นิตยสารแนะน�ำแหล่งท่องเที่ยวและของดีจังหวัดเชียงราย ประจ�ำปี 2562
Magazine
CHIANG RAI เหนือสุดยอด...ในบวรพระพุ ทธศาสนา
EXCLUSIVE
“พระพุ ทธองค์ทรงฝาก พระพุ ทธศาสนาไว้กับพุ ทธบริษัท” ประพั นธ์ ค�ำจ้อย ผอ.ส� ำนักงานพระพุ ทธศาสนา เชียงราย
Vol.9 Issue 87/2019
www.issuu.com
_
.indd 5
จุดเริ่มต้นการเดินทางของ “พระแก้วมรกต” มิ่งขวัญแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ วัดพระแก้ว จังหวัดเชียงราย
14/2/2562 11:34:15
2
SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงราย
2-3.indd 2
11/02/62 18:13:53
HIST ORY OF B UD D HISM บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
H I S TO R Y O F BUD D HISM
WAT Phra That Pha Ngow ต�ำนาน “หลวงพ่อผาเงา” พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ คู่เมืองเชียงแสน LO C AT I O N วัดพระธาตุผาเงา
DISTRICT เชียงแสน
พระพุทธิญาณมุนี(ประเสริฐ ปญฺญาวชิโร) เจ้าคณะอ�ำเภอเชียงแสน ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
CHIANG RAI I SBL บันทึกประเทศไทย
2-3.indd 3
3
11/02/62 18:13:53
4
SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงราย
P. 4-5.indd 4
15/2/2562 13:42:43
“ท�ำบุญใส่บาตร ท�ำให้สุขใจอย่างไร ตอบไม่ ได้ ต้องลองใส่เอง รักษาศีล ท�ำให้คนงามอย่างไร ตอบไม่ ได้ ต้องลองรักษาเอง ปฏิบัติธรรม ท�ำให้จิตสงบอย่างไร ตอบไม่ ได้ ต้องลองปฏิบัติเอง เพราะบางสิ่งบางอย่าง บอกปากต่อปากไม่ ได้ อาหาร เข้าสู่ปากผู้ ใด ลิ้นผู้นั้น ย่อมรู้รสเอง ”
BUD D H I S M
WAT FANGMIN ค�ำว่าฝั่งหมิ่น หมายถึง แผ่นดินที่เกือบจะหลุด หรือ จะพังลง วัดฝั่งหมิ่นจึงหมายถึงวัดที่ตั้งอยู่บนฝั่งแม่น�้ำ ที่ใกล้ชิดติดแม่น�้ำและเกือบจะพังลง LO C AT I O N วัดฝั่งหมิ่น
DISTRICT
เมืองเชียงราย
บวชฟรี เรียนฟรี มีที่พัก โรงเรียนวัดฝั่งหมิ่นวิทยา
CHIANG RAI I SBL บันทึกประเทศไทย
P. 4-5.indd 5
5
15/2/2562 13:42:44
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดเจ็ดยอด พระอารามหลวง กราบสักการะ “พระศรีสัตตมุนี”
พระครูปริยัติโกวิท โกวิโท,ดร. ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
วัดเจ็ดยอด พระอารามหลวง ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 18 ถนนเจ็ดยอด ต�ำบลเวียง อ�ำเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย เป็นวัดทีไ่ ด้รบั การสถาปนาขึ้นใหม่ พร้อมๆ กับเมืองเชียงรายยุค “เก็บผักใส่ซ้า เก็บข้าใส่เมือง” บนพืน้ ทีว่ ดั โบราณหลายวัดทีเ่ ชือ่ ว่า สร้างขึน้ ตัง้ แต่สมัยอาณาจักรล้านนาเจริญรุ่งเรือง ภายหลั ง เมื อ งเชี ย งราย ถู ก ทิ้ ง รกร้ า งเป็ น เวลานานหลายทศวรรษ (พ.ศ.2347 – พ.ศ.2386) ในเวลาต่อมาครูบาเจ้าอินทรจักร จึงเป็น ผู้น�ำในการปฏิสังขรณ์ ซ่อมแซมเจดียว์ ดั เจ็ดยอดขึน้ ใหม่เมือ่ พ.ศ.2460 ใช้เวลาถึง 8 ปี จึงแล้วเสร็จ ใน พ.ศ.2469 ส่วนพระอุโบสถสร้างขึน้ ใน พ.ศ.2471 วัดเจ็ดยอดได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา เมือ่ วันที่ 27 กันยายน พ.ศ.2487 และได้รบั การ ยกฐานะขึ้นเป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญ เมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ.2521 ปัจจุบนั พระครูปริยตั โิ กวิท (ฉายา โกวิโท),ดร. เป็นเจ้าอาวาส 6
วัดเจ็ดยอด เป็นศาสนสถานทีพ่ ระมหากษัตริยแ์ ห่งราชวงศ์จกั รีได้เคย เสด็จพระราชด�ำเนินถึง 2 พระองค์ คือพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า เจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 6 ครัง้ ด�ำรงพระอิสริยยศ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ สยามมกุฎราชกุมาร ได้เสด็จแทนพระองค์ประพาส มณฑลพายัพเมือ่ วันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ.2488 และพระบาทสมเด็จพระ ปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร รัชกาลที่ 9 ทรงพระราช ศรัทธาเสด็จพระราชด�ำเนินมาถวายผ้าพระกฐิน เมือ่ วันที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ.2513
SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงราย
2
.indd 6
13/2/2562 16:30:03
ปูชนียวัตถุ และสถานที่ส�ำคัญภายในวัดเจ็ดยอด
พระธาตุเจ็ดยอด เป็นพระเจดียเ์ จ็ดองค์ ตัง้ อยูร่ วมกันบนฐานไพทีกอ่ อิฐ ถือปูน เป็นอาคารชัน้ เดียว มีลกั ษณะคล้ายคลึงกับพระวิหารเจ็ดยอด ณ เมือง เชียงใหม่ พระเจดียป์ ระธานประดิษฐานอยูก่ งึ่ กลางลาน ล้อมรอบด้วยเจดียบ์ ริวาร 6 องค์ พระอุโบสถวัดเจ็ดยอด (พระอารามหลวง) สร้างขึน้ เมือ่ พ.ศ.2471 เป็นอาคารก่ออิฐถือปูนศิลปกรรมแบบล้านนา หลังคา 2 ชัน้ ภายในพระ อุโบสถประดิษฐานพระประธาน เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย ก่ออิฐ ถือปูนปิดทอง ศิลปะพื้นเมืองล้านนา มีนามว่า “พระศรีสัตตมุนี”
ประวัติเจ้าอาวาส
พระครูปริยตั โิ กวิท ดร. (ฉายา โกวิโท) วิทยฐานะ น.ธ.เอก, ป.ธ.4 ,พธ.บ., ศน.ม., Ph.D. ปัจจุบันด�ำรงต�ำแหน่งพระครูสัญญาบัตร เจ้าอาวาส พระอารามหลวง ชั้นตรี (จล.ชต.) พ.ศ.2552 บรรพชา วันที่ 5 เมษายน พ.ศ.2507 วัดไชยนารายณ์ ต�ำบลเวียงชัย อ�ำเภอเวียงชัย จังหวัดเชียงราย พระอุปัชฌาย์ คือพระพุทธิวงศ์วิวัฒน์ วัดพระแก้ว ต�ำบลเวียง อ�ำเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย อุปสมบท วันที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ.2513 ณ วัดไชยนารายณ์ ต� ำ บลเวี ย ง อ� ำ เภอเวี ย งชั ย จั ง หวั ด เชี ย งราย พระอุ ป ั ช ฌาย์ คื อ เจ้าอธิการแก้ว สุตฺตธัมโม วัดไชยนารายณ์ ต�ำบลเวียง อ�ำเภอเวียงชัย จังหวัดเชียงราย
ส
ูปริย
้าอา
วา
พร
ะคร
ัติโกว
ิท โกวิโท,ดร. ดดำรงต
่งเ จ ตำ แ ห น
CHIANG RAI I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 7
7
13/2/2562 16:30:12
ทีมงานนิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย ฉบั บ พิ เ ศษ มี ความปี ติ ที่ ได้ บั น ทึ ก ประวัติ ศ าสตร์ ก ารน� ำ พระพุท ธศาสนา มาใช้ ในชี วิ ต อย่ า งเข้ มข้ นอี ก ครั ง้ ใน จังหวัดเชียงราย เมื่อได้ ตามรอยถ� ้ำหลวงขุ น น� ำ้ นางนอนที่ ปิ ดมากว่ า 6 เดื อ น หลังจากทีมหมูป่าอะคาเดมีได้ มาสร้ าง ต� ำ นานการติ ด ถ� ำ้ อย่ า งมี ส ติ ไ ว้ อย่ า ง อุก ฤษฏ์ กับ การฝึ ก สมาธิ อ ย่ า งต่อ เนื่ อ ง จนจิ ต สงบเพื่ อ เผชิ ญ กับ ภาวะการขาด อาหารอย่ า งเยี่ ย มยอด มี เ พี ย งน� ำ้ และ อากาศหล่อเลีย้ งชี วิต นี่ ไม่ใช่เพี ยงต� ำ นานของเด็กไทยไปดัง ทั่ว โลก 13 ชี วิต ในวัน นี เ้ ท่า นัน้ หากยัง ย้ อ นรอยไปสองพัน กว่า ปี นับ แต่พ ระพุท ธเจ้ า ทรงต่อ สู้ กับพญามาร ก็ ทรงใช้ การก� ำ หนดลมหายใจอย่า งมี สติ จนเกิ ดสมาธิ สามารถ ก้ าวข้ ามเวทนาต่างๆ ได้ จนพ้ นจากความทุกข์กายใจในที่สดุ ท�ำให้ พระพุทธศาสนา ประดิษฐาน ณ ดินแดนเหนือสุดยอดในสยามแห่งนีม้ ายาวนาน ตัง้ แต่ยุคก่อน ตังอาณาจั ้ กรล้ านนา จนถึงปั จจุบนั กับบันทึกการเดินทางหน้ าใหม่ของเชียงราย ซึ่ง จะท� ำ ให้ ท่ า นผู้อ่ า นมี พ ลัง มี ก� ำ ลัง ใจจากความเพี ย รและธรรมะจากพระ สุ ป ฏิ ปั น โนในจั ง หวั ด มากมาย เพื่ อ น� ำ ไปใช้ ในการด� ำ เนิ น ชี วิ ต ให้ ผ่ า นพ้ น อุปสรรคขวากหนามได้ เป็ น อย่า งดี ในวัน นี แ้ ละอนาคต เราได้ รับการต้ อนรับด้ วยไมตรี จิตอย่างอิ่มใจตลอดการเดินทาง ในนามของ นิ ต ยสาร SBL บัน ทึ ก ประเทศไทย ผมขอถื อ โอกาสนี ้ กราบขอบพระคุ ณ ท่านผู้อำ� นวยการส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดเชียงราย “นายประพันธ์ ค�ำจ้ อย” ตลอดจนผู้บริ หารองค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่นต่าง ๆ ศาสนสถาน บริ ษัท ห้ างร้ าน ฯลฯ ซึง่ กรุณาสนับสนุนให้ ทมี งานด�ำเนินการจัดท�ำนิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย ฉบับ จังหวัดเชี ยงราย ส�ำเร็ จลุล่ว งด้ ว ยดี
สามเหลี่ยมทองค�ำ @อ�ำเภอเชียงแสน
คุณศุภกิจ ศิลปรังสรรค์
บรรณาธิการอ�ำนวยการ นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย
Website
Tel : 08-1442-4445, 08-4874-3861 Email : supakit.s@live.com
บริษัท สมาร์ท บิซิเนส ไลน์ จ�ำกัด 9/4-6 ถนนรามอินทรา แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพฯ 10220 โทร. 0-2522-7171 แฟกซ์. 0-2971-7747 FACEBOOK : SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 8
EMAIL : sbl2553@gmail.com
สะดือเมือง @อ�ำเภอเมือง
14/02/62 16:07:22
Talk
EDITOR’S
CHIANG RAI 2019
คณะผู้บริหาร
นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย
คณะที่ปรึกษา ศ.ดร.กฤช เพิ่มทันจิตต์ พลเอกสรชัช วรปัญญา ดร.นิเวศน์ กันไทยราษฎร์ ดร.ประยุทธ คงเฉลิมวัฒน์ ดร.ชาญ ธาระวาส ดร.สุมิท แช่มประสิท ดร.วัลลภ อารีรบ ดร.พิชัย ทรัพย์เกิด ดร.ไอศูรย์ ดีรัตน์ ดร.สุเทษณ์ จันทรุกขา ดร.อรรถสิทธิ์ ตันติวิรัชกุล
บรรณาธิการอ�ำนวยการ ศุภกิจ ศิลปรังสรรค์ บรรณาธิการบริหาร อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์
บรรณาธิการงานบุคคล พงษ์ศักดิ์ พรณัฐวุฒิกุล วนัสกฤษณ์ ศิลปรังสรรค์ บรรณาธิการการตลาด ปัณณ์ฐาโชค ธนสานสิทธิโชติ ฝ่ายกฎหมาย สมคิด หวังเชิดชูวงศ์ ทวิช อมรนิมิตร
กองบรรณาธิการ
นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย
ฝ่ายประสานงานโครงการ ภาครัฐและเอกชน
ผู้จัดการ
กิตติชัย ศรีสมุทร
คณะทีมงาน
วิทยา การินทร์ ภานพ เพิ่มพงศ์วงศ์วาน ทวัชร์ ศรีธามาศ
ฝ่ายประสานงานข้อมูล
ผู้จัดการฝ่ายประสานงานข้อมูล นันท์ธนาดา พลพวก
ฝ่ายประสานงานข้อมูล
ศุภญา บุญช่วยชีพ นงลักษณ์ เทียมเกตุทวีโชค
นักเขียน
คุณิตา สุวรรณโรจน์
ฝ่ายศิลปกรรม
ผู้จัดการฝ่ายศิลปกรรม พัชรา ค�ำมี
กราฟิกดีไซน์
พิมพ์พิสุทธิ์ พังจูนันท์ วรเชษฐ สมประสงค์ ธีระวัฒน์ ระวาดชัย
ช่างภาพ
ชัยวิชญ์ แสงใส ปณต ปิติจารุวิศาล กิติวัฒน์ ทิศมั่ง วิทยา ประเสริฐสังข์
ตัดต่อวีดีโอ
วัชรกรณ์ พรหมจรรย์ ฝ่ายบัญชี / การเงิน
บัญชี
ปัฐมาภรณ์ แสงบุราณ
ผู้จัดการฝ่ายการเงิน สุจิตรา แดนแก้วนิต
การเงิน
จันทิพย์ กันภัย ชวัลชา นกขุนทอง วนิดา ศรีปัญญา ถ�้ำหลวงขุนน�้ำนางนอน @อ�ำเภอแม่สาย
.indd 9
www.sbl.co.th
15/02/62 09:58:58
...มุมมองใหม่ของการพักผ่อนอย่างมีศิลป์
โรงแรมสบาย@เชียงราย โรงแรมเปิดใหม่ สไตล์ อินดัสเทรียลลอฟต์ สถาปัตยกรรมปูนเปลือย ตกแต่ง ห้องพักอย่างมีศิลปะ ดิบ เท่ มุมมองใหม่ในเชียงราย หลับสบาย ผ่อนคลายตลอดการเดินทางทัง้ ไปและกลับ อบอุ่นไปด้วยห้องพักจ�ำนวน 30 ห้อง ห้องพักขนาด 28 ตารางเมตร จัดเต็ม 3 แบบ 3 สไตล์ ลอฟล์ พาสเทล และอิ น ดั ส เทรี ย ล พร้ อ มสิ่ ง อ� ำ นวยความสะดวก ครบครัน อาทิ TV LED 42”, แอร์ระบบ Inverter, ฝักบัวน�ำ้ อุ่น Rain Shower, ฟรีน�้ำดื่มวันละ 2 ขวด, ฟรี WIFI, มีไดร์เป่าผมให้ยืม มีบริการซัก-รีด และ อาหารเช้าฟรี! บริการให้เป็นแบบมินิบุฟเฟ่ต์ ตั้งแต่เวลา 07.00 น. - 10.00 น.
F:SabaiHotelCR
ราคาห้องพักช่วง Low Season 1. Superior room (Twin/Double) ส�ำหรับ 2 ท่าน ราคา 800 บาท ลด 10% ราคาจะอยู่ที่ 720 บาท 2. Family room (Triple) ส�ำหรับ 3-4 ท่าน ราคา 1,400 บาท ลด 10% ราคาจะอยู่ที่ 1,260 บาท 3. Gang room (Four beds) ส�ำหรับ 3-4 ท่าน ราคา 1,400 บาท ลด 10% ราคาจะอยูท่ ี่ 1,260 บาท Check in from 2 Pm. /Check out at noon, Extra bed 300.-/ Night ทางเรามีบริการ เตียงเสริม 300.-/คืน and Mini breakfast included
โรงแรมสบาย@เชียงราย อยูใ่ กล้โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์
600 เมตร ห่างจากหอนาฬิกา 1.5 กม. ห่างจากศูนย์การค้าเซ็นทรัล พลาซาเชียงราย 1.8 กม.ห่างจากวัดพระแก้วเพียง 1.9 กม. ห่างจาก วัดร่องเสือเต้น 4.6 กม.ห่างจากวัดพระธาตุจอมทองและเสาสะดือเมือง 2.7 กม.และยังใกล้แหล่งท่องเที่ยวมากมาย 10
โรงแรมสบายแอทเชียงราย 136/6 หมู่ที่ 26 ถนนสนามบิน(เก่า) ต�ำบลเวียง อ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย ส�ำรองที่พัก โทร. 053-719292, 090-5852292 Email : sabaiatchiangrai@gmail.com , Website : www.sabaihotel.co.th
SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา
.indd 10
8/2/2562 16:58:34
...ตอบโจทย์ทุกการเดินทาง
บริการห้องพักทั้งหมด 79 ห้อง คือ Grand Deluxe Room, Deluxe Room, Deluxe Twin Room, Deluxe Triple Room, Superior Room และ Standard Room ตั้ ง อยู ่ ใ จกลางเมื อ ง ใกล้ แ หล่ ง ท่ อ งเที่ ย วยอดฮิ ต ของเชี ย งราย อาทิ อนุสาวรีย์พ่อขุนเม็งราย, วัดร่องเสือเต้น, เชียงรายไนซ์บาซาร์, ถนนคนม่วน (ถนนคนเดินวันอาทิตย์), ถนนคนเดินวันเสาร์ และ เซ็นทรัลพลาซาเชียงราย เมื่อท่านเข้ามาภายใน THE SPACE HOTEL เรามีบริการทุกอย่างที่ ครบครันทั้งโซนออกก�ำลังกาย(Fitness Room), มุมท�ำงาน(Co-Working) และมุมพักผ่อนสบายๆ (Lobby) โรงแรมเดอะสเปซ ตอบโจทย์ ทุ ก ความต้ อ งการของนั ก เดิ น ทางไม่ ว ่ า ท่านจะมาเพือ่ พักผ่อน ท่องเทีย่ ว หรือติดต่อธุรกิจ ด้วยท�ำเลที่ตั้งซึ่งอยู่ใจกลางเมือง ใกล้สถานที่ ราชการส�ำคัญ ราคาประหยัด เดินทางสะดวก โดยรถโดยสาร รถยนต์ และเครื่องบิน มีบริการ WiFi ฟรีในพื้นที่ส่วนกลาง เพื่อให้ คุณไม่พลาดการติดต่อกับเพื่อนและครอบครัว
โรงแรม เดอะสเปซ THE SPACE HOTEL
: 930/14 ถนนพหลโยธิน ต�ำบลเวียง อ�ำเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย : 053-600-422, 093-297-0667 : www.thespacehotels.com : @thespacehotel(มี@) : The Space Hotel : TheSpaceHotel CHACHOENGSAO : info@thespacehotels.com I SBL บันทึกประเทศไทย 11
THE SPACE HOTEL.indd 11
13/2/2562 10:44:16
- โรงแรม ไฮ เชี ย งราย HI CHIANGRAI HOTEL ที่ พั ก ยอดนิ ย มส� ำ หรั บ ทุ ก การเดิ น ทาง...ใจกลางเมื อ งเชี ย งราย โรงแรม ไฮ เชี ย งราย ตั้ ง อยู ่ ใ กล้ กั บ NIGHT BAZAAR และ สถานี ข นส่ ง แห่ ง เก่ า เพี ย ง 400 เมตร และยั ง อยู ่ ใ กล้ กั บ หอนาฬิ ก า เชียงรายประมาณ 800 เมตร อีกทั้งห่างจากถนนคนเดินคืนวันเสาร์ เชี ย งรายไม่ ถึ ง 1 กิ โ ลเมตร ผู ้ เ ข้ า พั ก สามารถขี่ จั ก รยานชมเมื อ ง ได้ ด้ ว ยที่ พั ก เป็ น พื้ น ที่ ย อดนิ ย มส� ำ หรั บ การขี่ จั ก รยาน เรามี บ ริ ก าร จั ก รยานส� ำ หรั บ ใช้ ง านฟรี “ เลื อ กความสะดวกสบายใจกลางเมื อ งเลื อ ก HI CHIANGRAI HOTEL ”
แสนสะดวกสบายกั บ การท� ำ งานในห้ อ งพั ก แต่ ล ะห้ อ งในโรงแรม มี โ ต๊ ะ ท� ำ งาน มี บ ริ ก ารอิ น เทอร์ เ น็ ต ไร้ ส าย WIFI ฟรี โทรทั ศ น์ และ ตู้เย็น MINI BAR และ ชา กาแฟ มีสระว่ายน�้ำในร่ม ซึ่งผู้เข้าพักทุกท่าน สามารถใช้บริการได้ ผ่อนคลายกล้ามเนื้อ พักผ่อนในสระมาตรฐาน มี บ ริ ก ารอาหารเช้ า ประจ� ำ วั น แบบบุ ฟ เฟต์ แ ละแบบเอเชี ย พร้ อ ม ห้ อ งอาหารไทยไว้ บ ริ ก าร พนั ก งานที่ แ ผนกต้ อ นรั บ สื่ อ สาร ด้ ว ยภาษาไทยและภาษาอั ง กฤษ ยิ น ดี ต ้ อ นรั บ ให้ ค� ำ แนะน� ำ และ บริ ก ารตลอด 24 ชั่ ว โมง มี ร ะบบรั ก ษาความปลอดภั ย CCTV ระบบกุ ญ แจ KEY CARD, SAFTY BOX ในห้ อ งพั ก
www.hichiangrai.com
hichiangraihotel
@hichiangraihotel
เลขที่ 902/3 ถนนพหลโยธิ น ต� ำ บลเวี ย ง อ� ำ เภอเมื อ งเชี ย งราย จั ง หวั ด เชี ย งราย 57000
info@hichiangrai.com
12
โทร. 0-5371-6699
SBL บันทึกประเทศไทย I พิจิตร
.indd 12
11/02/62 18:15:08
B an du
Re sor t
...ที่สุดของความสุขแห่งการพักผ่อน
โรงแรมบ้านดู่รีสอร์ท ครบเครื่องเรื่องการพักผ่อนและเต็มอิ่มกับความสุขทุกการจัดเลี้ยง
พักกาย พักใจ ดื่มด�่ำกับการพักผ่อนในรีสอร์ท กลางเมืองที่ห้อมล้อมไปด้วยธรรมชาติและแมกไม้ นานาพรรณ รีสอร์ทสวยงาม อยู่ใกล้ใจกลางเมือง เชียงรายเพียง10 กิโลเมตร คุณสามารถมาสัมผัสกับ การพักผ่อนที่แสนสบาย พร้อมสระว่ายน�้ำกลาง ธรรมชาติ และที่ อ าบแดดแสนอบอุ ่ น เป็ น ส่ ว นตั ว ส�ำหรับคุณและครอบครัว กับบริการที่แสนประทับใจ จากรีสอร์ทของเรา ห้องพักสไตล์บูติกที่ตกแต่งอย่างลงตัวพร้อม สิ่งอ�ำนวยความสะดวกครบครัน บริการอาหารเช้าทัง้ แบบ American Breakfast และ บุฟเฟ่ต์ (Room is boutique style with good facility and have a breakfast with American breakfast or buffet.) และรองรับสถานทีจ่ ดั เลีย้ งและ สัมมนาด้วยระบบแสงสีเสียงที่ดีเยี่ยม (Location support to party event and seminar professional sound and light system)
โรงแรมบ้านดู่รีสอร์ท (Bandu Resort) เลขที่ 121/588 หมู่ 3 ต�ำบลบ้านดู่ อ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย 57100 F:bandu resort
: banduresort.com : www.banduresort.com ส�ำรองจองห้องพัก โทร.0-5376-7797 : 0882524455
CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย
1
Bandu Resort.indd 13
13
8/2/2562 16:50:12
Phutien
ภูเทียน รีสอร์ท
Resort
ภู เ ที ย น รี ส อร์ ท ตั้ ง อยู ่ ใ นต� ำ บลห้ ว ยสั ก อ� ำ เภอเมื อ ง จั ง หวั ด เชี ย งราย เป็นรีสอร์ทที่อยู่ท่ามกลางธรรมชาติ บ้านพักเป็นหลังๆ เหมาะส�ำหรับผู้ที่มองหา ความผ่ อ นคลายและความบั น เทิ ง ไปพร้ อ มๆ กั น ในเชี ย งราย ที่พัก 3 ดาวแห่งนี้ ตั้ ง อยู ่ บ นท� ำ เลที่ เ ยี่ ย มยอด อยู ่ ห ่ า งจากตั ว เมื อ งอั น น่ า ตื่ น ตาเพี ย ง 9.5 กิโลเมตร การเดินทางไปยังสถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยมของเมืองจึงท�ำได้โดยง่าย เดิ น ทางสะดวกรวดเร็ ว
... ที่พักดีเยี่ยมที่สุดส�ำหรับการพักผ่อน
14
SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา
.indd 14
8/2/2562 16:55:27
ภู เ ที ย น รี ส อร์ ท มี สิ่ ง อ� ำ นวยสะดวกมากมายที่ จ ะท� ำ ให้ ก ารไป พั ก ผ่ อ นในเชี ย งราย ของท่ า นคุ ้ ม ค่ า มากยิ่ ง ขึ้ น ณ ที่ พั ก แห่ ง นี้ ผู้เข้าพักจะเพลิดเพลินกับสิ่งอ�ำนวยความสะดวก ระดับ Top Class เช่น รูมเซอร์วิส 24 ชั่วโมง, ฟรี Wi-Fi ทุกห้อง, ระบบความปลอดภัย 24 ชั่ ว โมง, แม่ บ ้ า นท� ำ ความสะอาดรายวั น , เช็ ค อิ น /เช็ ค เอาท์ ส่ ว นตั ว และบริ ก ารรั บ -ส่ ง ไปยั ง สนามบิ น ที่ั พั ก มี ห ้ อ งพั ก จ� ำ นวน 9 ห้ อ งให้ เ ลื อ กสรรหลากสไตล์ ล้วนแล้วแต่ให้ความรู้สึกสงบผ่อนคลายขณะเข้าพัก ไม่ว่าท่าน จะชอบออกก� ำ ลั ง กาย หรื อ มองหาวิ ธี ผ ่ อ นคลายหลั ง วั น อันแสนวุ่นวาย ด้วยการเล่นกอล์ฟ ในสนามกอล์ฟขนาดมาตรฐาน (ในระยะ 3 กิโลเมตร), สระว่ายน�ำ้ กลางแจ้ง, บริการนวดแผนไทย, อาบแดด , สวนธรรมชาติ ทั้ ง หมดตอบโจทย์ ค วามต้ อ งการ ของท่ า นได้ เ ป็ น อย่ า งดี ไม่ ว ่ า ท่ า นจะเดิ น ทางไปเชี ย งราย ด้ ว ยจุ ด ประสงค์ ใ ดก็ ต าม ภู เ ที ย น รี ส อร์ ท คื อ ที่ พั ก ที่ ดี เ ยี่ ย มที่ สุ ด ส� ำ หรั บ การพั ก ผ่ อ น อย่ า งสุ ข กายสบายใจ ภูเทียน รีสอร์ท (Phutien Resort) เลขที่ 4 หมู่ 2 ต�ำบลห้วยสัก อ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย 57000 ส�ำรองจองห้องพัก โทร. 091-858-0878 05-360-2787 CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 15
15
8/2/2562 16:55:43
ฉบับที่ 87 จังหวัดเชียงราย พ.ศ. 2562
CHIANG RAI 2019
CONTENTS
issuu จังหวัดเชียงราย เชียงราย...ครั้งหนึ่งกับการเสด็จมาเยือนของ พระพุทธเจ้า ณ ดินแดนล้านนาทางภาคเหนือของไทย
6
วัดเจ็ดยอด พระอารามหลวง
สักการะหลวงพ่อนาคปรกศิลา อายุกว่า 1,000 ปี
พระพุทธรูปที่เก่าแก่ สร้างด้วยหินเขียว สวยงามมาก และศักดิ์สิทธิ์มาก
22
ใต้รม่ พระบารมี “โครงการพัฒนาดอยตุง อันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ” เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในพื้นที่ 11,000 คน จาก 6 ชนเผ่า ท่ามกลางความแห้งแล้ง และความเป็นอยู่แร้นแค้นที่ดอยตุง
36
SPECIAL INTERVIEW
บันทึกเส้นทางพบส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดเชียงราย นายประพันธ์ ค�ำจ้อย
42
บันทึกเส้นทางท่องเที่ยว
.indd 16
ผามออีแ
14/02/62 17:16:52
วัดร่องเสือเต้น
64
78
66
80
70
81
72
83
74
84
76
90
วัดฝั่งหมิ่น วัดพระธาตุดอยเขาควาย วัดศรีมงคล วัดสันมะนะ ไร่ชาฉุยฟง
56
รายนามเจ้าคณะปกครอง
ตลาดบ้านใหม่ร้อยปี .indd 17 บานประตูศาลาการเปรียญ
58
วัดพระแก้ว เชียงราย
วัดร่องเผียว วัดพระธาตุดอยฮาง(พระธาตุดอยแม่แอบ)
วัดศรีศักดาราม วัดเทพบุญยืน วัดริมกก วัดพนาลัย วัดป่าสักหลวง วัดพระธาตุดอยกู่แก้ว
จุดชมวิวพญากูปรี
14/02/62 17:16:56
CONTENTS
ถ�้ำหลวงขุนน�้ำนางนอน
110 98
120
92
119
140
94
120
144
98
124
146
110
126
148
114
130
150
116
136
154
วัดบ้านสันพัฒนา(บ้านสันมงคล) วัดมงคลธรรมกายาราม วัดเวียงพาน วัดถ�้ำปลา วัดปางห้า วัดถ�้ำปุ่ม
.indd 18
ดอยช้างมูบ
วัดถ�้ำเสาหิน วัดพระธาตุผาเงา วัดพระเจ้าล้านทอง วัดงิ้วใหม่ วัดพระธาตุดอยงู วัดอ�ำมาตย์
วัดดอนไชย วัดดอนแท่น วัดพระธาตุจอมหงษ์ วัดเทิงเสาหิน วัดพระเกิดคงคาราม วัดดอนแก้ว
14/02/62 17:17:08
196 158 162
วนอุทยานภูชี้ฟา้
สะดือเมือง
158
172
184
196
162
174
186
202
165
176
188
204
166
178
191
206
168
180
192
208
170
182
194
210
วัดพระนาคแก้ว วัดห้วยประสิทธิ์ วัดสันมะเหม้า วัดพระธาตุจอมแว่ วัดห้วยทรายขาว วัดถ�้ำพระบ�ำเพ็ญบุญ
.indd 19
วัดพระธาตุจอมแจ้ง วัดอุดมวารี วัดไตรมัคคาราม วัดศรีเมืองมูล วัดพระธาตุคือเวียง วัดถ�้ำพระผาคอก
วัดแสงแก้วโพธิญาณ วัดพระเจ้าทองทิพย์ วัดแม่ต�๋ำ
วัดอรัญญวิเวก วัดสันนายาว วัดแม่เจดีย์
วัดเขาแก้ว วัดดงมะดะ วัดศรีวังมูล วัดแม่ลาววนาราม วัดโป่งมอญ วัดป่าบ้านเหล่า
14/02/62 17:17:19
คิดถึงที่พักบรรยากาศธรรมชาติ อาหารอร่อย ที่พักสะอาด บริการเป็นกันเอง
So un Mes a
คิดถึง...สวนเมษารีสอร์ท เราพร้อมทุกฤดูกาลของการต้อนรับ
Hot el
F:SounMesaResort
สวนเมษารีสอร์ท ตั้งอยู่ถนนสาย 1089 แม่จัน - ฝาง เลขที่ 119/2 หมู่ 12 บ้านห้วยยาโน ต.ป่าตึง อ.แม่จัน จ.เชียงราย 57110 ส�ำรองที่พัก โทร. 053-719292, 090-5852292
20
SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา
.indd 20
8/2/2562 17:05:26
ห้องพักราคาดีที่สุด ในเชียงราย ....Paddy Field
Paddy fie ld
Chiangrai
...หยุดวันเวลา ณ ห้องพักกลาง ทุ่งนา สุขใจไม่รู้ลืม
Paddy field Chiangrai ห้องพักกลาง ท้ อ งทุ ่ ง นาข้ า วสี ท องที่ จ ะท�ำ ให้ คุ ณ หยุ ด วั น เวลาไว้ที่นี่อย่างเพลิดเพลินใจ ไม่อยากกลับ พร้อมเสิร์ฟข้าวปลาอาหารปลอดสารพิษที่ จะท�ำให้คุณรู้สึกอบอุ่นใจเหมือนอยู่ในดินแดน แห่งความสุข จากการเดินเท้าผ่านสะพาน ไม้ ไผ่กลางทุ่งนา สู่ Paddy field Chiangrai ห้ อ งพั ก ที่ ดี ที่ สุ ด ส� ำ หรั บ คุ ณ เพี ย งคื น ละ 500 บาท และสะดวกสบายในการเดิ น ทาง ซึง่ ห่างจากสนามบินเชียงรายเพียง 700 เมตร
Paddy field Chiangrai ตั้งอยู่ เลขที่ 190 บ้านหนองปง ต�ำบลบ้านดู่ อ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย ส�ำรองห้องพักได้ที่
โทร. 088-882-5498
CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย
1
Paddy field Chiangrai.indd 21
21
8/2/2562 17:21:01
DOI TUNG
DEVELOPMENT PROJECT โครงการพั ฒนาดอยตุง (พื้ นที่ทรงงาน) อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ จังหวัดเชียงราย 22
_
SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงราย
.indd 22
8/2/2562 9:37:55
เปลี่ยนเส้นทางทุกข์ เป็นเส้นทางแห่งปัญญา จากกองคาราวานฝิ่น สู่สวนไม้ดอกไม้ประดับเมืองหนาว สร้างความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืนในปัจจุบัน
“ปลูกป่า ปลูกคน” ....จุดก�ำเนิดโครงการ
โครงการพั ฒ นาดอยตุ ง (พื้ น ที่ ท รงงาน) อั น เนื่ อ งมาจาก พระราชด�ำริ จังหวัดเชียงราย มีเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพ ชีวิตของประชาชนในพื้นที่ 11,000 คนจาก 6 ชนเผ่า ท่ามกลาง ความแห้งแล้งและความเป็นอยู่แร้นแค้นที่ดอยตุงเมื่อปีพ.ศ.2531 ชาวบ้ า นที่ ด อยตุ ง ต้ อ งหาทางรอดด้ ว ยการประกอบอาชี พ ผิ ด กฎหมาย เช่น การท�ำไร่เลื่อนลอย ปลูกฝิ่น และค้าประเวณี แต่ ส มเด็ จ พระศรี น คริ น ทราบรมราชชนนี ท รงเล็ ง เห็ น ถึ ง ต้นเหตุของปัญหาดังกล่าวว่าเกิดจากความยากจน และการขาด โอกาสในชีวติ มีพระวิสยั ทัศน์ให้คนดอยตุงสามารถพึง่ พาตัวเองได้ และอยูร่ ว่ มกับป่าได้อย่างพึง่ พาอาศัย การด�ำเนินโครงการจึงเป็น ไปในรูปแบบ “ปลูกป่า ปลูกคน” หรือการแก้ปญ ั หาความยากจน ที่ยึดคนเป็นศูนย์กลาง และยึดหลักความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ ที่ ส มดุ ล กั บ ความมั่ น คงทางสั ง คม และความสมบู ร ณ์ ท าง ธรรมชาติ การปลูกป่าทีด่ อยตุง คือ จุดเริม่ ต้นแห่งการคืนความสมบูรณ์ จากสภาพป่าเขาที่เสื่อมโทรม พื้นดินที่หมดสภาพ ล�ำธารที่แห้ง เหือด ปัจจุบันกลายเป็นป่าต้นน�ำ้ อันอุดมสมบูรณ์ ป่าเศรษฐกิจ และป่าใช้สอยในสัดส่วนที่พอเหมาะเพื่อหล่อเลี้ยงชีวิตผู้คนบน ดอยตุง ควบคูก่ บั การปลูกป่า คือ การปลูกคนให้พงึ่ พาตนเองได้และ พัฒนาชุมชนต่อไป มีการสร้างงานและอาชีพหลากหลายส�ำหรับคน ทีม่ คี วามถนัดต่างกัน เช่นการปลูก แปรรูปกาแฟและแมคคาเดเมีย การผลิตงานหัตถกรรม งานบริการ การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ และ เกษตรภูมิทัศน์ เป็นต้น ส�ำหรับเยาวชนรุ่นใหม่ซึ่งจะเติบโตเป็นผู้น�ำในอนาคตนั้น โครงการพัฒนาดอยตุงฯ พัฒนาการศึกษาในโรงเรียนรวม 8 แห่ง เพื่อสร้างพลเมืองที่ดี ให้มีภูมิคุ้มกัน พัฒนาตนเองและสังคมได้ อย่างต่อเนื่อง
เมือ่ ปีพ.ศ.2546 ส�ำนักงานควบคุมยาเสพติดและอาชญากรรม แห่งสหประชาชาติ (UNODC) ได้ยกย่องหลักการพัฒนาของ โครงการพั ฒ นาดอยตุ ง ฯ ว่ า มี ส ่ ว นส�ำ คั ญอย่างยิ่ง ในการลด ปริมาณการปลูกพืชเสพติดและแก้ปัญหาความยากจนได้อย่าง ยั่งยืน โครงการพั ฒ นาดอยตุ ง (พื้ น ที่ ทรงงาน) อันเนื่องมาจาก พระราชด�ำริ เริ่มต้นขึ้นเมื่อปีพ.ศ. 2531 ถือเป็นโครงการพัฒนา โครงการแรกของมู ล นิ ธิ แม่ ฟ ้ า หลวงฯ ที่น้อมน�ำศาสตร์ข อง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 9 และสมเด็จพระศรีนคริน ทราบรมราชชนนีมาเป็นหลักในการแก้ไขปัญหาความยากจนและ ยกระดับคุณภาพชีวิตอย่างองค์รวม ปัจจุบัน โครงการพัฒนาดอยตุงฯ ได้รับการยกย่องในระดับ นานาชาติให้เป็นต้นแบบการพัฒนาทางเลือกเพือ่ ลดการปลูกพืช เสพติดและแก้ปัญหาความยากจนได้อย่างยั่งยืน อีกทั้งยังได้รับ การยอมรับให้เป็นหนึง่ ในต้นแบบของธุรกิจเพือ่ สังคม ทีส่ ามารถ พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนควบคู่ไปกับการแก้ปัญหา สังคมและฟื้นฟูสิ่งแวดล้อมได้ส�ำเร็จ นอกจากนี้ มูลนิธิแม่ฟ้าหลวงฯ ยังได้น�ำประสบการณ์และ องค์ความรู้จากผลส�ำเร็จของโครงการพัฒนาดอยตุงฯ ไปด�ำเนิน งานและขยายผลทั้งในประเทศและต่างประเทศ ได้แก่ เมียนมา อัฟกานิสถาน และอินโดนีเซีย CHIANG RAI I SBL บันทึกประเทศไทย
_
.indd 23
23
8/2/2562 9:37:56
โครงการพัฒนาดอยตุง (พื้นที่ทรงงาน) อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ จังหวัดเชียงราย มีเป้าหมายในการพัฒนา คุณภาพชีวิตของประชาชน ในพื้นที่ ๑๑,๐๐๐ คนจาก ๖ ชนเผ่า ท่ามกลางความ แห้งแล้งและความเป็นอยู่ แร้ น แค้ น ที่ ด อยตุ ง เมื่ อ ปี ๒๕๓๑ ชาวบ้านทีด่ อยตุง ต้องหาทางรอดด้วยการ ประกอบอาชีพผิดกฎหมาย เช่น การท�ำไร่เลื่อนลอย ปลูกฝิ่น และค้าประเวณี 24
_
SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงราย
.indd 24
8/2/2562 9:37:57
ทรงเป็นต้นแบบของชีวิต
เนรมิต...สวนแม่ฟา้ หลวง
เป็ น นิ ท รรศการแบบสื่ อ ผสมผสาน ที่ มี จุ ด ประสงค์ เพื่ อ ให้ ประชาชนชาวไทย โดยเฉพาะเยาวชนคนรุ่นใหม่ รวมถึงชาวต่าง ชาติที่มาท่องเที่ยวดอยตุง ได้รู้จักและเข้าใจถึงแนวพระราชด�ำริ ของสมาชิ ก ทั้ ง ห้ า พระองค์ ใ นราชสกุ ล มหิ ด ล อั น ประกอบด้ ว ย สมเด็ จ พระมหิ ต ลาธิ เ บศร อดุ ล ยเดชวิ ก รม พระบรมราชชนก สมเด็ จ พระศรี น คริ น ทราบรมราชชนนี พระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพล อดุลยเดช และสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยานิวัฒนา กรม หลวงนราธิวาสราชนครินทร์
เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของโครงการพั ฒ นาดอยตุ ง (พื้ น ที่ ท รงงาน) ประกอบไปด้วยสนามหญ้าและสวนดอกไม้ ไม้ประดับลดหลั่นไป ตามไหล่เขา บนพื้นที่ราว 30 ไร่ หน้าพระต�ำหนักดอยตุง ตั้งอยู่ บนพื้ น ที่ เ ดิ ม ของหมู ่ บ ้ า นอาข่ า ป่ า กล้ ว ย ซึ่ ง เดิ ม เป็ น เส้ น ทาง ล� ำ เลี ย งส� ำ คั ญ และเป็ น ที่ พั ก ของกองคาราวานฝิ ่ น น�้ ำ ยาท� ำ เฮโรอี น และอาวุ ธ สงคราม แต่ ใ นปั จ จุ บั น สร้ า งสวนไม้ ด อกไม้ ประดั บ เมื อ งหนาว ตามพระราชด� ำ ริ ข องสมเด็ จ พระศรี น คริ น ท ราบรมราชชนนี ที่ต้องการให้คนไทยที่ ไม่มีโอกาสไปต่างประเทศ ได้เห็นไม้ดอกเมืองหนาว
นิทรรศการต่างๆ ถ่ายทอดพระราชจริยวัตรในการท�ำงาน และพระวิ ริยะอุตสาหะที่มุ่งพัฒนาความเป็ น อยู ่ ของคนไทย โดยหวังให้ผู้เข้าชมได้เกิดแรงบันดาลใจ ยึดมั่นในความดี คิดดี ประพฤติปฏิบัติดีเท่าที่ตนเองจะสามารถท�ำได้ เพื่อพลังแห่ง ความดีนี้ จะได้ผลิดอกออกผลบานสะพรั่งไปทั่วทุกหนทุกแห่ง เช่น ราชสกุลมหิดลที่เปรียบเสมือนหยดน�้ำหยดเล็กๆ ที่ค่อยๆ หลั่งริน สร้างแรงกระเพื่อม ดับร้อน และบันดาลความชุ่มชื่น ผาสุกไปทั่วแผ่นดินไทย
ไม้ดอก ไม้ประดับที่น�ำมาตกแต่ง ปลูกและเลี้ยงดูโดยชาว บ้านในโครงการฯ เป็นการพัฒนาทักษะฝีมือทางการเกษตร และสร้างงานให้ชาวบ้านมีรายได้ที่ดี สามารถเลี้ยงตัวเองและ ครอบครัว และยังเกิดเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่น�ำรายได้ทั้งทางตรง และทางอ้อมมาสู่พื้นที่ปีละหลายล้านบาท ในปีพ.ศ.2536 สวนแม่ฟ้าหลวง ได้รับรางวัล พาตา โกลด์ อวอร์ด (PATA Gold Award) ประเภทรางวัลการพัฒนาแหล่ง ท่องเที่ยว จากสมาคมส่งเสริมการท่องเที่ยวเอเชีย-แปซิฟิก
เปิดให้เข้าชมทุกวัน ตั้งแต่เวลา 8.00-17.00 น.
จุดเด่นในสวน ประติมากรรม ของนางมิเซียม ยิบอินซอย : กลางสวนแห่งนี้ มีงานประติมากรรม ของศิลปินระดับแนวหน้าของไทย นางมิเซียม ยิบอินซอย โดยสมเด็จพระบรมราชชนนีทรงพระราชทานชื่อว่า “ความต่อเนื่อง” (Continuity) สื่อถึงการท�ำงานใดๆ จะส�ำเร็จได้ ต้องท�ำอย่างต่อเนื่อง สวนกล้วยไม้ รองเท้านารี : ดอยตุงมีการเพาะพันธุ์กล้วยไม้ รองเท้านารี ในหน่วยเพาะเลีย้ งเนือ้ เยือ่ เพือ่ ขยายพันธุไ์ ม้หายาก และน�ำไปปลูกในถิ่นก�ำเนิดของสายพันธุ์ โดยในสวนแม่ฟ้า หลวง ก็มีมุมกล้วยไม้ รองเท้านารี หลากพันธุ์ หลากสี เพื่อให้ นักท่องเที่ยวได้ชื่นชม
“หอแห่งแรงบันดาลใจ”
จากเส้นทางกองคาราวานฝิ่น
ท่องเที่ยวผจญภัย
Doi Tung Tree Top Walk กิจกรรมแอดเวนเจอร์ล่าสุดของสวนแม่ฟ้าหลวง คือ Doi Tung Tree Top Walk เพื่อตอบสนองไลฟ์สไตล์นักท่องเที่ยว ในปัจจุบัน ด้วยทางเดินเรือนยอดไม้ ยาว 295 เมตร และสูง กว่า 30 เมตรจากพื้นดิน ท่ามกลางป่าร่มรื่นและพรรณไม้ใน สวนแม่ฟา้ หลวง เปิดบริการตัง้ แต่ 08.30-17.00 น. ราคาท่านละ 150 บาท ขอขอบพระคุณข้อมูลจาก : www.maefahluang.org CHIANG RAI I SBL บันทึกประเทศไทย
_
.indd 25
25
8/2/2562 9:38:00
สุดโอโซนริมโขง ณ...
Chiangkhong Green River
เชียงของ กรีนอินน์ เรสซิเด้นท์
เชียงของกรีนริเวอร์ โรงแรมขนาดเล็กในอ�ำเภอเชียงของ จั ง หวั ด เชี ย งราย เป็ น ห้ อ งปรั บ อากาศ พร้ อ มอุ ป กรณ์ อ� ำ นวยความสะดวกในทุ ก ห้ อ งพั ก อั น แสนสะดวกสบาย สามารถมองเห็ น วิ ว แม่ น�้ ำ โขง บริ เ วณรอบๆ เป็ น หมู ่ บ ้ า น บรรยากาศเงียบสงบเหมาะแก่การพักผ่อน สามารถเดินเล่น ริ ม แม่ น�้ำ โขง มี ร ้ านอาหารท้ อ งถิ่ น อยู่ใกล้ๆ หากท่ า นสนใจอยากเดิ น ทางท่ อ งเที่ ย วหลวงพระบาง ทางโรงแรมมี ข ้ อ มู ล ให้ บ ริ ก ารเต็ ม ที่ ส�ำหรั บ ห้ อ งพั ก มี ทั้ง เตี ย งเดี่ ย วใหญ่ เตียงคู่ และ เตียง 3 ท่ าน พร้ อ มต้ อ นรั บ นั ก เดิ น ทางทุ กรูปแบบ
เชียงของกรีนริเวอร์ (Chiangkhong Green River) ตั้งอยู่เลขที่ 3/9 หมู่ 3 เทศบาลซอย 19 บ้านสบสม ต�ำบลเวียง อ�ำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย 57140 ส�ำรองห้องพักได้ที่ โทร. 0-5305-0853 062-024-6510 : Greeninn_ck@hotmail.com : greenriverck 26
SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา
.indd 26
8/2/2562 17:07:35
เชียงของ กรีนอินน์ เรสซิเด้นท์
Chiangkhong Green Inn Residence
เติมความสุขให้กับทุกการเดินทาง
เชี ย งของ กรี น อิ น น์ เรสซิ เ ดนท์ ที่ พั ก สุ ด ประทั บ ใจ พร้ อ มมอบการบริ ก ารและความสะดวกสบายทุ ก สิ่ ง ที่ คุ ณ ต้ อ งการ ไม่ ว ่ า จะเดิ น ทางมาท่ อ งเที่ ย วหรื อ ติ ด ต่ อ ธุ ร กิ จ ใน เชี ย งของ จั ง หวั ด เชี ย งราย ส� ำ หรั บ นอนหลั บ พั ก ผ่ อ นอย่ า ง สบายใจ เพลิดเพลินไปกับ ฟรี Wi-Fi ทุกห้อง, แผนกต้อนรับ 24 ชั่ วโมง, Wi-Fi ในพื้ น ที่ ส าธารณะ, ที่จ อดรถ, ศูนย์ธุรกิจ ที่ เ ตรี ย มไว้ ส� ำ หรั บ แขกผู ้ เ ข้ า พั ก โดยเฉพาะ ห้ อ งพั ก ที่ นี่ ไ ด้ รั บ การออกแบบเพื่ อ มอบความสะดวกสบายสู ง สุ ด แก่ ผู้ เ ข้ า พั ก ด้ ว ยการตกแต่ ง อั น อบอุ ่ น เหมื อ นบ้ า น เพลิ ด เพลิ น ไปกั บ สิ่งอ�ำนวยความสะดวกเพื่อการนันทนาการของโรงแรม ซึ่งมี ทั้ ง บริ ก ารนวด ก่ อ นกลั บ ไปพั ก ผ่ อ นอย่ า งเต็ ม ที่ ใ นห้ อ งพั ก เที่ ย วชมสถานที่ น ่ า สนใจใน เชี ย งของ (เชี ย งราย) เริ่ ม ต้ น ที่ เชี ย งของ กรี น อิ น น์ เรสซิ เดนท์
เชียงของกรีนอินน์ (Chiangkhong greeninn) ตั้งอยู่ที่ 89/4 หมู่ 2 ต�ำบลเวียง อ�ำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย 57140 (ถนนสายกลาง อ.เชียงของ) ติดต่อส�ำรองห้องพักได้ท ี่ 0-5379-1009 และ 062-024-6510 : Greeninn_ck@hotmail.com : Green053791009 : greeninnck CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 27
27
8/2/2562 17:07:40
18
หนาวนี้ที่...
Location 18COINE
Coine Resort ...ร่มรื่นในทิวไผ่และใบจาก
18 เหรียญ รีสอร์ท เป็นรีสอร์ทที่สร้างเป็นหลังๆ การตกแต่งเน้นเป็นไม้ ไผ่ หลังคามุงจาก ประดับด้วยรูปไม้แกะสลัก การบริการดีเยี่ยม ประทับใจ การเดินทางมายัง18 เหรียญรีสอร์ท จากทางเชียงรายผ่านตัวเมืองเชียงของเข้ามา ผ่านทีท่ ำ� การ ไปรษณีย์ ไปอีกประมาณ 200 เมตรจะเห็นรีสอร์ทอยู่ด้านซ้ายมือ
18 เหรียญรีสอร์ท (18 Coins Resort) ยินดีตอ้ นรับ ทุกท่านที่มาเยือน เราเป็ น โรงแรมเล็ ก ๆ ใจกลางเมื อ งเชี ย งของ จั ง หวั ด เชี ย งราย พั ก แสนสบายเมื่ อ มาถึ ง ที่ นี่ ในบรรยากาศเป็นกันเอง เมื่อใดที่คุณต้องการพักผ่อน หรือ สัมผัสบรรยากาศที่เงียบสงบ ณ อ�ำเภอเชียงของ นึกถึงโรงแรม 18 เหรียญรีสอร์ท พร้ อ มสิ่ ง อ� ำ นวยความสะดวกให้ เ ข้ า พั ก ได้ อย่างสบาย
18 เหรียญรีสอร์ท 171 หมู่ 8 ต�ำบลเวียง อ�ำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย 57140 ส�ำรองที่พักติดต่อ คุณอริยะ ปัตเมฆ โทร. 091-632-7564 28
SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา
.indd 28
8/2/2562 17:11:24
สัมผัสสุนทรีย์แห่งการพักผ่อน และชมวิวเขานางนอนที่สวยที่สุด
Goldennakara
เรามีบริการจักรยานฟรีส�ำหรับปั่นเที่ยวส�ำรวจแหล่งท่องเที่ยว สูดอากาศ บริ สุ ท ธิ์ พั ก ผ่ อ นในวั น สบาย ๆ วั น หยุ ด ยาว และสั ม ผั ส ความเป็ น ส่ ว นตั ว พร้ อ มสิ่ ง อ� ำ นวยความสะดวกครบครั น มี บ ริ ก ารนวดผ่ อ นคลายในที่ พั ก มี จุ ด บริ ก ารSnack และ ชา กาแฟ ตลอดวั น Free Wifi และ อาหารเช้ า ฟรี ครบเครื่องเรื่องนันทนาการ การจัดงานเลี้ยงสังสรรค์ ด้วยห้องประชุม ลานกลางน�ำ้ รองรับการจัดงานส�ำคัญต่างๆ เช่น งานมงคลสมรส ฯลฯ สามารถ รองรับได้ตั้งแต่ 20 ท่าน ถึง 100 ท่าน เพียบพร้อมด้วยอุปกรณ์โสตทัศนูปกรณ์ ที่ทันสมัย และทีมงานที่มากด้วยประสบการณ์ ห้องพักมีให้เลือกหลากหลาย ตั้งแต่ที่พักขนาด 2 ท่าน ถึง 6 ท่านและสามารถ เสริมเตียงได้ มีระเบียงหน้าบ้านติดกับจุดชมวิวนางนอนทุกจุดทั่วรีสอร์ท ลูกค้า สามารถจัดกิจกรรม สังสรรค์หน้าบ้านได้อย่างเป็นการส่วนตัวอีกด้วย
Maesi Resort
...โกลเด้น นาครา รีสอร์ท
F:GoldenNakaraResort
โกลเด้น นาครา รีสอร์ท (Goldennakara Maesi Resort) รีสอร์ทบ้านพัก สไตล์ Resort & Spa ตั้งอยู่ในอ�ำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย ท่ามกลาง ธรรมชาติทเี่ งียบสงบเหมาะแก่การผ่อนคลายมีจดุ ชมวิวเขานางนอนทีส่ วยทีส่ ดุ ใกล้แหล่งท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติและวัฒนธรรมล้านนา อาทิเช่น ถ�้ำเสาหิน พญานาค วัดถ�้ำปูถ�้ำปลา ถ�้ำหลวงนางนอน ดอยตุง ดอยแม่สลอง และ ด่านท่าขี้เหล็ก (ตลาดแม่สาย) การเดินทางสะดวกสบาย เพราะอยู่ห่างจาก ตัวเมืองแม่สายและท่ารถแม่สายเพียง 7 กิโลเมตร
Goldennakara Maesi Resort โกลเด้น นาครา รีสอร์ท 224/1 หมู่ 7 ต�ำบลโป่งงาม อ�ำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย ส�ำรองที่พัก โทร. 086-744-4616 : www.goldennakara.com : sales@goldennakara.com CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย
Goldennakara Maesi Resort.indd 29
29
8/2/2562 16:41:06
M al i
Hot el
Chiangsaen
...ด้วยท�ำเลที่ยอดเยี่ยม กับที่พักเยี่ยมยอด
โรงแรมมะลิ เชียงแสน (Mali Hotel Chiangsaen) พร้ อ มห้ อ งพั ก มะลิ เ ตรี ย มบริ ก ารทุ ก ท่ า น สถานที่ พั ก อั น ลงตั ว ส� ำ หรั บ นั ก ท่ อ งเที่ ย ว ที่ ต ้ อ งการดื่ ม ด�่ ำ กั บ สี สั น ของเชี ย งแสน อย่ า งเต็ ม ที่
จากที่พัก ท่านสามารถเดินทางอย่างสะดวก ง่ายดายไปยังทุกที่ในเมืองที่มีชีวิตชีวานี้ ด้วยท�ำเลที่ ยอดเยี่ยม พร้อมที่พักเยี่ยมยอด Mali Hotel เราบริ ก ารอิ น เทอร์ เ น็ ต ไร้ ส าย (WiFi) ฟรี และที่จอดรถส่วนตัวฟรี ห้องพักแต่ละห้อง ของเกสต์เฮาส์มีสีสันสะดุดตา มีเครื่องปรับอากาศ โทรทัศน์จอแบน ห้องน�้ำส่วนตัวพร้อมฝักบัว และ แผนกต้อนรับ24 ชั่วโมง Mali Hotel อยู ่ ห ่ า งจากอ� ำ เภอแม่ ส าย 28 กิโลเมตร ห่างจากอ�ำเภอเชียงแสนเพียง 400 เมตร และห่างจากสนามบินนานาชาติแม่ฟา้ หลวง-เชียงราย ซึ่งเป็นสนามบินที่อยู่ใกล้ที่สุด 42 กิโลเมตร ห้ อ งพั ก ทุ ก ห้ อ งมี สิ่ ง อ� ำ นวยความสะดวกที่ คัดสรรมาแล้วอย่างดี ผู้เข้าพักจึงมั่นใจได้ว่าจะได้รับ ความสะดวกสบายสู ง สุ ด และมี พื้ น ที่ สั น ทนาการ ไว้บริการ เช่น สนามกอล์ฟ (ในระยะ 3 กิโลเมตร), สปา, บริการนวด ท่านจะประทับใจไม่รู้ลืมเมื่อได้ เข้าพักห้องพักมะลิ เชียงแสน กับบริการแบบมืออาชีพ และความสะดวกสบายที่ผสมผสานกันอย่างลงตัว
F:malihotelchiangsaen
โรงแรมมะลิ เชียงแสน (Mali Hotel Chiangsaen) ตั้งอยู่เลขที่ 641 หมู่ 2 ต�ำบลเวียง อ�ำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย ส�ำรองจองห้องพัก โทร.093-036-3969, 089-261-6109
30
1
SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา
.indd 30
20/2/2562 9:05:52
Ch ia ng sa n
gol den lan d Res ort
พบกับความสุขง่ายๆ ที่ประทับใจมากกว่าที่คุณเคยสัมผัส
เชียงแสนโกลเด้นแลนด์ รีสอร์ท สาขา 1 เป็นรีสอร์ท สไตล์คอทเทจใกล้ชิดธรรมชาติ ใจกลางเมืองเชียงแสน ติดก�ำแพงเมืองโบราณ ห่างจากแม่น�้ำโขงเพียง 5 นาที รายล้อมไปด้วย วัฒนธรรมและธรรมชาติ รวมถึงแหล่ง ท่องเทีย่ วส�ำคัญ ๆ เช่น สามเหลีย่ มทองค�ำ วัดพระธาตุผาเงา และ ทะเลสาบเชียงแสน
สิ่งอ�ำนวยความสะดวกครบครัน เช่น American Breakfast F : Chiangsangoldenland1 Free Wifi Outdoor Swimming Pool ราคาเริ่มต้นเพียง 700 บาท พร้ อ มส� ำ หรั บ การจั ด งานเลี้ ย งสั ง สรรค์ ด้ ว ยห้ อ งประชุ ม ที่ ร องรั บ การ จัดงานส�ำคัญต่างๆ อาทิเช่น งานมงคลสมรส ฯลฯ สามารถรองรับได้ตั้งแต่ 50 ท่าน ถึง 200 ท่าน เพียบพร้อมด้วยอุปกรณ์โสตทัศนูปกรณ์ที่ทันสมัย และทีมงานที่มากด้วยประสบการณ์ อีกทั้งมีจักรยานให้ปั่นฟรี ท่องเที่ยวไป ตามสถานที่ต่างๆ แล้วกลับมาพักผ่อนให้สบายกาย สบายใจ ห้องพักมีให้เลือกหลากหลาย เช่น ห้องพักขนาดเล็ก ขนาดกลาง และ ขนาดใหญ่ และสามารถเสริ ม เตี ย งได้ เ หมาะสมกั บ การพั ก ผ่ อ นกั น เป็ น ครอบครัวในวันหยุด การเดินทางสะดวกสบาย เพราะตั้งอยู่ในตัวเมืองเชียงแสน ซึ่งห่างจาก สถานีขนส่ง เชียงแสนเพียง 3 กิโลเมตร
เชียงแสนโกลเด้นแลนด์รีสอร์ท เลขที่ 663 หมู่ 2 ต�ำบลเวียง อ�ำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย ส�ำรองที่พัก โทร. 081-655-9221, 086-744-4616, 053-777-123, 053-651-100 : www.chiangsangoldenland.com : sales@chiangsangoldenland.com
LINE : Chiangsangoldenland1
CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 31
31
8/2/2562 16:45:31
โรงแรมอานนท์
Anon
Hotel
โรงแรมอานนท์ ( ANONHOTEL) บริ ก ารห้ อ งพั ก แบบเตียงเดี่ยว และเตียงคู่ ส�ำหรับทุกการเดินทาง พร้ อ ม เครื่ อ งอ�ำ นวยความสะดวกครบครั น และยังมีห้อ งจัด เลี้ยง ประชุ ม สั ม มนา ที่ มี อุ ป กรณ์ แ ละเครื่ อ งเสี ย งสมบู ร ณ์ พร้ อ มห้ อ งอาหารไว้ ค อยบริ ก ารลู ก ค้ า ทุ ก ท่ า น
... ยินดีต้อนรับทุกท่าน พร้อมบ้านพักอันอบอุ่น
32
SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา
.indd 32
8/2/2562 17:16:46
แวะชอปปิ้งสินค้าราคาถูกที่
“อานนท์ ” Shop อานนท์ จ� ำ หน่ า ยสิ น ค้ า ทั้ ง ปลี ก และส่ ง ในราคา
ย่ อ มเยา ไม่ ว ่ า จะเป็ น เครื่ อ งมื อ ช่ า ง กิ๊ ฟ ช็ อ ป เครื่ อ งครั ว เครื่องส�ำอาง สินค้าค้าราคาถูก (ทุกอย่าง 20 บาท) หมวกแฟชั่น แว่ น ตาแฟชั่ น แว่ น ตากั น แดด เสื้ อ ผ้ า แฟชั่ น มื อ สองน� ำ เข้ า สภาพดี เ กรด A สนใจสินค้า ติดต่อได้ที่ โทร. 081-766-5787
ท่องเที่ยวเดินทางทั้งทีครบเครื่ องเรื่ องการพั ก ผ่ อน ต้ อ งที่
อานนท์
โรงแรมอานนท์ (ANONHOTEL) เลขที่ 15 หมู่ 9 ถนนเชียงใหม่-เชียงราย ต.เวียงกาหลง อ.เวียงป่าเป้า จ.เชียงราย 57260 ส�ำรองห้องพัก โทร. 0-5395-2129 มือถือ 081-7665787 : anonresort@hotmail.com CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 33
33
8/2/2562 17:16:49
Cabbages and Condoms Inn,
บ้านพักปีกไม้ธรรมชาติ ที่เตรียมความสุขไว้ส�ำหรับคุณ
Wiang Pa Pao
ซี แอนด์ ซี เวียงป่าเป้า เชียงราย สัมผัส กับบรรยากาศท่ามกลางธรรมชาติ อันสงบร่มรืน่ ท่ามกลาง กระท่อมปีกไม้ และหมูด่ อกไม้นานาพันธ์ ทกุ ฤดูกาล สะดวก สบายกับบริการ ครบครันด้วยบ้านพักแบบธรรมชาติ ทีจ่ ดั เตรียมไว้สำ� หรับคุณ
ซี แอนด์ ซี ให้บริการห้องพักส�ำหรับนักเดินทางที่ต้องการ www.cabbagesandcondomsinn.com/th สัมผัสกลิ่นไอของธรรมชาติ การตกแต่งภายในสวยงามกลมกลืน กับศิลปะล้านนา บริการทั้งเตียงเดียว เตียงคู่ และห้องพักพิเศษส�ำหรับ ผู ้ ที่ ม าเป็ น กลุ ่ ม หรื อ ครอบครั ว พร้ อ มอุ ป กรณ์ อ� ำ นวยความสะดวก สบายครบครัน นอกจากนี้ยังมีห้องสัมมนาจัดเลี้ยงหรืองานรื่นเริงต่างๆ พร้อมอุปกรณ์ทันสมัย สามารถรองรับได้ 50-200 คน Welcome to the Rubber Triangle of Cabbages and Condoms (C&C) Wiang Pa Pao, We offer a variety of accommodations to weary travelers and people who simply want to get away from it all. The natural and quiet environment will provide a very relaxing atmosphere all year. Do not rushi Take it easy Spend a nice time with us at the Rubber Triangle. C & C has a variety of accommodations to suit everybody’s needs. In our bugalows wr have nice single and twin bedrooms. The shortly renovated resort has expanded its capacities and offers 6 modem rooms with air condition as well as a conference internet halt with a capacity up to 200 persons
34
SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา
.indd 34
8/2/2562 17:06:19
Inn And Restaurant Our Food is Guaranteed Not To Cause Pregnancy
Cabbages & Condoms
ร้านอาหารแค็บเบ็จส์ แอนด์ คอนดอมส์
ลิ้มรสชาติความอร่อยของอาหารชั้นเลิศ และความหอมกรุ่นจากกาแฟสดชั้นดี ถึงเวลาอาหาร ท่านจะได้ลิ้มรสความอร่อยอาหารหลากหลายชนิดกุ๊กฝีมือเยี่ยม พร้อมกับสัมผัส บรรยากาศที่น่าสนใจประทับใจทั้งยามเช้า และค�่ำคืน นอกจากนี้ยังได้จัดบริการมุม กาแฟสด ด้วยกาแฟ คุณภาพชั้นเยี่ยม กลิ่นหอมละมุน ถูกใจคอกาแฟอย่างแท้จริง
Hungry ? The C&C Restaurant has well-experienced chefs that will bring flavars never touched by your discriminating taste buds. Our exotic food it an experience you will never farget. The cozy location and quiet setting of our restaurant makes it an ideal and romantic place to spend of night. Do not hesitate to ask our staff for our specialties
ร้านอาหารแค็บเบ็จส์ แอนด์ คอนดอมส์ (Cabbages & Condoms) เลขที่ 153 หมู่ที่ 6 ต�ำบลป่างิ้ว อ�ำเภอเวียงป่าเป้า จังหวัดเชียงราย 153 Moo 6 Tammbon Pangiew Ampeur Wiangpapao Chiangrai สาขาเวียงป่าเป้า โทร 053-952-2311-2 081- 885-5723 โทรสาร 053-952-2131
CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 35
35
8/2/2562 17:06:30
S P ECI A L INT E R V IE W
บันทึกเส้นทางพบส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดเชียงราย
CHIANG RAI
PROVINCIAL OFFICE OF BUDDHISM ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดเชียงราย
นายประพัน ธ์ ค�ำจ้อย
“พระพุทธองค์ทรงฝากพระพุทธศาสนาไว้กบั พุทธบริษทั โดยการศึกษาหลักธรรม เข้าวัดปฏิบตั ธิ รรม ช�ำระจิตใจ ให้ใกล้ชดิ พระรัตนตรัย พร้อมทัง้ ซึมซับความภาคภูมใิ จในศิลป วัฒนธรรมทีง่ ดงาม...ดูแลวัดวาอารามตามอย่างบรรพชนของเรา เป็นการรักษาพระพุทธ ศาสนาไว้ให้ลกู หลานได้สบื ทอดต่อไปในอนาคต” นายประพันธ์ ค�ำจ้อย ผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักงาน พระพุทธศาสนา จังหวัดเชียงราย นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย มีความยินดีเป็นอย่างยิง่ ทีท่ า่ นประพันธ์ ค�ำจ้อย ผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักงานพระพุทธศาสนา จังหวัดเชียงราย ให้โอกาสพิเศษในการสนทนา ถึงบทบาทหน้าที่ วิสยั ทัศน์ พันธกิจ ตลอดจนน�ำเสนอวัดและสถานปฏิบตั ธิ รรมในจังหวัด ทีน่ า่ เดินทางมาแวะพักปฏิบตั ธิ รรม เพือ่ น้อมน�ำธรรมะกลับไปใช้ในชีวติ ประจ�ำวัน อีกทัง้ แนะน�ำวัตรปฏิบตั ขิ องพระภิกษุสงฆ์ เพือ่ ให้นกั ท่องเทีย่ วทีม่ เี วลาเพียงน้อยนิดสามารถไป ท�ำบุญใส่บาตรฟังธรรม ท�ำวัตรสวดมนต์เช้า-เย็น ตามช่วงเวลาทีท่ า่ นสะดวก เพือ่ เป็นสิรมิ งคล แห่งชีวติ ขอเชิญท่านผูอ้ า่ นเพลิดเพลินทางธรรมไปกับท่านตัง้ แต่บดั นีเ้ ป็นต้นไป
36
6
SBL บันทึกประเทศไทย I เชี เชียงราย
.indd 36
วนอุทยานภูชฟ ี า้ อ�ำเภอเทิง
13/2/2562 14:00:42
SPECIAL INTERVIEW
พระพุทธศาสนาแห่งล้านนา บทบาทของวัด พระ และภาพรวมของจังหวัดเชียงราย จังหวัดเชียงราย ตัง้ อยูใ่ นภาคเหนือตอนบน
ของประเทศไทย มีภูมิศาสตร์อยู่ทางเหนือสุด ของประเทศ ที่ตั้งของเมืองมีความส�ำคัญทาง ประวัติศาสตร์ตงั้ แต่ยุคก่อตั้งอาณาจักรล้านนา เช่น เมืองเงินยาง เมืองเชียงแสน เมืองเชียงราย อี ก ทั้ ง เมื อ งเชี ย งรายเป็ น พื้ น ที่ ดั้ ง เดิ ม ของ ชาวไทยญวน พญามังรายมหาราช ได้สร้างเมือง เชียงราย เมือ่ ปี พ.ศ.1805 ปัจจุบนั เชียงรายแบ่ง การปกครองออกเป็น 18 อ�ำเภอ มีแม่น้�ำกก แม่น�้ำอิง แม่น�้ำรวก และแม่น�้ำโขง เป็นแม่นำ�้ สายส�ำคัญ เชียงรายอยู่บริเวณรอยต่อระหว่าง 3 ประเทศ คือ ประเทศไทย ประเทศพม่า และ ประเทศลาว หรือรู้จักกันในนามของดินแดน สามเหลี่ยมทองค�ำ ปัจจุบัน จังหวัดเชียงรายได้รับความสนใจ ในฐานะประตู สู ่ พ ม่ า ลาว และจี น ตอนใต้ มีสะพานข้ามแม่น้�ำโขงที่อ�ำเภอเชียงของ และ เส้นทาง R 3 A เมืองเชียงรายมีประวัติศาสตร์อันยาวนาน เป็นที่ตั้งของหิรัญนครเงินยางเชียงแสน ซึ่งเป็น นครหลวงก่อนการก�ำเนิดอาณาจักรล้านนา มี “ค�ำเมือง” เป็นภาษาท้องถิ่น มีเอกลักษณ์ เฉพาะตัวทัง้ ด้านศิลปะ ประเพณีวฒ ั นธรรมทีม่ ี
ความหลากหลายทางชาติพนั ธุใ์ นรูปแบบล้านนา ไทใหญ่ ไทเขิน และไทลื้อจากสิบสองปันนา ผสมผสานกัน จั ง หวั ด เชี ย งรายมี พ้ื น ที่ 11,678.369 ตารางกิโลเมตร มีประชากร 1,287,615 คน มีสญ ั ลักษณ์ประจ�ำจังหวัด คือ ต้นกาซะลองค�ำ และดอกพวงแสด มี ต ราสั ญ ลั ก ษณ์ ป ระจ� ำ จังหวัดคือ ช้างเผือก จังหวัดเชียงรายมีชายแดนติดกับประเทศ พม่าประมาณ 130 กิโลเมตร และมีชายแดน ติดต่อกับประเทศลาวประมาณ 180 กิโลเมตร จังหวัดเชียงรายมีประชากรหลายเชื้อชาติ ทั้งชาวไทยพื้นราบ ชาวไทยภูเขา และชาวจีน ฮ่อที่อพยพเข้ามาอาศัยอยู่บนดอยสูง แต่ละ ชนชาติมีประเพณี วัฒนธรรม และวิถีชีวิตที่มี เอกลักษณ์ เป็นเสน่ห์อีกอย่างที่ท�ำให้เชียงราย ได้รับความสนใจจากนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทย และชาวต่างประเทศ ประชากรในเขตจังหวัด เชียงราย แบ่งออกได้เป็นหลายกลุม่ อาทิ ไทยญวน หรือคนเมือง เป็นประชากรกลุม่ ใหญ่ทสี่ ดุ , ไทลือ้ ไทเขิน ไทใหญ่ เป็นกลุ่มชนที่มีถิ่นฐานเดิมอยู่ ในที่ราบลุ่มแม่น�้ำโขง และทางตอนใต้ของจีน ชาวไทยภูเขา ประกอบด้วย อาข่า มูเซอ เย้า
กะเหรี่ยง ลีซอ ม้ง ,ผู้พลัดถิ่นสัญชาติพม่า บุคคลหลายสัญชาติที่อพยพมาจากพม่าเข้า อยูใ่ นประเทศไทยก่อนวันที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2519 การออกนอกเขตจั ง หวั ด ที่ อ ยู ่ อ าศั ย ต้ อ งขอ อนุญาตจากปลัดกระทรวงมหาดไทย, ชาวลาว อพยพ คนลาวที่อาศัยอยู่กับญาติพี่น้องตาม แนวชายแดนของประเทศไทย เนื่องจากการ
เปลี่ยนแปลงการปกครองของลาวในปี พ.ศ. 2517 ขณะนีท้ างการของไทยยังไม่อนุญาต ให้เดินทางออกนอกเขตจังหวัดที่อยู่อาศัย, ชาวจี น ชนกลุ ่ ม น้ อ ยซึ่ ง สื บ เชื้ อ สายจี น ซึ่งโดยส่วนใหญ่แล้วเป็นอดีตทหารพรรค ก๊กมินตั๋ง ได้มาตั้งรกรากในพื้นที่ ที่มีความ โดดเด่นได้แก่ หมู่บ้านสันติคีรี อาชีพเกษตรกรรม เป็นอาชีพของประชาชน ส่ ว นใหญ่ มี วิ ถี ชี วิ ต ที่ เ รี ย บง่ า ย ยึ ด ถื อ ขนบธรรมเนี ย มประเพณีแ ต่ดั้ง เดิม และ นับถือศาสนาพุทธกว่า 90 เปอร์เซ็นต์ เพราะศาสนาพุทธตัง้ มัน่ ในดินแดนแห่ง นี้ตั้งแต่สมัยก่อนอาณาจักรล้านนา ดังนั้น วัดและพระสงฆ์ จึงมีอิทธิพลต่อการด�ำเนิน ชีวติ ของประชาชนส่วนใหญ่ จะมีความผูกพัน กับวัดและพระสงฆ์ ตั้งแต่เกิดจนตาย ซึ่ง สืบทอดมาจากบรรพบุรุษจนถึงปัจจุบัน CHIANG RAI I SBL บันทึกประเทศไทย
6
.indd 37
37
13/2/2562 14:00:45
นโยบายหลักของส�ำนักงาน พระพุทธศาสนา
“มุ่งมั่นสนองงานคณะสงฆ์และรัฐ ให้การ อุปถัมภ์ ปกป้อง คุ้มครอง ส่งเสริม สนับสนุน พระพุทธศาสนา และประสานงานการเผยแผ่ พระพุทธศาสนา เพื่อพัฒนาคนและสังคม” มีบทบาทหน้าที่คือ (1) ศึกษา วิเคราะห์ และรายงานข้อมูล สารสนเทศด้านพระพุทธศาสนา เพื่อกําหนด นโยบายในระดับจังหวัด รวมทั้งเสนอแนะแนว ทางแก้ไข (2) ติดตามและประเมินผลการดาํ เนินงาน ตามนโยบาย แผนงาน และโครงการของหน่วย งานในความดูแลของสํานักงานพระพุทธศาสนา จังหวัด รวมทัง้ รายงานผลการดําเนินงาน ปัญหา และอุปสรรคให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบ (3) ส่งเสริม ดูแล รักษา และทํานุบํารุง ศาสนสถาน และ ศาสนวัตถุทางพระพุทธศาสนา รวมทัง้ ดูแล รักษา และจัดการวัดร้างและศาสน สมบัติกลางในจังหวัด (4) ส่ ง เสริ ม และสนั บ สนุ น ให้ วั ด เป็ น ศูนย์กลางการเรียนรู้และแหล่งภูมิปัญญาของ ชุมชน รวมทั้งส่งเสริมให้มีศูนย์กลางในการจัด กิจกรรมทางพระพุทธศาสนาของจังหวัด (5) ส่งเสริม สนับสนุน และประสานงาน ด้านการเผยแผ่พระพุทธศาสนา และด้านพุทธ ศาสนศึกษา รวมทัง้ ดูแล และควบคุมมาตรฐาน คุ ณ ภาพการศึ ก ษาของสถานศึ ก ษาในสั ง กั ด ภายในจังหวัด ให้ผู้เรียน มีความรู้คู่คุณธรรม และพัฒนาบุคลากรทางพระพุทธศาสนา (6) รั บ สนองงาน ประสานงาน และ สนับสนุนกิจการและการบริหารการปกครอง คณะสงฆ์ตลอดจนการดาํ เนินการตามนโยบาย และมาตรการในการคุ้มครองพระพุทธศาสนา (7) ส่งเสริมและประสานการดําเนินงานใน การปฏิบัติศาสนพิธี และกิจกรรมในวันสําคัญ ทางพระพุทธศาสนา (8) ปฏิบัติงานตามกฎหมายในความรับ ผิดชอบของสาํ นักงาน ซึง่ กาํ หนดให้เป็นอาํ นาจ หน้าที่ของผู้ว่าราชการจังหวัดหรือตามที่ได้รับ มอบหมาย (9) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการ ปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือที่ ได้รับมอบหมาย 38
6
SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงราย
.indd 38
13/2/2562 14:00:46
วิสัยทัศน์ พันธกิจ และยุทธศาสตร์
“องค์กรขับเคลื่อนกิจการพระพุทธศาสนา สู่ความมั่นคง สังคมด�ำรงศีลธรรม น�ำสันติสุข อย่างยั่งยืน” คือ วิสัยทัศน์
พันธกิจ
1. เสริมสร้างให้สถาบันและกิจการพระพุทธ ศาสนามีความมั่นคงยั่งยืน 2. สนับสนุนส่งเสริมและจัดการการศึกษา สงฆ์และการเผยแผ่พระพุทธศาสนาเพือ่ พัฒนา ให้มีความรู้คู่คุณธรรม 3. จัดการศึกษาสงฆ์ เพื่อผลิตและพัฒนา ศาสนทายาทที่เปี่ยมปัญญาพุทธธรรม เผยแผ่ ท�ำนุบำ� รุงพระพุทธศาสนาให้เจริญงอกงาม และ ร่วมสร้างสังคมพุทธธรรมที่มีความเข้มแข็ง 4. ดำ� เนินการให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลาง พระพุทธศาสนาโลก 5. พัฒนาการดูแลรักษาและจัดการศาสน สมบั ติ ใ ห้ เ ป็ น ประโยชน์ ต ่ อ พระพุ ท ธศาสนา และสังคม เพื่อให้สามารถบรรลุเป้าหมายตาม พันธกิจ
ยุทธศาสตร์
1. พัฒนาระบบการศึกษาสงฆ์
2. ป ลู ก ฝั ง ความเข้ า ใจเกี่ ยวกั บ พระพุ ท ธ ศาสนาให้แก่สังคม 3. เพิม่ ศักยภาพการเป็นศูนย์กลางพระพุทธ ศาสนาโลก 4. พัฒนาองค์การที่โดดเด่น 5. ส่งเสริมงานสาธารณสงเคราะห์ 6. เพิ่มความคุ้มค่าให้แก่ศาสนสมบัติ
ผลการด�ำเนินงานที่โดดเด่น
ตลอดสิบกว่าปีทไี่ ด้ตงั้ ส�ำนักงานฯ มีผลงาน ที่โดดเด่นหลายเรื่องด้วยกัน คือ 1. การสร้างพุทธมณฑลสมโภช 750 ปีเมือง เชียงราย ณ บ้านต้นง้าว ต�ำบลบัวสลี อ�ำเภอ แม่ลาว จังหวัดเชียงราย ในเนื้อที่ 150 ไร่ ริเริ่มก่อสร้างในปี พ.ศ.2548 ปัจจุบันมีระบบ สาธารณูปโภค ถนนภายใน และเสนาสนะ ครบถ้วน ทั้งองค์พระใหญ่ เป็นพระสิงห์หนึ่ง หน้าตักกว้าง 20 เมตร สูง 49 เมตร มีอาคาร ส� ำ นั ก งาน มี อ าคารหอประชุ ม ขนาดใหญ่ มีกุฏิสงฆ์ 8 หลัง ปลูกต้นไม้ทุกปี ปัจจุบันเริ่ม ให้ความร่มรื่น ถือเป็นผลงานเด่นร่วมกับคณะ สงฆ์จังหวัดเชียงราย และเป็นต้นแบบการสร้าง
พุทธมณฑลประจ�ำจังหวัด ทีม่ คี วามมัน่ คงยัง่ ยืน จัดกิจกรรมอย่างสม�่ำเสมอ 2. การจัดกิจกรรมวันส�ำคัญทางพระพุทธ ศาสนาที่ พุ ท ธมณฑลสมโภช 750 ปี เมืองเชียงราย เช่น วันมาฆบูชา วันวิสาขบูชา และวันอาสาฬหบูชา เป็นประจ�ำทุกปี กิจกรรม ประกอบด้ ว ยการปฏิ บั ติ ธ รรม การสวด มนต์ การตักบาตร การฟังพระธรรมเทศนา การเวี ย นเที ย น และการแสดงผลงานทาง พระพุทธศาสนา เพือ่ ด�ำเนินการให้พทุ ธมณฑล สมโภช 750 ปีเมืองเชียงราย เป็นศูนย์กลาง พระพุทธศาสนาของจังหวัด และศูนย์กลางอนุ ภูมิภาคลุ่มน�้ำโขง ผู้ไปร่วมกิจกรรมในแต่ละ ครั้ ง ต่ า งซึ ม ซั บ คุ ณ ค่ า ของพระพุ ท ธศาสนา มีความอิม่ เอิบใจในการส่งเสริมพระพุทธศาสนา เป็นการจรรโลงพระพุทธศาสนาอย่างยั่งยืน 3. การสนองงานคณะสงฆ์ 6 ด้าน คือ ด้าน การปกครอง ด้านการเผยแผ่ ด้านการศึกษา ด้านสาธารณูปการ ด้านสาธารณสงเคราะห์ และ ด้านการศึกษาสงเคราะห์ โดยเป็นคณะ กรรมการขับเคลือ่ นงานปฏิรปู พระพุทธศาสนา ทั้ง 6 ด้าน จนส�ำเร็จมีผลเป็นที่น่าพอใจ
CHIANG RAI I SBL บันทึกประเทศไทย
6
.indd 39
39
13/2/2562 14:00:46
ท่องเที่ยวทางธรรมน้อมน�ำจิตผ่องใส
ณ วัดส�ำคัญและโดดเด่นทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม วัดพระธาตุดอยตุง ต�ำบลห้วยไคร้ อ�ำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย มีอายุกว่า 2,000 ปี (สร้างเมื่อปี พ.ศ. 561) เป็นพระธาตุที่สร้างแห่งแรก ในล้านนา(ปฐมเจดีย์) พระธาตุมี 2 องค์คู่กัน เป็นศิลปะล้านนาทรงระฆัง คว�ำ่ แปดเหลี่ยม ซึ่งในปี พ.ศ. 2470 ครูบาศรีวิชัย นักบุญแห่งล้านนาไทย ได้มาบูรณะไว้ บรรจุพระบรมสารีริกธาตุคือพระรากขวัญเบื้องซ้าย เป็น สถานที่ศักดิ์สิทธิ์ของเชียงราย และชื่อของพระธาตุดอยตุง ยังบรรจุเป็น ค�ำขวัญของจังหวัดเชียงรายอีกด้วย คือ “เหนือสุดในสยาม ชายแดนสาม แผ่นดิน ถิ่นวัฒนธรรมล้านนา ล�้ำค่าพระธาตุดอยตุง” วัดพระแก้ว พระอารามหลวง ต�ำบลเวียง อ�ำเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย เป็นวัดเก่าแก่ ซึ่งค้นพบพระแก้วมรกต เป็นแห่งแรกใน ประเทศไทย มีพระอุโบสถสวยงามแบบโบราณเชียงแสน มีพระเจ้าล้านทอง ศิลปะปาลวะที่สวยที่สุดในประเทศไทย มีโฮงหลวงแสงแก้วเป็นที่แสดง ศิลปวัตถุทสี่ ำ� คัญ มีหอพระหยกเชียงรายทีส่ วยงาม เป็นสถานทีท่ อ่ งเทีย่ ว ที่ส�ำคัญแห่งหนึ่งของเชียงราย วัดพระสิงห์ พระอารามหลวง ต�ำบลเวียง อ�ำเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย เป็นวัดส�ำคัญและเก่าแก่ของเมืองเชียงราย มีพระอุโบสถ ที่สร้างด้วยไม้และมีโครงสร้างเป็นไม้ทั้งหมด รูปทรงอ่อนช้อยสวยงาม ตามแบบสถาปัตยกรรมล้านนา ตกแต่งประดับประดาด้วยลวดลาย แกะสลั ก ไม้ ป ิ ด ทองงดงามมาก บานประตู พ ระอุ โ บสถเป็ น ประตู ไ ม้ ขนาดใหญ่ หนา และแกะสลั ก เป็ น ภาพประกอบลวดลายสวยงาม ออกแบบโดยอาจารย์ถวัลย์ ดัชนี เป็นรูปช้าง นาค ครุฑ และสิงโต
40
6
SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงราย
.indd 40
13/2/2562 14:00:52
นอกจากนั้ น ยั ง มี พ ระพุ ท ธสิ หิ ง ค์ หรื อ พระสิ ง ห์ ปางมารวิ ชั ย ศิ ล ปะเชี ย งแสนล้ า นนา พุทธศตวรรษที่ 21 มีพทุ ธลักษณะสง่างามมาก หน้าตักกว้าง 37 เซนติเมตร สูงทัง้ ฐาน 66 เซนติเมตร ชนิดส�ำริดปิดทอง ประดิษฐานบนบุษบกในพระวิหารแก้ว วัดพระธาตุผาเงา ต�ำบลเวียง อ�ำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย วัดเจดีย์หลวง ต�ำบลเวียง อ�ำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย วัดพระธาตุจอมกิตติ ต�ำบลเวียง อ�ำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย วัดห้วยปลากั้ง ต�ำบลริมกก อ�ำเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย วัดแสงแก้วโพธิญาณ อ�ำเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย วัดร่องขุ่น ต�ำบลป่าอ้อดอนชัย อ�ำเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย วัดร่องเสือเต้น ต�ำบลริมกก อ�ำเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย
การคุ้มครองพระพุทธศาสนา คือ การปฏิบัติขัดเกลาตน
พระพุ ท ธองค์ ท รงฝากให้ พุ ท ธบริ ษั ท ช่ ว ยกั น รั ก ษาพระพุ ท ธศาสนา การที่ เ ราจะรั ก ษา พระพุทธศาสนาให้ยั่งยืนสืบไปได้ ก็โดยการศึกษาหลักธรรม เป็นชาวพุทธที่ดี เข้าวัดปฏิบัติธรรม ช�ำระจิตใจ ให้ใกล้ชิดพระรัตนตรัย พร้อมทั้งซึมซับความภาคภูมิใจในศิลปวัฒนธรรมที่งดงาม ตามวัดวาอารามต่างๆ ช่วยกันท�ำนุบ�ำรุงจรรโลงส่งเสริมกิจการพระพุทธศาสนา ดูแลวัดวาอาราม ตามอย่างบรรพชนของเรา เป็นการรักษาพระพุทธศาสนาไว้ให้ลูกหลานได้สืบทอดต่อไปในอนาคต
CHIANG RAI I SBL บันทึกประเทศไทย
6
.indd 41
41
13/2/2562 14:00:58
TRAVEL GUIDE
บันทึกเส้นทางความเป็นมาจังหวัดเชียงราย
เชียงราย ครั้งหนึ่งกับการเสด็จมาเยือนของ พระพุทธเจ้า ณ ดินแดนล้านนาทางภาคเหนือของไทย
จั ง หวั ด เชี ย งราย ตั้ ง อยู ่ ใ นภาคเหนื อ ตอนบนของประเทศไทย มี ค วามส� ำ คั ญ ทาง ประวัตศิ าสตร์ทางพระพุทธศาสนาผ่านต�ำนานพระเจ้าเลียบโลก เป็นทีต่ งั้ ของหิรญ ั นครเงินยาง เชียงแสน ซึ่งเป็นนครหลวงก่อนการก�ำเนิดอาณาจักรล้านนา มี “ค�ำเมือง” เป็นภาษาท้องถิ่น มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวทั้งด้านศิลปะ ประเพณีวัฒนธรรมที่มีความหลากหลายทางชาติพันธุ์ใน รูปแบบล้านนา ไทใหญ่ ไทเขิน และไทลื้อจากสิบสองปันนาผสมผสานกัน
42
_
SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงราย
.indd 42
13/2/2562 10:44:16
อีกหน้าหนึ่งของต�ำนาน
ในต�ำนานพระเจ้าเลียบโลก ซึ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนาพุทธ ที่แพร่หลายในภาคเหนือ ของไทย รัฐฉานของพม่า และสิบสองปันนา มีเนือ้ หาเกีย่ วกับการเสด็จมาเยือนของพระพุทธเจ้า ณ ดินแดนล้านนาทางภาคเหนือของไทย สิบสองปันนา รัฐฉาน และล้านช้าง ตลอดถึงบาง พืน้ ทีแ่ ถบภาคอีสาน เพือ่ โปรดคนพืน้ เมือง และทรงประทานสิง่ ของส�ำหรับคนพืน้ ไว้สกั การบูชา เช่น พระเกศา หรือทรงประทับรอยพระบาท รอยพระหัตถ์ไว้ รวมถึงสิ่งของเครื่องใช้ของ พระองค์ เช่น ไม้สีฟัน สถานที่ทรงตากจีวร ณ สถานที่ต่างๆ และต่อมาสถานที่เหล่านั้น มีการ สร้างพระบรมธาตุ พระธาตุเจดีย์ หรือวัดที่ประดิษฐานรอยพระพุทธบาทเอาไว้มากมาย ต�ำนานพระเจ้าเลียบโลกจึงเป็นเสมือนต�ำนานเกี่ยวกับเจดียสถานส�ำคัญต่างๆ ในพื้นที่ภาค เหนือและพื้นที่โดยรอบ
ก�ำเนิดเมืองโยนก
นักวิชาการท้องถิ่นของเชียงรายกล่าวว่าเรื่องราวเกี่ยวด้วยเรื่องการตั้งอาณาจักรต่างๆ ที่ เป็นดินแดนของจังหวัดเชียงรายในปัจจุบนั นัน้ ได้ปรากฏในพงศาวดารเหนือ เป็นหนังสือคัมภีร์ ใบลาน ตัวหนังสืออักษรธรรมล้านนา ต�ำนานเมืองโยนกนครไชยบุรศี รีชา้ งแสน บางแห่งเรียกว่า ต�ำนานโยนกนครราชธานี ไชยบุรศี รีชา้ งแสง เช่น ต�ำนานสิงหนวัติ เป็นต้น แต่ละเล่มเป็นเรือ่ งราว เกี่ยวกับเมืองโยนกทั้งสิ้น จึงถูกเรียกอีกชื่อหนึ่งว่าพงสาวดารโยนก อีกประการหนึ่งจะเกี่ยว พันกับอาณาจักรโบราณต่างๆ อันเป็นที่ตั้งของจังหวัดเชียงรายในปัจจุบัน ตามแนวความคิดเกี่ยวกับถิ่นก�ำเนิดของชนชาติไทยในหลายความคิด ได้มีความเชื่อว่า ถิ่นก�ำเนิดของชนชาติไทยนั้นน่าจะอยู่ทางประเทศจีนมาก่อน ในยุคที่ชนชาติไทยเราก�ำลังหนี จีนมาตั้งนครหลวงอยู่ที่แคว้นเมาและหนองแสนั้น ถิ่นที่เป็นที่ตั้งของจังหวัดเชียงรายนี้เป็น ทีอ่ ยูข่ องชาวป่าชาวเขาพวกหนึง่ เรียกว่า “ลัวะ” (หรือลังวะ หรือละว้า) และชาวป่าพวกอืน่ อาศัยอยู่ ครัง้ นัน้ ราว พ.ศ. 50 ไทยเผ่าหนึง่ เรียกว่า อ้ายลาว ตัง้ อาณาจักรอยูท่ นี่ ครปา ถูกจีนรุกราน หนักเข้า จึงอพยพมาตั้งอยู่บริเวณเมืองเล็ม เชียงรุ้ง เชียงลาว ริมแม่น�้ำสาย ตั้งราชวงศ์ขึ้น ปกครองสืบต่อกันมาจนถึงสมัย ลวจักราช จึงได้ลงมาตัง้ เมืองทีต่ ำ� บลยางเสีย่ วใกล้ดอยตุง เรียกว่า เชียงลาว ราวพุทธศตวรรษที่ 5 มีพวกไทยถอยร่นจากจีนตอนใต้ มาสมทบไทยที่เมืองเชียงลาว มากขึ้นทุกที จึงได้ขยายเมืองให้กว้างขวางขึ้นอีก เรียกว่าแคว้นยุนซาง หรือยวนเซียง มี อาณาเขตแผ่ไปถึงหลายเมือง เช่น เวียงกาหลง (อ�ำเภอเวียงป่าเป้าในปัจจุบันนี้) เวียงฮ่อ ดงเวียง เวียงวัง แจ้ห่ม เชียงแสน ทั้งนี้ภายหลัง พ.ศ. 590 เป็นต้นมา
CHIANG RAI I SBL บันทึกประเทศไทย
_
.indd 43
43
13/2/2562 10:44:17
TRAVEL GUIDE
บันทึกเส้นทางความเป็นมาจังหวัดเชียงราย
ตราประจ�ำจังหวัด เชียงรายเป็นรูป
“ช้างสีขาวใต้เมฆ”
ต่อมา ยังมีกษัตริย์ไทยอีกพระองค์หนึ่ง พระนามว่า ลาวจก หรือลาวจง ปฐมกษัตริย์ ในราชวงศ์จังกราช (ค�ำว่า ลว เป็นชื่อราชวงศ์ ไม่ใช่ลัวะหรือละว้าซึ่งเป็นชื่อชาวป่าชาวเขา) ซึ่งครองเมืองเชียงลาว (แคว้นจก) ได้ขยาย อ�ำนาจมาจนถึงเมืองเงินยาง จนรวบรวมบ้าน เมืองเป็นปึกแผ่นแล้วได้ขนานนามเมืองว่า หิรญ ั นครเงินยาง และมีกษัตริยป์ กครองสืบต่อ กันมาอีกหลายพระองค์ที่ได้กล่าวมานี้ เป็น สังเขปประวัติความเป็นมาก่อนสร้างเมือง เชียงราย นับเป็นประวัติความเป็นมาของชาติ ไทยในดินแดนภาคเหนือ อันมีนครโยนกเป็น ราชธานีตามการศึกษาจากต�ำนานพื้นเมือง
เชียงรายในยุครัตนโกสินทร์
ต่อมา ในสมัยพระเจ้ากรุงธนบุรี ยกทัพ มาปราบปรามขับไล่ข้าศึกพม่าทางหัวเมือง ฝ่ายเหนือ แต่ไม่ส�ำเร็จเด็ดขาด ครั้นสมัย พระบาทสมเด็ จ พระพุ ท ธยอดฟ้ า จุ ฬ าโลก มหาราช แห่งราชวงศ์จกั รี พ.ศ. 2347 กรมหลวง เทพหริรักษ์และพระยายมราช ยกกองทัพขึ้น มาขับไล่พม่าออกจากเชียงแสนได้ส�ำเร็จ ให้ เผาเมืองเสียสิ้น กวาดต้อนเอาผู้คนพลเมือง 23,000 ครอบครัว แบ่งเป็น 5 ส่วน โดยให้ไป อยู่เมืองเชียงใหม่ นครล�ำปาง นครน่าน เมือง เวียงจันทน์ และลงมายังกรุงเทพฯ บางส่วน ให้ตงั้ บ้านเรือนอยู่ เมืองสระบุรี เมืองราชบุรบี า้ ง หลังจากที่ได้กวาดต้อนเอาผู้คนพลเมือง ให้ไปอยู่ตามเมืองต่างๆ แล้วเชียงแสนจึง กลายเป็นเมืองร้าง ท�ำให้นบั แต่นนั้ มา หลักฐาน ทางประวัติศาสตร์เกี่ยวกับเมืองเชียงแสนได้ ขาดหายไประยะหนึ่ง ส่วนใหญ่แล้วมักจะ กล่าวถึงเมืองเชียงใหม่ที่เป็นศูนย์กลางของ ล้ า นนาในยุ ค นั้ น โดยมี ต ระกู ล เจ้ า เจ็ ด ตน ปกครอง ซึ่งจะเกี่ยวพันกับการท�ำศึกสงคราม กับพม่า บางครัง้ ก็ถกู พม่ารุกราน บางครัง้ ก็ยก ทัพไปตีเขตหัวเมืองขึน้ ของพม่าและกวาดต้อน เอาผู้คนลงมาด้วย อันได้แก่ พวกไทยใหญ่ ไทยเขิน เป็นต้น 44
_
พ.ศ. 2386 ในรัชกาลที่ 3 ได้มีการจัดตั้ง เมืองเชียงรายฟื้นคืนให้เป็นบ้านเมืองขึ้นมา ใหม่ เพื่อเป็นก�ำลังช่วยเหลือเชียงใหม่ป้องกัน ภัยจากพม่าโดย มีฐานะเป็นเมืองบริวารของ เชียงใหม่ พ.ศ. 2413 ในสมัยรัชกาลที่ 5 เจ้าอุปราช เจ้าราชวงศ์ นครเชียงใหม่ มีใบบอกข้อราชการ ไปยังกรุงเทพฯ ว่า พม่า ลือ้ เขิน เมืองเชียงตุง ประมาณ 300 ครอบครัว มาอยูเ่ มืองเชียงแสน ตั้งตัวเป็นอิสระไม่ยอมอยู่ใต้การปกครองของ ไทย จึงให้อุปราชแต่งคนไปว่ากล่าวให้ถอย ออกจากราชอาณาจักร ถ้าอยากจะตั้งอยู่ให้ อยู ่ ใ นบั ง คั บ บั ญ ชาเมื อ งเชี ย งรายและนคร เชียงใหม่ แต่ก็ไม่ได้ผล เพราะพวกนั้นไม่ยอม ออกไป พ.ศ. 2417 เจ้าอินทวิไชยยานนท์ เจ้า นครเชียงใหม่เกณฑ์ก�ำลังจากเชียงใหม่ นคร ล�ำปาก เมืองล�ำพูน มีไพร่ทั้งสิ้น 4,500 คน ยกจากเชียงใหม่ม าเชียงรายและเชียงแสน ไล่ต้อนพวกนั้นออกจากเชียงแสน จึงท�ำให้ เชียงแสนกลายเป็นเมืองร้างไประยะหนึ่ง จวบจนถึงปี พ.ศ. 2423 จึงได้ให้เจ้าอินต๊ะ บุตรเจ้าบุญมา (เจ้าบุญมาเป็นน้องของเจ้า กาวิละ เจ้านครเชียงใหม่) เจ้าผู้ครองเมือง ล�ำพูน เป็นหัวหน้า น�ำราษฎรเมืองล�ำพูน เชียงใหม่ ประมาณ 1,500 ครอบครัว ขึ้นมา ตั้งรกราก “ปักซั้งตั้งถิ่น” อยู่เมืองเชียงแสน นับเป็นการ สร้างบ้านแปงเมือง ครั้งใหญ่ของ เมืองเชียงแสน ในปี พ.ศ. 2437 พระบาทสมเด็จพระเจ้า อยูห่ วั รัชกาลที่ 5 โปรดเกล้าฯ ให้พระศรีสหเทพ (เส็ง วิรยิ สิร)ิ จัดการปกครองมณฑลพายัพใหม่ โดยได้จัดท�ำขึ้นเป็นพระราชบัญญัติ เรียกว่า พระราชบัญญัติจัดตั้งมณฑลพายัพ ตั้งนคร เชียงใหม่เป็นตัวมณฑล และเมืองเชียงแสน สมัยนั้นขึ้นต่อกระทรวงกลาโหม ต่อมา พ.ศ. 2453 ตรงกั บ ร.ศ. 129 ได้ มี ป ระกาศ กระทรวงมหาดไทย ยกเมืองเชียงราย เป็น เมืองจัตวารวมอยูใ่ นมณฑลพายัพ ซึง่ ประกาศ ณ วันที่ 9 มิถุนายน รัตนโกสินทร์ศก 129
SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงราย
.indd 44
13/2/2562 10:44:18
CHIANG RAI I SBL บันทึกประเทศไทย
_
.indd 45
45
13/2/2562 10:44:23
TRAVEL GUIDE
บันทึกเส้นทางท่องเที่ยวจังหวัดเชียงราย
สูดโอโซนกลางทุ่งป่านางพญาเสือ วนอุทยานภูชี้ฟา้
เป็นจุดชมวิวทะเลหมอกและพระอาทิตย์ขึ้น สุดฟินของจังหวัดเชียงราย อยู่ห่างจากดอยผาตั้ง 25 กิ โ ลเมตร เป็ น ยอดเขาที่ แ หลมชี้ ขึ้ น ไปบน ท้องฟ้า อยูส่ งู จากระดับทะเลประมาณ 1,628 เมตร โดยมีหน้าผาเป็นแนวยาวยืน่ ไปทางฝัง่ ประเทศลาว บนยอดภูชี้ฟ้าเป็นทุ่งหญ้ากว้าง ในฤดูหนาวจะมี ทิวทัศน์สวยงามเป็นพิเศษ นักท่องเที่ยวสามารถ พั ก แรมบริ เ วณบ้า นร่มฟ้า ทองทาง ซึ่งห่า งจาก จุดชมวิวประมาณ 1.5 กิโลเมตรได้ แล้วค่อยเดิน ขึ้นภูชี้ฟ้าเพื่อไปชมวิวตอนเช้ามืด ระหว่างทางมี แปลงปลูกป่านางพญาเสือออกดอกบานสะพรั่ง สวยงาม ในราวเดือนมกราคม-กุมภาพันธ์ของทุกปี และในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ต้นเสี้ยวดอกขาวรอบ ภูชี้ฟ้าจะออกดอกบานเต็มเชิงเขา
46
_
SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงราย
.indd 46
13/2/2562 10:44:24
Chiang Rai ดินแดนแห่งขุนเขา - เหนือสุดแดนสยาม
เหนือสุดในสยาม ชายแดนสามแผ่นดิน ถิ่นวัฒนธรรมล้านนา ล�้ำค่าพระธาตุดอยตุง CHIANG RAI I SBL บันทึกประเทศไทย
_
.indd 47
47
13/2/2562 10:44:24
เซลฟี่ กับดอกนางพญาเสือโคร่ง ซากุระพั นธุ์จิ๋ว ดอยแม่สลอง
ดอยแม่สลอง เป็นที่ตั้งของหมู่บ้านสันติคิรี เดิมชื่อ บ้านแม่สลองนอก เป็นชุมชนผู้อพยพจาก กองพล 93 จากสหภาพพม่าเข้ามาในเขตไทย จ�ำนวนสองกองพัน คือ กองพันที่ 3 เข้ามาอยู่ที่ อ�ำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ และกองพันที่ 5 อยู่ ที่บ้านแม่สลองนอก ตั้งแต่ พ.ศ. 2504 ในเดือน ธั น วาคมถึ ง กุ ม ภาพั น ธ์ ด อกนางพญาเสื อ โคร่ ง ซึง่ เป็นซากุระพันธุท์ เี่ ล็กทีส่ ดุ สีชมพูอมขาวจะบาน สะพรั่งตลอดแนวทางขึ้นดอยแม่สลอง เป็นพันธุ์ ไม้ที่หาชมได้ยากในเมืองไทย เพราะเจริญเติบโต อยู่แต่เฉพาะในภูมิอากาศหนาวจัดเท่านั้น ระหว่างทางขึน้ ดอยขอเชิญชมไร่ชาและศึกษา วิธกี ารผลิตชา ขีม่ า้ ชมทิวทัศน์รอบหมูบ่ า้ นเจียงจาใส ระลึกถึงอนุสรณ์สถานอดีตทหารจีนคณะชาติภาค เหนือ ประเทศไทย โดยมีไกด์คอยน�ำชม เปิดบริการทุกวัน เวลา 08.00-17.00 น. โทรศัพท์ 0-5376 -5129
48
_
SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงราย
.indd 48
13/2/2562 10:44:26
CHIANG RAI I SBL บันทึกประเทศไทย
_
.indd 49
49
13/2/2562 10:44:31
ไม่ได้มีดี แค่กาแฟ ดอยช้าง
เป็นอีกสถานทีท่ อ่ งเทีย่ วยอดนิยมของจังหวัดเชียงราย และชือ่ “ดอยช้าง” ก็เป็นทีค่ นุ้ หูสำ� หรับคนรักกาแฟ เพราะเป็นชือ่ ของยีห่ อ้ กาแฟที่มีชื่อเสียงโด่งดังยี่ห้อหนึ่งของไทย ดอยช้าง ตั้งอยู่ที่ต.วาวี อ.แม่สรวย จ.เชียงราย สูงจากระดับน�ำ้ ทะเล 1,700 เมตร แต่เดิมเป็นทีอ่ ยูข่ องชาวเขาเผ่าม้ง ต่อมาปี พ.ศ. 2458 ชนเผ่าลีซอได้อพยพเข้ามาตั้งเป็น หมู่บ้านดอยช้าง และปี พ.ศ.2526 ชนเผ่าอาข่าก็ได้เข้ามาอาศัยอยูใ่ นหมูบ่ า้ นดอยช้างแห่งนี้
50
_
SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงราย
.indd 50
13/2/2562 10:44:38
ไร่ชาฉุยฟง
หากถามถึงทีเ่ ทีย่ วยอดฮิตของภาคเหนือ คงหนีไม่พน้ “ไร่ชา” ทีช่ ว่ งปลายฝน-หน้าหนาว ซึง่ จะเป็นช่วงทีส่ วยงามและน่าท่องเทีย่ วมาก ที่สุด แต่ไร่ชานั้นก็มีมากมายหลายที่เหลือ เกิน และแต่ละทีน่ นั้ ก็มคี วามสวยงาม จุดเด่น ทีแ่ ตกต่างกัน วันนีเ้ ราเลยอยากจะพาทุกคน ไปเที่ยวไร่ชาเก่าแก่ ในจังหวัดเชียงรายกัน นัน่ ก็คอื “ไร่ชาฉุยฟง” ไร่ชาเก่าแก่กว่า 500 ไร่ ที่ตั้งอยู่บนภูเขาสูง กว่า 1,200 เมตร เหนือ ระดับน�ำ้ ทะเล ล้อมรอบไปด้วยธรรมชาติและ ทิ ว เขาที่ ส วยงาม ตั้ ง อยู ่ ใ นอ� ำ เภอแม่ จั น จัง หวัดเชียงราย นอกจากจะเป็นสถานที่ ท่ อ งเที่ ย วให้ ทุ ก คนได้ เ ข้ า มาสั ม ผั ส กั บ ธรรมชาติ ไร่ชา แล้วทีน่ กี่ ย็ งั มีของอร่อยๆ ให้ บริการด้วย
CHIANG RAI I SBL บันทึกประเทศไทย
_
.indd 51
51
13/2/2562 10:44:39
หนาวนี้พบกันที่ เชียงรายดอกไม้งาม
52
_
SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงราย
.indd 52
13/2/2562 10:44:41
ถนนคนเดิน และถนนคนม่วนเชียงราย
ทิ้งรอยเท้า ไว้ที่นี่...
ปิดท้ายกันด้วยการทอดน่องท่องเที่ยว ...จังหวัดเชียงราย ร่วมกับ เทศบาลนครเชียงราย จัดโครงการถนนคนเดินเชียงราย “กาดเจียงฮายร�ำลึก” ขอเชิญชวนนักท่องเทีย่ วและประชาชน ร่วมสัมผัสวิถีชีวิตแบบล้านนาในอดีต ที่แสดงออกถึงศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา และสินค้า ของดีจากเชียงราย โดยจัดขึ้นทุกวันเสาร์ของเดือน ณ ถนนธนาลัย ตั้งแต่สี่แยกส�ำนักงาน ยาสูบฯ ไปจนถึงสี่แยกธนาคารออมสิน และทุกวันอาทิตย์ของเดือนจะมี “ถนนคนม่วน เชียงราย” ซึง่ อยูบ่ นถนนสันโค้งน้อย บริเวณการจัดงานแบ่งเป็นหลายๆ ส่วน โดยมีกลุม่ กิจกรรม ต่างๆ ที่เข้าร่วมเป็นเครือข่ายร่วมกันจัดแสดงกิจกรรมมากมายตลอดเส้นทาง CHIANG RAI I SBL บันทึกประเทศไทย
_
.indd 53
53
13/2/2562 10:44:49
ปฐมเจดีย์แห่งล้านนา วัดพระมหาชินธาตุเจ้า (ดอยตุง) วั ด พระมหาชิ น ธาตุ เ จ้ า (ดอยตุ ง ) หรื อ เรี ย กโดยทั่ ว ไปว่ า วัดพระธาตุดอยตุง ตั้งอยู่บริเวณส่วนที่เรียกว่าหน้าอกของดอย นางนอน ต�ำบลห้วยไคร้ อ�ำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย ซึ่งเป็น ถิ่นที่อยู่ของชาวเขา ห่างจากอ�ำเภอเมืองเชียงรายประมาณ 46 กิโลเมตร วัดพระธาตุดอยตุง เป็นสถานที่ประดิษฐานพระเจดีย์บรรจุ พระบรมสารีริกธาตุส่วนพระรากขวัญเบื้องซ้าย หรือกระดูก ไหปลาร้าซึง่ น�ำมาจากประเทศอินเดีย ดังมีตำ� นานกล่าวไว้วา่ เมือ่ พันกว่าปีลว่ งมาแล้ว ประมาณ พ.ศ.1454 พระมหากัสสปะเถระ พร้อมด้วยพระเจ้าอชุตราช กษัตริย์ผู้ครองเมืองโยนกนาคพันธ์ ร่ ว มกั บ ข้ า ราชบริ พ ารได้ อั ญ เชิ ญ พระบรมสารี ริ ก ธาตุ ส ถิ ต ไว้ ณ ดอยแห่งนี้ และได้ปักตุงหรือธงบูชาพระบรมสารีริกธาตุ เป็น ตุงตะขาบมีความยาวถึงพันวาไว้บนยอดดอย ปล่อยชายตุงปลิว สะบัดถึงทีใ่ ดให้หมายเป็นเขตศักดิส์ ทิ ธิ์ ดอยนีจ้ งึ ได้ชอื่ ว่าดอยตุง มาจนถึงปัจจุบัน
พระธาตุดอยตุงเป็นปฐมเจดีย์แห่งล้านนา ตุง คือศรีเมือง ขวัญเมือง และเป็นเอกลักษณ์ของล้านนา สถิตคู่พระธาตุอัน ศักดิ์สิทธิ์ตลอดมา ต่อมาในปี พ.ศ. 2470 ครูบาเจ้าศรีวิชัยได้ บูรณะองค์พระธาตุขึ้นใหม่ ตามศิลปะแบบล้านนาดัง้ เดิมและได้ สร้างพระธาตุองค์ใหม่ครอบองค์เดิมไว้ ต่อมามีการบูรณะครั้ง หลังสุดเมือ่ ปี พ.ศ. 2516 โดยกระทรวงมหาดไทย ได้สร้างพระธาตุ องค์ใหม่ขึ้นครอบพระเจดีย์เดิมไว้เช่นกัน
ศิลปะและศาสนสถานแบบพม่า วัดมิ่งเมือง วัดมิง่ เมือง เป็นสถาปัตยกรรมแบบพม่าผสมกับล้านนา ประดิษฐาน พระพุทธรูปหลวงพ่อพระศรีมิ่งเมือง ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อ พ.ศ.2513 เดิมเป็นวัดไทยใหญ่ มีอายุเท่ากับเมืองเชียงราย คือ ประมาณ 800 ปี เนื่องด้วยในสมัยก่อนมีชุมชนไทยใหญ่อาศัยอยู่รอบ บริเวณวัด ประกอบกับมีศิลปะและศาสนสถานแบบพม่า จึงถูกเรียก ขานว่า “วัดเงีย้ ว” แต่ชอื่ ทีช่ าวเชียงรายรูจ้ กั กันแพร่หลายคือ “วัดจ๊างมูบ” เป็นภาษาเหนือ แปลว่า “วัดช้างหมอบ” มีความส�ำคัญเกีย่ วกับช้างคูบ่ ารมี ของพ่อขุนเม็งรายมหาราช แห่งราชอาณาจักรล้านนา องค์มหาราช ล�ำดับที่ 2 ของประวัติศาสตร์ไทย 54
_
SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงราย
.indd 54
13/2/2562 10:44:53
พระหยกเชียงราย มิ่งมงคล วัดพระแก้ว วัดมิง่ เมือง ตัง้ อยูถ่ นนไตรรัตน์ ต�ำบลเวียง อ�ำเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย ด้านข้างติดถนนบรรพปราการ ซึง่ มีสถานทีส่ ำ� คัญ ทางโบราณคดีของจังหวัดเชียงราย เป็นประตูเมืองเก่าของเมือง เชียงราย คือ ประตูไก่ดำ� (ประตูขวั ด�ำ) หรือประตูเจ้าพ่อสันป่าแดง ซึ่ ง ชาวเชี ย งรายเรี ย กว่ า สี่ แ ยกขั ว ด� ำ และบริ เ วณประตู วั ด ด้ า น ทิศตะวันออก มีบ่อน�้ำโบราณ ชื่อ น�้ำบ่อจ๊างมูบ เป็นศิลปะแบบ ไทยใหญ่ มีซุ้มครอบไว้เป็นประติมากรรมปูนปั้นรูปช้างหมอบ เชื่อกันว่าบ่อน�้ำนี้เป็นบ่อน�้ำโบราณที่ศักดิ์สิทธิ์ เป็นแหล่งน�้ำที่ใช้ อุปโภคบริโภคของผูค้ นโบราณ ทีส่ ญ ั จรเข้าออกเมือง ได้มาพักกาย บริเวณประตูเมืองเพื่อดื่มน�้ำและล้างหน้าให้เกิดสิริมงคล ก่อนจะ เริ่มเดินทางเข้าสู่เมืองเชียงรายหรืออกจากเชียงราย
วัดพระแก้ว ตั้งอยู่บริเวณถนนไตรรัตน์ ต�ำบลเวียง อ�ำเภอเมือง เป็นวัดที่ค้นพบพระแก้วมรกต หรือ “พระพุทธ มหามณีรัตนปฏิมากร” ที่ประดิษฐานอยู่ ณ วัดพระแก้ว กรุงเทพฯ ในปัจจุบัน ตามประวัติเล่าว่าเมื่อ พ.ศ.1897 ใน สมัยพระเจ้าสามฝั่งแกนเป็นเจ้าเมืองเชียงใหม่นั้น ฟ้าได้ผ่า เจดีย์ร้างองค์หนึ่งและได้พบพระพุทธรูปลงรักปิดทองอยู่ ภายในเจดี ย ์ จึ ง ได้ น� ำ ไปไว้ ใ นวิ ห าร ต่ อ มาปู น บริ เ วณ พระนาสิกเกิดกะเทาะออกมาจึงได้พบว่าเป็นพระพุทธรูปสีเขียว สร้างด้วยหยก คือ พระแก้วมรกต นั่นเอง ปัจจุบันชาวเชียงรายได้สร้างพระแก้วมรกตองค์ใหม่ขึ้น แทน เรียกว่า พระหยกเชียงราย หรือ “พระพุทธรตนากร นวุ ติ วั ส สานุ ส รณ์ มงคล” ซึ่ ง สร้ า งขึ้ นในวโรกาสที่สมเด็จ พระศรีนครินทราบรมราชชนนี มีพระชนมายุครบ 90 พรรษา ภายในวัดซีกก�ำแพงด้านทิศใต้ มีพพิ ธิ ภัณฑ์โฮงหลวงแสนแก้ว ลักษณะเป็นอาคารทรงล้านนาประยุกต์สองชั้น เป็นแหล่ง เรียนรู้ด้านศาสนาและวัฒนธรรมล้านนา รวบรวมจัดแสดง ศิลปวัตถุที่ส�ำคัญของวัด และสิ่งของที่มีผู้น�ำมาถวาย เช่น พระพุทธรูป พระธาตุ เครื่องใช้เกี่ยวกับศาสนาของล้านนา เช่น เครื่องบูชา ฉัตร ตุง เครื่องเขิน เป็นต้น
CHIANG RAI I SBL บันทึกประเทศไทย
_
.indd 55
55
13/2/2562 10:45:04
นิกาย
ท�ำเนียบพระราชาคณะ จังหวัดเชียงราย มหานิกาย
พระธรรมราชานุวัตร เจ้าคณะภาค 6
พระราชสิทธินายก รองเจ้าคณะจังหวัดเชียงราย (ม)
พระรัตนมุนี ผศ.ดร.
ผู้รักษาการแทน เจ้าคณะ จังหวัดเชียงราย (ม)
พระพุทธิญาณมุนี
พระพุทธิวงศ์วิวัฒน์ เจ้าคณะอ�ำเภอแม่สาย (ม)
เจ้าคณะอ�ำเภอเชียงแสน (ม)
พระภาวนาโกศลเถร เจ้าอาวาสวัดมงคลธรรมกายาราม (ม)
พระภาวนารัตนญาณ วิ.
เจ้าอาวาสวัดแสงแก้วโพธิญาณ (ม)
ท�ำเนียบการปกครองคณะสงฆ์ จังหวัดเชียงราย มหานิกาย
พระธรรมราชานุวัตร เจ้าคณะภาค 6
พระราชสิทธินายก รองเจ้าคณะจังหวัดเชียงราย (ม)
56
พระรัตนมุนี ผศ.ดร.
ผู้รักษาการแทน เจ้าคณะ จังหวัดเชียงราย (ม)
พระพุทธิวงศ์วิวัฒน์ เจ้าคณะอ�ำเภอแม่สาย (ม)
พระพุทธิญาณมุนี
เจ้าคณะอ�ำเภอเชียงแสน (ม)
พระครูขันติพลาธร
เจ้าคณะอ�ำเภอเมืองเชียงราย (ม)
พระครูอุปถัมภ์วรการ เจ้าคณะอ�ำเภอแม่จัน (ม)
SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา
.indd 56
14/2/2562 18:42:53
ท�ำเนียบการปกครองคณะสงฆ์ จังหวัดเชียงราย มหานิกาย
พระครูอุดมคณาภิรักษ์ เจ้าคณะอ�ำเภอเทิง (ม)
พระครูรัตนชัยคุณ เจ้าคณะอ�ำเภอเวียงชัย (ม)
พระครูสุนทรปภากร เจ้าคณะอ�ำเภอแม่ลาว
เจ้าคณะอ�ำเภอพญาเม็งราย (ม)
พระครูบวรรัตนธรรม เจ้าคณะอ�ำเภอเชียงของ (ม)
พระครูวิสิฐวรนารถ
พระครูโกศลกิจจานุกิจ
เจ้าคณะอ�ำเภอเวียงเชียงรุ้ง (ม)
พระครูวรกิตติวิมล เจ้าคณะอ�ำเภอขุนตาล (ม)
พระครูพิพิธพัฒนโกวิท เจ้าคณะอ�ำเภอพาน (ม)
พระครูศรีพัฒนกิตติ์ เจ้าคณะอ�ำเภอแม่ฟ้าหลวง (ม)
พระครูวิศาลบุญสถิต เจ้าคณะอ�ำเภอดอยหลวง (ม)
พระครูนิวิฐศีลสังวร เจ้าคณะอ�ำเภอเวียงป่าเป้า (ม)
พระครูสถิตศีลสุนทร เจ้าคณะอ�ำเภอเวียงแก่น (ม)
พระครูพิพิธธรรมสาทร เจ้าคณะอ�ำเภอป่าแดด (ม)
พระมหาสุบรรณ มหาคมฺภีโร เจ้าคณะอ�ำเภอแม่สรวย (ม)
ท�ำเนียบการปกครองคณะสงฆ์ จังหวัดเชียงราย ธรรมยุติกนิกาย
พระครูกันตธรรมมานุวัฒน์ เจ้าคณะจังหวัดเชียงราย (ธ)
พระครูวรธรรมฐิติคุณ เจ้าคณะอ�ำเภอพญาเม็งราย-เวียงปาเป้า (ธ)
พระครูเขมสุทธิธรรม
พระครูวิสุทธิธรรมโชติ
เจ้าคณะอ�ำเภอเมืองเชียงราย (ธ)
เจ้าคณะอ�ำเภอเวียงเชียงรุ้ง (ธ)
พระครูสุนทรธรรมญาณ เจ้าคณะอ�ำเภอเชียงแสน(ธ)
พระครูกิตติญาณคุณ เจ้าคณะอ�ำเภอป่าแดด (ธ)
CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 57
57
14/2/2562 18:42:56
H I STO R Y O F B U DDH I S M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดพระแก้ว
จุดเริ่มต้นการเดินทางของ “พระแก้วมรกต” มิ่งขวัญแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ พระธรรมราชานุวัตร เจ้าอาวาสวัดพระแก้ว จังหวัดเชียงราย
วัดพระแก้ว เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญ เลขที่ 19 หมู่ที่1 ถนนไตรรัตน์ ต�ำบลเวียง อ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย สังกัดคณะสงฆ์ มหานิกาย เป็นวัดทีถ่ กู บันทึกว่าพบพระแก้วมรกต เป็นครั้งแรก นับเป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ส�ำคัญชิ้นหนึ่ง เพราะพระพุทธรูปองค์นี้ ต่อมาได้เป็นพระพุทธรูปส�ำคัญคู่บ้าน คู่เมืองจนทุกวันนี้ วัดพระแก้วมีเนื้อที่ 6 ไร่ 2 งาน 9.9 ตารางวา ตามโฉนดที่ดิน เลขที่ 1861 และยังมีทธี่ รณีสงฆ์ ทีค่ ณ ุ แม่อมรา แสงแก้ว ได้ถวายวัด อีก 8 โฉนด เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2551 58
.indd 58
SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงราย
11/02/62 16:20:14
วัดพระแก้ว เดิมชื่อ วัดป่าเยี้ยะ หรือ ป่าญะ เนื่องจากภายใน บริเวณวัด มีไม้เยีย้ ะซึง่ เป็นไม้ไผ่ พันธุพ์ นื้ เมืองชนิดหนึง่ คล้ายไม้ไผ่ สีสุกไม่มีหนามขึ้นอยู่เป็นจ�ำนวนมาก ชาวบ้านนิยมน�ำไม้ชนิดนี้ ไปท�ำหน้าไม้หรือคันธนู จนกระทัง่ พ.ศ. 1977 ฟ้าผ่าองค์พระเจดีย์ พบพระพุ ท ธรู ป พอกปู น ลงรั ก ปิ ด ทองอยู ่ ภ ายในจึ ง น� ำ มา ประดิษฐานไว้ในวิหาร ต่อมาปูนบางแห่งหลุดกะเทาะออก แลเห็น เนื้อแก้วสีเขียวภายใน จึงกะเทาะปูนออกทั้งองค์ พบพระพุทธรูป ท�ำด้วยแก้วมรกต มีพทุ ธลักษณะงดงามมากเป็นทีเ่ ลือ่ งลือโจษขานกัน ทัว่ ไป ความทราบถึงเจ้าเมือง จึงมีใบบอกไปยังพระเจ้าสามฝัง่ แกน เจ้าเมืองเชี ย งใหม่ พระเจ้ า สามฝั ่ ง แกนได้ อั ญ เชิ ญ ไปยั ง เมื อ ง เชียงใหม่ หลังจากนั้นมาพระแก้วมรกตได้มาประดิษฐานยังสถาน ที่ต่างๆ อีกหลายแห่ง ได้แก่ ล�ำปาง เชียงใหม่ หลวงพระบาง เวียงจันทน์ กรุงธนบุรี จนในที่สุดประดิษฐาน ณ วัดพระศรี รัตนศาสดาราม กรุงเทพมหานคร จนกระทั่งปัจจุบัน การค้นพบ พระแก้วมรกต ในครัง้ นัน้ ท�ำให้วดั ป่าเยีย้ ะได้รบั การขนานนามใหม่ ว่า “ วัดพระแก้ว” ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา พระแก้วมรกต
CHIANG RAI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 59
59
11/02/62 16:20:17
ตามหลักฐานเกี่ยวกับวัดพระแก้ว ระบุพุทธศักราช 2469 เป็นเอกสารจดหมายเหตุ ภายหลังพิมพ์เผยแพร่ในนิตยสารโยนก ฉบับวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2528 กล่าวถึงวัดพระแก้วเมื่อครั้ง พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้า ร�ำไพพรรณี เสด็จพระราชด�ำเนินเยีย่ มพสกนิกรในเขตมณฑลพายัพ และพระราชทานพระแสงราชศัสตราประจ�ำจังหวัดเชียงราย ความว่า วันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2469 เวลา 10.00 น. พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวทรงเครื่องเต็มยศราชการสนาม ประดับเครื่องราช อิสริยาภรณ์ ทรงสอดสายสะพายมหาจักรีบรมราชวงศ์ พร้อมด้วย สมเด็จพระบรมราชินี เสด็จออกยังพลับพลาหน้าศาลากลาง ในงานพิธี พระราชทานพระแสงราชศัสตรา ทรงมีพระราชด�ำรัสตอบดังนี้ “ อั น เมื อ งเชี ย งรายนี้ ถึ ง แม้ จ ะอยู ่ ห ่ า งไกล ชื่ อ เสี ย ง ย่อมปรากฏอยู่แก่ใจสาธุชนชาวสยามโดยมาก เพราะเหตุได้พบ พระมหามณี รั ต นปฏิ ม ากรแก้ ว มรกต ซึ่ ง เป็ น มิ่ ง ขวั ญ ของ กรุงรัตนโกสินทร์ ณ เมืองเชียงรายแต่เดิมมา ” นอกจากนีย้ งั มีขอ้ ความบรรยายถึงสภาพวัดพระแก้วในขณะนัน้ ไว้ด้วย ความว่า “ เมื่ อ เวลา 16.00 น. พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว และ สมเด็ จ พระบรมราชิ นี ทรงรถยนต์ ไ ปประพาส วั ด พระสิ ง ห์ วัดพระแก้ว วัดง�ำเมือง วัดพระแก้วนั้นเป็นวัดเล็ก มีโบสถ์และ เจดี ย ์ อ ยู ่ เ บื้ อ งหลั ง โบสถ์ กั บ กุ ฏิ เ ครื่ อ งไม้ ส� ำ หรั บ พระสงฆ์ อยู่หย่อมเดียวเท่านั้น ” พ.ศ. 2478 กรมศิลปากรได้ประกาศขึ้นทะเบียนวัดพระแก้ว เป็นโบราณสถานส�ำคัญของชาติ เมือ่ วันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2478 วัดพระแก้วมีสภาพช�ำรุดทรุดโทรมตามสภาพกาลเวลา การบูรณ ปฏิสังขรณ์ และการสร้างเสนาสนะต่างๆ เพิ่มเติม แลเห็นเป็น รูปธรรมอย่างเด่นชัดในสมัยพระพุทธิวงศ์ววิ ฒ ั น์ ได้บรู ณปฏิสงั ขรณ์ ปรับปรุง เพิ่มเติมเสนาสนะต่างๆ ต่อมาในสมัยของพระธรรมราชานุวัตรเจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน ซึง่ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสตัง้ แต่ พ.ศ. 2529 ได้ด�ำเนินการบูรณ ปฏิสังขรณ์และสร้างเสนาสนะต่างๆ ภายในวัดต่อจากเจ้าอาวาส รูปก่อน เรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน
60
.indd 60
SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงราย
11/02/62 16:20:19
CHIANG RAI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 61
61
11/02/62 16:20:20
บั น ทึ ก การเดินทางของพระแก้วมรกต ตามหลักฐานบันทึกว่า มีผู้พบ “พระแก้วมรกต” เป็นครั้งแรก ในเจดียแ์ ห่งหนึง่ ในเมืองเชียงราย ตรงกับรัชกาลพระเจ้าสามฝัง่ แกน แห่งนครเชียงใหม่ และถูกอัญเชิญไปประดิษฐานในนครล�ำปาง พระเจ้าติโลกราชแห่งเชียงใหม่โปรดให้อัญเชิญพระแก้วมรกต จากล�ำปางไปประดิษฐานในซุม้ เจดียว์ ดั เจดียห์ ลวงกลางเมืองเชียงใหม่ เมื่อพระเจ้าชัยเชษฐาอุปโยวราชกรุงศรีสัตนาคนหุตซึ่งมาครอง เชียงใหม่ระยะหนึ่ง จะเสด็จกลับนคร ได้อัญเชิญพระแก้วมรกต และพระพุทธรูปส�ำคัญอืน่ ๆ ของไทยไปด้วย และน�ำพระแก้วมรกต ไปไว้ในเมืองหลวงพระบางและเวียงจันทน์ จนกระทั่งสมเด็จ เจ้าพระยามหากษั ต ริ ย ์ ศึ ก และเจ้ า พระยาสุ ร สี ห ์ คุ ม กองทั พ ไป ปราบเวียงจันทน์มชี ยั ชนะ จึงอัญเชิญพระแก้วมรกตกลับเมืองไทย สมเด็ จ พระเจ้ า ตากสิ น มหาราช โปรดให้ ส ร้ า งหอส� ำ หรั บ ประดิษฐานใกล้พระอุโบสถวัดอรุณราชวราราม เมื่ อ พระบาทสมเด็ จ พระพุ ท ธยอดฟ้ า จุ ฬ าโลกมหาราช ทรงย้ายราชธานีมาตัง้ ทีฝ่ ง่ั ตะวันออกของแม่นำ�้ เจ้าพระยาได้ทรงสร้าง 62
.indd 62
พระอารามขึน้ ในพระบรมมหาราชวังเป็นทีป่ ระดิษฐานพระแก้วมรกต ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดพระราชพิธีสมโภชพระนคร และ พระอารามพร้อมกัน พระราชทานนามพระอารามว่า วัดพระศรี รัตนศาสดาราม ทั้งพระราชทานนามพระนครให้ต้องกับการที่มี พระแก้วมรกตเป็นสิริแก่พระนครด้วย สรุปได้ว่า พระแก้วมรกตนั้นมีผู้พบครั้งแรกที่จังหวัดเชียงราย ในประเทศไทย ภายหลังจึงตกไปอยู่ที่ประเทศลาวจนกระทั่ง พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรงอัญเชิญ กลับคืนมาสู่ประเทศไทยตามเดิม พระแก้วมรกตจึงประดิษฐาน อยู่ในกรุงเทพฯ จนถึงปัจจุบันนี้ และเป็นประเพณีสืบมาว่าเมื่อ มี ก ารสมโภชพระนครคราวใดจะมี ก ารสมโภชพระอารามด้วย พระราชพิธีใดที่เป็นสิริมงคลและส�ำคัญของบ้านเมืองจะจัดขึ้น ณ พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม
SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงราย
11/02/62 16:20:25
ถาวรวั ต ถุ ภ ายในวั ดพระแก้ ว พระอุ โ บสถ มี ลั ก ษณะเป็ น ทรงแบบล้ า นนา หรื อ แบบ แม่ไก่กกไข่ หลังคาซ้อนกันสองชั้น มีขนาดกว้าง 9.50 เมตร ยาว 21.85 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ.2533 โดยครูบาสมณะ โสภโณ เจ้ า อาวาสวั ด พระแก้ ว ในสมั ย นั้ น ต่ อ มาได้ รั บ พระราชทาน วิสุงคามสีมา เมื่อปี พ.ศ. 2495
พระเจดี ย ์
พระประธานในอุโบสถ ชือ่ พระเจ้าล้านทอง ชือ่ นีไ้ ด้มาเพราะเดิม เป็นของวัดล้านทอง ต่อมาวัดถูกรือ้ ทิง้ ไป จึงถูกอัญเชิญมาประดิษฐาน ที่วัดดอยง�ำเมือง หรือดอยงามเมือง ก่อนจะมาเป็นพระประธาน ทีว่ ดั พระแก้วเมือ่ ปี พ.ศ. 2504 เป็นพระพุทธรูปส�ำริด ปางมารวิชยั หน้าตักกว้าง 2 เมตร สูงจากฐานถึงพระรัสมี 2.80 เมตร รอบๆ พระเศียร 1.60 เมตร นั่งขัดสมาธิราบ ยอดพระศกเป็นดอกบัวตูม อยูใ่ นเปลวเพลิง ชายสังฆาฏิสนั้ เหนือรายพระถัน เม็ดพระศกใหญ่ พระหนุ ( คาง) เป็ น ปมใหญ่ แ ละชั ด มาก นั บ เป็ น พระพุ ท ธรู ป ในสกุลช่างศิปปาละที่ใหญ่ และสวยงามที่สุดในประเทศไทย พระเจดีย์ เป็นพระเจดียฐ์ านรูปแปดเหลีย่ มแต่ละเหลีย่ มกว้าง 5.20 เมตร เส้นผ่าศูนย์กลาง 9.50 เมตร ห่อหุ้มทองแผ่นทองแดง ลงรักปิดทองทัง้ องค์ กรมศิลปากรได้ประกาศขึน้ ทะเบียนองค์พระเจดีย์ เป็น โบราณสถานส�ำคัญของชาติ เมื่อ พ.ศ. 2478
หอพระหยก
พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ โ ฮงหลวงแสงแก้ ว
พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ โ ฮงหลวงแสงแก้ ว
หอพระหยก เป็นอาคาร ค.ส.ล. ทรงล้านนาโบราณประกอบด้วย ไม้ชั้นเดียว ใต้ถุนสูง ขนาดกว้าง 8 เมตร ยาว 12 เมตร เป็นที่ ประดิษฐาน “พระพุทธรตนากร นวุติวัสสานุสรณ์มงคล” หรือ “พระหยกเชียงราย” แปลว่า “พระพุทธเจ้าผูท้ รงเป็นอากรแห่งรัตน เป็นมงคลอนุสรณ์ 90 พรรษา” เพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จ พระศรีนครินทราบรมราชชนนี บนผนังอาคาร แสดงจิตรกรรม จากต�ำนานพระแก้วมรกต และภาพวาดการสร้าง และพิธีอัญเชิญ พระหยกเชียงรายสู่พระอารามในวันที่ 19 ตุลาคม พ.ศ. 2534 พระพุ ท ธรู ป หยก สร้ า งด้ ว ยหยกจากประเทศแคนาดา (มร.ฮูเวิรด์ โล ผูบ้ ริจาค) ขนาดหน้าตักกว้าง 47.9 ซม. สูง 65.9 ซม. เนื่องในมหามงคลสมัย สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงเจริญพระชนมายุ 90 พรรษา ในปี 2534 จังหวัดเชียงราย ได้จดั สร้างพระพุทธรูปหยก แกะสลักโดยโรงงานหยกมหานครปักกิง่ สาธารณรัฐประชาชนจีน พระพุทธรูปหยกองค์นี้สร้างขึ้น เพื่อ เป็นองค์แทนพระแก้วมรกตองค์จริง ทีไ่ ด้ถกู อัญเชิญไป พิพิธภัณฑ์โฮงหลวงแสงแก้ว เป็นอาคารทรงล้านนาประยุกต์ เริ่ ม สร้ า งเมื่ อวั น ที่ 6 พฤศจิ ก ายน พ.ศ. 2538 ภายในเป็ น พิพธิ ภัณฑ์จดั แสดงพระพุทธรูปส�ำคัญ เช่นพระพุทธสิหงิ ค์ (จ�ำลอง) รวมทัง้ ศิลปวัฒนธรรมเกีย่ วกับพระพุทธศาสนาในรูปแบบทีท่ นั สมัย CHIANG RAI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 63
63
11/02/62 16:20:36
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดฝั่งหมิ่น
วัดที่เกือบจะพังลง...
พระครูขันติพลาธร(บุญยวง ขนฺติพโล) เจ้าคณะอ�ำเภอเมืองเชียงราย เจ้าอาวาสวัดฝั่งหมิ่น
วัดฝั่งหมิ่น ตั้งอยู่ในหมู่บ้านฝั่งหมิ่น เลขที่ 30 หมู่ 6 ต�ำบลริมกก อ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย ริมฝั่งน�้ำแม่กก ด้านทิศตะวันออกของ เทศบาลเมืองเชียงราย วัดฝั่งหมิ่น มีเนื้อที่ตามหลักฐานทางราชการ (โฉนด) จ�ำนวน 6 ไร่ 1 งาน เขตธรณีสงฆ์ จ�ำนวน 10 ไร่ 2 งาน รวม จ�ำนวนทั้งสิ้น 16 ไร่ 3 งาน ห่างจากสะพานข้ามแม่น�้ำกก 1 กิโลเมตร การเดินทางไปวัดฝั่งหมิ่น สามารถไปได้ 2 ทาง คือ ทางน�ำ้ โดยทางเรือ ไปตามล�ำน�้ำกก ทางบกมีถนนไปวิทยาลัยเกษตร และเทคโนโลยี เชียงรายผ่านหน้าวัด
ความเป็นมาของวัดฝั่งหมิ่น
“วัดฝัง่ หมิน่ ” เป็นวัดทีไ่ ม่ปรากฏชือ่ ของผูส้ ร้างวัดเป็นทีแ่ น่นอนหรือ เด่นชัด แต่จากการตรวจสอบซากวัตถุทมี่ อี ยูเ่ ดิม และจากการสันนิษฐาน ของซากเศษอิฐ ชิ้นส่วนบางรายการของพระพุทธรูปหิน และวัสดุที่ค้น พบในบริเวณวัด รวมทั้งต�ำนานที่มีอยู่บางส่วน อีกทั้งค�ำเล่าขานของ ผู้เฒ่าผู้แก่ท�ำให้สันนิษฐานว่าเป็นวัดที่มีมาช้านาน แต่เนื่องจากวัดนี้ตั้ง อยู่บนฝั่งแม่น�้ำกก ทางเดินของน�้ำได้ไหลเปลี่ยนทิศทางเซาะตลิ่งจนถึง บริเวณวัดท�ำให้วดั ล่มสลายลง แต่เป็นทีอ่ ศั จรรย์ยงิ่ นักทีก่ ระแสน�ำ้ ไม่ได้ พัดพาเอาเศษอิฐ และวัสดุของใช้ภายในวัดแต่เดิมให้ไหลไปตามน�้ำ ต่อมาทางน�ำ้ ได้ไหลเปลีย่ นทิศทางอีกท�ำให้บริเวณวัดเดิมเกิดมูลดินทราย 64
4
โผล่พ้นเป็นเกาะขึ้นมากลายเป็นวัดร้าง ปรากฏให้เห็นเฉพาะฐานราก พระวิหาร ซึ่งมีเศษวัสดุดั้งเดิมของวัด เช่น อิฐ ไม้ ซากพระพุทธรูปหิน มากมาย ชาวบ้านจึงช่วยกันขุดค้นตกแต่งฐานพระวิหารแล้วท�ำการบูรณ ปฏิสงั ขรณ์ สร้างเป็นวัดขึน้ มาอีกครัง้ หนึง่ เมือ่ ประมาณกว่า 200 ปีมาแล้ว ขณะเดียวกันในช่วงทีว่ ดั ดัง้ เดิมอยูบ่ ริเวณฝัง่ น�ำ้ ก่อนทีน่ ำ�้ จะเซาะตลิง่ และวัดล่มสลายนัน้ บริเวณหน้าวัดเป็นวังน�ำ้ วนขนาดใหญ่ เป็นทีจ่ อดเรือ ค้าขายของชาวจีน และชาวลาวจากลานช้าง ที่ล่องเรือตามล�ำน�้ำกกมา ค้าขายกับชาวเชียงรายบ่อยครั้ง และได้มีชาวจีนคณะหนึ่งน�ำเรือยาว ประมาณ 15 เมตร บรรทุกสินค้ามาทางน�้ำรวมเครื่องราชบรรณาการ จะมาถวายพ่อขุนเม็งราย เรือเกิดล่มจม ณ บริเวณปัจจุบนั โดยไม่ทราบ ว่าเป็นจุดใด และยังไม่มผี ขู้ ดุ ค้นขึน้ มาได้ตราบจนทุกวันนี้ ชาวบ้านทีช่ ว่ ย กันบูรณปฏิสังขรณ์ได้เล่าขานต่อกันมา โดยเรียกวัดที่บูรณะแล้วว่า “วัดฝั่งหมิ่น” ปัจจุบันมีผู้มีจิตศรัทธาเลื่อมใสช่วยกันสร้างถาวรวัตถุ เพื่ อ พระพุ ท ธศาสนาสื บ ต่ อ มาจนได้ รั บ พระราชทานวิ สุ ง คามสี ม า เมื่อวันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2512 ถึงปัจจุบัน
SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงราย
2.indd 64
11/2/2562 11:47:53
ล�ำดับเจ้าอาวาสปกครองวัดฝัง่ หมิน่ ตามหลักฐานทีป่ รากฏ
1. พระกา 2. พระครูบาอภัย พ.ศ. 2351 3. พระกัน 4. พระว๊อก 5. พระพรม 6. พระเมืองใจ 7. พระจันทร์ตา พ.ศ. 2466 8. พระบุญปั๋น 9. พระค�ำแปง จนฺทวงฺโส 10. พระอุ่นเรือน พรหมฺสโร 11. พระสมบูรณ์ สุปุญโญ 12. พระสิงห์แก้ว ขนฺติพโล พ.ศ. 2487–2499 13. พระสาร 14. พระยศ 15. พระอินปั๋น ฐิตธมฺโม พ.ศ. 2501–2504 16. พระสมบัติ ชนฺติพโล พ.ศ. 2505–2507 17. เจ้าอธิการดวงทิพย์ ฐานจาโร พ.ศ. 2508–2520 18. พระครูขันติพลาธร (บุญยวง ขนฺติพโล)12 พฤษภาคม พ.ศ. 2520–ปัจจุบัน - บวชฟรี เรียนฟรี มีที่พัก โรงเรียนวัดฝั่งหมิ่นวิทยา - โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ตอบโจทย์การศึกษา และการใช้ชีวิตอย่างสมบูรณ์ ผ่านการบวชเรียนตามรอยพระพุทธเจ้า ขอเชิญเยาวชนชายบวชเรียนภาคฤดูร้อน รับสมัครวันนี้ถึงวันที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2562 สอบถามข้อมูลได้ที่โทร. 096-341-9579, 092-179-2504, 080-503-0406
สถานทีต่ ดิ ต่อปัจจุบนั
วัดฝั่งหมิ่น ถนนศูนย์ราชการฝั่งหมิ่น ต�ำบลริมกก อ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย รหัสไปรษณีย์ 57100 หมายเลขโทรศัพท์ 080-503-0406, 093-223-3700 ติดตามเพจ วัดฝั่งหมิ่น ได้ที่ facebook.com/watfangmin CHIANG RAI I SBL บันทึกประเทศไทย
4
2.indd 65
65
11/2/2562 11:48:03
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดพระธาตุดอยเขาควาย
ต�ำนาน “น้องค�ำสุข” แมงสี่หูหา้ ตา สัญลักษณ์น�ำโชค การแข่งขันกีฬาแห่งชาติครั้งที่ 46 เจียงฮายเกมส์ พระอธิการสนอง สุมโน ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน
วัดพระธาตุดอยเขาควาย ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 690 ต�ำบลรอบเวียง อ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย ห่างจากตัวเมืองเชียงราย ประมาณ 5-6 กิโลเมตร ตั้งอยู่บนยอดเขา สภาพทั่วไปเป็นป่าเขาร่มรื่น อุดมสมบูรณ์
ภายในวัดมีสิ่งปลูกสร้างดังนี้
กุฏิ , ศาลา , องค์พระธาตุเจดีย์ และอุโบสถ , โรงครัว , ห้องน�ำ้ ห้องสุขา มีบนั ไดนาค, บันไดงู มีถนนหนทางลาดยาง รถวิง่ ขึน้ ลงสะดวกเป็นจุดชมวิว ทิวทัศน์ ชมตัวเมืองเชียงรายได้ดที สี่ ดุ มองได้รอบทิศ เป็นโบราณสถานที่ เก่าแก่คู่บา้ นคู่เมืองเชียงรายมาช้านาน ปูมต�ำนานเรือ่ ง แมง 4 หู 5 ตา และเรือ่ งพญาควายเขาแก้ว เป็นทีม่ า ของการสร้างวัดและการตั้งชื่อวัดตามประวัติหรือต�ำนาน 4 หู 5 ตา กล่าวไว้วา่ อ้ายทุกคตะกุมาร ได้แมง 4 หู 5 ตา ทีถ่ ำ�้ บนดอยเขาควายแห่งนี้ ไปเลีย้ งไว้กนิ ถ่านไฟแดงร้อนๆ เป็นอาหารและถ่ายมูลขีอ้ อกมาเป็นทองค�ำ ท่านเลีย้ งไว้ได้หลายปีจนได้ทองค�ำมาก ต่อมาเอาไปฝังไว้ในดินก็เยอะมาก 66
จนได้เอาทองค�ำเหล่านัน้ มาท�ำเป็นรางริน (รางน�ำ้ ฝน) หลังจากนัน้ ท�ำให้ ชาวบ้านในเมืองได้เห็นสิง่ ทีน่ า่ ประหลาด นัน้ คือ รางรินน�ำ้ ทองค�ำ ก่ายพาด ตามทาง ยาวสุดลูกหูลกู ตา มาถึงปราสาทราชวังเมือ่ พระเจ้าพันธุมติราช ทรงทราบ จึงให้เสนาอ�ำมาตย์ไปติดตามพบว่า รางน�ำ้ นัน้ มาจากบ้านของอ้าย ทุกคตะ พระเจ้าพันธุมติราชจึงสัง่ การให้ทำ� ถนนเป็นอย่างดีไปจนถึงบ้านของ อ้ายทุกคตะ เมือ่ ได้ฤกษ์ยามทีด่ ี อ้ายทุกคตะจึงได้อภิเษกสมรสกับพระนางสีมา ซึง่ เป็นพระธิดาเจ้าเมืองพันธุมติราชนคร (คือเมืองเชียงรายปัจจุบนั ) และได้ ปกครองบ้านเมืองต่อมาเป็นพระราชาพระนามว่า “พญาธรรมมิกะราช” ปกครองไพร่ฟา้ ประชาชนอยูเ่ ย็นเป็นสุขด้วยทศพิธราชธรรม 10 ประการ
SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงราย
.
.indd 66
14/2/2562 14:52:47
พัฒนาบ้านเมืองและวัดวาอารามให้เจริญรุ่งเรือง โดยมีพระสงฆ์เข้ามา เผยแผ่พระพุทธศาสนาได้น�ำพระบรมพุทธสารีริกธาตุ ซึ่งเป็นพระบรม สารีริกธาตุส่วนนิ้วก้อยข้างซ้ายขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า มาถวายพญาธรรมมิกะราช พญาธรรมมิกะราชก็ได้มาสร้างพระธาตุเจดีย์ บรรจุพระบรมพุทธสารีรกิ ธาตุไว้ใต้ฐานพระธาตุเจดียบ์ นดอยเขาควายแก้ว แห่ ง นี้ เ พื่ อ เป็ น ที่ ก ราบไหว้ สั ก การบู ช าของเทวดาและมนุ ษ ย์ ทั้ ง หลาย แล้ ว ใส่ ชื่ อ วัดพระธาตุดอยเขาควายแก้วไว้ เนื่องจากบนดอย แห่งนี้เคยเป็นที่อยู่อาศัยของพญาควายเขาแก้วพร้อมด้วยบริวาร 101 ตัว ตามต�ำนานกล่าวไว้ ตามประวัติต�ำนานวัดพระธาตุดอยเขาควายแก้ว ได้รับการบูรณ ปฏิสงั ขรณ์หลายยุคหลายสมัยหรือหลายครัง้ บูรณะครัง้ แรก สมัยเชียงแสน เมือ่ พันกว่าปีทผี่ า่ นมา บูรณะครัง้ ทีส่ อง สมัยพ่อขุนเม็งรายหรือพญามังราย ในปี พ.ศ.1805 และบูรณะครัง้ ทีส่ าม สมัยพระครูบาค�ำหล้า สังวะโรภิกขุ ร่วมกับพระครูบาอินถา สุทนฺโตภิกขุ ในช่วงปี พ.ศ.2500-2514 ซึ่ง เป็นพระนักศีลนักบุญ แห่งล้านนาไทย โดยพระครูบาค�ำหล้าและครูบา อินถามาบูรณะและก่อสร้างถาวรวัตถุต่างๆ มีองค์พระธาตุเจดีย์ กุฏิ ศาลา และบันไดนาคและเสนาสนะอืน่ ๆ มีพระภิกษุ สามเณรอยูจ่ ำ� พรรษา เรือ่ ยมาจนถึงปี พ.ศ.2519 พระสนอง สุมโน ได้ยา้ ยจากวัดเชียงยืนสัน โค้งหลวง ขึ้นมาจ�ำพรรษาและได้รับต�ำแหน่งแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาสใน พ.ศ.2528 โดยพระเดชพระคุณหลวงพ่อท่านเจ้าคุณพระพุทธิวงศ์ววิ ฒ ั น์ เจ้าอาวาสวัดพระแก้วเจ้าคณะจังหวัดเชียงราย วันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2528 และ ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมาพระอธิการสนอง สุมโน ก็ได้ท�ำการ บูรณปฏิสงั ขรณ์วดั พระธาตุดอยเขาควายเรือ่ ยๆ มาและสร้าง ถาวรวัตถุ กุฏิ ศาลา อุโบสถ เพิ่มเติม อีกหลายรายการ เมือ่ กล่าวถึง แมง 4 หู 5 ตา หรือว่า พญา 4 หู 5 ตา เป็นทีน่ า่ ภาคภูมใิ จ เป็นอย่างยิง่ โดยเฉพาะปี พ.ศ.2561 ทีผ่ า่ นมาทางจังหวัดเชียงรายได้เป็น เจ้าภาพทีจ่ ดั การแข่งกีฬาแห่งชาติครัง้ ที่ 46 ในชือ่ เจียงฮายเกมส์ ได้ให้เกียรติ น�ำเอาพญา 4 หู 5 ตา ของวัดพระธาตุดอยเขาควายแก้ว ไปเป็นสัญลักษณ์ หรือเป็นมัสคอตของกีฬาเจียงฮายเกมส์ ในชือ่ น้องค�ำสุข ในรูปลักษณะคล้าย ตุ๊กตาหมีน่ารักๆ ที่จัดการแข่งขันกีฬาครั้งที่ 46 ระหว่างวันที่ 18-28 CHIANG RAI I SBL บันทึกประเทศไทย
.
.indd 67
67
14/2/2562 14:52:52
อุโบสถ พฤศจิกายน พ.ศ.2561 ที่ผา่ นมา ดังมีแนวทางการออกแบบตามต�ำนานของวัดพระธาตุดอยเขาควายแก้ว จังหวัดเชียงรายทีเ่ ชือ่ กันว่า แมงสีห่ หู า้ ตามีลกั ษณะตัวอ้วนและเตีย้ มีกายภาพ อย่างหมี และมีขนยาวสีด�ำปกคลุมร่างกาย นอกจากนี้ยังมีหูสองคู่และมีตา ห้าดวง โดยที่ดวงตาของแมงสี่หูห้าตาเป็นสีเขียว รับประทานถ่านไฟร้อนเป็น อาหาร และมูลของแมงสี่หูห้าตานี้เป็นทองค�ำ อย่างไรก็ดี มิได้ปรากฏว่ามี อุปนิสัยดุร้ายหรืออย่างอื่นใด ซึ่งออกแบบตามรูปปั้นของสัตว์นี้ปรากฏที่วัด พระธาตุดอยเขาควายแก้ว อ�ำเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย ในการนี้ท�ำให้ แมง 4 หู 5 ตา ของวัดพระธาตุดอยเขาควายแก้วโด่งดัง
68
SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงราย
.
.indd 68
14/2/2562 14:52:55
ขึน้ ชือ่ ฤาชาปรากฏเป็นทีร่ จู้ กั ของผูค้ นทัง้ ประเทศและทัว่ โลกจึงสมควรจารึกไว้ เป็นประวัตศิ าสตร์ของวัดพระธาตุดอยเขาควายแก้วสืบต่อไปอย่างไม่มวี นั ลืมเลือน และอีกประการหนึ่งตามต�ำนานประวัติวัดพระธาตุดอยเขาควายแก้วได้ กล่าวถึงการก่อสร้างและการบุรณะปฏิสังขรณ์ไว้ว่าวัดพระธาตุดอยเขาควาย แก้วแห่งนี้เคยได้รับการการบูรณะองค์พระธาตุเจดีย์สมัยพ่อขุนเม็งรายหรือ พญามังรายในปี พ.ศ.1805 มาแล้วด้วย ดังนัน้ ทางวัดพระธาตุดอยเขาควายแก้วโดยพระอธิการสนอง สุมโน หรือ ครูบาสนอง สุมโน เจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน เป็นประธานพร้อมด้วยศิษยานุศิษย์
และคณะศรัทธาญาติโยมหลายฝ่ายมาระลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณที่องค์พ่อ พญามังรายได้มาสร้างเมืองเชียงรายและได้เคยมาบูรณะวัดพระธาตุดอยเขา ควายแก้วแห่งนีม้ าแล้วจึงได้ประชุมปรึกษาหารือและตกลงสร้างคุม้ หอค�ำและ พระบรมรูปหล่อลอยองค์พอ่ พญามังราย ประดิษฐานทีห่ น้าอุโบสถใหม่ของวัด และได้ท�ำพิธีบวงสรวง องค์พ่อพญามังรายมหาราช เมื่อวันที่ 26 มกราคม พ.ศ.2562 ที่ผ่านมา ดังนั้นเพื่อเป็นที่กราบไหว้สักการบูชาระลึกถึงพระคุณ อันยิง่ ใหญ่ทพี่ ระองค์ทา่ นได้สร้างบ้านแปงเมืองให้เจริญรุง่ เรือง จนถึงปัจจุบนั CHIANG RAI I SBL บันทึกประเทศไทย
.
.indd 69
69
14/2/2562 14:53:03
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดศรีมงคล
ร่วมสร้างพระพุทธรูปสมเด็จองค์ปฐม พระประธานลานธรรม พระครูพิพัฒน์ปิยกิจ (สมบูรณ์ ปิยธมฺโม) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
ตั้งอยู่เลขที่ 3 หมู่ที่ 5 บ้านสันสลี ต�ำบลป่าอ้อดอนชัย อ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย สร้างเมือ่ พ.ศ. 2405 โดยเจ้าราชวงศ์คำ� หมืน่ (เจ้าห้าขัน เจ้าผูป้ กครองเมืองเชียงรายชุดสุดท้าย) และเจ้าหนานอินต๊ะ พร้อมด้วย ชาวบ้าน 20 ครัวเรือน ได้ไปนิมนต์ ครูบาไชยวรรณมงคล (นวล) จากวัดบวกเปาหลวง จังหวัดเชียงใหม่ มาเป็นเจ้าอาวาส
ประวัติความเป็นมา
เดิมทีที่ดินตรงนี้เป็นป่าไม้เป้า ชาวบ้านจึงเรียกว่า “อารามป่าเป้า” ต่อมาเมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2410 ได้รับอนุญาตจัดตั้งวัด จึงเรียกว่า “วัดศรีมงคล” ตามนามเจ้าอาวาสรูปแรก ได้รบั พระราชทาน วิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2465 และผูกพัทธสีมา เมื่อวันที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2465
70
2
อุดมพจน์ “เห็ น เงิ น ไม่ อ ยากได้ ใกล้ ผู ้ ห ญิ ง ไม่ ก� ำ หนั ด เจอสิ่ ง ข้ อ งขั ด ไม่ ขุ ่ น เคื อ ง วั น นั้ น อรหั น ต์ ก ลายๆ”
SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงราย
.indd 70
11/2/2562 16:47:47
ประวัตเิ จ้าอาวาสรูปปัจจุบนั : พระครูพพิ ฒ ั น์ปยิ กิจ ปิยธมฺโม นาม เดิม สมบูรณ์ การุณจิตร เกิดเมื่อวันที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2500 บิดา ชื่อนายปุก การุณจิตร มารดาชื่อ นางบังอร สุทธิสม อยู่บ้านเลขที่ 35 หมู่ที่ 5 บ้านสันสลี ต�ำบลป่าอ้อดอนชัย อ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย บรรพชาเมื่อวันที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2520 โดยมี พระครูชาคริยานุยุต วัดขาวร่องขุ่นเป็นพระอุปัชฌาย์ วิทยฐานะ :นักธรรมเอก พธ.บ. มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย วิทยาเขตพระเยา สมณศักดิ์ : 5 ธันวาคม พ.ศ. 2545 พระครูเจ้าอาวาสชั้นโท ที่ พระครูพิพัฒน์ปิยกิจ, 5 ธันวาคม พ.ศ.2556 พระครูเจ้าคณะต�ำบลชัน้ เอก ในราชทินนาม เดิม, อดีตเลขานุการเจ้าคณะอ�ำเภอเมืองเชียงราย พ.ศ. 2533–2537
งานปกครอง
พ.ศ.2535 เป็นเจ้าอาวาสวัดศรีมงคล ,พ.ศ. 2550 เป็นเจ้าคณะ ต�ำบลป่าอ้อดอนชัย เขต 2, ปี พ.ศ. 2556 เป็นพระอุปัชฌาย์
สิ่งศักดิ์สิทธิ์ประจ�ำวัด
หลวงพ่อพระเจ้าสองสี เป็นพระพุทธรูปส�ำริดปางมารวิชยั ศิลปะล้านนา พุทธศตวรรษ ที่ 21 หน้าตักกว้าง 22 เซนติเมตร ฐานล่างกว้าง 24 เซนติเมตร สูงรวมฐาน 39.5 เซนติเมตร โดย พระไชยวุฒจิ กั ษี จากเชียงแสน น�ำมาถวายเมือ่ พ.ศ. 2461
เจ้าอาวาสปกครองสืบกันมา 8 รูป คือ 1.ครูบาไชยวรรณมงคล (นวล) 2.พระครูอุดมปัญญา (ไชยลังกา) 3.พระนันชัย ทนนฺชโย 4.พระจ�ำนง วุสุทฺธาจาโร 5.พระอธิการบุญชู กลฺยาโณ 6.พระบุญเถิง วชิรปาโล 7.เจ้าอธิการสมบูรณ์ ถิรจิตฺโต 8.พระครูพิพัฒน์ปิยกิจ (สมบูรณ์ ปิยธมฺโม) ประวัติเจ้าอาวาสรูปที่ 2 พระครูอุดมปัญญา นามเดิม เจ้าน้อย เปี้ย ไชยลังกา เป็นบุตรชายเจ้ากาวิละ และ แม่นางหนู เป็นหลาน ชายครูบาไชยวรรณมงคล (นวล) เจ้าอาวาสรูปแรก ท่านบรรพชาเมื่อ วันได้รบั อนุญาตจัดตัง้ วัด วันที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2510 ต่อมาเมือ่ ปี พ.ศ.2457 ได้รบั แต่งตัง้ เป็นเจ้าคณะแขวงเมืองเชียงราย (เจ้าคณะอ�ำเภอ เมืองเชียงราย) รูปแรก ท่านผู้บุกเบิกวงการคณะสงฆ์อ�ำเภอเมือง เชียงราย ต่อมาปี พ.ศ. 2475 ได้ลาออกจากเจ้าคณะแขวงและ มรณภาพ เมื่อปี พ.ศ. 2484 CHIANG RAI I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 71
71
11/2/2562 16:47:54
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดสันมะนะ
เป็นร่มธรรม น�ำความสุขสงบเย็น ให้ชุมชนอย่างมั่นคง พระครูพินิตวิหารการ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
วัดสันมะนะ ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 1 หมูท่ ี่ 7 ต�ำบลป่าอ้อดอนชัย อ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ที่ดินตั้งวัด มีเนื้อที่ 5 ไร่ 2 งาน 32 ตารางวา ตามใบโฉนดทีด่ นิ น.ส.3 ก. เลขที่ 1027 เล่ม 11 ก หน้า 27 เลขที่ดิน 71 ระวางรูปถ่ายทางอากาศชื่อจังหวัดเชียงราย หมายเลข 49481 แผ่นที่ 106 มีพระบรมราชโองการ ได้รบั พระราชทาน วิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2491 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 40 เมตร ยาว 80 เมตร มีเจ้าอาวาสปกครองวัดมาแล้ว 10 รูป ปัจจุบัน พระครูพินิตวิหารการ ( อินฺทวีโร) เป็นเจ้าอาวาส มีพระภิกษุ 4 รูป และสามเณร 4 รูป 72
2
SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงราย
.indd 72
11/2/2562 11:54:41
มีอาณาเขตดังนี้
ทิ ศ เหนื อ ติ ด ทางสาธารณประโยชน์ ทิ ศ ใต้ ติ ด ล� ำ เหมื อ ง สาธารณประโยชน์ ทิศตะวันออกติดหมู่บ้าน ทิศตะวันตกติดล�ำเหมือง สาธารณประโยชน์ ป ระวั ติ ก ารตั้ ง วั ด วั ด สั น มะนะ ก่ อ ตั้ ง ขึ้ น เมื่ อ พ.ศ. 2318 โดยนายอินไชย น�ำชาวบ้านแผ้วถางตั้งเป็นอารามขึ้นมา โดยมีพระต๊ะเป็นเจ้าอาวาส เดิมทีสถานที่นี้เป็นป่าไม้มะนะ (สมอ) ชาวบ้านจึงเรียกว่าวัดสันมะนะ
ศาสนวัตถุของวัดประกอบด้วย
ก�ำแพงรอบวัด วิหาร ศาลาการเปรียญ กุฏิสงฆ์ หอระฆัง หอฉันภัตตาหาร โรงเก็บพัสดุ
ปูชนียวัตถุของวัด
มีพระประธานในวิหารก่อด้วยอิฐถือปูน หน้าตักกว้าง 5 ศอก สูง 8 ศอก 9 นิ้ว สร้างเมื่อ พ.ศ. 2460 สร้างโดยสล่าพ่อหนานศรี ทั้งองค์ดา้ นซ้าย และด้านขวา
ล�ำดับเจ้าอาวาสเท่าที่ทราบนาม 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11.
พระต๊ะ พ.ศ. 2318 พระพิมพิสาร พระไชยวงศ์ พระสุยะ พระอินชัย พระอ้าย พระอริยะ พระใจ๋ พระอุ่นเรือน พระครูจิณธรรมโกศล (ฐิตปุญฺโญ) พ.ศ. 2485-2538 พระครูพินิตวิหารการ ( อินฺทวีโร) พ.ศ. 2538-ปัจจุบัน
ศรัทธาอุปถัมภ์ นับตัง้ แต่การก่อตัง้ วัดสันมะนะมาจนถึงปัจจุบนั มีศรัทธาประชาชน ที่ท�ำบุญในวัดนี้ต่อเนื่องมาโดยตลอด ด้วยขณะนี้มีถึง 300 ครัวเรือน ซึ่งประกอบด้วยประชาชน 3 หมู่บ้านคือ บ้านป่าก้อ หมู่ที่ 6 บ้าน หนองแสล๊บ หมู่ที่ 7 บ้านสันมะนะ หมู่ที่ 8 ที่ช่วยกันอุปถัมภ์ค�้ำชู พระพุทธศาสนาให้เป็นร่มธรรม น�ำความสุขสงบเย็นให้ชมุ ชนอย่างมัน่ คง เชิ ญ สาธุ ช นศรั ท ธาธรรมร่ ว มสร้ า งอุ โ บสถวั ด สั น มะนะ ชื่ อ บั ญ ชี วั ด สั น มะนะ ธนาคารออมสิ น สาขากลางเวี ย ง เลขบัญชี 020081748350 ติดต่อเจ้าอาวาสโทร 089-952-7648 CHIANG RAI I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 73
73
11/2/2562 11:54:49
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดร่องเผียว
กราบสั กการะ ”ดอยพระธาตุ” อายุ ประมาณ 700 ปี พระอธิการไพรสณฑ์ มหาวีโร ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
วัดร่องเผียว ปัจจุบนั ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 1 หมูท่ ี่ 24 บ้านร่องเผียว ต�ำบลห้วยสัก อ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย แต่เดิมชื่อ “วัดศรีพัฒนาราม” ตั้งอยู่ที่บริเวณข้างโรงเรียนบ้านร่องเผียว หมู่ที่ 8 มีคณะศรัทธา ประมาณ 179 ครัวเรือน อุปถัมภ์คำ�้ จุนวัด ซึง่ อยูท่ างด้าน ทิศตะวันออกของหมูบ่ า้ น ต่อมาคณะศรัทธาญาติโยมเห็นว่าทางเข้าอยู่ ด้านหลังวัดไม่ค่อยเหมาะสมเท่าไร และหากมีการก่อสร้างอาคาร เสนาสนะต่างๆ จะต้องหันหน้าเสนาสนะ เช่น วิหาร ศาลาการเปรียญ ไปทางด้านทิศตะวันออก ซึง่ เป็นทุง่ นาของชาวบ้านและไม่สามารถทีจ่ ะ ท�ำเป็นถนนเข้าสู่บริเวณวัดได้ ดังนั้น ปี พ.ศ. 2516 ชาวบ้านร่องเผียว เห็นสมควรให้มีการย้ายวัดมาตั้งสถานที่ใหม่ จึงได้ซอื้ ขายทีด่ นิ บริเวณที่ ตัง้ วัดในปัจจุบนั ซึง่ มีเนือ้ ที่ 6 ไร่ 1 งาน 1 ตารางวา อยู่บริเวณด้านทิศ ตะวันตกของหมูบ่ า้ นจึงได้ทำ� การพัฒนาและท�ำการก่อสร้างเสนาสนะขึน้ ตามล�ำดับและเปลีย่ นชือ่ วัดให้ตรงกับชือ่ หมูบ่ า้ นเป็น “วัดร่องเผียว”เมื่อปี 74
2
พ.ศ. 2525 ได้รับอนุญาตให้สร้างวัด เมื่อวันที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2529 โดยชาวบ้านได้มอบหมายให้ นายชาญ เนตรสุวรรณ เป็นผู้ยื่นเรื่องท�ำการ ขออนุญาตสร้างวัด ต่อมาวันที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2536 ได้รับ พระราชทานวิสุงคามสีมา มีเนื้อที่กว้าง 20 เมตร ยาว 40 เมตร และ ท�ำการประกอบพิธผี กู พัทธสีมาเมือ่ วันที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2538 ปัจจุบนั มีคณะศรัทธาอุปถัมภ์ 3 หมู่บ้าน คือ บ้านร่องเผียว หมู่ที่ 8 หมู่ที่ 18 และหมู่ที่ 24
SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงราย
.indd 74
11/2/2562 13:38:01
ประวัติม่อนธาตุ (พระธาตุบ้านร่องเผียว)
ม่อนธาตุ หรือ พระธาตุบ้านร่องเผียว ตามประวัติเล่าว่า เมื่อ ปีพ.ศ. 2500 พ่ออุย้ ทิ บุญเทีย่ ง ผูพ้ บพระธาตุเป็นคนแรกมีอายุประมาณ 700 ปี ตั้งอยู่บนดอยชาวบ้านจึงตั้งชื่อเรียกว่า “ดอยพระธาตุ” ต่อมา รุน่ ลูกรุน่ หลานได้พร้อมใจกันบูรณะพระธาตุเมือ่ พ.ศ. 2547 เป็นต้นมา จนถึงปัจจุบัน
การสร้างพระธาตุและการบูรณะ
เมื่อวันที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2548 ได้มีมติในการเริ่มก่อสร้างพระธาตุ
ล�ำดับเจ้าอาวาสตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน 1. พระวิรัติ อนาวิโล พ.ศ.2516-2517 2. พระจรัญ อนุสโร พ.ศ.2517-2517 3. พระศรีวรรณ จนทวณฺโณ พ.ศ.2517-2518 4. พระประพันธ์ สุวณฺณปญโญ พ.ศ.2518-2519 5. พระเหียง ปญฺญาสาโร พ.ศ.2519-2525 6. พระดวงทิพย์ พ.ศ.2525-2526 7. พระชุชาติ กลยาณธมฺโม พ.ศ.2528-2530 8. พระครูอุดมปัญญารัตน์ พ.ศ.2531-2553 9. พระอธิการไพรสณฑ์ มหาวีโร พ.ศ.2553-ปัจจุบัน
องค์ใหม่ครอบพระธาตุองค์เก่าที่ช�ำรุดทรุดโทรมและให้มีการสรงน�้ำ พระธาตุทกุ ปี ตรงกับขึน้ 15 ค�ำ่ เดือน 8 เหนือ (8 เป็ง) ต่อมาชาวบ้าน ได้ ช ่ ว ยกั น สร้ า งทางขึ้ น พระธาตุ เ มื่ อวั น พฤหั ส บดี ที่ 3 กุ ม ภาพั น ธ์ พ.ศ. 2548 และได้วา่ จ้างช่างจากจังหวัดล�ำพูนมาออกแบบพระธาตุองค์ ใหม่โดยมีคณะศรัทธา คุณหมอพลตรีรงั รักษ์ อิงอร่าม และ คุณฑิตฐิตา ศรีราจันทร์ (คุณไก่) และชาวบ้านร่องเผียวอุปถัมภ์ ช่วยกันจัดหาผ้าป่า จากกรุ ง เทพฯ-นครปฐม เพื่ อ มาสมทบทุ น สร้ า งพระธาตุ ตั้ ง แต่ ปี พ.ศ.2548 เป็นต้นมาและได้ประกอบพิธวี างศิลาฤกษ์เมือ่ วันศุกร์ที่ 18 เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2550 โดยมีพระมหาโพธิวงศาจารย์ เจ้าคณะภาค 6 ผู้แทนพระองค์สมเด็จพระสังฆราช หลังจากนั้นเริ่มสร้างในวันอาทิตย์ ที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2551 จนถึงวันอาทิตย์ที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557 ก็เสร็จสมบูรณ์ จึงได้ประกอบพิธียกฉัตร และบรรจุพระบรมสารีรกิ ธาตุ โดยมีพระเดชพระคุณพระรัตนรังสี (ครูบาแสงหล้า), พระเดชพระคุณ พระเทพสิทธินายก เจ้าคณะจังหวัดเชียงราย พระเดชพระคุณพระรัตนมุนี รองเจ้าคณะจังหวัดเชียงราย และพระสงฆ์ทรงสมณะศักดิ์ อีกหลาย รูปร่วมประกอบพิธี ขอเชิญคณะศรัทธา สาธุชน ผูส้ นใจท�ำบุญ มาร่วมสร้างบุญบารมี ร่วมท�ำบุญได้ทบี่ ญ ั ชีเลขที่ 020148580853 ธนาคารเพือ่ การเกษตร และสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) สาขาห้วยสัก (ชือ่ บัญชี พระธาตุมอ่ นธาตุ เพื่อการสร้างบันไดพญานาค) หรือสอบถามข้อมูล สจ.วัชรพงศ์ ปิโย 089-758-5992 ก�ำนันกิง่ ทอง ศรีธวิ งค์ 081-673-8977, พ่อหลวงชัย ประเสริฐ หน่อแก้ว 097-961-8815 และ พ่อหลวงค�ำมูล วรรณโน 087-788-1743 CHIANG RAI I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 75
75
11/2/2562 13:38:04
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดพระธาตุดอยฮาง
พระเจดีย์พระบรมสารีริกธาตุ ศูนย์รวมแห่งศรัทธา
พระอธิการบุญเรือง ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
วัดพระธาตุดอยฮาง (พระธาตุดอยแม่แอบ) ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 163 หมู่ 3 ต�ำบลดอยฮาง อ�ำเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย เป็นพระธาตุทตี่ งั้ อยู่ บนสันเขาแม่แอบ ติดล�ำน�้ำกก ท้องที่บ้านดอยฮางนอก ห่างจากอ�ำเภอ เมืองเชียงราย ประมาณ 10 กิโลเมตร ปัจจุบัน พระอธิการบุญเรือง เป็นเจ้าอาวาส
ประวัติความเป็นมา
เดิ ม ชาวบ้ า นที่ อ าศั ย อยู ่ บ ริ เ วณที่ ตั้ ง ตั ว พระธาตุ เ ล่ า ขานกั นว่ า มีปรากฏการณ์ลำ� แสงลอยขึน้ มาบริเวณทีต่ งั้ ตัวพระธาตุในเวลากลางคืน จ�ำนวนหลายดวง จึงได้พากันไปส�ำรวจพบพระธาตุองค์เดิมที่ช�ำรุด ทรุดโทรมอยู่ จึงได้รว่ มกันปฏิสงั ขรณ์และสร้างพระธาตุองค์ใหม่ขนึ้ ครอบ พระธาตุ อ งค์ เ ดิ ม ไว้ และได้ อั ญ เชิ ญ พระหยกที่ ขุ ด ได้ บ ริ เ วณนั้ น มา ประดิษฐานในตัวพระธาตุเมือ่ ประมาณปีพ.ศ.2533 ได้มคี ณะพระภิกษุ ได้มาจ�ำพรรษา ณ พระธาตุดอยแม่แอบแห่งนี้ ซึ่งขณะนั้นที่วัดยังเป็น ที่ดูแล และควบคุมของกรมป่าไม้ ในปีนั้นเองบนดอยแม่แอบแห่งนี้ได้มี การปรังปรุงภูมิทัศน์เพื่อสร้างพระเจดีย์ และได้วางศิลาฤกษ์ก่อสร้าง พระเจดีย์โดยมีก�ำนันบุญช่วย เทพสมรส และนางรัชนี เจริญภักดี พร้อมศรัทธาชาวบ้านในต�ำบลดอยฮาง ด�ำเนินการก่อสร้างในปีพ.ศ. 2539 76
และได้มีการก่อสร้างเพิ่มเติมอย่างจริงจังโดยการน�ำของพระอาจารย์ บุญเรือง สิรปิ ญ ั โญ และท�ำการสร้างแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2548 ในระหว่าง ที่พระอาจารย์บุญเรือง ได้มาอยู่พาศรัทธาสร้างเจดีย์นั้นก็ได้มีการจัด ปฏิ บั ติ ธ รรมขึ้ น ประจ� ำ ทุ ก ปี แ ละในระหว่ า งวั น ที่ 29 มกราคม7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553 ได้มีการปฏิบัติธรรมพร้อมกับฉลองสมโภช พระเจดีย์และบรรจุพระบรมสารีริกธาตุไว้บนพระธาตุดอยแม่แอบด้วย สถานทีเ่ ดิมในการสร้างวัดเป็นป่าไผ่ และเป็นป่าเสือ่ มโทรม หน้าแล้งไผ่ จะไหม้ทุกปี เมื่อพระอาจารย์บุญเรือง สิริปัญโญ พร้อมสงฆ์เข้ามาอยู่ ก็น�ำพาชาวบ้านและเจ้าหน้าที่ช่วยกันปลูกป่าฟื้นฟูสภาพป่าซึ่งได้รับ ความร่วมมือจากส�ำนักงานป่าไม้จงั หวัด องค์การบริหารส่วนต�ำบลดอยฮาง นักเรียน นักศึกษา พ่อค้าประชาชน และชาวบ้านได้เข้าร่วมโครงการด้วย ถาวรวัตถุทสี่ ร้างขึน้ ก็เพือ่ เป็นศูนย์รวมจิตใจของพุทธบริษทั ทุกหมูเ่ หล่า เพือ่ ให้ได้มาพักปฏิบตั ธิ รรมและได้มาช่วยกันรักษาป่าไม้ อีกทัง้ ได้เจริญ รอยตามพระพุทธศาสนา ได้ประโยชน์ทงั้ ทางโลกและทางธรรมควบคูก่ นั ไป
SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงราย
2
.indd 76
11/2/2562 14:01:17
อานิสงส์ว่าด้วยผลแห่งการสร้างบันได
ในสมัยพุทธกาล โกณฑัญญะ ท่านได้เกิดในตระกูลช่างไม้ ได้ฟงั พระธรรม
บันไดนาค วัดพระธาตุดอยฮาง (พระธาตุดอยแม่แอบ) ศูนย์รวมแห่งศรัทธา
วัดพระธาตุแม่แอบ ต�ำบลดอยฮาง อ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย ห่ า งจากตั ว เมื อ งทางทิ ศ ตะวั น ตกเฉี ย งใต้ ประมาณ 10 กิ โ ลเมตร เป็นวัด ทีต่ งั้ อยูบ่ นยอดเขาทีไ่ ม่สงู มากนัก ใกล้ๆ กับแม่นำ�้ กก ท่ามกลาง สภาพแวดล้อมที่เป็นเขตป่าสงวน ท่านเจ้าอาวาสได้มีด�ำริที่จะจัดสร้าง บันไดนาค เพื่อให้ญาติโยมได้เดินขึ้นไปท�ำบุญที่บนพระธาตุได้โดย สะดวกโดยไม่ตอ้ งใช้รถยนต์ขนึ้ ไปตามทางทีม่ อี ยูแ่ ล้ว แต่ไม่คอ่ ยสะดวก และเพื่อให้เป็นสง่าราศีส�ำหรับองค์พระธาตุที่มีหลักฐานว่าสร้างมา ตั้งแต่ครั้งโบราณกาล ประกอบกับได้มีการบรรจุพระอัฐิธาตุที่ยอดองค์ พระธาตุไว้
เทศนาของพระผู้มีพระภาคเจ้าแล้ว มีใจเลื่อมใสสร้างบันไดท�ำด้วย ไม้แก่นเพือ่ ขึน้ ไปยังปราสาท ทีป่ ระทับของพระผูม้ พี ระภาคเจ้าแล้วช่วยกัน ยกพาดไว้ พระผู้มีพระภาคเจ้าได้เสด็จขึ้นไปยังปราสาท ในขณะที่เขา ก�ำลังมองเห็นอยูน่ นั่ แหละ เพือ่ เป็นเครือ่ งเจริญปสาทะแก่เขา เขามีความ เลื่อมใสยิ่งนัก ด้วยปีติโสมนัสอันนั้น กระท�ำกาละแล้ว ได้ไปเกิดใน เทวโลก เสวยทิพยสมบัตใิ นเทวโลกนัน้ เมือ่ จะเกิดในหมูม่ นุษย์ ก็ได้เกิด ในตระกูลอันสูงส่ง เพราะผลทีไ่ ด้สร้างบันได ได้เสวยความสุขในมนุษย์แล้ว ในพุทธุปบาทกาลนี้ เขาได้เกิดในตระกูลแห่งหนึง่ ได้ฟงั พระธรรมเทศนา ของพระศาสดาแล้วเกิดศรัทธาบวชแล้ว ไม่นานนักก็ได้เป็นพระอรหันต์ ท่านระลึกถึงบุพกรรมของตนได้ เกิดความโสมนัสใจ เมือ่ จะประกาศถึง เรื่องราวที่ตนเคยได้ประพฤติมาแล้วในกาลก่อน จึงกล่าวค�ำเริ่มต้นว่า โกณฺฑญฺญสฺส ภควโต ดังนี้ ผูท้ สี่ นใจร่วมท�ำบุญในการสร้างบันไดนาคในครัง้ นี้ สามารถติดต่อ โดยตรงกับท่านเจ้าอาวาสได้ที่ พระอาจารย์บญ ุ เรือง 081-020-7458 ได้เลยครับ ขออนุโมทนาบุญกุศลในครั้งนี้แด่ทุกๆ ท่าน
CHIANG RAI I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 77
77
11/2/2562 14:01:25
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดศรีศักดาราม
...เสาตุงเอกแห่งเมืองเชียงราย
พระมหาอมรวิชญ์ ชาครเมธี : เจ้าอาวาสวัดศรีศักดาราม
วั ด ศรี ศั ก ดาราม ตั้งอยู่เ ลขที่ 200 หมู่ 13 ต�ำ บลห้ ว ยสั ก อ�ำเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย อยู่ตรงกิโลเมตรที่ 15 บน ถนนเชียงราย-เทิง (เส้นทางสู่ภูชี้ฟ้า) เป็นวัดเก่าแก่และมีประวัติ ความเป็นมาอย่างยาวนานวัดหนึ่งของจังหวัดเชียงราย เป็นวัดที่ มีความส�ำคัญทางด้านการปกครองและการเผยแผ่ รวมทั้งเป็น ศู น ย์ ก ลางของการศึ ก ษาเรี ย นรู ้ ศิ ล ปวั ฒ นธรรมและ ขนบธรรมเนียมประเพณีอนั ดีงามของชุมชนชาวต�ำบลห้วยสักนับ แต่อดีตจวบจนถึงปัจจุบัน ได้รับการยกย่องจากกรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการให้เป็นวัดพัฒนาตัวอย่าง และวัดพัฒนา ตัวอย่างดีเด่นในระดับประเทศ วัดศรีศักดาราม เดิมชื่อ “วัดห้วยสัก” เริ่มก่อตั้งเมื่อปีพ.ศ. 2463 (จุลศักราช 1282/รัตนโกสินทร์ศก 139) โดยการน�ำของนายจุมปู บัวไข (ก�ำนันต�ำบลห้วยสักในขณะนั้น) นายอุ่น สุรัตน์ นายตั๋น โตสุวรรณ์ (บิดาของพระครูสวุ รรณวรศีล หรือครูบาค�ำอ้าย คนฺธวโํ ส อดีตเจ้าอาวาส 78
2
วัดศรีศกั ดาราม และอดีตเจ้าคณะต�ำบลห้วยสัก) พร้อมด้วยชาวบ้านใน หมู่บ้านห้วยสัก ประมาณ 50 ครอบครัวในสมัยนั้น สันนิษฐานกันว่า เป็นที่ตั้งของวัดร้างมาตั้งแต่อดีต มีพื้นที่กว้างราว 30 วา และยาวราว 60 วา ขึน้ เป็นอารามทีพ่ กั สงฆ์และนิมนต์พระสงฆ์มาอยูจ่ ำ� พรรษา ต่อมา เมือ่ ได้รบั การยกฐานะขึน้ เป็นวัดอย่างถูกต้องตามกฎหมาย จึงได้เปลีย่ น
SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงราย
.indd 78
8/2/2562 11:38:17
ชือ่ วัดจาก “วัดห้วยสัก” เป็น “วัดศรีดอนมูล” ในปีพ.ศ. 2468 (จุลศักราช 1287 / รัตนโกสินทร์ศก 144) โดยขยายพื้นที่เพิ่มจากเดิมเป็น 9 ไร่ 2 งาน 8 ตารางวา ในปีพ.ศ. 2486 พระครูสุวรรณวรศีล (ครูบาค�ำอ้าย คนฺธวํโส) เจ้าอาวาสวัด ศรีดอนมูล และเจ้าคณะต�ำบลห้วยสักในขณะนัน้ พิจารณาเห็นว่าชือ่ วัดซ�ำ้ กับวัดอืน่ หลายแห่ง และไม่สอดคล้องกับชุมชน ทีว่ ดั ตัง้ อยู่ จึงได้เปลีย่ นชือ่ วัดจาก “วัดศรีดอนมูล” มาเป็น “วัดศรีศกั ดาราม ตัง้ แต่บดั นัน้ เป็นต้นมาจนถึงปัจจุบนั วัดศรีศกั ดาราม ได้รบั พระราชทาน วิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2489 และได้ท�ำพิธีผูก พัทธสีมาฝังลูกนิมติ เมือ่ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2491 เพือ่ ใช้เป็นสถานที่ ท�ำสังฆกรรมและประกอบศาสนกิจมาอย่างต่อเนื่อง
ปูชนียวัตถุอันล�้ำค่า ของวัดศรีศักดาราม คือ พระพุทธศรี ศักดาประชานาถ พระประธานประจ�ำวิหารหลวงของวัดศรีศกั ดาราม ซึง่ ก่อสร้างมาตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2469 เป็นพระปูนปัน้ ฝีมอื ช่างพืน้ บ้าน ล้านนา และ พระพุทธสิหงิ ค์ หรือพระสิงห์สาม ซึง่ มีอายุราว 700 ปี ประดิษฐานไว้ใน “พิพิธภัณฑ์ค่าควรเมือง” ซึ่งเป็นพิพิธภัณฑ์พื้น บ้าน ที่ปรับเอากุฏิสงฆ์ (โฮงหลวง) สถาปัตยกรรมแบบล้านนา โบราณ สร้างขึ้นในปี พ.ศ. 2496 และ “เสาตุงเอกแห่งเมือง เชียงราย” เป็นเสาตุงเอกทีส่ งู ทีส่ ดุ ในประเทศ สร้างขึน้ เพือ่ ร่วมเฉลิม ฉลองครบรอบ 750 ปี แห่งการสถาปนาเมืองเชียงราย ในปี พ.ศ. 2555 โดยมีตุงเงินทีไ่ ด้รบั การสลักเสลาอย่างงดงามวิจติ รบรรจง จากศิลปินเอกแห่งล้านนา จ�ำนวน 4 ชิ้น ประดับไว้บนเสาตุงเอก 1. ตุงชัยมงคล : เป็นสัญลักษณ์แห่งชัยชนะของพระสัมมาสัม พุทธเจ้า (ในโอกาสฉลอง “พุทธชยันตี” แห่งปีมหามงคล) 2. ตุงชัยพญามังราย : เป็นสัญลักษณ์แห่งการฉลองชัยเมือง เชียงรายครบ 750 ปีแห่งการสถาปนา 3. ตุงชัยสิบสองปีนกั ษัตร : เป็นสัญลักษณ์ของนักษัตรประจ�ำปีเกิด 4. ตุงชัยเจดีย์ประจ�ำปีเกิด : เป็นสัญลักษณ์ของพระเจดีย์ ประจ�ำปีเกิดทั้งสิบสองนักษัตร บริ เ วณด้ า นหน้ า ของวั ด ยั ง มี วิ ห ารทรงล้ า นนา ซึ่ ง เป็ น ที่ ประดิษฐานรูปเหมือนของสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) ขนาดใหญ่ไว้ให้พุทธศาสนิกชนและประชาชนทั่วไปได้ไปเคารพ สักการะ เพือ่ ความเป็นสิรมิ งคลของชีวติ นอกจากนีย้ งั มี “ต้นพระศรี มหาโพธิ”์ ซึง่ เป็นหน่อเนือ้ ทีเ่ พาะเมล็ดจากต้นทีพ่ ระสัมมาสัมพุทธ เจ้าประทับนั่งตรัสรู้จากพุทธคยา ประเทศอินเดีย ประดิษฐานอยู่ ด้านหลังอุโบสถ และบริเวณเดียวกันนั้นยังมี “หลองข้าว” แบบ โบราณล้านนา ซึ่งงดงามตามแบบฉบับของสถาปัตยกรรมล้านนา โบราณไว้เป็นแหล่งศึกษาเรียนรู้ของคนรุ่นหลังได้เป็นอย่างดี และ ปัจจุบนั หลองข้าวหลังนีย้ งั ใช้เป็นธนาคารข้าว เก็บรักษาข้าวเปลือก ที่ชาวบ้านน�ำมารวบรวมกันไว้ที่วัด เพื่อช่วยเหลือและบริการผู้คน ในชุมชน ซึ่งทุกท่านสามารถมาเยี่ยมชม และศึกษาเรียนรู้ที่ศูนย์ การเรียนรู้ชุมชนวัดศรีศักดารามได้ทุกวัน FACEBOOK : วัดศรีศักดาราม CHIANG RAI I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 79
79
8/2/2562 11:38:23
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดเทพบุญยืน
“ทนฺโต เสฎฺโฐ มนุสฺเสสุ” ในหมู่มนุษย์ ผู้ฝึกตนแล้วเป็นผู้ประเสริฐสุด (พุทธพจน์) พระอธิการทวี สุธมฺโม ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
วัดเทพบุญยืน สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตั้งอยู่บ้านป่าอ้อ หมู่ 5 ต�ำบลแม่ยาว อ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย เดิมทีชาวบ้านป่าอ้อ เป็นผูศ้ รัทธาวัดสันป่ายาง หมู่ 6 บ้านสันป่ายาง ต่อมาประมาณพ.ศ. 2490 ชาวบ้านป่าอ้อก็มีจิตศรัทธาในการที่จะสร้างวัดใหม่ให้เพิ่มขึ้น จึงได้สร้าง วัดใหม่ที่บ้านป่าอ้อ หมู่ 5 ต�ำบลแม่ยาว เรียกชื่อว่า “วัดป่าอ้อ” และ นิมนต์ พระหล้า ปัญสา หรือ หลวงพ่อหล้า ปัญสา จากวัดป่าข่า อ�ำเภอพาน จังหวัดเชียงรายมาเป็นเจ้าอาวาส จากนั้นหลวงพ่อหล้าได้ เปลี่ยนชื่อวัดเพื่อเป็นสิริมงคลแก่บ้านป่าอ้อว่า “วัดเทพบุญยืน” ปัจจุบนั วัดเทพบุญยืน มีเนือ้ ที่ 3 ไร่ 1 งาน 60 ตารางวา ตามโฉนดทีด่ นิ เลขที่ 50661 เล่มที่ 517 หน้า 61 ลงวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2534 และได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา เมือ่ วันที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2540 ปัจจุบนั พระอธิการทวี สุธมฺโม ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส มีพระสงฆ์ 1 รูป และสามเณร 1 รูป มีประชาชนบ�ำเพ็ญศาสนกิจ ศาสนกุศลทุกวัน และ ช่วยกันท�ำนุบ�ำรุงวัดประมาณ 110 หลังคาเรือน ประชากร 445 คน ล�ำดับเจ้าอาวาสตัง้ แต่เริม่ สร้างวัดจนถึงปัจจุบนั 1. พระหล้า ปันสา พ.ศ.2490-2499 2. พระบุญวาส อภินนฺโท พ.ศ.2499-2504 3. พระบุญธรรม อนนฺโท พ.ศ.2504-2513 4. พระอธิการเมือง จนฺทวงฺโส พ.ศ.2513-2545 5. พระอธิการทวี สุธมฺโม รก.และจร. พ.ศ.2545-ปัจจุบนั 80
1
SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงราย
.indd 80
11/2/2562 14:07:08
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดริมกก
สักการะพระพุทธรูปกลางน�ำ้ (พระเจ้าทันใจ) สุขใจทันที พระเด่นชัย ฐิติสมฺปนฺโน ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
วั ด ริ ม กก ตั้ง อยู่เ ลขที่ 141 หมู่ที่ 4 ต�ำ บลแม่ยาว อ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย สังกัดคณะสงค์มหานิกาย โดยมี พระครูบาค�ำแสน อภิชยฺโย เป็น ผู้ก่อตั้งวัด และเป็นเจ้าอาวาสรูปแรก ที่ดินตั้งวัดมีเนื้อที่ 2 ไร่ 36 ตารางวา มีอาณาเขตดังนี้ ทิศเหนือ ยาว 31 วา จดทางเดิน, ทิศใต้ ยาว 33 วา จดทางเดิน, ทิศตะวันออก ยาว 23 วา จดทางเดิน และ ทิศตะวันตก ยาว 21 วา จดแม่น�้ำกก วัดริมกก สร้างเมื่อ พ.ศ. 2395 ได้ รั บ อนุ ญ าตให้ ตั้ ง เป็ นวั ด เมื่ อ พ.ศ. 2470 ได้ รั บ พระราชทาน วิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2508 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 40 เมตร ยาว 80 เมตร
ความเป็นมาของการสร้างพระเจ้าทันใจ
พระเจ้าทันใจ หมายถึง พระพุทธรูปทีใ่ ช้เวลาสร้างได้สำ� เร็จภายใน 1 วัน โดยจะเริม่ พิธตี งั้ แต่หลังหกทุม่ เป็นต้นไป จนสามารถสร้างองค์พระได้สำ� เร็จ ก่อนพระอาทิตย์ตกดิน (ก่อนเวลา 18.00 น.) ของวันถัดไป ถ้าสร้างไม่เสร็จ ถือเป็นพระพุทธรูปธรรมดาทั่วไป และสามารถท�ำพิธีพุทธาภิเษกได้ในเย็น อีกวันหนึง่ จึงถือว่าเป็นเรือ่ งมหัศจรรย์ ท�ำให้เชือ่ กันว่าเป็นเพราะพระพุทธานุภาพ และอานุภาพแห่งเทพยดาทีบ่ นั ดาลให้พธิ กี รรมส�ำเร็จโดยปราศจากอุปสรรค
ดังนัน้ พุทธศาสนิกชนจึงถือว่าพระเจ้าทันใจเป็นพระพุทธรูปทีจ่ ะบันดาล ความส�ำเร็จให้แก่ผอ้ ู ธิษฐานขอพรได้อย่างทันอกทันใจ
การบริหารและการปกครอง มีเจ้าอาวาสเท่าทีท่ ราบนาม คือ
พระครูบาค�ำแสน อภิชยฺโย เป็นเจ้าอาวาสรูปแรก และ เป็นผูก้ อ่ ตัง้ วัด พระปัน, พระด้วง กณฺทวโํ ส, พระปัน๋ , พระปัญญา, พระอิน่ ค�ำ มหาปญฺโญ
(อดีดเจ้าคณะต�ำบลแม่ยาว), พระค�ำอ้าย อมโร, พระบุญมา ชาคโร, พระสุทศั น์ จนฺตมาโร พระผัด อภินนฺโท และ พระเด่นชัย ฐิตสิ มฺปนฺโน เป็นเจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน
อาคารเสนาสนะและถาวรวัตถุประกอบด้วย
อุโบสถ, พระธาตุเจดีย,์ กุฏสิ งฆ์, หอระฆัง, ศาลาบาตร, พระพุทธรูป ส�ำริดโบราณ และ พระพุทธรูปกลางน�้ำ (พระเจ้าทันใจ) CHIANG RAI I SBL บันทึกประเทศไทย
1
.indd 81
81
11/2/2562 14:19:23
เชียงรายน่าเที่ยว เอเชียน่าเดินทาง ส� ำ นั ก งานการท่ อ งเที่ ย ว และกี ฬ า จังหวัดเชียงราย จัดกิจกรรม “ปั่น ลัด เลาะ ริมฝั่งโขง เชื่อมโยง 3 แผ่นดิน” ภายใต้ โครงการปิ ด ตาเปิ ด ใจ สั ม ผั ส เชี ย งราย เมืองน่าเที่ยวจุดหมายปลายทางแห่งการ พักผ่อน เพื่อเป็นการส่งเสริมและกระตุ้น การท่องเทีย่ ว และสร้างความสัมพันธ์ AEC ในวั น ที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2561 ที่ ผ่านมา ซึ่งการปั่นได้ใช้เส้นทางข้ามไปยัง สาธารณรั ฐ ประชาธิ ป ไตยประชาชนลาว และ สาธารณรั ฐ แห่ ง สหภาพเมี ย นมาร์ เพื่ อ เสริ ม สร้ า งความสั ม พั น ธ์ ที่ ดี ร ะหว่ า ง ประเทศสมาชิก AEC ผ่านทาง Sports Tourism เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยว และ ได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ วิถีชีวิต และ ยกระดั บ คุ ณ ภาพชี วิ ต ของประชาชนใน
ปั่นจักรยานลัดเลาะริมฝั่งโขง เชื่อมโยง 3 แผ่นดิน
ประชาคมอาเซี ย นให้ มั่ น คงขึ้ น จากธุ ร กิ จ การท่องเที่ยวในชุมชนที่เชื่อมสัมพันธ์กัน สูค่ วามสัมพันธ์อนั ดีระหว่างประเทศเพือ่ นบ้าน จั ง หวั ด เชี ย งรายเล็ ง เห็ นว่ า การกี ฬ า มีความส�ำคัญต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต ของประชาชนทั้งในด้านสุขภาพ พลานามัย และด้านจิตใจ เป็นปัจจัยในการเสริมสร้าง ความเข้มแข็งของครอบครัวและชุมชน โดย อาศัยกระบวนการ การมีสว่ นร่วม การสร้าง เครือข่ายชุมชน ตลอดจนการสร้างจิตสานึก ในการด�ำรงชีวิต ที่มีคุณธรรม มีวินัย และ มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ เคารพในสิทธิ ของตนเองและผู้อื่น เพื่อเป็นรากฐานที่ดี ของสั ง คม ดั ง นั้ น การน� ำ กี ฬ าเพื่ อ การ ท่องเที่ยว หรือ Sports Tourism นับเป็น หนึ่ ง ในประเภทกี ฬาแห่ ง มวลชน (Mass
Participation) ที่ ส ามารถสร้ า งการมี ส่ ว นร่ ว มของมวลชนจ� ำ นวนมากในการ เข้าร่วมกิจกรรม เป็นการตอกย�้ำว่า จังหวัด เชียงราย มีศักยภาพในการจัดกิจกรรมเชิง สร้างสรรค์ จัดการแข่งขันกีฬาที่มาตรฐาน และเป็นการประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยว วิ ถี ชี วิ ต ชื่ น ชมธรรมชาติ วั ฒ นธรรม ประวั ติ ศ าสตร์ ข องจั ง หวั ด เชี ย งราย ให้ เป็นที่รู้จักมากยิ่งขึ้นให้นักท่องเที่ยว ได้รับ ประสบการณ์ ใ นการเดิ น ทางท่ อ งเที่ ย ว ตามเส้นทางจักรยาน และร่วมท�ำกิจกรรม CSR ที่เป็นประโยชน์ สร้างสรรค์สังคม และวิถีวัฒนธรรม อันเป็นเฉพาะตัวของ จังหวัดเชียงราย เพื่อเป็นการสร้างรายได้ กระตุ ้ น การท่ อ งเที่ ย ว และเศรษฐกิ จ ด้านกีฬาอีกด้วย ขอขอบคุณ https://www.springnews.co.th
82
AEC
SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงราย
.indd 82
ริ ม แม่ น�้ ำ โขง
11/02/62 18:17:47
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดพนาลัย
ปลูกสามเณร สร้างศาสนทายาท สืบทอดพระพุทธศาสนาตลอดกาล พระครูบุญเขตพิสณฑ์ (สมบัติ กตปุญฺโญ) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
วัดพนาลัย ตั้งอยู่เลขที่ 140 หมู่ 16 บ้านท่าหลุก ต�ำบลแม่ยาว อ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย เริม่ ก่อสร้างเมือ่ ปี พ.ศ. 2499 เนื้อที่ 6 ไร่ 1 งาน 30 ตารางวา ได้รับอนุญาตสร้างวัด เมื่อวันที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2520 กระทรวงศึกษาธิการประกาศตั้งวัด เมือ่ วันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2521 ได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมางวดที่ 21 ปี พ.ศ. 2536 ได้ทำ� การผูกพัทธสีมาวันที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2537 ปัจจุบนั มี พระครูบญ ุ เขตพิสณฑ์ (สมบัติ กตปุญโฺ ญ) เจ้าคณะต�ำบล แม่ยาว เป็นเจ้าอาวาส ท่านเป็นพระสุปฏิปนั โนทีช่ าวบ้านให้ความเคารพ นับถือเป็นอย่างมาก ท่านเน้นสร้างศาสนทายาทโดยการบวชเรียน สามเณร เพื่ อวั น หนึ่ ง สามเณรที่ มี ใ จมุ ่ ง มั่ น จะเป็ น หนึ่ ง ในพระภิ ก ษุ ที่จะสืบทอดพระพุทธศาสนาต่อไปไม่สิ้นสุด เป็นเนื้อนาบุญของโลก ไม่มนี าบุญอืน่ ยิง่ กว่า ส�ำหรับต�ำบลแม่ยาว เรียกชือ่ ตามสายน�ำ้ หลักทีผ่ า่ น ต�ำบลแม่ยาวหลายหมู่บ้านคือ ล�ำน�้ำแม่ยาว เป็นเสมือนสายเลือดของ คนต�ำบลแม่ยาวเลยก็ว่าได้ เช่นเดียวกับพระพุทธศาสนาที่สืบทอด
มายาวนานในแถบนี้ ว่ากันว่าล�ำน�้ำแม่ยาวมีต้นน�้ำจากอ�ำเภอแม่จัน จังหวัดเชียงราย เดิมนั้นต�ำบลแม่ยาว ได้แยกตัวมาจากต�ำบลบ้านดู่ อ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย มาก่อตั้งเป็นต�ำบลแม่ยาว ซึ่งในต�ำบลแม่ยาว มีวัดทั้งหมด 8 วัด และวัดพนาลัย เป็นหนึ่งในวัดซึ่งเป็นศูนย์บวช ในโครงการบรรพชาสามเณรฟื ้ น ฟู พ ระพุ ท ธศาสนาทั่ ว ไทย เมื่ อ ปี พ.ศ. 2559 เป็นต้นมา CHIANG RAI I SBL บันทึกประเทศไทย
1
.indd 83
83
11/2/2562 14:26:05
H I STO R Y O F B U DDH I S M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดป่าสักหลวง นมัสการพระแสนแซ่
วัดป่าสักหลวง ตั้งอยู่หมู่ที่ 2 ต�ำบลจันจว้าใต้ อ�ำเภอแม่จัน จังหวัดเชียงราย สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย สร้างเมื่อ พ.ศ. 2115 โดยพระยาแสนฟู ได้ อ าราธนาพระราชครู ม าท� ำ การก่ อ สร้ า ง เดิมชื่อวัดป่าสักดอนต้ม ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2444 ทีด่ นิ ตัง้ วัดมีเนือ้ ที่ 5 ไร่ 2 งาน 56 ตารางวา น.ส.3 เลขที่ 1379 ที่ธรณีสงฆ์ จ�ำนวน 1 แปลง เนื้อที่ 3 งาน
84
SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงราย
.indd 84
11/02/62 16:08:54
CHIANG RAI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 85
85
11/02/62 16:08:56
ประวั ติ พ ระแสนแซ่
จากบั น ทึ ก ของนายศรี ท อน จิ น ดาธรรม เล่ า ว่ า เมื่ อ ครั้ ง หลวงพ่อแก้ว สิริวิชโย เป็นเจ้าอาวาสในราว พ.ศ. 2483 สมัยนั้น นายจันทร์ดา ปิ่นทรายมูล ด�ำรงชีพด้วยการเป็นพรานล่าสัตว์ป่า ได้ไปล่าสัตว์ที่ดอยยางสุ่มไก่ (บ้างเรียกว่าป่ายางสุ่มไก่ เพราะ พื้ น ที่ นั้ น มี ต ้ น ยางอยู ่ 2 ต้ น ) โดยนายจั น ทร์ ไ ปดั ก ซุ ่ ม ดู สั ต ว์ ประเภทกวาง เก้ง ที่ลงมาดื่มน�้ำที่บวกควาย (หนองน�้ำหรือปลัก ที่ควายลงเล่นน�้ำ) นายจันทร์สังเกตเห็นในบวกควายนั้นมีสีเหลือง จึงใช้มีดประจ�ำตัวเขี่ยดูจึงทราบว่า เป็นพระพุทธรูปจึงกลับบ้าน พอวันรุ่งขึ้นก็ชักชวนชาวบ้านว่า พวกเราไปอัญเชิญพระกันไหม ชาวบ้านป่าสักหลวง13 คน พากันติดตามนายจันทร์ไปดู เห็นว่าเป็นพระพุทธรูปจริงๆ จึงพากันน�ำพระพุทธรูปนั้นขึ้นมา จากบวกควาย และก็ได้พบพระพุทธรูปองค์เล็กอีกองค์หนึ่ง รายนามผู้ไปอัญเชิญพระพุทธรูป (พระแสนแซ่) มีดังนี้ 1. นายจันทร์ดา ปิ่นทรายมูล 2. นายพรหม จินดาธรรม 3. นายต๊ะ จินดาธรรม 4. นายนะ จินดาธรรม 5. นายตั๋น จินดาธรรม 6. นางสา จินดาธรรม 7. นางแก้ว จินดาธรรม 8. นายปุด จินดาธรรม 9. นายมนต์ จินดาธรรม 10. นายสีเหลือง สร้อยละว้า 11. นางแสง จินดาธรรม 12. นายคิ้ม ทายะนา 13. นายน้อย ปันทะยศ 14. นายดี โคนทรงแสน
86
SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงราย
.indd 86
11/02/62 16:09:01
บุคคลดังรายชือ่ ข้างต้นได้เสียชีวติ ไปหมดแล้ว ทัง้ หมดได้ชว่ ยกัน ตามพระพุทธรูปทั้งสององค์ออกจากบวกควาย เดินทางผ่าน วัดสัน ผักฮี้ ก็ได้พักอยู่นั้น 3 คืน ชาวบ้านช่วยกันท�ำแพล้อ เพื่อ น�ำมาชักลากพระพุทธรูปเมื่อน�ำพระพุทธรูปองค์ใหญ่ไปไว้บนล้อ กลับยกไม่ขึ้น ชาวบ้านจึงร่วมกันตั้งจิตอธิฐานว่าหากท่านต้องการ จะไปอยู่วัดใดก็ขอให้ยกท่านขึ้นได้ เมื่อเรียกชื่อวัดป่าสักดอนต้น ปรากฏว่ายกพระพุทธรูปองค์ใหญ่ขึ้นมาได้ โดยใช้คนเพียง 5 คน ชาวบ้านจึงพร้อมใจกันน�ำพระพุทธรูปทั้งสององค์ใส่ล้อช่วยกัน ชักลากมาจนถึงวัดป่าสักดอนต้น ใช้เวลาเพียง 1 วัน 2 คืน จึงมาถึง เมื่อมาถึงวัดป่าสักดอนต้น มีการท�ำความสะอาด เช็ด ขัด ถู องค์พระพุทธรูป พบว่าเป็นส�ำริดทัง้ องค์ โดยพระพุทธรูปองค์ใหญ่ มี “แซ่” ทีข่ อ้ เข่า ข้อศอก ข้อมือ และไหล่ (สันนิษฐานว่าเป็นแท่งโลหะ ปิดรูพรุนบนผิวพระพุทธรูป) จึงเรียกว่า “พระแสนแซ่” จากนั้น ได้ท�ำการลงรักปิดทอง เมื่อสร้างกุฏิเสร็จได้อัญเชิญไปไว้บนกุฏิ
ท�ำลูกกรงเหล็กกั้นแน่นหนากันขโมย ต่อมาในวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2545 กุฏิเกิดไฟลุกไหม้ เพราะไฟฟ้าลัดวงจรจึงมีการน�ำพระพุทธรูปที่เก็บรักษาไว้ในกุฏิ ไปฝากไว้ที่บ้านก�ำนัน ผู้ใหญ่บ้าน และกรรมการวัด เมื่อก่อสร้าง เสร็จแล้ว ได้มกี ารน�ำพระพุทธรูปอืน่ ๆ ไปเก็บไว้ในกุฏทิ มี่ หี อ้ งลูกกรง ส่วนองค์พระแสนแซ่น�ำไปประดิษฐานในพระวิหาร เหตุที่เรียก พระพุทธรูปนีว้ า่ “พระแสนแซ่” เพราะทีอ่ งค์พระพุทธรูปมีรอ่ งรอย การปิดรูพรุนของผิวโลหะด้วยแซ่ (แส้, เสว้) เพือ่ ให้องค์พระพุทธรูป สมบูรณ์ก่อนลงรักปิดทอง พระแสนแซ่ มีรูปแบบศิลปกรรมเดียวกับกลุ่มพระพุทธรูป ที่ พ บในพื้ นที่ เ มื องโบราณ เชี ย งแสน เชี ยงราย และเชียงของ เท่าทีส่ ำ� รวจพบในเวลานี้ 29 องค์ และ มี 4 องค์ ทีจ่ ารึกทีส่ ว่ นฐาน ท�ำให้ทราบระยะเวลาทีพ่ ระพุทธรูปเหล่านีถ้ กู สร้างขึน้ คือช่วงกลาง พุทธศตวรรษที่ 21 CHIANG RAI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 87
87
11/02/62 16:09:11
Wat Pa Sak Luang Paying respect to Phra Saen Sae
Wat Pa Sak Luang is located in village no.2, Chan Chawa Tai sub-district, Mae Chan district, Chiang Rai province. It was founded in B.E.2115 by Phraya Saen Fu which he had invited a great master to lead the construction of this temple. The former name of this temple was Wat Pa Sak Don Tom and was granted Wisungkhamsima (Land granted from Royal family to build temple or other religious buildings) on 1 January B.E.2444. The scale of this temple’s land is 2 acres and 1,024 square meters, type and number of title deed are N.S.3 and no.1379 respectively. Moreover, there are monastery land in this temple which its scale is 1,200 square meters and there are important buildings which consist of Buddhist sanctuary and monk’s house. Sacred object - there are one pagoda and significant Buddha statue in the attitude of subduing Mara which locals called “Phra Saen Sae”. History of Phra Saen Sae According to record of Mr.Srithorn Chindatham, it stated that when Luang Phor Kaew Siriwichayo was an abbot of this temple around B.E.2483. At that time, 88
Mr.Chanda Pinsaimun who made his living by hunting wild animal, went to hunt at Yang Sum Kai hill (Some called Sum Kai rubber forest because there were two rubber trees in this area) which he hid in this forest to observe deer or barking deer that went to “Buak Kwai” to drink water (Buak Kwai is swamp or marsh that buffalo like to wallow in it). After observing for awhile, he found some yellow object in the Buak Kwai, then, he poked this object by using his personal knife and realized that this object is a Buddha statue. On the day after, he invited other villagers to respectfully engage this Buddha statue together with him. Thirteen villagers of Pa Sak Luang village followed Mr.Chan to see this Buddha statue which they found out that it is real Buddha statue, thus, they jointly took this Buddha statue out of the swamp which they have found other small Buddha statue in this swamp, then, they took it out from the swamp as well. After that, they travelled back to the village which they found Wat San Pak He on the way and took a rest for 3 nights at this temple. On the next morning, they continued their travel by building a raft with wheel attached in order to pull Buddha
SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงราย
.indd 88
11/02/62 16:09:12
statues, when they were about to lift big Buddha image to place it on the raft, they found out that they cannot lifted it up, then, they jointly prayed “if the Buddha image want to stay at any temple, please make up able to lift you up”, when they spoked the name Wat Pa Sak Don Ton. It turned out that they could lifted big Buddha image up by using only 5 people. Therefore, they jointly placed both Buddha images on the raft and pulled it until they reached Wat Pa Sak Don Ton by taking only 1 day and 2 nights on this journey. When they arrived at Wat Pa Sak Don Ton, they started to clean the Buddha statues and found out these Buddha statues were made of bronze which the big Buddha statue had “Sae” on its knees, elbows, wrists and shoulders (There was a suggestion that Sae is an iron bar which made for covered hole on the surface of Buddha statue), thus, they called this Buddha statue “Phra Saen Sae”. which they covered it with lacquer and gold leaves after the cleaning was finished. Then, when the construction of monk’s house was finished, they respectfully engaged it to be enshrined in this monk’s house which they also made iron bars to prevent the thief.
After that on 1 January B.E. 2545, the monk’s house was in flames due to short circuit, then, they moved Buddha statues from monk’s house to houses of sub-district headman, village headman and temple committee to be temporarily enshrined at these places until the re-construction of monk’s house is finished. Them, they respectfully engaged these Buddha statues back to the monk’s house after the construction was finished except Phra Saen Sae that was enshrined in Buddha image hall. The reason locals have been called this Buddha statue “Phra Saen Sae” is “Sae” that covered holes on the surface of this Buddha statue in order to make its body to be flawless before covered it with lacquer and gold leaves Phra Saen Sae has the art style as same as group of Buddha statues which discovered in an ancient city’s area as follows: Chiang Saen, Chiang Rai, Chiang Khong. There are 29 Buddha statues that have been discovered until now. Moreover, there are four Buddha statues that have an inscription on the its base which indicate the time when these four Buddha statues were built which is around middle of 21st Buddhist era.
CHIANG RAI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 89
89
11/02/62 16:09:14
พระเกศาธาตุ
วัดพระธาตุดอยกู่แก้ว
สักการบูชา พระบรมสารีริกธาตุพระพุทธเจ้า พระนพดล โสภณมโน ด�ำรงต�ำแหน่ง รักษาการเจ้าอาวาสวัดพระธาตุดอยกู่แก้ว
วัดพระธาตุดอยกูแ่ ก้ว ตัง้ อยูบ่ นดอยในพืน้ ที่ หมูท่ ี่ 1 บ้านป่าสักหลวง
ต�ำบลจันจว้าใต้ อ�ำเภอแม่จัน จังหวัดเชียงราย เป็นปูชนียสถานที่ ศักดิส์ ทิ ธิเ์ ก่าแก่ มีอายุนานนับพันปี ดังปรากฏมีในต�ำนานทีก่ ล่าวมาแล้ว และจากหลักฐานโบราณวัตถุที่ให้เห็น เช่น พระธาตุเจดีย์ วิหาร ซาก ก�ำแพง อิฐโบราณ และอุโบสถที่มีหินสลักสีมาอันเก่าซึ่งช�ำรุดทรุด โทรมปรักหักพังตามอายุกาล อย่างไรก็ตาม ปูชนียสถานแห่งนี้ประชาชนในท้องถิ่นให้ความ เลื่อมใสเคารพสักการบูชา ด้วยจิตศรัทธามิเสื่อมคลาย วันส�ำคัญเช่น วันพระ 8 ค�่ำ 15 ค�่ำ หรือวันส�ำคัญทางศาสนา พระธาตุเจดีย์ได้แสดง ปาฏิหาริย์เปล่งรัศมี ฉายแสงเป็นประกายรุ้งโชติช่วงให้ประชาชนทั่วไป ได้เห็นเสมอสู่ที่สงบอิสระตามล�ำพัง 90
แห่งพระธาตุดอยกูแ่ ก้ว จากต�ำนานโยนก บันทึกล้านนา ยามนั้ น พระพุ ท ธเจ้ า ไปรอดสั น ดอนน้ อ ยตี่ ห นึ่ ง (ในเวลานั้ น พระพุทธเจ้า เสด็จถึงเนินแห่งหนึ่ง) ตี่ริมเวียงพันธุสิงหนวัตินครหน วันตกแจ่งเหนือ ไกล๋ผะหมาณปันวา (ในทีใ่ กล้เมือง “พันธุสงิ หนวัตนิ คร” ด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ไกลประมาณ 1,000 วา) และยังมีอวาม ดอยตี๋หนึ่งเป็นสองสัน เป็นห้วยน้อยหนึ่ง (และยังมีดอยลูกหนึ่ง มี สัณฐานเป็น 2 สัน มีลำ� ห้วย) เป็นป่าไม้ยางพรายมีร่มอันหมดและเป็น ตี๋กวรสนุกและมาเอาใจ๋ (ประกอบด้วยป่ายางพรายมีร่มเงา เป็นรมณีย สถาน) เหมือนดัง่ เขาแก้วกูว่ งกตนัน้ และ (ประดุจเขาวงกต) พระพุทธเจ้า ก็บีปใส่มหากัสสะปะเถระเจ้ากับตังหมู่ลูกศิษย์ 500 ต๋นอยูตี๋นั้นและ (พระพุทธองค์ทรงพบกับพระมหากัสสปะเถรเจ้า พร้อมศิษย์ 500 รูป ในที่นั้น) กันว่ามหากัสสปะเถระเจ้า หันพระพุทธเจ้าเสด็จมารอดตี่นั้น แล้ว ท่านก็ป่าเอาภิกขุและบริวาร 500 ต๋น ก้ขึ้นไปไหว้รับพระพุทธเจ้า ตี๋สันดอยตี๋นั้นและ (เมื่อพระมหากัสสปะเถรเจ้าเห็นพระพุทธเจ้าแล้ว ท่านก็พาเอาพระภิกขุแลบริวาร 500 คนนัน้ ขึน้ ไปสักการะพระผูม้ พี ระ ภาค ณ บริเวณสันดอยที่นั้น) พระอัฐิธาตุ ศักราชได้ ตั๋ว ปี๋รวายสัน เดือน 7 วันอาทิตย์ (เมื่อ ศักราชได้ ปีรวายสัน เดือน 7 วันอาทิตย์ ) ยามนั้นมากัจจายะเถระเจ้า ก้อธิษฐานเอาธาตุดูกด�ำตี๋นก�้ำขวาของพระพุทธจ้า (ในเวลานั้น พระ มหากัจจายนะเถรเจ้า ได้อธิฐานน�ำเอาพระบรมสารีริกธาตุกระดูก พระพุทธบาทด้านขวาของพระผู้มีพระภาค) ยังตี๋ถ�้ำสัตตะปัณณะคูหา เมืองราชะคะหะที่นั่นก็ได้มา 3 ถางตังมวลมี 64 พระองค์ (ณ ถ�้ำ สัตตบรรณคูหา เมืองราชคฤห์ มา 3 ถาง ทั้งหมดมี 64 พระองค์) แล้ว ก็ใส่โกฏแก้วมรกตมีวรรณอันเขียว
SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงราย
2
.indd 90
8/2/2562 15:12:56
(จากนัน้ บรรจุในโกศแก้วมรกตมีวรรณะสีเขียว) มีอรหันต�ำ 500 ต๋น ก็เอาธาตุเจ้าสยองมาตางอากาศแล้วก็มาสู่เมืองโยนกนครใจยะบุรี ศรีจา๊ งแส่นหัน้ แล้ว( มีพระอรหันต์ 500 องค์ น�ำเอาพระบรมสารีรกิ ธาตุ โดยอากาศ มาสู่เมืองโยนกไชยยะบุรีศรีช้างแสน) ก็บอกยังนิทานแห่ง พระพุทธเจ้าท�ำนายไว้ห้ัน ก็หื้อพญาอชุตตะธรรมิกราชา (แล้วบอก นิทานที่พระผู้มีพระภาคพยากรณ์ไว้ แก่พระยาอชุตตระธรรมิกราชา) ต๋นเป๋นเจ้าแกเมืองยวนหือ้ ร้แล้วแจ้งแล้ว (ผูท้ รงเป็นเจ้าเมืองยวนให้ทรง ทราบ) เมือ่ น้นธรรมิกราชาเจ้าก็มใี จ๋อะจะละศรัทายินดีโยชน์ยงิ่ แล้ว (ใน เวลานั้น พระยาธรรมิกราช มีพระราชศรัทธาอันไม่หวั่นไหว (อจล สัทธา)) ก็หื้อจ่างตังหลายมาห้างโกฏค�ำรับเอาโกฏแก้วอันทะรงยังธาตุ เจ้ า แล้ ว (ทรงโปรดให้ ช ่ า งทั้ ง หลาย มี ต ระเตรี ย มโกศทองค� ำ เพื่ อ ประดิษฐานรับเอาโกศแก้วทีม่ พี ระบรมสารีรกิ ธาตุอยู)่ ก็ปจู่ าด้วยเครือ่ ง สักการะปูจ่ ามากนักก็เอาขึน้ ใส่สวิ กิ า๋ ยค�ำแล้ว ก็แห่นแหนธาตุเจ้า (จากนัน้ ก็ ท รงบู ช าด้ ว ยเครื่ อ งสั ก การบู ช าเป็ น อั น มาก จากนั้ น ทรงอั ญ เชิ ญ พระบรมสารีริกธาตุขึ้นสู่พระราชพาหนะทอง แล้วทรงโปรดให้แห่ พระบรมสารีริกธาตุนั้น) จารึกสมบัติขันธเสมาวัดกู่แก้ว อายุพุทธศักราช 2102 อักษรไทย ล้านนา (อักษรฝักขาม) ตัวเลขอักษรธรรม ภาษาไทย พบที่พระธาตุ วัดป่ากู่แก้ว ตบลจันจว้า อ�ำเภอแม่จัน จังหวัดเชียงราย เรื่องที่จารึกใน พ.ศ.2102 มีพระสงฆ์ 15 รูป ซึ่งมีมหาเถรหลวง วัดป่า พรรษา 44 พระมหาสามี วัดป่าแดง พรรษา 30 และมหาสวนค�ำ พรรษา 27 เป็น ประธาน ผูกพัทธสีมา และมหาสีมา ณ วัดป่ากู่แก้ว เพื่อประโยชน์แก่ พระศาสนาสืบไป วัดพระธาตุดอยกู่แก้ว เป็นวัดร้างอยู่ 26 ปี จึงได้รับการยกฐานะ จากวัดร้างให้เป็นวัดทีม่ พี ระสงฆ์อรัญวาสี (คณะสงฆ์ฝา่ ยวิปสั สนาธุระ) เมื่อวันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2526 เป็นวัดที่มีทะเบียนถูกต้องสมบูรณ์ ขณะนีท้ างวัดได้ดำ� เนินการก่อสร้างเสนาสนะต่างๆ เพือ่ ให้มคี วามมัน่ คง สวยงามเป็นสง่า สมกับที่เป็นวัดโบราณคู่บ้านคู่เมืองของอ�ำเภอแม่จัน มาช้านาน CHIANG RAI I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 91
91
8/2/2562 15:13:01
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดบ้านสันพัฒนา
(บ้านสันมงคล)
พระอธิการสุทธิชัย ปริสุทธิโธ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดบ้านสันพัฒนา
วั ด บ้ า นสั น พั ฒ นา (บ้ า นสั น มงคล) ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 57 หมู ่ 12 บ้านสันมงคล ต�ำบลแม่จัน อ�ำเภอแม่จัน จังหวัดเชียงราย เดิมทีบริเวณที่ตั้งวัดเป็นสวนหญ้าคาของชาวบ้าน มีลักษณะตั้งอยู่ เนินเขาเตีย้ ๆ ชาวบ้านได้ตงั้ ชือ่ ว่า “วัดบ้านสันพัฒนา” เนือ่ งจากทีต่ งั้ วัด ตั้งอยู่บนสันเขา จากนั้น ชาวบ้านได้ร่วมพัฒนากันขึ้น มีเนื้อที่ที่ดินตั้ง วัดประมาณ 48 ไร่ โดยเป็นเขตป่า 40 กว่าไร่ มีโฉนดเอกสารสิทธิ์ 8 ไร่ วัดบ้านสันพัฒนา (บ้านสันมงคล) เป็นวัดถูกต้องตามกฎหมาย มีชอื่ อยู ่ ใ นทะเบี ย นวั ด ของส� ำ นั ก งานพระพุ ท ธศาสนาแห่ ง ชาติ ได้ รั บ พระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 30 มีนาคม พ.ศ.2554 และได้ ผูกพัทธสีมา เมื่อวันที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2560 ปัจจุบันมี พระอธิการ สุทธิชยั ปริสทุ ธิโธ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส ท่านเป็นพระนักพัฒนาและ ช่วยเหลือสังคมสงเคราะห์ชาวบ้านทีย่ ากไร้และยากจนอยูเ่ สมอไม่ได้ขาด ท�ำให้ชาวบ้านมีอาชีพ และสามารถพึ่งตนเองได้ในที่สุด 92
2
ท�ำเนียบเจ้าอาวาส
1. พระเป็ง (ไม่ทราบฉายา และปีพ.ศ.) 2. พระสมพล (ไม่ทราบฉายา และปีพ.ศ.) 3. พระสว่าง (ไม่ทราบฉายา และปีพ.ศ.) 4. พระดี (ไม่ทราบฉายา และปีพ.ศ.) 5. พระครูอาธรวิริยะกิจ (ไม่ทราบ ปีพ.ศ.-ปีพ.ศ. 2545) 6. พระอธิการสุทธิชัย ปริสุทฺโธ ปี พ.ศ.2545-ปัจจุบัน
SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงราย
.indd 92
11/2/2562 17:06:18
สีลสมาธิคุณานํ ขนฺติ ปธานการณํ สพฺเพปิ กุสลา ธมฺมา ขนฺตฺยาเยว วฑฺฒนฺติ เต ขันติเป็นประธาน เป็นเหตุ แห่งคุณคือศีลและสมาธิ กุศลธรรมทั้งปวงย่อมเจริญเพราะขันติเท่านั้น CHIANG RAI I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 93
93
11/2/2562 17:06:27
วัส�ำดนักปฏิมงคลธรรมกายาราม บัติธรรมประจ�ำจังหวัดเชียงราย แห่งที่ 3 พระภาวนาโกศลเถร วิ. (ชูวิทย์ อคฺควิชฺโช) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
วัดมงคลธรรมกายาราม ตั้งอยู่เลขที่ 99/36 หมู่ 1 บ้านถ�้ำ ถนนพหลโยธิน ต� ำบลโป่ง งาม อ� ำเภอแม่สาย จังหวัดเชีย งราย สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย วัดมีพื้นที่ 109 ไร่ 3 งาน 14 ตร.วา เป็นวัดในสาขาของวัดปากน�้ำ ภาษีเจริญ วัดมงคลธรรมกายาราม เป็นสาขาของวัดปากน�้ำ ภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร ได้เผยแผ่คำ� สัง่ สอน และการปฏิบตั ธิ รรมตามแนวของ พระเดชพระคุณ พระมงคลเทพมุนี (หลวงพ่อวัดปากน�ำ ้ สด จนฺทสโร) โดยใช้บริกรรมภาวนาว่า “สัมมา อะระหัง”
94
SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงราย
.indd 94
11/02/62 17:16:03
ประวัติความเป็นมา
เนือ่ งจากคุณจ�ำนงค์ - คุณนงลักษณ์ - คุณณัฏฐชัย พัดเอีย่ ม ได้ถวาย ที่ดินจ�ำนวน 9 ไร่ ให้แก่ พระอาจารย์สมศักดิ์ มหพฺพโล เพื่อไว้เป็น ที่สร้างวัด ต่อมาในปี พ.ศ. 2541 พระอาจารย์สมศักดิ์ ถึงแก่มรณภาพ เจ้าประคุณสมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ เจ้าอาวาสวัดปากน�ำ ้ ภาษีเจริญ เจ้ า คณะใหญ่ ห นเหนื อ ได้ ส ่ ง พระชู วิ ท ย์ อคฺ ค วิ ชฺ โ ช พร้ อ มคณะ มาปฏิบตั ศิ าสนกิจ ในปี พ.ศ. 2542 และได้ขอตัง้ วัดได้เมือ่ ปี พ.ศ. 2544 รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อปี พ.ศ. 2546 วัดได้จัดตั้งโรงเรียน พระปริ ยั ติ ธ รรมแผนกธรรม เมื่ อ ปี พ.ศ. 2544 และตั้ ง โรงเรี ย น พระปริยัติธรรมแผนกบาลี เมื่อปี พ.ศ. 2546 ปัจจุบันมีการสอนถึง เปรียญธรรม 4 ประโยค นอกจากนั้นยังได้จัดค่ายอบรมพุทธบุตรขึ้น ให้แก่โรงเรียนต่างๆ เพือ่ น�ำเยาวชนเข้าปฏิบตั ธิ รรม น�ำความสงบสูจ่ ติ ใจ มีสติใคร่ครวญความถูกผิด มีชีวิตที่ไม่ประมาท พระพุทธรูปที่ส�ำคัญ
พระสานด้ ว ยหวายองค์ ใ หญ่ พระพุ ท ธทสะปรมั ต ถ์ 11 พระเจ้าอินทร์สาน สล่าอง พร้อมด้วยครอบครัวได้มีศรัทธาปสาทะ สร้างพระเจ้าอินทร์สานขึน้ มาเพือ่ ถวายเป็นพุทธบูชา ธรรมบูชา สังฆบูชา โดยสร้างขึ้นจากหวายมีขนาดหน้าตัก 7 เมตร ซึ่งถือว่าเป็นพระสาน ที่ใหญ่ที่สุดแล้วปัจจุบันนี้ ใช้เวลาในการสร้าง 1 ปี 9 เดือน 14 วัน โดยนายช่าง หรือ สล่าอง เป็น ผู้สานพระองค์นี้ สร้างขึ้นมาด้วย ความศรัทธา เนื่องจากสล่าองเองนั้นไม่ได้มีปัจจัยเงินทองอะไร ผู้ที่รู้ ข่าวบุญ ข่าวกุศลนี้น�ำปูน น�ำเหล็ก หรือปัจจัยส่วนหนึ่งมาร่วมด้วย ช่วยกันสร้างพระเจ้าอินทร์สานองค์นี้ จากนั้นได้ช่วยกันนิมนต์พระเจ้าอินทร์สานองค์นี้ได้เคลื่อนย้าย จากบ้านของสล่าอง ในวันที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2557 เฉพาะจากบ้าน ไปจนถึงหมูบ่ า้ นปิยะพรใช้เวลา 1 วันเต็มๆ ตัง้ แต่เช้าประมาณ 8 นาฬิกา เคลื่อนไปถึงจุดศูนย์กลางคือกลางหมู่บ้านปิยะพรในเวลา 6 นาฬิกา และในเวลาหนึง่ ทุม่ ก็ได้มกี ารสมโภช เพือ่ เปิดโอกาสให้ชาวพุทธศาสนิกชน โดยทั่วไปได้มาร่วมท�ำบุญ และในเช้าวันรุ่งขึ้นได้เคลื่อนจากเทศบาล แม่สายเข้าสู่ถนนพหลโยธิน ซึ่งเป็นถนนหลักของจังหวัดเชียงราย ระยะทางจากอ�ำเภอแม่สาย ถึงวัดธรรมมงคลกายาราม ประมาณ 12 กิโลเมตร ในวันนัน้ มีชาวพุทธทีม่ คี วามศรัทธาเลือ่ มใสได้พร้อมใจกัน มาชักพระแบบโบราณคือทางวัดได้เตรียมเอาเชือกมะนิลา ให้คณะญาติโยม ได้ชักพระมา ใช้เวลาโดยประมาณ 12 ชั่วโมง จึงมาถึงหน้าวิหารหลวง ทีไ่ ด้สร้างขึน้ เพือ่ ประดิษฐานพระเจ้าอินทร์สานองค์นี้ และในการน�ำพระ ขึ้นสู่วิหาร จนกระทั่งถึงแท่นประดิษฐานพระใช้เวลาประมาณ 9 ชั่วโมง และในวันที่ 30 มีนาคม ของทุกปี ได้มีการท�ำบุญครบรอบ 1 ปี ของ การน�ำพระเจ้าอินทร์สานองค์นี้เข้ามาสู่วัดมงคลธรรมกายาราม การสร้างวิหารหลังนีน้ นั้ ต้องแข่งกับเวลาเนือ่ งจาก ฝนฟ้าอากาศบ้าง แสงแดดบ้าง เพราะทางวัดไม่ตอ้ งการให้พระเจ้าอินทร์สานองค์นโี้ ดนแดด โดนฝน แม้จะสานด้วยหวายแต่จะต้องป้องกันไว้ก่อน ดังนั้นแล้ว ในการสร้างวิหาร ตัง้ แต่เริม่ ต้นจนกระทัง่ เมือ่ วันที่ 13 เมษายน พ.ศ. 2558 ใช้เวลาในการสร้าง 1 ปี 6 เดือน หรือ 18 เดือน พอดี วิหารหลังนี้ ก็ส�ำเร็จลุล่วงและพร้อมในการเฉลิมฉลองตอนสิ้นปี พ.ศ. 2558 CHIANG RAI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 95
95
11/02/62 17:16:12
ประวัติพระภาวนาโกศลเถร วิ. (ชูวิทย์ อคฺควิชฺโช) พระภาวนาโกศลเถร วิ. (ชูวทิ ย์ อคฺควิชโฺ ช) เกิดเมือ่ วันที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2505 อายุ 57 ปี วุฒิการศึกษา น.ธ.เอก, บธ.บ., บธ.ม.อุปสมบท เมือ่ ปี พ.ศ. 2529 ณ วัดปากน�ำ ้ ภาษีเจริญ มีสมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ เป็นพระอุปัชฌาย์ โดยในพรรษาที่ 1 - 13 จ�ำพรรษาที่วัดปากน�้ำ การศึ ก ษาทางโลก ส� ำ เร็ จ การศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาตรี สาขา บริหารการบัญชี มหาวิทยาลัยกรุงเทพ, ปริญญาโท สาขาบริหารการเงิน คณะบริหารธุรกิจ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์(นิด้า) ปัจจุบัน เป็นเจ้าอาวาสวัดมงคลธรรมกายาราม สมณศักดิ์ พ.ศ. 2547 เป็น พระครูสญ ั ญาบัตร เจ้าอาวาสวัดราษฎร์ ชั้นโท ฝ่ายวิปัสสนาธุระ ที่ พระครูภาวนานุวัตร พ.ศ.2552 เป็น พระครูสัญญาบัตร เทียบผู้ช่วยเจ้าอาวาสพระอารามหลวง ชั้นเอก ฝ่ายวิปัสสนาธุระ ในราชทินนามเดิม 5 ธันวาคม พ.ศ. 2558 เป็น พระราชาคณะชัน้ สามัญยก ฝ่ายวิปสั สนาธุระ ที่ พระภาวนาโกศลเถร วิ. 96
SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงราย
.indd 96
11/02/62 17:16:19
อานิสงส์ของการบวช เกิดเป็นลูกผู้ชายต้องบวชเป็นลูกพระพุทธเจ้า จากสภาพปัญหาปัจจุบันของสังคม ที่มีผลกระทบต่อเด็กและ เยาวชนอย่างรวดเร็ว ท�ำให้เด็กขาดคุณธรรมจริยธรรมทั้งต่อตนเอง และผู้อื่น น�ำไปสู่ปัญหาอื่น เช่น อาชญากรรม ความรุนแรง ยาเสพติด ปัญหาทางเพศ เป็นต้น หากเยาวชนได้รบั การปลูกฝังอบรม ด้วยหลักธรรม ทางศาสนา ก็จะสามารถยกระดับจิตใจ และสติปัญญาของเยาวชน ให้สูงขึ้นในระดับหนึ่ง วัดมงคลธรรมกายาราม ได้เล็งเห็นปัญหา และพิษภัยของเยาวชน จึงได้จัดให้มีการบรรพชาอุปสมบทภาคฤดูร้อน เพื่อให้เยาวชนได้ใช้ เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ทุกวันที่ 6 เมษายนของทุกปี เพื่อถวายเป็น พระราชกุศลแด่ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เป็นประจ�ำทุกปี ตั้งแต่ปี 2545 เป็นต้นมา
*** โดยไม่เก็บค่าใช้จ่ายใดๆ ทั้งสิ้น ***
สวนบัวมงคลธรรม พระประธานในอุโบสถ พระประธานในอุโบสถ เป็นพระพุทธรูป แกะสลักจากหินหยก แคนาดา ขนาดหน้าตัก 19.8 นิ้ว แต่เดิมนั้น เป็นพระพุทธรูปไม่มีพระ ศก ไม่มีจีวร จึงได้ด�ำริจัดสร้างเครื่องทรงถวาย เมื่อจัดสร้างเสร็จได้ ทูลเชิญเสด็จฯ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชา ทินัดดามาตุ เสด็จทรงประดับเครื่องทรง ดังนี้. วันที่ 9 ธันวาคม 2551 เสด็จประดับเครื่องทรงฤดูร้อน วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2558 เสด็จประดับเครื่องทรงฤดูหนาว ในการนี้ ทรงประทานพระนามพระพุทธรูปหยกประธานว่า พระพุทธ รัตนมงคลธรรโมภาส ในวโรกาสทรงเจริ ญ พระชั น ษาครบ 50 ชั น ษา ทรงประทาน พระพุทธรูปปางห้ามญาติทรงเครื่อง ถวายเป็นพุทธบูชา และทรง ประทานนามพระพุทธรูป ดังนี้ เบื้องขวา พระรัตนมงคลมณี เบื้องซ้าย พระศรีมงคลสวัสด์ CHIANG RAI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 97
97
11/02/62 17:16:28
H I STO R Y O F B U DDH I S M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดเวียงพาน สงบจิ ต ได้ ป ั ญ ญา ณ อุ โ บสถวั ด เวี ย งพาน ที่ ใ หญ่ ที่ สุ ด ในอ� ำ เภอแม่ ส าย
พระครูสมุห์ธวัชชัย อภิวฑฺฒโน
ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดเวียงพาน
วั ด เวี ย งพาน สั ง กั ด คณะสงฆ์ ม หานิ ก าย ตั้ ง อยู ่ เลขที่ 34 บ้านเวียงพาน หมู่ที่ 3 ต�ำบลเวียงพางค�ำ อ�ำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย มีเนื้อที่ทั้งหมด 16 ไร่ 3 งาน 77 ตารางวา โฉนดเลขที่ 817 มีอาณาเขต ทิศตะวันออกติดทีม่ กี ารครอบครอง ทิศตะวันตก ติดโรงเรียนบ้านเวียงพาน ทิศเหนือติดกับ โรงเรียนอนุบาลแม่สาย ทิศใต้ติดกับ ถนนสาธารณะประโยชน์
98
SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงราย
.indd 98
11/02/62 17:10:35
กว่าจะมาเป็นวัดเวียงพาน
แต่เดิมวัดเวียงพาน ตั้งอยู่ถนนนามล(หลังมูลนิธิกวงเม้ง) เป็ น ที่ ลุ ่ ม น�้ ำ ท่ ว มตลอด หลั ก ฐานที่ ตั้ ง ไม่ ป รากฏ จากศรั ท ธา ประชาชนในหมู่บ้าน จึงได้พร้อมใจกันย้ายมาตั้งอยู่ที่ธรณีสงฆ์ ของวัดปัจจุบันนี้ ส�ำหรับที่ธรณีสงฆ์นั้นเป็นที่ลาดชันเล็กน้อย ไม่สามารถทีจ่ ะขยายได้ โดยมองเห็นความเจริญทีจ่ ะเกิดขึน้ คณะศรัทธา จึงได้พร้อมใจกันย้ายขึน้ มาประมาณปี พ.ศ. 2475 หลักฐานการย้าย ไม่ปรากฏ มาตั้งอยู่ ณ ที่ปัจจุบัน โดยมีวัดเวียงพาน และโรงเรียน บ้านผาแตก ตัง้ อยูท่ เี่ ดียวกัน ต่อมาได้ยา้ ยโรงเรียนไปอยูด่ า้ นหลังของวัด บริเวณทีต่ งั้ วัดเป็นเนินเขาเลียบเล็กๆ เหมาะแก่การไปมาสะดวก ศรัทธาประชาชนพร้อมใจกันเรียกว่า “วัดจอมดอยเวียงพางค�ำ” ต่อมาได้เปลี่ยนมาเป็นชื่อ “วัดเวียงพาน” ตามชื่อเมืองในอดีต จนถึงปัจจุบันนี้ โดยพื้นที่ที่ตั้งวัดเวียงพาน มีความส�ำคัญทาง ประวัติศาสตร์เวียงสี่ตวง - เวียงพาน - เวียงพานค�ำ สู่เวียงพาง ค�ำในปัจจุบัน เป็นเมืองที่พระเจ้าพรหมมหาราชได้ประสูติ และ สะดมพลนิกาย ขุดคือเมือง และคูเมือง เพื่อเป็นที่ป้องกันขอมด�ำ แห่ ง เมื อ งโยนกนครไชยบุ รี ศ รี ช ้ า งแส่ น (เมื อ งเชี ย งแสน) ราว พุทธศตวรรษที่ 13 มีหลักฐานที่ปรากฏให้เห็นคือ คือเมือง และ คูเมือง เวียงสี่ตวง หรือ เวียงพางค�ำ อยู่ด้านหลังของวัดปัจจุบันนี้ วัดเวียงพานได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อวันที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2522 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2522 และผูกพัทธสีมาตามพระธรรมวินยั เมือ่ วันที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2547 ปัจจุบนั พระครูสมุหธ์ วัชชัย อภิวฑฺฒโน เป็นเจ้าอาวาส
CHIANG RAI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 99
99
11/02/62 17:10:40
ประวัติท่านเจ้าอาวาสโดยสังเขป
พระครูสมุหธ์ วัชชัย ฉายา อภิวฑฺฒโน อายุ 35 ปี พรรษาที่ 15 ล�ำดับชั้นสมณศักดิ์ พระฐานานุกรม เดิมชื่อนายธวัชชัย นามสกุล ลาวิ ชั ย ส� ำ เร็ จ การศึ ก ษาสามั ญ สู ง สุ ด ในระดั บ ปริ ญ ญาโทจาก มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง และส�ำเร็จการศึกษานักธรรมเอก ล�ำดับเจ้าอาวาสตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน 1. ไม่ปรากฏนามเจ้าอาวาส พ.ศ. 2475 - พ.ศ. 2490 2. พระค�ำน้อย คัมภีโร พ.ศ. 2490 - พ.ศ. 2491 3. พระสิงห์แก้ว ธมมทินโน พ.ศ. 2491 - พ.ศ. 2495 4. พระขอด อิสิญาโณ พ.ศ. 2495 - พ.ศ. 2496 5. พระอ่องค�ำ ฐานรโต พ.ศ. 2496 - พ.ศ. 2502 6. พระจันทร์ตา ปญญากรโณ พ.ศ. 2502 - พ.ศ. 2502 7. พระอุ่นเรือน สุจิตโต พ.ศ. 2502 - พ.ศ. 2504 8. พระพรหมมา สุมงคโล พ.ศ. 2504 - พ.ศ. 2505 9. พระครูทองอินทร์ อาจารธมโม พ.ศ. 2505 - พ.ศ. 2526 10. พระอธิการอภินันท์ อคคจิตโต พ.ศ. 2526 - พ.ศ. 2528 11. พระครูทองอินทร์ ถิรธมโม พ.ศ. 2528 - พ.ศ. 2533 12. พระครูมานิตบุญญาคม พ.ศ. 2533 - พ.ศ. 2534 13. พระครูอุ่น ฐานุตตโร พ.ศ. 2534 - พ.ศ. 2538 14. พระมหาดวงดี รตนรํสี พ.ศ. 2538 - พ.ศ. 2553 15. พระครูสมุห์ธวัชชัย อภิวฑฺฒโน พ.ศ. 2553 - ปัจจุบัน
100
.indd 100
ศาสนสถานและศาสนสมบัติที่ส�ำคัญ
1. อุโบสถวัดเวียงพาน อุโบสถที่ใหญ่ที่สุดในอ�ำเภอแม่สาย สร้างด้วยแรงศรัทธาของคณะศรัทธาวัดเวียงพาน ซึ่งสมัยนั้นเป็น ช่วงที่ก�ำลังพัฒนาทางด้านถาวรวัตถุ เริ่มสร้างในปี พ.ศ. 2535 และสร้างเสร็จในปี พ.ศ. 2545 เป็นอุโบสถทีม่ ขี นาดความใหญ่ทสี่ ดุ ในอ�ำเภอแม่สาย 2. พระพุทธอุดรมิ่งมงคล พระพุทธรูปปางมารวิชัยทีมีความ สวยสดงดงาม เป็นพระประธานในอุโบสถ มีพระพักตร์ทอี่ มิ่ เอิบและ อุดมสมบูรณ์ตามศิลปะของล้านนาทีม่ ชี อื่ เรียกกันว่า พระสิงห์หนึง่ เชียงแสน 3. พระพุทธเมตตาบารมีเกิดบุญ เป็นพระพุทธรูปที่จ�ำลอง มาจากพุทธคยา ประเทศอินเดีย ซึ่งเป็นสถานที่ซึ่งองค์สมเด็จ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสรู้ เป็นสถานที่พุทธศาสนิกชนทั่วโลก เดินทางไปสักการบูชาเป็นจ�ำนวนมาก โดยคณะเกิดบุญ จากกรุงเทพฯ สร้างและน�ำมาถวายในวันที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 4. พระพุทธสิริสุภรัตนสุริยะประชานาถ สมปรารถนาทันใจ (พระเจ้าทันใจ) สร้างขึน้ เมือ่ วันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2557 ในช่วงทีว่ ดั ได้จดั ปฏิบตั ธิ รรมเข้ารุกมูลโดยได้รบั ความอนุเคราะห์ จากคุณโยม วิภาวดี สุริยะ พร้อมบุตรธิดาและคณะศรัทธาเวียงพานทุกหลังคา เรือน ได้รับเป็นเจ้าภาพ และในวันเดียวกันนั้นก็ได้สร้างพร้อมกับ พระอุปคุตทันใจ พระแม่ธรณีทันใจ และในปีเดียวกันนั้น คุณโยม วิภาวดี สุริยะ พร้อมบุตรธิดาได้รับเป็นเจ้าภาพสร้างศาลาพระเจ้า ทันใจ พร้อมกับเป็นเจ้าภาพกฐินและอบรมสมโภชเฉลิมฉลอง ใน วันที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ.2557 ปัจจุบันได้มีญาติโยมจากที่ต่างๆ เข้ามากราบไหว้สักการบูชาขอพรเป็นประจ�ำ
SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงราย
11/02/62 17:10:43
กิจกรรมที่วัดจัดเป็นประจ�ำทุกปี
1.ประเพณีปอยต้นแปก เป็นงานเฉลิมฉลองในวันออกพรรษา โดยให้ประชาชนในชุมชนร่วมกันบริจาคไม้แปก, ไม้เกีย๊ ะ(ตามภาษาถิน่ คือ ต้นสนที่มียางแห้งแล้ว) น�ำมามัดรวมกัน แล้วห่อด้วยไม้ไผ่สับ ให้เป็นแผ่นมาห่อทับอีกที แล้วตกแต่งด้วยกระดาษสีตา่ งๆ ให้สวยงาม หลังจากนั้นจัดเป็นขบวนแห่ 2.ประเพณีตานก๋วยสลาก จัดขึน้ ในวันขึน้ 13 ค�ำ ่ เดือน 12 เหนือ โดยญาติโยมจะเตรียมสังฆทานจ�ำนวนกี่ชุดก็แล้วแต่ศรัทธา แล้ว ให้เขียนชือ่ -นามสกุล อุทศิ ให้ใคร ทีก่ องอ�ำนวยการเพือ่ ลงทะเบียน ปล่อยเส้นสลาก(สังฆทานที่เตรียมมา) จากนั้นก็ชมการแสดงของ ชุมชนต่างๆ ที่มาร่วมงาน เวลา 11.00 น. ถวายภัตตาหารเพลแด่ พระภิกษุ - สามเณร ที่กราบนิมนต์มาสลาก (สังฆทาน) 12.30 น. ท�ำพิธีถวาย หลังจากนั้นพระภิกษุ - สามเณร จับสลาก ได้ชื่อโยม ท่านไหน นัง่ เบอร์อะไร ก็จะไปตามเบอร์ทนี่ งั่ เต็นท์ตา่ งๆ พระสงฆ์
เรียกชือ่ ท่านไหน ก็ให้นำ� ก๋วยสลาก(สังฆทาน) มาถวายและกรวดน�ำ้ รับพร เป็นอันเสร็จพิธีตานก๋วยสลาก 3.ประเพณีเลี้ยงเมือง หรือ เลี้ยงเจ้าพ่อค�ำแดง จัดในวันขึ้น 9 ค�่ำ เดือน 9 เหนือ โดยในวันนั้นให้ญาติโยมร่วมท�ำบุญ บริจาค ข้าวสาร น�้ำอ้อย งา นม เนย น�้ำผึ้ง เพื่อน�ำมาท�ำข้าวทิพย์ และ เตรี ย มขั นบายศรี ต่ างๆ ทั้ ง ผลไม้ ขนมหวาน เพื่อจัด ท� ำพิธี บวงสรวง เนือ่ งว่าเจ้าพ่อค�ำแดง เป็นทีเ่ คารพสักการะของคนในชุมชน บ้านเวียงพาน และประชาชนทั่วไป จึงมีประเพณีเลี้ยงเมือง หรือ เลี้ยงเจ้าพ่อค�ำแดง นอกจากนี้ ทางวัดยังส่งเสริมสนับสนุน กลุม่ อนุรกั ษ์วฒ ั นธรรม นก - โต ซึ่งปัจจุบันมีสมาชิกกลุ่ม 20 คน เป็นอาสาสมัครนักแสดง แต่งกายเลียนแบบสัตว์ป่าหิมพานต์ สร้างสรรค์ท่าทางประกอบ ดนตรีโดยมีเสียงกลอง ฆ้อง ฉาบ บรรเลงในการแสดง CHIANG RAI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 101
101
11/02/62 17:10:46
Phra Khru Samuthawatchai Apiwatthano , The abbot.
Wat Wiang Phan Calming your hearted to gain wisdom at Buddhist sanctuary of Wat Wiang Phan the biggest temple in Mae Sai district.
Wat Wiang Phan belongs to Maha Nikai clergy. It is located at 34 Ban Wiang Phan, Village no.3, Wiang Phang Kham sub-district, Mae Sai district, Chiang Rai province. The scale of this temple’s land is 6.4 acres and 1,508 square meter, title deeds no. 817. East territory is adjacent to occupied land, west territory is adjacent to Ban Wiang Phan School, North and South territory are adjacent to Mae Sai Kindergarten School and public road respectively. History of Wat Wiang Phan Formerly, Wat Wiang Phan was located at Na Mon road (behind Guang Meng foundation), it is a plain which always been flooded but there was no any evidence regarding the exact location where this temple located. Due to the faith of villagers, this temple was moved to the monastery land of current position where temple located which is small hill that can be accessed comfortably. Villagers unanimously called this temple’s name as “Wat Chom Doi Wiang Phang Kham”. After that, they changed the name to “Wat Wiang Phan” after the city’s name since that time until now. The location of Wat Wiang Phan has historical significance regarding history of Wiang Si Tuang 102
.indd 102
- Wiang Phan - Wiang Phan Kham and present Wiang Phan Kham. It is the city where Phra Chao Phrom Maharat was born and the place that he gathered people to dig a moat around this city in order to defend this city from the invader which is black Khmers of Yonok Nakorn Chaiyaburi Sri Chang Saen (Chiang Saen city) approximately 13th Buddhist century which the evidence of this story are moats of Wiang Si Tuang or Wiang Phang Kham that located behind this temple. Phra Khru Samuthawatchai Apiwatthano, The abbot. Important religious place and ecclesiastical things 1. Buddhist sanctuary (ubosot) of Wat Wiang Phan The biggest ubosot in Mae Sai district, the construction was started in B.E.2535 and completed in B.E.2545. 2. Phra Buddha Udon Ming Mongkol - The gorgeous Buddha image in attitude of subduing Mara. It is principle Buddha image of this temple. It has delighted and prosperous face as the art style of Lanna which its name is Phra Sing Neung Chiang Saen. 3. Phra Buddha Metta Baramee Koet Boon - The Buddha image which imitated from Buddha image in Bodh Gaya,
SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงราย
11/02/62 17:10:49
India which is the place that Lord Buddha became enlightened. It was built by Koet Boon group from Bangkok and offered to this temple on 21 May B.E.2559. 4. Phra Buddha Siri Suparat Suriya Prachanat can fulfil one’s wish (Phra Chao Tan Jai), it was built on 7 January B.E.2557. At present, people from various places always come to this temple to pay respect and beg for the blessing from this Buddha image. Annual festival at Wat Wiang Phan 1. Poi Ton Pak festival - It is a celebration on the day at the end of Buddhist lent by letting people in the community jointly offer Khasi pine wood (Refer to dialect, it is pine tree that its rubber was dried up). Next, they will bind all of the wood together and wrap it up by bamboo plate that was chopped till it become a plate, then, decorate with colored papers. Lastly, they will arrange a
parade for this festival. 2. Taan Kuay Salak festival - It is celebrated on 13th night of waxing moon of 12th month which people who participate this event will prepare offering dedicated to Buddhist monks as much as they want in order to give the merit to people who passed away. 3. Lieng Mueang festival or Chao Phor Kham Dangworshipping festival - It is celebrated on 9th night of waxing moon of 9th month. On that day, temple will held up a festival and let people make merit by offer rice, cane juice, sesame, milk, butter and honey in order to cook a dessert called “Khao Thip” by these ingredients. After that, they will prepare the rice offering including fruits and desserts for arranging a Chao Phor Kham Dangworshipping ceremony, because Chao Phor Kham Dang has been respected and worshipped by people of Baan Wiang Phan and general people.
CHIANG RAI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 103
103
11/02/62 17:10:51
ท่องเที่ยวทางใจ 1058 วัด ถิ่นวัฒนธรรมล้านนา ล�้ำค่าพระธาตุดอยตุง
ท่อ งเที่ยวทางใจ
1058 วั ด
อ�ำเภอเมืองเชียงราย วัดกลางเวียง ม.1 ต.เวียง วัดกู่ปราสาท ม.11 ต.ท่าสุด วัดเกษแก้ว ม.19 ต.แม่ข้าวต้ม วัดเกษมสุข ม.6 ต.ห้วยสัก วัดขัวแคร่ ม.1 ต.บ้านดู่ วัดเขาดับภัย ม.1 ต.ห้วยสัก วัดคีรีชัย ม.8 ต.รอบเวียง วัดจอมคีรี ม.7 ต.แม่ยาว วัดจ�ำบอน ม.1 ต.ดอยลาน วัดเจ็ดยอด ม.18 ต.เวียง วัดเชตวัน ม.12 ต.รอบเวียง วัดเชตุพน ม.15 ต.รอบเวียง วัดเชียงยืน ม.24 ต.เวียง วัดดงเทพนิมิต ม.17 ต.ป่าอ้อดอนชัย วัดดงป่าเหมี้ยง ม.10 ต.ห้วยสัก วัดดงมะผาง ม.20 ต.ห้วยสัก วัดดงหนองเป็ด ม.13 ต.รอบเวียง วัดดอนเจริญ ม.8 ต.ดอยลาน วัดดอนเรือง ม.4 ต.ดอยลาน วัดดอนเขาควาย ม.14 ต.รอบเวียง วัดดอนง�ำเมือง ม.1 ต.เวียง วัดดอยทอง ม.1 ต.เวียง วัดดอยพระบาท ม.14 ต.รอบเวียง วัดดอยสมบูรณ์ ต.ดอยลาน วัดดอยฮางใน ม.1 ต.ดอยฮาง วัดดอยฮางใหม่ ม.3 ต.ดอยฮาง วัดต้นก๊อ ม.4 ต.ห้วยสัก วัดถ�้ำผาตอง ม.6 ต.ท่าสุด วัดทรายขาว (ห้วยทรายขาว) ม.3 ต.แม่ยาว วัดทรายมูล ม.3 ต.แม่ข้าวต้ม วัดท่าไคร้ ม.5 ต.แม่กรณ์ วัดทุ่งต้อม ม.6 ต.แม่ข้าวต้ม วัดทุ่งหลวง ม.9 ต.แม่ยาว วัดเทพบุญยืน ม.5 ต.แม่ยาว วัดเทพนิมิต ม.12 ต.แม่ข้าวต้ม วัดนางแล ม.3 ต.นางแล วัดนางแลใน ม.7 ต.นางแล วัดน�้ำเย็น ม.9 ต.ดอยลาน วัดน�้ำลัด ม.3 ต.ริมกก วัดบ่อทอง ม.5 ต.ท่าสุด วัดบ้านดู่ ม.3 ต.บ้านดู่ วัดบ้านร้อง ม.12 ต.ห้วยสัก วัดปงอ้อ ม.17 ต.ดอยลาน วัดปฐมพุทธาราม ม.10 ต.นางแล วัดประชาร่วมมิตร ม.10 ต.แม่ข้าวต้ม วัดป่ากล้วย ม. 6 ต.สันทราย วัดป่าเก็ด ม.11 ต.ดอยลาน
104
ถิ่นวัฒนธรรมล้านนา ล�้ำค่าพระธาตุดอยตุง จังหวัดเชียงราย
Chiang Rai
วัดป่าเขื่อนแก้ว ม.9 ต.ท่าสาย วัดปางกอก ม.9 ต.แม่กรณ์ วัดปางม่วน ม.2 ต.ริมกก วัดปางริมกรณ์ ม.10 ต.แม่กรณ์ วัดปางลาว ม.10 ต.บ้านดู่ วัดปางสนุก ม.6 ต.แม่กรณ์ วัดป่าซาง ม.2 ต.บ้านดู่ วัดป่าดอยพระบาท ม.7 ต.บ้านดู่ วัดป่าตึง ม.4 ต.สันทราย วัดป่าธรรมประทีป ม.11 ต.ท่าสาย วัดป่าไผ่ ม.4 ต.ป่าอ้อดอนชัย วัดป่ามหามงคล ม.20 ต.แม่ข้าวต้ม วัดป่าไผ่ ม.6 ต.งิ้ว วัดป่ามื่น ม.9 ต.ปล้อง วัดป่ายางมน ม.7 ต.รอบเวียง วัดป่ายางหลวง ม.5 ต.ริมกก วัดป่ารวก ม.8 ต.นางแล วัดป่าไร่ ม.5 ต.บ้านดู่
วัดป่าห้วยบง ม.8 ต.ท่าสาย วัดป่าหวายขุมเงิน ม.15 ต.บ้านดู่ วัดป่าหัวดอย ม.6 ต.ท่าสาย วัดป่าห้า ม.1 ต.นางแล วัดป่าอ้อ ม.8 ต.บ้านดู่ วัดป่าอ้อ (ป่าอ้อดอนชัย) ม.11 ต.ป่าอ้อดอนชัย วัดป่าอ้อร่มเย็น ม.6 ต.นางแล วัดป่าอุดมมงคล ม.12 ต.ดอยลาน วัดปุยค�ำ ม.14 ต.ป่าอ้อดอนชัย วัดโป่งขาม ม.16 ต.ห้วยสัก วัดโป่งนาค�ำ ม.5 ต.ดอยฮาง วัดโป่งพระบาท ม.6 ต.บ้านดู่ วัดโป่งสลี ม.3 ต.สันทราย วัดฝั่งหมิ่น ม.6 ต.ริมกก วัดฝั่งหมิ่น ม.7 ต.แม่กรณ์ วัดพนาลัย ม.8 ต.ต�ำบลแม่ยาว วัดพระแก้ว ม.19 ต.เวียง
SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงราย
1058
.indd 104
13/2/2562 10:28:33
THE IMPORTANT TEMPLES CHIANG RAI
วัดพระธาตุกู่แก้วดอยงาม ม.15 ต.แม่ข้าวต้ม วัดพระธาตุเกาะแก้ว ม.9 ต.ท่าสาย วัดพราตุจอมสัก ม.1 ต.บ้านดู่ วัดพระธาตุเจดีย์ทอง ม.11 ต.แม่กรณ์ วัดพระธาตุดอยกองข้าว ม.2 ต.ดอยฮาง วัดพระธาตุดอยฮาง ม.3 ต.ดอยอาง วัดพระธาตุสร้อยทอง ม.17 ต.ดอยลาน วัดพระธาตุสันกู่ ม.2 ต.ห้วยสัก วัดพระบาทสนามบิน ม.13 ต.รอบเวียง วัดพระสิงห์ ม.1 ต.เวียง วัดพุทธอุทยาน ม.1 ต.ดอยฮาง วัดภูมิพาราราม ม.1 ต.ท่าสุด วัดม่วงค�ำ ม.4 ต.นางแล วัดมิ่งเมือง ม.1 ต.เวียง วัดมุงเมือง ม.1 ต.เวียง วัดเม็งรายมหาราช ม.2 ต.รอบเวียง วัดแม่กรณ์ ม.1 ต.แม่กรณ์ วัดแม่ข้าวต้มท่าต้ม ม.10 ต.นางแล วัดแม่สาด ม.4 ต.แม่กรณ์ วัดร่องขุ่น ม.1 ต.ป่าอ้อดอนชัย วัดร่องดู่ ม.16 ต.ดอยลาน วัดร่องธาร ม.2 ต.ท่าสาย วัดร่องปลาขาว ม.7 ต.ห้วยสัก วัดร่องเผียว ม.8 ต.ห้วยสัก วัดร่องเสือเต้น ม.2 ต.ริมกก
วัดราษฏร์นิมิต ม.13 ต.แม่ข้าวต้ม วัดริมกก ม.4 ต.แม่ยาว วัดรุ่งเรือง ม.10 ต.ดอยลาน วัดล�ำเปิง ม.5 ต.นางแล วัดโล๊ะป่าห้า ม.7 ต.แม่ข้าวต้ม วัดวรกิจตาราม ม.23 ต.รอบเวียง วัดเวียงกลาง ม.13 ต.ท่าสาย วัดเวียงกลาง ม.121 ต.แม่ข้าวต้ม วัดเวียงหวาย ม.2 ต.ป่าอ้อดอนชัย วัดศรีเกิด ม.3 ต.เวียง วัดศรีจุม ม.9 ต.นางแล วัดศรีชุม ม.3 ต.ป่าอ้อดอนชัย วัดศรีดงชัย ม.11 ต.ห้วยสัก วัดศรีดอนชัย ม.8 ต.ท่าสาย วัดศรีดอนชุม ม.21 ต.ห้วยสัก วัดศรีทรายมูล ม.11 ต.รอบเวียง วัดศรีบุญเรือง ม.2 ต.เวียง วัดศรีบุญเรือง ม.2 ต.ดอยลาน วัดศรีปูคา ม.5 ต.สันทราย วัดศรีพิงชัย ม.3 ต.ห้วยสัก วัดศรีมงคล ม.5 ต.ป่าอ้อดอนชัย วัดศรีมิ่งแก้ว ม.1 ต.รอบเวียง วัดศรีศักดาราม ม.58 ต.ห้วยสัก วัดศรีส้มสุก ม.5 ต.แม่ข้าวต้ม วัดศรีสุพรรณ ม.6 ต.ท่าสาย วัดสถาน ม.7 ต.ท่าสาย วัดสวนดอก ม.3 ต.แม่กรณ์ วัดสักกวัน ม.5 ต.ริมกก วัดสันต้นกอก ม.2 ต.ท่าสุด วัดสันต้นเปา ม.14 ต.ห้วยสัก
วัดสันต้นผึ้ง ม.15 ต.รอบเวียง วัดสันต้นแฟน ม.4 ต.แม่ข้าวต้ม วัดสันตาลเหลือง ม.1 ต.ริมกก วัดสันทรายงาม ม.3 ต.ดอยลาน วัดสันทรายน้อย ม.13 ต.ป่าอ้อดอนชัย วัดสันทรายหลวง ม.1 ต.สันทราย วัดสันทรายใหม่ ม.4 ต.ริมกก วัดป่ากอ ม.13 ต.รอบเวียง วัดสันป่ากอ ม.13 ต.ดอยลาน วัดสันป่ายาง ม.6 ต.แม่ยาว วัดสันม่วงทอง ม.14 ต.แม่ข้าวต้ม วัดสันมะนะ ม.7 ต.ป่าอ้อดอนชัย วัดแสงพระธาตุ ม.16 ต.แม่ข้าวต้ม วัดโสภาสิทธาราม ม.5 ต.ริมกก วัดหนองนกเขียน ม.3 ต.รอบเวียง วัดหนองบัวแดง ม.15 ต.แม่ข้าวต้ม วัดหนองป่าอั้น ม.5 ต.รอบเวียง วัดหนองหม้อ ม9 ต.ป่าอ้อดอนชัย วัดห้วยขม ม.15 ต.แม่ยาว วัดห้วยทรายขาว ม.7 ต.ท่าสุด วัดห้วยทรายสามัคคีธรรม ม.7 ต.ท่าสุด วัดห้วยปลากั้ง ม.3 ต.ริมกก วัดห้วยพลู ม.9 ต.นางแล วัดห้วยอ้ม ม.8 ต.แม่ข้าวต้ม วัดห้วยอ้มใหม่ ม.9 ต.แม่ข้าวต้ม วัดหัตถีวนาราม ม.6 ต.ดอยลาน วัดอินทราราม ม.5 ต.ดอยลาน วัดฮ่องอ้อ ม.2 ต.ดอยฮาง CHIANG RAI I SBL บันทึกประเทศไทย
1058
.indd 105
105
13/2/2562 10:28:39
ท่องเที่ยวทางใจ 1058 วัด ถิ่นวัฒนธรรมล้านนา ล�้ำค่าพระธาตุดอยตุง
อ�ำเภอเวียงชัย วัดกลางเวียง ม.13 ต.เวียงชัย วัดกู่แก้วพัฒนา ม.10 ต.ผางาม วัดคีรีสถาน ม.4 ต.เมืองชุม วัดจอเจริญ ม.4 ต.ดอนศิลา วัดจอมคีรี ม.4 ต.ผางาม วัดช่องลม ม.3 ต.ดอนศิลา วัดชัยเจริญ ม.5 ต.เวียงชัย วัดชัยพร ม.17 ต.ดอนสิลา วัดชัยพฤกษ์ ม.5 ต.ดอนศิลา วัดชัยสวัสดิ์ ม.2 ต.เวียงชัย วัดไชยนารายณ์ ม.9 ต.เวียงชัย วัดไชยราษฏร์ส�ำราญ ม.8 ต.เวียงชัย วัดดงมะตื๋น ม.7 ต.ผางาม วัดดอนแก้ว ม.1 ต.เมืองชุม วัดดอนมูล ม.10 ต.เวียงชัย วัดดอนเลย ม.8 ต.ดอนศิลา วัดดอนงาม ม.6 ต.ดอนศิลา วัดดอยม่อนพระธาตุ ม.4 ต.ผางาม วัดท่าบันไดแก้ว ม.1 ต.เวียงเหนือ วัดทุ่งยั้ง ม.2 ต.ผางาม วัดปงหลวง ม.6 ต.เวียงชัย วัดป่าขันติอุดมธรรม ม.16 ต.เวียงชัย วัดปางไตรแก้ว ม.8 ต.เวียงเหนือ วัดป่าบง (ป่าบงขวาง) ม.5 ต.ผางาม วัดป่าบงใต้ ม.12 ต.ผางาม วัดพนาลัยเกษม ม.6 ต.เวียงเหนือ วัดพระธาตุจอมคีรี ม.1 ต.เมืองชุม วัดพระพุทธบาทผางาม ม.9 ต.ผางาม วัดโพธิ์ชัย ม.7 ต.เวียงเหนือ วัดเมืองชุม ม.7 ต.เมืองชุม วัดยกเจริญ ม.8 ต.เมืองชุม วัดร่องคือ ม.6 ต.ผางาม วัดราษฏร์เจริญ ม.4 ต.เวียงเหนือ วัดราษฏร์ชุมพล ม.4 ต.เวียงชัย วัดวังช้าง ม.9 ต.เมืองชุม วัดเวียงแก้ว ม.2 ต.เมืองชุม วัดศรีดอนชัย ม.13 ต.ดอนศิลา วัดศรีดอนเรือง ม.6 ต.เมืองชุม วัดศรีดอนชัย ม.9 ต.ดอนศิลา วัดศรีเวียง ม.3 ต.เวียงชัย วัดสมานมิตร ม.1 ต.ดอนศิลา วัดสันติสุข ม.14 ต.ดอนศิลา วัดสันม่วงค�ำ ม.7 ต.ดอนศิลา วัดสันสลิด ม.3 ต.เวียงเหนือ วัดหนองบัว ม.8 ต.หนองผางาม วัดใหม่มงคล ม.11 ต.ดอนศิลา
106
อ�ำเภอเชียงของ วัดปากอิงเหนือ ม.2 ต.ศรีดอนชัย วัดป่าเคาะ ม.7 ต.บุญเรือง วัดพระแก้ว ม.8 ต.เวียง วัดพร้าวกุด ม.5 ต.ครึ่ง วัดแฟน ม.5 ต.สถาน วัดม่วงเจ็ดต้น ม.9 ต.ศรีดอนชัย วัดม่วงชุม ม.7 ต.ครึ่ง วัดเมืองาญจน์ ม.2 ต.ริมโขง วัดร่องห้า ม.6 ต.ศรีดอนชัย วัดลุง ม.3 ต.ศรีดอนชัย วัดศรีชัยมงคล ม.12 ต.ศรีดอนชัย วัดศรีดอนชัย ม.2 ต.เวียง วัดศรีดอนมูล ม.9 ต.สถาน วัดศรีวิไล ม.7 ต.ห้วยซ้อ วัดสถาน ม.1 ต.สถาน วัดสบสม ม.3 ต.เวียง วัดส้าน ม.1 ต.ครึ่ง วัดหลวง ม.2 ต.เวียง วัดหลวง ม.4 ต.เวียง วัดห้วยซ้อ ม.1 ต.ห้วยซ้อ วัดห้วยเม็ง ม.6 ต.เวียง วัดห้วยหก ม.4 ต.บุญเรือง วัดหวาย ม.1 ต.ศรีดอนชัย วัดหัวเวียง ม.1 ต.เวียง วัดห้าเจดีย์ ม.11 ต.ศรีดอนชัย วัดหาดไคร้ ม.7 ต.เวียง วัดหาดบ้าย ม.14 ต.ริมโขง วัดใหม่ทุ่งหมด ม.7 ต.สถาน
SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงราย
1058
.indd 106
13/2/2562 10:28:44
THE IMPORTANT TEMPLES CHACHOENGSAO
THE IMPORTANT TEMPLES CHIANG RAI
อ�ำเภอเทิง วัดเกี๋ยงดอย ม.10 ต.แม่ลอย วัดเกี๋ยงลุ่ม ม.4 ต.แม่ลอย วัดขอนซุง ม.4 ต.งิ้ว วัดไคร้ ม.3 ต.ตับเต่า วัดงิ้วเก่า ม.7 ต.งิ้ว วัดงิ้วใหม่ ม.12 ต.งิ้ว วัดจอมแจ้ง ม.1 ต.ตับเต่า วัดช้างค�ำ้ ม.4 ต.เวียง วัดเชียงทอง ม.8 ต.งิ้ว วัดไชยผาบ (ชัยภาพ) ม.1 ต.เชียงเคีย่ น วัดซาววา ม.3 ต.สันทรายงาม วัดดอนแก้ว ม.6 ต.ปล้อง วัดดอนไชย ม.2 ต.ศรีดอนไชย วัดดอนไชย ม.6 ต.หงาว วัดดอนแท่น ม.2 ต.ปล้อง วัดดอนเฟือง ม.5 ต.ตับเต่า วัดดอนมูล ม.5 ต.เวียงชัย
วัดดอนแยง ม.13 ต.หงาว วัดต้นก๊อ ม.3 ต.เชียงเคี่ยน วัดต้นเขือง ม.4 ต.ตับเต่า วัดต้นปี้ ม.7 ต.หงาว วัดตับเต่า ม.2 ต.ตับเต่า วัดตุ้มใสต้ ม.9 ต.งิ้ว วัดท่าข้าม ม.5 ต.หงาว วัดทุ่งต้อม ม.5 ต.ศรีดอน วัดทุ่งโห้ง ม.5 ต.เวียง วัดเทิง ม.9 ต.เวียง วัดเนื้อนาบุญ ม.14 ต.งิ้ว วัดบ้านเหล่า ม.1 ต.ปล้อง วัดบุญนาค ม.2 ต.หงาว วัดบุญยืน ม.3 ต.งิ้ว วัดปงค์ ม.7 ต.ตับเต่า วัดปงสนุก ม.5 ต.ปล้อง วัดปทุมวราราม(หนองบัว) ม.5 ต.สันทรายงาม วัดปล้องส้าน ม.12 ต.ปล้อง
วัดปางค่า ม.8 ต.ตับเต่า วัดป่าจี้ ม.8 ต.หงาว วัดป่าตึงงาม ม.6 ต.ศรีดอนไชย วัดป่ารวก ม.1 ต.ศรีดอนไชย วัดโป่งสัก ม.6 ต.เชียงเคี่ยน วัดผาลาด ม.9 ต.หงาว วัดพระเกิดคงคาราม ม.14 ต.เวียง วัดพระธาตุขุนทอง ม.3 ต.เวียง พระธาตุจอมจ้อ ม.20 ต.เวียง วัดพระธาตุจอมใจ ม.20 ต.เวียง วัดพระธาตุจอมทอง ม.5 ต.ปล้อง วัดพระธาตุจอมหงส์ ม.11 ต.เวียง วัดพระธาตุดอยงู ม.19 ต.หงาว วัดพระธาตุปลายนา ม.4 ต.หงาว วัดพระธาตุปูเต้า ม.7 ต.ตับเต่า วัดพระธาตุศรีมหาโพธิ์ ม.2 ต.เวียง วัดพระนาคแก้ว ม.1 ต.เวียง วัดพลอยโสภณวนาราม ม.9 ต.แม่ลอย
วัดโพธิ์ทอง ม.2 ต.สันทรายงาม วัดโพธิ์ศรีพัฒนา ม.13 ต.เวียง วัดโพธิ์สว่าง ม.6 ต.เวียง วัดภูเขาแก้ว ม.8 ต.เชียงเคี่ยน วัดภูเต่า ม.18 ต.ตับเต่า วัดม่วงแก้ว ม.15 ต.หงาว วัดแม่ลอยไร่ (ไชยพรหม) ม.5 ต.แม่ลอย วัดแม่สว่าน ม.2 ต.งิ้ว วัดร่องริว ม.12 ต.เวียง วัดราษฏร์สามัคคี ม.10 ต.งิ้ว วัดวังแฮด ม.3 ต.สันทรายงาม วัดเวียงเกี๋ยง ม.1 ต.หงาว วัดศาลาวาส ม.4 ต.หงาว วัดสวนดอก ม.5 ต.งิ้ว วัดสวนดอกสันทรายมูล ม.1 ต.สันทรายงาม วัดสักเหนือ ม.11 ต.งิ้ว วัดสันชุม ม.2 ต.เชียงเคี่ยน
วัดสันต้นเปา ม.16 ต.หงาว วัดสันป่าบง ม.11 ต.หงาว วัดสันปูเลย ม.4 ต.เชียงเคี่ยน วัดสารภี ม.5 ต.เชียงเคี่ยน วัดสุวรรณาราม ม.3 ต.ศรีดอนไชย วัดหนองข่วง ม.1 ต.แม่ลอย วัดหนองแรด ม.1 ต.หนองแรด วัดหนองแรดใต้รัตนาราม ม.3 ต.หนองแรด วัดหนองเลียบ ม.4 ต.ศรีดอนไชย วัดหนองสามัคคี ม.4 ต.สันทรายงาม วัดห้วยไคร้ ม.3 ต.เวียง วัดหัวดง ม.12 ต.หงาว วัดหัวฝาย ม.6 ต.ตับเต่า วัดหัวฝาย ม.3 ต.ผางาม วัดใหม่สุขเกษม ม.9 ต.หงาว วัดอภัย ม.3 ต.ปล้อง วัดอ�ำมาตย์ ม.1 ต.เวียง วัดอุธราราม ม.7 ต.เวียง วัดเอียดน ม.14 ต.หงาว
CHIANG RAI I SBL บันทึกประเทศไทย
1058
.indd 107
107
13/2/2562 10:28:49
ท่องเที่ยวทางใจ 1058 วัด ถิ่นวัฒนธรรมล้านนา ล�้ำค่าพระธาตุดอยตุง
อ�ำเภอพาน วัดกล้วยทรายทอง ม.12 ต.สันมะเค็ด วัดกร๋าวโท้ง ม.2 ต.สันมะเค็ด วัดก�ำพร้าวัวทอง ม.7 ต.รทอง วัดกู่แก้ว ม.10 ต.แม่อ้อ วัดกู่สูง ม.2 ต.หัวง้ม วัดเกตุแก้ว ม.12 ต.เมืองพาน วัดเขื่อนเมือง ม.6 ต.หัวง้ม วัดคีรีธรรมาราม ม.13 ต.ป่าหุ่ง วัดคีรีมงคล ม.1 ต.เจริญเมือง วัดงิ้วเฒ่า ม.7 ต.ป่าหุ่ง วัดจ�ำคาวตอง ม.2 ต.ดอยงาม วัดจ�ำผักกูด ม.5 ต.แม่อ้อ วัดเจริญเมือง ม.4 ต.เจริญเมือง วัดชัยมงคล ม.1 ต.เมืองพาน วัดเชียงยืน ม.4 ต.สันกลาง วัดเชียงหมั้น ม.7 ต.สันกลาง วัดดงก้อม ม.6 ต.เวียงห้าว วัดดงขนุน ม.7 ต.ธารทอง วัดดงเจริญ ม.9 ต.หัวง้ม วัดดงชัย ม.8 ต.แม่อ้อ วัดดงตะเคียน ม.10 ต.เจริญเมือง วัดดงน�้ำล้อม ม.8 ต.แม่เย็น วัดดงมะคอแลน ม.7 ต.หัวง้ม วัดดงเวียง ม.8 ต.ทานตะวัน วัดดวงดี ม.2 ต.สันกลาง วัดดอนตัน ม.2 ต.เมืองพาน วัดเดื่อป่อง ม.9 ต.เจริญเมือง วัดไตรมัคคาราม ม.3 ต.ธารทอง วัดถ�้ำระบ�ำเพ็ญบุญ ม.11 ต.ธารทอง วัดทรายขาว ม.5 ต.ทรายขาว วัดทรายมูล ม.10 ต.เมืองพาน วัดทันใจ ม.10 ต.สันมะเค็ด วัดทาดง ม.8 ต.สันกลาง วัดท่าดอแก้ว ม.5 ต.ดอยงาม วัดท่าโพธิ์ทอง ม.18 ต.เมืองพาน วัดท่าเรือ ม.7 ต.สันมะเค็ด วัดท่าหล่ม ม.4 ต.ทานตะวัน วัดท่าฮ่อ ม.6 ต.ทรายขาว วัดทุ่งพร้าว ม.2 ต.ม่วงค�ำ วัดทุ่งมะฝาง ม.10 ต.ป่าหุ่ง วัดทุ่งสามเหลี่ยม ม.3 ต.เวียงห้าว วัดเทพวัน ม.1 ต.เมืองพาน วัดนันทาราม ม.8 ต.ม่วงค�ำ วัดบวกปลาค้าว ม.3 ต.หัวง้ม วัดบ้านกล้วย ม.5 ต.สันมะเค็ด วัดปอเรียง ม.7 ต.แม่อ้อ วัดป่ากร๋าว ม.13 ต.เมืองพาน วัดป่าแขม ม.5 ต.ป่าหุ่ง วัดป่าคา ม.2 ต.หัวงุ้ม วัดปางเกาะทราย ม.6 ต.ป่าหุ่ง
108
วัดป่างิ้วบ่อสร้าง ม.15 ต.ป่าหุ่ง วัดป่าซาง ม.1 ต.เมืองพาน วัดป่าฐานตะเคียนทอง ม.21 ต.เจริญเมือง วัดป่าแดงงาม ม.8 ต.สันมะเค็ด วัดป่าแดด ม.4 ต.ป่าหุ่ง วัดป่าถ่อนดอนแก้ว ม.11 ต.ม่วงค�ำ วัดป่าบงหลวง ม.3 ต.ป่าหุ่ง วัดป่าไผ่ ม.4 ต.เมืองพาน วัดป่าพระธาตุหลวง ม.11 ต.แม่เย็น วัดป่ายาง ม.8 ต.เจริญเมือง วัดป่รวก ม.1 ต.ธารทอง วัดป่าสักใต้ ม.6 ต.ทานตะวัน วัดป่าสักเหนือ ม.4 ต.แม่เย็น วัดป่าหัด ม.2 ต.ป่าหุ่ง วัดป่าหุ่ง ม.1 ต.ป่าหุ่ง วัดบึงเมือง ม.9 ต.ป่าหุ่ง วัดปูแกง ม.1 ต.แม่เย็น วัดโป่งแดง ม.8 ต.ทรายขาว วัดโป่งทะลาย ม.4 ต.แม่อ้อ วัดผาแดง ม.10 ต.สันกลาง วัดผาเต่าค�ำ ม.11 ต.สันมะเค็ด วัดผาวี ม.8 ต.ป่าหุ่ง วัดพระธาตุคือเวียง ม.13 ต.แม่อ้อ พระธาตุจอมแจ้ง ม.12 ต.ม่วงค�ำ วัดพระธาตุจอมรุ่ง ม.3 ต.แม่เย็น วัดพระธาตุจอมแว่ ม.11 ต.เมืองพาน วัดพระธาตุดงลาน ม.17 ต.ทรายขาว วัดพระธาตุน�้ำต้อง ม.2 ต.สันกลาง วัดพระธาตุบอ่ น�ำ้ ติบ๊ ม.16 ต.ทรายขาว วัดพระธาตุผาช้างมูบ ม.5 ต.แม่อ้อ
วัดพระธาตุสามดวง ม.1 ต.ป่าหุ่ง วัดพระปิน ม.7 ต.ม่วงค�ำ วัดพื้นเมือง ม.11 ต.สันกลาง วัดม่วงค�ำ ม.1 ต.ม่วงค�ำ วัดม่วงชุม ม.1 ต.เมืองพาน วัดม่อนป่าสัก ม.9 ต.แม่อ้อ วัดแม่แก้วใต้ ม.3 ต.แม่อ้อ วัดแม่คาววัง ม.1 ต.ทรายขาว วัดแม่เย็นเหนือ ม.3 ต.แม่เย็น วัดแม่อ้อนอก ม.2 ต.แม่อ้อ วัดแม่อ้อใน ม.11 ต.แม่อ้อ วัดร่องคต ม.1 ต.ทานตะวัน วัดร่องธาร ม.3 ต.ทรายขาว วัดร้องหลอด ม.3 ต.เมืองพาน วัดราษฏร์ด�ำรงค์ ม.5 ต.ธารทอง วัดราษฏร์ด�ำรงค์ ม.1 ต.ธารทอง วัดวังผาข้อน ม.9 ต.สันมะเค็ด วัดศรีชุม ม.6 ต.สันกลาง วัดศรีทรายมูล ม.2 ต.เจริญเมือง วัดศรีนพรัตน์ดอยแก้ว ม.15 ต.ม่วงค�ำ วัดศรีเมืองมูล ม.8 ต.หัวง้ม วัดศรีสุวรรณ ม.3 ต.สันติสุข วัดสว่างจันทร์ ม.7 ต.สันติสุข วัดสองแคว ม.2 ต.ธารทอง วัดสันกอง ม.2 ต.แม่เย็น วัดสันกอตาล ม.5 ต.สันติสุข วัดสันกอเหียง ม.4 ต.สันติสุข วัดสันก�ำแพง ม.9 ต.ดอยงาม วัดสันก�ำแพง ม.3 ต.ม่วงค�ำ วัดสันขี้เม้า ม.10 ต.ม่วงค�ำ วัดสันโค้ง ม.5 ต.สันกลาง
วัดสันโค้งเจริญสุข ม.11 ต.ดอยงาม วัดสันช้างตาย ม.5 ต.ดอยงาม วัดสันต้นดู่ ม.4 ต.สันมะเค็ด วัดสันต้นต้อง ม.9 ต.ม่วงค�ำ วัดสันต้นแหน ม.7 ต.แม่เย็น วัดสันทราย ม.1 ต.ดอยงาม วัดสันทราย ม.1 ต.ทรายขาว วัดสันธาตุ ม.10 ต.ดอยงาม วัดสันน�้ำบ่อ ม.6 ต.ม่วงค�ำ วัดสันปง ม.5 ต.ทานตะวัน วัดสันปลาดุก ม.5 ต.เมืองพาน วัดสันป่าหนาด ม.6 ต.ดอยงาม วัดสันปูเลย ม.2 ต.ทานตะวัน วัดสันผักแค ม.5 ต.ม่วงค�ำ วัดสันมะกอก ม.9 ต.ดอยงาม วัดสันมะเค็ด ม.1 ต.สันมะเค็ด วัดสันมะแฟน ม.6 ต.ธารทอง วัดสันมะเหม้า ม.4 ต.ม่วงค�ำ วัดสันไม้อาม ม.6 ต.แม่เย็น วัดสันละคร ม.3 ต.สันมะเค็ด วัดสันหลวง ม.7 ต.หัวง้ม วัดหนองควาย ม.4 ต.ดอยงาม วัดหนองตุ้ม ม.7 ต.ทรายขาว วัดหนองถ�้ำ ม.3 ต.สันกลาง วัดหนองทรายทอง ม.17 ต.ป่าหุ่ง วัดหนองบัวเงิน ม.5 ต.เมืองพาน วัดผักหนองจิก ม.4 ต.ทรายขาว วัดหนองหมด ม.11 ต.ดอยงาม วัดหนองฮ่าง ม.4 ต.หัวง้ม วัดห้วยเครือบ้า ม.6 ต.สันมะเค้ด วัดห้วยประสิทธิ์ ม.12 ต.ป่าหุ่ง
วัดหัวง้ม(ดอยงาม) ม.7 ต.ดอยงาม วัดหัวฝาย ม.9 ต.สันกลาง วัดเหมืองง่า ม.6 ต.สันติสุข วัดใหม่เจริญ ม.8 ต.เมืองพาน วัดใหม่พัฒนา (บ้านใหม่พัฒนา) ม. 11 ต.สันกลาง วัดเหมืองลึก ม.6 ต.โป่งแพร่ วัดหล่าชวนชม ม.6 ต.โป่งแพร่ วัดใหม่สามัคคี ม.12 ต.แม่อ้อ วัดอิงดอย ม.10 ต.แม่เย็น วัดอุดมวารี ม.8 ต.ทรายขาว วัดอรัญวิเวก ม.7 ต.ทานตะวัน
SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงราย
1058
.indd 108
13/2/2562 10:28:52
THE IMPORTANT TEMPLES CHIANG RAI
อ�ำเภอป่าแดด วัดดอนศิลา ม.8 ต.ศรี วัดต้นมื่น ม.7 ต.ป่าแดด วัดถ�ำ้ ผาจรุย ม.16 ต.ป่าแงะ วัดท่าน�ำ้ ม.3 ต.ป่าแดด วัดป่าเขาวงมหาวัน ม.5 ต.สันมะค่า วัดป่าวังศิลา ม.8 ต.สันมะค่า วัดป่าสัก ม.7 ต.ป่าแดด วัดป่าเส้าดอนชัย ม.2 ต.ป่าแงะ วัดพระธาตุจอมคีรี ม.11 ต.ป่าแดด วัดแม่พุง ม.5 ต.ป่าแดด วัดร่องเปา ม.7 ต.ป่าแงะ วัดวังผาสิลาราม ม.8 ต.สันมะค่า วัดศรีชุมประชา ม.8 ต.ป่าแดด วัดศรีดอนแก้ว ม.7 ต.โรงช้าง วัดศรีดอนมูล ม.3 ต.สันมะค่า วัดศรีบังวัน ม.5 ต.โรงช้าง วัดศรีบุญเกิด ม.4 ต.ป่าแงะ วัดศรีบุญยืน ม.3 ต.โรงช้าง วัดสันกองพัฒนาราม ม.8 ต.โรงช้าง วัดสันกู่ ม.1 ต.โรงช้าง วัดสันเจริญ ม.11 ต.ป่าแงะ วัดสันมะค่า ม.1 ต.สันมะค่า วัดหนองบัวค�ำ ม.9 ต.ป่าแดด วัดใหม่ใต้ ม.6 ต.ป่าแดด วัดใหม่พัฒนา ม.3 ต.ป่าแงะ วัดอาโยนาราม ม.8 ต.ศรีโพธิ์เงิน
อ�ำเภอแม่จัน วัดกาค�ำ ม.1 ต.แม่คำ� วัดกิ่งพร้าว ม.4 ต.จันจว้าใต้ วัดคงคาราม ม.5 ต.ศรีคำ�้ วัดจอมคีรี ม.1 ต.ป่าซาง วัดจอมจันทร์ ม.2 ต.สันทราย วัดจันตาโลก ม.4 ต.สันทราย วัดจันทราราม ม.15 ต.ป่าตึง วัดชัยมงคล ม.3 ต.สันทราย วัดเชื้อเจ็ดตน ม.8 ต.จันจว้า วัดโชติการาม ม.8 ต.แม่คำ� วัดไชยมงคล ม.3 ต.สันทราย วัดดงมะตืน ม.5 ต.แม่ไร่ วัดดอนมูล ม.1 ต.แม่ไร่ วัดดอยต่อ ม.3 ต.สันทราย วัดต้นยาง ม.7 ต.จันจว้า วัดถ�้ำจตุมหาพรหมมงคลเทพมุนี ม.5 ต.ป่าซาง วัดทรายมูล ม.5 ต.ป่าตึง วัดทรายมูล ม.2 ต.จันจว้า วัดทัพกุมารทอง ม.8 ต.ท่าข้าวเปลือก วัดท่าข้าวเปลือก ม.7 ต.ท่าข้าวเปลือก วัดท่าข้าวเปลือก ม.2 ต.ท่าข้าวเปลือก วัดทาสา (กาสา) ม.36 ต.แม่จัน วัดทุ่งต่าง ม.13 ต.ป่าตึง
วัดบ่อก้าง ม.1 ต.จอมสวรรค์ วัดบ่อน�้ำทิพย์ ม.3 ต.ท่าข้าวเปลือก วัดบ้านดง ม.6 ต.จันจว้า วัดบ้านโป่งน�้ำร้อน ม.11 ต.ป่าตึง วัดบ้านสันพัฒนา(บ้านสันมงคล) ม. 12 ต.แม่จัน วัดบ้านแหลว ม.6 ต.สันทราย วัดบ้านใหม่ ม.1 ต.จันจว้า วัดบ้านใหม่พัฒนา (ศิริพัฒนาราม) ม. 10 ต.ป่าซาง วัดปงอ้อ ม.11 ต.แม่จัน วัดป่ากุ๊ก ม.8 ต.จันจว้าใต้ วัดปางผักฮี้ ม.12 ต.ป่าตึง วัดป่าซาง ม.2 ต.ป่าซาง วัดป่าตึง ม.7 ต.ป่าตึง วัดป่าถ่อน ม.11 ต.จันจว้าใต้ วัดป่าบง ม.1 ต.ป่าตึง วัดป่าบงหลวง ม.3 ต.จันจว้าใต้ วัดป่าเปา ม.6 ต.แม่ค�ำ วัดป่ายาง ม.2 ต.ศรีค�้ำ วัดป่าสักหลวง ม.2 ต.จันจว้าใต้ วัดป่าหมากหน่อ ม.4 ต.จันจว้า วัดป่าห้า ม.6 ต.ป่าซาง วัดป่าเหมี้ยง ม.15 ต.ป่าซาง วัดธาตุจอมสักทอง ม.10 ต.ศรีค�้ำ วัดพระธาตุดอยกูแ่ ก้ว ม.1 ต.จันจว้าใต้ วัดพระพุทธบาทผาเรือ ม.11 ต.ท่าข้าวเปลือก
วัดโพธนาราม(โคธนาราม) ม.8 ต.สันทราย วัดไพรสณฑ์คีรี ม.9 ต.ท่าข้าวเปลือก วัดม่วงค�ำ ม.11 ต.แม่ค�ำ วัดม่วงชุม ม.9 ต.จันจว้าใต้ วัดแม่ค�ำ ม.2 ต.แม่ค�ำ วัดแม่ค�ำน�้ำลัด ม.3 ต.จันจว้า วัดแม่ค�ำสบเปิน ม.1 ต.แม่ค�ำ วัดแม่คี ม.7 ต.ป่าซาง วัดแม่แพง ม.5 ต.ท่าข้าวเปลือก วัดแม่ลัว ม.1 ต.ท่าข้าวเปลือก วัดแม่ลาก ม.6 ต.ท่าข้าวเปลือก วัดแม่สรวย ม.5 ต.จอมสวรรค์ วัดแม่สลองนอก ม.8 ต.ศรีค�้ำ วัดแม่สลองใน ม.4 ต.ป่าซาง วัดแม่หะ ม.3 ต.ท่าข้าวเปลือก วัดร่องก๊อ ม.4 ต.แม่ค�ำ วัดราษฏร์บูรณะ ม.5 ต.แม่ค�ำ วัดเวียงสา ม.7 ต.ศรีค�้ำ วัดศรีค�้ำ ม.3 ต.ศรีค�้ำ วัดศรีโคมค�ำ ม.9 ต.แม่ค�ำ วัดศรีเกิด ม.3 ต.ยางฮอม วัดศรีพบรรพต ม.10 ต.ท่าข้าวเปลือก วัดศรีบุญเรือง ม.4 ต.แม่จัน วัดศรีมงคล ม.8 ต.แม่จัน วัดศรียางมูล ม.8 ต.ป่าซาง วัดสบแพง ม.4 ต.ท่าข้าวเปลือก วัดสันกอง ม.7 ต.แม่ไร่
วัดสันขี้เหล็ก ม.4 ต.จอมสวรรค์ วัดสันคือ ม.12 ต.ป่าซาง วัดสันโค้ง ม.10 ต.ป่าตึง วัดสันโค้งงาม ม.7 ต.จอมสวรรค์ วัดสันติวนาราม ม.2 ต.จันจว้า วัดสันทราย ม.1 ต.สันทราย วัดสันทางหลวง ม.12 ต.จันจว้าใต้ วัดสันนา ม.3 ต.แม่ค�ำ วัดสันนายาว ม.6 ต.ศรีค�้ำ วัดสันสลีหลวง ม.4 ต.ศรีค�้ำ วัดสันหลวงใหม่ ม.10 ต.จันจว้าใต้ วัดสิรัฒนาราม ม.10 ต.ป่าซาง วัดสุวรรณคีรี ม.5 ต.แม่จัน วัดสุวรรณมงคล ม.5 ต.สันทราย วัดหนองครก ม.6 ต.จันจว้าใต้ วัดหนองปิ๋ง ม.5 ต.จันจว้าใต้ วัดหนองร่อง ม.8 ต.จันจว้า วัดหนองแว่น ม.9 ต.แม่จัน วัดหนองแหย่ง ม.7 ต.แม่คำ� วัดหนองอ้อ ม.15 ต.ป่าซาง วัดหมื่นพุทธเมตตาคุณาราม ม.9 ต.ท่าข้าวเปลือก วัดห้วยน�้ำราก ม.5 ต.จันจว้า วัดห้วยมะหินฝน ม.14 ต.3ป่าตึง วัดห้วยไร่ ม.6 ต.แม่ไร่ วัดหัวรินค�ำ ม.6 ต.จอมสวรรค์ วัดเหมืองกลาง ม.1 ต.ศรีค�้ำ
CHIANG RAI I SBL บันทึกประเทศไทย
1058
.indd 109
109
13/2/2562 10:28:56
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัย้อนเวลาหาพระพุ ดถ�้ำปลา ทธเจ้า
ณ วัดถ�้ำปลา ...ถ�ำ้ แห่งนี้มีต�ำนาน พระใบฎีกาหล้า ภูริวฑฺฒโน รักษาการเจ้าอาวาส
วัดถ�ำ้ ปลา ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 55 บ้านห้วยปูแกง หมูท่ ี่ 5 ต�ำบลโป่งงาม อ�ำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ภาค 6 วัดมีเนือ้ ทีจ่ ำ� นวน 13 ไร่ 93 เศษสามส่วนสิบตารางวา ตามเอกสารสิทธิ์ โฉนดเลขที่ 48436 ได้รับอนุญาตให้ตั้งวัดเมื่อ พ.ศ. 2482 และได้จัด ขึ้นทะเบียนเป็นวัด เมื่อวันที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2483 มีพระภิกษุ จ�ำพรรษาโดยตลอดไม่ขาด ปัจจุบนั พระใบฎีกาหล้า ภูรวิ ฑฺฒโน รักษาการ เจ้าอาวาส มีพระภิกษุ 2 รูป สามเณร 9 รูป และลูกศิษย์วัด 29 คน
ประวัติวัดถ�้ำปลา
วัดถ�ำ้ ปลา เป็นโบราณสถานทางพระพุทธศาสนาทีเ่ ก่าแก่ มีสภาพแวดล้อม เป็นป่าเขา ถ�้ำ และล�ำห้วยมาแต่เดิม สถานที่จุดนี้อยู่ในเขาลูกหนึ่งอันเป็น
บริวารของดอยนางนอน ห่างจากดอยตุงมาทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ แต่ครั้งอดีตได้เป็นที่มาอยู่ปฏิบัติสมณธรรมของนักพรตนักบวชต่างๆ เช่น ฤาษี ชีปะขาว ตลอดจนพระภิกษุผู้ปฏิบัติธุดงค์จากที่ต่างๆ ไม่ว่า 110
2
จะเป็นพระไทย จีน พม่า ลาว ได้มาอาศัยจ�ำพรรษาอยู่ จนเกิดต�ำนาน เกี่ยวกับถ�้ำปุ่มถ�้ำปลาขึ้นมาตั้งแต่ยุคร่วมสมัยโยนกเชียงแสนเป็นต้นมา เนือ่ งจากบริเวณนีม้ ถี ำ�้ มีลำ� น�ำ้ ทีไ่ หลออกจากถ�ำ้ และฝูงปลานานาชนิด อาศัยอยูโ่ ดยธรรมชาติ ผูค้ นจึงเรียกกันว่า ถ�ำ้ ปลา เนือ่ งจากความศรัทธา ในพระพุทธศาสนา จึงได้มีผู้ก่อสร้างพระเจดีย์และพระพุทธรูปขึ้นทั้ง ภายในถ�ำ้ และบริเวณหน้าถ�ำ้ แห่งนี้ จึงได้เกิดเป็นพุทธสถานขึน้ โดยผูก เป็นประวัติต�ำนานขึ้นว่า ยุคก่อนที่จะมีเมืองเชียงแสน สถานที่แห่งนี้ ตามต�ำนานโยนกกล่าวว่า เป็นสถานที่ที่องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงราย
.indd 110
11/2/2562 15:05:26
เสด็ จ มาประทั บ อิ ริ ย าบถแล้ ว ได้ ท รงอธิ ษ ฐานปล่ อ ยปลาลงในถ�้ ำ ตามต�ำนานกล่าวว่า เมื่อครั้งพระพุทธเจ้าเสด็จมาโปรดสัตว์ และออก บิณฑบาตที่เมือง โยนกนาคะนครไชยบุรีศรีช้างแสน ได้ด�ำเนินเลียบ เชิงเขามายังถ�ำ้ แห่งหนึง่ (ถ�ำ้ เปลวปล่องฟ้าในปัจจุบนั ) ปรากฏว่ามีชาวบ้าน น�ำปลาหนีบไม้ปิ้งมาใส่บาตรพระพุทธเจ้า พระองค์ทรงอธิฐานให้ปลา กลับมามีชีวิตใหม่อีกครั้ง จากนั้นได้ปล่อยลงรูเหวในถ�้ำเกิดเป็นธารน�ำ้ ไหลออกมาทางหน้าผาด้านตะวันออก จากนั้นพระพุทธเจ้าทรงน�ำ ก้อนหินปิดรูเหวที่เทน�้ำลงไป และน�ำเส้นพระเกศาไว้ในหินให้เป็นที่ สักการบูชาของคนทัว่ ไป จนกระทัง่ ราวพุทธศตวรรษที่ 15 เจ้าอุชตุ ราช ผูค้ รองโยนกนคร ได้สถาปนาหินก้อนนีเ้ ป็นพระเจดีย์ และบรรจุพระบรม สารีรกิ ธาตุไว้ใน นับแต่นนั้ มาจึงเรียกกันว่า ถ�ำ้ ปลา นอกจากนีย้ งั มีฝงู ลิง ฝูงค่าง ฝูงนกป่า ฝูงปลา อาศัยอยู่ประจ�ำ ปัจจุบันฝูงค่างได้สูญพันธุ์ไป หมดแล้ว วัดถ�้ำปลา นอกจากเป็นโบราณศาสนสถานที่ถือว่าศักดิ์สิทธิ์ ทางพระพุทธศาสนาแล้ว ยังเป็นสถานทีท่ ผี่ คู้ นมาท่องเทีย่ วและสักการะ อยู่ไม่ขาด ทุกๆ ปีจะมีงานประเพณีนมัสการในเดือน 6 เหนือ (4 ใต้) แรม 8-9 ค�ำ่ เป็นประจ�ำ
ประวัติ พระใบฎีกาหล้า ภูริวฑฺฒโน รักษาการเจ้าอาวาส
อายุ 23 ปีพรรษาที่ 4 เดิมชื่อนาย หล้า นามสกุล ค�ำแสน ส�ำเร็จ ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 3 จากศูนย์การศึกษานอกโรงเรียน (กศน.)ต�ำบลโป่งงาม และ ส�ำเร็จการศึกษานักธรรมเอก และส�ำเร็จการศึกษาเปรียญธรรม 1-2 ปัจจุบันรักษาการเจ้าอาวาสวัดถ�้ำปลา
ศาสนสถานภายในวัด
1.พระเจดีย์เกศาธาตุ (ถ�้ำเปลวปล่องฟ้า) 2.พระเจดีย์อินทร์แปลง 3.พระเจดียน์ พจุฑามณี 9 ยอด 4.พระวิหารหลวงวัดถ�ำ้ ปลา 5.พระอุโบสถ พึ่งก่อสร้าง และ 6.กุฏิ 5หลัง
กิจกรรมของวัดและการท่องเที่ยว
วัดได้จดั ให้มกี จิ กรรมทีจ่ ดั เป็นประจ�ำทุกปี คือ ประเพณีสรงน�ำ้ พระธาตุ ทุกเดือน 6 เหนือ (4 ใต้) แรม 8-9 ค�่ำ โดยในปี พ.ศ. 2561 มีผู้เข้าร่วม กิจกรรมประมาณ 200 กว่าคน ขอเชิญสาธุชนเดินทางมาท่องเทีย่ วศึกษาธรรมได้ทกุ วันไม่เว้นวันหยุดราชการ CHIANG RAI I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 111
111
11/2/2562 15:05:34
ท�ำเนียบเจ้าอาวาส
1. พระ...ไม่ทราบฉายา พ.ศ. 2483-2486 2. พระบุญชุ่ม สุจิตฺโต พ.ศ. 2487-2493 3. พระนิรมล สุทฺธิญาโณ พ.ศ. 2494-2503 4. พระข่าย อตฺตคุตฺโต พ.ศ. 2504-2507 5. พระดวงจันทร์ เขมโก พ.ศ. 2508-2509 6. พระวิชาญ กนฺตวณฺโณ พ.ศ. 2510-2511 7. พระเครื่อง คุตฺตจิตฺโต พ.ศ. 2512-2519 8. พระอุดม ปญฺญาวุโธ พ.ศ. 2520-2521 9. พระครูวินัยธรจ�ำลอง ปญฺญาวโร พ.ศ. 2521-2522 10. พระเกษม ติกฺขปญฺโญ พ.ศ. 2523-2525 11. พระประเสริฐ กนฺตวีโร พ.ศ. 2526-2527 12. พระจ�ำลอง ปญฺญาคุตฺโต พ.ศ. 2527-2528 13. พระไพโรจน์ ปญฺญาธโร พ.ศ. 2528-2530 14. พระบุญชุม ปทุมวณฺโณ พ.ศ. 2530-2532 15. พระครูสมานธรรมคุณ พ.ศ. 2532-2547 16. พระทวี กนฺตวีโร พ.ศ. 2547-2548 17. พระสวิน ฐิตญาโณ พ.ศ. 2548-2551 18. พระสมาน ธีรปญฺโญ พ.ศ. 2552-2553 19. พระอธิการสังวาลย์ ธมฺมวโร พ.ศ. 2553-2557 20. พระใบฎีกาหล้า ภูริวฑฺฒโน พ.ศ. 2558-ปัจจุบัน
ต�ำนานฤาษี ผูส้ ร้างพระเจดียอ์ นิ ทร์แปลง(พระอินทร์แถลง)
ประดิษฐานอยูบ่ นยอดผาเหนือพระวิหาร เป็นเจดียแ์ บบศิลปะพม่า ก่อด้วยอิฐดินเผา ตัง้ อยูบ่ นยอดผาเหนือพระวิหาร สร้างเมือ่ พ.ศ. 2440 โดยฤาษีพม่าอูส่วยหล่า ตามค�ำบอกเล่าของผู้เฒ่าผู้แก่ท่านหนึ่ง เมื่อ พ.ศ. 2499 ทีไ่ ด้เคยเห็นการก่อสร้างเจดียเ์ ล่าว่า ฤาษีได้ลงมือก่อสร้างเอง เกือบทั้งสิ้น โดยเฉพาะการก่อและฉาบปูน ตลอดจนถึงยอดฉัตรและ เจดีย์ ซึง่ ไม่มใี ครกล้าสามารถไต่ขนึ้ ไปได้เพราะกลัวความสูง แต่ฤาษีทา่ นนี้ สามารถท�ำนั่งร้านไม้ไผ่แบบง่ายๆ ยึดติดกับหน้าผา ไต่ขึ้นลงอย่ า ง คล่องแคล่วประดุจพญาวานร ผู้คนที่มายืนดูต่างแปลกใจในความ สามารถพิเศษของท่าน นอกจากนี้ท่านยังมีไม้เท้าวิเศษ ที่ใช้เคาะคนที่ เจ็บป่วยให้หายป่วยไข้ได้ บางทีก็ให้ผู้คนนอนเรียงกันเป็นแถวแล้ว ตัวฤาษีเองก็ขนึ้ เดินเหยียบหลังผูค้ นเหล่านัน้ โดยทีท่ กุ คนไม่ทนั รูส้ กึ ขณะที่ ท่านเดินเหยียบบนหลังตนเอง และเชื่อว่าหากท่านได้เหยียบใครแล้ว ผู้นั้น จะปราศจากโรคภัย หายจากพยาธิทงั้ ปวง หลังจากสร้างพระเจดียเ์ สร็จแล้ว
112
2
SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงราย
.indd 112
11/2/2562 15:05:35
ประวัติ พระเจดียถ์ ำ�้ เปลวปล่องฟ้า
ถ�้ำเปลวปล่องฟ้าอยู่ทางทิศใต้ของวัดถ�้ำปลา โดยการขึ้นบันไดไป 200 กว่าขั้น เป็นปูชนียสถานในพระพุทธศาสนามานับพันปี ในช่วง พุทธศตวรรษที่ 15 พระเจ้าเมืองอุชุตตราชเจ้าครองนครโยนก องค์ที่ 3 แห่งราชวงค์สิงหนะวัติ ได้รับสั่งให้สถาปนาพระเจดีย์และโปรดให้บรรจุ พระเกศาขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ณ พระเจดีย์ถ�้ำเปลว ปล่องฟ้าด้านบนภูเขา และด้านล่างมีกระแสธารน�้ำไหลออกมาจากใต้ ภูเขา คือถ�ำ้ ปลานั้นเอง ถ้าหากอยู่ตรงกลางของถ�ำ้ แล้ว แหงนมองดูขึ้น ข้างบนจะเห็นได้วา่ มีเปลวปล่องเห็นท้องฟ้า จึงเรียกถ�ำ้ นีว้ า่ ถ�ำ้ เปลวปล่องฟ้า มาจนทุกวันนี้ ภายในถ�ำ้ มีของศักดิ์สิทธิ์หลายอย่าง คือ 1. พระธาตุเจดีย์ ที่บรรจุพระเกศาของพระพุทธเจ้า 2. พระพุทธรูปสิงห์หนึ่ง อันเก่าแก่เป็นพระประธานให้พรส�ำหรับ ผู้เดินทางมาสักการบูชากราบไหว้ 3. รูปพระสังกัจจายน์ 4. รูปเทพบุตรเทพธิดา 5. รูปเจ้าแม่กวนอิม 6. รูปถุงเงินถุงทอง 7. หินงอกหินย้อย 8. บ่อน�้ำทิพย์อันศักดิ์สิทธิ์ 5 บ่อ
พระธาตุเจดีย์นพจุฑาเก้ายอด
เป็นเจดีย์ทรงสี่เหลี่ยมมีเก้ายอด ก่อด้วยศิลาแลงทั้งองค์ภายใน พระเจดีย์บรรจุพระบรมสาริกธาตุ เริ่มก่อสร้างเมื่อพ.ศ. 2523 ปีวอก สร้างเสร็จเมือ่ พ.ศ. 2525 ตรงกับวันมาฆบูชา โดยพระคุณเจ้าหลวงพ่อ ดาบส สุมโน แห่งอาศรมเวฬุวนั จังหวัดเชียงราย ได้มาเป็นประธานการ ก่อสร้างและได้น�ำพระบรมสาริกธาตุที่มีผู้น�ำมาถวาย จากเชียงราย เชียงใหม่ สุโขทัย ประเทศพม่า ประเทศอินเดีย เข้าบรรจุไว้ดว้ ย พระเจดีย์ องค์นี้ ทุกอย่างส�ำเร็จลงด้วยแรงศรัทธาบริจาคของประชาชนที่มีต่อ พระพุทธศาสนา และผู้เลื่อมใสในหลวงพ่อดาบส สุมโน จึงไม่สามารถ ประมาณค่าก่อสร้างออกมาเป็นราคาได้ ซึ่งหลวงพ่อได้ประกอบพิธี มอบพระเจดีย์นี้ไว้วัดถ�้ำปลาเป็นสมบัติของพระรัตนตรัยให้อุดมทัศนา กราบไหว้สักการบูชาแก่เทพเทวดาเหล่าศรัทธาประชาชนทั่วไปอันจะ เป็นเหตุปัจจัยให้ได้บุญกุศลทิพย์ทั้งภพนี้และภพหน้าฯ
ท่านฤาษีก็ได้ออกจากถ�้ำปลานี้ไปโดยไม่มีใครทราบร่องรอยว่าท่านไป อยู่ ณ แห่งใด แต่ท่านได้ฝากพระเจดีย์ไว้เพื่อให้ผู้คนได้สักการบูชาดู ต่างหน้าท่านจนปัจจุบันนี้ (อูส่วยหล่า หมายถึง ทองบริสุทธิ์ที่สวยงดงาม )
สถานที่ท่องเที่ยวภายในวัดถ�้ำปลา
1.ถ�้ำปลา 2.ถ�้ำเปลวปล่องฟ้า 3.ถ�้ำกู่แก้ว 4.ถ�้ำน้อย 5.พระเจดีย์ นพจุฑามณี 9 ยอด 6.พระเจดีย์อินทร์แปลง 7.พระเจดีย์เกศาธาตุ 8.ศาลเจ้าแป๊ะกง 9.ศาลเจ้าพ่อถ�้ำปลา CHIANG RAI I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 113
113
11/2/2562 15:05:39
บันทึกปูมประวัติ “วัดปางห้า”
วัดปางห้า
อธิษฐานจิต “พระธาตุทันใจ” สติมาปัญญาเกิด พระอธิการนิคม ปญฺญาวชิโร ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดปางห้า
วัดปางห้า เป็นวัดราษฎร์ อยูใ่ นเขตปกครองคณะสงฆ์ มหานิกาย ตั้งอยู่เลขที่ 299 บ้านปางห้า หมู่ 1 ถนนเหมืองแดง ซอย 9 ต�ำบล เกาะช้าง อ�ำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย วัดมีเนือ้ ทีจ่ ำ� นวน 6 ไร่ 2 งาน 99 ตารางวา ได้รับอนุญาตให้ตั้งวัดเมื่อปีพ.ศ. 2484 และได้รับ พระราชทานวิสงุ คามสีมา เมือ่ วันที่ 18 มิถนุ ายน พ.ศ.2536 ปัจจุบนั พระอธิการนิคม ปญฺญาวชิโร ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส และมีพระภิกษุ จ�ำพรรษา 3 รูป กับสามเณรอีก 6 รูป 114
2
วัดปางห้า เริม่ ก่อตัง้ เป็นทีพ่ กั สงฆ์ในปี พ.ศ.2483 โดยย้ายไปบริเวณ ต่างๆ ภายในหมู่บ้านปางห้า ถึง 5 แห่งคือเขต ปง จ๊อก ป่าติ้ว แล้ว กลับมาตั้งที่บริเวณ ปง อีกครั้งจนถึงปีพ.ศ.2498 พ่อก�ำนันเป็ง มุกแก้ว ก�ำนันต�ำบลเกาะช้าง และเป็นผูน้ ำ� หมูบ่ า้ นปางห้าในสมัยนัน้ ได้เริม่ วาง แบบแผนการสร้างวัดให้มนั่ คง สมัยนัน้ มีชาวบ้านอยูอ่ าศัยอยูใ่ นหมูบ่ า้ น 60 หลั ง คาเรื อ น พ่ อ ก� ำ นั น เป็ ง มุ ก แก้ ว ได้ ข อบริ จ าคที่ ดิ น จาก โรงงานยาสูบเพือ่ สร้างเป็นวัดประจ�ำหมูบ่ า้ นปางห้า โดยมี พ่อหมู มงคลคลี, พ่ออ้าย มงคลคลี,พ่อแอ ธิดา พ่อหนานวัน อินตา,พ่อหนานจันทร์ ปัญญา,พ่อแก้ว แสนสลี, และ พ่อสุข จันต๊ะก๋อง ได้ร่วมกันเป็นก�ำลัง ส�ำคัญในการก่อตั้งวัดปางห้า ต่อมาได้ก่อสร้างศาลาขึ้น 1 หลัง เป็นศาลาไม้ชั้นเดียวหลังคามุง ด้วยหญ้าคาฝาสานไม้ไผ่ พืน้ ปูดว้ ยฟาก (ไม้ไผ่สบั ให้แบน) เพือ่ ใช้เป็นทีอ่ ยู่ และประกอบศาสนพิธี โดยมี เจ้าอาวาสคือ พระค�ำอ้าย ปญฺโญ และ พ่อมี นาใจ เป็นไวยาวัจกร หลังจากนั้นได้พัฒนาวัดมาโดยตลอด กระทัง่ เมือ่ ปีพ.ศ. 2532 พระธีรพล ธีรพโล (พระครูพศิ าลธีรธรรม) ร่วมกับพ่อก�ำนันแสงสนิท ไชยศรี พร้อมชาวบ้านปางห้าทุกหลังคาเรือน ร่วมพัฒนาก่อสร้างเสนาสนะในวัดปางห้า อุโบสถ กุฏิสงฆ์ ซุ้มประตู ฯลฯ ตลอดจนได้ก่อตั้ง โรงเรียนพระปริยัติธรรม หน่วยสงเคราะห์ พุทธมามกะ
ประวัติท่านเจ้าอาวาสโดยสังเขป
พระอธิการนิคม ฉายา ปญฺญาวชิโร อายุ 35 ปี พรรษาที่ 15 เดิมชือ่ นายนิคม ธิเนตร ส�ำเร็จการศึกษาสามัญสูงสุดจากมหาวิทยาลัยสุโขทัย ธรรมาธิราช และส�ำเร็จการศึกษานักธรรมเอก ปัจจุบันเป็นเจ้าอาวาส วัดปางห้า
SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงราย
.indd 114
8/2/2562 14:49:34
ล�ำดับเจ้าอาวาสตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
1. พระค�ำอ้าย ปญฺโญ พ.ศ.2498-2503 2. พระอินสอน ฐิตปญฺโญ พ.ศ.2504-2505 3. พระบรรเลง สุจิตฺโต พ.ศ.2506-2515 4. พระบุญทา กิตฺติวณฺโณ พ.ศ.2516-2517 5. พระศรีเมือง สิริวณฺโณ พ.ศ.2518-2518 6. พระค�ำอ้าย ปญฺโญ พ.ศ.2519-2526 7. พระเมืองใจ สีลสาโร พ.ศ.2527-2531 8. พระอธิการธีรพล ธีรพโล (พระครูพศิ าลธีรธรรม) พ.ศ.2532-2557 9. พระอธิการนิคม ปญฺญาวชิโร พ.ศ.2558-ปัจจุบัน ศาสนสถาน ประกอบด้วย พระธาตุทันใจ, พระวิหาร, พระอุโบสถ, กุฏิ 2 หลัง, อาคารหอประชุม/อาคารเอนกประสงค์, หอฉัน, ฌาปนสถาน และห้องสุขา
พระธาตุทันใจ
สร้างขึ้นเมื่อเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ.2539 โดย พระครูบาบุญชุ่ม ญาณสังวโร เป็นประธาน ใช้เวลาในการด�ำเนินการก่อสร้างจนแล้วเสร็จ ในหนึ่งปี โดยความหมายของชื่อ “พระธาตุทันใจ” ก็คือ หากบุคคลใด ช�ำระจิตให้บริสทุ ธิแ์ ละอธิษฐานจิตปรารถนาสิง่ ใดก็จะสมดัง่ ใจหมายใน ทันที
พระพุทธรูป พระพยนต์ลาวัลย์อรหันต์พุทโธ
จากความศรัทธาของคุณพยนต์ และ คุณลาวัลย์ ญาณนาม ผูจ้ ดั การ โรงบ่มใบยาเวียงแก้วคหบดีผู้ถวายที่ดินเพื่อสร้างวัดปางห้า จึงได้สร้าง พระพยนต์ลาวัลย์อรหันต์พทุ โธ ถวายเป็นพระประธานภายในวิหาร เมือ่ วันที่ 28 ธันวาคม พ.ศ.2533 แท่นแก้วพระประธานในวิหาร สร้างโดย พระครูบาบุญชุม่ ญาณสังวโร แล้วเสร็จภายในคืนเดียว
สืบสานศิลปวัฒนธรรมประเพณี เพื่อสืบทอดพระพุทธศาสนาให้ยืนยาวตลอดไป
ประเพณีสรงน�้ำพระธาตุทันใจ จัดขึ้นในวันวิสาขบูชาของทุกๆ ปี โดยในปีทผี่ า่ นมา มีผเู้ ข้าร่วมกิจกรรมประมาณ 800 คน จากหน่วยงาน สถานศึกษา องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ และประชาชนในพืน้ ที่ ซึง่ ท่าน นายอ�ำเภอแม่สาย ท่านนายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลเกาะช้าง ท่าน ก�ำนันต�ำบลเกาะช้างและคณะครูนักเรียนโรงเรียนบ้านปางห้า เดินทาง มาร่วมกิจกรรมตลอดวัน ตั้งแต่เช้าจรดค�่ำ โดยเริ่มจากท�ำบุญตักบาตร จากนัน้ เข้าสูพ่ ธิ สี บื ชะตาหลวง สรงน�ำ้ พระธาตุทนั ใจ แล้วสวดมนต์เจริญ สมาธิภาวนาช่วงค�่ำ ปิดท้ายด้วยการเดินอย่างมีสติเวียนเทียนอัญเชิญ ผ้าห่มครองพระธาตุทันใจด้วยความศรัทธาอย่างเต็มเปี่ยม
วัดปางห้ามีการจัดค่ายคุณธรรมอบรมนักเรียนเป็นประจ�ำทุกปี ติดต่อร่วมบุญกุศล และกิจกรรมของวัดปางห้าได้ที่ โทรศัพท์ 087-661-8734
CHIANG RAI I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 115
115
8/2/2562 14:49:39
วัเปิดดต�ำนานพุ ถ�้ำทธสถาน ปุ่มถ�้ำปุ่ม ถ�้ำปลา และดอยตุง
กับการเสด็จมาของพระพุทธเจ้าก่อนปรินิพพาน ณ พ.ศ. 1 พระไพรินทร์ จนฺทโก ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดถ�้ำปุ่ม
วัดถ�้ำปุ่ม ตั้งอยู่เลขที่ 205 หมู่ 2 ต�ำบลโป่งงาม อ�ำเภอแม่สาย จั ง หวั ด เชี ย งราย สังกัด คณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดิน ตั้ง วัด 74 ไร่ พื้นที่ราบติดเทือกเขาดอยนางนอน (ส่วนหน้าอกของดอยนางนอน) ห่างจากถนนพหลโยธิน ประมาณ 3 กิโลเมตร ทางด้านทิศตะวันตก แนวเทือกเขาดอยนางนอน ภายในเขตวัดมีถำ�้ อยูถ่ ำ�้ หนึง่ เรียกว่า ถ�ำ้ ปุม่ มีทางบันไดนาคเดินขึ้นไปบนถ�้ำประมาณ 82 ขั้น ซึ่งเป็นถ�้ำที่เก่าแก่ มีพระธาตุเจดีย์รูปตุ่มคว�่ำ ประดิษฐานอยู่ปากทางเข้าถ�้ำ ซึ่งตาม ต�ำนานมีหลักฐานบันทึกไว้วา่ มีพระบรมสารีรกิ ธาตุสว่ นพระเกศาของ องค์ ส มเด็ จ พระสั ม มาสั ม พุ ท ธเจ้ า ประดิ ษ ฐานอยู ่ ใ นพระเจดี ย ์ (พระเกศาองค์ปัจจุบันพระสมณะโคดม) 116
ต�ำนานพุทธสถาน ถ�้ำปุ่ม ถ�้ำปลา พระธาตุดอยตุง มีความส�ำคัญ คือ เป็นสถานทีท่ พี่ ระพุทธเจ้าทุกพระองค์ในภัทรกัลป์นเี้ คยเสด็จมาและ มีพระบรมสารีรกิ ธาตุบรรจุอยูใ่ นพระบรมเจดียแ์ ต่ละองค์ เช่น พระธาตุ เจ้าดอยตุงมีพระรากขวัญเบื้องซ้าย (กระดูกไหปลาร้า) ถ�้ำปุ่ม ถ�้ำปลามี พระบรมสารีรกิ ธาตุสว่ นพระเกศาขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า องค์ปัจจุบันอยู่ พุทธสถานถ�ำ้ ปุม่ ตามต�ำนานพระธาตุดอยตุงและพระธาตุชอ่ แฮใน เมืองแพร่ กล่าวไว้วา่ เป็นถ�ำ้ วิเศษลูกหนึง่ อยูท่ างทิศด้านเหนือของเวียง พระเจ้าอะชุตะราช เป็นถ�้ำที่พระพุทธเจ้าทั้ง 4 พระองค์ เสด็จมาฉัน ข้าวภัทรกัปป์นี้ ดังมีพระบาลีในเบื้องต้น อิมสฺมึ ภทฺทะกปฺเป จตุพุทธะ ภุญชิตวา ดังนีเ้ ป็นต้น อีกทัง้ เป็นทีอ่ ยูว่ เิ วกธรรมแห่งลูกศิษย์พระตถาคต เจ้าทั้งหลายเหมาะแก่การเจริญกรรมฐานวิปัสสนาญาณ เป็นอย่างมาก คูหาถ�้ำอุโมงค์นี้เป็นที่อันวิเศษอุดมแก่อริยะเจ้าทั้งหลาย แล ตามต�ำนานเรือ่ งราวของถ�ำ้ ปุม่ นี้ ตามพงศาวดารโยนกได้กล่าวไว้วา่ หลังพระพุทธเจ้าตรัสรู้ย่างเข้าพรรษาที่ 6 พระองค์เสด็จจากเมืองกบิล พัสดุม์ าประทับยังแคว้นโยนกนาคพันธุสงิ หนวัตนิ คร (เมืองเชียงแสนใน ปัจจุบนั ) และเมือ่ ย่างเข้าพรรษาที่ 20 พระองค์ได้เสด็จมายังแคว้นโยนก
SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงราย
2 sohk.indd 116
8/2/2562 11:44:48
อีกครั้งหนึ่งเพื่อมาโปรดพระยาคันธราช เจ้าผู้ครองเมืองโยนกซึ่งเสวย ราชใหม่ๆ ในครัง้ นัน้ พระองค์ถอื โอกาสไปโปรดปูเ่ จ้าลาวจกทีด่ อยปูเ่ ฒ่า หรือปู่เจ้า และพระองค์ได้ตรัสพยากรณ์ไว้ว่าต่อไปภายหน้าดอยปู่เฒ่า หรือ ดอยแดงนีจ้ กั เป็นทีป่ ระดิษฐานพระบรมธาตุ และพระศาสนาจักเจริญ ประชาชนทั้งหลายจักมีศีลมีธรรมประจ�ำจิตทุกคน และพระองค์เสด็จ มาฉันน�้ำทิพย์ที่คูหาถ�้ำปุ่ม แล้วทรงเดินจงกรมบนทิวดอยหลังถ�้ำปลา มอบพระเกศาประดิษฐานไว้ ณ ถ�้ำปุ่มและถ�้ำปลา ต่อมา พระยาคันธราชผูน้ เี้ ป็นโอรสของพระเจ้าสิงหนวัตผิ สู้ ร้างนคร โยนกในพงศาวดารได้กล่าวไว้โดยสรุปพอสังเขปว่า พระเจ้าสิงหนวัติ ครองพระราชสมบัตินับแต่อายุ 18 ปี ต่อมาพระองค์ทรงรับโอวาทของ พระพุทธเจ้าแล้วก็ทรงบ�ำเพ็ญ ทาน ศีล ภาวนา และรักษาศีล 5 ศีล 8 โดยท�ำนองครองธรรม บ�ำรุงราชอาณาจักรตลอดจนสมณะพราหมณ์ และทวยราษฎร์ประชากรให้อยู่เย็นเป็นสุขโดยสวัสดีมาได้ 29 ปี จนมี พระชนมายุได้ 71 ปี ก็สิ้นชีพทิวงคต ในศักราช 148 ตรงกับปี พระพุทธเจ้านิพพาน ต่อมาพระโอรสของพระเจ้าคันธราชทรงพระนามว่า อะชุตะราชกุมาร ได้ครองราชย์สมบัติสืบต่อไปในปี พ.ศ.1 คือเป็นปีที่ พระพุทธเจ้าปรินิพพาน วัดถ�้ำปุ่มก่อตั้งเป็นส�ำนักสงฆ์มาเป็นเวลาหลายสิบปี จนกระทั่ง ได้ยกฐานะขึ้นเป็นวัดโดยสมบูรณ์เมื่อวันที่ 21 สิงหาคม พ.ศ.2558 จนกระทั่งปัจจุบันมี พระไพรินทร์ จนฺทโก รักษาการเจ้าอาวาส อาคาร เสนาสนะต่างๆ มีดังนี้ คือ ศาลาการเปรียญ ( วิหาร) 1 หลัง, กุฏิสงฆ์ 10 หลัง, ศาลาหอฉัน 1 หลัง, โรงทาน 1 หลัง, หอระฆัง 1 หลัง, ห้องน�ำ้ 19 ห้อง, พระพุทธรูปองค์ใหญ่ 1 องค์ ,มีบนั ไดพญานาค ทางขึน้ สูถ่ ำ�้ ปุม่ บนถ�้ำมีพระบรมธาตุเจดีย์ 2 องค์, ธูปตุ่มคว�่ำ 1 องค์ องค์เล็ก 1 องค์, พระปางไสยาสน์ 1 องค์, พระสังกัจจายน์ 1 องค์, พระพุทธรูปปางยืน 1 องค์ ตรงสุดถ�้ำรูปนั่ง 2 องค์ และมีบ่อน�้ำทิพย์ 1 บ่อ ซึ่งทอดลงมา จากหินย้อยรูปคล้ายพระหัตถ์ขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ซึ่งบ่อน�้ำทิพย์นี้มิเคยแห้งเลย มีผู้คนศรัทธา ญาติโยมได้มาอธิษฐาน ขอน�ำน�้ำทิพย์นี้ไปดื่มกิน อาบ เพื่อความเป็นสิริมงคลเป็นจ�ำนวน มากมาย ซึง่ เชือ่ กันว่าให้หายจากโรคภัยไข้เจ็บและน�ำไปท�ำประกอบพิธี ท�ำน�้ำมนต์ในพิธีตา่ งๆ เป็นต้น ประเพณีประจ�ำปี ประเพณีสรงน�้ำพระธาตุ ทุกๆ ปี ซึ่งมีสืบสานกันมาหลายร้อยปีจนถึง ปัจจุบัน คือ ประเพณีสรงน�้ำพระธาตุเจ้าดอยตุง ขึ้น 15 ค�่ำ เดือน 4, ประเพณีสรงน�้ำพระธาตุเจ้าถ�้ำปุ่ม แรม 8 ค�่ำ เดือน 4 และประเพณี สรงน�้ำพระธาตุเจ้าถ�้ำปลา แรม 9 ค�่ำ เดือน 4 CHIANG RAI I SBL บันทึกประเทศไทย
2 sohk.indd 117
117
8/2/2562 11:44:53
“เชียงราย”
เปิดโลก AEC เปิดประตู เปิดพรมแดนการค้ากับเพื่อนบ้านอย่าง WIN WIN จั ง หวั ด เชี ย งราย เมื อ งหน้ า ด่ า นการค้ า ชายแดน ของภาคเหนื อ และประเทศไทย ที่มีความส� ำคั ญ เป็ น อันดับต้นๆ ด้วยภูมิประเทศที่มีพรมแดนติดประเทศ เพื่อนบ้านถึง 2 ประเทศ คือ พม่า และสปป.ลาว รวมทั้ง ยั ง มี เ ส้ น ทางเชื่ อ มโยงกั บจี น (ตอนใต้ ) ผ่ า นเส้ น ทาง คมนาคมทางแม่น�้ำโขง และถนน R3A ที่เชื่อมระหว่าง อ�ำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย และเมืองห้วยทราย แขวงหลวงน�ำ้ ทา สปป.ลาว และเมืองบ่อเตน นครคุณหมิง มณฑลยูนนานของจีน นอกจากเชียงรายจะมีพรมแดนติดพม่า สปป.ลาว ล้วนแล้วแต่เป็นประเทศที่มีศักยภาพและความต้องการ สินค้าจากประเทศไทยสูง ประเทศเหล่านีย้ งั เป็นช่องทาง ส�ำคัญ ในการส่งสินค้าของไทยไปยังประเทศที่ 3 ทั้ง จีน เวียดนาม และกัมพูชา เชียงรายจึงเป็นฐานที่มั่นส�ำคัญ ในการกระจายสินค้าไปยังกลุ่มประเทศในอนุภูมิภาค ลุ่มแม่น�้ำโขง มูลค่าการค้าชายแดนของเชียงรายผ่านด่านศุลกากร ทั้ง 3 ด่าน คือ แม่สาย เชียงแสน และเชียงของ มีสูง ถึงปีละ 3 หมื่นล้านบาท มีแนวโน้มจะเพิ่มขึ้นทุกปี โดยเฉพาะมู ล ค่ า การค้ า ชายแดนผ่ า นด่ า นศุ ล กากร เชี ย งของที่ เ พิ่ ม สู ง ขึ้ น อย่ า งมาก ซึ่ ง หลั ง จากสะพาน ข้ามแม่น�้ำโขงแห่งที่ 4 ที่อ�ำเภอเชียงของก่อสร้างเสร็จ และเปิ ด ใช้ อ ย่ า งเป็ น ทางการมู ล ค่ า การค้ า ชายแดน ที่ผ่านแดนแห่งนี้จะเพิ่มขึ้นหลายเท่าตัว นับเป็นฐาน และช่องทางการส่งออกสินค้าที่ส�ำคัญ ขณะที่เส้นทาง คมนาคมทางน�้ำผ่านแม่น�้ำโขงก็เป็นช่องทางการส่งออก สินค้าที่ส�ำคัญไม่น้อยไปกว่าช่องทางบกเพื่อรองรับการ ขนส่งสินค้าที่จะขยายตัวมากขึ้นในอนาคต ขอขอบคุณ นสพ.กรุงเทพธุรกิจ
118
AEC
SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงราย
.indd 118
11/02/62 18:18:02
วัดถ�้ำเสาหิน ถ�้ำเสาหินพญานาค
พระครูประภัสร์จิตสังวร ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดถ�้ำเสาหิน
วัดถ�ำ้ เสาหิน ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 399 หมู่ 3 ต�ำบลโป่งงาม อ�ำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย เป็นวัดซึง่ มี “ถ�ำ้ เสาหินพญานาค” เป็นอีกหนึ่งสถาน ที่ท่องเที่ยวตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ของต�ำบลโป่งงาม มีเนื้อที่ของวัด 90 ไร่ 1 งาน 59 ตารางวา ปัจจุบัน พระครูประภัสร์จิตสังวร ด�ำรงต�ำแหน่ง เจ้าอาวาส ปูมบันทึกประวัติ “วัดถ�้ำเสาหินพญานาค” สภาพวัดแต่เดิมก่อนสร้างวัด มีลักษณะเป็นเนินดินมีคูน�้ำล้อมรอบ บริเวณ คล้ายกับทีต่ งั้ ของเมือง(เวียง)ในสมัยก่อนๆ ด้านทิศตะวันตกติด กับภูเขา มีล�ำห้วยเล็กมีน�้ำไหลออกจากรูใต้ถ�้ำ ไหลมารวมที่เดียวกัน กับล�ำน�้ำที่มาจากถ�้ำปลา และถ�้ำน้อย แล้วไหลออกไปสู่หมู่บ้าน เมื่อปี พ.ศ. 2500 หลวงพ่อนิรมล สุทธิญาโณ ย้ายมาจากพุทธสถานถ�้ำปลา แล้วมาพัฒนาที่นี่ ตอนแรกนั้นยังไม่มีประชาชนอุปถัมภ์ ต่อมาภายหลัง เมื่อประมาณปี พ.ศ. 2519 ชาวบ้านที่เคยอุปถัมภ์พุทธสถานถ�้ำปลาได้ แยกหมู่บ้านมาขออุปถัมภ์บ�ำรุงกับหลวงพ่อ ท่านจึงอนุญาตให้มา บ�ำเพ็ญบุญได้ ต่อจากนัน้ ก็ได้เริม่ สร้างเสนาสนะขึน้ หลายอย่าง อาทิ เช่น กุฏิ วิหาร ศาสนา และห้องน�้ำ เป็นต้น ชื่อวัดถ�้ำเสาหิน ตั้งตามชื่อของถ�้ำที่อยู่ทางทิศตะวันตก ซึ่งในถ�ำ้ นั้น มีลักษณะเป็นหินย้อยลงมาจรดเบื้องล่าง มีสัณฐานคล้ายเสาบ้าน หลายๆ ต้นซ้อนกัน ภายในถ�ำ้ ลึกเข้าไปประมาณ 50-70 เมตร (เคย เป็นทีเ่ ก็บวัตถุโบราณ) ทีส่ ดุ ของถ�ำ้ เป็นสถานทีโ่ ล่งกว้าง ณ ทีต่ รงนีเ้ รียกว่า ลาน(ข่วง)พญานาค อันเป็นทีม่ าของค�ำว่า “ถ�ำ้ เสาหินพญานาค” ดังกล่าว ส�ำหรับการเดินทางไปถ�้ำ นักท่องเที่ยวสามารถไปได้ทั้งทางน�้ำและทางบก โดยการพายเรือ และเดินข้ามทางสะพานไม้ไปจนถึงถ�้ำเสาหินพญานาค
CHIANG RAI I SBL บันทึกประเทศไทย
1
.indd 119
119
8/2/2562 13:54:31
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
อุโบสถ
วัดพระธาตุผาเงา
ต�ำนาน “หลวงพ่อผาเงา” พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์คู่เมืองเชียงแสน พระพุทธิญาณมุนี (ประเสริฐ ปญฺญาวชิโร) เจ้าคณะอ�ำเภอเชียงแสน เจ้าอาวาสวัดพระธาตุผาเงา
วัดพระธาตุผาเงา สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตั้งอยู่บนฝั่งแม่น�้ำโขง ทางด้านทิศตะวันตก ตรงข้ามกับประเทศลาว อยูใ่ นหมูบ่ า้ นสบค�ำ ต�ำบลเวียง อ�ำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย พืน้ ทีว่ ดั ประมาณ 474 ไร่ พืน้ ทีส่ ว่ นใหญ่ เป็นเนินเขาเล็กๆ ทอดยาวลงมาตั้งแต่บ้านดอยจ�ำปี ผ่านบ้านดอยจัน และมาสิ้นสุดที่บ้านสบค�ำ แต่ก่อนชาวบ้านเรียกดอยลูกนี้ว่า “ดอยค�ำ” แต่ต่อมาช่วงหลังๆ ชาวบ้านเรียกว่า “ดอยจัน” วัดตั้งอยู่เลขที่ 391 หมู่ 5 ต�ำบลเวียง อ�ำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย รหัสไปรษณีย์ 57150 ปัจจุบนั พระพุทธิญาณมุนี (ประเสริฐ ปญฺญาวชิโร) เจ้าคณะอ�ำเภอเชียงแสน ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส สมณศักดิ์ : พ.ศ. 2547 เป็น พระครูสญ ั ญาบัตร เจ้าคณะอ�ำเภอ ชัน้ โท ที่ พระครูไพศาลพัฒนาภิรตั ต่อมาเมือ่ วันที่ 10 มิถนุ ายน พ.ศ. 2549 เป็น พระราชาคณะชัน้ สามัญ ที่ พระพุทธิญาณมุนี 120
4
วิหารหลวงพ่อผาเงา
วัดพระธาตุผาเงา ต�ำนานสิ่งศักดิ์สิทธิ์คู่เมืองเชียงแสน
ในอดีตเมืองเชียงแสนเป็นทีต่ งั้ ถิน่ ฐานของคนไทยกลุม่ หนึง่ ซึง่ อพยพ มาจากเมืองสิบสองปันนา มณฑลยูนนาน ประเทศจีนเรียกว่า “ไทยลือ้ ” และอีกส่วนหนึง่ อพยพมาจากเมืองเชียงตุง รัฐฉาน ประเทศพม่า เรียกว่า “ไทยใหญ่” มาตัง้ บ้านเรือนอยูร่ มิ แม่นำ�้ กุกกนที หรือ แม่นำ�้ กก ทีไ่ หลผ่าน ไปสู่แม่น้�ำขรนที หรือ แม่น�้ำโขง ในยุคนั้นเชียงรุ้งและเชียงตุงเคยเป็น ดินแดนส่วนหน่งึ่ ของประเทศไทย แต่เดิมบริเวณเมืองเชียงแสนเป็นทีต่ งั้
SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงราย
.indd 120
11/2/2562 15:27:03
า
หอพระไตรปิฎกเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๕๐ ของอาณาจักรสุวรรณโคมค�ำที่รกร้างไปแล้ว ชาวไทยลื้อและไทยใหญ่ ทีอ่ พยพมาตัง้ บ้านเรือนอยูท่ นี่ ไี่ ด้ตงั้ ชือ่ เมืองนีว้ า่ “เมืองนาคพันธุส์ งิ หนวัต”ิ ตามชื่อของสิงหนวัติกุมารที่มาจากเมืองราชคฤห์นคร หรือ อินเดีย ซึง่ เป็นผูส้ ร้างเมืองโดยมีพญานาคจ�ำแลงกายเป็นพราหมณ์มาช่วยสร้าง ต่อมาเมืองนีถ้ กู เรียกว่า โยนกนครไชยบุรศี รีชา้ งแสน หรือ เวียงโยนกนคร มีกษัตริย์ปกครองสืบทอดกันมาถึง 48 พระองค์ ณ บริเวณเนินเขาเล็กๆ ทอดตัวยาวมาจากบ้านดอยจ�ำปีผา่ นบ้านดอยจัน จนมาถึงบ้านสบค�ำ คือเนินเขาดอยค�ำ ซึ่งอยู่ห่างออกไปทางทิศใต้ของ เมืองเชียงแสนประมาณ 3 กิโลเมตร เป็นที่ตั้งของวัดพระธาตุผาเงา สิ่ ง ศั กดิ์ สิ ท ธิ์ ที่ส�ำ คัญคู่เ มือ งเชีย งแสนอีกแห่ง หนึ่ง ในอาณาบริเวณ ดอยค�ำเป็นทีต่ งั้ ของพระธาตุโบราณทีส่ ำ� คัญถึง 3 องค์ดว้ ยกัน ซึง่ เนินเขา ด้านล่างเป็นทีต่ งั้ ของพระธาตุผาเงา ทีส่ ร้างไว้บนก้อนหินใหญ่ ถัดจากนัน้ สูงขึน้ ไปจะเป็นซากเจดียส์ งู ประมาณ 5 เมตร ชาวบ้านเรียกว่าพระธาตุจอมจัน ส่วนที่สูงสุดของเนินเป็นที่ตั้งของซากเจดีย์อีกองค์สูงประมาณ 5 เมตร เช่นกัน ชาวบ้านเรียกว่าพระธาตุเจ็ดยอด ตามกรมศิลปากรได้กล่าวไว้ ว่า “พระธาตุทั้งสามองค์นี้เจ้าเมืองคนแรกของเวียงปรึกษา คือ ขุนลัง เป็น ผู้สร้างพระธาตุสามองค์นี้ไว้เมื่อประมาณ 1,400 ปี ล่วงมาแล้ว” ค�ำว่า “ผาเงา” ก็คอื เงาของก้อนผา หินก้อนนีม้ ลี กั ษณะสูงใหญ่คล้าย รูปทรงเจดียแ์ ละท�ำร่มเงาได้ดมี าก ชาวบ้านจึงตัง้ ชือ่ ว่า “พระธาตุผาเงา” ความจริงก่อนที่ย้ายวัดมาอยู่ที่นี่ก็มีชื่อว่า วัดสบค�ำ ซึ่งตั้งอยู่บนฝั่ง แม่น�้ำโขง ต่อมาฝั่งน�้ำได้พังทลายลงท�ำให้บริเวณของวัดพัดพังลงใต้
หลวงพ่อผาเงา
ภายในวิหารที่ประดิษฐานหลวงพ่อผาเงา
พระธาตุจอมจัน
ตู้พระไตรปิฎกนานาชาติ น�้ำโขงเกือบหมดวัด คณะศรัทธาจึงได้ย้ายวัดไปอยู่ที่ใหม่บนเนินเขาซึ่ง ไม่ไกลจากวัดเดิม ตอนแรกสันนิษฐานไว้วา่ บริเวณเนินเขาเล็กๆ ลูกนีท้ ่ี ก�ำลังแผ้วถางอย่นู จี้ ะต้องเป็นวัดเก่า เพราะได้พบเห็นซากโบราณสถาน โบราณวัตถุกลาดเกลือ่ นไปทัว่ บริเวณ ประมาณเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2519 ชาวบ้านจึงได้ช่วยกันแผ้วถางป่า ซึ่งแต่เดิมที่แห่งนี้เคยเป็นถ�้ำ เรียกว่า “ถ�้ำผาเงา” โดยปากถ�้ำถูกปิดไว้นาน ท�ำให้บริเวณแห่งนี้เป็นป่ารกชัฏ เต็มไปด้วยซากโบราณวัตถุกระจัดกระจายเต็มไปหมด มีชนิ้ ส่วนใหญ่อยู่ ชิ้นหนึ่งเป็นพระพุทธรูปครึ่งองค์ ช่วงล่างหน้าตักกว้าง 4 วา เชื่อว่าเป็น พระพุทธรูปพระประธานในวิหาร CHIANG RAI I SBL บันทึกประเทศไทย
4
.indd 121
121
11/2/2562 15:27:08
อุโบสถ
พระพุทธรูปพระประธานในวิหาร
มีเรือ่ งเล่าเกีย่ วกับพระพุทธรูปนีว้ า่ วันที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2519 นายจันทา พรมมา หนึ่งในคณะศรัทธาทั้งหมดที่เริ่มบุกเบิกแผ้วถางป่า ได้ฝันในเวลากลางคืนว่ามีพระภิกษุรูปหนึ่งรูปร่างสูงด�ำมาบอกว่า ก่อนทีจ่ ะยกชิน้ ส่วนองค์พระประธานทีเ่ หลือครึง่ องค์ออกนัน้ ให้ไปนิมนต์ พระสงฆ์มา 8 รูปท�ำพิธีสวดถอนเสียก่อน
พระประธานภายในอุโบสถ 122
4
ซุ้มลานทัศนีสภาพ 3 ประเทศ
SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงราย
.indd 122
11/2/2562 15:27:13
พระพุทธรูปหลวงพ่อผาเงาแล้ว วัดเก่าแห่งนี้ก็ถูกบูรณะและพัฒนามา อย่ า งต่ อ เน่ื่ อ ง การก่ อ สร้ า งถาวรวั ต ถุ ต ่ า งๆ ก็ ด� ำ เนิ น ต่ อ ไปอย่ า ง ไม่หยุดยัง้ เช่น ซุม้ ประตูวดั , ก�ำแพงด้านหน้า, กุฏสิ งฆ์, ศาลาการเปรียญ และองค์พระธาตุผาเงา อีกทั้งมีการสร้างวิหารซึ่งเป็นที่ประดิษฐาน พระธาตุผาเงาดังที่เห็นอยู่ในปัจจุบัน อีกทั้งวัดพระธาตุผาเงา เป็นสถานที่ปฏิบัติธรรมอีกแห่งหนึ่งใน จังหวัดเชียงราย มีเจดีย์ทรงระฆังขนาดเล็กตั้งอยู่บนหินก้อนใหญ่ วิหารปัจจุบนั สร้างทับซากวิหารเดิม บนยอดเขาข้างหลังวัด เป็นทีต่ งั้ ของ พระบรมธาตุพุทธนิมิตเจดีย์ ที่มองเห็นทิวทัศน์สวยงามได้โดยรอบ หลังจากเหตุการณ์แผ่นดินไหวครั้งใหญ่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 จั ง หวั ด เชี ย งรายเกิ ด เสี ย หายหลายจุ ด แต่ วั ด พระธาตุ ผ าเงาเป็ น อีกวัดหนึ่งที่ไม่ได้รับความเสียหาย
ปูชนียวัตถุภายในวัดพระธาตุผาเงา
หน้าซุ้มหอพระไตรปิฎกเฉลิมพระเกียรติฯ
วิหารหลวงพ่อผาเงา ประดิษฐานพระพุทธรูป หลวงพ่อผาเงา พระพุทธรูปเก่าแก่ศกั ดิส์ ทิ ธิแ์ ห่งเมืองเชียงแสน 2 ด้านซ้ายขวาของวิหาร มีรูปปั้นพระพุทธประวัติอย่างด้านซ้ายเป็นเจ้าชายสิทธัตถะปลงผม ทรงออกผนวช พระธาตุผาเงา ตั้งอยู่บนหินขนาดใหญ่ใกล้กับวิหารหลวงพ่อผาเงา หอพระไตรปิฎกเฉลิมพระเกียรติ ตั้งอยู่อีกด้านหนึ่งตรงกันกับหน้า วิหาร สามารถมองเห็นซุ้มหลังคาแบบล้านนาที่สวยงาม สร้างเป็น ลักษณะศิลปะล้านนา กลางสระน�้ำ ฐานรองรับสร้างด้วยคอนกรีต มีเสา 80 ต้น ตัวอาคารสร้างด้วยไม้สักทองทั้งหลัง พื้นและราวระเบียง ตกแต่งด้วย หินทราย สร้างขึ้นเพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ในวโรกาสเฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา 5 ธันวาคม พ.ศ. 2550 ส�ำหรับรวบรวมพระไตรปิฎก นานาชาติ 9 ประเทศ 9 ภาษา ได้แก่ อินเดีย ศรีลังกา พม่า จีน ญี่ปุ่น ลาว อังกฤษ กัมพูชา และไทย
พระประธานภายใน พระบรมธาตุพุทธนิมิตเจดีย์ วันที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2519 เมื่อคณะศรัทธาได้ท�ำการปรับปรุง พืน้ ทีเ่ รียบร้อยแล้วทุกคนต่างพบกับเหตุการณ์ทไี่ ม่คาดฝันนัน่ คือ เมือ่ พบว่า ใต้ตอไม้หน้าฐานพระประธานมีอิฐโบราณก่อเรียงไว้ เมื่อได้ท�ำการยก ก้อนอิฐออกจึงได้พบพระพุทธรูปมีลักษณะสวยงามมาก ผู้เชี่ยวชาญ ทางด้านโบราณคดีได้วิเคราะห์ว่าพระพุทธรูปองค์นี้มีอายุระหว่าง 700–1,300 ปี คณะทั้งหมดจึงได้พร้อมกันตั้งชื่อพระพุทธรูปองค์นี้ว่า หลวงพ่อผาเงา และได้เปลีย่ นชือ่ วัดใหม่เป็นวัดพระธาตุผาเงา เมือ่ ค้นพบ
พระบรมธาตุพุทธนิมิตเจดีย์ CHIANG RAI I SBL บันทึกประเทศไทย
4
.indd 123
123
11/2/2562 15:27:17
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดพระเจ้าล้านทอง
สักการะพระเจ้าล้านทอง เพื่อความสวัสดีแห่งชีวิต
พระครูสุวรรณวิสุทธิคุณ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
วัดพระเจ้าล้านทอง สังกัดมหานิกาย ตั้งอยู่ใจกลางตัวเมือง อ�ำเภอเชียงแสน เลขที่ 114 หมู่ 2 ต�ำบลเวียง อ�ำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย อาณาเขตทิศเหนือ ติดถนนเทศบาล ทิศใต้ตดิ ถนน เทศบาล ทิศตะวันออกติดถนนเทศบาล ทิศตะวันตกติดถนน เทศบาลและชุมชน โดยมีเอกสารสิทธิ์ (โฉนดที่ดิน) เลขที่ 13817 เล่ม 139 หน้า 17 เลขที่ดิน 678 และเลขที่ 139371 เล่ม 139 หน้า 37 เลขทีด่ นิ 679 ปัจจุบนั พระครูสวุ รรณวิสทุ ธิคณ ุ (ทองสืบ ป.ธ.๓) เจ้าคณะต�ำบลเวียง เขต 3 ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
124
2
ศาสนสถานภายในวัด
ประกอบไปด้วย วิหาร เจดีย์ กุฏสิ งฆ์ ศาลาการเปรียญ โรงครัว หอระฆัง ห้องน�้ำ และห้องสุขา
SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงราย
.indd 124
11/2/2562 15:41:24
ประวัติพระเจ้าล้านทอง
วัดพระเจ้าล้านทอง สร้างขึ้นในสมัยพระเจ้าทองงัว หรือ ทองวัว ราชบุตรของพระเจ้าติโลกราช เมือ่ พ.ศ. 2032 (จุลศักราช 851) ตามที่ปรากฏในพงศาวดารโยนก และ พงศาวดารภาค 61 ทีพ ่ ระยาประชากิจกรจักร (แช่ม บุญนาค) แปลและเรียบเรียง มาจากต� ำ นานสิ ง หนวั ติ และต� ำ นานสุ ว รรณโคมค� ำ กล่ า วไว้ ตอนหนึ่งว่า เมือ่ พ.ศ. 2030 (จ.ศ.849 ปีมะแม นพศก) เจ้าสุวรรณค�ำล้านนา เจ้ า ผู ้ ค รองเมื อ งเชี ย งแสนถึ ง แก่ พิ ร าลั ย พระเจ้ า เชี ย งใหม่ (พระยอดเชียงราย พระราชนัดดาของพระเจ้าติโลกราช ได้ขึ้น ครองราชย์สมบัติสืบต่อจากพระเจ้าติโลกราชแทนพ่อท้าวบุญเรือง ราชโอรสของพระเจ้าติโลกราช เจ้าทองวัวเป็นราชบุตรที่เกิดจาก พระสนมจึงมิได้สบื สันติวงศ์) เห็นว่าเมืองเชียงแสนเป็นเมืองส�ำคัญ ฝ่ายเหนือ จึงได้สถาปนาให้พระเจ้าทองวัว ซึ่งมีต�ำแหน่งเป็น เจ้าหมืน่ วัวไปครองเมืองเชียงแสน เจ้าหมืน่ วัวได้ทรงน�ำ้ พุทธาภิเษก ที่เมืองเชียงแสน เมื่อวันพุธ ขึ้น 7 ค�่ำ เดือนยี่เหนือ (เดือน 12 ใต้) ปีพ.ศ. 2032 (จ.ศ. 851) เฉลิมพระอภิชยั ว่า “พระยาศิรริ าชทินกอง” เมือ่ ได้ครองเมืองเชียงแสนแล้ว ท่านได้สร้างพระอารามขึน้ แห่งหนึง่ ท่ามกลางเมืองเชียงแสน สร้างวิหารกว้าง 5 วา ยาว 9 วา เจดีย์กว้าง 3 วา สูง 7 วา หล่อพระพุทธปฏิมากรองค์หนึ่งด้วย ทองปัญจะโลหะ หน้าตักกว้าง 4 ศอก 2 ก�ำมือหนักล้านทอง (10 หาบ หรือ พันชั่ง) เมื่อหล่อเสร็จแล้วจึงทรงเรียกว่า “พระเจ้าล้านทอง” และวัดแห่งนีเ้ ลยเรียกว่า “วัดพระเจ้าล้านทอง“ ดังปรากฏอยูต่ ราบ เท่าทุกวันนี้
โบราณสถานและโบราณวัตถุที่ส�ำคัญของวัด
มีพระพุทธรูปล้านทอง พระพุทธรูปเชียงแสน และพระเจดีย์ ขอเชิญพุทธศาสนิกชนเดินทางมาสักการะ”พระเจ้าล้านทอง” พระพุทธรูปเก่าแก่ที่มีอายุกว่า 500 ปีได้ทุกวันเพื่อความเป็น สิริมงคลแก่ชีวิตและจิตใจ CHIANG RAI I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 125
125
11/2/2562 15:41:33
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดงิว้ ใหม่
ธรรมสัญจร น�ำวัดสู่โรงเรียนและสร้างสังคมผู้สูงวัย ให้ชีวิตมีคุณค่า...อย่าท้อ
พระครูสิริคันธวงศ์ ( ประเสริฐ เตชพโล ) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดงิ้วใหม่
วั ด งิ้ ว ใหม่ ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 172 บ้ า นงิ้ ว ใหม่ หมู ่ ที่ 12 ต� ำ บลงิ้ ว อ�ำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย เริ่มก่อสร้าง เมื่ อ พ.ศ.2478 โดยมี น ายใจ มะโนทะ ชาวบ้ า นงิ้ ว ใหม่ เ ป็ น ผู ้ ม อบที่ ดิ น ถวายเพื่ อ สร้ า งวั ด 2 ไร่ 2 งาน 54 ตารางวา ตาม เลขที่ 56 เลขโฉนดที่ ดิ น 100 เลขที่ ดิ น 14929 เล่ ม ที่ 150 หน้ า ที่ 24 ต่ อ มาได้ รั บ พระราชทานวิ สุ ง คามสี ม าเมื่ อ วั น ที่ 16 มี น าคม พ.ศ. 2519 ก� ำ หนดเขตกว้ า ง 22 เมตร ยาว 37 เมตร แล้ ว ได้ ท� ำ พิ ธี ผูก พั ท ธสี ม าตั ด หวายลู ก นิ มิ ต วั น ที่ 11 มี น าคม พ.ศ. 2522 ปั จ จุ บั น พระครู สิ ริ คั น ธวงศ์ (ประเสริ ฐ เตชพโล) ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง เจ้ า อาวาส 126
3
อาคารเสนาสนะประกอบด้วย : อุโบสถ สร้างเมื่อ พ.ศ. 2527, ศาลาการเปรียญ สร้างเมือ่ พ.ศ. 2528, กุฏสิ งฆ์ ทรงไทยทรงล้านนา ประยุกต์ สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2545, โรงครัว สร้างขึ้นใน พ.ศ.2543, ศาลาลาย สร้างขึน้ ใน พ.ศ. 2551, ก�ำแพงคอนกรีตรอบวัดทัง้ 4 ด้าน สร้างขึน้ ใน พ.ศ. 2550, หอฉันสร้างเมือ่ พ.ศ. 2556 และ รอบก�ำแพงวัด ได้สร้างเสาต้นหงส์ประดับไฟจ�ำนวน 88 ต้น กับสร้างทางรอบอุโบสถ เมือ่ ปี พ.ศ. 2561, ห้องน�ำ ้ ห้องสุขาภายนอกวัดจ�ำนวน 21 ห้องเพือ่ ใช้บริการ ประชาชนและบุคคลทัว่ ไปทีม่ าท�ำบุญสร้างเมือ่ ปี พ.ศ. 2540
นายใจ มะโนทะ
ผู้มอบที่ดินถวายเพื่อสร้างวัด
SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงราย
.indd 126
8/2/2562 14:48:31
ปูชนียวัตถุส�ำคัญ มีพระประธานประจ�ำอุโบสถสร้างขึน้ ในปี พ.ศ.2500 โดยมีแท่นวางหลวง พ่อพุทธศากยมุนโี คดม นอกจากนัน้ พระพุทธรูปทองสัมฤทธิ์ อีก 3 องค์ และ ศาลาการเปรียญ มีพระพุทธรูปเนือ้ ทองสัมฤทธิ์ อีก 3 องค์ ในบริเวณวัดข้าง พระอุโบสถ ได้สร้างพระเจ้าทันใจทรงเครือ่ งจักรพรรดิอกี 1 องค์ หน้าตัก 59 นิว้ สูง 1.55 เมตร สร้างเมือ่ วันที่ 9 ธันวาคม พ.ศ.2561
ล�ำดับเจ้าอาวาส 1. พระอธิการจันทิมา กิตติวณโณ พ.ศ. 2478-พ.ศ. 2497 2. พระบุญส่วย ธมฺมสาโร พ.ศ. 2499-พ.ศ. 2501 3. พระอินทร์ปน๋ั ธมฺมสารโน พ.ศ. 2501-พ.ศ. 2502 4. พระอินทร์คำ � ปญฺญาพโล พ.ศ. 2502-พ.ศ. 2509 5. พระครูสริ คิ นั ธวงศ์ (ประเสริฐ) เตชพโล พ.ศ. 2509-ปัจจุบนั วัดงิว้ ใหม่เน้นหลัก 4 ประการ ดังนี้ (1. ส่งเสริมบวชภาคฤดูรอ้ นทุกปี เพือ่ เปิด โอกาสให้กลุ บุตรเข้าวัดโดยไม่เสียค่าใช้จา่ ย (2.ธรรมสัญจร โดยร่วมกับชมรม ก�ำนัน ผูใ้ หญ่บา้ น ชมรมผูส้ งู อายุวฒ ั นธรรมต�ำบล และได้รบั สนับสนุนของ เทศบาลบริจาคด้านยานพาหนะ ออกอบรม เผยแผ่ดา้ นศีลธรรมตามวัดต่างๆ ในภาคพรรษาพร้อมพระสงฆ์ตำ� บลร่วมเป็นทีมงานจึงได้รบั ความพึงพอใจแก่ พุทธศาสนิกชนเป็นอย่างดี (3.จัดตั้งโรงเรียนผู้สูงอายุของต�ำบลขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2558 โดยนายวาท พระแป่ นายกเทศมนตรีเทศบาลต�ำบลงิว้ ได้ขอนิมนต์ ให้พระครูสริ คิ นั ธวงฆ์ รองเจ้าคณะอ�ำเภอเทิง เจ้าอาวาสวัดงิว้ ใหม่ เป็นผูอ้ ำ� นวย การของโรงเรียนผูส้ งู อายุเพือ่ พัฒนาคุณภาพชีวติ ผูส้ งู อายุรว่ มกันอย่างมีความ อบอุน่ มีชวี ติ อย่างมีคณ ุ ค่าของชีวติ (4.โครงการวัดสูโ่ รงเรียน ของโรงเรียนปล้อง วิทยาคมในภาคพรรษากาลของทุกปี โดยทางโรงเรียนได้จดั ชัน้ เรียนตัง้ แต่ ชัน้ ม.1 เริม่ จนถึง ม.ปลาย ทุกวันอังคารให้นกั เรียนวันละ 1 ชัน้ ตอนเช้าเข้าร่วม ด้านศาสนพิธี คือ ท�ำบุญตักบาตรฟังธรรม รับศีลแล้วนัง่ สมาธิภาวนาโดยนิมนต์ พระธรรมทูตในอ�ำเภอเทิง ออกมาปฏิบตั งิ านร่วมกันวันละ 5 รูป โดยการน�ำ ของครูจดั โครงการเป็นผูป้ ระสานงานของครูแต่ละชัน้ เรียน เรียกว่าอาคารวัดสู่ โรงเรียน โดยพระครูสริ คิ นั ธวงค์ รองเจ้าคณะอ�ำเภอเทิง เจ้าอาวาสวัดงิว้ ใหม่ เป็นผูน้ มิ นต์พระธรรมทูตและพระเผยแผ่อบรมตลอด ตามตารางสอนของ โรงเรียนทีจ่ ดั ให้จนครบตารางเป็นวันจบโครงการ
CHIANGRAI I SBL บันทึกประเทศไทย
3
.indd 127
127
8/2/2562 14:48:40
ประวัติเจ้าอาวาสโดยสังเขป พระครูสริ คิ นั ธวงศ์ (ประเสริฐ อะโนละ) ฉายา เตชพโร อายุ 73 ปี พรรษา 53 วิทยฐานะ นธ.เอก ส�ำนักเรียน โรงเรียนพระปริยตั ธิ รรมวัดงิว้ เก่า ต�ำบลงิว้ อ�ำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย ปี พ.ศ. 2512 ปัจจุบนั ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส วัดงิว้ ใหม่ ต�ำบลงิว้ อ�ำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย นามเดิม ประเสริฐ อะโนละ เกิดวันเสาร์ที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2588 ปีระกา ณ บ้านเลขที่ 57 บ้านงิ้วใหม่ ต�ำบลงิ้ว อ�ำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย บิดา นายจันทร มารดา นางปัน๋ อะโนละ มีพนี่ อ้ งร่วมอันเดียวกับจ�ำนวน 11 คน ปัจจุบนั ยังมีชวี ติ อยู่ 6 คน บรรพชา เมือ่ วันเสาร์ ที่ 18 เมษายน พ.ศ. 2503 ณ วัดงิว้ ใหม่ ต�ำบลงิว้ อ�ำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย โดยพระอุปชั ฌาย์ วัดอ�ำมาตย์ อุปสมบท เมื่อวันเสาร์ ที่ 11 เมษายน พ.ศ. 2503 ณ สีมาวัดงิ้วเก่า ต�ำบลงิว้ อ�ำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย โดยมีหลวงพ่อพระครูนวิ ษิ ฐ์สทั ธาคุณ เจ้าคณะอ�ำเภอเทิง เจ้าอาวาสวัดอ�ำมาตย์เป็นพระอุปชั ฌาย์ เจ้าอธิการศรีมลู คนฺธวํโส เป็นพระกรรมวาจาจารย์ เจ้าคณะต�ำบลปล้อง เจ้าอาวาสวัดอภัย เจ้าอธิการอินผ่อง ยโสธโร เจ้าคณะต�ำบลงิว้ เขต 1 เจ้าอาวาสวัดงิว้ เก่าเป็น อนุสาวนาจารย์ วิทยฐานะ : พ.ศ. 2503 ส�ำเร็จการศึกษาชั้นประถมศึกษา ปีที่ 4 โรงเรียนบ้านงิว้ ใหม่ จังหวัดเชียงราย ,พ.ศ. 2538 ได้ผา่ นการอบรมพระธรรมทูต ของงานส�ำนั ก งานพระธรรมทู ต จากวั ดปากน�้ ำ ภาษีเ จริญ กรุงเทพฯ รุ่นที่ 38,พ.ศ. 2554 ผ่านการอบรมพระนักเทศน์ ของศูนย์การเผยแผ่ของ คณะสงฆ์จังหวัดเชียงราย, พ.ศ. 2546 ถึงปัจจุบัน เป็นประธานโครงการ วัดสู่โรงเรียนปล้องวิทยาคม คือ อบรมนักเรียน ให้เรียนรู้การเข้าวัดท�ำบุญ รักษาศีล ฟังเทศน์ และเรียนรู้ด้านศาสนพิธี ตามหลักพิธีต่างๆ งานด้านการศึกษา : พ.ศ. 2509-พ.ศ. 2520 เป็นครูสอนพระปริยตั ธิ รรม ส�ำนักเรียนวัดงิว้ เก่า, พ.ศ. 2511-พ.ศ. 2530 เป็นกรรมการศึกษาโรงเรียน บ้านงิว้ ใหม่, พ.ศ. 2546-ปัจจุบนั เป็นกรรมการสถานศึกษาขัน้ พืน้ ฐานโรงเรียน วัดงิว้ ใหม่, พ.ศ. 2545-ปัจจุบนั เป็นกรรมการตัวแทนฝ่ายผูน้ ำ� ศาสนา สถาน ศึกษาชัน้ พืน้ ฐานของโรงเรียนปล้องวิทยาคม, พ.ศ. 2551-ปัจจุบนั เป็นประธาน กรรมการสถานศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน โรงเรียนวัดอ�ำมาตย์วทิ ยา การศึกษาทางโลก : พ.ศ. 2554 ส�ำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จากศูนย์บริการศึกษานอกโรงเรียนอ�ำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย, พ.ศ. 2546 ส�ำเร็จการศึกษาระดับมัธยมตอนปลาย จากศูนย์บริการศึกษานอกโรงเรียน อ�ำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย จบการศึกษาสายปริยตั ธิ รรม : พ.ศ. 2504 สอบได้นกั ธรรมชัน้ ตรี จาก ส�ำนักเรียนโรงเรียนปริยตั ธิ รรม วัดงิว้ เก่า, พ.ศ. 2508 สอบได้นกั ธรรมชัน้ โท จากส�ำนักเรียนโรงเรียนปริยตั ธิ รรม วัดงิว้ เก่า, พ.ศ. 2511 สอบได้นกั ธรรมชัน้ เอก จากส�ำนักเรียนโรงเรียนปริยตั ธิ รรม วัดงิว้ เก่า ต�ำบลงิว้ อ�ำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย งานด้านการปกครอง : พ.ศ. 2509 รับแต่งตั้งเป็น ผู้รักษาการแทน เจ้าอาวาสวัดงิว้ ใหม่, พ.ศ. 2513 รับแต่งตัง้ เป็นเจ้าอาวาสวัดงิว้ ใหม่, พ.ศ. 2533 รับแต่งตัง้ เป็นเจ้าคณะต�ำบลงิว้ เขต 1, พ.ศ. 2536 ได้สอบผ่านแต่งตั้งเป็น พระอุปชั ฌาย์, พ.ศ. 2538 อบรมเป็นพระธรรมฑูต, พ.ศ. 2544 รับแต่งตัง้ เป็น ผูร้ องรักษาการรองเจ้าคณะอ�ำเภอเทิง, พ.ศ. 2545 รับแต่งตัง้ เป็นรองเจ้าคณะ อ�ำเภอเทิง, พ.ศ. 2556 รับแต่งตั้งเป็นหัวหน้าพระวินยาธิการอ�ำเภอเทิง 128
3
SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงราย
.indd 128
8/2/2562 14:48:44
WAT RONG KHUN “The White Temple” of Chiang Rai พระอุโบสถสีขาวแวววาว หนึ่งเดียวในโลก วัดร่องขุ่น
AD.indd 129
13/2/2562 11:08:49
H I STO R Y O F B U DDH I S M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดพระธาตุดอยงู วัดพระธาตุดอยงู ตั้งอยู่ที่บ้านป่าจี้ใต้ หมู่ที่ 19 ต�ำบลหงาว อ�ำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย ทีด่ นิ ของวัดมีจำ� นวน 21 ไร่ 1 งาน 42 ตารางวา ตามโฉนดทีด่ นิ เลขที่ 57946
130
SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงราย
.indd 130
11/02/62 16:53:07
พญางูใหญ่ อุโบสถเทิดไท้องค์ราชันย์
ประวัติความเป็นมาของวัดพระธาตุดอยงู พระเจ้า ทันใจ
พระสิวลี
ตามประวัติเล่าสั้นๆ ว่าเดิมเคยมีงูใหญ่อยู่บริเวณนี้ ปัจจุบัน ยั ง คงมี ร อยงู ใ หญ่ ใ ห้ เ ห็ น เป็ นวั ด ที่ อ ยู ่ บ นเขาเล็ ก ๆ มองเห็ น หมู ่ บ ้ า นและแนวเขาได้ ร อบ 360 องศา หน้ า หนาวปกคลุ ม ด้วยหมอกมีวิวธรรมชาติสวยงาม ดอยงู เ ป็ น ชื่ อ ขุ น เขาเล็ ก ๆ ซึ่ ง มี ค วามผู ก พั น กั บ ชาวบ้ า น ตั้งแต่อดีต ปัจจุบันบ้านป่าจี้ใต้ หมู่ที่ 19 ต�ำบลหงาว อ�ำเภอเทิง จั ง หวั ด เชี ย งราย มี ลั ก ษณะเป็ น เขาคล้ า ยมั ง กรทอดตั ว ยาว มีภูมิประเทศโดยรอบเป็นที่ราบลุ่ม ดอยงูมีความสวยงามของวิว และทิวทัศน์รอบๆ ทุกด้าน มองเห็นความสวยงามของธรรมชาติ โดยเฉพาะฤดูหนาวจะมองเห็นทะเลหมอกสวยงามมาก เนือ่ งจาก คณะศรัทธาในหมู่บ้านมีความประสงค์จะสร้างอารามขึ้นที่ดอยงู เพือ่ เป็นสิง่ ยึดเหนีย่ วจิตใจของคณะศรัทธาสาธุชนทุกคนจึงได้รว่ มกัน ไปกราบนิ ม นต์ ข อความเมตตาพระครู บ าเจ้ า น้ อ ยธรรมสิ ท ธิ์ สฺวรญาโณ มาเป็นประธานด�ำเนินการก่อสร้างเพราะเห็นว่าท่าน มีบารมีสูง การก่อสร้างวัดดอยงูเป็นภาระที่หนักมากของชาวบ้าน เพราะสถานที่มีความสูงชันต้องขนของขึ้นสร้างด้วยความสามัคคี ของคณะศรัทธาจึงได้ร่วมแรงร่วมใจกันสร้างจนส�ำเร็จ ส�ำหรับ รอยงู ที่ ป รากฏให้ ช าวบ้ า นเห็ น เป็ น รอยที่ ใ หญ่ ม ากประมาณปี พ.ศ.2539 พ่อที-แม่ค�ำ ยองเพชร ได้ไปจับจองสถานที่แห่งนี้ เป็ น สวนข้ า วโพดที่ ท� ำ กิ น ของชาวบ้ า น และได้ สื บ ทอดต่ อ ให้ นายเกียมดาว ยองเพชร และ นายเดือน และนางสาวณัฐมน ยองเพชร โดยที่ชาวบ้านมาขอก่อสร้างวัด โดยชาวบ้านสมทบทุนซื้อสถานที่ สร้ า งพระอารามวั ด พระธาตุ ด อยงู โดยบุ ต รทั้ ง สามถวายให้ ทางวัดบางส่วน CHIANG RAI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 131
131
11/02/62 16:53:11
พระโพธิ สั ต ว์อวโลกิเตศวร(กวนอิม)
เดิ ม วั ด พระธาตุ ด อยงู เ ป็ นวั ด ร้ า ง กระทั่ ง ได้ มี ก ารขอยก วัดพระธาตุดอยงู(ร้าง) จังหวัดเชียงราย ขึ้นเป็นวัดมีพระภิกษุอยู่ จ�ำพรรษา ในการประชุมมหาเถรสมาคม ครั้งที่ 22/2554 เมื่อ วันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2554 โดยเลขาธิการมหาเถรสมาคม เสนอว่า จังหวัดเชียงรายได้มีหนังสือ ที่ ชร 0030/26292 ลงวันที่ 14 ตุลาคม พ.ศ.2553 แจ้งว่า ได้ส่งรายงานการขอยก วัดพระธาตุ-ดอยงู (ร้าง) ตัง้ อยูท่ ี่ บ้านป่าจีใ้ ต้ หมูท่ ี่ 19 ต�ำบลหงาว อ�ำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย ขึ้นเป็นวัดมีพระภิกษุอยู่จ�ำพรรษา
132
โดย พระราชสุตาภรณ์ ผู้แทนเจ้าคณะใหญ่หนเหนือ พร้อมด้วย เจ้าหน้าทีส่ ำ� นักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติทไี่ ด้ไปตรวจสอบแล้ว มีอาคารเสนาสนะที่สร้างแล้ว คือ เจดีย์พระธาตุดอยงู ศาลาธรรม สามัคคี ศาลาอเนกประสงค์ ศาลาประจ�ำวันเกิด กุฏสิ งฆ์ จ�ำนวน 3 หลัง โรงครัว และห้องน�้ำ-ห้องสุขา(เรือนแถว) จ�ำนวน 2 หลัง การขอยก วั ด พระธาตุ ด อยงู ( ร้ า ง) ขึ้ น เป็ นวั ด มี พ ระภิ ก ษุ อยู่จ�ำพรรษา ดังกล่าว ได้ปฏิบัติตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 5
SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงราย
.indd 132
11/02/62 16:53:14
พระพิฆ เนศวร
องค์มหาเทพ, องค์พ ระศิว ะเทพ, พระแม่ลักษมี
(พ.ศ. 2538) ออกตามความในพระราชบั ญ ญั ติ ค ณะสงฆ์ พ.ศ. 2505 แก้ไขเพิม่ เติมโดยพระราชบัญญัตคิ ณะสงฆ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2535 โดยได้ผ่านความเห็นชอบจากเจ้าหน้าที่ฝ่ายบ้านเมือง และเจ้าคณะพระสังฆาธิการเจ้าสังกัด ตามล�ำดับจนถึงเจ้าคณะใหญ่ หนเหนือ และพระพรหมเวที ผูพ้ จิ ารณากลัน่ กรองการขอยกวัดร้างฯ ได้ให้ความเห็นชอบแล้ว พร้อมกับมีบญ ั ชาให้นำ� เสนอมหาเถรสมาคม เพื่อโปรดพิจารณา ซึ่งที่ประชุมพิจารณาแล้วลงมติเห็นชอบให้ยก วัดพระธาตุดอยงู(ร้าง) ต�ำบลหงาว อ�ำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย
พระธาตุป ระจ�ำปีมะโรง-มะเส็ง
ขึ้นเป็นวัดมีพระภิกษุอยู่จ�ำพรรษา (498/2554) ปัจจุบัน วัดพระธาตุดอยงู มีอาคารเสนาสนะที่สร้างแล้ว คือ เจดียพ์ ระธาตุดอยงู ศาลาธรรมสามัคคี ศาลาอเนกประสงค์ ศาลา ประจ�ำวันเกิด กุฏสิ งฆ์ จ�ำนวน - หลัง โรงครัว และห้องน�ำ ้ - ห้องสุขา (เรือนแถว) จ�ำนวน 2 หลัง อุโบสถ ทรงไทยล้านนาลายปูนปั้น และ พระธาตุดอยงูสีทอง
CHIANG RAI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 133
133
11/02/62 16:53:18
พระอธิการเกียมดาว ธมฺมสาโร 134
SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงราย
.indd 134
เจ้าอาวาสวัดพระธาตุดอยงู อายุ 44 พรรษา 10 พระอุดม ธมฺมธโร รองเจ้าอาวาสวัดพระธาตุดอยงู อายุ 50 พรรษา 10
11/02/62 16:53:21
พระธาตุประจ�ำปีมะโรง-มะเส็ง
ประวัติความเป็นมาของต�ำบลหงาว
อุ โ บสถเทิ ด ไท้อ งค์ราชันย์
จากข้อสันนิษฐานของคนในชุมชนเชื่อว่า ต�ำบลหงาว มาจาก ชื่อของแม่น�้ำสายหลักที่ไหลผ่านพื้นที่ต�ำบล คือ “แม่น�้ำหงาว” เมื่อประมาณ 200 กว่าปีที่ผ่านมา โดยมีภูมิประเทศเป็นที่ราบ ระหว่างภูเขา และมีภเู ขาล้อมรอบ มีแม่นำ�้ หงาวไหลผ่านกลางต�ำบล และทางทิ ศ ใต้ มี แ ม่ น�้ ำ ลาวไหลผ่ า น พื้ น ที่ ส ่ ว นใหญ่ โ ดยทั่ ว ไป เป็นพื้นที่นา ที่ไร่และที่อยู่อาศัยตามล�ำดับ ขนบธรรมเนียมประเพณีในต�ำบลหงาว อาทิ การลงแขกเอามือ นับได้ว่าเป็นประเพณีที่สืบทอดกันมาตั้งแต่บรรพบุรุษ การลงแขก ในทีน่ ี้ หมายถึง การท�ำงานช่วยเหลือกันและกัน ตามภาษาท้องถิน่ เรียกว่า เอามือ ซึ่งเป็นการท�ำงานโดยใช้แรงงานแลกเปลี่ยนกัน ขณะมีการท�ำงานเช่นนี้ทุกหมู่บ้านของต�ำบลหงาว งานประเพณีที่ส�ำคัญของศาสนาพุทธ ได้แก่ การแห่เทียน พรรษา, ประเพณี ล อยกระทง, ประเพณี ถ วายสลากภั ต ร, การทอดผ้าป่า ฯลฯ ในปีทผี่ า่ นมาโครงการส่งเสริมและอนุรกั ษ์ประเพณีเข้าพรรษา ประจ�ำปี 2560 เทศบาลต�ำบลหงาว จัดโครงการส่งเสริมและอนุรักษ์ประเพณี เข้าพรรษา ประจ�ำปี 2560 โดยร่วมกับโรงเรียนบ้านบุญนาค น�ำเทียนพรรษาไปถวายวัดบ้านหงาว หมู่ 3 และวัดพระธาตุดอยงู บ้านป่าจี้ใต้ หมู่ที่ 19 เพื่อส่งเสริมสนับสนุนการท่องเที่ยว และ ส่งเสริมสนับสนุนการบ�ำรุงศิลปะ จารีตประเพณี ภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่ และเพือ่ ให้เด็ก เยาวชน และประชาชน ได้สบื ทอดประเพณีอนั ดีงาม ให้คงอยู่สืบไป CHIANG RAI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 135
135
11/02/62 16:53:24
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดอ�ำมาตย์
“สร้างโอกาสการศึกษา สร้างศาสนทายาท โรงเรียนวัดอ�ำมาตย์วิทยา” พระครูอุดมคณาภิรักษ์ สุวีโร ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดอ�ำมาตย์
วัดอ�ำมาตย์ เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 170 บ้านเวียงเทิง หมูท่ ี่ 1 ถนนพิศาล ต�ำบลเวียง อ�ำเภอเทิง จังหวัด เชียงราย วัดมีเนื้อที่จ�ำนวน 2 ไร่ 50 ตารางวา ปัจจุบัน พระครูอุดม คณาภิรักษ์ สุวีโร เป็นเจ้าอาวาส มีพระภิกษุ 5 รูป สามเณร 16 รูป ได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมาเมือ่ วันที่ 2 กันยายน พ.ศ.2500 ได้รบั คัดเลือกให้เป็นวัดพัฒนาตัวอย่าง เมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ.2532 และวัดพัฒนาตัวอย่างที่มีผลงานดีเด่นเมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2534 136
4
SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงราย
.indd 136
8/2/2562 9:42:32
ปูมประวัติสองมเหสีผู้สร้างวัดอ�ำมาตย์
มีต�ำนานกล่าวไว้ว่า เมื่อประมาณปีพุทธศักราช 1402 พระเจ้า กาวิละเจ้าเมืองล�ำปางพร้อมด้วยพระอนุชาได้เสด็จไปตรวจชายแดน อันอยู่ในความปกครองของพระองค์ ได้เสด็จไปถึงเมืองหลวงพระบาง เมืองเวียงจันทร์ เมื่อเสด็จกลับจากเมืองหลวงพระบาง พระอนุชาได้รับ มเหสีองค์หนึ่งจากเมืองลาว นามว่า จันทรา เสด็จมาถึงเมืองเถิง (เมือง เทิงในปัจจุบัน) พระเจ้ากาวิละได้ทรงมอบหมายให้พระอนุชาเป็น ผู้ปกครองเมืองเทิง อันเป็นเมืองหนึ่งในเขตปกครองของพระองค์ แล้ว พระองค์ก็เสด็จกลับเมืองล�ำปาง ต่อมาเจ้าเมืองเทิง ได้มีมเหสีอีกองค์หนึ่งนามว่า แก้ว ฝ่ายพระนาง จันทราเมื่อมาอยู่ที่เมืองเทิงแล้วมีความปรารถนาจะสร้างวัดไว้เป็นที่ สักการบูชาสักวัดหนึง่ จึงได้มอบหมายให้เสนาอ�ำมาตย์สร้างวัดขึน้ วัดหนึง่ แล้วไปอัญเชิญพระพุทธรูปหินองค์หนึ่งจากเมืองลาวมาประดิษฐานไว้ ณ วัดที่พระนางได้สร้างขึ้น ฝ่ายพระนางแก้ว เมื่อเห็นมเหสีใหญ่สร้าง วัดขึน้ เช่นนีจ้ งึ ให้เสนาอ�ำมาตย์สร้างวัดขึน้ อีกวัดหนึง่ ซึง่ อยูไ่ ม่ไกลจากวัด นี้ เ ท่ า ไรนั ก เจ้ า เมื อ งเทิ ง ได้ ตั้ ง ชื่ อวั ด ที่ พ ระนางจั น ทราสร้ า งขึ้ นว่ า วัดหลวง เพราะมเหสีใหญ่เป็นผู้สร้าง ส่วนวัดที่พระนางแก้วเป็นผู้สร้าง เจ้าเมืองเทิงได้ตั้งชื่อให้ว่า วัดพระนางแก้ว หรือ วัดน้อย เพราะมเหสี น้อยเป็นผูส้ ร้าง (ปัจจุบนั คือวัดพระนาคแก้ว) ระหว่างก่อสร้าง พระนาง จันทราได้สิ้นพระชนม์เสียก่อน ขณะที่เสด็จกลับไปเยี่ยมพระญาติที่ เมืองลาว พระนางแก้วจึงมอบหมายให้พวกเสนาอ�ำมาตย์สร้างวัดหลวง ต่อจนส�ำเร็จ แล้วเปลี่ยนชื่อเสียใหม่ว่า วัดอ�ำมาตย์ มาจนปัจจุบันนี้
ประวัติท่านเจ้าอาวาสโดยสังเขป
พระครูอุดมคณาภิรักษ์ ฉายา สุวีโร อายุ 57 ปี พรรษาที่ 36 สมณศักดิ์ พระครูสญ ั ญาบัตร เจ้าคณะอ�ำเภอชัน้ พิเศษ เดิมชือ่ นาย สุทธิพงษ์ สกุล ประมวลการ ส�ำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาโทจากมหาวิทยาลัย ราชภัฏเชียงราย ปัจจุบนั เป็นเจ้าคณะอ�ำเภอ และเจ้าอาวาสวัดอ�ำมาตย์
ศาสนสถาน
พระอุโบสถ, กุฏิ 2 หลัง, หอบูรพาจารย์, อาคารหอประชุม/อาคาร เอนกประสงค์, อาคารเรียนโรงเรียนพระปริยตั ธิ รรม, โรงครัว และ ห้องสุขา ภายในวัดมีโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา และ มี ส�ำนักเรียนธรรม-บาลี ซึง่ เป็นสถานทีส่ ร้างศาสนทายาททีส่ ำ� คัญแห่งหนึง่ ของจังหวัดเชียงราย
ปูชนียวัตถุส�ำคัญ
พระพุทธรูปสิงห์หนึง่ และ สิงห์สามสมัยเชียงแสน เป็นพระพุทธรูป ปางมารวิชยั ขัดสมาธิเพชร สมัยเชียงแสน เนือ้ ทองสัมฤทธิ์ มีขนาดหน้า ตักกว้าง 27 นิ้วสูง 37 นิ้ว เป็นพระพุทธรูปโบราณที่มีรูปลักษณะที่ งดงาม เป็นที่สักการะของประชาชนชาวอ�ำเภอเทิง แต่ไม่ปรากฏสร้าง ในปี พ.ศ.ใด รูปหล่อหลวงพ่อพระครูนิวิษฐ์สัทธาคุณ (ครูบาบุญเป็ง) อดีตเจ้า อาวาสวัดอ�ำมาตย์ อดีตเจ้าคณะอ�ำเภอเทิง ท่านเป็นผู้ริเริ่มพัฒนาวัด อ�ำมาตย์และการจัดการศึกษาให้กับพระภิกษุ-สามเณร ทั้งแผนกธรรมบาลี-สามัญศึกษา เป็นที่เคารพของชาวอ�ำเภอเทิง CHIANG RAI I SBL บันทึกประเทศไทย
4
.indd 137
137
8/2/2562 9:42:34
กิจกรรมที่จัดเป็นประจ�ำตลอดทั้งปีและทุกปี
1. บรรพชา-อุปสมบท ภาคฤดูรอ้ นประจ�ำปี ระหว่างวันที่ 1-30 เมษายน โดยในปีที่ผ่านมามีผู้เข้าร่วมกิจกรรมประมาณ 500 คน จากหน่วยงาน สถานศึกษา องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และองค์กรอื่นๆ ที่เข้าร่วม กิจกรรมของวัด ได้แก่คณะสงฆ์อำ� เภอเทิง, ส่วนงานราชการอ�ำเภอเทิง, สภาวัฒนธรรมอ�ำเภอเทิง, เทศบาลต�ำบลเวียงเทิง และองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิน่ อ�ำเภอเทิง ซึง่ จะรับสมัครกุลบุตรทีม่ คี วามสนใจบวชภาคฤดู ร้อน หรือ ตัง้ ใจบวชเรียนต่อโรงเรียนพระปริยตั ธิ รรมแผนกสามัญศึกษา ทุกปีเพื่อเข้ารับการอบรมและฝึกปฏิบัติ 2. ท�ำบุญประเพณีถวายทานสลากภัตประจ�ำปี จัดกิจกรรมระหว่าง เดือนกรกฎาคมถึงเดือนตุลาคมของทุกปี โดยในปีที่ผ่านมา มีผู้เข้าร่วม กิจกรรมประมาณ 600 คน ได้แก่ ประชาชนผูอ้ ปุ ถัมภ์วดั อ�ำมาตย์ หมูท่ ี่ 1, 10 และ 15 ตลอดถึงเทศบาลต�ำบลเวียงเทิงและประชาชนชาวอ�ำเภอเทิง ซึ่ ง มี ลั ก ษณะของกิ จ กรรมคื อ ประชาชนทั่ ว ไปจั ด สั ง ฆทานพร้ อ ม ภัตตาหารแต่ละหมวด แต่ละซุ้ม น�ำมาจัดตั้งไว้ตามเบอร์ต่างๆ และน�ำ เส้นสลากที่จะถวายทานมารวมกัน และถวายแด่พระภิกษุ-สามเณรที่ นิมนต์มารับไทยทานเสร็จแล้วให้พระภิกษุ-สามเณร เดินหาสลากภัต ตามเบอร์ที่ตั้งไว้ 138
4
3. สวดมนต์ท�ำวัตรเย็นและท�ำบุญตักบาตรทุกวันพระ โดยจัด กิจกรรมระหว่างวันที่ 1 มกราคม จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม ตลอดปี โดย ในแต่ละวันมีผู้เข้าร่วมกิจกรรมประมาณ 200 คน ซึ่งมี ประชาชน ผู้อุปถัมภ์วัดอ�ำมาตย์, เยาวชน,นักเรียน, ส่วนราชการ, เทศบาลต�ำบล เวี ย งและประชาชนทั่ ว ไปมาร่ ว มท� ำ บุ ญ ใส่ บ าตรและปฏิ บั ติ ภ าวนา ส�ำหรับลักษณะของกิจกรรม เป็นการท�ำบุญตักบาตรในวันพระทุกเช้า ฟังเทศน์ฉบับล้านนา และบรรยายธรรม, สวดมนต์ทำ� วัตรเย็น นัง่ สมาธิ ท�ำจิตภาวนา ทุกวันพระ 4. รดน�้ำด�ำหัวผู้สูงอายุ เทศกาลสงกรานต์ (ปี๋ใหม่เมือง) จัดขึ้น ระหว่างวันที่ 13 เมษายนจนถึงวันที่ 20 เมษายนของทุกปี มีผู้เข้าร่วม กิจกรรมประมาณ 300 คน จากหน่วยงาน สถานศึกษา องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิน่ และองค์กรอืน่ ๆ ทีเ่ ข้าร่วมกิจกรรมได้แก่ ประชาชนผูอ้ ปุ ถัมภ์ วัดอ�ำมาตย์, เทศบาลต�ำบลเวียงและสภาวัฒนธรรมอ�ำเภอเทิง โดยมี ลักษณะของกิจกรรมคือ สรงน�ำ้ พระ รดน�ำ้ ด�ำหัวผูส้ งู อายุ และสืบชะตา โดยลูกหลานจะพาพ่อแม่ ปูย่ า่ ตายาย ทีม่ อี ายุตงั้ แต่ 70 ปีขนึ้ ไปมาทีว่ ดั เพือ่ ให้ลกู หลานได้ขอขมารดน�ำ้ และท�ำพิธสี บื ชะตาฉลองเทศกาลปีใหม่ เมือง เพือ่ ความเป็นสิรมิ งคล โดยแต่ละคนจะน�ำเอาเสือ้ ผ้าของลูกหลาน ที่ไม่ได้อยู่บา้ น (ไปท�ำงานต่างจังหวัด) มาร่วมพิธีด้วย
SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงราย
.indd 138
8/2/2562 9:42:37
เปิดปูมประวัติโรงเรียนวัดอ�ำมาตย์วิทยา
เป็นโรงเรียนพระปริยตั ธิ รรม แผนกสามัญศึกษา มีวตั ถุประสงค์เพือ่ ส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษาให้แก่กุลบุตรที่เข้ามาบวชเรียนโดยไม่ เสียค่าใช้จ่าย เพื่อให้กุลบุตรที่มีฐานะทางครอบครัวยากจนได้มีโอกาส ทางการศึกษาอย่างต่อเนือ่ ง แต่ละปีจะมีผมู้ าเรียนเป็นจ�ำนวนมาก โดย ในปีการศึกษา 2561 มีจ�ำนวน 226 รูป โรงเรียนวัดอ�ำมาตย์วิทยา พระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ตั้งอยู่ ในเขตเทศบาลต�ำบลเวียง อ�ำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย สังกัดส�ำนักงาน พระพุทธศาสนาแห่งชาติ โทรศัพท์ 0-5379-5162, 0-5379-5999 Email address : ammart-school@hotmail.com เปิดสอนระดับ ชัน้ ม.1 ถึงระดับชั้น ม.6 ในเนื้อที่ 1 ไร่ 2 งาน 94 ตารางวา เขตพื้นที่บริการ ทุกต�ำบลในอ�ำเภอเทิง และอ�ำเภอใกล้เคียง เดิม ณ ที่แห่งนี้ เป็นที่ตั้งของโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกธรรม บาลีส�ำนัก ศาสนศึกษาวัดอ�ำมาตย์ ที่เปิดการเรียนการสอนมา ตั้งแต่ปี พุทธศักราช 2535 และในปีเดียวกันนั้นเอง คณะสงฆ์อ�ำเภอเทิง โดย การน�ำของพระเดชพระคุณหลวงพ่อพระครูนวิ ษิ ฐ์สทั ธาคุณ (เจ้าอาวาส วัดอ�ำมาตย์, เจ้าคณะอ�ำเภอเทิงสมัยนัน้ ) ได้เล็งเห็นความส�ำคัญของการ ศึกษาพระภิกษุ-สามเณร ประกอบกับทางรัฐบาลมีนโยบายที่จะขยาย โอกาสทางการศึกษาให้กับเด็กนักเรียน และในขณะเดียวกัน กรมการ ศาสนามีความประสงค์ที่จะให้แต่ละเขตพื้นที่จัดตั้งโรงเรียนพระปริยัติ ธรรม แผนกสามัญศึกษาขึ้น เพื่อให้เด็กที่พลาดโอกาสทางการศึกษา ได้บวชเรียน ด้วยเหตุนี้ จึงได้นำ� เรือ่ งดังกล่าวเข้าในทีป่ ระชุมคณะพระสังฆาธิการ อ�ำเภอเทิง เพื่อขอมติในที่ประชุม และผลปรากฏว่า มติที่ประชุมให้การ สนั บสนุ น ดั ง นั้น พระเดชพระคุณ หลวงพ่อ พระครูนิวิษฐ์สัทธาคุณ จึงได้ดำ� เนินการหาแนวทางพัฒนาการศึกษาของคณะสงฆ์อำ� เภอเทิงขึน้ จากเดิมที่เคยมีเพียงแผนการเรียนการสอนเฉพาะแผนกธรรมและบาลี เท่านั้น เนื่องด้วยมีวัตถุประสงค์เพื่อที่จะให้พระภิกษุ-สามเณร ได้มี โอกาสศึกษาแผนกสามัญศึกษาควบคูก่ บั การเรียนแผนกธรรมบาลีไปด้วย จึ ง ได้ เ ริ่ ม เปิ ด ด� ำ เนิ น การ และได้ เ พิ่ ม จ� ำ นวนบุ ค ลากรเพื่ อ ช่ ว ยใน กระบวนการจัดการเรียนการสอน โดยแต่งตัง้ ให้พระครูมนุ นิ ท์ธรรมานุวตั ร (พระสิทธิสารมุนี ในปัจจุบัน) รองเจ้าคณะอ�ำเภอเทิงสมัยนั้น ให้ด�ำรง ต�ำแหน่งผู้จัดการโรงเรียน และมีพระมหาสุทธิพงษ์ สุวีโร (พระครูอุดม คณาภิรักษ์ ในปัจจุบัน) ด�ำรงต�ำแหน่งครูใหญ่ ซึ่งได้รับการสนับสนุน ด้านการเรียนการสอนด้วยดีจากโรงเรียนเทิงวิทยาคม จึงได้เปิดท�ำการ เรียนการสอนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นนับแต่นั้นมา พร้อมกับได้ รายงานแจ้งการด�ำเนินงานไปยังกรมการศาสนากระทรวง ศึกษาธิการ และได้ รั บ การสนั บ สนุ น จากกรมการศาสนา ขึ้ น ทะเบี ย นเมื่ อ ปี พุทธศักราช 2536 (วันที่ 26 มกราคม พ.ศ.2536) ตามใบอนุญาตเลขที่ 74/2536 และในปีการศึกษา 2539 (วันที่ 27 กันยายน พ.ศ.2539) ได้เปิดขยาย ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายตามใบอนุญาตของกรมการ ศาสนาจนถึงปัจจุบัน โดยมีวิสัยทัศน์ดังนี้
“สร้างศาสนทายาทที่ดี มีความรู้ ก้าวทันเทคโนโลยี รักวัฒนธรรม สัมพันธ์ชุมชน น้อมสนองงานตามพระราชด�ำริฯ” “ปญญา ว ธเนน เสยโย” (ปัญญา ประเสริฐกว่าทรัพย์) Facebook : โรงเรียนวัดอ�ำมาตย์วิทยา อ.เทิง จ.เชียงราย CHIANG RAI I SBL บันทึกประเทศไทย
4
.indd 139
139
8/2/2562 9:42:42
วัดดอนไชย
อนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม พิธีกรรมพื้นบ้าน พระอธิการจิตติชัย ปิยสีโล ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
วัดดอนไชย บ้านแม่ลอยหลวง ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 33 หมูท่ ี่ 8 ต�ำบลศรีดอนไชย อ� ำ เภอเทิ ง จั ง หวั ด เชี ย งราย สั ง กั ด คณะสงฆ์ ม หานิ ก าย ปั จ จุ บั น พระอธิการจิตติชัย ปิยสีโล ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
ประวัติความเป็นมา
เดิมทีนนั้ บรรพบุรษุ ได้อพยพมาจากจังหวัดน่าน ตั้งบ้านเรือนและ สร้างวัดขึ้นในราวปีพุทธศักราช 2301 โดยบริเวณที่ตั้งของวัดเป็น เนินเขาเตี้ยๆ ประกอบกับยังมีความระลึกถึงวัดในถิ่นฐานเดิมที่อพยพ มามี ชื่ อว่ า วัด ดอนไชย ก็เ ลยพร้อ มใจกัน ตั้ง ชื่อวัด ว่า วัดดอนไชย เพื่อเป็นอนุสรณ์ วัดดอนไชยได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อปี พุทธศักราช 2480 มีเนื้อที่ทั้งหมดประมาณ 6 ไร่ 140
4
วั ด ดอนไชยบ้ า นแม่ ล อยหลวง เป็ น ชุ ม ชนที่ ป ระกอบไปด้ ว ย ชาวไทยญวน ไทลื้ อ อาศั ย อยู ่ ใ นชุ ม ชนเดี ย วกั น จึ ง ยั ง คงอนุ รั ก ษ์ ศิลปวัฒนธรรมพิธีกรรมพื้นบ้านต่างๆ ที่เกี่ยวกับพระพุทธศาสนาไว้ หลายอย่าง อาทิเช่น การทอผ้าจุลกฐิน ป๋าเวณีปใ๋ี หม่เมือง ป๋าเวณียเี่ ป็ง และการสู่ขวัญพระแม่โพสพถวายทานข้าวใหม่ เป็นต้น
SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงราย
.indd 140
11/2/2562 15:46:49
ท�ำเนียบเจ้าอาวาส
1. พระปู่ลุงค�ำ ปฐมเจ้าอาวาสผู้ก่อตั้งวัด 2. ครูบาจัยยะเสน ชยเสโน 3. ครูบากัณธวงศ์ กณฺธวงฺโส 4. ครูบาหลวงหน่อแก้ว อภิชัย 5. พระกัณธรส คณฺทาโร 6. ครูบาอินสวย สุธมฺโม 7. ครูบาบุญเลิศ ภทฺธจาโร 8. พระทวี 9. พระอธิการอินทอน อนาวีโล 10. พระหมื่น สิริจนฺโท 11. พระสังฆ์ 12. พระบุญธรรม 13. เจ้าอธิการสมปราฌช์ เขมโก 14. พระบุญช่วย 15. พระอธิการภูมิจิตร ปญฺญาวุทโฒ 16. พระอธิการจิตติชัย ปิยสีโล เจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน
สานต่อ “การทอผ้าจุลกฐิน” สร้างสาราณียธรรม 6 แห่งความสามัคคี
การทอดกฐินเป็นพิธีกรรมทางศาสนาที่มีก�ำหนดระยะเวลาเพียง 1 เดือน เริ่มตั้งแต่แรม 1 ค�่ำเดือน 11 จนถึงวันขึ้น 15 ค�่ำ เดือน 12 และต้องท�ำภายในก�ำหนดเวลาเท่านั้น การทอดกฐินจะต้องมี “ผ้ากฐิน” และจะต้องทอดกฐินให้ส�ำเร็จทัน ตามก�ำหนดเวลา ในสมัยก่อนผ้านัน้ หาได้ยาก ต้องใช้ฝา้ ยมาปัน่ กรอ ทอ ตัดเย็บกันเอง จนเป็นผ้าใช้สำ� หรับทอดถวายเป็นผ้ากฐิน จึงถือปฏิบัติ เป็นประเพณีสบื ต่อกันมา โดยการทอดกฐิน เป็นการทอดผ้าหรือวางผ้า ลงต่อหน้าพระสงฆ์ เพือ่ ให้พระสงฆ์นำ� ผ้านัน้ ไปวางทาบกับไม้สะดึงหรือ กรอบไม้ที่ท�ำเป็นรูปจีวร จะได้ตัดผ้าตามรูปแบบจีวรนั้น ส�ำหรับ “จุลกฐิน” หรือ กฐินน้อย ทางวัดดอนไชยจัดเป็นประเพณี ทุกปี โดยใช้เวลาท�ำทุกอย่างให้แล้วเสร็จภายในวันเดียว นับตัง้ แต่หาฝ้าย มาปัน่ ทอท�ำเป็นด้าย และเย็บให้สำ� เร็จเป็นจีวรแล้วน�ำไปทอดถวายแด่ภกิ ษุสงฆ์ การเตรียมงานทอผ้าจุลกฐิน โดยการเก็บฝ้ายแล้วน�ำมาใช้ทอผ้า เป็นประเพณีที่ยึดถือว่าผู้ที่เก็บจะต้องเป็นสาวบริสุทธิ์หรือพรหมจรรย์ เพื่อความบริสุทธิ์ของผ้ากฐินที่จะท�ำขึ้น จากนั้นน�ำฝ้ายที่ได้มานั้นปั่น CHIANG RAI I SBL บันทึกประเทศไทย
4
.indd 141
141
11/2/2562 15:46:53
และกรอให้เป็นด้าย พร้อมทีจ่ ะท�ำการทอต่อไป อุปกรณ์ทใี่ ช้ในการปัน่ ด้าย กรอ และทอผ้า จะต้องจัดหามาให้มากเพือ่ ทีจ่ ะช่วยกันทีละหลายๆ คน จึงจะได้ผ้าออกมามากพอที่จะใช้ในการตัดเย็บออกมาเป็นผ้าจีวร หรือ ผ้าผืนใดผืนหนึง่ ของไตรจีวรให้สำ� เร็จทันเวลาวันเดียว จากนัน้ น�ำผ้าทีไ่ ด้ มาตัดออกเป็นส่วนตามต้องการ เมื่อส่วนต่างๆ ครบตามจ�ำนวนแล้วก็ ช่วยกันน�ำเอาผ้าเหล่านัน้ มาเนา ด้น และเย็บให้ตดิ กันเป็นตารางผืนจีวร โดยใช้ไม้สะดึงหรือไม้กฐินช่วยในการขึงเย็บ แล้วย้อมผ้าทีไ่ ด้ดว้ ยน�ำ้ ฝาด เพือ่ ให้ได้สขี องจีวร แต่ในปัจจุบนั นัน้ ใช้สสี ำ� เร็จ จากนัน้ น�ำไปตากให้แห้ง แล้วน�ำมารีดจัดเป็นชุดให้เรียบร้อย การทอดมักจะนิยมทอดกันในวันขึ้น 15 ค�่ำ เดือน 12 ขั้นตอนใน การทอดมักจะเหมือนกฐินอืน่ ๆ คือ เมือ่ มีผา้ ครบแล้วก็ชกั ชวนกันน�ำมา ที่วัดและร่วมกล่าวค�ำถวายในท่ามกลางสงฆ์ พระสงฆ์อุปโลกน์รับผ้า
142
4
แล้วอนุโมทนา กรวดน�้ำอุทิศส่วนกุศลแล้วเป็นเสร็จพิธี จุลกฐินนี้ ยังเป็นงานทีร่ ว่ มใจกันก่อให้เกิดสามัคคีธรรมอย่างงดงาม ดังในสาราณียธรรม 6 หมายถึง ธรรมเป็นที่ตั้งแห่งความระลึกถึงกัน ถือว่าเป็นธรรมที่เป็นพลังในการสร้างความสามัคคี มีอยู่ 6 ข้อ คือ 1. กายกรรม อันประกอบด้วยเมตตา คือ เวลามาร่วมท�ำจุลกฐิน ต้องมีความเมตตากันและกัน เช่นการให้การอนุเคราะห์ช่วยเหลือกัน และกันในเวลาอันจ�ำกัด 2. วจีกรรม อันประกอบด้วยเมตตา คือ การมีวาจาที่ดี สุภาพ อ่อน หวาน พูดมีเหตุผล 3. มโนกรรม อันประกอบด้วยเมตตา คือ ความคิดทีป่ ระกอบด้วยเมตตา ทัง้ ต่อหน้าและลับหลัง เป็นการคิดดีตอ่ กันไม่คดิ อิจฉาริษยาหรือไม่คดิ มุง่ ร้าย พยาบาท หากทุกคนคิดแล้วปฏิบตั เิ หมือนกันความสามัคคีกจ็ ะเกิดขึน้ ในสังคม
SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงราย
.indd 142
11/2/2562 15:46:57
4. สาธารณโภคี คือ การรู้จักแบ่งสิ่งของให้กันและกันตามโอกาส อันควร เพื่อแสดงความรักความหวังดีของผู้ที่อยู่ในสังคมเดียวกัน 5. สีลสามัญญตา คือ ความรักใคร่สามัคคี รักษาศีลอย่างเคร่งครัด เหมาะสมตามสถานะของตนมีความประพฤติสจุ ริตปฏิบตั ติ ามกฎเกณฑ์ ของหมู่คณะ ไม่เอารัดเอาเปรียบผู้อื่น 6. ทิฏฐิสามัญญตา คือ การมีความเห็นร่วมกัน ไม่เห็นแก่ตัว รู้จัก เคารพและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นร่วมมือร่วมใจในการสร้างสรรค์ สังคมให้เกิดความสงบ ธรรม 6 ประการ ฆราวาสยังสามารถน�ำมาประพฤติปฏิบัติได้เป็น อย่างดี หากท่านใดประพฤติจะเกิดความสามัคคีเป็นอันหนึง่ อันเดียวกัน เกื้อกูลกันไม่ทะเลาะวิวาทกัน อันจะเป็นสิ่งที่ก่อให้เกิดความรักความ สามัคคีกันตลอดไป
CHIANG RAI I SBL บันทึกประเทศไทย
4
.indd 143
143
11/2/2562 15:47:02
วัดดอนแท่น 144
2
SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงราย
.indd 144
11/2/2562 15:51:43
บ้านจ�ำไฮจึงอยูใ่ นเขตการปกครองต�ำบลเชียงเคีย่ น ต่อมาต�ำบลปล้องได้แยก ออกมาบ้านจ�ำไฮ จึงอยูใ่ นเขตการปกครองของต�ำบลปล้อง เมือ่ ปี พ.ศ. 2484 บ้านจ�ำไฮ หมูท่ ี่ 2 ของต�ำบลปล้อง โดยมีนายนนท์ ผุกผ่อง เป็นก�ำนัน ต�ำบลปล้อง ปัจจุบนั บ้านจ�ำไฮได้กอ่ ตัง้ มาเป็นเวลา 145 ปี มีพนื้ ที่ 1,880 ไร่ ทีน่ า 727 ไร่ ทีส่ วน 500 ไร่ ทีอ่ ยูอ่ าศัย 625 ไร่ แหล่งน�ำ้ 8 ไร่ และที่ สาธารณประโยชน์ 20 ไร่
การบริหารการปกครองมีเจ้าอาวาสเท่าที่ทราบนาม ดังนี้
วัดดอนแท่น
ขอเชิญสาธุชนผู้สนใจในธรรม ท�ำบุญใส่บาตรฟังธรรม รักษาอุโบสถศีล พระครูวิบูลนวการ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
วัดดอนแท่น ตัง้ อยูบ่ า้ นจ�ำไฮ หมู่ 2 ต�ำบลปล้อง อ�ำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย วัดมีเนื้อที่ 2 ไร่ 60 ตารางวา มีธรณีสงฆ์ จ�ำนวน 2 แปลง เนือ้ ที่ 8 ไร่ 72 ตารางวา ตามประวัตสิ ร้างเมือ่ พ.ศ. 2428 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อ วันที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2537 และผูกพัทธสีมาเมือ่ วันที่ 10 กุมพาพันธ์ พ.ศ. 2539 วัดดอนแท่น เดิมตัง้ อยู่ ข้างล่างดอยในหมู่บ้านประมาณ 40 ปี ก็ย้ายมาตั้งอยู่บนยอดดอย ประมาณ45ปี ก็ยา้ ยลงมาตัง้ อยูใ่ นทีอ่ ยูป่ จั จุบนั นีเ้ มือ่ ปี พ.ศ. 2514
ร�ำลึก 145 ปี หมู่บ้านจ�ำไฮ
เดิมพืน้ ทีต่ งั้ หมูบ่ า้ นจ�ำไฮแห่งนีม้ นี ำ�้ ไหลซึมตลอดเวลาและมีตน้ ไม้ใหญ่ ชือ่ ต้นไฮ เริม่ ก่อตัง้ หมูบ่ า้ นเมือ่ ปี พ.ศ. 2407 โดยมีครอบครัวพ่อหน้อยนุ ไม่ทราบนามสกุล อพยพมาจากบ้านท่าโทก จังหวัดล�ำปาง สร้างบ้านเรือน ขึน้ มาชือ่ บ้านจ�ำไฮ ต่อมาชาวบ้านจึงพากันบุกเบิกพืน้ ทีท่ ำ� เป็นทีน่ า บ้านจ�ำไฮเริ่มแรก อยู่เขตการปกครองต�ำบลศรีดอนไชย ในสมัย จอมพล ป.พบิ ลู สงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี มีนโยบายให้แต่ละต�ำบลรวมกัน
1. พระอธิการตา 2. พระอธิการเผือน 3. พระอธิการินจันทร์ 4. พระอธิการอภิชยั อโนดม 5. พระอธิการอินทวัน เขมธโร 6. พระครูวบิ ลู นวการ เจ้าอาวาสรูปปัจจุบนั
กิจกรรมทางพระพุทธศาสนา
วันวิสาขบูชา กิจกรรมทีพ่ ทุ ธศาสนิกชนพึงปฏิบตั ใิ นวันวิสาขบูชา ได้แก่ 1. ท�ำบุญใส่บาตร กรวดน�ำ้ อุทศิ ส่วนกุศลให้ญาติทลี่ ว่ งลับ และเจ้ากรรมนายเวร 2. จัดส�ำรับคาวหวานไปท�ำบุญถวายภัตตาหารที่วัด และปฏิบัติธรรม ฟังพระธรรมเทศนา 3. ปล่อยนกปล่อยปลา เพื่อสร้างบุญสร้างกุศล 4. ร่วมเวียนเทียนรอบอุโบสถทีว่ ดั ในตอนค�ำ่ เพือ่ ร�ำลึกถึงพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ 5. ร่วมกิจกรรมเกีย่ วกับวันส�ำคัญทางพุทธศาสนา 6. จัดแสดง นิทรรศการ ประวัติ หรือเรือ่ งราวความเป็นมาเกีย่ วกับวันวิสาขบูชาตาม โรงเรียน หรือสถานทีร่ าชการต่าง ๆ เพือ่ ให้ความรู้ และเป็นการร่วมร�ำลึก ถึงความส�ำคัญของวันวิสาขบูชา 7. ประดับธงชาติตามอาคารบ้านเรือน วัด และสถานทีร่ าชการ 8. บ�ำเพ็ญสาธารณประโยชน์ สวดมนต์ขา้ มปี โดยเมือ่ วันสุดท้ายของปลายปี 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 ถึงยามเช้ามืดของวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2562 คณะสงฆ์วัดดอนแท่น น� ำ คณะศรั ท ธาร่ ว มสวดมนต์ ข ้ า มปี ส ่ ง ท้ า ยปี เ ก่ า ต้ อ นรั บ ปี ใ หม่ โดยท่านเจ้าอาวาสเมตตาให้พรว่า “สวัสดีปใี หม่ ขอให้ทกุ คน จึงมีแต่ความสุขความเจริญ สุขภาพร่างกาย แข็งแรง สมบูรณ์ ทุกประการด้วยเทอญ สาธุ สาธุ สาธุ”
CHIANG RAI I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 145
145
11/2/2562 15:51:49
วัดพระธาตุจอมหงส์ สักการะหลวงพ่อพุทธสุวรรณลาภ ศรีศากยมุนี พระครูสังฆรักษ์ประสิทธิ์ สิทฺธิเมธี ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
วัดพระธาตุจอมหงส์ ตั้งอยู่ที่บ้านห้วยผึ้ง เลขที่ 129 หมู่ 11 ต�ำบลเวียง อ�ำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย มีเนือ้ ทีท่ งั้ หมด 15 ไร่ 3 งาน 98 ตารางวา ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาปี พ.ศ. 2559 ตามประวัติความเป็นมา เดิมเป็นพื้นที่ป่ารกร้าง บริเวณบนภูเขา มีซากอิฐโบราณสถานกระจัดกระจายเต็มอยู่แต่ไม่ปรากฏหลักฐานว่า ก่อสร้างขึ้นมาแต่สมัยไหน เป็นต�ำนานที่เล่าขานสืบต่อๆกันมาว่าใน อดีตกาลมีพระธาตุ และรูปปั้นหงส์สร้างทิ้งไว้รกร้างบนภูเขาลูกเล็กๆ ทางทิศเหนือของหมู่บ้าน และมักพบเห็นหงส์ 2 ตัวบินจากภูเขาลูกนี้ ลงไปเล่นน�้ำที่หนองน�้ำใกล้กับต้นมะขามใหญ่อยู่ทางทิศตะวันตกของ หมู่บ้านเป็นประจ�ำ อยูม่ าวันหนึง่ ชาวบ้านรูส้ กึ แปลกใจว่าหงส์สองตัวทีเ่ คยบินลงไปเล่นน�ำ้ นั้นหายไปไหน ชาวบ้านจึงพากัน มาดูบนภูเขาจึงพบว่ามีการขุดเจาะ 146
2
ในตัวองค์พระธาตุและหงส์ซึ่งเป็นคลังสมบัติโบราณ เต็มไปด้วยสิ่งของ ล�้ำค่าและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ แต่กลับหายไปไม่มีใครทราบว่าคนขุดเจาะ เป็นใครและของมีค่าที่อยู่ในตัวองค์พระธาตุ และหงส์หายไปไหน ชาวบ้านจึงเรียกภูเขาลูกนี้ว่า “จอมหงส์” ต่อมาในปีพ.ศ. 2425 ชาวบ้านได้ร่วมกันบูรณปฏิสังขรณ์พระธาตุ จนแล้วเสร็จ และ จัดท�ำบุญตามประเพณีในวันแรม 8 ค�ำ่ เดือนเกีย๋ งเหนือ
SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงราย
.indd 146
11/2/2562 16:00:15
หรือเดือน 11 กระทัง่ ปีพ.ศ.2510ชาวบ้านได้อพยพจากทางภาคอีสาน และชาวบ้านทีเ่ คยอยูเ่ ดิมมีจำ� นวนเพิม่ มากขึน้ จึงขอแยกวัดจากวัดทุง่ โห้ง เพราะว่าจะได้สะดวกต่อการท�ำบุญ จึงได้บูรณปฏิสังขรณ์อีกครั้งหนึ่ง ให้เป็นส�ำนักสงฆ์ที่มีพระสงฆ์จําพรรษา โดยเริ่มสร้างศาลาหลังแรกที่ สร้างด้วยไม้มงุ หญ้าคาและอัญเชิญพระพุทธรูปหินทรายหน้าตัก 14 นิว้ มาจากโบราณสถานศักดิ์สิทธิ์วัดวังเสือ และได้ท�ำการปั้นพระพุทธรูป ปูนปั้น หน้าตัก 87 นิ้ว เพื่อบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ อรหันต์ธาตุ ประดิษฐานในศาลาการเปรียญ หลังจากนัน้ ต่อมาทุกๆ 14 ค�ำ่ และ15 ค�ำ่ ชาวบ้านจะเห็นดวงแก้ว เป็นล�ำแสงสีขาวสว่างขึ้นจากพระธาตุ และแสงสีเหลืองทองอร่ามออก จากองค์พระพุทธรูปปูนปัน้ ชือ่ ว่า หลวงพ่อพุทธสุวรรณลาภศรีศากยมุนี จนกระทั่งพ.ศ.2548 ด้วยความตั้งใจอันเป็นกุศลแรงกล้าของท่าน พระครูสังฆรักษ์ประสิทธิ์ สิทฺธิเมธี เจ้าอาวาส วัดพระธาตุจอมหงส์ได้ กลับมาเจริญรุ่งเรืองอีกครั้ง มีการสร้างอุโบสถได้อันเชิญหลวงพ่อพุทธ สุวรรณลาภ ศรีศากยมุนไี ว้ในอุโบสถ ทีไ่ ด้รบั การกล่าวขานจากผูศ้ รัทธา ทั่วสารทิศถึงความงดงามอลังการและเป็นศูนย์รวมใจพุทธศาสนิกชน และสร้างศาลาบ�ำเพ็ญบุญ กุฏสิ งฆ์ หอระฆัง ท�ำการบูรณะองค์พระธาตุ
ล�ำดับเจ้าอาวาส
1. พระมหาอัมพร 2. พระเลื่อน 3. พระวันชัย 4. พระหวัน 5. พระรส จนฺทธมฺโม พ.ศ. 2542 ถึง 2547 6. พระครูสังฆรักษ์ประสิทธิ์ สิทฺธิเมธี พ.ศ. 2548 จนถึงปัจจุบัน
การเดินทางมาวัดพระธาตุจอมหงส์
สามารถเดินทางมาวัดพระธาตุจอมหงส์โดยใช้โปรแกรม Google Map เลขพิกัด19.7250629, 100.2301963 ช่องทางร่วมท�ำบุญสร้างบูรณปฏิสงั ขรณ์พระธาตุจอมหงส์ หมายเลข บัญชี 981-6-88749-5 ธนาคารกรุงไทย ชื่อบัญชีวัดพระธาตุจอมหงส์ สอบถามเพิม่ เติมโทร. 083-1537401 พระครูสงั ฆรักษ์ประสิทธิ์ สิทธฺ เิ มธี
CHIANG RAI I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 147
147
11/2/2562 16:00:24
วัดเทิงเสาหิน เรื่องราวของเมืองเทิงโบราณ เมืองที่เคยรุ่งเรืองมาในอดีต
พระครูวิโรจน์ธรรมนันท์ (บุญธรรม) เจ้าคณะต�ำบลป่าแงะ(ธ) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
วัดเทิงเสาหิน ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นร่องขามป้อม หมู่ 9 ต�ำบลเวียง อ�ำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย สังกัดธรรมยุตติกนิกายปัจจุบนั มีพระครูวโิ รจน์ธรรมนันท์ (บุญธรรม) เจ้าคณะต�ำบลป่าแงะ (ธ) เป็นเจ้าอาวาส เป็นวัดที่ขึ้น ทะเบียนโบราณสถานเรียบร้อยแล้วปรากฏซากวิหาร และเจดีย์ที่ตั้ง อยู่บนฐานเดียวกันจ�ำนวนหนึ่ง พบชิ้นส่วนเศียรพระพุทธรูปปูนปั้น ขนาดใหญ่ของพระประธาน ลักษณะศิลปกรรมแบบล้านนาที่มีอิทธิพล ของสุโขทัยเข้ามาปน มีอายุราวพุทธศตวรรษที่ 21 ขึ้นมา กรมศิลปากร ได้ขุดแต่งบูรณะให้มีสภาพเป็นซากโบราณเรียบร้อยแล้ว ประกาศขึ้น ทะเบียน และก�ำหนดขอบเขตในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 96 ตอนที่ 97 ลงวันที่ 16 มิถนุ ายน พ.ศ. 2522 นอกจากทีไ่ ด้กล่าวไว้ในเบื้องต้นแล้ว ยังมีโบราณวัตถุเป็นภาชนะดินเผาเนื้อแกร่งประเภทไห จากแหล่งเตา พะเยา จ�ำนวน 2 ลูก ทีย่ งั หลงเหลืออยูพ่ อได้ศกึ ษา ไหใบใหญ่ มีหู 2 หู ปากไหกว้าง 15.00 เซนติเมตร คอไห กว้าง 09.00 เซนติเมตร ส่วนกว้างสุด ช่องกลางกว้าง 26.00 เซนติเมตร ก้นไหกว้าง 12.05 เซนติเมตร 148
2
มีความสูง 32.00 เซนติเมตร และไหใบเล็ก ปากไหกว้าง 09.05 เซนติเมตร ไหโบราณทัง้ 2 ใบ พบในบริเวณทีต่ งั้ วัดเทิงเสาหินปัจจุบนั ทีเ่ รียกชือ่ ว่า วัดเทิงเสาหิน หรือ วัดเทิง (เสาหิน) เป็นชื่อที่เรียกขานกันในสมัยใหม่ ภายหลังที่ พระครูสิริหรรษาภิบาล (เพ็ง พุทฺธธมฺโม) ด�ำรงต�ำแหน่ง เจ้าอาวาสในขณะนั้น ท่านเริ่มบูรณะจนเป็นวัดที่ถูกต้องตามกฎหมาย ส่วนชื่อเดิมในยุคโบราณสมัยขอมเรืองอ�ำนาจ ชื่อว่า วัดดงแหน(ห-แ-น) หรือที่เราเรียกว่า ต้นสมอภิเภก นั่นเอง ส่วนค�ำว่าเทิง แปลว่า ที่สูง เป็นชื่อเมืองในสมัยโบราณ และค�ำว่า เสาหิน ก็คือ เสาวิหารที่สกัด มาจากหินทั้งแท่งจริงๆ แต่ละแท่งเป็นเสาเหลี่ยมยาว หนักแท่งละ
SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงราย
.indd 148
11/2/2562 16:04:22
2-3 ตัน (2,000-3,000 กิโลกรัม ) มีเดือยสวมต่อกัน ยกตั้งจากพื้น ถึงหลังคา ท�ำหน้าที่เหมือนเสาบ้านเรือนทั่วไป เรื่องราวของเมือง เทิงโบราณ พบในจารึกสมุดข่อยที่วัดพระเจ้าตนหลวง(วัดศรีโคมค�ำ) จังหวัดพะเยา ในหลักฐานจารึกว่า เมือ่ ปีมหาพุทธศักราช 299 สมัยนัน้ แผ่นดินไทยทั้งหมดอยู่ใต้การครอบครองของขอมโบราณ ต่อมาเมื่อ อาณาจักรขอมเริ่มอ่อนแอเสื่อมอ�ำนาจลง พวกชนเผ่าไทจึงได้รวมตัว ก่อสร้างเมืองขึ้นมาใหม่ก็มี เมืองเชียงแสน เชียงราย เชียงของ เชียงค�ำ เมืองเทิง เมืองพุกาม (พะเยา) แล้วก็มีการก่อสร้างตัวเป็นปึกแผ่นขึ้น จนพั ฒ นามาเป็ น ประเทศไทยในปั จ จุ บั น นี้ ว ่ า ด้ ว ยประวั ติ ศ าสตร์
ส่วนหนึ่งของไทยอย่างย่นย่อ และที่กล่าวมาก็เพื่อชี้ให้เห็นว่า เมืองเทิง เคยรุง่ เรืองมาในอดีต แล้วก็รา้ งราไปเมือ่ ไรไม่ปรากฏชัด ส�ำหรับ วัดดงแหน ก็ปล่อยให้เป็นวัดร้างมาตั้งแต่เมื่อไรก็ไม่ทราบจนกลายมาเป็นวัดที่มี พระสงฆ์อีกครั้งก็เมื่อหลวงปู่เพ็ง พุทฺธธมฺโม เดินธุดงค์มาถึง และได้ พ�ำนักปักกลดอยู่ที่นั้น แล้วก็ตัดสินใจสร้างวัดเทิงเสาหินขึ้นมา วัดเทิงเสาหิน ในปัจจุบันมีเนื้อที่โดยประมาณ 80 ไร่ สิ่งก่อสร้าง ที่ส�ำคัญในครั้งอดีตที่หลงเหลือไว้ส�ำหรับอนุชนรุ่นหลังได้ศึกษาก็พอ ยังมีเหลืออยู่บ้าง อันเนื่องมาจากการถูกทุบท�ำลายเสียหายจากฝีมือ ของนักขุดคุ้ยหาของเก่าเมื่อครั้งในอดีต แต่ก็พอที่สันนิษฐานได้บ้างว่า สิ่งปลูกสร้างที่ส�ำคัญได้แก่ เจดีย์ และวิหารหลังใหญ่ เสาของวิหาร สร้างด้วยแท่งหินตัน สกัดเป็นแปดเหลี่ยม เส้น ผ่าศูนย์กลาง 3 คืบ ยาวแท่งละ 2 ศอก หินแต่ละแท่งหนัก 2-3 ตัน ปลายด้านหนึง่ เจาะเป็นรู อีกด้านหนึ่งสกัดเป็นเดือยส�ำหรับสอดใส่ไปในรูของอีกต้นหนึ่ง น�ำแท่ง หินเหล่านั้นมาตั้งต่อกันขึ้นเป็นเสาวิหาร มี 39 ต้น สูงประมาณ 7 ศอก ตรงกลางวิหารมีพระพุทธรูปก่ออิฐฉาบปูน และยางไม้ หน้าตักกว้าง 3 ศอก สูง 6 ศอก แต่ถูกทุบท�ำลายเสียหายไปเกือบหมด คงเหลือไว้ พอสังเกตเห็น ในขณะนี้ก็พอมีอยู่บ้างอาทิ เช่น เสาหิน อิฐศิลาแลง เศียรพระพุทธรูป เหล่านี้เป็นต้น ปั จ จุ บั น วั ด เทิ ง เสาหิ น ได้ รั บ ความเห็ น ชอบของกระทรวง ศึกษาธิการ กรมการศาสนา และมหาเถรสมาคม อนุญาตให้สร้างวัด เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2519 และด้วยความเห็นชอบของมหา เถรสมาคม กระทรวงศึกษาธิการจึงประกาศตั้งเป็นวัดขึ้นในพระพุทธ ศาสนา ประกาศ ณ วันที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2523 ต่อมามีพระ ราชโองการโปรดเกล้ า ฯ ให้ วั ด เทิ ง เสาหิ น ที่ มี ชื่ อ ในบั ญ ชี ไ ด้ รั บ พระราชทานวิสุงคามสีมา ประกาศ ณ วันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 วัดเทิงเสาหิน มีเจ้าอาวาสปกครองตัง้ แต่อดีตถึงปัจจุบนั รวมทัง้ สิน้ 4 รูป ดังนี้ 1. พระครูชินวรคุณ (เสงี่ยม) พ.ศ. 2518-2522 2. พระครูสิริหรรษาภิบาล (เพ็ง) พ.ศ. 2523-2542 3. พระสมุห์พรหม สุพรหมญาโณ พ.ศ. 2543-2547 4. พระครูวิโรจน์ธรรมนันท์ (บุญธรรม) พ.ศ. 2548 จนถึงปัจจุบัน เจ้าคณะต�ำบลป่าแงะ (ธรรมยุต) CHIANG RAI I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 149
149
11/2/2562 16:04:31
H I STO R Y O F B U DDH I S M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดพระเกิดคงคาราม ท่องเมืองเก่าก่อนพุทธศักราช 1700 เล่าขานต�ำนานพระพุทธรูปเชียงแสน พระสมุห์กฤตภาส สุชาโต
ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดพระเกิดคงคาราม
วัดพระเกิดคงคาราม ตั้งอยู่เลขที่ 227 หมู่ที่ 14 ต�ำบลเวียง อ�ำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ได้รบั อนุญาต ให้ตั้งเป็นวัดเมื่อ พ.ศ. 2436 จนถึงปัจจุบันวัดตั้งมาได้ 124 ปี โดยหลวงพ่อพรหม จันทร์ถา ซึ่งขณะนั้นด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส เป็นผูน้ ำ� การก่อสร้าง โดยมีคณะศรัทธาบ้านตัง้ ข้าวร่วมแรงร่วมใจกัน จนสร้างวัดส�ำเร็จ ได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา เมือ่ ปี พ.ศ. 2471 ชื่อวัดเดิมคือ วัดคงคาราม หรือ วัดหัวฝาย 150
หลังจากสร้างวัดคงคารามแล้ว ต่อมา พระครูญาณประยุติ (บุญเลิศ รวิวโํ ส) ได้ยา้ ยมาจากวัดพระเกิด อ�ำเภอเมือง จังหวัดน่าน เมือ่ ท่านได้ดำ� รงต�ำแหน่งเป็นเจ้าอาวาส จึงได้เปลีย่ นชือ่ วัดเสียใหม่ ให้เหมาะสม โดยน�ำชือ่ วัดเดิมมาเพิม่ เติมเป็น “วัดพระเกิดคงคาราม” จนมาถึงบัดนี้ ต�ำบลเวียง เป็นต�ำบลหนึ่งในอ�ำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย ประกอบด้วย 25 หมูบ่ า้ น และเป็นทีต่ งั้ ของสถานทีร่ าชการหลายแห่ง ของอ� ำ เภอเทิ ง ต� ำ บลเวี ย งเดิ ม เป็ น เมื อ งๆ หนึ่ ง ขึ้ น ตรงต่ อ จังหวัดน่าน เมื่อปี พ.ศ. 2444 ขณะนั้นเรียกต�ำบลว่าแคว่น และ ต�ำบลเวียงเรียกว่า “แคว่นเวียง” ต่อมาในปี พ.ศ. 2475 จึงได้ แยกการปกครองออกมาจาก จังหวัดน่าน ขึน้ ตรงต่อ จังหวัดเชียงราย ใช้ชอื่ ว่า อ�ำเภอเทิง ครัง้ แรก ต�ำบลเวียงแบ่งเขตการปกครองออกเป็น 5 หมู่บ้าน โดยในปัจจุบันแบ่งการปกครองออกเป็น 25 หมู่บ้าน
SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงราย
.indd 150
11/02/62 17:02:28
สักการะพระพุทธรูปเชียงแสน เก่าแก่ก ว่ า 500 ปี
ณ บริ เ วณที่ ดิ น เดิ ม ของวั ด พระเกิ ด คงคารามเป็ นวั ด ร้ า ง ไม่ปรากฏชือ่ แต่ได้ขดุ พบพระพุทธรูปจมดินในบริเวณวัดหลายองค์ ซึ่งต่อมาทางคณะศรัทธาได้อัญเชิญมาประดิษฐานไว้ในพระวิหาร เรียกว่า หลวงพ่อเชียงแสน นอกจากนี้ ยังมีหลวงพ่อขาว หลวงพ่อ นาคน้อย รวมแล้วมีทั้งหมด 6 องค์ ล้วนเป็นศิลปะล้านนา ชนิด ทองส�ำริด สวยงาม บางองค์มีอักขระจารึกไว้ที่ฐานด้วย ซึ่งมีอายุ ประมาณ 500 กว่าปี ถือได้วา่ วัดพระเกิดคงคาราม เป็นวัดเก่าแก่ เป็นอันดับต้นๆ ของอ�ำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย
ประวัติพ ระพุทธรูปเชียงแสน
ความเป็นมาของพระพุทธรูปเชียงแสน นับเนือ่ งตัง้ แต่เมือ่ สมัย หลวงพ่อพรหม จันทร์ถา เป็นผูร้ วบรวมศรัทธาชาวบ้านแล้วท�ำการ บูรณะวัดพระเกิดคงคาราม ซึง่ เป็นวัดร้างมาก่อน เมือ่ ท�ำการบูรณะวัด ขึน้ มีการสร้างเสนาสนะขึน้ มา จึงได้ขดุ พบพระพุทธรูปศิลปะเชียงแสน (ชาวบ้านจึงเรียกหลวงพ่อเชียงแสนตั้งแต่นั้นมา) มีจำ� นวน 3 องค์ และมีอายุราวๆ 500 - 600 ปี ต่อมาจึงได้ขดุ พบวัตถุโบราณ ต่างๆ เช่น เสาหินโบราณ และพระพุทธรูปอีก 3 องค์ ทัง้ หมดเป็นหกองค์ ตามหลักฐานที่ได้ค้นพบมาจากพงศาวดาร มอญมาปราบได้ ล้านนาไทย เมื่อปี พ.ศ. 2101 เมืองเทิง หรือ เมืองเซิง ถูกตีแตก ต่อมาประชาชนถูกต้อนไปหลายครั้ง วัดต่างๆ จึงเป็นวัดร้าง (และโดยสังเกตจากความเก่าแก่มีพระพุทธรูปที่มีอักษรจารึกไว้ และยังมีซากเสาหินอีกด้วย)
รายนามเจ้าอาวาส
1. หลวงพ่อพรหม จันทร์ถา พ.ศ. 2436 - พ.ศ. 2450 2. เจ้าอธิการแสงเมือง มหาวงศนันท์ พ.ศ. 2450 - พ.ศ. 2460 3. พระครูญาณประยุต(ิ บุญเลิศ รวิวโํ ส) พ.ศ.2460 - พ.ศ.2519 4. พระวัลลภ อนาวิโล พ.ศ. 2519 - พ.ศ. 2520 5. พระปั๋น กิตฺติภทฺโท พ.ศ. 2521 - พ.ศ. 2522 6. พระสิงห์ทอง มณเฑียร พ.ศ. 2522 7. พระเกรียงศักดิ์ กาวิชัย พ.ศ. 2523 8. พระมหามณเฑียร พ.ศ. 2524 9. พระสุบิน ฐิตสีโร พ.ศ. 2525 - พ.ศ.2526 10. พระบุญมี ฐานทตฺโต พ.ศ. 2527 11. พระอธิการโท่น โฆสธมฺโม พ.ศ. 2528 - พ.ศ.2535 12. พระครูวสิ ฐิ พัฒนโสภณ(สวัสดิ์ ปรกโม) พ.ศ. 2526 - พ.ศ. 2555 13. พระสมุห์กฤตภาส สุชาโต พ.ศ. 2555 - ปัจจุบัน
CHIANG RAI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 151
151
11/02/62 17:02:35
ประวั ติ เ สาหิน โบราณ
เสาหินโบราณที่เห็นอยู่นี้เป็นเสาหินอุโบสถเก่าราวศตวรรษ ที่ 18-19 ซึ่งได้มาจากวัดเสาหินใหญ่ เสาหินน้อย วัดป่าฝาง และ วัดพระเกิดคงคาราม โดยวัดร้างเหล่านี้ อยู่ในความดูแลของ วัดพระเกิดคงคาราม ได้เก็บรวบรวมไว้ให้ประชาชนทัว่ ไปได้ศกึ ษา ว่าเมืองเทิงเคยมีความเจริญรุ่งเรืองมาก่อนในประวัติศาสตร์ และ เป็นที่เจริญในด้านพระพุทธศาสนาอีกเมืองหนึ่งราวปี พ.ศ.2101 มอญมาปราบได้ล้านนาไทย เมืองเทิง หรือ เมืองเซิงถูกตีแตก ต่อ มาประชาชนถูกต้อนไปหลายครั้ง วัดต่างๆ จึงเป็นวัดร้าง เหลือ แต่ซากปรักหักพัง เช่น พระพุทธรูปหินทรายและเสาหินไว้เท่านั้น
กิ จ กรรมของวัด และการท่องเที่ย ว
วัดพระเกิดคงคาราม ได้จัดให้มีกิจกรรมที่จัดเป็นประจ�ำทุกปี ประกอบด้วย 1. งานสืบชะตาแม่น�้ำอิง และประเพณีแข่งเรือพาย จัดร่วม กับสภาวัฒนธรรม อ�ำเภอเทิง และหน่วยงานเทศบาลเวียงเทิง ในช่วงเดือนกันยายน หรือตุลาคมของทุกปี 2. แห่ พ ระรอบเมือง(สรงน�้ ำ พระพุท ธรู ป โบราณของวั ด ) จัดขึ้นในวันที่ 16 เมษายน ของทุกปี
152
SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงราย
.indd 152
11/02/62 17:02:41
PHU CHEEFAH AD.indd 153
13/2/2562 11:09:19
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดดอนแก้ว
สักการะพระพุทธรูป “พระเจ้างามดอนแก้ว” งามทั้งข้างใน งามทั้งข้างนอก พระครูรัตนธรรมานุสรณ์(ครูบาธรรมสรณ์) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
วัดดอนแก้ว ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 5 บ้านดอนดินแดง หมูท่ ี่ 6 ต�ำบลปล้อง อ�ำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ได้รบั อนุญาต ให้ตงั้ วัดเมือ่ พ.ศ. 2475 และได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา เมือ่ วันที1่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2536 ปัจจุบัน พระครูรัตนธรรมานุสรณ์ ด�ำรงต�ำแหน่ง เจ้าอาวาส มีพระภิกษุ 2 รูป สามเณร 4 รูป และศิษย์วัดอีก 1 คน
ประวัติความเป็นมา ชุมชนวัดดอนแก้ว เดิมเป็นชนชาติไทยลื้อ อพยพมาจากเมืองสิงห์ สิบสองปันนา โดยการน�ำของพ่อเฒ่าหนานขัตติยะ ในปีพ.ศ. 2394 ชื่อบ้านดอนจุ๋มป๋าลาว ปีพ.ศ. 2396 ได้อาราธนา พระครูบาขันธิยะ จากเมืองหลวงน�ำ้ ทา มาสร้างวัด ให้ชอื่ ว่าวัดดอนแก้ว ถือนิมติ ตามดวงแก้ว ที่ปรากฎในคืนวันเพ็ญ และได้ย้ายที่ตั้งหมู่บ้านลงมาในที่ราบปัจจุบัน ปีพ.ศ. 2500
จองธรรม(หอธรรม) ด�ำเนินการสร้าง ปีพ.ศ. 2551 เพื่อเก็บรวบรวมคัมภีร์ใบลานทาง พุทธศาสนา เพื่อให้ง่ายต่อการดูแลรักษา โดยท�ำจากไม้ทั้งหลัง และใช้ เสาไม้ต้นเดียว ตามแบบโบราณ 154
3
โฮงเฮียนสืบสานล้านนา วัดดอนแก้ว
จัดตัง้ ขึน้ เมือ่ ปีพ.ศ. 2544 เพือ่ อนุรกั ษ์สบื สานวิถชี วี ติ ภูมปิ ญ ั ญาล้านนา โดยจัดให้มีการเรียนการสอน ในทุกวันเสาร์และอาทิตย์
SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงราย
.indd 154
11/2/2562 16:08:09
ศาสนศึกษา
สวนสมุนไพรในวัด และโรงเรียนสืบสานล้านนาวัดดอนแก้ว
พระรัตนธาตุเจดีย์ศรีจอมแก้ว สร้างเมือ่ วันที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2552 ตามด�ำริของพระครูรตั นธรรมานุสรณ์
(ครูบาธรรมสรณ์)เจ้าอาวาสวัดดอนแก้ว เพื่อบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ อันได้รับพระราชทานจาก สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก (สุวัฑฒนมหาเถระ)
พระพุทธรูป “พระเจ้างามดอนแก้ว”
ท�ำเนียบเจ้าอาวาสในอดีต
1. พระครูบาขันธิยะ พ.ศ. 2395-2416 2. พระครูบากันทะวงค์ พ.ศ. 2416-2460 3. พระครูบาขันธิก๋า พ.ศ. 2460 4. เจ้าอธิการหลวงขันธิก๋า คนฺธวํโส 5. พระอภิวงค์ สิริญาโณ 6. พระวังค์ คนฺธวํโส 7. พระบุญศรี สีลญาโณ 8. พระค�ำ สิริญาโณ 9. พระศรีเมา คนฺธวํโส 10. พระนวล สิริญาโณ 11. เจ้าอธิการบุญหลง สิริญาโณ 12. พระอาจ ทีปธมฺโม 13. พระถา สีลญาโณ 14. พระบุญปาน 15. พระประเสริฐ สิริญาโณ 16. พระครูอดุ มพัฒนานุกลุ (ค�ำปัน อินทวณฺโณ) พ.ศ. 2513-2538 17. พระพระบุญปาน ปญฺญาวชิโร พ.ศ. 2538-2539 18. พระป่วน ปญฺญาธโร พ.ศ. 2539-2541 19. พระสวน สมาจาโร พ.ศ. 2541-2542 20. พระครูรตั นธรรมานุสรณ์ (สุทธพงษ์ ธมฺมสรโณ) พ.ศ. 2542-ถึงปัจจุบนั
เป็นพระประธานในวิห ารที่ส�ำ คัญยิ่ง ตามประวัติความเป็นมา มีเรือ่ งเล่าว่า วันหนึง่ พระครูบาขันธิยะ (อดีตเจ้าอาวาสรูปแรก)ได้พบเห็น สามเณรรูปหนึ่งชื่อว่าสามเณรกันทะวงศ์ ก�ำลังใช้ดินเหนียวนั่งปั้น พระพุทธรูปเล่นอยู่ แต่กลับมีความงดงามเป็นทีน่ า่ พึงพอใจของพระครูบา ขันธิยะยิ่งนัก พระครูบาขันธิยะจึงได้ขอให้สามเณรกันทะวงศ์ช่วยปั้น พระพุทธรูปเพือ่ เป็นพระประธานหนึง่ องค์ขนาดเท่าคนจริง ไม่ได้องค์ใหญ่ เท่าปัจจุบนั นี้ ต่อมาปีพ.ศ. 2416 พระครูบาขันธิยะมรณภาพลง จึงนิมนต์ พระกันทะวงศ์ (อุปสมบทแล้ว)ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสแทน พระกันทะวงศ์ เล็งเห็นว่าพระดินเหนียวทีป่ น้ั ยากต่อการรักษาโดนน�ำ้ ก็จะผุพงั จึงได้วา่ จ้างสล่าอาจค�ำปั้นปูนทับพระดินเหนียวอีกที แต่สล่าอาจค�ำไม่อาจปั้น พระพักตร์ให้งามดังเดิมได้จงึ ได้นมิ นต์พระกันทะวงค์ปน้ั ก็เกิดอัศจรรย์ ว่ า พระพั ก ตร์ ง ามดั่ ง เดิ ม ไม่ ผิ ด เพี้ ย นเลย ต่ อ มาในปี พ.ศ. 2465 พระหลวงขันธิก๋า(อดีตเจ้าอาวาส)ได้ให้ช่างชาวมอญ จังหวัดล�ำพูน ชาวบ้านเรียกว่าสล่าน้อยมอญมาท�ำการบูรณะองค์พระที่ทรุดโทรมลง โดยเปลี่ยนแปลงคือท�ำโมฬีใหม่ด้วยไม้ แล้วใส่ลูกแก้วที่ได้รับมอบ สืบทอดมาจากพระครูบาขันธิยะเพื่อง่ายต่อการรักษา ท�ำชายจีวรใหม่ และท�ำขมวดพระเกศาใหม่ ท�ำให้องค์พระมีศิลปะละม้ายคล้ายไปทาง รามัญ ต่อมาด้วยปัญหาความแห้งแล้งและความล�ำบากในการด�ำรงชีวติ บนเนินดินสีแดงที่ชาวบ้านเรียกกันว่าดอนดินแดง อันเป็นที่ตั้งของ หมู่บ้านในอดีต จึงได้พากันอพยพลงมาตั้งถิ่นฐานใหม่ ณ ที่ปัจจุบัน ต่อมาในปีพ.ศ. 2500 ตรงกับแรม 11 ค�่ำเดือน 5 เหนือชาวบ้านก็ได้ ท�ำการย้ายพระเจ้างามมาประดิษฐานที่วัดดอนแก้ว(ปัจจุบัน)โดยใช้วธิ ี
CHIANG RAI I SBL บันทึกประเทศไทย
3
.indd 155
155
11/2/2562 16:08:14
การชักลากลงมาโดยใช้แรงงานจากคน ขณะขนย้ายเกิดฟ้าร้อง ฟ้าแลบ เสมือนเป็นสัญญาณที่เทวดามาร่วมกันสาธุการให้ก้องฟ้า ผู้คนที่ทราบ ข่าวต่างไหลหลั่งมาทั่วทุกสารทิศเพื่อร่วมขบวนกันอย่างมากมาย เหตุ ทีพ่ ระประธานมีนามว่าพระเจ้างาม ก็ดว้ ยมีพทุ ธลักษณะที่งดงามมากมี ผู้คนน�ำหมากพลูมาถวายไว้ที่หน้าพระประธานทุกวัน อีกทัง้ ชาวบ้าน ในสมัยก่อนยังเรียกวัดดอนแก้วว่า “วัดพระเจ้างาม” อีกด้วย
พระเจ้างามทันใจ เป็นพระพุทธรูปจ�ำลองพระประธานในวิหาร สร้างเสร็จภายในวันเดียว ในขณะสร้ า ง คณะสงฆ์ท�ำการสวดกรณีย เมตตาสูต ร 1,000 จบ พุทธาภิเษกโดยพระเถรานุเถระในเขตอ�ำเภอเทิง ชาวบ้านเชือ่ ว่าต้องถวาย ด้วยไข่ต้มและพวงมาลัยจึงสัมฤทธิผล สมปรารถนาตามขอทุกประการ
หอเด็งไชยะทศวัชรมงคล เป็นหอระฆังแบบล้านนาดัง้ เดิม สร้างจากไม้สกั ทัง้ หลัง ใช้เวลาสร้าง ทัง้ สิน้ 18 วัน ส่วนมะเด็ง (ระฆังลักษณะคล้ายกระดิง่ ) หล่อจากสัมฤทธิ์ ผสมมวลสารจากพระครูบาธรรมสรณ์ เจ้าอาวาสวัดดอนแก้ว
กิจกรรมประจ�ำปี
สรงน�้ำพระธาตุรัตนเจดีย์ศรีจอมแก้ว จัดในวันมาฆบูชาของทุกปี โดยมีการสรงน�้ำพระธาตุ, สืบชาตาหลวง,เวียนเทียน และชมวิถีไทย ย้อนยุคล้านนาโบราณ ปีใหม่เมือง (สงกรานต์) จัดขึ้นระหว่างวันที่ 13 เมษายนจนถึงวัน ที่16 เมษายนของทุกปี ภายในงานมีการท�ำบุญตักบาตร, สรงน�้ำ พระ,แข่งลูกข่าง,แข่งโยนลูกสะบ้า,ขนทรายเข้าวัด,ก่อเจดียท์ ราย,แข่งยิง หนังสติ๊ก และตานตุงสิบสองราศี ปอยก๋าสา มหาบุญ จุลกฐินวัดดอนแก้ว จัดในช่วงหลังออกพรรษา ภายในงานมีกจิ กรรมมากมาย อาทิ ชมการปัน่ ทอผ้ากฐินทันใจเสร็จภายใน คืนเดียว,การแสดงศิลปวัฒนธรรมล้านนา ,ชมวิถไี ทยย้อนยุค(กาดหมัว่ คัวแลง), การแสดงพลุดอกไม้ไฟ,ลอยโคม,ลอยสะเปาสะเดาะเคราะห์,สืบชาตาหลวง, ถวายกฐินพร้อมบริวาร และ ขบวนแห่ผ้าจุลกฐินแบบล้านนา ติดต่อวัดดอนแก้ว โทร 082-388-6186
156
3
SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงราย
.indd 156
11/2/2562 16:08:18
สัมผัสมิติพิศวง สายน�้ำสีเขียวมรกต และความกรุณาของธรรมชาติ
วนอุทยานถ�้ำหลวง-ขุนน�้ำนางนอน
AD.indd 157
13/2/2562 11:11:01
วัดพระนาคแก้ว สักการะพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ ตั้งจิตอธิษฐานสมปรารถนา
พระครูรัตนธรรมประทีป (ณรงค์ฤทธิ์ ทีปธมฺโม) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
วัดพระนาคแก้ว ตัง้ อยูใ่ นเขตเทศบาลต�ำบลเวียง อ�ำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย สร้างเมือ่ พ.ศ. 2440 ได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา เมือ่ วันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2489 สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีเนือ้ ทีท่ งั้ หมด 6 ไร่ 1 งาน 14 ตารางวา ในต�ำนานกล่าวไว้วา่ คราเมือ่ สมัย พระเจ้ากาวิละ ผูค้ รองเมืองเขลางค์นคร พร้ อ มด้ ว ยพระอนุ ช าได้ เ สด็ จ ไปตรวจชายแดนตามหั ว เมื อ งต่ า งๆ ที่เป็นเมืองขึ้น ซึ่งอยู่ในเขตการปกครองของพระองค์ ได้เสด็จไปจนถึง หลวงพระบาง เมืองเวียงจันทร์ แล้วพระอนุชาได้รบั เอาพระมเหสีพระองค์ หนึง่ จากหลวงพระบาง เมืองเวียงจันทร์ พระนามว่า จันทรา เสด็จกลับมาด้วย ระหว่างทางต้องผ่านมาทางเมืองเถิง (อ�ำเภอเทิงในปัจจุบนั ) และเมือ่ เสด็จ 158
3
มาถึงเมืองเถิง (อ�ำเภอเทิงในปัจจุบัน) พระเจ้ากาวิละ ทรงมอบหมาย ให้พระอนุชาเป็น ผู้ครองเมืองเถิง อันเป็นเมืองหนึ่งในเขตการปกครอง ส่วนพระองค์ก็เสด็จกลับเมืองเขลางค์นคร
SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงราย
.indd 158
11/2/2562 16:15:00
ต่อมาเจ้าเมืองเถิง ได้มพี ระมเหสีอกี พระองค์หนึง่ พระนามว่า พระนางแก้ว ฝ่ายพระนางจันทรา เมือ่ มาอยูท่ เี่ มืองเถิงแล้วมีความปรารถนาจะสร้างวัด เพือ่ เป็นทีส่ กั การบูชา จึงได้มอบหมายให้เสนาอ�ำมาตย์สร้างวัดขึน้ โดยสร้าง ทางทิศตะวันออกของเมืองเถิง เมือ่ สร้างเสร็จก็อญ ั เชิญพระพุทธรูปหินอ่อน จากหลวงพระบาง เมืองเวียงจันทร์ มาประดิษฐานไว้ โดยให้ชอื่ ว่า วัดอ�ำมาตย์ ฝ่ายพระนางแก้วเมือ่ เห็นพระนางจันทราสร้างวัดขึน้ เช่นนัน้ ก็รบั สัง่ ให้ เสนาอ�ำมาตย์สร้างวัดโดยตัง้ อยูท่ างทิศตะวันตกของเมืองเถิง เมือ่ สร้างเสร็จ เจ้าเมืองเถิงได้ให้ชอื่ ว่า วัดพระนางแก้ว หลังจากพระนางแก้วสิน้ พระชนม์ ไปแล้วเข้าใจว่า ไม่คอ่ ยมีใครคอยดูแลบูรณปฏิสงั ขรณ์ในยุคต่อๆมา จึงได้ปล่อย ให้เป็นวัดร้างมาหลายปี
ต่ อ มาภายหลั ง ปรากฏว่ า มี ผู ้ ค รองเมื อ งเถิ ง อี ก 2 ท่ า น คื อ เจ้าหลวงธรรมปัญญา และ เจ้าหลวงสาร หรือ พระยาไชยสาร ซึ่งเจ้าหลวงธรรมปัญญาได้มอบเมืองเถิงให้พระยาไชยสารปกครอง สืบต่อมา ส่วนท่านก็กลับไปอยู่ที่เมืองน่าน จากนัน้ พระยาไชยสารได้เริม่ บูรณะวัดวาอารามให้เจริญรุง่ เรืองขึน้ มา อีกครัง้ หนึง่ และในช่วงนีเ้ อง พระยาไชยสารได้คน้ พบพระพุทธรูปนาคปรก ซึง่ อยูใ่ นพระวิหาร (สมัยของพระนางแก้ว) พระนาคปรกซึง่ เป็นวัตถุโบราณนี้ เป็นเนือ้ ทองสัมฤทธิ์ มีลกั ษณะ 5 องค์ดว้ ยกัน ตัง้ อยูบ่ นฐานอันเดียวกัน ทัง้ หมด มีพญานาคปกคลุมเศียรอยูท่ กุ องค์ โดยองค์พระจะนัง่ ในลักษณะ ดาวล้อมเดือน คือ 4 องค์นงั่ ประจ�ำ 4 ทิศ และมีพระพุทธรูปองค์ที่ 5 นัง่ อยูต่ รงกลาง พระยาไชยสารจึงเก็บรักษาไว้ในพระอารามแห่งนัน้ ต่อมาพระยาไชยสารจึงได้เปลีย่ นชือ่ วัดใหม่โดยให้ชอื่ ว่า วัดพระนาคแก้ว และได้เรียกขานสืบต่อกันมาจนถึงปัจจุบนั นี้
ล�ำดับเจ้าอาวาส
1. พระครูบาค�ำ 2. พระแก้ว 3. พระครูบาสาร 4. พระครูบาชาโน 5. พระครูปลัดอินปัน๋ อินทฺ ลาโภ พ.ศ.2470–2514 6. พระมหาทรวง (รก.เจ้าอาวาส) พ.ศ.2514–2514 7. พระสมบัติ (รก.เจ้าอาวาส) พ.ศ.2514–2515 8. พระครูสถิตวรธรรม (สันติธรรม สุวณฺโณ) พ.ศ.2516–2541 9. พระมหานพกร ธมฺมวุฑโฒ พ.ศ.2542–2545 10. พระครูรตั นธรรมประทีป (ณรงค์ฤทธิ์ ทีปธมฺโม) พ.ศ.2545–ปัจจุบนั
งานบุญประเพณีประจ�ำปีของวัดพระนาคแก้ว
13 เมษายน ประเพณีทอดผ้าป่าสามัคคี 14 เมษายน ประเพณีขนทรายเข้าวัด 15 เมษายน ท�ำบุญตักบาตร สรงน�ำ้ พระ ด�ำหัวผูส้ งู อายุ ครูบาอาจารย์ 16 เมษายน สืบชะตาหลวง CHIANG RAI I SBL บันทึกประเทศไทย
3
.indd 159
159
11/2/2562 16:15:08
เทศกาลสงกรานต์ เป็นประเพณีขนทรายเข้าวัดซึ่งเป็นประเพณี ที่มีมาแต่โบราณ มีคติความเชือ่ ว่าการเข้าไปสูว่ ดั แล้วออกมา อาจมีเศษทราย ติดเท้ามาด้วย คนล้านนาเกรงจะเป็นบาป จึงต้องขนทรายเข้าวัดเป็นการ ทดแทน ซึง่ ก็ถอื เป็นกุศโลบายประการหนึง่ เป็นการสร้างกุศล บางวัดจึงมี กุศโลบายให้สร้างโดยก่อเป็นพระเจดีย์ เพื่อเป็นกิจกรรมสร้างความรัก ความสามัคคีให้เกิดขึน้ มากกว่าการขนทรายเข้าวัดเพียงอย่างเดียว ส�ำหรับอานิสงส์ของการก่อเจดียท์ ราย มีการผูกเรือ่ งราวไว้ในคัมภีรช์ อื่ “ธรรมอานิสงส์เจดียท์ ราย” ตอนหนึง่ ว่า ในครัง้ ทีพ่ ระโพธิสตั ว์เกิดเป็นชาย เข็ญใจชือ่ ว่า “ติสสะ” มีอาชีพตัดฟืนขาย วันหนึง่ ติสสะได้พบล�ำธารทีม่ ี หาดทรายสะอาดงดงามนัก จึงได้ทำ� การก่อทรายเป็นรูปเจดียแ์ ละเพือ่ ให้ เจดียน์ นั้ สวยงาม จึงฉีกเสือ้ ผูกกับเรียวไม้แล้วปักไว้บนยอดกองทรายเป็นรูป ธงสัญลักษณ์ แล้วตัง้ สัตย์อธิษฐานขอให้ได้เกิดเป็นพระพุทธเจ้าพระองค์หนึง่ เมือ่ เวียนว่ายในวัฏสงสารบ�ำเพ็ญบารมีเต็มที่ ก็ได้เกิดเป็นพระพุทธเจ้า ชื่อสมณะโคดมองค์ปัจจุบัน ภาพของธงที่ท�ำจากเสื้อของติสสะท�ำให้ คนล้านนานิยมน�ำตุงไปปักเจดียท์ ราย ซึง่ ตุงทีพ่ บเห็นมักเป็นตุงทีม่ ลี กั ษณะ เป็นพูร่ ะย้าทีเ่ รียก “ตุงไส้หมู” หรือตุงทีม่ รี ปู นักษัตรทีเ่ รียกว่า “ตุงตัว๋ เปิง้ ”
พระครูรัตนธรรมประทีป (ณรงค์ฤทธิ์ ทีปธมฺโม) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส 160
3
SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงราย
.indd 160
11/2/2562 16:15:14
หอนาฬิ กาเปลี่ยนสีพุทธศิลป์เชียงราย หรือ หอนาฬิ กาเชียงราย
AD.indd 161
13/2/2562 11:09:51
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดห้วยประสิทธิ์
สักการะพระพุทธรูปหินศักดิ์สิทธิ์ ตั้งจิตอธิษฐานสมปรารถนา พระครูวจิ ติ รธรรมมานุศาสก์ ( เหรียญ กิตตฺ ปิ ญฺโญ) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัด
วัดห้วยประสิทธิ์ ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 147 หมู่ 12 ต�ำบลป่าหุง่ อ�ำเภอพาน จังหวัดเชียงราย สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย เริม่ ก่อตัง้ ในปี พ.ศ. 2525 โดยมี พระเหรียญ กิตตฺ ปิ ญฺโญ พร้อมด้วยนายจันทร์ ใจยะปัน ผูใ้ หญ่บา้ นในสมัยนัน้ ได้นำ� ชาวบ้านท�ำการบูรณะวัดร้างทีม่ แี ต่กอ้ นอิฐในเนือ้ ที่ 3 งาน ซึง่ เต็มเปีย่ ม ไปด้วยศรัทธาในพระพุทธศาสนาของชาวบ้าน หลังจากบูรณะแล้วได้กอ่ สร้าง ศาลาบ�ำเพ็ญบุญ 1 หลัง โดยขอกระเบือ้ งเก่าทีใ่ ช้แล้วของวัดป่าแขมมามุงเป็น หลังคา และน�ำถุงปูนซีเมนต์มาท�ำเป็นฝาผนังกันลมกันหนาว ต่อมาพระครูธรรมสุภาลังการ อดีตเจ้าคณะอ�ำเภอพาน ได้มอบถวาย พระพุทธรูปหิน (หลวงพ่อหิน) จากจังหวัดล�ำพูน ให้มาเป็นพระประธานใน ส�ำนักสงฆ์ ปัจจุบนั เป็นพระพุทธรูปทีศ่ กั ดิส์ ทิ ธิป์ ระจ�ำวัดห้วยประสิทธิ์ ซึง่ เกิด จากมีญาติโยมผูใ้ จบุญจากทีต่ า่ งๆ น�ำผ้าป่ามาถวาย และจุดธูปเทียนบูชา กราบไหว้ตงั้ จิตอธิษฐาน ขอพรจากพระพุทธรูปหิน เมือ่ กลับไปบ้านมีโชค สมปรารถนา จึงเป็นทีเ่ ลือ่ งลือในหมูญ ่ าติโยม ทีเ่ คยมาท�ำบุญและกราบไหว้อยู่ เป็นประจ�ำ ท�ำให้วดั ห้วยประสิทธิม์ คี วามเจริญและเป็นทีร่ จู้ กั มาจนถึงปัจจุบนั “ห้วยประสิทธิ”์ เป็นชือ่ ทีเ่ ปลีย่ นมาจากค�ำว่า “ห้วยปลาสิก” หมายถึง ปลาน�ำ้ จืด จ�ำนวนมาก ทีอ่ าศัยอยูล่ ำ� ห้วยทีไ่ หลผ่านหน้าวัดกลางหมูบ่ า้ น ชาวบ้านจึงเรียก ชือ่ วัดตามชือ่ ปลาดังกล่าว ต่อมาเปลีย่ นชือ่ เป็น วัดห้วยประสิทธิ์ และปัจจุบนั ปลาสิกก็ได้สญ ู พันธุไ์ ปแล้ว ต่อมาพระเหรียญ กิตตฺ ปิ ญฺโญ ได้นำ� ชาวบ้านท�ำการบูรณะสถานทีว่ ดั ให้ มีความเจริญมากขึน้ จนได้รบั การแต่งตัง้ ให้เป็นเจ้าอาวาสเมือ่ วันที่ 25 ตุลาคม พ.ศ. 2531 จนถึงปัจจุบนั ได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมาเมือ่ วันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2536 และต่อมาเมือ่ วันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2553 ได้รบั พระราชทาน สมณศักดิพ์ ดั ยศเจ้าคณะต�ำบลชัน้ เอกที่ “พระครูวจิ ติ รธรรมมานุศาสก์”
162
3
SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงราย
.indd 162
11/2/2562 16:51:10
เชิญกราบร่างสรีระสังขาร หลวงปูค่ รูบาอินตา ปัญญาวโร (หลวงปูต่ าทิพย์)
อุโบสถ
พระพุทธรูปปางมารวิชยั เป็นพระพุทธรูปองค์แรกในอุโบสถ โดยมีคณ ุ พ่อนพรัตน์ - คุณแม่ ทองใบ สมจิตร น�ำมาถวาย เมือ่ ปี พ.ศ. 2529 เดิมอุโบสถมีพนื้ ทีค่ บั แคบและทรุดโทรมตามกาล เวลา ทางวัดจึงได้ทำ� การบูรณะอุโบสถ เมือ่ วันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556 เพือ่ ให้เกิดความสะดวก ในการประกอบศาสนกิจของสงฆ์และการปฏิบตั ธิ รรมของสาธุชนโดยทัว่ ไป
ประวัติเจ้าอาวาสวัดห้วยประสิทธิ์
พระครูวจิ ติ รธรรมานุศาสก์ ฉายา กิตตฺ ปิ ญฺโญ อายุ 57 พรรษา 37 สถานะเดิม ชือ่ เหรียญ นามสกุล เชียงนา เกิดเมือ่ วันที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2505 บรรพชา เมือ่ ปี พ.ศ. 2525 อุปสมบท เมือ่ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2526 ณ วัดป่าแขม ต�ำบลป่าหุง่ อ�ำเภอพาน จังหวัดเชียงราย พระอุปชั ฌาย์คอื พระครูธรรมสุภาลังการ วัดหนองบัวเงิน ต�ำบลเมืองพาน อ�ำเภอพาน จังหวัดเชียงราย วิทยฐานะ นักธรรมชัน้ เอก ,ระดับปริญญาตรีที่ วิทยาลัยสงฆ์เชียงราย มหาวิทยาลัยมหา จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย คณะพุทธศาสตร์ สาขาพระพุทธ ศาสนา สมณศักดิ์ พ.ศ. 2553 เป็นพระครูสญ ั ญาบัตร เจ้าคณะต�ำบลชัน้ เอก ที่ “พระครูวจิ ติ รธรรมานุศาสก์” ปัจจุบนั ด�ำรงต�ำแหน่ง เจ้าอาวาสวัดห้วยประสิทธิ,์ เจ้าคณะต�ำบลป่าหุง่ เขต 1 และ เจ้าส�ำนักปฏิบตั ธิ รรม ประจ�ำจังหวัดเชียงรายแห่งที่ 14 ติดต่อวัดห้วยประสิทธิ์ โทร 089-8546237 Facebook :วัดห้วยประสิทธิ์ อ.พาน จ.เชียงราย CHIANG RAI I SBL บันทึกประเทศไทย
3
.indd 163
163
11/2/2562 16:51:15
ส�ำนักปฏิบตั ธิ รรมประจ�ำจังหวัดเชียงรายแห่งที่ 14 “วัดห้วยประสิทธิ”์ ได้รบั การจัดตัง้ ให้เป็นส�ำนักปฏิบตั ธิ รรมประจ�ำจังหวัด เชียงรายแห่งที1่ 4 ตามมติมหาเถรสมาคม ครัง้ ที่ 25/2554 เมือ่ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2554 เนือ่ งจากเป็นส�ำนักปฏิบตั ธิ รรม จึงเป็นศูนย์กลางในการ จัดกิจกรรมอบรมเข้าค่ายเกีย่ วกับคุณธรรมจริยธรรม โดยในแต่ละปีจะมีคณะครู นักเรียนจากโรงเรียน หรือบุคลากรจากหน่วยงานต่างๆมาติดต่อใช้สถานทีศ่ าลา ปฏิบตั ธิ รรม , เข้าค่ายอบรมคุณธรรมจริยธรรม อยูเ่ ป็นประจ�ำ และมีจำ� นวนผูม้ า ปฏิบตั ธิ รรมเพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง และด้วยความที่วัดเป็นอุทยานการศึกษา ซึ่งมีหุ่นปั้นนรก- สวรรค์ ให้นกั เดินทางท่องเทีย่ วเดินเข้ามาก็สามารถเรียนรูพ้ ระพุทธศาสนาผ่าน พระพุทธรูป และคติธรรมผ่านรูปปัน้ ทีแ่ ฝงนัยของชีวติ และกฎแห่งกรรม ก็จะเกิดความศรัทธาปสาทะในบวรพระพุทธศาสนา ในการด�ำรงตนอยู่ ในศีลธรรม ชีวิตก็จะเกิดความร่มเย็นใจในที่สุด
“วัดห้วยประสิทธิ“์ ได้รบั คัดเลือกให้เป็น
- วัดพัฒนา “หนึ่งวัดหนึ่งอ�ำเภอ” พ.ศ. 2547 - วัดพัฒนา “หนึ่งวัดหนึ่งต�ำบล” พ.ศ. 2548 - ศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ พ.ศ. 2552 - ส�ำนักปฏิบัติธรรมประจ�ำจังหวัดเชียงราย แห่งที่ 14 พ.ศ. 2554 - อุทยานการศึกษาในวัด พ.ศ. 2556 - วัดพัฒนาตัวอย่าง พ.ศ. 2560 - ส�ำนักปฏิบัติธรรมดีเด่นประจ�ำจังหวัดเชียงราย พ.ศ. 2561
164
3
SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงราย
.indd 164
11/2/2562 16:51:21
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
เจ้าอาวาสเท่าที่ปรากฏหลักฐานมีดังนี้
1. พระครูบากุยยาวิชัย มรณภาพ 2. หลวงพ่อจันทร์ดี มหาวงศ์ มรณภาพ 3. พระอินจันทร์ คันธวํโส ลาสิกขา 4. หลวงพ่อพระครูอินทวรรณวิวัฒน์ (จันทร์ตา สุวัณโณ) พ.ศ. 2497-2553 5. พระครูอมรสังวรกิจ (วิรตุ ญาณสํวโร) ตัง้ แต่ปพี .ศ. 2554-ปัจจุบนั
ประวัติและปฏิปทาท่านเจ้าอาวาส
พระครูอมรสังวรกิจ (พระอาจารย์วริ ตุ ญาณสํวโร) ปัจจุบนั อายุ 41 ปี
วัดสันมะเหม้า
พระครูอมรสังวรกิจ (วิรุต ญาณสํวโร) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
พรรษา 21 เกิ ด เมื่ อวั น อั ง คารที่ 29 พฤศจิ ก ายน พ.ศ. 2520 ณ บ้านกลางเวียง ต�ำบลเวียงชัย อ�ำเภอเวียงชัย จังหวัดเชียงราย บรรพชาเป็น สามเณร ในวันที่ 9 เมษายน พ.ศ.2533 ณ วัดกลางเวียงโดยมี พระอุดมปัญญาภรณ์ หรือ หลวงพ่อพระธรรมราชานุวตั ร เจ้าคณะภาค 6 เจ้าอาวาสวัดพระแก้ว (พระอารามหลวง) จังหวัดเชียงราย เป็นพระอุปชั ฌาย์ อุปสมบทเป็นพระภิกษุ ในวันที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2541 โดยมี ท่านพระครูชยาภิวัฒนคุณ เจ้าคณะอ�ำเภอพาน เจ้าอาวาสวัดป่าซาง เป็นพระอุปัชฌาย์ ท่านได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาสวัดสันมะเหม้าเมื่อ ปีพ.ศ. 2554 จนถึงปัจจุบนั ได้พฒ ั นาวัดให้มเี จริญควบคูร่ ะหว่าง การสร้าง ศาสนวัตถุ และศาสนบุคคล พัฒนาด้านวัตถุและพัฒนาจิตใจควบคูก่ นั ไป โดยอาศัยพุทธศาสตร์ และพิธีกรรมวัฒนธรรมประเพณีของล้านนา เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจ ให้คนมีศีลมีธรรม มาจนถึงปัจจุบัน
วัดสันมะเหม้า ตั้งอยู่ที่ต�ำบลม่วงค�ำ อ�ำเภอพาน จังหวัดเชียงราย เป็นวัดที่เก่าแก่มีอายุหลายร้อยปี แต่เท่าที่ปรากฏหลักฐานเป็นเจดีย์ อุโบสถเก่า ซากอิฐดินเผาต่างๆ และมีหลักฐานจากหนังสือประวัติวัด ทั่ ว ราชอาณาจักรได้กล่าวว่า วัดสัน มะเหม้า มีการบูรณะขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2325 ตรงกับการตั้งกรุงรัตนโกสินทร์พอดี เมื่อถึงปี พ.ศ. 2474 พระครูบากุย ยาวิชยั เดินทางจาริกธรรมมาจากจังหวัดล�ำพูน ได้มาพักอยู่ สถานที่ แ ห่ ง นี้ พร้ อ มกั บ ชั ก ชวนญาติ ธ รรมช่ ว ยกั น บู ร ณปฏิ สั ง ขรณ์ ถาวรวัตถุต่างๆ ให้สมควรแก่การบ�ำเพ็ญสมณธรรม ซึ่งในขณะนั้น ภายในวัดมีหลักฐานโบราณวัตถุคือ พระอุโบสถ และพระธาตุเจดีย์ ซึ่ ง มี ส ภาพทรุ ด โทรมเพราะผ่ า นกาลเวลามานาน ต่ อ มาไม่ น าน ท่านพระครูบากุย ยาวิชัย ซึ่งก็มรณภาพลง และมีพระภิกษุรูปต่อไป พัฒนามาเป็นล�ำดับ CHIANG RAI I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 165
165
13/2/2562 11:16:07
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
สักการะ“พระธาตุจอมแว่” 1 ใน 9 จอม ของจังหวัดเชียงราย พระธาตุศักดิ์สิทธิ์ของชาวอ�ำเภอพาน
วัดพระธาตุจอมแว่
พระครูพมิ ลพิพฒ ั นคุณ (บุญธรรม ฐานิสสฺ โร) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
ต�ำนานวัดพระธาตุจอมแว่
จ�ำเดิมแต่องค์พระสมเด็จพระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า องค์สมณโคดม ได้ทรงตรัสรู้พระอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณแล้ว พระองค์เสด็จจาริกเที่ยวประกาศพระพุทธศาสนา เผยแผ่พระ ธรรมทีไ่ ด้ตรัสรูน้ นั้ ให้เวไนยสัตว์ทงั้ หลายรูแ้ จ้งเห็นจริง มีเรือ่ งเล่า ขานกันต่อมาว่า พระพุทธองค์ได้เสด็จมาถึงดอยซางค�ำจึงได้ทรง พักพระวรกายบนยอดดอยและพระองค์ทรงหยัง่ รูด้ ว้ ยพระญาณ ว่ า สถานที่ แ ห่ ง นี้ จั ก เป็ น พุ ท ธสถานที่ ส� ำ คั ญ แห่ ง หนึ่ ง ใน อนาคตกาล พระองค์จงึ ได้ทรงประทานพระเกศาจ�ำนวนหนึง่ ให้ แก่ผู้ติดตามเฝ้านมัสการเพื่อกราบไหว้บูชาแทนพระองค์ และ เพือ่ เป็นอนุสรณ์วา่ พระองค์เคยเสด็จมาแวะประทับ ณ สถานทีแ่ ห่งนี้ (ผู้คนในท้องถิ่นได้เปลี่ยนชื่อดอยซางค�ำเป็นดอยจอมแว่ ซึ่งภาษา ล้านนามีความหมายว่าดอยทีพ่ ระพุทธองค์ได้เสด็จแวะ) ต่อมาเกิด ชุมชนเป็นบ้านเป็นเมือง เรียกว่า เมืองพาน อยูภ่ ายใต้การปกครอง ของพญาง�ำเมือง เจ้าเมืองภูกามยาว (จังหวัดพะเยา) ซึ่งรู้จักกัน 166
2
ทั่วไปในนาม “พ่อขุนง�ำเมือง” มีใจศรัทธาในพระพุทธศาสนาได้ มาเยี่ยมเยียนประชาราษฎร์ในราวปี พ.ศ.1839 และพบที่บรรจุ พระบรมเกศาธาตุ อยู่บนดอยอยู่ในสภาพทรุดโทรม จึงได้สั่งให้ บรรดาช่างฝีมือ มาสร้างเจดีย์ครอบที่บรรจุพระบรมเกศาธาตุ แล้วเสร็จในเดือน 8 ปี พ.ศ.1839 โดยได้บรรจุแก้วแหวนเงินทอง
SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงราย
.indd 166
13/2/2562 16:43:19
ของมีค่า เป็นเครื่องบูชาพระบรมเกศาธาตุ และมีการสมโภช เป็นเวลา 3 วัน 3 คืน ลุมาถึง พ.ศ.2380 สมัยเจ้าพญาหาญผู้เป็น พ่อเมืองของเมืองพานคนแรก ได้ร่วมกับคณะสงฆ์ และประชาชน บูรณะพระธาตุเจดีย์ ซึ่งทรุดโทรมลงตามกาลเวลาให้เป็นสถานที่ สมควรแก่การสักการบูชามาจนถึงปัจจุบัน วัดพระธาตุจอมแว่ ตั้งอยู่เลขที่ 1 หมู่ที่ 11 ต�ำบลเมืองพาน อ�ำเภอพาน จังหวัดเชียงราย ตามประวัติการก่อตั้งวัด เมื่อปี พ.ศ. 2119 ได้รบั อนุญาตให้เป็นวัด ,พ.ศ. 2380 เจ้าพญาหาญพ่อเมือง คนแรกของเมื อ งพานได้ ร ่ ว มกั บ คณะสงฆ์ แ ละประชาชนสร้ า ง พระอุโบสถหลังแรก ,พ.ศ. 2488 ได้เกิดอัคคีภัยธรรมชาติท�ำลาย พระอุโบสถและเสนาสนะต่างๆเสียหาย พ.ศ.2490 คณะสงฆ์ ข้าราชการและประชาชน ได้ร่วมกันสร้างพระอุโบสถหลังปัจจุบัน วั นที่ 22 กุ ม ภาพั นธ์ 2508 ได้ รั บ พระราชทานวิสุง คามสีมา วัดพระธาตุจอมแว่ มีที่ธรณีสงฆ์จ�ำนวน 2 แปลง ตามโฉนดเลขที่ 70664 จ�ำนวนพื้นที่ 26 ไร่ 1 งาน 31 ตารางวา และโฉนดเลข ที่ 73601 จ�ำนวน 198 ไร่ 3 งาน 01-9/10 ตารางวา
ศาสนสถานและปูชนียวัตถุส�ำคัญ
พระพุทธประติมากรรมในพระอุโบสถ เป็นปฏิมากรรมปูนปั้น เป็นศิลปะพื้นบ้านยุคปัจจุบัน ส่วนพระพุทธรูปที่ประดิษฐานร่วม อยู่ในพระอุโบสถอีก 5 องค์นั้นมีอายุหลายร้อยปี และอยู่คู่กับวัด มานานหลายชั่ ว อายุ ค น เป็ น ปฏิ ม ากรรมศิ ล ปะล้ า นนาของ ช่ างฝี มื อขั้ นสู ง รู ป หล่ อครู บาเจ้ าศรี วิ ชั ย นักบุญแห่ง ล้า นนา, พระพุทธจอมเกศมหามังคลานุสรณ์ ร.9,พระพุทธรูปปางไสยาสน์ (พระนอน) พระอุ โ บสถ, บั น ไดพญานาค และบ่ อ บาดาล เนื่องจากที่วัดตั้งอยู่บนดอยซึ่งปัจจุบันมีน�้ำไม่เพียงพอเพื่อการ บริ โ ภคและอุ ป โภค แต่ ด อยแห่ ง นี้ มี แ หล่ ง น�้ ำ ซั บ ซึ่ ง ภิ ก ษุ แ ละ สามเณรได้อาศัยเพื่อการด�ำรงชีพและเพื่อการก่อสร้างเสนาสนะ มาแต่โบราณกาลทางวัดได้ก่ออิฐถือปูน สร้างเป็นบ่อกักเก็บน�้ำ ซึ่งไม่ว่าจะน�ำน�้ำมาใช้มากน้อยเพียงใด ระดับน�้ำในบ่อก็คงที่และ ไม่เคยแห้งในฤดูแล้ง บ่อน�้ำบาดาลดังกล่าวจึงมีความส�ำคัญต่อ พระภิกษุ สามเณร และการพัฒนาวัดอย่างมาก ประเพณีงาน ท�ำบุญ สรงน�้ำพระธาตุในเดือน 8 เหนือ ขึ้น 15 ค�่ำ (แปดเป็ง) ท�ำบุญสลากภัตต์ ในเดือน 12 เหนือ ขึน้ 5 ค�ำ่ และท�ำบุญตักบาตร วันออกพรรษา (เทโวโรหนะ) CHIANG RAI I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 167
167
13/2/2562 16:43:23
วัดห้วยทรายขาว
ศิลปธรรมอันวิจิตรแห่งยุคสมัย สืบสานความศรัทธาของบรรพชน
พระสมุห์สุขสันติ สิริธมโม ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
วัดทรายขาว หรือ วัดห้วยทรายขาว ตั้งอยู่หมู่ที่ 5 ต�ำบลทรายขาว อ� ำ เภอพาน จั ง หวั ด เชี ย งราย เป็ นวั ด สั ง กั ด คณะสงฆ์ ม หานิ ก าย เริ่มก่อสร้างขึ้นราวพ.ศ. 2400 โดยมีพ่อหนานอริยะ-แม่มังได้พา ครอบครั ว และญาติ พี่ น ้ อ ง อพยพจากบ้ า นเมื อ งลวงเหนื อ อ�ำเภอดอยสะเก็ด มาตั้งภูมิล�ำเนาอยู่ริมล�ำห้วยทรายขาวและตั้งชื่อ หมูบ่ า้ นว่า “บ้านห้วยทรายขาว” ต�ำบลแม่หนาด อ�ำเภอพาน จังหวัดเชียงราย จนถึงพ.ศ. 2436 พ่ออุ้ยตา-แม่อุ้ยป้อ อริยะมั่ง ซึ่งเป็นบุตรพ่อหนาน อริยะ-แม่มงั่ มีฐานะดีได้เสียสละก�ำลังทรัพย์เป็นผูน้ ำ� ย้ายวัดห้วยทรายขาว มาตั้งที่อยู่ปัจจุบัน
168
2
การเดินทาง จากเชียงรายใช้เส้นทางเชียงราย-พะเยา ก่อนจะถึงตัวอ�ำเภอพาน จะผ่านต�ำบลทรายขาว วัดทรายขาวตั้งเด่นเป็นสง่า อยู่ขวามือ
SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงราย
.indd 168
13/2/2562 11:32:46
ล�ำดับเจ้าอาวาสวัดห้วยทรายขาว 1. ครูบาธรรมใจ พ.ศ. 2436-2443 2. ครูบาอัยยา พ.ศ. 2443-2447 3. ครูบาอิบาสาร์ พ.ศ. 2447-2450 4. พระก๋าใจ พ.ศ. 2450-2458 5. พระมหาวงศ์ พ.ศ. 2458-2462 6. พระเหมย อิ่นค�ำ พ.ศ. 2462-2468 7. พระกันทะวงศ์ พ.ศ. 2468-2470 8. พระอินต๊ะเสน พ.ศ. 2470-2477 9. พระอุปนันท์ พ.ศ. 2477-2478 10 พระมา นามวงศ์ พ.ศ. 2478-2482 11. พระจันทธิมา แก้วอุด พ.ศ. 2482-2485 12. พระปัญโญ พ.ศ. 2485-2489 13. พระป๋อง มะโนพรม พ.ศ. 2489-2491 14. พระสวน พรมตัน พ.ศ. 2491-2495 15. พระตา สุวรรณ์ พ.ศ. 2495-2498 16. พระเสริม นามวงศ์ พ.ศ. 2498-2499 17. พระแสงมา ธิขาว พ.ศ. 2499-2500 18. พระผัดพ.ศ. 2500-2502 19. พระก๋าใจ พ.ศ. 2502-2504 20. พระเลิศ ค�ำเขื่อน พ.ศ. 2504-2507 21. พระมึก เมืองมูล พ.ศ. 2507-2514 22. พระบุญช่วย วิสารโท พ.ศ. 2514-2518 23. พระแสวง พ.ศ. 2518-2520 24. พระอุทัย วิสารโท พ.ศ. 2520-2424 25. พระอธิการมานิตย ติกขปัญโญ พ.ศ. 2424-2428 26. พระครูสิริปุญญานุศาตร์ พ.ศ. 2528-2542 27. พระสุอ�ำนวย (รักษาการ) พ.ศ. 2542-2544 28. พระครูอนุกูลวัฒนกิจ พ.ศ. 2544-2559 29. พระสมุห์สุขสันติ สิริธมโม พ.ศ. 2559-ปัจจุบัน
CHIANG RAI I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 169
169
13/2/2562 11:32:53
วัดถ�้ำพระบ�ำเพ็ญบุญ พุทธสถานเพื่อศีลธรรมโลก
พระครูจันทนิภากร (หลวงพ่อถวิล จันทะสะโร) ศูนย์พัฒนาจิตเฉลิมพระเกียรติ วัดถ�้ำพระบ�ำเพ็ญบุญ
วัดถ�ำ้ พระบ�ำเพ็ญบุญ เป็นส�ำนักปฏิบตั ธิ รรมประจ�ำจังหวัดเชียงราย แห่งที่ 5 ในนามของศูนย์พัฒนาจิตเฉลิมพระเกียรติ ที่ได้มอบพื้นที่ ของทางวัดให้เป็น ศูนย์พัฒนา เรียนรู้ อบรมการประพฤติ ปฏิบัติ เพิม่ พูนศีลธรรม ของพระภิกษุ ตลอดทัง้ หน่วยงานราชการ พ่อค้า ประชาชน ที่เดินทางมาจากทุกจังหวัดทั่วประเทศ บนพื้นที่ 100 ไร่ อันเป็นที่ ราชพัสดุ และที่ดินของกรมป่าไม้ ตั้งอยู่ที่ บ้านถ�้ำพระ (ห้วยหลวงนิคมแม่ลาว) เลขที่ 395 หมู่ 11 ต�ำบลธารทอง อ�ำเภอพาน จังหวัด เชียงราย ด้วยสภาพพื้นที่ของทางวัดฯ เป็นป่าภูเขาหิน ประกอบด้วย ถ�ำ้ ต่างๆ ประมาณ 5 ถ�ำ้ ส่งผลให้ วัดฯ มีสภาพแวดล้อมอันสงบ ร่มรืน่ เหมาะสมต่อการเจริญจิตภาวนาเป็นส�ำคัญ 170
SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงราย
2
29-01-62.indd 170
8/2/2562 16:26:44
บันทึกปูมประวัติ ธุดงคสถานที่ปัจจุบันคือ วัดถ�้ำพระบ�ำเพ็ญบุญนี้ เดิมทีได้ถูก ค้นพบและก่อตัง้ ขึน้ ประมาณปีพทุ ธศักราช 2477 ในครัง้ นัน้ ชาวบ้าน นิ ย มเรี ย กสถานที่ นี้ ว ่ า “ถ�้ ำ พระ” เนื่ อ งด้ ว ยในอดี ต นั้ น ได้ มี ก าร ค้นพบพระพุทธรูปเป็นจ�ำนวนมาก โดยที่ไม่มีใครทราบถึงที่มาของ พระพุทธรูปโบราณเหล่านั้น ด้วยเหตุนี้ จึงท�ำให้ธุดงคสถานนี้ได้ ต้อนรับพระภิกษุสายวิปสั สนากรรมฐาน ทีท่ า่ นเดินทางมาปฏิบตั ธิ รรม เป็นจ�ำนวนมาก การเดินทาง วัดถ�้ำพระบ�ำเพ็ญบุญ อยู่ห่างจากถนนพหลโยธิน สายเชียงราย – พาน กม.802-803 ระยะทางเข้าสูว่ ดั ถ�ำ้ พระบ�ำเพ็ญบุญ ประมาณ 6 กิโลเมตร เป็นถนนซีเมนต์เรียบร้อยตลอดทาง
ข่าวสารงานกิจกรรม ปฏิบัติธรรมรับปีใหม่ วันที่ 30 ธันวาคม-1 มกราคม ทุกปี ปฏิบัติธรรม เข้าปริวาสกรรม วันที่ 1-10 กุมภาพันธ์ ทุกปี ปฏิบัติธรรม ทุกวันส�ำคัญทางพระพุทธศาสนา เช่น มาฆบูชาวิสาขบูชา อาสาฬหบูชา เทศกาล เข้าพรรษา เป็นต้น ทุกปี ปฏิบัติธรรมรับปีใหม่ไทย เทศกาลสงกรานต์ ทุกปี ปฏิบัติธรรม เข้าปริวาสกรรม 15 วันก่อนวันเข้าพรรษา ทุกปี ปฏิบัติธรรม วันพ่อแห่งชาติ-วันแม่แห่งชาติ ทุกปี ให้การศึกษา อบรมศีลธรรม พุทธบุตร เยาวชน นิสิต-นักศึกษา หน่วยงานราชการ ห้างร้านบริษัท ประชาชนทั่วไป ตลอดปี กิจวัตรประจ�ำวัน มีการสวดมนต์ เดินจงกรม นั่งสมาธิ ฟังธรรมะ บ�ำเพ็ญประโยชน์ ท�ำความดี ทุกวัน
ขอเชิญท่านผู้มีจิตศรัทธา ร่วมบริจาค สร้างพระสถูปเจดีย์พุทธคยาจ�ำลอง ติดต่อได้ที่ พระครูจันทนิภากร (หลวงพ่อถวิล จันทะสะโร) เจ้าอาวาส วัดถ�ำ้ พระบ�ำเพ็ญบุญ โทร. 053-184-325-6 ธนาคาร กรุงไทย สาขา พาน ชื่อบัญชี วัดถ�้ำพระบ�ำเพ็ญบุญ เลขที่บัญชี 552-0-51882-8
ให้รางวัลกับชีวิต เชิญมาเจริญจิตภาวนา พาสุขใจ CHIANG RAI I SBL บันทึกประเทศไทย
2
29-01-62.indd 171
171
8/2/2562 16:26:49
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดพระธาตุจอมแจ้ง กราบสั กการะองค์พระธาตุ บรรจุพระบรมสารีริกธาตุของพระพุทธเจ้า พระอธิการจิรภัทร จิรปภาโส ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
วั ด พระธาตุ จ อมแจ้ ง ตั้ ง อยู ่ บ นยอดดอยป่ า ซาง เลขที่ 388 บ้านร่องบอน หมู่ 12 ต�ำบลม่วงค�ำ อ�ำเภอพาน จังหวัดเชียงราย สังกัด คณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัดจ�ำนวน 15 ไร่ 2 งาน 55 ตารางวา เป็นวัดเก่าแก่สำ� คัญทีต่ งั้ อยูส่ งู ทีส่ ดุ ในอ�ำเภอพาน มีความสูงถึง 1,350 ฟุต จากระดับน�้ำทะเล ระยะทางจากถนนด้านล่างขึ้นไปยังองค์พระธาตุมี ความยาวกว่า 700 เมตร เดิมเป็นวัดร้างทรุดโทรมไม่มีพระภิกษุอยู่ จ�ำพรรษา ไม่ปรากฏหลักฐานแน่ชัดว่าสร้างขึ้นในสมัยใด มีชอื่ เต็มตาม แผ่นศิลาจารึกว่า “พระมหาชินธาตุเจ้าจอมแจ้ง สระหนองปลิง” ภายใน องค์พระธาตุบรรจุพระบรมสารีรกิ ธาตุของพระพุทธเจ้าภายหลังชาวบ้าน จึงเรียกดอยแห่งนีว้ า่ ดอยจอมแจ้ง ตามชือ่ ของพระธาตุ และมีศิลาจารึก ด้านหน้าเจดีย์ ที่บันทึกเป็นอักษรล้านนาแปลเป็นไทยมีใจความว่า... ในวันเสาร์ ที่ 21 กันยายน พุทธศักราช 2472 ตรงกับวันเสาร์ แรม 3 ค�ำ่ เดือน 12 เหนือ ปีมะเส็ง จุลศักราช 1291 เวลา 15 นาฬิกา ครูบาเจ้าศรีวิชัย วัดบ้านปาง เมืองลี้ จังหวัดล�ำพูน มาเป็นประธานใน 172
2
บูรณะปฏิสงั ขรณ์พระธาตุดวงนี้ โดยมีพระกัญ ๋ จะนะผาบภิกขุ เป็นผูด้ แู ล การก่อสร้าง พร้อมกับพระภิกษุ – สามเณรมากมายมาร่วมกันบูรณะ แลฝ่ายฆารวาส ยังมีหลวงพงษ์สรุ สวัสดิ์ เจ้าหลวงเมืองพาน แม่เจ้าค�ำแปง และชายา บุตรธิดาทุกองค์ ทั้งราษฎรจากทั่วสารทิศมาร่วมกันบูรณะ องค์พระธาตุ โดยการช่วยกันหาบก้อนอิฐ หิน ทราย วัสดุในการก่อสร้าง ขึ้นไปยังยอดดอยเพื่อก่อเจดีย์ครอบองค์เก่า ซึ่งเหลือเพียงซากปรัก หักพังเท่านั้น การก่อสร้างในสมัยนั้นเป็นไปด้วยความยากล�ำบาก แต่ก็ไม่เป็นอุปสรรคแต่อย่างใด ด้วยแรงศรัทธาของประชาชนที่มีต่อ ครูบาเจ้าศรีวิชัย การก่อสร้างจึงแล้วเสร็จในเวลาต่อมา ซึ่งในขณะนั้น ครูบาเจ้าศรีวิชัย อายุได้ 51 ปี
SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงราย
2.indd 172
11/2/2562 16:57:10
วัดพระธาตุจอมแจ้งมีพระภิกษุอยูจ่ ำ� พรรษาระยะหนึง่ และกลับมา เป็นวัดร้างดังเดิม มีแต่พระธุดงค์แวะเวียนมาพักบ้างเป็นครั้งคราว เท่านั้น กระทั่งในวันที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2559 ชาวบ้านร่องบอนได้ พร้อมใจกันกราบนิมนต์พระอาจารย์จริ ภัทร จิรปภาโส มาอยูจ่ ำ� พรรษา วัดแห่งนี้จึงได้มีการบูรณปฏิสังขรณ์ขึ้นอีกครั้ง จึงได้รับการยกวัดร้างให้ เป็นวัดมีพระภิกษุอยูจ่ ำ� พรรษา ในวันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2560 โดย ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ
ถาวรวั ต ถุ ส�ำคั ญ ภายในวั ด
พระอธิการจิรภัทร จิรปภาโส เจ้าอาวาส
พระธาตุจอมแจ้ง สร้างโดยครูบาเจ้าศรีวิชัย ตนบุญแห่งล้านนา เป็นเจดีย์ขนาดความกว้าง 4 เมตร ยาว 4 เมตร มีความสูง 12 เมตร ตั้ ง อยู ่ บ นยอดดอยป่ า ซาง เป็ น ที่ ป ระดิ ษ ฐานพระบรม สารี ริ ก ธาตุ ข ององค์ พ ระสั ม มาสั ม พุ ท ธเจ้ า ที่ พุ ท ธศาสนิ ก ชนให้ ความเคารพศรั ท ธา
งานบุ ญ ประจ� ำ ปี
ประเพณีสรงน�ำ้ พระธาตุ หรือ เรียกว่า งานเดือนเก้าเป็ง โดยจะมี การสรงน�้ำพระธาตุ ในวันขึ้น 15 ค�่ำ เดือน 7 (เดือน 9 เหนือ) เป็นประจ�ำทุกปี บุญใหญ่ สร้างมหาเจดีย์ สูง 38 เมตร ประดิษฐานบนยอดเขา ณ วัดพระธาตุจอมแจ้ง สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม facebook : วัดพระธาตุจอมแจ้ง อ.พาน จ.เชียงราย โทร. 095 459 6993 CHIANG RAI I SBL บันทึกประเทศไทย
2
2.indd 173
173
11/2/2562 16:57:14
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดอุดมวารี
สาขาวัดหนองป่าพงสาขาที่ 30
พระครูอดุ มวีรวัฒน์ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
วัดอุดมวารี ตัง้ อยูท่ ี่ ต�ำบลทรายขาว อ�ำเภอพาน จังหวัดเชียงราย รหัสไปรษณีย์ 57120 โดยมี พระครูอดุ มวีรวัฒน์ (หลวงพ่อคูณ ติกขฺวโี ร) เป็นเจ้าอาวาส โดยวัดตัง้ อยูบ่ นเนือ้ ทีป่ ระมาณ 12 ไร่ มีเทือกเขาดอยปุย อยูท่ างทิศตะวันออกของวัด พระอาจารย์คณ ู ติกขฺ วีโร หลังจากอุปสมบทและฝึกการปฏิบตั ิ กัมมัฎฐานอยูท่ วี่ ดั หนองป่าพง อ�ำเภอวารินช�ำราบ จังหวัดอุบลราชธานี ประมาณ 8 ปี หลังจากนัน้ ก็ออกจาริกธุดงค์เฉกเช่นพระป่าทัว่ ๆ ไปโดย ได้กราบลาหลวงพ่อชา สุภทั โท ออกเดินทางจากวัดหนองป่าพงไป ตามป่าเขาภาคต่างๆ เพือ่ แสวงวิเวก เจริญอารมณ์กมั มัฎฐาน เมือ่ ถึง หมูบ่ า้ นทางภาคเหนือบริเวณเชิงดอยห้วยฮ่อม เห็นว่าเป็นชัยภูมทิ เี่ หมาะ และประชาชนก็นยิ มศรัทธาเป็นจ�ำนวนมาก จึงได้ขออนุญาตเจ้าคณะ จังหวัดสร้างวัดขึน้ โดยได้รบั การสนับสนุนจากชาวบ้านละแวกนัน้ ตัง้ แต่เมือ่ ปี
174
2
พ.ศ. 2518 เป็นต้นมาศรัทธาสาธุชนทีม่ คี วามเลือ่ มใสพระอาจารย์คณ ู ได้ชักชวนกันมาฟังธรรมและปฏิบัติธรรม พร้อมทั้งได้ร่วมใจกัน บริจาคทรัพย์และปัจจัยสนับสนุน ในการพัฒนาวัดเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จนกระทั่งวัดแล้วเสร็จเมื่อปี พ.ศ. 2519 เป็นวัดป่าสาขาที่ 30 ของวัดหนองป่าพง จังหวัดอุบลราชธานี โดยมีพระโพธิญาณเถร (หลวงพ่อชา สุภัทโท) เป็นบูรพาจารย์วัดอุดมวารี
SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงราย
.indd 174
11/2/2562 16:21:55
วัดอุดมวารีเป็นแหล่งเรียนรูข้ องศรัทธาสาธุชน ทีม่ คี วามเลือ่ มใสใน พระพุทธศาสนาได้รว่ มกันสร้างศาสนสถานและพัฒนาเป็นระยะตลอด มาจนถึงปัจจุบนั นี้ ในบริเวณวัดมีพระพุทธอุดมมงคลซึง่ เป็นพระพุทธรูป ทีม่ คี วามงดงามมาก และยังมีพระอุโบสถสวยงามมาก เมือ่ เข้าไปใน บริเวณวัดแล้ว มีบรรยากาศร่มรืน่ ด้วยแมกไม้นานาพันธุ์ เป็นศูนย์ปฏิบตั ิ ธรรมทีส่ ถานศึกษาและประชาชนให้ความส�ำคัญยิง่ มีนกั ปฏิบตั นิ กั ภาวนาหมุนเวียนมาเพื่อศึกษาข้อวัตรปฏิบัติเป็นวิถีแห่งความสงบ เพือ่ พ้นจากความทุกข์ภายในใจ เมือ่ ปีพ.ศ. 2548 พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินดั ดามาตุ ทรงเปิดอาคารห้องสมุด เฉลิมพระเกียรติพระชันษา 48 ปีเพื่อเป็นศูนย์กลางการศึกษา และแหล่งความรูใ้ นระดับชุมชน โดยอาคารหอสมุดเฉลิมพระเกียรติฯ ให้บริการความรูเ้ กีย่ วกับธรรมะ วิชาการด้านต่างๆ และความรูท้ วั่ ไป ทั้งในรูปของหนังสือ และข้อมูลอิเลคทรอนิกส์ พร้อมทั้งให้บริการ ระบบอินเทอร์เน็ต ซึง่ สามารถเชือ่ มสูร่ ะบบอี-เลิรน์ นิง่ ตามโครงการ
DLF E-Learning เฉลิมพระเกียรติ ของมูลนิธิการศึกษาทางไกล ผ่านดาวเทียม โดยแหล่งเรียนรูน้ ไี้ ด้รบั รางวัลการยกย่องจากองค์การ บริหารส่วนต�ำบลทรายขาว สภาวัฒนธรรมอ�ำเภอพาน ส�ำนักงาน วัฒนธรรมจังหวัดเชียงราย และจากเหตุการณ์แผ่นดินไหว เมือ่ วันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 เวลา 18.08 น. ขนาด 6.3 ริกเตอร์ โดยมีศนู ย์กลางบริเวณ อ�ำเภอพาน จังหวัดเชียงราย มีรายงานการรับรูไ้ ด้ถงึ แรงสัน่ สะเทือนทีเ่ ชียงราย เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน และอาคารสูงในกรุงเทพมหานคร ส่งผลให้ วัดอุดมวารี ได้รบั ความเสียหายหลายจุด โดยเฉพาะพระพุทธอุดมมงคล องค์ใหญ่สขี าวปรักหักพังลงมา จากนัน้ ศรัทธาสาธุชน ได้รว่ มบุญกัน บูรณปฏิสงั ขรณ์ จนกระทัง่ กลับมาเป็นศูนย์รวมศรัทธาดังเดิม ให้ผคู้ นได้ น้อมจิตระลึกถึงคุณพระรัตนตรัย พระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์ เป็นทีพ่ งึ่ อันสูงสุดแห่งชีวติ
CHIANG RAI I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 175
175
11/2/2562 16:22:01
วัดไตรมัคคาราม
ก�ำเนิดพระครูบา...นักบุญแห่งลุ่มน�้ำลาว พระครูปลัดสุวรรณวัฒน์ ญาณิสฺสโร ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดไตรมัคคาราม
วัดไตรมัคคาราม ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 176 บ้านน�ำ้ ลัด หมู่ 3 ต�ำบลธารทอง อ�ำเภอพาน จังหวัดเชียงราย สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ชาวบ้านได้ ร่วมกันสร้างขึ้นในปี พ.ศ. 2483 หลังจากนั้นจึงได้นิมนต์พระบุญมา ธมฺมปาโล มาจ�ำพรรษาเป็นเจ้าอาวาส เจ้าคณะต�ำบลได้มาเยี่ยมชมวัด เพราะเป็นวัดก�ำลังตัง้ ใหม่จงึ ตัง้ ชือ่ วัดให้วา่ “วัดไตรมัคคาราม” แต่ชาวบ้าน มักจะเรียกกันติดปากในชือ่ “วัดน�ำ้ ลัดสุวรรณา” เพราะเป็นชือ่ นามบ้าน และพ่วงนานสกุลของผู้ถวาย ต่อมาในปี พ.ศ. 2536 พระภิกษุจันทร์ กนฺตธมฺโม เป็นเจ้าอาวาสจนถึงปีพ.ศ. 2540 วัดได้ว่างเจ้าอาวาสลง ไม่มีพระภิกษุจำ� พรรษาอยู่จนเป็นวัดร้างอยู่หลายปี จนกระทั่งชาวบ้าน ได้ไปนิมนต์ทา่ น พระครูบาแวว (พระครูปลัดสุวรรณาวัฒน์ ณาณิสสฺ โร) มาจ�ำพรรษาเป็นเจ้าอาวาสวัดไตรมัคคาราม จนถึงปัจจุบัน 176
2
ต่อมาในปี พ.ศ. 2546 ท่านครูบาแววได้ฟน้ื ฟูวดั ขึน้ มาใหม่ เพือ่ เป็น ทีพ่ ำ� นักอาศัยของพระภิกษุสามเณร ท่านบูรณะกุฏิ วิหาร พระธาตุเจดีย์ ศาลาการเปรียญ และได้บูรณปฏิสังขรณ์เสนาสนะต่างๆ ภายในวัด ให้อยู่ในสภาพดี อีกทั้งได้ชื้อที่ดินขยายพื้นที่วัดเพิ่มในปัจจุบัน และ ยังพัฒนาให้เจริญขึ้นมาตามล�ำดับ ชีวประวัติพระครูปลัดสุวรรณวัฒน์ ญาณิสฺสโร นักบุญแห่งลุ่มน�้ำลาว พระครูปลัดสุวรรณวัฒน์ ญาณิสฺสโร ชาวบ้านเรียกขานกันติดปาก ในชือ่ เล่นท่านว่า “พระครูบาแวว” ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดไตรมัคคาราม ท่านบ�ำเพ็ญเพียรตั้งมั่นอยู่ในสมณธรรมอย่างเคร่งครัด มีจริยาวัตร เรียบร้อย มีวัตรปฏิบัติงดงาม มีปฏิปทามั่นคง อ่อนน้อม มีจิตเมตตาสูง เป็นที่เลื่อมใสศรัทธาของผู้ที่ได้พบเจอ และยังเป็นพระผู้มีเมตตาธรรม คอยช่วยเหลือผู้ตกทุกข์ได้ยากอยู่เสมอ จึงได้ฉายาว่า “นักบุญแห่ง ลุ่มน�้ำลาว” ท่านเป็นบุตรชายของ คุณพ่อจ�ำนงค์ และ คุณแม่มวั จันทร์ ใจยะแสน มีนามเดิมว่า เด็กชายนิมิตร ใจยะแสน (ภายหลังได้เปลี่ยนชื่อเป็น “สุวรรณวัฒน์”) ท่านเกิดเมื่อวันพุธที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2525 ถิน่ ก�ำเนิดในหมูบ่ า้ นท่าฮ่อ ต�ำบลทรายขาว อ�ำเภอพาน จังหวัดเชียงราย มีพี่น้องร่วมสายโลหิต 1 คือ นางสาว ศิริพร ใจยะแสน
SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงราย
.indd 176
8/2/2562 11:56:56
ก�ำเนิดพระครูบา
ล�ำดับเจ้าอาวาส
1. พระบุญมา ธมฺมปาโล พ.ศ. 2483 2. พระภิกษุจนั ทร์ กนฺตธมฺโม พ.ศ. 2536 3. พระครูปลัดสุวรรณวัฒน์ ญาณิสสฺ โร (พระครูบาแวว) พ.ศ. 2546-ปัจจุบัน
หลังจากทีค่ ณ ุ แม่บวั จันทร์ได้แต่งงานกับคุณพ่อจ�ำนง ก่อนตัง้ ครรภ์ เด็กชายนิมิตร คุณแม่บัวจันทร์ได้นิมิตฝันไปว่า ได้มีช้างยื่นเอาลูกแก้ว ให้เป็นประกายแวววาวจึงได้รับไว้ หลังจากตั้งครรภ์ได้ 10 เดือน ก็ได้ ให้ก�ำเนิดบุตรชายหัวปี จึงตั้งชื่อตามความฝันว่า “เด็กชายนิมิตร” และ จึงตั้งชื่อเล่นให้ว่า “แวว” (หมายถึงแสงของลูกแก้วมีรัศมีแวววาว) เมื่อ อายุได้ 12 ปี ท่านก็บรรพชาเป็นสามเณรที่วัดเชตุพล จังหวัดเชียงใหม่ โดยมีพระอุดมกิตติมงคล วัดบุบผาราม อ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ เป็นพระอุปัชฌาย์ ท่านได้ศึกษาทั้งบาลีและพระปริยัติธรรม สามารถสอบได้นักธรรม ชั้นเอก ได้ศึกษาอักษรล้านนาต�ำราโบราณ จากครูบาอาจารย์พระสงฆ์ และฆราวาสหลายท่าน รวมถึงพระไทยใหญ่(เงี้ยว) และยังสืบทอดวิชา อาคมพิธีกรรมโบราณแขนงต่างๆ จนเจนจบพอควร เมือ่ อายุครบ 21 ปี เข้าพิธอี ปุ สมบท ณ พระอุโบสถ วัดท่าฮ่อ ซึง่ เป็น บ้านเกิดของท่าน โดยมี พระครูชยาภิวัฒน์คุณ เจ้าคณะอ�ำเภอพาน วัดป่าชาง อ�ำเภอพาน จังหวัดเชียงราย เป็นพระอุปัชฌาย์ โดยมี พระครูถาวรธรรมวิมล เป็นพระกรรมวาจาจารย์ พระครูอาทรวิวัฒน์ เป็นพระอนุสาวนาจารย์ ได้ให้ ฉายาว่า ญาณิสสฺ โร (ญา-ณิส-สะ-โร) แปลว่า ผู้เป็นใหญ่เพราะความรู้ ท่านครูบา ยังใช้วิชาความรู้ที่ได้ศึกษามาช่วยเหลือชาวบ้านแบบ แผนโบราณ หรือ หมอชาวบ้านนัน้ เอง เป็นทีย่ ดึ เหนีย่ วจิตใจของศรัทธา ญาติโยม ต่อมาชาวบ้านได้นิมนต์ท่านมาจ�ำพรรษาที่วัดไตรมัคคาราม บ้านน�ำ้ ลัด เมื่อวันที่ 22 ตุลาคม พ.ศ.2546 และเริ่มบูรณปฏิสังขรณ์ วัดวาอารามให้เจริญขึ้นตามลับดับจนถึงปัจจุบัน CHIANG RAI I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 177
177
8/2/2562 11:57:04
วัดศรีเมืองมูล
ร่วมสร้างพระศรีอริยเมตไตรยบรมโพธิญาณ พระครูสุจิณกัลยาณธรรม ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
วัดศรีเมืองมูล เดิมชือ่ วัดบวกขอน ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 77 บ้านบวกขอน หมู่ 8 ต�ำบลหัวง้ม อ�ำเภอพาน จังหวัดเชียงราย สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีพนื้ ที่ ทัง้ หมด 6 ไร่ 76 ตารางวา โดยมีพระครูสจุ ณ ิ กัลยาณธรรมเป็นเจ้าอาวาส ประวัตแิ ละปฏิปทาท่านเจ้าอาวาส พระครูสจุ ณ ิ กัลยาณธรรม (วิเชียร กลฺยาโณ) เริม่ บรรพชาเมือ่ ปี พ.ศ. 2521 จนถึงปัจจุบัน โดยได้รับการศึกษาตามล�ำดับ ตั้งแต่ พ.ศ.2528 สอบไล่ ได้นกั ธรรมชัน้ เอก จากส�ำนักเรียนวัดป่าซาง จังหวัดเชียงราย, พ.ศ. 2540 จบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จากโรงเรียนพินิตประสาธน์ จังหวัดพะเยา พ.ศ. 2545 ส�ำเร็จการศึกษาปริญญาตรี พุทธศาสตรบัณฑิต (เกียรตินยิ ม) จากมหาวิ ท ยาลั ย มหาจุ ฬ าลงกรณราชวิ ท ยาลั ย จั ง หวั ด พะเยา, พ.ศ. 2547 ส�ำเร็จการศึกษาปริญญาโท (ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต) จากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และปัจจุบันก�ำลังศึกษาระดับปริญญาเอก ภาคปกติทสี่ ถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ NIDA (National Institute of Development Administration) ด้านการปกครอง พ.ศ.2552 ถึง ปัจจุบันได้รับการแต่งตั้งเป็น รองเจ้าคณะอ�ำเภอพาน วัดต้นแบบ โครงการดีๆ น�ำชีวติ ด้วยธรรมน�ำสังคม วัดศรีเมืองมูล ได้สร้างโครงการต้นแบบมากมาย อาทิโครงการ “ธนาคารความดี” ได้รบั รางวัลนวัตกรรมดีเด่นระดับประเทศ เริม่ ก่อตัง้ ขึน้ เมือ่ วันที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2549 เพือ่ ตอบค�ำถามของคนในชุมชน 3 ค�ำถามคือ 1.ความดีคอื อะไร 2.ความดีมจี ริงหรือไม่ และ 3.ทำ� ความดีแล้วได้อะไร เพือ่ พิสจู น์วา่ ความดีนนั้ มีอยูจ่ ริงและสามารถสัมผัสได้ น�ำมาใช้ได้ และความดีนนั้ สามารถกินได้โดยใช้ หลักศีล 5 และธรรม 5 มาเป็นกรอบในการสร้างกฎกติกาการน�ำฝากความดี 178
2
โดยใช้แนวคิดทีว่ า่ “ต้องท�ำเรือ่ งยากให้เป็นเรือ่ งง่าย และท�ำเรือ่ งใหญ่ให้กลาย เป็นเรือ่ งเล็ก” จนในทีส่ ดุ ธนาคารความดีกส็ ามารถท�ำให้สงิ่ ทีเ่ ป็นนามธรรม คือ ความดี กลายเป็นรูปธรรมทีส่ ามารถสัมผัสได้ โดยมีคำ� ขวัญของธนาคารความ ดีคอื “ท�ำความดีสร้างค่าความเป็นคน ยามขัดสนเราให้ถอนเป็นสิง่ ของ” จนถึง ณ วันนีธ้ นาคารความดีกย็ งั คงท�ำหน้าทีใ่ นการพัฒนาชุมชนในทุก ระบบทีม่ อี ยู่ ไม่วา่ จะเป็นเรือ่ ง ศาสนา วัฒนธรรมประเพณี และสังคมโดยท�ำ หน้าทีเ่ สมือนกงล้อทีค่ อยขับเคลือ่ นการพัฒนาอย่างสมบูรณ์ เพือ่ น�ำไปสูส่ งั คม แห่งสันติสขุ ปราศจากอบายมุข ให้คนพ้นจากความทุกข์และพบกับความสุข อย่างยัง่ ยืนตลอดไป อีกโครงการหนึง่ ของวัดศรีเมืองมูลทีส่ ร้างชือ่ เสียงและเป็นประโยชน์ตอ่ สังคมจนขยายไปทัว่ ประเทศก็คอื โครงการ “โรงเรียนผูส้ งู อายุ” ต�ำบลหัวง้ม เริม่ ก่อตัง้ ขึน้ เมือ่ วันอาทิตย์ที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2553 เป็นแห่งแรกและ
SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงราย
.indd 178
11/2/2562 16:30:36
ครัง้ แรกของจังหวัดเชียงราย โดยมีจดุ ประสงค์เพือ่ แก้ปญ ั หาการท�ำร้ายตัวเอง ด้วยการฆ่าตัวตายของผูส้ งู อายุ เนือ่ งจากปัญหาโรคซึมเศร้าอันเกิดจากปัญหา หลายสาเหตุ เช่น ปัญหาเรือ่ งสุขภาพ ปัญหาความยากจน ปัญหาการถูกทอดทิง้ ฯลฯ จนน�ำไปสูโ่ รคซึมเศร้า ซึง่ ท�ำให้พระครูสจุ ณ ิ กัลยาณธรรม เจ้าอาวาส ได้จดั ตัง้ โครงการนีข้ นึ้ มา โดยมีแรงบันดาลใจจากการได้เห็นภาพผูส้ งู อายุของ ประเทศญีป่ นุ่ แต่งตัวเป็นเด็กนักเรียน เลยน�ำสิง่ ทีเ่ ห็นนัน้ มาเป็นแนวคิดสร้าง โรงเรียนผูส้ งู อายุขนึ้ เป็นแห่งแรก และเป็นครัง้ แรกของค�ำว่า “โรงเรียนผูส้ งู อายุ” ของประเทศไทย โดยจัดกิจกรรมให้เหมาะกับผูส้ งู อายุและเน้นให้ผส้ ู งู อายุเรียน จากสิง่ ทีช่ อบ เช่น วิชา พระพุทธศาสนา วิชาการดูแลสุขภาพตัวเอง วิชาสังคม และวัฒนธรรม อีกทัง้ การท�ำอาชีพตามความถนัดของผูส้ งู อายุแต่ละคน โดยพยายามดึงเอาต้นทุนมนุษย์ทมี่ อี ยูใ่ นตัวของผูส้ งู อายุออกมาเพือ่ เป็นทุน ทางสังคมของผูส้ งู อายุจนถึงทุกวันนี้ ซึง่ ณ วันนีโ้ รงเรียนผูส้ งู อายุได้แพร่ขยาย
ไปทั่วประเทศ และยังได้ขยายสาขาไปเปิดเกือบจะทุกพื้นที่ทั่วประเทศ ประมาณ 240-250 แห่งทั่วประเทศ วันนี้โรงเรียนผู้สูงอายุต�ำบลหัวง้ม มีทั้งหมด 9 ชั้นปี แบ่งเป็นสองช่วงการเรียนคือ โรงเรียนผู้สูงอายุชั้นปี ที่ 1 ถึงปีที่ 3 และมหาวิทยาลัยผู้สูงอายุตั้งแต่ปีที่ 4 เป็นต้นไปถือว่า เป็นนักศึกษามหาวิทยาลัยผู้สูงอายุ เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มาเรียนได้มีเวที แลกเปลีย่ นและเป็นการเรียนรูต้ ลอดชีวติ แม้จะอยูใ่ นช่วงปัจฉิมวัยก็ตาม โรงเรียนผู้สูงอายุตำ� บลหัวง้มมีค�ำขวัญว่า “แก่อย่างสง่า ชราอย่างมี คุณภาพ” และมีวิสัยทัศน์ว่า “รู้จริง ปฏิบัติได้ ถ่ายทอดเป็น” ซึ่งเมื่อปี ที่ผ่านมาทางโรงเรียนผู้สูงอายุต�ำบลหัวง้มได้รับรางวัลจากรัฐบาลมา 4,000,000 บาท (สี่ล้านบาทถ้วน) จึงได้น�ำเงินดังกล่าวมาต่อยอด โครงการโรงเรียนผูส้ งู อายุโดยสร้างเป็นศูนย์ Day care center เพือ่ ดูแล ผู้สูงอายุติดเตียง และนอกจากนั้นโรงเรียนผู้สูงอายุ ต�ำบลหัวง้มยังได้ เปิดห้องเรียนทุกๆ หมู่บ้านเพื่อแก้ปัญหาผู้สูงอายุติดบ้านที่ไม่สามารถ มาเรียนที่โรงเรียนได้ และสิ่งที่เราภูมิใจมากที่สุดคือ โรงเรียนผู้สูงอายุ ต�ำบลหัวง้มได้รบั การคัดเลือกให้เป็นตัวแทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ จากทัว่ ประเทศเข้าชิงรางวัล United Nations Public Service Awards (UNPSA) ประจ�ำปี ค.ศ. 2017 (พ.ศ. 2560) ถึงแม้โครงการดังกล่าว จะได้ผ่านแค่รอบ Long list (รอบที่ 2) ซึ่งเป็น 1 ใน 8 จากทั่วประเทศ เราก็ภูมิใจในสิ่งเราท�ำจากจุดเริ่มต้นเล็กๆ ของวัดศรีเมืองมูล นอกจากนี้ วัดศรีเมืองมูล ยังมีโครงการอืน่ ๆ ทีเ่ ป็นโครงการย่อยและมี ประโยชน์ตอ่ ชุมชนอีกมากมาย เช่น โครงการ “ฒ ผูเ้ ฒ่าเฝ้าวัด”, โครงการ “100 คน ร้อยดวงใจ 100 ความห่วงใย มอบให้กบั ผูส้ งู วัยทีข่ าดแคลน” , โครงการ “1วัน 1 บาทเพือ่ เติมโอกาสให้กบั ผูย้ ากไร้” , โครงการ “หมอน้อยคอย ช่วยเหลือ” ฯลฯ ซึง่ โครงการทัง้ หมดมีจดุ เริม่ ต้นทีว่ ดั ศรีเมืองมูล ต�ำบลหัวง้ม อ�ำเภอพาน จังหวัดเชียงรายแห่งนี้ จากวันนัน้ จนถึงวันนี้ ต�ำบลหัวง้มของเราได้ตอ้ นรับคณะศึกษาดูงาน จากทัว่ ประเทศ ตัง้ แต่เริม่ โครงการธนาคารความดี เมือ่ วันที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2549 ถึง 2,565 คณะจากทั่วประเทศ CHIANG RAI I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 179
179
11/2/2562 16:30:44
วัดพระธาตุคือเวียง
นมัสการพระพุทธเมตตามหาจักรพรรดิ์ทันใจ พระครูวิสุทธิเจติยาภิรักษ์ (นนทวัฒน์ วิสุทฺโธ) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดพระธาตุคือเวียง
วัดพระธาตุคือเวียง เป็นวัดราษฎร์ ตั้งอยู่เลขที่ 229 หมู่ที่ 13 บ้านสันป่าเมา ต�ำบลแม่อ้อ อ�ำเภอพาน จังหวัดเชียงราย วัดมีเนื้อที่ 7 ไร่ 6 ตารางวา สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ปัจจุบนั มีพระภิกษุ 2 รูป สามเณร 1 รูป และลูกศิษย์วดั 1 คน โดยมี พระครูวสิ ทุ ธิเจติยาภิรกั ษ์ (นนทวัฒน์ วิสุทฺโธ) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส มีต�ำนานเล่าขานสืบต่อกันมาเกี่ยวกับประวัติวัดพระธาตุคือเวียง บ้างก็เรียกว่า “วัดห่างป่าลาน” เพราะอดีตเคยมีต้นลานคู่ขึ้นอยู่ บ้างก็ เรียกว่า “ม่อนเต่าค�ำ” เพราะมีเต่าหินโบราณอยู่ ส�ำหรับทีเ่ รียกว่า “พระธาตุ คือเวียง” นัน้ เรียกตามชือ่ ของสถานทีต่ งั้ วัดปัจจุบนั เพราะเป็นอาณาเขต ของคูเมือง เดิมทีพระธาตุไม่ได้ตงั้ อยู่ ณ สถานทีป่ จั จุบนั เพราะมีหลักฐาน 180
เป็นฐานอิฐรูปสี่เหลี่ยมปรากฏเป็นพระธาตุอยู่ตรงบนเนินเขาที่ตั้ง โรงเรียนแม่อ้อวิทยาคมในปัจจุบัน พอทางราชการตั้งโรงเรียนขึ้นก็ได้มี การขุดดินปรับเนือ้ ที่ ทางชาวบ้านเลยขนเอาก้อนอิฐบางส่วนมากองรวม กันไว้ตรงที่สร้างพระธาตุในปัจจุบัน วัดพระธาตุคอื เวียงได้เริม่ บุกเบิกโดยการน�ำของ พระครูบาธรรมชัย (สมบัติ ขันติโก) วัดน�้ำลัดวังซาง มาเป็นประธาน พร้อมกันนั้นได้วาง ศิลาฤกษ์สร้างพระธาตุองค์ใหม่ขึ้น เมื่อวันเสาร์ที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2541 ต่อจากนัน้ ก็นมิ นต์ พระวรเพชร ถิรญาโณ มาดูแลการก่อสร้างต่อ ตั้งชื่อวัดเป็น วัดพระธาตุเวียงดินสิงห์กุตตระเต่าทองเวียงคือนา ต่อมา เห็นว่ายาวเกินไปจึงได้ตัดเหลือแค่ วัดพระธาตุคือเวียง ต่อมา ชาวบ้านจึงได้ชกั ชวนกันไปอัญเชิญเอาเต่าหินโบราณทีอ่ ยูข่ า้ ง หนองน�ำ้ คือเวียง หลังโรงเรียนแม่ออ้ วิทยาคมมาประดิษฐานอยูค่ กู่ บั วัด โดยน� ำ ต้ น มะพร้ า วมาคาดเป็ น แม่ เ รื อ ชั ก ลากกั น มา ปี พ .ศ. 2543 พระวรเพชรได้ย้ายออกไป ทางคณะศรัทธาจึงได้นิมนต์ พระครูวิสุทธิ เจติยาภิรกั ษ์ (นนทวัฒน์ วิสทุ โฺ ธ) มาดูแลรักษาการต่อ พร้อมกับได้ทำ� เรือ่ ง ขอขึน้ ทะเบียนวัดร้างและขอยกวัดร้างขึน้ เป็นวัดมีพระภิกษุอยูจ่ ำ� พรรษา และได้ประกาศขึน้ ทะเบียนยกวัดร้างเมือ่ วันที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2548 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา ณ วันที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552
SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงราย
2
.indd 180
8/2/2562 15:06:21
ประวัติท่านเจ้าอาวาสโดยสังเขป พระครูวิสุทธิเจติยาภิรักษ์ (นนทวัฒน์ วิสุทฺโธ) อายุ 38 ปี พรรษา ที่ 18 สมณศักดิ์ พระครูสัญญาบัตร เจ้าอาวาสวัดราษฎร์ ชั้นโท เดิมชื่อ นนทวัฒน์ นามสกุล ฝัน้ แต๋ นักธรรมเอก ส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี จากมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ท�ำเนียบเจ้าอาวาส 1. พระวรเพชร ถิรธมฺโม ตั้งแต่ พ.ศ. 2541-2544 2. พระครูวิสุทธิเจติยาภิรักษ์ ตั้งแต่ พ.ศ. 2544-ปัจจุบัน ถาวรวัตถุและพระพุทธรูปส�ำคัญในวัด พระธาตุเจดีย์ “พระธาตุคือเวียง” พระพุทธรูป “พระพุทธเมตตามหาจักรพรรดิ์ทันใจ” เป็นพระประธานที่ปั้นในคืนเดียว และ “พระพุทธเมตตามหาจักรพรรดิ์ ทันใจ” ปางมารวิชัยทรงเครื่องจักรพรรดิปั้นภายในหนึ่งวันหนึ่งคืน เต่าหินโบราณ เป็นเต่าหินโบราณเนื้อหินทรายไม่รู้ว่าแกะขึ้นใน ยุคสมัยไหน ค้นพบที่ข้างหนองน�้ำคือเวียง ภายหลังได้ปั้นหัวและ เท้าใส่แต่คงสภาพทุกอย่างไว้คงเดิม รูปเหมือนแกะสลักไม้พ่อขุนเม็งรายมหาราช ลักษณะทรงยืน พระหัตถ์ขวาถือตะขอช้าง กิจกรรมประจ�ำปี ประเพณีสรงน�้ำพระธาตุ และพระพุทธรูป ทันใจทั้งในอุโบสถ และ วิหาร โดยจัดกิจกรรมในวันมาฆบูชา วันเพ็ญขึน้ 15 ค�ำ่ เดือน 3 ของทุกปี ส�ำหรับในปีนี้มีผู้เข้าร่วมประมาณ 500 คน เป็นบุคลากรจากองค์การ บริหารส่วนต�ำบลแม่อ้อ โรงเรียนแม่อ้อวิทยาคม ศรัทธาสาธุชนใน หมูบ่ า้ นและหมูบ่ า้ นใกล้เคียง ร่วมขบวนแห่เครือ่ งสักการะผ้าห่มพระธาตุ และน�้ำสรงพระธาตุจากในหมู่บ้านเข้าสู่วัดพระธาตุคือเวียง พระสงฆ์ สวดเจริญพระพุทธมนต์ จากนั้นศรัทธาสาธุชนร่วมกันสรงน�้ำพระธาตุ ตลอดกิจกรรมด�ำเนินไปด้วยความอบอุ่น CHIANG RAI I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 181
181
8/2/2562 15:06:27
ศูนย์ปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน
วัดถ�้ำพระผาคอก ตามรอยธรรมแห่งพระสัมมาสัมพุทธเจ้า อย่างถูกตรงพระธรรมวินัย พระครูสุขุมสีลานุกิจ ด�ำรงต�ำแหน่งผู้อ�ำนวยการศูนย์ฯ
ศู น ย์ ป ฏิบัติวิป ัส สนากรรมฐาน วัดถ�้ำ พระผาคอก ชื่อเดิม คือ วั ด ถ�้ ำ พระผางาม เป็น สถานที่ปฏิบัติธ รรม หลักสูต รสติปัฏ ฐาน 4 ซึง่ ปฏิบตั ติ ามแนวของ หลวงพ่อจรัญ ฐิตธมฺโม วัดอัมพวัน จังหวัดสิงห์บรุ ี ตัง้ อยูท่ หี่ มู่ 9 บ้านผางาม ต�ำบลผางาม อ�ำเภอเวียงชัย จังหวัดเชียงราย บนเส้นทางระหว่างทีต่ งั้ อ�ำเภอเวียงชัยไปอ�ำเภอพญาเม็งรายไป-เชียงของ อยู่บนภูเขาเล็กๆ เป็นสถานที่สัปปายะ ซึ่งชาวบ้านแถบนั้นเรียกว่า “ผาคอก” อยูก่ ลางเนินเขาหุบเขาอยูก่ บั ธรรมชาติ เนือ้ ที่ 300 ไร่ เหมาะส�ำหรับ ปฏิบตั ธิ รรมและพักผ่อน โดยทางวัดมีสถานทีพ่ กั ทัง้ แบบพักรวมในอาคาร หรือพักแยกเดี่ยว ส�ำหรับที่พักแยกเดี่ยว จะมีหอ้ งน�ำ้ ในตัว (ไม่มเี ครือ่ ง ปรับอากาศ) เหมาะส�ำหรับผูท้ ตี่ อ้ งการปฏิบตั เิ ดีย่ ว (แบบเก็บอารมณ์) หรือจะหมูค่ ณะ ทางวัดก็จัดให้ตามก�ำลังของผู้ที่เดินทางมาอย่างตั้งใจ ที่ต้องการศึกษากายใจตนเองไปจนสุดทางทุกข์ 182
จากศูนย์ธุดงค์วัตร ถึง ศูนย์วิปัสสนากรรมฐานฯ
เมือ่ ประมาณปี พ.ศ. 2530 ณ สถานทีแ่ ห่งนีม้ พี ระจากวัดมหาธาตุ กรุงเทพฯ เดินธุดงค์มาอาศัยอยูป่ ฏิบตั ธิ รรมทีถ่ ำ�้ ผาคอก พระท่านเห็นว่า เป็นสถานทีเ่ หมาะทีจ่ ะท�ำเป็นศูนย์ธดุ งค์วตั ร ต่อมาในปี พ.ศ. 2532 ทาง คณะสงฆ์ของวัดมหาธาตุและคณะสงฆ์ของจังหวัดเชียงรายจึงได้รว่ มกัน จัดตัง้ เป็น”ศูนย์ธดุ งค์วตั ร”ขึน้ เป็นทีอ่ าศัยและปฏิบตั ธิ รรมของพระธุดงค์ จากจังหวัดต่างๆ ทีเ่ ข้ามาอาศัยปฏิบตั ธิ ดุ งค์ตอ่ ๆ กันเรือ่ ยมา ช่วงระยะ หลังไม่มพี ระมาจ�ำพรรษา ศูนย์นเี้ ลยว่างไปช่วงหนึง่
SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงราย
2
.indd 182
13/2/2562 13:12:07
ศูนย์พุทธอุทยานอ่างเก็บน�ำ้ แม่ต๊าก ต�ำบลดอนศิลา อ�ำเภอเวียงชัย จ. เชียงราย 57210 โทรศัพท์ 081-009-6622
ต่อมาเมื่อปี พ.ศ. 2540 พระครูสุขุมสีลานุกิจได้เดินทางมาจาก วัดอัมพวัน จังหวัดสิงห์บุรี ขึ้นมาอยู่จังหวัดเชียงรายซึ่งเป็นบ้านเกิด พอมาเห็นสถานที่อันสงบ-ร่มรื่น ซึ่งเป็นที่เหมาะแก่การปฏิบัติธรรม เป็นอย่างยิง่ จึงได้เข้าไปปรึกษากับผูใ้ หญ่บา้ นหมู่ 9 ก�ำนัน ต�ำบลผางาม และคณะฝ่ายสงฆ์ เพือ่ ขออนุญาตมาอยูป่ ฏิบตั ธิ รรมทีน่ ี่ (ถ�ำ้ พระผาคอก) เดิมทีสถานทีน่ ชี้ าวบ้านเรียกว่าผาคอก และต่อมาเปลีย่ นเป็น “ศูนย์ธดุ งค์วตั ร” เมื่อพระครูสุขุมสีลานุกิจอยู่และจากนั้นจึงขอเปลี่ยนชื่อเสียใหม่ว่า ศูนย์ปฏิบตั วิ ปิ สั สนากรรมฐานวัดถ�ำ้ พระผาคอก (ผางาม) สาขา วัดอัมพวัน จ.สิงห์บรุ ี และได้พฒ ั นาสถานทีใ่ ห้เหมาะสมกับการใช้สอย โดยเริม่ หาน�ำ้ และ ไฟฟ้าให้พอเพียงกับการใช้สอย แล้วสร้างศาลาปฏิบตั ธิ รรม โดยรือ้ หลังเก่า ทีเ่ ป็นไม้และสร้างศาลาหลังใหม่ทดแทน สร้างกุฏพิ ระ โรงครัว ห้องพัก ของอุบาสก อุบาสิกา ห้องน�ำ้ และหอสมุด ตามล�ำดับปัจจุบันนี้มีศาลา ปฏิบตั ธิ รรม 2 หลัง มีกฏุ พิ ระ 10 หลัง ห้องพักของนักปฏิบตั ธิ รรม 7 หลัง (อาคารหลังใหญ่ 2 ชัน้ 2 หลัง และชัน้ บนของศาลาใหญ่ใช้เป็นทีพ่ กั ได้ ลักษณะเป็นห้องรวม ห้องโถง) อาคารสามชั้น 1 หลัง (แบ่งเป็น 3 ชั้น ชั้นที่ห นึ่งเป็นโรงครัว ชั้นที่ 2 เป็นหอฉัน ชั้นที่ 3เป็นห้องพักของ นักปฏิบตั ธิ รรม) และห้องสมุด 1 หลัง ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2542 จนถึงปัจจุบนั ทางศูนย์วปิ สั สนากรรมฐานฯ ได้มี การจัดการบวชสามเณรและบวชศีลจาริกภาคฤดูร้อนก็มีเยาวชนจาก โรงเรียนต่างๆ มาบวชเรียนศึกษาธรรมเป็นประจ�ำ จึงได้จัดโครงการ ต่อเนือ่ งมีการจัดการบวชในเดือนเมษายนของทุกปี โดยใช้เวลาบวชอยู่ หนึง่ เดือนทัง้ เยาวชน ชาย-หญิงต่อมาก็มญ ี าติโยม อุบาสก อุบาสิกา ได้เข้า ร่วมปฏิบตั ธิ รรมกันมากขึน้ มีมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย ,มหาวิทยาลัย จุฬาภรณ์, วิทยาลัยพาณิชยการ, โรงพยาบาล, คณะบุคคลในสถานทีร่ าชการ เช่น สรรพากร-การคลัง-องค์การบริหารส่วนต�ำบล(อบต.) – องค์การบริหาร ส่วนจังหวัด (อบจ.) โรงเรียนต่างๆ ในจังหวัดเชียงรายและต่างจังหวัด เช่น พะเยา-เชียงใหม่-แพร่-น่าน มาปฏิบตั ิ อีกทัง้ ยังมีสำ� นักพระพุทธ ศาสนา ชมรมรักษ์ธรรม (จัดโดย รศ.บุญทัน อยูช่ มบุญ) ได้นำ� เจ้าหน้าที่ จากหน่วยงานของข้าราชการ พลเรือนต่างๆ เข้ามาปฏิบตั ิ ณ ศูนย์ปฏิบตั ิ วิปสั สนากรรมฐาน ถ�ำ้ พระผาคอก อย่างต่อเนือ่ งและต่อไปมีแนวโน้มว่า หน่วยงานอืน่ ๆ ก็คงจะมีการจัดโครงการเช่นนีเ้ พิม่ มากขึน้ ขณะนีท้ างคณะสงฆ์ อ�ำเภอเวียงชัย ได้จดั ให้ศนู ย์ปฏิบตั ถิ ำ�้ พระผางาม เป็นสถานทีป่ ฏิบตั ธิ รรมฯ ประจ�ำอ�ำเภอเวียงชัย แม้ทางศูนย์ของเรายังไม่ได้ ขึน้ ทะเบียนเป็นวัดอย่างถูกต้องตามกฎหมาย แต่คณะสงฆ์กไ็ ด้ทำ� หน้าที่ เป็นเนือ้ นาบุญ เป็นครูสอนวิปสั สนากรรมฐานให้กบั พระเณรและประชาชน ตามรอยธรรมแห่งพระสัมมาสัมพุทธเจ้าอย่างถูกตรงพระธรรมวินยั มาโดยตลอด ขอให้ผปู้ ฏิบตั ธิ รรมมัน่ ใจในแนวทางทีถ่ กู ตรงนี้ และตัง้ ใจพากันปฏิบตั ไิ ป จนกว่าจะหมดทุกข์ทางใจเถิด ปัจจุบนั พระครูสขุ มุ สีลานุกจิ เป็นผูอ้ ำ� นวยการศูนย์ปฏิบตั วิ ปิ สั สนา กรรมฐานวัดถ�ำ้ พระผาคอก มีอายุ 61 ปีพรรษาที่ 39 และเป็นรองเจ้าอาวาส วัดราษฎร์ชมุ พล อ�ำเภอเวียงชัย จังหวัดเชียงราย CHIANG RAI I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 183
183
13/2/2562 13:12:12
วัดแสงแก้วโพธิญาญ
ร่วมสร้างพระศรีอริยเมตไตรยบรมโพธิญาณ พระครูบาอริยชาติ อริยจิตฺโต ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
วัดแสงแก้วโพธิญาณ ตัง้ อยูบ่ นดอย “ม่อนแสงแก้ว” เลขที่ 191 หมู่ 11 บ้านใหม่แสงแก้ว ต�ำบลเจดียห์ ลวง อ�ำเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย ขนาด พืน้ ทีป่ ระมาณ 29 ไร่เศษ ห่างจากหมูบ่ า้ นประมาณ 1.5 กิโลเมตร มี ทัศนียภาพทีส่ วยงาม มองลงมาเห็นทัง้ ตัวอ�ำเภอแม่สรวย และหลายต�ำบล ของอ�ำเภอแม่สรวย มีถนนลาดยางถึงวัดแสงแก้วโพธิญาณ เริม่ ก่อสร้างเมือ่ วันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2549 ตรงกับเดือนแปดเป็งของล้านนา ซึง่ ตรง กับวันวิสาขบูชา วันเพ็ญเดือนหกสร้างโดยท่านพระครูบาอริยชาติ อริยจิตโฺ ต คณะศรัทธาบ้านป่าตึง และศิษยานุศษิ ย์ เมือ่ ครัง้ ทีค่ รูบาอริยชาติ ได้ยา้ ย จากวัดพระธาตุดงสีมา ต�ำบลแม่พริก อ�ำเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย มาจ�ำพรรษา ณ ศาลามหาป่า ในใจกลางของหมูบ่ า้ นป่าตึง โดยการรับ นิมนต์ของพ่อหลวงยา ศรีทา และคณะศรัทธาชาวบ้านป่าตึง หมูท่ ี่ 11 ต�ำบล เจดีย์หลวง อ�ำเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย ซึ่งอยากจะมีวัดใหม่ที่ สะดวกต่ อ การท� ำ บุ ญ ของญาติ โ ยม จึ ง ได้ น� ำ เรื่ อ งมาปรึ ก ษากั บ ท่านครูบาอริยชาติ ซึง่ เป็นพระนักคิดนักสร้าง เป็นผูอ้ นุรกั ษ์ศลิ ปวัฒนธรรม จรรโลงพระพุทธศาสนา เจริญรอยตามครูบาเจ้าศรีวชิ ยั นักบุญแห่งล้านนาไทย อยูแ่ ล้วจึงคิดสร้างวัดใหม่ขนึ้ มาเพือ่ เป็นพุทธสถาน เป็นแหล่งยึดเหนี่ยว จิตใจของพุทธศาสนิกชน ต่อมาวัดแสงแก้วโพธิญาณ ได้รบั พระราชทาน 184
3
วิสงุ คามสีมาเมือ่ วันที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2554 และผูกพัทธสีมา ฝังลูกนิมติ ในวันอาทิตย์ที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2556 (ขึ้น 13 ค�่ำ เดือน 6 เหนือ) และพัฒนาวัดแสงแก้วโพธิญาณ ต่อเนื่องถึงปัจจุบัน
พุทธศิลป์และงานสถาปัตยกรรมภายในวัด
พุทธศิลป์และศิลปะต่างๆ ที่อยู่ภายในวัดแสงแก้วโพธิญาณนั้น เป็นสถาปัตยกรรมทีอ่ อกแบบโดย พระครูบาอริยชาติ อริยจิตโต ท่านได้ ผสมผสานระหว่างโลกกับธรรม แสดงออกถึงความเชื่อและวัฒนธรรม ของชาวพุ ท ธในดิ น แดนล้ า นนาอย่ า งชั ด เจน มี ก ารผสานงานศิ ล ป์ 3 รูปแบบไว้ดว้ ยกันอย่างกลมกลืนคือ ศิลปะล้านนา ศิลปะไต (ไทยใหญ่) และศิ ล ปะพม่ า ซึ่ ง ล้ ว นมี นั ย ที่ สื่ อ “พุ ท ธธรรม” อั น ลึ ก ซึ้ ง เอาไว้ แทบทุกองค์ประกอบของวัด ตัง้ แต่ชนั้ แรก มีรปู เหมือนแทนพระพุทธเจ้า
SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงราย
.indd 184
11/2/2562 17:00:22
4 พระองค์ คื อ พระกกุ สั น ธพุ ท ธเจ้ า พระโกนาคมนพุ ท ธเจ้ า พระกัสสปพุทธเจ้า พระโคตมพุทธเจ้า มีสิงห์คู่ตัวใหญ่ ซึ่งครูบา เปรียบเทียบเป็นปริศนาธรรม เหมือนพ่อกับแม่ของพระศรีอริยเมตไตรย มานั่ ง รอพระศรี อ ริ ย เมตไตรยมาตรั ส รู ้ แ ล้ ว มาโปรดคนให้ พ ้ น จาก ทุกข์ในวัฏสงสาร เมื่อเดินขึ้นมาถึงชั้นที่ 2 เป็นพุทธาวาสเป็นเขตของพระพุทธเจ้า เป็นที่ท�ำสังฆพิธีต่างๆ มีอุโบสถ วิหาร หอไตร มีปราสาท 16 หลัง แทนพรหม 16 ชั้น มีศาลา 16 ห้อง แทน 16 ชั้นฟ้า และเมื่อขึ้นมาถึง ชั้นที่ 3 เป็นชั้นที่ตั้งกุฏิ ของพระครูบาอริยชาติ ส�ำหรับชั้นที่ 4 เป็นการ จ�ำลองเรือ่ งโลกและจักรวาล ด้านหน้าของทางเข้ามีเทพนพเคราะห์ 9 องค์ และก่อนเขาพระสุเมรุจะพบยักษ์หลับและยักษ์ตื่นแทนกลางคืนและ กลางวันนั่นคือความหมายทางโลก แต่ความหมายทางธรรม คือ พุทโธ
คนเราท�ำอะไรให้มีสติ เช่น เวลาเราเจริญสติ แล้วบริกรรมพุทโธ ถ้ามี พุทอยู่ โธก็ห าย ถ้าพุทหาย โธก็อยู่ คือให้เรามีสติอยู่ตลอดเวลา ตรงกลางแทนด้วยเขาสุเมรุ ข้างบนสุดบนเขาพระสุเมรุ ประดิษฐาน พระศรี อ ริ ย เมตไตรย ส่ ว นด้ า นหลั ง ขึ้ น บั น ไดไป เป็ น รู ป เหมื อ น ครู บ าศรี วิ ชั ย , ครู บ าอภิ ชั ย ขาวปี , ครู บ าชั ย วงศาพั ฒนา สื่ อ แทน พระรั ต นตรั ย แต่ สื่ อ ออกมาเป็ น พระอริ ย สงฆ์ เพราะว่ า วั ด ชื่ อ ว่ า วัดแสงแก้วโพธิญาณ หมายถึง ผู้สร้างบารมี เปรียบพระครูบาศรีวิชัย เหมือนพระโพธิสตั ว์ทเี่ กิดมาสร้างบารมี แล้วพระครูบา 3 ท่านนี้ ก็เปรียบ เหมือนต้นแบบของนักบุญล้านนาทีน่ งั่ อยูใ่ นใจคนล้านนามายาวนาน บนอาคารครูบาศรีวชิ ยั ประกอบด้วยศาลา 2 หลัง คือ 1. ศาลาด้านเหนือ ศาลาบูรพาอาจารย์ หมายถึง คนเราจะมีศิลปะวิทยาความรู้ ต้องมี ครูบาอาจารย์ และต้องรู้คุณคนแห่งครูบาอาจารย์ 2.ศาลาด้านใต้ ศาลาบูรพามหากษัตริย์ หมายถึง กว่าเราจะมีแผ่นดินอยู่อาศัยทุกวันนี้ เพราะพระปรีชาสามารถแห่งบูรพามหากษัตริย์ท้ังหลาย ควรส�ำนึก ในพระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ ด้ า นใต้ ฐ านมี พ ระองค์ ใ หญ่ 3 องค์ คื อ สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี) แทนครูบาอาจารย์ภาคกลาง หลวงปู ่ ท วด เหยี ย บน�้ ำ ทะเลจื ด แทนครู บ าอาจารย์ ภ าคใต้ หลวงปู ่ มั่ น ภู ริ ทั ต โต แทนครู บ าอาจารย์ ภ าคอี ส าน ด้ า นหลั ง พระครูบาศรีวชิ ยั มีพระพุทธรูปทรงเครือ่ งขนาดใหญ่ หน้าตักกว้าง 25 เมตร สูง 32 เมตร แทนด้วยพระนิพพาน คือ จุดหมายอันสูงสุดของพระพุทธศาสนา CHIANG RAI I SBL บันทึกประเทศไทย
3
.indd 185
185
11/2/2562 17:00:30
องค์พระเจ้าทองทิพย์
วัขอเชิดญพระเจ้ า ทองทิ พ ย์ นมัสการพระพุทธรูปโบราณ พระประธานศักดิ์สิทธิ์...อายุกว่าพันปี พระอธิการประยุทธ ติกขวีโร ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดพระเจ้าทองทิพย์
วัดพระเจ้าทองทิพย์ ตั้งอยู่เลขที่ 62 บ้านทองทิพย์ หมู่ที่ 10 ต�ำบลศรีถอ้ ย อ�ำเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย เริม่ สร้างเมือ่ พ.ศ. 2368 โดยท่านครูบาญาโณ พร้อมด้วย อุบาสก 3 คน คือ ท้าวสงคราม แสนขวาง และหมื่นขันธ์ มีศรัทธาปสาทะได้สร้างวัดขึ้นในเริ่มแรก ต่อมา พ.ศ. 2461 ท่านครูบาชัยวุฒิ ได้รอื้ วิหารหลังเก่าบูรณะขึน้ ใหม่ โดยได้รบั ทุนทรัพย์จากเจ้าดารารัศมี ผูค้ รองนครเชียงใหม่จำ� นวน 200 รูปี จึงบูรณะเสร็จในปีนั้น และได้บูรณะวิหารอีกครั้ง เมื่อพ.ศ. 2539 โดย พระอธิการประยุทธ ติกขวีโร เจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน พร้อมด้วย คณะศรัทธาได้ชว่ ยกันรือ้ วิหารบูรณะใหม่เสร็จในปี พ.ศ. 2541 186
ประวัติพระเจ้าทองทิพย์ พระเจ้าทองทิพย์ เป็นนามของพระพุทธรูปเก่าแก่ เดิมอยู่ กรุงศรีสนั ตนา
คนหุต (หลวงพระบาง)ประเทศลาว มีอายุประมาณพันปีเศษแล้ว เป็น พระพุทธรูปเก่าแก่ เชือ่ กันว่ามีความศักดิส์ ทิ ธิ์ (ในเรือ่ งการขอบุตร) และ เรื่องอื่นๆ อีกมากมาย ดังปรากฏว่า เมื่อ พ.ศ. 2063 พระเจ้าโพธิสาล และ พระนางยอดค�ำทิพย์ ได้ครองราชสมบัติร่วมกันเป็นเวลาหลายปี ก็ไม่มีโอรส พระเจ้าโพธิสาลทรงวิตกว่าภายหน้าจะไม่มีผู้สืบราชวงศ์ ต่อไป จึงด�ำริขึ้นว่าพระเจ้าทองทิพย์เป็นพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ของ นครเชียงทองประจ�ำนครมาแต่โบราณกาล สามารถดลบันดาลให้ผทู้ ไี่ ป ขอพรสมความปรารถนาได้ดงั ทีข่ อ พระเจ้าโพธิสาลพร้อมด้วยพระนาง ยอดค�ำทิพย์ จึงได้นำ� ดอกไม้ธปู เทียนไปนมัสการพระเจ้าทองทิพย์ แล้วก็ ขอพรตัง้ สัตยาธิษฐานต่อหน้าพระเจ้าทองทิพย์ ขอให้พระนางยอดค�ำทิพย์ มีพระโอรสด้วย ไม่ช้าพระนางยอดค�ำทิพย์ ก็ทรงมีพระครรภ์เมือ่ ครบ ก�ำหนดก็ประสูตเิ ป็นพระโอรส ทรงพระนามว่า “ไชยเชษฐากุมาร”
SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงราย
2
.indd 186
8/2/2562 14:16:31
วิหารประดิษฐานพระเจ้าทองทิพย์
องค์พระเจดีย์พระเจ้าทองทิพย์
ซุ้มประตูหน้าวัดพระเจ้าทองทิพย์
เมื่อพระไชยเชษฐาเจริญวัยขึ้น อายุ 14 พรรษา พระเจ้าตากษัตริย์ ผูค้ รองนครเชียงใหม่สวรรคต และไม่มโี อรสเลย เหล่าเสนาอ�ำมาตย์ และ พระสงฆ์เจ้าทั้งหลายของนครเชียงใหม่ มาทูลขอพระเจ้าไชยเชษฐา ไปครองนครเชียงใหม่ พระเจ้าโพธิสาลก็ทรงอนุญาตให้พระโอรส ไปครองนครเชียงใหม่ตามความประสงค์ ในคราวนั้น พระเจ้าโพธิสาลทรงให้พระโอรสน�ำพระเจ้าทองทิพย์ ไปด้วย เพราะเสมือนให้ประสูตมิ าเมือ่ ตอนไปขอให้มเหสีมโี อรส พระเจ้า ไชยเชษฐา จึงได้น�ำพระเจ้าทองทิพย์ลงเรือไปด้วย เพื่อน�ำไปยังนคร เชียงใหม่ พระองค์ทรงลงเรือพระทีน่ งั่ ขึน้ มาตามล�ำน�ำ้ โขงเข้าสูแ่ ม่นำ�้ กก และแม่นำ�้ ลาว ตามล�ำดับ ครัน้ เรือมาถึงหน้าวัดพระเจ้าทองทิพย์ปจั จุบนั เรือพระที่นั่งก็มาติดอยู่ทั้งๆ ที่ไม่มีสิ่งขีดขวางอะไรเลย ลูกเรือพยายาม จะถ่อเรือขึ้นเรือก็ไม่ขึ้น จะถ่อเรือลงเรือก็ไม่ลง เหตุทเี่ ป็นเช่นนัน้ สันนิษฐานว่าเทพยดาทีป่ กปักรักษาพระเจ้าทองทิพย์ มีความประสงค์ให้ พระเจ้าทองทิพย์ประดิษฐานอยูท่ ี่ วัดพระเจ้าทองทิพย์นี้ จึงบันดาล ให้เรือพระที่นั่งติดอยู่ที่หน้าวัดพระเจ้าทองทิพย์ปัจจุบันนี้ เมือ่ พระเจ้าไชยเชษฐา ทรงเห็นว่า ลูกเรือพยายาม จนสุดความสามารถแล้ว จึงสัง่ ให้บรรดาท้าวพระยาเสนาอ�ำมาตย์ นิมนต์พระเจ้าทองทิพย์ขนึ้ ไว้ที่ วัดพระเจ้าทองทิพย์ปัจจุบัน และ ทรงโปรด ให้สร้าง มณฑปไว้เป็น ที่ประดิษฐานองค์ พระเจ้าทองทิพย์ CHIANG RAI I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 187
187
8/2/2562 14:16:38
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วันมัดสการพระประธานวิ แม่ต�๋ำ หาร พระเจ้าวัดแม่ต�๋ำ
พระอธิการทศพร กนฺตสีโล ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
วัดแม่ตำ�๋ ตัง้ อยู่ หมูท่ ี่ 4 ต�ำบลท่าก๊อ อ�ำเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย ปัจจุบนั พระอธิการทศพร กนฺตสีโล เป็นเจ้าอาวาส
ประวัตคิ วามเป็นมาวัดแม่ตำ�๋
ตามบันทึกไว้ทไี่ ด้มาจากพ่ออุย้ น้อยตา ไชยสนิท อายุ 85 ปี บ้านป่าสัน ต�ำบลท่าก๊อ อ�ำเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย เมือ่ ปีพ.ศ. 2550 ปัจจุบนั เก็บไว้ทนี่ ายทศพล เทพประสาร เล่าว่าเมือ่ พุทธศักราช 2395 มีชาวบ้านจ�ำนวนหนึง่ ได้อพยพถิน่ ฐานทีอ่ ยูอ่ าศัยจากบ้านโป่งกุม่ อ�ำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ รวมกันได้ 20 หลังคาเรือนข้ามสัน ปันน�ำ้ ล่องไปตามสายน�ำ้ ลาวมาถึงเมืองเฟยไฮ ( เวียงป่าเป้า) ในวัน เดือนเพ็ญ ขึน้ 14 ค�ำ่ เดือน 8 เช้ารุง่ ได้ขนึ้ ไปบนดอยป่าไม้เหียงเพือ่ ดูภมู ปิ ระเทศ พบทีร่ าบอันกว้างใหญ่ จึงได้พากันล่องไปอีก 2,000 วา ได้พบแม่นำ�้ สายใหญ่ทไี่ หลลงสูแ่ ม่นำ�้ ลาว จึงได้ปกั หลักพักแรมพร้อม ปรึกษากันทีจ่ ะสร้างบ้านเรือนเพือ่ พักอาศัย และได้ตงั้ ชือ่ หมูบ่ า้ นตาม ลักษณะทีแ่ ม่นำ�้ สองสายมาบรรจบกันว่าบ้านแม่ตำ�๋ อยูห่ า่ งกันไม่มากนัก ราว 500 วา มีหมูบ่ า้ นชาวลัวะ จ�ำนวน 40 หลังคาเรือนอาศัยอยู่ ชื่อว่าบ้านขวยต่อ อยู่ติดกับแม่น�้ำแม่ก๊อ โดยมักนิยมเอาใบก๊อมุง หลังคาบ้านซึง่ เป็นต้นก�ำเนิดชือ่ ต�ำบลท่าก้อ มาจนถึงปัจจุบนั นี้ ในบริเวณดังกล่าว ในช่วงหน้าฝนมักจะมีนำ�้ ท่วมบ้านเรือนของ บ้านแม่ตำ�๋ จึงมีการอพยพพ้นเขตน�ำ้ ท่วมอีก 1,000 วา ไปทางทิศ 188
2
ตะวันออก โดยสร้างบ้านแห่งใหม่โดยเลือกเอาผู้มีความรู้เป็นผู้น�ำ หมูบ่ า้ นแม่ตำ�๋ ต่อมายังมีชาวบ้านป่าเมีย้ งมาสร้างบ้านอยูร่ วมกันเพิม่ มากขึน้ เมือ่ พุทธศักราช 2419 พระวัสสาขวยต่อ ผูน้ ำ� ชาวลัวะได้ เสียชีวติ ลง ชาวลัวะขาดผูน้ ำ� จึงพากันมารวมกับชาวบ้านแม่ตำ�๋ ท�ำให้ มีบา้ นเรือนเพิม่ ขึน้ อีกเป็น 200 หลังคาเรือน ชาวลัวะแลชาวบ้านแม่ตำ�๋ เดิมมีความสัมพันธ์ทดี่ ตี อ่ กัน จึงได้ปรึกษากันทีจ่ ะสร้างวัดเป็นศูนย์รวม
SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงราย
.indd 188
11/2/2562 16:32:05
จิตใจจึงได้เดินทางกลับไปทีบ่ า้ นโป่งกุม่ อ.ดอยสะเก็ด โดยการน�ำของ หนานสิงห์คำ� เทพประสาร ได้อาราธนานิมนต์ขรัวเจ้าศีลธรรมอารามาธิปติ จึงพร้อมด้วยสาธุเจ้าอีกจ�ำนวน 4 องค์ อันมีช่างไม้และช่างปูน พร้อมด้วยสกุลสุเจ้าอีกจ�ำนวน 20 หลังคาเรือน เดินทางล่องลงมา ตามน�ำ้ ลาว เมือ่ ผ่านมาถึงเมืองเฟยไฮ ( เวียงป่าเป้า) พญาไชยวงศ์ จึงได้ถวายภัตตาหารเช้าและถวายจตุปัจจัยจ�ำนวนหนึ่ง โดยให้ ช่างไม้ชา่ งปูนสมทบการสร้างวัดอีกด้วยในวันออก 8 ค�ำ่ เดือน 6 เป็ง ขรัวเจ้าศีลธรรมเดินทางถึงบ้านแม่ต�๋ำ ระหว่างมีการปรึกษาหารือ ทีจ่ ะสร้างวัด ทันใดนัน้ เกิดเหตุการณ์นา่ อัศจรรย์ มีแสงสีเขียวลอยวน อยูเ่ หนือวัดร้าง ด้านทิศใต้บา้ นแม่ตำ�๋ พอรุง่ เช้าวันใหม่ชาวบ้านจึงได้ ช่วยกันแผ้วถางพบพระสิงห์ 1 องค์ ในวันออก 14 ค�่ำเดือน 10 จึงเริ่มต้นสร้างวิหารโดยมีพญาไชยวงศ์เป็นประธาน พระมหาเถร เจ้าวัดราช (วัดสรีสทุ ธาวาส) มหาเถรเจ้าวัดหัวขัว (ป่าม่วง) เมืองเฟยไฮ มหาเถรเจ้าวัดแม่สรวย เมืองหนองขวาง (อ�ำเภอแม่สรวย) มหาเถร เจ้าวัดสันก้างปลา สวดสมโภชและสวดถอน พญาไชยวงศ์ ได้วางศิลาฤกษ์การก่อสร้างวิหาร ได้วางไม้สลีคำ� ไม้สลีเงิน พระสิงห์หนึ่ง พระแก้ว หีบเงิน หีบค�ำ งาช้างเผือกของ ชาวลัวะ ต่อจากนั้นก็ได้น�ำเอาใบก๊อมามุงหลังคาวิหารเป็นการ ชั่วคราว เนื่องจากใกล้เข้าพรรษา ผู้หญิงชาวบ้านพากันปั้นอิฐ แรงงานผูช้ ายมีหน้าทีข่ นอิฐสร้างวิหาร โดยมีชา่ งปูนท�ำหน้าทีเ่ ข้าป่า หาหินจากล�ำห้วยมาเผาเพื่อท�ำปูนขาว ซึ่งห้วยแห่งนั้นได้ชื่อว่า ห้วยแม่เตาปูนมาทุกวันนี้ ส่วนสาววัยรุ่นต่างก็พากันขนเอาก้อนอิฐที่วัดร้างมาสร้าง พระประธานวิหาร โดยมีชา่ งไทยใหญ่ และช่างไทยลือ้ ร่วมกันสร้าง สร้างเสร็จเมื่อวันแรม 15 ค�่ำ เดือน 7 และได้ท�ำบุญปอยหลวงวัน ออก 15 ค�่ำ เดือน 8 เมื่อพ.ศ.2427 พญาไชยวงศ์ จึงได้จัดงาน ปอยหลวงอย่างยิ่งใหญ่ อันมีเจ้าเมืองเวียงป่าเป้าเป็นประธาน ในวันที่ 1 และในวันที่ 2 มีเจ้าเมืองเชียงใหม่เป็นประธาน ขณะเข้า นมัสการพระประธานวิหารได้ตรัสว่า “ พระเจ้าวัดแม่ต�๋ำแห่งนี้ สวยงามมากกว่าพระเจ้าทีใ่ ดๆ ในลุม่ น�ำ้ แม่ลาว “ เมือ่ หนานสิงห์คำ� เทพประสาร อายุได้ 85 ปี จึงได้สละต�ำแหน่งผูน้ ำ� หมูบ่ า้ น ให้ลกู ชาย ปกครองแทน เกิดความร่มเย็นตลอดมา ต่อมามีการตัง้ กาดแลงบริเวณหน้าวัด โดยมีพอ่ ค้าชาวโยน ( ญวน) ชาวลัวะ เอาของมาขายเป็นจ�ำนวนมาก ต่อมามีชาวเมืองละกอน เมืองวัง มาเพิม่ อีก 18 หลังคาเรือน และยังมีชาวเมืองแพร่ มาเพิม่ อีก 8 หลังคาเรือน เมือ่ พ.ศ. 2445 ชาวบ้านต่างมีความเห็นตรงกันว่าสมควรสร้าง ธรรมมาสเจ้าเมืองเชียงใหม่ จึงได้ส่งสล่าไม้หลวง สล่าค�ำหลวง ลงมือสร้างโดยใช้เวลาสร้างนานร่วม 2 ปี จึงแล้วเสร็จ ปัจจุบนั เก็บไว้ใน วิหารวัดแม่ตำ�๋ เมือ่ หนานสิงห์คำ� เทพประสารอายุได้ 90 ปี ซึง่ เป็น ผู้เขียนบันทึกประวัติไว้ในพับสาได้ตั้งจิตอธิฐานไว้ก่อนตายว่า “ขอให้พบั สาดังกล่าวไปอยูท่ ชี่ อบของเก่าและเป็นลูกหลานโดยเชือ้ สาย” ปัจจุบนั นีพ้ บั สาดังกล่าวได้ตกอยูใ่ นมือของนายทศพล เทพประสาร ตามความประสงค์หนานสิงห์คำ� เทพประสาร และถูกแปลออกมา เป็นบันทึกประวัติให้ผู้คนรุ่นหลังได้อ่านและศึกษาเท่าทุกวันนี้ CHIANG RAI I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 189
189
11/2/2562 16:32:13
วิจิตรตระการตาแห่งพุ ทธศิลป์ไทย วัดร่องเสือเต้น
AD.indd 190
13/2/2562 11:09:06
วัดอรัญญวิเวกคีรี นมัสการ “พระธาตุจอมผ่อ” จุดพลัง ปัญญา สร้างแสงสว่างแห่งชีวิต พระครูปฏิภาณธรรมทิน ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
วัดอรัญญวิเวกคีรี (วัดพระธาตุจอมผ่อ) ตัง้ อยูท่ ี่ บ้านดง-หล่ายหน้า หมู่ 7 ต�ำบลเวียง อ�ำเภอเวียงป่าเป้า จังหวัดเชียงราย ปัจจุบนั มี พระครู ปฏิภาณธรรมทิน เป็นเจ้าอาวาส ตามประวัตคิ วามเป็นมาของการตัง้ วัดในจังหวัดเชียงรายระบุวา่ วัด อรัญญวิเวกคีรี (จอมผ่อ) สร้างขึน้ เมือ่ พ.ศ. 2263 แต่ยงั ไม่พบหลักฐาน อืน่ ใด นอกจากหลักฐานทางโบราณวัตถุ เช่น เจดีย์ พระพุทธรูป กองหิน กองอิฐทีส่ นั นิษฐานได้วา่ บริเวณดังกล่าวเคยเป็นโบสถ์เป็นวิหารมาก่อน เท่านัน้ จากค�ำบอกเล่าของคนรุน่ ก่อนกล่าวว่า ทีว่ ดั ม่อนจอมผ่อนี้ เดิมมี พระพุทธรูปทองเหลืองทองแดงองค์เล็กองค์ใหญ่จำ� นวนมาก พิงอยูต่ าม ต้นไม้บา้ ง วางอยูบ่ นกองอิฐกองดินบ้างไม่มใี ครสนใจ เมือ่ ทางการได้เข้าไป ส�ำรวจโบราณวัตถุ ประกอบกับทางวัดไม่มผี ดู้ แู ลแน่นอน จึงได้เก็บเอา พระพุทธรูปทีเ่ ป็นโลหะชนิดต่างๆ ไปรวบรวมไว้จนหมดไม่เหลือแม้แต่ องค์เดียว ในระหว่างการรือ้ เจดีย์ เมือ่ ปี พ.ศ. 2520 ยังพบวัตถุมงคลอีก มากมายพร้อมแผ่นเงินจารึกประวัติศาสตร์การสร้างเจดีย์ที่จานด้วย
เหล็ก จานเป็นภาษาล้านนา จึงได้มกี ารบูรณะเรือ่ ยมา จนเสร็จสิน้ สมบูรณ์ในวัน ที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2546 และได้จดั ให้มปี ระเพณีสงฆ์นำ�้ พระธาตุจอมผ่อ ขึน้ ทุกวันขึน้ 15 ค�ำ่ เดือน 4
ความเชื่อในการไหว้พระธาตุดอยจอมผ่อ
“ผ่อ” เป็นภาษาเหนือ แปลว่า ดู หรือ มอง เชือ่ กันว่าถ้าได้กราบไหว้ และตัง้ จิตอธิษฐานเปรียบเหมือนการลืมตาในมองเห็นตามความเป็นจริง พบโลกุตระปัญญา คือ แสงสว่างแห่งชีวติ CHIANG RAI I SBL บันทึกประเทศไทย
1
.indd 191
191
11/2/2562 16:33:58
อปฺปเกนปิ เมธาวี ปาภเฏน วิจกฺขโณ สมุฏฺฐาเปติ อตฺตานํ อณุ อคคึว สนฺธมํ ผู้มีปัญญาเฉลียวฉลาดย่อมตั้งตนได้ด้วยต้นทุนแม้น้อย เหมือนคนก่อไฟน้อยขึ้นฉะนั้น 192
2
SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงราย
.indd 192
8/2/2562 15:08:48
วั“บุญดใครท�สันำคนนันายาว ้นได้ เร่งสร้างไว้ตั้งแต่วันนี้ จะไม่ได้เสียใจภายหลัง”
พระราชัญ ญาณรํสี ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดสันนายาว
วัดสันนายาว ตั้งอยู่เลขที่ 147 หมู่ 6 ต�ำบลศรีค�้ำ อ�ำเภอแม่จัน จังหวัดเชียงราย เดิมเป็นวัดเก่าก่อนแต่ร้างไปนาน เหลือไว้แต่อิฐเก่า และต้นโพธิ์ใหญ่ 1 ต้น ต่อมาในปี พ.ศ.2511 ชาวบ้านจึงได้บูรณะ ก่อสร้างขึน้ มาใหม่และได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมาเมือ่ พ.ศ.2531 ต่อมา คณะศรัทธาได้สร้างอุโบสถขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2536 และเมื่อ วันที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2546 ได้ทำ� พิธวี างศิลาฤกษ์วหิ ารได้แล้วเสร็จ เมื่อวันที่ 29 ตุลาคม พ.ศ.2549 ปัจจุบัน วัดสันนายาวมีท่านพระภิกษุญาณวงศ์ (ราชัญ ญาณรํสี) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส ตัง้ แต่ปี พ.ศ.2559 ท่านได้ทำ� นุบำ� รุงและสร้าง เสนาสนะภายในวัด เช่น ป้ายวัด ลานต้นล�ำไย ศาลามัฆวาน เป็นต้น เพื่ อ ให้ เ กิ ด ความร่ ม เย็ น ร่ ม รื่ น เรี ย บร้ อ ย สั บ ปายะเหมาะแก่ พุทธศาสนิกชนผู้มาท�ำบุญปฏิบัติธรรมและนักเดินทางท่องเที่ยว โดย ท่านเจ้าอาวาสยังมีด�ำริที่จะสร้างและปรับปรุงวัดไปเรื่อยๆ เพื่อก่อให้ เกิดความงดงามเรียบร้อย
ท่านใดสนใจที่จะร่วมบุญสามารถ เดินทางมาร่วมท�ำบุญได้ที่วัด หรือจะติดต่อเจ้าอาวาสได้ที่โทร. 086-918-0561 ขอเชิญพุทธศาสนิกชน ร่วมบ�ำเพ็ญบุญ สวดมนต์พระกัมมัฏฐาน ปฏิบัติจิตภาวนา ได้ทุกวันพระ ตลอดปี
CHIANG RAI I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 193
193
8/2/2562 15:08:54
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดแม่เจดีย์
วัดแห่งการศึกษาและพัฒนาจิต
พระครูปลัดวิสทุ ธจิต ฐานิสสฺ โร (ครูบาดวงเด่น) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
วัดแม่เจดีย์ ตั้งอยู่เลขที่ 161 หมู่ที่ 3 บ้านแม่เจดีย์ ต�ำบลแม่เจดีย์ใหม่
อ�ำเภอเวียงป่าเป้า จังหวัดเชียงราย สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ทีด่ นิ ตัง้ วัด มีเนื้อที่ 4 ไร่ 2 งาน 68 ตารางวา น.ส.3เลขที่ 246 และมีที่ธรณีสงฆ์ จ�ำนวน 5 แปลง เนื้อที่ 4 ไร่ 2 งาน เลขที่ 258-249-250-257-247 ปูมประวัตคิ วามเป็นมา วัดแม่เจดียส์ ร้างเมือ่ ปี พ.ศ.2439 จนถึงปัจจุบนั มีอายุ 121 ปี โดยนายอินถา , นายเมืองใจ, นายค�ำปวน, นายโฮ่อ ใจมัน่ คง และ นายอ้ า ย แสงปิ น ตา ร่ ว มใจสร้ า ง เพื่ อ เป็ น ศู น ย์ ร วมจิ ต ใจ พุทธศาสนิกชนได้มาบ�ำเพ็ญกุศล เจริญวิปสั สนา โดยมีพระสงฆ์เป็นผูพ้ า ปฏิบัติเพื่อให้จิตใจสงบ ครอบครัวมีความสุข ชุมชนมีความสันติร่มเย็น วัดได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2529 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 40 เมตร ยาว 80 เมตร อาณาเขต ทิศเหนือ ประมาณ 63 วา จรดโรงเรียนบ้านแม่เจดีย์ ทิศใต้ ประมาณ 25 วา จรดหมู่บ้าน ทิศตะวันออก ประมาณ 60 วา จรดถนน ทิศตะวันตก ประมาณ 1 เส้น 32 วา จรดหมู่บ้าน อาคารเสนาสนะประกอบด้วย อุโบสถ วิหาร กุฏสิ งฆ์ และ ศาลาการเปรียญ ปูชนียวัตถุ ได้แก่ พระพุทธรูปปูนปั้น และพระพุทธรูปโลหะ ล�ำดับเจ้าอาวาส 1. พระบุญมา อาภสฺสโร 2. พระอินทร์ ขนฺติพโล 3. พระครูไพบูลย์พัฒนาภิรักษ์ (ถวัลย์ ปรกฺกโม) 4. พระสุบิน กตปุญโญ 5. พระครูปลัดวิสุทธจิต ฐานิสฺสโร (งามดี) หรือครูบาดวงเด่น เป็นเจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน ตั้งแต่ ปีพ.ศ. 2542 เป็นต้นมา
194
2
SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงราย
.indd 194
13/2/2562 13:24:59
วัดแห่งการศึกษาและการพัฒนา
พระครูปลัดวิสทุ ธจิต ฐานิสสฺ โร (งามดี) หรือ ครูบาดวงเด่น ท่านเป็นเจ้าอาวาสทีม่ ี วิสยั ทัศน์กว้างไกล ท่านเน้นการศึกษาทางธรรมและฝึกวิปสั สนากรรมฐานของพระเณรเพือ่ ให้ มีความมั่นคงทางจิต มีสติ สมาธิ ปัญญาในการปราบกิเลสน้อยใหญ่ในจิตใจจนกว่าจะ
บรรลุมรรคผลนิพพาน ขณะเดียวกัน ท่านก็ให้ความส�ำคัญกับการจัดการศึกษาพระปริยตั ธิ รรม แผนกธรรมเพือ่ ให้พระเณรมีความรูท้ างปริยตั ิ และมีครูบาอาจารย์คอยแนะ เมือ่ พระสงฆ์ได้รบั ความสงบเย็นภายในจิตใจแล้วก็สามารถช่วยเหลือสังคมได้ดว้ ยปัญญาและเมตตาอย่างเต็มก�ำลัง มีการจัดค่ายคุณธรรมจริยธรรม ให้กบั เยาวชนนักเรียน อีกทัง้ เป็นอุทยานการศึกษาหาความรู้ ด้านพุทธศิลป์ และเป็นสถานทีป่ ฏิบตั ธิ รรมกัมมัฏฐานส�ำหรับสาธุชนโดยทัว่ ไป นอกจากนีท้ า่ นได้มกี ารสร้างถาวรวัตถุตา่ งๆ ภายใน วัดแม่เจดีย์ อาทิ เช่น วิหาร กุฏสิ งฆ์ ก�ำแพง ซุม้ ประตู ถนน ลานวัด เจดียส์ ามองค์พร้อมเรือส�ำเภาทอง อีกทัง้ ได้ บูรณปฏิสงั ขรณ์ ศาลาการเปรียญ บันไดนาค และได้สร้าง แหล่งเรียนรู้ในเรื่องภพภูมิต่างๆ เพื่อให้ตระหนักถึง โทษภัยในวัฏสงสารจะได้มีความเพียรในการภาวนา ให้ลดละกิเลสเพื่อความพ้นจากทุกข์ในชาติปัจจุบัน CHIANG RAI I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 195
195
13/2/2562 13:25:05
H I STO R Y O F B U DDH I S M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดเขาแก้ว
สักการะ พระพุทธรูปเก่าแก่กว่า 100 ปี พระครูปลัดสุชานนท์ กิตฺติเมธี ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดเขาแก้ว
196
.indd 196
SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงราย
11/02/62 17:45:38
รู้สวรรค์นรก ไม่เท่ารู้จิต รู้อ ดีตอนาคต ไม่เท่ารู้ปัจจุบัน รู้แ ปดหมื่นสี่พันพระธรรมขันธ์ ก็ ไม่เท่ารู้ล ะ รู้ปล่อยวาง พระธรรมค� ำ สอน กิ ตฺ ติ เ มธี
ปูชา จะ ปูชะนียา นัง เอตัมมังคะละมุตตะมัง การบูชาผู้ที่ควรบูชา เป็นอุดมมงคล ครุอุปัชฌาย์ อาจาริยะ ข้าพเจ้าขอกราบวันทา ครู อุปัชฌาย์ อาจารย์ คุณังอะหัง วันทามิ ผู้มีพระคุณโดยความเคารพ กราบวันทา ครู อุปัชฌาย์อาจารย์ ท่านผู้มีพระคุณ ท่านผู้มีบุญคุณ ทั้งอดีต ปัจจุบัน และจะพึงมีในอนาคต โดยความเคารพ
CHIANG RAI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 197
197
11/02/62 17:45:41
ประวั ติ ความเป็น มาของวัด เขาแก้ว วัดเขาแก้ว หรือ วัดพระแก้ว ตามค�ำบอกเล่าจากคนเฒ่า คนแก่ เล่าว่า เดิมเป็นวัดที่มีพระธาตุในพระสถูปที่เก่าแก่มาก สมัยพ่อขุนเม็งราย หรือ พญามังราย (พ.ศ. 1782 - 1854) เป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 25 แห่งหิรัญนครเงินยางเชียงราว เมื่ อ พ.ศ. 1804 และต่ อ มาทรงสร้ า งอาณาจั ก รล้ า นนาเมื่ อ พ.ศ. 1839 จึงเป็นปฐมกษัตริย์แห่งอาณาจักรดังกล่าวด้วย ต่อมาได้มีการขุดค้นพบพระพุทธรูปเก่าแก่ และพระเครื่อง สมัยโบราณในบริเวณวัดพระแก้ว และทุกทีท่ ขี่ ดุ จึงได้มกี ารบูรณะวัด 198
.indd 198
เพื่ อ ให้ เ ป็ น ศู น ย์ ร วมจิ ต ใจของผู ้ ค นและชุ ม ชนในบริ เ วณนั้ น จากค�ำบอกเล่าของผู้เฒ่าผู้แก่ต่อมาว่า สาเหตุที่ตั้งชื่อวัดพระแก้ว เพราะมี ลูก แก้ ว ลอยขึ้ นที่ วั ด ในวั นพระ ซึ่ งมีชาวบ้า นเห็นบ่อย เหมือนพระธาตุลอยขึ้นมา ชาวบ้านจึงเรียกว่า วัดพระแก้ว และ เนื่องจากอยู่บนเขา จึงได้ตั้งชื่อเป็น วัดเขาแก้วในล�ำดับต่อมา จากอดีตจนถึงปัจจุบัน มีเจ้าอาวาสปกครอง 5 รูป โดยมี พระครูปลัดสุชานนท์ กิตติเมธี ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสรูปปัจจุบนั
SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงราย
11/02/62 17:45:41
พระครูปลัดสุชานนท์ กิตติเมธี เป็นพระสอนกรรมฐาน ท่าน มีความศรัทธาปสาทะในปฏิปทาครูบาอาจารย์พระสุปฏิปันโน มากมาย อาทิ พระครูบาบุญชุม่ ญาณสังวโร ดังค�ำสอนของท่านว่า ท่ า นสอนให้รู้พอดี ในทุกสิ่ง ใจให้นิ่ง อย่า วิ่ ง ตามคนอื่ น เขา ยิ่งอยากมี ยิ่งวุ่นวายในจิตเรา อย่าไปเอาเรื่องทุกข์ ใจมาใส่ตัว นอกจากนี้ พระครู ป ลั ด สุ ช านนท์ กิ ต ติ เ มธี ยั ง เป็ น พระ นักพัฒนาด้วย ท่านได้พฒ ั นาสร้างวัดในด้านต่างๆ ร่วมกับญาติธรรม ทั้งหลาย โดยท่านได้ร่วมสร้างพระอุโบสถ, กุฏิ, ห้องน�้ำ, ศาลา ปฏิบัติธรรม, องค์เจดีย์ และก�ำแพงวัด เป็นศาสนสมบัติของ วัดเขาแก้ว CHIANG RAI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 199
199
11/02/62 17:45:42
ปู ชนี ย วั ต ถุที่ส�ำคัญภายในวัด
พระประธานในอุโบสถหลังเก่า เป็นพระพุทธรูปเก่าแก่กว่า 100 ปี พระสังกัจจายน์(พระมหากัจจายนะ) เป็นพระอรหันต์องค์หนึง่ ในพระอสีติมหาสาวกของพระโคตมพุทธเจ้า ได้รับการยกย่องว่า เป็นเอตทัคคะในทางผู้อธิบายความย่อให้พิสดาร ในประเทศไทย นอกจากชือ่ ตามภาษาบาลีแล้ว ยังเป็นทีร่ จู้ กั ในชือ่ “พระสังกัจจายน์” พระมหากั จ จายนะ เกิ ด ในตระกู ล พราหมณ์ ต ระกู ล หนึ่ ง ในกรุ ง อุ ช เชนี ได้ ศึ ก ษาพระเวทตามอย่ า งตระกู ล พราหมณ์ ทั้งหลาย ท่านเป็นศิษย์ของอสิตดาบสแห่งเขาวินธัย (ผู้ท�ำนายว่า เจ้าชายสิทธิตถะจะได้เป็นพระเจ้าจักรพรรดิหรือพระพุทธเจ้า ในอนาคต) พระมหากั จ จายนะพร้ อ มด้ ว ยมิ ต รอี ก 7 คนได้ อาราธนาพระพุทธเจ้าให้ทรงแสดงธรรมเทศนา และได้บรรลุธรรม เป็นพระอรหันต์ในระหว่างฟังธรรมนั้นเอง หลังจากนั้นท่านจึง ทู ล ขออุ ป สมบทต่ อ พระพุ ท ธเจ้ า และได้ เ ผยแผ่ ศ าสนาพุ ท ธ อยู ่ ใ นแคว้ น อวั น ตี จ นมี ผู ้ เ ข้ า มาเป็ น สาวกในพุ ท ธศาสนาเป็ น จ�ำนวนมาก ในสัทธรรมปุณฑรีกสูตร บรรพ์ท่ี 6 ว่าด้วยการพยากรณ์ ได้ ก ล่ า วถึ ง พุ ท ธพยากรณ์ ว ่ า พระมหากั จ จายนะ พระสุ ภู ติ พระมหากัสสปะ และพระมหาโมคคัลลานะ (ทั้งหมดล้วนแล้ว แต่เป็นพระอรหันต์ทั้งสิ้น) หลังจากได้สดับพระสูตรนี้แล้ว จักได้ ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าในอนาคต พระพิฆเณศวร(พระคเณศ) ชาวไทยนิยมเรียกว่า พระพิฆเนศ พระพิฆเณศวร พระพิฆเณศ หรือ พระคณปติ ทรงเป็นเทพใน ศาสนาฮินดู ทรงเป็นเทพแห่งความส�ำเร็จ ทั้งยังทรงเป็นเทพ แห่งศิลปวิทยาการและการประพันธ์ ทรงเป็นหัวหน้าน�ำคณะ ข้ามความขัดข้อง (ผู้เป็นใหญ่เหนือความขัดข้อง) หลวงพ่อทันใจ หลวงพ่อ 5 พระองค์
งานประเพณีส�ำคัญของวัดเขาแก้ว
ทุกวันที่ 13 กุมภาพันธ์ ของทุกปี วัดเขาแก้วจะจัดงานพิธี ไหว้สาบูชาครู บูรพาจารย์, บวชอุปสมบทหมู่ และจัดปฏิบัติธรรม ขอเชิญพุทธศาสนิกชนเดินทางมาร่วมงานบุญใหญ่เพือ่ ความสวัสดี แห่งชีวิต
200
.indd 200
SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงราย
13/02/62 14:29:08
CHIANG RAI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 201
201
11/02/62 17:45:55
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
202
2
SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงราย
.indd 202
วั ด ดงมะดะ ต.ดงมะดะ อ.แม่ลาว จ.เชียงราย 8/2/2562 16:17:12
วับรรพบุ ดดงมะดะ รุษมาจากนครล�ำปาง(เขลางค์นคร) พระครูปราโมทย์วิรัชกิจ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดดงมะดะ
วัดดงมะดะ ตัง้ อยูใ่ นต�ำบลดงมะดะ อ�ำเภอแม่ลาว จังหวัดเชียงราย มีเนื้อที่ 6 ไร่ 1 งาน 11 ตารางวา วัดดงมะดะ สร้างเมื่อ พ.ศ. 2410 ปีเถาะ ได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา เมือ่ วันอาทิตย์ที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2473 ปีมะเมีย ตรงกับขึ้น 11 ค�่ำ เดือน 10 เหนือ ปีสะง้า ผูกพัทธสีมา (ฝังลูกนิมติ ) เมือ่ วันอังคารที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2474 ปีมะแม ตรงกับแรม 10 ค�่ำ เดือน 8 เหนือ ปีเม็ด
ท�ำเนียบพระสังฆาธิการ ระดับเจ้าอาวาส เริ่มตั้งแต่พุทธศักราช 2404
ประวัติผู้ก่อตั้งวัดดงมะดะ หมู่บ้านดงมะดะ เดิมเป็นป่าดงพงทึบเต็มไปด้วยไม้นานาพันธุ์ และมีต้นไม้ชนิดหนึ่งมีต้นใหญ่ ใบหนาทึบ ชาวบ้านจึงเรียกต้นไม้นี้ว่า (ไม้มะดะ) เพราะมีม ากกว่าต้นไม้ชนิด อื่นๆ จึงตั้งชื่อหมู่บ ้านนี้ว่า บ้านดงมะดะ บรรพบุรุษที่มาก่อตั้งหมู่บ้านดงมะดะ อพยพมาจากนครล�ำปาง (เขลางค์นคร)จ�ำนวน 4 ครัวเรือนด้วยกัน คือ ครอบครัวของพ่อเลี้ยง น้อยวัง แม่เลี้ยงตา ครอบครัวพ่อหนานกัณฑา แม่นางเอ้ย ครอบครัว พ่อหนานไจยวัง แม่แก้ว และครอบครัวพ่อหนานไจยแคะ แม่ต๋า ทั้ง 4 ครอบครัวเริ่มแรกก่อตั้งหมู่บ้านดงมะดะเมื่อปีระกา (ไก่) พุทธศักราช 2404 และช่วยกันสร้างวัดเมื่อ พ.ศ. 2410 ปีเถาะ ประวัตนิ มี้ าจากค�ำบอกเล่าของพ่อน้อยสุข เกทารัง บัดนีท้ า่ นได้เสียชีวติ ไปนานแล้ว โดยหลวงพ่อพระครูกติ ติสารนิเทศก์ เป็นผูร้ บั การถ่ายทอด จากปากของพ่อน้อยสุข เกทารัง โดยตรงเมือ่ ประมาณปีพทุ ธศักราช 2495
1. พระไจย พ.ศ. 2410 2. พระกันฑา พ.ศ. 2414 3. พระวัน พ.ศ. 2418 4. พระเสาร์ พ.ศ. 2425 5. พระสุภา พ.ศ. 2432 6. พระจุมปู พ.ศ. 2436 7. พระขัด พ.ศ. 2440 8. พระศิริ พ.ศ. 2442 9. เจ้าอธิการหนิ้ว คนฺธิโย (ครูบาหนิ้ว) พ.ศ. 2448 10. เจ้าอธิการอ้วน อภิชโย (ครูบาอ้วน) พ.ศ. 2488 11. พระครูกิตติสารนิเทศก์ (ครูบาก๋วน กิจฺจสาโร) พ.ศ. 2517-2550 12. พระครูปราโมทย์วิรัชกิจ (รรรชกร ปสนฺนจิตฺโต) พ.ศ. 2550 ถึงปัจจุบัน
CHIANG RAI I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 203
203
8/2/2562 16:17:17
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดศรีวังมูล
ศรัทธาชาวบ้านอุปถัมภ์ 5 หมู่บ้าน
พระครูปิยศีลวราภรณ์ (อินสม เมืองค�ำ) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดศรีวังมูล
วัดศรีวังมูล ตั้งอยู่เลขที่ 98 หมู่ที่ 7 ต�ำบลบัวสลี อ�ำเภอแม่ลาว จังหวัดเชียงราย เริ่มก่อสร้างเมื่อ พ.ศ. 2450 (โดยครูบาจันทร์ทิมา และครูบาอินผัด สุวรรณฤทธิ์) มีเนื้อที่ 5 ไร่ 2 งาน 54 ตารางวา (โฉนดเลขที่ 54583 เล่มที่ 546 หน้า 83 ) ได้รับจดทะเบียนจาก กรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ อนุญาตตั้งวัดเมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2460 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา วันที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2516 ส�ำหรับหมูบ่ า้ นศรีวงั มูล ก่อตัง้ เมือ่ พ.ศ. 2448 เดิมชือ่ หมูบ่ า้ นวังขีโ้ ป้ และเมื่อมีการประกาศจัดตั้งหมู่บา้ น เป็นหมู่ที่ 20 ต�ำบลบัวสลี ขึ้นอยู่ กับอ�ำเภอเมืองในสมัยนั้น ต่อมามีการแบ่งเขตพื้นที่บางส่วนแยกเป็น ต�ำบลป่าอ้อดอนชัย ผูใ้ หญ่บา้ นในสมัยนัน้ คือ นายเหลา พิจอมบุตร ได้ ยืน่ ค�ำร้องขอเปลีย่ นชือ่ ตามชือ่ วัดศรีวงั มูล จึงเป็นทีม่ าของ “บ้านศรีวงั มูล”
204
2
SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงราย
.indd 204
8/2/2562 13:35:44
วัดศรีวังมูล มีศรัทธาชาวบ้านอุปถัมภ์ 5 หมู่บ้าน ดังนี้ 1. บ้านใหม่แม่มอญ หมู่ 1 2. บ้านศรีวังมูล และบ้านสันป่าก่อน้อย หมู่ 7 3. บ้านร่องปลายนา หมู่ 11 4. บ้านบัวสลี หมู่ 12 5. บ้านสันป่าก่อใหญ่ ( ต.ป่าอ้อดอนชัย อ.เมือง ) หมู่ 15
ท�ำเนียบเจ้าอาวาสวัดศรีวังมูล ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน
1. ครูบาจันทร์ทิมา สุวณฺโณ (สุวรรณฤทธิ์) พ.ศ. 2450-2460 2. ครูบาอินผัด อินฺทวณฺโณ ( สุวรรณฤทธิ์) พ.ศ. 2460-2472 3. พระตั๋น โกวิโท พ.ศ. 2472-2480 4. พระใจ๋ จนฺทโก พ.ศ. 2480-2483 5. พระแก้ว กตปุญโญ (แก้วมัทรี) พ.ศ. 2483-2486 6. พระค�ำ สนฺตจิตโต พ.ศ. 2486-2488 7. พระสม สุมโน (สมมัทรี) พ.ศ. 2488-2490 8. พระหนึ่ง ฐิตธมฺโม สลีสองสม พ.ศ. 2490-2496 (ลาสิกขา) 9. พระอินชัย ปสนฺโน พ.ศ. 2496-2500 (ลาสิกขา) 10. พระทองค�ำ เตชปญโญ (จันทร์วนั ) พ.ศ. 2500-2505 (ลาสิกขา) 11. พระจันทร์แก้ว กนฺทสิโล (แสนมา ) พ.ศ. 2505-2507 (ลาสิกขา) 12. พระจันทร์ดี มรมุตฺโต พ.ศ.2507-2508 ย้าย 13. พระเสงี่ยม อุจฺจโย (กงจักร) พ.ศ. 2508-2509 (ลาสิกขา) 14. พระครูปิยศีลวราภรณ์ (อินสม เมืองค�ำ) พ.ศ. 2512-ปัจจุบัน CHIANG RAI I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 205
205
8/2/2562 13:35:53
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
พระธาตุหลวงศรีรตั นบรรพต 12 ราศี ( พระอุโบสถ วิหารล้านนา)
วัดแม่ลาววนาราม
ธรรมฝึกตน สร้างสรรค์สังคม รวมใจรัก สามัคคี พระอาจารย์ฐิติพล (บรรเลง) อุตฺตโม จันต๊ะปัญญา ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
วัดแม่ลาววนาราม (วัดดอยหม้อ) ตั้งอยู่หมู่ที่ 4 ต�ำบลโป่งแพร่ อ�ำเภอแม่ลาว จังหวัดเชียงราย สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย
อัศจรรย์ พระประธานในศาลาศักดิ์สิทธิ์ ปลอดภัยแผ่นดินไหวแม่ลาว
แผ่นดินไหวในอ�ำเภอแม่ลาว พ.ศ. 2557 เกิดขึน้ เมือ่ เวลา 18.08.43 น. ตามเวลาท้องถิน่ ของประเทศไทย (UTC+7) ในวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 แผ่นดินไหวครั้งนี้เกิดขึ้นจากการปลดปล่อยพลังงานของรอยเลื่อน พะเยา จุดศูนย์กลางแผ่นดินไหวอยูล่ กึ ลงไปใต้ดนิ 6 กิโลเมตร ซึง่ ถือว่าตืน้ ท�ำให้มคี วามรุนแรงและความเสียหายเป็นอย่างมาก โดยแรงสัน่ สะเทือน ท�ำให้เกิดความเสียหายแก่สิ่งปลูกสร้างในระยะ 30 กิโลเมตรจาก จุดศูนย์กลาง และมีแผ่นดินไหวตามกว่า 730 ครั้ง แผ่นดินไหวครั้งนี้ถูกบันทึกว่าเป็นแผ่นดินไหวที่มีความรุนแรง เกิดแรงสั่นสะเทือนทั้งภาคเหนือของประเทศไทยและพม่าประชาชน หลายจังหวัดภาคเหนือ (รวมถึงเชียงราย เชียงใหม่ ล�ำปาง และพะเยา) สามารถรับรู้แรงสั่นสะเทือน และวัดได้รับความเดือดร้อนจากแรงสั่น สะเทือน ทางด้านโบราณสถาน ศาสนสถานหลายแห่งเกิดความเสีย หาย รวมถึงที่วัดแม่ลาววนาราม แต่ที่น่าอัศจรรย์ใจอย่างยิ่งคือ พระ ประธานในศาลา “หลวงพ่อบวรรัตนรังษีทนั ใจ” ไม่ได้รบั ความเสียหายเลย แต่ศาลาเสนาสนะภายในวัดเกิดความเสียหาย จากอาฟเตอร์ชอ็ กในครัง้ นี้ 206
2
โดยพระอาจารย์ฐิติพล (บรรเลง) อุตฺตโม จันต๊ะปัญญา เจ้าอาวาส วัดแม่ลาววนาราม เปิดเผยว่า เมื่ อ วานตอนเช้ า วั น ที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ.2557 เวลาประมาณ 8.00 น. มีอาฟเตอร์ชอ็ กต่อเนือ่ ง ท�ำให้ศาลา บวรรัตนรังษี ซึง่ เป็นศาลาศักดิส์ ทิ ธิ์ และเป็นศูนย์รวมจิตใจของชาวบ้าน ในอ�ำเภอแม่ลาว ซึง่ ศาลาหลังนีเ้ ป็นศาลาโบราณทรงล้านนาพังเสียหาย แต่พระประธาน หลวงพ่อบวรรัตนรังษีทันใจ ไม่เป็นไร ซึ่งปัจจุบัน ด้วยศรัทธาสาธุชนได้ ช ่ ว ยกั น บู ร ณะและซ่ อ มแซมศาลาจนกลั บ มา เป็นศูนย์รวมจิตใจของหมูบ่ า้ นดังเดิมแล้ว จึงขออนุโมทนามายังสาธุชน ทุกท่านที่ช่วยกันดู แ ลศาสนาสถาน และศาสนสมบั ติ ซึ่ ง เป็ น ศู น ย์ รวมจิ ต ใจส� ำ คั ญ ที่ยังให้เกิดความศรัทธาปสาทะในพระพุทธศาสนา เพือ่ น�ำความสงบสุขมาสูจ่ ติ ใจและสังคมต่อไปตราบนานเท่านาน
SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงราย
.indd 206
14/2/2562 17:21:46
หลวงพ่อพุทธชินราชทันใจ
หลวงพ่อบวรรัตนรังษีทนั ใจ หลวงพ่อพุทธโสธรทันใจ
ท่านเจ้าอินหวัน
พระสีวลีมหาราช
พระอาจารย์ฐิติพล (บรรเลง) อุตฺตโม จันต๊ะปัญญา
อนันตนาคราช
ติดต่อเจ้าอาวาสวัดแม่ลาววนาราม โทร 089-757-6309 ,091-143-6215
คณะศรัทธาอุปถัมภ์ทงั้ ในประเทศและต่างประเทศ CHIANG RAI I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 207
207
13/2/2562 16:27:20
วัดโป่งมอญ
กราบสักการะพระพุทธรูปเก่าแก่ปางมารวิชัย พระครูประดิษฐ์กรณีย์ เจ้าคณะต�ำบลป่าก่อด�ำ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดโป่งมอญ
วัดโป่งมอญ เป็นวัดราษฎร์ ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 187 หมู่ 1 ต�ำบลป่าก่อด�ำ อ�ำเภอแม่ลาว จังหวัดเชียงราย สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย การปกครอง คณะสงฆ์ หนเหนือ ภาค 6 สร้า งขึ้นเมื่อประมาณปี พ.ศ. 2452 โดยพระอุดเป็นผู้สร้าง ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 31 มกราคม พ.ศ.2505 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 40 เมตร ยาว 40 เมตร ที่ดินตั้งวัด จ�ำนวน 8 ไร่ 2 งาน 45 ตารางวา เอกสารสิทธิ์เลขที่ 14999 เล่มที่ 150 หน้า 99 ปัจจุบัน พระครูประดิษฐ์กรณีย์ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
208
2
SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงราย
.indd 208
8/2/2562 10:51:59
อาณาเขตของวัด : ทิศเหนือ ประมาณ 3 เส้น 5 วา จดแม่น�้ำมอญ ทิศใต้ ประมาณ 3 เส้น 5 วา จดที่ดินเอกชน ทิศตะวันออก ประมาณ 3 เส้น 5 วา จดทีด่ นิ เอกชน ทิศตะวันตก ประมาณ 3 เส้น 5 วา จดทีป่ า่ ถาวรวัตถุที่ส�ำคัญภายในวัด พระอุโบสถ สร้างแบบทรงไทยสมัยโบราณ โครงสร้างด้านบนเป็น ไม้ทงั้ หมด กระเบือ้ งดินเผาแบบโบราณ ฝาผนังก่อด้วยอิฐ ฉาบด้วยปูนขาว มีความกว้าง 9.50 เมตร ยาว 20.65 เมตร สร้างเสร็จเมื่อปี พ.ศ.2495 แท่นธรรมาสน์ ตั้งอยู่ทางด้านขวามือของพระประธานในพระ อุโบสถ เป็นธรรมาสน์แบบปราสาทมียอดเป็นศิลปะแบบล้านนา สร้าง ด้วยไม้สัก แกะสลักแบบโบราณ ลงลักสีดำ� ทาสีแดงเคลือบ ลงลายไทย สีทอง ความสูงวัดได้ 6.40 เมตร ความกว้าง 1.60 เมตร สร้างประมาณ ปี พ.ศ.2470 ปัจจุบันทางวัดยังใช้เป็นที่แสดงพระธรรมเทศนาใน เทศกาลเข้าพรรษา ปูชนียวัตถุ พระประธานในพระอุโบสถ เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย ก่อด้วย อิฐฉาบปูนขาว ลงสีทอง หน้าตักวัดได้ 110 นิว้ ความสูง 147 นิว้ สร้าง ประมาณปี พ.ศ.2464 พระพุทธรูปเก่าแก่ปางมารวิชยั แกะสลักด้วยไม้จนั ทน์ ศิลปะสมัย โบราณ ลงรักสีด�ำ ทาสีแดงเคลือบ แต่งด้วยสีทอง หน้าตักวัดได้ 12 นิ้ว สูง 24 นิ้ว สร้างประมาณปีจุลศักราชที่ 1270 วันส�ำคัญในพระพุทธ ศาสนา ตลอดถึงวันมหาสงกรานต์ประเพณีปีใหม่เมือง ทางวัดจะ อัญเชิญออกมาให้ศรัทธาประชาชนได้กราบไหว้บูชา และสรงน�้ำ CHIANG RAI I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 209
209
8/2/2562 10:52:07
H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดป่าบ้านเหล่า กราบนมัสการ หลวงปู่ขาน ฐานวโร
พระครูกันตธรรมานุวัฒน์ (สุขเลิศ กนฺตธมฺโม) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
วัดป่าบ้านเหล่า เดิมมีชื่อว่า วัดป่าวชิระทรงธรรมพัฒนา ตั้งอยู่ ณ บ้านเหล่า หมู่ที่ 6 ต�ำบลทุ่งก่อ อ�ำเภอเวียงเชียงรุ้ง จังหวัดเชียงราย สังกัดคณะสงฆ์ฝ่ายธรรมยุติกนิกาย ตามประวัติความเป็นมา เมื่อพ.ศ. 2512 หลวงปูข่ าน ฐานวโร ได้ธดุ งค์มาพ�ำนัก ณ วัดดอยกูแ่ ก้ว บ้านเหล่า ต�ำบลทุ่งก่อ อ�ำเภอเวียงชัย จังหวัดเชียงราย (ภายหลังเป็นอ�ำเภอ เวียงเชียงรุง้ ) ด้วยปฏิปทาอันงดงามน่าเลือ่ มใสของหลวงปู่ ชาวบ้านเหล่า ซึ่ ง น�ำ โดย นายปุ่น จันทร์ส มัค ร ได้มีจิตศรัทธาถวายที่ดินบริเวณ ดอยกู่แก้วแด่หลวงปู่ และพระภิกษุสามเณรในเบื้องหน้า อันมีเนื้อที่ตั้ง วัดทั้งสิ้น 27 ไร่ หลังจากนั้นท่านได้เริ่มด�ำเนินการก่อสร้างเสนาสนะ ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นกุฏิที่พักพระสงฆ์ศาลาโรงธรรม ตั้งแต่ชั่วคราวจน กระทัง่ ถาวร ต่อมาวันที่ 13 มิถนุ ายน พ.ศ. 2527 กรมการศาสนาและ เถรสมาคมมีหนังสืออนุญาตให้สร้างวัดโดยหลวงปู่ได้มอบหมายให้ นายปุ่น จันทร์สมัคร เป็นผู้ด�ำเนินการขออนุญาต หลังจากนัน้ เมือ่ วันที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2528 กระทรวงศึกษาธิการ ได้ประกาศตัง้ เป็นวัดขึน้ ในพระพุทธศาสนา มีนามว่า “วัดป่าบ้านเหล่า” และในวันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2542 210
2
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานวิสุงคามสีมา ด้วยบารมีของ หลวงปู่และแรงศรัทธาของชาวบ้านเหล่า กระทัง่ ถึงคณะศรัทธาจากทัว่ ทุ ก สารทิ ศ ที่ ห ลั่ ง ไหลมายั ง สถานที่ แ ห่ ง นี้ จึ ง ท� ำ ให้ วั ด ป่ า บ้ า นเหล่ า เจริญรุ่งเรืองมาจนกระทัง่ ถึงปัจจุบนั ในส่วนการจ�ำพรรษาของพระภิกษุ สามเณรในวัดป่าบ้านเหล่าบางพรรษา มีมากถึง 50 รูป ซึ่งท่านเหล่า นั้ น มีความปรารถนาที่จะมาอาศัยร่มบุญร่มธรรมของหลวงปู่เพื่อการ ปฏิบัติไปจนกว่าจะพ้นทุกข์ในสังสารวัฏ
SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงราย
.indd 210
11/2/2562 16:43:19
ที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2500 ตรงกับวันอาทิตย์ ขึน้ 15 ค�ำ่ เดือน 6 ปีระกา เวลา 15.43 น. โดยมี พ ระครู ศ าสนู ป กรณ์ เป็ น พระอุ ป ั ช ฌาย์ (พระอธิการ อุน่ ชาคโร) วัดดอยบันไดสวรรค์ (ภายหลังได้พระราชทาน ตั้ ง สมณศั ก ดิ์ เ ป็ น พระครู สั ญ ญาบั ต รชั้ น ตรี ที่ พระครู สั ง วรศี ล วั ต ร) เป็นพระกรรมวาจาจารย์ และพระอธิการเพ็ง อติโสภโณ เป็นพระอนุ สาวนาจารย์ ได้รบั ฉายา “ฐานวโร” อันหมายถึง ผูม้ ที ตี่ งั้ อันเป็นประเสริฐ นับรวมอายุหลวงปู่ในขณะนั้นได้ 21 ปี 10 เดือน กับอีก 27 วัน
ประวัติและปฏิปทา หลวงปู่ขาน ฐานวโร หลวงปู่ขาน มีนามเดิมว่า ขาน สุขา ถือก�ำเนิด ณ บ้านโนปอแดง อ�ำเภอโนนสัง จังหวัดอุดรธานี เมื่อวันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2478 ชีวติ ช่วงเยาว์วยั ของหลวงปูด่ ำ� เนินไปเฉกเช่นลูกของชาวนา ชาวไร่ทวั่ ไป พออายุ ค รบเกณฑ์ บิ ด าของท่ า นก็ พ าเข้ า ไปฝากเรี ย นที่ โ รงเรี ย น ประชาบาลจนจบชัน้ ประถมศึกษาชัน้ ปีที่ 4 จึงได้ออกมาช่วยบิดามารดา ประกอบสัมมาชีพ ท�ำงานตามท้องไร่ ท้องนา ครัน้ หลวงปู่อายุได้ 15 ปี จึงได้บรรพชาเป็นสามเณร ณ วัดป่าบ้านโคกกลาง ต�ำบลเสียว อ�ำเภอน�ำ้ พอง จังหวัดขอนแก่น โดยมีพระครูสุนทรธรรมภาณเป็นพระอุปัชฌาย์ เมื่อ เดือนพฤษภาคม พ.ศ.2493 ขณะอายุได้ 17 ปี ท่านเกิดอาพาธหนักจึง ได้ลาสิกขาไปเพือ่ รักษาตัวอีก 7 ปี เมือ่ อายุครบ 22 ปี ได้ทำ� การอุปสมบท เป็นพระภิกษุ ณ พัทธสีมาวัดป่าชบาวัน บ้านกุดฉิม อ�ำเภอโนนสัง เมือ่ วัน
ประวัติ พระครูกันตธรรมานุวัฒน์ (สุขเลิศ กนฺตธมฺโม) เจ้าอาวาส โดยสังเขป นามเดิม สุขเลิศ นามสกุล ภูคำ� วงษ์ เกิดเมือ่ วันจันทร์ที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2509 ที่บ้านจีต ต�ำบลบ้านจีต อ�ำเภอกู่แก้ว จังหวัดอุดรธานี เมื่ออายุ 21 ปีบริบูรณ์ เข้ารับการบรรพชาอุปสมบท ณ พัทธสีมา วัดศรีคุณาราม ต�ำบลบ้านจีต อ�ำเภอกู่แก้ว จังหวัดอุดรธานี เมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2530 โดยมี พระครูสงั วรศีลวัตร เป็นพระอุปชั ฌาย์ พระครูอดุ มชัยคณารักษ์ เป็นพระกรรมวาจาจารย์ พระครูโสภณสมณกิจ เป็นพระอนุสาวนาจารย์ ได้รบั นามฉายาว่า “กนฺตธมฺโม” ผูม้ คี วามยินดีในธรรม พ.ศ. 2561 ได้รบั พระบัญชาแต่งตัง้ จากสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก ให้ดำ� รงต�ำแหน่งเป็นเจ้าคณะ จังหวัดเชียงราย ธรรมยุต
CHIANG RAI I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 211
211
11/2/2562 16:43:28
Buddhism
in Thailand
SBL บันทึกประเทศไทย น�ำเสนอเรื่องราวของจังหวัดต่างๆ ทั่วประเทศไทย อย่างเจาะลึกและครอบคลุมทุกมิติ อาทิ มิติด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ จากหน่วยงานราชการส�ำคัญในจังหวัด มิติด้านการท่องเที่ยวที่สดใหม่ทันสมัย ทั้งสถานที่เที่ยว ที่พัก ร้านอาหาร ร้านกาแฟ แหล่งช็อปปิ้งใหม่ๆ ฯลฯ มิติด้านอุตสาหกรรม-การค้าการลงทุนที่เป็นตัวขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ตลอดจนมิติด้านการศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม และวิถีชีวิต ที่มีจุดเด่นและมีเอกลักษณ์น่าสนใจ
WWW.SBL.CO.TH
P. 218 AD.indd 212
18/2/2562 13:50:44
THE IMPORTANT TEMPLES CHIANG RAI
อ�ำเภอเชียงแสน วัดกู่เต้า ม.3 ต.โยนก วัดเกาะผาค�ำ ม.6 ต.บ้านแซว วัดโค้งงาม ม.7 ต.โยนก วัดงิ้วแก้วพัฒนา ม.6 ต.ศรีดอนมูล วัดเจดีย์หลวง ม.2 ต.เวียง วัดไชยสถาน ม.11 ต.ศรีดอนมูล วัดดอยงาม ม.8 ต.โยนก วัดดอยจัน ม.1 ต.โยนก วัดดอยจ�ำปี ม.7 ต.ป่าสัก วัดท่าเดื่อ ม.4 ต.แม่เงิน วัดทุ่งฟ้าฮ่าม ม.5 ต.โยนก วัดธรรมประสิทธิ์ ม.3 ต.ศรีดอนมูล วัดบ้านแซว ม.1 ต.บ้านแซว วัดบ้านทุ่ง ม.2 ต.บ้านแซว วัดปงสนุก ม.3 ต.เวียง วัดป่าคา ม.3 ต.แม่เงิน วัดปางหมอปวง ม.6 ต.ป่าสัก วัดป่าญาณสัมปันโนอารยาราม ม.8 ต.โยนก วัดป่าแดด ดอนแก้ว ม.4 ต.ป่าสัก วัดป่าตึง ม.5 ต.บ้านแซว วัดป่าถ่อน ม.9 ต.ศรีดอนมูล วัดป่ายาง ม.7 ต.ศรีดอนมูล วัดป่ายางสบยาบ ม.2 ต.แม่เงิน วัดป่าสักน้อย ม.13 ต.ป่าสัก วัดป่าสักหางเวียง ม.9 ต.เวียง วัดผ้าขาวป้าน ม.2 ต.เวียง วัดพระเจ้าล้านทอง ม.1 ต.เวียง วัดพระธาตุจอมกิตติ ม.3 ต.เวียง วัดพระธาตุบรรพต ม.3 ต.บ้านแซว วัดพระธาตุภูเข้า ม.1 ต.เวียง วัดพระธาตุวังซาง ม.10 ต.บ้านแซว วัดพระธาตุศรีโยนก ต.โยนก วัดพระธาตุสองพี่น้อง ม.7 ต.เวียง วัดพระธาตุผาเงา ม.5 ต.เวียง วัดพระธาตุแสนค�ำฟู ม.1 ต.แม่เงิน วัดพระธาตุหวั กว๊าน ม.15 ต.บ้านแซว วัดโพธิ์สิตาราม ม.3 ต.ป่าสัก วัดแม่ค�ำ ม.4 ต.แม่เงิน วัดแม่ค�ำหนองบัว ม.11 ต.ป่าสัก วัดแม่เงิน ม.6 ต.แม่เงิน วัดแม่แอบดอนแก้ว ม.15 ต.บ้านแซว วัดร่องบง ม.2 ต.โยนก วัดวังลาว ม.4 ต.เวียง วัดเวียงแก้ว ม.5 ต.ศรีดอนมูล วัดศรีชัยแม่มะ ม.1 ต.ศรีดอนมูล วัดเวียงเชียงรุ้ง ม.10 ต.ทุ่งก่อ วัดศรีดอนมูล ม.7 ต.แม่เงิน วัดศรีบุญยืน ม.10 ต.ศรีดอนมูล วัดสบกก ม.7 ต.บ้านแซว วัดสบค�ำ ม.5 ต.เวียง
วัดสมรวก ม.1 ต.เวียง วัดสวนดอก ม.8 ต.บ้านแซว วัดสันต้นเปา ม.6 ต.โยนก วัดทรายกองงาม ม.7 ต.บ้านแซว วัดสันธาตุ (สันธาตุอโสการาม) ม.4 ต.โยนก วัดสันป่าลาน ม.2 ต.ศรีดอนมูล วัดสันมะเค็ด ม.9 ต.ป่าสัก วัดสันสลี ม.4 ต.ศรีดอนมูล วัดสุมังคลาราม ม.8 ต.ศรีดอนมูล วัดหนองบัวตอง ม.9 ต.ป่าสัก วัดหนองบัวสด ม.5 ต.ป่าสัก วัดห้วยเกี๋ยง ม.8 ต.เวียง
อ�ำเภอแม่สาย วัดเจติยาราม ม.5 ต.ศรีเมืองชุม วัดดงม่วงค�ำ ม.2 ต.โป่งงาม วัดถ�้ำปลา ม.5 ต.โป่งงาม วัดถ�้ำปุ่ม ม.2 ต.โป่งงาม วัดถ�้ำผาจม ม.1 ต.เวียงพางค�ำ วัดถ�้ำเสาหิน ม.3 ต.โป่งงาม วัดทุ่งเจริญ ม.6 ต.ศรีเมืองชุม วัดทุ่งศาลา ม.7 ต.ศรีเมืองชุม วัดทุ่งสว่างอารมณ์ ม.1 ต.บ้านด้าย วัดนาปง ม.8 ต.โป่งผา วัดน�้ำจ�ำ ม.5 ต.โป่งผา วัดบ้านถ�้ำ ม.12 ต.โป่งงาม วัดบ้านร้อง ม.12 ต.เกาะช้าง วัดปางห้า ม.1 ต.เกาะช้าง วัดป่าซางงาม ม.6 ต.เกาะช้าง
วัดป่าแดงน้อย ม.9 ต.เกาะช้าง วัดป่าแดงหลวง ม.11 ต.เกาะช้าง วัดป่าบงงาม ม.6 ต.บ้านด้าย วัดป่าแฝ ม.3 ต.โป่งผา วัดป่ายาง ม.6 ต.แม่สาย วัดป่าพุทธเมตตา ม.13 ต.ผางาม วัดป่าเหมือด ม.9 ต.เวียงพางค�ำ วัดป่าเหมือดรุง่ เจริญ ม.5 ต.เวียงพางค�ำ วัดปิยะพร ม.13 ต.แม่สาย วัดโป่งผา ม.9 ต.โป่งงาม วัดผาแตก ม.10 ต.เวียงพางค�ำ วัดผาสุการาม ม.10 ต.แม่สาย วัดพญาสีต่ วงค�ำ ม.2 ต.เวียงพางค�ำ วัดพรหมวิหาร ม.10 ต.เวียงพางค�ำ วัดพระธาตุดอยตุง ม.2 ต.ห้วยไคร้ วัดพระธาตุดอยเวา ม.1 ต.เวียงพางค�ำ วัดพุทธนเรศน์วนาราม ม.7 ต.เวียงพางค�ำ
วัดมงคลธรรมกายาราม ม.1 ต.โป่งงาม วัดมรรคาราม ม.1 ต.ศรีเมืองชุม วัดม่วงทอง ม.7 ต.เกาะช้าง วัดแม่สาย ม.8 ต.แม่สาย วัดวิเชตร์มณี ม.4 ต.เวียงพางค�ำ วัดเวียงพาน ม.3 ต.เวียงพางค�ำ วัดเวียงหอม ม.4 ต.แม่สาย วัดศาลาเชิงดอย ม.6 ต.ห้วยไทร วัดสันเกล็ดทอง ม.6 ต.โป่งงาม วัดสันโค้ง ม.3 ต.ศรีเมืองชุม วัดสันฐาน ม.3 ต.แม่สาย วัดสันต้นปุย ม.5 ต.ห้วยไทร วัดสันถนนใต้ ม.2 ต.ศรีเมืองชุม วัดสันทราย ม.9 ต.แม่สาย วัดสันทรายน้อย ม.5 ต.บ้านด้าย วัดสันทรายมูล ม.6 ต.โป่งผา
วัดสันนา ม.2 ต.เกาะช้าง วัดสันบุญเรือง ม.3 ต.เกาะช้าง วัดสันป่าสัก ม.9 ต.ศรีเมืองชุม วัดสันปูเลย ม.4 ต.บ้านด้าย วัดสันมะนะ ม.5 ต.แม่สาย วัดสันยาว ม.3 ต.ห้วยไคร้ วัดสันลิดไม้ ม.8 ต.ห้วยไคร้ วัดสันหลวง ม.4 ต.เกาะช้าง วัดสุวรรณาราม ม.4 ต.ห้วยไคร้ วัดหนองมะกัง ม.8 ต.ศรีเมืองชุม วัดหนองสีแ่ จ่ง ม.4 ต.ศรีเมืองชุม วัดหนองอ้อ ม.2 ต.โป่งผา วัดห้วยไคร้หลวง ม.1 ต.ห้วยไคร้ วัดห้วยไคร้หลวง ม.2 ต.ห้วยไคร้ วัดหิรญ ั ญาวาส ม.58 ต.เกาะช้าง วัดเหมืองแดง ม.2 ต.แม่สาย วัดฮ่องแฮ่ใหม่
CHIANG RAI I SBL บันทึกประเทศไทย
1058
.indd 213
213
13/2/2562 10:30:43
ท่องเที่ยวทางใจ 1058 วัด ถิ่นวัฒนธรรมล้านนา ล�้ำค่าพระธาตุดอยตุง
อ�ำเภอแม่สรวย วัดคีรีท่าสุด ม.9 ต.แม่พริก วัดเจดีย์หลวง ม. 5 ต.เจดีย์หลวง วัดดอยจ้อง ม.5 ต.ศรีถ้อย วัดดินด�ำ ม.27 ต.ท่าก๊อ วัดท้าวแก่นจันทร์ ม.5 ต.ป่าแดด วัดทุ่งต้อม ม.1 ต.ศรีถ้อย วัดทุ่งฟ้าผ่า ม.8 ต.แม่พริก
214
วัดทุ่งยาว ม.7 ต.ศรีถ้อย วัดบ้านจ้อง ม.9 ต.โป่งผา วัดบ้านป่าบง ม.4 ต.แม่สรวย วัดบ้านโป่ง ม.10 ต.ป่าแดด วัดบ้านโฮ่ง ม.10 ต.แม่พริก วัดปางซาง ม.11 ต.แม่พริก วัดปางต้นผึ้ง ม.5 ต.แม่พริก วัดปางอ้อย ม.9 ต.แม่พริก วัดป่าแดด ม.3 ต.ป่าแดด
วัดป่าตึงงาม ม.1 ต.เจดีย์หลวง วัดป่าถ่อน ม.2 ต.ท่าก๊อ วัดป่าลัน ม.3 ต.ท่าก๊อ วัดป่าสัก ม.6 ต.ท่าก๊อ วัดป่าเหมี้ยงแม่ก๊อหลวง ม.8 ต.ท่าก๊อ วัดโป่งปูเฟือง ม.1 ต.แม่สรวย วัดพระเจ้าทองทิพย์ ม.2 ต.ศรีถ้อย วัดพระธาตุจอมแจ้ง ม.12 ต.แม่สรวย วัดพระธาตุชัยมงคล ม.21 ต.ท่าก๊อ
วัดแม่ต�๋ำ ม.4 ต.ท่าก๊อ วัดแม่พริก ม.1 ต.แม่พริก วัดแม่สรวยหลวง ม.2 ต.แม่สรวย วัดร้องบง ม.2 ต.เจดีย์หลวง วัดศรีดอนมูล ม.7 ต.ป่าแดด วัดศรีถ้อย ม.8 ต.ศรีถ้อย วัดสบก๊อ ม.5 ต.ป่าแดด วัดสันก้างปลา ม.7 ต.เจดีย์หลวง วัดสันจ�ำปา ม.3 ต.แม่พริก
วัดสันปูเลย ม.3 ต.แม่สรวย วัดสันมะแฟน ม.13 ต.ท่าก๊อ วัดแสงแก้วโพธิญาณ ม.11 ต.เจดียห์ ลวง วัดหนองบัวสรวย ม.3 ต.ศรีถ้อย วัดหนองหล่ม ม.4 ต.เจดีย์หลวง วัดห้วยส้ม ม.3 ต.เจดีย์หลวง วัดห้วยส้านพัฒนา ม.6 ต.แม่สรวย วัดหัวทุ่ง ม.2 ต.แม่พริก วัดหัวฝาย ม.8 ต.ป่าแดด วัดหัวริน ม.7 ต.แม่พริก
SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงราย
1058
.indd 214
13/2/2562 10:30:47
THE IMPORTANT TEMPLES CHIANG RAI
อ�ำเภอเวียงป่าเป้า วัดกลาง ม.1 ต.แม่เจดีย์ วัดขุนลาว ม.7 ต.แม่เจดีย์ใหม่ วัดดอนจั่น ม.7 ต.เวียงกาหลง วัดทุ่งหลวง ม.6 ต.ป่างิ้ว วัดทุ่งห้า ม.2 ต.สันสกี วัดนาถกรณธรรม ม.11 ต.เวียง วัดบ้านดง ม.4 ต.เวียงกาหลง วัดบ้านโป่งเทวี (บ้านโป่ง) ม.2 ต.บ้านโป่ง วัดบ้านสา ม.3 ต.แม่เจดีย์ วัดปางไคร้ ม.9 ต.แม่เจดีย์ใหม่ วัดปางอ่าย ม.4 ต.แม่เจดีย์ใหม่ วัดป่างิ้ว ม.1 ต.ป่างิ้ว วัดป่าเงาะ ม.5 ต.แม่เจดีย์ วัดป่าแดง ม.2 ต.เวียง วัดป่าม่วง ม.1 ต.เวียง วัดป่าสัก ม.3 ต.ป่างิ้ว วัดป่าส้าน ม.5 ต.เวียงกาหลง วัดโป่งน�ำ้ ร้อน ม.6 ต.แม่เจดีย์ใหม่ วัดโป่งเหนือ ม.1 ต.สันสลี วัดผากุบ ม.5 ต.ริมโขง วัดพระเจ้าหลวง ม.5 ต.แม่เจดีย์ วัดพระธาตุแม่เจดีย์ ม.3 ต.แม่เจดีย์ใหม่ วัดพระธาตุเวียงฮ่อ ม.3 ต.ป่างิ้ว
วัดพระยอดเวียงกาหลง ม.15 ต.เวียงกาหลง วัดเฟือยไฮ ม.14 ต.บ้านโป่ง วัดม่อนนางเหลียว ม.9 ต.สันสลี วัดแม่ขะจาน ม.1 ต.แม่เจดีย์ วัดแม่เจดีย์ ม.3 ต.แม่เจดีย์ใหม่ วัดแม่ห่าง ม.6 ต.เวียงกาหลง วัดร่องกู่ ม.4 ต.ป่างิ้ว
วัดลังกา ม.4 ต.บ้านโป่ง วัดเวียงมนมงคลพนาราม ม.3 ต.บ้านโป่ง วัดศรีค�ำเวียง ม.2 ต.เวียง วัดดอนศรีชัย ม.5 ต.แม่เจดีย์ใหม่ วัดศรีดอนมูล ม.5 ต.ป่างิ้ว วัดสรีบุญโยง ม.3 ต.เวียงกาหลง วัดศรีโพธาราม ม.4 ต.สันสลี วัดศรีสุทธาวาส ม.1 ต.เวียง
วัดศรีสุพรรณ ม.2 ต.เวียง วัดสบโป่ง ม.14 ต.แม่เจดีย์ใหม่ วัดสันกู่ทอง ม14 ต.แม่เจดีย์ วัดสันขี้เหล็ก ม.2 ต.เวียงกาหลง วัดสันต้นเปา ม.1 ต.แม่เจดีย์ใหม่ วัดสันติการาม ม.9 ต.เวียงกาหลง วัดสันมะเค็ด ม.1 ต.เวียงกาหลง วัดสันมะนะ ม.6 ต.แม่เจดีย์ วัดสัสลี ม.5 ต.สันสลี
วัดหนองบัว ม.10 ต.แม่เจดีย์ วัดหนองยาว ม.4 ต.เวียง วัดหลวงราษฏร์เจริญธรรม ม.1 ต.แม่เจดีย์ วัดห้วยชมภู ม.11 ต.แม่เจดีย์ใหม่ วัดห้วยทราย ม.9 ต.แม่เจดีย์ วัดอรัญญวิเวก (อรัญญวิเวกคีรี) ม.7 ต.เวียง วัดฮ่างต�่ำ ม.12 ต.ป่างิ้ว
CHIANG RAI I SBL บันทึกประเทศไทย
1058
.indd 215
215
13/2/2562 10:30:52
ท่องเที่ยวทางใจ 1058 วัด ถิ่นวัฒนธรรมล้านนา ล�้ำค่าพระธาตุดอยตุง
อ�ำเภอพญาเม็งราย วัดคูเวียง ม.18 ต.ไม้ยา วัดชัยมงคล ม.12 ต.ไม้ยา วัดเชตุพน ม.13 ต.เม็งราย วัดดงเวียงหวาย ม.8 ต.เม็งราย วัดม่อนป่ายาง ม.114 ต.เม็งราย วัดบ่อแสง ม.2 ต.แม่ตำ�๋ วัดบุญวาทย์ ม.4 ต.แม่เปา วัดป่าม่วง ม.4 ต.แม่ตำ�๋ วัดพระธาตุกู่แก้ว ม.8 ต.แม่ต�๋ำ พระธาตุกู่หิน ม.8 ต.ไม้ยา วัดพระธาตุปูตุง ม.3 ต.เม็งราย วัดพระธาตุปูล้าน ม.6 ต.ไม้ยา วัดพระธาตุมงคลแก้วมณี ม.10 ต.แม่ตำ�๋ วัดพระธาตุม่อนหินแก้ว ม.7 ต.ไม้ยา วัดเม็งราย ม.10 ต.เม็งราย วัดแม่ตำ�๋ กลาง ม.5 ต.แม่ต�๋ำ วัดต�๋ำน้อย ม.1 ต.แม่ต�๋ำ วัดแม่ตำ�๋ หลวง ม.3 ต.ตาดควัน วัดแม่เปา ม.3 ต.แม่เปา วัดแม่เปาเจริญธรรม ม.16 ต.แม่เปา วัดไม้ยาเก่า ม.2 ต.ไม้ยา วัดไม้ยาใหม่ ม.3 ต.ไม้ยา วัดเวียงสักวราราม ม.12 ต.เม็งราย วัดศรีสะอาด ม.9 ต.เม็งราย วัดสบเปา ม.14 ต.แม่เปา วัดสันเชียงใหม่ ม.10 ต.แม่เปา วัดสันติคีรี ม.6 ต.แม่เปา วัดสันติวนาราม ม.4 ต.เม็งราย วัดสันติอุดมธรรม ม.6 ต.เม็งราย วัดสันสะอาด ม.4 ต.ไม้ยา วัดสันสามัคคี ม.9 ต.แม่เปา วัดสันหนองบัว ม.2 ต.เม็งราย วัดสันหลวง ม.8 ต.แม่เปา วัดสุวรรณคีรี ม.3 ต.ตาดควัน วัดหนองเสา ม.6 ต.แม่เปา วัดห้วยก้าง ม.5 ต.ไม้ยา วัดห้วยเดื่อ ม.1 ต.ไม้ยา วัดใหม่โชคชัย ต.ตาดควัน
อ�ำเภอเวียงแก่น วัดกลาง ม.9 ต.ปอ วัดขวากใต้ ม.4 ต.ท่าข้าม วัดขวากเหนือ ม.5 ต.ท่าข้าม วัดแจมป๋อง ม.5 ต.หล่ายงาว วัดดอน ม.3 ต.ปอ วัดท่าข้าม ม.4 ต.หล่ายงาว วัดท่าข้าม ม.1 ต.ท่าข้าม วัดทุ่งทราย ม.3 ต.หล่ายงาว
216
วัดบ้านทุ่งค�ำ ม.2 ต.หล่ายงาว วัดปางปอ ม.1 ต.ปอ วัดปางหัด ม.2 ต.ปอ วัดผาแล ม.6 ต.ปอ วัดม่วง ม.3 ต.ม่วงยาย วัดยาย ม.2 ต.ม่วงยาย วัดโล๊ะ ม.3 ต.ท่าข้าม วัดหล่ายงาว ม.1 ต.หล่ายงาว วัดหลู้ ม.1 ต.ม่วงยาย วัดห้วยลึก ม.4 ต.ม่วงยาม
SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงราย
1058
.indd 216
13/2/2562 10:30:57
ท่องเที่ยวทางใจ 1039 วัด พุทธมณฑลอีสาน ถิ่นฐานอารยธรรม
THE IMPORTANT TEMPLES CHIANG RAI
อ�ำเภอขุนตาล วัดเขาแก้วอภัย ม.1 ต.ป่าตอง วัดเจดีย์ ม.5 ต.ป่าตาล วัดชมภู ม.7 ต.ยางฮอม วัดชัยมงคล ม.10 ต.ต้า วัดต้ากลาง ม.2 ต.ต้า วัดต้านาล้อม ม.7 ต.ต้า วัดต้าหลวง ม.1 ต.ต้า วัดต้าหัวฝาย ม.3 ต.ต้า วัดน�้ำแพร่ ม.4 ต.ยางฮอม วัดน�้ำล้อม ม.1 ต.ยางฮอม วัดบ้านดงมหาวัน ม.12 ต.ดงมหาวัน วัดป่าข่า ม.8 ต.ป่าตาล วัดป่าแดง ม.2 ต.ยางฮอม วัดป่าตาลใต้ ม.4 ต.ป่าตาล วัดป่ายาง ม.9 ต.ป่าตาล วัดพระธาตุแท่นค�ำ ม.6 ต.ต้า วัดพระธาตุม่อนศิลาอาสน์ ม.17 ต.ต้า วัดพระเนตร ม.11 ต.ต้า วัดม่วงบุญเรือง ม.2 ต.ป่าตาล วัดยางฮอม ม.8 ต.ยางฮอม วัดร่องขุ่น ม.6 ต.ป่าตาล วัดแสงเมืองมา ม.3 ต.ป่าตาล วัดห้วยเดื่อ ม.9 ต.ต้า วัดห้วยโป่ง ม.5 ต.ต้า วัดห้วยสัก ม.9 ต.ยางฮอม วัดห้วยหลวง ม.5 ต.ยางฮอม วัดห้วยหลวงใต้ ม.6 ต.ยางฮอม วัดห้วยห้อม ม.7 ต.ป่าตาล
อ�ำเภอแม่ฟ้าหลวง วัดพระธาตุนางคอย ม.15 ต.แม่ฟ้าหลวง วัดสันติคีรีญาณสังวราราม ต.แม่สลองนอก วัดห้วยน�ำ้ ขุ่น ม.1 ต.แม่ฟ้าหลวง
อ�ำเภอแม่ลาว วัดดงมะดะ ม.7 ต.ดงมะดะ วัดดงมะเฟือง ม.9 ต.จอมหมอกแก้ว วัดดอนจั่น ม.3 ต.ดอนหมอกแก้ว วัดดอยชมภู ม.7 ต.โป่งแพร่ วัดต้นง้าว ม.2 ต.บัวสลี วัดทรายมูล ม.5 ต.ป่าก่อด�ำ วัดท่าต้นตัน ม.1 ต.จอมหมอกแก้ว วัดท่ามะโอ ม.8 ต.จอมหมอกแก้ว วัดท่าสันกลาง ม.14 ต.ดงมะดะ
วัดทุ่งโห้ง ม.6 ต.จอมหมอกแก้ว วัดน�้ำล้อม ม.2 ต.ดงมะดะ วัดบัวสลี ม.3 ต.บัวสลี วัดบุญเรือง ม.10 ต.ป่าก่อด�ำ วัดป่าแดง ม.7 ต.จอมหมอกแก้ว วัดป่าตึง ม.1 ต.ดงมะดะ วัดป่ามงคลธรรม ม.10 ต.จอมหมอกแก้ว วัดป่ารวก ม.5 ต.งมะดะ วัดป่าลัน ม.11 ต.ดงมะดะ วัดโป่งแพร่ ม.3 ต.โป่งแพร่ วัดโป่งมอญ ม.1 ต.ป่าก่อด�ำ
วัดผาบ่อง ม.8 ต.ดงมะดะ วัดพระธาตุกู่แก้ว ม.11 ต.จอมหมอกแก้ว วัดพระธาตุหมอกมุงเมือง ม.4 ต.ป่าก่อด�ำ วัดร่องศาลา ม.3 ต.ดงมะดะ วัดร่องห้า ม.4 ต.ดงมะดะ วัดพระธาตุจอมหมอกแก้ว ม.9 ต.จอมหมอกแก้ว วัดเวฬุวัน ม.3 ต.โป่งแพร่ วัดศรีดอนมูล ม.7 ต.ป่าก่อด�ำ วัดสรียางชุม ม.6 ต.บัวสลี
วัดศรีวังมูล ม.7 ต.บัวสลี วัดสันต้นม่วง ม.3 ต.ป่ากอด�ำ วัดสันต้นแหน ม.6 ต.ดงมะดะ วัดสันต้อม ม.2 ต.จอมหมอกแก้ว วัดสันปูเลย ม.4 ต.บัวสลี วัดสันหนองบัว ม.11 ต.ป่าก่อด�ำ วัดสันหนองเหลียว ม.12 ต.ดงมะดะ วัดหนองคึก ม.8 ต.บัวสลี วัดห้วยส้านพลับพลา ม.5 ต.โป่งแพร่ วัดห้วยส้านยาว ม.13 ต.ดงมะดะ วัดอุปแก้ว ม.5 ต.จอมหมอกแก้ว
CHIANG RAI I SBL บันทึกประเทศไทย
1058
.indd 217
217
13/2/2562 10:31:01
ท่องเที่ยวทางใจ 1058 วัด ถิ่นวัฒนธรรมล้านนา ล�้ำค่าพระธาตุดอยตุง
อ�ำเภอดอยหลวง อ�ำเภอเวียงเชียงรุ้ง วัดเขาสวรรค์ ม.7 ต.ทุ่งก่อ วัดชัยมงคล ม.7 ต.ป่าซาง วัดดงชัย ม.2 ต.ทุ่งก่อ วัดดอยกู่ ม.1 ต.ป่าซาง วัดดอยธรรมาราม ม.9 ต.ดงมหาวัน วัดดอยน�้ำตกพัฒนา ม.7 ต.ทุ่งก่อ วัดทุ่งก่อ ม.4 ต.ทุ่งก่อ วัดทุ่งปุมเป้ง ม.10 ต.ป่าซาง
218
วัดเทพปราณี ม.1 ต.ทุ่งก่อ วัดนาเจริญ ม.9 ต.ป่าซาง วัดบ้านเหล่า ม.6 ต.ทุ่งก่อ วัดป่าซางดอยแก้ว ม.4 ต.ป่าซาง วัดป่าซางบุนนาก ม.12 ต.ป่าซาง วัดป่าซางโพธิ์ทอง ม.3 ต.ป่าซาง วัดป่าเลา ม.3 ต.ดงมหาวัน วัดพระบาทวิหารมงคล ม.8 ต.ดงมหาวัน วัดแม่เผื่อ ม.4 ต.ดงมหาวัน วัดร่องบัวทอง ม.9 ต.ทุ่งก่อ
วัดร่องหวาย ม.2 ต.ดงมหาวัน วัดศรีดอนชัย ม.2 ต.ป่าซาง วัดศรีดอยเรือง ม.6 ต.ทุ่งก่อ วัดศรีศักดิ์พัฒนา ม.8 ต.ทุ่งก่อ วัดศิริมังคลาราม ม.6 ต.ป่าซาง วัดสันติธรรมเวียงเชียงรุง้ ม.10 ต.ทุง่ ก่อ วัดสันติวราราม ม.7 ต.ดงมหาวัน วัดสันป่าตึง ม.6 ต.ดงมหาวัน วัดหมากเอียก ม.5 ต.ป่าซาง วัดห้วยเคียน ม.5 ต.ทุ่งก่อ
วัดดอนงาม ม.4 ต.ปงน้อย วัดดอยงาม ม.4 ต.ปงน้อย วัดทุ่งกวาง ม.3 ต.ปงน้อย วัดบ้านดอย ม.3 ต.โชคชัย วัดบ้านใหม่พฒ ั นา ม.6 ต.หนองป่าก่อ วัดปงสนุก ม.2 ต.ปงน้อย วัดป่าแดง ม.3 ต.ปงน้อย วัดป่าศรีธาตุไทรทอง ม.6 ต.ปงน้อย วัดป่าอรัญญวิเวก ม.5 ต.ปงน้อย วัดโพธิ์ทองนิมิต ม.8 ต.ปงน้อย วัดแม่บง ม.5 ต.โชคชัย
วัดแม่เลียบ ม.4 ต.โชคชัย วัดราษฏร์บ�ำรุง ม.8 ต.โชคชัย วัดศรีบุญเรือง ม.5 ต.หนองป่าก่อ วัดศรีสว่างพัฒนา ม.9 ต.หนองป่าก่อ วัดสันต้นม่วง ม.10 ต.โชคชัย วัดสันติคีรี ม.7 ต.ปงน้อย วัดสุวรรณคีรี ม.8 ต.หนองป่าก่อ วัดหนองกล้วย ม.4 ต.หนองป่าก่อ วัดหนองด่าน ม.6 ต.หนองป่าก่อ วัดหนองป่าก่อ ม.3 ต.หนองป่าก่อ วัดห้วยไร่ ม.1 ต.ปงน้อย วัดห้วยไร้เก่า ม.9 ต.ปงน้อย วัดห้วยสัก ม.1 ต.หนองป่าก่อ
SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงราย
1058
.indd 218
13/2/2562 10:31:04
วัดพระธาตุจอมแจ้ง ตั้งอยู่บนยอดดอยป่าซาง เลขที่ 388 บ้านร่องบอน หมู่ 12 ต�ำบลม่วงค�ำ อ�ำเภอพาน จังหวัCHIANG ดเชียงราย RAI I SBL บันทึกประเทศไทย 219
.indd 219
14/02/62 17:15:48
วัดมงคลธรรมกายาราม ส�ำนักปฏิบัติธรรมประจ�ำจังหวัดเชียงราย แห่งที่ 3
“ เอหิ ภิกขุ วากขาโต ธมโม จร พรหมจริย มมา ทุกข อนตกิริยาย ” เธอจงเป็นภิกษุมาเถิด ธรรมอันเรากล่าวดีแล้ว เธอจงประพฤติพรหมจรรย์ เพื่อท�ำที่สุดแห่งกองทุกข์โดยชอบเถิด 220
SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงราย
.indd 220
11/02/62 17:14:34