SBL บันทึกประเทศไทย - จังหวัดเลย ฉบับที่ 88

Page 1

นิตยสารแนะน�ำแหล่งท่องเที่ยวและของดีจังหวัดเลย ประจ�ำปี 2562

Magazine

LOEI SPECIAL INTERVIEW

LOEI 111 ปี เมืองเลย

รางวัลชนะเลิศจังหวัดสะอาดระดับ ประเทศ ปี 2561

เที่ยวตามใจ...ไปเลยตามเลย “3 วัน 2 คืน รักนะเลย”

“นายจรัสพงศ์ ค�ำดอกรับ” ท้องถิ่นจังหวัดเลย

SPECIAL INTERVIEW

เหนือสิ่ งอื่นใดเมื่อมาเมืองเลย ท่านจะอายุยืนยาว “นายทรงพุ ฒิ ชรินทร์”

ผู้อ�ำนวยการส� ำนักงานพระพุ ทธศาสนาจังหวัดเลย

ฟูจิเมืองเลย

Vol.9 Issue 88/2019

Vol.9 Issue 88/2019

เที่ ย วตามใจ...ไปเลยตามเลย www.issuu.com

_

.indd 5

“3 วั น 2 คืน รัก นะเลย”

27/2/2562 10:27:11



THE IMPORTANT TEMPLES LOEI

อ�ำเภอเมืองเลย

วัดบ้านโป่งพัฒนาราม บ้านโป่ง ม.4 ต�ำบลนาแขม

วัดบ้านห้วยโตก

วัดกกทองใหญ่

บ้านห้วยโตก ม.1 ต�ำบลนาโป่ง

บ้านกกทองใหญ่ ม. 3 ต�ำบลกกทอง วัดกกม่วงชี บ้านกกม่วงชี ต�ำบลกุดป่อง

บ้านวังแคน ม.7 ต�ำบลน�้ำสวย

วัดคามวาสี บ้านหนองนาทราย ม.5 ต�ำบลนาดินด�ำ

วัดคีรีวงศ์ บ้านหนองกุ่ม ม. 6 ต�ำบลนาดินด�ำ

วัดจันทร์สว่าง บ้านนาน�้ำมัน ต�ำบลน�้ำสวย วัดจอมแจ้ง บ้านนาดินด�ำ ม.1 ต�ำบลนาดินด�ำ

วัดจอมแจ้ง บ้านห้วยทรายทอง ม.9 ต�ำบลนาแขม

วัดจอมมณี บ้านหนองบอน ม.8 ต�ำบลนาโป่ง

วัดจ�ำปาทอง บ้านท่าข้าม ม.1 ต�ำบลชัยพฤกษ์

วัดชลธาราราม บ้านท่าแพ ม.2 ต�ำบลเมือง

วัดดอนเชียง บ้านท่าเปิบ ม.4 ต�ำบลกกดู่ วัดถ�้ำผาปู่ บ้านนาอ้อ ม.9 ต�ำบลนาอ้อ

วัดถ�้ำปิยะธรรมรังสี บ้านห้วยม่วง ม.10 ต�ำบลนาดินด�ำ

วัดถ�้ำพยัคฆาราม บ้านหัวนา ม.13 ต�ำบลนาโป่ง

วัดทวีพัฒนาราม บ้านกกดู่ ม.8 ต�ำบลกกดู่

วัดเทพนิมิต บ้านศรีสองรัก ม.11 ต�ำบลศรีสองรัก วัดทรายมูล บ้านโป่ง ม.5 ต�ำบลนาแขม วัดทับมิ่งขวัญ บ้านติ้ว ต�ำบลกุดป่อง วัดไทรทอง บ้านห้วยโตก ม.1 ต�ำบลนาโป่ง

วัดนครบาล บ้านห้วยโตก ม.1 ต�ำบลนาโป่ง

วัดโนนสวรรค์ บ้านนาอ้อ ม.9 ต�ำบลนาอ้อ

วัดเนียมเจริญสุขาราม

วัดบุปผาราม วัดบูรพาราม

วัดจอมพล บ้านแก่งมี้ ม.6 ต�ำบลนาซ่าว วัดจอมมณี บ้านท่าดีหมี ม.4 ต�ำบลปากตม วัดจอมศรี บ้านจอมศรี ม.2 ต�ำบลจอมศรี วัดจันทรังษี บ้านนาศรี ม.2 ต�ำบลจอมศรี

วัดเชียงคาน บ้านเชียงคาน ม.2 ต�ำบลเชียงคาน

วัดไชยมาศ บ้านคกมาด ม.3 ต�ำบลเชียงคาน

วัดถ�้ำผาแป่น(ถ�้ำผาแบ่น) บ้านผาแบ่น ม. 6 ต�ำบลบุฮม

วัดท่าแขก บ้านเชียงคาน ม.4 ต�ำบลเชียงคาน

วัดท่าคก บ้านเชียงคาน ม.2 ต�ำบลเชียงคาน

วัดธรรมาสามัคคี บ้านหาดทรายขาว ม.1 ต�ำบลหาดทรายขาว

วัดโนนสว่าง บ้านหินตั้ง ม.3 ต�ำบลจอมศรี

วัดบรรพตคีรี บ้านบุฮม ม.1 ต�ำบลบุฮม

วัดบ้านผามุม(ผามุมอรัญญา) บ้านผามุม ม.2 ต�ำบลหาดทรายขาว วัดป่าใต้ บ้านเชียงคาน ม.2 ต�ำบลเชียงคาน วัดป่าใต้ บ้านนาจาน ม.7 ต�ำบลปากตม

ถิ่นที่อยู่อริยสงฆ์ มั่นคงความสะอาด

บ้านหนองหญ้าไซ ม.2 ต�ำบลนาดินด�ำ วัดประชานิมติ บ้านภูบ่ อ่ บิด ต�ำบลกุดป่อง

วัดประชาราษฎร์พัฒนาราม บ้านก�ำพี้ ม.3 บ้านกกดู่

วัดป่าฐานสโมบูชา บ้านน้อยสนามบิน ม.7 ต�ำบลเมือง วัดป่าตูบโกบ บ้านตูบโกบ ม.2 ต�ำบลกกดู่

วัดป่าถ�้ำแกลบ บ้านท่าวังแคน ม.9 ต�ำบลศรีสองรัก

วัดป่าภูสะนาว บ้านปากหมาก ม.7 ต�ำบลศรีสองรัก วัดป่าน�้ำภู บ้านน�้ำภู ม.4 ต�ำบลเมือง วัดป่าภูหงส์ บ้านน�้ำคิว ม.5 ต�ำบลเสี้ยว

วัดป่าภูเหล็กวนาราม บ้านโพนสะอาด ม.10 ต�ำบลชัยพฤกษ์

วัดป่าเลไลยก์ บ้านขอนแก่น ม.4 ต�ำบลนาโป่ง

วัดป่าเวฬุวัน บ้านกอไร่ใหญ่ ม.1 ต�ำบลเสี้ยว

วัดป่าสามัคคีธรรม บ้านห้วยทรายค�ำ ม.6 ต�ำบลนาแขม

วัดป่าสุทธาราม บ้านไร่ทาม ม.5 ต�ำบลนาอาน

วัดป่าสุทธิสลักธรรม บ้านโพนสะอาด ม.10 ต�ำบลชัยพฤกษ์

วัดป่าศรีชมชื่น บ้านศรีชมชื่น ม.10 ต�ำบลน�้ำสวย

วัดป่าอริยธรรม บ้านขอนแดง ม.2 ต�ำบลนาอาน

วัดป่าอัมพวัน บ้านไร่ม่วง ม.1 ต�ำบลน�้ำหมาน

วัดโป่งเบี้ย บ้านโป่งเบี้ย ม.3 ต�ำบลน�้ำหมาน

ม.2 ต�ำบลนาดินด�ำ

อ�ำเภอเชียงคาน

ท่ อ งเที่ ยวทางใจ วัดพุทธสามัคคีบุรีเลย บ้านน้อยสนามบิน ม.7 ต�ำบลกุดป่อง วัดโพธิง์ าม บ้านติว้ น้อย ม.5 ต�ำบลนาโป่ง วัดโพธิช์ ยั บ้านโพนป่าแดง ม.3 ต�ำบลเสีย้ ว วัดโพธิ์ชัย บ้านนาอาน ม.6 ต�ำบลนาอาน วัดโพธิช์ ยั บ้านนาบอน ม.7 ต�ำบลชัยพฤกษ์

วัดโพธิ์ชุม

วัดศรีแดนวงศ์

บ้านนาโคก ม.5 ต�ำบลศรีสองรัก

บ้านก่อไร่ใหญ่ ม.1 ต�ำบลเสี้ยว วัดศรีทัศน์ บ้านปากภู ม.3 ต�ำบลเมือง

บ้านขอนแดง ม. 2 ต�ำบลนาอาน วัดโพนค่าย บ้านโพนค่าย ม.6 ต�ำบลนาอ้อ วัดโพนงาม บ้านติดต่อ ม.1 ต�ำบลนาอาน

วัดศรีทีปาราม(กุดโง้ง)

วัดโพนงาม

วัดศรีบุญเรือง บ้านติ้ว ต�ำบลกุดป่อง วัดศรีประทุมทอง

บ้านฟากเลย ม.2 ต�ำบลกุดป่อง

วัดศรีโนนเมือง บ้านส้าน ม. 4 ต�ำบลน�ำ้ หมาน บ้านหนองดอกบัว ม. 5 ต�ำบลน�้ำสวย วัดศรีภูมิ บ้านแฮ่ ต�ำบลกุดป่อง

วัดโพนบรรพตวนาราม

วัดศรีมงคล

บ้านห้วยลวงไซ ม.2 ต�ำบลน�้ำหมาน

บ้านทรัพย์มงคล ต�ำบลนาดินด�ำ

วัดโพนสมศรี

วัดศรีวิชัยวนาราม

บ้านภูสวรรค์ ม. 4 ต�ำบลเสี้ยว

บ้านหนองผักก้าม ต�ำบลกุดป่อง วัดศรีสว่าง บ้านฟากเลย ต�ำบลกุดป่อง

วัดโพนสว่าง บ้านห้วยกระทิง ม.1 ต�ำบลกกทอง วัดโพนสะอาด บ้านน�ำ้ คิว ม.5 ต�ำบลเสีย้ ว

วัดศรีสว่างวารี

วัดโพนสูง บ้านแหล่งควาย ม.3 ต�ำบลนาอาน วัดภัทราราม บ้านฟากนา ม.4 ต�ำบลนาอาน

วัดศรีสวาท บ้านท่ามะนาว ม.4 ต�ำบลนาอ้อ วัดศรีสะเกษ บ้านท่ามะนาว ม. 4 ต�ำบลนาอ้อ

วัดเมืองหงษ์ทอง

วัดศรีสะอาด

หนองหญ้าไซ ม.2 ต�ำบลนาดินด�ำ

บ้านหนองผ�ำ ม. 3 ต�ำบลนาดินด�ำ

วัดราษฎร์ประดิษฐ์

วัดศรีสัตตนาค

บ้านโพนสว่าง ม. 6 ต�ำบลชัยพฤกษ์

บ้านก้างปลา ม. 3 ต�ำบลชัยพฤกษ์

วัดภูช้างน้อย บ้านเชียงคาน ม.2 ต�ำบลเชียงคาน

วัดป่าศรีภูทอก

วัดมหาธาตุ

บ้านเชียงคาน ม.2 ต�ำบลเชียงคาน

บ้านเชียงคาน ม.2 ต�ำบลเชียงคาน

วัดผาจอมนาง

วัดมัชฌิมาราม

บ้านห้วยซวก ม.4 ต�ำบลบุฮม วัดพระธาตุ บ้านธาตุ ม.2 ต�ำบลธาตุ

บ้านเชียงคาน ม.1 ต�ำบลเชียงคาน

วัดพุทธบาทภูควายเงิน(พระพุทธบาท ภูควายเงิน) บ้านผาแบ่น ม. 6 ต�ำบลบุฮม วัดโพธิ์ทอง บ้านคกงิ้ว ม.5 ต�ำบลปากตม วัดโพธิ์ศรี บ้านนาซ่าว ม. 1 นาซ่าว วัดโพธิศ์ รีหายโศก บ้านกลาง ม.3 ปากตม วัดโพนแก้ว บ้านท่าบม ม.8 ต�ำบลเขาแก้ว วัดโพนงาม บ้านโสกเก่า ม.1 ต�ำบลเขาแก้ว วัดโพนชัย

บ้านน้อย ม.4 ต�ำบลเชียงคาน

บ้านเชียงคาน ม.1 ต�ำบลเชียงคาน

วัดศรีโพนแท่น

วัดโพนสว่าง บ้านโสกใหม่ ม.2 ต�ำบลเขาแก้ว

บ้านศรีโพนแท่น ม.13 ต�ำบลนาซ่าว วัดศรีจ�ำปา บ้านอุมุง ม. 5 ต�ำบลบุฮม

วัดโพนสว่าง

วัดศรีพนมมาศ

บ้านห้วยหินซา ม.4 ต�ำบลธาตุ

วัดโพนสว่าง

บ้านเชียงคาน ต�ำบลเชียงคาน วัดศรีชมชืน่ บ้านคกเลาใต้ ม.3 ต�ำบลบุฮม

บ้านสงเปือย ม.7 ต�ำบลจอมศรี

วัดศรีโพธิ์ชัย

วัดโพนสว่าง

บ้านใหม่ศาลาเฟือง ม.5 ต�ำบลนาซ่าว

บ้านนาจาน ม.1 ต�ำบลปากตม

วัดศรีโพนแก้ว

วัดโพนสว่างอารมณ์

บ้านนาป่าหนาด ม.12 ต�ำบลเขาแก้ว วัดศรีภูมิ บ้านบุฮม ม.1 ต�ำบลบุฮม วัดศรีลำ� ดวน บ้านผาแบ่น ม.6 ต�ำบลบุฮม

บ้านคกมาด ม.3 ต�ำบลเชียงคาน

บ้านปากหมาก ม. 6 ต�ำบลศรีสองรัก

บ้านน�้ำฮวย ม.9 ต�ำบลนาโป่ง

บ้านสงเปือย ม.11 ต�ำบลธาตุ

วัดไพศาลศักดาราม

บ้านนาเขิน ม.7 ต�ำบลเมือง วัดศรีจันทร์ บ้านนาอ้อ ม.1 ต�ำบลนาอ้อ วัดศรีชมชืน่ บ้านนาอ้อ ม.12 ต�ำบลนาอ้อ

บ้านนาโป่ง ม.2 ต�ำบลนาโป่ง

วัดป่าเทพอาทรนิมิต

บ้านโนนสว่าง ม.5 ต�ำบลเชียงคาน

วัดศรีสุทธาวาส

วัดศรีชมภู(โนนศรีชมภู)

บ้านนาบอน ม.5 ต�ำบลชัยพฤกษ์ วัดโพนทอง บ้านหัวนา ม.7 ต�ำบลนาโป่ง วัดโพนทัน บ้านถิ่น ม.3 ต�ำบลนาโป่ง

Loei

วัดเลียบ บ้านเพีย ม. 2 ต�ำบลน�้ำสวย วัดวารินทราวาส บ้านน�ำ้ ภู ม. 4 ต�ำบลเมือง วัดวิเวกธรรมคุณ

วัดโพธิ์ชัยมงคล

วัดโพธิ์ศรีสมโพธิ

จังหวัดเลย

บ้านสูบ ม. 9 ต�ำบลน�้ำสวย

บ้านใหม่ ต�ำบลกุดป่อง

วัดศรีสุมังคลาราม วัดศรีอภัยวัน บ้านหนองมะผาง ม.8 ต�ำบลนาอ้อ

วัดสร้างเที่ยง บ้านหัวฝาย ม. 2 ต�ำบลชัยพฤกษ์

วัดสันตยาวาส บ้านก�ำเนิดเพชร ม. 1 เมือง

วัดสามัคคีวนาราม บ้านหนองฮี ม.11 นาดินด�ำ

วัดสีมาพัฒนาราม บ้านกอไผ่โทน ม. 9 ต�ำบลกกดู่

วัดสีลธราราม บ้านก้างปลา ม. 4 ต�ำบลชัยพฤกษ์

วัดสุธัมมิการาม บ้านหนองผักก้าม ต�ำบลเมือง

วัดห้วยสีเสียด บ้านห้วยสีเสียด ม. 5 ต�ำบลน�้ำหมาน

วัดอมรประสิทธิ์ สามแยก ม.6 ต�ำบลเมือง

วัดอรัญญวาสี บ้านห้วยกระทิง ม. 5 ต�ำบลน�้ำหมาน

วัดอรัญญวาสี บ้านไร่ทาม ม. 5 ต�ำบลนาอาน

วัดอรัญญาวาส บ้านนาแขม ม.1 ต�ำบลนาแขม

วัดอัมพวัน บ้านห้วยม่วง ม.4 ต�ำบลนาดินด�ำ

วัดลุมพินีวนาราม วัดเวฬุวัน บ้านใหม่ศาลาเฟือง ม.5 ต�ำบลนาซ่าว วัดศรีค�ำ ม.5 ต�ำบลบุฮม

วัดศรีคุณเมือง บ้านเชียงคาน ม.1 ต�ำบลเชียงคาน

วัดศรีจอมแจ้ง บ้านน�้ำพร ม. 2 ต�ำบลปากตม

วัดศรีวิไลวัลย์

วัดสวนธรรมเทวราช

บ้านแสนส�ำราญ ม.4 ต�ำบลจอมศรี

บ้านน�้ำอ้อม ม.3 ต�ำบลธาตุ

วัดศรีเวียงชัย

วัดสันติวนาราม

บ้านปากเลย ม.3 ต�ำบลเชียงคาน

บ้านเชียงคาน ม.1 ต�ำบลเชียงคาน

วัดศรีสง่า(ศรีสง่าวนาราม)

วัดแสงธรรม

บ้านนาเบน ม.3 ต�ำบลเขาแก้ว

บ้านใหม่ตาแสง ม.4 ต�ำบลนาซ่าว

วัดศรีสมบูรณ์

วัดหนองขอนทอง

บ้านตาดซ้อ ม.6 ต�ำบลเขาแก้ว

บ้านหนองขอนทอง ม. 8 ต�ำบลนาซ่าว

วัดศรีสมสนุก

วัดหนองข่า

บ้านคกเลาเหนือ ม.2 ต�ำบลบุฮม วัดศรีสอาด บ้านห้วยซวก ม.4 ต�ำบลบุฮม

บ้านนาบอน ม.2 ต�ำบลนาซ่าว

วัดศรีสะอาดโพนทัน

บ้านนาบอน ม.2 ต�ำบลนาซ่าว

บ้านโพน ม.3 ต�ำบลนาซ่าว

วัดอัมพวัน บ้านวัฒนาภิรมย์ ม.7 ต�ำบลบุฮม

วัดศรีอุมุงวนาราม

วัดอ้อมแก้ว บ้านห้วยพอด ม.5 ต�ำบลธาตุ

วัดหนองสพังทอง

บ้านอุมุง ม.5 ต�ำบลบุฮม

LOEI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 3

3

22/2/2562 14:41:30


โ ร ง แ ร ม เ อ ยู

เ พ ล ส

Place Hotel เปลี่ ย นที่ พั ก ให้ เ ป็ น ที่ ที่ ท� ำ ได้ ทุ ก อย่ า ง เลื อ กได้ ต ามสไตล์ ข องคุ ณ โรงแรมเอยู เพลส สงบ ร่ ม เย็ น มี ค วามเป็ น ส่ ว นตั ว ได้ สั ม ผั ส บรรยากาศ ท่ า มกลาง ธรรมชาติ แห่ ง เมื อ งทะเลภู เ ขา ที่ ล ้ อ มรอบด้ ว ยต้ น ไม้ แ ละดอกไม้ ที่ ส วยงาม

“ ความสุขเกิดขึ้นระหว่างการเดินทาง ไม่ใช่จุดหมายปลายทาง ”

โรงแรมเอยู เพลส ตั้ ง อยู ่ 669 หมู ่ 11 ต� ำ บลเมื อ ง อ� ำ เภอเมื อ ง จั ง หวั ด เลย 42000 ติ ด ต่ อ สอบถามที่ พั ก โทร. (042) 813 441 Place Hotel

4 SBL บันทึกประเทศไทย Meeting Room

AU PLACE.indd 4

Au-place hotel

I เลย

Fitness Center

www.auplacehotel.com

Swimming Pool

Coffee Shop

Spa Room

Flower Garden

20/02/62 17:01:47


KING HOTEL

“ ที่ พั ก สไตล์ เ ลยคอนเทมโพรารี่ ” ส� ำ หรั บ ท่ า นที่ ก� ำ ลั ง มองหาที่ พั ก ในการท่ อ งเที่ ย ว พบกั น ที่ . . จั ง หวั ด เลย มาสั ม ผั ส ลมหนาวที่ เ มื อ งเลย กั บ “ KING HOTEL LOEI ” เหมาะส� ำ หรั บ การพั ก ผ่ อ นทั้ ง แบบส่ ว นตั ว และครอบครั ว ห้ อ งพั ก สะอาด ปลอดภั ย ตั้ ง อยู ่ ใ จกลางเมื อ ง ใกล้ แ หล่ ง ท่ อ งเที่ ย ว เดิ น ทางสะดวกสบาย

LOEIKINGHOTEL

KINGHOTEL.LOEI

11/8-12 ชุ ม สาย ต� ำ บลกุ ด ป่ อ ง อ� ำ เภอเมื อ งเลย จั ง หวั ด เลย 42000

0-4281-1225, 0-4281-1701 PHICHIT I SBL บันทึกประเทศไทย

King Hotel.indd 5

5

20/02/62 11:34:32


เชี ย งคานฮิ ล ล์ รี ส อร์ ท Chiang Khan Hill Resort - เชี ย งคานฮิ ล ล์ รี ส อร์ ท รี ส อร์ ท ธรรมชาติ ริ ม ฝั ่ ง แม่ น�้ ำ โขง -

เชียงคานฮิลล์รีสอร์ท ตั้งอยู่ตรงจุดชมวิวแก่งคุดคู้ รายล้อมด้วย ขุ น เขาที่ ส วยที่ สุ ด แห่ ง หนึ่ ง ในเชี ย งคาน เราห่ า งจากถนนคนเดิ น ในตัวเมืองเชียงคานเพียง 5 กิโลเมตร และห่างจากจุดชมวิวภูทอก เพียง 7 กิโลเมตร

หมู่คณะ หน่วยงาน ทัวร์ สัม มนา พบกับราคาพิเศษสุด ติดต่อ ฝ่า ยขายได้ที่เบอร์ 6

08-1902 -8810

เชียงคานฮิลล์รีสอร์ท เชิญท่านมาสัมผัสธรรมชาติของแก่งคุดคู้ ริมแม่น�้ำโขง ณ อ�ำเภอเชียงคาน เรามีห้องพักวิวแม่น้�ำโขง ห้องพัก แบบมาตรฐาน หรือห้องพักแบบหมู่คณะ รองรับได้กว่า 300 ท่าน ท่ามกลางบรรยากาศร่มรื่นของแมกไม้ และสวนดอกไม้นานาพันธุ์ เรามีห้องประชุมสัมมนา ขนาด 30-300 ท่าน พร้อมสนามหญ้า ส� ำ หรั บ จั ด กิ จ กรรมกลางแจ้ ง สนามเด็ ก เล่ น สระว่ า ยน�้ ำ และ ลานจอดรถภายในรีสอร์ทไว้คอยให้บริการ

SBL บันทึกประเทศไทย I พิจิตร

.indd 6

21/02/62 13:18:30


ห้ อ งอาหารครั ว นุ ช า บริการอาหารไทยอาหารพื้นเมืองรสเลิศ อาทิเช่น กุ้งเต้น ที่ ลื อ ชื่ อ ปลาน�้ ำ โขง และเห็ ด หอมสดของเมื อ งเลย บริการจัดเลี้ยงส�ำหรับหมู่คณะรองรับลูกค้าได้ถึง 300 ท่าน ห้ อ งอาหารตกแต่ ง เป็ น ศาลา ทรงไทย อยู ่ ริ ม แม่ น�้ ำ โขง เปิ ด บริ ก ารอาหารเช้ า กลางวั น เย็ น ทุ ก วั น

เชี ย งคานฮิ ล ล์ รี ส อร์ ท 28/2 หมู ่ ที่ 4 ถนนร่ ว มใจนฤมิ ต ร ต� ำ บลเชี ย งคาน อ� ำ เภอเชี ย งคาน จั ง หวั ด เลย 42110

สถานที่ ท ่ อ งเที่ ย วใกล้ เ คี ย ง ล่ อ งเรื อ ชมล� ำ น�้ ำ โขง ท่ า เรื อ อยู ่ ติ ด รี ส อร์ ท ถนนคนเดิ น ตั ก บาตรข้ า วเหนี ย ว ในตั ว เมื อ งเชี ย งคาน ห่ า งจากรี ส อร์ ท 5 กม. จุ ด ชมวิ ว ภู ท อก หน้ า หนาวชมทะเลหมอก จากรี ส อร์ ท เพี ย ง 7 กม. ศูนย์ของฝากแก่งคุดคู้ สามารถเดินออกมาช้อปปิ้งได้สะดวก

ติ ด ต่ อ สอบถามที่ พั ก 08-1902-8810 (8:00 - 20:00 น.) 0-4282-1285 (8:00 - 17:00 น.)

ติ ด ต่ อ สั่ ง จองอาหาร 08-1860-8810

chiangkhanhill

.indd 7

0-4282-1415

@chkhill PHICHIT I SBL www.chiangkhanhill.com บันทึกประเทศไทย 7

21/02/62 13:18:45


KIRIMATHANI HOTEL - โรงแรมคิ ริ ม าธานี ที่ พั ก ใหม่ สไตล์ ไ ทยล้ า นนาโมเดิ ร ์ น ราคาไม่ แ พง -

โรงแรมคิ ริ ม าธานี อาคาร 4 ชั้ น บริ ก ารห้ อ งพั ก 75 ห้ อ งพร้ อ ม สิ่ ง อ� ำ นวยความสะดวกครบครั น พร้ อ มลิ ฟ ต์ โ ดยสารให้ บ ริ ก าร การเดิ น ทางห่ า งจากตั ว เมื อ งเลย ประมาณ 5 นาที หรื อ 3.5 กม. การคมนาคมสะดวก ติ ด ถนนสี่ เ ลน เดิ น ทางโดยใช้ เ ส้ น ทาง สาย 201 ใกล้ ม หาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฎ เลย มี ร ถโดยสาร รถประจ� ำ ทางผ่ า นตลอดสาย

โรงแรมคิ ริ ม าธานี มี ห ้ อ งพั ก 3 ประเภท

SUPERIOR TWIN ROOM

บริ ก ารอาหารแสนอร่ อ ย ทั้ ง ไทยและนานาชาติ WIFI ฟรี ทั่ ว บริ เ วณโรงแรม และในห้ อ งพั ก สถานทีจ่ อดรถกว้างขวาง สามารถรองรับรถโดยสารขนาดใหญ่ได้ พนักงานรักษาความปลอดภัย ตลอด 24 ชั่วโมง ด้วยมาตรฐาน โรงแรมที่ดีที่สุด ส�ำหรับการเดินทางมาพักผ่อน ท่องเที่ยว ชื่นชมกั บ ความงามธรรมชาติ แ ละสถานที่ ท ่ อ งเที่ ย วของ “จั ง หวั ด เลย” บริเวณโดยรอบโรงแรม โอบล้อมไปด้วยภูเขาและทิวทัศน์ที่สวยงาม พร้อมสิ่งอ�ำนวยความสะดวกครบครันในห้องพัก บริการจัดเลี้ยงอาหารเย็นกลางแจ้ง พร้อมเครื่องเสียงคาราโอเกะ

SUPERIOR SINGLE ROOM

DELUXE ROOM

TEL.0-4286-1556, 0-4286-1539, 09-3994-6393

: คิ ริ ม าธานี 8FACEBOOK SBL บันทึกประเทศไทย I พิจจั งิตหวั ร ด เลย LINE ID : 0939946393 WEBSITE : WWW.KIRIMATHANIHOTEL.COM

.indd 8

20/02/62 13:07:50


ส้ ม ต� ำ ไก่ ย ่ า ง ปลาเผา และอาหารอี ส านรสแซ่ บ ห้ อ งแอร์ เ ย็ น ๆ แซ่ บ แบบไม่ ต ้ อ งปาดเหงื่ อ เปิ ด บริ ก ารทุ ก วั น 09.30 - 20.00 น.

TEL. 09-9789-9653 PHICHIT I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 9

9

20/02/62 13:08:04


CHIANG KHAN GRAND HOTEL โรงแรมเชี ย งคานแกรนด์ www.chiangkhangrande.com โรงแรมเชียงคานแกรนด์ & รีสอร์ท

โรงแรมเชี ย งคานแกรนด์ ตั้ ง อยู ่ ติ ด ถนนมะลิ ว รรณ สาย 201 (เลย-เชียงคาน) ติดกับบิ๊กซีสาขาเชียงคาน ตรงข้ามกับสถานีเดินรถ นครชั ยแอร์ ห่างจากถนนคนเดิน 1 กม. ห่างจากปั้ม ปตท 300 ม. รอบๆ บริ เ วณเป็ น ที่ โ ล่ ง กว้ า งขวาง อากาศเย็ น สบาย เงี ย บสงบ ที่ จ อดรถกว้ า งขวาง

บริ ก ารห้ อ งพั ก 69 ห้ อ ง พั ก ได้ 2-3 คน ทุ ก ห้ อ ง

บริ ก ารเครื่ อ งดื่ ม กาแฟ โอวั ล ติ น และ FREE WI-FI มี ร ะบบรั ก ษา ความปลอดภั ย 12 จุ ด เพื่ อ ช่ ว ยปกป้ อ งสิ น ทรั พ ย์ ข องผู ้ เ ข้ า พั ก รองรั บ ที่ จ อดรถบั ส และรถยนต์ 40-50 คั น บริการห้องประชุมสัมมนา 3 ห้อง รองรับผู้สัมมนา 80-150 คน / ห้อง

268/10 หมู ่ 6 ต� ำ บลเชี ย งคาน อ� ำ เภอเชี ย งคาน จั ง หวั ด เลย 42110 10

SBL บันทึกประเทศไทย I พิจิตร

.indd 10

0-4282-2139 08-7430-6007, 08-0754-4043

- 23 / 02 / 2562 05:14:31 PM


โรงแรม เลยออร์ คิ ด

LOEI ORCHID HOTEL

โรงแรม เลยออร์ คิ ด ตั้ ง อยู ่ ใ จกลางเมื อ งเลย อยู ่ ใ นย่ า นท่ อ งเที่ ย ว ที่ เ ป็ น ที่ นิ ย มของจั ง หวั ด เป็ น อี ก หนึ่ ง โรงแรมที่ รั บ รองว่ า จะท� ำ ให้ ก าร เข้ า พั ก ของคุ ณ เป็ น ช่ ว งเวลาแสนสุ ข อั น ผ่ อ นคลาย ห้ อ งพั ก แต่ ล ะ ห้ อ งตกแต่ ง อย่ า งมี ร ะดั บ พร้ อ มสิ่ ง อ� ำ นวยความสะดวกครบครั น ฟรี WI-FI ทุ ก ห้ อ ง และพื้ น ที่ ส าธารณะ ที่ จ อดรถ รู ม เซอร์ วิ ส บริ ก ารรถรั บ -ส่ ง ถึ ง สนามบิ น พนั ก งานน่ า รั ก เป็ น กั น เอง

ก า ร เ ดิ น ท า ง จ า ก ตั ว เมื อ งเลย ตรงไปทาง วงเวี ย นน�้ ำ พุ จ ะเห็ น โรงแรม เลยออร์ คิ ด อยู ่ บ ริ เ วณ วงเวี ย นน�้ ำ พุ

.indd 11

1/41 ถนนสถลเชี ย งคาน ต� ำ บลกุ ด ป่ อ ง อ� ำ เภอเมื อ งเลย จั ง หวั ด เลย 42000 1/41 SATHON CHIANGKHAN RD.,KUDPONG,MUANG,LOEI 42000

WWW.LOEIORCHID.COM

0-4286-1885

09-3987-9598 0-4286-1888-9 0-4286-1886 PHICHIT I SBL บันทึกประเทศไทย

11

21/02/62 13:54:00


THE COZY HOTEL “ โรงแรมน้ อ งใหม่ ส ไตล์ โ มเดิ ร ์ น ลอฟท์ ” โรงแรม เดอะ โคซี่ ตั้ ง อยู ่ ใ จกลางเมื อ งวั ง สะพุ ง ติ ด แม่ น�้ ำ เลย พร้ อ มเปิ ด ประสบการณ์ ก ารพั ก ผ่ อ นในรู ป แบบใหม่ แ ละ บรรยากาศดีๆ ของวังสะพุง ใกล้ BIG C และบขส. เพียง 300 เมตร

- สิ่ ง อ� ำ นวยความสะดวก พื้ น ที่ ส ่ ว นกลาง ROOFTOP ร้ า นกาแฟ ที่ จ อดรถทั้ ง ด้ า นหน้ า อาคารและลานจอดรถ แอร์ น�้ ำ อุ ่ น ที่ น อนนุ ่ ม แสนสบาย TV FREE WIFI เฟอร์ นิ เ จอร์ บิ้ ว อิ น

- สถานที่ ท ่ อ งเที่ ย วใกล้ เ คี ย ง

THE COZY HOTEL

เชี ย งคาน ภู ก ระดึ ง ภู เ รื อ ภู บั ก ได ภู ป ่ า เปาะ ภู ห ลวง ภู ท อก ภู บ ่ อ บิ ด ภู ส วนทราย ภู ล มโล ห้ ว ยกระทิ ง

เพี ย ง 60 กม. เพี ย ง 60 กม. เพี ย ง 34 กม. เพี ย ง 35 กม. เพี ย ง 40 กม. เพี ย ง 20 กม. เพี ย ง 60 กม. เพี ย ง 23 กม. เพี ย ง 93 กม. เพี ย ง 82 กม. เพี ย ง 25 กม.

The Cozy Hotel

157 หมู ่ ที่ 2 ต� ำ บลศรี ส งคราม อ� ำ เภอวั ง สะพุ ง จั ง หวั ด เลย

0-4287-0565, 09-5654-8965 12

SBL บันทึกประเทศไทย I พิจิตร

THE COZY HOTEL.indd 12

21/02/62 08:45:22


RIVER LOEI GRANDVIEW โรงแรม ริ เ วอร์ เ ลย แกรนด์ วิ ว โรงแรมน้ อ งใหม่ ส ไตล์ โ มเดิ ร ์ น โรงแรม ริ เ วอร์ เ ลย แกรนด์ วิ ว ท� ำ เลติ ด แม่ น�้ ำ เลย รั บ รองว่ า ลู ก ค้ า ทุ ก ท่ า นจะได้ รั บ ประสบการณ์ แ ละบรรยากาศดี ๆ ในการพั ก ผ่ อ น รู ป แบบใหม่ ใจกลางเมื อ งวั ง สะพุ ง จั ง หวั ด เลย ใกล้ BIG C เพี ย ง 100 เมตร และ บขส. เพี ย ง 100 เมตร

สิ่ ง อ� ำ นวยความสะดวก

พื้ น ที่ ส ่ ว นกลาง ROOFTOP ที่ จ อดรถทั้ ง ด้ า นหน้ า อาคาร และ ลานจอดรถ ภายในห้ อ งพั ก มี แอร์ น�้ ำ อุ ่ น ที่ น อนนุ ่ ม แสนสบาย TV FREE WIFI เฟอร์ นิ เ จอร์ บิ ว ท์ อิ น

สถานที่ ท ่ อ งเที่ ย วใกล้ เ คี ย ง

เชี ย งคาน ภู ก ระดึ ง ภู เ รื อ ภู บั ก ได ภู ป ่ า เปาะ ภู ห ลวง

เพี ย ง 60 กม. เพี ย ง 60 กม. เพี ย ง 34 กม. เพี ย ง 35 กม. เพี ย ง 40 กม. เพี ย ง 20 กม.

ภู ท อก เพี ย ง 60 กม. ภู บ ่ อ บิ ด เพี ย ง 23 กม. ภู ส วนทราย เพี ย ง 93 กม. ภู ล มโล เพี ย ง 82 กม. ห้ ว ยกระทิ ง เพี ย ง 25 กม.

riverloeigrandview

279 หมู ่ 2 บ้ า นบุ ่ ง สไล่ ต� ำ บลวั ง สะพุ ง อ� ำ เภอวั ง สะพุ ง จั ง หวั ด เลย

0-4281-0270, 08-8059-4212

PHICHIT I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 13

13

21/02/62 13:30:24


KING BOON RESORT กิ่ ง บุ ญ รี ส อร์ ท

ดื่ ม ด�่ ำ ธรรมชาติ พ ร้ อ มสู ด โอโซนกั น ให้ เ ต็ ม ที่ ใกล้ ส ถานที่ ท ่ อ งเที่ ย ว กิ่ ง บุ ญ รี ส อร์ ท บริ ก ารห้ อ งพั ก ห้ อ งประชุ ม จั ด เลี้ ย งสั ม มนา พร้ อ มสิ่ ง อ� ำ นวยความสะดวก แอร์ น�้ ำ อุ ่ น ที วี ตู ้ เ ย็ น

สถานที่ ท ่ อ งเที่ ย วใกล้ เ คี ย ง

วั ด เนรมิ ต วิ ป ั ส สนา วั ด พระธาตุ ศ รี ส องรั ก พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ผีต าโขน(วั ด โพนชั ย ) ภู ล มโล ภู เ ตาโปง ภู อี เ ลิ ส

กิ่ ง บุ ญ รี ส อร์ ท ด่ า นซ้ า ย

Kingboon resort dansai

เพี ย ง 4.5 กม. เพี ย ง 5.2 กม. เพี ย ง 2.4 กม. เพี ย ง 73 กม. เพี ย ง 7.4 กม. เพี ย ง 30 กม.

MayreeChic

534 หมู ่ 3 ต� ำ บลด่ า นซ้ า ย อ� ำ เภอด่ า นซ้ า ย จั ง หวั ด เลย 42120

14

SBL บันทึกประเทศไทย I พิจิตร

.indd 14

09-3392-1443 04-203-0140, 08-9277-1251 - 26 / 02 / 2562 09:27:42 AM


PANIDA GOODWILL RESORT พนิ ด ากู ๊ ด วิ ล ล์ รี ส อร์ ท

“ สั ม ผั ส ของการพั ก ผ่ อ นที่ คุ ้ ม ค่ า ของการเดิ น ทาง ยิ น ดี ต ้ อ นรั บ สู ่ บ ้ า นหลั ง ที่ ส อง ”

พนิ ด ากู ๊ ด วิ ล ล์ รี ส อร์ ท บริ ก ารห้ อ งพั ก บรรยากาศร่ ม รื่ น มี ค วามเป็ น ส่ ว นตั ว พร้ อ มสิ่ ง อ� ำ นวยความสะดวกครบครั น แอร์ ที วี ตู ้ เ ย็ น เครื่ อ งท� ำ น�้ ำ อุ ่ น กาน�้ ำ ร้ อ น

P A N I D A

ราคาห้ อ งพั ก รวมกาแฟ+ขนมปั ง ให้ ต อนเช้ า ถู ก และ ดี สะอาด ปลอดภั ย ใกล้ ที่ เ ที่ ย วหลายแห่ ง เช่ น ภู ป ่ า เปาะ สวนหิ น ผางาม น�้ ำ ตกเพี ย งดิ น วั ด ถ�้ ำ โพธิ สั ต ว์

G O O D W I L L

PANIDA GOODWILL. พนิ ด ากู ๊ ด วิ ล ล์

R E S O R T

PanidaGoodwill

368 หมู ่ ที่ 5 ต� ำ บลหนองหิ น อ� ำ เภอหนองหิ น จั ง หวั ด เลย 42190

08-1057-1292, 08-3328-8474, 09-8605-257915 PHICHIT I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 15

21/02/62 09:23:55


THE CREEK VILLA เดอะครี ก วิ ล ล่ า

สั ม ผั ส กั บ การเดิ น ทางในแบบที่ พิ เ ศษ ส่ ว นตั ว เรี ย บง่ า ย และคุ ้ ม ค่ า เดอะครี ก วิ ล ล่ า (THE CREEK VILLA) บริ ก ารห้ อ งพั ก พร้ อ มสิ่ ง อ� ำ นวยความสะดวก ที วี แอร์ เครื่ อ งท� ำ น�้ ำ อุ ่ น ECO-FRIENDLY RESORT ห้ อ งกว้ า ง สะอาด สะดวกสบาย เงี ย บสงบ วิ ว สวย ติ ด ถนนใหญ่ ไ ปมาสะดวก มี ร ถรั บ -ส่ ง “ใกล้ ภู ก ระดึ ง เพี ย งแค่ 10 นาที ”

สถานที่ ท ่ อ งเที่ ย วใกล้ เ คี ย ง

สวนหิ น ผางาม(คุ น หมิ ง เมื อ งเลย) ภู ป ่ า เปาะ(ฟู จิ เ มื อ งเลย) น�้ ำ ตกเพี ย งดิ น อุ ท ยานแห่ ง ชาติ ภู ก ระดึ ง อุ ท ยานแห่ ง ชาติ ภู ผ าม่ า น

THECREEKVILLA

เพี ย ง 35 กม. เพี ย ง 40 กม. เพี ย ง 37 กม. เพี ย ง 14 กม. เพี ย ง 30 กม.

thecreekvilla

434 หมู ่ 2 ต� ำ บลห้ ว ยส้ ม อ� ำ เภอภู ก ระดึ ง จั ง หวั ด เลย 42180 16

SBL บันทึกประเทศไทย I พิจิตร

The Creek Villa.indd 16

094-405-8787, 065-354-4164 - 23 / 02 / 2562 05:24:18 PM


โรงแรมเดื อ นดารา บู ธี ค โฮเทล “ ที่ พั ก ท่ า มกลางขุ น เขาและธรรมชาติ บ ริ สุ ท ธิ์ ” เดื อ นดารา บู ธี ค โฮเทล ที่ พั ก ท่ า มกลางขุ น เขาและธรรมชาติ อากาศเย็ น สบายเกื อ บทั้ ง ปี สถานที่ ที่ จ ะท� ำ ให้ ค นรู ้ ใ จหรื อ คนในครอบครั ว ของคุ ณ ได้ พ บกั บ บรรยากาศวั น สบายๆ ชวนผ่ อ นคลาย เพี ย งก้ า วเท้ า เข้ า มาคุ ณ จะได้ สั ม ผั ส กั บ วิ ว ทิ ว ทั ศ น์ ภู เ ขา ที่ ง ดงาม และอากาศบริ สุ ท ธิ์

บริ ก ารอย่ า งมี ร ะดั บ ประทั บ ใจ เดื อ นดารา บู ธี ค โฮเทล พร้ อ มต้ อ นรั บ ทุ ก ท่ า นด้ ว ยความหลากหลายของบริ ก าร และ สิ่ ง อ� ำ นวยความสะดวกที่ ค รบครั น ตอบสนองความต้ อ งการ ของนักท่องเที่ยวและสร้างความประทับใจให้กับผู้มาเยือนอยู่เสมอ

duandaraloei

Duandara Boutique Hotel Duandara Boutique Ho...

345/42 ถนนเลย-ด่ า นซ้ า ย ต� ำ บลกุ ด ป่ อ ง อ� ำ เภอเมื อ ง จั ง หวั ด เลย 42000

08-8571-2008, 0-4281-112217 PHICHIT I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 17

20/02/62 17:30:36


EDITOR’S TALK Akkarapong Sillaparungson

SBL

บั น ทึ ก ประเทศไทย ฉบับพิเศษนี้ จะพาทุ ก ท่ า นได้ ไ ปรู ้ จั ก กั บ สถานที่ ท่ อ งเที่ ย วส� ำ คั ญ ๆ ทางประวั ติ ศ าสตร์ สั ม ผั ส และดื่ ม ด�่ ำ กั บ ธรรมชาติ ซึ่ ง เป็ น เอกลักษณ์เฉพาะของจังหวัดเลย อีกทั้ง จุดชมวิวจุดเช็คอิน รวมถึงแหล่งช้อปปิ้ง ต่ า งๆ ที่ จ ะสร้ า งความประทั บ ใจให้ กั บ นักท่องเที่ยวอย่างมิรู้ลืม

ขณะเดียวกัน “คุณทรงพุฒิ ชรินทร์” ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานพระพุทธศาสนา จั ง หวั ด เลย ยั ง ได้ ก รุ ณ าแนะน� ำ แหล่ ง ท่องเที่ยวส�ำหรับนักท่องเที่ยวสายธรรม ซึ่ ง ได้ แ ก่ วั ด วาอาราม สถานที่ เ ก่ า แก่ ต่างๆ ของจังหวัดเลยอีกด้วย ผมขอขอบพระคุ ณ ชาวจั ง หวั ด เลย ทุกๆ ท่าน พร้อมทั้งหน่วยงานภาครัฐ และเอกชนเป็นอย่างสูง ที่มอบโอกาสให้ นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย ได้มา บั น ทึ ก เรื่ อ งราวความประทั บ ใจและ สิ่ ง สวยงามของจั ง หวั ด เลย หากมี ข้อผิดพลาดประการใด ทีมงานขอน้อมรับ ค� ำ ติ ช มจากทุ ก ท่ า นด้ ว ยความเคารพ ไว้ ณ โอกาสนี้ครับ

นอกจากนี้ เ รายั ง จะพาท่ า นไปท� ำ ความรู้จักกับ “คุณจรัสพงศ์ ค�ำดอกรับ” ท้ อ งถิ่ น จั ง หวั ด เลย ผู ้ มี บ ทบาทส� ำ คั ญ ในการก� ำ กั บ ดู แ ล และพั ฒ นาองค์ ก ร ปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ในจั ง หวั ด เลย พ ร ้ อ ม ผ ล ก า ร ด� ำ เ นิ น ง า น ใ น ก า ร ขั บ เคลื่ อ นจั ง หวั ด เลยให้ “เป็ น จั ง หวั ด ที่สะอาดระดับประเทศ”

อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์

บรรณาธิการอ�ำนวยการ นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย

บริษัท สมาร์ท บิซิเนส ไลน์ จ�ำกัด 9/4-6 ถนนรามอินทรา แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพฯ 10220 โทร. 0-2522-7171 แฟกซ์. 0-2971-7747 FACEBOOK : SBL บันทึกประเทศไทย

Editor's talk .

.indd 18

EMAIL : sbl2553@gmail.com

Website

Facebook

- 25 / 02 / 2562 04:39:31 PM


LOEI SBL MAGAZINE 2019

คณะผู้บริหาร

นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย

คณะที่ปรึกษา ศ.ดร.กฤช เพิ่มทันจิตต์ พลเอกสรชัช วรปัญญา ดร.นิเวศน์ กันไทยราษฎร์ ดร.ประยุทธ คงเฉลิมวัฒน์ ดร.ชาญ ธาระวาส ดร.สุมิท แช่มประสิท ดร.วัลลภ อารีรบ ดร.พิชัย ทรัพย์เกิด ดร.ไอศูรย์ ดีรัตน์ ดร.สุเทษณ์ จันทรุกขา ดร.อรรถสิทธิ์ ตันติวิรัชกุล

บรรณาธิการอ�ำนวยการ อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์ บรรณาธิการงานบุคคล พงษ์ศักดิ์ พรณัฐวุฒิกุล วนัสกฤษณ์ ศิลปรังสรรค์ บรรณาธิการการตลาด ปัณณ์ฐาโชค ธนสานสิทธิโชติ ฝ่ายกฎหมาย สมคิด หวังเชิดชูวงศ์ ทวิช อมรนิมิตร

กองบรรณาธิการ

นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย

ฝ่ายประสานงานโครงการ ภาครัฐและเอกชน

ผู้จัดการ

อัครกฤษ หวานวงษ์

คณะทีมงาน

สุษฎา พรหมคีรี นิรุจน์ แก้วเล็ก วิพุธ ราชสงค์ ถาวร เวปุละ

ฝ่ายประสานงานข้อมูล

ผู้จัดการฝ่ายประสานงานข้อมูล นันท์ธนาดา พลพวก

ฝ่ายประสานงานข้อมูล

ศุภญา บุญช่วยชีพ นงลักษณ์ เทียมเกตุทวีโชค

นักเขียน

คุณิตา สุวรรณโรจน์

ฝ่ายศิลปกรรม

ผู้จัดการฝ่ายศิลปกรรม พัชรา ค�ำมี

กราฟิกดีไซน์

พิมพ์พิสุทธิ์ พังจูนันท์ วรเชษฐ สมประสงค์ ธีระวัฒน์ ระวาดชัย

ช่างภาพ

ชัยวิชญ์ แสงใส ปณต ปิติจารุวิศาล กิติวัฒน์ ทิศมั่ง วิทยา ประเสริฐสังข์

ตัดต่อวีดีโอ

วัชรกรณ์ พรหมจรรย์ ฝ่ายบัญชี / การเงิน

บัญชี

ปัฐมาภรณ์ แสงบุราณ

ผู้จัดการฝ่ายการเงิน สุจิตรา แดนแก้วนิต

การเงิน

ชวัลชา นกขุนทอง วนิดา ศรีปัญญา

www.sbl.co.th

Editor's talk .

.indd 19

- 25 / 02 / 2562 04:39:31 PM


ฉบับที่ 88 จังหวัดเลย พ.ศ. 2562

LOEI 2019

CONTENTS

issuu จังหวัดเลย “ เที่ยวตามใจ...ไปเลยตามเลย ” หากพูดถึงจังหวัดน่าเที่ยวของภาคอีสาน ที่หลายคนคุ้นเคยกันดี มั่นใจว่าทุกคนต้องนึกถึงจังหวัด “เลย” มาเป็นอันดับต้นๆ

68

วัดศรีสุทธาวาส พระอารามหลวง

72

วัดสุธัมมิการาม

74

วัดศรีอภัยวัน(ธ) ลานพระศรีนครินทร์ @อุทยานแห่งชาติภูกระดึง

76

วัดป่าซ�ำบุ่น(ธ)

22

78

ใต้ร่มพระบารมี “โครงการฟื้นฟูอาหารช้างป่าภูหลวง อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ”

เพื่อช่วยป้องกันไม่ให้ช้างป่าออกไปหากินนอกเขต จนท�ำความเสียหาย ให้กับพืชสวน ไร่นา ของชาวบ้าน เป็นต้นเหตุที่ท�ำให้ช้างถูกท�ำร้ายจนเสียชีวิต

วัดป่าอัมพวัน(ธ)

82

วัดศรีวิชัยวนาราม

83

ทต.ธาตุ

26

86

อบต.จอมศรี

SPECIAL INTERVIEW

88

บันทึกเส้นทางพบท้องถิ่นจังหวัดเลย นายจรัสพงศ์ ค�ำดอกรับ

วัดศรีคุนเมือง

32

91

วัดโพนชัย

SPECIAL INTERVIEW

บันทึกเส้นทางพบส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดเลย นายทรงพุฒิ ชรินทร์

92

วัดป่าใต้

94

40

บันทึกเส้นทางความเป็นมาและท่องเที่ยว

วัดภูช้างน้อย

95

วัดสวนธรรมเทวราช

60

64

96

62

66

98

ทต.นาอาน อบต.ศรีสองรัก

.indd 20

อบต.เมือง อบต.น�้ำหมาน

ผามออีแ

วัดศรีพนมมาศ(ธ) อบต.ปากหมัน

- 26 / 02 / 2562 08:43:50 AM


132 68 120

ภูป่าเปาะ @หนองหิน

ภูทอก @เชียงคาน

136

ภูเรือ @ภูเรือ

100

112

126

144

102

113

128

147

104

115

132

150

106

116

136

วัดป่าภูแปกญาณสัมปันโน(ธ)

วัดพุทธสถานภูไผ่

107

118

140

157

108

120

141

160

110

124

142

162

วัดเนรมิตรวิปัสสนา วัดเครือหงษ์ อบต.นาพึง วัดถ�้ำผากลอง(ธ) ที่ว่าการอ�ำเภอภูกระดึง ทต.ภูกระดึง อบต.ศรีฐาน

ตลาดบ้านใหม่ร้อยปี บานประตูศาลาการเปรียญ .indd 21

วัดศรีภูกระดึงพัฒนาราม วัดป่าเทพนิมิตมงคล ที่ว่าการอ�ำเภอภูเรือ ทต.ภูเรือ

วัดป่าโนนสะอาด(ธ) วัดภูตูมวนาราม วัดประชาสรรค์

วัดป่าศรัทธารวม(ธ) วัดป่าผาเจริญ(ธ) วัดป่าสัมมานุสรณ์(วัดเหนือ)

วัดศรีชมชื่น วัดศรีหนองหิน อบต.ปวนพุ

ทต.เอราวัณ ทต.ผาอินทร์แปลง วัดเอราวัณพัฒนาราม

154

ทต.นาดอกค�ำ อบต.ห้วยพิชัย ทต.ท่าลี่

จุดชมวิวพญากูป-รี26 / 02 / 2562

08:44:00 AM


โครงการฟื้นฟูอาหารช้างป่าภูหลวง อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ ต�ำบลทรายขาว อ�ำเภอวัง สะพุง จังหวัดเลย

ความเป็นมา สมเด็ จ พระนางเจ้ า สิ ริ กิ ติ์ พ ระบรมราชิ นี น าถ ใน รัชกาลที่ 9 ได้เสด็จมายังเขตรักษาพันธุส์ ตั ว์ปา่ ภูหลวง ต�ำบลทรายขาว อ�ำเภอวังสะพุง จังหวัดเลย เมื่อ ปี พ.ศ. 2542 ได้พระราชทานพระราชด�ำริให้ ด�ำเนินการโครงการปลูกพืชส�ำหรับอาหารช้าง ในพื้นที่ป่าธรรมชาติ เพื่อที่จะช่วยป้องกันไม่ให้ ช้างป่าออกไปหากินนอกเขตจนไปท�ำความเสียหาย ให้ กั บ พื ช สวนไร่ น าของชาวบ้ า น ต้ น เหตุ ที่ ท� ำ ให้ ช ้ า ง ถูกท�ำร้ายจนเสียชีวิต วัตถุประสงค์ 1. การยุติการแผ้วถางป่า และท�ำลายทรัพยากรธรรมชาติ 2. การดูแลราษฎรให้มสี ว่ นร่วมในการดูแลรักษาป่า ป้องกันไฟป่า 3. การส่งเสริมอาชีพที่ไม่จ�ำเป็นต้องใช้ที่ดินเป็นปัจจัยการผลิต มากนัก เพื่อลดปัญหาการขัดแย้งระหว่างเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูหลวงกับราษฎร 4. เพื่ อ รั ก ษาสภาพป่ า บริ เวณพื้ น ที่ เขตรั ก ษาพั น ธุ ์ สั ต ว์ ป ่ า ภู ห ลวง ส่วนใหญ่ให้ยั่นยืนตลอดไป 5. เพื่อฟื้นป่าบริเวณพื้นที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูหลวง ที่มีสภาพ เสื่อมโทรม ให้มีคุณค่าทางเศรษฐกิจ การอนุรักษ์ดิน น�้ำ และสิ่งแวดล้อม 6. เพือ่ สนองแนวพระราชด�ำริ สมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ติ ิ์ พระบรมราชินนี าถ ในรัชกาลที่ 9 ด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้

เครดิตภาพ : Sasin Tipchai

22

SBL บันทึกประเทศไทย I เลย

.indd 22

21/02/62 14:15:03


งานประจ�ำปี

ผลการด�ำเนินงาน ตั้งแต่ปี 2543 - 2559 โครงการฟื้นฟูอาหารช้างป่าภูหลวงอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ นั้นมี แผนงานเสริมสร้างแหล่งน�ำ ้ และอาหารสัตว์ปา่ ด�ำเนินการบ�ำรุงป่า ปลูกป่า ฟื้นฟูอาหารช้าง ปลูกป่าเปียกสองข้างล�ำห้วย เพื่ออนุรักษ์ดิน น�้ำ และ เป็ น อาหารช้ า ง ท� ำ แนวกั น ไฟรอบแปลงปลู ก ป่ า เสริ ม สร้ า งแหล่ ง น�้ ำ ในธรรมชาติ จัดท�ำโป่งเทียม แผนงานอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ด�ำเนินการลาดตระเวนป้องกัน การกระท�ำผิดในพื้นที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เฝ้าระวังมิให้ช้างป่าออกมา ท�ำลายพืชไร่ของราษฎร และด�ำเนินการประชาสัมพันธ์สร้างความเข้าใจ กับราษฎรในพื้นที่ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์พืช ได้ด�ำเนินการสร้างรั้วไฟฟ้า และรั้วรังผึ้ง ปรับปรุงแหล่งน�้ำส�ำหรับสัตว์ป่า การสร้างโป่งเทียม และ ปลูกพืชอาหารส�ำหรับช้าง และจัดการทุ่งหญ้าส�ำหรับสัตว์ป่า และติดตาม ช้างป่าออกนอกพื้นที่ ปี พ.ศ. 2556 ด�ำเนินการปรับปรุงแหล่งน�้ำส�ำหรับสัตว์ป่า 5 แห่ง สร้างโป่งเทียมส�ำหรับสัตว์ป่า 100 แห่ง เพาะช�ำกล้าไผ่หนามเพื่อปลูก เป็นรั้วป้องกันช้างป่า 10,000 ต้น เพาะช�ำกล้าไผ่เพื่อปลูกเป็นอาหาร ส�ำหรับช้างป่า 100,000 กล้า ปลูกพืชอาหารส�ำหรับช้างป่า 150 ไร่ จัด ท�ำทุ่งหญ้าส�ำหรับสัตว์ป่า 100 ไร่ สร้างรั้วไฟฟ้า การท�ำรั้วไฟฟ้า ไฟที่รั้วไม่ท�ำอันตรายต่อคนและสัตว์ มีความยาว ประมาณ 12 กิโลเมตร ในช่วงสามปีแรกได้ผลร้อยเปอร์เซ็นต์ แต่ช้าง เป็นสัตว์ที่ฉลาดมาก สามารถเรียนรู้ว่าบริเวณเสานั้นไม่มีกระแสไฟฟ้า จึงช่วยกันพังแล้วเดินออกมา แต่เจ้าหน้าที่ก็จะหาวิธีเพิ่มความแข็งแรง บริเวณเสาไฟเพื่อไม่ให้ช้างออกมาได้ ส่วนชาวบ้า นที่ปลูกพืชอยู่ตาม แนวป่าของเขตรักษาพันธุ์ฯ เมื่อถูกช้างบุกรุกพืชไร่บ่อยๆ ก็ปรับเปลี่ยน มาปลูกพืชยืนต้น อย่าง ยางพารา ป่าธรรมชาติกับสวนยางจึงดูเหมือน ป่าผืนเดียวกัน รั้วรังผึ้ง รั้วรังผึ้งเป็นการน�ำรังผึ้งที่เลี้ยงในกล่องไม้ ไปแขวนไว้รอบบริเวณ พื้นที่การเกษตร โดยผูกโยงเว้นระยะห่างกัน เมื่อช้างเดินมาชนเชือก แรงสั่นสะเทือนจะไปปลุกให้ผึ้งแตกรังตามสัญชาตญาณ ซึ่งมีงานวิจัยว่า เสียงกระพือปีกของผึ้งจ�ำนวนมาก จะท�ำให้ช้างแสบแก้วหู ท�ำให้ช้าง ไม่กล้าเข้าใกล้ จุดอ่อนของช้างอยู่ที่ดวงตาและงวง เวลาโดนผึ้งจะถอย แต่ผึ้งไม่ได้ท�ำอันตรายช้างจนถึงชีวิต เป็นงานวิจัยของสถานีวิจัยสัตว์ป่า ภูหลวง ซึ่งให้ชาวบ้านที่สนใจได้ติดตั้งท�ำรั้ว เพื่อกันไม่ใช้ช้างเข้าใกล้พืชผล ทางการเกษตรของตน ซึ่งมีแนวโน้มชาวบ้านเข้ามาร่วมโครงการมากขึ้น เมือ่ หมดฤดูเก็บเกีย่ ว รังผึง้ จะถูกน�ำไปเลีย้ งเพือ่ เก็บน�ำ้ หวานขายสร้างรายได้ อีกด้วย

LOEI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 23

23

21/02/62 14:15:08


สร้าง - ปรับปรุงแหล่งน�้ำ ส�ำหรับช้างกินน�้ำเฉลี่ยวันละ 200 ลิตร นอกจากแหล่งน�้ำที่มีอยู่ โครงการได้ออกค้นหาพื้นที่ชุ่มน�้ำที่มีน�้ำซึมน�้ำซับ ขุดเป็นแหล่งกักเก็บน�้ำ ท� ำ ทางลาดส� ำ หรั บ ให้ ช ้ า งเดิ น ขึ้ น -ลง ได้ อ ย่ า งปลอดภั ย บ่ อ ที่ แ คบ ก็จะขยายให้กว้างขึ้น ซึ่งจะท�ำไว้สองบ่อให้อยู่ใกล้ๆ กัน เพราะนิสัยของ ช้างป่า จะแยกบ่อน�้ำดื่มกิน กับบ่อที่ลงไปนอนแช่น�้ำเล่น สร้างโป่งดินเทียม ช้างกินพืชเพียงอย่างเดียว จ�ำเป็นต้องหาแร่ธาตุต่างๆ ตามโป่งดิน เป็นอาหารเสริม เช่นเดียวกับสัตว์ป่าชนิด เช่น เก้ง กวาง หมี เสือปลา เสือโคร่ง เมื่อแร่ธาตุจืดจางสัตว์ป่าจะย้ายถิ่นฐานไปหาแหล่งอาหารใหม่ ทางโครงการจึงเข้าไปเติมความสมบูรณ์ให้โป่งดินร้างเหล่านั้น ด้วยการ น�ำเกลือและแร่ธาตุที่ใช้เลี้ยงสัตว์ เพื่อเพิ่มแร่ธาตุโป่งเทียมที่สร้างขึ้นใหม่ เพื่อช้างและสัตว์ป่าจะไม่ย้ายถิ่นเพื่อไปหาแหล่งอาหารใหม่

24

ปลูกพืชเป็นแหล่งอาหารช้าง พื้นที่เขตรักษาพันธุ์ฯ กว่า 520,000 ไร่ เป็นพื้นที่ท�ำกินประมาณ 200,000 ไร่ โดยชุมชนที่อยู่อาศัยดั้งเดิม 12 หมู่บ้าน รัฐบาลจึงประกาศ ให้เป็นเขตผ่อนปรน อนุญาตให้ท�ำกินแต่ห้ามบุกรุกเพิ่ม และจากการ ส�ำรวจจ�ำนวนช้างในปี พ.ศ. 2542 ก่อนตั้งโครงการหนึ่งปี มี 50 ตัว ส�ำรวจครั้งล่าสุดเมื่อ ปี พ.ศ. 2558 มี 98 ตัว ซึ่งพื้นที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ ป่าภูหลวง รองรับช้างได้เต็มที่ 130 ตัว ปัจจุบนั โครงการฟืน้ ฟูอาหารช้างป่าภูหลวงอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ เป็นแหล่งเรียนรู้ จัดกิจกรรมเชิงอนุรักษ์แก่เยาวชนและกลุ่มคณะสนใจ เช่น การสร้างโป่ง ฯลฯ สนใจสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่โครงการ ฟื ้ น ฟู อ าหารช้ า งป่ า ภู ห ลวง อั น เนื่ อ งมาจากพระราชด� ำ ริ บ้ า นน�้ ำ ค้ อ ต�ำบลทรายขาว อ�ำเภอวังสะพุง จังหวัดเลย ขอบคุณข้อมูล : ส�ำนักงาน กปร.

SBL บันทึกประเทศไทย I เลย

.indd 24

21/02/62 14:15:11


“ พฤติ ก รรมของช้ า งจะอยู ่ เ ป็ น โขลงเป็ น ครอบครั ว ช้ า งหนุ ่ ม เมื่ อ โตเต็ ม วั ย จะถู ก ขั บ ออกจากฝู ง ที่ ชาวบ้ า นเรี ย กว่ า “ช้ า งโทน” เพื่ อ ออกไปหาคู ่ และ สร้ า งครอบครั ว สร้ า งอาณาจั ก รของตั ว เองขึ้ น ใหม่ พื้ น ที่ เ ขตรั ก ษาพั น ธุ ์ สั ต ว์ ป ่ า ภู ห ลวง รองรั บ ช้ า ง ได้ เ ต็ ม ที่ 130 ตั ว ” ปัจจุบันที่นี่เป็นแหล่งเรียนรู้ จัดกิจกรรมเชิงอนุรักษ์แก่เยาวชนและ กลุ่มคณะที่สนใจ เช่น การสร้างโป่ง ฯลฯ สนใจสอบถามรายละเอียด เพิ่ ม เติ ม ได้ ที่ โครงการฟื ้ น ฟู อ าหารช้ า งป่ า ภู ห ลวง อั น เนื่ อ งมาจาก พระราชด�ำริ บ้านน�้ำค้อ ต�ำบลทรายขาว อ�ำเภอวังสะพุง จังหวัดเลย ติดต่อ คุณวัชระ ธรรมสอน หัวหน้าโครงการฯ โทร.08-1871-6478

LOEI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 25

25

21/02/62 14:15:13


S P ECI A L INT E R V IE W บันทึกเส้นทางพบท้องถิ่นจังหวัด

LOEI PROVINCIAL OFFICE

FOR LOCAL ADMINISTRATION “เมืองแห่งทะเลภูเขา สุดหนาวในสยาม ดอกไม้งามสามฤดู ถิ่นที่อยู่อริยสงฆ์ มั่นคงความสะอาด”

ท้องถิ่นจังหวัดเลย

นายจรัสพงศ์ ค�ำดอกรับ “ จั ง หวั ด เลยได้ รั บ รางวั ล ชนะเลิ ศ การประกวดจั ง หวั ด สะอาดระดั บ ประเทศ กลุ่ม จังหวัดขนาดกลาง ผู ้ ว ่ า ราชการจั ง หวั ด เลยได้ รับมอบโล่ รางวั ลจาก ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี พลเอกประยุทธ์ จันทร์ โอชา เมื่อวันที่ 25 ตุลาคม พ.ศ. 2561 ” นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย ได้รับเกียรติอย่างสูง จากนายจรัสพงศ์ ค�ำดอกรับ ท้องถิ่นจังหวัดเลย ผู้มีบทบาทส�ำคัญในการก�ำกับดูแล และพัฒนาองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อประโยชน์สุขของประชาชนชาวจังหวัดเลย โอกาสนี้ท่านได้ เผยให้เห็นความส�ำคัญของหน่วยงานและผลการด�ำเนินงานที่ภาคภูมิใจในรอบปี 2561 รวมทั้งการขับเคลื่อนโครงการต่างๆ อย่างต่อเนื่องในปี 2562

26

SBL บันทึกประเทศไทย I เลย

.indd 26

ภูลำ� ดวน อ�ำเภอปากชม

อุทยานแห่งชาติภหู นิ ร่องกล้า อ�ำเภอนครไทย 21/02/62

16:03:19


SPECIAL INTERVIEW

LOEI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 27

27

21/02/62 16:03:26


SPECIAL INTERVIEW

บทบาทท้องถิ่นจังหวัด

บริบทของท้องถิ่นจังหวัดเลย ในฐานะ หั ว หน้ า ส่ ว นราชการประจ� ำ จั ง หวั ด มี ง าน ในลักษณะอ�ำนวยการสนับสนุนในการช่วย ผู้ว่าราชการจังหวัดในการก�ำกับดูแลองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นที่อยู่ในจังหวัด เพื่อ ให้ปฏิบัติตามระเบียบกฎหมายที่ก�ำหนด ขณะเดียวกันก็ทำ� หน้าทีส่ ง่ เสริมการปกครอง ท้องถิ่นภายในจังหวัด โดยผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง โดยตรงคือ ผู้บริหารท้องถิ่น และ สมาชิก สภาท้องถิน่ ข้าราชการ พนักงาน พนักงานจ้าง ของท้องถิ่นซึ่งมีกว่า 5,000 ราย ดังนั้น ท้องถิ่นจังหวัดจึงมีงานที่เกี่ยวข้อง 2 ระบบ คือ ระบบราชการและระบบการเมือง

ผลงานที่ภาคภูมิใจ

ในฐานะที่ผมได้ด�ำรงต�ำแหน่งท้องถิ่น จังหวัดได้มีบทบาทในการเข้าไปประสาน ให้สองระบบดังกล่าวสามารถไปด้วยกันได้ เพือ่ ให้เกิดผลสัมฤทธิแ์ ก่ประชาชนในท้องถิน่ ดั ง ได้ ป รากฏผลการด� ำ เนิ น งานที่ ผ ่ า นมา (พ.ศ. 2561) จังหวัดเลยได้รบั รางวัลชนะเลิศ การประกวดจังหวัดสะอาดระดับประเทศ กลุ ่ ม จั ง หวั ด ขนาดกลาง ซึ่ ง ผู ้ ว ่ า ราชการ จังหวัดเลย ได้ไปรับมอบโล่รางวัลจาก ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา เมื่ อ วั น ที่ 25 ตุ ล าคม พ.ศ. 2561 ณ ตึกสันติไมตรี ท�ำเนียบรัฐบาล ซึ่งล้วนแต่ เป็ น ผลงานจากความร่ ว มมื อ ขององค์ ก ร ปกครองส่วนท้องถิ่น จ�ำนวน 101 แห่ง ก�ำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ส่วนราชการ วัด และ ประชาชน ในจังหวัดเลย

28

SBL บันทึกประเทศไทย I เลย

.indd 28

21/02/62 16:03:30


ภูป่าเปาะ

“ภูป่าเปาะ” เป็นสถานที่ท่องเที่ยวแห่งหนึ่ง ที่น่าสนใจภายใน จังหวัดเลย ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นผาหวาย หมูท่ ี่ 3 ต�ำบลปวนพุ อ�ำเภอหนองหิน จังหวัดเลย ด้วยสภาพภูมิอากาศที่หนาวเย็น สบาย เหมาะส�ำหรับ ผู้ที่ชื่นชอบการสูดอากาศสดชื่นเต็มปอด ในวันที่ต้องการพักผ่อน ภูป่าเปาะ จึงเป็นอีกจุดหนึ่งที่สามารถมองเห็น ทัศนียภาพ ภูเขา เมืองเลยได้เกือบทั้งหมด

มองเห็นภูเขา 3 จังหวัด อุทยานแห่งชาติน�้ำหนาว จังหวัดเพชรบูรณ์ อุทยานแห่งชาติภูผาม่าน จังหวัดขอนแก่น ผาสามยอด จังหวัดหนองบัวล�ำภู

อีกทั้งยังมีจุดชมพระอาทิตย์ขึ้นพระอาทิตย์ตกภาพบรรยากาศ สุดประทับใจ ในช่วงฤดูหนาวก็จะเห็นทะเลหมอกไปรอบๆ จึงได้ชื่อว่า “พาโนราม่า 360 องศาเมืองเลย” และจุดส�ำคัญของภูป่าเปาะ ก็คือ เป็นจุดชมวิว ภูหอ ภูเขายอดตัดที่มีรูปร่างคล้ายภูเขาไฟฟูจิ จึงเรียก กันว่า ฟูจิเมืองเลย นั่นเอง

P h u - P a - P o

LOEI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 29

29

21/02/62 16:03:32


วนอุทยานภูบ่อบิด อ�ำเภอเมือง 30

SBL บันทึกประเทศไทย I เลย

.indd 30

21/02/62 16:03:34


ขับเคลื่อนจังหวัดเลยสะอาด ปี 2562

ส�ำหรับในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ก็ได้มีเป้าหมายเรื่อง การขับเคลื่อนจังหวัดเลยให้มีความสะอาดอย่างต่อเนื่อง ด้วยการ เร่งรัดการจัดท�ำถังขยะเปียกให้ครบทุกครัวเรือน (100% ของครัว เรือนทัง้ หมด) และ การจัดตัง้ ธนาคารขยะให้ครบทุกองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิน่ การจัดเก็บขยะอันตรายและการดูแลความสะอาดตามทาง และที่สาธารณะ รวมทั้งให้ทุกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดท�ำ โครงการ 1 อปท. 1 ถนนท้องถิ่นใส่ใจสิ่งแวดล้อม อย่างน้อย องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ละ 500 เมตร นอกจากนี้ ยังได้จัดท�ำ โครงการ 3 โครงการ ได้แก่ 1. โครงการจังหวัดเลยปลอดภาชนะโฟม (NO FOAM) 2. โครงการคืนกล่องนมให้โรงเรียน 3. โครงการเก็บถุงพลาสติกขาย ซึ่งโครงการดังกล่าวเรามีความเชื่อมั่นว่าจะช่วยให้จังหวัดเลย รักษามาตรฐานความเป็นจังหวัดสะอาดได้อย่างยั่งยืนต่อไป

หมู่บ้านน�ำร่อง “การท�ำถั งขย

ะเปียก”

LOEI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 31

31

21/02/62 16:03:41


S P ECI A L INT E R V IE W

บันทึกเส้นทางพบส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัด

LOEI

PROVINCIAL OFFICE OF BUDDHISM ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดเลย

นายทรงพุฒิ ชริน ทร์

ข้อมูลจากส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดเลย ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2561 พบว่าใน จังหวัดเลยมีจำ� นวนวัดทัง้ หมด 719 วัด ทีผ่ า่ นขัน้ ตอนการก่อสร้างและจัดตัง้ วัดอย่างถูกต้อง ตามกฎหมาย และอีกกว่า 300 แห่งเป็นทีพ ่ กั สงฆ์หรือสถานปฏิบตั ธิ รรม พูดโดยรวมจังหวัด เลยนัน้ ถือว่ามีวดั นับพันแห่งๆ นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย ขอขอบคุณนายทรงพุฒิ ชรินทร์ ผูอ้ ำ� นวยการ ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดเลย ทีก่ รุณาสละเวลามาแนะน�ำแหล่งท่องเทีย่ วสายธรรม ทีส่ ำ� คัญของจังหวัดเลย

32

.

.

SBL บันทึกประเทศไทย I เลย

.indd 32

ภูลำ� ดวน อ�ำเภอปากชม

- 23 / 02 / 2562 02:28:09 PM


SPECIAL INTERVIEW

LOEI I SBL บันทึกประเทศไทย

.

.

.indd 33

33

- 23 / 02 / 2562 02:28:11 PM


SPECIAL INTERVIEW “ ในฐานะที่ ผ มเป็ น คนจั ง หวั ด เลย ซึ่งเป็นจังหวัดที่อยู่ภาคอีสานตอนบนสุด มีนักท่องเที่ยวให้ความสนใจมาก ภายใต้ ค�ำขวัญประจ�ำจังหวัดที่ว่า “เมืองแห่งทะเลภูเขา สุดหนาวในสยาม ดอกไม้ ง ามสามฤดู ถิ่ น ที่ อ ยู ่ อ ริ ย สงฆ์ มั่นคงความสะอาด” ซึ่ ง มี ส ่ ว นเกี่ ย วข้ อ งกั บ ส� ำ นั ก งาน พระพุทธศาสนาเกือบทุกเรื่อง โดยเฉพาะ เมื อ งทะเลแห่ ง ภู เ ขา วั ด ทุ ก วั ด ส่ ว นมาก ก็ จ ะอยู ่ แ ถบภู เ ขาเกื อ บทั้ ง หมดครั บ พู ด ถึ ง ถิ่ น อริ ย สงฆ์ จั ง หวั ด เลยก็ เ ป็ น บ้ า นเกิ ด ของหลวงปู ่ ช อบ หลวงปู ่ แ หวน และก็พระเกจิอาจารย์ดังๆ อีกหลายรูป ที่พุทธศาสนิกชนในประเทศไทยให้ความ เคารพความศรัทธา ”

วัดศรีคุนเมือง & ตักบาตรข้าวเหนียว

ปัจจุบนั ถือว่านักท่องเทีย่ วให้ความสนใจ และนิ ย มมาท่ อ งเที่ ยวจั ง หวั ด เลยของเรา มากขึ้นเป็นล�ำดับ แต่ถ้ามาถึงจังหวัดเลย แล้วควรจะไปไหนก่อนดี ส่วนมากนักท่องเทีย่ ว จะมาในฤดูหนาว แห่งแรกที่ผมจะแนะน�ำ คือ ไปที่ “วัดศรีคุนเมือง” อ�ำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย ซึง่ วัดศรีคนุ เมืองจะมีการฝึกอบรม ปฏิ บั ติ ธ รรมต่ า งๆ ซึ่ ง “เมื อ งเชี ย งคาน” เป็นอีกหนึง่ เมืองทีน่ กั ท่องเทีย่ วให้ความสนใจ เป็นอย่างมากในเรื่ อ งการท� ำ บุ ญ ตั ก บาตร หรื อ “ตั ก บาตรข้ า วเหนี ยว” ตอนเช้ า ตรู ่ ถ้ามาจังหวัดเลยแล้วไม่ได้ไปวัดศรีคุนเมือง และไม่ได้ทำ� บุญตักบาตรข้าวเหนียวตอนเช้า ถื อ ว่ า มาไม่ ถึ ง ครั บ เพราะที่ เ ชี ย งคาน บรรยากาศในตอนเช้าหน้าหนาวจะมีหมอก และอากาศเย็นสบาย ส่วนในช่วงเย็นก็จะมี ถนนคนเดินส�ำหรับน่าท่องเที่ยวครับ

34

.

.

SBL บันทึกประเทศไทย I เลย

.indd 34

- 26/02/2562 05:04:20 PM


“ถ้ามาจังหวัดเลย แล้วไม่ได้ ไปวัดศรีคุณเมือง และท�ำบุญตักบาตรข้าวเหนียว ในตอนเช้าที่เชียงคาน ถือว่ามาไม่ถึงครับ”

เครดิตภาพ www.gotoloei.com

วัดป่าห้วยลาด

ผมแนะน� ำ “วั ด ป่ า ห้ ว ยลาด” หรื อ “วัดสมเด็จภูเรือมิ่งเมือง” บริเวณทางขึ้น ภูเรือ วัดป่าห้วยลาดนับเป็นวัดที่ก่อสร้าง ขึ้นใหม่ เป็นการผสมระหว่างประติมากรรม เก่าแก่และปติมากรรมร่วมสมัยเข้าด้วยกัน นักท่องเที่ยวให้ความสนใจ มักจะแวะไป กราบพระที่วัดนี้ก่อนขึ้นไปเที่ยวบนภูเรือ

วัดพระธาตุศรีสองรัก & วัดโพนชัย

ไปที่อ�ำเภอด่านซ้ายผมแนะน�ำ 2 แห่ง คือ ไปกราบสักการะ “พระธาตุศรีสองรัก” แล้วก็ไปที่ “วัดโพนชัย” ซึ่งเป็นวัดที่มีชื่อ เสียงเรื่องการปฏิบัติธรรม และเรื่องขนบ ธรรมเนียมประเพณีทขี่ นึ้ ชือ่ ในระดับประเทศ หรือระดับโลก ซึ่งก็คือ “ผีตาโขน” ซึ่งเป็น พิพิธภัณฑ์เก็บและรวบรวมผีตาโขน รวมถึง เรียนรู้ขั้นตอนการท�ำผีตาโขน

วัดโพธิ์ชัย

“วัดโพธิ์ชัย” อยู่ที่อ�ำเภอนาแห้ว เป็น วัดทีเ่ ก่าแก่มากๆ จุดสนใจของนักท่องเทีย่ ว ที่มาเที่ยวที่นี่นั่นคือ ประเพณีการท�ำต้นผึ้ง หรือต้นเทียนของชาวบ้าน ซึ่งจะน�ำต้น ผึ้ง ไปท�ำบุญเพือ่ เป็นการอุทศิ ส่วนกุศลประเพณี ที่ชาวบ้านสืบสานกันมาอย่างยาวนาน

LOEI I SBL บันทึกประเทศไทย

.

.

.indd 35

35

- 23 / 02 / 2562 02:28:19 PM


“มาเยือนเมืองเลยได้หลายอรรถรส ได้ท่องเที่ยววัดเก่าแก่ ได้ปฏิบัติธรรมแล้วน�ำไปใช้ ในชีวิตประจ�ำวันของตัวเองได้อย่างมีความสุข เหนือสิ่งอื่นใดเมื่อมาเมืองเลยท่านจะอายุยืนยาว”

เครดิตภาพ www.gotoloei.com

วัดศรีสุทธาวาส พระอารามหลวง

มาที่อ�ำเภอเมือง ก็มี “วัดเลยหลง” หรือ “วัดศรีสุทธาวาส” เป็ นวั ด ที่ มี พ ระเกจิ อ าจารย์ ช่ื อ ดั ง คื อ “หลวงปู ่ ศ รี จั น ทร์ ” ซึ่ ง ท่านมรณภาพไปแล้ว จังหวัดเลยมีพระอารามหลวงแห่งเดียว คือ วัดธรรมยุต ชาวบ้านเรียกกันว่าวัดเลยหลง ถือว่าเป็นวัดส�ำคัญ

วัดถ�้ำผาปู่ & วัดศรีอภัยวัน

ตั้งอยู่อ�ำเภอเมืองเลย มี “หลวงปู่ค�ำดี” เป็นพระเกจิอาจารย์ เป็นสถานที่ปฏิบัติธรรมที่หลายคนนั้นชอบไปอยู่เป็นประจ�ำ และ อีกวัดหนึ่งก็คือ “วัดศรีอภัยวัน” อยู่ที่ต�ำบลนาอ้อ “หลวงปู่ท่อน” พระเกจิอาจารย์ทหี่ ลายคนรูจ้ กั ดี ซึง่ ท่านมรณภาพไปแล้ว แต่ทางวัด ก็ยังท�ำพิธีสวดอภิธรรมให้อยู่

เครดิตภาพ www.thailovetrip.com

วัดศรีอุดมวงศ์

“วัดศรีอดุ มวงศ์” ทีอ่ ำ� เภอวังสะพุง เป็นวัดทีอ่ บรมการปฏิบตั ธิ รรม เป็นหลักสูตรต่อเนื่องตลอดทั้งปี เป็นหลักสูตรที่สามารถน�ำไปใช้ ในชีวิตประจ�ำวันได้จริง ผู้คนก็เลยให้ความสนใจ มีนักเรียนจาก หลายโรงเรียน หลายแห่ง ต้องจองคิวเพื่อขอเข้ามาฝีกปฏิบัติธรรม ที่วัดศรีอุดมวงศ์ 36

.

.

วัดลาดปู่ทรงธรรม

“วัดลาดปู่ทรงธรรม” ที่อ�ำเภอท่าลี่ มี “พระธาตุสัจจะ” ซึ่งมี ความเก่าแก่ ผู้คนให้ความสนใจในการมาปฏิบัติธรรมอีกวัดหนึ่ง คนทีม่ าปฏิบตั ธิ รรมเมือ่ มีความตัง้ ใจ อธิษฐานก็มกั จะประสบความส�ำเร็จ เจริญก้าวหน้ารุ่งเรือง

SBL บันทึกประเทศไทย I เลย

.indd 36

- 23 / 02 / 2562 02:28:21 PM


วัดดีน่าเที่ยว

ขอเชิญชวนทุกๆ ท่านผ่านทางนิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย หรื อ สื่ อ ออนไลน์ ป ระเภทต่ า งๆ โดยเฉพาะเรื่ อ งการท่ อ งเที่ ยว เมื่อท่านมาเยือนเมืองเลย ท่านจะได้หลายอรรถรส อันดับแรกคือ ท่านจะได้ท่องเที่ยววัด สถานที่เก่าแก่ของจังหวัด เมืองโบราณ เมื อ งหนึ่ ง ของประเทศไทย อั น ที่ ส อง ท่ า นจะได้ ป ฏิ บั ติ ธ รรม ที่สามารถน�ำไปใช้ในชีวิตประจ�ำวันของตัวเองได้อย่างมีความสุข เหนือสิง่ อืน่ ใดเมือ่ มาเมืองเลยท่านจะอายุยนื ยาว เพราะว่าเมืองเลย เป็นเมืองทะเลแห่งภูเขา ป่าไม้สมบูรณ์ ได้มาสูดอากาศบริสุทธิ์ ท่านได้ชมสิง่ ดีงามของจังหวัดเลย ผมมัน่ ใจว่าท่านมาแล้วต้องบอกต่อ อย่างแน่ครับ

LOEI I SBL บันทึกประเทศไทย

.

.

.indd 37

37

- 27/02/2562 10:10:07 AM


ท�ำเนียบการปกครองคณะสงฆ์ จังหวัดเลย มหานิกาย

พระราชปรีชามุนี

เจ้าคณะจังหวัดเลย (ม)

พระราชวีราภรณ์

ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดเลย

พระครูปริยัติกิจวรวัฒน์ เจ้าคณะอ�ำเภอวังสะพุง (ม)

พระครูครีธีราภรณ์ เจ้าคณะอ�ำเภอภูเรือ (ม)

54

พระครูปริยัติวชิรคุณ

พระครูโชติรัตนากร

พระครูอรุณวรกิจ

พระครูมงคลอุดมธรรม

เจ้าคณะอ�ำเภอภูกระดึง (ม)

เจ้าคณะอ�ำเภอภูหลวง (ม)

เจ้าคณะอ�ำเภอผาขาว (ม)

เจ้าคณะอ�ำเภอหนองหิน (ม)

พระสิริรัตนเมธี

รองเจ้าคณะจังหวัดเลย

พระครูภาวนาวิสุทธาภรณ์ วิ. เจ้าคณะอ�ำเภอด่านซ้าย (ม)

พระครูวิมลโพธิสาร

เจ้าคณะอ�ำเภอเมืองเลย (ม)

พระครูสิริปัญญาวิสุทธิ์ รองเจ้าคณะจังหวัดเลย

พระครูวีรวงศ์วิวัฒน์ เจ้าคณะอ�ำเภอนาด้วง (ม)

พระครูโพธิจริยาภิวัฒน์ เจ้าคณะอ�ำเภอนาแห้ว (ม)

พระครูปริยัติธรรมโกศล

พระครูกวีธรรมนิเทศก์

เจ้าคณะอ�ำเภอเชียงคาน (ม)

เจ้าคณะอ�ำเภอเอราวัณ (ม)

พระครูปริยัตยาทร

พระครูประสิทธิ์วรญาณ

เจ้าคณะอ�ำเภอปากชม (ม)

เจ้าคณะอ�ำเภอท่าลี่ (ม)

SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา

.indd 54

25/2/2562 10:24:36


ท�ำเนียบการปกครองคณะสงฆ์ จังหวัดเลย ธรรมยุติกนิกาย

พระภัทรธรรมสุธี เจ้าคณะจังหวัดเลย (ธ)

พระราชสุเมธี

ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดเลย (ธ)

พระครูสิริวัฒนาธร

เจ้าคณะอ�ำเภอวังสะพุง (ธ)

พระครูโอภาสปัญญาจารย์ เจ้าคณะอ�ำเภอเชียงคาน-ปากชม (ธ)

พระครูสังวรกิตติวัฒน์ เจ้าคณะอ�ำเภอภูกระดึง (ธ)

พระครูปัญญากิตติยาคม เจ้าคณะอ�ำเภอภูเรือ (ธ)

พระครูสุวรรณรัตนวิมล รองเจ้าคณะจังหวัดเลย (ธ)

พระครูโสภณกิตติวรากร เจ้าคณะอ�ำเภอผาขาว (ธ)

พระครูโกศลธรรมคุณากร เจ้าคณะอ�ำเภอภูหลวง (ธ)

พระครูประโชติปัญญาวุธ เจ้าคณะอ�ำเภอด่านซ้าย (ธ)

พระครูปัญญาสารกิจ เจ้าคณะอ�ำเภอหนองหิน (ธ)

พระครูสิทธิจริยาภรณ์ เจ้าคณะอ�ำเภอเอราวัณ (ธ)

พระครูบวรธรรมนิวิฐ เจ้าคณะอ�ำเภอนาด้วง (ธ)

พระครูปริยัติสาทร

เจ้าคณะอ�ำเภอเมืองเลย (ธ)

CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 55

55

25/2/2562 10:24:40


TRAVEL GUIDE

บันทึกเส้นทางความเป็นมาจังหวัดเลย

เลย 111 ปี เมืองเลย

เมื่อวันที่ 4 มกราคม 2561 ที่ผ่านมา เป็นวันครบรอบ 111 ปี เมืองเลย หลังจากมีประกาศ ของกระทรวงมหาดไทย เมื่อวันที่ 4 มกราคม 2450 ให้มีการจัดตั้ง “เมืองเลย” หลังประกาศใช้ พระราชบัญญัติปกครองท้องที่ ร.ศ.116 จากเดิมมาเป็นแบบเทศาภิบาล หลักฐานความเป็นมา ของจังหวัดเลยนั้น มีเรื่องเล่าขานและค�ำบอกเล่าสืบกันมาตั้งแต่โบราณกาล รวมถึงหลักฐานจาก ศิลาจารึกต่างๆ ปัจจุบันอาจจัดท�ำขึ้นใหม่แทนของเดิมที่ช�ำรุดเสียหาย ยุคก่อนประวัติศาสตร์

ในยุคโบราณ มีกลุ่มชนเผ่าพื้นเมืองหลายเผาพันธุ์ได้ก่อตั้งถิ่นฐานอยู่อาศัยจนเกิดเป็น อาณาจักรใหญ่กระจายอยู่ทั่วไป เช่น อาณาจักรโยนก อาณาจักรทวาราวดี และอาณาจักร อิสานปุระ ฯลฯ แต่สำ� หรับกลุม่ ชนเผ่าทีอ่ พยพมาตัง้ ถิน่ ฐานในพืน้ ทีข่ องจังหวัดเลยในยุคโบราณ เป็นกลุ่มแรก ว่ากันว่าเป็น “ชนเผ่าไทย” ผู้ก่อตั้ง “อาณาจักรโยนก” ที่ยิ่งใหญ่ครอบครองดิน แดนภาคเหนือของไทยไปจนถึงแคว้นตังเกี๋ยงประเทศจีนและรัฐฉานของพม่า ตาม “ต�ำนานสิงหนวัติ” กล่าวไว้ว่า พญาสิงหนวัติ เจ้าชายจากตอนใต้ของประเทศจีน ได้ อพยพผูค้ นลงมาสร้างอาณาจักรโยนก และขึน้ เป็นกษัตริยพ ์ ระองค์แรกของอาณาจักรพระเจ้า สิงหนวัตปิ กครองโยนกนครสืบมา จนถึงสมัยของพระองค์พงั ค-ราช “ขอมด�ำ” ซึง่ อยูท่ างใต้เกิด เรืองอ�ำนาจ ท�ำให้กษัตริย์ของอาณาจักรโยนกนคร ต้องโยกย้ายอพยพผู้คนไปตั้งถิ่นฐานใหม่ ทีเ่ มืองเวียงสีทวง 19 ปี เมือ่ “พรหมกุมาร” หรือพระเจ้าพรหมราชโอรสเข้าปราบขอมด�ำส�ำเร็จ จึงเชิญพระองค์พังค-ราช กลับมาปกครองโยนกนครอีกครั้ง 40

_

หลังจากนั้น พรหมกุมาร ได้สร้างเมือง ชัยปราการที่ริมแม่น�้ำฝาง ท�ำให้อาณาจักร โยนกเชียงแสนเรืองอ�ำนาจมากยิง่ ขึน้ หลังจาก สวรรคต “พระองค์ชยั ศิร”ิ ราชโอรสครองราชย์ สืบต่อมา ขณะนัน้ เอง “พระเจ้าอนุรทุ มหาราช” กษัตริย์พม่าผู้ยิ่งใหญ่ได้เข้าโจมตีอาณาจักร โยนกและเมื อ งชั ย ปราการไว้ ใ นอ� ำ นาจ พระองค์ชัยศิริ จึง อพยพผู้คนลงใต้ไ ปคั้ง ถิ่นฐานในดินแดนของชนเผ่ามอญและขอม เมื่ออาณาจักรโยนกล่มสลาย ผู้คนต่าง พากันแยกย้ายไปหาถิ่นที่อยู่ใหม่ บางกลุ่ม อพยพไปรวมก�ำลังกับพระองค์ชยั ศิริ บางกลุม่ อพยพไปอยู่อาศัยทางแคว้นพางค�ำ “พ่อขุน บางกลางหาว และพ่อขุนผาเมือง” (เชื่อกัน ว่าเป็นเชื้อสายราชวงศ์สิงหนวัติ) ได้น�ำผู้คน ข้ามล�ำน�ำ้ เหืองขึน้ ไปทางฝัง่ ขวาของล�ำน�ำ้ หมัน

SBL บันทึกประเทศไทย I เลย

.indd 40

26/2/2562 9:04:07


พ่ อ ขุ น ผาเมื อ งได้ ตั้ ง “บ้ า นด่ า นขวา” (ปัจจุบันอยู่ในบริเวณชายเนินนาด่านขวาซึ่ง ยั ง มี ซ ากวั ด เก่า อยู่ในแปลงนาของเอกชน ระหว่างหมู่บ้านหัวแหลมกับหมู่บ้านนาเบี้ย อ�ำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย) ส่วนพ่อขุนบาง กลางหาว ได้แบ่งไพร่พลข้ามล�ำน�้ำหมันไป ทางฝัง่ ซ้ายสร้าง “บ้านด่านซ้าย” (สันนิษฐาน ว่าจะอยูใ่ นบริเวณหมูบ่ า้ นเก่า อ�ำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลยในปัจจุบนั ) ต่อมาอพยพเลือ่ นขึน้ ไปตามล�ำน�้ำ แล้วสร้าง “บ้านหนองคู” แล้ว เปลี่ยนชื่อหมู่บ้านเป็น “เมืองด่านซ้าย” หลัง จากนัน้ ได้นำ� ไพร่พลอพยพไปยัง “เมืองบางยาง” (เชื่ อ ว่ า อยู ่ ใ นเขตอ� ำ เภอนครไทย จั ง หวั ด พิษณุโลก) ส่วนพ่อขุนผาเมือง ได้น�ำผู้คนอพยพ ออกจากบ้านด่านขวา ไปตั้ง “เมืองโปงถ�้ำ” และ “เมืองภูครัง่ ” (สันนิษฐานว่าเป็นถ�ำ้ เขียะ ในปัจจุบัน อยู่ข้างถนนสายเลย-ด่านซ้าย ห่ า งจากหมู ่ บ ้ า นโคกงามไปทางด่ า นซ้ า ย ประมาณ 1 กิโลเมตร) ภูครั่งเป็นภูเขาลูก ใหญ่มีพื้นที่ราบอันกว้างใหญ่อยู่บนยอดเขา อยูต่ รงข้ามกับทีว่ า่ การอ�ำเภอภูเรือ ทางด้าน ทิศใต้ของหมู่บ้านหนองบัว ซึ่งเป็นที่ตั้งของ อ�ำเภอภูเรือ จังหวัดเลย เมื่อพ่อขุนบางกลางหาวได้อพยพผู้คน ไปอยู่ที่เมืองบางยางแล้ว พ่อขุนผาเมืองจึง ได้อพยพผู้คนติดตามไปจนไปตั้งหลักแหล่ง ได้ที่ “เมืองราด” (เชื่อว่าเป็นเมืองศรีเทพ อ�ำเภอศรีเทพ และอ�ำเภอวิเชียรบุรี จังหวัด เพชรบูรณ์) และได้ตงั้ เมืองด่านซ้ายเป็นเมือง หน้าด่านทางตะวันออกตามราชธานี สมัยกรุงศรีอยุธยา

“พระเจ้ า ตะเบ็ ง ชะเวตี้ ” กษั ต ริ ย ์ พ ม่ า ผู้ครองกรุงหงสาวดี ยกทัพใหญ่บุกเข้าโจมตี กรุงศรีอยุธยา “สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ”

ได้ ย กกองทั พ รั บ มื อ กั บ พม่ า ชนช้ า งกั บ พระเจ้าแปร แม่ทัพหน้าจนต้องเสียสมเด็จ พระศรีสรุ โิ ยทัย พระมเหสี ซึง่ ถูกพระเจ้าแปร ฟั น สิ้ น พระชนม์ การรบครั้ ง นั้ น พระเจ้ า ตะเบ็งชะเวตี้ไม่สามารถตีกรุงศรีอยุธยาได้ แต่เมื่อกลับไปถึงกรุงหงสาวดีได้ไม่นานก็ สวรรคต “พระเจ้าบุเรงนอง” ขึ้นครองราช สมบัติแทน พระเจ้าบุเรงนอง ได้เคลื่อนทัพใหญ่มา โจมตีกรุงศรีอยุธยาและหัวเมืองฝ่ายเหนือ ของไทยได้ ห ลายหั ว เมื อ ง นอกจากนี้ ยั ง รุกรานไปถึง “กรุงศรีสัตนาคนหุต” ท�ำให้ พระเจ้าไชยเชษฐาธิราช กษัตริย์ผู้ครองนคร ต้องหลบหนีไปอยูใ่ นป่า ทัพพม่าได้นำ� ทรัพย์สนิ และกวาดต้อนประชาชนรวมทั้งมเหสี สนม ก�ำนัล ของพระเจ้าไชยเชษฐาธิราชไปเมืองพม่า พระเจ้าไชยเชษฐาธิราช จึงได้ส่งทูตมา เจริญสัมพันธไมตรีกับกรุงศรีอยุธยา พร้อม กับทูลขอพระเทพกษัตริย์ พระราชธิดาของ สมเด็ จ พระมหาจั ก รพรรดิ สมเด็ จ พระ มหาจักรพรรดิยินดีรับเป็นไมตรี แต่ขณะที่ พระเทพกษัตริยเ์ ดินทางไปยังกรุงศรีสตั นาคนหุต ได้ถูกกองทัพพม่าเข้าแย่งชิงและกวาดต้อน ไปกรุ ง หงสาวดี เพื่ อ เป็ น สั ก ขี พ ยานและ แสดงออกซึ่ ง ไมตรี ระหว่ า งกษั ต ริ ย ์ ทั้ ง สองพระนคร สมเด็จพระมหาจักรพรรดิและ พระเจ้าไชยเชษฐาธิราช จึงได้โปรดให้สร้าง พระเจดียอ์ งค์หนึง่ หรือ “พระธาตุศรีสองรัก” ขึ้น เมื่อปี พ.ศ. 2103 ที่บริเวณล�ำน�้ำอู้และ ล�ำน�้ำหมันไหลมาบรรจบกัน ซึ่งอยู่ใกล้กับ ที่ตั้ง ”เมืองด่านซ้าย” ไว้เป็นอนุสรณ์ ก่อนที่ จะสร้างพระธาตุศรีสองรัก ผู้แทนทั้งสอง พระนครได้ท�ำพิธีตั้ง สัตยาธิษ ฐานว่า ทั้ง สองพระนครจะรักใคร่กลมเกลียวเป็นอัน หนึง่ อันเดียวกันด้วยความซือ่ สัตย์สจุ ริต ดุจเป็น ราชอาณาจักรเดียวกันตลอดไปชั่วกัปกัลป์

สมัยกรุงรัตนโกสิ นทร์

“พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ” รั ช กาลที่ 4 (พ.ศ.2396) พระองค์ ท รง พิจารณาเห็นว่าผูค้ นในแขวงนีม้ ปี ริมาณเพิม่ ขึน้ มาก สมควรตัง้ เป็นเมืองเพือ่ ประโยชน์ใน การปกครอง จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ “พระยาท้ายน�้ำ” ส�ำรวจเขตแขวงต่างๆ เมื่อ เห็นว่า “หมู่บ้านแฮ่” ซึ่งตั้งอยู่ริมฝั่งห้วยน�้ำ หมันและอยู่ใกล้กับแม่น�้ำเลย มีภูมิประเทศ ที่เหมาะสมแก่การสร้างป้อม เพราะมีภูเขา ล้อมรอบ มีพลเมืองหนาแน่นพอจะตั้งเป็น เมืองได้ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่ หัว จึงได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จดั ตัง้ เป็นเมือง เรียกชื่อตามนามของแม่น�้ำเลยว่า “เมืองเลย” เมือ่ พ.ศ.2440 ได้มกี ารประกาศใช้พระ ราชบั ญ ญั ติ ป กครองท้ อ งที่ ร.ศ.116 เปลี่ ย นแปลงการปกครองมาเป็ น แบบ “เทศาภิบาล” โดยมีการแบ่งเป็นมณฑลเมือง อ�ำเภอ ต�ำบล หมู่บ้าน จึงได้แบ่งเขตการ ปกครองเมืองเลยเป็น 4 อ�ำเภอ อ�ำเภอที่ตั้ง ตัวเมืองเรียกชื่อว่า “อ�ำเภอกุดป่อง” ต่อมา ระหว่างปี พ.ศ.2442-2449 ได้เปลี่ยนชื่อ เมืองเลยเป็น “บริเวณล�ำน�ำ้ เลย” และใน พ.ศ. 2449-2450 ได้เปลี่ยนชื่อบริเวณล�ำน�้ำเลย เป็น “บริเวณล�ำน�้ำเหือง” กระทั่งปี พ.ศ. 2450 จึ ง ได้ มี ป ระกาศของกระทรวง มหาดไทย ลงวันที่ 4 มกราคม 2450 ยกเลิก บริ เ วณล� ำ น�้ ำ เหื อ ง ให้ ค งเหลื อ ไว้ เ ฉพาะ “เมืองเลย” โดยให้เปลีย่ นชือ่ “อ�ำเภอกุดป่อง” เป็น “อ�ำเภอเมืองเลย” ขอบคุณข้อมูล : ส�ำนักงานจังหวัดเลย

LOEI I SBL บันทึกประเทศไทย

_

.indd 41

41

26/2/2562 9:04:08


TRAVEL GUIDE

บันทึกเส้นทางท่องเที่ยวจังหวัดเลย

42

_

SBL บันทึกประเทศไทย I เลย

.indd 42

26/2/2562 9:04:09


LOEI THAILAND

เที่ยวตามใจ . . ไปเลยตามเลย 3 วัน 2 คืน

เผลอแวบเดียวเข้าเดือนธันวาคม โค้งสุดท้ายของปี 2561 กันแล้ว เดือนนี้ใครหลายคนอาจ จะชอบเพราะว่ามีวันหยุดยาวเพียบ บางคนวางแผนไปเที่ยวไปพักผ่อนชาร์จแบตกับครอบครัว ด้วยการขับรถไปเที่ยวผ่อนคลายใกล้ๆ กรุงเทพฯ หลายคนวางแผนไปสูดอากาศบริสุทธิ์และ อากาศเย็นสบายบนยอดเขายอดภู เพราะหน้าหนาวมาเยือนแล้ว หยุดยาว 3-4 วันนี้ มีโปรแกรมเด็ด ขับรถไปยลหมอกแรกของปีที่จังหวัดเลยค่ะ วั น ที่ 1 ของการเดิ น ทาง Google Maps บอกระยะทางกรุ ง เทพฯ-เลย 547 กิ โ ลเมตร ใช้เวลาเดินทาง 8 ชม. 6 นาที ตีส่ีล้อหมุน ขับรถมุ่งหน้าบนถนนสายกาญจนาภิเษกฝั่งตะวัน ออก บางปะอิน-สระบุรี...แต่เส้นทางไปจังหวัดเลยมีให้เลือก 2 เส้นทาง คือ สระบุรี-หล่มเก่า และ สี้คิ้ว-ชัยภูมิ เราเลือกที่จะขับรถมาทางสระบุรี-หล่มเก่า

LOEI I SBL บันทึกประเทศไทย

_

.indd 43

43

26/2/2562 9:04:11


1สวนหินผางาม คุนหมิงเมืองเลย ต�ำบลปวนพุ อ�ำเภอหนองหิน

อิ่มเอมมื้อเที่ยงกับไก่ย่างวิเชียรบุรีริมทาง บ่ายโมงครึ่งขอตัดภาพมาที่ “สวนหิน ผางาม” หรือที่เรียกว่า “คุนหมิงเมืองไทย” ตั้งอยู่ที่บ้านผางาม หมู่ 10 ต�ำบลปวนพุ อ�ำเภอหนองหิน จังหวัดเลย ส�ำหรับการเดินทางจะมีป้ายบอกตลอดไปจนถึงบริเวณ ทุ่งหญ้ากว้างจะมองเห็นแท่งภูเขาหินปูน กระจายอยู่ทั่วทั้งลูกเล็กลูกใหญ่สลับกันไป บางลูกสามารถเดินทะลุผ่านไปได้ และมีชื่อเรียกตามลักษณะรูปร่างของภูเขา เช่น หินไดโนเสาร์ หน้าผาท้อแท้ ซุ้มคารวะ ถ�้ำอรทัย เขาวงกต เจดีย์หิน กรอบรูป ธรรมชาติ ก�ำแพงเมืองจีน ประตูโขง หินมงกุฎ สวนหิน ซุ้มนรก รูรันตู เป็นกลุ่มภูเขาที่มีอายุนับล้านๆ ปี หลายคนเรียกว่า “คุนหมิงเมืองเลย” ภายในมีทางเดินสลับซับซ้อน ใครที่ชื่นชอบปีนป่ายหรือมุดลอด โพรงถ�้ำ ลองมาสัมผัสอารมณ์นี้ดูบ้างก็สนุกดี และที่นี่มีบริการ รถอิแต๊กพาไปชมตามจุดต่างๆ ด้วย

44

_

SBL บันทึกประเทศไทย I เลย

.indd 44

26/2/2562 9:04:12


2 นั่งรถอิแต๊กชมภูป่าเปาะ “ฟูจิเมืองไทย” ภูป่าเปาะ อ.หนองหิน ออกจากสวนหินผางาม ขับรถกินลม ไปอีกประมาณ 3 กิโลเมตร ก็จะพบกับ ศูนย์บริการนักท่องเทีย่ วภูปา่ เปาะ พักหา เครื่องดื่มเติมพลังและจอดรถส่วนตัวไว้ ที่นี่ ซื้อตั๋วโดยสารรถอิแต๊กเพื่อขึ้นไปชม วิวบนภูป่าเปาะกันต่อ ราคาตั๋วไป-กลับ 60 บาท ซึง่ รถจะพาเราไปจอดตามจุดชม วิวต่างๆที่มีทั้งหมด 4 จุด แต่ละจุดห่าง กันประมาณ 200 เมตร จุดชมวิวที่ 1 : สามารถมองเห็นภูหอ หรือ “ฟูจิเมืองเลย” ได้อย่างชัดเจน ซึ่ง ลั ก ษณะภู เ ขาคล้ า ยๆ กั บ ภู เ ขาไฟฟู จิ ประเทศญี่ปุ่น จะมีระเบียงไม้ยื่นออกไป เพื่อให้นักท่องเที่ยวยืนถ่ายรูปกันอย่าง จุใจ

จุดชมวิวที่ 2 : จะมีจดุ ชมวิวสองฝัง่ สามารถชมได้ทงั้ ภูหอ และทิวเขาทีเ่ รียงรายสลับ ซับซ้อนมองแล้วตื่นตาตื่นใจ ให้ความรู้สึกอิ่มเอมไปกับธรรมชาติจริงๆ จุดชมวิวที่ 3 : เป็นจุดให้ชมทิวทัศน์ของเส้นทางคดเคีย้ วบนสันเขาภูปา่ เปาะ รถอิแต๊ก จะจอดรอรับนักท่องเที่ยวเพื่อลงจากเขาบริเวณนี้ จุดชมวิวที่ 4 : จุดชมวิวสูงสุด ต้องขยับแข้งขาเดินขึน้ ไปอีกประมาณ 250 เมตร เมือ่ ขึ้นไปถึงจะสามารถชมวิวได้แบบ 360 องศา นอกจากอากาศจะเย็นสบายยังมองเห็น ภูหลวง ภูกระดึง และภูหอ ได้อย่างสวยงามประทับใจ มือก็ถ่ายรูปรัวๆ ไป LOEI I SBL บันทึกประเทศไทย

_

.indd 45

45

26/2/2562 9:04:16


3

น�้ำตกเพียงดิน

4

ถนนคนเดิน เพลินภู

ต�ำบลปวนพุ อ�ำเภอหนองหิน

ลงจากภูป่าเปาะ ยังพอมีเวลาเหลือแวะที่ “น�้ำตกเพียงดิน” ซึ่งอยู่ติดกับถนน สามารถ เดินเข้าไปชมความงามเป็นสายของน�้ำตก ได้อย่างสะดวกสบาย นั่งทอดอารมณ์ อยู่กับสายน�้ำสักพัก แสงก็เริ่มหมด ขับรถเข้าตัวเมืองเลยไปหาที่พัก Check in ที่ “โรงแรมเลยพาเลซ” ตั้งอยู่ใจกลางเมือง ใกล้แหล่งท่องเที่ยวเดินทางสะดวกสบาย พร้อมบริการอาหารเช้า

เหนื่อยเราไม่เหนื่อย เมื่อยเราไม่เมื่อย อาบน�ำ้ เสร็จจึงเดินออกไปหาอะไรกินและ เดินรับลมหนาวกันที่ “ถนนคนเดินเพลินภู” ซึง่ อยูฝ่ ง่ั ตรงข้ามกับโรงแรมทีพ่ กั โดยจะเปิด ทุกวันเสาร์ ตั้งแต่เวลาห้าโมงเย็นจนถึง ห้าทุม่ กันเลยทีเดียว ช้อป ชิม แชะ เดินชิลล์ กันจนอิม่ หนังท้องตึงหนังตามันก็เริม่ หย่อน เข้าทีพ่ กั เก็บแรงไว้ลยุ กันต่อพรุง่ นีเ้ ช้าดีกว่า ถนนคนเดิ น เพลิ น ภู มี ร ้ า นค้ า กว่ า 300 ราย น�ำสินค้าหัตถกรรม เช่น ผ้าทอ เครื่องจักสานผลิตภัณฑ์สมุนไพร สินค้า ที่ระลึก

46

_

5

ชมพระอาทิตย์ บนยอดภูบ่อบิด

เช้าตรูของวันที่ 2 ตีหา้ อากาศก�ำลังเย็น สบายเชียว ทีต่ นื่ เช้าขนาดนีก้ เ็ พราะว่าก�ำลังจะ ไปชมพระอาทิตย์ขนึ้ บนยอด “ภูบอ่ บิด” ซึง่ อยูใ่ นตัวเมืองเลย พนักงานโรงแรมบอกว่า อยูห่ า่ งจากตัวเมืองไปทางอ�ำเภอนาด้วงแค่ ประมาณ 2 กิโลเมตรเท่านั้น บอกไว้กอ่ นว่าทีน่ ตี่ อ้ งขยับอวัยวะไว้ใช้ เดินกันสักเล็กน้อย เพือ่ ขึน้ เขาไปอีกประมาณ 800 เมตร มาถึงภูบอ่ บิดก็ประมาณ 05.30 น. เขาบอกว่าเป็นช่วงเวลาที่พอเหมาะพอ เจาะทันเห็นพระอาทิตย์ขนึ้ ตอนเช้าพอดิบ พอดี และชื่นชมวิวทิวทัศน์ของตัวจังหวัด เลยยามเช้าได้อย่างชัดเจน โชคชั้นที่สอง ทีม่ าในช่วงหน้าหนาว จึงได้ชมทะเลหมอก ที่สวยงาม

6

ก๋วยจั๊บญวน ร้านข้าวเปียก ปากหมา ชืน่ ชมความงามทีย่ อดภูบอ่ บิดเรียบร้อย แล้ว ลงไปรับประทานอาหารเช้า ที่ “ร้าน ข้าวเปียกปากหมา” ข้าวเปียก หรือ “เส้น ก๋วยจับ๊ ญวน” อาหารขึน้ ชือ่ ของจังหวัดเลย ทีต่ ำ� บลกุดป่อง อ�ำเภอเมืองเลย แหมแค่ชอื่ ร้านก็นา่ เข้าไปค้นหา ซึง่ ซ่อนความแซ่บของ เจ้าของร้านและรสชาติของก๋วยจั๊บเอาไว้ ข้าวเปียกหรือเส้นก๋วยจับ๊ ญวนร้านนี้ เขาท�ำ เส้นกันสดๆ เมื่อน�้ำซุปซึมอยู่ในเส้นจะมี ความเหนียวนุม่ ชุม่ ลิน้ หวานน�ำ้ ต้มกระดูก รับรองอร่อยไม่ผิดหวัง

SBL บันทึกประเทศไทย I เลย

.indd 46

26/2/2562 9:04:18


แก่งคุ้ดคู้ กลับเข้าที่พักเพื่อไป Check out แล้วขับรถต่อไปอ�ำเภอเชียงคาน ระยะทาง ประมาณ 50 กิโลเมตร ขับรถชิลล์ๆชมวิวสองข้างทางที่สวยงามมากมาประมาณ 1 ชั่วโมง ก็ถึง “แก่งคุ้ดคู้” ซึ่งอยู่ห่างจากอ�ำเภอเชียงคานประมาณ 3 กิโลเมตร ว่ากันว่าถ้าใครได้มาเชียงคานต้องไม่พลาดมาชมความสวยงามของแก่งคุ้ดคู้แห่งนี้ ซึ่งมีลักษณะเป็นแก่งหินก้อนใหญ่จ�ำนวนมากอยู่กลางแม่น�้ำโขง เมื่อหินจมอยู่ ใต้น�้ำเป็นเวลานาน จึงท�ำให้มีสีสันสวยงาม ส่วนบริเวณที่เป็นหาดทรายกว้าง และหินก้อนกลมเป็นเงาเรียงรายกันอย่างงดงามตระการตา

7

8 ล่องแพ อ่างเก็บน�้ำหมาน ขับรถต่อไปอีกบนถนนสาย เลย-ภูเรือ ประมาณ 5 กิโลเมตร ถึงบ้านไร่ม่วงจะมี ทางแยกเลี้ ย วขวา ไปต� ำ บลน�้ ำ หมาน แล้วไปต่ออีกประมาณ 7 กิโลเมตร ผ่าน บริเวณบ้านห้วยลวงไซ และบ้านโป่งเบี้ย ก็จะถึงจุดบริการล่องแพของ อ่างเก็บน�้ำ หมานตอนบน ช่วงวันเสาร์-อาทิตย์ นักท่อง เที่ยวจะมาล่องแพชมธรรมชาติพร้อมกับ ให้อาหารกระต่าย

9

ชมพระอาทิ ต ย์ ต กที่ ริ ม โขง@เชี ย งคาน เดินทางต่อไปยังอ�ำเภอเชียงคาน ประมาณ 5 โมงเย็น เราก็ถึงที่พักและเข้า Check in ที่ “เชียงคานฮิลล์รีสอร์ท รีสอร์ทธรรมชาติริมแม่น�้ำโขง” ชมพระอาทิตย์ ตกริมแม่น�้ำโขง ช่วงค�่ำเดินช้อปปิ้งที่ “ถนนคนเดิน” และชมบ้านไม้โบราณ เดินรับลม อากาศเย็นๆ หาของกินอร่อยๆ แชะภาพถ่ายรูปกับของตกแต่งจากร้านค้าน่ารักๆ หรือ เลือกซื้อสินค้าสไตล์กิ๊บเก๋ เสื้อผ้าสกรีนลายเท่ กระเป๋าแฮนด์เมด โปสการ์ด พวงกุญแจ และอืน่ ๆมากมาย ตลอดแนวบนถนนชายโขงตัง้ แต่ซอย 5 จนถึงซอย 20 จนถึงประมาณสี่ทุ่ม

LOEI I SBL บันทึกประเทศไทย

_

.indd 47

47

26/2/2562 9:04:22


12

ไหว้พระขาวใหญ่ วัดป่าห้วยลาด

10

ตักบาตรข้าวเหนียว

มาถึงเชียงคานแล้วถ้าไม่ได้ “ใส่บาตร ข้าวเหนียว” แบบไทเชียงคาน ถือว่ายังว่า ไม่ถึงเชียงคาน ดังนั้นเช้าตรู่ของวันที่ 3 จึง ต้องเตรียมตักบาตรสะสมบุญ สร้างความ สบายใจกันหน่อย ซึง่ ชาวไทเชียงคานจะท�ำ เป็นกิจวัตรประจ�ำวันเป็นอย่างแรกก่อนจะ

แยกย้ายกันออกไปท�ำภารกิจการงานของตน เป็นวิถีชีวิตชาวเชียงคานรุ่นปู่ ย่า ตา ยาย ที่ยึดถือและปฏิบัติสืบทอดสู่รุ่นลูกหลาน ท�ำให้นักท่องเที่ยวได้ซึมซับวัฒนธรรมดี งามท้องถิ่นนี้ไปด้วย

11 ทะเลหมอกภูทอก มาเยือนเชียงคานอีกอย่างทีพ่ ลาดไม่ได้ นั่ น คื อ การขึ้ น ไปชมทะเลหมอกและ พระอาทิตย์ขึ้นที่ “ภูทอก” โดยต้องขึ้นไป ในช่วงเวลาประมาณตีหา้ ครึง่ ถึงประมาณ แปดโมงเช้า ซึง่ ช่วงเวลาทีย่ งั มีทะเลหมอกอยู่ สามารถขับรถไปได้จนถึงด้านล่างของภู

แล้ ว มี จุ ด บริ ก ารจอดรถ จากนั้ น นั่ ง รถ กระบะของชาวบ้ า นขึ้ น ไปโดยซื้ อ ตั๋ ว โดยสารคนละ 25 บาท กรุณาเกาะกันให้ แน่นๆนะน้อง เพราะระหว่างทางค่อนข้าง คดเคี้ยวและชันมาก ประมาณ 10 นาที ก็ถึงยอดภูทอก

ลงจากภูทอก ขับรถต่อไปไหว้ พระขาวใหญ่ ที่ วั ด ป่ า ห้ ว ยลาด อ�ำเภอภูเรือ ซึง่ มีศาลาเฉลิมพระเกียรติ ทีใ่ หญ่และสง่างาม ภายในประดิษฐาน พระประธานสีขาวบริสทุ ธิ์ สร้างด้วย แร่แคลไซต์ ชื่อว่า “พระสัพพัญญู รู ้ แ จ้ ง สามแดนโลกธาตุ ” เป็ น พระพุ ท ธรู ป องค์ ใ หญ่ แ ละงดงาม ที่สุดในจังหวัดเลยก็ว่าได้ วันนี้ได้มา ท� ำ บุ ญ และกราบไหว้ ท� ำ ให้ รู ้ สึ ก สบายใจเป็นอย่างยิ่ง

ลงจากภูทอง สามารถหาได้ทงั้ ของกิน และของใช้ เช่น เสื้อกันหนาว เดินไป เรื่ อ ยๆ จะเจอร้ า น “ภู ท อกชานชาลา” ร้ า นนี้ เ ขาขายโรตี ภู เ ขาราดช็ อ กโกแลต ไหลเยิ้มเป็นลาวากินแล้วฟินเวอร์ แหม เห็นแล้วน่าดีใจแทนเจ้าของร้าน เพราะ คนเข้าคิวรอกินโรตีลาวากันเพียบ

เทีย่ วเลยมา 3 วัน 2 คืน ได้ชมสถานทีท่ อ่ งเทีย่ วทีส่ ำ� คัญๆ ของจังหวัดเลย เกือบจะครบแต่นา่ เสียดายถ้ามีเวลาเหลืออีกสัก 2-3 วัน คงไม่พลาดไปพิชติ ยอดภูกระดึง แต่วา่ เพลานีว้ นั หยุดของคุณเดินทางมาถึงโค้งสุดท้ายแล้วเช่นกัน โอกาสหน้าคงได้มาเยือนอีก รักนะเลย ขอบคุณข้อมูล : การท่องเทีย่ วจังหวัดเลย 48

_

SBL บันทึกประเทศไทย I เลย

.indd 48

26/2/2562 9:04:26


THE COLDEST LOCATION IN THAILAND

Phu Ruea National Park

เมืองแห่งทะเลภูเขา สุดหนาวในสยาม ดอกไม้งามสามฤดู LOEI I SBL บันทึกประเทศไทย

_

.indd 49

49

26/2/2562 9:04:28


“ใบเมเปิ้ล”

ใบเมเปิ้ลบนภูกระดึง จะเปลี่ยนสีเพียงปีละครั้ง ช่วงเดือนธันวาคม ขึ้นอยู่ กับสภาพอากาศ ใบเมเปิ้ลสีแดงสด จะร่วงหล่นบนโขดหิน ที่เต็มไปด้วย มอสสีเขียว บริเวณน�้ำตกถ�้ำใหญ่ น�้ำตกผาน�้ำผ่า น�้ำตกขุนพอง 50

_

SBL บันทึกประเทศไทย I เลย

.indd 50

26/2/2562 9:04:30


“ห้วยกระทิง” ล่องแพอ่างเก็บน�้ำหมาน

LOEI I SBL บันทึกประเทศไทย

_

.indd 51

51

26/2/2562 9:04:33


“เชียงคาน”

เมืองเล็กๆ ริมแม่น�้ำโขงสุดชายแดนไทย

52

_

SBL บันทึกประเทศไทย I เลย

.indd 52

26/2/2562 9:04:34


บรรยากาศที่เนิบช้า ชุมชนเต็มไปด้วยรอยยิ้ม วิถีชีวิตที่เรียบง่ายแต่มีเสน่ห์ LOEI I SBL บันทึกประเทศไทย

_

.indd 53

53

26/2/2562 9:04:36


54

_

SBL บันทึกประเทศไทย I เลย

.indd 54

26/2/2562 9:04:37


ภูล�ำดวน

แหล่งชมทะเลหมอกสวย เหนือล�ำโขงช่วงหน้าหนาว

LOEI I SBL บันทึกประเทศไทย

_

.indd 55

55

26/2/2562 9:04:37


Place Hotel

โรงแรมเอยู เพลส ตั้ ง อยู ่ ใ นตั ว เมื อ งเลย สงบ ร่ ม เย็ น มี ค วามเป็ น ส่ ว นตั ว สามารถสั ม ผั ส บรรยากาศ ท่ า มกลาง ธรรมชาติ แห่ ง เมื อ งทะเลภู เ ขา ที่ ล ้ อ มรอบด้ ว ยต้ น ไม้ แ ละดอกไม้ ที่ ส วยงาม การั น ตี ค วามประทั บ ใจ จาก Booking.com ด้ ว ยคะแนนคุ ณ ภาพ 8.4 คะแนน 56

AU PLACE.indd 56

SBL บันทึกประเทศไทย I เลย

20/02/62 17:00:25


โ ร ง แ ร ม เ อ ยู

เ พ ล ส

Place Hotel บริ ก ารศู น ย์ อ อกก� ำ ลั ง กาย FITNESS CENTER สระว่ า ยน�้ ำ ระบบเกลื อ และท่ า นสามารถผ่ อ นคลาย ไปกั บ การนวดแผนไทย (สปา) รวมทั้ ง สวนดอกไม้ ที่ ท ่ า น สามารถสั ม ผั ส บรรยากาศพระอาทิ ต ย์ ต กดิ น ได้ ภายในบริ เ วณโรงแรม ห้ อ งประชุ ม

- สถานที่ ท ่ อ งเที่ ย วใกล้ เ คี ย ง -

ตลาดโรงเกลื อ เชี ย งคาน วนอุ ท ยานภู บ ่ อ บิ ด อ่ า งเก็ บ น�้ ำ ห้ ว ยน�้ ำ หมาน ห้ ว ยกระทิ ง ศู น ย์ ศิ ล ป์ สิ ริ น ธร ถ�้ ำ เอราวั ณ ภู ท อก

ระยะทาง 1.2 กม. ระยะทาง 7.5 กม. ระยะทาง 15.8 กม. ระยะทาง 20.2 กม. ระยะทาง 28.6 กม. ระยะทาง 45.7 กม. ระยะทาง 48.7 กม.

Au-place hotel

www.auplacehotel.com

669 หมู ่ 11 ต� ำ บลเมื อ ง อ� ำ เภอเมื อ ง จั ง หวั ด เลย 42000

( 042 ) 813 441 LOEI I SBL บันทึกประเทศไทย

AU PLACE.indd 57

57

20/02/62 17:01:14


เชียงคานกรีนฟาร์ม จังหวัดเลย

เชียงคานกรีนฟาร์ม บ้านโสกเก่า เน้นการท�ำเกษตรอินทรีย์

ORANIC

BEST ORGANIC FARM IS FOOD STORE NATURE 58

SBL บันทึกประเทศไทย I เลย

.indd 58

21/02/62 14:10:11


เกษตรอินทรีย์ ทางเลือกสายสุขภาพ...

โคพันธุ์บราห์มัน (Brahman)

ไก่ไฮบริด (Hybrid chicken)

หมูจิ๋วเวียดนาม (Vietnamese Pot Belly)

แอ๊ปเปิ้ลเมล่อน Apple Melon

มะเขือเทศ Red Sweet

มันเทศญี่ปุ่นโอกินาวา (สีม่วง)

เมล่อนเนื้อส้ม JP Orange

มะเขือเทศ Yellow Sweet

มันเทศญี่ปุ่นซัสสึมะอิโมะ (สีส้ม)

ผลไม้ต่างๆ ตามฤดูกาล

ผลไม้ต่างๆ ตามฤดูกาล

ผลไม้ต่างๆ ตามฤดูกาล

เ ส เสาว ข ม ม มันเ ก ผ

เชียงคานกรีนฟาร์ม

09-2515-4449 เชียงคานกรีนฟาร์ม เลขที่ 118 หมู่ที่ 10 ต�ำบลเขาแก้ว อ�ำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย 42110

.indd 59

LOEI I SBL บันทึกประเทศไทย

59

21/02/62 14:10:28


W O R K L IF E

บันทึกเส้นทางพบเทศบาลต�ำบล

เทศบาลต�ำบลนาอาน วิ สั ย ทั ศ น์ เ ทศบาลต� ำ บลนาอาน

“ เศรษฐกิ จ มั่ น คง สั ง คมก้ า วหน้ า การกี ฬ าการศึ ก ษาก้ า วไกล ใส่ ใ จคุ ณ ภาพชี วิ ต สุ จ ริ ต โปร่ ง ใสตรวจสอบได้ ”

ประวัติความเป็นมา ต�ำบลนาอาน “นา” หมายถึง พื้นที่ราบท�ำเป็นคันดินส�ำหรับปลูกข้าว “อาน” หมายถึง เครื่องรับนั่งบนหลังสัตว์พาหนะ เช่น บนหลังม้า เรียกว่า “อานม้า” หรือเรียกสิ่งอื่นที่มีลักษณะเช่นนี้ นาอาน คงหมายถึง “ทุ่งนา” ซึ่งมีลักษณะแอ่งตรงกลางคล้ายอาน ซึ่งเรียกว่า “นาอาน” ชื่อหมู่บ้าน ใกล้ทุ่งนานี้จึงถูกเรียกว่า นาอาน และน�ำไปเป็นชื่อต�ำบลด้วย

ข้อมูลทั่วไป เทศบาลต�ำบลนาอาน ตั้งอยู่เลขที่ 999 ถนน นาอาน - ฟากนา หมู่ที่ 6 ต�ำบลนาอาน อ�ำเภอเมืองเลย จังหวัดเลย ห่างจากที่ว่าการ อ�ำเภอเมืองเลย และห่างจากศาลากลางจังหวัดเลย ประมาณ 1 กิโลเมตรเศษ มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 58.8 ตารางกิโลเมตร หรือ 36,750 ไร่ ลักษณะ ภูมิประเทศของเทศบาลต�ำบลนาอานประมาณ 40% เป็นภูเขา และ มีพื้นที่ราบประมาณ 60% ของพื้นที่ ซึ่งเป็นพื้นที่ที่ราษฎรอาศัยอยู่และ ท�ำกินเป็นบางส่วน

ต�ำบลนาอานในอดีตเป็นพื้นที่ของต�ำบลก้างปลา อ�ำเภอเมืองเลย จังหวัดเลย ต่อมาแยกมาขึ้นเป็นต�ำบลนาอานโดยมีศูนย์กลางของต�ำบล เริ่มต้นอยู่บ้านนาอาน มีก�ำนันคนแรกชื่อ นายผิว โสกัณฑัต ต�ำบลนาอาน เป็นต�ำบลที่อยู่ทางทิศใต้ของอ�ำเภอเมืองเลยในสมัยนั้น และได้จัดตั้ง เป็นสภาต�ำบลนาอาน โดยมี นายวินัย สาวิสัย เป็นก�ำนัน และได้เป็น กรรมการบริ ห ารสภาต� ำบลนาอาน และได้ จั ด ตั้ ง เป็ น องค์ ก ารบริ ห าร ส่วนต�ำบลนาอานตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เมื่อวันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2539 จนถึง วันที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2551 และได้ยกฐานะเป็น เทศบาลต�ำบลนาอานตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เมื่อ วันที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2551 จนถึงปัจจุบัน

อนุสรณ์สถาน พตท 1718 เป็นอนุสรณ์ ผู้เสียสละ พลเรือน ต�ำรวจ ทหาร 1718 จะจัดงาน สดุดีวีรชน 26 สิงหาคม ของทุกปี

สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม 0-4283-3514 www.naan.go.th Facebook : เทศบาลต�ำบลนาอาน 60

SBL บันทึกประเทศไทย I เลย

.indd 60

21/02/62 17:14:11


วัดป่าบ้านนาซ�ำ

วัดโพนงาม

วัดโพธิ์ชัย

เป็นวัดป่าที่มี สมเด็จองค์ปฐม ขนาดใหญ่ ที่เป็นจุดเด่น อยู่บนเชิงเขา สามารถมองเห็น ได้ ชั ด เจน ถื อ ว่ า เป็ น แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย ว ทาง พระพุ ท ธศาสนา เป็ น ที่ ยึ ด เหนี่ ย วทางจิ ต ใจ ของคนในต�ำบลนาอาน

วัดโพนงาม ตั้งวัดเมื่อปี พ.ศ. 2420 ชาวบ้าน เรียกว่าวัดบ้านติดต่อ ได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา เมือ่ พ.ศ. 2430 การศึกษามีโรงเรียนพระปริยตั ธิ รรม แผนกธรรม เปิดสอน พ.ศ. 2485 นอกจากนี้ยังมี หอสมุด กว้าง 6 เมตร ยาว 10 เมตร

ตั้งอยู่ที่ บ้านนาอาน ต�ำบลนาอาน เป็นวัด ทีม่ จี ดุ เด่น คือ มีโบสถ์ รูปทรงคล้ายกับวัฒนธรรม ตะวั น ตก ทรงคริ ส ซึ่ ง ท� ำ ให้ วั ด มี ค วามแปลก แตกต่างจากวัดอื่นๆ

ผลิตภัณฑ์หรือสินค้าที่ส�ำคัญ

กลุ่มสมุนไพรกระชายด�ำเพื่อสุขภาพ

กลุ่มประดิษฐ์ดอกไม้จันทร์บ้านฟากนา

โครงการขยายท่อส่งน�้ำเพื่อการเกษตร

กลุ่มดอกไม้ประดิษฐ์ใยบัวบ้านติดต่อ กลุ่มแปรรูปอาหารพื้นบ้านต�ำบลนาอาน กลุ่มสมุนไพรกระชายด�ำเพื่อสุขภาพ กลุ่มสตรีพัฒนาบ้านติดต่อ (แจ่วบอง) กลุ่มพัฒนาสตรีบ้านขอนแดง กลุ่มผลิตภัณฑ์ตัดเย็บแม่บ้านฟากนา กลุ่มปลูกข้าวโพดหวาน กลุ่มประดิษฐ์ดอกไม้จันทร์บ้านฟากนา

หมู่ที่ 9 หมู่ที่ 3, 12 หมู่ที่ 8 หมู่ที่ 9 หมู่ที่ 2, 10 หมู่ที่ 4 หมู่ที่ 4 หมู่ที่ 11

กลุ่มแปรรูปอาหารพื้นบ้านต�ำบลนาอาน

ศูนย์สูบน�้ำเพื่อการเกษตร เพื่อให้พี่น้องประชาชนได้มีน�้ำใช้เพื่อการเกษตรตลอดทั้งปี

LOEI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 61

61

21/02/62 17:14:18


W O R K L IF E

บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล

องค์การบริหารส่วนต�ำบลศรีสองรัก ค� ำ ขวั ญ องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บลศรี ส องรั ก

“ แม่ น�้ ำ เลยน� ำ วิ ถี จิ ต ภั ก ดี ท หารกล้ า ภู ส ะนาวสู ง ระฟ้ า แหล่ ง ศรั ท ธาในธรรม เลิ ศ ล�้ ำ ประเพณี ถิ่ น คนดี ศ รี ส องรั ก ”

ข้อมูลพื้นฐาน

นายประจวบ ศิ ล ธรรม

นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลศรีสองรัก

62

.

องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บลศรี ส องรั ก ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 294 หมู ่ ที่ 1 ถนนเลย-เชียงคาน (201) ต�ำบลศรีสองรัก อ�ำเภอเมืองเลย จังหวัดเลย ห่ า งจากอ� ำ เภอเมื อ งเลย จั ง หวั ด เลย 15 กิ โ ลเมตร ได้ รั บ การจั ด ตั้ ง ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เมื่อวันที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2539 มีพื้นที่ ในความรับผิดชอบ จ�ำนวน 11 หมูบ่ า้ น สภาพภูมปิ ระเทศเป็นภูเขาทีร่ าบสูง และมีแม่น�้ำเลยไหลผ่าน ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ต� ำ บลศรี ส องรั ก มี ส ถานที่ ส� ำ คั ญ ขนบธรรมเนี ย มประเพณี และ วัฒนธรรมที่สืบทอดกันมาแต่โบราณ มี “ภาษาไทเลย” เป็นภาษาพูด มีสถานที่ส�ำคัญในต�ำบลดังนี้

SBL บันทึกประเทศไทย I เลย

.indd 62

21/02/62 17:17:06


งานประจ�ำปี

วัดป่าถ�้ำแกลบ

พุทโธ หรือ ภูพุทโธ

จั ง หวั ด เลย มี พ ระเถระที่ ป ฏิ บั ติ ดี ปฏิ บั ติ ช อบหลายรู ป อาทิ หลวงปู่ท่อน ญาณธโร วัดศรีอภัยวัน, หลวงปู่พัน จิตธัมโม วัดป่าน�้ำภู, หลวงปู่ขันตี ญาณวโร วัดป่าม่วงไข่ ฯลฯ แต่ยังมีพระเถระผู้ใหญ่อีกรูปหนึ่ง เป็ น พระสายปฏิ บั ติ คื อ “หลวงปู ่ อ ร่ า ม ชิ น วั ง โส” วั ด ป่ า ถ�้ ำ แกลบ บ้านท่าวังแคน ต�ำบลศรีสองรัก อ�ำเภอเมืองเลย จังหวัดเลย ปัจจุบัน สิริอายุ 91 ปี พรรษา 43 หลวงปู่อร่าม ชินวังโส เป็นพระเถระที่ชอบ ความสงบ มักน้อย สันโดษ ปฏิบตั เิ คร่งครัดในพระธรรมวินยั ยึดถือแนวทาง ปฏิบัติมาจากหลวงปู่อ่อน นับเป็นพระเถระผู้ใหญ่ที่ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ

พุทโธ หรือ “ภูพุทโธ” ศาสนสถานที่ส�ำคัญ เป็นแคว้นแห่งเมืองพุทธะ และเป็นศาสนสถานที่โดดเด่นสวยงามอีกแห่งหนึ่งของจังหวัดเลย ตั้งอยู่ที่ ส�ำนักสงฆ์ดำ� รงธรรม ค่ายศรีสองรัก ต�ำบลศรีสองรัก อ�ำเภอเมือง จังหวัดเลย เดิมใช้ชื่อ “ภูน้อย” หลังจากนั้นได้เปลี่ยนชื่อมาเป็น “ภูพุทโธ” ส�ำหรับ การเดินทาง ใช้เส้นทางหมายเลข 201 (ถนนเลย-เชียงคาน) เข้าทางด้านหน้า โรงพยาบาลค่ายศรีสองรัก โดยมีปา้ ยบอกทางเขียนว่า ส�ำนักสงฆ์ดำ� รงธรรม ค่ายศรีสองรัก เลี้ยวขวาเข้าไปประมาณ 100 เมตร

วัดโพธิ์ชุม บ้านนาโคก

ประเพณีแห่เทียนเข้าพรรษา

วัดโพธิ์ชุม บ้านนาโคก ต�ำบลศรีสองรัก อ�ำเภอเมืองเลย จังหวัดเลย ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2460 เป็นศาสนสถานประจ�ำชุมชนบ้านนาโคก ซึ่งจากการศึกษาผ่านหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ประวัติศาสตร์ศิลปะ โบราณคดีและคติชนวิทยา พบว่า บริเวณบ้านนาโคกเคยเป็นชุมชนโบราณ มาก่ อ น แต่ ถู ก ทิ้ ง ร้ า งไป ต่ อ มาจึ ง มี ก ารสร้ า งชุ ม ชนขึ้ น มาใหม่ ใ นช่ ว ง ต้นพุทธศตวรรษที่ 25 โดยมีการสร้างวัดโพธิ์ชุมขึ้นเป็นศูนย์กลางและ เป็นศาสนสถานเก่าแก่ ซึ่งมีพระพุทธรูปสมัยทวราวดีประจ�ำวัด

ประเพณีเข้าพรรษาเป็นประเพณีปฏิบตั ขิ องชาวพุทธทีไ่ ด้สบื ทอดกันมา ตั้งแต่ครั้งพุทธกาล เหตุเพราะสมัยก่อนมีภิกษุได้เดินเหยียบย�่ำข้าวกล้า ในนาของชาวบ้าน ท�ำให้ได้รบั ความเดือดร้อนเสียหาย ดังนัน้ พระพุทธองค์ จึงได้อนุญาตให้ภิกษุสามเณรอยู่จ�ำพรรษาที่วัดเป็นเวลา 3 เดือน คือ ในช่วงวันแรมหนึ่งค�่ำเดือนแปด ถึงวันขึ้นสิบห้าค�่ำ เดือนสิบเอ็ด วันเข้าพรรษาถือเป็นวันส�ำคัญทางพุทธศาสนา พุทธศาสนิกชนทุกคน ได้ ต ระหนั ก ถึ ง ความส� ำ คั ญ จึ ง ได้ พ ร้ อ มใจกั น จั ด งานประเพณี แ ห่ เ ที ย น เข้ า พรรษา เพื่ อ เป็ น การสื บ ทอดวั ฒ นธรรม ประเพณี ที่ ดี ง ามสู ่ อ นุ ช น รุ่นหลังสืบไป “ เป็นประเพณีส�ำคัญที่ทาง อบต.จัดขึ้นทุกปี ”

LOEI I SBL บันทึกประเทศไทย

.

.indd 63

63

21/02/62 17:17:11


W O R K L IF E

บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล

องค์การบริหารส่วนต�ำบลเมือง ค� ำ ขวั ญ องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บลเมื อ ง

“ พั ฒ นาเมื อ งให้ น ่ า อยู ่ ฟื ้ น ฟู สิ่ ง แวดล้ อ ม พร้ อ มพั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต ส่ ง เสริ ม เศรษฐกิ จ ชุ ม ชน ”

ข้อมูลพื้นฐาน องค์การบริหารส่วนต�ำบลเมือง ตั้งอยู่เลขที่ 362 หมู่ที่ 1 ต�ำบลเมือง อ�ำเภอเมืองเลย จังหวัดเลย อยู่ห่างจากที่ท�ำการอ�ำเภอเมืองเลย และ ศาลากลางจังหวัดเลย ประมาณ 5 กิโลเมตร มีเนื้อที่ประมาณ 31,606 ไร่ หรือ 50.57 ตารางกิโลเมตร ที่ดิน ที่สาธารณะประโยชน์ต�ำบลเมือง มี พื้นที่บางส่วนตั้งอยู่ในเขตป่าสงวน คือ หมู่ที่ 2, 4, 5, 7, 10, 11 และพื้นที่ บางส่วนเป็นที่สาธารณะประโยชน์ คือ หมู่ที่ 1 - 11 ประชากร มีทั้งสิ้น 12,813 คน เป็นชาย 6,300 คน หญิง 6,513 คน จ�ำนวน 7,165 หลังคาเรือน (Update 12 ตุลาคม 2561)

0-4283-4907 | 64

.

.indd 64

www.tambonmuang.go.th |

tambonmuang.loei@gmail.com

SBL บันทึกประเทศไทย I เลย

21/02/62 17:31:11


งานประจ�ำปี

วัดศรีทัศน์

แหล่งท่องเที่ยวส�ำคัญ

วัดชลธาราราม วัดศรีทัศน์ วัดดอยชลประทาน หนองหล่ม อ่างเก็บน�้ำพาว วัดถ�้ำพญานาค

ภูมิปัญญาท้องถิ่น

หมู่ที่ 2 หมู่ที่ 3 หมู่ที่ 7 หมู่ที่ 11 หมู่ที่ 11 หมู่ที่ 11

ต�ำบลเมือง ต�ำบลเมือง ต�ำบลเมือง ต�ำบลเมือง ต�ำบลเมือง ต�ำบลเมือง

อ�ำเภอเมืองเลย อ�ำเภอเมืองเลย อ�ำเภอเมืองเลย อ�ำเภอเมืองเลย อ�ำเภอเมืองเลย อ�ำเภอเมืองเลย

ผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ ครื่ อ งจั ก สาน เป็ น ภู มิ ป ั ญ ญาชาวบ้ า น ที่ ท� ำ เครื่ อ งใช้ ในครัวเรือนได้เกือบทุกชนิด เช่น หวด กระด้ง กระเชอ กระชอน สาน เป็นเครื่องดักจับสัตว์น�้ำเช่น ไซ ข้อง ฯลฯ และ สานเป็นฝาเรือน ฝาบ้าน เป็นต้น ติดต่อโดยตรงที่ นายบุญศรี ราชธานี สถานที่ผลิตตั้งอยู่ บ้านเลขที่ 146 หมู่ 4 ต�ำบลเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดเลย โทรศัพท์ 08-5752-6267

LOEI I SBL บันทึกประเทศไทย

.

.indd 65

65

23/2/2562 17:21:08


W O R K L IF E

บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล

องค์การบริหารส่วนต�ำบลน�้ำหมาน วิ สั ย ทั ศ น์ อ งค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บลน�้ ำ หมาน

“ พั ฒ นาการท่ อ งเที่ ย วเชิ ง อนุ รั ก ษ์ ฟื ้ น ฟู สิ่ ง แวดล้ อ ม ก้ า วน� ำ ด้ า นอาชี พ รายได้ ชุ ม ชนใฝ่ เ รี ย นรู ้ มี ส ่ ว นร่ ว มเข้ ม แข็ ง สุ ข ภาพแกร่ ง ถ้ ว นหน้ า ”

ข้อมูลพื้นฐาน องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บลน�้ ำ หมาน ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 392 หมู ่ ที่ 1 ต� ำ บลน�้ ำ หมาน อ� ำ เภอเมื อ งเลย จั ง หวั ด เลย ประกอบด้ ว ยหมู ่ บ ้ า น จ�ำนวน 6 หมูบ่ า้ น มีพนื้ ทีท่ งั้ หมด 73 ตารางกิโลเมตร โดยมีคณะผูบ้ ริหาร คือ นายชาติชาย จิตรอารีย์ ต�ำแหน่ง นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลน�้ำหมาน และ นายกองไล แก้วกัณหา นายอ�ำนวย สุวรรณชัย รองนายกองค์การ บริ ห ารส่ ว นต� ำ บลน�้ ำ หมาน นายธาตุ ปั ส สาวั ฒ นะ เลขานุ ก ารนายก องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บลน�้ ำ หมาน และนางสาวพนารั ต น์ วงษ์ ช มภู ต�ำแหน่งปลัดองค์การบริหารส่วนต�ำบลน�้ำหมาน

นายชาติ ช าย จิ ต รอารี ย ์ นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลน�้ำหมาน

ต�ำบลน�้ำหมาน ได้ตระหนักถึงความส�ำคัญในการส่งเสริมการพัฒนา คุณภาพชีวติ ของประชาชน นโยบาย “ไทยแลนด์ 4.0” และแผนยุทธศาสตร์ การพัฒนาพื้นที่จังหวัดเลย และแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่ ของ องค์การบริหารส่วนต�ำบลน�้ำหมาน ซึ่งมุ่งเน้นให้ประชาชนมีคุณภาพที่ดี มีค่านิยมที่เหมาะสม ในการด�ำรงชีวิตตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง และ มุ่งสร้างชุมชนที่แข็งแรง โดยมุ่งเน้นการสร้างงานสร้างรายได้สู่ชุมชน รวมทั้งการส่งเสริมการท่องเที่ยวในชุมชน ภายใต้การมีส่วนร่วมของ ประชาชนอย่างเข้มแข็ง

สินค้าหนึ่งต�ำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) องค์การบริหารส่วนต�ำบลน�้ำหมาน ได้สนับสนุนการพัฒนาสินค้า หนึ่งต�ำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) ได้แก่ สับปะรดไร่ม่วง ซึ่งมีความเป็น เอกลักษณ์ด้านรสชาติที่หอมหวานฉ�่ำ ไม่กัดลิ้น และได้รับการคัดสรร เป็นสุดยอดหนึ่งต�ำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ ในระดับ 4 ดาว ใน ปี 2553 องค์การบริหารส่วนต�ำบลน�ำ้ หมาน ส่งเสริมให้มกี ารจัดงานประชาสัมพันธ์ สับปะรดไร่ม่วงขึ้น ในเดือนมิถุนายนของทุกปี ซึ่งจะเป็นช่วงที่ผลผลิต สับปะรดไร่มว่ งออกสูต่ ลาดมากทีส่ ดุ เพือ่ ส่งเสริมการตลาด ยกระดับมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์ OTOP สับประรดไร่มว่ งเมืองเลย ให้เป็นทีร่ จู้ กั กันอย่างแพร่หลาย และส่งเสริมการตลาดสมัยใหม่ ตลาดประชารัฐท้องถิ่นสุขใจ 4.0

66

.

.indd 66

SBL บันทึกประเทศไทย I เลย

21/02/62 17:28:13


งานประจ�ำปี

อ่างเก็บน�้ำห้วยน�้ำหมานตอนบน

ส่งเสริมการท่องเที่ยวหมู่บ้าน OTOP นวัตวิถี ต�ำบลน�้ำหมานมีหมู่บ้าน OTOP นวัตวิถี จ�ำนวน 2 หมู่บ้าน คือ บ้านไร่มว่ ง หมูท่ ี่ 1, 6 และบ้านโป่งเบีย้ หมูท่ ี่ 3 ซึง่ มีเอกลักษณ์การท่องเทีย่ ว ที่น่าสนใจ คือ บ้านไร่มว่ งหมูท่ ี่ 1, 6 มีการท่องเทีย่ วตามวิถชี มุ ชน หมูบ่ า้ นสับปะรดไร่มว่ ง และหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงที่เป็นต้นแบบของต�ำบลน�้ำหมาน ซึ่งมี แหล่งท่องเที่ยวที่ส�ำคัญคือ “สวนสับปะรดไร่ม่วง” ตลาดผลไม้บ้านไร่ม่วง วัดป่าอัมพวัน ภูหวด และเยี่ยมชมโรงเรียนมโนบุเรศรบ�ำรุงการ ซึ่งเป็น โรงเรียนเก่าแก่ในพื้นที่ต�ำบลน�้ำหมาน บ้านโป่งเบี้ย หมู่ที่ 3 เป็นหมู่บ้านที่มีแหล่งท่องเที่ยวที่ส�ำคัญของ จังหวัดเลย คือ อ่างเก็บน�้ำ “ห้วยน�้ำหมานตอนบน” มีกลุ่มแม่บ้านบริการ ล่องแพท่องเที่ยวบริเวณอ่างเก็บน�้ำห้วยน�้ำหมานตอนบน ที่มีทิวทัศน์ ที่สวยงาม และมีบริการอาหารท้องถิ่นที่แสนอร่อยบริการนักท่องเที่ยว ที่มาเยี่ยมเยือนอีกด้วย

LOEI I SBL บันทึกประเทศไทย

.

.indd 67

67

21/02/62 17:28:24


H I STO R Y O F B U DDH I S M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดศรีสุทธาวาส(วัดเลยหลง) พระอารามหลวง พระพุทธศิลามงคลมิ่งเมือง(หลวงพ่อหิน) พระพุทธรูปสิ่งศักดิ์สิทธิ์ พระภัทรธรรมสุธี (สุพัฒน์ สุวฑฺฒโน) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดศรีสุทธาวาส พระอารามหลวง เจ้าคณะจังหวัดเลย (ธ)

วัดศรีสุทธาวาส เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ตั้งอยู่เลขที่ 69 ถนนวิสุทธิเทพ ต�ำบลกุดป่อง อ�ำเภอเมือง จังหวัดเลย ได้ย้าย มาจากวัดศรีสะอาด(เก่า) มาสร้างใหม่ เมื่อ พ.ศ. 2491 โดย พระธรรมวราลังการ (หลวงปูศ่ รีจนั ทร์ วัณณาโภ ป.ธ.6) เจ้าอาวาส เมือ่ ด�ำรงสมณศักดิท์ พี่ ระครูอดิสยั คุณาธาร ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าคณะ จังหวัดเลย(ธ) และมหานิกาย เพราะวัดศรีสะอาด(เก่า) ซึ่ง ตั้งอยู่บริเวณหน้าโรงเรียนศรีสะอาด และตั้งอยู่ริมตลิ่งแม่น�้ำเลย จึงถูกล�ำน�้ำเลยกัดเซาะ ท�ำให้เนื้อที่บริเวณวัดแคบลงทุกปี จึง ได้ พิ จ ารณาเห็ นว่ า “ดอนเลยหลง” เป็ น สถานที่ ที่ เ หมาะสม เพราะเป็นเกาะกลางน�ำ ้ มีนำ�้ ล้อมรอบ ไม่หา่ งจากทีส่ ญ ั จรมากนัก มีความเงียบสงบ เหมาะส�ำหรับเป็นทีบ่ ำ� เพ็ญสมณกิจได้เป็นอย่างดี จึงขออนุญาตจากทางการ ด�ำเนินการย้ายวัดศรีสะอาด(เก่า) มาสร้างใหม่ ได้ยา้ ยจากทีเ่ ดิมเมือ่ พ.ศ. 2489 มาตัง้ อยูท่ ดี่ อนเลยหลง ซึ่งห่างจากที่เดิม 1 กิโลเมตร โดยตั้งชื่อว่า “วัดมหาวิสุทธิเทพ ที ป ารามหรื อวั ด ศรี ที ป าราม” และต่ อ มาได้ เ ปลี่ ย นชื่ อวั ด เป็ น “วัดศรีสุทธาวาส” จนถึงปัจจุบัน แต่ประชาชนทั่วไปนิยมเรียกว่า “วัดเลยหลง” ตามภูมิประเทศที่ตั้งวัด

อาคารเสนาสนะ

พระอุ โ บสถ วิ ห าร เจดี ย ์ ตึ ก ว.ภ.ธรรมานุ ส รณ์ ศาลา อเนกประสงค์ ตึกจันทรานุเคราะห์ อาคารเรียน 90 ปี หลวงปู่ ศรี จั น ทร์ วั ณ ณาโภ อาคารเรี ย นพระธรรมวราลั ง การหลวงปู ่ ศรีจันทร์วัณณาโภ อาคารเรียนโรงเรียนการกุศลหลวงปู่ศรีจันทร์ วัณณาโภ กุฏิถาวร กุฏิรับรอง หอพระ และพิพิธภัณฑ์เก็บบริขาร หลวงปู่ศรีจันทร์ เจดีย์บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ 68

SBL บันทึกประเทศไทย I เลย

(

).indd 68

22/02/62 17:40:53


LOEI I SBL บันทึกประเทศไทย

(

).indd 69

พระประธานอุ โ บสถกลางน�้ ำ

69

22/02/62 17:40:54


พระพุ ท ธรูป ศัก ดิ์สิท ธิ์ป ระจ�ำวัด

1.พระพุทธศิลามงคลมิ่งเมือง(หลวงพ่อหิน) พระพุทธรูป องค์นเี้ ป็นพระพุทธรูปทีเ่ ก่าแก่มอี ายุหลายร้อยปีชาวบ้านส่วนใหญ่ ทั่วไปเรียกขานกันว่า “หลวงพ่อหิน วัดเลยหลง” เป็นพระพุทธรูป ปางมารวิชัย แกะสลักด้วยหิน ขนาดหน้าตักกว้าง 37 เซนติเมตร สูง 54 เซนติเมตร ศิลปะสมัยทวารวดีตอนปลาย 2.พระบางเมืองเลย พระบางเมืองเลยหรือพระบางเมืองทรายขาว นัน้ สร้างขึน้ มาเมือ่ ปี พ.ศ. 2255 เป็นพระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมืองของ เมืองเลย เป็นพระคู่บุญของหลวงปู่ศรีจันทร์ วัณณาโภ หรือ พระธรรมวราลังการ อดีตเจ้าอาวาสวัดศรีสุทธาวาส ปัจจุบัน มรณภาพไปแล้ว โดยหลวงปู่เอามารักษาไว้ที่วัดศรีสุทธาวาส ปัจจุบันประดิษฐานไว้ในพระอุโบสถวัดศรีสุทธาวาส 70

3.พระพุ ท ธศรี วิ สุ ท ธิ ม งคล เป็ น พระพุ ท ธรู ป ปางมารวิ ชั ย มีรูปลักษณะที่สวยงามอีกองค์หนึ่ง ซึ่งเป็นพระประธานประจ�ำ พระอุ โ บสถวั ด ศรี สุ ท ธาวาส สร้ า งโดยพระธรรมวราลั ง การ (หลวงปู่ศรีจันทร์ วัณณาโณ) 4.หลวงพ่อศรีสะอาด หลวงพ่อศรีสะอาด เป็นพระพุทธรูป ที่ ส ร้ า งด้ ว ยปู น เป็ น พระพุ ท ธรู ป ประจ� ำ อุ โ บสถวั ด ศรี ส ะอาด ซึ่งเป็นวัดเก่าแก่ของชุมชนตลาดเมืองเลย พระธรรมวราลังการ (หลวงปู ่ ศ รี จั น ทร์ วั ณ ณาโภ) ได้ ม าสร้ า งวั ด แห่ ง ใหม่ ที่ ชื่ อว่ า วั ด ศรี สุ ท ธาวาส และได้ ย ้ า ยพระพุ ท ธรู ป หลวงพ่ อ ศรี ส ะอาด มาเมื่อปี พ.ศ. 2491 มาประจ�ำ ณ วัดศรีสุทธาวาส ปัจจุบัน ประดิษฐาน อยู่ที่วิหารบ�ำรุงราชหิรัณย์

SBL บันทึกประเทศไทย I เลย

(

).indd 70

22/02/62 17:41:03


การส่งเสริมด้านการศึกษาภายในวัด

1.โรงเรียนพระปริยัติธรรมศรีจันทร์วิทยา เป็ น โรงเรี ย นที่ เ ปิ ด สอนด้ า นแผนกธรรม น.ธ.ตรี - เอก แผนกบาลี ป.ธ.1-2 ถึง ปธ.6 และแผนกสามัญศึกษา เปิดสอน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่1-6 ก่อตั้งเมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม 2518 โดย พระธรรมวราลังการ(หลวงปู่ศรีจันทร์ วัณณาโภ) 2.มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย วิทยาเขตศรีล้านช้าง เป็นมหาวิทยาลัยในก�ำกับของรัฐเปิดสอนในระดับอุดมศึกษา ปริ ญ ญาตรี - ปริ ญ ญาโท ภาคปกติ เ รี ย นวั น จั น ทร์ - วั น ศุ ก ร์ ภาคพิเศษ เรียนวันเสาร์-อาทิตย์ ก่อตั้งเมื่อ ปีพุทธศักราช 2538 โดย พระธรรมวราลังการ (หลวงปู่ศรีจันทร์ วัณณาโภ) 3.โรงเรียนการกุศลหลวงปู่ศรีจันทร์วัณณาโภ เป็ น โรงเรี ย นการกุ ศ ลของวั ด ที่ จั ด การศึ ก ษาให้ เ ด็ ก ที่ ข าดโอกาสทางการศึ ก ษา เป็ น โรงเรี ย นที่ จั ด ให้ ฟ รี ไม่ เ สี ย ค่าใช้จ่ายแต่อย่างใด เปิดสอนในระดับมัธยมศึกษา ม.1-6 ก่อตั้ง เมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม 2548 โดย พระภัทรธรรมสุธี(สุพัฒน์ สุวฑฺฒโน) เจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน ก่อตั้งเป็นอาจาริยบูชาคุณ แด่หลวงปู่ศรีจันทร์ วัณณาโภ 4.ศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์วัดศรีสุทธาวาส เป็นโรงเรียนเปิดการเรียนการสอนในด้านพระพุทธศาสนา ให้ กั บ เด็ ก และเยาวชนได้ ใ ช้ เ วลาว่ า งในช่ ว งปิ ด เรี ย นวั น เสาร์ วันอาทิตย์ได้เข้ามาศึกษาในด้านพระพุทธศาสนาในวัด 5.ศูนย์ปฏิบัติธรรมประจ�ำจังหวัดเลยวัดศรีสุทธาวาส เป็นศูนย์อบรมคุณธรรมจริยธรรมให้กับนักเรียนนักศึกษา หน่วยงานราชการ ที่เข้ามาปฏิบัติธรรมเจริญจิตภาวนา

พระธรรมวราลัง การ (หลวงปู ่ ศรี จั นทร์ วั ณณาโภ)

ผู้ก่อ ตั้งวัดศรี สุทธาวาส เจ้ าอาวาสรู ปแรก

พระภั ทรธรรมสุ ธี เจ้าอาวาสวั ด ศรี สุท ธาวาส

LOEI I SBL บันทึกประเทศไทย

(

).indd 71

71

22/02/62 17:41:14


H I STO R Y O F B U DDH I S M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดสุธัมมิการาม

หลวงพ่อประทานพร ใหญ่ที่สุดในจังหวัดเลย พระครูปริยัติสาทร เจ้าคณะอ�ำเภอเมืองเลย (ธ) รักษาการเจ้าอาวาสวัดสุธัมมิการราม

หลวงพ่ อ ประทานพร 72

SBL บันทึกประเทศไทย I เลย

.indd 72 เอกลั กษณ์และจุดเด่นของวัดดงตะขบประกอบด้วย

22/02/62 14:41:08


หลวงพ่ อ ประทานพร

“หลวงพ่อประทานพร” วัดสุธัมมิการาม เป็นพระพุทธรูป ปางประทานพร ศิลปะสมัยสุโขทัย ประยุกต์สร้างด้วยทองเหลือง ทั้งองค์ ขนาดหน้าตัก กว้าง 3 เมตร สูง 5 เมตร ท�ำพิธีเททอง หล่อพระ เมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2560 เวลา 12.59 น. ที่วัดสุธัมมิการาม บ้านหนองผักก้าม โดยพระครูปริยัติสาทร, ดร.(วราวุธ สีลาวุโธ) เจ้าคณะต�ำบลกุดป่อง(ธ)ประธานฝ่ายสงฆ์ กั บ นายคุ ม พล บรรเทาทุ ก ข์ อดี ต ผู ้ ว ่ า ราชการจั ง หวั ด เลย ประธานฝ่ายฆราวาส โรงหล่อเฉลิมวงศ์หล่อพระ อ�ำเภอเชียงยืน จังหวัดมหาสารคาม เป็ น ผู ้ ด� ำ เนิ น การหล่ อ องค์ พ ระ มี ค ่ า ใช้ จ ่ า ยในการสร้ า งพระ “หลวงพ่อประทานพร” เป็นจ�ำนวนเงินทั้งสิ้น 1,111,111 บาท (หนึ่งล้านหนึ่งแสนหนึ่งหมื่นหนึ่งพันหนึ่งร้อยสิบเอ็ดบาทถ้วน) เมื่ อ เสร็ จ แล้ ว ได้ อั ญ เชิ ญ “หลวงพ่ อ ประทานพร” มา ประดิษฐานที่วัดสุธัมมิการาม บ้านหนองผักก้าม เมื่อวันที่ 19 มีนาคม 2560 เวลา 11.00 น. และได้ท�ำพิธีพุทธาภิเษก เมื่อ วันที่ 8 เมษายน พ.ศ.2560 เวลา 17.00 น. โดยมี หลวงพ่อขันตี ญาณวโร วัดป่าม่วงไข่ อ�ำเภอภูเรือ จังหวัดเลย เป็นประธาน จุดเทียนชัย และพระภัทรธรรมสุธี (สุพัฒน์ สุวฑฺฒโน) เจ้าคณะ จังหวัดเลย(ธ) เป็นประธานดับเทียนชัย

หลวงปู่ซามา อาจุตฺโต เจ้าอาวาสรู ป แรก

ประวัติ พระครูปริยัติสาทร

พระครูปริยัติสาทร ฉายา สีลาวุโธ อายุ 52 พรรษา 28 วิทยฐานะ น.ธ.เอก, PH.D ปัจจุบันด�ำรงต�ำแหน่ง เจ้าคณะอ�ำเภอ เมืองเลย(ธ).ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดศรีสุทธาวาส พระอารามหลวง รั ก ษาการเจ้ า อาวาสวั ด สุ ธั ม มิ ก าราม และรองอธิ ก ารบดี มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตศรีล้านช้าง สถานะเดิม วราวุธ ราชา เกิดวันที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2509 บิดาชื่อ นายทอง ราชา มารดาชื่อ นางบุญมา ราชา สัญชาติไทย เชื้อชาติไทย ศาสนาพุทธ บรรพชา เมือ่ วันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2522 ณ วัดศรีสทุ ธาวาส ต� ำ บลกุ ด ป่ อ ง อ� ำ เภอเมื อ งเลย จั ง หวั ด เลย พระอุ ป ั ช ฌาย์ พระเทพวราลังการ(ศรีจนั ทร์ วัณณาโภ)วัดศรีสทุ ธาวาส จังหวัดเลย อุปสมบท เมือ่ วันที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2533 ณ วัดศรีสทุ ธาวาส ต� ำ บลกุ ด ป่ อ ง อ� ำ เภอเมื อ งเลย จั ง หวั ด เลย พระอุ ป ั ช ฌาย์ พระเทพวราลังการ (ศรีจนั ทร์ วัณณาโภ) วัดศรีสทุ ธาวาส จังหวัดเลย พระกรรมวาจาจารย์ พระครูบริหารกิจจาทร วัดศรีสุทธาวาส จังหวัดเลย พระอนุสาวนาจารย์ พระครูสังฆรักษ์ไสว ฐิตมโน วัดศรีสุทธาวาส จังหวัดเลย บันทึก

พระครูปริยัติสาทร

วัดสุธัมมิการาม วัดสุธัมมิการาม ตั้งอยู่ที่บ้านหนองผักก้าม ต�ำบลกุดป่อง อ�ำเภอเมืองเลย จังหวัดเลย สังกัดคณะสงฆ์ธรรมยุต มีเนื้อที่ 25 ไร่ เริ่มสร้างเมื่อ พ.ศ. 2474 ตั้งวัดเมื่อ พ.ศ. 2477 โดยมี หลวงปู่ซามา อาจุตฺโต เป็นผู้ก่อตั้งวัด บนที่ ดิ น สาธารณะประโยชน์ ที่ ช าวบ้ า นพร้ อ มใจกั น ยกถวายให้สร้างวัด

LOEI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 73

พระประธานอุ โ บสถกลางน�้ ำ

73

22/02/62 14:41:15


H I STO R Y O F B U DDH I S M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดศรีอภัยวัน(ธ) หลวงปู่ท่อน ญาณธโร

พระเถระผู้ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบของจังหวัดเลย พระครูวิมลญาณรังสี ด�ำรงต�ำแหน่งรักษาการแทนเจ้าอาวาสวัดศรีอภัยวัน(ธ)

74

SBL บันทึกประเทศไทย I เลย

เอกลักษณ์และจุดเด่นของวัดดงตะขบประกอบด้วย

.indd 74

22/02/62 14:57:47


ประวัติพระราชญาณวิสุทธิโสภณ (หลวงปู่ท่อน ญาณธโร)

วัดศรีอภัยวัน ตั้งอยู่เลขที่ 66 หมู่ 8 ต�ำบลนาอ้อ อ�ำเภอเมือง จังหวัดเลย มี “หลวงปู่ท่อน ญาณธโร” พระอริยะผู้มีความเมตตา ที่ชาวจังหวัดเลยรู้จักดี เดิมว่า “ท่อน ประเสริฐพงศ์” เกิดเมื่อวัน ที่ 3 พฤษภาคม 2471 ณ บ้านหินขาว ต�ำบลสาวะถี อ�ำเภอ เมืองขอนแก่น ตรงกับวันพฤหัสบดี ขึ้น 15 ค�่ำ เดือน 6 ปีมะโรง บิดา-มารดาชือ่ นายแจ่ม และนางทา ประเสริฐพงศ์ มีพนี่ อ้ งร่วมกัน ทั้งหมด 19 คน ท่านเป็นบุตรคนที่ 6 อุปสมบท เมื่อวันที่ 7 มิถุนายน พ.ศ.2491 ณ พัทธสีมา วัดศรีจันทร์ (พระอารามหลวง) ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น โดยมีพระเทพบัณฑิต (มหาอินทร์ ถิรเสวี สินโพธิ์ ป.ธ.5) เมื่อครั้งด�ำรงสมณศักดิ์ที่พระพิศาลสารคุณ วัดศรีจันทร์ เป็นพระอุปัชฌาย์, พระครูคัมภีรนิเทศ เป็นพระกรรมวาจาจารย์ และพระมหาสุพจน์ อุตฺตโม เป็นพระอนุสาวนาจารย์ ครัง้ หนึง่ ท่านได้มโี อกาสพบ ”หลวงปูม่ นั่ ภูรทิ ตั โต” บูรพาจารย์ สายพระป่าและได้รับโอวาทอันทรงคุณค่าอย่างหาที่เปรียบมิได้ จากหลวงปู่มั่น

ให้เ ร่งท�ำความเพียร มิ ให้ประมาท ชีวิต นี้อยู่ ได้ ไม่นานก็ต ้องตาย บันทึก

การสร้างวัดศรีอภัยวัน พ.ศ.2500 ญาติ โ ยมได้ นิ ม นต์ ใ ห้ ห ลวงปู ่ ท ่ อ นไปอยู ่ ที่ ป่าช้านาโป่ง และได้สร้างวัดศรีอภัยวัน บนเนือ้ ทีป่ ระมาณ 40 ไร่ รวมทั้งรักษาความเป็นป่าอย่างสมบูรณ์ไว้ จากนั้น มาหลวงปู่ท่อนได้จ�ำพรรษาที่วัดศรีอภัยวัน หลวงปู่ท่อน เป็นพระป่า ที่วัดจึงไม่มีสิ่งก่อสร้างใหญ่โต กุฏิเป็นเพียง กุฏิเล็กๆ ปัจจัยที่ได้รับจากญาติโยม ล้วนแบ่งเอาไว้ใช้ เท่ า ที่ จ� ำ เป็ น ส่ ว นใหญ่ จ ะแบ่ ง ปั น ให้ แ ก่ ส� ำ นั ก สงฆ์ หรือวัดที่ขาดแคลนหรือทุรกันดาร

“ อย่ ามี อ คติ … อย่ าล� ำ เอี ยงกั บใครเลย และ อย่ าขึ้ น ๆ ลงๆ อย่ าเอารั ด เอาเปรียบกัน อีก เลย ”

ความตอนหนึ่งจากธรรมโอวาทของ “พระราชญาณวิสุทธิโสภณ” หรื อ “หลวงปู ่ ท ่ อ น ญาณธโร” ที่ ค อยอบรมสอนสั่ ง สาธุ ช น ให้ปฏิบตั ติ ามด้วยกุศโลบายอันแยบยลในการแสดงพระธรรมเทศนา ให้ผฟู้ งั น�ำไปขบคิดพินจิ พิจารณาด้วยปัญญาท่านเป็นพระเถราจารย์ ผูใ้ หญ่สาย วิปสั สนาธุดงค์กมั มัฏฐาน เป็นพระผูป้ ฏิบตั ดิ ปี ฏิบตั ชิ อบ ทีม่ คี วามเชีย่ วชาญด้านจิตตภาวนา การเทศนาธรรม และวิทยาคม อันเป็นเอกลักษณ์เฉพาะหลวงปู่ท่อน ญาณธโร LOEI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 75

พระประธานอุ โ บสถกลางน�้ ำ

75

22/02/62 14:57:54


H I STO R Y O F B U DDH I S M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดป่าซำ�บุ่น(ธ) ไหว้พระบรมสารีริกธาตุ

เจ้าอธิการธวัชชัย ปญฺญาวโร ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดป่าซ�ำบุ่น เจ้าคณะต�ำบลนาอ้อ

76

SBL บันทึกประเทศไทย I เลย

เอกลักษณ์และจุดเด่นของวัดดงตะขบประกอบด้วย

.indd 76

22/02/62 17:17:15


วัดป่าซ�ำบุน่ ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นไร่มว่ งใต้ ต�ำบลน�ำ้ หมาน อ�ำเภอเมือง จังหวัดเลย 42000 สังกัดธรรมยุติกนิกาย เป็นวัดที่ตั้งขึ้นใหม่ เมื่อปี พ.ศ. 2550 โดยมีนายเด่น และนางดวงจันทร์ หมืนนุปิง บริจาคที่ดิน นส.3 จ�ำนวน 3 ไร่ 4 ตารางวา และด�ำเนินการ จัดสร้างเสนาสนะวัตถุด้วยแรงศรัทธาของญาติโยมและชาวบ้าน ภายในวิ ห ารประกอบด้ ว ย พระประธาน ปางมารวิ ชั ย และ พระบรมสารีริกธาตุ ที่มาของชื่อวัดป่าซ�ำบุ่น “ซ�ำบุ่น” คือ สระน�้ำธรรมชาติที่ผุด ขึ้นมาจากใต้ดิน(น�้ำซับ) และเกิดขึ้นมาเป็นเวลานานมาก โดย ไม่เคยแห้งเลย

เสนาสนะ

1. กุฏิ จ�ำนวน 5 หลัง 2. โรงฉัน จ�ำนวน 1 หลัง 3. วิหาร จ�ำนวน 1 หลัง

พ.ศ. 2550 - 2553 พ.ศ. 2550 พ.ศ. 2556 - 2561

บันทึก

เจ้าอาวาสวัดป่าซ�ำบุ่น เจ้าอธิการธวัชชัย ปญฺญาวโร เจ้าคณะต�ำบลนาอ้อ เป็นบุตรของ นายก้อนทอง และนางนวลดี โสมชาติ อุปสมบท เมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2530 ณ วั ด ศรี ภู มิ ต� ำ บลกุ ด ป่ อ ง อ� ำ เภอเมื อ ง จั ง หวั ด เลย มี พ ระเทพวราลั ง การ เป็ น พระอุ ป ั ช ฌาย์ จบนั ก ธรรม ชั้นเอกเมื่อปี พ.ศ. 2536

LOEI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 77

พระประธานอุ โ บสถกลางน�้ ำ

77

22/02/62 17:17:27


H I STO R Y O F B U DDH I S M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดป่าอัมพวัน ศูนย์รวมพระเกจิอาจารย์ดัง พระสมชาย ชวโน ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดป่าอัมพวัน

78

SBL บันทึกประเทศไทย I เลย

เอกลักษณ์และจุดเด่นของวัดดงตะขบประกอบด้วย

.indd 78

22/02/62 14:33:46


ประวัติหลวงปู่ค�ำพอง ขันติโก

“หลวงปู ่ ค� ำ พอง ขั น ติ โ ก” เกิ ด เมื่ อ วั น ที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2478 ทีบ่ า้ นชนบท ต�ำบลชนบท อ�ำเภอชนบท จังหวัดขอนแก่น โยมบิดา-มารดา ชือ่ นายภู นางทองมาก แสงจันทร์ เมือ่ อายุ 19 ปี ได้เข้าพิธีบรรพชาเป็นสามเณร ที่วัดป่าธรรมวิเวก ต�ำบลชนบท อ� ำ เภอชนบท จั ง หวั ด ขอนแก่ น โดยมี พ ระครู ศี ล วั ง วราภรณ์ เป็นพระอุปัชฌาย์ จ�ำพรรษาที่วัดป่าธรรมวิเวก จนอายุ 21 ปี เมื่อถึงวัยที่ต้องคัดเลือกเข้ารับการเกณฑ์ทหาร จับได้ใบด�ำ ต่อมาเข้าพิธอี ปุ สมบทเป็นพระภิกษุสายธรรมยุต ทายาทธรรม ของหลวงปู่เสาร์และหลวงปู่แหวน ยึดหลักการในการปฏิบัติตน ตามแบบอย่างหลวงปู่เสาร์ กนฺตสีโล แนวปฏิบัติของหลวงปู่เสาร์ คือ การอยู่คนเดียวให้รักษาจิต อยู่กลางมิตรให้รักษาวาจา และ ยึดถือแนวปฏิบัติของหลวงปู่แหวน สุจิณโณ เป็นแนวปฏิบัติมา ตั้ ง แต่ ท ่ า นบวช และออกเดิ น ธุ ด งค์ ม าโดยตลอด ท่ า นได้ ตั้ ง อธิษฐานเอาไว้ตงั้ แต่นนั้ ว่า จะครองตนอยูใ่ นเพศบรรพชิตตลอดชีวติ หลังจากหลวงปูซ่ ามา อาจุตโฺ ต เจ้าอาวาสวัดป่าอัมพวัน มรณภาพลง คณะศรัทธาญาติโยมบ้านไร่มว่ ง และพระผูใ้ หญ่ จึงได้พร้อมใจกัน นิมนต์หลวงปู่ค�ำพอง ให้มาด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดแห่งนี้ อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2523 ตามที่ หลวงปู่ซามา ได้ฝากฝังเอาไว้ก่อนที่จะมรณภาพลง หลวงปู่ค�ำพอง เป็นพระนักปฏิบัติ ผู้ปฏิบัติดี ปฏิบัติชอบ ปฏิบัติตรง อีกรูปหนึ่ง แม้ชื่อเสียงท่านจะไม่โด่งดัง แต่ด้วยความ เป็นพระที่มีชีวิตอยู่อย่างเรียบง่าย สงบและสมถะ จึงท�ำให้ท่าน เป็นพระเถระที่พุทธศาสนิกชนชาวเมืองเลยและต่างจังหวัดที่ได้ ไปกราบไหว้ท่าน ให้ความเคารพเลื่อมใสศรัทธามาโดยตลอด การมรณภาพของหลวงปู่ค�ำพอง ขันติโก นับเป็นการสูญเสีย พระเถระผู้ใหญ่ของจังหวัดเลย อีกรูปหนึ่ง

LOEI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 79

พระประธานอุ โ บสถกลางน�้ ำ

79

22/02/62 14:33:49


ประวั ติ ห ลวงปู่ซ ามา อจุตโต

เมืองเลย เป็นดินแดนแห่งอริยสงฆ์มาตัง้ แต่อดีตจนถึงปัจจุบนั มีพระสงฆ์ทมี่ ชี อื่ เสียงเป็นทีเ่ คารพบูชาของคนทัว่ ไปมากมาย ส�ำหรับ หลวงปู่ซามา อจุตโต แห่งวัดป่าอัมพวัน บ้านไร่ม่วง อ�ำเภอเมือง จั ง หวั ด เลย แม้ท ่า นจะมรณภาพไปหลายปี แ ล้ ว แต่ ก็ ยั ง เป็ น ที่เคารพนับถือของคนจังหวัดเลย ได้ไปกราบไหว้บูชามิได้ขาด “หลวงปูซ่ ามา อจุตโต” เป็นพระเถระชัน้ ผูใ้ หญ่ ครองตนอยูใ่ น เพศสมณะเสมอต้นเสมอปลาย อยู่ในศรัทธาของพุทธศาสนิกชน ชาวเมืองเลยมาอย่างยาวนาน ได้รับการยกย่องว่าเป็นบุคลากร ทางพระพุ ท ธศาสนาที่ มี ค วามสามารถสู ง และอุ ทิ ศ ตนพั ฒนา การเรียนการสอนพระปริยัติท�ำอย่างไม่รู้เหน็ดเหนื่อย หลวงปู่ซามา อจุตโต เกิดในสกุล สินทร เมื่อวันที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2477 ทีบ่ า้ นขามเปีย้ ต�ำบลพระลับ อ�ำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น โยมบิดา-มารดา ชื่อนายลุย นางบุญ สินทร วัยเยาว์ บรรพชา ที่วัดในท้องถิ่น แต่ไม่นานก็ลาสิกขาไปช่วยครอบครัวหาเลี้ยงชีพ ระยะหนึ่ง เมื่ออายุ 20 ปีบริบูรณ์ อุปสมบทที่วัดบ้านดอนแขม อ�ำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น บวชเรียนได้ 4 พรรษา มีโอกาส พบกับพระกัมมัฏฐานสายหลวงปูม่ นั่ ทีไ่ ปปักกลดในละแวกนั้น ซึ่ง ก็คือพระอาจารย์วาท หลวงปู่ซามา มีโอกาสรับฟังธรรมแล้ว เกิดความเลื่อมใส จึงขอญัตติเป็นพระสายป่า คณะธรรมยุต เมื่อ วันที่ 6 มิถุนายน พ.ศ.2473 ที่วัดไชยชุมพล ต�ำบลบ้านเต่า อ�ำเภอบ้านแท่น จังหวัดชัยภูมิ มีพระครูพิศาล เป็นพระอุปัชฌาย์ พระอาจารย์หล้า เป็นพระกรรมวาจาจารย์ 80

หลังจากนัน้ พระอาจารย์วาทได้พาท่านออกเดินท่องธุดงควัตร ไปตามสถานที่ต่างๆ กระทั่งเดินทางมาที่จังหวัดเลย ได้พบและ ศึกษาธรรมจากหลวงปู่ชอบ ฐานสโม และหลวงปู่หลุย จันทสาโร พระกัมมัฏฐานชื่อดัง ในช่วงที่มาอยู่จ�ำพรรษาที่วัดป่าอัมพวัน บ้านไร่ม่วง อ�ำเภอเมือง จังหวัดเลย หลวงปู่ศรีจันทร์ วัณณาโภ เจ้าคณะจังหวัดเลยในขณะนั้น ได้แต่งตั้งให้หลวงปู่ซามา เป็น เจ้าคณะต�ำบล เมื่อหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต บูรพาจารย์สายพระป่า ได้มรณภาพ หลวงปูศ่ รีจนั ทร์ วัณณาโภ ได้มอบหมายให้หลวงปูซ่ ามา เป็นตัวแทนคณะสงฆ์จังหวัดเลย ไปรับอัฐิธาตุของหลวงปู่มั่น น�ำมาเก็บไว้ในพระอุโบสถวัดศรีสุทธาวาส จังหวัดเลย

SBL บันทึกประเทศไทย I เลย

.indd 80

22/02/62 14:33:54


พ.ศ. 2520 หลวงปู่ศรีจันทร์และหลวงปู่ซามา พร้อมด้วย พระเถระผู้ใหญ่อีก 3 รูป คือ พระราชศีลสังวร วัดศรีโพนแท่น อ�ำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย หลวงปู่ท่อน ญาณธโร วัดศรีอภัยวัน จังหวัดเลย และหลวงพ่อสีทน สีลธโน วัดถ�้ำผาปู่ อ�ำเภอเมือง จังหวัดเลย รวม 5 รูป ได้รับกิจนิมนต์เข้าร่วมพิธีพุทธาภิเษกที่ จังหวัดปราจีนบุรี ระหว่างเดินทางกลับไปจังหวัดขอนแก่นมาถึง อ�ำเภอคง จังหวัดนครราชสีมา มีรถยนต์วงิ่ สวนทางมาเกิดยางแตก รถพุ่งเข้าหารถตู้ที่พระเถระผู้ใหญ่ทั้ง 5 รูปนั่งโดยสาร คนขับ จึงหักหลบ เกิดพลิกคว�่ำลงข้างถนน ท�ำให้พระเถระชั้น ผู้ใหญ่ ที่นั่งมาในรถได้รับบาดเจ็บโดยเฉพาะหลวงปู่ซามา อาการสาหัส

กว่าทุกรูป จึงน�ำส่งพระภิกษุทั้ง 5 รูป เข้ารักษาที่โรงพยาบาล นครราชสีมา เมื่ ออาการดี ขึ้ นจึ ง กลั บมาที่ วั ด ป่ าอั ม พวัน แต่อาการของ หลวงปูซ่ ามาไม่คอ่ ยดีนกั และมีอาการทรุด เมือ่ วันที่ 11 เมษายน 2523 เวลา 12:30 น. หลวงปู่ซามา มรณภาพ สิริอายุ 76 ปี พรรษา 50 ตลอดชีวติ หลวงปูซ่ ามา อาศัยในร่มเงาพระพุทธศาสนา ประกอบคุณงามความดีด้วยจิตใจที่ผ่องแผ้ว แม้ท่านจะละสังขาร ลาโลกไปแล้วก็ตาม แต่คุณงามความดีที่ได้ประกอบศาสนกิจ มาตลอดชีวิต เป็นที่จดจ�ำของชาวเมืองเลยอย่างมิลืมเลือน

LOEI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 81

81

22/02/62 14:34:02


H I STO R Y O F B U DDH I S M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดศรีวิชัยวนาราม พระครูปริยัตยาทร (บุญชู จตฺตมโล) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดศรีวิชัยวนาราม เจ้าคณะอ�ำเภอปากชม

วั ด ศรี วิ ชัยวนาราม

วัดศรีวิชัยวนาราม ตั้งอยู่เลขที่ 366 ชุมชนหนองผักก้าม 2 ถนนเลย-เชียงคาน ต�ำบลกุดป่อง อ�ำเภอเมือง จังหวัดเลย สังกัด คณะสงฆ์มหานิกาย ทีด่ นิ ตัง้ วัดมีเนือ้ ที่ 43 ไร่ 2 งาน 38 ตารางวา เดิมเป็น “ส�ำนักสงฆ์วัดหนองแวง” ก่อตั้งขึ้นเพื่อเป็นสถานที่ ปฏิบัติธรรมของพระสงฆ์อย่างเคร่งครัด โดยมีพระอาจารย์แดง และเพือ่ นสหธรรมมิก เป็นผูบ้ กุ เบิกจากป่าทีร่ กร้างให้เป็นสถานที่ สงบร่มรื่น เคยเป็นสถานที่ปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานของพระเกจิ อาจารย์หลายท่าน เช่นหลวงปูแ่ หวน สุจณ ิ โณ หลวงพ่อเทียน สุขโิ ต เป็นต้น ชาวบ้านใกล้เคียงใช้เป็นป่าช้าสาธารณะประโยชน์ มีต้นไม้ นานาพันธุ์ มีหนองน�้ำส�ำหรับใช้อุปโภคบริโภค และได้รับอนุญาต ให้ตงั้ วัดเมือ่ ปี พ.ศ. 2511 ชือ่ ว่า “วัดศรีวชิ ยั วนาราม” ได้รบั การพัฒนา ให้เป็นสถานที่ศึกษาเล่าเรียนของพระภิกษุ-สามเณรมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2509 โดยพระครูมงคลญาณเมธี(เคน อตถกาโม ป.ธ.8) ปัจจุบันได้จัดการศึกษาอยู่ 3 แผนก คือ 1.แผนกธรรม นักธรรมชั้นตรี ถึง นักธรรมชั้นเอก(ส�ำหรับพระภิกษุสามเณร) ธรรมศึกษาชัน้ ตรี ถึง ธรรมศึกษาชัน้ เอก(ส�ำหรับบุคคลทัว่ ไป) 2.แผนกบาลี บาลีประโยค 1-2 ถึง ป.ธ.5 (ส�ำหรับพระภิกษุ-สามเณร) บาลีศึกษา บศ. 1-2 ถึง บศ. 5 (ส�ำหรับบุคคลทั่วไป) 3.แผนกสามัญศึกษา จัดตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1-6 เป็นการจัดการศึกษา แบบเรี ย นฟรี ไม่ เ สี ย ค่ า ใช้ จ ่ า ย ทางวั ด ดู แ ลให้ ทุ ก เรื่ อ งตั้ ง แต่ การเป็นอยู่-อาหาร-ผ้าไตรจีวร-อุปกรณ์การเรียน เป็นต้น

ปั จ จุ บัน มี นักเรียน จ�ำนวน 192 รูป สนใจติ ด ต่ อ ได้ ที่ พระครูปริยัต ยาทร โทร. 08-1117-5707 ฝ่ายวิชาการ โทร. 08-5659-6566 82

SBL บันทึกประเทศไทย I เลย

.indd 82 เอกลั กษณ์และจุดเด่นของวัดดงตะขบประกอบด้วย

23/2/2562 17:27:19


WORK LIF E

บันทึกเส้นทางพบเทศบาลต�ำบล

เทศบาลต�ำบลธาตุ วิ สั ย ทั ศ น์ เ ทศบาลต� ำ บลธาตุ

“ พั ฒ นาต� ำ บลธาตุ แก้ ไขปั ญ หา ประชาชนมี ค นคุ ณ ชี วิ ต ที่ ดี ประเพณี วั ฒ นธรรมเป็ น เลิ ศ เกิ ด ความสามั ค คี ให้ มี บ ริ ก ารชุ ม ชน ”

ประวัติความเป็นมา

นายสมเกี ย รติ วงษ์ ล า นายกเทศมนตรีต�ำบลธาตุ

นายประพันธ์ ชูพิพัฒน์ ปลัดเทศบาล

นางวีระวรรณ ขันชัยภูมิ รองนายกเทศมนตรี

เทศบาลต�ำบลธาตุ ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 1 ต�ำบลธาตุ อ�ำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย 42110 โทรศัพท์ : 042-854-034 โทรสาร : 042-854-034 http://ckthartloei.com บ้านธาตุจอมศรี เดิมคงสืบเชื้อสายมาจากชาวแขวงเมืองหลวงพระบาง แขวงเมืองล้านช้าง และไชยบุรี ขนบธรรมเนียมประเพณีความเป็นอยู่ ตลอดจนส�ำเนียงภาษาคล้ายคลึงกันมาก การก่อตั้งหมู่บ้านสมัยแรกๆ นั้น ไม่มหี ลักฐานจะอ้างอิงได้ จึงสันนิษฐานจากซากวัตถุโบราณทีย่ งั คงเหลืออยู่ บริเวณที่ตั้งเดิมไม่ใช่ที่ตั้งหมู่บ้านธาตุในปัจจุบัน และไม่ได้เรียกชื่อว่า บ้านธาตุ หรือ บ้านธาตุจอมศรี แต่เรียกกันว่า “หมูบ่ า้ นท่าจ�ำปา” ซึง่ อยูท่ าง ทิศใต้ของหมู่บ้านธาตุในปัจจุบัน บ้านท่าจ�ำปา เป็นหมู่บ้านที่ใหญ่โต พอสมควร สั น นิ ษ ฐานได้ จ ากบริ เวณที่ ตั้ ง มี วั ด วาอุ โ บสถหลายแห่ ง มี พระพุทธรูปมากมาย ทั้งพระพุทธรูปทองค�ำ ทองเหลือง และทองสัมฤทธิ์ แต่เนื่องจากจีนฮ่อเข้ามารุกราน ชาวบ้านจึงน�ำพระพุทธรูปทองค�ำไปซ่อน ไว้ในแม่น�้ำเลย บริเวณที่เรียกว่า “วังแสนขัน” ในปัจจุบัน ส่วนพระพุทธรูป ทองเหลืองและทองสัมฤทธิก์ ท็ าสีดำ� ให้ดไู ม่สวยงาม มีพระพุทธรูปทีท่ ำ� ด้วย ทองสัมฤทธิ์ ไปซ่อนไม่ทันคง 2 องค์ ชาวบ้านเรียกว่า “พระเจ้าหน้าด�ำ” เพราะทั้ ง องค์ ด� ำ สนิ ท ปั จ จุ บั น ท่ า นเจ้ า คุ ณ วั ด ศรี สุ ท ธาวาส ได้ น� ำ ไป ประดิษฐานไว้ที่วัดเลยหลง อ�ำเภอเมืองเลย จังหวัดเลย

นายสมหมาย เขื่อนพิมพ์ รองนายกเทศมนตรี

นายเสน ฮดฤาชา

ที่ปรึกษานายกเทศมนตรี LOEI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 83

83

- 27/02/2562 11:44:53 AM


แหล่งท่องเที่ยวเทศบาลต�ำบลธาตุ “การขับเคลื่อนธรรมนูญสุขภาพ” ส่งเสริมประเพณีบญ ุ เดือน 4 “ไหว้พระขอพร องค์พระใหญ่ เบิง่ ขบวนแห่ ต้นดอกไม้ กินข้าวเลียนเม็ดน�ำกัน” ช่วงเดือน มีนาคม ณ วัดพระธาตุ หมูท่ ี่ 2 ต�ำบลธาตุเป็นต�ำบลที่เก่าแก่ที่มีประวัติศาสตร์และความเป็นมาอย่าง ยาวนานหลายร้อยปี จะเห็นได้จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ได้แก่ พระพุ ท ธศิ ล ามงคลมิ่ ง เมื อ งเลย ที่ ป ระดิ ษ ฐานไว้ ณ วั ด ศรี สุ ท ธาวาส เมืองท่าจ�ำปา บริเวณริมแม่น�้ำเลยทางด้านทิศตะวันออกเฉียงใต้แผนที่ เส้นทางชายแดน สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนตน วัดพระธาตุได้รับอนุญาต ให้ ก ่ อ ตั้ ง วั ด เมื่ อ ปี พุ ท ธศั ก ราช 2371 และมี สิ่ ง ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ คู ่ บ ้ า นคู ่ เ มื อ ง ที่ชาวต�ำบลธาตุและต�ำบลใกล้เคียงได้ให้การเคารพสักการบูชามาเป็น เวลาช้ า นานคื อ พระใหญ่ ที่ ป ระดิ ษ ฐานไว้ ภ ายในเลื่ อ มใสศรั ท ธาของ พุทธศาสนิกชนทั้งหลายเป็นอย่างยิ่งและในโอกาสที่องค์พระใหญ่ศิลปะ หลวงพระบางนี้มีอายุ 190 ปี เทศบาลต�ำบลธาตุจึงร่วมกับคณะกรรมการ หมู่บ้านและกลุ่มพลังมวลชนได้จัดงานไหว้พระใหญ่อายุ 190 ปี งานนี้ ป ระกอบด้ ว ยนางร� ำ และผู ้ เข้ า ร่ ว มกิ จ กรรมกว่ า 1,000 คน ที่ร�ำถวายพระใหญ่เพื่อความเป็นสิริมงคลแก่ตนเองและครอบครัวและ มหกรรมสุขภาพ ประเภทอาหารและขนมพืน้ บ้าน ตลอดจนการแสดงต่างๆ

84

SBL บันทึกประเทศไทย I เลย

.indd 84

22/02/62 09:50:16


ส่งเสริมแหล่งท่องเที่ยว “ย้อนต�ำนานดอกฝ้ายบานเมืองเลย” ช่วงเดือน พฤศจิกายนถึงกุมภาพันธ์ ณ เทศบาลต�ำบลธาตุ ทุง่ ดอกฝ้ายเทศบาลต�ำบลธาตุ ซึง่ ปลูกในพืน้ ทีป่ ระมาณ 5 ไร่ อยูใ่ กล้กบั เทศบาลบ้านธาตุ อ�ำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย เพื่อดึงดูดนักท่องเที่ยว ที่เดินทางเข้ามาในพื้นที่จังหวัดเลย โดยเฉพาะอ�ำเภอเชียงคาน จากค�ำพูดที่ว่า งานดอกฝ้ายเมืองเลย ผ้าห่มฝ้ายเชียงคาน และปัจจุบัน ก�ำลังหายไป และมีพื้นที่ปลูกที่เหลือเพียงเล็กน้อย ในอ�ำเภอวังสะพุง และ อ� ำ เภอเชี ย งคาน จั ง หวั ด เลย เป็ น แนวคิ ด ของทางเทศบาลต� ำ บลธาตุ เพือ่ ให้นกั ท่องเทีย่ วทีเ่ ดินทางไปเทีย่ วอ�ำเภอเชียงคาน ผ่านไปทางยังบ้านธาตุ ซึ่งอยู่ระหว่างทางสามารถเดินทางมาถ่ายรูปที่สวยงามของทุ่งดอกฝ้าย ได้อย่างสวยงาม ส�ำหรับเวลาแนะน�ำควรจะเป็นก่อนเที่ยงเพราะความขาวของปุยฝ้าย จะออกสีขาวสวยพอดี ทุ่งดอกฝ้ายนี้เป็นการน�ำฝ้ายตุ่ยและฝ้ายพันธุ์ พื้นเมืองที่มีอยู่ในจังหวัดเลย มาปลูกรวมกันเป็นทุ่งสีขาวเหมือนกับปุยฝ้าย ดอกฝ้ายนั้นจะเป็นดอกสีขาว ดอกฝ้าย ออกเป็นดอกเดี่ยวตามซอกใบและ ปลายกิ่ง ดอกเป็นสีเหลืองอ่อน แล้วจะเปลี่ยนเป็นสีเหลืองแกมชมพู หลังจากดอกบานเต็มที่เป็นผลฝ้าย เมื่อแห้งจะแตกออกได้ตามพูเป็น 3 ฝา ภายในมีเมล็ดมีขนยาวสีขาวห่อหุ้มอยู่ ฝ้าย หรือ เส้นใยฝ้าย คือ เซลล์ผิว ของเปลือกเมล็ดซึง่ มีรปู ร่างยาวคล้ายเส้นผม การแยกเส้นใยออกจากเมล็ดฝ้าย จะเรียกว่า “การหีบฝ้าย” เส้นใยฝ้ายที่ได้นี้สามารถน�ำไปใช้ผลิตเป็น ผลิตภัณฑ์ต่างๆ ได้หลายรูปแบบ การเก็บฝ้ายในบ้านเรามักเก็บด้วยมือ โดยเลือกจากผลฝ้ายที่แตกแล้ว ดึงเส้นใยออกจากสมอ ส่งไปโรงงานหีบฝ้ายเพื่อท�ำการแยกเมล็ดออก หลังจากนั้นจะน�ำเส้นใยไปท�ำส�ำลี ปั่นเป็นเส้นด้าย หรือ อัดเป็นแท่ง ส่วนเมล็ดฝ้ายที่แยกเอาเส้นใยออกไปแล้วจะน�ำไปสกัดเอาน�้ำมัน

LOEI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 85

85

22/02/62 09:50:21


W O R K L IF E

บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล

องค์การบริหารส่วนต�ำบลจอมศรี ค� ำ ขวั ญ องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บลจอมศรี

“ ต� ำ บลเข้ ม แข็ ง ร่ ว มแรงพั ฒ นา เสริ ม สร้ า งคุ ณ ภาพชี วิ ต ป้ อ งกั น แก้ ไขปั ญ หายาเสพติ ด น้ อ มน� ำ เศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ”

ข้อมูลพื้นฐาน องค์การบริหารส่วนต�ำบลจอมศรี อ�ำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย เป็น อบต.ขนาดกลาง อยู่ทางทิศใต้ ของอ�ำเภอเชียงคาน ระยะทางห่างจาก อ�ำเภอเชียงคาน ประมาณ 20 กิโลเมตร และห่างจากจังหวัดเลย ประมาณ 31 กิโลเมตร มีพื้นที่ประมาณ 42.25 ตารางกิโลเมตร มี 8 หมู่บ้าน จ�ำนวน ครัวเรือน 1,229 ครัวเรือน มีประชากรรวม 4,262 คน ราษฎรส่วนใหญ่ ประมาณร้อยละ 80 ประกอบอาชีพท�ำการเกษตรกรรม ได้แก่ ท�ำนา ปลูกข้าว ข้าวโพด มันส�ำปะหลัง อ้อย เป็นต้น

นายพี ร พจน์ หมื่ น หาวงศ์ นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลจอมศรี

86

.

.indd 86

สภา อบต.จอมศรี

SBL บันทึกประเทศไทย I เลย

22/02/62 13:42:02


งานประจ�ำปี

กองทุนขยะเพื่อการสงเคราะห์ องค์การบริหารส่วนต�ำบลจอมศรี ได้ด�ำเนินการตามแผนปฏิบัติการ “ประเทศไทยไร้ขยะ” ตามแนวทางประชารัฐ โดยมีกรอบแนวคิดในการ ด�ำเนินงานสร้างวินัยคนในชาติในการรักษาความสะอาดของบ้านเมือง โดยการทิง้ ขยะให้ถกู ทีถ่ กู ทาง การจัดการขยะอย่างครบวงจร เพือ่ คุณภาพชีวติ และสิง่ แวดล้อมทีด่ ี มีเป้าหมายให้หมูบ่ า้ น ชุมชน มีจดุ รวมของเสียอันตราย ชุมชนอย่างน้อย หมู่บ้าน ชุมชน ละ 1 แห่ง และปริมาณขยะมูลฝอยชุมชน ที่เข้าสู่ระบบก�ำจัดขยะปลายทางลดลงร้อยละ 5 ต�ำบลจอมศรี จึงได้ ด�ำเนินการสนองนโยบายของรัฐบาล กระทรวงมหาดไทยและจังหวัดเลย ได้จัดตั้งกองทุนขยะเพื่อการสงเคราะห์ เมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2561 โดย มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1. เพือ่ ส่งเสริมให้สมาชิกมีสว่ นร่วมในการคัดแยกขยะและจัดการขยะรีไซเคิล 2. เพื่อสงเคราะห์และจัดสวัสดิการแก่สมาชิก 3. เพือ่ ให้ชมุ ชนเข้มแข็ง มีองค์กรทีค่ อยช่วยเหลือเมือ่ เกิดความเดือดร้อน หรือจ�ำเป็น

พระเสี่ยง วัดจอมศรี บ้านจอมศรี หมู่ที่ 2 อุโบสถเก่าแก่ ที่ประดิษฐานพระเสี่ยงทายประจ�ำหมู่บ้าน วัดจอมศรี บ้านจอมศรี หมู่ที่ 2

โครงการบริหารจัดการน�้ำด้วยระบบน�้ำใต้ดิน ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อความยั่งยืน การจัดเก็บน�้ำด้วยระบบธนาคารน�้ำใต้ดิน มี 2 รูปแบบ 1. ธนาคารน�้ำใต้ดินระบบปิด เป็นการบริหารจัดการน�้ำในพื้นที่หรือ แหล่งที่อยู่ให้กับน�้ำในพื้นที่ของตนเอง เพื่อมิให้น�้ำในพื้นที่ของตนเองหรือ พืน้ ทีน่ นั้ ๆ ไปรวมและสะสมเพิม่ ปริมาณกับพืน้ ทีอ่ นื่ ๆ ให้มปี ริมาณมากยิง่ ขึน้ 2. ธนาคารน�ำ้ ใต้ดนิ ระบบเปิด เป็นบ่อน�ำ้ ทีใ่ ช้สำ� หรับการจัดการปัญหา น�้ำบาดาลที่แห้งแล้งและขาดแคลน เพื่อเติมน�้ำใต้ดินและเพิ่มปริมาณ น�้ำใต้ดินให้เพียงพอต่อการอุปโภคบริโภคและทางการเกษตรในฤดูแล้ง เป็นการช่วยเติมน�้ำในฤดูฝนให้สามารถไหลลงไปเก็บไว้ใต้ดินเพื่อเพิ่ม ระดับน�้ำบาดาล จัดการปัญหาน�้ำท่วมขังในพื้นที่ได้เร็วขึ้น องค์การบริหารส่วนต�ำบลจอมศรี ได้รับการคัดเลือกเป็น อปท.ต้นแบบ การจั ด การน�้ ำ ตามหลั ก ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง(ธนาคารน�้ ำ ใต้ ดิ น ) ของจังหวัดเลย ได้นำ� เรือ่ งน�ำ้ มาถอดบทเรียนให้กบั ชุมชน “น�ำ้ คือความมัน่ คง ของชีวติ ” ท�ำให้เกิดอาชีพและรายได้ เกิดเป็นแบบอย่างการน�ำพลังงานสะอาด มาใช้ ซึ่งเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมช่วยลดต้นทุนการผลิต เป็นผลให้เกิด ประโยชน์สงู สุด ต่อการบริหารจัดการทรัพยากรทีม่ อี ยู่ เกิดรายได้ทางการเกษตร โดยภาคชุมชน

บ่อน�้ำผุด ตั้งอยู่ ณ วัดศรีหินตั้ง บ้านหินตั้ง หมู่ที่ 6

ประสานงาน อบต.จอมศรี | โทร.042-070502 | www.jomsi.go.th LOEI I SBL บันทึกประเทศไทย

.

.indd 87

87

22/02/62 13:42:09


H I STO R Y O F B U DDH I S M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดศรีคุนเมือง

ศิลปะล้านช้างคู่เมืองเชียงคาน มากกว่า 350 ปี พระครูสิริปัญญาวิสุทธิ์ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดศรีคน ุ เมือง รองเจ้าคณะจังหวัดเลย

88

วัดศรีคุนเมือง หรือ วัดใหญ่ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัดจ�ำนวน 5 ไร่ 1 งาน 12 ตารางวา สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2199 โดยมีหัวครูบุตรดี เป็นประธานฝ่ายสงฆ์ร่วมกับ พระยาอุนุพินาก เป็นประธานฝ่ายฆราวาส น�ำชาวบ้านพร้อม การตั้งบ้านเมือง ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อ พ.ศ. 2220 ด้วยสถาปัตยกรรมที่มีความงดงามแบบศิลปะล้านนา พร้อมกับ เป็ น แหล่ ง เก็ บ รวบรวมพุ ท ธศิ ล ปะที่ มี ค วามเก่ า แก่ จึ ง ถื อ ว่ า วัดศรีคุนเมืองเป็นวัดเก่าแก่ที่อยู่คู่บ้านคู่เมืองเชียงคานมาอย่าง ยาวนาน ทุกวันพระรวมถึงวันส�ำคัญทางพุทธศาสนาจึงเต็มไปด้วย ผู้คนซึ่งมีทั้งชาวเชียงคานรวมถึงนักท่องเที่ยว ต่างพร้อมใจกัน ร่วมท�ำบุญตักบาตร ฟังเทศน์ ฟังธรรมกันอย่างถ้วนหน้า

SBL บันทึกประเทศไทย I เลย

.indd 88

22/02/62 18:15:58


พระพุทธรูปนาคปรก

พระพุทธรูปในพระอุโบสถ เป็น พระพุทธรูปนาคปรก ก่อด้วยอิฐ ถือปูน เป็นศิลปะล้านช้างผสมอยุธยา มีขนาดหน้าตักกว้าง 60 นิว้ โดยมีความกว้าง 120 นิว้ เหนือพระเศียรเป็นหัวพญานาค 9 เศียร ซึง่ นับว่าเป็นพระพุทธรูปที่มคี วามศักดิส์ ิทธิ์อย่างมากอีกองค์หนึง่ ของเชียงคาน บรรดาชาวบ้านไม่วา่ จะเป็นคนไทยและประชาชนลาว จะมากราบไหว้อธิษฐานขอพร ให้การเดินทางไปท�ำมาค้าขาย ปลอดภัยจากภยันตรายทั้งหลาย นอกจากนี้แล้ว วัดศรีคุนเมือง ยังเต็มไปด้วยของเก่าแก่โบราณ หลากหลายชิ้นด้วยกัน เช่น พระพุทธรูปไม้จ�ำหลัก ลงรักปิดทอง ปางประทานอภัยแบบล้านช้าง มีพระเกศาเป็นปุม่ แหลมเหล็กเล็ก พระกรรณค่อนข้างแหลมและยาว มีความงดงามเป็นอย่างยิ่ง สันนิษฐานว่ามีอายุในราวพุทธศตวรรษที่ 24 - 25 ธรรมาสน์ไม้สกั แกะสลักประดับกระจกสี ลงรักปิดทองทุกด้าน ที่พนักหลังมียอดคล้ายปราสาท พระพุทธรูปไม้ปางประทานพร หิ น ศิ ล าจารึ ก พระพุ ท ธรู ป ทองสั ม ฤทธิ์ และภาพจิ ต รกรรม ฝาผนังที่มีอยู่เต็มหน้าบัน โดยภาพทั้งหมดเป็นภาพนิทานชาดก ชุดพระเจ้าสิบชาติ ซึ่งวัดบูรณะขึ้นใหม่แทนของเดิม ด้ า นการศึ ก ษา วั ด ศรี คุ น เมื อ ง มี โ รงเรี ย นพระปริ ยั ติ ธ รรม แผนกธรรม สอนเมือ่ ปี พ.ศ. 2480 และ ศูนย์ศกึ ษาพระพุทธศาสนา วันอาทิตย์เปิดสอนเมื่อปี พ.ศ. 2535

อาคารเสนาสนะ

ประกอบด้วย พระอุโบสถ สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2390 เป็น พระอุโบสถก่อด้วยอิฐถือปูน ซึ่งผนังภายในพระอุโบสถมีภาพ เขียนสีผนังเรื่องราวของพระพุทธศาสนา ศาลาการเปรียญ เป็น อาคารไม้ ส ร้ า งขึ้ น เมื่ อ พ.ศ. 2517 กุ ฏิ ส งฆ์ 5 หลั ง และ ศาลาเอนกประสงค์ เป็นอาคารไม้สร้างขึ้น พ.ศ. 2503 LOEI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 89

พระประธานอุ โ บสถกลางน�้ ำ

89

22/02/62 18:16:11


ท่องเที่ยวทางใจ ถิ่นที่อยู่อริยสงฆ์ มั่นคงความสะอาด จังหวัดเลย

อ�ำเภอด่านซ้าย วัดกกจาน กกจาน ม.7 ต�ำบลกกสะทอน วัดแก่งครกศรัทธาธรรม บ้านแก่งครก ม.9 ต�ำบลกกสะทอน

วัดเครือหงษ์(บ้านโป่งใหญ่) บ้านโป่ง ม.1 ต�ำบลโป่ง วัดโคกงาม บ้านโคกงาม ม.1 ต�ำบลโคกงาม วัดจอมแจ้ง บ้านนาเจียง ม.3 ต�ำบลโคกงาม วัดจอมมณี บ้านนาหมูมน่ ม.2 ต�ำบลนาดี วัดจอมศรี บ้านโพนสูง ม.1 ต�ำบลโพนสูง วัดชัยนาม บ้านหางนา ม.8 ต�ำบลโพนสูง

วัดโพนทอง หนองสนุน่ ม.7 ต�ำบลโคกงาม วัดโพนลาน บ้านนาหว้า ม.4 ต�ำบลด่านซ้าย วัดโพนศรี บ้านกกแหน ม. 5 ต�ำบลนาดี โพนศรีสว่าง บ้านแก่งม่วง ม.7 ต�ำบลนาดี วัดโพนสว่าง บ้านห้วยน�้ำเมย ม.7 ต�ำบลปากหมัน

วัดโพนสามเสร็จ(โพนสามเสร็จหางนา) บ้านหางนา ม.8 ต�ำบลโพนสูง

วัดมัชฌิมาราม บ้านห้วยหาด ม.2 ต�ำบลโคกงาม

วัดเย็นศรีระธรรมประทีป บ้านหมากแข้ง ม.4 ต�ำบลกกสะทอน

วัดราษฎร์บ�ำรุง

วัดชายแดนสามัคคี

บ้านวังยาว ม.3 ต�ำบลวังยาว

บ้านห้วยลาด ม.8 ต�ำบลนาดี วัดดอนตูม บ้านหนองผือ ม.3 ต�ำบลนาหอ

บ้านน�้ำเย็น ม.2 ต�ำบลกกสะทอน

วัดตรีสวัสดิ์วนาราม บ้านนองสนุ่น ม.7 ต�ำบลโคกงาม

วัดนาหว้าศรัทธาวนาราม บ้านนาหว้าน้อย ม.3 ต�ำบลกกสะทอน

วัดเนินสรวง บ้านหัวฝาย ม.2 ต�ำบลโพนสูง

วัดโนนสว่าง บ้านหนองอุมลัว ม.6 ต�ำบลโพนสูง วัดโนนสว่าง(โพนสว่างนาทอง) บ้านนาทอง ม.1 ต�ำบลปากหมัน

วัดโนนสว่างสามัคคี บ้านห้วยมุ่น ม.5 ต�ำบลกกสะทอน

วัดป่าเขาแก้ว บ้านนาสีเทียน ม.10 ต�ำบลด่านซ้าย

วัดป่าพุทธปทีป บ้านน�้ำหมัน ม.1 ต�ำบลกกสะทอน

วัดป่าผาซ�ำแคน บ้านผึ้ง ม.2 ต�ำบลวังยาว

วัดป่าลาดหินอินทร์แปลง บ้านห้วยลาด ม.2 ต�ำบลโคกงาม

วัดป่าศรัทธาธรรม บ้านนาหมูม่น ม.2 ต�ำบลนาดี

วัดพระธาตุศรีสองรัก บ้านหัวนายุง ม.14 ต�ำบลด่านซ้าย วัดโพธิ์ศรี บ้านนาดี ม.1 ต�ำบลนาดี วัดโพธิศ์ รี บ้านกกแหนเก่า ม.5 ต�ำบลนาดี

วัดราษฎร์ศรีสว่าง วัดราษฎร์สามัคคี บ้านวังบอน ม.2 ต�ำบลอิปุ่ม วัดศรัทธาธรรม บ้านน�ำ้ พุง ม.3 ต�ำบลโป่ง

วัดศรีเจริญพัฒนา บ้านหัวนาแหลม ม.9 ต�ำบลนาหอ

วัดศรีชมชื่น(ห้วยน�้ำมี) บ้านห้วยน�้ำมี ม.3 ต�ำบลปากหมัน วัดศรีชมภู บ้านเครือคู้ ม.2 ต�ำบลปากหมัน วัดศรีบญ ุ เรือง บ้านนาฮี ม.6 ต�ำบลนาหอ วัดศรีพรหม บ้านทุ่งเทิง ม.5 ต�ำบลโป่ง วัดศรีภูมิ บ้านนาหอ ม.2 ต�ำบลนาหอ วัดศรีมงคล บ้านบุ่งกุ่ม ม.1 ต�ำบลนาหอ วัดศรีสว่าง บ้านทุ่งเทิง ม.5 ต�ำบลโป่ง

วัดศรีสะอาด บ้านหนามแท่ง ม.7 ต�ำบลด่านซ้าย วัดศรีสะอาด บ้านเก่า ม.5 ต�ำบลนาหอ

วัดสว่างวัฒนา(สว่างพัฒนา) บ้านกกจ�ำปา ม.4 ต�ำบลโป่ง

วัดสว่างอรุณ บ้านหนองหลวง ม.4 ต�ำบลโคกงาม วัดสว่างอารมณ์ ม.7 ต�ำบลนาหอ วัดสว่างอารมณ์วัฒนา ม.1 ต�ำบลนาดี

วัดสามัคคีธรรม บ้านหัวนา ม.10 ต�ำบลกกสะทอน

วัดสุวรรณวนาราม

วัดโพธิ์ศรีนาเวียง

บ้านหนองแซง ม.6 ต�ำบลโคกงาม

บ้านนาเวียง ม.12 ต�ำบลด่านซ้าย วัดโพนงาม บ้านห้วยปลาฝา ม.3 ต�ำบลนาดี วัดโพนชัย บ้านเดิ่น ม.3 ต�ำบลด่านซ้าย

บ้านหนองแข้ง ม.4 ต�ำบลกกสะทอน

วัดโพนแท่น บ้านปากหมัน ม.4 ต�ำบลปากหมัน

อ�ำเภอภูกระดึง วัดจันทราราม บ้านห้วยคะมะ ม.2 ต�ำบลภูกระดึง

วัดเฉลียงทอง บ้านนายางเหนือ ม.4 ต�ำบลภูกระดึง

วัดช่องฝาง บ้านช่องฝาง ม.5 ต�ำบลผานกเค้า

วัดซ�ำไฮพัฒนาราม บ้านซ�ำไฮ ม.10 ต�ำบลผานกเค้า

วัดดอยสุวรรณ บ้านวังน�้ำย้อย ม.6 ต�ำบลผานกเค้า

วัดถ�้ำจตุบูรพันคูหา บ้านศรีรักษา ม.6 ต�ำบลผานกเค้า วัดถ�ำ้ ผาฆ้อง บ้านผาฆ้อง ม.7 ต�ำบลห้วยส้ม

วัดถิ่นฐานรังสิต บ้านหนองตูม ม.7 ต�ำบลภูกระดึง

วัดแท่นศิลาอาสน์ บ้านนาน้อย ม.7 ต�ำบลศรีฐาน

90

วัดสันติธรรม วัดใหม่สามัคคีชายแดน บ้านนาข่า ม.5 ต�ำบลปากหมัน

วัดเนรมิตวิปัสสนา บ้านหัวนายูง ม.14 ต�ำบลด่านซ้าย

อ�ำเภอนาแห้ว วัดเขาน�้ำริน บ้านบุ่ง ม.6 ต�ำบลนาแห้ว วัดคีรีราษฎร์วนาราม บ้านนาผักก้าม ม.4 ต�ำบลเหล่ากอหก

วัดโคกสว่างพัฒนา(ป่าธรรมมาราม) บ้านหนองหวาย ม.5 ต�ำบลนามาลา

วัดโคกสว่างวารี บ้านซ�ำทอง ม.4 ต�ำบลนามาลา

วัดชัยมงคล บ้านใหม่นาแห้ว ม.5 ต�ำบลนาแห้ว

วัดถ�้ำผากลอง บ้านนาท่อน ม.4 ต�ำบลนาพึง

อ�ำเภอภูเรือ วัดเทพนิมิต บ้านแก่งเกลี้ยง ม.7 ต�ำบลร่องจิก

วัดโนนทอง บ้านแก่งม่วง ม.3 ต�ำบลท่าศาลา

วัดประชาสามัคคี บ้านหนองบง ม.4 ต�ำบลหนองบัว

วัดป่าแก่งธรรมาราม บ้านแก่ง ม.1 ต�ำบลร่องจิก

วัดป่ากุสลธโร บ้านสานตม ม.1 ต�ำบลสานตม

วัดป่าโคนผง บ้านโคนผง ม.9 ต�ำบลสานตม

วัดป่าถ�้ำมูล บ้านถ�้ำมูล ม.4 ต�ำบลสานตม

วัดป่าบ้านนาคูณ บ้านนาคูณ ม.3 ต�ำบลร่องจิก

วัดธาตุดินแทน

วัดภูกรงไก่ธรรมราม

บ้านหัวนา ม.3 ต�ำบลแสงภา

บ้านนาลึ่ง ม.3 ต�ำบลเหล่ากอหก

วัดโนนสว่างสามัคคี(โนนสว่าง)

วัดราษฎร์ประสงค์สามัคคี

บ้านเหล่ากอหก ม.1 ต�ำบลเหล่ากอหก

บ้านลาด ม.6 ต�ำบลนาพึง

วัดโนนอุดม

วัดศรีชมชื่น

บ้านนามาลา ม.1 ต�ำบลนามาลา

บ้านนาท่อน ม.4 ต�ำบลนาพึง วัดศรีโพธิช์ ยั บ้านแสงภา ม.1 ต�ำบลแสงภา

วัดป่าวิเวกธรรม บ้านนาซาก ม.5 ต�ำบลเหล่ากอหก

วัดศรีสว่างมงคล

วัดป่าสันติธรรม

บ้านนาแห้วเก่า ม.1 ต�ำบลนาแห้ว

บ้านกลาง ม.8 ต�ำบลนาพึง วัดโพธิ์ชัย บ้านนาพึง ม.1 ต�ำบลนาพึง

บ้านโคก ม.6 ต�ำบลนามาลา

วัดศรีสุทธาพัฒนาราม

วัดโพนสว่างพัฒนาราม

วัดสีมาพัฒนาราม

บ้านเหมืองแพร่ ม.3 ต�ำบลนาแห้ว

บ้านหนองสิม ม.7 ต�ำบลนามาลา

วัดโพธิ์ศรี

วัดศรีทองพัฒนาราม

บ้านกกโพธิ์ ม.8 ต�ำบลร่องจิก

วัดโพธิ์สว่าง

บ้านห้วยติ้ว ม.5 ต�ำบลลาดค่าง วัดศรีบญ ุ เรือง บ้านแก่ง ม.1 ต�ำบลร่องจิก

บ้านกกโพธิ์แสนเอี้ยม ม.5 ต�ำบลร่องจิก

วัดศรีพันดอน

วัดโพนงาม

บ้านร่องจิก ม.2 ต�ำบลร่องจิก

บ้านลาดค่าง ม.4 ต�ำบลลาดค่าง

วัดศรีภูเรือ

วัดโพนงาม

บ้านหนองเสือคราง ม.2 ต�ำบลหนองบัว

บ้านแก่งไฮ ม.1 ต�ำบลหนองบัว

วัดสมเด็จภูเรือ

วัดโพนทอง

บ้านป่าจันตม ม.6 ต�ำบลหนองบัว

บ้านหนองบัว ม.7 ต�ำบลหนองบัว

วัดสระแก้ว (สระแก้วสามัคคีธรรม)

วัดโพนสว่าง

บ้านนาด่าน ม.4 ต�ำบลร่องจิก วัดหินสอ บ้านหินสอ ม. 6 ต�ำบลปลาบ่า

บ้านส�ำราญ ม.7 ต�ำบลท่าศาลา วัดโพนสว่าง บ้านแก่งแล่น ม.6 ต�ำบลร่องจิก

วัดโพนสว่าง บ้านสองคอน ม.2 ต�ำบลปลาบ่า วัดวารีสาร บ้านปลาบ่า ม.1 ต�ำบลปลาบ่า

วัดอรุณราษฎร์สามัคคี บ้านถ�้ำมูล ม.4 ต�ำบลสานตม วัดอัมพวัน บ้านขามป้อม ม.9 ต�ำบลร่องจิก วัดเอราวัณ บ้านกลาง ม.3 ต�ำบลปลาบ่า

วัดศรีตรัยภูมิ บ้านโนนแสงแก้ว ม.10 ต�ำบลร่องจิก

วัดป่าม่วงไข่ บ้านม่วงไข่ ม.8 ต�ำบลสานตม

วัดป่าสานตม บ้านสานตม ม.1 ต�ำบลสานตม

วัดป่าห้วยลาด บ้านห้วยลาด ม.3 ต�ำบลสานตม วัดโป่งกวาง บ้านโป่งกวาง ม. 4 ต�ำบลปลาบ่า วัดโพธิ์ชัย บ้านไฮตาก ต�ำบลลาดค่าง

วัดโพธิ์ชัย บ้านท่าศาลา ม.5 ต�ำบลท่าศาลา

วัดโพธิ์ทอง บ้านหนองแซง ม.2 ต�ำบลสานตม

วัดธาตุเจดีย์

วัดป่าภูรัง

วัดวิสุทธิมรรคบรรพต

วัดศรีสะอาด

บ้านนายางใต้ ม.5 ต�ำบลภูกระดึง

บ้านทานตะวัน ม.11 ต�ำบลศรีฐาน

บ้านห้วยส้มเหนือ ม.1 ต�ำบลห้วยส้ม

วัดโนนโพนทอง

วัดป่าภูริทัต

บ้านวังลาน ม.8 ต�ำบลผานกเค้า วัดเวฬุวัน บ้านนาโก ม.6 ต�ำบลศรีฐาน

บ้านหนองตูม(โนนโพนทอง) ม.2 ต�ำบลผานกเค้า

บ้านสะพานยาว ม.3 ต�ำบลห้วยส้ม

วัดศรีกัมพล

บ้านห้วยไผ่ ม.4 ต�ำบลห้วยส้ม

วัดป่าวังยาง

บ้านห้วยส้มใต้ ม.5 ต�ำบลผานกเค้า

วัดสะพานยาว

วัดบรรพตวนาราม

บ้านวังยาง ม.4 ต�ำบลศรีฐาน

วัดศรีชมภู

บ้านวงเวียน ม.3 ต�ำบลภูกระดึง

วัดป่าสวนธรรมวิเวก(ป่าธรรมวิเวก)

บ้านพองหนีบ ม.5 ต�ำบลศรีฐาน

วัดปรางค์สามยอด

บ้านหนองอีเลิง ม.10 ต�ำบลศรีฐาน

วัดศรีทัศน์

บ้านสะพานยาว ม.3 ต�ำบลห้วยส้ม วัดสายทอง บ้านนาอีเลิศ ม.3 ต�ำบลศรีฐาน วัดสี่แยก บ้านซ�ำบ่าง ม.5 ต�ำบลห้วยส้ม

บ้านผาสามยอด ม.1 ต�ำบลผานกเค้า

วัดผาแดงพัฒนา(ผาแดงพัฒนาราม) บ้านศรีศักดา ม.3 ต�ำบลผานกเค้า

บ้านศรีฐาน ม.1 ต�ำบลศรีฐาน วัดศรีพรหมา ม.6 ต�ำบลห้วยส้ม

วัดหนองโสน

วัดปวิเวการาม บ้านทุ่งใหญ่ ม.1 ต�ำบลทุ่งใหญ่

วัดผานกเค้า

วัดศรีพัฒนา

วัดห้วยกองข้าว(ห้วยก่องข้าวพัฒนา)

วัดป่าเทพนิมิตมงคล

บ้านผานกเค้า ม.1 ต�ำบลผานกเค้า

บ้านศรีพัฒนา ม.7 ต�ำบลผานกเค้า

ม.11 ต�ำบลผานกเค้า

บ้านห้วยส้ม ม.1 ต�ำบลห้วยส้ม

วัดพองโกพัฒนาราม

วัดศรีภูกระดึงพัฒนาราม

วัดห้วยเดื่อวนาราม

วัดป่าบ�ำรุงจิต

บ้านวังยาง ม.11 ต�ำบลศรีฐาน

บ้านวงเวียน ม.3 ต�ำบลภูกระดึง

บ้านห้วยเดื่อ ม.8 ต�ำบลศรีฐาน

บ้านวังลาน ม.7 ต�ำบลผานกเค้า

วัดพุทธราราม(พุทธาราม)

วัดศรีวังลาน

วัดห้วยหมาก

วัดป่าเปลือย

บ้านมีชัย ม.2 ต�ำบลห้วยส้ม

บ้านวังลาน ม.8 ต�ำบลผานกเค้า

บ้านห้วยหมาก ม.9 ต�ำบลผานกเค้า

บ้านสงป่าเปลือย ม.6 ต�ำบลภูกระดึง

วัดโพธิ์ตาก

วัดศรีสมชาติ

วัดแหลมทองพัฒนา

วัดป่าภูกระดึง

บ้านนาแปน ม.2 ต�ำบลศรีฐาน

บ้านหนองตูม ม.6 ต�ำบลห้วยส้ม

บ้านศรีรักษา ม.6 ต�ำบลผานกเค้า

บ้านหนองอีเลิง ม.10 ต�ำบลศรีฐาน

วัดโพธิ์นิมิต

วัดศรีสว่าง

วัดอินทราราม

บ้านนาแปนใต้ ม.9 ต�ำบลศรีฐาน

บ้านทุ่งใหญ่ ม.1 ต�ำบลภูกระดึง

บ้านห้วยส้มใต้ ม.7 ต�ำบลผานกเค้า

วัดศิริมงคล

บ้านภูกระดึง ม.9 ต�ำบลภูกระดึง

SBL บันทึกประเทศไทย I เลย

.indd 90

22/2/2562 14:45:51


H I STO R Y O F B U DDH I S M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดโพนชัย

วัดเก่าแก่สมัยเจ้าเมืองเชียงคาน พระครูปิยสมาจาร ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดโพนชัย

ประวั ติ วั ด โพนชัย

วัดโพนชัย ตั้งอยู่เลขที่ 351 บ้านเชียงคาน ต�ำบลเชียงคาน อ�ำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ห่างจาก อ�ำเภอเชียงคานประมาณ 1.5 กิโลเมตร สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2443 โดยมี ญาผ่อจานญา(ญาครูญา) และพระยาศรีอรรคฮาด เจ้าเมือง เชี ย งคานเป็ น ผู ้ ก ่ อ สร้ า งคู ่ กั บ เมื อ งเชี ย งคาน เพื่ อ ให้ บ ่ า วไพร่ ได้เข้าไปบ�ำเพ็ญกุศลและพักอาศัย พร้อมทั้งเป็นสถานที่ประชุม ปรึกษาหารืองานราชการต่างๆ ให้กับชาวบ้าน ในสมัยโบราณ จะอาศัยศาลาวัด เป็นจุดรวมของประชาชน จึงนิยมสร้างวัดใกล้กบั ที่ว่าการของเจ้าเมือง ต่อมาเมือ่ พ.ศ. 2452 เมืองเชียงคานซึง่ มีพระยาศรีอรรคฮาด เป็ น เจ้ า เมื อ ง ได้ ตั้ ง เป็ น อ� ำ เภอขึ้ น กั บจั ง หวั ด เลยและพระยา ศรีอรรคฮาดได้รับต�ำแหน่งเป็นนายอ�ำเภอคนแรกของเชียงคาน

ปูชนียวัต ถุส�ำคัญ

1. พระพุทธรูปในพระอุโบสถ ซึง่ เป็นพระคูก่ บั เมืองเชียงคาน สมัยพระยาศรีอรรคฮาด 2. ธาตุอัฐิของเจ้าเมืองเชียงคาน

ท�ำเนียบเจ้าอาวาส

1. ญาคูญา 2. พระครูพิศาล 3. พระเผย 4. เจ้าอธิการยนต์ยนตธมโม 5. พระมหาด�ำ 6. พระหมาย 7. พระทรงศักดิ์ 8. พระค�ำตัน 9. พระอธิการบุญรอดธมมกาโม 10. พระครูมงคลโชติคุณ 11. พระครูปิยสมาจาร

พ.ศ. 2443 - 2481 พ.ศ. 2481 - 2502 พ.ศ. 2507 - 2509 พ.ศ. 2509 - 2517 พ.ศ. 2517 - 2519 พ.ศ. 2519 - 2522 พ.ศ. 2522 - 2526 พ.ศ. 2526 - 2527 พ.ศ. 2527 - 2535 พ.ศ. 2535 - 2553 พ.ศ. 2555 - ปัจจุบัน

LOEI I SBL บันทึกประเทศไทย

เอกลักษณ์และจุดเด่นของวัดดงตะขบประกอบด้วย

.indd 91

91

22/02/62 17:45:14


H I STO R Y O F B U DDH I S M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดป่าใต้

อุโบสถเก่าแก่ สไตล์หลวงพระบาง พระครูปิยธรรมนิวิฐ (บุญยก กนฺตธมโม) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดป่าใต้ เจ้าคณะต�ำบลธาตุ

วั ด ป่ า ใต้ ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 383 หมู ่ ที่ 2 ถนนศรี เ ชี ย งคาน บ้านเชียงคาน ต�ำบลเชียงคาน อ�ำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย 42110 โทรศัพท์ (042)-821-365 หรือ 08-9575-4689 สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย เนื้อที่ 8 ไร่ 3 งาน 20 ตารางวา วัดป่าใต้ มีอาคารเสนาสนะประกอบด้วย ศาลาการเปรียญ กุฏิสงฆ์ 5 หลัง โรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกธรรม ศูนย์ศึกษา พระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ หน่วยพุทธมามกะอบรมประชาชน ห้องสมุดประจ�ำวัด ห้องน�ำ ้ เจดีย์ อุโบสถเก่าแก่แบบหลวงพระบาง มีภาพจิตรกรรมฝาผนังอุโบสถ รูปพระเวสสันดร ปูชนียวัตถุ มีพระพุทธรูปทอง หน้าตัก กว้าง 2 เมตร พระพุทธรูปไม้ยืน สูง 2 เมตร มีตหู้ นังสือพระธรรมใบลาน มีฆอ้ งใหญ่ หน้ากว้าง 1 เมตร มีฉาบและของเก่าวัตถุโบราณทีว่ ดั สะสมไว้ทำ� พิพธิ ภัณฑ์ของวัดป่าใต้ และวัตถุมงคลให้บูชา เหรียญหลวงพ่อใหญ่ สมเด็จพุทธภูมิ พระปิดตา พระนางพญา พระสมเด็จวัดระฆัง และเหรียญวัตถุ มงคลต่างๆ ให้บูชา

รายนามเจ้าอาวาส

92

1. พระครูศรี สิริสุโข พ.ศ. 2415 - 2450 2. พระอธิการชาเนตร เตชธมฺโม พ.ศ. 2450 - 2482 3. พระอธิการแดง ธมฺมธโร พ.ศ. 2482 - 2488 4. พระอธิการเขียน เขมธมฺโม พ.ศ. 2488 - 2493 5. พระอธิการบุญเพ็ง จนฺทาโภ พ.ศ. 2493 - 2496 6. พระปลัดสมร ปภากโร พ.ศ. 2496 - 2506 7. พระอธิการสีทา ขนฺตพโล พ.ศ. 2506 - 2508 8. พระอธิการสมดี สุภทฺโท พ.ศ. 2508 - 2511 9. พระอธิการอภิรมย์ อชิโต พ.ศ. 2511 - 2520 10. พระครูปยิ ธรรมนิวฐิ (บุญยก กนฺตธมโม) พ.ศ.2520 - ปัจจุบนั

อาคารพิพิธภัณฑ์สงฆ์วัดป่าใต้ อาคารพิพิธภัณฑ์ 5 ชั้น มีขนาด กว้าง 12 เมตร ยาว 26 เมตรสูง 25 เมตร ชั้นที่ 1-2 เปิดให้ผู้สูงอายุไปร่วมปฏิบัติธรรมหรือให้นักเรียนพักเป็นคณะ ได้ประมาณ 100 คนขึ้นไป ชั้นที่ 3 เป็นอาคารพิพิธภัณฑ์มี พระปางต่างๆ ให้ชม ชั้นที่ 4 เป็นพระแก้ว พระบางเชียงคาน ชั้ น ที่ 5 เป็ น จุ ด ชมวิ ว ชมทิ ว ทั ศ น์ ของเมื อ งเชี ย งคาน และ ไหว้พระบรมสารีริกธาตุ บันทึก

วัดป่าใต้ วัดป่าใต้ ตั้งวัดขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2415 เดิมเป็นวัดป่า พระธุดงค์ได้มาพักปักกลดและจ�ำพรรษา เพราะแต่เดิม เป็นป่าร่มเงียบสงบ ต่อมาพระครูศรี สิรสิ โุ ข และหลวงพรหม (ต้นตระกูล ศรีอรรคพรหม) รองเจ้าเมืองเชียงคาน พร้อม ชาวบ้านเชียงคานได้ร่วมกันสร้างถาวรวัตถุ มีกุฏิให้มั่นคง ถาวรยิ่งขึ้น ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2424 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 20 เมตร ยาว 40 เมตร

SBL บันทึกประเทศไทย I เลย

เอกลักษณ์และจุดเด่นของวัดดงตะขบประกอบด้วย

.indd 92

ติดต่อสอบถามข้อมูล วัต ถุมงคลได้ที่วั ดป่ าใต้

23/2/2562 16:59:42


WAT PA TAI Wat pa Tai is under the Maha Nikaya Buddhist congregation establishing in 1872 which originally is Wat Pa (forest monastery) with pilgrimage monks who came and settled the long-handled umbrella and stayed there because it is a cool and pleasant forest.Next, Phrakhu Sri Sirisukho and Luang Phrom (patriarch of Si-akkaphrom), Vice governor of Chiangkan along with Chiangkan people together in creating permanent object like monk’s residence to be more secure.lt was received the Visungkhammasima (fixed temple area) on February 16th, 1981. Nowadays,it is led by Phrakhu Piyadhamvinit as an abbot. The important buildings in the temple consist of a sermon hall, monk’s residence, Phra Pariyuttitham School Dhamma Division, Sunday Buddhist Study Center, Buddhamamaka unit for training people, temple’s library, Luang Phra Bang-liked ancient Uposatha with the wall painting of Phra Vessantara. The sacred objects consist of golden Buddha statue,2 meters-height standing Buddha wood statue, golden Buddha statue with 5 inches lap width. Furthermore, there are bookshelf of palm leaf manuscripts of Dhamma, Big gong, ancients items collected by the temple for making a museum of Wat Pa Tai and holy amulets for worshipping,i.e.Luang Phor Yai coin, Somdet Buddhabhumi, Phra Pitta,Phra Nang Phaya. Wat Pa Tai would like to invite you to be a host for constructing the Sangha museum building, Cultural center of Chiangkan city and Buddhist library, Wat Pa Tai, in order to conserve ancient iteme to people in next generation to know and realize about historical background of Chiangkan city. The building is 12 meters width, 20 meters length, 25 meters height, and there are 5 floors to the pagoda. Anyone with kind heart can donate with the abbot of Wat Pa Tai Tel.(042)-821-365 or 08-9575-4689 LOEI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 93

พระประธานอุ โ บสถกลางน�้ ำ

93

22/02/62 17:43:46


H I STO R Y O F B U DDH I S M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดภูช้างน้อย

หลวงปู่ใหญ่ พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ พระครูกิตติสารธาดา ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดภูช้างน้อย

วั ด ภู ช ้ า งน้ อ ย ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 1 หมู ่ ที่ 6 บ้ า นท่ า นาจั น ทร์ ต�ำบลเชียงคาน อ�ำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย โฉนดที่ดิน เลขที่ 20909 มีเนื้อที่ 140 ไร่ 3 งาน 9 ตารางวา ออก ณ วันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2546 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา วันที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2556 ที่มาของภูช้างน้อย เมื่อมองดูในระยะไกล รูปลักษณะภูเขาจะคล้ายกับช้างน้อย หรือพื้นที่แห่งนี้เคยเป็น ป่าส�ำหรับเลี้ยงช้างที่น�ำมาลากซุงในสมัยก่อน วัดภูช้างน้อย ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ.2410 มีเนื้อที่ประมาณ 500 ไร่ พ.ศ. 2480 หลวงพ่อเจ้าคุณพระวิชิตธรรมาจารย์ และหลวงพ่อ มหาบุญหนัก เข้ามาบูรณะสร้างกุฏจิ ำ� นวน 2 หลัง ต่อมาหลวงพ่อ พระครูสุขุมบุญโสภณ เจ้าคณะต�ำบลเชียงคาน เขต 2 เสนอ แต่งตั้งให้ หลวงพ่อรอดเป็นเจ้าอาวาส พ.ศ. 2542 หลวงพ่อ พระครูสิริปัญญาวิสุทธิ์ และพระครูกิตติสารธาดา เจ้าอาวาส ในปัจจุบัน มาอยู่จ�ำพรรษา และได้บูรณะต่อเติมอาคารอุโบสถ และสร้างองค์พระพุทธรูปขนาดหน้าตัก 9 เมตร พระศากยะมุนี ศรีเชียงคาน บนยอดเขาเสร็จสมบูรณ์

บันทึก

บันทึกหลวงปู่ ใหญ่ พระพุทธรู ปศั กดิ์ สิ ทธิ์ ในปี พ.ศ. 2514 หลวงพ่อบุญสม ขณะที่จ�ำพรรษา ได้พาศรัทธาญาติโยมสร้างศาลาและองค์ ”หลวงปู่ใหญ่” ขนาดหน้าตัก 1.50 เมตร เป็นองค์พระประธาน ทีช่ าวบ้าน ให้ เ คารพศรั ท ธาว่ า ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ม าก อธิ ษ ฐานขอพรเมื่ อ ส�ำเร็จแล้วจะต้องแก้ด้วยดอกไม้แดง (แบงก์ร้อย)

94

SBL บันทึกประเทศไทย I เลย

เอกลักษณ์และจุดเด่นของวัดดงตะขบประกอบด้วย

.indd 94

22/02/62 17:53:39


HIST ORY O F BU DDHI SM

บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

หลวงพ่ อโม ถาวโร (รุ่นรวยทรัพย์)

บูชากล่องละ 299 บาท เหรียญละ 199 บาท

วัดสวนธรรมเทวราช พระครูปลัดโม ถาวโร ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดสวนธรรมเทวราช เจ้าคณะต�ำบลเขาแก้ว เขต2

วัดสวนธรรมเทวราช ตั้งอยู่ที่ต�ำบลธาตุ อ�ำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย 42110 โทรศัพท์ 08-0009-6763 เลขทีบ่ ญ ั ชี 986-3-87113-3 ธนาคารกรุงไทย สาขาเชียงคาน

บันทึก

พระครูปลัดโม ถาวโร พระครูปลัดโม ฉายา ถาวโร ต�ำแหน่งพระวินยาธิการ จังหวัดเลย อุปสมบท เมื่อวันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2554 (อายุ 37 ปี) ณ วัดจอมทองอุดมราษฎร์ ต�ำบลบ้านหม้อ อ� ำ เภอศรี เ ชี ย งใหม่ จั ง หวั ด หนองคาย พระอุ ป ั ช ฌาย์ พระครูประทุมธรรมสถิต พระกรรมวาจาจารย์ พระสมศักดิ์ สุนทฺ โร พระอนุสาวนาจารย์ พระมหารังสรรค์ จนฺทโสตโณ

LOEI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 95 เอกลั กษณ์และจุดเด่นของวัดดงตะขบประกอบด้วย

95

- 27/02/2562 11:54:35 AM


H I STO R Y O F B U DDH I S M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดศรีพนมมาศ (วัดโถ่ง) มุ่งมั่นพัฒนาวัดให้มีความเจริญรุ่งเรือง พระครูวิชัยธรรมโกศล ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดศรีพนมมาศ

วั ด ศรี พ นมมาศ หรื อ “วั ด โถ่ ง ” ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 384 หมู ่ 2 ต�ำบลเชียงคาน อ�ำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย สังกัดคณะสงฆ์ธรรมยุต วัดตั้งเมื่อ พ.ศ. 2482 โดยมี พระมหาบุญหนัก สิริปุณโญ เป็นประธาน ฝ่ า ยสงฆ์ พร้ อ มด้ ว ยชาวเชี ย งคานสร้ า งขึ้ น บนที่ ดิ น ป่ า ช้ า ได้ รั บ พระราชทานวิสุง คามสีมา เมื่อ วันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2502 ตาม ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 76 ตอนที่ 44 ลงวันที่ 1 เมษายน ปั จ จุ บั น วั ด ศรี พ นมมาศ มี ก� ำ แพงรอบทั้ ง หมด 75 ไร่ มี ป ระตู เข้ า ออก 2 ด้าน ด้านหนึ่ง เข้าทางหน้าศาลา ประตูที่ 2 เข้าทางประตู ศาลาบ� ำ เพ็ ญ กุศล ซึ่ง ประตูทั้ง สองของวัด จะอยู่ท างทิศเหนือ 96

SBL บันทึกประเทศไทย I เลย

.indd 96

22/02/62 16:35:49


ปูชนียวัต ถุและสิ่งศักดิ์สิทธิ์

พระประธาน พระเจดีย์ศรีพนมมาศ พระแก้วมรกตจ�ำลอง รูปเหมือนบูรพาจารย์สายพระป่ากรรมฐาน 12 องค์ หัวใจเจ้าแม่ตะเคียนทอง

รายนามเจ้าอาวาส

1. หลวงพ่อมหาบุญหนัก 2. พระอาจารย์บุรุษ 3. หลวงพ่อจัน ผา 4. พระอาจารย์หนัก 5. พระอาจารย์สายทอง 6. พระอาจารย์ไสว 7. พระอาจารย์จันดา จนฺทูปโม (อดีตเจ้าอาวาส) หลวงปู่แก้ว 8. จารุโชติโก (อดีตเจ้าอาวาส) 9. พระครูวิชัยธรรมโกศล (บรรจบ กตกุสโล) รูปปัจจุบัน

ประวัติพ ระครูวิชัยธรรมโกศล

พระครูวิชัยธรรมโกศล ฉายา “กตกุสโล” อายุ 54 พรรษา 28 นักธรรมเอก สถานะเดิม นายบรรจบ จันทะมี เกิดเมื่อวันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2504 บ้านเลขที่ 258 หมู่ 2 อ�ำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย เป็นบุตรของคุณพ่อสุรินทร์ คุณแม่แก้ว จันทะมี อุปสมบท เมื่ออายุ 27 ปี ฉายา “กตกุสโล” ณ วัดศรีโพนแท่น บ้านนาซ่าว อ�ำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย พระอุปัชฌาย์ คือ พระราชศีลสังวร (โสภณ สุทฺธจนฺโท) ที่ชาวบ้านเรียกติดปากว่า “เจ้าคุณนาซ่าว” มีพระมหาก้าน “มงฺคลิโก” เป็นพระกรรมวาจาจารย์

LOEI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 97

97

23/2/2562 16:57:08


W O R K L IF E

บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล

องค์การบริหารส่วนต�ำบลปากหมัน ต�ำบลปากหมันตั้งอยู่ที่ ต�ำบลปากหมัน อ�ำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย 42120 โทรศัพท์ : 0-4203-9910 โทรสาร : 0-4203-9910 Website : www.pakman.go.th Email : pakman6420507@pakman.go.th

นายมงคล สารมะโน

นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลปากหมัน

กลุ่มสตรีทอผ้า บ้านเครือคู้

จุดผ่อนปรนชายแดนบ้านนาข่า

เป็นจุดผ่อนปรนการค้าชายแดนระหว่างไทย จุดเด่นการพัฒนาลายผ้าจากผ้าสีพื้นทั่วไป - สปป.ลาว เพื่อช่วยเหลือประเทศเพื่อนบ้าน เป็นการทอผ้าลายผีตาโขน คือ ลวดลายที่ปรากฏ ด้านมนุษยธรรม และสร้างความสัมพันธ์ ไมตรี เป็นผ้ามัดหมีเ่ ป็นรูปหน้าผีตาโขน ซึง่ เป็นลักษณะ ต่อกันแน่นแฟ้นยิ่งขึ้น ส่วนใหญ่สินค้าส่งออกเป็น ท่าทางการละเล่นผีตาโขน โดยเป็นการน�ำเอา สินค้าอุปโภคและบริโภค ที่จ�ำเป็นต้องใช้ในชีวิต ภู มิ ป ั ญ ญาการทอผ้ า ผสมผสานกั บ การเสนอ ประจ�ำวัน และสินค้าน�ำเข้าเป็นสินค้าทางการเกษตร ประเพณี วั ฒ นธรรมอั น ดี ง ามเหมาะที่ จ ะเป็ น จะเปิดทุกวันพฤหัสบดีเป็นตลาดนัดซือ้ ขายกันทัง้ วัน ของที่ระลึก และน�ำผ้าไปตัดเสื้อผ้าสวมใส่ได้ 98

.

.indd 98

ภูอีเลิศบ้านปากหมัน

เป็นป่าชุมชนที่อนุรักษ์ไว้แก่ลูกหลาน ได้รับ รางวัลรองชนะเลิศระดับประเทศปี 2561 บริหาร จัดการโดยชุมชน ชมภูอเี ลิศบรรยากาศธรรมชาติ สุดอันซีน เป็นจุดชมทะเลหมอกรอยเขตติดต่อ สองแผ่นดินไทย - สปป.ลาว พื้นที่บนภูอีเลิศเป็น ป่าธรรมชาติทมี่ ปี า่ ไม้อดุ มสมบูรณ์นานาชนิด มีจดุ กางเต้นท์บริการ โฮมสเตย์ และถ่ายภาพเช็คอิน เหมาะแก่การเดินชมป่าเชิงนิเวศน์

SBL บันทึกประเทศไทย I เลย

22/02/62 12:02:29


THE IMPORTANT TEMPLES LOEI

อ�ำเภอวังสะพุง วัดกูค่ ำ� บ้านทรายขาว ม.5 ต�ำบลทรายขาว วัดเกาะแก้ว บ้านกุดแก ม.2 ต�ำบลผาน้อย วัดเกาะแก้ว บ้านหินกิ้งใหม่ ม.5 ต�ำบลโคกขมิ้น

วัดแก่งสาคร บ้านแก่งสาคร ม.6 ต�ำบลผาบิ้ง

วัดโคกสว่างสามัคคี บ้านโคกสว่าง ม.6 ต�ำบลโคกขมิ้น

วัดจอมมณี บ้านปากเป่ง ม.4 ต�ำบลวังสะพุง วัดจอมศรีสว่าง บ้านโนน ม.11 ทรายขาว วัดจันทรังษี ฟากเลย ม.4 ต�ำบลศรีสงคราม

วัดจ�ำแลงพัฒนาราม บ้านวังน�้ำเย็น ม.11 ต�ำบลวังสะพุง

วัดดอนทอง บ้านหนองงิ้ว ม.1 ต�ำบลหนองงิ้ว

วัดดอยวิเวก บ้านผาน้อย ม.1 ต�ำบลผาน้อย

วัดตะนาวศรี บ้านฟากห้วย ม.13 ต�ำบลทรายขาว

วัดไตรมิตรวิทยาราม บ้านโคกมน ม.6 ต�ำบลผาน้อย

วัดถ�้ำคูหาวารี บ้านโนนสว่าง ม.8 ต�ำบลโคกขมิ้น

วัดถ�้ำป่าสัก บ้านดงน้อย ม.8 ต�ำบลศรีสงคราม

วัดถ�้ำผาบิ้ง บ้านนาแก ม.2 ต�ำบลผาบิ้ง วัดถ�้ำผาฝาง ม.4 ต�ำบลผาบิ้ง

วัดถ�้ำผาพุง บ้านแก่งหิน ม.4 ต�ำบลเขาหลวง

วัดถ�้ำผาสิงห์ บ้านโนนสมบูรณ์ ม.11 ต�ำบลหนองหญ้าปล้อง

วัดถ�้ำผาหมากฮ่อ บ้านดงน้อย ม.8 ศรีสงคราม

วัดถ�้ำผาใหญ่ บ้านใหม่ศรีอบุ ล ม.20 ต�ำบลหนองหญ้าปล้อง

วัดทองสว่างศรีนวล บ้านวังทอง ม.14 ต�ำบลหนองหญ้าปล้อง

วัดทิพย์ชลธาวนาราม บ้านบึงสวรรค์ ม.7 ต�ำบลหนองหญ้าปล้อง

วัดธรรมจาริการาม บ้านเหล่าแปน ม.7 ต�ำบลหนองงิ้ว

วัดนาแกพัฒนาราม บ้านถ�้ำผาบิ้ง ม.5 ต�ำบลผาบิ้ง

วัดนาดอกไม้ บ้านนาดอกไม้ ม.8 ต�ำบลหนองหญ้าปล้อง

วัดนาอีเลิศ บ้านนาอีเลิศ ม.7 ต�ำบลวังสะพุง

วัดโนนกกจาน บ้านโนนกกจาน ม.8 ต�ำบลผาน้อย วัดโนนชัย บ้านป่าเป้า ม.5 ต�ำบลปากปวน

วัดโนนศรีชมพู บ้านศรีสงคราม ม.12 ต�ำบลผาน้อย

วัดโนนศรีสะอาด บ้านโนนฟากเลย ม.9 ต�ำบลผาน้อย

วัดโนนศิลา บ้านโคกหนองแก ม.9 ต�ำบลศรีสงคราม

วัดโนนสมบูรณ์ บ้านโนนสมบูรณ์ ม.11 ต�ำบล หนองหญ้าปล้อง

วัดโนนสวรรค์ บ้านขอนแก่น ม.7 ต�ำบลเขาหลวง

วัดโนนสว่าง บ้านโนน ม.3 ต�ำบลผาน้อย

วัดศรีอุดมวงศ

บ้านนาซ�ำแซง ม.5 ต�ำบลเขาหลวง

วัดโพธิวนาราม ม.1 ต�ำบลปากปวน วัดโพธิช์ ยั บ้านโพนงาม ม.3 ต�ำบลทรายขาว วัดโพธิ์ชัย บ้านวังแท่น ม.4 ต�ำบลผาน้อย วัดโพธิ์ชัย บ้านนาแก ม.2 ต�ำบลผาบิ้ง วัดโพธิ์ชัย บ้านเล้า ม.3 ต�ำบลหนองงิ้ว วัดโพธิ์ชัยสุราราม

วัดศรีอุทัย

วัดป่าบ้านห้วยโจด

วัดโนนส�ำราญ

บ้านโคกขมิ้น ม.1 ต�ำบลโคกขมิ้น

บ้านวังไห ม.4 ต�ำบลหนองหญ้าปล้อง

บ้านห้วยโจด ม.10 ต�ำบลหนองหิน

ม.3 ต�ำบลหนองหญ้าปล้อง

วัดโพธิ์เย็น

วัดศิริธราราม

วัดป่าผาหวาย

วัดบ้านกกเกลือ

บ้านทรายขาว ม.11 ต�ำบลทรายขาว

บ้านลาด ม.7 ต�ำบลโคกขมิ้น

บ้านผาหวาย ม.3 ต�ำบลปวนพุ

บ้านกกเกลือ ม.6 ต�ำบลปากปวน

วัดโพธิ์เย็น

วัดศิริมงคล

วัดป่าพรหมวิหาร

ประชาราษฎร์นิมิต

บ้านน�้ำทบ ม.8 ต�ำบลเขาหลวง

บ้านกลาง ม.13 ต�ำบลผาน้อย

บ้านร่องป่าไผ่ ม.7 ต�ำบลหนองหิน

บ้านนาหลัก ม.6 ต�ำบลวังสะพุง

วัดโพธิ์ศรี

วัดศิลาวราราม

วัดป่าสมัยพัฒนาราม

วัดประชาสรรค์

บ้านนาหลวง ม.9 ต�ำบลเขาหลวง

บ้านโนนกกหาด ม.11 ต�ำบลผาน้อย

บ้านปวนพุ ม.9 ต�ำบลปวนพุ

บ้านบุ่งผักก้าม ม.3 ต�ำบลวังสะพุง

วัดโพนงาม

วัดสว่าง

วัดป่าศิริธรรม

วัดป่ากกเต็น

บ้านกกเกลือ ม.6 ต�ำบลปากปวน

บ้านกลาง ม.1 ต�ำบลหนองหญ้าปล้อง

บ้านห้วยเป้า ม.7 ต�ำบลปวนพุ

บ้านกกเต็น ม.16 ต�ำบลผาน้อย

วัดโพนสว่าง

วัดสามัคคีธรรม

วัดป่าศรีอุบล

วัดป่าคีรีวารินทร์

บ้านโพนทอง ม.8 ต�ำบลทรายขาว

บ้านโคกน้อย ม.3 ต�ำบลโคกขมิ้น

บ้านไร่ศรีอุบล ม.3 ต�ำบลหนองหิน

บ้านเขตอุดมศักดิ์ ม.13 ต�ำบลวังสะพุง

วัดโพนสว่าง

วัดสว่างสามัคคี

วัดป่าสันติธรรม

วัดป่าโคกมน

บ้านนาหนองบง ม.3 ต�ำบลเขาหลวง

บ้านท่าทิศเฮือง ม.7 ต�ำบลปากปวน

บ้านห้วยเดื่อ ม.2 ต�ำบลหนองหิน

บ้านโคกมน ม.17 ต�ำบลผาน้อย

วัดภูตูมวนาราม

วัดสว่างอินทร์แปลง

วัดป่าสามัคคีธรรม

วัดป่าจันทาราม

บ้านทรายขาว ม.5 ต�ำบลทรายขาว

บ้านห้วยไผ่ใต้ ม.6 ต�ำบลหนองหิน บ้านผาฝ้าย ม.11 ต�ำบลปวนพุ

วัดโนนสว่าง บ้านโนนสว่าง ม.6 ต�ำบลศรีสงคราม

วัดโนนสว่างพัฒนา บ้านหนองบง ม.3 ต�ำบลเขาหลวง

วัดโนนสว่างพัฒนาราม

บ้านซ�ำเจริญ ม.1 ต�ำบลปวนพุ

บ้านน้อยนา ม.1 ต�ำบลศรีสงคราม

วัดโนนทราย

วัดศรีอุบลพัฒนาราม

บ้านหนองหมากแก้ว ม.6 ต�ำบลปวนพุ

บ้านศรีอุบลพัฒนา ม. 6 ต�ำบลหนองหญ้าปล้อง

บ้านผาหวาย(ป่าเป้า) ม.3 ต�ำบลปวนพุ

วัดโนนราชน้อย

บ้านขอนยาง ม.9 ต�ำบลโคกขมิ้น

วัดยอดแก้ว

บ้านโนนสมบูรณ์ ม.12 ต�ำบล หนองหญ้าปล้อง

วัดป่าดงบ่อเหล็ก

บ้านนาวัว ม.7 ต�ำบลทรายขาว

วัดสะเพียนทอง(สะเทียนทอง)

บ้านกกเกลือ ม.6 ต�ำบลปากปวน

วัดยอดธาตุ

บ้านนาดอกไม้ ม.8 ต�ำบลหนองหญ้าปล้อง

วัดผาหวายวนาราม

วัดป่าถาวรธรรมสถิตย์

บ้านหนองผ�ำ ม.3 ต�ำบลผาบิ้ง

วัดสังคมวิทยาราม

บ้านผาหวาย ม.3 ต�ำบลปวนพุ

บ้านขัวแตะ ม.12 ต�ำบลหนองหญ้าปล้อง

วัดรัตนรังษี

บ้านกุดฉัน ม.2 ต�ำบลโคกขมิ้น

วัดพรมดีสามัคคี

วัดป่าเทพจินดา

บ้านศรีปทุมวัน ม.14 ต�ำบลผาน้อย

วัดสิงห์ทอง

บ้านห้วยไผ่ใต้ ม.14 ต�ำบลปวนพุ

บ้านนาหลวง ม.9 ต�ำบลเขาหลวง

วัดราษฎร์บูรพาราม

บ้านป่าบง ม.10 ต�ำบลโคกขมิ้น

วัดโพธิ์ชุม

วัดป่าผาช้างโมง

บ้านป่าไม้งาม ม.11 ต�ำบลโคกขมิ้น

วัดสิริปุญญาราม

บ้านปวน ม.1 ต�ำบลปวนพุ

บ้านบึงสวรรค์ ม.7 ต�ำบลหนองหญ้าปล้อง

วัดราษฎร์อุปถัมภ์

บ้านหมากแข้ง ม.9 ต�ำบลหนองงิ้ว

วัดภูค�ำน้อยคีรีเขต

วัดป่าพิทักษ์ ไทย

บ้านตากแดด ม.2 ต�ำบลหนองงิ้ว

วัดหนองหญ้าปล้อง

บ้านโคกใหญ่ ม.3 ต�ำบลตาดข่า

บ้านป่าบง ม.10 ต�ำบลโคกขมิ้น

วัดวังทรายทอง

บ้านหนองนอ ม.9 ต�ำบลหนองหญ้าปล้อง

วัดภูทอง

วัดป่านาหนองบง

บ้านทรายขาว ม.5 ต�ำบลทรายขาว

วัดอัมพวัน

บ้านภูทอง ม.4 ต�ำบลปวนพุ

บ้านนาหนองบง ม.3 ต�ำบลเขาหลวง

วัดวังสะพุงพัฒนาราม

บ้านหินเกิ้งพัฒนา ม.17 ต�ำบลโคกขมิ้น

วัดภูหินกอง

วัดป่าโนนสมบูรณ์

บ้านบุ่งคล้า ม.15 ต�ำบลวังสะพุง

วัดอภิราษฎร์บ�ำรุง

บ้านภูหินกอง ม.2 ต�ำบลหนองหิน

วัดเวฬุคาม

บ้านยางเดี่ยว ม.10 ต�ำบลเขาหลวง

วัดร่มโพธิธรรม

บ้านเล้า ม.2 ต�ำบลวังสะพุง

วัดอินทราราม

บ้านหลักร้อยหกสิบ ม.10 ต�ำบลหนองหิน

วัดป่าบุ่งตาข่าย

วัดศรีเจริญ

บ้านบุ่งกกตาล ม.6 ต�ำบลศรีสงคราม

วัดร่องป่าไผ่

บ้านบุ่งตาข่าย ม.2 ต�ำบลปากปวน

บ้านหนองนอ ม.9 ต�ำบลหนองหญ้าปล้อง

วัดอุทุมพรพัฒนา

บ้านร่องป่าไผ่ ม.7 ต�ำบลหนองหิน

วัดป่าผาเจริญ

วัดศรีชมชื่น

บ้านบุ่งตาข่าย ม.2 ต�ำบลปากปวน

บ้านเล้า ม.2 ต�ำบลวังสะพุง วัดป่าภูทอก บ้านเล้า ม.3 ต�ำบลหนองงิ้ว

บ้านวังสะพุง ม.9 ต�ำบลวังสะพุง

วัดป่าภูแปก

บ้านศรีบุญเรือง ม.10 วังสะพุง

บ้านโนนสมบูรณ์ ม.11 ต�ำบลหนองหญ้าปล้อง

วัดศรีบุญเรือง

วัดป่าปริตบรรพต

บ้านน�้ำจันทร์ ม.4 ต�ำบลหนองงิ้ว

บ้านกกอก ม.8 ต�ำบลหนองงิ้ว

วัดศรีพัฒนาราม

วัดป่าเลไลยก์

ม.13 ต�ำบลโคกขมิ้น

บ้านกลาง ม.1 ต�ำบลหนองหญ้าปล้อง

วัดศรีมงคล

วัดป่าเวฬุวนาราม

บ้านนาแก ม.5 ต�ำบลผาบิ้ง

บ้านโนนกกจาน ม.8 ต�ำบลผาน้อย

วัดศรีมงคลวราราม

วัดป่าศรัทธารวม

บ้านดงน้อย ม.8 ต�ำบลศรีสงคราม

บ้านห้วยทรายค�ำ ม.7 ต�ำบลศรีสงคราม

วัดศรีสมพรวนาราม

วัดป่าสามัคคีธรรมวนาราม

บ้านดงน้อย ม.8 ต�ำบลศรีสงคราม

บ้านหนองปาดฟาน ม.2 ต�ำบลหนองหญ้าปล้อง

วัดศรีษะเกษ บ้านวังเดื่อ ม.4 ต�ำบลปากปวน

วัดป่าสัมมานุสรณ์

วัดศรีสว่าง

บ้านโคกมน ม.6 ต�ำบลผาน้อย

บ้านขอนยาง ม.2 ต�ำบลโคกขมิ้น

วัดป่าแสนส�ำราญ

วัดศรีสว่างจอมแจ้ง

บ้านโนนสว่าง ม.3 ต�ำบลปากปวน

บ้านกกสะทอน ม.2 ต�ำบลเขาหลวง

วัดป่าหนองขาม

วัดศรีสว่างดงเย็น(บ้านกกซ้อ)

บ้านหนองขาม ม.5 ต�ำบลผาน้อย

บ้านกกซ้อ ม.4 ต�ำบลทรายขาว

วัดป่าหนองสิม

วัดศรีสะอาด

บ้านโคกขมิ้นใหม่ ม.20 ต�ำบลโคกขมิ้น

บ้านหนองขาม ม.5 ต�ำบลผาน้อย

วัดผาแก้งยาว

วัดศรีสะอาด

บ้านโคกแฝก ม.7 ต�ำบลผาน้อย

บ้านห้วยผุก ม.1 ต�ำบลเขาหลวง

วัดพัทธสีมาราม

วัดศรีสันตยาราม

บ้านบุ่งผักก้าม ม.3 ต�ำบลวังสะพุง

บ้านปากปวน ม.4 ต�ำบลปากปวน

วัดพุทธเมตตาโสมนัส

วัดศรีสุวรรณวนาราม

บ้านโคกน้อย ม.3 ต�ำบลโคกขมิ้น

บ้านศรีสุวรรณ ม.15 ต�ำบลผาน้อย

วัดราดน้อย บ้านห้วยเดื่อน้อย ม.5 ต�ำบลปวนพุ

วัดไร่ศรีชุมแพ

วัดศรีบุญเรือง

บ้านกกบก ม.5 ต�ำบลหนองงิ้ว

วัดผาฝ้ายพัฒนาราม

อ�ำเภอหนองหิน วัดเกาะแก้วชลที(เกาะแก้วชลธี) บ้านโคกใหญ่ ม.3 ต�ำบลตาดข่า

วัดขามชุม(ขานชูม) บ้านห้วยเดื่อ ม.2 ต�ำบลหนองหิน

วัดค�ำมาประดิษฐ์ บ้านหนองจิก ม.12 ต�ำบลปวนพุ

วัดคุณสมบัติพัฒนา บ้านผางาม ม.10 ต�ำบลปวนพุ

วัดโคกป่าบก บ้านโคกป่าบก ม.1 ต�ำบลปวนพุ

วัดโคกสว่าง บ้านโคกสว่าง ม.2 ต�ำบลปวนพุ

วัดจิตสังคม บ้านห้วยม่วง ม.7 ต�ำบลปวนพุ

วัดตาดข่าพัฒนาราม บ้านตาดข่า ม.6 ต�ำบลตาดข่า

วัดถ�้ำดอกบัว บ้านผางาม ม.10 ต�ำบลปวนพุ

วัดถ�้ำโพธิ์ชัย บ้านผาหวาย ม.3 ต�ำบลปวนพุ

วัดถ�้ำโพธิ์สัตว์ บ้านนาเหล่าน้อย ม.1 ต�ำบลปวนพุ

บ้านไร่ศรีชุมแพ ม.1 ต�ำบลหนองหิน

วัดศรีดวงประทีป บ้านตาดข่า ม.6 ต�ำบลตาดข่า

วัดศรีเทพ บ้านไร่พวย ม.4 ต�ำบลตาดข่า

วัดศรีสมบูรณ์ บ้านห้วยเป้า ม.7 ต�ำบลปวนพุ

วัดศรีหนองหิน บ้านหนองหิน ม.1 ต�ำบลหนองหิน

วัดศรีห้วยเป้า บ้านห้วยเป้าเหนือ ม.7 ต�ำบลปวนพุ

วัดศรีห้วยไผ่ใต้ บ้านห้วยไผ่ใต้ ม.6 ต�ำบลหนองหิน

วัดศรีห้วยไผ่เหนือ บ้านห้วยไผ่เหนือ ม.18 ต�ำบลปวนพุ

วัดศิริเทพ บ้านไร่พวย ม.4 ต�ำบลตาดข่า

วัดสวนห้อม บ้านสวนห้อม ม.12 ต�ำบลปวนพุ

วัดสว่างอารมณ์ บ้านเดื่อน้อย ม.5 ต�ำบลปวนพุ

วัดหลักหกสิบ บ้านหลักร้อยหกสิบ ม. 7 ต�ำบลปวนพุ

วัดเหล่าตุม้ วนาราม(เหล่าตุม้ พัฒนาราม) บ้านเหล่าใหญ่ ม.10 ต�ำบลปวนพุ

วัดนาซ�ำเจริญ

LOEI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 99

99

22/2/2562 14:46:32


H I STO R Y O F B U DDH I S M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดเนรมิตวิปัสสนา พระครูภาวนาวิสุทธาภรณ์ (วิ.)

ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดเนรมิตวิปส ั สนา

100

วัดเนรมิตวิปัสสนา ตั้งอยู่เลขที่ 20 หมู่ที่ 14 บ้านหัวนายูง ต�ำบลด่านซ้าย อ�ำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย 42120 ติดต่อ ทางวัดโทรศัพท์ 0-4289-1226 วัดเนรมิตวิปัสสนา ตั้งสูงเด่นอยู่บนเนินเขาห่างจากพระธาตุ ศรีสองรัก เพียงเล็กน้อย อุโบสถและมณฑป ภายในวัดก่อสร้าง ด้วยศิลาแลงทั้งหลัง มีอุโบสถขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย ตกแต่งอย่างวิจติ รงดงามตามศิลปะภาคกลาง เกิดจากจินตนาและ การสร้างสรรค์โดยพระภิกษุและสามเณร มีภาพจิตรกรรมทีส่ วยงาม ประดับอยูโ่ ดยรอบ มีพระพุทธชินราชจ�ำลองเป็นพระประธาน และ มีหุ่นขี้ผึ้งของหลวงพ่อพระมหาพันธ์ สีลวิสุทโธ ซึ่งเป็น ผู้ริเริ่ม สร้างวัด บริเวณพืน้ ทีโ่ ดยรอบจัดแต่งสวนและต้นไม้ให้รม่ รืน่ สวยงาม ใครเดินทางมาถึงอ�ำเภอด่านซ้าย ต้องไม่ลมื แวะไปนมัสการและเทีย่ วชม

SBL บันทึกประเทศไทย I เลย

.indd 100

22/02/62 18:38:56


ประวัติความเป็นมา

วัดเนรมิตวิปัสสนา ตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2522 โดยพระครูภาวนา วิสุทธิญาน หรือหลวงพ่อมหาพันธ์ สีลวิสุทโธ เจ้าอาวาสรูปแรก เดิมมีชื่อว่า “วัดหัวนายูง” ต่อมาในปี พ.ศ. 2549 เปลี่ยนชื่อเป็น “วัดเนรมิตวิปสั สนา” ขณะทีห่ ลวงพ่อมหาพันธ์ สิลวิสทุ โธ จ�ำพรรษา อยูท่ วี่ ดั จ�ำปา จังหวัดสุรนิ ทร์(บ้านเกิด) ท่านได้ปรารภว่าจะออกเดิน ธุดงค์ แต่ที่ประชุมมีความเห็นว่า หลวงพ่อมีอายุมากเกรงว่าจะ ได้รับความล�ำบาก อยากให้ท่านมีที่พ�ำนักถาวร จะได้เป็นที่อาศัย เป็นเนือ้ นาบุญแก่ญาติโยมทัง้ หลาย ซึง่ หลวงพ่อเองก็เห็นชอบด้วย เดือนมกราคม พ.ศ. 2522 หลวงพ่อเป็นประธานออกเดินธุดงค์ พร้อมด้วยคณะสงฆ์ อุบาสก อุบาสิกา ได้เดินทางไปพ�ำนักอยู่ที่ พระธาตุศรีสองรัก อ�ำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย ระหว่างนัน้ หลวงพ่อ ได้ตัดสินใจหาสถานที่เป็นหลักแหล่งมั่นคงถาวร โดยเลือกพื้นที่ ป่าสงวนแห่งชาติ ซึ่งถูกชาวบ้านบุกรุกเพื่อท�ำไร่เผาถ่านจนมี ลักษณะเป็นที่โล่งเตียน เหมือนภูเขาหัวโล้น ที่เรียกว่า “ภูเปือย” ซึ่ ง ทางวั ด ได้ รั บ อนุ ญ าตให้ เ ข้ า ท� ำ ประโยชน์ ห รื อ อยู ่ อ าศั ย ได้ เมื่อตั้งวัดขึ้นจึงได้ปลูกป่าอนุรักษ์ให้คงสภาพเดิมมากที่สุด เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2522 หลวงพ่อและคณะได้ปักกลดอยู่ ณ ทีต่ งั้ วัด พร้อมกับเร่งด�ำเนินการปลูกสร้างทีพ่ กั อาศัยชัว่ คราวขึน้ จากนัน้ จึงท�ำการปรับพืน้ ที่ ปลูกสร้างถาวรวัตถุ และในปีพ.ศ. 2530 ได้ร่วมกันสร้างอุโบสถ ขนาดกว้าง 40 เมตร ยาว 80 เมตร ขึ้น

พระครูภาวนาวิสุท ธิญาน (วิ.)

บันทึก

เมื่ อ วั น ที่ 20 กั น ยายน พ.ศ. 2540 หลวงพ่ อ พระมหาพันธ์ สีลวิสุทโธ ได้ มรณภาพลง แต่ร่างของท่าน ไม่เน่าเปื่อย ปัจจุบันถูกเก็บไว้ในมณฑปด้านหลังอุโบสถ หลังจากทีห่ ลวงพ่อมรณภาพลง พระครูภาวนาวิสทุ ธาภรณ์ เจ้ า อาวาสรู ป ปั จ จุ บั น ได้ รั บ เป็ น ประธานด�ำ เนิ น การ ก่อสร้างต่อ พร้อมด้วยบรรดาคณะศิษยานุศิษย์ พระภิกษุ สามเณร ข้าราชการ ทหารต�ำรวจ พ่อค้าและประชาชน ชาวอ�ำเภอด่านซ้าย ใช้งบประมาณในการก่อสร้างประมาณ 197 ล้านบาท ใช้เวลาก่อสร้าง 14 ปี จึงแล้วเสร็จ

LOEI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 101

พระประธานอุ โ บสถกลางน�้ ำ

101

23/2/2562 17:07:18


H I STO R Y O F B U DDH I S M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดเครือหงษ์

ประวัติศาสตร์อุโบสถหลังแรกในเขตต�ำบลโป่ง เจ้าอธิการพิ ชิตชัย ธิตมโน ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดเครือหงษ์ เจ้าคณะต�ำบลโป่ง

102

SBL บันทึกประเทศไทย I เลย

เอกลักษณ์และจุดเด่นของวัดดงตะขบประกอบด้วย

.indd 102

22/02/62 16:02:39


วั ด เครื อ หงษ์(บ้านโป่งใหญ่)

ตั้งอยู่เลขที่ 16 ถนนหล่มสัก - เลย หมู่ที่ 1 ต�ำบลโป่ง อ�ำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย สร้างวัด เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2485 ที่ดินตั้งวัดมีเนื้อที่ 5 ไร่ ในแบบกรอกประวัติวัด ชื่อว่า “วัดเครือหงษ์” โดยผู้ใหญ่บ้าน คนเก่าเป็น ผู้สร้าง และใช้นามสกุลของตนตั้งชื่อวัด และต่อมา นายวิโรจน์ เนตรพง ผู้ใหญ่บ้านคนใหม่ ยกที่ดินให้ย้ายมาสร้าง วัดใหม่ใกล้ๆ กัน ชาวบ้านจึงเปลีย่ นชือ่ เรียกเป็น “วัดบ้านโป่งใหญ่”

ประวัติเจ้าอาวาสวัดเครือหงษ์

เจ้ า อธิ ก ารพิ ชิ ต ชั ย ธิ ต มโน สถานะเดิ ม ชื่ อ นายพิ ชิ ต ชั ย เพิ่ ม ปั ญ ญาทรั พ ย์ เกิ ด เมื่ อวั น ที่ 10 มิ ถุ น ายน พ.ศ. 2507 บ้ า นเลขที่ 67/1 หมู ่ ที่ 4 ต� ำ บลเทพราช อ� ำ เภอบ้ า นโพธิ์ จังหวัดฉะเชิงเทรา บิดาชื่อ นายนพ เพิ่มปัญญาทรัพย์ มารดาชื่อ นางลิ้นจี่ ทองประเสริฐ อุปสมบทเมื่อปี พ.ศ. 2547 ได้รับฉายา นามว่า ธิตมโน เดินทางมาพ�ำนักอยูท่ ี่ จังหวัดเลย ณ วัดเครือหงษ์ เมือ่ วันที่ 24 ธันวาคม พ.ศ. 2548 ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดเครือหงษ์ เมือ่ ปี พ.ศ. 2552 จนถึงปัจจุบนั ได้รบั ต�ำแหน่งเจ้าคณะต�ำบลโป่ง เมือ่ วันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2559 ทัง้ นีท้ า่ นเจ้าอธิการพิชติ ชัย ธิตมโน ยังได้อปุ การะเลีย้ งดูบตุ รบุญธรรม นายพัฒนพล เพิม่ ปัญญาทรัพย์ รวมทั้งการให้ความช่วยเหลือเด็กด้อยโอกาสทางการศึกษามา โดยตลอดรวมทั้งการซื้อที่ในการสร้างวัดศรีสว่าง บ้านทุ่งเทิง หมู่ที่ 11 ต�ำบลโป่ง อ�ำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย

ร่วมสร้างเส้นทางบุ ญ

วันที่ 2-10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562 ขอเชิญร่วมท�ำบุญปิดทองฝังลูกนิมิตร ณ วัดเครือหงษ์ ต�ำบลโป่ง อ�ำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย ร่วมสร้างบุญบารมีครั้งยิ่งใหญ่ ประวัตศิ าสตร์อโุ บสถหลังแรกในเขตต�ำบลโป่ง จึงขอเชิญเจริญพรทุกท่าน อนุโมทนาบุญ ร่วมกันสาธุเจริญสุข รวยๆ ท่านทุกคนเถิด เลขที่บัญชี : 433-0-40340-4 วัดเครือหงษ์ ธนาคารกรุงไทย สาขาด่านซ้าย โทรศัพ ท์ : 08-9818-9033 LOEI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 103

พระประธานอุ โ บสถกลางน�้ ำ

103

22/02/62 16:02:45


W O R K L IF E

บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล

องค์การบริหารส่วนต�ำบลนาพึง ค� ำ ขวั ญ ต� ำ บลนาพึ ง

“ พระองค์ แ สนคู ่ บ ้ า น งามตระการน�้ ำ ตกตาดหมี ถ�้ ำ สวยดี ผ ากลอง จิ ต รกรรมน่ า มองฝาผนั ง ”

ข้อมูลพื้นฐาน องค์การบริหารส่วนต�ำบลนาพึง ตั้งอยู่เลขที่ 130 หมู่ 1 ต�ำบลนาพึง อ�ำเภอนาแห้ว จังหวัดเลย 42170 โทรศัพท์ / โทรสาร 0-4207-9248 ห่างจากอ�ำเภอนาแห้ว 9 กิโลเมตร และห่างจากจังหวัดเลย 106 กิโลเมตร ต� ำ บลนาพึ ง มี พื้ น ที่ ทั้ ง หมด 89,375 ไร่ มี ห มู ่ บ ้ า นในเขตรั บ ผิ ด ชอบ จ�ำนวน 8 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ที่ 1 บ้านนาพึง หมู่ที่ 2 บ้านนาจาน หมู่ที่ 3 บ้านนาพระ หมู่ที่ 4 บ้านนาท่อน หมู่ที่ 5 บ้านเกลี้ยง หมู่ที่ 6 บ้านลาด หมู่ที่ 7 บ้านนาแซง หมู่ที่ 8 บ้านกลาง ทั้งต�ำบลมีจ�ำนวน 587 ครัวเรือน ประชากร จ�ำนวน 2,103 คน

นายเมธี สุ ข เสริ ม

ภูหินหมอน

นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลนาพึง

“ กลุ ่ ม ทอผ้ า ต� ำ บลนาพึ ง ” สมาชิกกลุ่มทอผ้าถุงลายล่อง ใช้ลายเก่าแก่ดั้งเดิมที่ได้สืบทอด ภู มิ ป ั ญ ญางานศิ ล ปหั ต ถกรรม มารุ ่ น สู ่ รุ ่ น จนถึ ง ปั จ จุ บั น และมี การพัฒนาลายใหม่ๆ ขึน้ เพือ่ ความ แปลกใหม่และสวยงาม แสดงถึง 104

.

.indd 104

วิถีชีวิตของคนต�ำบลนาพึง ปั จ จุ บั น ได้ พั ฒ นาเป็ น ของ ที่ระลึกของฝากที่ได้รับความนิยม จากนักท่องเทีย่ ว และผูส้ นใจทัว่ ไป เป็นจ�ำนวนมาก

สนใจติ ด ต่ อ 0-4207-9248

“ ถั่ ว คั่ ว ทราย ”

สินค้า OTOP ประจ�ำต�ำบลนาพึง โดยกลุ่มแม่บ้านหมู่บ้านต่างๆ ซึ่ง มี อ ยู ่ 5 กลุ ่ ม เป็ น ที่ ขึ้ น ชื่ อ มาก ในเรื่ อ งของความอร่ อ ย กรอบ หอม มั น เพราะใช้ วั ต ถุ ดิ บ เป็ น ถั่วลิสงที่สดใหม่ตลอด

SBL บันทึกประเทศไทย I เลย

21/02/62 17:11:21


งานประจ�ำปี

ประเพณีและวัฒนธรรม พิ ธี ส รงน�้ ำ พระเจ้ า องค์ แ สนในประเพณี วั น สงกรานต์ ซึ่ ง เป็ น ประเพณีที่ศักดิ์สิทธิ์ ในวันสงกรานต์ 13 เมษายน ของทุกปีเท่านั้น โดย พี่น้องชาวต�ำบลนาพึงที่อยู่ในต�ำบล และคนที่ไปท�ำงานที่อื่นจะกลับมา ร่วมพิธีกันเป็นจ�ำนวนมาก รวมทั้งนักท่องเที่ยวจากที่ต่างๆ อีกด้วย ประเพณีแห่ต้นดอกไม้ โดยจะเริ่มแห่ครั้งแรกในคืนวันสงกรานต์ 13 เมษายน การแห่ต้นดอกไม้นี้จัดท�ำขึ้นเพื่อการถวายเป็นพุทธบูชา แด่พระพุทธเจ้า ช่วงกลางวันชาวบ้านทุกหมู่บ้านจะร่วมใจกันหาดอกไม้สด มาท�ำต้นดอกไม้ด้วยการมัดดอกไม้ตกแต่งลงบนโครงต้นดอกไม้ที่ประดิษฐ์ จากไม้ ไ ผ่ ประเพณี แ ห่ ต ้ น ดอกไม้ นี้ จ ะแห่ ใ นทุ ก คื น วั น พระของเดื อ น เมษายนของทุกปี

วัดถ�้ำผากลอง

น�้ำตกลาดออกอ้อ

เป็นวัดธรรมยุตินิกายสายวัดป่า ซึ่งตั้งอยู่ที่บ้านนาท่อน ต�ำบลนาพึง มีพระอาจารย์อนันต์ สัญญโต เป็นเจ้าอาวาส สถานที่รอบวัดมีความเป็น ธรรมชาติเพราะตั้งอยู่บนภูเขามีถ�้ำและโขดหินที่สวยงาม บรรยากาศ เหมาะแก่การปฏิบัติธรรมและท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติ

ตั้งอยู่ในป่าบริเวณบ้านเกลี้ยง ต�ำบลนาพึง อ�ำเภอนาแห้ว จังหวัดเลย เป็นน�้ำตกที่มีความสวยงามทั้งตัวน�้ำตกและล�ำธารมีความโดดเด่นคือมี สไลด์เดอร์ธรรมชาติ ที่เกิดจากความลื่นของตะไคร่น�้ำสีเขียวที่เรียกว่า “ออกอ้อ” และยังมีน�้ำตกใกล้เคียง คือ น�้ำตกตาดไฮ และน�้ำตกตาดหมี ที่อยู่ไม่ไกลกันอีกด้วย ทั้งหมดเป็นสายน�้ำของล�ำน�้ำหูซึ่งหล่อเลี้ยงพืชผล ทางการเกษตรของชาวต�ำบลนาพึงมาแต่สมัยโบราณ สามารถเดินทาง ขึ้นไปท่องเที่ยวได้โดยรถยนต์ขับเคลื่อนสี่ล้อ และรถไถนาเพื่อการเกษตร ดัดแปลง(อีแต๊ก)

LOEI I SBL บันทึกประเทศไทย

.

.indd 105

105

21/02/62 17:11:28


H I STO R Y O F B U DDH I S M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดถ�้ำผากลอง(ธ) วัดเก่าแก่ อายุกว่า 120 ปี

วัดถ�้ำผากลอง(ธ) พระอธิการอนันต์ สัญญโต ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส วัดถ�้ำผากลอง(ธ)

“ วั ด เป็ น สถานที่ ล ะความเห็ น ผิ ด ” วั ด ถ�้ ำ ผากลอง(ธ) ตั้ ง อยู ่ หมู ่ ที่ 4 ต� ำ บลนาพึ ง อ� ำ เภอนาแห้ ว จั ง หวั ด เลย โทรศั พ ท์ 08-1050-4836 106

ก่อตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2436 สังกัดคณะสงฆ์ธรรมยุติ สมัยก่อน ชาวบ้ านเล่ าว่ าจะมี เ สี ย งกลองหรื อเสี ย งฆ้อง ดัง ออกมาจาก ตัวถ�้ำ วันพระ-วันศีล เป็นที่รู้จักของชาวบ้านละแวกนั้น ลักษณะ ตัวถ�้ำนั้นอยู่หน้าผา ด้านบนเป็นก้อนหินใหญ่ ตั้งอยู่คล้ายเจดีย์ ปัจจุบันมีเสนาสนะ พอสมควร ซึ่งขณะนี้ทางวัดก�ำลังก่อสร้าง พระอุโบสถประยุกต์ ทรงระฆังคว�่ำ สามารถร่วมบริจาคเพื่อสร้าง พระอุโบสถได้ที่วัดถ�้ำผากลอง(ธ)

SBL บันทึกประเทศไทย I เลย

( ).indd 106

22/02/62 16:51:20


ที่ว่าการ อ�ำเภอภูกระดึง ค� ำ ขวั ญ อ� ำ เภอภู ก ระดึ ง

“ ระฆั ง แห่ ง ขุ น เขา ผานกเค้ า เป็ น ปราการ ต� ำ นานแผ่ น ดิ น ธรรม งานเลิ ศ ล�้ ำ ธรรมชาติ ”

ประวัติความเป็นมา

นายภู ริ วั จ น์ โชติ ​น พรั ต น์​ นายอ�ำเภอภูกระดึง

เดิมอ�ำเภอภูกระดึงอยูใ่ นเขตการปกครองของอ�ำเภอวังสะพุง จังหวัดเลย เนื่องจากหมู่บ้านศรีฐาน ต�ำบลศรีฐาน มีธรรมชาติที่สวยงาม มีสิ่งจูงใจ นักท่องเที่ยวมากมาย คือ “เขาภูกระดึง” ลักษณะเหมือนกระดิ่งคว�่ำ เป็ น ภู เขาสู ง ปกคลุ ม ไปด้ ว ยป่ า ไม้ น านาพั น ธุ ์ เป็ น ทิ ว เขาสลั บ ซั บ ซ้ อ น ประมาณ ปี พ.ศ. 2504 นายช�ำนาญ ยุวบูรณ์ อธิบดีกรมการปกครองสมัยนัน้ กับคณะได้มาทัศนาจรบนภูกระดึง พิจารณาเห็นว่า หากมีเจ้าหน้าที่ คอยให้บริการอ�ำนวยความสะดวกแก่นักท่องเที่ยวตามสมควร ก็จะเป็น การดึงดูดประชาชนทัว่ ไปให้มาท่องเทีย่ วมากยิง่ ขึน้ ซึง่ เป็นผลดีทางเศรษฐกิจ แก่ประชาชนในท้องถิน่ เป็นอย่างดี จึงได้สงั่ การให้จงั หวัดเลยเสนอขอจัดตัง้ กิ่งอ�ำเภอภูกระดึงขึ้น นายกิติ ยธการี ผู้ว่าราชการจังหวัดเลยในขณะนั้นได้ด�ำเนินการจัดตั้ง กิ่งอ�ำเภอภูกระดึง กระทรวงมหาดไทยได้ประกาศตั้ง “กิ่งอ�ำเภอภูกระดึง” เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2505 ประกอบด้วย ต�ำบลศรีฐาน ต�ำบลปวนพุ และ ต�ำบลผาขาว อยู่ในความปกครองของอ�ำเภอวังสะพุง จังหวัดเลย ต่อมา เมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม 2506 จึงได้มีพระราชกฤษฎีกา ยกฐานะเป็น “อ�ำเภอภูกระดึง” ตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมา

LOEI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 107

107

23/2/2562 17:14:26


W O R K L IF E

บันทึกเส้นทางพบเทศบาลต�ำบล

เทศบาลต�ำบลภูกระดึง วิ สั ย ทั ศ น์ เ ทศบาลต� ำ บลภู ก ระดึ ง

“ ภู ก ระดึ ง น่ า อยู ่ มุ ่ ง ไปสู ่ ก ารพั ฒ นาที่ ยั่ ง ยื น ”

ข้อมูลทั่วไป เทศบาลต�ำบลภูกระดึง มีเนื้อที่ทั้งหมด 16.40 ตารางกิโลเมตรหรือ 10,250 ไร่ เทศบาลต�ำบลภูกระดึง อ�ำเภอภูกระดึง จังหวัดเลย ตั้งอยู่ ติดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 201 และหมายเลข 201 สายเดิม ทาง ทิศใต้ของจังหวัดเลยในระยะทาง 75 กิโลเมตร ห่างจากกรุงเทพมหานคร ตามเส้นทาง ถนนสายกรุงเทพฯ - ชัยภูมิ - เลย ประกอบด้วยหมู่บ้านต่างๆ ใน 3 ต�ำบล ของอ�ำเภอภูกระดึง ได้แก่ ต�ำบลภูกระดึง ต�ำบลผานกเค้า และต�ำบลศรีฐาน รวมทั้งสิ้น 10 หมู่บ้าน ในเขตเทศบาล มีพื้นที่เต็มจ�ำนวน 1 หมู่บ้าน คือ หมู่ที่ 8 บ้านภูกระดึง

สภาพลักษณะภูมิประเทศ

นางจิ น ตนา โพธิ พ รหม

เป็นพื้นที่ราบเชิงเขาในเขตลุ่มน�้ำพอง มีล�ำห้วยสาขาไหลผ่าน ได้แก่ ห้วยพองโก ห้วยคะมะ ห้วยรังไข่ ห้วยร่องโก ห้วยยาง สภาพภูมิอากาศ อยู่ภายใต้อิทธิพลของลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้และลมมรสุมตะวันออก เฉียงเหนือ ลมมรสุมแนวปะทะโซนร้อนพาดผ่านในบางปีท�ำให้ฝนตก ติดต่อกันหลายวัน รวมทั้งมีพายุหมุนเขตร้อน (Tropical Cyclone) เคลื่ อ นตั ว พาดผ่ า นท� ำ ให้ ฝ นตกหนั ก และมี พ ายุ ฤ ดู ร ้ อ น เกิ ด วาตภั ย สร้างความเสียหายแก่บ้านเรือน ทรัพย์สินของประชาชนในบางปี

นายกเทศมนตรีต�ำบลภูกระดึง

108

SBL บันทึกประเทศไทย I เลย

.indd 108

21/02/62 16:42:30


งานประจ�ำปี

งานลอยกระทง

นวดแผนไทย

โรงเรียนผู้สูงอายุ

อบรมดูแลผู้สูงอายุ

จิตอาสาปลูกต้นไม้

ลักษณะภูมิอากาศ ลักษณะภูมิอากาศของอ�ำเภอภูกระดึง สภาพพื้นที่ส่วนใหญ่ที่เป็น ภู เขาสู ง ส่ ง ผลให้ อุ ณ หภู มิ มี ก ารเปลี่ ย นแปลงอยู ่ ต ลอดเวลา ฤดู ร ้ อ น จะร้อนมากจนถึง 43.5 องศาเซลเซียส ฤดูหนาวหนาวจัด บางปีอุณหภูมิ ลดลง -1 ถึง -3 องศาเซลเซียส ส่วนในฤดูฝนจะมีฝนตกชุกพอประมาณ

สถานที่ท่องเที่ยว

จุดชมวิว ต�ำบลผานกเค้า หมู่ที่ 1 บ้านผานกเค้า อ่างเก็บน�้ำห้วยยาง ต�ำบลภูกระดึง หมู่ 11 บ้านราชวิถี จุดถ่ายภาพ บริเวณหน้าที่ว่าการอ�ำเภอภูกระดึง

ผลิตภัณฑ์ชุมชน

กลุ่มผลิตภัณฑ์หมวกไหมพรหม กลุ่มเพาะเห็ด กลุ่มหน่อไม้ดอง

LOEI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 109

109

21/02/62 16:42:35


พั ฒ นาชุ ม ชนให้ น ่ า อยู ่ พร้ อ มเข้ า สู ่ ป ระชาคมอาเซี่ ย น ”

W O R K L IF E

บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล

องค์การบริหารส่วนต�ำบลศรีฐาน วิ สั ย ทั ศ น์ อ งค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บลศรี ฐ าน

“ ก้ า วน� ำ ด้ า นเศรษฐกิ จ ทุ ก ชี วิ ต อยู ่ ดี กิ น ดี คนมี ก ารศึ ก ษา แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วและวั ฒ นธรรมล�้ ำ ค่ า พั ฒ นาชุ ม ชนให้ น ่ า อยู ่ พร้ อ มเข้ า สู ่ ป ระชาคมอาเซี่ ย น ”

ข้อมูลพื้นฐาน องค์การบริหารส่วนต�ำบลศรีฐาน ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 450 หมูท่ ี่ 1 ต�ำบลศรีฐาน อ�ำเภอภูกระดึง จังหวัดเลย ห่างจากตัวอ�ำเภอภูกระดึง ประมาณ 2 กิโลเมตร มีเนื้อที่ทั้งหมด 62.28 ตารางกิโลเมตร (30,734 ไร่) โดยมีอาณาเขต ดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับต�ำบลปวนพุ อ�ำเภอหนองหิน จังหวัดเลย ทิศใต้ ติดต่อกับต�ำบลวังสวาป อ�ำเภอภูผาม่าน จังหวัดขอนแก่น ทิศตะวันตก ติดต่อกับต�ำบลวังกวาง อ�ำเภอน�ำ้ หนาว จังหวัดเพชรบูรณ์ ทิศตะวันออก ติดต่อกับต�ำบลภูกระดึง อ�ำเภอภูกระดึง จังหวัดเลย แบ่ ง การปกครองออกเป็ น 16 หมู ่ บ ้ า น ประชากรรวม 10,341 คน แยกเป็น ประชากรชาย 5,217 คน ประชากรหญิง 5,124 คน จ�ำนวน ครัวเรือน 2,773 ครัวเรือน ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ท�ำไร่ ท�ำนา ท�ำสวน พืชเกษตรที่ส�ำคัญ ได้แก่ ข้าว ข้าวโพด มันส�ำปะหลัง อ้อย และไผ่เลี้ยง

นายครรชิ ต พั น สนิ ท

www.srithan.go.th โทร. 0-4287-1285

นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลศรีฐาน

คณะผู้บริหาร และหัวหน้าส่วนราชการ

6 110

.

.indd 110

5

2

1

3

4

1. นายครรชิต พันสนิท 2. นายบุญน�ำ บาบุญ 3. นายวีระพงษ์ ครสิงห์ 4. นายวีระชัย เนื่องมหา 5. นาวาอากาศโทธนัท พรมสุบรรณ์ 6. จ่าเอกจีระพันธ์ พรจันทร์ 7. นายวสันต์ นารายนะคามิน

นายก อบต.ศรีฐาน รองนายก อบต.ศรีฐาน ปลัด อบต.ศรีฐาน รองปลัด อบต.ศรีฐาน ผู้อ�ำนวยการกองคลัง หัวหน้าส�ำนักปลัด ผู้อ�ำนวยการกองการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

7

SBL บันทึกประเทศไทย I เลย

22/02/62 11:34:41


งานประจ�ำปี

สถานที่ท่องเที่ยวในพื้นที่องค์การบริหารส่วนต�ำบลศรีฐาน

อุทยานแห่งชาติภูกระดึง น�้ำตกตาดฮ้อง น�้ำตกลาดใหญ่ น�้ำตกตาดหินปูน ถ�้ำฝ่ามือแดง วังอีเมือง

บ้านนาน้อย บ้านพองหนีบ บ้านนาแปน บ้านนาน้อย บ้านนาน้อย

ต�ำบลศรีฐาน อ�ำเภอภูกระดึง จังหวัดเลย หมู่ที่ 7 ต�ำบลศรีฐาน อ�ำเภอภูกระดึง จังหวัดเลย หมู่ที่ 5 ต�ำบลศรีฐาน อ�ำเภอภูกระดึง จังหวัดเลย หมู่ที่ 9 ต�ำบลศรีฐาน อ�ำเภอภูกระดึง จังหวัดเลย หมู่ที่ 7 ต�ำบลศรีฐาน อ�ำเภอภูกระดึง จังหวัดเลย หมู่ที่ 7 ต�ำบลศรีฐาน อ�ำเภอภูกระดึง จังหวัดเลย

โครงการกิจกรรมต่างๆ โครงการสรงน�้ำพระพุทธเมตตา บนยอดอุทยานแห่งชาติภูกระดึง โดยก�ำหนดจัดขึ้นในเดือนเมษายน ของทุกปี

ประเพณี วัฒนธรรม สักการะพระพุทธเมตตา บูชา เจ้าปู่ภูกระดึง โดยก�ำหนดจัดขึ้น ในเดือนพฤศจิกายน ของทุกปี

รายรับจริงปีงบประมาณ พ.ศ. 2561

รายได้จัดเก็บเอง รายได้จัดสรรจากรัฐบาล เงินอุดหนุนจากรัฐบาล รวมงบประมานทั้งสิ้น

จ�ำนวน 334,072.58 บาท จ�ำนวน 24,811,967.09 บาท จ�ำนวน 32,059,565.00 บาท จ�ำนวน 57,205,604.67 บาท

“ หมวกไหมพรม ”

เครื่องจักสาน จากกลุ่มอาชีพของ ราษฎรในพื้ น ที่ อ งค์ ก ารบริ ห าร ส่วนต�ำบลศรีฐาน LOEI I SBL บันทึกประเทศไทย

.

.indd 111

111

22/02/62 11:34:46


H I STO R Y O F B U DDH I S M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดศรีภูกระดึงพัฒนาราม โรงเรียนปริยัติธรรม พระครูปริยัติวชิรคุณ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดศรีภูกระดึงพั ฒนาราม เจ้าคณะอ�ำเภอภูกระดึง

ตั้งอยู่บ้านเลขที่ 311 หมู่ที่ 8 บ้านภูกระดึง ต�ำบลภูกระดึง อ�ำเภอภูกระดึง จังหวัดเลย มีเนื้อที่ 2 แปลง แปลงแรกมีเนื้อที่ 25 ไร่ 3 งาน แปลงที่สองมีเนื้อที่ 116 ไร่ 3 งาน รวม 2 แปลง 142 ไร่ 2 งาน ก่อตั้งวัดขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2509 มีที่พักของพระภิกษุ สามเณร คือ กุฏใิ หญ่ 1 หลัง เป็นทีพ่ กั อาศัยแบบอาคารเรือนธรรมดา

พระเทพสิ ท ธิม งคล

พระมหาพรหมา จนฺทโสภโณ (นามเดิม) เปรียญธรรม 5 ประโยค ต่อมารับสมณศักดิ์เป็น พระครูบรรพตคณานุกุล เป็นเจ้าคณะ อ�ำเภอภูกระดึง(มหานิกาย) รูปแรก หลวงปูไ่ ด้อบรมสัง่ สอนพระภิกษุ สามเณร จนสอบได้นักธรรม ตรี โท เอก และมหาเปรียญชั้นสูง สนับสนุนส่งเสริมให้เรียนจนจบเปรียญธรรม 9 ประโยค ลูกศิษย์ บางท่านเป็นถึงเจ้าคุณก็มี ในขณะเดียวกัน ทางวัดก็มีก ารพัฒนาอย่ างต่ อเนื่ องจนถึ ง พ.ศ. 2536 วั ด ได้ รั บ รางวั ล วั ด พั ฒนาดี เ ด่ น ต่ อ มาหลวงปู ่ ได้สร้างโรงเรียนปริยตั ธิ รรม แผนกสามัญศึกษา ขึน้ ในปี พ.ศ. 2539 โดยเปิดท�ำการเรียนการสอนมาจนถึงปัจจุบนั หลังจากนัน้ หลวงปู่ ได้รับแต่งตั้งให้เป็นเจ้าคณะจังหวัดเลย และได้ย้ายไปจ�ำพรรษา ที่วัดศรีวิชัยในตัวจังหวัดเลย สุดท้ายท่านได้เลื่อนสมณศักดิ์เป็น พระเทพสิทธิมงคล ในปี พ.ศ. 2542 พ.ศ. 2543 หลวงปู ่ ม อบภาระการดู แ ลวั ด โดยแต่ ง ตั้ ง ให้ พระมหาชัยสิทธิ์ ญาณวชิโร เป็นเจ้าอาวาสรูปที่ 2 และได้รบั สมณศักดิ์ เป็น “พระครูปริยัติวชิรคุณ” เจ้าคณะอ�ำเภอของอ�ำเภอภูกระดึง ท�ำการปกครองคณะสงฆ์ มาจนถึงปัจจุบัน

ล� ำ ดั บ เจ้ า อาวาส

1. พระเทพสิทธิมงคล (อดีตเจ้าคณะจังหวัดเลย) 2. พระครูปริยัติวชิรคุณ เจ้าคณะอ�ำเภอภูกระดึง 112

SBL บันทึกประเทศไทย I เลย

.indd 112

22/02/62 14:49:14


H I STO RY O F B U DDH I S M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดป่าเทพนิมิตมงคล หลวงพ่อใหญ่ พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ พระอาจารย์เทอดศักดิ์ ญาณวีโร ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดป่าเทพนิมิตมงคล เจ้าคณะต�ำบลห้วยส้ม เขต 2

วัดป่าเทพนิมิตมงคล ตั้งอยู่เลขที่ 247/1 ต�ำบลห้วยส้ม อ�ำเภอภูกระดึง จังหวัดเลย 42180 โทรศั พ ท์ : 08-7897-8658, 09-5459-6251 EMAIL : Tamdsuk2523@gmail.com FACEBOOK : วัดป่าเทพนิมิตมงคล ภูกระดึง LINE ID : 0954596251

พระพุทธนิมิต มิ่งมงคล (หลวงพ่อใหญ่ )

“พระพุทธนิมิตมิ่งมงคล” หรือหลวงพ่อใหญ่ พระประธาน ในอุ โ บสถ เป็ น พระพุ ท ธรู ป ที่ เ กิ ด จากความเลื่ อ มใส และ แรงศรัทธาของพุทธศาสนิกชน มีพระสงฆ์จากทัว่ สารทิศหลายร้อยรูป ได้แวะเวียนเข้ามาปฏิบตั ธิ รรมมิได้ขาดสายจนน่าอัศจรรย์ โดยเฉพาะ เรื่องความศักดิ์สิทธิ์ ได้รับการเล่าขานสืบต่อกันมามากมายจาก ผู้มีประสบการณ์ เริ่มตั้งแต่การสร้างปรากฏว่าหลายคนที่ไปบูชา ท�ำมาค้าขายดี หรือส�ำหรับผู้ที่ต้องการหาความสงบทางใจ ก็เป็น อีกทางเลือกหนึ่ง เพราะสถานที่เป็นวัดป่าน่าปฏิบัติธรรม ไม่ไกล จากถนนสายหลัก 201 การการเดินทางสะดวกสบาย

ปฏิทินงานประจ�ำปีของวัด

22 พ.ย. - 1 ธ.ค. งานปฏิบัติธรรมเข้าปริวาสกรรม 31 ธ.ค. - 1 ม.ค. สวดมนต์ข้ามปี ท�ำความดีข้ามชาติ แรม 15 ค�่ำ เดือน 2 บุญคูณลาน 1 เม.ย. - 20 เม.ย. งานบรรพชาสามเณรภาคฤดูร้อน 13 - 14 เม.ย. ประเพณีสรงน�ำ้ พระขอพร ออกพรรษา ประเพณีตักบาตรเทโวโรหณะ LOEI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 113

113

22/02/62 14:48:12


ท่องเที่ยวทางใจ ถิ่นที่อยู่อริยสงฆ์ มั่นคงความสะอาด จังหวัดเลย

อ�ำเภอเอราวัณ วัดชัยมงคลพัฒนาราม บ้านดงนกกก ม.6 ต�ำบลผาอินทร์แปลง

วัดจอมทองสามัคคี บ้านโนนดินแดง ม.6 ต�ำบลทรัพย์ไพวัลย์

วัดช้างเผือก(ป่าช้างเผือก) บ้านหัวฝาย ม.4 ต�ำบลเอราวัณ

วัดถ�้ำข้าวสารหิน บ้านผาสะนา ม.4 ต�ำบลทรัพย์ไพวัลย์

อ�ำเภอนาด้วง

วัดเทพนิมิตวนาราม

วัดป่าพรประเสริฐ

วัดภูค�ำเป้

วัดศิริมังคลาราม

บ้านเหล่าใหญ่ ม.10 ต�ำบลเอราวัณ

บ้านพรประเสริฐ ม.8 ต�ำบลเอราวัณ

บ้านห้วยป่าน ม.9 ต�ำบลผาสามยอด

บ้านช�ำบุ่น ม.5 ต�ำบลผาสามยอด

วัดมัชฌิมาราม

วัดสว่างสามัคคี

บ้านหนองใหญ่ ม.1 ต�ำบลผาอินทร์แปลง

บ้านหนองน�้ำใส ม.8ต�ำบลผาอินทร์แปลง

วัดวงบรรพตาราม

วัดสว่างอารมณ์

บ้านซ�ำม่วง ม.5 ต�ำบลผาสามยอด

บ้านขัวไม้แดง ม.2 ต�ำบลผาอินทร์แปลง

วัดศรีเจริญธรรม

วัดสุคนธาบรรพต

บ้านโป่งศรีโทน ม.6 ต�ำบลเอราวัณ

บ้านเอราวัณ ม.7 ต�ำบลผาอินทร์แปลง

วัดศรีปทุมวนาราม

วัดเอราวัณพัฒนาราม

บ้านวังประทุม ม.9 ต�ำบลเอราวัณ

บ้านเอราวัณ ม.3 ต�ำบลผาอินทร์แปลง

วัดธารสวรรค์

วัดป่าวังเลา

บ้านหัวฝาย ม.2 ต�ำบลเอราวัณ

บ้านวังเลา ม.1 ต�ำบลเอราวัณ

วัดป่าชัยพฤกษ์

วัดป่าเอราวัณ

บ้านเอราวัณ ม.12 ต�ำบลผาอินทร์แปลง

บ้านเอราวัณ ม.13 ต�ำบลผาอินทร์แปลง

วัดป่าโคกรัง

วัดผาอินทร์แปลงพัฒนาราม

บ้านโคกรัง ม.7 ต�ำบลเอราวัณ

บ้านผาอินทร์แปลง ม.4 ต�ำบลผาอินทร์แปลง

วัดป่าซ�ำขาม

วัดพรชัยสามัคคี

บ้านซ�ำขาม ม.14 ต�ำบลผาอินทร์แปลง

บ้านพรสว่าง ม.14 ต�ำบลเอราวัณ

วัดป่าท่าสวย

วัดพุทธสถานภูไผ่

บ้านวังม่วง ม.3 ต�ำบลเอราวัณ

บ้านเอราวัณ ม.12 ต�ำบลผาอินทร์แปลง

อ�ำเภอปากชม

วัดกองแก้วสามัคคี

วัดชัยมงคล

บ้านแก้วเมธี ม.5 ต�ำบลนาด้วง

บ้านแก่งปลาปก ม.7 ต�ำบลเชียงกลม

วัดคงคาวนาราม

วัดท่าข้าม

บ้านท่าสวรรค์ ม.1 ต�ำบลท่าสวรรค์

บ้านปากปัด ม.3 ต�ำบลห้วยพิชัย

วัดโคกแฝก

วัดท่าสะอาด

บ้านป่าหวายพัฒนา ม.6 ต�ำบลนาด้วง

บ้านแก่งปลาปก ม.7 ต�ำบลเชียงกลม

วัดไชยรัตรังษี

วัดท่าส�ำราญ

บ้านนาดอกค�ำ ม.1 ต�ำบลนาดอกค�ำ

บ้านคกไผ่ ม.6 ต�ำบลปากชม

วัดดอยบูรพาราม

วัดท่าส�ำราญ

บ้านซ�ำป่าซาง ม.6 ต�ำบลท่าสะอาด

บ้านห้วยนา ม.5 ต�ำบลเชียงกลม

วัดถ�้ำผาขาม

วัดเทพจันดาราม

บ้านโพนสว่าง ม.3 ต�ำบลนาดอกค�ำ

บ้านห้วยขอบ ม.3 ต�ำบลหาดคัมภีร์

วัดถ�้ำผายา

วัดโนนศรีสะอาด

บ้านห้วยตาด ม.4 ต�ำบลนาดอกค�ำ

บ้านปากชม ม.1 ต�ำบลปากชม

วัดท่าสะอาด

วัดโนนสวรรค์

บ้านท่าสะอาด ม.6 ต�ำบลท่าสะอาด

บ้านปากมั่ง ม.5 ต�ำบลหาดคัมภีร์

วัดน�้ำสวยภักดี

วัดโนนสว่าง

บ้านน�้ำสวยภักดี ม.3 ต�ำบลท่าสะอาด

บ้านคอนสา ม.4 ต�ำบลเชียงกลม

วัดประดิษฐาราม

วัดโนนสว่างอารมณ์

บ้านราษฎร์ประดิษฐ์ ม.8 ต�ำบลนาด้วง

บ้านคกเว้า ม.2 ต�ำบลหาดคัมภีร์

วัดป่าจริยธรรม

วัดป่าพระธาตุเทพไชยา

บ้านวังเย็น ม.10 ต�ำบลนาดอกค�ำ

บ้านปากปัด ม.3 ต�ำบลห้วยพิชัย

วัดป่าเทพมงคล

วัดป่าโพนทองค�ำ

บ้านเทพมงคล ม.3 ต�ำบลท่าสวรรค์

บ้านโพนทอง ม.3 ต�ำบลเชียงกลม

วัดป่าเทพรังสี

วัดป่าสันติสุข

บ้านโนนศิลา ม.4 ต�ำบลท่าสวรรค์

บ้านปากชม ม.1 ต�ำบลปากชม

วัดป่าห้วยดินปุ้น

วัดโพนแก้ว

บ้านแสงเจริญ ม.4 ต�ำบลนาด้วง

บ้านนาค้อ ม.2 ต�ำบลปากชม

วัดโพนลาด

วัดโพนสว่าง

บ้านห้วยตาด ม.4 ต�ำบลนาดอกค�ำ

บ้านนาโม้ ม.6 ต�ำบลหาดคัมภีร์

วัดมณีชลขันธ์(มณีชลขันท์) บ้านท่าสะอาด ม.1 ต�ำบลท่าสะอาด

วัดมณีศรีชุมพล บ้านโพนสว่าง ม.3 ต�ำบลนาดอกค�ำ

วัดวิชัยรวมมิตร บ้านท่าสะอาด ม.1 ต�ำบลท่าสะอาด

วัดวิเวกทีปาราม บ้านพะเนียง ม.5 ต�ำบลนาดอกค�ำ

วัดวีรราษฎร์บ�ำรุง บ้านแสงเจริญ ม.4 ต�ำบลนาด้วง

วัดเวียงล้อม บ้านเวียงชัย ม.12 ต�ำบลนาด้วง

วัดศรีประทุมทอง บ้านศรีประทุม ม.2 ต�ำบลนาด้วง

วัดสามัคคีธรรม บ้านโคกหินใต้ ม.9 ต�ำบลนาดอกค�ำ

วัดสุพรมนิมิต บ้านเทพมงคล ม.3 ต�ำบลท่าสวรรค์

วัดห้วยปลาดุก ห้วยปลาดุก ม.6 ต�ำบลนาดอกค�ำ

114

วัดโพนสว่าง บ้านห้วยพิชัย ม.1 ต�ำบลห้วยพิชัย

วัดรุ่งอรุณ บ้านใหม่พัฒนา ม.10 ต�ำบลห้วยพิชัย วัดลัฏฐิวัน บ้านสงาว ม.4 ต�ำบลห้วยพิชัย

วัดวังผา(ประดิษฐาราม) บ้านวังผา ม.3 ต�ำบลห้วยบ่อซืน

วัดเวฬุวัน บ้านโนนสมบูรณ์ ม.9 ต�ำบลปากชม

วัดศรีชมชื่น บ้านห้วยเหียม ม.4 ต�ำบลหาดคัมภีร์

วัดศรีชมชื่น บ้านเชียงกลม ม.1 ต�ำบลเชียงกลม

วัดศรีปทุมภักดี บ้านปางคอม ม.6 ต�ำบลเชียงกลม

วัดศรีพิชัยมงคล บ้านโนนสว่าง ม.9 ต�ำบลห้วยพิชัย วัดศรีภูธร บ้านศรีภูธร ม.3 ต�ำบลปากชม

วัดศรีภูมิสุรการ บ้านปากเนียม ม.5 ต�ำบลห้วยพิชัย

วัดศรีวิชัยประชาราม บ้านห้วยบ้านบ่อซืน ม.1 ต�ำบลห้วยบ่อซืน

วัดศรีสัมฤทธิ์มุกดาราม บ้านปากชม ม.1 ต�ำบลปากชม

วัดแสงอรุณ บ้านกลาง ม.2 ต�ำบลเชียงกลม

วัดห้วยทับช้าง บ้านห้วยทับช้าง ม.7 ต�ำบลห้วยพิชัย

วัดอภินันทนาราม บ้านหาดคัมภีร์ ม.1 ต�ำบลหาดคัมภีร์

วัดอัมพวัน บ้านโพนทอง ม. 3 ต�ำบลเชียงกลม

วัดอินทร์แปลง บ้านโนนสวรรค์ ม.8 ต�ำบลห้วยพิชัย

วัดศรีสุดาวรรณ บ้านโคกสวรรค์ ม.5 ต�ำบลเอราวัณ

อ�ำเภอท่าลี่ วัดคลองทูล บ้านวังเป่ง ม.5 ต�ำบลน�้ำทูน

วัดโคกใหญ่สามัคคี บ้านโคกใหญ่ ม. 1 ต�ำบลโคกใหญ่

วัดงิ้วงาม บ้านขอนแก่น ม. 4 ต�ำบลหนองผือ

วัดจอมแจ้ง บ้านแก่งม่วง ม. 4 น�้ำทูน

วัดจิตมั่นคงธรรม บ้านบวกอ่าง ม. 2 โคกใหญ่

วัดชลประทาน บ้านชลประมาณ ม. 7 ท่าลี่

วัดชัยนาทมงคล บ้านเมี่ยง ม. 9 หนองผือ

วัดดอนชัย บ้านน�้ำพาน ม. 3 อาฮี

วัดน�้ำกระโทม บ้านน�้ำกระโทม ม. 8 ท่าลี่

วัดป่าขอนแก่น บ้านเพชรโสภณ ม. 10 หนองผือ

วัดป่านากระเซ็ง บ้านนากระเซ็ง ม.4 อาฮี

วัดป่าเลไลยก์ บ้านท่าลี่ ม. 3 ท่าลี่

วัดโพธิ์ชัย บ้านเมี่ยง ม. 8 หนองผือ

วัดโพธิ์ทอง บ้านหนองปกติ ม. 5 อาฮี

วัดโพธิ์ศรี บ้านท่าลี่ ม. 3 ท่าลี่

วัดโพนข่า บ้านปากยาง ม. 6 น�้ำแคม วัดโพนทอง ม. 3 ต�ำบลน�้ำทูน

วัดโพนศรี บ้านโคกใหญ่ ม. 1 ต�ำบลโคกใหญ่ วัดโพนสว่าง บ้านน�้ำมี ม. 1 ต�ำบลน�้ำทูน

วัดโพนสัก บ้านปากคาน ม. 2 ต�ำบลหนองผือ

วัดโพนหนอง บ้านหนองบง ม. 5ต�ำบลน�้ำทูน

วัดมณีไพรสณฑ์ บ้านบวกอ่าง ม.2 ต�ำบลโคกใหญ่

วัดเมืองตูมธรรมาราม บ้านอาฮี ม.1 ต�ำบลอาฮี

วัดลาดปู่ทรงธรรม บ้านท่าลี่ ม.2 ต�ำบลท่าลี่

วัดวุฒาราม บ้านโนนสว่าง ม.1 ต�ำบลท่าลี่

วัดเวฬุวนาราม บ้านห้วยคัง ม.4 ต�ำบลอาฮี

วัดศรีชมภู บ้านน�้ำแคม ม.1 ต�ำบลน�้ำแคม

วัดศรีพัฒนาราม บ้านหาดพระ ม.3 ต�ำบลหนองผือ

วัดศรีมณี บ้านห้วยด้าย ม.5 ต�ำบลน�้ำแคม

วัดศรีสงคราม บ้านห้วยผุก ม.2 ต�ำบลน�้ำแคม

วัดศรีสว่าง บ้านวังขาม ม.7 ต�ำบลท่าลี่

วัดศรีสะอาด บ้านนากระเซ็ง ม.4 ต�ำบลอาฮี

วัดศรีโสภณ บ้านน�้ำแคม ม.1 ต�ำบลน�้ำแคม

วัดศิริมงคล บ้านอาฮี ม.1 ต�ำบลอาฮี

วัดสว่างวารี บ้านหาดบ้า ม.4 ต�ำบลน�้ำแคม

วัดสว่างอารมณ์ บ้านกกก้านเหลือง ม.9 ต�ำบลท่าลี่

วัดสหมิตรวนาราม บ้านปากห้วย ม.6 ต�ำบลหนองผือ

วัดสุวรรณาราม บ้านหนองผือ ม.1 ต�ำบลหนองผือ

วัดใหม่เจริญธรรม บ้านปากคาน ม.2 ต�ำบลหนองผือ

วัดอรัญญวาสี บ้านห้วยได้ ม.4 ต�ำบลโคกใหญ่

วัดอัมพวัน บ้านร่องไผ่ ม.3 ต�ำบลโคกใหญ่

วัดอินทราราม บ้านปากห้วย ม.7 ต�ำบลหนองผือ

วัดอุโมงมังคลาราม บ้านยาง ม.5 ต�ำบลท่าลี่

SBL บันทึกประเทศไทย I เลย

.indd 114

22/2/2562 14:46:57


ท่องเที่ยวอ�ำเภอภูเรือ กับ นายสมคิด พงศ์สมานวรกุล นายอ�ำเภอภูเรือ

อุทยานแห่งชาติภูเรือ วัดห้วยลาด

วัดสมเด็จภูเรือมิ่งเมือง

งานเทศกาลไม้ดอกเมืองหนาวภูเรือ

ปรอทยักษ์

เทศกาลลานคริสต์มาสภูเรือ

เลขที่ 1 หมู ่ ที่ 7 ต� ำ บลหนองบั ว อ� ำ เภอภู เ รื อ จั ง หวั ด เลย | ติ ด ต่ อ สอบถามได้ ที่ เ บอร์ 0-4289-9123 LOEI I SBL บันทึกประเทศไทย 115

.

.indd 115

22/02/62 12:00:46


W O R K L IF E

บันทึกเส้นทางพบเทศบาลต�ำบล

เทศบาลต�ำบลภูเรือ วิ สั ย ทั ศ น์ เ ทศบาลต� ำ บลภู เ รื อ

“ เทศบาลต� ำ บลภู เ รื อ มี ส ภาพภู มิ ทั ศ น์ ที่ ส วยงาม เป็ น เมื อ งน่ า อยู ่ ผู้ ค นน่ า รั ก เศรษฐกิ จ ชุ ม ชนเข้ ม แข็ ง การจั ด การสิ่ ง แวดล้ อ มยั่ ง ยื น เพิ่ ม พู น ทรั พ ยากรธรรมชาติ สั ง คมมี คุ ณ ภาพสามารถร่ ว มพั ฒ นา น� ำ พาสู ่ ก ารบริ ห ารจั ด การที่ ดี มี เ อกลั ก ษณ์ ท างศิ ล ปวั ฒ นธรรม ล�้ ำ หน้ า ด้ า นการท่ อ งเที่ ย ว ”

ข้อมูลทั่วไป

นายภู ว ไนย วิ จิ ต รปั ญ ญา นายกเทศมนตรีต�ำบลภูเรือ

116

ส�ำนักงานเทศบาลต�ำบลภูเรือ ตั้งอยู่เลขที่ 299 หมู่ 6 ต�ำบลหนองบัว อ�ำเภอภูเรือ จังหวัดเลย โทรศัพท์ 0-4289-9036 โทรสาร 0-4289-9112 อีเมล admin@tessabanphurua.go.th ที่ตั้งของหมู่บ้านในเขตเทศบาล ต�ำบลภูเรือประกอบด้วยหมู่ที่ 1 บ้านหนองบัว หมู่ที่ 2 บ้านหนองเสือ คราง หมู่ที่ 6 บ้านป่าจันตม หมู่ที่ 7 บ้านภูเรือ

พันธกิจ (mission) 1. ท�ำให้เมืองมีความสะอาด สวยงาม เป็นระเบียบเรียบร้อย น่าอยูอ่ าศัย 2. ประชาชนมีอาชีพและเพิ่มรายได้สามารถพึ่งตนเองได้ 3. ท�ำให้เป็นเมืองทีม่ สี ภาวะแวดล้อมทีด่ ที งั้ ของชุมชนและสถานทีท่ อ่ งเทีย่ ว 4. เร่งฟื้นฟูบูรณะอนุรักษ์พัฒนาป่าชุมชนภูเขาแม่น้�ำล�ำธารสัตว์ป่า ตลอดจนทรัพยากรธรรมชาติอื่นๆ 5. ส่งเสริมให้ประชาชนเข้ามามีบทบาท และมีสว่ นร่วมกับงานของเทศบาล 6. พัฒนาคุณภาพการให้บริการประชาชนโดยเน้นความสะดวก รวดเร็ว เสมอภาค และเป็นธรรม 7. อนุรักษ์และพัฒนาศิลปวัฒนธรรมอันดีงามและภูมิปัญญาท้องถิ่น 8. พัฒนาและปรับปรุงสถานที่ท่องเที่ยว ระบบสาธารณูปโภค และ สาธารณูปการให้เหมาะสมและทันสมัยให้ดงึ ดูดความสนใจของนักท่องเทีย่ ว อยู่เสมอ

SBL บันทึกประเทศไทย I เลย

.indd 116

- 23 / 02 / 2562 04:57:25 PM


สถานที่ท่องเที่ยวส�ำคัญ วัดสมเด็จภูเรือมิง่ เมือง หรือ วัดภูเรือมิง่ เมือง เดิมชือ่ “วัดพระกริง่ ปวเรศ” ตัง้ อยูท่ า่ มกลางทัศนียภาพอันสวยงามของขุนเขาทีข่ นึ้ สลับซับซ้อน ตัง้ อยูท่ ี่ บ้านป่าจันตม อ�ำเภอภูเรือ จังหวัดเลย เป็นวัดทีส่ ง่างามทัง้ รูปแบบการสร้าง วัสดุทใี่ ช้ และท�ำเลทีต่ งั้ เป็นพระอารามทีส่ มเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงพระราชทานเงินซือ้ ทีด่ นิ ส�ำหรับสร้างวัด มีพระอุโบสถโดดเด่นอยูต่ รงกลาง รายล้อมด้วยวิหารรายทั้งสี่ ทุกหลังสร้างด้วยไม้แกะสลักลวดลายสวยงาม ทั้งผนังและคันทวย หน้าบันก็ยิ่งสวยเพราะอยู่ด้านหน้าสุด ในวิหารราย แต่ ล ะหลั ง ประดิ ษ ฐานพระพุ ท ธรู ป ที่ ง ดงาม พระอุ โ บสถประดิ ษ ฐาน พระพุทธเจ้าไภสัชยาคุรุไวฑูรยประภาจอมแพทย์ หรือ พระกริ่งปวเรศ บรรจุองค์พระบรมสารีริกธาตุเป็นพระปฏิมาประธาน ตัวอาคารมีสถาปัตยกรรม ศิลปกรรม และประติมากรรมที่งดงามยิ่ง หลังคาทีผ่ สมผสานความงามสไตล์ไม้สนซีดาร์ ผลิตมาจาก Fiber Cement ที่ใช้นวัตกรรมขั้นสูง น�้ำหนักเบา งดงามตามแบบ Natural Look มีสิ่ง ที่น่าสนใจมากมาย เช่น พระพุทธรูปในวิหารรายองค์หนึ่งเป็นพระนอน แกะสลักด้วยหินหยกแม่น�้ำโขงจากพม่า ใครมาเที่ยวภูเรือไม่ได้แวะมาชม ความสวยงามของวัดสมเด็จภูเรือมิ่งเมืองนับว่าน่าเสียดายมากๆ เหมือน มาไม่ถึงภูเรือ

ภาพเจ้าพ่อพระยาศรีโทน

ลานคริสต์มาส

งานไม้ดอก ปี 2561

LOEI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 117

117

22/02/62 14:13:46


H I STO R Y O F B U DDH I S M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดป่าโนนสะอาด(ธ) ศูนย์ปฏิบัติธรรมภาวนา พระพิ ชิต จิตตปาโล ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดป่าโนนสะอาด(ธ)

118

เสนาสนะ

1. พระประธาน 2. ถ�้ำจ�ำลองส�ำหรับปฏิบัติธรรม 3. พระฤๅษี / พญานาค 4. อุโมงค์หลวงพ่อทันใจ 5. พระสิวลี พระอุปคุต พระสังกัจจายน์ พระนาคปรก รูปเหมือน พระเกจิอาจารย์และธรรมจักร

รายนามเจ้าอาวาส

1. พระอาจารย์กุหลาบ จิตตสาโร พ.ศ. 2536 - 2540 2. พระอาจารย์สุรเชษฐ์ ธมมจิตโต พ.ศ. 2540 - 2560 3. พระพิชิต จิตตปาโล พ.ศ. 2560 - ปัจจุบัน

SBL บันทึกประเทศไทย I เลย

.indd 118 เอกลั กษณ์และจุดเด่นของวัดดงตะขบประกอบด้วย

22/02/62 17:33:41


วัดป่าโนนสะอาด(ธ) ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 69 หมูท่ ี่ 6 บ้านโนนสะอาด ต�ำบลสานตม อ�ำเภอภูเรือ จังหวัดเลย 42160 ปัจจุบันมีเนื้อที่ 19 ไร่ 3 งาน 16 ตารางวา เดิมเป็นป่าช้าเก่าอยู่ริมถนนสายเลยหล่มสัก ซึ่งแต่ก่อนใช้ในการท�ำพิธีฌาปนกิจร่วมกันสองหมู่บ้าน คือ บ้านโนนสะอาด หมู่ที่ 6 และบ้านหนองแซง หมู่ที่ 2 ทั้ง สองชุมชนนี้ได้พร้อมใจกัน ก่อสร้างวัดขึ้นมา เมื่อปี พ.ศ. 2536 โดยมี พระอาจารย์ กุหลาบ จิตตสาโร เป็นเจ้าอาวาสรูปแรก ต่อมา ปี พ.ศ. 2537 คุณพวงเพ็ชร ชุนละเอียด อดีต ส.ส.จังหวัดเลย เขต 3 และคุณจรูญศรี มานิตย์กุล ได้ถวายเงินให้วัด เพื่อก่อสร้าง เสนาสนะสภาพในวัดมี ศาลาการเปรียญ 1 หลัง กุฏิ 2 หลัง และ ศาลาโรงฉัน 1 หลัง ต่อมาปี พ.ศ. 2540 พระอาจารย์ กุหลาบ จิตตสาโร ได้ยา้ ยไปจ�ำวัดอยูท่ อี่ นื่ จึงได้แต่งตัง้ เจ้าอาวาสรูปใหม่แทน คือ พระอาจารย์ สุรเชษฐ์ ธมมจิตโต เมื่อปี พ.ศ.2540 ได้พัฒนา วัดต่อ เสนาสนะ รูปเหมือนต่างๆ ที่อยู่ในวัด ได้สร้างขึ้นในช่วงที่ พระอาจารย์ สุรเชษฐ์ ธมมจิตโต เป็นเจ้าอาวาสอยู่ ต่อมาปี พ.ศ. 2560 พระอาจารย์ สุรเชษฐ์ ธมมจิตโต ย้ายไปอยู่ที่อื่น จึง ได้แต่งตั้ง พระพิชิต จิตตปาโล เป็นเจ้าอาวาสรูปที่สามแทน คือ รูปที่อยู่ในปัจจุบัน ในช่วงที่ก่อตั้ง วัดป่าโนนสะอาด ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2536 - 2560 นี้มีผู้ใหญ่บ้าน-ก�ำนัน ในพื้นที่ได้ร่วมก่อสร้างจ�ำนวน 4 คนดังนี้ 1.นายส�ำราญ ศรีบุรินทร์ ก� ำ นั น ต� ำ บลสานตม หมู ่ ที่ 2 (เกษียณ) 2.นายฉลอง วงศ์ค�ำโสม ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 6 (เสียชีวิต) 3.นายกองชุน ทองปั้น ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 6 (เกษียณ) 4.นายบุญโฮม ศรีบุรินทร์ ผูใ้ หญ่บา้ น หมูท่ ี่ 6 (คนปัจจุบนั )

พระพิ ชิต จิตตปาโล

พระพิชติ จิตตปาโล นามเดิม นายมังกร คะสีทอง เกิดเมือ่ วันที่ 20 ธันวาคม พ.ศ.2503 วันอังคาร ปีชวด โยมบิดามารดา นายมัน่ และนางทองมา คะสีทอง ภูมลิ ำ� เนา อยูท่ ี่ บ้านโนนสวรรค์ ต�ำบลสว่าง อ�ำเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร เมื่อปี พ.ศ. 2556 ได้อุปสมบทเป็นพระภิกษุ ที่วัดศรีภูมิ อ�ำเภอเมือง จังหวัดเลย โดยมีพระครูสุวรรณรัตนวิมล เป็นพระอุปัชฌาย์ และมาจ�ำพรรษาอยู่ที่วัดป่าโนนสะอาด และ ได้รับการแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน LOEI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 119

พระประธานอุ โ บสถกลางน�้ ำ

119

- 27/02/2562 10:12:53 AM


H I STO R Y O F B U DDH I S M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดภูตูมวนาราม อดี ต วั งเจ้ า ฟ้าร่มขาว พระราชสุเมธี (หลวงปู่กิตติกร สุจิณโณ) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดภูตูมวนาราม ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดเลย (ธ)

120

วัดภูตมู วนาราม ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นทรายขาว หมู่ 5 ต�ำบลทรายขาว อ�ำเภอวังสะพุง จังหวัดเลย โทรศัพ ท์ : 08-0011-9697 FACEBOOK : วัดภูตูมวนาราม จังหวัดเลย

SBL บันทึกประเทศไทย I เลย

.indd 120

22/02/62 17:11:02


เจ้าฟ้าร่มขาว

ในอดีตคุ้มวังเจ้าฟ้าร่มขาว ซึ่งตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น�้ำเลย ระหว่าง วั ด กู ่ ค� ำ และวั ด วั ง ทรายทอง เป็ น ที่ ย� ำ เกรงของคนในละแวก สายน�้ ำ เลย ตั้ ง แต่ ต ้ น น�้ ำ ถึ ง ปลายน�้ ำ จนถึ ง อ� ำ เภอเชี ย งคาน ตามประวัติที่เล่าสืบกันมาว่า เจ้าวังฟ้าเป็นเจ้าปกครองบ้านเมือง ในยุคประมาณ 5-6 ร้อยปีมาแล้ว เมื่อพระธาตุเมธี อดีตเจ้า คณะจังหวัดเลย รูปที่ 3 ได้สร้างวัดภูตมู วนาราม จากการยกวัดร้าง คือ “วัดทุ่งนาคันซุง” ขึ้นเป็นวัด เพราะมีพระสงฆ์ได้นิมิตในขณะ ที่จ�ำพรรษาที่วัดป่าสุทธาวาส จังหวัดสกลนคร เมื่อปี พ.ศ. 2509

ว่าหลวงปูม่ นั่ ภูรทิ ตั โต ให้ไปจังหวัดเลย และให้สร้างวัดทีล่ ำ� น�ำ้ เลย ห่างจากวัดถ�้ำผาบิ้งไปทางตะวันตก 3 กิโลเมตร ก็คือภูเขาเตี้ยๆ ที่มีต้นมะตูม พระธาตุเมธี จึงได้สร้างวัดภูตูมวนารามขึ้นแทน วัดเก่า เมื่อก่อสร้างเสร็จปรากฏว่ามีลมพัดสิ่งก่อสร้างพังเสียหาย ทุกปี ร่างทรงจึงได้มาขอร้องให้สร้างวิหารเจ้าฟ้าร่มขาวให้ โดยมี พระพุทธรูปและรูปแทนองค์เจ้าฟ้าร่มขาว จนเกิดความศักดิ์สิทธิ์ และอัศจรรย์แก่ผู้สักการะและอธิษฐานของผู้ต้องการตลอดมา

LOEI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 121

พระประธานอุ โ บสถกลางน�้ ำ

121

22/02/62 17:11:11


ประวัติพระราชสุเมธี (หลวงปู่เหลี่ยม สุจิณโณ) พระราชสุ เ มธี (หลวงปู ่ เ หลี่ ย ม สุ จิ ณ โณ) เป็ น พระเถระ ชั้นผู้ใหญ่ที่ชาวเมืองเลยให้ความเลื่อมใสศรัทธาอย่างยิ่ง ปัจจุบัน สิริอายุ 71 พรรษา 50 พระราชสุเมธี นามเดิมว่า เหลี่ยม ไกรชุมพล เกิดเมื่อวันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2483 ที่บ้านเลขที่ 9 หมู่ 5 บ้านทรายขาว ต�ำบลทรายขาว อ�ำเภอวังสะพุง จังหวัดเลย ต่อมา หลวงปู่ ศรีจนั ทร์ วัณณาโภ อดีตเจ้าอาวาสวัดศรีสทุ ธาวาส ได้เปลีย่ นชือ่ ท่าน ให้เป็นกิตติกร ในช่วงวัยเยาว์ จบการศึกษาระดับประถมปีที่ 4 โรงเรียนบ้านทรายขาว อ�ำเภอวังสะพุง ครั้นเมื่ออายุ 14 ปี ท่านได้เข้าพิธบี รรพชา ทีว่ ดั จันทรังสี บ้านฟากเลย อ�ำเภอวังสะพุง จังหวัดเลย โดยมีพระครูอดิสยั คุณาธาร (หลวงปูศ่ รีจนั ทร์ วัณณาโภ) เป็นพระอุปัชฌาย์ จากนัน้ จึงมุง่ มัน่ ศึกษาพระปริยตั ธิ รรม และไปจ�ำพรรษาอยูก่ บั หลวงปู่หลุย จันทสาโร ที่วัดถ�้ำผาบิ้ง อ�ำเภอวังสะพุง หลังจาก ออกพรรษา ได้ไปปฏิบตั ธิ รรมอยูก่ บั หลวงปูค่ ำ� ดี ปภาโส ทีว่ ดั ถ�ำ้ ผาปู่ อ�ำเภอเมืองเลย หลวงปูช่ อบ ฐานสโม วัดป่าโคกมน อ�ำเภอวังสะพุง

122

และหลวงปู่หลุย จันทสาโร ไปปฏิบัติธรรมตามสถานที่ต่างๆ พ.ศ. 2500 สามารถสอบได้นักธรรมชั้นตรี เมือ่ อายุครบ 21 ปีบริบรู ณ์ สามเณรกิตติกร ได้เข้าพิธอี ปุ สมบท ทีว่ ดั อโศการาม ต�ำบลท้ายบ้าน อ�ำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ โดยมีสมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (จวน อุฏฐายี) วัดมกุฏกษัตริยาราม เป็นพระอุปัชฌาย์ พระครูปลัดสิงห์ เป็นพระกรรมวาจาจารย์ และพระครูปลัดเฟื่อง เป็นพระอนุสาวนาจารย์ สอบได้นักธรรมชั้นเอก ที่สนามสอบจังหวัดจันทบุรี อีกทั้ง สอบได้เปรียญธรรม 3 ประโยค ล�ำดับสมณศักดิ์ พ.ศ. 2517 ได้รับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์ เป็นพระครูสัญญาบัตรชั้นโท ที่พระครูกิตติสารวิสุทธิ์ พ.ศ. 2522 ได้รับพระราชทานเลื่อน สมณศักดิ์ เป็นพระครูสัญญาบัตรชั้นเอก ในราชทินนามเดิม พ.ศ. 2534 ได้รบั พระราชทานเลือ่ นสมณศักดิ์ เป็นพระราชาคณะ ชั้นสามัญ ที่พระวิสุทธิสารสุธี พ.ศ. 2540 ได้รับพระราชทาน เลื่อนสมณศักดิ์ เป็นพระราชาคณะชั้นราชที่ พระราชสุเมธี

SBL บันทึกประเทศไทย I เลย

.indd 122

22/02/62 17:11:16


พระราชสุเมธี ชื่นชอบงานด้านฝีมือ เช่น การเขียนแบบแปลน วาดภาพ ชอบอ่ า นและเขี ย นงานทางด้ า นศิ ล ปะ นอกจากนี้ พระราชสุเมธี ยังเป็นพระทัง้ สายปฏิบตั แิ ละพัฒนา ทางสายปฏิบตั ิ เห็ น ได้ จ ากการติ ด ตามพระอาจารย์ ที่ เ ป็ น สายปฏิ บั ติ อาทิ หลวงปู่หลุย จันทสาโร หลวงปู่ชอบ ฐานสโม หลวงปู่ค�ำดี ปภาโส หลวงปู่ศรีจันทร์ วัณณาโภ ไปตามสถานที่ต่างๆ พ.ศ. 2505 ในช่วงที่จ�ำพรรษาอยู่ที่วัดอโศการาม จังหวัดสมุทรปราการ ได้ เป็นครูสอนนักธรรม เนื่องจากผ่านการอบรมโครงการพัฒนา ท้องถิ่นของมหาวิทยาลัยสงฆ์ หลังจากที่กลับมาจ�ำพรรษาอยู่กับ หลวงปู่ศรีจันทร์ ที่วัดศรีสุทธาวาส จังหวัดเลย ได้ขออนุญาต หลวงปู่ปรับปรุงการศึกษาแผนกธรรม-บาลี ด้วยการเปิดโรงเรียน พระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ขึ้นที่วัดศรีสุทธาวาส อีกทั้ง ยังได้ขออนุญาตจากหลวงปู่ศรีจันทร์ เปิดโรงเรียน การศึกษาผู้ใหญ่ ส�ำหรับพระภิกษุ-สามเณร ที่วัดศรีสุทธาวาส และแยกห้องเรียนไปเปิดที่วัดจันทรังษี อ�ำเภอวังสะพุง อีกแห่ง และเปิ ด โรงเรี ย นพระปริ ยั ติ ธ รรมแผนกสามั ญ ศึ ก ษาขึ้ น ที่

วัดศรีสุทธาวาส ได้ไปพัฒนาวัดภูตูมวนารามที่บ้านทรายขาว อ�ำเภอวังสะพุง พระราชสุเมธี ยังได้เปิดโรงเรียนการศึกษาผู้ใหญ่ ส�ำหรับฆราวาส สนับสนุนเปิดโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนก สามัญศึกษาที่วัดจันทรังษี และวัดภูตูมวนาราม อ�ำเภอวังสะพุง และขอจัดตั้งโรงเรียนมัธยมประจ�ำต�ำบล โดยใช้ที่ดินส่วนหนึ่ง ของวัดเป็นที่ก่อสร้างโรงเรียน พ.ศ. 2536 คณะสงฆ์ในจังหวัดเลย มีมติให้จัดการศึกษา ระดับอุดมศึกษา โดยแยกจากมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาลัยเขตอีสาน มาเปิดสอนที่วัดศรีสุทธาวาส และด�ำเนินการ จั ด ตั้ ง เป็ นวิ ท ยาเขตศรี ล ้ า นช้ า ง จนประสบผลส� ำเร็ จ การให้ โอกาสทางการศึกษา เป็นปณิธานที่พระราชสุเมธี มีความคิด อยู่เสมอว่า หากมีโอกาสจะให้การศึกษาแก่ผู้ยากไร้ด้อยโอกาส ให้ทดั เทียมกันในสังคม มีแนวความคิดว่าการพัฒนาคนต้องเจาะจง ด้านการศึกษา เพราะเมือ่ ได้รบั การศึกษาทีด่ ี มีความคิดสร้างสรรค์ แล้ว จะสามารถพัฒนาตนเอง รวมทั้งประเทศชาติสืบไป

LOEI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 123

123

22/02/62 17:11:26


H I STO R Y O F B U DDH I S M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดประชาสรรค์

ต�ำบลวังสะพุง อ�ำเภอวังสะพุง จังหวัดเลย พระครูสิริวัฒนาธร ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดประชาสรรค์ เจ้าคณะอ�ำเภอวังสะพุ ง(ธ)

124

วัดประชาสรรค์ ตั้งอยู่เลขที่ 484 หมู่ที่ 3 บ้านบุ่งผักก้าม ต�ำบลวังสะพุง อ�ำเภอวังสะพุง จังหวัดเลย โทรศั พ ท์ : 09-3467-6600, 09-3360-5181 FACEBOOK : วัดป่าประชาสรรค์ ต�ำบลวังสะพุง อ�ำเภอวังสะพุง จังหวัดเลย

SBL บันทึกประเทศไทย I เลย

เอกลักษณ์และจุดเด่นของวัดดงตะขบประกอบด้วย

.indd 124

- 26 / 02 / 2562 09:25:18 AM


พระครู สิ ริ วัฒนาธร (หลวงปู่น ้อย อคฺค ธโน)

พระครูสิริวัฒนาธร ฉายา อคฺคธโน อายุ 73 พรรษา 53 วิ ท ยฐานะ ป.ธ.-น.ธ.เอก วั ด ประชาสรรค์ ต� ำ บลวั ง สะพุ ง อ�ำเภอวังสะพุง จังหวัดเลย ปัจจุบันด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส วัดประชาสรรค์ เจ้าคณะอ�ำเภอวังสะพุง (ธรรมยุต) และพระอุปชั ฌาย์ สถานะเดิม ชื่อ ศิริ บัวระภา เกิดวันพุธที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2488 ปีระกา บิดา นายเขียน มารดา นางปุ่น บัวระภา อยู ่ บ ้ า นเลขที่ 15 หมู ที่ 4 บ้ า นฟากเลย ต� ำ บลศรี ส งคราม อ�ำเภอวังสะพุง จังหวัดเลย บรรพชา วันที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2518 วัดศรีสุทธาวาส ต� ำ บลเมื อ ง อ� ำ เภอเมื อ งเลย จั ง หวั ด เลย พระอุ ป ั ช ฌาย์ พระราชคุณาธาร (ศรีจนั ทร์ วัณณาโภ) วัดศรีสทุ ธาวาส ต�ำบลเมือง อ�ำเภอเมืองเลย จังหวัดเลย อุปสมบท วันที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2518 ณ วัดศรีสุทธาวาส ต�ำบลเมือง อ�ำเภอเมืองเลย จังหวัดเลย พระอุปัชฌาย์ พระราช คุณาธาร (ศรีจันทร์ วณฺณาโภ) วัดศรีสุทธาวาส ต�ำบลเมือง อ�ำเภอเมืองเลย จังหวัดเลย พระกรรมวาจาจารย์ พระมหาสุนทร วัดศรีสุทธาวาส ต�ำบลเมือง อ�ำเภอเมืองเลย จังหวัดเลย

วิ ท ยฐานะ

พ.ศ. 2502 ส�ำเร็จการศึกษาชัน้ ป.4 โรงเรียนบ้านโนนสว่าง อ�ำเภอวังสะพุง จังหวัดเลย พ.ศ. 2516 สอบไล่ได้ น.ธ.เอก ส�ำนักเรียนวัดประชาสรรค์ อ�ำเภอวังสะพุง จังหวัดเลย สอบไล่ได้ ป.ธ. ส�ำเร็จการศึกษา ระดับปริญญาบัตร

งานพัฒ นา

พ.ศ. 2557 ได้บริจาคเงินส่วนตัวร่วมก่อสร้างตึกใหม่ โรงพยาบาลวังสะพุง ต�ำบลวังสะพุง อ�ำเภอวังสะพุง จังหวัดเลย สิ้นค่าใช้จ่าย 25,000 บาท (สองหมื่นห้าบาทถ้วน) พ.ศ. 2559 สมทบทุนสร้างตึกสงฆ์และซื้อเครื่องมือแพทย์ โรงพยาบาลเอราวั ณ ต� ำ บลผาอิ น แปลง อ� ำ เภอเอราวั ณ จังหวัดเลย สิ้นค่าใช้จ่าย 20,000 บาท (สองหมื่นบาทถ้วน) พ.ศ. 2559 ได้บริจาคเงินส่วนตัวสร้างห้องน�้ำศาลากลาง หมู่บ้านบุ่งผักก้าม ต�ำบลวังสะพุง อ�ำเภอวังสะพุง จังหวัดเลย จ�ำนวน 2 ห้อง เป็นจ�ำนวนเงิน 15,000 บาท (หนึ่งหมื่นห้าพัน บาทถ้วน) พ.ศ. 2561 ได้บริจาคเงินส่วนตัว สมทบทุนซือ้ เครือ่ งมือแพทย์ โรงพยาบาลเลย 15,000 บาท (หนึ่งหมื่นห้าบาทถ้วน) รวมเงิน ในการพัฒนาทุกรายการ 75,000 บาท (เจ็ดหมืน่ ห้าพันบาทถ้วน)

สมณศักดิ์

พ.ศ. 2520 พระครูสัญญาบัตรชั้นตรี ในราชทินนามที่ พระครูสิริวัฒนา พ.ศ. 2525 พระครูสัญญาบัตรชั้นโท ในราชทินนามที่ พระครูสิริวัฒนา พ.ศ. 2549 พระครูสัญญาบัตรเจ้าคณะอ�ำเภอชั้นเอก ในราชทินนามที่พระครูสิริวัฒนาธร พ.ศ. 2556 พระครูสัญญาบัตรเจ้าคณะอ�ำเภอชั้นพิเศษ ในราชทินนามที่พระครูสิริวัฒนาธร LOEI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 125

พระประธานอุ โ บสถกลางน�้ ำ

125

- 26 / 02 / 2562 09:25:26 AM


H I STO R Y O F B U DDH I S M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดป่าศรัทธารวม พระครูกิตติวิสุทธิธรรม ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดป่าศรัทธารวม และ รองเจ้าคณะอ�ำเภอวังสะพุ ง(ธ)

วัตถุโบราณไม้กลายเป็นหิน อายุประมาณ 2,000 ปี 126

SBL บันทึกประเทศไทย I เลย

( ).indd 126 เอกลั กษณ์และจุดเด่นของวัดดงตะขบประกอบด้วย

22/02/62 16:49:44


วัดป่าศรัทธารวม

ศาลาการเปรียญ

วิหาร

หอระฆัง

ตัง้ อยูบ่ า้ นห้วยทรายค�ำ หมู่ 7 ต�ำบลศรีสงคราม อ�ำเภอวังสะพุง จังหวัดเลย มีเนื้อที่บริเวณวัด 17 ไร่ 2 งาน 1 ตารางวา สังกัด คณะสงฆ์ธรรมยุตกิ นิกาย สร้างขึน้ เมือ่ พ.ศ. 2483 กรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ รับรองสภาพวัดและน�ำวัดขึน้ ทะเบียนถูกต้อง ตามหนังสือกรมการศาสนา ที่ ศธ. 0303/7284 ลงวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2540 โดยหนังสือจังหวัดเลยรับรองสภาพวัดว่า “วัดป่าศรัทธารวม” เป็นวัดทีส่ มบูรณ์ตามพระราชบัญญัตลิ กั ษณะ การปกครองคณะสงฆ์ ร.ศ.121 ซึ่งเป็นกฎหมายที่ใช้บังคับอยู่ ในขณะนัน้ กรมการศาสนาได้ดำ� เนินการขอพระราชทานวิสงุ คามสีมา ในงวดที่ 5 ประจ�ำปี พ.ศ. 2542 ซึ่งโปรดเกล้าพระราชทานแล้ว เมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2543 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับประกาศทั่วไป เล่ม 117 ตอนที่ 7 ง ลงวันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2543 และทางวัดได้จัดท�ำพิธีปักษ์เขตวิสุงคามสีมา และ ท�ำพิธีตามหลักพระธรรมวินัยโดยถูกต้องแล้ว

วิหารสมเด็จพระพุฒาจารย์(โต พรหมรังสี) และที่เก็บไม้กลายเป็นหิน

เสาอโศกมหาราช

เมื่อวันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2560 พระครูกิตติวิสุทธิธรรม และรองผูว้ า่ ราชการจังหวัดเลยโดย นายโสภณ สุวรรณรัตน์ ร่วมกับ ข้าราชการพ่อค้าคหบดีตลอดจนประชาชนทัว่ ไปจัดพิธวี างศิลาฤกษ์ ยกเสาอโศก ฐานกว้าง 5×5 เมตร หมายถึงหมู่บ้านศีล 5 และ เสาสูง 8 เมตร หมายถึงมรรค 8 จนแล้วเสร็จเมือ่ วันที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2560 ใช้งบประมาณทั้งสิ้น 298,799 บาท ซึ่งได้รับ การสนับสนุนการก่อสร้างโดย นายโสภณ สุวรรณรัตน์ รองผู้ว่า ราชการจังหวัดเลย และข้าราชการ พ่อค้า ประชาชนทั่วไป

พระครูกิต ติวิสุทธิธ รรม

วัดป่าศรัทธารวม มีเจ้าอาวาสปกครองคณะสงฆ์วัดมาจนถึง ปัจจุบัน 13 รูป ปัจจุบันมีท่านพระครูกิตติวิสุทธิธรรม หรือที่ คนในพื้นที่จังหวัดเลยรู้จักคือท่านพระอาจารย์เวียง ซึ่งรับการ แต่งตัง้ ให้ดำ� รงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส เมือ่ วันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2537 ถึงปัจจุบัน เป็นเจ้าอาวาสรูปที่ 13 ในสมัยรัชกาลที่ 9 และได้รับ การแต่งตัง้ ให้ดำ� รงต�ำแหน่ง รองเจ้าคณะอ�ำเภอวังสะพุง(ธรรมยุต) เมื่อวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2543 โดยมีสมณศักดิ์พัดยศ เทียบ เจ้าคณะอ�ำเภอชั้นเอก LOEI I SBL บันทึกประเทศไทย

( ).indd 127

พระประธานอุ โ บสถกลางน�้ ำ

127

22/02/62 16:49:51


H I STO R Y O F B U DDH I S M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดป่าผาเจริญ(ธ)

บ้านเล้า หมู่ที่ 2 ต�ำบลวังสะพุง อ�ำเภอวังสะพุง จังหวัดเลย

เจ้าอธิการณรงค์ โอภาโส ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดป่าผาเจริญ(ธ) เจ้าคณะต�ำบลผาน้อย เขต1

128

SBL บันทึกประเทศไทย I เลย

( ).indd 128

22/02/62 15:53:07


ประวัติเจ้าอธิการณรงค์ โอภาโส

เจ้าอธิการณรงค์ โอภาโส สังกัดนิกายธรรมยุต สถานะเดิม ณรงค์ ธนูหงส์ วิทยฐานะ ป.7 อาชีพ เกษตรกรรม เชื้อชาติไทย สัญชาติไทย บิดา นายประสิทธิ์ มารดา นางทองม้วน เกิดวันที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2504 บ้านเลขที่ 45 หมูท่ ี่ 5 ต�ำบลโคกเจริญ อ� ำ เภอโคกส� ำ โรง จั ง หวั ด ลพบุ รี สั ง กั ด วั ด นิ เ วศธรรมประวั ติ ต�ำบลบ้านเลน อ�ำเภอบางประอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา วันที่ 10 เมษายน พ.ศ. 2529 ย้ายสังกัดวัด ไปอยูว่ ดั ป่าผาเจริญ(ธ) ต�ำบลวังสะพุง อ�ำเภอวังสะพุง จังหวัดเลย ย้ายวันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2550 รับเข้าสังกัดวัด มาอยู่วัดป่าผาเจริญ(ธ) วันที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2550 LOEI I SBL บันทึกประเทศไทย

( ).indd 129

พระประธานอุ โ บสถกลางน�้ ำ

129

22/02/62 15:53:16


หลวงปู ่ โ กวิท ฐานยุตฺโต วัดป่าผาเจริญ ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นเล้า ต�ำบลวังสะพุง อ�ำเภอวังสะพุง จังหวัดเลย “พระปิยทัสสี” หรือ “หลวงปู่โกวิท ฐานยุตฺโต” เป็น พระเถระผู ้ มี ป ฏิ ป ทาเคร่ ง ครั ด ในพระธรรมวิ นั ย ยิ่ ง และเป็ น พระนั ก ปกครอง นั ก พั ฒนา สายปฏิ บั ติ วิ ป ั ส สนากั ม มั ฏ ฐาน การเดินจงกรม การนั่งสมาธิภาวนา บิณฑบาต เป็นกิจวัตร และฉันเอกา ฉันภัตตาหารในบาตรเป็นวัตร เป็น ผู้มีเมตตาจิต โอบอ้ อ มอารี ยิ้ ม แย้ ม แจ่ ม ใสให้ ค วามเสมอภาคแก่ ช นทุ ก ชั้ น “พระปิยทัสสี” หรือ “หลวงปู่โกวิท ฐานยุตฺโต” อดีตเจ้าคณะ จังหวัดเลย ทีป่ รึกษาเจ้าคณะจังหวัดเลย เจ้าอาวาสวัดป่าผาเจริญ อ�ำเภอวังสะพุง จังหวัดเลย เกิดเมือ่ วันพุธที่ 14 มิถนุ ายน พ.ศ. 2476 ที่บ้านน�ำ้ อ้อม ต�ำบลวังสะพุง อ�ำเภอวังสะพุง จังหวัดเลย เดิมชื่อ สมพร บุญปัน โยมบิดา-มารดา ชือ่ นายใบ บุญปัน นางทา บุญปัน เมือ่ วัยเยาว์จบการศึกษาชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 4 จากโรงเรียนบ้านเล้า ต�ำบลวังสะพุง อ�ำเภอวังสะพุง จังหวัดเลย พ.ศ. 2493 เมื่ออายุได้ 17 ปี ท่านได้มีโอกาสเข้าไปกราบ 130

หลวงปู่เหง้า ถาวโร เกิดความศรัทธาต่อวัตรปฏิบัติของหลวงปู่ โยมบิดา-มารดา จึงอนุญาตให้ติดตามหลวงปู่เหง้า เป็นเวลา 1 ปี ก่อนบรรพชาเป็นสามเณรที่วัดสิริจันทรนิมิต ต�ำบลเขาพระงาม อ�ำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี เมื่อวันที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2493 โดยมีพระครูปริยัติตยานุกูล เป็นพระอุปัชฌาย์ ภายหลังบรรพชา ได้ไปเล่าเรียนด้านปริยัติธรรมกับท่านเจ้าคุณ พระศลวรคุณ วัดมณีชลขันธ์ อ�ำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี พ.ศ. 2496 อายุ 20 ปี อุปสมบทเป็นพระภิกษุ ณ วัดรัมภาราม ต�ำบลท่าวุง้ อ�ำเภอท่าวุง้ จังหวัดลพบุรี โดยมีเจ้าคุณ พระเทพวรคุณ(อ�ำ่ ) เป็นพระอุปชั ฌาย์ พระครูนเิ ทศธรรมจักร เป็นพระกรรมวาจาจารย์ พระมหาถัน เป็นพระอนุสาวนาจารย์ ได้ฉายาว่า “ฐานยุตฺโต” พ.ศ. 2504 พระราชคุณาธาร (หลวงปู่ศรีจันทร์ วัณณาโภ) เจ้าคณะจังหวัดเลย ในคณะนั้น ได้ปรารภกับท่านว่า “จังหวัดเลย ยังขาดผู้บริหารคณะสงฆ์ที่มีความสามารถ” ท่านจึงตัดสินใจอยู่ จังหวัดเลยบ้านเกิด ณ วัดเวฬุคาม บ้านเล้า ต�ำบลวังสะพุง

SBL บันทึกประเทศไทย I เลย

( ).indd 130

22/02/62 15:53:24


อ�ำเภอวังสะพุง ตามที่ทางหลวงปู่ศรีจันทร์ร้องขอ พ.ศ. 2508 อายุ 32 ปี ย้ายมาจ�ำพรรษาอยู่ที่วัดจันทรังษี บ้านฟากเลย ต�ำบลวังสะพุง(ปัจจุบนั ต�ำบลศรีสงคราม) อ�ำเภอวังสะพุง จังหวัดเลย เนื่องจากได้รับแต่งตั้งจากพระราชคุณาธารเจ้าคณะ จังหวัดเลย ให้เป็นเจ้าอาวาสวัดจันทรังษี และเป็นเจ้าคณะอ�ำเภอ วังสะพุง ปี พ.ศ. 2510 ได้รบั พระราชทานสมณศักดิเ์ ป็นพระครูสญ ั ญา บัตรชัน้ โท ในพระราชทินนามที่ พระครูโกวิทสังฆภาร ปี พ.ศ. 2516 ได้รับแต่งตั้งเป็นพระอุปัชฌาย์ ปี พ.ศ. 2517 ได้เลื่อนสมณศักดิ์ เป็นพระครูชน้ั เอก ในราชทินนามเดิม ปี พ.ศ. 2522 ได้เลือ่ นสมณศักดิ์ เป็นพระครูชั้นพิเศษ ในราชทินนามเดิม ปี พ.ศ. 2543 เป็น รองเจ้าคณะจังหวัดเลย เมือ่ วันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2547 ได้เลือ่ น สมณศักดิเ์ ป็นพระราชาคณะชัน้ สามัญในราชทินนาม ที่ “พระปิยทัสสี” ปี พ.ศ. 2555 ได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าคณะจังหวัดเลย ฝ่ายธรรมยุต และปี พ.ศ. 2557 เป็นทีป่ รึกษาเจ้าคณะจังหวัดเลย ฝ่ายธรรมยุต

“พระปิยทัสสี” หรือ “หลวงปู่โกวิท ฐานยุตฺโต” เป็นลูกศิษย์ ของพระธรรมวราลังการ หรือหลวงปูศ่ รีจนั ทร์ วัณณาโภ ทีป่ รึกษา เจ้าคณะภาค 8 ธรรมยุต วัดศรีสุทธาวาส หลวงปู่ชอบ ฐานสโม วัดป่าสัมมานุสรณ์ หลวงปูห่ ลุย จันทสาโร วัดถ�ำ้ ผาบิง้ จังหวัดเลย พระครูศรีภมู านุรกั ษ์ หรือ หลวงปูค่ ำ� มี สุวณฺณศิริ เจ้าคณะอ�ำเภอ พังโคน-วาริชภูม-ิ พรรณนานิคม วัดป่าสามัคคีธรรม จังหวัดสกลนคร ซึ่งเป็นสายลูกศิษย์หลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต จึงนับได้ว่า พระปิยทัสสี หรือ หลวงปู่โกวิท ฐานยุตฺโต เป็นพระเถระผู้ใหญ่อีกรูปหนึ่ง ในจังหวัดเลยที่ประชาชนให้ความเคารพเลื่อมใสศรัทธาเป็นเพชร เม็ดงามแห่งเมืองเลยทีค่ วรค่าแก่การเคารพกราบไหว้อย่างแท้จริง ท่านมรณภาพ เมื่อวันที่ 22 มิถุนายน 2557 เวลา 22.19 น. ทีโ่ รงพยาบาลเลย จังหวัดเลย ด้วยโรคเลือดออกในทางเดินอาหาร ส่วนต้น สิริอายุ 81 ปี 8 วัน 60 พรรษา

LOEI I SBL บันทึกประเทศไทย

( ).indd 131

131

22/02/62 15:53:32


H I STO R Y O F B U DDH I S M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดป่าสัมมานุสรณ์(วัดเหนือ) พระเจดีย์งดงาม (หลวงปู่ชอบ ฐานสโม)

พระครูวีรญาณโสภณ(หลวงปู่ดาด สิริปัญโญ) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดป่าสัมมานุสรณ์(วัดเหนือ)

132

(

วัดป่าสัมมานุสรณ์(วัดเหนือ) ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นโคกมน ต�ำบลผาน้อย อ�ำเภอวังสะพุง จังหวัดเลย โทรศัพท์ 08-8556-2286 สิง่ ทีน่ า่ สนใจ ภายในวัดนี้คือ มีพระเจดีย์ 2 เจดีย์ เป็นเจดีย์เก็บอัฐิธาตุ บริขาร รูปเหมือน หลวงปูช่ อบ ฐานสโม ทีม่ คี วามสวยงาม วัดป่าสัมมานุสรณ์ (วัดเหนือ) เป็นวัดป่าวิปัสสนากัมมัฏฐาน สายพระอาจารย์มั่น ภูริทัตโต ซึ่งก่อตั้งโดย หลวงปู่ชอบ ฐานสโม

SBL บันทึกประเทศไทย I เลย

).indd 132

- 26 / 02 / 2562 09:18:28 AM


ประวั ติ เ จ้ าอาวาสวัด ป่าสัม มานุสรณ์(วัดเหนือ)รูปปัจจุบัน

พระครูวรี ญาณโสภณ (หลวงปูด่ าด สิรปิ ญ ั โญ) ในฐานะลูกศิษย์ ผู้ใกล้ชิด แม้ในยามที่ หลวงปู่ชอบอาพาธ ท่านก็ยังคอยติดตาม ดูแลปรนนิบตั ิ กระทัง่ หลวงปูช่ อบย้ายไปสร้างวัดป่าโคกมนอีกแห่ง ต่อมาหลวงปูบ่ วั ค�ำ มหาวีโร เจ้าอาวาสวัดป่าสัมมานุสรณ์(วัดเหนือ) ท่านมรณภาพ อย่างสงบ หลวงปู่ดาดจึงได้รับการแต่งตั้งให้เป็น เจ้าอาวาสวัดป่าสัมมานุสรณ์(วัดเหนือ) สืบแทนอย่างเป็นทางการ ปัจจุบัน สิริอายุ 75 พรรษา 55 นามเดิมชื่อ ดาด ค�ำจัตุรัส เกิดเมือ่ วันที่ 25 ส.ค. พ.ศ. 2487 ตรงกับวันศุกร์ ขึน้ 7 ค�ำ่ เดือน 9 ปีวอก ตั้งอยู่ที่บ้านสว่างหนองแก ต�ำบลขัวเรียง อ�ำเภอชุมแพ จั ง หวั ด ขอนแก่ น ครั้ น เมื่ อ อายุ ค รบ 20 ปีบริบูรณ์ ได้เข้าสู่

ร่ม ผ้ากาสาวพัสตร์ อุปสมบทเมื่อปี 27 เมษายน พ.ศ. 2507 ที่ วัดบ้านเกิด คือ วัดสว่างอารมณ์ บ้านสว่างหนองแก ต�ำบลขัวเรียง อ�ำเภอชุมแพ จังหวัดขอนแก่น หลังจากนั้นก็มาพ�ำนักจ�ำพรรษา อยู่ที่วัดป่าสัมมานุสรณ์(วัดเหนือ) หลวงปู่ดาด คอยปรนนิบัติ รับใช้หลวงปู่ชอบมาโดยตลอด นอกจากเรื่องการปฏิบัติดูแล หลวงปูช่ อบแล้ว ยังได้มโี อกาสติดตามหลวงปูช่ อบออกไปปฏิบตั ธิ รรม เจริญวิปัสสนากัมมัฏฐานเป็นประจ�ำ ถือเป็นศิษย์เอกของหลวงปู่ ชอบ ฐานสโม ทีย่ ดึ ถือแนวธรรมมาปฏิบตั ิ และเผยแผ่แก่คณะศรัทธา ญาติโยมมาจนกระทัง่ ทุกวันนี้ ทัง้ นี้ ท่านได้ปฏิบตั ธิ รรมเจริญรอยตาม ครูบาอาจารย์อย่างแน่วแน่มั่นคงมาโดยตลอด โดยยึดหลักปฏิบัติ สมาธิวปิ สั สนากัมมัฏฐานด้วยความเคร่งครัด ท่านได้จาริกธุดงควัตร ไปตามป่าเขาล�ำเนาไพรทั่วทุกภูมิภาคของประเทศ ท่านจึงเป็น พระสายปฏิบัติที่แท้จริง และยังแนะน�ำสั่งสอนลูกศิษย์ลูกหา วัดป่าสัมมานุสรณ์(วัดเหนือ) เมือ่ เริม่ ตัง้ วัดมีพนื้ ทีเ่ พียง 15 ไร่ โดยผู้ใหญ่ถัน วงษา ได้ถวายหลวงปู่ชอบสร้างวัด ต่อมาหลวงปู่ บัวค�ำ มหาวีโร ท่านได้ซอื้ ทีด่ นิ เพิม่ อีก2แปลง ประมาณ 80 ไร่ ยุคปัจจุบนั หลวงปูด่ าด สิรปิ ญ ั โญก็ได้ซอื้ ทีด่ นิ ขยายเพิม่ อีก ปัจจุบนั มีพื้นที่ทั้งหมดจ�ำนวน 211 ไร่ ส่วนหนึ่งยังมีการอนุรักษ์รักษา สภาพป่าที่มีความอุดมสมบูรณ์ อีกส่วนหนึ่งจะเป็นที่โล่ง ภายใน วัดได้มีการสร้างศาลาไม้ พระอุโบสถ พระเจดีย์ ศาลาการเปรียญ และเจดีย์ที่บรรจุอัฐิ เครื่องอัฐบริขารของหลวงปู่ชอบ ฐานสโม เอาไว้ให้ลูกศิษย์ลูกหาได้กราบไหว้บูชา หลวงปู่ดาดนั้นท่านเป็น พระนักพัฒนา และยังให้ความส�ำคัญในเรื่องการพัฒนาอาชีพ ท่านชอบในเรื่องของการท�ำการเกษตร เนื่องจากหลวงปู่ชอบ หลวงปู ่ ห ลุ ย หลวงปู ่ บั ว ค� ำ ได้ สั่ ง หลวงปู ่ ด าด ไว้ ว ่ า ให้ ป ลู ก ทุกอย่างที่กินได้ เช่น มะพร้าว มะม่วง พืชผัก เมื่อหลวงปู่ท่าน ว่างจากกิจของสงฆ์ ท่านก็ใช้พน้ื ทีบ่ างส่วนพาพระลูกวัด แม่ชี และ ญาติโยมปลูกพืชผักสวนครัว แบบเศรษฐกิจพอเพียง เป็นแปลง เรียนรู้ และผลผลิตทีอ่ อกมาก็จะมีการแจกจ่ายกันไปโดยไม่จำ� เป็น ต้องซือ้ หากัน และทีด่ นิ อีกส่วนท่านก็ได้มอบหมายให้พระอาจารย์ เนติ ปัญญาพโล ปลูกป่าฟื้นฟูสภาพป่าให้กลับคืนมา ส่วนที่ดิน ที่ว่างอยู่นั้น คุณประดิษฐ์ ศรีประเสริฐ นายกองค์การบริหาร ส่วนต�ำบลผาน้อย ได้กราบเรียนหลวงปู่ดาด ขอใช้พื้นที่ภายในวัด ท�ำประโยชน์เพื่อส่วนรวม ด้วยการปลูกยางพาราเพื่อจะได้เป็น แปลงสาธิต เป็นแหล่งเรียนรู้ในเรื่องของยางพารา ให้เกษตรกร ที่ ป ลู ก ยางพาราในพื้ น ที่ ต� ำ บลผาน้ อ ยหรื อ ต� ำ บลใกล้ เ คี ย ง ได้มาศึกษาในเรือ่ งของยางพาราในพืน้ ทีต่ รงนี้ ซึง่ ทาง อบต.ผาน้อย ได้ให้การสนับสนุนในเรื่องของงบประมาณในการซื้อพันธุ์ยาง และปุ๋ยมาปลูก ซึ่งทางวัดก็ได้ให้ชาวบ้านดูแล

LOEI I SBL บันทึกประเทศไทย

(

).indd 133

พระประธานอุ โ บสถกลางน�้ ำ

133

- 26 / 02 / 2562 09:18:30 AM


ประวั ติ ห ลวงปู่ช อบ ฐานสโม “หลวงปู่ชอบ ฐานสโม” แห่งวัดป่าสัมมานุสรณ์(วัดเหนือ) ตั้งอยู่ที่ บ้านโคกมน ต�ำบลผาน้อย อ�ำเภอวังสะพุง จังหวัดเลย พุทธศาสนิกชนทัว่ ไปต่างรูจ้ กั นามของท่านเป็นอย่างดี หลวงปูช่ อบ เป็นพระเกจิอาจารย์ที่ส�ำคัญรูปหนึ่งแห่งภาคอีสาน เป็นพระ ที่ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ เป็นพระป่าสายหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต เป็น ทีเ่ คารพนับถือของพุทธศาสนิกชนและบรรดาลูกศิษย์ลกู หามาตลอด ตั้งแต่ท่านมีชีวิตอยู่ แม้ท่านจะมรณภาพละสังขารไปแล้วก็ตาม แต่ก็ยังคงเป็นที่เคารพศรัทธาเลื่อมใสของพุทธศาสนิกชนทั่วไป อย่างไม่เสื่อมคลาย หลวงปู่ชอบ เกิดที่บ้านโคกมน เมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2444 ชื่อว่า บ่อ แก้วสุวรรณ มีพี่น้อง 4 คน ท่านเป็น ลูกชายคนโต ต่อมาครอบครัวท่านย้ายมาอยู่ที่บ้านหนองบัวบาน ต�ำบลเชียงพิณ จังหวัดอุดรธานี 3 ปี พ่อของท่านก็ถึงแก่กรรม ขณะทีท่ า่ นอายุได้ 11 ปี ภาระหนักช่วยดูแลครอบครัวจึงอยูก่ บั ท่าน เมือ่ อายุได้ 14 ปี มีพระธุดงค์ ชือ่ พระอาจารย์พา เป็นญาติมาเยีย่ ม 134

(

โยมแม่ ท่านได้ไปปรนนิบัติรับใช้ พระอาจารย์พาถามเรื่องใด ท่านมักจะตอบว่า “ชอบครับ” พระอาจารย์พาจึงเรียกท่านว่า “เด็กชายชอบ” ชื่อของท่านจึงเปลี่ยนเป็น ชอบ จากนั้นได้ถือ ศีล 8 ออกติดตามพระอาจารย์พาไป พ.ศ. 2462 อายุ 19 ปี พระอาจารย์พาได้ขออนุญาตโยมแม่ให้บวชเป็นสามเณรที่วัด บ้านนาแก ต�ำบลนากลาง จังหวัดอุดรธานี พระอาจารย์พา ได้พาท่านไปพักกับหลวงปู่สิงห์ ขันตยาคโม เมื่ออายุ 23 ปี พระอาจารย์พาได้พาท่านไปอุปสมบทเป็น พระภิกษุที่วัดสร้างโคก(วัดศรีธรรมาราม) จังหวัดยโสธร เมื่อ วันที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2467 ได้รบั ฉายาว่า “ฐานสโม” พ.ศ. 2470 โยมแม่ของท่านอยากจะบวชเป็นแม่ชีท่านจึงพาไปบวชแม่ชีกับ พระอาจารย์บุญ ปัญญาวุโธ ที่วัดป่าหนองวัวซอ และปีนี้ได้มี หลวงปูห่ ลุย จันทสาโร และหลวงปูข่ าว อนาลโย อยูจ่ ำ� พรรษาด้วย ช่ ว งปี พ.ศ. 2470 ท่ า นได้ เ ดิ น ทางไปฝากตั ว เป็ น ลู ก ศิ ษ ย์ หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ที่บ้านสามผง จังหวัดนครพนม

SBL บันทึกประเทศไทย I เลย

).indd 134

- 26 / 02 / 2562 09:18:38 AM


พ.ศ. 2501 ผู้ใหญ่ถัน วงษา ถวายที่ดิน ท่านเริ่มสร้าง วัดป่าโคกมน พ.ศ. 2503 ได้เป็นวัดถูกต้องเมื่อ พ.ศ. 2519 ส่ ว นการเปลี่ ย นชื่ อ วั ด นั้ น พอทางวั ด ยื่ น หนั ง สื อ ขอสร้ า งวั ด พระธรรมวราลังการ (หลวงปู่ศรีจันทร์ วัณณาโภ) ท่านตั้งชื่อวัด ให้ใหม่จากเดิมชือ่ วัดป่าโคกมน เป็นวัดป่าสัมมานุสรณ์ เนือ่ งจาก เป็นวัดหลวงปู่ชอบ ค�ำว่า “ชอบ” ภาษาบาลีนั้นว่า “สัมมา” หลวงปูศ่ รีจนั ทร์ วัณณาโภ ท่านเลยตัง้ ชือ่ วัด ว่าวัดป่าสัมมานุสรณ์ นัน้ เอง และได้ทำ� หนังสือแต่งตัง้ หลวงปูบ่ วั ค�ำ มหาวีโร ด�ำรงต�ำแหน่ง เจ้าอาวาสวัดป่าสัมมานุสรณ์ เป็นรูปแรก เนื่องจากหลวงปู่ชอบ ท่านไม่ยอมรับต�ำแหน่งใดๆ ท่านได้เริ่มสร้างโบสถ์กลางน�้ำ พ.ศ. 2514 และท่านภาวนา นิมิตเห็นกระดูกซีกซ้ายของท่านแตกละเอียด ท่านเริ่มมึน ชาแขน ขาซีกซ้าย ท�ำให้ท่านเป็นอัมพาต ตั้งแต่นั้นมา พ.ศ. 2518 ท่านจึงสั่งให้สร้างเจดีย์ข้างโบสถ์ โดยท่านก�ำหนดแบบเจดีย์เอง ท่ า นอยากได้ ค ล้ า ยเจดี ย ์ ช เวดากอง ซึ่ ง มอบหมายให้ ห ลวงปู ่

บัวค�ำ มหาวีโร และหลวงปู่ดาด สิริปัญโญ ดูแลการก่อสร้างโบสถ์ และพระเจดี ย ์ พ.ศ. 2524 ท่ านได้ ไ ปสร้า งวัด บริเวณป่า ช้า วังหินโง้น ปัจจุบันคือ วัดป่าศรัทธาวนาราม(วัดป่าโคกมน) ก็อยู่ ไม่ไกลไปจากวัดป่าสัมมานุสรณ์นัก ปลายปี พ.ศ. 2537 ท่านเริม่ ป่วยไปรักษาตัวทีโ่ รงพยาบาลศิรริ าช ระหว่างทางที่จะมาละสังขารที่วัดท่านก็มรณภาพจากอาการ น�้ำท่วมปอด เป็นวันพระ แรม 8 ค�่ำ ตรงกับวันที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2538 เวลา 11.38 น. รวมอายุได้ 94 ปี 71 พรรษา หลวงปูช่ อบเป็นผูม้ กั น้อยสันโดษ รักษาธุดงค์วตั รด้วยดีตลอด ชอบอยู่โดดเดี่ยวในป่าเขา เป็นที่รักของเทพเทวดา อินทร์พรหม พญานาค และมนุษย์ทั้งหลาย ถ้าท่านไม่ป่วยเป็นอัมพาตก็ยาก ทีส่ าธุชนจะได้กราบและท�ำบุญกับท่าน มีงานพระราชทานเพลิงศพ ณ เมรุชวั่ คราว วัดป่าสัมมานุสรณ์ เมือ่ วันจันทร์ที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2539 เจดียน์ สี้ ร้างคลอบบริเวณเมรุทเี่ ผาศพสรีระสังขารท่าน และได้บรรจุอัฐิธาตุของท่านไว้เมื่อวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2547 LOEI I SBL บันทึกประเทศไทย

(

).indd 135

135

- 26 / 02 / 2562 09:18:46 AM


H I STO R Y O F B U DDH I S M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดป่าภูแปกญาณสัมปันโน(ธ) สมบั ติข องสงฆ์ สมบัติของลูกหลาน และสมบัติข องชาติสืบไป พระอาจารย์เฉลิม ธมมฺธโร ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดป่าภูแปกญาณสัมปันโน(ธ)

136

SBL บันทึกประเทศไทย I เลย

.indd 136

- 26 / 02 / 2562 09:14:16 AM


วัดป่าภูแปกญาณสัมปันโน ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นกกบก ต�ำบลหนองงิว้ อ�ำเภอวังสะพุง จังหวัดเลย เมื่อปี พ.ศ. 2532 ชาวบ้านกกบก ได้นิมนต์พระ 2 รูป ให้มาจ�ำพรรษาภายในหมู่บ้าน พร้อมช่วยกัน ท�ำกุฏเิ ล็กๆ ให้สองหลัง และช่วยกันท�ำศาลาเล็กๆ ถวายอีก 1 หลัง และยกที่ ดิ นให้เ พื่อ สร้า งเป็นวัดจ�ำ นวนประมาณ 1,200 ไร่ สิ่ ง ก่ อ สร้ า งที่อ ยู่อ าศัย เสนาสนะ ล้วนเกิดจากน�้ ำ พั ก น�้ ำ แรง ของชาวบ้านเป็นหลัก เพราะในสมัยนั้นยังถือได้ว่าเป็นหมู่บ้าน ที่กันดารมาก

ต่ อ มาได้ ส ร้ า งศาลา วางศิ ล าฤกษ์ วั น ที่ 13 มิ ถุ น ายน พ.ศ. 2553 เบือ้ งต้นมีเงินอยู่ 1,000,000 บาท ก็ได้รบั ความร่วมมือ จากพระครูบาอาจารย์ และคณะศรัทธาญาติโยม สนับสนุนเรือ่ ยมา เพือ่ ประกอบกิจกรรมส�ำหรับบวชลูกหลาน จะได้เป็นวัดทีส่ มบูรณ์ มีวิสุงคามสีมา และเขตวิสุงคามสีมา ซึ่งได้รับพระราชทานจาก พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร มอบให้ เ ป็ น สมบั ติ ข องสงฆ์ สมบั ติ ข องลู ก หลาน และสมบั ติ ของชาติสืบไป

LOEI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 137

พระประธานอุ โ บสถกลางน�้ ำ

137

- 26 / 02 / 2562 09:14:25 AM


ประวัติพระอาจารย์เฉลิม ธมมฺธโร ชาติภูมิ เกิดที่บ้านบก ต�ำบลหนองไข่นก อ�ำเภอม่วงสามสิบ จังหวัดอุบลราชธานี บิดาชือ่ นายจันทรดี มารดาชือ่ นางดา สีงาม มีญาติพ่ีน้องร่วมบิดามารดา 6 คน อาชีพเกษตรกรรม ท�ำนา ท�ำสวน อยู่แบบพอเพียงตามอัตภาพของชาวชนบท การศึกษา จบชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เป็นเด็กที่มีนิสัยจริงจัง มาตลอด มีความเอือ้ เฟือ้ เผือ่ แผ่ตอ่ ทุกๆ คน และไม่ชอบเห็นคนอืน่ ถูกเอารัดเอาเปรียบชอบความเป็นธรรม เป็น คุณลักษณะพิเศษ ชอบคลุ ก คลี อ ยู ่ กั บ วั ด ชอบอยู ่ กั บ พระ เณร มาตั้ ง แต่ เ ด็ ก เมื่ อ เรี ย นจบตามหลั ก สู ต รแล้ ว มี ค วามตั้ ง ใจอยากบวชเณร แต่ถูกคุณยายขอร้องไว้ว่าอย่าเพิ่งบวช รอไว้บวชพระทีเดียว ตอนอายุได้ 18 ปี ก่อนคุณยายจะเสียชีวิต 3 เดือน คุณยายได้ พูดขอร้อง เป็นครั้งที่ 3 ว่าก่อนจะมีครอบครัว ให้บวชให้ก่อน ในครั้งนี้คุณยายพูดทั้งน�้ำตา เพราะว่าจะไม่บวชให้ เพราะก่อน

138

หน้านี้ คุณยายเคยพูดขอร้องมาแล้ว 2 ครั้งแต่ไม่เคยรับปาก มีแต่รับฟังและก็นิ่งเฉยอย่างเดียว แต่คราวนี้พอได้เห็นน�้ำตา ของผู ้ มี พ ระคุ ณ จึ ง เป็ น เหตุ ท� ำ ให้ ใ จอ่ อ นรั บ ปากว่ า จะบวชให้ จนถึงอายุ 21 ปีเต็มบริบูรณ์ หลังจากเกณฑ์ทหารจึงตัดสินใจ บวชเข้าสู่ร่มกาสาวพัตรตามประเพณีของชายไทย อุปสมบท เมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2520 ที่บ้านเกิด โดยตั้งใจไว้ว่าจะบวชเพียง 30 วัน แต่เป็นพรหมลิขิตหักเห เปลี่ยนทางของชีวิต หลังจากบวชมาอยู่ที่วัดบ้านเกิดได้ 20 วัน มีอาการร้อนรุม่ อย่างบอกไม่ถกู จึงให้บดิ าพาเดินทางจากบ้านเกิด ขึ้ น ไปที่ วั ด ป่ า สามั ค คี ธ รรม บ้ า นนาเหมื อ ง อ� ำ เภอพั ง โคน จั ง หวั ด สกลนคร ซึ่ ง หลวงพ่ อ พระครู ศ รี ภู มิ ม าณุ รั ก ณ์ เป็ น เจ้าอาวาส และได้เป็นพระอุปัชฌาย์ ในเวลาต่อมา

SBL บันทึกประเทศไทย I เลย

.indd 138

- 26 / 02 / 2562 09:14:30 AM


การจ�ำพรรษา พรรษาที่ 1 วัดป่าสามัคคีธรรม พรรษาที่ 2 วัดเขาจันทร์ตรี บ้านหนองกะจะ ปากช่อง พรรษาที่ 3 วัดเขาจันทร์ตรี พรรษาที่ 4 วัดเวฬุวันทองผาภูมิ พรรษาที่ 5-9 วั ด ป่ า บ้ า นตาด ได้ รั บ การอนุ เ คราะห์ จากท่านพระอาจารย์สาคร ธัมมาวุธโธ ท่านได้พาขึน้ ไปส่งถึงทีอ่ ดุ ร และได้อยู่มายาวนาน ตั้งแต่วันที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2523 ถึงวันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2529 พรรษาที่ 10 ได้จ�ำพรรษา ณ วัดป่าแก้วชุมพล อยู่ใน อ�ำเภอสว่างแดนดิน

พรรษาที่ 11 วัดป่าสามัคคีธรรม วัดเดิม เพราะ ต้องกลับไปจังหวัดสกลนคร จัดเตรียมงานพระราชทานเพลิง ถวายพระอุปัชฌาย์ พรรษาที่ 12 จ�ำพรรษา วัดถ�ำ้ พระนาใน ต�ำบลนาใน อ�ำเภอพรรณานิคม จังหวัดสกลนคร พรรษาที่ 13-17 วัดป่าภูแปก บ้านนกบก ต�ำบลหนองงิว้ อ�ำเภอวังสะพุง จังหวัดเลย พรรษาที่ 18-23 วัดป่าสามแยก บ้านสามแยก ต�ำบลวังกวาง อ�ำเภอน�้ำหนาว จังหวัดเพชรบูรณ์ พรรษาที่ 24-42 วัดป่าภูแปก จนถึงปัจจุบันนี้

LOEI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 139

139

- 26 / 02 / 2562 09:14:36 AM


วัดศรีชมชื่น

อุโบสถไม้เก่าแก่อายุ เกือบ 100 ปี พระปลัดร�ำลึก กตปุญโญ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดศรีชมชื่น

วั ด ศรี ช มชื่ น ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 421 บ้ า นวั ง สะพุ ง ถนนภู มิ วิ ถี หมู ่ ที่ 9 ต� ำ บลวั ง สะพุ ง อ� ำ เภอวั ง สะพุ ง จั ง หวั ด เลย สั ง กั ด คณะสงฆ์ ม หานิ ก าย ที่ ดิ น ตั้ ง วั ด มี เ นื้ อ ที่ 9 ไร่ 12 ตารางวา วั ด ศรี ช มชื่ น มี โ รงเรี ย นพระปริ ยั ต ธรรม แผนกธรรม เปิ ด สอน พ.ศ. 2501

ประวั ติ ความเป็น มา

วัดศรีชมชื่น สร้างเมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2226 ก่อนกรุงรัตนโกสินทร์ 99 ปี โดยมีอาญาครูภู่ เป็น ผู้น�ำชาวบ้าน สร้างวัดขึ้น เป็นวัดเก่าแก่ที่พ�ำนักของเจ้าคณะอ�ำเภอ 3 สมัย ในปี 2515 ได้ รั บ การคั ด เลื อ กเป็ นวั ด พั ฒ นาตั ว อย่ า งจาก กรมการศาสนา ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อวันที่ 10 มีนาคม พ.ศ. 2468

อาคารเสนาสนะ

อุโบสถ อาคารไม้ สร้างเมื่อ พ.ศ. 2468 ศาลาการเปรียญ อาคารทรงไทยคอนกรีต สร้างเมือ่ พ.ศ. 2527 กุฏิสงฆ์ จ�ำนวน 3 หลัง และฌาปนสถาน

140

SBL บันทึกประเทศไทย I เลย

.indd 140

ล� ำดับเจ้าอาวาส

1. พระภู่ 2. พระปัน 3. พระครูค�ำ 4. พระหวด 5. พระครูพินิจสังฆภาร 6. พระครูสุตผลพิพัฒน์ 7. พระครูอดุลสังฆภาร 8. เจ้าอธิการสุยันต์ สิริวณโณ 9. พระใบฎีกาแสง สุเมโธ 10. พระปลัดร�ำลึก กตปุญโญ (พ.ศ. 2552 - ปัจจุบัน)

22/02/62 16:47:25


H I STO R Y O F B U DDH I S M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดศรีหนองหิน

พระพุทธศรีหนองหิน พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ พระสมุห์สุพันธ์ รตนมฺงคโล ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดศรีหนองหิน

วั ด ศรี ห นองหิน

ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 289/4 ต�ำบลหนองหิน อ�ำเภอหนองหิน จังหวัดเลย 42190 โทรศั พ ท์ : 06-1237-7760 EMAIL : thansuphan@gmail.com FACEBOOK : วัดศรีหนองหิน ต�ำบลหนองหิน อ�ำเภอหนองหิน จังหวัดเลย วัดศรีหนองหิน เดิมตั้งอยู่บริเวณสระน�้ำใหญ่มีโขดหิน ซึ่ง น�้ำซึมออกมาตลอดเวลา จึงเรียกว่า “สระหนองหิน” เป็นสระน�้ำ อยูท่ ใี่ กล้กบั เส้นทางการธุดงค์ของพระ และชาวบ้านทีท่ ำ� มาค้าขาย ใกล้เคียงได้อาศัยตักน�ำ้ กินน�ำ้ ใช้จากสระน�ำ้ แห่งนี้ จึงมีการตัง้ ชุมชน และพัฒนาขึ้นเป็นอ�ำเภอหนองหินตั้งอยู่บนถนนสายหลักเอเชีย ซึ่งมีความเจริญขึ้นเป็นล�ำดับ

เสนาสนะและปูช นียวัตถุ

พระพุทธศรีหนองหิน พระประธานองค์ใหญ่ศกั ดิส์ ทิ ธิ์ สร้างด้วย ปูนปั้น ตั้งเป็นสง่าราศีอยู่บริเวณกลางลานของวัด เพื่อให้สาธุชน ได้ ก ราบไหว้ บู ช าอธิ ษ ฐานขอพร และเป็ น ศู น ย์ ร วมจิ ต ใจของ ชาวอ�ำเภอหนองหิน สระน�้ำ-อุโบสถ อุโบสถอยู่บริเวณสระน�้ำซึ่งได้ถมดินเพื่อสร้าง อุโบสถ สระน�้ำในปัจจุบันจึงเป็นสระน�้ำที่ขุดขึ้นใหม่ ศาลาการเปรี ย ญ/การเรี ย น ส� ำ นั ก เรี ย นพระปริ ยั ติ ธ รรม แผนกธรรม-บาลี จัดตั้งโรงเรียนการกุศล สังกัดโรงเรียนเอกชน ม.1-ม.6 เพื่อการศึกษาของพระภิกษุสามเณรและเด็กยากจน ลานวัดและส่วนป่ากลางเมือง วัดศรีหนองหินมีลานหน้าวัด กว้างเป็นที่จัดงานวันส�ำคัญต่างๆ เช่น งานถวายพระราชกุศลฯ นอกจากนี้ยังปลูกต้นไม้เป็นส่วนป่าอันรื่นรมย์ เป็นพุทธอุทยาน อยู่กลางวัด เป็นที่พักผ่อนและปฏิบัติธรรมของพุทธศาสนิกชน

ท� ำเนียบเจ้าอาวาส

1. 2. 3. 4. 5.

พระครูอดุลธรรมวาที (หลวงปู่กา) พระใบฎีกาสุริยา โกวิโท พระครูศิริวุฒิวงศ์ (อดีตเจ้าคณะอ�ำเภอหนองหิน) ผศ.ดร.พระมหาสังเวส จนฺทโสภี พระสมุห์สุพันธ์ รตนมฺงคโล (พ.ศ.2559-ปัจจุบัน) LOEI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 141

141

22/02/62 18:48:16


W O R K L IF E

บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล

องค์การบริหารส่วนต�ำบลปวนพุ วิ สั ย ทั ศ น์ อ งค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บลปวนพุ

“ การทํ อ งเที่ ย วเชิ ง นิ เ วศ การเกษตรหลากหลาย การกระจายรายได้ ด ้ ว ยภู มิ ป ั ญ ญา พั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต ”

ประวัติความเป็นมา องค์การบริหารส่วนต�ำบลปวนพุ ตั้งอยู่เลขที่ 141 ม.15 ต�ำบลปวนพุ อ�ำเภอหนองหิน จังหวัดเลย 42190 โทรศัพท์ 0-4281-0820 ตั้งขึ้นเมื่อ วันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2539 ชื่อ “ปวนพุ” ค�ำว่า “ปวน” หมายถึง ช่ อ งว่ า งท่ า มกลางหญ้ า หรื อ สระหรื อ โคลนที่ เ ป็ น แพลอยอยู ่ เ หนื อ น�้ ำ ส�ำหรับปลาหรือสัตว์นำ�้ ขึน้ มาหายใจ ในทีน่ เี้ ป็นชือ่ ล�ำห้วยปวนเป็นล�ำห้วยปวน ต้นก�ำเนิดบริเวณบ้านผาหวาย หมู่ที่ 3 ค�ำว่า “พุ” หมายถึง ผุดขึ้น พุ่งขึ้น ดังนั้น ค�ำว่า “ปวนพุ” หมายถึง ช่องว่างที่มีน�้ำทะลุขึ้นมาใช้เป็นชื่อแม่น�้ำ และใช้เป็นชื่อบ้านปวนพุ ซึ่งตั้งอยู่ริมฝั่งน�้ำปวนพุด้วย หรือจากค�ำเล่าขาน ในอดีต ค�ำว่าปวนพุ เป็นค�ำแผลงมาจาก “กวนคุ” โดยวิถีชีวิตของชาวบ้าน ใช้คถุ งั ท�ำจากไม้ไผ่สานเอาชันยา(ขีส้ ดู ) ตักน�ำ้ มาใช้ แต่เนือ่ งจากล�ำห้วยปวน มีปลาชุกชุม จึงใช้กวนคุให้ปลาหนีไปก่อนจะตักน�้ำมาใช้

ท่องเที่ยวมหัศจรรย์แห่งธรรมชาติและภูผา

นายประดิ ษ ฐ์ อาจแก้ ว นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลปวนพุ

142

.

.indd 142

เส้นทางท่องเที่ยวมหัศจรรย์ แห่งธรรมชาติและภูผา ต�ำบลปวนพุ อ�ำเภอหนองหิน จังหวัดเลย เชื่อมโยงแหล่งธรรมชาติในพื้นที่ต�ำบลปวนพุ ซึง่ ส่วนหนึง่ อยูใ่ นวนอุทยานผางามและเขตรักษาพันธุส์ ตั ว์ปา่ ภูคอ้ -ภูกระแต ซึ่งล้วนแต่เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สวยงามมีคุณค่าในการศึกษาและเรียนรู้ ด้านนิเวศ นอกจากนี้ยังมีแหล่งเรียนรู้วิถีชีวิตชุมชน อาทิ หมู่บ้านผางาม หมู่บ้านสวนห้อม หมู่บ้านผาฝ้าย และหมู่บ้านผาหวาย

SBL บันทึกประเทศไทย I เลย

21/02/62 16:55:09


งานประจ�ำปี

วัดถ�้ำโพธิสัตว์

สวนหินผางาม หรือ คุนหมิงเมืองเลย

ถ�้ำเล็กถ�้ำน้อยเรียงรายอยู่ใต้ยอดเขาทั้งหมด 15 คูหา มีลักษณะเป็น ผาและสวนหินสวยงามแปลกตา เส้นทางชมธรรมชาติผ่านไปตามโพรงถ�้ำ บางคูหามีผนังหินขรุขระและสูงชันดูลึกลับน่าผจญภัย แต่ละคูหามีสิ่ง ที่น่าสนใจและมีชื่อเรียกต่างกันไปให้นักท่องเที่ยวได้สนุกสนานตื่นเต้น

เป็นแนวเทือกเขาหินปูนขนาดใหญ่ 3 ลูกได้แก่ เขาแผงม้า เขาหินปูน ภูผาแครง และมีภูเขาหินรูปทรงแปลกตาอีกกว่า 500 ลูก เต็มไปด้วย เส้นทางสลับซับซ้อนซอกหลืบและโครงที่เชื่อมโยงกันอย่างน่ามหัศจรรย์ เต็มไปด้วยหินรูปร่างแปลก ที่จินตนาการชื่อเรียกต่างๆบางช่วงดูลึกลับ ตื่นเต้น คล้ายกับการผจญภัย อยู่ในเขาวงกต ตลอดเส้นทางยังมีโอกาส พบเห็นต้นไม้หายากและต้นไม้ยักษ์

LOEI I SBL บันทึกประเทศไทย

.

.indd 143

143

21/02/62 16:55:18


W O R K L IF E

บันทึกเส้นทางพบเทศบาลต�ำบล

เทศบาลต�ำบลเอราวัณ วิ สั ย ทั ศ น์ เ ทศบาลต� ำ บลเอราวั ณ

“ พั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต ส่ ง เสริ ม เศรษฐกิ จ พอเพี ย ง เคี ย งคู ่ ชุ ม ชนเข้ ม แข็ ง พร้ อ มก้ า วไปสู ่ ป ระชาคมอาเซี ย น ”

ข้อมูลทั่วไป เทศบาลต�ำบลเอราวัณ ได้รับการยกฐานะขึ้นมาจากองค์การบริหาร ส่วนต�ำบลเอราวัณ ตามประกาศกระทรวงมหาดไทยเป็นเทศบาลต�ำบล เอราวัณ เมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2551 ตั้งอยู่ เลขที่ 108 หมู่ที่ 8 บ้านพรประเสริฐ ต�ำบลเอราวัณ อ�ำเภอเอราวัณ จังหวัดเลย อยู่ห่างจาก ที่ท�ำการอ�ำเภอเอราวัณ ระยะทางประมาณ 16 กิโลเมตร

สภาพลักษณะภูมิประเทศ

นายคงเดช วรรณชั ย นายกเทศมนตรีต�ำบลเอราวัณ

144

ลักษณะภูมิประเทศของต�ำบลเอราวัณ อ�ำเภอเอราวัณ จังหวัดเลย โดยทั่วไปร้อยละ 80 จะเป็นที่ราบและมีภูเขาประมาณ 20% มีพื้นที่ ทั้งหมด 61.23 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 38,266 ไร่ สามารถ แบ่งภูมิประเทศได้เป็น 2 เขต 1 เขตพื้นที่ราบลุ่ม เป็นเขตที่เหมาะสมกับการเพาะปลูกและท�ำนา ได้แก่บริเวณพื้นที่ของบ้านโนนถาวรหมู่ที่ 13 บ้านโป่งศรีโทนหมู่ที่ 6, 15 บ้านวังเลาหมู่ที่ 1 บ้านวังม่วงหมู่ที่ 3 และบ้านโคกรังหมู่ที่ 7 บ้านหัวฝาย หมู่ที่ 2, 4, 11และหมู่ที่ 16 บางส่วน 2 เขตพื้ น ที่ ร าบเชิ ง เขา เป็ น เขตพื้ น ที่ เ หมาะสมกั บ การเพาะปลู ก พืชล้มลุกและพืชยืนต้นโดยมี พืน้ ทีข่ องบ้านเหล่าใหญ่หมูท่ ี่ 10 บ้านพรสว่าง หมู่ที่ 14 บ้านทรัพย์เจริญหมู่ที่ 12 และบ้านโคกสวรรค์หมู่ที่ 5 บางส่วน

SBL บันทึกประเทศไทย I เลย

.indd 144

21/02/62 17:24:42


ผลการด�ำเนินงานโครงการของเทศบาลต�ำบลเอราวัณ “การขับเคลื่อนธรรมนูญสุขภาพ” เกิดจากการส�ำรวจสภาพปัญหาร่วมกับการออกประชาคมรับฟังปัญหา และความต้ อ งการของประชาชนต� ำ บลเอราวั ณ ว่ า จะท� ำ อย่ า งไร ให้ประชาชนต�ำบลเอราวัณ อยู่ดีมีสุขมีส่วนร่วมเป็นเจ้าของปัญหา ต�ำบลเอราวัณ เป็นชุมชนที่มีความเข้มแข็ง มีแหล่งน�้ำที่อุดมสมบูรณ์ มีล�ำน�้ำสวย ฝายโพนเลาเป็นเส้นเลือดใหญ่ หล่อเลี้ยงชาวต�ำบลเอราวัณ มีโรงงานอุตสาหกรรมในพื้นที่ และในปัจจุบันมีความเจริญมากขึ้น ส่งผล ให้ก ารใช้ ชี วิ ต เปลี่ ย นไปและมี ป ั ญ หาที่ จ ะเริ่ ม ตามมาในหลายๆ ด้ า น จึ ง มี ค วามเห็ น ร่ ว มกั น ในการจั ด ท� ำ ธรรมนู ญ สุ ข ภาพ สู ่ ต� ำ บลสุ ข ภาวะ ของประชาชนต�ำบลเอราวัณ พ.ศ. 2558 ขึ้น และมีการแก้ไขฉบับเพิ่มเติม ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2561 เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติร่วมกันในการเดินสู่ความสุข ของประชาชนต�ำบลเอราวัณ ภายใต้แนวคิดที่ว่า “ร่วมคิด ร่วมตัดสินใจ ร่วมท�ำ ร่วมแก้ไขปรับปรุง ร่วมรับประโยชน์” (5ร) โดยน�ำปัญหาแต่ละด้าน มาหาแนวทางแก้ไขร่วมกันซึ่งได้วิเคราะห์ออกมาเป็น 5 ด้าน ดังนี้ 1. ด้านโครงสร้างพื้นฐาน 2. ด้านเศรษฐกิจ 3. ด้านสังคม 4. ด้านสุขภาพ 5. ด้านสิ่งแวดล้อม

แหล่งท่องเที่ยวในชุมชน “ล่องเรือวังเลา” แหล่งท่องเทีย่ วในชุมชนเป็นแหล่งท่องเทีย่ วเชิงอนุรกั ษ์ “ล่องเรือวังเลา” โดยการรวมกลุม่ ของชุมชน บ้านวังเลา หมูท่ ี่ 1 ต�ำบลเอราวัณ อ�ำเภอเอราวัณ จังหวัดเลย ทีม่ คี วามเข้มแข็ง และสืบเนือ่ งจากธรรมนูญสุขภาพ มีการก�ำหนด ข้อตกลงร่วมกันในการอนุรักษ์พันธุ์ปลา ห้ามซ๊อตปลา จึงท�ำให้ได้เห็น ทรัพยากรธรรมชาติทนี่ า่ ส่งเสริมเป็นแหล่งท่องเทีย่ วของชุมชน จึงได้รว่ มกัน จัดตั้งกลุ่มและสนับสนุนให้ชุมชนด�ำเนินการ

การด�ำเนินโครงการ “ธนาคารขยะรี ไซเคิลต�ำบลเอราวัณ” เทศบาลต� ำ บลเอราวั ณ ได้ ใช้ “ธรรมนู ญ สุ ข ภาพสู ่ ต� ำ บลสุ ข ภาวะ ของประชาชนต�ำบลเอราวัณ ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2558” ในหมวดที่ 4 ส่งเสริม พัฒนารักษาสิ่งแวดล้อม ในการขับเคลื่อน การขยายการบริหารจัดการ “ธนาคารขยะรีไซเคิล” วัตถุประสงค์การจัดท�ำโครงการธนาคารขยะรีไซเคิล 1. เพื่อลดปริมาณขยะในพื้นที่ ส่งเสริมให้ชุมชนมีจิตส�ำนึกในการ รักษาสิ่งแวดล้อม 2. เพื่อส่งเสริมให้ความรู้แก่ประชาชนในเรื่องการคัดแยกขยะที่ถูกต้อง และเหมาะสมกับสภาพพื้นที่ของตนเอง ตลอดจนมีความรู้ถึงภัยที่เกิดจาก ภาวะโลกร้อน 3. เพื่อเป็นการสร้างรูปแบบการจัดการขยะ โดยชุมชนมีส่วนร่วม 4. เพื่อให้ชุมชนมีความสะอาดถูกสุขลักษณะ ลดแหล่งที่ก่อให้เกิดโรค 5. เพื่อเพิ่มรายได้ในครัวเรือน

LOEI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 145

145

21/02/62 17:24:53


เมืองแห่งทะเลภูเขา สุดหนาวในสยาม ดอกไม้งามสามฤดู ถิ่นที่อยู่อริยสงฆ์ มั่นคงความสะอาด 146

AD.indd 146

SBL บันทึกประเทศไทย I เลย

26/2/2562 9:42:34


WORK LIF E

บันทึกเส้นทางพบเทศบาลต�ำบล

เทศบาลต�ำบลผาอินทร์แปลง วิ สั ย ทั ศ น์ เ ทศบาลต� ำ บลผาอิ น ทร์ แ ปลง

“ เศรษฐกิ จ รุ ่ ง เรื อ ง ประชาชนอยู ่ ดี กิ น ดี พลเมื อ งมี ก ารศึ ก ษา รั ก ษ์ วั ฒ นธรรมประเพณี ส่ ง เสริ ม การปกครองระบอบประชาธิ ป ไตย ”

ข้อมูลทั่วไป เทศบาลต�ำบลผาอินทร์แปลง ตั้งอยู่เลขที่ 682 ถนนอุดร-เลย หมู่ที่ 13 บ้านเอราวัณ ต�ำบลผาอินทร์แปลง อ�ำเภอเอราวัณ จังหวัดเลย 42220 ต�ำบลผาอินทร์แปลง เป็นต�ำบลหนึ่งใน 4 ต�ำบล ของอ�ำเภอเอราวัณ ส�ำนักงานเทศบาลต�ำบลผาอินทร์แปลง ห่างจากที่ว่าการอ�ำเภอเอราวัณ ประมาณ 3 กิโลเมตร และห่างจากกรุงเทพมหานคร ประมาณ 520 กิโลเมตร มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 75,000 ไร่ เมื่อแยกเฉพาะพื้นที่ใช้สอยภายใน บริเวณส�ำนักงานประมาณ 22 ไร่ หรือ 35,200 ตารางเมตร

นายประจวบ มะปะเข นายกเทศมนตรีต�ำบลผาอินทร์แปลง

LOEI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 147

147

- 27/02/2562 11:42:38 AM


โครงการบ้านเล็กในป่าใหญ่ ผานาง - ผาเกิ้ง

สถานที่ท่องเที่ยว แพผานาง - ผาเกิ้ง

สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถในรัชกาลที่ 9 ทรงมี ความห่วงใยราษฎรในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่ส่วนใหญ่มีฐานะ ยากจนและต้องประสบกับวิกฤตการณ์ต่างๆ เช่น น�้ำท่วม ความแห้งแล้ง ความไม่แน่นอนของสภาพดินฟ้าอากาศ เนื่องจากประชาชนมีการบุกรุก ตัดไม้ท�ำลายป่าเพื่อท�ำไร่เลื่อนลอยกันมาก จึงทรงมีพระราชเสาวนีย์ให้ พล.ต.เรวัต บุญทับ ผบ.พล.ร.ต.3 ขณะนั้น จัดหาพื้นที่จัดส่งเสริมอาชีพ และพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ราษฎรมีรายได้และความเป็นอยู่ดีขึ้น เป็นการ ช่วยลดการบุกเบิกพื้นที่ป่าเขาเพื่อการเกษตรของราษฎรได้อีกทางหนึ่ง จึงจัดตั้งโครงการบ้านเล็กในป่าใหญ่ ผานาง - ผาเกิ้ง เมื่อปี พ.ศ. 2535 โดยครัง้ แรกมีเนื้อที่ประมาณ 135 ไร่ ปัจจุบนั มีเนื้อทีท่ ั้งหมด 541 ไร่ 1 งาน 68 ตารางวา และพื้นที่ป่าอนุรักษ์ที่กรมป่าไม้มอบให้ดูแลจ�ำนวน 1,500 ไร่

ก่อตัง้ ขึน้ เมือ่ วันที่ 10 มกราคม พ.ศ.2561 เป็นการรวมกลุม่ ของสมาชิก ในหมูบ่ า้ นโดยมี นายถนอม ภูวงเดือน ผูใ้ หญ่บา้ น หมู่ 5 บ้านผานาง - ผาเกิง้ เป็นประธานกลุ่ม จัดตั้งขึ้นเพื่อให้คนในชุมชนมีอาชีพและมีรายได้หลังจาก ท�ำการเกษตร โดยเห็นว่า ห้วยตาดข่าเป็นอ่างเก็บน�้ำที่สามารถท�ำเป็น แหล่งท่องเที่ยว เชิงธรรมชาติ มีหน่วยงานของรัฐมาให้การอบรม ทั้งเรื่อง ความปลอดภัย อาหาร และการจัดสถานที่ท่องเที่ยว แพผานาง - ผาเกิ้ง ตั้งอยู่ หมู่ที่ 5 ต�ำบลผาอินทร์แปลง อ�ำเภอเอราวัณ จังหวัดเลย มีเนื้อที่ 70 ไร่ ปัจจุบันมีสมาชิกทั้งหมด 19 หุ้น

148

SBL บันทึกประเทศไทย I เลย

.indd 148

22/02/62 10:51:35


ประเพณีบุญบั้งไฟ งานบุญบั้งไฟ หรือ “บุญเดือนหก” เป็นประเพณีเก่าแก่ที่ผูกพันกับ วิ ถี ชี วิ ต ความเป็นอยู่ข องคนอีสานในชนบทที่ส่ว นใหญ่ประกอบอาชีพ ท�ำการเกษตร ซึง่ จะต้องพึง่ พาน�ำ้ ฝนจากธรรมชาติเป็นหลัก ทัง้ นี้ ชาวอีสาน เชื่อว่า “พญาแถน” คือ เทวดาที่ประทานน�้ำฝนมาให้ โดยก่อนลงมือ ท�ำการเกษตร จึงมีการจัดประเพณีบุญบั้งไฟเพื่อบูชาพญาแถนให้คงอยู่ และขอให้ฝนตกต้องตามฤดูกาล เพื่ อ เป็ น การส่ ง เสริ ม ประเพณี วั ฒ นธรรมอั น ดี ง ามของท้ อ งถิ่ น และ ประชาสัมพันธ์งานบุญบั้งไฟของต�ำบลให้เป็นที่รู้จักแพร่หลายเป็นการ ส่งเสริมการต่อยอดภูมิปัญญาของปราชญ์ชาวบ้านให้แสดงออกในด้าน งานประณีตศิลป์ เพื่อให้ประชาชนมีความรัก ความสามัคคี และแสดงออก ถึงความมีน�้ำใจเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ซึ่งกันและกัน เป็นมรดกแก่ลูกหลานและ เป็นการอนุรักษ์สืบสานประเพณีวัฒนธรรมอันดีงามให้คงอยู่กับท้องถิ่น ต่อไป รวมทั้งยังเป็นการส่งเสริมการท่องเที่ยวของต�ำบลผาอินทร์แปลง และอ�ำเภอเอราวัณ

กลุ่มทอผ้าไหมบ้านหนองน�้ำใส หมู่ 8 จัดตัง้ ขึน้ เมือ่ ปี พ.ศ. 2540 โดยมีการพัฒนาชุมชนให้คำ� แนะน�ำจัดตัง้ กลุม่ โดยมี ชื่ อ กลุ ่ ม ว่ า “กลุ ่ ม ทอผ้ า ไหมบ้ า นหนองน�้ ำ ใสหมู ่ ที่ 8” แรกเริ่ ม มีสมาชิกรวมกันจัดตั้งกลุ่ม 15 คน โดยมีนางสาย ซินโซ เป็นประธาน นางเพชร กองแก้ว เป็นรองประธาน มีการระดมทุนในการจัดตั้ง หุ้นละ 100 บาท เป็นเงิน 1,500 บาท โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้เกิดความรัก ความสามัคคีและการมีรายได้เพิ่มให้กับครอบครัว เมื่อปี พ.ศ. 2540 องค์การบริหารส่วนต�ำบล ได้เข้ามาสนับสนุนเพื่อสร้างศูนย์ทอผ้าและ มอบเงินทุนเพื่อมาซื้อวัตถุดิบเพิ่มเติม ปัจจุบัน นางอ�ำนวย น้อยตรีมูล เป็นประธานกลุ่มและมีสมาชิก 25 คน

LOEI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 149

149

22/02/62 10:51:38


H I STO R Y O F B U DDH I S M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดเอราวัณพัฒนาราม วั ด เก่ า แก่ อายุ 125 ปี

พระครูกวีธรรมนิเทศก์ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดเอราวัณพั ฒนาราม เจ้าคณะอ�ำเภอเอราวัณ

150

SBL บันทึกประเทศไทย I เลย

.indd 150

- 23 / 02 / 2562 05:38:03 PM


LOEI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 151

พระประธานอุ โ บสถกลางน�้ ำ

151

22/02/62 18:29:30


152

SBL บันทึกประเทศไทย I เลย

.indd 152

22/02/62 18:29:42


พระครูกวีธ รรมนิเทศก์(ประยงค์ กวีสุ สโร)

พระครูกวีธรรมนิเทศก์ เจ้าอาวาสวัดเอราวัณพัฒนาราม และ เจ้าคณะอ�ำเภอเอราวัณ เดิมชื่อ ประยงค์ เดียวผา เกิดเมื่อ วันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2493 ที่บ้านโคกม่วง อ�ำเภอโนนสัง จังหวัดอุดรธานี

บิดา - มารดา ชือ่ นายจันทร์ - นางเย็น เดียวผา มีนอ้ ง 9 คน คือ 1. นายประเทียง 2. นายเสี่ยน 3. นายเศียน 4. นายเหรียน 5. นางส�ำรอง 6. นางบัวฮอง 7. นายค�ำพุ 8. นางโฮง 9. นายประยงค์

อุปสมบท เมื่อ พ.ศ. 2515 หลังจากอุปสมบทก็ศึกษาธรรม มาโดยตลอด จ�ำพรรษาอยู่ที่วัดบ้านเกิด 6 พรรษา จากนั้นก็ย้าย มาจ�ำพรรษาอยู่ที่วัดเอราวัณ จนถึงปัจจุบัน บันทึก

วัดเอราวัณพัฒ นาราม วั ด เอราวั ณ พั ฒ นาราม ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 568 หมู ่ ที่ 13 ต�ำบลผาอินทร์แปลง อ�ำเภอเอราวัณ จังหวัดเลย 42220 วัดเอราวัณพัฒนาราม เริ่มก่อตั้งปีเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ โดยอุโบสถสร้างเสร็จในปี พ.ศ. 2436 จากนั้นได้ศาสนสถาน เพิ่มเรื่อยมา เช่น เมรุ กุฏิ ที่อาศัยพระเณร ภายในวัดมีโรงเรียน พระปริยัติธรรมและธรรมบาลี

พระครูกวีธรรมนิเทศก์(ประยงค์ กวีสุสโร)

LOEI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 153

153

- 23 / 02 / 2562 05:41:00 PM


H I STO R Y O F B U DDH I S M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดพุทธสถานภูไผ่ ศูนย์ปฏิบัติธรรมภาวนา พระกวีพจน์ ฐานวโร ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส วัดพุ ทธสถานภูไผ่

154

วัดพุทธสถานภูไผ่ ตั้งอยู่เลขที่ 197 หมู่ 12 บ้านเอราวัณ ต�ำบลผาอินทร์แปลง อ�ำเภอเอราวัณ จังหวัดเลย วัดพุทธสถานภูไผ่ ตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2545 โดย พระกวีพจน์ ฐานวโร ได้มาปักกลด บ�ำเพ็ญภาวนาทีถ่ ำ�้ ภูไผ่ เห็นว่าเป็นทีส่ ปั ปายะเหมาะเป็นสถานทีต่ งั้ วัดปฏิบตั ธิ รรม จึงเข้ามาจ�ำพรรษาแรก เมือ่ ปี พ.ศ. 2546 พร้อมด้วย พระถาวร ปญฺญาธโร พระอภิสทิ ธิ์ ติกขปุญโญ และมีพระจ�ำพรรษา เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ท�ำให้มีอุบาสก อุบาสิกา มีความเลื่อมใสศรัทธา และร่วมใจกันบริจาคทุนทรัพย์ จัดสร้างเสนาสนะ เครื่องอุปโภค บริโภคที่จ�ำเป็นภายในวัดขึ้นในสถานะส�ำนักสงฆ์

SBL บันทึกประเทศไทย I เลย

.indd 154 เอกลั กษณ์และจุดเด่นของวัดดงตะขบประกอบด้วย

22/02/62 17:31:56


วั ด พุ ท ธสถานภูไผ่

พ.ศ. 2557 นายสิทธิกร อ้วนศิริ ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงาน พระพุทธศาสนาจังหวัดเลย เป็น ผู้แทนตามหนังสือมอบอ�ำนาจ ตามหนังสือส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ที่ พ.ศ. 003/300 ลงวันที่ 17 เมษายน พ.ศ.2549 ตามค�ำสัง่ จังหวัดที่ 1024/2559 สัง่ ณ วันที่ 3 พฤษภาคม 2559 ใช้ทดี่ นิ เพือ่ สร้างวัดพุทธสถานภูไผ่ ในเขตปฏิรูปที่ดิน จ�ำนวนเนื้อที่ 6 ไร่ 2 งาน ประกาศตั้งเป็นวัด ขึน้ นามว่า “วัดพุทธสถานภูไผ่” สังกัดมหานิกาย ประกาศ ณ วันที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 ประกาศส�ำนักนายกรัฐมนตรี เรื่องพระราชทานวิสุงคามสีมา บัดนี้ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระราชทาน วิสุงคามสีมา ให้แก่วัดพุทธสถานภูไผ่ ก�ำหนดเขต กว้าง 40 เมตร ยาว 80 เมตร ประกาศ ณ วันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2560

พระกวีพ จน์ ฐานวโร

พระกวีพจน์ ฐานวโร เดิมชื่อ กวีพจน์ ผดาศรี เป็นบุตรคนที่ 1 ในจ�ำนวนพีน่ อ้ งสองคนของนายอ�ำคา นางทัศนีย์ ผดาศรี ภูมลิ ำ� เนา บ้านกกค้อ ต�ำบลนากลาง อ�ำเภอนากลาง จังหวัดหนองบัวล�ำภู เกิดเมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2513 บรรพชา พ.ศ. 2533 ได้บรรพชาเป็นสามเณรที่วัดนาหลวง (อภิญญาเทสิตธรรม) บ้านนาหลวง ต�ำบลค�ำด้วง อ�ำเภอบ้านผือ จังหวัดอุดรธานี อุปสมบทเมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2534 ที่ วัดนิลถาราม ต�ำบลจ�ำปาโมง อ�ำเภอบ้านผือ จังหวัดอุดรธานี โดยมี พระครูประภัสสรสุทธิคุณ ปัจจุบันเป็นพระราชสิทธาจารย์ เป็น พระอุปชั ฌาย์ พระอธิการกิตติคณ ุ อภินนฺโท เป็นพระกรรมวาจาจารย์ พระอธิการสมควร สมาธิโก เป็นอนุสาวนาจารย์ วิทยฐานะ พ.ศ. 2532 ส� ำ เร็ จ การศึ ก ษาชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 6 โรงเรียนค�ำแสงวิทยาสรรค์ อ�ำเภอนากลาง จังหวัดหนองบัวล�ำภู พ.ศ. 2538 สอบไล่ได้ นธ.ตรี พ.ศ. 2539 สอบไล่ได้ นธ.โท พ.ศ. 2540 สอบไล่ได้ นธ.เอก ส�ำนักเรียนวัดศรีโสภา อ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ พ.ศ. 2543 ส�ำเร็จการศึกษาปริญญาบัตร ตามหลักสูตร ครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษา โปรแกรมวิชาการศึกษา นอกระบบ วิชาโทภาษาไทย การปกครอง ได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาสวัดพุทธสถานภูไผ่ เมื่อ วันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2553 ถึงปัจจุบัน LOEI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 155

พระประธานอุ โ บสถกลางน�้ ำ

155

22/02/62 17:32:04


ท่องเที่ยวทางใจ ถิ่นที่อยู่อริยสงฆ์ มั่นคงความสะอาด จังหวัดเลย

อ�ำเภอผาขาว

วัดศรีนิลวนาราม(สีนิลวนาราม) บ้านซ�ำจ�ำปา ม.11 ต�ำบลโนนปอแดง

วัดศรีสมบูรณ์(ศรีสมบูรณ์พัฒนาราม) บ้านภูป่าไผ่ ม.6 ต�ำบลโนนป่าซาง

วัดกองแก้ว ห้วยกาบเปลือย ม.3 ต�ำบลโนนป่าซาง

วัดศิริธัมมารัตนานุสรณ์

วัดเขาสามัคคีธรรม

บ้านซ�ำเจริญ ม.6 ต�ำบลผาขาว

บ้านซ�ำกกค้อ ม.7 ต�ำบลโนนปอแดง วัดโคกสว่าง ม.9 ต�ำบลโนนป่าซาง

บ้านโนนป่าซาง ม.1 ต�ำบลโนนป่าซาง

วัดโคกใหญ่ บ้านโคกใหญ่ ม.11 ต�ำบลผาขาว

วัดจอมมณี บ้านนาเหมือดแอ่ ม.4 ต�ำบลท่าช้างคล้อง

วัดไชยทอง บ้านหนองไฮ ม.5 ต�ำบลบ้านเพิ่ม

วัดไชยศรียาราม บ้านหนองอีเบี้ย ม.2 ต�ำบลโนนปอแดง

วัดถาวรมงคล บ้านโนนสว่าง ม.4 ต�ำบลท่าช้างคล้อง

วัดถ�้ำผาสวรรค์ บ้านผาสวรรค์ ม.3 ต�ำบลบ้านเพิ่ม

วัดถ�้ำอัครบรรพต บ้านเพิ่ม ม.2 ต�ำบลผาขาว

วัดทรงธรรม บ้านหนองโก ม.9 ต�ำบลท่าช้างคล้อง

วัดเทพศิรินทร์พัฒนาราม บ้านโนนสมบูรณ์ ม.8 ต�ำบลโนนปอแดง

วัดไทรค�ำ บ้านห้วยยาง ม.2 ต�ำบลโนนป่าซาง

วัดนาคหงษา บ้านหนองแต้ ม.9 ต�ำบลท่าช้างคล้อง

วัดโนนกกข่าพัฒนาราม บ้านโนนกกข่า ม.5 ต�ำบลโนนปอแดง

วัดโนนทอง บ้านโคกผักหวาน ม.14 ต�ำบลผาขาว

วัดโนนโพธิ์ทอง บ้านโนนภูทอง ม.2 ต�ำบลท่าช้างคล้อง

วัดประจักวนาราม บ้านหนองแต้ ม.9 ต�ำบลท่าช้างคล้อง

วัดป่าเพิ่มผล บ้านเพิ่มผล ม.8 ต�ำบลบ้านเพิ่ม

วัดป่ามุจจรินทร์ บ้านห้วยยาง ม.2 ต�ำบลโนนป่าซาง

วัดป่าวิเวกเจริญธรรม บ้านผาขาว ม.1 ต�ำบลผาขาว

วัดป่าวิเวกภูเขาวงศ์

วัดศิริมงคล วัดศิลาอาสน์ บ้านโป่ง ม.6 ต�ำบลท่าช้างคล้อง

วัดสมศักดิ์พัฒนาราม บ้านสมศักดิ์พัฒนาราม ม. 2 ต�ำบลผาขาว

วัดสระแก้ว บ้านห้วยเดื่อเหนือ ม.5 ต�ำบลโนนป่าซาง

วัดสระจันทร์ บ้านหัวขัว ม.3 ต�ำบลท่าช้างคล้อง

วัดสว่างเกาะแก้ว บ้านพวยเด้ง ม.3 ต�ำบลท่าช้างคล้อง

วัดสว่างโนนงาม บ้านโนนสมบูรณ์ ม.11 ต�ำบลท่าช้างคล้อง

วัดสว่างอารมณ์ บ้านโนนปอแดง ม.1 ต�ำบลโนนปอแดง

วัดสันติธรรมวาส บ้านท่าสวนยา ม.4 ต�ำบลโนนปอแดง

วัดสามัคคีธรรม บ้านสมสะอาด ม.7 ต�ำบลท่าช้างคล้อง

วัดสามัคคีธรรม บ้านห้วยไฮ ม.7 ต�ำบลโนนป่าซาง

วัดสุขทวีคูณ บ้านดงน้อย ม.4 ต�ำบลผาขาว

วัดแสงจันทราราม บ้านท่าช้างคล้อง ม.1 ต�ำบลท่าช้างคล้อง

วัดห้วยใคร่ศรัทธาธรรม บ้านหนองตานา ม.6 ต�ำบลท่าช้างคล้อง

วัดห้วยไคร้พัฒนาราม บ้านห้วยไคร้ ม.6 ต�ำบลโนนปอแดง

วัดใหม่โคกใหญ่ บ้านกกไฮ ม.4 ต�ำบลผาขาว

วัดอัมรินทร์ บ้านโคกใหญ่ ม.11 ต�ำบลผาขาว

วัดอ�ำนวยศิลป์ บ้านซ�ำเจริญ ม.13 ต�ำบลผาขาว

วัดอุทัยบรรพต บ้านมอดินแดง ม.4 ต�ำบลบ้านเพิ่ม

อ�ำเภอภูหลวง วัดชุมแสง บ้านอุ่มมะนาว ม.3 ต�ำบลหนองคัน

วัดดอนหอพัฒนาราม บ้านดอนหอ ม.12 ต�ำบลหนองคัน

วัดดอยวิเวกวนาราม บ้านน�ำ้ คู่ ม.2 ต�ำบลภูหอ

วัดดอยสวรรค์ บ้านหัวนา ม.11 ต�ำบลหนองคัน วัดตาลเดี่ยว ม.4 ต�ำบลแก่งศรีภูมิ

วัดน�้ำค้อพัฒนาราม บ้านน�ำ้ ค้อ ม.10 ต�ำบลภูหอ

วัดโนนกกแก้ว(โนนกอกแก้ว) บ้านหนองบัวน้อย ม.3 ต�ำบลภูหอ

วัดโนนทองสามัคคี บ้านฟากเลย ม.1 ต�ำบลแก่งศรีภูมิ วัดโนนสว่าง บ้านหนองบัว ม.1 ต�ำบลภูหอ

วัดโนนสูง บ้านเลยตาด ม.2 ต�ำบลเลยวังไสย์

วัดป่าพัฒนาราม บ้านเทพนิมิต ม.2 ต�ำบลแก่งศรีภูมิ

วัดป่าภูหลวงวิทยาราม

วัดศรีสะอาดวารี

บ้านหนองอีเก้ง ม.7 ต�ำบลภูหอ

บ้านหนองเอี่ยน ม.4 ต�ำบลหนองคัน

วัดป่าเวฬุวัน

วัดศรีอรุณ

บ้านนาเจริญ ม.6 ต�ำบลห้วยสีเสียด

บ้านสวนปอ ม.7 ต�ำบลแก่งศรีภูมิ

วัดป่าศรีภูมิบรรพต

วัดสวนอัมพวัน(สวนอัมภาวัน)

บ้านสวนปอ ม.7 ต�ำบลแก่งศรีภูมิ วัดโพธิ์ชัย บ้านนาโพธิ์ ม.8 ต�ำบลภูหอ

บ้านน�้ำพุพัฒนา ม.3 ต�ำบลห้วยสีเสียด

วัดโพธิบ์ งั บ้านหนองคัน ม.1 ต�ำบลหนองคัน

บ้านหนองคัน ม.1 ต�ำบลหนองคัน

วัดไพรสณฑ์

วัดสันติสุขาราม

บ้านห้วยสีเสียด ม.1 ต�ำบลห้วยสีเสียด วัดม่วงไข่ บ้านหนองอีเก้ง ม.7 ต�ำบลภูหอ วัดวังเดือนห้า ม.18 ต�ำบลห้วยสีเสียด วัดศรีแก้ว บ้านหนองเขียด ม.6 ต�ำบลภูหอ

บ้านไร่สุขสันต์ ม.4 ต�ำบลเลยวังไสย์

วัดศรีจ�ำปา

บ้านแก่งบง ม.2 ต�ำบลหนองคัน

บ้านนาเจริญ ม.6 ต�ำบลห้วยสีเสียด วัดศรีชุมพร บ้านนาฝาย ม.9 ต�ำบลภูหอ

วัดหนองแห้วพัฒนาราม

วัดศรีบุญเรือง

วัดหนองอีเก้ง

บ้านนาดินด�ำ ม.5 ต�ำบลแก่งศรีภูมิ

บ้านหนองอีเก้ง ม.7 ต�ำบลภูหอ

วัดศรีภูมิพัฒนา

วัดใหม่ศรีชมภู

บ้านแก่งศรีภูมิ ม.3 ต�ำบลแก่งศรีภูมิ

บ้านนามูลตุ่น ม. 5 ต�ำบลห้วยสีเสียด

วัดศรีภูหลวง

วัดอุบลวนาราม

บ้านอุ่มมะนาว ม.3 ต�ำบลหนองคัน

บ้านศรีอุบล ม.12 ต�ำบลภูหอ

วัดสันติธรรมาราม

วัดสามัคคีธรรม บ้านทรัพย์เจริญ ม.2 ต�ำบลห้วยสีเสียด

วัดแสงสว่างคงคา บ้านโคกหนองแห้ว ม.3 ต�ำบลเลยวังไสย์

วัดศรีสะอาด บ้านเลยวังไสย์ ม.1 ต�ำบลเลยวังไสย์

บ้านดงน้อย ม.4 ต�ำบลผาขาว

วัดป่าสามัคคีพัฒนา บ้านโพนสว่าง ม.14 ต�ำบลผาขาว

วัดป่าสามัคคีศรัทธาราม บ้านพวยเด้ง ม.2 ต�ำบลท่าช้างคล้อง

วัดผาน�้ำเต้าทอง บ้านซ�ำใหญ่ ม.7 ต�ำบลผาขาว

วัดผาสุการาม บ้านผาขาว ม. 1ต�ำบลผาขาว

วัดพูนนิมิตศรีบุญเรือง บ้านแสนสุข ม.3 ต�ำบลผาขาว

วัดโพธิ์ชัย บ้านเพิ่ม ม.1 ต�ำบลบ้านเพิ่ม

วัดมณีชัชฎาราม บ้านนาล้อม ม.3 ต�ำบลโนนปอแดง

วัดราษฎร์สามัคคีธรรม บ้านหัวฝาย ม.5 ต�ำบลผาขาว

วัดวินัยสังวร บ้านนาตาด ม.8 ต�ำบลท่าช้างคล้อง

วัดศรีเจริญธรรม บ้านหัวขัว ม.10 ต�ำบลท่าช้างคล้อง

วัดศรีทองสามัคคีธรรม บ้านซ�ำพร้าว ม.13 ต�ำบลบ้านเพิ่ม

156

SBL บันทึกประเทศไทย I เลย

.indd 156

22/2/2562 17:29:21


WORK LIF E

บันทึกเส้นทางพบเทศบาลต�ำบล

เทศบาลต�ำบลนาดอกค�ำ ค� ำ ขวั ญ เทศบาลต� ำ บลนาดอกค� ำ

“ ผายาสวยสะเด็ ด ถ�้ ำ ประกายเพชรตระการตา งามล�้ ำ ค่ า สวนป่ า ห้ ว ยปลาดุ ก ”

ข้อมูลทั่วไป เทศบาลต�ำบลนาดอกค�ำ ตั้งอยู่เลขที่ 420 หมู่ที่ 1 ต�ำบลนาดอกค�ำ อ�ำเภอนาด้วง จังหวัดเลย ห่างจากอ�ำเภอนาด้วงประมาณ 7 กิโลเมตร และห่างจากจังหวัดเลยประมาณ 44 กิโลเมตร 0-4203-9865 0-4203-9864 เทศบาลต� ำ บลนาดอกค� ำ มี เ นื้ อ ที่ ป ระมาณ 315 ตารางกิ โ ลเมตร นายรัชกฤต สิริมหานาม นายกเทศมนตรีต�ำบลนาดอกค�ำ 09-3568-4183, 06-2552-2311 สิบต�ำรวจโทไพฑูรย์ ภูคงคา ปลัดเทศบาลต�ำบลนาดอกค�ำ 08-5002-2199

นายรั ช กฤต สิ ริ ม หานาม นายกเทศมนตรีต�ำบลนาดอกค�ำ

LOEI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 157

157

- 27/02/2562 11:44:03 AM


ทต.นาดอกค�ำ ชวนเที่ยว! ถ�้ำประกายเพชร ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นโพนสว่าง หมูท่ ี่ 3 ต�ำบลนาดอกค�ำ อ�ำเภอนาด้วง จังหวัดเลย ห่างจากที่ว่าการอ�ำเภอ 13 กิโลเมตร เป็นถ�้ำที่มีความสวยงาม มหัศจรรย์ มีหินงอก หินย้อย ลักษณะหินเป็นเม็ดๆ มีประกายเหมือนเพชร ส่องแสง ระยิบระยับเมื่อส่องไฟกระทบ ลักษณะถ�้ำลึกลงไปใต้ผิวดิน ดูเหมือน เป็นวังใต้บาดาล ภายในถ�้ำแต่ละส่วนที่มีความงามเป็นเอกลักษณ์เฉพาะ มีตำ� นานทีน่ า่ ศึกษา ค้นคว้าและพิสจู น์ความเป็นมาของถ�ำ้ แห่งนี้ มีพระธุดงค์ รูปหนึง่ นามว่า “หลวงพ่อช่วย” ได้มาปฏิบตั ธิ รรมบริเวณนีแ้ ละเกิดนิมติ ว่า มีถ�้ำอยู่ มีประกายเพชรระยิบระยับสวยงามมาก เมื่อค้นหาจึงพบปากถ�้ำ และเข้าไปส�ำรวจภายในพบแสงทีเ่ ปล่งออกมาระยิบระยับดุจประกายเพชร จึงตั้งชื่อว่า “ถ�้ำช่วยรัตนตรัยประกายเพชร ”

ถ�้ำผายา (ถ�้ำค้างคาว) ตั้งอยู่ที่บ้านใหม่สันติธรรม หมู่ที่ 8 ต�ำบลนาดอกค�ำ อ�ำเภอนาด้วง จังหวัดเลย ห่างจากที่ว่าการอ�ำเภอ 17 กิโลเมตร เส้นทางเป็นถนนลาดยาง 17 กิโลเมตร ถ�้ำผายาเป็นถ�้ำที่มีค้างคาวนับล้านตัวอาศัยอยู่ สามารถ มองเห็นความสวยงามของค้างคาวขณะออกหากิน ช่วงเวลาประมาณ 17.00 - 18.00 น. ทุกวัน ค้างคาวจะบินเป็นแถวทอดยาวกลางอากาศ นานประมาณ 50 นาที เป็นภาพที่สวยงามน่าอัศจรรย์ยิ่งนัก ความเป็ น มาก่ อ นเป็ น ที่ อ ยู ่ อ าศั ย ของค้ า งคาวนั บ ล้ า นตั ว บริ เวณ ปากถ�้ ำ มี ต ้ น ยาสู บ (ที่ เ กิ ด ขึ้ น เองตามธรรมชาติ ) มี พ ระมหาสมชาย มาปักกลดปฏิบัติธรรมบ�ำเพ็ญเพียรภาวนา ต่อมาจึงได้ตั้งเป็นส�ำนักสงฆ์ เพื่อเป็นสัญลักษณ์ให้กับต้นยาสูบ โดยตั้งชื่อว่า “ส�ำนักสงฆ์วัดถ�้ำผายา” 158

SBL บันทึกประเทศไทย I เลย

.indd 158

22/02/62 11:22:34


วัดถ�้ำผาด�ำสันติธรรม ตั้งอยู่บนภูเขาขนาดใหญ่และมีหน้าผาสูง มองดูมืดเป็นสีด�ำ ชาวบ้าน จึงเรียกว่า “ภูผาด�ำ” อยูท่ หี่ มูบ่ า้ นใหม่สนั ติธรรม ภายในภูเขามีถำ�้ ขนาดใหญ่ และถ�้ำขนาดเล็กแยกออกเป็นห้องถึงจ�ำนวน 15 ห้อง หินย้อยที่มีประกาย เหมือนเพชร ปัจจุบันเป็นส�ำนักสงฆ์ถ�้ำผาด�ำสันติธรรม มีการสร้างศาลา การเปรียญ ตามโครงการก่อสร้างศาลาการเปรียญ “อนุรักษ์ไม้โบราณ เสาล้มจมน�ำ ้ 108 ต้น” เป็นไม้ตะเคียนทองทีม่ ขี นาดใหญ่ พระอาจารย์จนั ดี หรือ อาจารย์จ่อย พระวิปัสสนา กรรมฐาน สายหลวงปู่ชา แห่งวัดป่าพง จังหวัดอุบลราชธานี และเจ้าอาวาสวัดเห็นว่า ในจังหวัดเลย มีไม้ตะเคียน ทองล้มจมน�้ำ อยู่ในแม่น�้ำเลย แม่น�้ำสวย และแม่น�้ำลาย จ�ำนวนมาก ไม่ได้ใช้ประโยชน์ โดยบางแห่งมีความเชื่อว่า มีวิญญาณร้ายสิงสถิตอยู่ ท�ำให้เด็กเล็กที่มาเล่นน�้ำเสียชีวิต จึงบอกบุญไปยังญาติโยมที่มาท�ำบุญว่า มีไม้ที่จมน�้ำที่ไหนจะบริจาค ทางวัดจะไปเก็บกู้เอง โดยจะน�ำมาสร้างศาลา การเปรียญบนเนื้อที่ 4 ไร่ ขนาดความสูง 15 เมตร กว้าง 20 เมตร ยาว 80 เมตร เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2552 เพื่อเฉลิมฉลองในวัน พระราชสมภพของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร

สวนป่าน�้ำสวยห้วยปลาดุก จัดตั้งขึ้นเมื่อ ปี พ.ศ. 2526 เป็นสวนป่าโครงการที่ 2 สังกัดงาน ปลูกสร้างสวนป่าที่ 3 อุตสาหกรรมป่าไม้เขตขอนแก่นท�ำการปลูกสร้าง สวนป่าทดแทนตามเงื่อนไขสัมปทานท�ำไม้ของบริษัทจังหวัดท�ำไม้จ�ำกัด ตั้ ง อยู ่ ที่ ป ่ า สงวนแห่ ง ชาติ โ คกผาด� ำ ป่ า โคกหนองข่ า และป่ า ภู บ ่ อ บิ ด ต�ำบลนาดอกค�ำ อ�ำเภอนาด้วง จังหวัดเลย ส�ำนักงานตั้งอยู่ที่บ้านห้วย ปลาดุก หมู่ที่ 12 ต�ำบลนาดอกค�ำ อ�ำเภอนาด้วง จังหวัดเลย อยู่ห่างจาก อ�ำเภอนาด้วง ประมาณ 30 กิโลเมตร และอ�ำเภอเมือง จังหวัดเลย ประมาณ 60 กิโลเมตร ต่อมาได้เปลีย่ นเป็นสวนป่าโครงการที่ 1 ด�ำเนินการ ขออนุญาตใช้พื้นที่ตามมาตรา 20 แห่งพระราชบัญญัติป่าสงวนแห่งชาติ พ.ศ. 2507 แล้วท�ำการปลูกสร้างสวนป่า โดยใช้เงินงบประมาณของ องค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2530 - 2534 และได้รับการ สนั บ สนุ น เงิ น งบประมาณค่ า ใช้ จ ่ า ย จากโครงการความร่ ว มมื อ ทาง วนวัฒนวิทยาโพ้นทะเล - อุเมดะ (The Overseas Siluieulture Ceutre - Umeda) ในการปลูกสร้างสวนป่าตั้งแต่ปี พ.ศ. 2535 - 2537 สวนป่าน�้ำสวยห้วยปลาดุกเป็นสถานที่พักผ่อนที่สวยงามมาก ตั้งอยู่ ใกล้กับอ่างเก็บน�้ำห้วยปลาดุก ซึ่งเป็นต้นก�ำเนิดล�ำน�้ำสวย มีน�้ำใสมองเห็น ตัวปลา เหมาะส�ำหรับด�ำน�้ำดูปลา นั่งเรือชมทิวทัศน์ พักแรม ค้างคืน ท่ามกลางสวนป่าสักนับพันไร่

LOEI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 159

159

22/02/62 11:22:43


W O R K L IF E

บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล

องค์การบริหารส่วนต�ำบลห้วยพิชัย วิ สั ย ทั ศ น์ อ งค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บลห้ ว ยพิ ชั ย

“ มี ถ นนได้ ม าตรฐาน ไฟฟ้ า สว่ า งทุ ก หมู ่ บ ้ า น ประชาชนมี คุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ ดี มี ร ายได้ ที่ มั่ น คง มี แ หล่ ง น�้ ำ อุ ป โภค บริ โ ภค การประมง มี ส ภาพแวดล้ อ มที่ ส ะอาดภู มิ ทั ศ น์ ส วยงามตา การกี ฬ าเด่ น เน้ น คุ ณ ธรรม มี วั ฒ นธรรมขนบธรรมเนี ย มประเพณี ท ้ อ งถิ่ น ที่ ดี ง าม ”

ข้อมูลพื้นฐาน องค์การบริหารส่วนต�ำบลห้วยพิชัย ตั้งอยู่ถนนปากชม-ศรีเชียงใหม่ ต�ำบลห้วยพิชัย อ�ำเภอปากชม จังหวัดเลย 42150 โทรศัพท์ 0-4281-0977 โทรสาร 0-4281-0976 Email : contact@huaipichai.go.th จัดตั้งเมื่อ วันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2540 ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของอ�ำเภอปากชม ห่างจากจังหวัดเลยประมาณ 90 กิโลเมตร และห่างจากอ�ำเภอปากชม ประมาณ 12 กิโลเมตร

นายอุ เ ทศ เบ้ า แก้ ว

นายปั ญ ญา เสนานุ ช

นายกองค์การบริหาร ส่วนต�ำบลห้วยพิชัย

ปลัดองค์การบริหาร ส่วนต�ำบลห้วยพิชัย

กลุ่มวิสาหกิจชุมชนบ้านสงาว(กลุ่มใบตอง)

160

.

องค์การบริหารส่วนต�ำบลห้วยพิชยั มีเนือ้ ทีท่ งั้ หมดประมาณ 116,675 ไร่ หรือประมาณ 186.63 ตารางกิโลเมตร แยกเป็นพื้นที่การเกษตรประมาณ 48,000 ไร่ นอกจากนั้นเป็นพื้นที่สาธารณะประโยชน์และป่าสงวนแห่งชาติ

กลุ่มวิสาหกิจชุมชนบ้านปากเนียม(กลุ่มไวน์)

SBL บันทึกประเทศไทย I เลย

.indd 160

22/02/62 14:07:34


งานประจ�ำปี

พระใหญ่ วัดรุ่งอรุณ(บ้านใหม่พัฒนา)

วัดอินแปลง(บ้านสงาว)

ฝายเก็บน�้ำเพื่อการเกษตรบ้านสงาว

วัดศรีภูมิสุรการ(บ้านปากเนียม)

ล่องแก่งผาตีนหงส์(บ้านปากเนียม)

การแข่งเรือกาบ ประเพณี ก ารแข่ ง เรื อ กาบเป็ น ประเพณี ท่ี สื บ สานกั น มาต่ อ เนื่ อ ง เป็นเวลาหลายปี โดยมีการจัดกิจกรรมการแข่งเรือกาบขึ้นในช่วงเทศกาล ออกพรรษา(เดือนตุลาคมของทุกปี หมู่ 4 บ้านสงาว) โดยความร่วมมือของ ชาวต�ำบลห้วยพิชัย และต�ำบลใกล้เคียงในการน�ำเรือเข้าร่วมการแข่งขัน ถือเป็นการอนุรักษ์ประเพณีของท้องถิ่น ให้คงอยู่สืบเนื่องยังคนรุ่นต่อไป

รดน�้ำด�ำหัวผู้สูงอายุ เป็ น ประเพณี ท ้ อ งถิ่ น ที่ จั ด ขึ้ น ช่ ว งเทศกาลวั น สงกานต์ ประมาณ เดือนเมษายนของทุกปี จัดที่ อบต.ห้วยพิชัย

LOEI I SBL บันทึกประเทศไทย

.

.indd 161

161

22/02/62 14:07:55


W O R K L IF E

บันทึกเส้นทางพบเทศบาลต�ำบล

เทศบาลต�ำบลท่าลี่ สถานที่ส�ำคัญ “พระรัตนมหามิ่งมงคลบรมไตรโลกนาถ” พระใหญ่หลักเมืองท่าลี่ เมื่อเดินทางเข้าสู่เขตอ�ำเภอท่าลี่ จะเห็นพระพุทธรูปองค์ใหญ่ปางเปิดโลก ยืนเด่นสง่างามด้วยความสูง 32 เมตร อยู่ ณ ตัวอ�ำเภอท่าลี่ จังหวัดเลย วางศิลาฤกษ์และก่อสร้างมาตัง้ แต่วนั ที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2552 บริเวณโดยรอบ ยังมีพระพุทธรูปปางสมาธิ นัง่ อยูด่ า้ นหน้าทางเข้า-ออก เป็นความภาคภูมใิ จ ของชาวท่าลี่และความประทับใจของผู้ที่มาเยือน บ่งบอกถึงความศรัทธา อันแรงกล้าในพุทธศาสนา ความร่มเย็นและเป็นสุขทั้งกายและใจ

นายสุ ร ชน เนรมิ ต พานิ ช ย์ นายกเทศมนตรีต�ำบลท่าลี่

162

เทศบาลต�ำบลท่าลี่ ตั้งอยู่ที่ถนนบ�ำรุงราษฎร์ ต�ำบลท่าลี่ อ�ำเภอท่าลี่ จังหวัดเลย 42140

www.tessabanthali.go.th โทร. 0-4287-0521

SBL บันทึกประเทศไทย I เลย

.indd 162

22/02/62 14:14:55


2.indd 999

3/8/2561 9:24:03


Buddhism

in Thailand

SBL บันทึกประเทศไทย น�ำเสนอเรื่องราวของจังหวัดต่างๆ ทั่วประเทศไทย อย่างเจาะลึกและครอบคลุมทุกมิติ อาทิ มิติด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ จากหน่วยงานราชการส�ำคัญในจังหวัด มิติด้านการท่องเที่ยวที่สดใหม่ทันสมัย ทั้งสถานที่เที่ยว ที่พัก ร้านอาหาร ร้านกาแฟ แหล่งช็อปปิ้งใหม่ๆ ฯลฯ มิติด้านอุตสาหกรรม-การค้าการลงทุนที่เป็นตัวขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ตลอดจนมิติด้านการศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม และวิถีชีวิต ที่มีจุดเด่นและมีเอกลักษณ์น่าสนใจ

WWW.SBL.CO.TH

.indd 164

26/2/2562 9:30:04


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.