฐานเจดีย์เก่า ชาวบ้าน เรียกว่า “กู๋ย่าโม” โดยเริ่มแรกได้สร้างศาลาบ�าเพ็ญบุญ กุฏิสงฆ์ เป็นที่พ�านักและท�าบุญ พร้อมทั้งได้ขออนุญาตตั้งวัดในล�าดับถัดมา กรมการศาสนาได้ อ นุ มัติใ ห้ เ ป็ น วั ด โดยสมบูรณ์ในปี พ.ศ. 2445 ต่อมาในปี พ.ศ. 2487 ได้เปลี่ยนชื่อวัดจากเดิมชื่อ วัดชัยชนะมงคล เป็นชือ่ ใหม่วา่ วัดอินทวิชยั เพือ่ ให้คล้องจองกับฉายาเจ้าอาวาสรูปแรก และได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาและพัทธสีมาในปี พ.ศ. 2498


เจ้าอาวาสตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน 1. เจ้าอธิการอิ่นค�า อินฺทวิชฺโย พ.ศ. 2445–2481 2. พระครูอ่ินค�า ยติกโร พ.ศ. 2481–2496 3. พระมหาเกษม อคฺคปุญโญ พ.ศ. 2496–2507 4. พระครูสถิตธรรมาภินันท์ พ.ศ. 2515–ปัจจุบัน ประวัติท่านเจ้าอาวาสโดยสังเขป พระครู ส ถิ ต ธรรมาภิ นั น ท์ ฉายา กลฺ ย าณธมฺ โ ม เกิ ด เมื่ อ วั น ที ่ 12 เมษายน พ.ศ. 2491 ณ บ้านแม่ข่อง หมู ่ ที่ 9 ต� า บลแม่ ก ๊ า อ�าเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ การศึกษา : พธ.ม. พุทธศาตรมหาบัณฑิต ป.โท งานด้านการปกครอง : พ.ศ. 2515 เป็นเจ้าอาวาสวัดอินทวิชัย, พ.ศ. 2537 เป็นผูร้ กั ษาการแทนเจ้าคณะต�าบลแม่กา๊ เขต 1, พ.ศ. 2538 เป็นเจ้าคณะต�าบลแม่ก๊า เขต 1, พ.ศ. 2540 เป็นพระอุปัชฌาย์ งานเผยแผ่ : พ.ศ. 2545 เป็นธรรมทูตประจ�า อ�าเภอสันป่าตอง และ พ.ศ. 2549 บรรยายธรรมทางวิทยุ กิจกรรมสร้างสรรค์ชุมชนด้วยคุณธรรม นอกจากนี้วัดอินทวิชัย ยังร่วมมือกับหน่วยงานราชการ อ�าเภอ สันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ เปิดหมู่บ้านชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัต วิถี “บ้านแม่ข่องกลาง” ที่ด้านหน้าวัด เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก ให้เกิดรายได้กับชุมชนเป็นประจ�า โดยยกระดับคุณภาพชีวิตของ ประชาชนอย่างทั่วถึง กระตุ้นเศรษฐกิจและสังคมภายในประเทศให้ เกิดความเข้มแข็ง ตลอดจนเป็นการเชื่อมโยงเส้นทางท่องเที่ยว กระแสหลัก เมืองรอง และชุมชน ให้มีความโดดเด่น มีความพร้อม เพื่อให้ประชาชนและนักท่องเที่ยวได้เลือกซื้ออย่างมีสติและเป็นการ กระจายรายได้ในชุมชนอีกด้วย

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

347


History of buddhism....

วัดร้องขุ้ม สานปฏิปทา “หลวงปู่ครูบาเจ้าบุญปั๋น ธมฺมปญฺโญ” มหาเถระ เจ้าอธิการสิทธิ สิทฺธิปญฺโญ เจ้าอาวาสวัดร้องขุ้ม เจ้าคณะต�าบลบ้านแม เขต 2

วัดร้องขุม้ เดิมชือ่ วัดแสนตองไชยชนะบุญยืน หรือ วัดหมากกับตอง (ตามหลั ก ฐานที่ ป รากฏในคั ม ภี ร ์ ใ บลานของวั ด ) ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 40 บ้านร้องขุ้ม หมู่ที่ 7 ต�าบลบ้านแม อ�าเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ที่ดินที่ตั้งวัดมีเนื้อที่ 5 ไร่ 67 ตารางวา อาคารเสนาสนะ ประกอบด้วย อุโบสถ วิหาร ภายในมีจิตรกรรม ฝาผนังเรื่องเวสสันดรชาดก ศาลาการเปรียญ กุฏิสงฆ์ และ พระเจดีย์

ประวัติความเป็นมา แต่เดิมวัดร้องขุ้มเป็นวัดหัวหมวดอุโบสถซึ่งเป็นวัดที่พระสงฆ์ ในละแวกต�าบลบ้านแมและใกล้เคียงท�าสังฆกรรมมาแต่โบราณจนถึง ปัจจุบัน และยังเป็นวัดที่ใช้ในการพิธีอธิษฐานกินอ้อผญ๋าเป็นประจ�า ทุกปีมาโดยตลอดตั้งแต่โบราณจนถึงปัจจุบันอีกด้วย

หลวงปู่ครูบาเจ้าบุญปั๋น ธมฺมปญฺโญ มหาเถระ 348

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

ปูชนียบุคคลที่ส�าคัญของวัด หลวงปู่ครูบาเจ้าบุญปั๋น ธมฺมปญฺโญ มหาเถระ อดีตเจ้าอาวาส ซึ่งเป็นพระอริยะคณาจารย์ที่มีศรัทธาสาธุชนให้ความเคารพนับถือ เป็นอย่างมาก อีกทั้งเป็นพระมหาเถระที่มีข้อวัตรปฏิบัติปฏิปทา ที่งดงามยิ่ง โดยท่านเป็นศิษย์ของ พระครูบาเจ้าศรีวิชัย วัดบ้านปาง ท่านครูบาเจ้าอินทจักรรักษา วัดวนารามน�้าบ่อหลวง และท่านครูบา เจ้าญาณะ วัดท่าโป่ง จึงนับได้ว่าเป็นปูชนียบุคคลที่ศรัทธาชาวบ้าน ร้องขุ้มเคารพรักและศรัทธาเป็นอย่างยิ่ง ปูชนียวัตถุและปูชนียสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ พระเจ้าหลวง เป็นพระพุทธรูปเก่าแก่ก่ออิฐถือปูนศิลปะล้านนา ประดิษฐานเป็นพระพุทธปฏิมาประธานในวิหารของวัดร้องขุม้ มาตัง้ แต่ โบราณกาล, พระเจ้าแสนตอง (พระเจ้าแสนตองไจยจ๊ะนะบุญยืน) (พระเจ้าแสนทองชัยชนะบุญยืน) เป็นพระพุทธรูปเก่าแก่เนือ้ ทองส�าริด ศิลปะเชียงแสนสิงห์สาม ประดิษฐานบนกุฏิสงฆ์โฮงหลวงวัดร้องขุ้ม, พระเจดีย์อ้อผญ๋า (พระธาตุอ้อผญ๋า) ศิลปะล้านนา หุ้มทองจังโก๋


ลงรักปิดทอง , พระบรมสารีริกธาตุ เป็นพระบรมสารีริกธาตุที่เก่าแก่ อยู่คู่วัดร้องขุ้ม มาตั้งแต่โบราณกาล และโดยแต่ละปีทางวัดก็จะ อาราธนาลงสู่หอสรง เพื่อให้ประชาชนได้สักการะและสรงน�้า ในช่วง งานประเพณีสรงน�้าพระธาตุประจ�าปีในเดือน 4 เป็งของทุกๆ ปี พระเจ้าสัพพัญญูตัญญาณ เป็นพระพุทธรูปก่ออิฐถือปูนศิลปะ ล้านนาลงรักปิดทอง ประดิษฐานเป็นพระประธานในอุโบสถร้องขุ้ม, พระเจ้าทันใจสมปรารถนา เป็นพระพุทธรูปก่ออิฐถือปูนศิลปะล้านนา เชียงแสนสิงห์หนึง่ ลงรักปิดทอง ประดิษฐาน ณ มณฑปหอพระเจ้าทันใจ ที่ลานเจดีย์หลังวิหารของวัดร้องขุ้ม, กู่ครูบา (เจดีย์บรรจุอัฐิหลวงปู่ ครูบาเจ้าบุญปัน๋ และเป็นทีป่ ระดิษฐานรูปเหมือนหลวงปู)่ ตัง้ อยูบ่ ริเวณ เยื้องๆ หน้าวิหารของวัดร้องขุ้ม กิจกรรมประเพณีประจ�าปี วัดร้องขุ้ม 1. ทุกวันที ่ 16 มกราคมของทุกปี เป็นงาน “วันกตัญญู” ครบรอบ การมรณภาพ ของหลวงปู่ครูบาบุญปั๋น ธมฺมปญฺโญ อดีตเจ้าอาวาส 2. ทุกวันที ่ 15–17 เมษายน เป็นวันทีท่ างวัดจัดพิธกี ารกิน๋ อ้อผญ๋า สืบสานต�๋าธาครูบาเจ้าบุญปั๋นเป็นประจ�าทุกปี 3. ทุกวันขึ้น15 ค�่า เดือน 9 เหนือ (เดือนเก้าเป็ง) ของทุกปี เป็นวันงานประเพณีสรงน�้าพระบรมธาตุประจ�าปีของวัดร้องขุ้ม

พิธีกินอ้อผญ๋า

ประวัติครูบาบุญปั๋น ธัมมปัญโญ โดยสังเขป ครูบาบุญปัน๋ ธัมมปัญโญ อดีตพระเกจิอาจารย์ชอื่ ดังแห่งวัดร้องขุม้ ต�าบลบ้านแม อ�าเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ ท่านได้รบั ความเลือ่ มใส ศรัทธาจากชาวล้านนาเป็นอย่างมาก ครูบาบุญปั๋น เกิดในตระกูล ปัญญานุสงส์ เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2451 ที่หมู่ที่ 8 ต�าบลบ้านแม อ�าเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ ครอบครัวประกอบอาชีพ เกษตรกรรม อายุ 13 ปี เข้าพิธีบรรพชา โดยมีครูบาเจ้าสุริยะ สุริโย เจ้าอธิการวัดร้องขุม้ เป็นพระอุปชั ฌาย์ เมือ่ วันอังคารที ่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2464 และอุปสมบท เมือ่ วันที ่ 25 มิถนุ ายน พ.ศ. 2477 ณ อุโบสถ วัดร้องขุ้ม โดยมีเจ้าอธิการ อุ่นใจ๋ ญาโณ (ครูบาญาณะ) เจ้าอาวาส วัดท่าโป่ง เป็นพระอุปชั ฌาย์ ได้รบั สมณฉายาว่า “ธัมมปัญโญ” แปลว่า ผู้มีปัญญารู้ธรรม หลังอุปสมบท ท่านตัง้ ใจศึกษาเล่าเรียนพระธรรมวินยั รวมทัง้ ได้รบั การศึกษาอบรมจากครูบาอาจารย์ต่างๆ มีพระครูค�าอ้าย ชยวุฑโฒ, เจ้าอธิการอุ่นใจ๋ ญาโณ, พระครูบุญมา เมโธ, ครูบาโสภา โสภโณ และ พระสุธรรมยานเถร เจ้าอาวาสวัดวนารามน�า้ บ่อหลวง เมือ่ ครูบาบุญปัน๋ มีพรรษายุกาลมากขึ้น ก็มีศรัทธาสาธุชนที่เคารพเลื่อมใสท่านมากขึ้น มีผู้คนเดินทางมานมัสการขอพรและอาราธนาท่านไปกิจนิมนต์ต่างๆ โดยตลอด ในปี พ.ศ. 2538 ท่านได้เกิดอุบัติเหตุหกล้มตรงที่บันไดกุฏิ ท�าให้กระดูกเอวและกระดูกสันหลังของท่านแตก ส่งผลให้การเดิน และเคลื่อนไหวเป็นไปด้วยความยากล�าบาก ต้องใช้อุปกรณ์เสริมช่วย ในการเดิน กระทั่งในปีพ.ศ. 2548 ระบบการท�างานของหัวใจของ ครูบาบุญปั๋น เป็นไปไม่ปกติ และมรณภาพอย่างสงบเมื่อวันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2545 หลังจากพระราชทานเพลิงศพ ปรากฏว่า อัฐิแปลเป็นพระธาตุทั้งหมดทั้งสิ้นทางวัดได้ตั้งประดิษฐานให้สาธุชน ได้กราบสักการบูชาเป็นประจ�าตลอดมา CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

349


History of buddhism....

วัดคันธาราม อธิษฐานจิตกราบสักการะขอพร “หลวงพ่อพระนาคปรกมหาจักรพรรดิเงินล้าน” พระมหาบัณฑิต ญาณเมธี เจ้าอาวาส

วัดคันธาราม (ทุ่งอ้อ) ตั้งอยู่เลขที่ 102 หมู่ 1 บ้านทุ่งอ้อ ถนนเชียงใหม่ - ฮอด ต�าบลสันกลาง อ�าเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ทีด่ นิ ทีต่ งั้ วัด มีเนือ้ ที่ 9 ไร่ 2 งาน 33 ตารางวา วัดคันธาราม (ทุ่งอ้อ) สร้างเมื่อปี พ.ศ.2484 ได้รับพระราชทาน วิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ.2517 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 8 เมตร ยาว 12 เมตร

350

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


่ ววัด ท�ำบุญ ฟั งธรรม วัดคันธำรำม (ทุง่ อ้อ) เทีย กรำบสักกำระสิ่งศักดิส ์ ิทธิท ์ ้ังหลำย อธิษฐำนจิต อธิษฐำนใจ ขอพร เพื่อควำมเป็ นศิริมงคลแก่ตนเองและครอบครัว

วัดคันธาราม(ทุง่ อ้อ) สร้างขึน้ โดยผสมผสานสถาปัตยกรรมยุคเดิม ผสานกับบรรยากาศยุคทันสมัยใหม่ 4.0 เพือ่ ให้เด็กและเยาวชนทัง้ หลาย ได้หันหน้าเข้าวัด ท�าบุญ สวดมนต์ ปฎิบัติธรรม และศึกษาหลักธรรม ค�าสอนของพระพุทธองค์ ครั้งหนึ่งในชีวิตนี้...อย่ำพลำดโอกำสดี !!

ได้กรำบสักกำระอธิษฐำนจิตขอพร สิง่ ศักดิส ิ ธิท ์ ท ์ ง้ั หลำย

่ ควำมเป็ นศิรม เพือ ิ งคลแก่ชวี ต ิ และครอบครัวของท่ำน

ภายในวั ด คั น ธาราม มี สิ่ ง ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ห ลายประการ อาทิ เช่ น หลวงพ่อพระฝนแสนห่า ซึ่งเป็นพระพุทธรูปที่เก่าแก่คู่บ้านคู่เมือง อายุ น านหลายร้ อ ยปี ตลอดจนถึ ง พระสิ ว ลี , พระมหาอุ ป คุ ต , พระมหากัจจายนะ และ หลวงพ่อพระนาคปรกมหาจักรพรรดิเงินล้าน ทีพ่ ทุ ธศาสนิกชนทัง้ หลาย ต่างพากันมากราบไหว้สกั การะอธิษฐานจิต ขอพรกันเป็นจ�านวนมาก Don’t Miss Out On This Once-In-A-Lifetime Opportunity!! Worshiping and praying for blessings from all holy thing So that it bring auspicious to your life and family

ขอเชิญสาธุชนทุกท่าน แวะกราบสักการะขอพร ท�าบุญ พร้อมเยีย่ มชมความงดงามของวัดคันธาราม (ทุง่ อ้อ) ทีเ่ ต็มเปีย่ มไปด้วยปริศนาธรรมะ และเต็มเปีย่ มไปด้วยอิม่ บุญ สุขกาย สุขใจ บนเส้นทางสายใต้ของเชียงใหม่ ต�าบลสันกลาง อ�าเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ ได้ทุกวัน สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ วัดคันธาราม (ทุ่งอ้อ) โทร. 08-1594-9910

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

Designed by Pngtree

351


History of buddhism....

วัดป่างิ้ว “ในพวกมนุษย์ ชนที่ถึงฝั่งมีจำนวนน้อย หมู่สัตว์นอกนี้ ย่อมวิ่งไปตาม ฝั่งนั่นเอง ส่วนชนเหล่าใดประพฤติตามธรรมที่พระผู้มีพระภาคตรัสดีแล้ว ชนเหล่านั้นข้ามบ่วงมฤตยูซึ่งแสนยากที่จะข้ามไปถึงฝั่งได้” (พุทธพจน์) พระครูปลัดศิวภัช ภทฺรญาโณ ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาส

วัดป่างิ้ว (ดงป่างิ้ว) ตั้งอยู่เลขที่ 93 หมู่ที่ 7 ต�าบลมะขุนหวาน อ�าเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ สังกัดมหานิกาย สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2464 ในทะเบียนวัดของจังหวัดตั้งวัดเมื่อวันที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2471 ที่ดินตั้งวัดมีเนื้อที่ 1 ไร่ 3 งาน 25 ตารางวา อาณาเขต ทิศเหนือ จดที่ของราษฎร ทิศใต้ จดที่นาของเอกชน ทิศตะวันออก จดที่โรงเรียน ทิศตะวันตกจดที่นาของเอกชน

352

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


เสนาสนะประกอบด้วย ดังนี้ 1. กุฏิ 2. ศาลาบาตร 3. วิหาร 4. หอไตร อายุราว 100 ปี 5. หอฉัน 6. เจดีย์ (พระธาตุ) 7. อุโบสถ (สร้างโดยคุณแม่ชเี ยือ้ น มีประมูล วัดปากน�า้ ภาษีเจริญ กรุงเทพฯ) 8. ห้องน�้า 9. สวนปฏิบัติธรรมเฉลิมพระเกียรติ ร.9 สร้างขึ้นเมื่อปีพ.ศ. 2540 โดยคณะศิษยานุศิษย์หลวงพ่อวัดปากน�้าภาษีเจริญ กรุงเทพฯ มีท่าน พระมหาบุญธรรม ปญฺญาวชิโร เป็นประธาน มีเนื้อที่ 11 ไร่เศษ วัดป่างิ้ว ได้จัดตั้งเป็นส�านักปฏิบัติธรรมประจ�าจังหวัดเชียงใหม่ แห่งที่ 27 เมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2560 ขอเชิญญาติโยมผูเ้ ลือ่ มใสในพระพุทธศาสนา บรรพชา อุปสมบท ฟรี เนื่องในวาระวันส�าคัญต่างๆ และร่วมปฏิธรรม ตามแนวสติปัฏฐานสี ่ ทุกๆ วันพระ และวันส�าคัญทางพระพุทธศาสนา ตลอดทัง้ ปีของทุก ๆ ปี สามารถติดต่อได้ที่ 052-001393 Facebook วัดป่างิ้ว ต.มะขุนหวาน อ.สันป่าตอง จ.เชียงใหม่

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

353


History of buddhism....

วัดหัวริน หน่วยอบรมประชาชนประจําตําบล (อ.ป.ต.) ทุ่งสะโตกดำเนินตามวัตถุประสงค์ในระเบียบ ของมหาเถรสมาคมทุกประการ พระครูวิวิธประชานุกูล ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาส

354

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

วัดหัวริน ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 12 หมู่ 11 ต�าบลทุง่ สะโตก อ�าเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย สร้างเมื่อ พ.ศ. 1025 ที่ดินตั้งวัดมีเนื้อที่ 8 ไร่ 55 ตารางวา คส.1 เลขที่ 18 ปัจจุบัน พระครูวิวิธประชานุกูล ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาส อาณาเขต ทิศเหนือประมาณ 1 เส้น 15 วา จดล�าเหมือง ทิศตะวัน ออกประมาณ 2 เส้น 11 วา จดล�าเหมือง ทิศตะวันตกประมาณ 2 เส้น 10 วา จดล�าเหมืองและบ้าน อาคารเสนาสนะและปูชนียวัตถุ ประกอบ ด้วย กุฏิ ศาลาพระประจ�าวัน ศาลา 700 ปี ศาลาอเนกประสงค์ วิหาร อุโบสถ หอไตร โรงครัวหอฉัน และพระเจดีย์


“วัดหัวริน” หน่วยอบรมประชาชนประจ�าต�าบล(อ.ป.ต.) ทุ่งสะโตก เขต 2 ต�าบลทุ่งสะโตก อ�าเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ มีหน่วยอบรม ประชาชนในพืน้ ที ่ คือ “หน่วยอบรมประชาชนต�าบลทุง่ สะโตก เขต 2” ตั้งอยู่ ณ วัดหัวริน หมู่ที่ 11 ต�าบลทุ่งสะโตก อ�าเภอสันป่าตอง จั ง หวั ด เชี ย งใหม่ เป็น วัด ในเขตการปกครองคณะสงฆ์ มหานิ ก าย คณะสงฆ์ภาค 7 หนเหนือ จากการรวมตัวของกลุ่มคนในชุมชน ทั้งภาครัฐและเอกชนเข้ามามีส่วนร่วมในการขับเคลือ่ น หน่วยอบรม ประชาชนประจ�าต�าบลทุง่ สะโตก เขต 2 ในภารกิจหลัก 8 ด้าน ดังนี้ 1. ศีลธรรมและวัฒนธรรม 2. สุขภาพอนามัย 3. สัมมาชีพ 4. สันติสุข 5. ศึกษาสงเคราะห์ 6. สาธารณสงเคราะห์ 7. กตัญญูกตเวทิตาธรรม 8. สามัคคีธรรม

ความส�าคัญของวัดหัวริน เป็นหมู่บ้านต้นแบบรักษาศิล 5 ระดับภาค จัดโครงการส่งเสริมการเพาะปลูกผักสวนครัวแบบเศรษฐกิจพอเพียง ตามโครงการพระราชด�าริฯ เป็นศูนย์ฟื้นฟูผู้ป่วยแนววิถีพุทธ เป็นประธานโครงการ ลด ละ เลิก สุรา ในงานบุญ และฟื้นฟู ผู้ป่วยสุรา ยาเสพติด ส่งเสริมอาชีพกลุ่มผู้ติดเชื้อเอดส์ HIV. เป็นสถานที่ศึกษาดูงานทั้งในประเทศและต่างประเทศ สนใจศึกษาดูงาน ติดต่อวัดหัวริน โทร. 08-5036-8014

ชุดชนเผ่าลัวะ CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

355


History of buddhism....

วัดท่าจ�าปี สักการะสรีระร่างทิพย์พระมงคลวิสุต (หลวงปู่ครูบาเจ้าดวงดี สุภัทโท)

พระครูวรธรรมธีรพงศ์ เจ้าอาวาส

วัดท่าจ�าปี หรือ วัดต้นหัด ตัง้ อยู่ ณ เลขที่ 24 บ้านท่าจ�าปี (ต้นหัด) หมู่ที่ 8 ต�าบลทุ่งสะโตก อ�าเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ ก�าหนด เขตพัทธสีมากว้าง 20 เมตร ยาว 40 เมตร มีโฉนดที่ดินสามแปลง รวมเนื้อที่ 9 ไร่ 2 งาน 30 ตารางวา

356

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


ประวัติความเป็นมา วัดท่าจ�าปี เป็นวัดเก่าแก่วัดหนึ่งในล้านนา สร้างเมื่อใด โดยผู้ใด ไม่มีหลักฐานปรากฏชัดเจน แต่เป็นวัดที่ตั้งอยู่ที่บ้านท่าจ�าปีมาเป็น เวลานานมาก ก่อนที่หลวงปู่ครูบาเจ้าดวงดีจะถือก�าเนิดเป็นเด็กชาย ในหมู่บ้านแห่งเดียวกันนี้ วัดท่าจ�าปี นับเป็นวัดใหญ่เป็นทีพ่ งึ่ ของชาวบ้านท่าจ�าปีมาโดยตลอด แม้ในบางห้วงเวลาวัดท่าจ�าปีร้างพระสงฆ์อยู่เป็นประจ�า แต่ก็มี พระเถระผู ้ ใ หญ่ ผ ลั ด เปลี่ ย นมาจ� า พรรษา ปฏิ บั ติ ธ รรม และช่ ว ย ท�านุบ�ารุงดูแลปฏิสังขรณ์สิ่งก่อสร้างในวัดเสมอมา วัดท่าจ�าปี มีทา่ นเจ้าคุณพระครูมงคลวิสตุ หรือ หลวงปูค่ รูบาดวงดี เป็นเจ้าอาวาส ท่านมีอายุถึง 104 ปี เป็นศิษย์พระครูบาเจ้าศรีวิชัย ศิริวิชโย นักบุญแห่งล้านนาไทยในสมัยนั้น ท่านละสังขารตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2553 แต่สรีระสังขารท่านบรรจุอยูใ่ นโลงแก้วทีว่ ดั เพือ่ ให้คณะศิษย์ ศรัทธาญาติโยมได้มากราบยังสรีระร่างทิพย์ได้ตลอดทุกวัน แล้ว จะโชคดี ดวงดี มั่งมีศรีสุข วัดท่าจ�าปี ได้รับการประกาศตั้งเป็นวัดจากทางราชการ เมื่อ ปีพ.ศ. 2419 หรือเมื่อ 130 ปีมาแล้ว สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย และ ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา(ขึ้นทะเบียนเป็นวัด) เมื่อหลวงปู่ ครูบาเจ้าดวงดี ซึ่งเป็นเจ้าอาวาสในขณะนั้น ร่วมกับผู้มีจิตศรัทธา สร้างพระอุโบสถของวัดเสร็จในวันที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2526 ประวัติ พระมงคลวิสุต (หลวงปู่ครูบาเจ้าดวงดี สุภัทโท) หลวงปู่ครูบาเจ้าดวงดี สุภัทโท เป็นพระเกจิช่ือดังที่มีอายุยืนที่สุด ของแผ่ น ดิ น ล้ า นนา ถื อ ก� า เนิ ด ที่ บ ้ า นท่ า จ� า ปี ต� า บลทุ ่ ง สะโตก อ�าเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ เป็นคนพืน้ เพบ้านท่าจ�าปีมาแต่กา� เนิด บิดามารดา เป็นชาวไร่ชาวนา โยมบิดาชือ่ พ่ออูบ โยมมารดาชือ่ แม่จน๋ั ติบ๊ (สมัยนั้นยังไม่มีการใช้นามสกุล) หลวงปู่ถือก�าเนิดในแผ่นดินรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ตรงกับสมัย พ่อเจ้าอินทวิชยานนท์ (เจ้ามหาชีวิต) เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ เมื่อ วันที่ 26 เดือนเมษายน พ.ศ. 2449 หลวงปู่เริ่มต้นชีวิตในผ้ากาสาวพัสตร์ เมื่ออายุ 11 ปี ได้ติดตาม พ่อแม่ไปท�าบุญตักบาตรถวายภัตตาหารแด่ท่านครูบาเจ้าศรีวิชัย ซึ่งขณะนั้นท่านครูบาถูกทางการจังหวัดล�าพูน น�าตัวมากักขังบริเวณ ทีว่ ดั พระธาตุเจ้าหริภญ ุ ชัย (วัดหลวงล�าพูน) ในข้อหาเป็นพระอุปชั ฌาย์ เถื่ อ นไม่ มี ห นั ง สื อ อนุ ญ าตบวชพระ เมื่ อ ท่ า นครู บ าเจ้ า ฯ ได้ เ ห็ น เด็กชายดวงดี ท่านก็มีเมตตาอย่างสูง เรียกเข้าไปหาพร้อมกับบอก พ่อแม่ว่า “กลับไปให้เอาไปเข้าวัดเข้าวา ต่อไปภายหน้าจะได้พึ่งพา ไหว้สามัน” นับเป็นพรอันประเสริฐยิ่ง CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

357


History of buddhism....

วัดศรีบุญเรือง ฐาตุจริ ํ สตํ ธมฺโม พระธรรมคำสัง่ สอนของสมเด็จพระสัมมา สัมพุทธเจ้า จงตั้งมั่นสถาพรตราบชั่วกาลนานเทอญ พระครูปัญญาคุณโสภิต ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาส

358

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

วัดศรีบญ ุ เรือง ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 1 หมูท่ ี่ 9 ต�าบลทุง่ สะโตก อ�าเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ที่ดินตั้งวัดจ�านวน 5 ไร่ 3 งาน 30 ตารางวา โฉนดที่ดิน เลขที่ 27674 เป็นวัดที่สร้างมานาน กว่า 200 ปี มีตน้ โพธิใ์ หญ่รม่ รืน่ อายุกว่า 100 ปี เป็นสัญลักษณ์ แต่เดิม ชื่อ “วัดโฮ่ง” ต่อมาปีพ.ศ.2439 ทางราชการได้อนุญาตให้เปลี่ยนชื่อ เป็นมงคล ทางเจ้าอาวาสและคณะกรรมการวัดจึงขอเปลีย่ นชือ่ วัดโฮ่ง เป็น “วัดศรีบุญเรือง” ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา ได้อนุญาตให้สร้างวัดเมื่อ วันที่ 10 มีนาคม พ.ศ. 2270 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อ วันที่ 17 มกราคม พ.ศ.2541 เนื้อที่กว้าง 40 เมตร ยาว 80 เมตร และได้ประกอบพิธีผูกพัทธสีมา เมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2548


วัดศรีบุญเรืองมีศรัทธาอุปถัมภ์บ�ารุงวัด 120 หลังคาเรือน ซึ่งอยู่ บ้านกลาง หมู่ 9 ต�าบลทุ่งสะโตก อ�าเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ ปัจจุบันทางวัดศรีบุญเรืองได้ซื้อที่ดินเพิ่มอีก 7 ไร่ มีอาณาเขตดังนี้ ทิ ศ เหนื อ จดที่ น า ทิ ศ ใต้ จ ดสวนผลไม้ ทิ ศ ตะวั น ออกจดทาง สาธารณประโยชน์ ทิศตะวันตกจดแม่น�้าแม่วาง และมีศรัทธาอุปถัมภ์ บ�ารุงวัด 120 หลังคาเรือน ซึ่งอยู่บ้านกลาง หมู่ 9 ต�าบลทุ่งสะโตก อ�าเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ เสนาสนะและปูชนียวัตถุที่ส�าคัญ วิหาร สร้างแบบศิลปะทรงไทยล้านนาประยุกต์ บานประตู บาน หน้าต่าง แกะสลัก ลวดลายดอก ลงรักปิดทอง หน้าบันแกะสลัก ลวดลาย ดอกลงรักปิดทอง มีรูปพระนารายณ์ย�่าครุฑ ภายในวิหาร พระประธานเก่าแก่ ท�าด้วยไม้สกั ทองลงรักปิดทอง สร้างมานานกว่า 100 ปี เจดียแ์ บบศิลปะทรงล้านนาประยุกต์ ทรงรูปสีเ่ หลีย่ มจัตรุ สั ของเก่าแก่ ดั้งเดิมได้บูรณปฏิสังขรณ์เมื่อปี พ.ศ. 2470 โดยครูบาพรหม โพธิมา เจ้าอาวาสในสมัยนั้น และงานประเพณีสรงน�้าเจดีย์ประจ�าปี ตรงกับ เดือน 9 เหนือ ออก 8 ค�่า

การบริหารและการปกครอง ล�าดับเจ้าอาวาสเท่าที่ทราบนาม ดังนี้ 1. ท่านครูบาอ้าย พ.ศ. 2446–2450 2. ท่านครูบาแก้ว พ.ศ. 2451–2455 3. ท่านครูบาพรหม โพธิมา พ.ศ. 2456–2489 4. พระอินตา อนุตฺตโร พ.ศ. 2490–2496 5. พระชุม นรินฺโท พ.ศ. 2497–2498 6. พระถนอม ฐานวโร พ.ศ. 2499–2505 7. พระอธิการแก้ว โชติธมฺโม พ.ศ. 2507–2519 8. พระประพันธ์ จิตฺตปญฺโญ พ.ศ. 2524–2527 9. พระครูปัญญาคุณโสภิต พ.ศ. 2528–ปัจจุบัน วัดศรีบญ ุ เรือง ยึดถือหลักปฏิบตั พิ รหมวิหารธรรม และหลักค�าสอน ขององค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ส่งเสริมให้พระภิกษุสามเณรศึกษา เล่าเรียนพระปริยัติธรรม แผนกธรรมและบาลี ประพฤติปฏิบัติตาม พระธรรมวินัยและกฎระเบียบของมหาเถรสมาคม น�าคณะศรัทธา ญาติโยมด�ารงอยู่ในศีลธรรมจารีตประเพณีอันดีงาม เป็นคนดีของ ประเทศชาติพระศาสนา และจงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์องค์พระ ประมุขของชาติ

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

359


History of buddhism....

วัดหวลการณ์ พัฒนาชุมชน สร้างสรรค์รมณียสถาน ควรค่าแก่การปฏิบัติธรรม พระครูสังฆรักษ์รักษ์ สิริเมธี ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาส

วัดหวลการณ์ ตัง้ อยูใ่ นต�าบลหนองแฝก อ�าเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ ในต�าบลหนองแฝก มีหนองน�า้ อยูท่ างทิศใต้ ไปจนถึงเขตบ้านสันป่าสัก มีหญ้าแฝกขึน้ มากตามริมขอบหนองจึงเรียกว่าหนองแฝก ส่วนใหญ่ชาวบ้าน มีอาชีพท�านา และยังมีต้นหญ้าแฝกก็ยังพอมีให้เห็นอยู่ในปัจจุบัน ประวัติความเป็นมา การก่อสร้างวัดหวลการณ์ เริม่ ต้นในปีพ.ศ. 2472 มีศรัทธากลุม่ หนึง่ คือ พ่ออุ้ยหนานตายุง (หรืออุ้ยหนานตา ปารมี) พ่ออุ้ยหมื่นการณ์ ประชาชอบ พ่ออุย้ หนานหมืน่ สมบูรณ์ พ่ออุย้ ตุน่ สมบูรณ์ พ่ออุย้ หนานดี เงาแก้ว พ่ออุ้ยมา เจริญ พ่ออุ้ยหล้า หวลกาบ พ่ออุ้ยหนานกุณา (อุย้ หนานก๋อง) แสงสว่าง และ พ่ออุย้ เฮือน แสงฟ้า โดยมีพระภิกษุจาก วัดหนองแฝก (วัดหลวง) คือ พระครูบาหล้า ปญฺญาวุฒโฑ ได้พากันมา บุกเบิกปรับสถานที่ และมาปฏิบัติธรรมเพื่อสร้างวัด ซึ่งต้องผจญกับ 360

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


สิ่งน่ากลัวมากมาย โดยอาศัยที่ดินชาวบ้านถวายให้ โดยผู้ที่ถวายที่ดิน มากที่สุดได้แก่ พ่ออุ้ยหล้า หวลกาบ ส�าหรับค�าว่า “หวลการณ์” ได้มาโดยการน�านามสกุลของพ่ออุย้ หล้า คือ หวลกาบ และเอาชื่อของพ่ออุ้ยหมื่นการณ์ ประชาชอบ (หรืออุ้ย หมื่นรินทร์) เอามาผสมกันจึงมีชื่อว่า “วัดหวลการณ์” บ้านสันป่าสัก เพราะบุคคลสองท่านนี้เป็นผู้มีพระคุณอย่างมากต่อการสร้างวัด (แต่เดิมมีโรงเรียนอยู่ในวัดด้วย) พ.ศ. 2473 ได้สร้างกุฏิแบบถาวรขึ้นมาหลังหนึ่ง เพื่อประกอบพิธีกรรมทางศาสนา พ.ศ. 2481 สร้างวิหาร พ.ศ. 2488 สร้างศาลาตรงอุโบสถในปัจจุบัน พ.ศ. 2475 สร้างศาลาหลังใต้ และกุฏหิ ลังเล็ก (ตรงหัวศาลาหลัง เล็กที่ต้นมะเกว๋นในปัจจุบัน) ยาวไปทางเหนือ เพื่อเป็นสถานที่อาศัย ของพระภิกษุ สามเณร ท�าเนียบเจ้าอาวาส 1. พระครูบาหล้า ปญฺญาวุฒโฑ 2. พระอิ่นแก้ว ธมฺมปญฺโญ 3. พระอุ่นเรือน เงาผ่อง 4. พระอธิการบุญยัง (บ้านพระนอนป่าเก็ดถี่) 5. พระอธิการสม โสภา 6. พระครูรัตนชยาภรณ์ (พระครูชัยรัตน์ คมฺภีโร) 7. พระมหาอภิวัฒน์ กนฺตสีโล 8. พระเอกลักษณ์ อริยโชโต 9. ครูสังฆรักษ์รักษ์ สิริเมธี ตั้งแต่ พ.ศ. 2557–ปัจจุบัน

ปฏิปทาท่านเจ้าอาวาส ในปัจจุบัน พระครูสังฆรักษรักษ์ สิริเมธี เจ้าอาวาสวัดหวลการณ์ เลขานุการรองเจ้าคณะอ�าเภอสารภี ประธานหน่วยอบรมประชาชน ประจ�าต�าบลหนองแฝก ได้ด�าเนินการบูรณะวิหาร ศาลาปฏิบัติธรรม สร้างศาลารวมใจ บุญเหลือล้น สมปรารถนา ศาลาปั๋นปอน รวมถึง พัฒนาวัดให้สะอาดร่มรื่น เป็นรมณียสถานควรค่าแก่การปฏิบัติธรรม นอกจากนีย้ งั ได้จดั ตัง้ กลุม่ วัยหวานวัดหวลการณ์ โดยมีสมาชิกกลุม่ เป็น ผู้สูงวัยในชุมชน มาร่วมกันท�ากิจกรรมงานประดิษฐ์ดอกไม้จันทน์ ดอกไม้จากกระดาษ รวมถึงกิจกรรมการไหว้พระสวดมนต์ ปฏิบตั ธิ รรม และการออกเยี่ยมผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงในชุมชนอีกด้วย โดยได้รับ เสียงตอบรับจากประชาชนในชุมชนได้เป็นอย่างดี

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

361


History of buddhism....

วัดเขตคิชฌาวาส “วาจาน่ารัก ความเป็นผูม้ ตี นสม่ำเสมอในธรรมตามสมควร เป็นเครื่องสงเคราะห์โลก” พุทธพจน์ พระครูศีลคุณากร ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาส

วั ด เขตคิชฌาวาส ตั้ง อยู่หมู่ที่ 4 เลขที่ 259 (บ้ า นน�้ า แพร่ ) ต�าบลน�้าแพร่ อ�าเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ มีศรัทธาอุปถัมภ์ ประมาณ 150 ครอบครัว วัดมีเนื้อที่ 3 ไร่ 1 งาน 40 ตารางวา ปัจจุบันมี พระครูศีลคุณากร เป็นเจ้าอาวาส

362

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

ประวัติความเป็นมา เดิมทีวัดแห่งนี้เป็นวัดร้างมาตั้งแต่โบราณกาล สร้างมาแต่ครั้งใด สมัยไหน ไม่มปี รากฏหลักฐานทีแ่ น่ชดั บริเวณรอบวัดเป็นป่าดงพงหญ้า หนาแน่นไปด้วยไม้ใหญ่นานาชนิด เป็นทีอ่ าศัยของ แร้ง กา นกนานาพันธุ์ อยู่อาศัยเป็นจ�านวนมากชาวบ้านต่างมาแต่ละทิศมาอาศัยที่บุกเบิก ท�าไร่ ท�านา อาศัยล�าน�้าไหลมาทางทิศตะวันตก ล�าห้วยแห่งนี้มีชื่อว่า “แม่ตาช่วย” ไหลผ่านมาตลอดมิได้ขาด ชาวบ้านจึงเรียกว่า บ้านน�้าแพร่ เมื่อมีคนมาอาศัยบ้านน�้าแพร่มากขึ้น ต่างคนต่างคิดว่าสมควรทีจ่ ะสร้างศูนย์รวมน�า้ ใจของชาวบ้าน ก็ประชุม ตกลงเป็นเอกฉันท์โดยการสร้างวัดขึ้นมาเป็นสถานที่ประกอบพิธี บ�าเพ็ญกุศลต่างๆ และปฏิบัติธรรมอบรมบ่มนิสัย ช�าระจิตใจให้เป็น พลเมืองดีของประเทศชาติ พระศาสนา บ้านเมือง จึงรวมกันพัฒนา สถานที ่ โดยอาราธนาเจ้าอธิการอุทธา อุตตะมะปัญโญ เจ้าคณะต�าบล น�้ า แพร่ เจ้ า อาวาสวั ด เอรั ณ ฑวั น ในสมั ย นั้น มาเป็นประธานเมื่อ วันพฤหัสบดีที่ 10 มีนาคม พ.ศ. 2509 ตั้งชื่อวัดนี้ว่า “วัดทุ่งรังแร้ง” ต่อมาในปี พ.ศ. 2545 เจ้าอาวาสและคณะกรรมการ อบต. ญาติโยม ผูอ้ ปุ ถัมภ์วดั มีมติเห็นชอบเปลีย่ นชือ่ วัดทุง่ รังแร้ง เป็น วัดเขตคิชฌาวาส เพือ่ ความเหมาะสมและส�านวนทีส่ ภุ าพ จึงได้รายงานผ่านต�าบล อ�าเภอ จังหวัด กระทรวงมหาดไทย และส�านักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ โดยความเห็ น ชอบจากมหาเถรสมาคม เมื่ อ วั น ที่ 22 กั น ยายน พ.ศ. 2546 ตามประกาศทางราชการ


การปกครองคณะสงฆ์มีเจ้าอาวาสมาตลอดถึง 4 รูปด้วยกัน รูปที่ 1 พระดวงแก้ว วะระธัมโม พ.ศ.2509–2515 รูปที่ 2 พระบุญมา ปัญญาวะโร พ.ศ.2516–2520 รูปที่ 3 พระสุชิน ระตินธะโร พ.ศ.2521–2523 รูปที่ 4 พระครูศีลคุณากร พ.ศ.2524–ปัจจุบัน ถาวรวัตถุภายในวัด กุฏิ ศาลาการเปรียญ หอฉัน ศาลาอเนกประสงค์ ก�าแพงล้อมวัด

ท่องเที่ยวโบราณสถานภายในวัด บริเวณด้านหน้าวิหาร มีซากของเจดีย์เก่า สันนิฐานว่าน่าจะเป็น เจดีย์สมัยเมื่อครั้งที่สร้างวัดกันขึ้นมาใหม่ๆ ในส่วนของวิหารนั้นเป็น วิหาร เป็นรูปทรงล้านนา ทีม่ กี ารสร้างผนังด้านข้างทัง้ สีด่ า้ น มีหน้าต่าง และช่ อ งแสงโดยรอบทุ ก ด้ า น บริ เวณผนั ง ภายในเขี ย นด้ ว ยภาพ จิ ต รกรรมฝาผนั ง เกี่ ย วกั บ พุ ท ธศาสนา ภายในวิ ห ารประดิ ษ ฐาน องค์พระประธานงดงามเหนือค�าบรรยาย CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

363


History of buddhism....

วัดศรีสุพรรณ์ “ผู้มีขันติ ชื่อว่านำประโยชน์มาให้ ทั้งแก่ตนทั้งแก่ผู้อื่น ผู้มีขันติ ชื่อว่าเป็นผู้ขึ้นสู่ทางไปสวรรค์และนิพพาน”

พระครูปัญญาวัชราวุธ (สมเพชร ปญฺญาวโร) เจ้าอาวาส และรองเจ้าคณะอ�าเภอหางดง

วัดศรีสุพรรณ์ ตั้งอยู่เลขที่ 131 บ้านสันปูเลย ต�าบลหนองแก๋ว อ�าเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย อาณาเขต ทิศเหนือ จดทางสาธารณะ ทิศใต้ จดที่ดินเอกชน ทิศตะวันออก จดถนนสายแม่ขัก หารแก้ว ทิศตะวันตก จดล�าเหมืองสาธารณะ และที่สาธารณะ - ที่ดินเอกชน 364

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


ประวัติความเป็นมา วัดศรีสุพรรณ์ สร้างขึ้นเมื่อประมาณ พ.ศ. 2300 ตามหลักฐาน คัมภีร์ใบลานที่ค้นพบ ได้รับอนุญาตให้ต้ังวัดประมาณ พ.ศ. 2320 โดยมี ค รู บ าเจ้ า มะโนวงศ์ เป็ น ผู ้ ริ เริ่ ม พร้ อ มด้ ว ยชาวบ้ า นร่ ว มกั น ก่อสร้างขึ้น ชื่อของวัดตามคัมภีร์ใบลานเดิมชื่อ “วัดศรีช่างเคิ่ง” ได้ รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อประมาณ พ.ศ. 2368 ต่อมาได้ เปลี่ยนชื่อจากวัดศรีช่างเคิ่ง เป็น “วัดหัวข่วงหลวง” ประมาณวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2468 ต่ อ มาเมื่ อ วั น ที่ 16 กุ ม ภาพั น ธ์ พ.ศ. 2488 ได้ เ ปลี่ ย นชื่ อ “วั ด หั ว ข่ ว งหลวง” เป็ น “วั ด ศรี สุ พ รรณ์ ” โดยพระอุ ด มวุ ฒิ คุ ณ เจ้าคณะจังหวัดเชียงใหม่ เป็นผู้ตั้งชื่อวัดนี้ให้ตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมา ปัจจุบัน พระครูปัญญาวัชราวุธ (สมเพชร ปญฺญาวโร) ด�ารงต�าแหน่ง เจ้าอาวาส รองเจ้าคณะอ�าเภอหางดง ที่ดินที่ตั้งวัดจ�านวน 6 ไร่ 1 งาน 60 ตารางวา โฉนดที่ดินเลขที่ 56323 ที่ธรณีสงฆ์จ�านวน 3 แปลง ดังนี้ แปลงที่ 1 มีเนื้อที่ 1 ไร่ 1 งาน 97 ตารางวา โฉนดที่ดินเลขที่ 56324 , แปลงที่ 2 มีเนื้อที่ ไร่ 1 งาน 62 ตารางวา โฉนดที่ดินเลขที่ 56328 และ แปลงที่ 3 มี เนื้อที่ - ไร่ 3 งาน 50 ตารางวา โฉนดที่ดินเลขที่ 62003

การบริหารและการปกครองมีเจ้าอาวาสที่ทราบนาม ดังนี้ รูปที่ 1 พระอธิการมะโนวงศ์ พ.ศ. 2319 - พ.ศ. 2366 รูปที่ 2 พระอธิการอินตา วิสาโร พ.ศ. 2368 - พ.ศ. 2390 รูปที่ 3 พระอธิการญาณรังษี พ.ศ. 2390 - พ.ศ. 2426 รูปที่ 4 พระอธิการโสมโน พ.ศ. 2428 - พ.ศ. 2437 รูปที่ 5 พระอธิการวงศ์ พ.ศ. 2439 - พ.ศ. 2468 รูปที่ 6 พระอธิการคันธา พ.ศ. 2470 - พ.ศ. 2488 รูปที่ 7 พระอธิการใจ๋ คุณวฑฒโน พ.ศ. 2490 - พ.ศ. 2539 รูปที่ 8 พระครูปัญญาวัชราวุธ พ.ศ. 2540 - ปัจจุบัน CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

365


History of buddhism....

วัดหางดง รอยต่อแห่งยุคสมัย ไตรลักษณ์แห่งการเปลี่ยนผ่าน ตำนานแห่งความจงรักภักดี พระครูสุกิจสารนิวิฐ ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาส

วัดหางดง ตั้งอยู่เลขที่ 78 หมู่ 9 ต�าบลหางดง อ�าเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ มีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ 4 ไร่ 3 งาน 50 ตารางวา มีอาคาร เสนาสนะประกอบด้วยวิหารเครื่องไม้ทรงล้านนา ศาลาการเปรียญ อุโบสถ กุฏิสงฆ์ และ ปูชนียวัตถุ มีพระพุทธรูปปางมารวิชัย ประวัติความเป็นมา วัดหางดง สร้างเมือ่ ประมาณ พ.ศ. 2027 ราว 500 กว่าปีลว่ งมาแล้ว วัดหางดง เดิมชือ่ “วัดสันดอนแก้ว” หรือ “วัดดอนแก้ว” สร้างในสมัย อาณาจักรล้านนา ราชวงศ์มงั รายปกครองเชียงใหม่ ปลายสมัยกษัตริย์ องค์ท่ี 9 คือ พญาติโลกราช หรือ ในระหว่าง พ.ศ. 1985–2030 ในสมัยนั้นพุทธศาสนาลัทธิลังกาวงศ์ใหม่ เจริญรุ่งเรืองปกครองโดย คณะสงฆ์นิกายสีหล ประกอบกับพญาติโลกราช ทรงสนพระหฤทัย ในพุ ท ธศาสนา มี ก ารก่ อ สร้ า งวั ด วาอารามเป็ น จ� า นวนมาก เช่ น สร้างวัดเจ็ดยอด เป็นต้น และยังได้มกี ารสังคายนาพระไตรปิฎกขึน้ เป็น ครัง้ แรกในประเทศไทยในสมัยนัน้ ด้วย (ประวัตลิ า้ นนา โดย สรัสวดี อ๋องสกุล) 366

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


หลังจากทีพ่ ทุ ธศาสนาได้เจริญรุง่ เรืองในสมัยนี ้ ถือได้วา่ เป็นยุคทอง ของพุทธศาสนาก็วา่ ได้ มีการสร้างวัดวาอารามเป็นจ�านวนมาก ดังเช่น วั ด สั น ดอนแก้ว (วัด หางดง) และอีก มากมายหลายวั ด รวมไปถึ ง วัดสันดอนปิน ซึ่งอยู่ในความดูแลของชุมชนบ้านล้อง ปกครองโดย พญาพรม ห่างประมาณ 1,000 เมตร คือ วัดศรีบญุ เรือง ซึง่ สันนิษฐานว่า สร้างหลังจาก มหาอุปราชท้าวบุญเรืองถูกประหารชีวิต ชาวบ้าน ผู้จงรักภักดีจึงสร้างเพื่อเป็นอนุสรณ์แก่ท้าวบุญเรือง

วั ด สั น ดอนแก้ ว ซึ่ ง เป็ น ศู น ย์ ก ลางของชุ ม ชนและมี ผู ้ ป กครอง ชุมชนต่างๆ ให้การอุปถัมภ์ในเวลาต่อมา เช่น ท้าวมุงเมฆ ชุมชน บ้านดงใต้ ท้าวมณีจอ๋ น ชุมชนบ้านดงหลวง ท้าวตัน๋ ชุมชนบ้านดงเหนือ และท้าวเต้ป ชุมชนบ้านกอง ท�าให้วัดสันดอนแก้ว มีการบูรณะอยู่ ตลอดเวลา เพือ่ ให้วดั สันดอนแก้วเป็นวัดกลางชุมชน ต่อมาทางผู้น�า ชุมชนจึงตกลงเปลี่ยนชื่อเพื่อให้สอดคล้องกับชุมชนส่วนใหญ่เป็น “วัดบ้านดง” จนกระทั่งเมื่อทางราชการได้มีการเปลี่ยนแปลงการ ปกครอง มีการตั้งแขวงแม่ท่าช้างเป็นอ�าเภอหางดง วัดบ้านดงจึงได้ เปลี่ยนชื่อเพื่อให้สอดคล้องกับชื่อเป็น “วัดหางดง” จนถึงปัจจุบัน

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

367


History of buddhism....

วัดท้าวคำาวัง เสน่ห์ศิลป์แห่งล้านนา ด้วยแรงแห่งศรัทธา ในพระพุทธศาสนาไม่เสื่อมคลาย พระบรรจบ คุณสมฺปนฺโนฺ รักษาการแทนเจ้าอาวาส

วัดท้าวค�าวัง ตั้งอยู่เลขที่ 71 หมู่ที่ 1 บ้านท้าวค�าวัง ต�าบลหางดง อ�าเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ เป็นวัดราษฎร์ ที่สร้างโดยฝีมือสล่า ชัน้ ครู พระวิหารมีความสวยงามตามแบบศิลปะล้านนา สังกัดคณะสงฆ์ มหานิกาย ที่ดินตั้งวัด มีเนื้อที่ 3 ไร่ 87 ตารางวา นส.3 เลขที่ 1463 368

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


ประวัติความเป็นมา วัดท้าวค�าวัง เดิมเป็นวัดร้าง สร้างเมื่อปีพ.ศ. 2030 ต่อมามี เจ้าอธิการค�ามูล อภิชโญ เป็นผู้บูรณะปฏิสังขรณ์ขึ้นเป็นวัด ตั้งอยู่ ในชุมชนท้าวค�าวัง ต�าบลหางดง อ�าเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ เป็น พระอารามเล็กๆ ที่รายล้อมด้วยท้องทุ่ง และเงียบสงบ จากประวัติ ของวัดสันนิษฐานว่าสร้างขึน้ เมือ่ ประมาณปี พ.ศ. 2030 อายุเก่าแก่กว่า 500 ปี เชื่อกันว่า “ท้าวค�าวัง” ขุนนางในสมัยนั้นเป็นผู้สร้าง มีต�านาน กล่าวไว้ว่า มีท้าวสามคน คือ ท้าวค�าวัง ท้าวบุญเรือง และท้าวผายู มาตั้งหมู่บ้านอยู่ในเขตชนบทย่านนี้ และตั้งชื่อหมู่บ้านตามชื่อของตน “วัดท้าวค�าวัง” จึงถูกสร้างขึ้นเพื่อเป็นศูนย์รวมจิตใจของชาวหมู่บ้าน ท้าวค�าวังในอดีต

การบริหารและการปกครองมีเจ้าอาวาสเท่าที่ทราบนาม คือ 1. หลวงปู่ครูบาค�ามูล อภิชโญ (มรณภาพ) 2. พระครูวิมลศีลภินันท์ (พระครูอนันท์ อตฺถกาโม) ( มรณภาพ) 3. พระอธิการบุญชู จนฺทปญฺโญ (มรณภาพ) อาคารเสนาสนะ ประกอบด้วย วิหารไม้สัก ,ศาลาการเปรียญ กุฏิสงฆ์ , ที่พักรับรอง, หอฉัน และอุโบสถ ปูชนียวัตถุเก่าแก่ มีพระพุทธรูปไม้ปางมารวิชัยและเจดีย์ วัดท้าวค�าวัง อยู่ห่างจากตัวเมืองเชียงใหม่มาทางทิศใต้ประมาณ 14 กิโลเมตร ห่างจากตัวอ�าเภอหางดงทางทิศเหนือ 2 กิโลเมตร ศรั ท ธาญาติ โ ยมผู ้ อุ ป การะวั ด และอุ ป ั ฏ ฐากพระสงฆ์ มี ป ระมาณ 90 หลังคาเรือน ในบริเวณวัด มีวหิ ารโบราณ เจดีย ์ และก�าแพงรอบวัด กรมศิลปากร ได้ขึ้นทะเบียนโบราณสถานเมื่อปี พ.ศ.2538 เป็นโบราณสถาน และมี พระประธานเป็นพระพุทธรูปไม้ มีเจดีย์ทรงล้านนาประยุกต์งดงาม ในแบบช่างศิลป์โบราณแห่งล้านนา

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

369


History of buddhism....

วัดบ้านขุน อบรมศีลธรรมแก่ประชาชน เพื่อสร้างสันติสุขให้แก่ชาวโลก พระครูสังวรสิทธิโชติ เจ้าอาวาส

วัดบ้านขุน เป็นวัดในพระพุทธศาสนา ตั้งอยู่ที่ต�าบลบ่อหลวง อ�าเภอฮอด จังหวัดเชียงใหม่ ตั้งเป็นวัดเมื่อปีพุทธศักราช 2470 ได้ รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2542 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 113 ตอนที่ 20 เมื่อวันที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2542 370

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


จุดประสงค์ในการการพัฒนาวัด คือการอบรมศีลธรรมแก่ประชาชน เพื่อสร้างสันติสุขให้แก่ชาวโลก ตามแนวทางส�าคัญ ดังนี้ สร้างวัดให้เป็นวัด คือเป็นวัดที่สะอาด สงบ ร่มรื่นเหมาะสม แก่การประพฤติปฏิบัติธรรมของประชาชน สร้างพระให้เป็นพระ สร้างสามเณรให้เป็นสามเณร คือ ฝึกอบรม พระภิกษุและสามเณร ให้ถึงพร้อมด้วยศีลาจารวัตรและคุณธรรม ภายใน เป็นที่ตั้งแห่งศรัทธา สามารถเป็นครูสอนศีลธรรมให้แก่ ประชาชนได้ สร้างคนให้เป็นคนดี คือสร้างคนดีมีศีลธรรม มีความรับผิดชอบ ต่อตนเองครอบครัว สังคม และประเทศชาติ ด้วยเหตุนี้วัดบ้านขุน จึงมุ่งเน้นการอบรมธรรมะทั้งภาคปริยัติและ ภาคปฏิบัติให้แก่พระภิกษุและสามเณร อุบาสก อุบาสิกา ตลอดจน สาธุชนผู้สนใจศึกษาธรรมะทุกท่านตลอดมา รวมทั้งเน้นในเรื่องของ ความสะอาด ความสงบ ความร่มรื่น ร่มเย็น และมีนโยบายหลัก ในการก่อสร้างถาวรวัตถุต่างๆ เท่าที่จ�าเป็นต่อการใช้งาน ซึ่งเน้น ความประหยัด ความประณีต คงทนถาวรและประโยชน์ในการใช้งาน เป็นหลัก ปีพ.ศ. 2536 วัดบ้านขุนมีเนื้อที่ทั้งหมด 4 ไร่ 2 งาน ซึ่งไม่เพียงพอ ในการรองรับงานของพระศาสนา เพราะว่ามีสาธุชนเริม่ เข้าวัดเพิม่ มากขึน้

พระวิ ห ารหลั ง เดิ มที่เ คยรองรั บสาธุ ช นได้ เ พียงประมาณ 60 คน ไม่สามารถรองรับได้อกี ต่อไป ทางวัดบ้านขุนจึงได้เริม่ ขยายพืน้ ทีอ่ อกไป ทางด้านหลัง และด้านข้างซ้ายขวาของวัด ในพื้นที่จ�านวน 93 ไร่ 37 ตารางวา เพื่อใช้ก่อสร้างศาสนสถานถาวรดังนี้ พ.ศ. 2539 สร้างศาลาเอนกประสงค์เพื่อใช้ในการรองรับสาธุชน ได้ประมาณ 300 คน พ.ศ. 2542 สร้างกุฏิจ�านวน 3 หลัง เพื่อรองรับพระภิกษุสามเณร ได้ประมาณ 250 รูป พ.ศ. 2545 สร้างอาคารเรียน โรงเรียนวัดบ้านขุนเตรียมพุทธศาสตร์ แผนกสามัญศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จ�านวน 8 หลัง พ.ศ. 2545 สร้างหอฉันและโรงครัว เพื่อรองรับพระภิกษุและ สามเณรได้ประมาณ 250 รูป พ.ศ. 2548 สร้างอาคารส�านักงานวัดบ้านขุน และ โรงเรียนวัด บ้านขุนเตรียมพุทธศาสตร์ พ.ศ. 2549 สร้างกุฏิเจ้าอาวาส สถานพยาบาล และห้องสมุด พ.ศ. 2549 สร้างอุโบสถ รูปทรงแบบล้านนาดั้งเดิม พ.ศ. 2550 สร้างอาคารเรียนโรงเรียนวัดบ้านขุนเตรียมพุทธศาสตร์ แผนกสามัญศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย และแผนกนักธรรมบาลี จ�านวน 10 ห้องเรียน

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

371

“วัดปางอั้น” เป็นวัดหนึ่งที่มีนักท่องเที่ยวและศรัทธาพุทธศาสนิกชนมาเยี่ยมชมวัด พร้อมขอพรองค์หลวงพ่อพุทธโสธร (จ�าลอง) มากมาย


วัดบ้านขุนแบ่งพื้นที่เป็นสัดส่วนที่ค่อนข้างและชัดเจนดังนี้คือ 1) เขตพุทธาวาส มีโบสถ์เป็นส�าคัญ ในการท�าสังฆกรรมต่างๆ 2) เขตธัมมาวาส มีวหิ ารส�าหรับเป็นทีท่ า� บุญของสาธุชนทีเ่ ข้ามาในวัด และเป็นโรงเรียนพระปริยัติธรรม ที่ใช้สอนทั้งพระภิกษุ สามเณร และ นักเรียนที่เข้ามาเรียนในวัดทุกสัปดาห์เป็นประจ�าตลอดทั้งปี 3) เขตสังฆาวาส คือเขตที่อยู่ของพระภิกษุ และสามเณรเป็นเขต ที่สงบ ร่มเย็น ไม่ให้ประชาชนเข้าไปพลุกพล่าน จะเป็นสถานที่ที่แยก ออกจากส่วนอื่นอย่างชันเจน ในเขตนี้จะไม่ใช้เป็นที่รับรองแขก โดย การต้อนรับหรือรับรองแขกจะใช้ที่หอฉันเป็นหลัก เพราะเป็นสถานที่ ที่โล่งโปร่ง และมองเห็นกันได้ชัดเจนทั้งวัด การเผยแผ่ศาสนธรรม วัดบ้านขุนจัดโครงการ และกิจกรรมเผยแผ่ศาสนธรรม โดยใช้ รูปแบบและวิธีการต่างๆ เพื่อประชาชนทั่วไปทุกระดับ ประกอบด้วย โครงการปฏิบัติเฉพาะกิจ และโครงการปฏิบัติสืบเนื่องดังต่อไปนี้ จัดให้มีการแสดงธรรม ในวันส�าคัญทางพระพุทธศาสนาเป็น ประจ�าทุกปี 372

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

เปิดโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญ นักธรรม บาลี มา ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2545 ปัจจุบันมีนักเรียนซึ่งเป็นสามเณรอยู่ประจ�าทั้งสิ้น 189 รูป โดยสามเณร 95% เป็นชาวดอยเผ่าต่างๆ เช่น ลัวะ กะเหรีย่ ง ฯลฯ สอนธรรมะศึกษา แก่นักเรียนชั้นประถม ทั้งที่มาเรียนทีว่ ัด และ ออกไปสอนตามโรงเรียนต่างๆ อบรมนักเรียน ทีค่ ณะครูโรงเรียนต่างๆ น�ามาอบรมทีว่ ดั หลักสูตร ระยะเวลา 3 วัน ซึ่งโรงเรียนที่น�านักเรียนมามีทั้งในอ�าเภอฮอด อมก๋อย และอ�าเภอใกล้เคียงต่างๆ ซึ่งนับวันจะมีเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ น�าชาวบ้านขุนปฏิบัติธรรมทุกวันพระตลอดทั้งปี ท�าให้มีผู้เลิก อบายมุขเป็นจ�านวนมากและเพิ่มขึ้นทุกๆ ปี อบรมสามเณรภาคฤดู ร ้ อ น ซึ่ ง จะมี นั ก เรี ย นมาอบรมและ บวชเป็นสามเณรเป็นประจ�าทุกๆ ปี อบรมบรรพชาอุปสมบทหมู่นักบุญขุนเขารุ่นเข้าพรรษา อบรมบรรพชาอุปสมบทหมูน่ กั บุญขุนเขารุน่ ฤดูหนาว เพือ่ ถวาย เป็นพระราชกุศล ส่วนใหญ่เป็นโยมพ่อและหมู่ญาติของสามเณร ตามดอยต่างๆ


จัดตั้งกลุ่มออมทรัพย์นักบุญขุนเขา ซึ่งปัจจุบันมีสมาชิก 506 คน โดยทุกคนที่เป็นสมาชิกจะต้องเลิกยุ่งเกี่ยวกับอบายมุขทุกประเภท ซึ่งโครงการนี้ได้รับความสนใจจากหน่วยงานต่างๆ ที่เข้ามาศึกษาเป็น จ�านวนมาก เพราะเป็นโครงการที่มีลักษณะการจัดการไม่เหมือนที่ใด ในประเทศไทย ต่างกันตรงทีส่ มาชิกทุกคนจะเน้นเกีย่ วกับการเลิกอบายมุข เป็นหลัก การออมทรัพย์เป็นเรื่องรอง ซึ่งวัดบ้านขุนท�าแล้วท�าให้เกิด ผลดีต่อชุมชนอย่างเป็นรูปธรรมที่เห็นได้ชัดที่สุด จัดท�าโครงการเกษตรอินทรียโ์ ดยสามเณร เป็นผูด้ า� เนินการปลูกผัก ปลอดสารพิษ คณะครูและนักเรียนโรงเรียนต่างๆ ให้ความสนใจ มาเรียนรู้เป็นจ�านวนมาก เกียรติประวัติวัดบ้านขุน พ.ศ. 2537 ได้ รั บ คั ด เลื อ กให้ เ ป็ น วั ด ที่ มี ผ ลงานดี เ ด่ น “ด้ า น สาธารณูปการ” ของจังหวัดเชียงใหม่ พ.ศ. 2540 ได้รับพระราชทานเสมาธรรมจักร ในสาขา “ส่งเสริม ผู ้ ป ฏิ บั ติ ธ รรม” จาก สมเด็ จ พระกนิ ษ ฐาธิ ร าชเจ้ า กรมสมเด็ จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พ.ศ. 2544 เป็ น วั ด พั ฒ นาประจ� า อ� า เภอฮอด ของคณะสงฆ์ จังหวัดเชียงใหม่ พ.ศ. 2547 เป็นวัดดีเด่น ประเภทวัดงามตาประชาชื่นใจ ของ จังหวัดเชียงใหม่ พ.ศ. 2548 เป็นอุทยานการศึกษาในวัด ของส�านักงานพระพุทธ ศาสนาแห่งชาติ พ.ศ. 2549 เป็นศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ในความ อุปถัมภ์ของกรมศาสนา พ.ศ. 2550 เป็นส�านักปฏิบตั ธิ รรมประจ�าจังหวัดเชียงใหม่ แห่งที ่ 5 พ.ศ. 2550 ได้รับคัดเลือกให้เป็นวัดเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา มหาราชประจ�าอ�าเภอฮอด พ.ศ. 2551 ได้รับรางวัลเป็นวัดพัฒนาตัวอย่าง ของส�านักงาน พระพุทธศาสนาแห่งชาติ พ.ศ. 2558 ได้รบั แต่งตัง้ ให้เป็นโรงเรียนพระปริยตั ธิ รรมแผนกบาลี ประจ�าจังหวัดเชียงใหม่แห่งที่ 1 พ.ศ. 2558 - พ.ศ. 2562 ได้รับรางวัลส�านักเรียนพระปริยัติธรรม แผนกบาลีที่มีพระภิกษุสามเณรสอบเปรียญธรรมได้มากที่สุด จาก แม่กองบาลีสนามหลวง พ.ศ. 2558 ได้รับรางวัลวัดพัฒนาตัวอย่างที่มีผลงานดีเด่น จาก สมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ ผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช พ.ศ. 2559 ได้รับรางวัลจัดการเรียนการสอนพระปริยัติธรรม แผนกบาลีดเี ด่น มีนกั เรียนสอบได้มากเป็นอันดับที ่ 3 ในหนเหนือ จาก สมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ ผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

373


History of buddhism....

WAT BAN KHUN Teaching morals to people for building peace for humanity Wat Ban Khun is a Buddhist temple. It is located at Bo Luang sub-dsitrict, Hot district, Chiang Mai province. It became official temple in B.E.2470 and was granted Wisungkhamsima (Land granted from Royal family to build temple or other religious buildings) on 23 February B.E.2542 which it was announced in the government gazette volume 113, chapter 20, on 11 March B.E.2542.

The purpose on temple development is morals-teaching for people in order to establish peace for mankind by following important ways as follows: Building temple to be proper temple which is clean, tranquil, shady and cool temple that is proper for people to practice the dharma. Making monk to be proper monk, making novice to be proper novice. This can be occurred by the training of monk 374

SBL บันทึกประเทศไทย II เชียงใหม่

and novice to make them a perfect monk and novice who has moral and behave themselves finely, can be center of faith, can be teacher who are able to teach moral to general people. Making people to be good people. It is the making of good and ethical person who has responsibility towards themselves, families, society and country.


Therefore, Wat Ban Khun has been focusing on dharma-teaching for both tripitaka part and practical part to Buddhist monk, novice, layman and laywoman including everyone who interested to study the dharma. This temple also emphasize in cleanliness, tranquility, peacefulness and the main policy about construction of permanent objects as much as necessary which is underline the saving, delicate, durability and usefulness. Wat Ban Khun arrange project and dharma-propagating activities by applying various procedures and methods for people from all walks of life which is consist of special project and continuous project such as leading people of Ban Khun to practice the dharma on every Buddhist holy day which it encourages some people to quit involving with allurements which lead to ruin and amount of people are increasing every year, teaching novice in summer, held up ordination ceremony for people of mountain tribe during Buddhist Lent and winter in order to offer the merit to Thai Royal family, establishing the saving group of mountain tribe which currently has 506 members and

every member must not involve with all kind of vices, arranging organic farming project by novice of this temple who grow nontoxic vegetable by themselves. There are many faculty and students from various schools are taking an interest and want to learn from this project. Due to the Buddhism propagation toward all directions with all of Wat Ban Khun’s strength which makes this temple be honored by its renowned deed. For example, from B.E.2558 to B.E.2562, this temple was awarded the tripitaka-studying school, Bali department that has the most novices and monks who passed the test Bali-testing head quarter. In B.E.2558, it was honored to be model of developed temple that has excellent works, from Phra Maha Ratchamangkalajarn who is supreme patriarch at that time. In B.E.2559, it was awarded the model education management in teaching tripitaka, Bali department which the amount of student who passed the test was ranked in the 3rd place of the northern of Thailand which the one who bestow this award was also Phra Maha

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

375


History of buddhism....

วัดกิ่วลม พุทธสถานแห่งการสร้างคนดี มีคุณธรรม พระอธิการสุธรรม สิริสุโข เจ้าอาวาส

วัดกิ่วลม ตั้งอยู่เลขที่ 106 หมู่ 8 ต�าบลบ่อหลวง อ�าเภอฮอด จังหวัดเชียงใหม่ อยู่ห่างจากที่ว่าการอ�าเภอฮอด ประมาณ 39 กิ โ ลเมตร และห่ า งจากอ� า เภอเมื อ งเชี ย งใหม่ ประมาณ 130 กิโลเมตร ความเป็นมาของชื่อวัดกิ่วลม “กิ่ว” แปลว่า ทางแคบๆ หรือช่องเล็กๆ มีลักษณะเป็นคอคอด “กิ่วลม” จึงแปลว่า ช่องลม หรือ ทางลม ตามภูมิศาสตร์ท้องถิ่น กิ่ ว ลมจะมี ช่อ งทางเล็ก ๆ ที่มีลมพัด ผ่านตลอดปี อย่ า งต่ อเนื่ อง อากาศจะเย็นสบายตลอดปี วัดกิ่วลมสร้างโดยชาวไทยเผ่าลัวะ บนเนื้อที่ 7 ไร่ 2 งาน ตั้งอยู่ บนที่ ร าบสู ง เหนื อ ระดั บ น�้ า ทะเล 1,200 เมตร ณ ยอดดอย ต�าบลบ่อหลวง อ�าเภอฮอด จังหวัดเชียงใหม่ มีผู้ใหญ่บ้านชื่อ นายปัน่ จันต๊ะอินทร์ และผูช้ ว่ ยผูใ้ หญ่บา้ น นายด�า คุมลู พร้อมด้วย คณะศรั ท ธาญาติ โ ยม 17 หลั ง คาเรื อ น ร่ ว มกั น บุ ก เบิ ก เมื่ อ ปี พ.ศ. 2519 แต่ เ ดิ ม มี เจ้ า อาวาสปกครองติ ด ต่ อ กั น มา 8 รู ป หลังจากนั้นวัดก็ได้กลายเป็นวัดร้างอยู่ช่วงหนึ่ง

376

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

377


จากวัดร้างในอดีต ได้กลับมาเป็นวัดรุ่งในปัจจุบัน ต่อมาในปี พ.ศ. 2537 พระอธิการสุธรรม สิรสิ โุ ข จากจังหวัดสงขลา ได้เข้ามาบุกเบิก ด้วยมโนปณิธานที่แน่วแน่และศรัทธาที่กล้าแกร่ง ที่ จ ะอุ ทิ ศ ชี วิ ต เพื่ อ งานพระพุ ท ธศาสนา เริ่ ม ต้ น ด้ ว ยการชั ก ชวน ชาวบ้านมานั่งสมาธิ 5 คน และร่วมกันพัฒนาวัดควบคู่กันไป หลัง จากนั้นไม่นาน มหาชนต่างก็หลั่งไหลมาเพื่อปฏิบัติธรรม และทวีขึ้น ไปเรื่อยๆ จากวัดร้างบนยอดดอย กลายมาเป็นวัดรุ่งที่เป็นศูนย์ปฏิบัติ ธรรมดังเช่นในปัจจุบัน โดยพระอธิการสุธรรม สิริสุโข นั่นเองที่ท่าน เข้ามาสานต่อ เพื่อยกระดับวัดกิ่วลมขึ้นมาเป็นศูนย์ปฏิบัติธรรม ความเข้มแข็ง กล้าหาญ และอดทนเท่านั้น ที่จะยืนหยัดจนประสบ ความส�าเร็จได้ในที่สุด ศูนย์ปฏิบัติธรรมวัดกิ่วลม จัดกิจกรรมปฏิบัติธรรมทุกสัปดาห์ตลอดปีอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2537 จึงเป็นพุทธสถานแห่งการสร้างคนดี มีคุณธรรม เป็นศูนย์รวมของพี่น้องชาวยอดดอย ตลอดจนสาธุชนทั่วไป และ เป็นศูนย์กลางแห่งการแพร่ขยายสันติสุขให้บังเกิดขึ้นแก่ชาวโลก บนขุนเขายอดดอย เสน่ห์แห่งทะเลหมอกและสวนป่าสน ศาสนสถานแห่งนีจ้ ะสร้างความเจริญรุง่ เรืองให้แก่พระพุทธศาสนา ให้สถิตสถาพรยัง่ ยืนนาน เป็นแสงสว่างแก่ชาวโลกสืบไป ดุจดวงตะวัน และจันทรา ณ ยอดดอยบ้านกิ่วลม ต�าบลบ่อหลวง อ�าเภอฮอด จังหวัดเชียงใหม่ โทรศัพท์ : 08-9435-7511, 08-1595-5903 Email : kiewlom@gmail.com Facebook : watkiewlom 378

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

379


History of buddhism....

WAT KIEW LOM The Buddhist place of making good and righteous human Wat Kiew Lom is located at 106 village no.8, Bo Luang sub-district, Hot district, Chiang Mai province. It is approximately 39 kilometers from Hot district office and around 130 kilometers from Mueang Chiang Mai district. At present, Phra Athikarn Sitham Sirisukho takes a position of abbot at this temple. HISTORY OF WAT KIEW LOM “Kiew” means narrow path or small hole like a bottleneck. “Kiew Lom” then, means vent or windway. According to local geography, Kiew Lom always have small path that wind blow through all the year continuously which the air in this area will be cool and pleasant throughout the year.

380

SBL บันทึกประเทศไทย II เชียงใหม่

Wat Kiew Lom was built by Lua hill tribe of Thailand, on the 2.8 acres and 800 square meters of land. It is located at the highland which is 1,200 meters above the sea level, on top of the mountain in Bo Luang sub-district, Hot district, Chiang Mai province. At first, there were village headman which is Mr.Pan Chantaindra and his assistant, Mr. Dham kumun together with group of faithful folks from 17 families, this group of people cleared this land jointly in B.E.2519. Formerly, this temple had been administrated by eight abbots consecutively. However, after that, it became an abandoned temple for quite some time.


FROM ABANDONED TEMPLE IN THE PAST, COMING BACK TO BE THE FLOURISHING TEMPLE TODAY After that, in B.E.2537, Phra Athikarn Sutham Sirisukho from Songkhla province, came to develop this temple with unwavering determination and valiant faith that he will devote himself for the sake of work regarding Buddhism by starting to invite five villagers to do the meditation at this temple and developed this temple together with him simultaneously. Not long after, people started to come to this temple in order to practice the dharma, more and more people kept coming to this temple which made an abandoned temple on top of the mountain became flourishing temple, it also became the dharma-practicing center as it currently is, which Phra Athikarn Sutham Sirisukho who inherited this temple to just improved Wat Kiew Lom to be vigorous, brave and courageous dharma-practicing center, the place that will stand strong until it becomes successful temple eventually.

WAT KIEW LOM DHARMA PRACTICING CENTER This place has always been arranged dharma-practicing event every week continuously since B.E.2537. Then, it can be considered the Buddhist place of making good and righteous human. It is the center of folks who live at area of mountain’s peak including general virtuous men. Moreover, it is also the center of peacefulness-spreading, on top of the mountain which anyone will find charm of sea of fog and pine forest park that will spread peacefulness to everyone in this world This Buddhist place will build prosperity to Buddhism in order to remain it eternally and make it to be the light for every person like sun and moon, at Kiew Lom viewpoint, Bo Luang sub-district, Hot district, Chiang Mai province. CONTACT WAT KIEW LOM TEL : 08-9435-7511, 08-1595-5903 EMAIL : KIEWLOM@GMAIL.COM CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

381


History of buddhism....

วัดพระเจ้าโท้ ตำนานพิสดารนคร จากเมืองหอดที่อ่อนล้า สู่เมืองฮอดแห่งความสำเร็จ พระอาจารย์สมพร ศิริภัทโท ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาส

วัดพระเจ้าโท้ ตั้งอยู่เลขที่ 308 หมู่ 2 ต�าบลฮอด อ�าเภอฮอด จั ง หวั ด เชี ย งใหม่ ในอ� า เภอฮอด เป็ น วั ด เด่ น วั ด สวยและมี ประวั ติ ศ าสตร์ ย าวนาน ปั จ จุ บั น พระอาจารย์ ส มพร สิ ริ ภั ท โท เป็นเจ้าอาวาส

382

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

ประวัติความเป็นมา ต�านานเมืองพิสดารนคร วัดพระเจ้าโท้ เดิมชื่อว่าวัดพระธาตุเจดีย์สูง มีหลวงพ่อพระเจ้าโท้ เป็นปูชนียสถานอันส�าคัญคู่บ้านคู่เมืองพิสดาร (เมืองฮอด) มาตั้งแต่ สมัยโบราณ ตามต�านานจามเทวีวงศ์ กล่าวไว้ว่า พระนางเจ้าจามเทวี ทรงสร้างในปี พ.ศ.1200 ซึ่งในขณะนั้นพระนางเจ้าจามเทวี ได้เสด็จ มาทางชลมาศ(เรือ) พร้อมด้วยข้าราชบริพารทั้งหลายเพื่อจะไป ครองเมืองหริภุญชัย (เมืองล�าพูนปัจจุบัน)


ระหว่างการเสด็จนั้น เหล่าข้าราชบริพารทั้งหลาย ได้ล้มตายเป็นจ�านวนมาก เป็นเหตุให้พระนางเจ้าจามเทวีทรงโทมนัสเป็นอย่างยิ่ง จึงมีพระราชด�าริให้บ�าเพ็ญพระราชกุศลแก่ข้าราชบริพารเหล่านั้น และมีพระราชเสาวนีย์ตรัสปรึกษากับพญาแขนเหล็ก พญาบ่เพ็ก พญาแสนโท พร้อมกับเสนาอ�ามาตย์และราชครูทั้งหลายว่าเราควรรู้จัก หยั่งขบวนเสด็จนะที่นี้เพื่อจักท�าการกุศลเพื่อจะได้สร้างเมืองบริเวณนี้ ได้สร้างองค์หลวงพ่อพระเจ้าโท้ เพื่ออุทิศให้ข้าทาสบริวาร และสร้างพระธาตุเจดีย์สูง ถวายไว้ในพระพุทธศาสนา ภายหลั ง พิ ส ดารนครถึ ง การล่ ม สลายด้ ว ยการโจมตี ข องพม่ า เช่นเดียวกัน ซึ่งท�าให้ราษฎรที่อาศัยอยู่ต้องประสบความเดือดร้อน เป็นอย่างมาก พิสดารนครที่เคยรุ่งเรืองมาแต่ก่อน จึงได้ถูกเปลี่ยน ขนานนามว่า “เมืองหอด” ซึ่งแปลว่า แห้งแล้ง , โหยหา , อ่อนล้า , อับจน ต่ อ มาได้ มี ก ารเปลี่ ย นแปลงพั ฒ นาฟื ้ น ฟู ส ภาพความเป็ น อยู ่ ให้มีความเป็นอยู่อย่างสมบูรณ์และมีความโดดเด่นด้านการเกษตร เมื่อมีความเป็นอยู่อย่างสมบูรณ์แล้ว “เมืองหอด” แต่เดิมที่ชาวบ้าน เรียกขาน ได้ถกู เปลีย่ นแปลงและขนานนามว่า “เมืองฮอด” ซึง่ แปลว่า ความส�าเร็จ , ลุล่วง ถึงจุดหมายปลายทาง เป็นที่ขนานนามเรียกว่า “เมืองฮอด” ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมาจนถึงปัจจุบัน

การเดินทางมายังวัดพระเจ้าโท้ ใช้เส้นทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 108 (เชียงใหม่-ฮอด) ผ่านปากทางสามแยกดอยเต่าไปอีกประมาณ 11 กิโลเมตร ก็จะถึงวัดพระเจ้าโท้ CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

383


History of buddhism....

วัดพระพุทธบาทแก้วข้าว (โย นาคะปุเล พุทธะปาทะวะรัง อะหัง วันทามิ สัพพะทา) คำไหว้รอยพระบาทของพระพุทธเจ้า วัดพระพุทธบาทแก้วข้าว วัดพระพุทธบาทแก้วข้าว ตัง้ อยูห่ มูท่ ี่ 1 บ้านแควมะกอก ต�าบลฮอด อ�าเภอฮอด จังหวัดเชียงใหม่ แต่เดิมเป็นวัดร้าง ต่อมาในปี พ.ศ. 2544 กรมการศาสนาได้ยกฐานะจากวัดร้างให้เป็นวัดทีพ่ ระภิกษุอยูจ่ า� พรรษาใน ปี พ.ศ. 2557 พระเดชพระคุณพระพรหมมงคล (หลวงปูท่ อง สิรมิ งคโล) ได้น�าศิษยานุศิษย์โดยมี คุณหญิงสมนึก เปรมวัฒนะ เป็นเจ้าภาพหลัก มาสร้างอุโบสถขึ้นในบริเวณเขตพุทธาวาส และ ปีพ.ศ.2561 พระเดช พระคุณพระพรหมมงคล ได้น�าศิษยานุศิษย์ มาบูรณปฏิสังขรณ์วิหาร ครอบรอยพระพุทธบาท ในปัจจุบนั นี้ วัดพระพุทธบาทแก้วข้าว มีพระ ปลัดนิเวศน์ อโกธโน เป็นเจ้าอาวาส และเป็นส�านักวิปัสสนาโดยความ อุปถัมภ์ของพระเดชพระคุณพระพรหมมงคล (หลวงปูท่ อง สิรมิ งคโล)

ประวัติความเป็นมา ตามต�านานได้กล่าวไว้วา่ ในอดีตกาลก่อนทีจ่ ะนับพุทธศักราช (พ.ศ.) นัน้ ในครัง้ พุทธกาลพระพุทธเจ้ามีอายุพรรษาได้ 60 พรรษา พระพุทธองค์ พร้อมด้วยพระอรหันต์ทงั้ หลาย ได้ไปโปรดพระยาขุนแสนทอง ยังดอย เกิง้ (วัดพระธาตุดอยเกิ้ง อ�าเภอดอยเต่า จังหวัดเชียงใหม่ในปัจจุบัน) 384

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

พระองค์ได้เสด็จตามล�าน�า้ ปิง ชาวลัวะ ชาวว้า เห็นพระพุทธเจ้าพร้อม พระอรหันต์กเ็ กิดความศรัทธาเลือ่ มใส พากันเอาข้าวห่อไปใส่บาตรแก่ พระพุทธเจ้าและพระอรหันต์ทั้งหลาย พระพุทธเจ้าได้ไขพระอูปแก้ว (ตรัสหรือพูด) ให้ชาวบ้านพากันรักษาศีล 5 ข้อในพระพุทธศาสนา สถานทีแ่ ห่งนัน้ จึงเรียกกันว่า “ดอยอูปแก้ว” (ปัจจุบนั คือ “วัดดอยอูปแก้ว”)

ในครัง้ นัน้ เหล่าชาวบ้านได้บอกแก่พระพุทธเจ้าว่า การท�าไร่ ท�านา มีนา�้ ไม่เพียงพอ เหล่าพระอรหันต์จงึ ได้ชว่ ยกันท�ากังหัน เพือ่ วิดน�า้ ใส่นา ให้แก่ชาวบ้าน ชาวบ้านเรียกสิง่ ทีพ่ ระอรหันต์สร้างนัน้ ว่าวงค์หลุก หรือ วังหลุก (และเรียกเพีย้ นเป็นวังลุง ปัจจุบนั เป็นชือ่ หมูบ่ า้ นวังลุงต�าบลฮอด) เหล่าพระอรหันต์ได้บอกกล่าวแก่ชาวเมืองพิศดารนครทั้งหลายว่า “เป็นบุญกุศลอันยิง่ ใหญ่ทไ่ี ด้ถวายทานข้าวห่อ ขอให้พวกท่านมัง่ มีดว้ ย ทรัพย์สมบัติ ให้ท่านทั้งหลายจงรักษาศีลทั้ง 5 ข้อไว้จะไม่ทุกข์ยาก ล�าบากต่อไปในภายภาคหน้า” จากนัน้ พระพุทธเจ้าก็ได้เสด็จไปยังดอยกลอม หรือดอยหย่อม (และเรียกเพีย้ นเป็นดอยจ๊อม ปัจจุบนั เป็นวัดดอยจ๊อม ต�าบลฮอด) พระพุทธองค์ทรงหิวน�า้ ได้ให้พระอานนท์ไปตักน�า้ ทีว่ งั แก้ว แม่น�้าปิง ด้านพระยานาคผู้เฝ้าแม่น�้าปิง พอเห็นพระอานนท์ก็กวนน�้า ให้ขุ่นไปทั้งวัง พระอานนท์ได้เอาฝาบาตรตักน�้า พระยานาคก็เอาหาง


ไปพัดฝาบาตรให้หลุดจากมือพระอานนท์จมลงในวังน�้า พระอานนท์ ตกใจพอได้สติกเ็ อามีดไปตัดเอาเครือเขาเถาวัลย์มาสานเป็นตาข่ายเพือ่ เหวี่ยงเอาฝาบาตรนั้น พระอานนท์ได้ท�ามีดหลุดหล่นออกจากด้าม พระอานนท์เอามีดมาสอดใส่ด้ามแล้วเอาด้ามมีดตอกกับก้อนหิน หินก้อนนั้นเกิดเป็นรอยลึกเข้าด้านใน กว้าง 6 นิ้วฟุต ลึก 6 นิ้วฟุต (ปัจจุบันอยู่ที่วัดพระพุทธบาทแก้วข้าว เพื่อให้สาธุชนได้สักการบูชา) ส่วนพระพุทธเจ้าได้ลว่ งรูด้ ว้ ยญาณทิพย์ จึงเสด็จพร้อมเหล่าพระอรหันต์ ตามหาพระอานนท์และไปโปรดพญานาค มายังวังแก้ว แม่นา�้ ปิง พระอรหันต์ ได้พับชายผ้าสบงให้พระอานนท์ได้เห็นเป็นปริศนา พระอานนท์คิดได้

ว่าการท�าตาข่ายต้องมีกน้ ถุง จึงจะได้ของเข้าไปติดในถุงนัน้ ผ้าสบงจีวร พระจึงมีรอยพับมาจนถึงปัจจุบนั อันตาข่ายเครือเขาเถาวัลย์กไ็ ด้เอาไปทิง้ ไว้บนฝัง่ แม่นา�้ นัน้ เหล่าชาวบ้านทัง้ หลายผ่านมาเห็นก็ได้นา� ไปเรียนแบบ สานเป็น “จ�า๋ และแห”ใช้เป็นเครือ่ งมือหากินในการจับปลาจนถึงปัจจุบนั ในขณะที่ได้ฝาบาตรนั้นพระพุทธเจ้าทรงประทับบนเนินและทรง เปล่งวาจาว่า “ใจ๋ดนี อ้ ยหนึง่ ” เนินนัน้ ปัจจุบนั เป็นทีต่ ง้ั วัดพระธาตุเจดียน์ อ้ ย (เพี้ยนมาจาก ใจ๋ดีน้อย) อันว่าพระพุทธเจ้าก็โปรดแผ่เมตตาแก่ พญานาค ด้านพญานาคก็ออ่ นฤทธิล์ ง ยอมแพ้ พระอานนท์กไ็ ด้นา�้ สะอาด มาถวายแด่พระพุทธเจ้าและเหล่าพระอรหันต์ พญานาคได้เกิดศรัทธา เลื่อมใส ได้ควักเอาลูกตาทั้งสองข้างถวายแก่พระพุทธเจ้า แล้วทูลลา ไปเมืองบาดาล ทันใดนัน้ ก็เกิดปาฏิหาริยต์ าทิพย์เกิดแสงสว่างแจ้งเป็น หลายเท่าแก่พญานาค พญานาคได้ยกเอาก้อนหินแสงข้าวผุดแผ่นดิน ขึน้ มา (หินก้อนนัน้ ใหญ่ขนาดเท่าวาวงแขนคน) แล้วขอให้พระพุทธเจ้า เอาพระบาทข้างซ้ายประทับลงบนก้อนหินนัน้ เรียกว่า ลูกแสงแก้วข้าว (รอยเท้านัน้ ขนาดกว้าง 26 นิว้ ฟุต ยาวขนาด 65 นิว้ ฟุต) ให้ไว้เพือ่ เป็น ที่สักการะกราบไหว้แก่มนุษย์และเทวดาตลอดห้าพันปีสืบไป จากนั้น พระพุทธเจ้าพร้อมพระอรหันต์ทงั้ หลายก็ได้เสด็จไปยังเมืองอังครัฐนคร (อ�าเภอจอมทองในปัจจุบันนี้) ต่อมาปลายปี พ.ศ.1200 พระนางจามเทวีได้นา� เหล่าไพร่พลทหาร มาตัง้ พักทัพ ณ ต�าบลแห่งนี ้ ซึง่ เป็นช่วงฤดูแล้งพอดี แม่นา�้ ปิงได้แห้งหอด (ค�าว่าหอด ได้เพีย้ นเป็นฮอด จึงเป็นทีม่ าของชือ่ อ�าเภอฮอด ในปัจจุบนั นี)้ ซึ่งเรือที่พระนางจามเทวีเดินทางมาจากเมืองละโว้ (ลพบุรี)ไม่สามารถ จะเดินทางไปเมืองหริภญุ ชัย (ล�าพูน ในปัจจุบนั ) ต่อไปได้ พระนางจามเทวี จึงได้ให้ไพร่พลทหารของพระองค์ สร้างองค์พระเจ้าโท้สถูปเจดียใ์ หญ่นอ้ ย (รวมทัง้ เจดียส์ งู ) ไว้ทเี่ มืองพิสดารนครแห่งนี ้ จ�านวน 89 เจดีย ์ พร้อมทัง้ บูรณะซ่อมแซมปฏิสังขรณ์รอยพระบาทและสิ่งปลูกสร้างทั้งหลายใน วัดให้ดีดังเดิม เพื่ออุทิศส่วนบุญกุศลเพื่อถวายแก่บรรดาไพร่พลทหาร ของพระนางทีเ่ สียชีวติ ในระหว่างการเดินทางทีจ่ ะไปครองเมืองหริภญุ ชัย (ล�าพูน) ในครัง้ นัน้ ต่อมาในปี พ.ศ. 2467 ครูบาเจ้าศรีวชิ ยั (ตนบุญแห่งล้านนา) พร้อมด้วยศิษยานุศิษย์ ศรัทธาทั้งหลายได้มาบูรณะสร้างวิหารครอบ รอยพระพุทธบาทแก้วข้าว (ในการบูรณะครั้งนั้น ขอครูบาเจ้าศรีวิชัย ท่านมานั่งเป็นประธานการบูรณะวัดจนกระทั่งการบูรณะแล้วเสร็จ) สถาปัตยกรรมทั้งวิหาร ก�าแพงและสิงห์คู่หน้าประตูเข้าวัดตามที่เห็น ประจักษ์มาจนถึงปัจจุบันนี้ ในปี พ.ศ. 2468 ครูบาอภิชยั ขาวปี พร้อมด้วยศิษยานุศษิ ย์ ได้เข้ามา ช่วยกันปรับพื้นที่ในเขตบริเวณพุทธาวาสให้ราบ มาจนถึงปัจจุบัน ประมาณปี พ.ศ.2525–2535 พระเดชพระคุณพระพรหมมงคล (หลวงปู่ทอง สิริมงคโล) สมณศักดิ์ขณะนั้น พระครูพิพัฒน์คณาภิบาล เจ้าคณะอ�าเภอฮอด ได้ปรึกษากับคณะสงฆ์อ�าเภอฮอดและอ�าเภอ ดอยเต่า ได้ร่วมกันปฏิบัติธรรมและปรับปรุงเสนาสนะสถานในบริเวณ เขตพุทธาวาสและจัดให้มพี ระภิกษุอยูจ่ า� พรรษาเรือ่ ยมาจนถึงปัจจุบัน ปี พ.ศ. 2531-2532 คุณแม่สมศรี วังทองค�า เป็นเจ้าภาพหลัก บูรณะปฏิสังขรณ์วิหารครอบรอยพระพุทธบาท และในปี พ.ศ. 2561 ลูกหลานคุณแม่สมศรี วังทองค�า ได้มาบูรณะอีกครั้ง CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

385


ท่องเที่ยวทางใจ 1422 วัด "ดอยสุเทพเป็นศรี ประเพณีเป็นสง่า บุปผชาติล้วนงามตา นามล�้าค่านครพิงค์"

1422 วั ด

CH I AN G M AI

จังหวัดเชียงใหม่

อ�ำเภอเมืองเชียงใหม่ วัดกู่ค�ำ ต�ำบลวัดเกตุ วัดกู่เต้ำ ต�ำบลศรีภูมิ วัดเกตกำรำม (เกตุกำรำม) ต�ำบลวัดเกตุ

วัดเกำะกลำง ม.8 ต�ำบลป่ำแดด วัดข่วงสิงห์ ม.3 ต�ำบลช้ำงเผือก วัดขะจำว ม.2 ต�ำบลฟ้ำฮ่ำม วัดควรค่ำม้ำ ต�ำบลศรีภูมิ วัดเจ็ดยอด ม.2 ต�ำบลช้ำงเผือก วัดเจ็ดลิน เจ็ดลิน ต�ำบลพระสิงห์ วัดเจดีย์หลวง ต�ำบลพระสิงห์ วัดชมพู ต�ำบลช้ำงม่อย วัดชัยมงคล ต�ำบลช้ำงคลำน วัดชัยศรีภูมิ ม.1 ต�ำบลช้ำงม่อย วัดช่ำงเคี่ยน ต�ำบลช้ำงเผือก วัดช่ำงฆ้อง ต�ำบลช้ำงคลำน วัดช่ำงแต้ม ต�ำบลพระสิงห์ วัดช่ำงทอง บ้ำนต้นกุก ม.7 ต�ำบลสุเทพ วัดเชตวัน ต�ำบลช้ำงม่อย วัดเชตุพน ต�ำบลวัดเกตุ วัดเชียงมั่น ต�ำบลศรีภูมิ วัดเชียงยืน บ้ำนเชียงยืน ต�ำบลศรีภมู ิ วัดดวงดี ม.2 ต�ำบลศรีภูมิ วัดดอกค�ำ ต�ำบลศรีภูมิ วัดดอกเอื้อง ต�ำบลศรีภูมิ วัดดอนจั่น ม.4 ต�ำบลท่ำศำลำ วัดดอนชัย ม.4 ต�ำบลป่ำแดด วัดดับภัย ม.1 ต�ำบลศรีภูมิ วัดดำวดึงษ์ ต�ำบลหำยยำ วัดต้นตำลโตน

386

บ้ำนวรุณนิเวศน์ ม.12 ต�ำบลป่ำแดด วัดต้นปิน ม.5 ต�ำบลแม่เหียะ วัดต�ำหนัก ม.1 ต�ำบลแม่เหียะ วัดทรำยมูลพม่ำ ต�ำบลพระสิงห์ วัดทรำยมูลเมือง ต�ำบลพระสิงห์ วัดท่ำกระดำษ ม.1 ต�ำบลฟ้ำฮ่ำม วัดท่ำข้ำม ม.4 ต�ำบลแม่เหียะ วัดท่ำเดื่อ ม.6 ต�ำบลสันผีเสื้อ วัดท่ำสะต๋อย ต�ำบลวัดเกตุ วัดท่ำหลุก ม.7 ต�ำบลสันผีเสื้อ วัดท่ำใหม่อิ ม.5 ต�ำบลป่ำแดด วัดทุงยู ต�ำบลศรีภูมิ วัดธำตุค�ำ ต�ำบลหำยยำ วัดนันทำรำม ต�ำบลหำยยำ

วัดนำบุญธรรมำรำม

บ้ำนป่ำข่อยเหนือ ม.1 ต�ำบลสันผีเสื้อ

วัดบวกครกน้อย ม.5 ต�ำบลหนองป่ำครั่ง

วัดบวกครกหลวง บ้ำนบวกครกหลวง ม.1 ต�ำบลท่ำศำลำ วัดบ้ำนท่อ ม.2 ต�ำบลป่ำตัน วัดบ้ำนปิง ต�ำบลศรีภูมิ วัดบุพพำรำม ต�ำบลช้ำงคลำน วัดปรำสำท ต�ำบลศรีภูมิ วัดปันเสำ ต�ำบลสุเทพ วัดป่ำข่อยใต้ ม.2 ต�ำบลสันผีเสื้อ

วัดป่ำข่อยเหนือ

บ้ำนป่ำข่อยเหนือ ม.1 ต�ำบลสันผีเสื้อ วัดป่ำชี ม.3 ต�ำบลแม่เหียะ วัดป่ำแดงมหำวิหำร ม.8 ต�ำบลสุเทพ

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

ดอยสุเทพเป็นศรี ประเพณีเป็นสง่า บุปผชาติล้วนงามตา นามล�้าค่านครพิงค์ วัดป่ำแดด ม.3 ต�ำบลป่ำแดด วัดป่ำตัน ม.4 ต�ำบลป่ำตัน วัดป้ำนปิง ต�ำบลศรีภูมิ วัดป่ำเป้ำ ต�ำบลศรีภูมิ วัดบ้ำนท่อ ม.2 ต�ำบลป่ำตัน วัดบ้ำนปิง ต�ำบลศรีภูมิ วัดบุพพำรำม ต�ำบลช้ำงคลำน วัดป่ำพร้ำวนอก ม.2 ต�ำบลป่ำแดด วัดป่ำพร้ำวใน ต�ำบลศรีภูมิ วัดป่ำแพ่ง ต�ำบลช้ำงม่อย วัดโป่งน้อย บ้ำนโป่งน้อย ม.13 ต�ำบลสุเทพ วัดผ้ำขำว บ้ำนผ้ำขำว ต�ำบลพระสิงห์ วัดผำบ่อง ต�ำบลศรีภูมิ วัดผำลำด ม.1 ต�ำบลสุเทพ วัดฝำยหิน ม.1 ต�ำบลสุเทพ วัดพระครู ต�ำบลศรีภูมิ วัดพระเจ้ำเม็งรำย ต�ำบลพระสิงห์ วัดพระธำตุดอยค�ำ ม.3 ต�ำบลแม่เหียะ วัดพระธำตุดอยสุเทพ ม.9 ต�ำบลสุเทพ วัดพระสิงห์ ต�ำบลพระสิงห์ วัดพวกช้ำง ต�ำบลหำยยำ วัดพวกแต้ม ต�ำบลพระสิงห์ วัดพวกเปีย ต�ำบลหำยยำ วัดพวกหงส์ ต�ำบลพระสิงห์ วัดพันตอง ต�ำบลช้ำงคลำน วัดพันเตำ ต�ำบลพระสิงห์ วัดพันแหวน ต�ำบลพระสิงห์ วัดพันอ้น ต�ำบลพระสิงห์ วัดฟ่อนสร้อย ต�ำบลพระสิงห์

วัดมหำวัน ต�ำบลช้ำงคลำน วัดเมธัง ต�ำบลพระสิงห์ เมืองกำย ต�ำบลวัดเกตุ วัดเมืองมำง ต�ำบลหำยยำ วัดเมืองลัง ม.3 ต�ำบลป่ำตัน วัดเมืองสำตรน้อย ม.5 ต�ำบลหนองหอย

วัดเมืองสำตรหลวง บ้ำนเมืองสำตร ต�ำบลหนองหอย วัดแม่หยวก ต�ำบลช้ำงเผือก วัดยำงกวง บ้ำนหำยยำ ต�ำบลหำยยำ วัดร้องอ้อ ม.3 ต�ำบลสันผีเสื้อ

วัดรำชมณเฑียร

149 ถ.ศรีภูมิ ต�ำบลศรีภูมิ วัดร�่ำเปิง ม.5 ต�ำบลสุเทพ วัดลอยเครำะห์ ต�ำบลช้ำงคลำน วัดลังกำ ต�ำบลฟ้ำฮ่ำม วัดล่ำมช้ำง บ้ำนล่ำมช้ำง ต�ำบลศรีภมู ิ

วัดโลกโมฬี

บ้ำนช้ำงเผือก ม.- ต�ำบลศรีภมู ิ วัดวังสิงห์ค�ำ ม.6 ต�ำบลป่ำแดด วัดศรีเกิด ต�ำบลพระสิงห์ วัดศรีโขง ต�ำบลวัดเกตุ วัดศรีดอนไชย ต�ำบลช้ำงคลำน วัดศรีบัวเงิน ม.2 ต�ำบลท่ำศำลำ วัดศรีบญ ุ เรือง ม.2 ต�ำบลหนองหอย วัดศรีปิงเมือง ต�ำบลหำยยำ วัดศรีสุพรรณ ต�ำบลหำยยำ วัดศรีโสดำ ม.2 ต�ำบลสุเทพ วัดสระปทุม ต�ำบลพระสิงห์

วัดสวนดอก ม.3 ต�ำบลสุเทพ วัดสวนพริก บ้ำนแม่เหียะใน ม.3 ต�ำบลแม่เหียะ วัดสันติธรรม ม.5 ต�ำบลช้ำงเผือก วัดสันทรำย ม.1 ต�ำบลฟ้ำฮ่ำม วัดสันป่ำข่อย ต�ำบลวัดเกตุ วัดสันป่ำเลียง ม.4 ต�ำบลหนองหอย วัดส�ำเภำ ต�ำบลศรีภมู ิ วัดเสำหิน ม.3 ต�ำบลหนองหอย วัดแสนฝำง ต�ำบลช้ำงม่อย วัดแสนเมืองมำหลวง ต�ำบลศรีภมู ิ วัดหนองค�ำ ต�ำบลช้ำงม่อย

วัดหนองป่ำครั่ง

ม.2 ต�ำบลหนองป่ำครั่ง วัดหม้อค�ำตวง ต�ำบลศรีภมู ิ วัดหมื่นเงินกอง ต�ำบลพระสิงห์ วัดหมื่นตูม ต�ำบลพระสิงห์ วัดหมื่นล้ำน ต�ำบลศรีภมู ิ วัดหมื่นสำร ต�ำบลหำยยำ วัดหัวฝำย ต�ำบลช้ำงคลำน

วัดใหม่ห้วยทรำย

บ้ำนห้วยทรำย ม.4 ต�ำบลสุเทพ

วัดอินทขิน บ้ำนศรีภมู ิ ม.2 ต�ำบลศรีภมู ิ วัดอุโบสถ ม.2 ต�ำบลแม่เหียะ วัดอุปคุต ต�ำบลช้ำงคลำน วัดอุโมงค์ ต�ำบลศรีภมู ิ

วัดอุโมงค์สวนพุทธธรรม

บ้ำนอุโมงค์ ม.10 ต�ำบลสุเทพ วัดอู่ทรำยค�ำ ต�ำบลช้ำงม่อย


THE IMPORTANT TEMPLES CHIANG MAI

อ�ำเภอกัลยำณิวฒ ั นำ วัดขุนแม่รวม

วัดสบแม่แดด

บ้ำนขุนแม่รวม ม.1 ต�ำบลแจ่มหลวง

บ้ำนห้วยปู ม.5 ต�ำบลแม่แดด

วัดจันทร์

วัดเสำแดง

บ้ำนวัดจันทร์ ม.3 ต�ำบลบ้ำนจันทร์

บ้ำนเสำแดง ม.7 ต�ำบลแจ่มหลวง

วัดบ้ำนเด่น

วัดห้วยบง

บ้ำนเด่น ม.7 ต�ำบลบ้ำนจันทร์

บ้ำนหนองเจ็ดหน่วย ม.4 ต�ำบลบ้ำนจันทร์

วัดบ้ำนเด่น บ้ำนเด่น ม.7 ต�ำบลบ้ำนจันทร์

วัดแม่แดดน้อย วัดแม่แดดน้อย ม.4 ต�ำบลแม่แดด วัดแม่ผำปู

วัดห้วยปู บ้ำนห้วยปู ม.5 ต�ำบลแม่แดด

วัดห้วยฮ่อม บ้ำนห้วยฮ่อม ม.1 ต�ำบลบ้ำนจันทร์

บ้ำนแม่ผำปู ม.1 ต�ำบลแม่แดด

อ�ำเภอจอมทอง วัดข่วงเปำ ม.4 ต�ำบลข่วงเปำ วัดข่วงเปำใต้ ม.6 ต�ำบลบ้ำนแปะ วัดขะแมด ม.2 ต�ำบลข่วงเปำ วัดเจดีย์แม่หม้ำย

บ้ำนปะ ม.14 ต�ำบลบ้ำนหลวง วัดเชิงดอย ม.11 ต�ำบลบ้ำนหลวง

วัดดงเย็น

บ้ำนดงเย็น ม.11 ต�ำบลบ้ำนแปะ วัดดอยแก้ว ม.2 ต�ำบลดอยแก้ว

วัดดอยน้อย

บ้ำนแม่กลำง ม.1 ต�ำบลดอยแก้ว

วัดดอยพระเจ้ำ

บ้ำนกู่ฮ้อ ม.21 ต�ำบลบ้ำนหลวง วัดท่ำข้ำม ม.7 ต�ำบลบ้ำนแปะ วัดท่ำต้นแหน ม.6 ต�ำบลดอยแก้ว

วัดท่ำศำลำ

บ้ำนท่ำศำลำ ม.3 ต�ำบลข่วงเปำ

วัดท่ำหลุกวังปลำสร้อย

บ้ำนท่ำหลุก ม.4 ต�ำบลสบเตี๊ยะ วัดทุ่งปูน ม.10 ต�ำบลสบเตี๊ยะ

วัดเทพเจติยำจำรย์

บ้ำนหล่ำยกลำง ม.10 ต�ำบลบ้ำนหลวง วัดแท่นค�ำ ม.1 ต�ำบลบ้ำนหลวง วัดนำกบ ม.2 ต�ำบลบ้ำนแปะ

วัดน�้ำตกแม่กลำง

ม.10 ต�ำบลบ้ำนหลวง

วัดน�้ำต้อง

บ้ำนแม่หอย ม.10 ต�ำบลบ้ำนหลวง

วัดน�้ำลัด

บ้ำนน�้ำลัด ม.13 ต�ำบลบ้ำนหลวง

วัดบ่อแฝด

บ้ำนกู่ฮ่อสำมัคคี ม.21 ต�ำบลบ้ำนหลวง

วัดบ้ำนแปะ ม.4 ต�ำบลบ้ำนแปะ วัดบ้ำนใหม่สำรภี บ้ำนใหม่สำรภี ม.4 ต�ำบลแม่สอย

วัดโบสถ์

บ้ำนหัวเสือ ม.12 ต�ำบลบ้ำนหลวง วัดพระเกิ๊ด ม.13 ต�ำบลบ้ำนหลวง

วัดพระธำตุศรีจอมทอง ม.2 ต�ำบลบ้ำนหลวง

วัดพระบำท

ม.12 ต�ำบลบ้ำนหลวง วัดพุทธนิมิตร ม.6 ต�ำบลสบเตี๊ยะ วัดมงคลวำรี ม.1 ต�ำบลข่วงเปำ วัดม่อนหิน ม.3 ต�ำบลบ้ำนแปะ วัดเมืองกลำง ม.11 ต�ำบลบ้ำนหลวง

วัดแม่สอย(แม่สรวย) ม.3 ต�ำบลแม่สอย

วัดโมคคัลลำน ม.3 ต�ำบลสบเตี๊ยะ โรงวัว ม.5 ต�ำบลแม่สอย วัดล้ำนนำญำณสังวรำรำม ม.4 ต�ำบลข่วงเปำ วัดวังจ�ำปำ ม.5 ต�ำบลสบเตี๊ยะ วัดวังดิน ม.7 ต�ำบลข่วงเปำ วัดวังน�้ำหยำด ม.2 ต�ำบลแม่สอย วัดวังปำน ม.4 ต�ำบลสบเตี๊ยะ วัดศรีอัมพวันรัตนำรำม บ้ำนท่ำ วัดกอม่วง ม.10 ต�ำบลบ้ำนแปะ วัดสบแจ่ม ม.8 ต�ำบลบ้ำนแปะ

วัดสบสอย ม.3 ต�ำบลแม่สอย วัดสันไก่แจ้

ม.11 ต�ำบลบ้ำนแปะ วัดสบเตี๊ยะ ม.1 ต�ำบลสบเตี๊ยะ

วัดหำดนำค

บ้ำนกู่ฮ่อสำมัคคี ม.21 ต�ำบลบ้ำนหลวง วัดหนองคัน ม.1 ต�ำบลแม่สอย วัดหนองอำบช้ำง บ้ำนหนองอำบ วัดช้ำง ม.9 ต�ำบลสบเตี๊ยะ

วัดห้วยโจ้

บ้ำนห้วยโจ้ ม.8 ต�ำบลสบเตี๊ยะ

วัดห้วยตองสัก

วัดสบแจ่มฝั่งซ้ำย

ม.15 ต�ำบลข่วงเปำ วัดห้วยม่วง ม.11 ต�ำบลสบเตี๊ยะ

วัดสบแปะ

บ้ำนดงหำดนำค ม.7 ต�ำบลสบเตี๊ยะ วัดใหม่สันตึง ม.8 ต�ำบลข่วงเปำ

บ้ำนสบแปะ ม.1 ต�ำบลบ้ำนแปะ

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

387


ท่องเที่ยวทางใจ 1422 วัด "ดอยสุเทพเป็นศรี ประเพณีเป็นสง่า บุปผชาติล้วนงามตา นามล�้าค่านครพิงค์"

อ�ำเภอไชยปรำกำร วัดกิ่วจ�ำปี ม.11 ต�ำบลศรีดงเย็น วัดฉิมพลีวัน ม.3 ต�ำบลแม่ทะลบ วัดเชียงหมั้น ม.15 ต�ำบลศรีดงเย็น วัดดอยหล่อ ม.4 ต�ำบลแม่ทะลบ วัดเด่นสำมัคคี

วัดบ้ำนปง ม.7 ต�ำบลหนองบัว วัดบุณฑริกำวำส

บ้ำนเด่น ม.1 ต�ำบลหนองบัว วัดต้นโชค ม.5 ต�ำบลหนองบัว วัดถ�้ำตับเตำ ม.13 ต�ำบลศรีดงเย็น วัดทรำยขำว ม.16 ต�ำบลศรีดงเย็น วัดทุ่งยำว ม.7 ต�ำบลปงต�ำ

บ้ำนหนองป่ำซำง ม.8 ต�ำบลศรีดงเย็น วัดป่ำไม้แดง ม.9 ต�ำบลหนองบัว วัดพระธำตุจอมคีรี ม.1 ต�ำบลแม่ทะลบ วัดมหิงสำวำส ม.3 ต�ำบลปงต�ำ วัดศรีดงเย็น ม.3 ต�ำบลศรีดงเย็น

บ้ำนมิตรอรัญ ม.4 ต�ำบลปงต�ำ วัดบ้ำนปง ม.7 ต�ำบลหนองบัว วัดบุณฑริกำวำส ม.3 ต�ำบลหนองบัว วัดปงต�ำ ม.1 ต�ำบลปงต�ำ

บ้ำนอ่ำย ม.5 ต�ำบลศรีดงเย็น วัดสันทรำย ม.8 ต�ำบลศรีดงเย็น วัดสุกำวำส ม.7 ต�ำบลศรีดงเย็น วัดสุปัฎนำรำม ม.2 ต�ำบลปงต�ำ วัดหนองเทียนค�ำ ม.16 ต�ำบลศรีดงเย็น

วัดบ่อสร้ำง

วัดประตูโขง

บ้ำนหนองป่ำซำง ม.8 ต�ำบลศรีดงเย็น วัดปักกัณตำวำส ม.1 ต�ำบลแม่ทะลบ วัดป่ำแดง ม.2 ต�ำบลแม่ทะลบ

วัดบ่อสร้ำง

บ้ำนมิตรอรัญ ม.4 ต�ำบลปงต�ำ

ม.3 ต�ำบลหนองบัว วัดปงต�ำ ม.1 ต�ำบลปงต�ำ

วัดประตูโขง

วัดสันต้นเปำ

วัดห้วยม่วง

บ้ำนห้วยม่วง ม.6 ต�ำบลปงต�ำ วัดหัวฝำย ม.10 ต�ำบลศรีดงเย็น วัดอรัญญวำสี ม.4 ต�ำบลปงต�ำ วัดอินทำรำม ม.4 ต�ำบลศรีดงเย็น

อ�ำเภอเชียงดำว วัดม่วงค�ำ

บ้ำนสัน ม.10 ต�ำบลเมืองงำย วัดจอมคีรี ม.3 ต�ำบลแม่นะ

บ้ำนโรงวัว ม.12 ต�ำบลเชียงดำว

วัดเจริญรำษฎร์

ม.11 ต�ำบลเชียงดำว วัดใจ ม.6 ต�ำบลเชียงดำว วัดชัยมงคล ม.5 ต�ำบลเมืองงำย วีดเชียงมั่น ม.2 ต�ำบลเมืองงำย วัดเชียงยืน ม.1 ต�ำบลเมืองงำย

วัดดอนศรีสะอำด

ม.2 ต�ำบลเชียงดำว วัดดับภัย ม.1 ต�ำบลเชียงดำว วัดถ�้ำเชียงดำว ม.5 ต�ำบลเชียงดำว

วัดถ�้ำปำกเปียง

บ้ำนถ�้ำ ม.5 ต�ำบลเชียงดำว

วัดนันติยำรำม

บ้ำนเชียงดำว ม.6 ต�ำบลเชียงดำว

วัดรำษฎร์ประดิษฐ์ ม.1 ต�ำบลแม่นะ

วัดโละป่ำหำญ ม.4 ต�ำบลเมืองนะ วัดเวฬุวัน ม.1 ต�ำบลเมืองนะ วัดศรีดอนชัย ม.2 ต�ำบลแม่นะ วัดศรีทรำยมูล ม.8 ต�ำบลเชียงดำว วัดศรีบุญเรือง ม.3 ต�ำบลเมืองงำย วัดศรีอุ่นเมือง ม.8 ต�ำบลแม่นะ วัดศิริมงคล ม.4 ต�ำบลแม่นะ วัดสว่ำงมงคล บ้ำนห้วยทรำยขำว ม.5 ต�ำบลทุ่งข้ำวพวง วัดสว่ำงอำรมณ์ ม.7 ต�ำบลแม่นะ

วัดสะอำดชัยศรี

วัดปำงเฟือง

บ้ำนแม่ข้อน ม.4 ต�ำบลเมืองงำย วัดห้วยตีนตั่ง ม.7 ต�ำบลทุ่งข้ำวพวง

ม.2 ต�ำบลปิงโค้ง วัดปำงมะโอ ม.9 ต�ำบลแม่นะ

วัดห้วยเป้ำ

บ้ำนห้วยเป้ำ ม.1 ต�ำบลทุ่งข้ำวพวง

วัดป่ำดอยเสียงธรรม

วัดห้วยไส้

บ้ำนแม่แมะ ม.11 ต�ำบลแม่นะ วัดป่ำแดง บ้ำนเชียงดำว ม.6 ต�ำบลเชียงดำว

บ้ำนห้วยไส้ ม.7 ต�ำบลเมืองนะ วัดอัมพวัน ม.3 ต�ำบลเชียงดำว

วัดป่ำธำรำภิรมย์

ม.9 ต�ำบลเมืองงำย วัดอินทำรำม ม.7 ต�ำบลเชียงดำว

วัดพระนอนสบคำบ บ้ำนสบคำบ ม.6 ต�ำบลแม่นะ

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

วัดแม่อีด

ม.3 ต�ำบลทุ่งข้ำวพวง วัดนำหวำย ม.3 ต�ำบลเมืองนะ

บ้ำนไตรสภำวคำม ม.5 ต�ำบลปิงโค้ง

388

อ�ำเภอเชียงม่วน

วัดกลำงทุ่ง

วัดอัมพำรำม วัดอุตตำรำม

บ้ำนวังจ๊อม ม.4 ต�ำบลเชียงดำว


THE IMPORTANT TEMPLES CHIANG MAI

อ�ำเภอดอยสะเก็ด วัดกัญจน์นิธยำรำม ม.10 ต�ำบลแม่โป่ง วัดก�ำแพงหิน บ้ำนปำงก�ำแพงหิน ม.8 ต�ำบลเทพเสด็จ วัดกู่ม่ำน บ้ำนสันทุ่งใหม่ ม.14 ต�ำบลสันปูเลย

วัดเจติยำนุสรณ์ ม.11 ต�ำบลสันปูเลย วัดชยำลังกำร์ ม.4 ต�ำบลป่ำป้อง วัดชัยประดิษฐ์ บ้ำนป่ำตึงน้อย ม.1 ต�ำบลป่ำป้อง วัดชัยสถำน ม.6 ต�ำบลสันปูเลย

วัดเทพินทรำรำม ม.4 ต�ำบลแม่คือ วัดนำคำสถิตย์ ม.6 ต�ำบลแม่คือ วัดนำถส�ำรำญ ม.5 ต�ำบลเชิงดอย วัดน�้ำแพร่ ม.2 ต�ำบลป่ำลำน วัดนิวำสไพรสณฑ์ บ้ำนกิ่วแล ม.11 ต�ำบลเชิงดอย วัดบ้ำนถ�้ำ ม.3 ต�ำบลตลำดขวัญ วัดบ้ำนโป่ง บ้ำนโป่งสำมัคคี ม.6 ต�ำบลป่ำเมี่ยง

วัดปทุมสรำรำม

วัดดอยกู่(พระธำตุดอยกู่)

ม.12 ต�ำบลเชิงดอย วัดปำงอั้น บ้ำนปำงอั้น ม.1 ต�ำบลป่ำเมี่ยง วัดปำงไฮ บ้ำนปำงไฮ ม.7 ต�ำบลเทพเสด็จ วัดป่ำไผ่ศรีโขง ม.10 ต�ำบลเชิงดอย วัดป่ำฝำง ม.4 ต�ำบลสง่ำบ้ำน วัดบ้ำนถ�้ำ ม.3 ต�ำบลตลำดขวัญ

ม.1 ต�ำบลเชิงดอย

วัดบ้ำนโป่ง

วัดดอยจอมแจ้ง(จอมแจ้ง)

บ้ำนโป่งสำมัคคี ม.6 ต�ำบลป่ำเมี่ยง

ม.1 ต�ำบลแม่โป่ง

วัดปทุมสรำรำม

วัดดอยปล่อยนก ม.4 ต�ำบลแม่โป่ง วัดตำดเหมย ม.6 ต�ำบลป่ำเมี่ยง วัดถำวรรังสี

ม.12 ต�ำบลเชิงดอย

วัดไชยพฤกษำวำส ม.3 ต�ำบลแม่คือ วัดดวงดี ม.6 ต�ำบลป่ำป้อง วัดดอกแดง ม.1 ต�ำบลสง่ำบ้ำน วัดดอนชัย ม.7 ต�ำบลสันปูเลย

บ้ำนม่วงโตน ม.4 ต�ำบลแม่ฮ้อยเงิน

วัดป่ำยำง บ้ำนป่ำยำง ม.7 ต�ำบลป่ำป้อง วัดป่ำลำน ม.2 ต�ำบลป่ำลำน

วัดป่ำสักงำม บ้ำนป่ำสักงำม ม.1 ต�ำบลลวงเหนือ วัดป่ำแพ่ง บ้ำนแม่คอื ม.2 ต�ำบลแม่คอื

วัดป่ำสักหลวง

วัดแม่โป่ง ม.4 ต�ำบลแม่โป่ง วัดแม่หวำน ม.3 ต�ำบลป่ำเมี่ยง วัดแม่ฮ่องไคร้ ม.8 ต�ำบลแม่โป่ง วัดแม่ฮ้อยเงิน บ้ำนแม่ฮ้อยเงินใต้

ม.3 ต�ำบลส�ำรำญรำษฎร์ วัดป่ำเหมือด บ้ำนป่ำเหมือด ม.5 ต�ำบลส�ำรำญรำษฎร์ วัดปิตยำรำม ม.4 ต�ำบลป่ำลำน วัดโป่งน�้ำร้อน บ้ำนโป่งกุ่ม ม.4 ต�ำบลป่ำเมี่ยง วัดฝั่งหมิ่น บ้ำนทุ่งกอลำน ม.10 ต�ำบลลวงเหนือ วัดพงษ์ทอง บ้ำนพงษ์ทอง ม.5 ต�ำบลเทพเสด็จ วัดพรหมจริยำรำม บ้ำนแม่ก๊ะ ม.2 ต�ำบลตลำดใหญ่

ม.2 ต�ำบลแม่ฮ้อยเงิน วัดยำงทอง ม.4 ต�ำบลสันปูเลย วัดร้องขี้เหล็ก ม.7 ต�ำบลเชิงดอย วัดรังษีสุทธำวำส ม.8 ต�ำบลเชิงดอย

วัดสันปูเลยสะหลีเวียงแก้ว ม.1 ต�ำบลสันปูเลย

วัดสันโป่ง ม.8 ต�ำบลส�ำรำญรำษฎร์ วัดสันมะเกี๋ยง บ้ำนสันมะเกี๋ยง ม.6 ต�ำบลส�ำรำญรำษฎร์

วัดสำรคำมรังสรรค์ ม.3 ต�ำบลลวงเหนือ

วัดรัตนปัญญำรังสิตย์

วัดสำรภี

ม.2 ต�ำบลสันปูเลย วัดวังธำร ม.2 ต�ำบลลวงเหนือ

บ้ำนแพะแม่คือ ม.1 ต�ำบลแม่คือ วัดสุขเกษม ม.9 ต�ำบลเชิงดอย

วัดวำรีสุทธำวำส (รังษีสุทธำวำส)

วัดสุขวิเวกำรำม

บ้ำนร้องขุ่น ม.10 ต�ำบลสันปูเลย วัดวำลุกำรำม ม.4 ต�ำบลตลำดขวัญ วัดศรีชยำรำม ม.1 ต�ำบลตลำดใหญ่ วัดศรีดอนดู่ ม.2 ต�ำบลตลำดใหญ่

ม.6 ต�ำบลลวงเหนือ

วัดพระธำตุดอยสะเก็ด

วัดศรีทรำยมูล

ม.3 ต�ำบลสง่ำบ้ำน

ม.3 ต�ำบลเชิงดอย วัดพันหลัง บ้ำนพันหลัง ม.4 ต�ำบลส�ำรำญรำษฎร์ โพธิ์ทองเจริญ ม.2 ต�ำบลเชิงดอย ไพรสณฑ์สว่ำง ม.2 ต�ำบลป่ำป้อง มงคลวรำรำม ม.7 ต�ำบลลวงเหนือ มหำวนำภิมุข ม.4 ต�ำบลตลำดใหญ่ วัดแม่คือ ม.2 ต�ำบลแม่คือ

บ้ำนสันทรำย ม.3 ต�ำบลแม่ฮ้อยเงิน วัดศรีประดิษฐ์ ม.4 ต�ำบลเชิงดอย วัดศรีประดู่ ม.1 ต�ำบลป่ำลำน วัดศรีมุงเมือง ม.4 ต�ำบลลวงเหนือ วัดศรีสวัสดิ์ ม.5 ต�ำบลสันปูเลย

วัดหิรัญญำวำส

วัดศิริมังคลำรำม

วัดแม่ตอน

วัดสันต้นม่วงเหนือ

บ้ำนห้วยบอน ม.3 ต�ำบลแม่โป่ง วัดอมรำรำม ม.6 ต�ำบลเชิงดอย วัดอัมพวัน ม.9 ต�ำบลสันปูเลย

บ้ำนแม่ตอน ม.4 ต�ำบลเทพเสด็จ

ม.2 ต�ำบลส�ำรำญรำษฎร์

ม.4 ต�ำบลตลำดขวัญ

วัดสุนทรศิริ ม.3 ต�ำบลตลำดใหญ่

วัดสุวรรณฉิมพลี บ้ำนแม่ฮ้อยเงินเหนือ ม.1 ต�ำบลแม่ฮ้อยเงิน

วัดใหม่ชลประทำนชูชำติ บ้ำนกำดใหม่ ม.2 ต�ำบลลวงเหนือ

วัดใหม่มงคลชัย

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

389


ท่องเที่ยวทางใจ 1422 วัด "ดอยสุเทพเป็นศรี ประเพณีเป็นสง่า บุปผชาติล้วนงามตา นามล�้าค่านครพิงค์"

อ�ำเภอดอยเต่ำ วัดฉิมพลีวุฒำรำม ม.3 ต�ำบลมืดกำ วัดดอยเต่ำ ม.3 ต�ำบลดอยเต่ำ วัดเด่นคำ ม.1 ต�ำบลดอยเต่ำ วัดท่ำครั่ง ม.5 ต�ำบลโปงทุ่ง วัดท่ำเดื่อ ม.4 ต�ำบลบงตัน วัดบ้ำนชั่ง ม.2 ต�ำบลท่ำเดื่อ วัดบ้ำนโท้ง ม.2 ต�ำบลบงตัน วัดบ้ำนน้อย ม.1 ต�ำบลบงตัน วัดบ้ำนบงตัน

วัดบ้ำนไร่ ม.2 ต�ำบลดอยเต่ำ วัดบ้ำนแอ่น ม.2 ต�ำบลบ้ำนแอ่น วัดประถมกำรำม ม.2 ต�ำบลมืดกำ วัดปัจฉิมกำรำม ม.1 ต�ำบลมืดกำ วัดแปลงห้ำ

บ้ำนบงตัน ม.5 ต�ำบลบงตัน

บ้ำนสันป่ำด�ำ ม.6 ต�ำบลดอยเต่ำ

วัดบ้ำนโปง

บ้ำนแปลงห้ำ ม.6 ต�ำบลท่ำเดื่อ

วัดผำจุก

วัดปำกทำงสำมัคคี

บ้ำนปำกทำงสำมัคคี ม.9 ต�ำบลดอยหล่อ

390

บ้ำนวังหลวง ม.4 ต�ำบลท่ำเดื่อ

วัดศรีพิงค์ชัย บ้ำนแอ่นจัดสรร ม.3 ต�ำบลบ้ำนแอ่น วัดสันติสุข ม.7 ต�ำบลดอยเต่ำ

บ้ำนผำจุก ม.8 ต�ำบลดอยเต่ำ

วัดพระธำตุม่อนจอมธรรม

วัดหล่ำยแก้ว

บ้ำนหล่ำยแก้ว ม.3 ต�ำบลบงตัน

บ้ำนหนองบัวค�ำ ม.5 ต�ำบลท่ำเดื่อ

อ�ำเภอดอยหล่อ บ้ำนใหม่ดอนชัย ม.8 ต�ำบลยำงครำม วัดดอนชัย ม.5 ต�ำบลยำงครำม วัดดอนชื่น ม.2 ต�ำบลดอยหล่อ วัดดอยหล่อ ม.6 ต�ำบลดอยหล่อ วัดทุง่ ท้อ บ้ำนทุง่ ท้อ ม.2 ต�ำบลสองแคว วัดบ้ำนถ�้ำ ม.1 ต�ำบลยำงครำม

วัดวังหลวง

วัดพระบรมธำตุดอยเกิ้ง

บ้ำนโปง ม.4 ต�ำบลโปงทุ่ง

วัดคันธำวำส ม.3 ต�ำบลสันติสุข วัดเชตวัน

วัดพระพุทธบำทตะเมำะ ม.9 ต�ำบลโปงทุ่ง วัดพิงคำรำม ม.1 ต�ำบลบ้ำนแอ่น

วัดบ้ำนถ�้ำ ม.1 ต�ำบลยำงครำม วัดป่ำลำน ม.7 ต�ำบลสองแคว วัดป่ำลำน ม.1 ต�ำบลสันติสุข วัดป่ำสวนธรรมรส

วัดพระธำตุดอยน้อย

วัดไร่พัฒนำรำม

บ้ำนดอยน้อย ม.11 ต�ำบลดอยหล่อ

บ้ำนไร่พัฒนำ ม.16 ต�ำบลดอยหล่อ วัดวังขำมป้อม ม.7 ต�ำบลดอยหล่อ วัดศรีแดนเมือง ม.6 ต�ำบลยำงครำม วัดศรีทรำยมูล ม.5 ต�ำบลยำงครำม

วัดพระธำตุดอยหล่อ บ้ำนดอยหล่อ ม.6 ต�ำบลดอยหล่อ

วัดพระป่ำ บ้ำนดอนชื่น ม.24 ต�ำบลดอยหล่อ

บ้ำนสันติสุข ม.6 ต�ำบลสันติสุข

วัดฟ้ำหลั่ง

วัดป่ำสันติสุข

ม.1 ต�ำบลดอยหล่อ

วัดศิลำมงคล

บ้ำนหนองเหียง ม.2 ต�ำบลสันติสุข วัดสันคะยอม ม.12 ต�ำบลดอยหล่อ

วัดสิริมังคลำจำรย์

บ้ำนใหม่หนองหอย ม.6 ต�ำบลสันติสขุ

วัดม่อนห้วยแก้ว

วัดป่ำอัมพวัน

บ้ำนหลังม่อน ม.14 ต�ำบลดอยหล่อ

บ้ำนสิริมังคลำจำรย์ ม.13 ต�ำบลดอยหล่อ

วัดยำงครำม

วัดหนองหงอก

บ้ำนยำงครำม ม.3 ต�ำบลยำงครำม

บ้ำนห้วยทัง ม.12 ต�ำบลดอยหล่อ

บ้ำนโทกเสือ ม.18 ต�ำบลดอยหล่อ

วัดพระธำตุโขงขำว บ้ำนสำมหลัง ม.8 ต�ำบลสองแคว

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

วัดหนองหลั้ว ม.4 ต�ำบลยำงครำม วัดหนองเหียง บ้ำนหนองเหียง ม.2 ต�ำบลสันติสุข วัดหลอด ม.4 ต�ำบลดอยหล่อ

วัดหลังถ�้ำ

บ้ำนหลังถ�้ำ ม.1 ต�ำบลสองแคว วัดห้วยดินจี่ ม.5 ต�ำบลสันติสุข วัดหัวข่วง ม.6 ต�ำบลสองแคว วัดเหล่ำเป้ำ ม.14 ต�ำบลดอยหล่อ วัดใหม่พัฒนำ ม.13 ต�ำบลยำงครำม

วัดใหม่หนองหอย

บ้ำนใหม่หนองหอย ม.6 ต�ำบลสันติสขุ วัดอรัญญวำส ม.8 ต�ำบลดอยหล่อ


THE IMPORTANT TEMPLES CHIANG MAI

อ�ำเภอฝำง วัดกลำงทุ่ง

วัดต้นส้ำนสำมัคคี

บ้ำนสันป่ำไหน่ ม.9 ต�ำบลเวียง วัดคงคำนิมิตร ม.1 ต�ำบลม่อนปิ่น วัดคงคำรำม ม.6 ต�ำบลแม่ข่ำ วัดคยำนุสิทธิ์ ม.1 ต�ำบลแม่คะ วัดคลองศิลำ ม.6 ต�ำบลเวียง

ม.6 ต�ำบลสันทรำย

วัดคูหำวำรีเกษม

ม.10 ต�ำบลเวียง วัดจองแป้น ม.3 ต�ำบลเวียง วัดเจดีย์งำม ม.4 ต�ำบลเวียง วัดชยำรำม ม.8 ต�ำบลเวียง วัดชัยเกษม ม.6 ต�ำบลแม่สูน วัดเชียงยืน ม.5 ต�ำบลแม่คะ

วัดดงผักแค

บ้ำนหล่ำยฝำง ม.6 ต�ำบลแม่ข่ำ

วัดดอยเวียงน้อย บ้ำนแม่ป่ำไผ่ ม.11 ต�ำบลแม่คะ วัดต้นรุง ม.3 ต�ำบลเวียง

วัดถ�้ำห้วยบอน

บ้ำนป่ำฮิ้น ม.4 ต�ำบลบ้ำนโป่ง

วัดขำมสุ่ม บ้ำนขำมสุ่ม ม.2 ต�ำบลเวียง วัดขำมสุ่มป่ำ ม.6 ต�ำบลสันทรำย วัดเขื่อนผำก บ้ำนแพะ ม.1 ต�ำบลเขื่อนผำก

วัดเจติยบรรพต ม.1 ต�ำบลโหล่งขอด

วัดดงป่ำดะ บ้ำนเหล่ำ ม.3 ต�ำบลป่ำไหน่ วัดดงมะไฟ ม.4 ต�ำบลโหล่งขอด

วัดดอยใต้

บ้ำนดอยใต้ ม.12 ต�ำบลป่ำตุ้ม วัดดอยแม่ปั๋ง ม.5 ต�ำบลแม่ปั๋ง วัดต้นกอก ม.4 ต�ำบลป่ำตุ้ม วัดต้นรุง ม.3 ต�ำบลป่ำตุ้ม

บ้ำนศรีดอนชัย ม.7 ต�ำบลเวียง วัดแม่สูน ม.1 ต�ำบลแม่สูน วัดล้องอ้อ ม.5 ต�ำบลแม่สูน วัดวำฬุกำรำม ม.3 ต�ำบลโป่งน�้ำร้อน วัดวิเวกกำรำม ม.3 ต�ำบลแม่สูน

วัดป่ำสันกลำงพัฒนำ

บ้ำนหนองบัว ม.8 ต�ำบลม่อนปิ่น วัดปัณณำรำม ม.5 ต�ำบลเวียง

วัดพระบำทอุดม ม.3 ต�ำบลเวียง วัดโพธิ์ทอง ม.5 ต�ำบลม่อนปิ่น วัดมธุรำวำส ม.5 ต�ำบลโป่งน�้ำร้อน วัดม่วงค�ำ ม.13 ต�ำบลเวียง วัดม่วงชุม

วัดประทุมมำวำส วัดป่ำกิ่วดู่

บ้ำนป่ำแงะ ม.3 ต�ำบลแม่คะ

วัดปำงผึ้ง บ้ำนปำงผึ้ง ม.16 ต�ำบลเวียง

วัดทุ่งบวกข้ำว ม.6 ต�ำบลแม่ปั๋ง วัดทุ่งแดง ม.1 ต�ำบลโหล่งขอด วัดทุ่งน้อย บ้ำนทุ่งน้อย ม.6 ต�ำบลบ้ำนโป่ง วัดทุ่งบวกข้ำว ม.6 ต�ำบลแม่ปั๋ง วัดทุ่งหลวง ม.3 ต�ำบลทุ่งหลวง วัดทุ่งห้ำ ม.5 ต�ำบลป่ำตุ้ม วัดน�้ำแพร่ ม.4 ต�ำบลน�้ำแพร่ วัดนิคมสหกรณ์ ม.7 ต�ำบลแม่แวน วัดบ่อเต่ำ ม.3 ต�ำบลสันทรำย วัดบ้ำนดง ม.8 ต�ำบลบ้ำนโป่ง วัดบ้ำนโป่ง ม.1 ต�ำบลบ้ำนโป่ง วัดบ้ำนล้อง ม.1 ต�ำบลแม่แวน บ้ำนหม้อ ม.5 ต�ำบลทุ่งหลวง วัดบ้ำนหลวง ม.6 ต�ำบลโหล่งขอด วัดบ้ำนเหล่ำ ม.3 ต�ำบลป่ำไหน่

วัดประดู่

บ้ำนประดู่ ม.2 ต�ำบลแม่ปั๋ง

วัดประตูโขง

บ้ำนสหกรณ์ด�ำริ ม.7 ต�ำบลน�้ำแพร่ วัดทุ่งกู่ ม.2 ต�ำบลป่ำตุ้ม วัดทุ่งแดง ม.1 ต�ำบลโหล่งขอด

บ้ำนฮ่ำงต�่ำ ม.8 ต�ำบลโหล่งขอด

บ้ำนทุ่งน้อย ม.6 ต�ำบลบ้ำนโป่ง

บ้ำนป่ำแงะ ม.3 ต�ำบลแม่คะ

บ้ำนห้วยบอน ม.13 ต�ำบลเวียง วัดท่ำสะแล ม.11 ต�ำบลเวียง วัดทุ่งจ�ำลอง ม.7 ต�ำบลแม่งอน วัดเทพประสิทธิ์ ม.12 ต�ำบลแม่สูน วัดเทพอ�ำนวย ม.2 ต�ำบลเวียง วัดธัมมิกำวำส ม.2 ต�ำบลโป่งน�ำ้ ร้อน วัดนันทำรำม ม.2 ต�ำบลสันทรำย วัดบ้ำนลำน ม.15 ต�ำบลม่อนปิ่น

วัดถ�้ำดอกค�ำ

วัดทุ่งน้อย

วัดแม่งอน ม.2 ต�ำบลแม่งอน วัดแม่ใจใต้

บ้ำนสันกลำง ม.14 ต�ำบลแม่สูน

อ�ำเภอพร้ำว วัดกลำงเวียง ม.2 ต�ำบลเวียง วัดกู่เบี้ย

วัดป่ำแดง ม.4 ต�ำบลเวียง วัดป่ำเทพนิมิต

วัดป่ำแขม บ้ำนป่ำแขม ม.4 ต�ำบลแม่แวน วัดป่ำงิ้ว ม.2 ต�ำบลน�้ำแพร่ วัดป่ำจี้ ม.2 ต�ำบลทุ่งหลวง

วัดป่ำหนองบัวค�ำ บ้ำนหนองบัวค�ำ ม.4 ต�ำบลแม่คะ วัดปิตยำรำม ม.6 ต�ำบลโป่งน�้ำร้อน วัดโป่งทรำยค�ำ ม.7 ต�ำบลแม่คะ

วัดพรหมจริยำวำส ม.4 ต�ำบลแม่งอน

วัดพระธำตุดอยแก้ว ม.3 ต�ำบลแม่งอน

บ้ำนม่วงชุม ม.10 ต�ำบลม่อนปิ่น

วัดสันต้นเปำ บ้ำนสันต้นเปำ ม.7 ต�ำบลแม่ข่ำ

วัดเวียงไชยปรำกำร

บ้ำนเวียงไชย ม.8 ต�ำบลแม่ข่ำ วัดศรีดอนชัย ม.4 ต�ำบลเวียง วัดศรีถ้อย ม.12 ต�ำบลสันทรำย วัดศรีบัวเงิน ม.3 ต�ำบลแม่ข่ำ วัดศรีบุญเรือง ม.7 ต�ำบลสันทรำย วัดศรีมงคล ม.3 ต�ำบลสันทรำย วัดสระนิคม ม.1 ต�ำบลเวียง วัดสวนชำ ม.8 ต�ำบลม่อนปิ่น

วัดสันดินแดง

บ้ำนสันดินแดง ม.9 ต�ำบลแม่สูน

วัดสันต้นดู่ บ้ำนสันต้นดู่ ม.8 ต�ำบลสันทรำย

วัดป่ำตุ้มดอน ม.9 ต�ำบลป่ำตุ้ม วัดป่ำตุ้มโห้ง ม.8 ต�ำบลป่ำตุ้ม

วัดพระธำตุกลำงใจเมือง ม.8 ต�ำบลสันทรำย

ม.8 ต�ำบลโหล่งขอด วัดป่ำลัน ม.5 ต�ำบลบ้ำนโป่ง

วัดพระธำตุขุนโก๋น บ้ำนตีนธำตุ

วัดป่ำสหธรรมิกำรำม

วัดพระธำตุดอยเวียง บ้ำนหลวง

บ้ำนศรีประดู่ ม.10 ต�ำบลแม่ปั๋ง วัดป่ำเสี้ยว ม.3 ต�ำบลเวียง วัดป่ำหวำย บ้ำนป่ำหวำย ม.7 ต�ำบลบ้ำนโป่ง วัดป่ำห้ำ ม.5 ต�ำบลโหล่งขอด วัดป่ำเหมี้ยงขุนปั๋ง ม.7 ต�ำบลแม่ปั๋ง

ม.6 ต�ำบลโหล่งขอด

วัดป่ำไหน่

ป่ำไหน่ ม.1 ต�ำบลป่ำไหน่ วัดป่ำอำจำรย์มั่น ม.6 ต�ำบลเวียง วัดป่ำฮิ้น ม.4 ต�ำบลบ้ำนโป่ง วัดโป่งงำม บ้ำนสันต้นม่วง ม.2 ต�ำบลบ้ำนโป่ง วัดโป่งบัวบำน บ้ำนโป่งบัวบำน ม.11 ต�ำบลแม่ปั๋ง วัดผำแดง บ้ำนผำแดง ม.12 ต�ำบลแม่ปั๋ง วัดพระเจ้ำตนหลวง บ้ำนสบปั๋ง ม.4 ต�ำบลแม่ปั๋ง

วัดพระเจ้ำล้ำนทอง บ้ำนหนองปลำมัน ม.1 ต�ำบลน�้ำแพร่

ม.4 ต�ำบลป่ำไหน่

วัดม่วงค�ำ

วัดสันติวนำรำม บ้ำนสันป่ำก่อ ม.2 ต�ำบลแม่คะ วัดสันปูเลย ม.4 ต�ำบลแม่สูน วัดสุคันธวำรี ม.8 ต�ำบลแม่งอน วัดสุนทรำรำม ม.9 ต�ำบลสันทรำย วัดสุนทรำวำส ม.9 ต�ำบลม่อนปิ่น วัดสุวรรณำรำม ม.3 ต�ำบลม่อนปิ่น วัดเสำหิน ม.14 ต�ำบลเวียง วัดโสตยำรำม ม.4 ต�ำบลสันทรำย วัดหนองยำว ม.7 ต�ำบลแม่สูน วัดห้วยโจ้ ม.4 ต�ำบลแม่ข่ำ วัดห้วยห้อม ม.1 ต�ำบลแม่งอน วัดหัวนำ ม.6 ต�ำบลม่อนปิ่น วัดหำดส�ำรำญ ม.1 ต�ำบลแม่ข่ำ

วัดเหมืองแร่(ปำงควำย)

ม.6 ต�ำบลแม่คะ วัดอุดมมงคล ม.5 ต�ำบลแม่ข่ำ วัดอุทกวำรี ม.2 ต�ำบลแม่ข่ำ

วัดสันขวำง ม.3 ต�ำบลน�้ำแพร่ วัดสันคะมอก ม.1 ต�ำบลป่ำตุ้ม วัดสันต๊ะผำบ บ้ำนสันต๊ะผำบ ม.10 ต�ำบลป่ำไหน่ วัดสันถนน ม.6 ต�ำบลป่ำตุ้ม สันทรำย ม.7 ต�ำบลสันทรำย วัดสันนำเม็ง ม.3 ต�ำบลโหล่งขอด

บ้ำนม่วงค�ำ ม.9 ต�ำบลป่ำไหน่ วัดม่วงถ้อย ม.7 ต�ำบลป่ำไหน่ วัดม่อนหินไหล ม.9 ต�ำบลแม่ปั๋ง วัดแม่กอย ม.6 ต�ำบลเวียง วัดแม่ปั๋ง ม.5 ต�ำบลแม่ปั๋ง วัดแม่พวก บ้ำนแม่พวก ม.7 ต�ำบลแม่แวน วัดแม่แพง ม.3 ต�ำบลแม่ปั๋ง วัดแม่แวน ม.5 ต�ำบลแม่แวน วัดแม่เหียะ ม.2 ต�ำบลแม่แวน วัดโล๊ะปูเลย บ้ำนโล๊ะปูเลย ม.8 ต�ำบลป่ำไหน่ วัดศรีมหำโพธิ์ บ้ำนป่ำแต้ง ม.2 ต�ำบลโหล่งขอด

วัดสันบัวนำค

วัดสหกรณ์แปลงสอง

บ้ำนห้วยทรำย ม.8 ต�ำบลแม่ปั๋ง

ม.6 ต�ำบลเขื่อนผำก วัดสันกลำง ม.5 ต�ำบลป่ำไหน่ วัดสันก�ำแพง บ้ำนเฉลิมรำช ม.13 ต�ำบลแม่ปั๋ง

บ้ำนห้วยกุ ม.7 ต�ำบลป่ำตุ้ม วัดสันปอธง ม.6 ต�ำบลป่ำไหน่ วัดสันปง ม.5 ต�ำบลสันทรำย วัดสันยำว ม.2 ต�ำบลป่ำไหน่ วัดหนองครก ม.10 ต�ำบลสันทรำย

วัดหนองบัวไชยมงคล

บ้ำนหนองบัว ม.6 ต�ำบลแม่แวน วัดหนองปลำมัน ม.1 ต�ำบลน�้ำแพร่ วัดหนองปิด ม.2 ต�ำบลสันทรำย วัดหนองอ้อ ม.5 ต�ำบลเวียง วัดห้วยกุ ม.7 ต�ำบลป่ำตุ้ม วัดห้วยงู ม.1 ต�ำบลแม่ปั๋ง

วัดห้วยทรำย วัดห้วยบง

บ้ำนห้วยบง ม.3 ต�ำบลเขื่อนผำก วัดห้วยทรำย ม.5 ต�ำบลบ้ำนแปะ วัดห้วยส้ำน ม.1 ต�ำบลสันทรำย

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

391


ท่องเที่ยวทางใจ 1422 วัด "ดอยสุเทพเป็นศรี ประเพณีเป็นสง่า บุปผชาติล้วนงามตา นามล�้าค่านครพิงค์"

อ�ำเภอแม่วำง

วัดศรีชุม บ้ำนไร่หลวง ม.3 ต�ำบลทุ่งรวงทอง

วัดจอมแจ้ง

วัดบ้ำนใหม่ปำงเติม บ้ำนปำงเติม

วัดศิริชัยนิมิตร บ้ำนกิ่วแลป่ำเป้ำ

บ้ำนนำทรำย ม.6 ต�ำบลทุ่งปี๊

วัดจ�ำลอง

ม.1 ต�ำบลบ้ำนกำด วัดบุญยืน บ้ำนริมวำง ม.9 ต�ำบลทุง่ ปี๊ วัดป่ำแดด บ้ำนน�้ำต้น ม.6 ต�ำบลบ้ำนกำด วัดบ้ำนใหม่ปำงเติม บ้ำนปำงเติม ม.1 ต�ำบลบ้ำนกำด

บ้ำนกำด ม.5 ต�ำบลบ้ำนกำด วัดชัยมงคล ม.3 ต�ำบลดอนเปำ วัดดอนแก้ว บ้ำนหนองเย็น ม.2 ต�ำบลทุ่งปี๊ วัดดอนปิน บ้ำนแสนกันทำ ม.2 ต�ำบลทุ่งรวงทอง วัดดอนเปำ บ้ำนดอนเปำ ม.4 ต�ำบลดอนเปำ วัดดอยสัพพัญญู บ้ำนห้วยเนียม ม.6 ต�ำบลดอนเปำ วัดถ�้ำดอยโตน บ้ำนแม่สะป๊อก ม.5 ต�ำบลแม่วิน วัดท่ำช้ำง บ้ำนทุ่งปี๊ ม.5 ต�ำบลทุ่งปี๊ วัดทุ่งศิลำ บ้ำนทุ่งศิลำ ม.1 ต�ำบลดอนเปำ

บ้ำนห้วยแก้ว ม.10 ต�ำบลดอนเปำ วัดพระธำตุดอยหยุด บ้ำนเหล่ำป่ำ ฝำง ม.2 ต�ำบลดอนเปำ วัดพันตน บ้ำนพันตน ม.3 ต�ำบลทุง่ ปี๊ วัดมะกับตองหลวง บ้ำนทุ่งป่ำคำ ม.11 ต�ำบลทุ่งปี๊ วัดมะกำยอน บ้ำนมะกำยอน ม.4 ต�ำบลบ้ำนกำด วัดมัชฌิมำรำม บ้ำนใหม่วังผำปูน ม.15 ต�ำบลแม่วิน วัดรังษีสุทธำรำม บ้ำนเหล่ำป่ำฝำง ม.2 ต�ำบลดอนเปำ วัดวิมุตติกำรำม บ้ำนแม่มูด ม.6 ต�ำบลแม่วิน

ม.3 ต�ำบลบ้ำนกำด วัดสบวิน บ้ำนสบวิน ม.9 ต�ำบลแม่วนิ วัดสันปูเลย บ้ำนสันปูเลย ม.9 ต�ำบลดอนเปำ วัดสำรภี บ้ำนสำรภี ม.5 ต�ำบลทุ่งรวงทอง วัดแสนคันธำ บ้ำนแสนคันธำ ม.2 ต�ำบลทุ่งรวงทอง วัดโสภำรำม บ้ำนหัวฝำย ม.2 ต�ำบลบ้ำนกำด วัดหลวงขุนวิน บ้ำนสันปูเลย ม.9 ต�ำบลดอนเปำ วัดห้วยแก้ว บ้ำนห้วยแก้ว ม.10 ต�ำบลดอนเปำ วัดห้วยปู ม.1 ต�ำบลท่ำตอน วัดใหม่เมืองสวรรค์ บ้ำนใหม่สวรรค์ ม.7 ต�ำบลดอนเปำ วัดใหม่สวรรค์ บ้ำนใหม่สวรรค์ ม.7 ต�ำบลดอนเปำ วัดอัมพำรำม บ้ำนอัมพำรำม ม.8 ต�ำบลบ้ำนกำด

วัดจันทร์เกษม บ้ำนเตำไห ม.6 ต�ำบลทุ่งรวงทอง วัดจันทร์เกษม บ้ำนเตำไห ม.6 ต�ำบลทุ่งรวงทอง

วัดป่ำห้วยปำงเม็งเฉลิมพระเกียรติ

อ�ำเภอแม่แจ่ม วัดกองกำน ม.7 ต�ำบลแม่ศึก วัดกองแขก ม.7 ต�ำบลท่ำผำ วัดกองแขกใต้ วัดกองแขกใต้ ม.11 ต�ำบลกองแขก วัดกู่ ม.3 ต�ำบลช่ำงเคิ่ง วัดช่ำงเคิ่ง ม.4 ต�ำบลช่ำงเคิ่ง วัดดอยสะกำน

ม.3 ต�ำบลช่ำงเคิ่ง วัดบ้ำนทัพ ม.5 ต�ำบลท่ำผำ

วัดบ้ำนเหล่ำ

บ้ำนเหล่ำ ม.3 ต�ำบลท่ำผำ วัดบุปผำรำม ม.12 ต�ำบลช่ำงเคิ่ง วัดป่ำแดด ม.4 ต�ำบลท่ำผำ

บ้ำนต่อเรือ ม.2 ต�ำบลช่ำงเคิ่ง วัดต่อเรือ ม.2 ต�ำบลช่ำงเคิ่ง

วัดบ้ำนเจียง(เจียง)

บ้ำนทุ่งยำว ม.1 ต�ำบลช่ำงเคิ่ง

วัดบ้ำนเหล่ำ

วัดทุ่งยำว วัดน้อย

บ้ำนป่ำเท้อ ม.7 ต�ำบลช่ำงเคิ่ง วัดนำฮ่อง ม.5 ต�ำบลแม่ศึก วัดบนนำ ม.4 ต�ำบลช่ำงเคิ่ง

392

วัดบ้ำนเจียง (เจียง)

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

ม.3 ต�ำบลช่ำงเคิ่ง วัดบ้ำนทัพ ม.5 ต�ำบลท่ำผำ บ้ำนเหล่ำ ม.3 ต�ำบลท่ำผำ วัดบุปผำรำม ม.12 ต�ำบลช่ำงเคิ่ง วัดพระบำท ม.3 ต�ำบลท่ำผำ วัดพร้ำวหนุ่ม ม.6 ต�ำบลช่ำงเคิ่ง

วัดพุทธเอ้น ม.15 ต�ำบลช่ำงเคิ่ง วัดแม่นำจร ม.5 ต�ำบลแม่นำจร วัดแม่ปำน บ้ำนแม่ปำน ม.10 ต�ำบลช่ำงเคิ่ง วัดแม่วำก ม.6 ต�ำบลแม่นำจร วัดยำงหลวง ม.6 ต�ำบลท่ำผำ วัดห้วยริน บ้ำนห้วยริน ม.9 ต�ำบลช่ำงเคิ่ง วัดหัวดอย บ้ำนหัวดอย ม.3 ต�ำบลกองแขก วัดหัวดอย บ้ำนหัวดอย ม.3 ต�ำบลกองแขก

วัดอมขูด บ้ำนอมขูด ม.1 ต�ำบลกองแขก วัดอมเม็ง ม.8 ต�ำบลท่ำผำ


THE IMPORTANT TEMPLES CHIANG MAI

อ�ำเภอแม่แตง วัดก๋ำยน้อย ม.1 ต�ำบลเมืองก๋ำย วัดขันติวนำรำม ม.3 ต�ำบลแม่หอพระ วัดจอมคีรี

วัดป่ำเนรมิต บ้ำนสันปูเลย

บ้ำนหนองกอก ม.6 ต�ำบลสันมหำพน วัดจิตตำรำม ม.1 ต�ำบลช่อแล ช่อแลพระงำม ม.1 ต�ำบลช่อแล วัดดอนเจียง ม.8 ต�ำบลสบเปิง วัดติยะสถำน ม.2 ต�ำบลสันมหำพน วัดทรำยมูล ม.5 ต�ำบลขี้เหล็ก วัดทรำยมูล ม.5 ต�ำบลขี้เหล็ก

บ้ำนปำงกึ๊ด ม.16 ต�ำบลอินทขิล วัดป่ำไผ่ ม.4 ต�ำบลช่อแล วัดบ้ำนกำด ม.4 ต�ำบลช่อแล วัดบ้ำนช้ำง ม.2 ต�ำบลบ้ำนช้ำง วัดบ้ำนเด่น ม.8 ต�ำบลอินทขิล วัดบ้ำนปง ม.7 ต�ำบลอินทขิล วัดบ้ำนเป้ำ ม.4 ต�ำบลบ้ำนเป้ำ วัดบ้ำนผึ้ง ม.3 ต�ำบลแม่หอพระ วัดบ้ำนแพะ ม.5 ต�ำบลบ้ำนเป้ำ

วัดทับเดื่อ

บ้ำนทับเดื่อ ม.9 ต�ำบลอินทขิล วัดท่ำข้ำม ม.6 ต�ำบลสบเปิง วัดทุ่งล้อม ม.7 ต�ำบลบ้ำนเป้ำ วัดทุ่งหลวง ม.1 ต�ำบลแม่แตง

วัดเทพนิมิตนันทำรำม

บ้ำนแม่นำป้ำก ม.6 ต�ำบลแม่หอพระ

วัดธำรำทิพย์ชัยประดิษฐ์ บ้ำนห้วยชมพู ม.8 ต�ำบลแม่แตง

วัดธำรำทิพย์ชัยประดิษฐ์ บ้ำนห้วยชมพู ม.8 ต�ำบลแม่แตง วัดบวกหมื้อ ม.1 ต�ำบลขี้เหล็ก วัดบ้ำนกำด ม.4 ต�ำบลช่อแล วัดบ้ำนช้ำง ม.2 ต�ำบลบ้ำนช้ำง วัดบ้ำนเด่น ม.8 ต�ำบลอินทขิล วัดบ้ำนปง ม.7 ต�ำบลอินทขิล วัดบ้ำนเป้ำ ม.4 ต�ำบลบ้ำนเป้ำ

ม.6 ต�ำบลแม่แตง

วัดป่ำปำงกึ๊ดกิตติธรรม

วัดบ้ำนสันปงงำม

บ้ำนสันปงงำม ม.5 ต�ำบลสบเปิง วัดบ้ำนเหล่ำ ม.4 ต�ำบลเมืองก๋ำย วัดบ้ำนใหม่ ม.5 ต�ำบลช่อแล วัดบ้ำนออบ ม.3 ต�ำบลเมืองก๋ำย

วัดป่ำยำงหนำด (ปำงยำงหนำด) ม.1 ต�ำบลป่ำแป๋ วัดป่ำเลำ บ้ำนป่ำเลำ ม.1 ต�ำบลแม่หอพระ วัดป่ำหมู่ใหม่ บ้ำนหัวป่ำห้ำ ม.2 ต�ำบลแม่แตง วัดป่ำห้วยชมพู บ้ำนห้วยชมพู ม.8 ต�ำบลแม่แตง

วัดเมืองกื้ด ม.1 ต�ำบลกื้ดช้ำง วัดแม่กะหลวง ม.3 ต�ำบลแม่แตง วัดแม่ขะจำน ม.7 ต�ำบลขี้เหล็ก วัดแม่ตะมำน ม.2 ต�ำบลกื้ดช้ำง วัดแม่แตง ม.2 ต�ำบลสันมหำพน วัดแม่นำป๊ำก บ้ำนแม่นำป๊ำก ม.6 ต�ำบลแม่หอพระ วัดแม่เลิม ม.2 ต�ำบลบ้ำนเป้ำ วัดแม่หอพระ ม.5 ต�ำบลแม่หอพระ วัดร�่ำเปิง ม.6 ต�ำบลขี้เหล็ก วัดวังแดง ม.2 ต�ำบลอินทขิล วัดสบเปิง ม.3 ต�ำบลสบเปิง วัดสบเลิม ม.3 ต�ำบลบ้ำนเป้ำ

วัดสหกรณ์ทุ่งใหม่

บ้ำนสหกรณ์ทงุ่ ใหม่ ม.13 ต�ำบลสบเปิง

วัดสหกรณ์ศรีดอนไชย บ้ำนห้วยไร่ ม.9 ต�ำบลขี้เหล็ก วัดสันติบถ บ้ำนสันมหำพน ม.2 ต�ำบลสันมหำพน

วัดสันติพนำรำม บ้ำนสหกรณ์ ม.9 ต�ำบลสันมหำพน

วัดสันธำตุ

วัดป่ำอำจำรย์ตื้อ ม.7 ต�ำบลสันมหำพน

วัดบ้ำนสันปงงำม

วัดโป่งช้ำงแก้ว

บ้ำนสันปงงำม ม.5 ต�ำบลสบเปิง วัดบ้ำนเหล่ำ ม.4 ต�ำบลเมืองก๋ำย วัดบ้ำนใหม่ ม.5 ต�ำบลช่อแล วัดบ้ำนออบ ม.3 ต�ำบลเมืองก๋ำย วัดปำกทำง ม.7 ต�ำบลสันมหำพน วัดปำงกว้ำง ม.13 ต�ำบลอินทขิล

ม.7 ต�ำบลแม่หอพระ วัดผำเด็ง ม.3 ต�ำบลป่ำแป๋ พระเจ้ำตนหลวง บ้ำนสันป่ำตึง ม.3 ต�ำบลสันป่ำยำง วัดพระธำตุจอมธรรม บ้ำนตีนธำตุ ม.5 ต�ำบลแม่แตง

วัดปำงเปำ

วัดพระธำตุดอยจอมแจ้ง

บ้ำนปำงเปำ ม.8 ต�ำบลขี้เหล็ก

ม.5 ต�ำบลขี้เหล็ก

วัดปำงม่วง

วัดพระธำตุศรีวิชัย บ้ำนหัวป่ำห้ำ

บ้ำนปำงม่วง ม.2 ต�ำบลสบเปิง วัดปำงมะกล้วย ม.2 ต�ำบลป่ำแป๋ วัดปำงไม้แดง ม.3 ต�ำบลบ้ำนช้ำง วัดปำงลัน ม.6 ต�ำบลป่ำแป๋ วัดปำงฮ่ำง ม.1 ต�ำบลสบเปิง วัดป่ำจี้ ม.1 ต�ำบลอินทขิล วัดป่ำตึงงำม ม.6 ต�ำบลบ้ำนเป้ำ วัดป่ำนำบุญ บ้ำนตีนธำตุ ม.5 ต�ำบลแม่แตง

ม.2 ต�ำบลแม่แตง

วัดพระธำตุสุนันทำ บ้ำนแม่หอพระ ม.5 ต�ำบลแม่หอพระ

วัดภูดิน บ้ำนภูดิน ม.9 ต�ำบลแม่หอพระ วัดม่วงค�ำ ม.4 ต�ำบลอินทขิล วัดม่วงชุม ม.4 ต�ำบลแม่แตง วัดมะองค์นก ม.3 ต�ำบลขี้เหล็ก วัดเมืองก๋ำย ม.2 ต�ำบลเมืองก๋ำย

บ้ำนปำกทำง ม.7 ต�ำบลสันมหำพน วัดสันนำเม็ง ม.7 ต�ำบลแม่หอพระ วัดสันป่ำตึง ม.3 ต�ำบลสันป่ำยำง วัดสันป่ำยำง ม.2 ต�ำบลสันป่ำยำง วัดสันป่ำสัก ม.2 ต�ำบลช่อแล วัดสันป่ำสัก ม.2 ต�ำบลขี้เหล็ก วัดสันปูเลย ม.6 ต�ำบลแม่แตง วัดหนองก๋ำย ม.4 ต�ำบลสันป่ำยำง

วัดหนองโค้ง

บ้ำนหนองโค้ง ม.4 ต�ำบลขี้เหล็ก วัดหนองบัว ม.6 ต�ำบลช่อแล

วัดหนองบัว

บ้ำนหนองบัว ม.7 ต�ำบลแม่แตง วัดหนองบัวน้อย ม.1 ต�ำบลสันป่ำยำง วัดหนองบัวหลวง ม.9 ต�ำบลสบเปิง วัดหนองหล่ม ม.4 ต�ำบลสันมหำพน วัดหนองออน ม.10 ต�ำบลอินทขิล วัดห้วยไร่ ม.1 ต�ำบลขี้เหล็ก วัดหัวฝำย ม.2 ต�ำบลแม่หอพระ วัดหำงดง ม.6 ต�ำบลอินทขิล

วัดเหล่ำก๋อง

บ้ำนเหล่ำก๋อง ม.4 ต�ำบลแม่หอพระ วัดอรัญญวิเวก ม.7 ต�ำบลอินทขิล วัดอินทขิล ม.11 ต�ำบลอินทขิล

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

393


ท่องเที่ยวทางใจ 1422 วัด "ดอยสุเทพเป็นศรี ประเพณีเป็นสง่า บุปผชาติล้วนงามตา นามล�้าค่านครพิงค์"

อ�ำเภอแม่ริม วัดกุมภประดิษฐ์ ม.6 ต�ำบลสันโป่ง วัดคีรีบรรพต ม.3 ต�ำบลแม่แรม วัดคุณำนุสรณ์ ม.2 ต�ำบลขี้เหล็ก วัดเจดีย์สถำน ม.1 ต�ำบลริมเหนือ วัดชมพูนุท ม.6 ต�ำบลเหมืองแก้ว วัดชลประทำน ม.5 ต�ำบลห้วยทรำย วัดดวงดี ดวงดี ม.2 ต�ำบลริมใต้ วัดดอนแก้ว ม.2 ต�ำบลดอนแก้ว วัดดอนชัย ม.1 ต�ำบลแม่สำ วัดดอนชัย ม.1 ต�ำบลแม่สำ วัดดอนตัน ม.4 ต�ำบลเหมืองแก้ว วัดดำรำภิมุข บ้ำนบ่อปุ้ ม.1 ต�ำบลดอนแก้ว

วัดต�ำหนักธรรมนิมิตร ม.1 ต�ำบลห้วยทรำย

วัดทรำยมูล บ้ำนทรำยมูล ม.8 ต�ำบลริมใต้ วัดท่ำไคร้ ม.2 ต�ำบลแม่สำ

วัดเทพำรำม

บ้ำนโป่งแยงใน ม.1 ต�ำบลโป่งแยง

วัดธรรมสันติเจดีย์ บ้ำนกลำง ม.3 ต�ำบลริมเหนือ วัดนันทำรำม ม.5 ต�ำบลสันโป่ง วัดนันทำวำส ม.4 ต�ำบลเหมืองแก้ว วัดน�้ำตกแม่สำ ม.1 ต�ำบลแม่แรม วัดบ้ำนโห้ง ม.2 ต�ำบลแม่แรม วัดบุปผำรำม ม.4 ต�ำบลริมใต้

วัดปงไคร้

บ้ำนปงไคร้ ม.5 ต�ำบลโป่งแยง

วัดประกำศธรรม บ้ำนกำดฮำว ม.4 ต�ำบลสะลวง วัดปำงลุง บ้ำนปำงลุง ม.8 ต�ำบลโป่งแยง วัดป่ำดำรำภิรมย์ ม.1 ต�ำบลริมใต้ วัดป่ำน�้ำริน ม.3 ต�ำบลขี้เหล็ก วัดบ้ำนโห้ง ม.2 ต�ำบลแม่แรม วัดบุปผำรำม ม.4 ต�ำบลริมใต้ วัดป่ำสะลวง บ้ำนสะลวงนอก ม.3 ต�ำบลสะลวง วัดปิยำรำม ม.4 ต�ำบลดอนแก้ว

วัดโป่งแยงเฉลิมพระเกียรติ

บ้ำนโป่งแยงนอก ม.2 ต�ำบลโป่งแยง

วัดพรหมประดิษฐ์ ม.2 ต�ำบลเหมืองแก้ว วัดพระธำตุจอมแตง บ้ำนใหม่จอมแตง ม.11 ต�ำบลสันโป่ง วัดพระนอน ม.5 ต�ำบลดอนแก้ว

วัดพระพุทธบำทสี่รอย

บ้ำนดอยพระบำท ม.6 ต�ำบลสะลวง วัดโพธินิมิตร ม.4 ต�ำบลสันโป่ง

394

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

วัดเภรีพิชัย บ้ำนกองแหะ ม.4 ต�ำบลโป่งแยง วัดมงคลประสิทธิ์ ม.5 ต�ำบลขี้เหล็ก วัดมณีประดิษฐ์ ม.7 ต�ำบลสันโป่ง

วัดเมืองก๊ะ

บ้ำนเมืองก๊ะ ม.5 ต�ำบลสะลวง วัดแม่ริม ม.1 ต�ำบลริมใต้

วัดแม่แรม

บ้ำนแม่แรม ม.6 ต�ำบลแม่แรม

วัดแม่สำ บ้ำนแม่สำหลวง ม.3 ต�ำบลแม่สำ วัดแม่แอน ม.4 ต�ำบลห้วยทรำย

วัดรัตนำรำม

บ้ำนต้นแก้ว ม.4 ต�ำบลริมใต้ วัดลัฎฐิวัน ม.4 ต�ำบลริมใต้ วัดวำลุกำรำม ม.3 ต�ำบลห้วยทรำย วัดวิจิตรวำรี ม.1 ต�ำบลเหมืองแก้ว วัดศรีชมพู ม.2 ต�ำบลสันโป่ง วัดศรีชลธำร ม.3 ต�ำบลขี้เหล็ก

วัดศรีบุญเรือง

บ้ำนศรีบุญเรือง ม.1 ต�ำบลแม่สำ วัดศรีปิงชัย ม.5 ต�ำบลเหมืองแก้ว

วัดสมเด็จอำสภวัน

บ้ำนแม่สำน้อย ม.4 ต�ำบลแม่สำ วัดสระฉัททันต์ ม.1 ต�ำบลสันโป่ง วัดสว่ำงบรรเทิง ม.6 ต�ำบลแม่สำ

วัดสว่ำงเพชร

บ้ำนหนองปลำมัน ม.2 ต�ำบลห้วยทรำย วัดสะลวง ม.3 ต�ำบลสะลวง วัดสันโป่ง ม.3 ต�ำบลสันโป่ง

วัดสันเหมืองประชำรำม

บ้ำนสันเหมือง ม.7 ต�ำบลดอนแก้ว

วัดสำมัคคีธรรม บ้ำนซำง ม.4 ต�ำบลขี้เหล็ก วัดสิทธิทรงธรรม ม.2 ต�ำบลสะลวง

วัดสุรินทรำษฎร์

บ้ำนป่ำแง ม.7 ต�ำบลขี้เหล็ก วัดสุวรรณำวำ ม.1 ต�ำบลสะลวง วัดสุวรรณำวำส ม.5 ต�ำบลสันโป่ง วัดโสภณำรำม ม.3 ต�ำบลดอนแก้ว วัดหนองปันเจียง ม.7 ต�ำบลขี้เหล็ก วัดหัวดง ม.3 ต�ำบลริมเหนือ

วัดหิรัญนิคม

บ้ำนโฮ่งนอก ม.10 ต�ำบลแม่แรม วัดอรุณโชติกำรำม ม.3 ต�ำบลออนใต้

วัดอัมพวัน

บ้ำนป่ำม่วง ม.5 ต�ำบลแม่แรม วัดอินทำรำม ม.6 ต�ำบลขี้เหล็ก

วัดอุดมชัยรำษฎร์

บ้ำนขี้เหล็กน้อย ม.1 ต�ำบลขี้เหล็ก


THE IMPORTANT TEMPLES CHIANG MAI

อ�ำเภอแม่อำย วัดกำวีละ บ้ำนกำวีละ ม.7 ต�ำบลแม่สำว วัดชัยมงคล ม.4 ต�ำบลแม่นำวำง วัดชัยสถำน ม.7 ต�ำบลมะลิกำ วัดดอนชัย ม.2 ต�ำบลแม่อำย วัดดอยแก้ว ม.1 ต�ำบลแม่อำย วัดทรำยแดง ม.3 ต�ำบลสันต้นหมื้อ วัดท่ำตอน ม.3 ต�ำบลท่ำตอน วัดท่ำมะแกง ม.7 ต�ำบลท่ำตอน วัดธัมมิกำวำส ม.2 ต�ำบลแม่นำวำง วัดนิวำสสถำน ม.8 ต�ำบลแม่อำย

วัดบ้ำนหนองขีน้ กยำง ม.3 ต�ำบลแม่นำวำง

วัดบ้ำนใหม่ปแู ช่ บ้ำนใหม่ ม.4 ต�ำบลแม่อำย

วัดปัญจคณำนุสรณ์ ม.5 ต�ำบลแม่สำว วัดปำงต้นเดือ่ ม.9 ต�ำบลแม่อำย

วัดป่ำดอยกุสมุ

บ้ำนดง ม.5 ต�ำบลแม่สำว

วัดป่ำดอยแสงธรรมญำณสัมปันโน บ้ำนห้วยม่วง ม.8 ต�ำบลแม่นำวำง

วัดป่ำแดง ม.5 ต�ำบลบ้ำนหลวง วัดบ้ำนหนองขีน้ กยำง ม.3 ต�ำบลแม่นำวำง วัดบ้ำนใหม่ปแู ช่ บ้ำนใหม่ ม.4 ต�ำบลแม่อำย

วัดพระธำตุดอยน�ำ้ ค้ำง ม.10 ต�ำบลแม่สำว วัดพระธำตุปแู ช่ ม.4 ต�ำบลแม่อำย

วัดพระธำตุสบฝำง

ม.7 ต�ำบลแม่นำวำง วัดคลนิมติ ร ม.10 ต�ำบลมะลิกำ วัดมงคลสถำน ม.3 ต�ำบลแม่อำย

วัดม่วงสำมฮ้อย

ม.4 ต�ำบลบ้ำนหลวง วัดมำตุกำรำม ม.6 ต�ำบลแม่อำย วัดเมืองงำมใต้ บ้ำนเมืองงำมใต้ ม.13 ต�ำบลท่ำตอน วัดเมืองหนอง ม.10 ต�ำบลแม่สำว วัดแม่สำว ม.1 ต�ำบลแม่สำว วัดแม่อำยหลวง บ้ำนแม่อำยหลวง ม.5 ต�ำบลแม่อำย วัดร่องห้ำหลวง ม.5 ต�ำบลแม่นำวำง

อ�ำเภอแม่ออน วัดคันธำพฤกษำ ม.3 ต�ำบลห้วยแก้ว วัดจอมธรรม ม.1 ต�ำบลแม่ทำ วัดดอนชัย ม.6 ต�ำบลแม่ทำ วัดดอนทรำย ม.8 ต�ำบลออนเหนือ วัดถ�ำ้ เมืองออน บ้ำนสหกรณ์

วัดปงกำ บ้ำนป่ำน้อต ม.5 ต�ำบลแม่ทำ วัดปำงกอง ม.6 ต�ำบลห้วยแก้ว วัดบ้ำนป๊อก ม.1 ต�ำบลห้วยแก้ว วัดบ้ำนวำก ม.4 ต�ำบลออนกลำง วัดบ้ำนใหม่ดอนแก้ว

ม.2 ต�ำบลบ้ำนสหกรณ์ วัดทุง่ เหล่ำ บ้ำนทุ่งเหล่ำ ม.1 ต�ำบลออนกลำง วัดบ้ำนป๊อก ม.1 ต�ำบลห้วยแก้ว วัดบ้ำนวำก ม.4 ต�ำบลออนกลำง

ม.2 ต�ำบลทำเหนือ วัดบูรพชนำรำม บ้ำนปำงกอง ม.6 ต�ำบลห้วยแก้ว วัดปงกำ บ้ำนป่ำน้อต ม.5 ต�ำบลแม่ทำ วัดเปำสำมขำ ม.3 ต�ำบลออนกลำง

ม.2 ต�ำบลทำเหนือ วัดบูรพชนำรำม บ้ำนปำงกอง ม.6 ต�ำบลห้วยแก้ว

ม.7 ต�ำบลบ้ำนสหกรณ์

วัดบ้ำนใหม่ดอนแก้ว

วัดโป่งวนำรำม

วัดพระธำตุดอยผำตัง้ ม.9 ต�ำบลออนกลำง

วัดรัตนำวำส ม.3 ต�ำบลแม่สำว วัดอ�วังำดิเภอเชี น ยงม่วน

บ้ำนดอยแก้ว ม.1 ต�ำบลแม่อำย วัดวัฒนำรำม ม.1 ต�ำบลบ้ำนหลวง วัดศรีดอนแก้ว ม.8 ต�ำบลแม่สำว วัดศรีบญ ุ เรือง ม.6 ต�ำบลแม่สำว วัดศรีเวียง ม.4 ต�ำบลแม่สำว วัดศรีสองเมือง ม.4 ต�ำบลบ้ำนหลวง วัดส้มสุข สันโค้ง ม.6 ต�ำบลมะลิกำ วัดสว่ำงไพบูลย์ ม.2 ต�ำบลบ้ำนหลวง วัดต้นดู่ ม.6 ต�ำบลท่ำตอน วัดสันต้นม่วง ม.3 ต�ำบลมะลิกำ วัดสันต้นหมือ้ ม.4 ต�ำบลสันต้นหมื้อ วัดสันติวนั ม.1 ต�ำบลสันต้นหมื้อ วัดสันผักหละ ม.5 ต�ำบลมะลิกำ วัดสันเวียงมูล ม.9 ต�ำบลแม่สำว วัดสันห้ำง ม.3 ต�ำบลบ้ำนหลวง วัดสีลำอำสน์ ม.1 ต�ำบลแม่นำวำง วัดหมอกจ๋ำม ม.8 ต�ำบลท่ำตอน วัดห้วยปู ม.1 ต�ำบลท่ำตอน วัดห้วยม่วง ม.8 ต�ำบลแม่นำวำง วัดฮ่องห้ำน้อย บ้ำนฮ่องห้ำน้อย ม.5 ต�ำบลสันต้นหมื้อ

วัดเมืองแม่เลน บ้ำนแม่เลน ม.2 ต�ำบลห้วยแก้ว

วัดแม่ตะไคร้ ต�ำบลทำเหนือ วัดแม่เตำดิน ม.4 ต�ำบลห้วยแก้ว วัดแม่ลำย ม.2 ต�ำบลห้วยแก้ว วัดศรีบญ ุ เรือง ม.3 ต�ำบลแม่ทำ วัดหนองหอย ม.2 ต�ำบลออนเหนือ วัดห้วยแก้ว ม.5 ต�ำบลห้วยแก้ว วัดห้วยทรำย ม.4 ต�ำบลแม่ทำ วัดหัวฝำย ม.5 ต�ำบลออนเหนือ วัดเหล่ำจันทรังษี บ้ำนทุ่งเหล่ำ ม.1 ต�ำบลออนกลำง วัดออนกลำง ม.7 ต�ำบลออนกลำง วัดออนหลวย บ้ำนออนหลวย ม.6 ต�ำบลออนเหนือ

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

395


ท่องเที่ยวทางใจ 1422 วัด "ดอยสุเทพเป็นศรี ประเพณีเป็นสง่า บุปผชาติล้วนงามตา นามล�้าค่านครพิงค์"

อ�ำเภอเวียงแหง วัดกองลม ม.2 ต�ำบลเมืองแหง วัดก�ำแพงใหม่ ม.3 ต�ำบลเมืองแหง

วัดนำยำง บ้ำนป่ำไผ่ ม.3 ต�ำบลเมืองแหง วัดเปียงหลวง ม.1 ต�ำบลเปียงหลวง วัดพระธำตุแสนไห ม.4 ต�ำบลแสนไห

วัดฟ้ำเวียงอินทร์

ม.1 ต�ำบลเปียงหลวง วัดมกำยอน ม.2 ต�ำบลเปียงหลวง

วัดม่วงเครือ ม.6 ต�ำบลเปียงหลวง วัดม่วงป๊อก ม.3 ต�ำบลแสนไห วัดแม่แพม บ้ำนแม่แพม ม.8 ต�ำบลเมืองแหง วัดแม่หำด ม.1 ต�ำบลเมืองแหง วัดเวียงแหง ม.4 ต�ำบลเมืองแหง วัดสำมภู ม.2 ต�ำบลแสนไห วัดห้วยไคร้ ม.5 ต�ำบลเปียงหลวง วัดห้วยหก ม.5 ต�ำบลเมืองแหง วัดอุทัยธำรำม ม.5 ต�ำบลเปียงหลวง

อ�ำเภอสะเมิง วัดกองขำกน้อย บ้ำนกองขำกน้อย

วัดพระบรมธำตุดอยผำส้ม

ม.8 ต�ำบลสะเมิงใต้

บ้ำนอมลอง ม.2 ต�ำบลแม่สำบ วัดแม่ขำน ม.1 ต�ำบลแม่สำบ วัดแม่ตุงติง บ้ำนแม่ตุงติง ม.5 ต�ำบลแม่สำบ วัดแม่แพะ ม.2 ต�ำบลสะเมิงเหนือ วัดแม่เลย ม.1 ต�ำบลสะเมิงเหนือ วัดแม่สำบใต้ ม.1 ต�ำบลสะเมิงใต้ วัดแม่สำบเหนือ ม.1 ต�ำบลสะเมิงใต้ วัดยั้งเมิน ม.3 ต�ำบลยั้งเมิน วัดรุ่งอรุณ บ้ำนงิ้วเฒ่ำใต้ ม.8 ต�ำบลแม่สำบ วัดศรีดอนมูล ม.3 ต�ำบลยั้งเมิน วัดศรีรัตนวำฏคีรี ม.5 ต�ำบลบ่อแก้ว

วัดกองขำกหลวง ม.7 ต�ำบลสะเมิงใต้ วัดงำแมง ม.3 ต�ำบลแม่สำบ วัดงิ้วเฒ่ำ ม.8 ต�ำบลแม่สำบ วัดต้นตัน บ้ำนต้นตัน ม.3 ต�ำบลสะเมิงเหนือ

วัดต้นผึ้ง บ้ำนต้นผึ้ง ม.4 ต�ำบลแม่สำบ

วัดต้นลำน บ้ำนป่ำลำน ม.4 ต�ำบลสะเมิงเหนือ วัดทรำยมูล ม.5 ต�ำบลสะเมิงใต้ วัดท่ำศำลำ ม.4 ต�ำบลสะเมิงใต้ วัดทุ่งยำว ทุ่งยำว ม.10 ต�ำบลแม่สำบ วัดทุ่งล้อม ม.4 ต�ำบลสะเมิงเหนือ วัดน�้ำริน น�้ำริน ม.2 ต�ำบลสะเมิงใต้ วัดบ้ำนป้อก ม.5 ต�ำบลสะเมิงเหนือ วัดป่ำกล้วย ม.4 ต�ำบลสะเมิงใต้ วัดปำงเติม ม.4 ต�ำบลแม่สำบ วัดบ้ำนป้อก ม.5 ต�ำบลสะเมิงเหนือ วัดโป่งปะ ม.6 ต�ำบลสะเมิงเหนือ

วัดพรหมมงคล บ้ำนศำลำ ม.4 ต�ำบลสะเมิงใต้

396

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

วัดศำลำโป่งกวำว (ศำลำ) ม.3 ต�ำบลสะเมิงเหนือ วัดสะเมิง บ้ำนห้วยคอก ม.3 ต�ำบลสะเมิงใต้ วัดแสนทอง ม.9 ต�ำบลสะเมิงใต้ วัดหำดส้มป่อย บ้ำนหำดส้มป่อย ม.7 ต�ำบลแม่สำบ วัดอมลอง ม.2 ต�ำบลแม่สำบ วัดอังคำย ม.4 ต�ำบลยั้งเมิน


THE IMPORTANT TEMPLES CHIANG MAI

อ�ำเภอสันก�ำแพง วัดกฤษณำ ม.1 ต�ำบลแช่ช้ำง วัดกอสะเลียม ม.8 ต�ำบลบวกค้ำง วัดค�ำซำว

วัดบวกค้ำง ม.1 ต�ำบลบวกค้ำง วัดบวกเป็ด ม.4 ต�ำบลต้นเปำ วัดบ่อสร้ำง

บ้ำนค�ำซำว ม.4 ต�ำบลสันก�ำแพง

บ้ำนบ่อสร้ำง ม.3 ต�ำบลต้นเปำ

วัดจันทรวิโรจน์

วัดบ่อหิน

บ้ำนป่ำเส้ำ ม.1 ต�ำบลสันก�ำแพง

บ้ำนหนองเหนียง ม.13 ต�ำบลบวกค้ำง วัดบ้ำนน้อย ม.11 ต�ำบลสันก�ำแพง วัดบ้ำนโป่ง ม.11 ต�ำบลบวกค้ำง วัดบ้ำนมอญ ม.1 ต�ำบลสันกลำง วัดบ้ำนลื้อโป่ง ม.11 ต�ำบลบวกค้ำง วัดบ้ำนโห้ง ม.2 ต�ำบลออนใต้ วัดปงป่ำเอื้อง ม.4 ต�ำบลแม่ปูคำ วัดป่ำแงะ ม.4 ต�ำบลออนใต้ วัดป่ำแดง ม.13 ต�ำบลสันก�ำแพง วัดป่ำตำล ม.4 ต�ำบลบวกค้ำง วัดป่ำตึง ม.7 ต�ำบลห้วยทรำย วัดป่ำตึง ม.7 ต�ำบลออนใต้ วัดป่ำเปำ ม.3 ต�ำบลแช่ช้ำง

วัดจันทรังษีบุญญำรำม บ้ำนป่ำเปำ ม.3 ต�ำบลแช่ช้ำง

วัดจันทะธรรมรังษี บ้ำนแพะ ม.10 ต�ำบลออนใต้

วัดชัยชนะมงคล(ป่ำเป้ำ) ม.3 ต�ำบลทรำยมูล วัดช่ำงเพี้ยน ม.10 ต�ำบลบวกค้ำง วัดเชียงแสน ป่ำตึง ม.7 ต�ำบลออนใต้ วัดแช่ช้ำง ม.7 ต�ำบลแช่ช้ำง วัดดงขี้เหล็ก ม.4 ต�ำบลแช่ช้ำง วัดดอนปีน ม.5 ต�ำบลแช่ช้ำง วัดดอนมูล ม.1 ต�ำบลทรำยมูล วัดดอยซิว ม.6 ต�ำบลห้วยทรำย วัดต้นเปำ ม.1 ต�ำบลต้นเปำ วัดต้นผึ้ง ม.6 ต�ำบลต้นเปำ วัดทรำยมูล ม.7 ต�ำบลทรำยมูล วัดทุง่ ต้อม บ้ำนหม้อ ม.5 ต�ำบลห้วยทรำย วัดน�้ำจ�ำ ม.6 ต�ำบลร้องวัวแดง

วัดน�้ำล้อม บ้ำนแม่แต ม.5 ต�ำบลบวกค้ำง

วัดบ่อสร้ำง บ้ำนบ่อสร้ำง ม.3 ต�ำบลต้นเปำ

วัดบ่อหิน บ้ำนหนองเหนียง ม.13 ต�ำบลบวกค้ำง วัดบ้ำนน้อย ม.11 ต�ำบลสันก�ำแพง วัดบ้ำนโป่ง ม.11 ต�ำบลบวกค้ำง วัดบ้ำนมอญ ม.1 ต�ำบลสันกลำง วัดบ้ำนลือ้ บ้ำนโป่ง ม.11 ต�ำบลบวกค้ำง

วัดบ้ำนโห้ง ม.2 ต�ำบลออนใต้ วัดปงป่ำเอื้อง ม.4 ต�ำบลแม่ปูคำ วัดป่ำสักน้อย ม.3 ต�ำบลแม่ปูคำ วัดป่ำห้ำ บ้ำนป่ำห้ำ ม.9 ต�ำบลออนใต้ วัดป่ำเห็ว ม.2 ต�ำบลสันก�ำแพง วัดปูคำใต้ ม.6 ต�ำบลแม่ปูคำ วัดพระป้ำน ม.5 ต�ำบลต้นเปำ วัดม่วงเขียว ม.4 ต�ำบลร้องวัวแดง วัดม่วงม้ำใต้ ม.9 ต�ำบลร้องวัวแดง วัดม่วงม้ำเหนือ ม.8 ต�ำบลร้องวัวแดง วัดมะขำม

วัดศรีออนใต้

บ้ำนออน ม.14 ต�ำบลสันก�ำแพง วัดแม่ตำด ม.1 ต�ำบลห้วยทรำย วัดแม่ปูคำเหนือ ม.5 ต�ำบลแม่ปูคำ วัดแม่ผำแหน ม.6 ต�ำบลออนใต้ วัดย่ำพำย ม.7 ต�ำบลบวกค้ำง วัดร้องกองข้ำว ม.9 ต�ำบลบวกค้ำง วัดร้องวัวแดง ม.3 ต�ำบลร้องวัวแดง วัดร้อยพร้อม ม.6 ต�ำบลบวกค้ำง

บ้ำนสันโค้ง ม.4 ต�ำบลทรำยมูล วัดสันติวนำรำม ม.3 ต�ำบลสันก�ำแพง วัดสันใต้ ม.9 ต�ำบลสันก�ำแพง วัดสันป่ำค่ำ ม.8 ต�ำบลต้นเปำ

วัดโรงธรรมสำมัคคี

วัดสิริมงคล

ม.7 ต�ำบลสันก�ำแพง วัดลังกำร์ ม.2 ต�ำบลร้องวัวแดง วัดล้ำนทอง ม.3 ต�ำบลห้วยทรำย วัดวังธำร บ้ำนร้องวัวแดง ม.1 ต�ำบลร้องวัวแดง

บ้ำนป่ำสักยำว ม.1 ต�ำบลแม่ปูคำ วัดสีมำรำม ม.2 ต�ำบลสันกลำง วัดหนองโค้ง ม.2 ต�ำบลต้นเปำ วัดหนองแสะ ม.2 ต�ำบลห้วยทรำย วัดอรุณโชติกำรำม ม.3 ต�ำบลออนใต้

บ้ำนป่ำแงะ ม.4 ต�ำบลออนใต้ วัดสันกลำงใต้ ม.5 ต�ำบลสันกลำง วัดสันกลำงเหนือ ม.4 ต�ำบลสันกลำง

วัดสันก้ำงปลำ บ้ำนสันก้ำงปลำ ม.6 ต�ำบลทรำยมูล

วัดสันก�ำแพง ม.5 ต�ำบลสันก�ำแพง

วัดสันข้ำวแคบกลำง ม.4 ต�ำบลห้วยทรำย

วัดสันโค้ง

วัดสันป่ำแดง บ้ำนแม่โฮม ม.9 ต�ำบลต้นเปำ วัดสันมะแปป ม.2 ต�ำบลแม่ปูคำ วัดสันมะฮกฟ้ำ ม.7 ต�ำบลต้นเป

วัดศรีบุญเรือง บ้ำนป่ำเส้ำ ม.1 ต�ำบลสันก�ำแพง

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

397


ท่องเที่ยวทางใจ 1422 วัด "ดอยสุเทพเป็นศรี ประเพณีเป็นสง่า บุปผชาติล้วนงามตา นามล�้าค่านครพิงค์"

อ�ำเภอสันทรำย วัดขัวมุง ม.4 ต�ำบลแม่แฝกใหม่ วัดขัวสูง ม.1 ต�ำบลเมืองเล็น วัดข้ำวแท่นน้อย ม.3 ต�ำบลสันทรำยหลวง

วัดข้ำวแท่นหลวง ม.3 ต�ำบลสันทรำยหลวง วัดคอกหมูป่ำ ม.7 ต�ำบลสันนำเม็ง

วัดเจดีย์แม่ครัว

ม.3 ต�ำบลแม่แฝกใหม่

วัดดอยแท่นพระผำหลวง ม.6 ต�ำบลป่ำไผ่

วัดดอยพระธำตุจอมกิตติ ม.9 ต�ำบลแม่แฝก วัดต้นจันทน์ ม.9 ต�ำบลหนองจ๊อม วัดต้นสำร ม.1 ต�ำบลสันป่ำเปำ วัดท่ำเกวียน ม.4 ต�ำบลหนองจ๊อม วัดท่ำทุ่ม ม.4 ต�ำบลสันพระเนตร วัดทิพวนำรำม ม.7 ต�ำบลหนองหำร วัดทุ่งข้ำวตอก ม.4 ต�ำบลหนองแหย่ง วัดทุ่งป่ำเก็ด ม.6 ต�ำบลหนองหำร วัดทุ่งหมื่นน้อย ม.9 ต�ำบลหนองหำร วัดนำงเหลียว ม.2 ต�ำบลหนองจ๊อม

398

วัดบวกเปำ ม.3 ต�ำบลหนองแหย่ง วัดบ้ำนดงเจริญชัย ม.6 ต�ำบลหนองแหย่ง วัดบ้ำนท่อ ม.5 ต�ำบลสันทรำยหลวง วัดบ้ำนท่อ ม.5 ต�ำบลสันทรำยหลวง วัดบ้ำนโป่ง ม.2 ต�ำบลแม่แฝก

วัดป่ำกล้วยท่ำกุญชร

บ้ำนป่ำกล้วย ม.2 ต�ำบลสันนำเม็ง วัดป่ำแดด ม.3 ต�ำบลป่ำไผ่ วัดป่ำบง ม.2 ต�ำบลหนองหำร

วัดบ้ำนดงเจริญชัย

ม.6 ต�ำบลหนองแหย่ง วัดบ้ำนท่อ ม.5 ต�ำบลสันทรำยหลวง วัดบ้ำนโป่ง ม.2 ต�ำบลแม่แฝก วัดป่ำลำน ม.2 ต�ำบลสันทรำยหลวง วัดป่ำเหมือด ม.4 ต�ำบลป่ำไผ่ วัดพยำกน้อย ม.6 ต�ำบลสันป่ำเปำ

วัดพระบำทตีนนก

ม.10 ต�ำบลหนองแหย่ง วัดฟ้ำมุ่ย ม.1 ต�ำบลหนองจ๊อม วัดมงคลเศรษฐี บ้ำนศรีสหกรณ์ ม.7 ต�ำบลหนองจ๊อม

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

วัดเมืองขอน ม.1 ต�ำบลป่ำไผ่ วัดเมืองเล็น ม.2 ต�ำบลเมืองเล็น วัดเมืองวะ ม.4 ต�ำบลเมืองเล็น วัดแม่กวง บ้ำนแม่กวง ม.6 ต�ำบลสันนำเม็ง วัดแม่แก้ดน้อย ม.5 ต�ำบลป่ำไผ่ วัดแม่แก้ดหลวง ม.5 ต�ำบลหนองจ๊อม วัดแม่คำว ม.2 ต�ำบลสันพระเนตร วัดแม่โจ้ ม.4 ต�ำบลหนองหำร วัดแม่เตำไห ม.1 ต�ำบลหนองหำร วัดแม่แฝก ม.1 ต�ำบลแม่แฝกใหม่ วัดแม่ย่อย ม.1 ต�ำบลสันทรำยน้อย วัดร่มหลวง ม.4 ต�ำบลแม่แฝก วัดร้องเม็ง ม.2 ต�ำบลหนองแหย่ง วัดร้องสัก ม.1 ต�ำบลสันนำเม็ง วัดวังขุมเงิน ม.7 ต�ำบลแม่แฝกใหม่

วัดสบแฝก ม.2 ต�ำบลแม่แฝกใหม่ วัดสหกรณ์นิคมหัวงำน

วัดหนองเต่ำค�ำ ม.2 ต�ำบลป่ำไผ่ วัดหนองบัวเธียรสิริ

บ้ำนสหกรณ์นิคมหัวงำน ม.7 ต�ำบลแม่แฝก วัดสันคะยอม ม.4 ต�ำบลสันทรำยน้อย วัดสันต้นเปำ ม.1 ต�ำบลสันป่ำเปำ

บ้ำนหนองบัว ม.5 ต�ำบลหนองแหย่ง วัดหนองมะจับ ม.1 ต�ำบลแม่แฝก วัดหนองแสะ ม.8 ต�ำบลแม่แฝก

วัดสันทรำยมูล

ม.3 ต�ำบลสันทรำยน้อย

วัดสันทรำยหลวง ม.4 ต�ำบลสันทรำยหลวง

วัดสันนำเม็ง ม.3 ต�ำบลสันนำเม็ง วัดสันป่ำค่ำง ม.2 ต�ำบลสันป่ำเปำ วัดสันป่ำสัก ม.3 ต�ำบลหนองจ๊อม วัดสันพระเนตร

วัดวิเวกวนำรำม

ม.4 ต�ำบลสันพระเนตร วัดสันศรี ม.1 ต�ำบลสันพระเนตร วัดสันหลวง ม.4 ต�ำบลสันนำเม็ง

บ้ำนแม่โจ้ ม.8 ต�ำบลหนองหำร วัดศรีงำม ม.5 ต�ำบลแม่แฝก วัดศรีทรำยมูล ม.6 ต�ำบลหนองจ๊อม วัดศรีทรำยมูล ม.6 ต�ำบลแม่แฝก

บ้ำนสหกรณ์บ้ำนไร่ ม.11 ต�ำบลหนองหำร วัดหนองก้นครุ ม.5 ต�ำบลเมืองเล็น

วัดศรีบุญเรือง

บ้ำนศรีบุญเรือง ม.7 ต�ำบลป่ำไผ่

วัดสิริมงคลบุญญำรำม

วัดหนองไคร้หลวง

ม.8 ต�ำบลหนองจ๊อม

วัดหนองแหย่ง

ม.1 ต�ำบลหนองแหย่ง วัดหนองอุโบสถ ม.14 ต�ำบลป่ำไผ่ วัดหลักพัน ม.5 ต�ำบลสันนำเม็ง

วัดห้วยเกี๋ยง

ม.3 ต�ำบลหนองหำร วัดห้วยแก้ว ม.3 ต�ำบลแม่แฝก วัดหลักพัน ม.5 ต�ำบลสันนำเม็ง วัดห้วยเกี๋ยง ม.3 ต�ำบลหนองหำร วัดห้วยแก้ว ม.3 ต�ำบลแม่แฝก

วัดห้วยบงวัฒนำรำม

ม.5 ต�ำบลแม่แฝกใหม่ วัดหัวฝำย ม.3 ต�ำบลเมืองเล็น

วัดใหม่ชลประทำน

ม.11 ต�ำบลหนองแหย่ง


THE IMPORTANT TEMPLES CHIANG MAI

อ�ำเภอสันป่ำตอง วัดกลำงทุง่ ม.2 ต�ำบลทุ่งต้อม วัดก่อเก๊ำ ม.4 ต�ำบลทุ่งต้อม วัดกอโชค บ้ำนต้นตัน ม.3 ต�ำบลแม่ก๊ำ วัดกิว่ แลน้อย บ้ำนกิ่วแลน้อย ม.10 ต�ำบลบ้ำนแม วัดกิว่ แลหลวง ม.4 ต�ำบลยุหว่ำ วัดกูค่ ำ� ม.12 ต�ำบลยุหว่ำ วัดข่วงมืน่ บ้ำนข่วงมื่น ม.8 ต�ำบลมะขำมหลวง วัดควรนิมติ ร ม.1 ต�ำบลมะขำมหลวง วัดคันธำรำม ม.1 ต�ำบลสันกลำง วัดจอมแจ้ง ม.4 ต�ำบลน�้ำบ่อหลวง วัดช่ำงกระดำษ ม.1 ต�ำบลทุ่งต้อม วัดดอนแก้ว ม.4 ต�ำบลทุ่งสะโตก วัดดอนชัย ม.7 ต�ำบลท่ำวังพร้ำว วัดต้นแก้ว ม.6 ต�ำบลมะขำมหลวง วัดต้นงิว้ ม.4 ต�ำบลบ้ำนแม วัดต้นโชค ม.8 ต�ำบลยุหว่ำ วัดต้นผึง้ ม.9 ต�ำบลยุหว่ำ วัดต้นแหนหลวง ม.1 ต�ำบลท่ำวังพร้ำว วัดตลำดแก้ว ม.6 ต�ำบลทุ่งสะโตก วัดต้นแหนหลวง ม.1 ต�ำบลท่ำวังพร้ำว วัดตลำดแก้ว ม.6 ต�ำบลทุ่งสะโตก วัดรำยมูล ม.6 ต�ำบลแม่ก๊ำ วัดท้องฝำย ม.11 ต�ำบลบ้ำนกลำง วัดท่ำกำน ม.5 ต�ำบลบ้ำนกลำง วัดท่ำจ�ำปี ม.8 ต�ำบลทุ่งสะโตก วัดท่ำเดือ่ ม.12 ต�ำบลบ้ำนแม วัดท่ำวังพร้ำว ม.5 ต�ำบลท่ำวังพร้ำว วัดท่ำสำ ม.10 ต�ำบลทุ่งสะโตก

วัดทุง่ เกีย๋ ง

บ้ำนทุ่งเกี๋ยง ม.12 ต�ำบลทุ่งสะโตก วัดทุง่ ตูม ม.2 ต�ำบลมะขำมหลวง

วัดทุง่ ปุย

บ้ำนร่องน�้ำ ม.7 ต�ำบลมะขำมหลวง

วัดทุง่ ฟ้ำฮ่ำม บ้ำนทุ่งฟ้ำฮ่ำม ม.2 ต�ำบลน�้ำบ่อหลวง วัดธรรมชัย ม.9 ต�ำบลบ้ำนแม วัดน�ำ้ บ่อหลวง ม.2 ต�ำบลน�้ำบ่อหลวง

วัดบ่อก๊ำง

บ้ำนบ่อก๊ำง ม.14 ต�ำบลแม่ก๊ำ วัดบ้ำนกลำง ม.2 ต�ำบลยุหว่ำ วัดบ้ำนดง ม.11 ต�ำบลบ้ำนแม วัดบ้ำนเปียง ม.13 ต�ำบลบ้ำนแม วัดบ้ำนสัน ม.6 ต�ำบลบ้ำนแม วัดบุญนำค ม.5 ต�ำบลทุ่งต้อม

วัดบุปผำรำม ม.2 ต�ำบลสันกลำง วัดปรำสำท ม.6 ต�ำบลทุ่งสะโตก วัดปวงสนุก ม.1 ต�ำบลบ้ำนกลำง วัดป่ำงิว้ บ้ำนดงป่ำงิ้ว ม.8 ต�ำบลมะขุนหวำน วัดป่ำจู้ ม.4 ต�ำบลมะขำมหลวง วัดป่ำเจดียเ์ หลีย่ ม ม.4 ต�ำบลแม่ก๊ำ วัดป่ำเจริญธรรม ม.9 ต�ำบลยุหว่ำ วัดป่ำชี ม.1 ต�ำบลทุ่งสะโตก วัดป่ำซำง ม.9 ต�ำบลมะขุนหวำน วัดป่ำตึงโรงวัว บ้ำนต้นแก้ว ม.9 ต�ำบลน�้ำบ่อหลวง

วัดป่ำพรหมปัญโญ บ้ำนหนองปึ๋ง ม.6 ต�ำบลยุหว่ำ วัดบ้ำนดง ม.11 ต�ำบลบ้ำนแม วัดบ้ำนเปียง ม.13 ต�ำบลบ้ำนแม วัดบ้ำนสัน ม.6 ต�ำบลบ้ำนแม วัดบุญนำค ม.5 ต�ำบลทุ่งต้อม วัดบุปผำรำม ม.2 ต�ำบลสันกลำง วัดป่ำไม้แดง ม.5 ต�ำบลทุ่งสะโตก วัดป่ำลำน ม.2 ต�ำบลทุ่งต้อม วัดป่ำสัก ม.9 ต�ำบลบ้ำนกลำง วัดพนัง บ้ำนพนัง ม.3 ต�ำบลทุ่งสะโตก

วัดพระเจ้ำทองทิพย์ ม.6 ต�ำบลบ้ำนกลำง

วัดพระเจ้ำสององค์ บ้ำนพระเจ้ำสององค์ ม.8 ต�ำบลมะขุนหวำน

วัดพระบำททุง่ อ้อ บ้ำนป่ำบง ม.8 ต�ำบลสันกลำง

วัดพระบำทยัง้ หวีด ม.11 ต�ำบลมะขำมหลวง

วัดมงคล บ้ำนทุ่งแป้ง ม.2 ต�ำบลท่ำวังพร้ำว วัดมงคล ม.7 ต�ำบลมะขำมหลวง วัดม่วงพีน่ อ้ ง บ้ำนม่วงพี่น้อง ม.4 ต�ำบลมะขุนหวำน วัดมะกับตอง ม.11 ต�ำบลยุหว่ำ วัดมะขำมหลวง ม.2 ต�ำบลมะขำมหลวง วัดมะขุนหวำน ม.10 ต�ำบลมะขุนหวำน วัดแม่กำ๊ ม.12 ต�ำบลแม่ก๊ำ วัดร้องขุด ม.10 ต�ำบลแม่ก๊ำ วัดร้องขุม้ ม.7 ต�ำบลบ้ำนแม วัดร้องธำร ม.1 ต�ำบลบ้ำนกลำง วัดร้องส้มป่อย ม.4 ต�ำบลทุ่งสะโตก

วัดร้องส้ำน (ร้องสร้ำน) ม.10 ต�ำบลยุหว่ำ

วัดรัตนำรำม ม.9 ต�ำบลทุ่งต้อม วัดโรงวัว ม.1 ต�ำบลน�้ำบ่อหลวง วัดโรงวัว ม.2 ต�ำบลแม่ก๊ำ วัดเวฬุวนำรำม ม.10 ต�ำบลบ้ำนกลำง วัดศรีเกิด ม.8 ต�ำบลยุหว่ำ วัดศรีนวรัฐ ม.3 ต�ำบลบ้ำนกลำง วัดศรีบญ ุ เรือง ม.9 ต�ำบลทุ่งสะโตก วัดศรีปนั เงิน ม.11 ต�ำบลยุหว่ำ วัดศรีรตั นำรำม ม.3 ต�ำบลท่ำวังพร้ำว วัดศรีอรุณ ม.5 ต�ำบลทุ่งต้อม วัดศรีอดุ ม บ้ำนหนองห้ำ ม.5 ต�ำบลน�้ำบ่อหลวง วัดสบหำร ม.3 ต�ำบลทุ่งต้อม

วัดส้มป่อย (ส้มปล่อย)

ม.2 ต�ำบลมะขุนหวำน วัดสว่ำงอำรมณ์ ม.7 ต�ำบลทุ่งสะโตก วัดสันกำวำฬ ม.5 ต�ำบลแม่ก๊ำ วัดสันควงค�ำ บ้ำนท่ำตุ้ม ม.6 ต�ำบลท่ำวังพร้ำว วัดสันคอกช้ำง ม.7 ต�ำบลแม่ก๊ำ วัดสันคะยอม บ้ำนสันคะยอม ม.3 ต�ำบลมะขำมหลวง วัดสันทรำยมูล ม.1 ต�ำบลมะขุนหวำน วัดสันป่ำตอง ม.1 ต�ำบลยุหว่ำ วัดสันห่ำว ม.7 ต�ำบลบ้ำนกลำง วัดสำมหลัง ม.8 ต�ำบลบ้ำนกลำง วัดสุพรรณรังษี ม.6 ต�ำบลทุ่งต้อม วัดแสงสว่ำง ม.5 ต�ำบลมะขำมหลวง วัดหนองแขม ม.7 ต�ำบลแม่ก๊ำ วัดหนองครอบ ม.4 ต�ำบลแม่ก๊ำ วัดหนองเต่ำค�ำ บ้ำนดงป่ำงิ้ว ม.7 ต�ำบลมะขุนหวำน วัดหนองปึง๋ ม.6 ต�ำบลยุหว่ำ วัดหนองพันเงิน ม.6 ต�ำบลยุหว่ำ วัดหนองหวำย ม.11 ต�ำบลน�้ำบ่อหลวง วัดหนองอึง่ บ้ำนหนองอึ่ง ม.5 ต�ำบลมะขำมหลวง วัดห้วยโท้ง ม.8 ต�ำบลน�้ำบ่อหลวง วัดห้วยส้ม ม.5 ต�ำบลสันกลำง วัดหัวริน ม.11 ต�ำบลทุ่งสะโตก วัดหำงดง ม.2 ต�ำบลบ้ำนแม วัดใหม่หวั ฝำย บ้ำนหัวฝำย ม.7 ต�ำบลน�้ำบ่อหลวง

วัดอินทวิชยั (อินทรวิชยั ) ม.9 ต�ำบลแม่ก๊ำ วัดอุโบสถ ม.3 ต�ำบลสันกลำง วัดอุโบสถ ม.1 ต�ำบลมะขำมหลวง วัดอุเม็ง ม.5 ต�ำบลยุหว่ำ

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

399


ท่องเที่ยวทางใจ 1422 วัด "ดอยสุเทพเป็นศรี ประเพณีเป็นสง่า บุปผชาติล้วนงามตา นามล�้าค่านครพิงค์"

อ�ำเภอสำรภี วัดกองทรำย ม.6 ต�ำบลหนองผึ้ง วัดกอประจ�ำโฮง บ้ำนสันกับตอง ม.8 ต�ำบลสำรภี วัดกู่แดง ม.6 ต�ำบลหนองแฝก วัดกู่เสือ ม.1 ต�ำบลยำงเนิ้ง วัดขัวมุง ม.5 ต�ำบลขัวมุง วัดเจดีย์เหลี่ยม ม.1 ต�ำบลท่ำวังตำล ช้ำงค�้ำ ม.11 ต�ำบลท่ำวังตำล วัดช่ำงเคิ่ง ม.4 ต�ำบลสำรภี วัดเชียงขำง ม.7 ต�ำบลไชยสถำน วัดเชียงแสน ม.2 ต�ำบลหนองผึ้ง วัดไชยสถำน ม.1 ต�ำบลป่ำบง วัดดอนแก้ว ม.5 ต�ำบลดอนแก้ว วัดดอนจืน ม.3 ต�ำบลหนองผึ้ง วัดต้นโชคหลวง ม.1 ต�ำบลไชยสถำน

วัดต้นผึ้ง บ้ำนแม่สะลำบ ม.8 ต�ำบลสำรภี วัดต้นผึ้ง ม.4 ต�ำบลสันทรำย วัดต้นยำงหลวง ม.8 ต�ำบลไชยสถำน วัดต้นเหียว ม.6 ต�ำบลยำงเนิ้ง วัดต�ำหนัก ม.2 ต�ำบลดอนแก้ว วัดท่ำต้นกวำว ม.4 ต�ำบลชมภู

วัดทุ่งขี้เสือ บ้ำนทุ่งขี้เสือ ม.5 ต�ำบลชมภู วัดเทพำรำม ม.5 ต�ำบลป่ำบง วัดนันทำรำม ม.4 ต�ำบลไชยสถำน วัดน�้ำโจ้ ม.6 ต�ำบลดอนแก้ว วัดบวกครกใต้ ม.9 ต�ำบลท่ำวังตำล วัดบวกครกเหนือ ม.8 ต�ำบลท่ำวังตำล

วัดบ้ำนกลำง บ้ำนกลำง ม.3 ต�ำบลท่ำวังตำล วัดบุบผำรำม ม.6 ต�ำบลชมภู วัดบุปผำรำม ม.11 ต�ำบลสันทรำย วัดปำกกอง ม.6 ต�ำบลสำรภี วัดปำกคลอง ม.9 ต�ำบลสันทรำย วัดป่ำกล้วย ม.13 ต�ำบลท่ำวังตำล วัดปำกเหมือง ม.3 ต�ำบลขัวมุง วัดป่ำแคโยง ม.5 ต�ำบลหนองผึ้ง วัดป่ำงิ้ว ม.5 ต�ำบลท่ำวังตำล วัดป่ำเดื่อ ม.1 ต�ำบลขัวมุง วัดป่ำบงหลวง ม.4 ต�ำบลป่ำบง วัดป่ำเปอะ ม.2 ต�ำบลท่ำวังตำล วัดป่ำเป้ำ ร่มป่ำตอง ม.9 ต�ำบลชมภู

วัดป่ำเป้ำ บ้ำนบุปผำรำม ม.6 ต�ำบลชมภู

วัดบ้ำนกลำง บ้ำนกลำง ม.3 ต�ำบลท่ำวังตำล

400

วัดบุบผำรำม ม.6 ต�ำบลชมภู วัดบุปผำรำม ม.11 ต�ำบลสันทรำย วัดป่ำสำ ม.2 ต�ำบลสันทรำย ผำงยอย ม.3 ต�ำบลหนองผึ้ง วัดพญำชมภู ม.2 ต�ำบลชมภู วัดพรหมวนำรำม บ้ำนปิงน้อย ม.8 ต�ำบลสันทรำย

พระนอนป่ำเก็ดถี่ ม.4 ต�ำบลยำงเนิ้ง วัดพระนอนหนองผึ้ง ม.4 ต�ำบลหนองผึ้ง วัดโพธิมงคล ม.6 ต�ำบลไชยสถำน วัดมงคลวนำรำม ม.1 ต�ำบลสำรภี วัดแม่สะลำบ ม.7 ต�ำบลชมภู

วัดร้องดอนชัย บ้ำนร้องดอนชัย ม.2 ต�ำบลป่ำบง

วัดไร่ดงพุทธำรำม บ้ำนไร่ดง ม.8 ต�ำบลขัวมุง วัดเวฬุวัน ม.2 ต�ำบลยำงเนิ้ง วัดศรีค�ำชมภู ม.3 ต�ำบลป่ำบง วัดศรีดอนชัย ม.4 ต�ำบลสันทรำย วัดศรีดอนมูล ม.8 ต�ำบลชมภู วัดศรีบุญเรือง ม.3 ต�ำบลไชยสถำน วัดศรีโพธำรำม ม.5 ต�ำบลยำงเนิ้ง วัดศรีมูลเรือง ม.3 ต�ำบลขัวมุง วัดศรีสองเมือง ม.2 ต�ำบลไชยสถำน วัดสันกลำง ม.7 ต�ำบลดอนแก้ว วัดสันคือ ม.8 ต�ำบลหนองผึ้ง วัดสันดอนมูล ม.3 ต�ำบลท่ำกว้ำง วัดสันต้นกอก ม.4 ต�ำบลดอนแก้ว วัดสันทรำย ม.1 ต�ำบลสันทรำย วัดสำรภี ม.2 ต�ำบลสำรภี

วัดสุพรรณ บ้ำนป่ำกล้วย ม.6 ต�ำบลป่ำบง วัดแสนหลวง ม.3 ต�ำบลยำงเนิ้ง วัดหนองแบน ม.6 ต�ำบลสันทรำย วัดหนองป่ำแสะ ม.1 ต�ำบลชมภู วัดหนองแฝก ม.5 ต�ำบลหนองแฝก

วัดหนองสี่แจ่ง บ้ำนหนองสี่แจ่ง ม.8 ต�ำบลหนองแฝก วัดหวลกำรณ์ ม.2 ต�ำบลหนองแฝก วัดอุทุมพรำรำม ม.9 ต�ำบลขัวมุง วัดอุโบสถ ม.5 ต�ำบลไชยสถำน

วัดฮ่องกอก บ้ำนร่องกอก ม.9 ต�ำบลสำรภี

วัดอุโบสถ บ้ำนน�้ำผึ้งวิลเลจน์ ม.4 ต�ำบลหนองผึ้ง

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่

อ�ำเภอหำงดง วัดก�ำแพงงำม ม.3 ต�ำบลหำงดง วัดขันแก้ว ม.2 ต�ำบลหำรแก้ว วัดขุนคง บ้ำนขุนคง ม.5 ต�ำบลขุนคง วัดขุนคง บ้ำนขุนคง ม.5 ต�ำบลขุนคง วัดขุนเส บ้ำนขุนเส ม.8 ต�ำบลหนองควำย

วัดเขตคิชฌำวำส บ้ำนน�้ำแพร่ ม.4 ต�ำบลน�้ำแพร่

วัดโขงขำว ม.2 ต�ำบลบ้ำนแหวน วัดคันธรส ม.13 ต�ำบลหนองตอง วัดคีรเี ขต ม.4 ต�ำบลบ้ำนปง วัดคีรเี ขต ม.4 ต�ำบลบ้ำนปง วัดจอมทอง ม.10 ต�ำบลบ้ำนแหวน วัดจันทรำวำส ม.5 ต�ำบลสบแม่ข่ำ วัดจ�ำปำลำว บ้ำนจ�ำปำลำว ม.6 ต�ำบลน�้ำแพร่ วัดเจริญรำษฎร์ ม.5 ต�ำบลหนองแก๋ว วัดฉิมพลีวนั ม.2 ต�ำบลสันผักหวำน วัดชัยวุฒิ ม.1 ต�ำบลบ้ำนแหวน วัดชัยสถิต ม.1 ต�ำบลสันผักหวำน

วัดช่ำงค�ำ

บ้ำนช่ำงค�ำ ม.5 ต�ำบลบ้ำนแหวน

วัดไชยสถำน ม.3 ต�ำบลสบแม่ข่ำ วัดดอนมะไฟ บ้ำนดอนไฟ ม.12 ต�ำบลบ้ำนแหวน

วัดดอยถ�ำ้

วัดประสำทธรรม ม.5 ต�ำบลหำงดง วัดป่ำธรรมชำติ บ้ำนทุ่งโป่ง ม.9 ต�ำบลบ้ำนปง วัดประชำเกษม ม.5 ต�ำบลบ้ำนปง วัดป่ำพุทธพจนำรำม บ้ำนห้วยเสี้ยว ม.1 ต�ำบลบ้ำนปง วัดป่ำลำน ม.4 ต�ำบลหนองตอง วัดปูฮ่ อ่ บ้ำนท้ำวอุ่นเรือง ม.3 ต�ำบลบ้ำนแหวน วัดผำสุกำรำม ม.3 ต�ำบลสันผักหวำน วัดพระเจ้ำเหลือ้ ม ม.2 ต�ำบลหนองตอง วัดพฤกษำรำม ม.8 ต�ำบลหนองตอง วัดโพธิพชิ ติ ม.5 ต�ำบลหนองควำย วัดมงคลเกษม ม.6 ต�ำบลหนองแก๋ว วัดร้อยจันทร์ ม.6 ต�ำบลหนองควำย วัดละโว้ ม.8 ต�ำบลหนองแก๋ว วัดลัฎฐิวนำรำม ม.4 ต�ำบลสันผักหวำน วัดวงค์เมธำ ม.3 ต�ำบลขุนคง วัดวรเวทย์วสิ ฐิ ม.9 ต�ำบลบ้ำนแหวน วัดวำฬุกำรำม ม.5 ต�ำบลหนองตอง วัดวุฑฒิรำษฏร์ ม.2 ต�ำบลหนองควำย วัดเวียงด้ง ม.1 ต�ำบลน�้ำแพร่ วัดศรีโพธิท์ อง ม.3 ต�ำบลบ้ำนแหวน วัดศรีลอ้ ม ม.4 ต�ำบลหำรแก้ว วัดศรีลงั กำ ม.1 ต�ำบลหนองตอง

วัดศรีวำรีสถำน

บ้ำนดอยถ�้ำ ม.9 ต�ำบลน�้ำแพร่ วัดดอยเปำ บ้ำนหนองควำย ม.5 ต�ำบลหนองควำย วัดเดชด�ำรงค์ ม.6 ต�ำบลขุนคง วัดเด่น บ้ำนเด่น ม.14 ต�ำบลหนองตอง วัดต้นแก้ว บ้ำนต้นแก้ว ม.1 ต�ำบลขุนคง วัดตองกำย ม.1 ต�ำบลหนองควำย วัดถวำย ม.2 ต�ำบลขุนคง วัดถำวรธรรม ม.5 ต�ำบลสันผักหวำน วัดทรำยมูล ม.4 ต�ำบลหำงดง วัดทองศิริ ม.6 ต�ำบลบ้ำนปง

บ้ำนน�้ำโท้ง ม.2 ต�ำบลสบแม่ข่ำ วัดศรีสว่ำง ม.6 ต�ำบลหำรแก้ว วัดศรีสพุ รรณ์ ม.2 ต�ำบลหนองแก๋ว วัดศำลำ ม.1 ต�ำบลน�้ำแพร่ วัดสระแก้ว ม.3 ต�ำบลสบแม่ข่ำ วัดสหัสสคุณ ม.4 ต�ำบลหนองควำย วัดสอำดกุญชร ม.4 ต�ำบลหนองแก๋ว วัดสันทรำย ม.7 ต�ำบลหนองแก๋ว

บ้ำนท่ำนำค ม.6 ต�ำบลหนองตอง วัดท้ำวค�ำวัง ม.1 ต�ำบลหำงดง วัดท้ำวบุญเรือง ม.3 ต�ำบลบ้ำนแหวน วัดทุง่ อ้อ ม.3 ต�ำบลหำรแก้ว วัดเทพกุญชร ม.7 ต�ำบลหนองตอง

วัดหนองบัว

วัดท่ำนำค

วัดเทพประสิทธิ์

บ้ำนต้นเฮือด ม.8 ต�ำบลบ้ำนแหวน

วัดธรรมประดิษฐ์สถำน บ้ำนกลำง ม.2 ต�ำบลขุนคง วัดนำคนิมติ ร ม.6 ต�ำบลหนองตอง วัดนำบุก ม.3 ต�ำบลหนองควำย วัดนิลประภำ ม.8 ต�ำบลน�้ำแพร่ วัดประชำเกษม ม.5 ต�ำบลบ้ำนปง

วัดสันป่ำสักวรอุไร

บ้ำนสันป่ำสัก ม.11 ต�ำบลหนองควำย วัดสุวรรณประดิษฐ์ ม.1 ต�ำบลหำงดง วัดหนองตอง ม.3 ต�ำบลหนองตอง บ้ำนหนองบัว ม.10 ต�ำบลหนองตอง

วัดหนองบัวหลวง บ้ำนสำรภี ม.4 ต�ำบลขุนคง วัดห้วยไร่ ม.4 ต�ำบลบ้ำนปง วัดหำงดง ม.9 ต�ำบลหำงดง วัดอรัญญวำส ม.2 ต�ำบลบ้ำนปง

วัดอินทร์เทพ

บ้ำนต้นแก ม.8 ต�ำบลหำรแก้ว วัดอินทรำพิบลู ย์ ม.9 ต�ำบลหนองตอง วัดอินทรำวำส ม.4 ต�ำบลหนองควำย วัดอุโบสถ ม.6 ต�ำบลน�้ำแพร่ วัดเอรัณฑวัน ม.3 ต�ำบลน�้ำแพร่


THE IMPORTANT TEMPLES CHIANG MAI

อ�ำเภออมก๋อย วัดกู่พฤกษำรำม

วัดป่ำคำ

บ้ำนห้วยน�้ำขำว ม.2 ต�ำบลม่อนจอง

บ้ำนป่ำคำ ม.3 ต�ำบลแม่ตื่น

วัดจอมแจ้ง

วัดบ้ำนหลวง

บ้ำนแม่ตื่น ม.2 ต�ำบลแม่ตื่น

บ้ำนหลวง ม.1 ต�ำบลยำงเปียง วัดยำงเปียง ม.2 ต�ำบลยำงเปียง

วัดจอมหมอก บ้ำนห้วยไม้หก ม.6 ต�ำบลม่อนจอง

วัดดอยชัยมงคล บ้ำนแม่ตื่น ม.1 ต�ำบลแม่ตื่น

วัดบ้ำนหลวง บ้ำนหลวง ม.1 ต�ำบลยำงเปียง

วัดสถิตบุญวำส

ม.1 ต�ำบลม่อนจอง

วัดสะฐำน บ้ำนสันต้นม่วง ม.8 ต�ำบลม่อนจอง วัดแสนทองดง ม.9 ต�ำบลอมก๋อย

อ�ำเภอฮอด วัดกิ่วลม

วัดปัญญำวุธำรำม

บ้ำนกิ่วลม ม.8 ต�ำบลบ่อหลวง วัดคัมภีรำรำม ม.1 ต�ำบลฮอด วัดโค้งงำม ม.7 ต�ำบลหำงดง วัดดงด�ำ บ้ำนดงด�ำ ม.5 ต�ำบลฮอด วัดเด่นสำรภี ม.6 ต�ำบลบ้ำนตำล วัดท่ำข้ำม ม.2 ต�ำบลหำงดง วัดทุ่งโป่ง ม.4 ต�ำบลบ้ำนตำล วัดทุง่ สน บ้ำนทุง่ สน ม.8 ต�ำบลบ่อสลี วัดทุ่งหลวง ม.5 ต�ำบลบ่อสลี วัดนำฟ่อน ม.4 ต�ำบลบ่อหลวง วัดบ่อพะแวน ม.12 ต�ำบลบ่อหลวง วัดบ่อสลี ม.6 ต�ำบลบ่อสลี วัดบ่อสะแง๋ ม.11 ต�ำบลบ่อหลวง วัดบ่อหลวง ม.1 ต�ำบลบ่อหลวง วัดบ่อหลวง บ้ำนแม่สะนำม ม.9 ต�ำบลบ่อหลวง วัดบ้ำนขุน ม.3 ต�ำบลบ่อหลวง วัดบ้ำนโป่ง ม.13 ต�ำบลหำงดง

ม.2 ต�ำบลหำงดง

วัดป่ำขำม บ้ำนป่ำขำม ม.2 ต�ำบลบ้ำนตำล วัดบ่อพะแวน ม.12 ต�ำบลบ่อหลวง วัดบ่อสลี ม.6 ต�ำบลบ่อสลี วัดบ่อสะแง๋ ม.11 ต�ำบลบ่อหลวง วัดบ่อหลวง ม.1 ต�ำบลบ่อหลวง วัดบ่อหลวง บ้ำนแม่สะนำม ม.9 ต�ำบลบ่อหลวง วัดบ้ำนขุน ม.3 ต�ำบลบ่อหลวง วัดบ้ำนโป่ง ม.13 ต�ำบลหำงดง

วัดพระธำตุเจดีย์น้อย บ้ำนแควมะกอก ม.1 ต�ำบลฮอด

วัดพระพุทธบำทแก้วข้ำว บ้ำนแควมะกอก ม.1 ต�ำบลฮอด

วัดพิมพิสำรรังสรรค์

วัดมัคคำรำม ม.1 ต�ำบลหำงดง วัดแม่ยุย บ้ำนแม่ยุย ม.7 ต�ำบลบ้ำนตำล

วัดแม่ลอง บ้ำนแม่ลอง ม.1 ต�ำบลหำงดง วัดรัตนวรำรำม ม.9 ต�ำบลหำงดง วัดลัฏฐิวัน ม.1 ต�ำบลบ้ำนตำล วัดวังกอง ม.2 ต�ำบลบ่อหลวง วัดวังลุง ม.10 ต�ำบลหำงดง

วัดศิลำนิมิตร

บ้ำนกองหิน ม.6 ต�ำบลหำงดง วัดหนองหลวง บ้ำนท่ำหนองหลวง ม.8 ต�ำบลบ้ำนตำล วัดหลวงฮอด ม.2 ต�ำบลฮอด วัดห้วยทรำย ม.15 ต�ำบลฮอด วัดหำงดง ม.3 ต�ำบลหำงดง วัดอรัญญำวำส ม.2 ต�ำบลนำคอเรือ วัดอินทำรำม ม.5 ต�ำบลหำงดง

ม.3 ต�ำบลบ้ำนตำล

CHIANG MAI I SBL บันทึกประเทศไทย

401


402

SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา


คนมีปัญญา ถึงเผชิญอยู่กับความทุกข์ ก็ไม่ยอมสิ้นหวัง ที่จะได้ประสบความสุข ...พุทธพจน์

CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย

403


วัWดA T ป่P าA ไม้ แ ดง MAI DANG สักการะพระเจ้าพรหมมหาราช อนุสรณ์สถานเทิดพระเกียรติแด่วีรกษัตริย์ผู้ยิ่งใหญ่

野 红 木 寺 庙 404

SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.