นิตยสารท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมจังหวัดนครปฐม ประจ�ำปี 2564
EXCLUSIVE วิสัยทัศน์การพัฒนา
พระพุทธศาสนา อย่างยั่งยืน
นายบุญเชิด กิตติธรางกูร
ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงาน พระพุทธศาสนาจังหวัดนครปฐม
พา
ชมและเรียนรู้
ประวัติความเป็นมาที่ยาวนาน
วัพระอารามหลวง ดไร่ขิง
Vol.11 Issue 114/2021
www.issuu.com
_
_OK.indd 3
นครปฐม
NAKHON PATHOM อู่อารยธรรมส�ำคัญบนแผ่นดินสุวรรณภูมิ
15/12/2563 10:42:28
History of buddhism....
วัดบางภาษี พระครูโสภณกิจวิบูล (สุรพโล) เจ้าอาวาสวัดบางภาษี
วัดบางภาษี เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตั้งอยู่เลขที่ 60 หมู่ที่ 11 ต�ำบลคลองนกกระทุง อ�ำเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม
วัดบางภาษีเป็นวัดในยุคแรกที่ท�ำการก่อสร้างวัดไม่ปรากฏหลักฐานว่าใครเป็นผู้สร้าง ที่ดินที่ท�ำการก่อสร้างเป็นผู้ใดและก่อสร้างเมื่อ
ใดไม่ปรากฏหลักฐานตั้งแต่ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาจาก พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปก พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 เมื่อวันที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2472 ตามหลักฐานที่ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาชื่อว่า “วัดปากคลองบางภาษี” ตั้งอยู่ บริเวณปากคลองบางภาษี อ�ำเภอบางปลา (บางเลน) จังหวัดนครชัยศรี (นครปฐม) 2
2
SBL บันทึกประเทศไทย I นครปฐม
.indd 2
14/12/2563 17:37:12
จากค�ำสันนิษฐานของผู้สูงอายุเชื่อว่า วัดปากคลองบางภาษี นั้นเนื่องมาจากในการก่อสร้างวัด มีผู้มีจิตศรัทธา สาธุชนร่วมกัน ก่อสร้างวัดหลายคน การตั้งชื่อวัดจึงมิได้ตั้งชื่อตามชื่อของผู้ก่อตั้งวัด และเพื่อให้เกิดศรัทธาแก่สาธุชน โดยทั่วไปจึงตั้งชื่อวัดตามต�ำบล ทีต่ งั้ ของวัดประกอบกับทีต่ ง้ั ของวัดอยูบ่ ริเวณปากคลองริมแม่นำ�้ ท่าจีน (แม่น�้ำนครชัยศรี) จึงตั้งชื่อว่า “วัดปากคลองบางภาษี” ในสมัยนั้น ในปัจจุบนั ได้เปลีย่ นมาเป็น “วัดบางภาษี” ไม่ปรากฏหลักฐานแน่ชดั ว่า ค�ำว่า “ปากคลอง” หายไปเมือ่ ไรคงชือ่ ว่าวัดบางภาษีมาจนถึงปัจจุบนั สมัยก่อนมีเรื่องที่น่าพอฟังได้อยู่ว่าขับเสภาขุนช้าง-ขุนแผน ที่ตรงนี้ เป็นด่านเก็บภาษีราษฎร์จงึ ได้ตงั้ ชือ่ วัดว่า “วัดบางภาษี” ตัง้ แต่นนั้ มา ต่อมาแบ่งการปกครองใหม่ ต�ำบลบางภาษีถูกแบ่งออกเป็น 2 ต�ำบล บริเวณที่ตั้งวัดบางภาษี ได้เปลี่ยนชื่อเป็นต�ำบลคลองนกกระทุงและ เปลี่ยนชื่อ อ�ำเภอบางปลาเป็น “อ�ำเภอบางเลน” แต่มิได้มีการ เปลี่ยนแปลงชื่อวัดแต่อย่างใด ยังคงเรียกชื่อวัดว่าวัดบางภาษี มาจน ตราบเท่าทุกวันนี้
เจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน พระครูโสภณกิจวิบูล (สุรพล สุรพโล) นามสกุล เสืองามเอี่ยม น.ธ เอก ได้รับการแต่งตั้งให้ด�ำรงต�ำแหน่ง เจ้าอาวาสตามหนังสือตราตั้งเจ้าอาวาสที่ 11/2525 ลงวันที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2525 ถึงปัจจุบัน
พระครูโสภณกิจวิบูล (สุรพโล) เจ้าอาวาสวัดบางภาษี
NAKHON PATHOM I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 3
3
14/12/2563 17:37:28
History of buddhism....
วัดหนองเจริญธรรม พระอาจารย์ไพฑูรย์ สิริภทฺโท เจ้าอาวาสวัดหนองเจริญธรรม
4
วัดหนองเจริญธรรม เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตั้งอยู่เลขที่ 93 หมู่ 2 ต�ำบลหนองกระทุ่ม อ�ำเภอก�ำแพงแสน จังหวัดนครปฐม
วัดหนองเจริญธรรม เดิมพื้นที่นี้เป็นป่าไม้เบญจพันธุ์นานาชนิดและมีหนองน�้ำ ชาวบ้านในละแวกนีจ้ งึ เรียกชือ่ ตามสภาพพืน้ ที่ ชาวบ้านทีอ่ าศัยอยูใ่ นบริเวณแถบนี้ ส่วนใหญ่ใช้พื้นที่บริเวณแถบนี้ท�ำไร่ยาสูบ ปลูกฝ้าย
SBL บันทึกประเทศไทย I นครปฐม
2
.indd 4
15/12/2563 17:03:00
กาลต่ อมา ก�ำนัน เพิ่ม ศัก ดิ์ วิริยะช่ว งโชติ ได้ พิ จ ารณาเห็ น ว่ า ที่บริเวณนี้เป็นสถานที่เหมาะสมในการสร้างวัดเพื่อให้ประชาชนใน บริ เวณใกล้ เคียงสะดวกในการบ�ำเพ็ญ กุศล ถือ ศี ล ฟั ง ธรรมตาม ประเพณี มิฉะนั้นจะต้องไปประกอบการกุศลในวัดอื่นที่อยู่ห่างไกล พอสมควรเมื่อพิจารณาเห็นสมควรแล้วพร้อมทั้งได้ถามความต้องการ จากประชาชนจากแถบถิ่นใกล้สถานที่สร้างวัดได้รับการสนับสนุน ด้วยดี จึงได้ช่วยกันสละทรัพย์ปลูกสร้างเป็นที่พักสงฆ์ไว้ก่อน และ คณะได้เดินทางไปหาหลวงพ่อเปิ่นวัดบางพระ เพื่อขอให้ส่งพระภิกษุ มาอยู่และหลวงพ่อได้ส่งพระฉลอง ปภสฺญโร มาอยู่และได้ด�ำเนินการ ก่อสร้างที่พักสงฆ์และขอตั้งเป็นส�ำนักสงฆ์บ้านหนองเขมรเพื่อให้ตรง กับชื่อของหมู่บ้าน แต่พระฉลอง ปภสฺญโร อยู่เป็นเจ้าส�ำนักได้ 3 ปี ก็มรณภาพ จนกระทั่งปี พ.ศ. 2551 ก�ำนันบุญสิทธิ์ สุวรรณชีพ และชาวบ้าน ได้ พ บกั บ พระไพฑู ร ย์ สิ ริ ภ ทฺ โ ท ซึ่ ง เป็ น พระธุ ด งค์ (ต่ อ มาได้ รั บ ฐานานุกรมเป็นพระครูสมุห์) จึงได้นิมนต์มาอยู่ที่ส�ำนักสงฆ์บ้าน หนองเขมร และได้ซื้อที่เพิ่มอีก 6 ไร่ 1 งาน 79 ตารางวา และได้ ด�ำเนินการสร้างกุฏิ หอฉัน ศาลาการเปรียญ หอระฆัง ศาลาธรรม สังเวช เมรุ และอุโบสถ และในปี พ.ศ. 2552 ได้รับการยกฐานะขึ้น เป็นวัด ได้นามว่า “ วัดหนองเจริญธรรม” เมื่อพระครูสมุห์ไพฑูรย์ สิริภทฺโท ได้รับการแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาส แล้ว ได้ท�ำการสร้างหอระฆังและห้องน�้ำ ห้องสุขา ประจ�ำวัด สร้าง โรงครัว ขอไฟฟ้ามาใช้ภายในวัดสร้างกุฏิ เพิ่มอีกจ�ำนวน 4 หลัง ปลูก ต้นไม้ยืนต้นจัดให้เป็นระเบียบเรียบร้อยได้แนว เพิ่มความร่มรื่นโดย รับความอุปถัมภ์ ความร่วมมือร่วมแรงร่วมใจจากพุทธศาสนิกชน ทั้งหลาย โดยทั่วไปทั้งใกล้และไกล ได้ร่วมกันบริจาคทรัพย์ในการ ก่อสร้างสิ่งต่างๆ ได้รับความเจริญและสะดวกสบายมาโดยล�ำดับ ปัจจุบันพระครูสมุห์ไพฑูรย์ สิริภทฺโท ได้เอาใจใส่ดูแลรักษาวัด ด้วยดีและพัฒนาให้เจริญมาโดยตลอด เช่น ก่อสร้างอุโบสถและ อนุรักษ์ของใช้โบราณต่างๆ นอกจากนี้ยังได้ด�ำเนินการส่งเสริมการ ศึกษาทางด้านให้ทุนนักเรียนที่เรียนดีแต่ยากจนตลอดจนส่งเสริมการ ศึกษาทางด้านนักธรรมและบาลีของพระภิกษุสามเณร โดยเฉพาะก็ คือเพิ่มทุนของวัดและเพิ่มทุนส่วนตัวให้กับโรงเรียนสหศึกษาบาลีเป็น ประจ�ำทุกปี
พระอาจารย์ ไพฑูรย์ สิริภทฺโท เจ้าอาวาสวัดหนองเจริญธรรม
NAKHON PATHOM I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 5
5
15/12/2563 17:03:11
History of buddhism....
วัดดอนขนาก พระครูปฐมคุณากร (คุณงฺกโร) เจ้าอาวาสวัดดอนขนาก
วัดดอนขนาก เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตั้งอยู่เลขที่ 92 หมู่ที่ 7 ต�ำบลดอนยายหอม อ�ำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม
6
2
SBL บันทึกประเทศไทย I นครปฐม
.indd 6
15/12/2563 10:32:59
วัดดอนขนาก เดิมเป็นที่ดอนมีต้นป่าขนากขึ้นอยู่เป็นจ�ำนวนมาก ประชาชนที่อาศัยอยู่ได้เรียกชื่อตามการอนุรักษ์ของท้องถิ่นที่มีป่า นั้นว่า ดอนขนาก ต่อมาได้จัดสร้างเป็นส�ำนักสงฆ์ เมื่อปีพ.ศ. 2450 โดย นายไล้ อยู่สิริ ได้บริจาคที่ดินเป็นที่ส�ำนักสงฆ์ จ�ำนวน 8 ไร่ และ นายหลก กิ่มเพชร บริจาคที่ดินเป็นที่ส�ำนักสงฆ์ จ�ำนวน 4 ไร่ 2 งาน 60 ตารางวา รวมที่ดินทั้งหมด 12 ไร่ 2 งาน 60 ตารางวา ต่อมามี นายพุฒ นางอ่วม นายนาค และนายบุตร มีจิตศรัทธาสร้างกุฏิขึ้น รวม 2 หลัง เป็นแบบทรงไทยโบราณ จึงได้นิมนต์พระภิกษุวัดไผ่ล้อม จังหวัดนครปฐม มาจ�ำพรรษา รวม 5 รูป โดยมี พระอาจารย์จ๊ะ เป็น ผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาสรูปแรก ครั้นต่อมามีเหตุการณ์ผลัดเปลี่ยน ผูร้ กั ษาการแทนเจ้าอาวาสอีกหลายรูป จนถึง พระอธิการศรีทอง อํสทุ ตฺโต เจ้าอาวาส ได้ท�ำการบูรณปฏิสังขรณ์ถาวรวัตถุเจริญรุ่งเรืองมากในปี พ.ศ. 2499
วัดดอนขนาก ตั้งเป็นวัดเมื่อปี พ.ศ. 2450 ได้รับพระราชทาน วิสงุ คามสีมา เมือ่ วันที่ 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2550 ภายในวัดดอนขนาก ยังมีสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ได้แก่ วิหารโพธิสัตว์เจ้าแม่กวนอิม หลวงพ่อสี่ทิศ รวมถึงแม่ตะเคียน และที่ขาดไม่ได้ก็คือ การได้ลอดใต้โบสถ์ที่วัดนี้ โดยผู้ที่เดินทางไปส่วนมากจะเดินทางเพื่อลอดใต้โบสถ์ 3 รอบ หรือ 9 รอบ เพือ่ ให้เกิดสิง่ ดีๆ และความเป็นสิรมิ งคลแก่ตวั เองและครอบครัว
NAKHON PATHOM I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 7
7
15/12/2563 10:33:09
ล�ำดับรายนามเจ้าอาวาส
1. พระอาจารย์จ๊ะ พ.ศ. 2450 - 2452 2. พระอาจารย์ภู พ.ศ. 2452 - 2456 3. พระอาจารย์โต๊ะ พ.ศ. 2456 - 2458 4. พระอธิการมี พ.ศ. 2458 - 2479 5. พระอาจารย์พ่วง พ.ศ. 2479 - 2492 6. พระอาจารย์เช้า พ.ศ. 2492 - 2493 7. พระอาจารย์สิน พ.ศ. 2493 - 2495 8. พระอธิการศรีทอง อํสุทตฺโต พ.ศ. 2495 - 2523 9. พระครูประกาศศาสนธรรม (บุญมี สญฺญโต) พ.ศ. 2523 - 2542 10. พระครูปฐมคุณากร พ.ศ. 2543 - ถึงปัจจุบนั
พระครูปฐมคุณากร (คุณงฺกโร) เจ้าอาวาสวัดดอนขนาก
8
2
SBL บันทึกประเทศไทย I นครปฐม
.indd 8
15/12/2563 10:33:14
บริเวณโดยรอบของวัดดอนขนาก
NAKHON PATHOM I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 9
9
15/12/2563 10:33:21
History of buddhism....
วัดดอนยายหอม พระครูปฐมวราจารย์ (หลวงพ่ออวยพร ฐิติญาโณ) เจ้าอาวาสวัดดอนยายหอม
วัดดอนยายหอม ตั้งอยู่เลขที่ 257 หมู่ที่ 3 ต�ำบลดอนยายหอม อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม
สรีระสังขาร และขอพรหลวงพ่อเงิน
กราบ
“เทพเจ้าแห่งดอนยายหอม” นครปฐม
10
4
SBL บันทึกประเทศไทย I นครปฐม
.indd 10
15/12/2563 10:47:53
ประวัติความเป็นมา
ในอดีตเรียกว่า วัดโคกยายหอม (ปัจจุบนั เป็นโบราณสถานร้าง เรียก เนินพระ) เป็นวัดทีส่ ร้างขึน้ มากว่า 1,000 ปี คาดว่าราวสมัยทวาราวดี หรือก่อนหน้านัน้ เป็นทีต่ งั้ ของบ้านเรือนยายหอม เป็นผูเ้ ลีย้ งพญาพาน ซึง่ เกีย่ วพันกับการสร้างองค์พระปฐมเจดีย์ ต่อมามีวดั โคกยายหอมอีก แห่งตัง้ อยูห่ มูท่ ี่ 2 ต�ำบลดอนยายหอม เป็นวัดเก่าแก่จวนร้างเหมือนกัน มีพระสงฆ์ประจ�ำอยู่ 2-3 รูป ไม่ปรากฏหลักฐานสมัยที่สร้าง เมื่อราวปี พ.ศ. 2398 หลวงพ่อทรัพย์ เจ้าอาวาสวัดงิ้วราย อ�ำเภอ นครชัยศรี เห็นว่าวัดทรุมโทรมมาก ไม่สามารถบูรณปฏิสงั ขรณ์ให้ดขี นึ้ ได้ จึงได้เลือกที่ตั้งวัดใหม่ขึ้นทางเหนือ อยู่ระหว่างวัดร้างเนินพระกับ วัดโคกยายหอม เป็นทีน่ าของนายคงกับนายฉิม ตระกูลอินทนจุย้ ได้ถวาย ทีด่ นิ ผืนนีใ้ ห้เป็นทีส่ ร้างวัด เนือ้ ที่ 8 ไร่ โดยมีพระวินยั ธรฮวบ พรหมสโร เป็นเจ้าอาวาสองค์แรก เมื่ออายุ 25 ปี บวชได้ 5 พรรษา ท่านมาจาก วัดทอง อ�ำเภอบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร เมื่อปี พ.ศ. 2400 “พระราชธรรมาภรณ์” หรือ “หลวงพ่อเงิน จันทสุวัณโณ” วัดดอนยายหอม ต.ดอนยายหอม อ.เมือง จ.นครปฐม พระเกจิชื่อดัง เป็นพระนักปกครอง พัฒนาวัดจนเจริญรุ่งเรือง ยังเป็นแกนน�ำในการ พัฒนาบ้านเรือนและช่วยเหลือผู้ที่ได้รับความเดือดร้อน อบรมสั่งสอน ให้กระท�ำแต่ความดี เป็นที่เคารพศรัทธา จนได้รับการ ยกย่องว่า “เทพเจ้าแห่งดอนยายหอม” เมื่อด�ำริจะท�ำสิง่ ใดก็จะได้รับความร่วม แรงร่วมใจจนงานประสบความส�ำเร็จตลอดมาด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส วัดดอนยายหอม เมือ่ ปี พ.ศ. 2466 และท่านได้ละสังขารด้วยอาการสงบ เมือ่ วันที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2520 ทีโ่ รงพยาบาลรามาธิบดี สิรอิ ายุ 87 ปี พรรษา 66 แม้ท่านจะมรณภาพไปนานแล้วก็ตาม แต่สิ่งต่างๆ ยังคงตราตรึง อยูใ่ นความทรงจ�ำของบรรดาลูกศิษย์ลกู หา โดยเฉพาะชาวดอนยายหอม อย่างไม่มีวันลืม ต่างยังร�ำลึกนึกถึงท่านอย่างไม่มีวันเลือนหายไปจาก ความทรงจ�ำ
NAKHON PATHOM I SBL บันทึกประเทศไทย
4
.indd 11
11
15/12/2563 10:48:03
ปูชนียสถานที่ควรเข้าชมและเคารพสักการะ
1. พระพุทธศรทักษิณานุสรณ์ พระประธานในอุโบสถ หน้าตักกว้าง 85 นิว้ สูง 111 นิว้ ฝีมอื ช่างศิลปะประยุกต์สมัยรัตนโกสินทร์กบั สุโขทัย 2. พระบรมสารีรกิ ธาตุ บรรจุอยูใ่ นองค์พระพุทธศรีทกั ษิณานุสรณ์ พระประธานในอุโบสถ 3. รูปหล่อจ�ำลององค์หลวงพ่อทรัพย์ หลวงพ่อฮวบ หลวงพ่อเงิน หลวงพ่อแช่ม อยู่ในวิหารหลวงพ่อเงิน 4. รูปปัน้ คุณยายหอม อยูใ่ นศาลาอนุสรณ์คณ ุ ยายหอม ใกล้มณฑป 5. เสมาธรรมจักร อยู่ในวิหารหลวงพ่อเงินหลังอุโบสถ 6. พระพุทธบาทจ�ำลอง และพระพุทธรูปประจ�ำวัน 7 ปาง อยู่ใน มณฑป 7. ต้นพระศรีมหาโพธิ์ เป็นหน่อโพธิ์จากพุทธคยา ประเทศอินเดีย ที่พระพุทธเจ้าตรัสรู้ 8. ศาลาธรรมโสฬส ที่ประดิษฐานศพหลวงพ่อเงิน พระราชธรรมมาภรณ์ อดีตเจ้าอาวาสวัดดอนยายหอม ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดนครปฐม 9. ตึกกัมมัฏฐาน ที่ประดิษฐานศพหลวงพ่อแช่ม พระครูเกษมธรรมนันท์ อดีตเจ้าอาวาสวัดดอนยายหอม ที่ปรึกษาเจ้าคณะต�ำบลดอนยายหอม
12
4
SBL บันทึกประเทศไทย I นครปฐม
.indd 12
17/12/2563 12:01:04
งานประเพณี
พระครูปฐมวราจารย์ (หลวงพ่ออวยพร ฐิติญาโณ) เจ้าอาวาสวัดดอนยายหอม
ท�ำเนียบเจ้าอาวาส
รูปที่ 1 พระปลัดฮวบ พรหฺมสโร พ.ศ. 2400 – 2466 รูปที่ 2 พระราชธรรมาภรณ์ (หลวงพ่อเงิน จนฺทสุวณฺโณ) พ.ศ. 2466 – 2520 รูปที่ 3 พระครูเกษมธรรมนันท์ (หลวงพ่อแช่ม ฐานุสฺสโก) พ.ศ. 2520 – 2536 รูปที่ 4 พระครูวิมลสุทธิสาร (หลวงพ่อประพัน์ วิสุทธิสาโร) พ.ศ. 2536 – 2562 รูปที่ 5 พระครูปฐมวราจารย์ (หลวงพ่ออวยพร ฐิติญาโณ) พ.ศ. 2562 – ปัจจุบัน
วัดดอนยายหอม มีงานประเพณีและกิจกรรมทางศาสนาที่เป็น ศูนย์รวมในการท�ำกิจกรรมร่วมกันของคณะสงฆ์ ประชาชนต�ำบล ดอนยายหอม ตลอดจนประชาชนทีม่ จี ติ ศรัทธาต่อวัดดอนยายหอม ดังนี้ 1. งานคล้ายวันมรณภาพหลวงพ่อเงิน ระหว่างวันที่ 9-13 มกราคม ของทุกปี เพื่อเป็นการระลึกถึงบุญบารมีของหลวงพ่อเงิน เพื่อให้ ประชาชนในต�ำบลดอนยายหอม และประชาชนทัว่ ไปทีม่ จี ติ ศรัทธาได้ สักการะ โดยในช่วงงานดังกล่าวจะมีพิธีบวชพราหมณ์เพื่อเป็นการ รักษาศีล ตลอดจนเป็นการสร้างความสามัคคีของชาวต�ำบลดอนยายหอม 2. งานปิดทองกลางเดือน 4 ขึ้น 14 ค�่ำ, 15 ค�่ำ และ แรม 1 ค�่ำ ของทุกปี เป็นงานที่จัดขึ้นเพื่อให้ประชาชนต�ำบลดอนยายหอม และ ประชาชนทัว่ ไปได้เข้ามาสักการะท�ำบุญ บ�ำเพ็ญกุศลปิดทองพระพุทธบาท รู ป ปั ้ น คุ ณ ยายหอม รู ป จ� ำ ลองหลวงพ่ อ เงิ น ศิ ล าเสมาธรรมจั ก ร ซึ่งขุดค้นพบที่เนินพระเจดีย์ซึ่งอยู่ใกล้วัดดอนยายหอม 3. งานคล้ายวันมรณภาพหลวงพ่อแช่ม ระหว่างวันที่ 5-9 ธันวาคม ของทุกปี เพือ่ เป็นการระลึกถึงบุญบารมีของหลวงพ่อแช่มทีไ่ ด้อปุ การคุณ ต่อชาวต�ำบลดอนยายหอมและประชาชนทั่วไป 4. งานตามเทศกาลทางพระพุทธศาสนา เช่น วันเข้าพรรษา วันออกพรรษา วันมาฆบูชา เป็นต้น NAKHON PATHOM I SBL บันทึกประเทศไทย
4
.indd 13
13
15/12/2563 10:48:15
History of buddhism....
วัดธรรมศาลา พระใบฎีกาฉัตรชัย ฐานสมฺปุญฺโณ เจ้าอาวาสวัดธรรมศาลา
14
4
วัดธรรมศาลา ตั้งอยู่เลขที่ 4 หมู่ที่ 7 ต�ำบลธรรมศาลา อ�ำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม มีเนื้อที่ประมาณ 61 ไร่เศษ
“วัดธรรมศาลา” ตั้งอยู่ใกล้กับถนนเพชรเกษม ก่อนถึงสะพานข้ามคลอง พระยากง (คูเมืองโบราณ) ห่างจากทางแยกถนนเข้าตัวเมืองนครปฐม ประมาณ 3 กิโลเมตร มีวิหารจัตุรมุข ยอดแหลมสูงใหญ่ เป็นจุดสังเกต ส�ำคัญทางซ้ายมือ
SBL บันทึกประเทศไทย I นครปฐม
_by Tony.indd 14
17/12/2563 16:12:59
วัดธรรมศาลา มีตำ� นานเกีย่ วกับพระยากงพระยาพาน คือ เมือ่ พระยาพานได้ครองเมืองศรีวิชัย พระองค์ได้ท�ำการปิตุฆาตและฆ่าคุณยายหอม ผู้มีพระคุณต่อตนเอง ที่ปกปิดความลับไม่พูดความจริงว่าพระยากงคือบิดา จึงทรงวิตกว่า จะได้รับสนองกรรมอย่างหนัก อันจะเกิดขึ้นแก่ พระองค์ทั้งที่มีชีวิตอยู่และกาลสิ้นชีวิตไป ท่านได้ส�ำนึกในบาปบุญคุณโทษของตนที่ท�ำไว้ จึงได้โปรดให้ประชุมพระอรหันต์และพระสงฆ์จาก อารามต่างๆ และให้ปลูกสร้างโรงธรรมขนาดใหญ่ไว้ใกล้เนินหรือถ�ำ้ เพือ่ ใช้เป็นทีป่ ระชุมสงฆ์ และได้อทุ ศิ ให้เป็นทีส่ ำ� หรับพระสงฆ์ไว้ในการแสดงธรรม เพื่อให้ผลกรรมที่ได้รับเบาบางลง จึงได้เรียกชื่อโรงธรรมแห่งนี้ว่า "ธรรมศาลา" มาจนถึงปัจจุบัน วัดธรรมศาลา ได้ปรากฏอยู่ในนิราศพระประธมของสุนทรภู่ จากบันทึกของ สมเด็จฯ กรมพระยาด�ำรงราชานุภาพว่า สุนทรภูอ่ อกเดินทางไปนมัสการพระประธม เมือ่ วันจันทร์ขนึ้ 5 ค�ำ่ เดือน 12 ตรงกับวันที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2375 เวลา 6 ทุม่ ออกเดินทางจากวังหลัง จุดเริ่มต้นในการเดินทางก็เช่นเดียวกับนิราศเรื่องอื่นๆ จะ เริ่มต้นการเดินทางออกจากวัง ที่พ�ำนัก หรือเรือนของกวี ไปลงเรือที่ท่าน�้ำใกล้เคียง เรื่อยมาจนมาถึงที่ วัดธรรมศาลา ก่อนจะสู่จุดหมายปลายทางที่วัดพระประธมหรือ วัดพระปฐมเจดีย์ เนื้อหาตอนหนึ่งว่า “ถึงบ้านธรรมศาลาริมท่าน�้ำ เป็นโรงธรรมภาคสร้างแต่ปางหลัง”...
NAKHON PATHOM I SBL บันทึกประเทศไทย
4
_by Tony.indd 15
15
17/12/2563 16:13:09
วั ด ธรรมศาลาเป็ น มากกว่ า สถาบั น ศาสนา เพราะเป็ น พื้ น ที่ ท าง ประวัติศาสตร์ที่ส�ำคัญในสมัยทวารวดี ได้รับการสันนิษฐานจากผู้ เชี่ยวชาญทางประวัติศาสตร์ทวารวดีว่า บริเวณนี้เคยเป็นท่าเรือมา ก่อน โดยมีการขุดค้นพบสมอเรือเป็นจ�ำนวนมาก บริเวณแม่น�้ำทัพ หลวง หรือคลองธรรมศาลาในปัจจุบัน ซึ่งผู้เชี่ยวชาญต่างมีความเห็น ตรงกันว่า เป็นท่าเรือการค้าที่ยิ่งใหญ่และส�ำคัญมากแห่งหนึ่งในสมัย ทวารวดี
ถึงแม้ว่าบริเวณที่ตั้งวัดธรรมศาลานี้ จะอยู่นอกเขตเทศบาลนคร นครปฐม ห่างจากองค์พระปฐมเจดีย์ประมาณ 6 กิโลเมตร แต่เป็น พื้นที่รอยต่อใกล้เคียงซึ่งถูกจัดอยู่ในผังเมืองรวมเมืองนครปฐมด้วย โดยบริเวณดังกล่าวถูกก�ำหนด เป็นที่ดินประเภทสถาบันศาสนา ซึ่ง บริเวณเนินดินวัดธรรมศาลา ได้ถูกขึ้นทะเบียนโบราณสถานแล้ว 16
4
เนินดินธรรมศาลานีม้ อี โุ มงค์เชือ่ มต่อกับทุง่ พระเมรุ การขุดค้นเปิดหน้า ดินที่เนินดินสถูปธรรมศาลา ได้แสดงให้เห็นร่องรอยหลักฐานส�ำคัญ ของลวดลายปูนปั้น “พรรณพฤกษา” ที่ยังคงติดยึดอยู่กับผนังอาคาร การยกเก็จของชั้นฐาน ชุดลวดลายบัวของฐานในแต่ละชั้น รวมไปถึง ชิ้นส่วนแตกหักของปูนปั้น ที่บางส่วนยังคงเหลือลวดลายให้เห็น ซึ่งก็ ไม่ค่อยจะได้พบแบบชัด ๆ อย่างนี้มากนักในเขตลุ่มน�้ำของภาคกลาง ที่เชื่อกันว่าเป็นศูนย์กลางของวัฒนธรรมทวารวดี
SBL บันทึกประเทศไทย I นครปฐม
_by Tony.indd 16
17/12/2563 16:13:13
หลวงพ่อน้อย อินฺทสโร อดีตเจ้าอาวาสวัดธรรมศาลา
หลวงพ่อน้อย อินฺทสโร หนึ่งในพระเกจิอาจารย์ดังยุคกึ่งพุทธกาล ที่เป็นต�ำนานแห่งเมือง นครปฐมองค์หนึ่งคือ "พระครูภาวนากิตติคุณ" หรือ "หลวงพ่อน้อย อินฺทสโร" อดีตเจ้าอาวาสวัดธรรมศาลา อ.เมือง นครปฐม จ.นครปฐม ผูท้ รงไว้ซงึ่ ศีลาจารวัตรอันงดงาม มีความสมถะ และเป็นพระนักพัฒนา สร้างความเจริญรุ่งเรืองแก่พระพุทธศาสนาและการศึกษาจนเป็นที่ เชิดชู หลวงพ่อน้อยท่านถึงกาลมรณภาพด้วยโรคชรา เมื่อวันอังคาร ที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2513 เวลาประมาณ 18.34 น. สิรอิ ายุได้ 83 ปี พรรษา 67 บรรดาศิษยานุศิษย์ต่างร่วมมือกันเป็นเจ้าภาพ สวดพระ อภิธรรมถวายทุกคืนจนครบ 100 วัน ปรากฏว่าสังขารของท่านไม่เน่าเปือ่ ย จึงได้ท�ำการเก็บรักษาไว้ในมณฑปหลวงพ่อน้อย ประชาชนทั่วไป สามารถเข้ากราบไหว้ขอพรได้ทุกวัน ที่วัดธรรมศาลา จ.นครปฐม
พระใบฎีกาฉัตรชัย ฐานสมฺปุญฺโณ เจ้าอาวาสวัดธรรมศาลา
ล�ำดับรายนามเจ้าอาวาสวัดธรรมศาลา
1. หลวงพ่อแจ้ง ไม่ทราบปีที่แน่ชัด 2. พระครูปุริมานุรักษ์ (นวม) ไม่ทราบปีที่แน่ชัด 3. พระครูภาวนากิตติคุณ(น้อย) อินฺทสโร พ.ศ. 2513 4. พระอธิการบ�ำเพ็ญ ปุญฺญาโภ ไม่ทราบปีที่แน่ชัด 5. พระครูสันติธรรมรัตน์ (สมศักดิ์) พ.ศ. 2519-2539 6. พระครูปลัดสุวัฒนพรหมวิหารคุณ (สุชิน ธมฺเมสโก) พ.ศ. 2540-2563 7. พระใบฎีกาฉัตรชัย ฐานสมฺปุญฺโณ พ.ศ. 2563-ปัจจุบนั NAKHON PATHOM I SBL บันทึกประเทศไทย
4
_by Tony.indd 17
17
17/12/2563 16:13:19
SBL
EDITOR’S
บันทึกประเทศไทย www.sbl.co.th issue 114/2021
บริษัท สมาร์ทบิซิเนสไลน์ จ�ำกัด 9/4-6 ถนนรามอินทรา แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพฯ 10220 โทรศัพท์ : 0-2522-7171 เว็บไซต์ : www.sbl.co.th
ปัณณ์ฐาโชค ธนสานสิทธิโชติ
อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์
วนัสกฤษณ์ ศิลปรังสรรค์
คณะผู้บริหาร คณะที่ปรึกษา : ศ.ดร.กฤช เพิ่มทันจิตต์, พลเอกสรชัช วรปัญญา, ดร.นิเวศน์ กันไทยราษฎร์, ดร.ประยุทธ คงเฉลิมวัฒน์, ดร.ชาญ ธาระวาส, ดร.สุมิท แช่มประสิท, ดร.วัลลภ อารีรบ, ดร.พิชัย ทรัพย์เกิด, ดร.ไอศูรย์ ดีรัตน์, ดร.สุเทษณ์ จันทรุกขา, ดร.อรรถสิทธิ์ ตันติวิรัชกุล
บรรณาธิการการตลาด นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย
บรรณาธิการอ�ำนวยการ นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย
บรรณาธิการงานบุคคล นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย
บรรณาธิการอ�ำนวยการ : อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์
กระผมและทีมงานมีความสุขใจเป็นอย่างยิ่งในการเดินทางเพื่อบันทึกการท่องเที่ยววัดในจังหวัด นครปฐม ตามรอยพระโสณะและพระอุตตระ สมณทูตที่พระเจ้าอโศกมหาราชได้คัดเลือกให้พระเถระ ผู้ทรงภูมิธรรมออกไปประกาศพระพุทธศาสนาในประเทศต่างๆ ถึง 9 สายในราวปีพุทธศักราช 218 ซึ่ง หนึ่งในดินแดนที่ได้รับการคัดเลือกมาเผยแผ่พระพุทธศาสนาคือ สุวรรณภูมิ แผ่นดินไทยอันรักยิ่งของเรา ทุกคน “พระปฐมเจดีย์” คือหลักฐานแห่งการเดินเท้าอันอุกฤษฏ์ เป็นการธุดงค์ครั้งใหญ่ของพระธรรมทูต ที่ต้องสละชีวิตเลือดเนื้อเพื่อน�ำสัจธรรมไปประกาศให้โลกรู้ผ่านการขัดเกลาตนเองจนกว่าจะพบชัยชนะ ในกิเลสมารทั้งปวงที่แฝงอยู่ในจิตใจ อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์ บรรณาธิการอ�ำนวยการ ผมระลึกถึงค�ำสอนของพระพุทธเจ้าขึ้นมาสองค�ำ คือ “ขันติ-โสรัจจะ” หมายถึง ความอดทน และ ความสงบ (แล้วทุกอย่างจะผ่านไปด้วยดี) ผมเชื่ออย่างนั้น หลังจากผ่านไปสามเดือนของการเก็บตัว และ การก้าวออกมาสู่สังคมใหม่ ในวิถีใหม่ท่ีมีเพื่อนซึ่งเราไม่เคยรู้จักแวะเวียนมาอยู่กับเราบนโลกนี้ และอาจ จะเดินทางไปกับเราในบางขณะ ด้วยความอดทนและความสงบ จะท�ำให้เรามีสติใคร่ครวญอย่างใส่ใจไม่ว่าเราจะท�ำอะไร กระทั่งเรา สามารถมองเห็นคุณค่าจากข้อจ�ำกัดที่ท�ำให้เราพบศักยภาพของเราที่น�ำเราไปสู่อิสรภาพในรูปแบบใหม่ ที่ไม่เคยพบมาก่อน ปัณณ์ฐาโชค ธนสานสิทธิโชติ บรรณาธิการการตลาด กระผมมีความปีตใิ จเป็นอย่างยิง่ กับรูปเล่มอันงดงามของ SBL บันทึกประเทศไทย ฉบับพิเศษ วัดทัว่ ไทย เจาะลึกถึงต้นธารแห่งความสุขจากพระพุทธศาสนา ในจังหวัด นครปฐม ที่พร้อมเสิร์ฟให้กับท่านผู้อ่าน อย่างเต็มอิ่มและจุใจในขณะนี้ ไม่ว่าสถานการณ์โรคระบาดโควิด-19 จะท�ำให้ทั่วโลกปั่นป่วนเพียงใด แต่กระผมก็มีความเชื่อมั่น ในภูมิปัญญาของชาวไทยในการป้องกันตนเองได้อย่างดีเยี่ยมจากสมุนไพรพื้นบ้านหลายอย่างที่มีฤทธิ์ ต้านทานไวรัสที่มองไม่เห็นนี้ อาทิ ฟ้าทะลายโจร เป็นต้น ตลอดจนหน้ากากอนามัยที่กลายเป็นพระเอก ไปแล้วอย่างน่าทึ่ง ท�ำธุรกิจการเดินทางท่องเที่ยววิถีใหม่ในประเทศไทยเป็นไปได้อย่างสบายใจตลอดการ เดินทาง วนัสกฤษณ์ ศิลปรังสรรค์ บรรณาธิการฝ่ายบุคคล
SBL MAGAZINE
บรรณาธิการงานบุคคล : พงษ์ศักดิ์ พรณัฐวุฒิกุล, วนัสกฤษณ์ ศิลปรังสรรค์ บรรณาธิการการตลาด : ปัณณ์ฐาโชค ธนสานสิทธิโชติ ฝ่ายประสานงานโครงการภาครัฐและเอกชน ผู้จัดการ : กิตติชัย ศรีสมุทร, ทวัชร์ ศรีธามาศ, อัครกฤษ หวานวงศ์, ภูษิต วิทยา คณะทีมงาน : อรรถพร สว่างแจ้ง, ธนิน ตั้งธ�ำรงจิต, ถาวร เวปุละ, พุฒิธร จันทร์หอม, อมร อนันต์รัตนสุข, นิรุจน์ แก้วเล็ก, สุษฎา พรหมคีรี, พร้อมพงศ์ สืบด้วง, สรวิชญ์ อังกูรศุภเศรษฐ์ ผู้จัดการฝ่ายประสานงานข้อมูล : นันท์ธนาดา พลพวก ฝ่ายประสานงานข้อมูล : ศุภญา บุญช่วยชีพ, นลัชนันท์ เทียมเกตุทวีโชค นักเขียน : มนสิกุล โอวาทเภสัชช์ ฝ่ายศิลปกรรม ผู้จัดการฝ่ายศิลปกรรม : พัชรา ค�ำมี กราฟิกดี ไซน์ : พิมพ์พิสุทธิ์ พังจูนันท์, วรเชษฐ สมประสงค์, อนุธิดา ค�ำหล้า ช่างภาพ : ปณต ปิติจารุวิศาล, กิติวัฒน์ ทิศมั่ง วิทยา ประเสริฐสังข์, ธีระพงษ์ ธรรมเจริญ ตัดต่อวีดีโอ : วัชรกรณ์ พรหมจรรย์, ณัฐพล ชื่นข�ำ ฝ่ายบัญชี / การเงิน บัญชี : ปัฐมาภรณ์ แสงบุราณ ผู้จัดการฝ่ายการเงิน : สุจิตรา แดนแก้วนิต การเงิน : ชวัลชา นกขุนทอง, สุภาวรรณ สุวรรณวงค์
114 สารบัญ
ISSUE
CONTENTS 2 4 6 10 14 22
114
วัดบางภาษี วัดหนองเจริญธรรม วัดดอนขนาก วัดดอนยายหอม วัดธรรมศาลา NAKHON PATHOM PROVINCIAL OFFICE OF BUDDHISM
ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงาน พระพุทธศาสนาจังหวัดนครปฐม นายบุญเชิด กิตติธรางกูร
28 32 38
วัดพระปฐมเจดีย์ วัดหนองเสือ วัดพะเนียงแตก
วัดหนองกระโดน วัดวังตะกู วัดล�ำพยาสุทธาราม วัดรัตนรังสี วัดหว้าเอน วัดลาดหญ้าแพรก วัดตาก้อง วัดโพรงมะเดื่อ วัดทัพยายท้าว วัดใหม่ปิ่นเกลียว วัดห้วยจระเข้ วัดดอนเสาเกียดมิลินทบุณยาราม วัตรทรงธรรมกัลยาณีภิกษุณีอาราม วัดบ่อน�้ำจืด วัดปลักไม้ลาย วัดสระสี่มุม วัดเจริญราษฎร์บ�ำรุง วัดห้วยม่วง
42 46 50 52 54 56 58 60 62 64 66 68 70 74 80 84 86 88
90 92 94 96 98 100 102 106 110 112 114 120 122 126 131 132 136 138 140 142 144 146 148 152 160 166 170 174 178 180 182
วัดวังน�้ำเขียว วัดหนองจิก วัดศาลาตึก วัดโพธิ์งาม วัดดอนเตาอิฐ วัดราษฎร์ภิรมย์วราราม วัดหนองปลาไหล วัดสว่างอารมณ์ วัดใหม่สุประดิษฐาราม วัดโคกพระเจดีย์ วัดกลางบางแก้ว วัดล�ำลูกบัว วัดบางไผ่นารถ วัดศิลามูล วัดบอนใหญ่ วัดสุขวัฒนาราม วัดสว่างอารมณ์ วัดบางหลวง วัดคลองคูเมือง วัดดอนยอ วัดดอนสามสิบ วัดลานคา วัดลัฏฐิวนาราม วัดไร่ขิง พระอารามหลวง วัดบางช้างเหนือ วัดดอนหวาย วัดธรรมปัญญารามบางม่วง วัดเดชานุสรณ์ วัดสามพราน (พุทโธภาวนา) วัดวังน�้ำขาว วัดท่าข้าม
184 186
วัดท่ากระบือ วัดโป่งพรานอินทร์
แนะน�ำวัดจังหวัดใกล้เคียง
EXC LU SI VE I N TE RVI EW
NAKHON PATHOM PROVINCIAL OFFICE OF BUDDHISM นายบุญ เชิด กิต ติธรางกูร
ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดนครปฐม 22
SBL บันทึกประเทศไทย I นครปฐม
.
.indd 22
17/12/2563 17:42:37
EXC LU S IV E
วิสัยทัศน์ (Vision)
“องค์กรขับเคลื่อนกิจการพระพุทธศาสนาสู่ความมั่นคง สนองงานคณะสงฆ์อย่างมีประสิทธิภาพ”
พันธกิจ (Mission)
1. เสริมสร้างให้สถาบันสงฆ์และกิจการพระพุทธศาสนามีความมั่นคงยั่งยืน 2. สนับสนุนและส่งเสริมการศึกษาสงฆ์และการเผยแผ่พระพุทธศาสนาให้เจริญงอกงามอย่างยั่งยืน 3. ส่งเสริมและพัฒนาศาสนทายาทให้มคี วามรูค้ คู่ ณ ุ ธรรม เพือ่ เป็นสรรพก�ำลังในการเผยแผ่ทำ� นุบำ� รุงพระพุทธศาสนาให้เจริญ งอกงาม และร่วมสร้างสังคมพุทธธรรมที่มีความเข้มแข็ง 4. ดูแลรักษาและจัดการศาสนสมบัติให้เป็นประโยชน์ต่อพระพุทธศาสนาและสังคม
NAKHON PATHOM I SBL บันทึกประเทศไทย
.
.indd 23
23
17/12/2563 17:42:41
EXC LU SI VE I N TE RVI EW
1. วัดพระปฐมเจดีย์ราชวรมหาวิหาร ตั้งอยู่บน ถนนขวาพระ ต�ำบลพระปฐมเจดีย์ อ�ำเภอเมือง จังหวัด นครปฐม กราบนมัสการ “พระร่วงโรจนฤทธิ์” หรือ “หลวงพ่อพระร่วง” ทีพ่ ระปฐมเจดีย์ ซึง่ เป็นแลนด์มาร์ค ของจังหวัดนครปฐม เพราะไม่ว่าใครที่ผ่านมาเป็นต้อง แวะเที่ยวอย่างแน่นอน พระปฐมเจดีย์ เป็นพระเจดีย์ ทรงลังกาแบบสุโขทัย ทีม่ คี วามเก่าแก่และสวยงามมากๆ ซึ่งสร้างครอบเจดีย์องค์เดิม 2 องค์ คือ เจดีย์ทรงสถูป สาญจีตามแบบอินเดีย ในยุคของพระเจ้าอโศกมหาราช และเจดียท์ รงขอมโบราณ ในช่วงรัชสมัยของ รัชกาลที่ 4
2. วัดสามพราน ตัง้ อยูท่ หี่ มู่ 7 ต�ำบลสามพราน อ�ำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม ความโดดเด่นของ วัดสามพราน คือ สถาปัตยกรรม “อาคาร สีชมพู17 ชัน้ ” ที่มีประติมากรรม “มังกรตะกายฟ้า” โอบรอบตึกอย่างสวยงาม นอกจากนี้ภายในบริเวณวัดยังมีประติมากรรมทีส่ ำ� คัญและ สวยงามอืน่ ๆ อีกมากมาย เช่น พญาช้างเผือก องค์พุทโธ หรือ หลวงพ่อพุทโธภาวนา เป็นพระพุทธรูปกลางแจ้งสีทองปางประทานพร สะพาน พญานาคคู่ เป็นต้น
3. วัดกลางบางแก้ว ตัง้ อยูท่ อี่ ำ� เภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม เป็น วัดโบราณเก่าแก่ทสี่ ร้างมาตัง้ แต่สมัยกรุงศรีอยุธยา มี “โบราณวัตถุและ ภาพจิตรกรรมฝาผนัง” ทั้งในอุโบสถและหอไตรที่งดงาม ซึ่งเป็นฝีมือ ของช่างในสมัยรัตนโกสินทร์ ลักษณะของหอไตรเป็นแบบอาคารทรงไทย เดิมเป็นที่เก็บคัมภีร์และสมุดข่อย ปัจจุบนั ทางวัดได้นำ� คัมภีรส์ มุดข่อย และข้าวของเครือ่ งใช้ต่างๆ ไปจัดแสดงไว้ที่พิพิธภัณฑ์พระพุทธวิถีนายก 24
SBL บันทึกประเทศไทย I นครปฐม
.
.indd 24
17/12/2563 17:42:47
4. วัดประชาราษฎร์บำ� รุง หรือ วัดรางหมัน ตัง้ อยู่ ที่หมู่ 5 ต�ำบลรางพิกุล อ�ำเภอก�ำแพงแสน จังหวัด นครปฐม เป็นวัดทีไ่ ม่ปรากฏหลักฐานว่าสร้างขึน้ เมือ่ ใด แต่เล่ากันว่าเป็นวัดที่ “พระครูสกุ จิ ธรรมสร หรือหลวง พ่ อ หว่ า ง” เป็ น ผู ้ ก ่ อ ตั้ ง พาไปกราบและขอบารมี “หลวงปูด่ ำ� ” พระพุทธรูปสมัยรัตนโกสินทร์ทรงเครือ่ ง รวมไปถึงพระเกจิชอื่ ดัง “หลวงปูแ่ ผ้ว ปวโร” ทีช่ าวบ้าน ให้ความเคารพนับถือ และมีวิหารอายุยืนสีขาว ซึ่ง ประดับลวดลายอย่างประณีตงดงาม 5. วัดพระประโทณเจดีย์ พาไปกราบสักการะองค์ “หลวงพ่อโต” อายุหลายร้อยปีทวี่ ดั พระประโทณเจดีย์ ซึง่ ตัง้ อยูบ่ นถนนเพชรเกษม ต�ำบลพระประโทน อ�ำเภอ เมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม บริเวณภายในวัดมี โบราณสถานเก่าแก่นนั่ คือ “องค์พระเจดียส์ มัยทวารวดี” ที่แสดงถึงความส�ำคัญและความเจริญรุ่งเรืองของเมือง นครปฐมมาตั้งแต่ครั้งโบราณกาล
6. วัดไร่ขิง ตั้งอยู่ที่ต�ำบลไร่ขิง อ�ำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม กราบ “หลวงพ่อวัดไร่ขิง” พระพุทธรูปปางมารวิชัย สมัยเชียงแสน ทีช่ าวบ้านให้ความเคารพบูชา ชมพระอุโบสถ ศิลปะสมัยรัตนโกสินทร์ ตอนต้น ทีม่ ภี าพจิตรกรรมฝาผนังทีง่ ดงาม และชมพิพธิ ภัณฑ์ทรี่ วบรวม ของเก่าแก่โบราณ เช่น ถ้วยชาม หนังสือเก่า ที่ชาวบ้านน�ำมาถวายวัด เพื่อจัดแสดงไว้
NAKHON PATHOM I SBL บันทึกประเทศไทย
.
.indd 25
25
17/12/2563 17:42:50
EXC LU SI VE I N TE RVI EW
7. วัดศีรษะทอง หรือ วัดพระราหู ตั้งอยู่ที่ต�ำบล ศี ร ษะทอง อ�ำ เภอนครชั ย ศรี จังหวัดนครปฐม เป็น วัดเก่าแก่ทสี่ ร้างขึน้ มาตัง้ แต่สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น ท�ำให้มีโบราณวัตถุส�ำคัญมากมาย ภายในพระอุโบสถ มีภาพจิตรกรรมฝาผนังอันวิจิตรงดงาม และภายใน บริเวณวัดยังมี “พระราหู” ไว้ให้ชาวบ้านและนักท่องเทีย่ ว ได้มากราบไหว้ ซึ่งเชื่อกันว่าการบูชาพระราหู จะช่วย ปัดเป่าเรื่องร้าย และเพื่อความเป็นสิริมงคล
8. วัดธรรมปัญญารามบางม่วง เป็นวัดที่มีความ สวยงามและเป็น “วัดนิกายมหายาน” แห่งเดียวของ จังหวัดนครปฐม ตัง้ อยูร่ มิ แม่นำ�้ ท่าจีน ในต�ำบลบางช้าง อ�ำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม ภายในบริเวณวัดมี “พระมหาโพธิ สั ต ว์ ก วนอิ ม ” ปางเสวยสุ ข หรื อ “พระแม่ ก วนอิ ม ” ในอิริยาบถนอนที่ใหญ่ที่สุ ด ใน ประเทศไทย โดยมีความยาวถึง 21 เมตร
9. วัดไร่แตงทอง ตั้งอยู่ที่หมู่ 15 ต�ำบลทุ่งลูกนก อ�ำเภอก�ำแพงแสน จังหวัดนครปฐม กราบสักการะ รูปหล่อ “หลวงปูห่ ลิว” ประทับพญาเต่าเรือน เป็นพระเกจิ อาจารย์ชื่อดังที่ชาวบ้านและประชาชนทั่วไปให้ความ เคารพนับถือ มีความสูงถึง 8.5 เมตร โดยมีความเชื่อ กันว่าหากได้มากราบขอพรหลวงปูห่ ลิวและพญาเต่าเรือน จะมีโชคลาภ และเพื่อความเป็นสิริมงคล
26
SBL บันทึกประเทศไทย I นครปฐม
.
.indd 26
17/12/2563 17:42:55
ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดนครปฐม
อาคารปฏิบัติธรรมเฉลิมพระเกียรติ วัดห้วยจระเข้ ถนนพิพิธประสาท ต�ำบลพระปฐม เจดีย์ อ�ำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม 7300 โทรศัพท์ 034 244 505 โทรสาร 034 244 506 NAKHON PATHOM I SBL บันทึกประเทศไทย
.
.indd 27
27
17/12/2563 17:42:56
วัดพระปฐมเจดีย์
พระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรมหาวิหาร 28
SBL บันทึกประเทศไทย I นครปฐม
2
.indd 28
18/12/2563 14:55:04
ตัง้ อยูท่ ี่ ต�ำบลพระปฐมเจดีย์ อ�ำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม มีจดุ เด่นทีส่ ำ� คัญคือ พระปฐมเจดีย์ หรือ พระธมเจดีย์ ซึง่ เป็นเจดียท์ ใี่ หญ่ และสูงที่สุดแห่งหนึ่งในประเทศไทย ปูชนียสถานส�ำคัญของประเทศไทย ที่โดดเด่นเป็นสง่าอยู่ใจกลาง เมืองนครปฐม “วัดพระปฐมเจดียร์ าชวรมหาวิหาร” พระอารามหลวง ชั้นเอก ชนิดราชวรมหาวิหาร ซึ่งมีประวัติความเป็นมายาวนานใน แผ่นดินสุวรรณภูมิ และเป็นที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุของ องค์พระโคตมพุทธเจ้า ลักษณะเป็นพระเจดีย์ใหญ่ รูประฆังคว�่ำ ปากผายมหึมา โครงสร้างเป็นไม้ซุงรัดด้วยโซ่เส้นมหึมาก่ออิฐถือปูน ประดับด้วยกระเบื้องปูทับ มีวิหาร 4 ทิศ ก�ำแพงแก้ว 2 ชั้น เป็นที่ เคารพสักการบูชาของบรรดาพุทธศาสนิกชนทั่วโลก พระปฐมเจดีย์ เดิมเรียกว่า “พระธมเจดีย”์ มีฐานะเป็นมหาธาตุหลวง ของแผ่นดินสุวรรณภูมิ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 4) มีพระราชวินิจฉัยว่า พระธมเจดีย์องค์นี้อาจสร้างขึ้น เมื่อคราวพระสมณทูตในพระเจ้าอโศกมหาราช เดินทางมาเผยแผ่ ศาสนายังสุวรรณภูมกิ เ็ ป็นได้ เพราะพระเจดียเ์ ดิมมีลกั ษณะทรงโอคว�ำ่ แบบเดียวกับพระสถูปสาญจี แต่ปรากฏว่ามียอดเป็นแบบปรางค์ ซึ่งพระองค์ฯ มีพระราชวินิจฉัยว่า อาจมีเจ้านายพระองค์ใดมาบูรณะ ไว้ก็เป็นได้ ทั้งนี้จึงพระราชทานนามใหม่ว่าพระปฐมเจดีย์ ด้วยทรง เชื่อว่านี่คือเจดีย์แห่งแรกของสุวรรณภูมิ และในทุกปีทางวัดได้จัดให้ มีงานเทศกาลนมัสการองค์พระปฐมเจดีย์ ในวันขึน้ 12 ค�ำ ่ เดือน 12 ถึง วันแรม 5 ค�่ำ เดือน 12 รวมทั้งหมดเป็นเวลา 9 วัน 9 คืน ให้ประชาชน ได้มากราบไหว้เพื่อความเป็นสิริมงคล พร้อมชมความงดงามขององค์ พระปฐมเจดีย์แห่งนี้กันอย่างทั่วถึง
NAKHON PATHOM I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 29
29
18/12/2563 14:55:14
ท�ำเนียบการปกครองคณะสงฆ์จังหวัดนครปฐม
พระเทพมหาเจติยาจารย์ (ชัยวัฒน์ ปญฺญาสิริ ป.ธ.9)
เจ้าคณะจังหวัดนครปฐม / รองเจ้าอาวาสวัดพระปฐมเจดีย์ราชวรมหาวิหาร
พระเทพศาสนาภิบาล (แย้ม กิตฺตินฺธโร ป.ธ.3)
พระครูปราการลักษาภิบาล (สมพงษ์ ธีรธมฺโม ป.ธ.3)
รองเจ้าคณะจังหวัดนครปฐม เจ้าอาวาสวัดไร่ขิง พระอารามหลวง
พระครูพิศาลสาธุวัฒน์ เจ้าคณะอ�ำเภอเมืองนครปฐม / เจ้าอาวาสวัดพะเนียงแตก
ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดนครปฐม / เจ้าอาวาสวัดใหม่ปิ่นเกลียว
พระครูสิริปุญญาภิวัฒน์ เจ้าคณะอ�ำเภอนครชัยศรี / เจ้าอาวาสวัดส�ำโรง
พระครูอมรบุญญารักษ์
30
เจ้าคณะอ�ำเภอก�ำแพงแสน / เจ้าอาวาสวัดบ่อน�ำ้ จืด SBL บันทึกประเทศไทย I อุดรธานี
.indd 30
พระครูอดุลพัฒนาภรณ์ (ประเทือง จารุมโย)
ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดนครปฐม / เจ้าอาวาสวัดเดชานุสรณ์
พระพิพัฒน์ศึกษากร เจ้าคณะอ�ำเภอสามพราน / วัดบางช้างเหนือ
พระศรีธีรวงศ์ (สมัย สจฺจวโร ป.ธ.9) เจ้าคณะอ�ำเภอดอนตูม ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดพระประโทณเจดีย์วรวิหาร
พระครูปุญญาภิสัณฑ์ เจ้าคณะอ�ำเภอบางเลน / เจ้าอาวาสวัดบางไผ่นารถ
พระครูบวรธรรมานุสิฐ เจ้าคณะอ�ำเภอพุทธมณฑล / เจ้าอาวาสวัดมะเกลือ
17/12/2563 15:29:55
คลอง
เจดียบ์ ชู า
คลองประวัติศาสตร์ คู่เมืองนครปฐม
เป็นคลองทีถ่ กู ขุดขึน้ ตัง้ แต่ สมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 4 เมือ่ ครัง้ โปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยุรวงศ์ (ดิศ บุนนาค) เป็นแม่กองปฏิสงั ขรณ์พระปฐมเจดีย์ ได้โปรดฯให้ขดุ คลองจากแม่น�ำ้ เมืองนครชัยศรี เข้าไปจนถึงบริเวณพระปฐมเจดียเ์ พือ่ ความสะดวกในการ คมนาคมและการไปนมัสการพระปฐมเจดีย์ โดยเริม่ ขุดในปี พ.ศ. 2401 ปากคลองอยูท่ า้ ยบ้านท่านา ปลายคลองจรดพระปฐมเจดียน์ น้ั พระราชทาน นามว่า คลองเจดียบ์ ชู า เมือ่ วันศุกร์ เดือน 5 ขึน้ 12 ค่�ำ ปีมะเมีย นพศก ตรงกับ พ.ศ. 2401 เหตุทพ่ี ระราชทานชือ่ นี้ เพราะได้ทรงบริจาคพระราช ทรัพย์ 600 ชัง่ จ้างชาวจีนให้ขดุ คลอง ต่อมาสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยุรวงศ์ถงึ แก่พริ าลัย ขณะทีก่ ารยังค้างอยู่ จึงโปรดให้เจ้าพระยาทิพากร วงศ์มหาโกษาธิบดี (ขำ� บุนนาค) ดำ�เนินการต่อจนแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2405 ลำ�คลองเจดียบ์ ชู า กว้างราวๆ 15-20 เมตร ยาว 12 กิโลเมตร ปลายคลองด้านตะวันตกไหลจากตัวเมืองไปออกคลองวังตะกู และคลองทัพหลวง ซึง่ ใช้เป็นเส้นทางต่อไปยังแม่น�ำ ้ แม่กลองทีจ่ งั หวัดราชบุรแี ละกาญจนบุรไี ด้ ส่วนด้านตะวันออก ลำ�คลองไหลผ่านตามความยาวของพืน้ ทีเ่ ทศบาลนครนครปฐม โดยผ่านเข้ามาทางด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ผ่านหน้าวัดพระงาม ตลาดนครปฐม ลอดกำ�แพงองค์พระปฐมเจดีย์ หักออกนอกเขตเทศบาล ต่อกับ ห้วยจระเข้ และตัดตรงไปจรดแม่น�ำ้ ท่าจีนทีบ่ า้ นตลาดต้นสน ตำ�บลท่านา อำ�เภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม คลองเจดียบ์ ชู า เป็นคลองสำ�คัญทางประวัตศิ าสตร์ทข่ี ดุ ขึน้ ในสมัยรัชกาลที่ 4 เป็นเส้นทางคมนาคมทีส่ �ำ คัญอย่างมาก รวมถึงใช้เป็นเส้นทางสำ�คัญ ในการเดินทางไปนมัสการองค์พระปฐมเจดีย์ ตลอดรัชสมัยรัชกาลที่ 4 มีระยะทางรวม 24.242 กิโลเมตร ปัจจุบนั คลองเจดียบ์ ชู าประสบปัญหาน้�ำ เสีย และปัญหาวัชพืชกีดขวางทางน้�ำ ซึง่ ตลอดระยะเวลาทีผ่ า่ นมาหน่วยงานราชการและทุกภาคส่วนทีเ่ กีย่ วข้อง ร่วมถึงองค์กรปกครองส่วนท้อง ถิน่ ในพืน้ ที่ ได้รว่ มกันพัฒนาคลองเจดียบ์ ชู า โดยการกำ�จัดผักตบชวาและวัชพืชมาอย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ ให้คลองฯ กลับมามีความงดงามและพัฒนาไป สูก่ ารท่องเทีย่ วเชิงประวัตศิ าสตร์และวัฒนธรรม ก่อเกิดประโยชน์ตอ่ คนในชุมชนสืบต่อไป NAKHON UDONTHANI PATHOM I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 31
31
17/12/2563 15:29:58
History of buddhism....
วัดหนองเสือ พระปลัดมานิตย์ วราภิญฺโญ เจ้าอาวาสวัดหนองเสือ
วัดหนองเสือ ตั้งอยู่บ้านหนองเสือ หมู่ที่ 3 ต�ำบลหนองดินแดง อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม
32
5
SBL บันทึกประเทศไทย I นครปฐม
.indd 32
15/12/2563 11:28:09
บริเวณโดยรอบของวัดหนองเสือ
NAKHON PATHOM I SBL บันทึกประเทศไทย
5
.indd 33
33
15/12/2563 11:28:24
อุโบสถหลังเก่า อายุกว่า 200 ปี ได้รับการบูรณะเมื่อวันที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2556
อุโบสถหลังใหม่ วัดหนองเสือ เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตั้งวัดเมื่อ ปี พ.ศ. 2413 เป็นวัดเก่าแก่ เดิมขึน้ อยูก่ บั อ�ำเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2543 มีพระพุทธรูปศักดิส์ ทิ ธิห์ ลายองค์ เช่น พระพุทธส�ำเร็จไชโยมงคลบพิตร พระพุทธสุทธิจติ สุธมี งิ่ มงคล พระพุทธชินราช หลวงพ่อโสธร หลวงพ่อทันใจ หลวงพ่อสมปรารถนา รอยพระพุทธบาทประดิษฐานในมณฑป วัดหนองเสือมีพื้นที่ตั้งวัดเนื้อที่ 39 ไร่ 62 ตารางวา ที่ธรณีสงฆ์ ของวัดจ�ำนวน 1 แปลง เนื้อที่ 4 ไร่ 3 งาน 84 ตารางวา อาณาเขต ของวัด ทิศเหนือ จรดล�ำรางสาธารณประโยชน์, ทิศใต้ จรดทีด่ นิ เอกชน, ทิศตะวันออก จรดที่ดินเอกชน, ทิศตะวันตก จรดคลองสาธารณะ 34
5
หลวงพ่อพระประธานในอุโบสถหลังเก่า พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์คู่วัดหนองเสือ อายุเก่าแก่กว่า 200 ปี
SBL บันทึกประเทศไทย I นครปฐม
.indd 34
15/12/2563 11:28:30
กราบสรีระสังขารหลวงพ่ออั้น พระเกจิอาจารย์ชื่อดังแห่งวัดหนองเสือ จังหวัดนครปฐม
วิหารหลวงพ่ออั้น
ท�ำเนียบเจ้าอาวาสวัดหนองเสือ
1. พระค�ำ 2. พระอ่อน 3. พระมี 4. พระฉัน 5. พระพร 6. พระครูอั้น ชุตินฺธโร 7. พระครูปัญญาจิตตารักษ์ 8. พระปลัดมานิตย์ วราภิญฺโญ
ไม่ทราบปีที่แน่ชัด ไม่ทราบปีที่แน่ชัด ไม่ทราบปีที่แน่ชัด ไม่ทราบปีที่แน่ชัด ไม่ทราบปีที่แน่ชัด พ.ศ. 2477 - 2529 พ.ศ. 2529 - 2557 พ.ศ. 2558 – ปัจจุบัน
พระปลัดมานิตย์ วราภิญฺโญ เจ้าอาวาสวัดหนองเสือ
NAKHON PATHOM I SBL บันทึกประเทศไทย
5
.indd 35
35
15/12/2563 11:28:35
ร่วมกิจกรรมทางพระพุทธศาสนา ฝึกปฏิบัติธรรม นั่งสมาธิ ศึ ก ษาเกี่ ย วกั บ พระพุ ท ธศาสนาได้ ที่ วั ด หนองเสื อ อี ก ทั้ ง ยั ง มี กิจกรรมของพี่น้องเชื้อสายลาวซ่ง (ไทยทรงด�ำ) สร้างสีสันให้กับ วัดหนองเสือและยังเป็นการร่วมกันอนุรักษ์และสืบทอดวัฒนธรรม อันดีงามของท้องถิ่น มิให้เลือนหายไปจากชุมชนและประเทศชาติ ติดต่อสอบถามเพื่อร่วมกิจกรรมทางพระพุทธศาสนาได้ทุกวัน ที่วัดหนองเสือ ต�ำบลหนองดินแดง อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม หรือติดต่อกิจกรรมของกลุ่มไทยทรงด�ำ ได้ที่ 094 8059088 36
5
SBL บันทึกประเทศไทย I นครปฐม
.indd 36
15/12/2563 11:28:43
MIDA Ad x1_Later Version 4
6/1/2564 11:09:06
พระครูพิศาลสาธุวัฒน์
เจ้าคณะอ�ำเภอเมืองนครปฐม / เจ้าอาวาสวัดพะเนียงแตก
38
4
วัดพะเนียงแตก เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตั้งอยู่เลขที่ 96 หมู่ที่ 4 ต�ำบลมาบแค อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม
SBL บันทึกประเทศไทย I นครปฐม
.indd 38
14/12/2563 19:00:02
ประวัติความเป็นมา
วัดพะเนียงแตก สร้างประมาณปี พ.ศ. 2334 ตามค�ำบอกเล่าของ ประชาชนและค้นจากโบราณสถานของวัด วัดพะเนียงแตก ตั้งอยู่บน ฝัง่ คลอง ด้านทิศเหนือ ของคลองพะเนียงแตก ซึง่ เป็นคลองตามธรรมชาติ แยกมาจากแม่นำ�้ แม่กลอง ทีต่ ำ� บลท่าผา อ�ำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี ไหลผ่านมายังหมู่บ้านพะเนียงแตก ลงสู่แม่น�้ำท่าจีน ที่ต�ำบลบางพระ อ�ำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม
สาเหตุที่ต้องสร้างวัดขึ้นนั้น เดิมทีสถานที่นี้ไม่มีวัด มีพระธุดงค์ รูปหนึ่งเดินทางมาจากไหนไม่มีใครทราบได้มาปักกลดอยู่ ณ บริเวณนี้ พระรูปนี้มีนามว่า สุข ได้ปักกลด และจ�ำพรรษาอยู่ ประชาชนใน หมูบ่ า้ นเห็นจึงมีความเลือ่ มใสศรัทธาพระสุข ท่านจึงได้ปกั กลดอยูน่ าน ดังนั้นประชาชนจึงได้นิมนต์ให้ท่านตั้งส�ำนักสงฆ์ขึ้น เพื่อประชาชนจะ ได้มวี ดั ส�ำหรับบ�ำเพ็ญกุศลทางพระพุทธศาสนาพระสุขจึงได้ดำ� เนินการ จัดตั้งส�ำนักสงฆ์ขึ้น เมื่อได้จัดตั้งส�ำนักสงฆ์ข้ึนแล้วประชาชนจึงได้ นิมนต์ทา่ นให้เป็นผูด้ แู ลส�ำนักสงฆ์ในต�ำแหน่งเจ้าอาวาส ชาวบ้านเรียก ท่านว่า “หลวงปู่สุข”
ยุคที่มีการก่อสร้างเป็นวัดมีอุโบสถเป็นครั้งแรก
หลวงปูส่ ขุ นับว่าเป็นเจ้าอาวาสรูปแรกของวัดพะเนียงแตก จนต่อมา มีพระภิกษุอยูจ่ ำ� พรรษามากขึน้ ทางคณะสงฆ์ในสมัยนัน้ จึงได้ยกฐานะ จากส�ำนักสงฆ์ให้เป็นวัดตัง้ แต่นนั้ เป็นต้นมา เมือ่ ยกฐานะเป็นวัดขึน้ แล้ว หลวงปู่สุข ได้ก่อสร้างอุโบสถขึ้น 1 หลัง เป็นอุโบสถขนาดเล็ก สถาปัตยกรรมแบบสุโขทัย ก่อด้วยอิฐ ฉาบปูนไม่เสริมเหล็ก พืน้ อุโบสถเตีย้ มีเพิงเหน้าเป็นอุโบสถเนินหลังอิฐหลังคาชั้นเดียวลวดลายหน้าบัน เป็นเส้น ประยุกต์แบบชัน้ อุโบสถหลังนีไ้ ด้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา เมื่อไรไม่ปรากฏหลักฐานที่แน่ชัด หลวงปู่สุข ปกครองวัดได้กี่ปี และ มรณภาพเมื่อไรไม่ปรากฏหลักฐาน เมื่อหลวงปู่สุขมรณภาพแล้ว ประชาชนได้พร้อมใจกันสร้างเจดีย์ รูปร่างคล้ายสถูปขึ้นเพื่อบรรจุอัฐิ ของหลวงปูส่ ขุ ปัจจุบนั วัดได้สร้างมณฑปคร่อมเจดียไ์ ว้ มีประชาชนมา สักการบูชากันเป็นจ�ำนวนมากทุกวัน NAKHON PATHOM I SBL บันทึกประเทศไทย
4
.indd 39
39
14/12/2563 19:00:12
การพัฒนาวัดในยุคปัจจุบัน
การพัฒนาวัดในยุคปัจจุบันนี้ พระอธิการทองค�ำ ได้เน้นเรื่องการ เรียนของพระภิกษุสามเณรเป็นหลักส�ำคัญและความสะอาดของวัด เนื่ อ งจาก สิ่ ง ก่ อ สร้ า งถาวรวั ต ถุ ภ ายในวั ด นั้ น มี ม ากมายจึ ง ท� ำ ให้ พระอธิการทองค�ำ ต้องเข้มงวดกวดขันเป็นพิเศษ เมื่อมีอะไรที่ช�ำรุด ทรุดโทรม พระอธิการทองค�ำ ก็จะรีบซ่อมแซมบูรณะทันที ไม่ปล่อย ให้เสียหาย มากไปกว่าเก่าหรืออะไรทีไ่ ม่เพียงพอต่อความต้องการของ ประชาชน เช่น ศาลาฐานตักบาตร พระอธิการทองค�ำ ก็จะบูรณะใหม่ ทันที หรือศาลาบ�ำเพ็ญกุศลก็ได้สร้างขึ้นอีก 1 หลัง และอีกหลายสิ่ง หลายอย่าง จนท�ำให้เจ้าคณะพระผู้ปกครองเริ่มให้ความส�ำคัญ จึงได้ มอบสมณศักดิ์ เป็นพระฐานานุกรม ที่ พระสมุห์ ให้ด้วยความที่ท่าน เป็นพระนักพัฒนานั่นเอง และต่อมาท่านก็ได้รับความไว้วางใจจาก เจ้าคณะจังหวัดนครปฐม เนื่องจากท่านเป็นพระปฏิบัติดี ปฏิบัติชอบ นั่นเอง จึงได้รับต�ำแหน่งแต่งตั้งให้เป็นเจ้าคณะต�ำบลพระปฐมเจดีย์ เขต 2 ต่อมาได้รับต�ำแหน่งเป็นรองเจ้าคณะอ�ำเภอเมืองนครปฐม ปัจจุบันท่านได้รับสมณศักดิ์เป็น พระครูพิศาลสาธุวัฒน์ และด�ำรง ต�ำแหน่งเจ้าคณะอ�ำเภอเมืองนครปฐม ในประวัตศิ าสตร์จารึกบันทึกไว้วา่ “หลวงพ่อทาแห่งวัดพะเนียงแตก มีศลี าจารจริยาวัตรอันงดงาม เป็นทีเ่ คารพของประชาชนความดีงาม ของท่านจึงเป็นที่วางพระทัยของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า เจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 4 พระองค์ทรงให้ด�ำรงต�ำแหน่งอันส�ำคัญใน พระพุทธศาสนาในกาลต่อมา” ตลอดชีวิตของหลวงพ่อทา วัดพะเนียงแตก ท่านได้ด�ำรงชีวิตใน สมณะเพศอย่างคุ้มค่า มีความหมายเป็นอย่างยิ่ง เมื่อท่านได้บรรพชา อุปสมบท ได้ตั้งใจศึกษาเล่าเรียน พากเพียรปฏิบัติให้เกิดผลทุกด้าน น�ำสิ่งที่ได้ศึกษาและปฏิบัติมาอบรมสั่งสอนศิษย์ทั้งบรรพชิตและ คฤหัสถ์ให้ยดึ ถือปฏิบตั แิ นวทางอย่างถูกต้อง ตามพระธรรมค�ำสัง่ สอน ของพระบรมศาสดาอย่างเต็ม ก�ำลังความสามารถ แม้ เ มื่ อ ท่ า นมี อายุมากแล้วก็ยังปฏิบัติศาสนกิจอย่างไม่ขาดตกบกพร่องจนเป็นที่
40
4
เคารพศรัทธาของบรรดาพุทธศาสนิกชนโดยทั่วไป ปี พ.ศ.2462 (ร.ศ.138) ตรงกับปีมะแม หลวงพ่อทาได้ชราภาพมาก และถึงแก่มรณภาพ ด้วยอาการอันสงบ รวมสิริอายุได้ 96 ปี พรรษาที่ 76 สิ่งที่หลงเหลือ เป็ น อนุ ส รณ์ ใ ห้ ร�่ ำ ลื อ นึ ก ถึ ง ท่ า นก็ คื อ เกี ย รติ คุ ณ คุ ณ งามความดี และบารมีความศักดิส์ ทิ ธิข์ องท่านทีจ่ ะท�ำให้เราจดจ�ำไว้อย่างไม่มวี นั ลืม สมดั่งเป็นพระอุปัชฌาย์จารย์ผู้เข้มขลังแห่งจังหวัดนครปฐมตราบ ชั่วกาลนาน
SBL บันทึกประเทศไทย I นครปฐม
.indd 40
14/12/2563 19:00:16
หลวงพ่อทา แห่งวัดพะเนียงแตก
ล�ำดับเจ้าอาวาสวัดพะเนียงแตก
1. หลวงปู่สุข พ.ศ. 2334 - พ.ศ. เท่าไร ไม่ปรากฏหลักฐาน 2. พระครูอุตตรการบดี (วัน) ไม่ทราบปีที่แน่ชัด 3. พระครูอุตตรการบดี (ทา) ฉายา โสณุตฺตโร พ.ศ. 2435 - 2464 4. พระปลัดหงิม ไม่ทราบปีที่แน่ชัด 5. พระอธิการบัวลอย ไม่ทราบปีที่แน่ชัด 6. พระอธิการชื้น สุทธโร ไม่ทราบปีที่แน่ชัด 7. พระมหาสมบูรณ์ เหล็กมี พ.ศ. 2502 - 2536 8. พระครูพิศาลสาธุวัฒน์ (ทองค�ำ จารุโภ) รับต�ำแหน่งเจ้าอาวาส วัดพะเนียงแตก วันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2536 – ปัจจุบัน NAKHON PATHOM I SBL บันทึกประเทศไทย
4
.indd 41
41
14/12/2563 19:00:21
History of buddhism....
วัดหนองกระโดน พระครูปฐมสุตากร เจ้าคณะตำ�บลบ้านยาง / เจ้าอาวาสวัดหนองกระโดน
วัดหนองกระโดน เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์ฝ่ายมหานิกาย ตั้งอยู่เลขที่ 7 หมู่ที่ 8 ถนนจ�ำนงค์อนุสรณ์ ต�ำบลบ้านยาง อ�ำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม
วัดหนองกระโดน เดิมชื่อว่า วัดหนองกะโดน อยู่ต�ำบลบ้านยาง อ�ำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม ได้จัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2485 โดยมีนางมณฑา ทองค�ำ ได้ถวายที่ดินให้ตั้งวัด มีเนื้อที่ 24 ไร่ 3 งาน 60 ตารางวา ในขณะนั้นประชาชนในหมู่บ้านหนองกระโดน มีอยู่ประมาณ 80 ครัวเรือน และเป็นหมู่บ้านที่อยู่ห่างไกลจากวัดต่างๆ ชาวบ้านในหมู่บ้านจึงได้ช่วยกัน ปลูกสร้างที่อยู่อาศัยของพระภิกษุ โดยตั้งอยู่ในดงไม้กระโดน ชายหนองน�้ำ ชาวบ้านจึงตั้งชื่อว่า “วัดหนองกระโดน” ในระยะแรกที่สร้างวัดนั้น ได้มีพระภิกษุพลัดเปลี่ยนกันมาจ�ำพรรษา ตั้งแต่ พ.ศ. 2485 จนถึง ปี พ.ศ. 2499 พระอธิการบัว ฐิติโก ย้ายมาจากวัดทัพหลวงมาจ�ำพรรษาที่วัดหนองกระโดน ได้มีการพัฒนาสร้างกุฏิ และได้ริเริ่มการก่อสร้างอุโบสถ ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2508 สร้างแล้วเสร็จ พ.ศ. 2514 และได้ท�ำการหล่อพระประธานประจ�ำอุโบสถ เป็ น พระพุ ท ธรู ป ปางสุ โขทั ย เป็ น พระพุ ท ธรู ป ที่ ส มเด็ จ พระสั ง ฆราช จวน อุ ฏ ฐายี เป็ น ผู้เททองในวันที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2509 สร้างด้วยโลหะ สูง 2.20 เมตร หน้าตักกว้าง 59 นิ้ว ผู้สร้างถวายคือ นายจุ่น-นางสิม ทองค�ำ 42
5
พระครูปฐมสุตากร
เจ้าคณะต�ำบลบ้านยาง / เจ้าอาวาสวัดหนองกระโดน
SBL บันทึกประเทศไทย I นครปฐม
.indd 42
15/12/2563 15:43:18
รูปหล่อหลวงปู่ปุคฺคโล แสงทอง
พระอาจารย์บัว ฐิติโก
พระครูเกษมบุญวัฒน์ อดีตเจ้าอาวาส
พระครูปฐมสุตากร
เจ้าคณะต�ำบลบ้านยาง / เจ้าอาวาสวัดหนองกระโดน
พ.ศ. 2521 พระครูเกษมบุญวัฒน์ (บุญทีป เขมงฺกโร) ได้รบั แต่งตัง้ มาเป็นเจ้าอาวาสวัดหนองกระโดน ได้สร้างกุฏิสามัคคี สร้างเมรุ วางศิลาฤกษ์ในวันที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2523 เวลา 09.09 น. โดย หม่อมเจ้าประยุทธ อมาตยกุล และได้จัดการน�ำเอาไฟฟ้าเข้าวัดและ หมู่บ้าน เจาะบ่อบาดาล เดินท่อน�้ำเข้าหมู่บ้าน สร้างศาลาการเปรียญ และสร้างศาลาพระครูเกษมบุญวัฒน์ ถือว่าเป็นยุคที่มีการพัฒนา อย่างมาก พ.ศ. 2549 วันที่ 29 ธันวาคม พระครูเกษมบุญวัฒน์ (บุญทีป เขมงฺกโร) ได้มรณภาพลงด้วยอาการเส้นเลือดในสมองแตก รวมเป็น เจ้าอาวาสได้ 28 ปี
พ.ศ. 2550 พระมหารัตนะ สิทธฺ ริ ตโน ได้มาด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส วัดหนองกระโดนจนถึงปัจจุบัน ได้มีการสร้างลานปฏิบัติธรรม และ ปรับภูมทิ ศั น์ ท�ำการบูรณะอุโบสถ สร้างกุฏไิ ม้ทรงไทยประยุกต์ยกพืน้ สร้างอาคารอเนกประสงค์ 2 ชัน้ ท�ำถนนลาดยางทางเข้าวัดและบูรณะ เมรุ ทาสี พ.ศ. 2556 พระมหารัตนะ สิทธฺ ริ ตโน ได้รบั พระราชทานสมณศักดิ์ เป็นพระครูสัญญาบัตรเจ้าอาวาสวัดราษฎร์ชั้นเอก ในราชทินนามที่ พระครูปฐมสุตากร พ.ศ. 2562 ได้รบั พระราชทานเลือ่ นสมณศักดิ์ เป็นพระครูสญั ญาบัตร เทียบผู้ช่วยเจ้าอาวาสพระอารามหลวงชั้นเอก ในราชทินนามเดิม ตามต�ำนานเล่าขานกันว่า บริเวณที่สร้างวัดมีพระธุดงค์ ชื่อว่า พระแสงทอง ฉายา ปุคคโล แต่ชาวบ้านเรียกกันในนาม หลวงปูป่ คุ คฺ โล แสงทอง ได้จาริกมาปักกลด บริเวณใต้ต้นกร่างใหญ่ และได้มรณภาพ ใต้ต้นกร่างใหญ่นั้น ต่อมาชาวบ้านได้สร้างรูปเหมือนหลวงปู่ปุคฺคโล แสงทอง ขึ้นในปี พ.ศ. 2522 และได้มีการจัดงานปิดทองหลวงปู่ฯ ขึ้นในวันขึ้น 9 ค�่ำ เดือน 9 และได้จัดมาทุกๆ ปี
ล�ำดับเจ้าอาวาสปกครองวัดมาแล้ว ดังต่อไปนี้
1. พระอธิการบัว ฉายา ฐิติโก นามสกุล เสลาหอม ด�ำรงต�ำแหน่ง เจ้าอาวาสตั้งแต่ปี พ.ศ. 2499 จนถึงปี พ.ศ. 2521 2. พระครูเกษมบุญวัฒน์ (บุญทีป) ฉายา เขมงฺกโร นามสกุล เตียวฮวด วิทยฐานะ น.ธ.โท ด�ำรงต�ำแหน่ง เจ้าอาวาสวันที่ 1 พฤษภาคม 2521 และเคยด�ำรงต�ำแหน่งการปกครองทางคณะสงฆ์เป็นเจ้าคณะต�ำบล โพรงมะเดื่อ จต.ชอ. ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสตั้งแต่ปี พ.ศ. 2521 จนถึงปี พ.ศ. 2549 3. พระครูปฐมสุตากร(พระมหารัตนะ) ฉายา สิทฺธิรตโน นามสกุล ชุ่มนาค วิทยฐานะทางธรรม น.ธ.เอก ป.ธ.4 วิทยฐานะทางโลก ปริญญาโท พุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการเชิงพุทธ จากมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2550 จนถึงปัจจุบัน
NAKHON PATHOM I SBL บันทึกประเทศไทย
5
.indd 43
43
15/12/2563 15:43:25
ร่วมสร้างฐานประดิษฐานสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) หน้าตัก 6.5 เมตร
การสร้างรูปหล่อสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) มีมา ตั้งแต่ในอดีต จนถึงปัจจุบัน ในปัจจุบันก็มีการสร้างรูปหล่อของ สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) กันเป็นจ�ำนวนมาก เช่น ที่ มูลนิธิสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) หรือวัดที่คุณสรพงศ์ ชาตรีสร้าง แต่คุณสรพงษ์ บอกว่าไม่ใช่วัด เป็นมูลนิธิ แต่บุคคลทั่วไป จะเรียกกันแบบเข้าใจง่ายๆ ว่า วัดหลวงพ่อโต อ�ำเภอสีคิ้ว ซึ่งที่นี่เดิม คือ วัดโนนกุ่ม ตั้งอยู่อ�ำเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา วัดตาลเจ็ดยอด จั ง หวั ด เพชรบุ รี วั ด โบสถ์ จั ง หวั ด ปทุ ม ธานี ฯลฯ แต่ ใ นจั ง หวั ด นครปฐม ยังไม่มีที่ไหนสร้างขนาดใหญ่มาก่อน ทางวัดหนองกระโดน พร้อมด้วยคณะกรรมการวัด และคุณโยมวินิจ กลั่นกรองได้คิดว่าจะ สร้างรูปหล่อโลหะสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) อยู่ใน อิริยาบถนั่งสมาธิแบบลืมตา ซึ่งจะสร้างขนาดหน้าตัก 6.5 เมตร เพื่อ ไว้ให้เป็นที่สักการะของชาวนครปฐมและชาวบ้านใกล้เคียง พร้อม ทั้งพัฒนาพื้นที่โดยรอบให้เป็นสวนป่า ใช้เป็นสถานที่ให้พระภิกษุและ ญาติโยมที่มายังสถานที่แห่งนี้นั่งสมาธิฝึกอบรมปฏิบัติธรรม และยัง เป็นสิริมงคลแก่วัดหนองกระโดนอีกด้วย
44
5
ในปี 2564 วัดหนองกระโดน ขอเชิญญาติธรรมทั้งหลาย ร่วมสร้างพระสมเด็จองค์ปฐม ปางจักรพรรดิ ทรงเครื่อง หน้าตักกว้าง 10 เมตร
SBL บันทึกประเทศไทย I นครปฐม
.indd 44
15/12/2563 15:43:28
Xen Ad x1_Later Version 4
6/1/2564 11:10:22
History of buddhism....
วัดวังตะกู พระครูปลัดสาธุวัฒน์ (พรหมลิขิต ยโสธโร) เจ้าอาวาสวัดวังตะกู
วัดวังตะกู ตั้งอยู่เลขที่ 53 หมู่ที่ 2 ต�ำบลวังตะกู อ�ำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม
46
3
SBL บันทึกประเทศไทย I นครปฐม
.indd 46
14/12/2563 17:52:23
การตั้งวัดวังตะกู
ไม่ปรากฏว่ามีผใู้ ดเป็นผูบ้ ริจาคทีด่ นิ ให้สร้างวัด ไม่มหี ลักฐานปรากฏ จากการสอบถามคนรุ่นต่อๆ กันมา พอทราบว่า วัดวังตะกู ได้รับ อนุญาตให้สร้างวัดในราวปี พ.ศ. 2375 ได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา ครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2493 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 13.60 เมตร ยาว 21.60 เมตร ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 14 เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2533 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 40 เมตร ยาว 60 เมตร ที่ดินเฉพาะบริเวณที่ตั้งวัดมีเนื้อที่ 46 ไร่ 2 งาน - ตารางวา
ปูชนียวัตถุและโบราณวัตถุ
1. พระประธานประจ�ำอุโบสถหลังใหม่ เป็นพระพุทธรูปขนาดกลาง ปางสมาธิ สมัยรัตนโกสินทร์ มีขนาดสูง 37 นิ้ว หน้าตักกว้าง 29 นิ้ว สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2375 2. รูปหล่อพระสาวกยืนซ้ายขวา สูง 64 นิ้ว กว้าง 23 นิ้ว 3. พระปางทรงเครื่องประทับยืนจ�ำนวน 2 องค์ สูง 63 นิ้ว 4. รูปเหมือนหลวงปู่บิน อิสสโร อดีตเจ้าอาวาส หล่อด้วยโลหะ หน้าตักกว้าง 29 นิ้ว สูง 37นิ้ว 5. พระประธานปางสมาธิ หน้าตักกว้าง 25 นิ้ว สูง 31 นิ้ว จ�ำนวน 2 องค์ 6. รูปหล่อพระมหากัจจายนะ หล่อด้วยโลหะ หน้าตักกว้าง 39 นิว้ สูง 29 นิ้ว จ�ำนวน 1 องค์ 7. พระศรีศากยมุนเี มตตา (หลวงพ่อเมตตาศักดิส์ ทิ ธิ)์ หินแกะสลัก 8. ส มเด็ จ พระพุ ท ธมหาจั ก พรรดิ์ ไตรรั ต นญาณ มณี น พรั ต น์ นคราปฐมาภรณ์
รายนามเจ้าอาวาส ตั้งแต่รูปแรกจนถึงปัจจุบัน จ�ำนวน 9 รูป
พระครูปลัดสาธุวัฒน์ (พรหมลิขิต ยโสธโร) เจ้าอาวาสวัดวังตะกู
รูปที่ 1 พระอาจารย์จันทร์ พ.ศ. ไม่ปรากฏ รูปที่ 2 พระอาจารย์ร่วน พ.ศ. ไม่ปรากฏ รูปที่ 3 พระอาจารย์มั่น พ.ศ. ไม่ปรากฏ รูปที่ 4 พ.ศ. ไม่ปรากฏ รูปที่ 5 พ.ศ. ไม่ปรากฏ รูปที่ 6 พ.ศ. ไม่ปรากฏ รูปที่ 7 หลวงปู่บิน อิสฺสโร พ.ศ....- พ.ศ. 2498 รูปที่ 8 พระธรรมเสนานี (ชุณห์ กิตฺติวณฺโณ) พ.ศ. 2498 - พ.ศ. 2562 รูปที่ 9 พระครูปลัดสาธุวัฒน์ (พรหมลิขิต ยโสธโร) พ.ศ. 2562 ถึงปัจจุบัน NAKHON PATHOM I SBL บันทึกประเทศไทย
3
.indd 47
47
14/12/2563 17:52:35
รายนา
ตั้งแต่ร รูป รูป รูป รูป รูป รูป รูป รูป รูป
วัดวังตะกู ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 53 หมู่ 2 ต�ำบลวังตะกู อ�ำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม ตั้งขึ้นเมื่อใด ถามไม่มีใครทราบ เมื่อประมาณปี พ.ศ. 2335 อุโบสถหลังเก่าแบบโบราณทั่วไป หน้าบันประดับด้วย เครือ่ งลายครามช�ำรุดมากใช้การไม่ได้ ทางวัดจัดการสร้างขึน้ ใหม่ในทีเ่ ดิม จึงรื้อถอนของเก่าออกหมด ขอพระราชทานวิสุงคามสีมาใหม่ ได้รับ พระราชทานวิสงุ คามสีมา ครัง้ ที่ 2 เมือ่ วันที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2493 และ ผูกพัทธสีมาในปี พ.ศ. 2493 ปัจจุบนั ได้สร้างอุโบสถขึน้ ใหม่อกี หนึง่ หลัง ไม่ซ�้ำที่เดิมจึงขอพระราชทานวิสุงคามสีมา ใหม่เป็นครั้งที่ 3 ได้รับ พระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2533 ท�ำการ ผูกพัทธสีมา เมื่อวันที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2537 วัดนี้ไม่มีใครทราบประวัติว่าเป็นมาอย่างไร เมื่อมารับต�ำแหน่ง เจ้าอาวาส ปี พ.ศ. 2498 พระธรรมเสนานี (ถามคนแก่รุ่นอายุ 90 ปี บอกว่าเกิดมาจ�ำความได้ก็เห็นวัดมีอยู่แล้ว หลวงปู่บิน อิสสโร อดีต เจ้าอาวาสวัดวังตะกู ท่านมีอายุ 92 ปี ท่านก็ไม่ทราบประวัตวิ ดั นี้ เพียงแต่ บอกว่าในต�ำบลนี้มีอยู่วัดเดียว ภายหลังสร้างขึ้นอีกวัดหนึ่งในต�ำบล ใกล้กันเรียกว่า วัดใหม่ มาจนถึงปัจจุบันนี้ คือ วัดใหม่ปิ่นเกลียว ก็เลย เรียกวัดวังตะกู ว่า วัดเก่า ในสมัย รศ. 126 ตามโฉนดที่ดินระบุว่า ต�ำบลบางตะกู วัดก็คงจะเป็นบางตะกู จะเพีย้ นมาเป็นวัดวังตะกูเมือ่ ไร ไม่มีใครทราบเหตุผล มีผู้เล่าว่าเคยพบป้ายชื่อ วัดท�ำด้วยไม้กระดาน จมอยู่ในสระน�้ำหน้าวัด เมื่อวิดน�้ำออกหมดโกยเลนก้นสระให้สะอาด จึงพบป้ายชื่อ วัดจันทาราม ไม่มีใครใส่ใจเพราะใช้ชื่อ วัดวังตะกู แล้ว ถามได้ความว่าเป็นพระที่มาก่อสร้างและปกครองวัดนี้รูปแรก ชื่อ “จันทร์” ชาวบ้านคงจะใช้ชอื่ พระเป็นชือ่ ของวัดด้วยว่า วัดหลวงพ่อจันทร์ เพื่อเป็นเกียรติแก่ผู้สร้างและเป็นก�ำลังใจจึงใช้ชื่อว่า วัดจันทาราม ในสมัยโบราณ การคมนาคมใช้ทางน�้ำเป็นส่วนใหญ่ไม่มีทางบก ถนนอย่างปัจจุบันยังไม่มี มีผู้เล่าว่าริมคลองหน้าวัด มีต้นตะกูมาก จึงใช้ต�ำบลบางตะกู ค�ำว่า บาง คือ ถิ่นอยู่ริมน�้ำ เมื่อไม่เห็นป้ายวัดก็ เลยเรียกวัดบางตะกูไปตามชื่อต�ำบล ต�ำบลนี้มีวัดเดียว ภายหลังเรียก เป็นวังไปได้อย่างไรไม่แน่ชดั ในต�ำบลนีม้ คี ำ� ว่า วัง อยู่ 2 แห่ง คือ วังกระพี้ วังลาน เพือ่ ความคล้องกับชือ่ ในต�ำบลเดียวกัน จึงกลายมาเป็น วัดวังตะกู ต�ำบลวังตะกูก็อาจเป็นได้ และทางราชการก็ใช้ชื่อนี้มาตลอด
เกียรติของวัด
3
เป็นวัดที่มีอุทยานการศึกษา ปี พ.ศ. 2539 เป็นวัดพัฒนาตัวอย่าง ปี พ.ศ. 2541 เป็นหน่วยอบรมประชาชนประจ�ำต�ำบลดีเด่น ปี พ.ศ. 2546 เป็นส�ำนักปฏิบัติธรรมประจ�ำจังหวัดนครปฐม แห่งที่ 1 ปี พ.ศ. 2546 เป็นวัดพัฒนาตัวอย่างดีเด่น ปี พ.ศ. 2549 เป็นศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ ปี พ.ศ. 2551 เป็นชุมชนคุณธรรมต้นแบบ ปี พ.ศ. 2561 เป็นศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ดีเด่นระดับประเทศ ปี พ.ศ. 2562
48
SBL บันทึกประเทศไทย I นครปฐม
.indd 48
14/12/2563 17:52:44
โรงแรมกอดหมอน Nakhon Pathom
ห้องพักหรู ราคาประหยัด
สวย สะอาด บรรยากาศดี ใจกลางเมือง
นครปฐม
โรงแรมตั้งอยู่ ถ.มาลัยแมน เยื้องตึกคณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.ศิลปากร โรงแรมอยู่ซ้ายมือก่อนขึ้นสะพาน
“กอดหมอน” นอนสบาย ในราคาหลักร้อย สอบถาม/ส�ำรองห้องพัก โทร.
034 109 830 061 218 0101 Artwork
x1 4
17/12/2563 12:03:24
History of buddhism....
วัดล�ำพยาสุทธาราม พระมหากฤชกร สมาจาโร เจ้าอาวาสวัดลำ�พยาสุทธาราม
วัดล�ำพยาสุทธาราม ตั้งอยู่เลขที่ 118/2 หมู่ 5 ต�ำบลล�ำพยา อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม
50
วัดล�ำพยาสุทธาราม เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ห่างจากถนนเพชรเกษม ประมาณ 400 เมตร เมื่อโดยสารผ่านจะเห็นอุโบสถได้แต่ไกล เมื่อประมาณเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2548 นายสมจิตต์ นางลิ้นจี่ อินหนู เป็นผู้มีจิตศรัทธาถวายที่ดินเพื่อสร้างส�ำนักสงฆ์ และได้นิมนต์พระภิกษุมาจ�ำพรรษาแรก เมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2551 โดยมีภิกษุ จ�ำพรรษาจ�ำนวน 7 รูป มี พระสมุห์วินัย อตฺตสาโร เป็นหัวหน้าส�ำนักสงฆ์
SBL บันทึกประเทศไทย I นครปฐม
2
.indd 50
15/12/2563 16:20:36
เมื่อปี พ.ศ. 2553 เริ่มมีการถมและปรับที่ดิน เพื่อพัฒนาตั้งเป็น วัดในพระพุทธศาสนา โดยคุณแม่ใบบุญ แซ่ตั้ง พร้อมครอบครัว ได้มี จิตศรัทธาร่วมซือ้ ทีด่ นิ เพือ่ ขยายวัดเพิม่ เติม ณ ปัจจุบนั วัดล�ำพยาสุทธาราม มีเนื้อที่ตั้งวัด จ�ำนวน 19 ไร่ 1 งาน 42 ตารางวา ได้รับประกาศจาก ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ตั้งเป็นวัดในพระพุทธศาสนา เมื่อ วันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2555 โดยมี พระสมุห์วินัย อตฺตสาโร เป็น เจ้าอาวาสรูปแรก โดยพื้นที่แห่งนี้ มีผู้รู้ให้ความเห็นว่าสถานที่แห่งนี้เคยเป็นวัดมา แต่เก่าก่อน ประกอบกับมีบ่อน�้ำเก่าแก่ซึ่งเล่ากันว่า พระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 เมื่อครั้งทรงบูรณปฏิสังขรณ์องค์ พระปฐมเจดีย์ ทรงมีพระราชด�ำริให้ขุดดินจากบ่อน�้ำแห่งนี้ ปั้นเป็น อิฐแล้วส่งไปเพื่อบูรณปฏิสังขรณ์องค์พระปฐมเจดีย์ดังที่เราเห็นกัน ในปัจจุบัน
สถานที่ส�ำคัญภายในวัด
1. อุโบสถประดิษฐานสมเด็จองค์ปฐมที่ 1 (หลวงพ่อใหญ่) หน้า ตัก 10.70 เมตร นับว่าเป็นพระประธานอุโบสถที่มีขนาดใหญ่แห่ง หนึ่งของจังหวัดนครปฐม 2. เถียงนาหลวงปู่สรวง เทวดาเล่นดิน ตั้งอยู่ริมบ่อน�้ำ จากค�ำ บอกเล่าต่อๆกันมาว่าหลวงปู่สรวงได้ไปบอกลูกศิษย์ที่มีความเคารพ เลื่อมใสในองค์ท่านให้มากราบท่านที่เถียงนาแห่งนี้ 3. สระน�้ำเก่าแก่ ซึ่งมีอยู่ก่อนตั้งวัด ดังประวัติว่ารัชกาลที่ 4 เมื่อ ครั้งทรงบูรณะองค์พระปฐมเจดีย์ได้ทรงให้ขุดดินจากสระน�้ำแห่งนี้ ปั้นเป็นอิฐแล้วใช้บูรณะปฏิสังขรณ์องค์พระปฐมเจดีย์
ล�ำดับเจ้าอาวาสวัดล�ำพยาสุทธาราม
1. พระสมุห์วินัย อตฺตสาโร ปฐมเจ้าอาวาส (เจ้าอาวาสรูปแรก) พ.ศ.2555 – พ.ศ.2562 2. พระมหากฤชกร สมาจาโร ป.ธ.4 พ.ศ.2562 ถึง ปัจจุบัน
ปัจจุบนั ทางวัดล�ำพยาสุทธาราม ก�ำลังด�ำเนินการก่อสร้าง อุโบสถหลังใหญ่ และยังคงขาดปัจจัยอีกเป็นจ�ำนวนมาก จึงขอเชิญชวนผู้ใจบุญใจกุศล ร่วมกันท�ำบุญตามก�ำลังศรัทธา โดยการโอนเงินเข้าบัญชีธนาคารกรุงเทพ ชือ่ บัญชีวดั ล�ำพยา สาขาสยามแมคโครนครปฐม เลขที่บัญชี 602-0-28995-2 NAKHON PATHOM I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 51
51
15/12/2563 16:20:48
History of buddhism....
วัดรัตนรังสี
พระมหาทองสุข สุทฺธสีโล (เอี่ยมท้วม) ป.ธ.4 เจ้าอาวาสวัดรัตนรังสี วัดรัตนรังสี เป็นวัดราษฎร์ ตั้งอยู่ระหว่างหมู่บ้านหนองแขม และหมู่บ้านหนองจอก เลขที่ 144 หมู่ที่ 9 ต�ำบลโพรงมะเดื่อ อ�ำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม
ประวัติความเป็นมา เดิมเป็นส�ำนักสงฆ์หนองแขม-หนองจอก ซึ่งมี หลวงพ่อไสว วชิรวํโส เป็นเจ้าส�ำนักสงฆ์ ท่านได้จดั ซือ้ ทีด่ นิ จ�ำนวน 6 ไร่เศษ ท�ำเป็นที่พักสงฆ์และส�ำนักสงฆ์โดยล�ำดับ ท่านได้สร้างศาลาการเปรียญ 1 หลัง, หอระฆัง 1 หลัง, กุฏสิ งฆ์ 9 หลัง, วิหาร 1 หลัง (ปัจจุบนั วิหารช�ำรุด และได้ทำ� การรือ้ ถอนไปแล้ว) หลวงพ่อไสวดูแลส�ำนักสงฆ์ตงั้ แต่ปี พ.ศ. 2538 ถึงปี พ.ศ 2540 ท่านได้อาพาธและมรณภาพลง สิ่งปลูกสร้างต่างๆ ก็ยัง ไม่เสร็จสมบูรณ์ แต่ก่อนที่หลวงพ่อไสวจะมรณภาพลง ท่านได้สั่งญาติโยม ไว้ว่า ถ้าหากท่านเป็นอะไรไป ให้ไปนิมนต์พระมหาทองสุข สุทฺธสีโล มา ดููแลบริิหารจััดการสำำ�นัักสงฆ์์แทนท่่าน หลัังจากที่่�หลวงพ่่อไสวมรณภาพลง ชาวบ้้ า นทั้้�งในหมู่่�บ้้ า นและหมู่่�บ้้ า นใกล้้ เ คีี ย งก็็ ไ ด้้ เ ดิิ น ทางไปนิิ ม นต์์ พระมหาทองสุข สุทฺธสีโล จากวัดหัวคู้ อ�ำเภอบางพลี (ปัจจุบันเปลี่ยนเป็น อ�ำเภอบางเสาธง) จังหวัดสมุทรปราการ ชาวบ้านเดินทางไปขอร้องกับ ท่านเจ้าอาวาสวัดหัวคู้หลายครั้ง แต่ท่านก็ปฏิเสธ ภายหลังท่านเห็นความ พยายามและตั้งใจจริงของชาวบ้าน ท่านจึงอนุญาตให้มาอยู่ได้ และเมื่อ พระมหาทองสุขมาอยู่ที่ส�ำนักสงฆ์หนองแขม-หนองจอกแล้ว ท่านก็ท�ำ หนัังสืือขออนุุญาตสร้้างวััดและได้้รัับอนุุญาตให้้สร้้างวััดเมื่่�อปีี พ.ศ. 2542 และในปีีต่่อมาท่่านได้้ทำำ�หนัังสืือขออนุุญาตจััดตั้้�งวััดไปตามขั้้�นตอน
ภาพบริเวณวัดโดยรวม วัดรัตนรังสี
52
2
พระมหาทองสุข สุทฺธสีโล (เอี่ยมท้วม) ป.ธ.4 เจ้าอาวาสวัดรัตนรังสี
วัดรัตนรังสี ได้รับการจัดตั้งเป็นวัด เมือ่ วันที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2545 และ ท�ำการแต่งตั้งให้ พระมหาทองสุข สุ ทฺ ธ สี โล ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้า อาวาส วัดรัตนรังสี เมื่อวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2546 เป็นต้นมาจนถึงปัจจุบัน ด้วย วิสัยทัศน์พัฒนาของพระมหาทองสุข สุทฺธสีโล ท่านจึงได้ท�ำการจัดซื้อที่ดิน เพิ่มอีกจ�ำนวน 7 ไร่เศษ รวมกับที่ดิน ที่มีอยู่เดิม 6 ไร่เศษ วัดรัตนรังสีจึงมี ที่ดินทั้งหมด 13 ไร่ 2 งาน 5.85 ตารางวา และได้ ด� ำ เนิ น การสร้ า ง อุโบสถ จ�ำนวน 1 หลัง, ป้ายวัด 1 ป้าย, กุฏิทรงไทย 2 หลัง, ห้องน�้ำ 2 หลัง (14 ห้อง), โรงครัว 1 หลัง, ก� ำ แพงแก้ ว อุ โ บสถ, ก� ำ แพงวั ด , ฌาปนสถาน (เมรุ) 1 หลัง และอื่นๆ ที่ก�ำลังก่อสร้างตามล�ำดับ
SBL บันทึกประเทศไทย I นครปฐม
by tony.indd 52
18/12/2563 13:43:52
อุโบสถ วัดรัตนรังสี
พระประธานในอุโบสถชั้นบน วัดรัตนรังสี
พระประธานในอุโบสถชั้นล่าง วัดรัตนรังสี
ท�ำเนียบเจ้าอาวาส
1. หลวงพ่อไสว วชิรวํโส อดีตเจ้าส�ำนักสงฆ์ หนองแขม-หนองจอก เดิมท่านอยู่ที่วัดเกาะวังไทร และมาอยู่ที่ส�ำนักสงฆ์หนองแขม-หนองจอก เมื่อปี พ.ศ. 2538 และในปี พ.ศ. 2540 ท่านได้อาพาธ และมรณภาพลง ต่อมาเมื่อปี พ.ศ. 2544 พระมหาทองสุข สุทฺธสีโล ท่านได้ท�ำหนังสือขอ อนุญาติจดั ตัง้ วัด โดยเสนอชื่อวัดไปตามล�ำดับ จนได้ รับแต่งตั้งเป็นวัดชื่อว่า วัดรัตนรังสี เมื่อวันที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2545 และได้แต่งตั้งให้พระภิกษุสงฆ์ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสดังนี้ 1. พระมหาทองสุข สุทฺธสีโล ด�ำรงต�ำแหน่ง เจ้าอาวาสวัดรัตนรังสี ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2546 จนถึงปัจจุบนั NAKHON PATHOM I SBL บันทึกประเทศไทย
2
by tony.indd 53
53
16/12/2563 14:34:30
History of buddhism....
วัดหว้าเอน พระครูโสภณสิริคุณ ปภสฺสโร เจ้าอาวาสวัดหว้าเอน
วัดหว้าเอน ตั้งอยู่เลขที่ 51 หมู่ที่ 10 ต�ำบลโพรงมะเดื่อ อ�ำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม
วัั ด หว้้ า เอน เป็็ น วัั ด เก่่ า แก่่ ที่ ่ � มี ีมาตั้้ � ง แต่่ ส มัั ย รัั ช กาลที่่ � 6 โดยเริ่่ � ม แรกวัั ด หว้้ า เอนยัั ง เป็็ น สำำ �นั ั ก สงฆ์์ เ ล็็ ก ๆ ตั้้ � ง อยู่่ �ท างทิิศใต้้
ต่่อมามีีการพััฒนามาเป็็นวััดในปีี พ.ศ. 2445 ตามพระราชบััญญััติิลัักษณะปกครองสงฆ์์ ร.ศ. 121 มีีเนื้้�อที่่�ครอบคลุุมทั้้�งหมด 25 ไร่่ ซึ่่�งมีีชาวไทยใจบุุญอุุทิิศที่่�ดิินให้้สร้้างวััด และติิดกัับคลองท่่าผา บางแก้้ว หรืือที่่�ชาวบ้้านรู้้�จัักคืือ คลองวััดหว้้าเอน ซึ่่�งเป็็นเส้้นแบ่่งเขต ระหว่่างจัังหวััดนครปฐม กัับจัังหวััดราชบุุรีี 54
2
SBL บันทึกประเทศไทย I นครปฐม
by Tony.indd 54
16/12/2563 13:02:44
ตามประวัติเดิม วัดหว้าเอนเป็นส�ำนักสงฆ์ที่ตั้งขึ้นมานานแล้ว จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2445 จึงได้ขึ้นทะเบียนเป็นวัดที่ถูกต้อง และ ที่มาของวัดชื่อ "หว้าเอน" นั้นเพราะว่า มีต้นหว้าใหญ่ขึ้นอยู่ริมคลอง และโน้มเอนมาก ชาวบ้านจึงเรียกกันว่า "วัดหว้าเอน" โดยมี หลวงพ่อก๋ง เป็นเจ้าอาวาสรูปแรก และในสมัยหลวงพ่อก๋งนี้เอง พระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 ได้เคยน�ำกองเสือป่า เข้าไปฝึก ซ้อมในบริเวณวัด และพ�ำนักอยู่ที่วัดพักหนึ่ง ก่อนกองลูกเสือป่าจะ ย้ายไปค่ายหลวง จังหวัดราชบุรี โดยในระหว่างที่พักอยู่นั้น ได้มีการ ฝึ ก ซ้ อ มของกองลูกเสือป่าและได้มีการบันทึกไว้ในหน้าหนึ่งของ ประวัตศิ าสตร์ชาติไทย ต่อมาหลวงพ่อตน เจ้าอาวาสองค์ที่สอง ก็ด�ำรง ต�ำแหน่งได้อยู่ช่วงหนึ่ง แล้วก็มคี วามจ�ำเป็นบางประการ ท�ำให้ตอ้ งลา สิกขาบท(สึก) และได้แต่งตั้งหลวงพ่อช่วย เป็นเจ้าอาวาสองค์ต่อมา ท่านมีการสร้างวัตถุมงคลขึ้น ซึ่งสร้างความฮือฮาในสมัยนั้นเป็นอย่าง มาก เพราะเหรียญรูปหลวงพ่อช่วย มีความศักดิส์ ทิ ธิ์ มีสาธุชนรับไปบูชา คนๆนัน้ ได้ถกู คนร้ายลอบยิงแต่ไม่เป็นอะไรเลย เพราะกระสุนปืนไม่ ลัน่ ไก ซึง่ ก็ไม่ได้มคี นเดียว ยังมีสาธุชนหลายคนได้เจอเหตุการณ์ทำ� นอง เดียวกัน สร้างความแปลกใจให้กบั ผูท้ เี่ ช่าบูชาไว้เป็นอย่างมาก กระแสนิยม จึงกลับมาไหว้หลวงพ่อช่วย และมีการบอกเล่าเรือ่ งราวทัง้ หลายทีเ่ กิดขึน้ ให้สาธุชนได้ทราบ หลวงพ่อช่วย โสภิโต อุปสมบททีว่ ดั หว้าเอน มีหลวง พ่อก๋งเป็นพระอุปัชฌาย์ หลวงพ่อช่วยได้ศึกษาธรรม อย่างเคร่งครัด และได้เรียนรู้มนต์ต่างๆ จนสามารถท่องปาฏิโมกข์ขลังได้รวดเร็ว และชัดเจน
ในปีพ.ศ. 2514 หลวงพ่อช่วยได้ป่วยเป็นอัมพาต จึงให้พระครู โสภณสิริคุณ (พระอาจารย์ทอง) ดูแลวัดแทน จนเมื่อปี พ.ศ. 2517 หลวงพ่อช่วยก็ได้มรณภาพลง พระอาจารย์ทองจึงได้เป็นเจ้าอาวาส องค์ตอ่ มาจนถึงปัจจุบนั ซึง่ ในช่วงทีพ่ ระอาจารย์ทอง ปกครองดูแลวัด ก็พัฒนาวัดให้เจริญไปพร้อมกับการเปลีย่ นแปลงทางสังคมให้ดขี นึ้ พระ อาจารย์ ท อง บวชที่ วั ด อั ม พวั น จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์ มี พ ระอธิ ก ารสา เป็นพระอุปัชฌาย์ ต่อมาก็ย้ายมาจ�ำพรรษาที่วัดหว้าเอน เมื่อปี พ.ศ. 2510 และได้สร้างศาลาการเปรียญ อุโบสถ ศาลาคู่เมรุ โรงครัวและ โบสถ์ใหม่แทนโบสถ์เก่าทีช่ ำ� รุดทรุดโทรมไปตามกาลเวลานัน่ เอง ต่อมา เมือ่ ปี พ.ศ. 2539 พระอาจารย์ทองได้เลือ่ นสมณศักดิเ์ ป็น พระครูโสภณ สิริคุณ ท่านได้พัฒนาวัดให้เจริญรุ่งเรืองมาโดยตลอด โดยจัดงาน ปฏิบัติธรรมเข้าอยู่ปริวาสกรรม ซึ่งจัดกันเป็นประจ�ำทุกปี ในช่วงแรม 9 ค�่ำ เดือน 12 และในช่วงที่ปฏิบัติธรรมนั้น ก็จะให้สาธุชนทั้งหลาย ได้มาฝึกปฏิบัติ ฝึกจิตใจให้เข้มแข็งเป็นเวลา 10 วัน ซึ่งถือเป็นการ ช่วยกล่อมเกลาและเป็นที่พักทางใจ ให้กับสาธุชนชาวโพรงมะเดื่อ มาช้านาน และในช่วงเข้าพรรษาก็จะมีการสอนธรรมะแก่สามเณร และพระภิกษุสงฆ์ หรือทีเ่ รียกว่าการสอนปริยตั ธิ รรม พระครูโสภณสิรคิ ณ ุ ยังส่งเสริมในด้านการศึกษาของเด็กนักเรียนโรงเรียนวัดหว้าเอนอีกด้วย โดยจะจัดให้มีการแจกทุนการศึกษา แก่นักเรียนผู้ยากจนและด้อย โอกาสทางการศึกษาทุกปี ซึ่งเป็นกิจกรรมที่สร้างประโยชน์แก่ชุมชน คนในท้องถิน่ นับได้ว่าเป็นพระนักพัฒนาโดยแท้จริง ต่อมาหลวงพ่อทอง ได้มพี ระปลัดปรีชา ปริชาโน ผู ้ ช ่ ว ยเจ้ า อาวาส มาช่วยงานพัฒ นาวัด ปั จ จุ บั น ได้ ส ร้ า งศาลาคู ่ เ มรุ ปี 2555 สร้างห้องน�้ำเพิ่มอีก 28 ห้อง ปี พ.ศ. 2557 ร่วมกันสร้างวิหารหลวงพ่อช่วย ตั้งแต่เดือนเมษายน ปี พ.ศ. 2555 จนถึงเดือน เมษายน ปี พ.ศ. 2558 ได้สร้างเสร็จและ ท�ำบุญฉลองวิหารหลวงพ่อบุญช่วย ในปลายปี พ.ศ. 2559 พระปลัดปรีชา ได้ให้ชา่ งมาสร้างศาลาหน้าโรงครัว และสร้างรัว้ ก�ำแพงวัด ตัง้ แต่เดือน พฤศจิกายน 2560 ถึงเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561 ในปี พ.ศ. 2562 หลวงพ่อทองและพระปลัดปรีชาได้ปรึกษากับกรรมการวัด ว่าจะ ท�ำการบูรณะปล่องเมรุที่ช�ำรุด วัดหว้าเอนได้มีการจัดงานท�ำบุญอุทิศ แก่บูรพาจารย์ ปิดทองหลวงพ่อบุญช่วย ในวันที่ 13-15 เมษายน ของ ทุกๆ ปี เป็นงานที่ได้จัดมาแล้วหลายสิบปี ซึ่งจะตรงกับเทศกาล สงกรานต์ของชาวไทย
พระครูโสภณสิริคุณ ปภสฺสโร เจ้าอาวาสวัดหว้าเอน
NAKHON PATHOM I SBL บันทึกประเทศไทย
2
by Tony.indd 55
55
16/12/2563 13:02:55
History of buddhism....
วัดลาดหญ้าแพรก พระมหาเช้า สิริปุญฺโญ เจ้าอาวาสวัดลาดหญ้าแพรก
วัดลาดหญ้าแพรก ตั้งอยู่เลขที่ 105 หมู่ที่ 2 ถนนเพชรเกษม ต�ำบลสระกะเทียม อ�ำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม
พระพุทธรูปปางมารวิชัย ขนาดฐานกว้าง 18 เมตร สูง 15 เมตร สร้างตามแบบลักษณะพุทธศิลป์สมัยสุโขทัย ผสมกันกับสมัย อู่ทอง แต่ไม่มีหลักฐานจารึกเป็นที่ชัดเจนว่าได้สร้างในวันเดือนปีใด เพียงแต่ทราบจากการบอกเล่าของผู้สูงอายุในหมู่บ้านว่า สร้างหลัง จากหลวงพ่อทรัพย์ได้รับการถวายที่ดินให้เป็นธรณีสงฆ์ เมื่อราวต้นปี พ.ศ. 2400 วิธีการคือ ให้ชาวบ้านมาช่วยกันปั้นดินเป็นก้อน อิฐขนาดใหญ่พอสมควรแล้วน�ำมาเรียงขึ้นทีละชั้น โดยมีช่างชาวจีนชื่อ เจ็กตุ้น คอยควบคุมการก่อสร้างจากนั้นหลวงพ่อทรัพย์ก็ เดินทางธุดงค์ตอ่ ไป วัดลาดหญ้าแพรกก็มกี ารเปลีย่ นเจ้าอาวาสหลายรูปจากนัน้ มาจนกระทัง่ ปี พ.ศ. 2528 หลวงพ่อมหาสาลี ปภสฺสโร มาเป็นเจ้าอาวาส ได้ธ�ำรงรักษาการจัดงานประจ�ำปีหลวงพ่อโต สืบต่อมาอย่างยิ่งใหญ่ทุกปี การแต่งกายของกลุ่มชาวบ้าน ที่สืบเชื้อสายมาจากลาวเวียง ยังคงมีการอนุรักษ์และสืบสาน วัฒนธรรมประเพณีต่างๆไว้ ให้คงอยู่คู่ชุมชนและวัดลาดหญ้าแพรก จังหวัดนครปฐม
56
2
SBL บันทึกประเทศไทย I นครปฐม
_by Tony 56
6/1/2564 11:28:37
วัดลาดหญ้าแพรก เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์ฝ่ายมหานิกาย มีพื้นที่ 25 ไร่ 1 งาน 46 ตารางวา ตามหนังสือโฉนดเลขที่ 95730 มี อาณาเขตดังนี้ คือ ทิศเหนือ จรดทางสาธารณประโยชน์, ทิศใต้ จรด คลองสาธารณประโยชน์, ทิศตะวันออก จรดทางสาธารณประโยชน์, ทิศตะวันตก จรดทางสาธารณประโยชน์ วัดลาดหญ้าแพรก ได้รับการถวายที่ดินจาก พระอธิการค�ำ ตั้งแต่ ร.ศ. 130 และได้รับถวายจาก นางจันทรา เมื่อ พ.ศ. 2488 รวมเนื้อที่ได้ 19 ไร่ 2 งาน 75 ตารางวา เป็นที่สร้างวัด ซึ่งยุคต้นเป็น เพียงหนังสือการจับจองที่ดิน ยังไม่มีการออกโฉนดที่ดิน กระทั่งมา ในสมัยหลวงพ่อพระอธิการโป๊ะ มหาธมฺโม เป็นเจ้าอาวาส ทางกรม ที่ดินจึงออกหนังสือการครอบครองที่ดิน เรียกว่าใบ ส.ค.1 เมื่อวันที่ 14 เมษายน พ.ศ. 2498 ขณะนั้นหลวงพ่อโป๊ะ อายุได้ 62 ปี (เทียบ จากเหรียญฉลองอายุ 77 ปี ของหลวงพ่อ ที่สร้างขึ้นเมื่อปี 2513) จากค�ำบอกเล่าของชาวบ้าน สมัยก่อนหมู่บ้านลาดหญ้าแพรก ไม่มีวัด เมื่อต้องการจะท�ำบุญใส่บาตร ต้องเดินทางไปที่วัดหนองเสือ ต� ำ บลหนองดิ น แดง ห่ า งจากหมู ่ บ ้ า นลาดหญ้ า แพรกประมาณ 5 กิโลเมตร จึงไม่ค่อยได้รับความสะดวกเท่าใดในการสร้างบุญกุศล กาลต่อมาได้มีพระถือธุดงควัตรรูปหนึ่งแสวงบุญผ่านมา ชาวบ้าน รวมทัง้ เจ้าของทีด่ นิ จึงกราบอาราธนาให้ทา่ นรับถวายทีด่ นิ เพือ่ สร้างวัด ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา โดยเริ่มแรกชาวบ้านต่างขวนขวายมาช่วยกิจการ งานวัดต่างๆ เช่น การสร้างเสนาสนะ กุฏิพระสงฆ์สามเณร ศาลา และยังพร้อมใจกันสร้างพระประธานประจ�ำวัดทีเ่ รียกชือ่ ท่านกันว่าหลวง พ่อพระใหญ่ ตามส�ำเนียงภาษาลาว ที่ชาวบ้านใช้เป็นภาษาท้องถิ่นนี้ แต่ภายหลังได้เปลี่ยนมาเรียกนามท่านใหม่เป็น หลวงพ่อโตศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งมีการบูรณะหลายครั้ง แต่ก็ยังสืบหาประวัติการสร้างที่แท้จริงไม่ได้ เนื่องด้วย วัดลาดหญ้าแพรก เคยเป็นวัดร้างมาระยะหนึ่ง ท�ำให้ข้อมูล ที่บันทึกไว้เป็นเอกสารของวัดได้มาเป็นบางส่วน และทัง้ นีก้ ารสืบค้น หาประวัติการสร้างอุโบสถนั้นก็ไ ม่ ส ามารถสื บ ค้ น ได้ ว่ า ได้ รั บ การ พระราชทานวิสุงคามสีมาตั้งแต่เมื่อใด มีเพียงเอกสารจากกรมการ ศาสนาว่า วัดลาดหญ้าแพรก ได้รับการตั้งเป็นวัดเมื่อ พ.ศ. 2433
พระมหาเช้า สิริปุญฺโญ
เจ้าอาวาสวัดลาดหญ้าแพรก
ล�ำดับเจ้าอาวาส จากอดีตถึงปัจจุบัน
1. หลวงพ่อทรัพย์ ผู้รับถวายที่ดินสร้างวัด ไม่ทราบ พ.ศ. แน่นอน 2. พระอธิการโป๊ะ มหาธมฺโม พ.ศ. 2513 3. พระอธิการสาย สุธมฺโม พ.ศ. 2514 - 2518 4. พระอธิการจิต ขุนวิเศษ พ.ศ. 2520 - 2527 5. พระครูธรรมธรสาลี ปภสฺสโร พ.ศ. 2528 - 2541 6. พระมหาถาวร ฐานวโร พ.ศ. 2542-23 ก.พ. 2544 7. พระมหาพาน ฉนฺทธมฺโม เดือนเมษายน พ.ศ. 2544 - ธันวาคม 2553 8. พระมหาเกรียงศักดิ์ ฐิตมโน เป็นเจ้าอาวาสเมื่อ วันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 -2559 9. พระมหาเช้า สิริปุญฺโญ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2560-ปัจจุบัน NAKHON PATHOM I SBL บันทึกประเทศไทย
2
_by Tony.indd 57
57
7/1/2564 17:19:28
History of buddhism....
วัดตาก้อง พระครูสาราภิวัฒน์ เตชสมฺปนฺโน (วีระวงศ์ แก้วสวัสดิ์) เจ้าอาวาสวัดตาก้อง
วัดตาก้อง เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตั้งอยู่เลขที่ 28 หมู่ที่ 7 ต�ำบลตาก้อง อ�ำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม
นมัสการ
องค์พระจุฬามณี กราบพระโพธิสัตว์กวนอิม
ปิดทอง...
หลวงพ่อแช่ม
วัดตาก้อง เดิมมีชื่อว่า วัดไพรวัลย์นิกาวาส สร้างขึ้นเมื่อประมาณปี พ.ศ. 2225 เป็นเวลากว่า 338 ปี เดิมทีนั้นบริเวณหน้าวัดมีแม่น�้ำ สายโบราณสายหนึ่งที่ใช้เป็นเส้นทางเดินเรือไปบ้านยางพระแท่นดงรัง จังหวัดกาญจนบุรี หมู่บ้านตาก้องเป็นหมู่บ้านที่ประชาชนอาศัยอยู่ อย่างหนาแน่น เป็นเวลานับร้อยปีมาแล้ว เดิมเรียกว่า "บ้านอ้ายก้อง" สันนิษฐานว่าคงเรียกตามชื่อชาวจีนคนหนึ่งซึ่งมีฐานะร�่ำรวยเป็น เจ้าของโรงหีบอ้อย ในหมู่บ้านที่มีชื่อว่า เจ๊กก่อง หรือเจ๊กก้อง จากการบอกเล่าของผู้เฒ่าสืบต่อกันมาว่า วัดตาก้องนั้น เดิมมีชื่อว่า “วัด ไพรวัลย์นิกาวาส” เหตุที่ใช้ชื่อนี้นั้น เนื่องจากที่ตั้งของวัดยังเป็นป่าอยู่ ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 5 มีการแบ่งการปกครองเป็น หมู่บ้าน ต�ำบล และอ�ำเภอ ในครั้งนั้นหมู่บ้านอ้ายก้องได้ยกฐานะเป็นต�ำบลชื่อว่า “ต�ำบลตาก้อง” สันนิษฐานว่าชื่อของ “วัดไพรวัลย์นิกาวาส” คงเปลี่ยน ตามชื่อของต�ำบลเป็น “วัดตาก้อง” มาจนถึงทุกวันนี้ ซึ่งมีพระครูสาราภิวัฒน์ เตชสมฺปนฺโน (วีระวงศ์ แก้วสวัสดิ์) หรือหลวงพ่อเล็ก ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส 58
2
SBL บันทึกประเทศไทย I นครปฐม
by Tony.indd 58
16/12/2563 12:46:36
เมื่่�อหลวงพ่่อเล็็กได้้รัับแต่่งตั้้�งเป็็นเจ้้าอาวาสเมื่่�อปีี พ.ศ. 2540 ท่านขึ้นชื่อว่าเป็นพระนักพัฒนารูปหนึ่งของ จังหวัดนครปฐม ทั้งด้าน ก่อสร้างและด้านส่งเสริมการศึกษาธรรมะ ทั้งพระภิกษุและฆราวาส ในแต่ละปีมนี กั เรียนในเขตใกล้เคียงกับวัด มาเรียนและสอบธรรมศึกษา ไม่ต�่ำกว่า 3,000 คน ปัจจุบันวัดตาก้องเป็นศูนย์รวมจิตใจของคน ในต�ำบลตาก้อง มีบรรยากาศร่มรื่นเหมาะกับการปฏิบัติธรรม วัดตาก้อง มีหลวงพ่อแช่ม พระเกจิอาจารย์ชื่อดังของจังหวัด นครปฐม ซึ่งเป็นที่ศรัทธาอย่างมากของศิษยานุศิษย์ และยังมีโบสถ์ มหาอุตม์ อายุเก่าแก่กว่า 300 ปี
พระจุฬามณี
ในครั้งพุทธกาล พระจุฬามณีเจดีย์ คือ พระเจดีย์ที่ประดิษฐาน พระเกตุแก้วจุฬามณี ขององค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า หลังจากที่ พระองค์เสด็จดับขันธปรินิพพานและถวายพระเพลิงพระบรมศพแล้ว พระบรมสารีริกธาตุส่วนพระเกตุและพระโมลี(พระเกศา) พระอินทร์ ได้้นำำ�ขึ้้น� ไปประดิิษฐานไว้้ที่่พร � ะจุุฬามณีีในสวรรค์์ชั้้น� ดาวดึึงส์์ เพื่่อ� เป็็น ที่่�เคารพสัักการบููชาของเหล่่าเทพเทวาและมนุุษย์์ทั้้�งหลาย ในอดีีต จนถึึงปััจจุุบััน ส่่วนพระจุุฬามณีีของวััดตาก้้อง ได้้สร้้างขึ้้�นเมื่่�อปีี พ.ศ. 2465 บรรจุุพระบรมสารีีริิกธาตุุ และพระพุุทธรููปต่่างๆ อีีกทั้้�งยัังมีี รอยพระพุุทธบาทจำำ�ลอง ก่่อสร้้างมาแล้้วประมาณ 98 ปีี เมื่่�อถึึงวััน เพ็็ญกลางเดืือน 3 ทางวััด จะจััดให้้มีงี านไหว้้พระจุุฬามณีีเป็็นประจำำ�ทุุกปีี จะมีีบรรดาพุุทธศาสนิิกชนในท้้องถิ่่น� และในละแวกใกล้้เคีียง มาทำำ�บุุญ บำำ�เพ็็ญกุุศล ปิิดทองไหว้้พระกัันเป็็นจำำ�นวนมาก
อุโบสถเก่า
อุโบสถหลังเก่าของวัดตาก้อง ไม่ปรากฏหลักฐานแน่ชัดว่าได้ ท�ำการก่อสร้างตั้งแต่เมื่อใด แต่สันนิษฐานว่าคงจะก่อสร้างมาแล้ว ประมาณ 300 ปี เป็นอุโบสถที่มีประตูเข้าออกเฉพาะทางด้านหน้า ซึ่งเรียกว่าโบสถ์มหาอุตม์ เป็นโบสถ์ท่ีใช้อิฐขนาดใหญ่ กว้าง 7 นิ้ว ยาว 14 นิว้ ก่อเป็นก�ำแพง โดยไม่มเี สาเลยแม้แต่ตน้ เดียว โบสถ์หลังนี้ ได้ช�ำรุดทรุดโทรมลงไปตามกาลเวลา ประกอบกับพื้นที่คับแคบไม่ เพียงพอต่อจ�ำนวนพระภิกษุสงฆ์ที่จะลงไปประกอบสังฆกรรม ทางวัด จึงได้จัดสร้างอุโบสถหลังใหม่ โดยได้ท�ำการวางศิลาฤกษ์ เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2517 และสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเสด็จมาเป็นประธาน ในพิธตี ดั หวายลูกนิมต ิ เมื่อวันที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2532 นับแต่บดั นัน้ เป็นต้นมา อุโบสถหลังเก่าก็มิได้ใช้ประกอบสังฆกรรมอีกต่อไป
ล�ำดับนามเจ้าอาวาสวัดตาก้อง
นับตั้งแต่ได้มีการตั้งวัดในช่วงระยะแรกๆ มีเจ้าอาวาสปกครองวัด กี่รูป ไม่ทราบนามและจ�ำนวน เนื่องจากไม่อาจค้นหาหลักฐานได้ เท่าที่ทราบและล�ำดับนามได้ ดังนี้ รูปที่ 1 หลวงพ่อเทียน (มรณภาพทางพระ) รูปที่ 2 หลวงพ่ออินทร์ (มรณภาพทางพระ) รูปที่ 3 หลวงพ่อปลั่ง (มรณภาพทางพระ) รูปที่ 4 หลวงพ่อเกริ่น (มรณภาพทางพระ) รูปที่ 5 หลวงพ่อกร่าย อินฺทโชโต (มรณภาพทางพระ) รูปที่ 6 พระอธิการเปลี่ยน ชินปุตฺโต พ.ศ. 2492-2499 (ลาสิกขา) รูปที่ 7 พระครูภัทรกิจรังสรรค์ (ร่อน ฐานิสฺสโร) พ.ศ. 2500–2533 (มรณภาพทางพระ) รูปที่ 8 พระครูอุดมจารุวัตร (กิมเฮง นาคสโร) พ.ศ. 2534–2539 (มรณภาพทางพระ) รูปที่ 9 พระครูสาราภิวฒ ั น์ (วีระวงศ์ แก้วสวัสดิ)์ พ.ศ. 2540–ปัจจบุ นั
พระประธานประจ�ำอุโบสถหลังใหม่
เป็นพระพุทธรูปขัดสมาธิ ปางเสด็จรอบโลก สร้างด้วยโลหะหล่อ มีขนาดสูง 2.30 เมตร หน้าตักกว้าง 1.75 เมตร ผู้สร้างถวาย คือ พระเจ้าวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าเฉลิมพลฑิฆมพร ั เมื่อปี พ.ศ. 2517
พระประธานประจ�ำอุโบสถหลังเก่า
เป็็ น พระพุุ ท ธรูู ปูู น ปั้้� น ปางสะดุ้้�งมาร มีี ข นาดสูู ง 1.32 เมตร หน้าตักกว้าง 1.05 เมตร ไม่ปรากฏหลักฐานว่าสร้างเมื่อปี พ.ศ. อะไร และผู้ใดเป็นผู้สร้าง
พระครูสาราภิวัฒน์ เตชสมฺปนฺโน (วีระวงศ์ แก้วสวัสดิ์) เจ้าอาวาสวัดตาก้อง
NAKHON PATHOM I SBL บันทึกประเทศไทย
2
by Tony.indd 59
59
16/12/2563 12:46:48
History of buddhism....
วัดโพรงมะเดื่อ พระครูปฐมธรรมรักษ์ (ประสิทธิ์ชัย ปณฺฑฺโต ป.ธ.7 ) เจ้าอาวาสวัดโพรงมะเดื่อ
วัดโพรงมะเดื่อ เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตั้งอยู่เลขที่ 177 หมู่ที่ 5 ต�ำบลโพรงมะเดื่อ อ�ำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม
วัดโพรงมะเดื่อ จากค�ำบอกเล่าคนรุ่นเก่าเล่าว่า แต่เดิมวัดโพรงมะเดื่อนี้ ตั้งอยู่ตรงหมู่บ้านพลับ หรือบ้านหนองหิน ที่ตรงนั้นปัจจุบัน ยังมีหลักฐานอยูเ่ รียกว่า “ทุง่ วัด” และยังมีตน้ โพธิอ์ ยู่ ตัง้ นานเท่าไรไม่ปรากฏ ต่อมาย้ายมาสร้างตรงท้ายบ้านหนองฉิม ทีต่ รงนัน้ มีเนินสูงมาก เดี๋ยวนี้ยังมีกรวด กระเบื้อง เศษอิฐมากมายเป็นหลักฐานอยู่และตั้งอยู่นานเท่าไรไม่ปรากฏ 60
2
SBL บันทึกประเทศไทย I นครปฐม
.indd 60
16/12/2563 14:48:12
หลังจากนัน้ ก็ยา้ ยมาตัง้ ทีต่ ลาดโรงสี จนทุกวันนี้ เพราะทีห่ นองฉิม เป็นป่า ห่างจากหมูบ่ า้ นคนมาก จึงย้ายมาทีต่ รงปัจจุบนั นี้ ซึง่ เดิมเป็นป่า และเนินสูง ชาวบ้านหรือผูใ้ ดไม่ปรากฏนามได้ถวายทีส่ ำ� หรับสร้าง มีเนือ้ ที่ไม่กี่ไร่ ต่อมาได้ซื้อเพิ่มเติมอีก แล้วให้นามว่า “วัดโพรงมะเดื่อ” ตามชื่อของหมู่บ้านนี้ เดิมบ้านโพรงมะเดื่อมีชื่อว่า “บ้านหัวเข้” เพราะคลองตรงข้ามสะพานเกวียน มีต้นมะเดื่อใหญ่อยู่ ต้นหนึ่ง มีโพรงใหญ่จนมีจระเข้เข้าไปอาศัยอยู่ได้ ต่อมาจระเข้หายไป เหลือแต่ โพรง จึงได้เปลี่ยนชื่อจากบ้านหัวเข้ มาเป็น บ้านโพรงมะเดื่อ มาจน ถึงทุกวันนี้ วัดโพรงมะเดื่อ ตั้งวัดเมื่อปี พ.ศ. 2371 ได้รับพระราชทาน วิสุงคามสีมา เมื่อปี พ.ศ. 2513
ล�ำดับรายนามเจ้าอาวาส
1. พระอาจารย์พุด ไม่ทราบพ.ศ.ที่แน่ชัด 2. พระอาจารย์เลียบ ไม่ทราบพ.ศ.ที่แน่ชัด 3. พระอาจารย์เคน ไม่ทราบพ.ศ.ที่แน่ชัด 4. พระอาจารย์ผู ไม่ทราบพ.ศ.ที่แน่ชัด 5. พระอาจารย์มี ไม่ทราบพ.ศ.ที่แน่ชัด 6. พระอาจารย์ด�ำ ไม่ทราบพ.ศ.ที่แน่ชัด 7. พระครูเกษมธรรมนันท์ (ทองอยู่ ธมฺมสโร) พ.ศ. 2458 - 2474 8. พระครูปัจฉิมทิศบริหาร (ฉอย ญาณจฺฉนฺโท) พ.ศ. 2474 - 2514 9. พระครูอุทุมพรวิหารวัฒน์ (ส�ำลี ธีรปญฺโญ) พ.ศ. 2514 - 2547 10. พระครูปฐมธรรมรักษ์ (ประสิทธิ์ชัย ปณฺฑฺโต ป.ธ.7) พ.ศ 2548 – ปัจจุบัน
พระครูปฐมธรรมรักษ์ (ประสิทธิ์ชัย ปณฺฑิโต ป.ธ.7) เจ้าอาวาสวัดโพรงมะเดื่อ
NAKHON PATHOM I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 61
61
16/12/2563 14:48:25
History of buddhism....
วัดทัพยายท้าว พระครูสีลสุทธิคุณ (สะอาด ขนฺติโก) เจ้าอาวาสวัดทัพยายท้าว
วัดทัพยายท้าว เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตั้งอยู่เลขที่ 76 หมู่ที่ 9 ต�ำบลหนองปากโลง อ�ำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม
วัดทัพยายท้าว มีพื้นที่ตั้งวัดเนื้อที่ 27 ไร่ 3 งาน 17 ตารางวา ตามหนังสือโฉนดเลขที่ 39607 มีอาณาเขตดังนี้ ทิศเหนือ จรดที่ดินติดถนนสาย ทัพยายท้าว - บ้านยาง, ทิศใต้ จรด ที่ดินติดถนนสาย บ้านทัพยายท้าว – บ้านหนองนาง, ทิศตะวันออก ติดไร่อ้อย, ทิศตะวันตก ติดไร่อ้อย
62
SBL บันทึกประเทศไทย I นครปฐม
2
_by Tony 62
6/1/2564 11:18:57
ความเป็นมาวัดทัพยายท้าว
ความเป็นมาแต่เดิม วัดทัพยายท้าวเริ่มก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2413 โดยนายเพชร, นายชม นายช�ำ และชาวบ้านร่วมกันสร้างวัดขึน้ มา โดย ใช้ชื่อว่า “วัดทัพยายท้าว” ตามชื่อสถานที่ในประวัติศาสตร์ โดยมี หลวงพ่อเหรียญ เป็นเจ้าอาวาสรูปแรก มีพระภิกษุและสามเณรอยู่ จ�ำพรรษาเท่าใดก็ไม่ทราบได้ แต่พอจะสันนิษฐานว่า มีกฏุ หิ ลังคามุงแฝก อยูเ่ พียง 2-3 หลัง และไม่มอี โุ บสถ คงจะมีเพียงแต่วหิ ารพอทีพ่ ระสงฆ์ จะท�ำสังฆกรรมและปฏิบัติศาสนากิจได้ หลังจากที่หลวงพ่อเหรียญ เจ้าอาวาสรูปแรกมรณภาพลงก็ได้มีเจ้าอาวาสสืบทอดต่อกันมา 7 รูป จนถึงรูปที่ 8 ก็คอื หลวงพ่อละมัย ท่านได้เริม่ บูรณปฏิสงั ขรณ์วดั ขึน้ มาใหม่ โดยที่วัดนี้เคยเป็นวัดร้างมาก่อน หลวงพ่อละมัยและชาวบ้านได้ร่วมกัน บริจาค ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี ช่วยกันบูรณะวัดและสร้างอุโบสถ หลังใหม่ โดยใช้เวลาในการสร้างเพียง 1 ปีกแ็ ล้วเสร็จ และท�ำการเสนอ เรื่องเพื่อขอพระราชทานวิสุงคามสีมา จนได้รับประกาศอนุญาตให้ สร้างวัดขึ้นเมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2510 มีที่ดินเฉพาะบริเวณ ที่ตั้งวัด 27 ไร่ 3 งาน 17 ตารางวา และกระทรวงศึกษาธิการประกาศ ตั้ ง ขึ้ น เป็ น วั ด เมื่ อ วั น ที่ 14 ธั น วาคม พ.ศ. 2510 โดยใช้ ชื่ อ ว่ า “วัดทัพยายท้าว” ตามความเชือ่ ของคนในหมูบ่ า้ น มีครั้งหนึ่งชาวบ้าน คิดจะเปลี่ยนชื่อวัดเป็น“วัดศรัทธาธรรม” แต่ก็หาได้รับความนิยมไม่ จึงกลับมาใช้ชื่อ “วัดทัพยายท้าว” ตามเดิม เมื่อหลวงพ่อละมัย มรณภาพลง ทางเจ้าคณะสงฆ์ทปี่ กครองอยูจ่ งึ ได้สง่ “พระครูสงั ฆรักษ์ บุญธรรม” จากวัดวังตะกูมาเป็นเจ้าอาวาสรูปที่ 9 ท่านก็ได้บูรณะวัด สืบต่อมาจนเจริญรุ่งเรื่องเป็นเวลาหลายปีจนท่านได้มรณภาพลงอีก ชาวบ้านจึงได้ไปอาราธนานิมนต์ “พระครูสลี สุทธิคณ ุ (สะอาด ขนฺตโิ ก)” จากวัดพระงาม มาเป็นเจ้าอาวาสรูปที่ 10 ซึ่งเป็นองค์ปัจจุบัน ท่าน ก็ได้สานต่อในงานพุทธศาสนา ทั้งได้บูรณะวัดให้เจริญรุ่งเรือง ขึ้นตาม ยุคสมัย และได้สร้างศาลาเอนกประสงค์หลังใหม่ ศาลาโรงครัวหลังใหม่ ที่ได้มาตรฐาน ตลอดจนห้องน�้ำและห้องสุขาที่ทันสมัย อีกทั้งได้ด�ำริ ที่จะให้มีการเปิดการเรียนการสอนพระปริยัติธรรม และธรรมศึกษา ให้แก่เด็กนักเรียนโรงเรียนวัดทัพยายท้าวอีกด้วย
ประวัติยายท้าว
ยายท้าว นามเดิม เป็นบุตรของใคร มาจากทีไ่ หน ไม่มปี รากฏ แต่ขอ้ มูล จากปากชาวบ้านผู้เฒ่าผู้แก่เล่าสืบต่อกันมาว่า ในสมัยกรุงศรีอยุธยา เสียกรุงครั้งที่ 2 สมัยพระเจ้าเอกทัศ ทรงสร้างแม่ทัพมาตั้งรับทัพของ พม่า ทีจ่ ะเข้ามาทางด่านเจดียส์ ามองค์ เมืองกาญจนบุรี โดยมีทพั หลวง มาตัง้ ทัพอยูท่ ตี่ ำ� บลทัพหลวงในปัจจุบนั และมียายท้าวเป็นแม่ทพั กองหนุน มาตัง้ ทัพอยูบ่ ริเวณต�ำบลหนองปากโลงในปัจจุบนั ซึง่ ใกล้กบั ทัพหลวง เมือ่ กองทัพพม่ายกทัพเข้ามาก็เกิดการสูร้ บกันขึน้ พอยายท้าวทราบข่าว ว่าพม่ายกทัพเข้ามาจะถึงสุพรรณบุรี จึงได้ระดมชาวบ้านในหมูบ่ า้ นซึง่ เป็นผู้หญิงเสียส่วนใหญ่ เพราะพวกผู้ชายส่วนมากก็ถูกเกณฑ์ไปเป็น ทหารก่อนหน้านีห้ มดแล้ว โดยยายท้าวใช้ชอื่ กองทัพว่า “รุน่ แปดศอก” (ตามค�ำบอกเล่าของผู้เฒ่าผู้แก่) เข้าท�ำการสู้รบกับข้าศึก มีชาวบ้าน ล้มตายเป็นจ�ำนวนมาก แต่ทัพของยายท้าวก็ได้รับชัยชนะเหนือข้าศึก ดังนัน้ สถานทีต่ งั้ ทัพนีจ้ งึ ได้ชอื่ ว่า “หมูบ่ า้ นทัพยายท้าว” ตัง้ แต่บดั นัน้ เป็นต้นมา และได้สร้างรูปปั้นยายท้าวขึ้นเป็นอนุสรณ์เพื่อร�ำลึกถึง คุณงามความดี ความกล้าหาญของวีรสตรีไทย เพือ่ เป็นเครือ่ งยึดเหนีย่ ว จิตใจของชาวบ้าน จึงได้ยกท่านขึ้นเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ประจ�ำหมู่บ้าน ในปัจจุบันมีชาวบ้านเลื่อมใสศรัทธามากขึ้น จึงได้มีการจัดมหรสพ สมโภชน์ขนึ้ เป็นประจ�ำทุกปี จนถึง พระครูสลี สุทธิคณ ุ (สะอาด ขนฺตโิ ก) เป็นเจ้าอาวาส (พ.ศ. 2536-จนถึงปัจจุบนั ) ได้ปฏิสงั ขรณ์กอ่ สร้างวิหาร องค์ใหม่เป็นวิหารจัตรุ มุข เพือ่ ประดิษฐานรูปปัน้ หลวงพ่อทวด (วัดช้างให้) หลวงพ่อบุญธรรม และคุณยายท้าว ในวิหาร เพือ่ เป็นสถานทีศ่ กั ดิส์ ทิ ธิ์ ได้กราบไหว้บูชา ให้กับคนในหมู่บ้านและประชาชนทั่วไป
ท�ำเนียบเจ้าอาวาสวัดทัพยายท้าว
รูปที่ 1 หลวงพ่อเหรียญ พ.ศ. 2413 – พ.ศ. ใด ไม่ปรากฏหลักฐาน รูปที่ 2 หลวงพ่อคล้อย รูปที่ 3 หลวงพ่อย้อย รูปที่ 4 หลวงพ่อเชื่อม รูปที่ 5 หลวงพ่อชื่น รูปที่ 6 หลวงพ่อลา รูปที่ 7 หลวงพ่อบุญมี รูปที่ 8 หลวงพ่อละมัย รูปที่ 9 พระครูสังฆรักษ์ บุญธรรม รูปที่ 10 พระครูสลี สุทธิคณ ุ (สะอาด ขนฺตโิ ก) พ.ศ. 2536 ถึงปัจจุบนั
พระครูสีลสุทธิคุณ (สะอาด ขนฺติโก) เจ้าอาวาสวัดทัพยายท้าว
NAKHON PATHOM I SBL บันทึกประเทศไทย
2
_by Tony.indd 63
63
7/1/2564 17:27:46
History of buddhism....
วัดใหม่ปิ่นเกลียว พระครูปราการลักษาภิบาล (สมพงษ์ ธีรธมฺโม) ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดนครปฐม / เจ้าอาวาสวัดใหม่ปิ่นเกลียว
วัดใหม่ปิ่นเกลียว ตั้งอยู่เลขที่ 68 หมู่ที่ 3 ต�ำบลนครปฐม อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม
วัดใหม่ปน่ิ เกลียว โดยมีเจ้าพระยาทิพากรวงศ์มหาโกษาธิบดี (ข�ำ บุนนาค)
64
สร้างขึน้ เมือ่ ปี พ.ศ. 2396 สมัยทีท่ า่ นเป็นนายช่างใหญ่ควบคุมด�ำเนินการ ก่อสร้างองค์พระปฐมเจดียอ์ งค์ใหญ่ ท่านเจ้าพระยาฯ ได้สร้างวัดขึน้ ในทีด่ นิ ของท่าน แล้วมอบให้เป็นสมบัตขิ องคุณหญิงหนู ซึง่ เป็นภริยาของท่านดูแล เรื่อยมาจนสิ้นบุญ เมื่อคุณหญิงหนูสิ้นบุญแล้ว ก็มีหม่อมเจ้าหญิงจงกลนี เป็นผูด้ แู ลวัดนีเ้ รือ่ ยมาจนท่านสิน้ บุญ เมือ่ หม่อมหญิงจงกลนีสนิ้ บุญแล้วก็ขาด การติดต่อกัน จากนั้นเป็นต้นมาและวัดนี้ก็ตกอยู่ในการดูแลของชาวบ้าน ในละแวกนีต้ ลอดมาจนถึงปัจจุบนั นี้ SBL บันทึกประเทศไทย I นครปฐม
2
.indd 64
15/12/2563 11:18:53
อาคารเสนาสนะต่างๆ มี
- อุโบสถ (หลังเก่า) กว้าง 13.60 เมตร ยาว 21.60 เมตร สร้างเมื่อประมาณ ปี พ.ศ. 2396 - อุโบสถ (หลังใหม่) กว้าง 16.30 เมตร ยาว 33 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2534 - ศาลาการเปรียญ กว้าง 20 เมตร ยาว 22 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2512 และต่อเติมขึ้นมาใหม่รวมทั้งหลังเก่าและหลังใหม่ กว้าง 37 เมตร ยาว 38 เมตร - ฌาปนสถาน (เมรุ และศาลาบ�ำเพ็ญกุศลประจ�ำเมรุ และสุสาน) กว้าง 15.60 เมตร ยาว 33.20 เมตร
ปูชนียวัตถุของวัด
1. พ ระประธานประจ� ำ อุ โ บสถ เป็ น พระพุ ท ธชิ น ราชจ� ำ ลอง ปางมารวิชยั ขนาดใหญ่ เป็นพระพุทธชินราชจ�ำลอง สร้างด้วยโลหะหล่อ มีขนาด สูง 8 ศอก หน้าตักกว้าง 5 ศอก 9 นิ้ว สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2539 2. พระพุทธนิมิตมงคล ปางสุโขทัย จ�ำนวน 1 องค์ สร้างด้วย ปูนปั้นขนาดหน้าตักกว้าง 49 นิ้ว 3. รูปเหมือนหลวงปู่พูน เกสโร อดีตเจ้าอาวาส ท�ำด้วยปูนปั้น ขนาดหน้าตักกว้าง 25 นิ้ว สร้างไว้เมื่อปี พ.ศ. 2511
รายนามเจ้าอาวาส
รูปที่ 1 หลวงปู่นาค รูปที่ 2 หลวงปู่หุ่น รูปที่ 3 หลวงปู่เขียว รูปที่ 4 หลวงปู่แคล้ว รูปที่ 5 หลวงปู่ไพร รูปที่ 6 หลวงปู่แม้น รูปที่ 7 หลวงปู่พูน เกสโร วันที่ 10 มีนาคม พ.ศ. 2488 – 2509 รูปที่ 8 พระครูปราการลักษาภิบาล (สมพงษ์ ธีรธมฺโม) วันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2510 – ปัจจุบัน
พระครูปราการลักษาภิบาล (สมพงษ์ ธีรธมฺโม) ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดนครปฐม / เจ้าอาวาสวัดใหม่ปิ่นเกลียว
NAKHON PATHOM I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 65
65
15/12/2563 11:19:06
History of buddhism....
วัดห้วยจระเข้ พระครูสุจิตกิจจานุกูล เจ้าอาวาสวัดห้วยจระเข้
วัดห้วยจระเข้ ตั้งอยู่เลขที่ 447 ถนนพิพิธประสาท ต�ำบลพระปฐมเจดีย์ อ�ำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม
วัดห้วยจระเข้ ถูกสร้างขึ้น ณ ปีใดไม่ปรากฏหลักฐานแน่ชัด แต่สันนิษฐานว่าน่าจะสร้างขึ้นหลังจากที่
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 ทรงโปรดให้ขุดคลองขึ้นเพื่อใช้เป็นเส้นทางในการเสด็จ พระราชด�ำเนินมานมัสการองค์พระปฐมเจดีย์ โดยคลองแห่งนีม้ ชี อื่ ว่า “คลองเจดียบ์ ชู า” ซึง่ จากประวัตศิ าสตร์จารึก ไว้ว่า คลองเจดีย์บูชาถูกขุดขึ้น เมื่อปี พ.ศ. 2407 โดยวัดตั้งอยู่ตรงข้ามโรงเรียนนายร้อยห้วยจระเข้ 66
2
SBL บันทึกประเทศไทย I นครปฐม
by Tony.indd 66
16/12/2563 12:56:00
วัดห้วยจระเข้ มีเจ้าอาวาสองค์แรกคือ พระครูปราจิณทิศบริหาร ในสมั ย นั้ น ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง เป็ น เจ้ า คณะแขวงตลาดใหม่ ซึ่ ง ก็ คื อ เจ้าคณะอ�ำเภอสามพรานในปัจจุบัน และหลังจากนั้นในปี ร.ศ. 119 พระครูปราจิณทิศบริหาร ได้น�ำหนังสือขอพระราชทานวิสุงคามสีมา โดยให้พระยาสุนทรบุรี เสด็จราชการมณฑลนครไชยศรี กราบบังคมทูล พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 5 ขอพระราชทาน วิสุงคามสีมา และพระองค์ทรงพระราชทานให้แก่วัดห้วยจระเข้ เมื่อ วันที่ 9 กรกฎาคม รัตนโกสินทร์ศก 119 (พ.ศ. 2443) ต่่ อ มาหลวงปู่่� น าค เดิิ ม ท่่ า นจำำ�พรรษาอยู่่�ที่่�วัั ด พระปฐมเจดีี ย์ ์ และขณะนั้้�นรััชกาลที่่� 5 โปรดให้้ย้า้ ยกุุฏิสิ งฆ์์จากทางด้้านทิิศเหนืือไปตั้้�ง ทางด้้านทิิศใต้้ ซึ่่�งพระครููปััจฉิิมทิิศบริิหาร (นาค โชติิโก) ขณะนั้้�นมีี ตำำ�แหน่่ ง ปกครองคณะสงฆ์์ รองเจ้้ าคณะใหญ่่ มณฑลนครไชยศรีี ผู้้�รักั ษาองค์์พระปฐมเจดีีย์ป์ ระจำำ�ทิิศตะวัันตก ท่่านหาย้้ายกุุฏิไิ ปทางใต้้ ขององค์พระปฐมเจดียไ์ ม่ แต่ทา่ นกลับย้ายมาจ�ำพรรษาทีว่ ดั ห้วยจระเข้ แห่งนี้ กับพระครูปราจิณทิศบริหาร เมื่อปี พ.ศ. 2447 และหลังจาก ทีพ่ ระครูปราจิณทิศบริหารมรณภาพลง พระครูปจั ฉิมทิศบริหาร หรือ หลวงปู่นาคก็ขึ้นเป็นเจ้าอาวาส มาจนถึงปี พ.ศ. 2453 ได้มรณภาพลง พระครูอุตตรการบดี (สุข ปทุมสฺสวณฺโณ) เป็นเจ้าอาวาส ได้เปลี่ยน ชือ่ วัด เป็น วัดนาคโชติโกราม แต่ประชาชนทัว่ ไปไม่นยิ มเรียก แต่กลับ เรียกชือ่ ว่า วัดใหม่หว้ ยจระเข้ และต่อมาประชาชนไม่นยิ มเรียกค�ำว่า “ใหม่” จึงเหลือแต่ชื่อว่า วัดห้วยจระเข้ มาจนถึงปัจจุบันนี้
ล�ำดับเจ้าอาวาส วัดห้วยจระเข้
1. พระครูปัจฉิมทิศบริหาร (นาค) 2. พระครูอุตตรการบดี (สุข ปทุมสฺสวณฺโณ) 3. พระครูอุตตรการบดี (ล้ง) 4. พระครูทักษิณานุกิจ (เสงี่ยม) 5. พระครูสุจิตกิจจานุกูล
พระครูสุจิตกิจจานุกูล เจ้าอาวาสวัดห้วยจระเข้
NAKHON PATHOM I SBL บันทึกประเทศไทย
2
by Tony.indd 67
67
16/12/2563 12:56:14
History of buddhism....
วัดดอนเสาเกียดมิลินทบุณยาราม พระอธิการพรสำ�ราญ สมาจิตฺโต เจ้าอาวาสวัดดอนเสาเกียดมิลินทบุณยาราม
68
2
วัดดอนเสาเกียดมิลินทบุณยาราม ตั้งอยู่เลขที่ 38/1 หมู่ที่ 5 ต�ำบลบางแขม อ�ำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม
SBL บันทึกประเทศไทย I นครปฐม
.indd 68
15/12/2563 11:02:05
วัดดอนเสาเกียดมิลินทบุณยาราม เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์ มหานิกาย ตั้งวัดเมื่อปี พ.ศ. 2502 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อปี พ.ศ. 2509 จากค�ำบอกเล่าของชาวบ้านว่า ในสมัยก่อนอาชีพการท�ำนา คือ อาชีพหลักของคนในพื้นที่แห่งนี้ ครั้งเมื่อถึงฤดูกาลเก็บเกี่ยว ชาวบ้าน ต้องน�ำข้าวขึ้นตากให้แห้งและมีการนวดข้าว เพื่อให้เม็ดข้าวเปลือก หลุดออกจากรวงและน�ำไปสีเพื่อเป็นข้าวสารต่อไป พื้นที่บริเวณที่ต้ัง วัดแห่งนี้ เป็นที่ดอนเหมาะแก่การน�ำข้าวมาย�่ำนวด ด้วยการใช้ แรงงานวัวควาย ซึง่ ในการย�ำ่ ข้าวนัน้ ชาวบ้านจะปักหลักเสาไว้กลางลาน เพื่อใช้ผูกเชือกกับวัวควายให้เดินย�่ำนวดข้าววนไปรอบๆ เสานั้นเรา เรียกว่าเสาเกียด ต่อมาเจ้าของที่ดินบริเวณนี้ได้บริจาคที่ดินให้เป็นที่ ธรณี ส งฆ์ เพื่ อ ใช้ ใ นการสร้ า งวั ด เป็ น ศู น ย์ ร วมจิ ต ใจของชาวบ้ า น เป็นศูนย์กลางในการประกอบพิธีกรรมทางศาสนา และได้ใช้ชื่อวัด ตามลักษณะภูมิประเทศที่เป็นที่ดอนและอัตลักษณ์ส�ำคัญคือที่แห่ง นี้เคยใช้เป็นลานนวดข้าว มีเสาเกียดเป็นศูนย์กลาง ผนวกรวมกับ ชือ่ สกุลของวงศ์ตระกูลผูบ้ ริจาคทีด่ นิ จึงใช้ชอื่ วัดว่า “วัดดอนเสาเกียด มิลินทบุณยาราม”
ล�ำดับเจ้าอาวาส
รูปที่ 1 พระครูวิมลประชานาถ รูปที่ 2 พระอธิการพรส�ำราญ สมาจิตฺโต รูปปัจจุบัน
พระอธิการพรส�ำราญ สมาจิตฺโต
เจ้าอาวาสวัดดอนเสาเกียดมิลินทบุณยาราม
NAKHON PATHOM I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 69
69
15/12/2563 11:02:18
History of Buddhism....
วัตรทรงธรรมกัลยาณีภิกษุณีอาราม
วัตรทรงธรรมกัลยาณี ตั้งอยู่บนถนนเพชรเกษม กม. 52 - 53 หากมาจากกรุงเทพ วัตรตั้งอยู่ซ้ายมือ จุดเด่นคือ เป็นวัตรแรกในประเทศไทยที่มีภิกษุณีสงฆ์ นับเป็นเอกลักษณ์ที่ชาวนครปฐมควรภาคภูมิใจ
วัตรทรงธรรมกัลยาณีมีเนื้อที่ทั้งหมด 9 ไร่ เดิมเป็นโฉนดในพระนามของสมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 ต่อมาวัตรได้ซื้อที่ดินในปี พ.ศ. 2501 สาเหตุที่ “วัตร” สะกดเช่นนี้ หมายถึงการปฏิบัติ “วัตรทรงธรรมกัลยาณี” จึงหมายถึงสถานที่ๆ ผู้หญิงมาปฏิบัติธรรม 70
2
SBL บันทึกประเทศไทย I นครปฐม
.indd 70
15/12/2563 15:33:21
ศาสนวัตถุส�ำคัญของทางวัตร
ในสวนด้านหลังมีศาสนวัตถุส�ำคัญคือ 1. วิ ห ารประดิ ษ ฐานพระไภษั ช ยคุ รุ พุ ท ธเจ้ า มี ข นาดหน้ า ตั ก 108 นิว้ สร้างเสร็จเมื่อปี พ.ศ. 2551 นับเป็นองค์แรกในประเทศไทย พระไภษัชยคุรพุ ทุ ธเจ้าพระองค์นมี้ พี ระวรกายสีฟา้ สืบเนือ่ งจากความเชือ่ ของชาวทิเบต เพราะมีหินธรรมชาติที่มีชื่อว่า Lapis lazuli ที่เชื่อว่ามี คุณสมบัติในการรักษาโรค เมื่อพูดถึงพระพุทธเจ้าหมอยา ก็เลยนิยม ท�ำเป็นสีฟา้ มีผเู้ ข้ามากราบไหว้พระไภษัชยคุรฯุ เพือ่ ขอพรให้หายจาก โรคภัยไข้เจ็บเสมอ และที่วัตรจะมีการสวดมนต์บูชาพระไภษัชยคุรุฯ ที่วิหารทุกเย็นวันพระอีกด้วย 2. ภาพพระบฏพระอมิตายุสพุทธเจ้า พระพุทธเจ้าผู้ประทาน ความมีอายุยืน 3. สัมปูรณะโพธิสตั ว์ ประทานความส�ำเร็จ สร้างเสร็จปี พ.ศ. 2563
ภิกษุณีวรมัย กบิลสิงห์ เจ้าอาวาสรูปแรก
เจ้าอาวาส
ภิกษุณีธัมมนันทา เจ้าอาวาสปัจจุบัน
เจ้าอาวาสรูปแรก คือ ภิกษุณวี รมัย กบิลสิงห์ ท่านไปอุปสมบทจาก ไต้หวัน นับเป็นภิกษุณไี ทยสายมหายานรูปแรก ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2514 เจ้าอาวาสในปัจจุบนั ภิกษุณธี มั มนันทา (ฉัตรสุมาลย์ รศ.ดร. กบิลสิงห์) ออกบรรพชา พ.ศ. 2544 และอุปสมบททีศ่ รีลงั กาเป็นภิกษุณสี ายเถรวาท รูปแรกของไทย เมือ่ ท่านเป็นภิกษุณคี รบ 12 พรรษาได้รบั การแต่งตัง้ เป็น ปวัตตินรี ปู แรกของไทย โดยมหานายกของศรีลังกา
กิจกรรมทางศาสนา
วัตรทรงธรรมกัลยาณีจัดให้มีการบรรพชาสามเณรีเป็นประจ�ำ ปีละ 2 ครัง้ คือวันที่ 6 เมษายน และ 5 ธันวาคม จัดต่อเนือ่ งกันมา 13 ปีแล้ว มีสตรีที่ออกบวชในโครงการนี้ประมาณ 900 คน นอกจากนี้ทางวัตร ยังมีการอบรมชาวต่างประเทศที่เข้ามาเพื่อศึกษาและปฏิบัติธรรม ในหลักสูตร 5 วัน สามารถดูรายละเอียดได้ที่ www.thaibhikkhunis.com Facebook :Thai Bhikkhunis, วัตรทรงธรรมกัลยาณีภกิ ษุณอี าราม หรือติดต่อสอบถามได้ที่ โทร. 034-258-270 NAKHON PATHOM I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 71
71
17/12/2563 12:06:09
แสนปาล์ ม เทรนนิ่ง โฮม “ศูนย์รวมองค์ความรู้ด้านการเกษตรครบวงจร” แสนปาล์ม เทรนนิ่ง โฮม ตั้งอยู่ในศูนย์ส่งเสริมและฝึกอบรมการเกษตรแห่งชาติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตก�ำแพงแสน
เป็นแหล่งศึกษาเรียนรู้พันธุ์ปาล์ม สามารถเดินศึกษาพันธุป์ าล์มนานาชนิด ตลาดนัดสาธิตอาชีพและจ�ำหน่ายกล้าพันธุป์ าล์ม ห่างจากกรุงเทพฯ เพียง 80 กม. ใช้เวลาเดินทางประมาณ 1 ชม. ประกอบไปด้วยห้องอบรม 14 ห้อง ห้องจัดเลีย้ งขนาดใหญ่ 2 ห้อง มีหอ้ งพักจ�ำนวน 189 ห้อง รองรับ การจัดประชุม สัมมนา ได้ถึง 800 ท่าน ทั้งในร่มและกลางแจ้ง พร้อมบริการอาหารและเครื่องดื่ม อุปกรณ์ครบครัน ทันสมัย
SAEN PALM TRAINING HOME มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตก�ำแพงแสน อ.ก�ำแพงแสน จ.นครปฐม 73140
www.saenpalmtraininghome.com x2_New 2.indd 4
18/12/2563 16:23:20
คิดถึงห้องพัก
อบรม สัมมนา และจัดเลี้ยง
ห้อง
คิดถึง
แสนปาล์ม เทรนนิ่ง โฮม
โอบล้อมด้วยสวนปาล์ม และสนามหญ้าเขียวชอุ่ม
บนเนื้อ้อทีที่ก่กว่ว่าา 70 70 ไร่ไร่ บนเนื เงียยบบ สงบ สดชื ่น ่น เงี สงบ สดชื สิ่งอ�ำนวยความสะดวกครบครัน สิรองรั ่งอ�ำบนวยความสะดวกครบครั กิจกรรมได้หลากหลายรูปแบบน รองรับกิจกรรม ได้หลากหลายรูปแบบ
(กลุ่ม/สัมมนา) โทร. 034-351400, 092-2495285, 092-2495091, 092-2495106 (ห้องพัก) โทร. 034-355166, 092-2495861 Email : front.spth1@gmail.com, sales.spth1@gmail.com, sales.spth2@gmail.com x2_New 2.indd 5
18/12/2563 16:23:25
พันธ์ นวัด เป็น
History of buddhism....
วัดบ่อน�้ำจืด พระครูอมรบุญญารักษ์ (บุญรอด) นาถกโร เจ้าคณะอำ�เภอกำ�แพงแสน / เจ้าอาวาสวัดบ่อน้ำ�จืด
ตั้งอยู่เลขที่ 49 หมู่ที่ 9 ต�ำบลดอนข่อย อ�ำเภอก�ำแพงแสน จังหวัดนครปฐม
วัดบ่อน�้ำจืด สันนิษฐานว่าสร้างมานานกว่าร้อยปี ตามค�ำบอกเล่าของผู้สูงอายุในหมู่บา้ น เดิมมีพระจ�ำพรรษาอยู่เพียง 2-3 รูป หนึ่งใน พระเหล่านั้นคือ หลวงพ่อปลื้ม จนฺทราหู ท่านได้รับการแต่งตั้งให้เป็นเจ้าอาวาสวัดบ่อน�้ำจืดรูปแรก และได้ท�ำการสร้างอุโบสถจนแล้วเสร็จ เพือ่ ใช้ในการท�ำสังฆกรรม และได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา เมือ่ วันที่ 1 กุมภาพันธ์ พุทธศักราช 2489 ต่อมาหลวงพ่อปลืม้ ได้มรณภาพลง หลวงพ่อเง สุทินฺโน ซึ่งบวชอยู่กับหลวงพ่อปลื้ม จึงได้รับแต่งตั้งให้เป็นเจ้าอาวาส ในล�ำดับต่อมาอุโบสถของหลวงพ่อปลื้มได้เกิดช�ำรุด ทรุดโทรมลงไปมาก จนไม่สามารถบูรณะซ่อมแซมได้ หลวงพ่อเงจึงท�ำการสร้างอุโบสถหลังใหม่บนพื้นที่อุโบสถเดิม ซึ่งถือว่าเป็นอุโบสถ หลังที่สอง และได้จัดงานผูกพัทธสีมา เมื่อปี พุทธศักราช 2524 และท�ำพิธีตัดหวายลูกนิมิต ในปีพุทธศักราช 2538 หลวงพ่อเง มรณภาพลง เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พุทธศักราช 2539 ปัจจุบันมี พระครูอมรบุญญารักษ์ (บุญรอด) นาถกโร ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดบ่อน�้ำจืด ได้รับการแต่งตั้ง เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พุทธศักราช 2540 และได้รับการแต่งตั้งให้ด�ำรงต�ำแหน่ง เจ้าคณะอ�ำเภอก�ำแพงแสน เมื่อวันที่ 1 มิถุนายน พุทธศักราช 2559 วัดบ่อน�้ำจืด มีเนื้อที่ทั้งหมดประมาณ 40 ไร่เศษ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย 74
6
SBL บันทึกประเทศไทย I นครปฐม
by tony.indd 74
15/12/2563 15:11:45
พระครูอมรบุญญารักษ์ (บุญรอด) นาถกโร เจ้าคณะอ�ำเภอก�ำแพงแสน / เจ้าอาวาสวัดบ่อน�้ำจืด
NAKHON PATHOM I SBL บันทึกประเทศไทย
6
by tony.indd 75
75
15/12/2563 15:11:54
วัดบ่อน�้ำจืด
ตั้งอยู่เลขที่ 49 หมู่ที่ 9 ต�ำบลดอนข่อย อ�ำเภอก�ำแพงแสน จังหวัดนครปฐม
หลวงพ่อพุทธนิมิตร
ขุดพบที่บริเวณหมู่บ้านหนองไฮ หมู่ 12 ต�ำบลดอนข่อย อ�ำเภอก�ำแพงแสนจังหวัดนครปฐม ซึ่งอยู่ติดกับวัด ชาวบ้านจึงน�ำมาถวาย เพือ่ ประดิษฐานไว้ทวี่ ดั บ่อน�ำ้ จืด เมือ่ วันที่ 13 เมษายน พุทธศักราช 2518 จากการรับรองของนักวิชาการกรมศิลปากร ระบุวา่ เป็นพระพุทธ รูปสมัยทวารวดี มีอายุเก่าแก่กว่า 700 ปี ปัจจุบันอยู่ในความดูแลของท่านพระครูอมรบุญญารักษ์ เจ้าอาวาสวัดบ่อน�้ำจืด 76
6
SBL บันทึกประเทศไทย I นครปฐม
by tony.indd 76
15/12/2563 15:11:56
สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังษี)
หลวงปู่ทวด เหยียบน�้ำทะเลจืด
หลวงพ่อปลื้ม
หลวงพ่อเง
ภายในวิหาร
ประดิษฐานพระพุทธรูปศักดิส์ ทิ ธิ์ ไว้ให้ศรัทธาสาธุชนได้เข้ากราบไหว้ หลวงพ่อเชียงแสน หลวงพ่อสุโขทัย หลวงพ่ออูท่ อง หลวงพ่อพุทธโสธร สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังษี) หลวงปูท่ วด เหยียบน�ำ้ ทะเลจืดและ รูปเคารพอดีตเจ้าอาวาส หลวงพ่อปลืม้ และหลวงพ่อเง แห่งวัดบ่อน�ำ้ จืด จังหวัดนครปฐม ภายในอุโบสถ มีภาพเขียนจิตรกรรมฝาผนัง ประดับ ไว้อย่างงดงาม
NAKHON PATHOM I SBL บันทึกประเทศไทย
6
by tony.indd 77
77
15/12/2563 15:12:02
ภาพบรรยากาศภายในวิหาร วัดบ่อน�้ำจืด
78
6
SBL บันทึกประเทศไทย I นครปฐม
by tony.indd 78
15/12/2563 15:12:09
ล�ำดับเจ้าอาวาสวัดบ่อน�้ำจืด ที่ ได้รับการแต่งตั้ง
1. หลวงพ่อปลื้ม จนฺทราหู 2. พระครูศีลวรคุณ สุทินฺโน (หลวงพ่อเง) 3. พระครูอมรบุญญารักษ์ (บุญรอด) นาถกโร เจ้าอาวาสวัดบ่อน�้ำจืดรูปปัจจุบัน
พระครูอมรบุญญารักษ์ (บุญรอด) นาถกโร เจ้าคณะอ�ำเภอก�ำแพงแสน / เจ้าอาวาสวัดบ่อน�้ำจืด
NAKHON PATHOM I SBL บันทึกประเทศไทย
6
by tony.indd 79
79
15/12/2563 15:12:16
History of buddhism....
วัดปลักไม้ลาย พระครูสุธรรมนาถ (สมนึก นาโถ) เจ้าอาวาสวัดปลักไม้ลาย
80
4
วัดปลักไม้ลาย ตั้งอยู่เลขที่ 49 หมู่ที่ 6 ต�ำบลทุ่งขวาง อ�ำเภอก�ำแพงแสน จังหวัดนครปฐม
SBL บันทึกประเทศไทย I นครปฐม
.indd 80
14/12/2563 17:06:14
วัดปลักไม้ลาย เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตั้งวัด เมื่อปี พ.ศ. 2482 และได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อ วันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2536 ปัจจุบนั มีพระครูสธุ รรมนาถ (หลวงพ่อสมนึก นาโถ) เป็นเจ้าอาวาส ท่านเป็นพระนักพัฒนา ดูแลปกครองพระสงฆ์ ภายในวัด และอนุรักษ์ป่าไม้ ซึ่งเป็นพระผู้ส่งเสริมให้มีการอนุรักษ์ ฟื ้ น ฟู ดู แ ลต้ น ไม้ และสนั บ สนุ น ด้ า นทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละ สิ่งแวดล้อมต่อเนื่องมากว่า 30 ปี ได้รับโล่เชิดชูเกียรติ จากส�ำนักงาน วัฒนธรรมจังหวัดนครปฐม ในโครงการต้นไม้ที่ทรงคุณค่า โดยมี วัตถุประสงค์เพือ่ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั มหาวชิราลงกรณ บดินทรพระเทพยวรางกูร ในโอกาสทรงเจริญพระชนมมาพรรษา 65 พรรษา 28 กรกฎาคม 2560 และเพื่อรวบรวมข้อมูลต้นไม้ พร้อม ทัง้ น�ำข้อมูลไปใช้ในการสืบค้น เผยแพร่ และใช้ประโยชน์ในการเรียนรู้ และส่งเสริมการท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม รวมทั้งปลุกจิตส�ำนึกให้เด็ก เยาวชน ประชาชน เข้าร่วมกิจกรรมด้านการอนุรักษ์ฟื้นฟูดูแลรักษา ต้นไม้ และการสนับสนุนด้านสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติเพิ่มขึ้น
NAKHON PATHOM I SBL บันทึกประเทศไทย
4
.indd 81
81
14/12/2563 17:06:26
สวนป่าสมุนไพรวัดปลักไม้ลาย
“สวนป่าสมุนไพรวัดปลักไม้ลาย” อีกหนึ่งที่เที่ยวยอดนิยมของ จังหวัดนครปฐม โดย พระครูสธุ รรมนาถ (สมนึก นาโถ) เป็นเจ้าอาวาส ได้เปิดผืนป่าธรรมชาติ 98 ไร่เศษ อันเป็นป่าที่ราบต�่ำดั้งเดิม ให้เป็น แหล่งเรียนรูพ้ ชื สมุนไพรไทย ซึง่ มีอยูป่ ระมาณ 500 ชนิด มีทงั้ ไม้ลม้ ลุก อายุสนั้ อายุยาวหลายปี ไม้เลือ้ ย ไม้พมุ่ ไม้ตน้ ขนาดเล็ก ขนาดกลาง และ ขนาดใหญ่หลายคนโอบ เช่น ขัดมอญ ตระกูลขิงข่าไพล เสีย้ ว ขีเ้ หล็กป่า กระโดน มะเกลือ มะค่าโมงแดง อ้อยช้าง ก๋างขี้มอด เถาวัลย์แดง ผักหวานป่า แจงดองดึง ตะโกนา ตะเคียนทอง ตะลุมพุก เถาวัลย์ เปรียง สะเดา ทองหลางป่า ฯลฯ แต่ละต้นจะมีป้ายบอกชื่อและ สรรพคุณก�ำกับไว้ รวมทั้งมีวิทยากรน�ำชมสวนสมุนไพรให้กับผู้ที่ สนใจทุกวัน หรือต้องการเรียนรู้เกี่ยวกับสมุนไพรก็สามารถพักค้างที่ วัดได้หากสนใจผลิตภัณฑ์สมุนไพร ก็มใี ห้เลือกซือ้ ได้แก่ กวาวเครือแดง มีสรรพคุณบ�ำรุงร่างกาย ช่วยเสริมฮอร์โมนเพศชาย กวาวเครือขาว มีสรรพคุณ บ�ำรุงร่างกาย ช่วยเสริมฮอร์โมนเพศหญิง ยาบ�ำรุงธาตุ มีสรรพคุณเสริมสร้างภูมิให้ร่างกาย และยาแก้กษัย นอกจากนี้ภายใน วัดยังมีการนวดไทยแผนโบราณ การอบสมุนไพร มีเครื่องดื่มสมุนไพร และอาหารประเภทสมุนไพร ตลอดจนการอบรมจิตและการปฏิบัติ ธรรม เพื่อให้นักท่องเที่ยวได้ผ่อนคลายกับกิจกรรมต่างๆ ท่ามกลาง ความร่มรื่นของธรรมชาติในป่าสมุนไพร ท่านมาที่วัดปลักไม้ลายแล้ว ท่านก็จะได้เห็นพันธุ์ไม้นานาชนิดที่อยู่ในป่า ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็น สมุนไพรที่หาได้ยากมากๆ ส�ำหรับใครที่อยากรู้เรื่องราวของสมุนไพร ก็ต้องที่นี่เลย
82
4
SBL บันทึกประเทศไทย I นครปฐม
.indd 82
14/12/2563 17:06:31
ล�ำดับรายนามเจ้าอาวาส
1. พระอธิการเอ่ง จนฺทสโร 2. พระครูโต๊ะ องฺกุโร 3. พระอธิการจ�ำเนียร อคฺควณฺโณ 4. พระอธิการถม ฐิตธมฺโม 5. พระครูสุธรรมนาถ (สมนึก นาโถ)
พ.ศ. 2481 - 2496 พ.ศ. 2497 - 2508 พ.ศ. 2510 - 2515 พ.ศ. 2520 - 2523 พ.ศ. 2526 - ปัจจุบัน
พระครูสุธรรมนาถ (สมนึก นาโถ) เจ้าอาวาสวัดปลักไม้ลาย
NAKHON PATHOM I SBL บันทึกประเทศไทย
4
.indd 83
83
14/12/2563 17:06:38
History of buddhism....
วัดสระสี่มุม พระมหาบุญเผื่อน สุจิตฺโต ป.ธ.7 เจ้าอาวาสวัดสระสี่มุม
วัดสระสี่มุม เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตั้งอยู่เลขที่ 1 หมู่ที่ 1 ต�ำบลสระพัฒนา อ�ำเภอก�ำแพงแสน จังหวัดนครปฐม
วัดสระสี่มุม เดิมวัดบ้านสระเมื่อก่อนตั้งวัดอยู่ติดหมู่บ้านบ้านสระ ครั้นถึงปี พ.ศ. 2461 หลวงพ่ออินทร์ อินฺทปญฺโญ ก็ย้ายมาอยู่ที่ใหม่
นายติด สระทองแขม ได้ถวายทีด่ นิ 15 ไร่ กาลต่อมาไม่ทราบ พ.ศ. นายมัน่ สระทองพรม และนายค�ำ นางบาง สระทองพร้อม ก็ถวายทีด่ นิ ต่อ เจ้าของที่ดินทั้งสามรายก็ได้เสียชีวิตไปหมดแล้ว จึงไม่ทราบว่าใครถวายคนละกี่ไร่ เคยถามลูกหลานเจ้าของที่ดิน เขาก็ไม่ทราบเหมือนกัน เมื่อรวมแล้วจึงเป็นที่ดิน 81 ไร่ 3 งาน 20 ตารางวา 84
2
SBL บันทึกประเทศไทย I นครปฐม
.indd 84
16/12/2563 17:14:54
หลังจากที่ หลวงพ่ออินทร์ อินฺทปญฺโญ อุปสมบทได้ 3 พรรษา ท่านก็ได้ออกเดินธุดงค์ จากวัดสว่างอารมณ์ ต�ำบลสวาย อ�ำเภอเมือง จังหวัดสุรนิ ทร์ ซึง่ เป็นวัดต้นสังกัด ด�ำเนินธรรมยาตรามาเป็นล�ำดับ จนถึง พืน้ ทีห่ มูบ่ า้ นสระ ต�ำบลสระสีม่ มุ อ�ำเภอก�ำแพงแสน จังหวัดนครปฐม ประชาชนในละแวกนั้น ได้นิมนต์ให้ท่านอยู่จ�ำพรรษาที่บ้านสระ เหตุทเี่ รียกว่าบ้านสระ เพราะมีสระน�ำ้ แต่ดงั้ เดิมทีป่ ระชาชนอาศัยด�ำเนินชีวติ ดังนั้นเมื่อมีการขออนุญาตจัดตั้งวัด จึงใช้ชื่อว่า “วัดสระสี่มุม”
ยุคที่มีการก่อสร้างเป็นวัดมีอุโบสถเป็นครั้งแรกและต่อมา
ปี พ.ศ. 2492 หลวงพ่ออินทร์ได้จัดการสร้างอุโบสถขึ้น 1 หลัง สร้างแล้วเสร็จปี พ.ศ. 2498 สร้างกุฏิขึ้น 3 หลัง ศาลาการเปรียญ 1 หลัง โรงเรียนประชาบาลจึงขึ้นเรียนบนศาลามี ประถมปีที่ 1 ถึง ประถมปีที่ 4 โรงเรียนประชาบาล ได้ชื่อว่าโรงเรียนวัดสระสี่มุม ปี พ.ศ. 2516 หลวงพ่ออินทร์ อินฺทปญฺโญ ก็มรณภาพ เจ้าคณะ ต�ำบลจึงแต่งตั้งให้ พระอาจารย์ลอย ถามพโล เป็นผู้รักษาการต่อมา ถึงปี พ.ศ. 2503 พระอาจารย์ ล อย ถามพโล จึ ง สร้ า งโรงเรี ย น ประชาบาลขึ้น 1 หลัง นักเรียนจึงย้ายจากศาลาไปเรียนที่โรงเรียน ปี พ.ศ. 2507 พระอาจารย์ลอย ก็ได้รับการแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาส ต่อจากนั้น พระอธิการลอย ก็ได้จัดสร้างกุฏิขึ้นอีก 8 หลัง เป็นครึ่งไม้ ครึ่งตึก ปี พ.ศ. 2511 ได้จัดสร้างสถานีอนามัยขึ้น 1 หลัง โดยบอกบุญ ประชาชนในท้องที่บริจาคกันตามศรัทธา โดยมิได้ของบประมาณ แผ่นดิน ในปีเดียวกันก็สร้างบ้านพักหมออีก 1 หลัง เป็นอาคารไม้
ประวัติการสร้างถาวรวัตถุ
- อุโบสถ มีลกั ษณะรูปทรงเป็นแบบมีเสาหาญล้อมรอบ โครงสร้าง ส่วนใหญ่เป็นก่อเสริมเหล็ก ก่อสร้างแล้วเสร็จ เมือ่ ปี พ.ศ. 2498 ได้รับ พระราชทานวิสงุ คามสีมา ครัง้ หลังสุดเมือ่ วันที่ 10 เมษายน พ.ศ. 2490 อุโบสถหลังนี้ มีขนาดกว้าง 10 เมตร ยาว 40 เมตร - ศาลาการเปรียญ มีลักษณะรูปทรงเป็นแบบทรงไทย ครึ่งไม้ ครึง่ ตึก โครงสร้างส่วนใหญ่เป็นอิฐ ปูนเหล็ก พืน้ ขัดเงา ก่อสร้างแล้วเสร็จ เมื่อปี พ.ศ. 2539 ศาลาการเปรียญหลังนี้ มีขนาดกว้าง 18 เมตร ยาว 44 เมตร - ฌาปนสถาน พ.ศ. 2499 สร้างเมรุ 1 หลัง ราคา 300,000 บาท ปัจจุบันมีสภาพเก่ามากจนใช้การไม่ได้ จึงจัดสร้างเมรุใหม่ขึ้น 1 หลัง ศาลาบ�ำเพ็ญกุศลประจ�ำเมรุ 2 หลัง สร้างด้วยคอนกรีตเสริมเหล็ก มีลักษณะรูปทรงเป็นแบบทรงไทยมีลวดลาย โครงสร้างส่วนใหญ่เป็น คอนกรีตเสริมเหล็ก ฉาบปูน ก่อสร้างแล้วเสร็จ เมื่อปี พ.ศ. 2538 มีขนาดกว้าง 6 เมตร ยาว 12 เมตร
ล�ำดับรายนามเจ้าอาวาสวัดสระสี่มุม
ปัจจุบัน ได้มีพระภิกษุที่ด�ำรงต�ำแหน่งเป็นเจ้าอาวาสปกครองวัด มาแล้ว ซึ่งพอจะสืบค้นหาและล�ำดับได้ดังนี้ 1. เจ้ า อธิ ก ารอิ น ทร์ ฉายา อิ นฺ ท ปญฺ โญ นามสกุล เกตุแก้ว วิทยฐานะ น.ธ.ตรี ด�ำรงต�ำแหน่งเป็นเจ้าอาวาส ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2489 จนถึงปี พ.ศ. 2516 และเคยด�ำรงต�ำแหน่งทางคณะสงฆ์เป็น เจ้าคณะ ต�ำบลสระสี่มุม 2. พระครูวิบูลคุณวัฒน์ ฉายา ถามพโล นามสกุล สระทองไลย วิทยฐานะ น.ธ.โท ด�ำรงต�ำแหน่งเป็นเจ้าอาวาสตามหนังสือตรา ตั้ง ที่ / 2507 ลงวันที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2507 3. พระอธิการประจวบ จารุธมฺโม พ.ศ. 2542 - 2548 4. พระมหาบุญเผื่อน สุจิตฺโต ป.ธ.7 ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส ตั้งแต่ พ.ศ. 2549 – ปัจจุบัน
ประวัติปูชนียวัตถุของวัด
1. พระประธานประจ�ำอุโบสถ เป็นพระพุทธรูปปางสมาธิ สร้าง ด้วยโลหะ มีขนาดสูง 1 เมตร หน้าตักกว้าง 70 เซนติเมตร สร้างไว้ เมื่อปี พ.ศ. 2499 2. พระพุทธรูปปั้นด้วยปูนเสริมเหล็ก ตามโคนต้นไม้ 6 องค์ สร้างด้วยวัสดุ คือ ปูนปั้น มีขนาดสูง 2 เมตร หน้าตักกว้าง 1 เมตร 20 เซนติเมตร สร้างไว้เมื่อปี พ.ศ. 2534
พระมหาบุญเผื่อน สุจิตฺโต ป.ธ.7 เจ้าอาวาสวัดสระสี่มุม
NAKHON PATHOM I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 85
85
16/12/2563 17:15:06
History of buddhism....
วัดเจริญราษฎร์บำ� รุง
(วัดหนองพงนก)
พระครูอดุลประชารักษ์ เจ้าอาวาสวัดเจริญราษฎร์บำ�รุง (วัดหนองพงนก)
วัดเจริญราษฎร์บ�ำรุง (วัดหนองพงนก) ตั้งอยู่เลขที่ 1 หมู่ที่ 12 ต�ำบลสระพัฒนา อ�ำเภอก�ำแพงแสน จังหวัดนครปฐม
86
วัดเจริญราษฎร์บำ� รุงหรือทีช่ าวบ้านรูจ้ กั กันในชือ่ “วัดหนองพงนก” เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตั้งวัดเมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2519 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อวันที่ 24 ธันวาคม 2555 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 40 เมตร ยาว 80 เมตร มีทดี่ นิ ตัง้ วัดประมาณ 39 ไร่ 1 งาน 9 ตารางวา
SBL บันทึกประเทศไทย I นครปฐม
.indd 86
15/12/2563 17:13:06
การก่อสร้างและริเริ่มสร้างวัดโดยผู้ใหญ่ เจริญ เล้าอรุณ เป็นผู้ยก ที่ดินให้สร้างวัด ก่อนปี พ.ศ. 2500 เมื่อพิจารณาพื้นที่ตรงจุดนี้เห็นว่า เหมาะแก่การสร้างวัด เพือ่ เป็นศูนย์รวมจิตใจของพุทธศาสนิกชน ดังนัน้ จึงด�ำเนินการก่อตั้ง โดยได้รับการสนับสนุนและร่วมกันบริจาคทรัพย์ เพื่อสร้างกุฏิ ศาลาการเปรียญ ศาลาอเนกประสงค์ ไฟฟ้า ประปา เมรุ โรงครัว วิหาร และอุโบสถ เริม่ ก่อสร้างถาวรวัตถุตา่ งๆ เมือ่ ปี พ.ศ. 2543 เป็นต้นมา โดยอาศัยแรงศรัทธาของคณะญาติธรรม ร่วมด้วยช่วยกัน จนกระทั่งเกือบจะสมบูรณ์
สิ่งส�ำคัญภายในวัด
สามารถร่วมบุญถวายสังฆทานได้ทุกวันตั้งแต่ 8.00 น. ถึง 17.00 น. ติดตามข่าวสารต่างๆ ได้ที่เพจ วัดเจริญราษฎร์บ�ำรุง วัดหนองพงนก
หลวงพ่อมงคลนิมิต เป็นพระพุทธรูปศิลาแกะสลักทั้งองค์ที่มี ความศักดิ์สิทธิ์เป็นที่นับถือของชาวบ้านหนองพงนกและชาวบ้านใน ละแวกใกล้เคียง หลวงพ่อมงคลนิมิตเป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย ตามประวัตคิ วามเป็นมาในการสร้างหลวงพ่อมงคลนิมติ นี้ สันนิษฐานว่า สร้างขึ้นในสมัยอยุธยาตอนปลาย ซึ่งถ้านับอายุปัจจุบันก็ประมาณ 400 กว่าปี และไม่ทราบแน่ชัดว่าผู้ใดเป็นคนสร้าง แต่ถูกค้นพบ ณ วัดร้างแห่งหนึง่ ใน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จึงอัญเชิญมาประดิษฐาน ณ วัดเจริญราษฎร์บำ� รุง (วัดหนองพงนก) เมือ่ วันที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2518 จุดเด่นของวัดเจริญราษฎร์บำ� รุง (วัดหนองพงนก) คือความงดงาม ของพระพุทธรูปที่ตั้งตระหง่านด้านหน้าอุโบสถ โดยผู้ที่มีโอกาสได้ไป เยีย่ มเยียนจะต้องประทับใจกับการตกแต่งภายในอุโบสถทีต่ กแต่งด้วย ไม้ แ กะสลั ก ที่ มี ค วามปราณี ต โดยอี ก หนึ่ ง ไฮไลท์ คื อ พระสมเด็ จ องค์ปฐมปางมหาจักรพรรดิ (พระพุทธรูปทรงเครื่องจักรพรรดิ) ที่เป็น พระประธานประจ�ำอุโบสถ ถือได้วา่ เป็นปางทีห่ าชมได้ยากในประเทศไทย ใครทีอ่ ยากท�ำบุญ สักการะ เพือ่ ความเป็นสิรมิ งคล พร้อมกับชืน่ ชมความงาม ของสถาปัตยกรรมภายในวัดก็อย่าลืมแวะมาที่วัดเจริญราษฎร์บ�ำรุง (วัดหนองพงนก) NAKHON PATHOM I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 87
87
15/12/2563 17:13:22
History of buddhism....
วัดห้วยม่วง พระครูวิสุทธิ์ธีรคุณ (ธีระ) เจ้าอาวาสวัดห้วยม่วง
วัดห้วยม่วง ตั้งอยู่เลขที่ 65 หมู่ที่ 1 ต�ำบลห้วยม่วง อ�ำเภอก�ำแพงแสน จังหวัดนครปฐม
วัดห้วยม่วง เริ่มก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2409 โดยความริเริ่มของพระภิกษุสิน ในขั้นแรกนั้น เริ่มก่อสร้างกุฏิจ�ำนวน 4 หลัง เพื่อเป็นที่อยู่ของพระภิกษุสงฆ์ จากนั้นในปี พ.ศ. 2446 ได้ท�ำ เรือ่ งขอยกฐานะจากส�ำนักสงฆ์เป็นวัดและได้ตงั้ ชือ่ วัดแห่งนีว้ า่ วัดห้วยม่วง จากข้อสันนิษฐาน และจากการสอบถามผูท้ มี่ อี ายุถา่ ยทอดกันมา ถึงสาเหตุของการตัง้ ชือ่ วัดได้ความว่า ทางด้าน ทิศตะวันออกของวัดนั้นมีล�ำห้วยอยู่ ซึ่งชาวบ้านได้ใช้ประโยชน์จากล�ำห้วยนี้และอีกประการ หนึ่งคือ ในทั่วบริเวณวัดแห่งนี้มีต้นมะม่วงขึ้นอยู่เป็นจ�ำนวนมาก จึงได้ชื่อว่า วัดห้วยม่วง มาจนถึงปัจจุบัน 88
2
SBL บันทึกประเทศไทย I นครปฐม
_by Tony.indd 88
6/1/2564 11:40:50
อุโบสถวัดห้วยม่วง เริ่มก่อสร้างโดยพระอธิการทอง เมื่อราวปี พ.ศ. 2441 สร้างเสร็จและท�ำพิธีผูกพัทธสีมาในปี พ.ศ. 2468 มีอายุ เก่าแก่กว่า 100 ปี และในปีงบประมาณ 2559 ส�ำนักศิลปากรที่ 2 สุพรรณบุรี กรมศิลปากรและวัดห้วยม่วง น�ำโดยพระครูวิสุทธิ์ธีรคุณ ได้การรับจัดสรรงบประมาณเงินอุดหนุนโครงการพัฒนาแหล่งศิลปวัฒนธรรม เพือ่ เพิม่ ศักยภาพในการท่องเทีย่ ว ท�ำการบูรณะอุโบสถหลังนี้ ให้มสี ภาพใช้งานได้ดงั เดิม ปัจจุบนั ได้ใช้เป็นวิหารประดิษฐานหลวงพ่อ สัมฤทธิ์ ศักดิส์ ทิ ธิ์ พระพุทธรูปเชียงแสนปางมารวิชยั เปิดให้ประชาชน ทั่วไปได้กราบไหว้ สักการบูชา และได้มีการสร้างอุโบสถหลังใหม่ขึ้น ในปี พ.ศ. 2511 เพือ่ ให้มคี วามสะดวกในการท�ำสังฆกรรม และกิจกรรม ต่างๆ ภายในวัด
ท�ำเนียบเจ้าอาวาส รูปที่ 1 พระอาจารย์สิน รูปที่ 2 พระอาจารย์ทองอยู ่ รูปที่ 3 พระอาจารย์บุตร รูปที่ 4 พระอาจารย์ทอง รูปที่ 5 พระอาจารย์เสาร์ รูปที่ 6 พระอาจารย์แฟง รูปที่ 7 พระอาจารย์สุ่ม รูปที่ 8 พระอาจารย์ผาย กมโล รูปที่ 9 พระครูพิพัฒน์รังสรรค์ (ผิน) รูปที่ 10 พระครูวิสุทธิ์ธีรคุณ (ธีระ)
2
_by Tony.indd 89
พ.ศ. 2409 - 2428 พ.ศ. 2428 - 2435 พ.ศ. 2435 - 2441 พ.ศ. 2411 - 2453 พ.ศ. 2450 - 2460 พ.ศ. 2460 - 2482 พ.ศ. 2482 - 2496 พ.ศ. 2496 - 2425 พ.ศ. 2501 - 2538 พ.ศ. 2538 ถึงปัจจุบัน
อุโบสถหลังใหม่
วิหาร
NAKHON PATHOM I SBL บันทึกประเทศไทย
89
6/1/2564 11:41:12
History of buddhism....
วัดวังน�้ำเขียว พระครูโกศลธรรมรัตน์ เจ้าอาวาสวัดวังน้ำ�เขียว
วัดวังน�้ำเขียว ตั้งอยู่หมู่ที่ 14 ต�ำบลวังน�้ำเขียว อ�ำเภอก�ำแพงแสน จังหวัดนครปฐม
ต�ำนานทีบ่ อกเล่าสืบต่อกันมา ตัง้ แต่รนุ่ ปู่ ย่า ตา ทวด จับใจความได้วา่ ก่อนนัน้
หมู่บ้านวังน�้ำเขียว เขาเรียกว่า “หมู่บ้านคลองแล้ง” อยู่ต�ำบลทุ่งกระพังโหม อ�ำเภอสามแก้ว (ต่อมาย้ายมาอยูท่ บี่ า้ นยาง แล้วเปลีย่ นชือ่ เป็น อ�ำเภอก�ำแพงแสน จนถึงปัจจุบนั ) จังหวัดนครปฐม ประชาชนประกอบไปด้วยคนหลายเชือ้ ชาติ ได้แก่ ไทย จีน ลาวครั่ง ไทยทรงด�ำหรือไทยโซ่ง ประกอบอาชีพ ท�ำไร่ ท�ำนา เลี้ยงสัตว์ 90
2
SBL บันทึกประเทศไทย I นครปฐม
.indd 90
15/12/2563 14:43:42
หมู ่ บ ้ า นวั ง น�้ ำ เขี ย ว หรื อ หมู ่ บ ้ า นคลองแล้ ง เดิ ม ยั ง ไม่ มี วั ด เมือ่ มีงานบุญชาวบ้านต้องเดินทางไปท�ำบุญทีว่ ดั ล�ำเหย หรือวัดอืน่ ๆ ซึง่ ระยะทางไกลมาก ต่อมานายจอน สีสังข์ ซึ่งเป็นชาวบ้านในหมู่บ้าน วังน�ำ้ เขียวได้บริจาคทีด่ นิ ให้สร้างวัดประมาณ 21 ไร่ ให้เป็นทีธ่ รณีสงฆ์ เพื่อสร้างวัดขึ้นในหมู่บ้านโดยใช้ชื่อว่าวัดคลองแล้ง เมื่อปี พ.ศ. 2464 มีพระอาจารย์ คุ่ย เป็นเจ้าอาวาส ต่อมาเปลี่ยนชื่อจากวัดคลองแล้ง เป็นวัดวังน�้ำเขียว เพราะมีคลองสายหนึ่งซึ่งแยกจากแม่น�้ำแม่กลอง ชื่อคลองท่าสารบางปลา ไหลผ่านหน้าวัด ไปบรรจบกับแม่น�้ำท่าจีน ที่ตำ� บลบางปลา อ�ำเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม คลองนีเ้ มือ่ ถึงฤดูแล้ง น�้ำจะแห้งขาดเป็นตอนๆ เฉพาะที่ผ่านบ้านคลองแล้งนี้ น�้ำในคลอง จะมีสีเขียวลึกมาก ผู้สูงอายุหลายท่านกล่าวว่าชาวบ้านเรียกกันว่า “วังน�ำ้ เขียว” ดังนัน้ จึงตัง้ ชือ่ วัดให้สอดคล้องกับพืน้ ทีว่ า่ “วัดวังน�ำ้ เขียว” ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อปี พ.ศ. 2485 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 40 เมตร ยาว 80 เมตร
การบริหารและการปกครอง มีเจ้าอาวาสเท่าทีท่ ราบนาม ดังนี้
รูปที่ 1 พระคุ่ย พ.ศ. 2452 – 2453 รูปที่ 2 พระหยี่ พ.ศ. 2453 – 2454 รูปที่ 3 พระพรหม พ.ศ. 2454 – 2469 รูปที่ 4 พระทม พ.ศ. 2469 – 2474 รูปที่ 5 พระอธิการค�ำปุ่น ปุณณศิริ พ.ศ. 2474 – 2482 รูปที่ 6 พระเล้ง พ.ศ. 2482 – 2484 รูปที่ 7 พระอธิการชัย ขตติปญฺโญ พ.ศ. 2484 – 2493 รูปที่ 8 พระเหลียง พ.ศ. 2493 – 2496 รูปที่ 9 พระไช พ.ศ. 2496 – 2499 รูปที่ 10 พระพันธ์ พ.ศ. 2499 – 2502 รูปที่ 11 พระเด็ด พ.ศ. 2502 – 2503 รูปที่ 12 พระอธิการจอน พ.ศ. 2503 – 2506 รูปที่ 13 พระครูวิมลสิทธิการ (บุญรอด สิทธิกาโร ) พ.ศ. 2506 – 2549 รูปที่ 14 พระครูโกศลธรรมรัตน์ พ.ศ. 2549 – ปัจจุบัน
งานเผยแผ่พระพุทธศาสนา
พระครูวิมลสิทธิการ (บุญรอด สิทธิกาโร) อดีตเจ้าอาวาส วั ด วั ง น�้ ำ เขี ย ว ท่ า นเป็ น พระดี ปฏิ บั ติ ดี จ นได้ รั บ การแต่ ง ตั้ ง เป็ น รองประธานหน่วยอบรมประชาชนประจ�ำต�ำบล อบรมสัง่ สอนพระภิกษุ สามเณรหลังจากท�ำวัตรสวดมนต์เสร็จ ทุกวันธรรมสวนะ เผยแพร่ พระพุ ท ธศาสนาโดยเทศน์ สั่ ง สอนอบรมศี ล ธรรม จริ ย ธรรมและ ประเพณีวัฒนธรรมอันดีงามแก่ประชาชน ครู และนักเรียนทุกวันพระ มีการท�ำพิธีวันส�ำคัญทางพระพุทธศาสนา เช่น มาฆบูชา วิสาขบูชา อาสาฬหบูชา และวันธรรมสวนะ เป็นประจ�ำทุกปีตลอดมาจนถึง ปัจจุบัน
พระครูโกศลธรรมรัตน์ เจ้าอาวาสวัดวังน�้ำเขียว
NAKHON PATHOM I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 91
91
15/12/2563 14:43:54
History of buddhism....
วัดหนองจิก พระอธิการบุญล้อม ตันติปาโล เจ้าอาวาสวัดหนองจิก
เดิมทีนั้นบริเวณเขตต�ำบลทุ่งลูกนก ยังไม่มีวัดเวลาชาวบ้านแถบนี้จะ ท� ำ บุ ญ ต้ อ งเดิ น ทางไปท� ำ บุ ญ วั ด สนามแย้ อ� ำ เภอท่ า มะกา จั ง หวั ด กาญจนบุรี และวัดก�ำแพงแสน ซึ่งระยะทางอยู่ห่างออกไปประมาณ 4- 5 กิโลเมตร สมัยนั้นยังไม่มีถนนการเดินทางไม่สะดวก ได้มีหลวงพ่อที่จาริก เดินธุดงค์มาจากบ้านแก่งคอย จังหวัดสระบุรี ก็คือหลวงพ่อหงษ์ ซึ่งเป็น หลวงพ่อผู้ริเริ่มสร้างวัดร่วมกับชาวบ้าน และเป็นเจ้าอาวาสรูปแรก
วัดหนองจิก ตั้งอยู่หมู่ที่ 11 ต�ำบลทุ่งลูกนก อ�ำเภอก�ำแพงแสน จังหวัดนครปฐม
ในราวปี พ.ศ. 2460 ได้มีพระเดินธุดงค์มาปักกลดและจ�ำพรรษาใน บริเวณนี้ ชาวบ้านจึงพร้อมใจกันไปท�ำบุญและนิมนต์ให้หลวงพ่อช่วย สร้างวัด โดยได้รับการบริจาคที่ดินจากนายแสง นิลธรรมเสน, นายหงส์, นางสุน่ ยีช่ วน และนายซึม วงษ์ปา และได้รบั อนุญาตให้สร้างวัดเมือ่ วันที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2471 โดยได้ปลูกเป็นกุฏิทรงไทย 2 หลัง 10 ห้อง พร้อมหอฉัน หอสวดมนต์ และศาลามุงแฝก 1 หลัง เป็นวัดแรกในต�ำบลนี้ และใช้ชอื่ ว่าวัดหนองจิก ด้วยเหตุผลทีว่ า่ ห่างจากวัดนี้ มีหนองน�ำ้ ขนาดใหญ่ มีต้นจิกขึ้นปกคลุมรอบบริเวณหนองน�้ำเป็นจ�ำนวนมาก ชือ่ นีจ้ งึ มีความ เหมาะสมกับหมู่บ้านและวัด เป็นมงคลนามตั้งแต่นั้นมา
92
2
SBL บันทึกประเทศไทย I นครปฐม
_by Tony 92
6/1/2564 11:30:26
ล�ำดับเจ้าอาวาส
1. หลวงปู่หงษ์ 2. พระอาจารย์หลวง 3. พระอาจารย์นวม 4. พระอาจารย์ชื่น 5. พระอธิการจรัส เขมจาโร 6. พระอาจารย์เชื่อม 7. พระอาจารย์จ�ำเนียร จตฺตมโร 8. พระอธิการท้อ 9. พระอธิการอุ่น หลวงพ่อหว่างวัดก�ำแพงแสน 10. พระสมยศ 11. พระครูสวุ มิ ลจิตตาภรณ์ มรณภาพวันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2556 12. พระอธิการบุญล้อม ตันติปาโล พ.ศ. 2557 - ปัจจุบัน ในอดีตทีผ่ า่ นมา วัดหนองจิกเป็นวัดทีไ่ ด้รบั การดูแลจากหลวงพ่อ พระครูสกุ จิ ธรรมสร(หลวงพ่อหว่าง) วัดก�ำแพงแสนเป็นอย่างดี ด้วย ความมีเมตตาธรรมอันสูงส่งของหลวงพ่อ วัดหนองจิกก็ราบรื่น ตลอดมา แม้วา่ หลวงพ่อจะมรณภาพไปนานแล้ว ปัจจุบนั วัดหนองจิก ได้รบั การดูแลเป็นอย่างดีจากหลวงพ่อพระอธิการบุญล้อม ตันติปาโล ด้วยวิสยั ทัศน์การพัฒนาและการสืบทอดเจตนารมณ์ของหลวงพ่อหว่าง ผนวกกับแรงศรัทธาจากสาธุชน จึงท�ำให้วัดหนองจิก มีความเป็น ระเบียบเรียบร้อย มีการพัฒนามาจนถึงทุกวันนี้
พระอธิการบุญล้อม ตันติปาโล เจ้าอาวาสวัดหนองจิก
NAKHON PATHOM I SBL บันทึกประเทศไทย
2
_by Tony.indd 93
93
7/1/2564 16:23:49
History of buddhism....
วัดศาลาตึก
พระอธิการปัญญา สิริปญโญ เจ้าอาวาสวัดศาลาตึก
วัดศาลาตึก เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์ ฝ่ายมหานิกาย ตั้งอยู่เลขที่ 98 หมู่ที่ 16 ต�ำบลทุ่งลูกนก อ�ำเภอก�ำแพงแสน จังหวัดนครปฐม
วัดศาลาตึก เดิมเป็นที่ดินส่วนบุคคลของพระครูสิทธิชัยวิศาล หรือหลวงพ่อ ล�ำเจียก อ่อนปาน (ติสฺสวโร) บริเวณนั้นเป็นแนวเขตรอยต่อที่ติดต่อด้วยกันถึง 3 จังหวัด คือ จังหวัดนครปฐม จังหวัดราชบุรี และจังหวัดกาญจนบุรี 94
2
SBL บันทึกประเทศไทย I นครปฐม
.indd 94
15/12/2563 17:44:29
แนวเขตรอยต่อของ 3 จังหวัดนี้เป็นเส้นทางของบุคคลทั่วไป ที่จะ ต้องใช้เป็นทางผ่านไปนมัสการพระแท่นดงรัง โดยใช้การเดินเท้า หรือเดินทางด้วยเกวียน และใช้เป็นสถานที่พักแรมโดยสมัยก่อน มีการบอกเล่าว่า เป็นที่ชุมนุมของสัตว์ร้าย เช่น เสือดาว เสือลาย คอยจับมนุษย์เป็นอาหาร ทีบ่ ริเวณแถบนีม้ ตี กึ เก่าอยูห่ ลังหนึง่ เป็นทีพ่ กั และใช้เป็นทีห่ ลบภัย (ในสมัยรัชกาลที่ 5 เรียกว่า พลับพลาห้วยกระบอก) ในช่วงแรกนั้น เมื่อหลวงพ่อล�ำเจียก อุปสมบทได้ 5 พรรษาแล้ว โดยมีพระครูธรรมสุนทร (หลวงพ่อจันทร์) เป็นพระอุปัชฌาย์ และ จ�ำพรรษาอยู่ ณ วัดก�ำแพงแสน หลวงพ่อล�ำเจียกได้พิจารณาเห็นว่า บรรดาญาติโยมในพื้นที่แถบนั้น ต้องไปท�ำบุญตามวัดที่อยู่ไกลๆ ไม่สะดวกในการเดินทางและประกอบกับเป็นความประสงค์ของ โยมบิดาและโยมมารดา ที่จะสร้างถวายไว้ในพระพุทธศาสนา ดังนั้น หลวงพ่ อ จึ ง ได้ ตั ด สิ น ใจสร้ า งวั ด ขึ้ น ในบริ เวณที่ ดิ น ส่ ว นตั ว ของ หลวงพ่อเอง ในเบือ้ งต้นนัน้ ได้สร้างเป็นวัดขึน้ โดยมุงหลังคาและอาคาร อุโบสถก็เป็นโครงสร้างไม้มุงด้วยสังกะสี และอาศัยเหตุที่มีตึกเก่า ตั้งอยู่ก่อน จึงน�ำมาใช้เป็นชื่อวัดว่า “วัดศาลาตึก” ได้รับอนุญาตให้ จัดตั้งเป็นวัดเมื่อวันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2489 ต่อมาได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2500 เขตวิสุงคามสีมา ยาว 80 เมตร กว้าง 40 เมตร หลวงพ่อ ล�ำเจียกได้ก่อสร้างอุโบสถหลังใหม่ข้ึน เป็นอาคารถาวร แบบทรงไทย โครงสร้างเป็นคอนกรีตเสริมเหล็กหลังคาลด 3 ชั้น 2 มุข ยกพื้นขึ้น สูงเป็น 3 ชั้น ทุกชั้นมีก�ำแพงแก้วเป็นคอนกรีตเสริมเหล็ก ปิดทองค�ำ เปลวตามลวดลายทั้งหลังและบานประตูหน้าต่าง แกะสลักเป็นภาพ พระเจ้าสิบชาติ ได้ก่อสร้างแล้วเสร็จเมื่อปี พ.ศ. 2500 และภายใน อุโบสถนั้นให้เขียนภาพจิตรกรรมฝาผนังเป็นภาพพระพุทธเจ้าใน บทสวดพาหุงฯ ภาพประเพณีวัฒนธรรมไทยทั้ง 4 ภาคและภาพงาน เทศกาลส�ำคัญต่างๆ
ปูชนียวัตถุของวัดศาลาตึก
พระประธานประจ�ำอุโบสถ เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย มี พระพุทธลักษณะเป็นแบบพระพุทธชินราช มีซุ้มเรือนแก้วลงรักปิด ทองค�ำแท้ พร้อมด้วยพระอัครสาวก พระโมคคัลลานะ พระสาลีบุตร สร้างด้วย โลหะหล่อผสมทองค�ำ ขนาดหน้าตักกว้าง 40 นิ้ว ผู้ที่สร้าง ถวาย คือ คุณหญิงอาบ วิกรมรัตนสุภาพ สร้างถวายไว้เมือ่ ปี พ.ศ. 2507
ซากพลับพลาศาลาตึก สร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 4 เพื่อใช้เป็นที่พักประทับแรม ระหว่างเดินทางไปนมัสการพระแท่นดงรัก
อาคารเรียนสร้างโดยหลวงพ่อล�ำเจียก
พระอธิการปัญญา สิริปญโญ เจ้าอาวาสวัดศาลาตึก
NAKHON PATHOM I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 95
95
15/12/2563 17:44:43
History of buddhism....
วัดโพธิ์งาม พระครูอาทรภัทรกิจ ที่ปรึกษาเจ้าคณะ อำ�เภอกำ�แพงแสน / เจ้าอาวาสวัดโพธิ์งาม
96
2
วัดโพธิ์งาม ตั้งอยู่เลขที่ 1 หมู่ 8 ต�ำบลกระตีบ อ�ำเภอก�ำแพงแสน จังหวัดนครปฐม
SBL บันทึกประเทศไทย I นครปฐม
.indd 96
วัดโพธิ์งาม เดิมเป็นส�ำนักสงฆ์ หนองไม้หน้า สร้างเมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2502 โดยมีผู้ใหญ่ส�ำอางค์ ปลีทอง ถวายที่ดินจ�ำนวน 35 ไร่ 3 งาน ต่อมา นายบัว ยี่สุ่นเกตุ และนายใช้ ได้ร่วมบริจาคที่ดิน จ�ำนวน 3 ไร่ รวมเนื้อที่วัดจ�ำนวน 41 ไร่ 3 งาน ( เทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ครบรอบ 72 พรรษา ) ในปี พ.ศ. 2512 ได้รับอนุญาต จากระทรวงศึกษาธิการ ให้ตั้งเป็น วัดโพธิ์งาม ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา ปี พ.ศ. 2515
14/12/2563 16:56:54
ผูใ้ หญ่สำ� อางค์ ปลีทอง เป็นผูร้ เิ ริม่ ในการสร้างวัดโพธิง์ าม โดยร่วมกับ ทายก ทายิกา ชาวบ้านโพธิง์ าม ครัง้ แรกกุฏปี ลูกสร้างมุงด้วยหญ้าคา ตามที่หาได้ คนเดินทางผ่านมาเห็น คิดว่าวัด เป็นบ้านคน ต่อมาใน ปี พ.ศ. 2502 ผู้ใหญ่ส�ำอางค์ ปลีทอง ได้ไปนิมนต์พระอาจารย์พลอย จากวัดอื่นมาอยู่จ�ำพรรษาฉลองศรัทธา ญาติโยมได้ จ�ำนวน 1 รูป เมื่อออกพรรษาแล้ว ท่านก็กลับไปอยู่ที่อื่นตามอัธยาศัย ในปี พ.ศ. 2503 ผูใ้ หญ่สำ� อางค์ ปลีทอง ได้ไปนิมนต์พระอาจารย์ยมิ้ จากวัดอื่นมาอยู่จ�ำพรรษาพร้อมด้วยพระภิกษุจ�ำนวน 5 รูป รวมเป็น 6 รูป เพือ่ ฉลองศรัทธาญาติโยมได้ 1 พรรษา ออกพรรษาท่านก็กลับวัดเดิม ปี พ.ศ. 2504 ผู้ใหญ่ส�ำอางค์ ปลีทอง ได้ไปนิมนต์พระอาจารย์ สุเทพ จากวัดพระแท่นดงรัง จังหวัดกาญจนบุรี ให้มาอยู่จ�ำพรรษา พร้อมพระภิกษุสามเณร จ�ำนวน 5 รูป มาอยูจ่ ำ� พรรษา ปฏิบตั ศิ าสนกิจ ได้เป็นเวลา 3 พรรษา ปี พ.ศ. 2505 ได้ร่วมกับชาวบ้านสร้างโรงเรียน ขึ้น 1 หลัง ในบริเวณวัดโพธิ์งาม ได้เชิญท่านนายอ�ำเภอในสมัยนั้น มาเปิดโรงเรียนเมื่อวันที่ 5 เมษายน 2505 มีจ�ำนวนนักเรียน 30 คน มีครูจ�ำนวน 2 คน โรงเรียนที่สร้างนั้นท�ำด้วยล�ำไม้ไผ่ หลังคามุงด้วย หญ้าคาสวยงามดีแบบธรรมชาติ และต่อมาพระอาจารย์สุเทพได้ ลาสิกขาบท จึงท�ำให้วัดโพธิ์งาม ว่างเจ้าอาวาสแบบไม่เป็นทางการ ปี พ.ศ. 2506 ผู้ใหญ่ส�ำอางค์ ปลีทอง ได้ไปนิมนต์พระอาจารย์ เกื้อกูล ขุทฺทโก จากวัดท่าเสา อ�ำเภอก�ำแพงแสน จังหวัดนครปฐม พร้อมทั้งพระภิกษุ สามเณร จ�ำนวน 5 รูป มาอยู่จ�ำพรรษา และได้ ปฏิบัติศาสนกิจมาเป็นล�ำดับ ได้ด�ำเนินการก่อสร้างถาวรวัตถุและ พัฒนาวัดโพธิง์ ามร่วมกับคณะกรรมการวัดท�ำความเจริญให้แก่ทอ้ งถิน่ มาจนถึงปัจจุบัน ปี พ.ศ. 2541 ผูกพัทธสีมา ปิดทองฝังลูกนิมิตอุโบสถ วันที่ 25 มกราคม – 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2541 เป็นเวลาลา 9 วัน 9 คืน พระอธิการเกื้อกูล ขุทฺทโก เป็นเจ้าอาวาสรูปแรกและรูปปัจจุบัน วันที่ 5 ธันวาคม 2517 เป็นประทวนสมณศักดิท์ พี่ ระครูเกือ้ กูล ขุททฺ โก ปี พ.ศ. 2522 เลื่อนสมณศักดิ์เป็นพระครูสัญญาบัตร เจ้าอาวาส วัดราษฎร์ชั้นตรี ที่ “พระครูอาทรภัทรกิจ” ในวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2534 เลื่อนสมณศักดิ์เป็นพระครูสัญญาบัตรเจ้าคณะต�ำบลชั้นโท ในราชทินนามเดิม วันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2553 เป็นเจ้าคณะอ�ำเภอ ก�ำแพงแสน, ปี พ.ศ. 2559 เป็นที่ปรึกษาเจ้าคณะอ�ำเภอก�ำแพงแสน มาจนถึ ง ปั จ จุบัน และได้พัฒนาวัด โพธิ์งาม ให้ เจริ ญรุ ่ ง เรื อ งจนถึ ง ปัจจุบัน วัดโพธิ์งาม ได้รับคัดเลือกให้เป็นวัดพัฒนาตัวอย่างดีเด่น จาก ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ในวันที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 นอกจากนี้วัดโพธิ์งามยังเป็นศูนย์อนุรักษ์ของใช้พื้นบ้าน เป็นที่ เก็บรวบรวมเครื่องมือเครื่องใช้เกี่ยวกับการท�ำเกษตรกรรม และ ของใช้พื้นบ้าน ที่ชาวบ้านบริจาคมา วัตถุประสงค์หลักในการจัดตั้ง เพื่อใช้เป็นแหล่งเรียนรู้ และการศึกษาค้นคว้าของนักเรียนโรงเรียน วัดโพธิ์งาม ซึ่งอาจารย์จะน�ำนักเรียนมาท�ำกิจกรรม และให้ความรู้ เกี่ยวกับวิถีชีวิตเกษตรกรรม การท�ำนา การท�ำข้าวซ้อมมือ บริเวณ ศูนย์อนุรักษ์ของใช้พื้นบ้าน มีอาคารจัดแสดงทั้ง 2 หลัง
พระครูอาทรภัทรกิจ
ที่ปรึกษาเจ้าคณะอ�ำเภอก�ำแพงแสน / เจ้าอาวาสวัดโพธิ์งาม
NAKHON PATHOM I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 97
97
14/12/2563 16:57:05
History of buddhism....
วัดดอนเตาอิฐ วัดดอนเตาอิฐ (เจริญพร) ตั้งอยู่หมู่ที่ 5 ต�ำบลสระสี่มุม อ�ำเภอก�ำแพงแสน จังหวัดนครปฐม
ตามประวัติวัดเดิมที่ทราบ วัดดอนเตาอิฐได้ตั้งอยู่ด้านทิศตะวันออกอยู่ในหมู่บ้าน เสืออีด่าง ต่อมาชาวบ้านได้ท�ำการย้ายมาตั้งอยู่ระหว่างกึ่งกลางของแต่ละหมู่บ้าน จุดประสงค์ก็คือ เพื่อจะท�ำให้ชาวบ้านของแต่ละหมู่บ้านมาท�ำบุญได้ง่ายขึ้น จนถึง ปัจจุบันจึงมีชื่อว่า “วัดดอนเตาอิฐ” 98
2
SBL บันทึกประเทศไทย I นครปฐม
.indd 98
15/12/2563 16:57:54
พื้นที่ตั้งวัด มีเนื้อที่ประมาณ 60 ไร่
ทิศเหนือ ติดกับหมู่บ้านโคกโก โคกแย้ ทิศใต้ ติดถนนสาธารณะ ทิศตะวันออก ติดหมู่บ้านเสืออีด่าง ทิศตะวันตก ติดหมู่บ้าน ดอนเล็ก ดอนใหญ่
ยุคที่มีการก่อสร้างเป็นวัดมีอุโบสถครั้งแรกและครั้งต่อมา
ในสมัยที่หลวงพ่ออั้นปกครองอยู่ก็ได้เริ่มสร้างอุโบสถ สร้างศาลา สร้างกุฏิ ต่อมาหลวงพ่อสนิท ก็สร้างอุโบสถหลังเดิมต่อจนเสร็จเป็น หลังแรก และได้รับพระราชาชทานวิสุงคามสีมาเมื่อปี พ.ศ. 2502 ผูกพัทธสีมาเมื่อปี พ.ศ. 2508
การพัฒนาวัดที่มีสืบต่อกันมาโดยล�ำดับ
ต่อมาหลวงพ่ออั้น ก็ได้สร้าง ศาลาการเปรียญ กว้าง 15 เมตร ยาว 30 เมตร, เมรุ กว้าง 9 เมตร ยาว 27 เมตร , กุฏิสงฆ์ 2 หลัง กว้าง 6 เมตร ยาว 9 เมตร , หอสวดมนต์ , กุฏิเจ้าอาวาส และห้องน�ำ้
ประวัติการสร้างถาวรวัตถุ
- อุโบสถ หลังแรก สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2508 - ศาลาการเปรียญ สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2511 - กุฏิสงฆ์ สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2526 - หอระฆัง สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2547 - ฌาปนสถาน สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2511 - อุโบสถหลังใหม่ เริ่มก่อสร้าง พ.ศ. 2554 ปัจจุบันยังไม่เสร็จสมบูรณ์
พุทธศาสนิกชนและผู้มีจิตศรัทธา สามารถร่วมท�ำนุบ�ำรุง วัดดอนเตาอิฐได้ทุกวัน สอบถาม โทร. 089-2391102
เชิญร่วมท�ำบุญสร้างอุโบสถหลังใหม่ ผ่านบัญชีวัดดอนเตาอิฐ ธนาคารเพื่อการเกษตรแลสหกรณ์การเกษตร
เลขที่บัญชี 020073747755
พระอธิการน�ำพร เขมิโย เจ้าอาวาสวัดดอนเตาอิฐ
NAKHON PATHOM I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 99
99
15/12/2563 16:58:06
History of buddhism....
วัดราษฎร์ภิรมย์วราราม พระครูวิธานสังฆการ เจ้าอาวาสวัดราษฎร์ภิรมย์วราราม
วัดราษฎร์ภิรมย์วราราม ตั้งอยู่เลขที่ 1 หมู่ที่ 3 ต�ำบลสระสี่มุม อ�ำเภอก�ำแพงแสน จังหวัดนครปฐม
100
วัดราษฎร์ภิรมย์วราราม ชาวบ้านเรียกกันว่า วัดลาดปลาเค้า สังกัดคณะสงฆ์
มหานิกาย เริ่มสร้างวัดเมื่อปี พ.ศ. 2494 ด้วยเหตุว่าการที่ชาวบ้านจะบ�ำเพ็ญบุญ ทีว่ ดั สระสีม่ มุ นัน้ เป็นระยะทางทีไ่ กล มีบา้ นไผ่คอย ไผ่โทน ไผ่สงคราม เกาะไก่เถือ่ น บ้านลาดหลวง บ้านปากกะท่า ต่อมา นายตุน่ สระทองรอดและ นายเอย สระทองเหยียด ได้รว่ มกันสร้างทีพ่ กั สงฆ์ซงึ่ สร้างมาจนถึงปี พ.ศ. 2506 นายเชิด ล้วนโค ได้ขออนุญาต สร้างวัดต่อคณะสงฆ์ตามล�ำดับชั้น
SBL บันทึกประเทศไทย I นครปฐม
2
.indd 100
15/12/2563 10:16:57
ต่อจากนัน้ จึงได้รบั อนุญาตจากพระครูวรลักษณ์บริบาล รักษาการ เจ้าคณะอ�ำเภอก�ำแพงแสน เมือ่ วันที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2506 ได้ชอื่ ว่า วัดราษฎร์ภิรมย์วราราม โดยมหาเถรสมาคมอนุมัติโดยกระทรวง ศึกษาธิการประกาศจึงได้สร้างวัตถุถาวร เสนาสนะ กุฎี ศาลา มา ตามล�ำดับ จากนั้นพระอธิการเผียน อมโร ได้ขอวิสุงคามสีมา ปี พ.ศ. 2520 เมื่ อ ขอมาแล้ว ได้รับ พระราชทานวิสุงคามสี มาเมื่ อ วั น ที่ 1 มีนาคม พ.ศ.2520 ซึ่งผู้ที่รับสนองพระบรมราชโองการในตอนนั้น คือ นายธานินทร์ กรัยวิเชียร นายกรัฐมนตรี โดยมีเขตวิสุงคามสีมา กว้าง 40 เมตร ยาว 40 เมตร เริ่มจากโรงเรียนมุงด้วยสังกะสี การก่อสร้างก็ได้ด�ำเนินงานเรื่อยมา ชาวบ้านได้นิมนต์พระภิกษุจาก ที่อื่นบ้างมาจ�ำพรรษาทุกปี บางปีก็อาศัยพระท้องที่เพื่อประชาชน ในท้องที่ได้บ�ำเพ็ญบุญ ในปัจจุบันนี้ทางวัดได้ซื้อที่ดินเพิ่มขึ้นอีก จ�ำนวนหนึ่ง จนปัจจุบันนี้ทางวัดมีเนื้อที่ 29 ไร่ 1 งาน 52 ตารางวา 3 แปลง ด้วยการร่วมมือร่วมใจกันจากชาวบ้านทีม่ คี วามเลือ่ มใสช่วยกัน ด้วยความศรัทธา และได้รบั ตัง้ วัดโดยใช้นามวัดว่า วัดราษฎร์ภริ มย์วราราม (ลาดปลาเค้า) มาจนถึงปัจจุบันนี้ ปัจจุบันอุโบสถสร้างเสร็จแล้ว คณะสงฆ์และคณะกรรมการวัด พร้อมด้วยข้าราชการ พ่อค้า ประชาชน ได้พร้อมใจกันจัดงานผูก พัทธสีมาปิดทองฝังลูกนิมิตขึ้นระหว่างวันที่ 6 ถึงวันที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 รวม 10 วัน 10 คืน เพื่อให้พุทธศาสนิกชนทั้งหลายได้ ร่วมกันท�ำบุญสร้างกุศลอันเป็นประเพณีสืบทอดกันมายาวนาน
รายนามเจ้าอาวาส วัดราษฎร์ภิรมย์วราราม
1. พระอ่อน โชติโก 2. พระอธิการเผียน อมโร 3. พระสมุห์สง่า กลฺยาโณ 4. พระครูวิธานสังฆการ
พ.ศ. 2505 – 2518 พ.ศ. 2519 – 2525 พ.ศ. 2528 – 2533 ตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2534 – ปัจจุบัน
พระครูวิธานสังฆการ
เจ้าอาวาสวัดราษฎร์ภิรมย์วราราม
NAKHON PATHOM I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 101
101
15/12/2563 10:17:11
History of buddhism....
วัดหนองปลาไหล พระครูวิมลจินดากร เจ้าอาวาสวัดหนองปลาไหล
วัดหนองปลาไหล ตั้งอยู่เลขที่ 76 หมู่ที่ 6 ต�ำบลทุ่งกระพังโหม อ�ำเภอก�ำแพงแสน จังหวัดนครปฐม
102
2
SBL บันทึกประเทศไทย I นครปฐม
.indd 102
15/12/2563 14:34:05
วัดหนองปลาไหล เริม่ สร้างวัดครัง้ แรกเมือ่ ประมาณปี พ.ศ. 2466 โดยพระอาจารย์บุญ ผากุมมา เป็นปฐมเจ้าอาวาส ผู้ริเริ่มสร้างร่วมกับ ชาวบ้าน ที่อยู่ใกล้เคียง ได้แก่ นายสุ่น แร่กรูด, นายหยุ่น พลเดช, นายเอ สนจุ้ย, นายช้อน ศิริจ�ำปา, นายมุ ศรีนวล, นายปุย แก่นแก้ว, นายหล้า ผากุมมา เป็นต้น ในการสร้างวัดครั้งแรกนั้นมุงด้วยแฝก ในอดีตชาวบ้านหนองปลาไหล เวลาจะท�ำบุญต้องไปท�ำที่วัดล�ำเหย ระยะทางประมาณ 5 กิโลเมตร ซึ่งอยู่ไกลส�ำหรับชาวบ้าน จึงได้ นิมนต์พระอาจารย์บุญ ผากุมมา ซึ่งมีพื้นเพเป็นคนหนองปลาไหล ได้อุปสมบทและจ�ำพรรษาที่วัดไผ่ล้อม อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม มาจ�ำพรรษาที่วัดหนองปลาไหล แล้วได้รับบริจาคที่ดินจาก นางพิม ผากุมมา ในปี พ.ศ.2451 เป็นที่ดินที่ไม่ได้ใช้ประโยชน์ มีต้นไม้ใหญ่ ขึ้นหนาทึบ มีเนื้อที่ 52 ไร่เศษ รอบที่ดินเป็นคลองล�ำรางมีปลาไหล ตามน�้ำมาก ชาวบ้านอาศัยจับปลาไปท�ำอาหาร เลยเรียกตามชื่อว่า “หนองปลาไหล” เมื่อสร้างวัดขึ้นมาภายหลัง จึงได้ต้ังชื่อวัดตามชื่อ หมู่บ้านว่า “วัดหนองปลาไหล” จนถึงทุกวันนี้ คณะบุคคลที่ร่วมมือกันสร้างวัดหนองปลาไหลในครั้งแรก เห็นว่า บริเวณที่สร้างวัดในปัจจุบันเหมาะสมที่จะใช้ในการสร้างวัด จึงได้ ร่วมมือกันถางป่าเข้าจับจองทีด่ นิ แล้วลงมือสร้างวัดขึน้ บนเนือ้ ที่ 52 ไร่ เมื่อปี พ.ศ. 2553 คุณโยมใบบุญ แซ่ตั้ง ได้ถวายที่เพิ่มเติมอีกประมาณ 5 ไร่ ทางวัดได้จัดการโดยให้ปลูกป่าต้นยางพาราจัดสวนสาธารณ ประโยชน์ ให้พักผ่อนหย่อนใจเพื่อดับร้อน คลายทุกข์และเพื่อเป็น ทานกุศลต่อไป และเมือ่ ปี พ.ศ. 2471 เนือ่ งจากในการสร้างวัดครัง้ แรกมุงด้วยแฝก วัดถูกไฟไหม้ หลังจากลวงปู่บุญ ผากุมมา มรณภาพแล้ว ต่อมาปี พ.ศ. 2475 หลวงพ่อปาน อลคุโก (พระครูพรหมวิสทุ ธิ) ได้เป็นเจ้าอาวาส เมื่อถึงปี พ.ศ. 2489 วัดหนองปลาไหล ก็ถูกไฟไหม้เป็นครั้งที่ 2 หลัง จากหลวงพ่อปาน มรณภาพแล้วเมื่อปี พ.ศ. 2513 ปี พ.ศ. 2543 พระอธิการสวัสดิ์ จนฺทสโร (พระครูโกศลนวกิจ) มาเป็นเจ้าอาวาส ได้ปฏิสงั ขรณ์มาโดยล�ำดับและมรณภาพในปี พ.ศ. 2543 ปี พ.ศ. 2544 พระอธิการมาลัย อาทิจโฺ จ (พระปลัดมาลัย อาทิจโฺ จ) ได้มาเป็นเจ้าอาวาส จนถึงปัจจุบัน
ล�ำดับรายนามเจ้าอาวาส
1. พระอธิการบุญ 2. พระครูพรหมสุทธิ 3. พระครูโกศลนวกิจ 4. พระครูวิมลจินดากร
พระครูวิมลจินดากร
เจ้าอาวาสวัดหนองปลาไหล
NAKHON PATHOM I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 103
103
15/12/2563 14:34:20
ไร่เคียงดาว โฮมสเตย์ สไตล์รีสอร์ท
ไร่เคียงดาว โฮมสเตย์ สไตล์รีสอร์ท ก�ำแพงแสน
ที่จอดรถกว้างขวาง พร้อมสิ่งอ�ำนวยความสะดวกครบครัน
x2 104
18/12/2563 15:54:27
บริการอาหาร
อร่ อ ย มีคุณภาพ ราคาถูก รองรับการ จัดงานเลี้ยง
สังสรรค์ ไร่ เ คี ย งดาว โฮมสเตย์ สไตล์รีสอร์ท ก�ำแพงแสน
101 ม.1 ถ.มาลัยแมน ซ.ข้างวัดหนองปลาไหล ต.ทุ่งขวาง อ.ก�ำแพงแสน จ.นครปฐม Call : 089-981-1224 , 081-910-1215 Line id : 0899811224 Email : raikeangkaw@gmail.com
x2 105
18/12/2563 15:54:33
พระเงิน พระทอง หลวงพ่อรวย ประดิษฐาน ณ บนศาลาหลังใหญ่
History of buddhism....
วัดสว่างอารมณ์ พระครูยติธรรมานุยุต เจ้าอาวาสวัดสว่างอารมณ์
วัดสว่างอารมณ์ ตั้งอยู่หมู่ที่ 4 ต�ำบลขุนแก้ว อ�ำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม
106
(
วัดสว่างอารมณ์นี้สร้างมาแต่สมัยใดไม่ปรากฎชัด แต่เท่าที่มีผู้จ�ำได้ประมาณปี พ.ศ. 2506 ท่านเจ้าคุณพระราชสิทธิมุนี พระอาจารย์ใหญ่ฝ่ายวิปัสสนาธุระ ณ วัดยุวราชรังสฤษฏิ์ คณะ 5 พระนคร ได้ส่งพระวินัยธรสุภาพ สุวฑฺฒโน มาสร้าง ส�ำนักวิปัสสนา ที่วัดราชสิทธิธรรมมาราม (วัดสว่างอารมณ์)
SBL บันทึกประเทศไทย I นครปฐม
) 4+2
.indd 106
14/12/2563 18:19:19
อุโบสถวัดสว่างอารมณ์ (แคแถว) มีพิธีลอดโบสถ์เปิดทุกวัน
ศาลาหลังใหญ่วัดสว่างอารมณ์
ไหว้พระธาตุ บนศาลาหลังใหญ่
ไหว้พญามัจจุราช สะเดาะเคราะห์นอนโลง ท�ำพิธีทุกวัน
วัดนี้เป็นวัดร้างมากว่า 50 ปีเศษ เดิมมีเนื้อที่เก่าอยู่ 4 ไร่ 3 งาน 20 วา ส่วนซากศาลาหรือกุฏิก็ไม่มีเหลืออยู่ จนหมดสภาพที่เป็นวัด แม้นชื่อและประวัติของวัดเป็นมาอย่างไร ประชาชนรุ่นหลังก็จ�ำกัน ไม่ค่อยได้ ต่อมาพระวินัยธรสุภาพ สุวฑฺฒโน และประชาชนในพื้นที่ ได้ท�ำการบูรณะวัดร้างแห่งนี้ ครั้งแรกเริ่มสร้างกุฏิ 1 หลัง มีผู้ศรัทธา ซื้อที่ดินถวายวัด 10 ไร่ 3 งาน 79 วา และมีผู้ศรัทธาจัดสร้างกุฏิ ถวาย 3 หลัง ในปี พ.ศ. 2508 มีผู้ศรัทธาจัดซื้อถวายอีก 9 ไร่ 80 วา ในปี พ.ศ. 2509 มีผู้ศรัทธาสร้างศาลา 1 หลัง และท�ำการโรยลูกรัง จากถนนใหญ่ถึงวัด ในปี พ.ศ. 2510 คณะผู้ศรัทธาจัดสร้างกุฏิถวาย 1 หลัง ขณะนี้มีกุฏิ 7 หลัง ส่วนที่ดินของวัดขณะนี้รวมทั้งที่ใหม่และ ที่เก่ามี 30 ไร่เศษ ในวันพุธที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2511 ปีวอก เริ่มวาง ศิลาฤกษ์อุโบสถ การบูรณะวัดร้างแห่งนี้มีการเจริญขึ้นเป็นล�ำดับ
ไหว้พระตรีมูรติ พ่อปู่ฤาษี เสด็จเตี่ยฯ หมอพร
ขอโชคลาภตาทองงิ้วราย NAKHON PATHOM I SBL บันทึกประเทศไทย
(
มากว่)า4+2 ตัด ก.indd ออก1071 ตัว
107
14/12/2563 18:19:34
พระแก้วมรกต องค์จ�ำลอง
ไหว้ขอพรเท้ามหาพรหมองค์ ใหญ่
พระครูยติธรรมานุยุต (หลวงพ่อแป๊ะ) เจ้าอาวาสวัดสว่างอารมณ์ รูปปัจจุบัน
ยุคที่มีการก่อสร้างเป็นวัดมีอุโบสถเป็นครั้งแรก
เมื่อวางศิลาฤกษ์แล้ว พระวินัยธรสุภาพ สุวฑฺฒโน และประชาชน ก็ได้ร่วมท�ำการก่อสร้าง อุโบสถจนแล้วเสร็จใน พ.ศ. 2516 ได้ท�ำการ ปิดทองฝังลูกนิมิต ผูกพัทธสีมา และได้ท�ำการสังฆกรรมสงฆ์มาจนถึง ทุกวันนี้
ไหว้ขอพรพ่อปู่ศรีสุทโธ แม่ย่าศรีปทุมมา
การพัฒนาวัดที่มีสืบกันมาโดยล�ำดับ
เมื่อพระวินัยธรสุภาพ สุวฑฺฒโน ได้มรณภาพลงแล้ว ในช่วง พ.ศ. 2517 ถึง พ.ศ. 2524 ก็ได้มีพระภิกษุอีกหลายรูปเช่น พระอาจารย์ บุณไห้ , พระอาจารย์ทองอยู่ , พระอธิการบุญมี มาปกครองวัด รักษา การดูแลวัด ตลอดจนร่วมกันพัฒนาวัด และสอนการปฏิบัติธรรมให้ กับประชาชน 108
(
พระราหู มีของด�ำ 8 อย่างให้ ไหว้ทุกวัน
SBL บันทึกประเทศไทย I นครปฐม
) 4+2
.indd 108
14/12/2563 18:19:40
การพัฒนาวัดในปัจจุบัน
ปั จ จุ บั น วั ด สว่ า งอารมณ์ มี พระครู ย ติ ธ รรมานุ ยุ ต หรื อ ที่ ชาวบ้านเรียกติดปากว่า “หลวงพ่อแป๊ะ” หรือ “หลวงพ่อรวย” เป็น เจ้าอาวาส ด้วยแรงศรัทธา การช่วยเหลือชุมชนและสังคมด้านต่างๆ ท�ำให้มลี กู ศิษย์ให้ความศรัทธาทัว่ ประเทศ ทัง้ พระและฆราวาส และท่าน ได้พฒ ั นาวัดสว่างอารมณ์ โดยการอบรมปฏิบตั ธิ รรมแก่พทุ ธศาสนิกชน และได้จัดการในเรื่องถาวรสถาน และถาวรวัตถุ สิ่งศักดิ์สิทธิ์มากมาย เพื่อให้ประชาชนได้กราบไหว้สักการบูชา “วัดสว่างอารมณ์” เป็นอีกวัดหนึ่ง ที่ท�ำนุบ�ำรุงศาสนาตาม ระเบียบของมหาเถรสมาคม และส่งเสริมพัฒนาชุมชนรอบๆวัด รวมถึง นักเรียน โรงเรียน และวัดในถิ่นทุรกันดารจังหวัดต่างๆ อยู่ในสังคม “บ้าน-วัด-โรงเรียน” โดยแท้ เมื่อมีลูกศิษย์ศรัทธามาท�ำบุญมากมีรายได้เข้าวัดมาก “หลวงพ่อ แป๊ะ” แบ่งไว้บูรณะวัดส่วนหนึ่ง ที่เหลือช่วยเหลือสังคมผู้ยากไร้ ผู้ป่วยติดเตียง จัดหาทุนการศึกษาให้แก่นักเรียนที่ขาดแคลนทุน ทรัพย์ บริจาคเงินให้กับโรงพยาบาล ช่วยเหลือผู้ประสบภัยต่างๆ รวม ทั้งจัดงานปิดทองลูกนิมิต 9 วัด 99 ลูก มอบให้ 9 จังหวัดทุกปี ให้วัด ในถิ่นห่างไกลทั่วประเทศ ช่วยเหลือวัดต่างๆไปแล้วกว่า 50 วัด จัดตั้ง กล่องรับบริจาคท�ำบุญให้ดว้ ยชือ่ ของวัดไหนรับตูบ้ ริจาคไปเลย ภายใน วัดสว่างอารมณ์ ปัจจุบัน “หลวงพ่อแป๊ะ” ยังจัดให้พุทธศาสนิกชน ได้ไหว้พระ ตามที่ลูกศิษย์ขอให้จัดไว้ที่วัด ไม่ต้องไปตระเวนไหว้กัน ตามวัด หรือสถานที่ต่างๆ มาวัดนี้มีครบ ประหยัดและปลอดภัยจาก การเดินทาง
โรงเจวัดสว่างอารมณ์ (แคแถว)
ไอ้ ไข่วัดสว่าง สามสคร
กองภูเขาปะทัดที่จุดถวายไอ้ ไข่และกุมารน้องเก้า
กุมารน้องเก้า 30 ล้าน 100 ล้าน
เรือตังเก เศรษฐีนาคราช, ทุ่งบัวแดง NAKHON PATHOM I SBL บันทึกประเทศไทย
(
) 4+2
.indd 109
109
14/12/2563 18:19:46
History of buddhism....
วัดใหม่สุปดิษฐาราม พระอธิการสมชาย วรมุนี เจ้าอาวาสวัดใหม่สุปดิษฐาราม
วัดใหม่สุปดิษฐาราม ตั้งอยู่เลขที่ 1 บ้านถนนหลวง หมู่ที่ 3 ต�ำบลนครชัยศรี อ�ำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม
110
วัดใหม่สุปดิษฐาราม เป็นชื่อเรียกทางราชการ ชาวบ้านทั่วไปเรียก วัดใหม่ ส่วนชื่อเดิมคือวัดใหม่ริมจวน เป็นวัดที่เก่าแก่วัดหนึ่งตั้งขึ้นในสมัย พระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว รั ช กาลที่ 5 ในขณะนั้ น (พุทธศักราช 2438) ทรงจัดการปกครองประเทศเป็นแบบมณฑลเทศาภิบาล โดยพระยามหาเทพ (บุตร บุญยรัตพันธ์) ด�ำรงต�ำแหน่ง ข้าหลวงมณฑล นครชัยศรีเป็นคนแรก ซึง่ ในมณฑลนครชัยศรีนนั้ ประกอบด้วย เมืองสุพรรณ เมืองสมุทรสาคร และ เมืองนครชัยศรี
SBL บันทึกประเทศไทย I นครปฐม
2
.indd 110
17/12/2563 15:26:16
ว หลัง ในสม พระ อ วิสุงค กิ ต ต เป็ น กว้าง องค
สิ่งศ
1 2 3
ต่อมาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้หลวงเสนีพทิ กั ษ์ (ชม สุนทราชุน) ผูว้ า่ ราชการ เมืองพิจิตร มาเป็นผู้ว่าราชการเมือง นครชัยศรี หลวงเสนีพิทักษ์ผู้นี้ ได้ท�ำความเจริญต่างๆ ให้แก่เมืองนครชัยศรีเป็นจ�ำนวนมาก ทางด้าน ศาสนาได้สร้างวัดขึน้ เมือ่ พุทธศักราช 2439 ติดกับทีท่ ำ� การอ�ำเภอเมือง นครชั ย ศรี ท างด้ า นทิ ศ เหนื อ โดยวั ด มี ชื่ อ เรี ย กในขณะนั้ น ว่ า “วั ด ใหม่ ริ ม จวน” หลั ง จากนั้ น พระองค์ เจ้ า สุ ป ดิ ษ วรฤทธิ ร าช มหามกุฏบุรษุ รัตนราชวโรรส พระราชโอรสองค์ที่ 2 ในพระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว รั ช กาลที่ 4 ได้ ท รงสร้ า ง อุ โ บสถ วิหาร สถูป และมณฑลพระอีกคู่หนึ่งขึ้น ณ วัดแห่งนี้ จึงได้ชื่อว่า “วัดใหม่สุปดิษฐาราม” มาจนถึงปัจจุบันนี้ ในเดือนกันยายน พุทธศักราช 2441 หลวงเสนีพิทักษ์ ได้รับ พระราชทานบรรดาศักดิ์เป็นพระยาสุนทรพิชัยสงคราม และได้ทรง พระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ดำ� รงต�ำแหน่ง ส�ำเร็จราชการมณฑลนครชัยศรี แทนมหาเทพซึ่งป่วย พระยาสุนทรพิชัยสงครามได้ด�ำรงต�ำแหน่ง มาจนถึงสมัยรัชกาลที่ 6 และต่อมาได้รบั พระราชทานบรรดาศักดิเ์ ป็น พระยาศรีวิชัยชนินทร จนกระทั่งในเดือนกันยายน พุทธศักราช 2444 เมืองนครชัยศรีได้ย้ายไปตั้งที่จังหวัดนครปฐม หลักฐานการตัง้ วัดใหม่สปุ ดิษฐารามได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา ประมาณ พุทธศักราช 2495 เนื้อที่กว้าง 8 เมตร ได้ประกอบพิธี ผูกพัทธสีมาในปีพุทธศักราช 2495
รายนามเจ้าอาวาสวัดใหม่สุปดิษฐาราม
1. พระอธิการภู่ ( ท่านเจ้าภู่ ) 2. พระครูคต 3. พระใบฎีกาแย้ม 4. พระอธิการเป้า 5. พระครูพุทธิศิริชัย (ผูก) 6. พระอธิการเงิน 7. พระอธิการสุริยะ สุริโย 8. พระมหาไสว วรธมฺโม 9. พระครูปลัดสุวิชัย อภิชโย 10. พระอธิการสมชาย วรมุนี
พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
ท�ำเน
2439 - 2447 2448 - 2462 2463 - 2468 2468 - 2482 2483 - 2522 2523 - 2524 2525 - 2538 2539 - 2544 2545 - 2548 2549 - ปัจจุบัน NAKHON PATHOM I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 111
111
17/12/2563 15:26:30
ร ร ร ร ร ร ร ร ร ร
History of buddhism....
วัดโคกพระเจดีย์ พระครูประภัศร์กิตติคุณ (พระมหาเติมพันธ์ อภิปญฺโญ นธ.เอก/ ปธ.3) เจ้าอาวาสวัดโคกพระเจดีย์
วัดโคกพระเจดีย์ เดิมชื่อวัดม่วง ตั้งอยู่บริเวณท่าข้าม ต�ำบลบางระก�ำ และได้ย้ายมาสร้างวัดใหม่ที่โคกเจดีย์เก่าของชาวบ้านที่ครอบครองพื้นที่นี้ อยู่แต่เดิม วัดโคกพระเจดีย์ ได้รับอนุญาตตั้งเป็นวัดเมื่อปี พ.ศ. 2447 และ ได้รับวิสุงคามสีมาเมื่อปี พ.ศ. 2465 มีเนื้อที่ 40 ไร่
วัดโคกพระเจดีย์ ตั้งอยู่เลขที่ 1 หมู่ที่ 2 ต�ำบลโคกพระเจดีย์ อ�ำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม
หลวงพ่อด�ำก่อนลอกทองเปลว
112
2
หลวงพ่อด�ำเนือ้ สามกษัตริย์
หลวงพ่อด�ำเนือ้ เมฆพัตร รุน่ 1
SBL บันทึกประเทศไทย I นครปฐม
.indd 112
6/1/2564 13:43:09
ประวัตทิ มี่ าของชุมชนโคกพระเจดียแ์ ละการสร้างวัดโคกพระเจดีย์ พืน้ ทีบ่ ริเวณต�ำบลโคกพระเจดียเ์ ดิม เป็นป่ารก และชาวบ้านได้เข้ามา จับจองโดยการถากถางก�ำหนดเขตกันตามก�ำลังของแต่ละครอบครัว ซึ่งบริเวณที่ตั้งวัดโคกพระเจดีย์นี้ก็เช่นกัน มีครอบครัวคงทับทิมได้ ท�ำการบุกเบิกทีด่ นิ มาจนถึงเนินดินสูงและมีเจดียเ์ ก่า 2 องค์อยูบ่ นเรือ ส�ำเภาและครอบครัวคงทับทิมก็ถากถางโดยรอบเนินดินปรับพืน้ ทีเ่ ป็น ทุ่งนาและคอยดูแลท�ำความสะอาดรอบเจดีย์มาตลอด จนทางคณะ กรรมการและชาวบ้านพร้อมพระสงฆ์วดั ม่วง ได้มาขอพืน้ ทีต่ รงนีส้ ร้าง วัดใหม่ ทางครอบครัวคงทับทิม ก็บริจาคที่ดินให้ส่วนหนึ่งทางวัดก็ซื้อ เพิ่มส่วนหนึ่งและท�ำการก่อสร้างวัดต่อมา ความเป็นมาของเจดีย์คู่บนเรือส�ำเภา ต�ำนานได้เล่าขานกันมาปากต่อปากว่า บริเวณนีม้ เี รือส�ำเภาจีนมาล่ม จึงได้สร้างเจดียค์ บู่ นเรือส�ำเภาไว้เป็นอนุสรณ์ เพราะบริเวณนีเ้ คยเป็นเส้นทาง เดินเรือส�ำเภาทางทะเล ไปค้าขายที่องค์พระปฐมเจดีย์ ในยุคทวารวดี และมีหลักฐานว่าอิฐที่ใช้ก่อสร้างเจดีย์นั้นก็เป็นอิฐในยุคทวารวดี จึงสันนิษฐานว่าเจดีย์นี้อยู่ในยุคทวารวดีซึ่งเป็นยุคที่รุ่งเรืองด้านการ ค้าขายระหว่างทวารวดีกับจีน (หมายเหตุ เนื้อหานี้เป็นเพียงเรื่องเล่าขานกันมายังไม่ได้มีการ พิสูจน์ทางโบราณคดี) ความเป็นมาของชื่อวัด ค�ำว่า “โคก” ด้วยลักษณะของพื้นที่ดิน เป็นโคกดินสูง, ค�ำว่า “พระ” เพราะสร้างวัดให้พระสงฆ์จำ� พรรษา, ค�ำว่า “เจดีย์” เพราะมีเจดีย์เก่าแก่ตั้งอยู่ 2 องค์บนเรือส�ำเภา จึงได้ชื่อว่า “วัดโคกพระเจดีย์” ศาสนสถาน และศาสนสมบัติ วัดโคกพระเจดีย์ 1. อุโบสถหลังแรกของวัด ได้รับวิสุงคามสีมาเมื่อ พ.ศ. 2465 2. เจดีย์เก่า 3. เสาหลักดวง 12 นักษัตร 4. พระประธานในอุโบสถ พระพุทธรูปปางมารวิชัย เนื้อสาม กษัตริย์ คือ มีพระเศียร เป็นทองค�ำ มีล�ำคอ เป็นเนื้อเงิน และมีองค์ เป็นเนื้อนาค สิ่งที่นา่ สนใจภายในวัดโคกพระเจดีย์ 1. องค์หลวงพ่อด�ำ พระประธานในอุโบสถ เป็นที่เคารพกราบไหว้ ของชาวบ้านอย่างยิ่ง 2. เหรียญเนื้อเมฆพัตร หลวงพ่อด�ำ เป็นสิ่งยึดเหนี่ยวจิตใจของ ชาวบ้าน 3. พระไม้โพธิ์แกะ ชื่อภควัมปิดตาเป็นชื่อที่ชื่นชอบของเซียนพระ
ล�ำดับเจ้าอาวาสและผู้ช่วยเจ้าอาวาส รูปที่ 1 หลวงพ่อธูป รูปที่ 2 หลวงพ่อเบี้ย รูปที่ 3 หลวงพ่อเปล่ง รูปที่ 4 พระครูประภัศร์กิตติคุณ (พระมหาเติมพันธ์ อภิปญฺโญ นธ.เอก/ ปธ.3) เป็นเจ้าอาวาสองค์ปัจจุบัน และมีพระใบฎีกาวิชัย โกวิโท (นธ.เอก/ปริญญาโท) ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดโคกพระเจดีย์ ประวัติหลวงพ่อด�ำ หลวงพ่อสิน วัดไทร ได้พระพุทธรูปมาจากวัดไตรมิตร กทม. จ�ำนวน 1 องค์ และถวายให้หลวงพ่อเบี้ย เมื่อคราวสร้างอุโบสถเพื่อ เป็นพระประธานในอุโบสถ ดังนั้นเมื่อได้ฤกษ์งามยามดี หลวงพ่อเบี้ย และชาวบ้านส่วนหนึง่ ก็ไปอัญเชิญพระพุทธรูปมา และด้วยลักษณะสีผวิ ของพระพุทธรูปทีล่ งรักปิดทองมีสภาพทีท่ รุดโทรมเสียหายของผิวเนือ้ ด้านนอก จึงท�ำให้เห็นผิวด้านในเป็นสีดำ� ด้วยลักษณะอันนีช้ าวบ้านจึง เรียกพระพุทธรูปองค์นี้ว่า “หลวงพ่อด�ำ” จึงเป็นชื่อที่เรียกขาน พระพุทธรูปองค์นี้ว่าหลวงพ่อด�ำตลอดมาถึงปัจจุบันนี้ และในปี พ.ศ. 2563 ได้ท�ำการบูรณะลงรักปิดทองค�ำเปลวแท้ที่ องค์หลวงพ่อด�ำ ในขณะที่ท�ำการบูรณะอยู่นั้น ช่างได้สังเกตเห็นว่า เนื้อในขององค์พระมีสีผิวที่ไม่ใช่เนื้อทองเหลืองหรือส�ำริด ดังนั้นช่าง ก็ทำ� การลอกผิวเดิมออกจนหมด ปรากฏว่าทีพ่ ระเศียรของหลวงพ่อด�ำ เป็นทองค�ำ ส่วนเนื้อผิวที่ล�ำคอเป็นเนื้อเงินและส่วนองค์เป็นเนื้อนาค ด้วยเหตุนกี้ ารบูรณะจึงยุตลิ ง ชาวบ้านและคณะกรรมการวัด ลงความเห็น ให้หยุดการบูรณะ ให้กลับมาปิดทองดังเดิม
เจดีย์เก่า
ตาไข่สามยอด
พระครูประภัศร์กติ ติคณ ุ เจ้าอาวาส วัดโคกพระเจดีย์
เสาหลักดวง 12 นักษัตร
พระใบฎีกาวิชัย โกวิโท
ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดโคกพระเจดีย์
อุโบสถหลังแรก
NAKHON PATHOM I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 113
113
6/1/2564 13:43:24
History of buddhism....
วัดกลางบางแก้ว พระครูสถิตบุญเขต ที่ปรึกษาเจ้าคณะอำ�เภอนครชัยศรี เจ้าอาวาสวัดกลางบางแก้ว
114
2
วัดกลางบางแก้ว ตั้งอยู่เลขที่ 113 หมู่ 2 ต�ำบลนครชัยศรี อ�ำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม 73120
จากค�ำบอกเล่าท่านเจ้าคุณพระพุทธวิถีนายก (หลวงปู่เพิ่ม ปุญญวสโน) ซึ่ง ท่านก็เคยได้ฟงั จากท่านเจ้าคุณพระพุทธวิถนี ายก (บุญ ขนธโชติ) ท่านเล่าให้ฟงั ว่า วัดกลางบางแก้วเป็นวัดราษฎร์ แต่เดิมชื่อว่า วัดคงคาราม คนทั่วไปแถบบริเวณ นครชัยศรีนี้ มักเรียกว่า วัดกลาง เพราะตั้งอยู่ปากคลองบางแก้ว ต�ำบลปากน�้ำ แขวงเมืองนครชัยศรี และต�ำบลปากน�้ำในปัจจุบันเปลี่ยนเป็นต�ำบลนครชัยศรี ครั้นเมื่อปี พ.ศ. 2458 สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรม พระยาวชิรญาณวโรรส เสด็จตรวจราชการตามล�ำน�้ำนครชัยศรี (ล�ำน�้ำท่าจีน) ได้เสด็จขึ้นทอดพระเนตร วัดทรงตรัสถามมรรคนายกวัดชือ่ นายโป๊ะ ชมภูนชิ ทูลว่าชือ่ วัดคงคาราม ทรงเห็นว่า เป็นวัดทีอ่ ยูร่ มิ แม่นำ�้ นครชัยศรีตรงปากคลองบางแก้ว และในละแวกนัน้ มีวดั ใกล้เคียง อีกสองวัดซึ่งมีอาณาเขตวัดติดต่อกัน คือด้านทิศใต้ติดต่อกับวัดใหม่สุปดิษฐาราม ด้านทิศตะวันตกติดต่อกับวัดตุก๊ ตา จึงได้ทรงประทานชือ่ ให้ใหม่วา่ “วัดกลางบางแก้ว” ตรงกับสมัยที่พระพุทธวิถีนายก (บุญ ขนฺธโชติ) เป็นเจ้าอาวาสในสมัยนั้น แต่นั้น มาจึงใช้ชื่อ วัดกลางบางแก้ว เป็นทางราชการมาจนถึงปัจจุบันนี้
SBL บันทึกประเทศไทย I นครปฐม
.indd 114
14/12/2563 15:57:49
วัดกลางบางแก้ว หรือ วัดคงคารามนี้ เข้าใจว่าคงเป็นวัดโบราณ เก่าแก่สร้างมาแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา หรือตอนปลายของยุคอูท่ อง จาก สภาพโบราณวัตถุภายในวัด เป็นต้นว่าอุโบสถ ใบเสมา และวิหาร ตลอดจนพระพุทธรูปหินทรายแดง ซึ่งเป็นพระประธานในอุโบสถ คือ หลวงพ่อโตและมีปรากฏตามรอยจารึกว่า ได้ตั้งวัดเมื่อปี พ.ศ.1895 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อปี พ.ศ.1905 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 10 เมตร ยาว 26.50 เมตร ทีด่ นิ ตัง้ วัดมีเนือ้ ที่ 23 ไร่ 68 ตารางวา โดยมี หนังสือแสดงกรรมสิทธิท์ ดี่ นิ เป็นโฉนด เลขที่ 10734 กรรมสิทธิ์ ทีด่ นิ เป็นของวัด วัดกลางบางแก้วนี้ ไดรับการปฏิสงั ขรณ์ ซ่อมสร้างสืบ ต่อกันเรื่อยมา และหากพิจารณาดูสภาพโดยทั่วไปแล้ว ก็พอจะ สันนิษฐานได้ว่าเป็นวัดที่เคยเจริญรุ่งเรืองมาแต่สมัยอดีต เพราะมี ถาวรวัตถุหลายอย่างทีแ่ สดงให้เห็นว่า ได้มกี ารก่อสร้างและปฏิสงั ขรณ์ สืบเนือ่ งกันต่อๆ มา เช่นภาพจิตรกรรมฝาผนังในอุโบสถ และภาพจิตรกรรม ฝาไม้สักทองด้านในหอไตร ซึ่งมีความงดงามมาก อันแสดงถึงฝีมอื ช่าง เมื่อครั้งยุคต้นกรุงรัตนโกสินทร์
สิ่งที่น่าสนใจภายในวัด
- หอไตร ตัง้ อยูข่ า้ งหอระฆัง ติดกับด้านหลังของอาคารอนุสาวรีย์ อันเป็นที่ประดิษฐานรูปหล่อเหมือนหลวงปู่บุญ และหลวงปู่เพิ่ม หอไตรเป็นอาคารทรงไทย หลังคาเป็นจั่วแหลมชั้นเดียว มีกันสาด ต่อออกไปทั้งสี่ด้าน - พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ พ ระพุ ท ธวิ ถี น ายก การจั ด แสดงในพิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ พระพุทธวิถีนายก จัดแสดงเรื่องราวโบราณวัตถุและศิลปวัตถุ - อุโบสถวัดกลางบางแก้ว วัดกลางบางแก้ว เป็นวัดริมแม่นำ�้ คือ ตั้งอยู่ริมแม่น�้ำนครชัยศรี หน้าวัดจึงหันสู่แม่นำ�้ ตามธรรมเนียมโบราณ รวมทั้งพระอุโบสถก็หันสู่แม่น�้ำ ท�ำให้อาคารหันไม่ตรงทิศเท่าใด
NAKHON PATHOM I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 115
115
14/12/2563 15:58:02
Buddhism
in Thailand
Everything You Need to Know About Buddhism in Thailand There are some 30,000 Buddhist temples in Thailand.
116
AD.indd 116
SBL บันทึกประเทศไทย I ปทุมธานี
15/12/2563 11:09:25
Boat House Boutique Nakornchaisri x1 4
17/12/2563 12:07:03
สีสัน
แห่งสายน�ำ้
ที่พักสไตล์เรียบหรู สงบเงียบ ไม่ไกลจากกรุงเทพฯ สัมผัสกลิ่นอายธรรมชาติ บรรยากาศร่มรื่น สะอาด สะดวกสบาย ใส่ใจทุกรายละเอียด
x2 118
17/12/2563 13:33:29
“Happiness
Moment” at Chawalun Resort
ร่มรื่น
บรรยากาศสุดชุ่มฉ�ำ่ เย็นสบาย เพื่อให้คุณลูกค้าทุกท่านได้ผ่อนคลาย กับธรรมชาติอันงดงามที่รังสรรไว้ ................มอบให้คนพิเศษเช่นคุณ
โรงแรม ชวาลัน รีสอร์ท ดอนตูม นครปฐม 99/1 หมู่ 9 ถ.เลียบคลองชลประทาน อ.ดอนตูม จ.นครปฐม 73150 Call: +66 084-388-9405 / 084-388-9404 Email: sale@chawalunresort.com,info@chawalunresort.com Line ID: chawalunresort Facebook.com/chawalunresort
x2 119
17/12/2563 13:33:40
History of buddhism....
วัดล�ำลูกบัว พระครูสันติธรรมานันท์ เจ้าอาวาสวัดลำ�ลูกบัว
วัดล�ำลูกบัว ตั้งอยู่เลขที่ 75 หมู่ที่ 4 ต�ำบลล�ำลูกบัว อ�ำเภอดอนตูม จังหวัดนครปฐม
120
2
SBL บันทึกประเทศไทย I นครปฐม
.indd 120
15/12/2563 10:55:51
ประวัติวัดล�ำลูกบัว (พอสังเขป)
เดิมหมู่บ้านล�ำลูกบัวไม่มีวัดให้พุทธศาสนิกชนได้บ�ำเพ็ญกุศล ถ้าจะประกอบศาสนกิจต้องเดินทางไปที่วัดสามง่าม หรือวัดตะโกสูง ซึ่งห่างไกลถึง 4-5 กิโลเมตร การคมนาคมไม่สะดวกทั้งทางบกและ ทางน�ำ ้ ด้วยเหตุนี้ นายหว่าง-นางเผือ่ น บุตรศรี และก�ำนันฉาย อ�ำไพจิตร (ขุนกรีกลเกษตร) ได้ร่วมใจกันถวายที่ดินให้เป็นที่ตั้งของวัด เริ่มแรก ได้สร้างเป็นที่พักสงฆ์ขึ้นมาก่อน เป็นศาลาหลังคามุงแฝกกว้างขวาง พอสมควร ด้านหน้าเป็นที่บ�ำเพ็ญกุศล ด้านหลังกั้นเป็นห้องให้พระ อยูอ่ าศัย ได้นมิ นต์หลวงตาโต มาจ�ำพรรษาและปกครองวัดนีเ้ ป็นครัง้ แรก เมื่อปี พ.ศ. 2470 วัดล�ำลูกบัวได้มีการพัฒนามาเรื่อยๆ จากเจ้าอาวาส ที่มาปกครองและความร่วมมือจากชาวบ้าน ต่อมาเมื่อวันศุกร์ที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2472 ได้รบั อนุญาตให้ตงั้ เป็นวัด และ ได้รบั พระราชทาน วิสุงคามสีมา ครั้งแรก เมื่อวันที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2480
ปูชนีวัตถุภายในวัด พระประธานประจ�ำอุโบสถ
เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัยหล่อด้วยโลหะมีขนาดหน้าตักกว้าง 1 เมตร สร้างถวายโดย นายหว่าง-นางเผื่อน บุญศรี เมื่อปี พ.ศ. 2492
พระประธานประจ�ำอุโบสถใหม่
เป็นพระพุทธชินราชจ�ำลอง สร้างด้วยโลหะลงรักปิดทองขนาด หน้าตักกว้าง 89 นิ้ว พร้อมด้วยพระโมคคัลลาน์ พระสารีบุตร และ พระพุทธรูปปางลีลา 2 องค์
การสร้างถาวรวัตถุ วัดล�ำลูกบัว อุโบสถใหม่
มีลักษณะเป็นทรงไทย ประกอบด้วยช่อฟ้า ใบระกา ซุ้มประตู ซุ้มหน้าต่างและเชิงบันไดที่มีลวดลายไทยอันวิจิตรสวยงาม เริม่ สร้าง เมื่อเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2532 แล้วเสร็จเมื่อปี พ.ศ. 2538 ได้รับ พระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2535
ศาลาการเปรียญ
มีลักษณะทรงไทย อาคารชั้นเดียวยกพื้นสูงเป็นอาคารคอนกรีต เสริมเหล็ก ก่ออิฐถือปูน สร้างเสร็จเมื่อปี พ.ศ. 2538
ศาลาฌาปนสถาน (เมรุ)
มีลักษณะทรงไทยเรียบง่าย โครงสร้างเป็นคอนกรีตเสริมเหล็ก ก่อสร้างเสร็จเมื่อปี พ.ศ. 2519
“ต้นยมชวน” ปลูกโดย พณฯท่าน ชวน หลีกภัย ผู้เคยด�ำรงต�ำแหน่งนายกรัฐมนตรี ประเทศไทย คนที่ 20 ปลูก เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2560
ล�ำดับเจ้าอาวาสที่ดูแลวัดล�ำลูกบัว
พระครูสันติธรรมานันท์
1. หลวงตาโต 2. พระอาจารย์เล็ก ตรีมาลา 3. พระอาจารย์เคี้ยง แซ่ตั้ง 4. หลวงตายัน 5. พระเขียน 6. พระผัน 7. พระอยู่ สามบุญลือ 8. พระอาจารย์แม้น ทองดอนเหมือน 9. พระอาจารย์แหวน 10. พระอาจารย์เคล้า 11. พระครูพัฒนาภินันท์ 12. พระครูสันติธรรมานันท์
เจ้าอาวาสวัดล�ำลูกบัว
พ.ศ. 2469 – 2470 พ.ศ. 2470 – 2474 พ.ศ. 2474 – 2476 พ.ศ. 2477 – 2482 พ.ศ. 2482 – 2483 พ.ศ. 2483 – 2484 พ.ศ. 2484 – 2489 พ.ศ. 2489 – 2491 พ.ศ. 2491 พ.ศ. 2491 พ.ศ. 2492 – 2549 พ.ศ. 2550- ปัจจุบัน
NAKHON PATHOM I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 121
121
17/12/2563 12:50:43
History of buddhism....
วัดบางไผ่นารถ พระครูปุญญาภิสันท์ (มานะ สุวรรณม่วง) เจ้าคณะอำ�เภอบางเลน / เจ้าอาวาสวัดบางไผ่นารถ
วัดบางไผ่นารถ ตั้งอยู่เลขที่ 44 หมู่ที่ 6 ต�ำบลบางไทรป่า อ�ำเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม
วัดบางไผ่นารถ เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย พื้นที่ต้ังวัดมีเนื้อที่ 26 ไร่ 27 ตารางวา ตามหนังสือโฉนดเลขที่ 33280 อาณาเขต ทิศเหนือ จรดโรงเรียนวัดบางไผ่นารถ, ทิศใต้ จรดคลองพิสมัย, ทิศตะวันออก จรดคันกัน้ น�ำ้ ชลประทาน, ทิศตะวันตก จรดแม่นำ�้ ท่าจีน 122
4
SBL บันทึกประเทศไทย I นครปฐม
.indd 122
15/12/2563 17:38:42
ความเป็นมาแต่เดิม
วัดบางไผ่นารถ เดิมวัดบางไผ่นาด ความเป็นมาของวัดแรกเริ่ม สร้ างขึ้ น มาเป็น ส�ำนัก สงฆ์บ างไผ่น าด เมื่อปี พ.ศ. 2400 โดยมี พระอาจารย์ฉิม เป็นเจ้าอาวาสรูปแรก ในการก่อสร้างในครั้งนั้นได้รับ ความช่วยเหลือจากประชาชนกลุ่มหนึ่ง โดยมีนายนาด เป็นหัวหน้า ชักชวนเพือ่ นบ้านมาร่วมแรงร่วมใจกันก่อสร้างเพือ่ เป็นทีอ่ ยูข่ องพระสงฆ์ และเหตุทชี่ อื่ ว่า วัดบางไผ่นาด ก็เพราะในบริเวณพืน้ บ้านถิน่ นี้ เป็นดงไผ่ (ไม้ไผ่ปา่ ) เป็นส่วนใหญ่ และกอปรกับหัวหน้าหมูบ่ า้ นมีชอื่ นาด จึงเรียก ชื่อให้เข้ากับภูมิประเทศและสิ่งแวดล้อม กาลต่อมาในปีพ.ศ. 2440 ได้มพี ระอาจารย์ทว้ ม มาเป็นเจ้าอาวาส ท่านพัฒนาวัด ก่อสร้างศาสนสถาน ถาวรวัตถุ อุโบสถ และได้รับ พระราชทานวิสุงคามสีมา (ผูกพัทธสีมา) ส�ำนักสงฆ์แห่งนี้ จึงจัดตั้งขึ้น เป็นวัดโดยถูกต้องตามกฎหมาย
ปูชนียวัตถุ
พระประธานประจ�ำอุโบสถ เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย มี พระพุทธลักษณะที่ส�ำคัญคือ เนื้อทองเหลืองผสมนากทอง มีขนาดสูง 3.50 เมตร หน้าตักกว้าง 3 เมตร ประชาชนร่วมกันจัดสร้างถวาย สร้าง ไว้เมื่อปี พ.ศ.2526 เช่น พระพุทธรูปภายในวิหาร ปางมารวิชัย ท�ำด้วยปูนปั้นอายุ ประมาณ 100 ปี พระพุทธรูปปางไสยาสน์ อายุประมาณ 91 ปี เหมือน มหาบุรุษทรงทรมานกายอายุประมาณ 71 ปี เจ้าแม่กวนอิม แกะสลักด้วยไม้ สูงประมาณ 2 เมตร รูปหล่อเนื้อ สัมฤทธิ์พระแม่โพสพปางยืนหนึ่งเดียวในนครปฐม และชมฝูงค้างคาว แม่ไก่ขนาดใหญ่ที่หาชมได้ยาก
หลวงพ่อนาระถะศักดิ์สิทธิ์ พระพุทธรูปปูนปั้นปางมารวิชัย อายุกว่า 100 ปี
ค้างคาวแม่ ไ ก่ และกราบไหว้ขอพรหลวงพ่อนาระถะ
ชมฝูง
NAKHON PATHOM I SBL บันทึกประเทศไทย
4
.indd 123
123
15/12/2563 17:38:51
ประวัติการสร้างถาวรวัตถุ อุโบสถ
มี ลั ก ษณะรู ป ทรงเป็ น แบบทรงไทย โครงสร้ า งส่ ว นใหญ่ เ ป็ น คอนกรีตเสริมเหล็กก่ออิฐถือปูน ก่อสร้างเสร็จเมื่อปี พ.ศ. 2535 ได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา ครัง้ หลังเมือ่ วันที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2531 มีขนาดกว้าง 26.53 เมตร ยาว 44 เมตร
ศาลาการเปรียญ
มีลักษณะรูปทรงเป็นแบบทรงไทย โครงสร้างชั้นบนสร้างด้วย ไม้เนือ้ แข็ง ชัน้ ล่างก่ออิฐถือปูนเสริมเหล็ก ก่อสร้างเสร็จเมือ่ ปี พ.ศ. 2537 ศาลาการเปรียญหลังนี้ มีขนาดกว้าง 20 เมตร ยาว 44 เมตร
ฌาปนสถาน
มีรปู ลักษณะเป็นแบบทรงไทย โครงสร้างส่วนใหญ่เป็นเสริมเหล็ก ก่ออิฐถือปูน วัตถุประสงค์ที่จัดสร้างเพื่อใช้แทนเชิงตะกอนที่เผาศพ ของเก่า ก่อสร้างเสร็จเมื่อปี พ.ศ. 2528 มีขนาดกว้าง 6.30 เมตร ยาว 10.20 เมตร และมีสงิ่ ก่อสร้างอีกมากทีไ่ ด้รบั การบูรณปฏิสงั ขรณ์ อยูภ่ ายในวัด
124
4
SBL บันทึกประเทศไทย I นครปฐม
.indd 124
15/12/2563 17:38:58
รายนามเจ้าอาวาสวัดบางไผ่นารถ
1. พระอธิการฉิม 2. พระอธิการท้วม สกุลมา 3. พระอธิการรอด ชูมชี ยั 4. พระอธิการน่วม ไทรชมพู 5. พระอธิการปลัง่ เกษมวงษ์ 6. พระอธิการทองค�ำ 7. พระอธิการเหม่ ไทรเกิดศรี 8. พระอธิการนวล เขียววิชยั 9. พระอธิการส�ำเนียง ชัชวงษ์ 10. พระอธิการอ่วม ไทรแช่มจันทร์ 11. พระอธิการมาก ไทรเล็กทิม 12. พระอธิการจ�ำลอง ฉายา จนฺทวณฺโณ นามสกุล คชศิลา วิทยาฐานะ น.ธ.เอก มีสมณศักดิค์ รัง้ หลังสุดเป็นพระครูจำ� ลอง 13. พระอธิการกิตติศกั ดิ์ ฉายา โกวิโท นามสกุล ภิรมย์ทอง วิทยาฐานะ น.ธ.เอก ปริญญาตรี พุทธศาสตรบัณฑิต ปริญญาโท พุทธศาสตรมหาบัณฑิต ได้รับสมณศักดิ์เป็น พระครูปุญญาภิสันท์ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดบางไผ่นารถรูปปัจจุบนั และด�ำรงต�ำแหน่ง เจ้าคณะอ�ำเภอบางเลน 14. พระครูปญ ุ ญาภิสนั ท์ (มานะ สุวรรณม่วง) วิทยฐานะ น.ธ.เอก ปริญญาตรี พุทธศาสตร์บัณฑิต ปริญญาโท พุทธศาสตรมหาบัณฑิต เจ้าอาวาสรูปปัจจุบนั
พระอธิการกิตติศักดิ์ โกวิโท (ภิรมย์ทอง)
ได้มารับต�ำแหน่งเจ้าอาวาส ได้ปลูกสร้างกุฏทิ รงไทยเป็นทีพ่ กั ของ พระสงฆ์ และได้สร้างโรงเรียนเป็นตึก 2 ชั้น ก่อสร้างส�ำเร็จในปี พ.ศ. 2516 รั บ นั ก เรี ย นชั้ น ประถม 1-6 และในปี พ.ศ. 2518 ได้ เริ่ ม ด� ำ เนิ น การวางรากฐานอุ โ บสถหลั ง ใหม่ และได้ ท� ำ การ ลาสิกขาบทในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2531 จนถึงพระอธิการมานะ กตปุญฺโญ (สุวรรณม่วง) มาด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส ได้มีการสร้าง อุโบสถที่ยังไม่เสร็จให้เรียบร้อย และก่อสร้างส�ำเร็จในปี พ.ศ. 2534 และได้ท�ำการผูกพัทธสีมาเมื่อปี พ.ศ. 2535
การพัฒนาวัดในยุคปัจจุบัน เจ้าอาวาสวัดบางไผ่นารถ
จัดแบ่งหน้าที่ให้พระภิกษุรับผิดชอบตามความสามารถ ส่งเสริม การศึ ก ษาในด้ า นบาลี แ ละปริ ยั ติ ธ รรมจั ด สร้ า งสถานที่ ฝ ึ ก อบรม จิตภาวนาให้แก่พระภิกษุ และอุบาสก อุบาสิกา NAKHON PATHOM I SBL บันทึกประเทศไทย
4
.indd 125
125
15/12/2563 17:39:01
History of buddhism....
วัดศิลามูล “ภูเขาศิลาแท่งทึบ ไม่สั่นสะเทือนเพราะแรงลมฉันใด บัณฑิตย่อมไม่หวั่นไหวในนินทาและสรรเสริญ ฉันนั้น” พระมหาสมโภช สุเมโธ เจ้าอาวาสวัดศิลามูล
126
5
วัดศิลามูล ตั้งอยู่เลขที่ 131 หมู่ 6 ต�ำบลหินมูล อ�ำเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย เริ่มสร้างในสมัยรัชกาลที่ 4 ปี พ.ศ. 2402 ได้รับพระราชทาน วิสุงคามสีมา ปี พ.ศ. 2469 มีเนื้อที่ 46 ไร่ SBL บันทึกประเทศไทย I นครปฐม
.indd 126
15/12/2563 16:33:12
วัดศิลามูลดั้งเดิมตั้งอยู่ปากคลองทางฝั่งขวาริมแม่น้�ำท่าจีน (บริเวณ หมู่ 6 ต�ำบลหินมูล) โดยตั้งเป็นส�ำนักสงฆ์หินมูล มีหลวงพ่อพรหม เป็นผู้ดูแล และชาวบ้านเป็นผู้ร่วมก่อสร้าง ในครั้งนั้นมีพระสงฆ์จ�ำพรรษาไม่กี่รูป ต่อมาราวปี พ.ศ. 2401 ได้มีชาวจีนสามพี่น้อง นามว่า “เจ๊กกู เจ๊กมัน เจ๊กเล็ก” มีศรัทธาที่จะสร้างวัดจึงปรึกษากับหลวงพ่อพรหม และได้ชักชวนชาวบ้านหินมูลสร้างวัดขึ้นมาใหม่โดยย้ายจาก ส�ำนักสงฆ์หินมูล มาที่อยู่ใหม่ คือที่ตั้งวัดศิลามูลในปัจจุบัน โดยขออนุญาตตั้งเป็นวัด ในสมัยรัชกาลที่ 4 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว ในปี พ.ศ. 2402 ได้ชื่อว่า “วัดหินมูล” หลังจากนั้น ก็มีเจ้าอาวาสอีกหลายรูป จนถึงหลวงปู่ช้าง (พระเกจิผู้เรืองวิทยาคม) ในสมัยนั้นปีพ.ศ. 2448 หลวงปู่คล้ายได้เป็นเจ้าอาวาส รับแต่งตั้งสมณศักดิ์เป็นพระครูสัญญาบัตรว่า “พระครูปุริมานุรักษ์” ซึ่งด�ำรง ต�ำแหน่งพระเถระผู้รักษาองค์พระปฐมเจดีย์ ด้านทิศตะวันออก และได้เปลี่ยนชื่อวัดใหม่ จากวัดหินมูล มาเป็นชื่อ “วัดศิลามูล” NAKHON PATHOM I SBL บันทึกประเทศไทย
5
.indd 127
127
15/12/2563 16:33:19
128
5
SBL บันทึกประเทศไทย I นครปฐม
.indd 128
วัดศิลามูล
ตั้งอยู่เลขที่ 131 หมู่ 6 ต�ำบลหินมูล อ�ำเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม
15/12/2563 16:33:20
กิจกรรมของวัดศิลามูล
- คันถธุระ เปิดสอนคัมภีรอ์ ภิธมั มัตถสังคหะ วิสทุ ธิมรรค วินยั ปิฎก มงคลชีวิต แก่พระภิกษุสงฆ์ และสาธุชนผู้สนใจทั่วไป - วิปัสสนาธุระ บวชเนกขัมมะปฏิบัติธรรมประจ�ำปี วันที่ 23- 26 พฤษภาคม / วันที่ 3-6 ธันวาคม มีการท�ำวัตรเจริญพระพุทธมนต์ ฟังธรรมบรรยาย เดินจงกรม ปฏิบัติวิปัสสนา - กิจกรรมน�ำเด็กนักเรียนโรงเรียนวัดศิลามูล ชั้นประถมปีที่ 4- 6 เข้าวัด ฟังธรรม สวดมนต์ นั่งสมาธิ แผ่เมตตา - น�ำพาสาธุชนร่วม ท�ำวัตร สวดมนต์ เจริญจิตภาวนา เวลา 18.00 น. ทุกวัน - จัดท�ำกิจกรรมสวดมนต์ข้ามปี ท�ำดีต้อนรับปีใหม่ - ท� ำ บุ ญ ทุ ก วั น ธรรมสวนะ และเวี ย นเที ย นในวั น ส� ำ คั ญ ทาง พระพุทธศาสนา - สืบสานอนุรักษ์ประเพณี สงกรานต์ ลอยกระทง หล่อเทียน พรรษา แห่ผ้ากฐินทางน�้ำ แข่งเรือยาวประเพณี - งานปิดทองไหว้พระประจ�ำปีวัดศิลามูล - เทศกาลสงกรานต์ วันที่ 13 – 15 เมษายน - วันลอยกระทง ขึ้น 15 ค�่ำเดือน 12
ปูชนียวัตถุ
- พระประธานในอุโบสถ (หลวงพ่อมงคลชัยสิทธิ์) - พระพุทธมงคลไสยาสน์ - พระพุทธสุโขทัย (ศาลาปฏิบัติธรรมวิปัสสนาธาราวิหารี) - พระพุทธศิลามหามงคล (ริมเขื่อนหน้าวัด) - พระพุทธโสธร พระพุทธเจ้าเปิดโลก พระขอฝน - พระพุทธมงคลธรรมจักร พร้อมปัญจวัคคีย์ - รูปหล่อหลวงปู่ช้าง หลวงปู่คล้าย (พระเกจิอาจารย์ อดีตเจ้า อาวาสวัดศิลามูล) หลวงปู่ช้าง และหลวงปู่คล้าย ท่านเป็นพระเกจิอาจารย์ที่ เคารพศรัทธาของชาวบ้านอย่างสูง ส�ำหรับวัตถุมงคลของท่าน เป็น ที่นิยมแสวงหาของศิษยานุศิษย์อย่างมาก บางท่านเดือดร้อนของหาย มีโรคภัยไข้เจ็บ จะสมัครเข้างาน เดินทางขอให้แคล้วคลาดปลอดภัย ขอโชคลาภก็มาบนบานศาลกล่าว ล้วนแต่ส�ำเร็จอย่างอัศจรรย์ วัดศิลามูลเป็นหน่วยอบรมประชาชนประจ�ำต�ำบลหินมูล วัดศิลามูลเป็นส�ำนักปฏิบตั ธิ รรมประจ�ำจังหวัดนครปฐมแห่งที่ 21
NAKHON PATHOM I SBL บันทึกประเทศไทย
5
.indd 129
129
15/12/2563 16:33:28
ประวัติเจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน
พระมหาสมโภช สุ เ มโธ อุ ป สมบท 24 กรกฎาคม 2536 ณ พัทธสีมา วัดพร้าว จ.สุพรรณบุรี มีพระครูจนั ทสุวรรณเทพ (ทองด�ำ จนฺทเทโว) เป็นพระอุปัชฌาย์
วิทยฐานะ
พ.ศ. 2536 สอบได้นักธรรมชั้นเอก ส�ำนักเรียนวัดบ้านไร่ จังหวัด อุทัยธานี พ.ศ. 2545 จบหลั ก สู ต รการศึ ก ษา ประกาศนี ย บั ต รอภิ ธ รรม บัณฑิต พ.ศ. 2547 ส�ำเร็จปริญญานิเทศศาสตรบัณฑิต จากมหาวิทยาลัย สุโขทัยธรรมาธิราช พ.ศ. 2549 สอบได้ เ ปรี ย ญธรรม 3 ประโยค ส� ำ นั ก เรี ย น วัดหาดใหญ่สิตาราม อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
ต�ำแหน่งหน้าที่
พ.ศ. 2538 ได้รับแต่งตั้งเป็นครูสอนปริยัติธรรม พ.ศ. 2559 ได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาสวัดศิลามูล พ.ศ. 2560 ได้รับ แต่งตั้งเป็น ประธานกรรมการ หน่ ว ยอบรม ประชาชนประจ�ำต�ำบลหินมูล พ.ศ. 2560 ได้รับแต่งตั้งเป็นพระกรรมวาจาจารย์
กราบนมัสการ พระมหาสมโภช สุเมโธ ได้ที่
พระมหาสมโภช สุเมโธ เจ้าอาวาสวัดศิลามูล
130
5
วัดศิลามูล ต.หินมูล อ.บางเลน จ.นครปฐม 73190 โทรศัพท์ 088-614-2499 081-1997-992 Email : watsilamul@gmail.com FacebooK: Sompoch Seemaksuk Line: id 0811997992
SBL บันทึกประเทศไทย I นครปฐม
.indd 130
15/12/2563 16:33:33
History of buddhism....
วัดบอนใหญ่ พระครูนวกิจโกศล เจ้าอาวาสวัดบอนใหญ่
1 ใน 5 วัดมอญนครปฐม ชมอุโบสถไม้
วัดบอนใหญ่ ตั้งอยู่เลขที่ 1 บ้านบอนใหญ่ หมู่ที่ 7 ต�ำบลบัวปากท่า อ�ำเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม
สังกัดคณะสงฆ์ธรรมยุติกนิกาย
วัดบอนใหญ่ ได้รบั อนุญาตให้สร้างและตัง้ วัดก่อนพระราชบัญญัติ คณะสงฆ์ พ.ศ. 2484 เมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2466 ได้รับ พระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2475 ก�ำหนด กว้าง 1 เส้น ยาว 2 เส้น ( 40 x 80 เมตร) การสร้างวัดบอนใหญ่ ปูท่ วด นายดี สมัครรัฐกิจมีจิตศรัทธาใน พระพุทธศาสนา เคยเป็นหัวหน้าน�ำสร้างวัดพันธุวงศ์ บ้านเกาะ ต�ำบลบางปลา อ�ำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร ไว้วดั หนึง่ พอขึน้ ก่อหลัก ปักฐานในถิ่นที่ไม่มีวัดประจ�ำหมู่บ้าน โดยเฉพาะที่เป็นวัดรามัญนิกาย จึงด�ำริชักชวนคณะผู้ร่วมใจ ขอให้ช่วยกันสร้างวัดขึ้นในหมู่บ้านคลอง บอนใหญ่ คลองญี่ปุ่น และคลองบ้านหวั่น ก�ำหนดจุดที่ตั้ง ใช้ที่ดิน ระหว่างปลายนาคลองบอนใหญ่กับคลองญี่ปุ่นเป็นศูนย์กลางที่เคย กล่าวไว้ ปู่วิ เป็นผู้มีจิตศรัทธายกที่ดินส่วนหนึ่งเป็นที่สร้างวัด วัดมีที่ธรณีสงฆ์แปลงที่ 1 เนื้อที่ 67 ไร่ 2 งาน 92 ตารางวา อยู่ที่ คลองญีป่ นุ่ ต�ำบลบัวปากท่า อ�ำเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม โฉนดทีด่ นิ เลขที่ 6607, แปลงที่ 2 มีเนื้อที่ 34 ไร่ 2 งาน ติดกับที่ตั้งวัดทาง ทิศตะวันออก ขนานไปกับคลองวัด จรดคลองญีป่ นุ่ โฉนดเลขที่ 15406 เป็นทีส่ ร้างโรงเรียนมัธยมประจ�ำต�ำบลบัวปากท่า “โรงเรียนบัวปากท่า วิทยา”
พระครูนวกิจโกศล เจ้าอาวาสวัดบอนใหญ่
NAKHON PATHOM I SBL บันทึกประเทศไทย
1
.indd 131
เพิม่ ค�ำว่า โรงเรียน ด้านหน้า
131
15/12/2563 14:32:59
History of buddhism....
วัดสุขวัฒนาราม พระครูพิทักษ์สุขวัฒน์ เจ้าอาวาสวัดสุขวัฒนาราม
วัดสุขวัฒนาราม ตั้งอยู่เลขที่ 17 หมู่ที่ 8 ต�ำบลบางระก�ำ อ�ำเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม
วัดสุขวัฒนาราม มีนามเดิมว่า บางระก�ำ (สาเหตุที่เปลี่ยนนามจาก “บางระก�ำ” มาเป็น “สุขวัฒนาราม” คงเป็นเพราะต้องการให้ เป็นนามมงคล เนื่องจากค�ำว่า “ระก�ำ” แปลว่า เจ็บปวดแสนสาหัส จึงเปลี่ยนเป็น “สุขวัฒนะ” ซึ่งแปลว่า เจริญสุข) ใช้นามตามชื่อของ หมู่บ้านบางระก�ำ ต�ำบลบางระก�ำ อ�ำเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม อาณาบริเวณวัดทั้งหมด อยู่ริมฝั่งขวาของแม่น�้ำท่าจีน กล่าวคือว่าอยู่ ทางทิศตะวันตก ของล�ำน�้ำ เป็นวัดที่ตั้งอยู่สุดแดนด้านทิศใต้ของเขตอ�ำเภอบางเลน ติดต่อกับเขตอ�ำเภอนครชัยศรี 132
3
SBL บันทึกประเทศไทย I นครปฐม
.indd 132
15/12/2563 11:13:38
วัดสุขวัฒนาราม จากสภาพเดิมของวัดโดยทัว่ ไปประมาณอายุได้ 100 ปีเศษหรือสร้างขึน้ ราวสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ด้วยการสันนิษฐาน และสอบถามชาวบ้านระก�ำ ผู้มีอายุมากหลายๆ ท่าน ซึ่งต่างก็ไม่ค่อย ทราบประวัติโดยละเอียดนักเป็นเพียงแต่จดจ�ำค�ำบอกเล่าสืบต่อกัน มาเท่านั้น ประวัติวัดสุขวัฒนาราม พิจารณาจากวัตถุสถานที่ส�ำคัญของวัด เป็นหลักเกณฑ์ คือ จตุรมุข ตั้งอยู่หน้าศาลาการเปรียญหลังเก่า (บัดนี้ถูกรื้อน�ำเอา ทัพสัมภาระไปสร้างหอฉัน หอสวดมนต์แล้ว) เป็นวัตถุสถานทีส่ ร้างขึน้ มาครั้งหลังสุดประมาณอายุ 70 ปีมาแล้ว ส่วนถาวรวัตถุที่ส�ำคัญ คืออุโบสถหลังเก่า (อุโบสถที่ปรากฏอยู่ ทุกวันนีเ้ ป็นหลังทีส่ อง) มีเจดียอ์ งค์ใหญ่ บรรจุพระเครือ่ งไว้ภายในสถิตย์ อยู่ด้านหน้าอุโบสถอีกอย่างหนึ่งก็คือ เจดีย์เรือส�ำเภา วัตถุสถานทีส่ ำ� คัญทัง้ สามนี้ สันนิษฐานว่า คงสร้างขึน้ ในเวลาใกล้เคียง กับวิหารจตุรมุขทั้งสิ้น
NAKHON PATHOM I SBL บันทึกประเทศไทย
3
.indd 133
133
15/12/2563 11:13:52
วั ด สุ ข วั ฒ นาราม เริ่ ม เป็ น วั ด ขึ้ น มาโดย พระคร�้ ำ อิ น โชโต (นามสกุล นิลอ่างทอง) เป็นชาววิเศษชัยชาญ จังหวัดอ่างทอง เป็น พระธุดงค์มาทางเรือ มาถึงป่าระก�ำแห่งนี้ เห็นว่าเป็นสถานที่สงบดี จึงแวะพักอยู่หลายราตรี และได้รู้จักกับนายจุ้ย –นางเจียม สายอุบล เจ้าของสถานที่ ซึ่งเป็นผู้มีจิตเลื่อมใสศรัทธาในปฏิปทาและอุปนิสัย ของท่านที่มีรูปร่างใหญ่โต พูดจาเสียงดังน่าเกรงขาม และปรารถนา จะสร้างวัดไว้ในพระพุทธศาสนา และประกอบกับ นายริด สุนทร อ�ำไพ ( ต่อมาได้รับบรรดาศักดิ์ที่ ขุนระก�ำสาธก) ก�ำนันต�ำบลระก�ำ ในสมัยนั้น มีความประสงค์จะมีวัด เพื่อให้เป็นสถานบ�ำเพ็ญกุศลของ พุทธศาสนิกชนทัว่ ไป จึงได้เริม่ สร้างวัตถุสถานเป็นกุฏทิ รงไทย ใต้ถนุ สูง มีบันไดปูนอยู่ด้านหน้ากุฏิ และมีบันไดลงไปทางน�้ำได้ เป็นกุฏิอยู่ ณ บริเวณทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ของต้นตาลซึ่งยังมีปรากฏอยู่ใน ปัจจุบันนี้
เจ้าอาวาสวัดสุขวัฒนาราม เท่าที่มีนามปรากฏ คือ
พิพิธภัณฑ์วิถีชาวนาลุ่มน�้ำนครชัยศรี ตั้งอยู่ที่วัดสุขวัฒนาราม ต�ำบลบางระก�ำ อ�ำเภอบางเลน จังหวัด
นครปฐม แรกเริ่มจากการที่วัดสุขวัฒนาราม จัดแสดงของใช้พื้นบ้าน เรียกว่า “พิพิธภัณฑ์ของโบราณพื้นบ้าน” จนกระทั่งได้รับความ ช่วยเหลือจากนักวิชาการมหาวิทยาลัยมหิดล ช่วยกันพัฒนาปรับปรุง การจั ด แสดงภายในพิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ขึ้ น ใหม่ พร้ อ มทั้ ง เปลี่ ย นชื่ อ เป็ น พิพิธภัณฑ์วิถีชาวนาลุ่มน�้ำนครชัยศรี โดยมุ่งหวังให้เป็นแหล่งเรียนรู้ ของคนในชุมชนและประชาชนทั่วไปที่สนใจศึกษาองค์ความรู้ในเรื่อง เกษตรกรรม และท้องถิ่นบางระก�ำ จัดแสดงขั้นตอนการท�ำนาตั้งแต่ เริ่มแรกจนถึงขั้นสุดท้าย เพื่อเป็นแรงบันดาลใจในการร่วมมือกัน อนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น อีกทั้งยังจัดแสดงโบราณวัตถุ พระพุทธรูป และวั ต ถุ ท างวั ฒ นธรรมอื่ น ๆอี ก ด้ ว ย พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ วิ ถี ช าวนาลุ ่ ม น�้ ำ นครชัยศรี วัดสุขวัฒนาราม เปิดให้ชมทุกวัน ตั้งแต่เวลา 09.00 16.00 น. โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายใดๆ ทั้งสิ้น
1. เจ้าอธิการคร�้ำ อินทโชโต 2. พระครูปัญญาประยุต (มาก ปญฺญายุตฺโต) 3. พระครูพทิ กั ษ์สขุ วัฒน์ (พเยาว์ เตชธมฺโม) พ.ศ. 2525 ถึงปัจจุบนั
พระครูพิทักษ์สุขวัฒน์
เจ้าอาวาสวัดสุขวัฒนาราม 134
3
SBL บันทึกประเทศไทย I นครปฐม
.indd 134
15/12/2563 11:13:57
Buddhism
in Thailand
Everything You Need to Know About Buddhism in Thailand There are some 30,000 Buddhist temples in Thailand.
PATHUM THANI I SBL บันทึกประเทศไทย
AD.indd 135
135
15/12/2563 11:09:45
History of buddhism....
วัดสว่างอารมณ์ พระครูโสภณสาโรภาส เจ้าคณะตำ�บลบางภาษี / เจ้าอาวาสวัดสว่างอารมณ์
วัดสว่างอารมณ์ เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตั้งอยู่เลขที่ 8 หมู่ที่ 6 ต�ำบลนราภิรมย์ อ�ำเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม
136
2
SBL บันทึกประเทศไทย I นครปฐม
.indd 136
14/12/2563 18:01:37
วั ด สว่ า งอารมณ์ น ามเดิ ม มี ชื่ อ ว่ า “วั ด คลองแขก” เดิ ม เป็ น วัดเก่าแก่สร้างขึ้นราวปี พ.ศ. 2425 ที่ตั้งเดิมเป็นพื้นที่ป่า มีพืชพรรณ นานาชนิ ด อุ ด มสมบู ร ณ์ เจ้ า ของที่ ดิ น เป็ น ของสมเด็ จ พระเจ้าน้องยาเธอเจ้าฟ้ากรมหลวงลพบุรีราเมสวร ได้ตกทอดมา จนถึงคนสุดท้ายคือนายจุน ทังสุบุตร ซึ่งได้มอบให้เป็นธรณีสงฆ์ ตั้ ง แต่ บั ด นั้ น มา มี ป ระชาชนได้ ม าตั้ ง บ้ า นเรื อ นกระจั ด กระจาย ประกอบอาชีพเกษตรกรรม (ท�ำนา) เป็นส่วนใหญ่ ในสมัยนั้นมี ประชาชนอยู่หลายเชื้อชาติ หลายเผ่าพันธุ์ ประกอบไปด้วย ไทย จีน และแขก และคนแขกสมั ย นั้ น ได้ ท� ำ การขุ ด คลองขึ้ น เพราะพื้ น ที่ ส่วนใหญ่เป็นทีด่ อน ได้ชอื่ ว่า “คลองแขกหัวโต” อาจจะเป็นเพราะว่า คนแขกในสมัยนั้นเขาโพกผ้ากันจนหัวโต จึงได้ชื่อเช่นนั้น ต่อมาก็ได้ มีประชาชนอพยพมาอยู่เพิ่มขึ้นเป็นจ�ำนวนมาก แต่ยังไม่มีวัดซึ่งเป็น ศูนย์รวมและยึดเหนี่ยวจิตใจพร้อมทั้งใช้ประกอบพิธีกรรมทางด้าน ศาสนาจึงได้ร่วมมือกันสร้างวัด ปรับพื้นที่ต่างๆ ให้เหมาะสมโดยเริ่ม ก่อสร้างวัดตั้งแต่ พ.ศ. 2425 โดยที่มีความเห็นตรงกันว่าพื้นที่มีคลอง ผ่านทางด้านทิศตะวันตก มีน�้ำสมบูรณ์ดี เหมาะแก่การสร้างวัดและ ได้ตั้งชื่อว่า “วัดคลองแขก” ตามชื่อคลอง กาลต่อมาประชาชนได้ เปลี่ยนชื่อเป็น “วัดสว่างอารมณ์” ตั้งแต่ประมาณปี พ.ศ. 2481 มาจนถึงปัจจุบัน
ล�ำดับเจ้าอาวาส ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
1. หลวงปู่จันทร์ 2. พระอาจารย์ล้อม 3. พระอาจารย์ช่วง 4. พระอาจารย์ชุ่ม เตชธมฺโม 5. พระอาจารย์บุญธรรม 6. พระอธิการบุญเกิด 7. พระอาจารย์สืบ 8. พระอธิการผืน ทีปงฺกโร 9. พระอธิการสมบัติ อรุโณ 10. พระครูโสภณสาโรภาส
พ.ศ. 2515 – 2522 พ.ศ. 2522 – 2523 พ.ศ. 2523 – 2526 พ.ศ. 2526 – 2538 พ.ศ. 2538 – ปัจจุบัน
พระครูโสภณสาโรภาส เจ้าอาวาสวัดสว่างอารมณ์
NAKHON PATHOM I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 137
137
14/12/2563 18:01:50
History of buddhism....
วัดบางหลวง วัดบางหลวง ตั้งอยู่บ้านเลขที่ 43 บ้านบางหลวง หมู่ที่ 6 ต�ำบลบางหลวง อ�ำเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม
วัดบางหลวง ได้จัดตั้งเป็นวัดเมื่อปี พ.ศ 2459 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 10 มีนาคม พ.ศ 2515
ที่ดินตั้งวัด มีเนื้อที่ทั้งหมด 61 ไร่ 1 งาน 84 ตารางวา โดยมีหนังสือแสดงกรรมสิทธิ์ที่ดินเป็นโฉนดเลขที่ 8267 วัดบางหลวง เริ่มสร้างเมื่อประมาณปี พ.ศ 2420 ด้วยความร่วมแรงร่วมใจของประชาชนชาวบางหลวง กับพระครูส่วน วัดบางหว้า เป็นผู้ริเริ่มสร้าง เพราะเห็นว่า หมู่บ้านบางหลวง เป็นชุมชนที่ใหญ่และยังไม่มีวัดประจ�ำหมู่บ้าน
138
2
SBL บันทึกประเทศไทย I นครปฐม
.indd 138
15/12/2563 15:59:41
อาคารเสนาสนะต่าง ๆ
- อุโบสถ กว้าง 9 เมตร ยาว 24 เมตร เริ่มสร้างเมื่อปี พ.ศ. 2514 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก แบบทรงไทย มีช่อฟ้าใบระกา ตามแบบศิลปากร แบบ ก. สร้างเสร็จปี พ.ศ. 2527 ภายในอุโบสถ มีจิตรกรรมฝาผนังรูปพุทธประวัติ และพระเจ้าสิบชาติ - ศาลาการเปรียญ กว้าง 18 เมตร ยาว 35 เมตร เริ่มสร้างเมื่อ ปี พ.ศ. 2501 เป็นอาคารไม้สองชั้น แบบทรงไทย มีช่อฟ้า สร้างด้วย ไม้เนื้อแข็งทั้งหลัง สร้างเสร็จปี พ.ศ. 2504 - หอสวดมนต์ กว้าง 15 เมตร ยาว 31 เมตร เป็นอาคาร คอนกรีตเสริมเหล็ก แบบทรงไทย สองชั้น มีช่อฟ้าใบระกา ชั้นบน เป็นหอสวดมนต์ ชั้นล่างเป็นหอฉัน ภายในมีภาพจิตรกรรมฝาผนัง - วิหาร กว้าง 8 เมตร ยาว 15 เมตร เริ่มสร้างเมื่อปี พ.ศ. 2538 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก ติดหินแกรนิตทั้งหลัง แบบทรงไทย มีช่อฟ้าใบระกา สร้างเสร็จปี พ.ศ. 2544 - กุฏสิ งฆ์ จ�ำนวน 8 หลัง เป็นอาคารไม้ 4 หลัง ครึง่ ตึกครึง่ ไม้ 4 หลัง - ศาลาอเนกประสงค์ (ศาลาปิดทองรอยพระพุทธบาท) กว้าง 12 เมตร ยาว 25 เมตร เป็นอาคารคอนกรีตชั้นเดียว แบบทรงไทย สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2505 - ศาลาบ�ำเพ็ญกุศล จ�ำนวน 2 หลัง สร้างด้วยคอนกรีตเสริมเหล็ก ทั้ง 2 หลัง
ปูชนียวัตถุ
1) พระประธานประจ�ำพระอุโบสถ ปางมารวิชัย หน้าตักกว้าง 80 นิว้ เป็นพระประธานประจ�ำอุโบสถหลังแรก หลวงปูท่ าวัดพะเนียงแตก เป็นผู้สร้างเมื่อปีพ.ศ. 2453 เมื่อสร้างอุโบสถหลังใหม่เสร็จก็ได้น�ำมา ประดิษฐานเป็นพระประธานประจ�ำอุโบสถ เป็นที่สักการะบูชา และ เป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์คู่วัดตลอดมาจนถึงปัจจุบัน จะเปิดให้ประชาชน ปิดทองในงานประจ�ำปี 2) รอยพระพุทธบาท กว้าง 33 นิ้ว ยาว 89 นิ้ว เป็นปูชนียวัตถุ ที่เก่าแก่มาก ไม่ทราบว่าสร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. ไหน มีมาตั้งแต่สมัยเริ่ม สร้างวัด (เริ่มสร้างวัด ประมาณปี พ.ศ. 2420) ปัจจุบันประดิษฐาน อยู่ ณ ศาลาอเนกประสงค์ จะเปิดให้ประชาชนสามารถปิดทองได้ ตั้งแต่เริ่มสร้างในวันขึ้น 7-8-9 ค�่ำ เดือน 4 ของทุกปี 3) พระพุทธรูปปางอุ้มบาตร สูง 1.90 เมตร ประดิษฐานอยู่ ณ อุโบสถ สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2453 สร้างพร้อมพระประธานประจ�ำ อุโบสถ หลวงปู่ทา วัดพะเนียงแตกเป็นผู้สร้าง 4) พระพุทธรูปปางป่าเลไลย์ สูง 1.70 เมตร ประดิษฐาน ณ ศาลาอเนกประสงค์ สร้างเมือ่ ปี พ.ศ. 2455 หลวงปูท่ า วัดพะเนียงแตก เป็นผู้สร้าง 5) พระศรีอริยเมตไตย์ หน้าตักกว้าง 39 นิ้ว ประดิษฐาน ณ ศาลาอเนกประสงค์ สร้างเมือ่ ปี พ.ศ. 2455 หลวงปูท่ า วัดพะเนียงแตก เป็นผู้สร้าง
6) รูปหล่อหลวงปู่ทา (พระครูอุตตรการบดี) วัดพะเนียงแตก และหลวงปู่วัน สุวัณโณ หน้าตักกว้าง 29 นิ้ว ประดิษฐาน ณ วิหาร วัดบางหลวง เป็นรูปเคารพทีป่ ระชาชนร่วมกันหล่อขึน้ เมือ่ ปี พ.ศ. 2500 7) พระพุทธรูปปางร�ำพึง สูง 2.10 เมตร ประดิษฐาน ณ อุโบสถ สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2500 8) รูปหล่อหลวงพ่อผ่อง (พระครูประภัศร์ธรรมคุณ) หน้าตัก กว้าง 29 นิ้ว ประดิษฐาน ณ วิหาร สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2539 9) พระพุทธรูปปางสมาธิ หน้าตักกว้าง 80 นิ้ว ประดิษฐาน ณ อุโบสถหลังเก่า สร้างปี พ.ศ. 2543 (อุโบสถหลังเก่ารื้อทิ้งแล้ว)
ล�ำดับเจ้าอาวาส
1. หลวงพ่อทิม พ.ศ. 2420 2. หลวงพ่อพุก ไม่ทราบปี พ.ศ. ทีแ่ น่ชดั 3. หลวงพ่อชิด ไม่ทราบปี พ.ศ. ทีแ่ น่ชดั 4. หลวงพ่อรอด ไม่ทราบปี พ.ศ. ทีแ่ น่ชดั 5. พระอาจารย์แช่ม สุขสมกิจ พ.ศ. 2450 - 2460 6. หลวงพ่อวัน สุวณฺโณ พ.ศ. 2460 - 2494 7. พระครูประภัศร์ธรรมคุณ นธ.ตรี พ.ศ. 2495 - 2525 8. พระครูใบฎีกาสง่า ธมฺมโชโต นธ.เอก พ.ศ. 2526 - 2531 9. พระอธิการจ�ำรัส ธมฺมสุทฺโธ นธ.เอก พ.ศ. 2532 - 2537 10. พระครูปลัดมนตรี(แป้น) สุธีโร นธ.เอก พ.ศ. 2538 11. พระชาติ ชาตเมโธ นธ.เอก พ.ศ. 2538 - 2540 (รักษาการ) 12. พระสวัสดิ์ ธมฺมสุนฺทโร นธ.เอก พ.ศ. 2541-2542 (รักษาการ) 13. พระมหาปรีชา ภูริปญฺโญ ปธ.7 พ.ศ. 2543 - 2562 14. พระอธิการเกรียงศักดิ์ ถาวโร พ.ศ. 2562 - ปัจจุบัน
NAKHON PATHOM I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 139
139
15/12/2563 15:59:51
History of buddhism....
วัดคลองคูเมือง พระครูปลัดมานะ ปญฺญาทีโป เจ้าอาวาสวัดคลองคูเมือง
วัดคลองคูเมือง ตั้งอยู่เลขที่ 191 หมู่ที่ 5 ต�ำบลหินมูล อ�ำเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม โทร 062-4569244
140
2
SBL บันทึกประเทศไทย I นครปฐม
.indd 140
ความเป็นมาแต่เดิม
ได้รับการถวายที่ดินจ�ำนวน 15 ไร่ จากนายวิวิทย์ วิบูลเชื้อ และได้ขอจัดตั้ง ส�ำนักสงฆ์ ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2540 ด�ำเนินการขอสร้างวัด วันที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2546 ถึงวันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551 ได้รับตราตั้งวัดวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2547 วัดคลองคูเมือง มีลักษณะพื้นที่เป็นที่ราบลุ่ม มีคลองชลประทานผ่าน พื้นที่โดย รอบเป็นที่นา
15/12/2563 15:20:02
วัดคลองคูเมือง มีพื้นที่ตั้งวัดจ�ำนวน 15 ไร่ ตามโฉนดเลขที่ 14515 มีอาณาเขต ดังนี้ ทิศเหนือ จรดที่ดินของนางทรัพย์ วิบูลย์เชื้อ ทิศใต้ จรดที่ดินนางสายหยุด วิมูลชาติ ทิศตะวันออก จรดที่ดินนางสาวศรี เหมมาลา ทิศตะวันตก จรดทีด่ นิ นางประยงค์ กิตติถาวร ,นายเรียม วิมลู ชาติ
การก่อสร้างอาคารเสนาสนะต่างๆ ดังนี้
- พ.ศ. 2548 ท�ำการก่อสร้างห้องน�้ำจ�ำนวน 8 ห้อง มูลค่า 450,000 บาท - พ.ศ. 2549 น�ำดินถมที่เป็นมูลค่า 150,000 บาท - พ.ศ. 2550 สร้างอาสนะสงฆ์ มูลค่า 30,000 บาท สร้างวิหาร หลวงพ่อโสธร มูลค่า 45,000 บาท - พ.ศ. 2551 ท� ำ ถนนเข้ า วั ด ทางทิ ศ เหนื อ อี ก ทางหนึ่ ง และ ปรับปรุงถนนเดิมพร้อมปรับปรุงระบบไฟฟ้าจากเสาไม้เป็นเสาปูน - พ.ศ. 2552 ปัจจุบันก�ำลังด�ำเนินการบูรณะศาลาการเปรียญ งบประมาณ 500,000 บาทและน�ำดินถมเข้าวัดอีก
ล�ำดับเจ้าอาวาส
1. พระอธิการสาเมศ พ.ศ. 2549-2556 2. พระครูปลัดมานะ ปญฺญาทีโป พ.ศ. 2556-ปัจจุบัน
ร่วมสร้างเส้นทางบุญ
ขอเชิ ญ ชวนญาติ ธ รรมร่ ว มสร้ า งบุ ญ เพื่ อ ท� ำ นุ บ� ำ รุ ง พระพุ ท ธ ศาสนากับวัดคลองคูเมือง โดยโอนเงินเข้าบัญชีธนาคารกรุงไทย สาขาบางเลน ชือ่ บัญชี วัดคลองคูเมือง บัญชีเลขที่ 702-0-26878-1 หรือติดต่อโดยตรงที่ พระครูปลัดมานะ ปญฺญาทีโป เจ้าอาวาส วัดคลองคูเมือง โทร. 062-4569244
พระครูปลัดมานะ ปญฺญาทีโป เจ้าอาวาสวัดคลองคูเมือง
NAKHON PATHOM I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 141
141
15/12/2563 15:20:15
History of buddhism....
วัดดอนยอ พระครูปฐมสิริคุณ (ทัน มนฺตชาโต) เจ้าอาวาสวัดดอนยอ
วัดดอนยอ เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตั้งอยู่เลขที่ 43 หมู่ที่ 6 บ้านหัวทรายลาว ต�ำบลดอนตูม อ�ำเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม
142
2
วัดดอนยอ ได้เริม่ สร้างเป็นส�ำนักสงฆ์ โดยหลวงปูห่ ลิม ท่านเป็นพระธุดงค์ทเี่ ดินทางมาจาก
จังหวัดเพชรบุรี เป็นผูท้ รี่ เิ ริม่ สร้าง โดยก�ำหนดพืน้ ทีอ่ ยูต่ รงกลางระหว่างหมูบ่ า้ นหนองน�ำ้ เปีย้ ว กับหมู่บ้านหัวทราย ตอนที่ได้เริ่มก่อสร้างเป็นส�ำนักสงฆ์นั้น หลวงปู่หลิมมิได้อยู่ประจ�ำ และ ต่อมามีหลวงพ่อแพ ได้เดินทางมาจากหมูบ่ า้ นตากแดด อ�ำเภอบางแพ มาอยูป่ ระมาณ 2-3 ปี และต่อมาหลวงปูห่ ลิม ได้ไปนิมนต์หลวงพ่อผ่อง จากอ�ำเภอบางคนที มาอยูอ่ กี หลายปี จนได้รบั อนุญาตให้ยกฐานะเป็นวัดในปี พ.ศ. 2460 โดยใช้ชื่อว่า “วัดดอนยอ” สาเหตุก็เพราะว่า สภาพพื้นที่ที่สร้างวัดนั้นเป็นเนินดินอุดมสมบูรณ์และมีต้นยอขึ้นอยู่เป็นจ�ำนวนมาก
SBL บันทึกประเทศไทย I นครปฐม
_by Tony.indd 142
7/1/2564 15:06:49
วัดดอนยอ เมื่อได้รับอนุญาตให้เป็นวัดแล้ว ได้มีพระอธิการแตง พุทฺธปาโล ด�ำรงต�ำแหน่งเป็นเจ้าอาวาสรูปแรก และได้เริม่ การก่อสร้าง กุฏสิ งฆ์ ศาลาการเปรียญ และอุโบสถขึน้ เป็นครัง้ แรก โดยเฉพาะศาลาการเปรียญ นั้นท่านสร้างให้เป็นที่สถานที่ใช้ส�ำหรับเด็กๆ ได้เรียน หนังสือในสมัยนั้นด้วย เพราะว่าโรงเรียนยังไม่มี จึงต้องอาศัยศาลาการเปรียญ เป็นที่เรียนหนังสือ และสร้างอุโบสถขึ้นเป็นครั้งแรก และ ได้จัดงานปิดทองฝังลูกนิมิตขึ้นปี พ.ศ. 2489 โดยในตอนที่จัดงาน ปิดทองฝังลูกนิมิตนั้นสร้างเป็นแบบธรรมดา คือมีเสาเครื่องบนเป็น ไม้ไผ่หลังคามุงแฝก และหลังจากที่ได้จัดงานปิดทองฝังลูกนิมิตแล้ว จึงสร้างเป็นคอนกรีต หลังคามุงกระเบื้องเคลือบ การพัฒนาวัดในยุคปัจจุบนั เป็นยุคของพระมัน มุทโิ ต ได้รกั ษาการ เป็นเจ้าอาวาสในปี พ.ศ. 2510 และได้รับการแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาส วัดดอนยอ ปี พ.ศ. 2520 ก็ได้พัฒนาวัดเรื่อยมา เพราะว่าสิ่งก่อสร้าง ที่ได้สร้างครั้งสมัยนั้น ได้เริ่มช�ำรุดทรุดโทรมลงหมดแล้ว บางสิ่ง บางอย่างได้ทำ� การบูรณะขึน้ ใหม่ จนมาถึงปี พ.ศ. 2528 ก็เป็นยุคทอง ของการพัฒนาวัด คือได้ริเริ่มก่อสร้างอุโบสถขึ้นมาใหม่ เพราะอุโบสถ หลังเก่าเริ่มช�ำรุดลง
ปูชนียวัตถุวัดดอนยอ
การสร้างถาวรวัตถุ
รายนามเจ้าอาวาสวัดดอนยอ
1. อุโบสถหลังเก่า ก่ออิฐถือปูน ก่อสร้างเมื่อปี พ.ศ. 2490 ได้รับ พระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อวันที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2482 มีขนาด กว้าง 8 เมตร ยาว 12 เมตร 2. อุโบสถหลังใหม่ มีลักษณะรูปทรงเป็นแบบไทย มีสามลด สอง ชั้นโครงสร้างส่วนใหญ่เป็นคอนกรีตเสริมเหล็ก หลังคามุงกระเบื้อง สุโขทัย ลงรักปิดทองลวดลาย พื้นปูด้วยหินอ่อนทั้งภายในอุโบสถและ ก�ำแพงแก้วด้วย ก่อสร้างแล้วเสร็จเมือ่ ปี พ.ศ. 2540 ได้รบั พระราชทาน วิสุงคามสีมาครั้งล่าสุดเมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน 2538 มีขนาดกว้าง 8 เมตร ยาว 30 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2528 3. ศาลาการเปรียญ มีลักษณะรูปทรงเป็นแบบทรงไทย ยกพื้นสูง 2.10 เมตร ก่อเป็นบัวเอวขันรอบโครง ส่วนใหญ่เป็นไม้เต็ง เสาไม้ มะค่าแต้ หลังคามุงกระเบื้อง ก่อสร้างแล้วเสร็จเมื่อปี พ.ศ. 2540 มีขนาดกว้าง 24 เมตร ยาว 48 เมตร 4. ศาลาฌาปนสถาน มีลักษณะรูปทรงแบบทรงไทยประยุกต์ โครงสร้างส่วนใหญ่เป็นคอนกรีตก่ออิฐถือปูนก่อสร้างเมื่อปี พ.ศ. 2525 มีขนาดกว้าง 20 เมตร ยาว 40 เมตร 5. กุ ฏิ เจ้ า อาวาส มี ลั ก ษณะรู ป ทรงแบบไทย มี มุ ข ตรงกลาง โครงสร้างส่วนใหญ่เป็นคอนกรีตเสริมเหล็ก ก่ออิฐถือปูน ก่อสร้าง แล้วเสร็จเมื่อปี พ.ศ. 2539 มีขนาดกว้าง 8 เมตร ยาว 16 เมตร
1. พระประธานประจ�ำอุโบสถหลังเก่า เป็นพระพุทธรูปปาง สุโขทัย มีพระพุทธลักษณะที่ส�ำคัญ คือ เป็นเนือ้ สัมฤทธิ์ ลงรักปิดทอง สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2488 หน้าตักกว้าง 49 นิ้ว 2. พระประธานประจ�ำอุโบสถหลังใหม่ เป็นพระพุทธรูปปาง สุโขทัย มีพระพุทธลักษณะที่ส�ำคัญ คือ สร้างด้วยทองเหลือง ลงรัก ปิดทอง สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2431 หน้าตัก กว้าง 69 นิ้ว ผู้สร้างถวาย คือ คุณป้าเต้าหู้ กรีบุตรสุวรรณ พร้อมด้วยสาธุชนชาวต�ำบลดอนตูม และใกล้เคียง หลั ง จากที่ ห ลวงพ่ อ ผ่ อ ง ได้ ท� ำ เรื่ อ งขออนุ ญ าตเป็ น วั ด แล้ ว ได้ไปนิมนต์หลวงพ่อแตง (จิตธรรม) พุทธปาโล มาด�ำรงต�ำแหน่งเจ้า อาวาสวัดดอนยอ เท่าที่สามารถสืบได้จากคนเก่าๆ ได้เล่าให้ฟังว่า พระอธิการแตง พุทธปาโล ได้ดำ� รงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดดอนยอรูปแรก จากการแต่ ง ตั้ ง อย่ า งเป็ น ทางการของทางคณะสงฆ์ ล� ำ ดั บ เจ้าอาวาสวัดดอนยอ ดังมีรายนามต่อไปนี้ 1. พระอธิการแตง พุทธปาโล มรณภาพ พ.ศ. 2518 2. พระครูวรเวชวิมล (มัน มุทิโต) นามสกุล ขวัญน้อย วิทยฐานะ นั ก ธรรมชั้ น เอก ได้ รั บ การแต่ ง ตั้ ง เป็ น เจ้ า อาวาสตามหนั ง สื อ ที่ 9/2520 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2520 – 2542 3. พระสมุห์ปรีชา สนฺตจิตฺโต พ.ศ. 2543 – 2549 4. พระครูปฐมสิริคุณ (ทัน มนฺตชาโต) พ.ศ. 2549 – ปัจจุบัน
พระครูปฐมสิริคุณ (ทัน มนฺตชาโต) ศาลาสร้างสุข ศูนย์วฒ ั นธรรมไทยด�ำ
พระพุทธรูปเรียงรายอยู่ด้านหน้าวัด
เจ้าอาวาสวัดดอนยอ จังหวัดนครปฐม
NAKHON PATHOM I SBL บันทึกประเทศไทย
2
_by Tony.indd 143
143
7/1/2564 15:07:02
History of buddhism....
วัดดอนสามสิบ พระครูปฐมธรรมโชติ (กอบกุล โชติธมฺโม) เจ้าอาวาสวัดดอนสามสิบ
วัดดอนสามสิบ เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตั้งอยู่หมู่ที่ 7 ต�ำบลหินมูล อ�ำเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม
144
2
ความเป็นมาแต่เดิม
ค�ำว่า ดอนสามสิบ นั้น มีความหมายว่า ค�ำว่า ดอน คือ เป็นที่ดอนมากถ้าน�้ำ ไม่มากเกินไปก็จะไม่ท่วม ค�ำว่า สามสิบ หมายความว่า คนเก่าเล่าว่ามีต้นสามสิบ ขึ้นอยู่มากที่สุด เต็มไปหมด รวมความแล้วจึงมีชื่อว่า “ดอนสามสิบ”
SBL บันทึกประเทศไทย I นครปฐม
.indd 144
14/12/2563 17:17:55
เหตุที่สร้างวัดดอนสามสิบขึ้นมาเนื่องจากประชาชนที่อาศัยอยู่ ในแถบถิ่นนี้มีความเลื่อมใสศรัทธาในบวรพระพุทธศาสนาได้ร่วมแรง ร่วมใจกันพิจารณาว่า ในท้องถิ่นบ้านเรานี้น่าจะมีวัดสักแห่งหนึ่งเพื่อ ไว้บ�ำเพ็ญบุญกุศลและเป็นศูนย์รวมจิตใจของประชาชนในท้องถิ่น เป็นศรีสง่าแก่หมู่บ้านเป็นที่อบอุ่นใจแก่ประชาชนในท้องถิ่น โดยมี บุคคลเก่าแก่และเป็นที่เคารพนับถือของชาวบ้านที่เป็นก�ำลังส�ำคัญ และมีความศรัทธาอย่างมากที่จะด�ำเนินการก่อสร้างวัดให้เกิดขึ้น ท่านทั้งหลายเหล่านั้นได้บริจาคที่ดินของตัวเองให้เป็นที่ธรณีสงฆ์เพื่อ ด�ำเนินการจัดสร้างวัดรวมแล้วมีเนื้อที่ประมาณ 30 ไร่ โดยมีรายชื่อ ต่อไปนี้ 1. นายเทียน – นางสมจิต เมืองรามัญ 2. นายเจียด – นางไข่ แก้วปู่วัด 3. นายลอย – นางพิมพ์ ชลธี 4. นายนิตย์ – นางเขียว ถมยาพันธ์ โดยท่านทั้งหมดที่กล่าวมานี้มีความศรัทธาเป็นอย่างแรงกล้า พร้อมทั้งได้ชักชวนให้ประชาชนชาวบ้านในท้องถิ่นได้มาประชุม ปรึกษาหารือกันในการจัดด�ำเนินการสร้างวัด ซึ่งทุกคนก็เห็นพร้อม ต้องกัน ต่างก็ชื่นชมในความศรัทธาของท่านทั้งหลายพร้อมทั้งได้ ร่วมแรงร่วมใจกันสร้างวัดในการบริจาคสิ่งของ ทั้งแรงกาย แรงใจ จนส�ำเร็จ
ล�ำดับรายนามเจ้าอาวาส
1. พระไพ่ 2. พระมิ่ง 3. พระทองสุข 4. พระอธิการลี กนฺตสีโล 5. พระครูปฐมธรรมโชติ (กอบกุล โชติธมฺโม) พ.ศ. 2549 – ปัจจุบนั
พระครูปฐมธรรมโชติ (กอบกุล โชติธมฺโม) เจ้าอาวาสวัดดอนสามสิบ
NAKHON PATHOM I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 145
145
14/12/2563 17:18:06
หลวงพ่อพระพุทธพิชิตมารา
History of buddhism....
วัดลานคา
พระครูถาวรศีลวัตร ที่ปรึกษาเจ้าคณะอำ�เภอบางเลน / เจ้าอาวาสวัดลานคา
วัดลานคา เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์ฝ่ายมหานิกาย ตั้งอยู่เลขที่ 18 หมู่ที่ 10 ต�ำบลดอนตูม อ�ำเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม ตั้งวัดเมื่อปี พ.ศ. 2460 ได้รับพระราชวิสุงคามสีมา เมื่อปีพ.ศ. 2470
146
2
ความเป็นมา
วัดลานคา เดิมมีนายไกว กับนายรอด ได้ถวายที่ดินเพื่อสร้างวัดโดยได้รับ ความร่วมมือ ร่วมใจจากชาวบ้านในละแวกนี้ ได้สร้างเป็นส�ำนักสงฆ์ขึ้นก่อนโดย มีหลวงตาพุกเป็นผู้ดูแล ประชาชนมักเรียกว่า วัดตาไกว ไผ่ตารอด เริ่มสร้างมาแต่ พ.ศ. ใดไม่ปรากฏชัดเจน กาลต่อมา เมือ่ หลวงตาพุกถึงแก่มรณภาพ พระภิกษุแผ้ว เป็นผูด้ แู ลต่อมาโดยมี นายปาน อารมณ์ชนื่ เป็นมรรคทายก คอยอุปถัมภ์วดั เรือ่ ยมา
SBL บันทึกประเทศไทย I นครปฐม
.indd 146
17/12/2563 12:58:11
จนในที่สุดได้เริ่มการถมที่เพื่อท�ำการสร้างอุโบสถเมื่อถมที่เสร็จ แล้วได้เกิดมีน�้ำหลาก น�้ำท่วมจ�ำนวนมาก มีกอหญ้าคาลอยมาติดที่ โคกโบสถ์ และทีใ่ กล้ๆ วัดนีก้ ม็ หี นองน�ำ้ ใหญ่อยูท่ ศิ ใต้ ชือ่ หนองหญ้าคา ด้วยเหตุนี้ชาวบ้านจึงเรียกว่า วัดหนองหญ้าคาบ้าง วัดลานคาบ้าง และในที่สุดจึงกลายชื่อมาเป็น “วัดลานคา” ในปัจจุบัน พื้นที่ตั้งวัดมีเนื้อที่ 26 ไร่ 1 งาน 58 ตารางวา มีอาณาเขต ดังนี้ ทิศเหนือ จรดคลองบางเลนและหมู่ที่ 2,3 ต�ำบลไผ่หูช้าง อ�ำเภอบางเลน ทิศใต้ จรดหมู่ที่ 3 ต�ำบลดอนตูม อ�ำเภอบางเลน ทิศตะวันออก จรดหมู่ที่ 1 ต�ำบลบางไทรป่า อ�ำเภอบางเลน ทิศตะวันตก จรดหมู่ที่ 3 ต�ำบลล�ำลูกบัว อ�ำเภอบางเลน
อาคารเสนาสนะและถาวรวัตถุ ภายในวัดลานคา
1. อุโบสถ อุโบสถหลังเก่าซึ่งสร้างมาประมาณ พ.ศ. 2463 ได้ ช�ำรุดทรุดโทรมไปมาก จึงได้เริ่มด�ำเนินการหาทุนเพื่อสร้างอุโบสถ หลังใหม่ โดยเริ่มจากปี พ.ศ. 2520 จนกระทั่งเมื่อวันอาทิตย์ ที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2526 ได้ท�ำพิธีตอกเสาเข็มหลังใหม่และด�ำเนินการ ก่อสร้างเรื่อยมา และในวันอาทิตย์ ที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2531 ได้จัด งานผูกพัทธสีมาฝังลูกนิมิตอุโบสถหลังใหม่ 2. วิหารเล็ก สร้างเมื่อวันอังคาร ที่ 26 เมษายน พ.ศ. 2531 ได้ ท�ำการก่อสร้างวิหาร เพื่อประดิษฐานหลวงพ่อพระพุทธพิชิตมารา พระประธานองค์เก่า 3. กุฏิสงฆ์ ได้วางแผนใหม่ทั้งหมด ด้วยการปรับปรุงกุฏิหลังเก่า และที่สร้างใหม่ ให้อยู่ในแนวเดียวกัน ตลอดทั้งอนุรักษ์ศิลปะแบบ ไทยเพื่อให้ลูกหลานได้ดูและเป็นแบบอย่างแก่ประชาชนทั่วไป กล่าว คือ กุฏิทุกหลังเป็นแบบทรงไทย ยอดแหลม และเมื่อปี พ.ศ. 2537 ได้ท�ำการก่อสร้างกุฏิเจ้าอาวาสหลังใหม่อีก 1 หลัง เป็นกุฏิทรงไทย 2 ชั้น ชั้นล่างเป็นคอนกรีตใช้เป็นที่ประชุมพระสังฆาธิการในโอกาส ต่างๆ ชั้นบนเป็นเรือนไทย 2 หลังคู่ ใช้เป็นที่อยู่อาศัย 4. ศาลาการเปรียญ ได้ท�ำการซ่อมศาลาการเปรียญหลังเก่าโดย แม่เหรียญ ศรีเมือง บริจาคเงินทั้งสิ้น 200,000 บาท และต่อมาได้ ต่อศาลาหลังเล็กต่อจากหลังใหญ่อีก 1 หลัง โดยความร่วมมือร่วมใจ จากญาติโยมทั่วไป
ล�ำดับรายนามเจ้าอาวาส
1. พระอธิการสงัด สิทฺธิลาโภ พ.ศ. 2505 2. พระครูถาวรศีลวัตร (พรหม ถาวรสีโล) พ.ศ. 2508-ปัจจุบัน
กลุ่มอาคารกุฏิสงฆ์ทรงไทย
พระครูถาวรศีลวัตร
ที่ปรึกษาเจ้าคณะอ�ำเภอบางเลน / เจ้าอาวาสวัดลานคา
NAKHON PATHOM I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 147
147
17/12/2563 12:58:24
History of buddhism....
วัดลัฏฐิวนาราม พระอธิการโกเมท อินทปญฺโญ เจ้าอาวาสวัดลัฎฐิวนาราม
วัดลัฏฐิวนาราม ตั้งอยู่เลขที่ 104 หมู่ที่ 9 ต�ำบลบางหลวง อ�ำเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม
วัดลัฏฐิวนาราม เดิมชื่อว่า วัดไผ่คอกเนื้อ ได้ก่อสร้างที่ดินสาธารณะประโยชน์ ซึ่งเดิมเป็นที่ป่าช้าใช้ฝังศพ และท�ำพิธีทางศาสนาของ หมู่บ้านในละแวกนี้ โดยหลวงพ่อเพชร ไม่ทราบฉายาได้ธุดงค์มาและได้ด�ำเนินการก่อตั้งที่พักสงฆ์ ในปี พ.ศ. 2496 วัดมีที่ดินอยู่ 2 แปลง แปลงที่ 2 ที่ดิน นส.3 หน้า 16 เลขที่ 139 จ�ำนวน 4 ไร่ 3 งาน 72 ตารางวา ใช้เป็นที่สร้างโรงเรียนวัดลัฏฐิวนาราม โดยซื้อมาจากนางฮวย จุฑามณี แปลงที่ 1 ที่ดิน นส.3 หน้า 100 จ�ำนวน 10 ไร่ 1 งาน 16 ตารางวา ซื้อมาจากนายเทียน สุขเกษม ซึ่งติดกับที่ดินสาธารณะ ประโยชน์ อีก 4 ไร่ 2 งาน 38 ตารางวา ใช้เป็นที่สร้างส�ำนักสงฆ์ 148
2
SBL บันทึกประเทศไทย I นครปฐม
.indd 148
15/12/2563 14:32:15
การพัฒนาวัด
ต่อมาราษฎรประชุมกันและอนุมัติให้ใช้ที่ดินสาธารณะประโยชน์ สร้างวัด โดยมีนายวิฑรู ย์ โรจน์สธุ ี ก�ำนันและประธานสภาต�ำบลบางหลวง เป็นประธานอนุมัติ โดยมีนายบุญช่วย เตียเพชร ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ 9 เป็นผู้ขออนุญาตสร้างวัด ซึ่งรวมแล้วเป็นจ�ำนวนที่ดิน 19 ไร่ 3 งาน 20 ตารางวา ในระยะแรก ได้สร้างกุฏิที่พักสงฆ์ 3 หลัง หอสวดมนต์ 1 หลัง ศาลาการเปรียญ 1 หลัง และโรงเรียนปริยัติธรรม 1 หลัง ในวันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2504 โดยมี พระอธิการพันทอง นราธิโป เป็นเจ้าอาวาส ทางวัดได้รับอนุญาตจากกระทรวงศึกษาธิการให้สร้าง เป็นวัด ทางวัดได้สร้างถาวรวัตถุและเสนาสนะไว้ ได้แก่ กุฏิ 8 หลัง ศาลาการเปรียญ 1 หลัง หอสวดมนต์ 1 หลัง หอระฆัง 1 หลัง โรงครัว 1 หลัง ห้องน�้ำห้องส้วม 2 หลัง ปร�ำพิธี 1 หลัง ศาลาและเมรุเผาศพ 1 หลัง คิดเป็นมูลค่า ห้าล้านบาทเศษ และได้ขอเปลี่ยนชื่อวัดจาก วัดไผ่คอกเนื้อมาเป็น “วัดลัฏฐิวนาราม” โดยตั้งชื่อตามสภาพและ สิ่งแวดล้อมซึ่งมีต้นตาลอยู่มาก ลัฏฐิ แปลว่า ตาลหนุ่ม พระอธิการพันทอง นราธิโป เจ้าอาวาสได้ลาสิกขาไป พระครู ปรีชาปริยัติกิจ (หลวงพ่อพระมหาเฉลียว) วัดศิลามูล เจ้าคณะต�ำบล บางหลวง ได้แต่งตั้งพระภิกษุทองดี จิรวฑฒโน เป็นเจ้าอาวาสตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2519 เป็นต้นมา พระอธิการทองดี จิรวฑฒโน ท่านได้บูรณ ปฏิสังขรณ์เรื่อยมา โดยเฉพาะเรื่องการเรียนการสอนพระธรรมวินัย เนื่องจากท่านได้รับต�ำแหน่งครูสอนปริยัติธรรมในปี พ.ศ. 2518 แต่น่าเสียดายที่พระอธิการทองดี จิรวฑฒโน ท่านเป็นเจ้าอาวาส ไม่นานนัก ท่านก็ลาสิกขาไป
หลังจากนัน้ ราษฎรในหมูบ่ า้ นได้สบื ทราบว่าคนในหมูบ่ า้ นได้บวช เป็นพระอยูว่ ดั ศักดิ์ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา กรรมการวัดจึงได้เรียน นิมนต์ทา่ นมาเป็นเจ้าอาวาส ท่านก็คอื พระภิกษุอนันต์ สุขเอสโก หรือ หลวงพ่อโต๊ะ พระภิกษุอนันต์ ท่านได้รับการแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาส ในปี พ.ศ. 2542 ท่านได้ดำ� เนินการสร้างศาลาการเปรียญใหม่ โดยได้รบั การสนับสนุนทุนสร้างจากพระครูมงคลกิจจานุกลู หรือหลวงพ่อธงชัย เจ้าอาวาสวัดท่าพระ กรุงเทพมหานคร และท่านยังได้สร้างรูปปั้น เจ้าแม่กวนอิมอีกด้วยต่อมาพระอธิการอนันต์ สุขเอสโก ท่านได้ริเริ่ม ด�ำเนินการก่อสร้างพระอุโบสถแต่ยังไม่ทันส�ำเร็จท่านก็มรณภาพไป เสียก่อน ปี พ.ศ. 2544 พระอธิการสุนทร สุนฺทรโสภโณ ได้รับต�ำแหน่ง เจ้าอาวาสต่อจาก พระอธิการอนันต์ สุขเอสโก ท่านได้ด�ำเนินการ ก่อสร้างพระอุโบสถต่อจนส�ำเร็จและยังได้จัดหาทุนสร้างหอสวดมนต์ หรือหอฉันหลังใหม่ โดยใช้ทุนทรัพย์ในการก่อสร้างเป็นจ�ำนวนมาก แต่ยังไม่ทันส�ำเร็จดีท่านก็ลาสิกขาไปเสียก่อน ต่อมาในปี พ.ศ. 2550 ประมาณเดือนสิงหาคม พระภิกษุโกเมท อินทปญฺโญ ได้ด�ำรงต�ำแหน่งรักษาการเจ้าอาวาส ท่านได้ปกครอง วัดและพัฒนาวัดเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน ภายในพื้นที่วัดยังมีอาคาร ศูนย์วัฒนธรรมไทยทรงด�ำ(ไทด�ำ) ไว้เป็นศูนย์เรียนรู้และ ใช้ ใ นการท� ำ กิ จ กรรมต่ า งๆ เพื่ อ อนุ รั ก ษ์ แ ละฟื ้ น ฟู ขนบธรรมเนียม ประเพณีโบราณให้คงอยู่คู่จังหวัด นครปฐมสืบต่อไป
พระอธิการโกเมท อินทปญฺโญ เจ้าอาวาสวัดลัฎฐิวนาราม
NAKHON PATHOM I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 149
149
15/12/2563 14:32:28
Ad 10
.indd 10
18/12/2563 16:03:55
ก้าวเข้าสู่ปีที่ 11
บั น ทึ ก ประเทศไทย ถือเป็นแหล่งข้อ มู ล อ้ า งอิ งได้ อ ย่ า งสมบู ร ณ์ โดยให้ ร ายละเอี ยดข้ อมู ลอย่ า งครบถ้ ว น สมบู ร ณ์ และถู กต้ อง พร้อมรู ป ภาพจากสถานที่จริ ง ณ ปั จจุ บัน ล้ ว นได้ ถูกบั นทึ กเอาไว้ แ ล้ ว ในหนั ง สื อเล่ มนี้ !
Ad 10
.indd 11
11 th
ANNIVERSARY ISSUE
18/12/2563 16:04:16
History of buddhism....
วัดไร่ขิง พระอารามหลวง พระเทพศาสนาภิบาล ( แย้ม กิตฺตินฺธโร ) รองเจ้าคณะจังหวัดนครปฐม / เจ้าอาวาสวัดไร่ขิง พระอารามหลวง ประธานคณะกรรมการ โครงการ “หมู่บ้านรักษาศีล ” ส่วนกลาง
๕
วัดไร่ขิง พระอารามหลวง ตั้งอยู่เลขที่ 51 หมู่ที่ 2 ต�ำบลไร่ขิง อ�ำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม
152
6+2
วัดไร่ขงิ เดิมเป็นวัดราษฎร์เล็กๆ แห่งหนึง่ ตัง้ อยูร่ มิ แม่นำ�้ นครชัยศรี (ท่าจีน) สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ต่อมาได้ยก ฐานะขึน้ เป็นพระอารามหลวงชัน้ ตรี ชนิดสามัญ เมือ่ วันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2533
SBL บันทึกประเทศไทย I นครปฐม
_by Tony 152
6/1/2564 13:14:04
พระเทพศาสนาภิบาล (แย้ม กิตฺตินฺธโร) รองเจ้าคณะจังหวัดนครปฐม / เจ้าอาวาสวัดไร่ขิง พระอารามหลวง / ประธานคณะกรรมการโครงการ " หมู่บ้านรักษาศีล ๕ " ส่วนกลาง
วัดไร่ขิง เป็นวัดหนึ่งที่ตั้งอยู่ในต�ำบลไร่ขิง อ�ำเภอสามพราน อดีตในบริเวณนี้เล่ากันว่า มีชาวจีนปลูกบ้านอยู่อาศัย และเมื่อมี ชุมชนหนาแน่นมากขึ้นจึงมีการสร้างวัดเพื่อเป็นจุดศูนย์รวมจิตใจของ ชาวบ้านดังนัน้ วัดจึงได้ชอื่ ตามชือ่ ของหมูบ่ า้ นหรือชุมชนว่า “วัดไร่ขงิ ” สืบมา ในราวปีพุทธศักราช 2456 สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส วัดบวรนิเวศราชวิหาร กรุงเทพมหานคร เสด็จตรวจเยี่ยมวัดในเขตอ�ำเภอสามพราน ท่านได้เสด็จมาทีว่ ดั ไร่ขงิ และได้ทรงตัง้ ชือ่ ใหม่ว่า “วัดมงคลจินดาราม (ไร่ขิง)” เมื่อกาลผ่าน พ้นมานาน ซึ่งคงเหลือเพียงค�ำว่า “ไร่ขิง” ที่ต่อท้ายค�ำว่า มงคล จินดาราม เลยต้องเขียนว่า “วัดมงคลจินดาราม-ไร่ขิง” แต่จะ อย่างไรก็ตามในทางราชการคงใช้ วัดไร่ขิง พระอารามหลวง สืบมา จนทุกวันนี้
ผู้สร้างและปฏิสังขรณ์วัด
จากค�ำบอกเล่าสืบต่อกันมาจากคนรุน่ เก่าทราบว่า วัดไร่ขงิ สร้างขึน้ เมื่ อ ปี พ .ศ. 2394 ซึ่ ง ปี ดั ง กล่ า วจะอยู ่ ใ นช่ ว งระหว่ า งปลาย รัชกาลที่ 3 ต้นรัชกาลที่ 4 โดยสมเด็จพระพุฒาจารย์ (พุก) แต่ก็ไม่ได้ กล่าวถึงประวัติของท่านมากนัก ดังนั้นในที่นี้ขอน�ำประวัติของท่าน มาบันทึกเอาไว้เพื่อเป็นหลักฐานในการศึกษาค้นคว้า และความภาค ภูมิใจในเกียรติประวัติของวัดไร่ขิงสืบไป เพราะพระผู้สร้างนั้นต่อมา ได้รับโปรดเกล้าฯ สถาปนาเป็น “พระราชาคณะชั้นสมเด็จ” ซึ่งใน เขตลุ่มแม่น�้ำนครชัยศรีแห่งนี้ก็มีอีกแห่งหนึ่งได้แก่ วัดดอนหวาย ซึ่งสร้างขึ้นในปีเดียวกันและอยู่ห่างไม่ไกลเท่าใดนัก
NAKHON PATHOM I SBL บันทึกประเทศไทย
153
พระอธิการบุญนาค คมฺภีรธมฺโม 6+2
_by Tony 153
เจ้าอาวาสวัดกระเสียว
6/1/2564 13:14:08
โบราณสถาน-โบราณวัตถุภายในเขตพุทธาวาสวัดไร่ขิง หลวงพ่อวัดไร่ขิง
องค์หลวงพ่อวัดไร่ขิง เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย ขนาดหน้าตัก กว้าง 4 ศอก 2 นิว้ เศษ สูง 4 ศอก 16 นิว้ เศษ ประดิษฐานอยูบ่ นฐาน ชุกชี 5 ชั้น เบื้องหน้าลาดผ้าทิพย์ปูทอดลงมา องค์หลวงพ่อวัดไร่ขิง ประดิษฐานเป็นพระประธานอยูภ่ ายในพระอุโบสถ หันพระพักตร์ไปทาง ทิศอุดร(ทิศเหนือ) ซึง่ หน้าวัดมีแม่นำ�้ นครชัยศรีหรือแม่นำ�้ ท่าจีนไหลผ่าน จากหนังสือประวัตขิ องวัดไร่ขงิ ได้กล่าวไว้วา่ สมเด็จพระพุฒาจารย์ (พุก) ได้อัญเชิญมาจาก วัดศาลาปูนวรวิหาร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา โดยน�ำล่องมาทางน�้ำด้วยการท�ำแพไม้ไผ่หรือที่เรียกกันว่าแพลูกบวบ รองรับองค์พระ เมื่อถึงหน้าวัดไร่ขิงจึงได้อัญเชิญขึ้นประดิษฐานไว้ ภายในพระอุโบสถ ตรงกับวันขึ้น 15 ค�่ำ เดือน 5 ซึ่งเป็นวันสงกรานต์ พอดีจึงมีประชาชนจ�ำนวนมากมาชุมนุมกัน 154
6+2
ในขณะที่ อั ญ เชิ ญ องค์ ห ลวงพ่ อ ขึ้ น จากแพสู่ปะร�ำพิธี ได้เกิด อัศจรรย์แสงแดดที่แผดจ้ากลับพลันหายไป ความร้อนระอุ ใ นวั น สงกรานต์ก็บังเกิดมีเมฆด�ำมืดทะมึน ลมปั่นป่วน ฟ้าคะนอง และ บันดาลให้มีฝนโปรยลงมา ท�ำให้เกิดความเย็นฉ�่ำและเกิดความปิติ ยินดีกนั โดยทัว่ หน้า ประชาชนทีม่ าต่างก็พากันตัง้ จิตอธิษฐานเป็นหนึง่ เดียวกันว่า “หลวงพ่อจะท�ำให้เกิดความร่มเย็นเป็นสุข ดับความ ร้อนร้าย คลายความทุกข์ให้หมดไป ดุจสายฝนที่เมทนีดลให้ชุ่มฉ�่ำ เจริญงอกงามด้วยธัญญาหารฉะนั้น” ดังนั้น วันดังกล่าวที่ตรงกับ วั น สงกรานต์ ห รื อ วั น ขึ้ น ปี ใ หม่ ข องคนไทย ทางวั ด จึ ง ได้ ถื อ เป็ น วันส�ำคัญ และได้จดั ให้มงี านเทศกาลนมัสการปิดทองประจ�ำปีหลวงพ่อ วัดไร่ขิง สืบต่อมาจนถึงทุกวันนี้
SBL บันทึกประเทศไทย I นครปฐม
_by Tony 154
6/1/2564 13:14:15
พระพุทธรูปปางป่าเลไลยก์
ประดิษฐานอยู่บนแท่นระหว่างซุ้มประตูทางเข้า-ออก ด้านหน้า พระอุโบสถ เป็นพระพุทธรูปปูนปัน้ ปางป่าเลไลยก์ ลงรักปิดทองทัง้ องค์ ประทับนั่งห้อยพระบาท สันนิษฐานว่าเป็นพระเก่าแก่ที่สร้างมา พร้อมกับวัด ต่อมาเมื่อเนื้อปูนเสื่อมลงมากจึงได้ท�ำการบูรณะครั้ง แรกเมื่อปี พ.ศ. 2538 และหลังจากนั้นอีกหลายปีผ่านมาจึงได้บูรณะ ขึ้นมาอีกครั้ง โดยนายสงัด ทิพย์มณฑา เปิดให้ประชาชนได้ปิดทอง เพื่ อ ความเป็ น สิ ริ มงคลแก่ ชี วิ ต ก่ อ นเข้ า กราบหลวงพ่อวัดไร่ขิงที่ ด้านในพระอุโบสถ
พระอุโบสถ
มีลักษณะเป็นอาคารรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ขนาดกว้าง 4 วา 2 ศอก ยาว 12 วา สูง 8 วาเศษ พื้นพระอุโบสถยกสูง ด้านหน้าและด้านหลัง มีมุขยื่นออกมา พระอุโบสถมีประตูทางเข้า-ออก ด้านละ 2 ช่อง
ใบเสมารอบพระอุโบสถ
หลังจากสร้างพระอุโบสถเสร็จสิน้ ลงแล้ว ต่อไปคือ การผูกพัทธสีมา หรือฝังลูกนิมิตเพื่อใช้เป็นขอบเขตพื้นที่ รอบนอกของพระอุโบสถให้ แน่นอน สามารถใช้ท�ำสังฆกรรมได้ถูกต้องตามหลักพระธรรมวินัย ส�ำหรับลูกนิมิตโดยทั่วไปนั้น ท�ำจากก้อนหินโกลนให้เป็นรูปกลมมี เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1 ศอก โดยฝังเอาไว้ในหลุมรอบพระอุโบสถ ทั้งแปดทิศ
NAKHON PATHOM I SBL บันทึกประเทศไทย
6+2
_by Tony.indd 155
155
7/1/2564 15:12:26
พระสังกัจจายน์
พระสังกัจจายน์ หรือ พระมหากัจจายนะ ประดิษฐานอยู่ที่ศาลา ด้านหน้าพระอุโบสถ สร้างด้วยเนื้อโลหะส�ำริด
พระวิหารประจ�ำทิศ
เป็นอาคารทรงไทยรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ตั้งอยู่ตรงมุมก�ำแพงแก้ว ด้านใน ทั้ง 4 ด้านของพระอุโบสถ มีประตูทางเข้า-ออก 2 ช่อง
พระปรางค์ (หลังพระอุโบสถ)
เป็นสิ่งก่อสร้างรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ตั้งอยู่ติดก�ำแพงแก้วด้านทิศใต้ ของพระอุโบสถ ด้านล่างมีฐานเขียงรองรับ สูงขึน้ มามีซมุ้ ทิศเจาะเอาไว้ เพือ่ ประดิษฐานพระพุทธรูปทัง้ 4 ด้าน ถัดขึน้ ไปตอนบนองค์พระปรางค์ ย่อไม้มมุ สิบสอง มีซมุ้ ทิศทัง้ 4 และเจาะช่องไว้ประดิษฐานพระพุทธรูป ยอดปรางค์มีจ�ำนวน 7 ชั้น
พระพุทธรูปปางห้ามญาติ
ประดิษฐานอยู่บนแท่นระหว่างซุ้มประตูทางเข้า-ออก ด้านหลัง พระอุโบสถ เป็นพระพุทธรูปปูนปัน้ ลงรักปิดทอง ประทับยืนยกพระหัตถ์ ทั้งสองเสมอพระอุระ พุทธศิลป์โดยรวมศิลปะสมัยอู่ทอง สันนิษฐาน ว่าเป็นพระเก่าแก่ทสี่ ร้างมาพร้อมกับวัด สิง่ ทีน่ า่ สนใจ คือ พระพุทธรูป องค์ดงั กล่าว ในส่วนทีเ่ ป็นเม็ดพระศก (ผม) ทัง้ หมดจะลงรักสีดำ� เอาไว้ และไม่มีการปิดทองแต่อย่างใด ซึ่งในวัดมีพบเพียงองค์เดียวเท่านั้น และได้เห็นมานานมากกว่า 40 ปี
156
6+2
SBL บันทึกประเทศไทย I นครปฐม
_by Tony 156
6/1/2564 13:14:36
ปัจจุบนั วัดไร่ขงิ พระอารามหลวง เป็นวัดทีพ่ ทุ ธศาสนิกชนรูจ้ กั กันดี นิยมเดินทางไปนมัสการหลวงพ่อวัดไร่ขิงกันอยู่เสมอ ทุกวันอาทิตย์ จะมีตลาดนัดอาหารและผลไม้จำ� หน่ายหน้าวัด และทีบ่ ริเวณริมแม่นำ�้ หน้าพระอุโบสถจะมีชาวสวนพายเรือน�ำพืชผักผลไม้มาจ�ำหน่าย และ บริเวณริมแม่นำ�้ หน้าพระอุโบสถนีเ้ ป็นเขตอภัยทาน ร่มรืน่ มีปลาสวาย ตัวโตนับพันอาศัยอยู่ นักท่องเที่ยวสามารถซื้อขนมปังเลี้ยงปลาได้ นอกจากนีย้ งั มีพพิ ธิ ภัณฑ์ของเก่า รวบรวมของเก่าเช่น ถ้วยชาม หนังสือเก่า ซึ่งชาวบ้านน�ำมาถวายวัด จัดแสดงไว้ มีบ้านดินอินทณัฐซึ่งสร้างจากดินเหนียวผสมโครงสร้างในปัจจุบนั ภายในมี ป ระติ ม ากรรมลอยตั ว จากผนั ง เล่ า ถึ ง พุ ท ธประวั ติ ข อง พระพุทธเจ้า มีบ่อปลาคาร์ฟให้ผู้ที่มาท�ำบุญได้ให้อาหารด้วยขวดนม มีจุดพักผ่อนหย่อนใจที่สวยงาม และทางวัดไร่ขิงจะจัดงานนมัสการ หลวงพ่อวัดไร่ขิงขึ้น มีการออกร้านและมหรสพมากมาย ในระหว่าง วันขึ้น 13 ค�่ำ ถึงแรม 3 ค�่ำเดือน 5 ของทุกปี
NAKHON PATHOM I SBL บันทึกประเทศไทย
6+2
_by Tony 157
157
6/1/2564 13:14:54
วัดไร่ขิง พระอารามหลวง พระเทพศาสนาภิบาล ( แย้ม กิตฺตินฺธโร ) รองเจ้าคณะจังหวัดนครปฐม / เจ้าอาวาสวัดไร่ขิง พระอารามหลวง ประธานคณะกรรมการโครงการ " หมู่บ้านรักษาศีล ๕ " ส่วนกลาง
158
6+2
วัดไร่ขิง พระอารามหลวง ตั้งอยู่เลขที่ 51 หมู่ที่ 2 ต�ำบลไร่ขิง อ�ำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม
SBL บันทึกประเทศไทย I นครปฐม
_by Tony 158
6/1/2564 13:14:55
วัดไร่ขิง พระอารามหลวง
เป็นศาสนสถานส�ำคัญที่คงอยู่คู่จังหวัดนครปฐมและประเทศไทยมายาวนาน เป็นศูนย์รวมศรัทธาของพุทธศาสนิกชนทุกระดับชั้น ทั้งในชุมชนและทั่วทั้งประเทศ วัดไร่ขิง เป็นสัญลักษณ์แห่งความสัมพันธ์อันแนบแน่นของวัดและชุมชน งานพัฒนาต่างๆ จึงเป็นสิ่งสะท้อน ให้เห็นถึงเจตจ�ำนงในการท�ำนุบ�ำรุงพระพุทธศาสนา ให้เจริญรุ่งเรืองเป็นมรดกสืบต่อไป NAKHON PATHOM I SBL บันทึกประเทศไทย
6+2
_by Tony 159
159
6/1/2564 13:14:55
History of buddhism....
วัดบางช้างเหนือ พระพิพัฒน์ศึกษากร เจ้าคณะอำ�เภอสามพราน / เจ้าอาวาสวัดบางช้างเหนือ
160
5
วัดบางช้างเหนือ ตั้งอยู่เลขที่ 79/1 หมู่ที่ 3 ต�ำบลคลองใหม่ อ�ำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม
SBL บันทึกประเทศไทย I นครปฐม
.indd 160
15/12/2563 15:53:48
NAKHON PATHOM I SBL บันทึกประเทศไทย
5
.indd 161
161
15/12/2563 15:54:01
วัดบางช้างเหนือ สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2375 ในแผ่นดินรัชกาล พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3 เดิมชื่อ วัดใหม่ ต่อมาในปี พ.ศ. 2459 สมเด็จพระสมณเจ้ากรมพระยาวชิรญาณวโรรส ได้เสด็จตรวจเยี่ยมวัดต่างๆ ในเขตอ�ำเภอสามพราน และตรัสให้เรียก ชื่อวัดใหม่ว่า วัดบางช้างเหนือ โบราณสถานเก่าแก่ของวัดได้แก่ อุโบสถหลังเก่า มีขนาดค่อนข้างเล็ก ตั้งอยู่ด้านหน้าติดริมแม่น�้ำ นครชั ย ศรี หรื อ แม่ น�้ ำ ท่ า จี น ภายในมี พ ระพุ ท ธรู ป ปางมารวิ ชั ย ประดิษฐานอยู่ 3 องค์ ก่อด้วยอิฐมอญแล้วปั้นปูนพอกทับอีกชั้นหนึ่ง ศิลปะสมัยรัตนโกสินทร์ ต่อมาในปี พ.ศ. 2493 ทางวัดได้สร้างอุโบสถ หลังใหม่ขึ้น และท�ำพิธีเททองพระประธาน เมื่อวันที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2519 พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดช มหาราช รัชกาลที่ 9 ได้เสด็จฯ มาเททอง พระพุทธชินราชจ�ำลองซึ่ง ประดิษฐานอยู่ในอุโบสถและทรงปลูกต้นศรีมหาโพธิ์ไว้ทางซ้ายของ อุโบสถวัดบางช้างเหนือ ได้ประกาศตั้งวัดเมื่อปี พ.ศ. 2475 ได้รับ พระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2493 ในอดีต พระเถระที่มีชื่อเสียงของวัดนี้ ได้แก่ หลวงปู่จ้อย อดีตเจ้าอาวาสรูป ที่ 2, พระครูปลัดผัน (ติสฺสสุวณฺโณ) อดีตเจ้าอาวาสรูปที่ 5 และ พระครูวุฒิกรโศภณ (สงัด อุคฺคเสโน) อดีตเจ้าอาวาสรูปที่ 6
162
5
SBL บันทึกประเทศไทย I นครปฐม
.indd 162
15/12/2563 15:54:11
วิหารหลวงปู่จ้อย
หลวงปู่จ้อย ท่านเกิดในสมัยต้นรัชกาลที่ 3 ที่ต�ำบลบางช้าง อ�ำเภอสามพราน มีนามว่า จ้อย เป็นบุตรของคุณพ่อนาค คุณแม่จิ๋ว สุขบ�ำรุง มีพี่น้องร่วมสายโลหิตสามคนโดยท่านเป็นบุตรคนเล็กท่านมีความสนใจในวิทยาคมตั้งแต่เยาว์วัยเมื่ออายุครบบวช ท่านก็ได้ ใช้ชีวิตสมณเพศด้วยการศึกษาวิชาคมต่างๆ จนต่อมากิตติศัพท์เลื่องลือไปทั่วมีลูกศิษย์มากมาย ถึงแม้ท่านจะมรณภาพไปนานแล้วแต่ ศิษยานุศิษย์ ก็ยังแวะมากราบไหว้ขอพรหลวงปู่จ้อยอยู่มิได้ขาด
NAKHON PATHOM I SBL บันทึกประเทศไทย
5
.indd 163
163
15/12/2563 15:54:16
ประวัติเจ้าอาวาส องค์ปัจจุบัน (พอสังเขป)
พระพิพัฒน์ศึกษากร (พนม รตนาโภ) เกิดวันที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2498 อายุ 66 ปี พรรษา 45 อุปสมบท เมื่อวันที่ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2519 การศึกษา นักธรรมชั้นเอก ปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต (พธ.ม.) ต�ำแหน่ง ฝ่ายปกครอง พ.ศ. 2544 เป็น เจ้าอาวาสวัดบางช้างเหนือ พ.ศ. 2554 เป็น เจ้าคณะต�ำบลยายชา พ.ศ. 2561 เป็น เจ้าคณะอ�ำเภอสามพราน สมณศักดิ์ พ.ศ. 2530 เป็น พระครูสมุห์ ฐานานุกรมใน สมเด็จพระธีรญาณมุนี (สนิท เขมจารี ป.ธ.9) วัดปทุมคงคา พ.ศ. 2532 เป็ น พระครู ร องคู ่ ส วด ที่ พระครู พิ ทั ก ษ์ สุ น ทร ฐานานุกรมใน สมเด็จพระธีรญาณมุนี (สนิท เขมจารี ป.ธ.9) วัดปทุมคงคา พ.ศ. 2548 เป็น พระครูปลัดคุณวัฒน์ ฐานานุกรมใน พระธรรม คุณาภรณ์ (เอื้อน หาสธมฺโม ป.ธ.9 ) วัดสามพระยา 5 ธันวาคม พ.ศ. 2549 เป็น พระราชาคณะชั้นสามัญ ที่พระพิพัฒน์ศึกษากร 164
5
SBL บันทึกประเทศไทย I นครปฐม
.indd 164
15/12/2563 15:54:21
History of buddhism....
วัดดอนหวาย พระเมธีธรรมานันท์ (สำ�เริง ธมฺมานนฺโท) เจ้าอาวาสวัดดอนหวาย
วัดดอนหวาย ตั้งอยู่เลขที่ 78 ถนนไร่ขิง-ทรงคนอง ต�ำบลบางกระทึก อ�ำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม
166
4
SBL บันทึกประเทศไทย I นครปฐม
_by Tony 166
วัดดอนหวายหรือวัดคงคารามดอนหวาย ตั้งอยู่ริมแม่น�้ำนครไชยศรี (แม่น�้ำท่าจีน )ต�ำบลบางกระทึก อ�ำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม ปัจจุบนั เป็นทีร่ จู้ กั กันดี โดยเฉพาะตลาดน�้ำดอนหวายซึ่งเป็นแหล่งอาหารการกิน และซื้อหาพืช ผัก ผลไม้ จากไร่สวนของชาวบ้านสองฟากฝัง่ นครไชยศรี เมือ่ ครั้งรัชกาลที่ 3 สร้างวัดดอนหวาย เนื้อที่ 9 ไร่เศษ เมื่อแรกเรียกกันว่า “วัดโคกหวาย” ตามชื่อหมู่บ้านโคกหวาย ซึ่งมีต้นหวายขึ้นอยู่เป็นจ�ำนวน มากในย่านนี้
6/1/2564 11:16:12
NAKHON PATHOM I SBL บันทึกประเทศไทย
4
_by Tony 167
167
6/1/2564 11:16:14
ประวัติผู้สร้างวัดคงคารามดอนหวาย
เจ้าแม่กวนอิม
ผูส้ ร้างวัดดอนหวายเป็นพระสงฆ์ทรงสมณะศักดิช์ นั้ สมเด็จนามว่า “สมเด็จพระพุฒาจารย์ (พุก)” อดีตเจ้าคณะใหญ่แขวงกรุงเก่า เจ้าอาวาส วั ด ศาลาปู น วรวิ ห าร จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา ท่ า นเป็ น ชาว นครไชยศรี เกิดในสมัยรัชกาลที่ 1 มรณภาพในสมัยรัชกาลที่ 5 ยังมี รู ป หล่ อ ของท่ า นอยู ่ ที่ กุ ฏิ ตึ ก วั ด ศาลาปู น ได้ ส ร้ า งวั ด เมื่ อ ราว พุ ท ธศั ก ราช 2394 ซึ่ ง เป็ น ยุ ค ต้ น รั ช กาลที่ 4 งานศิ ล ปกรรมของ วัดดอนหวาย จึงผสมผสานกันด้วยโครงสร้างหลักเหมือนรูปแบบสมัย รัชกาลที่ 3 แต่มีการตกแต่งช่อฟ้า หลังคาแบบรัชกาลที่ 4 ปัจจุบนั ได้ ซ่อมแซมเปลีย่ นแปลงรูปแบบไปหลายประการแล้ว เจ้าคุณธรรมราชานุวฒ ั น์ อาด จันทโชโต เจ้าอาวาสวัดศาลาปูนรูป ถัดมาซึ่งมีศักดิ์เป็นหลานของพุฒาจารย์พุก ท่านท�ำการปฏิสังขรณ์ เพิ่มเติมในยุคนีไ้ ด้มกี ารปรับปรุงชือ่ วัดเป็น “วัดคงคารามดอนหวาย” หมายถึงวัดที่อยู่ริมน�้ำ อุโบสถหลังเดิมเป็นทรงโรงหน้าบัน ชั้นลดเป็น เสาสี่เหลี่ยมใหญ่และผนังรับหลังคา แต่อุโบสถที่เห็นนี้สร้างขึ้นใหม่ ในสมัยปัจจุบัน เมื่อปีพุทธศักราช 2529 เป็นอาคารทรงไทยหลังคา ซ้อน 3 ชั้น มีมุขทั้งหน้า-หลัง หน้าบันตกแต่งลายธรรมจักร ซุ้มเหนือ ประตูและหน้าต่าง ตกแต่งทรงยอดมณฑปทั้งหมด
สิ่งส�ำคัญประจ�ำวัดดอนหวาย หลวงพ่อวิ ไลยเลิศ ณ วัดคงคารามดอนหวาย แป๊ะกง
168
4
พระประธานปางมารวิชัย นามว่า “หลวงพ่อวิไลยเลิศ” เป็น ศิลปะรัตนโกสินทร์ตอนต้น มีการบูรณะซ่อมแซมให้พุทธลักษณะ สวยงามขึน้ และจัดท�ำเม็ดพระศกขึน้ ใหม่ทงั้ หมด ลงรักปิดทองทัง้ องค์ ด้านซ้าย-ขวามี พ ระโมคคั ล ลานะและพระสารี บุ ต ร ใบเสมารอบ อุโบสถท�ำด้วยหินแกรนิตแกะสลักลายประจ�ำยามและลายกนกแบบ ที่เห็นได้ทั่วไป ซึ่งนิยมท�ำขึ้นแถวเมืองชายทะเลที่มีหินแกรนิตในสมัย รัชกาลที่ 3 วิหารตั้งขนานกับอุโบสถมีลักษณะทรงโรง หน้าบัน ชั้น ลด หลังคาทรงไทยซ้อน 2 ชั้นมุงกระเบื้อง หน้าบันตรงกลางเป็น วงกลม มีรูปปราสาทตรงกลาง ด้านข้างซ้าย-ขวามีรูปพัดยศ แสดง สมณะศักดิข์ องผูส้ ร้าง บันทึกในบางแห่งกล่าวว่าเป็นรูปปราสาท 3 หลัง ซึ่งเป็นเครื่องหมายประจ�ำพระองค์ในรัชกาลที่ 3 และพัดยศ มีเสา นางเรียงสี่เหลี่ยมขนาดใหญ่ลบมุมล้อมรอบรับชายคา เป็นลักษณะ ของงานช่างสมัยรัชกาลที่ 3 มีชานระเบียงเดินได้รอบ บันไดขึ้น-ลง ด้านข้างด้านละ 2 ทาง มีประตูเข้า-ออก ด้านละ 2 ประตูเช่นกัน
SBL บันทึกประเทศไทย I นครปฐม
_by Tony 168
6/1/2564 11:16:22
หลวงพ่อวิสาหาร
ภายในวิหารทาสีขาว บานประตู หน้าต่างทาสีแดง พระประธาน ปางมารวิชัย นามว่า “หลวงพ่อวิสาหาร” ศิลปะรัตนโกสินทร์ ตอนต้นและมีพระพุทธรูปต่างๆ อีกหลายองค์ เบื้องขวาของวิหาร ได้ตั้งระฆังไว้ 10 ระฆัง หมายถึงบารมี 10 ทัต การเคาะระฆังให้ใช้ เหรียญที่ได้จากการทอนเงินซื้อของมาเคาะเสียงเหรียญเคาะระฆัง มีเจดีย์สีทองขนาดใหญ่ตั้งอยู่ทั้ง 4 มุม ภายในก�ำแพงแก้วเป็นเจดีย์ ที่สร้างขึ้นใหม่ เมื่อปีพุทธศักราช 2542 แทนของเดิมซึ่งช�ำรุดหัก พังทลายและถูกขุดค้นพระเครื่องบูชาออกไป
ตลาดน�้ำวัดดอนหวาย
ตลาดน�้ำดอนหวาย (Don Wai Floating Market) ตลาดน�้ำที่มี ความคึ ก คั ก และเป็ น ที่ นิ ย มมาเป็ น เวลานานเพราะเป็ น ตลาดที่ รวบรวมผลิตภัณฑ์ทงั้ ของสดของแห้งและสินค้าแปรรูปมากมาย รวมถึง อาหารพร้อมรับประทาน ขนมหวาน อาหารประจ�ำจังหวัดที่หลาก หลาย ซึ่ ง ส่ ว นมากเป็ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ มี ใ นท้ อ งถิ่ น แถบลุ ่ ม แม่ น�้ ำ นครชัยศรีและใกล้เคียง ส�ำหรับนักท่องเทีย่ วทีอ่ ยากสัมผัสวิถชี วี ติ ริมน�ำ้ ทีเ่ งียบสงบและเรียบง่าย ก็สามารถล่องเรือชมทิวทัศน์ทยี่ งั คงกลิน่ อาย ของชุมชนริมน�้ำในสมัยรัชกาลที่ 6 ได้ด้วย ตลาดน�้ำดอนหวาย (Don Wai Floating Market) อยู่ภายใน วัดคงคารามดอนหวาย ริมแม่นำ�้ นครชัยศรี หรือแม่นำ�้ ท่าจีน วัดดอนหวายสร้างขึน้ ในปี พุทธศักราช 2394 ประมาณต้นรัชกาลที่ 4 โดยสมเด็จพระพุฒาจารย์(พุก) อดีตเจ้าอาวาสวัดศาลาปูนวรวิหาร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา กับพระธรรมราชานุวัตรหลานชายและ ประชาชนใกล้เคียง ร่วมกันสร้างขึน้ และมีการบูรณปฏิสงั ขรณ์เรือ่ ยมา จนแล้วเสร็จในสมัยรัชกาลที่ 6 ตามหลักฐานทางประวัติศาสตร์ บันทึกไว้ว่า บริเวณนี้มีพื้นที่เป็นเนินและเคยมีต้นหวายขึ้นอยู่มาก จึงเรียกว่า “โคกหวาย” ต่อมาชาวจีนเข้ามาใช้เป็นที่ตั้งหีบอ้อยเพื่อ ผลิตน�้ำตาลเป็นสินค้าส่งออก ภายหลังเมื่อเลิกกิจการแล้วจึงได้ถวาย พื้นที่เพื่อสร้างเป็นวัดชื่อว่า “วัดโคกหวาย” แล้วจึงเปลี่ยนมาเป็น “วัดดอนหวาย” ต่อมาจึงมีชอื่ เป็นทางการว่า "วัดคงคารามดอนหวาย" แต่คนทั่วไปยังคงเรียกติดปากเช่นเดิมว่า “วัดดอนหวาย”
พระเมธีธรรมานันท์ (ส�ำเริง ธมฺมานนฺโท) เจ้าอาวาสวัดคงคารามดอนหวาย
NAKHON PATHOM I SBL บันทึกประเทศไทย
4
_by Tony 169
169
6/1/2564 11:16:28
History of buddhism....
วัดธรรมปัญญารามบางม่วง สามพราน นครปฐม
興盛寺 CHÙA HƯNG THẠNH องสรภาณณอนัมพจน์, ดร. เจ้าอาวาสวัดธรรมปัญญารามบางม่วง
170
4
วัดธรรมปัญญารามบางม่วง ตั้งอยู่ที่ เลขที่ 108 / 8 หมู่ 8 ซอยโรงเจ ตําบลบางช้าง อําเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม รหัสไปรษณีย์ 73110 เบอร์ โทร 085-177-9169 โทรสาร 034-979-292
“วัดธรรมปัญญารามบางม่วง สามพราน นครปฐม เป็นวัดพระพุทธ
ศาสนามหายาน ในสังกัดคณะสงฆ์อนัมนิกายแห่งประเทศไทย วัดแห่งนี้เป็น 1 ใน 9 แห่งของสถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดนครปฐมตั้งอยู่ริมแม่น�้ำท่าจีน เป็นวัดที่มีพระยูไลไภษัชยคุรุพุทธเจ้า (พระพุทธเจ้าจอมแพทย์) เนื้อเงินยวง และพระโพธิสตั ว์กวนอิมอิรยิ าบถนอนทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ในประเทศไทย มีความยาว 21 เมตร หล่อด้วยทองเหลือง พระพักตร์ผสมทองค�ำ เป็นสถานทีท่ คี่ อยยึดเหนีย่ ว จิตใจให้แก่พทุ ธศาสนิกชนทีเ่ คารพศรัทธามาสักการะ ปฏิบตั ธิ รรม และยังคง เป็นมรดกทางวัฒนธรรมแห่งลุ่มน�้ำท่าจีน ”
SBL บันทึกประเทศไทย I นครปฐม
.indd 170
15/12/2563 17:31:24
ประวัติความเป็นมา (พอสังเขป)
วัดธรรมปัญญารามบางม่วง ตัง้ อยูอ่ ำ� เภอสามพราน จังหวัดนครปฐม มีทดี่ นิ เนือ้ ที่ 10 ไร่ 2 งาน 42 ตารางวา “วัดธรรมปัญญารามบางม่วง” หรือเรียกสั้นว่า วัดบางม่วง ตั้งอยู่ริมแม่น�้ำท่าจีน ซึ่งสถานที่แห่งนี้ สงบ ร่มรื่น สัปปายะภายในวัดมีสถานที่ศักดิ์สิทธิ์หลายแห่ง ได้แก่
พระโพธิสัตว์กวนอิมปางเสวยสุข พระยูไลไภษัชยคุรุพุทธเจ้า หรือพระพุทธเจ้าจอมแพทย์ 藥師佛
หรือที่รู้จักกันในนามของพระกริ่ง ซึ่งสร้างขึ้นจากเนื้อเงินยวง ผสมเงินแท้ สูง 7 เมตร องค์ใหญ่ท่ีสุดในประเทศไทย ปางนั่งขัดสมาธิ ภาวนา พระหัตถ์ทรงถือบาตรน�ำ้ มนต์ ทีพ่ ทุ ธศาสนิกชนผูศ้ รัทธาร่วมกัน สร้างพระยูไลไภษัชยคุรุพุทธเจ้าขึ้น เพื่อเป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจ และ ให้ผู้คนได้กราบสักการะขอพร ซึ่งพระยูไลไภษัชยคุรุเป็นพระพุทธเจ้า แห่งการประทานพรเรื่องสุขภาพ ที่เกิดความทุกข์จากโรคทางกาย และโรคทางใจ ในยามเจ็บป่วย ซึ่งพระไภษัชยคุรุพุทธเจ้า เป็นที่ นับถือในกลุ่มชาวไทยเชื้อสายจีนโดยรูปเคารพมักปรากฏตามวัด พระพุทธศาสนามหายาน
พระโพธิ สั ต ว์ ก วนอิ ม ปางเสวยสุ ข หรื อ พระโพธิ สั ต ว์ ก วนอิ ม อิรยิ าบถนอนทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ในประเทศไทย มีความยาว 21 เมตร หล่อด้วย ทองเหลือง พระพักตร์ผสมทองค�ำ ลักษณะของพระโพธิสัตว์กวนอิม ปางเสวยสุขที่วัดธรรมปัญญารามบางม่วงนี้ อยู่ในอิริยาบถนอนที่ แย้มพระโอษฐ์ ซึง่ เป็นปริศนาธรรม (พระโพธิสตั ว์ในอิรยิ าบถนอนอย่าง ผู้หมดจากทุกข์ คือ การนอนยิ้มอย่างมีสุข) เพื่อให้ได้รู้ว่าการที่จะ หมดจากทุกข์โศกได้ ต้องปฏิบัติธรรม แม้แต่ในอิริยาบถการนอนก็ นอนแบบมีสติ ซึ่งเต็มไปด้วยพระเมตตาบารมี อีกทั้งยังมี เทพเจ้าแห่งโชคลาภ (โหงวโล่วไฉ่ซิ้ง) ไม้หอมเก่าแก่ จากเมืองจีน ศาลแปะกง มรดกเก่าแก่แห่งบรรพชน ลุ่มแม่น�้ำท่าจีน และแมนดาล่ า ทราย ถ�้ ำ พระโพธิ สั ต ว์ ก วนอิ ม ซึ่ ง ใช้ เ ป็ น ที่ ใ นการ ประกอบศาสนกิจ และให้พุทธศาสนิกชนมาปฏิบัติธรรม NAKHON PATHOM I SBL บันทึกประเทศไทย
4
.indd 171
171
15/12/2563 17:31:36
กิจกรรมทางศาสนาของทางวัด
1) งานประจ�ำปีระหว่างวันที่ 27 ธันวาคม – 2 มกราคม ของทุกปี 2) งานบูชาดาวนพเคราะห์ ช่วงเดือนกุมภาพันธ์ – มีนาคม 3) กิจกรรมการบวชเณรภาคฤดูร้อน เดือนเมษายน 4) ง านกงเต็ ก รวมญาติ จั ด พิ ธี บ� ำ เพ็ ญ กุ ศ ลให้ กั บ ผู ้ ต ายโดยมี พุทธศาสนิกชนมาร่วมประกอบพิธีดังกล่าวในวันเวลาเดียวกันซึ่งจะ มี ก ารลงชื่ อ บรรพบุ รุ ษ และประกอบพิ ธี ใ ห้ พ ร้ อ มกั น ในช่ ว งเดื อ น สิงหาคม – กันยายน 5) พิธีไทยทานทิ้งกระจาด-แจกทาน ประกอบพิธีหลังพิธีกงเต็ก รวมญาติและมีการแจกเครื่องอุปโภคบริโภคให้กับหน่วยงานและ องค์กรต่างๆ 6) เทศกาลถือศีล-กินเจ ร่วมปฏิบัติธรรมรักษาศีลกินเจในช่วง เดือน 9 ซึ่งจะตรงกับเดือนกันยายน – ตุลาคม
172
4
SBL บันทึกประเทศไทย I นครปฐม
.indd 172
15/12/2563 17:31:44
“ พระผู้น�ำบุญมหายาน แห่งลุ่มน�้ำท่าจีน ”
พระนักพัฒนาสังคม สาธารณะสงเคราะห์ ศึกษาสงเคราะห์ เผยแผ่ องพจนกรโกศล,ดร.(พิสิษฐ์ เถี่ยนบ๊าว) เจ้าอาวาสวัดธรรมปัญญารามบางม่วง ประธานมูลนิธิพระยูไล ไภษัชย์สงเคราะห์ (องค์กรสาธารณะประโยชน์) องพจนกรโกศล,ดร.(พิสิษฐ์ เถี่ยนบ๊าว) ได้ท�ำงานเพื่อสาธารณชน มากมายตามกิจการคณะสงฆ์ทั้ง 6 ด้าน ด้านการปกครอง ได้จัดให้มี การบรรพชา อุปสมบทหมู่ ด้านศาสนศึกษา สนับสนุนให้พระภิกษุ สามเณรให้เล่าเรียนทั้งทางธรรมและทางโลกควบคู่กัน ด้านการ ศึกษาสงเคราะห์ ได้จัดสร้างอาคารเรียน และมีส่วนร่วมในการจัดการ เรียนการสอนในเรือ่ งของภาษาอาเซียน เพือ่ เป็นการสร้างประโยชน์ให้ แก่เยาวชนในท้องถิน่ ด้านการเผยแผ่ ทางวัดได้เผยแผ่พระพุทธศาสนา ตามลัทธินกิ าย ผ่านสือ่ ทุกประเภท อาทิเช่น วิทยุ โทรทัศน์ สือ่ ออนไลน์ สือ่ สิง่ พิมพ์ ด้านสาธารณูปการ ได้มกี ารขับเคลือ่ นกิจการงานพระพุทธ ศาสนากับภาครัฐและเอกชน เช่น มีการบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ MOU กับทางจังหวัดและหน่วยงานต่างๆ ด้านสาธารณสงเคราะห์ ได้ สงเคราะห์ช่วยเหลือ โดยมีการแจกทาน มอบสิ่งของแก่ชาวบ้าน อยู่ เป็นประจ�ำ ตลอดมาจนปัจจุบันได้รับสมณะศักดิ์พระครูสัญญาบัตร ราชทินนามว่า “องพจนกรโกศล” ทัง้ ยังได้รบั แต่งตัง้ เป็นประชาสัมพันธ์ คณะสงฆ์อนัมนิกายแห่งประเทศไทย ประธานกลุม่ โรงเรียนพระปริยตั ิ ธรรมแผนกสามัญกลุ่มที่ 14 ได้สร้างศาสนทายาท ศาสนสถาน และ งานเผยแผ่พระพุทธศาสนาผ่านสื่อต่างๆ มีผลงานมากมายเป็นที่ ประจักษ์แก่พุทธศาสนิกจ�ำนวนมาก
ตลอดระยะเวลาในร่มผ้ากาสาวพัสตร์ ได้ประกอบศาสนกิจอยู่ มิขาดการสร้างศาสนทายาทไว้ในพระพุทธศาสนา และงานทีย่ งั สานต่อ เป็ น ประจ� ำ ในปั จ จุ บั น คื อ การเผยแผ่ พ ระพุ ท ธศาสนาและสาน สั ม พั น ธไมตรี กั บ นานาประเทศ เพื่ อ สร้ า งโอกาสให้ กั บ พระภิ ก ษุ สามเณร อีกทั้งยังได้ตอบแทนคุณแผนดินและช่วยเหลือสังคม ไม่ว่า จะเป็นโครงการจากวัด หรือโครงการต่างๆของมูลนิธิ โดยมีสโลแกนว่า “เจ็บเยี่ยมไข้ ตายเยี่ยมผี มีช่วยเหลือ จุนเจือสังคม” NAKHON PATHOM I SBL บันทึกประเทศไทย
4
.indd 173
173
15/12/2563 17:31:48
History of buddhism....
วัดเดชานุสรณ์ พระครูอดุลพัฒนาภรณ์ (ประเทือง จารุมโย) ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดนครปฐม / เจ้าอาวาสวัดเดชานุสรณ์
วัดเดชานุสรณ์ เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์ฝ่ายมหานิกาย ตั้งอยู่เลขที่ 46 หมู่ที่ 6 ต�ำบลยายชา อ�ำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม โทร. 0-3432-2899 มือถือ 081-8284239
174
SBL บันทึกประเทศไทย I นครปฐม
4
.indd 174
14/12/2563 17:27:46
ประวัตคิ วามเป็นมาของวัดในหนังสือ “ท�ำเนียบและพระสังฆาธิการ จั ง หวั ด นครปฐม” ได้ ก ล่ า วว่ า วั ด เดชานุ ส รณ์ ได้ ส ร้ า งขึ้ น เมื่ อ ปี พ.ศ. 2349 ซึ่งตรงกับรัตนโกสินทร์ศก ร.ศ. 25 ในพระบาทสมเด็จ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก รัชกาลที่ 1 แห่งราชวงศ์จักรี ส่วนข้อมูล จากผู ้ รู ้ ห รื อปราชญ์ท้องถิ่น ได้เล่าสืบ ต่อกัน มาว่ า สร้ า งขึ้ น ระยะ เวลาใกล้เคียงกับวัดสรรเพชญ โดยผู้ที่อพยพหลบภัยสงครามจาก กรุงศรีอยุธยา ได้มาตั้งหลักแหล่งอยู่ในพื้นที่บริเวณนี้มาก่อน ต่อมา มีสามีภริยาคู่หนึ่งเป็นผู้ที่เลื่อมใสในพระพุทธศาสนาเป็นอย่างยิ่ง เป็นผู้สร้างวัดขึ้นโดยตาเพชรผู้เป็นสามีสร้างวัดตาเพชร ต่อมาเป็น ชื่อวัดสามเพชร หรือวัดสัมเพชร และวัดสรรเพชญในปัจจุบัน ส่วน ยายชาภริยาได้มาสร้างวัดยายชาซึ่งอยู่ไม่ไกลกันนักและเปลี่ยนมา เป็นวัดเดชานุสรณ์จนทุกวันนี้
ส่วนประวัติศาสตร์ของวัดเดชานุสรณ์ ซึ่งได้จัดพิมพ์ขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2544 ได้กล่าวไว้ว่า พื้นที่บริเวณนี้เดิมเป็นที่พักของพระสงฆ์ มาก่อน เพราะมีพระมาธุดงค์และปักกลดอยู่เสมอ โยมผู้หญิงชื่อชา หรือชาวบ้านเรียกยายชา ได้มีจิตศรัทธาสร้างกุฏิขึ้น 4 หลัง กับศาลา การเปรียญอีก 1 หลัง บนพื้นที่ประมาณ 10 ไร่ เมื่อปี พ.ศ. 2349 หลังจากนั้นก็ได้มีพระมาอยู่จ�ำพรรษามากยิ่งขึ้น จึงมีผู้ศรัทธาสร้าง ศาลาถวายขึ้นอีก 1 หลัง ก่ออิฐโบกปูนขาว หลังคามุงด้วยกระเบื้อง ดินเผา มีพระพุทธรูปศิลาปางสมาธิอยู่ 1 องค์ ขนาดหน้าตักกว้าง 1.76 เมตร ต่อมามีเจ้าของโรงหีบอ้อยซึ่งเป็นเชื้อสายจีนชื่อ “เน่า” หรือหลงจู๊เน่า ได้มีจิตศรัทธาสร้างวัดขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2399 โดยมี อุโบสถชั่วคราว เครื่องบนเป็นไม้ไผ่หลังคามุงด้วยใบจาก จนกระทั่ง ในสมัยที่พระครูสาครคุณาธาร (หมุด ติสฺสวํโส) ได้รับการแต่งตั้งเป็น ผู้รักษาการเจ้าอาวาสวัดเดชานุสรณ์ เมื่อปี พ.ศ. 2463 และได้รับ การแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาสเมื่อปี พ.ศ. 2470 ท่านพร้อมกับชาวบ้าน ได้ร่วมกันสร้างเสนาสนะและพัฒนาวัดเพิ่มเติมจนได้รับพระราชทาน วิสุงคามสีมา พ.ศ. 2473 ต่อมาหลวงบริบาลบุรีภัณฑ์อดีตภัณธรักษ์ กรมศิลปากรได้พา ดร.บวช เชอรีเย่ นักโบราณคดีชาวฝรั่งเศส มาดู พระพุทธรูปศิลาองค์ดังกล่าว ท่านได้บอกว่าเป็นพระพุทธรูปสมัย อู่ทอง นอกจากนี้ในหนังสือประวัติศาสตร์ของวัดเดชานุสรณ์ ได้ กล่าวไว้ว่า ประมาณ ปี พ.ศ. 2483 สมเด็จพระวันรัต (เฮง) เขมจารี แห่งวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษดิ์ กรุงเทพมหานคร ได้เปลี่ยนชื่อจาก วัดยายชามาเป็นวัดเดชานุสรณ์ จนกระทั่งทุกวันนี้
NAKHON PATHOM I SBL บันทึกประเทศไทย
4
.indd 175
175
14/12/2563 17:27:56
นอกจากนี้ วั ด นี้ ยั ง มี โ บราณสถานที่ ส� ำ คั ญ อี ก อย่ า งหนึ่ ง ได้ แ ก่ “เรือนราชฤดี” อาคารหลังนี้กล่าวกันว่า แต่เดิมเป็นเรือนของสมเด็จ พระนางเจ้ า อิ น ทรศั ก ดิ ศ จี พระบรมราชิ นี ในพระบาทสมเด็ จ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 6 แต่ทราบว่ายังมีเรือนอีกหลังหนึง่ อยู่ที่โรงเรียนบ้านยาง “อินทรศักดิ์ศึกษาลัย” อ�ำเภอก�ำแพงแสน จังหวัดนครปฐม จึงมีผู้ท�ำการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับ “เรือนราชฤดี” แห่งนี้ เพื่อความถูกต้องของข้อมูลทางการศึกษาในท้องถิ่น เรือนราชฤดีของวัดเดชานุสรณ์แห่งนี้ พระครูอดุลพัฒนาภรณ์ เจ้าอาวาสวัดเดชานุสรณ์ และบุคคลในท้องถิน่ อีกหลายท่านก็เล่าให้ฟงั ว่า รือ้ มาจากฝัง่ ตรงข้ามวัดพระประโทนเจดีย์ บ้างก็วา่ รือ้ มาจากโรงพยาบาล นครปฐมหลังเก่า ปัจจุบันเรือนราชฤดีของวัดเดชานุสรณ์เป็นอาคาร สองชั้น หลังคาทรงเตี้ยแบนหรือที่เรียกกันว่า “ทรงปั้นหยา” ทาง ด้านข้างของอาคารย่อมุขตอนชั้นบนและท�ำเป็นหลังคาซ้อนลดหลัน่ กันมา 3 ชั้น ส่วนล่างสุดก่อด้วยอิฐ ด้านหน้า อาคารมีข้อความว่า “เรือนราชฤดี” ในอดีตพื้นที่บางส่วนได้ใช้เป็นห้องที่จ�ำพรรษาของ พระครูสาครคุณาธาร (หมุด ติสฺสวํโส) อดีตเจ้าอาวาสรูปที่ 5 และ ภายในห้องนีท้ างด้านทิศตะวันออกมีขอ้ ความจารึกไว้บนแผ่นหินอ่อน ติดอยู่ มีข้อความดังนี้ “ประวัติเรือนราชฤดี เรือนราชฤดีหลังนี้เดิม เป็นที่ประทับของสมเด็จพระบรมราชินี พระนางเจ้าอินทรศักดิ์ศจี ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูห่ วั สร้างขึน้ เมือ่ ปี พ.ศ. 2458 ณ บริเวณหน้าวัดพระประโทนเจดีย์ ต่อมาได้ประทานเป็นเรือนพัก คนไข้และได้รื้อย้ายไปสร้างในบริเวณโรงพยาบาลเมืองนครปฐม เมือ่ ปี พ.ศ. 2478 ครัง้ เมือ่ ทางราชการได้ยา้ ยโรงพยาบาลเมืองนครปฐม ไปสร้างอาคารในบริเวณแห่งใหม่ จึงได้ถวายเรือนราชฤดีหลังนี้ แก่วัดเดชานุสรณ์ ต�ำบลยายชา อ�ำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม เพื่อใช้เป็นโรงเรียนปริยัติธรรม” การรื้ อ ย้ า ยเรื อ นราชฤดี ห ลั ง นี้ จากบริ เวณโรงพยาบาลเมื อ ง นครปฐมเดิมมาก่อสร้าง ณ สถานที่แห่งนี้เริ่มตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม 2501 ก่อสร้างเสร็จเรียบร้อยเมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน 2511 โดย นายช�ำนาญ ยุวบูรณ์ และคุณหญิงวลี ยุวบูรณ์ เป็นผูอ้ ปุ การะค่ารือ้ ย้าย และการก่อสร้าง สภาพทั่วไปในปัจจุบัน วัดเดชานุสรณ์มีพื้นที่โดยทั่วไปค่อนข้าง โล่งแจ้ง บริเวณด้านหน้าวัดอยูท่ างทิศตะวันออกหันหน้าวัดลงสูแ่ ม่นำ �้ ส่วนพื้นที่ด้านหลังของวัดมีอาคารหรือสิ่งก่อสร้างอยู่หลายหลัง ได้แก่ อุโบสถ วิหาร และหมู่กุฏิสงฆ์จัดสร้างเป็นระเบียบ บริเวณวัดสะอาด เรียบร้อยอยูเ่ ป็นนิจ และมีตน้ ไม้ให้รม่ เงาอยูร่ ายรอบวัดดูรม่ รืน่ ร่มเย็น ประชาชนที่อาศัยอยู่บริเวณนี้ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ปลูกพืชผลไม้ได้ดี ผลไม้ที่ขึ้นชื่อได้แก่ ฝรั่ง มะพร้าว กล้วยไม้ เป็นต้น
176
SBL บันทึกประเทศไทย I นครปฐม
4
.indd 176
14/12/2563 17:27:59
กิจกรรมร่วมมือระหว่างวัดกับหน่วยงานราชการ
กิจกรรมแห่เทียนเข้าพรรษา ร่วมกับ องค์การบริหารส่วนต�ำบล ยายชา โรงเรียนวัดสรรเพชญ โรงเรียนวัดเดชานุสรณ์ ศูนย์พัฒนา เด็กเล็ก และสถานนีอนามัยต�ำบลยายชา เป็นประจ�ำทุกปี, วันพ่อ แห่งชาติ ร่วมกับ องค์การบริหารส่วนต�ำบลยายชา, จัดกิจกรรมการ รับฟังปาฐกถาธรรม เรื่อง “คุณธรรม จริยธรรมและบทบาทหน้าที่ ของประชาชนในสังคม”, วันที่ 5 ธันวาคม ของทุกปี, วันสงกรานต์ สนับสนุนสถานทีจ่ ดั งานวันสงกรานต์ให้กบั ชมรมผูส้ งู อายุตำ� บลยายชา ร่วมกับองค์การบริหารส่วนต�ำบลยายชาจัดกิจกรรมบรรพชาสามเณร เพือ่ ถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ฯ เนือ่ งใน วโรกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา
วัดเดชานุสรณ์ เป็นวัดที่สร้างในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ส�ำหรับอดีตเจ้าอาวาสเท่าที่สามารถสืบค้นได้มี 6 รูป ดังนี้
1. พระอาจารย์คล้าย 2. พระอาจารย์พรม 3. พระอาจารย์พร้อม 4. พระอาจารย์ผ่อน 5. พระครูสาครคุณาธาร (หมุด ติสฺสวํโส) พ.ศ. 1463 – 2521 6. พระครูอดุลพัฒนาภรณ์ (ประเทือง จารุมโย) พ.ศ. 2521 – ปัจจุบนั
พระครูอดุลพัฒนาภรณ์ (ประเทือง จารุมโย)
ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดนครปฐม / เจ้าอาวาสวัดเดชานุสรณ์ NAKHON PATHOM I SBL บันทึกประเทศไทย
4
.indd 177
177
14/12/2563 17:28:07
History of buddhism....
วัดสามพราน (พุทโธภาวนา) พระครูสังฆรักษ์กิจจา สิริจนฺโท เจ้าอาวาสวัดสามพราน (พุทโธภาวนา)
วัดสามพราน (พุทโธภาวนา) ตั้งอยู่เลขที่ 92/8 หมู่ 7 ต�ำบลสามพราน อ�ำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม
178
2
วัดสามพราน (พุทโธภาวนา) ตัง้ อยูบ่ นเนือ้ ที่ 39 ไร่ 3 งาน 52 ตารางวา
มูลเหตุทที่ ำ� ให้มกี ารสร้างวัดนีข้ นึ้ นัน้ มาจากแนวความคิดของ นางสาวสุดาภรณ์ ชุ้นสามพราน ซึ่งเป็นผู้มีจิตอันประกอบด้วยความศรัทธามั่นคงในบวร พระพุทธศาสนา โดยเฉพาะมีความสนใจในการปฏิบตั ธิ รรม และกิจกรรมต่างๆ ของคณะสงฆ์ไทย ซึ่งด�ำเนินการโดยพระอาจารย์จ�ำลอง กิตติปญฺโญ วัดนาคปรก เขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร จึงได้ถวายความอุปถัมภ์ ในการปฏิบัติธรรม และกิจกรรมต่างๆ ตลอดมา
SBL บันทึกประเทศไทย I นครปฐม
.indd 178
14/12/2563 18:08:15
ต่อมา นางสาวสุดาภรณ์ ชุ้นสามพราน พร้อมทั้งคณะญาติมิตร พิจารณาเห็นว่า ในท้องที่เขตอ�ำเภอสามพราน มีประชาชนเป็น จ�ำนวนมากสนใจในการปฏิบัติธรรม แต่ยังไม่มีสถานที่เป็นส�ำนัก ปฏิบตั ธิ รรม จึงได้ถวายทีด่ นิ จ�ำนวน 5 ไร่ 3 งาน 52 ตารางวา เพือ่ จัดตัง้ เป็นส�ำนักปฏิบัติธรรม จากนั้นคณะกรรมการมีพระอาจารย์จ�ำลอง กิตติปญฺโญ, นายสุธน จุลสิทธิโสภา, นางสาวสุดาภรณ์ นางสาวสุวิมล ชุ้นสามพราน เป็นต้น ร่วมกับท่านสาธุชนทั้งหลาย ได้ร่วมกันสร้าง ทีพ่ ำ� นักสงฆ์ และสถานทีป่ ฏิบตั ธิ รรมโดยใช้ชอื่ ครัง้ แรกว่า “ส�ำนักสงฆ์ พุทโธภาวนา ชุ้นสามพราน” ตั้งแต่ปีพุทธศักราช 2526 เป็นต้นมา การปฏิบัติธรรมของส�ำนักสงฆ์พุทโธภาวนาแห่งนี้ ได้กลายเป็น ศู น ย์ ร วมของเหล่าพุทธศาสนิก ชนผู้ใคร่ต ่อการปฏิ บัติ และฝึ ก ฝน อบรมจิตเป็นจ�ำนวนมาก โดยได้รับความอุปถัมภ์บ�ำรุงจากบรรดา ข้าราชการ พ่อค้า ประชาชน เป็นอย่างดี มีพระสงฆ์จ�ำนวนมาก มาปั ก กลดถือธุด งควัต รเป็น ประจ�ำ อีก ทั้งผู้อ�ำ นวยการสอน คื อ พระอาจารย์จ�ำลอง กิตติปญฺโญ ได้เปิดการสอนปฏิบัติธรรมแก่ ประชาชนทั่วไป มีผู้สนใจในการปฏิบัติธรรม – ฝึกฝนอบรมจิต เป็น ประจ� ำ ทุ ก วั น พระ และวั น อาทิ ต ย์ โดยเฉพาะในเทศกาลและ วันส�ำคัญทางพระพุทธศาสนา ทางส�ำนักสงฆ์พุทโธภาวนา ได้จัดให้ มีการบวชชีพราหมณ์และการอบรมสมาธิภาวนาโดยตลอดต่อมา นางสาวสุดาภรณ์ ชุ้นสามพราน ผู้อุปถัมภ์ของส�ำนักสงฆ์ ได้มีศรัทธา ปสาทะ ถวายเงินหนึ่งแสนบาท เพื่อจัดตั้งมูลนิธิในการท�ำนุบ�ำรุง ส�ำนักฯ และมีผมู้ จี ติ ศรัทธาบริจาค ร่วมสมทบอีกจ�ำนวน สองแสนบาทเศษ ทางคณะกรรมการของส�ำนักฯ จึงขอยื่นจดทะเบียนเป็นมูลนิธิต่อ ทางราชการ แต่ไม่สามารถด�ำเนินการได้ เพราะส�ำนักฯ ยังไม่ได้รับ การยกฐานะเป็นวัดทางคณะสงฆ์ของจังหวัดนครปฐม ได้ร่วมกับทาง ราชการหาแนวทางแก้ไข จนสามารถจดทะเบียนเป็นมูลนิธิได้และ เมื่อต้นเดือนมกราคม ปีพ.ศ. 2529 ทางราชการอ�ำเภอสามพราน ได้แนะน�ำให้คณะกรรมการผูบ้ ริหารส�ำนักสงฆ์พทุ โธภาวนา ด�ำเนินการ โอนที่ดินและสังหาริมทรัพย์ อสังหาริมทรัพย์ ทั้งหมดให้เป็นศาสน สมบัติเพื่อจะได้ยกฐานะของส�ำนักฯ ให้เป็นวัดถูกต้องตามพระราช บัญญัตคิ ณะสงฆ์ไทยต่อไป ทางคณะกรรมการพิจารณาเห็นชอบ และ ได้ด�ำเนินการเพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายของทางคณะสงฆ์ และ ทางราชการโดยล�ำดับ จนได้รบั การประกาศจากกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องการตั้งวัดในพระพุทธศาสนามีนามว่า “วัดสามพราน” เมื่อวันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2528 ต่อมาพระราชคุณาภรณ์ เจ้าคณะจังหวัด นครปฐม จึงได้แต่งตั้งพระอาจารย์จ�ำลอง กิตติปญฺโญ ให้ด�ำรง ต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดสามพราน เป็นรูปแรก เมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2529 และได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้วัดได้รับ พระราชทานวิสงุ คามสีมา ตามประกาศ ณ วันที่ 27 พฤษภาคม 2531 เป็นต้นมา ทางวัดสามพราน ณ เวลานี้ ได้ด�ำเนินการก่อสร้างศาสน วัตถุ-ถาวรวัตถุต่าง ๆ มากมาย ไว้เป็นสมบัติของพระพุทธศาสนา
พระครูสังฆรักษ์กิจจา สิริจนฺโท เจ้าอาวาสวัดสามพราน (พุทโธภาวนา)
เจ้าอาวาสได้มีนโยบายแนวทางที่ชัดเจนแฝงด้วยนัยส�ำคัญในการ ด�ำเนินชีวิต แสดงออกเป็นรูปธรรม อีกทั้งเพื่อใช้เป็นสถานที่เอื้อ อ�ำนวยต่อการปฏิบตั ศิ าสนกิจของคณะสงฆ์ และเหล่าพุทธศาสนิกชน ทั่ ว ไป พร้ อ มกั บ ใช้ เ ป็ น สถานที่ ศึ ก ษาทางด้ า นสถาปั ต ยกรรม ประติมากรรม และจิตรกรรมอันจะเป็นประโยชน์ต่อไปในอนาคต NAKHON PATHOM I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 179
179
14/12/2563 18:08:26
History of buddhism....
วัดวังน�้ำขาว พระครูปฐมจินดาภรณ์ เจ้าอาวาสวัดวังน้ำ�ขาว
วัดวังน�้ำขาว ตั้งอยู่เลขที่ 111/1 หมู่ที่ 5 ต�ำบลคลองจินดา อ�ำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม ติดต่อสอบถามเบอร์ โทรศัพท์ 086-805-4981, 061-750-5987
วัดวังน�้ำขาว ได้เริ่มสร้างวัดโดยด�ำริของพระราชธรรมาภรณ์ หลวงพ่อเงิน แห่งวัดดอนยายหอม เมือ่ ปี พ.ศ. 2502 ซึง่ ท่าน ได้เห็นว่าประชาชนในท้องถิ่นนี้ ต้องเดินทางไปท�ำบุญด้วยความล�ำบาก อีกทั้งเป็นการฉลองยี่สิบห้าปีพุทธศตวรรษ จึงได้ชักชวน คหบดีที่มีที่ดินบริเวณนี้ บริจาคที่ดินสร้างวัด ผู้มีจิตศรัทธาที่บริจาคที่ดินให้ รวมเนื้อที่ 42 ไร่ 3 งาน 20 ตารางวา โดยได้รับความ ร่วมมือจากชาวบ้านถมดินเป็นโคก เพื่อปลูกสร้างเป็นที่พักสงฆ์ เพราะเดิมที่ดินบริเวณนี้เป็นที่ลุ่มมาก เวลาน�้ำท่วมสุดลูกตา มีบวั หลวงและบอนชนิดหนึง่ ขึน้ อยูเ่ ป็นกลุม่ สวยงาม เรียกว่า บอนขาว ชาวบ้านมักเรียกบึงนีว้ า่ บึงบอนขาว ต่อมากลายเป็น วังน�ำ้ ขาว 180
2
SBL บันทึกประเทศไทย I นครปฐม
.indd 180
14/12/2563 16:50:07
พระครูปฐมจินดาภรณ์ เจ้าอาวาสวัดวังน�้ำขาว
ครั้งแรกตั้งเป็นส�ำนักสงฆ์ โดยมีพระครูช้วน เขมวิโร เป็นผู้ดูแล ต่ อ มาปี พ.ศ. 2511 พระครู วิ บู ล จิ น ดาภรณ์ (ดุ เ หว่ า ธมฺ ม วุ ต โต) หลวงพ่อเหว่า อดีตเจ้าอาวาส ศิษย์เอกของหลวงพ่อเงิน มารับต�ำแหน่ง แทนและได้พัฒนาเป็นวัดตามล�ำดับ คือการขอวิสุงคามสีมา สร้าง อุโบสถซึ่งแล้วเสร็จในระยะเวลา 3 ปี วัดวังน�้ำขาว ได้รับความร่วมมือ ร่วมใจจากพี่น้องประชาชนชาววัดวังน�้ำขาวและละแวกใกล้เคียง มาโดยตลอด โดยการน�ำของท่านพระครูวบิ ลู จินดาภรณ์ อดีตเจ้าอาวาส วัดวังน�้ำขาว จากส�ำนักสงฆ์เล็กๆ ก็พัฒนาขึ้นมาตามล�ำดับ เมื่อปี พ.ศ. 2542 ได้รับคัดเลือกเป็นวัดพัฒนาตัวอย่าง และในปี พ.ศ. 2547 ได้รับคัดเลือกให้เป็นวัดพัฒนาตัวอย่างที่มีผลงานดีเด่น
เหตุการณ์ส�ำคัญเกี่ยวกับวัด
- วันที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2529 พระบาทสมเด็จพระปรเมนทร รามาธิบดีศรีสินทร มหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จ เททองหล่อพระประธาน และยกช่อฟ้าศาลาการเปรียญ - วันที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2529 และวันที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2533 พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี กรมหมื่นสุทธนารีนาถเสด็จ เป็นประธานในการทอดผ้าพระกฐิน และเสด็จยกฉัตร พระประธาน ในอุโบสถ - วันที่ 27 ตุลาคม พ.ศ. 2532 สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้า เพชรรัตน์ราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี เสด็จเป็นประธานในการทอดผ้า พระกฐิน
ข้อมูลเกี่ยวกับกิจกรรมของวัดและการท่องเที่ยว
- สวดมนต์ข้ามปี ข้ามเดือน ข้ามวัน ตอนรับปีใหม่ตามวิถีพุทธ - ทุกๆ วันที่ 5-9 เดือนมกราคม ของทุกๆ ปี เทศกาลงานปิดทอง พระพุทธชินสีห์ศรัทธาธรรมประจ�ำปี - ประเพณีสงกรานต์ สรงน�้ำพระ รดน�้ำผู้สูงอายุ - วันวิสาขบูชา จัดพิธบี รรพชาอุปสมบทนาคหมู่ เพือ่ เฉลิมพระเกียรติฯ - มีบวชชีพราหมณ์/เวียนเทียน ในวันส�ำคัญทางพระพุทธศาสนา - มีเขตอภัยทานอนุรกั ษ์พนั ธ์สตั ว์นำ�้ ชมปลาสวาย ปลาตะเพียนหางแดง เลี้ยงปลาคราฟด้วยขวดนม NAKHON PATHOM I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 181
181
14/12/2563 16:50:20
History of buddhism....
วัดท่าข้าม พระครูปฐมวรดิตถ์ (ณัฐพงษ์ อุปสนฺโต) เจ้าอาวาสวัดท่าข้าม
วัดท่าข้าม ตั้งอยู่เลขที่ 52 หมู่ที่ 3 ต�ำบลท่าข้าม อ�ำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม
182
2
วัดท่าข้าม เดิมชือ่ ว่า วัดปากลัดท่าคา สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ปัจจุบนั มีทดี่ นิ
เป็นทีต่ งั้ วัดจ�ำนวน 11 ไร่ 97 ตารางวา ทิศเหนือติดกับน�ำ้ ท่าจีน ทิศใต้ตดิ กับป่าช้า วัดนักบุญเปโตร ทิศตะวันออกติดกับวัด และโรงเรียนนักบุญเปโตร และทิศตะวันตก ติดกับคลองลัดท่าคา กล่าวคือวัดท่าข้ามนัน้ ตัง้ อยูใ่ นบริเวณทีร่ ายล้อมไปด้วยประชาชน ที่นับถือศาสนาคริสเตียน นิกายโรมันคาทอลิก วัดอยู่ห่างจากถนนเพชรเกษม ระยะทางประมาณ 4 กิโลเมตร
SBL บันทึกประเทศไทย I นครปฐม
.indd 182
14/12/2563 15:48:14
วัดท่าข้ามนั้นมีเรื่องเล่าสืบต่อกันมา นานแล้วมีนายพราน 3 คน ตามล่าคล้องช้างหัวเสือ ที่บริเวณนี้ในสมัยนั้นเป็นป่าทึบจึงเป็นที่อยู่ อาศัยของช้างได้ นายพราน 3 คน ได้เดินทางผ่านวัดและได้ข้าม แม่น�้ำท่าจีนหรือ นครชัยศรีตรงบริเวณวัด และได้ไปขึ้นฝั่งที่ต�ำบล ใกล้เคียงที่ท�ำการคล้องช้าง คนในสมัยนั้นจึงเรียกว่า “ท่าข้าม ” ความเป็นมาของวัดท่าข้ามไม่มผี ใู้ ดทราบได้แน่นอน คนในสมัยเก่า เล่าสืบต่อกันมาว่า ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 5 ประมาณ ปี พ.ศ. 2369 มีพระยาท่านหนึง่ นามว่า พระยาจ�ำนงค์สรไกร ได้มาบูรณปฏิสงั ขรณ์วดั นี้ ซึง่ อุโบสถหลังแรกนัน้ สร้างด้วยไม้หลังคามุงจาก ได้ช�ำรุดทรุดโทรม พระยาจ�ำนงค์สรไกร จึงได้สร้างอุโบสถหลังใหม่ขึ้นเป็นคอนกรีตเสริมไม้ โบราณสถานส�ำคัญ ได้แก่ อุโบสถซึ่งสร้างด้วยอิฐฉาบปูนด้าน และด้านหลังมีเสารองรับตอนบนวงกบ และก่อเป็นรูปทรงโค้ง หน้าบัน และหลังคานั้นเป็นศิลปะแบบจีนซึ่งเป็นที่นิยมมากในสมัยรัชกาลที่ 3 กล่าวคือ ไม่มีช่อฟ้า ใบระกา และหางหงส์ อย่างอุโบสถทั่วๆ ไป ตามที่เคยพบเห็นมา
ล�ำดับและรายนามเจ้าอาวาสวัดท่าข้าม
1. หลวงพ่อเสือ (ไม่ทราบระยะเวลาปกครอง) 2. หลวงพ่อไก่เถื่อน (ไม่ทราบระยะเวลาปกครอง) 3. หลวงพ่อมา (ไม่ทราบระยะเวลาปกครอง) 4. หลวงพ่อตาล (ไม่ทราบระยะเวลาปกครอง) 5. หลวงพ่อบุก (ไม่ทราบระยะเวลาปกครอง) 6. พระอธิการปุ้ย จนฺทโชติ พ.ศ. 2483 - 2510 7. พระสวัสดิ์ (รักษาการ) 8. พระปลัดเช้า พ.ศ. 2510 - 2516 9. พระมงคลสิทธาจารย์ (ยะ เขมปาโล) พ.ศ. 2517 - 2557 10. พระครูปฐมวรดิตถ์ (ณัฐพงษ์ อุปสนฺโต) พ.ศ. 2558 - ปัจจุบนั
พระครูปฐมวรดิตถ์ (ณัฐพงษ์ อุปสนฺโต) เจ้าอาวาสวัดท่าข้าม
NAKHON PATHOM I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 183
183
14/12/2563 15:48:28
ขอเชิญ
สาธุชนทุกท่าน
เทีย่ วชมและไหว้พระขอพร ทีม่ พี ระองค์ใหญ่ กลางแจ้งทีเ่ ห็นเด่นชัด คือ พระไพโรจน์วฒ ุ าจารย์ (หลวงพ่อรุ่ง) เป็นที่นับถือของชาวกระทุ่มแบน ไว้ให้กราบสักการะ ทำ�บุญ เสริมมงคล กราบไหว้ พระองค์ใหญ่แล้ว ฝั่งตรงข้ามกับพระองค์ใหญ่ เป็นพื้นที่ในส่วนของวัดท่ากระบือ มีพระวิหาร และอุ โ บสถที่ มี ค วามงดงามภายในอุ โ บสถ ประดิษฐานรูปหล่อ หุ่นขี้ผึ้ง หลวงปู่รุ่ง ให้ได้ กราบไหว้บูชา Recommend Travel
วัดท่ากระบือ
ต�ำบลบางยาง อ�ำเภอกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร
184
SBL บันทึกประเทศไทย I นครปฐม
.indd 184
17/12/2563 17:45:42
SUPHAN BURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 185
185
17/12/2563 17:45:49
History of buddhism....
วัดโป่งพรานอินทร์ พระมหารัตนโชติ อติวีโร เจ้าอาวาสวัดโป่งพรานอินทร์
วัดโป่งพรานอินทร์ ตั้งอยู่หมู่ที่ 14 ต�ำบลดอนคา อ�ำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี
186
2
วัดโป่งพรานอินทร์ ตามที่โบราณผู้เฒ่าผู้แก่ได้บอกเล่าต่อๆ กันมา สถานที่ ตั้งวัดนั้นสมัยก่อนอยู่ชายเขาเป็นป่ารกชัฏมีสัตว์ป่าชุกชุม และในบริเวณวัดมี ดิ น โป่ ง ท� ำ ให้ สั ต ว์ ป ่ า จ� ำ นวนมากพากั น มากิ น ดิ น โป่ ง เป็ น ธรรมดาของป่ า รก ย่อมมีเจ้าที่เจ้าทาง ผีสาง นางไม้ และรุกขเทวดา อยู่อาศัย ในบริเวณนี้ก็เช่นกัน มีผีโป่ง ผีป่า (สิ่งลี้ลับที่รักษาดินโป่ง) มาวันหนึ่งพรานอินทร์ซ่ึงเป็นที่เคารพ ศรัทธาของชาวบ้านได้มาล่าสัตว์ และได้เสียชีวิตที่บนบริเวณนี้ ปัจจุบันได้ ตั้ ง ศาลพรานอิ น ทร์ ไว้ ท่ี ห น้ า วั ด เพื่ อ จะได้ สั ก การบู ช า และเรี ย กชุ ม ขนนี้ ว ่ า “บ้านโป่งพรานอินทร์”
SBL บันทึกประเทศไทย I นครปฐม สุพรรณบุรี
.indd 186
17/12/2563 17:43:14
ต่อมามีชาวบ้านจากดอนคา อ�ำเภออู่ทอง และชาวบ้านจากดอน โพธิ์ทองอ�ำเภอเมืองสุพรรณบุรี ได้มาบุกเบิกถากถางป่าเพื่อท�ำไร่ และตั้งเป็นชุมชนเป็นหมู่บ้านเรียกว่า “บ้านโป่งพรานอินทร์” ต่อมา ในปี พ.ศ.2494 เดือนพฤษภาคม ชาวบ้านได้ร่วมใจกันก่อสร้างวัด ขึ้นโดยมีคุณพ่อตา – คุณแม่วอน หงส์ทองมอญ เป็นผู้ถวายที่ดิน จ�ำนวน 2 งาน สร้างเป็นส�ำนักสงฆ์เล็กๆ ให้ชื่อตามหมู่บ้านว่า “โป่งพรานอินทร์” ต่อมาพระใบฎีกาสุพัฒน์ สุปญฺโญ ได้มาเป็น เจ้าอาวาสในปี พ.ศ. 2511 ปี พ.ศ. 2514 ได้ซื้อที่ดินจากคุณตากอ้าก ยศวิ ชั ย จ� ำ นวน 2 ไร่ และคุ ณ พ่ อ สิ ง ห์ – คุ ณ แม่ แ หว อุ ่ น ตาดี อีกจ�ำนวน 11 ไร่ ต่อมานายไพฑูรย์ สุนทรวิภาต (ในขณะนั้นด�ำรง ต�ำแหน่งนายอ�ำเภออู่ทอง) ได้ยื่นเรื่องเสนอขอตั้งวัด ในวันที่ 10 เมษายน พ.ศ.2513 และได้รับประกาศอนุญาตให้ตั้งเป็นวัดได้ เมื่อ วันที่ 9 เมษายน พ.ศ.2514 พระใบฎีกาสุพัฒน์ สุปญฺโญ ได้ริเริ่มสร้าง อุโบสถขึ้นในปี พ.ศ.2516 ได้รับความร่วมมือจากชาวบ้านและคณะ ศรั ท ธาจากกรุ ง เทพฯ โดยการน� ำ ของคุ ณ พ่ อ บุ ญ เสริ ม วิ เ ศษณั ฐ ซึ่งได้ก่อสร้างอุโบสถทับบริเวณที่มีดินโป่งใช้ระยะเวลาการสร้างเพียง 1 ปี 6 เดือน และได้รับวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2522 ได้บูรณะอุโบสถ เมื่อปี พ.ศ.2550 และได้มีการบูรณปฏิสังขรณ์ ก่ อ สร้ า งเสนาสนะเรื่ อ ยมา โดยอดี ต เจ้ า อาวาสและเจ้ า อาวาส รูปปัจจุบัน ด้วยความร่วมมือร่วมใจของชาวบ้านและผู้ศรัทธาใน พระพุทธศาสนา ดังที่ปรากฏอยู่ทุกวันนี้
ท�ำเนียบเจ้าอาวาสวัดโป่งพรานอินทร์
1. หลวงพ่อเสงี่ยม 2. หลวงพ่อพรหม 3. หลวงพ่อทิพย์ 4. พระใบฎีกาสุพัฒน์ สุปญฺโญ 5. พระอธิการสมควร 6. พระอาบ 7. พระอธิการประยูร ปภาโต 8. พระมหารัตนโชติ อติวีโร
พ.ศ.2495 – 2498 พ.ศ.2498 – 2507 พ.ศ.2507 – 2510 พ.ศ.2511 – 2536 พ.ศ.2536 – 2538 พ.ศ.2538 – 2539 พ.ศ.2540 – 2552 พ.ศ.2552 – ปัจจุบัน
เสนาสนะ ภายในวัดโป่งพรานอินทร์
1. อุโบสถ จ�ำนวน 1 หลัง 2. ศาลาการเปรียญ จ�ำนวน 1 หลัง 3. หอสวดมนต์ จ�ำนวน 1 หลัง 4. กุฏิสงฆ์ จ�ำนวน 5 หลัง 5. ฌาปนสถาน จ�ำนวน 1 หลัง 6. ห้องน�้ำ จ�ำนวน 15 ห้อง 7. วิหาร จ�ำนวน 1 หลัง 8. ศาลาบรรจุอัฐิ จ�ำนวน 1 หลัง 9. หอระฆัง จ�ำนวน 1 หลัง
พระมหารัตนโชติ อติวีโร เจ้าอาวาสวัดโป่งพรานอินทร์
NAKHON PATHOM I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 187
187
17/12/2563 17:43:25
188
(
วัดสว่างอารมณ์
SBL บันทึกประเทศไทย I นครปฐม
) 4+2
.indd 188
วัดสว่างอารมณ์ ตั้งอยู่หมู่ที่ 4 ต�ำบลขุนแก้ว อ�ำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม
14/12/2563 18:20:27
NAKHON PATHOM I SBL บันทึกประเทศไทย
(
) 4+2
.indd 189
189
14/12/2563 18:20:37
_
2
17/12/2563 17:30:32