นิตยสารแนะน�ำแหล่งท่องเที่ยวและของดีจังหวัดกระบี่ ประจ�ำปี 2562
EXCLUSIVE
“กระบี่เมืองน่าอยู่ ผู้คนน่ารัก” พั นต�ำรวจโท มล.กิติบดี ประวิตร ผู้ว่าราชการจังหวัดกระบี่
EXCLUSIVE
ซื่อสัตย์ สุจริต โปร่งใส ใส่ใจประชาชน นายสมโภช โชติชูช่วง รองผู้ว่าราชการจังหวัดกระบี่
PHI PHI ISLAND Vol.10 Issue 101/2019
Krabi กระบี่...เมืองปกาสัย
www.issuu.com
.indd 3
11/12/2562 10:28:55
โรงแรม พี พี ไอส์แลนด์ คาบาน่า
PHI PHI ISLAND CABANA WHERE THE ART OF NATURE IS YOUR GUIDE
Indulge yourself in the enchanting Oriental charm from your very first step on this paradise island. Feel at ease by the panoramic view of the stunning Andaman Sea, together with the verdant hill slopes along the azure blue sky.
PHI PHI ISLAND CABANA โรงแรม พี พี ไอส์แลนด์ คาบาน่า
58 Moo7 Tambol Ao-Nang, Amphur Muang, Krabi 81210, Thailand. Tel : +66(0)75601170-7 Fax : +66(0)75 601178-9 E-mail : info@phiphiisland-cabana.com • reservation@phiphiisland-cabana.com
ROOMS • DELUXE DOUBLE • DELUXE TRIPLE • DELUXE TWIN • JUNIOR SUITE • ANDAMAN SUITE CAREFULLY CRAFTED SETS OF RELAXATION • TWO SWIMMING POOL • INTERNET ROOM • THAI MASSAGE
THE THREE VIP PRIVATE SNOOKER ARE SERVING WITH THE STANDARD TABLE.
โรงแรม พีพี ฮาร์เบอร์ วิว
Phi Phi Harbour View Hotel A Stunning touchable at Phi Phi Harbour View Hotel make the rush of time become slows. The crystalline seas and soft sandy shores remain as nature made them beckoning guests to phi phi lsland one of the worlds paradises
THE TYPE OF ROOM READY FOR SERVICE • • • • • • •
Deluxe Single Deluxe Double Deluxe Double Pool Access Deluxe Triple Deluxe Triple Pool Access Junior Executive Suite Executive Suite
Phi Phi Harbour View Hotel โรงแรม พีพี ฮาร์เบอร์ วิว
58/1 Moo7 Tambol Ao-Nang, Amphur Muang, Krabi 81210, Thailand. +66 (0)75 601314-6 +66 (0) 75 601398 Fax : +66 (0) 75 601397 E-mail : reservation@phiphi-harbourview.com
www.phiphi-harbourview.com
MARITIME PARK AND SPA RESORT มารีไทม์ ปาร์ค แอนด์ สปา รีสอร์ท
ตั้งอยู่ในใจกลางเมืองกระบี่ ห้องพักหรู 221 ห้อง พร้อมสิ่ง อ�ำนวยความสะดวกต่างๆ ระเบียง ส่ ว นตั ว ชมวิ ว อั น สวยงามของ ทะเลสาบ สวน และภูเขา
• ร้านอาหารที่มารีไทม์ และคอฟฟี่ช็อป บริการอาหารสุดหรู ที่ได้รับการ คัดสรรมาเป็นอย่างดี ทั้งอาหารไทยและสากล • ประชุมและจัดเลี้ยง ส�ำหรับการจัดงานประชุมระดับนานาชาติ หรือ งานสัมมนาใหญ่ๆ ที่สามารถรองรับได้ถึง 1000 ท่าน บริการสิ่งอ�ำนวย ความสะดวกอันทันสมัยครบครัน วางใจได้ว่าความสุขและการท�ำงานสามารถ เกิดขึ้นพร้อมกันได้
Maritime Park And Spa Resort
1 ถนนทุ้งฟ้า อ�ำเภอเมือง จังหวัดกระบี่ 81000 075 620028 – 46 Maritime Park Resort Krabi
ISLANDA
HIDEAWAY RESORT อัยลันดา ไฮด์อะเวย์ รีสอร์ท รีสอร์ท 3.5 ดาว สไตล์ อี โ ค่ แ ห่ ง แรกและแห่ ง เดี ย วบนเกาะกลาง จ.กระบี่ เป็ น มิ ต รกั บ ธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ ม จากท่าเรือเจ้าฟ้าเพียง 10 นาที ห้องพักเป็นแบบ Ocean Breeze Bungalow ห้องนอนสะอาด ตกแต่งแบบเรียบง่าย มีแอร์ ทีวี และระเบียงขนาดใหญ่ให้นอนเล่นท่ามกลางธรรมชาติ ห้องนั่งเล่น มีพัดลม โต๊ะ ตู้เย็น กาต้มน�้ำร้อนไฟฟ้า โต๊ะเครื่องแป้ง อ่างล้างมือ และห้องน�้ำแบบเปิดโล่ง บริการอาหารเช้าแบบบุฟเฟต์ ชาและกาแฟ
Islanda Hideaway Resort
177 หมู่ 3 ต�ำบลคลองประสงค์ เกาะกลาง คลองประสงค์ อ�ำเภอเมืองกระบี่ จังหวัดกระบี่
083-636-7887 Islanda Hideaway Resort
สถานที่ใกล้เคียง
หาดยาว 22.7 กม. สนามกีฬาจังหวัดกระบี่ 23.3 กม. อุทยานแห่งชาติเขาพนมเบญจา 23.6 กม. วัดถ�ำ้ เสือ 24.3 กม. เขาขนาบน�้ำ 27.1 กม. วัดแก้วโกรวาราม 29.7 กม. ถนนคนเดิน 29.1 กม.
โรงแรมกระบี่รอยัล
KRABIROYAL HOTEL “กระบี่รอยัลยืนหนึ่งเรื่องจัดเลี้ยง”
โรงแรมกระบี่ ร อยั ล บริ ก ารห้ อ งพั ก ห้ อ งอาหาร ห้ อ งประชุ ม สั ม มนา จัดเลี้ยง ห้องคาราโอเกะส่วนตัว พร้อมสิ่งอ�ำนวยความสะดวกครบครัน ติดถนนใหญ่สะดวกในการเดินทาง ที่จอดรถกว้างขวาง จะมาเป็นกรุ๊ป เป็นครอบครัว หรือคนเดียว เรายินดีให้บริการแก่ทุกท่านที่มาเยือนเหมือน บ้านหลังที่สองของคุณ
สถานที่ท่องเที่ยงใกล้เคียง
เกาะกลาง เพียง 5.5 กม. หาดอ่าวนาง เพียง 16.8 กม. หาดนพรัตน์ธารา เพียง 16.6 กม. วัดถ�้ำเสือ เพียง 7.9 กม. ท่าปอมคลองสองน�ำ้ เพียง 25.3 กม. สระมรกต เพียง 50 กม.
โรงแรมกระบี่รอยัล (KRABIROYAL HOTEL)
403 ถนนอุตรกิจ ต�ำบลปากน�้ำ อ�ำเภอเมือง จังหวัดกระบี่ 81000 โทรศัพท์ 075611582-4 , 0819780871
krabiroyalhotel
“บริการด้วยใจ เพื่อให้ทุกท่านได้ผ่อนคลาย สะดวกสบายเต็มอิ่มไปด้วยความสุข และความประทับใจ”
โรงแรมกระบี่ซีบาส โรงแรมกระบี่ซีบาส ตั้งอยู่ ใจกลางเมืองกระบี่ ยินดีต้อนรับ ทุกท่านเข้าสู่การพักผ่อนสุดแสนสบายในวันหยุด ที่ท่านจะได้เพลิดเพลิน ไปกั บ บรรยากาศของท้ อ งทะเลและหาดทราย ที่ ถู ก ยกมาจั ด วางไว้ อย่างลงตัวภายในโรงแรมกระบี่ซีบาส
สถานที่ใกล้เคียง
• เขาขนาบน�ำ ้ (Khao Khanab Nam) • ถนนคนเดินกระบี่ (Krabi Walking Street) • ตลาดนัดปูดำ � (Pu Dum Night Market) • วัดแก้วโกรวาราม (Kaew Korawaram Temple) • ศูนย์การเรียนรูว้ ฒ ั นธรรมอันดามัน (Andaman Cultural Center)
สิ่งอ�ำนวยความสะดวก
• สระว่ายน�ำ้ • อินเทอร์เน็ตไร้สายความเร็วสูง • ที่จอดรถ • บริการรถยนต์และรถมอเตอร์ไซด์ส�ำหรับเช่า • บริการซักรีด • ระบบรักษาความปลอดภัยตลอด 24 ชั่วโมง • บริการท�ำความความสะอาดห้องพักรายวัน • บริการติดต่อแพทย์และพยาบาลตลอด 24 ชั่วโมง • ห้องพักปลอดบุหรี่ • บริการให้ยืมร่ม • บริการรถรับส่งตลาดนัดถนนคนเดิน • บริการรถรับส่งสนามบินนานาชาติจังหวัดกระบี่ • ร้านอาหาร • บาร์เครื่องดื่ม • ร้านกาแฟ • สปาและบริการนวดแผนไทย
โรงแรมกระบี่ซีบาส
273 / 55 ถนนอุตรกิจ ต�ำบลปากน�้ำ อ�ำเภอเมือง จังหวัดกระบี่ 81000 โทรศัพท์ : 075-620026 ,091-0429898 แฟกซ์ : 075-620024
Krabi Seabass Hotel krabiseabass WWW.KRABISEABASSHOTEL.COM
Peak Boutique House..... ให้เราได้ดูแลท่าน...เปรียบดังบ้านหลังที่สอง
โรงแรม พีค บูติค เฮาส์
PEAK BOUTIQUE HOUSE
Peak Boutique House Krabi ตั้งอยู่ในตัวเมืองกระบี่ ถูกออกแบบมาในสไตล์โมเดิร์น-คลาสสิค รายรอบไปด้วยร้านอาหารชื่อดัง มากมาย มีรถสาธารณะไปยังหาดอ่าวนางวิ่งผ่าน มีพนักงานบริการ 24 ชั่วโมง ที่พร้อมดูแลและช่วยเหลือท่านอย่างเต็มที่ดังเพื่อน เปรียบเสมือนมาพักในที่ที่คุ้นเคย
สิ่งอำ�นวยความสะดวก • • • • • •
ที่จอดรถ Free wi-fi ลิฟท์ รถรับ-ส่งตัวเมืองฟรี (รัศมี 5 กม.) บริการอาหารเช้า บริการจองทัวร์ท่องเที่ยว
สถานที่ใกล้เคียง
หาดอ่าวนาง 19 กม. สนามบิน 12 กม. ถนนคนเดิน (ใจกลางเมือง) 1.5 กม. บขส.กระบี่ 4 กม. ท่าเรือเกาะพีพี - เกาะลันตา 5 กม.
โรงแรม พีค บูติค เฮาส์ 242/12 ถนนมหาราช ต�ำบลปากน�ำ้ อ�ำเภอเมือง จังหวัดกระบี่ 81000 075-611589, 095-037-3750 Peak Boutique House Krabi peakboutiquehouse Booking.com / พีค บูทีค ซิตี้ โฮเทล กระบี่ Peak Boutique House...
ดุสิต ภูพญา รีสอร์ต DUSIT PHUPHAYA RESORT “บรรยากาศเงียบสงบ ท่ามกลางธรรมชาติ สายลม ขุนเขา”
สถานที่ท่องเที่ยวใกล้เคียง
อุทยานแห่งชาติธารโบกขรณี ถ�้ำคลัง ถ�้ำลอด และ ถ�้ำผีหัวโต วัดแหลมสัก วัดมหาธาตุวชิรมงคล (วัดบางโทง)
3 กม. 10 กม. 10 กม. 20 กม. 24 กม.
สิ่งอ�ำนวยความสะดวก • ทีวี • ตู้เย็น • ฟรี Wi-Fi
• แอร์ • เครื่องท�ำน�้ำอุ่น • ที่จอดรถส่วนตัว
ดุสิต ภูพญา รีสอร์ต (Dusit Phuphaya Resort)
82/1 หมูท่ ี่ 2 ต�ำบลอ่าวลึกเหนือ อ�ำเภออ่าวลึก จังหวัดกระบี่ 81110 เบอร์ติดต่อ : 093-583-9950 , 098-671-8748
ดุ สิ ต ภู พ ญารี สอร์ ท กระบี่
น�้ำพุร้อนเค็มรีสอร์ท
สิ่งอ�ำนวยความสะดวก • Free wifi • ร้านกาแฟ • มินิมาร์ท • ห้องละหมาด • นวดแผนไทย สถานที่ท่องเที่ยวใกล้เคียง อุทยานน�้ำพุร้อนเค็ม น�ำ้ ตกร้อน สระมรกต
น�้ำพุร้อนเค็มรีสอร์ท
52 หมู่ 8 ต�ำบลห้วยน�้ำขาว อ�ำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่ 81120 โทร : 096-284-8669 น�้ำพุร้อนเค็มรีสอร์ท
เดอะ ตะมะ โฮเต็ล
THE TAMA HOTEL
“เป็นที่พักน่าสนใจ หากคุณจะไปอ่าวนาง โรงแรมนี้อยู่ห่างจากท่าเรือกระบี่ โดยประมาณ 5.36 กม.”
สถานที่ใกล้เคียง
สุสานหอย สถานีขนส่งผู้โดยสารจังหวัดกระบี่ หาดไร่เลย์ตะวันตก อ่าวพระนาง สนามมวยอ่าวนาง ท่าเรือเกาะพีพี สนามบินกระบี่ โรงพยาบาลวัฒนแพทย์ อ่าวนาง
สิ่งอ�ำนวยความสะดวก
2.78 km 8.75 km 3.62 km 4.05 km 5.46 km 34.40 km 24 km 10 km 3 km
• รวมบริการอินเทอร์เน็ตไร้สาย (Wi-Fi) ฟรี • สระว่ายน�ำ้ กลางแจ้ง • รถรับ - ส่ง สนามบิน • เฉลียง/ระเบียง • เครื่องชงกาแฟ/ชา • เครื่องปรับอากาศ • ตู้เซฟในห้อง
เดอะ ตะมะ โฮเต็ล (The Tama Hotel)
340 หมู่ 5 ต�ำบลไสไทย อ�ำเภอเมือง จังหวัดกระบี่ 81000 โทรศัพท์ : 075-662-106 , 075-662-107 Mobile : 098-010-4707 E-mail : info@thetamahotel.com The tama hotel Krabi Thailand WWW.THETAMAHOTEL.COM
LANTA GARDENHILL RESORT AND APARTMENT
“A Touch of Comfortable and Relax�
Welcome to
Lanta GardenHill Resort and Apartment.
We provide monthly resort and apartment service. With relax and relieve of our villa zone, you would sense like stay in your private garden. As well as apartment zone you could feel comfortably since we are operating like family hotel. We also located in convenient area surrounding by shops, markets and restaurants.
Villa Zone
The brand new section of Lanta Garden Hill Resort presented in the apartment styled with totally 20 rooms will provide luxury and comfort with full modern Thai-styled designing, furnishing and adding more functional space in the room, private balcony, dining, living and kitchen area with full equipment.
To reach your satisfaction and impression while you stay with us, we provide many choices of our villas, such as, Deluxe villas, Family villas and Triple villas with full functional facilities and well decorations in all rooms to serve all you needs.
Apartment Zone Lanta Gardenhill Resort And Apartment 242 Moo.2 T.Saladan, Koh Lanta, Krabi 81150 Mobile : 075-684-210, 083-529-1089 E-mail : info@lantagardenhill.com
สถานที่ท่องเที่ยวใกล้เคียง สิ่งอ�ำนวยความสะดวก
วัดถ�้ำเสือ เขาหงอนนาค คลองสระแก้ว อนุสาวรีย์ปูด�ำ สุสานหอย ท่าปอมคลองสองน�้ำ สระมรกต น�้ำตกร้อน กระบี่ ถนนคนเดินกระบี่ เขาขนาบน�้ำ วัดแก้วโกรวาราม วัดพระธาตุวชิรมงคล หาดนพรัตน์ธารา อุทยานแห่งชาติธารโบกขรณี
• สระว่ายน�้ำกลางแจ้ง • สวนน�้ำส�ำหรับเด็ก (สไลด์เดอร์) • บริการซักแห้ง • พื้นที่สูบบุหรี่ • แม่บ้านท�ำความสะอาดรายวัน • ร้านค้า • กิจกรรม เช่น จุดบริการทัวร์ • บริการตั๋ว • Wi-Fi ในพื้นที่สาธารณะ • ฟรี Wi-Fi ทุกห้อง • กริ่ง / โทรศัพท์ไร้สาย • การรักษาความปลอดภัย (24 ชั่วโมง) เช็คอิน/เช็คเอาท์ด่วน
โรงแรมดวงตาอันดา (Doungta Anda Hotel)
24 ถนนนภาจรัส ตัวเมืองกระบี่ จังหวัดกระบี่ ประเทศไทย 81000 075-621055-6 แฟกซ์ : 075-621069 Doungta Anda E-mail : doungtaanda@gmail.com
EDITOR’S TALK ผมเชื่อครับว่าครั้งหนึ่งในชีวิตของ นักเดินทาง ต้องได้มาเที่ยวและสัมผัส ทะเล “ที่สวยที่สุดในอันดามัน” ในจังหวัด กระบี่ และถ้ามาถึงกระบี่ ไม่ได้ ไปถ่ายรูป Check in ที่ประติมากรรมรูปปั้น “ปูด�ำยักษ์” ในตัวเมือง ถือว่ายังมา ไม่ถึงจังหวัดกระบี่นะครับ แวบแรกที่ผมนึกถึงจังหวัดกระบี่ คงหนี ไม่พ้นทะเลสดใสตัดกับท้องฟ้าสีคราม ภูเขาหินปูนน้อยใหญ่ที่ตั้งตระหง่านเรียงราย ในทะเล นึกถึงวิถีชีวิตความเป็นอยู่ อาหาร การกิน และวัฒนธรรมของชาวกระบี่ ที่ผูกติดอยู่กับธรรมชาติอันอุดมสมบูรณ์ มาอย่างยาวนาน จนกลายเป็นเมือง ท่องเที่ยวส�ำคัญชั้นแนวหน้าของเมืองไทย ความสุขของนักเดินทาง คือการได้ออก เดินทาง จุดหมายปลายทางอาจไม่ส�ำคัญ เท่าประสบการณ์ระหว่างทาง และผมก็ เชื่ออีกว่ากระบี่จะเปลี่ยนมุมมองใหม่ให้กับ นักเดินทาง
อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์
บรรณาธิการอ�ำนวยการ นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย
www.sbl.co.th
Editor's talk.indd 14
9/12/2562 14:40:42
9/4-6 ถนนรามอินทรา แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพฯ 10220 โทร. 0-2522-7171
www.sbl.co.th
คณะผู้บริหาร นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย คณะที่ปรึกษา ศ.ดร.กฤช เพิ่มทันจิตต์, พลเอกสรชัช วรปัญญา ดร.นิเวศน์ กันไทยราษฎร์, ดร.ประยุทธ คงเฉลิมวัฒน์ ดร.ชาญ ธาระวาส, ดร.สุมิท แช่มประสิท ดร.วัลลภ อารีรบ, ดร.พิชัย ทรัพย์เกิด ดร.ไอศูรย์ ดีรัตน์,ดร.สุเทษณ์ จันทรุกขา ดร.อรรถสิทธิ์ ตันติวิรัชกุล
บรรณาธิการอ�ำนวยการ อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์
บรรณาธิการงานบุคคล พงษ์ศักดิ์ พรณัฐวุฒิกุล วนัสกฤษณ์ ศิลปรังสรรค์
บรรณาธิการการตลาด ปัณณ์ฐาโชค ธนสานสิทธิโชติ
ฝ่ายกฎหมาย สมคิด หวังเชิดชูวงศ์ ทวิช อมรนิมิตร
กองบรรณาธิการ นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย ฝ่ายประสานงานโครงการ ภาครัฐและเอกชน ผู้จัดการ กิตติชัย ศรีสมุทร, อัครกฤษ หวานวงศ์ ภูษิต วิทยา, ทวัชร์ ศรีธามาศ
คณะทีมงาน ธีระพงษ์ ธรรมเจริญ, อมร อนันต์รัตนสุข นิรุจน์ แก้วเล็ก, สุษฎา พรหมคีรี พร้อมพงศ์ สืบด้วง, สรวิชญ์ อังกูรศุภเศรษฐ์ ธนิน ตั้งธ�ำรงจิต, ถาวร เวปุละ, พุฒิธร จันทร์หอม
EDITOR’S letter
การได้ออกเดินทางไปท่องเที่ยว ท�ำให้จิตใจของเราไม่ฟุ้งซ่าน ไร้ ความวิตกกังวล ผ่อนคลายความ ตึงเครียดจากการท�ำงานหนัก ผมว่ากระบี่เป็นจังหวัดที่มีความ มหัศจรรย์จังหวัดหนึ่งเลยนะครับ ที่จะช่วยให้ความเหนื่อยเมื่อยล้า ภายในใจของคุณ refresh ขึ้นมาได้ เพราะกระบี่คือศูนย์รวมแหล่ง ท่องเที่ยวทางธรรมชาติที่สวยงาม มากมาย บางแห่งสวยงามเหมือน กับฉากในเทพนิยาย
คุณก�ำลังนึกถึงภาพทะเลอยู่ใช่ไหม ล่ะครับ ไม่แปลกเลยเพราะถ้าได้มา กระบี่ ใครๆต่างยกให้ทะเลมาเป็น อันดับหนึ่ง แต่ถ้าคุณยังไม่เคยมา หรือจ�ำได้เลือนๆ ว่าเคยมา ผมอยากเชิญชวนให้คุณมาสัมผัส กระบี่ในมุมมองใหม่อีกสักครั้ง แล้ว จะรู้ว่าจังหวัดกระบี่มหัศจรรย์เพียงใด
ปัณณ์ฐาโชค ธนสานสิทธิโชติ
บรรณาธิการการตลาด นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย
Editor's talk.indd 15
9/12/2562 14:40:43
“กระบี่เป็นเมืองน่าอยู่ ผู้คนน่ารัก” จังหวัดกระบี่ เป็นจังหวัดที่ผู้คนทั่วทุกมุมโลกต้องการเดินทางมา ท่องเที่ยว ด้วยความงดงามทางธรรมชาติที่เป็น เอกลักษณ์ โดดเด่น โดยเฉพาะอย่างยิ่งความงาม ทางท้อง “ทะเล” ที่พันต�ำรวจโท มล.กิติบดี ประวิตร ท่านผู้ว่าราชการจังหวัดกระบี่ การันตีว่า “สวยงามที่สุดในอันดามัน” การมีนักท่องเที่ยว ปีละไม่ต�่ำกว่า 5 ล้านคน จึงไม่ใช่เรื่องยาก ความดังระดับโลกของจังหวัดกระบี่ ที่ผ่านเราคงได้เห็น Location สวยๆ จากภาพยนตร์ของฮอลลีวูดหลายต่อหลายเรื่อง และเร็วๆ นี้คนทั้งโลกก็จะได้เห็นภาพความสวยงามของ จังหวัดกระบี่อีกครั้ง ในภาพยนตร์เรื่อง “Fast & Furious 9” พันต�ำรวจโท มล.กิติบดี ประวิตร ท่านผู้ว่าราชการจังหวัด กระบี่ ให้ความส�ำคัญในการพัฒนาด้านการท่องเที่ยวและภาคเกษตร เพื่อตอบสนองธุรกิจการท่องเที่ยวและการค้าที่จะสร้างรายได้หลัก ให้กับพี่น้องประชาชนและเศรษฐกิจที่ดีให้กับจังหวัดกระบี่ และได้ เชิญชวนนักท่องเที่ยวทุกท่าน หาโอกาสมาเที่ยวจังหวัดกระบี่สักครั้ง
Editor's talk.indd 16
9/12/2562 14:40:44
EDITOR’S note จังหวัดกระบี่มีหมู่เกาะน้อยใหญ่ จ�ำนวนมากครับ และถือว่าเป็น จังหวัดที่อุดมไปด้วยทรัพยากร ธรรมชาติ ทั้งภูเขา น�้ำตก ทะเล สถานที่ท่องเที่ยวมากมายที่บรรดา สายเที่ยว นักเดินทางพลาดไม่ได้ เลยครับ เมื่อมาถึงจังหวัดกระบี่ คุณจะได้ สัมผัสกับท้องทะเลที่สวยงาม เป็น มรดกอันล�้ำค่าที่ธรรมชาติมอบไว้
ให้กับชาวจังหวัดกระบี่ ที่กลายเป็น เสน่ห์ดึงดูดให้นักท่องเที่ยวทั้ง ชาวไทยและชาวต่างชาติได้มาสัมผัส มรดกทางธรรมชาติที่สวยงามนี้ ด้วยตาตนเอง ไม่ว่าจะมาเป็นกลุ่ม มากับครอบครัว มาเป็นคู่ หรือ ฉายเดี่ยว ก็เฟี้ยวได้ครับ
9/4-6 ถนนรามอินทรา แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพฯ 10220 โทร. 0-2522-7171
www.sbl.co.th
ฝ่ายประสานงานข้อมูล ผู้จัดการฝ่ายประสานงานข้อมูล นันท์ธนาดา พลพวก ฝ่ายประสานงานข้อมูล ศุภญา บุญช่วยชีพ นลัชนันท์ เทียมเกตุทวีโชค นักเขียน คุณิตา สุวรรณโรจน์
วนัสกฤษณ์ ศิลปรังสรรค์
บรรณาธิการงานบุคคล นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย
ฝ่ายศิลปกรรม ผู้จัดการฝ่ายศิลปกรรม พัชรา ค�ำมี กราฟิกดี ไซน์ พิมพ์พิสุทธิ์ พังจูนันท์ วรเชษฐ สมประสงค์ ธีระวัฒน์ ระวาดชัย ช่างภาพ ปณต ปิติจารุวิศาล กิติวัฒน์ ทิศมั่ง วิทยา ประเสริฐสังข์ ตัดต่อวีดีโอ วัชรกรณ์ พรหมจรรย์
ฝ่ายบัญชี / การเงิน บัญชี ปัฐมาภรณ์ แสงบุราณ ผู้จัดการฝ่ายการเงิน สุจิตรา แดนแก้วนิต การเงิน ชวัลชา นกขุนทอง, วนิดา ศรีปัญญา
Website
Editor's talk.indd 17
9/12/2562 14:40:47
Phi Phi Island หมู ่ เ กาะพีพีเป็นเกาะในฝั่งทะเลอันดามัน อยู่ห่างจากชายฝั่งประมาณ 40 กิ โ ลเมตร ใช้เวลาเดินทางแค่ 1 ชั่ว โมงกว่าๆ เท่านั้น ที่มาของชื่อเกาะพีพีนั้น มาจากเมื่อก่อนชาวประมงเรียกเกาะนี้ว่า ปูเลาปิอาปิ แปลว่าเกาะที่มีต้นไม้ท ะเล พวกต้ น โกงกาง แสม หรือต้นปีปี ภายหลังจึงเพี้ยนมาออกเสียงว่า “พีพี” นั่นเอง
.indd 18
9/12/2562 15:57:19
The Phi Phi islands are some of the loveliest in Southeast Asia. Just a 45-minute speedboat trip or a 90-minute ferryboat ride from either Phuket or Krabi, these picture postcard islands offer the ultimate tropical getaway. Featuring classic tropical beaches, stunning rock formations and vivid turquoise waters teeming with colourful marine life, it is paradise perfected.
.indd 19
9/12/2562 15:57:20
CONTENTS สารบัญจังหวัดกระบี่ ฉบับที่ 101 จังหวัดกระบี่ พ.ศ. 2562
24
31
“โครงการศูนย์ศึกษาการพัฒนาและอนุรักษ์พันธุ์ปู ป่าทุ่งทะเล”
พันต�ำรวจโท มล.กิติบดี ประวิตร
ใต้ร่มพระบารมี เกิดจากเมื่อปี พ.ศ. 2543 สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปี หลวง ทรงเห็นว่ามีผู้บริโภคปูทะเลมากขึ้น ท�ำให้ปูทะเลจากธรรมชาติมีปริมาณลดลง จึงมีพระ ราชด�ำริจัดตั้งศูนย์ศึกษาการพัฒนาและอนุรักษ์พันธุ์ปูในพื้นที่ป่าทุ่งทะเล ต�ำบลเกาะกลาง เพื่อ เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ปูม้าและปูทะเล ส�ำรวจ ติดตาม และประเมินผลการปล่อยพันธุ์ปูในแหล่ง น�้ำธรรมชาติ ศึกษา ทดลอง วิจัยการพัฒนาการเพาะเลี้ยงปูและสัตว์น�้ำเศรษฐกิจที่ส�ำคัญของ ท้องถิ่น ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเพาะเลี้ยงปูเชิงอนุรักษ์ เสริมสร้างจิตส�ำนึกในการอนุรักษ์ พันธุ์ปู และป่าชายเลน
บันทึกเส้นทางพบผู้ว่าราชการจังหวัดกระบี่
44
บันทึกเส้นทางพบรองผู้ว่าราชการจังหวัดกระบี่ นายสมโภช โชติชูช่วง
46
บันทึกเส้นทางพบท้องถิ่นจังหวัดกระบี่ นายอรรณพ คณานุรักษ์
46
บันทึกเส้นทางพบส�ำนักพระพุทธศาสนาจังหวัดกระบี่ นายวิชัย ทิพรักษ์
.indd 20
9/12/2562 15:57:24
50
112
52
114
68
118
70
122
72
126
78
130
82
134
84
136
90
138
94
142
96
147
100
148
105
150
106
154
108
158
110
160
ส�ำนักงานท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดกระบี่ บันทึกเส้นทางความเป็นมาจังหวัดกระบี่ อบจ.กระบี่ อ�ำเภอเมืองกระบี่ ทม.กระบี่ อบต.อ่าวนาง
10
อบต.หนองทะเล วัดแก้วโกรวาราม วัดกระบี่น้อย
32
อ�ำเภอเขาพนม ทต.เขาพนม อบต.เขาดิน อ�ำเภอเกาะลันตา ทต.เกาะลันตาใหญ่ อบต.เกาะกลาง อบต.ศาลาด่าน
62 .indd 21
อ�ำเภอคลองท่อม ทต.คลองพนพัฒนา ทต.ทรายขาว ทต.คลองท่อมใต้ อบต.ห้วยน�้ำขาว วัดคลองพน อ�ำเภออ่าวลึก ทต.อ่าวลึกใต้ อบต.อ่าวลึกเหนือ อบต.เขาใหญ่ วัดมหาธาตุวชิรมงคล (วัดบางโทง) วัดมหาธาตุแหลมสัก (ธ) วัดเขาต่อ ทต.ล�ำทับ อบต.เหนือคลอง วัดธรรมาวุธสรณาราม
WWW.SBL.CO.TH บริษัท สมาร์ท บิซิเนส ไลน์ จ�ำกัด 9/4-6 ถนนรามอินทรา แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพฯ 10220 โทร. 0-2522-7171 แฟกซ์. 0-2971-7747
9/12/2562 15:57:28
บ้านต้นไม้ คาเฟ่
บ้านต้นไม้คาเฟ่ เปิดบริการ 09:00-19:00 น. โทรศัพท์ 081- 891-4849 Baan Ton Mai Cafe' Krabi บ้านต้นไม้ คาเฟ่ 218 ต�ำบลหนองทะเล อ�ำเภอเมืองกระบี่ กระบี่ 81180
จุดเช็คอินสุดฮ็อตที่ใหม่ของกระบี่ คาเฟ่สุดแนว บรรยากาศสุดฟิน มีมุมถ่ายภาพเยอะแยะมากมาย มีทั้งอาหารคาว หวาน เค้กนุ่มอร่อย เปิดบริการทุกวัน
ร้านอาหาร
Sabai Ba Bar Beach Front บริการอาหารไทย ซีฟู๊ด อาหารหลากหลายเมนูให้เลือกทาน อร่อย อาหารสด สะอาด พร้อมเครื่องดื่ม บรรยากาศร้าน ติดริมทะเล สุดแสนโรแมนติก อากาศสบายๆ วิวสวย
• พร้อมรับจัดงานเลี้ยง งานแต่งงาน สังสรรค์ต่างๆ พร้อมสิ่งอำ�นวยความสะดวกครบครัน • ช่วงเย็น เก็บภาพ พระอาทิตย์ลับขอบฟ้า ได้แบบสวยงาม • ภายในร้าน พร้อมมุมนั่งทานอาหาร ที่โรแมนติก บรรยากาศดี • มีบริการนวดสปา
Sabai Ba Bar Beach Front Restaurant ร้านอาหาร สบาย บา บาร์ บีชฟร้อน สำ�รองโต๊ะ โทร. 081-8914849 เปิดบริการทุกเวลา 10:00-24:00 น. อำ�เภอเมือง จังหวัดกระบี่
ใต้ร่มพระบารมี
ศูนย์ศึกษาการพัฒนา และอนุรักษ์พันธุ์ปู ป่าทุ่งทะเล อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ “โครงการศูนย์ศึกษาการพัฒนาและอนุรักษ์พันธุ์ปู ป่าทุ่งทะเล” อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง บ้านปากคลอง หมู่ที่ 3 ต�ำบลเกาะกลาง อ�ำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ เกิดจากเมื่อปี พ.ศ. 2543 สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ทรงเห็นว่ามีผู้บริโภคปูทะเลมากขึ้น ท�ำให้ปูทะเลจากธรรมชาติมีปริมาณ ลดลง จึงมีพระราชด�ำริจัดตั้งศูนย์ศึกษาการพัฒนาและอนุรักษ์พันธุ์ปู ในพื้นที่ป่าทุ่งทะเล ต�ำบลเกาะกลาง เพื่อเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ปูม้าและ ปูทะเล ส�ำรวจ ติดตาม และประเมินผลการปล่อยพันธุ์ปูในแหล่งน�้ำ ธรรมชาติ ศึกษา ทดลอง วิจัยการพัฒนาการเพาะเลี้ยงปูและสัตว์น�้ำ เศรษฐกิจที่ส�ำคัญของท้องถิ่น ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเพาะเลี้ยงปู เชิงอนุรักษ์ เสริมสร้างจิตส�ำนึกในการอนุรักษ์พันธุ์ปู และป่าชายเลน
.indd 24
9/12/2562 15:10:16
ด้วยพระมหากรุณาธิคุณ ท�ำให้บริเวณพื้นที่ป่าทุ่งทะเล กลับมามีความสมบูรณ์ดังเดิม เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ และแหล่งศึกษาธรรมชาติ รวมถึงการส่งเสริมอาชีพและพัฒนา คุณภาพชีวิตให้กับราษฎรในพื้นที่ชุมชนรอบๆ ป่าทุ่งทะเลอีกด้วย
.indd 25
9/12/2562 15:10:17
ชีวิตที่ดีท่ีสุดคือ... สงบ เย็น และเป็นประโยชน์ @ท่านพุทธทาสภิกขุ ไม่ต้องไปหาความสุข ความสมบรูณ์แบบที่ไหนไกล แค่ใจเราสงบ นั่นแหละคือที่ชีวิตที่ดีแล้ว
.indd 26
9/12/2562 15:10:18
.indd 27
9/12/2562 15:10:19
THE PHU BEACH HOTEL โรงแรมเดอะภูบีช กระบี่ Krabi The Phu Beach Hotel ตัง้ อยูใ่ นหาดอ่าวนาง ห่างจากหาดนพรัตน์ธาราและหาดอ่าว นางเพียง 2 กิโลเมตร ที่พักแห่งนี้มีสระว่ายน�้ำกลางแจ้ง ห้องพักทุกห้อง มีทางเข้าสระ ว่ายน�ำ้ ได้ทุกห้อง มีบริการอาหารเช้าแบบอเมริกัน และแบบไทย ทุกวัน ที่พักปรับอากาศมีบริการห้องพักพร้อมโต๊ะท�ำงาน กาต้มน�ำ ้ ตู้นิรภัย โทรทัศน์จอแบน ห้องน�้ำส่วนตัวพร้อมฝักบัว และอินเทอร์เน็ตไร้สาย (Wi-Fi) ฟรีสำ� หรับผู้เข้าพักทุกท่าน ห้องพักบางห้องมีลานเฉลียง สามารถสัมผัส และผ่อนคลาย กับบรรยากาศสระว่าย น�้ำ โรงแรมมีบริการห้องออกก�ำลังกายฟรี พร้อมทั้งมีบริการรถรับส่งจากที่พักไปยังหาด นพรัตน์ และหาดอ่าวนางฟรี พนักงานที่แผนกต้อนรับยินดีแนะน�ำข้อมูลเกี่ยวกับสถาน ที่ต่าง ๆ ส�ำหรับผู้เข้าพัก ที่พักแห่งนี้ตั้งอยู่ห่างจากบริษัทน�ำเที่ยวเกาะต่าง ๆ บนหาด นพรัตน์ธารา 2 กิโลเมตร และห่างจากสนามบินที่ใกล้ที่สุดคือสนามบินนานาชาติกระบี่ 25 กิโลเมตร
สิ่งอำ�นวยความสะดวกยอดนิยม
• สระว่ายน้ำ�กลางแจ้ง • บาร์ • บริการอินเทอร์เน็ตไร้สาย (Wi-Fi) • ศูนย์ออกกำ�ลังกาย ที่จอดรถฟรี • รถรับ - ส่งสนามบิน โปรแกรมท่องเที่ยวทางทะเล
สถานที่ท่องเที่ยวใกล้เคียง
ชายหาดนพรัตน์ธารา ชายหาดอ่าวนาง ประมาณ 2 กิโลเมตร อ่าวนางแลนด์มาร์ก (จุดขายอาหารริมทะเล) ประมาณ 2 กิโลเมตร เกาะต่าง ๆ เช่น เกาะปอดะ เกาะไก่ ทะเลแหวก เกาะห้อง เกาะพีพี คลองน้ำ�ใส (คลองหรูด) ประมาณ 7 กิโลเมตร ท่าเลน (พายเรือคายัค) ประมาณ 15 กิโลเมตร ตัวเมืองกระบี่ ประมาณ 15 กิโลเมตร
โรงแรมเดอะภูบีช กระบี่ The Phu Beach Hotel, Krabi
323 หมู่ 5 ตำ�บลอ่าวนาง อำ�เภอเมือง จังหวัดกระบี่ 81180
The Phu Beach Hotel 075 626 262- 3 WWW.THEPHUBEACH.COM
ห้างหุ้นส่วนจ�ำกัด วังทราย สปีดโบ๊ท โปรแกรมทัวร์ต่างๆ สามารถเข้าไปดูได้ใน
WWW.WANGSAISPEEDBOAT.COM โปรแกรมทะเลแหวก โปรแกรมเกาะห้อง โปรแกรมเกาะพีพี โปรแกรมเกาะรอก
ปิเละลากูน
ทะเลแหวก
อ่าวมาหยา
เกาะพีพี
เกาะไผ่
เกาะไก่
เกาะปอดะ
หาดถ�้ำพระนาง 323 หมู่ 5 ต�ำบลอ่าวนาง อ�ำเภอเมือง จังหวัดกระบี่ 81180
โทรศัพท์ 081- 890 7640 wangsai speed boat เที่ยวกระบี่ ทัวร์กระบี่
www.wangsaispeedboat.com
ร้านอาหารวังทรายซีฟู้ด เมนูแนะนำ�
• แกงส้มปู • กุ้งผัดมะขามเปียก • น้ำ�พริกกุ้งเสียบ • ห่อหมกทะเลมะพร้าวอ่อน • ยำ�วังทราย • ปลาเก๋าเกยตื้น
วังทราย ซีฟู้ด อ่าวนาง กระบี่
เว็บไซด์ : wangsai seafood 98 หมู่ที่ 3 ตำ�บลอ่าวนาง อำ�เภอเมือง จังหวัดกระบี่ 81180
เวลาเปิด-ปิด : เปิดเวลา 10.00 น. ปิด 22.00 น.
สารจากผู้ว่าราชการ
จังหวัดกระบี่
จังหวัดกระบี่ เป็นจังหวัดที่ผู้คนทั่วทุกมุมโลกต้องการเดินทางมา ท่องเที่ยว ด้วยความงดงามทางธรรมชาติที่เป็นเอกลักษณ์โดดเด่นไม่ เหมือนที่ใด โดยเฉพาะอย่างยิ่งความงามทางท้อง “ทะเล” ที่กล้า การันตีได้เลยว่า “สวยงามที่สุดในอันดามัน” อีกทั้งมีเกาะที่สวยงาม จ�ำนวนมากไม่ไกลจากฝั่ง การเดินทางสะดวก ท�ำให้ในแต่ละปีจังหวัด กระบี่มีนักท่องเที่ยวไม่ต�่ำกว่า 5 ล้าน คน ความสมบูรณ์ทางธรรมชาติของจังหวัดกระบี่อีกอย่างหนึ่งก็คือ “ป่าชายเลน” กระบี่จึงมีความสมบูรณ์ด้านอาหารทะเล เช่น “ปูด�ำ” ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของจังหวัดกระบี่ ถ้ามากระบี่ต้องไปชิมอาหารซีฟู้ด ที่ขึ้นชื่อมากที่สุดคือ “หอยชักตีน” ต้นต�ำหรับเลยต้องหอยชักตีนกระบี่ และด้วยความมีชื่อเสียงระดับโลกท�ำให้มีกองถ่ายภาพยนตร์ฮอลลีวูด มาถ่ายท�ำภาพยนตร์หลายเรื่อง ล่าสุดก�ำลังมีการถ่ายท�ำภาพยนตร์เรื่อง “Fast 9”
“กระบี่เป็นเมืองน่าอยู่ ผู้คนน่ารัก” นะครับ ผมขอเรียนเชิญพี่น้อง ชาวไทยทุกท่านครับ ลองหาโอกาสมาเที่ยวจังหวัดกระบี่สักครั้ง ขนาด คนทั่วทุกมุมโลกยังข้ามน�้ำข้ามทะเลมาเที่ยวไกลถึงกระบี่ เราคนไทย อยู่ใกล้ๆ เรียนเชิญนะครับ ท้ า ยนี้ ผ มขอขอบคุ ณ ทุ ก ท่ า น ทุ ก หน่ ว ยงานในจั ง หวั ด กระบี่ ที่สนับสนุนข้อมูลและภาพลักษณ์ต่างๆของจังหวัดกระบี่ ในการจัดท�ำ นิ ต ยสารฉบั บ นี้ ใ ห้ ส มบู ร ณ์ และขอขอบคุ ณ นิ ต ยสาร SBL บั น ทึ ก ประเทศไทย ที่จะส่งต่อความสวยงาม ความประทับใจ ไปสู่สาธารณชน คนไทยและคนทั่วโลกให้มาสัมผัสจังหวัดกระบี่ของเราอย่างใกล้ชิด
พันต�ำรวจโท
(หม่อมหลวงกิติบดี ประวิตร) ผู้ว่าราชการจังหวัดกระบี่
น�้ำพุร้อนเค็ม จ.กระบี่ KRABI KRABI II SBL SBL บับันนทึทึกกประเทศไทย ประเทศไทย
31 31
Special Interview
KRABI’S
GOVERNOR ผู้ว่าราชการจังหวัดกระบี่
พั น ต�ำ รวจโท หม่อมหลวงกิติบ ดี ประวิตร “ข้าพเจ้าจะรักษาวินัยข้าราชการอย่างเคร่งครัดอยู่เสมอ โดย กระท� ำ ตามข้ อ ปฏิ บั ติ แ ละไม่ ฝ ่ า ฝื น ข้ อ ห้ า มทางวิ นั ย ตามที่ ก�ำหนดไว้ เพื่อเป็นแบบอย่างที่ดีให้ผู้ใต้บังคับบัญชา”
32 32
SBL SBL บับันนทึทึกกประเทศไทย ประเทศไทย II กระบี กระบี่่
KRABI KRABI II SBL SBL บับันนทึทึกกประเทศไทย ประเทศไทย
33 33
“ข้าพเจ้าจะมุ่งเน้นสร้างจิตส�ำนึกให้ผู้ใต้บังคับบัญชาทุกระดับชั้น สร้างจิตส�ำนึกและค่านิยมที่ยึดมั่นในจริยธรรม ความซื่อสัตย์ ต่อต้านการทุจริต น้อมน�ำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มาปรับใช้ในชีวิตประจ�ำวัน”
พันต�ำรวจโท หม่อมหลวง กิตบิ ดี ประวิตร ภูมลิ ำ� เนาท่านเป็นชาวกรุงเทพฯ ส�ำเร็จการศึกษา Bachelor Of Arts In Social Science, Pepperdine University, USA. Master Degree In Public Administration, University of Southern California, USA.และ วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปอ.57) อดีตข้าราชการต�ำรวจดีเด่น สมัยรับราชการอยู่ที่กองบังคับการ ต�ำรวจดับเพลิง กรมต�ำรวจ จากนั้นมารับราชการอยู่ที่โรงเรียนนายร้อย ต�ำรวจ / ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย / และก้าวสู่การเป็นรองผู้ว่า ราชการจังหวัดเพชรบุรีและสิงห์บุรี และผู้ว่าราชการจังหวัดกระบี่ใน ปัจจุบัน หลังจากได้รับต�ำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัดกระบี่ ท่านได้ให้ “สัจจะ” ต่อผู้ใต้บังคับบัญชา ไว้ว่า… 1. ข้ า พเจ้ า จะรั ก ษาวิ นั ย ข้ า ราชการอย่ า งเคร่ ง ครั ด อยู ่ เ สมอ โดยกระท�ำตามข้อปฏิบัติและไม่ฝ่าฝืนข้อห้ามทางวินัยตามที่ก�ำหนดไว้ เพื่อเป็นแบบอย่างที่ดีให้ผู้ใต้บังคับบัญชา 2. ข้าพเจ้าจะปฏิบัติต่อผู้ใต้บังคับบัญชาอย่างมีคุณธรรมและเที่ยง ธรรม และเสริมสร้างแรงจูงใจให้ผู้ใต้บังคับบัญชาด�ำรงตนเป็นข้าราชการ ที่ดี 3. ข้าพเจ้าจะมุ่งเน้นสร้างจิตส�ำนึกให้ผู้ใต้บังคับบัญชาทุกระดับชั้น 34
SBL บันทึกประเทศไทย I กระบี่
มีจิตสาธารณะในการให้บริการ มีส่วนร่วมในกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง รับฟัง ข้อเสนอแนะและข้อร้องเรียน เพื่อน�ำมาปรับปรุงและพัฒนางานให้เกิด ประสิทธิภาพต่อไป 4. ข้าพเจ้าจะมุ่งเน้นสร้างจิตส�ำนึกให้ผู้ใต้บังคับบัญชาทุกระดับชั้น สร้างจิตส�ำนึกและค่านิยมที่ยึดมั่นในจริยธรรม ความซื่อสัตย์ ต่อต้านการ ทุจริต น้อมน�ำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้ในชีวิตประจ�ำวัน ข้าราชการและพี่น้องประชาชนชาวจังหวัดกระบี่ทุกท่าน ต้องรู้สึกภูมิใจ เป็นอย่างยิ่งที่ได้พ่อเมืองที่ดี มีวิสัยทัศน์กว้างไกล ยึดมั่นหลักการท�ำงาน และเป็นแบบอย่างที่ดีให้แก่ข้าราชการรุ่นต่อๆไป ได้รู้จักผิดชอบชั่วดี ประพฤติตนให้เหมาะสมกับค�ำว่า “ข้าราชการ” ผู้รับใช้ประชาชน และ พร้อมจะพัฒนาจังหวัดกระบี่ภายใต้วิสัยทัศน์ “เมืองท่องเที่ยวคุณภาพ ระดับนานาชาติ เกษตรอุตสาหกรรมยั่งยืน สังคมน่าอยู่ มีการปรับตัวเท่า ทันต่อบริบทการเปลี่ยนแปลง” นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย กราบขอบพระคุณท่าน พันต�ำรวจโท หม่อมหลวงกิติบดี ประวิตร ผู้ว่าราชการจังหวัดกระบี่ เป็นอย่างสูง ที่กรุณา ให้เกียรติมาแนะน�ำจังหวัดกระบี่ให้นักท่องเที่ยวได้รู้จักและประทับใจมาก ยิ่งขึ้น
หลงรักทะเล....เซมากระบี่ ส�ำหรับจังหวัดกระบี่ สิ่งที่สร้างรายได้ให้กับพี่น้องประชาชนหรือสร้าง เศรษฐกิจให้กับจังหวัดนั่นก็ คือ ภาคเกษตรและการท่องเที่ยว ต้องยอมรับ ครับว่าเรื่องของการท่องเที่ยวสามารถท�ำรายได้เป็นกอบเป็นก�ำให้กับ จังหวัดของเรามาก และถ้ามองในภาพรวมจังหวัดกระบี่สามารถสร้างราย ได้จากการท่องเที่ยวให้กับประเทศไทยได้กว่าหนึ่งแสนล้านบาทต่อปี ซึ่งสูงขึ้นอย่างก้าวกระโดดเมื่อเทียบกับเมื่อ 4-5 ปีที่แล้ว ปั จ จุ บั น เรามี จ� ำ นวนนั ก ท่ อ งเที่ ย วที่ เ ดิ น ทางมาจากทั่ ว ทุ ก มุ ม โลก ประมาณ 6.9 ล้านคนต่อปี ที่มาชื่นชมความงดงามทางทะเลที่เรียกได้ว่า “สวยงามที่ สุ ดในอันดามัน” เรียกได้ว ่า น�้ำทะเลใสเขียวอมฟ้าเหมือน เทอร์ควอย์ (Turquoise) นอกจากนักท่องเที่ยวจะมาชมความงามของ ทะเล ยังมาท�ำกิจกรรมด�ำน�้ำดูปะการังและความงดงามของบรรดาปลา หลากหลายสายพันธุ์ ซึ่งกระบี่มีเกาะจ�ำนวนมากมายที่มีชื่อเสียงด้านการ ด�ำน�้ำ เช่น เกาะรอก เกาะห้า ด�ำลงไปถ่ายรูปก็สวยมากเลยครับ หรือจะ ด�ำน�้ำแบบผิวน�้ำ (Snorkeling) ก็มีหลายเกาะ เช่น เกาะห้อง เกาะปอดะ เป็นต้น ที่ส�ำคัญเกาะต่างๆเหล่านี้อยู่ไม่ไกลจากฝั่ง เดินทางสะดวก นั่งเรือ เพียงแค่ 20 นาที ก็ถึงแล้วครับ ไม่ เว้ น แม้ แ ต่ ลั ก ษณะทางกายภาพ รู ป ทรงโค้ ง เว้ า ของเกาะต่ า งๆ รูปทรงของเขาหินปูน ในจังหวัดกระบี่ก็มีความงดงามไม่แพ้ใต้ท้องทะเล เลยครับ นับเป็นอีกหนึ่งไฮไลท์ที่สร้างมนต์เสน่ห์ดึงดูดนักท่องเที่ยวต่าง ชาติให้มาท่องเที่ยวและถ่ายรูปเก็บความประทับใจกลับไป หรือแม้กระทั่ง กองถ่ายภาพยนตร์จากฮอลลีวูดยังมาใช้สถานที่ถ่ายท�ำที่จังหวัดของเรา ซึ่งขณะนี้มีการถ่ายท�ำภาพยนตร์เรื่อง Fast 9 อยู่ครับ
“เมื อ งท่ อ งเที่ ย วคุ ณ ภาพระดั บ นานาชาติ เกษตร อุตสาหกรรมยั่งยืน สังคมน่าอยู่ มีการปรับตัวเท่าทัน ต่อบริบทการเปลี่ยนแปลง” น�้ำพุร้อนเค็ม…ออนเซ็นเมืองไทย จังหวัดกระบี่ยังมีสถานที่ที่ดึงดูดใจนักท่องเที่ยวอีกหลายแห่ง เช่น บ่อน�้ำพุร้อน จะมาเที่ยว หรือมาอาบน�้ำแร่แช่น�้ำพุร้อน ออนเซ็นเมืองไทย เราก็มี “บ่อน�้ำพุร้อนเค็ม” ที่ทั้งโลกมีเพียงไม่กี่แห่ง หนึ่งในนั้นมีอยู่ที่กระบี่ ของเรานี่แหละครับ โดยมีความเชื่อกันว่าถ้าได้มาแช่น�้ำพุร้อนจะช่วยท�ำให้ สุขภาพดี ผิวพรรณดี เลือดลมดี หรือจะไปชมความ Amazing ระหว่าง น�้ำทะเลกับน�้ำจืดไหลมาเจอกันที่ “ท่าปอม คลองสองน�้ำ” เป็นภาพ Unseen แปลกตามี เ พี ย งที่ นี่ ที่ เ ดี ย ว อี ก ทั้ ง ยั ง เป็ น แหล่ ง เรี ย นรู ้ เชิ ง นิเวศวิทยาที่น่าสนใจมากครับ
KRABI I SBL บันทึกประเทศไทย
35
โครงการพระราชด�ำริ
จังหวัดกระบี่มีโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ ของในหลวง รัชกาลที่ 9 รัชกาลที่ 10 สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนี พั น ปี ห ลวง และพระบรมวงศานุ ว งศ์ ทั้ ง หมด 16 โครงการ เป็ น โครงการเกี่ ย วกั บ การอนุ รั ก ษ์ แ ละการฟื ้ น ฟู ซึ่ ง แต่ ล ะ โครงการจะมีความส�ำคัญแตกต่างกันไป อยากให้เด็กและเยาวชนของเรา โดยเฉพาะเด็กในโรงเรียนทุกโรงเรียน ได้มีโอกาสเข้ามาสัมผัสศึกษาเรียน รู้ว่าพระมหากษัตริย์ไทยและพระบรมวงศานุวงศ์ ท่านทรงท�ำอะไรให้กับ ประชาชนชาวกระบี่บ้าง
“ปัจจุบันเรามีจ�ำนวนนักท่องเที่ยวที่เดินทางมา จากทั่วทุกมุมโลกประมาณ 6.9 ล้านคนต่อปี ที่มา ชื่นชมความงดงามทางทะเลที่เรียกได้ว่าสวยงาม ที่สุดในอันดามัน”
ชุมชนเกาะกลาง & น�้ำตกห้วยโต้ ชุมชนเกาะกลาง อยู่ที่ต�ำบลคลองประสงค์ ติดกับเมืองกระบี่เลยครับ เพียงนั่งเรือข้ามแม่น�้ำไป เหมือนกับว่าเราหลุดเข้าไปในอยู่ในโลกของการ อนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและธรรมชาติ เราจะเห็นป่าโกงกางที่อุดมสมบูรณ์ เห็น การเลี้ยงปลาในกระชังและสัมผัส “วิถีชีวิตชาวชุมชนเกาะกลาง” ภายใน ชุ ม ชนมี ร ้ า นอาหารทะเลที่ อ ร่ อ ยมากมาย จะเห็ น ว่ า จั ง หวั ด กระบี่ เรา สามารถเที่ยวได้ทุกฤดูจริงๆ ช่วงอากาศดีฟ้าเปิดก็เที่ยวทะเล ช่วงอากาศ แปรปรวนก็สามารถหาที่เที่ยวบนฝั่งได้ครับ น�้ำตกห้วยโต้ เป็นสถานที่ที่ผมไปตักน�้ำศักดิ์สิทธิ์เพื่อใช้ในพระราชพิธี บรมราชาภิเษกในหลวงรัชกาลที่ 10 ที่น�้ำตกห้วยโต้นักท่องเที่ยวต่างชาติ จะชอบเป็นพิเศษ เพราะได้เดินออกก�ำลังกายขึ้นไปยังน�้ำตกชั้นบนสุด มีน�้ำใสสะอาดและอากาศดีมาก นอกจากแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ แล้ว สถานที่ท่องเที่ยวทางธรรม เช่น วัดวาอารามต่างๆก็มีจ�ำนวนมาก เข้าไปไหว้พระท�ำบุญได้กันอย่างสบายอกสบายใจ ผมขอเชิญชวนมาเที่ยว กระบี่กันเยอะๆนะครับ
ภาพน�้ำตก 36
SBL บันทึกประเทศไทย I กระบี่
KRABI KRABI II SBL SBL บับันนทึทึกกประเทศไทย ประเทศไทย
37 37
กิจกรรมผู้ว่าฯ เปิดกิจกรรมศิลปะชิ้นงานร่วมสมัย “Welcome to krabi” เมื่อวันที่ 21 กันยายน 2562 พันต�ำรวจโท หม่อมหลวงกิติบดี ประวิตร ผู้ว่าราชการจังหวัดกระบี่ ประธานเปิดจุดบริการอ�ำนวยความสะดวกและ รักษาความปลอดภัยนักท่องเที่ยว พร้อมด้วย พล.ต.ต. อังกูร คล้ายคลึง ผู้บังคับการต�ำรวจท่องเที่ยว 3 ดร. วิมลลักษณ์ ชูชาติ ผู้อ�ำนวยการ ส� ำ นั ก งานศิ ล ปวั ฒ นธรรมร่ ว มสมั ย นายกี ร ติ ศั ก ดิ์ ภู เ ก้ า ล้ ว น นายก เทศมนตรีเมืองกระบี่ นางเกษร ก�ำเหนิดเพ็ชร วัฒนธรรมจังหวัดกระบี่ หัวหน้าส่วนราชการ ผู้แทนหัวหน้าส่วนราชการ ศิลปินจังหวัดกระบี่ เด็ก และเยาวชน เข้าร่วมกิจกรรมเป็นจ�ำนวนมาก ณ บริเวณหน่วยบริการ ประชาชนศู น ย์ รั บ แจ้ ง เหตุ ฉุ ก เฉิ น ต� ำ รวจท่ อ งเที่ ย วอ� ำ เภอเมื อ งกระบี่ จังหวัดกระบี่ การจัดงานในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1. เพื่ อ สร้ างงานศิลปะร่ว มสมัย บนพื้นที่เขตเมืองกระบี่ให้เป็น จุด Landmark ทางการ ท่องเที่ยวและต่อยอดใช้ประโยชน์เป็นหน่วยบริการ ประชาชนและนักท่องเที่ยว “ศูนย์รับแจ้งเหตุต�ำรวจท่องเที่ยวอ�ำเภอเมือง กระบี่ 2. เพื่ อ เปิ ด พื้ น ที่ ใ นการแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู ้ ด ้ า นศิ ล ปะ ความคิ ด สร้างสรรค์แก่ เด็กเยาวชน ศิลปิน และประชาชนทั่วไป 3. เพื่อสร้างสรรค์และพัฒนาจังหวัดกระบี่ให้เป็นเมืองศิลปะอย่าง ต่อเนื่อง และยั่งยืน 38
SBL บันทึกประเทศไทย I กระบี่
ประชุมระดับรัฐมนตรี ครั้งที่ 25 แผนงานการพัฒนาเขตเศรษฐกิจสามฝ่าย อินโดนีเซีย มาเลเซีย ไทย IMT- GT เมื่อวันที่ 13 กันยายน 2562 ณ โรงแรมโซฟิเทล กระบี่ โภคีธรา กอล์ฟ แอนด์ สปา รีสอร์ท ดร.อธิรัฐ รัตนเศรษฐ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวง คมนาคม ในฐานะผู้แทนรัฐมนตรีประจ�ำแผนงานการพัฒนาเขตเศรษฐกิจ สามฝ่าย อินโดนีเซีย -มาเลเซีย- ไทย เป็นประธานการประชุมระดับ รัฐมนตรี ครั้งที่ 25 แผนงาน IMT-GT พร้อมด้วยพันต�ำรวจโท หม่อมหลวง กิติบดี ประวิตร ผู้ว่าราชการจังหวัดกระบี่ ดร.ปัทมา เธียรวิศิษย์สกุล รองเลขาธิการสภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) ร่วมแถลง ข่ า วต่ อ สื่ อ มวลชน ว่ า การประชุ ม ในครั้ ง นี้ มี บุ ค คลส� ำ คั ญ จากประเทศ สมาชิ ก แผนงาน IMT-GT และหุ ้ น ส่ ว นการพั ฒ นาเข้ า ร่ ว มประชุ ม ประกอบด้วย ดร.รัดซี จิดิน รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการเศรษฐกิจ ของมาเลเซีย ดร. ริซาล อาฟฟานดี ลุคมาน ผู้ช่วยรัฐมนตรีช่วยว่าการ กระทรวงการเศรษฐกิจของสาธารณรัฐอินโดนีเซีย ดร. อาลาดิน ดี ริลโล รองเลขาธิ ก ารอาเซี ย นด้ า นประชาคมเศรษฐกิ จ อาเซี ย น นายราเมซ ซูบรามาเนียม ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานภูมิภาคเอเชียตะวันออก ธนาคาร พั ฒ นาเอเชี ย และจั ง หวั ด กระบี่ ใ นฐานะเจ้ า ภาพร่ ว มกั น จั ด ประชุ ม ฯ โดยรัฐมนตรีประจ�ำแผนงาน IMT - GT ของทั้งสามประเทศได้รับรอง แถลงการณ์ร่วมของการประชุมฯ โดยมีสาระส�ำคัญกล่าวคือ เป็นการเน้น ย�้ำระเบียงเศรษฐกิจเพื่อเชื่อมโยงห่วงโซ่คุณค่าของกิจกรรมทางเศรษฐกิจ และลดความเหลื่ อ มล�้ ำ ในพื้ น ที่ โดยมี โ ครงการเชื่ อ มโยงทางกายภาพ ( Physical Connectivity Projects: PCPS ) จ�ำนวน 39 โครงการ มูลค่า รวม 4.8 หมื่นล้านเหรียญสหรัฐ ฯ (1.5 ล้านล้านบาท ) และกรอบความ ร่วมมือ ( FoC) ด้านศุลกากร การตรวจคนเข้าเมือง และการตรวจโรคพืช และสัตว์ (CIO) เป็นปัจจัยกระตุ้นให้เกิดการเชื่อมโยงระเบียงเศรษฐกิจ IMT-GT ทั้งสามประเทศจึงเห็นพ้องที่จะเร่งรัดการด�ำเนินโครงการ PCPs ที่ยังคงคั่งค้าง รวมถึงการเร่งรัดจัดท�ำความตกลง FoC ร่วมกันระหว่าง 3 ประเทศ ให้เสร็จสิ้นโดยเร็ว เพื่อให้ การเชื่อมโยงระเบียงเศรษฐกิจ IMT - GT เป็นไปอย่างไร้รอยต่อ
มอบรางวัล โครงการร้านอาหารวัตถุดิบปลอดภัยเลือกใช้ สินค้า Q(O Restaurant) ขับเคลื่อน Krabi goes Green เมื่อวันที่ 28 สิงหาคม 2562 นายสุชาติ เซ่งมาก เกษตรและสหกรณ์ จังหวัดกระบี่ กล่าวว่า โครงการร้านอาหารวัตถุดิบปลอดภัยเลือกใช้สินค้า Q(O Restaurant) เริ่มด�ำเนินการ ตั้งแต่ปี 2555 โดยมีคณะท�ำงาน โครงการอาหาร ปลอดภัยจังหวัดกระบี่ด�ำเนินการตรวจรับรองตรวจ ติดตามและตรวจต่ออายุ ร้านอาหารในจังหวัดกระบี่ที่ร่วมโครงการโดยมี วัตถุประสงค์เพื่อประชาสัมพันธ์ให้ ผู้บริโภคได้รู้จักร้านอาหารที่มีการใช้ วัตถุดิบที่มีความปลอดภัยต่อผู้บริโภค ซึ่งวัตถุดิบ ได้จากการผลิตตาม มาตรฐานและผ่านการรับรอง รวมทั้งสนับสนุนให้ร้านอาหาร เป็นจุดรับ ซื้อผลผลิตทางการเกษตรที่มีความปลอดภัยได้อีกช่องทางหนึ่ง ซึ่งร้าน อาหาร จะเป็นตัวเชื่อมน�ำผลผลิตที่ปลอดภัยจากเกษตรกรสู่ผู้บริโภคใน จังหวัดนักท่องเที่ยวทั้งในและต่างประเทศโดยตรง ปัจจุบันจังหวัดกระบี่ มีร้านอาหาร Q ภายใต้โครงการฯ 15 แห่ง ปี 2562 มีร้านอาหาร Q ที่ผ่านการตรวจรับรองร้านใหม่และตรวจติดตามเพื่อต่ออายุ รวม 8 ร้าน ได้แก่ ร้านธรรมรส ถนนเพชรเกษม ต�ำบลคลองท่อมใต้ อ�ำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่ เมนูที่ได้รับการรับรอง 3 เมนูคือ ปีกไก่ทอดเกลือ ไก่ผัดขิง กะเพราไก่ ร้านก๋วยเตี๋ยวไก่-เป็ดตุ๋นสมุนไพรยาจีนมะระ ถนนเพชรเกษม ต�ำบลคลองท่อมใต้ อ�ำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่ เมนูที่ได้รับการ รับรอง 2 เมนูคือ ก๋วยเตี๋ยวไก่ ก๋วยเตี๋ยวเป็ด ร้านก๋วยเตี๋ยวเรืออันดามัน ถนนเจ้าคุณ ต�ำบลปากน�้ำ อ�ำเภอเมือง จังหวัดกระบี่ เมนูที่ได้รับการ รับรอง 3 เมนูคือ สเต็กหมู สเต็กไก่ ข้าวหน้าหมูสเต็ก โดยมีการมอบรางวัล ในที่ประชุมกรรมการจังหวัด ประจ�ำเดือน สิงหาคม โดยพันต�ำรวจโท หม่ อ มหลวงกิ ติ บ ดี ประวิ ต ร ผู ้ ว ่ า ราชการจั ง หวั ด กระบี่ เพื่ อ เป็ น เกียรติประวัติแก่เจ้าของร้านอาหาร ผู้ประกอบการ และเป็นการสนับสนุน ยุ ท ธศาสตร์ ก ารท่ อ งเที่ ย วของจั ง หวั ด กระบี่ และสร้ า งความเชื่ อ มั่ น มาตรฐานแห่งความปลอดภัยจากต้นน�้ำสู่ปลายน�้ำให้นักท่องเที่ยวและ ผู้มาเยือน KRABI I SBL บันทึกประเทศไทย
39
บ้านเสริมสุขภาพอบสมุนไพร
“อบสมุนไพรทางเลือกใหม่ของคนรักสุขภาพ”
บ้านเสริมสุขภาพอบสมุนไพร เปิดให้บริการอบสมุนไพร เพื่อสุขภาพและความงาม บำ�บัดรักษาอาการบางอย่างได้ เช่น • ผู้ที่เป็นโรคภูมิแพ้ที่ ไม่รุนแรง • อัมพฤกษ์ อัมพาตในระยะเริ่มแรก • ปวดเมื่อยตามร่างกาย • อาการหอบหืดในระยะที่ ไม่รุนแรง • โรคเบาหวาน • โรคเก๊าท์ • อบตัวมารดาหลังคลอดบุตร • การขับสารพิษและสารเคมีส่วนเกินออกทางเหงื่อ • ช่วยการไหลเวียนของโลหิตทำ�ให้ผิวสวยขึ้น
เวลาทำ�การ: วันจันทร์ – วันเสาร์ เวลา 15.00-21.00 น. หยุดวันอาทิตย์ บ้านเสริมสุขภาพอบสมุนไพร
328/2 หมู่ 1 ตำ�บลคลองพน อำ�เภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่ 81170 โทรศัพท์ : 083-502-0085 บ้านเสริมสุขภาพอบสมุนไพรคลองพน
กระชังขนาบน�้ำวิวซีฟู้ด
“ซีฟู้ด สด เป็นจากกระชัง บรรยากาศที่ต้องมา ใกล้เมืองกระบี่นิดเดียว”
ต้อนรับสู่..กระชังขนาบน�้ำวิวซีฟู้ด เกาะกลาง ใจกลางเมืองกระบี่ จากท่าเรือในเมืองกระบีแ่ ค่ 10 นาที คุณจะได้ พบกับร้านอาหารทีอ่ ยูบ่ นกระชังริมน�ำ้ ขนาด 20 โต๊ะ ทีร่ องรับได้ถงึ 200 ท่าน บริการ อาหารทะเลสดจากกระชัง บริการอาหารฮาลาล จากครัวฮาลาลที่ได้มาตรฐาน การรับรองอย่างถูกต้อง บริการอาหารไทย รับรองลูกค้าทั่วไปทุกท่านที่มาเยือน กระบี่และรับจัดอาหารกรุ๊ปทัวร์ ไทย จีน มาเลย์ และต่างชาติ ราคาต่อท่าน ราคาต่อโต๊ะ บริการจองโต๊ะ เลือกอาหารทะเลสด เป็น จากกระชังได้ด้วยตัวเอง แยกเป็นโซนสามารถรองรับนักท่องเที่ยว และผู้มาเยือน มาดูปลาสวยงาม และชมปลาปักเป้า พร้อมรับประทานอาหาร ด้วยบรรยากาศสบายๆ เงียบสงบ เหมาะแก่ ก ารพั ก ผ่ อ นพาครอบครั ว กรุ ๊ ป ทั ว ร์ แ ละคนที่ ท ่ า นรั ก มาอิ่ ม เอมกั บ บรรยากาศที่บริสุทธิ์ และได้ชื่นชมงานวิถีภูมิปัญญาท้องถิ่นไปพร้อมๆ กัน เพราะ ที่นี่มากกว่าแค่ร้านอาหาร แต่คือแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์วิถีภูมิปัญญาอย่าง แท้จริงที่คุณต้องมาสัมผัส หากมาเยือนกระบี่
เปิดทุกวัน (ยกเว้นวันศุกร์) เวลา 9.00-21.00 น. นอกจากนี้ยังมีบริการจองเรือรับ-ส่ง บริการจองเรือล่องแม่น�้ำ กระบี่เที่ยวเขาขนาบน�้ำ บริการจัดทัวร์เที่ยวเกาะกลาง บริการจองรถ สามล้อเที่ยวรอบเกาะกลาง แบบครบวงจรในที่เดียว ด้วยความมั่นใจ ให้เราได้ดูแลลูกค้าคนพิเศษของคุณกับเรา บริการจองเรือล่องแม่น�้ำกระบี่ เที่ยวเขาขนาบน�้ำ ลอดอุโมงค์ โกงกาง เทีย่ วตลาดร้านค้าชุมชนริมน�ำ้ คลองวาน บริการจัดทัวร์เทีย่ ว เกาะกลาง
กระชั ง ขนาบน�้ ำ วิ ว ซี ฟู ้ ด
30/1 หมู่ 1 ต�ำบลคลองประสงค์ อ�ำเภอเมือง จังหวัดกระบี่ 81000
โทรศัพท์ 085-933-3971 / 091-328-4549 kanabnamview-ecotour@hotmail.com
ID line : kknv
WWW.KANABNAMVIEWSEAFOOD.COM
ลํ�าสมัยไม่ตกเทรน คุณภาพคับเล่ม
WWW.SBL.CO.TH
PHITSANULOK
นํ�าตกปอย @สวนป่ าเขากระยาง
ล่องแก่งลํานํ�าเข็ก
พระราชวังจันทร์
พิพิทธ์ภัณผ้า มหาวิทยาลัยนเรศวร
www.ookbee.com/Magazine/SBLMAGAZINE www.issuu.com/sblmagazine SBL บันทึกประเทศไทย
18
SBL บันทึกประเทศไทย I เชียงใหม่
.indd 18
. - 25/12/2562 14:50:50 PM
เจริญโชคอ�ำนวยฟาร์ม ควายงามกระบี่ ศูนย์อนุรักษ์และพัฒนาควายไทย ภาคใต้
เจริญโชคอ�ำนวยฟาร์ม ควายงามกระบี่ ศูนย์อนุรกั ษ์และพัฒนา ควายไทยของภาคใต้ โดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อ...
• อนุรักษ์และพัฒนาควายไทย ให้มีปริมาณมากขึ้น • เป็นสถานที่ทัศนศึกษาดูงาน และส่งเสริมการท่องเที่ยวแก่นักเรียน นักศึกษา และเกษตรกรที่สนใจ • ส่งเสริมการตลาด สร้างรายได้แก่เกษตรกรมูลค่าเพิ่มของควายพันธุ์ดี • บริการน�้ำเชื้อควายไทย เพื่อการจ�ำหน่ายและบริจาคให้เกษตรกรที่สนใจ
เจริญโชคอ�ำนวยฟาร์ม ควายงามกระบี่
117/8 หมู่ 5 ต�ำบลนาเหนือ อ�ำเภออ่าวลึก จังหวัดกระบี่
089-874-9759, 075-817251 CHESTHAI BUFFALO KRABI เจริญโชคอ�ำนวยฟาร์ม ควายงามกระบี่ RUBBER MAN 99 CHES E-mail : chock1rubber@gmail.com
KRABI
VICE GOVERNOR รองผู้ว่าราชการจังหวัดกระบี่ นายสมโภช โชติชูช่ว ง “ประเทศไทยเป็นของประชาชนทุกคน เราต้องช่วยกันสอดส่องดูแล ช่วยกัน ตรวจสอบ ไม่ ใ ห้ มี สิ่ ง เลวร้ า ยหรื อ คนไม่ ดีม าท� ำ ลายชาติ บ ้ า นเมื อ ง ขณะ เดียวกันเราต้องช่วยกันสร้างคนดี ยกย่องคนดีให้เป็นแบบอย่างที่ดีต่อไป”
ในอดี ต ท่ า นสมโภช โชติ ชู ช ่ ว ง รองผู ้ ว ่ า ราชการจังหวัดกระบี่ และครอบครัวเคยได้รับ ประสบการณ์ไม่ดีนักจากระบบราชการ และนี่ อาจเป็นจุดเริ่มต้นที่ท�ำให้ท่านเดินเข้าสู่ระบบ ราชการเพื่ อ ท� ำ งานรั บ ใช้ พี่ น ้ อ งประชาชนให้ เป็นไปอย่างบริสุทธิ์ยุติธรรม โดยมี พระบาท สมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลย เดชมหาราช บรมนาถบพิตร เป็นแบบอย่าง และแรงบันดาลใจในการปฏิบัติงาน ผมเป็นคนโชคดี ที่ได้เกิดมาเป็นลูกชาวไร่ ชาวนา ในอดีตครอบครัวของผมเคยได้รับแรง กดดั น และถู ก เอารั ด เอาเปรี ย บจากระบบ ราชการจนไม่ได้รับความเป็นธรรม เมื่อผมมา รับราชการ ผมเห็นในหลวงรัชกาลที่ 9 ท่าน ท�ำงานทุกอย่าง ท่านจึงเป็นแรงบันดาลใจใน
44
SBL บันทึกประเทศไทย I กระบี่
การท�ำงานของผม ท่านเคยมีพระราชด�ำรัสว่า ข้ า ราชการคื อ คนที่ ท� ำ งานให้ กั บ ประชาชน ท�ำงานรับใช้พระราชา พระราชาคือผู้ที่ทำ� ให้คน อื่นชื่นใจ คนที่เป็นข้าราชการต้องมีคุณสมบัติ 4 อย่าง คือ 1. ขยัน ต้องเป็นข้าราชการในจิตวิญญาณ ตลอด 24 ชั่วโมง 2. รับผิดชอบในหน้าที่ ถ้าละเลยในหน้าที่ ชาวบ้านก็ไม่รู้จะพึ่งใคร 3. มีวิจารณญาณ คือ ต้องรู้ผิดชอบชั่วดี รู้ กาลเทศะ รู้อันไหนควรไม่ควร 4. มีความกตัญญูกตเวที เป็นเครื่องหมาย ของคนดี เราเป็นข้าราชการ เรากินเงินเดือน ภาษีของพี่น้องประชาชน ถ้าไม่อยากเนรคุณก็ ต้องท�ำงานให้เต็มก�ำลัง เต็มความสามารถ
หน้าที่ของรองผู้ว่าราชการจังหวัด คือต้อง ช่วยผู้ว่าราชการท�ำงานตามที่ท่านมอบหมาย ให้ ไ ด้ ม ากและสมบู ร ณ์ ที่ สุ ด ที่ ส� ำ คั ญ คื อ ต้ อ ง ท�ำให้ถูกต้อง ตรงไปตรงมา ช่วยท่านก�ำกับดูแล ในส่วนของราชการ ให้มีประสิทธิภาพมากที่สุด มีความโปร่งใสมากที่สุด ตามหลัก “ธรรมาภิ บาล” ถ้าไม่มีธรรมาภิบาล ในส่วนของราชการ หรือเอกชน สังคมจะมีแต่การเอารัดเอาเปรียบ กัน ช่อโกง ไม่ซื่อสัตย์สุจริต จะท�ำให้องค์กรพัง ไปหมด แต่ถ้ามีความโปร่งใส มีธรรมาภิบาลขึ้น มาเมื่อไหร่ ก�ำกับดูแลทุกส่วนด้วยความถูกต้อง ก็ จ ะเกิ ด ความศรั ท ธา เกิ ด ประโยชน์ ต ่ อ ประชาชนและชาติบ้านเมือง
EXC LU S IV E
ฝากถึงทุกภาคส่วนและประชาชน ปัจจุบันเมืองไทยของเรา “ต้องการคนดี” มากกว่าคนเก่ง ในหลวงรัชกาลที่ 9 ท่านเคยมี พระราชด�ำรัสให้พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ น�ำ มาถ่ายทอดพวกเราว่า ต้องสร้างคนดีก่อนคน เก่ง เพราะถ้าคนเก่งแล้วไม่ดี จะเป็นปัญหาของ บ้านเมือง คนดีสามารถท�ำให้เป็นคนเก่งได้ ต้อง ยกย่องคนดี ข่มคนไม่ดี ช่วยกันสร้างคนดีไว้เป็น แบบอย่างเพื่อท�ำสิ่งดีให้เกิดขึ้นกับบ้านเมือง และสังคม ถ้าไม่มีคนดีเป็นต้นแบบ ไม่มีคนดีท�ำ เรื่องดีๆไว้สังคมเราจะเสื่อมทรามลงไปเรื่อยๆ ท่านพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ เคยกล่าวไว้ว่า เราต้องสร้างคนดีให้เต็มบ้านเต็มเมือง เพื่อไม่ ให้ ค นไม่ ดี มี ที่ ยื น และอย่ า ไปยกย่ อ งคนโกง ทุจริตคอรัปชั่น ที่นำ� เงินจากการท�ำผิดกฎหมาย มาสร้างความเดือนร้อนให้กับประชาชน เอารัด เอาเปรียบประชาชน เราทุกคนต้องช่วยกัน เป็นหูเป็นตา ช่วยกันสอดส่องดูแล ตรวจสอบ อย่าถือว่าธุระไม่ใช่ ขณะเดียวกันเราต้องช่วย กันสร้างคนดี ยกย่องคนดี ให้เป็นแบบอย่างที่ ดีต่อไป
นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย กราบขอบ พระคุณท่านสมโภช โชติชูช่วง รองผู้ว่าราชการ จังหวัดกระบี่ เป็นอย่างสูงที่ให้เกียรติและสละ เวลาเล่าเรื่องราวการท�ำงานที่เป็นประโยชน์แก่ ข้าราชการทั่วไป ที่ยึดหลักการท�ำงานภายใต้ หลั ก ธรรมาภิ บ าล ที่ เ ป็ น ที่ พึ่ ง ของประชาชน อย่างแท้จริงต่อไป
KRABI I SBL บันทึกประเทศไทย
45
EXC LUS I VE
KRABI
PROVINCIAL OFFICE FOR LOCAL ADMINISTRATION
ท้องถิ่นจังหวัดกระบี่
นายอรรณพ คณานุ รั ก ษ์ การรั บ ฟั ง ความคิ ด เห็ น จากภายนอกที่ มี ความรู้ความช�ำนาญเฉพาะด้าน เพื่อช่วยในการ เสริมสร้างความรู้ความสามารถให้แก่บุคลากร ภายในองค์กร และเสนอแนะแนวทางในการ ด�ำเนินงานและโครงการต่างๆ คือ หลักการ ส�ำคัญที่ท่าน “อรรณพ คณานุรักษ์” ท้องถิ่น จั ง หวั ด กระบี่ น� ำ มาใช้ ใ นการท� ำ งานร่ ว มกั บ อปท.ต่ า งๆ เพื่ อ ช่ ว ยเหลื อ สนั บ สนุ น พี่ น ้ อ ง ประชาชนชาวกระบี่ให้เกิดสัมฤทธิ์ผลอย่างมี ประสิทธิภาพ โดยท่ า นท้ อ งถิ่ น จั ง หวั ด ได้ ย กตั ว อย่ า ง การท�ำงานภายใต้หลักการในเบื้องต้น เช่น 46
SBL บันทึกประเทศไทย I กระบี่
การตัง้ สภาทีป่ รึกษา – เปิดรับฟังความคิดเห็น จากประชาชน การตั้งสภาที่ปรึกษารวมทั้งการเปิดรับฟัง ความคิดเห็นจากภาค “ประชาชน” เพื่อให้ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสามารถบริหารงาน และเสนอโครงการตรงตามความต้องการของ ประชาชน เพื่อให้ประชาชนเกิดความพึงพอใจ มากที่สุด นอกจากนี้ยังเป็นการท�ำงานร่วมกัน ระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและบุคคล ภายนอก เช่น การจัดตั้งสถาบันพัฒนาผู้น�ำท้อง ถิ่น โดยมีวิทยากรและผู้ทรงคุณวุฒิมาให้ความ รู้และร่วมมือในการด�ำเนินโครงการ รวมทั้งการ
ศึกษาดูงานหรือโครงการที่ดีและประสบความ ส�ำเร็จ เพื่อน�ำมาประยุกต์ใช้กับองค์กรของตน ท้ อ งถิ่ น จั ง หวั ด กระบี่ จึ ง ได้ น� ำ หลั ก การ ส�ำคัญในการท�ำงานร่วมกันกับองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นมาใช้ในพื้นที่ คือการให้ความร่วม มื อ และเป็ น ที่ ป รึ ก ษาอย่ า งใกล้ ชิ ด กั บ องค์ ก ร ปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อให้องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นได้ท�ำงานเกิดประสิทธิภาพอย่าง สูงสุดกับประชาชนในพื้นที่ ซึ่งมีลักษณะหลาย รูปแบบ เช่น การลงพื้นที่เพื่อไปรับฟังปัญหา ด้ ว ยตนเอง หรื อ โดยเจ้ า หน้ า ที่ ผู ้ รั บ ผิ ด ชอบ โดยตรง เพื่ อ ให้ มี ก ารได้ แ ก้ ไขปั ญ หาต่ า งๆ
ได้ตรงจุดและรวดเร็วยิง่ ขึน้ หรือในอีกรูปแบบหนึง่ คือ การให้ความรู้ทางด้านวิชาการแก่ผู้ปฏิบัติ งานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นโดยตรง เพื่อให้มีการปฏิบัติงานเกิดความถูกต้องตาม ระเบียบกฎหมาย สุจริต โปร่งใส คือหัวใจของ อปท. เมื่ อ อ� ำ นาจหน้ า ที่ ความรั บ ผิ ด ชอบของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพิ่มมากขึ้น จึงมี ความจ�ำเป็นต้องมีความพร้อมในการบริหาร จัดการและความรับผิดชอบที่เพิ่มขึ้นด้วย เพื่อ ให้การบริหารจัดการด้านต่างๆ เป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพ และมีผลงานที่มีคุณภาพเป็นที่ ยอมรับของประชาชนในท้องถิน่ และสาธารณะชน ทั่วไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องความ “สุจริต โปร่ ง ใส” ของการท� ำ งาน และการบริ ห าร จัดการเรื่องต่างๆ ที่เกิดการเปลี่ยนแปลงให้ทัน ตามยุคตามสมัย อย่างไรก็ตาม มีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพียงจ�ำนวนหนึ่งเท่านั้น ที่สามารถรองรับการ เปลี่ยนแปลงดังกล่าวได้ ที่พัฒนาการบริหาร จัดการภายในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของ ตนเอง ในขณะเดียวกันก็มีองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นอีกเป็นจ�ำนวนมากที่ไม่สามารถปรับตัว ให้เข้ากับความเปลี่ยนแปลงดังกล่าวได้ กล่าว คือ ยังไม่มีการพัฒนาการบริหารจัดการภายใน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้ดีพอ จึงส่งผล โดยตรงต่อประสิทธิภาพ ประสิทธิผลและความ พึงพอใจของประชาชนในท้องถิ่น ดังนั้น การเรียนรู้และพัฒนาความสามารถ ด้านการบริหารจัดการ และปัจจัยแห่งความ ส� ำ เร็ จ จากองค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ที่ ประสบความส�ำเร็จจึงเป็นสิ่งจ�ำเป็น เพื่อให้ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่นๆ สามารถน�ำ ประสบการณ์ แ ละบทเรี ย นเหล่ า นั้ น มาเป็ น แบบอย่างในการบริหารจัดการที่ดีได้ นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย กราบ ขอบพระคุ ณ ท่ า น “อรรณพ คณานุ รั ก ษ์ ” ท้องถิ่นจังหวัดกระบี่ เป็นอย่างยิ่งที่กรุณาให้ สัมภาษณ์เกี่ยวกับการท�ำงานและนโยบายการ พัฒนาต่างๆขององค์การปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดกระบี่ ไว้ ณ โอกาสนี้ KRABI I SBL บันทึกประเทศไทย
47
EXC LUS I VE
KRABI PROVINCIAL OFFICE OF BUDDHISM ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดกระบี่
นายวิ ชัย ทิ พ รั ก ษ์
48
SBL บันทึกประเทศไทย I กระบี่
พระพุทธศาสนามีความเจริญมั่นคง ประชาชนเข้มแข็ง มีความสุขด้วยหลัก พุทธธรรม ใช้สันติธรรมค�้ำจุนสังคม
วัดแก้วโกรวาราม
วัดคลองท่อมใต้
วิสัยทัศน์ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดกระบี่
จังหวัดกระบีม่ วี ดั ทัง้ หมดจ�ำนวน 82 วัด เป็น พระอารามหลวง 1 วัด เป็นวัดราษฎร์ 81 วัด คณะสงฆ์ ม หานิ ก าย โอกาสนี้ นิ ต ยสาร SBL บันทึกประเทศไทยได้รับเกียรติจากท่านวิชัย ทิ พ รั ก ษ์ ผอ.ส� ำ นั ก งานพระพุ ท ธศาสนา จังหวัดกระบี่ มาเล่าถึงหน้าที่ส�ำคัญในการดูแล ท� ำ นุ บ� ำ รุ ง รั ก ษาและเผยแผ่ พ ระพุ ท ธศาสนา โดยสังเขปดังนี้ ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดกระบี่ ส� ำ นั ก งานพระพุ ท ธศาสนาจั ง หวั ด กระบี่ มีหน้าทีใ่ นการสนองงานคณะสงฆ์ และท�ำนุบำ� รุง ส่งเสริมดูแลรักษา ศาสนสถาน และศาสนวัตถุ ทางพระพุทธศาสนา รวมทั้งดูแลรักษา และ จัดการวัดร้างและศาสนสมบัติกลางในจังหวัด พร้ อ มทั้ ง ส่ ง เสริ ม และสนั บ สนุ น ให้ วั ด เป็ น ศูนย์กลางการเรียนรู้ และแหล่งภูมิปัญญาของ ชุมชนรวมทั้งส่งเสริมให้มีศูนย์กลางในการจัด กิจกรรมของพระพุทธศาสนาในจังหวัด การบริหารงานของส�ำนักงานพระพุทธศาสนา จังหวัด จะด�ำเนินการตามนโยบายของส�ำนักงาน พระพุทธศาสนาแห่งชาติ(ส่วนกลาง) ซึ่งบริบท ของพื้นที่ การท�ำงาน สภาพแวดล้อมย่อมแตก ต่างไป บทบาทของส�ำนักงานพระพุทธศาสนา จั ง หวั ด กระบี่ ในการสนองกิ จ การคณะสงฆ์ ซึ่งประกอบด้วยภารกิจ 6 ด้าน คือ ด้านการ ปกครอง ด้านการศาสนศึกษา ด้านการเผยแผ่ ด้านการศึกษาสงเคราะห์ ด้านการสาธารณูปการ และด้านการสาธารณสงเคราะห์ ซึ่งเป็นการ บริหารจัดการวัด เพื่อความมั่นคงแห่งพระพุทธ ศาสนา
ส�ำนักปฏิบตั ธิ รรมประจ�ำจังหวัดกระบี่ 1. ส� ำ นั ก ปฏิ บั ติ ธ รรมวั ด แก้ ว โกรวาราม พระอารามหลวง ต�ำบลปากน�้ำ อ�ำเภอเมือง กระบี่ จังหวัดกระบี่ 2. ส�ำนักปฏิบัติธรรมวัดกระบี่น้อย ต�ำบล กระบี่น้อย อ�ำเภอเมืองกระบี่ จังหวัดกระบี่ 3. ส�ำนักปฏิบัติธรรมวัดคลองใหญ่ ต�ำบล ทับปริก อ�ำเภอเมืองกระบี่ จังหวัดกระบี่
วัดส�ำคัญด้านการท่องเทีย่ ว 1. วัดแก้วโกรวาราม พระอารามหลวง ต�ำบล ปากน�้ำ อ�ำเภอเมืองกระบี่ จังหวัดกระบี่ 2. วั ด มหาธาตุ ว ชิ ร มงคล ต� ำ บลนาเหนื อ อ�ำเภออ่าวลึก จังหวัดกระบี่ 3. วัดถ�้ำเสือ ต�ำบลกระบี่น้อย อ�ำเภอเมือง กระบี่ 4. วั ด คลองท่ อ มใต้ ต� ำ บลคลองท่ อ มใต้ อ�ำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่
วัดถ�้ำเสือ
วัดมหาธาตุวชิรมงคล
KRABI I SBL บันทึกประเทศไทย
49
EXC LUS I VE
KRABI PROVINCIAL OFFICE OF TOURISM AND SPORTS ส�ำนักงานการท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดกระบี่
นางสาวจรรยารั ก ษ์ สาธิ ต กิ จ
50
SBL บันทึกประเทศไทย I กระบี่
ท่องเทีย่ วและกีฬาจังหวัดกระบี่ ส� ำ นั ก งานการท่ อ งเที่ ย วและกี ฬ าจั ง หวั ด กระบี่ ตั้งอยู่ที่สนามกีฬาจังหวัดกระบี่ ถนน ศรี ต รั ง ต� ำ บลกระบี่ ใ หญ่ อ� ำ เภอเมื อ งกระบี่ จังหวัดกระบี่ 81000 โทรศัพท์/โทรสาร 0 7566 3246 จังหวัดกระบี่ ได้กำ� หนดเป้าหมายการพัฒนา ในปี พ.ศ.2561 – 2565 เป็น “เมืองท่องเที่ยว คุณภาพระดับนานาชาติ เกษตรอุตสาหกรรม ยั่งยืน สังคมน่าอยู่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและ ปรั บ ตั ว เท่ า ทั น ต่ อ บริ บ ทการเปลี่ ย นแปลง” มีประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการท่อง เที่ยวให้เป็นการท่องเที่ยว “สีเขียว” (Green Tourism) เพิ่มศักยภาพให้ได้มาตรฐานสากล และเชื่อมโยงการท่องเที่ยวระดับภูมิภาคและ นานาชาติ เนื่องจากจังหวัดกระบี่เป็นเมืองท่อง เทีย่ วชายทะเลฝัง่ อันดามันทีม่ คี วามสวยงามของ ทรัพยากรธรรมชาติและแหล่งท่องเที่ยวที่มีชื่อ เสี ย งระดั บ โลก มี ค วามหลากหลายทางการ ท่องเทีย่ ว โดยเฉพาะอย่างยิง่ แหล่งท่องเทีย่ วทาง ทะเล แหล่งท่องเทีย่ วเชิงสุขภาพ แหล่งท่องเทีย่ ว เชิงศิลปวัฒนธรรม แหล่งท่องเทีย่ ววิถชี มุ ชน และ แหล่งท่องเที่ยวป่าเขา ปัจจัยเหล่านี้ส่งผลให้นัก ท่องเที่ยวเดินทางมาเยือนจังหวัดกระบี่เพิ่มขึ้น อย่างต่อเนื่องทุกปี นอกจากแหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วทางธรรมชาติ ท่ี สวยงามเป็นที่รู้จักของนักท่องเที่ยวทั่วโลกแล้ว ในปี 2561 จังหวัดกระบี่ได้รับการประกาศจาก กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาให้เป็น 1 ใน 6 “เมืองกีฬา” ของประเทศ ตามแผนพัฒนาการ กีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 6(พ.ศ. 2560 – 2564) เพือ่ ให้การกีฬาเป็นส่วนส�ำคัญของวิถชี วี ติ และการมี คุณภาพชีวติ ทีด่ ขี องคนจังหวัดกระบี่ รวมถึงการ พัฒนาสูค่ วามเป็นเลิศในระดับสากลและต่อยอด สู่ระดับอาชีพ เพื่อสร้างอาชีพและรายได้ให้กับ บุคลากรกีฬา โดยสนับสนุนการพัฒนาอุตสาหกรรม การกีฬาเพือ่ สร้าง มูลค่าเพิม่ ให้กบั เศรษฐกิจของ จังหวัดกระบี่ ส�ำนักงานการท่องเทีย่ วและกีฬาจังหวัดกระบี่ มีภารกิจในการพัฒนาและส่งเสริมทั้งในด้าน ท่องเทีย่ ว กีฬา และนันทนาการ โดยด�ำเนินการ ดังนี้
ด้านการท่องเทีย่ ว จังหวัดกระบี่ โดยการน�ำของ พ.ต.ท.ม.ล. กิตบิ ดี ประวิตร ผู้ว่าราชการจังหวัดกระบี่ ให้ความ ส�ำคัญกับการสร้างความประทับใจตัง้ แต่กา้ วแรก ที่เข้าสู่ประตูเมืองกระบี่ มีการจัดระบบระเบียบ การรั ก ษาความสะอาด การสร้ า งภู มิ ทั ศ น์ ที่ สวยงาม ขณะทีจ่ งั หวัดกระบีต่ อ้ งการนักท่องเทีย่ ว ที่มีคุณภาพ มีศักยภาพสูงในการจับจ่ายใช้สอย จึงได้ดำ� เนินนโยบายในการรักษาแหล่งท่องเทีย่ ว ให้คงความสวยงามตามธรรมชาติ เป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม ควบคู่กับความปลอดภัย ทั้งความ ปลอดภัยในชีวิตทรัพย์สิน ภัยธรรมชาติ และภัย จากเหตุ ก ารณ์ ต ่ า งๆ มี ก ารน� ำ มาตรการทาง กฎหมายมาบั ง คั บ ใช้ อ ย่า งเข้ ม งวดทั้ ง การจั ด ระเบียบทีพ่ กั โรงแรม สถานบริการ การคมนาคม ขนส่ง การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด เพื่อให้เกิดความมั่นใจในความปลอดภัยของนัก ท่ อ งเที่ ย ว ส� ำ นั ก งานการท่ อ งเที่ ย วและกี ฬา จังหวัดกระบี่ เป็นหน่วยงานหลักหน่วยงานหนึ่ง ในการด� ำ เนิ น การด้ า นการท่ อ งเที่ ย วเพื่ อ ให้ สอดคล้องกับนโยบายดังกล่าว โดยประสาน ความร่วมมือกับทุกภาคส่วน
ด้านกีฬาและนันทนาการ ด้ า นกี ฬ า และนั น ทนาการ จากการที่ กระทรวงการท่ อ งเที่ ย วและกี ฬ าได้ เ ลื อ กให้ จังหวัดกระบี่เป็น “เมืองกีฬา” จังหวัดกระบี่ ได้ มีการประกาศยุทธศาสตร์พัฒนาการกีฬาของ จังหวัดกระบี่ เพื่อขับเคลื่อน “กระบี่เมืองกีฬา” (Krabi Sports City) ซึ่งส�ำนักงานการท่องเที่ยว และกีฬาจังหวัดกระบี่ เป็นหน่วยงานที่ร่วมลง นามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือเพือ่ พัฒนากีฬา ของจังหวัดกระบี่ มุ่งสู่การเป็นเมืองกีฬา ตาม ยุทธศาสตร์ที่ 1 การส่งเสริมให้เกิดความรู้และ ความตระหนักด้านการออกก�ำลังกายและการ กีฬาขัน้ พืน้ ฐาน และยุทธศาสตร์ที่ 2 การส่งเสริม ให้มวลชนมีการออกก�ำลังกายและมีส่วนร่วมใน กิจกรรมกีฬา ทั้งนี้ ส�ำนักงานการท่องเที่ยวและ กี ฬ าจั ง หวั ด กระบี่ ไ ด้ ด� ำ เนิ น การภายใต้ ก าร ขับเคลื่อน “กระบี่เมืองกีฬา” (Krabi Sports City) ทัง้ กิจกรรมระดับชาติและระดับนานาชาติ รวมถึงกีฬามวลชน อาทิเช่น จัดการแข่งขันพาย เรื อ เพื่ อ การท่ อ งเที่ ย ว จั ด การแข่ ง ขั น กระบี่ อินเตอร์เนชั่นแนล พนมเบญจา เทรล รันนิ่ง (Krabi Phanom bencha Trail Running) การแข่งขัน กระบี่อินเตอร์เนชั่นแนล สวิม ไบค์ รัน ทะเลอันดามัน เฟสติวลั 2019 (Krabi Swim Bike Run Andaman Sea Festival 2019) การแข่งขันกีฬานักเรียน นักศึกษาจังหวัดกระบี่ “เหลืองกระบี่เกมส์” และการจัดกิจกรรมกีฬา สานสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงานภายในจังหวัด กระบี่ เป็นต้น ส� ำ นั ก งานการท่ อ งเที่ ย วและกี ฬ าจั ง หวั ด กระบี่ ได้ด�ำเนินการตามแนวยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 นโยบายของรัฐบาล และยุทธศาสตร์ การพัฒนาจังหวัดกระบี่ โดยมุ่งหวังเพื่อส่งเสริม สนับสนุนกิจกรรมด้านการท่องเที่ยว กีฬา และ นันทนาการให้มคี วามมัน่ คง ยัง่ ยืน และบรรลุผล สั ม ฤทธิ์ ข องการด� ำ เนิ น งานด้ า นต่ า งๆ ทั้ ง ยั ง สนั บ สนุ น ส่ ง เสริ ม นโยบายของจั ง หวั ด กระบี่ สู่การเป็น “เมืองท่องเที่ยวสีเขียวและเมืองกีฬา คุณภาพระดับนานาชาติ”
KRABI I SBL บันทึกประเทศไทย
51
บันทึกเส้นทางความเป็นมา
HISTORY OF KRABI PROVINCE
จัง หวัด กระบี่ ตั้งขึ้นประมาณปี พ.ศ. 2415 พระบาทสมเด็จ
พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ยกฐานะขึ้นเป็น “เมืองปกาสัย” และทรงพระราชทานนามว่า “เมืองกระบี่” แล้วโปรดเกล้าฯ ให้ตั้งที่ท�ำการอยู่ที่ต�ำบลกระบี่ใหญ่ (บ้านตลาดเก่า) ต่อมาในปี พ.ศ. 2418 ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้แยกเมืองกระบี่ออกจากการปกครองของเมืองนครศรีธรรมราช เป็นเมืองจัตวาขึ้นตรงต่อกรุงเทพมหานคร
52
SBL บันทึกประเทศไทย I กระบี่
.indd 52
9/12/2562 14:59:25
ยุคก่อนประวัติศาสตร์
กระบี่เคยเป็นชุมชนโบราณมาตั้งแต่ก่อนประวัติศาสตร์ โดยค้นพบ เครือ่ งมือยุคหินจ�ำนวนมากกระจัดกระจายทัว่ ไป และยังพบภาพเขียนสีโบราณ บนผนังถ�้ำหลายแห่ง ในเขตจังหวัดกระบี่โดยเฉพาะบริเวณอ�ำเภอคลองท่อม และในประวัติศาสตร์เมืองนครศรีธรรมราช อาณาจักรตามพรลิงค์ กระบี่ เป็นเมืองหนึ่งใน 12 นักษัตร มีตราประจ�ำเมืองเป็นรูปลิง “ปีวอก” KRABI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 53
53
9/12/2562 14:59:26
กระบี่ เมื อ งน่ า อยู ่ ผู้คนน่ารัก
สมัยกรุงศรีอยุธยาและกรุงธนบุรี
“เมื อ งกระบี่ ” หรื อ “บั น ไทยสมอ” มี ส ภาพเป็ น ชุ ม ชนเล็ ก ๆ ขึ้ น อยู ่ กั บ เมื อ ง นครศรี ธ รรมราชมาอย่ า งยาวนาน เมื่ อ ถึ ง สมั ย รั ช กาลที่ 2 แห่ ง กรุ ง รั ต นโกสิ น ทร์ เจ้ า พระยานคร (น้ อ ย) ได้ ม อบหมายให้ ป ลั ด เมื อ งไปตั้ ง เพนี ย ดคล้ อ งช้ า ง ที่ ก ระบี่ อยูเ่ ป็นเวลานาน ท�ำให้มผี คู้ นอพยพตามเข้าไปตัง้ หลักแหล่งมากขึน้ จนกลายเป็นชุมชนใหญ่ ต่อมาจึงยกฐานะขึ้นเป็น “แขวงเมืองกาสัย หรือ ปกาสัย” พ.ศ. 2415 พระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว ทรงพิ จ ารณาเห็ น ว่ า แขวงเมืองปกาสัย มีความเจริญพอที่จะยกฐานะเป็นเมืองได้ จึงโปรดให้ยกขึ้นเป็นเมือง และพระราชทานนามว่า “กระบี่” ขึ้นอยู่กับเมืองนครศรีธรรมราช จนถึงปี พ.ศ. 2418 โปรดฯ ให้เมืองกระบี่เป็นเมืองจัตวา ขึ้นตรงต่อกรุงเทพฯ ในฐานะ “หัวเมืองฝ่ายทะเล ตะวันตก” โดยอยู่ใต้การดูแลของสมุหพระกลาโหม หลังจากจัดให้มีการปกครอง แบบมณฑลเทศาภิบาลขึ้น จึงได้โอนไปขึ้นกับมณฑลภูเก็ตเมื่อปี พ.ศ. 2438
สมัยกรุงรัตนโกสินทร์
พ.ศ. 2433 พระยารัษฎานุประดิษฐ์ (คอ ซิบบี้ ณ ระนอง) สมุหเทศาภิบาล ประสงค์ จะให้เมืองอยูใ่ กล้กบั ท่าเรือ สามารถติดต่อกับต่างประเทศได้สะดวก จึงได้ยา้ ยศาลากลาง จากตลาดเก่ามาตัง้ ณ ทีต่ งั้ ปัจจุบนั ต่อมาปี พ.ศ. 2475 ศาลากลางหลังเก่าทรุดโทรมมาก จึงได้ตั้งขึ้นใหม่ ณ ริมแม่น�้ำกระบี่ ต�ำบลปากน�้ำ ตรงข้ามที่ดั้งเดิม ไปทางทิศตะวันออก และมีการสร้างอาคารศาลากลางหลังใหม่ขึ้นอีกครั้ง เมื่อ พ.ศ. 2510 54
SBL บันทึกประเทศไทย I กระบี่
.indd 54
9/12/2562 14:59:30
ต�ำนานเมืองกระบี่
ความหมายของค�ำว่า “กระบี่” มีต�ำนานเล่าลือกันมาว่า ชาวบ้านได้ขุดพบมีดดาบ เล่มหนึ่ง ได้น�ำมามอบให้กับเจ้าเมืองกระบี่ ต่อมาไม่นาน ก็ขุดพบมีดดาษเล็ก อีกเล่มหนึ่ง รูปร่างคล้ายกับมีดดาบเล่มใหญ่ และได้น�ำมามอบให้กับเจ้าเมืองกระบี่ เช่นกัน เจ้าเมือง เห็นว่า ควรเก็บไว้เป็นดาบคู่บ้านคู่เมือง เพื่อเป็นสิริมงคล แต่เนื่องจากขณะนั้นยังสร้าง เมืองไม่เสร็จ จึงได้น�ำดาบไปเก็บไว้ในถ�้ำ “เขาขนาบน�้ำ” หน้าเมือง โดยวางไขว้กัน ลักษณะการวาง จึงกลายเป็นตราสัญลักษณ์ ประจ�ำจังหวัดกระบี่ นอกจากนี้ยังมีการสันนิษฐานเกี่ยวกับที่มาของชื่อ “กระบี่” ในความหมายที่แปลว่า “ลิง” ว่า เมืองกระบี่ก่อนแขวงเมืองปกาสัย เป็นที่ตั้งของเมือง “บันไทยสมอ” ซึ่งเป็น เมืองในสิบสองนักษัตร ขึ้นตรงต่อเมืองนครศรีธรรมราช และเมืองบันไทยสมอ ใช้ตราลิง เป็นตราประจ�ำเมือง โดยถือเอาความหมายแห่งเมืองหน้าด่านปราการ เพราะลิงในสมัยก่อน ถือว่ามีความองอาจกล้าหาญ เทียบเท่าทหารกองหน้า กระบี่เป็น “เมืองช้าง” มาแต่โบราณ เพราะการตั้งเมืองก็เนื่องมาจากการตั้งเพนียด คล้องช้าง ของปลัดเมืองนครศรีธรรมราช เมื่อปี พ.ศ.2497 ชาวบ้านได้คล้องช้างที่ บ้านป่าหนองเตา ต�ำบลล�ำทับ ปัจจุบันคือบ้านป่างาม ต�ำบลดินอุดม คล้องช้างได้ 6 เชือก มีช้างเผือกรวมอยู่ด้วย 1 เชือก เป็นเพศผู้อายุประมาณ 4 ปี ให้ชื่อว่าพลายแก้ว ต่อมา เมื่อปี พ.ศ. 2499 ทางจังหวัดได้น้อมเกล้าฯ ถวายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และ ได้รับการสมโภชขึ้นระวาง ณ โรงช้างต้น พระราชวังดุสิต เมื่อปี พ.ศ. 2502 ได้นามว่า พระเศวตอดุลยเดชพาหน ภูมิพลนวนาถบารมีฯ เป็นช้างเผือกโท ขอบคุณข้อมูล : ส�ำนักงานจังหวัดกระบี่
KRABI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 55
55
9/12/2562 14:59:33
บันทึกเส้นทางท่องเที่ยว
หลงรั ก ทะเล...เซมา “กระบี่” ถ้ า คุ ณ เป็นคนหนึ่งที่หลง “รัก ทะเล” บอกได้ค�ำเดีย วว่าทะเลเมืองกระบี่ คือ สถานที่ ท่องเที่ยวในฝันของใครหลายๆคน ที่เป็น เช่น นี้ก็เพราะว่า... ทะเลของ เมื อ งกระบี่นั้นงดงามจริงๆ ไม่ไ ด้โม้ การัน ตีจากการเป็น สถานที่ถ ่ายท�ำภาพยนตร์ ฮอลลี วู ด ที่โด่งดังหลายต่อหลายเรื่อง ด้วยความงามของหาดทรายสีขาว น�้ำทะเลใสๆ ท�ำ ให้ก ระบี่มีมนต์เ สน่ห์ดึงดูด ท่องเที่ย วทั่วทุกมุมโลก
56
SBL บันทึกประเทศไทย I กระบี่
.indd 56
9/12/2562 14:59:34
เกาะพีพีเล
Ko Phi Phi Le “อ่าวมาหยา” ตั้งอยู่บนเกาะพีพีเล ในหมู่เกาะพีพี จังหวัดกระบี่ เป็นแหล่งท่องเที่ยวทางทะเลสุดฮิต สุดปัง เวอร์วังอลังการของธรรมชาติ ที่นักท่องเที่ยว ทั้งไทยและต่างชาตินิยมมาพักผ่อน โดยในแต่ละปี จะมีนักท่องเที่ยว ต่างแหแหนกันมาเพื่อชื่นชม ความงดงามของธรรมชาติที่เกาะแห่งนี้นับล้านๆ คน
เกาะพีพีดอน
Ko Phi Phi Don หลายท่านคงจะคุ้นตากับภาพบริเวณอ่าว 2 อ่าว ที่โค้งเป็นเวิ้งอ่าวคู่สวยงาม ในจังหวัดกระบี่ ซึ่งก็คือ อ่าวต้นไทรและอ่าวโละดาลัม บนเกาะพีพี บอกเลยว่า เห็นแต่ภาพคงไม่ฟินเท่ากับไปสัมผัสด้วยตัวเองแน่นอน และถ้าจะมาท่องเที่ยวกันแบบสบายๆ ชิลๆ ไม่ต้องเจอ กับสภาพอากาศไม่เป็นใจ แนะน�ำว่าช่วง เดือนกุมภาพันธ์ - เมษายน จะดีที่สุด
KRABI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 57
57
9/12/2562 14:59:35
น�้ำพุร้อนเค็ม @คลองท่อม Saline hot spring Khlong Thom
น�้ำพุร้อนเค็มคลองท่อม ต�ำบลห้วยน�้ำขาว อ�ำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่ เป็นแหล่งท่องเที่ยวยอดนิยมของผู้ที่ต้องการมาอาบน�้ำแร่ แช่น�้ำพุร้อน เพราะเชื่อกันว่าสามารถช่วยรักษาโรคต่างๆ เช่น เบาหวาน ปวดเมื่อยตามข้อกระดูก โรคไหลเวียนโลหิตและผื่นคันได้ โดยอุณหภูมิ ของน�้ำพุไม่ร้อนจนเกินไป แถมน�้ำใสสะอาด
58
SBL บันทึกประเทศไทย I กระบี่
.indd 58
9/12/2562 14:59:38
สระมรกต
Emerald Pool สระมรกต เป็นแหล่งท่องเที่ยว Signature ประจ�ำจังหวัดกระบีเ่ ลยก็วา่ ได้ เป็นสระน�ำ้ พุรอ้ น ที่มีความสวยงาม ตั้งอยู่ใจกลางป่าในอ�ำเภอ คลองท่อม จุดเด่นคือ น�้ำในสระใสเป็นสีเขียว มรกตอมฟ้า มีอุณหภูมิประมาณ 30 - 50 องศาเซลเซียส มากระบี่ถ้าไม่ไปเที่ยว สระมรกต ถือว่ายังมาไม่ถึง
ถนนคนเดินกระบี่
Krabi Walking Street บริเวณถนนมหาราช ซอย 8 เมืองกระบี่ จะละลานตาไปด้วยสินค้าพื้นเมืองมากมาย หลายชนิด รวมถึงอาหารคาวหวาน ไว้ให้ นักท่องเที่ยวได้มาแวะช้อป แวะชิม พร้อม เพลิดเพลินไปกับการแสดงดนตรี บนถนน คนเดินเมืองกระบี่ OPEN วันศุกร์ เสาร์ และ อาทิตย์ เวลา 17.00 - 22.00 น. KRABI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 59
59
9/12/2562 14:59:46
ชื่ น ชมความมหัศจรรย์ข องธรรมชาติ
เผยเส้นทางยามน�้ำลด เชื่อมทางเดิน 3 เกาะสวย
ทะเลแหวก
Thale Waek ทะลแหวก เมืองกระบี่ คงต้องยกให้เป็น Unseen Thailand ที่มีชื่อเสียงโด่งดัง มากที่สุด เป็นความน่าทึ่งของธรรมชาติในท้องทะเล เมื่อเวลาน�้ำลงบริเวณเกาะปอดะ เกาะทับ เกาะไก่ หรืออ่าวไร่เลย์ จะมองเห็นเนินทรายสีขาวละเอียดทอดตัวยาว ซึ่ง ถูกน�้ำพัดมากองรวมกันอยู่กลางทะเล จนท�ำให้เกิดปรากฎการณ์ที่ เรียกว่า “ทะเลแหวก” ซึ่งมีความสวยงามแปลกตา สร้างความฟินและประทับใจให้กับนักท่องเที่ยวอย่างมาก อุท ยานแห่ง ชาติห าดนพรัตน์ธารา - หมู่เกาะพีพี 60
SBL บันทึกประเทศไทย I กระบี่
.indd 60
9/12/2562 14:59:49
เกาะหม้อ
Ko Mo เกาะหม้อ เป็นหาดหินห่างจากเกาะทับ ออกไปประมาณ 70 เมตร หากน�้ำลดลงจะมี สันทรายเชื่อมต่อกัน สามารถเดินเท้าจาก เกาะหม้อไปยังเกาะทับ และ เกาะปอดะ ได้ ลักษณะเกาะเป็นโขดหิน ไม่มีชายหาดให้ขึ้น ไปบนเกาะ น�้ำทะเลใสสะอาด
เกาะทับ
Ko Tup เกาะทับ เป็นหนึ่งในหมู่เกาะที่เป็นที่นิยม มากที่สุดทั่วกระบี่ เกาะทับมีขนาดเล็กกว่า เกาะอื่นๆ ในกลุ่ม แต่ก็มีชายหาดที่ดีและ น�้ำที่ล้อมรอบท�ำให้เป็นจุดที่ยอดเยี่ยมส�ำหรับ การด�ำน�้ำดูปะการังที่มีความอุดมสมบูรณ์ของ ปลาเขตร้อนได้เป็นอย่างดี
เกาะปอดะ
Ko poda เปิดทุกวันศุกร์ - เสาร์ - อาทิตย์ เวลา 17.00 - 22.00 น. บริเวณถนนมหาราช ซอย 8 เมืองกระบี่ จะละลานตาไปด้วยสินค้า พื้นเมืองมากมายหลายชนิด รวมถึงอาหาร คาวหวาน ไว้ให้นักท่องเที่ยวได้มาแวะช้อป แวะชิม พร้อมเพลิดเพลินไปกับการแสดง ดนตรี บนถนนคนเดินเมืองกระบี่
KRABI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 61
61
9/12/2562 14:59:55
Let’s Go
Ko Kai
ตื่นตาตื่นใจกับเกาะที่ด้านปลายสุด มีหินแหลมสูงขึ้นไป มองดูแล้วมีลักษณะคล้ายคอไก่
“เกาะไก่” อยู่ใ นทะเลกระบี่หน้าอ่าวนาง ห่างจากฝั่ง ประมาณ 8 กิโลเมตร ถือเป็นจุดด�ำ น�้ ำที่ส วยงามแห่ง หนึ่ง ของ ทะเลกระบี่ เป็นจุดที่น�้ำ ทะเลใสปิ้ง มองเห็น ฝูง ปลาแหวกว่าย ไปมาจ�ำ นวนมาก จุดเด่นอีก อย่างหนึ่งก็คือ บริเวณปลายสุด ของเกาะจะมีหินแหลมๆ เมื่อมองแล้ว จินตนาการตามไป จะมี ลั กษณะคล้ายคอไก่ จึงได้ชื่อว่าเกาะไก่ นั่นเอง ต� ำบลอ่าวนาง อ�ำเภอเมืองกระบี่ จังหวัด กระบี่
62
SBL บันทึกประเทศไทย I กระบี่
.indd 62
9/12/2562 14:59:57
หาดไร่เลย์
Railay Beach หาดทรายขาวละเอียด วิวทิวทัศน์งดงาม โตรกผา หน้าผาต่างๆ ยังคงรอการมาพิชิตและ ท้าทายความตื่นเต้นจากนักท่องเที่ยวที่ชื่นชอบ การปีนป่ายหน้าผา และนั่งชมพระอาทิตย์ตก บอกเลยที่ “หาดไร่เลย์” มีครบทุกรส ทั้งได้ พักผ่อน ได้ชื่นชมความสวยงามของธรรมชาติ ได้ ท� ำ กิ จ กรรมสนุ ก ๆ ได้ เ ล่ น น�้ ำ ทะเลใสๆ ได้ออกก�ำลังกาย ได้หมดถ้าสดชื่น
KRABI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 63
63
9/12/2562 15:00:04
75 Million Year Shell Cemetery
สุสานหอย 75 ล้านปี “สุ ส านหอย” อยู่บริเ วณชายทะเลบ้านแหลมโพธิ์ ห่ า งจากตั ว เมือ งประมาณ 17 กิโลเมตร เป็น บริเวณที่มี ซากหอยอั ดแน่นจ�ำนวนมาก ผ่านกาลเวลามาหลาย สิ บ ล้ า นปี ท�ำให้มีลัก ษณะเป็นลานหินที่ก ว้างใหญ่ อยู ่ ริม ทะเล สร้างความสวยงามแปลกตาไปอีกแบบ
64
SBL บันทึกประเทศไทย I กระบี่
.indd 64
9/12/2562 15:00:06
นอกจากนี้บริเวณสุสานหอยยังมีตัวอย่างซากฟอสซิลของหอยทั้ง 3 แบบ และมีศูนย์บริการนักท่องเที่ยวไว้ให้บริการข้อมูลต่างๆ แก่นักท่องเที่ยวด้วย แต่เดิมบริเวณสุสานหอยแห่งนี้เคยเป็นหนองน�้ำจืดขนาดใหญ่ที่มีหอย อาศัยอยู่ เป็นจ�ำนวนมาก โดยเฉพาะหอยขมขนาดราว 2 ซม. ต่อมา เกิดการเปลี่ยนแปลงบริเวณพื้นผิวโลก น�้ำทะเลไหลเข้ามาท่วมบริเวณ หนองน�้ำจนหมด ท�ำให้ธาตุหินปูนในน�้ำทะเลหล่อเปลือกหอยใต้น�้ำ จนเป็นเนื้อเดียวกัน กลายเป็นแผ่นหินแข็งที่เรียกว่า Shelly Limestone หนาประมาณ 40 ซม. เมื่อแผ่นดินบริเวณนี้ถูกยกตัวสูงขึ้น ซากฟอสซิล เหล่านี้จึงปรากฎให้เห็นเป็นลานหินกว้างใหญ่ย่ืนลงไปในทะเล ซึ่งสุสาน หอยอายุหลายสิบล้านปีนี้มีเพียง 3 แห่งในโลกเท่านั้น
ค่าธรรมเนียมการเข้าชม คนไทย | เด็ก 10 บาท - ผู้ใหญ่ 20 บาท ต่างชาติ | เด็ก 100 บาท - ผู้ใหญ่ 200 บาท เปิด ให้เข้าชมตั้ง แต่ 08.30 น. - 17.00 น. ทุกวัน
KRABI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 65
65
9/12/2562 15:00:07
66
SBL บันทึกประเทศไทย I กระบี่
.indd 66
9/12/2562 15:00:18
ร้านอัญชลี
ร้านอาหารปักษ์ใต้ 100%
“ คัด สรรโดย ป้า อัญ เจ้า ต�ำหรับ อาหารปักษ์ ใต้ผู้มีป ระสบการณ์ยาวนานกว่า 30 ปี ” ลิ้มรสหลากหลายเมนู เช่น แกงส้ม ปลากะพงยอดมะพร้าวสูตรเด็ด ผัดสะตอกุ้ง ย�ำถั่วพลู ได้ที่ ร้านอาหารอัญ ชลี ถนนมหาราช จังหวัดกระบี่ “ป้าอัญ คัดสรรเพื่อคุณ”
315/5 ถนนมหาราช ต�ำบลปากน�้ำ เทศบาลเมืองกระบี่ 81000 |
.indd 67
075-611560,075-611561 |
ร้านอาหารอัญชลีกระบี67่
KRABI I SBL บันทึกประเทศไทย
9/12/2562 15:00:32
WOR K LI FE
องค์การบริหารส่วนจังหวัดกระบี่ “เมื อ งท่ อ งเที่ ย วคุ ณ ภาพ เกษตรอุ ต สาหกรรมยั่ ง ยื น สั ง คมน่ า อยู ่ ” วิสัยทัศน์องค์การบริหารส่วนจังหวัดกระบี่
ปัจจุบันปีการศึกษา 2562 โรงเรียนองค์การ บริ ห ารส่ ว นจั ง หวั ด กระบี่ เปิ ด สอนนั ก เรี ย น ระดั บ ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 1-6 จ� ำ นวน 25 ห้องเรียน รวม 597 คน
กิจกรรม/ผลงาน 1. จั ด กิ จ กรรมการเรี ย นการสอน ตาม หลักสูตรสถานศึกษาโดยครูและบุคลากรของ โรงเรียน และอาจารย์พิเศษ ผู้เชี่ยวชาญในสาขา ต่าง ๆ ให้ผู้เรียน มีความรู้ ทักษะได้มาตรฐาน ตรงตามตั ว ชี้ วั ด และเป้ า หมายของหลั ก สู ต ร และส่งเสริมการพัฒนาทักษะทุกมิติ เพื่อพัฒนา ผู้เรียนทุกคนให้เต็มตามศักยภาพ และความ ต้องการเน้นให้ผู้เรียนมีความสามารถในการ แสวงหาความรู้และสร้างสรรค์นวัตกรรม 2. กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนเพื่อ เพิ่มพูนความรู้และประสบการณ์ 3. ผลงานนักเรียนในปีงบประมาณ 2562 ปีการศึกษา 2561-2562
ผลงานทางด้านวิชาการ
นายสมศั ก ดิ์ กิ ต ติ ธรกุ ล นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดกระบี่
การพัฒนาและส่งเสริมการศึกษา ประจ�ำปี 2562 องค์การบริหารส่วนจังหวัดกระบี่ จัดท�ำ โครงการจั ด ตั้ ง โรงเรี ย นองค์ ก ารบริ ห ารส่ ว น จังหวัดกระบี่ ตามความต้องการของประชาชน จั ง หวั ด กระบี่ โดยพั ฒ นาการศึ ก ษาให้ กั บ เยาวชนทุกคนได้มีโอกาสรับการศึกษา เกิดองค์ ความรู้ ความสามารถเป็นต้นกล้าในการกลับ มาพัฒนาจังหวัดกระบี่ในอนาคต 68
SBL บันทึกประเทศไทย I กระบี่
โรงเรียนองค์การบริหารส่วนจังหวัดกระบี่ เปิดสอนในระดับมัธยมศึกษา โดยใช้หลักสูตร สถานศึกษาทีเ่ น้นวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และ ภาษาต่างประเทศ เพือ่ พัฒนาเยาวชนให้เป็นคน มีความรู้ ความสามารถระดับมาตรฐานสากล และมีศักยภาพในการประกอบอาชีพในอนาคต อย่างมีคณ ุ ภาพ เปิดรับนักเรียนครัง้ แรกในระดับ ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 1 จ�ำนวน 4 ห้อง ห้องเรียนละ 35 คน รวม 140 คน ในปีการศึกษา 2555
1.ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ขั้ น พื้ น ฐาน ปี 2561 (O-NET) ระดั บ ชั้ น มัธยมศึกษาปีที่ 3 2. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 สอบเข้า มหาวิ ท ยาลั ย ได้ ร ้ อ ยละ 100 ในสาขาวิ ช าที่ นักเรียนสนใจและมีความถนัด 3.การแข่งขันโครงการประเมินและพัฒนา ความเป็นเลิศทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ (TEDET) ปี 2561 4. การแข่ ง ขั น เพชรยอดมงกุ ฎ ครั้ ง ที่ 1 ระดับ ม.ต้น 5. การแข่ ง ขั น เพชรยอดมงกุ ฎ ครั้ ง ที่ 1 ระดับ ม.ปลาย 6. การแข่ ง ขั น ทั ก ษะภาษาอั ง กฤษระดั บ ภาคใต้ (SEC) ครั้งที่ 2 ระดับ ม.ต้น (ม.1-3)
7. การแข่งขันทางวิชาการ ระดับนานาชาติ ประจ�ำปี 2562 8.การแข่ ง ขั น โครงการแข่ ง ขั น คนเก่ ง ใน โรงเรียนท้องถิ่น ระดับประเทศ ประจ�ำปีการ ศึกษา 2561 9. การแข่งขัน มอ.วิชาการ ที่มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี 10. การแข่ ง ขั น Thailand CANSAT -ROCKET Competition 2019 ได้เข้าร่วมการ แข่งขันรอบชิงชนะเลิศ 11. โครงการมหิงสาสาบสืบ ของกรมส่ง เ ส ริ ม คุ ณ ภ า พ สิ่ ง แว ด ล ้ อ ม ก ร ะ ท ร ว ง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 12. การแข่งขันทักษะทางวิชาการ ระดับ ภาคใต้ ครั้งที่ 15 ประจ�ำปีการศึกษา 2562 13. การแข่งขันโครงการแข่งขันคนเก่งใน โรงเรียนท้องถิ่น ระดับประเทศ ประจ�ำปีการ ศึกษา 2562 ระดับชั้น ม.2 14.การแข่งขันทักษะทางวิชาการ ระดับ ประเทศ ประจ�ำปี 2562 15. การแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 69 จังหวัดกระบี่ ปีการศึกษา 2562
การแข่งขัน Thailand CANSAT -ROCKET Competition 2019
ทุ่งสงวิชาการ
ผลงานด้านกีฬา การแข่งขันกีฬานักเรียนนักศึกษาเยาวชน และประชาชนจั ง หวั ด กระบี่ “เหลื อ งกระบี่ เกมส์” นางสาววรรณพร คงทน เข้าร่วมแข่งขัน ว่ายน�้ำ ได้รับรางวัลชนะเลิศอันดับ 1 จ�ำนวน 6 รายการ และนายภวัต เก้าเอี้ยน เข้าร่วม แข่งขันว่ายน�้ำ ได้รับรางวัลชนะเลิศอันดับ 1 จ�ำนวน 2 รายการ ชนะเลิศอันดับ 2 จ�ำนวน 2 รายการ และชนะเลิ ศ อั น ดั บ 3 จ� ำ นวน 2 รายการ
วงโยธวาทิต
ด้านดนตรีสากลและดนตรี ไทย การแข่งขันประกวดวงโยธวาทิตชิงแชมป์ ภาค ประจ�ำปี 2562 ณ จังหวัดพังงาได้รับ รางวั ล เหรี ย ญเงิ น ประเภทการเดิ น ขบวน พาเหรดจัดโดย กรมพลศึกษา กระทรวงการ ท่องเที่ยวและกีฬา
KRABI I SBL บันทึกประเทศไทย
69
WOR K LI FE
อ�ำเภอเมืองกระบี่ “เชื่ อ มั่ น ศรั ท ธา ร่ ว มพั ฒ นาเมื อ งกระบี่ ” วิสัยทัศน์นายอ�ำเภอเมืองกระบี่
พันธกิจ 1. พัฒนาเมืองกระบี่ให้เป็นศูนย์กลางการ ท่องเที่ยวของจังหวัดกระบี่ 2. พัฒนาการเกษตรและคุณภาพชีวิตของ ประชาชนอย่างยั่งยืน 3. บนพืน้ ฐานการพัฒนาตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง
ข้อมูลทั่วไป
นายศรั ท ธา ทองค�ำ นายอ�ำเภอเมืองกระบี่
70
SBL บันทึกประเทศไทย I กระบี่
อ� ำ เภอเมื อ งกระบี่ เ ป็ น อ� ำ เภอหนึ่ ง ใน 8 อ�ำเภอ ของจังหวัดกระบี่ ตั้งอยู่ในเขตเทศบาล เมื อ งกระบี่ เป็ น ศู น ย์ ก ลางของจั ง หวั ด กระบี่ ที่ว่าการอ�ำเภอเมืองกระบี่ ตั้งอยู่เลขที่ 212 ถนน อุตรกิจ ต�ำบลปากน�้ำ อ�ำเภอเมืองกระบี่ จังหวัด กระบี่ ห่างจากศาลากลางจังหวัดกระบี่ ประมาณ 600 เมตร ทิ ศ เหนื อ ติ ด ต่ อ กั บ อ� ำ เภออ่ า วลึ ก อ�ำเภอเขาพนม จังหวัดกระบี่ ทิศตะวันออกติดต่อ กับอ�ำเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่ ทิศใต้ติดต่อ กับทะเลอันดามัน ทิศตะวันตกติดต่อกับอ�ำเภอ อ่าวลึก จังหวัดกระบี่ และทะเลอันดามัน อ�ำเภอ เมืองกระบี่ แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 10 ต�ำบล 59 หมู่บ้าน 14 ชุมชน คือ ต�ำบลทับปริก ต�ำบลเขาคราม ต�ำบลเขาทอง ต�ำบลไสไทย ต�ำบล อ่าวนาง ต�ำบลหนองทะเล ต�ำบลคลองประสงค์ ต�ำบลกระบี่น้อย และในเขตเทศบาลเมืองกระบี่ 2 ต�ำบล คือ ต�ำบลปากน�้ำ และ ต�ำบลกระบี่ใหญ่ (14 ชุมชน) ประชากรอ�ำเภอเมืองกระบี่จากฐาน ข้อมูลส�ำนักทะเบียนกลาง เดือนธันวาคม 2561 รวมทั้งสิ้น 72,048 คน (ชาย 35,669 คน : หญิง 36,379 คน)
สถานที่ท่องเที่ยวส�ำคัญ อ�ำเภอเมืองกระบี่ จังหวัดกระบี่ มีสถานที่ ท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงหลายแห่ง มีหาดทราย ขาวสวย น�้ำทะเลใส ถ�้ำ หมู่เกาะน้อยใหญ่เป็น 100 เกาะ และเป็ น ที่ ตั้ ง ของเรื อ นรั บ รองที่ ประทับแหลมหางนาค ซึ่งในแต่ละปีมีนักท่อง เที่ยวเดินทางมาจากทั่วทุกมุมโลก เพื่อมาสัมผัส บรรยากาศดินแดนมรกตแห่งอันดามัน สร้าง รายได้ให้ผู้ประกอบการท่องเที่ยวของจังหวัด กระบี่มากมาย นับได้ว่ามาที่เดียวเที่ยวครบ ทั้ง ภูเขา น�้ำตก ทะเล สถานที่ท่องเที่ยวส�ำคัญของ อ�ำเภอเมืองกระบี่ จังหวัดกระบี่ ได้แก่
4. สุสานหอย 75 ล้านปี
5. หาดนพรัตน์ธาราและอ่าวพระนาง
7. หมู่เกาะพีพี
8. น�้ำตกห้วยโต้
1. เขาขนาบน�้ำ
6. เกาะต่างๆ
2. วัดถ�้ำเสือ
3. เขาหงอนนาค
9. ท่าปอมคลองสองน�้ำ
ได้แก่ เกาะปอดะ เกาะไผ่ เกาะไก่ ทะเลแหวก เกาะทั บ เกาะหม้ อ เป็ น ที่ ด� ำ น�้ ำ ดู ป ะการั ง ดู ป ลาสวยงาม ซึ่ ง มี ใ ห้ ช มตลอดทั้ ง ปี และ หาดไร่เลย์ มีจุดเด่นของผาหินปูนมากมาย เป็น สถานที่จัดกิจกรรม “ปีนผาหารัก” จดทะเบียน สมรสในวันวาเลนไทน์ 14 กุมภาพันธ์ของทุกปี มีคู่รักทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติมาร่วมและ ชมกิจกรรมมากมาย และยังเป็น สถานที่จัด กิจกรรมการแข่งขันปีนผาในเดือนเมษายนของ ทุกปีอีกด้วย 14 กุมภาพันธ์ ของทุกปี กิจกรรม “ ปีนผาหารัก”
KRABI I SBL บันทึกประเทศไทย
71
ศิลป์สร้างกระบี่ ที่นี่...เมืองศิวิ ไลซ์
Art build Krabi. This place…the civilized city
เทศบาลเมืองกระบี่ โดยการน�ำของนายกีรติศักดิ์ ภูเก้าล้วน นายกเทศมนตรีเมืองกระบี่ ซึ่งเป็นนายกเทศมนตรีมาตั้งแต่ พ.ศ. 2528 – ปัจจุบัน ได้น�ำแนวคิดทางประวัติศาสตร์ ศิลปะและวัฒนธรรมในอดีตของเมืองกระบี่ (Design Story) เสนอผ่าน ประติมากรรม (sculpture) และพิพิธภัณฑ์เมือง (Museum) ด้วย “การน�ำศิลปะ มาสร้างเมืองกระบี่” สร้างความเหมือนที่แตกต่าง (Differentiation Strategy) ซึ่งท�ำให้เกิดความได้เปรียบในการแข่งขัน (Competitive Advantage) โดยอาศัยความร่วมมือจาก ทุกภาคส่วนในการขับเคลื่อน จนกลายเป็น “นวัตกรรมด้านการท่องเที่ยว” ที่ไม่เหมือนใคร สร้างจุดขายท�ำให้มีนักท่องเที่ยว หลั่งไหลเข้ามาเมืองกระบี่จ�ำนวนมากและสร้างรายได้ให้แก่ประชาชนในท้องถิ่น Krabi Municipality by the leading of Mr.Kiratisak Phukaoluan, Krabi mayor, who has been a mayor since B.E.2528 till today, had brought an idea regarding history, art and culture of Krabi in the past (Design Story), then expressed it through sculptures and museum of this city via the concept “Using art to build Krabi city” and differentiation strategy which cause competitive advantage by using cooperation from every segment on the propulsion until it became unique “Travel innovation” which build selling point that make many tourists travelled to Krabi which make money for locals.
“เที่ยวเมืองกระบี่เพลินกาย ศิลปะเพลินใจ.... ....กระบี่ต้องมา ครั้งเดียวไม่เคยพอ”
72
SBL บันทึกประเทศไทย I กระบี่
กระบี่
มีดีต้องมา
ตามรอยประติมากรรมเมืองกระบี่ “เที่ยวกระบี่...มีดีมากกว่าทะเล”
Tracking the trace of sculpture of Krabi town “Taking a trip to Krabi…You can discover nice things other than sea”
Krabi
เมื่อมากระบี่แล้วไม่ได้ถ่ายรูปกับ “ปูด�ำ” แสดงว่ายังมาไม่ถึงจังหวัดกระบี่ และถ้าอยากมี 2 ชีวิต เหมือนนก อินทรี จะต้องไปลอดซุ้มนกอินทรี ที่ไม้มะหาดและนกอินทรี “เสียงเพลงแห่งอันดามัน” When travelling to Krabi but did not take a photo with “Black crab”, it means that you are not truly arrived at Krabi. Moreover, if you want to have 2 lives like an eagle, you must go under the eagle arch, “Song of Andaman” which made of Mahad wood.
Krabi Art City
จังหวัดกระบี่ ได้รับการประกาศ ให้เป็น 1 ใน 3 ของ “เมืองศิลปะ” ในประเทศไทย และได้รับเลือกจากรัฐบาลให้จัดแสดงงานศิลปกรรมร่วม สมัยนานาชาติระดับโลกขึ้นเป็น ครั้งแรกของประเทศไทย Krabi province was announced to be 1 of the 3 of “Art city” in Thailand. In addition, it was also chosen by government to be a place for exhibiting the national contemporary work of art for the first time in Thailand. KRABI I SBL บันทึกประเทศไทย
73
ศูนย์การเรียนรู้วัฒนธรรมอันดามัน จังหวัดกระบี่ Andaman Cultural Learning Center
กระบี่ าทะเล”
เป็นแหล่งเรียนรู้ทางด้านประวัติศาสตร์ ศิลปะและวัฒนธรรม ของ จังหวัดและกลุ่มภาคใต้ฝั่งอันดามัน สร้างขึ้นเพื่อต้องการบอกเล่าเรื่อง ราวต่างๆ ของเมืองกระบี่ และเชื่อมโยงความเป็นมาในอดีตตั้งแต่ยุคก่อน ประวัติศาสตร์ ที่ถ่ายทอดผ่านกาลเวลาจนถึงปัจจุบัน รวมทั้งเป็นสถาน ที่น�ำเสนอผลงานทางศิลปะที่ผ่านการสร้างสรรค์โดยศิลปินที่มีชื่อเสียง ของไทยทุกแขนง สามารถเข้าชมฟรีทุกจันทร์ – วันเสาร์ เวลา 09.0016.00 น. โดยภายในศูนย์การเรียนรู้วัฒนธรรมอันดามันแห่งนี้ ประกอบ ด้วย 6 อาคาร คือ
1
พิพิธภัณฑ์ลูกปัดอันดามัน (Andaman Beads Museum)
74
SBL บันทึกประเทศไทย I กระบี่
It is historical, artistic and cultural learning center of Krabi and other southern provinces on the coast of Andaman sea. It was built for telling various stories of Krabi and connecting history of prehistorical period that had been passed on through time until today. It is also the place for presenting works of art that were created by Thai famous artists. The exhibition is free of charge, it is opened Monday – Saturday, at 09.00 am and closed at 16.00 pm which inside this Andaman cultural learning center is divided into 6 buildings.
5 อาคารสาธิตการผลิตลูกปัด (Beads Production Building)
2 หอศิลป์อันดามัน
(Andaman Arts Museum)
3 อาคารแสดงนิทรรศการหมุนเวียน 1 และ 2 (Exhibition Hall 1,2)
6
ห้องจ�ำหน่ายสินค้าที่ระลึก (Andaman Souvenir shop)
Andaman Cultural Learning Center
4
โรงเรียนต้นกล้าอันดามัน
(Ton-Gla Andaman School)
Tel : 0-7562-1359 , 09-7180-0654 Facebook : ศูนย์การเรียนรู้วัฒนธรรมอันดามัน E-mail : krabiartmuseum@gmail.com
www. Museumkrabi.com ศูนย์การเรียนรู้วัฒนธรรมอันดามัน
KRABI I SBL บันทึกประเทศไทย
75
กระบี่…เมืองสิ่งแวดล้อมยั่งยืน
Krabi…City of the sustainable environment
การจัดการสิ่งแวดล้อมเทศบาลเมืองกระบี่ แหล่งเรียนรู้เพื่อมุ่งสู่การเป็นเมืองสังคมสีเขียวในระดับประเทศและภูมิภาคอาเซียน มีรูปแบบการจัดการ สิ่งแวดล้อมอย่างมีส่วนร่วม และเป็นพื้นที่ต้นแบบและเมืองต้นแบบสิ่งแวดล้อมยั่งยืน จนได้รับรางวัลชนะเลิศ เทศบาลน่าอยู่อย่างยั่งยืนยอดเยี่ยมระดับ ประเทศ ประจ�ำปี 2555 และรางวัลชนะเลิศ เมืองสิ่งแวดล้อมยั่งยืนในประเทศ ประเภทเทศบาลขนาดใหญ่ โดยมีการบริหารจัดการเพื่ออนุรักษ์พื้นที่ ชุ่มน�้ำ ซึ่งเป็นแหล่งทรัพยากรธรรมชาติที่สมบูรณ์ และมีความหลากหลายทางชีวภาพ ถือเป็นแหล่งทรัพยากรอันมีค่าของเมืองกระบี่ รวมถึงการบริหาร จัดการของเสียหรือมลพิษอย่างมีประสิทธิภาพ การเพิ่มพื้นที่สีเขียวด้วยการสร้างสวนสวนสาธารณะ ปลูกไม้ยืนต้น ปรับภูมิทัศน์ และการสร้างอัตลักษณ์ ของเมืองผ่านงานศิลปะ ชิ้นงานประติมากรรม เพื่อเป็นเอกลักษณ์อันงดงาม เพิ่มสีสันความมีชีวิตชีวา ให้เป็นที่น่าจดจ�ำของผู้มาเยือน รวมถึงการสร้าง สังคมสีเขียว ตอบโจทย์ชุมชนที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม Environmental management of Krabi Town Municipality, the learning center which aiming to be a city of green society in national and ASEAN level. The form of environmental management of this city is form of association which it is the model of land and city of sustainable environment that made it won the first place of excellent livable and sustainable municipality in B.E.2555. It also won the first place of sustainable environment city of Thailand. คลองสวย น�้ำใส ใต้ฟ้า สีคราม ป่าชายเลน อุดมสมบูรณ์
Beautiful canal, clear water, under azure sky, plentiful mangrove forest
“พื้ น ที่ ชุ ่ ม น�้ ำ ” แห่ ง แรกของเมื อ ง กระบี่ ล�ำดับที่ 4 ของประเทศไทยอันดับ ที่ 1,100 ของโลก ลักษณะเป็นป่าชาย เลนที่มีความอุดมสมบูรณ์ เป็นสถานที่ ศึกษาธรรมชาติ ของนักท่องเที่ยว The 1 st “Wetland” of Krabi town, 4th of Thailand and 1,100th of the world. It is an abundant mangrove forest which is the place for tourists to study about nature. 76
SBL บันทึกประเทศไทย I กระบี่
เส้นทางสายบุญ อลังการวัดแก้ว โกรวาราม พระอารามหลวง
Path of virtue, dignified Wat Kaew Korawaram, royal monastery
วัดแก้วโกรวาราม พระอารามหลวงชั้นตรีและเป็น วัดประจ�ำจังหวัดกระบี่ ที่มีความงดงามในรูปแบบของ สถาปัตยกรรมอันทรงคุณค่า Wat Kaew Korawaram, lowest level of royal monastery and it is the provincial temple of Krabi province that has gorgeousness in the form of valuable architecture.
ขุนเขา ต�ำนานไพร และไอหมอก “สวนพฤกษาสวรรค์” พฤกษาหลากสีสัน สวนสวรรค์ของเมืองกระบี่ Legend of forest and fog “Park of heavenly plant”Colorful plants, heavenly park of Krabi town
เป็ น สวนป่ า ธรรมชาติ มี ลั ก ษณะเป็ น ภู เขาขนาดย่ อ ม จุ ด สู ง สุ ด บนยอดเขาสามารถมองเห็ น ทั ศ นี ย ภาพเมื อ งกระบี่ ไ ด้ 360 องศา มีพฤกษานานาพรรณ และ “มอส” พืชขนาดเล็ก ขึ้นปกคลุม อากาศเย็นสดชื่นตลอดทั้งปี It is natural forest park. The landscape is small mountain which you can see panorama scenery on top of this mossy mountain. There are also various kinds of plant and the air is always cool and pleasant throughout the year.
เปลี่ยนน�้ำเสีย เป็ นน�้ำใส เราคนไทย ต้องร่วมมือ
ภาพถ่ายจาก : คุณกีรติศักดิ์ ภูเก้าล้วน นายกเทศมนตรีเมืองกระบี่
Converting wastewater to clear water, we, people of Thailand must cooperated
ส�ำนักงานจัดการน�้ำเสียสาขากระบี่ สามารถรองรับน�้ำเสียได้ 12,000 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน เมื่อวันที่ 16 สิงหาคม 2562 เทศบาลเมืองกระบี่ ได้รับรางวัลการบริหารจัดการน�้ำเสียยอดเยี่ยม ประเภทระบบบ�ำบัดน�้ำเสียชุมชนรวม Wastewater treatment office, Krabi branch is able to handle 16,000 cubic meters of wastewater per day. On 16 August B.E.2562 Krabi Town Municipality was awarded an excellent wastewater management, in the type of wastewater treatment system of community.
“ ธารา ” สวนสวยใจกลางเมือง
“Thara” The gorgeous park in middle of the town,
พื้นที่สีเขียว แมกไม้ สายน�้ำ และอาทิตย์อัสดงสถานที่พักผ่อนออก ก�ำลังกายของชาวเมืองกระบี่ ท่ามกลางบรรยากาศริมแม่น�้ำกระบี่ Green area, woods, stream and sunset The recreation place which people of Krabi used for exercising among the atmosphere of riverside by the Krabi River. KRABI I SBL บันทึกประเทศไทย
77
WOR K LI FE
องค์การบริหารส่วนต�ำบลอ่าวนาง “ประชาชนมี คุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ ดี เน้ น การมี ส ่ ว นร่ ว มของชุ ม ชน บนพื้ น ฐาน สภาพแวดล้ อ มและเมื อ งน่ า อยู ่ พร้ อ มเป็ น แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วที่ ยั่ ง ยื น ” วิสัยทัศน์ องค์การบริหารส่วนต�ำบลอ่าวนาง
นายพั น ค�ำ กิ ต ติ ธรกุ ล นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลอ่าวนาง
อ่าวนาง
78
SBL บันทึกประเทศไทย I กระบี่
ต� ำ บลอ่ า วนาง มี ร ะยะห่ า งจากตั ว เมื อ ง กระบี่ 16 กิโลเมตร มีพื้นที่ทั้งหมด 126 ตาราง กิโลเมตร เป็นพื้นดิน 50 ตารางกิโลเมตร พื้นน�้ำ 76 ตารางกิ โ ลเมตร ครอบคลุ ม 8 หมู ่ บ ้ า น มีประชากรทั้งสิ้น 14,180 คน จ�ำนวน 13,128 ครั ว เรื อ น และมี ป ระชากรแฝงประมาณ 20,000 คน ราษฎรส่ ว นใหญ่ นั บ ถื อ ศาสนา อิสลาม โครงสร้ า งทางเศรษฐกิ จ ที่ ส� ำ คั ญ คื อ เกษตรกรรม โดยพืชที่นิยมปลูกได้แก่ ยางพารา ปาล์มน�้ำมัน และสับปะรด รองลงมา ได้แก่ การ พาณิชย์ โดยเฉพาะทางด้านธุรกิจการท่องเที่ยว บริเวณเลียบชายหาดอ่าวนางตลอดแนวจะเป็น บริเวณศูนย์กลางย่านธุรกิจการค้าเกี่ยวกับการ ท่องเที่ยวและกิจการโรงแรม รวมทั้งกิจการ อื่นๆ นอกจากนี้ต�ำบลอ่าวนางยังมีย่านธุรกิจ โรงแรม รีสอร์ท เกิดขึ้นหนาแน่นบริเวณหมู่ที่ 2 บ้านอ่าวนาง หมู่ที่ 7 บ้านเกาะพีพี และ หมู่ที่ 8 บ้านแหลมตง
แหล่งท่องเที่ยวส�ำคัญ 1.หาดอ่าวนาง 2.หาดนพรัตน์ธารา 3.เกาะพีพี 4.ทะเลแหวก 5.อ่าวมาหยา 6.ไร่เลย์ 7.หาดถ�้ำพระนาง 8.เกาะปอดะ 9.เกาะไก่ 10. แหลมตง 11. เกาะไผ่ 12. อ่าวโล๊ะซามะ 13. อ่าวลิง 14. ท่องเที่ยวชุมชนบ้านนาตีน พักโฮมสเตย์ ออกเรื อ กั บ ชาวประมงพื้ น บ้ า น ตกหมึ ก การกรีดยาง การท�ำขนมพื้นเมือง ได้เรียนรู้วิถี ชี วิ ต มุ ส ลิ ม แห่ ง บ้ า นนาตี น ด้ ว ยความสงบ เรียบง่าย การได้ซึมซับวัฒนธรรมชาวใต้ผ่านวิถี เกาะปอดะ ชีวิตของชาวสวนยางและชาวประมง ชื่นชมชิ้น งานหัตถกรรมอันละเมียดละไมที่กลายเป็นของ ทีร่ ะลึกน่าซือ้ หา เช่น ผ้าบาติก เรือหัวโทงจ�ำลอง ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ก ะลามะพร้ า ว จากหมู ่ บ ้ า นเล็ ก ๆ ของชุมชนมุสลิมแบบดั้งเดิม
เกาะไผ่
เกาะพีพี
ถ�้ำไวกิ้ง
อ่าวมาหยา
ปิเละลากูน KRABI I SBL บันทึกประเทศไทย
79
โครงการด้านการส่งเสริมการท่องเที่ยว 2. โครงการก่ อ สร้ า งเขื่ อ นป้ อ งกั น การกั ด เซาะ ชายหาดอ่าวนาง หาดนพรัตน์ธารา และเกาะพีพี
1. โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์หาดอ่าวนาง หาดนพรัตน์ธารา ปรับปรุง ทางเดินเท้า ปลูกต้นไม้ พร้อมติดตั้งเสาไฟฟ้าสัญลักษณ์ปลาใบบริเวณ หาดอ่าวนาง หาดนพรัตน์ธารา
6. โครงการแข่งขันตกปลาทะเลอ่าวนางประจ�ำปี
8. โครงการผูกผ้าเรือหัวโทง
9. โครงการส่งเสริมการท่องเทีย่ ว ชุมชนตลาดสีเขียวนาตีนกรีนวิลเลจ
3. โครงการก่อสร้างสวนสาธารณะ และศูนย์บริการส่งเสริมการท่อง เที่ยวต�ำบลอ่าวนาง หมู่ 4 4. โครงการติดตั้งไฟฟ้าส่องสว่าง ถนนตลอดแนวชายหาดอ่าวนาง หาดนพรัตน์ธารา และเกาะพีพี 5. โครงการติดตั้งกล้องวงจรปิดเพื่อสร้างความปลอดภัยในชีวิตและ ทรัพย์สินของพี่น้องประชาชนและนักท่องเที่ยว
7. โครงการสักการะขอพรพระนาง เพื่อความเป็นสิริมงคล ณ ถ�้ำพระนาง อันศักดิส์ ทิ ธิแ์ ละปีนผาจดทะเบียนสมรสเพือ่ สร้างสีสนั ต้อนรับฤดูกาลท่องเทีย่ ว 80
SBL บันทึกประเทศไทย I กระบี่
10. โครงการจัดงานส่งท้ายปีเก่า ต้อนรับปีใหม่ อ่าวนางเค้าท์ ดาวน์ Aonang Countdown
กิจกรรม/ประเพณีประจ�ำปี งานผูกผ้าเรือหัวโทงอ่าวนาง พิธีผูกผ้าเรือ หัวโทงจัดขึ้นในเดือนพฤศจิกายน เป็นประจ�ำ ทุกปี เพื่อเปิดฤดูกาลท่องเที่ยวอ่าวนาง และ เป็ น การอนุ รั ก ษ์ ป ระเพณี ต ามความเชื่ อ ของ ท้องถิ่น เพื่อความเป็นสิริมงคลต่อการประกอบ อาชี พ เรื อ ให้ บ ริ ก ารนั ก ท่ อ งเที่ ย วทางทะเล โดยท�ำพิธีทางศาสนาอิสลามให้แก่เรือจ�ำนวน 407 ล�ำ
องค์การบริหารส่วนต�ำบลอ่าวนาง 255 หมู่ที่ 5 ต�ำบลอ่าวนาง อ�ำเภอเมือง จังหวัดกระบี่ 81180 โทรศัพท์ / โทรสาร : 0-7563-7146 ต่อ 22 office@aonang.go.th www.aonang.go.th KRABI I SBL บันทึกประเทศไทย
81
WOR K LI FE
องค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองทะเล “เมื อ งท่ อ งเที่ ย วที่ มี คุ ณ ภาพ แหล่ ง เกษตรกรรมที่ ยั่ ง ยื น บนพื้ น ฐานเศรษฐกิ จ พอเพี ย งชุ ม ชนมี ส ่ ว นร่ ว ม สู ่ สั ง คมน่ า อยู ่ ” วิสัยทัศน์ องค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองทะเล
“ชายหาดงามตา ภู ผ าหงอนนาค สะดื อ นาคน�้ ำ ผุ ด กว้ า งสุ ด บึ ง หนองทะเล” ค�ำขวัญ
นายสุ ข กาย จั น ทร์ อ ่ อ น นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองทะเล
ข้อมูลพื้นฐาน องค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองทะเล อยู่ในเขตต�ำบลท้องที่อ�ำเภอ เมืองกระบี่ จังหวัดกระบี่ ต�ำบลหนองทะเลตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของ อ�ำเภอเมืองกระบี่ ประมาณ 15 กิโลเมตร มีเนื้อที่ 63 ตารางกิโลเมตร แบ่งเป็น 7 หมู่บ้าน หมู่ที่ 1 บ้านหนองทะเล หมู่ที่ 2 บ้านคลองม่วง หมู่ ที่ 3 บ้านเกาะกวาง หมู่ที่ 4 บ้านแหลมสอม หมู่ที่ 5 บ้านในไร่ หมู่ที่ 6 บ้านดินแดงน้อย หมู่ที่ 7 บ้านเขากลม มีประชากรทั้งสิ้น จ�ำนวน 10,462 คน แยกเป็นชาย 5,319 คน หญิง 5,143 คน จ�ำนวนครัวเรือน 4,171 คน
นโยบายการดูแลรักษา อนุรักษ์ ฟื้นฟู ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จังหวัดกระบี่ ได้มีนโยบายภายใต้โครงการ “จังหวัดสะอาด” เพื่อรักษาอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ในพื้นที่ต�ำบลหนองทะเล ให้คงอยู่อย่างยั่งยืน เนื่องจากพื้นที่ต�ำบลหนองทะเล มีการพัฒนา ด้านการท่องเที่ยวโดยใช้ต้นทุนทางธรรมชาติ เป็นหลัก เช่น เขาหงอนนาค บึงหนองทะเล คลองหรูด และชายหาดต่างๆ เป็นต้น จ า ก ค ว า ม ส� ำ คั ญ ข ้ า ง ต ้ น ท� ำ ใ ห ้ เ กิ ด 82
SBL บันทึกประเทศไทย I กระบี่
ซ้าย นายชนะ เริงสมุทร์ รองนายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองทะเล ขวา นายวราพงษ์ เกบุตร รองนายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองทะเล
กระบวนการผลั ก ดั น ร่ ว มกั น บู ร ณาการจาก หน่วยงานทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ประชาชนใน พื้นที่ตำ� บลหนองทะเล และองค์การบริหารส่วน ต� ำ บลหนองทะเล ได้ ด� ำ เนิ น การขึ้ น เองและ บู ร ณาการร่ ว มกั บ หน่ ว ยงานต่ า งๆ ใน ปีงบประมาณ 2562 ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ • โครงการร่วมกับภาครัฐ ได้แก่ กิจกรรม Big Cleaning Day โครงการท�ำดีด้วยหัวใจ ดูแลสิ่งแวดล้อม การได้รับรางวัลองค์กรปลอด โฟมบรรจุอาหาร 100% ประเภทหน่วยงาน
ราชการ รางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 2 และ กิจกรรม “Krabi Car Free Day 2019” ร่วม กับองค์การบริหารส่วนจังหวัดกระบี่ เพื่อให้ คนในพื้นที่ ให้รู้จักการใช้พลังงาน ลดการสิ้น เปลือง • โครงการที่ บู ร ณาร่ ว มกั บ ภาคเอกชน ได้แก่ โครงการคนหาดทิพย์ มีจิตอาสา ร่วมลด ขยะชุมชน ประจ�ำปี 2562 • องค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองทะเล ได้คิดริเริ่มและเป็นผู้ด�ำเนินงานขึ้นเอง ได้แก่
6.
โครงการ Big Cleaning Day หนองทะเล สะอาดตา โครงการ Krabi Naga Fest 2019 ภายใต้การจัดกิจกรรมการเดิน – วิ่ง พิชิตเขา หงอนนาค ครั้งที่ 10 ซึ่งร่วมกันเก็บขยะและคัด แยกขยะ โครงการจัดการขยะ เพื่อสุขภาวะ และสิ่งแวดล้อม โครงการส่งเสริมอนุรักษ์ ฟื้นฟู ทรัพยากรน�้ำ และการจัดการน�้ำเสียในชุมชน และได้ มี ก ารตรวจคุ ณ ภาพแหล่ ง น�้ ำ ในพื้ น ที่ ต�ำบลหนองทะเล นอกจากนี้ยังมีการปลูกฝัง และส่งเสริมด้านการพัฒนาของเด็ก ให้มีความ รู้ด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม และความสะอาด บริเวณรอบศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
หาดคลองม่วง – ห
เขาหงอนนาค
บึงหนองทะเล
คลองหรูด
คลองน�้ำใส
สะพานลอยน�้ำหินเพิง
หาดคลองม่วง – หาดทับแขก
โครงการและกิจกรรมต่างๆ • โครงการ Krabi Naga Fest 2019
ประเพณี วัฒนธรรม โครงการเมาลิ ด กลาง ต�ำบลหนองทะเล และวัน แห่งครอบครัวคุรุสัมพันธ์ ฮิจเราะห์ศักราชที่ 1440
• กิจกรรมเดิน-วิ่ง พิชิตเขาหงอนนาค ครั้งที่ 10
โครงการเมาลิด
สินค้า OTOP ศูนย์พัฒนาอาชีพ OTOP จากใยสับปะรด
สินค้า OTOP KRABI I SBL บันทึกประเทศไทย
83
History of buddhism....
วัดแก้วโกรวาราม พระอารามหลวง สำ�นักปฏิบัติธรรมประจำ�จังหวัด
พระปัญญาวุธธรรมคณี ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดแก้วโกรวาราม
ประวัติความเป็นมา วัดแก้วโกรวาราม พระอารามหลวง ตั้งอยู่บนถนนอิศรา ต�ำบล ปากน�้ำ อ�ำเภอเมือง จังหวัดกระบี่ เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิด สามัญ เป็นศูนย์กลางพระพุทธศาสนาและเป็นส�ำนักปฏิบัติธรรม ประจ�ำจังหวัด 84
SBL บันทึกประเทศไทย I กระบี่
ประมาณ ปี พ.ศ. 2430 มีชาวพุทธประมาณ 200 ครัวเรือน เข้าไปตั้งถิ่นฐาน ณ บ้านปากน�้ำ (ตลาดเมืองกระบี่แถวถนนคงคา หรือตลาดล่างปัจจุบัน) เมื่อถึงวันพระ วันส�ำคัญทางศาสนาทาง ราชการและประชาชนจะไปนิมนต์พระจากวัดบ่อพอ วัดท่านุ่น ไปท�ำบุญหรือประกอบพิธีทางศาสนา ต่อมาประชาชนได้ร่วมกัน สร้างพ�ำนักสงฆ์ขึ้นบริเวณบ้านปากน�้ำ (พื้นที่บริเวณต้นสะเดา ใหญ่ หน้าซุ้มประตูแก้วโกรพปัจจุบัน) เพื่อให้พระสงฆ์ได้พักแรม เมื่ อ มี พ ระเข้ า ไปอยู ่ ป ระมาณ 3-4 เดื อ น ทางราชการและ ประชาชนจึงร่วมกันสร้างศาลา และกุฏิเพิ่มขึ้น แล้วเรียกขาน พ�ำนักสงฆ์ปากน�้ำ เนื่องจากหมู่บ้านปากน�้ำ ได้เลื่อนฐานะเป็น ต�ำบล เพราะทางราชการได้ย้ายเมืองกระบี่ (ศาลากลาง) จาก ต�ำบลกระบี่ใหญ่ (ตลาดเก่า) เข้าไปตั้ง ณ ต�ำบลปากน�้ำ (บริเวณ ที่ตั้งศาลากลาง, ศาล, ศาลหลักเมือง และส่วนราชการอื่นๆใน ปัจจุบัน) ประมาณ พ.ศ. 2440 ทางราชการ พ่อค้า ประชาชน
ต่างก็ร่วมกันบูรณะและสร้างพ�ำนักสงฆ์ปากน�้ำให้เป็นวัดสมบูรณ์ แบบ สมเป็นอารามประจ�ำจังหวัด เพื่อใช้เป็นที่ถือน�้ำพิพัฒน์สัตยา ของเหล่าข้าราชการด้วย เมืองกระบี่ขณะนั้นยังทุรกันดารมาก ตั้งแต่ พ.ศ. 2430-2450 หาพระไปอยู่ประจ�ำยาก มีพระหลายรูปที่ตั้งใจไป อยู่อย่างถาวร แต่เมื่อเข้าไปอยู่ประจ�ำเป็นไข้ป่าแทบจะเอาชีวิต ไม่รอด อยู่ได้รูปละ 1-3 ปีต้องลากลับถิ่นเดิม พ.ศ. 2450 พระแก้วโกรพ (หมี ณ ถลาง) ได้เป็นผู้ว่าราชการ จังหวัดกระบี่ พระแก้วโกรพ จึงติดต่อไปยังเทศาภิบาลมณฑลภูเก็ต ขอพระสมุห์กิ่ม พุทธรกฺขิโต วัดอนุภาษกฤษฎาราม (วัดเก็ตโฮ่) จังหวัดภูเก็ต ไปเป็นเจ้าอาวาส พ.ศ. 2450 พระแก้วโกรพได้น�ำ ข้าราชการ พ่อค้า ประชาชนร่วมกันบูรณปฏิสังขรณ์วัดปากน�้ำอย่าง จริงจัง เจ้าคณะมณฑลภูเก็ตได้ขนานนามวัดขึ้นใหม่ว่า “วัดแก้วโกร วาราม” ต่อมาพระสมุห์ก่ิม พุทธรกฺขิโต ได้รับพระราชทานตั้งสมณศักดิ์ เป็นพระครูธรรมาวุธวิศิษฐ์ สังฆปาโมกข์ ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา วัดแก้ว โกรวาราม มีพระอยู่ประจ�ำตลอดทั้งปี 10-15 รูป แต่เนื่องจากยังไม่ ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา พระสงฆ์จึงยังคงท�ำสังฆกรรมที่ อุทกุกเขปสีมา (สีมากลางน�้ำ) ซึ่งประชาชนสร้างถวายมาตั้งแต่ พ.ศ. 2439 หลั ง จากวั ด แก้ ว โกรวารามได้ ส ร้ า งอุ โ บสถ ผู ก พั ท ธสี ม า เมื่อ 9 มีนาคม 2467 แล้ว สีมากลางน�้ำจึงถูกทิ้งร้างไป
ในสมัยที่พระยาอิศราธิชัย เป็นผู้ว่าราชการจังหวัดกระบี่ ได้บัญชา การให้พัสดีเรือนจ�ำจังหวัดกระบี่น�ำก�ำลังไปสร้างอุโบสถ ร่วมกับพระ ภิกษุในวัด และอุโบสถหลังนั้นยังคงใช้ท�ำสังฆกรรมอยู่จนถึงปัจจุบัน สร้างศาลาโรงธรรม กุฏิเจ้าอาวาส โรงครัว แม้พระแก้วโกรพ(หมี) ซึ่ง ต่อมาเลื่อนบรรดาศักดิ์เป็นพระยาอิศราธิชัยได้เกษียณอายุราชการ ไปแล้ว ท่านยังคงเป็นก�ำลังส�ำคัญในการพัฒนาวัด เช่น ได้สร้าง ฌาปณสถานขึ้น พ.ศ. 2509 กรมการศาสนา ได้ประกาศให้วัดแก้วโกรวาราม เป็น วัดพัฒนาตัวอย่างระดับจังหวัด และ พ.ศ. 2513 พระบาทสมเด็จ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนี พั น ปี ห ลวง เสด็ จ พระราชด� ำ เนิ น บ� ำ เพ็ ญ พระราชกุ ศ ลวิ ส าขบู ช า ณ วัดแก้วโกรวาราม วัดจึงได้รับการพัฒนาครั้งใหญ่จากทางราชการ และประชาชนอีกวาระหนึ่ง พื้นที่ตั้งวัดแก้วโกรวาราม เมื่อ พ.ศ. 2451 มีประมาณ 50 ไร่ พระ สมุห์กิ่มจึงขออนุญาตพระแก้วโกรพขยายพื้นที่วัดออกไป 3 ด้านด้วย กัน คือ ด้านทิศตะวันออก, ทิศตะวันตก และทิศเหนือ โดยขอความ ร่ ว มมื อ จากประชาชน ในการบุ ก เบิ ก พื้ น ที่ ระยะเวลาที่ พ ระครู ธรรมาวุธวิศิษฐ์ (พระสมุห์กิ่ม) เป็นเจ้าอาวาสอยู่กว่า 20 ปี พื้นที่วัด แก้วโกรวาราม ได้ขยายออกไปปีละประมาณ 20-30 ไร่ ปัจจุบันมี เนื้อที่ 202 ไร่ 14 ตารางวา KRABI I SBL บันทึกประเทศไทย
85
History of buddhism....
เสนาสนะ 1.พระอุโบสถตั้งอยู่ทางด้านทิศตะวันออกเฉียงใต้ อยู่นอกก�ำแพง วัดปัจจุบัน พระอุโบสถหลังนี้ อ�ำนวยการสร้างโดยพระแก้วโกรพ (หมี ณ ถลาง) เมื่อพ.ศ. 2465 ลักษณะเป็นไม้ทั้งหลัง ขนาดกว้าง 12.67 เมตร ยาว 18.71 เมตร แม้จะสร้างมานานถึง 81 ปีแล้ว เมื่อ พ.ศ. 2513 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า สิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชด�ำเนินทรงบ�ำเพ็ญพระราช กุศลวิสาขบูชา ณ อุโบสถหลังนี้ 2.ศาลาการเปรียญเป็นตึกไม้ทรงไทย 2 ชั้น กว้าง 14 เมตร ยาว 25 เมตร ปัจจุบันเป็นห้องสังฆภัณฑ์ 3.ฌาปนสถาน ประกอบด้วย เมรุ 2 เตาเผาศพ ศาลาบ�ำเพ็ญกุศล เป็นตึกทรงไทยชั้นเดียวขนาดกว้าง 8 เมตร ยาว 24 เมตร จ�ำนวน 4 หลัง 4.โรงครัว (กัปปิยกุฎี) เป็นอาคาร ค.สล. 2 ชั้น ขนาดกว้าง 24 เมตร ยาว 26 เมตร ชั้นล่างใช้เป็นที่เลี้ยงอาหาร พระภิกษุ สามเณร ชั้นบนใช้เป็นห้องสมุดอาคารหลังนี้ มีห้องสุขาทั้ง 2 ชั้น ชั้นละ 8 ห้อง 5.ตึก (หอพักสามเณร) ขนาดกว้าง 10 เมตร ยาว 60 เมตร เป็น อาคาร ค.สล.ทรงไทย 3 ชั้น พระภิกษุสามเณร ครูอาจารย์ พักได้ ประมาณ 200 รูป 86
SBL บันทึกประเทศไทย I กระบี่
6.โรงเรียนพระปริยัติธรรม เป็นตึก 3 ชั้น ชั้นที่หนึ่ง กว้าง 14 เมตร ยาว 53 เมตร เป็นห้องโถงส�ำหรับใช้เอนกประสงค์ เช่น การ ประชุมของพระภิกษุสามเณร และของประชาชนในวันธรรมสวนะ และวันส�ำคัญอื่นๆ การจัดงานพิธีต่าง ๆ ชั้นที่ 2 ที่ 3 กว้าง 9 เมตร ยาว 53 เมตร ใช้เป็นห้องเรียนจ�ำนวน 10 ห้อง
âçàÃÕ¹¾ÃлÃÔÂѵԸÃÃÁÇÑ´á¡ŒÇâ¡ÃÇÒÃÒÁ
พระครู อคั รรัตนากร ผูจ้ ดั การ
ÃѺÊÁѤà : บรรพชาสามเณรภาคฤดูร้อน และ เรี ยนต่อใน โรงเรี ยนพระปริ ยตั ิธรรมวัดแก้วโกวาราม ระดับชั�นมัธยมศึกษาปี ที� 1-6 สมัครบรรพชาสามเณรภาคฤดูร้อน ตั�งแต่บดั นี� ถึง วันที� 1 เมษายน 2563 เสริ มสร้างคุณธรรม จริ ยธรรม งามลํ�ามารยาทพุทธ ใจบริ สุทธิ�ผอ่ งใส สื บสานไทยจารี ตประเพณี
ËÅÑ¡°Ò¹¡ÒÃÊÁѤÃ
1. หลักฐานการจบการศึกษา (ปพ.1, รบ) 2. สําเนาทะเบียนบ้าน 3. รู ปถ่ายขนาด 2 นิ�ว 6 รู ป
¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹
พระปั ญญาวุธธรรมคณี เจ้าอาวาสวัดแก้วโกรวาราม
¡íÒ˹´¡ÒúÃþªÒÊÒÁà³ÃÀҤĴÙÌ͹
วันที� 6 เมษายน 2563 เวลา 13.00 น. พิธีโกนผม/พิธีสมโภช วันที� 7 เมษายน 2563 เวลา 07.00 น. พิธีแห่นาค เวลา 09.00 น. พิธีบรรพชา
ÇÔÊÑ·Ñȹ
ศาสนทายาทที�มีความโดดเด่นด้านคุณธรรมด้วยคุณภาพภายใน ปี 2564 คุณธรรม = นักเรี ยนชั�น ม.3 สอบผ่านนักธรรมชั�นตรี นักเรี ยนชั�น ม.6 สอบผ่านนักธรรมชั�นเอก คุณภาพ = สอบผ่านมาตรฐาน O-net ผ่านคะแนน B-net ระดับ 70%
»ÃѪÞÒ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ
แผนกธรรม-บาลี ทนฺ โต เสฎโฐ มนุสฺเสสุ มีการสอนนักธรรมชั�นตรี โท เอก และ บาลี ไวยากรณ์ ในหมู่มนุษย์ คนที�ฝึกตนดีแล้ว เป็ นผูป้ ระเสริ ฐสุ ด ประโยค 1-2 เป็ นต้น แผนกสามัญศึกษา ¾Ñ¹¸¡Ô¨ เปิ ดทําการเรี ยนการสอนวิชาสามัญศึกษาระดับชั�นมัธยม จั ด การศึ ก ษาแบบบู ร ณาการ ศึกษาปี ที� 1-6 ตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ เพื�อสร้างศาสนทายาทอันเป็ น ทรัพยากรมนุษย์ที�มีคุณค่าสู่สงั คม ÈÑ¡´Ôì-ÊÔ·¸Ôì áÅÐ͹Ҥµ ผูจ้ บการศึกษาจากโรงเรี ยนพระปริ ยตั ิธรรม วัดแก้วโกรวาราม ภายใต้หลักการพระพุทธศาสนา สามารถไปเรี ยนต่อในระดับชั�นต่างๆ ได้ตามปกติทว�ั ไป หากจบ การศึกษาในระดับชั�นมัธยมศึกษาปี ที� 6 แล้วไม่ลาสิ กขา ประสงค์ จะเรี ยนต่อ วัดแก้วโกวารามให้ทุนการศึกษาต่อจนจบปริ ญญาตรี
พระครู รัตนสุ ตาทร ผูอ้ าํ นวยการ
·íÒÍ‹ҧäö֧䴌àÃÕ¹?
สําหรับเยาวชนทัว� ไปต้องสมัครบรรพชาสามเณรภาคฤดูร้อนก่อน และ เข้ารับการอบรม หลังจากรับการฝึ กอบรมแล้ว จึงสมัครเรี ยนต่อที�โรงเรี ยนพระปริ ยตั ิธรรมวัดแก้วโกรวาราม
ºØ¤Åҡ÷ҧ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ โรงเรี ยนพระปริ ยตั ิธรรมวัดแก้วโกรวาราม 1.พระครู อคั รรัตนากร น.ธ.เอก,พธ.บ. พธ.ม. (ผูจ้ ดั การ) 2.พระครู รัตนสุ ตาทร น.ธ.เอก,ป.ธ.4,พธ.บ.,ค.ม. (ผูอ้ าํ นวยการ) 3.นายสําเภา ทิพย์แก้ว น.ธ.เอก,ป.ธ.6,พธ.บ.,ค.ม. (รองผูอ้ าํ นวยการ) 4.พระปลัดสุ นทร คมฺ ภีรป�ฺ โญ น.ธ.เอก,ป.1-2,พธ.บ. (หัวหน้าฝ่ ายปกครอง) 5.นายปรี ชา เมืองสุ ข น.ธ.เอก,ป.ธ.5,พธ.บ.,รป.ม. (หัวหน้าฝ่ ายบุคคล) 6.นายวรพงศ์ พลเดช น.ธ.เอก,ป.1-2,พธ.บ.,ค.ม. (หัวหน้าฝ่ ายวิชาการ) 7.นายอดิศกั ดิ� ชนะเมือง น.ธ.เอก,ป.1-2,พธ.บ. (ครู ผสู ้ อน) 8.นายพรอํานาจ เอียดเขานุย้ น.ธ.เอก ,พธ.บ. (ครู ผสู ้ อน) 9.นายสุ ชาติ บุญแนบ น.ธ.เอก ,พธ.บ. (ครู ผสู ้ อน) 10.นางมัสรี ประมงค์ ค.บ. (ครู ผสู ้ อน) 11.นางสาวสุ จิตรา พงษ์เตรี ยง ค.บ. (ครู ผสู ้ อน) 12.นางสาวกรรณิ การ์ ชนะกุล ศษ.บ. (ครู ผสู ้ อน) 13.นางวิลาวัณย์ ทองมูณี วท.บ. (ครู ผสู ้ อน) 14.นางอารี นิ�มโอ วท.บ. (ครู ผสู ้ อน) 15.นางสาวกรรณิ การ์ นุ่นเก็ต ศศ.บ. (บรรณารักษ์) 16.นางสาววันวิสาข์ สุ ขจิตต์ ศศ.บ. (ครู ผสู ้ อน) 17.นางสาวกรรณิ กา หนูเขียว ค.บ. (ครู ผสู ้ อน) 18.นางสาวนงลักษณ์ เขียวกุง้ ศศ.บ. (ครู ผสู ้ อน)
รับสมัครเรียนตอชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1-6 ตั้งแต วันที่ 1 เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2563KRABIเปนI ตSBLนไป บันทึกประเทศไทย 87 โทร. 075-611252 สํานักงานวัด, 075-620535 โทรสาร 075-620537 โรงเรียนพระปริยัติธรรมวัดแกวโกรวาราม
History of buddhism....
กิจกรรมที่ทาง โรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดแก้วโกรวาราม จัดขึ้น
88
SBL บันทึกประเทศไทย I กระบี่
ปูชนียวัตถุที่ส�ำคัญ 1.รูปหล่อด้วยทองส�ำริด ขนาดเท่าองค์จริงของ พระธรรมวโรดม (เซ่ง อุตฺตโม) อดีตเจ้าคณะมณฑลภูเก็ต 2.รูปเหมือนเท่าองค์จริงของ พระครูธรรมาวุธวิศิษฐ์(กิ่ม พุทธรกฺขิ โต) เจ้าคณะจังหวัดกระบี่ เจ้าอาวาสวัดแก้วโกรวาราม รูปที่หนึ่ง 3.รูปเหมือนเท่าองค์จริงของ พระราชสุตกวี (สิงห์ จนฺทาโภ) เจ้า คณะจังหวัดกระบี่ เจ้าอาวาสสวัดแก้วโกรวาราม รูปที่สอง ประวัติ พระปัญญาวุธธรรมคณี (บริสุทธิ์ ขนฺติโก) พระปัญญาวุธธรรมคณี ฉายา ขนฺติโก อายุ 77 พรรษา 55 วิทยฐานะ นักธรรมชั้นเอก สถานะเดิม ชื่อ บริสุทธิ์ นามสกุล ทิพย์ แก้ว เกิดวันจันทร์ ขึ้น 12 ค�่ำ เดือน 7 ปีชวด ตรงกับวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2479 บิดา นายยก ทิพย์แก้ว มารดา นางด้วง ทิพย์แก้ว บ้าน เลขที่ 31 หมู่ที่ 8 ต�ำบลคลองพน อ�ำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่ อุปสมบท วันศุกร์ ขึ้น 9 ค�่ำ เดือน 8 ปีจอ ตรงกับวันที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2501 วัดนาวง ต�ำบลบางกุ้ง อ�ำเภอห้วยยอด จังหวัด ตรัง พระอุปัชฌาย์ พระครูอรรถสารสุนทร วัดนาวง ต�ำบลบางกุ้ง อ�ำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง วิทยฐานะ • พ.ศ. 2492 ส�ำเร็จชั้นประถมปีที่ 4 โรงเรียนบ้านหินเพิง ต�ำบลคลองพน อ�ำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่ • พ.ศ. 2511 สอบไล่ได้นกั ธรรมชัน้ เอก ส�ำนักเรียนคณะจังหวัด กระบี่ การศึกษาพิเศษทรงจ�ำพระปาฏิโมกข์ • พ.ศ. 2517 ส�ำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนพระสังฆาธิการ ส่วนภูมิภาค รุ่นที่ 1 ณ วัดกะพังสุรินทร์ อ�ำเภอเมือง จังหวัดตรัง • พ.ศ. 2538 ผ่ า นการอบรมถวายความรู ้ พ ระสั ง ฆาธิ ก าร
หลั ก สู ต ร การบริ ห ารและการจั ด การวั ด ณ วั ด ประชุ ม โยธี จังหวัดพังงา • พ.ศ. 2541 ผ่ า นการอบรมโครงการเสริ ม ความรู ้ ถ วาย พระสงฆ์เพื่อการพัฒนาสังคมไทย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ณ วัดประชุมโยธี จังหวัดพังงา • พ.ศ. 2506 - 2538 เป็นรองเจ้าอาวาสวัดแก้วโกรวาราม ต�ำบล ปากน�้ำ อ�ำเภอเมือง จังหวัดกระบี่ • พ.ศ. 2517 - 2528 เป็นเลขานุการเจ้าคณะจังหวัดกระบี่ • พ.ศ. 2519 - 2527 เป็นเจ้าคณะต�ำบลปกาสัย อ�ำเภอเมือง จังหวัดกระบี่ • พ.ศ. 2527 - 2531 เป็ น เจ้ า คณะต� ำ บลปากน�้ ำ -กระบี่ ใ หญ่ อ�ำเภอเมือง จังหวัดกระบี่ • พ.ศ. 2527 - ปัจจุบัน เป็นพระอุปัชฌาย์ • พ.ศ. 2528 - 2530 เป็นผู้รักษาการแทนเจ้าคณะอ�ำเภอเมือง กระบี่ จังหวัดกระบี่ • พ.ศ. 2531 - 2540 เป็นเจ้าคณะอ�ำเภอเมืองกระบี่ จังหวัดกระบี่ • พ.ศ. 2540 - 2547 เป็นเจ้าคณะจังหวัดกระบี่ • พ.ศ. 2540 - 2544 เป็นเจ้าอาวาสวัดห้วยโต้ ต�ำบลทับปริก อ�ำเภอเมือง จังหวัดกระบี่ • พ.ศ. 2543 - 2544 เป็นผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาสวัดแก้วโกร วาราม พระอารามหลวง อ�ำเภอเมือง จังหวัดกระบี่ • พ.ศ. 2544 - ปั จ จุ บั น เป็ น เจ้ า อาวาสวั ด แก้ ว โกรวาราม พระอารามหลวง อ�ำเภอเมือง จังหวัดกระบี่ โดยได้แต่งตั้งเลขานุการคือ พระปลัดบุญเลิศ ธมฺมรกฺโข ปัจจุบัน ด�ำรงสมณศักดิ์ที่พระครูอัครรัตนากร ผู้ช่วยเจ้าอาวาสและผู้จัดการ โรงเรียนพระปริยัติธรรมวัดแก้วโกรวาราม เข้ามารับผิดชอบเป็น ประธานดูแลผลประโยชน์วัดแก้วโกรวาราม KRABI I SBL บันทึกประเทศไทย
89
History of buddhism....
วัดกระบี่น้อย ศึกษาชาติพันธุ์และประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา ในพิพิธภัณฑ์พื้นบ้านศูนย์เรียนรู้ทางวัฒนธรรมของชุมชน
พระราชสุทธิวิมล (เลี่ยว ยโสธโร ,ดร.) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดกระบี่น้อย เจ้าคณะจังหวัดกระบี่
ประวัติความเป็นมา วัดกระบีน่ อ้ ย ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 101/1 บ้านกระบีน่ อ้ ย หมูท่ ี่ 6 ต�ำบลกระบี่ น้อย อ�ำเภอเมือง จังหวัดกระบี่ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีทดี่ นิ ตัง้ วัด เนือ้ ที่ 110 ไร่ มีทธี่ รณีสงฆ์ 1 แปลง เนือ้ ที่ 3 ไร่ 2 งาน ส.ค.1 เลขที่ 6 พืน้ ทีต่ งั้ วัดเป็นทีร่ าบสูง ล้อมรอบไปด้วยสวนผลไม้ อาคารเสนาสนะต่างๆ มี ศาลาการเปรียญ กว้าง 14 เมตร ยาว 18 เมตร สร้าง พ.ศ. 2493 90
SBL บันทึกประเทศไทย I กระบี่
วัดกระบีน่ อ้ ย สร้างขึน้ เมือ่ พ.ศ. 2458 โดยพระอธิการแดง ธมฺมจาโร ร่วมกับ ก�ำนันผู้ใหญ่บ้าน และพุทธศาสนิกชน ต่อมา พ.ศ. 2491 พระแคล้ว อุปกิตโฺ ต เจ้าอาวาส ได้สร้างศาลาการเปรียญ 1 หลัง และ เจ้าอาวาสรูปต่อมาได้พฒ ั นาวัดโดยการปลูกไม้ผลท�ำให้วดั ร่มรืน่ ขึน้ รายนามเจ้าอาวาส 1. พระอธิการแดง พ.ศ. 2458 – 2478 2. พระทอง พ.ศ. 2478 – 2490 3. พระแคล้ว พ.ศ. 2490 – 2504 4. พระครูใบฎีกาเวช ฉนฺทปญฺโญ พ.ศ. 2504 – 2527 5. พระราชสุทธิวมิ ล (เลีย่ ว ยโสธโร ,ดร.) พ.ศ. 2527 – ปัจจุบนั ประวัติ พระราชสุทธิวิมล (เลี่ยว ยโสธโร ,ดร.) พระราชสุทธิวมิ ล (เลีย่ ว ยโสธโร ,ดร.) เจ้าอาวาสวัดกระบีน่ อ้ ย และ เจ้าคณะจังหวัดกระบี่ เกิดเมือ่ วันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2490 อายุ 72 ปี ณ บ้านเลขที่ 12 หมูท่ ี่ 10 ต�ำบลกระบีน่ อ้ ย อ�ำเภอเมือง จังหวัดกระบี่ เป็นบุตรคนโต บิดา มารดา นายแจ และนางพริม้ ทองสาม วุฒกิ ารศึกษา น.ธ.เอก, ประโยค 1 - 2, ศึกษา พธ.บ., ศษ.ม., ศษ.ด. อุปสมบท วันที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2512 พรรษา 51 สังกัด มหานิกาย เมื่ออายุ 23 ปี ณ วัดธรรมาวุธสรนาราม ต�ำบลปกาสัย อ�ำเภอเมือง จังหวัดกระบี่ หลังจากบวชแล้วได้มาจ�ำพรรษาอยู่ที่ วัดกระบีน่ อ้ ย ปี พ.ศ. 2512 • พ.ศ. 2512 สอบได้นกั ธรรมชัน้ ตรี • พ.ศ. 2513 ได้มาเรียนต่อทีว่ ทิ ยาลัยสงฆ์ ภาคทักษิณ (วัดแจ้ง) ต�ำบลปากพูน อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช • พ.ศ. 2514 สอบได้นกั ธรรมชัน้ โท • พ.ศ. 2515 สอบได้นกั ธรรมชัน้ เอก ณ วิทยาลัยสงฆ์ ภาคทักษิณ • พ.ศ. 2517 เรียนจบระดับที่ 4 (ม.ศ.3) ณ วิทยาลัยสงฆ์ ภาคทักษิณ • พ.ศ. 2523 ได้เข้าเรียนต่อ ม.ศ.4 ทีว่ ทิ ยาลัยสงฆ์ ภาคทักษิณ • พ.ศ. 2524 ได้รบั เลือกให้เป็นประธานนักเรียน ณ วิทยาลัยสงฆ์ฯ • พ.ศ. 2525 ได้ขึ้นมาศึกษาต่อที่ มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย คณะวิทยาลัยครู • พ.ศ. 2526 เรียนจบทีว่ ทิ ยาลัยครูศาสนศึกษา • พ.ศ. 2528 ปริญญาตรี พุทธศาสตร์บณ ั ฑิต (พธ.บ.) วัดมหาธาตุ • พ.ศ. 2549 ปริญญาโท ศึกษาศาสตร์ มหาบัณฑิต (ศษ.ม.) ม.เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกระบี่ • พ.ศ. 2556 ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ ดุษฎีบัณฑิต (ศษ.ด.) ม.วงศ์ชวลิตกุล นครราชสีมา ต�ำแหน่งฝ่ายปกครอง • พ.ศ. 2529 เจ้าอาวาสวัดกระบีน่ อ้ ย • พ.ศ. 2530 เจ้าคณะต�ำบลปกาสัย • พ.ศ. 2541 เจ้าคณะอ�ำเภอเมืองกระบี่ • พ.ศ. 2547 เจ้าคณะจังหวัดกระบี่ KRABI I SBL บันทึกประเทศไทย
91
History of buddhism....
92
SBL บันทึกประเทศไทย I กระบี่
สมณศักดิ์ • พ.ศ. 2534 เป็น พระครูสัญญาบัตร เจ้าคณะต�ำบล ชั้นตรี ที่ พระครูกติ ยากร • พ.ศ. 2541 เป็น พระครูสญ ั ญาบัตร เจ้าคณะอ�ำเภอ ชัน้ โท ในราชทินนามเดิม • พ.ศ. 2547 เป็น พระครูสญ ั ญาบัตร เจ้าคณะจังหวัด ในราชทินนามเดิม • 5 ธันวาคม พ.ศ. 2548 เป็น พระราชาคณะชัน้ สามัญ ที่ พระวิมลธรรมคณี • 5 ธันวาคม พ.ศ. 2558 เป็น พระราชาคณะชัน้ ราช ที่ พระราชสุทธิวมิ ล โสภณวรกิจจาทร มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี หน้าทีก่ ารงาน • พ.ศ. 2518 เป็นครูสอนโรงเรียน บาลีสาธิตศึกษาวิทยาลัยสงฆ์ ภาคทักษิณ • พ.ศ. 2519 เป็นครูสอนโรงเรียนพุทธศาสนาวันอาทิตย์ วิทยาลัยสงฆ์ฯ • พ.ศ. 2520 เป็นบรรณารักษ์ ห้องสมุดวิทยาลัยสงฆ์ ภาคทักษิณ • พ.ศ. 2524 น� ำ คณะกรรมการนั ก เรี ย น ของวิ ท ยาลั ย สงฆ์ ฯ ออกแสดงธรรม เพื่อเผยแผ่ธรรมให้แก่ประชาชนทั่วทุกอ�ำเภอ ของจังหวัดนครศรีธรรมราช • พ.ศ. 2526 - 2527 เป็นครูสอนโรงเรียนพุทธศาสนาวันอาทิตย์ มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย • พ.ศ. 2547 แต่งตัง้ เป็น เจ้าคณะจังหวัดกระบี่ • พ.ศ. 2548 แต่งตัง้ เป็น พระราชาคณะ ในราชทินนาม พระวิมล ธรรมคณี • พ.ศ. 2558 แต่งตั้งเป็น พระราชาคณะชั้นราช ในราชทินนาม พระราชสุทธิวมิ ล
อุดมการณ์ เมือ่ ข้าพเจ้าจบการศึกษาแล้ว ต้องการท�ำงานให้เกิด ประโยชน์กบั พุทธศาสนาให้มากทีส่ ดุ เท่าทีจ่ ะมากได้ คือ จะกลับไป เปิดโรงเรียนสาธิตทีจ่ งั หวัดกระบี่ เพือ่ ให้เยาวชนของชาติทเี่ ข้ามา บวชในพระพุทธศาสนาได้ศกึ ษาเล่าเรียนทางธรรม และทางโลก ควบคูก่ นั ไป และนอกจากงานด้านนีแ้ ล้วก็พยายามเทศนาสัง่ สอน บุคคลทัว่ ๆไป เพือ่ ให้เข้าใจถูกต้องในค�ำสอนทางพระพุทธศาสนา เพื่อความเป็นพลเมืองดีของชาติ และเป็นพุทธบริษัทที่ดีของ พระศาสนาต่อไป KRABI I SBL บันทึกประเทศไทย 93
WOR K LI FE
อ�ำเภอเขาพนม “เขาพนมเมื อ งน่ า อยู ่ เศรษฐกิ จ รุ ่ ง เรื อ ง บ้ า นเมื อ งน่ า อยู ่ ฟื ้ น ฟู ธ รรมชาติ ปราศจากโรคภั ย ใฝ่ ก ารเรี ย นรู ้ / ควบคู ่ คุ ณ ธรรม น้ อ มน� ำ เศรษฐกิ จ พอเพี ย ง” วิสัยทัศน์การพัฒนา อ�ำเภอเขาพนม
ค�ำขวัญ “ต้ น น�้ ำ ชุ ม ทาง แผ่ น ดิ น กลางสามจั ง หวั ด พระราชด�ำริอ่างบางก�ำปรัด เรืองประวัติเจ้าแม่ มหัศจรรย์แท้ถ�้ำวิมานเมฆ”
ประวัติความเป็นมา ที่ ว ่ า การอ� ำ เภอเขาพนม ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 50 หมู่.7 ต�ำบลเขาพนม อ�ำเภอเขาพนม จังหวัด กระบี่ โทรศัพท์ 075-689455 FB : ที่ว่าการ อ�ำเภอเขาพนม อ�ำเภอเขาพนม จังหวัดกระบี่ ประวัติการจัดตั้งอ�ำเภอ เดิมอ�ำเภอเขาพนม เป็ น พื้ น ที่ ก ารปกครองของอ� ำ เภอเมื อ งกระบี่ จั ง หวั ด กระบี่ ต่ อ มาได้ จั ด ตั้ ง เป็ น กิ่ ง อ� ำ เภอ เขาพนม ตั้งแต่วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2511 โดยมี พื้นที่การปกครองดังนี้ 1. ต�ำบลเขาพนม 2. ต�ำบล เขาดิ น 3. ต� ำ บลสิ น ปุ น ต่ อ มา เมื่ อ วั น ที่ 15 มิถุนายน 2516 ได้ยกฐานะเป็นอ�ำเภอเขาพนม โดยปัจจุบันมีพื้นที่การปกครอง ดังนี้ 1. ต�ำบล เขาพนม 2. ต� ำ บลเขาดิ น 3. ต� ำ บลหน้ า เขา 4. ต�ำบลพรุเตียว 5. ต�ำบลสินปุน 6.ต�ำบลโคกหาร
นายนิ รัน ดร์ ปราบอั ก ษร นายอ�ำเภอเขาพนม
ประชากร จ� ำ นวนประชากรและจ� ำ นวนครั ว เรื อ นปี ปั จ จุ บั น (ข้ อ มู ล จากส� ำ นั ก ทะเบี ย นอ� ำ เภอ เขาพนม และเทศบาลต� ำ บลเขาพนม ณ เมษายน 2562) อ�ำเภอเขาพนม มีประชาชากร ทั้งสิ้น 55,487 คน แยกเป็นชาย 27,592 คน หญิง 27,760 คน มีครัวเรือนทั้งสิ้น 19,979 ครั ว เรื อ น (ข้ อ มู ล จากส� ำ นั ก ทะเบี ย นอ� ำ เภอ เขาพนมและเทศบาลต�ำบลเขาพนม ณ เดือน เมษายน 2562) ประกวด รพ.สต.ดีเด่นระดับประเทศ
94
SBL บันทึกประเทศไทย I กระบี่
สถานที่ท่องเที่ยวและเทศกาลส�ำคัญ
ล่องแก่งคลองพอถาก ม.9 ต.เขาดิน อ.เขาพนม จ.กระบี่
การส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ การ ท่องเที่ยวเชิงวิถีชีวิต เนื่องจากอ�ำเภอเขาพนม มีธรรมชาติแนวเทือกเขาต่างๆ มีถ�้ำน้อยใหญ่ และป่าไม้อุดมสมบูรณ์ มีล�ำคลองล�ำธารสวยๆ หล่อเลี้ยงพื้นที่ครอบคลุมอ�ำเภอเขาพนมและ อ�ำเภอใกล้เคียงไปสู่ลุ่มแม่น�้ำตาปี ซึ่งขณะนี้มี การพัฒนาสาธารณูปโภค เช่น ถนนหนทางไป สู่แหล่งท่องเที่ยว เพื่ออ�ำนวยความสะดวกแก่ ถ�้ำวิมานเมฆ ม.6 ต.หน้าเขา อ.เขาพนม จ.กระบี่ นั ก ท่ อ งเที่ ย วในอนาคต แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วเชิ ง โครงการอ่างเก็บน�้ำบางก�ำปรัดอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ นิเวศน์ ที่ส�ำคัญ คือ 1. ถ�ำ้ วิมานเมฆ ตัง้ อยูท่ ี่ หมูท่ ี่ 6 ต�ำบลหน้าเขา อ�ำเภอเขาพนม เป็นถ�้ำหินปูนและแร่ธาตุหลาก ชนิด ลักษณะเป็นห้องโถงแยกเป็นสัดส่วนรวม กว่า 10 ห้อง มีขนาดใหญ่กว้างประมาณ 50-60 เมตร ยาว 500-600 เมตร จ�ำนวน 2 ห้อง และ ห้องขนาดเล็กอีก จ�ำนวนกว่า 10 ห้อง แต่ละ ห้องมีหินงอกหินย้อยสีขาวนวล บางส่วนก็ย้อย ลงมาคล้ายน�้ำตก เมื่อแสงไฟไปกระทบก็เกิด ประกายระยิบระยับ แพรวพราว คล้ายเคลือบ ด้วยกากเพชร มีรปู ร่างแปลกตา รวมกว่า 30 จุด เช่น รูปช้าง รูปสิงห์ รูปต้นคริสต์มาส รูปต้น ปาล์ม รูปกวาง รูปคน ฯลฯ โดยเฉพาะใจกลาง ห้องโถงใหญ่พบหินรูปร่างคล้ายสิงห์แหงนหน้า ขนาดกว้าง 2 เมตร สูง 3 เมตร นอกจากนั้นยัง มีแท่นหินคล้ายบัลลังก์ ตั้งตระหง่านอยู่ข้างๆ รูปสิงห์ บรรยากาศเย็นสบายไม่มีกลิ่นอับชื่น องค์การบริหารส่วนต�ำบลหน้าเขา เตรียมผลัก ศูนย์เรียนรู้โครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริอำ� เภอเขาพนม ดันให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์แห่งใหม่ น�้ำตกโตน 2. การล่องแก่งคลองพอถาก ตั้งอยู่ที่หมู่ที่ เขาดิน เปิดตัวโครงการน�ำร่อง “หนึ่งล่องแก่ง 3. โครงการอ่างเก็บน�้ำบางก�ำปรัดอันเนื่อง 9 ต�ำบลเขาดิน อ�ำเภอเขาพนม เป็นกิจกรรม หนึ่ ง คุ ้ ง น�้ ำ เฉลิ ม พระเกี ย รติ 12 สิ ง หามหา มาจากพระราชด�ำริ ตั้งอยู่ที่หมู่ที่ 6 ต�ำบลโคก การท่องเที่ยวทางน�้ำที่น่าสนุกตื่นเต้นผจญภัย ราชินี” เมื่อวันที่ 12 สิงหาคม 2552 ณ ท่าน�้ำ หาร อ�ำเภอเขาพนม จังหวัดกระบี่ และชมความงดงามของสายน�้ำคลองพอถากที่ ปากบางสร้าน หมู่ที่ 9 ต�ำบลเขาดิน เพื่อรวม 4. น�้ำตกโตน ตั้งอยู่หมู่ที่ 4 ต�ำบลโคกหาร มีน�้ำใสไหลเย็นแลเห็นทัศนียภาพความคดเคี้ยว พลังราษฎรในพื้นที่ได้รู้จัก “รักษ์สายน�้ำ”ถวาย อ�ำเภอเขาพนม จังหวัดกระบี่ ของสายน�้ำตลอด 3-4 กิโลเมตร ด้วยแพยาง เป็นพระราชกุศล และเตรียมการต้อนรับนัก 5. ศูนย์เรียนรู้โครงการอันเนื่องมาจากพระ ล่องแก่งสัมผัสวิถีชีวิตที่เรียบง่ายหลายหมู่บ้าน ท่ อ งเที่ ย ว ประชาสั ม พั น ธ์ ใ ห้ เ ป็ น แหล่ ง ท่ อ ง ราชด� ำ ริ อ� ำ เภอเขาพนม เกษตรอิ น ทรี ย ์ และแวะพั ก เหนื่ อ ยนมั ส การพระเก่ า แก่ ข อง เที่ยวเชิงนิเวศน์แห่งใหม่และเสริมสร้างรายได้ (เทพพนมฟาร์ม) ตั้งอยู่หมู่ที่ 10 ต�ำบลเขาพนม ต� ำ บลเขาดิ น ซึ่ ง องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บล เพิ่มให้กับชุมชนในอนาคตต่อไป อ�ำเภอเขาพนม จังหวัดกระบี่
KRABI I SBL บันทึกประเทศไทย
95
WOR K LI FE
เทศบาลต�ำบลเขาพนม “เมื อ งน่ า อยู ่ ด ้ ว ยหลั ก ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ประชาชนมี คุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ ดี และบริ ห ารงานแบบมี ส ่ ว นร่ ว มของภาคี เ ครื อ ข่ า ย ด้ ว ยความโปร่ ง ใส ตรวจสอบได้ ” วิสัยทัศน์เทศบาลต�ำบลเขาพนม
เขาพนมเมืองสวย แห่งขุนเขาพนมเบญจา เทศบาลต�ำบลเขาพนม ได้รับการยกฐานะ ตามพระราชบั ญ ญั ติ เ ปลี่ ย นแปลงฐานะของ สุ ข าภิ บ าลเป็ น เทศบาล พ.ศ. 2542 ซึ่ ง ได้ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 116 ตอนที่ 9ก วั น ที่ 24 กุ ม ภาพั น ธ์ 2542 มี ผ ลให้ เปลี่ยนแปลงฐานะจากสุขาภิบาลเขาพนม เป็น เทศบาลต�ำบลเขาพนม เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2542
นายบุ ญ เลิ ศ รั ต นคช นายกเทศมนตรีต�ำบลเขาพนม
เทศบาลต�ำบลเขาพนม ตั้งอยู่หมู่ที่ 7 ต�ำบล เขาพนม อ�ำเภอเขาพนม จังหวัดกระบี่ มีพื้นที่ ทั้งหมด 12.92 ตารางกิโลเมตร หรือ 8,075 ไร่ เทศบาลต� ำ บลเขาพนม เป็ น ศู น ย์ ก ลางของ ชุ ม ชนต� ำ บล เขาพนม เป็ น ที่ ตั้ ง ของสถานที่ ราชการในอ� ำ เภอ เช่ น ที่ ว ่ า การอ� ำ เภอ ส� ำ นั ก งานเกษตรอ� ำ เภอ สาธารณสุ ข อ� ำ เภอ โรงเรียน ครอบคลุมพื้นที่หมู่ที่ 5 ต�ำบลเขาพนม ทั้งหมด และ หมู่ที่ 7 หมู่ที่ 9 บางส่วน อยู่ห่าง จากจั ง หวั ด กระบี่ 38 กิ โ ลเมตร เป็ น พื้ น ที่ 96
SBL บันทึกประเทศไทย I กระบี่
รอยต่อสามจังหวัด ได้แก่ จังหวัดกระบี่ จังหวัด สุ ร าษฎร์ ธ านี และจั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช ซึ่งมีถนนทางหลวงหมายเลข 4037 สายเหนือ คลอง – ชัยบุรี ถือได้ว่าเป็นถนนใจกลางอ�ำเภอ เขาพนมที่มีความส�ำคัญหลักๆ ในการสัญจร จากเมื อ งเล็ ก ๆ ที่ ไ ด้ รั บ การพั ฒ นาเมื อ ง อย่างต่อเนื่องอย่างเป็นระบบ และการเติบโต เป็นชุมชนเมืองอย่างรวดเร็ว ซึ่งคณะผู้บริหาร ได้ให้ความส�ำคัญกับการยกระดับคุณภาพชีวิต กับพี่น้องประชาชนให้ได้อาศัยอยู่ในเมืองที่ดี
คนมี ค วามสุ ข และสิ่ ง แวดล้ อ มดี ภายใต้ แผนการพัฒนาการเจริญเติบโตของเมืองอย่าง เป็นระบบ นายกเทศมนตรีได้ให้ความส�ำคัญด้านการ ศึกษาเป็นประเด็นส�ำคัญที่สุด เพราะเชื่อว่าการ ศึกษาเป็นรากฐานส�ำคัญในชีวิต อยากให้ลูก หลานชาวเขาพนม ได้ เรี ย นที่ เขาพนมเป็ น โรงเรี ย นที่ ใ กล้ บ ้ า นและเป็ น โรงเรี ย นที่ ไ ด้ มาตรฐาน เด็กมีทักษะวิชาการ เป็นเด็กเก่งที่มี คุณธรรม
โรงเรียนเทศบาลต�ำบลเขาพนม เปิดท�ำการเรียนการสอนครั้งแรก เมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม 2556 ปัจจุบันเปิดการเรียนการ สอนระดั บ อนุ บ าลจนถึ ง ระดั บ ประถมศึ ก ษา ชั้นปีที่ 6 มีนักเรียนทั้งหมด 601 คน ด้วยความ มุ่งมั่นเพื่อให้โรงเรียนเทศบาลต�ำบลเขาพนมได้ มาตรฐานและเป็นที่ยอมรับ จึงได้ส่งนักเรียน เข้าร่วมกิจกรรมแข่งขันวิชาการอย่างต่อเนื่อง และเมื่อวันที่ 10 สิงหาคม 2562 เด็กชายภูดิศ แก้วสุข ได้รับรางวัลชนะเลิศอันดับ 1 ระดับ ประเทศ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ในการ แข่งขันคนเก่งในโรงเรียนท้องถิ่นระดับประเทศ ประจ�ำ ปีการศึกษา 2562 จึงท�ำให้โรงเรียน เทศบาลต�ำบลเขาพนมได้เป็นที่รู้จักในระดับ ประเทศ อีกทั้งโรงเรียนเทศบาลต�ำบลเขาพนม ได้ผ่านการประเมินโรงเรียนพอเพียงท้องถิ่น (Local Sufficiency School : LSS) ซึ่งนายก เทศมนตรี ไ ด้ เข้ า รั บ มอบเกี ย รติ บั ต รโรงเรี ย น พอเพียงท้องถิ่น เมื่อวันที่ 17 กันยายน 2562 ที่ผ่านมา
โรงเรียนเทศบาลต�ำบลเขาพนม
KRABI I SBL บันทึกประเทศไทย
97
1 จังหวัด 1 ถนนเฉลิมพระเกียรติ เทศบาลต� ำ บลเขาพนม ได้ ด� ำ เนิ น การ ปรับปรุงภูมิทัศน์ ภายใต้แนวคิด “เขาพนมถนน สวยใจกลางเมือง” โดยขอรับถ่ายโอนภารกิจ จากแขวงการทางจั ง หวั ด กระบี่ ในการดู แ ล รักษาเกาะกลางถนน จากสภาพเดิมเกาะกลาง ที่มีต้นไม้ขนาดใหญ่เปลี่ยนเป็นต้นไม้ประเภท ไม้ ป ระดั บ ไม้ ส วยงาม เพื่ อ ให้ เ หมาะสมกั บ สภาพเมืองและเอกลักษณ์ของท้องถิ่น รวมถึง ค� ำ นึ ง ถึ ง ความปลอดภั ย ของนั ก ท่ อ งเที่ ย ว ผู้สัญจรไปมา จึงได้มีการปรับปรุงภูมิทัศน์ขึ้น เพื่ อ สร้ า งทั ศ นี ย ภาพของเทศบาลให้ มี ค วาม สวยงาม ร่มรื่น เป็นระเบียบ ประกอบกับพื้นที่ ของเทศบาลเป็นศูนย์กลางการคมนาคมในการ ท่องเที่ยว และการเชื่อมโยงการท่องเที่ยวระดับ ต�ำบล อ�ำเภอและจังหวัด การพัฒนาปรับปรุง ภู มิ ทั ศ น์ ใ ห้ เ ห็ น เอกลั ก ษณ์ แ ละอั ต ลั ก ษณ์ ที่ โดดเด่ น เพื่ อ เป็ น การส่ ง เสริ ม การท่ อ งเที่ ย ว อย่างยั่งยืนและสวยงาม จนกระทั่ ง ในปี 2562 ถนนทางหลวง หมายเลข 4037 สายเหนือคลอง – ชัยบุรี ได้ รับการคัดเลือกจากจังหวัดกระบี่ เป็นถนนที่มี ความสวยงามเป็นถนนสายส�ำคัญ ตามโครงการ 1 จังหวัด 1 ถนนเฉลิมพระเกียรติ เนื่องใน โอกาสมหามงคลพระราชพิธีบรมราชาภิเษก พ.ศ.2562 ถือเป็นความภาคภูมิใจของพี่น้อง ประชาชนชาวอ�ำเภอเขาพนมทุกคน
ถนนเฉลิมพระเกียรติ
เทศบาลต�ำบลเขาพนม อ�ำเภอเขาพนม จังหวัดกระบี่ 81140 โทรศัพท์ 075-689041 โทรสาร 075-689041 E-mail : info@khaophanomcity.go.th
สถานธนานุบาลเทศบาลต�ำบลเขาพนม สถานธนานุ บ าลเทศบาลตํ า บลเขาพนม เปิดให้บริการแก่พี่น้องประชาชน ตั้งแต่ พ.ศ. 2557 ด้ ว ยงบประมาณ 7,814,000 บาท เพื่อช่วยเหลือประชาชนและเป็นแหล่งเงินทุน ที่ ป ระชาชนสามารถเข้ า ถึ ง ได้ ง ่ า ย ปั จ จุ บั น สามารถให้บริการประชาชนรับจ�ำน�ำ ถึง 5,060 ราย โดยให้งบประมาณในการด�ำเนินงานทั้งสิ้น 69,874,900 บาท และคาดว่าสามารถรองรับ ลูกค้าจ�ำน�ำได้อย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะช่วงเปิด ภาคเรี ย นเพื่ อ เป็ น การแบ่ ง เบาภาระการหา แหล่งเงินทุน ดอกเบี้ยถูกให้กับพี่น้องประชาชน ได้อย่างทั่วถึง 98
SBL บันทึกประเทศไทย I กระบี่
สถานธนานุบาลเทศบาลต�ำบลเขาพนม
ตลาดกลางชุมชน ตลาดกลางชุม ชนเทศบาลต�ำบลเขาพนม แหล่งจับจ่ายใช้สอยของใช้ ของฝาก อาหารสด อาหารแห้ง เสื้อผ้าของอ�ำเภอเขาพนม นับเป็น ตลาดขนาดใหญ่ของอ�ำเภอเขาพนมและจังหวัด กระบี่ ภายใต้การก�ำกับดูแลและบริหารจัดการ ของเทศบาลต�ำบลเขาพนม หากท่านใดมาใน ตลาดสดแห่งนี้รับรองว่าท่านจะได้วัตถุดิบที่มี คุณภาพและปลอดภัยในการประกอบอาหารใน ครั ว เรื อ นอย่ า งแน่ น อน โดยเฉพาะเทศบาล ต�ำบลเขาพนมได้ตั้งศูนย์คุ้มครองผู้บริโภค ออก สุ่มตรวจสารปนเปื้อนในอาหารที่จ�ำหน่ายใน ตลาดสดแห่งนี้ เพื่อความปลอดภัยของพี่น้อง ประชาชน และนั บ เป็ น แหล่ ง เศรษฐกิ จ ของ ชุมชนที่สร้างรายได้แก่พ่อค้าแม่ค้าในอ�ำเภอ เขาพนม
ตลาดกลางชุมชน
ศาลเจ้าแม่เขาพนม ศาลเจ้าแม่เขาพนม หรือ ศาลเจ้าแม่เขานม ตั้งอยู่ใกล้กับสี่แยกเขาพนม – ทุ่งใหญ่ สร้างขึ้น เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2527 สมัยนายวีระชัย สิริสัณห์ นายอ�ำเภอเขาพนม ประชาชนอ�ำเภอ เขาพนมและใกล้เคียงได้ร่วมใจกันบริจาคทุน ทรัพย์สร้างขึ้นให้ชื่อว่า “ศาลเจ้าแม่เขาพนม” โดยมีรูปปั้นจ�ำลองประดิษฐานไว้ในศาล เพื่อให้ ประชาชนได้กราบไหว้บูชา เป็นสาธารณสถาน เมื่ อ ถึ ง เดื อ นสี่ คื อ เดื อ นมี น าคมของทุ ก ปี ประชาชนชาวอ� ำ เภอเขาพนมจั ด ให้ มี พิ ธี บวงสรวงเจ้าแม่เขาพนมเป็นประเพณีเสมอมา ปัจจุบันจะได้ยินเสียงประทัดกึกก้องหน้าศาล เจ้าแม่เขาพนมเกือบทุกวัน เป็นการเซ่นไหว้ บวงสรวงแก้บน อดีตในเขตเทศบาลต�ำบลเขาพนม ส่วนมาก เป็นเขตแทรกซึมของผู้ก่อการร้าย มีการปฏิบัติ การซุ่มโจมตีเจ้าหน้าที่ผู้ออกปฏิบัติหน้าที่อยู่ เนื อ งๆ หลายหมู ่ บ ้ า นตกอยู ่ ใ นอิ ท ธิ พ ลของ ผู้ก่อการร้าย เจ้าหน้าที่ไม่สามารถเข้าปฏิบัติ หน้าที่ได้ ผู้ก่อการร้ายเคยให้ข่าวจะใช้ก�ำลังที่ เหนือกว่าเข้าตีสถานีต�ำรวจภูธรและที่ว่าการ อ� ำ เภอเขาพนม (ส� ำ นั ก งานเทศบาลต� ำ บล
ศาลเจ้าแม่เขาพนม
เขาพนมในปั จ จุ บั น ) หลายครั้ ง แต่ ไ ม่ เ คย ปรากฏว่าผู้ก่อการร้ายเข้าตีได้สักครั้งเดียว ทั้ง ที่ถ้าจะพิจารณาถึงยุทธภูมิแล้ว การใช้ก�ำลัง ของผู้ก่อการร้ายได้เปรียบเป็นอันมาก คนทั่วไป กล่าวขานกันอยู่เสมอว่า ที่สถานที่ราชการ และ ประชาชนอ�ำเภอเขาพนมอยู่รอดปลอดภัยมา ได้ ด้วยบารมีแห่งความศักดิ์สิทธิ์ของเจ้าแม่ เขาพนมได้ปกป้องคุ้มครองไว้ ความศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ แ ละปาฎิ ห าริ ย ์ “เจ้ า แม่ เขาพนม” ได้ประจักษ์แด่ชาวเขาพนมและใกล้
เคียงมาเป็นเวลาแสนนานแล้ว ผู้ใดที่ได้ประสบ พบมาต่ า งพากั น ให้ ค วามนั บ ถื อ ศรั ท ธาเป็ น อย่างยิ่ง ถือเป็นที่พึ่งทางใจ ช่วยขจัดปัดป้อง ผองภัยต่างๆ แม้ข้าราชการส่วนมากที่มารับ ราชการที่อ�ำเภอเขาพนม เมื่อได้บูชาเจ้าแม่แล้ว จะมีความอยู่ดีมีสุข และเกิดความสิริมงคลแก่ ตัวเองและครอบครัวอย่างมหัศจรรย์ จึงขอเชิญ ชวนทุกท่านที่มาเยือนอ�ำเภอเขาพนมมากราบ ไหว้ ข อพรเพื่ อ เป็ น ศิ ริ ม งคลแก่ ต นเองและ ครอบครัว KRABI I SBL บันทึกประเทศไทย
99
WOR K LI FE
องค์การบริหารส่วนต�ำบลเขาดิน “ก้ า วน� ำ เศรษฐกิ จ ชี วิ ต มี ค วามสุ ข ชุ ม ชนเข้ ม แข็ ง ได้ ด ้ ว ยระบบบริ ห ารจั ด การที่ ดี ใ นทุ ก ภาคส่ ว นของสั ง คม “ วิสัยทัศน์การพัฒนาขององค์การบริหารส่วนต�ำบลเขาดิน
นายบุ ญ ภาศ ซื่ อ ตรง
องค์การบริหารส่วนต�ำบลเขาดิน ตั้งอยู่ เลขที่ 118 หมู ่ ที่ 1 ต� ำ บลเขาดิ น อ� ำ เภอ เขาพนม จังหวัดกระบี่ ตั้งอยู่ห่างจากที่ว่าการ อ� ำ เภอเขาพนมไปทางทิ ศ ใต้ ต ามทางหลวง แผ่นดินหมายเลข 4037 ระยะทางประมาณ 12 กิโลเมตร ห่างจากจังหวัด 55 กิโลเมตร องค์การบริหารส่วนต�ำบลเขาดิน มีพื้นที่ ทั้งหมดประมาณ 110 ตารางกิโลเมตร หรือ ประมาณ 64,375 ไร่ ลักษณะพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบสูงเหมาะ แก่ ก ารท� ำ การเกษตรกรรม การท� ำ สวน ยางพารา และท�ำสวนปาล์มน�้ำมัน ประชาชน ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ร้อยละ 99.53 มีหมู่บ้านในเขต อบต. 9 หมู่บ้าน
ผู้บริหาร
สมาชิคสภาองค์การบริหารส่วนต�ำบลเขาดินหมู่ที่ 1-หมู่ที่ 9
นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลเขาดิน
นายอนุรักษ์ ศิริรัตน์ ประธานสภาองค์การบริหารส่วนต�ำบลเขาดิน
100
SBL บันทึกประเทศไทย I กระบี่
นางสุประวีณ์ กาโร หัวหน้าส�ำนักปลัด รักษาราชการแทน ปลัดองค์การบริหารส่วนต�ำบลเขาดิน
องค์การบริหารส่วนต�ำบลเขาดิน มีสถาน ศึกษาในสังกัด จ�ำนวน 2 แห่ง ซึ่งตั้งอยู่ในพื้นที่ หมู่ที่ 3 ต�ำบลเขาดิน อ�ำเภอเขาพนม จังหวัด กระบี่ ได้แก่ โรงเรียนบ้านช้างตายซึ่งด�ำเนิน การจัดการศึกษาในระดับอนุบาล และระดับชั้น ประถมศึ ก ษาปี ที่ 1 – 6 และศู น ย์ พั ฒ นา เด็กเล็กบ้านกอตงซึ่งด�ำเนินการจัดการศึกษา เด็ ก ก่ อ นวั ย เรี ย นและปฐมวั ย เพื่ อ พั ฒ นา คุณภาพชีวิตของประชาชนให้สามารถเข้าถึง การศึกษาได้อย่างทั่วถึง
โครงการ/กิจกรรมเด่น องค์การบริหารส่วนต�ำบลเขาดิน ตระหนักถึงความส�ำคัญใน การพัฒนาท้องถิน่ ทัง้ ด้านเศรษฐกิจและคุณภาพชีวติ ของประชาชน โดยเฉพาะปัญหาเส้นทางคมนาคมที่ไม่ได้มาตรฐาน ประชาชนไม่ ได้ รั บ ความสะดวกในการใช้ เ ส้ น ทางสั ญ จรไปมาและการขนส่ ง ผลผลิ ต ทางการเกษตรภายใต้ ง บประมาณที่ มี อ ยู ่ อ ย่ า งจ� ำ กั ด องค์การบริหารส่วนต�ำบลเขาดินจึงได้ด�ำเนินนโยบายการแก้ไข ปัญหาดังกล่าวด้วยการจัดท�ำบันทึกข้อตกลงความร่วมมือในการ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานในพื้นที่ เพื่อก่อสร้างถนนที่ได้มาตรฐาน และมีความมั่นคงถาวรรองรับการใช้งานในอนาคต และเพื่อให้ ประชาชนมี เ ส้ น ทางคมนาคมที่ ใช้ สั ญ จรไปมาได้ อ ย่ า งสะดวก รวดเร็ว และมีความปลอดภัยในชีวิต และทรัพย์สินรวมถึงการขนส่ง ผลผลิตทางการเกษตร ดังนี้ การก่อสร้างถนนลาดยาง โดยท�ำบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ กับองค์การบริหารส่วนจังหวัดกระบี่ (MOC) ตั้งแต่ปี 2557 โดย อบต.เขาดินก่อสร้างงานพื้นทางและงานชั้นพื้นทาง และ อบจ. กระบี่ก่อสร้างผิวจราจรแอสฟัสท์ติกคอนกรีต ท�ำให้พื้นที่ต�ำบล เขาดินมีถนนลาดยางเพิ่มขึ้นอย่างน้อยปีละ 3 กิโลเมตร ซึ่งสามารถ ประหยั ด งบประมาณได้ ไ ม่ น ้ อ ยกว่ า ร้ อ ยละ 35 ต่ อ โครงการ และปัจจุบัน อบต.เขาดิน มีถนนลาดยางในพื้นที่ที่เกิดขึ้นจากบันทึก ข้อตกลง ความร่วมมือฯ เป็นระยะทาง 24,773 เมตร หรือประมาณ 24.77 กิโลเมตร การก่อสร้างถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยท�ำบันทึกข้อตกลง ความร่วมมือกับหมู่บ้านในพื้นที่ (MOU) ตั้งแต่ปี 2558 โดย อบต. เขาดิ น จั ด หาวั ส ดุ อุ ป กรณ์ / เครื่ อ งจั ก ร และควบคุ ม ดู แ ลการ ก่อสร้าง โดยประชาชนในหมู่บ้านร่วมเป็นแรงงานชุมชนสมทบ ท� ำ ให้ พื้ น ที่ ต� ำ บลเขาดิ น มี ถ นนคอนกรี ต เพิ่ ม ขึ้ น อย่ า งน้ อ ยปี ล ะ 1,000 เมตร ซึ่งสามารถประหยัดงบประมาณได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 ต่อโครงการ และปัจจุบันมีถนนคอนกรีตเสริมเหล็กที่เกิดขึ้น จากบันทึกข้อตกลงความร่วมมือฯ เป็นระยะทาง 4,632 เมตร หรือ ประมาณ 4.63 กิโลเมตร
การก่อสร้างถนนลาดยาง
การก่อสร้างถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก
ส�ำหรับการก่อสร้างถนนภายใต้ความร่วมมือระหว่าง อบต.เขาดินและประชาชนในพื้นที่ ได้สร้างความภาคภูมิใจ
ให้กับต�ำบลเขาดิน ซึ่งผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนอกจากมีถนนที่ได้มาตรฐาน เพิ่มขึ้นและสามารถประหยัดงบประมาณให้ท้องถิ่นแล้ว ยังสร้าง ความรู้สึกของการมีส่วนร่วม เกิดความหวงแหน และความเป็น เจ้าของถนนที่ประชาชนในหมู่บ้าน ได้ก่อสร้างด้วยตนเอง และจากการตระหนักถึงความส�ำคัญของการมีส่วนร่วมในฐานะ ที่ประชาชนทุกคนเป็นเจ้าของท้องถิ่นในปีงบประมาณ 2562 อบต. เขาดิน ได้รับรางวัลพระปกเกล้า โดยได้รับการพิจารณาคัดเลือก ให้ เ ป็ น องค์ ก รปกครองส่ว นท้องถิ่นที่มีความเป็นเลิศ ด้านความ โปร่งใสและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน ประจ�ำปี 2562
รับรับรางวัล พระปกเกล้า KRABI I SBL บันทึกประเทศไทย
101
สถานที่ท่องเที่ยว การท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ “ล่องแก่ง คลอง พอถาก” “คลองพอถาก” เป็นสายน�้ำที่มีต้นน�้ำมา จากเขาพนมเบญจา และเป็นคลองสายหลัก ของต� ำ บลเขาดิ น มี ข นาด กว้ า ง 30 เมตร ยาวประมาณ 7 กิโลเมตร ไหลผ่านหมู่ที่ 6,9 และหมู่ที่ 1 มีน�้ำไหลผ่านตลอดทั้งปีเนื่องจาก ผื นป่ า ยั ง คงความอุด มสมบูรณ์ทางธรรมชาติ องค์การบริหารส่วนต�ำบลเขาดิน ได้ตระหนัก และให้ความส�ำคัญในการส่งเสริมการท่องเที่ยว เพื่อสร้างรายได้ให้กับชุมชน และการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จึงได้ร่วม กั บ เครื อ ข่ า ยท่ อ งเที่ ย วชุ ม ชนคลองพอถาก จั ด ให้ มี ก ารท่ อ งเที่ ย วเชิ ง นิ เวศน์ “ล่ อ งแก่ ง คลองพอถาก” ต�ำบลเขาดินขึ้น ในพื้นที่หมู่ที่ 6 และหมู่ที่ 9 ต�ำบลเขาดิน อ�ำเภอเขาพนม จังหวัดกระบี่ ตั้งแต่ปี พ.ศ.2552 และเปิดการ ท่องเทีย่ วในช่วงเดือนธันวาคม - เมษายน ของทุกปี “คลองพอถาก” จึงเป็นแหล่งท่องเที่ยว คลายร้อนอีกแห่งของจังหวัดกระบี่ ที่ท่านไม่ ควรพลาด ท่านจะได้สัมผัสกับธรรมชาติและ สายน�ำ้ ฉ�ำ่ เย็น พายเรือยาง เรือคายัค แพไม้ไผ่ เพื่ อ ชมธรรมชาติ ส องฝั ่ ง คลองระยะทางกว่ า 5 กิโลเมตร และพักเล่นน�้ำตามท่าน�้ำต่าง ๆ ชมการแสดงมโนราห์ ก ลางน�้ ำ หรื อ จะเลื อ ก เส้นทางปั่นจักรยานชมธรรมชาติ ชมวิถีชีวิต ชุ ม ชนริมคลอง เยี่ยมชมสินค้าผลิตภัณฑ์ชุมชน ของหมูบ่ า้ น
ล่องแก่ง คลองพอถาก
ผลิตภัณฑ์ชุมชนต�ำบลเขาดิน 1. กลุ่มวิสาหกิจชุมชนโรงตีเหล็กควนไม้แดง ประธานกลุ่ม นายอาวุธ เฝ้าทอง โทร. 081-1407196 2. กลุ่มวิสาหกิจผึ้งโพรงไทย ม.4 ประธานกลุ่ม นายสุธรรม ขันพระแสง โทร.080-8896579 3. กลุ่มวิสาหกิจชุมชนอาชีพข้าวไร่พัฒนาต�ำบลเขาดิน ประธานกลุ่ม นางระเบียบรัตน์ มณีมัย โทร. 087-2660756
102
SBL บันทึกประเทศไทย I กระบี่
ประเพณีที่ส�ำคัญของท้องถิ่น “ประเพณีวันสารทเดือนสิบต�ำบลเขาดิน” ประเพณี วั น สารทเดื อ นสิ บ ต� ำ บลเขาดิ น และกิจกรรม “แห่จาด” เป็นงานบุญประเพณี แห่ง ความกตัญญู ที่ได้รับการสืบทอดกันมา จนถึ ง ปั จ จุ บั น เพื่ อ ส่ ง เสริ ม ให้ ป ระชาชนใน ท้ อ งถิ่ น ได้ ต ระหนั ก ถึ ง ความส� ำ คั ญ ของการ อนุ รั ก ษ์ วั ฒ นธรรมประเพณี และภู มิ ป ั ญ ญา ของท้ อ งถิ่ น “งานบุ ญ วั น สารทเดื อ นสิ บ ” จะจัดขึ้นทุกวันแรม 15 ค�่ำ เดือนสิบของทุกปี ซึ่งนอกจากเป็นงานบุญประเพณีประจ�ำปีแล้ว ความสวยงาม และโดดเด่นของ “จาดตระกูล เขาดิน” และ “ขบวนแห่จาด” ก็ยังสร้างสีสัน ความสวยงาม ความสนุกรื่นเริงให้กับงานบุญ ประเพณี ด้ ว ยขบวนนางร� ำ กลองยาว และขบวนแห่ ห มรั บ ที่ บ ่ ง บอกถึ ง อั ต ลั ก ษณ์ ของท้ อ งถิ่ น งานบุ ญ วั น สารทเดื อ นสิ บ ต�ำบลเขาดิน ยังเป็นงานแห่งศรัทธาที่ประชาชน ร่วมกันบริจาคเงินท�ำบุญเข้าวัด เพื่อทะนุบ�ำรุง พระพุทธศาสนา และศาสนสถานในพื้นที่
“แห่จาดสารทเดือนสิบต�ำบลเขาดิน สืบทอด ถึงลูกหลาน สืบสานประเพณี” งานบุ ญ ประเพณี ที่ ป ระชาชนในท้ อ งถิ่ น และพื้นที่ใกล้เคียง ตลอดรวมทั้งนักท่องเที่ยว ที่ได้มาร่วมงาน นอกจากจะได้ร่วมสืบสานงาน บุญประเพณีแล้ว ยังสร้างความรู้สึกประทับใจ
ความสนุกสนาน รื่นเริง เกิดการเรียนรู้และร่วม สืบทอด ภูมิปัญญา ท้องถิ่นผ่าน “จาดตระกูล เขาดิน” ที่มีความสวยงามและโดดเด่น จนได้ รั บ รางวั ล ถ้ ว ยพระราชทานจากสมเด็ จ พระ กนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราช สุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ติดต่อกัน 6 ปีซ้อน จากการจัดงานประเพณีแห่จาดสารทเดือนสิบ ขององค์การบริหารส่วนจังหวัดกระบี่ -ปี2557 “จาด” จากบ้านหนองบัว หมู่ที่ 2 ต.เขาดิน ได้รบั รางวัลชนะเลิศถ้วยพระราชทานฯ -ปี 2558 “จาด” จาก อบต.เขาดิน ได้รับ รางวัลชนะเลิศถ้วยพระราชทานฯ -ปี 2559 - 2561 “จาด” จากบ้านทุ่งทับ เชือก หมู่ที่ 4 ต.เขาดิน ได้รับรางวัล ชนะเลิศถ้วยพระราชทานฯ -ปี 2562 “จาด” จากบ้านควนม่วง ต.เขาดิน ได้รับรางวัลชนะเลิศถ้วยพระราชทานฯ นอกจากนัน้ งานประเพณี “วันสารทเดือนสิบ ต�ำบลเขาดิน” ยังเป็นโครงการนวัตกรรมด้าน วัฒนธรรมประเพณีที่มีความโดดเด่น จนท�ำให้ องค์การบริหารส่วนต�ำบลเขาดิน ได้รับรางวัล องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ มี ก ารบริ ห าร จัดการที่ดี ประจ�ำปี 2562 จากส�ำนักงาน คณะกรรมการการกระจายอ� ำ นาจให้ แ ก่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ณ ตึกสันติไมตรี ท�ำเนียบรัฐบาล ซึ่งความส�ำเร็จ และรางวัลแห่ง ความภาคภูมิใจนี้เกิดขึ้นได้จาก ความร่วมมือ ความรัก สามัคคี ของประชาชนในต�ำบลเขาดิน ทุกคน KRABI I SBL บันทึกประเทศไทย
103
ทีส ่ ด ุ แห่งการบันทึก ความทรงจ�ำ SBL บันทึกประเทศไทย SBL บันทึกประเทศไทย น�ำเสนอเรื่องราวของจังหวัดต่างๆ ทั่วประเทศไทย อย่างเจาะลึก และครอบคลุมทุกมิติ อาทิ มิติด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ จากหน่วยงาน ราชการส�ำคัญในจังหวัด มิติด้านการท่องเที่ยวที่สดใหม่ ทันสมัย ทั้งสถานที่เที่ยว ที่พัก ร้านอาหาร ร้านกาแฟ ฯลฯ มิติด้านอุตสาหกรรม-การค้าการลงทุนที่เป็นตัวขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ตลอดจนมิติด้านการศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม และวิถีชีวิต ที่มีจุดเด่นและมีเอกลักษณ์น่าสนใจ
Magazine
AD_
.indd 146
www.sbl.co.th
9/12/2562 14:33:51
WOR K LI FE
อ�ำเภอเกาะลันตา เร่ ง จั ด การขยะบนชายหาด ที่ ม ากั บ มรสุ ม
นายสมบู ร ณ์ เต็ ม ชื่ น นายอ�ำเภอเกาะลันตา
นายสมบูรณ์ เต็มชื่น นายอ�ำเภอเกาะลันตา ได้ ก ล่ า วว่ า ขณะนี้ ผู ้ ป ระกอบการธุ ร กิ จ การ ท่องเที่ยวและโรงแรมที่ตั้งอยู่ริมชายหาดอ�ำเภอ เกาะลันตา ได้ประสบกับปัญหาขยะทีถ่ กู คลืน่ ซัด ขึน้ มากองบนชายหาดแทบทุกหาดบนเกาะลันตา จากการสังเกตุพบว่าขยะที่ถูกคลื่นซัดเข้า มายังชายหาดเดินทางมาไกลจากต่างอ�ำเภอ ต่างจังหวัดที่มีพื้นที่ทางทะเลติดต่อกับอ�ำเภอ เกาะลั น ตา นอกจากนั้ น ยั ง พบขยะที่ ม าจาก ประเทศเพื่อนบ้าน ทั้งมาเลเซีย อินโดนีเซีย พม่า ฯลฯ ซึ่งสังเกตุได้จากยี่ห้อและประเทศ ผู ้ ผ ลิ ต บนผลิ ต ภั ณ ฑ์ พ ลาสติ ก ที่ พ บเจอบน ชายหาด ซึ่งเป็น “ขยะเล” โดยธรรมชาติแล้วขยะเหล่านี้จะถูกคลื่นซัด เข้ามาทุกปีในช่วงมรสุมระหว่างเดือนมิถุนายน - พฤศจิกายน แต่ปีนี้ขยะทะเลถูกคลื่นซัดขึ้น มาบนชายหาดมากกว่าปกติ ซึ่งมีหลากหลาย
ประเภท ทั้งกิ่งไม้ ท่อนไม้ ถุงพลาสติก ขวดน�้ำ พลาสติก ขวดเหล้า เบียร์ ภาชนะบรรจุบะหมี่ ส�ำเร็จรูป กระป๋องเครื่องส�ำอางค์ โฟม ฯลฯ ซึ่ ง ขยะเหล่ า นี้ ส ่ ว นน้ อ ยมาจากคนในท้ อ งถิ่ น และนักท่องเที่ยว แต่ส่วนใหญ่จะเป็นขยะทะเล ที่เดินทางมาจากที่อื่น นายสมบูรณ์ เต็มชื่น ได้กล่าวเพิ่มเติมอีกว่า อ� ำ เภอเกาะลั น ตาได้ บู ร ณาการทั้ ง ภาครั ฐ เอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้ประกอบ การโรงแรม ร้านอาหารในพื้นที่และกลุ่มองค์กร อิสระ เช่น กลุ่ม Klean กลุ่มรักษ์ลันตา กลุ่ม Trash Hero Koh Lanta กลุ่ม B.grimmgroup ร่วมกันจัดเก็บขยะบนชายหาดทุกหาดทุกวัน พฤหัสบดี ท�ำให้ชายหาดเกาะลันตาสวยงาม เป็นที่ประทับใจแก่นักท่องเที่ยว ส�ำหรับช่วงเดือนพฤศจิกายน - พฤษภาคม ซึ่งเป็นช่วง High Season ก็จะมีผู้ประกอบการ
ธุ ร กิ จ การท่ อ งเที่ ย วที่ มี ส ถานประกอบการ บริ เ วณชายหาด ร่ ว มจั ด เก็ บ ขยะบริ เ วณ ชายหาดทุกเช้า นอกจากนั้นก็ยังมีกลุ่มจิตอาสา ร่วมกับก�ำนัน ผู้ใหญ่บ้านฯ องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นและนักเรียนร่วมกันเก็บขยะชายหาดใน โอกาสต่างๆเป็นประจ�ำ อ�ำเภอเกาะลันตา ขอรับรองว่าชายหาด ต่างๆในอ�ำเภอเกาะลันตายังคงสงบ สวยงาม สะอาดและร่มรื่นส�ำหรับรองรับนักท่องเที่ยว ตลอดทั้ ง ปี ดั ง สมญานามที่ น ายอ� ำ เภอ เกาะลันตากล่าวไว้ว่า “เกาะลันตา : ประกาย เพชรอันดามัน สวรรค์บนเกลียวคลื่น” ที่มา:สยามรัฐออนไลน์ 8 ก.ค. 62 ปรับปรุง:นายสมบูรณ์ เต็มชื่น นายอ�ำเภอ เกาะลันตา
KRABI I SBL บันทึกประเทศไทย
105
WOR K LI FE
เทศบาลต�ำบลเกาะลันตาใหญ่ “ศู น ย์ ก ลางการท่ อ งเที่ ย วทางทะเลและเชิ ง วั ฒ นธรรม บนพื้ น ฐานคุ ณ ภาพชี วิ ต และการบริ ห ารกิ จ การบ้ า นเมื อ งที่ ดี ” วิสัยทัศน์เทศบาลต�ำบลเกาะลันตาใหญ่
ค�ำขวัญ “น�้ำใส ป่าไม้สวย รวยเกาะ เหมาะทิวทัศน์ สัตว์น�้ำอุดม ชมปะการัง ฝั่งลันตา”
ประวัติความเป็นมา
นายถวั ล ย์ ธาราอุ ด ม
หัวหน้าฝ่ายการโยธา รักษาราชการแทน ผู้อ�ำนวยการกองช่าง รักษาราชการแทน ปลัดเทศบาล ปฏิบัติหน้าที่นายกเทศมนตรีต�ำบลเกาะลันตาใหญ่
106
SBL บันทึกประเทศไทย I กระบี่
ส� ำ นั ก งานเทศบาลต� ำ บลเกาะลั น ตาใหญ่ ตัง้ อยูห่ มูท่ ี่ 2 บ้านศรีรายา ต�ำบลเกาะลันตาใหญ่ อ� ำ เภอเกาะลั น ตา จั ง หวั ด กระบี่ 81150 ห่างจากที่ตั้งศาลากลางจังหวัดกระบี่ประมาณ 109 กิ โ ลเมตร มี พื้ น ที่ รั บ ผิ ด ชอบประมาณ 0.81 ตารางกิโลเมตร โทรศัพท์ 075-697209 โทรสาร 075-680569 เว็บไซต์ : lantayaicity. go.th เทศบาลต�ำบลเกาะลันตาใหญ่ เป็นชุมชน ขนาดเล็กตั้งอยู่บนเกาะลันตาใหญ่ เดิมชื่อว่า “ปาตัยน์รายา” เป็นชุมชนชายทะเลเก่าแก่ที่มี ความเจริ ญ รุ ่ ง เรื อ งมาแต่ อ ดี ต สมั ย เส้ น ทาง คมนาคมยังไม่สะดวก บริเวณนี้เป็นจุดแวะพัก ของเรือสินค้าระหว่างเกาะภูเก็ตกับเกาะปีนัง ภายหลังได้มีการก่อสร้างทางหลวง แผ่นดิน ในพื้ น ที่ อ� ำ เภอเกาะลั น ตา ท� ำ ให้ ส ามารถใช้ รถยนต์เดินทางมายังเกาะลันตาได้สะดวก โดย อาศั ย แพขนานยนต์ บ รรทุ ก รถยนต์ ข ้ า มฝั ่ ง ความส� ำ คั ญ ด้ า นการเดิ น เรื อ จึ ง ลดลงไป เทศบาลต�ำบลเกาะลันตาใหญ่ได้รับการ จัดตั้ง
เป็ น สุ ข าภิ บ าลเกาะลั น ตาใหญ่ เมื่ อ วั น ที่ 24 กันยายน พ.ศ.2499 และประกาศในราชกิจ จานุ เ บกษา เล่ ม ที่ 73 ตอนที่ 83 ลงวั น ที่ 15 ตุ ล าคม พ.ศ.2499และ ต่ อ มาได้ มี ก าร เปลี่ ย นแปลงฐานะ จากสุ ข าภิ บ าลมาเป็ น เทศบาลต�ำบล เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2542 เช่นเดียวกับ สุขาภิบาลอื่นทั่วประเทศ
กรอบวิสัยทัศน์และเป้าหมาย จากสถานะของประเทศและบริ บ ทการ เปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่ประเทศก�ำลังประสบอยู่ ท�ำให้การก�ำหนดวิสัยทัศน์แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ยั ง คงมี ค วามต่ อ เนื่ อ งจากวิ สั ย ทั ศ น์ แ ผน พัฒนาฯฉบับที่ 11 และกรอบหลักการของการ วางแผนที่น้อมน�ำและประยุกต์ใช้หลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง ยึดคนเป็นศูนย์กลางของการ พัฒนาอย่างมีส่วนร่วม การพัฒนาที่ยึดหลัก สมดุล ยั่งยืน โดยวิสัยทัศน์ของการพัฒนาใน แผนพัฒนาฯฉบับที่ 12 ต้องให้ความส�ำคัญกับ การก�ำหนดทิศทางการพัฒนาที่มุ่งสู่การเปลี่ยน ผ่านประเทศไทยจากประเทศที่มีรายได้ปาน กลางไปสู่ประเทศที่มีรายได้สูง มีความมั่นคง และยั่ ง ยื น สั ง คมอยู ่ ร ่ ว มกั น อย่ า งมี ค วามสุ ข และน� ำ ไปสู ่ ก ารบรรลุ วิ สั ย ทั ศ น์ ร ะยะยาว “มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน” ของประเทศ ศาลเจ้าสามต่องอ๋อง
เทศกาลลานตา ลันตา
KRABI I SBL บันทึกประเทศไทย
107
WOR K LI FE
องค์การบริหารส่วนต�ำบลเกาะกลาง “การท่ อ งเที่ ย วเชิ ง นิ เ วศน์ เกษตรอิ น ทรี ย ์ ของดี เ กาะกลาง ศาสนาน� ำ ทาง เสริ ม สร้ า งภู มิ ป ั ญ ญา ศิ ล ปวั ฒ นธรรมน� ำ พา ประชามี ส ่ ว นร่ ว ม” วิสัยทัศน์องค์การบริหารส่วนต�ำบลเกาะกลาง
ปลัดองค์การบริหารส่วนต�ำบลเกาะกลาง ปฏิบัติหน้าที่ นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลเกาะกลาง
108
SBL บันทึกประเทศไทย I กระบี่
นายวรศักดิ์ สุภาพ หัวหน้าส�ำนักปลัด
องค์การบริหารส่วนต�ำบลเกาะกลาง ตัง้ อยูท่ ี่ หมู ่ 4 ต� ำ บลเกาะกลาง อ� ำ เภอเกาะลั น ตา จังหวัดกระบี่ 81120 โทรศัพท์ : 075-694-720 โทรสาร : 075-694-720 ต�ำบลเกาะกลางตั้ง อยู่ทางทิศเหนือของที่ว่าการอ�ำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ห่างจากจังหวัดกระบี่ประมาณ 80 กิโลเมตร และห่างจากอ�ำเภอเกาะลันตา ประมาณ 10 กิ โ ลเมตร พื้ น ที่ ส ่ ว นใหญ่ เ ป็ น ที่ราบและเนินเขาสลับกัน มีลักษณะเป็นเกาะ มี น�้ ำ ล้ อ มรอบ ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น ที่ ก ารเกษตร บางส่ ว นเป็ น ที่ ร าบลุ ่ ม ซึ่ ง เป็ น พื้ น ที่ ท� ำ การ เกษตรและเป็นที่อยู่อาศัย ต� ำ บลเกาะกลางประกอบด้ ว ยจ� ำ นวน หมูบ่ า้ น 10 หมูบ่ า้ น ได้แก่ บ้านร่าปู บ้านร่าหมาด บ้ า นปากคลอง บ้ า นคลองย่ า หนั ด บ้ า นลิ กี บ้านนาทุ่งกลาง บ้านอ่าวทองหลาง บ้านหัวหิน บ้านท่าคลอง และบ้านขุนสมุทร ประชากรทั้ ง สิ้ น จ� ำ นวน 8,214 คน แยกเป็ น ชาย 4,152 คน หญิ ง 4,062 คน มีความหนาแน่นเฉลี่ย 160.63 คนต่อตาราง กิโลเมตร (ข้อมูล ณ เดือนพฤษภาคม 2559) ประชาชนส่ ว นใหญ่ นั บ ถื อ ศาสนาอิ ส ลาม ประมาณ 97% ส่วนที่เหลือนับถือศาสนาพุทธ
นายวี ร ธรรม เชื้ อ ศิ ว ะ
นายทิวานนท์ สุทธิเกิด ผู้อ�ำนวยการกองช่าง
ข้อมูลทั่วไป
นางสาวเกษรินทร์ หัสรินทร์ ผู้อ�ำนวยการกองการศึกษาศาสนา และวัฒนธรรม
นางสาวสุธางศุ์รัตน์ ญาติพิทักษ์ นักวิชาการพัสดุช�ำนาญการ รักษาราชการแทนผูอ้ ำ� นวยการกองคลัง
จ่าสิบตรีสุรพงษ์ กงรัมย์ นักพัฒนาชุมชนช�ำนาญการ รักษาราชการแทนผู้อํานวยการ กองสวัสดิการสังคม
ประเพณีและงานประจ�ำปี ช่ ว งเดื อ นกุ ม ภาพั น ธ์ งานเมาลิ ด ประจ� ำ ต�ำบลเกาะกลาง และโครงการเข้าสุนัต
ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภาษาถิ่น • กลุ ่ ม เตยปาหนั น หมู ่ ที่ 2 บ้ า นร่ า หมาด ผลิตเตยปาหนันเป็นหัตถกรรมพื้นบ้าน • กลุม่ วัฒนธรรมพืน้ บ้านบ้านร่าหมาด หมูท่ ี่ 2 บ้านร่าหมาด รักษาวัฒนธรรมพื้นบ้าน
สินค้าพื้นเมืองและของที่ระลึก
• สิ น ค้ า พื้ นเมืองและของที่ระลึกที่โ ดดเด่น คือ กาแฟโบราณบ้านร่าหมาด
สถานที่ท่องเที่ยว แหล่งท่องเที่ยวในพื้นที่ต�ำบลเกาะกลาง
KRABI I SBL บันทึกประเทศไทย
109
WOR K LI FE
องค์การบริหารส่วนต�ำบลศาลาด่าน ที่อยู่ 571 หมู่ที่ 2 ต�ำบลศาลาด่าน อ�ำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่
“ศู น ย์ ก ลางการท่ อ งเที่ ย ว รั ก ษาวั ฒ นธรรมท้ อ งถิ่ น อนุ รั ก ษ์ สิ่ ง แวดล้ อ ม ภายใต้ ห ลั ก ธรรมาภิ บ าล” วิสัยทัศน์การพัฒนาองค์การบริหารส่วนต�ำบลศาลาด่าน
“เมื อ งสวยกลางทะเล เสน่ ห ์ ล�้ ำ ธรรมชาติ ง าม สามวั ฒ นธรรม ก้ า วน� ำ การท่ อ งเที่ ย ว” ค�ำขวัญขององค์การบริหารส่วนต�ำบลศาลาด่าน
ประวัติต�ำบลศาลาด่าน
นายสมพงษ์ ด�ำรงอ่ อ งตระกู ล นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลศาลาด่าน
ต� ำ บลศาลาด่ า น มี ป ระวั ติ ค วามเป็ น มา สรุปได้พอสังเขป ดังนี้ เหตุทมี่ ชี อื่ ว่า “ศาลาด่าน” เนื่องจากมีผู้น�ำเรือสินค้าและเรือของชาวบ้าน ที่ สั ญ จรไปมา แวะพั ก จอด เพื่ อ หลบมรสุ ม บริเวณศาลาที่ชาวบ้านสร้างขึ้น และบริเวณ ด่านตรวจเรือเข้าออกเป็นจ�ำนวนมาก เมื่อมี การจัดระเบียบการปกครองท้องที่ จึงได้มีการ รวบรวมหมู่บ้านเป็นต�ำบลในปัจจุบัน ต�ำบล ศาลาด่าน เป็นต�ำบลหนึ่งในจ�ำนวน 5 ต�ำบล ของอ� ำ เภอเกาะลั น ตา องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว น ต�ำบลศาลาด่าน ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของที่ว่าการ อ�ำเภอเกาะลันตา ตามเส้นทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 4245 ตอนศาลาด่าน – สังกาอู้ ห่าง จากที่ ว ่ า การอ� ำ เภอเกาะลั น ตา ประมาณ 5 กิโลเมตร องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บลศาลาด่ า น มีเนื้อที่ประมาณ 38.13 ตารางกิโลเมตร หรือ ประมาณ 23,831 ไร่ แบ่งเป็น 5 หมู่บ้าน หมู่ที่ 1 บ้านศาลาด่าน หมู่ที่ 2 บ้านพระแอะ หมู ่ ที่ 3 บ้ า นทุ ่ ง ยู ง (โล๊ ะ บาหรา) หมู ่ ที่ 4 บ้านทุ่งหยีเพ็ง หมู่ที่ 5 บ้านโล๊ะดุหยง องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บลศาลาด่ า น มีอาณาเขต ทิศเหนือ ติดต่อ กับทะเลอันดามัน และคลองลัดบ่อแหน ทิศใต้ ติดต่อ กับต�ำบล เกาะลันตาใหญ่ ทิศตะวันออก ติดต่อ กับทะเล อันดามัน ทิศตะวันตก ติดต่อ กับทะเลอันดามัน ท่าเทียบเรือ บ้านศาลาด่าน
110
SBL บันทึกประเทศไทย I กระบี่
หาดคอกวาง
หาดคลองดาว
หาดคลองดาว ตั้งอยู่หมู่ที่ 3 บ้านคลองดาว ต.ศาลา ด่าน มีความสวยงามและเป็นธรรมชาติ มีความยาวของ หาดประมาณ 1.2 กม. มีโรงแรม จ�ำนวน 24 แห่ง หาดคอกวาง ตั้งอยู่หมู่ที่ 1 เข้าทาง ซ.ทวินโลตัส ต.ศาลาด่าน ลักษณะเป็นหาดที่ สวยงามติดกับภูเขายื่นออกไปในทะเล มีความยาวประมาณ 800 ม. มีโรงแรมที่อยู่ใน บริเวณ จ�ำนวน 12 แห่ง หาดพระแอะ
หาดพระแอะ หรือที่เรียกกันว่า หาดลองบีช ตั้งอยู่ระหว่างหมู่ที่ 2 และหมู่ที่ 3 ต.ศาลาด่าน มีความเป็นธรรมชาติ น�้ำใส หาดทรายสวย มีระยะแนวหาดประมาณ 3 กม. เหมาะส�ำหรับ อาบแดด และเล่นกีฬาชายหาด มีโรงแรมทั้งสิ้น จ�ำนวน 59 แห่ง หาดคลองโขง
หาดคลองโขง ตั้งอยู่หมู่ที่ 2 บ้านคลองโขง ต.ศาลาด่าน เป็นหาดที่ไม่ติดต่อหาดใด หาดทรายขาว มีความยาวประมาณ 3 กม. น�้ำเขียวใส เป็นที่นิยมส�ำหรับนักท่องเที่ยว ไม่แพ้หาดอื่นๆ จุดเด่นมีทิวมะพร้าวและร่มเงาของต้นสนให้นอนอาบแดดหรือนั่งชมวิว เพลินๆ มีโรงแรม จ�ำนวน 43 แห่ง
ศูนย์ศึกษาธรรมชาติป่าชุมชนและท่องเที่ยวเชิงนิเวศ บ้านทุ่งหยีเพ็ง ตัง้ อยูห่ มูท่ ี่ 4 ต.ศาลาด่าน มีเนื้อที่ 1,995 ไร่ เป็นโครงการจัดการทรัพยากรธรรมชาติโดยชุมชนที่ผ่าน กระบวนการเรียนรู้ ผ่านการคิด วิเคราะห์ และการฝึก อบรม รสทช. (ราษฎรอาสาสมัครพิทักษ์ทะเลและชายฝั่ง) รวมทั้งการศึกษาดูงานเพื่อเตรียมความพร้อมของชุมชนจน เข้าใจและสามารถด�ำเนินการในด้านการจัดการทรัพยากร ทางธรรมชาติตา่ งๆ ในหมูบ่ า้ นตัวเอง ศูนย์ศกึ ษาธรรมชาติฯ จึงเป็นทั้งแหล่งเรียนรู้และด�ำเนินกิจกรรมไปพร้อมๆ กัน กิจกรรมในป่าชุมชนบ้านทุ่งหยีเพ็ง มีการบริการท่องเที่ยว พายเรือคายัค ชมธรรมชาติปา่ ชายเลน ชมเกาะต่างๆ
ชุมชนบ้านโต๊ะบาหลิว ตั้งอยู่หมู่ที่ 1 เส้นทางไปท่า เทียบเรือบ้านศาลาด่าน กลุ่มชนพื้นเมือง ชาวเลอูรักลาโว้ย มีเอกลักษณ์ด้านศิลปวัฒนธรรมประเพณี “การลอยเรือ” ที่สืบทอดกันมายาวนาน จัดขึ้นปีละ 2 ครั้ง ทุกวันขึ้น 13 – 14 – 15 ค�่ำ เดือน 6 และเดือน 11 KRABI I SBL บันทึกประเทศไทย
111
WOR K LI FE
อ�ำเภอคลองท่อม “สระมรกตขึ้ น ชื่ อ นามระบื อ แหล่ ง ลู ก ปั ด งามเด่ น ชั ด น�้ ำ ตกร้ อ น ชื่ อ กระฉ่ อ นนกแต้ ว แร้ ว งามเพริ ศ แพร้ ว น�้ ำ พุ ร ้ อ นเค็ ม ” ค�ำขวัญอ�ำเภอคลองท่อม
“ถิ่ น ธาราบ� ำ บั ด ด้ ว ยน�้ ำ พุ ร ้ อ น ถิ่ น พั ก ผ่ อ นเพื่ อ คุ ณ ภาพชี วิ ต ยึ ด เศรษฐกิ จ พอเพี ย ง สั ง คมปลอดภั ย และมี คุ ณ ธรรม หรื อ ที่ เ รี ย กกั น ทั่ ว ไปว่ า คลองท่ อ มเมื อ งสปา”
วิสัยทัศน์การท่องเที่ยว
ที่ว่าการอ�ำเภอคลองท่อม หมู่ที่ 9 ต�ำบล คลองท่อมใต้ อ�ำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่ 81120 เบอร์โทร 075-702780,075-702781
สถานที่ท่องเที่ยวส�ำคัญ
นายไพศาล ศรี เ ทพ นายอ�ำเภอคลองท่อม
112
SBL บันทึกประเทศไทย I กระบี่
1. พิพิธภัณฑ์สถานลูกปัดคลองท่อม ตั้งอยู่ บริเวณวัดคลองท่อม หมู่ที่ 2 ต�ำบลคลองท่อมใต้ เป็ น ที่ แ สดงโบราณวั ต ถุ ต ่ า งๆ ที่ ขุ ด พบได้ ใ น บริ เวณ “ควนลู ก ปั ด ”อั น เป็ น เนิ น ดิ น หลั ง วั ด คลองท่อมเอาไว้มากมาย ทั้งเศษภาชนะดินเผา
เครื่องมือหิน เครื่องประดับที่ท�ำจากหิน หินเผา รูปสัตว์ต่างๆ จารึกอักษรสั้นๆ บนตราประทับ ที่ท�ำจากหินแก้ว และโดยเฉพาะอย่างยิ่งลูกปัด โบราณ อันเป็นมรดกทางวัฒนธรรมที่เก่าแก่ ของมนุษย์เมื่อ 5,000 ปีมาแล้ว 2. ป่าเขานอจู้จี้ เป็นป่าที่อยู่ในบริเวณเขต รักษาพันธ์สัตว์ป่าเขาประ-บางคราม ห่างจาก ที่ ว ่ า การอ� ำ เภอคลองท่ อ มประมาณ 17 กิ โ ลเมตร มี ลั ก ษณะเป็ น ป่ า ดิ บ ชื้ น ที่ ร าบต�่ ำ สูงจากระดับน�้ำทะเลปานกลาง 2,000 เมตร มี พืชพรรณและสัตว์ปา่ ขนาดเล็กมากมาย ทีส่ ำ� คัญ คือเป็นแหล่งอาศัยแหล่งสุดท้ายของ “นกแต้ว แร้วท้องด�ำ” ซึ่งเป็นนกที่ใกล้จะสูญพันธ์ มีการ จัดเส้นทางเดินศึกษาธรรมชาติ จึงเป็นสภาพป่า ที่ราบต�่ำที่สำ� คัญที่สุดของจังหวัดกระบี่ 3. สระมรกต เป็ น สระน�้ ำ ที่ มี สี เขี ย วใส
เหมือนมรกต เป็นปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ ที่น่าสนใจ สามารถลงเล่นน�้ำได้ แต่ไม่ควรที่จะ น� ำ สบู ่ ห รื อ แชมพู ล งไปใช้ เ พราะจะท� ำ ให้ เ สี ย ความสมดุลของธรรมชาติ ตลอดจนไม่ควรน�ำ น�้ำมาดื่มเพราะเสี่ยงต่อการท�ำให้เกิดโรคนิ่วได้ ตั้งอยู่ภายในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาประ-บาง คราม หมู่ที่ 2 ต�ำบลคลองท่อมเหนือ ห่างจาก อ�ำเภอคลองท่อมประมาณ 17 กิโลเมตร 4. น�้ำตกร้อนคลองท่อม ตั้งอยู่ ณ หมู่ที่ 4 ต�ำบลคลองท่อมเหนือ ห่างจากที่ว่าการอ�ำเภอ คลองท่อมประมาณ 12 กิโลเมตร เป็นน�้ำพุ ร้อนใต้ดิน ที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ไหลลง มาเป็ น ล� ำ ธารและตกสู ่ ล� ำ คลองคลองท่ อ ม ท�ำให้มีลักษณะเหมือนน�้ำตก ซึ่งในตัวน�้ำพุร้อน จะมีส่วนผสมของก�ำมะถัน มีอุณหภูมิประมาณ 42 – 45 องศาเซลเซียส ซึ่งเหมาะส�ำหรับการ
ลงไปแช่ บริเวณปลายล�ำธารเป็นแอ่งน�้ำขนาด ไม่ใหญ่ลดหลั่นกันไปเป็นชั้นๆ บางช่วงมีควัน กรุ่น และมีคราบหินปูนตามธรรมชาติพอกอยู่ เป็ น ชั้ น หนา ท� ำ ให้ เ กิ ด ทั ศ นี ย ภาพที่ ส วยงาม แปลกตา ขณะนี้ มี ก ารพั ฒ นาน�้ ำ ตกร้ อ น คลองท่อมเพื่ออ�ำนวยความสะดวกให้แ ก่นัก ท่องเที่ยว โดยจัดท�ำทางเดินเท้า ที่พักและสปา ส�ำหรับอาบน�้ำแร่ แช่น�้ำร้อน รวมทั้งพัฒนา สภาพแวดล้อมโดยทั่วไปให้สวยงามยิ่งขึ้น 5. น�้ ำพุร ้อนเค็มคลองท่อ ม ตั้งอยู่ที่ป่า ชุมชนบ่อน�้ำร้อน หมู่ที่ 8 ต�ำบลห้วยน�้ำขาว ระยะทางห่างจากที่ว่า การอ�ำเภอคลองท่อ ม ประมาณ 7 กิโลเมตร เป็นน�้ำพุร้อนที่เกิดจาก ใต้ พื้ น ดิ น แต่ มี ร สเค็ ม มี ลั ก ษณะใสสะอาด สะท้อนกับท้องฟ้าเป็นสีมรกต มีอุณหภูมิสูง ประมาณ 40 – 47 องศาเซลเซียส
KRABI I SBL บันทึกประเทศไทย
113
WOR K LI FE
เทศบาลต�ำบลคลองพนพัฒนา “ท้ อ งถิ่ น น่ า อยู ่ ประชาชนมี คุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ ดี ควบคู ่ วั ฒ นธรรมประเพณี เศรษฐกิ จ ดี มุ ่ ง เน้ น การบริ ห ารใช้ ห ลั ก ธรรมาภิ บ าล น้ อ มน� ำ ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง” วิสัยทัศน์เทศบาลต�ำบลคลองพนพัฒนา
นายณพรวิ ศิ ษ ฎ์ ผลเงาะ นายกเทศมนตรีต�ำบลคลองพนพัฒนา
ประวัติความเป็นมา เทศบาลต�ำบลคลองพนพัฒนา ตั้งอยู่เลขที่ 29/4 ม.4 ถนนเพชรเกษม ต� ำ บลคลองพน อ� ำ เภอคลองท่ อ ม จั ง หวั ด กระบี่ 81170 โทรศัพท์ 075-656941 โทรสาร 075-656942 khlongphon@khlongphonpat.org คลองพนมี แ ม่ น�้ ำ หลายสายเป็ น ห้ ว ยหรื อ คลอง และมี ชื่ อ เรี ย กต่ า งกั น เช่ น ห้ ว ยแห้ ง ห้วยจ�ำปูน ห้วยแก คลองนา คลองแรด คลอง คุ้งคั้ง คลองพน และสายน�้ำแต่ละสายจะไหล ลงสูท่ ะเลน�้ำเค็มใกล้บริเวณท่าน�้ำ เช่น ท่าน�ำ้ ท่อ 114
SBL บันทึกประเทศไทย I กระบี่
ท่ามะพร้าว ค�ำว่า “ท่า” หมายถึง ที่เทียบเรือ ซึ่งการเดิน ทาง สมัยก่อนการคมนาคมยังไม่ สะดวกเท่าที่ควร การติดต่อระหว่างหมู่บ้าน ใกล้เคียงซึ่งอยู่บริเวณชายทะเลจะเดินทางโดย ทางเรือ อาจเป็นเรือพาย เรือแจว โดยเฉพาะ ริมคลองสายหนึ่งจะมีต้นพนขึ้นริมคลองเป็น กลุ่มตามแนวคลอง ลักษณะของต้นพนล�ำต้น ใหญ่ เ ท่ า ต้ น มะพร้ า ว มี ก าบใบและมี ผ ลช่ อ เหมื อ นหมาก ผลมี ร สฝาดมากจึ ง ไม่ นิ ย มรั บ ประทาน ชาวบ้านจึงเรียกบริเวณนีว้ า่ “คลองพน”
พ.ศ. 2409 (ร.ศ.89) เจ้าเมืองนครได้ส่งพระ ปลัดเมืองมาตั้งเพนียดคล้องช้างที่บ้านกาไส (ปกาไส) ท�ำให้ผู้คนจากนครศรีธรรมราชอพยพ ติดตามเข้ามาหักร้างถางพงเป็นที่ท�ำกินตาม บริเวณ ที่ราบลุ่มล�ำคลอง และริมฝั่งทะเลทั่วไป ซึ่งได้แก่ บ้านคลองพน คลองขนาน คลองเสียด คลองเพหลา คลองกาไส คลองกระบี่ น ้ อ ย คลองกระบี่ ใ หญ่ คลองปากลาว เป็ น ต้ น ชาวบ้ า นแต่ ล ะแห่ ง จะอยู ่ กั น เป็ น อิ ส ระและ ขยายตัวมากขึ้น พระปลัดเมืองจึงเล็งเห็นว่า หากปล่อยไว้ให้ปกครองกันเอง อาจก่อให้เกิด ปัญหากลุ่มอิทธิพลขึ้นได้ จ�ำเป็นจะต้องจัดการ ให้ชาวบ้านได้อยู่กันอย่างมีระบบ โดยมีทาง บ้านเมืองเข้าไปควบคุมดูแล พระปลัดเมืองจึง ได้ ส� ำ รวจกลุ ่ ม ชาวบ้ า นเหล่ า นั้ น เสนอต่ อ เจ้ า เมืองนครศรีธรรมราช จัดตั้งเป็นองค์กรการ ปกครองเรียกว่า “แขวง” ขึ้นครั้งแรก จ�ำนวน 3 ชุมชน คือ 1. แขวงบ้านกาไส ตั้งขึ้นตรงเพนียดจับริมช้าง ริมคลองกาไส 2. แขวงบ้านคลองพน ตั้งขึ้นริมคลองพนซึ่งอยู่ ในเขตต�ำบลคลองพนปัจจุบัน 3. แขวงบ้านปากลาว ตั้งขึ้นริมคลองปากลาว ในเขตอ�ำเภออ่าวลึกปัจจุบัน ต่อมาเมื่อแขวงปกาสัยมีความเจริญ และมี ผู้คนมากขึ้นตามล�ำดับ ล�ำคลองค่อนข้างจะคับ แคบ ที่ตั้งของแขวงจึงไม่เหมาะสม พระปลัด เมืองจึงได้ย้ายจากที่ท�ำการแขวงมาตั้งที่บ้าน ขวางปากคลองกระบี่ใหญ่ ซึ่งมีความสะดวก มากกว่า และต่อมาได้รับการยกฐานะจากแขวง ขึ้นเป็นเมือง ใน ร.ศ. 95 พ.ศ. 2415 สมั ย พระบาทสมเด็ จ พระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5) ได้ชื่อว่า
“เมื อ งกระบี่ ” โดยครั้ ง แรกประกอบด้ ว ย 4 อ�ำเภอ คืออ�ำเภอเมืองกระบี่ อ�ำเภอปากลาว อ�ำเภอเกาะลันตา และ อ�ำเภอคลองพน เมื่อแขวงเมืองปกาใสได้รับการยกฐานะเป็น เมืองกระบี่ในปี พ.ศ. 2415 แล้ว ทางการได้ แต่งตั้งให้ “หลวงเทพเสนา” เป็นเจ้าเมืองคน แรก อยู่ในก�ำกับดูแลของเมืองนครศรีธรรมราช ซึ่งตรงกับสมัยรัชกาลที่ 5 พระองค์ทรงปรับปรุง การปกครองจากแบบจตุสดมภ์ มาเป็นแบบ สมั ย ใหม่ เช่ น ยกเลิ ก ค� ำ ว่ า เมื อ งมาเป็ น “จังหวัด” ยกเลิกค�ำว่า “แขวงเมือง” มาเป็น “อ� ำ เภอ” ยกเลิ ก ค� ำ ว่ า “หมวด” มาเป็ น “ต�ำบล” ยกเลิกค�ำว่า “หมู”่ มาเป็น “หมูบ่ า้ น” ดังปรากฏในราชกิจจานุเบกษาฉบับที่ 15 ร.ศ. 96 หลวงเทพเสนาท่ า นได้ ด� ำ เนิ น งานหลาย อย่างให้เป็นไปตามแผนการพัฒนาเมืองสมัย ใหม่ ตามพระบรมราโชบายรัชกาลที่ 5 คือ ยุบแขวงปากลาว มาตั้งในที่ใหม่ที่บ้านอ่าวลึก ยุบต�ำบลเกาะลันตา เป็นอ�ำเภอเกาะลันตา ยุบแขวงคลองพน มาตั้งที่บ้านคลองท่อม ซึ่งมีการคมนาคมที่สะดวกกว่ามาเป็นอ�ำเภอ คลองท่ อ ม บ้ า นคลองพน หมู ่ ที่ 1 อ� ำ เภอ คลองท่ อ ม จั ง หวั ด กระบี่ บริ เวณชุ ม ชนเป็ น ที่ราบ ค�ำว่า “พน” ที่มา สันนิษฐานว่า น่าจะ มาจากค�ำว่า “วน” เพราะเดิมที่ตั้งบ้านเรือนมี ล� ำ คลองไหลผ่ า น และที่ จุ ด ๆ หนึ่ ง มี น�้ ำ ไหล วนเวี ย นอยู ่ ต ลอด ชาวบ้ า นพากั น เรี ย กว่ า “วังน�้ำวน” หรือคลองวน และอีกนัยหนึ่งตาม ริมคลองสายนี้มีต้นไม้ชนิดหนึ่งตระกูลปาล์ม ขึ้นอยู่ทั่วไป จึงให้ชื่อว่า ต้นพน จึงเปลี่ยนให้ เรียกใหม่จาก คลองวน เป็น คลองพน ชนกลุ่ม แรกที่เข้ามาอาศัยก่อตั้งชุมชน คือ ชุมชนชาว จีนเดินทางมาตามล�ำน�้ำ โดยอาศัยเรือส�ำเภา เข้ามาทางท่าเรือน�้ำท่อ (ปัจจุบัน) เดิมคลองพนนั้น เป็นแขวงต�ำบล ตั้งอยู่ที่ บ้านคอกช้างปัจจุบัน นายแขวงคนสุดท้าย คือ หลวงฤทองนี ต่อมาได้มีการเปลี่ยนระบบการ ปกครอง โดยยุบต�ำบลคอกช้าง มาตั้งต�ำบลที่ คลองพน ยุ บ แขวงคลองพนไปเป็ น อ� ำ เภอ
คลองท่ อ ม เพราะช่ ว งนั้ น เกิ ด โรคระบาดไข้ ทรพิษ ผู้คนล้มตาย ส่วนที่เหลือก็หนีไปอยู่แถว คลองท่อม ปัจจุบัน เทศบาลต�ำบลคลองพนพัฒนา เป็นเทศบาล ต�ำบลขนาดกลาง ได้รับการยกฐานะจากสภา ต�ำบล (นิติบุคคล) ขึ้นเป็นราชการส่วนท้องถิ่น ประเภทองค์การบริหารส่วนต�ำบลตามพระราช บั ญ ญั ติ ส ภาต� ำ บล และองค์ ก ารบริ ห ารส่ ว น ต�ำบล พ.ศ.2537 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราช บั ญ ญั ติ ส ภาต� ำ บลและองค์ ก ารบริ ห ารส่ ว น
ต�ำบล (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2546 ประกอบมาตรา 7 แห่งพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ.2496 และ มาตรา 9 แห่งพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 แก้ ไ ขเพิ่ ม เติ ม โดยพระราชบั ญ ญั ติ เทศบาล ฉบับที่ 14 พ.ศ. 2562 โดยประกาศ กระทรวงมหาดไทย เรื่ อ ง การเปลี่ ย นชื่ อ องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บลคลองพน เป็ น “เทศบาลต�ำบลคลองพนพัฒนา” ประกอบด้วย 14 หมู่บ้าน อยู่ในเขต เทศบาลต�ำบลคลองพน พัฒนา KRABI I SBL บันทึกประเทศไทย
115
นโยบายการพัฒนาของผู้บริหารเทศบาลต�ำบล คลองพนพัฒนา คณะผู้บริหารเทศบาลต�ำบลคลองพนพัฒนา ได้ก�ำหนด นโยบายในการพัฒนาของเทศบาลต�ำบลคลองพนพัฒนา ไว้เพื่อใช้เป็นแนวทางในการบริหารงานราชการโดยยึดหลัก การพัฒนา เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด แก่ประชาชนในท้อง ถิ่น ซึ่งประกอบไปด้วย นโยบายในการพัฒนาทั้ง 9 ด้าน ดังต่อไปนี้ 1. นโยบายการพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐาน 2. นโยบายการพัฒนาด้านคุณภาพชีวิตและสังคม 3. นโยบายการพัฒนาด้านการพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม 4. นโยบายการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 5. นโยบายการพัฒนาด้านเศรษฐกิจ 6. นโยบายการพัฒนาด้านการเมืองและการบริหาร 7. นโยบายการพัฒนาด้านการเกษตร 8. นโยบายการพัฒนาด้านการศิลปวัฒนธรรมและ ประเพณีท้องถิ่น 9. นโยบายการพัฒนาด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิต
สถานที่ท่องเที่ยวเทศบาลต�ำบลคลองพนพัฒนา น�้ำตกหินเพิง
116
SBL บันทึกประเทศไทย I กระบี่
จุดชมวิว ท่าเรือบ้านท่ามะพร้าว
1.โครงการเทศบาลพบประชาชน
โครงการต่างๆของเทศบาลต�ำบลคลองพนพัฒนา
2.โครงการพั ฒ นาศั ก ยภาพและเสริ ม สร้างเครือข่ายผู้สูงอายุ
5.โครงการทูบีนัมเบอร์วัน
3.โครงการสตรีไทยหัวใจแกร่ง
6.โครงการกีฬา
4.โครงการอบรมผู้สูงอายุ
7.โครงการเมาลิด KRABI I SBL บันทึกประเทศไทย
117
WOR K LI FE
เทศบาลต�ำบลทรายขาว “โครงสร้ า งพื้ น ฐานบริ บู ร ณ์ เพิ่ ม พู น เศรษฐกิ จ ทุ ก ชี วิ ต อยู ่ ดี กิ น ดี คนมี ก ารศึ ก ษา พั ฒ นาสู ่ เมื อ งคุ ณ ภาพ” วิสัยทัศน์เทศบาลต�ำบลทรายขาว
นายสุ ทิ น สุ ว รรณบ�ำ รุ ง
ปลัดเทศบาล ปฏิบัติหน้าที่ นายกเทศมนตรีต�ำบลทรายขาว เทศบาลต�ำบลทรายขาว ตั้งอยู่เลขที่ 146 หมู ่ ที่ 2 ต� ำ บลทรายขาว อ� ำ เภอคลองท่ อ ม จังหวัดกระบี่ มีพื้นที่ 103,932 ไร่ หรือประมาณ 166.29 ตารางกิโลเมตร ตั้งอยู่ห่างจากที่ว่าการ อ� ำ เภอคลองท่ อ มประมาณ 26 กิ โ ลเมตร ห่ า งจากตั ว เมื อ งจั ง หวั ด กระบี่ ป ระมาณ 68 กิโลเมตร ตั้ ง อยู ่ ห ่ า งจากที่ ว ่ า การอ� ำ เภอคลองท่ อ ม เป็นระยะทางประมาณ 26 กิโลเมตร โดยมี อาณาเขต ดังนี้ 118
SBL บันทึกประเทศไทย I กระบี่
อาณาเขตทิศเหนือติดต่อกับต�ำบลคลองพน อ�ำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่ อาณาเขตทิ ศ ใต้ ติ ด ต่ อ กั บ ต� ำ บลกะลาเส อ�ำเภอสิเกา จังหวัดตรัง อาณาเขตทิ ศ ตะวั น ออกติ ด ต่ อ กั บ ต� ำ บล กะลาเส อ�ำเภอสิเกา จังหวัดตรัง อาณาเขตทิศตะวันตกติดต่อกับต�ำบลคลอง พนและทะเลอั น ดามั น อ� ำ เภอคลองท่ อ ม จังหวัดกระบี่ เนื้ อ ที่ เทศบาลต� ำ บลทรายขาว มี พื้ น ที่
ทั้งหมดประมาณ 103,932 ไร่ หรือประมาณ 166.292 ตารางกิ โ ลเมตร มี ห มู ่ บ ้ า นในเขต เทศบาลจ�ำนวน 7 หมู่บ้าน ประกอบด้วย หมู่ที่ 1 บ้านห้วยลึก หมู่ที่ 2 บ้านทรายขาว หมู่ที่ 3 บ้านห้วยพลูหนัง หมู่ที่ 4 บ้านบ่อมะม่วง หมู่ที่ 5 บ้านทุ่งคา หมู่ที่ 6 บ้านทุ่งล้อ หมู่ที่ 7 บ้านพรุพี
กิจกรรมของเทศบาลต�ำบลทรายขาว
โครงการส่งเสริมและฝึกอบรมอาชีพ ให้แก่ประชาชน
โครงการปรับสภาพแวดล้อมและสิ่งอ�ำนวยความ สะดวกของผู้สูงอายุให้เหมาะสมและปลอดภัย
กิจกรรมวันเข้าพรรษา
โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูป่าชายเลน
โครงการเข้าค่ายจริยธรรม โครงการแข่งขันกีฬารัฐ-ราษฎร์ ร่วมต้านยาเสพติด
โครงการเมาลิดกลางต�ำบลทรายขาว
โครงการปัจฉิมนิเทศบัณฑิตน้อย
สถานที่ท่องเที่ยว เกาะหัวกะโหลก ล่ อ งเรื อ ชมเกาะ เรี ย นรู ้ วิ ถี ชี วิ ต ชาวเล เกาะค้างคาวเป็นเกาะที่เที่ยวได้ทั้งปี มีค้างคาว แม่ไก่อาศัยอยู่เป็นจ�ำนวนมาก น�้ำหนักแต่ละ ตัวนั้นเป็นกิโล รอบๆเกาะมีปะการังอยู่ น�้ำใส สามารถด�ำน�้ำดูปะการังได้
เกาะหัวกะโหลก
KRABI I SBL บันทึกประเทศไทย
119
โคลนร้อน โคลนร้อน เป็นโคลนที่อยู่ใต้ทะเล อุณหภูมิประมาณ 40 องศา สามารถน�ำมาพอกตัวขัดผิวได้ มีผลวิจัยพบแร่ธาตุ 21 ชนิด ที่ดีต่อร่างกาย
สถานธนานุบาลเทศบาลต�ำบลเขาพนม
โคลนร้อน
120
SBL บันทึกประเทศไทย I กระบี่
ท่าเทียบเรือบ้านบ่อมะม่วง เป็นท่าเทียบเรือที่สามารถนั่งเรือไปยังเกาะต่างๆได้ เช่น เกาะพีพี เกาะลันตา เกาะรอก เกาะไห่ และเกาะมุก
ท่าเทียบเรือบ้านบ่อมะม่วง
ส�ำนักงานเทศบาลต�ำบลทรายขาว ตั้งอยู่เลขที่ 146 หมู่ที่ 2 ต�ำบทรายขาว อ�ำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่ 81170 โทรศัพท์ 0-7564-2303 โทรสาร 0-7564-2303 www.saikhawcity.go.th KRABI I SBL บันทึกประเทศไทย
121
WOR K LI FE
เทศบาลต�ำบลคลองท่อมใต้ “เมื อ งน่ า อยู ่ แหล่ ง เรี ย นรู ้ พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ วั ฒ นธรรมท้ อ งถิ่ น การจั ด การศึ ก ษาดี มี คุ ณ ภาพ มี ส ถานธนานุ บ าล บริ ก ารทั่ ว ถึ ง ” วิสัยทัศน์เทศบาลต�ำบลคลองท่อมใต้
“การบริการสาธารณะ คือ หัวใจของ ท้องถิ่น” จากกระแสแนวคิดในการปฏิรูปขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อให้เกิดการกระจาย อ�ำนาจภายใต้การบริหารงานด้วยความโปร่งใส เปิดเผยและมีส่วนร่วมนั้น ถือเป็นหัวใจหลัก ส�ำคัญอย่างยิ่งต่อการจัดท�ำบริการสาธารณะ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
นายพิ ริย ะ ศรี สุข สมวงศ์ นายกเทศมนตรีต�ำบลคลองท่อมใต้
ข้อมูลทั่วไป เทศบาลต�ำบลคลองท่อมใต้ ตั้งอยู่ ถนน เพชรเกษม (ทางหลวงหมายเลข 4) ตอนกระบี่ – ตรัง หมู่ที่ 2 ต�ำบลคลองท่อมใต้ อ�ำเภอ คลองท่อม จังหวัดกระบี่ ห่างจากตัวจังหวัด กระบี่ ประมาณ 42 กิโลเมตร และห่างจาก กรุงเทพฯ ประมาณ 870 กิโลเมตร มีพื้นที่ใน การดู แ ล 2.70 ตารางกิ โ ลเมตร เดิ ม เป็ น สุ ข าภิ บ าลคลองท่ อ มใต้ จั ด ตั้ ง ตามประกาศ กระทรวงมหาดไทย ลงวันที่ 30 สิงหาคม 2499 122
SBL บันทึกประเทศไทย I กระบี่
และต่อมา สุขาภิบาลคลองท่อมใต้ ได้รับการ เปลี่ยนแปลงเป็น “เทศบาลต�ำบลคลองท่อม ใต้” ตามพระราชบัญญัติเปลี่ยนแปลงฐานะเป็น เทศบาลต�ำบลคลองท่อมใต้ ตามพระราชบัญญัติ เปลี่ ย นแปลงฐานะเป็ น เทศบาล พ.ศ.2542 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 116 ตอน ที่ 9 ก ลงวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2542 มีผลบังคับ ใช้ตั้งแต่วันที่ 25 พฤษภาคม 2542 มีเขตการ ปกครอง 4 ชุมชน ประชากรรวมทั้งหมด 3,621 คน และจ�ำนวนครัวเรือน 1,765 ครัวเรือน
พิพิธภัณฑสถานคลองท่อม จังหวัดกระบี่ พิพิธภัณฑสถานคลองท่อม ก่อตั้งขึ้นโดย พระครูอาทรสังวรกิจ (พระสวาส กนฺตสงฺวโร) (นามสกุลเดิม เอี่ยวน้อย) อดีตเจ้าอาวาสวัด คลองท่ อ ม เจ้ า คณะอ� ำ เภอคลองท่ อ มและ อ� ำ เภอเกาะลั น ตา ได้ ร วบรวมลู ก ปั ด โบราณ แบบต่างๆ รวมทั้งโบราณวัตถุอื่นๆ ที่พบในควน ลูกปัดหลังวัดคลองท่อม มาเก็บรักษาไว้ตั้งแต่ พ.ศ.2525 ใช้ชื่อว่า “พิพิธภัณฑสถานพระครู อาทรสังวรกิจ” เพื่อให้ผู้ที่สนใจได้มาศึกษาและ อนุรักษ์สิ่งที่มีคุณค่าของแผ่นดินไว้ ภายหลัง เ ป ลี่ ย น ม า ใช ้ ชื่ อ อ ย ่ า ง เ ป ็ น ท า ง ก า ร ว ่ า “พิ พิธ ภั ณ ฑสถานวัด คลองท่อม” ต่อมาชาว บ้านได้น�ำโบราณวัตถุต่างๆ ที่มีไว้ในครอบครอง มาบริจาคเพิ่มเติม รวมทั้งบริจาคเงิน วัสดุ และ อุปกรณ์ในการจัดท�ำพิพิธภัณฑ์ อีกทั้งองค์กร และหน่ ว ยงานต่ า งๆ เช่ น เทศบาลต� ำ บล คลองท่ อ มใต้ องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บล คลองท่อมใต้ องค์การบริหารส่วนจังหวัดกระบี่ ส�ำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดกระบี่ นักวิชาการ และกรมศิลปากร ได้ร่วมให้ความช่วยเหลือและ
พิพิธภัณฑสถานคลองท่อม จังหวัดกระบี่
ร่วมสนับสนุนในการจัดแสดงโบราณวัตถุและ การด�ำเนินงานพิพิธภัณฑ์มาอย่างต่อเนื่อง พ.ศ.2555 ส� ำ นั ก งานวั ฒ นธรรมจั ง หวั ด กระบี่และเทศบาลต�ำบลคลองท่อมใต้ได้ร่วมกัน ด� ำ เนิ น การปรั บ ปรุ ง อาคารและการจั ด แสดง
ภายในพิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ใ ห้ มี ค วามทั น สมั ย มากขึ้ น เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้และเป็นสถานที่ท่องเที่ยว เชิงประวัติศาสตร์และโบราณคดีแก่เยาวชน และนักท่องเที่ยวที่สนใจ พ.ศ.2558 เปิดใช้อย่างเป็นทางการ
กลุ่มส่งเสริมอาชีพ กลุ ่ ม วิ ส าหกิ จ ชุ ม ชนคลองท่ อ มลายคราม เทศบาลต� ำ บลคลองท่ อ มใต้ เทศบาลต� ำ บล คลองท่อมใต้ มีเป้าหมายในการพัฒนาชุมชน คื อ การท� ำ ให้ ป ระชาชนมี คุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ ดี ประชาชนสามารถพึ่งพาตนเองได้ทั้งในระดับ บุคคล ครัวเรือนและชุมชน โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่ อ ส่ ง เสริ ม อาชี พ พั ฒ นาความรู ้ แ ละทั ก ษะ อาชีพของกลุ่มประชาชนที่สนใจ สามารถน�ำ ความรู้ที่ได้รับไปพัฒนาสร้างอาชีพเสริมก่อให้ เกิดรายได้ เป็นการส่งเสริมและสนับสนุนด้าน อาชีพให้กับประชาชน กลุ ่ ม วิ ส าหกิ จ ชุ ม ชนคลองท่ อ มลายคราม เทศบาลต�ำบลคลองท่อมใต้ ตั้งอยู่เลขที่ 128 หมู่ที่ 2 ต�ำบลคลองท่อมใต้ อ�ำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่ ซึง่ ปัจจุบนั มี นางขวัญยืน บุตรครุธ และมีสมาชิกร่วมก่อตั้งจ�ำนวน 14 คน มีการ ร่วมกลุม่ เพือ่ ด�ำเนินกิจกรรม “การท�ำผ้ามัดย้อม และผ้าเพ้นท์ลายตัดเย็บส�ำเร็จรูป”
กลุ่มส่งเสริมอาชีพ
KRABI I SBL บันทึกประเทศไทย
123
ที่ว่าการอ�ำเภอคลองท่อมหลังเก่า ตั้งอยู่ที่ ส� ำ นั ก งานเทศบาลต� ำ บลคลองท่ อ มใต้ ม.2 ต.คลองท่ อ มใต้ อ.คลองท่ อ ม จ.กระบี่ เพื่อตรวจสภาพอาคาร เมื่อครั้งพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เสด็จฯเยี่ยม ราษฎรชาวคลองท่อมเมื่อวันที่ 13 มี.ค.2502 เวลา 10.58 น. สร้างความปลื้มปีติยินดีให้แก่
ที่ว่าการอ�ำเภอคลองท่อมหลังเก่า
โรงเรียนเทศบาลคลองท่อมใต้ ตั้งอยู่เลขที่ 310 หมู ่ ที่ 2 ต� ำ บลคลองท่ อ มใต้ อ� ำ เภอ คลองท่อม จังหวัดกระบี่ รหัสไปรษณีย์ 81120 โทรศัพท์ 075–699221 โทรสาร 075–699222 Website www.tbktschool.ac.th สั ง กั ด เทศบาลต�ำบลคลองท่อมใต้ อ�ำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่ เปิดสอนระดับชั้นอนุบาลประถม ศึกษาปีที่ 1 - 6 โรงเรียนมีเนือ้ ที่ 8 ไร่ 1 งาน 59 ตารางวา
124
SBL บันทึกประเทศไทย I กระบี่
พสกนิกรที่มารอเข้าเฝ้ารับเสด็จ “ที่ว่าการอ�ำเภอหลังเก่าที่นี้ ยังมี สภาพแข็งแรงและไม่ได้เสื่อมไปตาม สภาพ เราก�ำลังจัดตั้งงบพัฒนาที่จะ ร ่ ว ม กั บ ท า ง จั ง ห วั ด แ ล ะ อ� ำ เ ภ อ คลองท่ อ ม เพื่ อ จะอนุ รั ก ษ์ แ ละ ปรับปรุงอาคารหลังนี้เป็นอนุสรณ์ว่า ครั้งหนึ่งพระองค์ท่านได้เสด็จมาเยี่ยม เยือนประชาชนในอ�ำเภอคลองท่อม”
โรงเรียนเทศบาลคลองท่อมใต้
ศาลหลักเมืองคลองท่อม ศาลหลักเมืองคลองท่อมเป็น สถานที่ ที่ เ กิ ด ปฏิ ห าริ ย ์ แ ละ มหัศจรรย์ของศาลหลักเมือง คลองท่ อ มอยู ่ ห ลายครั้ ง จนเป็นที่ประจักษ์แก่ผู้ที่ได้ สั ม ผั ส โดยตรง จึ ง นั บ เป็ น ศาลหลั ก เมื อ งที่ ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ซึ่งเป็น ปูชนียสถานและเป็น ศูนย์รวมจิตใจของประชาชน
ศาลหลักเมืองคลองท่อม
สระว่ายน�้ำเทศบาลต�ำบลคลองท่อมใต้ เปิดบริการเพื่อให้นักเรียน เยาวชน ประชาชน ผู้สูงอายุ ได้ใช้บริการ และเวลาการเข้าใช้สระ ว่ายน�้ำเทศบาลต�ำบลคลองท่อมใต้ - วันจันทร์ - วันศุกร์ (วันปกติ) เปิดใช้เวลา 17.00 - 20.00 น - วันหยุดราชการและวันหยุดนักขัตฤกษ์ เปิดใช้เวลา 09.00 - 20.00 น - วันหยุดปิดภาคเรียน เปิดใช้เวลา 09.00 - 20.00 น
สระว่ายน�้ำเทศบาลต�ำบลคลองท่อมใต้
สถานธนานุบาล เทศบาลต�ำบลคลองท่อมใต้ (โรงรับจ�ำน�ำ) ที่ตั้ง เลขที่ 595 หมู่ที่ 2 ต�ำบลคลองท่อมใต้ อ�ำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่ เปิดใช้บริการ ตั้ ง แต่ วั น ที่ 24 มกราคม 2560 ปั จ จุ บั น มี นายไพโรจน์ นุราช ด�ำรงต�ำแหน่ง ผู้จัดการ สถานธนานุบาลเทศบาลต�ำบลคลองท่อมใต้
สถานธนานุบาล เทศบาลต�ำบลคลองท่อมใต้ KRABI I SBL บันทึกประเทศไทย
125
WOR K LI FE
องค์การบริหารส่วนต�ำบลห้วยน�้ำขาว เป็ น องค์ ก รหลั ก ในการพั ฒ นาต� ำ บลห้ ว ยน�้ ำ ขาว ให้ มี ค วามเจริ ญ ก้ า วหน้ า ในทุ ก ด้ า น ด้ ว ยการบริ ห ารจั ด การตามหลั ก ธรรมาภิ บ าล” วิสัยทัศน์ องค์การบริหารส่วนต�ำบลห้วยน�้ำขาว
นายวิ เวก ผิ ว ด�ำ
นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลห้วยน�้ำขาว
126
SBL บันทึกประเทศไทย I กระบี่
องค์การบริหารส่วนต�ำบลห้วยน�ำ้ ขาว ตัง้ อยู่ เลขที่ 99 หมู ่ 7 ต�ำ บลห้ ว ยน�้ ำ ขาว อ� ำ เภอ คลองท่อม จังหวัดกระบี่ อยู่ห่างจากที่ว่าการ อ� ำ เภอคลองท่ อ มเป็ น ระยะทางประมาณ 7 กิโลเมตร เนื้อที่ องค์การบริหารส่วนต�ำบลห้วย น�้ำขาว มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 8,581.25 ไร่ หรือประมาณ 109.73 ตารางกิโลเมตร
แหล่งท่องเที่ยวส�ำคัญ น�้ำพุร้อนเค็มคลองท่อม น�้ำพุร้อนเค็มคลองท่อม เป็นบ่อน�้ำพุร้อนที่เกิด ขึ้นเองตามธรรมชาติ ซึ่งมีความแปลกในเรื่อง ของน�้ำที่มีรสเค็ม จากข้อมูลของแหล่งน�้ำพุร้อน ของประเทศไทย จ�ำนวนทั้งหมด 112 แห่ง จะพบว่ า น�้ ำ พุ ร ้ อ นเค็ ม คลองท่ อ มมี แ ห่ ง เดี ย ว ของประเทศไทยและทั่ ว โลกมี แ ค่ 2 แห่ ง โดยอีกหนึ่งแห่งอยู่ในประเทศสาธารณรัฐเชค แถบยุโรปตะวันออก ส�ำหรับที่ตั้งน�้ำพุร้อนเค็ม คลองท่อม ตั้งอยู่ในเขตป่าชายเลนคลองบางผึ้ง และคลองพ่อ หมู่ที่ 8 ต�ำบลห้วยน�้ำขาว อ�ำเภอ คลองท่อม จังหวัดกระบี่ เป็นน�้ำพุร้อนที่มีรส เค็ ม มี จ�ำ นวนบ่อที่ถูกค้นพบในพื้นที่ 14 บ่อ ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 131 ไร่ 2 งาน 4 ตารางวา มี ลั ก ษณะใสสะอาดสะท้ อ นกั บ ท ้ อ ง ฟ ้ า เ ป ็ น สี ม ร ก ต ใ ห ้ ป ริ ม า ณ ก ๊ า ช คาร์บอนไดออกไซด์น้อย มีกลิ่นก�ำมะถัน และ ก๊าชไข่เน่า (H2S) น้อยมาก พบสาหร่ายสีเขียว และคราบผลึกของแคลไซต์สีขาว และสีเหลือง อยู่ทั่วไป แหล่งน�้ำพุร้อนเกิดขึ้นบริเวณที่ราบป่าเลน น�้ ำ ทะเลท่ ว มถึ ง สภาพเป็ น ป่ า แสม และ ป่าโกงกาง บริเวณกลางพื้นที่เนินเขา 2 ลูก วางตัวอยู่ ในแนวทิศประมาณ เหนือ-ใต้ ห่างกันประมาณ 65 เมตร เนินเขาทั้งสองลูกมีความสูงประมาณ 10 เมตรจากระดับพื้นดิน เนินเขานี้ประกอบ ด้ ว ย หิ น กรวดมนสี แ ดง หิ น ทรายสี น�้ ำ ตาล แทรกสลั บ ด้ ว ยหิ น ดิ น ดาน และหิ น โคลนยุ ค จู แรสซิ ก มี แ นวหิ น ปู น สี ด� ำ แทรกอยู ่ ท างทิ ศ ตะวั น ตกขนานกั บ เนิ น เขา โดยสามารถพบ บ่ อ น�้ ำ พุ ร ้ อ นเกิ ด ขึ้ น อยู ่ ใ นแนวหิ น ปู น หรื อ บริเวณใกล้แนวหินปูน ซึ่งคาดว่าหินปูนนี้เป็น ยุ ค ใหม่ เ กิ ด จากการตกผลึ ก ของสารละลาย แคลเซียมคาร์บอเนต น�้ำพุร้อนเค็มในสมัยอดีตเป็นพื้นที่ป่าดงดิบ และมีบ้านเรือนเพียงไม่กี่หลังคาเรือน ในสมัย นั้นน�้ำพุร้อนเค็มมีสภาพของการเป็นป่าดงดิบ ที่มีลักษณะของป่าชายเลน เส้นทางยังเป็นทาง เดินเท้าสองข้างทาง เป็นเพียงป่ารก มีพวกสัตว์
ป่านานาชนิด เช่น เสือ งู เก้ง กวาง หมูป่า และ ไก่ป่า เป็นต้น โดยชาวบ้านในพื้นที่จะมีความ เชื่ อ ว่ า น�้ ำ พุ ร ้ อ นเค็ ม เป็ น สถานที่ ที่ มี ค วาม ศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งมีต�ำนานเล่าขานกันมาตั้งแต่สมัย โบราณ ในเรื่องของความศักดิ์สิทธิ์นั้นมีอยู่ว่า ก่ อ นที่ จ ะมี ก ารแสดงหรื อ การละเล่ น ต่ า งๆ ภายในพื้นที่ของ ต�ำบลห้วยน�้ำขาว เช่น การ แสดงมโนราห์ การแสดงหนังตะลุง การฉาย หนังกลางแปลง หรือแม้แต่หนังขายยาต่างๆ ผู้ที่จัดงานแสดงนั้นจะต้องมีการท�ำพิธีบูชาเพื่อ ขอท�ำการแสดงต่อสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่น�้ำพุร้อนเค็ม ก่อน ซึ่งชาวบ้านเรียกกันว่า “โต๊ะน�้ำร้อน” เชื่อกันว่าหากไม่มีการบูชาขอท�ำการแสดงต่อ “โต๊ ะ น�้ ำ ร้ อ น” ก่ อ นที่ จ ะท� ำ การแสดงนั้ น ๆ จะท�ำให้การแสดงดังกล่าวติดขัดจนไม่สามารถ แสดงได้ จึงท�ำให้กลายเป็นต�ำนานความเชื่อที่ สืบต่อกันมาจนถึงปัจจุบัน
การเดินทางสู่แหล่งท่องเที่ยว การเดิ น ทางโดยรถยนต์ ไ ปยั ง แหล่ ง น�้ ำ พุ ร้อนเค็มคลองท่อม โดยเริ่มจากตัวเมืองจังหวัด กระบี่ไปตามทางหลวงหมายเลข 4 มุ่งสู่ทิศ ตะวันออกผ่านอ�ำเภอเหนือคลอง และอ�ำเภอ คลองท่อม เป็นระยะทางประมาณ 45 กิโลเมตร และเมื่อผ่านสามแยกที่จะไปทางอ�ำเภอล�ำทับ ประมาณ 500 เมตร หรื อ ประมาณหลั ก กิโลเมตรที่ 71.4 ให้แยกขวาไปตามทางทิศ ตะวั น ตกตามทางถนนเทศบาล 5 และถนน ทางหลวงชนบท สายบ้านใต้-ท่าหิน เป็นระยะ ทางประมาณ 5 กิโลเมตร จะมีป้ายบอกเส้น ทางไปบ่อน�้ำร้อน โดยเลี้ยวขวาไปทางทิศเหนือ ตามเส้ น ทางสายท่ า ประดู ่ เป็ น ระยะทาง ประมาณ 2 กิโลเมตร ตรงหลักกิโลเมตรที่ 7 จะ มี ป ้ า ยบอกทางเลี้ ย วซ้ า ยเข้ า น�้ ำ พุ ร ้ อ นเค็ ม คลองท่อม KRABI I SBL บันทึกประเทศไทย
127
น�้ำพุร้อนเค็มคลองท่อม ต�ำบลห้วยน�้ำขาว อ�ำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่ “Saline hot Spring khlongthom”
128
SBL บันทึกประเทศไทย I กระบี่
น�้ำพุร้อนเกิดขึ้นได้อย่างไร น�้ำพุร้อนเกิดจากน�้ำแร่ร้อนที่สะสมตัวอยู่ใต้ โลกในระดั บลึกและไหลกลับ ขึ้นสู่ผิว ดินด้ว ย แรงดันจากการขยายตัวเนื่องจากมีอุณหภูมิสูง ซึ่งการไหลขึ้นสู่ผิวดินผ่านชั้นหินและรอยแตก ของหินด้วยความร้อนสูง ผสมกับน�้ำบาดาล ท� ำ ให้ อุ ณ หภู มิ ล ดต�่ ำ ลง เมื่ อ ผุ ด ขึ้ น ผิ ว ดิ น จึ ง ปรากฏเป็นน�้ำพุร้อน สาเหตุที่น�้ำพุร้อนมีรสเค็มนั้น เกิดจากการ ผสมกันของน�้ำร้อนและ น�้ำบาดาลที่มีส่วน ผสมของน�้ำทะเล ในระดับลึกก่อน โผล่พ้นพื้นผิวดิน เกิดเป็น น�้ำพุร้อน จัดอยู่ในประเภทน�้ำพุร้อนเกลือ (Salt spring) หรือน�้ำพุเกลือ ซึ่งมีปริมาณของเกลือ ผสมอยู่มากกว่า 9 กรัม/ลิตร มีอุณหภูมิสูง ประมาณ 40-47 องศาเซลเซียส มีอัตราการไหล ของน�ำ้ ร้อนรวมทัง้ หมด มีปริมาณมากกว่า 1,640 ลูกบาศก์เมตร/วัน ซึ่งผลการส�ำรวจธรณีวิทยา พบว่าโครงสร้างของชั้นหินในบริเวณนี้ประกอบ ไปด้วยหินกรวดมนและหินทราย ซึง่ มีคณ ุ สมบัติ อุ้มน�้ำและให้น�้ำซึมผ่านได้ น�้ำทะเลอาจจะไหล ซึมผ่านชั้นหินกรวดมนและหินทรายหรือรอย แตกรอยเลื่อน ของแผ่นดินเข้าผสมกับน�้ำพุร้อน ที่ไหลขึ้นสู่ผิวดิน ที่ระดับลึก ระหว่าง 1001,000 เมตร ใต้ผิว ดิน ดังนั้นอัต ราการไหล ของน�้ ำ พุ ร ้ อ นตามธรรมชาติ ย่ อ มคงที่ ไ ม่ เปลี่ยนแปลงไปตามฤดูกาล ดังนั้นอัตราการ ไหลของน�้ำพุร้อนเค็มตามธรรมชาติ มีปริมาณ คงที่ตลอดปี จึงสามารถรองรับการท่องเที่ยวได้ ตลอดทั้งปี คุณสมบัติของน�้ำพุร้อน สามารถใช้ รั ก ษาโรคปวดข้ อ โรคปวดวิ ถี ประสาท และโรคผิดปกติของผิวหนังเรื้อรัง ดัง นั้นจึงพอสรุปได้ว่า การอาบน�้ำพุร้อนบ้านน�้ำ ร้อนมีประโยชน์เช่นเดียวกับการอาบน�้ำแร่ร้อน และยังมีคุณสมบัติเช่นเดียวกับน�้ำทะเล ช่วย รักษาโรคผิวหนังเรื้อรัง เนื่องจากมีสารประกอบ เกลือ และก�ำมะถัน
ประโยชน์ของการแช่น�้ำพุร้อนเค็ม 1.ช่วยบรรเทาอาการปวดกล้ามเนื้อและ ปวดข้อต่างๆ 2.ช่วยกระตุ้นการไหลเวียนของโลหิตดีขึ้น 3.ช่วยขับสารพิษออกจากร่างกาย 4.ช่วยให้นอนหลับง่าย 5.ช่วยให้ผ่อนคลาย ข้อควรปฏิบัติในการแช่น�้ำพุร้อนเค็ม 1.อาบน�้ำช�ำระร่างกายด้วยสบู่ให้สะอาด ก่อนลงแช่ 2.การลงแช่น�้ำพุร้อนเค็มครั้งแรก ให้เริ่ม โดยการแช่ขาทั้ง 2 ข้างก่อนและแช่ในบ่อ ใช้น�้ำ ในบ่ อ ลู บ แขน ล� ำ ตั ว เพื่ อ ให้ ร ่ า งกายปรั บ อุณหภูมิ ประมาณ 3 นาที 3.ลดระดับตัวลงในน�้ำอยู่ระดับเอว รอให้ ร่างกายปรับอุณหภูมิประมาณ 2 – 3 นาที จึง ค่อยแช่น�้ำระดับหน้าอกโดยแช่น�้ำพุร้อนเค็ม รอบละไม่เกิน 5 นาที 4.หลังแช่น�้ำพุร้อนเค็ม ควรนั่งพักประมาณ 5 นาที ดื่มน�้ำสะอาดเพื่อชดเชยการเสียเหงื่อ 5.ขณะใช้บริการ ถ้ามีอาการผิดปกติเช่น หน้ามืด ใจสั่น วิงเวียนศีรษะ ให้รีบขึ้นจากบ่อ ทันที พร้อมแจ้งเจ้าหน้าที่ทราบ
อัตราค่าบริการบุคคลที่เข้าไปในแหล่งท่อง เที่ยวน�้ำพุร้อนเค็ม ประชาชนในเขตต�ำบลห้วยน�ำ้ ขาวไม่เสีย ค่าบริการ(ต้องแสดงหลักฐานบัตรประจ�ำตัว ประชาชน) ประชาชนทั่วไป ผู้ใหญ่ท่านละ 20 บาท และเด็กอายุเกิน 6-15 ปี ท่านละ 10 บาท ชาวต่างประเทศ ผู้ใหญ่ 100 บาท เด็ก 50 บาท เด็กอายุไม่เกิน 6 ปี ไม่ต้อ งช�ำระค่า บริการ อัตราค่าบริการในการจอดยานพาหนะใน พื้นที่ป่าชุมชนที่จัดไว้ให้ รถบัส คันละ 100 บาท รถกระบะ, รถเก่ง ส่วนบุคคล, รถตู้ คันละ 20 บาท ผู้ช�ำระเงินจะได้รับบัตรค่าบริการไว้เป็น หลักฐาน นั ก ท่ อ งเที่ ย วจะได้ รั บ การอ� ำ นวยความ สะดวกในการท่องเที่ยวตามสมควร ส�ำหรับผู้พิการและผู้ทุพลภาพได้รับการ ยกเว้นค่าธรรมเนียม เปิดท�ำการทุกวันไม่เว้นวันหยุดราชการ เวลา 05.00น.- 20.00น. เบอร์โทรติดต่อ 075-699654 ,089-9733863 อัตราค่าบริการนวดแผนไทย นวดแผนไทย นวดฝ่าเท้า นวดน�้ำมัน (บริการนวดแผนไทยประจ�ำทุกวันเวลา 07.0017.00 โดยกลุ่มนวดแผนไทยที่ผ่านมาตรฐาน ฝีมือแรงงาน) KRABI I SBL บันทึกประเทศไทย
129
History of buddhism....
วัดคลองพน พระพุทธสิกขีจักรพรรดิ์มุนีสัมพุทธชยันตีศรีคลองพน พระพุทธรูปหนึ่งเดียวของภาคใต้
พระครูสมุห์ธรรมพร เขมธมฺโม ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดคลองพน
ประวัติความเป็นมา วัดคลองพน ตั้งอยู่เลขที่ 66 บ้านคลองพน หมู่ที่ 1 ต�ำบลคลองพน อ�ำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ที่ตั้งวัด เนื้อที่ 20 ไร่ 2 งาน 35 ตารางวา โฉนดเลขที่ 527 มีที่ธรณีสงฆ์ 1 แปลง เนื้อที่ 5 ไร่ 3 งาน 78 ตารางวา โฉนดเลขที่ 528 พื้นที่ตั้งวัด เป็นที่ราบสูงเอียงลาดลงทางทิศใต้ มีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมคางหมู 130
SBL บันทึกประเทศไทย I กระบี่
วัดคลองพน สร้างเมื่อประมาณ พ.ศ.2376 เดิมตั้งอยู่ที่ดินซึ่งเป็น ที่ธรณีสงฆ์ ต่อมาย้ายมาสร้างใหม่ ณ สถานที่ปจั จุบนั เมือ่ วันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2474 โดยมีพระใบฎีกาแมง เป็ น ผู ้ ด� ำ เนิ น การสร้ า ง วัดคลองพน ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ.2530 เขตวิ สุ ง คามสี ม า กว้ า ง 30 เมตร ยาว 60 เมตร ผูกพัทธสีมาเมื่อ วันที่ 29 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2547 อาคารเสนาสนะ • อุโบสถกว้าง 30 เมตร ยาว 60 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ.2521 • พระประธานปางมารวิชัย หน้าตัก กว้าง 50 นิ้ว สูง 70 นิ้ว สร้างเมื่อ พ.ศ.2546 • ศาลาการเปรียญกว้าง 20.50 เมตร ยาว 32 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ.2512 • พระประธานปางประทานพรหน้าตัก 33 นิ้ว สูง 42 นิ้ว สร้างเมื่อ พ.ศ.2556 • กุฏิ 10 หลัง นอกจากนี้มีโรงครัว 1 หลัง • ศาลาอเนกประสงค์ 2 หลัง ศาลาบ�ำเพ็ญกุศลศพ 1 หลัง • หอระฆัง 1 หลังและเรือนเก็บพัสดุ 1 หลัง
ประวัติพระครูสมุห์ธรรมพร เขมธมฺโม พระครูสมุห์ธรรมพร เขมธมฺโม อายุ 31 พรรษา 10 นธ.เอก, ป.บส.,พธ.บ วัดคลองพน ต�ำบลคลองพน อ�ำเภอคลองท่อม จังหวัด กระบี่ ปัจจุบันด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดคลองพน สถานะเดิม ชื่อ ธรรมพร นามสกุล ศิลปานนท์ เกิดเมื่อวันจันทร์ ที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2531 บิดา นายสุรววณ นามสกุล ศิลปานนท์ มารดา นางวันลี นามสกุล ศิลปานนท์ บ้านเลขที่ 246/2 หมู่ 1 ต�ำบล คลองพน อ�ำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่ อุปสมบท วันเสาร์ที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ.2553 ณ วัดคลองพน ต� ำ บลคลองพน อ� ำ เภอคลองท่ อ ม จั ง หวั ด กระบี่ พระอุ ป ั ช ฌาย์ พระครูสุกิจวิธาน วิทยฐานะ • พ.ศ.2546 ส�ำเร็จการศึกษาชั้นมัธยมตอนต้น โรงเรียนคลองพน สฤษดิ์พิทยา อ�ำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่ • พ.ศ.2557 สอบได้ น.ธ.เอก สังกัดวัดคลองพน ส�ำนักเรียนคณะ จังหวัดกระบี่ • พ.ศ.2558 ส�ำเร็จการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรการบริหาร กิจการคณะสงฆ์ (ป.บส.) • พ.ศ.2561 ส�ำเร็จการศึกษา ปริญญาตรี พธ.บ. มหาวิทยาลัยมหา จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช สมณศักดิ์ • พ.ศ.2558 ได้รบั แต่งตัง้ เป็น พระสมุห์ ฐานานุกรมในพระศรีรตั นสุธี (ส�ำอางค์ สุภาจาโร ป.ธ.9) เจ้าคณะอ�ำเภอล�ำทับ วัดแก้วโกรวาราม ต�ำบลปากน�้ำ อ�ำเภอเมือง จังหวัดกระบี่ • พ.ศ.2559 ได้ รั บ แต่ ง ตั้ ง เป็ น พระครู ส มุ ห ์ ฐานานุ ก รมใน พระราชวชิรากร ที่ปรึกษาเจ้าคณะภาค 17 วัดมหาธาตุวชิรมงคล ต�ำบลนาเหนือ อ�ำเภออ่าวลึก จังหวัดกระบี่ รอยเท้าพระครูวิศิษฐ์อรรถการ (พ่อท่านคล้ายวาจาสิทธิ์) เมื่อวันที่ 17 มกราคม พ.ศ.2505 วัดคลองพนได้นิมนต์พระครู วิศิษฐ์อรรถการ (พ่อท่านคล้ายวาจาสิทธิ์) มาเป็นประธานสงฆ์ในการ วางศิลาฤกษ์อุโบสถและได้มีการประทับรอยเท้าท่านไว้บนแผ่นวาง ศิลาฤกษ์ 2 แผ่น แผ่นหนึ่งอยู่ใต้อุโบสถวัดคลองพน ส่วนอีกแผ่นไว้ใน ศาลาการเปรียญวัดคลองพน เพื่อให้พุทธศาสนิกชนได้กราบไหว้บูชา เป็นสิริมงคลแก่ตนเองและครอบครัวKRABI I SBL บันทึกประเทศไทย 131
History of buddhism....
132
วัดคลองพน มี “พระพุทธสิกขีจักรพรรดิ์มุนีสัมพุทธชยันตีศรีคลองพน” ขนาดหน้าตัก 9 เมตร สูง 17 เมตร เป็นพระพุทธรูปหนึ่งเดียวของภาคใต้ เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระบรม ชนกาธิเบศร มหาภูมพิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และสมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ติ ิ์ พระบรมราชินนี าถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง
SBL บันทึกประเทศไทย I กระบี่
ท�ำบุญไหว้พระที่วัดคลองพนแล้ว เดินทางไปพักผ่อน ชมธรรมชาติ ที่น�้ำตกหินเพิง ห่างจากวัดคลองพน เพียง 5 กิโลเมตร ได้ไหว้พระ และยังได้พักผ่อนกับธรรมชาติอีกด้วย
สถานที่ท่องเที่ยว น�้ำตกหินเพิง สวรรค์ของนักท่องเทีย่ วทีช่ นื่ ชอบการเดินป่าเชิงอนุรกั ษ์แบบ ผจญภัย น�้ำตกหินเพิงเป็นน�้ำตก 3 ชั้นจากหน้าผาสูงกว่า 800 เมตร จึงเป็นที่พักผ่อนหย่อนใจและศึกษาระบบนิเวศต่างๆ ของ ประชาชนทั่วไป เป็นน�้ำตกที่มีน�้ำไหลผ่านตลอดปี พื้นที่โดยรอบ เป็นป่าต้นน�้ำล�ำธารที่สมบูรณ์ ซึ่งอยู่ในเขตรักษาพันธ์สัตว์ป่า เขาประ-บางคราม ตั้งอยู่หมู่ที่ 8 บ้านหินเพิง ต�ำบลคลองพน อ� ำ เภอคลองท่ อ ม จั ง หวั ด กระบี่ การเดิ น ทางไปเที่ ย วชม นักท่องเที่ยวสามารถเดินชมพันธุ์ไม้และล�ำธารตลอดเส้นทาง ประมาณ 2 กิโลเมตร KRABI I SBL บันทึกประเทศไทย
133
WOR K LI FE
อ�ำเภออ่าวลึก “ถิ่ น ทิ ว เขาสวย รวมถ�้ ำ ล�้ ำ ค่ า ธาราลื อ เลื่ อ งเมื อ งยางปาล์ ม ดี ภาพเขี ย นสี ดึ ก ด� ำ บรรพ์ ” ค�ำขวัญอ�ำเภออ่าวลึก
ถ�้ำผีหัวโต
นายชั ย วุ ฒิ บั ว ทอง นายอ�ำเภออ่าวลึก
ข้อมูลท่องเที่ยวอ�ำเภออ่าวลึก อ�ำเภออ่าวลึก จังหวัดกระบี่ ดินแดนแห่ง “ถิ่นถิวเขาสวย รวยถ�้ำล�้ำค่า ธาราลือเลื่อง เมื อ งยางปาล์ ม ดี ภาพเขี ย นสี ดึ ก ด� ำ บรรพ์ ” เป็นอ�ำเภอที่มีความโดดเด่นในเรื่องการท่อง เที่ยวโดยชุมชน มีชุมชนท่องเที่ยวแหลมสัก ชุมชนท่องเที่ยวบ้านถ�้ำเสือ ชุมชนท่องเที่ยว อ่าวลึกน้อย และชุมชนท่องเที่ยวบ้านกลาง มีถ�้ำที่งดงามหลายแห่ง เช่น ถ�้ำผีหัวโต ถ�้ำคลัง ถ�้ ำ เพชร ถ�้ ำ สระยวนทองและถ�้ ำ เขานาพรุ เป็นต้น
134
SBL บันทึกประเทศไทย I กระบี่
ถ�้ำคลัง
แหล่งท่องเที่ยวที่ส�ำคัญ • อุทยานแห่งชาติธารโบกขรณี • วัดมหาธาตุวชิรมงคล • วัดมหาธาตุแหลมสัก วัดมหาธาตุวชิรมงคล อุทยานแห่งชาติธารโบกขรณี
วัดมหาธาตุแหลมสัก
งานประจ�ำปีของอ�ำเภอ งานวัฒนธรรมย้อนยุค “งานรักอ่าวลึก” เป็น งานประจ� ำ ปี ข องอ� ำ เภออ่ า วลึ ก จั ง หวั ด กระบี่ จัดขึ้นทุกวันที่ 3-7 ธันวาคม ของทุกปี โดยในปี 2562 จัดเป็นครั้งที่ 12 โดยความร่วมมือของทุก ส่วน ทั้งภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาค เอกชนและภาคประชาชน ในงานมีการแต่งกาย ย้อนยุคทั้ง 5 วัน ได้แก่ ย้อนยุควิถีชีวิตบรรพชน ย้ อ นยุ ค มาลาน� ำ ไทย (แฟชั่ น หมวก) ย้ อ นยุ ค บุพเพสันนิวาส (ออเจ้า) ย้อนยุคสามวัฒนธรรม และย้อนยุคมนต์รักลูกทุ่ง ชมอัตลักษณ์ของขน�ำที่ วางเรียงรายอยู่บริเวณอ�ำเภอทั้ง 10 ขน�ำ สามารถ เรียนรู้วิถีชีวิตความเป็นอยู่ของคนในขน�ำ ชมการ ละเล่นพื้นบ้าน ชมการแสดงบนเวทีกลาง ลาน ดนตรี ไ ทย และลานวั ฒ นธรรมของแต่ ล ะขน� ำ นิทรรศการการท่องเที่ยว นิทรรศการยางพารา และปาล์มน�้ำมัน รวมทั้งนิทรรศการของหน่วยงาน ราชการและภาคเอกชน เป็นต้น นอกจากนี้ยังได้ สัมผัสกับอาหารพื้นบ้าน อาหารพื้นเมือง มากมาย จากทุกต�ำบลหมู่บ้าน KRABI I SBL บันทึกประเทศไทย
135
WOR K LI FE
เทศบาลต�ำบลอ่าวลึกใต้ “ศู น ย์ ก ลางการท่ อ งเที่ ย วทางทะเลและเชิ ง วั ฒ นธรรม บนพื้ น ฐานคุ ณ ภาพชี วิ ต และการบริ ห ารกิ จ การบ้ า นเมื อ งที่ ดี ” วิสัยทัศน์เทศบาลต�ำบลอ่าวลึกใต้
โต๊ะช่องโต๊ะยวน
นายสุ ขุ ม ขี่ ท อง นายกเทศมนตรีต�ำบลอ่าวลึกใต้
ข้อมูลทั่วไป เทศบาลต�ำบลอ่าวลึกใต้ ตั้งอยู่ในพื้นที่ ต�ำบลอ่าวลึกใต้และต�ำบลอ่าวลึกเหนือ อ�ำเภอ อ่าวลึก จังหวัดกระบี่ ห่างจากจังหวัดกระบี่ ประมาณ 45 กิ โ ลเมตร มี พื้ น ที่ รั บ ผิ ด ชอบ ประมาณ 8 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 5,000 ไร่ โดยครอบคลุมพื้นที่บางส่วนของหมู่ ที่ 2 , 4 และ 7 ต�ำบลอ่าวลึกใต้ และครอบคลุม พื้นที่บางส่วนของหมู่ที่ 2 ต�ำบลอ่าวลึกเหนือ มี อาณาเขต ดังนี้ ทิศเหนือติดต่อกับหมู่ที่ 7 และ 136
SBL บันทึกประเทศไทย I กระบี่
หมู่ที่ 2 ต�ำบลอ่าวลึกเหนือ ทิศตะวันออกติดต่อ กับหมู่ที่ 2 ต�ำบลอ่าวลึกใต้ ทิศใต้ติดต่อกับหมู่ ที่ 2 ต�ำบลอ่าวลึกเหนือ และหมู่ที่ 2 ต�ำบล อ่าวลึกใต้ ทิศตะวันตกติดต่อกับหมู่ที่ 4, 6, 7 ต�ำบลอ่าวลึกใต้ มีประชากร ทั้งสิ้น 5,725 คน จ�ำนวนครัวเรือน 2,849 ครัวเรือน เทศบาลต�ำบลอ่าวลึกใต้ ได้ยกฐานะจาก สุ ข าภิ บ าลเป็ น เทศบาลต� ำ บล เมื่ อ วั น ที่ 25 พฤษภาคม 2542 ตามพระราชบัญญัติเปลี่ยน แปลงฐานะสุขาภิบาลเป็นเทศบาล พ.ศ.2542
จดทะเบียนสมรส,ธารรักษ์ธารโบก Valentine &Thailand Biennale krabi 2018
อุทยานแห่งชาติธารโบกขรณี
ยุทธศาสตร์การพัฒนา • การพั ฒ นาโครงสร้ า งพื้ น ฐานให้ ไ ด้ มาตรฐานและเพียงพอ • การพัฒนาการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และการ พัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม • การพั ฒ นาการศึ ก ษาให้ ไ ด้ ม าตรฐาน และส่งเสริมการเรียนการสอนในสถานศึกษาสู่ ความเป็นเลิศ • การเสริมสร้างพฤติกรรมสุขภาพ การ ควบคุมและป้องกันโรค • การพั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต เด็ ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ และผู้ด้อยโอกาส • การเสริ ม สร้ า งเอกลั ก ษณ์ ด ้ า นศิ ล ปะ วัฒนธรรม ประเพณีท้องถิ่น และการศาสนา • การพั ฒ นาและส่ ง เสริ ม องค์ ก รชุ ม ชน และสถาบันครอบครัวให้มีความเข้มแข็ง • การป้องกันและแก้ไขปัญหาทางสังคม • การส่ ง เสริ ม และรณรงค์ ใ ห้ ป ระชาชน ทุกเพศ ทุกวัย ออกก�ำลังกาย • การพั ฒ นาระบบการท� ำ งาน พั ฒ นา เครื่ อ งมื อ เครื่ อ งใช้ และสถานที่ ป ฏิ บั ติ ใ ห้ มี ประสิทธิภาพ • การพัฒนาองค์ความรู้ของบุคลากรให้มี ความรู้ มีคุณธรรมและจริยธรรม • การพัฒนาด้านการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัย • การพั ฒ นาข้ อ มู ล ข่ า วสารและการ ประชาสัมพันธ์
การแสดงกลองยาว
โรงเรียนผู้สูงอายุ
ถือศีลกินเจ
การแสดงไทแก็ก
ท�ำบุญเดือนสิบ
มโนราห์ 1,000 ปี
การแสดงรอแง็ง
ประตูสู่แหล่งท่องเที่ยวทางทะเลระดับโลก • การอนุ รั ก ษ์ ฟื ้ น ฟู และการพั ฒ นา ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพื่อการ ท่องเที่ยว • การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน เพื่อการ ท่องเที่ยวให้ได้มาตรฐาน
กิจกรรมสภาเด็ก
ศูนย์ฟื้นฟูผู้ป่วยฯ
การท่องเที่ยว อุทยานแห่งชาติธารโบกขรณี กรมอุทยาน แห่ ง ชาติ สั ต ว์ ป ่ า และพั น ธุ ์ พื ช กระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ประเพณีวัฒนธรรม ภาพงานรักอ่าวลึก
ออกพรรษา (เรือพระ)
KRABI I SBL บันทึกประเทศไทย
137
WOR K LI FE
องค์การบริหารส่วนต�ำบลอ่าวลึกเหนือ “เน้ น การศึ ก ษา ร่ ว มราษฎร์ พั ฒ นาความพร้ อ มทุ ก ระบบให้ ยั่ ง ยื น และเป็ น ต� ำ บลที่ น ่ า อยู ่ ชุ ม ชนเข้ ม แข็ ง ” องค์การบริหารส่วนต�ำบลอ่าวลึกเหนือ
นายบุ ญ มา ปรางทอง นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลอ่าวลึกเหนือ
138
SBL บันทึกประเทศไทย I กระบี่
องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บลอ่ า วลึ ก เหนื อ เป็นต�ำบลหนึ่งของอ�ำเภออ่าวลึก จังหวัดกระบี่ ห่างจากอ�ำเภออ่าวลึก ไปทางทิศตะวันออก เฉี ย งเหนื อ ประมาณ 9 กิ โ ลเมตร มี เ นื้ อ ที่ ประมาณ 68,250 ไร่ หรือประมาณ 109.2 ตารางกิโลเมตร ต� ำ บลอ่ า วลึ ก เหนื อ มี ก ารแบ่ ง เขตการ ปกครองออกเป็ น 6 หมู ่ บ ้ า น คื อ หมู ่ ที่ 1 บ้านในยวนแขก หมู่ที่ 2 บ้านอ่าวลึกเหนือ หมู่ที่ 3 บ้านน�้ำจาน หมู่ที่ 4 บ้านหนองกก หมู ่ ที่ 5 บ้ า นหนองหวายพน และหมู ่ ที่ 6 บ้านถ�้ำเพชร มีจ�ำนวนประชากร จ�ำนวน 6,799 คน ซึ่งประชากรส่วนใหญ่พบว่า เป็นเพศชาย มีจ�ำนวน 3,371 คน และเพศหญิง จ�ำนวน 3,482 คน โดยใน หมู่ที่ 2 มีประชากรมากที่สุด รองลงมาเป็นหมู่ที่ 1 หมู่ที่ 6 หมู่ที่ 3 หมู่ที่ 4 และหมู่ที่ 5 ตามล�ำดับ ซึ่งมีอัตราการขยายตัว เฉลี่ยร้อยละ 0.81 ต่อปี
สถานที่ท่องเที่ยว (1) ถ�้ำเพชร ตั้งอยู่ในพื้นที่ หมู่ที่ 6 บ้านถ�้ำเพชร
ถ�้ำเพชร
(2) ถ�้ำยายรวก ตั้งอยู่ใน พื้ น ที่ ห มู ่ ที่ 6 บ้ า นถ�้ ำ เพชร พบซากดึกด�ำบรรพ์สัตว์เลี้ยง ลู ก ด้ ว ยน�้ ำ นมขนาดใหญ่ 4 สายพั น ธุ ์ ประกอบด้ ว ย ไฮยีนาลายจุด แรดชวา กวางป่า และเม่ น ใหญ่ แ ผงคอยาว จากการ คาดคะเนอายุเบื้อง ต้น น่าจะอยู่ในช่วงตั้งแต่ช่วงปลายของสมัยไพลสโตซีนตอนล่างไปจนถึงช่วงต้นของ สมัยไพลสโตซีนตอนปลาย (Middle to Late Pleistocene) หรือประมาณ 200,00080,000 ปี ที่ผ่านมา
ถ�้ำเขามันแดง
ถ�้ำยายรวก
(3) ถ�้ำเขามันแดง ตั้งอยู่ในพื้นที่หมู่ที่ 6 บ้านถ�้ำเพชร
KRABI I SBL บันทึกประเทศไทย
139
(4) สวนสาธารณะหนองลึก ตั้งอยู่ในพื้นที่ หมู่ที่ 6 บ้านถ�้ำเพชร
สวนสาธารณะหนองลึก
(5) ป่าต้นน�้ำ บ้านถ�้ำเพชร หมู่ที่ 6
ป่าต้นน�้ำ
(6) ถ�้ ำ สระยวนทอง ตั้ ง อยู ่ ใ นพื้ น ที่ หมู่ที่ 1 บ้านในยวนแขก พบ “ฟอสซิล หอยโข่ง” อยู่เป็นจ�ำนวนมากกระจาย อยู่ภายในถ�้ำ ฝังอยู่ในหินซึ่งคาดว่า มีอายุไม่น้อยกว่า 3-5 พันปี และเป็น สถานที่ ถ ่ า ยท� ำ ละคร ภาพยนตร์ ทั้งไทยและต่างประเทศ
ถ�้ำสระยวนทอง
140
SBL บันทึกประเทศไทย I กระบี่
(7) ถ�้ำหนองทุ่งนา ตั้งอยู่ในพื้นที่ หมู่ที่ 1 บ้านในยวนแขก
ถ�้ำหนองทุ่งนา
(8) ฝายมีชีวิต ฝายใต้โตนบ้านน�้ำจาน หมู่ที่ 3
ฝายมีชีวิต
สินค้า OTOP แกะหนังตะลุง หมู่ที่ 2
เครื่องแกง หมู่ที่ 4
อ่าวลึกบาติก หมู่ที่ 1
KRABI I SBL บันทึกประเทศไทย
141
WOR K LI FE
องค์การบริหารส่วนต�ำบลเขาใหญ่ “การคมนาคมสะดวก เศรษฐกิ จ ดี บนพื้ น ฐานคุ ณ ภาพชี วิ ต และการ บริ ห ารกิ จ การบ้ า นเมื อ งที่ ดี ” วิสัยทัศน์ องค์การบริหารส่วนต�ำบลเขาใหญ่
นายกองทั พ พั น ธ์ เ ถระ
ปลัดองค์การบริหารส่วนต�ำบล ปฏิบัติหน้าที่ นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลเขาใหญ่
ข้อมูลทั่วไป องค์การบริหารส่วนต�ำบลเขาใหญ่ ตั้งอยู่ เลขที่ 39 หมู่ที่ 5 ต�ำบลเขาใหญ่ อ�ำเภออ่าวลึก จังหวัดกระบี่ อยู่ห่างจากที่ว่าการอ�ำเภออ่าวลึก ทางทิ ศ เหนื อ ประมาณ 14 กิ โ ลเมตร เนื้ อ ที่ พื้นที่ทั้งหมดในเขตองค์การบริหารส่วนต�ำบล เขาใหญ่ 70 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 43,750 ไร่ ลักษณะพื้นที่ส่วนใหญ่ แบ่งได้ 3 ลักษณะ คือ พื้นที่ราบสูง มีอยู่ทางทิศเหนือของ 142
SBL บันทึกประเทศไทย I กระบี่
ต�ำบล มีประมาณร้อยละ 25 ของพื้นที่ทั้งต�ำบล อยู่ในบริเวณหมู่ที่ 4 และ หมู่ที่ 5 พื้นที่ราบ กระจายอยู่ทั่วไปในทุกหมู่บ้าน มีอยู่ประมาณ ร้อยละ 55 ของพื้นที่ทั้งต�ำบล และพื้นที่ราบลุ่ม ปรากฏอยู่ในพื้นที่หมู่ที่ 1, 5 มีประมาณ 20 % ของพื้นที่ต�ำบล นอกจากนี้ยังมีพื้นที่ที่เป็นเขตป่าสงวนแห่ง ชาติ คือ ป่าเขาใหญ่ ป่าเขาแก้ว – ควนยิงวัว ซึ่ ง ประกอบด้ ว ยไม้ ที่ มี ค ่ า ทางเศรษฐกิ จ
อันได้แก่ ไม้เคียม ไม้ยาง ไม้เสียดช่อ ไผ่เขียว เป็ น ต้ น สภาพป่ า เป็ น ป่ า ไม้ ท่ี ส มบู ร ณ์ ม าก แหล่งน�้ำธรรมชาติที่ส�ำคัญ ได้แก่ ห้วยบางหิน คลองบางเตียว ทุง่ คาดีกนั คลองกลาง คลองแขก คลองท่อม คลองยวน คลองโสก คลองบางน�ำ้ ใส คลองหินดาน ฯลฯ แหล่งน�้ำเหล่านี้สามารถน�ำ น�้ำมาใช้ประโยชน์เพื่อการเกษตร และอุปโภค ได้ตลอดปี และบางฤดู
สถานที่ท่องเที่ยว โหนน�้ำร้อนบ้านเขาล่อม ส�ำหรับผู้ที่สนใจ พอกโคลนร้อน และแช่นำ�้ เค็มร้อน ทีโ่ หนน�ำ้ ร้อน หมู่ที่ 1 บ้านเขาล่อม ต�ำบลเขาใหญ่ อ�ำเภอ อ่าวลึก จังหวัดกระบี่ สามารถเดินทางได้โดย รถยนต์ ระยะทางจากที่ว่าการอ�ำเภออ่าวลึก ประมาณ 12 กิโลเมตร และเข้าทางโรงพยาบาล ส่ ง เสริ ม สุ ข ภาพประจ� ำ ต� ำ บลบ้ า นเขาล่ อ ม ประมาณ 1 กิโลเมตร สามารถน�ำรถยนต์ไป จอดจนสุดถนนคอนกรีตและเดินประมาณ 50 เมตร มีท่าไม้ไผ่ซึ่งด�ำเนินการก่อสร้างโดยชาว บ้ า นในพื้ น ที่ ส� ำ หรั บ ระยะเวลาการลงพอก โคลนและแช่น�้ำเค็มร้อน คือ 13 ค�่ำ - 14 ค�่ำ ให้มาเวลา 15.00 น.- 16.00 น. 15ค�่ำ - ค�่ำ 1 ให้มาเวลา 16.00 น.- 18.00 น. 3 ค�่ำ - 4 ค�่ำ ให้มาเวลา 6.00 น. -7.00 น. และ 4 ค�่ำ - 5 ค�่ำ ให้มาเวลา 7.00 น.- 9.00 น. สนใจสอบถามรายละเอี ย ดได้ ที่ ส� ำ นั ก ปลั ด โทรศัพท์ 075-692745 การเดิ น ทาง ถนนควนขนมจี น - มะรุ ่ ย ช่วงสามแยกเขาล่อม เลี้ยวซ้ายตรงโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพต�ำบลบ้านเขาล่อม เป็นถนน คอนกรีตระยะทางประมาณ 1 กิโลเมตร และ ถนนลูกรังประมาณ 1 กิโลเมตร จากนั้นเดินเท้า ประมาณ 50 เมตรเข้าสู่ป่าชายเลน ป่าชุมชนบ้านทุ่งสูง พันธุ์ไม้ พันธุ์พืช และสัตว์ป่าหายาก การ เดิ น ทาง ทางรถยนต์ ส ่ ว นตั ว ใช้ ถ นนสาย เพชรเกษม(ทางหลวงหมายเลข 4) จากจังหวัด พังงา หรือจากกระบี่ จังหวัดตรัง เข้าถึงตัว อ� ำ เภออ่ า วลึ ก ได้ เ ลยถนนแลนด์ บ ริ ด จ์ (ทางหลวงหมายเลข 44 ) จากจั ง หวั ด สุราษฎร์ธานี แยกเข้าจังหวัดกระบี่ สามารถมา ถึงตัวอ�ำเภออ่าวลึกได้เช่นกัน ถ้ามาจากจังหวัด ภูเก็ต ใช้เส้นทางหลวงหมายเลข 402 ต่อด้วย ทางหลวงหมายเลข 4 ผ่ า น ต.โคกกลอย อ.ตะกั่วทุ่ง อ.ทับปุด จ.พังงา ใช้เส้นทางลัด มายังกระบี่ KRABI I SBL บันทึกประเทศไทย
143
โครงการและกิจกรรม ศู น ย์ พั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต ผู ้ สู ง อายุ แ ละคน พิ ก ารต� ำ บลเขาใหญ่ ผู ้ สู ง อายุ เ ป็ น บุ ค คลที่ สถาบันครอบครัวให้การเคารพยกย่องมากที่สุด เพราะเป็ น บุ ค คลที่ มี ป ระสบการณ์ ใ นชี วิ ต สู ง เป็ น ผู ้ ถ ่ า ยทอดความสามารถ ประเพณี วั ฒ นธรรม และค�้ ำ จุ น จิ ต ใจให้ แ ก่ บุ ค คลใน ครอบครัว ชุมชน สังคม ได้อย่างต่อเนื่องมาโดย ตลอด แต่ผู้สูงอายุที่เจ็บป่วยจะสูญเสียความ สามารถในการประกอบกิจวัตรประจ�ำวัน ความ สามารถเสื่ อ มถอย ต้ อ งอาศั ย ญาติ และ ครอบครัวคอยดูแล ท�ำให้เป็นภาระ ผลกระทบ ต่ อ ภาวะทุ พ พลภาพในผู ้ สู ง อายุ เกิ ด จาก กระบวนการสูงวัย และโรคภัยต่างๆ มากมาย ท�ำให้เกิดปัญหาทั้งด้านสุขภาพกาย สุขภาพจิต เศรษฐกิ จ สั ง คม ปั ญ หาเกี่ ย วกั บ ครอบครั ว ปัญหาความเปลี่ยนแปลงของสังคม ผู้สูงอายุ เป็นกลุ่มประชากรที่ใช้บริการทางสุขภาพสูง กว่าวัยอื่นๆ และต้องใช้จ่ายงบประมาณของ ประเทศ ในการรักษาพยาบาลสูง การได้รับความรู้ทางด้านสุขภาพ และการ ออกก�ำลังกายอย่างต่อเนื่องและสม�่ำเสมอจะ สามารถป้องกันและแก้ไขภาวะที่ผิดปกติที่เกิด ขึ้น โดยเฉพาะโรคหัวใจและหลอดเลือด โรค ระบบกล้ า มเนื้ อ และกระดู ก สภาพปั ญ หา สุขภาพร่างกาย รวมทั้งปัญหาสุขภาพจิต ช่วย ให้ อ ายุ ยื น ยาวขึ้ น และมี สุ ข ภาพที่ แข็ ง แรง สมบูรณ์
144
SBL บันทึกประเทศไทย I กระบี่
อย่างไรก็ตามการมารับความรู้ในโรงเรียนผู้ สู ง วั ย พร้ อ มกั บ การออกก� ำ ลั ง กายอย่ า ง สม�่ ำ เสมอ จ� ำ เป็ น ต้ อ งจั ด ให้ เ หมาะสมกั บ ร่างกาย เนื่องจากการออกก�ำลังกายมากเกินไป หรือหักโหมจะก่อให้เกิดอันตรายต่อร่างกายได้ การออกก� ำ ลั ง เป็ น ประจ� ำ จึ ง เป็ น สิ่ ง จ� ำ เป็ น ส�ำหรับผู้สูงอายุ เพราะนอกจากจะช่วยป้องกัน การเสื่อมโทรมของร่างกายแล้ว ยังสามารถ แก้ไขความเสื่อมโทรมที่เกิดขึ้นแล้วได้ด้วยการ ออกก�ำลังกาย ชมรมผู้สูงอายุต�ำบลเขาใหญ่ ได้ ตระหนั ก ถึ ง ความส� ำ คั ญ ในการส่ ง เสริ ม ให้ สมาชิ ก ในชมรมมี สุ ข ภาพร่ า งกายที่ แข็ ง แรง และสุขภาพจิตที่ดี จะไม่เป็นภาระต่อครอบครัว สังคม ชุมชนต่อไป จึงได้จัดท�ำโครงการขอจัด ตั้ ง ศู น ย์ พั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต ผู ้ สู ง อายุ แ ละคน พิการต�ำบลเขาใหญ่ขึ้น โดยเริ่มจัดประชุมผู้ที่มี ส่วนเกี่ยวข้องเพื่อปรึกษาหารือการด�ำเนินการ จัดตั้งและขอรับงบประมาณจากกองทุน สปสช. อบต.เขาใหญ่
ประเพณี วัฒนธรรม ประเพณีชักแห่เรือพระบก จัดขึ้นแรม 1 ค�่ำ เดือน 11 หลังออกพรรษาของทุกปี สืบทอด ประเพณีชักแห่เรือพระบก และท�ำบุญตักบาตร ออกไปตามสถานที่ต่างๆ ในอ�ำเภออ่าวลึกและ สถานที่ ส� ำ คั ญ ของจั ง หวั ด กระบี่ แ ละจั ง หวั ด พังงา
สินค้า OTOP สินค้าโอทอปนวัติวิถี บ้านทุ่งสูง มี10 อย่าง กล้วยฉาบ ถั่วสมุนไพร ถั่วกรอบแก้ว ยาดม สมุนไพร ปลาส้ม เสือ้ สกรีน น�ำ้ ยาเอนกประสงค์ หมูหย็อง แคบหมู
KRABI I SBL บันทึกประเทศไทย
145
Let’s Go Thailand With SBL บันทึกประเทศไทย
HISTORY OF THE PROVINCE
TOURIST ATTRACTIONS SBL บันทึกประเทศไทย
Let's go thailand.indd 13
www.sbl.co.th SBL MAGAZINE
THE VILLAGERS IN THE PROVINCE SBL บันทึกประเทศไทย
. - 25/11/2562 09:25:59 AM
History of buddhism....
วัดมหาธาตุวชิรมงคล พระมหาธาตุเจดีย์ เฉลิมพระเกียรติ “50 พรรษา มหาวชิราลงกรณ”
พระราชวชิรากร (พิศาล ปุรินฺทโก) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดมหาธาตุวชิรมงคล
ประวัติความเป็นมา วัดมหาธาตุวชิรมงคล เดิมชื่อ “วัดบางโทง” ตั้งอยู่บ้านบางโทง หมู่ที่ 3 ต�ำบลนาเหนือ อ�ำเภออ่าวลึก จังหวัดกระบี่ สังกัดคณะสงฆ์ มหานิกาย สร้างเมื่อประมาณ พ.ศ. 2483 ในที่ดินบริจาค ของ นายเปล้า ทองศิริ นายมั่น เพ่งกิจ และนายน่วม ด�ำพันธ์ โดย พระสมุห์เส้ง ญาณพโล ร่วมกันพุทธบริษัท ช่วยกันสร้างขึ้นมา และ ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2496 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 30 เมตร ยาว 70 เมตร ได้ท�ำพิธีผูกพัทธสีมา เมื่อวันที่ 14 มีนาคม พ.ศ. 2519 รายนามเจ้าอาวาส 1. พระสมุห์เส้ง ญาณพโล 2. พระครูประทีปคุณาธร 3. พระอธิการศึก ตโมนุโท 4. พระราชวชิรากร (พิศาล ปุรินฺทโก)
พ.ศ. 2483 - 2517 พ.ศ. 2517 - 2539 พ.ศ. 2539 - 2545 พ.ศ. 2545 - ปัจจุบัน
ความส�ำคัญของวัด พ.ศ. 2545 ชาวจังหวัดกระบี่ ประกอบด้วยคณะสงฆ์ ข้าราชการ ทหาร ต�ำรวจ พ่อค้า และประชาชน ได้ร่วมกันจัดท�ำโครงการจัด สร้างพุทธสถานและพระมหาธาตุเจดีย์ เฉลิมพระเกียรติ “50 พรรษา มหาวชิราลงกรณ” พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว (สมเด็จ พระบรมโอรสาธิราช ฯ สยามมกุฎราชกุ มาร พระราชอิสริยยศ ขณะนั้น) ขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อเป็นการเฉลิมพระเกียรติสมเด็จ พระบรมโอรสาธิราช ฯ สยามมกุฎราชกุมาร ในปี พ.ศ.2545 และ เป็นสถานที่จรรโลงพระพุทธศาสนา โดยเป็นศูนย์รวมสถานที่ศึกษา ธรรมของภิกษุสามเณร นักเรียน นักศึกษา และพ่อค้าประชาชน ตลอดจนหน่วยงานข้าราชการต่างๆ วั ด มหาธาตุ ว ชิ ร มงคลเป็ น วั ด ที่ ไ ด้ รั บ พระราชทานพระบรม ราชานุญาต จากพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว (สมเด็จ พระบรมโอรสาธิราช ฯสยามกฎราชกุมาร พระราชอิสริยยศขณะนั้น) 1. ให้เชิญอักษรพระนามาภิไธยย่อ “ม.ว.ก.” ขึ้นประดิษฐานที่ หน้าบรรณอุโบสถ 2. ให้จัดสร้างรูปเหมือนพระพุทธปฎิมากรประจ�ำพระชนมวาร พร้ อ มทั้ ง ได้ รั บ พระราชทานพระราชานุ ญ าตให้ เชิ ญ อั ก ษรพระ นามาภิไธยย่อ “ม.ว.ก” ขึ้นประดิษฐานที่ด้านหน้าพระพุทธรูป 3. เปลีย่ นชือ่ วัดจาก “วัดบางโทง” เป็นชือ่ “วัดมหาธาตุวชิรมงคล” 4. ให้เชิญอักษรพระนามาภิไธยย่อ “ม.ว.ก” ขึ้นประดิษฐานที่ หน้าบรรณองค์พระมหาธาตุเจดีย์ 5. ให้เชิญอักษรพระนามาภิไธยย่อ “ม.ว.ก” ขึ้นประดิษฐานที่ หน้าบรรณอุโบสถ 6. ให้เชิญอักษรพระนามาภิไธยย่อ “ม.ว.ก” ขึ้นประดิษฐานที่ หน้าบรรณวิหาร ปูชนียวัตถุที่ส�ำคัญ • พระบรมสารี ริ ก ธาตุ ที่ ไ ด้ รั บพระราชทานจากสมเด็จพระบรม โอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร (พระราชอิสริยยศขณะนั้น) • พระมหาธาตุเจดีย์ เฉลิมพระเกียรติ์ “50 พรรษา มหาวชิราลงกรณ” • รูปเหมือนหลวงปู่ทวด • พระพุทธรูปปางแสดงปฐมเทศนา • พระพุทธรูปปางลีลา KRABI I SBL บันทึกประเทศไทย
147
History of buddhism....
วัดมหาธาตุแหลมสัก (ธ) พระครูปัญญาภินันท์ (พระชูศักดิ์ ปัญญาสักโก) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดมหาธาตุแหลมสัก
ประวัติความเป็นมา วัดมหาธาตุแหลมสัก(ธ) ตั้งอยู่เลขที่ 207 หมู่ 3 ต�ำบลแหลมสัก อ�ำเภออ่าวลึก จังหวัดกระบี่ 81110 โทรศัพท์ 083-140-0414 Facebook วัดมหาธาตุแหลมสัก Email: watlamsak@gmail.com Wat Lamsak is located in 207 Moo 3, Laemsak Subdistrict, Ao Luek district, Krabi 81110 วัดมหาธาตุแหลมสัก ได้รับอนุญาตให้เป็นที่ตั้งวัดเมื่อ พ.ศ.2526 และอนุญาตให้สร้างวัด ขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2527 ขึ้นทะเบียนยกฐานะเป็น “วั ด แหลมสั ก ” เมื่ อ วั น ที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2530 โดยมี 148
SBL บันทึกประเทศไทย I กระบี่
พระอาจารย์เนตร จิรปุญโญ เป็นเจ้าอาวาสรูปแรก ขอพระราชทาน วิ สุ ง คามสี ม า เมื่ อ ปี พ .ศ.2540 และได้ รั บ พระราชทานเมื่ อ วั น ที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2540 สมัยก่อนชาวบ้านแหลมสักจะประกอบศาสนกิจ ต้องเดินลัดเลาะ คันนาไปที่ วัดสมิหลัง (วัดสถิตโพธิ์ธาราม) ซึ่งอยู่ห่างประมาณ 4.5 กิโลเมตร หลังจากที่ท่านอาจารย์อาจ และท่านอาจารย์ค�ำผาย ธุดงค์ มาจากภาคอีสาน ชาวบ้านจึงร่วมกันสร้างเพิงพักให้ จากนั้นสร้าง โรงฉันพื้นไม้ หลังคามุงจาก และใช้เป็นที่สวดมนต์ ไหว้พระประกอบ ศาสนกิจ ต่อมาปลายปี พ.ศ. 2497-2505 พระอาจารย์จันทร์แรม เขมสิริ ได้มาปฏิบัติธรรมและจ�ำพรรษา 7 พรรษา ก่อนที่จะเดินทาง กลับภาคอีสาน ท่านได้มอบหมายให้พระอาจารย์เนตร จิรปุญโญ และพระอาจารย์สงวน เป็นผู้ดูแลต่อ ปัจจุบัน พระครูปัญญาภินันท์ (พระชูศักดิ์ ปัญญาสักโก) เป็นเจ้าอาวาสวัดมหาธาตุแหลมสัก
ประวัติ หลวงปู่เนตร จิรปุญโญ หลวงปู่เนตร จิรปุญโญ นามเดิม เนตร พรหมแก้ว เกิดวันอังคาร ที่ 9 มีนาคม พ.ศ.2468 บิดา นายเขื่อน พรหมแก้ว มารดา นางหยิน พรหมแก้ว เกิดที่หมู่ 7 บ้านบางหมัก ต�ำบลกระโสม อ�ำเภอตะกั่วทุ่ง จังหวัดพังงา อุปสมบท อายุ 27 ปี ณ สีมาน�้ำในคลองกระโสม วัดสันติวราราม ต�ำบลกระโสม อ�ำเภอตะกั่วทุ่ง จังหวัดพังงา โดยมีพระรัตนธัชมุนี (แบน คณฺฐาภรโณ ปธ 4) เป็นพระอุปัชฌาย์ พระภัทรมุนี เป็น พระกรรมวาจาจารย์ และพระราชนิโรธรังสีคัม ภี ร ์ ปั ญญาวิ ศิ ษ ฎ์ (เทสก์ เทสรังสี) เป็นพระอนุสาวนาจารย์ อุปสมบทแล้วพรรษา 1-3 ที่วัดเจริญสมณกิจ อ�ำเภอเมือง จังหวัด ภูเก็ต พรรษา 4-6 ที่วัดควนกะไหล ต�ำบลกะไหล อ�ำเภอตะกั่วทุ่ง จังหวัดพังงา พรรษา 7-9 ที่วัดนิโรธรังสี ต�ำบลท้ายเหมือง อ�ำเภอ ท้ายเหมือง จังหวัดพังงา พรรษา 10 ที่วัดแหลมสัก ต�ำบลแหลมสัก อ�ำเภออ่าวลึก จังหวัดกระบี่ เจดีย์พระบรมสารีริกธาตุ สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก ได้ประทานพระบรมสารีริกธาตุแก่วัดแหลมสักจ�ำนวน 12 องค์ เมื่อ เดือนธันวาคม พ.ศ.2552 คณะสงฆ์และคณะกรรมการวัดแหลมสัก จึงด�ำริจัดสร้างพระเจดีย์บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ กว้าง 45 เมตร ยาว 45 เมตร และสูง 40 เมตร เริ่มต้นก่อสร้างในวันวิสาขบูชา 28 พฤษภาคม พ.ศ.2553 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสืบทอดแนวปฏิบัติที่ ได้ ท� ำ กั น มาแต่ ค รั้ ง โบราณกาล และวาระอั น เป็ น มงคลอี ก สาม ประการ คือ 1. เป็นการเฉลิมพระเกียรติครบ 60 พรรษา สมเด็จพระกนิษฐา ธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในปี พ.ศ.2558 2. ฉลองวันเกิดครบรอบ 90 ปี ของหลวงปู่เนตร จิรปุญโญ ใน วันที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2558 3. เป็นศาสนวัตถุที่จะเป็นหลักฐานแสดงถึงการประดิษฐานของ พระสัทธรรมค�ำสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าในภาคใต้ ฝั่งตะวันตก ด้านทะเลอันดามัน คาบสมุทรอินเดีย
ร่วมสร้างเส้นทางบุญ ธนาคารกรุ ง เทพ สาขาอ่ า วลึ ก เลขที่ บั ญ ชี 403-301606-6 บัญชี วัดแหลมสัก ธนาคารกรุ ง ไทย สาขาอ่ า วลึ ก เลขที่ บั ญ ชี 818-014971-4 บัญชี วัดแหลมสัก ธนาคารกรุ ง ไทย สาขาอ่ า วลึ ก เลขที่ บั ญ ชี 818-601433-0 บัญชี วัดแหลมสัก ธนาคารธนชาติ สาขาอ่ า วลึ ก เลขที่ บั ญ ชี 379-2-14545-7 บัญชี วัดแหลมสัก (สร้างเจดีย์) ธนาคารออมสิ น สาขาอ่ า วลึ ก เลขที่ บัญ ชี 020232571545 บัญชีเผื่อเรียก วัดมหาธาตุแหลมสัก ต�ำบลแหลมสัก ธนาคารออมสิ น สาขาอ่ า วลึ ก เลขที่ บั ญ ชี 0000722736 บัญชีกระแสรายวัน วัดมหาธาตุแหลมสัก ธนาคารเกียรตินาคิน สาขากระบี่ เลขที่บัญชี 00352510007487 บัญชีออมทรัพย์ วัดแหลมสัก KRABI I SBL บันทึกประเทศไทย
149
History of buddhism....
วัดเขาต่อ
อุโบสถจตุรมุข หลวงปู่ขาวที่เคารพบูชา
พระเมธีธรรมากร (ภูริภัทร์ ปญฺญาวชิโร) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดเขาต่อ เจ้าคณะอ�ำเภอคลองท่อม-เกาะลันตา
ประวัติดวามเป็นมา วัดเขาต่อ ตั้งอยู่เลขที่ 99 บ้านเขาต่อ หมู่ที่ 4 ต�ำบลเขาต่อ อ�ำเภอ ปลายพระยา จังหวัดกระบี่ สังกัดคณะมหานิกาย มีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ 92 ไร่ 2 งาน อาณาเขต ทิศเหนือยาว 10 เส้น 10 วา ติดต่อกับคูวัด และที่ดินของนายเสนิม ทองกอบ ทิศใต้ยาว 10 เส้น 10 วา ติดต่อ กับที่ดินนายแจ้ง พวงช่อ ทิศตะวันออกยาว 8 เส้น ติดต่อกับที่สวน 150
SBL บันทึกประเทศไทย I กระบี่
นายอุ แข็งขัน ทิศตะวันตกยาว 8 เส้น ติดต่อกับที่คูวัดและที่สวน นายอาณัติ จิตเกิด พื้นที่ตั้งวัดเป็นที่ราบสูงอยู่ใกล้ภูเขา มีสระน�้ำภายในวัด มีคู และที่สวนของเอกชนโดยรอบบริเวณวัด อาคารเสนาสนะต่างๆ มี อุโบสถ สร้าง พ.ศ.2469 ศาลาการเปรียญสร้าง พ.ศ.2500 กุฏิ สงฆ์จ�ำนวน 1 หลัง โรงครัว 1 หลัง วัดเขาต่อเริ่มสร้างเมื่อ พ.ศ. 2447 โดยพระหนู เกสโร เป็น เรือนไม้ชั่วคราว และได้สร้างอุโบสถเมื่อ พ.ศ.2469 และได้รับ พระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2472 ผูก พัทธสีมาเมื่อ พ.ศ.2478 เสนาสนะของวัดนี้ ส่วนมากสร้างไว้ ชั่ ว คราว ในด้ า นการศึ ก ษาสงเคราะห์ โดยได้ ย กที่ ดิ น เนื้ อ ที่ ประมาณ 7 ไร่ ให้เป็นที่สร้างโรงเรียนวัดเขาต่อ หลังจากที่พระสมุห์ชาม สุวิชโช อดีตเจ้าอาวาสมรณภาพ ปี พ.ศ.2554 พระราชวชิรากร (พิศาล ปุรินทโก) เจ้าอาวาส
วัดมหาธาตุวชิรมงคล ทีป่ รึกษาเจ้าคณะภาค 17 ขณะด�ำรงสมณศักดิท์ ี่ พระวิสฐิ พัฒนวิธาน ได้มารักษาการแทนเจ้าอาวาส จึงปรึกษาหารือกับ ชาวบ้านและผูน้ ำ� ท้องถิน่ ในการสร้างเสนาสนะขึน้ ใหม่ทงั้ หมดเนือ่ งจาก มีความทรุดโทรมมาก พร้อมทัง้ ปรับภูมทิ ศั น์ใหม่ไปพร้อมกัน รายนามเจ้าอาวาส 1. พระครูพินิตยติการ (หนู เกสโร) พ.ศ. 2447 – 2485 2. พระครูวิฑิตสังฆการ (ช่วง พุทธปญฺโญ) พ.ศ. 2485 – 2503 3. พระใบฎีกาเปีย สิริวณฺโณ พ.ศ. 2503 – 4. พระสมุห์ชาม สุวิชโช พ.ศ. – 2554 5. พระวิสิฐพัฒนวิธาน (พิศาล ปุรินฺทโก) พ.ศ. 2554 – 2555 เจ้าอาวาสวัดมหาธาตุวชิรมงคล รักษาการแทนเจ้าอาวาส 6. พระเมธีธรรมากร พ.ศ. 2556 – ปัจจุบัน (ภูริภัทร์ ปญฺญาวชิโร ป.ธ.9,พธ.ม.) KRABI I SBL บันทึกประเทศไทย
151
ประวัติ พระเมธีธรรมากร (ภูริภัทร์ ปญฺญาวชิโร) พระเมธีธรรมากร ฉายา ปญฺญาวชิโร อายุ 40 พรรษา 17 ป.ธ.9 น.ธ.เอก พธ.ม. ปัจจุบันด�ำรงต�ำแหน่ง 1. เจ้าอาวาสวัดเขาต่อ 2. เจ้าคณะอ�ำเภอคลองท่อม-เกาะลันตา 3. เลขานุการรองเจ้าคณะภาค 17 4. เลขานุการรองหัวหน้าพระธรรมทูตสายที่ 9 5. กรรมการและผูช้ ว่ ยเลขานุการหมูบ่ า้ นรักษาศีล 5 ประจ�ำหนใต้ 6. อนุกรรมการโครงการ วัด ประชา รัฐ สร้างสุข ส่วนกลาง 7. ประธานคณะกรรมการฝ่ายศึกษาสงเคราะห์คณะสงฆ์จงั หวัด กระบี่ สถานะเดิม ชื่อ ภูริภัทร์ นามสกุล บุญเกิด เกิดวัน 2 ฯ 4 ค�่ำ ปี มะแม ตรงกับวันจันทร์ที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2522 บิดา นายประยูร บุญเกิด มารดา นางวรรณา บุญยัษเฐียร อยู่บ้านเลขที่ 61 หมู่ที่ 6 ต�ำบลมะรุ่ย อ�ำเภอทับปุด จังหวัดพังงา บรรพชา วัน 4 ฯ 6 ค�่ำ ปี วอก วันที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2535 ณ วั ด นิ โ ครธคุ ณ ากร ต� ำ บลมะรุ ่ ย อ� ำ เภอทั บ ปุ ด จั ง หวั ด พั ง งา พระอุปัชฌาย์ พระครูอนุรักษ์พังงาเขต วัดนิโครธาราม ต�ำบลทับปุด อ�ำเภอทับปุด จังหวัดพังงา 152
SBL บันทึกประเทศไทย I กระบี่
อุปสมบท วัน 3 ฯ 8 ค�่ำ ปี มะเส็ง วันที่ 5 มีนาคม พ.ศ.2545 ณ วั ด นิ โ ครธคุ ณ ากร ต� ำ บลมะรุ ่ ย อ� ำ เภอทั บ ปุ ด จั ง หวั ด พั ง งา พระอุปัชฌาย์ พระครูบวรกิจจานุรักษ์ วัดประชุมโยธี ต�ำบลท้ายช้าง อ�ำเภอเมือง จังหวัดพังงา พระกรรมวาจาจารย์ พระครูสังฆรักษ์ธงชัย กนฺตธมฺโม วัดโคกสวย ต�ำบลโคกเจริญ อ�ำเภอทับปุด จังหวัดพังงา พระอนุ ส าวนาจารย์ พระใบฎี ก าธงชั ย หิ ริ ธ มฺ โ ม วั ด นบปริ ง ต�ำบลนบปริง อ�ำเภอเมือง จังหวัดพังงา วิทยฐานะ • พ.ศ.2535 ประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดศรัทธาราม ต�ำบลมะรุ่ย อ�ำเภอทับปุด จังหวัดพังงา • พ.ศ.2540 นักธรรมเอก ส�ำนักศาสนศึกษาวัดชลประทานรัง สฤษฏ์ อ�ำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี • พ.ศ.2552 เปรียญธรรม 9 ประโยค ส�ำนักศาสนศึกษาวัดคลอง โพธิ์ อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ • พ.ศ.2559 พุทธศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ ราชวิทยาลัย
หลวงปู่ขาว
History of buddhism....
KRABI I SBL บันทึกประเทศไทย
153
WOR K LI FE
เทศบาลต�ำบลล�ำทับ “ล� ำ ทั บ เมื อ งน่ า อยู ่ มุ ่ ง สู ่ ค วามเป็ น เลิ ศ ” วิสัยทัศน์เทศบาลต�ำบลล�ำทับ
นายสุ ร ศั ก ดิ์ เพ็ ช รสุ ก นายกเทศมนตรีต�ำบลล�ำทับ
นายมนูญ แสงมณี ปลัดเทศบาล
ประวัติเทศบาลต�ำบลล�ำทับ เดิ ม เทศบาลต� ำ บลล� ำ ทั บ เป็ น องค์ ก ร ปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ในรู ป แบบสุ ข าภิ บ าล จัดตั้งขึ้นตามประกาศของกระทรวงมหาดไทย ลงวันที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2536 ต่อมาได้รับ การเปลี่ ย นแปลงฐานะเป็ น เทศบาลต� ำ บล ตามพระราชบั ญ ญั ติ เ ปลี่ ย นแปลงฐานะของ สุ ข าภิ บ าลเป็ น เทศบาล พ.ศ. 2542 ซึ่ ง ได้ 154
SBL บันทึกประเทศไทย I กระบี่
ประกาศในราชกิ จ จานุ เ บกษา เล่ ม ที่ 116 ตอนที่ 9 ก ลงวันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2542 ตั้งแต่วันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2542
ข้อมูลพื้นฐาน มี พื้ น ที่ ทั้ ง หมด 8.11 ตารางกิ โ ลเมตร มีประชากรทั้งหมด 4,299 คน 2,342 ครัวเรือน (ข้อมูล ณ เดือนตุลาคม 2562)
เทศบาลต�ำบลล�ำทับ มี ชุ ม ชนทั้ ง หมด 7 ชุมชน ประกอบด้วย ชุมชนบ้านล�ำทับ ชุมชน วัดล�ำทับ ชุมชนบ้านควนเจริญ ชุมชนบ้านนาพรุ ชุมชนบ้านทรายขาว ชุมชนบ้านหนองปง และ ชุมชนบ้านทุ่งไทรทอง ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ เกษตรกรรม ท�ำสวนยางพารา ปลูกปาล์มน�้ำมัน และพื้นที่บางส่วนมีการปลูกสวนผลไม้ พืชผัก ไม้ประดับและพืชไร่อื่น ๆ
เมื อ งช้ า งทรงคุ ณ ค่ า สยามศิ ล าคู ่ บ ้ า น สายธารคลองสิ น ปุ น พุ ท ธคุ ณ พ่ อ ท่ า นอ่ อ น ค�ำขวัญเทศบาลต�ำบลล�ำทับ
เทศบาลต�ำบลล�ำทับ เลขที่ 482 หมู่ที่ 5 ถนนอนุสรณ์พระเศวต ต�ำบลล�ำทับ อ�ำเภอล�ำทับ จังหวัดกระบี่ 81190 โทรศัพท์ (075) 643507 โทรสาร (075) 643041 www.lamthapcity.go.th E-mail : admin@lamthapcity.go.th
ถนนสาย 4038 เป็นถนนสายตรงที่สวยงาม มองเห็นวิวภูเขา และใช้สัญจร ไปมาระหว่างจังหวัดนครศรีธรรมราช กระบี่ ตรัง ภูเก็ต พังงา
ถนนอนุสรณ์พระเศวต สายวัฒนธรรมส�ำหรับจัดกิจกรรม เช่น เทศกาล สงกรานต์ งานประเพณีและท�ำกิจกรรมต่าง ๆ
KRABI I SBL บันทึกประเทศไทย
155
ประวัติศาสตร์ส�ำคัญของชาวล�ำทับ อ�ำเภอล�ำทับ เป็นสถานที่ก�ำเนิดของช้าง ทีช่ อื่ ว่า “พลายแก้ว”ถูกคล้องได้ทบี่ า้ นหนองจูด ต�ำบลดินอุดม อ�ำเภอล�ำทับ จังหวัดกระบี่ เมื่อ พ.ศ. 2499 ซึ่งมีลักษณะเป็นช้างพลายเผือก โดยการตรวจสอบคชลักษณ์แล้วพบว่าเป็นช้าง ส� ำ คั ญ จึ ง น� ำ เข้ า ทู ล เกล้ า ฯ ถวายพระบาท สมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช ในหลวงรัชกาลที่ 9 ต่อมาได้รับพระราชทาน นามว่า “พระเศวตอดุลยเดชพาหนฯ” และคุณ พระเศวต ก็เป็นช้างต้นเชือกแรกของพระบาท สมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช ในหลวง รัชกาลที่ 9
มาล�ำทับ…ต้องเยี่ยมชม!!!
วัดล�ำทับ เป็นที่ประดิษฐานรูปปั้นเหมือน ของหลวงพ่อวินัยธรอ่อน ถาวโร อดีตเจ้าอาวาส วัดล�ำทับ ซึ่งเป็น หลวงพ่อที่เคารพนับถือ และ ยึดเหนี่ยวจิตใจของประชาชนชาวล�ำทับ และ อ�ำเภอใกล้เคียง ด้วยบารมีของท่าน คราวใดที่ ชาวบ้านมีความทุกข์ มักจะมาขอพรพึ่งบารมี ท่าน ก็จะบันดาลให้ทุกครั้งไป
ชมอุโบสถไม้เก่าแก่ ของวัดล�ำทับ
คลองสินปุน เป็นคลองต้นน�้ำอยู่ในอ�ำเภอล�ำทับ ไหลผ่านหลังวัดล�ำทับ เป็นคลองสายวิถีชีวิตของ ชาวล�ำทับมาช้านาน โดยไหลไปบรรจบรวมกับ แม่ น้� ำ ตาปี ท างฝั ่ ง ซ้ า ยใน ต.สิ น ปุ น อ.พระแสง จ.สุราษฎร์ธานี
สระน�้ำบ้านทรายขาว
ทั้งสองสถานที่ สามารถเดิน-วิ่งออกก�ำลังกาย ปั่นจักรยาน เดินเล่น พักผ่อนหย่อนใจยามเย็น ได้ บรรยากาศดี
สระน�้ำบ้านนาพรุ
156
SBL บันทึกประเทศไทย I กระบี่
สถานที่ท่องเที่ยวใกล้เคียง • น�้ำพุร้อน อ.คลองท่อม ห่างจาก อ.ล�ำทับ ประมาณ 30 กม. • สระมรกต อ.คลองท่อม ห่างจาก อ.ล�ำทับ ประมาณ 35 กม. • น�้ำพุร้อนเค็ม อ.คลองท่อม ห่างจาก อ.ล�ำทับ ประมาณ 40 กม.
อาหารแนะน�ำประจ�ำถิ่นล�ำทับ
ผักเหมียง
ผลิตภัณฑ์ OTOP ในชุมชน กลุ่มเครื่องแกงบ้านนาพรุ ม.2 ต.ล�ำทับ โดย กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบ้านนาพรุ ซึ่งมีชื่อเสียง เป็นสินค้าส่งออก OTOP ระดับ 5 ดาว รสชาติ จัดจ้านเข้มข้นตามแบบฉบับคนปักษ์ใต้บ้านเรา
ปลาเสียบ
ขนมลากรอบ
กลุ่มเพ้นท์ผ้าบาติกชุมชนบ้านควนเจริญ หมู ่ ที่ 10 ต.ล� ำ ทั บ เกิ ด ขึ้ น มาด้ ว ย แรงบันดาลใจของสมาชิกในกลุ่มได้ริเริ่มขึ้นมา เรียนเอาผ้าปาเต๊ะมาเพ้นท์ลาย เป็นผลิตภัณฑ์ ชุมชนในเขตเทศบาลต�ำบลล�ำทับ เป็นผ้าปาเต๊ะ เพ้นท์ลายเส้นสวยงาม สีไม่ตก เนื้อผ้าอย่างดี ตัดเย็บปราณีต
ภาพกิจกรรม โครงการ งานประเพณีต่างๆ ของเทศบาลต�ำบลล�ำทับ 1. ประเพณีสงกรานต์ 2. ประเพณีแห่เทียนเข้าพรรษา 3. ประเพณีแห่จาดวันสารทเดือนสิบ 4. ประเพณีลอยกระทง 5. กิจกรรมวันเด็กแห่งชาติ 6. โครงการพัฒนาศักยภาพเด็กและ เยาวชน 7. โครงการกิจกรรมชมรมผู้สูงอายุ 8. โครงการการแข่งขันกีฬาเทศบาล คัพ กีฬาเยาวชน ประชาชนและกีฬา พื้นบ้านเทศบาลต�ำบลล�ำทับ
KRABI I SBL บันทึกประเทศไทย
157
WOR K LI FE
องค์การบริหารส่วนต�ำบลเหนือคลอง “พั ฒ นา รู ้ ห น้ า ที่ ประชามี ส ่ ว นร่ ว ม” วิสัยทัศน์ องค์การบริหารส่วนต�ำบลเหนือคลอง
สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐาน องค์การบริหารส่วนต�ำบลเหนือคลอง ตั้งอยู่ในพื้นที่ หมู่ที่ 6 ต�ำบล เหนือคลอง อ�ำเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่ จัดตั้งเป็นองค์การ บริหารส่วนต�ำบล ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เมื่อวันที่ 30 มีนาคม 2539 โดยตั้งอยู่บริเวณทิศตะวันตกเฉียงใต้ติดชายฝั่งทะเล อันดามันของอ�ำเภอเหนือคลอง เป็นพื้นที่ราบ มีพื้นที่ทั้งหมด 26.56 ตารางกิโลเมตรหรือประมาณ 16,600 ไร่ มีระยะห่างจากที่ว่าการ อ�ำเภอเหนือคลองประมาณ 3 กิโลเมตร และห่างจากจังหวัดกระบี่ ประมาณ 15 กิโลเมตร
นายหร้ า เหม มามาตย์ นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลเหนือคลอง
158
SBL บันทึกประเทศไทย I กระบี่
เขตองค์การบริหารส่วนต�ำบลเหนือคลอง มีเขตการปกครองครอบคลุม จ�ำนวน 7 หมู่บ้าน ดังนี้ หมู่ที่ 1 บ้านไร่ใหญ่ หมู่ที่ 2 บ้านเหนือคลอง หมู่ที่ 3 บ้านไสโป๊ะใต้ หมู่ที่ 4 บ้านท่านุ่น หมู่ที่ 5 บ้านไสโป๊ะเหนือ หมู่ที่ 6 บ้านนาออก หมู่ที่ 7 บ้านเขาแก้ว ปัจจุบันนายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลเหนือคลองและสมาชิกองค์การบริหารส่วนต�ำบล เหนือคลองมาจากประกาศคณะรักษาความสงบแห่งชาติที่ 85/2557 เรื่อง การได้มาซึ่งสมาชิก สภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่นเป็นการชั่วคราว ลงวันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2557 ประชากรส่วนใหญ่ นับถือศาสนาอิสลาม ประมาณ 70 % และศาสนาพุทธ 30 % ซึ่งมี ศาสนสถาน ดังนี้ 1. มีวัด จ�ำนวน 2 แห่ง คือ วัดพาณิชรัตนานุกูล และวัดท่านุ่น 2. มีมัสยิด จ�ำนวน 5 แห่ง • มัสยิดบ้านไร่ใหญ่ • มัสยิดบ้านไสโป๊ะ • มัสยิดบ้านนาออก • มัสยิดพรุเพ็ง • มัสยิดบ้านเขาแก้ว
ประเพณีและงานประจ�ำปี งานเมาลิดอ�ำเภอเหนือคลอง ถือเป็น งานส�ำคัญประจ�ำชาวมุสลิมในพื้นที่อ�ำเภอ เหนือคลอง ได้รับการสนับสนุนจากอปท. ภายในอ�ำเภอเหนือคลอง
สินค้าพื้นเมืองและของที่ระลึก สินค้าพื้นเมืองต�ำบลเหนือคลอง คือ ผลิตภัณฑ์เม็ดมะม่วงหิมพานต์ สินค้า OTOP • เม็ ด มะม่ ว งหิ น พานต์ คั่ ว มะแท็ ง มี สมาชิก จ�ำนวน 20 คน ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 53 ซอย โรงเรียนบ้านไร่ใหญ่ หมู่ ที่ 1 ต�ำบลเหนือคลอง อ� ำ เ ภ อ เ ห นื อ ค ล อ ง จังหวัดกระบี่
• แหล่ ง จ� ำ หน่ า ยผลิ ต ภั ณ ฑ์ สถานที่ จ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ ได้แก่ สนามบินกระบี่ ร้าน OTOP กระบี่ ร้านโรสเบเกอร์รี่ ที่ท�ำการกลุ่มฯ ซึ่งใครสนใจจะไปเยี่ยมชม เรียนรู้เคล็ดลับหรือเทคนิค เลขที่ 53 หมู่ที่ 1 ต�ำบลเหนือคลอง อ�ำเภอเหนือคลอง จังหวัด กระบี่ โทรศัพท์ 075-636-620,086-276-8401,090175-1244,090-162-3315
KRABI I SBL บันทึกประเทศไทย
159
History of buddhism....
วัดธรรมาวุธสรณาราม สำ�นักเรียนภาษาบาลีแห่งแรกของคณะสงฆ์ จังหวัดกระบี่
พระครูปริยัติธรรมาวุธ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส เจ้าคณะอ�ำเภอเหนือคลอง
ประวัติความเป็นมา วัดธรรมาวุธสรณาราม ตั้งอยู่เลขที่ 64 บ้านคลองเสียด อ�ำเภอ เหนือคลอง จังหวัดกระบี่ โทรศัพท์ 087-976-3894 วัดธรรมาวุธ สรณาราม (วัดคลองเสียด) เดิมชื่อว่า “วัดบ่อพอ” สร้างตั้งแต่เมื่อใด ไม่มีข้อมูลชัดเจน แต่จากประวัติ “หลวงศิลา” (พระประธานใน อุโบสถ) และค�ำบอกเล่าของผู้เฒ่าผู้แก่ พบว่ามีนายเม่ง เป็นคณะ 160
SBL บันทึกประเทศไทย I กระบี่
พ่อค้าทีม่ าจากประเทศจีน ได้มาตัง้ หลักแหล่งอยูท่ บี่ า้ นเหนือคลอง และแต่งงานกับนางพวง บ้านคลองเสียด มีบุตรธิดา รวม 6 คน ต่อมานายเหมียน แซ่โกย บ้านเหนือคลองได้มาแต่งงานกับนาง เหนียวลูกสาวของนายเม่งกับนางพวง โดยผู้คนกลุ่มนี้เป็นผู้มี จิ ต ศรั ท ธาในพระพุ ท ธศาสนา ทุ ก วั น พระจะไปท� ำ บุ ญ ที่ วัดท่านุ่นฯ เป็นประจ�ำ แต่เมื่อเวลาน�้ำท่วมไม่สามารถจะเดิน ทางไปได้ จึงช่วยกันสร้างวัดใหม่ขึ้น แล้วตั้งชื่อว่า “วัดบ่อพอ” นายเม่งได้มอบหมายให้นายเหมียนซึ่งเป็นลูกเขย น�ำวัวไป ขายที่ปีนัง เมื่อได้เงินมาจึงน�ำไปซื้อพระพุทธรูปหยก จ�ำนวน 2 องค์ พระพุทธรูปองค์ใหญ่ (ศิลปะมอญ) ชื่อว่า “ปราณี” แต่ ชาวบ้านทั่วไปเรียกว่า “หลวงพ่อศิลา” หน้าตักกว้าง 49 นิ้ว มาประดิษฐานไว้ในพระอุโบสถ ซึ่งเป็นพระพุทธรูปที่มีความ ศักดิ์สิทธิ์มาก มีคนมาบนบานหรืออธิษฐานขอพรมาตลอด
ในสมัยโบราณ ถ้าคณะหนังตะลุง หรือคณะมโนราห์ผ่านหน้าวัดโดย ไม่เข้ามากราบไหว้จะต้องมีอันเป็นไปทุกครั้ง และได้มีหนังตะลุงหรือ มโนราห์มาร�ำแก้บนเป็นประจ�ำ พ.ศ.2551 หลวงพ่อศิลา ได้รับพระราชทานชื่อจาก พระบาท สมเด็ จ พระบรมชนกาธิ เ บศร มหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ว่า “พระพุทธมหาศิลาปฏิมากร” และในปี พ.ศ. 2558 กรมศิลปากรได้ขึ้นทะเบียนพระพุทธรูปโบราณ ส่วนการสร้าง วัดบ่อพอนั้นสันนิษฐานว่าสร้างในยุคเดียวกับเมืองปกาสัย เมื่อพระมหาอุปดิศ อุคฺคเสโน พร้อมด้วยพระมหาชูสิทธิ์ จาครโต (ต่ อ มาได้ รั บ พระราชสมณศั ก ดิ์ เ ป็ น พระราชาคณะชั้ น สามั ญ ที่ พระธรรมาวุธวิศิษฐ์) ได้เป็นแกนน�ำในการพัฒนางานการศึกษาให้ แก่คณะสงฆ์จังหวัดกระบี่ ที่วัดบ่อพอเป็นแห่งแรก โดยมีการสอน
ภาษาบาลีและเป็นสนามสอบนักธรรมและสนามสอบบาลี เป็นครั้ง แรกของจังหวัดกระบี่ โดยมีพระภิกษุสามเณรที่มาศึกษาภาษาบาลี จ�ำนวน 100 กว่ารูป ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อวัดบ่อพอ เป็น “วัดธรรมาวุธ สรณาราม” และขยายปรับปรุงพื้นที่ของวัดให้เป็นระเบียบเรียบร้อย สร้างอุโบสถ ศาลาการเปรียญ กุฏิ และหอฉัน จัดสร้างโรงเรียนให้ มีการเรียนการสอนหนังสือให้ลูกหลานของชาวบ้านในละแวกนี้ให้ ได้อ่านออกเขียนได้ ทางวัดได้รับยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นหน่วยงานที่ด�ำเนินงานด้าน อนุรักษ์ฟื้นฟูดูแลรักษาต้นไม้ ที่ได้รับคัดเลือกให้เป็น “รุกขมรดก ของแผ่นดินใต้ร่มพระบารมี” ประจ�ำปี พ.ศ. 2561 เป็นโล่ จากพล เอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ทางวัดได้รับการยกย่องให้เป็นวัดพัฒนาตัวอย่างของกรมการ ศาสนากระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร พ.ศ. 2540 และ พ.ศ. 2560 วัดธรรมาวุธสรณาราม ได้รับเกียรติจากส่วนราชการได้จัดพิธีถวาย ดอกไม้ จั น ทร์ เ นื่ อ งในพระราชพิ ธี ถ วายพระเพลิ ง พระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร
KRABI I SBL บันทึกประเทศไทย
161
รายนามเจ้าอาวาส 1. พ่อท่านสมภารเกตุ ประมาณ พ.ศ. 2407 – 2431 2. พระใบฎีกาปั้น ประมาณ พ.ศ. 2431 – 2438 3. พ่อท่านยอด ประมาณ พ.ศ. 2438 – 2445 4. พ่อท่านเอียด ประมาณ พ.ศ. 2445 – 2456 5. พ่อท่านชุ่ม ประมาณ พ.ศ. 2456 – 2463 6. พ่อท่านกล�่ำ ประมาณ พ.ศ. 2463 – 2470 7. พ่อท่านคล้าย ประมาณ พ.ศ. 2470 – 2479 8. พระอธิการครื้น พรหมรักษา ประมาณ พ.ศ. 2479 – 2482 9. พระอธิการจอน ประมาณ พ.ศ. 2482 – 2485 10. พระมหาอุปดิศ อุคฺคเสโน ประมาณ พ.ศ. 2485 – 2490 11. พระมหาชูสิทธิ์ จาครโต ประมาณ พ.ศ. 2490 – 2526 12. พระครูรัตนพิบูลย์ ประมาณ พ.ศ. 2526 – 2528 13. พระครูปฏิภาณธรรมสุนทร ประมาณ พ.ศ. 2528 – 2529 14. พระน้อม ประมาณ พ.ศ. 2529 – 2530 15. พระช่วง ประมาณ พ.ศ. 2530 – 2531 16. พระโพธิ์ ทับไทร รักษาการ 17. พระสมุห์พิศ ติสฺโส ประมาณ พ.ศ. 2531 – 2535 18. พระช�ำนาญ รักษาการ 19. พระครูปริยัติธรรมาวุธ พ.ศ. 2535 – ปัจจุบัน (น.ธ.เอก,ป.ธ.5,พธ.บ.,ศษ.ม.,ph.D)
162
SBL บันทึกประเทศไทย I กระบี่
พระมหาวิรัช ฐิตสุทฺโธ เมื่อมารับต�ำแหน่งเจ้าอาวาส ก็มุ่งมั่น พัฒนาวัดในทุกๆด้าน พัฒนาทั้งคนและวัตถุคู่กันไป พอสรุปเป็นข้อๆ ได้ ดังนี้ 1. สิ่งแวดล้อม มีการจัดระเบียบกุฏิ เสนาสนะให้ดูสบายตา สบายใจและได้ปรับปรุงถนนทางเดินในวัด,ปรับปรุงอุโบสถ, ปรับปรุง ศาลาหอฉั น ,ปรั บ ปรุ ง เขตสั ง ฆาวาสให้ เ ป็ น สั ด ส่ ว น, ก่ อ สร้ า งเมรุ (เตาเผ่า), และศาลาบ�ำเพ็ญกุศลที่ป่าช้าของวัด 2.ปลูกต้นไม้ให้วัดร่มรื่น 3.จัดกิจกรรมอบรมเยาวชน เช่น เปิดสอนพระพุทธศาสนาวัน อาทิตย์,และจัดให้มีการเข้าค่ายพุทธบุตรอบรมคุณธรรมจริยธรรม แก่เยาวชน 4.อบรมพระภิกษุสามเณร จัดให้มีการเรียนการสอนพระปริยัติ ธรรมทั้ ง นั ก ธรรมและบาลี มี ก ารมอบทุ น การศึ ก ษาแก่ พ ระภิ ก ษุ สามเณรเป็นประจ�ำทุกปี 5.มอบทุ น การศึ ก ษาและอุ ป กรณ์ ก ารศึ ก ษาแก่ เ ยาวชนที่ ขาดแคลนในแต่ละปี 6.สาธารณสงเคราะห์ เช่ น จั ด รวบรวมปั จ จั ย สิ่ ง ของไปช่ ว ย ประชาชนที่ประสบภัยธรรมชาติ เช่น สึนามิ,อุทกภัยในจังหวัดกระบี่ และจังหวัดใกล้เคียง 7.จัดเข้าค่ายปฏิบัติธรรมส�ำหรับพ่อบ้านแม่บ้าน เช่นจัดบวช เนกขั ม มจาริ ณี , และจั ด โครงการบรรพชาอุ ป สมบทหมู ่ เป็ น การ เฉลิมพระเกียรติ และจัดบรรพชาสามเณรภาคฤดูร้อนทุกปี เป็นต้น ต่อมาในปี พ.ศ. 2543 ท่านได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ ในพระ ราชทินนามว่า “พระครูปริยัติธรรมาวุธ” และได้รับการแต่งตั้งเป็น เจ้าคณะอ�ำเภอเหนือคลอง (จอ.ชพ)
วัดธรรมาวุธสรณาราม ได้รับเกียรติจากส่วนราชการ ได้จัด พิธถี วายดอกไม้จนั ทน์ ในพระราชพิธถี วายพระเพลิงพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดช มหาราช บรมนาถบพิตร เมื่อวันที่ 26 ตุลาคม พ.ศ.2560 โดยพระครู ป ริ ยั ติ ธ รรมาวุ ธ เจ้ า คณะอ� ำ เภอเหนื อ คลองเป็ น ประธานฝ่ายสงฆ์ นายวิสตู ร อินทรก�ำเนิด นายอ�ำเภอเหนือคลอง เป็นประธานฝ่ายคฤหัสถ์ ส่วนราชการอ�ำเภอเหนือคลอง ข้าราชการ อบต. และทุกหน่วยงาน ร่วมกันจัดพิธีตามที่รัฐบาลก�ำหนด KRABI I SBL บันทึกประเทศไทย
163
Buddhism
in Thailand
SBL บันทึกประเทศไทย น�ำเสนอเรื่องราวของจังหวัดต่างๆ ทั่วประเทศไทย อย่างเจาะลึกและครอบคลุมทุกมิติ อาทิ มิติด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ จากหน่วยงานราชการส�ำคัญในจังหวัด มิติด้านการท่องเที่ยวที่สดใหม่ทันสมัย ทั้งสถานที่เที่ยว ที่พัก ร้านอาหาร ร้านกาแฟ แหล่งช็อปปิ้งใหม่ๆ ฯลฯ มิติด้านอุตสาหกรรม-การค้าการลงทุนที่เป็นตัวขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ตลอดจนมิติด้านการศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม และวิถีชีวิต ที่มีจุดเด่นและมีเอกลักษณ์น่าสนใจ
AD.indd 164
9/12/2562 14:30:26