SBL บันทึกประเทศไทย | ฉบับที่ 121 - จังหวัดนครสวรรค์

Page 1

นิตยสารแนะน�ำแหล่งท่องเที่ยวและของดีจังหวัดนครสวรรค์ ประจ�ำปี 2564

องค์กรขับเคลื่อนกิจการ

พระพุทธศาสนา

สู่ความมั่นคง สังคมดํารงศีลธรรม

นําสันติสุขอย่างยั่งยืน

“นางจรรยา รัตนเลขา”

ท่องไปในแดนธรรมะ ไหว้พระ ขอพร

หลวงพ่อพระพุทธศรีสวรรค์

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงาน พระพุทธศาสนาจังหวัดนครสวรรค์

พระคู่บ้านคู่เมืองจังหวัดนครสวรรค์

ณ วัดนครสวรรค์ พระอารามหลวง กราบขอพร

พระเทพปริยัติเมธี เจ้าคณะจังหวัดนครสวรรค์

Vol.11 Issue 121/2021

www.issuu.com

.indd 3

นครสวรรค์

NAKHON SAWAN

เมืองสี่แคว แห่มังกร พักผ่อนบึงบอระเพ็ด ปลารสเด็ด ปากน�้ำโพ 29/4/2564 23:31:57


วัดนครสวรรค์ History of Buddhism....

Facebook : วัดนครสวรรค์

วัดนครสวรรค์ ตั้งอยู่เลขที่ 702 ถนนโกสี ย์ ต�ำบลปากน้�ำโพ อ�ำเภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์ 60000 โทร. 0 5622 6381

วัดนครสวรรค์ เดิมมีนามว่า “วัดหัวเมือง” เพราะตั้งอยู่ตอนต้นของตัวเมืองก่อนจะเข้าถึงตัวเมืองจะต้องผ่านวัดนี้ก่อน สร้างขึ้นในราว

พ.ศ. 1972 โดยประมาณ เดิมหน้าวัดอยูท ่ างริมแม่น้�ำเจ้าพระยามีต้นโพธิ์และพระปรางค์มองเห็นเด่นชั ดส� ำหรับผูส ้ ั ญจรทางน้�ำ ต่อมาสายน้�ำ ได้เปลี่ยนทิศทางห่างออกไปจากวัดประมาณ 100 เมตร เป็นวัดที่ได้รับพระราชทานวิสุงคามสี มา มาแต่เดิม ประมาณ พ.ศ. 1972

SBL บันทึกประเทศไทย

2

8

จั งหวั ดนครสวรรค์

.indd 2

20/4/2564 9:27:21


วัดนครสวรรค์ เป็นพระอารามหลวงชัน้ ตรี ชนิดสามัญ สังกัดคณะ สงฆ์มหานิกาย มีทดี่ นิ ตัง้ วัดเนือ้ ที่ 22 ไร่ 1 งาน 35 ตารางวา อาณาเขต เฉพาะส่วนทีเ่ ป็นเขตพุทธาวาส ทิศเหนือยาว 67 วา ติดต่อกับถนนเทพ สิทธิชยั ทิศใต้ยาว 67 วา ติดต่อกับถนนลูกเสือ ทิศตะวันออกยาว 76 วา ติดต่อกับถนนโกสีย์ ทิศตะวันตกยาว 80 วา ติดต่อกับถนนสวรรค์วิถี ซึ่งเป็นถนนผ่ากลางที่ดินตั้งวัด พื้นที่ตั้งวัดเป็นที่ราบ มีลักษณะเป็น รูปสี่เหลี่ยมคางหมู มีก�ำแพงโดยรอบทั้ง 4 ด้าน และมีประตูเข้าออก ได้สะดวกทั้ง 4 ด้าน เช่นกัน ที่ดินตั้งวัดนี้ได้ถูกถนนสวรรค์วิถีตัดผ่าน แบ่งเนื้อที่ออกเป็น 2 แปลงเป็นเขตสังฆาวาส และเขตพุทธาวาสใน ส่วนทีอ่ ยูท่ างด้านทิศตะวันออกซึง่ มีเนือ้ ที่ 13 ไร่ 25 ตารางวา อีกแปลง หนึ่งอยู่ทางทิศตะวันตกใช้เป็นเขตฌาปนสถาน มีเนื้อที่ 9 ไร่ 1 งาน 11 ตารางวา ภายในบริเวณวัดมีถนนติดต่อระหว่างอาคารเสนาสนะ ต่างๆ ถึงกันหมด

SBL บันทึกประเทศไทย NAKHON SAWAN

8

.indd 3

3

20/4/2564 9:27:28


อาคารเสนาสนะต่าง ๆ มี

- พระอุโบสถ กว้าง 12 เมตร ยาว 26 เมตร บูรณะ พ.ศ. 2515 - ศาลาการเปรียญ กว้างยาวด้านละ 34 เมตร เป็นอาคารคอนกรีต 2 ชั้น สร้างปี พ.ศ. 2526 - กฏิสงฆ์ จ�ำนวน 15 หลัง เป็นอาคารคอนกรีต 9 หลัง อาคารไม้สัก 2 ชั้น 1 หลัง - ห้องสมุดจัตุรมุข กว้าง 11 เมตร ยาว 12 เมตร อาคารคอนกรีต - หอระฆังจัตุรมุข สร้างด้วยไม้ทั้งหลัง - อาคารเรียนพระปริยตั ธิ รรม กว้าง 24.50 เมตร ยาว 25.50 เมตร เป็นอาคารคอนกรีต 2 ชั้น มีมุขหน้าและหลัง - พระวิหารสร้างด้วยอิฐโบราณแผ่นใหญ่ บูรณะเมือ่ ปี พ.ศ. 2527 - อาคารส�ำนักงานมูลนิธิการกุศล 1 หลัง - ศาลาบ�ำเพ็ญกุศล 6 หลัง และฌาปนสถานแบบเตาอบ คอนกรีตเสริมเหล็ก

ปูชนียวัตถุ มี

- พระประธานในพระอุโบสถ ขนาดพระเพลา กว้าง 2.50 เมตร สร้างด้วยทองเหลือง มีพระนามเรียกกันว่า “หลวงพ่อศรีสวรรค์” - พระพุทธรูปใหญ่ 2 องค์ในพระวิหาร เรียกว่า “พระผู้ให้อภัย” - พระพุทธรูปอื่นอีก 2 องค์ในพระวิหาร - พระพุทธรูปเนือ้ ส�ำริดสมัยสุโขทัย ปางมารวิชยั อยูท่ กี่ ฏุ เิ จ้าอาวาส จ�ำนวน 4 องค์ - พระเจดีย์เก่าอยู่ด้านหน้าพระอุโบสถ 3 องค์ - พระปรางค์ซึ่งปรักหักพังมีเพียงซากและรากฐานปรากฏอยู่

SBL บันทึกประเทศไทย

4

8

พระอุโบสถวัดนครสวรรค์

จั งหวั ดนครสวรรค์

.indd 4

20/4/2564 9:27:36


SBL บันทึกประเทศไทย NAKHON SAWAN

8

.indd 5

5

20/4/2564 9:27:41


ล�ำดับเจ้าอาวาสที่ทราบนามมี 8 รูป คือ

รูปที่ 1 พระอาจารย์เคลือบ พ.ศ. 2424 - 2443 รูปที่ 2 พระครูสวรรค์วถิ สี ทุ ธิอตุ ตมคณาจารย์สงั ฆปาโมกข์ (ครุฑ) พ.ศ. 2444 - 2456 รูปที่ 3 พระครูเขมวิถีสังฆปาโมกข์ (สด) พ.ศ. 2456 - 2462 รูปที่ 4 พระใบฎีกาอั้น พ.ศ. 2462 - 2471 รูปที่ 5 พระครูนิภาสธรรมคุณ (บุญเกิด จนฺทสาโร ป.ธ.3) พ.ศ. 2471 - 2508 รูปที่ 6 พระเทพสิทธินายก (ห้อง ชาติสิริ ป.ธ.6) รักษาการแทน เจ้าอาวาส พ.ศ. 2477 - 2499 รูปที่ 7 พระเทพญาณโมลี (ประสิทธิ์ มิตฺตธมฺโม ป.ธ.6) ปกครอง ระหว่าง พ.ศ. 2499- 2508 และได้ดำ� รงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสตัง้ แต่ พ.ศ. 2508 - 2539 รูปที่ 8 พระเทพปริยัติเมธี รศ.ดร. (สฤษฏิ์ สิริธโร ป.ธ.9) ด�ำรง ต�ำแหน่งเจ้าอาวาส ตั้งแต่ พ.ศ. 2541 -ปัจจุบัน

พระเทพปริยัติเมธี รศ.ดร. (สฤษฏิ์ สิริธโร ป.ธ.9) SBL บันทึกประเทศไทย

6

8

เจ้าคณะจังหวัดนครสวรรค์ เจ้าอาวาสวัดนครสวรรค์

จั งหวั ดนครสวรรค์

.indd 6

20/4/2564 9:27:48


SBL บันทึกประเทศไทย NAKHON SAWAN

8

.indd 7

7

20/4/2564 9:27:56


มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตนครสวรรค์ วิสัยทัศน์

เป็นศูนย์กลางการศึกษาพระพุทธศาสนาและวิจัย บรูณาการกับศาสตร์ สมัยใหม่ ในเขตภาคเหนือตอนล่างและกลางตอนบน

ประวัติความเป็นมา โดยสังเขป

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เป็นมหาวิทยาลัยแห่งคณะสงฆ์ไทย ที่ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕ ทรงสถาปนาขึ้น เมื่อปีพุทธศักราช ๒๔๓๐ เพื่อเป็นสถาบันการศึกษาพระไตรปิฎกและ วิชาชั้นสูง ส�ำหรับพระภิกษุสามเณรและคฤหัสถ์ โดยมีที่ตั้งแห่งแรกอยู่ ณ วัดมหาธาตุ ยุวราชรังสฤษฎิ์ กรุงเทพมหานคร ต่อมาในปี พุทธศักราช ๒๕๔๐ รัฐสภาได้ตราพระราช บัญญัติมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ให้มีสถานะเป็นมหาวิทยาลัยในก�ำกับของรัฐและ เป็นนิติบุคคล วิทยาเขตนครสวรรค์ ได้รบั อนุมตั ใิ ห้จดั ตัง้ เป็น “ศูนย์การศึกษาของมหาจุฬาลงกรณ ราชวิทยาลัย ศูนย์การศึกษาวัดนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์” ตามมติที่ประชุมสภา มหาวิทยาลัย ครั้งที่ ๒/ ๒๕๔๐ เมื่อวันที่ ๒๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๐ โดยใช้อาคารเรียนเทพ ประสิทธิ์วิทยากร ของวัดนครสวรรค์ (พระอารามหลวง) ซึ่งเป็นไปตามเจตนารมณ์ของ คณะสงฆ์จังหวัดนครสวรรค์ เปิดด�ำเนินการเมื่อวันที่ ๒๗ ตุลาคม ๒๕๔๐ ต่อมาได้รับ การยกฐานะเป็น “วิทยาลัยสงฆ์นครสวรรค์” เมือ่ วันที่ ๓ กันยายน ๒๕๔๑ และประกาศ ในพระราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ ๑๑๕ ตอนพิเศษ ๑๐๐ ง วันที่ ๒๗ ตุลาคม ๒๕๔๑ ในปี พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๕๙ วิ ท ยาเขตนครสวรรค์ ไ ด้ รั บ การยกฐานะเป็ น “วิทยาเขตนครสวรรค์” ตามข้อก�ำหนดมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เรื่อง การจัดตั้งส่วนงาน (เพิ่มเติม) พ.ศ. ๒๕๕๙ ตั้งแต่วันที่ ๘ มีนาคม ๒๕๕๙ ประกาศ ในราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๓ ตอนพิเศษ ๑๓๔ ง วันที่ ๑๓ มิถุนายน ๒๕๕๙ SBL บันทึกประเทศไทย

8

8

จั งหวั ดนครสวรรค์

.indd 8

20/4/2564 9:28:00


วิทยาเขตนครสวรรค์ ได้จัดการศึกษา ๓ ระดับ ดังนี้ ๑.ระดับบัณฑิตศึกษา - เปิดสอนระดับปริญญาเอก ๒ สาขาวิชา คือ ๑. หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา ๒. หลักสูตรครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพุทธบริหารการศึกษา - เปิดสอนระดับปริญญาโท ๕ หลักสูตร คือ ๑. หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา ๒. หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต ๓. หลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต ๔. หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพุทธบริหารการศึกษา ๕. หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนสังคมศึกษา ๒. ระดับปริญญาตรี เปิดสอนใน ๕ หลักสูตร ๑. หลักสูตรพทธศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา ๒. หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศึกษา ๓. หลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต ๔. หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต ๕. หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต ๓.ระดับประกาศนียบัตร จ�ำนวน ๑ หลักสูตร คือ หลักสูตรประกาศนียบัตรการบริหารกิจการคณะสงฆ์ (ป.บส.) ปั จ จุ บั น วิ ท ยาเขตนครสวรรค์ มหาวิ ท ยาลั ย มหาจุ ฬ าลงกรณราช วิทยาลัย มีหน่วยวิทยบริการในสังกัด จัดการศึกษาในระดับปริญญาตรี และหลักสูตรประกาศนียบัตร ๓ หน่วย คือ ๑. วิทยาลัยสงฆ์อุทัยธานี ๒. วิทยาลัยสงฆ์พิจิตร ๓. หน่วยวิทยบริการวัดพระบรมธาตุ จังหวัดก�ำแพงเพชร

SBL บันทึกประเทศไทย NAKHON SAWAN

8

.indd 9

9

20/4/2564 9:28:07


B ON ITO C HINO S โรงแรมโบนิโต้ ชิโนส์ ยินดีต้อนรับทุกท่านด้วยความอบอุ่นด้วยบริการที่ดี ห้องพักที่สะอาดและสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัย ท่านสามารถผ่อนคลายและดื่มด�ำ่ ไปกับรสชาติ อาหารไทยและอาหารตะวันตกสุดเอ็กซ์คลูซีพ โรงแรมของเราตั้งอยู่ใจกลางเมืองนครสวรรค์เดินทางสะดวก ใกล้แหล่งจ�ำหน่ายของฝาก คาเฟ่ และศูนย์การค้า โรงแรมโบนิโต้ ชิโนส์ภูมิใจในฐานะโรงแรมบูติครูปแบบจีนร่วมสมัยแห่งเดียวในนครสวรรค์ที่พร้อมสร้างความประทับใจให้กับผู้มาเยือนทุกท่าน

10

SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา

BONITO CHINOS HOTEL 2

.indd 10

20/4/2564 9:29:34


ATMOS ROOFTOP BAR & RESTAURANT บาร์และร้านอาหารชั้นดาดฟ้าที่เดียวในจังหวัดนครสวรรค์ พร้อมต้อนรับลูกค้าทั่วไป

Golf Car

Boxing Class

บริการรถกอล์ฟ ไว้คอยรับ-ส่งลูกค้า ที่เข้าพักในบริเวณใกล้เคียงในพื้นที่ของ โรงแรม เช่น รับส่งจากลานจอดรถไปจนถึง บริเวณด้านหน้าของโรงแรมเพื่ อ ความ สะดวกสบาย

คลาสเรียนต่อยมวยโดยครูฝึกผู้เชี่ยวชาญ บริ ก ารส� ำ หรั บ ลู ก ค้ า ที่ รั ก การออกก� ำ ลั ง กาย ทุกวันจันทร์-ศุกร์ เวลา 18.00-21.00 น. และ เสาร์-อาทิตย์ เวลา 17.00-22.00 น. ค่าบริการ เริ่มต้นเพียง 300/ชม.

และแขกทีพ่ กั ในโรงแรมทีจ่ ะท�ำให้คณ ุ ได้ดมื่ ด�ำ่ ไปกับบรรยากาศวิวตัวเมืองนครสวรรค์ทงั้ เมืองแบบ พาโนราม่าวิว ให้บริการทั้งอาหารไทยและอาหารฝรั่งพร้อมกับเครื่องดื่มที่มีให้เลือกหลาก หลายตั้งแต่เครื่องดื่มมอคเทล ค๊อกเทล เบียร์นอก และไวน์ที่บาร์เทนเดอร์คัดสรรค์ ไว้ คอยเสริฟอีกทัง้ สามารถรองรับแขกแบบกรุป๊ ทีส่ นใจจัด Private Party ไม่วา่ จะเป็นงานเลีย้ ง งานวันเกิด ให้กลายเป็นวันแห่งความประทับใจของคุณตลอดไป

Meeting Room พืน้ ทีจ่ ดั กิจกรรม 1,400 ตารางเมตร ห้องประชุม 6 ห้อง สามารถรองรับแขกได้ 15-300 ท่าน ลิฟต์ขนของให้บริการส�ำหรับห้อง Sapphire 1 ห้อง Sapphire 2 และห้อง Emerald

Meeting Amenities สิ่งอ�ำนวยความสะดวก อินเทอร์เน็ตความเร็ว 300 Mbps ในทุกๆห้องที่ท่านเลือกใช้บริการและพื้นที่ส่วนกลางของโรงแรม อุปกรณ์ด้านภาพ แสง สี เสียง ระดับมาตรฐาน

Wedding & Celebration Venue สถานที่จัดงานแต่งงานสุดโรแมนติกรองรับได้ตั้งแต่ 50 ไปจนถึง 300 ท่าน พร้อมทีมงานคุณภาพที่สามารถเนรมิตงานแต่งของคุณ ให้ออกมาสมบูรณ์แบบทุกรายละเอียดตั้งแต่ พิธีหมั้น,งานฉลอง,และ after party โรงแรมของเรามีแพ็คเกจหลากหลายเพื่อความต้องการ ของลูกค้ารวมทั้งเครื่องเสียง,ไฟและอุปกรณ์สำ� หรับประกอบพิธี เช่น ชุดโซฟารับหมั้น ฯลฯ

Location ตั้งอยู่ 314 29-30 ถ. สวรรค์วิถี ต�ำบลปากน�้ำโพ อ�ำเภอเมืองนครสวรรค์ นครสวรรค์ 60000

Contact us

056-2222-77 081-973-7070

fo@bonitochinoshotel.com Facebook : bonitochinoshotel Facebook : Atmos Nakornsawan

CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย

BONITO CHINOS HOTEL 2

.indd 11

11

20/4/2564 9:29:46


BREAKFAST

With numerous amenities for guests such as 24 hour front desk, business center, you will wake up at Tamsabai hotel feeling ready to go every day for your time in Nakhonsawan. Don’t let this amazing reservation opportunity pass you by, book your stay at Tamsabai hotel today to make the most of your time in Nakhonsawan, Thailand.

12

2

Tamsabai hotel is an ideal Nakhonsawan lodging choice for your trip to North of Thailand.

SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา

.indd 12

20/4/2564 9:31:41


MEETING & CATERING

Grab a bite to eat at the hotel’s restaurant, Buffet breakfasts are available daily from 7 AM to 10 AM for a free. Metting room also avaliable 120 people max. We are proundly to present our creativites catering for every partys

Contact 056-256-151 098-779-0393 PageFacebook/Tamsabai hotel

ROOMs & FACILITIES CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 13

13

20/4/2564 9:31:56


Kiangbueng Resort เคียงบึงรีสอร์ท

14

SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา

2

.indd 14

20/4/2564 9:32:55


Kiangbueng Resort

เคียงบึง รีสอร์ท ตั้งอยู่ติดถนนสายชุมแสง หน้าทางเข้ากรมประมง บึงบอระเพ็ด จังหวัดนครสวรรค์ ห่างจากตัวเมืองนครสวรรค์ 9 กิโลเมตร ห่างจากบึงบอระเพ็ด 1.5 กิโลเมตร บริการ Wi-Fi ฟรี และ สิ่งอ�ำนวยความสะดวกอื่นๆ ครบครัน ห้องพัก สะอาด สะดวก สบาย ร่มรื่น มีที่จอดรถ

เลขที่ 99/9 หมู่ที่ 1 ต�ำบลแควใหญ่ อ�ำเภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์ 60000 tel. : 0988056990 : เคียงบึงรีสอร์ท ที่พักจังหวัดนครสวรรค์

098-805-6990

CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 15

15

20/4/2564 9:33:02


JDPools

Nakhon Sawan Family Resort

เจ.ดี.พูล นครสวรรค์ แฟมิลี่ รีสอร์ท

ห้องพัก สะอาด บรรยากาศดี ปลอดภัย มีบริการสระว่ายน�ำ้ ฟรี ให้บริการห้องพัก ห้องจัดเลีย้ ง ประชุมสัมมนา Free WiFi 16

.

.

SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา

2

.indd 16

ติดต่อสอบถาม เจ.ดี.พูล นครสวรรค์ แฟมิลี่ รีสอร์ท

3/6 หมู่ 7 ต.ยางตาล อ.โกรกพระ จ.นครสวรรค์

โทร.

087 9111480, 095 6343804

20/4/2564 9:35:52


JDPools

Nakhon Sawan เจ.ดี.พูล นครสวรรค์

92 หมู่ 7 ต.ยางตาล อ.โกรกพระ จ.นครสวรรค์ ช่องทางการติดต่อ

0862064040, 0879111486 : Jdpools Nakhonsawan Email : jdpools.nsw@hotmail.com ช่องทางติดต่อ

ศูนย์บริการออกแบบ และสร้างสระว่ายน�ำ้ สระคอนกรีตผนังส�ำเร็จอัจฉริยะ

สระว่ายน�้ำที่ออกแบบได้ทุกรูปทรง ดั่งจินตนาการ สู่เอกลักษณ์ เฉพาะตัวคุณ ด้วยผนังอัจฉริยะทีผ่ า่ นการจดสิทธิบตั ร และสร้างสรรค์ตาม หลักวิศวกรรม จึงมั่นใจในความแข็งแรง หมดปัญหาสระทรุด แตกร้าว เพิม่ ความสมบูรณ์แบบด้วย พีวซี ี ไลเนอร์ เข้ารูปทรง ป้องกันการรัว่ ซึม 100%

สระไฟเบอร์กลาส ดีไซน์สำ� เร็จรูป

สระไฟเบอร์กลาสคุณภาพที่ได้รบั ความนิยมสูงสุด มาพร้อมกับดีไซน์ ส�ำเร็จรูป 6 รูปแบบ ตอบสนองตามขนาดพื้นที่ ที่คุณต้องการ ติดตั้งเร็ว ว่ายน�ำ้ ได้ใน 7 วัน รับประกันโครงสร้างนาน 15 ปี และด้วยมาตรฐานการผลิต ระดับสากล เราคือผู้ส่งออกรายแรก และรายเดียวในภูมิภาคอาเซียน CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย

.

.

2

.indd 17

17

20/4/2564 9:35:59


WELCOME

navapat Resort ห้องพักกว้างขวาง สะอาด อบอุ่น แสนสบาย ปลอดภัย ราคาประหยัด ฟรี WiFi อุปกรณ์อ�ำนวยความสะดวก ครบครัน มาอ�ำเภอลาดยาว จังหวัดนครสวรรค์ หาห้องพัก ให้คิดถึง “นวภัทร

18

2

รีสอร์ท”

SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา

.indd 18

20/4/2564 9:36:48


Location ติดต่อสอบถาม นวภัทร รีสอร์ท เลขที่ 1 หมู่ที่ 4 ต�ำบลลาดยาว อ�ำเภอลาดยาว จังหวัดนครสวรรค์ 60150

Tel. 082 880 9998

CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 19

19

20/4/2564 9:37:03


โรงแรมมะม่วงป่าฮิลไซด์รีสอร์ท อ.ตาคลี

Mamaungpaa Hillside Resort 20

SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา

2

.indd 20

20/4/2564 9:39:51


ยินดีให้บริการลูกค้าทุกท่านค่ะ สะดวกสบาย เรียบง่าย สะอาด ปลอดภัย สบายเป็นกันเอง มีห้องพักบริการพร้อมอาหารเช้า แบบ Buffet และอาหาร กลางวัน แบบ Set menu หรือจะเป็นอาหารเย็น และ เครือ่ งดืม่ นัง่ ชิลล์ๆ พร้อม ดนตรีสด มีบริการ Wifi ส�ำหรับลูกค้า เพือ่ ให้ทา่ นไม่พลาดทุกการติดต่อ นอกจาก นีย้ งั มี สระว่ายน�ำ้ พร้อมฟิสเนส ส�ำหรับลูกค้าทีร่ กั สุขภาพเราก็มพี ร้อมบริการ ให้แด่ลูกค้าทุกท่าน

เลขที่ 89/1 หมู่ 3 ต�ำบลตาคลี อ�ำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์ 60140

056-26235, 081-9716056 คุณชวลิต, 089-6408489 สุกัญญา

CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 21

21

20/4/2564 9:40:02


Phaisalee homestay & Resort

กินอิ่ม นอนหลับสบาย ผ่อนคลายกับธรรมชาติ ที่ ไพศาลี โฮมสเตย์ & รีสอร์ท 22

2

SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา

.indd 22

20/4/2564 9:42:06


Phaisalee homestay & Resort

ไพศาลีโฮมสเตย์ & รีสอร์ท ห้องพักสะอาด แวดล้อมด้วยธรรมชาติ บรรยากาศ เป็นกันเอง ครัวไพศาลี บริการอาหารไทยอาหารอีสาน รับจัดเลีย้ ง แบบลานโล่งแจ้ง และห้อง VIP ฟรี คาราโอเกะ Home Page Cafe หลากหลายมุมสวยมีให้เซลฟี่กับ กาแฟรสเข้มข้น ส�ำหรับคอกาแฟพันธุ์แท้

เลขที่ 20 หมู่ที่ 5 ต�ำบลโคกเดื่อ อ�ำเภอไพศาลี จังหวัดนครสวรรค์ 60220

095-7031446, 089-6931158 ไพศาลีCHACHOENGSAO โฮมสเตย์&รีสอร์IทSBL บันทึกครัประเทศไทย วไพศาลี 23

2

.indd 23

20/4/2564 9:42:15


Banyaibua บ้านใยบัว

ที่พักเรือนไทย สไตล์ ไม้สักทอง บรรยากาศแบบไทยๆ ส�ำหรับ ท่านที่รักความเป็นไทย บ้านพักใยบัว อยู่ตรงข้ามที่ว่าการอ�ำเภอหนองบัว ห่างจากตัว จังหวัดนครสวรรค์ประมาณ 80 กิโลเมตร

- เชิญมาลิ้มลองอาหารพื้นบ้าน แกงพริกเกลือของชาวหนองบัว - เชิญมาชมเขาหินสีชมพู ณ วัดเขาพระ ที่เดียวที่หนองบัว นครสวรรค์ - เชิญชวนให้อาหารลิงบนเขา

Location Banyaibua

226 หมู่ที่ 3 ต�ำบลหนองกลับ อ�ำเภอหนองบัว จังหวัดนครสวรรค์

r

งลูกค้า ที่ของ ปจนถึง ความ

Contact us

096-2845798 087-1969227

24

1

SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา

.indd 24

20/4/2564 9:43:14


SBL

บันทึกประเทศไทย www.sbl.co.th

EDITOR’S

issue 121/2021

บริษัท สมาร์ทบิซิเนสไลน์ จ�ำกัด 9/4-6 ถนนรามอินทรา แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพฯ 10220 โทรศัพท์ : 0-2522-7171 เว็บไซต์ : www.sbl.co.th คณะผู้บริหาร คณะที่ปรึกษา : ศ.ดร.กฤช เพิ่มทันจิตต์, พลเอกสรชัช วรปัญญา, ดร.นิเวศน์ กันไทยราษฎร์, ดร.ประยุทธ คงเฉลิมวัฒน์, ดร.ชาญ ธาระวาส, ดร.สุมิท แช่มประสิท, ดร.วัลลภ อารีรบ, ดร.พิชัย ทรัพย์เกิด, ดร.ไอศูรย์ ดีรัตน์, ดร.สุเทษณ์ จันทรุกขา, ดร.อรรถสิทธิ์ ตันติวิรัชกุล

ปัณณ์ฐาโชค ธนสานสิทธิโชติ

อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์

วนัสกฤษณ์ ศิลปรังสรรค์

บรรณาธิการการตลาด นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย

บรรณาธิการอ�ำนวยการ นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย

บรรณาธิการงานบุคคล นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย

บรรณาธิการอ�ำนวยการ : อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์ บรรณาธิการงานบุคคล : พงษ์ศักดิ์ พรณัฐวุฒิกุล, วนัสกฤษณ์ ศิลปรังสรรค์ บรรณาธิการการตลาด : ปัณณ์ฐาโชค ธนสานสิทธิโชติ

SBL บันทึกวัดทั่วไทย ฉบับนี้ ขออาสาพาไปท่องเที่ยว ศึกษาเรียนรู้ ศิลปวัฒนธรรม ประเพณี และกราบสักการะพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์คู่บ้านคู่เมืองนครสวรรค์ พระพุทธศรี สวรรค์ พระพุทธรูปใหญ่ 2 องค์ในพระวิหาร เรียกว่า “พระผู้ให้อภัย” การได้มากราบ นมัสการพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์จึงเป็นมหามงคลยิ่งครับ อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์ บรรณาธิการอ�ำนวยการ การได้มาไหว้พระขอพรพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ส�ำคัญของจังหวัดนครสวรรค์ ถือว่า คุ ้ ม และเป็ น มงคลต่ อ ชี วิ ต แล้ ว ส� ำ หรั บ ท่ า นที่ มี เ วลาน้ อ ย ขอแนะน� ำ ให้ ไ ปที่ วั ด นครสวรรค์ พระอารามหลวง เพราะจะได้ ก ราบสั ก การะพระพุ ท ธรู ป ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ เ ก่ า แก่ ส มั ย สุ โขทัยครับ ปัณณ์ฐาโชค ธนสานสิทธิโชติ บรรณาธิการการตลาด อภินิหารเหนือธรรมชาติจากสิ่งศักดิ์สิทธิ์ เป็นความเชื่อความศรัทธาส่วนบุคคล แต่ อภินหิ ารและกุศลจากการออกเดินทางไหว้พระท�ำบุญทีจ่ งั หวัดนครสวรรค์ ซึง่ ทุกคนได้รบั เหมือนกันคือ ความสบายอกสบายใจครับ วนัสกฤษณ์ ศิลปรังสรรค์ บรรณาธิการฝ่ายบุคคล

ฝ่ายประสานงานโครงการภาครัฐและเอกชน ผู้จัดการ : กิตติชัย ศรีสมุทร, ทวัชร์ ศรีธามาศ, อัครกฤษ หวานวงศ์ คณะทีมงาน : อรรถพร สว่างแจ้ง, นิรุจน์ แก้วเล็ก, สุษฎา พรหมคีรี, ผู้จัดการฝ่ายประสานงานข้อมูล : นันท์ธนาดา พลพวก ฝ่ายประสานงานข้อมูล : นลัชนันท์ เทียมเกตุทวีโชค นักเขียน : มนสิกุล โอวาทเภสัชช์ ฝ่ายศิลปกรรม ผู้จัดการฝ่ายศิลปกรรม : พัชรา ค�ำมี กราฟิกดี ไซน์ : วรเชษฐ สมประสงค์, พิมพ์พิสุทธิ์ พังจูนันท์ ช่างภาพ : ปณต ปิติจารุวิศาล, วิทยา ประเสริฐสังข์, ธีระพงษ์ ธรรมเจริญ ตัดต่อวีดีโอ : วัชรกรณ์ พรหมจรรย์, ณัฐพล ชื่นข�ำ ฝ่ายบัญชี / การเงิน บัญชี : ปัฐมาภรณ์ แสงบุราณ การเงิน : สุจิตรา แดนแก้วนิต

SBL MAGAZINE

Editor's talk.indd 25

22/4/2564 9:40:16


EXC LU SI VE I N TE RVI EW

NAKHON SAWAN

PROVINCIAL OFFICE OF BUDDHISM

นางจรรยา รัต นเลขา

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดนครสวรรค์

26

.

.

SBL บันทึกประเทศไทย I นครสวรรค์

.indd 26

20/4/2564 9:44:37


EXC LU S IV E

วิสัยทัศน์ (VISION) “องค์กรขับเคลื่อนกิจการพระพุทธศาสนา สู่ความมั่นคง สังคมดํารงศีลธรรม นําสันติสุขอย่างยั่งยืน”

พันธกิจ (MISSION) 1. เ สริ ม สร้ า งให้ ส ถาบั น และกิ จ การทาง พระพุทธศาสนามีความมั่นคงยั่งยืน 2. สนับสนุนส่งเสริมและจัดการการศึกษาสงฆ์ และการเผยแผ่พระพุทธศาสนาเพื่อพัฒนาให้มี ความรู้คู่คุณธรรม 3. จัดการศึกษาสงฆ์เพื่อผลิตและพัฒนาศาสน ทายาทที่เปี่ยมปัญญาพุทธธรรมเผยแผ่ทํานุบํารุง พระพุทธศาสนาให้เจริญงอกงาม และร่วมสร้าง สังคมพุทธธรรมที่มีความเข้มแข็ง 4. ดําเนินการให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลาง ทางพระพุทธศาสนาโลก 5. พั ฒ นาการดู แ ลรั ก ษาและจั ด การศาสน สมบัติให้เป็นประโยชน์ต่อพระพุทธศาสนาและ สังคมเพื่อให้สามารถบรรลุเป้าหมายตามพันธกิจ

ยุทธศาสตร์ (STRATEGY) BUDDHA 1. พัฒนาระบบการศึกษาสงฆ์ Buddhism Education 2. ป ลู ก ฝั ง ความเข้ า ใจเกี่ ย วกั บ พระพุ ท ธ ศาสนาให้แก่สังคม Understanding 3. เพิ่มศักยภาพการเป็นศูนย์กลางพระพุทธ ศาสนาโลก Distinguished Center 4. พัฒนาสู่องค์การที่โดดเด่น Distinctive Organization 5. ส่งเสริมงานสาธารณสงเคราะห์ Help 6. เพิ่มความคุ้มค่าให้แก่ศาสนสมบัติ Asset

NAKHON SAWAN I SBL บันทึกประเทศไทย

.

.

.indd 27

27

20/4/2564 9:44:38


เป้าประสงค์ (GOAL)

ค่านิยม (CORE VALUE)

1. สถาบันพระพุทธศาสนามีความมั่นคงและยั่งยืน 2. พระสงฆ์ มี ค วามรู ้ ใ นหลั ก ธรรมอย่ า งลึ ก ซึ้ ง และสามารถเผยแผ่ หลักธรรมได้อย่างถูกต้องและมีความทันสมัยรวมทั้งมีความรู้เรื่องสังคม ความเปลี่ยนแปลงของสังคมในทุกมิติ 3. ป ระชาชนทุ ก เพศทุ ก วั ย ได้ เข้ า ถึ ง หลั ก ธรรมทางพระพุ ท ธศาสนา สามารถนําไปพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้น ทําให้สังคมมีความสุขด้วยหลัก พุทธธรรม 4. เพิม่ ศาสนทายาทเพือ่ สืบสานพุทธศาสนาให้เกิดความมัน่ คงและยัง่ ยืน 5. ให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางด้านวิชาการและกิจกรรมด้านพระพุทธ ศาสนาในระดับโลก 6. เพิม่ มูลค่าศาสนสมบัตใิ ห้เกิดประโยชน์ตอ่ พระพุทธศาสนาอย่างสูงสุด 7. จัดระบบองค์กรสํานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติให้เป็นกลไกใน การขับเคลื่อนให้พระพุทธศาสนามั่นคง ยั่งยืน และสังคมมีความรู้ด้วย หลักพุทธธรรม

ส่งเสริมพุทธธรรมนําชีวิต มุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน มีจิตบริการ ประสาน สามัคคี ส่งเสริมพุทธธรรมนําชีวิต หมายถึง การสนับสนุน ส่งเสริมการนําหลัก ธรรมทางพระพุทธศาสนามา ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจําวันอย่างมีความสุข ชุมชนเข้มแข็งก่อให้เกิดสังคมคุณธรรม มุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน หมายถึง ปฏิบัติหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ดําเนินงานให้แล้วเสร็จ ตามวัตถุประสงค์และใช้ทรัพยากร อย่างคุ้มค่า มีจิตบริการ หมายถึง เข้าใจความต้องการของผู้รับบริการอย่างถูกต้อง และรวดเร็วให้บริการและ ช่วยเหลือผู้รับบริการด้วยความยิ้มแย้มแจ่มใส และกระตือรือร้นต่อการตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการ ประสานสามัคคี หมายถึง เคารพผู้ร่วมงาน ช่วยเหลือเกื้อกูลกันไม่แบ่ง พรรคแบ่งพวกและเสียสละเพื่อ ประโยชน์ส่วนรวม

28

.

.

SBL บันทึกประเทศไทย I นครสวรรค์

.indd 28

20/4/2564 9:44:41


เช

ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาชวนเที่ยว เชิงอนุรักษ์ วัฒนธรรม จังหวัดนครสวรรค์

ท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศาสนา

นครสวรรค์เป็นจังหวัดที่มีประวัติยาวนานมาตั้งแต่สมัยยุคก่อนประวัติศาสตร์ ดังปรากฏหลักฐานแหล่งโบราณคดีหลายแห่ง เช่น แหล่งโบราณคดีบ้านใหม่ชัยมงคล ต�ำบลสร้อยทอง อ�ำเภอตาคลี นับเป็นเครื่องยืนยันถึงแหล่งท�ำกิน แหล่งอาหารที่อุดมสมบูรณ์แห่งหนึ่งในพื้นที่ภาคเหนือตอนล่าง

NAKHON SAWAN I SBL บันทึกประเทศไทย

.

.

.indd 29

29

20/4/2564 9:44:42


แหล่ง

ท่องเทีย ่ ว ที่น่าสนใจ 1. วัดเกาะหงส์

ภายในวัด มีจุดส�ำคัญต่างๆ ในการตามรอยเสด็จประพาสต้น ดังนี้ ชมโบสถ์เก่าอายุกว่า 200 ปี กราบพระสังกัจจายน์ยืน ชมการ “เหยียบฉ่า” รักษาโรคอัมพฤกษ์อัมพาต และกราบหลวงพ่อกัน หลวงพ่ออินทร์ยอด เกจิอาจารย์ในอดีต

2. วัดคีรีวงศ์ ปัจจุบนั เป็นส�ำนักปฏิบตั ธิ รรมประจ�ำจังหวัดนครสวรรค์ มี พุ ท ธศาสนิ ก ชนเดิ น ทางมาปฏิ บั ติ กิ จ กรรมทางพุ ท ธ ศาสนาเป็ น ประจ�ำ ภายในบริ เ วณวั ด ประกอบด้ ว ย พระอุโบสถ สมเด็จพระพุทธโคดมจ�ำลอง ศาลาพุทธานุภาพ วิหารหลวงพ่อโต และพระจุฬามณีเจดีย์

3. วัดวรนาถบรรพต มีโบราณวัตถุ อาทิ รอยพระพุทธบาทจ�ำลอง เจดี ย ์ บ รรจุ พ ระบรมสารี ริ ก ธาตุ ซึ่ ง สร้ า ง สมัยสุโขทัยเป็นราชธานี บริเวณเชิงเขามีเจดีย์ ขนาดใหญ่สมัยสุโขทัย ซึ่งกรมศิลปากรได้จารึก ประวัติศาสตร์ของวัดไว้ที่ฐานของเจดีย์องค์นี้ ด้วย วัดนี้ได้รับการยกย่องจากกรมการศาสนา และมหาเถรสมาคมให้เป็นวัดพัฒนาตัวอย่าง เมื่อ พ.ศ. 2509

30

.

.

SBL บันทึกประเทศไทย I นครสวรรค์

.indd 30

20/4/2564 9:44:47


4. วัดป่าสิริวัฒนวิสุทธิ์

5. รอยพระพุทธบาท

เป็นวัดในสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ตั้งอยู่ที่ บ้านเขาโคกเผ่น ต�ำบลท�ำนบ อ�ำเภอท่าตะโก พื้นที่วัดสร้างเป็นรูปเรือหลวง บนยอดเขา เรือมีนามว่า ราชญาณ นาวา ฑีฆายุ มงคล ซึ่งสื่อ ความหมายถึง พาหนะที่จะช่วยให้พ้นห้วงกิเลส ภายในวัดมี สิ่งก่อสร้างที่ล้วนเป็นมงคลมากมาย

มีลักษณะเป็นแผ่นหินชนวนสีเขียวแกะสลัก สันนิษฐานว่าสร้างในสมัยพระยาลิไท แห่งกรุงสุโขทัย จากเอกสารที่มีผู้บันทึกไว้ท�ำให้ทราบว่า รอยพระพุทธบาทนี้ได้ อัญเชิญมาจากกรุงศรีอยุธยา

สถานที่ท่องเที่ยวอื่นๆที่น่าสนใจ วัดเกรียงไกรกลาง วัดจอมคีรีนาคพรต วัดศรีสวรรค์สังฆาราม ศาลเจ้าแม่หน้าผา วัดช่องแค วัดบางมะฝ่อ วัดพร NAKHON SAWAN I SBL บันทึกประเทศไทย

.

.

.indd 31

31

20/4/2564 9:44:47


ท่องเที่ยว

เชิงศิลปวัฒนธรรม 1. เมืองโบราณจันเสน ในบริเวณเมืองโบราณได้ขุดพบโบราณวัตถุหลายอย่าง ประเภทที่ท�ำด้วยเศษดิน ปัจจุบันโบราณ วัตถุดังกล่าวเก็บรักษาไว้ที่ พิพิธภัณฑ์จันเสน ซึ่งตั้งอยู่ในวัดจันเสน

2. แหล่งโบราณคดีวัดโพธิ์ประสาท

ส�ำรวจขุดค้นโดยกรมศิลปากร ระหว่างพ.ศ.2519-2536 พบภาชนะเครื่องใช้ทั้งแบบโลหะและ แบบดินเผาของคนโบราณ ซึ่งเป็นชุมชนในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลาย ที่ได้มีการพัฒนา เข้าสู่การเป็นชุมชนคูน�้ำคันดินในสมัยทวารวดี เครื่องใช้โลหะที่ขุดพบมีอายุกว่า 2,000 ปี อาทิ ใบหอกโบราณ จัดเป็นศิลปะก่อนประวัติศาสตร์ ประเภทเครื่องใช้สอยดินเผา

3. เมืองเก่าเวสาลี เป็นโบราณสถานซึง่ อยู่บริเวณด้านตะวันออกของเมืองเป็นศิลปะ สมัยอยุธยาตอนปลาย ประกอบด้วยอุโบสถ มณฑป วิหาร เจดีย์

4. ชุมชนชาวไทยทรงด�ำบ้านไผ่สิงห์ เอกลักษณ์ของชุมชนแห่งนี้ ได้แก่ ภาษา การแต่งกาย อาหาร การกิน รูปแบบที่อยู่อาศัย ขนบธรรมเนียมประเพณี และพิธีกรรม ต่าง ๆ นับเป็นกลุ่มชาติพันธุ์ที่น่าสนใจอีกกลุ่มหนึ่ง

5. ตลาดน�้ำวัดบางประมุง ชาวบ้านจะพายเรือน�ำสินค้าและผลิตผลทางการเกษตรในพื้นที่มาจ�ำหน่าย ทุกวันเสาร์-อาทิตย์ ระหว่างเวลา 07.00-16.00 น. นอกจากนี้ยังมีบริการอื่น ๆ อีก อาทิ นวดแผนโบราณ การล่องเรือชมคลองบางประมุง ชมสวนกล้วย บริการเรือพาย จักรยานน�้ำ ฯลฯ

6. สะพานเดชาติวงศ์ ก่ อ นเข้ า สู ่ ใจกลางเมื อ งนครสวรรค์ เป็ น สะพานที่ ส�ำคั ญ แห่ ง หนึ่ ง ของ ประเทศไทย กรมทางหลวงวางแผนสร้างข้ามแม่น�้ำเจ้าพระยา เพื่อให้เป็นประตู สู่ภาคเหนือ เมื่อปี 2485 ยังเป็นจุดชมวิวแม่น�้ำสองสีที่สวยงามที่สุดอีกจุดหนึ่ง 32

.

.

SBL บันทึกประเทศไทย I นครสวรรค์

.indd 32

20/4/2564 9:44:51


7. หอชมเมืองนครสวรรค์ เทศบาลนครนครสวรรค์ ได้จัดสร้าง “หอชมเมือง” ขึ้น ณ ยอดเขาวัดคีรีวงศ์ เพื่อต้อนรับนักท่องเที่ยวที่มาเยือนนครสวรรค์

8. พาสาน พาสาน อาคารสัญลักษณ์สุดล�้ำแห่งต้นแม่น�้ำเจ้าพระยา ตั้งอยู่ในอ�ำเภอเมืองนครสวรรค์ เป็นอีกหนึ่งแลนด์มาร์คใหม่บริเวณเกาะยม จุดก�ำเนิด แม่น�้ำเจ้าพระยา สร้างขึ้นเพื่อเป็นแหล่งท่องเที่ยว แหล่งเรียนรู้ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม ตลอดจนการส่งเสริมอาชีพ กระตุ้นเศรษฐกิจในปากน�้ำโพ ตัวแบบของ พาสาน เป็นเส้นสายโค้งมาบรรจบกันแลดูคล้ายการรวมตัวกันของสายน�้ำ ในปัจจุบันก�ำลังเตรียมด�ำเนินการเพิ่มเติมภายในตัวอาคาร ทั้งในส่วนของการแสดงข้อมูลประวัติศาสตร์ ประเพณี วัฒนธรรม อีกทั้งจะมีการติดตั้งระบบมัลติมีเดีย แสง สี เสียงที่สวยงาม ทันสมัยภายนอกอาคาร แต่ ณ เวลานี้ นักท่องเที่ยวสามารถเข้าไปเยี่ยมชมบริเวณโดยรอบได้ตลอดเวลา

NAKHON SAWAN I SBL บันทึกประเทศไทย

.

.

.indd 33

33

20/4/2564 9:44:55


ท่องเที่ยว เชิงธรรมชาติ นครสวรรค์มีทรัพยากรธรรมชาติมากมาย มีบึงบอระเพ็ด บึงขนาด ใหญ่ซึ่งเป็นแหล่งรวมความหลากหลายทางธรรมชาติที่ส�ำคัญ พบพันธุ์ ปลาน�้ำจืดกว่า 148 ชนิด เช่น ปลาช่อน ปลาชะโด ปลาแดง ปลาเค้า และปลาเสือตอ มีพันธุ์ไม้น�้ำทั้งหมดกว่า 93 ชนิด เช่น บัวหลวง บัวแดง ผักตบชวา ดีปลีน�้ำ ธูปฤาษี และสาหร่ายไฟ นับเป็นแหล่งอาหารและ สถานที่ท่องเที่ยวศึกษาธรรมชาติที่ส�ำคัญและมีชื่อเสียงของจังหวัด

สถานที่ท่องเที่ยวที่น่าสนใจ 1. บึงบอระเพ็ด ในอดี ต บึ ง บอระเพ็ ด ได้ ชื่ อ ว่ า เป็ น “ทะเลเหนื อ ” หรื อ “จอมบึ ง ” เพราะมี สั ต ว์ แ ละพั น ธุ ์ พื ช น�้ ำ อยู ่ ม ากมาย เคยพบสั ต ว์ ห ายากที่ นี่ ได้ แ ก่ นกเจ้าฟ้าหญิงสิรินธร ปลาเสือตอ พื้นที่บางส่วนได้รับการประกาศให้เป็น เขตห้ามล่าสัตว์ป่า บึงบอระเพ็ดอยู่ในความดูแลของกองอนุรักษ์สัตว์ป่า และ ยังเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ปลา โดยกรมประมงได้มาตั้งสถานีพัฒนาประมง บึงบอระเพ็ดไว้ด้วย 34

.

.

2. น�้ำตกวังน�้ำวิ่ง เป็ น น�้ ำ ตกที่ เ กิ ด จากน�้ ำ ผุ ด ไหลลดหลั่ น กั น อย่ า งสวยงาม ประมาณ 3 ชั้น มีน�้ำตลอดทั้งปี บรรยากาศร่มรื่นเย็นสบาย

SBL บันทึกประเทศไทย I นครสวรรค์

.indd 34

20/4/2564 9:44:58


3. เขาหน่อเขาแก้ว เขาหน่ อ เป็ น เขาหิ น ปู น ที่ มี วั ด เขาหน่ อ อยู ่ เชิ ง เขา มีบันไดขึ้นสู่ยอดเขาซึ่งเป็นจุดชม บริเวณเชิงเขามีฝูงลิง จ�ำนวนมาก คอยรับอาหารจากนักท่องเที่ยวที่มาเยือน นอกจากนี้เวลาเย็นจะมองเห็นฝูงค้างคาวที่อาศัยอยู่ตาม ถ�้ำน้อยใหญ่ในภูเขาบินออกไปหากิน ดูเป็นสายยาวสีด�ำ อยู่บนท้องฟ้า

4. เขาพระ เขาสูง เป็ น ดิ น แดนมหั ศ จรรย์ ที่ มี ท รั พ ยากรอั น ทรงคุ ณ ค่ า อย่างยิ่ง อาทิ หินแกรนิตสีชมพู หินสีด�ำ และหินมรกต บนยอดเขาพระมีหินก้อนสีชมพูขนาดมหึมาวางเรียงราย ทับซ้อนกันเด่นตระหง่านอย่างน่ามหัศจรรย์ ซึ่งเป็นจุด ชมวิวที่สามารถมองเห็นทิวทัศน์อันสวยงามของอ�ำเภอ หนองบัว ก่อนเดินทางถึงยอดเขาจะต้องผ่านซอกเขา หรือซอกหินหนีบ มีขนาดแคบประมาณ 30 เซนติเมตร เป็ น จุ ด ที่ ท ้ า ท้ า ยความสามารถต่ อ การพิ สู จ น์ ค วาม สวยงามของยอดเขาพระ-เขาสูง แห่งนี้ รวมถึงพรรณไม้ นานาชนิดที่น่าศึกษา

5. ป่าไพศาลี สภาพป่าที่นี่ประกอบด้วยป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง ป่าดงดิบแล้ง และป่าทุ่งหญ้า จึงมีความหลากหลายทาง ระบบนิเวศเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่านานาชนิด เหมาะแก่การศึกษาเรียนรู้ทางธรรมชาติที่สวยงาม อาทิ มีจุดชมวิวบนยอดเขาที่สามารถมองเห็นทัศนียภาพกว้าง ไกล มีจุดพักแรมบนยอดสอยดาวเพื่อชมพระอาทิตย์ขึ้น และตก ในฤดูหนาวอากาศหนาวเย็นมากจึงเหมาะกับ นักท่องเที่ยวที่ต้องการความท้าทาย

6. ทุ่งหินเทิน เป็นทุ่งหญ้าเชิงเขาที่มีกลุ่มก้อนหินขนาดใหญ่ตั้งวาง ซ้อนกันอยู่หลายแห่งหลายรูปแบบ กระจัดกระจายอยู่ ทั่วบริเวณ ในลักษณะที่สัมผัสกันเพียงเล็กน้อยเหมือนมี คนจับวาง นับเป็นสวนหินธรรมชาติที่สวยงามแปลกตา

NAKHON SAWAN I SBL บันทึกประเทศไทย

.

.

.indd 35

35

20/4/2564 9:44:59


ท�ำเนียบการปกครองคณะสงฆ์ จังหวัดนครสวรรค์

พระเทพปริยัติเมธี สิริธโร

(สฤษฏิ์ สิริธโร ป.ธ.๙, รศ.ดร.) เจ้าคณะจังหวัดนครสวรรค์ เจ้าอาวาสวัดนครสวรรค์ พระอารามหลวง

พระราชรัตนเวที โชติธมฺโม รองเจ้าคณะจังหวัดนครสวรรค์ เจ้าอาวาสวัดวรนาถบรรพต พระอารามหลวง

พระครูนิภาธรรมประสิทธิ์ อตฺตสิทฺธิ เจ้าคณะอ�ำเภอเมืองนครสวรรค์ รองเจ้าอาวาสวัดนครสวรรค์ พระอารามหลวง

36

พระครูนิพัทธ์สุธีราภรณ์ สุธีโร เจ้าคณะอ�ำเภอตาคลี / เจ้าอาวาสวัดสว่างวงษ์

พระราชปริยัติวิธาน สุนฺทรเมธี รองเจ้าคณะจังหวัดนครสวรรค์ รองเจ้าอาวาสวัดตากฟ้า พระอารามหลวง

พระครูนิยุตธรรมศาสน์ จิตฺตคุตโต เจ้าคณะอ�ำเภอบรรพตพิสัย / เจ้าอาวาสวัดส้มเสี้ยว

พระครูนิทัศน์ธรรมโสภิต โชติปญฺโญ

เจ้าคณะอ�ำเภอตากฟ้า / เจ้าอาวาสวัดโคกขาม

SBL บันทึกประเทศไทย I อุดรธานี

.indd 36

22/4/2564 14:34:00


พระครูนิธานปุญญาภิวัฒน์ อาจิตปุญโญ

เจ้าคณะอ�ำเภอชุมแสง / เจ้าอาวาสวัดเกยไชยเหนือ

พระครูนิวิฐศีลขันธ์ ฐิตวฑฺฒโน เจ้าคณะอ�ำเภอแม่วงก์ เจ้าอาวาสวัดมฤคทายวัน

พระศรีสุทธิพงศ์ ปฏิภาโณ

พระครูนิมิตชโยดม สุวิชโย

เจ้าคณะอ�ำเภอท่าตะโก / เจ้าอาวาสวัดท่าตะโก

พระครูนิทัศน์ปัญญาวุธ วรปญฺโญ เจ้าคณะอ�ำเภอไพศาลี / เจ้าอาวาสวัดไพศาลี

พระครูนิรุติวิเชียร อาทโร เจ้าคณะอ�ำเภอชุมตาบง เจ้าอาวาสวัดปางสวรรค์

พระครูนิมิตศีลาภรณ์ ฐิตสีโล เจ้าคณะอ�ำเภอหนองบัว เจ้าอาวาสวัดเทพสุทธาวาส

เจ้าคณะอ�ำเภอลาดยาว / เจ้าอาวาสวัดศรีสุธรรมาราม

พระครูศรีโพธานุรักษ์ ฐิตเตโช

พระมหาไพโรจน์ จนฺทปญฺโญ

เจ้าคณะอ�ำเภอแม่เปิน ผู​ช้ ่วยเจ้าอาวาสวัดโพธาราม ​พระอาราม​หลวง

เจ้าคณะอ�ำเภอโกรกพระ / เจ้าอาวาสวัดเทพสามัคคีธรรม

พระครูนิวิฐสังฆกิจ หาสจิตฺโต

เจ้าคณะอ�ำเภอเก้าเลี้ยว/ เจ้าอาวาสวัดเก้าเลี้ยว

พระครูนิภาธรรมวงศ์ อริยวํโส เจ้าคณะอ�ำเภอพยุหะคีรี เจ้าอาวาสวัดเขาทอง

UDONTHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 37

37

20/4/2564 9:46:31


พระเทพปริ ย ต ั เ ิ มธี , รศ.ดร. (สฤษฏิ์ สิริธโร ป.ธ.๙ ,รศ.ดร.) 38

2

เจ้า คณะจังหวัดนครสวรรค์ รองอธิการบดีวิทยาเขตนครสวรรค์ มหาวิ ท ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เจ้ าอาวาสวัดนครสวรรค์ พระอารามหลวง

SBL บันทึกประเทศไทย I แพร่

.indd 38

20/4/2564 9:52:56


เจ้าคณะจังหวัดนครสวรรค์ / เจ้าอาวาสวัดนครสวรรค์ พระอารามหลวง

ชาติภูมิ พระเทพปริยต ั ิเมธี เกิดวันศุกร์ที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2501

อุปสมบท เมือ ่ วันที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2521 ณ วัดห้วยร่วม ต�ำบลห้วยร่วม อ�ำเภอ

ที่ บ้านห้วยร่วม ต�ำบลห้วยร่วม อ�ำเภอหนองบัว จังหวัดนครสวรรค์

หนองบัว จังหวัดนครสวรรค์ โดยมีพระครู นิรุติธรรมธร วัดห้วยร่วม เป็นพระอุปช ั ฌาย์ การศึ กษา

ปริญญานิติศาสตรบัณฑิต (น.บ.)

พ.ศ. 2517 สอบได้ นักธรรมชั้ นเอก ส� ำนักศาสนศึ กษา

วัดห้วยร่วม อ�ำเภอหนองบัว จังหวัดนครสวรรค์

พ.ศ. 2532 สอบได้ เปรียญธรรม 9 ประโยค ส� ำนักเรียน

พ.ศ. 2543 ส� ำเร็จ ปริญญาการศึ กษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึ กษา

พ.ศ. 2549 ส� ำเร็จ ปริญญาพุทธศาสตรดุษฎีบณ ั ฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา

วัดราชบูรณะวรวิหาร เขตพระนคร กรุ งเทพมหานคร (กศ.ม.) มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก

(พธ.ด.) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เกียรติคุณ

พ.ศ. 2549 ได้รับถวายปริญญารัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบณ ั ฑิตกิตติมศั กดิ์ สาขา

วิชารัฐประศาสนศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยภาคกลาง จังหวัดนครสวรรค์ ต�ำแหน่ง ฝ่ายปกครอง

พ.ศ. 2532 เป็น รองเจ้าอาวาสวัดนครสวรรค์ พระอารามหลวง

พ.ศ. 2533 เป็น เลขานุการรองเจ้าคณะภาค 4

พ.ศ. 2532 เป็น เลขานุการเจ้าคณะจังหวัดนครสวรรค์

พ.ศ. 2539 เป็น ผูร ้ ักษาการแทนเจ้าอาวาสวัดนครสวรรค์ พระอารามหลวง

พ.ศ. 2540 เป็น เจ้าอาวาสวัดนครสวรรค์ พระอารามหลวง

พ.ศ. 2541 เป็น รองเจ้าคณะจังหวัดนครสวรรค์

พ.ศ. 2546 เป็น ผูร ้ ักษาการแทนเจ้าคณะจังหวัดนครสวรรค์

พ.ศ. 2546 เป็น เจ้าคณะจังหวัดนครสวรรค์

ฝ่ายการศึ กษา

พ.ศ. 2561 เป็น รองอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย วิทยาเขตนครสวรรค์ สมณศั กดิ์

พ.ศ. 2532 เป็น เปรียญธรรม 9 ประโยค

5 ธันวาคม พ.ศ. 2545 เป็น พระราชาคณะชั้ นราช ที่ พระราชปริยัติ ตรีปิฎก

10 มิถุนายน พ.ศ. 2539 เป็น พระราชาคณะชั้ นสามัญเปรียญ ที่ พระศรีวิสุทธิคุณ

บัณฑิตมหาคณิสสร บวรสั งฆาราม คามวาสี

5 ธันวาคม พ.ศ. 2552 เป็น พระราชาคณะชั้ นเทพ ที่ พระเทพปริยต ั ิเมธี

ศรีศาสนกิจ ตรีปฎ ิ กบัณฑิต มหาคณิสสร บวรสั งฆาราม คามวาสี วุฒก ิ ารศึ กษา

- ป.ธ.9 จากส� ำนักเรียนวัดราชบูรณะวรวิหาร กรุ งเทพมหานคร

- กศ.ม. (การบริหารการศึ กษา) จากมหาวิทยาลัยนเรศวร

- น.บ. นิติศาสตรบัณฑิต จากมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

- พธ.ด. (พระพุทธศาสนา) จากมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

- พธ.ด. (รัฐประศาสนศาสตร์) จากมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

- รป.ด. (รัฐประศาสนศาสตร์) (กิตติมศั กดิ์) จากมหาวิทยาลัยภาคกลาง

- ปร.ด. (การจัดการ) (กิตติมศั กดิ์) จากมหาวิทยาลัยเจ้าพระยา

- รป.ด. (รัฐประศาสนศาสตร์) (กิตติมศั กดิ์) จากมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

รางวัลที่ได้รับ

1. ได้รับพระราชทานรางวัลเสาเสมาธรรมจักร

3. ได้ รั บ ปริ ญ ญาดุ ษ ฎี บั ณ ฑิ ต กิ ต ติ ม ศั กดิ์ ส าขารั ฐ ประศาสนศาสตร์ จาก

2. ได้โล่เกียรติคุณศิ ษย์เก่าดีเด่นมหาวิทยาลัยนเรศวร

มหาวิทยาลัยภาคกลาง

4. ได้ รั บ ปริ ญ ญาดุ ษ ฎี บั ณ ฑิ ต กิ ต ติ ม ศั กดิ์ ส าขารั ฐ ประศาสนศาสตร์ จาก

5. ได้รบ ั ปริญญาดุษฎีบณ ั ฑิตกิตติมศั กดิส ์ าขาการจัดการ จากมหาวิทยาลัยภาคกลาง

มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

6. ได้รับเกียรติบต ั รศิ ษย์เก่าดีเด่นเนื่องในงาน “60 ปี อุดมศึ กษามหาวิทยาลัยมหา

จุฬาลง กรณราชวิทยาลัย”

7. ได้รับโล่ผม ู้ ผ ี ลงานดีเด่นจากกระทรวงวัฒนธรรม

8. ได้รับรางวัล บุคคลตัวอย่างแห่งปี พุทธศั กราช 2564 สาขาผูท ้ �ำคุณประโยชน์

ต่อศาสนา สั งคม และประเทศชาติ

ผลงานทางวิชาการ (ตีพม ิ พ์เผยแพร่ ระหว่าง 2559 – 2563) ผลงานทางวิชาการ

พระเทพปริยัติเมธี (สฤษฏิ์ สิ ริธโร) (2559) ภาวะผู้น�ำกับการแก้ปัญหาในสั งคมไทย

วารสาร สั งคมศาสตร์ ปริทรรศนี คณะสั งคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ราช วิทยาลัย ปีที่ 5 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2559 (น.9-14)

พระมหากฤษฎา กิตฺติโสภโณณ,พระมหาก�ำพล คุณงฺกโร, พระเทพปริยต ั ิเมธี ( สฤษฎิ ์

สิ ริชโร) (2559) การ สร้างความปรองดองสมานฉันท์ด้วยการขับเคลื่อนโครงการหมูบ ่ า ้ น

รักษาศี ล 5 จังหวั ดพระนครศรีอยุธยา, วารสารสั งคมศาสตร์ ปริทรรศน์ มหาวิ ทยาลั ย มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย, ปีที่ 5 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2559 (น.45-62)

Phratheppariyouttimedhi, PhamahaBoonlertchuaythnee and KwanjaiSriparat

(2018) The Development of Activity for Enhaneing Bio Wellbeing based on Holistic

Development of Mind and Wirdom Universal Academic Cluster International Autumn Conference in Osaka. 10-12 October 2018.

Phratheppariyattmedhi. (2018) The Strategy of Community Management in

Middle Branch wotershed of Prevention and Editing of Flood Universal Academic Cluster Intermational Autumn Conference in Osaka, 10-12October 2018.

อมลวรรณ อบสิ น, พระนุชิต นาคเสโน,พระเทพปริยต ั ิเ มธี (2562 ) การพัฒนาสมรรถนะ

บุคลากร ของ องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นตามหลัก พละ 4 ตีพม ิ พ์ในงานประชุ มวิชาการ

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย ครั้งที่ 3 (MCU Congress III) มหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณ์ราช วิทยาลัยอ�ำเภอวังน้อย พระนครศรีอยุธยา ระหว่างวันที่ 31 สิงหาคม 2562 (หน้า 827-843)

พระเทพปริยัติเมธี, กฤช เพิ่มทั นจิ ตต์ (2563) ยุทธศาสตร์การจั ดการชุ มชน พื้นที่

กลางน้�ำกั บการป้องกั น และแก้ ไขปัญหาอุ ทกภั ย วารสารวิ จัยวิ ชาการ ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2563 (45-56)

พระสมุห์อาทิตย์ อินฺทปญฺโญ, พระเทพปริ ยัติเมธี, อมลวรรณ อบสิ น(2563) “แนวทาง

การจัดการ ท่องเที่ยวทางพระพุทธศาสนาในต�ำบลล้อมแรด อ�ำเภอเถิน จังหวัดล�ำปาง” ตีพม ิ พ์ใน วารสารวิจัยวิชาการ. ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2563 : 45-56

ปภังคกรนิษฐ์ วงษ์ธัญญกรณ์, พระเทพปริ ยัติเมธี, อมลวรรณ อบสิ น(2563)

สรรพสามิตตามหลักอิทธิบาท 4 ของส� ำนักงานสรรพสามิตพื้นที่พิจิตร สาขาบางมูล

พระอธิการธนิต ธมฺมสาโร, พระเทพปริยต ั ิเมธี, สมคิด พุม ่ ทุเรียน(2563) “ภาวะผูน ้ �ำ

“ประลิทธิภาพการจัดเก็บภาษี

จังหวัดพิจต ิ ร” ตีพม ิ พ์ใน วารสารวิจย ั วิชาการปีที่ 3 ฉบับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2563 : 85-96 เชิ งพุทธของก� ำนั น ผู้ใหญ่บ้านต� ำบลห้ วยร่ วม อ� ำเภอดงเจริ ญ จั งหวั ดพิจิตร” ตี พิมพ์ใน วารสารวิจัยวิชาการปีที่ 3 ฉบับ ที่ 2 พฤษภาคม - สิ งหาคม 2563 : 15-26

รัตติยา พรมกัลป์, พระเทพปริยต ั ิเมธี, นัยนา เกิดวิชัย (2563)“การพัฒนาตัวแบบการ

จัดการท่องเทีย ่ วโดย ชุมชนเชิ งสร้างสรรค์ในจังหวัดนครสวรรค์” ตีพม ิ พ์ใน วารสารมหาจุฬา วิชาการ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2563

รัตติยา พรมกัลป์, พระเทพปริยต ั ิเมธี, นัยนา เกิดวิชัย (2562) “ปัจจัยที่มอ ี ิทธิพลต่อ

การจั ดการท่ องเที่ ยว โดยชุ มชนเชิ งสร้ างสรรค์ ” ตี พิมพ์ใน วารสารมนุ ษยศาสตร์ และ สั งคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ปีที่ 21 ฉบับที่ 21 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2562: 72-88

พระมหาสุเมฆ สมาหิโต, พระเทพปริยต ั เิ มธี, นัยนา เกิดวิชัย (2562) “โมเดลความสั มพันธ์

เชิ งสาเหตุของ ประสิ ทธิผลพุทธบูรณาการบริหารงานขององค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นใน จังหวัดพิจิตร” ตีพม ิ พ์ใน วารสารมหาวิทยาลัยคริสเตียน ปีที่ 25 ฉบับที่ 2 เมษายน-มิถุนายน 2562: 50- 64

รัตติยา พรมกัลป์, พระเทพปริยต ั ิเมธี, นัยนา เกิดวิชัย (๒๕๖๒)“ความสั มพันธ์เชิ งสาเหตุ

ของแบบจ�ำลองการ จัดการทิ่งเที่ยวโดยชุ มชนเชิ งสร้างสรรค์ในจังหวัดนครสวรรค์” ตีพม ิ พ์

ใน วาสารมหาวิทยาลัยคริส เตียน ปีที่ ๒๕ ฉบับที่ ๓ กรกฎาคม-กันยายน ๒๕๖๒: ๕๐-๖๓.

พระครู นิ ภ าภั ท รกิ จ , พระเทพปริ ยั ติ เ มธี , นั ย นา เกิ ด วิ ชั ย (๒๕๖๒) “การน� ำ แผน

ยุทธศาสตร์ การยกระดั บ กระบวนการบริ หารจั ดการภายในสู่ การปฏิ บัติของคณะสงฆ์

จังหวั ดนครสวรรค์” ตีพิมพ์ใน วาสาร บัณฑิ ตศึ กษามหาจุฬาขอนแก่ น ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๔ ตุลาคม-ธันวาคม ๒๕๖๒ : ๘๔๑-๘๕๗.

Phratheppariyattimedhi, (2021) The Strategy of Watershed Area Community

Management on Flood Disaster Prevention. 2nd International Conference on Multidisciplinary and Current Educationnal Research in Mahachulalongkorn rajavidyalara University Ayuttaya Thailand. 23-24 January 2021.

Phratheppariyattimedhi, (2021) The Social Development Strategy in Line with

Buddhist Intergrative to Sefl-sufficiency on the Basis Driven the Civil Dtate. 2nd International Conference on Multidisciplinary and Current Educationnal Research in Mahachulalongkornrajavidyalara University Ayuttaya Thailand. 23-24 January 2021

Phratheppariyattimedhi, (2021) The Inexperienced Parents: Concept and Process

in Stability Reinforcement of the Famiry Based on Buddhism. 2nd International Conference on Multidisciplinary and Current Educationnal Research in Mahachulalong kornrajavidyalara University Ayuttaya Thailand. 23-24 January 2021

PHRAE I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 39

39

20/4/2564 9:52:57


SBL บันทึกประเทศไทย

40

3

+

จั งหวั ดนครสวรรค์

.1

.indd 40

20/4/2564 9:54:51


Let’s Go Thailand With SBL บันทึกประเทศไทย

HISTORY OF THE PROVINCE

TOURIST ATTRACTIONS SBL บันทึกประเทศไทย

Let's go thailand.indd 13

www.sbl.co.th SBL MAGAZINE

THE VILLAGERS IN THE PROVINCE SBL บันทึกประเทศไทย

. - 25/11/2562 09:25:59 AM


121

ISSUE

สารบัญ

CONTENTS 2 วัดนครสวรรค์ พระอารามหลวง

26 NAKHON SAWAN PROVINCIAL OFFICE OF BUDDHISM

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงาน พระพุทธศาสนาจังหวัดนครสวรรค์ นางจรรยา รัตนเลขา

Editor's talk.indd 42

38

เจ้าคณะจังหวัดนครสวรรค์ พระเทพปริยัติเมธี สิริธโร

40

รองเจ้าคณะจังหวัดนครสวรรค์ พระราชรัตนเวที โชติธมฺโม

22/4/2564 9:44:33


วัดวรนาถบรรพต พระอารามหลวง วัดโพธาราม พระอารามหลวง วัดเทพสามัคคีธรรมาราม วัดหนองปลิง วัดคลองคาง วัดเทพนิมิตสว่างธรรม วัดสว่างวงศ์ วัดหนองโพ วัดหนองสีนวล วัดหัวหวาย

46 50 52 54 58 60 62 64 68 72

NAKHON SAWAN

Editor's talk.indd 43

74 76 78 80 82 84 86 88 90 96 98 100 102 104 106 108 114 116 118 122 124 126 128 130 132 134

วัดจันเสน วัดวาปีรัตนาราม วัดเขาวงศ์ วัดศรีวังคาง วัดเขาถ�้ำบุญนาค วัดส้มเสี้ยว วัดหนองตางู วัดโคกขาม วัดประชาสรรค์ วัดห้วยล�ำใย วัดเกยไชยเหนือ วัดท่าตะโก วัดสระโบสถ์ วัดพนมเศษเหนือ วัดศรีสุธรรมาราม วัดหัวตลุกวนาราม วัดเทพสุทธาวาส วัดไพศาลี วัดตะเคียนทอง วัดมฤทายวัน วัดปางสวรรค์ วัดโกรกพระเหนือ วัดโกรกพระใต้ วัดเกษมศานติ์ วัดเก้าเลี้ยว วัดเขาทอง

22/4/2564 9:44:37


วัดนครสวรรค์ พระอารามหลวง

History of Buddhism....

วัดนครสวรรค์ เดิมมีนามว่า “วัดหัวเมือง” เพราะตั้งอยู่ตอนต้นของตัวเมืองก่อนจะเข้าถึงตัวเมืองจะต้องผ่านวัดนี้ก่อน สร้างขึ้นในราว

พ.ศ.1972 โดยประมาณ เดิมหน้าวัดอยูท ่ างริมแม่น้�ำเจ้าพระยามีต้นโพธิ์และพระปรางค์มองเห็นเด่นชั ดส� ำหรับผูส ้ ั ญจรทางน้�ำ ต่อมาสายน้�ำ ได้เปลี่ยนทิศทางห่างออกไปจากวัดประมาณ 100 เมตร เป็นวัดที่ได้รับพระราชทานวิสุงคามสี มา มาแต่เดิม ประมาณ พ.ศ.1972

44

วัดนครสวรรค์ ตั้งอยู่เลขที่ 702 ถนนโกสี ย์ ต�ำบลปากน้�ำโพ อ�ำเภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์

SBL บันทึกประเทศไทย

จั งหวั ดนครสวรรค์

2

.indd 44

20/4/2564 9:56:18


ปูชนียวัตถุและปูชนียสถาน พระประธานในอุโบสถ พระพุทธรูปเนื้อส�ำริดสมัยสุโขทัย ปางมารวิชัย พระเจดีย์เก่า อยู่ด้านหน้าอุโบสถ 3 องค์

พระอุโบสถวัดนครสวรรค์ พระอารามหลวง

พระเจดีย์เก่าหน้าพระอุโบสถ

พระครูนิภาธรรมประสิทธิ์ (ประสิทธิ์ อตฺตสิทฺธิ ป.ธ.๕)

รองเจ้าอาวาสวัดนครสวรรค์ พระอารามหลวง เจ้าคณะอ�ำเภอเมืองนครสวรรค์

SBL บันทึกประเทศไทย NAKHON SAWAN

2

.indd 45

45

20/4/2564 9:56:29


วัดวรนาถบรรพต พระอารามหลวง History of Buddhism....

วัดวรนาถบรรพต พระอารามหลวง

วัดวรนาถบรรพต ตั้งอยู่เลขที่ 188 ถนนธรรมวิถี ต�ำบลปากน้�ำโพ อ�ำเภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์

SBL บันทึกประเทศไทย

46

3

+

จั งหวั ดนครสวรรค์

.1

.indd 46

20/4/2564 10:01:51


วัดวรนาถบรรพต เดิมชื่อ วัดกบ หรือ วัดเขากบ สมัยสุโขทัยชื่อว่า วัดปากพระบาง เป็นพระอารามหลวงชัน้ ตรี ชนิดสามัญ สังกัดคณะสงฆ์ มหานิกาย ตัง้ วัดเมือ่ ปี พ.ศ. 1962 ในสมัยสุโขทัยผูส้ ร้างคือพญาบาลเมือง สร้างขึน้ เพือ่ อุทศิ แด่พญารามผูน้ อ้ ง ซึง่ ได้สนิ้ พระชนม์ในระหว่างท�ำศึก สงครามหัวเมืองฝ่ายใต้ตามหลักฐานทางประวัตศิ าสตร์ปรากฏในศิลา จารึ ก2หลั ก ซึ่ ง ทางกรมศิ ล ปากรได้ ไ ปจากยอดเขาใกล้ กั บ รอย พระพุทธบาทจ�ำลองและได้จากเมืองนครชุมจังหวัดก�ำแพงเพชรซึ่ง กล่าวถึงพระเจ้าลิไทกษัตริยส์ โุ ขทัยองค์ท5ี่ ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ให้น�ำพระพุทธบาทจ�ำลองจากลังกาซึ่งส่งมาให้เป็นบรรณาการน�ำไป ประดิษฐานไว้บนยอดเขากบ ดังปรากฏในปัจจุบัน

พระอุโบสถวัดวรนาถบรรพต พระอารามหลวง พ.ศ. 2464 สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาด� ำ รงราชานุ ภ าพ ได้ ค ้ น พบวั ด วรนาถบรรพต พระยาบาลเมือง สร้างวัดเขากบ มีเจดีย์ วิหาร ขุดตระพัง ปลูกบัว นานาพรรณเพื่ อ เป็ น พุ ท ธบู ช า ปลู ก ต้ น พระศรี ม หาโพธิ์ ในรามอาวาส สร้างพุทธปฏิมา เพือ่ อุทศิ ส่วนกุศลให้แก่พระยาราม ผู้เป็นน้อง ซึ่งมาสิ้นพระชนม์ลง ณ เมืองพระบาง(ปัจจุบันคือ จังหวัดนครสวรรค์) ไม่เพียงได้รบั ยกย่องจากกรมการศาสนา และ มหาเถรสมาคมให้เป็นวัดพัฒนาตัวอย่างในปี พ.ศ. 2509 เท่านั้น หากวัดแห่งนี้ยังมีความเก่าแก่และทรงคุณค่าอย่างยิ่งของจังหวัด นครสวรรค์ ตัววัดตัง้ อยูบ่ นยอดเขาและเชิงเขากบทีม่ คี วามสูงจาก ระดับน�ำ้ ทะเลปานกลางประมาณ 185.50 เมตร จากหลักฐานทาง ประวัติศาสตร์ สันนิษฐานว่าวัดนี้น่าจะสร้างขึ้นในปี พ.ศ. 1962 ในสมัยสุโขทัย โดยพญาบาลเมืองทีไ่ ด้สร้างเจดีย์ วิหาร ขุดตระพัง เพื่ อ ปลู ก บั ว ถวายเป็ น พุ ท ธบู ช า ปลู ก ต้ น พระศรี ม หาโพธิ์ ในรามอาวาสเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้แก่พระยารามผู้เป็นน้องที่ได้ สิ้นพระชนม์ระหว่างท�ำศึกกับหัวเมืองฝ่ายใต้ ณ เมืองพระบาง ซึง่ ปัจจุบนั คือนครสวรรค์นน่ั เอง ทัง้ นีก้ ารเดินทางขึน้ สูว่ ดั สามารถ เดินขึน้ บันได จ�ำนวน 437 ขัน้ หรือใครทีไ่ ม่อยากเหนือ่ ย สามารถ น�ำรถขึ้นไปถึงได้โดยมีถนนลาดยางขึ้นสู่ยอดเขา SBL บันทึกประเทศไทย NAKHON SAWAN

3

+

.1

.indd 47

47

20/4/2564 10:01:57


สิ่งที่น่าสนใจในวัดวรนาถบรรพต

- เจดียอ์ งค์ใหญ่ทสี่ ร้างขึน้ ในสมัยสุโขทัย รวมทัง้ พระพุทธไสยาสน์ (พระนอน) ยาวประมาณ 10 วาเศษ - อุโบสถหลังเก่าซึ่งมีรูปปั้นตากบ-ยายเขียดที่หลวงพ่อทองสร้าง ไว้ด้านหน้า - รอยพระพุทธบาทจ�ำลองบนยอดเขากบ เป็นรอยพระพุทธบาท จ� ำ ลองสมั ย สุ โขทั ย ประดิ ษ ฐานอยู ่ ใ นวิ ห ารเจดี ย ์ บ รรจุ พระบรม สารีริกธาตุ - พระพุทธรูปหินปางนาคปรก ศิลปะสมัยเชียงแสน - รูปหล่อพระหลวงพ่อทอง อันเป็นทีเ่ คารพนับถือของชาวจังหวัด นครสวรรค์ ประดิษฐานอยู่ในวิหารข้างเจดีย์ใหญ่ด้วย

SBL บันทึกประเทศไทย

48

3

+

จั งหวั ดนครสวรรค์

.1

.indd 48

20/4/2564 10:02:07


If you love

HISTORY OF THAILAND you'll adore SBL MAGAZINE

www.sbl.co.th

SBL บันทึกประเทศไทย SBL MAGAZINE SBL บันทึกประเทศไทย

วั ด ภู เ ขาพระอั ง คาร ตั้งอยู่ในท้องที่ อ�ำเภอเฉลิมพระเกียรติ

และเขตของอ� ำ เภอนางรอง จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ เป็ น ภู เ ขาไฟที่ ดั บ สนิ ท แล้ ว ห่ า งจากภู เ ขาพนมรุ ้ ง ไปทางทิ ศ ตะวั น ตกประมาณ 10 กิ โ ลเมตร ห่ า งจาก จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ ป ระมาณ 72 กิ โ ลเมตร ตามเส้ น ทางบุ รี รั ม ย์ - นางรอง

Book of sbl.indd 16

. - 19/04/2562 14:30:07 PM


วัดโพธาราม พระอารามหลวง History of Buddhism....

วัดโพธาราม พระอารามหลวง ตั้งอยู่เลขที่ 474 ถนนโกสี ย์ ต�ำบลปากน้�ำโพ อ�ำเภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์

วัดนี้เป็นวัดโบราณ ไม่ปรากฏนามท่านผู้สร้างและไม่ปรากฏปีที่สร้าง ที่ต้ังวัดเดิมอยู่ริมปากแม่น้�ำปิง ฝั่งขวา มีต้นมะขาม

2 ต้น ต้นตะกู 1 ต้น ศาลาท่าน้�ำ 2 หลัง ทางด้านที่ท�ำการไปรษณีย์โทรเลขปัจจุบันนี้ มีต้นมะเดื่อ 1 ต้น ต่อมาได้ย้ายที่ต้ังบริเวณ

วัดโพธาราม พระอารามหลวง

กุ ฏิ อ อกมาตั้ งด้ า นหลั ง ดั ง ที่ ป รากฏในปั จ จุ บั น นี้ ส่ วนที่ ธ รณี ส งฆ์ แ ปลงหลั ง วั ด เดิ ม เป็ น ป่ า ไผ่ เ ป็ น บริ เ วณเผาอิ ฐ ของ นางเอม เรียกกันว่า ยายเอมเผาอิฐ SBL บันทึกประเทศไทย

50

จั งหวั ดนครสวรรค์

2

.indd 50

20/4/2564 10:04:36


บริเวณพืน้ ทีต่ งั้ วัด เป็นพืน้ ทีร่ าบลุม่ ท่ามกลางตลาดปากน�ำ้ โพ โดย มีถนนคัน่ บริเวณวัดไว้ทงั้ 4 ด้าน ตรงข้ามฟากถนนเป็นอาคารพาณิชย์ ของทางวัดบ้ าง ของเอ กชนบ้าง ทิวทัศน์ห่างออกด้านหลังวัดเป็น เทือกเขากบ ด้านหน้าวัดเป็นแม่นำ �้ 4 สาย คือ ปิง วัง ยม น่าน ไหลมา บรรจบเป็นต้นทางของแม่นำ�้ เจ้าพระยา เป็นย่านการค้าทัง้ ทางบกและ ทางน�้ำ การคมนาคมติดต่อกับทุกภาคของประเทศไทยได้โดยสะดวก อาณาเขต ทิศ เหนือ จด ถนนสวรรค์ วิถี ทิศใต้ จดถนนโกสีย์ ทิศตะวันออก จดถนนอรรถกวี ทิศตะวันตก จดถนนจุฬามณี วัดโพธาราม เป็นพระอารามหลวงชัน้ ตรี ชนิดสามัญ สังกัดคณะสงฆ์ มหานิกาย ที่ดินที่ตั้งวัด มีเนื้อที่ประมาณ 15 ไร่ 2 งาน 67 ตารางวา ได้รับพระราช ทานวิสุง คามสีมา เ มื่อ พ.ศ.2435 (ครั้งแรก) ได้รับ พระราชทานวิสงุ คามสีมาใหม่ วันที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2481 มีเขต วิสุงคามสีมา กว้าง 40 เมตร ยาว 80 เมตร ได้รับการสถาปนาขึ้นเป็น พระอารามหลวง ชัน้ ตรี ชนิดสามัญ เมือ่ วันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2506

ล�ำดับเจ้าอาวาสจากอดีต – ปัจจุบัน

รูปที่ 1 พระสมุห์อิ่ม พ.ศ. 2435 – 2436 รูปที่ 2 พระครูธรรมฐิติวงศ์ (ตั้ว) พ.ศ. 2436 – 2455 รูปที่ 3 พระครูต่วน พ.ศ. 2455 – 2457 รูปที่ 4 พระครูสวรรค์นคราจารย์ (ช่วง ติสสเถระ) พ.ศ. 2457 – 2498 รูปที่ 5 พระธรรมคุณาภรณ์ (เช้า ฐิตปญฺโญ ป.ธ.9) พ.ศ. 2498 – 2513 รูปที่ 6 พระเทพคุณาภรณ์ (พุฒ วุฑฒิทัตตเถระ) พ.ศ. 2514 – 2536 รูปที่ 7 พระสุนทรธรรมเวที (ประเทือง ธมฺมกาโม ป.ธ.6.) พ.ศ. 2536 – 2541 รูปที่ 8 พระราชพุฒิเมธี (กอง ติกฺขวีโร ป.ธ.6) พ.ศ. 2541 – ปัจจุบัน

พระราชพุฒิเมธี

พระครู​ศรีโพธานุรักษ์​

ที่ปรึกษา​เจ้าคณะ​จังหวัด​นครสวรรค์ เจ้าอาวาสวัดโพธาราม พระอารามหลวง

พระอุโบสถวัดโพธาราม พระอารามหลวง

เจ้าคณะอ�ำเภอแม่เปิน จังหวัดนครสวรรค์

ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดโพธาราม พระอารามหลวง SBL บันทึกประเทศไทย NAKHON SAWAN

2

.indd 51

51

20/4/2564 10:04:44


วัดเทพสามัคคีธรรม

History of Buddhism....

วัดเทพสามัคคีธรรม

วัดเทพสามัคคีธรรม ตั้งอยู่เลขที่ 210 หมู่ 12 ต�ำบลบางม่วง อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์

วัดเทพสามัคคีธรรม เริ่มสร้างวัดปี พ.ศ. 2514 โดย ยายบุญมาก สิ งห์ทอง ได้ถวายที่ดินจ�ำนวน 9 ไร่ ให้สร้างเป็นวัด

เดิมทีวัดเทพสามัคคีธรรม ชื่ อวัดเทพธิดาวนาราม ต่อมาได้เปลี่ยนมาเป็น วัดเทพสามัคคีธรรม ปัจจุบน ั วัดมีเนื้อที่ท้ังหมด 25 ไร่ และทางวัดก�ำลังซื้ อที่ดินเพิ่มเพื่อสร้างส� ำนักปฏิบัติธรรม ปัจจุบันมี พระมหาไพโรจน์ จนฺทปญโญ เป็นเจ้าอาวาส

52

2

SBL บันทึกประเทศไทย

จั งหวั ดนครสวรรค์

.indd 52

20/4/2564 10:08:17


ปณิธานเจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน มีเป้าหมายในการพัฒนาวัด 2 ด้าน คือ 1. สร้างวัดให้เป็นสถานที่สัปปายะ สะดวกสบาย ร่มเย็นเป็นสุข เหมาะแก่การบ�ำเพ็ญบุญกุศล พร้อมกับการจัดให้มกี ารศึกษาพระธรรมวินยั แก่พระภิกษุสามเณร และอุบาสกอุบาสิกา 2. พัฒนาวัดให้เป็นศูนย์ปฏิบัติธรรมที่มั่นคงต่อไป

สถานที่ส�ำคัญภายในวัดประกอบด้วย 1. อุโบสถประดิษฐานพระประธาน พลวงพ่อเทพประทานพร 2. ศาลาการเปรียญหลังใหม่กว้าง 30 เมตร ยาว 61 เมตร 3. พุทธมหาวิหารก�ำลังด�ำเนินการก่อสร้าง ซึ่งประดิษฐานหลวงพ่อเพชร และหลวงพ่อสังกัจจายน์ 4. เมรุ, ศาลาธรรมสังเวช, หอสวดมนต์, กุฏิสงฆ์ เป็นต้น

อุโบสถวัดเทพสามัคคีธรรม

ส่วนบริเวณวัดจะเน้นปลูกต้นไม้ ให้เป็นระเบียบ พัฒนาวัดให้เป็นวัด 5 ส. 1. สะสาง 2. สะดวก 3. สะอาด 4. สุขลักษณะ 5. สร้างวินัย

ศาลาการเปรียญ หอสวดมนต์

หอระฆัง

ศาลาการเปรียญ

ร่วมท�ำบุญสร้างพุทธมหาวิหาร วัดเทพสามัคคีธรรม ร่วมท�ำบุญผ่าน

พุทธมหาวิหารก�ำลังด�ำเนินการก่อสร้าง โทร 081 9732960

วัดเทพสามัคคีธรรม

พระมหาไพโรจน์ จนฺทปญฺโญ

เจ้าคณะอ�ำเภอโกรกพระ / เจ้าอาวาสวัดเทพสามัคคีธรรม

SBL บันทึกประเทศไทย NAKHON SAWAN

2

.indd 53

53

20/4/2564 10:08:25


วัดหนองปลิง History of Buddhism....

QR map วัดหนองปลิง

วัดหนองปลิง ตั้งอยู่บ้านหนองปลิง หมู่ที่ 1 ต�ำบลหนองปลิง อ�ำเภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์ สั งกัดคณะสงฆ์ มหานิกาย มีเนื้อที่ 10 ไร่ 2 งาน 94.2 ตารางวา และมีที่ธรณีสงฆ์จ�ำนวน 3 แปลง เนื้อที่ 71 ไร่ 1งาน 80 ตารางวา

54

4

.indd 54

SBL บันทึกประเทศไทย

จั งหวั ดนครสวรรค์

20/4/2564 10:09:17


วัดหนองปลิง มีนามตามชือ่ หมูบ่ า้ น ได้สร้างขึน้ ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2415 ถึงปัจจุบนั 149 ปี ได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา วันที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2508 เป็นอุโบสถที่ได้รวมก�ำลังศรัทธาชาวบ้าน โดยมีพระครูนิกรธรรมรัต (หลวงพ่อเสน่ห์ เขมปญฺโญ) อดีตเจ้าอาวาสวัดหนองปลิง รูปที่ 3 ได้ กราบอาราธนาพระเกจิอาจารย์ดังแห่งยุค ร่วมกันอุปถัมภ์ก่อสร้าง อุโบสถ อาทิเช่น หลวงพ่อกวย วัดโฆสิตาราม จังหวัดชัยนาท, หลวงพ่อกัน วั ด เขาแก้ ว , หลวงพ่ อ กลิ้ ง วั ด เกรี ย งไกรเหนื อ , หลวงพ่ อ พรหม วัดช่องแค, หลวงพ่อคง วัดทับกฤชกลาง, และอีกหลายรูป และร่วม พิ ธี พุ ท ธาภิ เ ษกวั ต ถุ ม งคลและบรรจุ ก รุ ไว้ ที่ อุ โ บสถวั ด หนองปลิ ง เนื่องจากทางวัดได้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ในปี พ.ศ.2539 พระครูนพิ นั ธ์วริ ยิ กิจ (มงคล สุมงฺคโล, หลวงพ่อหม้อ) อดีตวัดหนองปลิง รูปที่ 5 ได้รับแต่งตั้งให้ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส วัดหนองปลิง วัดมีพระภิกษุ สามเณร จ�ำพรรษามากขึ้นเลยๆ อุโบสถ มีขนาดเล็กไม่เพียงพอกับการประกอบศาสนกิจ หลวงพ่อหม้อตลอด จนพุทธบริษัท ข้าราชการ พ่อค้า ประชาชนที่อยู่ใกล้และไกล จึงได้ ร่วมกันสร้างอุโบสถหลังใหม่ มีขนาดกว้าง 12 เมตร ยาว 32 เมตร ถือว่าเป็นอุโบสถที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในจังหวัดนครสวรรค์ในขณะนั้น การก่อสร้างอุโบสถหลังใหม่แล้วเสร็จเมือ่ ปี พ.ศ. 2546 ได้รบั พระราชทาน วิสุงคามสีมาเมื่อวันที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2544 ได้ผูกพัทธสีมา วันที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2549

อุโบสถวัดหนองปลิง SBL บันทึกประเทศไทย NAKHON SAWAN

4

.indd 55

55

20/4/2564 10:09:25


อาคารเสนาสนะต่างๆ ภายในวัด เช่น วิหาร ศาลาการเปรียญ อาคารพิพิธพันธ์ อาคารเรียน พระปริยัติธรรม ศาลาธรรมสังเวช เมรุ กุฏิ และวิหารคด หอระฆัง ทางวัดได้เปิดโรงเรียนวัดหนองปลิงวิทยา เป็นโรงเรียนพระปริยตั ธิ รรม แผนกธรรม บาลี สามัญ ส�ำหรับพระภิกษุ สามเณร รวมถึงโรงเรียนของทางราชการที่ตั้งในที่ของวัด

นามเจ้าอาวาสตามที่ทราบ

1. พระครูนกิ รธรรมรัต(หลวงพ่อเสน่ห์ เขมปญฺโญ) อดีตเจ้าอาวาส วัดหนองปลิง รูปที่ 3 2. พระอธิการเพี้ยน อดีตเจ้าอาวาสวัดหนองปลิง รูปที่ 4 3. พระครูนิพันธ์วิริยกิจ (มงคล สุมงฺคโล, หลวงพ่อหม้อ) อดีตเจ้าอาวาสวัดหนองปลิง รูปที่ 5 4. พระมหาปกรณ์ ปญฺญาวุฑฺโฒ เจ้าอาวาสวัดหนองปลิง รูปปัจจุบันรูปที่ 6

56

4

.indd 56

SBL บันทึกประเทศไทย

จั งหวั ดนครสวรรค์

20/4/2564 10:09:33


พระมหาปกรณ์ ปญฺญาวุฑฺโฒ เจ้าอาวาสวัดหนองปลิง

SBL บันทึกประเทศไทย NAKHON SAWAN

4

.indd 57

57

20/4/2564 10:09:41


วัดคลองคาง History of Buddhism....

QR map วัดคลองคาง

58

2

.indd 58

วัดคลองคาง ตั้งอยู่เลขที่ 51 หมู่ที่ 3

ต�ำบลบึงเสนาท อ�ำเภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์

วัดคลองคาง เป็นวัดราษฎร์ สั งกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัด

24 ไร่ 22 ตารางวา ทิศเหนือ ติดต่อกับบึงเสนาท ทิศใต้ ติดต่อที่ดินเอกชน ทิ ศ ตะวั น ออก ติ ด ต่ อ ที่ ดิ น เอกชน ทิ ศ ตะวั น ตก ติ ด ต่ อ กั บ แม่ น้� ำ ปิ ง ตามโฉนดเลขที่ 9474 พื้นที่เป็นราบลุ่มอยู่ริมแม่น้�ำปิง

SBL บันทึกประเทศไทย

จั งหวั ดนครสวรรค์

21/4/2564 10:37:55


อาคารเสนาสนะภายในวัดประกอบด้วย อุโบสถ สร้างเมื่อ พ.ศ. 2491, ศาลาการเปรียญ สร้างเมื่อ พ.ศ. 2494,หอสวดมนต์,กุฏิสงฆ์,ศาลาธรรมสังเวช, เมรุ, ศาลาปฏิบัติธรรม ส�ำหรับปูชนียวัตถุมีพระพุทธรูปและปรางค์ต่างๆ จ�ำนวน 42 องค์ ปี พ.ศ. 2558 พระปลัดสุทัศน์ ธมฺมทีโปและชาวบ้าน ได้ซื้อที่ดิน ติดกับวัดทางด้านเหนืออุโบสถ จ�ำนวน 1 ไร่ รวมเป็นที่ดิน 24 ไร่ 22 ตารางวา

ประวัติวัดคลองคาง

อุโบสถวัดคลองคาง

วัดคลองคาง ได้สร้างขึ้นเป็นวัดนับตั้งแต่ วันที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2450 เดิมเรียก “วัดบึงเสนาทราษฎร์ศรัทธาท�ำ” โดยมี นายสิน นางจู สมัครบุญ บริจาคที่ดินให้เป็นที่สร้างวัด ได้รับวิสุงคามสีมา วันที่ 13 เมษายน พ.ศ. 2491 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 40 เมตร ยาว 80 เมตร วัดได้เปิดสอนพระปฎิยัติธรรม พ.ศ. 2515 นอกจากนี้ยังมี โรงเรียนประถมศึกษาของทางราชการตั้งอยู่ในวัด เนื้อที่ 3 ไร่ 1 งาน 50 ตารางวา ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กก่อนวัยเรียน อยู่ในที่ดินวัดเนื้อที่ ประมาณ 1 ไร่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุมชนอยูใ่ นทีว่ ดั เนือ้ ที่ 1 ไร่ และประปา อ.บ.ต.บึงเสนาทอยู่ในเนื้อที่ประมาณ 2 ไร่ มีพระภิกษุ จ�ำพรรษาปีละ 40 รูป และยังมีวิหารหลวงพ่อนาคปรก ที่ประชาชน ให้ความเคารพและมาขอพรหลวงพ่อนาคปรกเป็นจ�ำนวนมากตลอด ทั้งปี ปัจจุบันมี พระปลัดสุทัศน์ ธมฺมทีโป รองเจ้าอาวาสวัดคลองคาง ผู้รับมอบอ�ำนาจให้ท�ำการแทนเจ้าอาวาส และยังเป็นพระนักพัฒนา ที่ท�ำให้วัดเจริญรุ่งเรืองมาจนถึงปัจจุบัน

พระปลัดสุทัศน์ ธมฺมทีโป

ผู้รับมอบอ�ำนาจท�ำการแทนเจ้าอาวาส SBL บันทึกประเทศไทย NAKHON SAWAN

2

.indd 59

59

20/4/2564 10:13:34


ที่พักสงฆ์เทพนิมิตสว่างธรรม History of Buddhism....

ที่พักสงฆ์เทพนิมิตสว่างธรรม ตั้งอยู่เลขที่ 634 หมู่ 2 ต�ำบลหนองปลิง อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์

ที่ พักสงฆ์เทพนิ มิตสว่ างธรรม สั งกั ดคณะสงฆ์มหานิ กาย สร้างขึ้นตั้ งแต่ ปี พ.ศ. 2519 โดยพระสมุห์สังวาลย์ ปัญญาวโร

ท่ านเป็นพระภิ กษุสังกั ดธรรมยุติกนิ กาย ได้ จาริ กธุ ดงควั ตรมาจากจั งหวั ดพระนครศรี อยุธยามาถึ งพื้นที่ ท�ำไร่ ข้าวโพดของ

ที่พักสงฆ์เทพนิมิตสว่างธรรม

นายสาและนางเคลื่อน ต่วนชะเอม เมือ ่ เจ้าของที่ได้พบหลวงพ่อพระสมุห์สังวาลย์ ได้เกิดความศรัทธาเลื่อมใสในข้อวัตรข้อปฏิบต ั ิ อั นส� ำรวมพร้อมด้ วยชาวบ้านละแวกใกล้ เคี ยงได้ พร้อมใจชั กชวนกราบอาราธนานิ มนต์ หลวงพ่อสมุห์สังวาลย์ ให้ จ� ำพรรษา

เพื่อจะก่อตั้งสถานที่ตรงนี้เป็นวัด SBL บันทึกประเทศไทย

60

จั งหวั ดนครสวรรค์

2

.indd 60

20/4/2564 10:19:10


เมื่อหลวงพ่อและชาวบ้านได้ตกลงพร้อมกันว่าจะท�ำสถานที่นี้ให้

เป็นวัดโดยตอนแรกชาวบ้านผู้มีความศรัทธาในพื้นที่ได้ชวนกันไป ตัดไม้รวกและแฝกมาสร้างกุฏิมุงแฝกถวาย ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของพื้นที่ ต่อมาชาวบ้านหนองปลิง(ซอยสามัคคีสุข)ได้ช่วยกันเรี่ยไรปัจจัยจาก ชาวตลาดปากน�ำ้ โพโดยมี คุณนายทองอยู่ อารยกุล ได้ชว่ ยกันซือ้ ทีด่ นิ ถวายเพิม่ เติมจนเป็นอย่างทีเ่ ห็นในปัจจุบนั ซึง่ มีอาคารเสนาสนะต่างๆ อาทิเช่น วิหารกลางน�ำ้ วิหารแปดเหลี่ยม (วิหารหลวงพ่อทวด) ศาลา การเปรียญ หอสวดมนต์ กุฏิสงฆ์ จ�ำนวน 12 หลัง ศาลาธรรมสังเวช จ�ำนวน 2 หลังและเมรุ โดยจะมีพระภิกษุจ�ำพรรษาประจ�ำปีโดย ประมาณจ�ำนวน 14 รูปสามเณร 3 รูปทางวัดเปิดสอนพระปริยตั ธิ รรม ตลอดทุกปี ที่พักสงฆ์แห่งนี้เป็นสถานที่สร้างขึ้นอย่างทรงคุณค่าและน่าสนใจ เพราะเป็นสถานที่ท่องเที่ยวเชิงพุทธอันประกอบไปด้วยเขาพระสุเมรุ นวบรรพตเทพเนรมิ ต ร ซึ่ ง เกิ ด จากแรงศรั ท ธาความสามั ค คี ข อง ชาวหนองปลิงได้ร่วมกันบริจาคทุนทรัพย์และร่วมมือช่วยกันสร้าง ครอบวิหารกลางสระน�ำ้ เก่า โดยข้าวผสมนวะสร้างครอบ วิหารเก่าอัน เป็นทีป่ ระดิษฐานของหลวงพ่อพัฒน สุขเกษม สระน�ำ้ เก่า สมเด็จองค์ปฐม ทรงเครื่องจักรพรรดิประจ�ำวันเกิด 108 ถ�้ำพญานาคและวังมังกร ซุ้มประตูพญาคชสารนาคราชทรงปีก ด้านบนชั้น 2 จัดเป็นนิทรรศการพิพิธภัณฑ์เครื่องของใช้เป็นที่ บ่งบอกวิธีของชาวหนองปลิงยังเป็นที่ประดิษฐานหลวงพ่อสุขสมหวัง ปกนาคราช และด้านบนเขาพระสุเมรุนวบรรพตเทพเนรมิตชัน้ 3 เป็น ทีป่ ระดิษฐานพระมหาธาตุเจดียอ์ นั เป็นทีบ่ รรจุพระบรมสารีรกิ ธาตุและ พระพุทธเจ้าปางเปิดโลกทรงเครื่องจักรพรรดิ สิง่ ศักดิส์ ทิ ธิป์ ระจ�ำวัดนอกเหนือจากรูปหล่อองค์จำ� ลองหลวงพ่อทวด เหยียบน�้ำทะเลจืดแล้วยังมีพ่อปู่ศรีสุทโธแม่ย่าศรีปทุมมาและไอ้ไข่วัด เทพที่บันดาลปาฏิหาริย์ โชคลาภและความส�ำเร็จแก่ผู้ที่มากราบไหว้ สักการะดังค�ำพูดที่ว่าขอให้ ไหว้รับให้ประสบความส�ำเร็จสมหวังใน ทุกประการซึ่งแกะสลักจากไม้ตะเคียนหนูยืนต้นตายพรายในปีชวด คนที่มีความศรัทธากราบไหว้เชื่อว่าอภินิหารของไอ้ไข่วัดเทพช่วย บันดาลโชคลาภ อ�ำนาจ วาสนาขอสิง่ ใดก็ปงั ๆสมปรารถนาทุกอย่างจึง มีผศู้ รัทธาจากทีใ่ กล้และทีไ่ กลแวะเวียนมาขอโชคลาภกันอย่างมากมาย

ที่พักสงฆ์เทพนิมิตสว่างธรรมมีพระผู้ดูแลดังต่อไปนี้ คือ

1. พระสมุห์สังวาลย์ ปญฺญาวโร พ.ศ. 2519 – 2525 (มรณภาพที่พักสงฆ์เทพนิมิตรสว่างธรรมในขณะนั่งท่านั่งสมาธิ) 2. หลวงพ่อโท้ พ.ศ. 2525 - 2527 3. หลวงพ่อปัญญา วราโภ พ.ศ. 2527 - 2528 4. หลวงพ่อเอียน พ.ศ. 2528 - 2529 5. หลวงพ่อด�ำมาจ�ำพรรษาอยู่ 2 เดือน (ย้ายกลับภูมิลำ� เนาเดิม) 6. หลวงพ่อเดือน อคฺคปญฺโญ พ. ศ. 2529 - 2547 (ลาสิกขาไปอยู่ภูมิล�ำเนาเดิม) 7. พระสุรพล ธมฺมเตโช พ.ศ. 2547 - 2548 8. พระครูปลัดไพโรจน์ วิโรจโน พ.ศ. 2548 - 2558 9. พระมหาจิรภัทร จิรธิติเมธี พ.ศ. 2558 จนถึงปัจจุบนั

พระมหาจิรภัทร จิรธิติเมธี

ผู้ดูแลที่พักสงฆ์เทพนิมิตสว่างธรรม SBL บันทึกประเทศไทย NAKHON SAWAN

2

.indd 61

61

20/4/2564 10:19:16


History of Buddhism....

วัดสว่างวงษ์

Facebook : วัดสว่างวงษ์

62

2

วัดสว่างวงษ์ ตั้งอยู่หมู่ที่ 1 ต�ำบลตาคลี อ�ำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์

วัดสว่างวงษ์ ตั้งวัดเมือ ่ ปี พ.ศ. 2473 เดิมมีนามว่า “วัดสว่างวงษ์คณะกิจ”

โดยมีขน ุ ตาคลีคณะกิจ ก�ำนันต�ำบลตาคลี ในสมัยนั้นเป็นผู้ชักชวนชาวบ้าน

จั ด สร้ า งวั ด นี้ ข้ึ น มา ได้ รั บ พระราชทานวิ สุ ง คามสี ม าเมื่ อ ปี พ.ศ. 2491 การศึ กษา มีโรงเรียนพระปริยต ั ิธรรมแผนกธรรม เปิดสอนเมือ ่ ปี พ. ศ. 2500 การบริหารและการปกครอง มีเจ้ าอาวาสรู ปปัจจุ บัน คื อ พระครู นิพัทธ์

สุธีราภรณ์ รองเจ้าคณะอ�ำเภอตาคลี (ฝ่ายการศึ กษา)

SBL บันทึกประเทศไทย

จั งหวั ดนครสวรรค์

.indd 62

20/4/2564 10:23:29


สังกัดคณะสงฆ์มหานิกายที่ดินที่ตั้งวัดมีเนื้อที่ 16 ไร่ 2 งาน 97 ตารางวา โฉนดที่ดินเลขที่ 55906 มีที่ธรณีสงฆ์ จ�ำนวน 1 แปลง เนื้ อ ที่ 57 ไร่ 1 งาน 50 ตารางวา โฉนดที่ ดิ น เลขที่ 5434 อาคารเสนาสนะ ประกอบด้วย อุโบสถ กว้าง 9 เมตร ยาว 18 เมตร สร้างเมือ่ ปี พ. ศ. 2500 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก ศาลาการเปรียญ กว้าง 26 เมตร ยาว 40 เมตรสร้างเมือ่ ปี พ.ศ. 2515 เป็นอาคารคอนกรีต เสริมเหล็ก กุฏสิ งฆ์ จ�ำนวน 3 หลังเป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 หลัง ศาลาบ�ำเพ็ญกุศล จ�ำนวน 1 หลังสร้างเมื่อปี พ.ศ. 2533 เป็นอาคาร คอนกรีตเสริมเหล็ก นอกจากนี้มี ฌาปนสถาน 1 หลังหอระฆัง 2 หลัง หอกลอง 1 หลังเรือนรับรอง 1 หลังพิพธิ ภัณฑ์ทรงไทย 2 ชัน้ , เรือนแฝด สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2553

อุโบสถวัดสว่างวงษ์

อาณาเขต

ทิศเหนือ จดทางสาธารณะ ทิศใต้ จดที่ดินเอกชน ทิศตะวันออก จดทางรถไฟ ทิศตะวันตก จดภูเขา มีพระประธานประจ�ำอุโบสถสร้างเมือ่ ปี พ.ศ. 2500 ปูชนียวัตถุอนื่ ๆ หลวงพ่อล�ำพูน พระพุทธรูปประจ�ำวัด

สวนป่าวัดสว่างวงษ์

พระครูนิพัทธ์สุธีราภรณ์ (จ�ำนงค์ สุธีโร) เจ้าคณะอ�ำเภอตาคลี / เจ้าอาวาสวัดสว่างวงษ์

SBL บันทึกประเทศไทย NAKHON SAWAN

2

.indd 63

63

20/4/2564 10:23:39


วัดหนองโพ History of Buddhism....

Facebook : วัดหนองโพ

วัดหนองโพ ตั้งอยู่เลขที่ 206 หมู่ที่ 1 ต�ำบลหนองโพ อ�ำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์

วัดหนองโพ ก่อตั้งขึ้นในราวปลายสมัยกรุ งธนบุรี บนพืน ้ ที่เนินดินที่เป็นวัดเก่าตั้งแต่สมัยอยุธยาแต่ถูกทิ้งร้างไป โดยมีหลวงพ่อเฒ่า(รอด)

เป็นปฐมสมภารของวัดหนองโพ สั ญลั กษณ์ของวัดหนองโพ คื อ ต้ นโพแผ่ก่ิงกระจาย ชาวบ้านเรียกว่า “วัดสมโภชโพธิ์กระจาย” ต่ อมา เปลี่ยนเป็น “วัดสมโภชโพธิ์เย็น” และครั้นในสมัยรัชกาลที่ 5 สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระยาวชิ รญาณวโรรส ทรงเปลี่ยนนามวัดเป็น “วัดหนองโพ” ตามชื่ อบ้านได้รับพระราชทานวิสุงคามสี มาเมื่อปี พ.ศ. 2458 เขตวิสุงคามสี มา กว้าง 11 เมตร ยาว 19 เมตร สั งกัดคณะสงฆ์

มหานิกาย ที่ดินที่ต้ังวัดมีเนื้อที่ 71 ไร่ 15.60 ตารางวา โฉนดที่ดินเลขที่ 15704 (น.ส.4จ) มีที่ธรณีสงฆ์จ�ำนวน 7 แปลงเนื้อที่ 80 ไร่ 3 งาน 344 ตารางวา โฉนดที่ดินเลขที่ 38139 น.ส.3 ก. เลขที่ 3078

64

4

.indd 64

SBL บันทึกประเทศไทย

จั งหวั ดนครสวรรค์

20/4/2564 10:27:43


อาคารเสนาสนะภายในวัดประกอบด้วย อุโบสถ กว้าง 8 เมตร ยาว 18 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2458 เป็น อาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก ศาลาการเปรียญ กว้าง 28 เมตร ยาว 41 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2524 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก หอสวดมนต์ กว้าง 10 เมตร ยาว 12 เมตร สร้างเมือ่ ปี พ.ศ. 2469 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก กุฏิสงฆ์ จ�ำนวน 7 หลัง เป็นอาคารไม้ 4 หลัง เป็นอาคารครึ่งตึก ครึ่งไม้ 3 หลัง ศาลาอเนกประสงค์ กว้าง 8 เมตร ยาว 12 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2530 ศาลาบ�ำเพ็ญกุศล เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก นอกจากนีม้ ี ฌาปนสถาน 1 หลัง, หอระฆัง 2 หลัง, หอกลอง 1 หลัง, โรงครัว 2 หลัง, เรือนเก็บพัสดุ 1 หลัง

สถานที่ส�ำคัญภายในวัดหนองโพ 1. รูปหล่อของหลวงพ่อเดิม สร้างขึน้ เมือ่ ปี พ.ศ. 2482 สมัยหลวงพ่อ ยังมีชวี ติ อยู่ พรรษากาลได้ 60 พรรษาอายุของหลวงพ่อ 82 ปี ปัจจุบนั ประดิษฐานอยู่บนมณฑป

3. พระเจดีย์โพกระจาย เป็นเจดีย์ที่หลวงพ่อเดิม พุทฺธสโร ให้สร้างขึน้ เมือ่ ปี พ.ศ. 2470 เพือ่ ระลึกถึงต้นโพกระจาย สัญลักษณ์ ดั้งเดิมของหมู่บ้าน 4. เจดีย์ 3 องค์ สถูปบรรจุอิฐและเถ้าอังคารของหลวงพ่อเดิม หลวงพ่อเดิม พุทธฺ สโร สร้างเจดียร์ ายหน้าอุโบสถขึน้ จ�ำนวน 3 องค์ เป็นเจดียท์ รงจอมแห ฐานสิงห์ยอ่ มุมไม้สบิ สอง ส�ำหรับเจดียอ์ งค์กลาง มีซุ้มเรือนเพื่อใช้บรรจุอัฐิเถ้าอังคารของหลวงพ่อเดิม พุทฺธสโร

5. หอสวดมนต์ สร้างเมือ่ ปี พ.ศ. 2469 หลวงพ่อเดิม ได้มอบให้ หลวงพ่อสมุห์ชุ่ม ขนฺธสโร เป็นประธานในการสร้าง เพื่อใช้เป็นที่ ท�ำวัตรสวดมนต์ของพระภิกษุ สามเณร 6. กุฏิหลังเก่า เป็นกุฏิ ที่หลวงพ่อเดิมร่วมแรงกับชาวบ้าน ชักลากไม้จากป่าลึกมาตัดมาเลื่อยประกอบสร้างขึ้น 7. สระน�้ำใหญ่ 8. สระบัว (สระหินเก่า)

2. อุโบสถหลวงพ่อเดิม หลวงพ่อเดิม พุทฺธสโร ได้สร้างอุโบสถ ก่ออิฐถือปูนขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2458 ในเขตพัทธสีมาเดิมแทนอุโบสถเดิม ที่เป็นไม้และช�ำรุดตามกาลเวลา

อุโบสถหลวงพ่อเดิม

พระครูนิปุณพัฒนวงศ์ ดร. (สมพงษ์ ทนฺตจิตฺโต)

เจ้าอาวาสวัดหนองโพ เจ้าส�ำนักศาสนศึกษาวัดหนองโพ / เจ้าคณะต�ำบลหนองโพ เขต 1

SBL บันทึกประเทศไทย NAKHON SAWAN

4

.indd 65

65

20/4/2564 10:27:52


มีดหมอยักษ์จักรนารายณ์หลวงพ่อเดิม

9. ศาลามีดหมอหลวงพ่อเดิม พระครูนิปุณพัฒนวงศ์ เจ้าอาวาส องค์ปัจจุบันสร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2555 เพื่อใช้ประดิษฐานมีดหมอยักษ์ จักรนารายณ์ขนาดใหญ่ มีนำ�้ หนัก 2555 กิโลกรัม ที่สร้างขึ้นเพื่อให้ ศิษยานุศิษย์ของหลวงพ่อเดิม พุทฺธสโร ได้สักการะบูชา 10. เมรุพระราชเพลิงศพ หลวงพ่อเดิม สร้างขึน้ เมือ่ ต้นปี พ.ศ. 2494 ใช้เวลาในการสร้าง 4 เดือน ซึ่งเป็นพรรษาสุดท้ายของหลวงพ่อเดิม ต่อมาหลวงพ่อเดิมได้มรณภาพลงเมือ่ วันศุกร์ ที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2494 จึงได้ใช้เมรุหลังนี้ประกอบพิธีพระราชทานเพลิงศพของหลวงพ่อเดิม ในปี พ.ศ. 2495

66

4

.indd 66

11. พระมหาธาตุเจดีย์นิวาสธรรมขันธ์ กิตติคุณัปปกาสินี ได้ เริม่ ก่อสร้างมาตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2550 อยูท่ างทิศตะวันออกเฉียงเหนือของ พระอุโบสถเป็นลักษณะของรูปแบบสถาปัตยกรรมผสมผสานระหว่าง ภาคเหนือตอนล่าง ภาคกลางตอนบน ส่วนของพระธาตุเจดีย์สามารถ เข้าได้ 3 ทิศทาง ภายในจะมีบุษบกประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ ขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าและพระพุทธสาวก 12. หลวงพ่อศิลายืนพระพุทธรูปหินแกรนิตแกะสลัก เป็น พระพุทธรูปที่สวยงาม ปางห้ามสมุทรประจ�ำวันจันทร์ และปางร�ำพึง ประจ�ำวันศุกร์ เพือ่ ให้ทกุ ท่านได้สกั การบูชา สร้างถวายโดย คุณมานิตย์คุณศิริวรรณ แดงบุญมา และครอบครัว

พระมหาธาตุเจดีย์

SBL บันทึกประเทศไทย

จั งหวั ดนครสวรรค์

20/4/2564 10:28:01


วัดหนองโพ

หอฉันหลวงพ่อเดิม 13. หอฉันหลวงพ่อเดิม สร้างราวปี พ.ศ. 2470 เพื่อเป็นที่ ฉันภัตตาหารของหลวงพ่อเดิม และภิกษุสามเณร เมือ่ กาลผ่านมาเป็น เวลานานจึงช�ำรุดทรุดโทรม ต่อมาปี พ.ศ. 2559 พระครูนปิ ณ ุ พัฒนวงศ์ เจ้าอาวาสรูปปัจจุบนั จึงได้ทำ� การบูรณะขึน้ ใหม่ในลักษณะเดิม เพือ่ เป็น การอนุรักษ์สิ่งที่มีค่าไว้เป็นอนุสรณ์ระลึกถึงหลวงพ่อเดิมตลอดไป 14. พิพิธภัณฑ์หลวงพ่อเดิม เปิดท�ำการเมื่อ พ.ศ.2558 ตั้งอยู่ บริเวณฐานองค์ระฆังของเจดีย์ พระมหาธาตุเจดีย์นิวาสธรรมขันธ์ กิตติคุณัปปกาสินี เพื่อเผยแผ่กิตติคุณของหลวงพ่อเดิม พุทฺธสโร และรวบรวมเรื่องราวด้านประวัติศาสตร์ วัฒนธรรมประเพณี ของ ชาวบ้านหนองโพ

SBL บันทึกประเทศไทย NAKHON SAWAN

4

.indd 67

67

20/4/2564 10:28:11


วัดหนองสีนวล History of Buddhism....

Facebook : วัดหนองสีนวล

วัดหนองสี นวล ตั้งอยู่เลขที่ 2 หมู่ที่ 5 ต�ำบลตาคลี อ�ำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์

วั ด หนองสี น วล สั ง กั ด คณะสงฆ์ ม หานิ ก าย พื้ น ที่ ต้ั ง วั ด เป็ น ที่ ร าบลุ่ ม สภาพแวดล้ อ มเป็ น หมู่ บ้า นและทุ่ ง นา มี ถ นนสาธารณะเป็ น

ทางคมนาคม เดิ นทางสะดวก สร้ างเป็นวั ดตั้ งแต่ ปี พ.ศ. 2444 มีนามเดิ มเรียกว่ า “วั ดหนองตานวล” ได้ รับพระราชทานวิ สุงคามสี มา วันที่ 8 สิ งหาคม 2476 ผูกพัทธสี มา วันที่ 25 เมษายน 2477

68

4

SBL บันทึกประเทศไทย

จั งหวั ดนครสวรรค์

.indd 68

20/4/2564 10:30:52


อาคารเสนาสนะภายในวัดประกอบด้วย - อุโบสถ สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2477 - ศาลาการเปรียญ สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2500 - หอสวดมนต์ สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2513 - ศาลาอเนกประสงค์ ศาลาบ�ำเพ็ญกุศล นอกจากนี้ยังมี หอระฆัง มณฑป โรงครัว เรือนเก็บพัสดุและ ฌาปนสถาน ส�ำหรับปูชนียวัตถุ มี พระประธานประจ�ำอุโบสถ เป็น พระพุทธรูปปูนปั้นปางมารวิชัย สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2477 พระประธาน ประจ�ำศาลาการเปรียญ ปางมารวิชัย สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2545 รูปหล่อ หลวงพ่อรุง่ และมีเหรียญพระราชทาน ร.7 ได้รบั พระราชทาน พ.ศ. 2477

อุโบสถวัดหนองสีนวล

ประวัติพระแสงศรก�ำลังราม

พระแสงศรก�ำลังราม เป็นพระแสงเนื้อสัมฤทธิ์ เก่าแก่ สง่า และ สวยงาม หลวงพ่อรุ่ง เจ้าอาวาสวัดหนองสีนวล อ�ำเภอตาคลี จังหวัด นครสวรรค์ พร้อมด้วยลูกศิษย์ได้พบศรนี้เมื่อวันที่ 17 มกราคม ร.ศ. 129 ( พ.ศ. 2453) บนไหล่เขาชอนเดือ่ อ�ำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์ และได้นำ� ถวายพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 ทรงพระราชทานนามศรนี้ว่า “พระแสงศรก�ำลังราม” มีลักษณะ หัวคันศรเป็นรูปพญานาค 3 เศียร และหางคันศรเป็นหางนาคราช ท�ำด้วยสัมฤทธิ์ คันศรท�ำด้วยเหล็กยาว 81 เซนติเมตร หัวลูกศรเป็น รูปวชิระ ลูกศรยาว 11.40 เซนติเมตร

SBL บันทึกประเทศไทย NAKHON SAWAN

4

.indd 69

69

20/4/2564 10:30:59


รายนามเจ้าอาวาส วัดหนองสีนวล ตั้งแต่อดีต – ปัจจุบัน

รูปที่ 1 หลวงพ่อรุ่ง ฆํคสุวณฺโณ พ.ศ. 2444 – 2489 รูปที่ 2 พระครูจิตรชัยการ (หลวงพ่อสด) พ.ศ. 2489 – 2495 รูปที่ 3 พระครูนิสัยจริยคุณ รักษาการเจ้าอาวาส พ.ศ. 2495 – 2495 รูปที่ 4 พระอาจารย์ปภากโร พ.ศ. 2499 – 2499 รูปที่ 5 พระครูนิพนธ์สาธุกิจ พ.ศ. 2499 – 2517 รูปที่ 6 พระสมุห์ปลด จนฺทวฺโส พ.ศ. 2517 – 2523 รูปที่ 7 พระปลัดกุหลาบ โฆสิโต พ.ศ. 2523 – 2523 รูปที่ 8 พระอธิการบก วุฑฺฒิธมฺโม พ.ศ. 2523 – 2524 รูปที่ 9 พระครูนิยมธรรโกศล พ.ศ. 2524 – 2548 รูปที่ 10 พระครูนิทัศน์กิจจาทร พ.ศ. 2549 – ปัจจุบนั

70

4

SBL บันทึกประเทศไทย

จั งหวั ดนครสวรรค์

.indd 70

20/4/2564 10:31:05


วัดหนองโพ ปฏิปทาพระสุปฏิปันโน

หลวงพ่อรุ่ง ฆํคสุวณฺโณ วัดหนองสีนวล

หลวงพ่อรุ่ง ฆํคสุวณฺโณ เกิดเมื่อวันพุธที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2412 ที่บ้านหัวหวาย อ�ำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์ โดยบิดา ชือ่ แป้น แป้นโต โยมมารดาชือ่ พุม่ แป้นโต อุปสมบท ณ พัทธสีมา วัดมะปรางเหลือง อ�ำเภอพยุหะคีรี จังหวัดนครสวรรค์ โดยมี หลวงพ่ อ ปั ้ น วั ด หั ว ถนน เป็ น พระอุ ป ั ช ฌาย์ หลวงพ่ อ เงิ น วัดมะปรางเมือง เป็นกรรมวาจาจารย์ หลวงพ่อเทศ วัดสระทะเล เป็นอนุสาวนาจารย์ เมือ่ อุปสมบทแล้วได้จำ� พรรษา ณ วัดมะปรางเหลือง ด้านศึกษา - พัฒนา ได้ศกึ ษาธรรมวินยั ทีว่ ดั มะปรางเหลืองกับ พระกรรมวาจาจารย์ ทัง้ คันถธุระและวิปสั สนาธุระ ปรากฏว่าท่าน สามารถหยั่งรู้ความเป็นไปของสัตว์ในคติภพต่างๆ เมื่อศึกษาจน เป็นทีพ่ อใจในระดับหนึง่ แล้ว ท่านได้กลับมาจ�ำพรรษาทีว่ ดั บ้านเกิด คือวัดหัวหวาย และเมือ่ วัดว่างเจ้าอาวาส ท่านก็ได้รบั เป็นเจ้าอาวาส วัดหัวหวาย ในขณะที่พรรษาได้ประมาณ 5 พรรษาต่อมาที่ บ้านหัวหวายมีความเดือดร้อนล�ำเค็ญเกีย่ วกับเรือ่ งน�ำ้ และสภาวะ บีบคัน้ ด้านอืน่ ๆ ท่านสงสารญาติโยมจึงได้จาริก แสวงหาท�ำเลทีต่ งั้ หมูบ่ า้ นใหม่โดยท่านได้ใช้วชิ าทีศ่ กึ ษาเล่าเรียนมาเสีย่ งทายหาท�ำเล ทีเ่ หมาะสมประมาณ 4-5 ที่ จึงได้มาพบหนองน�ำ้ ทีม่ นี กเขาชุกชุมมาก และมีนกเขาตัวหนึ่งสีนวลสวยงามเป็นจุดเด่นอยู่ด้วย ท่านจึง ตกลงใจยึดท�ำที่เหมาะสมกลับไปน�ำญาติโยมจากบ้านหัวหวาย อพยพมาอยู ่ ค รั้ ง แรก 30 ครอบครั ว ต่ อ มาได้ อ พยพตามมา เป็นจ�ำนวนมาก ท่านได้รื้อกุฏิและศาลาวัดหัวหวายมาสร้างที่ วัดหนองสีนวล ด้วยโดยได้สร้าง วัดหนองสีนวล เมือ่ วันที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2444 ตรงกับรัชสมัยของพระปิยมหาราช ร.5 ครั้งถึง พ.ศ. 2453 ท่านได้พบ แสงศร และได้น�ำทูลเกล้าฯ ถวายพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ร.5 ด้วยตนเอง ซึ่งพระแสงศรดังกล่าว จัดเป็นของส�ำคัญอีกอย่างหนึ่งในรัชสมัย ของพระองค์ด้วย ความเกี่ยวพันกับหลวงพ่อเดิมฯ หลวงพ่อรุ่งมีความเกี่ยวข้อง เป็นญาติกับหลวงพ่อเดิม (เป็นพี่หลวงพ่อเดิม 11 ปี) โดยโยม มารดาของท่านทั้งสองเป็นพี่น้องกันและท่านทั้งสองได้ช่วยกัน ปฏิบตั ศิ าสนกิจมาโดยล�ำดับเช่น การก่อสร้างอุโบสถ วัดหนองสีนวล ก็ปรากฏว่าหลวงพ่อเดิมได้มสี ว่ นช่วยในการก่อสร้างจนส�ำเร็จลุลว่ ง อย่างรวดเร็ว หลวงพ่ อ รุ ่ ง ได้ พั ฒ นาวั ด หนองสี น วลมาโดยล� ำ ดั บ จนถึ ง วันพฤหัสบดีที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2489 ท่านได้มรณภาพละสังขาร สิรริ วมอายุได้ 77 ปี พรรษา 54 เป็นเจ้าอาวาสวัดหนองสีนวล 44 ปี

SBL บันทึกประเทศไทย NAKHON SAWAN

4

.indd 71

71

20/4/2564 10:31:09


map : วัดหัวหวาย

วัดหัวหวาย History of Buddhism....

วัดหัวหวาย ตั้งอยู่เลขที่ 686 บ้านหัวหวาย หมู่ที่ 1 ต�ำบลหัวหวาย อ�ำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์

วัดหัวหวาย สั งกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ก่อสร้างขึ้นเมื่อประมาณปี พ.ศ. 2439 โดยหลวงพ่อรุ ่ง ฆํตสุวณฺโณ (หลวงพ่อรุ ่ง กับหลวงพ่อเดิม

วัดหนองโพเกี่ยวพันเป็นญาติกัน โดยหลวงพ่อรุ ่งเป็นญาติผู้พี่) หลวงพ่อรุ ่งเกิดที่บ้านหัวหวาย ซึ่ งเดิมทีน้ันเรียกว่าห้วยหวาย (สมัยยังเป็น มณฑลนครสวรรค์ กรุ งสยาม) อุปสมบทที่วัดมะปราง พยุหะคีรี จังหวัดนครสวรรค์ และได้จ�ำพรรษาอยู่ที่วัดมะปราง ขณะอยู่วัดมะปราง

ก็ได้ฝึกกัมมัฎฐานทั้งสมกะภาวนาและวิปัสสนาภาวนา เมื่ออุปสมบทได้ 5พรรษา ท่านได้ย้ายกลับบ้านเดิม คือบ้านหัวหวายและได้ก่อสร้าง วัดหัวหวายขึ้น เมื่อปี พ.ศ. 2439 (จากที่ท่านเล่าให้พระครู นิสัย จริยคุณ ฟังโดยมีพระครู นิยมธรรมโกศล ร่วมฟังอยู่ด้วย)

มณฑปวัดหัวหวาย

สมเด็ จพระมหารั ชมังคลาจารย์ เจ้ าคณะใหญ่หนเหนื อ เจ้ าอาวาสวั ดปากน้� ำ ภาษีเจริ ญ กรรมการมหาเถรสมาคม องค์ ประธาน

วางศิ ลาฤกษ์มณฑป เททองหล่อพระรู ปเหมือน หลวงพ่อรุ ่ง หลวงพ่อเดิม หลวงพ่อทองค�ำ และปลูกต้นพิกุล ณ วัดหัวหวาย ต�ำบลหัวหวาย อ�ำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์ วันที่ 4 กันยายน 2540

72

2

.indd 72

SBL บันทึกประเทศไทย

จั งหวั ดนครสวรรค์

20/4/2564 10:36:29


อาคารเสนาสนะภายในวัดประกอบด้วย อุโบสถ กว้าง 8 เมตร ยาว 25 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2503 เป็น อาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก ศาลาการเปรียญ กว้าง 24 เมตร ยาว 40 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2439 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก ทรงไทย หอสวดมนต์ กว้าง 14 เมตร ยาว 10 เมตร กุฏิสงฆ์ จ�ำนวน 14 หลังเป็นอาคารครึ่งตึกครึ่งไม้ มณฑป สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2539 กว้าง 14 เมตร ยาว 14 เมตร เป็น อาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก วิหาร จ�ำนวน 1 หลัง ศาลาอเนกประสงค์ กว้าง 12 เมตร ยาว 10 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2550 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก ศาลาบ�ำเพ็ญกุศล จ�ำนวน 1 หลัง สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2547 เป็น อาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก นอกจากนี้มี ฌาปนสถาน 1 หลังโรงครัว 1 หลัง

พ.ศ.2542 พระครูนิพัทธปัญญาคุณ รับตราตั้งเจ้าอาวาสชั้นโท จากสมเด็จญานสังวร สมเด็จพระสังฆราช

วันที่ 4 กันยายน พ.ศ.2540 สมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ วัดปากน�้ำ ปลูกต้นพิกุล ณ วัดหัวหวาย

ปูชนียวัตถุ ส�ำคัญภายในวัด

มี พระประธานประจ�ำอุโบสถ ปางมารวิชัย ขนาดหน้าตักกว้าง 159 นิว้ สูง 209 นิว้ สร้างเมือ่ ปี พ.ศ. 2518, พระประธานประจ�ำศาลา การเปรียญ ปางสมาธิ ขนาดหน้าตักกว้าง 100 นิ้ว สูง 169 นิ้ว สร้าง เมื่อปี พ.ศ. 2532 ปูชนียวัตถุ อื่นๆ หลวงพ่อรุ่ง หลวงพ่อเดิม หลวงพ่อ ทองค�ำ ประดิษฐานในวิหาร

พระครูนิพัทธปัญญาคุณ ฉายา วฺลลโภ

วิทยฐานะ นักธรรมเอก วุฒิปริญญาตรี พุทธศาสตรบัณฑิต(พธ.บ) ปัจจุบันด�ำรงต�ำแหน่ง 1. เจ้าอาวาสวัดหัวหวาย 2. เจ้าคณะต�ำบลหัวหวาย เขต 1 3. ประธานหน่วยอบรมประชาชนประจ�ำ ต�ำบลหัวหวาย 4. พระอุปัชฌาย์ รุ่น 37 ต�ำบลหัวหวาย เขต 1

อุโบสถวัดหัวหวาย

พระครูนิพัทธปัญญาคุณ เจ้าคณะต�ำบลหัวหวาย เขต 1 เจ้าอาวาสวัดหัวหวาย

SBL บันทึกประเทศไทย NAKHON SAWAN

2

.indd 73

73

20/4/2564 10:36:38


facebook : วัดจันเสน

วัดจันเสน History of Buddhism....

วัดจันเสน ตั้งอยู่เลขที่ 235 หมู่ที่ 1 ต�ำบลจันเสน อ�ำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์

วั ดจั นเสน ตามหลั กฐานจากเอกสารรับรองสถานภาพของวั ดจากส� ำนั กงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ก่ อตั้ งขึ้นเมื่อ พ. ศ. 2446

โดยหลวงพ่อเขียนเป็นเจ้าอาวาสรู ปแรก ในสมัยต่อๆมาวัดก็ทรุ ดโทรมลงเรื่อยๆจนมาถึงสมัยหลวงพ่อโอดเป็นเจ้าอาวาส ท่านได้พัฒนาวัด และสร้างแหล่งเรียนรู ท ้ ี่ส�ำคัญ นั่นก็คือ พิพธ ิ ภัณฑ์จันเสนซึ่ งตั้งอยูภ ่ ายในพระมหาธาตุเจดียศ ์ รีจันเสน ต่อมาในสมัยหลวงพ่อเจริญ เจ้าอาวาส รู ปปัจจุบันท่านได้มีด�ำริให้สร้างแหล่งเรียนรู ้ที่ส�ำคัญของชุ มชนขึ้นอีกหลายแห่ง

74

2

.indd 74

SBL บันทึกประเทศไทย

จั งหวั ดนครสวรรค์

20/4/2564 10:40:23


พระมหาธาตุเจดีย์ศรีจันเสน บริเวณใกล้สถานทีต่ งั้ ของวัดจันเสน มีเมืองโบราณในสมัยทวารวดี

จากการส�ำรวจพบหลักฐานทางประวัติศาสตร์มากมาย เช่น ลูกปัด เครือ่ งปัน้ ดินเผา ตุก๊ ตาดินเผา พระพิมพ์ดนิ เผา และชิน้ ส่วนธรรมจักร ฯลฯ ซึ่งโบราณวัตถุที่ได้จากการขุดค้นเหล่านี้ได้น�ำมาจัดแสดงไว้ภายใน พิพธิ ภัณฑ์จนั เสน ซึง่ เป็นพิพธิ ภัณฑ์ทเี่ กิดจากด�ำริของหลวงพ่อโอด และ สืบสานปณิธานต่อโดยหลวงพ่อเจริญ เจ้าอาวาสวัดจันเสนรูปปัจจุบัน พิพธิ ภัณฑ์จนั เสนเปิดให้เข้าชมในวันพุธถึงวันอาทิตย์และวันหยุดนักขัตฤกษ์ โดยในวันเสาร์อาทิตย์จะมีอาสาสมัครยุวมัคคุเทศก์ท�ำหน้าที่บรรยาย น�ำชมอีกด้วย

อุโบสถวัดจันเสน

ภายในบริเวณวัดจันเสนยังมีแหล่งเรียนรู้อีกหลายแห่ง เช่น

อุโบสถวัดจันเสน ด้านในประดิษฐานหลวงพ่อนาคพระพุทธรูป ศักดิ์สิทธิ์ท่ีชาวจันเสนนับถือศรัทธาเป็นอย่างมาก นอกจากนี้บนผนัง รอบๆ อุโบสถด้านในยังมีภาพแกะสลักไม้ลงรักปิดทองทีส่ วยงามวิจติ ร ตระการตาเป็นภาพพุทธประวัติการผจญมาร และภาพเขาพระสุเมรุ ภาพวาดอนุพุทธประวัติ ภาพวาด พระอสีติ 80 รูป ภาพวาดเกจิของ อ�ำเภอตาคลี ได้แก่ หลวงพ่อเดิม หลวงพ่อรุ่ง หลวงพ่อโอด และภาพ วิถีชีวิต ประเพณี วัฒนธรรมของชาวจันเสน ซึ่งภาพจิตรกรรมเหล่านี้ จะผสมผสานลวดลายแบบสถาปัตยกรรมทวารวดีเข้าไปด้วย ภายนอก อุโบสถทางด้านหน้าและด้านหลังเป็นภาพจิตรกรรมปูนปั้นบอกเล่า เรื่องราวของชุมชนจันเสน ตั้งแต่สมัยทวารวดีจนถึงปัจจุบัน

พระครูนิวิฐธรรมขันธ์ (เจริญ มุนิจารี) เจ้าอาวาสวัดจันเสน

ศูนย์วฒ ั นธรรมเฉลิมราช ด้านในจัดแสดงนิทรรศการเฉลิมพระเกียรติ และจัดแสดงเรือ่ งราวของภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่ ชัน้ บนจัดแสดงนิทรรศการ เครื่องอัฐบริขารและพิพิธภัณฑ์หลวงพ่อโอด กลุม่ สตรีทอผ้าด้วยกีก่ ระตุกวัดจันเสน เกิดจากด�ำริของหลวงพ่อเจริญ เพื่อเป็นการอนุรักษ์และฟื้นฟูภูมิปัญญาให้อยู่คู่ชุมชนต่อไป

SBL บันทึกประเทศไทย NAKHON SAWAN

2

.indd 75

75

20/4/2564 10:40:32


วัดวาปีรัตนาราม History of Buddhism....

Map : วัดวาปีรัตนาราม

วัดวาปีรัตนาราม ตั้งอยู่เลขที่ 141 หมู่ที่ 2 ต�ำบลหนองโพ อ�ำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์

วัดวาปีรัตนาราม เป็นวัดราษฏร์ สั งกัดมหานิกาย ภาค 4 หนเหนือ ที่ดินตั้งวัดเดิมมี 7 ไร่เศษ ทิศตะวันออกจรดถนนรถไฟ ทิศใต้จรดที่ดิน

ของ นายค�ำ - นางหลง โพธิ์ยี่ ทิศเหนือจรดที่นาของ พล.อ.อ.บุญจันทร์ - นางสมคิด พลับเพลิง ทิศตะวันตก จรดที่นาของนายเสงี่ยมนางหน่วง ศรีด้วง จากนั้นมีผู้ถวายที่ดินกับวัดวาปีรัตนารามอีกหลายแปลง ปัจจุบันวัดวาปีรัตนารามมีที่ดินทั้งหมด 165 ไร่ เศษ

วัดนี้สร้างมาก่อนพระราชบัญญัติ พ.ศ. 2484 ไม่สามารถจะทราบปีที่สร้างได้ ทราบเพียงว่า เจ้าอาวาสรู ปแรกได้รับการแต่งตั้งเมื่อ

พ.ศ. 2446 เดิมชื่ อ “วัดหนองปลักแรด” แต่ชาวบ้านมักเรียกว่า “วัดหัวกุญแจ” มาในสมัย พระครู นิพัทธปริยัติกิจ เป็นเจ้าอาวาส ท่านกลัว จะมีการสั บสน จึงเปลี่ยนชื่ อใหม่ว่า “วัดวาปีรัตนาราม” ความหมายว่า “อาราม” แปลว่า ที่อยู่อันพึงพอใจ “วาปี” แปลว่า หนอง “รัตน” แปลว่า แก้ว จึงเป็นที่มาถึงปัจจุบันนี้

76

2

SBL บันทึกประเทศไทย

จั งหวั ดนครสวรรค์

.indd 76

20/4/2564 10:43:33


ผลงานดีเด่นที่ ได้รับการยกย่องในทางพุทธศาสนา 1. พ.ศ. 2509 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา 2. พ.ศ. 2545 ได้รับคัดเลือกจากกรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ เป็นอุทยาการศึกษาในวัด 3. พ.ศ. 2547 ได้รบั คัดเลือกจากส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ เป็นวัดพัฒนาตัวอย่าง 4. พ.ศ. 2549 ได้รบั คัดเลือกจากส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ เป็นวัดพัฒนาตัวอย่างที่มีผลงานดีเด่น

อุโบสถวัดวาปีรัตนาราม

ล�ำดับเจ้าอาวาส

1. พระอธิการคูณ ปญฺญาโสภโณ พ.ศ. 2446 - 2485 2. พระครูนพิ ัทธปริยัติกิจ (บุญมี อตฺตรกฺโข) พ.ศ. 2492 - 2558 3. พระปลัดปุญญวิชช์ ปุญญฺ กาโม พ.ศ. 2558 - ปัจจุบนั

ต�ำแหน่ง ด้านการปกครองเจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน

พระปลัดปุญญวิชช์ ปุญฺญกาโม (นธ.เอก, พธ.บ./รป.ม.) ปัจจุบัน ด�ำรงต�ำแหน่ง พ.ศ. 2558 รับฐานานุกรมใน พระครูนิพัทธ์สุธีราภรณ์ เจ้าคณะอ�ำเภอตาคลี ที่ พระปลัด พ.ศ. 2558 รับต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดวาปีรัตนาราม พ.ศ. 2558 รับต�ำแหน่ง ผูจ้ ดั การโรงเรียนวัดวาปีรตั นารามวิทยา พ.ศ. 2561 รับต�ำแหน่งเจ้าคณะต�ำบลหนองโพ เขต 2 พ.ศ. 2562 รับตราตั้งพระอุปัชฌาย์ ด้านการศึกษาภายในวัด วัดวาปีรตั นาราม เป็นโรงเรียนมีการเรียนการสอนพระปริยตั ธิ รรม แผนกธรรม-บาลี รวมทั้งการศึกษาสายสามัญ โดยใช้ชื่อโรงเรียน วัดวาปีรัตนารามวิทยา เปิดท�ำการเรียนการสอน ตั้งแต่ชั้น ม.1-ม.6

พระปลัดปุญญวิชช์ ปุญฺญกาโม เจ้าอาวาสวัดวาปีรัตนาราม

SBL บันทึกประเทศไทย NAKHON SAWAN

2

.indd 77

77

20/4/2564 10:43:44


วัดเขาวงษ์ History of Buddhism....

Facebook : วัดเขาวงษ์

วัดเขาวงษ์ ตั้งอยู่เลขที่ 35 บ้านเขาวงษ์ หมู่ที่ 8 ต�ำบลช่ องแค อ�ำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์

วัดเขาวงษ์ สั งกัดคณะสงฆ์มหานิกาย เป็นวัดเก่าอายุ กว่า 140 ปี โดยมีหลวงพ่อช่ วย เป็นผูน ้ ำ � ในการสร้างวัด ได้รบ ั พระราชทานวิสง ุ คามสี มา

เมือ ่ วันที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2527 ( ครั้งที่ 2 ) เขตวิสุงคามสี มา กว้าง 40 เมตร ยาว 80 เมตร ทีด ่ น ิ ทีต ่ ้ง ั วัดมีเนือ ้ ที่ 25 ไร่ 22 ตารางวา น.ส.3 ก. เลขที่ 1387 มีทธ ี่ รณีสงฆ์จำ � นวน 1 แปลงเนือ ้ ที่ 21 ไร่ 334 /10 ตารางวา โฉนดทีด ่ น ิ เลขที่ 39171

78

2

.indd 78

SBL บันทึกประเทศไทย

จั งหวั ดนครสวรรค์

20/4/2564 10:49:38


อาคารเสนาสนะภายในวัดประกอบด้วย - อุโบสถ กว้าง 6 เมตร ยาว 10 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2490 เป็น อาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก - ศาลาการเปรียญ กว้าง 9 เมตร ยาว 15 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2518 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก - กุฏิสงฆ์ จ�ำนวน 5 หลัง เป็นอาคารไม้ 1 หลัง อาคารครึง่ ตึกครึง่ ไม้ 1 หลัง อาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 หลัง - ศาลาอเนกประสงค์ กว้าง 16 เมตร ยาว 30 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2550 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก นอกจากนี้มี ฌาปนสถาน 1 หลัง หอระฆัง 1 หลัง หอกลอง 1 หลัง โรงครัว 1 หลัง

อุโบสถวัดเขาวงษ์

พระครูนิยมสิริทัต (สงัด ทตฺตศิริ) เจ้าอาวาสวัดเขาวงษ์

SBL บันทึกประเทศไทย NAKHON SAWAN

2

.indd 79

79

20/4/2564 10:49:47


วัดศรีวังคาง History of Buddhism....

Facebook : วัดศรีวังคาง

วัดศรีวังคาง ตั้งอยู่ต�ำบลตาคลี อ�ำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์

วัดศรีวังคาง อยู่ติดภูเขาเรด้าร์มีเนื้อที่ 18 ไร่ 3 งาน ภายในวัดมีเสนาสนะ สิ่ งปลูกสร้าง ประกอบด้วย อุโบสถ เมรุ ศาลาธรรมสั งเวช

ศาลาปฏิ บั ติ ธ รรม ศาลาบ� ำ เพ็ ญ บุ ญ มี วิ ห ารหลวงพ่ อ ทองศั กดิ์ สิ ทธิ์ ป ระจ� ำ อ� ำ เภอตาคลี โรงครั ว กุ ฏิ พ ระ ห้ อ งน้� ำ เรื อ นรั บ รอง

เดิมทีมีหลวงพ่อเดิมหลวงพ่อสี หลวงพ่อพรหม มาพักปฏิบัติวิเวกซึ่ งมีความเงียบสงบ เป็นสถานที่สัปปายะเหมาะแก่การปฏิบัติธรรม ต่อมา

มีการเปลี่ยนแปลงเจ้าอาวาสหลายรู ปเป็นไปตามธรรมะ เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป จึงว่างเจ้าอาวาสมานานเกือบ 10 ปีชาวบ้านจึงรวม

ตั วประชุ มเพื่อหาพระที่ มีข้อวั ตรน� ำพาปฏิ บัติจึงได้ อาราธนาพระอาจารย์ ประเสริฐ สติ สัมปันโน ซึ่ งเป็นลู กศิ ษย์หลวงปู่สังวาล เขมโก จากสกลนครได้มาอยู่พัฒนาและน�ำพาปฏิสังขรณ์ปฏิบัติตามข้อวัตรที่ศึกษามาจนถึงปัจจุบัน

80

2

SBL บันทึกประเทศไทย

จั งหวั ดนครสวรรค์

.indd 80

20/4/2564 10:52:09


อุโบสถวัดศรีวังกาง

หลวงพ่อสังวาลย์ เขมโก

พระครูนิสัยโชติคุณ

เจ้าอาวาสวัดศรีวังคาง SBL บันทึกประเทศไทย NAKHON SAWAN

2

.indd 81

81

20/4/2564 10:52:21


วัดเขาถ�้ำบุญนาค

History of Buddhism....

Map : วัดเขาถ�ำ้ บุญนาค

วัดเขาถ้�ำบุญนาค ตั้งอยู่เลขที่ 93 หมู่ที่ 11 ต�ำบลตาคลี อ�ำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์

วัดเขาถ้�ำบุญนาค สั งกัดคณะสงฆ์มหานิกาย เดิมเป็นส� ำนักสงฆ์มาก่อน บริเวณวัดมีเนื้อที่ 9 ไร่ 3 งาน 65 ตารางวา

ได้รับอนุญาตให้สร้างวัดเมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2514 และได้รับพระราชทานวิสุงคามสี มา เมื่อวันที่ 25 ตุลาคม พ.ศ.2516

82

2

SBL บันทึกประเทศไทย

จั งหวั ดนครสวรรค์

.indd 82

20/4/2564 10:55:21


ปฏิปทา “หลวงปู่สี ฉนฺทสิริ” พระธุดงค์แห่งวัดเขาถ�้ำบุญนาค ประวัติหลวงปู่สี ฉนฺทสิริ ชาติภมู ิ หลวงปูส่ ี ท่านเป็นชาวอ�ำเภอรัตนะ จังหวัดสุรนิ ทร์ ท่านเกิด เมือ่ ปีจอ พ.ศ. 2392 ตรงกับสมัยของรัชกาลที่ 4 ส่วนเกิด วัน เดือน ใด ท่านไม่เคยบอก เมือ่ อายุ 21 ปี ท่านถูกเกณฑ์เข้ารับราชการทหาร เมือ่ ปลด จากการเป็นทหารแล้วท่านก็มายึดอาชีพค้าวัว ค้าควาย และเป็นพราน อยูแ่ ถว ช่องแค-ตาคลี ซึง่ แต่เดิมมีสภาพเป็นป่าดงดิบ และยังไม่ได้ตงั้ เป็น อ�ำเภอตาคลี เมื่อมีการใช้นามสกุลขึน้ ตระกูลของท่านก็ใช้นามสกุลว่า “ด�ำริ” ชีวติ ตอนเป็นหนุม่ ท่านเป็นคนจริงไม่เคยเกรงกลัวใคร หลวงปู่สี ท่านใช้ชีวิตความเป็นหนุ่มอยู่นานหลายปี จนกระทั่ง บังเกิดความเบื่อหน่ายทางโลก จึงได้อุปสมบท โดยท่านบอกว่า ท่าน บวชที่วัดบ้านเส้า อ�ำเภอบ้านเส้า (อ�ำเภอบ้านหมี่ ในปัจจุบัน) โดยมี พระครูธรรมขันธ์สุนทร เป็นพระอุปัชฌาย์ ส่วนคู่สวดท่านไม่ได้บอก ว่ามีพระอาจารย์รูปใดบ้าง เมื่อบวชได้ระยะหนึ่งท่านได้เดินทางมาจ�ำ พรรษาอยูท่ ี่ ถ�ำ้ เขาเสียบ เขตต�ำบลช่องแค อ�ำเภอตาคลี เพราะว่าก่อน บวชท่านเคยอยู่ในเขตนี้มาก่อน หลวงปู่สี ท่านถือปฏิบัติในการออกธุดงค์ ตลอดเวลาที่ท่านยังมี สุ ข ภาพร่ า งกายแข็ ง แรง หลวงปู ่ สี ท่ า นบอกว่ า ท่ า นธุ ด งค์ ไ ปทั่ ว ประเทศไทย จากเหนือถึงใต้ ตะวันออกถึงตะวันตก ท่านไปมาทัง้ หมด เคยธุดงค์ไปฝัง่ ประเทศลาว จ�ำพรรษาอยูใ่ นประเทศลาวหลายปี ธุดงค์ เข้าประเทศพม่าเลยไปประเทศอินเดีย ไปนมัสการสถานที่ส�ำคัญทาง พระพุทธศาสนา ท่านยังเล่าว่ามีอยู่ครั้งหนึ่ง ท่านธุดงค์ไปภาคเหนือ เพือ่ จะไปนมัสการพระบาทสีร่ อย เมืองเชียงตุง ประเทศพม่า ท่านเดิน หลงป่าไม่ได้ฉันอะไรเลยเป็นเวลา 7 วัน จนรุ่งเช้าของวันที่ 8 มีช้างป่า น�ำหัวบัว และอ้อยมาถวายท่าน (ไม่ทราบว่าเป็นเทวดา หรือว่าเทวานุ ภาพดลใจให้ชา้ งน�ำมาถวาย ?) ท่านจึงน�ำหัวบัวต้มกับน�ำ้ อ้อยฉัน และ ช้างยังเดินน�ำทางท่านไปจนพบกับบ้านของชาวบ้านป่า ในการออกธุดงค์ของหลวงปู่สีนั้น หลานชายของท่านคนหนึ่งเคย ติดตามไปด้วย ได้เล่าให้ฟงั ว่า ขณะนัน้ ยังเป็นสามเณรได้ตดิ ตามหลวงปูส่ ี ไปนมัสการพระพุทธบาทจังหวัดสระบุรี ค้างคืนทีพ่ ระพุทธบาท รุง่ เช้า พอฉันอาหารเช้าเสร็จเรียบร้อยแล้ว หลวงปู่สีก็พาออกเดินทางกลับ ตาคลีทนั ที โดยหลวงปูส่ บี งั คับให้ผเู้ ล่าเดินออกหน้าตลอดเวลา หลวงปูส่ ี จะเป็นคนเดินท้ายปรากฏว่ามาถึงตาคลีเป็นเวลาฉันอาหารเพลพอดี ซึง่ ระยะทางจากพระพุทธบาทมาถึงตาคลีให้เดินเก่งอย่างไร ก็ไม่สามารถ ทีจ่ ะเดินถึงได้ภายในเวลาไม่ถงึ ครึง่ วัน แต่หลวงปูส่ พี าเดินได้ ในระหว่าง ที่เดินธุดงค์อยู่ทางภาคเหนือภาคอีสานนั้น หลวงปู่สี ท่านได้รู้จักกับ พระเกจิอาจารย์ดังมากมาย อาทิเช่น หลวงปู่แหวน แห่งดอยแม่ปั๋ง

ก่อนที่จะมาอยู่ที่วัดเขาถ�้ำบุญนาค อ�ำเภอตาคลีนั้น หลวงปู่สี ท่านอยู่ ทีว่ ดั หนองลมพุก อ�ำเภอโนนสังข์ จังหวัดอุดรธานี ในปีพ.ศ. 2512 พระครูนวิ ฐิ ปริยตั คิ ณ ุ พร้อมด้วยชาวบ้าน ได้พากันไปนิมนต์ หลวงปู่สีให้มาอยู่ที่วัดเขาถ�้ำบุญนาค เพื่อช่วยสร้างวัดให้เจริญ ซึง่ ขณะนัน้ มีเพียงกุฏเิ ก่าๆเพียงสองสามหลังเท่านัน้ หลวงปูส่ ที า่ น ก็เต็มใจมา เนื่องด้วยเพราะท่านเคยอยู่ในแถบนี้มาก่อน ในวันที่ คณะผูจ้ ะไปนิมนต์หลวงปูส่ จี ะไปถึงนัน้ หลวงปูส่ ที า่ น ทราบล่วงหน้า แล้วว่าจะมีคนไปนิมนต์ทา่ น ท่านเก็บของเครือ่ งใช้จำ� เป็นรอเอาไว้ ล่วงหน้าแล้ว และสัง่ ทีว่ ดั หนองลมพุกว่า วันนีจ้ ะมีคนมารับให้ไปอยูท่ ี่ ตาคลีเพื่อช่วยสร้างวัด ซึ่งก็เป็นไปตามที่ท่านบอกไว้ทุกประการ

รายนามเจ้าอาวาสวัดเขาถ�ำ้ บุญนาค

รูปที่ 1 พระครูนวิ ฐิ ปริยตั คิ ณ ุ (หลวงพ่อมหาสมบูรณ์ ปริสมฺปณ ุ โฺ ณ) รูปที่ 2 พระอธิการดิรก เขมกาโม รูปที่ 3 พระอธิการเสกสรร ปิยธมฺโม

พระอธิการเสกสรร ปิยธมฺโม เจ้าอาวาสวัดเขาถ�้ำบุญนาค

SBL บันทึกประเทศไทย NAKHON SAWAN

2

.indd 83

83

20/4/2564 10:55:28


Map : วัดส้มเสี้ยว

History of Buddhism....

84

2

วัดส้มเสี้ยว

มีที่ธรณีสงฆ์ จ�ำนวน 1 แปลงเนื้อที่ 1 ไร่ 3 งาน 7 ตาราวาโฉนดที่ดินเลขที่ 640

วัดส้ มเสี้ ยว ตั้งอยู่เลขที่ 2/6 หมู่ที่ 2 ต�ำบลท่างิ้ว อ�ำเภอบรรพตพิสัย จังหวัดนครสวรรค์

วัดส้ มเสี้ ยว ตั้งวัดเมื่อปี พ.ศ. 2425 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสี มาเมื่อปี

พ.ศ. 2515 เขตวิ สุงคามสี มากว้าง 40 เมตร ยาว 80 เมตร สั งกั ดคณะสงฆ์ มหานิกาย ที่ดินที่ต้ังวัดมีเนื้อที่ 23 ไร่ 1 งาน 31 ตารางวา โฉนดที่ดิน เลขที่ 679

SBL บันทึกประเทศไทย

จั งหวั ดนครสวรรค์

.indd 84

20/4/2564 10:58:22


อาคารเสนาสนะภายในวัดประกอบด้วย อุโบสถ กว้าง 24 เมตร ยาว 24 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2516 เป็น อาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก ศาลาการเปรียญ กว้าง 10 เมตร ยาว 40 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2546 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก หอสวดมนต์ กว้าง 14 เมตร ยาว 14 เมตร สร้างเมือ่ ปี พ.ศ. 2527 กุฏิสงฆ์ จ�ำนวน 8 หลัง เป็นอาคารไม้ 1 หลัง เป็นอาคารครึ่งตึก ครึ่งไม้ 6 หลัง เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก 1 หลัง วิหาร กว้าง 6 เมตร ยาว 20 เมตร เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก ศาลาบ�ำเพ็ญกุศล จ�ำนวน 2 หลัง สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2553 เป็น อาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก นอกจากนี้มี ฌาปนสถาน 1 หลัง หอระฆัง 1 หลัง โรงครัว 1 หลัง

อุโบสถวัดส้มเสี้ยว พระครูนิยุตธรรมศาสน์ (เวา จิตฺตคุตฺโต)

ชาติภูมิ พระครูนิยุตธรรมศาสน์ มีนามเดิมว่า เวา สอนกิ่ม เกิดเมื่อวันอังคารที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2484 ตรงกับปีมะเส็ง ขึ้น 8 ค�่ำ เดือน 8 ณ บ้านฆ้อง ต�ำบลบ้านฆ้อง อ�ำเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี อุปสมบท เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2506 ณ พัทธสีมา วัดท่างิ้ว ต�ำบลท่างิ้ว อ�ำเภอบรรพตพิสัย จังหวัดนครสวรรค์ โดยมี พระครูนิยุตธรรมศาสน์ (แกร ฐาปโน) เป็นพระอุปัชฌาย์ ต�ำแหน่งฝ่ายปกครอง พ.ศ. 2511 เป็น เจ้าอาวาสวัดนาหุบ พ.ศ. 2527 เป็น เจ้าคณะต�ำบลหนองกรด เขต 1 พ.ศ. 2530 เป็น พระอุปัชฌาย์ พ.ศ. 2539 เป็น รองเจ้าคณะอ�ำเภอบรรพตพิสัย พ.ศ. 2548 เป็น เจ้าอาวาสวัดส้มเสี้ยว พ.ศ. 2548 เป็น เจ้าคณะอ�ำเภอบรรพตพิสัย สมณศักดิ์ พ.ศ. 2529 เป็น พระครูสัญญาบัตร เจ้าคณะต�ำบล ชั้นตรี ที่ พระครูนิยุตธรรมศาสน์

ศาลาการเปรียญ SBL บันทึกประเทศไทย NAKHON SAWAN

2

.indd 85

85

20/4/2564 10:58:31


วัดหนองตางู History of Buddhism....

วัดหนองตางู ตั้งอยู่เลขที่ 1 ต�ำบลหนองตางู อ�ำเภอบรรพตพิสัย จังหวัดนครสวรรค์

วัดหนองตางู สั งกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตั้งวัดเมื่อปี พ.ศ. 2480 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสี มาเมื่อวันที่ 10 มกราคม

พ.ศ. 2528 เขตวิสุงคามสี มากว้าง 30 เมตร ยาว 60 เมตร ที่ดินที่ต้ังวัดมีเนื้อที่ 37 ไร่ 1 งาน 50 ตารางวา น.ส. 3 เลขที่ 2196

Facebook : วัดหนองตางู

มีที่ธรณีสงฆ์ จ�ำนวน 1 แปลง เนื้อที่ 40 ไร่ 3 งาน 50 ตารางวา น.ส. 3 ก. เลขที่ 2195

86

2

SBL บันทึกประเทศไทย

จั งหวั ดนครสวรรค์

.indd 86

20/4/2564 10:59:13


อาคารเสนาสนะประกอบด้วย

- อุโบสถ กว้าง 30 เมตร ยาว 60 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2522 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก - ศาลาการเปรียญ กว้าง 20 เมตร ยาว 40 เมตร สร้างเมือ่ ปี พ.ศ. 2531 เป็นอาคารไม้ ทรงไทย - กุฏิสงฆ์ จ�ำนวน 3 หลัง เป็นอาคารไม้ 1 หลัง เป็นอาคาร คอนกรีตเสริมเหล็ก 2 หลัง - ศาลาบ�ำเพ็ญกุศล จ�ำนวน 1 หลัง สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2532 นอกจากนีม้ ี ฌาปนสถาน 1 หลัง, หอระฆัง 1 หลัง, โรงครัว 1 หลัง, เรือนเก็บพัสดุ 1 หลัง, เรือนรับรอง 1 หลัง ปูชนียวัตถุมี พระประธานประจ�ำอุโบสถ ปางมารวิชยั ขนาดหน้าตัก กว้าง 65 นิ้ว สูง 95 นิ้ว สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2528 พระประธานประจ�ำ ศาลาการเปรียญ ขนาดหน้าตักกว้าง 55 นิ้ว สูง 85 นิ้ว สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2533

สรีรสังขารหลวงปู่พิมพา ธมมวโร •

อุโบสถวัดหนองตางู

SBL บันทึกประเทศไทย NAKHON SAWAN

2

.indd 87

87

20/4/2564 10:59:25


History of Buddhism....

Map : วัดโคกขาม

วัดโคกขาม

88

2

.indd 88

วัดโคกขาม เลขที่ 1/2 บ้านโคกขาม

หมู่ที่ 1 ต�ำบลอุดมธัญญา อ�ำเภอตากฟ้า จังหวัดนครสวรรค์

วัดโคกขาม ตั้งวัดเมือ ่ วันที่ 30 มิถน ุ ายน พ.ศ. 2523 มีเจ้าอาวาสมาแล้ว 4 รู ป

มีพระภิกษุอยูจ ่ ำ � พรรษาไม่ต่ำ � กว่า 5 รู ปทุกปี ได้รบ ั พระราชทานวิสุงคามสี มา เมือ ่ วันที่

23 กันยายน พ.ศ. 2539 เขตวิสงุ คามสีมา กว้าง 20 เมตร ยาว 40 เมตร สังกัดคณะสงฆ์

มหานิกาย ที่ดินที่ต้ังวัดมีเนื้อที่ 44 ไร่ 76 ตารางวา โฉนดที่ดิน เลขที่ 1652 อาณาเขต ทิศเหนือ จดที่ดินเอกชน, ทิศใต้ จดทางสาธารณะ, ทิศตะวันออก จดถนนตากฟ้า – ท่าตะโก, ทิศตะวันตก จดที่ดินเอกชน

SBL บันทึกประเทศไทย

จั งหวั ดนครสวรรค์

20/4/2564 11:03:07


ปูชนียวัตถุภายในวัดประกอบด้วย ปูชนียวัตถุ มี พระประธานประจ�ำอุโบสถ ปางสมาธิ ขนาดหน้าตัก กว้าง 99 นิ้ว สูง 129 นิ้ว สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2530 พระประธานประจ�ำ ศาลาการเปรียญ ปางมารวิชัย ขนาดหน้าตักกว้าง 59 นิ้ว สูง 99 นิ้ว สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2552

อุโบสถวัดโคกขาม

พระครูนิทัศน์ธรรมโสภิต (โชติปญฺโญ) นักธรรมเอก

ต�ำแหน่งฝ่ายปกครอง เจ้าอาวาสวัดโคกขาม เจ้าคณะอ�ำเภอตากฟ้า งานเผยแผ่ พ.ศ. 2560 เป็น เจ้าส�ำนักปฏิบตั ธิ รรมประจ�ำจังหวัดนครสวรรค์ แห่งที่ 12

พระครูนิทัศน์ธรรมโสภิต (โชติปญฺโญ) เจ้าอาวาสวัดโคกขาม / เจ้าคณะอ�ำเภอตากฟ้า

SBL บันทึกประเทศไทย NAKHON SAWAN

2

.indd 89

วิหารบูรพาจารย์

89

20/4/2564 11:03:17


QR map วัดประชาสรรค์

วัดประชาสรรค์ History of Buddhism....

วัดประชาสรรค์ ตั้งอยู่เลขที่ 36 หมู่ที่ 2 ต�ำบลสุขส� ำราญ อ�ำเภอตากฟ้า จังหวัดนครสวรรค์

วั ด ประชาสรรค์ เป็ น อารามที่ มี ค วามส� ำคั ญ ทางประวั ติ ศ าสตร์ ตามรอยเสด็ จ พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว รั ช กาลที่ 10 และ

มี พ ระพุ ท ธรู ป ศั กดิ์ สิ ท ธิ์ เป็ น ที่ เ คารพบู ช าของพุ ท ธศาสนิ ก ชนโดยทั่ ว ไป เป็ น ที่ ต้ั ง ของส� ำ นั ก ปฏิ บั ติ ธ รรมประจ� ำ จั ง หวั ด นครสวรรค์

แห่ ง ที่ 18 และหน่ ว ยอบรมประชาชนประจ� ำ ต� ำ บลสุ ข ส� ำ ราญ ปั จ จุ บั น มี พ ระครู วิ นั ย ธรสรยุ ท ธ ฐานวุ ฑฺ โ ฒ ดร. เป็ น เจ้ า อาวาส และ เจ้าคณะต�ำบลสุขส� ำราญ

90

6

SBL บันทึกประเทศไทย

จั งหวั ดนครสวรรค์

.indd 90

20/4/2564 11:04:49


ประวัติความเป็นมา วัดประชาสรรค์ เริม่ สร้างเมือ่ ประมาณปี พ.ศ.2470 เดิมเป็นทีพ่ กั สงฆ์ อยูใ่ นชุมชนเกษตรชัย ซึง่ เป็นชุมชนและตลาดเก่าแก่ ตัง้ แต่เริม่ มีบา้ นเรือน ในอ�ำเภอตากฟ้า ได้รับการประกาศตั้งวัดเมื่อปี พ.ศ. 2511 และได้รับ พระราชทานวิสุงคามสีมาจาก พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมพิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร รัชกาลที่ 9 เมือ่ วันที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2513 พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 10 (ขณะด�ำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชสยามกุฎ ราชกุมาร) ทรงเสด็จพระราชด�ำเนินผูกพัทธสีมาตัดหวายลูกนิมิต ณ อุโบสถวัดประชาสรรค์ พร้อมด้วยพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า โสมสวลี กรมหมืน่ สุทธนารีนาถ (ขณะด�ำรงพระยศเป็นพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรชายาฯ) เมือ่ วันที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2520 นับเป็นพระมหากรุณาธิคณ ุ ต่อพสกนิกรชาวตากฟ้าและจังหวัดนครสวรรค์ เป็นอย่างยิ่ง

อุโบสถวัดประชาสรรค์

ล�ำดับเจ้าอาวาส

1. พระครูนิภาวุฒิกร (แสวง อายุวัฒโก) อดีตเจ้าคณะอ�ำเภอลาดยาว 2. พระครูนิมิตกิตติวรรณ (เกรียงไกร กิตติวรรณโณ) อดีตเจ้าคณะต�ำบลสุขส�ำราญ 3. พระครูวินัยธรสรยุทธ ฐานวุฑฺโฒ ดร. เจ้าคณะต�ำบล สุขส�ำราญ เจ้าส�ำนักปฏิบัติธรรมประจ�ำจังหวัดนครสวรรค์ แห่งที่ 18 ประธานหน่วยอบรมประจ�ำต�ำบลสุขส�ำราญ ผู้ประนีประนอมประจ�ำศาลแรงงานภาค 6

SBL บันทึกประเทศไทย NAKHON SAWAN

6

.indd 91

91

20/4/2564 11:04:57


ปูชนียสถานส�ำคัญภายในวัด 1. อุ โ บสถทรงไทยจตุ ร มุ ข เริ่ ม ก่ อ สร้ า งเมื่ อ ปี พ.ศ. 2503 พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเสด็จพระราชด�ำเนิน ผูกพัทธสีมาตัดหวายลูกนิมิต เมื่อปี พ.ศ. 2520 ปัจจุบันภายใน ประดิษฐาน พระพุทธศรีศากยประชาสามัคคี (หลวงพ่อสุขสันต์) และหลวงพ่อเหลือ อยู่บนฐานผ้าทิพย์ ซึ่งมีสถาปัตยกรรมปูนปั้น ศิลปะอยุธยา สกุลช่างเพชรบุรีซึ่งวิจิตรงดงามมาก 2. วหิ ารทรงไทย ฐานก่ออิฐถือปูน ตัววิหารเป็นเครือ่ งไม้ทงั้ หลัง สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2557 ภายในประดิษฐานหลวงพ่อพิชิตมาร (พระพุทธนิมติ พิชติ มาร) ซึง่ หล่อด้วยทองเหลือง หน้าตักกว้าง 80 นิว้ เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 เมื่อปี พ.ศ. 2555 3. ศาลาเฉลิมพระเกียรติ 80 พระชนมพรรษา เป็นศาลาขนาดใหญ่ 2 ชัน้ ชัน้ บน ใช้สำ� หรับปฏิบตั ธิ รรมและกิจกรรมส�ำคัญต่างๆ ภายในวัด ชั้นล่างเป็นที่ท�ำการของส�ำนักงานเจ้าคณะต�ำบลสุขส�ำราญ และ ส�ำนักปฏิบัติธรรมประจ�ำจังหวัดนครสวรรค์แห่งที่ 18 ชั้นบน ประดิษฐานพระพุทธรูปส�ำคัญมีนามว่า “พระพุทธสุขส�ำราญ (หลวงพ่อสุขส�ำราญ)” ซึ่งเป็นพระพุทธรูปประจ�ำต�ำบลสุขส�ำราญ 4. หอสวดมนต์ (ตึกเหลือง) ทรงจตุรมุขหลังคาสีเหลือง 2 ชั้น ใช้เป็นหอสวดมนต์และปฏิบัติธรรมภายในประดิษฐานหลวงพ่อ สมปรารถนา ชั้นล่างเป็นที่ท�ำการหน่วยอบรมประชาชนประจ�ำ ต�ำบลสุขส�ำราญ พร้อมห้องนิทรรศการและห้องประชุม 5. กุฏิบูรพาจารย์ เป็นกุฏิไม้ทั้งหลังภายในตั้งรูปเหมือนพระครู นิมิตกิตติวรรณ (เกรียงไกร กิตติวรรณโณ) 6. อาคารรับรองและหอประชุม 1 ซึ่งมีการจัดแสดงพิพิธภัณฑ์ พื้นบ้านและนิทรรศการโครงการวัดประชารัฐสร้างสุข 7. พระพุทธรูปทรงเครื่อง ปางห้ามญาติ หล่อด้วยทองเหลือง เพือ่ เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมพิ ล อดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงครองสิรริ าชย์ครบ 70 ปี 8. พระพุทธรูปทรงเครื่องปางร�ำพึง หล่อด้วยทองเหลือง เพื่อ เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพนั ปีหลวง ในโอกาศทีเ่ จริญพระชนมพรรษาครบ 84 พรรษา 9. มณฑปแปดเหลี่ยม ประดิษฐานสิ่งศักดิ์สิทธิ์ประจ�ำวัด เป็นที่ เคารพของประชาชนโดยทั่วไป

92

6

SBL บันทึกประเทศไทย

จั งหวั ดนครสวรรค์

.indd 92

20/4/2564 11:05:03


วัดหนองโพ

SBL บันทึกประเทศไทย NAKHON SAWAN

6

.indd 93

93

20/4/2564 11:05:06


ประวัติและปฏิปทาของ

พระครูวินัยธรสรยุทธ ฐานวุฑฺโฒ ดร.

สถานะเดิม ว่าที่ร้อยตรี สรยุทธ มีส�ำราญ เกิดวันที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2519 ชาติภูมิ ภูมิล�ำเนาเดิมจังหวัดพระนครศรีอยุธยา การศึกษา ระดับปริญญาเอก Ph.D (พุทธศาสตร์ดษุ ฎีบณ ั ฑิต) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย ปีพ.ศ. 2540 ได้อุปสมบท ณ พัทธสีมา วัดกลางรามัญ ต�ำบลสวนพริก อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีพระธรรมญาณมุนี (ไวทย์ มุตตกาโม) เจ้าอาวาสวัดพนัญเชิง วรวิหารและเจ้าคณะจังหวัดพระนครศรีอยุธยาในขณะนัน้ เป็น พระอุปัชฌาย์ อุปสมบทได้ 66 วัน ก็ลาสิกขา เนื่องจากต้อง ศึกษาระดับปริญญาตรี หลังจบการศึกษาระดับปริญญาตรีแล้วก็เข้าปฏิบตั งิ านใน ต�ำแหน่ง นักวิชาการอุตสาหกรรม กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม ได้ทุนรัฐบาลญี่ปุ่น ศึกษาหลักสูตร นักวินิจฉัยโรงงาน ที่สมาคมเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น และไปฝึก ภาคปฏิบัติที่ประเทศญี่ปุ่น ปี พ.ศ. 2552 ได้ลาออกจากราชการ ได้บรรพชาที่วัดบรม วงศ์อิศรวราราม จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม 2552 โดยมีพระเทพวรเวที (วิน โฆสิโต) เจ้าอาวาส วัดบรมวงศ์อศิ รวราราม และเจ้าคณะจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นพระอุปัชฌาย์ ต่อมาได้อุปสมบท ณ วัดประชาสรรค์ ต�ำบลสุขส�ำราญ อ�ำเภอตากฟ้า จังหวัดนครสวรรค์ โดยมีพระครูนมิ ติ กิตติวรรณ (เกรียงไกร กิตติวรรณโณ) เป็นพระอุปัชฌาย์ จ�ำพรรษาที่ วัดประชาสรรค์ 2 พรรษา จึงได้รบั มอบหมายให้ไปปฏิบตั หิ น้าที่ ผู้ปฏิบัติหน้าที่แทนผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาสวัดพรหมนิวาส วรวิหาร พระอารามหลวง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ปฏิบัติ หน้าทีอ่ ยู่ 3 พรรษา จึงย้ายกลับมาเป็นเจ้าอาวาสวัดประชาสรรค์ และเจ้าคณะต�ำบลสุขส�ำราญ ตามล�ำดับ สมณศักดิ์ 5 ธั น วาคม 2555 ได้ รั บ การแต่ ง ตั้ ง ให้ เ ป็ น พระครู ฐานานุกรมในพระธรรมรัตนดิลก ( เชิด จิตตคุตโตปธ.9) เจ้าคณะภาค 4 รองแม่กองธรรมสนามหลวง ผูช้ ว่ ยเจ้าอาวาสวัดสุทศั นเทพวรารามราชวรมหาวิหาร ที่ พระครูวินัยธร 27 พฤศจิกายน 2562 ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นพระครู ฐานานุศกั ดิ์ ใน พระวิสทุ ธาธิบดี (เชิด จิตตคุตโต ปธ.9) รักษาการ เจ้าคณะภาค 4 รองแม่กองธรรมสนามหลวง เจ้าอาวาสวัดสุทศั นเทพ วรารามราชวรมหาวิหาร ที่พระครูวินัยธร

94

6

พระครูวินัยธรสรยุทธ ฐานวุฑฺโฒ ดร.

เจ้าคณะต�ำบลสุขส�ำราญ / เจ้าอาวาสวัดประชาสรรค์ ต�ำแหน่งหน้าที่ พ.ศ.2554 - 2556 ผูป้ ฏิบตั หิ น้าทีแ่ ทน ผูร้ กั ษาการแทน,เจ้าอาวาส วัดพรหมนิวาสวรวิหาร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พ.ศ. 2557 - ปัจุจบัน เป็นกรรมการสถานศึกษา โรงเรียนวัดประชาสรรค์ พ.ศ.2557 - ปัจจุบัน เจ้าอาวาสวัดประชาสรรค์ พ.ศ.2558 - ปัจจุบัน เจ้าคณะต�ำบลสุขส�ำราญ, ประธานหน่วยอบรมประชาชนประจ�ำต�ำบล พ.ศ.2558 - 2563 รักษาการเจ้าอาวาสวัดซับตะเพียน พ.ศ.2559 - ปัจจุบัน เจ้าส�ำนักปฏิบัติธรรมประจ�ำ จังหวัดนครสวรรค์แห่งที่ 18 พ.ศ.2561 - 2563 รักษาการเจ้าอาวาสวัดพุขมิ้น พ.ศ.2561 - ปัจจุบัน ผู้ประนีประนอมประจ�ำศาลแรงงาน ภาค 6 การศึกษา ปริญญาตรี ศิลปศาสตร์บณ ั ฑิต (ศศบ. การบริหารธุรกิจ) นิตศิ าสตร์บณ ั ฑิต (นบ.) ปริญญาโท การจัดการมหาบัณฑิต (M.M.) ปริญญาเอก พุทธศาสตร์ดษุ ฎีบณ ั ฑิต (Ph.D. รัฐประศาสนศาสตร์)

SBL บันทึกประเทศไทย

จั งหวั ดนครสวรรค์

.indd 94

20/4/2564 11:05:10


วัดหนองโพ รางวัล – เกรียติคุณที่ ได้รับ

พ.ศ. 2559 รางวัลพระราชทานลูกกตัญญู ลูกทีม่ คี วามกตัญญูกตเวที อย่างสูงต่อแม่ ประจ�ำปี 2559 โดยสภาสังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทย (รับรางวัลประทานจากพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี กรมหมืน่ สุทธนารีนาถ) พ.ศ. 2562 รางวัลพระราชทานเสาเสมาธรรมจักร บุคคลผู้ท�ำคุณ ประโยชน์ตอ่ ชาติและพระศาสนา ด้านการบริหารงานคณะสงฆ์ (รับรางวัล พระราชทานจากสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตน ราชสุดา เจ้าฟ้ามหาจักรีสริ นิ ธร มหาวชิราลงกรณวรราชภักดี สิรกิ จิ การิณี พีรยพัฒน รัฐสีมาคุณากรปิยชาติ สยามบรมราชกุมารี) พระครูวนิ ยั ธรสรยุทธ ฐานวุฑโฺ ฒ ดร. เมือ่ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส วัดประชาสรรค์แล้ว ก็ได้พัฒนาบูรณะเสนาสนะ และซ่อมสร้าง ถาวรวัตถุต่างๆ ภายในวัด ท�ำให้วัดได้รับการพัฒนา มีความสะอาด สงบ สวยงาม และได้รับรางวัลต่างๆ มากมาย พ.ศ. 2560 ได้รับรางวัลและเกียรติบัตร วัดจัดการสิ่งแวดล้อม ระดับยอดเยี่ยม จากกรมส่งเสริมสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2560 ได้รบั กิตติคณ ุ ปั ปทาสินแี ละพัดรอง รางวัลหน่วยอบรม ประชาชน ประจ�ำต�ำบล ดีเด่น จังหวัดนครสวรรค์ พ.ศ. 2561 ได้รับโล่รางวัลวัดพัฒนาตัวอย่าง จากสมเด็จพระอริย วงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช โดยส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ พ.ศ. 2563 ได้รบั คัดเลือกให้เป็นวัดประชารัฐสร้างสุขดีเด่นต้นแบบ และ วัดศูนย์กลางชุมชน พ.ศ. 2564 ได้รบั เกียรติบตั ร วัดชุมชนคุณธรรม จังหวัดนครสวรรค์ จากคณะกรรมการส่งเสริมคุณธรรมแห่งชาติ พ.ศ. 2564 ได้รับโล่รางวัลและพัดรอง รางวัลวัดพัฒนาตัวอย่างที่ มีผลงานดีเด่น ประจ�ำปี 2564 โดยส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ

ปัจจุบันวัดได้ด�ำเนินการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง จึงขอเชิญผู้มีจิตศรัทธาร่วมบุญได้ที่วัดประชาสรรค์ หรือโอนเข้าบัญชี วัดประชาสรรค์ (สร้าง –บูรณะอาราม) ธนาคารกรุงไทย สาขาตากฟ้า

เลขที่บัญชี 626-0-29818-8 หรือติดต่อโดยตรงที่ พระครูวินัยธรสรยุทธ ฐานวุฑฺโฒ ดร.

โทรศัพท์ : 081-995-2441 SBL บันทึกประเทศไทย NAKHON SAWAN

6

.indd 95

95

20/4/2564 11:05:17


History of Buddhism....

map : วัดห้วยล�ำใย

วัดห้วยล�ำใย

วัดห้วยล�ำใย ตั้งอยู่เลขที่ 99 หมู่ที่ 4 ต�ำบลหนองพิกุล อ�ำเภอตากฟ้า จังหวัดนครสวรรค์

เมื่ อปี พ.ศ. 2500 ได้ ต้ั งเป็ นส� ำนั กสงฆ์ ต่ อมาเมื่ อวั นที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2517 ได้ ย้ ายไปสร้ างวั ดใหม่ โดยได้ ต้ั งชื่ อวั ด

ตามชื่ อต้นไม้สมัยก่อนมีต้นล�ำใยขึ้นอยูท ่ ี่ล�ำห้วยจึงตั้งชื่ อวัดว่า “วัดห้วยล�ำใย” ได้รบ ั พระราชทานวิสุงคามสี มาเมือ ่ วันที่ 30 สิ งหาคม พ.ศ. 2520 เขตวิสุงคามสี มา กว้าง 20 เมตร ยาว 40 สั งกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ที่ดินที่ต้ังวัดมีเนื้อที่ 25 ไร่ 2 งาน

96

2

SBL บันทึกประเทศไทย

จั งหวั ดนครสวรรค์

.indd 96

20/4/2564 11:05:46


อุโบสถวัดห้วยล�ำใย

อาคารเสนาสนะ ประกอบด้วย - อุโบสถ สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2517 สร้างเสร็จเมื่อปี พ.ศ. 2525 เป็น อาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก - ศาลาการเปรียญ กว้าง 24 เมตร ยาว 38 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2540 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก - กุฏิสงฆ์ จ�ำนวน 12 หลัง เป็นอาคารไม้ 4 หลัง เป็นอาคารครึ่ง ตึกครึ่งไม้ 5 หลัง เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก 2 หลัง - วิหาร กว้าง 5 เมตร ยาว 5 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2554 เป็น อาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก - ศาลาอเนกประสงค์ กว้าง 6 เมตร ยาว 24 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2553 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก - ศาลาบ�ำเพ็ญกุศล จ�ำนวน 2 หลัง สร้างเมื่อ พ.ศ. 2534 และ พ.ศ. 2555 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก นอกจากนี้มีฌาปนสถาน 1 หลัง หอระฆัง 1 หลัง โรงครัว 1 หลัง เรือนเก็บพัสดุ 1 หลัง ปูชนียวัตถุ มีพระประธานประจ�ำอุโบสถปางมารวิชยั ขนาดหน้าตัก กว้าง 42 นิ้ว สูง 78 นิ้ว สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2524 พระประธานประจ�ำ ศาลาการเปรียญ ปางประทานพร สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2545

พระครูนิพันธประโชติ

เจ้าคณะต�ำบลล�ำพยนต์ เจ้าอาวาสวัดห้วยล�ำใย SBL บันทึกประเทศไทย NAKHON SAWAN

2

.indd 97

97

20/4/2564 11:05:57


History of Buddhism....

facebook : วัดเกยไชยเหนือ

วัดเกยไชยเหนือ (บรมธาตุ)

วัดเกยไชยเหนือ (บรมธาตุ) ตั้งอยู่เลขที่ 1/1 หมู่ที่ 4 บ้านเกยไชยเหนือ ต�ำบลเกยไชย อ�ำเภอชุ มแสง จังหวัดนครสวรรค์ โทร 098-549-9974

วัดแห่งนี้สันนิษฐานว่าสร้างขึ้นในสมัยสุ โขทัย ประมาณปี พ.ศ. 1906 อย่างน้อยที่สุด เป็นเวลามากกว่า 658 ปีที่ผ่านมา ซึ่ งปรากฏ

หลักฐานส� ำคัญ คือ พระบรมธาตุเจดีย์ ทรงระฆังคว่�ำ แบบลังกา ฐานแปดเหลี่ยม ไม่ท�ำเสาหาน และยังพบหลักฐานส� ำคัญอีกหนึ่งอย่าง คือ ใบเสมาคู่ ลายเทพนม และลายดอกไม้ที่ท�ำจากหินชนวน เป็นต้น

98

2

SBL บันทึกประเทศไทย

จั งหวั ดนครสวรรค์

.indd 98

20/4/2564 11:08:30


เดิมวัดแห่งนีเ้ รียกว่า วัดพระบรมธาตุ ดังปรากฏในเอกสารตรวจการ คณะสงฆ์ มณฑลฝ่ายเหนือ พ.ศ. 2457 เมือ่ ครัง้ สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส สมเด็จพระสังฆราชเจ้า เสด็จเยีย่ มวัดแห่งนี้ ดังปรากฏข้อความว่า “เช้าเกือบ 3 โมง เรือเคลื่อนจากท�ำนบหน้า วัดชุมแสง ล่องลงมาตามล�ำน�้ำน่าน มีเรือราษฎรราว 10 ล�ำเศษ เลีย้ วเข้าไปในล�ำน�ำ้ ยมอันแยกจากล�ำน�ำ้ น่าน เข้าไปราวเส้นหนึง่ ถึง วัดพระบรมธาตุ เรือพระทีน่ งั่ หยุดทอดหน้าวัดเสด็จขึน้ ทอดพระเนตร วัดนีม้ โี บสถ์กอ่ ใบสีมาใช้หนิ สลักเป็นลายต่างๆ เช่น ลายเทพนมบ้าง ลายดอกไม้บ้าง มีเจดีย์ รูปกลมสูงราว 3 วาเศษอยู่องค์หนึ่ง ฐานแปดเหลี่ยม ซึ่งหมายเอาว่าเป็นที่บรรจุพระบรมธาตุ ทราบว่า ถึงหน้าเทศกาลชาวบ้านประชุมนมัสการเป็นงานปี แล้วทรงประทาน ของแจกแก่พระสงฆ์ เจ้าอาวาสและราษฎรผูม้ าคอยเฝ้าอยู่ แล้วเสด็จ กลับลงเรือพระที่นั่ง” ในปี พ.ศ. 2460 วัดพระบรมธาตุ ได้เปลี่ยนชื่อวัดใหม่ตามการ ปกครองของบ้านเมือง โดยใช้ ชื่อว่า “วัดเกยไชยเหนือ (บรมธาตุ)” จากนั้นเป็นต้นมาจนถึงปัจจุบัน รายนามผู้ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส ดังนี้ (ตั้งแต่ ปี พ.ศ.2400 เป็นต้นมา) 1. พระอาจารย์ปั่น (พ.ศ. 2400 – 2430) 2. พระสมุห์สอน (พ.ศ. 2430 – 2466) 3. พระครูนริ ภัยวิเทต (ทองอยู่ ปญฺญาวฑฺฒโน , พ.ศ. 2466 – 2524) 4. พระครูนทิ านธรรมประนาท (เทีย่ ง ปหฏฺโฐ, พ.ศ. 2524 – 2546) 5. พระครูนธิ านปุญญาภิวฒ ั น์ เจ้าคณะอ�ำเภอ ชุมแสง (พ.ศ. 2546 – ปัจจุบัน)

อุโสบถวัดเกยไชยเหนือ (บรมธาตุ)

หลวงพ่อทองอยู่

พระครูนริ ภัยวิเทต (อยู่ ปญฺญาวฑฺฒโน) เกิดเมือ่ วันศุกร์ เดือน 6 ปีมะเมีย พ.ศ. 2437 ที่บ้านเกยไชย บิดาชื่อสุ่ม มารดา ชื่อจั่น เมือ่ เยาว์วยั ได้ตดิ ตามพ่อแม่ไปอยูท่ บี่ า้ นหนองขอน เมือ่ อายุครบ 20 ปี ได้อปุ สมบท ณ พัทธสีมาวัดหนองขอน แล้วไปจ�ำพรรษาทีว่ ดั บ้านบึง ต�ำบลหนองกรด อ�ำเภอบรรพตพิสยั เมือ่ ออกพรรษาแล้ว ได้รบั นิมนต์ จากทายกวัดหนองเต่าใต้ให้มาเป็นประธานก่อสร้างศาลาการเปรียญ ท่านได้ศกึ ษาเล่าเรียนพระปริยตั ธิ รรม และวิชาความรูท้ างไสยศาสตร์ เวทมนตร์คาถากับพระอาจารย์ปลัดนิ่ม วิชาแพทย์แผนโบราณกับ พระครูฉ�่ำหลังจากนั้นได้รับหน้าที่เป็นครูสอนนักธรรมแก่พระภิกษุ สามเณรของวัดเกยไชยเหนือ (บรมธาตุ) จนเป็นวัดที่มีชื่อเสียง และปฏิ บั ติ ศ าสนกิ จ ที่ ไ ด้ ผ ลดี ห ลายอย่ า ง เช่ น เทศน์ ม หาชาติ พระเวสสันดรชาดก (ท�ำนอง) สั่งสอน อบรมประชาชน อบรมภิกษุ สามเณร ปฏิสังขรณ์เสนาสนะที่ช�ำรุดทรุดโทรม หลวงพ่อทองอยู่ได้ รับยกย่องว่าเชี่ยวชาญด้านงานก่อสร้างเป็นอย่างมาก ต่อมาในปี พ.ศ. 2466 หลวงพ่อได้รับต�ำแหน่ง เจ้าอาวาส วัดเกยไชยเหนือ (บรมธาตุ) ท่านได้พัฒนาวัดในด้านต่างๆ จนได้รับ การแต่งตัง้ ให้เป็นพระใบฎีกาเจ้าคณะต�ำบลเกยไชย และเมือ่ พรรษาได้ 29 พรรษาได้รับพระราชทานแต่งตั้งให้เป็นพระอุปัชฌาย์ เมื่อปี พ.ศ. 2486 นับเป็นพระอุปัชฌาย์รูปแรกของอ�ำเภอชุมแสง สมัยนั้น หลวงพ่อทองอยูไ่ ด้สร้างเสนาสนะและสถานศึกษาไว้หลายแห่ง ดังนี้ คือ โรงเรียนชุมชนวัดเกยไชยเหนือโรงเรียนบ้านบึงหมัน โรงเรียนบ้าน ท่ากร่าง ศาลาการเปรียญวัดเกยไชยใต้ ศาลาการเปรียญวัดหนองขอน และศาลาการเปรียญวัดวังกระสูบ อ�ำเภอบึงนาราง จังหวัดพิจิตร หลวงพ่อสะสมความดีไว้มาก จนได้รับพระราชทานสมณศักดิ์เป็น พระครูสัญญาบัตรในราชทินนามที่ “พระครูนิรภัยวิเทต” และได้ เลื่อนสมณศักดิ์เป็นพระครูสัญญาบัตร ชั้นโทตามล�ำดับ ซึ่งท่านได้ มรณภาพลงเมื่อวันที่ 19 ตุลาคม พ.ศ. 2524 ที่ผ่านมา รวมสิริอายุ ได้ 87 ปี 67 พรรษา SBL บันทึกประเทศไทย NAKHON SAWAN

2

.indd 99

99

20/4/2564 11:08:38


วัดท่าตะโก History of Buddhism....

วัดท่าตะโก ตั้งอยู่เลขที่ 769 บ้านโคกมะรื่นใต้ ถนนโคกมะรื่นใต้ หมู่ที่ 6 ตําบลท่าตะโก อําเภอท่าตะโก จังหวัดนครสวรรค์

พระครูนิมิตชโยดม (วิชัย สุวิชโย)

facebook : วัดท่าตะโก

เจ้าคณะอ�ำเภอท่าตะโก / เจ้าอาวาสวัดท่าตะโก

100

2

.indd 100

SBL บันทึกประเทศไทย

จั งหวั ดนครสวรรค์

20/4/2564 11:09:19


อุโบสถวัดท่าตะโก

อุโบสถวัดท่าตะโก

SBL บันทึกประเทศไทย NAKHON SAWAN

2

.indd 101

101

20/4/2564 11:09:25


History of Buddhism....

วัดสระโบสถ์

ตั้งอยู่เลขที่ 3 หมู่ที่ 13 ตําบลดอนคา อําเภอท่าตะโก จังหวัดนครสวรรค์ ส�ำนักปฏิบัติธรรมประจ�ำจังหวัดนครสวรรค์ แห่งที่ 3

Map : วัดสระโบสถ์

วัดสระโบสถ์ อยูห ่ ่างจากจังหวัดนครสวรรค์ประมาณ 50 กิโลเมตร อยูต ่ ิดกับเขาพนมฉัตร บริเวณโดยรอบเป็นป่าไม้ร่มรื่น

มีสระน้�ำขนาดใหญ่ เหมาะกับการปฏิบัติธรรม สงบร่มรื่น เป็นสถานที่สับปายะ เป็นสถานที่จัดกิจกรรมทางพระพุทธศาสนา

102

2

SBL บันทึกประเทศไทย

จั งหวั ดนครสวรรค์

.indd 102

20/4/2564 11:11:40


อาคารเสนาสนะ ประกอบด้วย - อุโบสถ กว้าง 7 เมตร ยาว 15 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2529 - ศาลาการเปรียญ กว้าง 21.50 เมตร ยาว 28.50 เมตร สร้าง เมื่อปี พ.ศ. 2526 เป็นอาคารคอนกรีต เสริมเหล็ก - กุฏิสงฆ์ จํานวน 13 หลัง เป็นอาคารไม้ 4 หลัง เป็นอาคารครึ่ง ตึกครึ่งไม้ 4 หลัง เป็นอาคารคอนกรีต เสริมเหล็ก 5 หลัง - วิหาร สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2540 กว้าง 15 เมตร ยาว 17 เมตร เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก - ศาลาอเนกประสงค์ กว้าง 18.50 เมตร ยาว 36.50 เมตร สร้าง เมื่อปี พ.ศ. 2550 เป็นอาคารคอนกรีต เสริมเหล็ก - ศาลาบําเพ็ญกุศล จํานวน 1 หลัง สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2545 เป็น อาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก นอกจากนี้มี ฌาปนสถาน 1 หลัง, โรงครัว 1 หลัง, เรือนเก็บพัสดุ 1 หลัง ปูชนียวัตถุมี พระประธานประจําอุโบสถ ปางมารวิชัย ขนาดหน้า ตักกว้าง 56 นิ้ว สูง 90 นิ้ว

อุโบสถวัดสระโบสถ์

หลวงพ่อทันใจ

พระครูนิทัศนสารโกวิท

รองเจ้าคณะอ�ำเภอท่าตะโก / เจ้าอาวาสวัดสระโบสถ์

ประวัติ พระครูนิทัศนสารโกวิท ฐานธมฺโม

พระครูนทิ ศั นสารโกวิท ฉายา ฐานธมฺโม อายุ 76 ปี พรรษา 55 วิทยฐานะ น.ธ. เอก ม.6 ( ปบส ) วัดสระโบสถ์ ต�ำบลดอนคา อ�ำเภอท่าตะโก จังหวัดนครสวรรค์ ขอเชิญสาธุชนทั้งหลาย เข้าร่วมปฏิบัติธรรมที่วัดสระโบสถ์ เพื่อ

ความสงบแห่ ง จิ ต จนเกิ ด วิ ป ั ส สนาปั ญ ญาในการเห็ น ไตรลั ก ษณ์ สามารถติดต่อเข้าร่วมได้ที่ โทร 056-249-310, 081-3449088 SBL บันทึกประเทศไทย NAKHON SAWAN

2

.indd 103

103

20/4/2564 11:11:48


วัดพนมเศษเหนือ History of Buddhism....

วัดพนมเศษเหนือ ตั้งอยู่เลขที่ 98 หมู่ที่ 1 ตําบลพนมเศษ อําเภอท่าตะโก จังหวัดนครสวรรค์

Map : วัดพนมเศษเหนือ

วัดพนมเศษเหนือ สั งกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตั้งวัดเมือ ่ ปี พ.ศ. 2462 มีนามตามชื่ อหมูบ ่ า ้ น ได้รับพระราชทาน วิสุงคามสี มา

เมื่อ วันที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2522 ที่ดินที่ต้ังวัดมีเนื้อที่ 60 ไร่

104

2

SBL บันทึกประเทศไทย

จั งหวั ดนครสวรรค์

.indd 104

20/4/2564 11:13:46


อาคารเสนาสนะ ประกอบด้วย - อุโบสถ กว้าง 11 เมตร ยาว 23 เมตร - ศาลาการเปรียญ กว้าง 20 เมตร ยาว 40 เมตร เป็นอาคาร คอนกรีตเสริมเหล็ก - กุฏิสงฆ์ จํานวน 12 หลัง เป็นอาคารครึ่งตึกครึ่งไม้ 8 หลัง - ศาลาอเนกประสงค์ กว้าง 19 เมตร ยาว 28 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2543 เป็นอาคารคอนกรีต เสริมเหล็ก นอกจากนี้มีอาคาร เสนาสนะต่างๆ ดังนี้ คือ หอระฆัง 1 หลัง, โรงครัว 2 หลัง, เรือนรับรอง 2 หลัง ภายในวัดมีหลวงพ่อขาว เป็นพระพุทธรูปปัน้ ทาสีขาว แต่เดิมเป็น พระประธานในอุ โ บสถเก่ า ปั จ จุ บั น ได้ ถู ก น�ำไปประดิ ษ ฐานไว้ บ น เขาพนมเศษเหนือ เป็นที่เคารพและศรัทธาของชาวบ้านในอ�ำเภอ ท่าตะโก นอกจากนั้นยังมีรูปปั้นองค์เจ้าแม่กวนอิมหยกขาว เป็นที่ เคารพและศรัทธาของชาวบ้านในอ�ำเภอท่าตะโก ปูชนียวัตถุมี พระประธานประจําอุโบสถ ปางสมาธิ ขนาดหน้าตัก กว้าง 50 นิ้ว สูง 70 นิ้ว พระประธานประจําศาลาการเปรียญ ขนาด หน้าตักกว้าง 25 นิ้ว สูง 50 นิ้ว สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2547

อุโบสถวัดพนมเศษเหนือ

พระครูนิวาตธรรมาทร (ประยูร สคารโว)

เจ้าคณะต�ำบลพนมเศษ เจ้าอาวาสวัดพนมเศษเหนือ หลวงพ่อประยูร เดิมชื่อ ประยูร คชกุล เกิดเมื่อวันที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2484 ท่านสร้างความเจริญให้กับวัดพนมเศษเหนือโดยตลอด จนวัดพนมเศษเหนือมีเสนาสนะที่สวยงาม ท่านเป็นพระที่มีเมตตาสูง คนเดือดร้อนมาขอความช่วยเหลือท่านก็จะเมตตาช่วยเหลือทุกคน ท่านมักจะได้รบั กิจนิมนต์ไปนัง่ ปรกปลุกเสกเครือ่ งรางของขลังมากมาย หลวงพ่อประยูร มอบทุนการศึกษาให้แก่เด็กนักเรียน

พระครูนิวาตธรรมาทร (ประยูร สคารโว) เจ้าอาวาสวัดพนมเศษเหนือ SBL บันทึกประเทศไทย NAKHON SAWAN

2

.indd 105

105

20/4/2564 11:13:56


วัดศรีสุธรรมาราม History of Buddhism....

วัดศรีสุธรรมาราม ตั้งอยู่เลขที่ 597 / 10 บ้านลาดยาว หมู่ที่ 7 ต�ำบลลาดยาว อ�ำเภอลาดยาว จังหวัดนครสวรรค์

Map : วัดศรีสุธรรมาราม

วัดศรีสุธรรมาราม ตั้งวัดเมื่อวันที่ 17 กันยายน พ. ศ. 2513 เดิมเรียกว่า “ วัดศรี ” ได้รับพระราชทานวิสุงคามสี มา เมื่อวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2524 เขตวิสุงคามสี มา กว้าง 20 เมตร ยาว 40 เมตร สั งกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ที่ดินที่ต้ังวัดมีเนื้อที่ 7 ไร่ 1 งาน 98 ตารางวา โฉนดที่ดิน เลขที่ 211

106

2

SBL บันทึกประเทศไทย

จั งหวั ดนครสวรรค์

.indd 106

20/4/2564 11:17:50


อาคารเสนาสนะภายในวัดประกอบด้วย อุโบสถ กว้าง 6.30 เมตร ยาว 17.35 เมตร สร้างเมือ่ ปี พ.ศ. 2529 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก ศาลาการเปรียญ กว้าง 14.35 เมตร ยาว 33.57 เมตร สร้างเมือ่ ปี พ.ศ. 2502 เป็นอาคารไม้ หอสวดมนต์ กว้าง 4.64 เมตร ยาว 24.54 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2540 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก กุฏสิ งฆ์ จ�ำนวน 6 หลัง เป็นอาคารไม้ 4 หลัง อาคารครึง่ ตึกครึง่ ไม้ 1 หลัง อาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก 1 หลัง วิหาร กว้าง 7.02 เมตร ยาว 15.12 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2554 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก ศาลาอเนกประสงค์ กว้าง 4.55 เมตร ยาว 37.02 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2551 ศาลาบ�ำเพ็ญกุศล จ�ำนวน 1 หลังสร้างเมื่อปี พ.ศ. 2524 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก นอกจากนีม้ ี ฌาปนสถาน 1 หลัง, หอระฆัง 2 หลัง, โรงครัว 1 หลัง

ปูชนียวัตถุ

อุโบสถวัดศรีสุธรรมาราม

พระประธานประจ�ำอุโบสถ ปางสมาธิขนาดหน้าตักกว้าง 59 นิ้ว สูง 70 นิว้ สร้างเมือ่ ปี พ.ศ. 2529 พระประธานประจ�ำศาลาการเปรียญ ปางมารวิชยั ขนาดหน้าตักกว้าง 35 นิว้ สูง 49 นิว้ สร้างเมือ่ พ. ศ. 2540

พระศรีสุทธิพงศ์ (สมส่วน ปฏิภาโณ ป.ธ.9)

ชาติภูมิ พระศรีสุทธิพงศ์ มีนามเดิม สมส่วน เพ็งสุข เกิดเมื่อ วันพฤหัสบดี ที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2501 ตรงกับปีจอ ณ บ้านเลขที่ 106 หมู่ที่ 12 ต�ำบลบ้านไร่ อ�ำเภอลาดยาว จังหวัดนครสวรรค์ อุปสมบท เมื่อวันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2522 ณ วัดลาดยาว ต�ำบลลาดยาว อ�ำเภอลาดยาว จังหวัดนครสวรรค์ โดยมี พระครูนิโรธธรรมรัตน์ เป็นพระอุปัชฌาย์ การศึกษา พ.ศ. 2524 สอบได้นกั ธรรมชัน้ เอก ส�ำนักเรียนวัดนครสวรรค์ พ.ศ. 2535 สอบได้ เปรียญธรรม 9 ประโยค ส�ำนักเรียน วัดนครสวรรค์ พ.ศ. 2560 ส�ำเร็จปริญญาพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต(พธ.ด.) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ต�ำแหน่ง ฝ่ายปกครอง พ.ศ. 2541 เป็น เจ้าอาวาสวัดศรีสุธรรมาราม พ.ศ. 2542 เป็น เจ้าคณะอ�ำเภอลาดยาว พ.ศ. 2543 เป็น พระอุปัชฌาย์ สมณศักดิ์ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2548 เป็น พระราชาคณะชั้นสามัญเปรียญ ที่ พระศรีสุทธิพงศ์ SBL บันทึกประเทศไทย NAKHON SAWAN

2

.indd 107

107

20/4/2564 11:17:57


วัดหัวตลุกวนาราม History of Buddhism....

MAP : วัดป่าหัวตลุกวนาราม

108

6

วัดหัวตลุกวนาราม ตั้งอยู่เลขที่ 89 หมู่ที่ 6 ต�ำบลสระแก้ว อ�ำเภอลาดยาว จังหวัดนครสวรรค์

SBL บันทึกประเทศไทย

จั งหวั ดนครสวรรค์

.indd 108

20/4/2564 11:19:07


ประวัติวัดหัวตลุกวนาราม เมื่อปี พ.ศ. 2524 หลวงปู่ลี ตาณํกโร เดินธุดงธ์มาอ�ำเภอลาดยาว และได้ปกั กลดทีใ่ ต้ตน้ มะม่วงใหญ่ในป่าเล็กๆบ้านหัวตลุก บริเวณรอบ ป่าเป็นทุ่งนา ก่อนเข้าพรรษา 16 วัน (ประมาณ วันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2524 ) ต่อมาญาติโยมปลูกกุฏิเป็นกระท่อมหลังคามุงหญ้าแฝก 1 หลัง ต่อมาปี พ.ศ. 2525 ญาติโยมปลูกกุฏหิ ลังเล็กถวาย จ�ำนวน 1 หลัง พร้อมถวายที่ดินประมาณ 3 ไร่ และในปีพ.ศ. 2549 กุฏิหลังเก่าช�ำรุด ญาติโยมสร้างกุฏิหลังใหม่ถวาย พร้อมซื้อที่ดินเพิ่มอีก จ�ำนวน 35 ไร่ ซึ่งเป็นพื้นที่นา รวมที่ดินทั้งหมด 38 ไร่ 1 งาน 44 ตารางวา ต่อมาถม พื้นนาและปลูกป่าไม้จนเป็นป่าในปัจจุบัน ปี พ.ศ. 2564 ได้ ซื้อที่ดิน เพิ่มอีก จ�ำนวน 35 ไร่ เพื่อปลูกป่าและสร้างเจดีย์พุทธคยา วัดหัวตลุกวนาราม มีเจ้าอาวาสรูปเดียว คือ หลวงปู่ลี ตาณํกโร ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2524 – ปัจจุบัน

อุโบสถวัดหัวตลุกวนาราม

SBL บันทึกประเทศไทย NAKHON SAWAN

6

.indd 109

109

20/4/2564 11:19:16


ปฏิปทา

หลวงปู่ลี ตาณํกโร

หลวงปู่ลี ตาณํกโร ได้บรรพชาเป็นสามเณร เมื่อปี พ.ศ. 2498 อายุ 19 ปี ณ.วัดโพธิ์ชัย และอุปสมบทเป็นพระภิกษุในเวลาต่อมา ซึ่งหลวงปู่ลี บอกว่า หลวงปู่มีชีวิตโตมากับการบวช หลวงปู่ลี ได้มี โอกาสกราบและศึกษาธรรมกับหลวงปู่ หลวงพ่อ ครูอาจารย์ พอสรุปได้ ดังนี้ 1. หลวงพ่อทองสุข สิริจนฺโท วัดป่าบ้านหนองโน (เป็นศิษย์หลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต) 2. พระครูปัญญาวรากร 3. หลวงปู่อ่อน ญาณสิริ วัดป่านิโครธาราม 4. หลวงปู่สิม พุทธาจาโร วัดถ�้ำผาปล่อง 5. หลวงปู่แว่น ธนปาโล วัดถ�้ำพระสบาย 6. หลวงปู่เทสก์ เทสรํสี วัดหินหมากเป้ง 7. หลวงปู่ขาว อนาลโย วัดถ�้ำกลองเพล 8. หลวงตามหาบัว วัดป่าบ้านตาด หลวงปู่ลี ตาณํกโร เป็นพระสุปฏิปันโนผู้ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบและ อาวุโสสูงรูปหนึ่งที่มุ่งมั่นเจริญภาวนาตามแนวปฏิปทากรรมฐานสาย ท่านพระอาจารย์มั่น ภูริทัตฺโต หลวงปู่ลี เป็นพระผู้มีเมตตาสูงมากและเป็นที่เคารพสักการบูชา ของศิษานุศิษย์จากทั่วสารทิศ

110

6

หลวงปู่ลี ตาณํกโร

เจ้าอาวาสวัดหัวตลุกวนาราม

SBL บันทึกประเทศไทย

จั งหวั ดนครสวรรค์

.indd 110

20/4/2564 11:19:26


SBL บันทึกประเทศไทย NAKHON SAWAN

6

.indd 111

111

20/4/2564 11:19:33


ปูชนียวัตถุทสี่ �ำคัญ 1. สมเด็จพระพุทธรัตนจอมไทย 2. พระธาตุพนมจ�ำลอง 3. วิหารประสูติ 4. วิหารพุทธเมตตา 5. วิหารปฐมเทศนา 6. วิหารปรินิพพาน 7. โบสถ์ 8. พิพิธภัณฑ์บูรพาจารย์ 9. เสาอโศก 10. พระเจ้าอโศกมหาราช 11. ซุ้มประตูวัด 12. ศาลาการเปรียญ 13. ก�ำลังจะก่อสร้างเจดีย์พุทธคยา ปัจจุบนั หลวงปูล่ ี ตาณํกโร อายุ 85 ปี ฉายา “ตาณํกโร” ซึง่ มีความหมายว่า “ผูต้ อ่ สูเ้ อาชนะซึง่ กิเลส”

112

6

SBL บันทึกประเทศไทย

จั งหวั ดนครสวรรค์

.indd 112

20/4/2564 11:19:41


วัดหนองโพ

SBL บันทึกประเทศไทย NAKHON SAWAN

6

.indd 113

113

20/4/2564 11:19:47


วัดเทพสุทธาวาส History of Buddhism....

วัดเทพสุทธาวาส ตั้งอยู่เลขที่ 79 หมู่ที่ 9 ต�ำบลหนองกลับ อ�ำเภอหนองบัว จังหวัดนครสวรรค์

วัดเทพสุทธาวาส ตั้งวัดเมื่อวันที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2500 ผู้ด�ำเนินการจัดสร้างวัด คือนายเล่ง พรมอ่อน, นายบุญ ชุ มแป้น

และนายเพ็ง ฉ่� ำน้ อย ชาวบ้านเรี ยกว่ า “วั ดนายปสั่ ง” โดยประธานฝ่ายสงฆ์ คื อ พระเทพสิ ทธิ นายก และหลวงพ่อจ้ อย

Facebook : วัดเทพสุทธาวาส

ได้ด�ำเนินการสร้างวัดได้รับพระราชทานวิสุงคามสี มา เมื่อวันที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2524 เขตวิสุงคามสี มากว้าง 40 เมตร

ยาว 80 เมตร

114

2

SBL บันทึกประเทศไทย

จั งหวั ดนครสวรรค์

.indd 114

20/4/2564 11:24:23


อาคารเสนาสนะประกอบด้วย

- อุโบสถ กว้าง 10 เมตร ยาว 30 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2494 - ศาลาการเปรียญ กว้าง 40 เมตร ยาว 48.50 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2538 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก - กุ ฏิ ส งฆ์ จ� ำ นวน 5 หลั ง เป็ น อาคารไม้ 3 หลั ง อาคาร คอนกรีตเสริมเหล็ก 2 หลัง - วิหาร กว้าง 1.45 เมตร ยาว 1.35 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2554 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก - ศาลาบ�ำเพ็ญกุศล จ�ำนวน 1 หลังสร้างเมื่อ พ.ศ. 2552 เป็น อาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก นอกจากนีม้ ี ฌาปนสถาน 1 หลัง, หอระฆัง 1 หลัง, โรงครัว 2 หลัง, เรือนเก็บพัสดุ 1 หลัง , เรือนรับรอง 1 หลัง

อุโบสถวัดเทพสุทธาวาส

พระครูนิมิตศีลาภรณ์ (สม ฐิตสีโล) เจ้าอาวาสวัดเทพสุทธาวาส เจ้าคณะอ�ำเภอหนองบัว

SBL บันทึกประเทศไทย NAKHON SAWAN

2

.indd 115

115

20/4/2564 11:24:31


Map : วัดไพศาลี

History of Buddhism....

วัดไพศาลี

116

2

.indd 116

วัดไพศาลี ตั้งอยู่เลขที่ 1 หมู่ที่ 1 ต�ำบลไพศาลี อ�ำเภอไพศาลี จังหวัดนครสวรรค์

วัดไพศาลี ตั้งวัดเมื่อวันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2527 เริ่มก่อสร้างโดย พ่อกอง-แม่ผ้น

นามโสวรรณ, พ่อใหญ่ - แม่โท ตรีจน ั ทร์, พ่อเกริก-แม่เงิน ตรีจน ั ทร์, พ่อคง-แม่พรม บัวรอด, พ่อเลี่ยน-แม่ขาว พลอยสวรรค์, พ่อเหลือบ-แม่เขียว มิ่งขวัญ, นายบุญชู -นางเจริญ

นามโสวรรณ, พ่อโอน - แม่ถนอม เกตุสว ุ รรณ์, ผูใ้ หญ่ทอง รุง่ เรืองศรี ได้ร่วมกันปรึกษา

หารือร่วมกันด�ำเนินการก่อสร้างวัดไพศาลี โดยการซื้ อที่ดินของ นายปล้อง ขวัญพุทโธ

5 ไร่ และนายปล้อง บริจาคให้อีก 1 ไร่ รวมเป็น 6 ไร่ และได้ช่วยกันก่อสร้างอาคาร เสนาสนะให้เหมาะสมกับเป็นที่อยูจ ่ �ำพรรษาของพระภิกษุ สามเณร ได้รับพระราชทาน วิสง ุ คามสี มาเมือ ่ วันที่ 25 สิ งหาคม พ.ศ. 2541 เขตวิสง ุ คามสี มา กว้าง 5 เมตร ยาว 20 เมตร

SBL บันทึกประเทศไทย

จั งหวั ดนครสวรรค์

20/4/2564 11:23:26


อาคารเสนาสนะภายในวัดประกอบด้วย อุโบสถ กว้าง 20 เมตร ยาว 40 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2544 เป็น อาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก ศาลาการเปรียญ กว้าง 20 เมตร ยาว 30 เมตร คอนกรีตเสริมเหล็ก กุฏิสงฆ์ จ�ำนวน 14 หลัง เป็นอาคารไม้ 10 หลัง อาคารคอนกรีต เสริมเหล็ก 4 หลัง วิหาร กว้าง 6.10 เมตร ยาว 6.10 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2552 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก ศาลาอเนกประสงค์ กว้าง 9 เมตร ยาว 17 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2548 นอกจากนีม้ ี หอระฆัง 1 หลัง โรงครัว 1 หลัง เรือนเก็บพัสดุ 1 หลัง เรือนรับรอง 2 หลัง มีพระประธานประจ�ำอุโบสถ ปางสมาธิ สร้างเมื่อ พ.ศ. 2554

วิหารบูรพาจารย์

อุโบสถวัดไพศาลี พระครูนิทัศน์ปัญญาวุธ (ล�ำยวง วรปญฺโญ)

เจ้าอาวาสวัดไพศาลี / เจ้าคณะอ�ำเภอไพศาลี พระครูนิทัศน์ปัญญาวุธ ฉายา วรปญฺญ อายุ 73 พรรษา 53 วิทยฐานะ น.ธ.เอก ป.บส.พธบ. ปริญญาตรี นิติศาสตรบัณฑิต สถานะเดิม ชือ่ ล�ำยวง นามสกุล อยูป่ อ้ ม เกิด 4ฯ9 ค�ำ่ ปีชวด วันที่ 1 เดือนกันยายน พ.ศ. 2491 อุปสมบท วัน 4ฯ3 ค�ำ่ ปีชวด วันที่ 25 เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2512 วัดโคกเดือ่ ต�ำบลโคกเดือ่ อ�ำเภอไพศาลี จังหวัดนครสวรรค์ พระอุปัชฌาย์ พระครูนิมิตพุทธิสาร วัดโคกเดื่อ ต�ำบลโคกเดื่อ อ�ำเภอไพศาลี จังหวัดนครสวรรค์ พระกรรมวาจาจารย์ เจ้าอธิการทูล ยุตตฺ ธมฺโม วัดโคกเดือ่ ต�ำบลโคกเดือ่ อ�ำเภอไพศาลี จังหวัดนครสวรรค์ พระอนุสาวนาจารย์ พระมหาสว่าง อคฺคธมฺโม วัดโคกเดื่อ ต�ำบลโคกเดื่อ อ�ำเภอไพศาลี จังหวัดนครสวรรค์

พระครูนิทัศน์ปัญญาวุธ (ล�ำยวง วรปญฺโญ) เจ้าอาวาสวัดไพศาลี / เจ้าคณะอ�ำเภอไพศาลี

SBL บันทึกประเทศไทย NAKHON SAWAN

2

.indd 117

117

20/4/2564 11:23:35


วัดตะเคียนทอง History of Buddhism....

Facebook : วัดตะเคียนทอง

วัดตะเคียนทอง ตั้งอยู่เลขที่ 99 หมู่ที่ 4 ต�ำบลโพธิ์ประสาท อ�ำเภอไพศาลี จังหวัดนครสวรรค์

118

4

SBL บันทึกประเทศไทย

จั งหวั ดนครสวรรค์

.indd 118

20/4/2564 11:25:53


ปูชนียวัตถุ และสิ่งส�ำคัญภายในวัดตะเคียนทอง

1. หลวงพ่อเดิม พุทธสโร องค์ใหญ่ หน้าตักกว้าง 109 ซม. สูง 5 เมตร เป็นเทพเจ้าผู้ศักดิ์สิทธิ์ แห่งเมืองสี่แคว ประดิษฐานติดถนนสาธารณะ ด้านทิศใต้หน้าซุ้มประตูของวัด 2. วิหาร ภายในวิหารประดิษฐานหลวงพ่อเดิม พุทธสโร เท่าองค์ จริงมีสาธุชนผูใ้ จบุญมาบนบานประจ�ำโดยใช้พวงมาลัย 9 พวง, ขนมจีน น�ำ้ ยา 1 ชุด, ไข่ 99 ฟอง, ลอดช่องไทย 1 ชุด, ผ้าป่า 1 กอง แล้วจะได้

3. พ่อปูต่ ะเคียนใหญ่ เป็นพระพุทธรูปองค์ใหญ่เก่าแก่ หน้าตัก กว้าง 160 ซม. เป็นพระพุทธรูปทองเหลือง ประดิษฐานในวิหารคู่ หลวงพ่อเดิม 4. หลวงพ่อพรหมมา เป็นพระพุทธรูปปูนปัน้ คูว่ ดั ตะเคียนทอง มาตั้งแต่เริ่มสร้างวัด ประดิษฐานในวิหาร 5. หลวงพ่อยิม้ พระคูว่ ดั ตะเคียนทอง เนือ้ นวโลหะ ประดิษฐาน ในวิหาร 6. ภายในวิ ห ารหลวงพ่ อ เดิ ม เป็ น ที่ ป ระดิ ษ ฐานเรื อ แม่ ย ่ า ตะเคียนทอง ซึ่งพุทธศาสนิกชนผู้

อุโบสถวัดตะเคียนทอง

SBL บันทึกประเทศไทย NAKHON SAWAN

4

.indd 119

119

20/4/2564 11:26:03


8. ด้านหลังศาล แม่ย่าตะเคียนทองเป็นที่ประดิษฐานเจ้าแม่กวน อิมรูปประทับยืน 9. ด้านหลังวิหารหลวงพ่อเดิม เป็นทีต่ งั้ ของพระราหูผใู้ ดทีต่ กพระ ราหูก็จะมากราบไหว้ด้วยธูปด�ำ 10. ด้านหลังวิหารประดิษฐานพระพิฆเนศ ปางประทับยืนสาธุชน ขอพรให้เกิดความสุขส�ำเร็จใจชีวิตได้ทุกวัน 11. ด้านทิศเหนือหลังอุโบสถ เป็นที่ประทับของพ่อปู่ศรีสุทโธ นาคราช พ่อปู่นาคราชใหญ่ พ่อปู่อนันตนาคราช ผู้ใดตกปีนาคราชก็ จะใช้ธูป 5 ดอกขออมาพ่อปู่นาคราชขอขมาพ่อปู่นาคราช 12. ด้านหน้าซุ้มประดิษฐานท้าวเวสสุวรรณผู้เฝ้าซุ้มทางเข้าออก ของวัดเป็นการขจัดสิง่ ชัว่ ร้ายทีจ่ ะเข้ามาในวัดตะเคียนทอง ป้องกันขจัด ภูตผีปีศาจทั้งหลายตามโบราณคดีสมัยพุทธกาล 13. ช้างคูบ่ ญ ุ คูบ่ ารมีของหลวงพ่อเดิม พุทธสโร เทพเจ้าผูศ้ กั ดิส์ ทิ ธิ์ แห่งเมืองสีแ่ ควจังหวัดนครสวรรค์ คือแม่ประทุมและพ่อพลายทองครู ใครได้ลอดท้องช้างก็จะพบแต่ความสุขมีสุขภาพแข็งแรง 14. ไก่แก้ว ซึ่งเป็นไก่น�ำโชคลาภเข้ามาสู่วัดตะเคียนทอง 15. รูปเหมือนหลวงปู่ทวดวัดช้างไห้ เพื่อเสริมบารมีให้กับตัวท่าน ทั้งหลายที่ได้เคารพสักการะด้วยความศรัทธา 16. กราบรูปเหมือน สมเด็จพระพุฒาจารย์(โต พรหมรังสี) เพื่อ เกิดความร่มเย็น

17. ภายในศาลาการเปรียญ ประดิษฐานพระพุทธชินราช หน้าตัก กว้าง 69 นิ้ว เนื้อทองเหลือง เพื่อพุทธศาสนิกชนได้กราบไหว้บูชา 18. อุโบสถวัดตะเคียนทอง ประดิษฐานพระประธานประจ�ำอุโบสถ เชียงแสนหน้านางและพระพุทธชินราชใหญ่ 2 องค์ ตลอดจนหลวงพ่อ โสธรหน้าตักกว้าง 90 ซม. เนื้อทองเหลือง ทุกวันที่ 22 พฤษภาคม ของทุกปี วัดตะเคียนทองจะจัดให้มีการ ไหว้ครู หลวงพ่อเดิม เสริมแม่ยา่ ตะเคียนทอง ญาติโยมทีร่ บั เรือไปก็จะ ทอดผ้าป่าเสริมบุญบารมีให้กับแม่ย่าตะเคียนทอง ประจ�ำทุกปี

120

4

SBL บันทึกประเทศไทย

จั งหวั ดนครสวรรค์

.indd 120

20/4/2564 11:26:09


พระครูนิติวินัยการ

เจ้าอาวาสวัดตะเคียนทอง SBL บันทึกประเทศไทย NAKHON SAWAN

4

.indd 121

121

20/4/2564 11:26:17


วัดมฤคทายวัน History of Buddhism....

Map : วัดมฤคทายวัน

วัดมฤคทายวัน ตั้งอยู่เลขที่ 43 บ้านตลิ่งสูง หมู่ที่ 5 ต�ำบลแม่เลย์ อ�ำเภอแม่วงก์ จังหวัดนครสวรรค์

วัดมฤคทายวัน สั งกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ที่ดินที่ต้ังวัดมีเนื้อที่ 9 ไร่ 3 งาน 55 ตารางวา น. ส. 3 เลขที่ 7 ตั้งวัดเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม

พ.ศ. 2551 เดิมเรียกว่า “วัดตลิ่งสูง” เพราะตั้งอยูร ่ ิมแม่น้�ำ โดยนายสงวน โอภาส เป็นผูด ้ �ำเนินการขออนุญาตสร้างวัดและตั้งวัด ต่อมาเปลี่ยน

ชื่ อใหม่ว่า “วัดมฤคทายวัน” ทางวัดได้เปิดด�ำเนินการสอนพระปริยต ั ิธรรม ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2553 จนถึงปัจจุบน ั ได้รับพระราชทานวิสุงคามสี มา เมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2545 ปัจจุบันมี พระครู นิวิฐศี ลขันธ์ ฐิตวฑฺฒโน เป็นเจ้าอาวาส และเจ้าคณะอ�ำเภอแม่วงก์

122

2

SBL บันทึกประเทศไทย

จั งหวั ดนครสวรรค์

.indd 122

20/4/2564 11:28:46


อาคารเสนาสนะประกอบด้วย

- อุโบสถ กว้าง 6 เมตร ยาว 14 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2538 - ศาลาการเปรียญ กว้าง 20 เมตร ยาว 40 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2525 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก - กุฏิสงฆ์ จ�ำนวน 13 หลัง เป็นอาคารไม้ 12 หลัง อาคาร คอนกรีตเสริมเหล็ก 1 หลัง - วิหาร กว้าง 3 เมตร ยาว 8 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2538 เป็น อาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก นอกจากนี้มีฌาปนสถาน 1 หลัง, หอระฆัง 1 หลัง, โรงครัว 1 หลัง

อาณาเขต

ทิศเหนือ จดที่ดินเอกชน ทิศใต้ จดทางสาธารณะ ทิศตะวันออก จดทางสาธารณะ ทิศตะวันตก จดที่ดินเอกชน ปูชนียวัตถุมี พระประธานประจ�ำอุโบสถ ปางสมาธิ ขนาดหน้าตัก กว้าง 98 นิ้ว สูง 200 นิ้ว สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2538, พระประธานประจ�ำ ศาลาการเปรียญ ปางสมาธิ ขนาดหน้าตักกว้าง 50 นิว้ สูง 74 นิว้ สร้าง เมื่อปี พ.ศ. 2525

อุโบสถวัดมฤคทายวัน

SBL บันทึกประเทศไทย NAKHON SAWAN

2

.indd 123

123

20/4/2564 11:28:54


วัดปางสวรรค์ History of Buddhism....

Map : วัดปางสวรรค์

วัดปางสวรรค์ ตั้งอยู่บ้านปางสวรรค์ หมู่ที่ 3 ต�ำบลปางสวรรค์ อ�ำเภอชุ มตาบง จังหวัดนครสวรรค์

วัดปางสวรรค์ สั งกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ที่ดินที่ต้ังวัดมีเนื้อที่ 15 ไร่ 2 งาน 50 ตารางวา ที่ดิน ส. ป. ก. 75 / 2548 ตั้งวัดเมื่อวันที่ 4

มิถุนายน พ. ศ. 2550 วัดปางสวรรค์ เดิมเป็นที่ดินของนางฉัตร ชู วัตศรี มีจิตศรัทธาถวายเป็นที่ดินของวัด โดยปลูกสร้างในเนื้อที่ 21 ไร่

2 งาน 50 ตารางวา ต่อมานายมานิตย์ แตงทรัพย์ ได้ด�ำเนินการขอใช้ ที่ดิน สปก. เพื่อการสร้างวัดและตั้งวัด โดยมี พระครู นิรุติวิเชี ยร เป็นเจ้าอาวาสองค์ปัจจุบัน การบริหารและการปกครอง มีเจ้าอาวาสรู ปปัจจุบัน คือ พระครู นิรุติวิเชี ยร

124

2

SBL บันทึกประเทศไทย

จั งหวั ดนครสวรรค์

.indd 124

20/4/2564 11:31:34


พระมหาธาตุเจดีย์ศรีจันเสน

โดยรอบบริเวณวัด อากาศร่มรืน่ เย็นสบาย ร่มรืน่ ด้วยต้นไม้นานาชนิด เงียบสงบ เหมาะแก่การปฏิบัติธรรม

อาณาเขต

ทิศเหนือ จดทางสาธารณประโยชน์ ทิศใต้ จดที่ดินของนางตาล สร้อยฟ้า ทิศตะวันออก จดที่ดินของนายเกษม กลิ่นเจริญ ทิศตะวันตก จดทางสาธารณประโยชน์

ปูชนียวัตถุมี พระประธานประจ�ำศาลาการเปรียญ ปางมารวิชัย ขนาดหน้าตักกว้าง 50 นิ้ว สูง 69 นิ้ว สร้างเมื่อ พ.ศ. 2549

อุโบสถวัดปางสวรรค์

พระครูนิรุติวิเชียร

เจ้าคณะอ�ำเภอชุมตาบง / เจ้าอาวาสวัดปางสวรรค์ SBL บันทึกประเทศไทย NAKHON SAWAN

2

.indd 125

125

20/4/2564 11:31:45


History of Buddhism....

วัดโกรกพระเหนือ

วัดโกรกพระเหนือ ตั้งอยู่ที่เลขที่ 1 หมู่ 3 ต�ำบลโกรกพระ อ�ำเภอโกรกพระ จังหวัดนครสวรรค์

Map : วัดโกรกพระเหนือ

วัดโกรกพระเหนือ สั งกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ภาค 4 หนเหนือ สร้างขึ้นเป็นวัด ตั้งแต่ปี 2482 มีนามตามชื่ อของหมู่บ้าน มีที่ดินตั้งวัด

เนื้อที่ 27 ไร่ 2 งาน 36 ตารางวา อาณาเขตเขตทิศเหนือ จดถนนสาธารณะเทศบาล 8, ทิศใต้และตะวันออก จดถนนสาธารณะเทศบาล 8, ทิศตะวันตก จดถนนสาธารณะสายโกรกพระ – ปากน้�ำโพ ตามโฉลดเลขที่ 3037 มีที่ธรณีสงฆ์จ�ำนวน 4 แปลง เนื้อที่ 69 ไร่ 4 งาน

ตามโฉนด 3316 เนื้อที่ 4 ไร่ 1 งาน ตามโฉนด 3036 เนื้อที่ 2 ไร่ ตามโฉนด 1470 เนื้อที่ 28 ไร่ 1 งาน ตามโฉนด 7388 เนื้อที่ 31 ไร่ 2 งาน

วัดโกรกพระเหนือ สร้างขึ้นเป็นวัดตั้งแต่ พ.ศ. 2304 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสี มา เมื่อปี พ.ศ. 2510 เขตวิสุงคามสี มา กว้าง 40 เมตร

ยาว 60 เมตร วั ด โกรกพระเหนื อ เป็ น ศู น ย์ ก ลางชุ ม ชน ขั บ เคลื่ อ นด้ ว ยพลั ง บวร บ้ า น วั ด โรงเรี ย น ราชการ ร่ ว มกั น ท� ำ งานเป็ น วัดชุ มชนคุณธรรม

126

2

SBL บันทึกประเทศไทย

จั งหวั ดนครสวรรค์

.indd 126

20/4/2564 11:34:39


ท�ำเนียบเจ้าอาวาส ในอดีตถึงปัจจุบัน รวม 10 รูป รูปที่ 1 หลวงพ่อท้วม ไม่ทราบฉายา พ.ศ. 2400 - 2430 รูปที่ 2 พระสมุห์ทองค�ำ ไม่ทราบฉายา พ.ศ. 2430 - 2465 รูปที่ 3 พระอาจารย์ม้วน ไม่ทราบฉายา พ.ศ. 2465 - 2485 รูปที่ 4 พระครูสังฆวิชิต ไม่ทราบฉายา พ.ศ. 2485 - 2493 รูปที่ 5 พระอาจารย์เวก ไม่ทราบฉายา พ.ศ. 2493 - 2500 รูปที่ 6 พระอาจารย์แทน ไม่ทราบฉายา พ.ศ. 2500 - 2510 รูปที่ 7 พระอธิการผง ไม่ทราบฉายา พ.ศ. 2510 - 2520 รูปที่ 8 พระมหานิคม นิคโม พ.ศ. 2520 - 2529 รูปที่ 9 พระครูนิปุณธรรมรัตน์ รูปที่ 10 พระครูนวิ าตปุญญานุยตุ (บุญเตือน พวงแก้ว นธ.เอก พธ.บ) เจ้าอาวาสองค์ปัจจุบัน ด�ำรงต�ำแหน่งการปกครองเป็น เจ้าอาวาส วัดโกรกพระเหนือ, เจ้าคณะต�ำบลโกรกพระ

อุโบสถวัดโกรกพระเหนือ

ประวัติความเป็นมา “หลวงพ่อโต”

“หลวงพ่ อ โต” ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ เป็ น สิ่ ง ที่ โ ดดเด่ น มากที่ สุ ด ของ วัดโกรกพระเหนือ คือ หลวงพ่อโต พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ประจ�ำ วัดโกรกพระเหนือ ศาสนวัตถุที่ทรงคุณค่าทางด้านจิตใจ “หลวงพ่อโต” เป็นพระพุทธรูปทรงรัตนโกสินทร์ ปางสะดุ้งมาร สร้างขึ้นราว 200 ปี ที่งดงามมาก ประดิษฐานอยู่ในอุโบสถหลังเก่า ประชาชนเคารพและนับถือเป็นจ�ำนวนมาก ผูท้ ไี่ ม่มลี กู ก็มาขอพรจาก หลวงพ่อบนขอให้มลี กู บางท่านก็มาบนบานขอสิง่ ต่างๆ นานา ชาวบ้าน นิยมแก้บนให้หลวงพ่อโต ด้วย ลิเก ธูป และเทียน พร้อมด้วยพวงมาลัย ดอกไม้ นับว่าพระพุทธรูปองค์นี้ เป็นพระที่เก่าแก่และศักดิ์สิทธิ์มาคู่ กับอุโบสถหลังเก่า ประมาณราวๆ 200 กว่าปี มาแล้ว จากการบอก เล่าของผู้เฒ่าผู้แก่ที่มีชีวิตอยู่ในปัจจุบัน ท่านบอกว่าพอโตขึ้นมา จ�ำความได้ว่า พ่อแม่ ปู่ ย่า ตา ยาย ก็พามากราบไหว้หลวงพ่อโต ปัจจุบันอายุท่าน 93 ปีแล้ว ท่านมีชื่อว่า นายม้วน นาคพันธ์ อดีต “มัคนายก” วัดโกรกพระเหนือ อ�ำเภอโกรกพระ จังหวัดนครสวรรค์ เป็นผู้ที่ให้ข้อมูล จนในปัจจุบันหลวงพ่อโตเป็นที่เคารพนับถือ ต่อคน ส่วนมากทั้งในอ�ำเภอโกรกพระและคนต่างจังหวัดฯ

พระครูนิวาตปุญญานุยุต เจ้าอาวาสวัดโกรกพระเหนือ

SBL บันทึกประเทศไทย NAKHON SAWAN

2

.indd 127

127

20/4/2564 11:34:48


History of Buddhism....

Map : วัดโกรกพระใต้

วัดโกรกพระใต้

วัดโกรกพระใต้ ตั้งอยู่เลขที่ 10 บ้านโกรกพระ หมู่ที่ 4 ต�ำบลโกรกพระ อ�ำเภอโกรกพระ จังหวัดนครสวรรค์ โทรศั พท์ 0 5629 1078

วัดโกรกพระใต้ สั งกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตั้งวัดเมื่อปี พ.ศ. 2350 โดยมีหลวงพ่อเป้ามาจ�ำพรรษา และด�ำเนินการก่อสร้าง เสนาสนะใน

ระยะแรกเริ่มสร้างวัด เดิมมีนามเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “ วัดโพธิลังการาม” ได้รับพระราชทานวิสุงคามสี มา เมือ ่ วันที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2550 เขตวิสุงคามสี มา กว้าง 20 เมตร ยาว 30 เมตร ที่ดินที่ต้ังวัดมีเนื้อที่ 21 ไร่ 42 ตารางวาโฉนดที่ดินเลขที่ 4010

128

2

SBL บันทึกประเทศไทย

จั งหวั ดนครสวรรค์

.indd 128

20/4/2564 11:41:20


สถานที่ส�ำคัญของวัดโกรกพระใต้ - อุโบสถประดิษฐานพระประธาน พระพุทธศรีสรรเพชร และ พระพุทธศรีศากยมุนี - วิหารวัดโกรกพระใต้ประดิษฐาน 1. หลวงพ่อโกรกพระ พระประธานวิหาร 2. พระครูสวรรค์วิถีฯ(หลวงปู่หงษ์) 3. พระครูนิพัทธธรรมศาสน์(หลวงพ่อแช่ม) 4. พระครูนิวาสธรรมขันธ์(หลวงพ่อเดิม) 5. พระครูนิวุตถ์พรหมจรรย์(หลวงพ่อพรหม)

อุโบสถโกรกพระใต้

วิหารวัดโกรกพระใต้

SBL บันทึกประเทศไทย NAKHON SAWAN

2

.indd 129

129

20/4/2564 11:41:29


วัดเกษมศานติ์ History of Buddhism....

Map : วัดเกษมศานติ์

วัดเกษมศานติ์ ตั้งอยู่เลขที่ 39/5 หมู่ที่ 6 ต�ำบลบางประมุง อ�ำเภอโกรกพระ จังหวัดนครสวรรค์ โทรศั พท์ 087-210-6366

วัดเกษมศานติ์ สั งกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ 13 ไร่ 2 งาน มีที่ธรณีสงฆ์ จ�ำนวน 1 แปลง เนื้อที่ 7 ไร่ 2 งาน 10 ตารางวา

พื้นที่ต้ังวัดเป็นที่ราบต่�ำ มีถนนผ่านหน้าวัด การคมนาคมสะดวก วัดเกษมศานติ์ กระทรวงศึ กษาธิการ ได้ประกาศตั้งเป็นวัดนับตั้งแต่วันที่

13 ตุลาคม พ.ศ. 2521 การสร้างวัดได้ริเริ่มด�ำเนินการตั้งแต่ ปีพ.ศ. 2508 เป็นต้นมา ระยะแรกเรียกว่า วัดใหม่เกษมศานติ์ บางคนเรียกว่า วัดช่ องกว้าง ตามชื่ อหมู่บ้านที่มีพระภิกษุอยู่จ�ำพรรษาประมาณปีละ 10 รู ป

130

2

SBL บันทึกประเทศไทย

จั งหวั ดนครสวรรค์

.indd 130

21/4/2564 10:39:11


อาคารเสนาสนะภายในวัด - ศาลาการเปรียญ สร้างปี พ.ศ. 2525 - หอสวดมนต์ สร้างปี พ.ศ. 2515 - กุฏิสงฆ์ จ�ำนวน 4 หลัง ปูชนียวัตถุ มี พระประธานประจ�ำอุโบสถ ปางมารวิชยั ขนาดหน้า ตักกว้าง 50 นิว้ สูง 39 นิว้ สร้างเมือ่ ปี พ.ศ. 2535 พระประธานประจ�ำ ศาลาการเปรียญ ปางมารวิชัย ขนาดหน้าตักกว้าง 39 นิ้ว สูง 69 นิ้ว สร้างเมื่อปีพ.ศ. 2548

อุโบสถวัดเกษมศานติ์

หลวงพ่อสมปราถนา

หน้าตักกว้าง 9 เมตร ความสูง 12 เมตร

พระครูนิยุตปุญญเกษม เจ้าอาวาสวัดเกษมศานติ์

SBL บันทึกประเทศไทย NAKHON SAWAN

2

.indd 131

พระเจดีย์เก่าหน้าพระอุโบสถ

131

20/4/2564 11:44:06


History of Buddhism....

Map : วัดเก้าเลี้ยว

วัดเก้าเลี้ยว

วัดเก้าเลี้ยว ตั้งอยู่เลขที่ 55 บ้านเก้าเลี้ยว ถนนเก้าเลี้ยววิถี หมู่ที่ 1 ต�ำบลเก้าเลี้ยว อ�ำเภอเก้าเลี้ยว จังหวัดนครสวรรค์

ปัจจุบน ั มี พระครู นม ิ ต ิ ธรรมสาร (สมพร ฐานวฑฺโฒ) เจ้าคณะอ�ำเภอเก้าเลีย ้ ว เป็นเจ้าอาวาสวัดเก้าเลีย ้ ว

132

2

SBL บันทึกประเทศไทย

จั งหวั ดนครสวรรค์

.indd 132

20/4/2564 11:47:38


อาคารเสนาสนะภายในวัดประกอบด้วย ปูชนียวัตถุมี พระประธานประจ�ำอุโบสถ ปางมารวิชัย ขนาดหน้า ตักกว้าง 3 เมตร สูง 5 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2480 พระประธาน ประจ�ำศาลาการเปรียญ ปางมารวิชัย ขนาดหน้าตักกว้าง 2.50 เมตร สูง 2 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2511 ปูชนียวัตถุอื่นๆ พระประธาน ประจ�ำวิหารพระพุทธชินราชจ�ำลองปางมารวิชัยขนาดหน้าตักกว้าง 4 เมตร สูง 5 เมตรสร้างเมื่อปี พ.ศ. 2533 ได้รับพระราชทาน วิสงุ คามสีมา พ.ศ. 2479 เขตวิสงุ คามสีมากว้าง 40 เมตร ยาว 80 เมตร ภายในวั ด เก้ า เลี้ ย วมี พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ก าญจนาภิ เ ษก และอาคาร พิพิธภัณฑ์บริขารและหุ่นขี้ผึ้งพระครูนิติธรรมคุณ

SBL บันทึกประเทศไทย NAKHON SAWAN

2

.indd 133

133

20/4/2564 11:47:42


วัดเขาทอง History of Buddhism....

Map : วัดเขาทอง

วัดเขาทอง ตั้งอยู่เลขที่ 158 บ้านเขาทอง หมู่ที่ 4 ต�ำบลเขาทอง อ�ำเภอพยุหะคีรี จังหวัดนครสวรรค์

วัดเขาทอง ตั้งวัดเมือ ่ พ. ศ. 2496 เดิมชื่ อวัดสุวรรณคีรท ี า ่ โขลง ต่อมาในสมัยพระครู นร ิ น ั ดร์ศีลคุณ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส ทางคณะสงฆ์

เห็นว่ าชื่ อวั ดสุ วรรณคี รีท่าโขลงไม่ตรงกั บชื่ อหมู่บ้าน จึ งเปลี่ ยนชื่ อใหม่ว่า “วั ดเขาทอง” จนถึ งปัจจุ บัน ได้ รับพระราชทานวิ สุงคามสี มา

เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2526 เขตวิสุงคามสี มา กว้าง 30 เมตร ยาว 49 เมตร การศึ กษามีโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกธรรม เปิดสอนเมื่อ พ. ศ. 2520 นอกจากนี้มี ศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ เปิดสอนเมื่อ พ. ศ. 2551 ปัจจุบัน มี พระครู นิภาธรรมวงศ์ ( ประเทือง อริยวโส ) เป็นเจ้าอาวาสปกครองวัด

134

2

.indd 134

SBL บันทึกประเทศไทย

จั งหวั ดนครสวรรค์

20/4/2564 11:49:37


อาคารเสนาสนะภายในวัดประกอบด้วย - อุโบสถ กว้าง 11 เมตร ยาว 24.50 เมตร - ศาลาการเปรียญ กว้าง 23 เมตร ยาว 42.50 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2537 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก - หอสวดมนต์ กว้าง 14 เมตร ยาว 18.50 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2445 เป็นอาคารไม้ - กุฏสิ งฆ์ จ�ำนวน 4 หลัง เป็นอาคารไม้ 2 หลัง อาคารครึง่ ตึกครึง่ ไม้ 3 หลัง อาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 หลัง - วิหาร กว้าง 16.50 เมตร ยาว 20 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2541 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก - ศาลาอเนกประสงค์ กว้าง 21.50 เมตร ยาว 30.20 เมตร สร้าง เมื่อ พ.ศ.2543 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก - ศาลาบ�ำเพ็ญกุศล จ�ำนวน 1 หลัง สร้างเมื่อ พ.ศ. 2538 เป็น อาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก นอกจากนี้มี ฌาปนสถาน 1 หลัง หอระฆัง 1 หลัง โรงครัว 1 หลัง ปูชนียวัตถุ มี พระประธานประจ�ำอุโบสถ ปางมารวิชยั ขนาดหน้าตัก กว้าง 64 นิ้ว สูง 47 นิ้ว สร้างเมื่อ พ.ศ. 2526 พระประธานประจ�ำ ศาลาการเปรียญ ปางมารวิชัย ขนาดหน้าตักกว้าง 39 นิ้วสูง 59 นิ้ว สร้างเมื่อ พ.ศ. 2537

อุโบสถวัดเขาทอง

วิหารบูรพาจารย์วัดเขาทอง

พระครูนิภาธรรมวงศ์ ( ประเทือง อริยวโส ) เจ้าคณะอ�ำเภอพยุหะคีรี / เจ้าอาวาสวัดเขาทอง

SBL บันทึกประเทศไทย NAKHON SAWAN

2

.indd 135

135

20/4/2564 11:49:46


TRAVEL GUIDE

บันทึกเส้นทางท่องเที่ยวจังหวัดนครสวรรค์

Travel guide

NAKHON SAWAN สั ม ผั ส วั ฒ นธรรมเมื อ งพระบาง เส้ น ทางแห่ ง ธรรมอั น ร่ ม เย็ น

อุทยานสวรรค์ มองเห็นมาแต่ไกลคือมังกรสวรรค์ขนาดใหญ่ที่ตั้งตระหง่าน อยู่ตรงกลาง อุทยานสวรรค์ประกอบด้วยหนองน�้ำขนาดใหญ่ เรียกว่า หนองสมบุญ มีถนนวงเหวน 2 ชั้นล้อมรอบ ตรงกลางเป็นเกาะ ซึ่งมีเนื้อที่ 4 ไร่ มีสวนหย่อม สนามหญ้า น�้ำพุ เวทีกลางแจ้ง น�ำ้ ตกจ�ำลอง ศาลาและสวนสุขภาพ อุทยานสวรรค์นี้เป็นสวนสาธารณะที่ได้รับรางวัล สวนสาธารณะระดับดีมากจากกรมอนามัยอีกด้วย

วัดคีรีวงศ์ วัดคีรีวงศ์ เพราะเป็นแลนด์มาร์คส�ำคัญของจังหวัด วัดตั้งอยู่บนยอดเขาในตัวเมืองนครสวรค์ จุดเด่นคือ องค์มหาเจดีย์ศักดิ์สิทธิ์คือพระจุฬามณีเจดีย์ ซึ่งเป็น ทองเหลืองอร่าม ไปทั้งเจดีย์ เมื่อขึ้นไปถึงฐานพระเจดีย์ชั้น 4 จะมองเห็นภูมิทัศน์อันสวยงามของเมืองนครสวรรค์ ต้นแม่น�้ำเจ้าพระยา ภูเขาน้อยใหญ่ ทอดตัวตระหง่าน

ไปให้ถึงยอดเขา.... วัดวรนาถบรรพต (วัดเขากบ) วัดวรนาถบรรพต เป็นพระอารามหลวง ตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 1962 ในสมัยสุโขทัยเป็นราชธานี ผู้สร้าง คือ พญาบาลเมือง เพื่ออุทิศแด่พญารามผู้น้อง เดิมชื่อ “วัดกบ” หรือ “วัดเขากบ” เนื่องจากวัดตั้งอยู่บริเวณ เชิงเขากบ ชาวบ้านจึงนิยมเรียกอย่างนี้ 136

.indd 136

SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี

21/4/2564 22:01:01


ชมวิวนครสวรรค์ ที่สะพานเดชาติวงศ์...เส้นทางสู่ภาคเหนือ นครสวรรค์เป็นจุดบรรจบของแม่น�้ำที่รวมกันก่อก�ำเนิด แม่น�้ำส�ำคัญคือแม่นำ�้ เจ้าพระยา จุดชมวิวที่แสนสวยงาม น่าประทับใจอีกจุดหนึ่งคือที่สะพานเดชาติวงศ์ สะพานเก่าแก่ แห่งนี้จัดสร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2485 เปิดใช้อย่างเป็นทางการ เมื่อปี พ.ศ. 2493

บึงน�้ำจืด ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย บึงบอระเพ็ด เป็นบึงน�ำ้ จืดขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย มีเนื้อที่ประมาณ 132,737 ไร่ อยู่ในเขตอ�ำเภอเมือง อ�ำเภอ ท่าตะโก และอ�ำเภอชุมแสง ในอดีตบึงบอระเพ็ดได้ชื่อว่าเป็น “ทะเลเหนือ” หรือ “จอมบึง” เพราะมีสัตว์และพันธุ์พืชน�้ำ อยู่มากมาย จากการส�ำรวจพบว่ามีสัตว์อาศัยอยู่ประมาณ 148 ชนิด พืช 44 ชนิด มีพันธุ์สัตว์ที่หายาก

เส้นสายโค้งมาบรรจบกัน พาสาน อาคารสัญลักษณ์สุดล�้ำแห่งต้นแม่นำ�้ เจ้าพระยา เป็นอีกหนึ่งแลนด์มาร์คใหม่บริเวณเกาะยม จุดก�ำเนิด แม่น�้ำเจ้าพระยา สร้างขึ้นเพื่อเป็นแหล่งท่องเที่ยว แหล่งเรียนรู้ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม ตลอดจนการ ส่งเสริมอาชีพ กระตุ้นเศรษฐกิจในปากน�้ำโพ

“หอชมเมือง” หอชมเมือง เป็นอาคาร 10 ชั้น สูงประมาณ 32 เมตร ประกอบด้วย ชั้น 1 เป็นจุดประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยว ชั้น 2 และ 3 เป็น ร้านอาหาร เครื่องดื่ม เป็นพื้นที่ที่ส�ำหรับรองรับนักท่องเที่ยว จัดกิจกรรมกลางคืน เช่น ดูดาว ส�ำหรับท่านที่สนใจเรื่อง ดาราศาสตร์ และชั้น 10 เป็นจุดที่จัดไว้สำ� หรับชมตัวเมือง นครสวรรค์ โดยเทศบาลเมืองนครสวรรค์ RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 137

137

21/4/2564 22:01:13


138

.indd 138

SBL บันทึกประเทศไทย I ราชบุรี

21/4/2564 22:01:14


RATCHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 139

139

21/4/2564 22:01:15


NAKHON SAWAN รายชื่อวัดในนครสวรรค์ เมืองสี่แคว แห่มังกร พั กผ่อนบึงบอระเพ็ ด ปลารสเด็ดปากน�้ำโพ

อ�ำเภอเมืองนครสวรรค์ 1. วัดคีรีวงศ์

ต�ำบลปากน�้ำโพ

ม. 4 ต�ำบลแควใหญ่ ม. 4 ต�ำบลแควใหญ่

36. วัดท่าพระเจริญพรต

ม. 5 ต�ำบลบ้านมะเกลือ

2. วัดช่ องคีรีศรีสิทธิวราราม

20. วัดสโมสร

ต�ำบลปากน�้ำโพ

21. วัดเกาะหงษ์

37. วัดบน

ม. 6 ต�ำบลตะเคียนเลื่อน

38. วัดบึงน้�ำใส

22. วัดตะเคียนเลื่อน

ม.7 ต�ำบลบ้านมะเกลือ

ม. 1 ต�ำบลตะเคียนเลื่อน

39. วัดเกาะแก้ว

ม. 2 ต�ำบลบ้านแก่ง ม. 4 ต�ำบลบ้านแก่ง

3. วัดไทรใต้

ต�ำบลปากน�้ำโพ ต�ำบลปากน�้ำโพ

4. วัดนครสวรรค์ 5. วัดปากน้�ำโพใต้

ต�ำบลปากน�้ำโพ

ม. 3 ต�ำบลบ้านมะเกลือ

6. วัดพรหมจริยาวาส

ต�ำบลปากน�ำ้ โพ

23. วัดวังยาง

40. วัดบ้านแก่ง

7. วัดพุทธมงคลนิมต ิ ร

ต�ำบลปากน�ำ้ โพ

ม. 11 ต�ำบลตะเคียนเลื่อน

41. วัดยาง

24. วัดท่าทอง ม. 7 ต�ำบลนครสวรรค์ตก

42. วัดวังหยวกใต้

25. วัดยางโทน ม. 2 ต�ำบลนครสวรรค์ตก

43. วัดคีรีสวรรค์

8. วัดโพธาราม

ต�ำบลปากน�้ำโพ

9. วัดวรนาถบรรพต 10. วัดศรีสุวรรณ

13. วัดเกตุคีรี

ม.6 ต�ำบลบ้านแก่ง

ม. 1 ต�ำบลปากน�ำ้ โพ

26. วัดวังไผ่

ม. 8 ต�ำบลนครสวรรค์ตก

ม. 10 ต�ำบลพระนอน

ต�ำบลปากน�้ำโพ

27. วัดสั นคู

ม. 3 ต�ำบลนครสวรรค์ตก

44. วัดบ้านไร่

11. วัดสุคตวราราม 12. วัดกลางแดด

ต�ำบลปากน�้ำโพ

ม. 3 ต�ำบลบ้านแก่ง

ม. 4 ต�ำบลกลางแดด

ม. 2 ต�ำบลกลางแดด

28. วัดจอมคีรีนาคพรต

ม.3 บ้านหนองถ�้ำ ต�ำบลพระนอน

ม. 4 ต�ำบลนครสวรรค์ออก

45. วัดพระนอน

ม. 2 ต�ำบล

46. วัดรังงาม

ม. 8 ต�ำบลพระนอน

ม. 4 ต�ำบลพระนอน

14. วัดศาลเจ้า (สกุลณีอนุสรณ์)

29. วัดป่าเรไลย์

ม.1 ศาลเจ้า ต�ำบลกลางแดด

นครสวรรค์ออก

47. วัดราษฎร์เจริญ

15. วัดเกรียงไกรกลาง

30. วัดศรีสวรรค์สังฆาราม

ม.11 ต�ำบลพระนอน

ม. 5 ต�ำบลเกรียงไกร

ม. 2 ต�ำบลนครสวรรค์ออก

48. วัดราษฎร์บ�ำรุ ง

16. วัดเกรียงไกรใต้

31. วัดท่าดินแดง

ม. 1 ต�ำบลพระนอน

ม.8 ต�ำบลเกรียงไกร

ม. 2 ต�ำบลบางพระหลวง

49. วัดศรีมงคล

17. วัดเกรียงไกรเหนือ

32. วัดท่าล้อ

ม. 10 ต�ำบลเกรียงไกร

33. วัดหัวถนน ม. 3 ต�ำบลบางพระหลวง

ม. 5 ต�ำบลพระนอน

18. วัดเทพสามัคคีธรรม

34. วัดนิเวศวุฒาราม

51. วัดไทรเหนือ

ม. 12 ต�ำบลวัดไทรย์

ม. 7 ต�ำบลแควใหญ่

ม. 8 ต�ำบลบางม่วง

52. วัดบางม่วง

ม. 2 ต�ำบลวัดไทรย์

19. วัดปากน้�ำโพเหนือ

35. วัดยางงาม

ม. 5 ต�ำบลบางพระหลวง

ม.1 ต�ำบลบางม่วง

อ�ำเภอโกรกพระ 1. วัดโกรกพระใต้

5. วัดดงชะพลู ม.

ม. 4 ต�ำบลโกรกพระ

6. วัดเนินเวียง

2. วัดโกรกพระเหนือ

7. วัดบางมะฝ่อ

ม. 3 ต�ำบลโกรกพระ

8. วัดเกษมศานติ์

5 ต�ำบลบางมะฝ่อ

ม. 9 ต�ำบลพระนอน

50. วัดศรีวรรณาราม

ม. 12 ต�ำบลวัดไทรย์

68. วัดบริรักษ์ประชาสาร

55. วัดหาดทรายงาม

ม.10 ต�ำบลหนองกระโดน

ม.5 ต�ำบลวัดไทรย์

69. วัดบวรประชาสั คค์

56. วัดทัพชุมพล

ม. 1 ต�ำบลหนองกรด

ม.6 ต�ำบลหนองกระโดน

57. วัดบ่อพยอม

70. วัดวังสวัสดี

ม.13 บ่อพยอม ต�ำบลหนองกรด

ม. 16 ต�ำบลหนองกระโดน

58. วัดศรีอุทุมพร

71. วัดศรีประชาสรรค์

ม. 9 ต�ำบลหนองกรด

ม. 15 ต�ำบลหนองกระโดน

59. วัดสวรรค์ธาราม

72. วัดศรีอัมพวัลย์

ม. 12 ต�ำบลหนองกรด

ม. 8 ต�ำบลหนองกระโดน

60. วัดสวรรค์ประชากร

73. วัดสมานประชาชน

ม. 11 ต�ำบลหนองกรด

ม. 1 ต�ำบลหนองกระโดน

61. วัดสั นติธรรม

74. วัดสวรรค์วิถีธรรมาราม

ม. 3 ต�ำบลหนองกรด

ม. 12 ต�ำบลหนองกระโดน

62. วัดหนองกระทุ่ม

75. วัดหนองกระโดน

ม. 12 ต�ำบลหนองกรด

ม. 14 ต�ำบลหนองกระโดน

63. วัดหนองโรง

76. วัดอมรประสิ ทธิ์

ม. 8 ต�ำบลหนองกรด

ม. 8 ต�ำบลหนองกระโดน

64. วัดอัมพวัน

ม. 6 ต�ำบลหนองกรด

77. วัดเขมิราษฎร์ ม. 3 ต�ำบลหนองปลิง

ม. 2 ต�ำบลหนองปลิง

78. วัดสังฆมงคล

ม. 3 ต�ำบลหนองกระโดน

79. วัดสุบรรณาราม

66. วัดดอนงาม

ม. 5 ต�ำบลหนองปลิง

ม.1 ต�ำบลหนองกระโดน

80. วัดหนองปลิง ม. 1 ต�ำบลหนองปลิง

67. วัดเนินมะขามงาม

81. วัดคลองคาง

11. วัดบางประมุง ม. 5 ต�ำบลบางประมุง

18. วัดหนองพรมหน่อ

22. วัดตากแดด

12. วัดมโนราษฎร์

ม. 6 ต�ำบลเนินกว้าว

ม. 5 ต�ำบลหาดสูง

ม. 8 ต�ำบลบางประมุง

53. วัดพระบางมงคล

ม. 3 ต�ำบลบึงเสนาท

19. วัดเขาถ้�ำพระ

23. วัดเนินหญ้าคา

13. วัดท่าทราย

ม. 4 ต�ำบลนากลาง

ม. 8 ต�ำบลเนินศาลา

ม. 6 ต�ำบลหาดสูง

ม. 2 ต�ำบลบางมะฝ่อ

14. วัดนากลาง

ม. 1 ต�ำบลนากลาง

20. วัดทองค�ำอิง

24. วัดหาดสูง

ม. 6 ต�ำบลบางประมุง

15. วัดกระจังงาม

ม. 4 ต�ำบลศาลาแดง

ม. 3 ต�ำบลเนินศาลา

ม. 2 ต�ำบลหาดสูง

ม. 2 ต�ำบลศาลาแดง

21. วัดเนินกะพี้

ม. 5 ต�ำบลบางมะฝ่อ

ม. 2 ต�ำบลยางตาล

9. วัดช่ องรวก ม.

7 ต�ำบลบางประมุง

16. วัดศาลาแดง

4. วัดยางตาล

ม. 4 ต�ำบลยางตาล

10. วัดท่าซุ ด ม.1

ต�ำบลบางประมุง

17. วัดบ่อพลับ

.

54. วัดวังหิน

ม.2 ต�ำบลหนองกระโดน

65. วัดเขามโน

3. วัดบ้านหว้า

140

ม. 10 ต�ำบลวัดไทรย์

ม. 3 ต�ำบลเนินกว้าว

ม. 1 ต�ำบลเนินศาลา

SBL บันทึกประเทศไทย I อุตรดิตถ์

.indd 140

21/4/2564 12:22:08


อ�ำเภอชุมแสง 10. วัดบางไซ

1. วัดคลองปลากดใน

ม. 9 ต�ำบลทับกฤช

3. วัดทับกฤชกลาง ม. 14 ต�ำบลทับกฤช

ม. 7 ต�ำบลทับกฤช

4. วัดทับกฤชใต้

5. วัดทับกฤชเหนือ 6. วัดทุ่งแว่น

ม. 1 ต�ำบลพิกุล ม. 6 ต�ำบลพิกุล

11. วัดสองพี่น้อง

ม. 12 ต�ำบลทับกฤช 2. วัดดอนสนวน

21. วัดดงกะพี้

ม. 4 ต�ำบลทับกฤช

ม. 13 ต�ำบลทับกฤช

ม. 5 ต�ำบลพิกุล

12. วัดแสงสวรรค์

ม. 10 ต�ำบลท่าไม้

ม. 8 ต�ำบลหนองกระเจา

39. วัดโคกหม้อ

32. วัดหนองกระเจา

40. วัดโพธิ์สุทธาวาส

ม. 6 ต�ำบลหนองกระเจา

ม. 8 ต�ำบลโคกหม้อ

25. วัดคลองยาง

33. วัดหนองกุ่ม

41. วัดคลองเกษมกลาง

ม. 7 ต�ำบลหนองกระเจา

ม. 4 ต�ำบลไผ่สิงห์

22. วัดท่าไม้ ม.

2 ต�ำบลท่าไม้

23. วัดวังใหญ่

ม. 9 ต�ำบลท่าไม้

24. วัดหนองขอน

ม. 8 ต�ำบลท่าไม้

13. วัดหางตลาด

ม. 9 ต�ำบลพิกุล

14. วัดเกยไชยใต้

ม. 8 ต�ำบลเกยไชย

26. วัดเนินสะเดา

34. วัดหนองโก

42. วัดคลองเกษมใต้

ม. 12 ต�ำบลบางเคียน

ม. 1 ต�ำบลหนองกระเจา

ม. 5 ต�ำบลไผ่สิงห์

27. วัดบางเคียน

35. วัดหัวกระทุ่ม

43. วัดไผ่ขวาง

ม. 14 ต�ำบลบางเคียน

ม. 5 ต�ำบลหนองกระเจา

44. วัดไผ่สิงห์ ม.

36. วัดคลองปลากดนอก

45. วัดโพธิห ์ นองยาว

ม. 6 ต�ำบลพันลาน

46. วัดฆะมัง

30. วัดมงคลสุจริตธรรม

37. วัดคลองส� ำพรึง

47. วัดพิกุล

ม. 11 ต�ำบลหนองกระเจา

ม. 7 ต�ำบลพันลาน

48. วัดแหลมยาง

ม. 4 ต�ำบลธารทหาร

25. วัดห้วยถั่วเหนือ

33. วัดรังย้อยราษฎร์เจริญ

16. วัดน้�ำสาดเหนือ

ม. 11 ต�ำบลห้วยร่วม

ต�ำบลห้วยถั่วเหนือ

15. วัดเกยไชยเหนือ

ม. 4 ต�ำบลเกยไชย

ม. 15 ต�ำบลเกยไชย

16. วัดคลองระนง

ม. 12 ต�ำบลเกยไชย

17. วัดท่านา

ม. 11 ต�ำบลทับกฤช

18. วัดแสงธรรมสุทธาวาส

28. วัดบ้านลาด ม.

8. วัดหนองแม่พังงา

ม. 15 ต�ำบลเกยไชย

29. วัดดงขุย

ม. 15 ต�ำบลทับกฤช

19. วัดหนองคาง

ม. 9 ต�ำบลพิกุล

20. วัดช้ าง

ม. 11 ต�ำบลเกยไชย

ม. 5 ต�ำบลท่าไม้

อ�ำเภอหนองบัว 1. วัดหนองบัว ม.

1 ต�ำบลหนองบัว

ม. 4 ต�ำบลหนองบัว

2. วัดห้วยน้อย

ม.3 ต�ำบลโคกหม้อ

ม. 11 ต�ำบลบางเคียน

7. วัดโพธิ์เงินราษฎร์ศรัทธา

9. วัดชุ มแสง

THE IMPORTANT TEMPLES UTTARADIT 38. วัดพันลาน ม. 3 ต�ำบลพันลาน

31. วัดราษฎร์ศรัทธาธรรม

3 ต�ำบลบางเคียน

ม. 3 ต�ำบลหนองกระเจา

ม. 3 ต�ำบลห้วยร่วม

ม. 2 ต�ำบลธารทหาร

26. วัดห้วยร่วม

10. วัดหนองโบสถ์

17. วัดป่าเรไร ม.

27. วัดห้วยร่วมใต้

ม.6 หนองโบสถ์ ต�ำบลหนองกลับ

18. วัดหนองจิก

5 ต�ำบลธารทหาร

ม. 7 ต�ำบลธารทหาร

28. วัดทุ่งตาล

ม. 5 ต�ำบลห้วยร่วม

ม. 5 ต�ำบลห้วยถั่วใต้

ม. 10 ต�ำบลไผ่สิงห์ 2 ต�ำบลไผ่สิงห์ ม.3 ต�ำบลไผ่สงิ ห์

ม. 5 ต�ำบลฆะมัง

ม. 7 ต�ำบลฆะมัง

34. วัดห้วยถั่ว

ม. 17 ต�ำบลฆะมัง

ม. 7

ม. 6 ต�ำบลห้วยถัว่ เหนือ

35. วัดห้วยวารี

ม.9 ต�ำบลห้วยถัว่ เหนือ

36. วัดสระงาม

ม. 4 ต�ำบลห้วยใหญ่

3. วัดใหม่นิกรประทุมรักษ์

11. วัดหนองประดู่

19. วัดหนองปลาไหล

29. วัดห้วยถั่วใต้

ม.5 ตาลิน ต�ำบลหนองบัว

ม. 5 ต�ำบลหนองกลับ

ม. 1 ต�ำบลธารทหาร

30. วัดกระดานหน้าแกล

38. วัดเขานางต่วม

4. วัดเขามะเกลือ ม.10 ต�ำบลหนองกลับ

12. วัดหัวท�ำนบ

20. วัดห้วยวารีใต้

(กระดานหน้าแตร)

39. วัดทับลุม ่ ศรีมงคล ม. 5 ต�ำบลวังบ่อ

ม. 7 ต�ำบลหนองกลับ

21. วัดเกาะแก้ว

ม. 3 บ้านกระดานหน้าแกล

40. วัดวังข่อย ม.4

ต�ำบลห้วยถั่วเหนือ

41. วัดเวฬุ วัน ม.

5. วัดคลองสมอ

ม. 4 ต�ำบลหนองกลับ

ม. 6 ต�ำบลธารทหาร

ม. 10 ต�ำบลห้วยร่วม

ม. 2 ต�ำบลห้วยถัว่ ใต้

ม.1 ต�ำบลห้วยใหญ่

37. วัดหนองแก้ว

ม. 1 ต�ำบลวังบ่อ

วังข่อย ต�ำบลวังบ่อ

6. วัดเทพสุทธาวาส

13. วัดโคกกระถิน

22. วัดจิกใหญ่ ม.

ม. 9 ต�ำบลหนองกลับ

ม. 8 ต�ำบลธารทหาร

23. วัดสามัคคีสุนทร

31. วัดโคกมะกอก

42. วัดห้วยธารทหาร

14. วัดธารทหาร(ห้วยด้วน)

ม. 10 ต�ำบลห้วยร่วม

ม. 8 ต�ำบลห้วยถั่วเหนือ

43. วัดอุดมพัฒนา

ม. 3 บ้านธารทหาร

24. วัดห้วยถั่วกลาง

32. วัดจิกยาวใต้

ม.7 อุดมพัฒนา ต�ำบลวังบ่อ

ม. 11 ต�ำบลห้วยร่วม

ม. 1 ต�ำบลห้วยถั่วเหนือ

7. วัดวังมะเดื่อ 8. วัดวังแรต

ม. 7 ต�ำบลหนองกลับ

ม. 7 ต�ำบลหนองกลับ

9. วัดหนองกลับ

ม. 3 ต�ำบลหนองกลับ

15. วัดน้�ำสาดกลาง

อ�ำเภอบรรพตพิสัย 1. วัดท่างิ้ว

ม. 1 ต�ำบลท่างิ้ว

2. วัดมงคลรัตนาราม

ม. 4 ต�ำบลท่างิว้

8 ต�ำบลห้วยร่วม

24. วัดประสาทวิถี ม.

6 ต�ำบลบางแก้ว

40. วัดทุ่งแคแดง

ม. 3 ต�ำบลด่านช้าง

ม. 3 ต�ำบลวังบ่อ

52. วัดหนองปรือ ม. 9 ต�ำบลหนองกรด

25. วัดวังพระหิน

ม. 4 ต�ำบลบางแก้ว

41. วัดทุ่งท่าเสา

26. วัดคลองขวัญ

ม. 5 ต�ำบลตาขีด

42. วัดเนินทราย

ม. 7 ต�ำบลหนองกรด

ม.10 เนินทราย ต�ำบลด่านช้าง

54. วัดคลองจินดา ม. 4 ต�ำบลหนองตางู

13. วัดวิมลประชาราษฎร์

27. วัดดงคู้

ม. 5 บ้านหนองขี้วัว ต�ำบลอ่างทอง

28. วัดธรรมรักขิตาราม

43. วัดวงฆ้อง

ม. 8 ต�ำบลตาขีด

ม. 4 ต�ำบลด่านช้าง

3 ต�ำบลวังบ่อ

ม. 2 ต�ำบลด่านช้าง

53. วัดใหม่หนองกรด

55. วัดโคกกว้าง

ม.6 ต�ำบลหนองตางู

14. วัดอ่างทอง

ม. 3 ต�ำบลอ่างทอง

ม. 4 ต�ำบลตาขีด

44. วัดหนองปลาไหล

56. วัดจิกลาด

4. วัดมงคลสถิตย์

15. วัดเขาหน่อ

ม. 2 ต�ำบลบ้านแดน

29. วัดวงษ์มณีศรัทธา ม. 6 ต�ำบลตาขีด

ม. 7 ต�ำบลด่านช้าง

57. วัดหนองตางู

ม. 4 ต�ำบลบางตาหงาย

16. วัดเขาห้วยลุง

30. วัดศรีนิคมรัตนาราม

45. วัดหนองละมาน

58. วัดหนองพลับ ม. 7 ต�ำบลหนองตางู

5. วัดวิวิตตาราม

ม. 7 ต�ำบลบ้านแดน

ม. 4 ต�ำบลตาขีด

ม. 5 ต�ำบลด่านช้าง

59. วัดบึงปลาทู

ม. 1 ต�ำบลบางตาหงาย

17. วัดท่าจันทร์

3. วัดส้ มเสี้ ยว

ม. 2 ต�ำบลท่างิ้ว

ม. 3 ต�ำบลบ้านแดน

ม. 2 ต�ำบลตาขีด

ม. 1 ต�ำบลหนองตางู ม. 3 ต�ำบลบึงปลาทู

ม. 4 ต�ำบลบึงปลาทู

46. วัดคลองธรรม

60. วัดเวฬุ วัน

6. วัดกล่�ำหูกวาง

ม. 2 ต�ำบลหูกวาง

18. วัดเทพสถาพร

32. วัดสั งขสุทธาวาส

ม. 6 ต�ำบลหนองกรด

61. วัดหนองมะขาม

7. วัดเขากองทอง

ม. 3 ต�ำบลหูกวาง

ม. 8 ต�ำบลบ้านแดน

ม. 1 ต�ำบลตาขีด

47. วัดคลองมงคล

ม. 8 ต�ำบลบึงปลาทู

8. วัดวังกระชอน

ม. 4 ต�ำบลหูกวาง

19. วัดนาหุบ

ม. 4 ต�ำบลหนองกรด

62. วัดเจริญผล

48. วัดทุ่งสนามชั ย

63. วัดมาบมะขาม

ม. 8 ต�ำบลหนองกรด

ม. 4 ต�ำบลเจริญผล

9. วัดหูกวาง

ม. 2 ต�ำบลหูกวาง

10. วัดท่าแรต

ม. 1 ต�ำบลอ่างทอง

ม. 4 ต�ำบลบ้านแดน

20. วัดบ้านแดน 21. วัดบางแก้ว

ม. 1 ต�ำบลบ้านแดน

ม. 2 ต�ำบลบางแก้ว

31. วัดสั งขวิจิตร

ม. 2 ต�ำบลหนองตางู

33. วัดคลองวิไล

ม. 4 ต�ำบลตาสัง

34. วัดคลองสองหน่อ 35. วัดดงป่าจันทร์

ม. 1 ต�ำบลตาสัง

ม. 6 ต�ำบลตาสัง

ม. 1 ต�ำบลเจริญผล

11. วัดธรรมโชติการาม

22. วัดโบราณธรรมิกาวาส

36. วัดตาสั งใต้

49. วัดธรรมจริยาวาส

64. วัดศรัทธาราม

ม. 2 ต�ำบลอ่างทอง

ม. 5 ต�ำบลบางแก้ว

37. วัดบ้านไผ่

ม. 2 ต�ำบลตาสัง

ม.13 ต�ำบลหนองกรด

ม. 3 ต�ำบลเจริญผล

12. วัดบ้านคลอง

23. วัดโบสถ์สามัคคีธรรม

38. วัดบ้านวัง

ม. 4 ต�ำบลตาสัง

50. วัดพลังไพร

ม.2 คลอง ต�ำบลอ่างทอง

ม. 1 ต�ำบลบางแก้ว

39. วัดด่านช้ าง ม.

ม. 3 ต�ำบลตาสัง

1 ต�ำบลด่านช้าง

ม. 3 ต�ำบลหนองกรด

65. วัดสี่ แพ่ง ม.

4 ต�ำบลเจริญผล

51. วัดหนองกรด ม. 10 ต�ำบลหนองกรด

UTTARADIT I SBL บันทึกประเทศไทย

.

.indd 141

141

21/4/2564 12:22:11


อ�ำเภอเก้าเลี้ยว ม. 3 ต�ำบลมหาโพธิ

1. วัดมหาโพธิใต้

2. วัดมหาโพธิเหนือ

4. วัดเก้าเลี้ยว

ม.5 ต�ำบลมหาโพธิ

ม. 4 ต�ำบลมหาโพธิ

3. วัดหนองหัวเรือ

ม. 1 ต�ำบลเก้าเลี้ยว ม. 5 ต�ำบลหนองเต่า

5. วัดกัลยารัตน์

15. วัดพระหน่อธรณินทร์

ม. 6 ต�ำบลเขาดิน 16. วัดมรรครังสฤษดิ์

ม.8 ต�ำบลเขาดิน

17. วัดหนองงูเหลือม

ม. 5 ต�ำบลเขาดิน

6. วัดทุ่งตาทั่ง

ม. 4 ต�ำบลหนองเต่า

18. วัดแหลมสมอ

ม. 9 ต�ำบลเขาดิน

7. วัดยางใหญ่

ม. 3 ต�ำบลหนองเต่า

19. วัดคลองช้ าง

ม.12 ต�ำบลหัวดง

8. วัดลาดค้าว

ม. 6 ต�ำบลหนองเต่า

20. วัดดงบ้านโพธิ์

ม. 9 ต�ำบลหนองเต่า

9. วัดหนองเต่าใต้

ม.7 ต�ำบลหัวดง

ม. 6 ต�ำบลหัวดง

21. วัดเนินพยอม

10. วัดหนองเต่าเหนือ

22. วัดศิ ลาทองสามัคคี

ม. 9 ต�ำบลหนองเต่า

ม.8 ต�ำบลหัวดง

11. วัดหนองแพงพวย

23. วัดหัวดงใต้

ม. 1 ต�ำบลหนองเต่า

24. วัดหัวดงเหนือ

ม. 8 ต�ำบลหนองเต่า

12. วัดห้วยรั้ว

13. วัดเขาดินเหนือ

ม. 3 ต�ำบลเขาดิน

ม. 3 ต�ำบลหัวดง ม. 11 ต�ำบลหัวดง

25. วัดหาดเสลา

ม.5 หาดเสลา ต�ำบลหัวดง

ม. 7 ต�ำบลเขาดิน

14. วัดดงเมืองใต้

อ�ำเภอตาคลี ม. 15 ต�ำบลตาคลี

1. วัดเขาเจดีย์

2. วัดเขาถ้�ำบุญนาค ม. 11 ต�ำบลตาคลี

ม.10 ต�ำบลจันเสน

39. วัดอินทรเมรี 40. วัดเขาดุม

ม.4 ต�ำบลห้วยหอม

57. วัดดงขวาง

ม. 8 ต�ำบลหนองโพ

72. วัดหนองแขม

58. วัดรัตตวัน

ม. 10 ต�ำบลหนองโพ

ม. 3 ต�ำบลสร้อยทอง

18. วัดสั นธยาศรัทธาธรรม

41. วัดโคกเจริญ

ม. 7 ต�ำบลห้วยหอม

59. วัดวาปีรัตนาราม

73. วัดหนองสร้อยทอง

ม. 18 ต�ำบลตาคลี

42. วัดพุช้างล้วง

ม.8 ต�ำบลห้วยหอม

ม. 2 ต�ำบลหนองโพ

ม. 4 ต�ำบลสร้อยทอง

43. วัดลาดตะกุด

ม. 2 ต�ำบลห้วยหอม

3. วัดเขาใบไม้

ม. 6 ต�ำบลตาคลี

19. วัดหนองขาม

ม. 10 ต�ำบลตาคลี

4. วัดโคกคูณ

ม. 9 ต�ำบลตาคลี

20. วัดหนองจิกรี

ม. 8 ต�ำบลตาคลี

5. วัดชอนเจริญธรรม

21. วัดหนองสี นวล

ม. 15 ต�ำบลตาคลี

22. วัดหลาสะแก

ม. 5 ต�ำบลตาคลี

ม. 14 ต�ำบลตาคลี

60. วัดสอนจันทร์

74. วัดโคกกระเทิน

44. วัดหนองกระสั งข์

ม. 2 ต�ำบลหนองโพ

ม. 3 ต�ำบลลาดทิพรส

ม. 10 ต�ำบลห้วยหอม

61. วัดหนองตาราม

75. วัดป่าตาล

45. วัดหนองบัว ม. 8 ต�ำบลห้วยหอม

ม. 4 ต�ำบลหนองโพ

76. วัดพรหมประชาราม

ม. 6 ต�ำบลลาดทิพรส

23. วัดหัวเขาตาคลี

46. วัดหนองบัวทอง

62. วัดหนองเต็งรัง

ม. 4 ต�ำบลลาดทิพรส

7. วัดตาคลี

ในเขตเทศบาล ต�ำบลตาคลี

ม. 5 ต�ำบลห้วยหอม

ม. 5 ต�ำบลหนองโพ

77. วัดลาดทิพยรส

ม. 2 บ้านตาคลี ต�ำบลตาคลี

24. วัดเขาทอง

47. วัดห้วยหอม ม. 9 ต�ำบลห้วยหอม

63. วัดหนองโพ

8. วัดถ้�ำผาสุขใจ

ม.2 เขาทอง ต�ำบลช่องแค

48. วัดเขาตอง ม. 2 ต�ำบลหัวหวาย

64. วัดห้วยดุก

ม. 1 บ้านเขาลอยเสือ ต�ำบลตาคลี

25. วัดเขาฝา

49. วัดเขาภูคา ม. 2 ต�ำบลหัวหวาย

65. วัดอรัญญิการาม

ม. 2 ต�ำบลลาดทิพรส

9. วัดเทพมงคลปานสาราม

26. วัดเขาวงษ์

50. วัดทรัพย์น้อย

ม.9 บ้านหนองปืนแตก ต�ำบลหนองโพ

79. วัดใหม่ราษฎร์บ�ำรุ ง

ม. 21 ต�ำบลตาคลี

27. วัดเขาสูง

10. วัดธรรมรงค์สวัสดิ์

28. วัดโคกสว่าง

ม.10 หนองขาม ต�ำบลตาคลี

29. วัดช่ องแค

11. วัดโบสถ์เทพนิมิต

30. วัดดงน้อย

ม. 6 ต�ำบลตาคลี

31. วัดบ่อนิมิต

6. วัดดงพลับ

ม. 4 ต�ำบลตาคลี

12. วัดพุทธนิมิต

ม. 11 ต�ำบลตาคลี

ม. 4 ต�ำบลช่องแค ม. 8 ต�ำบลช่องแค

66. วัดหนองสี ซอ

ม. 5 ต�ำบลลาดทิพรส

ม. 4 ต�ำบลหนองหม้อ

80. วัดกกกว้าว

ม. 1 ต�ำบลช่องแค

ม. 3 ต�ำบลหัวหวาย

67. วัดหนองหม้อ

ม. 8 ต�ำบลพรหมนิมิต

ม. 3 ต�ำบลช่องแค

52. วัดหนองตาพัน

ม.2 ต�ำบลหนองหม้อ

81. วัดคีรีโชติการาม

ม.10 ต�ำบลช่องแค

ม. 8 ต�ำบลหัวหวาย

68. วัดหนองแอก

ม. 7 ต�ำบลพรหมนิมิต

ม. 1 ต�ำบลหนองหม้อ

82. วัดโคกสลุดม.

54. วัดหนองลาดสามัคคี

69. วัดโคกกร่าง

83. วัดประชาสรรค์

ม. 6 ต�ำบลหัวหวาย

ม. 2 ต�ำบลสร้อยทอง

ม. 4 ต�ำบลพรหมนิมิต

55. วัดหัวหวาย

70. วัดชั ยมงคล

84. วัดหนองหญ้ารังกา

ม.1 หัวหวาย ต�ำบลหัวหวาย

ม.6 ต�ำบลสร้อยทอง

ม. 6 ต�ำบลพรหมนิมิต

56. วัดคีรีรัตนาราม

71. วัดทุ่งทะเลทราย

85. วัดหลังเขา

ม. 8 ต�ำบลหนองโพ

ม.1 ต�ำบลสร้อยทอง

ม. 2 หลังเขา ต�ำบลพรหมนิมิต

32. วัดหนองดุก

ม. 7 ต�ำบลช่องแค

33. วัดอัมพวันคีรี 34. วัดจันเสน 35. วัดดงมัน

ม. 7 ต�ำบลช่องแค

ม. 2 ต�ำบลจันเสน

ม. 3 ต�ำบลจันเสน

15. วัดศรีส�ำราญ

ม. 9 ต�ำบลตาคลี

36. วัดหนองตะโก

16. วัดสระแก้ว ม.

17 ต�ำบลตาคลี

37. วัดหนองตาปี

17. วัดสว่างวงษ์

142

.

ม. 1 ต�ำบลตาคลี

78. ัด หนองคูน้อย

ม. 12 ต�ำบลหัวหวาย

ม. 6 ต�ำบลช่องแค

ในเขตเทศบาล ต�ำบลตาคลี ม.3 ต�ำบลตาคลี

ม. 1 ต�ำบลลาดทิพรส

51. วัดหนองกรวด

ม. 5 ต�ำบลช่องแค

13. วัดโพนทอง

14. วัดศรีวังคาง

(สัมพันธ์)

ม. 1 ต�ำบลหนองโพ

ม. 3 ต�ำบลหนองโพ

ม. 5 ต�ำบลจันเสน

ม. 6 ต�ำบลจันเสน

38. วัดหนองถ้�ำวัว

ม. 4 ต�ำบลจันเสน

53. วัดหนองยอ

ม. 7 ต�ำบลหัวหวาย

7 ต�ำบลพรหมนิมติ

SBL บันทึกประเทศไทย I อุตรดิตถ์

.indd 142

21/4/2564 12:22:13


THE IMPORTANT TEMPLES UTTARADIT

อ�ำเภอท่าตะโก 1. วัดเขาน้อย

ม. 2 ต�ำบลท่าตะโก

2. วัดท่าตะโก

ม. 1 ต�ำบลท่าตะโก

ม. 1 ต�ำบลวังมหากร

24. วัดท่าสุ่ม

25. วัดเนินส�ำราญ ม. 8 ต�ำบลวังมหากร

ม. 5 ต�ำบลวังมหากร

3. วัดสามัคยาราม

26. วัดปากง่าม

ม. 1 ต�ำบลท่าตะโก

27. วัดวังมหากร

4. วัดหนองขานาง

28. วัดวังรอ

ม. 4 ต�ำบลท่าตะโก

29. วัดหัวพลวง

5. วัดหางน้�ำ

ม. 3 ต�ำบลท่าตะโก

6. วัดพนมรอก 7. วัดวังใหญ่

ม. 1 ต�ำบลพนมรอก

ม. 5 ต�ำบลพนมรอก

8. วัดหนองคร่อ

ม. 3 ต�ำบลพนมรอก

30. วัดเขาล้อ 31. วัดดอนคา 32. วัดตุ๊กแก

ม. 5 ต�ำบลวังมหากร

ม. 9 ต�ำบลวังมหากร ม. 7 ต�ำบลวังมหากร

ม. 2 ต�ำบลดอนคา ม. 1 ต�ำบลดอนคา ม. 3 ต�ำบลดอนคา

33. วัดบ้านวังแรง

9. วัดหนองไผ่

ม. 2 ต�ำบลพนมรอก

ม.5 วังแรง ต�ำบลดอนคา

10. วัดเขาขาด

ม. 5 ต�ำบลหัวถนน

34. วัดสระโบสถ์

11. วัดไดตามุ่ย

ม. 3 ต�ำบลหัวถนน

35. วัดเขาโคกเผ่น

12. วัดหนองเนิน

ม. 4 ต�ำบลหัวถนน

13. วัดหัวถนนกลาง 14. วัดหัวถนนใต้

ม.6 ต�ำบลหัวถนน

ม. 2 ต�ำบลหัวถนน

15. วัดหัวถนนเหนือ

ม. 1 ต�ำบลหัวถนน

36. วัดท�ำนบ

ม. 1 ต�ำบลดอนคา

ม. 3 ต�ำบลท�ำนบ

37. วัดโคกกระถิน

39. วัดตะเฆ่ค่าย

ม. 4 ต�ำบลวังใหญ่

ม. 7 ต�ำบลวังใหญ่

40. วัดทุ่งสว่าง

ม. 11 ต�ำบลสายล�ำโพง

41. วัดหนองละมาน

ม. 2 บ้าน

สายล�ำโพงกลาง ต�ำบลสายล�ำโพง

ม.5 ต�ำบลวังใหญ่

ม. 6 ต�ำบลวังใหญ่

38. วัดดงจันท�ำ

16. วัดเนินประดู่

17. วัดสายล�ำโพงกลาง

ม. 2 ต�ำบลท�ำนบ

42. วัดหนองสระ

ม. 2 ต�ำบลวังใหญ่

ม. 3 ต�ำบลวังใหญ่

43. วัดคร่อเรียงราย

อ�ำเภอไพศาลี 1. วัดโคกเดื่อ

ม. 5 ต�ำบลโคกเดื่อ

2. วัดเนินทอง ม. 3. วัดไพศาลี

12 ต�ำบลโคกเดื่อ

ม.11 ต�ำบลโคกเดื่อ

25. วัดหนองโพธิศ ์ รี ม. 6 ต�ำบลวังน�ำ้ ลัด 26. วัดหนองม่วง

ม. 2 ต�ำบลวังน�้ำลัด

27. วัดห้วยขว้าว

ม.5 ต�ำบลวังน�้ำลัด

4. วัดหนองกระทุ่มทอง

28. วัดช่ องคีรี

ม. 1 ต�ำบลตะคร้อ

ม. 6 ต�ำบลโคกเดื่อ

29. วัดตะคร้อ

ม. 4 ต�ำบลตะคร้อ

18. วัดสายล�ำโพงใต้

ม. 4 ต�ำบลพนมเศษ

ม. 1 ต�ำบลสายล�ำโพง

44. วัดคลองบอน

ม. 7 ต�ำบลพนมเศษ

5. วัดหนองแทงแรด

30. วัดประชาสามัคคี

19. วัดสายล�ำโพงเหนือ

45. วัดพนมเศษใต้

ม. 6 ต�ำบลพนมเศษ

ม. 1 ต�ำบลโคกเดื่อ

ม. 3 ต�ำบลตะคร้อ

ม. 3 ต�ำบลสายล�ำโพง

46. วัดพนมเศษเหนือ

6. วัดหนองเสื อ

ม. 1 ต�ำบลโคกเดื่อ

31. วัดวังกระโดนน้อย

20. วัดหนองเบน

ม. 1 ต�ำบลพนมเศษ

7. วัดห้วยตะโก

ม. 2 ต�ำบลโคกเดื่อ

ม. 2 ต�ำบลตะคร้อ

ม.7 ต�ำบลสายล�ำโพง

47. วัดเขาดินศิ ริวัฒนา

8. วัดหัวพุ

ม. 6 ต�ำบลโคกเดื่อ

32. วัดวังกระโดนใหญ่

21. วัดหนองสองห้อง

ม. 5 ต�ำบลหนองหลวง

9. วัดใหม่วารีเย็น

ม.8 ต�ำบลโคกเดื่อ

ม. 1 ต�ำบลตะคร้อ

ม. 5 ต�ำบลสายล�ำโพง

48. วัดหนองสะแก

10. วัดโคกมะขวิด

ม. 7 ต�ำบลส�ำโรงชัย

33. วัดเขาหลักชั ย

22. วัดขอนดู่

ม. 6 ต�ำบลหนองหลวง

11. วัดบ้านใหม่

ม.10 ขอนดู่ ต�ำบลวังมหากร

49. วัดหนองหลวง

12. วัดพระพุทธบาท

34. วัดคีรีล้อม

ม. 4 ต�ำบลหนองหลวง

ม. 9 ต�ำบลส�ำโรงชัย

ม.9 บ้านคีรีล้อม ต�ำบลโพธิ์ประสาท

23. วัดช่ องแกระ

ม. 3 ต�ำบลวังมหากร

13. วัดวังกรด

ม. 6 ต�ำบลส�ำโรงชัย

ม. 8 ต�ำบลส�ำโรงชัย

14. วัดวังเตียน

ม. 2 ต�ำบลส�ำโรงชัย

15. วัดส� ำโรงชั ย

ม. 3 ต�ำบลส�ำโรงชัย

16. วัดหนองไผ่ ม.

5 ต�ำบลส�ำโรงชัย

ม. 8 ต�ำบลโพธิ์ประสาท

35. วัดโค้งสวอง

ม.6 บ้านโค้งสวอง ต�ำบลโพธิ์ประสาท 36. วัดตะเคียนทอง

ม. 4 ต�ำบลโพธิ์ประสาท

17. วัดเขาดินวนาราม

37. วัดโพธิ์ประสาท

ม. 2 ต�ำบลวังน�้ำลัด

ม.5 โพธิ์ประสาท ต�ำบลโพธิ์ประสาท

18. วัดเขาหินกลิ้ง

ม. 3 ต�ำบลวังน�ำ้ ลัด

38. วัดหนองปลาย

19. วัดตะกุดภิบาล

ม. 7 ต�ำบลวังน�ำ้ ลัด

ม. 12 ต�ำบลโพธิ์ประสาท

20. วัดบ่อทอง

ม. 9 ต�ำบลวังน�้ำลัด

39. วัดนาขอม

21. วัดพุทธนิมิต

ม.1 นาขอม ต�ำบลนาขอม

ม.3 เขาหินกลิ้ง ต�ำบลวังน�้ำลัด

40. วัดประจันตคีรี

22. วัดโพธิ์งาม

ม. 2 ต�ำบลวังน�้ำลัด

ม.6 บ้านประจันตคีรี ต�ำบลนาขอม

23. วัดโพธิ์ทอง

ม. 4 ต�ำบลวังน�้ำลัด

41. วัดหนองตกกล้า

24. วัดวังน้�ำลัด

ม. 1 ต�ำบลวังน�้ำลัด

ม.7 หนองตกกล้า ต�ำบลนาขอม

UTTARADIT I SBL บันทึกประเทศไทย

.

.indd 143

143

21/4/2564 12:22:14


อ�ำเภอพยุหะคีรี 1. วัดเขาแก้ว

ม. 4 ต�ำบลพยุหะ ม. 2 ต�ำบลพยุหะ

2. วัดอินทาราม

22. วัดพระปรางค์เหลือง

ม. 1 ต�ำบลท่าน�้ำอ้อย

3. วัดเนินมะกอก

23. วัดคลองบางเดื่อ

ม. 8 ต�ำบลเนินมะกอก

ม. 4 ต�ำบลน�้ำทรง

4. วัดหนองหมู

24. วัดน้�ำทรง

ม. 5 ต�ำบลเนินมะกอก

ม.10 น�้ำทรง ต�ำบลน�้ำทรง

1. วัดคลองสาลี

25. วัดเพียรอุดมธรรม

2. วัดดงมะไฟ

6. วัดเขาบ่อแก้ว

ม.8 หนองอีเติ่ง ต�ำบลน�้ำทรง

3. วัดดงสี เสี ยด

ม. 3 ต�ำบลนิคมเขาบ่อแก้ว

26. วัดสระเศรษฐี

7. วัดสระนางสรง

27. วัดส� ำโรง

5. วัดหัวงิ้ว

ม. 9 ต�ำบลเนินมะกอก

อ�ำเภอลาดยาว

ม. 7 ต�ำบลน�้ำทรง

ม. 2 ต�ำบลน�้ำทรง

4. วัดดอนโม่

ม. 2 ต�ำบลลาดยาว

ม. 2 ต�ำบลลาดยาว ม. 16 ต�ำบลลาดยาว

ม. 17 ต�ำบลลาดยาว

ม. 2 ต�ำบลหนองนมวัว 42. วัดชั ยวนาราม

ม. 3 ต�ำบลลาดยาว

ม. 8 ต�ำบลหนองนมวัว

ม. 6 ต�ำบลนิคมเขาบ่อแก้ว

28. วัดสุวรรณรัตนาราม

6. วัดประชานิมิต

ม. 6 ต�ำบลลาดยาว

43. วัดดอนขวาง ม. 4 ต�ำบลหนองนมวัว

8. วัดสระปทุม

ม. 8 ต�ำบลน�้ำทรง

7. วัดราษฎร์บำ � รุง ม. 15 ต�ำบลลาดยาว

44. วัดสามัคคีประดิษฐ์

ม. 10 ต�ำบลนิคมเขาบ่อแก้ว

29. วัดหนองคล่อ

8. วัดลาดยาว ม.

ม. 2 ต�ำบลหนองนมวัว

9. วัดหนองไม้แดง ต�ำบลนิคมเขาบ่อแก้ว

30. วัดใหม่

ม. 9 ต�ำบลน�้ำทรง

ม. 1 ต�ำบลน�้ำทรง

9. วัดวังชมพู

5 ต�ำบลลาดยาว

ม. 3 ต�ำบลลาดยาว

45. วัดหนองกระดูกเนื้อ

31. วัดเขาสามยอด

10. วัดศรีสุธรรมาราม

ม. 6 ต�ำบลหนองนมวัว

ม. 2 ต�ำบลเขากะลา

ม. 6 ต�ำบลลาดยาว

46. วัดหนองเดิ่น

32. วัดธารล�ำไย

11. วัดสระแก้ว ม.

ม. 7 ต�ำบลหนองนมวัว

ม. 1 ต�ำบลม่วงหัก

ม.5 ธารล�ำไย ต�ำบลเขากะลา

12. วัดสวนขวัญ

13. วัดท่าตะโก

ม.7 ท่าโก ต�ำบลยางขาว

33. วัดบ่อเพลง

14. วัดยางขาว

ม. 5 ต�ำบลยางขาว

34. วัดพุหว้า

ม. 10 ต�ำบลม่วงหัก

11. วัดคนธารามท้ายวารี (หางน้�ำหนองแขม) 12. วัดบ้านบน

ม. 8 ต�ำบลม่วงหัก

ม. 10 ต�ำบลเขากะลา

ม. 3 ต�ำบลเขากะลา

15. วัดหาดสะแก

ม. 2 ต�ำบลยางขาว

35. วัดหนองกลอย ม. 6 ต�ำบลเขากะลา

16. วัดบางปราบ

ม. 2 ต�ำบลย่านมัทรี

36. วัดหนองเต่า

ม. 3 ต�ำบลย่านมัทรี

17. วัดมณีวงษ์ 18. วัดย่านมัทรี

ม. 2 ต�ำบลย่านมัทรี

37. วัดห้วยบง

ม. 4 ต�ำบลเขากะลา

ม. 1 ต�ำบลเขากะลา

38. วัดใหม่พรสวรรค์

ม.13

10 ต�ำบลลาดยาว

ม. 11 ต�ำบลลาดยาว

47. วัดหนองตาเชี ยง

13. วัดหนองขีใ้ ต้

ม. 14 ต�ำบลลาดยาว

ม. 5 ต�ำบลหนองนมวัว

14. วัดหนองจิก

ม. 7 ต�ำบลลาดยาว

48. วัดหนองนมวัว

15. วัดแหลมทอง

ม.1 ต�ำบลลาดยาว

16. วัดเกาะเปา ม.

12 ต�ำบลวังม้า

ม. 13 ต�ำบลวังม้า

17. วัดนกคลาน

ม. 8 ต�ำบลวังม้า

18. วัดบ้านดงตาแวน

ม. 3 ต�ำบลหนองนมวัว 49. วัดจันทราราม 50. วัดทุง ่ ตัน

ม. 3 ต�ำบลบ้านไร่

ม.16 ทุง่ ตัน ต�ำบลบ้านไร่

51. วัดเนินม่วง ม.

7 ต�ำบลบ้านไร่

บ้านใหม่พรสวรรค์ ต�ำบลเขากะลา

19. วัดวังม้า

20. วัดเขาทองพุทธาราม

39. วัดเทพพรสวรรค์ธารหวาย

20. วัด วังศรีเจริญ

ม. 6 ต�ำบลวังม้า

53. วัดสวนหลวง

ม. 10 ต�ำบลเขาทอง

ม. 11 ต�ำบลสระทะเล

21. วัดหนองกระทิง

ม. 7 ต�ำบลวังม้า

54. วัดหนองน้�ำแดง

22. วัดหนองโพธิ์ ม.

10 ต�ำบลวังม้า

ม.16 หนองน�้ำแดง ต�ำบลบ้านไร่

19. วัดเขาทอง

ม. 4 ต�ำบลเขาทอง

21. วัดเขาไม้เดน

ม.8 ต�ำบลท่าน�้ำอ้อย

40. วัดสระทะเล

ม. 3 ต�ำบลสระทะเล

ม. 5 ต�ำบลวังม้า

23. วัดดอนพลอง

ม. 3 ต�ำบลวังเมือง

24. วัดท่ากกแดง ม. 25. วัดศรีอัมพวัน

6 ต�ำบลวังเมือง

ม. 2 ต�ำบลวังเมือง

ม. 5 ต�ำบลสระแก้ว

26. วัดยางโทน

27. วัดสร้อยละคร 28. วัดสระปทุม

ม. 3 ต�ำบลสระแก้ว

ม. 6 ต�ำบลสระแก้ว

52. วัดบ้านไร่

ม. 1 ต�ำบลบ้านไร่ ม. 10 ต�ำบลบ้านไร่

55. วัดหนองแฟบ

ม.11 หนองแฟบ ต�ำบลบ้านไร่ 56. วัดแหลมชนิน

ม. 2 ต�ำบลบ้านไร่

57. วัดเนินขีเ้ หล็ก ม. 4 ต�ำบลเนินขีเ้ หล็ก 58. วัดพรมเขต ม.

9 ต�ำบลเนินขีเ้ หล็ก

59. วัดราษฎร์ศรัทธาท�ำ

29. วัดหนองจิกรี ม.

2 ต�ำบลสระแก้ว

ม. 7 ต�ำบลเนินขี้เหล็ก

30. วัดหนองเตย ม.

1 ต�ำบลสระแก้ว

60. วัดหนองไร่

ม. 5 ต�ำบลเนินขีเ้ หล็ก

31. วัดมาบแก

ม. 1 ต�ำบลมาบแก

61. วัดหนองสั งข์

32. วัดวังแจง

ม. 6 ต�ำบลมาบแก

ม. 9 ต�ำบลเนินขี้เหล็ก

33. วัดสนามหลวง 34. วัดหน้าเขา

ม. 2 ต�ำบลมาบแก

ม. 7 ต�ำบลมาบแก

62. วัดบ้านบุ่ง

ม. 4 ต�ำบลศาลเจ้าไก่ต่อ

35. วัดดงหนองหลวง

63. วัดป่าสั นติธรรม

ม. 2 ต�ำบลหนองยาว

ม. 1 ต�ำบลศาลเจ้าไก่ต่อ

36. วัดวังยิม ้ แย้ม ม.

64. วัดศรีทรงธรรม

5 ต�ำบลหนองยาว

37. วั ดสามัค คี ธรรม (ราษฎร์ ส ามัค คี ธรรม)

ม. 2 ต�ำบลศาลเจ้าไก่ต่อ

ม. 1 ต�ำบลหนองยาว

65. วัดศาลเจ้าไก่ต่อ

38. วัดหนองพลับ ม. 8 ต�ำบลหนองยาว

ม. 3 ต�ำบลศาลเจ้าไก่ต่อ

39. วัดหนองยาว

.

41. วัดเขาสมุก (นิวิฐธรรมาราม)

5. วัดทุง ่ แม่น้ำ � น้อย

10. วัดเขาบ่อพลับ

144

40. วัดหนองหูช้าง ม. 6 ต�ำบลหนองยาว

ม. 4 ต�ำบลหนองยาว

SBL บันทึกประเทศไทย I อุตรดิตถ์

.indd 144

21/4/2564 12:22:16


THE IMPORTANT TEMPLES UTTARADIT

อ�ำเภอตากฟ้า 1. วัดเขากา

ม.10 ต�ำบลตากฟ้า

2. วัดเขาบันไดกลีบ 3. วัดคีรีวง

ม. 1 ต�ำบลตากฟ้า

ม.2 ต�ำบลตากฟ้า ม. 9 ต�ำบลตากฟ้า

4. วัดคูหาโสภณ

23. วัดหนองพิกุล

ม. 1 ต�ำบลหนองพิกุล 24. วัดห้วยล�ำใย

ม. 4 ต�ำบลหนองพิกุล ม. 2 ต�ำบลพุนกยูง

5. วัดชายธงวราราม

25. วัดชอนทุเรียน

ม. 8 ต�ำบลตากฟ้า

26. วัดชอนพลูวราราม

6. วัดชุ มพลสามัคคีธรรม

ม. 1 ต�ำบลพุนกยูง

ม. 5 ต�ำบลตากฟ้า

27. วัดไตรคีรีวราราม

7. วัดตากฟ้า

ม. 4 ต�ำบลตากฟ้า

8. วัดไผ่นาเริง 9. วัดพุนิมิต

ม. 9 ต�ำบลตากฟ้า

ม. 8 ต�ำบลตากฟ้า

10. วัดซั บไพรเงิน

ม. 3 ต�ำบลล�ำพยนต์

ม. 6 ต�ำบลพุนกยูง 28. วัดโป่งสั งข์

ม. 8 ต�ำบลพุนกยูง

29. วัดไผ่เจริญ

ม. 10 ต�ำบลพุนกยูง

30. วัดพุนกยูง

ม. 7 ต�ำบลพุนกยูง

11. วัดถ้�ำพรสวรรค์

31. วัดพุเม่น

ม. 3 ต�ำบลพุนกยูง 32.

ม. 3 ต�ำบลล�ำพยนต์

วัดแคทราย

ม. 10 ต�ำบลอุดมธัญญา

12. วัดเทพพนม 13. วัดพุนาค

ม. 6 ต�ำบลล�ำพยนต์

ม. 4 ต�ำบลล�ำพยนต์

14. วัดล�ำพยนต์

ม. 10 ต�ำบลล�ำพยนต์

33. วัดโคกขาม

ม.1 ต�ำบลอุดมธัญญา 34. วัดด�ำรงธรรม

15. วัดศรีเจริญธรรม

ม. 3 ต�ำบลอุดมธัญญา

ม. 2 ต�ำบลล�ำพยนต์

35. วัดบ้านไร่ศรัทธาราษฎร์

16. วัดเขาบัวขาว

ม. 7 ต�ำบลสุขส�ำราญ

ม. 9 ต�ำบลอุดมธัญญา

17. วัดธรรมโสภณ

36. วัดบ้านใหม่สามัคคี

ม.8 ทรัพย์ส�ำราญ ต�ำบลสุขส�ำราญ

ม. 7 ต�ำบลอุดมธัญญา

18. วัดประชาสรรค์

37. วัดพุสว่าง

ม. 2 ต�ำบลสุขส�ำราญ

38. วัดล้�ำเจริญ

19. วัดพุขมิ้น

ม. 6 ต�ำบลสุขส�ำราญ

ม. 6 ต�ำบลอุดมธัญญา

ม. 2 ต�ำบลอุดมธัญญา

20. วัดวังส� ำราญ

39. วัดสระเกตุโมลี

ม. 5 ต�ำบลสุขส�ำราญ

ม. 12 ต�ำบลอุดมธัญญา

21. วัดสุขส� ำราญ

40. วัดสุขสั นต์สามัคคี

ม. 1 ต�ำบลสุขส�ำราญ

ม. 11 ต�ำบลอุดมธัญญา

22. วัดพลับพลาชั ย

41. วัดอุดมธัญญา

ม. 8 ต�ำบลหนองพิกุล

ม. 11 ต�ำบลอุดมธัญญา 42. วัดอุดมพร

ม. 5 ต�ำบลอุดมธัญญา

UTTARADIT I SBL บันทึกประเทศไทย

.

.indd 145

145

21/4/2564 12:22:17


อ�ำเภอแม่วงก์ 1. วัดมฤคทายวัน

12. วัดวังหิน ม.

ม.5 ตลิ่งสูง ต�ำบลแม่เล่ย์

13. วัดศรีไกรลาศ

ม.1 ต�ำบลแม่เล่ย์

2. วัดวังน้�ำขาว

3. วัดวิกสิตวิทยาราม ม. 6 ต�ำบลแม่เล่ย์ 4. วัดคลองม่วง

ม. 8 ต�ำบลวังซ่าน

5. วัดตะเคียนงาม 6. วัดบ้านเปราะ 7. วัดวังซ่ าน

ม. 3 ต�ำบลวังซ่าน

ม. 2 ต�ำบลวังซ่าน

ม. 1 ต�ำบลวังซ่าน

2 ต�ำบลห้วยน�้ำหอม

ม. 1 ต�ำบลห้วยน�้ำหอม 14. วัดศรีทอง

ม. 6 ต�ำบลห้วยน�้ำหอม

15. วัดสะเดาซ้ าย

ม. 5 ต�ำบลห้วยน�้ำหอม 16. วัดหัวเขาลานคา

ม. 3 ต�ำบลห้วยน�้ำหอม

8. วัดศรีกล ั ยาณนิคม ม. 7 ต�ำบลวังซ่าน

17. วัดพนาสวรรค์

9. วัดสี มาราม ม.

ม.8 พนาสวรรค์ ต�ำบลแม่เปิน

10. วัดกกกอก

8 ต�ำบลเขาชนกัน

ม. 4 ต�ำบลห้วยน�ำ้ หอม

18. วัดหนองจิกทรายมูล

ม. 1 ต�ำบลชุมตาบง

11. วัดทุ่งนาผาสุข

ม. 9 ต�ำบลห้วยน�้ำหอม

อ�ำเภอแม่เปิน 1. วัดเขามะตูม

ตั้งอยู่เขามะตูม

หมู่ที่ 15 ต�ำบลแม่เปิน 2. วัดคลองโพธิ์พัฒนา

เลขที่ 186

เลขที่ 100 / 1

บ้านโนนสมบูรณ์ หมูท่ ี่ 2 ต�ำบลแม่เปิน 4. วัดประดูง ่ าม

เลขที่ 5 บ้านประดิง่ าม

หมู่ที่ 17 ต�ำบลแม่เปิน 5. วัดพนาสวรรค์

บ้านพนาสวรรค์

หมู่ที่ 4 ต�ำบลแม่เปิน 6. วัดแม่กะสี

บ้านแม่กะสี

หมู่ที่ 4 ต�ำบลแม่เปิน

เลขที่ 8

บ้านลานหมู่ที่ 22 ต�ำบลแม่เปิน

บ้านหนองผวา หมู่ที่ 3 ต�ำบลแม่เป็น 3. วัดโนนสมบูรณ์

7. วัดลานชั ยสามัคคี

8. วัดศรีสว่างอารมณ์

เลขที่ 5

บ้านตลุกตาสาม หมูท่ ี่ 6 ต�ำบลแม่เปิน 9. วัดสิ มมาวนาราม

ตั้งอยู่บา้ นท่ามะกรูด หมู่ที่ 10 ต�ำบลแม่เปิน 10. วัดใหม่ไทรทอง

ตั้งอยู่บา้ นใหม่ไทรทอง หมู่ที่ 19 ต�ำบลแม่เปิน 11. วัดคลองเจริญ

ตั้งอยู่บา้ นคลองเจริญ หมู่ที่ 1 ต�ำบลแม่เปิน

146

.

SBL บันทึกประเทศไทย I อุตรดิตถ์

.indd 146

21/4/2564 12:22:19



วัดนครสวรรค์ พระอารามหลวง

วัดนครสวรรค์ พระอารามหลวง ตั้งอยู่เลขที่ 702 ถนนโกสีย์ ตำ�บลปากน้�ำ โพ อำ�เภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์ Facebook : วัดนครสวรรค์

.indd 2

29/4/2564 23:30:52


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.